20170322 cho ar2016 th 02

Page 1


สารบัญ 4 วิสัยทัศน์ และพันธกิจ 6 สารจากประธาน 7 สารจากกรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้ าหน้ าที$บริ หาร 8 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ 10 คณะกรรมการบริษัท 11 คณะผู้บริหาร 12 ประวัตคิ ณะกรรมการ ผู้บริหาร และเลขานุการ 24 โครงสร้ างการจัดการ 35 การกํากับดูแลกิจการ 65 ข้ อมูลทั$วไป 68 การวิจัยและพัฒนา 78 นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 88 ลักษณะการประกอบธุรกิจ 115 ข้ อมูลหลักทรั พย์ และผู้ถือหุ้น 122 ความรั บผิดชอบต่ อสังคม 125 รายงานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริหารความเสี$ยง สรรหา และกําหนดค่ าตอบแทน 129 การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี$ยง 134 ปั จจัยความเสี$ยง 143 รายการระหว่ างกัน 155 รายงานความรั บผิดชอบของกรรมการต่ องบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ 156 ข้ อมูลทางการเงิน 164 การวิเคราะห์ และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ 175 งบการเงินปี 2559

ผูล้ งทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริ ษัท ช ทวี จํ ากัด (มหาชน) เพิ#มเติ มได้จาก แบบแสดงรายการข้อมูลประจํ าปี (แบบ56-1) ของบริ ษัททีแ# สดงไว้ใน www.sec.or.th หรื อเว็บไซต์ของบริ ษัทที # www.cho.co.th


2

คําจํากัดความ บริ ษัทฯ หรื อ CTV-CHO CTV-TMT CTV-1993 DOLL ตลาดหลักทรัพย์ฯ สํานักงาน ก.ล.ต. ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) บริ ษัท ช.ทวี เทอร์ โมเทค จํากัด บริ ษัท ขอนแก่น ช.ทวี (1993) จํากัด DOLL Fahrzeugbau GmbH ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ บริ ษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด


3

ขอน้ อมเกล้ าน้ อมกระหม่ อม รําลึกในพระมหากรุ ณาธิคุณหาที$สุดมิได้ และน้ อมถวายความอาลัยแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมมนาถบพิตร


4


5

วิสัยทัศน์ CHO 2023 แกร่ ง กล้ า ต่ าง CHO จะเป็ นผู้นําในการออกแบบ สร้ างสรรค์ ผลิต ผสานเทคโนโลยีระดับโลก เข้ ากับการจัดการอย่าง มืออาชีพ ด้ วยองค์ความรู้ ทีJเป็ นเอกลักษณ์ เพืJอมุ่งสู่ความเป็ นเลิศ สร้ างความเชืJอมันJ ความพึงพอใจต่อลูกค้ า ด้ วยจิตวิญญาณทีJรับผิดชอบต่อสังคม และสิJงแวดล้ อม โดยมีเป้าหมายจะนํา สินค้ า คุณภาพ ภายใต้ Brand CHO สู่ระดับสากล ด้ วยความภาคภูมิใจและสร้ างความสุขแก่ผ้ รู ่ วมงาน เพืJอสร้ างเสริ มอํานาจการแข่งขัน สู่ การเป็ นผู้นําด้ านนวัตกรรมเทคโนโลยี ให้ กบั ประเทศไทย

พันธกิจ • การสร้ างองค์ความรู้ทีJเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะ CHO และพัฒนาบุคลากร • ขยายการรับรู้และความตระหนักใน Brand พร้ อมทังสร้ S างเพิJมความเชืJอมันJ ให้ กบั Brand CHO • ผลิตสินค้ าทีJเป็ นมิตรต่อสิJงแวดล้ อม มีความยังJ ยืน ความปลอดภัย เป็ นมิตรต่อผู้ใช้ ใช้ งาน หลากหลาย • • • •

สร้ างความสุขต่อผู้ร่วมงาน และผู้ทีJเกีJยวข้ อง ศึกษาค้ นคว้ า และพัฒนาเทคโนโลยีใหม่อย่างต่อเนืJอง มีความเป็ นเลิศด้ านการเงิน และการตลาด ได้ รับรางวัล TQA ภายในปี 2018 และได้ รับสิทธิบตั ร/อนุสิทธิบตั ร ไม่น้อยกว่า 5 เรืJ องต่อปี

• สร้ างอัตลักษณ์ของคนพันธุ์ CHO

เอกลักษณ์ C = Creativity to drive innovative developments ความคิดสร้ างสรรค์ ด้ านนวัตกรรม และส่งเสริ มความคิดใหม่ๆ ทีJเป็ นประโยชน์ตอ่ การพัฒนา

H = High Performance Organization under Good Governance องค์กรสมรรถนะสูง มีระบบการบริ หารจัดการภายในทีJดี

O = One of a kind and identity of “CHO” species มีเอกลักษณ์เฉพาะ ตามนิยาม คนพันธุ์ CHO

อัตลักษณ์ "แกร่ง กล้ า ต่าง"

"STRONG, BRAVE AND DIFFERENT"


6

สารจากประธานคณะกรรมการบริษัท ในผลประกอบการปี 2559CHO มีผลการดําเนินงานขาดทุน ซึงJ อาจทําให้ ผ้ ถู ือหุ้นกังวลใจ คณะกรรมการบริ ษัทกังวลใจประเด็นนี S โดยได้ ติดตามแผนการดําเนินงานการควบคุมค่าใช้ จ่าย และผลกระทบต่อ การดําเนินงานมาโดยตลอดทังปี S โดยสรุปสาเหตุได้ ดงั นี S 1. ผลจากการถูกยกเลิกสัญญาการขายรถบัส NGV 489 คัน ให้ กบั องค์ การขนส่งมวลชนกรุ งเทพ (ขสมก.) ซึJงเป็ นประเด็นใหญ่ ทีJทําให้ บริ ษัทฯ ขาด รายได้ ใ นช่ วงเวลาทีJเ ตรี ยมตัว ทํา สัญ ญา ค่าใช้ จ่ ายต่า งๆ ในการทํา สัญ ญา และ ค่าใช้ จ่ายในการฟ้ องศาลปกครอง ซึงJ เรี ยกค่าเสียหายประมาณ 1,500 ล้ านบาท โดย ค่าเสียหายทีJเรี ยกร้ องได้ จะกลั จะกลับมาเป็ นรายได้ ของบริ ษัทฯ 2. ค่าใช้ จ่ายในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ ด้ วยความเป็ นองค์ กร นวัตกรรม ซึงJ ในปี นี Sมีจํานวนโครงการใหญ่ประมาณ 4 โครงการ มากกว่าปี ก่อนๆ 3. ค่าใช้ จ่ายในการทําระบบ ERP โปรแกรม SAP รวมถึงเวลาในการ ดําเนินงาน เพืJอให้ ทนั ใช้ ในปี 2560 ดังนันแผนในปี S 2560 จึงนําผลการทํางานและค่าใช้ จ่ายในปี 2559 มา ดําเนินการ ทําให้ CHO จะมีโครงการต่างๆ ทีJจะสร้ างรายได้ มาทดแทนการลงทุน ดังกล่าว อีก ทังS CHO มี แผนล่ว งหน้ า จนถึ ง ปี 2566 ในการขยายกิ จ การและ ผลิตภัณฑ์ ต่างๆ โดยเฉพาะการขยายศูนย์ซ่อม 24 ชม. ชม ทีJจะทําให้ โครงการสร้ าง รายได้ ของ CHO มันJ คงขึ Sน คณะกรรมการบริ ษัทฯ ผู้บริ หารและพนักงาน ขอขอบคุณผู้ถือหุ้นทีJให้ ความ ไว้ วางใจในการลงทุนใน CHO ด้ วยดีเสมอมา และสัญญาว่าเราจะมุ่งมันJ ทํางานเพืJอ ความเจริ ญก้ าวหน้ าของบริ ษัทฯ ต่อไปและจะตรวจสอบควบคุมต้ นทุนค่าใช้ จ่าย อย่างรัดกุมให้ เป็ นประโยชน์กบั บริ ษัทฯ อย่างทีJสดุ

(นางเพ็ นางเพ็ญพิมล เวศย์วรุตม์) ประธานคณะกรรมการบริ ษัท


7

สารจากกรรมการผู้จดั การใหญ่ และประธานเจ้ าหน้ าที$บริหาร ปี 2559 ทีJผ่านมา ผลประกอบการของทาง CHO ออกมาไม่ดีมากนัก ทําให้ ปรากฏผลการขาดทุนในปี นี S อัน เนืJองมาจากสภาพเศรษฐกิจและผลกระทบของค่าใช้ จ่าย ในโครงการทีJทางบริ ษัทดําเนินการในปี 2558 ซึJงก็ต้องขอโทษผู้ถือ หุ้นทุกท่านมา ณ ทีJนี Sด้ วย ในปี 2560 นี S ทางบริ ษัทฯ มีความมันJ ใจว่าจะไม่มีคา่ ใช้ จ่ายใดๆ มากระทบผลประกอบการแบบเมืJอปี ทีJผา่ นมา โดยใน ปี นี S CHO ได้ เริJ มเปิ ดศูนย์บริ การ “สิบล้ อ ๒๔ ชัวJ โมง” ซึJงเป็ นศูนย์บริ การซ่อมรถเชิงพาณิชย์แบบครบวงจรแห่งแรกในประเทศ ไทยทีJเปิ ดบริ การตลอด 24 ชัJวโมง อีกทังS บริ ษัทฯ ได้ มีการเริJ มใช้ ระบบ ERP ใหม่ เพืJอเพิJมศักยภาพในการควบคุม และ บริ หารงานของบริ ษัทฯ ซึJงระบบ ERP ใหม่ เป็ นระบบ On Cloud มีความคล่องตัว และต่อไปจะเป็ นระบบทีJสง่ เสริ มให้ CHO สามารถขยายงานได้ รวดเร็ วขึ Sน ระบบนี Sเป็ นระบบทีJมีมาตรฐานระดับโลก สามารถสร้ างความมันJ ใจให้ กบั ผู้ถือหุ้นทุกท่าน อย่างทีJทราบบริ ษัทฯ มีสนิ ค้ าทังหมด S 3 กลุม่ ในกลุม่ แรกปี นี Sตังแต่ S ปลายปี 2559 ก็มีการรับคําสังJ ซื Sอมาอย่างต่อเนืJอง ส่วนสินค้ ากลุม่ ทีJ 2 ซึJงส่วนใหญ่จะเป็ นสินค้ าส่งออกของบริ ษัทฯ มีโอกาสขยายตลาดไปยังทวีปอืJนๆ เนืJองด้ วย CHO ได้ บอก เลิกการเป็ นคู่ค้ากับบริ ษัทpartner ในเยอรมัน ด้ วยเหตุผลการดําเนินงาน แนวคิด ทําให้ CHO สามารถนําสินค้ ากลุม่ นี Sขยาย ออกไปยังตลาดอืJนได้ นับได้ วา่ เป็ นโอกาสทีJดีของบริ ษัทฯ สินค้ ากลุม่ ทีJ 3 กลุม่ สุดท้ ายจากการทีJเรามีการทําวิจยั และพัฒนามา อย่างต่อเนืJอง ทําให้ เราสามารถใช้ โครงการ Smart Bus ของจังหวัดขอนแก่น เป็ นสินค้ าขยายไปยังจังหวัดต่างๆ และเริJ มมี หลายจังหวัดให้ ความสนใจ และมาขอดูงาน อันนับเป็ นโอกาสทีJดีของ CHO สุดท้ าย คือเรืJ องบุคลากรของบริ ษัทฯ นอกจากบริ ษัทฯ มีการสร้ างโรงเรี ยนสําหรับอบรมบุคลากร ซึงJ เรี ยกว่า “โรงเรี ยน ช่าง ช ทวี” ไปแล้ วนันS ปี นี Sเรายังได้ เริJ มต้ นโครงการเส้ นทางอาชีพของพนักงานของเรา ซึงJ จะเสริ มสร้ างพนักงานของ CHO ทําให้ มีขวัญ และกําลังใจทีJดีสง่ ผลต่อผลประกอบการของเราต่อไปในอนาคตอีกทางหนึงJ ด้ วย

(นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย) กรรมการผู้จดั การใหญ่และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร


8


9


10

(ประธานคณะกรรมการบริ ประธานคณะกรรมการบริ ษัท) (กรรมการบริ กรรมการบริ ษัท / กรรมการผู้มีอาํ นาจลงนามผูกพันบริ ษัท / ประธานกรรมการบริ หาร / กรรมการผู้จดั การใหญ่และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร / เลขานุการคณะกรรมการบริ ษัท) นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย (กรรมการบริ กรรมการบริ ษัท / กรรมการผู้มีอาํ นาจลงนามผูกพันบริ ษัท/กรรมการบริ กรรมการบริ หาร/ าร นางเพ็ญพิมล เวศย์ วรุ ตม์ นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย

รองกรรมการผู้จดั การใหญ่อาวุโส) ส

นายอนุสรณ์ ธรรมใจ

(กรรมการบริ กรรมการบริ ษัท / กรรมการกํากับดูแลกิจการบริ หารความเสียJ ง สรรหาและกําหนด ค่าตอบแทน / กรรมการบริ หาร) (กรรมการอิ กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ)

นายอาษา ประทีปเสน

(กรรมการอิ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการกํากับดูแลกิจการบริ หารความเสียJ ง

นายศิริวัฒน์ ทวีแสงสกุลไทย

สรรหาและกําหนดค่าตอบแทน) ตอบแทน นายชัชวาล เตรียมวิจารณ์ กุล (กรรมการอิ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสียJ ง สรรหาและกําหนดค่าตอบแทน)


11

1) นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย 2) นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย 3) นางสมนึก แสงอินทร์ 4) นายนิติธร ดีอําไพ 5) นายประสบสุข บุญขวัญ 6) Mr.Seven Markus Gaber 7) นางสาวภัทริ นทร์ อนุกูลอนันต์ชยั 8) นายนพรัตน์ แสงสว่าง 9) นายอภิชยั ชุมศรี 10) นายนิรุติ สุมงคล 11) นายผดุงเดช เอื Sอสุขกุล 12) นายบํารุง ชินสมบัติ 13) นายศักริ นทร์ อุ่นนิJม

(กรรมการผู กรรมการผู้จดั การใหญ่ และประธานเจ้ าหน้ าทีบริ หาร) าร (รองกรรมการผู้จดั การใหญ่อาวุโส) (รองกรรมการผู้จดั การใหญ่) (รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร-การเงิน) (รองประธานเจ้ รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร พัฒนาธุรกิจในประเทศ) ในประเทศ (รองประธานเจ้ รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร การตลาดต่างประเทศ) งประเทศ (รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร - ทัวJ ไป) (รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร - การผลิต) (รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร - ความเสียJ ง) (รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร - ออกแบบวิศวกรรม) วกรรม (รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร - การพัฒนาธุรกิจต่างประเทศ) งประเทศ (รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร - งานบริ การ) (รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร - การตลาดในประเทศ) การตลาดในประเทศ


12

นางเพ็ญพิมล เวศย์ วรุ ตม์

นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย

ประธานคณะกรรมการบริ ษัท

กรรมการบริ ษัท กรรมการผู้มีอาํ นาจลงนามผูกพันบริ ษัท ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้ าหน้ าที$บริ หาร เลขานุการคณะกรรมการบริ ษัท แต่ งตังD เมื$อ :วันทีJ 18 พฤศจิกายน 2537

แต่ งตังD เมื$อ : วันทีJ 2 มกราคม 2556 อายุ: 55 ปี คุณวุฒิการศึกษา : อนุปริ ญญา คณะบัญชี กรุงเทพการการบัญชีวิทยาลัย ประกาศนียบัตร สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการไทย Director Accreditation Program (DAP DAP) SET/2012 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : 0.028% สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุ นิติภาวะ : ไม่มี ประสบการณ์ การทํางาน: 2556 - ปั จจุบนั : ประธานคณะกรรมการบริ ษัท บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน มหาชน) บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2532 – ปั จจุบนั : กรรมการบริ ษัท บางกอก ซีทีวี. อินเตอร์ เทรด จํากัด 2510 – ปั จจุบนั : หุ้นส่วนผู้จดั การ ห้ างหุ้นส่วนจํากัด ตังฮั S วJ ซิงนครปฐม

อายุ: 50 ปี คุณวุฒิการศึกษา : อนุปริ ญญา วิศวกรรมยานยนต์ Yomiuri Rikosem College ประเทศญีJปนุ่ คณะบริ หารธุรกิจ Sanno University ประเทศญีJปนุ่ ประกาศนียบัตร สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการไทย Director Accreditation Program (DAP) รุ่นทีJ 82/2010 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : 41.221% % สัดส่ ดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุนิติ ภาวะ : ไม่มี ประสบการณ์ การทํางาน : 2538 - ปั จจุบนั : กรรมการ / ประธานกรรมการบริ หาร /กรรมการผู้จดั การ ใหญ่และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร 2558 - ปั จจุบนั : เลขานุการคณะกรรมการบริ ษัท บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน มหาชน) บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2548 – ปั จจุบนั : กรรมการ บริ ษัท ช.ทวี ทวี เทอร์ โมเทค จํากัด 2559 – ปั จจุบนั : กรรมการ กิจการร่วมค้ า ทีเอสพี-ซีทีวี 2558 – ปั จจุบนั : ประธานกรรมการ บริ ษัท ขอนแก่นพัฒนาเมือง(เคเคที ง ที) จํากัด กรรมการ กิจการร่วมค้ า เจวีซีซี 2539 – ปั จจุบนั : กรรมการ บริ ษัท เอพีเอส มัสติ-เทรด จํากัด 2533 – ปั จจุบนั : กรรมการ บริ ษัท ขอนแก่น ช.ทวี ช (1993) จํากัด 2520 - ปั จจุบนั : กรรมการ ห้ างหุ้นส่วนจํากัด ขอนแก่น ช.ทวี ช 2482 – ปั จจุบนั : กรรมการ บริ ษัท ทวีแสงไทย จํากัด 2535 – 2558 : กรรมการ บริ ษัท วอลแลพ ทรัค แอนด์ บัส จํากัด


13

นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย กรรมการบริ ษัท กรรมการผู้มีอาํ นาจลงนามผูกพันบริ ษัท กรรมการบริ หาร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ อาวุโส แต่ งตังD เมื$อ :วันทีJ 15 สิงหาคม 2538 อายุ: 62 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาตรี คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ประกาศนียบัตร สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการไทย Director Accreditation Program (DAP) SET/2012 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : 3.326% สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุนิติ ภาวะ : ไม่มี ประสบการณ์ การทํางาน : 2538 – ปั จจุบนั : กรรมการ / กรรมการบริ หาร / รองกรรมการผู้จดั การใหญ่อาวุโส บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2548 – ปั จจุบนั : กรรมการ บริ ษัท ช.ทวี เทอร์ โมเทค จํากัด 2559 – ปั จจุบนั : กรรมการ กิจการร่วมค้ า ทีเอสพี-ซีทีวี 2552 – ปั จจุบนั : กรรมการ บริ ษัท โอเจ ดีเวลอปเมนท์ จํากัด 2535 - ปั จจุบนั : กรรมการ บริ ษัท วอลแลพ ทรัค แอนด์ บัส จํากัด 2532 – ปั จจุบนั : กรรมการ บริ ษัท บางกอก ซีทีวี อินเตอร์ เทรด จํากัด

นายศิริวัฒน์ ทวีแสงสกุลไทย กรรมการบริ ษัท กรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสี$ยง สรรหา และกําหนดค่ าตอบแทน กรรมการบริ หาร แต่ งตังD เมื$อ :วันทีJ 28 กันยายน 2555 อายุ: 38 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาโท Management, Brunel University ปริ ญญาตรี Economics, Rissho University ประกาศนียบัตร สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการไทย Director Accreditation Program (DAP) รุ่นทีJ 82/2010 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : ไม่มี สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุนิติภาวะ : ไม่มี ประสบการณ์ การทํางาน : 2557- ปั จจุบนั : คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสีJยง สรรหาและกําหนดกําหนด ค่าตอบแทน 2555 - ปั จจุบนั : กรรมการ / กรรมการบริ หาร บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2555 - ปั จจุบนั : กรรมการ / ผู้จดั การทัวJ ไป บริ ษัท รวมทวี ขอนแก่น จํากัด 2554 – ปั จจุบนั : กรรมการ บริ ษัท รวมทวีมอเตอร์ เซลล์ จํากัด 2527 – ปั จจุบนั : กรรมการ บริ ษัท ช.รวมทวี ลิสซิJงแอนด์เรี ยล เอสเตท จํากัด


14

นายอนุสรณ์ ธรรมใจ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ แต่ งตังD เมื$อ :วันทีJ 12 ตุลาคม 2555 อายุ: 50 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาเอก เศรษฐศาสตร์ ระหว่างประเทศ การเงินและการพัฒนา Fordham University New York, USA ปริ ญญาโท คณะบริ หารธุรกิจ Southeastern University ปริ ญญาโทคณะเศรษฐศาสตร์ Fordham University New York, USA ปริ ญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะนิติศาสตร์ ภาคบัณฑิต (2 ปี ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประกาศนียบัตร สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการไทย Director Certification Program (DCP) รุ่นทีJ 28/2003 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : ไม่มี สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุนิติ ภาวะ : ไม่มี ประสบการณ์ การทํางาน : 2555 - ปั จจุบนั : กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: 2558 – 2558 : ประธานกรรมคณะการตรวจสอบ 2545 – 2557 : กรรมการตรวจสอบ บริ ษัท บางจากปิ โตรเลียม จํากัด(มหาชน) 2551 - 2554 : กรรมการและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท อสมท จํากัด (มหาชน) กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2557 – ปั จจุบนั : กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ ธนาคารแห่งประเทศไทย 2556 – ปั จจุบนั : รองอธิการบดีฝ่ายวิจยั และบริ การวิชาการ 2550 – ปั จจุบนั : คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 2551 - 2554 : กรรมการบริ หาร กองทุนโทรคมนาคมเพืJอกิจการ สาธารณะ USO 2551 - 2553 : กรรมการและประธานกรรมการบริ หารความเสีJยง ธนาคารเพืJอการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

นายอาษา ประทีปเสน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการกํากั บดู แลกิจการบริ หารความเสี$ย ง สรรหา และกําหนดค่ าตอบแทน แต่ งตังD เมื$อ : วันทีJ 28 กันยายน 2555 อายุ: 56 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาเอก วิศวกรรมศาสตร์ สาขา System Engineering Brunel University, United Kingdom ปริ ญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ สาขา วิศวกรรมเครืJ องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี ปริ ญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขา วิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี ปริ ญญาตรี เศรษฐศาสตร์ สาขา การคลัง มหาวิทยาลัยรามคําแหง ประกาศนียบัตร สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการไทย Monitoring fraud risk management ( MFM) รุ่นทีJ 8/2012 Monitoring the quality of financial report ( MFR) รุ่นทีJ 15/2012 Monitoring the system of internal control and risk management ( MIR) รุ่นทีJ 13/2012 Monitoring the internal audit function ( MIA) รุ่นทีJ 13/2012 Audit committee program ( ACP ) รุ่นทีJ 39/2012 Understanding fundamental financial statement รุ่นทีJ 11/2007 Finance for Non-finance-director ( FND ) รุ่นทีJ 37/2007 Director certification program ( DCP) รุ่นทีJ 94/2007 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : ไม่มี สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุ นิติภาวะ : ไม่มี ประสบการณ์ การทํางาน : 2557-ปั จจุบนั : คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสีJยง สรรหาแลกําหนดค่าตอบแทน 2555 - ปั จจุบนั : กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2557 - ปั จจุบนั : ศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้ าธนบุรี 2535 - 2557 : รองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้ าธนบุรี


15

นายชัชวาล เตรียมวิจารณ์ กุล กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสี$ยง สรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน แต่ งตังD เมื$อ :วันทีJ 5 มีนาคม 2556 อายุ: 52 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต (การเงิน) สถาบันบัณฑิตพัฒน บริ หารศาสตร์ ( นิด้า ) ประกาศนียบัตรบัณฑิตชันสู S ง (การสอบบัญชี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยรามคําแหง ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ประเทศไทย (CPA) ผู้ตรวจสอบภายในของประเทศไทย (CPIAT)CFO Certification Program สภาวิชาชีพบัญชีวฒ ุ ิบตั รกฎหมายภาษี อากร ศาลภาษี อากรกลาง ประกาศนียบัตร สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการไทย How to develop Risk Management ( HRP) รุ่นทีJ 07/2015 Director Certification Program (DCP) รุ่นทีJ 174/2013 Audit Committee Program (ACP) รุ่นทีJ 2/2004 Director Accreditation Program (DAP) รุ่นทีJ 20/2004 อบรมสัมมนากับ IOD และ SET Collective Action Coalition Against Corruption (CAC) CG Forum 1 – 4/2014 CGR Scorecard Workshop Research Alliance Dialogue on Corporate Governance 2014 R-ACF 1/2016 By IOD Ethical Leadership program (ELP) 3/2016 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : ไม่มี สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุนิติ ภาวะ : ไม่มี

ประสบการณ์ การทํางาน : 2557 – ปั จจุบนั : ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสีJยง สรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 2556 – ปั จจุบนั : กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: 2558 – ปั จจุบนั : กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท เอเพ็กซ์ ดีเวลลอปเม้ นท์ จํากัด(มหาชน) 2551 – 2558 : กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 2558 –2558 : กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2547 –2557 : กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท เอแคป แอ๊ ดไวเซอรีJ จํากัด (มหาชน) 2555 - 2557 : รองกรรมการผู้จดั การ บริ ษัท เอเชียซอฟท์ คอร์ ปอเรชันJ จํากัด (มหาชน) 2552 - 2554 : ผู้อํานวยการสายงานการเงิน บริ ษัท ที ที แอนด์ ที จํากัด (มหาชน) กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2557 – ปั จจุบนั : กรรมการผู้จดั การ บริ ษัท สมาร์ ทคอนซัลติ Sง แอนด์ เซอร์ วิสเซส จํากัด 2556 – 2557 : กรรมการบริ ษัท ธิงS ค์พลัส ดิจิตอล จํากัด 2555 – 2557 : กรรมการบริ ษัท เพลย์ไซเบอร์ เกมส์ จํากัด 2551 – 2554 : ทีJปรึกษาทางธุรกิจ (นอกเวลาราชการ) โครงการเสริ มสร้ างผู้ประกอบการใหม่ศนู ย์นวัตกรรมทาง ธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริ หารศาสตร์ (นิด้า)


16

นางสมนึก แสงอินทร์ กรรมการบริ หาร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ แต่ งตังD เมื$อ : 26 พฤศจิกายน 2557 อายุ: 57 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาโท คณะบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ปริ ญญาตรี คณะบริ หารธุรกิจ สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยรามคําแหง Director Accreditation Program (DAP) รุ่นทีJ SEC/2013 Company Secretary Program (CSP) รุ่นทีJ20/2006 Code of Conduct by SET 2007 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : 0.006 % สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุนิติ ภาวะ : ไม่มี ประสบการณ์ การทํางาน : 2557 – ปั จจุบนั : รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ 2557 – ปั จจุบนั : กรรมการบริ หาร บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) 2553 – 2557 : กรรมการบริ หาร รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร-การเงิน บริ ษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด (มหาชน)

นายนิติธร ดีอาํ ไพ กรรมการบริ หาร รองประธานเจ้ าหน้ าที$บริ หาร-การเงิน เลขาคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสี$ยง สรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน แต่ งตังD เมื$อ : 3 เมษายน 2557 อายุ: 47 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาตรี ( บช.บ.) คณะบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ Director Certification Program (DCP) รุ่นทีJ 192/ 2014 Anti-Corruption for Executive Program รุ่นทีJ 3/2014 Anti-Corruption The Practical Guide ACPG 23/2015 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : 0.0006 % สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุนิติ ภาวะ : ไม่มี ประสบการณ์ การทํางาน : 2557 – ปั จจุบนั : กรรมการบริ หาร รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร-การเงิน 2557 – ปั จจุบนั : เลขาคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความ เสีJยง สรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน)

บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2557 - 2557 : อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2557 - 2557 : ผู้อํานวยการฝ่ ายบัญชีการเงิน บริ ษัท บ้ านสวยกรุ๊ป(สุราษฎร์ ธานี) จํากัด

บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2551 – 2556 : ผู้อํานายการฝ่ ายบัญชีและการเงิน บริ ษัท ศูนย์การได้ ยินดีเมด จํากัด


17

นายประสบสุข บุญขวัญ กรรมการบริ หาร รองประธานเจ้ าหน้ าที$บริ หาร-พัฒนาธุรกิจในประเทศ

Mr.Sven Markus Gaber กรรมการบริ หาร รองประธานเจ้ าหน้ าที$บริ หาร-การตลาดต่ างประเทศ

แต่ งตังD เมื$อ :1 มิถนุ ายน 2554 อายุ: 49 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาตรี คณะบริ หารธุรกิจ สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคําแหง

แต่ งตังD เมื$อ :1 มิถนุ ายน 2554 อายุ: 49 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต สาขาวิศวกรรมเครืJ องกล สถาบัน DAA-THCHNIKUM GEMEINNUETZIGE GMBH

สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : 0.001 % สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุนิติ ภาวะ : ไม่มี

สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : ไม่มี สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุนิติ ภาวะ : ไม่มี

ประสบการณ์ การทํางาน : 2555 - ปั จจุบนั : กรรมการบริ หาร 2558 – ปั จจุบนั : รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร-พัฒนาธุรกิจในประเทศ บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) 2554 - 2558 : รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร-การตลาดในประเทศ บริ ษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด (มหาชน)

ประสบการณ์ การทํางาน : 2555 - ปั จจุบนั : กรรมการบริ หาร 2554 - ปั จจุบนั : รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร-การตลาด ต่างประเทศ บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน)

บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี

กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2552 - 2553 : ผู้อํานวยการฝ่ ายขายต่างประเทศ บริ ษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด

กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2558 – ปั จจุบนั : กรรมการบริ ษัท ช.ทวี เทอร์ โมเทค จํากัด 2553 - 2554 : ผู้จดั การฝ่ ายทัวJ ไป 2538 - 2553 : ผู้จดั การฝ่ ายจัดซื Sอบริษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด

บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี


18

นางสาวภัทรินทร์ อนุกูลอนันต์ ชัย กรรมการบริ หาร รองประธานเจ้ าหน้ าที$บริ หาร-ทั$วไป

นายนพรัตน์ แสงสว่ าง กรรมการบริ หาร รองประธานเจ้ าหน้ าที$บริ หาร-การผลิต

แต่ งตังD เมื$อ :1 มิถนุ ายน 2554

แต่ งตังD เมื$อ :1 มิถนุ ายน 2554

อายุ: 60 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาตรี คณะศิลปะศาสตร์ บณ ั ฑิต สาขารัฐศาสตร์

อายุ: 49 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาโท คณะบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ปริ ญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้ าธนบุรี

สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : 0.010% สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุนิติ ภาวะ : ไม่มี ประสบการณ์ การทํางาน : 2555 - ปั จจุบนั : กรรมการบริ หาร 2554 - ปั จจุบนั : รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร-ทัวJ ไป บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2549 - 2554 : ผู้อํานวยการฝ่ ายขาย บริ ษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด

สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : 0.011 % สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุนิติ ภาวะ : ไม่มี ประสบการณ์ การทํางาน : 2555 - ปั จจุบนั : กรรมการบริ หาร 2554 - ปั จจุบนั : รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร-การผลิต บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2559 – ปั จจุบนั : กรรมการ กิจการร่วมค้ า เจวีซีเคเค 2559 – ปั จจุบนั : กรรมการ กิจการร่วมค้ า เจวีโอพีวี 2559 – ปั จจุบนั : กรรมการ กิจการร่วมค้ า เจวีซีซี 2558 – ปั จจุบนั : กรรมการ บริ ษัท ขอนแก่น ช.ทวี (1993) จํากัด 2558 – ปั จจุบนั : กรรมการ บริ ษัท โอเจ ดีเวลอปเมนท์ จํากัด 2541 – 2554 : ผู้จดั การแผนกบริ หารการผลิต บริ ษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด


19

นายอภิชัย ชุมศรี กรรมการบริ หาร รองประธานเจ้ าหน้ าที$บริ หาร-ความเสี$ยง แต่ งตังD เมื$อ :4 มิถนุ ายน 2556 อายุ: 48 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาตรี คณะครุศาสตร์ อตุ สาหกรรมบัณฑิต สาขาวิศวกรรม เชืJอมประกอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต ขอนแก่น ประกาศนียบัตร MINI MBA มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต ศรี ราชา HOW TO DEVELOP A RISK MANAGEMENT PLANHRP 9/2016by IOD กลยุทธการบริ หารความเสีJยง จัดโดยสถาบันเพิJมผลผลิตแห่งชาติ สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : 0.005 % สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุนิติ ภาวะ : ไม่มี ประสบการณ์ การทํางาน : 2556 - ปั จจุบนั : กรรมการบริ หาร 2556 - ปั จจุบนั : รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร ความเสีJยง บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2539 - 2556 : ผู้จดั การแผนกตรวจสอบต้ นทุน บริ ษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด

นายนิรุติ สุมงคล กรรมการบริ หาร รองประธานเจ้ าหน้ าที$บริ หาร-ออกแบบวิศวกรรม แต่ งตังD เมื$อ :4 มิถนุ ายน 2556 อายุ: 51 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาตรี คณะครุศาสตร์ อตุ สาหกรรม วิชาเอกครุศาสตร์ อุตสาหกรรมบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) สาขาไฟฟ้ากําลัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : 0.015 % สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุนิติ ภาวะ : 0.003% ประสบการณ์ การทํางาน : 2556 - ปั จจุบนั : กรรมการบริ หาร 2556 - ปั จจุบนั : รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร ออกแบบวิศวกรรม บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2537 - 2556 : ผู้จดั การแผนกวิศวกรรม บริ ษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด


20

นายผดุงเดช เอือD สุขกุล กรรมการบริ หาร รองประธานเจ้ าหน้ าที$บริ หาร-พัฒนาธุรกิจ

นายบํารุ ง ชินสมบัติ กรรมการบริ หาร รองประธานเจ้ าหน้ าที$บริ หาร – งานบริ การ

แต่ งตังD เมื$อ :21 กรกฎาคม 2558 อายุ:45 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาตรี คณะบริ หารธุรกิจ สาขาบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคําแหง

แต่ งตังD เมื$อ :21 กรกฎาคม 2558 อายุ: 63 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาตรี คณะเศรษฐศาสตร์ สาขาการเงินการคลัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : 0.0006 % สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุนิติ ภาวะ : 0.028%

สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : ไม่มี สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุนิติ ภาวะ : ไม่มี

ประสบการณ์ การทํางาน : 2558 - ปั จจุบนั : กรรมการบริ หาร รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร-พัฒนาธุรกิจ ต่างประเทศ บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน)

ประสบการณ์ การทํางาน : 2558 – ปั จจุบนั : กรรมการบริ หาร รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร-งานบริ การ บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) 2556 – 2558 : ผู้จดั การฝ่ ายขาย-การตลาดในประเทศ บริ ษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด (มหาชน)

บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2557 – 2558 : ผู้จดั การทัวJ ไป 2551 – 2556 : ผู้จดั การทัวJ ไป บริษัท ช.ทวี เทอร์ โมเทค จํากัด 2556 – 2557 : ผู้จดั การศูนย์ซอ่ มบํารุงยานพาหนะ บริ ษัท ลินฟ็ อกซ์ ทรานสปอรต์ (ประเทศไทย) จํากัด

กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2552 - 2556 : ผู้จดั การฝ่ ายขายการตลาดในประเทศ บริ ษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด


21

นายศักรินทร์ อุ่นนิ$ม กรรมการบริ หาร รองประธานเจ้ าหน้ าที$บริ หาร– การตลาดในประเทศ แต่ งตังD เมื$อ :21 กรกฎาคม 2558 อายุ: 47 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ การจัดการการตลาด มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : 0.010 % สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุ นิติภาวะ : ไม่มี ประสบการณ์ การทํางาน : 2558 – ปั จจุบนั : กรรมการบริ หาร รองประธานเจ้ าหน้ าทีบJ ริ หารการตลาดในประเทศ บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) 2556 - 2558 : ผู้จดั การฝ่ ายขายราชการ บริ ษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด (มหาชน) บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2541 - 2556 : ผู้จดั การฝ่ ายขายราชการ บริ ษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด

นางสาวยิ$งหทัย ปอนพังงา เลขานุการบริ ษัท แต่ งตังD เมื$อ :1 มิถนุ ายน 2554 อายุ: 41 ปี คุณวุฒิการศึกษา : ปริ ญญาโท คณะบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปริ ญญาตรี คณะบริ หารธุรกิจ วิชาเอกการบัญชี มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Director Accreditation Program (DAP) รุ่นทีJ SEC/2013 Effective Minute Taking (EMT) รุ่นทีJ 26/2013 Company Secretary Program (CSP) รุ่นทีJ48/2012 สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัท : 0.016 % สัดส่ วนการถือหุ้นในบริ ษัทของคู่สมรสและบุตรที$ยังไม่ บรรลุ นิติภาวะ : ไม่มี ประสบการณ์ การทํางาน : 2556 - ปั จจุบนั : เลขานุการบริษัท 2556 - ปั จจุบนั : เลขานุการ กรรมการผู้จดั การใหญ่และประธาน เจ้ าหน้ าทีJบริ หาร 2556 – ปั จจุบนั : หัวหน้ าพิธีการ นําเข้ า-ส่งออก บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) บริ ษัทจดทะเบียนอื$น: ไม่มี กิจการที$ไม่ ใช่ บริ ษัทจดทะเบียน: 2550 – 2556 : เลขานุการบริษัท 2543 – 2555 : เจ้ าหน้ าทีJธุรการฝ่ ายขายต่างประเทศ บริ ษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด


22

รายละเอียดเกี$ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอาํ นาจควบคุม และเลขานุการบริษัท ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 รายชื$อ กรรมการ นางเพ็ญพิมล เวศย์วรุตม์ นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย นายศิริวฒ ั น์ ทวีแสงสกุลไทย นายอนุสรณ์ ธรรมใจ นายอาษา ประทีปเสน นายชัชวาล เตรี ยมวิจารณ์กลุ ผู้บริ หารระดับสูง นางสมนึก แสงอินทร์ นายนิติธร ดีอําไพ นายประสบสุข บุญขวัญ Mr. Sven Markus Gaber นางสาวภัทริ นทร์ อนุกลู อนันต์ชยั นายนพรัตน์ แสงสว่าง นายอภิชยั ชุมศรี นายนิรุติ สุมงคล นายผดุงเดช เอื Sอสุขกุล นายบํารุ ง ชินสมบัติ นายศักริ นทร์ อุ่นนิJม เลขานุการบริ ษัท นางสาวยิJงหทัย ปอนพังงา

CHO

X /, XX /, // /, // / / / // // // // // // // // // // //

บริ ษัทย่ อย 1

1

2

3

4

5

6

7

บริ ษัทที$เกี$ยวข้ องข้ องกัน 8 9 10 11 12

/ / /

/

/

/

/ /

/

14

15

16

17

18

/

/ /

/ /

/ /

/ /

/ /

/

/

/

/

/

13

/ /

/

/

/

/

/


23

หมายเหตุ X = ประธานกรรมการบริ ษัท / = กรรมการบริ ษัท XX = ประธานกรรมการบริ หาร // = กรรมการบริ หาร CHO = บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน)

บริ ษัทย่ อย 1. บจ. ช.ทวี เทอร์ โมเทค บริ ษัทที$เกี$ยวข้ องกัน 1. บจ.ขอนแก่น ช.ทวี (1993) 2. บจ.วอลแลพ ทรัค แอนด์ บัส 3. ห้ างหุ้นส่วนจํากัด ขอนแก่น ช.ทวี 4. บจ.ช.รวมทวี ลิสซิJงแอนด์เรี ยลเอสเตท 5. บจ.ทวีแสงไทย 6. บจ.บางกอก ซีทีวี.อินเตอร์ เทรด 7. บจ.รวมทวี ขอนแก่น 8. บจ.รวมทวีมอเตอร์ เซลล์ 9. บจ.เอพีเอส มัสติ-เทรด 10. บจ.โอเจ ดีเวลอปเมนท์ 11. หจก. ตังฮั S วJ ซิงนครปฐม 12. บจ. ขอนแก่นพัฒนาเมือง (เคเคทีที) 13. กิจการร่วมค้ า เจวีซีซี 14. กิจการร่วมค้ า ทีเอสพี-ซีทีวี 15. กิจการร่วมค้ า เจวีซีอี 16. กิจการร่วมค้ า เลคิเซ่ แอนด์ ช.ทวี 17. กิจการร่วมค้ า เจวีซีเคเค 18. กิจการร่วมค้ า เจวีโอพีวี


24


25

7. โครงสร้ างการจัดการ โครงสร้ างการจัดการของบริ ษัทฯ ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 ประกอบด้ วยคณะกรรมการทังหมด S 4 ชุด ได้ แก่ คณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสียJ ง สรรหาและกําหนด ค่าตอบแทน คณะกรรมการบริ หาร และ คณะกรรมการ CSR ดังรายละเอียดต่อไปนี S

7.1 คณะกรรมการ 7.1.1 คณะกรรมการบริษัท ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯ มีคณะกรรมการบริ ษัทจํานวน 7 คน ประกอบด้ วย รายชื$อ

ตําแหน่ ง

1. นางเพ็ญพิมล เวศย์วรุตม์

ประธานกรรมการ

2. นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย

กรรมการ

3. นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย

กรรมการ

4. นายศิริวฒ ั น์ ทวีแสงสกุลไทย

กรรมการ

5. นายอนุสรณ์ ธรรมใจ

กรรมการอิสระ /ประธานกรรมการตรวจสอบ

6. นายอาษา ประทีปเสน

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

7. นายชัชวาล เตรี ยมวิจารณ์กลุ

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ


26

โดยมีนายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย เป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริษัท กรรมการผู้มีอาํ นาจลงลายมือชืJอแทนบริ ษัท : นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย และนางสาวอัศนา ทวีแสงสกุล ไทย ลงลายมือชืJอร่วมกัน และประทับตราสําคัญของบริษัท ข้ อจํากัดอํานาจของกรรมการ

: ไม่มี

7.1.2 คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯ มีคณะกรรมการตรวจสอบ จํานวน 3 คน ประกอบด้ วย รายชื$อ

ตําแหน่ ง

1. นายอนุสรณ์

ธรรมใจ

ประธานกรรมการตรวจสอบ

2. นายอาษา

ประทีปเสน

กรรมการตรวจสอบ

3. นายชัชวาล

เตรี ยมวิจารณ์กลุ

กรรมการตรวจสอบ

หมายเหตุ: กรรมการตรวจสอบผู้มีความรู้ประสบการณ์ ในการสอบทานความน่าเชื อ# ถื อของงบการเงิ น คื อ นายชัชวาล เตรี ยม วิ จารณ์ กลุ ซึ# งจบการศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิ ตชัน8 สูง (การสอบบัญชี) จากจุฬาลงกรณ์ มหาวิ ทยาลัย และปริ ญญา ตรี บริ หารธุรกิ จบัณฑิ ต (การบัญชี) จากมหาวิ ทยาลัยรามคําแหง

โดยมีนางอัปสร สุริยาเป็ นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ 7.1.3 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริหารความเสี$ยง สรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน มติทีJประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครังS ทีJ 6/2557 เมืJอวันทีJ 21 ธันวาคม 2557 ได้ พิจารณาแต่งตังคณะกรรมการ S กํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสียJ ง สรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ( คณะกรรมการฯ ) ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 มี คณะกรรมการฯ จํานวน 3 คน ประกอบด้ วย รายชื$อ ตําแหน่ ง 1. นายชัชวาล

เตรี ยมวิจารณ์กลุ

ประธานคณะกรรมการ

2. นายอาษา

ประทีปเสน

กรรมการ

3. นายศิริวฒ ั น์ ทวีแสงสกุลไทย

กรรมการ

โดยมี นายนิติธร ดีอําไพเป็ นเลขานุการคณะกรรมการฯ สถิติการเข้ าประชุมของกรรมการบริ ษัท ปี 2557-2559 ปี 2557 รายชืJอคณะกรรมการ 1. นางเพ็ญพิมล เวศย์วรุ ตม์

ปี 2558

ปี 2559

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กํากับดูแล ตรวจสอบ กํากับดูแล ตรวจสอบ กํากับดูแล บริ ษัท ตรวจสอบ บริ ษัท บริ ษัท กิจการฯ กิจการฯ กิจการฯ

5/6

--

--

12/13

--

--

6/6

--

--


27

2. นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย 3. นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย 4. นายศิริวฒ ั น์ ทวีแสงสกุลไทย 5. นายอนุสรณ์ ธรรมใจ 6. นายอาษา ประทีปเสน 7. นายชัชวาล เตรี ยมวิจารณ์กลุ

6/6

--

--

12/13

--

--

6/6

--

--

5/6

--

--

11/13

--

--

6/6

--

--

5/6

--

1/1

7/13

--

5/5

6/6

--

5/5

6/6

9/9

--

13/13

11/11

--

6/6

9/9

--

6/6

9/9

1/1

11/13

9/11

5/5

6/6

9/9

5/5

6/6

9/9

1/1

13/13

11/11

5/5

6/6

9/9

5/5

7.1.4 คณะกรรมการบริหาร ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯ มีกรรมการบริ หาร จํานวน 14 คน ประกอบด้ วย รายชื$อ

ตําแหน่ ง

1. นายสุรเดช

ทวีแสงสกุลไทย

ประธานกรรมการบริ หาร

2. นางสาวอัศนา

ทวีแสงสกุลไทย

กรรมการบริ หาร

3. นายศิริวฒ ั น์

ทวีแสงสกุลไทย

กรรมการบริ หาร

4. นางสมนึก

แสงอินทร์

กรรมการบริ หาร

5. นายนิติธร

ดีอําไพ

กรรมการบริ หาร

6. นายประสบสุข บุญขวัญ

กรรมการบริ หาร

7. Mr.Sven Markus Gaber

กรรมการบริ หาร

8. นางสาวภัทริ นทร์ อนุกลู อนันต์ชยั

กรรมการบริ หาร

9. นายนพรัตน์

แสงสว่าง

กรรมการบริ หาร

10. นายอภิชยั

ชุมศรี

กรรมการบริ หาร

11. นายนิรุติ

สุมงคล

กรรมการบริ หาร

12. นายผดุงเดช

เอื Sอสุขกุล

กรรมการบริ หาร

13. นายบํารุง

ชินสมบัติ

กรรมการบริ หาร

14. นายศักริ นทร์

อุน่ นิJม

กรรมการบริ หาร

โดยมี นางสาวธัญญภัสร์ น้ อยประชา เป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริ หาร


28

หมายเหตุ: ทีป# ระชุมคณะกรรมการบริ หาร ครัง8 ที # 12/2559 เมื #อวันที # 30 ธันวาคม 2559 มี มติ แต่งตัง8 นายฉัตรชัย กันตวิ รุฒ และทีป# ระชุมคณะกรรมการบริ ษทั รับทราบในทีป# ระชุม ครัง8 ที # 1/2560 เมื #อวันที # 20 มกราคม 2560 โดยมี ผลให้ เป็ นกรรมการบริ หารเมื #อวันที # 1 มกราคม 2560 แทนนายทศพล ผลิ ตาภรณ์ ทีพ# น้ จากตําแหน่งเมื #อวันที # 20 ตุลาคม 2559 โดยการลาออกจากบริ ษัท 7.1.5

คณะกรรมการที$ลาออกระหว่ างปี 2559 รายชื$อ ตําแหน่ ง

นายทศพล ผลิตาภรณ์ กรรมการบริ หาร

ระยะเวลาดํารงตําแหน่ ง 21 มิ.ย. 2559 – 20 ต.ค. 2559

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – ด้ านศักยภาพองค์กร

7.2 ผู้บริหาร คณะผู้บริหารของบริษัท ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯ มีผ้ บู ริ หาร จํานวน 13 คน ประกอบด้ วย รายชื$อ

ตําแหน่ ง

1. นายสุรเดช

ทวีแสงสกุลไทย

กรรมการผู้จดั การใหญ่ และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร

2. นางสาวอัศนา

ทวีแสงสกุลไทย

รองกรรมการผู้จดั การใหญ่อาวุโส

3. นางสมนึก

แสงอินทร์

รองกรรมการผู้จดั การใหญ่

4. นายนิติธร

ดีอําไพ

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – การเงิน

5. นายประสบสุข

บุญขวัญ

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – พัฒนาธุรกิจในประเทศ

6. Mr.Sven Markus Gaber

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร - การตลาดต่างประเทศ

7. นางสาวภัทริ นทร์ อนุกลู อนันต์ชยั

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – ทัวJ ไป

8. นายนพรัตน์

แสงสว่าง

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – การผลิต

9. นายอภิชยั

ชุมศรี

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – ความเสียJ ง

10. นายนิรุติ

สุมงคล

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – ออกแบบวิศวกรรม

11. นายผดุงเดช

เอื Sอสุขกุล

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – การพัฒนาธุรกิจต่างประเทศ

12. นายบํารุง

ชินสมบัติ

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – งานบริ การ

13. นายศักริ นทร์

อุน่ นิJม

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – การตลาดในประเทศ


29

หมายเหตุ := ทีป# ระชุมคณะกรรมการบริ หาร ครั8งที # 12/2559 เมื #อวันที # 30 ธันวาคม 2559 มี มติ แต่งตัง8 นายฉัตรชัย กันตวิ รุฒ และ ทีป# ระชุมคณะกรรมการบริ ษัทรับทราบในทีป# ระชุม ครั8งที # 1/2560 เมื #อวันที # 20 มกราคม 2560 โดยมี ผลให้เป็ น กรรมการบริ หารเมื #อวันที # 1 มกราคม 2560 แทนนายทศพล ผลิ ตาภรณ์ ทีพ# น้ จากตําแหน่งเมื #อวันที # 20 ตุลาคม 2559 โดยการลาออกจากบริ ษัท

7.3

เลขานุการบริษัท

คณะกรรมการบริ ษัทได้ มีมติแต่งตังนางสาวยิ S Jงหทัย ปอนพังงา ดํารงตําแหน่งเป็ นเลขานุการบริ ษัท เพืJอทําหน้ าทีJ ประสานงานจั ด การประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และจั ด การประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น รวมทังS จั ด ทํ า รายงานการประชุ ม คณะกรรมการ รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น ตลอดจนจัดเก็ บ เอกสารตามทีJกฎหมายกํ าหนด โดยเลขานุก ารบริ ษัท ทีJ คณะกรรมการแต่ง ตังS ขึนS เป็ นผู้ทีJ ค ณะกรรมการเห็ น ว่า มี ค วามเหมาะสม มี ค วามรู้ ความสามารถในการบริ ห ารงาน เลขานุการบริ ษัท

7.4 คณะกรรมการ CSR(Corporate Social Responsibility) 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯ มีจํานวนคณะกรรมการ CSR (Corporate Social Responsibility) ดังต่อไปนี S นายผาด พิมริ นทร์ ผู้จดั การแผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ รักษาการผู้จดั การ CSR และ ประธานฝ่ าย กิจกรรมสังคมและชุมชน นายอภิชยั ชุมศรี รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร-ความเสียJ ง ทีJปรึกษา กรรมการ นายประวิทย์ สระภูมิ ผู้จดั การแผนกความปลอดภัย ประธานฝ่ ายสิงJ แวดล้ อม นายวิญŽู อินทร์ โก ผู้จดั การแผนกขายในประเทศ ประธานฝ่ ายกิจกรรมพิเศษ นายกิตติ•พิสธิ ญาณกิตตินกุ ลู ผู้จดั การแผนกการศึกษาและฝึ กอบรม ประธานฝ่ าย HAPPY WORK PLACE นางสาววณิชยา จันทร์ โสม ผู้ช่วยผู้จดั การแผนก QMR เป็ นเลขานุการ CSR และกรรมการอีก 11 คนและทีมทํางานอีกกว่า 30 คน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

หน้ าที$ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ CSR รับนโยบาย วางแผน กําหนดงบประมาณ และกํากับดูแล การทํากิจกรรม CSR ตามแผนงาน เป็ นผู้พิจารณาคัดเลือกคณะทํางานแต่ละฝ่ ายเสนอกรรมการผู้จดั การใหญ่และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร แต่งตังS กําหนดยุทธศาสตร์ และนโยบายการทํา CSR ในแต่ละฝ่ าย ควบคุมและติดตามผลการทํางาน CSR ในแต่ละฝ่ าย ตรวจสอบและลงนามในเอกสารทีJเกีJยวข้ องกับการทํางาน CSR ออกระเบียบปฏิบตั ิทีJเกีJยวข้ องกับ CSR ในฝ่ ายต่างๆ ตรวจสอบผลลัพธ์และจัดทําตัวชี Sวัดตามเกณฑ์ทีJกําหนดโดยมาตรฐานการทํา CSR สากล


30

7.5 ค่ าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร ทีJ ป ระชุ ม สามัญ ผู้ถื อ หุ้น ประจํ า ปี 2559 เมืJ อ วัน ทีJ 21เมษายน ค่าตอบแทนให้ แก่คณะกรรมการคณะต่างๆ ดังนี S

2559 มี ม ติ อ นุมัติ ห ลัก การในการกํ า หนด

ค่ าตอบแทนที$เป็ นตัวเงิน ก) ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริ ษัท และคณะกรรมการตรวจสอบ เบี Sยประชุม: แต่ทงนี ั S Sไม่เกิน 1,700,000 บาท แบ่งเป็ นดังนี S - ประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ 12,500 บ า ท ต่ อ ก า ร ประชุม - กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ 10,000 บ า ท ต่ อ ก า ร ประชุม ค่าตอบแทนรายเดือนกรรมการ : ค่าตอบแทนรายเดือนกรรมการตรวจสอบ: ค่าตอบแทนรายเดือนเฉพาะกรรมการตรวจสอบ ประจําปี 2559 แบ่งเป็ นดังนี S - ประธานกรรมการตรวจสอบ 12,500 บาท/เดือน/คน - กรรมการตรวจสอบ 10,000 บาท/เดือน/คน

7.5.1

คณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสียJ ง สรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

ค่ าตอบแทน/รายเดือน (บาท) -ไม่มี390,000 -ไม่มี-

ค่าตอบแทนรายปี (เงินโบนัส): เงินโบนัสสําหรับคณะกรรมการบริ ษัทประจําปี 2559 ทีJประชุมผู้ถือ หุ้นอนุมตั ิไว้ ไม่เกิน 4,000,000 บาท โดยให้ อํานาจประธานกรรมการบริ ษัทเป็ นผู้พิจารณาจัดสรร ให้ แก่กรรมการแต่ละคน ข) ค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการและคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสียJ ง สรรหา และกําหนด ค่าตอบแทน เบี Sยประชุม: (ไม่รวมผู้ทีJดํารงตําแหน่งเป็ นผู้บริ หารบริ ษัท) - ประธานคณะอนุกรรมการ 10,000 บาทต่อการประชุม - กรรมการทีJเป็ นสมาชิกของคณะอนุกรรมการ 8,000 บาทต่อการประชุม


31

สรุปค่าตอบแทนกรรมการปี 2558-2559 รายชื$อคณะกรรมการ 1. นางเพ็ญพิมล เวศย์วรุ ตม์ 2. นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย 3. นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย 4. นายศิริวฒ ั น์ ทวีแสงสกุลไทย 5. นายอนุสรณ์ ธรรมใจ

ปี 2558 ปี 2559 รวม คณะกรรมการ เงินโบนัส คณะกรรมการ เงินโบนัส รวม กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กํากับดูแล กรรมการ กํากับดูแล กรรมการ บริ ษัท ตรวจสอบ บริ ษัท ตรวจสอบ กิจการฯ กิจการฯ 150,000 --358,600 508,600 75,000 --100,000 175,000 120,000

--

--

286,900 406,900

60,000

--

--

105,000 165,000

110,000

--

--

286,900 396,900

60,000

--

--

81,000

141,000

70,000

--

40,000

286,900 396,900

60,000

--

40,000

59,000

159,000

--

428,000 695,500

60,000

112,500

--

126,000 298,500

130,000 137,500

6. นายอาษา ประทีปเสน

110,000

90,000

40,000

399,700 639,700

60,000

90,000

40,000

108,000 298,000

7. นายชัชวาล เตรี ยมวิจารณ์กลุ

130,000 110,000

50,000

399,700 689,700

60,000

90,000

50,000

135,000 335,000

ค) ค่าตอบแทนผู้บริ หาร บริ ษัทฯ จ่ายค่าตอบแทนผู้บริ หารในรู ปแบบเงินเดือน โบนัส และสวัสดิการต่างๆ อาทิ เงินสมทบกองทุน สํารองเลี Sยงชีพ เงินสมทบสหกรณ์ออมทรัพย์ ผลประโยชน์การออกจากงาน เป็ นต้ น (ไม่รวมค่าตอบแทนทีJได้ รับในฐานะ กรรมการ) โดยมีรายละเอียดดังนี S ค่ าตอบแทนผู้บริหาร เงินเดือน โบนัส สวัสดิการ อาทิ เงินสมทบกองทุนสํารองเลี Sยงชีพ เงิน สมทบสหกรณ์ออมทรัพย์ ผลประโยชน์พนักงานหลังออก จากงาน เป็ นต้ น รวม

ปี 2557 จํานวน จํานวนเงิน (คน) (ล้ านบาท) 11 9.94 11 0.77 11

0.90

14

0.60

11

11.61

14

14.36

ค่ าตอบแทนอื$น (ก) ค่าตอบแทนอืJนของคณะกรรมการ - การประกันภัยความเสียJ งของกรรมการวงเงิน 50 ล้ านบาท (ข) ค่าตอบแทนอืJนของคณะอนุกรรมการ - ไม่มี – (ค) ค่าตอบแทนอืJนของผู้บริ หาร

7.5.2

ปี 2558 ปี 2559 จํานวน จํานวนเงิน จํานวน จํานวนเงิน (คน) (ล้ านบาท) (คน) (ล้ านบาท) 14 12.45 14 14.42 14 1.31 13 0.95 14

0.84

14

16.21


32 • เงินกองทุนสํารองเลี Sยงชีพ : บริ ษัทฯ ได้ จดั ให้ มีกองทุนสํารองเลี SยงชีพเมืJอวันทีJ 26 พฤศจิกายน 2555 โดย

บริ ษัทฯ ได้ สมทบในอัตราส่วนร้ อยละ 2 ของเงินเดือน โดยในปี 2558 บริ ษัทฯได้ จ่ายเงินสมทบกองทุน สํารองเลี Sยงชีพสําหรับผู้บริ หาร 14 ราย รวมทังสิ S Sน 0.00 บาท เนืJองจากผู้บริ หารสมัครเป็ นสมาชิกเฉพาะ สหกรณ์ออมทรัพย์ S • เงินสมทบสหกรณ์ออมทรัพย์ : บริ ษัทฯ ได้ จดั ให้ มีสหกรณ์ออมทรัพย์ เพืJอเป็ นสวัสดิการพนักงาน ตังแต่ ปี 2547 โดยบริ ษัทฯ ได้ สมทบในอัตราส่วนคงทีJของแต่ละช่วงของเงินเดือนประมาณร้ อยละ 0.10 โดยใน S Sน 90,000 บาท ปี 2559 บริ ษัทฯ ได้ จ่ายเงินสมทบสหกรณ์ ออมทรัพย์สําหรับผู้บริ หาร 14 ราย รวมทังสิ (ข้ อมูลแสดงรวมในตารางค่าตอบแทนผู้บริ หารแล้ ว) • ผลตอบแทนทีJไม่ใช่ตวั เงินของประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร คือรถประจําตําแหน่ง 1 คัน และพนักงานขับรถ

จํานวน 1 คน

7.6 บุคลากร 7.6.1 จํานวนพนักงาน (ไม่ รวมผู้บริหาร) ในปี 2557-2559บริ ษัทมีจํานวนบุคลากรตําแหน่งต่างๆ ดังต่อไปนี S จํานวนพนักงาน (คน) ณ 31 ธ.ค. 2557 ณ 31 ธ.ค. 2558 ณ 31 ธ.ค. 2559 1. พนักงานประจํา - ฝ่ ายการเงิน และบริ หารเงิน - ฝ่ ายการตลาดในประเทศ - ฝ่ ายการตลาดต่างประเทศ - ฝ่ ายทัวJ ไป - ฝ่ ายการผลิต - ฝ่ ายตรวจสอบภายใน 2. พนักงานรายวัน รวม

12 13 3 235 303 3 -569

12 14 5 287 338 4 -660

20 9 7 192 440 4 -672

7.6.2 ผลตอบแทนรวมของพนักงาน ลูกจ้ างบริษัท และลักษณะผลตอบแทน (หน่วย : ล้ านบาท)

ค่ าตอบแทนของพนักงานประจํา ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ในรู ปเงินเดือน ค่าทํางานล่วงเวลา โบนัส 127.51 155.02 156.12 /1 คอมมิชชันJ และเงินสมทบกองทุนสํารองเลี Sยงชีพ รวม 127.51 155.02 156.12 หมายเหตุ : /1 = บริ ษัทมีข้อกําหนดในการจ่ายค่าคอมมิชชันJ ให้ พนักงานฝ่ ายขายทุกคน โดยวิธีการคํานวณจะขึ Sนกับ ข้ อตกลงทีJทําไว้ กบั บริ ษัท ซึงJ บริ ษัทฯ จะจ่ายค่าคอมมิชชันJ เข้ าบัญชีเงินเดือนให้ ทกุ งวดสิ Sนเดือน


33

ค่ าตอบแทนและสวัสดิการพนักงาน บริ ษัทฯ จัดให้ มีสวัสดิการทีJเหมาะแก่พนักงานมากกว่าทีJกฎหมายกําหนด และสอดคล้ องกับสภาพสังคม และ เศรษฐกิจเช่นโบนัสค่าคอมมิชชันJ กองทุนสํารองเลี Sยงชีพสวัสดิการรักษาพยาบาลสวัสดิการเงินช่วยเหลือพนักงานทีJพกิ าร ชุดทํางานประกันสังคมห้ องแพทย์ช่วยเหลือเงินกู้ไม่มดี อกเบี Sย ข้ าวกลางวันแจกฟรี สหกรณ์ออมทรัพย์บริ ษัทสมทบให้ 100% เป็ นต้ น 7.6.3 นโยบายในการพัฒนาบุคลากร บริ ษัทฯ มีการกําหนดนโยบายเกีJยวกับการพัฒนาบุคลากรของบริ ษัทฯ อย่างต่อเนืJอง โดยเน้ นการส่งเสริ ม และ การให้ ความรู้เพืJอพัฒนาความสามารถให้ แก่บคุ ลากรของบริ ษัทฯ โดยการจัดให้ มีการฝึ กอบรมภายในบริ ษัทฯ และจัดส่ง พนักงานเข้ ารับการอบรมกับหน่วยงานต่างๆ ทังหน่ S วยงานราชการและเอกชน ควบคู่ไปกับการเรี ยนรู้ จากการปฏิบตั ิงาน จริ งภายใต้ การควบคุมดูแล และคําแนะนําจากผู้บงั คับบัญชา โดยในการปฏิบตั ิงาน บริ ษัทฯ ได้ กําหนดให้ มีการเวียนการ ทํางานของบุคลากรในแต่ละโครงการ เพืJอให้ บุคลากรของบริ ษัทฯ ได้ เรี ยนรู้ งานทีJหลากหลายและกว้ างมากขึ Sน อีกทังยั S ง เป็ นการเพิJมทักษะความรู้ และความชํานาญในการทํางานให้ กบั บุคลากรของบริ ษัทฯ อีกด้ วย การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ บริ ษัทฯ กําหนดให้ กรรมการทีJเข้ าใหม่ต้องมีการปฐมนิเทศ ประกอบด้ วยการเข้ ารับฟั งการบรรยายสรุ ปเกีJยวกับ ลักษณะธุรกิจ ข้ อมูลธุรกิจ การดําเนินงานของบริ ษัทฯ กฎระเบียบ และได้ รับคู่มือและเอกสารทีJเกีJยวข้ องกับการปฏิบตั ิ หน้ าทีJของกรรมการประกอบด้ วย คู่มือจรรยาบรรณธุรกิจ ข้ อบังคับบริ ษัท รายงานประจําปี คู่มือข้ อบังคับเกีJยวกับการ ทํางาน/นโยบายต่อต้ านคอร์ รัปชันJ และคูม่ ืออืJนทีJเกีJยวข้ องกับการปฏิบตั ิงานของกรรมการ การฝึ กอบรมของคณะกรรมการบริษัท และกรรมการบริหาร บริ ษัทฯได้ สนับสนุนให้ คณะกรรมการบริ ษัท ได้ ศึกษา และอบรมเพิJมเติมเพืJอเพิJมพูนความรู้ ความเข้ าใจถึง หลักการของการกํ ากับดูแลกิ จการทีJดี กฎเกณฑ์ กฎระเบียบตลอดจน บทบาท และหน้ าทีJของกรรมการบริ ษัท ในการ บริ หารงานให้ มีประสิทธิภาพ และมีจรรยาบรรณซึงJ ในปี 2559 นี Sมีกรรมการเข้ าอบรม/สัมมนาหลักสูตรของสมาคมส่งเสริ ม สถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) ดังนี S กรรมการบริษัท/ กรรมการบริหาร

หลักสูตรของ IOD ปี 2559

1. นายชัชวาล เตรี ยมวิจารณ์กลุ

• R-ACF 1/2016 By IOD • Ethical Leadership program (ELP) 3/2016

2. นายอภิชยั ชุมศรี

• HOW TO DEVELOP A RISK MANAGEMENT PLANHRP 9/2016by IOD

รวมจํานวน 2 คนตามลําดับจากทังหมด S 19 คน(คณะกรรมการบริ ษัท และกรรมการบริ หาร) อีกทังบริ S ษัทฯ ยังได้ ดําเนินการสมัครสมาชิก IOD ให้ กรรมการเพืJอประโยชน์ในการรับรู้ขา่ วสาร และเพิมJ เติมความรู้


34

(ชังJ โมง : คน) จํานวนชั$วโมงการฝึ กอบรม ภายนอก – ภายในบริษัท (เฉลี$ยต่ อคนต่ อปี ) ผู้บริ หารระดับสูง ระดับผู้จดั การแผนก ระดับพนักงาน รวม

ปี 2557

ปี 2558

51.625 55.238 11.99 118.853

31.36 50.76 12.61 94.73

ปี 2559 55.33 72.36 18.35 146.04

นอกจากนี S บริ ษัทยังให้ ความสําคัญกับการสร้ างขวัญ และกําลังใจให้ กบั บุคลากรของบริ ษัท โดยการพิจารณา ปรับปรุงการพัฒนาบุคลากรของบริ ษัทฯ อย่างต่อเนืJอง และเหมาะสมโดยมีค่าใช้ จ่ายเกีJยวกับการฝึ กอบรมภายนอก และ ภายในบริ ษัทฯ รวม 21.94 ล้ านบาท รายละเอียดเปรี ยบเทียบค่าใช้ จ่าย 3 ปี ตามข้ อมูลในตารางข้ างล่างนี S

ค่ าตอบแทนของพนักงานประจํา ค่าฝึ กอบรมภายนอก - ภายในบริ ษัท รวม

ปี 2557 3.78 3.78

(หน่วย : ล้ านบาท) ปี 2558 ปี 2559 13.61 21.94 13.61 21.94


35


36

8. การกํากับดูแลกิจการ 8.1 นโยบายการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริ ษัทคํานึงถึงความสําคัญของนโยบายเกีJยวกับการกํากับดูแลกิจการทีJดี (The Principles of Good Corporate Governance) โดยกําหนดเป็ นนโยบายเพืJอให้ การดําเนินธุรกิจบริ ษัทมีการกํากับดูแลกิจการทีJโปร่ งใส สามารถตรวจสอบได้ และเพิJม ความเชืJ อมัJนให้ แก่ผ้ ูล งทุน บริ ษัทจะเปิ ดเผยข้ อมูลให้ กับสาธารณะและผู้ถือ หุ้นอย่า ง สมํJาเสมอ นอกจากนี Sบริ ษัทฯ ยังให้ ความสําคัญต่อระบบการควบคุม และตรวจสอบภายใน ส่วนการบริ หารความเสีJยง บริ ษัทฯ พยายามควบคุมและบริ หารความเสียJ งอย่างใกล้ ชิด และคํานึงถึงเรืJ องจริ ยธรรมในการดําเนินธุรกิจ โดยดํารงไว้ ซึJง ความเป็ นธรรมต่อคูค่ ้ า ผู้ถือหุ้น และผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียทุกๆ กลุม่ ซึงJ มีสาระสําคัญแบ่งออกเป็ น 5 หมวดดังนี S หมวดที$ 1: สิทธิของผู้ถอื หุ้น (Rights of Shareholders) คณะกรรมการบริ ษัทให้ ความสําคัญกับสิทธิของผู้ถือหุ้นทุกๆ คนอย่างเท่าเทียม โดยไม่กระทําการใดๆ อันเป็ น การละเมิดหรื อการรอนสิทธิ ของผู้ถือหุ้น รวมถึงได้ อํานวยความสะดวกแก่ผ้ ูถือหุ้นในการใช้ สิทธิ ต่างๆ และได้ กําหนด แนวทางปฏิบตั ิเพืJอสร้ างความมันJ ใจว่าผู้ถือหุ้นจะได้ รับการคุ้มครองสิทธิขนพื ั S Sนฐาน ดังนี S 1) บริ ษัทฯ จะแจ้ งให้ ผ้ ถู ือหุ้นทุกคนทราบถึงความคืบหน้ าการดําเนินงานของกิจการอย่างสมํJาเสมอ โดยการ แจ้ งให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบโดยตรง หรื อผ่านทางตลาดหลักทรัพย์ฯ 2) การจัดประชุมผู้ถือหุ้น บริ ษัทฯ จะเลือกใช้ และจัดเตรี ยมสถานทีJทีJสามารถเดินทางไปได้ สะดวก ในทีJ ประชุมเปิ ดโอกาสให้ ซกั ถาม ตอบคําถาม บันทึกข้ อซักถาม การอํานวยความสะดวกเรืJ องการมอบฉันทะ รวมถึงเลือกวันและเวลาทีJเหมาะสม 3) บริ ษัทฯ จะจัดส่งหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นพร้ อมทังS ข้ อมูลประกอบการประชุมตามวาระต่างๆ อย่าง เพียงพอสําหรั บการพิจารณา ทังS ฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษให้ ผ้ ูถือหุ้นทราบล่วงหน้ าก่อนวัน ประชุมไม่น้อยกว่า 7 วัน หรื อ 14 วัน ซึJงเป็ นไปตามข้ อบังคับของบริ ษัท และ/หรื อตามทีJกฎหมายกําหนด และกําหนดให้ มีความเห็นของคณะกรรมการประกอบในการพิจารณาลงมติของผู้ถือหุ้นในทุกๆ วาระการ ประชุม รวมถึงกําหนดให้ มีความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบประกอบในวาระสําคัญๆ หรื อตามทีJ กฎหมายกําหนด 4) ก่อนเริJ มการประชุมผู้ถือหุ้น บริ ษัทฯ ได้ ถือปฏิบตั ิให้ มีการแถลงแก่ผ้ ถู ือหุ้นให้ ทราบถึงสิทธิตามข้ อบังคับ ของบริ ษัท การดําเนินการประชุม วิธีการใช้ สิทธิลงคะแนน และสิทธิในการแสดงความเห็นรวมทังการตั S งS คําถามใดๆ ต่อทีJประชุมตามระเบียบวาระการประชุม โดยประธานทีJประชุม กรรมการ และกรรมการทีJ ดํารงตําแหน่งเฉพาะเรืJ องต่างๆ ได้ เข้ าร่ วมประชุมเพืJอให้ ข้อมูล และตอบข้ อซักถามต่างๆ ทังนี S S ประธาน กรรมการหรื อประธานทีJประชุมจะจัดสรรเวลาให้ อย่างเหมาะสม โดยจะกําหนดเวลาในการประชุมให้ ผ้ ถู ือ หุ้นได้ มีโอกาสสอบถามหรื อแสดงความเห็น และข้ อเสนอแนะต่างๆ ได้ อย่างเต็มทีJ 5) หลังเสร็ จสิ Sนการประชุมผู้ถือหุ้น บริ ษัทฯ จะแจ้ งมติทีJประชุมผู้ถือหุ้นต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยทันทีก่อน ตลาดหลักทรัพย์ฯ เปิ ดทําการซื Sอขายหลักทรัพย์รอบถัดไป และบริ ษัทฯ จะมีการบันทึกการประชุมผู้ถือหุ้น ทุกครังS โดยมีเนื SอหาทีJประชุมถูกต้ อง ครบถ้ วน รวมถึงรายละเอียดกรรมการทีJเข้ าร่ วมประชุม การแจง


37

คะแนนนับทุกๆ วาระ และข้ อซักถาม หรื อข้ อคิดเห็นทีJสาํ คัญ เป็ นต้ น เพืJอให้ ผ้ ถู ือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ โดยจะจัดส่งไปยังตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายใน 14 วันนับจากวันทีJประชุมผู้ถือหุ้น หมวดที$ 2: การปฏิบัตติ ่ อผู้ถอื หุ้นอย่ างเท่ าเทียม (Equitable Treatment of Shareholders) บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญกับสิทธิของผู้ถือหุ้นทุกคนอย่างเท่าเทียม โดยมีการกําหนดแนวทางปฏิบตั ิ ดังนี S 1) บริ ษัทฯ จะจัดส่งหนังสือมอบอํานาจโดยเสนอรายชืJอกรรมการตรวจสอบอย่างน้ อย 1 คน ให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ พิจารณาคัดเลือกเป็ นผู้รับมอบอํานาจในการประชุมผู้ถือหุ้น และลงมติในวาระต่างๆ แทน ในกรณีทีJผ้ ถู ือ หุ้นไม่สามารถเข้ าร่ วมประชุมผู้ถือหุ้นด้ วยตนเองได้ เพืJอสนับสนุนให้ ผ้ ถู ือหุ้นสามารถกําหนดทิศทางการ ลงมติในแต่ละวาระได้ เอง 2) กรณีทีJผ้ ถู ือหุ้นรายใดแจ้ งความประสงค์มายังบริ ษัทฯ เพืJอขอเสนอให้ เพิJมวาระการประชุมผู้ถือหุ้นในเรืJ อง ใดเรืJ องหนึงJ ไม่น้อยกว่า 3 วันทําการก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น และทางคณะกรรมการบริ ษัทได้ พิจารณาแล้ ว และมีความเห็นว่าวาระดังกล่าวเป็ นประโยชน์ตอ่ บริ ษัทฯ และผู้ถือหุ้น ทางบริ ษัทฯ มีนโยบายทีJจะอํานวย ความสะดวกในการนําเสนอวาระดังกล่าวเข้ าทีJประชุมผู้ถือหุ้น โดยจะดําเนินการแจ้ งเพิJมวาระการประชุม ให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบผ่านทางตลาดหลักทรัพย์ฯ 3) กรณีทีJผ้ ถู ือหุ้นรายใดแจ้ งความประสงค์มายังบริ ษัทฯ เพืJอขอเสนอชืJอบุคคลเข้ าดํารงตําแหน่งกรรมการ บริ ษัท โดยได้ แจ้ งความประสงค์ผา่ นมายังบริ ษัทฯ พร้ อมจัดส่งข้ อมูลประกอบการพิจารณาด้ านคุณสมบัติ และหนังสือแสดงความยินยอมของบุคคลทีJได้ รับการเสนอชืJอมาอย่างครบถ้ วน ล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 3 เดือนก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น บริ ษัทฯ มีนโยบายทีJจะพิจารณาเสนอชืJอบุคคลดังกล่าวทีJผ่านการตรวจสอบ คุณสมบัติกรรมการบริ ษัทตามระเบียบกฎหมายทีJเกีJยวข้ องเพืJอแต่งตังเข้ S าดํารงตําแหน่งแทนกรรมการทีJ ครบกําหนดออกตามวาระในแต่ละปี และนําเสนอเข้ าทีJประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี เพืJอพิจารณาลง มติตอ่ ไป 4) บริ ษัทฯ มีแนวทางในการป้องกันการใช้ ข้อมูลภายในของบริ ษัท โดยกําหนดในคู่มือการปฏิบตั ิงานของ พนักงานในหัวข้ อจริ ยธรรม ซึงJ ได้ มีการเผยแพร่ให้ พนักงานทุกคนทราบ 5) บริ ษัทฯ มีนโยบายและวิธีการป้องกันมิให้ กรรมการ ผู้บริ หาร ใช้ ประโยชน์จากข้ อมูลสําคัญอันมีผลต่อการ ลงทุน โดยบริ ษัทฯ จะแจ้ งมติทีJประชุมคณะกรรมการบริ ษัททุกครั งS ไปยังตลาดหลักทรั พย์ ฯ ทันทีก่อน ตลาดหลักทรัพย์ฯ เปิ ดทําการซื Sอขายหลักทรัพย์รอบถัดไป กรรมการและผู้บริ หารบริ ษัทจึงไม่มีโอกาสใช้ ข้ อ มูลภายในเพืJอ ประโยชน์ แ ห่ง ตน อี ก ทังS กรรมการและผู้บริ ห ารบริ ษัท จะต้ อ งรายงานการถื อครอง หลักทรัพย์ทกุ ครังS ทีJมีการซื Sอหรื อขายหลักทรัพย์ภายใน 3 วันทําการต่อสํานักงาน ก.ล.ต. 6) กําหนดหน้ าทีJของกรรมการและผู้บริ หารในการงดซื Sอ ขาย และโอนหลักทรัพย์ก่อนการประกาศแจ้ งข่าวงบ การเงินอย่างน้ อย 1 เดือนและหลังประกาศอย่างน้ อย 3 วันรวมถึงการรายงานการถือหลักทรัพย์ในการ ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทเป็ นประจําทุกครังS ไว้ ในนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีJดี 7) กําหนดหน้ าทีJของกรรมการและผู้บริ หารแจ้ งต่อคณะกรรมการบริ ษัท เกีJยวกับการซื Sอขายหลักทรัพย์ของ บริ ษัทอย่างน้ อย 1 วันล่วงหน้ าก่อนทําการซื Sอขาย


38

หมวดที$ 3: บทบาทของผู้มีส่วนได้ เสีย (Roles of Stakeholders) บริ ษัทฯ เคารพในสิทธิของผู้มีสว่ นได้ เสีย และได้ กําหนดเป็ นแนวปฏิบตั ิไว้ ในจรรยาบรรณของบริ ษัท เพืJอให้ เกิด ความมันJ ใจว่าสิทธิตามกฎหมายใดๆ ทีJเกีJยวข้ องกับผู้มีสว่ นได้ เสีย ไม่วา่ จะเป็ น ผู้ถือหุ้น พนักงาน ผู้บริ หาร ลูกค้ า กิจการคู่ ค้ า ตลอดจนสังคมจะได้ รับการดูแล นอกจากนี Sบริ ษัทฯ ยังได้ เสริ มสร้ างความร่วมมือกับผู้มีสว่ นได้ เสียในกลุม่ ต่างๆ เพืJอให้ สามารถดําเนินกิจการต่อไปได้ ด้วยดี มีความมันJ คงโดยตอบแทนผลประโยชน์ทีJเป็ นธรรมแก่ทกุ ฝ่ าย เพืJอสร้ างความสําเร็ จ ในระยะยาว โดยบริ ษัทมีแนวทางการปฏิบตั ิในเรืJ องดังกล่าว ดังนี S 1) ปฏิบตั ิกบั พนักงานอย่างเท่าเทียมเป็ นธรรม และให้ ผลตอบแทนทีJเหมาะสม 2) การซื Sอสินค้ าและบริ การจากคูค่ ้ าเป็ นไปตามเงืJอนไขทางการค้ า รวมถึงปฏิบตั ิตอ่ คูค่ ้ าตามสัญญาทีJตกลงกัน 3) เอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้ า มีความรับผิดชอบต่อลูกค้ าในด้ านคุณภาพสินค้ าและการให้ บริ การ 4) ปฏิบตั ิตามเงืJอนไขการกู้ยืมเงินตามข้ อตกลงกับเจ้ าหนี SทีJให้ การสนับสนุนเงินกู้แก่บริ ษัท 5) ประพฤติตามกรอบกติกาการแข่งขันทีJดี หลีกเลียJ งวิธีการทีJไม่สจุ ริ ต เพืJอทําลายคูแ่ ข่งทางการค้ า 6) มีความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้ อมของชุมชนและสังคม รวมทังให้ S การสนับสนุนกิจกรรมในชุมชนเพืJอ เกื SอกูลสังคมในวาระและโอกาสทีJเหมาะสม หมวดที$ 4: การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใส (Disclosure and Transparency) นอกเหนือไปจากการเปิ ดเผยรายงานทางการเงินหรื อสารสนเทศอืJนๆ ต่อสาธารณะผ่านช่องทางต่างๆ ตาม เงืJอนไขทีJกฎหมายกําหนดอย่างเคร่ งครัด ครบถ้ วน และตรงเวลาแล้ วนันS บริ ษัทฯ จะเปิ ดเผยข้ อมูลต่อไปนี SเพืJอแสดงถึง ความโปร่งใสในการดําเนินธุรกิจ คือ 1) เปิ ดเผยข้ อมูลการปฏิบตั ิหน้ าทีJในคณะกรรมการบริ ษัท และคณะกรรมการตรวจสอบ เช่น จํานวนครังS ของ การประชุมและจํานวนครังS ทีJกรรมการแต่ละคนเข้ าร่วมประชุมในปี ทีJผา่ นมา 2) เปิ ดเผยวิธีการประเมิน และผลประเมินการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการบริ ษัท 3) เปิ ดเผยนโยบายการจ่ า ยค่า ตอบแทนแก่ ก รรมการบริ ษั ทและผู้บ ริ ห ารระดับ สูง รวมทังS รู ป แบบ หรื อ ลักษณะของค่าตอบแทน 4) รายงานนโยบายการกํากับดูแลกิจการ และผลการปฏิบตั ิงานตามนโยบาย ทังนี S S ข้ อมูลต่างๆ เหล่านี Sนอกจากจะได้ เปิ ดเผยสูส่ าธารณะผ่านทางสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (“สํานักงาน ก.ล.ต.”) หรื อตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้ ว จะเปิ ดเผยผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษัทด้ วย หมวดที$ 5: ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท (Board Responsibilities) คณะกรรมการบริ ษัทประกอบด้ วยผู้ทรงคุณวุฒิทีJมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์จากหลากหลาย อาชีพ ทีJเป็ นประโยชน์ในการดําเนินงานของคณะกรรมการ และมีความเป็ นอิสระในการตัดสินใจเพืJอประโยชน์สงู สุดของ บริ ษัทและผู้ถือหุ้นโดยรวม คณะกรรมการได้ มีสว่ นร่วมในการกําหนด และ/หรื อให้ ความเห็นชอบ วิสยั ทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริ ษัทตลอดจนกํากับดูแลให้ ฝ่ายจัดการดําเนินการให้ เป็ นไปตามแผนธุรกิจและ งบประมาณทีJกําหนดไว้ อย่างมีประสิทธิ ภาพและประสิทธิ ผลสูงสุดให้ แก่กิจการ และความมัJนคงสูงสุดให้ แก่ผ้ ูถือหุ้น รวมทังดู S แลให้ มีกระบวนการประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การบริ หารความเสีJยง การรายงานทางการเงิน และมีการติดตามผลการดําเนินการอย่างสมํJาเสมอ


39

คณะกรรมการบริ ษัทมีจํานวน 7 คน ประกอบด้ วยกรรมการบริ ษัททีJเป็ นผู้บริ หาร จํานวน 2 คน และกรรมการ บริ ษัททีJไม่ได้ เป็ นผู้บริ หาร จํ านวน 5 คน โดยมีกรรมการทีJมีคุณสมบัติเป็ นอิสระจํ านวน 3 คน ซึJงเกินกว่า 1 ใน 3 ของ จํานวนกรรมการทังคณะ S จึงถือเป็ นการถ่วงดุลของกรรมการทีJเป็ นผู้บริ หารอย่างเหมาะสม นอกจากนี S บริ ษัทได้ แต่งตังS คณะกรรมการตรวจสอบซึJงประกอบด้ วยกรรมการอิสระจํานวน 3 คน มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี และดํารง ตําแหน่งไม่เกิ น 3 วาระติดต่อกันนับจากวันทีJไ ด้ รับแต่งตังS โดยได้ กํา หนดขอบเขตและอํานาจในการดํา เนินการของ คณะกรรมการดังกล่าวไว้ อย่างชัดเจนในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ

การประเมินการกํากับดูแลกิจการที$ดี บริ ษัทฯ ได้ รับผลการสํารวจการกํากับดูแลกิจการของบริ ษัทจดทะเบียน(Corporate Governance Report of Thai Listed Companies - CGR) ประจําปี 2559 ในระดับดีมาก (Very Good) ซึJงจัดทําโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย (IOD) และมีสรุปผลการสํารวจของปี 2557-2559 ดังนี S ผลการสํารวจ (%) ปี คะแนนของ จัดอยูใ่ นระดับ คะแนนโดยเฉลียJ ของบริ ษัทจดทะเบียนในตลาด CHO หลักทรัพย์ฯ 2559 89% ดีมาก 78% 2558

87%

ดีมาก

75%

2557

66%

ดีพอใช้

72%

การประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น บริ ษัท ฯ ได้ พัฒนาปรั บปรุ งการจัด ประชุมผู้ถือ หุ้นอย่างต่อเนืJอ ง จึง ทําให้ ในปี นี บS ริ ษั ทฯ ได้ รับการประเมิ น คุณภาพ 100 คะแนนเต็ม ในโครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น (AGM Checklist) ประจําปี 2559 ซึJง จัดทําโดยสมาคมส่งเสริ มผู้ลงทุนไทยและมีสรุปผลการประเมินฯ ของปี 2557-2559 ดังนี S ผลการประเมิน ปี (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) คะแนนของ CHO จัดอยูใ่ นระดับ คะแนนโดยเฉลียJ ของบริ ษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ฯ 2559 100 ดีเยีJยม 91.62 2558 100 ดีเยีJยม 92.68 2557 90.13 ดีเยีJยม 91.35


40

ผลการปฏิบัตทิ $ ียังไม่ ได้ ปฏิบัตติ ามหลักการกํากับดูแลกิจการที$ดี ตลอดปี 2559 บริ ษัทฯ ได้ ปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีJดี ยกเว้ นเรืJ องต่อไปนี S รายการที$ยงั ไม่ ได้ ปฏิบตั ิ เหตุผล 1. คณะกรรมการของบริ ษัท ถือหุ้นรวมกันเกิ นกว่าร้ อย ธุรกิ จของบริ ษัทฯ จํ าเป็ นต้ องอาศัยบุคลากรทีJมีความรู้ ละ 25 ของหุ้นทังหมด S ความสามารถและประสบการณ์ เพืJอนําพาบริ ษัทฯ ให้ ประสบผลสําเร็ จ 2. บริ ษั ท ไม่ไ ด้ กํ า หนดวิ ธี ก ารลงคะแนนเสี ย งเลือ กตังS บริ ษัทฯ ได้ กําหนดวิธีการลงคะแนนแบบ หุ้นหนึJงมีหนึJง กรรมการในทีJ ป ระชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น โดยการ เสียง (1 Share : 1 Vote) เนืJองจากปฏิบตั ิตามข้ อบังคับ ลงคะแนนแบบสะสม (Cumulative Voting) ของบริ ษัท 3. บริ ษัทฯ ไม่ได้ เปิ ดเผยรายละเอียดค่าตอบแทนเฉพาะ องค์ กรมีขนาดเล็ก และข้ อมูลยังไม่มีผลกระทบกับการ ของ CEO แต่จะเปิ ดเผยรวมอยู่กับค่าตอบแทนของ บริ หารจัดการ กรรมการ และผู้บริ หารทังคณะ S 4. ประธานกรรมการบริ ษัทไม่ได้ มาจากกรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริ ษัทต้ องเป็ นผู้มีความรู้ ความสามารถ มี ป ระสบการณ์ ใ นธุ ร กิ จ เกีJ ย วกับ ผลิต ภัณ ฑ์ ข องบริ ษั ท สามารถให้ ความเห็นกับคณะกรรมการและผู้บริ หารได้ เป็ นอย่างดี

ค่ าตอบแทนกรรมการ บริ ษัทมีนโยบายในการกําหนดค่าตอบแทนกรรมการทีJเป็ นตัวเงินไว้ อย่างชัดเจนและโปร่ งใส และนําเสนอขอ อนุมตั ิจากทีJประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเป็ นประจําทุกปี โดยมีหลักเกณฑ์ในการกําหนดค่าตอบแทนของกรรมการบริ ษัท ดังนี S 1) มีความเหมาะสมและสอดคล้ องกับขอบเขตภาระหน้ าทีJความรับผิดชอบของกรรมการแต่ละคน 2) ค่าตอบแทนอยู่ในระดับทีJสามารถจูงใจ สามารถรักษากรรมการทีJมีความรู้ ความสามารถ และมี คุณภาพในการปฏิบตั ิหน้ าทีJให้ กบั บริ ษัทได้ 3) องค์ประกอบของค่าตอบแทนมีความชัดเจน โปร่งใส และง่ายต่อการเข้ าใจ 4) เป็ นอัตราทีJเทียบเคียงได้ กบั ค่าตอบแทนกรรมการในอุตสาหกรรมเดียวหรื อใกล้ เคียงกัน

การประชุมคณะกรรมการบริษัท บริ ษัทฯ จะจัดให้ มีการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท และดําเนินการประชุมให้ เป็ นไปตามข้ อบังคับของบริ ษัท กฎหมายทีJเกีJยวข้ องกับบริ ษัทมหาชนจํากัด และกฎระเบียบของตลาดหลักทรัพย์ฯ และจะจัดการประชุมพิเศษเพิJมตาม ความจําเป็ น โดยประธานกรรมการในฐานะประธานในทีJประชุมจะส่งเสริ ม ให้ มีการใช้ ดลุ ยพินิจทีJรอบคอบ และจัดสรร เวลาให้ อย่างเพียงพอในการประชุม เพืJอทีJจะให้ ฝ่ายจัดการเสนอเรืJ องและสามารถอภิปรายปั ญหาสําคัญได้ อย่างรอบคอบ โดยทัJว กัน โดยบริ ษั ท ฯ จะนํ า ส่ง หนัง สือ นัด ประชุ ม พร้ อมระเบี ย บวาระการประชุ ม และเอกสารการประชุ ม ให้ แ ก่ คณะกรรมการบริ ษัทล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันประชุม พร้ อมทังS กํ าหนดให้ กรรมการมีหน้ าทีJต้องเข้ าประชุม


41

คณะกรรมการบริ ษัททุกครังS เว้ นแต่กรณีทีJมีเหตุจําเป็ น นอกจากนี Sบริ ษัทฯ จะมีการบันทึกการประชุมอย่างถูกต้ อง และ ครบถ้ วน เพืJอให้ ผ้ ถู ือหุ้นสามารถตรวจสอบได้

รายงานของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการเป็ นผู้รับผิดชอบ ในการจัดให้ มีการจัดทํารายงานทางการเงิน ซึงJ รวมถึงงบการเงินของบริ ษัท งบ การเงินรวมของบริ ษัท และบริ ษัทย่อย และสารสนเทศทางการเงินทีJปรากฏในรายงานประจําปี ทังนี S S รายงานทางการเงิน ดังกล่าวจัดทําขึ SนตามมาตรฐานการบัญชีทีJรับรองทัวJ ไปในประเทศไทย โดยเลือกใช้ นโยบายบัญชีทีJเหมาะสม และเป็ นทีJ ยอมรับ และถือปฏิบตั ิอย่างสมํJาเสมอ รวมทังได้ S ใช้ ดลุ ยพินิจอย่างระมัดระวังในการจัดทํา และดูแลให้ มีการเปิ ดเผยข้ อมูล สําคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัท เพืJอเพิJมประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการ บริ ษัทฯ ได้ จดั ให้ คณะกรรมการทําการประเมินผล การปฏิบตั ิงานของตนเอง โดยให้ กรรมการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการโดยรวม เพืJอให้ คณะกรรมการ ร่วมกันพิจารณาผลงานและปั ญหา ซึงJ ผลการประเมินนันS คณะกรรมการจะได้ ทําการวิเคราะห์ และหาข้ อสรุ ปเพืJอกําหนด มาตรการในการปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางานของคณะกรรมการต่อไป

การพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูง บริ ษัทฯ จะสนับสนุนให้ คณะกรรมการบริ ษัท และผู้บริ หารระดับสูงเข้ าร่ วมสัมมนาหลักสูตรทีJเป็ นประโยชน์ต่อ การปฏิบตั ิหน้ าทีJ รวมทังพบปะแลกเปลี S Jยนความคิดเห็นกับคณะกรรมการบริ ษัท และผู้บริ หารระดับสูงขององค์กรต่างๆ อย่างสมํJาเสมอ โดยหลักสูตรเบื Sองต้ นทีJกรรมการบริ ษัทเข้ าร่ วมสัมมนาเป็ นหลักสูตรของสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริ ษัทไทย (IOD) ซึJงได้ แก่ หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) หรื อ Directors Accreditation Program (DAP) หรื อหลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รวมทังหลั S กสูตรเฉพาะจากสถาบันต่างๆ ทังนี S S เพืJอนําความรู้และ ประสบการณ์มาพัฒนาบริ ษัทฯ ต่อไป

การจัดทํารายงานความยั$งยืนประจําปี 2559 บริ ษัทฯ ได้ จดั ทํารายงานการพัฒนาเพืJอความยังJ ยืน (Sustainable Report) ประจําปี 2559 เพืJอเผยแพร่ และ รายงานผลการดําเนินงานของบริ ษัทฯ ในระหว่างวันทีJ 1 มกราคม 2559 ถึง 31 ธันวาคม 2559 โดยมุ่งเน้ นให้ ข้อมูล เกีJยวข้ องกับ ด้ านเศรษฐกิจ สิงJ แวดล้ อม และสังคม โดยอธิบายถึงการกํากับดูแลกิจการทีJม่งุ เน้ นไปสูก่ ารพัฒนาบุคลากร ในทุกระดับ และเพืJอมุ่งไปสู่องค์ กรแห่งการเรี ยนรู้ อย่างแท้ จริ ง (Learning Organization) การจัดวางโครงสร้ างของ คณะกรรมการจึงมีการเชืJอมโยงและสามารถถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ จากคณะกรรมการบริ ษัท ลงมาถึงกรรมการผู้จดั การ ใหญ่และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หารโดยตรง ทังนี S Sรู ปแบบของการจัดการความยังJ ยืนขององค์กรด้ าน CSR จะเน้ นความมี ส่วนร่วมของบุคลากรทังองค์ S กร

8.2 คณะกรรมการชุดย่ อย โครงสร้ างการจัดการของบริ ษัทฯ ประกอบด้ วยคณะกรรมการทังหมด S 4 ชุด ได้ แก่ คณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หาร (แต่งตังโดยที S Jประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ครังS ทีJ 12/2555 เมืJอวันทีJ 14 S J พฤศจิกายน 2555) และ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสียJ ง สรรหา และกําหนดค่าตอบแทน (แต่งตังโดยที


42

ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ครังS ทีJ 6/2557 เมืJอวันทีJ 21 ธันวาคม 2557) มีมติกําหนดขอบเขตและอํานาจหน้ าทีJของกรรมการ ดังรายละเอียดต่อไปนี S

8.2.1 คณะกรรมการบริษัท ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯ มีคณะกรรมการบริ ษัทจํานวน 7 คน ประกอบด้ วย รายชื$อ

ตําแหน่ ง

8. นางเพ็ญพิมล เวศย์วรุ ตม์

ประธานกรรมการ

9. นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย

กรรมการ

10. นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย

กรรมการ

11. นายศิริวฒ ั น์ ทวีแสงสกุลไทย

กรรมการ

12. นายอนุสรณ์ ธรรมใจ

กรรมการอิสระ /ประธานกรรมการตรวจสอบ

13. นายอาษา ประทีปเสน

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

14. นายชัชวาล เตรี ยมวิจารณ์กลุ

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

โดยมีนายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย เป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริ ษัท กรรมการผู้มีอาํ นาจลงลายมือชืJอแทนบริ ษัท : นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย และนางสาวอัศนา ทวีแสงสกุล ไทย ลงลายมือชืJอร่วมกัน และประทับตราสําคัญของบริษัท ข้ อจํากัดอํานาจของกรรมการ

: ไม่มี

ขอบเขตอํานาจหน้ าที$และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 1. ปฏิบตั ิหน้ าทีJให้ เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้ อบังคับของบริ ษัท ตลอดจนมติของทีJประชุมผู้ถือหุ้น 2. พิจารณาอนุมตั ินโยบายธุรกิจ เป้าหมาย แผนการดําเนินงาน กลยุทธ์ธุรกิจ และงบประมาณประจําปี 3. พิจารณาอนุมตั ิแต่งตังบุ S คคลทีJมีคณ ุ สมบัติและไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามตามทีJกําหนดใน พ.ร.บ.บริ ษัทมหาชน พ.ศ. 2535 และกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงประกาศข้ อบังคับ และ/หรื อระเบียบทีJเกีJยวข้ อง กับตําแหน่งกรรมการ ในกรณีทีJตําแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอืJนนอกจากออกตามวาระ 4. พิจารณาแต่งตังกรรมการอิ S สระและกรรมการตรวจสอบ โดยพิจารณาจากคุณสมบัติและลักษณะต้ องห้ ามของ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงประกาศ ข้ อบังคับ และ/หรื อ ระเบียบทีJเกีJยวข้ องของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรื อเสนอต่อทีJประชุมผู้ถือหุ้นเพืJอพิจารณาแต่งตังS เป็ นกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ของบริ ษัท ต่อไป 5. พิจารณาแต่งตังกรรมการบริ S หาร โดยเลือกจาก ฝ่ ายบริ หาร หรื อกรรมการของบริ ษัท พร้ อมทังกํ S าหนดขอบเขต อํานาจหน้ าทีJและความรับผิดชอบของกรรมการบริ หาร 6. พิจารณากําหนดและแก้ ไขเปลียJ นแปลงชืJอกรรมการซึงJ มีอํานาจผูกพันบริ ษัท ได้


43

7. แต่งตังบุ S คคลอืJนใดให้ ดําเนินกิจการของบริ ษัท ภายใต้ การควบคุมของคณะกรรมการ หรื ออาจมอบอํานาจเพืJอให้ บุคคลดังกล่าวมีอํานาจ และ/หรื อ ภายในเวลาตามทีJคณะกรรมการเห็นสมควร ซึงJ คณะกรรมการอาจยกเลิก เพิก ถอน เปลียJ นแปลงหรื อแก้ ไขอํานาจนันๆ S ได้ 8. พิจารณาอนุมตั ิการทํารายการได้ มาหรื อจําหน่ายไปซึงJ สินทรัพย์ เว้ นแต่รายการดังกล่าวจะต้ องได้ รับอนุมตั ิจากทีJ ประชุมผู้ถื อหุ้น ทังS นี S ในการพิ จารณาอนุมัติดังกล่าวจะเป็ นไปตามประกาศ ข้ อบังคับ และ/หรื อ ระเบียบทีJ เกีJยวข้ องกับตลาดหลักทรัพย์ฯ 9. พิจารณาอนุมตั ิการทํารายการทีJเกีJยวโยงกัน เว้ นแต่รายการดังกล่าวจะต้ องได้ รับอนุมตั ิจากทีJประชุมผู้ถือหุ้น ทังนี S S ในการพิ จ ารณาอนุมัติ ดัง กล่า วจะเป็ นไปตามประกาศ ข้ อ บัง คับ และ/หรื อ ระเบี ย บทีJ เ กีJ ย วข้ อ งกับ ตลาด หลักทรัพย์ฯ 10. พิจารณาอนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น เมืJอเห็นได้ วา่ บริ ษัท มีกําไรพอสมควรทีJจะทําเช่นนันS และรายงานการจ่ายเงินปั นผลดังกล่าวให้ ทีJประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมผู้ถือหุ้นคราวต่อไป 11. รายงานการถือหลักทรั พย์ ของตนของคู่สมรสและของบุตรทีJยังไม่บรรลุนิติภาวะทีJถือในบริ ษัทในการประชุม คณะกรรมการบริ ษัทเป็ นประจําทุกครังS และต้ องแจ้ งให้ บริ ษัทฯทราบโดยมิชกั ช้ าเมืJอมีกรณีดงั ต่อไปนี S • มีสว่ นได้ เสียไม่วา่ โดยตรงโดยอ้ อมในสัญญาใดๆทีJบริ ษัทฯทําขึ Sนระหว่างรอบปี บัญชี • ถือหุ้นในบริ ษัทฯ 12. กรรมการแต่ละคนจะดํารงตําแหน่งกรรมการบริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยรวมถึงบริ ษัท ย่อยได้ ไม่เกิน 5 บริ ษัท ทังนี S S กําหนดให้ กรรมการหรื อบุคคลอืJนใด ซึงJ มีหรื ออาจมีความขัดแย้ งในส่วนได้ เสีย หรื อความขัดแย้ งทาง ผลประโยชน์อืJนใดกับบริ ษัท ไม่มสี ทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในเรืJ องนันS นอกจากนันS ในกรณีตอ่ ไปนี Sจะต้ องได้ รับความเห็นชอบจากทีJประชุมคณะกรรมการ และทีJประชุมผู้ถือหุ้น ด้ วย คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทังหมด S ของผู้ถือหุ้นทีJเข้ าประชุมและมีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนน • • •

• • •

การขายหรื อโอนกิจการของบริ ษัททังหมดหรื S อบางส่วนทีJสาํ คัญ การซื Sอหรื อรับโอนกิจการของบริ ษัทอืJน หรื อบริ ษัทเอกชนมาเป็ นของบริ ษัท การทํา แก้ ไข หรื อเลิกสัญญาทีJเกีJยวข้ องกับการให้ เช่ากิจการของบริ ษัททังหมด S หรื อบางส่วนทีJสําคัญ การมอบหมายให้ บุค คลอืJ น เข้ า จัด การธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท หรื อ การรวมกิ จ การกับ บุค คลอืJ น โดยมี วัตถุประสงค์จะแบ่งกําไรขาดทุนกัน การแก้ ไขเพิJมเติมหนังสือบริ คณห์สนธิหรื อข้ อบังคับ การเพิJมทุน การลดทุน การออกหุ้นกู้ การควบหรื อเลิกบริ ษัท การอืJนใดทีJได้ กําหนดไว้ ภายใต้ บทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์ และ/หรื อ ข้ อกําหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ให้ ต้องได้ รับความเห็นชอบจากทีJประชุมผู้ถือหุ้นด้ วยคะแนนเสียง ดังกล่าวข้ างต้ น อาทิ รายการได้ มาหรื อจําหน่ายทรัพย์สนิ รายการทีJเกีJยวโยงกัน เป็ นต้ น


44

วาระการดํารงตําแหน่งกรรมการ กรรมการบริษัทมีวาระดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี โดย 1 ปี ในทีJนี S หมายถึง ช่วงเวลาระหว่างวันประชุมสามัญผู้ ถือหุ้น ของปี ทีJได้ รับการแต่งตังS จนถึงวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้นในปี ถัดไป กรรมการซึงJ พ้ นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้ รับ การเสนอชืJอและแต่งตังเข้ S าดํารงตําแหน่งใหม่ได้ ทังนี S Sการมอบอํานาจหน้ าทีJและความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษัทนันS จะไม่มีลกั ษณะเป็ นการมอบอํานาจ หรื อมอบอํานาจช่วงทีJทําให้ คณะกรรมการบริ ษัท หรื อผู้รับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริ ษัท สามารถอนุมตั ิรายการทีJ ตนหรื อบุคคลทีJอาจมีความขัดแย้ ง (ตามทีJนิยามไว้ ในประกาศคณะกรรมการกํ ากับหลักทรั พย์ และตลาดหลักทรั พย์ ) สําหรับทังบริ S ษัทฯ และบริ ษัทย่อย

8.2.2 คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯ มีกรรมการตรวจสอบ จํานวน 3 คน ประกอบด้ วย รายชื$อ

ตําแหน่ ง

4. นายอนุสรณ์

ธรรมใจ

ประธานกรรมการตรวจสอบ

5. นายอาษา

ประทีปเสน

กรรมการตรวจสอบ

6. นายชัชวาล

เตรี ยมวิจารณ์กลุ

กรรมการตรวจสอบ

หมายเหตุ: กรรมการตรวจสอบผู้มีความรู้ ประสบการณ์ ในการสอบทานความน่าเชืJอถื อของงบการเงิน คือ นายชัชวาล เตรี ยมวิจารณ์กลุ ซึงJ จบการศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิตชันสู S ง (การสอบบัญชี) จากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และปริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชี) จากมหาวิทยาลัยรามคําแหง

โดยมีนางอัปสร สุริยาเป็ นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขตอํานาจหน้ าที$และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ ษัท กําหนดหน้ าทีJและความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษัทดังนี S 1. สอบทานให้ บริ ษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้ อง เป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชีทีJรับรองทัวJ ไป มีการ เปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอและเชืJอถือได้ 2. สอบทานให้ บริ ษัทมีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในทีJมีความเหมาะสมและมีประสิทธิผล 3. สอบทานการปฏิบตั ิของบริ ษัทให้ เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้ วยบริ ษัทมหาชนจํากัดกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกํ าหนดของตลาดหลักทรั พย์ และคณะกรรมการกํ ากับหลักทรั พย์ และตลาดหลักทรั พย์ รวมถึงกฎหมายทีJเกีJยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท 4. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตังS และเสนอถอดถอนผู้สอบบัญชีของบริ ษัท กําหนดค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของผู้สอบบัญชี รวมถึงการดํารงความอิสระให้ ผ้ สู อบบัญชีในการปฏิบตั ิงาน 5. สอบทานเพืJอมิให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ระหว่างบุคคลทีJเกีJยวโยงกัน 6. พิจารณาการเปิ ดเผยข้ อมูลของบริ ษัทในกรณี ทีJเกิ ดรายการทีJเกีJ ยวโยงหรื อรายการทีJอาจมีความขัดแย้ งทาง ผลประโยชน์ให้ มีความถูกต้ องและครบถ้ วน


45

7. พิจารณาอนุมตั ิกฎบัตรของฝ่ ายตรวจสอบภายใน รวมถึงอนุมตั ิแผนการตรวจสอบ แผนงาน อัตรากําลัง และ งบประมาณประจําปี 8. พิจ ารณาและให้ ค วามเห็ น ชอบในการแต่ง ตังS ถอดถอน โยกย้ า ย เลิก จ้ า งและพิ จ ารณาความดี ค วามชอบ มอบหมายงานและรวมถึงการดํารงไว้ ซงึJ ความอิสระให้ แก่ฝ่ายตรวจสอบภายใน 9. ปฏิบัติงานอืJ นใดตามทีJก ฎหมายกํ าหนดและคณะกรรมการบริ ษัท มอบหมายและคณะกรรมการตรวจสอบ เห็นชอบด้ วย เช่น - ทบทวนและประเมินความเหมาะสมของกฎระเบียบและข้ อกําหนดของบริ ษัทตลอดจนดูแลให้ บริ ษัทปฏิบตั ิ ตาม ข้ อกําหนดและกฎหมายทีJเกีJยวข้ องรวมทังนโยบายที S Jคณะกรรมการบริ ษัทกําหนดไว้ - ทบทวนนโยบายการบริ หารทางการเงินและการบริ หารความเสียJ งของบริ ษัท - ทบทวนการปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณทางธุรกิจของผู้บริ หาร - ทบทวนร่ วมกับผู้บริ หารของบริ ษัทในรายงานสําคัญๆ ทีJต้องเสนอต่อสาธารณชนตามทีJกฎหมายกําหนด เช่น บทรายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ ายบริ หาร เป็ นต้ น 10. จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ดเผยในรายงานประจําปี ของบริ ษัท ซึJง รายงานดังกล่าวลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 11. พิจารณาข้ อมูลหรื อเบาะแสเกีJ ยวกับการฉ้ อฉลหรื อ การทุจริ ต ตามทีJได้ รับแจ้ งจากบุคคลภายในองค์ ก รและ ภายนอกตามกระบวนการ การรับแจ้ งเบาะแส (Whistle – blower hotline) รวมถึงกระบวนการต่อต้ านการทุจริ ต คอร์ รัปชันJ อนึJ ง ในการปฏิ บัติ ห น้ าทีJ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบข้ างต้ น คณะกรรมการตรวจสอบมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ คณะกรรมการบริ ษัทโดยตรง และคณะกรรมการบริ ษัทยังคงรั บผิ ดชอบในการดํา เนินงานของบริ ษัทต่อผู้ถื อหุ้นและ บุคคลภายนอก วาระการดํารงตําแหน่งกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบมีวาระดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี และดํารงตําแหน่งไม่เกิน 3 วาระติดต่อกันนับจากวันทีJ ได้ รับแต่งตังจากคณะกรรมการบริ S ษัทหรื อทีJประชุมผู้ถือหุ้นของบริ ษัท โดย 1 ปี ในทีJนี S หมายถึง ช่วงเวลาระหว่างวันประชุม สามัญผู้ถือหุ้นของปี ทีJได้ รับการแต่งตังS จนถึงวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้นในปี ถัดไป กรรมการซึงJ พ้ นจากตําแหน่งตามวาระ อาจได้ รับการเสนอชืJอและแต่งตังเข้ S าดํารงตําแหน่งใหม่ได้

8.2.3 คณะกรรมการกํากั บ ดูแลกิ จ การ บริ หารความเสี$ ยง สรรหาและกํา หนดค่ า ตอบแทน (คณะกรรมการฯ) ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 มี คณะกรรมการฯ จํานวน 3 คน ประกอบด้ วย รายชื$อ ตําแหน่ ง 4. นายชัชวาล

เตรี ยมวิจารณ์กลุ

ประธานคณะกรรมการ

5. นายอาษา

ประทีปเสน

กรรมการ

6. นายศิริวฒ ั น์ ทวีแสงสกุลไทย

กรรมการ

โดยมี นายนิติธร ดีอําไพเป็ นเลขานุการคณะกรรมการฯ


46

1. 1.1. 1.2. 1.3.

1.4. 1.5. 1.6. 1.7.

ขอบเขตอํานาจหน้ าที$และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ การกํากับดูแลกิจการที$ดี และจริยธรรมธุรกิจ นําเสนอแนวนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีJดี (Corporate Governance Policy) และจริ ยธรรมธุรกิจ (Code of Business Ethics) ของกลุม่ บริ ษัทฯ ต่อคณะกรรมการบริ ษัทเพือJ พิจารณาอนุมตั ิ ติดตาม และกํากับดูแล เพืJอให้ มนัJ ใจว่า กลุม่ บริษัทฯ มีการปฏิบตั ิตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีJดีและ จริ ยธรรมธุรกิจทีJกลุม่ บริ ษัทฯ กําหนด พิจารณาทบทวนเกีJยวกับนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีJดี และจริ ยธรรมธุรกิจของกลุม่ บริษัทฯ อย่าง สมํJาเสมอ เพืJอให้ สอดคล้ องกับแนวทางปฏิบตั ิของสากล และ/หรื อ ข้ อเสนอแนะของสถาบัน และ/หรื อ หน่วยงานทางการทีJเกีJยวข้ อง และนําเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัทเพืJอพิจารณาอนุมตั ิ พิจารณานําเสนอข้ อพึงปฏิบตั ิทดีJ ี (Code of Best Practices) ต่อคณะกรรมการบริ ษัท และ/หรื อ คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ของกลุม่ บริ ษัทฯ ส่งเสริ มการเผยแพร่วฒ ั นธรรมในการกํากับดูแลกิจการทีJดีให้ เป็ นทีเJ ข้ าใจโดยทัวJ ถึงในทุกระดับ และส่งเสริ มให้ มี การปฏิบตั ิตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีJดี พิจารณาแต่งตังS และกําหนดบทบาทหน้ าทีJความรับผิดชอบของคณะทํางานชุดย่อย เพืJอทําหน้ าทีสJ นับสนุน งานการกํากับดูแลกิจการ และจริยธรรมธุรกิจได้ ตามความเหมาะสม ปฏิบตั ิงานอืJนใดเกีJยวกับการกํากับดูแลกิจการทีJดี และจริ ยธรรมธุรกิจตามทีJคณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย

2. การบริหารความเสี$ยง 2.1. พิจารณาสอบทานและนําเสนอนโยบายและกรอบการบริ หารความเสียJ งให้ แก่คณะกรรมการบริ ษัท เพืJอ พิจารณาอนุมตั ิ 2.2. พิจารณาสอบทานและให้ ความเห็นชอบความเสียJ งทีJยอมรับได้ (Risk Appetite) และนําเสนอคณะกรรมการ บริ ษัท เพืJอรับทราบ 2.3. กํากับดูแลการพัฒนาและการปฏิบตั ิตามนโยบาย และกรอบการบริ หารความเสียJ งอย่างต่อเนืJอง เพือJ ให้ กลุม่ บริ ษัทฯ มีระบบการบริ หารความเสียJ งทีJมีประสิทธิภาพทัวJ ทังองค์ S กร และมีการปฏิบตั ิตามอย่างต่อเนืJอง 2.4. สอบทานรายงานการบริ หารความเสียJ ง เพืJอติดตามความเสียJ งทีมJ สี าระสําคัญ และดําเนินการเพืJอให้ มนัJ ใจว่า กลุม่ บริ ษัทฯมีการจัดการความเสียJ งอย่างเหมาะสม เพียงพอ และมีประสิทธิผล 2.5. ประสานงานกับคณะกรรมการตรวจสอบเกีJยวกับความเสียJ งทีJสาํ คัญ และมีหน่วยงานตรวจสอบภายในเป็ น ผู้สอบทานเพืJอให้ มนัJ ใจว่ากลุม่ บริ ษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในทีJเหมาะสมต่อการจัดการความเสียJ ง รวมทังS การนําระบบการบริ หารความเสียJ งมาปรับใช้ อย่างเหมาะสม และมีการปฏิบตั ิตามทัวJ ทังองค์ S กร 2.6. รายงานคณะกรรมการบริ ษัทเกีJยวกับความเสียJ ง และการจัดการความเสียJ งทีJสาํ คัญอย่างสมํJาเสมอ ให้ คําแนะนํา และคําปรึกษากับคณะอนุกรรมการบริ หารความเสียJ ง (Sub Risk-Management Committee : SRM) และ/หรื อ หน่วยงาน และ/หรื อ คณะทํางานทีJเกีJยวข้ องกับการบริ หารความเสียJ ง รวมทังพิ S จารณาแนวทางทีJเหมาะสมในการ แก้ ไขข้ อมูลต่างๆ ทีJเกีJยวกับการพัฒนาระบบการบริ หารความเสียJ ง


47

2.7. พิจารณาแต่งตังS บุคลากรเพิมJ เติม หรื อทดแทนในหน่วยงาน และ/หรื อ คณะทํางานทีJเกีJยวข้ องกับการบริ หาร ความเสียJ งตามความเหมาะสม รวมทังกํ S าหนดบทบาทหน้ าทีJความรับผิดชอบ เพืJอประโยชน์ในการดําเนินการ ตามวัตถุประสงค์ 2.8. ปฏิบตั ิการอืJนใดเกีJยวกับการบริ หารความเสียJ งตามทีคJ ณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย 3. การสรรหา 3.1 กําหนดหลักเกณฑ์ และนโยบายในการสรรหากรรมการบริ ษัท และกรรมการชุดย่อย โดยพิจารณาความ เหมาะสมของจํานวน โครงสร้ าง และองค์ประกอบของคณะกรรมการ รวมถึงกําหนดคุณสมบัติของกรรมการ เพืJอ เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทและ/หรื อ เสนอขออนุมตั ิตอ่ ทีJประชุมผู้ถือหุ้นแล้ วแต่กรณี 3.2 พิจารณาสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลทีJเหมาะสม ให้ ดาํ รงตําแหน่งกรรมการบริ ษัทแทนกรรมการทีJครบวาระ และ/หรื อ เมืJอมีตําแหน่งกรรมการบริ ษัทว่างลง และ/หรื อ เมืJอมีการแต่งตังกรรมการบริ S ษัทเพิJมเติมเพืJอเสนอต่อ คณะกรรมการบริ ษัทและ/หรื อ เสนอขออนุมตั ิตอ่ ทีJประชุมผู้ถือหุ้นแล้ วแต่กรณี 3.3 ปฏิบตั ิการอืJนใดทีJเกีJยวกับการสรรหาตามทีJคณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 4. การกําหนดค่ าตอบแทน 4.1. จัดทําหลักเกณฑ์และนโยบายการกําหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษัท และคณะกรรมการชุดย่อยเพืJอ เสนอคณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาให้ ความเห็นชอบและเสนอต่อทีJประชุมผู้ถือหุ้นเพืJอพิจารณาอนุมตั ิ 4.2. กําหนดค่าตอบแทนทีจJ ําเป็ น และเหมาะสมทังที S Jเป็ นตัวเงิน และมิใช่ตวั เงิน ของคณะกรรมการบริ ษัทเป็ น รายบุคคล ในแต่ละปี โดยพิจารณาความเหมาะสมกับภาระหน้ าทีJ ความรับผิดชอบ ผลการปฏิบตั งิ าน และ เปรี ยบเทียบกับบริ ษัทในธุรกิจทีJคล้ ายคลึงกัน รวมถึงประโยชน์ทีJคาดว่าจะได้ รับจากกรรมการ เพืJอเสนอ คณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาให้ ความเห็นชอบและเสนอต่อทีJประชุมผู้ถือหุ้นเพืJอพิจารณาอนุมตั ิ 4.3. ประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจําปี ของกรรมการผู้จดั การใหญ่ และ ประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร เพืJอนําไปกําหนด ค่าตอบแทน โดยเสนอต่อทีJประชุมคณะกรรมการบริ ษัทเพืJอพิจารณาอนุมตั ิ ทังนี S SกรรมการทีJเป็ นกรรมการบริ หาร จะไม่สว่ นร่วมในการพิจารณาเรืJองค่าตอบแทนของกรรมการผู้จดั การใหญ่ และประธานเจ้ าหน้ าทีบJ ริ หาร 4.4. รับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริ ษัท และมีหน้ าทีJให้ คาํ ชี Sแจง ตอบข้ อซักถามเกีJยวกับค่าตอบแทนของกรรมการ บริ ษัท กรรมการผู้จดั การใหญ่ และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร ในทีปJ ระชุมผู้ถือหุ้น 4.5. รายงานนโยบาย หลักการ เหตุผล ของการกําหนดค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริ หารระดับสูง ตามข้ อกําหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยเปิ ดเผยไว้ ในแบบแสดงข้ อมูลประจําปี (56-1) และรายงานประจําปี ของบริ ษัทฯ 4.6. ปฏิบตั ิการอืJนใดทีJเกีJยวกับการกําหนดค่าตอบแทนตามทีJคณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย .


48

8.2.4 คณะกรรมการบริหาร ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯ มีกรรมการบริ หาร จํานวน 14 คน ประกอบด้ วย รายชื$อ

ตําแหน่ ง

12. นายสุรเดช

ทวีแสงสกุลไทย

ประธานกรรมการบริ หาร

13. นางสาวอัศนา

ทวีแสงสกุลไทย

กรรมการบริ หาร

14. นายศิริวฒ ั น์

ทวีแสงสกุลไทย

กรรมการบริ หาร

15. นางสมนึก

แสงอินทร์

กรรมการบริ หาร

16. นายนิติธร

ดีอําไพ

กรรมการบริ หาร

17. นายประสบสุข

บุญขวัญ

กรรมการบริ หาร

18. Mr.Sven Markus Gaber

กรรมการบริ หาร

19. นางสาวภัทริ นทร์ อนุกลู อนันต์ชยั

กรรมการบริ หาร

20. นายนพรัตน์

แสงสว่าง

กรรมการบริ หาร

21. นายอภิชยั

ชุมศรี

กรรมการบริ หาร

22. นายนิรุติ

สุมงคล

กรรมการบริ หาร

23. นายผดุงเดช

เอื Sอสุขกุล

กรรมการบริ หาร

24. นายบํารุง

ชินสมบัติ

กรรมการบริ หาร

25. นายศักริ นทร์

อุน่ นิJม

กรรมการบริ หาร

โดยมี นางสาวธัญญภัสร์ น้ อยประชา เป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริ หาร หลายเหตุ: ทีJประชุมคณะกรรมการบริ หาร ครังS ทีJ 12/2559 เมืJอวันทีJ 30 ธันวาคม 2559 มีมติแต่งตังนายฉั S ตรชัย กันตวิรุฒ และทีJ ประชุม คณะกรรมการบริ ษัท รั บทราบในทีJป ระชุม ครั งS ทีJ 1/2560 เมืJ อ วัน ทีJ 20 มกราคม 2560 โดยมี ผ ลให้ เ ป็ น กรรมการบริ หารเมืJอวันทีJ 1 มกราคม 2560 แทนนายทศพล ผลิตาภรณ์ ทีJพ้นจากตําแหน่งเมืJ อวันทีJ 20 ตุล าคม 2559 โดยการลาออกจากบริ ษัท

ขอบเขตอํานาจหน้ าที$และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร 1. จัดทําและนําเสนอนโยบายทางธุรกิจ เป้าหมาย แผนการดําเนินงาน กลยุทธ์ ทางธุรกิจ และงบประมาณประจําปี ของบริ ษัทฯ เพืJอขออนุมตั ิตอ่ คณะกรรมการบริ ษัทฯ 2. กรรมการใหม่ต้องเข้ ารับการปฐมนิเทศความรู้เกีJยวกับการประกอบธุรกิจของบริ ษัทฯ 3. กําหนดแผนธุรกิจ อํานาจการบริ หารงาน และงบประมาณของบริ ษัทฯ เพืJอขออนุมตั ิตอ่ คณะกรรมการบริ ษัทฯ


49

4. ควบคุมการดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ ให้ เป็ นไปตามนโยบายธุรกิจ เป้าหมาย แผนการดําเนินงาน กลยุทธ์ ธุรกิจ และงบประมาณทีJได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการให้ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเอื Sอต่อสภาพธุรกิจ 5. มีอํานาจพิจารณาอนุมัติการกู้หรื อการขอสินเชืJอใดๆ จากสถาบันการเงิน รวมตลอดถึงการชําระหรื อการใช้ จ่า ยเงิ น เพืJ อ ธุ ร กรรมตามปกติ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ เช่ น การใช้ จ่ า ยเงิ น เพืJ อ การลงทุน และค่า ใช้ จ่ า ยเพืJ อ การ ดําเนินงานต่างๆ ตามผังอํานาจอนุมตั ิ 6. กําหนดโครงสร้ างองค์กรและการบริ หารจัดการทีJมีประสิทธิภาพ โดยครอบคลุมทังเรื S J องการคัดเลือก การฝึ กอบรม การว่าจ้ าง และการเลิกจ้ างของพนักงานของบริ ษัท ทีJเป็ นคณะผู้บริ หาร หรื อผู้บริ หารระดับสูง โดยอาจมอบหมาย ให้ กรรมการผู้จดั การเป็ นผู้มีอํานาจลงนามในสัญญาจ้ างแรงงาน 7. กํากับดูแล และอนุมตั ิเรืJ องทีJเกีJยวกับการดําเนินงานของบริ ษัทฯ และอาจแต่งตังหรื S อมอบหมายให้ บคุ คลใดบุคคล หนึJ ง หรื อ หลายคนกระทํ า การ อย่ า งหนึJ ง อย่ า งใดแทนคณะกรรมการบริ ห ารตามทีJ เ ห็ น สมควรได้ และ คณะกรรมการบริ หารสามารถยกเลิก เปลียJ นแปลง หรื อแก้ ไขอํานาจนันๆ S ได้ 8. ปฏิบตั ิหน้ าทีJอืJนใด ตามทีJได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัทฯ 9. รายงานการถือหลักทรั พย์ ของตนของคู่สมรสและของบุตรทีJยังไม่บรรลุนิติภาวะทีJถือในบริ ษัทในการประชุม คณะกรรมการบริ หารเป็ นประจําทุกครังS และต้ องแจ้ งให้ บริ ษัทฯทราบโดยมิชกั ช้ าเมืJอมีกรณีดงั ต่อไปนี S • มีสว่ นได้ เสียไม่วา่ โดยตรงโดยอ้ อมในสัญญาใดๆทีJบริ ษัทฯทําขึ Sนระหว่างรอบปี บัญชี • ถือหุ้นในบริ ษัทฯ ทังนี S S การมอบอํานาจดังกล่าวข้ างต้ นให้ แก่คณะกรรมการบริ หารนันS กําหนดให้ รายการทีJกรรมการบริ หาร หรื อ บุคคลทีJอาจมีความขัดแย้ ง มีส่วนได้ เสีย หรื ออาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์อืJนใดกับบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อย ให้ กรรมการบริ หารซึJงมีส่วนได้ เสียในเรืJ องใด ไม่มีสิทธิ ออกเสียงลงคะแนนในเรืJ องนันS ซึJงการอนุมัติรายการทีJอาจมีความ ขัดแย้ งทางผลประโยชน์ดังกล่าวอาจต้ องดําเนินการตามประกาศตลาดหลักทรั พย์ แห่งประเทศไทย เรืJ องหลักเกณฑ์ วิธีการ และการเปิ ดเผยรายการทีJเกีJยวโยงกัน พ.ศ.2546 8.2.5

คณะผู้บริหาร

ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯ มีผ้ บู ริ หาร จํานวน 13 คน ประกอบด้ วย รายชื$อ

ตําแหน่ ง

15. นายสุรเดช

ทวีแสงสกุลไทย

กรรมการผู้จดั การใหญ่ และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร

16. นางสาวอัศนา

ทวีแสงสกุลไทย

รองกรรมการผู้จดั การใหญ่อาวุโส

17. นางสมนึก

แสงอินทร์

รองกรรมการผู้จดั การใหญ่

18. นายนิติธร

ดีอําไพ

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – การเงิน

19. นายประสบสุข

บุญขวัญ

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – พัฒนาธุรกิจในประเทศ

20. Mr.Sven Markus Gaber

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร - การตลาดต่างประเทศ


50 21. นางสาวภัทริ นทร์ อนุกลู อนันต์ชยั

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – ทัวJ ไป

22. นายนพรัตน์

แสงสว่าง

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – การผลิต

23. นายอภิชยั

ชุมศรี

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – ความเสียJ ง

24. นายนิรุติ

สุมงคล

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – ออกแบบวิศวกรรม

25. นายผดุงเดช

เอื Sอสุขกุล

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – การพัฒนาธุรกิจต่างประเทศ

26. นายบํารุง

ชินสมบัติ

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – งานบริ การ

27. นายศักริ นทร์

อุน่ นิJม

รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร – การตลาดในประเทศ

หมายเหตุ:ทีJประชุมคณะกรรมการบริ หาร ครังS ทีJ 12/2559 เมืJอวันทีJ 30 ธันวาคม 2559 มีมติแต่งตังนายฉั S ตรชัย กันตวิรุฒ และทีJ ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทรั บทราบในทีJประชุม ครั งS ทีJ 1/2560 เมืJอวันทีJ 20 มกราคม 2560 โดยมีผ ลให้ เป็ น กรรมการบริ หารเมืJอวันทีJ 1 มกราคม 2560 แทนนายทศพล ผลิตาภรณ์ ทีJพ้นจากตําแหน่งเมืJอวันทีJ 20 ตุลาคม 2559 โดยการลาออกจากบริ ษัท

ขอบเขตอํานาจหน้ าที$และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้ าหน้ าที$บริหาร 1. กําหนดและเสนอกลยุทธ์และแผนการทางธุรกิจต่อคณะกรรมการบริ ษัท 2. ดําเนินการตามกลยุทธ์และแผนทางธุรกิจทีJได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัท 3. แสวงโอกาสทางธุรกิจทีJเกีJยวข้ องกับทางธุรกิจของกลุ่มบริ ษัทฯ รวมทังธุ S รกิ จใหม่ทีJมีความเป็ นไปได้ เพืJอเพิJม รายได้ ให้ แก่บริ ษัทฯ และพนักงานของบริ ษัทฯ เพืJอนําเสนอคณะกรรมการบริ ษัทพิจารณา 4. ดําเนินการและปฏิบตั ิภารกิจทีJคณะกรรมการบริ ษัทมอบหมายภายใต้ นโยบายของคณะกรรมการบริ ษัท 5. สังJ การ ออกระเบียบ / ประกาศ / บันทึก เพืJอให้ การปฏิบตั ิงานเป็ นไปตามนโยบาย 6. มีอํานาจพิจารณาอนุมัติการกู้หรื อการขอสินเชืJอใดๆ จากสถาบันการเงิน รวมตลอดถึงการชําระหรื อการใช้ จ่ายเงินเพืJอธุรกรรมตามปกติธุรกิจของบริ ษัท เช่น การใช้ จ่ายเงินเพืJอการลงทุน และค่าใช้ จ่ายเพืJอการดําเนินงาน ต่างๆ ตามผังอํานาจอนุมตั ิ 7. ประสานงาน ผู้บริ หารและพนักงาน เพืJอปฏิบตั ิตามนโยบายและทิศทางธุรกิจทีJได้ รับจากคณะกรรมการบริ ษัท 8. ดูแลการทํ างานของพนักงานให้ เป็ นไปตามนโยบาย และกฎระเบี ยบต่างๆ รวมถึง การปฏิบัติงานด้ ว ยหลัก บรรษัทภิบาลทีJดีในการดําเนินธุรกิจ 9. ส่งเสริ มพัฒนาความรู้ความสามารถและศักยภาพของพนักงาน เพืJอเพิJมศักยภาพขององค์กร 10. พิจารณาผลประกอบการของบริ ษัทฯ และนําเสนอการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลและเงินปั นผลประจําปี เพืJอ นําเสนอให้ แก่คณะกรรมการบริ ษัทอนุมตั ิ ทังนี S S การมอบอํานาจหน้ าทีJของกรรมการผู้จดั การใหญ่และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หารดังกล่าวข้ างต้ น จะไม่รวมถึง อํานาจทีJทาํ ให้ กรรมการผู้จดั การใหญ่และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร สามารถอนุมตั ิรายการทีJตน หรื อบุคคลทีJอาจมีความ ขัดแย้ ง มีสว่ นได้ เสีย หรื ออาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์อืJนใด (ตามข้ อบังคับบริษัทฯ และตามทีJสาํ นักงาน ก.ล.ต. กําหนด) ทํากับบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อย


51

สรุปตารางอํานาจอนุมตั ิทวัJ ไป ตําแหน่ ง

การอนุมตั ิค่าใช้ จ่าย การอนุมตั ิรับงาน / การอนุมตั ิเงินลงทุน /2 เข้ าประมูลงาน ทั $ ว ไป (บาท / รายการ) (บาท / รายการ) (บาท / รายการ)

คณะกรรมการบริ ษัท

เกินกว่า 1,000,000,000

เกินกว่า 50,000,000

คณะกรรมการบริ หาร

100,000,001 – 1,000,000,000

ไม่เกิน 50,000,000

เกินกว่า 2,000,000/2

ไม่เกิน 100,000,000

ไม่เกิน 20,000,000

ไม่เกิน 2,000,000

ไม่เกิน 10,000,000

- ไม่มีอํานาจอนุมตั ิ -

20,000 – 100,000

ไม่เกิน 10,000,000

- ไม่มีอํานาจอนุมตั ิ -

ไม่เกิน 20,000/1

กรรมการผู้จดั การใหญ่ และประธาน เจ้ าหน้ าทีJบริ หาร รองกรรมการผู้จดั การใหญ่อาวุโส / รอง กรรมการผู้จดั การใหญ่ รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร

หมายเหตุ: ที #ประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ครั8งที # 4/2559 เมื #อวันที # 9 สิ งหาคม 2559 มี มติ อนุมตั ิ ตารางอํ านาจอนุมตั ิ ทวั# ไป ดังกล่าว /1 = มี อํานาจอนุมตั ิ เฉพาะค่าใช้จ่ายในส่วนของตนเอง /2 =ค่าใช้จ่ายทัว# ไป หมายถึง ค่าใช้จ่ายทีไ# ม่ใช่ค่าใช้จ่ายประจํา อาทิ ค่านํ8า ค่าไฟ ค่าเช่า เป็ นต้น และไม่ใช่ค่าใช้จ่าย ที #เกี #ยวข้องกับงานขายโครงการหรื อค่าใช้จ่ายการผลิ ตต่างๆ โดยหากจํ านวนเกิ น 2 ล้านบาท จะต้องผ่านการ อนุมตั ิ โดยคณะกรรมการบริ หารทุกรายการ

บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยมี ก ารกํ า หนดงบประมาณรายปี สํ า หรั บ แต่ ล ะปี โดยผ่ า นการพิ จ ารณาของคณะ กรรมการบริ หาร ดังนันS ในกรณีทีJฝ่ายงานใดฝ่ ายงานหนึงJ มีคา่ ใช้ จ่ายเกินจากงบประมาณทีJกําหนดไว้ จะต้ องมีการเสนอ ขออนุมตั ิงบประมาณเพิJมเติมจากคณะกรรมการบริ หาร ของบริ ษัทฯ นันในทุ S กกรณี

8.3 การสรรหาและแต่ งตังD กรรมการและผู้บริหารระดับสูงสุด การคัดเลือกบุคคลทีJจะแต่งตังเป็ S นกรรมการหรื อผู้บริ หารของบริ ษัท บริ ษัทฯ จะมอบหมายให้ คณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสีJยง สรรหา และกําหนดค่าตอบแทน ซึJงแต่งตังโดยที S Jประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ครังS ทีJ 6/2557 เมืJอวันทีJ 21 ธันวาคม 2557 เป็ นผู้ทําหน้ าทีJโดยเฉพาะ ทังนี S SบุคคลทีJได้ รับการแต่งตังให้ S ดํารงตําแหน่งกรรมการ และผู้บริ หารของบริ ษัท จะไม่มีการกีดกันทางเพศ ทังS นี SในการดําเนินกิจการนันS กรรมการบริ ษัท กรรมการชุดย่อยและ ผู้บริ หารระดับสูงของบริ ษัท ต้ องปฏิบตั ิหน้ าทีJให้ เป็ นไปตามกฎหมายวัตถุประสงค์และข้ อบังคับของบริ ษัทฯตลอดจนมติทีJ ประชุมผู้ถือหุ้นด้ วยความซืJอสัตย์สจุ ริ ตและระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริ ษัทฯ ต้ องเป็ นบุคคลทีJมีคณ ุ สมบัติครบตาม มาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชน พ.ศ.2535 และตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ทีJ ทจ.28/2551 เรืJ องการขออนุญาตและการอนุญาตให้ เสนอขายหุ้นทีJออกใหม่ ฉบับลงวันทีJ 15 ธันวาคม 2551 และต้ องไม่เป็ นบุคคลทีJมี ลักษณะต้ องห้ ามตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ว่าด้ วยข้ อกําหนดเกีJยวกับผู้บริ หารของบริ ษัททีJออกหลักทรัพย์ ทังนี S S กรรมการและผู้บริ หารทุกคน ต้ องไม่มีประวัติกระทําผิดตามกฎหมายในระยะ 10 ปี ย้ อนหลังก่อนวันยืJนคําขออนุญาต รวมทังไม่ S มีประวัติถกู พิพากษาถึงทีJสดุ ให้ เป็ นบุคคลล้ มละลาย ไม่เป็ นบุคคลทีJฝ่าฝื นข้ อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คําสังJ มติ


52

คณะกรรมการ หรื อข้ อตกลงการจดทะเบียนหลักทรัพย์กบั ตลาดหลักทรัพย์ฯ ตลอดจนหนังสือเวียนทีJตลาดหลักทรัพย์ฯ รวมทังข้ S อพิพาทหรื อการถูกฟ้ องร้ องทีJอยูร่ ะหว่างตัดสิน โดยมีองค์ประกอบและหลักเกณฑ์การสรรหา ดังนี S

องค์ ประกอบและการสรรหาคณะกรรมการบริษัท 1. ให้ บริ ษัทฯ มีคณะกรรมการของบริ ษัท เพืJอดําเนินกิจการของบริ ษัท ประกอบด้ วยกรรมการอย่างน้ อยห้ า (5) คน โดยกรรมการไม่น้อยกว่ากึJงหนึงJ ของจํานวนกรรมการทังหมดจะต้ S องมีถิJนทีJอยูใ่ นราชอาณาจักร และกรรมการของ บริ ษัทจะต้ องเป็ นผู้มีคณ ุ สมบัติตามกฎหมายกําหนด 2. ให้ ทีJประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตังกรรมการบริ S ษัทฯ ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการดังต่อไปนี S 2.1. ถือหุ้นคนหนึงJ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึงJ (1) หุ้นต่อหนึงJ (1) เสียง 2.2. ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้ คะแนนเสียงทีJมีอยู่ทังS หมดตาม 2.1 เลือกตังบุ S คคลคนเดียวหรื อหลายคนเป็ น กรรมการก็ได้ กรณีเลือกบุคคลหลายคนเป็ นกรรมการจะแบ่งคะแนนเสียงให้ แก่ผ้ ใู ดมากน้ อยเพียงใดไม่ได้ 2.3. บุคคลซึงJ ได้ รับคะแนนสูงสุดตามลําดับลงมาเป็ นผู้ได้ รับการเลือกตังเป็ S นกรรมการเท่าจํานวนกรรมการทีJ จะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตังในครั S งS นันS ในกรณีทีJบคุ คลซึJงได้ รับการเลือกตังในลํ S าดับถัดลงมามีคะแนนเสียง เท่ากันเกินจํานวนกรรมการทีJจะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตังในครั S งS นันS ให้ ประธานทีJประชุมเป็ นผู้ออกเสียงชี S ขาด 3. ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี ทุกครังS ให้ กรรมการออกจากตําแหน่งจํานวนหนึJงในสาม (1/3) ของจํานวน กรรมการในขณะนันS ถ้ าจํานวนกรรมการจะแบ่งออกให้ ตรงเป็ นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ ออกโดยจํานวนใกล้ ทีJสดุ กับ ส่วนหนึJงในสาม (1/3) และกรรมการซึJงพ้ นจากตําแหน่ง อาจได้ รับเลือกให้ กลับเข้ ามารับตําแหน่งอีกได้ และ กรรมการทีJจะต้ องออกจากตําแหน่งในปี แรกและปี ทีJสองภายหลังจดทะเบียนบริ ษัทนันS ให้ จับสลากกัน ส่วนปี หลังๆ ต่อไปให้ กรรมการคนทีJอยูใ่ นตําแหน่งนานทีJสดุ นันเป็ S นผู้ออกจากตําแหน่ง 4. กรรมการคนใดจะลาออกจากตําแหน่งให้ ยืJนใบลาออกต่อบริ ษัทฯ โดยการลาออกนันจะมี S ผลนับแต่วนั ทีJใบลา ออกไปถึงบริ ษัทฯ 5. ทีJประชุมผู้ถือหุ้นอาจลงมติให้ กรรมการคนใดออกจากตําแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ ด้วยคะแนนเสียงไม่ น้ อยกว่าสามในสีJ (3/4) ของจํานวนผู้ถือหุ้นซึJงมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีห้ นุ นับรวมกันได้ ไม่น้อยกว่า กึJงหนึงJ ของจํานวนหุ้นทีJถือโดยผู้ถือหุ้นทีJมาประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง 6. ในกรณีทีJตําแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอืJนนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้ คณะกรรมการเลือกบุคคลซึงJ มี คุณสมบัติ และไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามตามกฎหมายว่าด้ วยบริ ษัทมหาชนจํากัดหรื อกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ เข้ าเป็ นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้ นแต่วาระของกรรมการผู้ นันจะเหลื S อน้ อยกว่าสอง (2) เดือน โดยบุคคลซึงJ เข้ าเป็ นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยูใ่ นตําแหน่งกรรมการได้ เพียง เท่าวาระทีJยงั เหลืออยู่ของกรรมการทีJตนแทน มติของคณะกรรมการในการแต่งตังบุ S คคลเข้ าเป็ นกรรมการแทน ต้ องประกอบด้ วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสีJ (3/4) ของจํานวนกรรมการทีJยงั เหลืออยู่ 7. กรรมการจะเป็ นผู้ถือหุ้นของบริ ษัทหรื อไม่ก็ได้ 8. ให้ คณะกรรมการเลือกกรรมการคนหนึJงเป็ นประธานกรรมการ ในกรณีทีJคณะกรรมการพิจารณาเห็นสมควร จะ เลือกกรรมการคนหนึงJ หรื อหลายคนเป็ นรองประธานกรรมการและกรรมการผู้จดั การก็ได้ รองประธานกรรมการมี หน้ าทีJตามข้ อบังคับในกิจการซึงJ ประธานกรรมการมอบหมาย


53

องค์ ประกอบและการสรรหาคณะกรรมการตรวจสอบ 1. เป็ นกรรมการบริ ษัททีJเป็ นอิสระ จํานวน 3 คน โดยคณะกรรมการบริ ษัทจะเป็ นผู้คดั เลือกสมาชิก 1 คนให้ ดํารง ตําแหน่งประธานกรรมการตรวจสอบ 2. กรรมการตรวจสอบแต่ละคนต้ องเป็ นผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชํานาญทีJเหมาะสมต่อ ภารกิจทีJได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท รวมถึงความรู้ และความสามารถในเรืJ องทีJเกีJยวข้ องต่อการ ดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 3. กรรมการตรวจสอบอย่างน้ อย 1 คน ต้ องเป็ นบุคคลทีJมีความรู้ ความเข้ าใจหรื อมีประสบการณ์ด้านการบัญชีหรื อ การเงิน 4. คณะกรรมการตรวจสอบแต่งตังเลขานุ S การคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้ อย 1 คน เพืJอทําหน้ าทีJปฏิบตั ิงานใน เรืJ องเกีJยวกับการจัดเตรี ยมข้ อมูล วาระการประชุม บันทึกการประชุม จัดทํารายงานกิจกรรม และอืJนๆ ตามทีJ คณะกรรมการตรวจสอบมอบหมาย คุณสมบัติคณะกรรมการอิสระ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้ อยละ 1 ของจํานวนหุ้นทีJมีสทิ ธิออกเสียงทังหมดของบริ S ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท ทังนี S S นับรวมการถือหุ้นของผู้ทีJเกีJยวข้ องของกรรมการอิสระ รายนันๆ S ด้ วย 2. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการทีJมีส่วนร่ วมบริ หารงาน ลูกจ้ าง พนักงาน ทีJปรึ กษาทีJได้ เงินเดือนประจํา หรื อผู้มี อํานาจควบคุมของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม บริ ษัทย่อยลําดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อ ของผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันทีJ ยืJนคําขออนุญาตต่อสํานักงาน ก.ล.ต. หรื อวันทีJได้ รับแต่งตังS ทังนี S S ลักษณะต้ องห้ ามดังกล่าว ไม่รวมถึงกรณีทีJ กรรมการอิสระเคยเป็ นข้ าราชการ หรื อทีJปรึกษาของส่วนราชการซึงJ เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุม ของบริ ษัท 3. ไม่เป็ นบุคคลทีJมีความสัมพันธ์ ทางสายโลหิต หรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะทีJเป็ น บิดา มารดา คูส่ มรส พีJน้อง และบุตร รวมทังคู S ่สมรสของบุตร ของผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอํานาจควบคุม หรื อ บุคคลทีJจะได้ รับการเสนอให้ เป็ นผู้บริ หารหรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย 4. ไม่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มี อํานาจควบคุมของบริ ษัท ในลักษณะทีJอาจเป็ นการขัดขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทังไม่ S เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้ถือหุ้นทีJมีนยั หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของผู้ทีJมีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะ ดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันทีJยืJนคําขออนุญาตต่อสํานักงาน 5. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจ ควบคุมของบริ ษัท และไม่เป็ นผู้ถือหุ้นทีJมีนยั ผู้มีอํานาจควบคุม หรื อหุ้นส่วนของสํานักงานสอบบัญชี ซึงJ มีผ้ สู อบ บัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัทสังกัดอยู่ เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันทีJยืJนคําขออนุญาตต่อสํานักงาน ก.ล.ต. หรื อวันทีJได้ รับแต่งตังS


54

6. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพใดๆ ซึJงรวมถึงการให้ บริ การเป็ นทีJปรึ กษากฎหมายหรื อทีJปรึ กษา ทางการเงิน ซึJงได้ รับค่าบริ การเกินกว่า 2 ล้ านบาทต่อปี จากบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท และไม่เป็ นผู้ถือหุ้นทีJมีนัย ผู้มีอํานาจควบคุม หรื อหุ้นส่วนของผู้ ให้ บริ การทางวิชาชีพนันS เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันทีJยืJนคําขอ อนุญาตต่อสํานักงาน ก.ล.ต. หรื อวันทีJได้ รับแต่งตังS 7. ไม่เป็ นกรรมการทีJได้ รับการแต่งตังขึ S SนเพืJอเป็ นตัวแทนของกรรมการของบริ ษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้ถือหุ้นซึJง เป็ นผู้ทีJเกีJยวข้ องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการทีJมีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันทีJมีนยั กับกิจการของบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย หรื อไม่ เป็ นหุ้นส่วนทีJมีนัยในห้ างหุ้นส่วน หรื อเป็ นกรรมการทีJมีส่วนร่ วมบริ หารงาน ลูกจ้ าง พนักงาน ทีJปรึ กษาทีJรับ เงินเดือนประจํา หรื อถือหุ้นเกินร้ อยละ 1 ของจํานวนหุ้นทีJมีสิทธิ ออกเสียงทังหมดของบริ S ษัทอืJน ซึJงประกอบ กิจการทีJมีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันทีJมีนยั กับกิจการของบริ ษัท หรื อบริ ษัทย่อย 9. ไม่มีลกั ษณะอืJนใดทีJทําให้ ไม่สามารถให้ ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกีJยวกับการดําเนินงานของบริ ษัท 10. กรรมการอิสระตามคุณสมบัติข้างต้ น อาจได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท ให้ ตดั สินใจในการดําเนิน กิจการของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม บริ ษัทย่อยลําดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อ ผู้มีอํานาจ ควบคุม โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบองค์คณะ (Collective Decision) ได้ คุณสมบัติคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบของบริ ษัทต้ องเป็ นกรรมการอิสระของบริ ษัททีJมีคณ ุ สมบัติครบถ้ วนและไม่เป็ นบุคคลต้ องห้ าม ตามกฎหมายว่า ด้ ว ยบริ ษั ทมหาชนจํ า กัด และกฎหมายว่า ด้ ว ยหลัก ทรั พย์ และตลาดหลัก ทรั พย์ และกฎหมายอืJน ทีJ เกีJยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัททีJกําหนดไว้ ดงั นี S 1. เป็ นกรรมการบริ ษัททีJไม่มีสว่ นร่ วมในการบริ หารงาน และไม่เป็ นลูกจ้ าง พนักงาน หรื อทีJปรึ กษาทีJได้ รับเงินเดือน ประจําจากบริ ษัท บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม บริ ษัททีJเกีJยวข้ อง หรื อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัท 2. เป็ นกรรมการทีJไม่มีผลประโยชน์หรื อส่วนได้ เสียไม่ว่าทางตรงหรื อทางอ้ อมทังในด้ S านการเงินและการบริ หารงาน ในบริ ษัท บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม บริ ษัททีJเกีJยวข้ อง หรื อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัท 3. เป็ นกรรมการทีJไม่ใช่เป็ นผู้ทีJเกีJยวข้ องหรื อญาติสนิทของผู้บริ หารหรื อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัท 4. เป็ นกรรมการทีJไม่ได้ รับการแต่งตังขึ S SนเพืJอเป็ นตัวแทนเพืJอรักษาผลประโยชน์ของกรรมการบริ ษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้ถือหุ้นซึงJ เป็ นผู้ทีJเกีJยวข้ องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัท 5. ถือหุ้นไม่เกินร้ อยละ 1.0 ของทุนชําระแล้ วของบริ ษัท บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม บริ ษัททีJเกีJยวข้ อง ทังนี S Sให้ นบั รวมหุ้นทีJ ถือโดยผู้ทีJเกีJยวข้ องด้ วย (หมายความรวมถึงบุคคลทีJมีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต ทางการสมรส และโดยการจด ทะเบียนตามกฎหมาย เช่น บิดา มารดา คูส่ มรส บุตร เป็ นต้ น) 6. สามารถปฏิ บัติ ห น้ า ทีJ แสดงความเห็ น หรื อ รายงานผลการปฏิ บัติ ง านตามหน้ า ทีJ ทีJ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริ ษั ท โดยไม่อยู่ภายใต้ การควบคุมของผู้บริ หารหรื อ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริ ษั ท รวมทังS ผู้ทีJ เกีJยวข้ อง (หมายความรวมถึง ผู้ทีJมีความสัมพันธ์ หรื อเกีJยวข้ องกับบริ ษัท จนทําให้ ไม่สามารถทําหน้ าทีJได้ อย่าง อิสระหรื อคล่องตัว เช่น ลูกค้ า เจ้ าหนี S ลูกหนี S หรื อผู้ทีJมีความเกีJยวข้ องทางธุรกิจอย่างมีนยั สําคัญ เป็ นต้ น) หรื อ ญาติสนิทกับบุคคลดังกล่าว


55

7. มีความเป็ นอิสระสามารถแสดงความเห็นหรื อรายงานได้ อย่างเสรี ตามภารกิจทีJได้ รับมอบหมาย โดยไม่ต้อง คํานึงถึงผลประโยชน์ใดๆ ทีJเกีJยวกับทรัพย์สนิ หรื อตําแหน่งหน้ าทีJและไม่ตกอยูภ่ ายใต้ อิทธิพลของบุคคลหรื อกลุม่ ใดๆ รวมถึงไม่มีสถานการณ์ใดๆ ทีJจะทําให้ ไม่สามารถแสดงความเห็นได้ ตามทีJพงึ จะเป็ น 8. สามารถอุทิศเวลาอย่างเพียงพอในการดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ และมีความตังใจที S JจะเพิJมพูน ความรู้เกีJยวกับการดําเนินงานของบริ ษัทอย่างต่อเนืJองเพืJอเพิJมประสิทธิผลในการทํางาน 9. คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระการดํารงตําแหน่งต่อเนืJองได้ ไม่เกิน 9 ปี

องค์ ประกอบและคุณสมบัติของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสี$ยง สรรหา และ กําหนดค่ าตอบแทน(คณะกรรมการฯ ) 1. คณะกรรมการ ฯ ได้ รับการแต่งตังโดยคณะกรรมการบริ S ษัท ซึงJ ประกอบด้ วยกรรมการบริ ษัท อย่างน้ อย 3 คน โดย กรรมการมากกว่ากึงJ หนึงJ ของจํานวนกรรมการทังหมดจะต้ S องเป็ นกรรมการอิสระ และกรรมการส่วนน้ อยต้ องไม่มี ตําแหน่งเป็ นประธานคณะกรรมการบริ ษัท รวมถึงกรรมการผู้จดั การใหญ่ 2. ประธานคณะกรรมการฯ ต้ องเป็ นกรรมการอิสระ ซึงJ ได้ รับการคัดเลือกจากทีJประชุมของคณะกรรมการฯ 3. คณะกรรมการ ฯ แต่งตังเลขานุ S การคณะกรรมการ ฯ อย่างน้ อย 1 คน เพืJอทําหน้ าทีJปฏิบตั งิ านในเรืJองเกีJยวกับการ จัดเตรี ยมข้ อมูล วาระการประชุม บันทึกการประชุม จัดทํารายงานกิจกรรม และอืJนๆ ตามทีJคณะกรรมการฯ มอบหมาย

องค์ ประกอบและการสรรหาคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริ หารประกอบด้ วยผู้บริ หารระดับสูงของบริ ษัทโดยในตําแหน่งต่อไปนี Sให้ ถือเป็ นกรรมการบริ หาร ของบริ ษัทฯ โดยตําแหน่ง ดังนี S (1) กรรมการผู้จดั การใหญ่ และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร (2) รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ (3) รองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หารฝ่ ายต่างๆ ทังนี S SทีJประชุมคณะกรรมการบริ หารสามารถเสนอชืJอบุคคลทีJเหมาะสมเข้ ามาเป็ นกรรมการบริ หารเพิJมเติมได้ ตาม ความเหมาะสม โดยกรรมการบริ หารมีวาระดํารงตําแหน่งได้ คราวละ 4 ปี

องค์ ประกอบและการสรรหากรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้ าหน้ าที$บริหาร กรรมการผู้จดั การใหญ่และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร มาจากการเสนอชืJอของคณะกรรมการบริ หารโดยคัดเลือก จากบุคคลทีJอยู่ในคณะกรรมการบริ หารขณะทีJทําการคัดเลือกเพืJอนําเสนอให้ คณะกรรมการบริ ษัทเป็ นผู้อนุมตั ิแต่งตังS กรรมการผู้จดั การใหญ่และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร มีวาระดํารงตําแหน่งคราวละ 4 ปี

8.4 การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม บริ ษัทฯ มีการแต่งตังบุ S คคลเข้ าเป็ นกรรมการในบริ ษัทย่อย โดยบริ ษัทฯ ได้ กําหนดระเบียบปฏิบตั ิให้ การเสนอ ชืJ อและใช้ สิทธิ ออกเสีย งดัง กล่าวต้ องได้ รับอนุมัติ จากคณะกรรมการบริ ษัทด้ ว ย โดยบุคคลทีJไ ด้ รับการแต่งตังS ให้ เป็ น กรรมการในบริ ษัทย่อย มีหน้ าทีJดําเนินการเพืJอประโยชน์ทีJดีทีJสดุ ของบริ ษัทย่อย นอกจากนี SการทํารายการเกีJยวโยง การ


56

ได้ มาหรื อจําหน่ายไปซึงJ สินทรัพย์ หรื อการทํารายการสําคัญอืJนๆ ให้ ใช้ หลักเกณฑ์ทีJเกีJยวข้ องกับการเปิ ดเผยข้ อมูลและการ ทํารายการในลักษณะเดียวกับหลักเกณฑ์ของบริ ษัทฯ รวมถึงมีการกํากับดูแลให้ มีการจัดเก็บข้ อมูล และการบันทึกบัญชี ของบริ ษัทย่อยในรู ปแบบเดียวกันกับบริ ษัทฯ เพืJอบริ ษัทฯสามารถตรวจสอบและนํามาจัดทํางบการเงินรวมได้ ทนั ตาม กําหนด

8.5 การดูแลเรื$ องการใช้ ข้อมูลภายใน สําหรั บการดูแลเรืJ องการนําข้ อมูล ภายในของบริ ษัท ฯ ไปใช้ เพืJ อประโยชน์ ส่วนตนของผู้บ ริ หาร บริ ษัท ฯ มี นโยบายทีJคอ่ นข้ างเข้ มงวดในการเปิ ดเผยข้ อมูลทางด้ านแผนงานบริ ษัทฯ รวมถึงข้ อมูลทางด้ านการบัญชี และการเงิน เนืJอง ด้ วยบริ ษัทฯ ยึดมัJนในกฎ ระเบียบ และข้ อปฏิบตั ิ ทีJอยู่ภายใต้ การควบคุมดูแลของตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยเคร่ งครัด ซึJง บุคลากรของบริ ษัทฯ ไม่สามารถนําข้ อมูลภายในไปเปิ ดเผยต่อบุคคลภายนอกได้ นอกจากได้ รับการอนุมตั ิเป็ นลายลักษณ์ อักษร สําหรับข้ อมูลทางการบัญชี และการเงินมีการจัดเก็บอยูใ่ นระบบคอมพิวเตอร์ โดยผู้ทีJสามารถดูข้อมูลได้ ต้องเป็ น ผู้มีอํานาจ และหน้ าทีJ ซึJงบริ ษัทฯ ได้ มีการกําหนดรหัสผ่านโดยเฉพาะบุคคล และไม่อนุญาตให้ มีการเปิ ดเผยแก่ผ้ ูใด ทังนี S S สําหรับข้ อมูลสรุ ปทังหมด S และข้ อมูลบัญชีการเงินทีJตรวจสอบจะอยู่ในความรับผิดชอบของรองประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หารการเงิ น โดยจะมีการเปิ ดเผยต่อคณะกรรมการบริ ษัท หลังจากการผ่านการตรวจสอบ และเห็นชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบแล้ ว ซึงJ เป็ นขณะเดียวกัน หรื อหลังจากทีJบริ ษัทฯ ได้ แจ้ งและเปิ ดเผยข้ อมูลดังกล่าวต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ผู้บริ หาร ของบริ ษัททุกคนมีความเคารพ ยึดมันJ และถือปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ และข้ อปฏิบตั ิของตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยเคร่ งครัด และทีJผา่ นมาไม่พบว่ามีการนําข้ อมูลภายในของบริ ษัทฯ ไปใช้ เพืJอประโยชน์สว่ นตนของกรรมการหรื อผู้บริ หารแต่อย่างใด บริ ษัทได้ แจ้ งให้ กรรมการ และผู้บริ หารเข้ าใจถึงภาระหน้ าทีJในการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ในบริ ษัทของ ตนเอง คู่สมรส และบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ตลาดจนรายงานการเปลีJยนแปลงการถือหลักทรัพย์ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 และบทกําหนดโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 บริ ษัทฯ มีข้อกําหนดเกีJยวกับการเปลียJ นแปลงข้ อมูลสําคัญของกรรมการและผู้บริ หาร อาทิ ข้ อมูลเกีJยวกับญาติ พีJน้อง การเข้ าไปเป็ นผู้ถือหุ้นในนิติบคุ คลอืJนใด หรื อการเข้ าไปเป็ นกรรมการในนิติบคุ คลอืJนใด เป็ นต้ น ซึJงบุคคลดังกล่าว จะต้ องแจ้ งการเปลียJ นแปลงข้ อมูลสําคัญให้ แก่เลขานุการบริ ษัททราบภายใน 7 วันนับจากมีการเปลียJ นแปลงข้ อมูลนันS โดย มีวตั ถุประสงค์เพืJอให้ เป็ นข้ อมูลล่าสุดเสมอ เลขานุการบริ ษัทจะนําเสนอต่อประธานกรรมการบริ ษัท และประธานกรรมการ ตรวจสอบเพืJอทราบภายใน 7 วันนับจากได้ รับแจ้ ง รวมทังได้ S มีข้อกําหนดให้ กรรมการและผู้บริ หารแจ้ งให้ บริ ษัททราบทันที กรณีทีJบริ ษัทฯ มีการพิจารณาเข้ าทําธุรกรรมใดๆ ก็ตามกับบุคคลเกีJยวข้ องของกรรมการ และผู้บริ หาร ซึJงอาจจะเข้ าเกณฑ์ รายการเกีJยวโยงกัน โดยมีวตั ถุประสงค์เพืJอให้ เลขานุการบริ ษัท แจ้ งให้ ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ ทราบเพืJอดําเนินการตามกฎเกณฑ์ทีJเกีJยวข้ องต่อไป ทังนี S S หากกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อพนักงานของบริ ษัท ฝ่ าฝื นข้ อกําหนด ข้ อบังคับ และกฎระเบียบของบริ ษัทฯ บริ ษัทฯจะดําเนินการลงโทษ ตามทีJได้ กําหนดบทลงโทษไว้ ในคูม่ ือพนักงานของบริ ษัทอย่างเคร่งครัด


57

รายงานการเปลี$ยนแปลงการถือหลักทรั พย์ บริษัทฯ ของกรรมการและผู้บริหาร กรรมการ ผู้บริ หาร และผู้สอบบัญชีของบริ ษัทมีหน้ าทีJต้องเปิ ดเผยรายงานการถือหลักทรัพย์ของตนและของคู่ สมรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ซึJงถือหลักทรัพย์ของบริ ษัท เมืJอใดก็ตามทีJบุคคลดังกล่าวมีการเปลีJยนแปลงการถือ หลักทรัพย์ ก็จะต้ องรายงานตามแบบ 59-2ต่อสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ( ก.ล.ต.) ภายใน 3 วันทําการนับแต่วนั ทีJมีการซื Sอ ขาย โอนหรื อรับโอนหลักทรัพย์และภายใน 30 วัน นับตังแต่ S ได้ รับการเลือกตังให้ S เป็ นกรรมการและผู้บริ หาร บริ ษัทฯ มีการกํากับดูแลกิจการในการแจ้ งการซื Sอขายหลักทรัพย์ของบริ ษัท โดยมอบหมายให้ เลขานุการบริ ษัท ทําหน้ าทีJแจ้ งให้ กรรมการและผู้บริ หาร ผ่านทางช่องทางสือJ อิเล็กทรอนิกส์ลว่ งหน้ า 7 วัน เพืJอให้ กรรมการ และผู้บริ หารได้ รับทราบข้ อมูลทีJเป็ นสาระสําคัญเรืJ อง “ไม่ซื Sอ หรื อขายหุ้นของบริ ษัท” ในช่วงระยะเวลา 1 เดือนก่อนการ เปิ ดเผยงบการเงิน

8.6 ค่ าตอบแทนผู้สอบบัญชี 1. ค่าตอบแทนการสอบทาน และการตรวจสอบงบการเงิน (Audit Fee) บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ได้ จ่ายค่าตอบแทนการตรวจสอบงบการเงินสําหรับงวดบัญชีปี 2556 ให้ แก่ บริ ษัท เอ็ม อาร์ แอนด์ แอสโซซิเอท จํากัด และในปี 2557 - 2559 ให้ แก่ บริ ษัท ไพร้ ซวอเตอร์ เฮาส์คเู ปอร์ ส เอบีเอเอส จํากัด ดังนี S (หน่วย : บาท) ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 1. ค่าสอบบัญชีประจําปี 1.1. CHO และงบการเงินรวม 940,000 1,060,000 1,180,000 1.2. CTV-TMT 420,000 462,000 512,000 1.3. TSP-CTV 250,000 230,000 230,000 2. ค่าสอบทานงบการเงินระหว่างกาล 2.1. CHO และงบการเงินรวม 510,000 540,000 570,000 2.2. CTV-TMT 0 0 0 รวมทังD สินD 2,120,000 2,292,000 2,492,000 รวมเฉพาะบริ ษัท CHO 1,450,000 1,600,000 1,750,000 หมายเหตุ : TSP-CTVคือกิจการร่ วมค้ า ทีเอสพี-ซีทีวี

2. ค่าตอบแทนอืJน (Non Audit Fee) - ไม่มี –


58

8.7 การปฏิบัตติ ามหลักการกํากับดูแลกิจการที$ดีในเรื$ องอื$นๆ ในช่วงปี 2559 ทีJผา่ นมา บริ ษัทฯ มีการจัดประชุมกรรมการบริ ษัท ในคณะกรรมการชุดย่อย เพืJอให้ เป็ นไปตาม หลักการกํากับดูแลกิจการทีJดี โดยมีรายละเอียดดังนี S สถิติการเข้ าประชุมของคณะกรรมการบริษัทในช่ วงปี ที$ผ่านมา ในปี 2559 คณะกรรมการบริ ษัทมีการประชุมทังหมด S 6 ครังS โดยรายละเอียดการเข้ าร่วมประชุมของกรรมการมีดงั นี S รายชื$อคณะกรรมการ 8. นางเพ็ญพิมล เวศย์วรุตม์ 9. นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย 10. นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย 11. นายศิริวฒ ั น์ ทวีแสงสกุลไทย 12. นายอนุสรณ์ ธรรมใจ 13. นายอาษา ประทีปเสน 14. นายชัชวาล เตรี ยมวิจารณ์กลุ

การเข้ าร่ วมประชุม / จํานวนครังD การประชุม 6/6 6/6 6/6 6/6 6/6 6/6 6/6

สถิติการเข้ าประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบในช่ วงปี ที$ผ่านมา ในปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมทังหมด S 9 ครังS โดยรายละเอียดการเข้ าร่วมประชุมของกรรมการ ตรวจสอบมีดงั นี S รายชื$อคณะกรรมการ 1. นายอนุสรณ์ ธรรมใจ 2. นายอาษา ประทีปเสน 3. นายชัชวาล เตรี ยมวิจารณ์กลุ

การเข้ าร่ วมประชุม / จํานวนครังD การประชุม 9/9 9/9 9/9

หมายเหตุ: ในระหว่างปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบได้ มีการประชุมโดยอิสระ ร่ วมกับผู้สอบบัญชี บริ ษัท ไพร้ ซวอ เตอร์ เฮ้ าส์คเู ปอร์ ส์ เอบีเอเอส จํากัด จํานวน 6 ครังS

สถิติการเข้ าประชุมของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริหารความเสี$ยง สรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน ในช่ วงปี ที$ผ่านมา ในปี 2559 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการฯ มีการประชุมทังหมด S 5 ครังS โดยรายละเอียดการเข้ าร่ วมประชุมของ กรรมการกํากับดูแลกิจการฯ มีดงั นี S รายชื$อคณะกรรมการ 1. นายชัชวาล เตรี ยมวิจารณ์กลุ 2. นายอาษา ประทีปเสน 3. นายศิริวฒ ั น์ ทวีแสงสกุลไทย

การเข้ าร่ วมประชุม / จํานวนครังD การประชุม 5/5 5/5 5/5


59

สถิติการเข้ าประชุมของคณะกรรมการบริหารในช่ วงปี ที$ผ่านมา ในปี 2559 คณะกรรมการบริ หารมีการประชุมทังหมด S 12 ครังS โดยรายละเอียดการเข้ าร่วมประชุมของ กรรมการบริ หารมีดงั นี S 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.

รายชื$อคณะกรรมการ นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย นายศิริวฒ ั น์ ทวีแสงสกุลไทย นางสมนึก แสงอินทร์ นายนิติธร ดีอําไพ นายประสบสุข บุญขวัญ Mr.Sven Markus Gaber นางสาวภัทริ นทร์ อนุกลู อนันต์ชยั นายนพรัตน์ แสงสว่าง นายอภิชยั ชุมศรี นายนิรุติ สุมงคล นายผดุงเดช เอื Sอสุขกุล นายบํารุง ชินสมบัติ นายศักริ นทร์ อุน่ นิJม

การเข้ าร่ วมประชุม / จํานวนครังD การประชุม 11/12 7/12 3/12 11/12 11/12 11/12 9/12 12/12 12/12 12/12 11/12 11/12 11/12 11/12

หมายเหตุ: นายทศพล ผลิ ตาภรณ์ เข้าร่ วมประชุมทัง8 หมด 3 ครั8ง เนือ# งจากเป็ นกรรมการบริ หารทีล# าออกระหว่างปี 2559 แต่งตัง8 เมื #อ วันที # 21 มิ ถนุ ายน 2559 และพ้นจากจากตําแหน่งเมื #อวันที # 20 ตุลาคม 2559

การรั บเรื$ องร้ องเรี ยน บริ ษัทฯ มีนโยบาย การรับเรืJ องร้ องเรี ยน สําหรับผู้มีสว่ นได้ เสียทุกฝ่ าย โดยบริ ษัทฯ ได้ จัดให้ มีช่องทางแจ้ งเรืJ อง ร้ องเรี ยน สําหรับผู้มีส่วนได้ เสียภายใน และภายนอกองค์กร มีการตรวจสอบตามขันตอน S และบันทึกการสอบสวนไว้ เป็ น ลายลักษณ์ อกั ษร และส่งให้ หน่วยงานตรวจสอบภายใน เพืJอรายงานต่อกรรมการตรวจสอบอิสระของบริ ษัท พิจารณา ดําเนินการ โดยมีนโยบายการรักษาความลับของผู้ร้องเรี ยน ไม่เปิ ดเผยชืJอผู้แจ้ งเบาะแส รวมทังดํ S าเนินการจัดเก็บข้ อมูล การร้ องเรี ยนเป็ นความลับ เพืJอคุ้มครองผลกระทบทีJเกิ ดขึ Sนกับผู้แจ้ งร้ องเรี ยนดังกล่าว และคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานผลต่อคณะกรรมการบริ ษัทต่อไป โดยบริ ษัทฯมีกระบวนการสอบสวนหากพบว่ามีการละเมิดจรรยาบรรณในการ ดําเนินธุรกิจ และหากพบว่าบุคลากร คู่ค้า หรื อลูกค้ าของ บริ ษัทฯ ละเมิดข้ อกําหนดด้ านการป้องกันการทุจริ ตคอรัปชัJน บริ ษัทฯ จะไม่มีการผ่อนผันใดๆ


60

ช่ องทางการรับเรื$องร้ องเรียน กล่ องรับเรื$องร้ องเรียน บริ ษัทฯ ได้ ตงไว้ ั S ในสถานทีJเปิ ดเผย สะดวกต่อการยืJนคําร้ องเรี ยนทีJสาํ นักงานใหญ่ของ บริ ษัท จดหมาย ผู้จดั การแผนกตรวจสอบภายใน บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) 265 หมู่ 4 ถนนกลางเมือง ตําบลเมืองเก่า อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 40000 อีเมล์ auditcom@cho.co.th เว็บไซต์ บริษัท www.cho.co.th โทรศัพท์ 043-341412-18 ต่อ 109 โทรสาร 043-341410 บริ ษัทฯ ได้ ดําเนินการติดตามและรายงานการแจ้ งเบาะแสหรื อข้ อร้ องเรี ยนและการส่งข้ อความคิดเห็น มาโดย ตลอด ทังนี S Sในปี 2559 ไม่มีเรืJ องร้ องเรี ยน

8.8 การประเมินตนเองของกรรมการบริษัท ประจําปี 2559 ตามมติทีJประชุม คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสียJ ง สรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ครังS ทีJ 1/2560 เมืJอวันทีJ 20 มกราคม 2560กรรมการฯ พิจารณาแล้ วมีมติเป็ นเอกฉันท์อนุมตั แิ บบประเมินของคณะกรรมการ บริ ษัท ทังS 3 แบบ โดยได้ แจ้ งให้ คณะกรรมการบริ ษัททุกท่านทราบ และจัดทําแบบประเมินผลการปฏิบตั ิงาน สรุปผลการประเมินของคณะกรรมการบริ ษัท ประจําปี โดยมี 100 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 4 คะแนนเต็ม 2558 แบบ ดังนี S 3 เกณฑ์การประเมิน และแบบการประเมิน 1. กรรมการประเมินเป็ นรายบุคคลโดยใช้ แบบประเมินตนเองสําหรับกรรมการบริษัททังD คณะมีเกณฑ์ การประเมินทังหมด S 3 หัวข้ อ ได้ แก่บทบาท หน้ าทีJ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ การฝึ กอบรม และการพัฒนา การปฏิบตั ิตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีJดี มีผลการประเมินสูงสุด 3.93 คะแนน ตํJาสุด 3.46 คะแนนคิดเป็ นคะแนนเฉลียJ รวม 3.64 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 91.01 โดยในแต่ละหัวข้ อทีJ ประเมินมีคะแนนรวมเฉลียJ ดังนี S 1.1 บทบาท หน้ าทีJ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คะแนนรวมเฉลียJ 3.46 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 86.43 1.2 การฝึ กอบรม และการพัฒนา คะแนนรวมเฉลียJ 3.54คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 88.39 1.3 การปฏิบตั ิตามหน้ าทีตJ ามนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีJดี คะแนนรวมเฉลียJ 3.93คะแนน คิดเป็ น ร้ อยละ 98.21 2. กรรมการประเมินเป็ นรายบุคคล โดยใช้ แบบประเมินตนเองสําหรับกรรมการบริษัท (รายบุคคล)มี เกณฑ์การประเมินทังหมด S 3 หัวข้ อ ได้ แก่บทบาท หน้ าทีJ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ การ


61

ฝึ กอบรม และการพัฒนา การปฏิบตั ิตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีJดี มีผลการประเมินสูงสุด 3.93 คะแนน ตํJาสุด 3.46 คะแนนคิดเป็ นคะแนนเฉลียJ รวม 3.64 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 91.01 โดยในแต่ละหัวข้ อ ทีJประเมินมีคะแนนรวมเฉลียJ ดังนี S 2.1 บทบาท หน้ าทีJ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คะแนนรวมเฉลียJ 3.46 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 86.43 2.2 การฝึ กอบรม และการพัฒนา คะแนนรวมเฉลียJ 3.54คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 88.39 2.3 การปฏิบตั ิตามหน้ าทีตJ ามนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีJดี คะแนนรวมเฉลียJ 3.93คะแนน คิดเป็ น ร้ อยละ 98.21 3. ประเมินกรรมการทังD คณะแบบไขว้ โดยไม่เจาะจงว่าเป็ นกรรมการรายหนึงJ รายใดเพียงรายเดียว ประธาน คณะกรรมการ และกรรมการทีJเป็ นผู้บริ หารทุกท่าน ประเมินกรรมการทังคณะ S เกณฑ์การประเมินทังหมด S 6 หัวข้ อ ได้ แก่ โครงสร้ าง และคุณสมบัติของคณะกรรมการ บทบาท หน้ าทีJ และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการ การทําหน้ าทีJของกรรมการความสัมพันธ์กบั ฝ่ ายจัดการ การ พัฒนาตนเองของกรรมการ และการพัฒนาผู้บริ หารมีผลการประเมินสูงสุด 3.88 คะแนน ตํJาสุด 3.54 คะแนนคิดเป็ นคะแนนเฉลียJ รวม 3.76 คะแนนคิดเป็ นร้ อยละ 94.04 โดยในแต่ละหัวข้ อทีJประเมินมีคะแนน รวมเฉลียJ ดังนี S 3.1 โครงสร้ าง และคุณสมบัติของคณะกรรมการ คะแนนรวมเฉลียJ 3.88 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 97.02 3.2 บทบาท หน้ าทีJ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คะแนนรวมเฉลียJ 3.54 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 88.57 3.3 การประชุมคณะกรรมการ คะแนนรวมเฉลียJ 3.77 คะแนนคิดเป็ นร้ อยละ 94.20 3.4 การทําหน้ าทีJของกรรมการ คะแนนรวมเฉลียJ 3.88 คะแนนคิดเป็ นร้ อยละ 96.94 3.5 ความสัมพันธ์กบั ฝ่ ายจัดการ คะแนนรวมเฉลียJ 3.86 คะแนนคิดเป็ นร้ อยละ 96.43 3.6 การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผู้บริ หาร คะแนนรวมเฉลียJ 3.64 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 91.07

8.9 การประเมินผลการปฏิบัตงิ านของ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้ าหน้ าบริหาร ตามมติทีJประชุม คณะกรรมการกํ ากับดูแลกิ จการ บริ หารความเสีJยง สรรหาและกํ าหนดค่าตอบแทน ครั งS ทีJ 1/2560 เมืJอวันทีJ 20 มกราคม 2560 คณะกรรมการฯ พิจารณาแล้ วมีมติเป็ นเอกฉันท์อนุมตั ิแบบประเมินของ กรรมการ ผู้จดั การใหญ่ และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร (CEO) แบ่งการประเมินออกเป็ น 3 หมวด สรุปผลการประเมิน ดังนี S หมวดที$ 1 พฤติกรรมสมรรถนะคะแนนเต็ม 100 คะแนน มีผลการประเมินเฉลีJย 66.29 คะแนน คิดเป็ น ร้ อยละ 66.29 เนืJองจากผลการดําเนินงานในปี 2559 ตํJากว่าเป้าหมาย หมวดที$ 2 ภาระงานหลัก ประเมินผลการปฏิบตั ิงานคะแนนเต็ม 100 คะแนน มีผลการประเมินเฉลียJ 81.48 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 81.48 ต้ องพัฒนาการทําแผนสืบทอดตําแหน่ง และผลการ ดําเนินงานทางการเงิน เกณฑ์การประเมินการปฏิบตั ิหน้ าทีJของ CEO ค่าเฉลียJ คะแนน ประเมินทีJได้ ร้อยละ 76.67


62

หมวดที$ 3 การพัฒนา CEO จุดแข็ง มีความมุง่ มันJ มีความรู้ความสามารถ และความอดทนต่อทุกอย่างทีJเข้ ามา ความเห็นเพื$อการพัฒนาศักยภาพให้ เพิ$มขึนD ในอนาคต การจัดตารางการติดตามงานให้ มีประสิทธิภาพ พยายามรักษามาตรฐานเพืJอความยังJ ยืนในองค์กร

8.10 การประเมินตนเองของคระกรรมการชุดย่ อย ผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบประจําปี 2559 โดยสรุ ปดังนี D ตามมติทีJประชุม คณะกรรมการกํ ากับดูแลกิ จการ บริ หารความเสีJยง สรรหา และกําหนดค่าตอบแทน ครังS ทีJ 1/2560 เมืJ อ วั น ทีJ 20 มกราคม 2560 คณะกรรมการฯ พิ จ ารณาแล้ วมี ม ติ เ ป็ นเอกฉั น ท์ อ นุ มัติ แ บบประเมิ น ของ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยได้ แจ้ งให้ คณะกรรมการตรวจสอบทุกท่านทราบ และจัดทําแบบประเมินผลการปฏิบตั ิงาน สรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจําปี 2559 โดยมีเกณฑ์การประเมิน 2 ส่วนดังนี S ส่ วนที$ 1 การทําหน้ าทีJโดยรวมของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ มีการจัดทํา และทบทวน กฎบัต รของคณะกรรมการตรวจสอบ และได้ รั บอนุมัติจ ากคณะกรรมการบริ ษั ท มีโ ครงสร้ าง และองค์ ป ระกอบของ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเหมาะสม และมีลกั ษณะทีJสนับสนุนการทํางานของคณะกรรมการตรวจสอบอย่างมี ประสิทธิภาพ และสภาพแวดล้ อมทัวJ ไป เอื Sอต่อการทําหน้ าทีJของคณะกรรมการตรวจสอบ ส่ วนที$ 2 การปฏิบตั ิหน้ าทีJเฉพาะด้ านของคณะกรรมการตรวจสอบได้ ปฏิบตั ิหน้ าทีJตามขอบเขต ความรับผิดชอบ อย่างครบถ้ วน ในสาระสําคัญต่างๆ ครอบคลุมในส่วนงานต่างๆ ดังนี S หมวดทีJ 1 การสอบทานให้ บริ ษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้ องและเพียงพอ ในรอบปี ทีJผา่ นมา ทางบริ ษัทฯ ไม่มีการเปลียJ นแปลงนโยบายการบัญชีทีJสง่ ผลกระทบทีJสําคัญ รายการทีJไม่ใช่ รายการปกติซงึJ มีนยั สําคัญเกิดขึ Sน และรายการในรายงานทางการเงินทีJควรให้ ความสําคัญ เป็ นพิเศษ หมวดทีJ 2 สอบทานให้ บริ ษัทมีการควบคุมภายใน (internal control) ทีJมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และมีระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ทีJเหมาะสมและมีประสิทธิ ผล และ พิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ความเห็นชอบในการ พิจารณาแต่งตังS โยกย้ าย เลิกจ้ า งหัวหน้ า งานตรวจสอบภายใน หรื อหน่วยงานอืJนใดทีJ รับผิดชอบเกีJยวกับการตรวจสอบภายใน ในรอบปี ทีJผา่ นมาทางบริ ษัทไม่มี การใช้ บริ การจาก หน่วยงานภายนอกเป็ นผู้บริ การด้ านการตรวจสอบภายใน และยังไม่มีการจัดให้ มีการ ประเมินคุณภาพงานตรวจสอบภายโดยผู้ประเมินอิสระจากภายนอกอย่างน้ อยทุกๆ 5 ปี


63

หมวดทีJ 3 สอบทานให้ บริ ษัทปฏิบตั ิตามกฎหมาย ว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกําหนด ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมายทีJเกีJยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัท ในรอบปี ทีJผ่านมาทาง บริ ษัทไม่มีกรณี การไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ จรรยาบรรณและระเบียบทีJเกีJยวข้ อง การได้ รับแจ้ งพฤติกรรมอันควรสงสัยว่าอาจมีการกระทําอันเป็ นการทุจริ ตจากผู้สอบบัญชี รวมถึงการรวมรวบประเด็นทังหมดที S Jได้ รับแจ้ งจากผู้สอบบัญชีเกีJยวกับพฤติกรรมอันควร สงสัยและสอบทานได้ วา่ ได้ รายงานผลการตรวจสอบภายในเบื Sองต้ นสําหรับทุกประเด็น หมวดทีJ 4 พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตังบุ S คคลซึงJ มีความเป็ นอิสระ เพืJอทําหน้ าทีJเป็ นผู้สอบบัญชีของ บริ ษัทและเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทังเข้ S าร่ วมประชุมกับผู้สอบบัญชี โดย ไม่มีฝ่ายจัดการเข้ าร่ วมประชุมด้ วย ในระหว่างปี ทางบริ ษัทไม่มีนโยบายเกีJ ยวกับการรั บ บริ การอืJนทีJมิใช่การสอบบัญชีจากสํานักงานสอบบัญชีเดียวกัน หมวดทีJ 5 การพิจารณารายการทีJเกีJยวโยงกัน หรื อรายการทีJอาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย และข้ อกํ าหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทังนี S S เพืJอให้ มนัJ ใจว่ารายการ ดังกล่าวสมเหตุสมผล และเป็ นประโยชน์ สงู สุดต่อบริ ษัทฯ ในปี ทีJผ่านมาคณะกรรมการ ตรวจสอบไม่มีกรณีทีJมีความเห็นแย้ งกับคณะกรรมการบริ ษัทในเรืJ องการทํารายการทีJเกีJยว โยงกัน และการสอบทานรายงานการประชุมของคณะกรรมการบริ ษัทได้ บนั ทึกความเห็น ของคณะกรรมกตรวจสอบ หมวดทีJ 6 การจัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ดเผยไว้ ในรายงานประจําปี ของบริษัท ฯ ซึJงรายงานดังกล่าวต้ องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ และต้ องประกอบด้ วย ข้ อมูลอย่างน้ อยตามทีJกําหนดในข้ อกํ าหนดของตลาดหลักทรั พย์ ฯ เรืJ องคุณสมบัติ และ ขอบเขตการดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

ผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริหารความเสี$ยง สรรหาและ กําหนดค่ าตอบแทน ประจําปี 2559 โดยสรุ ปดังนี D ตามมติทีJประชุม คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสีJยง สรรหา และกําหนดค่าตอบแทน ครังS ทีJ 1/2560 เมืJอ วันทีJ 20 มกราคม 2560 คณะกรรมการฯ พิจารณาแล้ วมีมติเป็ นเอกฉันท์อนุมตั ิแบบประเมินของคณะกรรมการกํากับดูแล กิจการ บริ หารความเสีJยง สรรหาและกําหนดค่าตอบแทน โดยได้ แจ้ งให้ คณะกรรมการฯ ทุกท่านทราบ และจัดทําแบบ ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน สรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสีJยง สรรหา และ กําหนดค่าตอบแทน ประจําปี 2559 โดยมีเกณฑ์การประเมิน 3 ส่วนดังนี S ส่ วนที$ 1 การปฏิบัติหน้ าทีJโดยรวมของคณะกรรมการฯ คะแนนเต็ม 20 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 100 ผลการ ประเมินผล การประเมินคิดเป็ นคะแนนเฉลียJ รวม 20 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 100 ส่ วนที$ 2 การปฏิบตั ิหน้ าทีJเฉพาะด้ านของคณะกรรมการ CGR คะแนนเต็ม 28 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 100 ผล การประเมินคิดเป็ นคะแนนเฉลียJ รวม 26 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 93 โดยในแต่ละหัวข้ อทีJประเมินมีคะแนนรวมเฉลียJ ดังนี S


64

หมวดทีJ 1 การสอบทานด้ านการปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีJดี คะแนนเฉลีJยรวม 7 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 100 หมวดทีJ 2 การสอบทานด้ านการบริ หารความเสียJ ง คะแนนเฉลียJ รวม 4 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 100 หมวดทีJ 3 การสอบทานด้ านการสรรหา คะแนนเฉลียJ รวม 9 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 100 หมวดทีJ 4 การสอบทานด้ า นกํ า หนดค่า ตอบแทน คะแนนเฉลีJย รวม 6 คะแนน คิ ดเป็ นร้ อยละ 75 สาเหตุทีJหมวดทีJ 4 ผลการประเมินตํJากว่า 100 คะแนน เนืJองจากคณะกรรมการ CGR ไม่ได้ ทําหน้ าทีJในการประเมินหน้ าทีJ และพิจารณาค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ หาร ซึJง ปั จจุบนั CEO เป็ นผู้ประเมินในส่วนนี S ส่ วนที$ 3 การจัดทํารายงานของคณะกรรมการ CGR คะแนนเต็ม 10 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 100 ผลการประเมิน คิดเป็ นคะแนนเฉลียJ รวม 10 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 100 โดยในแต่ละหัวข้ อทีJประเมินมีคะแนนรวมเฉลียJ ดังนี S หมวดทีJ 1 สาระสําคัญในรายงานของคณะกรรมการ CGR คะแนนเฉลียJ รวม 7 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 100 หมวดทีJ 2 ประธานกรรมการ CGR ได้ ลงนามรายงานของคณะกรรมการ CGR คะแนนเฉลีJยรวม 1 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 100 หมวดทีJ 3 กฎบัตรของคณะกรรมการ CGR คะแนนเฉลียJ รวม 2 คะแนน คิดเป็ นร้ อยละ 100

ผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริหาร ประจําปี 2559 โดยสรุ ปดังนี D 1. หมวดงานหลัก ตามหน้ าทีJความรับผิดชอบ งานเชิงพัฒนาคุณภาพ (นํ Sาหนักร้ อยละ 60) ประเมินผลโดยพิจารณาจากความสําเร็ จของงานทีJรับผิดชอบรวมไปถึงงานเชิงพัฒนาคุณภาพ และ ประสิทธิผลของงานทีJได้ รับมอบหมาย โดยได้ รับคะแนนเฉลียJ 87.66 คะแนนเฉลียJ ร้ อยละ 49.76 2. หมวดดัชนีชี Sวัดผลความสําเร็ จของงาน (KPI)(นํ Sาหนักร้ อยละ10) ประเมินผลโดยพิจารณาจากดัชนีชี Sวัดผลความสําเร็ จของงานโดยได้ รับคะแนนเฉลียJ ทีJ 86.77 คะแนนเฉลียJ ร้ อยละ 8.68 3. หมวดพฤติก รรมสรรถนะ สนองนโยบายบริ ษั ทฯ การทํ างานเป็ นที ม จิ ต บริ ก าร และงานระบบคุณภาพ (นํ Sาหนักร้ อยละ30) ประเมินผลโดยพิจารณาจากความสามารถในการสนองนโยบายบริ ษัทการทํางานเป็ นทีม จิตบริ การ และงานระบบคุณภาพ โดยได้ รับคะแนนเฉลียJ ทีJ 92.26 คะแนนเฉลียJ ร้ อยละ 27.68 สรุ ปผล รวมผลการประเมิน และการปฏิบตั ิงานโดยวัดจากผลการประเมินทังหมด S 3 หมวดพบว่า ได้ รับคะแนนเฉลีJยทีJ 88.95 คะแนน เฉลีJยร้ อยละ 86.72 หมวดทีJได้ รับคะแนนเฉลีJยสูงสุด คือหมวดพฤติกรรมสรรถนะทีJ 92.26 คะแนน และ หมวดทีJได้ รับคะแนนเฉลีJยตํJาสุด คือหมวดดัชนีชี Sวัดผลความสําเร็ จของงานได้ รับเฉลีJยทีJ 86.77 คะแนน ทังนี S Sคะแนนรวม เฉลียJ ของผลการปฏิบตั ิงานระดับผู้บริ หารหลังจากทําการถ่วงนํ Sาหนักแล้ วพบว่าคะแนนเฉลียJ อยูท่ ีJ 87.66 คะแนน


65


66

9 ข้ อมูลทั$วไป 9.1 ข้ อมูลทั$วไป ณ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทที$ออกหลักทรัพย์ ชืJอย่อหลักทรัพย์ เลขทะเบียนบริ ษัท ประเภทธุรกิจ

: : : :

ทุนจดทะเบียน

:

ทุนจดทะเบียนชําระแล้ ว

:

มูลค่าหุ้นทีJตราไว้ ตอ่ หุ้น หุ้นบุริมสิทธิ

: :

บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) CHO ( จดทะเบียนในตลาดเอ็ม เอ ไอ ) 0107556000027 ออกแบบ สร้ างสรรค์ ผลิตตัวถังติดตังS ระบบวิศวกรรมทางยานยนต์ เพืJอการ พาณิ ชย์ ให้ บริ ก ารเทคโนโลยีร ะบบราง รวมทังS ผลิต และให้ บริ การเกีJ ย วกับ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมในการป้องกันประเทศ สินค้ าและบริ การของบริ ษัทฯ เช่ น รถบรรทุก รถพ่ว ง รถบัส รถลํา เลีย งอาหารสํา หรั บ เครืJ อ งบิ น รถไฟ รถดับเพลิง รถกู้ภยั รถหุ้มเกราะ รถลําเลียงพล เรื อรบหลวง เป็ นต้ น 296,972,494.50 บาท (สองร้ อยเก้ าสิบหกล้ านเก้ าแสนเจ็ดหมืJนสองพันสีJร้อย เก้ าสิบสีบJ าทห้ าสิบสตางค์) 295,735,443.25 บาท (สองร้ อยเก้ าสิบห้ าล้ านเจ็ดแสนสามหมืJนห้ าพันสีJร้อยสีJ สิบสามบาทยีJสบิ ห้ าสตางค์) หุ้นสามัญ 0.25 บาท (ยีJสบิ ห้ าสตางค์) ไม่มี

โทรศัพท์ : 043-341-412-18 โทรสาร : 043-341-410-11 ทีJตงสํ ั S านักงานสาขา 1 (กรุงเทพฯ) : เลขทีJ 96/25 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสีJ กรุงเทพมหานคร 10210 : โทรศัพท์ 0-2973-4382-4 โทรสาร 0-2973-4385 ทีJตงสํ ั S านักงานสาขา 2 (ชลบุรี) : เลขทีJ 66/5 หมู่ 2 ตําบลโป่ ง อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี : โทรศัพท์ 038-227-378 โทรสาร 038-227-378 ทีJตงสํ ั S านักงานสาขา 3 : เลขทีJ 62หมู่ 2 ตําบลลําไทร อําเภอวังน้ อย จังหวัดพระนครศรี อยุธยา 13170 (พระนครศรี อยุธยา) : โทรศัพท์ 035-257085 โทรสาร 035-257086 เว็บไซต์ (URL)

: www.cho.co.th

บริษัทย่ อย เลขทะเบียนบริ ษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ ทีJตงสํ ั S านักงานใหญ่และโรงงาน

: : : :

บริ ษัท ช.ทวี เทอร์ โมเทค จํากัด 0405548000302 ผู้ออกแบบ ผลิต ประกอบและติดตังตู S ้ บรรทุกไฟเบอร์ กลาส นํ Sาหนักเบา

เลขทีJ 265 หมู4่ ถนนกลางเมือง ตําบลเมืองเก่า อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัด


67

โทรศัพท์ โทรสาร

ขอนแก่น 40000 : 043-341-210-12 : 043-341-242

ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล

: 043-341412-18 ต่อ 118 : 043-341410 : ir@cho.co.th

นายทะเบียนหลักทรัพย์

: บริ ษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด

ทีJตงสํ ั S านักงาน

: Mail Room ชันS 1 อาคาร C ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขทีJ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 : 02-0099378 : 02-0099476 : www.tsd.co.th

โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซต์ (URL) บริษัทผู้สอบบัญชี เลขทะเบียนบริ ษัท ผู้สอบบัญชี – บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ทีJตงสํ ั S านักงาน โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซต์ (URL)

: บริ ษัท ไพร้ ซวอเตอร์ เฮาส์คเู ปอร์ ส เอบีเอเอส จํากัด : 0105541040328 : นายสุดวิณ ปั ญญาวงศ์ขนั ติ ทะเบียนเลขทีJ 3534 นางอนุทยั ภูมิสรุ กุล ทะเบียนเลขทีJ 3873 นายวิเชียร กิJงมนตรี ทะเบียนเลขทีJ 3977 : 179/74-80 อาคารบางกอกซิตี Sทาวเวอร์ ชันS 15 ถนนสาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 : 02-3441000, 02-8245000 : 02-2865050 www.pwc.com/th


68


69

10.การวิจัยและพัฒนา บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) โดยตระหนักถึง ความสําคัญของการพัฒนาเทคโนโลยี และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ให้ มีความหลากหลาย มีรูปแบบทีJทนั สมัย เพืJอตอบสนอง ต่อความต้ องการของลูกค้ าอย่างสมบูรณ์ ควบคูก่ บั การพัฒนากระบวนการผลิตให้ มีความรวดเร็ ว มีความแม่นยํายิJงขึ Sน โดย ให้ ความสําคัญกับการใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ และระบบไอที (IT)ในการทํางานตามแผนงานทีJวางไว้ ในแต่ละขันตอน S ตังแต่ S เริJ ม ร่างชิ SนงานจนกระทังJ ส่งมอบสินค้ าให้ แก่ลกู ค้ า รวมไปถึงการให้ คําแนะนํา และบํารุ งรักษาด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ (Remote service) ดังนันS ถึ งแม้ สินค้ าของบริ ษั ทฯ จะถูกนํ าไปใช้ งานยังต่างประเทศก็ สามารถได้ รั บการบํ ารุ งรั กษาโดยที มงาน ผู้เชีJยวชาญของบริ ษัทได้ โดยตรง การวิจยั และพัฒนาด้ านผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทฯ จะเน้ นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้านการออกแบบตัวถังรูปแบบต่างๆ ให้ เหมาะสมกับประเภทงานขนส่งเฉพาะตามความต้ องการของลูกค้ าและเหมาะสมกับแชสซีรถบรรทุก รถพ่วง-กึJงพ่วงทีJ ลูกค้ าเลือกไว้ รวมทังพั S ฒนาด้ านเทคโนโลยีและงานระบบวิศวกรรมต่างๆ เพืJอให้ สนิ ค้ าสามารถใช้ งานได้ สะดวกมากยิงJ ขึ Sน มี ความแข็งแกร่งทนทานในขณะทีJยงั สามารถรับนํ Sาหนักได้ มากทีJสดุ ง่ายต่อการบังคับควบคุมเพือJ ความคล่องแคล่วในการ ขนส่งทุกสภาพถนน มีความเหมาะสมและทนต่อทุกสภาพอากาศในประเทศทีJลกู ค้ านําสินค้ าไปใช้ งาน บริ ษัทฯ ไม่หยุดยังในการวิ S จยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์หรื องานระบบวิศวกรรมต่างๆ โดยทีมวิจยั และพัฒนาของ บริ ษัทฯ ได้ ออกแบบนวัตกรรมสินค้ ารูปแบบใหม่ และพัฒนาเทคโนโลยีตา่ งๆ อย่างต่อเนืJอง โดยทุกผลิตภัณฑ์ทีJบริ ษัทฯ ออกแบบหรื อเป็ นผู้คิดค้ นนวัตกรรมดังกล่าว จะดําเนินการขอขึ Sนทะเบียนกับกรมทรัพย์สนิ ทางปั ญญา โดยได้ รับอนุสทิ ธิบตั ร มาแล้ ว 76 รายการ นอกจากนี Sยังมีนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ 104 รายการ ทีJอยูร่ ะหว่างขึ Sนทะเบียนขอรับอนุสทิ ธิบตั ร หรื อ สิทธิบตั รการประดิษฐ์ /สิทธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑ์ จากกรมทรัพย์สนิ ทางปั ญญา นอกจากนี S บริ ษัทฯ ได้ มีการวิจยั และพัฒนา รถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบินแอร์ บสั A380 ซึJงปั จจุบนั นับว่าเป็ น เครืJ องบินทีJมีขนาดใหญ่ทีJสดุ ในโลก โดยร่ วมกับสํานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ในการออกแบบโครงสร้ างแบบ Fabricate X-Frame โดยใช้ วสั ดุ High-Tensile Grade ทีJมีความแข็งแรงและมี นํ Sาหนักเบา ทําให้ สามารถปรับระดับความสูงของโครงสร้ างได้ สงู สุด 9 เมตร และได้ มีการประยุกต์ใช้ ระบบควบคุมอัตโนมัติ สําหรับควบคุมเสถียรภาพและทิศทางการส่งอาหารแบบ 6 ทิศทาง เพืJอช่วยเพิJมความสะดวกและลดเวลาในการปฏิบตั ิงาน ทังนี S Sบริ ษัทฯ ได้ รับการสนับสนุนค่าใช้ จ่ายในการวิจยั และพัฒนาดังกล่าวจากสํานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) บริ ษัทฯ มีการพัฒนากระบวนการผลิตให้ มีความรวดเร็ วขึ Sน ทําให้ ลดระยะเวลาในการผลิตลง ซึงJ เกิดจากการทีJ ทีมงานฝ่ ายวิศวกรรม ฝ่ ายผลิตและหน่วยงานทีJเกีJยวข้ องได้ ศกึ ษาวิจยั ในโครงการ R2R เริJ มตังแต่ S ปี 2557 เป็ นต้ นไป โดยการ ส่งเสริ มให้ พนักงานคิดค้ นวิธีการ เครืJ องมือ และอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในการช่วยทํางานให้ สะดวกรวดเร็ วและประหยัดทังต้ S นทุน และเวลาเพืJอเพิJมประสิทธิภาพในการทํางานเป็ นการฝึ กการวางแผน จัดเตรี ยม กําหนดขันตอน S ได้ อย่างเป็ นระบบมากขึ Sน รวมถึงมีการสลับปรับเปลียJ นขันตอนการผลิ S ตให้ เหมาะสมและช่วยลดระยะเวลาในกระบวนการผลิตโดยรวมได้ ในขณะทีJ ยังคงรักษามาตรฐาน การผลิต การตรวจสอบและควบคุมคุณภาพได้ ตามเกณฑ์กําหนดมาตรฐานสากลต่างๆ ทีJบริ ษัทฯ ได้ รับการรับรอง ไม่วา่ จะ เป็ น ISO 9001, CE Mark, IATA เป็ นต้ น


70

นอกจากจะให้ ความสําคัญกับการวิจยั และพัฒนาด้ านผลิตภัณฑ์และด้ านกระบวนการผลิตแล้ ว บริ ษัทฯ ยังให้ ความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากร เพืJอเพิJมศักยภาพและประสิทธิภาพในการทํางานของบุคลากรทุกฝ่ ายงาน โดยจัดให้ มี การอบรมบุคลากรทังการอบรมภายในบริ S ษัทฯ โดยบุคลากรของบริ ษัทเอง ซึJงมีประสบการณ์การทํางานมานาน เชีJยวชาญ และปรับปรุ งพัฒนางาน รวมทังการรวบรวมความรู S ้ ในด้ านต่าง ๆ ฝึ กสอนและปรับให้ เป็ นครู ช่างของบริ ษัทเพืJอเพิJมความ ภาคภูมิใจในงานอาชีพมากขึ Sน และการอบรมจากผู้เชีJยวชาญหรื อสถาบันชันนํ S าภายนอกอย่างสมํJาเสมอเพืJอเป็ นการเพิJมพูน ความรู้ วิทยาการใหม่ ๆ ทันสมัยให้ กบั บุคลากรของบริ ษัท

ตารางแสดงค่าใช้ จ่ายเกีJยวกับการวิจยั และพัฒนา ปี 2556-2559 รายการ ค่าใช้ จ่ายการวิจยั และพัฒนา รวม

ปี 2557 3.98 3.98

(หน่วย : ล้ านบาท) ปี 2558 ปี 2559 3.18 3.18

3.05 3.05

ทรัพย์ สินทางปั ญญา ทรัพย์สนิ ทางปั ญญาของบริ ษัทฯ ทีJใช้ ประกอบธุรกิจ ในทีJนี Sคือ อนุสทิ ธิบตั รการประดิษฐ์ (อนุสทิ ธิบตั ร) มีมลู ค่า ยุติธรรมเท่ากับ 61,000,000.00 บาท ณ วันทีJประเมินประมูลค่า วันทีJ 5 มกราคม 2558


71

ตารางแสดงราคาต้ นทุนต่ อหน่ วยในปี ที$ผ่านมาของแต่ ละอนุสิทธิบัตรที$ประเมินมูลค่ า อนุสิทธิบตั รทีJประเมินมูลค่า 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11)

โครงหลังคาสะพานเทียบเครืJ องบินของรถขนส่งเสบียงขึ SนเครืJ องบิน โครงสร้ างขาคํ Sายันของรถขนส่งเสบียงขึ SนเครืJ องบิน ชุดต่อความยาวช่วงท้ ายแซสซีส บันไดขึ Sนลงรถ ชุดบันไดขึ Sนหลังตู้ ชุดบันไดลิงขึ Sนหลังคารถ ชุดเพิJมความยาวคานขวางแบบปรับได้ ชุดประกับยึดคานเสริ ม กลไกลการเปิ ดปิ ดผนังด้ านข้ างรถบรรทุก อุปกรณ์ป้องกันด้ านข้ างรถบรรทุก อุปกรณ์กําหนดตําแหน่งการวางของตู้สินค้ า

ราคาขายต่อหน่วย ในปี 2555-2557 2555 2556 2557 287,398.42 264,209.74 305,866.52 132,534.29 178,547.76 146,431.28 16,859.41 16,426.33 17,326.44 16,500.00 16,500.00 16,500.00 2,700.00 2,700.00 2,700.00 6,000.00 6,000.00 6,000.00 221,680.20 295,800.00 15,000.00 15,000.00 15,000.00 9,000.00 9,000.00 9,000.00 6,000.00 6,000.00 6,000.00

อีกทังS ในปี 2559 บริ ษัทฯ ได้ จดทะเบียนอนุสทิ ธิบตั รผลิตภัณฑ์ทีJได้ รับการรับรองจากกรมทรัพย์สินทางปั ญญาจํานวน 76 รายการ เพิJมขึ Sนจากปี 2558 จํานวน 54 รายการ ตามรายละเอียดดังนี S ผลิตภัณฑ์ ท$ ไี ด้ รับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ลําดับ วันที$ได้ รับ วันหมดอายุ และออกแบบผลิตภัณฑ์ 1 ชุดกลไกลการเปิ ดปิ ดผนังด้ านข้ างรถบรรทุก 03 ก.ย. 2553 24 ส.ค. 2557 2 ชุดประกับยึดคานเสริ ม 18 ม.ค. 2554 07 ก.ค. 2559 3 ชุดเพิมJ ความยาวคานขวางแบบปรับได้ 18 ม.ค. 2554 19 ก.ค. 2559 4 ชุดบันไดขึ Sนหลังคาตู้ 28 มี.ค. 2554 19 ก.ค. 2559 5 ชุดบันไดลิงขึ Sนหลังคารถ 28 มี.ค. 2554 19 ก.ค. 2559 6 บันไดขึ Sนลงรถ 26 ธ.ค. 2554 21 ก.ย. 2560 7 อุปกรณ์ป้องกันด้ านข้ างรถบรรทุก 12 ก.ย. 2555 19 ต.ค. 2560 8 โครงหลังคาสะพานเทียบเครืJ องบินของรถขนส่งเสบียงขึ SนเครืJ องบิน 04 ม.ค. 2556 19 ต.ค. 2560 9 โครงสร้ างขาคํ Sายันของรถขนส่งเสบียงขึ SนเครืJ องบิน 04 ม.ค. 2556 19 ต.ค. 2560 10 ชุดต่อความยาวช่วงท้ ายแชสซีส์ 04 ม.ค. 2556 19 ต.ค. 2560 11 อุปกรณ์กําหนดตําแหน่งการวางของตู้สนิ ค้ า 19 ก.ค. 2556 19 ต.ค. 2560 12 ชุดติดตังขาคํ S Sายันท้ ายรถขนส่งเสบียงขึ SนเครืJ องบิน 7 เม.ย. 2558 19 ต.ค. 2560 13 สลักล็อค 19 พ.ค. 2558 13 มี.ค. 2564 14 กระบอกลมเร่งเครืJ องยนต์ 19 พ.ค. 2558 10 เม.ย. 2564 15 ชิ Sนส่วนโครงรถบรรทุก 19 พ.ค. 2558 10 เม.ย. 2564 16 ชุดลูกล้ อรางเลือJ น 15 มิ.ย. 2558 29 พ.ย. 2564


72

17

สะพานทางลาดท้ ายรถบรรทุก

21 ก.ค. 2558

10 เม.ย. 2564

18

รอกบังคับสลิง

21 ก.ค. 2558

06 ก.พ. 2564

19

อุปกรณ์ปลดล็อคกระบะบรรทุก

21 ก.ค. 2558

21 ก.ย.2564

20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50

กรอบบานเลือJ นประตู ชิ Sนส่วนประกอบเครืJ องอัด อุปกรณ์ลากรถ ชันวางของ S ฝาปิ ดถังเก็บนํ Sา หน้ าตัดโลหะ หน้ าตัดโลหะ บันไดข้ างสําหรับยานพาหนะ หน้ าตัดโลหะ ลูกล้ อรางเลือJ น ลูกล้ อรางเลือJ น หน้ าตัดโลหะ ชุดหน้ าตัดโลหะ ชิ Sนส่วนรถบรรทุก บันได อุกกรณ์กนทางเข้ ัS าออก อุปกรณ์ลอ็ คฝาท้ ายกระบะรถบรรทุก ชิ Sนส่วนโครงรถบรรทุก อุปกรณ์ยกถังขยะ โครงรถบรรทุก อุปกรณ์ขยายความกว้ างสําหรับรถบรรทุก ชิ Sนส่วนโครงรถบรรทุก โครงรถบรรทุก บันไดสําหรับยานพาหนะ อุปกรณ์ยดึ ยางอะไหล่ อุกปกรณ์จบั ชิ Sนงาน อุปกรณ์ลอ็ คฝาท้ ายกระบะรถบรรทุก อุปกรณ์ปรับตังแรงบิ S ดของสปริ ง อุปกรณ์ปิด-เปิ ดประตูสาํ หรับยานพาหนะ อุปกรณ์ลอ็ คฝาท้ ายกระบะรถบรรทุก อุปกรณ์ลอ็ คยางอะไหล่

11 มิ.ย. 2558 28 ก.ค. 2558 18 มิ.ย. 2558 19 ต.ค. 2558 19 ต.ค. 2558 19 ต.ค. 2558 19 ต.ค. 2558 19 ต.ค. 2558 19-ต.ค. 2558 08 ต.ค. 2558 08 ต.ค. 2558 06 พ.ย. 2558 09 ธ.ค. 2558 09 ธ.ค. 2558 09 ธ.ค. 2558 08 ม.ค. 2559 14 ม.ค. 2559 14 ม.ค. 2559 14 ม.ค. 2559 14 ม.ค. 2559 14 ม.ค. 2559 14 ม.ค. 2559 14 ม.ค. 2559 14 ม.ค. 2559 29 ม.ค. 2559 29 ม.ค. 2559 29 ม.ค. 2559 29 ม.ค. 2559 29 ม.ค. 2559 29 ม.ค. 2559 29 ม.ค. 2559

21 ก.ย. 2564 15 ธ.ค. 2563 29 พ.ย. 2564 10 เม.ย. 2564 13 มี.ค. 2564 15 ธ.ค. 2563 15 ธ.ค. 2563 10 เม.ย. 2564 15 ธ.ค. 2563 08 ม.ค. 2565 08 ม.ค. 2565 08 ธ.ค. 2563 15 ธ.ค. 2563 10 เม.ย. 2564 13 มี.ค. 2564 12 ธ.ค. 2564 10 พ.ย.2563 26 ก.ย. 2563 26 ธ.ค. 2563 26 ก.ย. 2563 26 ก.ย. 2563 26 ก.ย. 2563 26 ก.ย. 2563 10 เม.ย. 2564 14 ก.ย. 2563 10 พ.ย. 2563 10 พ.ย. 2563 10 เม.ย. 2564 10 พ.ย. 2563 14 ก.ย. 2563 10 พ.ย. 2563


73

51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76

อุปกรณ์ลอ็ คฝาข้ างกระบะรถบรรทุก อุปกรณ์ลอ็ ค อุปกรณ์ยดึ ลูกล้ อตังสายพาน S อุปกรณ์ลอ็ คฝาท้ ายกระบะรถบรรทุก อุปกรณ์ลอ็ คฝาท้ ายกระบะรถบรรทุก อุปกรณ์หนุนล้ อรถยนต์ ชิ Sนส่วนอุปกรณ์ยดึ เพลาสําหรับรถบรรทุก สลักล็อค อุปกรณ์หนุนล้ อรถยนต์ คานรองรับตู้ของรถบรรทุก ชิ Sนส่วนเสริ มโครงรถบรรทุกตู้สนิ ค้ า สะพานลําเลียงสัมภาระ โครงลิ Sนชักสําหรับยานพาหนะ อุปกรณ์ยดึ จับหมอนหนุนล้ อยานพาหนะ ชุดยึดพร้ อมกระบอกไฮดรอลิกสําหรับรถบรรทุก ชุดรถยนต์ ชิ Sนส่วนขาคํ Sายัน ชิ Sนส่วนขาคํ Sายัน ชิ Sนส่วนโครงรถบรรทุก ชิ Sนส่วนโครงรถบรรทุก คันโยกควบคุมการเปิ ด-ปิ ด บันไดข้ างสําหรับยานพาหนะ โครงรถพ่วงสําหรับบรรทุก ชิ Sนส่วนโครงสร้ างลิฟท์ ชิ Sนส่วนโครงสร้ างลิฟต์ อุปกรณ์สวิทซ์ควบคุมของขาคํ Sายัน

29 ม.ค. 2559 29 ม.ค. 2559 30 มี.ค. 2559 10 มี.ค. 2559 10 มี.ค. 2559 10 มี.ค. 2559 10 มี.ค. 2559 10 มี.ค. 2559 10 มี.ค. 2559 05 เม.ย. 2559 05 เม.ย. 2559 05 เม.ย. 2559 05 เม.ย. 2559 18 เม.ย. 2559 08 พ.ค. 2559 03 พ.ค. 2559 03 มิ.ย. 2559 13 มิ.ย. 2559 13 มิ.ย. 2559 09 มิ.ย. 2559 09 มิ.ย. 2559 09 มิ.ย. 2559 09 มิ.ย.2559 09 มิ.ย. 2559 09 มิ.ย. 2559 07 เม.ย. 2559

14 ก.ย. 2563 10 พ.ย. 2563 06 ก.พ. 2564 26 ก.ย. 2563 26 ก.ย. 2563 26 ก.ย. 2563 26 ก.ย. 2563 26 พ.ย. 2563 26 ก.ย. 2563 19 ต.ค. 2564 19 ต.ค. 2564 19 ต.ค. 2564 19 ต.ค. 2564 19 ต.ค. 2564 07 ธ.ค. 2564 15 ส.ค. 2563 08 ม.ค. 2565 29 พ.ย. 2564 14 ก.ย. 2563 26 ก.ย. 2563 10 เม.ย. 2564 10 เม.ย. 2564 21 ก.พ. 2564 09 พ.ย. 2564 09 พ.ย. 2564 13 มี.ค. 2564


74

โครงการในอนาคต บริ ษัทฯ มีโครงการในอนาคตเพืJอรองรับแผนขยายรายได้ ของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยให้ เติบโตอย่างต่อเนืJองใน อนาคต ดังนี S

1. โรงเรี ยนช่ าง (CHO School) บริ ษัทฯ ได้ ดําเนินการในการพัฒนาบุคลากรให้ สอดคล้ องกับนโยบายและสภาวการณ์ด้วยการพัฒนาความรู้ ทักษะและคุณลักษณะของบุคลากรโดยใช้ เครืJ องมือในการพัฒนาบุคลากร 3 รู ปแบบได้ แก่การสอนงาน (Coaching / OJT) การแบ่งปั นความรู้ (Knowledge Sharing / CHO School) และการมอบหมายโครงการ (Project Assignment / Mechatronics Project) เพืJอให้ บุคลากรสามารถนําความรู้ มาประยุกต์ ใช้ ในการปฏิบัติงานโดยเฉพาะการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ทีJมีคุณภาพเพืJอส่งมอบสินค้ าทีเหนือความคาดหวังให้ กับลูกค้ าซึJงจะสร้ างความแข็งแกร่ งให้ กับองค์ กรและ รองรับการเติบโตของธุรกิจอย่างยังJ ยืนทังนี S Sบริ ษัทฯได้ จดั ทําโครงการพัฒนาบุคลากรทีJครอบคลุมในทุกระดับเน้ นการมีสว่ น ร่วมและมีปฏิสมั พันธ์ระหว่างบุคคล (Interpersonal Relationship) รูปแบบการทํางานเป็ นทีม (Team Work)

CHO School Training for Trainer Program เป็ นหลักสูตรทีJออกแบบมาจากการประเมิน Competency Problem ของพนักงานในระดับหัวหน้ างาน เพืJอ เตรี ยมความพร้ อมพนักงานและพัฒนาไปสูค่ รูช่างในโรงเรี ยน ช.ทวี หลักสูตรอบรมระยะสันD เป็ นรูปแบบหลักสูตรการเรี ยนรู้พื Sนฐานช่างพื Sนฐานงานช่างฝี มือทีJใช้ ในการทํางานเฉพาะของบริ ษัทฯ โดยเป็ นหลักสูตรระยะ สันS (5 สัปดาห์) ซึงJ จะแบ่งกลุม่ พนักงานทีJเข้ ารับการเรี ยนรู้ พฒ ั นาและฝึ กฝนทักษะทางด้ านช่างในระดับพื Sนฐาน ประมาณ 6-7 รุ่นต่อปี โดยแบ่งกลุม่ เป็ นกลุม่ การเรี ยนรู้ดงั นี S ปี 2558

ปี 2559

พนักงานเข้ าใหม่

40.4 %

31.13 %

พนักงานปฏิบตั ิการ

12.8 %

5.30 %

หมายเหตุ ร้ อยละของจํานวนผู้เข้ าเรี ยนคิดจากจํานวนของพนักงานทังหมด S


75

หลักสูตรอบรมระยะสันD CHO Mechatronics Program ( 5 สัปดาห์) เป็ นหลักสูตรเปิ ดสอนทังระดั S บวิศวกร และพนักงานช่างเทคนิค พนักงานแผนกต่างๆ โดยมีวตั ถุประสงค์เพืJอให้ เกิดความเข้ าใจพื Sนฐานของระบบต่างๆ ในการสร้ างนวัตกรรม เกิดการเรี ยนรู้ เทคโนโลยีระบบการควบคุมอัตโนมัติและ สามารถเข้ าใจระบบควบคุมต่างๆ และให้ มีการทําโครงการ (Project) ก่อนจะจบหลักสูตร ขณะนี Sมีทงหมดประมาณ ัS 10 โครงการ ทีJอยูร่ ะหว่างการดําเนินงาน

2. โครงการผลิตรถบัส รถโดยสารปรับอากาศจํานวนทีJนงัJ ไม่น้อยกว่า 30 ทีJนงัJ โดยใช้ พลังงานก๊ าซธรรมชาติเป็ นเชื Sอเพลิง เป็ นโครงการทีJ บริ ษัทฯ ได้ ยืJนขอการส่งเสริ มจากสํานักงานส่งเสริ มการลงทุน ตามบัตรส่งเสริ มเลขทีJ 1528(2)/2554 โดยการผลิตและ ประกอบชินS ส่วนต่างๆ ของรถโดยสาร ลดภาระในการนําเข้ าจากต่างประเทศทังคั S น เน้ นให้ เกิดการสร้ างมูลค่าการลงทุน อุตสาหกรรมภายในประเทศ และท้ องถิJนควบคู่กันไป การส่งบุคคลากรเพืJอศึกษาเรี ยนรู้ ขนตอนการผลิ ัS ตประกอบอย่าง เชีJ ยวชาญแล้ วนํามาถ่ายทอดเป็ นการจัดการความรู้ (KM) ของบริ ษัทเองในการทีJจะปรั บปรุ งสานต่อเทคโนโลยีจาก ต่างประเทศเป็ นของตนเองได้ อีกทังยั S งเป็ นการลดงบประมาณในการจัดซื SอจัดหาของภาครัฐทีJจะนํารถโดยสารปรับอากาศ มาทดแทนเพืJอบริ การประชาชน ตลอดจนการดูแลบํารุงรักษาอย่างต่อเนืJอง ลดภาวะความเสีJยงของการละทิ Sงบริ การหลัง การขายของผู้จําหน่าย อีกทังยั S งเป็ นการสร้ างงานอุตสาหกรรมต่อเนืJองภายในประเทศ เช่น โรงงานผลิตเบาะ โรงงานผลิต กระจก โรงงานผลิตยาง โรงงานผลิตแบตเตอรีJ และโรงงานทีJผลิตอุปกรณ์ สายไฟฟ้ าภายในรถ เป็ นต้ น บริ ษัทฯ มีความ พร้ อมทีJจะดําเนินการได้ ทนั ที หากมีการประมูลและได้ รับสัญญาการจ้ างงาน และการขยายโรงงานเพืJอการส่งออก โดย ปั จจุบนั ทําการวิจยั พัฒนา และเริJ มผลิตรถต้ นแบบขายให้ ลกู ค้ าแล้ วในปี 2559

3. โครงการวิจัยและพัฒนาระบบออโตเมชั$น ซึงJ อยูร่ ะหว่างศึกษาข้ อมูล และวิจยั พัฒนาต้ นแบบ อาทิ หุ่นยนต์ช่วยงานในโรงงานอุตสาหกรรม: ได้ ดําเนินการเซ็นสัญญาจ้ างทีJปรึ กษาโครงการวิจัยและพัฒนาหุ่นยนต์ ต้ นแบบแล้ วเมืJอวันทีJ 1 พฤศจิกายน 2555 ใช้ เวลาในการดําเนินงาน 2 ปี ซึJงจะได้ ต้นแบบหุ่นยนต์ จากนันทํ S าการทดสอบ และทดลองใช้ งานในสายการผลิตของบริ ษัท ประมาณ 5 ปี จนสามารถผลิตเป็ นสินค้ า ออกจํ าหน่ายเชิ ง พาณิ ชย์ ไ ด้ คาดการณ์ ว่าจะเริJ มผลิตเพืJอจําหน่ายในเชิงพาณิชย์ได้ ในปี 2566 วัตถุประสงค์หลักของการพัฒนาหุ่นยนต์ช่วยงานใน โรงงานอุตสาหกรรม ก็เพืJอร่วมพัฒนาระบบการผลิตสินค้ าให้ เข้ าถึงการใช้ เทคโนโลยีทีJลํ Sาสมัยในต้ นทุนแบบประหยัด ทําให้ กําลังการผลิตสูงขึ Sน และเพิJมมูลค่าให้ กบั สินค้ าของลูกค้ า โดยบริ ษัทฯ จะออกแบบหุน่ ยนต์ช่วยงานในโรงงานอุตสาหกรรม ให้ สงัJ การใช้ งานได้ ง่าย เน้ นกลุม่ ลูกค้ าโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)


76

4. โครงการขยายศูนย์ ซ่อม สิบล้ อ 24 ชั$วโมง by CHO ทั$วประเทศ

บริ ษัทฯ ได้ รับความไว้ วางใจจากบริ ษัท ลินฟอกซ์ ทรานสปอร์ ต (ประเทศไทย) จํากัด (“Linfox”) และบริ ษัท เอก ชัย ดิสทริ บิวชันJ ซิสเทม จํากัด (“Tesco-Lotus”) ให้ เป็ นผู้บริ หารโครงการบริ การงานซ่อมและศูนย์ซ่อมสําหรับรถบรรทุก รถพ่วง-กึJงพ่วง ของทังS 2 บริ ษัท โดยบริ ษัทฯ รับผิดชอบงานซ่อมบํารุงเพืJอรักษาสมรรถนะการใช้ งาน (PM) ของรถ โดยมีรถ ทังหมดมากกว่ S า 2,000 คัน ในพื SนทีJศนู ย์กระจายสินค้ าของ Tesco-Lotus ปั จจุบนั มีศนู ย์ซ่อมอยู่ใน Distribution Center (DC) จํานวน 6 แห่ง ประกอบด้ วย ศูนย์ลําลูกกา ศูนย์วงั น้ อย ศูนย์สามโคก ศูนย์บางบัวทอง ศูนย์ขอนแก่น และจังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี บริ ษัทฯ มีแผนขยายสาขาศูนย์ซ่อมบริ การไปทัวJ ประเทศไทย ในชืJอ "สิบล้ อ 24 ชั$วโมง by CHO" และขยายไป ยังต่างประเทศ โดยสาขาทีJ 1 ตังอยู S ่ทีJ 37/30 หมู่ทีJ 1 ตําบลหนองขาม อําเภอศรี ราชา จังหวัดชลบุรี อยู่บริ เวณใกล้ แหลม ฉบัง ซึงJ ได้ ดําเนินการก่อสร้ างและคาดว่าจะสามารถเปิ ดให้ บริ การได้ ในไตรมาส 1 ของปี 2560 และจะดําเนินการศึกษาหา พื SนทีJเปิ ดเพิJมสาขาทีJ 2 และ 3 ในปี 2560 โดยภายในปี 2562 บริ ษัทคาดว่าจะสามารถเปิ ดบริ การได้ 8 ศูนย์ ทัวJ ประเทศ อีกทังบริ S ษัทฯ ได้ เปิ ดรับแจ้ งปั ญหางานบริ การหลังการขาย ( After Sales Service) ทีJเบอร์ โทรศัพท์ 089-7112198 ตลอด 24 ชัวJ โมง โดยในปี 2558 มียอดจํานวนการใช้ บริ การ After Sales Service กว่า 214 ราย และปี 2559 จํานวนผู้ใช้ บริ การ 224 ราย โครงการในอนาคตของบริษัทย่ อย โครงการสร้ างโรงงานผลิตใกล้ กบั พื SนทีJกรุงเทพฯ เพืJอลดต้ นทุนในการขนส่ง และสามารถให้ ลกู ค้ าเข้ าตรวจสอบสินค้ า ได้ สะดวก เนืJองจากลูกค้ าส่วนใหญ่อยูใ่ นกรุงเทพฯและพื SนทีJปริ มณฑล จึงมีนโยบายแสวงหาและศึกษาข้ อมูลในการสร้ าง โรงงานผลิตเพิJมในพื SนทีJอืJน ซึJงจากการศึกษาและเพืJอสนองตอบความต้ องการของลูกค้ าได้ อย่างรวดเร็ ว จึงมีนโยบายใน การหาพื SนทีJบริ เวณกรุงเทพมหานคร และปริ มณฑลเพืJอพิจารณาต่อไป


77

โครงการที$บริษัทฯ อยู่ระหว่ างดําเนินการนําเสนอหรือเข้ าประมูลรับงาน บริ ษัทฯ มีโครงการทีJอยูร่ ะหว่างดําเนินการนําเสนอหรื อเข้ าประมูลรับงานในโครงการต่างๆ ทังของภาครั S ฐและ เอกชน สรุปได้ ดงั นี S โครงการ พันธมิตรทาง มูลค่าโครงการ ระยะเวลาโครงการ ธุรกิจ (ตัวเลขประมาณ) (คาดการณ์) โครงการงานซ่อมบํารุงยานยนต์ในอุตสาหกรรมป้องกัน BAE SYSTEMS ปี ละ 100 ล้ านบาท ปี 2560-2562 ประเทศทีJเป็ นผลงานออกแบบของ BAE SYSTEMS หมายเหตุ : BAE SYSTEMS เป็ นผู้ผลิตสินค้ าอุตสาหกรรมป้องกันประเทศรายใหญ่อนั ดับ2ของโลก จากประเทศสหราช อาณาจักร (ปั จจุบนั บริ ษัทฯ ผ่านการตรวจสอบกิจการ (Due Diligence) จาก BAE SYSTEMS แล้ ว และอยูร่ ะหว่าง การเจรจาในรายละเอียดเกีJยวกับความร่วมมือทางธุรกิจ)


78


79

11. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 11.1 นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) ชืJอเดิม บริ ษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด (มหาชน) “CHO” ได้ ผสานเทคโนโลยีด้าน วิศวกรรมระดับสากลเข้ ากับการบริ หารอย่างมืออาชีพ ด้ วยประสบการณ์ และความเชีJยวชาญของผู้บริ หาร และทีมงาน ทังS ด้ านงานวิศวกรรม และด้ านการบริ หารทีJสงัJ สมมานาน ในการออกแบบ สร้ างสรรค์ ผลิตตัวถังยานยนต์ เพืJอการพาณิชย์ ตลอดจนสามารถขยายธุร กิ จ ไปยัง ธุ รกิ จ รั บบริ ห ารโครงการพิเ ศษด้ า นการขนส่ง และให้ บ ริ ก ารอืJน ๆ ทีJเ กีJ ย วข้ อ งกับ ผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทฯ อาทิ โครงการสร้ างเรื อตรวจการณ์ไกลฝัJ งกองทัพเรื อ (Offshore Patrol Vessel : OPV) ซึJงบริ ษัทฯ ได้ เข้ าร่วมกับบริ ษัท อูก่ รุงเทพ จํากัด ในการบริ หารจัดการด้ วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพืJอเพิJมขีดความสามารถของอุตสาหกรรม การต่อเรื อไทย ให้ แข่งขันได้ ในระดับภูมิภาค โครงการบริ การงานซ่อมบํารุ ง และศูนย์ ซ่อมรถบรรทุกให้ กับ บริ ษัท ลิน ฟอกซ์ ทรานสปอร์ ต (ประเทศไทย) จํากัด(“Linfox”) และโครงการของ บริ ษัท เอก-ชัย ดิสทริ บิวชันJ ซิสเทม จํากัด (“TescoLotus”)มากกว่า 1,000 คัน เป็ นต้ น

วิสัยทัศน์ CHO 2023 แกร่ ง กล้ า ต่ าง CHOจะเป็ นผู้นําในการออกแบบ สร้ างสรรค์ ผลิต ผสานเทคโนโลยีระดับโลกเข้ ากับการจัดการอย่างมืออาชี พ ด้ วยองค์

ความรู้ทีJเป็ นเอกลักษณ์ เพืJอมุง่ สูค่ วามเป็ นเลิศ สร้ างความเชืJอมันJ ความพึงพอใจต่อลูกค้ าด้ วยจิตวิญญาณทีJรับผิดชอบต่อ สังคมและสิJงแวดล้ อม โดยมีเป้าหมายจะนํา สินค้ า คุณภาพ ภายใต้ Brand CHO สูร่ ะดับสากล ด้ วยความภาคภูมิใจและ สร้ างความสุขแก่ผ้ รู ่วมงานเพืJอสร้ างเสริ มอํานาจการแข่งขันสูก่ ารเป็ นผู้นําด้ านนวัตกรรมเทคโนโลยี ให้ กบั ประเทศไทย

พันธกิจ • การสร้ างองค์ความรู้ ทีJเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะ CHO และพัฒนาบุคลากร • ขยายการรับรู้ และความตระหนักใน Brand พร้ อมทังสร้ S างความเชืJอมันJ ให้ กบั Brand CHO • ผลิตสินค้ าทีJเป็ นมิตรต่อสิงJ แวดล้ อมมีความยังJ ยืนความปลอดภัย • สร้ างความสุขต่อผู้ร่วมงาน และผู้ทีJเกีJยวข้ อง • ศึกษาค้ นคว้ าและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่อย่างต่อเนืJอง • มีความเป็ นเลิศด้ านการเงิน และการตลาด • ได้ รับรางวัล TQA ภายในปี 2018 ได้ รับรางวัลนวัตกรรมแห่งชาติภายในปี 2018 และได้ รับสิทธิบตั ร/อนุสทิ ธิบตั ร ไม่

น้ อยกว่า 5 เรืJ องต่อปี • สร้ างอัตลักษณ์ของคนพันธุ์ CHO

เอกลักษณ์ C = Creativity to drive innovative developments

ความคิดสร้ างสรรค์ ด้ านนวัตกรรมและส่งเสริ มความคิดใหม่ๆ ทีเJ ป็ นประโยชน์ตอ่ การพัฒนา H = High Performance Organization under Good Governance

องค์กรสมรรถนะสูงมีระบบการบริ หารจัดการภายในทีJดี O = One of a kind along with identity of “CHO” species มีเอกลักษณ์เฉพาะ ตามนิยาม คนพันธุ์ CHO

อัตลักษณ์

"แกร่ ง กล้ าต่าง" "STRONG, BRAVE AND DIFFERENT"


80

11.2 ความเป็ นมาและพัฒนาการที$สาํ คัญ กลุม่ ครอบครัวทวีแสงสกุลไทย(หรื อ “กลุม่ ช.ทวี” ) โดยนายชอ ทวีแสงสกุลไทย และนางอุษา ทวีแสงสกุลไทย เป็ นผู้บกุ เบิกธุรกิจรถขนส่งในจังหวัดขอนแก่น และเป็ นผู้ริเริJ มธุรกิจเป็ นตัวแทนจําหน่ายรถบรรทุกตังแต่ S ปี 2511 ต่อมาได้ ขยายธุรกิจไปยังการผลิต และต่อตัวถังรถบัส ในปี 2523 ได้ ขยายการผลิต และต่อตัวถังรถพ่วง-กึJงพ่วง และรถขนส่ง ประเภทต่างๆ กลุ่ม ช.ทวี ได้ พัฒนาเทคโนโลยีรถพ่วง รถเพืJอการพาณิชย์ อย่างต่อเนืJอง และมีความพิถีพิถันในการ ออกแบบตัวถังรูปแบบต่างๆ ทีJเหมาะสมกับแชสซีรถบรรทุกของลูกค้ าเพืJอให้ ได้ โครงสร้ างตัวถังบรรทุกทีJแข็งแกร่ งทนทาน เหมาะสมกับประเภทของงานขนส่ง ใช้ งานได้ ในทุกสภาพถนน และทนทานต่อทุกสภาพภูมิอากาศ ในรุ่นทีJสองของกลุม่ ช.ทวี นําโดยนายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย บุตรชายของนายชอ ทวีแสงสกุลไทย และนางอุษา ทวีแสงสกุลไทย ซึJงจบการศึกษาด้ านวิศวกรรมยานยนต์ และการบริ หารธุรกิจ จากประเทศญีJปนุ่ มองเห็นแนวโน้ มความ ต้ องการของระบบขนถ่ายสินค้ าจํานวนมาก ด้ วยรถพ่วงพิเศษขนาดใหญ่ รวมทังเล็ S งเห็นถึงความสําคัญของนวัตกรรมด้ าน การต่อตัวถังรถบรรทุกทีJอาศัยเทคโนโลยีชนนํ ั S าจากต่างประเทศ ว่าจะมีบทบาทมากยิJงขึ Sนในอุตสาหกรรมรถพ่วง-กึJงพ่วงใน อนาคต จึงได้ ตดั สินใจก่อตังบริ S ษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด (“บริ ษัทฯ” หรื อ “CHO”) เมืJอวันทีJ 18 พฤศจิกายน 2537 โดย การร่ วมทุนระหว่างบริ ษัทของครอบครัว คือ บริ ษัทขอนแก่น ช .ทวี ( 1993) จํากัด (“CTV-1993”) และบริ ษัทผู้ผลิตตัวถัง รถบรรทุก และรถพ่วงชันนํ S าจากประเทศเยอรมนี คือDOLL Fahrzeugbau GmbH (“DOLL”)เพืJอประกอบธุรกิจออกแบบ ผลิต ประกอบตัวถัง และติดตังS ระบบวิศวกรรมทีJเกีJ ยวกับตัวถังรถบรรทุก รถพ่วง และรถขนส่งเพืJอการพาณิ ชย์ ด้ วยทุนจด ทะเบียน 10.00ล้ านบาทโดย CTV-1993 และกลุ่มผู้ถือหุ้นฝ่ ายไทย ถือหุ้นในสัดส่วนร้ อยละ 74 ของทุนจดทะเบียน และ DOLL ถือหุ้นในสัดส่วนร้ อยละ 26 ของทุนจดทะเบียน ทังนี S S CTV-1993 (เดิมชืJอ “บริ ษัท ช.รวมทวีอินดัสตรี S จํากัด” และเปลีJยนชืJอเมืJอ 28 พฤษภาคม 2536) และ DOLL (เดิมชืJอ Emil Doll ) มีประสบการณ์ด้านการผลิต และประกอบตัวถังรถเพืJอการพาณิชย์มาเป็ นเวลานานซึJงสามารถสรุ ปได้ ดังนี S CTV-1993 เริJ มธุรกิจผลิต และประกอบตัวถังรถบรรทุก ตัวถังรถบัส และได้ พฒ ั นาเทคโนโลยีการบรรทุก ขนส่งในประเทศไทยตังแต่ S ปี2533 ปั จจุบนั CTV-1993 ไม่ได้ ประกอบธุรกิจผลิต และประกอบตัวถังรถ โดย เปลียJ นไปประกอบธุรกิจจําหน่ายหัวรถบรรทุก รถพ่วงทุกชนิด และให้ บริ การสินเชืJอเช่าซื Sอรถบรรทุก DOLL เริJ ม ธุ ร กิ จ ผลิต และประกอบตัว ถัง รถบรรทุก และรถพ่ ว งชนิ ด พิ เ ศษตังS แต่ปี 2465 (สมัย หลัง

สงครามโลกครังS ทีJ 1)ซึJง DOLL มีความสามารถในการผลิตรถพ่วงพิเศษสําหรับบรรทุกวัสดุทีJมีนํ Sาหนัก มากและมีขนาดใหญ่รวมถึงวัสดุทีJมีความยาวเป็ นพิเศษ ด้ วยการใช้ เทคโนโลยีทีJทนั สมัย นอกจากนี S ในปี 2548 บริ ษัทฯ ได้ ร่วมทุนกับนักธุรกิจชาวฝรัJงเศสก่อตังS “บริ ษัท ช.ทวี เทอร์ โมเทค จํากัด” (“CTVTMT”) ด้ ว ยทุนจดทะเบีย น 10.00 ล้ า นบาทโดย CHO ถื อหุ้นในสัด ส่ว นร้ อยละ 80 ของทุนจดทะเบีย น และนัก ธุ รกิ จชาว ฝรัJงเศส ถือหุ้นในสัดส่วนร้ อยละ 20 ของทุนจดทะเบียนเพืJอประกอบธุรกิจออกแบบ ผลิต ประกอบและติดตังตู S ้ บรรทุกห้ อง เย็นไฟเบอร์ กลาส นํ Sาหนักเบา สําหรับรถขนส่งสินค้ า อาหารสด และแห้ ง เพืJอรักษาคุณภาพสินค้ าจนถึงปลายทาง ทังด้ S าน รูปร่าง คุณภาพ ตลอดจนอุณหภูมิของสินค้ า ให้ คงอยู่ในสภาพเดียวกันกับก่อนทําการขนส่ง ปั จจุบนั CHO ถือหุ้นใน CTVTMT ในสัดส่วนร้ อยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียน


81

บริ ษัทฯ มีการเปลีJยนแปลงโครงสร้ างกลุ่มผู้ถือหุ้น โดยนายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย ซึJงเป็ นผู้ร่วมก่อตังบริ S ษัทฯ ัS บตังแต่ S และปั จจุบนั ยังคงเป็ นกรรมการ และผู้บริ หารหลัก ได้ เข้ าซื Sอหุ้นสามัญของบริ ษัทฯ ในส่วน CTV-1993 ถืออยูท่ งหมดนั ปี 2545 เป็ นต้ นมา ส่งผลให้ กลุม่ ทวีแสงสกุลไทย เป็ นผู้ถือหุ้นใหญ่ มีสดั ส่วนการถือหุ้นรวมร้ อยละ 93.18 ของทุนจดทะเบียน ก่อน การเสนอขายหุ้นเพิJมทุนต่อประชาชนเป็ นครังS แรก (Initial Public Offering: “IPO”) ในระหว่างวันทีJ 2-7 พฤษภาคม 2556 โดยการเพิJมทุนจดทะเบียน และเรี ยกชําระเพิJมจํานวน 50.00 ล้ านบาท และนําหุ้นสามัญเข้ าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอไอ ต่อมา บริ ษัทฯ ได้ ออกใบสําคัญแสดงสิทธิในการซื Sอหุ้นสามัญเพิJมทุนของบริ ษัทรุ่นทีJ 1 (“CHO-W1”) ให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น เดิมโดยไม่คิดมูลค่าในวันทีJ 28 ตุลาคม 2556 จํานวน 360 ล้ านหน่วย ในอัตรา 2 หุ้นเดิมต่อ 1 ใบสําคัญแสดงสิทธิฯ และจด ทะเบียนเพิJมทุนเพืJอรองรับการใช้ สทิ ธิ จํานวน 90 ล้ านบาท โดยให้ สิทธิในการแปลงเป็ นหุ้นสามัญ 1 หน่วยใบสําคัญแสดง สิทธิฯ ต่อ 1 หุ้นสามัญ ในราคา 0.50 บาทต่อหุ้น และบริ ษัทฯ ปรับอัตราการใช้ สทิ ธิใหม่ตงแต่ ั S การใช้ สทิ ธิครังS ทีJ 7 และการใช้ สิทธิครังS สุดท้ ายครังS ทีJ 8 เป็ น 1 หน่วยใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ต่อ 1.1 หุ้นสามัญ ในราคา 0.454 บาทต่อหุ้น โดยมีอายุ 3 ปี นับ แต่วนั ออกใบสําคัญแสดงสิทธิฯ และเริJ มใช้ สทิ ธิได้ ตงแต่ ั S ใบสําคัญแสดงสิทธิฯ มีอายุครบ 1 ปี คือเริJ มใช้ สิทธิครังS แรกในวันทีJ 30 ธันวาคม 2557 และทุกวันสุดท้ ายของทุกไตรมาส จนถึงวันทีJ 27 ตุลาคม 2559 ซึJงเป็ นวันสุดท้ ายในการใช้ สิทธิ ทําให้ โครงสร้ างทุนมีการเปลีJยนแปลงโดย ณ 30 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจํานวน 296,972,494.50 บาท มีทุนจด ทะเบียนชําระแล้ วจํานวน 295,735,443.25 บาท มูลค่าหุ้นทีJตราไว้ ห้ ุนละ 0.25 บาท มีการใช้ สิทธิ CHO-W1 ทังหมด S 8 ครั งS 355,575,489 หน่วย มีจํานวนหุ้นทีJรองรับการใช้ สทิ ธิคงเหลือ 4,756,940 หุ้น รวมจํานวนใช้ สทิ ธิทงหมด ัS ในช่วง 3 ปี ทีJผา่ นมาบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีความเป็ นมา และพัฒนาการทีJสาํ คัญ ดังนี S ปี ปี 2557 :

ปี 2558

เหตุการณ์ ท$ สี าํ คัญ บริ ษัทฯ ได้ แต่งตังS ผู้จัดการ และคณะกรรมการ CSR (Corporate Social Responsibility) เมืJอวันทีJ 28 กรกฎาคม 2557 โดยมีกรรมการผู้จดั การใหญ่ และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร ทําหน้ าทีJเป็ นศูนย์กลางใน การขับเคลือJ นการดําเนินงานด้ านความยังJ ยืน บริ ษัทฯ ได้ แต่งตังS คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสียJ ง สรรหาและกําหนดค่าตอบแทน เมืJอวันทีJ 30 ธันวาคม 2557 มีการใช้ สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิทีJจะซื Sอหุ้นสามัญของบริ ษัทรุ่ นทีJ 1 (CHOW1) ครั งS ทีJ 1 จํ า นวน 46,461,300 หน่ว ย และบริ ษั ทฯ จดทะเบี ย นเปลีJย นแปลงทุนชํ า ระแล้ ว เมืJ อวันทีJ 7 มกราคม 2558 จาก 180,000,000 บาท เป็ น 191,365,325บาท ทังนี S Sบริ ษัทฯ ได้ รับเงินเพิJมทุนจํานวน 22.73 ล้ านบาท เพืJอนําไปใช้ เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ บริ ษัทฯ ได้ ร่วมมือกับบริ ษัทในประเทศเยอรมนี เพืJอนําเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาพัฒนาระบบอุปกรณ์ สําหรับยานยนต์เพืJอการขนส่งทีJขบั เคลืJอนด้ วยพลังงานไฟฟ้ า และควบคุมด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ เชิ ง พาณิชย์ในไทยโดยมีวตั ถุประสงค์หลักเพืJอผลิตชินS ส่วนยานยนต์ทีJเหมาะสมสําหรับผู้ประกอบการทุก ระดับของประเทศไทย บริ ษัท ฯ เป็ นผู้รั บเหมารถเมล์ NGV บริ ก ารขนส่งมวลชนรุ่ นใหม่ KKU Smart Transit ทีJวิJ งภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพืJอรับส่งนักศึกษาและประชาชนทัวJ ไประยะเวลาสัญญาการจ้ างเหมา 5 ปี โดยเริJ ม ตังแต่ S ปีงบประมาณ 2559 – 2563 (เริJ ม 1 ตุลาคม 2558 สิ SนสุดวันทีJ 30 กันยายน 2563 ) บริ ษัทฯ ลงนามบันทึกข้ อตกลงความร่ วมมือ (MOU) กับ CP ALL และคณะวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี สถาบันการจัดการปั ญญาภิวฒ ั น์ (PIM) ทังS 3 ฝ่ าย ร่ วมดําเนินโครงการการพัฒนายานยนต์ และพลังงาน ทางเลือกในระบบโลจิสติกส์ซึJงเป็ นการพัฒนารถขนส่งเชิงพาณิชย์ขบั เคลืJอนพลังงานไฟฟ้ าคันแรกของ


82

ปี

เหตุการณ์ ท$ สี าํ คัญ ประเทศไทย บริ ษัทฯได้ ลงนามข้ อตกลงความเข้ าใจในความร่ วมมือทางวิชาการ (Memorandum of understanding : MOU) กับคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมืJอวันทีJ 9 กันยายน 2558 โดยมีวตั ถุประสงค์หลักในการ พัฒนานักศึกษา และบุคลากรคณะวิศวกรรมศาสตร์ และบุคลากรของ CHO เพืJอสร้ างความร่ วมมือด้ าน การศึกษาวิจยั และการบริ หารจัดการองค์ความรู้ในด้ านการจัดการอุตสาหกรรมการผลิต ยานยนต์ ขนส่ง มวลชน โลจิสติกส์ และระบบราง สูม่ าตรฐานสากล บริ ษัทฯ เปิ ดศูนย์ซอ่ มบริ การใหม่ในภาคใต้ ของประเทศไทยทีJ อําเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ ธานี เมืJอวันทีJ 31 มีนาคม 2558 มีการใช้ สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิทีJจะซื Sอหุ้นสามัญของบริ ษัทรุ่ นทีJ 1 (CHOW1) ครั งS ทีJ 2 จํ า นวน 44,778,300 หน่ว ย และบริ ษั ทฯ จดทะเบี ย นเปลีJย นแปลงทุนชํ า ระแล้ ว เมืJ อวันทีJ 3 เมษายน 2558 จาก 191,365,325 บาท เป็ น202,559,900 บาท ทังS นีบS ริ ษัทฯ ได้ รับเงินเพิJมทุนจํ านวน 22,389,150 บาท เพืJอนําไปใช้ เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ บริ ษัทฯ เข้ าประมูลงานซื Sอรถโดยสารปรับอากาศใช้ เชื Sอเพลิงก๊ าซธรรมชาติ (NGV) จํานวน 489 คัน วงเงิน 1,784.85 ล้ านบาท และสัญญาจ้ างซ่อมแซมบํารุ งรักษารถโดยสารดังกล่าวระยะเวลา 10 ปี วงเงิน 2,446.35 ล้ านบาท ของหน่วยงานรั ฐ ด้ วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ และในขอบเขตของงาน ( TOR) ได้ กําหนด เงืJอนไขการซ่อมแซมและบํารุงรักษารถโดยสาร โดยมีประกาศจากหน่วยงานรัฐแจ้ งว่าบริ ษัทฯ เป็ นผู้ชนะ การเสนอราคาจ้ างซ่อมแซมและบํารุ งรักษารถโดยสาร เมืJอวันทีJ 27 กรกฎาคม 2558 และต่อมาบริ ษัทฯ ได้ รั บหนังสือ ยกเลิก การทํ าสัญ ญาซื อS รถโดยสารใช้ ก๊ าซธรรมชาติ (NGV) และสัญ ญาจ้ างซ่อมแซม บํารุงรักษารถโดยสารฯ ของหน่วยงานภาครัฐเมืJอวันทีJ 3 ธันวาคม 2558 เมืJอวันทีJ 30 มิถุนายน 2558 มีการใช้ สิทธิ ตามใบสําคัญแสดงสิทธิ ทีJจะซือS หุ้นสามัญของบริ ษัทรุ่ นทีJ 1 (CHO-W1) ครังS ทีJ 3 จํานวน 11,268,300 หน่วย และบริ ษัทฯ จดทะเบียนเปลียJ นแปลงทุนชําระแล้ วเมืJอวันทีJ 2 กรกฎาคม 2558 จาก 202,559,900 บาท เป็ น205,376,975 บาท ทังS นี Sบริ ษัทฯ ได้ รับเงิ นเพิJมทุนจํ านวน 5,634,150 บาท เพืJอนําไปใช้ เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ เมืJอวันทีJ 30 กันยายน 2558 มีการใช้ สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิทีJจะซื Sอหุ้นสามัญของบริ ษัทรุ่ นทีJ 1(CHOW1) ครั งS ทีJ 4 จํ า นวน 3,002,800 หน่ว ย และบริ ษั ทฯ จดทะเบี ย นเปลีJย นแปลงทุนชํ า ระแล้ ว เมืJ อวันทีJ 6 ตุลาคม 2558 จาก 205,376,975 บาท เป็ น206,127,675 บาท ทังนี S Sบริ ษัทฯ ได้ รับเงินเพิJมทุนจํานวน 1,501,400 บาท เพืJอนําไปใช้ เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ เมืJอวันทีJ 30 ธันวาคม 2558 มีการใช้ สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิทีJจะซื Sอหุ้นสามัญของบริ ษัทรุ่ นทีJ 1(CHOW1) ครั งS ทีJ 5 จํ า นวน 89,402,100 หน่ว ย และบริ ษั ทฯ จดทะเบี ย นเปลีJย นแปลงทุน ชํ า ระแล้ ว เมืJ อ วันทีJ 7 มกราคม 255 9 จาก 206,127,675 บาท เป็ น 228,478,200 บาท ทังS นี บS ริ ษั ท ฯ ได้ รั บ เงิ น เพิJ ม ทุน จํ า นวน 44,701,050 บาท เพืJอนําไปใช้ เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ


83

ปี ปี 2559

เหตุการณ์ ท$ สี าํ คัญ เมืJอวันทีJ 31 มีนาคม 2559 มีการใช้ สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิทีJจะซื Sอหุ้นสามัญของบริ ษัทรุ่ นทีJ 1 (CHOW1) ครั งS ทีJ 6 จํ า นวน 4,432,100 หน่ ว ย และบริ ษั ท ฯ จดทะเบี ย นเปลีJ ย นแปลงทุน ชํ า ระแล้ ว เมืJ อ วัน ทีJ 5 เมษายน 2559 จาก 228,478,200 บาท เป็ น 229,586,225 บาท ทังS นีบS ริ ษัท ฯ ได้ รั บเงิ นเพิJ มทุนจํ า นวน 2,216,050 บาท เพืJอนําไปใช้ เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ บริ ษัทฯ เซ็นสัญญากับบริ ษัทเอสเอพี (ประเทศไทย) จํากัดซึJงเป็ นผู้ผลิตซอร์ ฟแวร์ ERP on Cloud ภายใต้ ชืJอ โปรแกรม SAP Business By Design เมืJอวันทีJ 5 เมษายน 2559 เพืJอนําระบบมาพัฒนาการดําเนินงานให้ มี ประสิทธิภาพตามเป้าหมายขององค์กรได้ ดียิJงขึ Sนโดยบริ ษัทฯ ได้ แต่งตังให้ S บริ ษัทเนทติเซนท์จํากัดเป็ นทีJ ปรึ กษาสําหรับงาน Implement ระบบ ERP ด้ วยโปรแกรม SAP Business By Design เพืJอวางระบบให้ เข้ ากับ ธุรกิจโดยมีวตั ถุประสงค์เพืJอนําข้ อมูลจากทุกหน่วยงานของบริ ษัทฯเชืJอมโยงกันด้ วยระบบ ERP เพืJอเพิJม ความสามารถในการเข้ าถึงข้ อมูลได้ อย่างรวดเร็ วถูกต้ องแม่นยําและรองรับแผนการเปิ ดศูนย์ซ่อมบํารุ งรถ เพืJอการพาณิชย์ One Stop Services อีก 8 ศูนย์ทวัJ ประเทศภายในปี 2561 รวมถึงงานขายและงานบริ การ หลังการขายในกลุม่ ผลิตภัณฑ์อืJนๆของบริ ษัทฯได้ ทกุ ทีJทวัJ โลก เปลียJ นแปลงชืJอบริ ษัทจากเดิม บริ ษัท ช.ทวี ดอลาเซียน จํากัด (มหาชน) เป็ น บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) เมืJอวันทีJ 10 พฤษภาคม 2559 เพืJอให้ จดจําได้ ง่ายขึ Sน บริ ษั ทฯ ออกและเสนอขายหุ้นกู้ให้ แ ก่ผ้ ูลงทุนสถาบัน และ/หรื อ ผู้ล งทุนรายใหญ่ ชนิ ดระบุบ ชืJ อ ผู้ถื อ ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน และไม่มีผ้ แู ทนผู้ถือหุ้นกู้ ในชืJอ “หุ้นกู้ของบริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) ครังS ทีJ 1/2559 ครบกําหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2561” จํานวนรวมไม่เกิน 300,000 หน่วย มูลค่าทีJตราไว้ หน่วยละ 1,000 บาท มูลค่ารวมทังสิ S Sนจํานวนไม่เกิน 300,000,000 บาทวันทีJออกหุ้นกู้ตามสัญญานี Sหมายถึง วันทีJ 16 มิถนุ ายน 2559 เมืJอวันทีJ 30 มิถนุ ายน 2559 มีการใช้ สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิทีJจะซื Sอหุ้นสามัญของบริ ษัทรุ่นทีJ 1 (CHOW1) ครั งS ทีJ 7 จํ านวน 20,730,850 หน่วย และบริ ษั ทฯ จดทะเบีย นเปลีJยนแปลงทุนชํ าระแล้ ว เมืJ อวันทีJ 8 กรกฎาคม 2559 จาก 252,497,031.25 บาท เป็ น258,198,015 บาท ทังนี S Sบริ ษัทฯ ได้ รับเงินเพิJมทุนจํานวน 10,352,986.49 บาท เพืJอนําไปใช้ เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ เมืJอวันทีJ 27 ตุลาคม 2559 มีการใช้ สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิทีJจะซื Sอหุ้นสามัญของบริ ษัทรุ่ นทีJ 1 (CHOW1) ครังS ทีJ 8 (ครังS สุดท้ าย) จํานวน 150,149,713 หน่วย และบริ ษัทฯ จดทะเบียนเปลีJยนแปลงทุนชําระแล้ ว เมืJอวันทีJ 2 พฤศจิกายน 2559 จาก 258,198,015 บาท เป็ น296,972,494.50 บาท ทังนี S Sบริ ษัทฯ ได้ รับเงินเพิJม ทุนจํานวน 68,167,969.70 บาท เพืJอนําไปใช้ เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ บริ ษั ท ฯ ได้ ลงนามข้ อตกลงความร่ ว มมื อ พัฒ นารถเกราะล้ อ ยาง สะเทิ นS นํ าS สะเทิ นS บกกั บ บริ ษั ท อุตสาหกรรมป้องกันประเทศชันนํ S าใน Singapore


84

11.3 โครงสร้ างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯ มีบริ ษัทย่อย 1 บริ ษัท ได้ แก่ บริ ษัท ช.ทวี เทอร์ โมเทค จํากัด โดยมีโครงสร้ าง กลุม่ บริ ษัทฯ ดังนี S บริษัท ชทวี จํากัด (มหาชน) (CTV-CHO) ทุนจดทะเบียน 296,972,494.50บาท ทุนชําระแล้ ว 295,735,443.25 บาท มูลค่าหุ้นทีJตราไว้ 0.25 บาท “CHO จะเป็ นผู้นําในการออกแบบ สร้ างสรรค์ ผลิต ผสานเทคโนโลยีระดับโลกเข้ ากับการจัดการ อย่างมืออาชีพ ด้ วยองค์ความรู้ทเีJ ป็ นเอกลักษณ์ เพืJอมุง่ สูค่ วามเป็ นเลิศ สร้ างความเชืJอมันJ ความพึง พอใจต่อลูกค้ าด้ วยจิตวิญญาณทีJรับผิดชอบต่อสังคมและสิงJ แวดล้ อม โดยมีเป้าหมายจะนํา สินค้ า คุณภาพ ภายใต้ Brand CHOสูร่ ะดับสากล ด้ วยความภาคภูมใิ จและสร้ างความสุขแก่ผ้ รู ่วมงานเพืJอ 99.99 %

บริษัท ช.ทวี เทอร์ โมเทค จํากัด (CTV-TMT) ทุนจดทะเบียน 20 ล้ านบาท ทุนจดทะเบียนเรี ยกชําระแล้ ว 20 ล้ านบาท มูลค่าหุ้นทีJตราไว้ 10 บาท “ดําเนินธุรกิจออกแบบ ผลิต ประกอบและติดตังตู S ้ บรรทุกห้ องเย็นไฟ เบอร์ กลาส นํ Sาหนักเบา”

บริษัทย่ อย ชืJอบริ ษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ ทีJตงสํ ั S านักงานใหญ่และโรงงาน โทรศัพท์ / โทรสาร ทีJตงสํ ั S านักงานในกรุ งเทพฯ โทรศัพท์ / โทรสาร ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนเรี ยกชําระแล้ ว

: : : : : : : :

บริ ษัท ช.ทวี เทอร์ โมเทค จํากัด (“CTV-TMT”) ดําเนินธุรกิจออกแบบ ผลิต ประกอบและติดตังตู S ้ บรรทุกห้ องเย็นไฟเบอร์ กลาส นํ Sาหนักเบา เลขทีJ 265 หมู่ 4 ถนนกลางเมือง ตําบลเมืองเก่า อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 40000 0-4334-1210-12 / 0-4334-1242 เลขทีJ 96/25 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสีJ กรุ งเทพมหานคร 10210 0-2973-4382-84 / 0-2973-4385 20.00 ล้ านบาท 20.00 ล้ านบาท


85

มูลค่าหุ้นทีJตราไว้ จํานวนหุ้น รายชืJอกรรมการ

: 10 บาท : 2,000,000 หุ้น : 1) นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย 2) นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย 3) นายประสบสุข บุญขวัญ : 1) บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) 2) ผู้ถือหุ้นรายย่อยอืJน รวม

รายชืJอผู้ถือหุ้น

1,999,995 หุ้น สัดส่วนร้ อยละ 99.99 5 หุ้น สัดส่วนร้ อยละ 0.01 2,000,000 หุ้น สัดส่ วนร้ อยละ 100.00

กิจการที$ควบคุมร่ วมกัน : กิจการร่ วมค้ า ทีเอสพี-ซีทีวี

ชืJอบริ ษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ วันทีJก่อตังS ทุนจดทะเบียน / ทุนชําระแล้ ว

: จําหน่ายและติดตังหลอดไฟฟ้ S าและอุปกรณ์ไฟฟ้ า : 2 สิงหาคม 2556 : 20,252,500 บาท / 20,252,500 บาท

: กิจการร่ วมค้ า เจวีซีซี ชืJอบริ ษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ : ผลิต ประกอบและซ่อมแซมรถโดยสารทีJใช้ ก๊าซธรรมชาติ วั น ทีJ ใ น ห นั ง สื อ ข้ อ ต ก ล ง : 25 มิถนุ ายน 2556 “กิจการร่ วมค้ า” ทุนจดทะเบียน / ทุนชําระแล้ ว -ไม่ได้ ระบุ -

11.4 ความสัมพันธ์ กับกลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นใหญ่ บริ ษัทฯ เป็ นผู้ออกแบบ และผลิตตัวถังรถยนต์ เพืJอการพาณิชย์ และอืJนๆ ทําให้ มีการซื Sอ ขาย สินค้ ากลุม่ หัวรถ ยีJห้อต่างๆ ทีJลูกค้ าทําการสังJ ซื Sอกับบริ ษัท และอะไหล่ รวมถึงบริ การ เพิJมเติมทีJบริ ษัทฯ เห็นว่าเป็ นประโยชน์ และสร้ าง มูลค่าเพิJมให้ กบั บริ ษัทฯ ในราคาทีJมีการเปรี ยบเทียบแล้ ว เหมาะสม ยุติธรรม กับกลุม่ ธุรกิจของผู้ถือหุ้นใหญ่ และกรรมการ โดยมีรายละเอียด และความสัมพันธ์ ดังต่อไปนี S

บริษัทที$เกี$ยวข้ อง ชืJอบริ ษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ วันทีJก่อตังS ทุนจดทะเบียน / ทุนชําระแล้ ว

: : : :

บริ ษัท ขอนแก่นพัฒนาเมือง (เคเคทีที) จํากัด ระดมทุนเพืJอก่อสร้ างระบบขนส่งมวลชนขนาดใหญ่ในจังหวัดขอนแก่น 8 มกราคม 2558 200 ล้ านบาท / 200 ล้ านบาท


86

ความสัมพันธ์

เหตุผลทีJไม่จดั เข้ ากลุ่ม

: - มีกรรมการของบริ ษัทฯ 1 ท่าน คือ นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย ถือหุ้นในสัดส่วนร้ อยละ 6.86 % ของทุนจดทะเบียน - มีกรรมการบริ ษัทร่ วมกัน คือ นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย : ลักษณะการดําเนินธุรกิจแตกต่างกัน แต่อย่างไรก็ตามได้ มีการทําสัญญาข้ อตกลงกับบริ ษัทฯ ทีJจะ ไม่ทําธุรกิจแข่งขัน เพืJอขจัดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์

ชืJอบริ ษัท

: บริ ษัท ขอนแก่น ช.ทวี (1993) จํากัด (เดิมชืJอ “บริ ษัท ช.รวมทวีอินดัสตรี S จํากัด”) ลักษณะการประกอบธุรกิจ : จําหน่ายหัวรถบรรทุก รถพ่วงทุกชนิด และให้ สินเชืJอเช่าซื Sอรถบรรทุก วันทีJก่อตังS : 4 พฤษภาคม 2533 ทุนจดทะเบียน / ทุนชําระแล้ ว : 325 ล้ านบาท / 325 ล้ านบาท ความสัมพันธ์ : - มีกรรมการของบริ ษัทฯ1 ท่าน เป็ นผู้ถือหุ้นในบริ ษัทดังกล่าว คือ นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย ถือ หุ้นในสัดส่วน 97.38 % ของทุนจดทะเบียน - มีกรรมการบริ ษัทร่ วมกัน คือ นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย เหตุผลทีJไม่จดั เข้ ากลุ่ม : ลักษณะการดําเนินธุรกิจแตกต่างกัน แต่อย่างไรก็ตามได้ มีการทําสัญญาข้ อตกลงกับบริ ษัทฯ ทีJจะ ไม่ทําธุรกิจแข่งขัน เพืJอขจัดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ชืJอบริ ษัท : บริ ษัท วอลแลพ ทรัค แอนด์ บัส จํากัด ลักษณะการประกอบธุรกิจ : รับบริ การซ่อมแซมเครืJ องยนต์ และหัวรถบรรทุกทัวJ ไป ปั จจุบนั มีบคุ ลากรจํานวน 14 คน วันทีJก่อตังS : 8 กันยายน 2535 ทุนจดทะเบียน / ทุนชําระแล้ ว : 20 ล้ านบาท / 20 ล้ านบาท ความสัมพันธ์ : - มีกรรมการของบริ ษัทฯ1 ท่าน เป็ นผู้ถือหุ้นในบริ ษัทดังกล่าว คือ นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย ถือหุ้นในสัดส่วนร้ อยละ0.50 ของทุนจดทะเบียน - มีกรรมการบริ ษัทร่ วมกัน1 ท่าน คือ นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย เหตุผลทีJไม่จดั เข้ ากลุ่ม : ลักษณะการดําเนินธุรกิจแตกต่างกัน แต่อย่างไรก็ตามได้ มีการทําสัญญาข้ อตกลงกับบริ ษัทฯ ทีJจะ ไม่ทําธุรกิจแข่งขัน เพืJอขจัดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ชืJอบริ ษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ วันทีJก่อตังS ทุนจดทะเบียน / ทุนชําระแล้ ว ความสัมพันธ์

เหตุผลทีJไม่จดั เข้ ากลุ่ม

: : : : :

ห้ างหุ้นส่วนจํากัด ขอนแก่น ช.ทวี จําหน่ายรถยนต์ รถพ่วง รถกึงJ พ่วง ยานพาหนะอืJนทุกชนิด 18 พฤษภาคม 2520 3 ล้ านบาท / 3 ล้ านบาท - มีกรรมการของบริ ษัทฯ 2 ท่าน เป็ นหุ้นส่วนในห้ างหุ้นส่วนจํากัดดังกล่าว คือ (1) นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย ถือหุ้นในสัดส่วนร้ อยละ 13.33 ของทุนจดทะเบียน (2) นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย ถือหุ้นในสัดส่วนร้ อยละ13.33 ของทุนจดทะเบียน - มีกรรมการบริ ษัทร่ วมกัน 1 ท่าน คือนายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย : หยุดดําเนินงาน และอยู่ระหว่างการติดตามหนี Sจากลูกหนี S โดยจะดําเนินการเลิกกิจการต่อไป


87

ชืJอบริ ษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ วันทีJก่อตังS ทุนจดทะเบียน / ทุนชําระแล้ ว ความสัมพันธ์

เหตุผลทีJไม่จดั เข้ ากลุ่ม

บริ ษัท รวมทวีขอนแก่น จํากัด จําหน่ายรถยนต์ อะไหล่รถยนต์ และให้ บริ การซ่อมแซมรถยนต์ 6 ตุลาคม 2498 287 ล้ านบาท / 287 ล้ านบาท - มีกรรมการของบริ ษัทฯ 1 ท่าน เป็ นผู้ถือหุ้นในบริ ษัทดังกล่าว คือ นายศิริวฒ ั น์ ทวีแสงสกุลไทยถือ หุ้นในสัดส่วนร้ อยละ 19.16ของทุนจดทะเบียน - มีกรรมการบริ ษัทร่ วมกัน 1 ท่าน คือ นายศิริวฒ ั น์ ทวีแสงสกุลไทย : ลักษณะการดําเนินธุรกิจแตกต่างกันและเป็ นธุรกิจของครอบครัวกรรมการ

ชืJอบริ ษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ วันทีJก่อตังS ทุนจดทะเบียน / ทุนชําระแล้ ว ความสัมพันธ์ เหตุผลทีJไม่จดั เข้ ากลุ่ม

: : : : : :

ชืJอบริ ษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ วันทีJก่อตังS ทุนจดทะเบียน / ทุนชําระแล้ ว ความสัมพันธ์

: : : : :

เหตุผลทีJไม่จดั เข้ ากลุ่ม

: : : : :

ห้ างหุ้นส่วนจํากัด ตังฮั S วJ ซิงนครปฐม ค้ าปลีกอะไหล่เครืJ องยนต์ ตัวแทนจําหน่ายหัวรถ HINO 15 สิงหาคม 2510 5 ล้ านบาท / 5 ล้ านบาท - มีกรรมการของบริ ษัทฯ 1 ท่าน คือ นางเพ็ญพิมล เวศย์วรุ ตม์เป็ นหุ้นส่วน และ หุ้นส่วนผู้จดั การ ลักษณะการดําเนินธุรกิจแตกต่างกัน และเป็ นธุรกิจของครอบครัวกรรมการ

บริ ษัท โอเจ ดีเวลอปเมนท์ จํากัด ให้ เช่าพื SนทีJ ซื Sอขายอสังหาริ มทรัพย์ 9 กรกฎาคม 2552 10 ล้ านบาท / 10 ล้ านบาท - มีกรรมการของบริ ษัทฯ 1 ท่าน เป็ นผู้ถือหุ้นในบริ ษัทดังกล่าว คือ นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย ถือหุ้นในสัดส่วนร้ อยละ 44.99 ของทุนจดทะเบียน - มีกรรมการบริ ษัทร่ วมกัน คือ นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย : ลักษณะการดําเนินธุรกิจแตกต่างกัน และเป็ นธุรกิจของครอบครัวกรรมการ


88


89

12. ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริ ษัทฯ มีการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และบริ การอย่างต่อเนืJอง โดยคํานึงถึงความถูกต้ องตามเกณฑ์ มาตรฐานของประกาศกรมขนส่งทางบกจนได้ รับการรับรองการขึ Sนทะเบียนให้ เป็ นผู้ผลิตรถระดับ 1 ตามประกาศกรมขนส่ง ทางบก เรืJ องหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงืJอนไขในการให้ ความเห็นชอบแชสซี และตัวถังรถทีJใช้ ในการขนส่งสัตว์หรื อสิJงของ ลักษณะ 6 (รถพ่วง) ลักษณะ 7 (รถกึJงพ่วง) และลักษณะ 8 (รถกึJงพ่วงบรรทุกวัสดุยาว) พ.ศ.2553 ส่งผลให้ ผลิตภัณฑ์ และ บริ การของบริ ษัทฯ เป็ นทีJยอมรับจากลูกค้ าทังในประเทศ S และต่างประเทศ บริ ษัทฯ มีวิศวกรทีJมีความเชีJยวชาญ และความ เข้ าใจในผลิตภัณฑ์ สามารถให้ คําแนะนํากับลูกค้ าได้ เป็ นอย่างดี กอรปกับผลิตภัณฑ์ ของบริ ษัทฯ เป็ นผลิตภัณฑ์ ทีJมี มาตรฐาน และมีการควบคุมทุกกระบวนการออกแบบ และการผลิตตามข้ อกําหนดของระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 และผ่านการรับรองระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001:2008จากสถาบันTUV NORDประเทศเยอรมัน รวมทังผ่ S านการรับรอง ต่างๆ ตามมาตรฐานสากล อาทิ มาตรฐานความปลอดภัยของสินค้ าทีJนําเข้ า และผลิตเพืJอจําหน่ายในสหภาพยุโรป (CE Mark) มาตรฐานความปลอดภัยของสินค้ าตามข้ อกําหนดของสมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ (IATA) เป็ นต้ น นอกจากนี S บริ ษัทฯ ไม่หยุดยังในการวิ S จยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรื องานระบบวิศวกรรมต่างๆ โดยทีมวิจยั และ พัฒนาของบริ ษัทฯ ได้ ออกแบบนวัตกรรมสินค้ ารูปแบบใหม่ และพัฒนาเทคโนโลยีตา่ งๆ อย่างต่อเนือJ ง ทุกผลิตภัณฑ์ทีJบริ ษัท ฯ ออกแบบหรื อเป็ นผู้คิดค้ นนวัตกรรมดังกล่าว จะดําเนินการขอขึ Sนทะเบียนกับกรมทรัพย์สนิ ทางปั ญญา ปั จจุบนั บริ ษัทฯ ได้ รับอนุสทิ ธิบตั รมาแล้ ว 76 รายการ และอยูร่ ะหว่างขอขึ Sนทะเบียนขอรับอนุสทิ ธิบตั ร หรื อสิทธิบตั รการประดิษฐ์ หรื อ สิทธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑ์ จากกรมทรัพย์สนิ ทางปั ญญาอีก 28 รายการ

12.1 โครงสร้ างรายได้ ของบริษัท ตารางแสดงโครงสร้ างรายได้ (งบการเงินรวม) ปี 2557-2559 ประเภทรายได้ รายได้ ตามสัญญา รายได้ จากการขายและการให้ บริ การ/1 รวมรายได้ รายได้ อืJน/2 รวมรายได้ ทังD หมด

ปี 2557 ล้ านบาท % 1,215.92 80.36 297.10 19.64 1,513.02 7.67/3 1,520.69

100.00 0.50

ปี 2558 ล้ านบาท % 972.73 85.12 169.90 14.88 1,142.63 16.34 1,158.97

100.00 1.43

ปี 2559 ล้ านบาท % 926.16 86.53 132.08 12.34 1,058.24 12.10 1,070.34

98.87 1.13

หมายเหตุ : /1 - รายได้ จากการขาย ประกอบด้ วย การขาย spare part การขายสินค้ าตัวอย่าง (รถต้ นแบบ)การขายสินค้ าในสต๊ อก เป็ นต้ น /2 - รายได้ อืJน ประกอบด้ วย รายได้ คา่ บริ หารรายได้ ค่าเช่าดอกเบี Sยรับ และรายได้ อืJนๆ /3- งบการเงินปี 2557 มีการปรับใหม่

12.2 ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ บริ ษัทฯ ได้ แบ่งกลุม่ ผลิตภัณฑ์ และบริ การออกเป็ น 3 กลุม่ คือ กลุม่ ผลิตภัณฑ์มาตรฐาน (Standard Product) กลุม่ ผลิตภัณฑ์ออกแบบพิเศษ (Special Design Product)และกลุม่ บริ หารโครงการ และงานบริ การ(Project Management and Services) โดยมีรายละเอียดดังนี S


90

1. กลุ่มผลิตภัณฑ์ มาตรฐาน (STANDARD PRODUCT) กลุม่ ผลิตภัณฑ์มาตรฐาน หมายถึง กลุม่ รถบรรทุก รถพ่วง-กึJงพ่วงทัวJ ไป ทีJลกู ค้ าสังJ ซื SอเพืJอนําไปใช้ ขนส่งสินค้ า ตามความต้ องการเฉพาะ มีทงรถที ั S Jใช้ เพืJอการบรรทุกสินค้ าอย่างเดียวโดยไม่ต้องการระบบวิศวกรรมทีJมีเทคโนโลยีมากนัก หรื อผลิตภัณฑ์ ทีJลูกค้ าสังJ ผลิตตามแบบมาตรฐานของบริ ษัทฯ ซึJงสามารถสรุ ปประเภทของรถในกลุ่มนีแS ละคุณสมบัติ เบื Sองต้ น ตามลักษณะการใช้ งานได้ ดงั นี S 1.1 รถบรรทุกมาตรฐาน (Standard Truck : STD) กลุม่ รถบรรทุก รถพ่วง-กึJงพ่วง รูปแบบมาตรฐานทัวJ ไปซึงJ มีความแข็งแรงทนทาน และสามารถบรรทุก นํ Sาหนักได้ ในปริ มาณมาก โดยบริษัทฯ ได้ ออกแบบโครงสร้ างของระบบช่วงล่างเป็ นอย่างดี เพืJอให้ สามารถรองรับนํ Sาหนักได้ มากทีJสดุ ตามเกณฑ์ทีJกฎหมายกําหนด แต่ในขณะเดียวกันก็งา่ ยต่อการบังคับควบคุมยานพาหนะ สําหรับรถพ่วง และรถ กึJงพ่วง ทีJบริ ษัทฯ สามารถผลิต และจําหน่ายให้ แก่ลกู ค้ ามีความหลากหลาย เพืJอให้ มคี วามเหมาะสมกับงานโดยเฉพาะ อาทิ 1) Truck chassis: หัวรถสําหรับนํามาประกอบกับตัวตู้ หรื อพ่วงต่างๆ 2) Full Trailer: รถพ่วงทีJให้ Truck chassis ลากจูงโดยใช้ แขนลากสามารถออกแบบ และผลิตได้ หลายลักษณะ อาทิรถพ่วงพื Sนเรียบ รถพ่วงกระบะคอกสูง รถพ่วงตู้บรรทุกสําหรับบรรจุสนิ ค้ าแห้ ง รถพ่วงตู้บรรทุกทําความ เย็นสําหรับสินค้ าแช่แข็ง รถพ่วงดัมพ์ เป็ นต้ น 3) Semi-Trailer: รถกึJงพ่วงโดยใช้ การลากจูงแบบใช้ หวั ลากทีJติดตังจานลากสามารถผลิ S ตได้ หลาย ลักษณะ อาทิรถกึJงพ่วงแชสซีคอนเทนเนอร์ รถกึJงพ่วงพื Sนเรี ยบ รถกึJงพ่วงดัม• พ์ รถกึJงพ่วงตู้บรรทุกสินค้ า เป็ นต้ น 4) Beverage Truck: เป็ นรถสําหรับใช้ ในการขนส่งเครืJ องดืJม มีลกั ษณะพิเศษ คือ สามารถบรรจุ สินค้ าได้ มากขึ Sน และสามารถเปิ ดจากด้ านข้ างด้ วยระบบไฮดรอลิค ทําให้ ง่ายต่อการขนถ่ายสินค้ าและ สามารถป้องกัน สินค้ าจากฝนและฝุ่ นจากข้ างนอก โดยบริ ษัทฯ ได้ รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจาก Hackney ประเทศสหรัฐอเมริ กา ซึงJ เป็ น ผู้ผลิตตู้อลูมิเนียมรายใหญ่ของโลก ภาพตัวอย่างรถกระบะดัมพ์ S รถพ่วง และ รถกึงJ พ่วง

รถกระบะบรรทุก

รถกระบะดัมพ์ S / พ่วง

รถตู้ไฟเบอร์

รถพ่วงตู้ไฟเบอร์

รถกึJงพ่วงตู้ไฟ

รถกึJงพ่วงพื SนตําJ 3


91

1.2 งานติดตังD ระบบ NGV (NGV Products : NGV) บริ ษัทฯ รับติดตังเครื S J องยนต์ NGV และถัง NGV ให้ กับรถพ่วง และรถบรรทุกขนส่งทุกประเภท ซึJงเป็ น ทางเลือกใหม่ในการใช้ พลังงานทีJค้ มุ ค่ากับสภาวะราคานํ SามันทีJสงู ขึ Sนอย่างต่อเนืJองตามสถานการณ์ อาทิ การติดตังระบบ S NGV แบบ 100% การติดตังระบบ S NGV แบบเชื Sอเพลิงร่ วม เป็ นต้ น บริ ษัทฯ เป็ นผู้ติดตังเครื S J องยนต์ NGV ให้ กบั รถบัส ประจําทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) และติดตังถั S งสําหรับบรรทุกแก๊ ส NGV ให้ กบั บริ ษัทขนส่งทีJให้ บริ การ กับ บริ ษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ภาพตัวอย่างงานติดตังระบบ S NGV

1.3 งานขึนD รูปและประกอบตู้โลหะ (Fabrication Works, others : FAB) บริ ษัทฯ มีเครืJ องตัดเลเซอร์ ทีJทนั สมัย และเครืJ องจักรในการพับ และเชืJอมโลหะ จึงสามารถทํางานขึ Sนรู ป งาน เชืJอมและประกอบตู้โลหะ อาทิ ตู้อลูมิเนียม เป็ นต้ น เพืJอนําไปติดตังบนแชสซี S รถบรรทุกหรื อรถพ่วง-กึJงพ่วง โดยบริ ษัทฯ สามารถออกแบบและประกอบตู้โลหะให้ เหมาะสมกับแชสซีรถทุกรุ่ น ทุกยีJห้อได้ รวมทังออกแบบและพั S ฒนาการผลิตตู้ โครงสร้ างอลูมิเนียมทนแรงดึงสูง สําหรับติดตังอุ S ปกรณ์สอืJ สารสําหรับอุตสาหกรรมป้องกันประเทศเพืJอส่งออก ภาพตัวอย่างงานขึ Sนรูปและประกอบตู้โลหะ

1.4 งานถ่ ายทอดเทคโนโลยี (Know How) บริ ษัทฯ เป็ นผู้ออกแบบคิดค้ นและพัฒนารูปแบบตัวถังรถหลากหลายประเภท โดยเป็ นเจ้ าของแบบตัวถังรถ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึJงได้ รับอนุสิทธิบตั รแล้ วจํานวน 76 รายการ รวมทังอยู S ่ระหว่างการขึ Sนทะเบียนขอรับอนุสิทธิบตั ร หรื อ สิทธิบตั รการประดิษฐ์ หรื อสิทธิบตั รการออกแบบผลิตภัณฑ์ จากกรมทรัพย์สินทางปั ญญาอีกจํานวน 28 รายการ รวมทังS ทีมงานของบริ ษัทฯ เป็ นผู้มีประสบการณ์ในการประกอบตัวถังและติดตังระบบวิ S ศวกรรมทีJเกีJยวกับตัวถังรถบรรทุก รถพ่วงกึJงพ่วง มายาวนาน บริ ษัทฯ จึงได้ มีการให้ สิทธิในการใช้ แบบผลิตภัณฑ์ และให้ บริ การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสินค้ า


92

บางรายการ เช่น แบบแชสซีคอนเทนเนอร์ , เทคโนโลยีในการประกอบตู้ไฟเบอร์ กลาสนํ Sาหนักเบา เป็ นต้ น ให้ แก่ลกู ค้ าซึJง เป็ นกลุ่มผู้ประกอบการผลิตและประกอบตัวถังรถบรรทุก รถพ่วง-กึJงพ่วงในต่างประเทศ อาทิ ประเทศอินเดีย ประเทศ เวียดนาม เป็ นต้ น โดยบริ ษัทฯ จะได้ รับค่าถ่ายทอดเทคโนโลยี (ค่า Know how Fee หรื อค่า Royalty Fee)ตามจํานวน สินค้ าทีJลกู ค้ าผลิตโดยอาศัยแบบหรื อเทคโนโลยีของบริ ษัทฯซึงJ อยูร่ ะหว่างเจรจา

2. กลุ่มผลิตภัณฑ์ ออกแบบพิเศษ(Special Design Product) กลุม่ ผลิตภัณฑ์ออกแบบพิเศษ หมายถึง กลุม่ รถบรรทุก รถพ่วง-กึJงพ่วง ทีJต้องมีการออกแบบพิเศษตามความ ต้ องการใช้ งานของลูกค้ า ผลิตภัณฑ์ทีJต้องอาศัยเทคโนโลยีทีJสลับซับซ้ อน ต้ องการระบบวิศวกรรมทีJแม่นยําในการใช้ งาน ซึงJ สามารถสรุปประเภทของรถในกลุม่ นี Sและคุณสมบัตเิ บื Sองต้ น ตามลักษณะการใช้ งานได้ ดงั นี S 2.1 รถสนับสนุนภาคพืนD ดินภายในสนามบิน (Ground Support Equipment : GSE) เป็ นกลุม่ รถรูปแบบพิเศษสําหรับใช้ ในสนามบินทีJมีการออกแบบทางวิศวกรรมเฉพาะ และใช้ เทคโนโลยีระบบ วิศวกรรมทีJสลับซับซ้ อนและทันสมัย ผลิตภัณฑ์ต้องมีคณ ุ ภาพสูงและผ่านมาตรฐานระดับสากลทีJเข้ มงวดจากหน่วยงานทีJ เกีJยวข้ องกับอุตสาหกรรมการบิน เช่น องค์การการบินพลเรื อนระหว่างประเทศ (ICAO) สมาคมขนส่งทางอากาศระหว่าง ประเทศ (IATA) หน่วยงานการท่าอากาศยานของแต่ละประเทศ เป็ นต้ น รถสนับสนุนภาคพื Sนดินภายในสนามบินนี Sเป็ น กลุ่มผลิตภัณฑ์ ทีJทํารายได้ ให้ แก่บริ ษัทฯ ในสัดส่วนสูงสุดมาตลอดอย่างต่อเนืJอง โดยเฉพาะ รถลําเลียงอาหารสําหรั บ เครืJ องบิน (Catering Hi-loaders Truck) ซึงJ เป็ นผลิตภัณฑ์หลักทีJบริ ษัทฯ ได้ รับความไว้ วางใจจากลูกค้ ากลุม่ ธุรกิจครัวการ บินทังในประเทศและจากนานาชาติ S บริ ษัทฯ มีผลิตภัณฑ์ในกลุม่ นี Sหลากหลายประเภท อาทิ 1) รถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบิน (Catering Hi-loaders Truck): เป็ นรถทีJใช้ ในการลําเลียง อาหารจากครัวการบินซึJงเป็ นหน่วยบริ การภาคพื Sนดิน (In-flight services) ขึ Sนสูเ่ ครืJ องบินเพืJอให้ บริ การแก่ลกู ค้ าสายการ บิน จนถึ งปั จ จุบัน บริ ษั ท ฯ สามารถพัฒ นาแบบโครงสร้ างผลิต ภัณ ฑ์ ใหม่ๆ สํา หรั บ เครืJ อ งบิ นทังS รุ่ น เก่า และรุ่ น ใหม่ใ ห้ เหมาะสมกับเครืJ องบินทุกรุ่นทุกขนาดได้ รวมทังพั S ฒนาเทคโนโลยีการประกอบตัวถังและติดตังระบบวิ S ศวกรรมได้ ด้วยฝื มือ ของทีมงานวิศวกรคนไทยทังหมด S โดยความภูมิใจล่าสุดของบริ ษัทฯ คือ รถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบินแอร์ บสั A380 ซึงJ ปั จจุบนั นับว่าเป็ นเครืJ องบินทีJมีขนาดใหญ่ทีJสดุ ในโลก และต้ องอาศัยเทคโนโลยีระบบวิศวกรรมทีJเทีJยงตรง แม่นยําอย่าง มาก รถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบินแอร์ บสั A380 คันแรกของบริ ษัทฯ ได้ สง่ มอบไปยัง Emirates Flight Catering ในปี 2549 และมีการผลิตและส่งมอบให้ ลกู ค้ าตลอดมาจนถึงปี ปั จจุบนั โดยคาดว่าในอนาคตจะยังมีคําสังJ ซื Sอเข้ ามาอย่าง ต่อเนืJอง จุดเด่นของรถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบินของบริ ษัทฯ คือ มีการออกแบบให้ ครอบคลุมการใช้ งานสําหรับเครืJ องบินทุกขนาด ตังแต่ S เล็ก-กลาง-ใหญ่ มีการออกแบบทีJทนั สมัยมีความเหมาะสมกับลักษณะการใช้ งาน เช่น แบบ Half Cap Hi-loaders แบบ Low Cap Hi-loaders แบบ Normal Cap Hi-loaders เป็ นต้ น มีสมรรถนะความแข็งแรง ทนทาน สามารถออกแบบทางวิศวกรรมให้ เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศในประเทศทีJลกู ค้ านําไปใช้ งาน เช่น ประเทศใน แถบตะวันออกกลาง ซึงJ รถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบินจะต้ องสามารถรักษาระดับอุณหภูมิและความสะอาดของอาหาร ทีJบรรทุกอยู่ภายในได้ รถลําเลียงอาหารสําหรั บเครืJ องบินของบริ ษัทฯ ได้ รับความไว้ วางใจจากลูกค้ าในเรืJ องระบบการ ทํางานทีJเทีJยงตรงและความง่ายในการรักษาความสะอาด สามารถปรับระดับการขึ Sนลงได้ ตามความต้ องการในการใช้ งาน ของเครืJ องบินในแต่ละรุ่น ซึงJ สามารถแบ่งออกเป็ น 3 ขนาด ดังนี S


93 ความยาว ความสูง นําD หนักบรรทุก รุ่นเครื$องบิน (หน่ วย : เมตร) (หน่ วย : เมตร) (หน่ วย : กิโลกรั ม) 7.8 8 4,500 a) X-Cat L Airbus A380/1 6.5 - 7 6 4,500 b) X-Cat M 1) รุ่นที$มีความสูง 6 เมตร อาทิ รุ่ น A340 รุ่น B777 รุ่น B747

รุ่น

รุ่น MD11 รุ่น DC10 รุ่น A310 เป็ นต้ น 2) รุ่นที$มีความสูง 5 เมตร อาทิ รุ่น B767 รุ่น B757 เป็ นต้ น 4.5 1.2 - 4 2,500 c) X-Cat S 1) รุ่นที$มีความสูง 4 เมตร อาทิ รุ่น A321 รุ่น A320 2) รุ่นที$มีความสูง 3 เมตร อาทิ รุ่ น B727 รุ่น B737 MD80 เป็ น ต้ น 3) รุ่นที$มีความสูง 2 เมตร อาทิ รุ่ น F100 รุ่น AVRO RJ 70RL100 รุ่น SAAB SF 340 รุ่น F27 เป็ นต้ น 4) รุ่นที$มีความสูง 1.2 เมตรอาทิ HEIGHT IN METERS เป็ นต้ น หมายเหตุ: /1 = เมืJอวันทีJ 5 ตุลาคม 2554 บริ ษัทได้ รับรางวัลนวัตกรรมยอดเยีJยมจากสํานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สําหรับการผลิต Catering Hi-loaders Truck รุ่ น X-Cat L สําหรับ Airbus A380

ภาพตัวอย่างผลิตภัณฑ์ Catering Hi-loaders Truck

2) รถบันไดขึ SนเครืJ องบิน (Passenger Stairway) : เป็ นรถบันไดสําหรับใช้ ในการขึ Sน-ลงเครืJ องบินของ ผู้โดยสารแทนทางขึ Sน-ลงแบบงวงช้ าง ซึงJ เป็ นอีกหนึงJ ผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทฯ ทีJมีคณ ุ ภาพสูงและผ่านมาตรฐานระดับสากลทีJ เข้ มงวดจากหน่วยงานทีJเกีJยวข้ องกับอุตสาหกรรมการบิน ภาพตัวอย่างรถบันไดขึ SนเครืJ องบิน

3) รถบันไดกู้ภยั (Rescue Stairs Vehicle): เป็ นรถบันไดกู้ภยั สําหรับใช้ ในการขึ Sน-ลง เครืJ องบินใน กรณีฉกุ เฉิน ซึงJ บริ ษัทฯ ได้ ออกแบบและผลิตรถบันไดกู้ภยั สําหรับเครืJ องบินแอร์ บสั A380 ด้ วย ในปั จจุบนั ถือว่าเป็ น เครืJ องบินทีJมขี นาดใหญ่ทีJสดุ ในโลก


94

ภาพตัวอย่างรถบันไดกู้ภยั

4) รถติดตังอุ S ปกรณ์สนับสนุนภาคพื SนดินอืJนๆ: บริ ษัทฯ รับจ้ างออกแบบ และผลิตให้ กบั สายการบิน ต่างๆ อาทิ รถซ่อมบํารุงเครืJ อง รถขนกระเป๋ า รถลําเลียงผู้ป่วย รถดูดสิงJ ปฏิกลู Water Tank เป็ นต้ น ภาพตัวอย่างผลิตภัณฑ์อืJนๆ

รถซ่อมบํารุง

รถขนกระเป๋ า

รถลําเลียงผู้ป่วย

Mock-up แบบฝึ กขับรถ Catering

เมืJอวันทีJ 30 พฤษภาคม 2555 บริ ษัทฯ ได้ ร่วมลงนามสัญญาเป็ นพันธมิตรทางการค้ ากับ HANAOKA SHARYO Co.,Ltd. จากประเทศญีJปนุ่ ซึงJ เป็ นบริ ษัททีมJ ีชืJอเสียงมานานในการผลิตและประกอบรถบริ การใช้ งานใน สนามบินต่างๆ ทัวJ โลก เช่น รถเข็นกระเป๋ าเดินทาง รถลากกระเป๋ า รถลําเลียงกระเป๋ าขึ SนเครืJ องบิน เป็ นต้ น เพืJอร่วมเป็ น พันธมิตรในการผลิตและทําการตลาดในกลุม่ ผลิตภัณฑ์ Ground Support Equipment ร่วมกัน 2.2 รถดับเพลิงและรถกู้ภยั (Fire Fighting Truck : FFT) เป็ นกลุม่ รถรูปแบบพิเศษสําหรับใช้ ในการดับเพลิงและกู้ภยั ในกรณีทีJเกิดเหตุอคั คีภยั ทังในที S Jราบและอาคาร สูง โดยบริ ษัทฯ ได้ รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากผู้ผลิตรถดับเพลิงและรถกู้ภยั รายใหญ่ของโลกทางแถบยุโรป รถดับเพลิง และรถกู้ภยั ของบริ ษัทฯ มีจดุ เด่นทีJมีคณ ุ สมบัติแตกต่างจากผู้ผลิตรายอืJน อาทิ 1) รถดับเพลิ งและกู้ภยั สําหรับอาคารสูง: บริ ษัทฯ ได้ ออกแบบและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตจนสามารถ ออกแบบรถกู้ภยั ทีJมีบนั ไดสูงสุดได้ ถึง 53 เมตร โดยมีการผลิตและจําหน่ายครังS แรกเมืJอปี 2553 ส่งมอบ ให้ กบั เทศบาลเมืองปากเกร็ ด จังหวัดนนทบุรี 2) ปัJ มดูดนํ8าและใบพัด: ผลิตจากวัสดุอลั ลอย ซึJงมีความทนทานต่อทุกสภาพนํ Sา สามารถใช้ ได้ กบั นํ Sาจืด นํ Sาเค็ม และนํ Sากร่อย 3) แรงดูดนํ8า : สามารถปรับความดันสําหรับดูดนํ Sาได้ ตามความต้ องการของลูกค้ า จากคุณสมบัติทีJแตกต่างดังกล่าวข้ างต้ น ทําให้ ผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทฯ เป็ นทีJต้องการจากกลุม่ ลูกค้ า ต่างประเทศ อาทิ บังคลาเทศ ศรี ลงั กา เป็ นต้ น และกลุม่ ลูกค้ าในประเทศ ทังหน่ S วยงานหน่วยงานราชการ และรัฐวิสาหกิจ อาทิ องค์การบริ หารส่วนตําบล การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิต และบริ ษัท ปตท.สผ. จํากัด (มหาชน) เป็ นต้ น


95

รถกู้ภยั ภายในตัวรถเป็ นแบบตู้เก็บอุปกรณ์ก้ ูภยั พร้ อมประตูบานเลืJอนทําด้ วยอลูมิเนียมสามารถกันนํ Sาได้ ภายในมีลิ SนชักแบบรางเลืJอนทังแนวนอนและแนวตั S งS ส่วนด้ านล่างของประตูบานเลืJอนถัดจากห้ องโดยสารสามารถเปิ ด ออกเป็ นบันไดได้ และภายในตู้เก็บอุปกรณ์จะมีการติดตังอุ S ปกรณ์ก้ ภู ยั และอุปกรณ์ช่วยชีวิตเบื Sองต้ นไว้ ภาพตัวอย่างผลิตภัณฑ์รถดับเพลิงและรถกู้ภยั

รถดับเพลิงรถดับเพลิง รถบันไดกู้ภยั อาคารสูง 2.3 ยานยนต์ สาํ หรักู้ภบยักองทัพ (Military Products : MILITARY) เป็ นกลุม่ รถรูปแบบพิเศษเฉพาะสําหรับการใช้ งานในกองทัพเท่านันS ไม่วา่ จะเป็ น กองทัพบก กองทัพอากาศ กองทัพเรื อ บริ ษัทฯ สามารถออกแบบยานยนต์สาํ หรับกองทัพให้ เหมาะสมกับลักษณะการใช้ งานทีJทางกองทัพต้ องการ โดยทีJผา่ นมาบริษัทฯ ได้ รับการว่าจ้ างจากกองทัพให้ ผลิตและปรับปรุงยานยนต์รูปแบบต่างๆ อาทิ รถยนต์บรรทุกขนาดเบา แบบ 50 และแบบ 51 (M1) ขับเคลือJ นแบบ 4x4 (หลังคาผ้ าใบ หลังคาเหล็ก และหลังคาไฟเบอร์ ) ปรับปรุงสภาพรถบรรทุก รุ่น M817 และรุ่น M35A2 รถลําเลียงพล เป็ นต้ น ภาพตัวอย่างรถทีJใช้ ในกิจการกองทัพ

รถบรรทุกรุ่น M817

รถบรรทุกรุ่น M35A2

รถตรวจการณ์ขนาดเบารุ่น M1

2.4 งานซ่ อมบํารุ งและปรับปรุ งรถไฟ (Rolling Stock Business : RSB) เป็ นกลุม่ งานรถไฟทีJบริ ษัทฯ ได้ เป็ นผู้ออกแบบปรับปรุงตู้รถไฟให้ เหมาะสมกับลักษณะการใช้ งาน และความ ต้ องการของลูกค้ า โดยในปี 2548 บริ ษัทฯ ได้ รับความไว้ วางใจจากการรถไฟแห่งประเทศไทย ให้ เป็ นผู้ปรับปรุ งตู้รถไฟจาก ตู้พดั ลมชันS 3 เป็ นตู้แอร์ ชนั S 2 จํานวนทังสิ S Sน 20 ตู้ ซึงJ ได้ สง่ มอบให้ แก่การรถไฟแห่งประเทศไทยเมืJอปี 2549 เป็ นทีJเรี ยบร้ อย แล้ ว ภาพตัวอย่างงานซ่อมบํารุงและปรับปรุงรถไฟ

2.5 รถพ่ วง และรถกึ$งพ่ วงพิเศษ (Full Trailer/ Special Semi-Trailer : SPC) บริ ษัทฯ สามารถผลิตรถกึJงพ่วงออกแบบพิเศษได้ ตงแต่ ั S ขนาด 5 เพลา 6 เพลา และรถพ่วงขนาด 14 เพลา และ 16 เพลา เพืJอใช้ ในการขนส่ง อาทิ เครืJ องจักรกลหนัก โบกี Sรถไฟ เป็ นต้ น หรื อใช้ เป็ นรถอเนกประสงค์ บริ ษัทฯ เป็ น


96

ผู้ผลิตรถพ่วงพิเศษ 16 เพลา ให้ กบั การทางพิเศษแห่งประเทศไทย เพืJอบรรทุกชิ Sนส่วนถนนคอนกรี ตสําเร็ จรูป สําหรับใช้ ใน การประกอบถนนเป็ นทางด่วน ซึงJ ถือว่าเป็ นรถพ่วงทีJยาวทีJสดุ ในแถบภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ ด้ วยความยาวกว่า 24 เมตร (ไม่รวมแขนลาก) รองรับนํ Sาหนักระหว่าง100-160 ตัน/ก้ อน โดยระบบการทํางานของเพลาทังS 16 เพลา มีความสัมพันธ์กบั รัศมีการเลี Sยวของหัวรถลากทําให้ รถพ่วงทีมJ ีขนาดใหญ่สามารถหักเลี Sยวได้ ง่ายขึ Sน หากมีความจําเป็ นจะต้ องเลี Sยวให้ มีรัศมี วงเลี SยวทีJแคบลงหรื อกว้ างขึ Sน ก็สามารถทําได้ ด้วยการบังคับด้ วยรี โมทคอนโทรล ระบบไฮดรอลิค ซึงJ ทุกล้ อมีความเป็ น อิสระแยกออกจากกันนอกจากนี SยังสามารถปรับระดับความสูงตํJาของพื Sนบรรทุกได้ ระหว่าง+ 300 มิลลิเมตร ภาพตัวอย่างรถพ่วงพิเศษ

3. กลุ่มบริหารโครงการและงานบริการ (Project Management and Services) กลุม่ บริ หารโครงการและงานบริ การ หมายถึง กลุม่ งานบริ การพิเศษทีJบริ ษัทฯ ได้ ผสานเทคโนโลยีด้านวิศวกรรม ระดับสากล เข้ ากับการบริ หารจัดการอย่างมืออาชีพ ด้ วยประสบการณ์และความเชีJยวชาญของผู้บริ หารและทีมงาน ทังS ด้ านงานวิศวกรรมและด้ านการบริ หารทีJสงัJ สมมานาน จนบริ ษัทฯ สามารถนําเสนอบริ การด้ านการบริ หารโครงการขนาด ใหญ่ให้ แก่ลกู ค้ าได้ บริ ษัทฯ มีการให้ บริ การแก่โครงการต่างๆ ดังนี S 3.1 ที$ปรึกษาโครงการสร้ างเรือตรวจการณ์ ไกลฝั$ ง (Offshore Patrol Vessel : OPV) ในปี 2552 บริ ษัทฯ และบริ ษัททีJเกีJยวข้ อง (บริ ษัท ขอนแก่น ช.ทวี (1993) จํากัด และ บริ ษัท วอลแลพ ทรัค แอนด์ บัส จํากัด) ได้ ร่วมกันเข้ ารับงานบริ หารโครงการสร้ างเรื อตรวจการณ์ไกลฝัJ ง (Offshore Patrol Vessel: OPV) ของ กองทัพเรื อ จากบริ ษัท อู่กรุ งเทพ จํ ากัด โดยใช้ แบบเรื อจาก BAE SYSTEMS (ประเทศสหราชอาณาจักร) ซึJงบริ ษัทฯ รับผิดชอบเป็ นทีJปรึกษา ใน ส่วนงานปรับปรุ งแบบโครงสร้ างเรื อ งานปรับปรุ งแบบงานระบบไฟฟ้ าของเรื อ จากแรงดัน ไฟฟ้ า 440 โวลต์ ให้ ล ดเหลื อ 380 โวลต์ แ ละบริ ษั ท ทีJ เ กีJ ย วข้ อ ง รั บผิ ดชอบเป็ นทีJ ปรึ กษาด้ านงานจัดซื อS งานบริ หารการเงิ น งานคลังสินค้ า งานโลจิสติกส์ งาน IT และงานซ่อมบํารุง (รายละเอียดของโครงการ OPV สามารถศึกษาได้ จากเว็บไซต์ www.theopv.com) โดยโครงการดังกล่าวใช้ ระยะเวลา 4 ปี และทําการส่งมอบเรื อ ตรวจการณ์ไกลฝัJ งลํานี Sได้ ในปี 2556 ซึงJ นับว่าเป็ นเรื อตรวจการณ์ไกลฝัJ งลําแรกของประเทศไทย ทีJสร้ างโดยฝี มือคนไทยให้ แก่ กองทัพเรื อ และปั จจุบนั กองทัพเรื อได้ รับพระราชทานนามชืJอเรื อลํานี Sแล้ วว่า “เรื อหลวงกระบีJ”


97

บริ ษัท อู่กรุ งเทพ จํากัด ได้ รับสิทธิจาก BAE SYSTEMS ในการนําแบบเรื อไปใช้ รับงานสร้ างเรื อตรวจการณ์ ไกลฝัJ งเพืJอการพาณิชย์ ได้ เป็ นเวลา 10 ปี (ปี 2553-2556) บริ ษัทฯ จึงมีโอกาสทีJจะรั บงานบริ หารโครงการสร้ างเรื อตรวจ การณ์ ไกลฝัJ งเพิJมเติมอีก หากทางกองทัพเรื อหรื อบริ ษัท อู่กรุ งเทพ จํากัด มีโครงการทีJจะสร้ างเรื อลําใหม่เพืJอเพิJมศักยภาพ และขีดความสามารถการตรวจการณ์ทางทะเลให้ กบั กองทัพเรื อ รวมถึงลูกค้ าต่างประเทศทีJต้องการสร้ างเรื อและว่าจ้ างให้ บริ ษัท อูก่ รุงเทพ จํากัด สร้ างเรื อตามแบบเรื อดังกล่าว ทังนี S S บริ ษัททีJเกีJยวข้ องได้ ทําสัญญาข้ อตกลงไม่ทําธุรกิจแข่งขันกันกับ บริ ษัทฯ ดังนันS ในอนาคต หากมีการรับงานบริ หารโครงการลักษณะดังกล่าวอีก บริ ษัทฯ จะเป็ นผู้รับงานบริ หารโครงการเพียง บริ ษัทเดียวเท่านันS 3.2 โครงการบริการงานซ่ อมบํารุ งและศูนย์ ซ่อมสําหรับ Linfox& Tesco-LotusProject บริ ษัทฯ ได้ รับความไว้ วางใจจากบริ ษัท ลินฟอกซ์ ทรานสปอร์ ต (ประเทศไทย) จํากัด (“Linfox”) และบริ ษัท เอกชัย ดิสทริ บิว ชัJน ซิส เทม จํ า กัด (“Tesco-Lotus”) ให้ เ ป็ นผู้บริ ห ารโครงการบริ การงานซ่อมและศูนย์ ซ่อ มสําหรั บ รถบรรทุก รถพ่วง-กึJงพ่วง ของทังS 2 บริ ษัท โดยบริ ษัทฯ รับผิดชอบงานซ่อมบํารุงเพืJอรักษาสมรรถนะการใช้ งาน (PM) ของ รถ โดยมี ร ถทังS หมดมากกว่า 2,000 คัน ในพื นS ทีJ ศูน ย์ ก ระจายสิน ค้ า ของ Tesco-Lotus ปั จ จุบัน มี ศูน ย์ ซ่ อ มอยู่ใ น Distribution Center (DC) จํานวน 5 แห่ง ประกอบด้ วย ศูนย์ลําลูกกา ศูนย์วงั น้ อย ศูนย์สามโคก ศูนย์บางบัวทอง และ ศูนย์ขอนแก่น อีกทังบริ S ษัทฯ ได้ เล็งเห็นโอกาสในการเพิJมรายได้ จากงานซ่อมบริ การ จึงได้ ทําการเช่าพื SนทีJ ทีJดินประมาณ 4 ไร่ ทีJ อําเภอวังน้ อย จังหวัดพระนครศรี อยุธยาตังแต่ S ปี 2556 เป็ นศูนย์ซ่อมหนักสําหรับรถบรรทุก ในกรณีประสบอุบตั ิเหตุ ต้ องซ่อมนาน และรับงานซ่อมบริ การจากลูกค้ าของบริ ษัทรายอืJน และลูกค้ าทัวJ ไป ทําให้ บริ ษัทฯ สามารถเพิJมศักยภาพใน การดูแลลูกค้ าทีJศูนย์ซ่อมวังน้ อยเพิJมขึ Sน ซึJงเป็ นทําเลใกล้ กรุ งเทพฯ ปริ มณฑล และเพิJมโอกาสในการรับงานซ่อมบริ การ เพิJมขึ Sนจากงานของ Linfox และ Tesco-Lotus ปั จจุบนั มีลกู ค้ าหลายรายต้ องการทีJจะทําสัญญา งานซ่อมบํารุ งเพืJอรักษา สมรรถนะการใช้ งาน (PM) กับบริ ษัทฯ และอยูร่ ะหว่างการเจรจาเงืJอนไขต่างๆ โดยบริ ษัทได้ รับสัญญาให้ เพิJมศูนย์บริ การซ่อมบํารุงกับ Tesco-Lotus ใน DC ทีJทาง Tesco-Lotus เพิJมขึ Sน และมีจํานวนรถเพียงพอสําหรับการเพิJมศูนย์บริ การซ่อมบํารุงด้ วย

12.3 การตลาดและภาวะการแข่ งขัน 12.3.1 การตลาด 1) กลยุทธ์ ด้านสินค้ าหรือผลิตภัณฑ์ (Product) บริ ษั ท ฯ มี น โยบายมุ่ง เน้ น พัฒ นาผลิ ต ภัณ ฑ์ เ พืJ อ ให้ ไ ด้ ม าตรฐานคุณ ภาพระดับ มาตรฐานสากล เพืJ อ ตอบสนองความต้ องการของกลุม่ ลูกค้ า โดยเฉพาะกลุม่ ลูกค้ าทีJนําไปใช้ ในเชิงพาณิชย์นอกจากนี Sบริ ษัทฯ ยังมุง่ เน้ นการวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์(R&D) อย่างต่อเนืJอง ผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทฯ ได้ รับการรับรองด้ านคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล บริ ษัทฯ มีการให้ บริ การแบบครบวงจรตังแต่ S ขนตอนการออกแบบผลิ ัS ตภัณฑ์ไปจนถึงการบริ การหลังการขาย โดยให้ ความสําคัญตังแต่ S ขนตอนการออกแบบตามความต้ ัS องการของลูกค้ าทีJจะถูกสอบถามโดยละเอียดจากทีมงานฝ่ าย ขาย และมีการศึกษาข้ อมูลการใช้ งานของลูกค้ าเพืJอนําเสนอผลิตภัณฑ์และบริ การทีJตรงกับความต้ องการของลูกค้ า และ สามารถประหยัดต้ นทุนได้ เช่น การออกแบบปรับปรุงตัวถังและตัวตู้รถบนรถเดิมทีJใช้ อยูใ่ ห้ มีสภาพเหมือนใหม่ 80% โดยมี ต้ นทุน 60% มีความพิถีพิถันในการออกแบบตัวถังให้ เหมาะสมกับแชสซีทีJลกู ค้ าเลือกใช้ การจัดซื Sอวัสดุอุปกรณ์ และ


98

ส่วนประกอบทุกชิ Sนต้ องมีคณ ุ ภาพผ่านมาตรฐานการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพตามระบบ ISO 9001:2008 การผลิต ใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ สง่ ผ่านและ เก็บข้ อมูลในทุกขันตอนตั S งแต่ S เริJ มร่ างชิ Sนงานไปจนถึงชิ Sนงานเสร็ จทีJมีความสมบูรณ์แบบ ผ่านการทดสอบการใช้ งาน การให้ บริ การหลังการขายและการบํารุ งรักษาเป็ นอีกส่วนงานทีJบริ ษัทฯ เน้ นเป็ นพิเศษเพืJอให้ สอดคล้ องกับ หลักการด้ านงานบริ การของบริ ษัทฯ ทีJวา่ “ล้ อทีJหมุนนําเป็ นปั จจัยสําคัญในการบริ การงานขนส่งของท่าน และเราตระหนัก ถึงความสําคัญในจุดนี S เราจึงเน้ นบริ การหลังการขายเป็ นพิเศษ เพืJอทีJจะให้ ล้อทุกล้ อของรถบรรทุกของท่านหมุนอยูเ่ สมอใน ทุกสถานการณ์” สําหรับผลิตภัณฑ์ทีJบริ ษัทฯ ยังไม่มีความชํานาญในการผลิต หรื อมีข้อกําหนดไม่ครบถ้ วนตามข้ อกําหนด ของผู้วา่ จ้ าง บริ ษัทฯ จะหาพันธมิตรทางธุรกิจทีJมีความชํานาญ และมีศกั ยภาพในการผลิต ผ่านการทําสัญญาร่ วมมือทาง ธุ ร กิ จ หรื อ จัด ตังS นิ ติ บุค คลขึ นS ใหม่ ใ นรู ป แบบของกิ จ การร่ ว มค้ า เพืJ อ ทีJ จ ะได้ ส ามารถกํ า หนดสัด ส่ว นในการลงทุ น วัตถุประสงค์ของการจัดตังS อํานาจหน้ าทีJความรับผิดชอบของแต่ละฝ่ าย ระยะเวลาในการดําเนินงานไว้ ได้ อย่างชัดเจนใน แต่ละกรณี เพืJอให้ บริ ษัทฯ สามารถตอบสนองความต้ องการทุกประการของลูกค้ า 2) กลยุทธ์ ด้านราคา (Price) บริ ษัทฯ มีนโยบายการรับงานจากผู้ว่าจ้ าง โดยคํานึงถึงความพร้ อมของบุคลากรและทรัพยากรต่างๆ ก่อน เข้ ารับงาน การกําหนดราคาสินค้ าหรื องานบริ การ บริ ษัทฯ มีนโยบายกําหนดราคาโดยพิจารณาจากต้ นทุนบวกกําไรส่วน เพิJม (Cost Plus Margin) ต้ นทุนทังหมดของผลิ S ตภัณฑ์หรื อบริ การจะประกอบด้ วย ต้ นทุนวัสดุอปุ กรณ์ ต้ นทุนส่วนประกอบ ค่าแรงทางตรงทีJคํานวณจากประมาณการชัวJ โมงการผลิตทีJคาดว่าจะต้ องใช้ ในการผลิต ค่าใช้ จ่ายในการผลิต ต้ นทุนทาง การเงินและค่าใช้ จ่ายส่วนกลางทีJปันส่วนเข้ างาน ค่าเผืJอเหลือเผืJอขาดของราคาวัสดุอปุ กรณ์ และต้ นทุนการรับประกัน เป็ น ต้ น โดยทีมงานฝ่ ายวิศวกรและฝ่ ายผลิตจะต้ องร่วมกันถอดแบบโครงสร้ างของผลิตภัณฑ์โดยละเอียดเพืJอนําไปประกอบใน การคํานวณปริ มาณวัสดุอุปกรณ์ และชัJวโมงการผลิต กรณี ต้องมีการใช้ วสั ดุอุปกรณ์ หรื อส่วนประกอบทีJต้องสังJ ซือS จาก ต่างประเทศ จะมีการกําหนดค่าเผืJอเหลือเผืJอขาดสําหรั บอัตราแลกเปลีJยนเงิ นตราต่างประเทศเพิJมเติมเข้ าไปในการ คํานวณต้ นทุนด้ วย อย่างไรก็ตาม ราคาทีJเสนอให้ แก่ลกู ค้ าจะต้ องพิจารณาควบคูก่ บั ระดับราคาทีJสามารถแข่งขันได้ และให้ สอดคล้ องกับสภาวะตลาดเช่นกัน ในกรณี มีการสังJ ซื Sอหรื อสังJ ผลิตสินค้ าระหว่างบริ ษัทฯ กับบริ ษัท ช.ทวี เทอร์ โมเทค จํากัด ซึJงเป็ นบริ ษัทย่อย จะมีนโยบายการกําหนดราคาซื Sอขายระหว่างกันโดยพิจารณาจากต้ นทุนทังหมดของผลิ S ตภัณฑ์หรื อบริ การบวกส่วนต่าง ร้ อยละ 5 เนืJองจากในบางกรณี ลูกค้ ามีความต้ องการสังJ ซื Sอผลิตภัณฑ์ ของบริ ษัทฯ ซึJงจะต้ องมีการนําตู้ไฟเบอร์ กลาส นํ Sาหนักเบามาประกอบติดตังด้ S วย หรื อลูกค้ าสังJ ซื Sอตู้ไฟเบอร์ กลาสนํ Sาหนักเบาจากบริ ษัทย่อยแต่จะต้ องมีการประกอบและ ติดตังตู S ้ ไฟเบอร์ กลาสนํ SาหนักเบาเชืJอมเข้ ากับแชสซีของรถบรรทุกหรื อรถพ่วง-กึJงพ่วง บริ ษัทย่อยจะทําใบสังJ งานมายังบริษัท ฯ ให้ เป็ นผู้ประกอบและติดตังให้ S 3) กลยุทธ์ ด้านช่ องทางการจัดจําหน่ าย (Place) บริ ษัทฯ เน้ นการจําหน่ายสินค้ าด้ วยวิธีการขายตรง (Direct Sale) โดยใช้ กลยุทธ์ทางการตลาดเชิงรุกจากทีม ขายทีJมีประสิทธิ ภาพผ่าน 2 ช่องทาง ได้ แก่ การเข้ าร่ วมประมูลงาน และติดต่อผู้ว่าจ้ างโดยตรง ซึJงปั จจุบนั ฝ่ ายขายของ บริ ษัทฯ แบ่งออกเป็ น 4 ทีม ประกอบด้ วยทีมงานในประเทศ 3 ทีม และทีมขายต่างประเทศ 1 ทีม โดยมีรายละเอียดดังนี S


99

1. ทีมขายในประเทศ 1.1 ทีมขายสําหรับลูกค้าเอกชน: เป็ นทีมขายทีJทาํ หน้ าทีJขายตรงให้ กบั กลุม่ ลูกค้ าเอกชนในประเทศ โดยมีรูปเเบบ การขาย 2 เเบบคือ - ขายให้ กบั ผู้ประกอบการธุรกิจขนส่ง หรื อธุรกิจผลิตเเละจําหน่ายสินค้ า ผู้ประกอบการเลือกทีจJ ะให้ บริ ษัทจัดหาหัวรถให้ ตามความเหมาะสม หรื อ ผู้ประกอบการเลือกทีJจะซื Sอหัวรถมาจากตัวเเทนจําหน่าย รถกระบะบรรทุกโดยตรง อาทิ MAN, VOLVO, HINO, ISUZU,MITSUBISHI เป็ นต้ น โดยนํามาให้ บริ ษัทเป็ นผู้ผลิตเเละติดตังประกอบตั S วตู้ หรื อรถพ่วงต่างๆ เข้ ากับส่วนแชชซีของหัวรถ - ขายผ่านบริษัทตัวเเทนจําหน่ายรถกระบะบรรทุก โดยทีมขายจะเข้ าไปติดต่อกับตัวเเทนจําหน่ายรถ กะบะบรรทุกโดยตรง เพืJอผลิตเเละติดตังตั S วตู้ หรื อพ่วงต่างๆ ให้ กบั ตัวแทนจําหน่าย เมือJ ลูกค้ าสังJ ซื Sอรถ กระบะบรรทุก พร้ อมให้ ตวั เเทนจําหน่ายตัวตู้ หรื อพ่วงต่างๆ ตัวเเทนจําหน่ายจะส่งงานมายังบริษัทให้ เป็ นผู้ผลิตเเละติดตังอี S กทอดหนึงJ 1.2 ทีมขายสําหรับลูกค้าหน่วยงานราชการ: เป็ นทีมขายทีJเน้ นการขายสินค้ าให้ กบั หน่วยงานราชการ โดยสินค้ า ทีJจําหน่ายเป็ นสินค้ าทีJใช้ เฉพาะกิจ อาทิ รถบรรทุกขยะ รถบรรทุกนํ Sา รถบรรทุกเสาไฟฟ้ ารถขนเครืJองจักรกล หนัก เป็ นต้ น 1.3 ทีมขายเฉพาะโครงการ หรื อทีมขายพิ เศษ: เน้ นการขายสินค้ าทีใJ ช้ เฉพาะโครงการ อาทิ ผลิตรถทีJใช้ ใน กองทัพหน่วยงานรัฐวิสาหกิจต่างๆ เป็ นต้ น 2. ทีม ขายต่า งประเทศ: เน้ น การขายไปยัง สิน ค้ า กลุ่ม ผลิต ภัณฑ์ อ อกแบบพิ เ ศษ ประเภทGround Support Equipment (GSE)สําหรับใช้ งานภายในสนามบินเช่น รถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบิน (Catering Hi-loaders Truck) ซึJงจะมีขอบเขตการขายไปยังประเทศในโซนเอเชีย และโซนโอเชียนเนียตามข้ อตกลงการค้ า กับ Doll Fahrzeugbau GmbH ประเทศเยอรมนีโดยบริ ษัทฯ จะขายผ่านตัวแทนจําหน่าย (Dealer) ทีJเข้ าประมูลงานของ บริ ษัทลูกค้ าในต่างประเทศ หรื อบริ ษัทฯ จะจําหน่ายเองโดยตรงไปยังลูกค้ าต่างประเทศ โดยมีข้อตกลงว่าจ้ าง Dealer เป็ นผู้รับผิดชอบงานดูแลซ่อมบํารุ งผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทฯ ทีJขายในประเทศนันๆ S ตามช่วงระยะเวลา รับประกันของสินค้ า ซึงJ ทางบริ ษัทฯ ไม่ต้องรับผิดชอบค่าใช้ จ่ายบริ การหลังการขายดังกล่าว ทังนี S Sหากบริ ษัทฯ จะ ทําการตลาดและเข้ าเสนองานหรื อร่วมประมูลงานกับบริ ษัทลูกค้ าในต่างประเทศโดยตรง จะมีต้นทุนสูงกว่าการ ขายผ่าน Dealer ในส่วนค่าใช้ จ่ายบริ การหลังการขาย โดยบริ ษัทฯ ได้ เพิJมต้ นทุนในการคํานวณราคาเสนอขาย ด้ วย ซึงJ ในปี 2559 บริ ษัทฯ มีสดั ส่วนการขายต่างประเทศ ส่วนใหญ่เป็ นกลุม่ ผลิตภัณฑ์ออกแบบพิเศษ ดังนี S • ประมาณร้ อยละ 3% ของยอดการขายต่างประเทศ มาจากลูกค้ าในฝัJ งตะวันออกกลาง อาทิ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์เป็ นต้ น • ประมาณร้ อยละ 18% ของยอดการขายต่างประเทศ มาจากลูกค้ าในกลุม่ เอเชีย อาทิ เกาหลี ฮ่องกงเป็ นต้ น • ประมาณร้ อยละ 79% เป็ นสินค้ าอืJนๆ ทีJบริ ษัทฯ ขายไปยังทุกประเทศทัวJ โลก อาทิ รถดับเพลิง รถ พ่วงและกึงJ พ่วง รถออกแบบพิเศษ เป็ นต้ น


100

4) กลยุทธ์ ด้านการส่ งเสริมการขาย (Promotion) 1. บริ ษัทฯ เน้ นการให้ บริ การหลังการขายเป็ นการประชาสัมพันธ์ บริ ษัท โดยการให้ บริ การอย่างใกล้ ชิด และ สร้ างความสัมพันธ์ อนั ดีกบั ลูกค้ า โดยเฉพาะอย่างยิJงการให้ บริ การหลังการขายกับกลุม่ ลูกค้ าต่างประเทศ เนืJองจากเป็ นการสร้ างความเชืJอมันJ และความน่าเชืJอถือให้ กบั ลูกค้ าได้ เป็ นอย่างดี อาทิ การให้ คําปรึ กษา และการซ่อมบํารุงเครืJ องยนต์ด้วยระบบ IT ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ (Remote service)และการให้ คําปรึ กษา เกีJยวกับการใช้ งาน เป็ นต้ นอีกทังยั S งเน้ นงานบริ การหลังการขายอืJน ๆ และมีการติดตามผลทุกๆ 3 เดือน 2. บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญกับการประชาสัมพันธ์สนิ ค้ าของบริ ษัทฯ ไปยังกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมายซึJงเป็ นผู้ใช้ สินค้ า โดยตรง โดยการนําเสนอผ่านสืJอต่างๆ อาทิ นิตยสาร ร่ วมงานแสดงสินค้ าทังในประเทศและต่ S างประเทศ รวมทังสื S อJ ทางอิเล็คโทรนิคต่างๆ เป็ นต้ นรวมถึงการส่งข้ อมูลข่าวสารให้ กบั ลูกค้ าโดยตรง 3. บริ ษัทฯ มีการแบ่งกลุ่มสินค้ าและทีมงานทีJดูแลอย่างชัดเจน ประกอบด้ วย กลุ่มลูกค้ าในประเทศ ลูกค้ า ต่างประเทศ ลูกค้ าหน่วยงานราชการ และลูกค้ ากลุม่ งานโครงการพิเศษ เป็ นต้ น ซึJงทําให้ สามารถดูแลและ บริ การ รวมทังตอบสนองความต้ S องการของลูกค้ าได้ เป็ นอย่างดี 12.3.2 กลุ่มลูกค้ าเป้าหมาย บริ ษั ท ฯ ผลิ ต เเละจํ า หน่ า ยสิ น ค้ าให้ กั บ ลูก ค้ าทังS ในประเทศเเละต่ า งประเทศ โดยลูก ค้ าส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผู้ประกอบการทีJทํา ธุรกิ จขนส่งสิน ค้ า ธุรกิ จผลิตเเละจํ า หน่า ยสิน ค้ าทีJ มีจุดกระจายสินค้ า หลายแห่ง ทัJวประเทศ เเละ หน่วยงานราชการ อาทิ กรุงเทพมหานคร องค์การบริ หารส่วนตําบลในจังหวัดต่างๆ เป็ นต้ น โดยในการผลิตสินค้ า บริ ษัทฯ จะผลิตตามคําสังJ ซื Sอของลูกค้ า (Made to Order) โดยสามารถแบ่งกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมาย ได้ ดงั นี S 1. กลุม่ ลูกค้ าในประเทศ: ผู้ประกอบการธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ ค้ าปลีก คือกลุม่ ลูกค้ าหลักในประเทศ โดย ส่วนใหญ่จะเป็ นการจําหน่ายสินค้ ากลุม่ ผลิตภัณฑ์มาตรฐาน เช่น รถพ่วง-กึJงพ่วงพิเศษ รถพ่วงดัมพ์-กระบะ ดัมพ์ รถลากจูงพร้ อมรถกึJงพ่วงแบบชานตําJ รถพ่วงตู้ไฟเบอร์ กลาส รถพ่วงพร้ อมระบบหน้ าจอแสดงผลขนาด ใหญ่พิเศษ (Presentation X-Lift)รถขนส่งก๊ าซแบบท่อยาว ตู้ห้องเย็น (ผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทย่อย) เป็ นต้ น 2. กลุม่ ลูกค้ าต่างประเทศ: ผู้ประกอบการธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ ผู้ประกอบการธุรกิจครัวการบิน (airline catering) ผู้ประกอบการธุรกิจบริ การภาคพื Sนดินภายในสนามบิน ผู้ประกอบการธุรกิจการบิน คือกลุม่ ลูกค้ า หลักต่างประเทศ โดยส่วนใหญ่จะเป็ นการจําหน่ายสินค้ ากลุม่ ผลิตภัณฑ์ออกแบบพิเศษ ประเภทGround Support Equipment (GSE)สําหรับใช้ งานภายในสนามบินเช่น รถลําเลียงอาหารขึ SนเครืJ องบิน (Catering Hi-loaders Truck) เป็ นต้ น บริ ษัทฯ ไม่มีการพึงJ พิงลูกค้ ารายใดรายหนึงJ อย่างมีนยั สําคัญ โดยบริ ษัทฯ สามารถสรุปตัวอย่างรายชืJอลูกค้ าทังS ในประเทศและต่างประเทศทีมJ ีชืJอเสียงเป็ นทีJร้ ูจกั ในอุตสาหกรรมให้ ทราบพอสังเขป ดังนี S ลําดับ ชื$อลูกค้ าในประเทศ 1 บริ ษัทลินฟอกซ์ ทรานสปอร์ ต (ประเทศไทย) จํากัด 2 บริ ษัทเอก-ชัย ดีสทริ บิวชันJ ซิสเทม จํากัด 3 สถาบันเทคโนโลยีJป้องกันประเทศ

สินค้ าที$ขาย รถตู้ห้องเย็น รถกึJงพ่วงตู้ผ้าใบ2เพลา ต้ นแบบรถยานเกราะล้ อ


101

ลําดับ 4 5 6 ลําดับ 1 2 3 4 5

ชื$อลูกค้ าในประเทศ การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย บริ ษัทฮีโน่มอเตอร์ เซลส์(ประเทศไทย) จํากัด บริ ษัทครัวการบินกรุงเทพจํากัด ชื$อลูกค้ าต่ างประเทศ VT PLUS IMPORT EXPORT INVESMENT KOREAN AIR Regal Motors Ltd. FUTUREBUD INTERNATIONAL OMAN AIR

สินค้ าที$ขาย รถกึJงพ่วงขนาดไม่ตาํJ 100 ตัน รถกึJงพ่วงบรรทุกชานตําJ 2 เพลา รถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบิน ประเทศ สินค้ าที$ขาย เวียดนาม รถดับเพลิง เกาหลี รถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบิน ฮ่องกง รถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบิน ญีJปนุ่ รถดับเพลิง โอมาน รถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบิน

12.3.3 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่ งขัน ภาวะอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ หลักของบริ ษัทฯ ทีJมียอดจํ าหน่ายสูงสุดในช่วง 3 ปี ทีJผ่านมา คือ กลุ่มผลิตภัณฑ์ ออกแบบพิเศษ ประเภทGround Support Equipment (GSE)สําหรับใช้ งานภายในสนามบินเช่น รถลําเลียงอาหารขึ SนเครืJ องบิน (Catering Hi-loaders Truck) รองลงมาคือกลุม่ ผลิตภัณฑ์มาตรฐาน ประเภทรถบรรทุก รถพ่วง-กึJงพ่วง ซึงJ กลุม่ ลูกค้ าส่วนใหญ่จะเป็ น ผู้ประกอบการธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ ดังนันในการวิ S เคราะห์ภาวะอุตสาหกรรมจะแบ่งออกเป็ น 2 อุตสาหกรรม คือ ธุรกิจการบิน และธุรกิจโลจิสติกส์ โดยมีรายละเอียดดังนี S 1. ธุรกิจการบิน สมาคมการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ (International Air Transport Association : IATA) คาดการณ์วา่ อุตสาหกรรมการบินของโลกจะมีกําไรสุทธิ 2.98 หมืJนล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ ในปี 2560 จากรายได้ รวม 7.36 แสนล้ าน ดอลลาร์ สหรัฐฯ คิดเป็ นอัตรากําไร 4.1% นับเป็ นปี ทีJ 3 ติดต่อกันทีสJ ายการบินมีอตั ราผลตอบแทนของเงินลงทุน (7.9%) สูง กว่าต้ นทุนเฉลียJ ของเงินลงทุน (6.9%) ทังนี S SเมืJอแยกเป็ นรายภูมิภาค สายการบินจาก อเมริ กาเหนือ คาดว่าจะมีผลประกอบการทีJแข็งแกร่ ง ทีJสดุ ในปี หน้ า โดยการควบรวมกิจการของสายการบิน ในช่วงทีJผ่านมาช่วยเสริ มความเข้ มแข็งให้ กับผลกําไร แม้ วา่ จะเผชิญกับปั จจัยกดดันจากราคานํ SามันทีJเพิJมขึ Sน ขณะเดียวกันสายการบินจากยุโรป มีปัจจัยกดดันจาก การแข่งขันในระดับสูง ตลอดจนต้ นทุนทีJสงู กฎระเบียบ ทีJเข้ มงวด และภาษี สงู นอกจากนี SความเสียJ งจากการก่อ การร้ ายยังคงมี อยู่ แม้ ว่าความเชืJ อมัJนจะเริJ มกลับคื น มาแล้ ว ก็ ต ามส่ว นสายการบิ นในเอเชี ย -แปซิฟิ ก การ ขยายตัวของสายการบินรู ปแบบใหม่และการเดินหน้ า


102

เปิ ดเสรี ภายในภูมิภาคยิJงทําให้ การแข่งขันรุนแรงยิJงขึ Sน ขณะทีJสายการบินจากตะวันออกกลาง มีความเสีJยงเกิดขึ Sนมาจาก ค่าธรรมเนียมสนามบินทีJเพิJมขึ Sนในหลายประเทศ สายการบินจากลาตินอเมริ กา ยังคงมีความท้ าทาย จากโครงสร้ าง พื SนฐานทีJขาดประสิทธิภาพ ภาษี ระดับสูง และอุปสรรคด้ านกฎระเบียบ แม้ วา่ อัตราแลกเปลียJ นและเศรษฐกิจในภูมิภาคจะ มีแนวโน้ มทีJดีขึ Sน ส่วนสายการบินจากแอฟริ กา คาดว่าจะยังขาดทุนจากผลของความขัดแย้ งภายในภูมิภาค และราคา สินค้ าโภคภัณฑ์ตกตํJาอย่างไรก็ตาม สําหรับปี 2560 คาดว่าจะเป็ นปี ทีJ 8 ติดต่อกันทีJอตุ สาหกรรมการบินมีกําไร แสดงให้ เห็นถึงความเข้ มแข็งในการรับมือกับปั จจัยเสียJ งทีJอยูใ่ นโครงสร้ างของอุตสาหกรรมนี S โดยเฉลียJ แล้ วสายการบินจะทําเงินได้ 7.54 ดอลลาร์ สหรัฐฯ ต่อผู้โดยสารหนึงJ คนทีJมาใช้ บริ การ ราคานํ SามันทีJปรับตัวสูงขึ Sนเป็ นปั จจัยสําคัญทีJจะส่งผลกระทบต่อแนวโน้ มผลประกอบการในปี 2560 โดยในปี 2559 ราคานํ SามันเฉลียJ อยูท่ ีJ 44.6 ดอลลาร์ สหรัฐฯ ต่อบาร์ เรล (นํ Sามันดิบเบรนต์) และคาดว่าจะเพิJมขึ Sนเป็ น 55.0 ดอลลาร์ สหรัฐฯ ต่อบาร์ เรลในปี 2560 ทําให้ ราคาเชื SอเพลิงอากาศยานเพิJมขึ Sนจาก 52.1 ดอลลาร์ สหรัฐฯ ต่อบาร์ เรลในปี 2559 เป็ น 64.9 ดอลลาร์ สหรัฐฯ ต่อบาร์ เรลในปี 2560 ต้ นทุนด้ านเชื Sอเพลิงคาดว่าจะคิดเป็ นสัดส่วน 18.7% ของโครงสร้ างต้ นทุนใน อุตสาหกรรมการบินในปี 2560 ซึJงปรับลดลงมาจากสัดส่วนสูงสุดทีJ 33.2% ในปี 2555-2556 อีกทังS ไออาต้ า ยังมองว่า ผลกระทบด้ านลบจากอัตราส่วนการบรรทุกผู้โดยสารทีJลดลงไป คาดว่าจะได้ รับการชดเชยในระดับหนึงJ จากการเติบโตของ เศรษฐกิจโลกทีJเข้ มแข็งขึ Sน เป็ นทีJคาดหมายว่าเศรษฐกิจโลกจะขยายตัว 2.5% ในปี 2560 เพิJมขึ Sนจาก 2.2% ในปี 2559 เมืJอประกอบกับการเปลีJยนแปลงเชิ งโครงสร้ างของอุตสาหกรรมการบิน คาดว่าจะช่วยสร้ างเสถี ยรภาพให้ กับ อัตรา ผลตอบแทนหรื อกําไรต่อทีJนงัJ (Yield) จากทังธุ S รกิจขนส่งสินค้ าและขนส่งผู้โดยสาร ซึJงเป็ นแนวโน้ มทีJน่ายินดีหลังจาก yield ลดลงมาทุกปี นับตังแต่ S ปี 2555 นอกจากนี S สมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ (IATA) ยังได้ วิเคราะห์วา่ ในปี 2560 มูลค่าสินค้ าทีJขนส่งทาง อากาศในปี 2560 คาดว่าจะเพิJมขึ Sนเป็ น 5.7 ล้ านล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ คิดเป็ นการเพิJมขึ Sน 4.9% จากปี 2558 โดยการขนส่ง สินค้ าโดยเครืJ องบินคิดเป็ นสัดส่วนประมาณ 35% ของมูลค่าสินค้ าทีJซื SอขายกันทังS หมดทัวJ โลก ขณะทีJการใช้ จ่ายใน อุตสาหกรรมการท่องเทีJยว ทีJมาจากการเดินทางทางอากาศ คาดว่าจะเพิJมขึ Sน 5.1% ในปี 2560 เป็ น 6.81 แสนล้ าน ดอลลาร์ สหรัฐฯ การจ้ างงานในซัพพลายเชนทีJเกีJยวข้ องกับอุตสาหกรรมการบิน คาดว่าจะเพิJมขึ Sน 3.4% ในปี 2560 เป็ น 69.7 ล้ านตําแหน่งทัวJ โลก ทังนี S Sยังคาดว่าสายการบินจะรับมอบเครืJ องบินใหม่ประมาณ 1,700 ลําในปี 2560 โดยประมาณครึJ งหนึJงจะเป็ น เครืJ องใหม่ทีJมาทดแทนเครืJ องเก่าและมีประสิทธิ ภาพการใช้ นํ SามันตํJา ซึJงจะทําให้ ฝูงบินของสายการบินพาณิชย์ทวัJ โลก ขยายตัว 3.6% เป็ น 2.87 หมืJนลํา และคาดว่าสายการบินจะให้ บริ การ 38.4 ล้ านเทีJยวบินในปี 2560 เพิJมขึ Sน 4.9% 2. ธุรกิจโลจิสติกส์ ในปี 2560 คาดว่าตลาดรถยนต์จะมีโอกาสฟื นS ตัวมากขึ Sนจากปั จจัยบวกหลายด้ าน ทําให้ ผ้ บู ริ โภคในกลุม่ รายได้ ปานกลาง กลุม่ เกษตรกร และกลุม่ ธุรกิจ มีกําลังซื Sอมากขึ Sน ซึงJ จะส่งผลให้ คาดว่าตลาดรถเพืJอการพาณิชย์จะขยายตัวร้ อย ละ 3 ถึง 7 ดีกว่ารถยนต์นัJงทีJคาดว่าจะขยายตัวร้ อยละ 2 ถึง 6 ส่งผลให้ ตลาดรวมรถยนต์ในประเทศปี 2560 มีโอกาส ขยายตัวร้ อยละ 2 ถึง 6 คิดเป็ นยอดขายรถยนต์ 770,000 ถึง 800,000 คัน จากภาวะแรงกดดันตลาดจากปั จจัยลบรอบ ด้ าน เช่น ภัยแล้ งช่วงต้ นปี ราคาสินค้ าเกษตรทีJตกตํJา ภาวะหนี Sครัวเรื อนทีJอยูร่ ะดับสูง ภาคการส่งออกทีJฟืนS ตัวช้ า จึงคาดว่า ยอดขายรถยนต์ในประเทศปี 2559 จะหดตัวลงราวร้ อยละ 5.8 คิดเป็ นจํานวนรถยนต์กว่า 753,000 คัน ลดลงจากปี ก่อนทีJ


103

มียอดขายอยู่เกือบ 8 แสนคัน โดยในปี 2559 ประเภทรถทีJช่วยดึงตลาดขึ SนในภาวะทีJสภาพตลาดโดยรวมหดตัวลง คือ รถยนต์ในกลุม่ รถอเนกประสงค์เป็ นหลัก ได้ แก่ รถอเนกประสงค์ PPV และรถอเนกประสงค์ B-SUV รวมถึงรถบรรทุก ขณะทีJ ป ระเภทรถราคาประหยัด แบบอี โ ค คาร์ และรถปิ กอัพ 1 ตัน กลับมีย อดขายทีJ ทรงตั ว จากปี ก่ อ นหน้ า ซึJ ง สอดคล้ องกั บ สภาวะตลาดทีJมีปัจจัยลบอันกระทบต่อกลุม่ ผู้มีรายได้ น้อยถึงปานกลาง สําหรับในปี 2560 หลังสภาพเศรษฐกิจไทย เริJ มมีทิศทางฟื SนตัวขึนS รายได้ ของผู้บริ โภค บางกลุม่ ปรับเพิJมสูงขึ Sนจากการปรับค่าจ้ าง แรงงาน รายได้ เกษตรกรมีโอกาสปรั บตัวดี ขึ Sนในบางสาขาผลผลิต และโครงการภาครัฐ ทีJ มี แ นวโน้ มจะขยายตัว ดี ใ นปี หน้ า จาก ปั จจัยดังกล่าวผู้ประกอบการจึงอาจต้ องปรับกลยุทธ์ หันมาหากลุ่มลูกค้ าระดับรายได้ ปานกลาง และกลุ่มลูกค้ าธุรกิ จ เพิJมเติมจากกลุม่ รายได้ ปานกลางถึงสูงมากขึ Sน โดยเฉพาะอย่างยิJงเมืJอสถาบันการเงินเริJ มผ่อนคลายความเข้ มงวดในการ ให้ สนิ เชืJอลง โดยแรงสนับสนุนจากปั จจัยบวกทีJหลากหลายดังกล่าวท่ามกลางปั จจัยลบ เช่น หนี Sครัวเรื อนทีJอยู่ในระดับสูง และภาวะการส่งออกทีJมีความเสีJยงจากทิศทางแนวนโยบายประธานาธิ บดีคนใหม่ของสหรัฐฯ โดยรถยนต์ประเภททีJ ยอดขายมีโอกาสจะปรั บดีขึนS กว่ากลุ่มอืJนในช่วงปี 2560 ได้ แก่ รถยนต์ นงัJ ในกลุ่มรถยนต์ นัJงขนาดเล็ก และรถยนต์ หรู สัญชาติตะวันตก รวมถึงรถปิ กอัพและรถบรรทุก ซึงJ อยูใ่ นกลุม่ ตลาดรถเพืJอการพาณิชย์ โดยรถบรรทุก มีทิศทางทีJขยายตัว ดีเกือบตลอดทังปี S 2559 หลังจากก่อนหน้ านี Sได้ หดตัวลงอย่างต่อเนืJองมากว่า 2 ปี และคาดว่าจะมีแนวโน้ มขยายตัวต่อในปี 2560 ซึงJ ประเภทรถบรรทุกทีJปัจจุบนั ได้ รับความสนใจจากตลาดสูงสุด คือ รถบรรทุกขนาดบรรทุกน้ อยกว่า 5 ตัน ทีJพบว่า ส่วนแบ่งในตลาดรถบรรทุกรวมเพิJมสูงขึ Sนจากร้ อยละ 38 ในปี 2558 เป็ นร้ อยละ 42 ในปี 2559 นี S ตามด้ วยรถบรรทุกขนาด บรรทุกมากกว่า 10 ตัน ทีJมีสว่ นแบ่งในตลาดใกล้ เคียงกัน โดยสาเหตุทีJรถบรรทุกขนาดบรรทุกน้ อยกว่า 5 ตัน ได้ รับความ นิยมเพิJมขึ Sน คาดว่านอกจากจะเป็ นเพราะมีผ้ เู ล่นในตลาดมากขึ Sนกว่าอดีตแล้ ว ยังรวมถึงการขยายตัวของธุรกิจประเภท เอสเอ็มอีทีJมีจํานวนเพิJมขึ Sน และการขนส่งสินค้ าของภาคธุรกิจทีJนิยมใช้ รถขนาดเล็กลงเพืJอความคล่องตัวในการเดินทาง หากพิจารณาถึงสัญชาติรถกลุม่ นี Sพบว่า รถบรรทุกสัญชาติตะวันตกและญีJปนุ่ เป็ นกลุม่ ทีJมีการขยายตัวจากปี ก่อน ขณะทีJ รถบรรทุกสัญชาติจีนหดตัวลงต่อเนืJองจากปี ทีJแล้ ว แม้ ว่าระดับราคาจะถูกกว่ารถยนต์สญ ั ชาติอืJนก็ตาม ซึJงศูนย์วิจยั กสิกร ไทยเห็นว่าลูกค้ ารถบรรทุกซึJงเป็ นกลุ่มผู้ประกอบการ แม้ จะมีความต้ องการลดต้ นทุน แต่ความต้ องการรถบรรทุกทีJมี สมรรถนะสูง ไม่ส ร้ างปั ญ หาจุก จิ ก รวมถึ ง เชืJ อ ถื อ ได้ เ พืJ อ การใช้ งานหนัก ในระยะยาว อาจเป็ นสิJง ทีJ ลูก ค้ า กลุ่ม นี ใS ห้ ความสําคัญมากกว่า ผู้ประกอบการในธุรกิจทีJเกีJยวข้ องจึงควรให้ ความสําคัญกับความน่าเชืJอถือของรถยนต์ และเพิJม ความสําคัญในการบริ การดูแลลูกค้ าหลังการขายมากขึ Sน นอกจากจะดูเรืJ องการแข่งขันด้ านราคา จากทิศทางการขยายตัวดีขึ Sนของตลาดรถดังกล่าว ทําให้ ศนู ย์วิจยั กสิกรไทยคาดว่าจะส่งผลให้ ตลาดรถยนต์นงัJ โดยรวมในปี 2560 ของไทยมีทิศทางทีJ ขยายตัวประมาณร้ อยละ 2 ถึง 6 คิ ดเป็ นจํ านวนยอดขายรถยนต์ นัJงประมาณ 331,000 ถึ ง 344,000 คัน เพิJมขึ Sนกว่าปี 2559 ทีJคาดว่าจะปิ ดตัวเลขรถยนต์นงัJ ทีJประมาณ 325,000 คัน ซึงJ เป็ นตัวเลขทีJหดตัวกว่าปี ก่อน หน้ ากว่าร้ อยละ 9 ส่วนตลาดรถเพืJอการพาณิชย์โดยรวมในปี 2560 ของไทยมีทิศทางทีJขยายตัวประมาณร้ อยละ 3 ถึง 7


104

คิดเป็ นจํานวนยอดขายรถเพืJอการพาณิชย์ประมาณ 439,000 ถึง 456,000 คัน เพิJมขึ Sนกว่าปี 2559 ทีJคาดว่าจะปิ ดตัวเลขทีJ ประมาณ 428,000 คัน ซึงJ เป็ นตัวเลขทีJหดตัวกว่าปี ก่อนหน้ ากว่าร้ อยละ 4 อนึงJ เมืJอพิจารณาต่อถึงแนวทางการปรับตัวของผู้ประกอบการ ศูนย์วิจยั กสิกรไทยมองว่า ควรทีJจะดูทิศทางตลาดรถยนต์ใน แต่ละภูมิภาคประกอบด้ วย เนืJองจากแม้ ว่าตลาดรถยนต์โดยรวมจะมีทิศทางทีJขยายตัว อย่างไรก็ตามระดับการขยายตัว ของตลาดแต่ละส่วนนันอาจจะแตกต่ S างกันไปตามปั จจัยบวกลบทีJเกื Sอหนุน โดยในปี 2560 นี S คาดว่า ภาคตะวันออกจะเป็ น ภูมิภาคทีJมีการขยายตัวของยอดขายรถยนต์สงู สุดทังในส่ S วนของรถยนต์นงัJ และรถเพืJอการพาณิชย์ โดยปั จจัยบวกหลักมา จากการลงทุนภาครัฐและภาคเอกชนทีJคาดว่าจะเพิJมสูงขึ Sนมากอย่างต่อเนืJองในช่วง 2 ถึง 3 ปี นับจากนี Sหลังภาครัฐผลักดัน เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกในพื SนทีJ 3 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง ซึJงจะทําให้ เกิดการขยายตัวของ เศรษฐกิจในหลายๆ ด้ านแบบก้ าวกระโดด ส่วนภาคอีสาน ภาคตะวันตก และภาคใต้ มีโอกาสทีJรถเพืJอการพาณิชย์จะ ขยายตัวได้ ดีกว่ารถยนต์นงัJ ค่อนข้ างมาก จากการกลับมาฟื นS ตัวของราคาขายสินค้ าเกษตรบางรายการ เช่น ยางพารา ปาล์มนํ Sามัน และอ้ อย รวมไปถึงโครงการภาครัฐเพืJอพัฒนาระบบสาธารณูปโภคด้ านการขนส่งทีJขยายตัวเพิJมขึ Sนในหลาย พื SนทีJ ด้ านตลาดรถยนต์นงัJ คาดว่าพื SนทีJภาคใต้ และภาคเหนือ จะมีโอกาสขยายตัวได้ ดีกว่าภูมิภาคอืJน เนืJองจากการปรับ เพิJมขึ Sนของรายได้ ทงจากภาคการเกษตรและการท่ ัS องเทีJยว ส่วนตลาดกรุงเทพฯ ได้ รับอานิสงส์จากโครงการลงทุนโครงสร้ าง พื Sนฐานภาครัฐส่งผลให้ ตลาดรถรวมโตขึ Sนทังรถยนต์ S นงัJ และรถเพืJอการพาณิชย์ (ทีม# า : ศูนย์วิจยั กสิ กรไทย) จากข้ อมูลสถิติการขนส่งประจําปี ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 ปรากฏว่าจํานวนรถบรรทุกจดทะเบียน (สะสม) ทัวJ ประเทศ มีจํานวนรวมทังสิ S Sน 1,055,717 คัน เพิJมขึ Sนจากช่วงเดียวกันของปี 2558 คิดเป็ นร้ อยละ 2.24 โดยส่วนใหญ่เป็ นผล จากการเพิมJ จํานวนของรถบรรทุกไม่ประจําทาง (รถทีJใช้ ในการขนส่งสัตว์หรื อสิงJ ของเพืJอสินจ้ างโดยไม่กําหนดเส้ นทาง) และจํานวนใบอนุญาตประกอบการขนส่งด้ วยรถบรรทุก (สะสม) ทัวJ ประเทศ ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 มีจํานวนทังสิ S Sน 380,985 ฉบับ ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี 2558 ร้ อยละ 0.89 ตารางข้ อมูลเปรียบเทียบจํานวนรถบรรทุกจดทะเบียน (สะสม) ทัวJ ประเทศ ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2558 และ 2559 จํานวนรถ (คัน) ร้ อยละการเปลี$ยนแปลง ประเภทรถ 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2559 2558/2559 [ เพิ$ม (ลด)] รวมรถบรรทุก 1,030,746 1,055,717 2.24 แยกเป็ น - ไม่ประจํ าทาง 259,084 274,151 5.82 - ส่วนบุคคล 771,662 781,566 1.28 (ทีม# า : กลุ่มสถิ ติการขนส่ง กรมการขนส่งทางบก) ตารางข้ อมูลสถิตจิ ํานวนใบอนุญาตประกอบการขนส่งและจํานวนผู้ประกอบการขนส่ง ทัวJ ประเทศ ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2558 และ 2559 จํานวนใบอนุญาตประกอบการขนส่ ง (ฉบับ) ประเภทรถ 2558 2559 รวมรถบรรทุก 384,392 380,985 แยกเป็ น - ไม่ประจํ าทาง 18,705 20,499 - ส่วนบุคคล 365,687 360,486 (ทีJมา : กลุม่ สถิติการขนส่ง กรมการขนส่งทางบก)

จํานวนผู้ประกอบการขนส่ ง (ราย) 2558 384,392 18,705 365,687

2559 380,985 20,499 360,486


105

ดังนันS จากการทีJจํานวนรถบรรทุกและผู้ประกอบการขนส่งไม่ประจําทางทีJมีแนวโน้ มเพิJมสูงขึ Sนในอนาคต รวมถึง การพัฒนาเส้ นทางคมนาคมระหว่างภูมิภาคทีJทําให้ ประเทศไทยกลายเป็ นจุดศูนย์กลางด้ านการขนส่ง จะส่งผลให้ อปุ ทาน (demand) ในการใช้ รถบรรทุกมีแนวโน้ มปรับตัวเพิJมมากขึ Sน โดยเฉพาะรถบรรทุกไม่ประจําทาง และจะส่งผลต่อกลุม่ ธุรกิจ การผลิตรถบรรทุกขนส่งทีJมีแนวโน้ มเพิJมการผลิตให้ ปรับตัวสอดคล้ องกับอุปทานทีJมีแนวโน้ มเพิJมขึ Sน การแข่ งขัน กลุม่ ผลิตภัณฑ์มาตรฐานของบริ ษัทฯ ถือว่าไม่มีคแู่ ข่งทางธุรกิจมากนัก เนืJองจากผลิตภัณฑ์มาตรฐานของบริ ษัท ฯ โดยส่วนใหญ่จะเป็ นการออกแบบเฉพาะโดยบริ ษัทเอง ซึJงมีการจดอนุสิทธิบตั ร และอยู่ระหว่างการขอจดสิทธิบตั รการ ประดิษฐ์ หรื อสิทธิ บตั รการออกแบบผลิตภัณฑ์ อีกทังเป็ S นผลิตภัณฑ์ ทีJมีการใช้ เทคโนโลยีทีJทนั สมัย มีการติดตังระบบ S วิศวกรรมเพืJอสร้ างความแตกต่างจากสินค้ าทีJมีการจําหน่ายโดยทัวJ ไป จึงทําให้ มีการแข่งขันทางธุรกิจจํานวนไม่มากนัก โดยจะมีคแู่ ข่งทีJผลิตและประกอบตัวถังรถบรรทุก รถพ่วง-กึJงพ่วงทีJมีลกั ษณะการใช้ งานใกล้ เคียงกันอยู่บ้าง ส่วนใหญ่เป็ น ผู้ประกอบการต่อตัวถังและดัดแปลงรถบรรทุกภายในประเทศ แต่สําหรับกลุม่ ผลิตภัณฑ์ออกแบบพิเศษ อาทิ รถลําเลียง อาหารสําหรับเครืJ องบิน รถสนับสนุนภาคพื Sนดินภายในสนามบิน รถดับเพลิงและรถกู้ภยั จะมีค่แู ข่งซึJงส่วนใหญ่เป็ นบริ ษัท ต่างประเทศ โดยสามารถสรุปคูแ่ ข่งขันในประเทศและต่างประเทศโดยแยกตามประเภทผลิตภัณฑ์ได้ ดงั นี S คู่แข่ งขันทางธุรกิจ คู่แข่ งขันในประเทศ 1. บริ ษัท พนัสแอสเซมบลีย์ จํากัด 2. บริ ษัท สามมิตรมอเตอร์ สแมนูแฟคเจอริ ง จํากัด (มหาชน) 3. บริ ษัท อาร์ ซี เค รุ่ งเจริ ญ จํากัด 4. บริ ษัท เชส เอ็นเตอร์ ไพรส์ (สยาม) จํากัด คู่แข่ งขันต่ างประเทศ 1. AeroMobiles Pte Ltd.

ประเทศ

ประเภทผลิตภัณฑ์

ไทย ไทย ไทย ไทย

รถบรรทุก รถพ่วง-กึงJ พ่วง รถบรรทุก รถพ่วง-กึงJ พ่วง รถบรรทุก รถพ่วง-กึงJ พ่วง รถดับเพลิง-รถกู้ภยั

สิงคโปร์

รถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบิน / รถสนับสนุนภาคพื Sนดินภายในสนามบิน รถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบิน / รถสนับสนุนภาคพื Sนดินภายในสนามบิน รถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบิน

2. Mallaghan Engineering Ltd.

ไอร์ แลนด์

3. United Motor Work Ltd.

มาเลเซีย

12.4 การจัดหาผลิตภัณฑ์ และบริการ ด้ านการผลิต บริ ษัทฯ รับจ้ างผลิตตามคําสังJ ซื Sอลูกค้ าเป็ นหลัก (Made to Order) ภายใต้ เครืJ องหมายการค้ าของบริ ษัทฯ โดยใช้ เทคนิคด้ านวิศวกรรมทีJทนั สมัย และความเชีJยวชาญของพนักงานในการออกแบบ ผลิต ประกอบตัวถังและติดตังงาน S ระบบวิศวกรรมสําหรับรถบรรทุกประเภทต่างๆ โดยบริ ษัทฯ ใช้ ระยะเวลาตังแต่ S ทําสัญญากับลูกค้ าจนสามารถส่งมอบงาน


106

ให้ กบั ลูกค้ าได้ โดยเฉลียJ ประมาณ 120 วัน สําหรับกลุม่ ผลิตภัณฑ์ออกแบบพิเศษ ทังนี S Sขึ Sนอยูก่ บั ระยะเวลาในการจัดส่งวัสดุ อุปกรณ์จากคูค่ ้ าหลักของบริ ษัทฯ โดยเฉพาะส่วนทีJต้องสังJ ซื Sอและส่งมาจากต่างประเทศ อีกทังขึ S Sนอยู่กบั ความซับซ้ อนของ ผลิตภัณฑ์ทีJลกู ค้ าสังJ ผลิต บริ ษัทฯ มีโรงงานตังอยู S ท่ ีJจงั หวัดขอนแก่น มีพื SนทีJในการผลิตบนเนื SอทีJดินประมาณ 50 ไร่ และมีเครืJ องจักรใน การผลิตทีJทนั สมัยครบถ้ วน ในขันตอนการผลิ S ตจะมีการวางแผน และบริ หารการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ มีการใช้ ระบบ คอมพิวเตอร์ ในทุกขันตอนตั S งแต่ S เริJ มร่ างชิ นS งานไปจนถึงชิ นS งานเสร็ จสมบูรณ์ โดยมีขันS ตอนการจัดหาผลิตภัณฑ์ และ ขันตอนในการผลิ S ต ดังนี S ขันตอนการจั S ดหาผลิตภัณฑ์ 1) เมืJอลูกค้ าสังJ ซื Sอผลิตภัณฑ์ ฝ่ ายขายจะดําเนินการส่งแบบโครงสร้ างทีJลกู ค้ าเลือก หรื อแบบสอบถามความ ต้ องการของลูกค้ า (Sale Order Check Sheet) และรายละเอียดผลิตภัณฑ์ไปยังฝ่ ายวิศวกรรมออกแบบ เพืJอนําไปถอดแบบ คํานวณปริ มาณวัสดุอปุ กรณ์ และคํานวณต้ นทุน 2) เมืJอ ฝ่ ายวิ ศวกรรมออกแบบถอดแบบและคํา นวณต้ นทุนเรี ย บร้ อยแล้ ว จะแจ้ งกลับ ไปยัง ฝ่ ายขายเพืJ อ คํานวณราคาและแจ้ งให้ ลกู ค้ าทราบเพืJอตัดสินใจ 3) เมืJอลูก ค้ าตอบตกลงในแบบ ราคาและเงืJ อนไขต่างๆ แล้ ว ฝ่ ายวิศ วกรรมออกแบบจะแจ้ งและส่งแบบ โครงสร้ างผลิตภัณฑ์ไปยังฝ่ ายผลิตเพืJอดําเนินการผลิต 4) ฝ่ ายผลิตแจ้ งรายละเอียดวัสดุอปุ กรณ์ทีJต้องการใช้ ในการผลิตไปยังฝ่ ายจัดซื SอเพืJอดําเนินการสังJ ซื Sอวัตถุดิบ และ/หรื อจัดจ้ างเหมาสําหรับงานส่วนประกอบหรื องานบริ การจากภายนอก 5) ฝ่ ายผลิตเบิกวัตถุดิบจากคลังสินค้ าเพืJอนํามาผลิตชินS ส่วน / ประกอบตัวถัง / ติดตังงานระบบ S / งานพ่น ทรายเคลือบสีผลิตภัณฑ์ 6) เมืJ อ ผลิ ต เสร็ จ จะมี ก ารตรวจสอบ และทดสอบผลิต ภัณ ฑ์ ก่ อ นแจ้ งไปยัง ฝ่ ายขายเพืJ อ กํ า หนดวัน นัด ตรวจสอบและส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้ แก่ลกู ค้ า 7) ฝ่ ายขายส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้ ลกู ค้ า และประสานงานการให้ บริ การหลังการขาย


107

แผนภาพขันD ตอนการจัดหาผลิตภัณฑ์ หรือบริการ

ขันตอนในการผลิ S ต 1) 2) 3) 4)

ผู้จดั การฝ่ ายผลิต และวิศวกรผู้ควบคุม ตรวจสอบรายละเอียดงาน และข้ อกําหนดอืJนทีJจําเป็ นในการผลิต เจ้ าหน้ าทีJธุรการตังรหั S สงานลงในใบรับคําสังJ ซื Sอและเปิ ดรหัสงานในระบบบัญชี วิศวกรควบคุมจัดทําแผนการผลิตโดยอ้ างอิงข้ อมูลจากรายละเอียดแบบสอบถามความต้ องการของลูกค้ า วิศวกรควบคุม และเจ้ าหน้ าทีJธุรการ จัดเตรี ยมแบบสังJ งานการผลิต จากฝ่ ายวิศวกรรม จัดทําใบสังJ งานของ หน่วยงานทีJเกีJยวข้ อง 5) วิศวกรควบคุมดําเนินการผลิตตามกระบวนการทีJได้ วางแผนการผลิต หากมีการแก้ ไขให้ ทาํ การปรับแผน ทุกๆ 1ครังS / 2 สัปดาห์ 6) จัดทํ ารายงานการผลิตประจํ าวันและ/หรื อจัดทํ ารายงานผลิ ตภัณฑ์ ทีJ ไม่เ ป็ นไปตามข้ อกํ า หนด (Non Conforming Report) ในกรณีทีJพบ พร้ อมบันทึกผลการตรวจสอบในรายงานการตรวจสอบ (Inspection Sheet) 7) ทําการตรวจสอบขันสุ S ดท้ ายก่อนส่งมอบงาน


108

แผนภาพขันD ตอนการผลิต

เกณฑ์ในการพิจารณารับงานของบริ ษัทฯ จะพิจารณาจากปั จจัยต่างๆ ก่อนรับงานเพืJอป้องกันความเสีJยงทีJ อาจจะเกิดขึ Sน ซึJงอาจส่งผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ โดยบริ ษัทฯ จะประเมินศักยภาพของลูกค้ าหน่วยงาน เอกชนจากข้ อมูลพื Sนฐาน อาทิ ฐานะทางการเงิน ความน่าเชืJอถือในตัวผู้บริ หาร และประวัติการดําเนินธุรกิจ เป็ นต้ น แต่ สําหรับงานของหน่วยงานราชการ จะมีความเสียJ งเกีJยวกับการรับชําระเงินค่อนข้ างน้ อย เนืJองจากหน่วยงานราชการได้ รับ การอนุมตั ิงบประมาณมาจากภาครัฐเรี ยบร้ อยแล้ ว แต่อาจจะมีอตั รากําไรน้ อยกว่างานของเอกชน ส่วนงานทีJได้ รับจาก หน่วยงานเอกชน อาจมีความเสีJยงจากการได้ รับชําระเงินล่าช้ าหรื อได้ รับชําระเงินไม่ครบถ้ วนตามสัญญา แต่จะมีอตั รา กําไรทีJเป็ นไปตามนโยบายทีJบริ ษัทฯ กําหนดไว้ ทังนี S S นอกจากการประเมินศักยภาพทางการเงิน และความน่าเชืJอถือของ ลูกค้ าแล้ ว บริ ษัทฯ ยังพิจารณาความพร้ อมของบริ ษัทฯ เองด้ วย อาทิ ปริ มาณงานระหว่างทําและงานทีJยงั ไม่ได้ ส่งมอบ จํานวนบุคลากร เครืJ องมือและอุปกรณ์ และเงินทุนหมุนเวียนเป็ นต้ น เพืJอสร้ างความมันJ ใจให้ แก่ลกู ค้ า ว่าการดําเนินงานจะ แล้ วเสร็ จตามเงืJอนไขของสัญญา ด้ านการจัดซือD ปั จจุบนั บริ ษัทฯ มีฝ่ายจัดซื Sอรวมทังหมดจํ S านวน 9 คนแบ่งเป็ นฝ่ ายจัดซื Sอในประเทศจํานวน 8 คน และฝ่ ายจัดซื Sอ ต่างประเทศจํานวน 1 คนการจัดซื Sอวัตถุดิบ บริษัทฯ จะพิจารณาจากข้ อมูลฝ่ ายวิศวกรรมออกแบบต้ นทุน ทีJได้ สรุปปริ มาณ วัสดุอปุ กรณ์ทีJจะต้ องใช้ ในการผลิต เพืJอตรวจสอบกับข้ อมูลในคลังสินค้ าว่ามีวสั ดุอปุ กรณ์ดงั กล่าวหรื อไม่ หรื อมีจํานวน เพียงพอต่อการใช้ งานหรื อไม่ จากนันจึ S งทําการสอบราคาจากคูค่ ้ าทีJอยูใ่ นทะเบียนรายชืJอคูค่ ้ าของบริ ษัทฯ เพืJอสรุปการ สังJ ซื Sอและกําหนดวันจัดส่งวัสดุอปุ กรณ์มายังบริ ษัทฯ ต่อไป บริ ษัทฯ สามารถแบ่งกลุ่มคู่ค้าทีJเป็ นทังS ผู้ผลิตและ/หรื อผู้จัดจํ าหน่าย แบ่งออกเป็ นคู่ค้าในประเทศและคู่ค้า ต่างประเทศ โดยมีรายละเอียดดังนี S คู่ค้าในประเทศ: บริ ษัทฯ จะติดต่อซือS วัสดุอุปกรณ์ จากกลุ่มคู่ค้าในประเทศสําหรับวัสดุอุปกรณ์ ทีJ สามารถจัดซื Sอได้ ภายในประเทศ อาทิ หัวรถ แชสซี ช่วงล่าง เหล็ก อลูมิเนียม สายไฟ สี วัสดุสิ Sนเปลือง เป็ นต้ น โดยทําการเช็คราคาวัตถุดิบจากคู่ค้า 3-5 ราย ทีJผ่านเกณฑ์เบื Sองต้ นในการสังJ ซื Sอแต่ละคราว สําหรับวัสดุอปุ กรณ์แต่ละประเภท อาทิ ยีJห้อทีJจําหน่าย (กรณีทีJลกู ค้ ากําหนดยีJห้อเอง) คุณภาพของ วัสดุอุปกรณ์ ปริ มาณทีJสามารถผลิตและจัดส่งได้ เป็ นต้ น เพืJอให้ เสนอราคาและนําใบเสนอราคา


109

เปรี ยบเทียบเงืJอนไขทางการค้ า อาทิ ยีJห้อ คุณภาพ ราคา ส่วนลด และระยะเวลาการจัดส่ง เป็ นต้ น ก่อนพิจารณาคัดเลือกและทําข้ อตกลงการสังJ ซื Sอวัสดุอปุ กรณ์ บริ ษัทฯ จะมีการประเมินคูค่ ้ าทุกๆ 6 เดือน โดยประเมินจากประวัติการจัดส่งสินค้ าทีJได้ บนั ทึก ไว้ ประจําทุกเดือน ทังนี S Sบริ ษัทฯ มีการกําหนดนโยบายให้ ฝ่ายจัดซื Sอสรรหาคูค่ ้ ารายใหม่ๆ เข้ ามาใน ทะเบียนรายชืJอคูค่ ้ า (Vendor list)เดือนละประมาณ2 รายสําหรับทุกๆ กลุม่ วัสดุอปุ กรณ์ คู่ค้าต่างประเทศ: บริ ษัทฯ จะติดต่อซื Sอวัสดุอุปกรณ์ จากคู่ค้าต่างประเทศสําหรับวัสดุอุปกรณ์พิเศษ บริ ษัทฯ มีนโยบายทีJจะติดต่อสังJ ซือS โดยตรงจากผู้ผลิตหรื อผู้จัดจํ าหน่ายสําหรั บวัสดุอุปกรณ์ แต่ละ ประเภทยกเว้ น วัสดุอปุ กรณ์บางรายการทีJมีสญ ั ญาความร่ วมมือทางธุรกิจกับพันธมิตรต่างประเทศอยู่ แล้ ว ตารางแสดงมูลค่าและสัดส่วนการซื Sอวัตถุดิบในประเทศและต่างประเทศ ปี 2557 - 2559 ยอดสั$งซือD วัตถุดิบ

2557 2558 2559 ล้ านบาท ร้ อยละ ล้ านบาท ร้ อยละ ล้ านบาท ร้ อยละ ภายในประเทศ 888.54 80.26 574.07 79.49 510.00 71.11% ต่างประเทศ 218.58 19.74 148.08 20.51 207.22 28.89% รวม 1,107.12 100.00 722.15 100.00 717.22 100 ด้ านการจัดจ้ าง บริ ษั ท ฯ มี ก ารจัด จ้ างบุค ลากรหรื อ ผู้รั บ เหมาในงานกลึง โลหะ งานตัด โลหะ และงานพับ โลหะ เพืJ อ ให้ ไ ด้ ส่วนประกอบตามขนาดและรูปแบบทีJต้องการใช้ ในแต่ละผลิตภัณฑ์ หรื อจัดจ้ างผู้รับเหมางานพ่นทรายเคลือบสีผลิตภัณฑ์ ซึงJ ส่วนใหญ่จะเป็ นงานทีJไม่ต้องอาศัยทักษะมาก โดยมีวตั ถุประสงค์เพืJอให้ บคุ ลากรฝ่ ายผลิตสามารถจัดการด้ านการผลิตทีJ ต้ องใช้ ทกั ษะและประสบการณ์ ได้ อย่างเต็มประสิทธิ ภาพ และสามารถทําให้ กระบวนการผลิตทําควบคู่กันไปได้ ในเวลา เดียวกัน ซึงJ จะช่วยลดระยะเวลาการผลิตได้ ระดับหนึงJ หากในกระบวนการผลิตมีความจําเป็ นต้ องจัดจ้ างบุคลากรหรื อผู้รับเหมาภายนอก ฝ่ ายจัดซื Sอจะติดต่อไปยัง ผู้รับเหมา 2-3 ราย ทีJผา่ นเกณฑ์เบื Sองต้ นในการสังJ จ้ างแต่ละคราวสําหรับแต่ละประเภทงานจัดจ้ าง เพืJอให้ เสนอบริ การมา และนําใบเสนอบริ การมาเปรี ยบเทียบเงืJอนไขทางการค้ า อาทิ ราคา ส่วนลด ความพร้ อมของทีมงาน เป็ นต้ น ก่อนทีJฝ่าย จัดซื Sอจะพิจารณาคัดเลือกและทําข้ อตกลงการสังJ จ้ างงานบริ การดังกล่าว ทังนี S Sบริ ษัทมีการประเมินผลงานของผู้รับเหมา อย่างต่อเนืJองเช่นเดียวกันกับคูค่ ้ าทีJเป็ นผู้จําหน่ายวัสดุอปุ กรณ์ให้ แก่บริ ษัทฯ ผลกระทบต่อสิงJ แวดล้ อม จากปี 2553 ถึ งปั จ จุบัน บริ ษั ท ไม่มีข้ อ ร้ องเรี ยนเรืJ อ งสิJง แวดล้ อ มจากชุมชนทีJอ ยู่ร อบบริ ษัท โดยบริ ษั ท ฯ ให้ ความสําคัญกับ ผลกระทบจากกระบวนการผลิตเป็ นอย่า งมาก โดยบริ ษั ทฯ ได้ กํา หนดแนวทางการจัด การเกีJ ยวกับ สิJงแวดล้ อมภายในบริ เวณโรงงาน อาทิ การใช้ ระบบขจัดฝุ่ นละอองสีเพืJอไม่ก่อความเดือดร้ อนแก่ผ้ ูอาศัยในบริ เวณทีJอยู่ ใกล้ เคียงโรงงาน ทังนี S S เพืJอลดผลกระทบทางด้ านสิJงแวดล้ อมทีJอาจเกิดขึ Sนกับพนักงานและชุมชนข้ างเคียงโรงงาน รวมทังS บริ ษัทฯ ได้ เปิ ดช่องทางรับข้ อร้ องเรี ยนและคําแนะนําผ่าน Facebook อีกทางหนึงJ ด้ วย


110

2.5 ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการของบริษัทย่ อย บริ ษัท ช.ทวี ทวี เทอร์ โมเทค จํากัด(“CTV-TMT”) ประกอบธุรกิจออกแบบ ผลิต และติดตังตู S ้ บรรทุกไฟเบอร์ กลาส นํ Sาหนักเบา สําหรับรถขนส่งสินค้ าทังตู S ้ แห้ ง (ไม่ติดเครืJ องทําความเย็น) และตู้เย็น อาหารสดและแห้ ง เพืJอรักษาคุณภาพ สินค้ า อาทิ พืช ผัก ผลไม้ เนื Sอสัตว์ สัตว์ทะเล เบเกอรีJ นม นํ Sาแข็ง เป็ นต้ น รวมทังสามารถนํ S าไปประยุกต์ใช้ ขนส่งสินค้ า ประเภทอืJน อาทิ การขนส่งดอกไม้ สมุนไพร ยารักษาโรค โลหิต และสารเคมีบางชนิด เป็ นต้ น โดยมีหลักการว่าต้ องทําการ รักษาคุคุณภาพของสินค้ าด้ วยการควบคุมอุณหภูมิจากต้ นทางจนถึงปลายทางให้ อยูใ่ นสภาพเดิม ด้ วยเทคโนโลยีผนังแซน วิชแบบขึ Sนรูปเป็ นชิ Sนเดียว (Sandwich Sandwich GRP) เสริ มด้ วยโครงสร้ างไฟเบอร์ กลาสซึงJ ทําให้ ฉนวนกันความร้ อนทํางานได้ อย่าง เต็มประสิทธิภาพ ป้องกันนํ SารัJวซึม รักษารูปทรง ยืดอายุการใช้ การใช้ งานได้ ยาวนานกว่า และทําให้ รถทีตJ ิดตังตู S ้ ของ CTV-TMT มี นํ Sาหนักเบากว่ารถทีตJ ิดตังตู S ้ ของคูแ่ ข่งรายอืJนๆ ซึงJ ผนังตู้ผลิตจากวัสดุประเภทอืJนๆ ถึง 35% - 40% แต่มีความแข็งแรง มากกว่า ด้ วยเทคโนโลยีเฉพาะในการเสริ มความแข็งแรงภายในเป็ นพิเศษ อุปกรณ์ตา่ งๆ ทีJเป็ นส่วนประกอบก็ วนประกอบก็มีมาตรฐาน ภายในตู้ยงั สามารถติดตังอุ S ปกรณ์พิเศษเพิJมเติม (Double Deck) เพืJอแยกบรรทุกพาเลท เป็ นแบบ 2 ชันได้ S Jumbo Box Trailers ผลิตสําหรับติดตังบน S Chassis ทังแบบ S 2 เพลา และ 3 เพลา ทังนี S S เทคโนโลยีผนังแซนวิชแบบขึ Sนรูปเป็ นชิ Sนเดียวของ CTV-TMT ซึงได้ งJ ได้ ซื SอความเชีJยวชาญเทคโนโลยีดงั กล่าว จากเจ้ าของเทคโนโลยีชาวฝรัJงเศสเป็ นทีJเรี ยบร้ อยแล้ ว ปั จจุบนั CTV-TMT ถือเป็ นผู้ผลิตรายเดียวในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ทีJสามารถผลิตผนังไฟเบอร์ กลาสนํ Sาหนักเบาความยาวต่อเนืJองสูงสุด 15 เมตร ซึงJ รถบรรทุกทีJ CTV-TMT ให้ บริ บริ การติดตังผนั S งไฟเบอร์ กลาสอยูใ่ นปั จจุบนั มีหลายประเภท อาทิ รถปิ กอัพ รถบรรทุก 6 ล้ อ รถบรรทุก 8 ล้ อ รถบรรทุก 10 ล้ อ รถกึJงพ่วง รถพ่วง และตู้บรรทุกไฟเบอร์ กลาสขนาดใหญ่ เป็ นต้ น ภาพตัวอย่างผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทย่อย


111

12.6 การตลาดและภาวะการแข่ งขันของบริษัทย่ อย 12.6.1 การตลาด 1) กลยุทธ์ ด้านสินค้ าหรือผลิตภัณฑ์ (Product) บริ ษัทย่อยมุง่ เน้ นพัฒนาผลิตภัณฑ์เพืJอให้ ได้ คณ ุ ภาพ และมาตรฐาน เพืJอตอบสนองความต้ องการของลูกค้ า ซึงJ ผลิตภัณฑ์ของบริษัทย่อยจัดว่าเป็ นผลิตภัณฑ์ทีJมีความแตกต่างจากผู้ผลิตรายอืJน อาทิ ความทันสมัย มีนํ Sาหนักเบา มี ความคงทน และง่ายต่อการซ่อมแซม เป็ นต้ น ปั จจุบนั บริ ษัทย่อยสามารถผลิตผนังไฟเบอร์ กลาสแบบแซนวิชขึ Sนรูปชิ Sนเดียว (Sandwich GRP) โดย สามารถผลิตได้ ความยาวต่อเนืJองสูงสุดถึง 15 เมตรซึงJ ถือเป็ นผู้ผลิตรายเดียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2) กลยุทธ์ ด้านราคา (Price) บริ ษัทย่อยมีการกําหนดราคาขาย โดยพิจารณาราคาจาก Price List ตามรุ่นและแบบในแคตตาล๊ อค ซึงJ ราคาทีกJ ําหนดใน PriceList จะมีการพิจารณาปรับปรุงให้ เป็ นราคาล่าสุดอ้ างอิงตามต้ นทุนการผลิตจริ งในแต่ละช่วงเวลา กรณีลกู ค้ าต้ องการติดตังอุ S ปกรณ์เสริ มพิเศษอืJนๆ ก็จะมีการบวกเพิJมราคาสําหรับอุปกรณ์เสริ มดังกล่าว ซึงJ ทางบริ ษัทย่อย กําหนดราคาผลิตภัณฑ์ในอัตราทีJสามารถแข่งขันได้ และสอดคล้ องกับสภาวะตลาดเช่นกัน 3) กลยุทธ์ ด้านช่ องทางการจัดจําหน่ าย (Place) บริ ษัทย่อยเน้ นการจําหน่ายสินค้ าผ่าน 3 ช่องทางหลัก ดังนี S 1. การขายตรง (Direct Sale) โดยใช้ กลยุทธ์ทางการตลาดเชิงรุกเพืJอเข้ าถึงกลุม่ ลูกค้ าโดยตรงจากทีม ขาย 2. ลูกค้ าทีJซื Sอผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทย่อยเป็ นผู้แนะนําลูกค้ ารายใหม่ๆ ให้ กบั บริ ษัท 3. บริ ษัทผู้จดั จําหน่ายหัวรถลากจูงเป็ นผู้แนะนําลูกค้ าให้ มาติดตังตู S ้ กบั บริ ษัทย่อยโดยตรง 4) กลยุทธ์ ด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ (Promotion) บริ ษัทย่อยให้ ความสําคัญกับการประชาสัมพันธ์สนิ ค้ าของบริษัทไปยังกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมาย ดังนี S 1. บริ ษัทเน้ นการให้ บริ การทีJเป็ นกันเอง เพืJอสร้ างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ลูกค้ า โดยเฉพาะอย่างยิJงการ ให้ บริ การหลังการขาย อาทิ การให้ คําปรึกษาเกีJยวกับการใช้ งาน และการซ่อมบํารุง เป็ นต้ น 2. บริ ษัทมีการออกบูธงานแสดงสินค้ าต่างๆ อาทิ งาน ThaiFexWorld of food ASIA 2012 ทีJ อิม แพ็ค เมืองทองธานี เป็ นต้ น 3. บริ ษัทฯ ทํากิจกรรมเข้ าเยีJยมลูกค้ า ตามกิจกรรมต่างๆ ของลูกค้ า และตามตารางการเยีJยมลูกค้ า ประจําปี ของบริ ษัทฯ รวมทังยั S งเข้ าร่ วมกิจกรรมกับลูกค้ า เช่น กิจกรรม CSR กิจกรรมทําบุญ และ งานปี ใหม่ เป็ นต้ น 2.6.2 กลุ่มลูกค้ าเป้าหมาย กลุม่ ลูกค้ าเป้าหมายของบริษัทย่อยส่วนใหญ่เป็ นกลุม่ ลูกค้ าทีJใกล้ เคียงกับกลุม่ ลูกค้ าของบริ ษัทฯ เนืJองจากลูกค้ า ทีJสงัJ ซื Sอผลิตภัณฑ์สว่ นใหญ่เป็ นผู้ประกอบการทีJทําธุรกิจขนส่งสินค้ าทีJต้องการรักษาคุณภาพสินค้ า ซึงJ บริ ษัทย่อยจะผลิต ตามคําสังJ ซื Sอของลูกค้ า (Made to Order) และมีการจําหน่ายสินค้ าให้ กบั ลูกค้ าในประเทศทังหมดบริ S ษัทย่อยมีแผนการ


112

ตลาดทีJจะทําการหาลูกค้ าในต่างประเทศ โดยเริJ มจากฐานลูกค้ าเดิมของบริษัทและลูกค้ าจากบริ ษัททีJเป็ นบริ ษัทใหญ่ของ ลูกค้ าในประเทศไทย รวมทังการร่ S วมออกงานแสดงสินค้ าในต่างประเทศด้ วย 2.6.3 ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่ งขัน ภาวะอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์หลักของบริ ษัทย่อย คือ ตู้ไฟเบอร์ กลาสนํ Sาหนักเบาสําหรับรถบรรทุก รถพ่วง-กึJงพ่วงประเภทต่างๆ ซึงJ ถือว่าอยูใ่ นกลุม่ ผลิตภัณฑ์มาตรฐานของบริ ษัทฯ ข้ อมูลภาวะอุตสาหกรรมสามารถพิจารณาได้ จากข้ อมูลกลุม่ ธุรกิจผลิตตู้ บรรทุก (Container) สําหรับรถบรรทุก และรถพ่วง-กึJงพ่วง นอกจากนี S กลุม่ ลูกค้ าส่วนใหญ่จะเป็ นผู้ประกอบการธุรกิจขนส่ง และโลจิสติกส์ ดังนันในการวิ S เคราะห์ภาวะอุตสาหกรรมของบริษัทย่อยจะแบ่งออกเป็ น 2 อุตสาหกรรม คือ ธุรกิจผลิตตู้ บรรทุก และธุรกิจโลจิสติกส์ โดยมีรายละเอียดดังนี S ธุรกิจผลิตตู้บรรทุก (Container) สําหรับรถบรรทุก และรถพ่ วง-กึ$งพ่ วง ตารางแสดงมูลค่าตลาดรวมของตู้บรรทุกปี 2558-2559

จํานวนตู้บรรทุก (ตู้) สัดส่วนตามประเภท ตู้ (%) มูลค่าตลาดรวม (ล้ านบาท)

ยอดจดทะเบียนรถตู้บรรทุก ลักษณะ 2 ปี 2558 จํานวน5,989คัน

ยอดจดทะเบียนรถตู้บรรทุก ลักษณะ 2 ปี 2559 จํานวน 4,330 คัน

ตู้รวม

ตู้แห้ ง

ตู้เย็น

ตู้รวม

ตู้แห้ ง

ตู้เย็น

5,989

4,196

1,796

4,330

3,031

1,299

100%

70%

30%

100%

70%

30%

1,270.18

889.13

381.05

1,756.83 1,075.22 681.61 ทีJมา : ข้ อมูลจากกรมการขนส่งทางบก รวบรวมโดยบริ ษัทฯ

เปรี ยบเทียบ การเปลียJ นแปลง จํานวนตู้ รวม % -1,659

-29.70%

ในปี 2559 ธุรกิจรถตู้บรรทุก (Container) มีปริ มาณการผลิตรวม 4,330 ตู้ ปรั บตัวลดลงจากปี 2558 จํานวน 1,659 ตู้ หรื อคิดเป็ นอัตราการลดลงร้ อยละ 25.70 ของปริ มาณการผลิตของปี ก่อนหน้ า มูลค่าตลาดรวมในปี 2559 มี ประมาณ 1,270.18 ล้ านบาท ประกอบด้ วยตู้บรรทุกแห้ งจํานวน 3,031 ตู้ มูลค่าตลาด 889.13 ล้ านบาท และตู้บรรทุกเย็น จํานวน 1,299 ตู้ มูลค่าตลาด 381.05 ล้ านบาท ผู้บริ หารบริ ษัทฯ ประเมินว่าสาเหตุทีJปริ มาณการผลิตตู้บรรทุกในปี 2559 ลดลงเนืJองจากปั จจัยด้ านความไม่มนัJ คงทางเศรษฐกิจ ปั จจัยจากสินค้ าจากประเทศจีนเข้ ามาทุ่มตลาดทําให้ ราคาเสนอ ขายตํJากว่าบริ ษัทมากและปี 2559 มีผลจากบริ ษัทแม่ (CHO) ถูกยกเลิกการทําสัญญาประมูลขายรถเมล์ NGV ให้ กบั ขส มก. ส่งผลให้ กําลังการผลิตทีJสาํ รองไว้ สาํ หรับโครงการดังกล่าวสูญหายไป และรับคําสังJ ซื Sอจากลูกค้ าได้ ช้า


113

การแข่ งขัน คูแ่ ข่งขันทางธุรกิจของบริ ษัทย่อย ประกอบด้ วย คู่แข่ งขันทางธุรกิจ 1. บริ ษัท ลัมเบอเร่ ท์ เอเชีย จํากัด 2. บริ ษัท รุ จโอฬาร จํากัด 3. บริ ษัท แครีJ บอย มาร์ เก็ตติ Sง จํากัด

ประเทศ ไทย ไทย ไทย

ประเภทผลิตภัณฑ์ ผลิต และติดตังผนั S งตู้ไฟเบอร์ กลาส ผลิต และติดตังผนั S งตู้สแตนเลส ผลิต และติดตังผนั S งตู้ไฟเบอร์ กลาส

12.7 การจัดหาผลิตภัณฑ์ และบริการของบริษัทย่ อย ด้ านการผลิต บริ ษัทย่อยรับจ้ างผลิตตามคําสังJ ซื Sอลูกค้ า (Made to order) ภายใต้ เครืJ องหมายการค้ าของบริ ษัทย่อย โดย ใช้ เทคโนโลยีทีJลํ Sาสมัยในการผลิตผนังห้ องเย็น ด้ วยเทคโนโลยีผนังแซนวิชแบบขึ Sนรูปเป็ นชิ Sนเดียว (Sandwich GRP) เสริ ม ด้ วยโครงสร้ างโลหะรวมกับไฟเบอร์ กลาส บริ ษัทย่อยมีโรงงานตังอยู S ท่ ีJจงั หวัดขอนแก่น บนพื SนทีJในโรงงานเดียวกันกับของบริษัทฯ มีเครืJ องจักรในการ ผลิตทีJทนั สมัยและในปี 2556 ได้ ทําการขยายกําลังการผลิตอีก 1 สายการผลิต ในขันตอนการผลิ S ต จะมีการวางแผนและ บริ หารการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ และให้ ความสําคัญในการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์เช่นเดียวกัน กับบริ ษัทฯ ในส่วนของขันตอนการจั S ดหาผลิตภัณฑ์ และขันตอนในการผลิ S ต บริ ษัทย่อยมีแผนผังขันตอนเหมื S อนกับของ บริ ษัทฯ ทุกประการ ด้ านการจัดซือD บริ ษัทย่อยได้ วา่ จ้ างบริ ษัทฯ ในการบริ หารงานจัดซื Sอจัดจ้ างในประเทศ สําหรับการจัดซื Sอต่างประเทศจะมี พนักงานของบริ ษัทย่อยเอง ซึงJ วัตถุดิบหลักทีใJ ช้ ในการผลิต บริ ษัทย่อยทําการสังJ ซื Sอโดยตรงจากผู้ผลิตและผู้จดั จําหน่ายทังS ในประเทศและต่างประเทศ อย่างไรก็ตามบริ ษัทย่อยไม่มีการพึงJ พิงคูค่ ้ ารายใดรายหนึงJ อย่างมีนยั สําคัญ ด้ านการจัดจ้ าง ในบางกรณี ลูกค้ าสังJ ซื Sอตู้ไฟเบอร์ กลาสจากบริ ษัทย่อย แต่จะต้ องมีการประกอบและติดตังตู S ้ ไฟเบอร์ กลาสเชืJอม เข้ ากับแชสซีของรถบรรทุกหรื อรถพ่วง-กึJงพ่วง ทีJลกู ค้ าจัดหามาเอง หรื อขอสังJ ซื Sอแบบสําเร็ จรูปเป็ นรถพร้ อมตู้ไฟเบอร์ กลาส บริ ษัทย่อยจะทําใบสังJ งานมายังบริ ษัทฯ เพืJอให้ เป็ นผู้ประกอบและติดตังให้ S


114

ผลกระทบต่อสิงJ แวดล้ อม บริ ษัทย่อยให้ ความสําคัญกับผลกระทบจากกระบวนการผลิตเป็ นอย่างมาก ซึงJ อาจก่อให้ เกิดมลภาวะเรืJ อง กลินJ , ฝุ่ น และกากสารเคมี โดยบริ ษัทย่อยได้ มขี นตอนในการป ัS ้ องกันผลกระทบ ดังนี S (ก) มลภาวะเรืJ องกลินJ : บริ ษัทใช้ พดั ลมดูดอากาศผ่านม่านสเปรย์นํ Sา (ข) มลภาวะเรืJ องฝุ่ น : บริ ษัทจัดเก็บผ่านม่านสเปรย์นํ Sา และส่งให้ ผ้ รู ับเหมาดําเนินการทําลาย (ค) มลภาวะเรืJ องกากสารเคมี : บริ ษัทจัดเก็บ และส่งให้ ผ้ รู ับเหมาดําเนินการทําลาย

12.8 งานที$ยังไม่ ได้ ส่งมอบ จากการทีJบริ ษัทและบริษัทย่อย มีการรับงานตามคําสังJ ซื Sอของลูกค้ า และมีงานทีJอยูร่ ะหว่างผลิต ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 ของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย มีมลู ค่ารวมประมาณ 718.06 ล้ านบาท ประกอบด้ วย งานทีJยงั ไม่สง่ มอบของ บริ ษัทฯ 715.79 ล้ านบาท และงานของบริษัทย่อย 8.60 ล้ านบาท โดยมีรายละเอียดลูกค้ าทีJมีมลู ค่าตังแต่ S ร้อยละ 10 ขึ Sนไป ดังนี S ลําดับ

คู่สัญญา

โครงการ

วันที$ลงนามใน ระยะเวลาส่ งมอบ สัญญา ตามสัญญา

มูลค่ า มูลค่ า ตาม คงเหลือ ณ สัญญา 31 ธ.ค. 59

งานที$ยงั ไม่ ส่งมอบ-บริษัทฯ รถ KKU Smart Transit วิJง 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น ภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น งานที$ยงั ไม่ ส่งมอบ-บริษัทย่ อย 1 ไม่มีลกู ค้ ารายใดมีมลู ค่าตังแต่ S ร้อยละ 10 ขึ Sนไป

21 ส.ค.58

30 ก.ย.63

192.50

106.34


115


116

13. ข้ อมูลหลักทรั พย์ และผู้ถือหุ้น 13.1 หลักทรั พย์ ของบริษัท ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯ มีทนุ จดทะเบียน 296,972,494.50 บาท (สองร้ อยเก้ าสิบหกล้ านเก้ าแสนเจ็ด หมืJนสองพันสีJร้อยเก้ าสิบสีJบาทห้ าสิบสตางค์) แบ่งเป็ นหุ้นสามัญจํานวน 1,182,941,773 หุ้น (หนึJงพันหนึJงร้ อยแปดสิบ สองล้ านเก้ าแสนสีJหมืJนหนึJงพันเจ็ดร้ อยเจ็ดสิบสามหุ้น) มูลค่าหุ้นทีJตราไว้ ห้ นุ ละ 0.25 บาท (ยีJสิบห้ าสตางค์) โดยมีทนุ ทีJ เรี ยกชําระแล้ ว 295,735,443.25 บาท (สองร้ อยเก้ าสิบห้ าล้ านเจ็ดแสนสามหมืJนห้ าพันสีรJ ้ อยสีสJ บิ สามบาทยีJสบิ ห้ าสตางค์)

13.2 ผู้ถือหุ้น รายชืJอผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ ณ วันทีJ 30 ธันวาคม 2559 มีดงั นี S ลําดับ ผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ จํานวนหุ้น (หุ้น) % หุ้น 1. กลุม่ นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย 556,259,730 47.023 487,619,730 41.221 นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย 68,640,000 5.802 นางวาสนา ทวีแสงสกุลไทย 2. นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย 39,344,360 3.326 3. บริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด 31,457,990 2.659 4. นายพุฒิพฒ ั น์ เวศย์วรุตม์ 25,741,975 2.176 5. นายสุรพล ทวีแสงสกุลไทย 22,336,000 1.888 6. นายกิติเมศวร์ เวศย์วรุตม์ 9,762,080 0.825 7. นายมารัตน์ แซ่ลิ Sม 6,984,485 0.590 8. นายสุไชย อัศวปั ญญากุล 5,749,000 0.49 9. นายสันต์ปาล ศิลป์เชาวลา 5,700,000 0.48 10. KALSTAR (S) PTE LTD 5,203,000 0.44 รวมผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ 11 รายแรก 708,538,620 59.90 ผู้ถือหุ้นรายย่อย 7,543 ราย ผู้ถือหุ้นสัญชาติไทย 7,546 ราย ผู้ถือหุ้นสัญชาติตา่ งด้ าว

5 ราย

หมายเหตุ : บริ ษัทไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัดเป็ นบริ ษัทย่อยของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทีJประกอบธุรกิจโดยการออกตรา สาร Non-Voting Depository Receipt (NVDR) ซึงJ เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯเพืJอขายให้ นกั ลงทุนและนําเงินทีJได้ จากการขาย NVDR ไปลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ฯโดยนักลงทุนทีJถือ NVDR จะได้ รับเงินปั น ผลเสมือนผู้ถือหุ้นในบริ ษัทจดทะเบียนแต่ไม่มีสิทธิออกเสียงในทีJประชุมผู้ถือหุ้นทังนี S Sสามารถทราบข้ อมูลนักลงทุน ในบริ ษัทไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัดได้ ในเว็บไซต์ www.set.or.th


117

13.3 การออกหลักทรั พย์ อ$ ืน 1.ข้ อมูลเกี$ยวกับใบสําคัญแสดงสิทธิท$ จี ะซือD หุ้นสามัญเพิ$มทุนของบริษัท ประเภทหลักทรัพย์ : ใบสําคัญแสดงสิทธิทีJจะซื Sอหุ้นสามัญเพิJมทุนของ บริ ษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด (มหาชน) รุ่นทีJ 1 (“ใบสําคัญแสดงสิทธิ” หรื อ “CHO-W1”) ชนิดของใบสําคัญแสดงสิทธิ : ระบุชืJอผู้ถือ และสามารถโอนเปลียJ นมือได้ วันทีJเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียน : วันทีJ 20 พฤศจิกายน 2556 (เริJ มซื SอขายวันทีJ 20 พฤศจิกายน 2556 ) ตลาดรอง : ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ จํานวนหลักทรัพย์ทีJออกเสนอ : 360,000,000 หน่วย ขาย ราคาเสนอขาย : หน่วยละ 0.00 บาท (ศูนย์บาท) จัดสรรให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นเดิมตามสัดส่วนในอัตรา 2 หุ้นเดิม : 1 หน่วยใบสําคัญ แสดงสิทธิ โดยไม่คิดมูลค่า จํานวนหลักทรัพย์ทีJจดั สรร : 359,899,980 หน่วย จํานวนหุ้นทีJรองรับการใช้ สทิ ธิ : 359,899,980 หุ้น (มูลค่าทีJตราไว้ 0.25 บาทต่อหุ้น) วันทีJออกใบสําคัญแสดงสิทธิ : วันทีJ 28 ตุลาคม 2556 อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ : 3 ปี นับจากวันทีJออกใบสําคัญแสดงสิทธิ วั น ครบกํ า หนดอายุ ใ บสํ า คั ญ : วันทีJ 27 ตุลาคม 2559 และเป็ นวันใช้ สิทธิ ครังS สุดท้ าย (ใบสําคัญแสดงสิทธิจะ แสดงสิทธิ พ้ นสภาพจากการเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในวันถัดไป) สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิ

ระยะเวลาใช้ สทิ ธิ

: อัตราการใช้ สทิ ธิแปลงสภาพ** ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสทิ ธิซื Sอหุ้นสามัญเพิJมทุนของบริ ษัทได้ 1 หุ้น ราคาใช้ สทิ ธิแปลงสภาพ** 0.50 บาทต่อหุ้น ** โดยอัตราการใช้ สทิ ธิและราคาใช้ สทิ ธิอาจมีการเปลีJยนแปลงในภายหลังตาม เงืJอนไขการปรับสิทธิ ** (ศึกษารายละเอียดได้ จากข้ อกําหนดสิทธิ บนเว็บไซต์ ของบริ ษัท หรื อเว็บไซต์ของตลาด) : กําหนดวันใช้ สิทธิครังS แรกเมืJอวันทีJ 30 ธันวาคม 2557 และใช้ สิทธิ ได้ ทกุ วันทํา การสุด ท้ า ยของไตรมาสถัด ๆไป โดยกํ า หนดวัน ใช้ สิท ธิ ค รั งS สุด ท้ า ยวัน ทีJ 27 ตุลาคม 2559


118

2. รายละเอียดการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิ ผู้ลงทุนสัญชาติไทย นิติบุคคล บุคคลธรรมดา จํานวนราย จํานวนหุ้นทีJได้ รับจัดสรร สัดส่วนทีJได้ รับจัดสรร

ผู้ลงทุนต่ างประเทศ นิติบุคคล บุคคลธรรมดา

รวม

4

3,242

4

2

3,252

2,097,800

339,782,580

17,854,500

165,100

359,899,980

0.58%

94.41%

4.96%

0.05%

100.00%

หมายเหตุ: ข้ อมูลการจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิ ณ วันทีJ 28 ตุลาคม 2556

13.4 การถือครองหลักทรัพย์ ของกรรมการ รายงานการเปลียJ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการบริ ษัทและผู้บริ หาร ระหว่างปี 2558-2559 ดังนี S ลําดับ

กรรมการบริษัทและผู้บริหาร

หุ้นสามัญ CHO (จํานวนหุ้น) ณ วันทีJ 30 ธ.ค. 58 % หุ้น ณ วันทีJ 30 ธ.ค. 59 % หุ้น

8.

กรรมการบริษัท นางเพ็ญพิมล เวศย์วรุตม์

9.

คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ --ภาวะ นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย 287,507,200 34.870

10.

11.

12.

คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ นายศิริวฒ ั น์ ทวีแสงสกุลไทย คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ นายอนุสรณ์ ธรรมใจ คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ

300,000

0.036

330,000

0.028

--

--

487,619,730

หมายเหตุ การเปลียJ นแปลง ได้ ห้ นุ จากการปั นผล 30,000 หุ้น

41.221 - ได้ จากการใช้ สทิ ธิ CHO-W1 78,657,810 หุ้น - ซื SอเพิJม 1,320,000 หุ้น - ได้ ห้ นุ จากการปั นผล 37,134,720 หุ้น --

--

--

--

35,767,600

4.338

39,344,360

3.326

--

--

--

--

---

---

---

---

---

---

---

---

ได้ ห้ นุ จากการปั นผล 3,576,760 หุ้น


119

ลําดับ

กรรมการบริษัทและผู้บริหาร

ภาวะ 13. นายอาษา ประทีปเสน คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ 14. นายชัชวาล เตรี ยมวิจารณ์กลุ คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ ผู้บริหาร 1. นางสมนึก แสงอินทร์

หุ้นสามัญ CHO (จํานวนหุ้น) ณ วันทีJ 30 ธ.ค. 58 % หุ้น ณ วันทีJ 30 ธ.ค. 59 % หุ้น

หมายเหตุ การเปลียJ นแปลง

---

---

---

---

---

---

---

---

40,000

0.005

71,720

0.006

คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ 2. นายนิติธร ดีอําไพ

--

--

--

--

--

--

7,150

0.0006 ได้ รับโอน 6,500 หุ้น และ ได้ ห้ นุ จากการปั นผล 650 หุ้น

คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ 3. นายประสบสุข บุญขวัญ

--

--

--

--

12,490

0.001

คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ 4. Mr.Sven Markus Gaber คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ 5. นางสาวภัทริ นทร์ อนุกลู อนันต์ ชัย

--

--

--

--

---

---

---

---

--

--

122,650

0.010

คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ 6. นายนพรัตน์ แสงสว่าง

--

--

--

--

--

--

132,330

0.011

ซื SอเพิJม 25,200 หุ้น และ ได้ ห้ นุ จากการปั นผล 6,520 หุ้น

ได้ ห้ นุ จากการปั นผล 12,490 หุ้น

ได้ รับโอน 111,500 หุ้น และได้ ห้ นุ จากการปั นผล 11,150 หุ้น

ได้ รับโอน 120,300 หุ้น และได้ ห้ นุ จากการปั นผล 12,030 หุ้น


120

ลําดับ

กรรมการบริษัทและผู้บริหาร

คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ 7. นายอภิชยั ชุมศรี

หุ้นสามัญ CHO (จํานวนหุ้น) ณ วันทีJ 30 ธ.ค. 58 % หุ้น ณ วันทีJ 30 ธ.ค. 59 % หุ้น

--

--

--

--

6,000

0.007

54,360

0.005

คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ 8. นายนิรุติ สุมงคล

--

--

--

--

--

--

182,820

0.015

คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ

--

--

38,610

12. นายผดุงเดช เอื Sอสุขกุล

--

--

6,710

คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ 13. นายบํารุง ชินสมบัติ คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ 14. นายศักริ นทร์ อุน่ นิJม

--

--

330,000

---

---

---

---

25,000

0.003

120,560

0.010

คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ 15. นายฉัตรชัย กันตวิรุฒ

--

--

--

--

--

--

2,640

คูส่ มรสและบุตรทีJยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ

--

--

--

หมายเหตุ การเปลียJ นแปลง

ซื Sอ/ ขาย และได้ ห้ นุ จาก การปั นผล 11,760 หุ้น

ได้ รับโอน 166,200 หุ้น และได้ ห้ นุ จากการปั นผล 16,620 หุ้น 0.003 ได้ รับโอน 35,100 หุ้น และได้ ห้ นุ จากการปั นผล 3,510 หุ้น 0.0006 ได้ รับโอน 6,100 หุ้น และ ได้ ห้ นุ จากการปั นผล 610 หุ้น 0.028 ซื Sอ

ได้ รับโอน 84,600 หุ้น และได้ ห้ นุ จากการปั นผล 10,960 หุ้น

0.0002 ได้ รับโอน 2,400 หุ้น และ ได้ ห้ นุ จากการปั นผล 240 หุ้น --

หมายเหตุ: ที #ประชุมคณะกรรมการบริ หาร ครั8งที # 12/2559 เมื #อวันที # 30 ธันวาคม 2559 มี มติ แต่งตัง8 นายฉัตรชัย กันตวิ รุฒ และที #ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทรับทราบในที #ประชุม ครั8งที # 1/2560 เมื #อวันที # 20 มกราคม 2560 โดยมี ผลให้


121

เป็ นกรรมการบริ หารเมื #อ วันที # 1 มกราคม 2560 แทนนายทศพล ผลิ ตาภรณ์ ที #พ้นจากตํ าแหน่งเมื #อ วันที # 20 ตุลาคม 2559 โดยการลาออกจากบริ ษทั

13.5 นโยบายการจ่ ายเงินปั นผล บริ ษัทฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปั นผลในแต่ละปี ในอัตราไม่น้อยกว่าร้ อยละ 40 ของกําไรสุทธิทีJเหลือหลังจากหัก เงินสํารองต่างๆ ทุกประเภท ตามทีJได้ กําหนดไว้ ในข้ อบังคับบริ ษัท และตามกฎหมาย หากไม่มีเหตุจําเป็ นอืJนใดและการ จ่ายเงินปั นผลนันไม่ S มีผลกระทบต่อการดําเนินงานปกติของบริ ษัทฯ อย่างมีนยั สําคัญ ทังนี S S การจ่ายเงินปั นผลดังกล่าวอาจมีการเปลีJยนแปลงได้ โดยจะขึนS อยู่กับแผนการลงทุน ความจําเป็ น และ ความเหมาะสมอืJนๆ ในอนาคต โดยอยูภ่ ายใต้ เงืJอนไขทีJการดําเนินการดังกล่าวจะต้ องก่อให้ เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผู้ถือหุ้น อาทิ ใช้ เป็ นเงินลงทุนเพืJอขยายธุรกิจของบริ ษัทฯ ใช้ เป็ นทุนสํารองสําหรับการชําระคืนเงินกู้หรื อกรณีมีการเปลีJยนแปลง สภาวะตลาดซึงJ อาจมีผลกระทบต่อกระแสเงินสดของบริ ษัทฯ ในอนาคต โดยให้ อํานาจคณะกรรมการบริ ษัทเป็ นผู้พิจารณา ทังนี S Sมติของคณะกรรมการบริ ษัททีJอนุมตั ิให้ จ่ายเงินปั นผลจะต้ องถูกนําเสนอเพืJอขออนุมตั ิจากทีJประชุมผู้ถือหุ้น เว้ นแต่เป็ น การจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลซึงJ คณะกรรมการบริ ษัทมีอํานาจอนุมตั ิให้ จ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลได้ แล้ วให้ รายงานให้ ทีJ ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวต่อไป ในปี 2557 บริ ษัทฯ มีนโยบายการจ่ายเงิ นปั นผลในอัตราไม่น้อยกว่าร้ อยละสีJสิบ (40) ของกําไรสุทธิ ก่อนหัก ค่าใช้ จ่ายเนืJองจากการปฏิบตั ิตามมาตรฐานรายงานทางการเงินฉบับทีJ 2 (ปรับปรุ ง 2557) เรืJ องการจ่ายโดยใช้ ห้ ุนเป็ น เกณฑ์ ทีJเหลือหลังจากหักเงินสํารองต่างๆ ทุกประเภทตามทีJกําหนดไว้ ในข้ อบังคับของบริ ษัท และตามกฎหมาย หากไม่มี เหตุจําเป็ นอืJนใด และการจ่ายเงินปั นผลนันไม่ S มีผลกระทบต่อการดําเนินงานปกติของบริ ษัทฯ อย่างมีนยั สําคัญ การจ่ายเงิ นปั นผลในปี 2558 เป็ นไปตามนโนบายการจ่ายเงิ นปั นผล โดยจ่ายเป็ นหุ้นปั นผลและเป็ นเงิ นสด (จํานวนเงินปั นผลทีJเป็ นเงินสดจะทราบผลหลังจากการใช้ สทิ ธิของ CHO-W1 ณ วันทีJ 31 มีนาคม 2559) โดยมีรายละเอียด ดังนี S 1. ปั นผลเป็ นเงินสด ในอัตรา 0.0058 บาทต่อหุ้น 2. ปั นผลเป็ นหุ้นสามัญเพิJมทุน ในอัตรา 10 หุ้นสามัญเดิม ต่อ 1 หุ้นปั นผล คิดเป็ นอัตราหุ้นปั นผล 0.025 บาทต่อหุ้น 3. รวมเป็ นเงินปั นผลทังสิ S Sน 0.0308 บาทต่อหุ้น การจ่ายเงินปั นผลในปี 2559 ได้ มีมติจากคณะกรรมการบริ ษัท ให้ งดจ่ายเงินปั นผล เนืJองจากบริ ษัทฯ มีผลการ ดําเนินงานปี 2559 ขาดทุน ทังนี S SจะมีผลเมืJอทีJประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี 2560 ในวันทีJ 20 เมษายน 2560 มีมติอนุมตั ิ ประวัติการจ่ายเงินปั นผลเปรี ยบเทียบกับกําไรสุทธิ (งบเฉพาะของบริ ษัท) ปี 2557-2559 รายการ กําไร(ขาดทุน) สุทธิ หลังหักทุนสํารองตามกฎหมาย(งบเฉพาะกิจการ) (ล้านบาท) เงินปั นผลจ่าย อัตราการจ่ายเงินปั นผล

ปี 2557 75.72

ปี 2558 35.50

ปี 2559 (69.99)

(ล้านบาท)

49.00

0

(%)

64.71%

28.28/1 79.68

หมายเหตุ: /1= บริ ษัทจ่ายปั นผลเป็ นเงินสดจํานวน 5.32 ล้ านบาท และจ่ายปั นผลเป็ นหุ้นสามัญเพิJมทุนคิดเป็ นเงินปั นผลจ่าย จํานวน 22.96 ล้ นบาท

N/A


122


123

ความรั บผิดชอบต่ อสังคม บริ ษัทฯได้ ดําเนินการพัฒนาด้ านความรับผิดชอบต่อสังคมมาอย่างต่อเนืJอง โดยคํานึงถึงผู้มีสว่ นได้ สว่ น เสียทุกกลุม่ ด้ วยนโยบาย และปณิธานทีJม่งุ มันJ ว่า เราจะเป็ นผู้นําในการออกแบบ สร้ างสรรค์ ผลิตผสานเทคโนโลยีระดับ โลก เข้ ากับการจัดการอย่างมืออาชีพ ด้ วยองค์ความรู้ทีJเป็ นเอกลักษณ์ เพืJอมุง่ สูค่ วามเป็ นเลิศ สร้ างความเชืJอมันJ ความพึง พอใจต่อลูกค้ า ด้ วยจิตวิญญาณต่ อการพัฒนาเศรษฐกิจ รับผิดชอบต่ อสังคม และสิ$งแวดล้ อม โดยมีเป้าหมายจะนํา สินค้ า คุณภาพ ภายใต้ Brand CHOสูร่ ะดับสากล ด้ วยความภาคภูมิใจ และสร้ างความสุขแก่ผ้ รู ่ วมงาน เพืJอสร้ างเสริ ม อํานาจการแข่งขัน สูก่ ารเป็ นผู้นําด้ านนวัตกรรมเทคโนโลยี ให้ กบั ประเทศไทยด้ วยการนําหลักการความรับผิดชอบต่อสังคม มาเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิขององค์กร

วิสัยทัศน์ CHO 2023 แกร่ ง กล้ า ต่ าง CHO จะเป็ นผู้นําในการออกแบบ สร้ างสรรค์ ผลิต ผสานเทคโนโลยีระดับโลกเข้ ากับการจัดการอย่างมือ อาชีพ ด้ วยองค์ความรู้ ทีJเป็ นเอกลักษณ์ เพืJอมุ่งสู่ความเป็ นเลิศ สร้ างความเชืJอมันJ ความพึงพอใจต่อลูกค้ า ด้ วยจิ ตวิ ญ ญาณทีJ รั บผิดชอบต่อสัง คมและสิJ ง แวดล้ อม โดยมี เป้าหมายจะนํ า สิ นค้ า คุณ ภาพ ภายใต้ Brand CHO สู่ระดับสากล ด้ วยความภาคภูมิใจและสร้ างความสุขแก่ผ้ รู ่ วมงานเพืJอสร้ างเสริ มอํานาจการ แข่งขันสูก่ ารเป็ นผู้นําด้ านนวัตกรรมเทคโนโลยี ให้ กบั ประเทศไทย

พันธกิจ • การสร้ างองค์ความรู้ทีJเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะ CHO และพัฒนาบุคลากร • ขยายการรับรู้และความตระหนักใน Brand พร้ อมทังสร้ S างเพิJมความเชืJอมันJ ให้ กบั Brand CHO • ผลิตสินค้ าทีJเป็ นมิตรต่อสิJงแวดล้ อม, มีความยังJ ยืน, ความปลอดภัย สร้ างความสุขต่อผู้ร่วมงาน และผู้ทีJเกีJยวข้ อง ศึกษาค้ นคว้ าและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่อย่างต่อเนืJอง มีความเป็ นเลิศด้ านการเงิน และการตลาด ได้ รับรางวัล TQA ภายในปี 2018 และได้ รับสิทธิบตั ร/อนุสิทธิบตั ร ไม่น้อยกว่า 5 เรืJ องต่อปี • สร้ างอัตลักษณ์ของคนพันธุ์ CHO • • • •


124

เอกลักษณ์ C = Creativity to drive innovative developments ความคิดสร้ างสรรค์ ด้ านนวัตกรรมและส่งเสริ มความคิด ใหม่ๆทีJเป็ นประโยชน์ตอ่ การพัฒนา

H = High Performance Organization under Good Governance องค์กรสมรรถนะสูงมีระบบการ บริ หารจัดการภายในทีJดี O = One of a kind along with identity of “CHO” species มีเอกลักษณ์เฉพาะ ตามนิยาม คนพันธุ์ CHO

อัตลักษณ์ "แกร่ง กล้ าต่าง" "STRONG, BRAVE AND DIFFERENT".

ทังนี S S บริ ษัทฯ ได้ เปิ ดเผยนโยบายและการดําเนินงานทีJแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิJงแวดล้ อม เพิJมเติมไว้ ในรายงานการพัฒนาเพืJอความยังJ ยืน (Sustainable Report) ประจําปี 2559 ในเนื Sอหาของรายงานได้ คดั เลือก เนื Sอหาตามหลักการกําหนดเนื Sอหา (Materiality Assessment) ของ Global Reporting Initiative (GRI) รุ่ นทีJ 4 ซึJงเป็ น มาตรฐานสากลพร้ อมทังS ได้ เ ปิ ดเผยรายงานการพัฒ นาเพืJ อ ความยัJง ยื น ประจํ า ปี 2559 ในเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ ทีJ www.cho.co.th


125


126

รายงานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริหารความเสี$ยง สรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน ประจําปี 2559 เรี ยน คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ ษัทฯ และท่านผู้ถือหุ้น ตามทีJประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) ครังS ทีJ 6/2557 เมืJอวันทีJ 21 ธันวาคม 2557 มีมติแต่งตังS คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสียJ ง สรรหาและกําหนดค่าตอบแทน (“คณะกรรมการฯ”) เพืJอปฏิบตั ิหน้ าทีJ ส่งเสริ ม สนับสนุน และกํากับดูแลในเรืJ องการกํากับดูแลกิจการทีJดี การบริ หารความเสียJ งทัวJ ทังองค์ S กร การสรรหาและ กําหนดค่าตอบแทนกรรมการบริ ษัทฯและผู้บริ หารสูงสุด ประกอบด้ วยกรรมการอิสระจํานวน 2 ท่านจาก 3 ท่านซึงJ เกินกว่า กึJงหนึงJ และประธานคณะกรรมการฯ เป็ นกรรมการอิสระตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีJดี และตามกฎบัตรของคณะ กรรมการฯ โดยมี นายชัชวาล เตรี ยมวิจารณ์กลุ เป็ นประธานคณะกรรมการฯ นายอาษา ปะทีปเสน และนายศิริวฒ ั น์ ทวี แสงสกุลไทย เป็ นกรรมการฯ ในปี 2559 คณะกรรมการฯ ทังS 3 ท่านและผู้บริ หารระดับสูงของบริ ษัทฯ ได้ มีการประชุมร่วมกัน 5 ครังS เพืJอพิจารณาปฏิบตั ิ หน้ าทีJตามทีJได้ กําหนดไว้ ในกฎบัตรของคณะกรรมการฯ สรุปผลการดําเนินการในแต่ละด้ านดังนี S 1.

ด้ านการกํากับดูแลกิจการทีJดี

1.1 คณะกรรมการฯ ได้ ประเมินการปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีJดีของบริ ษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สรุ ปได้ ว่าในปี 2559 บริ ษัทฯ ได้ ปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีJดีอย่างต่อเนืJองทังS 5 ด้ าน ประกอบด้ วย ด้ านสิทธิของผู้ถือหุ้น ด้ านการปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ด้ านบทบาทของผู้มีสว่ นได้ เสีย ด้ าน การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่งใส และด้ านความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ทังนี S Sบริ ษัทฯ มีการกําหนดนโยบายตาม หลักการกํากับดูแลกิจการทีJดีเรืJ อง การป้องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ การดูแลการใช้ ข้อมูลภายใน การกําหนด ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี และการสร้ างความสัมพันธ์ทีJดีกบั ผู้ลงทุน 1.2 คณะกรรมการฯ ได้ พิ จ ารณานโยบายและแนวปฏิ บัติ ก ารกํ า กับ ดูแ ลกิ จ การทีJ ดี เ รืJ อ งการต่อ ต้ า น คอร์ รัปชันJ และได้ เสนอให้ คณะกรรมการบริ ษัทฯ พิจารณาประกาศเป็ นแนวปฏิบตั ิของผู้บริ หารและพนักงานของบริ ษัทฯทุก ระดับในปี 2559 2.

ด้ านการบริ หารจัดการความเสียJ งหลักของบริ ษัทฯ

2.1 คณะกรรมการฯ ได้ ประเมินการบริ หารจัดการความเสียJ งหลักของบริ ษัทฯ ประกอบด้ วยความเสีJยงด้ าน กลยุทธ์ ความเสียJ งด้ านการเงิน ความเสียJ งด้ านการบริ หารจัดการและปฏิบตั ิการ ความเสียJ งด้ านกฎหมายและระเบียบ ข้ อ บัง คับ รวมถึ ง ความเสีJย งจากข้ อ บัง คับ ทีJ เ กีJ ย วข้ อ งกับ สิJ ง แวดล้ อ ม ภาพลัก ษณ์ แ ละการมี ส่ว นร่ ว มกับ ชุม ชนและ สิJงแวดล้ อม และได้ ให้ มีการจัดอบรมความรู้ เกีJยวกับการบริ หารความเสีJยง เครืJ องมือทีJใช้ ในการบริ หารความเสีJยงให้ แก่ ผู้บริ หารระดับสูง และผู้มีหน้ า ทีJในกิ จกรรมทีJเกีJ ยวข้ อ งกับความเสีJยงของทังS องค์ ก ร สรุ ปได้ ว่าในปี 2559 บริ ษัทฯได้ ดําเนินการบริ หารจัดการความเสียJ งของบริ ษัทฯได้ บรรลุผลตามเป้าหมายของการจัดการความเสียJ งแต่ละด้ าน


127

2.2 คณะกรรมการฯ ได้ พิจารณาระบบการบริ หารจัดการความเสีJยงทัวJ ทังองค์ S กรตามแนวสากลภายในปี 2559 เพืJอเพิJมประสิทธิผล และเพิJมขีดความสามารถในการแข่งขัน รวมถึงการบรรลุเป้าหมายโดยรวมของบริ ษัทฯ 3. ด้ านการสรรหากรรมการบริ ษัทฯ และผู้บริ หารระดับสูง 3.1 การสรรหาคณะกรรมการบริ ษัท ฯ ประจําปี 2559 ได้ พิจารณาให้ บริ ษัทดําเนินการสรรหากรรมการบริ ษัทฯ ตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ บริ ษัทฯ ให้ สทิ ธิผ้ ถู ือหุ้นเสนอชืJอบุคคลเพืJอเข้ ารับการพิจารณาเลือกตังเป็ S นกรรมการ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2559 โดยมีวตั ถุประสงค์เพืJอเป็ นการส่งเสริ มการกํากับดูแลกิจการทีJดี และคํานึงถึง ความสําคัญของผู้ถือหุ้น ตามนโยบายชองบริ ษัทฯทีJให้ ผ้ ูถือหุ้นเสนอชืJอบุคคลเพืJอการสรรหาและเลือกตังเป็ S นกรรมการ ตามหลักเกณฑ์ทีJบริ ษัทฯ จากบุคคลภายนอกตามทีJบริ ษัทฯ บริ ษัทฯ ได้ ประกาศแจ้ งเรืJ องหลักเกณฑ์การให้ สิทธิผ้ ูถือหุ้น เสนอชืJอบุคคลเพืJอเข้ ารับการพิจารณาเลือกตังเป็ S นกรรมการในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2560 ผ่านทางเว็บไซต์ ของบริ ษัทhttp://www.cho.co.th ตังแต่ S วนั ทีJ 1 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2559 ผลการพิจารณาปรากฏว่าไม่มีผ้ ถู ือหุ้นของ บริ ษัทฯ รายใดเสนอรายชืJอกรรมการบริ ษัทฯ จากบุคคลภายนอก ทังนี S Sกรรมการบริ ษัทฯ ทีJเข้ ารับตําแหน่งแทนกรรมการ บริ ษัทฯ ทีJครบวาระในปี 2559 ได้ รับอนุมตั ิแต่งตังจากที S Jประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปี 2559 ทังนี S Sบริ ษัทฯ ได้ ปฏิบตั ิตามมติของผู้ ถือหุ้นดังกล่าวอย่างต่อเนืJองตลอดปี 2559 โดยปั จจุบนั คณะกรรมการบริ ษัทฯ ประกอบด้ วยกรรมการทังหมดจํ S านวน 7 ท่า นเป็ นกรรมการอิ ส ระ 3 ท่ า น กรรมการทีJ ไ ม่ ใ ช่ ผ้ ูบ ริ ห ารอี ก 1 ท่ า น และมี ก รรมการผู้จัด การใหญ่ เ ป็ นเลขานุก าร คณะกรรมการบริ ษัทฯ โดยมีข้อมูลประวัติของแต่ละท่านปรากฏในหัวข้ อคณะกรรมการบริ ษัทฯ 3.2 คณะกรรมการฯ ได้ ทบทวนหลักเกณฑ์ในการพิจารณาสรรหากรรมการบริ ษัทฯ และผู้บริ หารระดับสูง โดย คํานึงถึงคุณสมบัติ ความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์และประวัติการทํางานทีJดี มีภาวะผู้นํา และวิสยั ทัศน์กว้ างไกล รวมทังS มี จ ริ ย ธรรม คุณ ธรรมและทัศ นคติ ทีJ ดี ต่อ องค์ ก ร สามารถอุทิ ศ เวลาให้ ไ ด้ อ ย่า งเพี ย งพออัน เป็ นประโยชน์ ต่ อ การดํ า เนิ น กิ จ การของบริ ษั ท ฯ นอกจากนี ยS ัง ได้ คํ า นึ ง ถึ ง คุณ สมบัติ ทีJ เ หมาะสมและสอดคล้ อ งกับ องค์ ป ระกอบและ โครงสร้ างของกรรมการตามเป้าหมายของบริ ษัทฯ ทีJ จะพัฒนาหรื อเพิJมการลงทุนในธุรกิ จใหม่ รวมถึงพิจารณาจาก ความรู้ ความสามารถและความชํ า นาญเฉพาะด้ า นทีJ จํ า เป็ นเพืJ อ ให้ ส ามารถกํ า หนดกลยุท ธ์ นโยบาย และกํ า กับ ดูแลได้ อย่างมีประสิทธิผล โดยมีกระบวนการสรรหาทีJโปร่งใสสร้ างความมันJ ใจให้ กบั ผู้ถือหุ้น 4. ด้ านการกําหนดค่าตอบแทนกรรมการบริ ษัทฯ และผู้บริ หารระดับสูง 4.1 คณะกรรมการฯ ได้ พิจารณาหลักเกณฑ์การการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของกรรมการผู้จดั การใหญ่ / ประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร ประจําปี 2559 และการกําหนดค่าตอบแทนของกรรมการผู้จัดการใหญ่ / ประธานเจ้ าหน้ าทีJ บริ หาร ประจําปี 2560 และเสนอทีJประชุมคณะกรรมการบริ ษัทฯ ครังS ทีJ 1/2560 ได้ พิจารณาประเมินผลการปฏิบตั ิงานของ กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร ประจําปี 2559 และได้ พิจารณาอนุมตั ิค่าตอบแทนทีJเหมาะสมของ กรรมการผู้จัดการผู้จัดการใหญ่ / ประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร ประจําปี 2560 ทังนี S Sบริ ษัทฯได้ ปฏิบตั ิตามมติของกรรมการ บริ ษัทฯดังกล่าวอย่างต่อเนืJองตลอดปี 2559 4.2 คณะกรรมการฯ ได้ พิจารณาการกําหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อย ประจํ าปี 2560 และเสนอทีJ ประชุมคณะกรรมการบริ ษั ทฯ ครั งS ทีJ 1/2560 ได้ พิ จารณาประเมิ นผลการปฏิ บัติ งานของ


128

คณะกรรมการบริ ษัทฯ ประจําปี 2559 และได้ พิจารณาอนุมตั ิคา่ ตอบแทนทีJเหมาะสมของกรรมการบริ ษัทฯ ประจําปี 2560 ทังนี S Sบริ ษัทฯได้ ปฏิบตั ิตามมติของกรรมการบริ ษัทฯดังกล่าวอย่างต่อเนืJองตลอดปี 2559 ทังนี S หลังจากเสนอคณะกรรมบริ ษัทฯเห็นชอบแล้ ว จึงเสนอขออนุมัติจากทีJประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี 2560 เพืJอให้ ทีJประชุมสามัญผู้ถือหุ้นดังกล่าวได้ พิจารณาอนุมตั ิตอ่ ไป 4.3 คณะกรรมการฯ ได้ กําหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจําปี 2559 สําหรับคณะกรรมการ บริ ษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อย โดยประเมินใน 8 ด้ านประกอบด้ วย 1. นโยบายโครงสร้ างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 5. การดํารงความเป็ นอิสระของกรรมการ 2. บทบาทหน้ าทีJและความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 6. การปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีJดี 3. การประชุมคณะกรรมการ 7. ความสัมพันธ์กบั ฝ่ ายจัดการ 4. การปฏิบตั ิหน้ าทีJกรรมการ 8. การพัฒนาตนเองของกรรมการและผู้บริ หาร 4.4 คณะกรรมการฯ ได้ กําหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจําปี 2559 ของกรรมการผู้จัดการ ใหญ่ /ประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หารเพืJอนําไปประกอบการพิจารณากําหนดค่าตอบแทนปี 2560 โดยประเมินใน 3 ด้ านดังนี S 1. การวัดผลความคืบหน้ าของแผนงาน ใน 3 ด้ านประกอบด้ วย ด้ านความสามารถในการสร้ างความ เจริ ญเติบโตของธุรกิจ ด้ านนวัตกรรมการคิดค้ นและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และด้ านการพัฒนาองค์กรและทรัพยากรบุคคล 2. การวัดผลการปฏิบตั ิงานใน 10 ด้ านประกอบด้ วย 1) ความเป็ นผู้นํา 2) การกําหนดกลยุทธ์ 3) การ ปฏิบตั ิตามกลยุทธ์ 4) การวางแผนและผลปฏิบตั ิทางการเงิน 5) ความสัมพันธ์ กับคณะกรรมการ 6) ความสัมพันธ์ กับ บุคคลภายนอก 7) การบริ หารงานและความสัมพันธ์ กบั บุคลากร 8) การสืบทอดตําแหน่ง 9) ความรู้ ด้านผลิตภัณฑ์และ บริ การ 10)คุณสมบัติสว่ นตัว 3. การวัดผลการพัฒนาตนเอง จุดแข็ง และการพัฒนาศักยภาพ 4.5 คณะกรรมการฯ ได้ ทบทวนหลักเกณฑ์การกําหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษัทฯ คณะกรรมการชุด ย่อยรวมถึงกรรมการผู้จัดการใหญ่ / ประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร โดยบริ ษัทฯ จะคํานึงถึงความเหมาะสมกับภาระหน้ าทีJ ความรับผิดชอบทีJได้ รับมอบหมายสามารถเทียบเคียงได้ กบั บริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทีJอยู่ใน อุตสาหกรรมและธุรกิ จขนาดใกล้ เคียงกัน เพียงพอทีJจะจูงใจให้ กรรมการหรื อผู้บริ หารสามารถปฏิบัติห น้ าทีJให้ บรรลุ เป้าหมายและทิศทางทีJบริ ษัทฯกําหนด โดยมีกระบวนการทีJโปร่งใสสร้ างความมันJ ใจให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น

( นายชัชวาล เตรี ยมวิจารณ์กลุ ) ประธานคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ บริ หารความเสียJ ง สรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 24 กุมภาพันธ์ 2560


129


130

16. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี$ยง การควบคุมภายในและการบริหารความเสี$ยง การควบคุมภายใน คณะกรรมการของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ ให้ ความสําคัญต่อการควบคุมภายในอย่างต่อเนืJอง ครอบคลุมทังด้ S าน การเงิน การปฏิบตั ิงาน การดําเนินการให้ เป็ นไปตามกฎหมาย และระเบียบทีJเกีJยวข้ อง รวมถึงการจัดให้ มีการบริ หารความ เสียJ งทีJเหมาะสม มีการกําหนดนโยบายบริ หารความเสียJ งไว้ อย่างชัดเจน มีการมอบหมายให้ คณะกรรมการตรวจสอบเป็ น ผู้สอบทานการประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน โดยมีแผนกตรวจสอบภายในทีJมีความเป็ นอิสระจาก ฝ่ ายบริ หารรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ทําหน้ าทีJสอบทานการปฏิบตั ิงานในแผนกต่าง ๆ ของบริ ษัทและบริ ษัท ย่อยตามแผนงานตรวจสอบประจําปี ทีJได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการตรวจสอบ ซึJงพนักงานทุกคนของบริ ษัทฯ มีบทบาท และความรับผิดชอบร่ วมกัน โดยมีการกําหนดภาระหน้ าทีJความรับผิดชอบ อํานาจการดําเนินการในระดับบริ หารและ ระดับปฏิบตั ิการไว้ เป็ นลายลักษณ์อกั ษรอย่างชัดเจน เพืJอก่อให้ เกิดความมันJ ใจอย่างสมเหตุสมผลว่า ผลสําเร็ จของงานจะ สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ของบริ ษัทฯ ความเห็นของคณะกรรมการเกี$ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ในการประชุมคณะกรรมการบริ หารบริ ษัทครังS ทีJ 1/2560 เมืJอวันทีJ 31 มกราคม 2560 คณะกรรมการบริ หารบริ ษัท ได้ ร่วมกันพิจารณาและแสดงความเห็นเกีJยวกับความเพียงพอและความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในของบริ ษัท โดยใช้ ”แบบประเมิน การประเมินความเพีย งพอของระบบการควบคุมภายใน” ของสํานัก งานคณะกรรมการกํ ากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานระบบการควบคุมภายในพร้ อมทังข้ S อเสนอแนะการตรวจสอบ ซึJงมุ่งเน้ นการ ตรวจสอบเชิงปฏิบตั ิการให้ มีประสิทธิภาพและประสิทธิ ผลอย่างต่อเนืJอง มีการซักถามข้ อมูลจากฝ่ ายบริ หารและอนุมตั ิ แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริ ษัททีJฝ่ายบริ หารจัดทํา โดยสรุปได้ วา่ จากการประเมินความ เพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทในด้ านต่างๆ 5 องค์ประกอบคือ การควบคุมภายในองค์กร การประเมิน ความเสียJ ง การควบคุมการปฏิบตั ิงาน ระบบสารสนเทศและการสือJ สารข้ อมูล และระบบการติดตาม คณะกรรมการเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทมีความเพียงพอและเหมาะสม โดยบริ ษัทได้ จดั ให้ มีบคุ คลอย่างเพียงพอทีJจะดําเนินการ ตามระบบได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ รวมทังมี S ระบบการควบคุมภายในในเรืJ องการติดตามควบคุมดูแลการดําเนินงานของ บริ ษัทย่อยให้ สามารถป้องกันทรัพย์สินของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยจากการทีJกรรมการหรื อผู้บริ หารนําไปใช้ โดยมิชอบหรื อ โดยไม่มีอํานาจ รวมถึงการทําธุรกรรมกับบุคคลทีJอาจมีความขัดแย้ งและบุคคลทีJเกีJยวโยงกันอย่างเพียงพอแล้ ว ในส่วนการ หารื อกับผู้สอบบัญชีเห็นว่าบริ ษัทจัดทํางบการเงินเป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชี และมีการเปิ ดเผยข้ อมูลเป็ นไปตามทีJ กฎหมายกําหนด ซึJงผู้สอบบัญชีมีการติดตามประเมินผลการควบคุมภายในและติดตามการแก้ ไขข้ อบกพร่ องทีJตรวจพบ อย่างต่อเนืJอง บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยประเมิ น ระบบการควบคุม ภายในตามกรอบโครงสร้ างการควบคุม ภายในตาม มาตรฐานสากลของCOSO (The Committee Of Sponsoring Organizations Of The Tread way Commission)อย่าง ครบถ้ วนในสาระสําคัญดังนี S การควบคุมภายในองค์กร(Control Environment) 1.องค์กรแสดงถึงความยึดมันJ ในคุณค่าของความซืJอตรง (integrity) และจริ ยธรรม


131

2.คณะกรรมการมีค วามเป็ นอิ สระจากฝ่ ายบริ ห าร และทํ าหน้ าทีJ กํา กับ ดูแล (Oversight) และพัฒ นาการ ดําเนินการด้ านการควบคุมภายใน 3.ฝ่ ายบริ หารได้ จัดให้ มีโครงสร้ างสายการรายงาน การกํ าหนดอํานาจในการสังJ การและความรั บผิดชอบทีJ เหมาะสมเพืJอให้ องค์กรบรรลุวตั ถุประสงค์ ภายใต้ การกํากับดูแล (oversight) ของคณะกรรมการ 4.องค์กรแสดงถึงความมุง่ มันJ ในการจูงใจ พัฒนาและรักษาบุคลากรทีJมีความรู้ความสามารถ 5.องค์กรกําหนดให้ บุคลากรมีหน้ าทีJและความรับผิดชอบในการควบคุมภายใน เพืJอให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ ขององค์กร การประเมินความเสียJ ง (Risk Assessment) 6.องค์กรกําหนดวัตถุประสงค์ไว้ อย่างชัดเจนเพียงพอ เพืJอให้ สามารถระบุและประเมินความเสียJ งต่าง ๆ ทีJ เกีJยวข้ องกับการบรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กร 7.องค์กรระบุและวิเคราะห์ความเสียJ งทุกประเภททีJอาจกระทบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ไว้ อย่างครอบคลุมทัวJ ทังS องค์กร 8.องค์กรได้ พจิ ารณาถึงโอกาสทีจJ ะเกิดการทุจริ ต ในการประเมินความเสียJ งทีJจะบรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กร 9.องค์กรสามารถระบุและประเมินความเปลียJ นแปลงทีJอาจมีผลกระทบต่อระบบการควบคุมภายใน การควบคุมการปฏิบตั ิงาน (Control Activities) 10.องค์กรมีมาตรการควบคุมทีชJ ว่ ยลดความเสียJ งทีJจะไม่บรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กร ให้ อยูใ่ นระดับทีJยอมรับได้ 11.องค์กรเลือกและพัฒนากิจกรรมการควบคุมทัวJ ไปด้ วยระบบเทคโนโลยี เพืJอช่วยสนับสนุนการบรรลุ วัตถุประสงค์ 12.องค์กรจัดให้ มกี ิจกรรมการควบคุมผ่านทางนโยบาย ซึงJ ได้ กําหนดสิงJ ทีJคาดหวังและขันตอนการปฏิ S บตั ิ เพืJอให้ นโยบายทีJกําหนดไว้ นนสามารถนํ ัS าไปสูก่ ารปฏิบตั ิได้ ระบบสารสนเทศและการสือJ สารข้ อมูล (Information & Communication) 13.องค์กรข้ อมูลทีJเกีJยวข้ องและมีคณ ุ ภาพ เพืJอสนับสนุนให้ การควบคุมภายในสามารถดําเนินไปได้ ตามทีJกําหนด ไว้ 14.องค์กรสือJ สารข้ อมูลภายในองค์กร ซึงJ รวมถึงวัตถุประสงค์และความรับผิดชอบต่อการควบคุมภายในทีจJ ําเป็ น ต่อการสนับสนุนให้ การควบคุมภายในสามารถดําเนินไปได้ ตามทีวJ างไว้ 15.องค์กรได้ สอืJ สารกับหน่วยงานภายนอก เกีJยวกับประเด็นทีJอาจมีผลกระทบต่อการควบคุมภายใน ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) 16.องค์กรติดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน เพืJอให้ มนัJ ใจได้ วา่ การควบคุมภายในยังดําเนินไปอย่าง ครบถ้ วน เหมาะสม 17.องค์กรประเมินและสือJ สารข้ อบกพร่องของการควบคุมภายในอย่างทันเวลาต่อบุคคลทีJรับผิดชอบ ซึงJ รวมถึง ผู้บริ หารระดับสูงและคณะกรรมการตามความเหมาะสม การบริหารจัดการความเสี$ยง คณะกรรมการบริ ษัทได้ มีการแต่งตังรองประธานบริ S หารความเสีJยงเพืJอมาดําเนินงานในด้ านการบริ หารความ เสีJยงในภาพรวมทังองค์ S กรเพืJอจัดการความเสีJยงทีJมีอยู่ในระดับทีJสามารถยอมรับได้ และติดตามการบริ หารความเสีJยง อย่างสมํJาเสมอ บริ ษัทได้ มีการจัดทําการประเมินความเสียJ งด้ วยตนเองเพืJอร่วมกันประเมินความเสียJ ง ปั ญหาและอุปสรรค


132

ความไม่แน่นอนทีJอาจมีผลกระทบต่อการดําเนินงานให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของบริ ษัท เหตุการณ์ ทีJอาจทําให้ องค์การ เสียโอกาสในเชิงธุรกิจความเสีJยงทีJอาจเกิดขึ Sนจากสาเหตุทงภายในและภายนอกองค์ ัS กร โดยมีหลักการกําหนดว่าหากมี ความเสียJ งใดทีJจะเป็ นอุปสรรคต่อการดําเนินธุรกิจไม่ให้ บรรลุเป้าหมายตามแผนกทีJกําหนดแล้ ว บริ ษัทจะต้ องมีมาตรการ ในการบริ หารความเสียJ ง บริ ษัทมีการกําหนดนโยบายการบริ หารความเสียJ งทีJผ้ บู ริ หารและพนักงานทุกคนต้ องปฏิบตั ิตาม ดําเนินการปลูก ฝัJ งให้ การบริ หารความเสียJ งเป็ นวัฒนธรรมองค์กร มีรองประธานบริ หารความเสีJยงทําหน้ าทีJกํากับดูแลการปฏิบตั ิงานด้ าน บริ หารความเสียJ งของบริ ษัท โดยนําเสนอรายงานผลการบริ หารความเสีJยงในทุกไตรมาสต่อ คณะกรรมการบริ หารบริ ษัท คณะกรรมการกํ ากับดูแ ลกิ จการ บริ หารความเสีJยง สรรหาและกํ าหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการบริ ษัทได้ รับทราบ เพืJอให้ มีการจัดการความเสีJยงและติดตามอย่างใกล้ ชิด และมันJ ใจได้ ว่าความเสีJยงอยู่ใน ระดับทีJยอมรับได้ รวมทังบริ S ษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมายทีJกําหนดไว้ ซึJงสรุ ปรายละเอียดของปั จจัยความเสีJยงทีJอาจ ส่งผลกระทบต่อผลการดําเนินงานของบริ ษัทฯ ไว้ ในหัวข้ อ 3 ปั จจัยความเสียJ งเรี ยบร้ อยแล้ ว นอกจากนี Sบริ ษัทได้ มีการประเมินความเสีJยงและปั ญหาอุปสรรคทีJอาจมีผลกระทบต่อการดําเนินงานพร้ อมกับ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในทีJมีอยู่ เพืJอพิจารณาหาแนวทางในการปรับปรุ งแก้ ไขการปฏิบตั ิงาน ให้ ผลการดําเนินงานมีประสิทธิภาพยิJงขึ Sน โดยมีขอบเขตครอบคลุมเรืJ องการบริ หารและการจัดการงานด้ านต่างๆ ภายใน บริ ษัท ทังนี S Sได้ มอบหมายและติดตามให้ ผ้ บู ริ หารทีJรับผิดชอบในแต่ละแผนกดําเนินการตามแนวทางการปรับปรุ งแก้ ไขการ ปฏิบตั ิงานตามกําหนดไว้ รวมทังให้ S ผ้ ทู ีJเกีJยวข้ องยึดถือเป็ นแนวปฏิบตั ิเพืJอให้ ผลการดําเนินงานมีประสิทธิภาพยิJงขึ Sน การตรวจสอบภายใน หน่วยงานตรวจสอบภายในมีความเป็ นอิสระ รายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบในด้ านงานตรวจสอบภายใน และรายงานต่อประธานกรรมการบริ หารในด้ านงานบริ หารหน่วยงาน โดยมีกฎบัตรของหน่วยงาน ซึJงกําหนดภารกิ จ ขอบเขต วัตถุประสงค์และภาระหน้ าทีJความรับผิดชอบ รวมถึงสิทธิในการปฏิบตั ิงานตรวจสอบไว้ อย่างชัดเจน และมีการ จัดทําคูม่ ือการปฏิบตั ิงานตรวจสอบทีJปรับปรุงเปลียJ นแปลงอยูเ่ สมอ เพืJอใช้ อ้างอิงการปฏิบตั ิงานให้ เป็ นทิศทางเดียวกัน หน่วยงานตรวจสอบภายใน ทําหน้ าทีJ ตรวจประเมิน ระบบการควบคุมภายใน ตามแผนงานการตรวจสอบ ประจําปี ซึJงได้ พิจารณาจากปั จจัยเสีJยงทีJเกีJยวข้ อง (Risk Based Audit Approach) โดยผ่านการอนุมตั ิสอบทานจาก คณะกรรมการตรวจสอบ รวมทังการให้ S คําปรึกษาแนะนําในด้ านต่างๆเพืJอให้ เกิดความเชืJอมันJ ว่าการปฏิบตั ิงานของบริ ษัทฯ จะบรรลุผลสําเร็ จตามกลยุทธ์ และวัตถุประสงค์ทีJกําหนดไว้ อีกทังยั S งทําการติดตามประเมินผลอย่างสมํJาเสมอเพืJอให้ เกิด ความมันJ ใจในระบบทีJวางไว้ ได้ ดําเนินการเป็ นไปอย่างต่อเนืJอง และได้ รับการแก้ ไขปรับปรุงอย่างสมํJาเสมอ ในการตรวจประเมินความมีประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ จดั ทําแบบ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของแต่ละระบบงาน รวมทังS ได้ ทําการสอบทานผลการปฏิบตั ิงาน เพืJอให้ มัJนใจว่า บริ ษัทฯ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ ทีJตังS ไว้ อย่า งมีประสิทธิ ภ าพและประสิทธิ ผล โดยปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้ อบังคับต่างๆ อย่างเคร่งครัด และรายงานทางการเงินมีความถูกต้ องน่าเชืJอถือ ในการตรวจประเมินการกํากับดูแลกิจการ หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ ตรวจประเมินการกํากับดูแลกิจการตาม หลักการกํากับดูแลกิจการทีJดีขององค์กรเพืJอความร่ วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Cooperation and Development: OECD) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็ นเกณฑ์ เพืJอให้ มนัJ ใจว่า บริ ษัทฯ มี โครงสร้ างและการสนับสนุนของกระบวนการทีJจําเป็ นในการนําไปสู่ผลสําเร็ จของการกํากับดูแลทีJดีและโปร่ งใสและให้


133

ความเป็ นธรรมเท่าเทียมกัน ตลอดจนมีการนําทรัพยากรไปใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตรงตามวัตถุประสงค์ เพืJอ ก่อให้ เกิดประโยชน์สงู สุดต่อผู้มีสว่ นได้ เสียทุกฝ่ าย นอกจากนี Sหัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายในได้ ปฏิบตั ิหน้ าทีJเป็ นเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ เพืJอ สนับสนุนภาระหน้ าทีJและความรับผิดชอบทุกหน้ าทีJของคณะกรรมการตรวจสอบทีJได้ รับมอบหมายมาจากคณะกรรมการ บริ ษัทให้ มีประสิทธิผล โดยจัดให้ มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเฉลียJ เดือนละ 1 ครังS และยังมีบทบาทในการให้ คําปรึ กษาแนะนําในด้ านต่างๆ ในด้ านความเสีJยงระดับองค์กร และในด้ านการรักษาความปลอดภัยด้ านสารสนเทศของ บริ ษัทฯ หน่วยงานตรวจสอบภายในได้ ยึดถื อ มาตรฐานการปฏิบัติงานวิช าชี พการตรวจสอบ (Standard for the Professional Practice of Internal Auditing), COSO 2013 และระบบ ISO 9001 : 2008 เป็ นกรอบหรื อแนวทางในการ ปฏิบตั ิงาน ให้ มีการปฏิบตั ิงานทีJเป็ นอิสระ เทีJยงธรรม สอดคล้ องกับมาตรฐานสากล และให้ ความสําคัญต่อการพัฒนา ฝึ กอบรมอย่างต่อเนืJอง ตามแผนการฝึ กอบรมแบบรายบุคคล (Individual Coaching Plan ) รวมถึงการพัฒนาสอบ วุฒิบตั รต่างๆ

หัวหน้ างานตรวจสอบภายในและหัวหน้ างานกํากับดูแลการปฏิบัตงิ านของบริษัท 1) หัวหน้ างานตรวจสอบภายใน บริ ษัทฯ ได้ จดั ตังแผนกตรวจสอบภายใน S โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ ครังS ทีJ 1/2555 เมืJอ วันทีJ 14 พฤศจิกายน 2555 โดยมีนางอัปสร สุริยา เป็ นผู้จดั การแผนกตรวจสอบภายใน ซึJงคณะกรรมการตรวจสอบได้ ลง ความเห็นว่า ผู้ดํารงตําแหน่งผู้จดั การแผนกตรวจสอบภายในมีวฒ ุ ิการศึกษา ประสบการณ์ การอบรม ทีJเหมาะสมเพียงพอ กับการปฏิบตั ิหน้ าทีJดงั กล่าว เพืJอทําหน้ าทีJปฏิบตั ิงานตรวจสอบภายในทุกด้ านตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน และ วิเคราะห์ความเสียJ งจัดทํา Audit Plan จัดทํารายงานการตรวจสอบภายในให้ เป็ นไปตามมาตรฐาน และจัดเก็บตามระบบ สอบทานความเพียงพอ ครบถ้ วนของหลักฐานทีJอ้างอิงในรายงานเสนอหรื อช่วยเสนอวิธีการแก้ ไขเพิJมเติมเพืJอลดความ เสียJ งในรายการทีJตรวจพบจัดทํากระดาษทําการเพืJอเก็บรวบรวมข้ อมูลจากการตรวจสอบ ปฏิบตั ิงานอืJนทีJได้ รับมอบหมาย และมีความเข้ าใจในกิจกรรมและการดําเนินงานของบริ ษัท ทังนี S Sการแต่งตังS ถอดถอน โยกย้ ายและประเมินผลงานของผู้จัดการแผนกตรวจสอบภายในเป็ นอํานาจของ คณะกรรมการตรวจสอบ 2) หัวหน้ างานกํากับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัท คณะกรรมการได้ มีมติแต่งตังS นายณัฐพร เมืองจันทรา ผู้ช่วยผู้จัดการแผนกกฎหมาย เป็ นหัวหน้ างานกํากับดูแลการ ปฏิบตั ิงานของบริ ษัท คณะกรรมการตรวจสอบได้ ลงความเห็นว่า ผู้ดํารงตําแหน่งหัวหน้ างานกํากับดูแลการปฏิบตั ิงาน มี วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ การอบรม ทีJเหมาะสมเพียงพอกับการปฏิบตั ิหน้ าทีJดงั กล่าว เพืJอทําหน้ าทีJกํากับให้ บริ ษัทฯ และ บริ ษั ทย่ อย ปฏิ บัติ ตามกฎเกณฑ์ พระราชบัญญั ติ ระเบี ยบ ประกาศของหน่ วยงานกํ ากับทีJ เกีJ ยวข้ อง อาทิ สํ านักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ก.ล.ต.) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็ นต้ น หลักการกํากับดูแล กิจการ ( CG ) ทีJออกใช้ บงั คับบริ ษัทมหาชนและเอกชนในเครื อ ตลอดจนกฎหมายพระราชบัญญัติ ทีJเกีJยวข้ องกับการ ดําเนินธุรกิจปกติ จัดทําและตรวจสอบสัญญาต่างๆของบริ ษัทและบริ ษัทในเครื อ ดําเนินการติดตามทวงหนี S ดําเนินการ ด้ านคดีความทังทางแพ่ S งและอาญา บังคับคดี ทีJเกีJยวข้ องกับบริ ษัทและบริ ษัทในเครื อ จัดทําเอกสารและจดทะเบียนแก้ ไข เปลีJยนแปลงระเบียบและข้ อบังคับ มติต่างๆ ต่อหน่วยงานราชการทีJเกีJยวข้ อง ติดต่อประสานงานด้ านธุรกรรม นิติกรรม และสัญญา ทางทะเบียนเกีJยวกับทรัพย์สนิ ของบริ ษัทฯ ให้ คําปรึกษาคดีความแพ่งและคดีอาญา


134


135

17. ปั จจัยความเสี$ยง ผู้ลงทุนควรพิจารณาปั จจัยความเสีJยง รวมทังรายละเอี S ยดข้ อมูลอืJนๆ ทีJปรากฏในเอกสารฉบับนี Sอย่างรอบคอบ ก่อนการตัดสินใจลงทุน โดยปั จจัยความเสียJ งทีJระบุไว้ ในเอกสารฉบับนี Sอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อบริ ษัทฯ และมูลค่าหุ้น ของบริ ษัทฯ ทังนี S Sปั จจัยความเสีJยงทีJระบุไว้ ในเอกสารฉบับนี S มิได้ เป็ นปั จจัยความเสีJยงทังหมดที S Jมีอยู่ กล่าวคือ อาจมีปัจจัย ความเสียJ งอืJนๆ ทีJบริ ษัทฯ ยังไม่อาจทราบได้ และอาจมีปัจจัยความเสีJยงบางประการทีJบริ ษัทฯ เห็นว่าไม่มีผลกระทบอย่างมี นัยสําคัญต่อบริ ษัทฯ ในขณะนี S แต่ในอนาคตอาจกลายเป็ นปั จจัยความเสีJยงทีJอาจส่งผลกระทบอย่างมีนยั สําคัญต่อรายได้ ผลกําไร สินทรัพย์ สภาพคล่อง แหล่งเงินทุน และโอกาสทางธุรกิจของบริ ษัทฯ ดังนันก่ S อนการตัดสินใจลงทุน ผู้ลงทุนควรใช้ วิจารณญาณในการพิจารณาข้ อมูลอย่างรอบคอบ และปั จจัยความเสีJยงทังหมดที S Jอาจจะส่งผลกระทบต่อบริ ษัทฯ โดยไม่ จํากัดเพียงปั จจัยความเสียJ งทีJได้ กล่าวไว้ ในเอกสารฉบับนี Sเท่านันS นอกจากนี S ข้ อความในลักษณะการคาดการณ์ในอนาคต การประมาณการ ความประสงค์ หรื อเจตนารมณ์ของ บริ ษัทฯ ทีJปรากฏอยู่ในเอกสารฉบับนี S อาทิ “มีแผนการ” “ประสงค์” “ต้ องการ” “คาดว่า” “เห็นว่า” “เชืJอว่า” “ประมาณ” “อาจจะ” หรื อคําหรื อข้ อความอืJนใดในทํานองเดียวกัน เป็ นคําหรื อข้ อความทีJบ่งชี SถึงสิJงทีJอาจจะเกิดขึ Sนในอนาคต ซึJงมีความ ไม่แน่นอน และผลทีJเกิดขึ Sนจริ งอาจแตกต่างจากการคาดการณ์ได้

17.1 ความเสี$ยงในการประกอบธุรกิจ 1) ความเสี$ยงจากความไม่ ต่อเนื$องของรายได้ หรือความไม่ แน่ นอนของรายได้ ในปี 2559 บริ ษัทฯ มีรายได้ หลักมาจากการผลิตสินค้ าและการบริ หารโครงการ ดังนี S กลุม่ สินค้ ามาตรฐาน มีมลู ค่า 258.72 ล้ านบาท กลุม่ ออกแบบพิเศษมีมลู ค่า 667.44 ล้ าน การขายอะไหล่และซ่อมบริ การมูลค่า 132.08 ล้ านบาท กําไรจาก อัตราแลกเปลียJ น 9.32 ล้ านบาท และรายได้ อืJนๆ 12.28 ล้ านบาท รวมรายได้ 1,079.84 ล้ านบาท อย่างไรก็ดีบริ ษัทอาจจะมีความเสียJ งจากความไม่ตอ่ เนืJองของรายได้ เนืJองจากสัญญาการผลิตส่วนใหญ่เป็ นการ สังJ ผลิตเป็ นจํานวนส่งมอบแล้ วก็หมดต้ องการงานสัญญาใหม่ๆเข้ ามา หากไม่มีการสังJ ซื Sอจะทําให้ บริ ษัทต้ องแบกรับภาระ ค่าใช้ จ่ายต่างๆ ทีJเป็ นต้ นทุนคงทีJ บริ ษัทฯ ตระหนักดีถึงความเสียJ งดังกล่าว จึงมีการกําหนดแผนป้องกันความเสียJ งไว้ ดังนี S 1. กระจายกลุม่ สินค้ าและการให้ บริ การ โดยมีนโยบายขยาย ศูนย์ บริ การ สิบล้ อ 24 ชัวJ โมง เพิJมช่องทางของ

รายได้ กับผู้ประกอบการขนส่ง ทีJรถบรรทุก รถเทรลเลอร์ รายเล็กจนถึงรายใหญ่ ทีJมีความต้ องการใช้ บริ การซ่อมบํารุงของศูนย์ ของ บริ ษัททีJมีความทันสมัย ครบวงจรเปิ ดให้ บริ การ 24 ชัวJ โมง อํานวยความสะดวกในการจัดทําแผนซ่อมบํารุงรถให้ กบั ลูกค้ า ซึงJ จะสร้ างฐานลูกค้ ารายใหม่ๆ และลูกค้ ารายเดิมทีJหนั มาใช้ บริ การทดแทนทีJต้องแบกรับภาระเรืJ องคน สต๊ อกสินค้ าเอง 2. รักษานโยบายด้ านคุณภาพงานและการให้ บริ การกับลูกค้ า ทังในด้ S านของความสะดวกการใช้ งานของ

สินค้ าออกแบบตามความต้ องการของลูกค้ าซึงJ เป็ นจุดแข็ง บริ การหลังการขายทีJรวดเร็ วสร้ างความพึงJ พอใจกับลูกค้ า โดยจะ เห็นได้ จากปี ทีJผา่ นมาบริ ษัทได้ มีการนําระบบ SAP เพืJอนํามาพัฒนาระบบของสารสนเทศ และเทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่มา


136

ช่วยในการออกแบบผลิตภัณฑ์ การลงทุนเครืJ องจักรทีJมาผลิตสินค้ า ทําให้ ลดนํ Sาหนักโดยยังคงความแข็งแรงไว้ การนําระบบ S ษัทยังจัดทําหลักสูตรโรงเรี ยนช่าง ช GPS Tracking , ระบบ Application มาใช้ ในโครงการบริ หารขนส่งมวลชน นอกจากนันบริ ทวี ซึงJ บุคลากรถือว่าเป็ นหัวใจในการขับเคลือJ นธุรกิจ เพืJอสร้ างความเชืJอมันJ แก่ลกู ค้ าในการให้ บริ การจนเกิดการโฆษณาแบบ บอกต่อ และนําไปสูก่ ารให้ บริ การซํ Sา จากลูกค้ ารายเดิม และหันมาใช้ บริ การจากลูกค้ ารายใหม่ๆ 3. นโยบายการบริ หารงบประมาณ (Budgeting)โดยการจัดทําและกําหนดเป้าหมายงบประมาณรายปี (Annually Budget) ซึงJ จะทําให้ ทราบถึงเป้าหมายรายได้ ค่าใช้ จา่ ย และคาดการณ์ผลกําไรในแต่ละปี ฝ่ ายบัญชีจะเป็ นผู้รวบรวมข้ อมูล

และนําเสนอต่อผู้บริ หารในระดับคณะกรรมการบริ หารและคณะกรรมการบริ ษัทเพืJอพิจารณากําหนดเป็ นงบประมาณรายปี รวมทังใช้ S ประกอบการติดตามและเปรี ยบเทียบผลการดําเนินงานเป็ นประจําทุกเดือน ผ่านการประชุมประจําเดือนของทุก ฝ่ ายงาน และรวบรวมนําเสนอต่อทีJประชุมคณะกรรมการบริ หาร (Executive Committee)เป็ นประจําทุกเดือน เพืJอให้ ผ้ บู ริ หาร ระดับสูงสามารถนําข้ อมูลไปวิเคราะห์และวางแผนการรับงานหรื อติดต่อประมูลงานโครงการใหม่ได้ ให้ สอดคล้ องกับงานทีJ ทยอยจบ เพืJอให้ มีสญ ั ญาว่าจ้ างในการผลิตและสัญญารับจ้ างบริ หารโครงการอย่างต่อเนืJอง ซึงJ จะส่งผลให้ สามารถลดความ เสียJ งจากความไม่ตอ่ เนืJองของรายได้ 2) ความเสี$ยงจากการพึ$งพิงกลุ่มอุตสาหกรรมในวงจํากัด บริ ษัทดําเนินธุรกิจผลิตสินค้ าในประเทศให้ กบั หน่วยงานภาครัฐและเอกชนเป็ นหลัก โดยมีรายได้ จากการขาย สินค้ า ในปี 2559 แบ่งออกเป็ นรถมาตรฐาน คิดเป็ นร้ อยละ 24.45 รถออกแบบพิเศษ ร้ อยละ 63.07 บริ หารโครงการ ร้ อยละ 12.48 ของรายได้ รวมในปี 2559 ซึJง ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทมีจํานวนลูกค้ า 33 ราย ยอดสังJ ผลผลิตรถรวม 390 คัน แบ่งเป็ นลูกค้ า ลูกค้ าในประเทศจํานวน 15 ราย รวมยอดสังJ ผลิตรถมาตรฐาน และออกแบบพิเศษจํานวน 259 คัน

จํานวนลูกค้ าต่างประเทศ 18 ราย รวมยอดสังJ ผลิตออกแบบพิเศษจํานวน 131 คันโดยมูลค่าในปี 2559 ขาย ต่างประเทศมียอดขาย 481.8 ล้ านบาท และมีแนวโน้ มเป็ นบวกในปี 2560


137

เนืJองจากรายได้ ในปี 2559 ส่วนใหญ่ของบริ ษัทฯ เกิดจากการขายของกลุม่ ลูกค้ ารายใหญ่จํานวน 5 ราย บริ ษัท จึงอาจจะได้ รับความเสียJ งจากการมีกลุม่ ลูกค้ าจํานวนน้ อยรายและอยูใ่ นวงจํากัด บริ ษัทตระหนักถึงความเสีJยงดังกล่าวและมีแผนงานทีJชดั เจนในการรักษาลูกค้ ากลุม่ เดิม และหาลูกค้ ารายใหม่ เข้ ามาทดแทนเพืJอเพิJมจํานวนลูกค้ าในแผนกลยุทธ์และลดการพึงJ พารายได้ จากลูกค้ ารายใหญ่บางราย ทังนี S Sบริ ษัทเชืJอมันJ ว่า โอกาสทีJจะสูญเสียลูกค้ าปั จจุบนั มีน้อย เนืJองมาจากบริ ษัทได้ ให้ บริ การลูกค้ ากลุม่ ใหญ่ด้วยคุณภาพ ราคา ความรับผิดชอบ ต่อลูกค้ าอย่างต่อเนืJอง ซึงJ เราเน้ นการให้ บริ การ รวมถึงถ่ายทอดเทคโนโลยีการบํารุงรักษา อํานวยความสะดวกอย่างต่อเนืJอง และยาวนาน สําหรับการขยายฐานลูกค้ า บริ ษัทได้ มีการจัดหาลูกค้ าทีJเป็ นผู้ประกอบการขนส่งรายใหม่อย่างสมํJาเสมอทังใน S เขตกรุงเทพมหานคร เขตพื SนทีJในกลุม่ นิคมอุตสาหกรรมในภาคตะวันออก โดยมีการเปิ ดศูนย์บริ การ สิบล้ อ 24 ขึ SนทีJจงั หวัด ชลบุรี นอกเหนือจากศูนย์ซ่อมเดิมทีJมีอยู่ 8 แห่ง เพืJอขยายการให้ บริ การสําหรับรถบรรทุกทัวJ ไป แบบ One stop service 24 ชัวJ โมง มีการทําสัญญาบริ การทีJเป็ นไปตามความเหมาะสมของลูกค้ าแต่ละรายจากการสํารวจในเบื Sองต้ น ได้ นําข้ อมูลของ รถบรรทุกทีJมียอดจําหน่ายในประเทศมาบริ หารจัดการสําหรับแผนการเตรี ยมให้ บริ การ ทีJนอกเหนือจากการให้ บริ การของ ศูนย์ทีJจําหน่ายแล้ วหมดระยะรับประกัน 3) ความเสี$ยงจากการใช้ ลิขสิทธิˆของบริษัท Joint venture ในทีJประชุมปี 2559 ซึงJ ประชุมเมืJอวันทีJ 21 เมษายน 2559 ได้ มีมติอนุมตั ิให้ เปลียJ นชืJอบริ ษัท จากเดิม บริ ษัท ช ทวี ดอลลาเซี ยน จํ ากัด (มหาชน) เปลีJย นเป็ น บริ ษัท ช ทวี จํ ากัด (มหาชน) จากมติ ทีJ ประชุม บริ ษัท DOLL FAHRZEUGBAU AG ประเทศเยอรมันนี ซึJงเป็ นบริ ษัททีJร่วมถ่ายทอดเทคโนโลยี สําหรับรถออกแบบพิเศษ และเป็ น พันธมิตรทีJดีกับเราเสมอมา โดยแบบทีJผลิต วงจรไฟฟ้ า วงจรไฮดรอลิค ซึJงถูกนํามาผลิตในสินค้ ารถลําเลียงอาหารขึ Sน เครืJ องบิน บริ ษัทอาจมีความเสีJยงจากการยกเลิกใช้ แบบและวงจร เพืJอการผลิตต่อไปในอนาคต ซึJงมีผลกระทบต่อการผิด ต่อเงืJอนไขหรื อละเมิดลิขสิทธิ• บริ ษัทตระหนักถึงความเสียJ งและเพืJอเป็ นการลดความเสีJยงทีJอาจจะเกิดขึ Sนจากการละเมิดจึงมีการกําหนดแผน ป้องกันความเสียJ งไว้ ดงั นี S 1. บริ ษัทมีทีมวิจยั และพัฒนาแบบ และการออกแบบวงจรเอง โดยพัฒนาปรับปรุงได้ ด้วยตนเอง 2. บริ ษัทจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งอืJน ทีJมีผ้ เู สนอขายวัตถุดิบในลักษณะเดียวกันในราคาทีJเท่ากันหรื อถูกกว่า


138

3. บริ ษัทจัดทําต้ นแบบของรถลําเลียงอาหารขึ SนเครืJ องบิน (Catering Truck) และขอรับรองมาตรฐาน CE Mark เพืJอการผลิตทีJได้ รับมาตรฐานสากล สําหรับการตลาดโดยมุง่ เน้ นด้ านคุณภาพและการให้ บริ การ ผลิต ใน BRAND “CTV-CHO” ดังนันบริ S ษัทจึงเชืJอว่าแผนธุรกิจข้ างต้ นสามารถดึงดูดลูกค้ าได้ ในระยะยาวและ ช่วงลดผลกระทบจากความเสียJ งดังกล่าวได้ 4) ความเสี$ยงจากการแข่ งขันในธุรกิจ ประเทศไทยถือเป็ นศูนย์กลางของการผลิตชิ Sนส่วนยานยนต์ การประกอบในเขตภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ ซงึJ มีอตั ราเติบโตของพื SนทีJอตุ สาหกรรมสูงกว่าประเทศในภูมิภาคเดียวกัน ส่งผลให้ ธุรกิจทีJเกีJยวข้ องต่างๆ มีการขยายตัว มากขึ Sนโดยในปี ทีJผา่ นมา กลุม่ รถกําจัดขยะ กลุม่ รถบรรทุกไฟฟ้ า รถโดยสารขนส่งมวลชน รถลําเลียงอาหาร มีผ้ คู ้ ารายใหม่ จากต่างประเทศและผู้ค้ารายเดิมทีJเข้ ามาแข่งขันในตลาดรถประเภทเดียวกันเพิJมมากขึ Sนทําให้ มีการแข่งขันด้ านราคาและ เงืJอนไขพิเศษอืJนๆ การเปิ ดเขตการค้ าเสรี AEC ทําให้ กลุม่ ผู้แข่งขันจากต่างประเทศทีJมีความพร้ อมด้ านเงินทุน บางส่วนเข้ า มาดําเนินธุรกิจให้ บริ การ ประกอบ ผลิตในประเทศ ซึงJ จีนเป็ นคูแ่ ข่งทีJสาํ คัญของเรา บริ ษัทสามารถสร้ างจุดแข็งและความแตกต่าง โดยสร้ างทีมงานวิจัยผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ คู่กับสถาบันการศึกษา ท้ องถิJนทีJจะพัฒนาศักยภาพความสามารถของบุคคลากรสามารถผลิตสินค้ าแข่งขันในตลาดได้ การจัดอบรมการใช้ งาน ให้ กบั ลูกค้ าเพืJอพัฒนาคุณภาพของการใช้ งานทีJมีความปลอดภัย ร่ วมแก้ ไขปั ญหาให้ กบั ลูกค้ า ซึJงนําไปสูค่ วามเชืJอมันJ ใน การให้ บริ การ อีก ประการหนึJง ทีJส ามารถลดความเสีJย งดัง กล่า ว บริ ษั ท จึ ง ออกแบบสิน ค้ า ทีJ มี ค วามหลากหลายรู ป แบบทีJ เหมาะสมกับงบประมาณและความต้ องการของลูกค้ า ให้ คําปรึ กษาเพืJอลดค่าใช้ จ่ายของลูกค้ ามากทีJสดุ โดยคงไว้ ซึJง คุณภาพด้ านความปลอดภัยในการใช้ งานสะดวกสบาย ซึJงเป็ นการป้องกันความเสีJยงจากการแข่งขันของคู่แข่งอย่างมี ประสิทธิภาพ

17.2 ความเสี$ยงเกี$ยวกับการผลิต 1) ความเสี$ยงจากการดําเนินการในฝ่ ายผลิต ในปี ทีJผา่ นมา บริ ษัทมีรถทีJสง่ มอบไม่ทนั กําหนดคิดเป็ นร้ อยละ 9.37 มีเวลาทํางานมาตรฐานลดลงร้ อยละ 9.05 ผลมาจากบริ ษัททํางานต้ นแบบจํานวน 4 แบบ ซึงJ ต้ องใช้ บคุ ลากร ใช้ ชวัJ โมงงานมากกว่าปกติ วัตถุดิบทีJต้องใช้ เวลาในการ ผลิตและนําเข้ าล่าช้ าจากผู้สง่ มอบ บริ ษัทมีความเสียJ งทีจJ ะถูกหน่วยงานภาครัฐปรับตามสัญญาเนืJองจากการส่งมอบล่าช้ า ซึงJ เป็ นค่าใช้ จ่ายและต้ นทุนทีJบริ ษัทต้ องสูญเสียไป บริ ษัทตระหนักถึงความเสียJ งดังกล่าว โดยกําหนดเป็ นแผนงานดังนี S 1.แผนเพิJมกําลังการผลิตขึ Sนร้ อยละ 10 เพืJอให้ สอดคล้ องกับการขายและระยะเวลาในการส่งมอบ รวมถึงการ ขยายตัวของผลิตภัณฑ์ใหม่ทีJได้ ลงทุนการทําต้ นแบบไปแล้ ว ซึงJ จะทําการตลาดต่อไปอย่างต่อเนืJอง 2.เพิJมความสามารถในการผลิต จากการลงทุนในเครืJ องจักรใหม่ทดแทนเครืJ องจักรทีJชํารุดและมีอายุการใช้ งานทีJ ยาวนาน 3.การทดสอบหุน่ ยนต์ VR7 เพืJอวางแผนจัดการผลิต และทดแทนตําแหน่งงานทีJยาก เช่นช่างเชืJอม เป็ นต้ น 4.การผลิตและทดสอบงานวิจยั รถบรรทุกพลังงานไฟฟ้ า ร่วมกับภาครัฐ และสถาบันการศึกษา 5. การใช้ JIG และอุปกรณ์จบั ยึด เพืJอช่วยงานด้ านการผลิตให้ มีประสิทธิผลมากขึ Sน ใช้ เวลาในการผลิตน้ อยลง 6. การเพิJมห้ องพ่นสีและจัดสายการผลิตสําหรับพ่นสีใหม่


139

การบริ หารจัดการดังกล่าว จะช่วยลดช่วงเวลาของการส่งมอบล่าช้ า และสามารถทํางานให้ อยูใ่ นเวลามาตรฐาน ทีJกําหนดไว้ ได้ ตอ่ ไป

17.3 ความเสี$ยงด้ านการบริ หารการจัดการ 1) ความเสี$ยงจากการขาดแคลนช่ างฝี มือ บริ ษัทมีช่างในสายการผลิต ร้ อยละ 75 จํานวน 513 คน จากพนักงานทังหมดเฉลี S ยJ 683 คน ซึงJ ยังไม่เพียงพอต่อ การ ขยายการรับงานใหม่ๆ จากฝ่ ายขาย และการขยายศูนย์ซอ่ มทีJจะเปิ ดในปี 2560 พนักงานช่างจะต้ องรับเข้ ามาฝึ กอย่างน้ อย 12สัปดาห์ก่อนทีJปฏิบตั ิงานได้ ตามมาตรฐานบริ ษัท บริ ษัทจึงเห็นความสําคัญของบุคลากรในการขับเคลืJอนบริ ษัทให้ ก้าวไป ข้ างหน้ า บริ ษัทจึงมีการกํ าหนดค่าตอบแทนและสวัสดิการต่างๆ ทีJเหมาะสมเพียงพอ ทังS ยังมีกฎระเบียบปฏิบัติอืJนๆ ทีJ หัวหน้ างานควบคุม งานทีJต้องใช้ ทงทั ั S กษะแรงงาน งานมีความหลากหลาย 1 ท่านสามารถทํางานได้ หลายอย่าง ซึJงอาจจะไม่ สบายเหมือนกับอุตสาหกรรมผลิตแบบต่อเนืJอง เป็ นเหตุให้ อตั ราการหมุนเวียนของพนักงานระดับช่างอยู่ในอัตราร้ อยละ 27 ซึJงบริ ษัทก็มีแนวทางการเพิJมและทดแทนจํานวนพนักงาน เพืJอรองรับการเติบโตของธุรกิจ หากบริ ษัทขาดแคลนช่างฝี มือก็ อาจจะกระทบความสามารถในการสร้ างรายได้ ของบริ ษัท บริ ษัทให้ ความสําคัญกับการรักษาพนักงานทีJมีคณ ุ ภาพและปริ มาณพนักงานให้ เพียงพอต่อการปฏิบตั ิงาน โดย การกําหนดจํานวนพนักงานมาตรฐานในสายการผลิตไว้ ให้ สอดคล้ องกับชัวJ โมงการทํางานตลอดทังปี S กําหนดค่าตอบแทน ตามสายอาชีพโดยจัดทําเป็ น Career Path พนักงานทีJเข้ ามาใหม่จะต้ องอบรมหลักสูตรของโรงเรี ยนช่าง ช ทวี การสอบในแต่ ระดับชันS มีเส้ นทางของตําแหน่งและผลตอบแทนทีJชดั เจน จะลดความเสีJยงของการเข้ าออกของพนักงานช่างได้ อีกทางหนึJง จัดให้ มีสวัสดิการต่างๆ รวมไปถึงการสร้ างแรงจูงใจแก่พนักงานเบี Sยขยัน เงินออมทรัพย์พนักงาน นอกจากนีบS ริ ษัทยังมี ช่องทางในการจัดหาพนักงานหลายช่องทาง อาทิ การแนะนําจากเพืJอนพนักงาน การประชาสัมพันธ์ ในหน่วยงานต่างๆ สืJอ โฆษณา วิทยุ กรมทหารเกณฑ์ เป็ นต้ น จากช่วงเวลาทีJผ่านมาสําหรับปริ มาณงานทีJมีอยู่เดิมบริ ษัทได้ รับผลกระทบน้ อย สําหรับพนักงานช่าง


140

2) ความเสี$ยงด้ านการบริหารจัดการโดยการพึ$งพิงผู้บริหารหลัก บริ ษัทได้ ก่อตังขึ S Sนในปี 2536 โดยมีผ้ บู ริ หารหลักคือ นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย ซึงJ มีประสบการณ์และชืJอเสียงใน วงการธุรกิจมายาวนาน สร้ างความเชืJอถือ ความเชืJอมันJ และความสัมพันธ์อนั ดีกบั ทางลูกค้ าของบริ ษัทมาอย่างต่อเนืJอง ดังนันS การเปลียJ นแปลงผู้บริ หารหลัก อาจจะส่งผลกระทบทีJทําให้ บริ ษัทได้ รับความเสียJ งในการดําเนินธุรกิจได้ บริ ษัท ตระหนักถึงความเสียJ งทีJอาจจะเกิดขึ SนและกําหนดแนวทางในการลดความเสียJ งด้ วยการระบุขอบเขตอํานาจหน้ าทีJความ รับผิดชอบและอํานาจอนุมตั ิในแต่ละตําแหน่งและส่วนงานอย่างชัดเจน โดยมีการกระจายอํานาจในการบริ หารและการ จัดการอย่างเป็ นระบบผ่านผังอํานาจอนุมตั ิทีJได้ กําหนดไว้ สร้ าง Career Path เส้ นทางสายอาชีพ ในการสร้ างบุคคลากรของ บริ ษัทขึ Sนมาทดแทนด้ วยการส่งอบรมในหลักสูตรต่างๆ เพืJอเพิJมความรู้ ความสามารถ รวมถึงการมอบหมายหน้ าทีJและความ รับผิดชอบต่างๆ ให้ กบั ผู้มีความรู้ความสามารถและพิจารณาผลตอบแทนอย่างเหมาะสม เพืJอเพิJมแรงจูงใจในการปฏิบตั ิ หน้ าทีJและลดการพึงJ พิงพนักงานรายใดรายหนึงJ โดยเฉพาะ ทังนี S Sบริ ษัทได้ ทําแผนดําเนิน Career Path ทีJมนัJ ใจว่าสามารถลด ความเสียJ งจากการพึงJ พิงผู้บริ หารหลักและสร้ างความยังJ ยืนให้ กบั บริ ษัทต่อไปในอนาคต

17.4 ความเสี$ยงด้ านการเงิน 1) ความเสี$ยงจากอัตราแลกเปลี$ยน ในปี 2559 บริ ษัทยังมีการนําเข้ าวัสดุอุปกรณ์ ทีJต้องนํามาประกอบของสินค้ าจากต่างประเทศ รวมทังมี S การ จําหน่ายสินค้ าให้ แก่ลกู ค้ าต่างประเทศเป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศหลายสกุลเงิน ซึJงอาจมีความเสีJยงจากความผันผวน จากอัตราแลกเปลีJยนสกุลเงินตราต่างประเทศ ในภาวะทีJอตั ราแลกเปลีJยนมีความผันผวนสูงเกินไปจนอาจส่งผลลบต่อ เศรษฐกิจ ทังนี S S ในอดีตบริ ษัทฯ มีนโยบายป้องกันความเสีJยงจากอัตราแลกเปลีJยน โดยการประเมินสถานการณ์ ในการ ป้องกันความเสียJ งจากอัตราแลกเปลียJ น และติดตามความเคลืJอนไหวของสกุลเงินต่างประเทศต่อสกุลเงินบาทอย่างใกล้ ชิด ประกอบกับการทําสัญญาซื Sอขายเงินตราล่วงหน้ า (Forward Contract) ตามสถานการณ์และความจําเป็ น โดยในปี 2559 บริ ษัท ฯ มีผลกําไร/ขาดทุนจากอัตราแลกเปลียJ นจํานวน 7.98 ล้ านบาท


141 2) ความเสี$ยงจากอัตราดอกเบียD

เนืJองจากบริ ษัทต้ องนําเงินจากสถาบันการเงินส่วนหนึJงเพืJอมาลงทุนในโครงการหลายโครงการทีJรับงานตาม สัญญามีความจําเป็ นต้ องสังJ ซื SอวัตถุดิบเพืJอนํามาใช้ ในการผลิตก่อนได้ รับเงินครบตามสัญญา ซึงJ เงินส่วนหนึJงจะต้ องกู้แหล่ง สถาบันการเงินเพืJอให้ เกิดสภาพคล่องของการผลิตสินค้ าส่งมอบให้ กับลูกค้ าหรื อการขยายธุรกิจการให้ บริ การ หากอัตรา ดอกเบี SยปรับตัวเพิJมขึ Sน บริ ษัทจะมีภาระต้ นทุนทางการเงินทีJเพิJมขึ Sนในการขยายธุรกิจ อาจจะเป็ นต้ นทุนค่าใช้ จ่ายทีJสง่ ผลต่อ งบกําไร/ขาดทุนของบริ ษัทได้ บริ ษัทฯตระหนักถึงความเสีJยงดังกล่าว จึงมีนโยบายกระจายความเสีJยงเรืJ องของอัตราดอกเบี Sยในแต่ละแหล่ง เงิ นทุนหลายๆแห่ง เพืJ อเปรี ยบเที ยบความเหมาะสมในด้ านระยะเวลาและมูลค่ารวมของธุ รกิ จแต่ละโครงการทีJ ก้ ูยื ม นอกจากนีภS ายหลังจากการเสนอขายหุ้นให้ แก่ประชาชน ทําให้ บริ ษัทสามารถมีเงิ นทุนในการขยายธุรกิ จหรื อซือS สินค้ า สามารถต่อรองราคาและอัตราดอกเบี Sยลดลงได้ บริ ษัทเชืJอมันJ ว่าความเสียJ งดังกล่าวจะไม่สง่ ผลกระทบต่อการดําเนินงาน 3) ความเสี$ยงจากการรับชําระเงินลูกหนีลD ่ าช้ า บริ ษัทฯ เป็ นผู้รับจ้ างผลิตสินค้ าตามคําสังJ ซื Sอของลูกค้ า (Made to Order) และงานบริ หารโครงการทีJมีสญ ั ญา ควบคุม ซึงJ มีการกําหนดส่งมอบสินค้ าและรับชําระเงินตามเงืJอนไขทีJตกลงในสัญญา หรื อเป็ นผู้ให้ บริ การรับบริ หารโครงการ ซึงJ เป็ นงานทีJต้องให้ บริ การก่อนการเรี ยกเก็บเงินตามเงืJอนไขทีJตกลง ทําให้ บริ ษัทฯ มีความเสีJยงจากการทีJลกู ค้ าบางรายอาจ ชําระเงินค่าสินค้ าหรื อค่าบริ การล่าช้ า หรื ออาจมีปัญหาในการชําระเงิน ซึJงจะส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องทางการเงินของ บริ ษัทฯ เนืJองจากบริ ษัทฯ มีรายการค่าใช้ จ่ายคงทีJซึJงเป็ นรายจ่ายประจําทุกเดือน ในปี 2559 บริ ษัทมียอดลูกหนี S Over Due จํานวน 9 ราย คิดเป็ นมูลค่า 8.53 ล้ านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 0.81 ของรายได้ หลักทังปี S อย่างไรก็ ตาม บริ ษัทฯ ตระหนักดีถึงความเสีJยงดังกล่าว เพืJอเป็ นการลดความเสีJยง บริ ษัทฯ จึงกํ าหนดแผน ป้องกันความเสียJ งโดยมีนโยบายประเมินศักยภาพของลูกค้ าหรื อผู้วา่ จ้ างก่อนพิจารณารับคําสังJ ซื Sอหรื อตกลงให้ บริ การ และมี การกําหนดให้ ลกู ค้ าชําระเงินมัดจําล่วงหน้ าก่อนส่วนใหญ่ในอัตราร้ อยละ 15 - ร้ อยละ 30 ของมูลค่าสังJ ซื Sอตามสัญญา ใน กรณีสญ ั ญาจ้ างผลิตสินค้ า และมีการกําหนดให้ เจ้ าของโครงการชําระค่าบริ การเป็ นรายเดือนหรื อเป็ นรายงวดตามความ คืบหน้ าของงานบริ การทีJเหมาะสม และมอบหมายให้ ฝ่ายการเงินเป็ นผู้รับผิดชอบสรุปรายงานการรับชําระเงินของลูกค้ า หาก มีลกู ค้ ารายใดเกินกําหนดชําระเงินจะต้ องทําการติดตามเรี ยกชําระเงิน และแจ้ งให้ ทกุ ฝ่ ายงานทีJเกีJยวข้ องรวมทังผู S ้ บริ หาร ระดับสูงทราบโดยทันทีและผ่านการประชุม Executive committee ซึJงทีJให้ ฝ่ายทีJรับผิดชอบดําเนินการติดตาม ซึJงการ สือJ สารอย่างเป็ นระบบ ทางบริ ษัทมันJ ใจว่าจะขจัดความเสียJ งจากการชําระหนี Sล่าช้ าจากลูกค้ าลงได้

17.5 ความเสี$ยงด้ านการคอร์ รัปชั$น ลักษณะธุรกิจของบริ ษัทฯมีธุรกรรมการขาย และการให้ บริ การบริ หารโครงการแก่ภาครัฐ และเอกชน เป็ นงานทีJ จะต้ องมีการเข้ าไปเสนอราคา ประกวดราคา ประมูลงาน ต่าง ๆ จึงมีความความเสียJ งในด้ านการทุจริ ต และคอร์ รัปชันJ บริ ษัทให้ ความสําคัญเกีJยวกับจริ ยธรรมและคุณธรรม บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญกับการต่อต้ านการทุจริ ต และ คอร์ รัปชัน ตลอดจนสนับสนุนและส่งเสริ มให้ บคุ ลากรทุกระดับมีจิตสํานึกในการต่อต้ านการทุจริ ต และคอร์ รัปชันในทุก รู ปแบบ คณะกรรมการบริ ษั ทฯ จึ งได้ กํ าหนดนโยบายการป้ องกัน และต่อต้ านการทุจริ ต การให้ ห รื อ รั บ สิน บน (AntiCorruption and Anti-Bribery Policy) ไว้ ในนโยบายการกํากับดูแลการปฏิบตั ิงาน ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ (Corporate Compliance Policy) ซึงJ สอดคล้ องตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการทีJดีและจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ


142

(Corporate Governance and Business Code of Conduct) โดยจัดให้ มีช่องทางรับข้ อร้ องเรี ยนและมีกระบวนการ ตอบสนองทีJรวดเร็ วเป็ นธรรม โดยมุ่งหวังว่าพนักงานทุกคนจะร่ วมกันสอดส่องดูแลการปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแล กิจการทีJดีและจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ ด้ วยการสอบถามกรณีมีข้อสงสัยหรื อข้ องใจเกีJยวกับจรรยาบรรณธุรกิจ หรื อ ร้ องเรี ยนเมืJอพบพฤติกรรมทีJไม่เหมาะสมหรื อขัดต่อจรรยาบรรณธุรกิจ หรื อสอบถามข้ อข้ องใจ ได้ โดยตรงถึงคณะกรรมการ ตรวจสอบของบริ ษัทซึJงเป็ นกรรมการอิสระของบริ ษัท ได้ หลายช่องทาง ทีJ หัวหน้ าแผนกตรวจสอบภายใน หรื อ Email : auditcom@cho.co.th ทังนี S Sจะรับฟั งทุกข้ อร้ องเรี ยนอย่างเสมอภาค โปร่ งใส เป็ นธรรมแก่ทุกฝ่ าย มีระยะเวลาสอบสวน อย่างเหมาะสม มีการรักษาความลับและคุ้มครองผู้ร้องเรี ยนไม่ให้ ถกู กลันJ แกล้ งทังในระหว่ S างการสอบสวนและภายหลังการ สอบสวน โดยในปี 2559 พบว่า ไม่มีการร้ องเรี ยนทีJเกีJยวข้ องกับการกํากับดูแลกิจการทีJดี

17.6 ความเสี$ยงด้ านภาษี ลักษณะธุรกิจของบริ ษัทฯมีธุรกรรมกาซื Sอ ขายสินค้ า ทังในประเทศและต่ S างประเทศ จึงมีความความเสีJยงในด้ าน การปฏิบตั ิให้ ถกู ต้ องตามกฎหมายด้ านภาษี และการชําระภาษี ของสินค้ าและบริ การในแต่ละประเภท เพืJอให้ บริ ษัทฯ มีการบริ หารจัดการด้ านภาษี อากรทีJถูกต้ องตามทีJกฎหมายกําหนด ตลอดจนมีแนวทางในการ วางแผนและการปฏิบตั ิทางด้ านภาษี สอดคล้ องไปในทิศทางเดียวกันทางบริ ษัทได้ มีการวางแผน และแนวทางการปฏิบตั ิ ทางด้ านภาษี โดยการชําระภาษี อากรให้ ถกู ต้ องตามทีJกฎหมาย และรักษาชืJอเสียงและความสัมพันธ์ ทีJดีขององค์กรต่อ หน่วยงานภาษี ของรัฐทีJเกีJยวข้ องนําส่งภาษี อากรภายในระยะเวลาทีJกฎหมายกําหนด และต้ องบริ หารจัดการการจ่ายเงิน หรื อขอคืนภาษี อากรให้ เกิดสภาพคล่องสูงสุดแก่บริ ษัท โดยมีการพิจารณาผลกระทบทางภาษี สําหรับโครงการลงทุน หรื อ เมืJอมีธุรกรรมใหม่ โดยหน่วยงานทีJรับผิดชอบด้ านภาษี ของบริ ษัท และหากเป็ นธุรกรรมทีJบริ ษัทยังไม่มีความชํ านาญ เกีJยวกับข้ อกฎหมายทางด้ านภาษี ก็อาจจ้ างผู้ชํานาญการ ทีJปรึ กษาภาษี เพืJอให้ ทางบริ ษัทปฏิบตั ิได้ ถกู ต้ องตามกฎหมาย และป้องกันความเสียหายทีJจะเกิดขึ Sนในด้ านภาษี


143


144

18. รายการระหว่ างกัน บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีการทํารายการกับบุคคลทีJอาจมีความขัดแย้ งต่างๆ ซึJงรายการระหว่างกันทีJเกิดขึ Sนนันเป็ S นการทํารายการกับกรรมการทีJเป็ นผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ และผู้เกีJยวข้ องตาม มาตรา 258 ซึJงรายการดังกล่าวได้ เปิ ดเผยไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินทีJตรวจสอบและงบระหว่างกาลทีJสอบทานโดยผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯและทางคณะกรรมการตรวจสอบได้ ให้ ความเห็น เกีJยวกับความเหมาะสมของการทํารายการดังกล่าวว่า เป็ นรายการทีJเป็ นไปตามธุรกิจปกติของบริ ษัทฯ หรื อมีความสมเหตุสมผล มีการกําหนดราคาและเงืJอนไขอืJนๆ ตามราคาตลาดและเป็ นไปตามปกติ ธุรกิจการค้ า (Fair and at arms’ length) เช่นเดียวกับการกําหนดราคาให้ กบั บุคคลหรื อกิจการอืJนทีJไม่เกีJยวข้ องกัน และไม่มีการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริ ษัทฯ บริ ษัทย่อย และบุคคลทีJอาจมีความ ขัดแย้ ง

1. รายการระหว่ างกัน รายการระหว่างกันของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย กับบุคคลทีJอาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ สําหรับงวดบัญชีปี 2558-2559 สิ SนสุดวันทีJ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ 31 ธันวาคม พ.ศ.2559 ดังนี S ชื$อผู้เกี$ยวข้ อง / ความสัมพันธ์ 1. บจก.ขอนแก่น ช.ทวี (1993) - คุณสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย (ผู้ถือหุ้นใหญ่/กรรมการ) ถือหุ้น 97.385% และเป็ นกรรมการของ บริ ษัทดังกล่าว

ลักษณะรายการระหว่ างกัน บริ ษัทฯ จําหน่ายสินค้ า และบริ การ งานซ่อมตัวถังรถบรรทุก รถพ่วง-กึJง พ่วง

บริ ษัทฯ แบ่งพืนS ทีJอาคารสํานักงาน ให้ บจก.ขอนแก่น ช.ทวี (1993) เช่า เป็ นทีJตงสํ ั S านักงาน

มูลค่ า (ล้ านบาท) 31 ธ.ค. 58 31 ธ.ค. 59 0.08 0.00

0.36

0.36

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผล -

บริ ษัทฯ จํ าหน่ายสินค้ าและอะไหล่ และให้ บริ การงาน ซ่อ มและบริ ก ารงานอืJ น ตามธุ ร กิ จ การค้ า ปกติ โดยมี เงืJอนไขการค้ าทัวJ ไปไม่ตา่ งจากทีJทํากับบุคคลอืJน

-

-

บริ ษั ท ฯ แบ่ ง พื นS ทีJ อ าคารสํ า นั ก งานใหญ่ ใ ห้ บจก. ขอนแก่น ช.ทวี (1993) เช่าเป็ นทีJตงสํ ั S านักงาน ในอัตรา ค่าเช่า 30,000 บาท/เดือ น ลักษณะสัญ ญาเช่าปี ต่อ ปี โดยคิดค่าเช่าตามอัตราตลาด

-

มี ค วามเหมาะสมตามราคาตลาด และเป็ นไปตามธุ ร กิ จ การค้ า ปกติ ธุรกิจการค้ า (Fair and at arms’ length) ราคาซื อS ขายใกล้ เคี ย งกั บ ราคาทีJซื SอขายกับบุคคลอืJน มีการคิดค่าเช่าตามอัตราตลาดทีJมี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ เ ป็ น ไ ป ตามปกติธุรกิจการค้ า


ชื$อผู้เกี$ยวข้ อง / ความสัมพันธ์ 1. บจก.ขอนแก่น ช.ทวี (1993) (ต่อ)

2. บจก.วอลแลพ ทรัค แอนด์ บัส - คุณอัศนา ทวีแสงสกุลไทย (กรรมการ) ถือหุ้น 0.50% และ เป็ นกรรมการของบริ ษัทดังกล่าว

ลักษณะรายการระหว่ างกัน บริ ษัทฯ ให้ บริ การด้ านกฎหมาย บริ ษัทฯ มีขาย อืJนๆ

มูลค่ า (ล้ านบาท) 31 ธ.ค. 58 31 ธ.ค. 59 0.00 0.48 0.00 0.02

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผล -

บริ การด้ านกฎหมายและคําปรึกษาด้ านคดีความ ขายวัสดุอืJนๆ

-

มี ค วามเหมาะสมและและเป็ นไป ตามนโยบายบริ ษัทฯ

เป็ นการใช้ ห ลัก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ทีJ เกีJ ย วข้ องคํ าS ประกั น ตามวงเงิ น ทีJ ได้ รั บ จากธนาคาร เพืJ อ ใช้ ในการ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ตามความ จําเป็ น และค่าธรรมเนียมเป็ นอัตรา เท่ า กั บ บริ ษั ท ฯ ใช้ ของสถาบั น การเงินอืJน ถือว่าเหมาะสม

ค่ า ธรรมเนี ย มใช้ หลั ก ทรั พ ย์ ข อง บจก.ขอนแก่น ช.ทวี (1993) คํ าS ประกันวงเงินของบริ ษัทฯ

0.60

0.60

-

บริ ษัทฯ ได้ รับวงเงินกู้จากธนาคาร โดยใช้ หลักทรัพย์ของ บจก. ขอนแก่น ช.ทวี (1993) คํ Sาประกัน จากเดิมไม่คิด มูลค่า และเพืJอให้ มีความชัดเจน จึงคิดค่าธรรมเนียมใน อัตราเท่ากับ บริ ษัทอืJนทีJดําเนินธุรกิจให้ ยืมหลักทรัพย์คํ Sา ประกัน

-

ค่า เช่ า พื นS ทีJ และสร้ างโรงจอดรถ KKU Smart Transit วิJงภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น

0.03

0.36

-

ใช้ เป็ นสถานทีJจอดรถโครงการ KKU Smart Transit วิJง ภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น

-

บ ริ ษั ท ฯ มี ย อ ด เ จ้ า ห นี SอืJ น อั น เนืJองมาจากรายการดังกล่าว ณ วัน สิ Sนงวดบัญชี

0.03

0.00

-

บริ ษั ทฯ จํ าหน่ ายสิ นค้ า และบริ การ งานซ่อมตัวถังรถบรรทุก รถพ่ วง-กึJ ง พ่วง บริ ษัทฯ มียอดลูกหนี Sการค้ ารวมเงิน มั ด จํ า ล่ ว งหน้ า อั น เนืJ อ งมาจาก

0.056

0.046

-

-

0.68

0.00

-

บริ ษั ท ฯ จํ า หน่ า ยสิ น ค้ า และอะไหล่ ต ามธุ ร กิ จ การค้ า ปกติ โดยมีการเปรี ยบเทียบราคากับผู้ขายรายอืJน ราคา และเงืJอนไขการค้ าทีJเสนอมาอยู่ในเกณฑ์ราคาตลาด บริ ษั ทฯ ให้ เ ครดิต เทอมเป็ นไปตามระยะเวลาเครดิต การค้ าปกติ

มี ก า ร คิ ด ค่ า บ ริ ก า ร ใ น อั ต ร า ทีJ เหมาะสม โดยมีการเปรี ยบเทียบกับ อัตราค่าบริ การจากบุคคลภายนอก ทัวJ ไป บริ ษัทฯ ได้ รับเครดิตเทอมเป็ นไปตามระยะเวลาเครดิต - เงืJอนไขใกล้ เคียงกับทีJได้ รับจากบุคคล การค้ าปกติ อืJนและไม่มีรายการในปี 2555 มีความเหมาะสมและเป็ นไปตาม ธุรกิจการค้ าปกติ ราคาซื Sอขาย ใกล้ เคียงกับราคาทีJซื Sอขายกับบุคคล อืJน และเงืJอนไขใกล้ เคียงกับทีJให้ แก่ บุคคลอืJน


146

ชื$อผู้เกี$ยวข้ อง / ความสัมพันธ์

ลักษณะรายการระหว่ างกัน

มูลค่ า (ล้ านบาท) 31 ธ.ค. 58 31 ธ.ค. 59

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผล

รายการดังกล่าว ณ วันสิ Sนงวดบัญชี 2. บจก.วอลแลพ ทรัค แอนด์ บัส (ต่อ) บริ ษัทฯ มีการซื Sอสินค้ า วัตถุดิบและ อุปกรณ์ตา่ งๆ

3.83

1.85

-

บริ ษัทฯ มี จ้างบํารุ งรั กษาโครงการ KKU Smart Transit

0.12

3.19

-

บริ ษั ท ฯ มี ย อดเจ้ าหนี กS ารค้ าอั น เนืJองมาจากรายการดังกล่าว ณ วัน สิ Sนงวดบัญชี บริ ษัทฯ ให้ บริ การด้ านงานบริ หาร, โป ร แ ก ร ม ท าง บั ญ ชี แ ล ะ จ่ า ย ค่าใช้ จ่ายอืJนๆ ให้ ล่วงหน้ า

0.02

0.05

-

บริ ษัทฯ ได้ รับเครดิตเทอมเป็ นไปตามระยะเวลาเครดิต การค้ าปกติ

0.25

1.58

-

ค่าปรึกษาทางกฎหมาย

0.00

0.36

-

บริ ษัทฯ ซื Sอหัวรถ อะไหล่และอุปกรณ์ ในราคาซื SอขายทีJ ตกลงร่ วมกัน โดยราคาสินค้ าอยู่ในราคาทีJใกล้ เคียงกับ ราคาตลาด บริ ษัทฯ จ้ างงานซ่อมบํารุ งรถ KKU Smart Transit ใน ราคามาตรฐานศูนย์ซอ่ ม

-

มี ก ารเปรี ย บเที ยบราคาตามความ เหมาะสม และเป็ นไปตามธุ ร กิ จ การค้ าปกติ ราคาซือS ขายใกล้ เคีย ง กับราคาทีJซื SอขายกับบุคคลอืJน และ เงืJ อ นไขใกล้ เคี ย งกั บ ทีJ ไ ด้ รั บ จาก บุคคลอืJน

บจก.วอลแลพ ทรัค แอนด์ บัส ไม่มีโปรแกรมบัญชี จึงมี การว่าจ้ างบริ ษัท ฯ ให้ บริ ก ารงานด้ านโปรแกรมบัญ ชี และอืJ น ๆ โดยกํ า หนดอัต ราค่า บริ ก าร 80,000 บาท/ เดือน ในโครงการ OPV ซึJงมีการเก็บข้ อมูลสถิติการใช้ งานเพืJ อ ประเมิ น ความถีJ ข องการใช้ งานและนํ า มา คํ า นวณในการกํ า หนดอั ต ราค่ า บริ การ โดยมี ก าร เปรี ยบเที ย บกั บ อัต ราค่ า บริ ก ารกรณี ใ ช้ บริ ก ารจาก บุคคลภายนอกทัวJ ไป ซึงJ ปั จจุบนั ได้ จบโครงการแล้ วใน เดือน กรกฎาคม 2556

-

มี ก า ร คิ ด ค่ า บ ริ ก า ร ใ น อั ต ร า ทีJ เหมาะสม โดยมีการเปรี ยบเทียบกับ อัตราค่าบริ การจากบุคคลภายนอก ทัวJ ไป

ให้ บริ การด้ านกฎหมายและให้ คําปรึกษาด้ านคดีความ

-

มี ก า ร คิ ด ค่ า บ ริ ก า ร ใ น อั ต ร า ทีJ เหมาะสม โดยมีการเปรี ยบเทียบกับ อัตราค่าบริ การจากบุคคลภายนอก ทัวJ ไป


ชื$อผู้เกี$ยวข้ อง / ความสัมพันธ์ 3. Doll Fahrzeugbau GmbH - ผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ ในสัดส่วน 0.040% ของทุนชําระแล้ ว ณ ปิ ด สมุดเมืJอวันทีJ 30/12/2559

4. บจก.รวมทวีขอนแก่น - คุณศิริวฒ ั น์ ทวีแสงสกุลไทย (กรรมการ) ถือหุ้น 19.16% และ เป็ นกรรมการของบริ ษัทดังกล่าว

ลักษณะรายการระหว่ างกัน บริ ษัทฯ มีการสังJ ซื Sอสินค้ าจาก Doll Fahrzeugbau GmbH บริ ษั ท ฯ มี ย อดเจ้ าหนี กS ารค้ าอั น เนืJองมาจากรายการดังกล่าว ณ วัน สิ Sนงวดบัญชี บริ ษัทฯ มีการจําหน่ายอะไหล่ และ สินค้ า

มูลค่ า (ล้ านบาท) 31 ธ.ค. 58 31 ธ.ค. 59 79.39 62.94

-

0.77

6.88

22.67

0.00

-

บริ ษั ท ฯ มี ย อดลู ก หนี กS ารค้ าอั น เนืJองมาจากรายการดังกล่าว ณ วัน สิ Sนงวดบัญชี

15.87

0.00

-

บริ ษัทฯ จําหน่ายสินค้ า และบริ การ งานซ่อมตัวถังรถบรรทุก รถพ่วง-กึJง พ่วง

0.00

0.03

-

0.00

0.028

6.39

10.27

บ ริ ษั ท ฯ มี ย อ ด ลู ก ห นี Sก า ร ค้ า เนืJองมาจากรายการดังกล่าว ณ วัน สิ Sนงวดบัญชี

บริ ษั ท ฯ มี การซื อS วั ต ถุ ดิ บ แ ล ะ อะไหล่

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผล

-

-

บริ ษัทฯ สัJงซือS วัตถุดิบต่างๆ จาก Doll Fahrzeugbau - มี ค วามเหมาะสมและมี เ งืJ อ นไข GmbH ตามธุรกิจการค้ าปกติ เพืJอใช้ ในการผลิตสินค้ า การค้ าเป็ นไปตามธุรกิจการค้ าปกติ ตามเงืJอนไขสัญญาถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างกัน โดย ราคาซื Sอขายใกล้ เคียงกับราคาทีJซือS มี เ งืJ อ นไขการค้ าตามธุ ร กิ จ การค้ าปกติ ข อง Doll ขายกั บ บุ ค คลอืJ น และเงืJ อนไ ข Fahrzeugbau GmbH ใกล้ เคียงกับทีJได้ รับจากบุคคลอืJน บริ ษัทฯ มี ให้ บริ การแก่ Doll Fahrzeugbau GmbH - มี ค วามเหมาะสมและเป็ นไปตาม เนืJองจากมาติดต่องานในประเทศไทย โดยมีการกําหนด นโยบายการกําหนดราคาของบริ ษัทฯ ราคาค่าบริ การตามนโยบายราคาของบริ ษัทฯ โดยมี เ งืJ อ นไขการค้ า ตามธุ ร กิ จ การค้ า ปกติ ข อง Doll - เป็ นไปตามธุรกิจการค้ าปกติ ราคาซื Sอ Fahrzeugbau GmbH ซึJงอยู่ใ นราคาทีJใ กล้ เคี ย งกับ ขายตามราคาตลาด และเงืJ อ นไข ราคาตลาด และได้ รับเครดิตเทอมเป็ นไปตามระยะเวลา ใกล้ เคียงกับทีJได้ รับจากบุคคลอืJน เครดิตการค้ าปกติ บริ ษั ท ฯ จํ า หน่ า ยอะไหล่ แ ละให้ บ ริ ก ารซ่อ มแซมตาม ธุรกิจการค้ าปกติ โดยมีการเปรี ยบเทียบราคากับผู้ขาย รายอืJน ราคาและเงืJอนไขการค้ าทีJเสนอมาอยู่ในเกณฑ์ ราคาตลาด บริ ษัทฯ มียอดลูกหนี Sจากการจําหน่ายสินค้ าและอะไหล่ และการให้ บริ การตามธุรกิจการค้ าปกติ

-

บริ ษัทฯ ซื Sอวัตถุดบิ และอะไหล่ตามธุรกิจการค้ าปกติ

-

-

มีความเหมาะสมตามราคาตลาดและ เป็ นไปตามธุร กิจการค้ าปกติ ราคา ซื Sอขายใกล้ เคียงกับราคาทีJซื Sอขายกับ บุคคลอืJน เป็ นไปตามธุรกิจการค้ าปกติ ราคา ซื อS ข าย ต าม ร า ค าต ล า ด แ ล ะ เงืJ อ นไขใกล้ เคี ย งกับ ทีJ ไ ด้ รั บ จาก บุคคลอืJน มีความเหมาะสมและมีเงืJอนไข


148

ชื$อผู้เกี$ยวข้ อง / ความสัมพันธ์

ลักษณะรายการระหว่ างกัน บริ ษั ท ฯ มี ย อดเจ้ าหนี กS ารค้ าอั น เนืJองมาจากรายการดังกล่าว ณ วัน สิ Sนงวดบัญชี

5. หจก. ตังฮั S วJ ซิงนครปฐม - นางเพ็ญพิมล เวศย์วรุ ตม์ เป็ นหุ้นส่วนใหญ่ และเป็ นหุ้นส่วน ผู้จดั การ

บริ ษัทฯ จําหน่ายสินค้ า และบริ การ งานซ่อมตัวถังรถบรรทุก รถพ่วง-กึJง พ่วง บริ ษัทฯ มีการสังJ ซื Sอสินค้ า,วัตถุดบิ บริ ษั ท ฯ มี ย อดเจ้ าหนี กS ารค้ าอั น เนืJองมาจากรายการดังกล่าว ณ วัน สิ Sนงวดบัญชี

6. TSP-CTV JOINT VENTURE - บริ ษัทฯ ทําสัญญากิจการร่ วม ค้ ากับ บจก.ทีเอส เอ็นเนอร์ จีJ เซฟ วิงJ ไลท์ติ Sง โดยมีความรับผิดชอบ ร่ วมกัน

7. JVCC JOINT VENTURE. - บริ ษัทฯ ทําสัญญากิจการร่ วม ค้ ากับ บจก.ขอนแก่น ช.ทวี

มูลค่ า (ล้ านบาท) 31 ธ.ค. 58 31 ธ.ค. 59 0.05 2.50

0.02

3.36 0.00

-

โดยมี เงืJ อ นไขการค้ าตามธุร กิจการค้ าปกติข อง บจก. รวมทวีขอนแก่น ซึงJ อยู่ในราคาทีJใกล้ เคียงกับราคาตลาด และได้ รั บ เครดิต เทอมเป็ นไปตามระยะเวลาเครดิ ต การค้ าปกติ

-

เป็ นไปตามธุรกิจการค้ าปกติ ราคา ซื Sอขายตามราคาตลาด และเงืJอนไข ใกล้ เคียงกับทีJได้ รับจากบุคคลอืJน

0.00

-

-

มี ค วามเหมาะสมและเป็ นไปตาม ธุ ร กิ จ การค้ าปกติ ราคาซื อS ขาย ใกล้ เคียงกับราคาทีJซื Sอขายกับบุคคล อืJนและตามราคาตลาด

106.50 112.95

-

บริ ษั ท ฯ จํ า หน่ า ยอะไหล่ แ ละให้ บ ริ ก ารซ่อ มแซมตาม ธุรกิจการค้ าปกติ โดยมีการเปรี ยบเทียบราคากับผู้ขาย รายอืJน ราคาและเงืJอนไขการค้ าทีJเสนอมาอยู่ในเกณฑ์ ราคาตลาด บริ ษัทฯ ซื Sอวัตถุดบิ และอะไหล่ตามธุรกิจการค้ าปกติ บริ ษัทฯ มียอดเจ้ าหนี Sจากการจําหน่ายสินค้ าและอะไหล่ และการให้ บริ การตามธุรกิจการค้ าปกติ

-

เป็ นไปตามธุรกิจการค้ าปกติ ราคา ซื Sอขายตามราคาตลาด และเงืJอนไข ใกล้ เคียงกับทีJได้ รับจากบุคคลอืJน

-

บริ ษัทฯ คิดค่าบริ หารงาน และจ่ายค่าใช้ จ่ายแทนตาม ความจําเป็ นเนืJองจาก Joint Venture ยังไม่มีบคุ คลากร เอง เพืJอเสนองานโครงการในกํากับของ กระทรวงกลาโหม

-

มี ค วามเหมาะสมและเป็ นไปตาม ความจําเป็ น และการกําหนดราคา ของบริ ษัทฯ

-

มี ค วามเหมาะสมและเป็ นไปตาม ความจําเป็ นระยะสันและจํ S านวนเงิน ไม่มากอย่างมีนยั สําคัญ

บริ ษัทฯ จําหน่ายหลอด LED และ ควบคุมสต๊ อค บริ ษัทฯ ให้ บริ การด้ านบริ หารงาน บริ ษัทฯ มี ลูกหนี อS ืJนอันเนืJ อ งมาจาก รายการดังกล่าว ณ วันสิ Sนงวดบัญชี บริ ษัทฯ มี ลูกหนี จS ากค่าใช้ จ่ายแทน อันเนืJองจากรายการดังกล่าว ณ วัน สิ Sนงวดบัญชี

25.05

0.00

8.421 72.76

1.91 1.82

บริ ษัทฯ มีลูกหนี Sจากค่าใช้ จ่าย จ่าย แทนอันเนืJ อ งจากรายการดัง กล่า ว ณ วันสิ Sนงวดบัญชี

2.41

5.78

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผล

-

0.02

5.03 - บริ ษัทฯ จ่ายค่าใช้ จ่ายแทนตามความจําเป็ นเนืJอ งจาก Joint Venture ยังไม่มีบุคลากรเอง เพืJอเข้ าร่ วมเสนอ งานโครงการต่า งๆ ทังS ทางราชการ และเอกชน ทีJ มี เงืJ อ นไขให้ ทุน จดทะเบี ย นของบริ ษั ท ทีJ เ ข้ าร่ ว มเสนอ


ชื$อผู้เกี$ยวข้ อง / ความสัมพันธ์

ลักษณะรายการระหว่ างกัน

มูลค่ า (ล้ านบาท) 31 ธ.ค. 58 31 ธ.ค. 59

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผล

(1993) โดยมีความรับผิดชอบ ร่ วมกัน

โครงการมากกว่า 270 ล้ านบาท ขึ Sนไป

8. JVCE Joint Venture - บริ ษัทฯ ทําสัญญากิจการร่ วม ค้ ากับ บจก.ขอนแก่น ช.ทวี (1993) โดยมีความรับผิดชอบ ร่ วมกัน 9. บริ ษัท ขอนแก่นพัฒนาเมือง (เคเคทีที) จํากัด - นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย (กรรมการ) ถือหุ้น 6.86 % และ เป็ นกรรมการบริ ษัทดังกล่าว

บริ ษัทฯ มีลูกหนี Sจากค่าใช้ จ่าย จ่าย แทนอันเนืJ อ งจากรายการดัง กล่า ว ณ วันสิ Sนงวดบัญชี

0.00

0.25 - บริ ษัทฯ จ่ายค่าใช้ จ่ายแทนตามความจําเป็ นเนืJอ งจาก Joint Venture ยังไม่มีบุคลากรเอง เพืJอเข้ าร่ วมเสนอ งานโครงการต่างๆ ทังทางราชการ S และเอกชน

บริ ษั ท ฯ ให้ บริ การจั ด ทํ า วี ดี โ อ นําเสนอโครงการ และงานอืJนๆ

0.38

0.18

-

บริ ษัทฯ มียอดลูกหนี Sการค้ ารวมเงิน มั ด จํ า ล่ ว งหน้ า อั น เนืJ อ งมาจาก รายการดังกล่าว ณ วันสิ Sนงวดบัญชี

0.00

0.13

-

10. นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย - ผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริ ษัทฯ ใน สัดส่วน 41.221% ของทุนชําระ แล้ ว ณ ปิ ดสมุดเมืJอวันทีJ 30/12/2559 - กรรมการ -ประธานกรรมการบริ หาร - กรรมการผู้จดั การใหญ่และ ประธานเจ้ าหน้ าทีJบริ หาร

เข้ าเป็ นผู้คํ SาประกันวงเงินสินเชืJอ ของบริ ษัทย่อยกับธนาคาร

วงเงินคํ Sาประกัน ธนาคาร 2 แห่ง รวม 26.00 ล้ าน บาท

วงเงินคํ Sาประกัน ธนาคาร 1 แห่ง รวม 19.00 ล้ าน บาท

-

บริ ษัทฯ ให้ บริ การดําเนินการจัดทําวีดีโอ Presentations ให้ กบั บริ ษัท ขอนแก่นพัฒนาเมือง (เคเคทีที) จํากัด และเรี ยกเก็บค่าใช้ จ่าย บริ ษัทฯ ให้ บริ การและให้ คําปรึกษาด้ านบัญชี

บริ ษัทย่อยได้ ทําสัญญาเงินกู้กบั ธนาคาร โดยมีเงืJอนไขให้ กรรมการเป็ นผู้คํ Sาประกันวงเงินดังกล่าว นอกเหนือจาก หลักประกันอืJน โดยกรรมการไม่คิดค่าตอบแทนการคําS ประกันหนี Sดังกล่าว

-

มี ค วามเหมาะสมและเป็ นไปตาม ความจํ าเป็ น และการกํ าหนดราคา ของบริ ษัทฯ

-

มี ค วามเหมาะสมและและเป็ นไป ตามนโยบายบริ ษัทฯ

-

มี ค วามเหมาะสมและเป็ นไปตาม ความจําเป็ นระยะสันและจํ S านวนเงิน ไม่มากอย่างมีนยั สําคัญ

-

รายการมี ค วามสมเหตุส มผลและ เป็ นไปเพืJอ ประโยชน์ ในการดําเนิน ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ รวมทังS มี ค วาม จํ าเป็ นต้ อ งปฏิบัติตามเงืJ อ นไขของ ธนาคาร


150

ชื$อผู้เกี$ยวข้ อง / ความสัมพันธ์

ลักษณะรายการระหว่ างกัน

11. นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย - ผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ ในสัดส่วน 3.326% ของทุนชําระแล้ ว ณ ปิ ดสมุดเมืJอวันทีJ 30/12/2559 - กรรมการ -กรรมการบริ หาร - รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ อาวุโส

เข้ าเป็ นผู้คํ SาประกันวงเงินสินเชืJอ ของบริ ษัทย่อยกับธนาคาร

บริ ษัทฯ จ่ายค่าเช่า สํานักงานทีJ กรุ งเทพมหานคร เจ้ าหนี Sจากรายการดังกล่าว ณ วัน สิ Sนงวดบัญชี

มูลค่ า (ล้ านบาท) 31 ธ.ค. 58 31 ธ.ค. 59 วงเงินคํ Sาประกัน วงเงินคํ Sาประกัน ธนาคาร 2 แห่ง ธนาคาร 1 แห่ง รวม 26.00 ล้ าน รวม 19.00 ล้ าน บาท บาท 1.20

1.20

0.20

0.20

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผล -

บริ ษัทย่อยได้ ทําสัญญาเงินกู้กบั ธนาคาร โดยมีเงืJอนไขให้ กรรมการเป็ นผู้คํ Sาประกันวงเงินดังกล่าว นอกเหนือจาก หลักประกันอืJน โดยกรรมการไม่คิดค่าตอบแทนการคําS ประกันหนี Sดังกล่าว

-

รายการมี ค วามสมเหตุส มผลและ เป็ นไปเพืJ อ ประโยชน์ ในการดําเนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ รวมทังS มี ค วาม จํ าเป็ นต้ อ งปฏิ บัติตามเงืJ อ นไขของ ธนาคาร

-

บริ ษัทฯ เช่าพื SนทีJสํานักงาน สาขากรุ งเทพมหานคร ใน อัตราค่าตอบแทนเดือนละ 100,000 บาท

-

รายการมี ค วามเหมาะสมและเป็ น ประโยชน์ ในการดํา เนิ นธุ ร กิจ การ คิดค่าเช่าเป็ นไปตามราคาตลาดทีJ เหมาะสม

12. นายสุรพล ทวีแสงสกุลไทย - ผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ ในสัดส่วน 1.888% ของทุนชําระแล้ ว ณ ปิ ด สมุดเมืJอวันทีJ 30/12/2559 - บิดาของนายศิริวฒ ั น์ ทวีแสง สกุลไทย (กรรมการ)

เข้ าเป็ นผู้คํ SาประกันวงเงินสินเชืJอ ของบริ ษัทย่อยกับธนาคาร

วงเงินคํ Sาประกัน ธนาคาร 1 แห่ง รวม 5.00 ล้ าน บาท

-ไม่มี- บริ ษัทย่อยได้ ทําสัญญาเงินกู้กับธนาคาร โดยมีเงืJอนไขให้ - รายการมี ค วามสมเหตุส มผลและ กร ร ม การ บ ริ ษั ทเ ป็ นผู้ คํ าS ป ร ะ กั น วง เ งิ นดั ง กล่ า ว เป็ นไปเพืJ อ ประโยชน์ ในการดําเนิ น นอกเหนือจากหลักประกันอืJน โดยนายสุรพล ทวีแสงสกุล ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ รวมทังS มี ค วาม ไทย ได้ ออกจากการเป็ นกรรมการบริ ษัทแล้ ว แต่ยงั คงเป็ น จํ าเป็ นต้ อ งปฏิ บัติตามเงืJ อ นไขของ ผู้คํ าS ประกันหนี โS ดยไม่ คิดค่ าตอบแทนการคํ าS ประกันหนี S ธนาคาร ดังกล่าว

13. นายสุระชัย ทวีแสงสกุลไทย - พีJชายของนายสุรเดช ทวีแสง สกุลไทย

เข้ าเป็ นผู้คํ SาประกันวงเงินสินเชืJอของ บริ ษัทย่อยกับธนาคาร

วงเงินคํ Sาประกัน ธนาคาร 1 แห่ง รวม 5.00 ล้ าน บาท

-ไม่มี-

- บริ ษัทย่อยได้ ทําสัญญาเงินกู้กบ ั ธนาคาร โดยมีเงืJอนไขให้

กรรมการบริ ษั ท เป็ นผู้ คํ าS ประกั น วงเงิ น ดั ง กล่ า ว นอกเหนื อจากหลักประกันอืJ น โดยนายสุร ะชัยฯ ออก จากการเป็ นกรรมการบริ ษั ท แล้ ว แต่ ยัง คงเป็ นผู้ คํ าS ประกั น หนี โS ดยไม่ คิ ด ค่ า ตอบแทนการคํ าS ประกัน หนี S ดังกล่าว

รายการมี ค วามสมเหตุ ส มผลและ เป็ นไปเพืJ อ ประโยชน์ ใ นการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ รวมทั งS มี ค วาม จํ า เป็ นต้ องปฏิ บัติ ต ามเงืJ อ นไขของ ธนาคาร


ชื$อผู้เกี$ยวข้ อง / ความสัมพันธ์ 14. บริ ษัท โอเจ ดีเวลอปเมนท์ จํากัด ผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ ในสัดส่วน 44.99% ของทุนชําระแล้ ว ณ ปิ ดสมุดเมืJอวันทีJ 30/12/2559 - กรรมการ -กรรมการบริ หาร - รองกรรมการผู้จดั การใหญ่ อาวุโส

ลักษณะรายการระหว่ างกัน บริ ษัทฯ ให้ บริ การด้ านกฎหมาย

มูลค่ า (ล้ านบาท) 31 ธ.ค. 58 31 ธ.ค. 59 0.00 0.30

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ความจําเป็ นและความสมเหตุสมผล -

บริ การด้ านกฎหมายและคําปรึกษาด้ านคดีความ

-

มีความเหมาะสมและและเป็ นไปตาม นโยบายบริ ษัทฯ


152

2.

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ

ทีJประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครังS ทีJ 2/2560 เมืJอวันทีJ 23 กุมภาพันธ์ 2560 ได้ พิจารณาและสอบทานร่ วมกับ ผู้บริ หารของบริ ษัท แล้ วมีความเห็นว่า รายการระหว่างกันทีJเกิดขึ Sนกับบุคคล หรื อนิติบคุ คลทีJอาจมีความขัดแย้ งกันทีJเกิดขึ Sนใน งวดบัญชีปี 2559 เป็ นไปอย่างสมเหตุสมผล กอปรกับการกําหนดราคาหรื อเงืJอนไขของรายการดังกล่าวถือเป็ นราคายุติธรรม และได้ มีการเปรี ยบเทียบกับราคาประเมิน โดยบริ ษัทประเมินราคาอิสระซึJงประเมินเพืJอวัตถุประสงค์สาธารณะ หรื อราคาตลาด เปรี ยบเทียบ แล้ วแต่ความเหมาะสมตามราคาตลาดและเป็ นไปตามปกติธุรกิจการค้ า (Fair and at arms’ length) จึงไม่ทําให้ บริ ษัทฯ เสียประโยชน์แต่อย่างใด

3.

มาตรการหรื อขันD ตอนการอนุมัตกิ ารทํารายการระหว่ างกัน

ทีJประชุมคณะกรรมการบริ ษัท ครังS ทีJ 1/2556 เมืJอวันทีJ 4 มกราคม 2556 ได้ อนุมตั ิในหลักการเกีJยวกับนโยบาย และ ขันตอนการทํ S ารายการระหว่างกัน เพืJอให้ รายการระหว่างบุคคลหรื อนิติบคุ คลทีJอาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ เป็ นไปอย่าง โปร่งใส และเพืJอเป็ นการรักษาผลประโยชน์ของบริ ษัทฯ กรณีทีJมีรายการระหว่างกันของบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อยกับบุคคลทีJอาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ มีสว่ นได้ สว่ น เสีย หรื ออาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ในอนาคต บริ ษัทฯ จะจัดให้ มีความเห็นโดยคณะกรรมการตรวจสอบเกีJยวกับความ จําเป็ นและความเหมาะสมของรายการนันS ในกรณีทีJคณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความชํานาญในการพิจารณารายการระหว่าง กันทีJอาจเกิ ดขึ Sนบริ ษัทฯ จะให้ ผ้ ูเชีJ ยวชาญอิสระหรื อผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ เป็ นผู้ให้ ความเห็นเกีJยวกับรายการระหว่างกัน ดังกล่าว เพืJอนําไปใช้ ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการหรื อผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี ทังนี S Sบริ ษัทฯ จะทําการเปิ ดเผยรายการ ระหว่างกันไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินทีJได้ รับการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ และแบบแสดงรายการข้ อมูล ประจําปี (แบบ 56-1)

4.

นโยบายหรื อแนวโน้ มการทํารายการระหว่ างกันในอนาคต

ในอนาคตบริ ษัทฯ อาจมีการเข้ าทํารายการระหว่างกันตามแต่เห็นสมควร โดยตังอยู S ่บนเงืJอนไขทางการค้ าตามปกติ สามารถอ้ างอิงได้ กบั เงืJอนไขทางธุรกิจประเภทเดียวกันทีJบริ ษัทฯ กระทํากับบุคคลภายนอก ทังนี S S บริ ษัทฯ จะปฏิบตั ิตามกฎหมาย ว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้ อบังคับ ประกาศ คําสังJ หรื อข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ (mai) รวมถึง การปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดและปฏิบตั ิเกีJยวกับการเปิ ดเผยข้ อมูลการทํารายการทีJเกีJยวโยงกัน และการได้ มาหรื อจําหน่ายไปซึJง สินทรัพย์ทีJสาํ คัญของบริ ษัทจดทะเบียนและบริ ษัทย่อย ตามมาตรฐานบัญชีทีJกําหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีโดยเคร่งครัด ในกรณีทีJจะต้ องมีการทํารายการระหว่างกัน บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย จะปฏิบตั ิตามประกาศ เรืJ องระเบียบการจัดซื Sอ และจัด จ้ า ง รวมทังS ปฏิ บัติ ต ามขันS ตอนการอนุมัติ ก ารทํ า รายการระหว่า งกัน ตามทีJ ก ล่า ว ข้ า งต้ น กล่า วคื อ จะต้ อ งมี ก าร เปรี ยบเทียบราคาและเงืJอนไขจากผู้จัดจําหน่าย หรื อ ผู้รับจ้ างอืJนทีJไม่ใช่บุคคลทีJเกีJยวข้ อง โดยจะต้ องมีเอกสารใบเสนอราคา (Quotation) ทีJระบุราคาและเงืJอนไขต่างๆ ทีJออกโดยผู้จัดจํ าหน่ายหรื อผู้รับจ้ างแต่ละรายอย่างชัดเจน เพืJอใช้ ประกอบการ นําเสนอคณะกรรมการตรวจสอบเพืJอให้ ความเห็นเกีJยวกับความจําเป็ นและความเหมาะสมของรายการนันS ก่อนนําเสนอขอ อนุมตั ิตามหลักเกณฑ์ของการทํารายการระหว่างกันต่อไป


5.

มาตรการในอนาคตเพื$อป้องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์

สําหรับบริ ษัททีJมีหรื ออาจจะมีโอกาสดําเนินธุรกิจเกีJยวเนืJองกับบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อย และเข้ าเกณฑ์เป็ นบริ ษัททีJ เกีJยวข้ องกับบริ ษัทฯ เนืJองจากมีกรรมการและ/หรื อผู้ถือหุ้นร่ วมกัน ภายใต้ กฎระเบียบทีJเกีJยวข้ องของสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึงJ บริ ษัทฯ มิได้ ปรับโครงสร้ างเพืJอรวมบริ ษัทดังกล่าวเข้ าอยูภ่ ายใต้ อํานาจการควบคุมของ บริ ษั ท ฯ ดัง นันS เพืJ อเพิJ ม ความโปร่ ง ใสในการบริ หารจัด การ และเพืJ อให้ ส อดคล้ อ งกับ แนวทางปฏิ บัติภ ายใต้ ก ฎเกณฑ์ ข อง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 เกีJยวกับการคุ้มครองผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นรายย่อย บริ ษัทฯ จึงได้ ลงนามสัญญาข้ อตกลงกับบริ ษัทดังกล่าว เพืJอกําหนดกรอบในการดําเนินธุรกิจของแต่ละบริ ษัทเพืJอขจัดโอกาสทีJจะเกิดความ ขัดแย้ งทางผลประโยชน์กับบริ ษัทฯ ทังนี S S รายละเอียดของบริ ษัททีJเกีJยวข้ องดังกล่าว รวมทังสาระสํ S าคัญของสัญญาข้ อตกลงทีJ เกีJยวข้ อง มีดงั นี S 1. บริ ษัท ขอนแก่ น ช.ทวี (1993) จํากัด (“CTV-1993”)

กลุ่มผู้ถือหุ้น/ผู้มีอํานาจควบคุม

:

การถือหุ้น - นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย ถือหุ้นในสัดส่วน 97.38 % ของทุนจดทะเบียน กรรมการ นายสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย : จําหน่ายหัวรถบรรทุก รถพ่วงทุกชนิด และให้ สินเชืJอเช่าซื Sอรถบรรทุก : 304.30 ล้ านบาท

ลักษณะธุรกิจ สินทรัพย์ภายใต้ กรรมสิทธิ• (งบการเงินตรวจสอบ ณ 31 ธ.ค. 58) เหตุทีJไม่เข้ ารวมในกลุ่ม : ลักษณะการดําเนินธุรกิจแตกต่างจากบริ ษัทฯ มาตรการเพืJอป้องกันความขัดแย้ ง : สัญญาข้ อตกลงฉบับลงวันทีJ 15 มิถนุ ายน 2554 โดยมีสาระสําคัญดังนี S ทางผลประโยชน์ 1. CTV-1993 จะไม่ดําเนินธุรกิจเหมือน คล้ าย หรื อคล้ ายคลึงกับ CTV-Doll 2. CTV-Doll และ CTV-1993 ตกลงและรับประกันต่อกันว่า ในการดําเนินการใดๆระหว่าง คู่สัญ ญาทังS สองฝ่ ายใต้ สัญ ญาฉบับ นี S ต้ อ งปฏิ บัติต ามกฎหมาย ข้ อ บัง คับ ประกาศ รวมถึงข้ อบังคับและกฎระเบียบต่างๆ ทีJสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรั พย์และ ตลาดหลักทรั พย์ (กลต.) และตลาดหลักทรั พย์ แ ห่งประเทศไทย (SET) ประกาศหรื อ กําหนดอย่างเคร่ งครัด 3. CTV-Doll และ CTV-1993 ตกลงและยอมรับว่าฝ่ ายใดฝ่ ายหนึJงไม่สามารถนําทรัพยากร บุคคล ตลอดจนสินทรั พย์ ใดๆ ของคู่สัญ ญาอี กฝ่ ายหนึJงไปใช้ ประโยชน์ในการดําเนิน ธุรกิจของตนโดยเด็ดขาด ระยะเวลาผูกพัน : นับจากวันทีJลงนามสัญญา จนกว่าคูส่ ญ ั ญาทีJเกีJยวข้ องจะตกลงเปลีJยนแปลงเป็ นอย่างอืJน


154

2. บริ ษัท วอลแลพ ทรั ค แอนด์ บัส จํากัด (“Volrep”)

กลุ่มผู้ถือหุ้น/ผู้มีอํานาจควบคุม

:

การถือหุ้น - นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย ถือหุ้นในสัดส่วน 0.50 % ของทุนจดทะเบียน กรรมการ นางสาวอัศนา ทวีแสงสกุลไทย : จําหน่ายหัวรถบรรทุก รถพ่วง ชิ Sนส่วนอะไหล่รถบรรทุก และซ่อมเครืJ องยนต์ : 191.00 ล้ านบาท

ลักษณะธุรกิจ สินทรัพย์ภายใต้ กรรมสิทธิ• (งบการเงินตรวจสอบ ณ 31 ธ.ค. 58) เหตุทีJไม่เข้ ารวมในกลุ่ม : ลักษณะการดําเนินธุรกิจแตกต่างจากบริ ษัทฯ มาตรการเพืJอป้องกันความขัดแย้ ง : สัญญาข้ อตกลงฉบับลงวันทีJ 15 มิถนุ ายน 2554 โดยมีสาระสําคัญดังนี S ทางผลประโยชน์ 1. Volrep จะไม่ดําเนินธุรกิจเหมือน คล้ าย หรื อคล้ ายคลึงกับ CTV-Doll 2. CTV-Doll และ Volrep ตกลงและรั บประกันต่อ กันว่า ในการดําเนินการใดๆระหว่าง คู่สัญญาทังสองฝ่ S ายภายใต้ สญ ั ญาฉบับนี S ต้ องปฏิบตั ิตามกฎหมาย ข้ อบังคับ ประกาศ รวมถึงข้ อบังคับและกฎระเบียบต่างๆ ทีJสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรั พย์และ ตลาดหลักทรั พย์ (กลต.) และตลาดหลักทรั พย์ แ ห่ง ประเทศไทย (SET) ประกาศหรื อ กําหนดอย่างเคร่ งครัด 3. CTV-Doll และ Volrep ตกลงและยอมรั บว่าฝ่ ายใดฝ่ ายหนึJงไม่สามารถนํ าทรั พยากร บุคคล ตลอดจนสินทรัพย์ใดๆ ของคูส่ ญ ั ญาอีกฝ่ ายหนึงJ ไปใช้ ประโยชน์ในการดําเนินธุรกิจ ของตนโดยเด็ดขาด ระยะเวลาผูกพัน : นับจากวันทีJลงนามสัญญา จนกว่าคูส่ ญ ั ญาทีJเกีJยวข้ องจะตกลงเปลีJยนแปลงเป็ นอย่างอืJน

ทังนี S S หากมีรายการธุรกรรมระหว่างบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อย กับบริ ษัททีJเกีJยวข้ องข้ างต้ น ซึงJ รวมถึงการแก้ ไขเพิมJ เติม เงืJอนไขในสัญญาหรื อข้ อตกลงใดๆ บริ ษัทฯ จะถือเสมือนเป็ นการทํารายการกับบุคคลทีJอาจมีความขัดแย้ งโดยจะผ่านความเห็น จากคณะกรรมการตรวจสอบ และนําเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัท เพืJอพิจารณาการทํารายการนี S ทังนี S S กรรมการท่านใดซึงJ เป็ นผู้ มีสว่ นได้ เสียหรื ออาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ในรายการระหว่างกันจะไม่สามารถมีสว่ นร่วมในการพิจารณาอนุมตั ิ รายการระหว่างกันในลักษณะดังกล่าวได้ และปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ ว่าด้ วยเรืJ องรายการทีJเกีJยวโยงกัน และ จะเปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน แบบแสดงรายการประจําปี (56-1) และรายงานประจําปี อย่างต่อเนืJอง


155

ความรั บผิดชอบของกรรมการต่ องบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการมีหน้ าทีJรับผิดชอบในการจัดทําและนําเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยถูกต้ องตามทีJควร มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกีJยวกับการควบคุมภายในทีJกรรมการพิจารณาว่าจําเป็ น เพืJอให้ สามารถ จัดทํางบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการทีJปราศจากการแสดงข้ อมูลทีJขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญ ไม่ว่าจะ เกิดจากการทุจริ ตหรื อข้ อผิดพลาด ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุม่ กิจการ และบริ ษัทในการดําเนินงานต่อเนืJอง เปิ ดเผยเรืJ องเกีJยงกับการดําเนินงานต่อเนืJอง (ตามความเหมาะสม) และการใช้ เกณฑ์ การบันทึกบัญชีสาํ หรับการดําเนินต่อเนืJอง เว้ นแต่กรรมการมีความตังใจที S Jจะเลิกกลุม่ กิจการและบริ ษัท หรื อหยุดดําเนินงาน หรื อไม่สามารถดําเนินต่อเนืJองต่อไปได้ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้ าทีJช่วยกรรมการในการสอดส่องดูแลกระบวนการในการจัดทํารายงานทางการเงินของกลุ่ม กิจการและบริ ษัท

(นางเพ็ญพิมล เวศย์วรุตม์) ประธานกรรมการ


156


157

20 ข้ อมูลทางการเงินที$สาํ คัญ (ก) ผู้สอบบัญชีและสรุ ปรายงานความเห็นโดยผู้สอบบัญชี รายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทีJได้ ตรวจสอบงบการเงินของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ประจําปี 2557 – 2559 สามารถสรุปได้ ดงั นี S งบตรวจสอบ ผู้สอบบัญชี

: งวดบัญชีปี 2557 สิ Sนสุด ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2557 : บริ ษัท ไพร้ ซวอเตอร์ เฮาส์คเู ปอร์ ส เอบีเอเอส จํากัด โดยนายสุดวิณ ปั ญญาวงศ์ขนั ติผ้ สู อบบัญชีรับอนุญาตเลขทีJ 3534 ซึงJ เป็ นผู้สอบบัญชีทีJได้ รับอนุญาต จากสํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ความเห็นโดย : แสดงความเห็นอย่างไม่มีเงืJอนไขว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัทข้ างต้ นนี S แสดงฐานะ ผู้สอบบัญชี การเงิ นรวมและฐานะการเงินเฉพาะบริ ษัทของบริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่อย และของ เฉพาะบริ ษั ท ช ทวี จํ ากัด (มหาชน) ณ วันทีJ 31 ธั นวาคม 2557 ผลการดํ าเนิ นงานรวมและผลการ ดําเนินงานเฉพาะบริ ษัทและกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะบริ ษัทสําหรับปี สิ Sนสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้ องตามทีJควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน งบตรวจสอบ ผู้สอบบัญชี

: งวดบัญชีปี 2558 สิ Sนสุด ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2558 : บริ ษัท ไพร้ ซวอเตอร์ เฮาส์คเู ปอร์ ส เอบีเอเอส จํากัด โดยนายสุดวิณ ปั ญญาวงศ์ขนั ติผ้ สู อบบัญชีรับอนุญาตเลขทีJ 3534 ซึงJ เป็ นผู้สอบบัญชีทีJได้ รับอนุญาต จากสํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ความเห็นโดย : แสดงความเห็นอย่างไม่มีเงืJอนไขว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัทข้ างต้ นนี S แสดงฐานะ ผู้สอบบัญชี การเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะบริ ษัทของบริ ษัท ช. ทวี ดอลลาเซียน จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่อย และของเฉพาะบริ ษัท ช. ทวี ดอลลาเซียน จํากัด (มหาชน) ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2558 ผลการดําเนินงาน รวมและผลการดําเนินงานเฉพาะบริ ษัทและกระแสเงิ นสดรวมและกระแสเงิ นสดเฉพาะบริ ษัทสําหรั บปี สิ Sนสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้ องตามทีJควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน งบตรวจสอบ ผู้สอบบัญชี

: งวดบัญชีปี 2559 สิ Sนสุด ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 : บริ ษัท ไพร้ ซวอเตอร์ เฮาส์คเู ปอร์ ส เอบีเอเอส จํากัด โดยนายสุดวิณ ปั ญญาวงศ์ขนั ติผ้ สู อบบัญชีรับอนุญาตเลขทีJ 3534 ซึงJ เป็ นผู้สอบบัญชีทีJได้ รับอนุญาต จากสํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ความเห็นโดย : แสดงความเห็นอย่างไม่มีเงืJอนไขว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัทข้ างต้ นนี S แสดงฐานะ ผู้สอบบัญชี การเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะบริ ษัทของบริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่อย และของ เฉพาะบริ ษั ท ช ทวี จํ ากัด (มหาชน) ณ วันทีJ 31 ธั นวาคม 2559 ผลการดํ าเนิ นงานรวมและผลการ ดําเนินงานเฉพาะบริ ษัทและกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะบริ ษัทสําหรับปี สิ Sนสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้ องตามทีJควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน


158

(ข) สรุ ปฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน (งบการเงินรวม) (ข) สรุ ปฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน (งบการเงินรวม)

บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที$ 31 ธันวาคม 2559 2558 และ 2557 หน่ วย : ล้ านบาท พ.ศ. 2559

%

พ.ศ. 2558

%

พ.ศ. 2557

%

สินทรัพย์ สินทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี Sการค้ าและลูกหนี SอืJน

43.86

2.56

49.30

3.04

23.70

2.13

373.64

21.85

469.81

29.01

374.01

33.61

0.19

0.01

0.19

0.01

-

-

ลูกหนี Sพนักงานตามสัญญาเช่าการเงิน ทีJถึงกําหนดชําระภายใน 1 ปี งานระหว่างทําส่ว นทีJเกินกว่าเงินรั บล่วงหน้ าตามสัญญา สินค้ าคงเหลือ สินทรั พย์ตราสารอนุพนั ธ์ ภาษี มูลค่าเพิมJ รวมสินทรัพย์ หมุนเวียน

-

-

-

-

0.61

0.06

335.11

19.59

295.49

18.25

297.77

26.76

0.60

0.04

-

-

0.22

0.02

22.04

20.09

775.43

1.29 45.34

1.24

10.55

0.95

834.88

51.56

706.87

63.53

-

-

-

-

-

-

สินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน ภาษี หัก ณ ทีJจ่ายจ่ายล่วงหน้ า เงินฝากสถาบันการเงินทีJติดภาระคํ Sาประกัน

37.00

2.16

2.00

0.12

3.90

ลูกหนี Sพนักงานตามสัญญาเช่าการเงิน

0.53

0.03

0.71

0.04

-

เงินลงทุนในตราสารหนี SทีJถือจนครบกํา หนด

1.00

0.06

1.00

0.06

1.00

81.58

4.77

81.58

5.04

-

-

771.20

45.09

663.71

40.99

361.32

32.47

31.52

1.84

27.45

1.70

31.95

2.87

สินทรั พย์ภาษี เงินได้ รอตัดบัญชี

7.15

0.42

7.31

0.45

7.47

0.67

ภาษี เงินได้ จ่ายล่วงหน้ า

4.28

0.25

0.45

0.03

-

เงินมัดจํา

0.69

0.04

0.29

0.02

0.21

0.02

934.94

54.66

784.50

48.44

405.85

36.47

1,710.36

100.00

1,619.38

100.00

1,112.72

100.00

อสังหาริ มทรั พย์เพือJ การลงทุน ทีJดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรั พย์ไม่มีตัวตน

รวมสินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

หมายเหตุ : ปี 2558 ปรั บปรุ งใหม่เพือJ เปรี ยบเทียบกับปี 2559

0.35 0.09

-


159

บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที$ 31 ธันวาคม 2559 2558 และ 2557 หน่ วย : ล้ านบาท พ.ศ. 2559 หนีสD ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนีสD ินหมุนเวียน เงินกู้ ยมื ระยะสั Sนจากสถาบันการเงิน เจ้ าหนี Sการค้ าและเจ้ าหนี SอืJน ส่วนทีJถึงกําหนดชําระภายในหนึJงปี ของ - เงินกู้ ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน - หนี Sสินตามสัญญาเช่า การเงิน เงินรั บล่วงหน้ าตามสัญญาส่วนทีJเกินกว่า งานระหว่างทํา หนี Sสินตราสารอนุพนั ธ์ ประมาณการหนี Sสินจากการรั บประกันสินค้ า ภาษี เงินได้ ค้า งจ่าย หนี SสินหมุนเวียนอืJน รวมหนีสD ินหมุนเวียน หนีสD ินไม่ หมุนเวียน เงินกู้ ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี Sสินตามสัญญาเช่า การเงิน หุ้นกู้ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รวมหนีสD ินไม่ หมุนเวียน รวมหนีสD ิน ทุนเรื อนหุ้น ทุนจดทะเบียน

%

พ.ศ. 2558

%

พ.ศ. 2557

%

358.58 280.11

20.96 16.38

729.56 110.22

45.05 6.81

305.91 97.41

27.49 8.75

0.92 10.14 18.77 5.94 1.27 2.31

0.05 0.59 1.10 0.35 0.07 0.14

0.92 9.96 0.11 6.76 3.35 1.53

0.06 0.62 0.01 0.42 0.21 0.09

0.92 1.39 18.76 9.59 19.17 3.06

0.08 0.12 1.69 0.86 1.72 0.28

678.03

39.64

862.42

53.26

456.21

41.00

1.62 31.17 298.81 19.73 351.33 1,029.36

0.09 1.82 17.47 1.15 20.54 60.18

2.54 41.30 16.12 59.96 922.38

0.16 2.55 1.00 3.70 56.96

3.46 3.30 13.50 20.26 476.47

0.31 0.30 1.21 1.82 42.82

296.97

ทุนทีJออกและชําระแล้ว 295.74 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 375.90 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นจากการจ่า ยโดยใช้ ห้ ุนเป็ นเกณฑ์ 29.01 เงินรั บล่วงหน้ าค่าหุ้น ส่วนลดจากการเพิมJ สัดส่ว นเงินลงทุนในบริ ษัทย่อย (5.63) กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - ทุนสํา รองตามกฎหมาย 6.82 ยังไม่ได้ จัดสรร (20.84) รวมส่ วนของบริษัทใหญ่ 681.00 ส่วนได้ เสียทีJไม่มีอํานาจควบคุม 0.00 รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น 681.00 รวมหนีสD ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น 1,710.36 หมายเหตุ : ปี 2558 ปรั บปรุ งใหม่เพือJ เปรี ยบเทียบกับปี 2559

270.00

270.00

17.29 21.98 1.70 (0.33)

206.13 317.33 29.01 44.68 (5.63)

12.73 19.60 1.79 2.76 (0.35)

180.00 291.36 29.01 22.71 (5.63)

16.18 26.18 2.61 2.04 (0.51)

0.40 (1.22) 39.82 0.00 39.82 100.00

6.82 98.66 697.00 0.00 697.00 1,619.38

0.42 6.09 43.04 0.00 43.04 100.00

5.51 113.28 636.24 0.01 636.25 1,112.72

0.50 10.18 57.18 0.00 57.18 100.00


160 บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่ อย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวม สําหรั บปี สินD สุดวันที$ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2558 และ 2557 พ.ศ. 2559 รายได้ รายได้ ตามสัญญา รายได้ จากการขายและการให้ บริ การ รวมรายได้ ต้ นทุนงานตามสัญญา ต้ นทุนขายและต้ นทุนการให้ บริ การ รวมต้ นทุน กําไรขันD ต้ น รายได้ อืJน กํ าไรจากอัตราแลกเปลีJยน กํ าไร(ขาดทุน)จากการขายสินทรั พย์ กําไรก่ อนค่ าใช้ จ่าย ค่าใช้ จ่ายในการขาย ค่าใช้ จ่ายในการบริ หาร ต้ นทุนทางการเงิน - ดอกเบี Sยจ่าย

%

926.16 87.52 132.08 12.48 1,058.24 100.00 (822.18) (77.69) (95.32) (9.01) (917.50) (86.70)

พ.ศ. 2558

%

หน่ วย : ล้ านบาท พ.ศ. 2557 %

972.73 85.13 1,215.92 80.36 169.90 14.87 297.10 19.64 1,142.63 100.00 1,513.02 100.00 (805.09) (70.46) (964.85) (63.77) (87.34) (7.64) (214.70) (14.19) (892.43) (78.10) (1,179.55) (77.96)

140.74 12.28 9.32 (0.18) 162.16 (40.77) (175.27) (38.70)

13.30 1.16 0.88 (0.02) 15.32 (3.85) (16.56) (3.66)

250.20 16.34 2.82 (0.18) 269.17 (57.88) (137.19) (28.86)

21.90 1.43 0.25 (0.02) 23.56 (5.07) (12.01) (2.53)

333.47 7.67 5.29 0.27 346.69 (56.96) (133.05) (19.31)

22.04 0.51 0.35 0.02 22.91 (3.76) (8.79) (1.28)

กําไร(ขาดทุน)ก่ อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้

(92.58) 1.29

(8.75) 0.12

45.25 (9.51)

3.96 (0.83)

137.37 (38.79)

9.08 (2.56)

กําไร(ขาดทุน)สําหรั บปี

(91.29)

(8.63)

35.74

3.13

98.58

6.52

0.0131

0.00

(0.0343)

(0.00)

(1.5823)

(0.10)

(0.0026)

(0.00)

0.0069

0.00

0.3165

0.02

ขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื$นสําหรั บงวด - สุทธิจากภาษี

0.0105

0.00

(0.0274)

(0.00)

(1.2658)

(0.08)

กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จรวมสําหรั บปี การแบ่ งปั นกําไร ส่วนทีJเป็ นของบริ ษัทใหญ่ ส่วนทีJเป็ นของส่วนได้ เสียทีJไม่มีอํานาจควบคุม

(91.28)

(8.63)

35.71

3.13

97.31

6.43

กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จอื$น รายการทีJจะไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้ าไปไว้ ใน กํ าไรหรื อขาดทุนในภายหลัง • การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจากงาน • ภาษีเงินได้ ทีJเกีJ ยวกั บการวัดมูลค่าใหม่ของ ภาระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจากงาน

(91.29) (0.0022)

35.74 (0.0002)

98.58 0.0018

(91.29)

35.74

98.58

(91.28) (0.0022)

35.71 (0.0002)

97.31 0.0018

(91.28)

35.71

97.31

กํ าไรต่อหุ้นขั Sนพื Sนฐาน (บาท)

(0.0875)

0.0404

0.1369

กํ าไรต่อหุ้นปรั บลด (บาท)

(0.0875)

0.0327

0.1001

การแบ่ งปั นกําไรเบ็ดเสร็ จรวม ส่วนทีJเป็ นของบริ ษัทใหญ่ ส่วนทีJเป็ นของส่วนได้ เสียทีJไม่มีอํานาจควบคุม กําไรต่ อหุ้นส่ วนที$เป็ นของบริ ษัทใหญ่

หมายเหตุ : ปี 2558 และ 2557 ปรั บปรุ งใหม่เพืJอเปรี ยบเทียบกั บปี 2559


161

บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่ อย งบกระแสเงินสดรวม สําหรั บปี สินD สุดวันที$ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2558 และ 2557 พ.ศ. 2559 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรก่ อนภาษีเงินได้ รายการปรั บปรุ ง ค่าเสืJอมราคา ค่าตัดจําหน่าย รายได้ จากการขายภายใต้ สัญญาเช่าทางการเงิน ค่าเผืJอหนี Sสงสัยจะสูญ ค่าเผืJอสินค้ าเคลืJอนไหวช้ า ค่าเผืJอผลขาดทุนตามสัญญา ประมาณการหนี Sสินจากการรั บประกั นสินค้ า โอนสินทรั พย์ไม่มีตัวตนเป็ นค่าวิจัย ขาดทุนจากการตัดจําหน่ายสินทรั พย์ถาวร กํ าไรจากการจําหน่ายสินทรั พย์ถาวร (กํ าไร)ขาดทุนทีJยังไม่เกิ ดขึ SนจากการเปลีJยนแปลงมูลค่าของตราสารอนุพันธ์ ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน ดอกเบี Sยรั บ ดอกเบี Sยรั บตามสัญญาเช่าการเงิน ค่าใช้ จ่ายผลตอบแทนพนักงานจากการจ่ายโดยใช้ ห้ ุนเป็ นเกณฑ์ ค่าธรรมเนียมธนาคาร ต้ นทุนทางการเงิน - ดอกเบี Sยจ่ายเงินกู้ ยืมจากสถาบันการเงิน - ดอกเบี Sยจ่ายตามสัญญาเช่าการเงิน - การตัดจําหน่ายค่าใช้ จ่ายทางตรงในการออกหุ้นกู้ รอตัดจ่าย การเปลีJยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน ลูกหนี Sการค้ าและลูกหนี SอืJน งานระหว่างทําส่วนทีJเกิ นกว่าเงินรั บล่วงหน้ าตามสัญญา สินค้ าคงเหลือ เครืJ องมือทางการเงิน ภาษีมูลค่าเพิJม เงินฝากสถาบันการเงินทีJมีภาระคํ Sาประกั น เงินมัดจํา เจ้ าหนี Sการค้ าและเจ้ าหนี SอืJน เงินรั บล่วงหน้ าตามสัญญาส่วนทีJเกิ นกว่างานระหว่างทํา หนี SสินหมุนเวียนอืJน เงินสดได้ มาจาก(ใช้ ไปใน)กิ จกรรมดําเนินงาน ก่ อนดอกเบี Sยรั บ ต้ นทุนทางการเงินจ่ายและภาษีเงินได้ จ่าย ดอกเบี Sยรั บ เงินสดรั บจากสินทรั พย์ตามสัญญาเช่าทางการเงิน ต้ นทุนทางการเงินจ่าย - ดอกเบี Sยจ่ายเงินกู้ ยืมจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้ มาจาก(ใช้ ไปใน)กิจกรรมดําเนินงาน

หน่ วย : ล้ านบาท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

(92.58)

45.25

137.37

34.02 4.91 (1.21) (2.86) (0.82) 0.18 (0.60) 3.62 (4.19) (0.02) 14.00

27.24 4.80 (0.93) 0.91 (0.87) 0.33 (2.83) 0.19 (0.01) 0.11 2.59 (9.20) (0.00) -

23.19 6.01 0.93 (2.16) 0.25 4.60 1.76 0.00 (0.27) (0.22) 2.02 (0.27) 29.01 -

36.02 2.37 0.31 (6.84)

28.60 0.26 96.42

19.07 0.24 221.53

83.72 (38.48) (0.11) (1.94) (0.39) 165.57 18.77 0.79

(82.42) 2.04 0.22 (9.54) (0.08) 12.81 (18.76) (1.53)

(30.73) 5.39 (35.52) (0.81) (1.10) 0.07 (34.13) (1.74) 2.07

221.09 3.84 0.21

(0.83) 9.20 0.03

125.03 0.27 -

(12.78) (4.48) 207.88

(5.03) (25.61) (22.23)

(18.38) (17.31) 89.61


162

บริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่ อย งบกระแสเงินสดรวม สําหรั บปี สินD สุดวันที$ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2558 และ 2557 พ.ศ. 2559 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากสถาบันการเงินทีJติดภาระคําS ประกั น เงินสดจ่ายซื Sออสังหาริ มทรั พย์เพืJอการลงทุน เงินสดจ่ายซื Sอสินทรั พย์ถาวร เงินสดรั บจากการขายสินทรั พย์ถาวร เงินสดจ่ายซื Sอสินทรั พย์ไม่มีตัวตน เงินสดสุทธิได้ มาจาก(ใช้ ไปใน)จากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะสันS จากสถาบันการเงิน - เงินสดรั บ - เงินสดชําระคืน เงินสดรั บจากหุ้นกู้ เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - เงินสดชําระคืน จ่ายชําระคืนหนี Sสินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดจ่ายค่าธรรมเนียมธนาคารรอตัดบัญชี เงินปั นผลจ่าย เงินสดรั บล่วงหน้ าค่าหุ้นจากการใช้ สิทธิใบสําคัญแสดงสิทธิ เงินสดรั บจากการออกจําหน่ายหุ้นสามัญ

หน่ วย : ล้ านบาท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

(35.00) (136.38) (8.97) (180.34)

1.90 (81.58) (279.63) 0.03 (0.30) (359.58)

(49.44) 0.28 (1.16) (50.32)

6,317.81 (6,711.30) 298.50

6,726.21 (6,327.30) -

4,092.71 (4,119.12) -

(0.92) (12.33) (5.33) 80.60 -

(0.92) (1.65) (14.00) (48.99) 74.06 -

(0.92) (3.86) (10.80) 22.71 -

เงินสดสุทธิได้ มาจาก(ใช้ ไปใน)จากกิจกรรมจัดหาเงิน

(32.98)

407.41

(19.28)

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิ$มขึนD (ลดลง)สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดยอดคงเหลือต้ นปี

(5.44) 49.30

25.60 23.70

20.00 3.69

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดยอดคงเหลือปลายปี

43.86

49.30

23.70

ข้ อมูลเพิ$มเติม เจ้ าหนี Sคงค้ างจากการซือS สินทรั พย์ ณ วันทีJ 31 ธันวาคม

2.54

0.62

-

เจ้ าหนี Sเงินประกั นผลงาน ณ วันทีJ 31 ธันวาคม

3.51

1.84

1.32

-

-

3.11

เงินปั นผลจ่าย

0.01

0.03

-

โอนสินค้ าคงเหลือไปเป็ นสินทรั พย์ถาวร

1.73

1.10

-

หนี Sสินตามสัญญาเช่าการเงินทีJเกิ ดจากการซื Sอสินทรั พย์ถาวร


163

(ค) ตารางสรุ ปอัตราส่ วนทางการเงินที$สาํ คัญ อัตราส่ วนทางการเงินของบริ ษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่ อย

งบการเงินรวม ปี 2559 ปี 2558 ปี 2557 อัตราส่ วนสภาพคล่ อง (Liquidity ratio) อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี Sการค้ า (เท่า) ระยะเวลาเก็ บหนี SเฉลีJย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ (เท่า) ระยะเวลาขายสินค้ าเฉลีJย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้ าหนี S (เท่า) ระยะเวลาชําระหนี S (วัน) Cash cycle (วัน) อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการหากําไร (Profitability ratio) อัตรากํ าไรขั Sนต้ น (%) อัตรากํ าไรจากการดําเนินงาน (%) อัตรากํ าไรอืJน (%) อัตราส่วนเงินสดต่อการทํากํ าไร (%) อัตรากํ าไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) อัตราส่ วนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Efficiency ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรั พย์ (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรั พย์ถาวร (%) อัตราการหมุนของสินทรั พย์ (เท่า) อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน (Financial policy ratio) อัตราส่วนหนี Sสินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชําระดอกเบี Sย (เท่า) อัตราส่วนความสามารถชําระภาระผูกพัน - Cash basis (เท่า) อัตราการจ่ายเงินปั นผล (%)

1.14 0.62 0.27 2.51 143 2.91 124 4.70 77 191

0.97 0.60 (0.03) 2.71 133 3.01 120 8.60 42 211

1.55 0.87 0.19 4.21 85 4.23 85 10.27 35 136

13.30% -5.09% 1.98% -385.84% -8.46% -13.25%

21.90% 5.65% 1.63% -30.00% 3.08% 5.36%

22.04% 7.79% 0.87% 57.20% 6.46% 17.38%

-5.48% -7.30% 0.65

2.62% 13.22% 0.85

9.26% 36.60% 1.43

1.51 6.40 0.97 n.a.

1.32 (0.10) 0.46 79.14%

0.75 3.63 1.29 49.70%


164


165

21 การวิเคราะห์ และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ 1 ผลการดําเนินงาน ภาพรวมของผลการดําเนินงานที$ผ่านมา บริ ษัทฯ ประกอบธุรกิจเป็ นผู้ออกแบบ สร้ างสรรค์ ผลิต ผสาน และติดตังระบบวิ S ศวกรรมทีเJ กีJยวกับยานยนต์เพืJอการ พาณิชย์ รวมทังเป็ S นผู้ผสานเทคโนโลยีระดับโลก เกีJยวกับระบบราง โลจิสติกส์ และอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ เข้ ากับการ จัดการอย่างมืออาชีพ อาทิ รถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบิน (Catering Hi-loaders Truck) รถดับเพลิง-รถกู้ภยั รถบรรทุก เครืJ องดืJม รถพ่วง-รถกึJงพ่วงพิเศษ การรับจ้ างบริ หารโครงการสร้ างเรื อตรวจการณ์ไกลฝัJ ง (OPV) โครงการบริ การงานซ่อมและ ศูนย์ซอ่ มให้ แก่ Linfox สําหรับรถบรรทุก รถพ่วง-กึJงพ่วง ของโครงการ Tesco-Lotus เป็ นต้ น ผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทฯ เป็ นการ ผลิตตามคําสังJ ซื Sอของลูกค้ า (Made to Order) โดยการออกแบบให้ เหมาะกับการใช้ งาน และงบประมาณให้ กบั ภาคเอกชน และหน่วยงานราชการ ทังในประเทศและต่ S างประเทศ บริ ษัทฯ มีบริ ษัทย่อยจํานวน 1 บริ ษัทฯ ดําเนินธุรกิจออกแบบ ผลิต ประกอบ และติดตังตู S ้ บรรทุกไฟเบอร์ กลาสนํ Sาหนักเบา สําหรับบรรทุกสินค้ า อาหารสดและแห้ ง ซึงJ หากพิจารณาภาพรวมของ ผลการดําเนินงานในช่วง 3 ปี ทีJผา่ นมาของบริ ษัทฯ พบว่า บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีรายได้ จากการดําเนินธุรกิจ 2 ลักษณะ ได้ แก่ รายได้ ตามสัญญา คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้ อยละ 80 ถึงร้ อยละ 88 ของรายได้ รวม และรายได้ จากการขาย และ ให้ บริ การ คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้ อยละ 12 ถึงร้ อยละ 20 ของรายได้ รวม ในปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีรายได้ จากธุรกิจหลักตามงบการเงินรวมเท่ากับ 1,513.02 ล้ าน บาท 1,142.63 ล้ านบาท และ 1,058.24 ล้ านบาท ตามลําดับ ในปี 2557-2559 บริ ษัทฯ มีกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จรวม เท่ากับ 97.31 ล้ านบาท 35.71 ล้ านบาท และ (91.28) ล้ านบาท ตามลําดับ 14.1.1 ผลการดําเนินงาน รายได้ รายได้ รวมของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ในงวดบัญชีปี 2557-2559 เท่ากับ 874.87 ล้ านบาท 1,520.69 ล้ านบาท และ 1,158.97 ล้ านบาท ตามลําดับ โดยหากพิจารณาตามประเภทรายได้ สามารถอธิบายการเปลียJ นแปลงได้ ดังนี S ปี 2557

ประเภทรายได้

ล้ านบาท รายได้ ตามสัญญา รายได้ จ ากการขายและการให้ บริการ

%

ล้ านบาท

ปี 2559 %

ล้ านบาท

%

1,215.92

79.67%

972.73

83.74%

926.16

85.78%

297.1

19.47%

169.9

14.63%

132.08

12.23%

98.37% 1,058.24

98.02%

21.42

1.98%

รวมรายได้ 1,513.02 รายได้ อืJน

ปี 2558

13.22

99.13% 1,142.63 0.87%

18.98

1.63%

รวมรายได้ ทังD หมด 1,526.24 100.00% 1,161.61 100.00% 1,079.66 100.00%


166

เปรียบเทียบงบกําไรขาดทุนรวม ปี 2557 ปี 2558 และ ปี 2559 (หน่ วย : ล้ านบาท) นบาท

เปรียบเทียบรายได้ รายได้ แยกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ ปี 2557 ปี 2558 และ ปี 2559 (หน่ หน่ วย : ล้ านบาท)

ประเทศ

ตารางแสดงรายได้ แยกตามประเทศ ปี 2557-2559 ปี 2557 ปี 2558 ล้ านบาท % ล้ านบาท %

ปี 2559 ล้ านบาท %

ประเทศไทย ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประเทศอืJนๆ

1,017.47

67.25%

672.4

58.85%

620.18

58.60%

239.68

15.84%

101.68

8.90%

13.51

1.28%

255.87

16.91%

368.56

32.26%

424.55

40.12%

รวมรายได้

1,513.02

100.00%

1,142.64

100.00%

1,058.24

100.00%


167

จากข้ อมูลรายได้ แยกตามประเทศจะพบว่า ในปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีสดั ส่วนการขายสินค้ าใน ประเทศ ลดลงในส่วนสินค้ ากลุม่ มาตรฐาน ประเภทรถกึJงพ่วง (Semi-Trailer) จากการชลอการลงทุนของกลุม่ ธุรกิจโลจิสติกส์ บริ ษัทฯ มีการส่งออกสินค้ ากลุม่ ผลิตภัณฑ์ออกแบบพิเศษ(Special Design Product) ประเภทรถลําเลียงอาหารสําหรับ เครืJ องบิน (Catering Hi-Loaders Truck) และผลิตภัณฑ์ ป้องกันประเทศไปจําหน่ายยังต่างประเทศอย่างต่อเนืJอง โดยกลุม่ ในปี 2559 มียอดขายประเทศอืJน ๆ ทีJเพิJมขึ Sนมาจากกลุม่ ประเทศในเอเชีย เช่น สิงคโปร์ เกาหลี มาเลเซีย เวียดนาม และ ฮ่องกง เป็ นต้ น ในส่วนสินค้ ากลุ่มบริ หารโครงการ จากการเข้ าบริ หารโครงการให้ กับกลุ่มลูกค้ ากลุ่มหนึJง และมีการเพิJม ศูนย์บริ การในพื SนทีJของลูกค้ าทําให้ มียอดรายได้ เพิJมขึ Sนอย่างต่อเนืJอง รายได้ ตามสัญญา รายได้ ตามสัญญา มีลกั ษณะเป็ นสัญญาจ้ างผลิตสินค้ า และ ในสัญญามีการระบุราคาค่าสินค้ าไว้ อย่างแน่นอน บริ ษัทฯ รับรู้รายได้ ตามสัญญาตามขันความสํ S าเร็ จของงาน (Percentage of Completion Method) กล่าวคือเมืJอผลงานตาม สัญญาสามารถประมาณได้ อย่างน่าเชืJอถือเกีJยวกับขันความสํ S าเร็ จของงาน รายได้ งานตามสัญญาจะถูกรับรู้ ในงบกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็ จ โดยคํานวณจากความสําเร็ จของกิจกรรมงานตามสัญญา ณ วันทีJรายงาน ขันความสํ S าเร็ จของงานตาม สัญญาคํานวณจากอัตราส่วนของต้ นทุนงานตามสัญญาทีJทําเสร็ จจนถึงวันทีJรายงานเทียบกับประมาณการต้ นทุนงาน ทังหมดตามสั S ญญา ในกรณีทีJมีความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่นอนว่าต้ นทุนทังหมดของโครงการเกิ S นกว่ามูลค่ารายได้ ตาม สัญญา บริ ษัทฯ จะรับรู้ประมาณการขาดทุนดังกล่าวเป็ นค่าใช้ จ่ายทันทีในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ โดยรายได้ ทีJรับรู้ แล้ วแต่ ยังไม่ถึงกําหนดเรี ยกชําระตามสัญญาแสดงไว้ เป็ นมูลค่างานเสร็ จทีJยงั ไม่เรี ยกเก็บจากลูกค้ าในงบแสดงฐานะการเงิน รายได้ ตามสัญญาประกอบด้ วย รายได้ จากการรับจ้ างออกแบบ ผลิตตัวถังและติดตังระบบวิ S ศวกรรมทีJเกีJยวกับยาน ยนต์เพืJอการพาณิชย์ โดยมีผลิตภัณฑ์อยู่ 3 กลุม่ คือ กลุม่ ผลิตภัณฑ์มาตรฐาน (Standard Product) และผลิตภัณฑ์ ออกแบบพิเศษ (Special Design Product) และรายได้ จากการรับบริ หารโครงการและบริ การ (Project Management and Service) สําหรับรายได้ จากการรับจ้ างออกแบบ ผลิต และติดตังตู S ้ บรรทุกไฟเบอร์ กลาสนํ Sาหนักเบา ของบริ ษัทย่อยจะถูกนับ รวมเป็ นกลุม่ ผลิตภัณฑ์มาตรฐาน โดยในปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีรายได้ ตามสัญญาแยกตามกลุม่ ผลิตภัณฑ์ ได้ ดงั นี S ประเภทรายได้

ปี 2557 ล้ านบาท

ปี 2558 %

ล้ านบาท

ปี 2559 %

ล้ านบาท

%

1) กลุ่มผลิตภัณฑ์มาตรฐาน

575.02

37.68%

287.77

25.18%

258.72

24.45%

2) ผลิตภัณฑ์ออกแบบพิเศษ

637.26

41.75%

684.96

59.95%

667.44

63.07%

3) กลุ่มบริหารโครงการและบริการ

313.96

20.57%

169.90

14.87%

132.08

12.48%

1,526.24

100.00%

1,142.63

100.00%

1,058.24

100.00%

รวมทังD สินD

ปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีรายได้ ตามสัญญาสูงทีJสดุ จากผลิตภัณฑ์ออกแบบพิเศษมาโดยตลอด โดย มีรายได้ จํานวน 637.26 ล้ านบาท 684.96 ล้ านบาท และ 667.44 ล้ านบาท คิดเป็ นสัดส่วนร้ อยละ 41.75 ร้ อยละ 59.95 และ ร้ อยละ 63.07 ของรายได้ รวมตามสัญญาตามลําดับ โดยนับตังแต่ S ปี 2555 เป็ นต้ นมาจนถึงปั จจุบนั รถลําเลียงอาหาร สํา หรั บเครืJ องบิน สร้ างรายได้ เ ป็ นอัน ดับ หนึJงของผลิตภัณฑ์ อ อกแบบพิ เศษมาอย่า งต่อเนืJอ ง เนืJ องจากบริ ษั ทฯ เน้ น ทํ า การตลาดงานรถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบินมากขึ Sน เพราะเป็ นผลิตภัณฑ์ทีJบริ ษัทฯ มีความชํานาญเป็ นพิเศษ มีการปรับ รูปแบบให้ หลากหลายเพืJอรองรับเครืJ องบินทุกแบบ และทุกขนาดความจุผ้ โู ดยสาร มีการพัฒนาเทคโนโลยี และกระบวนการ


168

ผลิตให้ รวดเร็ วยิJงขึ Sน จนได้ รับการตอบรับเป็ นอย่างดีจากลูกค้ าธุรกิจครัวการบินจากหลายประเทศทัวJ โลก อีกทังบริ S ษัทฯ ยังได้ ออกแบบ และพัฒนารถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบินแอร์ บสั A380 ได้ สาํ เร็ จ ซึงJ เป็ นเครืJ องบินลําใหญ่ทีJสดุ ในปั จจุบนั ต้ อง อาศัยความรู้ ทางวิศวกรรม และเทคโนโลยีของงานระบบวิศวกรรมทีJแม่นยํา บริ ษัทฯ ถือเป็ นผู้ผลิต 1 ใน 2 รายของโลกทีJ สามารถผลิตได้ ในส่วนของยานยนต์สาํ หรับกองทัพ บริ ษัทฯ ได้ รับงานใหม่เพิJมในปี 2557 ถึงปี 2559 โดยบริ ษัทฯ เน้ นกําลัง การผลิตไปทีJการผลิตรถลําเลียงอาหารสําหรับเครืJ องบิน และรถตู้พว่ งใหญ่ในกลุม่ ธุรกิจโลจิสติกส์ในประเทศ ซึงJ มีคําสังJ ซื Sอมา จํานวนมากและต่อเนืJอง ปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีรายได้ ตามสัญญาจากกลุม่ ผลิตภัณฑ์มาตรฐานจํานวน 575.02 ล้ านบาท 287.77 ล้ านบาท และ 258.72 ล้ านบาท คิดเป็ นสัดส่วนร้ อยละ 37.68 ร้ อยละ 25.18 และร้ อยละ 24.45 ของรายได้ รวมตาม สัญญาตามลําดับ โดยมีผลิตภัณฑ์ทีJจําหน่ายประกอบด้ วยรถบรรทุก รถพ่วง-กึJงพ่วงทีJลกู ค้ าต้ องการความเป็ นพิเศษ เช่น รถ ทีJสามารถขนส่งสินค้ าขนาดใหญ่มากเป็ นพิเศษ ขนส่งสินค้ าทีJมีนํ Sาหนักมากเป็ นพิเศษ เป็ นต้ น ซึงJ จะต้ องอาศัยการออกแบบ และเทคโนโลยีด้านงานระบบวิศวกรรมทีJลํ Sาสมัย ซึงJ บริ ษัทฯ ได้ สร้ างความแตกต่างจากคูแ่ ข่งรายอืJนในเรืJ องดังกล่าว และ สามารถสร้ างมูลค่าเพิมJ ในตัวผลิตภัณฑ์ได้ เป็ นอย่างมาก ผลิตภัณฑ์หลักอีกประเภทหนึงJ ในกลุม่ นี Sคือ ตู้ไฟเบอร์ กลาสนํ Sาหนัก เบา ซึงJ ผลิตและทําการตลาดโดยบริ ษัทย่อย ก็เป็ นอีกหนึงJ ผลิตภัณฑ์ทีJมีอตั ราการเติบโตของยอดรายได้ มาอย่างต่อเนืJอง ตังแต่ S ปี 2555 เป็ นต้ นมา รายได้ จากการขายและการให้ บริการ บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย รับรู้รายได้ จากการขายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ เมืJอได้ โอนความเสียJ งและผลตอบแทนทีJ เป็ นสาระสําคัญของความเป็ นเจ้ าของสินค้ าทีJมีนยั สําคัญ ไปให้ กบั ผู้ซื Sอแล้ ว รายได้ จากการขาย ประกอบด้ วย การขายอะไหล่ (Spare Part) บางประเภททีJบริ ษัทฯ จําเป็ นต้ องสังJ นําเข้ ามาจากต่างประเทศเพืJอใช้ ในการผลิตงานของลูกค้ าเป็ นปกติอยูแ่ ล้ ว โดยส่วนใหญ่มากกว่าร้ อยละ 80 เป็ นการขายอะไหล่ให้ กบั ลูกค้ าต่างประเทศทีJสงัJ ผลิตรถจากบริษัทฯ โดยเฉพาะรถลําเลียง อาหารสําหรับเครืJ องบิน และส่วนทีJเหลือประมาณร้ อยละ 20 เป็ นการขายให้ แก่ลกู ค้ าในประเทศ รายได้ จากการขายยัง ประกอบด้ วยการขายสินค้ าตัวอย่าง (รถต้ นแบบ) และการขายสินค้ าในสต๊ อก เป็ นต้ น ในปี 2557 และ ปี 2558 บริ ษัทมี รายได้ จากการขายและติดตังหลอดไฟ S LED ให้ กบั หน่วยงานของรัฐบาล โดยผ่านกิจการร่วมค้ าระหว่างบริษัทฯ กับบริ ษัทอืJน ทีJไม่มีความเกีJยวข้ องกัน ซึงJ รับรู้รายได้ จํานวน 133.46 ล้ านบาท และ 44.21 ล้ านบาท ตามลําดับ บริ ษัทฯ รับรู้รายได้ จากการให้ บริ การเมืJอมีการให้ บริ การเสร็ จเรี ยบร้ อย โดยรายได้ ดงั กล่าวมาจากการให้ บริ การรับ ซ่อมผลิตภัณฑ์ โดยส่วนใหญ่จะซ่อมให้ เฉพาะรถของลูกค้ าหลังหมดระยะเวลาประกัน ซึงJ สังJ ซื Sอสินค้ าจากบริษัทฯ หรื อบริ ษัท ย่อยเท่านันS บริ ษัทฯ มีเงืJอนไขรับประกันสินค้ าเฉลียJ 1 ปี และตังแต่ S ปี 2555 บริ ษัทฯ ได้ รับสัญญาในการบริ หารโครงการซ่อม บํารุง รถบรรทุกพ่วง และ รถบรรทุกกึJงพ่วง จากบริษัท ลินฟอกซ์ ทรานสปอร์ ต (ประเทศไทย) จํากัด (“Linfox”) และบริ ษัท เอก-ชัย ดิสทริ บิวชันJ ซิสเทม จํากัด (“Tesco-Lotus”) ทังหมด S ซึงJ มีรถในโครงการมากกว่า 1,000 คัน โดยตังศู S นย์บริ การซ่อม บํารุงอยูใ่ นพื SนทีJของ Tesco-Lotus จํานวน 5 แห่ง ประกอบด้ วย ศูนย์ลาํ ลูกกา ศูนย์วงั น้ อย ศูนย์สามโคก ศูนย์บางบัวทอง และศูนย์สรุ าษฎร์ ธานี อีกทังบริ S ษัทฯ ยังได้ เล็งเห็นโอกาสในการเพิมJ รายได้ จากงานซ่อมบริ การ จึงได้ ทําการเช่าพื SนทีดJ นิ ประมาณ 4 ไร่ ทีJ อําเภอวังน้ อย จังหวัดพระนครศรี อยุธยา เป็ นศูนย์ซอ่ มสําหรับรถบรรทุก ในกรณีประสบอุบตั ิเหตุต้องซ่อม นาน และรับงานซ่อมบริ การจากลูกค้ าของบริ ษัทรายอืJน และลูกค้ าทัวJ ไป ทําให้ บริษัทฯ สามารถเพิJมศักยภาพในการดูแล ลูกค้ าในพื SนทีJภาคกลางเพิมJ ขึ Sน ซึงJ เป็ นทําเลใกล้ กรุงเทพฯ และ ปริ มณฑล และยังเพิJมโอกาสในการรับงานซ่อมบริการเพิมJ ขึ Sน จากงานของ Linfox และ Tesco-Lotus ปั จจุบนั มีลกู ค้ าหลายรายต้ องการทีJจะทําสัญญา PM กับบริ ษัทฯ และอยูร่ ะหว่างการ เจรจาเงืJอนไขต่างๆ โดยสัดส่วนรายได้ จากการขาย และรายได้ จากการให้ บริ การในปี 2557-2559


169

รายได้ อืJน รายได้ อืJน ประกอบด้ วย รายได้ คา่ บริ หาร รายได้ คา่ เช่า ดอกเบี Sยรับ เป็ นต้ น ปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีรายได้ อืJนเท่ากับ 13.22 ล้ านบาท 18.98 ล้ านบาท และ 21.42 ล้ านบาท ตามลําดับ คิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 0.87 ร้ อยละ 1.63 และ ร้ อยละ 1.98 ของรายได้ รวม ตามลําดับ ต้ นทุนและกําไรขันD ต้ น ต้ นทุนงานตามสัญญา ประกอบด้ วย ต้ นทุนวัตถุดิบ เงินเดือนและค่าจ้ างแรงงานผลิตในแผนกต่างๆ ค่าจ้ างเหมา จากบุคคลอืJน และค่าใช้ จ่ายในการผลิตต่างๆ เป็ นต้ น บริษัทจะบันทึกต้ นทุนงานตามสัญญาในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดย อ้ างอิงกับขันความสํ S าเร็จของงานตามสัญญา ณ วันทีJรายงาน เมืJอผลงานตามสัญญาสามารถประมาณได้ อย่างน่าเชืJอถือ ในกรณีทีJมีความเป็ นไปได้ คอ่ นข้ างแน่นอนว่าต้ นทุนทังหมดของโครงการเกิ S นกว่ามูลค่ารายได้ ตามสัญญา บริ ษัทจะรับรู้ผล ขาดทุนทีJคาดว่าจะเกิดขึ Sนเป็ นค่าใช้ จา่ ยในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จทันที และหากบริษัทไม่สามารถประมาณผลของงานตาม สัญญาได้ อย่างน่าเชืJอถือ บริ ษัทจะรับรู้ต้นทุนงานตามสัญญาเป็ นค่าใช้ จ่ายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จในงวดทีJต้นทุนนันS เกิดขึ Sน ต้ นทุนขายและต้ นทุนการให้ บริ การ ประกอบด้ วย ต้ นทุนสินค้ าทีJขาย เงินเดือน และค่าจ้ างของแผนกทีJเกีJยวข้ อง และค่าใช้ จา่ ยทีJปันจากค่าใช้ จ่ายส่วนกลาง เป็ นต้ น ทังนี S S บริ ษัทฯ กําหนดนโยบายในการกําหนดราคางานตามสัญญาให้ มีอตั รากําไรไม่ตาํJ กว่าร้ อยละ 15 และ กําหนดให้ มีการทบทวนประมาณการต้ นทุนการผลิตให้ สอดคล้ องกับต้ นทุนจริงทุกไตรมาส หรื อเมืJอมีปัจจัยใดทีJสง่ ผลกระทบ ต่อต้ นทุนงานนันๆ S อย่างมีนยั สําคัญ ในงวดบัญชีปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีต้นทุนงานตามสัญญาเท่ากับ 964.85 ล้ านบาท 805.09 ล้ าน บาท และ 822.18 ล้ านบาท ตามลําดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 63.77 ร้ อยละ 70.46 และร้ อยละ 77.69 ของรายได้ หลัก ของธุรกิจ ตามลําดับ อัตราส่วนต้ นทุนงานตามสัญญาเมืJอเทียบกับรายได้ หลักของธุรกิจเพิJมขึ Sน ในปี 2558 และ 2559 เนืJองจากบริษัทได้ มีการวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ในกลุม่ ผลิตภัณฑ์มาตรฐาน เพืJอเป็ นการขยายฐานการตลาดให้ เพิJม มากขึ Sนจากปี ก่อน เป็ นการลดความเสียJ งจากการพึงJ พิงธุรกิจเฉพาะกลุม่ และทําให้ มีปริ มาณการผลิตเพิJมขึ Sน แต่มีอตั รากําไร ทีJน้อยกว่ากลุม่ สินค้ าอืJน และเพิJมสัดส่วนรายได้ ในส่วนการให้ บริ การ โดยต้ นทุนขาย และให้ บริ การเท่ากับ 214.70 ล้ านบาท 87.34 ล้ าน บาท และ 95.32 ล้ านบาท ตามลําดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่วน ร้ อยละ 14.19 ร้ อยละ 7.64 และร้ อยละ 9.01 ของรายได้ จากธรุ กิจหลักของบริษัทตามลําดับ เนืJองจากบริ ษัทฯ มีรายได้ ในส่วนของศูนย์ซอ่ มบริ การทีJมีการขยายงานอย่างต่อเนืJอง ทําให้ ต้ นทุนงานในส่วนนี Sมีแนวโน้ มลดลงตังแต่ S ปี 2557 เป็ นต้ นมา ในงวดบัญชีปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีกําไรขันต้ S นเท่ากับ 333.47 ล้ านบาท 250.20 ล้ านบาท และ 140.74 ล้ านบาท ตามลําดับ หรือคิดเป็ นอัตรากําไรขันต้ S น ร้ อยละ 22.04 ร้ อยละ 21.90 และ ร้ อยละ 13.30 ของรายได้ หลัก ของธุรกิจตามลําดับ จากข้ อมูลจะพบว่าอัตรากําไรขันต้ S นของบริษัทฯ มีทิศทางปรับตัว ลดลง ตังแต่ S ปี 2558 ตามการปรับ โครงสร้ างรายได้ ของบริษัทฯ ทีJเน้ นขยายตลาดในสินค้ ากลุม่ มาตรฐานโดยปี 2558 บริ ษัทฯ มีคา่ ใช้ จา่ ยในส่วนต้ นทุน ค่าแรงงานทีเJ พิJมขึ Sนจากการปรับฐานค่าแรงของพนักงาน และในปี 2559 บริ ษัทฯมีคา่ ใช้ จ่ายในการวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ ในส่วนของต้ นทุนงานตามสัญญา ค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร ค่าใช้ จา่ ยในการขาย และบริ หาร ของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ประกอบด้ วย ค่าใช้ จา่ ยเกีJยวกับบุคลากร ค่าใช้ จ่าย ในการส่งออกสินค้ าไปยังลูกค้ าต่างประเทศ ค่าขนส่งสินค้ าในประเทศ และค่าใช้ จ่ายในการบริ หารอืJน เป็ นต้ น


170

ในงวดบัญชีปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีคา่ ใช้ จา่ ยในการขายและบริ หารเท่ากับ 190.01 ล้ านบาท 195.07 ล้ านบาท และ 216.04 ล้ านบาท ตามลําดับ ค่าใช้ จ่ายทีเJ พิJมขึ Sนในปี 2559 เนืJองจากมีคา่ ใช้ จ่ายทีJเกิดจากการเข้ าร่วม ประมูลโครงการรถโดยสาร NGV ในส่วนของค่าธรรมเนียมธนาคารเพืJอใช้ ในโครงการรถโดยสาร NGV ทีJสิ Sนสุดแล้ วในปี 2559 และค่าทีJปรึกษากฎหมายในการฟ้ องเรี ยกค่าเสียหายกับหน่วยงานภาครัฐในคดีทีJเกีJยวกับงานประมูลรถโดยสาร NGV ซึงJ ถูกยกเลิกโครงการ ประกอบกับมีการปรับฐานเงินเดือนค่าจ้ างในปี 2559 เพิJมขึ Sน โดยค่าใช้ จา่ ยในส่วนนี Sบริ ษัทได้ ดําเนินการฟ้ องคูก่ รณีและหน่วยงานทีJกํากับดูแลต่อศาลปกครองเพืJอเรี ยกค่าเสียหายแล้ ว กําไรก่ อนดอกเบียD และภาษี หากพิจารณาข้ อมูลกําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานก่อนดอกเบี Sยและภาษี (Earnings Before Interest and Tax: EBIT) ในปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีกําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงานเท่ากับ 156.67 ล้ านบาท 74.10 ล้ านบาท และ (53.88) ล้ านบาท ตามลําดับ หรื อคิดเป็ นอัตรากําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานต่อรายได้ เท่ากับ ร้ อยละ 10.35 ร้ อยละ 6.49 และ ร้ อยละ (5.09) จากยอดรายได้ รวม ต้ นทุนทางการเงิน ในปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีต้นทุนทางการเงินเท่ากับ 19.31 ล้ านบาท 28.86 ล้ านบาท และ 38.70 ล้ านบาท ตามลําดับ ต้ นทุนทางการเงินดังกล่าวเกิดจากการทีJบริษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีภาระหนี Sเงินกู้กบั สถาบันการเงิน เพืJอ ใช้ ในการผลิตสินค้ าของบริษัทฯ มีมลู ค่าสูง และต้ องใช้ ระยะเวลาในการผลิตโดยประมาณ 3-6 เดือน อีกทังการส่ S งมอบสินค้ า จะไม่ได้ สง่ มอบทีละหน่วย แต่จะส่งมอบเป็ นส่วนๆ ของคําสังJ ซื Sอ ทําให้ บริ ษัทฯ มีความจําเป็ นต้ องใช้ เงินกู้ระยะสันเพื S JอสังJ ซื Sอ วัสดุอปุ กรณ์และส่วนประกอบจากต่างประเทศ ซึงJ ในปี 2557-2559 มีภาระหนี Sเงินกู้ระยะสันจากสถาบั S นการเงินจํานวน 305.91 ล้ านบาท 729.56 ล้ านบาท และ 358.58 ล้ านบาทตามลําดับ โดยในปี 2556 บริษัทฯ ได้ เข้ าจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ฯ และระดมทุนเพืJอนําเงินมาใช้ เป็ นทุนหมุนเวียนได้ รวมทังมี S สว่ นเกินมูลค่าหุ้นเท่ากับ 341.36 ล้ านบาท ส่งผลให้ ภาระต้ นทุนทางการเงินลดลง ในปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ รับอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริ ษัท ให้ ลงทุนในการซื SอทีJดินเพืJอใช้ ในการ ขยายโรงงานในอนาคต จํานวนเงิน 296.56 ล้ านบาท โดยได้ บนั ทึกเป็ นทีJดินจํานวน 214.99 ล้ านบาท และทีJดินส่วนทีJเกิน ความต้ องการใช้ งานซึงJ บริษัทฯ วางแผนทีJจะขายบันทึกเป็ นอสังหาริ มทรัพย์เพืJอการลงทุนจํานวน 81.58 ล้ านบาท ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล ในปี 2557-2559 บริ ษัทฯ มีภาระภาษี เงินได้ นิติบคุ คลจํานวน 38.79 ล้ านบาท 9.51 ล้ านบาท และ (1.29) ล้ านบาท ตามลําดับ ปี 2559 มีผลขาดทุนก่อนภาษี 92.58 ล้ านบาท คํานวณจากอัตราภาษี ร้อยละ 20 ปรับผลกระทบค่าใช้ จ่ายทีJไม่ สามารถหักภาษี และค่าใช้ จา่ ยทีสJ ามารถหักภาษี ได้ เพิJมขึ Sน ทําให้ เป็ นรายได้ จํานวน 1.29 ล้ านบาท เกิดจากภาษี ทีJบนั ทึกสูง ไปในงวดก่อนของกิจการร่วมค้ า ทีเอสพี-ซีทีวี กําไรสุทธิและอัตรากําไรสุทธิ ในงวดบัญชีปี 2557-2559 บริษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีกําไร(ขาดทุน)สุทธิ (เฉพาะส่วนทีJเป็ นของบริ ษัทใหญ่) เท่ากับ 97.31 ล้ านบาท 35.71 ล้ านบาท และ (91.29) ล้ านบาท ตามลําดับ คิดเป็ นอัตรากําไร(ขาดทุน)สุทธิ (เฉพาะส่วนทีเJ ป็ นของ บริ ษัทใหญ่) ร้ อยละ 6.48 ร้ อยละ 3.08 และร้ อยละ (13.25) ของรายได้ รวม ตามลําดับ โดยในปี 2559 บริษัทฯ มีอตั รา ขาดทุนสุทธิ เนืJองจากการบันทึกค่าใช้ จา่ ยทีเJ กีJยวข้ องกับโครงการประกวดราคารถโดยสาร NGV ทีJถกู ยกเลิก และมีคา่ ใช้ จ่าย ในการวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ทีJเพิมJ ขึ Sน ตามทีJได้ กล่าวมาแล้ วนันS


171

อัตราผลตอบแทนต่ อผู้ถอื หุ้น บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีอตั ราผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้นในปี 2557-2559 ร้ อยละ 17.38 ร้ อยละ 5.36 และ ร้ อยละ (13.25) ตามลําดับ โดยบริ ษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้น (เฉพาะส่วนทีJเป็ นของบริ ษัทใหญ่) เท่ากับ 636.24 ล้ านบาท 697.00 ล้ านบาท และ 681.00 ล้ านบาท ตามลําดับ สาเหตุทีJอตั ราผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นลดลงในปี 2559 เนืJองจากบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีผลขาดทุนสุทธิ 91.29 ล้ านบาท จากการผลการดําเนินงานดังทีJกล่าวไปแล้ ว 14.1.2 ฐานะทางการเงินของบริษัท สินทรัพย์ ณ วันทีJ 31 ธันวาคม ของปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีสนิ ทรัพย์รวมเท่ากับ 1,112.72 ล้ านบาท 1,619.38 ล้ านบาท และ 1,710.36 ล้ านบาท ตามลําดับ โดยมีรายละเอียดของสินทรัพย์รายการสําคัญดังนี S เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันทีJ 31 ธันวาคม ของปี 2557-2559 บริ ษัทและบริ ษัทย่อยมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเท่ากับ 23.70 ล้ านบาท 49.30 ล้ านบาท และ 43.86 ล้ านบาท ตามลําดับ ประกอบด้ วยเงินสดย่อยและเงินฝากธนาคาร ทังในรู S ปบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ บัญชีกระแสรายวัน และบัญชีเงินฝากประจํา ซึงJ มีการลดลง หรื อเพิJมขึ Sน ตามการ บริ หารการเงิ นในวันทีJสิ Sนสุดรอบบัญชีแต่ละงวด และตังแต่ S วนั ทีJ 30 ธันวาคม 2557 บริ ษัทฯ มีเงิ นฝากธนาคาร เพิJมขึ SนเนืJองจากการใช้ สิทธิจากการแปลง CHO-W1 ทุกไตรมาส ทีJรอจัดการด้ านการเงิน สิ SนสุดวันทีJ 27 ตุลาคม 2559 ลูกหนีกD ารค้ าและค่ าเผื$อหนีสD งสัยจะสูญ ณ วันทีJ 31 ธันวาคม ของปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีลกู หนี Sการค้ า-สุทธิ เท่ากับ 374.01 ล้ าน บาท 469.81 ล้ านบาท และ 373.64 ล้ านบาท ตามลําดับ ทังนี S Sบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีการให้ เทอมเครดิตแก่ ลูกหนี SเฉลียJ เท่ากับ 30-60 วันนับจากวันส่งใบแจ้ งหนี S โดยสามารถคํานวณระยะเวลาเรี ยกเก็บหนี SเฉลีJยในปี 25572559 ได้ เท่ากับ 61 วัน 100 วัน และ 145 วัน โดยสามารถสรุปยอดลูกหนี Sการค้ าตามอายุหนี SทีJค้างชําระ ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2557-2559 ได้ ดงั นี S (หน่วย : ล้ านบาท) ช่ วงเวลา ยังไม่ถึงกําหนดชําระ อายุหนี Sไม่เกิน 3 เดือน อายุหนี Sระหว่าง 3 เดือน – 6 เดือน อายุหนี Sระหว่าง 6 เดือน – 12 เดือน อายุหนี Sมากกว่า 12 เดือนขึ Sนไป รวม หัก ค่าเผืJอหนี Sสงสัยจะสูญ ลูกหนีกD ารค้ า – สุทธิ

31-ธ.ค.-57 86.19 71.39 1.10 19.78 4.29 182.75 (3.58) 179.17

31-ธ.ค.-58 51.68 67.94 76.07 20.54 27.71 243.94 (4.49) 239.45

31-ธ.ค.-59 102.24 32.41 2.29 2.80 4.00 143.74 (3.28) 140.46

บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ประมาณค่าเผืJอหนี Sสงสัยจะสูญโดยประมาณจากลูกหนี SทีคJ าดว่าจะเก็บเงินไม่ได้ และ วิเคราะห์ประวัติการชําระหนี S และคาดการณ์เกีJยวกับการชําระหนี Sในอนาคตของลูกหนี Sเป็ นเกณฑ์พิจารณาอายุหนี S


172

ทีJค้างชําระ ลูกหนี Sการค้ าทีJเกินกําหนดชําระมากกว่า 12 เดือน บริ ษัทฯ จะตังค่ S าเผืJอหนี Sสงสัยจะสูญเต็มจํานวน ยกเว้ นกรณีทีJคาดว่าจะได้ รับชําระหนี Sจากลูกหนี Sแน่นอน โดย ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2557-2559 มียอดค่าเผืJอหนี S สงสัยจะสูญเท่ากับ 3.58 ล้ านบาท 4.49 ล้ านบาท และ 3.28 ล้ านบาท ตามลําดับ เนืJองจาก ณ สิ Sนปี 2557-2559 มีลกู หนี Sการค้ าทีJเกินกําหนดชําระมากกว่า 12 เดือน จํานวน 4.29 ล้ านบาท 27.71 ล้ านบาท และ 4.00 ล้ านบาท ตามลําดับ ทังนี S Sฝ่ ายบริ หารเชืJอว่าได้ บนั ทึกค่าเผืJอหนี Sสงสัยจะสูญไว้ เพียงพอแล้ ว สินค้ าคงเหลือ ณ วันทีJ 31 ธันวาคม ของปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีสนิ ค้ าคงเหลือเท่ากับ 297.77 ล้ านบาท 295.49 ล้ านบาท และ 335.11 ล้ านบาท ตามลําดับ โดยมูลค่าสินค้ าคงเหลือส่วนใหญ่คือ วัตถุดิบ หรื อ ส่วนประกอบทังที S Jอยูใ่ นคลังสินค้ า หรื ออยูร่ ะหว่างทางจัดส่งมายังคลังสินค้ า ซึงJ ถือว่าเป็ นวัตถุดิบหลักของ ผลิตภัณฑ์ มูลค่าส่วนทีJเหลือจะประกอบด้ วย สินค้ าระหว่างผลิต สินค้ าสําเร็จรูป และวัสดุสิ Sนเปลือง รวมทังเงิ S นมัด จําค่าซื SอวัตถุดิบทีJจําเป็ นต้ องส่งผลิต และวางมัดจํา เงินฝากประจําที$มีภาระคําD ประกัน ณ วันทีJ 31 ธันวาคม ของปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีเงินฝากประจําทีJมีภาระคํ Sาประกันเท่ากับ 3.9 ล้ านบาท 2.00 ล้ านบาท และ 37.00 ล้ านบาท ตามลําดับ ซึงJ ยอดเงินฝากประจําทีJมีภาระคํ Sาประกันใช้ สาํ หรับ คํ SาประกันวงเงินสินเชืJอจากสถาบันการเงิน อาทิ วงเงินกู้เบิกเกินบัญชี วงเงินหนังสือคํ SาประกันสัญญางานซึงJ จําเป็ นต้ องใช้ มากขึ SนตามการเพิมJ ขึ Sนของมูลค่างานและสัญญางาน ที$ดนิ อาคารและอุปกรณ์ ณ วันทีJ 31 ธันวาคม ของปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริษัทย่อยมีทีJดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ เท่ากับ 361.32 ล้ านบาท 663.71 ล้ านบาท และ 771.20 ล้ านบาท ตามลําดับ ซึงJ ประกอบด้ วย ทีJดินทีJตงสํ ั S านักงานใหญ่ ของบริ ษัทฯ อาคารโรงงาน อาคารสํานักงานใหญ่และส่วนปรับปรุงอาคาร เครืJ องใช้ เครืJ องตกแต่งสํานักงาน ครุภณ ั ฑ์ และยานพาหนะ โดยในปี 2558 บริษัทฯ ได้ ลงทุนซื SอทีดJ ิน ประมาณ 272 ไร่ ทีJตาํ บลท่าพระ อําเภอเมือง ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น เพืJอเป็ นพื SนทีJขยายโรงงานในอนาคต มูลค่า 296.56 ล้ านบาท และทีJดินทีJเป็ นทีJตงั S โรงงาน และสํานักงานใหญ่เนื SอทีJรวม 48-2-16.1 ไร่ ซึงJ บันทึกบัญชีด้วยราคาทุนมูลค่ารวม 28 ล้ านบาท บริ ษัทฯ ไม่ มีการปรับปรุงมูลค่าทีJดินตามราคาตลาด แหล่ งที$มาของเงินทุน หนีสD นิ ณ วันทีJ 31 ธันวาคม ของปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีหนี Sสินรวมเท่ากับ 476.47 ล้ านบาท 922.38 ล้ านบาท และ 1,029.36 ล้ านบาท ตามลําดับ โดยมีรายละเอียดของหนี Sสินรายการสําคัญดังนี S เงินกู้ยมื ระยะสันD จากสถาบันการเงิน ณ วันทีJ 31 ธันวาคม ของปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั S นการเงินเท่ากับ 305.91 ล้ านบาท 729.56 ล้ านบาท และ 358.58 ล้ านบาท ตามลําดับ โดยเงินกู้ยืมระยะสันตามตั S วเลขดังกล่าว เป็ นภาระหนี SตามวงเงินสินเชืJอประเภทต่างๆ ทีJสถาบันการเงินให้ การสนับสนุนแก่บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย เพืJอใช้ เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในธุรกิจ อาทิ วงเงินเบิกเกินบัญชี วงเงินทรัสต์รีซีทส์ วงเงินแพคกิ Sงเครดิต วงเงินตัว› สัญญาใช้ เงิน เป็ นต้ น ทังนี S S บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีภาระหนี SเพิJมขึ Sนในปี 2558 เกิดจากการใช้ วงเงินสินเชืJอทีJสถาบันการเงิน


173

ให้ ในการสนับสนุนเพืJอซื Sอวัตถุดิบ และอุปกรณ์ตา่ งๆ ในการผลิตแล้ ว บริ ษัทฯ ยังได้ ใช้ วงเงินจากการออกตัว› สัญญา ใช้ เงินเพืJอใช้ หมุนเวียนในธุรกิจ เนืJองจากสามารถบริ หารต้ นทุนทางการเงินในอัตราทีJตํJากว่าการใช้ วงเงินสินเชืJอ จากสถาบันการเงิน เจ้ าหนีกD ารค้ าและเจ้ าหนีอD $ นื ณ วันทีJ 31 ธันวาคม ของปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีเจ้ าหนี Sการค้ าและเจ้ าหนี SอืJนเท่ากับ 97.41 ล้ านบาท 110.22 ล้ านบาท และ 280.11 ล้ านบาทตามลําดับ ส่วนใหญ่เป็ นเจ้ าหนี Sค่าสินค้ า ซึงJ บริ ษัทฯ ได้ เทอม เครดิตจากเจ้ าหนี Sการค้ าเฉลียJ ประมาณ 60 วัน โดยสามารถคํานวณระยะเวลาชําระหนี SเฉลียJ ในปี 2557-2559 ได้ เท่ากับ 35 วัน 42 วัน และ 77 วัน ตามลําดับ ภาระผูกพันหนีสD นิ ผลประโยชน์ พนักงาน ตังแต่ S วนั ทีJ 1 มกราคม 2554 บริษัทฯ และบริ ษัทย่อยได้ ใช้ มาตรฐานการบัญชีไทย ฉบับทีJ 19 เรืJ องผลประโยชน์ พนักงาน ซึงJ นักคณิตศาสตร์ ประกันภัยได้ ประมาณการหนี Sสินผลประโยชน์พนักงาน โดยผู้บริ หารได้ บนั ทึกหนี Sสิน และผลประโยชน์พนักงานทีJเกิดขึ Sนก่อนปี 2554 โดยได้ ปรับกับกําไรสะสม ณ วันต้ นงวดของรอบบัญชีปี 2554 ตาม มาตรฐานการบัญชีฉบับดังกล่าว ณ วันทีJ 31 ธันวาคม ของปี 2557-2559 บริษัทฯ และบริ ษัทย่อยมีประมาณการหนี Sสินผลประโยชน์พนักงาน เท่ากับ 13.50 ล้ านบาท 16.12 ล้ านบาท และ 19.73 ล้ านบาท ตามลําดับ ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ณ วันทีJ 31 ธันวาคม ของปี 2557-2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีสว่ นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ เท่ากับ 636.24 ล้ านบาท 697.00 ล้ านบาท และ 681.00 ล้ านบาท ตามลําดับ โดย ณ วันทีJ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษัทฯ มีทนุ จด ทะเบียน เท่ากับ 296.97 ล้ านบาท และทุนชําระแล้ ว เท่ากับ 295.74 ล้ านบาท เพิJมขึ Sนจากการใช้ สทิ ธิแปลง CHOW1 และการจ่ายปั นผลเป็ นหุ้น มีสว่ นเกินมูลค่าหุ้น และอืJน ๆ 404.92 ล้ านบาท แยกเป็ นส่วนเกินมูลค่าหุ้นเท่ากับ 375.90 ล้ านบาท ส่วนเกินมูลค่าจากการจ่ายโดยใช้ ห้ นุ เป็ นเกณฑ์ (Share Based Payment) เท่ากับ 29.01 ล้ าน บาท มีสว่ นลดจากการเพิมJ สัดส่วนเงินลงทุนในบริ ษัทย่อย เท่ากับ 5.63 ล้ านบาท มีสาํ รองตามกฎหมายเท่ากับ 6.82 ล้ านบาท และขาดทุนสะสมทีJยงั ไม่จดั สรร 20.84 ล้ านบาท โครงสร้ างเงินทุน บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีอตั ราส่วนหนี Sสินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (D/E Ratio) ณ วันทีJ 31 ธันวาคม ของปี 25572559 เท่ากับ 0.75 เท่า 1.32 เท่า และ 1.51 เท่า ตามลําดับ อัตราส่วนหนี Sสินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นสิ Sนปี 2558 และ 2559 เพิมJ ขึ Sน จากการทีJบริ ษัทฯมีการลงทุนในสินทรัพย์โดนใช้ เงินกู้ยืมเพืJอนําไปซื SอทีJดิน จึงทําให้ สดั ส่วนหนี Sสิน เพิJมขึ Sน ในขณะทีJสว่ นของผู้ถือหุ้นเพิJมขึ SนจากการเพิมJ ทุนชําระแล้ วในปี 2559 และปี 2558 จํานวน 89.61 ล้ าน บาท และ 26.13 ล้ านบาท และมีสว่ นเกินมูลค่าหุ้นทีเJ พิJมขึ Sนในปี 2559 และปี 2558 จํานวน 58.58 ล้ านบาท และ 25.97 ล้ านบาท


174

สภาพคล่ อง บริษัทฯ และบริษัทย่ อย เงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด สินทรัพย์หมุนเวียน หนี Sสินหมุนเวียน อัตราส่วนสภาพคล่อง (สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี Sสินหมุนเวียน) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน

ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท เท่า

2557 23.70 706.87 456.21 1.55

ล้ านบาท

89.61

31 ธันวาคม 2558 49.30 834.88 862.42 0.97 (22.23)

2559 43.86 755.43 678.03 1.14 207.88

อัตราส่วนสภาพคล่อง ณ สิ Sนปี 2557-2559 เท่ากับ 1.55 เท่า 0.97 เท่า และ 1.14 เท่า ตามลําดับ ในปี 25572559 บริ ษัทฯ มีสนิ ทรัพย์หมุนเวียนเพิJมขึ Sน ในขณะทีJหนี SสินทีJมีสว่ นเพิJมขึ Sนในปี 2558 จากการลงทุนในทีJดิน บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานในปี 2557-2559 เท่ากับ 89.61 ล้ านบาท (22.23) ล้ านบาท และ 207.88 ล้ านบาท ตามลําดับ โดยในปี 2559 บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีกระแสเงินสดเพิมJ ขึ Sน จากกิจกรรมดําเนินงาน มาจากยอดลูกหนี SทีJลดลง ข้ อกําหนดอัตราส่ วนทางการเงิน บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ได้ รับวงเงินจากธนาคารแห่งหนึงJ โดยมีข้อกําหนดให้ ดํารงอัตราส่วนหนี Sสินต่อส่วนของ ผู้ถือหุ้น (D/E Ratio) ไม่เกิน 3 เท่าและดํารงอัตราส่วนความสามารถในการชําระหนี S (DSCR) ไม่น้อยกว่า 1.2 เท่า ของงบการเงินรวม เนืJองจากบริ ษัทฯ มีสว่ นของหนี SสินทีJเป็ นเจ้ าหนี Sการค้ า และเงินมัดจํารับล่วงหน้ าจากลูกค้ า ในช่วงปลายปี จํานวนมาก ซึJงอาจทําให้ อตั ราส่วนทีJธนาคารกําหนดเพิJมขึ Sนอย่างมีนยั สําคัญ ทางบริ ษัทฯ จึงได้ ชี Sแจงให้ สถาบันการเงินทราบ และจะกําหนดเฉพาะหนี SสินทีJมีภาระดอกเบี Sยเป็ นฐานในการคํานวณแทนหนี Sสินรวม ทังหมดต่ S อไป รายจ่ ายเพื$อการลงทุน ในปี 2557 และ 2558 บริ ษัทฯ มีรายจ่ายเพืJอการลงทุนตามปกติของการดําเนินธุรกิจ โดยไม่มีรายจ่ายจากการ ลงทุนทีJมีนยั สําคัญ และในปี 2558 บริ ษัทฯ ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริษัท ให้ ลงทุนซื SอทีJดินเพืJอขยายโรงงาน ในอนาคต และในปี 2559 บริ ษัทฯได้ มีการลงทุนในการสร้ างศูนย์ซอ่ มรถบรรทุก 1 แห่ง ทีจJ งั หวัดชลบุรี ทีJใช้ ชืJอ สิบ ล้ อ 24 ชัวJ โมง


175


บริษทั ช ทวี จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่ อ “บริษทั ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด (มหาชน)”) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผูถ้ ือหุน้ และคณะกรรมการของบริ ษทั ช ทวี จํากัด (มหาชน) ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมของบริ ษทั ช ทวี จํากัด (มหาชน) (บริ ษทั ) และบริ ษทั ย่อย (กลุ่มกิจการ) และงบการเงินเฉพาะกิจการของ บริ ษ ัท แสดงฐานะการเงิ น รวมของกลุ่ ม กิ จ การและฐานะการเงิ น เฉพาะกิ จ การของบริ ษ ัท ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2559 และ ผลการดําเนิ น งานรวมและผลการดําเนิ น งานเฉพาะกิ จการ กระแสเงิ น สดรวมและกระแสเงิ น สดเฉพาะกิ จ การสําหรั บ ปี สิ้ น สุ ด วันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

งบการเงินทีต่ รวจสอบ ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของกลุ่มกิจการและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั ที่แนบมานี้ ซึ่ งประกอบด้วยงบแสดงฐานะ การเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมและงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็ จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของเจ้าของรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของเจ้าของเฉพาะกิจการ และ งบกระแสเงิ น สดรวมและงบกระแสเงิ น สดเฉพาะกิ จการสําหรั บ ปี สิ้ น สุ ด วัน เดี ยวกัน และหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ รวมถึงหมายเหตุสรุ ปนโยบายการบัญชีที่สาํ คัญ

เกณฑ์ ในการแสดงความเห็น ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในส่ วนของความรับผิดชอบของ ผูส้ อบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็ นอิสระจากกลุ่มกิจการ และบริ ษทั ตามข้อกําหนดจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการที่กาํ หนดโดยสภาวิชาชี พบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ และข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามความรับผิดชอบด้านจรรยาบรรณอื่น ๆ ซึ่ งเป็ นไปตามข้อกําหนดเหล่านี้ ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ขา้ พเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดง ความเห็นของข้าพเจ้า

เรื่ องสํ าคัญในการตรวจสอบ เรื่ อ งสําคัญ ในการตรวจสอบคื อเรื่ อ งต่ าง ๆ ที่ มี นัยสําคัญ ที่ สุ ด ตามดุ ล ยพิ นิ จเยี่ยงผูป้ ระกอบวิช าชี พ ของข้าพเจ้าในการตรวจสอบ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสําหรับงวดปั จจุบนั ข้าพเจ้าได้นาํ เรื่ องเหล่านี้มาพิจารณาในบริ บทของการตรวจสอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากสําหรับเรื่ องเหล่านี้


เรื่ องสํ าคัญในการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบ

การรับรู้ รายได้ ของงานตามสั ญญา อ้ างอิ งถึงหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ วิธีปฏิบตั ิ ที่สําคัญ ของข้าพเจ้าที่ ใช้เกี่ ยวกับวิธีการประเมิ นของ กิจการข้ อที่ 2.8 นโยบายการบัญชี - สั ญญาก่ อสร้ าง และข้ อที่ 10 ผูบ้ ริ หารสําหรับการรับรู ้รายได้ของงานตามสัญญาประกอบด้วย งานระหว่ างทําตามสัญญา • ทําความเข้าใจและประเมิ น ระบบการควบคุ ม ภายในที่ ก ลุ่ ม กิ จ การได้อ อกแบบและปฏิ บ ัติ ต ามสําหรั บ ขั้น ตอนในการ กลุ่มกิจการรับรู ้รายได้จากงานตามสัญญาซึ่ งคิดเป็ นร้อยละ 87.5 บันทึกต้นทุน รายได้ของสัญญาและการคํานวณขั้นความสําเร็ จ ของรายได้ท้ งั หมดของกลุ่มกิจการ โดยใช้วิธีการรับรู ้รายได้ตาม ของงาน ขั้นความสําเร็ จของงาน รายได้จากงานตามสัญญามาจากการผลิต • ดําเนิ น การตรวจนั บ โดยการสุ่ ม โครงการที่ ด ํา เนิ น การอยู่ และการประกอบรถพ่วงและยานพาหนะ เพื่อให้มนั่ ใจว่าโครงการดังกล่าวอยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง • ดํา เนิ น การทดสอบรายละเอี ย ดโดยการตรวจเอกสารของ ขั้นความสําเร็ จของงานถูกกําหนดโดยอัตราส่ วนของต้นทุนงาน ต้นทุนที่เกิดขึ้นและการตรวจตัดยอดของต้นทุนที่เกิดขึ้นเพื่อ ที่เกิดขึ้นของงานที่ทาํ เสร็ จจนถึงปั จจุบนั กับประมาณการต้นทุน ประเมินสถานะของโครงการ การก่อสร้างทั้งสิ้ นซึ่ งจําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจของผูบ้ ริ หารในการ • ทํา การเปรี ย บเที ย บขั้น ความสํ า เร็ จ ของงานที่ ก ํา หนดจาก ประมาณการสัดส่ วนต้นทุนของงานที่ทาํ เสร็ จต่อต้นทุนทั้งหมด สัดส่ วนของต้นทุ นการก่ อสร้ างที่ เกิ ดขึ้นของงานที่ ทาํ เสร็ จ ที่จะเกิ ดขึ้น ซึ่ งยังรวมถึงการประเมินถึงความไม่แน่ นอนที่ อาจ จนถึ ง ปั จ จุ บ ัน ต่ อ ประมาณการต้น ทุ น การก่ อ สร้ า งทั้ง สิ้ น ขึ้นที่คงเหลืออยูซ่ ่ ึ งกลุ่มกิจการเผชิ ญหรื ออาจเผชิ ญจนกว่าจะส่ ง ขั้นความสําเร็ จของงานที่ประเมินโดยฝ่ ายผลิตจากการสํารวจ มอบสิ นค้า เนื้ องานที่ ไ ด้ ท ํ า แล้ ว เพื่ อ ประเมิ น ความเหมาะสมของ ขั้นความสําเร็ จของงานที่ใช้ในการรับรู ้รายได้ อีกทั้งข้าพเจ้า ข้าพเจ้าให้ความสนใจในเรื่ องนี้ เพราะมี การใช้ดุลยพินิจอย่างมาก ทําการตรวจสอบเอกสารสําหรับโครงการที่ทาํ แล้วเสร็ จหลัง และประสบการณ์ จากผูบ้ ริ ห ารในการประมาณขั้น ความสําเร็ จ รอบบัญชี เพื่อประเมินความถูกต้องของประมาณการต้นทุน ของงาน ซึ่ งความถู กต้องของรายได้จากงานตามสัญ ญาได้รับ การก่อสร้างทั้งสิ้ นที่เกิดขึ้นที่ใช้ในการคํานวณขั้นความสําเร็ จ ผลกระทบโดยตรงต่อขั้นความสําเร็ จของงาน ของงาน • สอบถามผู บ ้ ริ ห ารเกี่ ย วกับ สถานะของคดี ค วามและได้รั บ หนังสื อยืนยัน จากที่ ปรึ กษาทางกฎหมายในเรื่ องที่ เกี่ ยวกับ งานตามสั ญ ญา และทํ า การตรวจสอบค่ า ใช้ จ่ า ยจากค่ า เรี ยกร้ อ งระหว่ า งกลุ่ ม กิ จ การ ผู ้รั บ เหมาและลู ก ค้า และ พิ จ ารณาความสอดคล้อ งของหลัก ฐานที่ ไ ด้รั บ มากับ การ ประเมินของผูบ้ ริ หาร ตามกระบวนการทํางานของข้าพเจ้าข้างต้น ข้าพเจ้าพบว่าการ ประเมินของผูบ้ ริ หารสําหรับการรับรู ้รายได้ของงานตามสัญญา นั้น สอดคล้อ งกับ หลัก ฐานที่ มี อ ยู่ ข้าพเจ้าไม่ พ บข้อ ผิ ด พลาด ที่เป็ นสาระสําคัญแต่อย่างไร 2


ข้ อมูลอื่น กรรมการเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่ อข้อมู ลอื่ น ข้อมู ลอื่ นประกอบด้วย ข้อมู ลซึ่ งรวมอยู่ในรายงานประจําปี แต่ ไม่ รวมถึ งงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ และรายงานของผูส้ อบบัญชีที่อยูใ่ นรายงานนั้น ข้าพเจ้าคาดว่าข้าพเจ้าจะได้รับรายงานประจําปี ภายหลังวันที่ ในรายงานของผูส้ อบบัญชีน้ ี ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่น และข้าพเจ้าไม่ได้ให้ความเชื่อมัน่ ต่อข้อมูลอื่น ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการคือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอื่น มีความขัดแย้งที่มีสาระสําคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการ หรื อกับความรู ้ที่ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้า หรื อ ปรากฏว่าข้อมูลอื่นมีการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญหรื อไม่ เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจําปี หากข้าพเจ้าสรุ ปได้วา่ มีการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญ ข้าพเจ้าต้องสื่ อสาร เรื่ องดังกล่าวกับคณะกรรมการตรวจสอบ

ความรับผิดชอบของกรรมการต่ องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทําและนําเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการเหล่านี้ โดยถูกต้องตามที่ควรตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น และรั บ ผิดชอบเกี่ ยวกับ การควบคุ ม ภายในที่ กรรมการพิ จารณาว่าจําเป็ น เพื่ อให้ส ามารถจัดทํา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริ ต หรื อข้อผิดพลาด ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุ่มกิจการและบริ ษทั ใน การดําเนิ นงานต่อเนื่ อง เปิ ดเผยเรื่ องที่ เกี่ ยวกับการดําเนิ นงานต่อเนื่ อง (ตามความเหมาะสม) และการใช้เกณฑ์การบัญชี สําหรับการ ดําเนินงานต่อเนื่อง เว้นแต่กรรมการมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุ่มกิจการและบริ ษทั หรื อหยุดดําเนินงาน หรื อไม่สามารถดําเนินงานต่อเนื่อง ต่อไปได้ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่ช่วยกรรมการในการสอดส่ องดูแลกระบวนการในการจัดทํารายงานทางการเงินของกลุ่มกิจการและบริ ษทั

3


ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ได้ความเชื่อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญหรื อไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด และเสนอรายงาน ของผูส้ อบบัญ ชี ซ่ ึ งรวมความเห็ น ของข้าพเจ้าอยู่ด้ว ย ความเชื่ อ มั่น อย่างสมเหตุ ส มผลคื อ ความเชื่ อ มั่น ในระดับสู ง แต่ ไม่ ได้เป็ น การรับประกันว่าการปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญ ที่ มี อ ยู่ไ ด้เสมอไป ข้อ มู ล ที่ ข ัด ต่ อ ข้อ เท็ จ จริ ง อาจเกิ ด จากการทุ จ ริ ต หรื อ ข้อ ผิ ด พลาด และถื อ ว่ามี ส าระสําคัญ เมื่ อ คาดการณ์ อ ย่าง สมเหตุสมผลได้ว่ารายการที่ ขดั ต่อ ข้อ เท็จจริ งแต่ละรายการ หรื อทุ กรายการรวมกันจะมี ผลต่อ การตัดสิ น ใจทางเศรษฐกิ จของผูใ้ ช้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่านี้ ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าได้ใช้ดุลยพินิจเยีย่ งผูป้ ระกอบวิชาชีพและการสังเกต และสงสัยเยีย่ ง ผูป้ ระกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานของข้าพเจ้ารวมถึง •

• • •

• •

ระบุและประเมินความเสี่ ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั ิงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบสนองต่อความเสี่ ยงเหล่านั้น และได้หลักฐานการสอบบัญชี ที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็ นของข้าพเจ้า ความเสี่ ยงที่ไม่พบ ข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญซึ่ งเป็ นผลมาจากการทุจริ ตจะสู งกว่าความเสี่ ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาด เนื่ องจากการ ทุจริ ตอาจเกี่ยวกับการสมรู ้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่ไม่ตรงตาม ข้อเท็จจริ งหรื อการแทรกแซงการควบคุมภายใน ทําความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิ ทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่มกิจการและบริ ษทั ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่กรรมการใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชี และการเปิ ดเผย ข้อมูลที่เกี่ยวข้องซึ่งจัดทําขึ้นโดยกรรมการ สรุ ปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีสาํ หรับการดําเนินงานต่อเนื่องของกรรมการและจากหลักฐานการสอบบัญชี ที่ ได้รับ สรุ ปว่ามี ความไม่แน่ นอนที่ มีสาระสําคัญที่ เกี่ ยวกับเหตุการณ์ หรื อสถานการณ์ ที่อาจเป็ นเหตุให้เกิ ดข้อสงสัยอย่างมี นัยสําคัญต่อความสามารถของกลุ่มกิจการและบริ ษทั ในการดําเนินงานต่อเนื่องหรื อไม่ ถ้าข้าพเจ้าได้ขอ้ สรุ ปว่ามีความไม่แน่นอน ที่ มี สาระสําคัญ ข้าพเจ้าต้องกล่ าวไว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชี ของข้าพเจ้าถึ งการเปิ ดเผยที่ เกี่ ยวข้อ งในงบการเงิ น รวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ หรื อถ้าการเปิ ดเผยดังกล่าวไม่เพียงพอ ความเห็นของข้าพเจ้าจะเปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุ ปของข้าพเจ้า ขึ้ น อยู่กับ หลักฐานการสอบบัญ ชี ที่ ได้รับ จนถึ งวัน ที่ ในรายงานของผูส้ อบบัญ ชี ของข้าพเจ้า อย่างไรก็ต าม เหตุ การณ์ ห รื อ สถานการณ์ในอนาคตอาจเป็ นเหตุให้กลุ่มกิจการและบริ ษทั ต้องหยุดการดําเนินงานต่อเนื่อง ประเมิ น การนําเสนอ โครงสร้ างและเนื้ อ หาของงบการเงิ นรวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จการโดยรวม รวมถึ งการเปิ ดเผยว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการ และเหตุการณ์ในรู ปแบบที่ทาํ ให้มีการนําเสนอข้อมูลโดยถูกต้องตามที่ควร ได้รับหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี่ยวกับข้อมูลทางการเงินของกิจการภายในกลุ่มหรื อกิจกรรมทางธุรกิจ ภายในกลุ่มกิจการเพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการกําหนดแนวทางการควบคุมดูแลและการปฏิบตั ิงาน ตรวจสอบกลุ่มกิจการ ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบแต่เพียงผูเ้ ดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า

4


ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้วางแผนไว้ ซึ่งรวมถึงประเด็นที่ มี นัย สําคัญ ที่ พ บจากการตรวจสอบและข้อ บกพร่ อ งที่ มี นัย สําคัญ ในระบบการควบคุ ม ภายใน ถ้าหากข้าพเจ้าได้พ บในระหว่าง การตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้คาํ รับรองแก่คณะกรรมการตรวจสอบว่า ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามข้อกําหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับความเป็ นอิสระและ ได้สื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ ยวกับความสัมพันธ์ท้ งั หมด ตลอดจนเรื่ องอื่ นซึ่ งข้าพเจ้าเชื่ อว่ามี เหตุผลที่ บุคคลภายนอก อาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็ นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการที่ขา้ พเจ้าใช้เพื่อป้องกันไม่ให้ขา้ พเจ้าขาดความเป็ นอิสระ จากเรื่ องที่ สื่ อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้พิ จารณาเรื่ องต่ าง ๆ ที่ มีนัยสําคัญที่ สุดในการตรวจสอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการในงวดปั จจุบนั และกําหนดเป็ นเรื่ องสําคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่ องเหล่านี้ในรายงานของผูส้ อบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรื อข้อบังคับไม่ให้เปิ ดเผยต่อสาธารณะเกี่ยวกับเรื่ องดังกล่าว หรื อในสถานการณ์ที่ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณาว่า ไม่ควรสื่ อสารเรื่ องดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระทําดังกล่าวสามารถคาดการณ์ ได้อย่างสมเหตุผลว่าจะมีผลกระทบ ในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ต่อส่ วนได้เสี ยสาธารณะจากการสื่ อสารดังกล่าว บริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด

สุ ดวิณ ปัญญาวงศ์ ขันติ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3534 กรุ งเทพมหานคร 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

5


บริษทั ช ทวี จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

7 8

43,860,023 373,641,346

49,296,449 469,810,996

43,067,773 373,806,952

48,498,762 467,752,631

9 37 ค) 11 38 ก) 12

185,595 335,106,837 599,019 22,035,376

185,595 295,494,475 20,090,676

185,595 70,924,297 298,164,435 599,019 22,125,267

185,595 58,600,000 253,994,226 19,632,401

775,428,196

834,878,191

808,873,338

848,663,615

37,000,000 525,852 1,000,000 81,577,261 771,195,483 31,515,740 7,154,932 4,280,699 685,732

2,000,000 711,447 1,000,000 81,577,261 663,706,442 27,454,963 7,306,063 450,900 293,803

34,000,000 525,852 22,599,950 1,000,000 81,577,261 701,848,484 31,408,680 6,412,988 4,212,586 685,732

711,447 22,599,950 1,000,000 81,577,261 589,669,240 27,099,027 6,187,530 293,803

934,935,699

784,500,879

884,271,533

729,138,258

1,710,363,895

1,619,379,070

1,693,144,871

1,577,801,873

หมายเหตุ สิ นทรัพ ย์ สิ นทรัพ ย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น (สุ ทธิ) ลูกหนี้พนักงานตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งปี (สุ ทธิ) เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่บริ ษทั ย่อย สิ นค้าคงเหลือ (สุ ทธิ) สิ นทรัพย์ตราสารอนุพนั ธ์ ภาษีมูลค่าเพิ่ม รวมสิ นทรัพ ย์ หมุนเวียน สิ นทรัพ ย์ ไม่ หมุนเวียน เงินฝากสถาบันการเงินที่ติดภาระคํ้าประกัน ลูกหนี้พนักงานตามสัญญาเช่าการเงิน (สุ ทธิ) เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่ถือจนครบกําหนด อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (สุ ทธิ) สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน (สุ ทธิ) สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (สุ ทธิ) ภาษีเงินได้จ่ายล่วงหน้า เงินมัดจํา รวมสิ นทรัพ ย์ ไม่ หมุนเวียน รวมสิ นทรัพ ย์

กรรมการ ____________________________________________

13 9 14 16 17 18 19 20

กรรมการ _____________________________________________

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 15 ถึง 99 เป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 6


บริษทั ช ทวี จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

22 21

358,575,194 280,107,113

729,564,016 110,216,234

355,255,024 276,427,902

726,314,511 105,101,910

23 24 10 ข) 38 ก)

924,000 10,138,522 18,767,397 5,941,588 1,266,918 2,312,152

924,000 9,964,995 106,367 6,759,242 3,354,568 1,526,270

10,138,522 18,767,397 5,701,707 1,266,918 2,207,356

9,751,696 106,367 6,519,361 3,354,568 1,416,775

678,032,884

862,415,692

669,764,826

852,565,188

1,618,879 31,165,640 298,810,868 19,731,746

2,536,047 41,304,162 16,122,130

31,165,640 298,810,868 19,036,083

41,304,162 14,855,616

351,327,133

59,962,339

349,012,591

56,159,778

1,029,360,017

922,378,031

1,018,777,417

908,724,966

หมายเหตุ หนีส้ ิ นและส่ วนของเจ้ าของ หนีส้ ิ นหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ส่ วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ของ - เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน - หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน (สุ ทธิ) เงินรับล่วงหน้าตามสัญญาส่ วนที่เกินกว่างานระหว่างทํา (สุ ทธิ) หนี้สินตราสารอนุพนั ธ์ ประมาณการหนี้สินจากการรับประกันสิ นค้า ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น

25

รวมหนีส้ ิ นหมุนเวียนอื่น หนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน (สุ ทธิ) หุน้ กู้ (สุ ทธิ) ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รวมหนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิ น

23 24 26 27

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 15 ถึง 99 เป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 7


บริษทั ช ทวี จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

296,972,495

296,972,295

หนีส้ ิ นและส่ วนของเจ้ าของ (ต่อ) ส่ วนของเจ้ าของ ทุนเรื อนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 1,187,889,978 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 0.25 บาท

28

หุน้ สามัญ 1,080,000,000 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 0.25 บาท ทุนที่ออกและชําระแล้ว หุน้ สามัญ 824,510,700 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 0.25 บาท หุน้ สามัญ 1,182,941,773 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 0.25 บาท ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ จากการจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ ส่ วนลดจากการเพิม่ สัดส่ วนเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย กําไร(ขาดทุน)สะสม จัดสรรแล้ว - ทุนสํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร

270,000,000

206,127,675

206,127,675

317,327,131 29,013,488 44,677,801 (5,633,115)

295,735,443 375,903,848 27,067,992 -

317,327,131 27,067,992 44,677,801 -

6,820,000 (20,838,590)

6,820,000 98,663,085

6,820,000 (31,159,829)

6,820,000 67,056,308

รวมส่ วนของผู้เป็ นเจ้ าของของบริษทั ใหญ่ ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม

681,001,074 2,804

696,996,065 4,974

674,367,454 -

669,076,907 -

รวมส่ วนของเจ้ าของ

681,003,878

697,001,039

674,367,454

669,076,907

1,710,363,895

1,619,379,070

1,693,144,871

1,577,801,873

รวมหนีส้ ิ นและส่ วนของเจ้ าของ

28 39

30

295,735,443 375,903,848 29,013,488 (5,633,115)

270,000,000

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 15 ถึง 99 เป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 8


บริษทั ช ทวี จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

หมายเหตุ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

รายได้ รายได้ตามสัญญา รายได้จากการขายและการให้บริ การ ต้นทุนงานตามสัญญา ต้นทุนขายและต้นทุนการให้บริ การ

926,160,095 132,077,628 (822,180,359) (95,320,825)

972,726,577 169,904,248 (805,089,930) (87,343,424)

915,477,124 134,972,499 (814,787,062) (97,953,795)

919,491,006 173,601,639 (767,890,641) (92,749,348)

กําไรขั้นต้ น รายได้อื่น กําไรสุ ทธิ จากอัตราแลกเปลี่ยน

140,736,539 12,281,881 9,321,290

250,197,471 16,342,416 2,815,422

137,708,766 20,541,934 9,268,064

232,452,656 24,333,942 2,805,433

33

162,339,710 (40,769,744) (175,268,191) (179,855) (38,700,742)

269,355,309 (57,878,759) (137,190,817) (182,341) (28,855,882)

167,518,764 (37,544,052) (162,593,390) (179,855) (38,119,806)

259,592,031 (53,448,721) (130,710,915) (182,341) (28,168,318)

35

(92,578,822) 1,290,600

45,247,510 (9,508,322)

(70,918,339) 1,517,316

47,081,736 (10,175,593)

(91,288,222)

35,739,188

(69,401,023)

36,906,143

13,124

(34,287)

(736,240)

(120,537)

(2,625)

6,857

147,248

24,107

10,499

(27,430)

(588,992)

(96,430)

(91,277,723)

35,711,758

(69,990,015)

36,809,713

กําไรก่ อนค่ าใช้ จ่าย ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ขาดทุนสุ ทธิ จากการขายสิ นทรัพย์ ต้นทุนทางการเงิน - ดอกเบี้ยจ่าย กําไร(ขาดทุน)ก่ อนภาษีเงินได้ รายได้(ค่าใช้จ่าย)ภาษีเงินได้ กําไร(ขาดทุน)สํ าหรับปี

32

กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น รายการที่จะไม่จดั ประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ใน กําไรหรื อขาดทุนในภายหลัง • การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจากงาน • ภาษีเงินได้ที่เกี่ยวกับการวัดมูลค่าใหม่ของ ภาระผูกพันผลประโยชน์หลังออกจากงาน กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่นสํ าหรับงวด - สุ ทธิจากภาษี กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสํ าหรับปี

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 15 ถึง 99 เป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 9


บริษทั ช ทวี จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

หมายเหตุ การแบ่ งปันกําไร(ขาดทุน) ส่ วนที่เป็ นของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม

การแบ่ งปันกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวม ส่ วนที่เป็ นของผูเ้ ป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

(91,285,991) (2,231)

35,739,347 (159)

(69,401,023) -

36,906,143 -

(91,288,222)

35,739,188

(69,401,023)

36,906,143

(91,275,553) (2,170)

35,711,911 (153)

(69,990,015) -

36,809,713 -

(91,277,723)

35,711,758

(69,990,015)

36,809,713

กําไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้นส่ วนทีเ่ ป็ นของบริษทั ใหญ่ กําไร(ขาดทุน)ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน (บาท)

36 ก)

(0.0875)

0.0404

(0.0666)

0.0417

กําไร(ขาดทุน)ต่อหุน้ ปรับลด (บาท)

36 ข)

(0.0875)

0.0327

(0.0666)

0.0338

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 15 ถึง 99 เป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 10


บริษทั ช ทวี จํากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของเจ้ าของ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม (บาท) ส่ วนของผู้เป็ นเจ้ าของของบริษัทใหญ่

ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 การเปลีย่ นแปลงในส่ วนของเจ้ าของสํ าหรับปี พ.ศ. 2558 เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ การใช้สิทธิ ใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพัน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน กําไรรวมสําหรับปี เงินปั นผลจ่าย ทุนสํารองตามกฎหมาย

ทุนจดทะเบียน ที่ออกและชําระ หมายเหตุ เต็มมูลค่ าแล้ ว

ส่ วนเกิน มูลค่ าหุ้น

180,000,000

291,360,242

28

26,127,675

25,966,889

29 30

-

-

ส่ วนเกิน กําไรสะสม มูลค่ าหุ้น จากการจ่ าย จัดสรรแล้ ว ส่ วนลดจากการเพิม่ รวมส่ วน โดยใช้ ห้ ุน เงินรับล่ วงหน้ า ทุนสํ ารองตาม สั ดส่ วนเงินลงทุน ของผู้เป็ นเจ้ าของ ส่ วนได้ เสี ยที่ไม่ มี รวม เป็ นเกณฑ์ ค่ าหุ้น กฎหมาย ยังไม่ ได้ จัดสรร ในบริษัทย่ อย ของบริษัทใหญ่ อํานาจควบคุม ส่ วนของเจ้ าของ 29,013,488

22,710,359

5,510,000

-

74,062,006 (52,094,564)

-

-

-

113,279,701

(5,633,115)

636,240,675

5,127

-

-

74,062,006 -

1,310,000

(27,436) 35,739,347 (49,018,527) (1,310,000)

-

(27,436) 35,739,347 (49,018,527) -

6 (159) -

(27,430) 35,739,188 (49,018,527) -

-

636,245,802 74,062,006 -

ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

206,127,675

317,327,131

29,013,488

44,677,801

6,820,000

98,663,085

(5,633,115)

696,996,065

4,974

697,001,039

ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 การเปลีย่ นแปลงในส่ วนของเจ้ าของสํ าหรับปี พ.ศ. 2559 เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ การใช้สิทธิ ใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพัน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน ขาดทุนรวมสําหรับปี เงินปั นผลจ่าย

206,127,675

317,327,131

29,013,488

44,677,801

6,820,000

98,663,085

(5,633,115)

696,996,065

4,974

697,001,039

28

66,696,962

58,576,717

80,595,878 (125,273,679)

-

-

-

80,595,878 -

-

80,595,878 -

29

22,910,806

-

-

10,438 (91,285,991) (28,226,122)

-

10,438 (91,285,991) (5,315,316)

61 (2,231) -

10,499 (91,288,222) (5,315,316)

-

6,820,000

(20,838,590)

(5,633,115)

681,001,074

2,804

681,003,878

ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

295,735,443

375,903,848

29,013,488

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 15 ถึง 99 เป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

11


บริษทั ช ทวี จํากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของเจ้ าของ (ต่อ) สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

ทุนจดทะเบียน ที่ออกและชําระ เต็มมูลค่ าแล้ว

ส่ วนเกิน มูลค่ าหุ้น

180,000,000

291,360,242

27,067,992

22,710,359

5,510,000

80,575,122

607,223,715

28

26,127,675

25,966,889

-

74,062,006 (52,094,564)

-

-

74,062,006 -

29 30

-

-

-

-

1,310,000

(96,430) 36,906,143 (49,018,527) (1,310,000)

(96,430) 36,906,143 (49,018,527) -

หมายเหตุ ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 การเปลีย่ นแปลงในส่ วนของเจ้ าของสํ าหรับปี พ.ศ. 2558 เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ การใช้สิทธิใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพัน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน กําไรรวมสําหรับปี เงินปันผลจ่าย ทุนสํารองตามกฎหมาย

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) กําไรสะสม ส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น จากการจ่ าย จัดสรรแล้ว โดยใช้ ห้ ุน เงินรับล่วงหน้ า ทุนสํ ารอง เป็ นเกณฑ์ ค่ าหุ้น ตามกฎหมาย ยังไม่ ได้ จัดสรร

รวม ส่ วนของเจ้ าของ

ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

206,127,675

317,327,131

27,067,992

44,677,801

6,820,000

67,056,308

669,076,907

ยอดคงเหลือต้ นปี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 การเปลีย่ นแปลงในส่ วนของเจ้ าของสํ าหรับปี พ.ศ. 2559 เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ การใช้สิทธิใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพัน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน ขาดทุนรวมสําหรับปี เงินปันผลจ่าย

206,127,675

317,327,131

27,067,992

44,677,801

6,820,000

67,056,308

669,076,907

28

66,696,962

58,576,717

-

80,595,878 (125,273,679)

-

-

80,595,878 -

29

22,910,806

-

-

-

-

(588,992) (69,401,023) (28,226,122)

(588,992) (69,401,023) (5,315,316)

27,067,992

-

6,820,000

(31,159,829)

674,367,454

ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

295,735,443

375,903,848

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 15 ถึง 99 เป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

12


บริษทั ช ทวี จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับปรุ ง ค่าเสื่ อมราคา ค่าตัดจําหน่าย รายได้จากการขายภายใต้สญ ั ญาเช่าทางการเงิน ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ ค่าเผื่อสิ นค้าเคลื่อนไหวช้า ค่าเผื่อผลขาดทุนตามสัญญา ประมาณการหนี้สินจากการรับประกันสิ นค้า ขาดทุนจากการตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ถาวร กําไรจากการจําหน่ายสิ นทรัพย์ถาวร (กําไร)ขาดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าของตราสารอนุพนั ธ์ ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับตามสัญญาเช่าการเงิน ค่าธรรมเนียมธนาคาร ต้นทุนทางการเงิน - ดอกเบี้ยจ่ายเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน - ดอกเบี้ยจ่ายตามสัญญาเช่าการเงิน - การตัดจําหน่ายค่าใช้จ่ายทางตรงในการออกหุน้ กูร้ อตัดจ่าย การเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สิ นค้าคงเหลือ เครื่ องมือทางการเงิน ภาษีมูลค่าเพิ่ม เงินมัดจํา เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินรับล่วงหน้าตามสัญญาส่ วนที่เกินกว่างานระหว่างทํา หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดได้มาจาก(ใช้ไปใน)การดําเนินงาน ก่อนดอกเบี้ยรับ ต้นทุนทางการเงินจ่ายและภาษีเงินได้จ่าย ดอกเบี้ยรับ เงินสดรับจากสิ นทรัพย์ตามสัญญาเช่าทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินจ่าย - ดอกเบี้ยจ่ายเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน

หมายเหตุ

18 19 8 11

27 32 32

33 33 33

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

(92,578,822)

45,247,510

(70,918,339)

47,081,736

34,023,632 4,906,008 (1,207,139) (2,860,042) (817,654) 179,855 (599,019) 3,622,740 (4,185,131) (22,785) 14,000,000

27,243,618 4,795,159 (927,975) 909,085 (870,510) 328,096 (2,833,588) 192,247 (9,906) 106,367 2,587,803 (9,199,297) (3,797) -

27,455,333 4,657,132 (1,007,139) (3,108,072) (817,654) 179,855 (599,019) 3,444,227 (8,700,504) (22,785) 14,000,000

20,603,174 4,378,648 (927,975) (267,415) (1,004,087) 328,096 (2,283,927) 192,247 (9,906) 106,367 2,312,745 (13,062,958) (3,797) -

36,022,821 2,367,053 310,868

28,598,988 256,894 -

35,444,032 2,364,906 310,868

27,938,360 229,958 -

(6,837,615)

96,420,694

2,682,841

85,611,266

83,721,434 (38,477,635) (106,367) (1,944,700) (391,929) 165,573,435 18,767,397 785,882

(82,420,434) 2,043,034 222,217 (9,538,587) (80,003) 12,812,150 (18,755,209) (1,534,988)

80,949,074 (42,787,452) (106,367) (2,492,866) (391,929) 168,368,770 18,767,397 790,581

(83,713,216) 8,238,263 222,217 (8,849,118) (80,003) 8,316,704 (18,755,209) (1,520,748)

221,089,902 3,840,486 208,380

(831,126) 9,199,297 34,730

225,780,049 8,704,248 208,380

(10,529,844) 13,213,199 34,730

(12,776,484) (4,478,343)

(5,026,164) (25,607,635)

(13,711,927) (4,861,130)

(4,365,536) (22,833,533)

207,883,941

(22,230,898)

216,119,620

(24,480,984)

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 15 ถึง 99 เป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 13


บริษทั ช ทวี จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด (ต่อ) สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

(35,000,000)

1,900,000

(34,000,000)

3,900,000

(136,377,328) (8,966,785)

(81,577,261) (279,632,677) 27,990 (300,000)

12,639,465 (24,963,762) (134,345,222) (8,966,785)

25,400,000 (58,500,000) (81,577,261) (275,391,778) 27,990 (300,000)

(180,344,113)

(359,581,948)

(189,636,304)

(386,441,049)

22 22

6,317,812,890 (6,711,302,984) 298,500,000

6,726,209,562 (6,327,296,365) -

6,228,586,342 (6,622,147,101) 298,500,000

6,571,399,808 (6,145,086,344) -

23

(917,168) (12,332,048) (5,332,822) 80,595,878

(924,000) (1,646,657) (14,000,000) (48,991,600) 74,062,006

(12,116,602) (5,332,822) 80,595,878

(1,254,581) (14,000,000) (48,991,600) 74,062,006

เงินสดสุ ทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน

(32,976,254)

407,412,946

(31,914,305)

436,129,289

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง)สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดยอดคงเหลือต้นปี

(5,436,426) 49,296,449

25,600,100 23,696,349

(5,430,989) 48,498,762

25,207,256 23,291,506

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดยอดคงเหลือปลายปี

43,860,023

49,296,449

43,067,773

48,498,762

ข้ อมูลเพิม่ เติม เจ้าหนี้คงค้างจากการซื้อสิ นทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2,540,748

620,933

2,540,325

430,499

เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

3,509,052

1,838,983

3,509,052

1,838,983

9,421

26,927

9,421

26,927

1,725,315

1,100,000

1,725,315

1,100,000

หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากสถาบันการเงินที่ติดภาระคํ้าประกัน เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - เงินสดรับ - เงินสดจ่าย เงินสดจ่ายซื้ออสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดจ่ายซื้อสิ นทรัพย์ถาวร เงินสดรับจากการขายสิ นทรัพย์ถาวร เงินสดจ่ายซื้อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

37 ค) 37 ค) 17

19

เงินสดสุ ทธิจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน - เงินสดรับ - เงินสดชําระคืน เงินสดรับจากหุน้ กู้ เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน - เงินสดชําระคืน จ่ายชําระคืนหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดจ่ายค่าธรรมเนียมธนาคารรอตัดบัญชี เงินปันผลจ่าย เงินสดรับล่วงหน้าค่าหุน้ จากการใช้สิทธิใบสําคัญแสดงสิ ทธิ

เงินปันผลค้างจ่าย โอนสิ นค้าคงเหลือไปเป็ นสิ นทรัพย์ถาวร

29 28

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหน้า 15 ถึง 99 เป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 14


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 1

ข้ อมูลทั่วไป บริ ษทั ช ทวี จํากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) เป็ นบริ ษทั จํากัด ซึ่ งตั้งขึ้นในประเทศไทยเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 และเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2556 บริ ษทั ได้ดาํ เนินการจดทะเบียนแปรสภาพเป็ นบริ ษทั มหาชนจํากัด กับกระทรวงพาณิ ชย์ บริ ษทั จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอไอ เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 บริ ษทั มีที่อยูต่ ามที่ได้จดทะเบียนไว้ ดังนี้ สํานักงานใหญ่ : 265 หมู่ 4 ถนนกลางเมือง ตําบลเมืองเก่า อําเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น สาขาที่ 1 : 96/25 หมู่ 3 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุ งเทพฯ สาขาที่ 2 : 66/5 หมู่ 2 ตําบลโป่ ง อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี สาขาที่ 3 : 62/25 หมู่ 2 ตําบลลําไทร อําเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรี อยุธยา ธุรกิจหลักของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย คือ การผลิต ขาย และบริ การเกี่ยวกับการประกอบรถพ่วงและยานพาหนะและอุปกรณ์แบบพิเศษ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ได้จดทะเบียนกับกระทรวงพาณิ ชย์ เปลี่ยนชื่อจาก “บริ ษทั ช.ทวี ดอลลาเซียน จํากัด (มหาชน)” เป็ น “บริ ษทั ช ทวี จํากัด (มหาชน)” เพื่อวัตถุประสงค์ในการรายงานข้อมูล จึงรวมเรี ยกบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยว่า “กลุ่มกิจการ” งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

2

นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่สาํ คัญที่ใช้ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการมีดงั ต่อไปนี้ 2.1

เกณฑ์ การจัดทํางบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการได้จดั ทําขึ้ นตามหลักการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไปภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งหมายถึงมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกภายใต้พระราชบัญญัติวชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และข้อกําหนด ของคณะกรรมการกํา กับ หลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ว่าด้ว ยการจัด ทําและนําเสนอรายงานทางการเงิ น ภายใต้ พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการได้จดั ทําขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน ยกเว้น แต่จะได้เปิ ดเผยเป็ นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี การจัดทํางบการเงินให้สอดคล้องกับหลักการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไปในประเทศไทย กําหนดให้ใช้ประมาณการทางบัญชี ที่สาํ คัญและการใช้ดุลยพินิจของผูบ้ ริ หารซึ่ งจัดทําขึ้นตามกระบวนการในการนํานโยบายการบัญชีของกลุ่มกิจการไปถือปฏิบตั ิ และต้องเปิ ดเผยเรื่ องการใช้ดุลยพินิจของผูบ้ ริ หาร หรื อ ความซับซ้อน หรื อ เกี่ ยวกับข้อสมมติฐานและประมาณการที่ มี นัยสําคัญต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 4 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการฉบับภาษาอังกฤษจัดทําขึ้นจากงบการเงินตามกฎหมายที่เป็ นภาษาไทย ในกรณี ที่มีเนื้อความขัดแย้งกันหรื อมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกัน ให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเป็ นหลัก 15


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐาน ที่เกีย่ วข้ อง 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุ ง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดงั ต่อไปนี้ ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุ ง และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวข้องและส่ งผลกระทบอย่างมีสาระสําคัญต่อกลุ่มกิจการ มีดงั ต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 21

เรื่ อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เรื่ อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เรื่ อง การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล หรื อกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน เรื่ อง งบการเงินเฉพาะกิจการ เรื่ อง การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เรื่ อง อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เรื่ อง เกษตรกรรม เรื่ อง การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ เรื่ อง การรวมธุรกิจ เรื่ อง สัญญาประกัน เรื่ อง ส่ วนงานดําเนินงาน เรื่ อง งบการเงินรวม เรื่ อง การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่ วนได้เสี ยในกิจการอื่น เรื่ อง การวัดมูลค่ายุติธรรม เรื่ อง เงินที่นาํ ส่ งรัฐ

16


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐาน ที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุ ง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ มีการปรับปรุ ง และการตี ความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวข้องและส่ งผลกระทบอย่างมีสาระสําคัญต่อกลุ่มกิจการ มีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ องที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ได้กาํ หนดให้มีความชัดเจนขึ้น เกี่ยวกับการปรับราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่ อมราคาสะสม และค่าเสื่ อมราคาสะสม ในกรณี ที่กิจการใช้วธิ ีการ ตีราคาใหม่ มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มกิจการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ องผลประโยชน์พนักงาน ได้มีการอธิ บายเกี่ ยวกับวิธีการ ปฏิบตั ิ ทางบัญชี สําหรับเงินสมทบจากพนักงานหรื อบุ คคลที่ สามแก่โครงการผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้ให้ ชัดเจนขึ้น การปรับปรุ งดังกล่าวให้ความแตกต่างระหว่าง เงินสมทบที่เกี่ยวข้องกับการบริ การที่เกิดขึ้นในรอบ ระยะเวลาบัญชี ที่เงินสมทบนั้นเกิ ดขึ้นเท่ านั้น และเงินสมทบที่ เกี่ ยวข้องกับการบริ การที่ มากกว่าหนึ่ งรอบ ระยะเวลาบัญชี มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ องการเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ได้รวมกิ จการที่ ให้บริ การด้านผูบ้ ริ หารสําคัญแก่กิจการที่ รายงาน หรื อแก่บริ ษทั ใหญ่ของกิ จการที่ รายงาน ซึ่งกิจการต้องเปิ ดเผยจํานวนเงินที่กิจการได้จ่ายให้แก่กิจการที่ให้บริ การด้านผูบ้ ริ หารสําคัญ มาตรฐานดังกล่าว ไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มกิจการ ยกเว้นเรื่ องการเปิ ดเผยข้อมูล มาตรฐานการบัญ ชี ฉ บับ ที่ 27 (ปรั บ ปรุ ง 2558) ให้กิจการที่ ดาํ เนิ น ธุ รกิ จด้านการลงทุ น ที่ ได้รับ การยกเว้น ไม่ตอ้ งรวมบริ ษทั ย่อยเข้ามาในการจัดทํางบการเงินรวมสามารถแสดงงบการเงินเฉพาะกิจการเพียงงบเดียวได้ และได้กาํ หนดให้วดั มูลค่าเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยดังกล่าวด้วยมูลค่ายุติธรรมและรับรู ้ การเปลี่ยนแปลงใน มูลค่ายุติธรรมดังกล่าวไปยังกําไรหรื อขาดทุน มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มกิจการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ ได้มีการกําหนดเพิม่ เติมเกี่ยวกับ การเปิ ดเผยข้อมูลในกรณี ที่มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสิ นทรัพย์วดั มูลค่าโดยใช้วธิ ีมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุน ในการจําหน่าย โดยการเปิ ดเผยดังกล่าวรวมถึง 1) ลําดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม 2) กรณี ที่การวัดมูลค่ายุติธรรม อยูใ่ นลําดับชั้นที่ 2 และ 3 จะต้องมีการเปิ ดเผย เทคนิคที่ใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม และข้อสมมติฐานสําคัญที่ใช้ มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มกิจการ ยกเว้นเรื่ องการเปิ ดเผยข้อมูล

17


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐาน ที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุ ง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ มีการปรับปรุ ง และการตี ความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวข้องและส่ งผลกระทบอย่างมีสาระสําคัญต่อกลุ่มกิจการ มีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ องสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนได้กาํ หนดให้ชดั เจนขึ้น เกี่ยวกับการ ปรับราคาตามบัญชีก่อนหักค่าตัดจําหน่ายสะสม และค่าตัดจําหน่ายสะสมในกรณี ที่กิจการใช้วิธีการตีราคาใหม่ มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ องอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ได้กาํ หนดให้ชดั เจนขึ้นว่ากิจการ ควรพิจารณามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 ในการพิจารณาว่าการได้มาซึ่งอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน นั้นเข้าเงื่อนไขการรวมธุรกิจหรื อไม่ มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มกิจการ มาตรฐานการบัญ ชี ฉ บับ ที่ 41 เรื่ องเกษตรกรรม ได้มี การกําหนดให้สิ น ทรั พ ย์ชี วภาพ รวมถึ งผลผลิ ต ทาง การเกษตร ณ จุดเก็บเกี่ยวจากสิ นทรัพย์ชีวภาพของกิจการต้องวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย สภาวิชาชี พได้มีการออกแนวปฏิบตั ิ ทางการบัญ ชี สําหรับ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 เรื่ องเกษตรกรรม โดยยกเว้นพืชเพื่อการให้ผลิตผล ออกจากขอบเขตของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 41 แนวปฏิบตั ิน้ ี กาํ หนดให้ พื ช เพื่ อ การให้ผลิ ต ผล จะต้อ งวัด มู ล ค่ าด้วย ราคาทุ น หัก ค่ าเสื่ อ มราคาสะสม หัก ค่ าเพื่ อการด้อ ยค่ า (ถ้ามี ) ตามมาตรฐานการบัญ ชี ฉ บับ ที่ 16 เรื่ อ งที่ ดิ น อาคารและอุ ป กรณ์ มาตรฐานดังกล่ าวไม่ ส่ งผลกระทบกับ งบการเงินของกลุ่มกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ ได้กาํ หนด คํานิ ยามให้ชัด เจนขึ้ น สําหรั บ “เงื่ อ นไขการได้รับ สิ ท ธิ ” และ กําหนดคํานิ ยามแยกกัน ระหว่าง “เงื่ อ นไข ผลงาน” และ “เงื่อนไขการบริ การ” มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ องการรวมธุรกิจ ได้กาํ หนดให้ชดั เจนขึ้นในเรื่ อง ก) ภาระผูกพัน ที่ กิจการต้องจ่ายชําระสิ่ งตอบแทนที่ อาจจะเกิ ดขึ้ น ที่ เข้าคํานิ ยามของเครื่ องมื อทางการเงิ น ว่าเป็ นหนี้ สินทางการเงินหรื อส่ วนของเจ้าของตามคํานิ ยามของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32 เรื่ องการแสดง รายการสําหรับเครื่ องมือทางการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช้) หรื อตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินอื่นที่ เกี่ยวข้อง และได้กาํ หนดให้วดั มูลค่าสิ่ งตอบแทนที่อาจจะเกิดขึ้นที่ไม่ได้ถูกจัดประเภทเป็ นส่ วนของเจ้าของ ด้วยมูลค่ายุติธรรมและรับรู ้การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมในกําไรหรื อขาดทุนทุกสิ้ นรอบระยะเวลาการ รายงาน และ ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 ไม่ได้ถือปฏิบตั ิกบั การบัญชีสาํ หรับการจัดตั้งการ ร่ วมค้าที่อยูภ่ ายใต้มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 11 มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงิน ของกลุ่มกิจการ 18


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐาน ที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุ ง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ มีการปรับปรุ ง และการตี ความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวข้องและส่ งผลกระทบอย่างมีสาระสําคัญต่อกลุ่มกิจการ มีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2558) ถือปฏิบตั ิกบั สัญญาประกันภัยทั้งหมด (รวมถึง สัญญาประกันภัยต่อ) ที่กิจการเป็ นผูอ้ อกและสัญญาประกันภัยต่อที่กิจการถือไว้ มาตรฐานการรายงานทาง การเงิ น ฉบับ นี้ ยกเว้น เป็ นการชั่วคราว ให้ผูร้ ั บ ประกัน ภัยไม่ ต้อ งปฏิ บ ัติ ต ามข้อ กําหนดบางประการของ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่นๆ รวมทั้งข้อกําหนดตามแม่บทการบัญชีในการเลือกใช้นโยบายการ บัญชี สําหรับสัญญาประกันภัย อย่างไรก็ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ มีขอ้ กําหนด ดังนี้ (ก) ห้ามตั้งประมาณการหนี้ สินสําหรับค่าสิ นไหมทดแทนที่ยงั ไม่เกิดขึ้น ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน (ข) ให้ ทดสอบความเพียงพอของหนี้ สินจากการประกันภัยที่ รับรู ้ แล้ว และทดสอบการด้อยค่าของสิ นทรัพย์จาก สัญ ญาประกันภัยต่ อ และ (ค) ให้ผูร้ ั บประกันภัยบัน ทึ กหนี้ สิ น จากสัญ ญาประกัน ภัยไว้ในงบแสดงฐานะ การเงินของกิจการจนกว่าภาระหนี้สินจากสัญญาประกันภัยนั้นจะหมดลง หรื อยกเลิก หรื อสิ้ นผลบังคับ และ ให้แสดงหนี้ สินจากสัญญาประกันภัยโดยไม่มีการหักกลบกับสิ นทรัพย์จากสัญญาประกันภัยต่อที่เกี่ ยวข้อง มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 ถือปฏิบตั ิกบั สัญญาประกันภัยทั้งหมด (รวมถึงสัญญาประกันภัยต่อ) ที่ กิ จ การเป็ นผู ้อ อกและสั ญ ญาประกัน ภัย ต่ อ ที่ กิ จ การถื อ ไว้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับ ที่ 4 ไม่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงานของกลุ่มกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับ ที่ 8 (ปรั บปรุ ง 2558) เรื่ อ งส่ วนงานดําเนิ นงาน ได้กาํ หนดให้มีการ เปิ ดเผยข้อ มู ลเกี่ ยวกับ ดุ ลยพิ นิ จของผูบ้ ริ ห ารในการรวมส่ วนงานเข้าด้วยกัน และกําหนดให้นําเสนอการ กระทบยอดสิ นทรัพย์ของส่ วนงานกับสิ นทรัพย์ของกิ จการเมื่อกิจการรายงานข้อมูลสิ นทรัพย์ของส่ วนงาน ให้กับ ผูม้ ี อาํ นาจตัดสิ น ใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ น งานของกิ จการ มาตรฐานดังกล่ าวไม่ ส่ งผลกระทบกับ งบ การเงินของกลุ่มกิจการ ยกเว้นเรื่ องการเปิ ดเผยข้อมูล มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง งบการเงินรวม การปรับปรุ งนี้ ได้ให้คาํ นิ ยามของกิ จการที่ ดาํ เนิ นธุ รกิ จด้านการลงทุนและได้กาํ หนดข้อยกเว้นในการจัดทํางบการเงินรวม ซึ่ งการ ปรับปรุ งดังกล่าวส่ งผลให้กองทุนหลายกองทุนและกิจการที่มีธุรกิจที่คล้ายคลึงกัน ได้รับข้อยกเว้นจากการนํา บริ ษทั ย่อยเกือบทั้งหมดมารวมในการจัดทํางบการเงินรวม แต่จะวัดมูลค่าเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยเหล่านั้นด้วย มูลค่ายุติธรรมผ่านกําไรหรื อขาดทุน มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มกิจการ

19


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐาน ที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุ ง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ มีการปรับปรุ ง และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวข้องและส่ งผลกระทบอย่างมีสาระสําคัญต่อกลุ่มกิจการ มีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2558) ได้กาํ หนดให้กิจการที่ดาํ เนินธุรกิจด้านการลงทุน เปิ ดเผยข้อมูลที่กาํ หนดไว้สาํ หรับกิจการที่ดาํ เนินธุรกิจด้านการลงทุน มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบ การเงินและการเปิ ดเผยข้อมูลของกลุ่มกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับ ที่ 13 (ปรั บ ปรุ ง 2558) เรื่ องมู ลค่ ายุติธรรมได้กาํ หนดให้ชัด เจนขึ้ น เกี่ ยวกับข้อยกเว้นในเรื่ องของการวัดมูลค่ายุติธรรมเป็ นกลุ่มให้ปฏิบตั ิใช้กบั ทุกสัญญาที่ อยูใ่ นขอบเขตของ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 39 เรื่ อง การรับรู ้และการวัดมูลค่าเครื่ องมือทางการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช้) หรื อ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 9 เรื่ องเครื่ องมือทางการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช้) ซึ่งรวมถึงสัญญาที่ ไม่เป็ นสัญญาทางการเงิน มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มกิจการ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 21 เรื่ อง เงินที่นาํ ส่ งรัฐ การตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับนี้ กล่าวถึงการบัญชี สําหรับหนี้ สินการจ่ายเงินที่นาํ ส่ งรัฐ หากหนี้ สินนั้นอยูภ่ ายใต้ขอบเขต ของมาตรฐานการบัญ ชี ฉบับ ที่ 37 (ปรั บ ปรุ ง 2558) เรื่ อ งประมาณการหนี้ สิ น หนี้ สิ น ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น และ สิ น ทรั พ ย์ที่ อ าจเกิ ดขึ้ น การตี ความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับ นี้ ยังได้กล่ าวเกี่ ยวกับ การบัญ ชี สําหรับหนี้ สินการจ่ายเงินที่นาํ ส่ งรัฐที่จงั หวะเวลาและจํานวนเงินมีความแน่นอน มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผล กระทบกับงบการเงินของกลุ่มกิจการ ข) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ มีการปรับปรุ ง และการตี ความมาตรฐานที่ เปลี่ ยนแปลงอย่างไม่ มี สาระสําคัญและไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มกิจการ มีดงั นี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2558)

เรื่ อง การนําเสนองบการเงิน เรื่ อง สิ นค้าคงเหลือ เรื่ อง งบกระแสเงินสด เรื่ อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทาง บัญชีและข้อผิดพลาด เรื่ อง เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เรื่ อง สัญญาก่อสร้าง เรื่ อง ภาษีเงินได้ เรื่ อง สัญญาเช่า เรื่ อง รายได้ 20


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐาน ที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุ ง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) ข) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ มีการปรับปรุ ง และการตี ความมาตรฐานที่ เปลี่ ยนแปลงอย่างไม่ มี สาระสําคัญและไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มกิจการ มีดงั นี้ (ต่อ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง การบัญชีสาํ หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิ ดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง ต้นทุนการกูย้ มื มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออก จากงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และการร่ วมค้า มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อ รุ นแรง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง กําไรต่อหุน้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง งบการเงินระหว่างกาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสิ นทรัพย์ ที่อาจเกิดขึ้น มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการ (ปรับปรุ ง 2558) ดําเนินงานที่ยกเลิก มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 เรื่ อง การสํารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 เรื่ อง การร่ วมการงาน (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 เรื่ อง ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณี ที่ไม่มีความเกี่ยวข้อง (ปรับปรุ ง 2558) อย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 เรื่ อง สัญญาเช่าดําเนินงาน - สิ่ งจูงใจที่ให้แก่ผเู ้ ช่า (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 เรื่ อง ภาษีเงินได้ - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของ (ปรับปรุ ง 2558) กิจการหรื อผูถ้ ือหุน้

21


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐาน ที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุ ง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) ข) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ มีการปรับปรุ ง และการตี ความมาตรฐานที่ เปลี่ ยนแปลงอย่างไม่ มี สาระสําคัญและไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มกิจการ มีดงั นี้ (ต่อ) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14 (ปรับปรุ ง 2558)

เรื่ อง การประเมินเนื้อหาสัญญาเช่าที่ทาํ ขึ้นตามรู ปแบบ กฎหมาย เรื่ อง การเปิ ดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริ การ เรื่ อง รายได้ - รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริ การโฆษณา เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - ต้นทุนเว็บไซต์ เรื่ อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้ อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน เรื่ อง การประเมินว่า ข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรื อไม่ เรื่ อง สิ ทธิในส่ วนได้เสี ยจากกองทุนการรื้ อถอน การบูรณะและการปรับปรุ งสภาพแวดล้อม เรื่ อง การปรับปรุ งย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ องการรายงานทางการเงิน ในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุ นแรง เรื่ อง งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า เรื่ อง ข้อตกลงสัมปทานบริ การ เรื่ อง โปรแกรมสิ ทธิพิเศษแก่ลูกค้า เรื่ อง ข้อจํากัดสิ นทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ ข้อกําหนด เงินทุนขั้นตํ่าและปฏิสมั พันธ์ของรายการเหล่านี้ สําหรับ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่ อง ผลประโยชน์ของพนักงาน

22


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐาน ที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุ ง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) ข) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ มีการปรับปรุ ง และการตี ความมาตรฐานที่ เปลี่ ยนแปลงอย่างไม่ มี สาระสําคัญและไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มกิจการ มีดงั นี้ (ต่อ) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2558)

เรื่ อง สัญญาสําหรับการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์ เรื่ อง การจ่ายสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ เรื่ อง การโอนสิ นทรัพย์จากลูกค้า เรื่ อง ต้นทุนการเปิ ดหน้าดินในช่วงการผลิตสําหรับเหมืองผิวดิน

2.2.2) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่มีการปรับปรุ งใหม่ซ่ ึ งจะมีผลบังคับใช้สาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มต้น ในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิ จการไม่ได้นาํ มาตรฐานที่ ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถื อปฏิบตั ิก่อนวัน บังคับใช้ ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ปรับปรุ งใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระสําคัญ และเกี่ยวข้องกับ กลุ่มกิจการมีดงั ต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2559)

เรื่ อง การนําเสนองบการเงิน เรื่ อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เรื่ อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เรื่ อง งบการเงินเฉพาะกิจการ เรื่ อง เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และการร่ วมค้า เรื่ อง งบการเงินระหว่างกาล เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เรื่ อง เกษตรกรรม เรื่ องสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและ การดําเนินงานที่ยกเลิก มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2559) เรื่ อง งบการเงินรวม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2559) เรื่ อง การร่ วมการงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2559) เรื่ อ ง การเปิ ดเผยข้อ มู ลเกี่ ยวกับส่ วนได้เสี ยใน กิจการอื่น 23


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐาน ที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.2) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่มีการปรับปรุ งใหม่ซ่ ึ งจะมีผลบังคับใช้สาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มต้น ในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิ จการไม่ได้นาํ มาตรฐานที่ ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถื อปฏิบตั ิก่อนวัน บังคับใช้ (ต่อ) ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ปรับปรุ งใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระสําคัญ และเกี่ยวข้องกับ กลุ่มกิจการมีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรั บปรุ ง 2559) ได้ ให้ ความชัดเจนในหลายประเด็น ที่สาํ คัญดังต่ อไปนี ้ - ความมีสาระสําคัญ - กิ จการไม่ควรรวมยอดหรื อแยกแสดงข้อมูลในรู ปแบบที่ทาํ ให้ผูใ้ ช้งบการเงินเข้าใจ รายการได้ลดลง หากเป็ นรายการที่มีสาระสําคัญ จะต้องเปิ ดเผยข้อมูลให้เพียงพอเพื่ออธิบายผลกระทบที่มี ต่อฐานะการเงินหรื อผลการดําเนินงาน - การแยกแสดงรายการและการรวมยอด -รายการบรรทัดที่ระบุใน TAS 1 อาจจําเป็ นต้องแสดงแยกจากกัน หากเกี่ยวข้องต่อความเข้าใจฐานะการเงินและผลการดําเนิ นงานของกิจการ นอกจากนี้ ยงั มีแนวปฏิบตั ิใหม่ ของการใช้การรวมยอด - หมายเหตุประกอบงบการเงิน - ยืนยันว่าหมายเหตุประกอบงบการเงินไม่จาํ เป็ นต้องเรี ยงลําดับตามลําดับ การแสดงรายการในงบการเงิน - รายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นที่เกิดจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ย - ส่ วนแบ่งกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ที่เกิดจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสี ยจะถูกจัดกลุ่มโดยพิจารณาว่าเป็ นรายการที่จะถูกจัดประเภทใหม่ไปยัง กําไรหรื อขาดทุนในภายหลังหรื อไม่ โดยแต่ละกลุ่มจะแยกแสดงเป็ นรายการบรรทัดแยกต่างหากในงบ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2559) การเปลี่ยนแปลงที่สาํ คัญคือ ได้กาํ หนดให้มีความชัดเจนขึ้นว่า การคิดค่าเสื่ อมราคาที่ดินอาคารและอุปกรณ์โดยอ้างอิงกับรายได้น้ นั ไม่เหมาะสม และ แก้ไขขอบเขตให้พืชที่ ให้ผลิตผลที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางการเกษตรรวมอยูใ่ นขอบเขตของมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง 2559) การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือ ได้กาํ หนดให้มีความชัดเจนขึ้น สําหรับการเลือกใช้อตั ราคิดลดสําหรับการประมาณผลประโยชน์หลังออกจากงานว่าให้ใช้อตั ราผลตอบแทน ของหนี้ สินโดยพิจารณาจากสกุลเงินของหนี้ สินที่มีสกุลเงินที่สอดคล้องกับสกุลเงินของหนี้ สินผลประโยชน์ หลังออกจากงานเป็ นสําคัญ ไม่ใช่พิจารณาจากประเทศที่หนี้สินนั้นเกิดขึ้น มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2559) ได้มีการแก้ไขโดยให้ทางเลือกเพิ่มในการบันทึกเงินลงทุนใน บริ ษทั ย่อย การร่ วมค้า หรื อบริ ษทั ร่ วมในงบการเงินเฉพาะกิจการโดยใช้วิธีส่วนได้เสี ยตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2559) เพิ่มเติมจากเดิมที่ให้ใช้วิธีราคาทุน หรื อวิธีมูลค่ายุติธรรม (เมื่อมีการประกาศใช้) ทั้งนี้ การเลือกใช้นโยบายบัญชีสําหรับเงินลงทุนแต่ละประเภท (บริ ษทั ย่อย การร่ วมค้า หรื อบริ ษทั ร่ วม) เป็ น อิสระจากกัน โดยหากกิจการเลือกที่จะเปลี่ยนมาใช้วธิ ีส่วนได้เสี ยจะต้องทําโดยปรับปรุ งงบการเงินย้อนหลัง 24


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐาน ที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.2) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่มีการปรับปรุ งใหม่ซ่ ึ งจะมีผลบังคับใช้สาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มต้น ในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิ จการไม่ได้นาํ มาตรฐานที่ ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถื อปฏิบตั ิก่อนวัน บังคับใช้ (ต่อ) ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ปรับปรุ งใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระสําคัญ และเกี่ยวข้องกับ กลุ่มกิจการมีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2559) มีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือ 1) ให้ทางเลือกเพิ่มสําหรับกิจการที่ ไม่ใช่กิจการที่ดาํ เนิ นธุรกิจเฉพาะด้านการลงทุนที่มีส่วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้าที่เป็ นกิจการที่ดาํ เนิ น ธุรกิจเฉพาะด้านการลงทุน โดยในการบันทึกบัญชีโดยใช้วธิ ีส่วนได้เสี ยในเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้าที่ เป็ นกิ จการที่ดาํ เนิ นธุ รกิจเฉพาะด้านการลงทุนนั้น จะมีทางเลือกในการที่จะยังคงการวัดมูลค่าเงินลงทุนใน บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้านั้นๆด้วยวิธีมูลค่ายุติธรรมตามที่ บริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้านั้นๆ ใช้อยู่ หรื อจะถอดการวัดมูลค่ายุติธรรมออกและแทนด้วยการจัดทํางบการเงินรวมของบริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้าที่ เป็ นกิ จการที่ดาํ เนิ นธุ รกิ จเฉพาะด้านการลงทุน และ 2) เพิ่มทางเลือกในการใช้วิธีส่วนได้เสี ยสําหรับเงินลงทุนใน บริ ษทั ร่ วมหรื อการร่ วมค้าในงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุ ง 2559) การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือได้กาํ หนดให้มีความชัดเจนถึ ง ความหมายของการอ้างอิงในมาตรฐาน ไปยัง “ข้อมูลที่ได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินระหว่างกาล หรื อที่อื่นในรายงานทางการเงินระหว่างกาล” ว่ากิจการที่ใช้ประโยชน์ของข้อผ่อนปรนนี้จะต้องอ้างอิงจากงบ การเงินระหว่างกาลไปถึงยังรายงานอื่นที่มีขอ้ มูลดังกล่าวอย่างเฉพาะเจาะจง โดยที่ผใู ้ ช้งบการเงินต้องสามารถ เข้าถึงรายงานอื่นที่มีขอ้ มูลนั้นในลักษณะและเวลาเดียวกันกับงบการเงินระหว่างกาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2559) ได้มีการเปลี่ยนแปลงโดยให้มีการสันนิษฐานว่าการตัดจําหน่าย ของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนโดยการอ้างอิงจากรายได้น้ นั ไม่เหมาะสม ข้อสันนิษฐานนี้อาจตกไปหากเข้าข้อหนึ่ ง ข้อใดต่อไปนี้ คือสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนได้ถูกแสดงเหมือนเป็ นตัววัดของรายได้ (นัน่ คือรายได้เป็ นปั จจัยที่เป็ น ข้อจํากัดของมูลค่าที่จะได้รับจากสิ นทรัพย์) หรื อสามารถแสดงได้วา่ รายได้และการใช้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ที่ได้จากสิ นทรัพย์มีความสัมพันธ์กนั เป็ นอย่างมาก มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 (ปรับปรุ ง 2559) ได้มีการเปลี่ยนแปลงซึ่งสอดคล้องกับแนวปฏิบตั ิทางบัญชีสาํ หรับ การวัดมูลค่าและรับรู ้รายการของพืชเพื่อการให้ผลผลิตซึ่งสภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศเมื่อ พ.ศ. 2558

25


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐาน ที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.2) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่มีการปรับปรุ งใหม่ซ่ ึ งจะมีผลบังคับใช้สาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มต้น ในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิ จการไม่ได้นาํ มาตรฐานที่ ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถื อปฏิบตั ิก่อนวัน บังคับใช้ (ต่อ) ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ปรับปรุ งใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระสําคัญ และเกี่ยวข้องกับ กลุ่มกิจการมีดงั ต่อไปนี้ (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2559) ได้มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ความชัดเจนเพิ่มเติม ในกรณี ที่สินทรัพย์ (หรื อกลุ่มสิ นทรัพย์ที่จะจําหน่าย) ถูกจัดประเภทใหม่จาก “ที่ถือไว้เพื่อขาย” เป็ น “ที่มีไว้ เพื่อจ่ายให้แก่ ผูเ้ ป็ นเจ้าของ” หรื อถูกจัดประเภทใหม่ ในทางตรงกันข้ามนั้น ไม่ ถือว่าเป็ นการเปลี่ ยนแปลง แผนการขายหรื อแผนการจ่ายและไม่ตอ้ งปฏิบตั ิตามแนวทางการบันทึกบัญชีสาํ หรับการเปลี่ยนแปลง มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับ ที่ 10 (ปรั บ ปรุ ง 2559) ได้มี ก ารปรั บ ปรุ งให้ชัด เจนขึ้ น เกี่ ยวกับ 1) ข้อยกเว้นในการจัดทํางบการเงินรวมว่าให้ใช้กบั กิจการที่เป็ นบริ ษทั ใหญ่ข้นั กลางที่เป็ นบริ ษทั ย่อยของกิจการที่ ดําเนิ นธุรกิจด้านการลงทุนด้วยเหมือนกัน และ 2) กิจการที่ดาํ เนิ นธุรกิจด้านการลงทุนจะต้องนําบริ ษทั ย่อยที่ ไม่ใช่กิจการที่ดาํ เนิ นธุรกิจด้านการลงทุนและบริ ษทั ย่อยดังกล่าวให้บริ การหรื อมีกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่ องกับการ ลงทุน มารวมในการจัดทํางบการเงินรวมด้วย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2559) ได้กาํ หนดให้มีความชัดเจนมากขึ้นสําหรับ 1) การซื้ อส่ วนได้เสี ยในการดําเนินงานร่ วมกันที่กิจกรรมของการดําเนินงานร่ วมกันนั้นประกอบกันขึ้นเป็ นธุรกิจ ให้ผซู ้ ้ือนําหลักการบัญชีของการรวมธุรกิจมาถือปฏิบตั ิ และ 2) ในกรณี ที่ผรู ้ ่ วมดําเนินงานมีการซื้อส่ วนได้เสี ย ในการดําเนิ นงานร่ วมกันเพิ่มขึ้นนั้น ส่ วนได้เสี ยเดิ มที่มีอยูใ่ นการดําเนิ นงานร่ วมกันจะไม่ถูกวัดมูลค่าใหม่ หากร่ วมดําเนินงานยังคงมีการควบคุมร่ วมอยู่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2559) ได้มีการกําหนดให้ชดั เจนยิง่ ขึ้นให้กิจการที่เป็ น กิ จการที่ ดาํ เนิ นธุ รกิ จด้านการลงทุ น ต้องเปิ ดเผยข้อมูลของบริ ษทั ย่อยที่ วดั มู ลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ตามที่ กําหนดใน TFRS 12 แม้ไม่ได้มีการจัดทํางบการเงินรวม ผูบ้ ริ หารของกิจการได้ประเมินและพิจารณาว่ามาตรฐานที่ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวข้างต้นจะไม่มีผลกระทบที่มี นัยสําคัญต่อกลุ่มกิจการ

26


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐาน ที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.2) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่มีการปรับปรุ งใหม่ซ่ ึ งจะมีผลบังคับใช้สาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มต้น ในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิ จการไม่ได้นาํ มาตรฐานที่ ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถื อปฏิบตั ิก่อนวัน บังคับใช้ (ต่อ) ข) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐาน ที่เปลี่ยนแปลงอย่างไม่มีสาระสําคัญและไม่มี ผลกระทบต่อกลุ่มกิจการ มีดงั นี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุ ง 2559)

เรื่ อง สิ นค้าคงเหลือ เรื่ อง งบกระแสเงินสด เรื่ อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทาง บัญชีและข้อผิดพลาด เรื่ อง เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เรื่ อง สัญญาก่อสร้าง เรื่ อง ภาษีเงินได้ เรื่ อง สัญญาเช่า เรื่ อง รายได้ เรื่ อง การบัญชีสาํ หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและ การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล เรื่ อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ เรื่ อง ต้นทุนการกูย้ มื เรื่ อง การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เรื่ อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์ เมื่อออกจากงาน เรื่ อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อ รุ นแรง เรื่ อง กําไรต่อหุน้ เรื่ อง การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ เรื่ อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และ สิ นทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น เรื่ อง อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน

27


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐาน ที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.2) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่มีการปรับปรุ งใหม่ซ่ ึ งจะมีผลบังคับใช้สาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มต้น ในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิ จการไม่ได้นาํ มาตรฐานที่ ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถื อปฏิบตั ิก่อนวัน บังคับใช้ (ต่อ) ข) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐาน ที่เปลี่ยนแปลงอย่างไม่มีสาระสําคัญและไม่มี ผลกระทบต่อกลุ่มกิจการ มีดงั นี้ (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2559)

เรื่ อง การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ เรื่ อง การรวมธุรกิจ เรื่ อง สัญญาประกันภัย เรื่ อง การสํารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ เรื่ อง ส่ วนงานดําเนินงาน เรื่ อง การวัดมูลค่ายุติธรรม เรื่ อง ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณี ที่ไม่มีความเกี่ยวข้อง อย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน เรื่ อง สัญญาเช่าดําเนินงาน - สิ่ งจูงใจที่ให้แก่ผเู ้ ช่า เรื่ อง ภาษีเงินได้ - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของ กิจการหรื อของผูถ้ ือหุน้ เรื่ อง การประเมินเนื้อหาสัญญาเช่าที่ทาํ ขึ้นตามรู ปแบบ กฎหมาย เรื่ อง การเปิ ดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริ การ

28


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐาน ที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.2) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่มีการปรับปรุ งใหม่ซ่ ึ งจะมีผลบังคับใช้สาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มต้น ในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิ จการไม่ได้นาํ มาตรฐานที่ ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถื อปฏิบตั ิก่อนวัน บังคับใช้ (ต่อ) ข) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐาน ที่เปลี่ยนแปลงอย่างไม่มีสาระสําคัญและไม่มี ผลกระทบต่อกลุ่มกิจการ มีดงั นี้ (ต่อ) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14 (ปรับปรุ ง 2559)

เรื่ อง รายได้-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริ การโฆษณา เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน-ต้นทุนเว็บไซต์ เรื่ อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้ อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน เรื่ อง การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรื อไม่ เรื่ อง สิ ทธิในส่ วนได้เสี ยจากกองทุนการรื้ อถอน การบูรณะ และการปรับปรุ งสภาพแวดล้อม เรื่ อง การปรับปรุ งย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2559) เรื่ อง การรายงานทางการเงิน ในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุ นแรง เรื่ อง งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า เรื่ อง ข้อตกลงสัมปทานบริ การ เรื่ อง โปรแกรมสิ ทธิพิเศษแก่ลูกค้า เรื่ อง ข้อจํากัดสิ นทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ ข้อกําหนดเงินทุนขั้นตํ่าและปฏิสมั พันธ์ของรายการ เหล่านี้ สําหรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่ อง ผลประโยชน์ของพนักงาน

29


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง และการตีความมาตรฐาน ที่เกีย่ วข้ อง (ต่อ) 2.2.2) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่มีการปรับปรุ งใหม่ซ่ ึ งจะมีผลบังคับใช้สาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มต้น ในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 กลุ่มกิ จการไม่ได้นาํ มาตรฐานที่ ปรับปรุ งใหม่ดงั กล่าวมาถื อปฏิบตั ิก่อนวัน บังคับใช้ (ต่อ) ข) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐาน ที่เปลี่ยนแปลงอย่างไม่มีสาระสําคัญและไม่มี ผลกระทบต่อกลุ่มกิจการ มีดงั นี้ (ต่อ) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 104 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 107 (ปรับปรุ ง 2559)

เรื่ อง สัญญาสําหรับการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์ เรื่ อง การจ่ายสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ เรื่ อง การโอนสิ นทรัพย์จากลูกค้า เรื่ อง ต้นทุนการเปิ ดหน้าดินในช่วงการผลิตสําหรับเหมือง ผิวดิน เรื่ อง เงินที่นาํ ส่ งรัฐ เรื่ อง การบัญชีสาํ หรับการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา เรื่ อง การบัญชีสาํ หรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน เรื่ อง การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้อมูลสําหรับ เครื่ องมือทางการเงิน

30


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.3

บัญชีกลุ่มกิจการ - เงินลงทุนในบริษัทย่ อยและส่ วนได้ เสี ยในการร่ วมค้ า ก)

บริษัทย่ อย บริ ษทั ย่อยหมายถึ งกิ จการ (ซึ่ งรวมถึ งกิ จการเฉพาะกิ จ) ที่ กลุ่มกิ จการควบคุม กลุ่มกิ จการควบคุมกิ จการเมื่ อกลุ่ ม กิจการมีการเปิ ดรับหรื อมีสิทธิในผลตอบแทนผันแปรจากการเกี่ยวข้องกับผูไ้ ด้รับการลงทุนและมีความสามารถทํา ให้เกิดผลกระทบต่อผลตอบแทนจากการใช้อาํ นาจเหนื อผูไ้ ด้รับการควบคุม กลุ่มกิจการรวมงบการเงินของบริ ษทั ย่อย ไว้ในงบการเงินรวมตั้งแต่วนั ที่กลุ่มกิจการมีอาํ นาจในการควบคุมบริ ษทั ย่อย กลุ่มกิจการจะไม่นาํ งบการเงินของบริ ษทั ย่อย มารวมไว้ในงบการเงินรวมนับจากวันที่กลุ่มกิจการสู ญเสี ยอํานาจควบคุม กลุ่มกิ จการบันทึ กบัญ ชี การรวมธุ รกิ จโดยถื อปฏิ บตั ิ ตามวิธีซ้ื อ สิ่ งตอบแทนที่ โอนให้สําหรั บการซื้ อบริ ษทั ย่อย ประกอบด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่ผซู ้ ้ือโอนให้และหนี้สินที่ก่อขึ้นเพื่อจ่ายชําระให้แก่เจ้าของเดิมของผูถ้ ูกซื้ อ และส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของที่ออกโดยกลุ่มกิจการ สิ่ งตอบแทนที่โอนให้ รวมถึงมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ หรื อหนี้ สินที่ผซู ้ ้ื อคาดว่าจะต้องจ่ายชําระตามข้อตกลง ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้ อจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น มูลค่าเริ่ มแรกของสิ นทรัพย์ที่ระบุได้ที่ได้มาและหนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นที่รับมาจากการรวมธุรกิจจะถูกวัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซ้ื อ ในการรวมธุรกิจแต่ละครั้ง กลุ่มกิจการวัดมูลค่าของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม ในผูถ้ ูกซื้ อด้วยมูลค่ายุติธรรม หรื อ มูลค่าของสิ นทรัพย์สุทธิ ที่ระบุ ได้ของผูถ้ ูกซื้ อตามสัดส่ วนของหุ ้นที่ ถือโดย ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม ในการรวมธุรกิจที่ดาํ เนินการสําเร็ จจากการทยอยซื้ อ ผูซ้ ้ื อต้องวัดมูลค่าส่ วนได้เสี ยที่ผซู ้ ้ื อถืออยูใ่ นผูถ้ ูกซื้ อก่อนหน้า การรวมธุรกิจใหม่โดยใช้มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซ้ื อและรับรู ้ผลกําไรหรื อขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการวัดมูลค่าใหม่น้ นั ในกําไรหรื อขาดทุน สิ่ งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายออกไปโดยกลุ่มกิจการ รับรู ้ดว้ ยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซ้ื อ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ยุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายที่รับรู ้ภายหลังวันที่ซ้ื อซึ่ งจัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินให้รับรู ้ ในกําไรหรื อขาดทุน สิ่ งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายซึ่งจัดประเภทเป็ นส่ วนของเจ้าของต้องไม่มีการวัดมูลค่าใหม่ และ ให้บนั ทึกการจ่ายชําระในภายหลังไว้ในส่ วนของเจ้าของ ส่ วนเกิ นของมูลค่าสิ่ งตอบแทนที่ โอนให้ มูลค่าส่ วนได้เสี ยที่ ไม่มีอาํ นาจควบคุมในผูถ้ ูกซื้ อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้ อธุ รกิ จของส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของของผูถ้ ูกซื้ อที่ ผูซ้ ้ื อถื ออยู่ก่อนการรวมธุ รกิ จ ที่ มากกว่ามู ลค่า ยุติธรรมสุ ทธิ ณ วันที่ซ้ือของสิ นทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ที่ได้มา ต้องรับรู ้เป็ นค่าความนิยม หากมูลค่าของมูลค่าสิ่ งตอบแทนที่ โอนให้ มูลค่าส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุมในผูถ้ ูกซื้ อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้ อธุรกิจของส่ วนได้เสี ยในส่ วน ของเจ้าของของผูถ้ ูกซื้อที่ผซู ้ ้ือถืออยูก่ ่อนการรวมธุรกิจ น้อยกว่ามูลค่าราคายุติธรรมของสิ นทรัพย์สุทธิของบริ ษทั ย่อยที่ ได้มาเนื่องจากการซื้อในราคาตํ่ากว่ามูลค่ายุติธรรม จะรับรู ้ส่วนต่างโดยตรงไปยังกําไรขาดทุน

31


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.3

บัญชีกลุ่มกิจการ - เงินลงทุนในบริษัทย่ อยและส่ วนได้ เสี ยในการร่ วมค้ า (ต่อ) ก)

บริษัทย่ อย (ต่อ) กิจการจะตัดรายการบัญชีระหว่างกัน ยอดคงเหลือ และกําไรที่ยงั ไม่ได้เกิดขึ้นจริ งระหว่างกันในกลุ่มกิจการ ขาดทุน ที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ งก็จะตัดรายการในทํานองเดียวกัน เว้นแต่รายการนั้นมีหลักฐานว่าสิ นทรัพย์ที่โอนระหว่างกันเกิด การด้อยค่า นโยบายการบัญชีของบริ ษทั ย่อยได้ถูกปรับปรุ งเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มกิจการ ในงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยจะบันทึกบัญชีดว้ ยราคาทุนหักค่าเผือ่ การด้อยค่า ต้นทุนจะมีการปรับ เพื่อสะท้อนการเปลี่ยนแปลงสิ่ งตอบแทนที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าสิ่ งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายต้นทุนนั้น จะรวมต้นทุนทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการได้มาของเงินลงทุนนี้

ข)

รายการกับส่ วนได้ เสี ยที่ไม่ มีอาํ นาจควบคุม กลุ่มกิจการปฏิบตั ิต่อรายการกับส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุมเช่นเดียวกันกับรายการกับส่ วนที่เป็ นของเจ้าของ ของกลุ่มกิจการ สําหรับการซื้ อส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม ผลต่างระหว่างสิ่ งตอบแทนที่จ่ายให้และมูลค่าตาม บัญชีของสิ นทรัพย์สุทธิของหุน้ ที่ซ้ือมาในบริ ษทั ย่อยจะถูกบันทึกในส่ วนของเจ้าของ และกําไรหรื อขาดทุนจากการ ขายในส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุมจะถูกบันทึกในส่ วนของเจ้าของ

ค)

การจําหน่ ายบริษัทย่ อย เมื่ อ กลุ่ ม กิ จ การสู ญเสี ยการควบคุ ม ส่ วนได้ เสี ยในหุ ้ น ที่ เหลื อ อยู่ จ ะวัด มู ล ค่ า ใหม่ โ ดยใช้ มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าจะรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน มูลค่ายุติธรรมนั้นจะถือเป็ นมูลค่าตามบัญชีเริ่ มแรกของมูลค่า ของเงิ น ลงทุ น เพื่ อ วัต ถุ ป ระสงค์ใ นการวัด มู ล ค่ าในเวลาต่ อ มาของเงิ น ลงทุ น ที่ เหลื อ อยู่ใ นรู ป ของบริ ษ ัท ร่ ว ม กิจการร่ วมค้า หรื อสิ นทรัพย์ทางการเงิน สําหรับทุกจํานวนที่เคยรับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นในส่ วนที่เกี่ยวข้อง กับกิจการนั้นจะถูกปฏิบตั ิเสมือนว่ากลุ่มกิจการมีการจําหน่ายสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินที่เกี่ยวข้องนั้นออกไป

ง)

การร่ วมการงาน กลุ่ มกิ จการนํามาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 11 เรื่ อง การร่ วมการงาน มาปฏิ บ ัติ เมื่ อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 เรื่ อง การร่ วมการงาน เงินลงทุนในการร่ วมการงานจะถูกจัด ประเภทเป็ นการดําเนินงานร่ วมกัน หรื อการร่ วมค้า โดยขึ้นอยูก่ บั สิ ทธิและภาระผูกพันตามสัญญาของผูล้ งทุนแต่ละราย กลุ่มกิจการได้ประเมินลักษณะของการร่ วมการงานที่มีและพิจารณาว่าเป็ นการดําเนิ นงานร่ วมกัน กลุ่มกิจการได้ รั บ รู ้ ส่ ว นแบ่ งในผลการดําเนิ น งานจากการดําเนิ น งานร่ วมกัน ตามสั ด ส่ ว น นอกจากนี้ ลู ก หนี้ และหนี้ สิ น ของ การดําเนินงานร่ วมกันได้ถูกนํามารวมอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงินของกลุ่มกิจการตามสัดส่ วนเช่นกัน

32


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.4

การแปลงค่ าเงินตราต่ างประเทศ (ก)

สกุลเงินที่ใช้ในการดําเนินงานและสกุลเงินที่ใช้นาํ เสนองบการเงิน รายการที่ ร วมในงบการเงิ น ของแต่ ล ะบริ ษ ัท ในกลุ่ ม กิ จ การถู ก วัด มู ล ค่ า โดยใช้ส กุ ล เงิ น ของสภาพแวดล้อ ม ทางเศรษฐกิ จหลักที่ บริ ษทั ดําเนิ นงานอยู่ (สกุลเงินที่ใช้ในการดําเนิ นงาน) งบการเงินรวมแสดงในสกุลเงินบาท ซึ่งเป็ นสกุลเงินที่ใช้ในการดําเนินงานและสกุลเงินที่ใช้นาํ เสนองบการเงินของกลุ่มกิจการ

(ข)

รายการและยอดคงเหลือ รายการที่เป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นสกุลเงินที่ใช้ในการดําเนิ นงานโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ เกิดรายการหรื อวันที่ตีราคาหากรายการนั้นถูกวัดมูลค่าใหม่ รายการกําไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับหรื อ จ่ายชําระที่ เป็ นเงินตราต่างประเทศ และที่ เกิ ดจากการแปลงค่าสิ นทรัพย์และหนี้ สินที่ เป็ นตัวเงินซึ่ งเป็ นเงินตรา ต่างประเทศด้วยอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้ นปี ได้บนั ทึกไว้ในกําไรหรื อขาดทุน เมื่อมีการรับรู ้รายการกําไรหรื อขาดทุนของรายการที่ไม่เป็ นตัวเงินไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น องค์ประกอบของ อัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมดของกําไรหรื อขาดทุนนั้นจะรับรู ้ไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นด้วย ในทางตรงข้ามการ รับรู ้กาํ ไรหรื อขาดทุนของรายการที่ไม่เป็ นตัวเงินไว้ในกําไรหรื อขาดทุน องค์ประกอบของอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมด ของกําไรหรื อขาดทุนนั้นจะรับรู ้ไว้ในกําไรขาดทุนด้วย

2.5

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสด หมายรวมถึงเงินสดในมือ และเงินฝากธนาคารทุกประเภท แต่ไม่รวมเงินฝากธนาคารประเภทที่ตอ้ งจ่ายคืนเมื่อสิ้ น ระยะเวลาที่กาํ หนด (เงินฝากประจํา) และบัตรเงินฝากที่ออกโดยธนาคารพาณิ ชย์และสถาบันการเงินอื่น และไม่รวมเงินฝาก ธนาคารที่มีขอ้ จํากัดในการเบิกถอน และรายการเทียบเท่าเงินสดรวมถึงเงินลงทุนระยะสั้นอื่นที่มีสภาพคล่องสู งซึ่ งมีอายุ ไม่เกินสามเดือนนับจากวันที่ได้มา ในงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดรวมถึงเงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร ประเภทจ่ า ยคื น เมื่ อ ทวงถาม เงิ น ลงทุ น ระยะสั้ นอื่ น ที่ มี ส ภาพคล่ อ งสู ง ซึ่ งมี อ ายุไ ม่ เกิ น สามเดื อ นนั บ จากวัน ที่ ไ ด้ม า เงินเบิกเกินบัญชีจะแสดงไว้ในส่ วนของหนี้สินหมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ

2.6

ลูกหนีก้ ารค้ า ลูกหนี้ การค้ารับรู ้เริ่ มแรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนี้ และจะวัดมูลค่าต่อมาด้วยจํานวนเงินที่เหลืออยูห่ กั ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ซึ่ งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิ้ นงวด ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญหมายถึ ง ผลต่างระหว่างราคาตามบัญชี ของ ลู กหนี้ การค้าเปรี ยบเที ยบกับ มู ล ค่าที่ ค าดว่าจะได้รับ จากลู กหนี้ การค้า หนี้ สู ญ ที่ เกิ ดขึ้ น จะรั บ รู ้ ไว้ในกําไรหรื อ ขาดทุ น โดยถือเป็ นส่ วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายในการบริ หาร 33


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.7

สิ นค้ าคงเหลือ สิ นค้าคงเหลือแสดงในงบแสดงฐานะการเงินด้วยราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า ราคาทุนของ สิ นค้าคงเหลือคํานวณโดยวิธีถวั เฉลี่ย ต้นทุนของการซื้ อประกอบด้วยราคาซื้ อ และค่าใช้จ่ายทางตรงที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้ อ สิ นค้านั้น เช่น ค่าอากรขาเข้า ค่าขนส่ ง หักด้วยส่ วนลดที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ส่ วนยอมให้หรื อเงินที่ได้รับคืน ต้นทุนของสิ นค้า สําเร็ จรู ปและงานระหว่างทําประกอบด้วย ค่าวัตถุดิบ ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายอื่นทางตรง และค่าโสหุย้ ในการผลิต ซึ่ งปั นส่ วน ตามเกณฑ์การดําเนินงานตามปกติแต่ไม่รวมต้นทุนการกูย้ มื มูลค่าสุ ทธิที่จะได้รับประมาณจากราคาที่คาดว่าจะขายได้ตามปกติ ของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จาํ เป็ นเพื่อให้สินค้านั้นสําเร็ จรู ปรวมถึงค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าเผื่อการลดมูลค่าสิ นค้าจะบันทึก เมื่อพบว่ามีสินค้าเก่า ล้าสมัย หรื อเสื่ อมคุณภาพเท่าที่จาํ เป็ น

2.8

สั ญญาก่ อสร้ าง สัญญาก่อสร้างคือสัญญาที่เจรจาเฉพาะเจาะจงเพื่อก่อสร้างสิ นทรัพย์รายการเดียวหรื อหลายรายการซึ่ งสัมพันธ์กนั อย่างใกล้ชิด หรื อต้องพึ่งพากันในด้านการออกแบบ เทคโนโลยีและหน้าที่หรื อเชื่อมโยงกันด้วยวัตถุประสงค์ในการใช้ประโยชน์ข้นั สุ ดท้าย เมื่ อผลการดําเนิ นงานตามสัญ ญาก่ อสร้ างไม่สามารถประมาณการได้อย่างน่ าเชื่ อถื อ รายได้ตามสัญ ญาก่ อสร้ างจะรั บรู ้ ได้ไม่เกินกว่าต้นทุนตามสัญญาซึ่งค่อนข้างแน่วา่ จะได้รับคืน ต้นทุนตามสัญญาจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายในงวดเมื่อเกิดขึ้น เมื่อผลการดําเนิ นงานตามสัญญาก่อสร้างสามารถประมาณการได้อย่างน่ าเชื่ อถือ และมีความเป็ นไปได้ที่สัญญาก่อสร้าง จะมีกาํ ไร ให้รับรู ้รายได้ตลอดระยะเวลาของสัญญาก่อสร้าง เมื่อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที่ตน้ ทุนการก่อสร้างทั้งหมด เกินกว่ารายได้ค่าก่อสร้างทั้งหมด กลุ่มกิจการจะรับรู ้ขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นเป็ นค่าใช้จ่ายทันที กลุ่มกิจการกําหนดขั้นความสําเร็ จของงานก่อสร้างโดยใช้วิธีอตั ราส่ วนของต้นทุนการก่อสร้างที่เกิดขึ้นของงานที่ทาํ เสร็ จ จนถึงปั จจุบนั กับประมาณการต้นทุนการก่อสร้างทั้งสิ้ นในการกําหนดขั้นความสําเร็ จของงานก่อสร้าง จะไม่พิจารณาต้นทุน การก่อสร้างที่เกิดขึ้นในระหว่างปี ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมในอนาคต ซึ่ งแสดงอยูใ่ นรู ปสิ นค้าคงเหลือ จํานวนเงินที่จ่ายเป็ น เงินล่วงหน้า หรื อสิ นทรัพย์อื่น ขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของต้นทุน กลุ่มกิจการแสดงจํานวนเงินทั้งสิ้ นที่กิจการมีสิทธิเรี ยกร้องจากผูว้ า่ จ้างสําหรับงานก่อสร้างทุกสัญญาเป็ นสิ นทรัพย์ของกิจการ สําหรับต้นทุนที่เกิดขึ้นและกําไรที่รับรู ้ (หักด้วยรายการขาดทุนที่รับรู ้แล้ว) สู งกว่าจํานวนเงินงวดที่เรี ยกเก็บ ซึ่งจํานวนเงินที่ เรี ยกเก็บที่ลูกค้ายังไม่ได้ชาํ ระและจํานวนเงินประกันผลงานจะรวมอยูภ่ ายใต้หวั ข้อ ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น กลุ่มกิ จการจะแสดงจํานวนเงินทั้งสิ้ นที่ผูว้ ่าจ้างมีสิทธิ เรี ยกร้องจากกิ จการสําหรับงานก่อสร้ างทุกสัญญาเป็ นหนี้ สินของ กิจการสําหรับจํานวนเงินที่เรี ยกเก็บมากกว่าต้นทุนที่เกิดขึ้นและกําไรที่รับรู ้(หักด้วยรายการขาดทุนที่รับรู ้แล้ว)

34


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.9

เงินลงทุนที่ถือไว้ จนครบกําหนด กลุ่มกิจการจัดประเภทเงินลงทุนที่นอกเหนื อจากเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เป็ นเงินลงทุนที่ถือไว้จนครบกําหนด การจัดประเภท ขึ้นอยูก่ บั จุดมุ่งหมายขณะลงทุน ฝ่ ายบริ หารจะเป็ นผูก้ าํ หนดการจัดประเภทที่เหมาะสมสําหรับเงินลงทุน ณ เวลาลงทุน และทบทวนการจัดประเภทเป็ นระยะ เงิ น ลงทุ น ที่ ถื อ ไว้จ นครบกําหนด คื อ เงิ น ลงทุ น ที่ มี ก าํ หนดเวลาและผูบ้ ริ ห ารตั้งใจแน่ วแน่ และมี ค วามสามารถถื อ ไว้ จนครบกําหนดได้แสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่จะครบกําหนดภายใน 12 เดือนนับแต่วนั สิ้ นรอบระยะ เวลารายงานก็จะแสดงไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน เงินลงทุนที่ถือไว้จนครบกําหนดรับรู ้มูลค่าเริ่ มแรกด้วยราคาทุน ซึ่ งหมายถึงมูลค่ายุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่ให้ไปเพื่อให้ ได้มาซึ่งเงินลงทุนนั้นรวมทั้งค่าใช้จ่ายในการทํารายการ เงิ น ลงทุ น ที่ ถื อ ไว้จ นครบกําหนดวัด มู ล ค่ าภายหลัง การได้ม าด้ว ยวิธี ร าคาทุ น ตัด จําหน่ ายตามอัต ราดอกเบี้ ย ที่ แ ท้จ ริ ง หักด้วยค่าเผือ่ การด้อยค่า

2.10 อสั งหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน อสังหาริ มทรัพย์ที่ถือครองโดยกลุ่มกิจการเพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่า หรื อจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าของสิ นทรัพย์ หรื อทั้งสองอย่าง และไม่ได้มีไว้เพื่อใช้ในการดําเนินงานของกลุ่มกิจการจะถูกจัดประเภทเป็ นอสังหาริ มทรัพย์เพือ่ การลงทุน รวมถึงอสังหาริ มทรัพย์ที่อยูร่ ะหว่างการก่อสร้างเพื่อพัฒนาเป็ นอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนในอนาคต อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนของกลุ่มกิ จการ ได้แก่ ที่ดินที่ ถือครองไว้เพื่อหาประโยชน์จากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าของ สิ นทรัพย์ อสังหาริ ม ทรั พ ย์เพื่ อ การลงทุ น จะบัน ทึ ก ด้วยวิธีราคาทุ น หัก ค่ าเผื่อ ผลขาดทุ น จากการด้อ ยค่ า ราคาทุ น รวมถึ งต้น ทุ น ในการทํา รายการและต้น ทุ น การกู้ยื ม ต้น ทุ น การกู้ยืม ที่ เกิ ด ขึ้ น เพื่ อ วัต ถุ ป ระสงค์ ข องการได้ม า การก่ อ สร้ า งหรื อ ผลิตอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนนั้นจะรวมเป็ นส่ วนหนึ่ งของต้นทุนของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ต้นทุนการกูย้ มื จะถูกรวมในขณะที่การซื้ อหรื อการก่อสร้างและจะหยุดพักทันทีเมื่อสิ นทรัพย์น้ นั ก่อสร้างเสร็ จอย่างมีนยั สําคัญหรื อระหว่างที่ การดําเนินการพัฒนาสิ นทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไขหยุดชะงักลง โดยที่ดินไม่มีการหักค่าเสื่ อมราคา การรวมรายจ่ายในภายหลังจะบันทึกรวมในมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ก็ต่อเมื่อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ กลุ่มกิจการ จะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตในรายจ่ายนั้น และสามารถวัดราคามูลค่ารายจ่ายได้อย่างน่าเชื่อถือ ค่าซ่อมแซม และบํารุ งรักษาจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ เมื่อมีการเปลี่ยนแทนชิ้นส่ วนของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนจะตัด มูลค่าตามบัญชีของส่ วนที่ถูกเปลี่ยนแทนออก

35


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.11 ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์วดั มูลค่าด้วยราคาทุนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ ต้นทุนเริ่ มแรกจะ รวมต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสิ นทรัพย์น้ นั ต้นทุนที่เกิดขึ้นในภายหลังจะรวมอยูใ่ นมูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์หรื อรับรู ้แยกเป็ นอีกสิ นทรัพย์หนึ่งตามความเหมาะสม เมื่อต้นทุนนั้นเกิดขึ้นและคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตแก่กลุ่มกิจการ และต้นทุนดังกล่าวสามารถวัดมูลค่า ได้อย่างน่ าเชื่ อถือ และจะรายการตัดมูลค่าตามบัญชี ของชิ้ นส่ วนที่ ถูกเปลี่ ยนแทนออก การซ่ อมแซมและบํารุ งรักษาอื่ น กลุ่มกิจการจะรับรู ้ตน้ ทุนดังกล่าวเป็ นค่าใช้จ่ายในกําไรหรื อขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ที่ ดิ น ไม่ มี การคิ ดค่ าเสื่ อมราคา ค่ าเสื่ อมราคาของสิ น ทรั พ ย์อื่ น คํานวณด้วยวิ ธี เส้ น ตรงเพื่ อลดราคาตามบัญ ชี ให้ เท่ ากับ มูลค่าคงเหลือของสิ นทรัพย์แต่ละชนิด ตามอายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ที่ประมาณไว้ดงั ต่อไปนี้ ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน อาคาร ส่ วนปรับปรุ งอาคาร เครื่ องตกแต่งและอุปกรณ์สาํ นักงาน อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ยานพาหนะ

5 ปี 20 ปี 20 ปี 5 ปี 5 ปี 5 - 10 ปี

ทุกสิ้ นรอบระยะเวลารายงานกลุ่มกิจการได้มีการทบทวนและปรับปรุ งมูลค่าคงเหลือ และอายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ ให้เหมาะสม ในกรณี ที่มูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์สูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ดงั กล่าว จะถูกปรับลด ให้เท่ากับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนทันที รายการกําไรและรายการขาดทุนจากการจําหน่ ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ คํานวณโดยการเปรี ยบเทียบสิ่ งตอบแทนสุ ทธิ ที่ได้รับจากการจําหน่ายสิ นทรัพย์กบั มูลค่าตามบัญชีของสิ นทรัพย์ และได้รวมอยูใ่ นรายได้อื่นและค่าใช้จ่ายอื่นตามลําดับ

36


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.12 สิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน 2.12.1 การวิจยั และพัฒนา - สิ ทธิบตั ร รายจ่ ายเพื่ อ การวิจ ัย รั บ รู ้ เป็ นค่ าใช้จ่ ายเมื่ อ เกิ ด ขึ้ น ต้น ทุ น ของโครงการพัฒ นา (ซึ่ งเกี่ ย วข้อ งกับ การออกแบบ และการทดสอบผลิตภัณฑ์ใหม่หรื อการปรับปรุ งผลิตภัณฑ์) รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนในจํานวนไม่เกินต้นทุน ที่สามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่ าเชื่ อถือ และเมื่อประเมินแล้วว่าโครงการนั้นจะประสบความสําเร็ จค่อนข้างแน่ นอน ทั้งในแง่การค้าและแง่เทคโนโลยี ส่ วนรายจ่ายอื่ นเพื่อการพัฒนารับรู ้ เป็ นค่าใช้จ่ายเมื่ อเกิ ดขึ้น ต้นทุนการพัฒนา ที่ได้รับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายไปแล้วในงวดก่ อนจะไม่บนั ทึ กเป็ นสิ นทรัพย์ในงวดถัดไป การทยอยตัดจําหน่ ายรายจ่าย ที่เกิดจากการพัฒนา(ที่กิจการบันทึกไว้เป็ นสิ นทรัพย์)จะเริ่ มตั้งแต่เมื่อเริ่ มใช้ผลิตภัณฑ์น้ นั เพื่อการค้า ด้วยวิธีเส้นตรง ตลอดระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์จากการพัฒนานั้นแต่สูงสุ ดไม่เกิน 10 ปี 2.12.2 เครื่ องหมายการค้าและสิ ทธิการใช้ เครื่ องหมายการค้าและสิ ทธิ การใช้ที่ได้มาจากการซื้ อจะแสดงด้วยราคาทุน เครื่ องหมายการค้าและสิ ทธิ การใช้ ที่ได้มาจากการรวมกิจการ จะรับรู ้ดว้ ยมูลค่ายุติธรรม ณ วันรวมธุรกิจ สิ ท ธิ ก ารใช้โปรแกรมคอมพิ วเตอร์ โดยที่ ซ้ื อ มาจะถู กบัน ทึ ก เป็ นสิ น ทรั พ ย์โดยคํานวณจากต้น ทุ น ในการได้ม า และการดําเนิ น การให้โปรแกรมคอมพิ วเตอร์ น้ ัน สามารถนํามาใช้งานได้ต ามประสงค์ และจะถู กตัดจําหน่ าย ตลอดอายุประมาณการให้ประโยชน์ภายในระยะเวลาไม่เกิน 10 ปี 2.12.3 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ต้นทุนที่ใช้ในการบํารุ งรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้บนั ทึกเป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการพัฒนา ที่เกี่ ยวข้องโดยตรงในการออกแบบและทดสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจงซึ่ งกลุ่มกิ จการ เป็ นผูด้ ูแล จะรับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนเมื่อเป็ นไปตามข้อกําหนดทุกข้อดังนี้ • • • • • •

มีความเป็ นไปได้ทางเทคนิคที่กิจการจะทําสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนให้เสร็ จสมบูรณ์เพื่อนํามาใช้ประโยชน์หรื อขายได้ ผูบ้ ริ หารมีความตั้งใจที่จะทําโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้เสร็ จสมบูรณ์และนํามาใช้ประโยชน์หรื อขาย กิจการมีความสามารถที่จะนําโปรแกรมคอมพิวเตอร์น้ นั มาใช้ประโยชน์หรื อขาย สามารถแสดงว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์น้ นั ให้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในอนาคตอย่างไร มีความสามารถในการจัดหาทรัพยากรด้านเทคนิค ด้านการเงิน และด้านอื่นได้เพียงพอที่จะนํามาใช้เพื่อทําให้ การพัฒนาเสร็ จสิ้ นสมบูรณ์ และนําโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์หรื อนํามาขายได้ กิ จการมี ความสามารถที่ จะวัดมู ลค่ าของรายจ่ ายที่ เกี่ ยวข้องกับโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ที่ เกิ ดขึ้ นในระหว่าง การพัฒนาได้อย่างน่าเชื่อถือ

ต้นทุนโดยตรงที่ รับรู ้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะรวมถึงต้นทุนพนักงานที่ ทาํ งานในที มพัฒนา โปรแกรมคอมพิวเตอร์และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องในจํานวนเงินที่เหมาะสม 37


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.12 สิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน (ต่อ) 2.12.3 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (ต่อ) ต้นทุนการพัฒนาอื่นที่ไม่เข้าเงื่อนไขเหล่านี้ จะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาหากก่อนหน้านี้ รับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายไปแล้ว จะไม่รับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนในเวลาภายหลัง ต้นทุนในการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะรับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนและตัดจําหน่ายโดยใช้วธิ ีเส้นตรงตลอดอายุ ประมาณการให้ประโยชน์ในระยะเวลาไม่เกิน 10 ปี 2.12.4 ความรู ้ทางเทคนิค รายจ่ายเพื่อให้ได้รับความรู ้ทางเทคนิค ซึ่ งประกอบด้วย ค่าที่ปรึ กษาสําหรับความเชี่ยวชาญในการผลิตผนังแซนวิช FRP-PU และความช่วยเหลือด้านเทคนิคและวิศวกรรม ได้บนั ทึกเป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนและตัดจําหน่ายโดยใช้วิธี เส้นตรงตลอดอายุการให้ประโยชน์ 10 ปี 2.13 การด้ อยค่ าของสิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่ ชัดเช่ น ค่าความนิ ยม ซึ่ งไม่มีการตัดจําหน่ ายจะถูกทดสอบการด้อยค่าเป็ น ประจําทุกปี สิ นทรัพย์อื่นที่มีการตัดจําหน่ ายจะมีการทบทวนการด้อยค่า เมื่อมีเหตุการณ์หรื อสถานการณ์บ่งชี้ว่าราคาตาม บัญชีอาจสู งกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน รายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู ้เมื่อราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์สูงกว่ามูลค่า ที่ คาดว่าจะได้รับคืน ซึ่ งหมายถึ งจํานวนที่ สูงกว่าระหว่างมู ลค่ายุติธรรมหักต้นทุ นในการขายเที ยบกับมูลค่าจากการใช้ สิ นทรัพย์จะถูกจัดเป็ นหน่ วยที่เล็กที่สุดที่สามารถแยกออกมาได้ เพื่อวัตถุประสงค์ของการประเมินการด้อยค่า สิ นทรัพย์ ที่ ไ ม่ ใช่ สิ นทรั พย์ท างการเงิ นนอกเหนื อจากค่ าความนิ ยมซึ่ งรั บรู ้ รายการขาดทุ น จากการด้อยค่ าไปแล้ว จะถู กประเมิ น ความเป็ นไปได้ที่จะกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน 2.14 สั ญญาเช่ าระยะยาว 2.14.1 กรณีที่กลุ่มกิจการเป็ นผู้เช่ า สัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ซ่ ึงผูเ้ ช่าเป็ นผูร้ ับความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของเกือบทั้งหมดถือเป็ น สัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่เช่า หรื อมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ ของจํานวนเงินที่ ตอ้ งจ่ายตามสัญญาเช่ าแล้วแต่มูลค่าใดจะตํ่ากว่า โดยจํานวนเงินที่ ตอ้ งจ่ายจะปั นส่ วนระหว่าง หนี้ สินและค่าใช้จ่ายทางการเงินเพื่อให้ได้อตั ราดอกเบี้ ยคงที่ ต่อหนี้ สินคงค้างอยู่ โดยพิจารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระ ผูกพันตามสัญญาเช่ าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึ กเป็ นหนี้ สินระยะยาว ส่ วนดอกเบี้ ยจ่ายจะบันทึ กในกําไรหรื อ ขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สิ นทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าทางการเงิน จะคิดค่าเสื่ อมราคาตลอดอายุการใช้งานของ สิ นทรัพย์ที่เช่า หรื ออายุของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะสั้นกว่า

38


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.14 สั ญญาเช่ าระยะยาว (ต่อ) 2.14.1 กรณีที่กลุ่มกิจการเป็ นผู้เช่ า (ต่อ) สัญญาเช่าดําเนินงาน สัญญาเช่าสิ นทรัพย์ซ่ ึ งผูใ้ ห้เช่าเป็ นผูร้ ับความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของเกือบทั้งหมดถือเป็ นสัญญาเช่า ดําเนิ นงาน เงินที่ตอ้ งจ่ายภายใต้สัญญาเช่ าดําเนิ นงาน (สุ ทธิ จากสิ่ งตอบแทนจูงใจที่ได้รับจากผูใ้ ห้เช่ า) จะบันทึ ก ในกําไรหรื อขาดทุนโดยใช้วธิ ีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั้น 2.14.2 กรณีที่กลุ่มกิจการเป็ นผู้ให้ เช่ า สัญญาเช่าการเงิน สิ นทรัพย์ที่ให้เช่าตามสัญญาเช่าทางการเงินบันทึกในงบแสดงฐานะการเงินเป็ นลูกหนี้ สัญญาเช่าทางการเงินด้วยมูลค่า ปั จจุบนั ของจํานวนเงินที่ จ่ายตามสัญญาเช่ า ผลต่างระหว่างยอดรวมของลูกหนี้ เบื้ องต้นกับมู ลค่าปั จจุบนั ของลูกหนี้ บันทึกเป็ นรายได้ทางการเงินค้างรับ รายได้จากสัญญาเช่าระยะยาวรับรู ้ตลอดอายุของสัญญาเช่าโดยใช้วิธีเงินลงทุนสุ ทธิ ซึ่งสะท้อนอัตราผลตอบแทนคงที่ทุกงวด สัญญาเช่าดําเนินงาน สิ นทรัพย์ที่ให้เช่าตามสัญญาเช่าดําเนิ นงานรวมแสดงอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงินในส่ วนที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และ ตัดค่าเสื่ อมราคาตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ดว้ ยเกณฑ์เดี ยวกันกับรายการที่ ดิน อาคารและอุปกรณ์ ของ บริ ษทั ซึ่ งมีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน รายได้ค่าเช่า (สุ ทธิจากสิ่ งตอบแทนจูงใจที่ได้จ่ายให้แก่ผเู ้ ช่า) รับรู ้ดว้ ยวิธีเส้นตรงตลอด ช่วงเวลาการให้เช่า 2.15 เงินกู้ยืม เงินกูย้ มื รับรู ้เริ่ มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่ได้รับหักด้วยต้นทุนการจัดทํารายการที่เกิดขึ้น เงินกูย้ มื วัดมูลค่า ในเวลาต่อมาด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายตามวิธีอตั ราดอกเบี้ยที่แท้จริ ง ผลต่างระหว่างสิ่ งตอบแทนที่ได้รับ (หักด้วยต้นทุน การจัดทํารายการที่เกิดขึ้น) เมื่อเทียบกับมูลค่าที่จ่ายคืนเพื่อชําระหนี้น้ นั จะรับรู ้ในกําไรขาดทุนตลอดช่วงเวลาการกูย้ มื ค่าธรรมเนี ยมที่จ่ายไปเพื่อให้ได้เงินกูม้ าจะรับรู ้เป็ นต้นทุนการจัดทํารายการเงินกูใ้ นกรณี ที่มีความเป็ นไปได้จะใช้วงเงินกู้ บางส่ วนหรื อทั้งหมด ในกรณี น้ ีค่าธรรมเนียมจะรอการรับรู ้จนกระทัง่ มีการถอนเงิน หากไม่มีหลักฐานที่มีความเป็ นไปได้ที่ จะใช้วงเงินบางส่ วนหรื อทั้งหมด ค่าธรรมเนี ยมจะรับรู ้ เป็ นค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้าสําหรับการให้บริ การสภาพคล่องและ จะตัดจําหน่ายตามระยะเวลาของวงเงินกูท้ ี่เกี่ยวข้อง เงินกูย้ มื จัดประเภทเป็ นหนี้สินหมุนเวียนเมื่อกลุ่มกิจการไม่มีสิทธิอนั ปราศจากเงื่อนไขให้เลื่อนชําระหนี้ออกไปอีกเป็ นเวลา ไม่นอ้ ยกว่า 12 เดือน นับจากวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน 39


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.16 ภาษีเงินได้ งวดปัจจุบันและภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สาํ หรับงวดประกอบด้วย ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ภาษีเงินได้จะรับรู ้ใน กําไรหรื อขาดทุน ยกเว้นส่ วนภาษีเงินได้ที่เกี่ยวข้องกับรายการที่รับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น หรื อรับรู ้โดยตรงไปยัง ส่ วนของเจ้าของ ในกรณี น้ ีภาษีเงินได้ตอ้ งรับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น หรื อโดยตรงไปยังส่ วนของเจ้าของตามลําดับ ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั คํานวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีอากรที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อที่คาดได้ค่อนข้างแน่วา่ จะมี ผลบังคับใช้ภายในสิ้ นรอบระยะเวลาที่รายงานในประเทศที่บริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ได้ดาํ เนิ นงานและเกิ ดรายได้ทางภาษี ผูบ้ ริ หารจะประเมินสถานะของการยืน่ แบบแสดงรายการภาษีเป็ นงวด ๆ ในกรณี ที่มีสถานการณ์ที่การนํากฎหมายภาษีไปปฏิบตั ิ ขึ้นอยูก่ บั การตีความและจะตั้งประมาณการค่าใช้จ่ายภาษีที่เหมาะสมจากจํานวนที่คาดว่าจะต้องจ่ายชําระภาษีแก่หน่วยงานจัดเก็บ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีต้ งั เต็มจํานวนตามวิธีหนี้สิน เมื่อเกิดผลต่างชัว่ คราวระหว่างฐานภาษีของสิ นทรัพย์และหนี้สิน และราคาตาม บัญชี ที่แสดงอยูใ่ นงบการเงิน อย่างไรก็ตามกลุ่มกิ จการจะไม่รับรู ้ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ที่เกิ ดจากการรับรู ้เริ่ มแรกของรายการ สิ นทรัพย์หรื อรายการหนี้ สินที่เกิดจากรายการที่ไม่ใช่การรวมธุรกิจ และ ณ วันที่เกิดรายการ รายการนั้นไม่มีผลกระทบต่อกําไร หรื อขาดทุนทั้งทางบัญชี หรื อทางภาษี ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีคาํ นวณจากอัตราภาษี (และกฎหมายภาษีอากร) ที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อที่ คาดได้ค่ อนข้างแน่ ว่าจะมี ผลบังคับใช้ภายในสิ้ นรอบระยะเวลาที่ รายงาน และคาดว่าอัตราภาษี ดังกล่ าวจะนําไปใช้ เมื่อสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที่เกี่ยวข้องได้ใช้ประโยชน์ หรื อหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีได้มีการจ่ายชําระ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจะรับรู ้หากมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ว่ากลุ่มกิจการจะมีกาํ ไรทางภาษีเพียงพอที่จะนํา จํานวนผลต่างชัว่ คราวนั้นมาใช้ประโยชน์ กลุ่มกิจการได้ต้ งั ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยพิจารณาจากผลต่างชัว่ คราวของ เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยที่ตอ้ งเสี ยภาษีเว้นแต่กลุ่มกิจการสามารถควบคุมจังหวะเวลาของการกลับรายการผลต่างชัว่ คราวและ การกลับรายการผลต่างชัว่ คราวมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ จะไม่เกิดขึ้นได้ภายในระยะเวลาที่คาดการณ์ได้ในอนาคต สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจะแสดงหักกลบกันก็ต่อเมื่อกิจการมีสิทธิ ตามกฎหมายที่ จะนําสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั มาหักกลบกับหนี้ สินภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั และทั้งสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอ ตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีเกี่ยวข้องกับภาษีเงินได้ที่ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงานเดียวกันโดย การเรี ยกเก็บเป็ นหน่วยภาษีเดียวกันหรื อหน่วยภาษีต่างกันซึ่ งตั้งใจจะจ่ายหนี้ สินและสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปั จจุบนั ด้วยยอดสุ ทธิ

40


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.17 ผลประโยชน์ พนักงาน ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ กลุ่มกิ จการได้กาํ หนดโครงการผลประโยชน์เมื่ อเกษี ยณอายุในหลายรู ปแบบ กลุ่มกิ จการมี ท้ งั โครงการสมทบเงินและ โครงการผลประโยชน์ •

สําหรับโครงการสมทบเงิน กลุ่มกิจการจะจ่ายสมทบให้กบั ผูบ้ ริ หารกองทุนของเอกชน ตามเกณฑ์สญ ั ญา หรื อ ตามสมัครใจ กลุ่มกิจการไม่มีภาระผูกพันที่จะจ่ายเงินเพิ่มอีกเมื่อได้จ่ายเงินสมทบไปแล้ว เงินสมทบจะถูกรับรู ้ เป็ นค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานเมื่อถึงกําหนดชําระ

สําหรับโครงการผลประโยชน์คือโครงการบําเหน็จบํานาญที่ไม่ใช่โครงการสมทบเงินซึ่งจะกําหนดจํานวนเงิน ผลประโยชน์ที่พนักงานจะได้รับเมื่ อเกษียณอายุ โดยส่ วนใหญ่จะขึ้นอยู่กบั หลายปั จจัย เช่ น อายุ จํานวนปี ที่ให้บริ การ และค่าตอบแทน

หนี้ สินสําหรับโครงการผลประโยชน์จะรับรู ้ในงบแสดงฐานะการเงินด้วยมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพัน ณ วันที่สิ้นรอบ ระยะเวลารายงาน ภาระผูกพันนี้คาํ นวณโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยอิสระทุกปี ด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ ซึ่ งมูลค่าปั จจุบนั ของโครงการผลประโยชน์จะประมาณโดยการคิดลดกระแสเงินสดออกในอนาคต โดยใช้อตั ราผลตอบแทน ในตลาดของพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเป็ นสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินที่จะจ่ายภาระผูกพัน และวันครบกําหนดของพันธบัตรรัฐบาล ใกล้เคียงกับระยะเวลาที่ตอ้ งชําระภาระผูกพันในภาระผูกพันโครงการ กําไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยเกิดขึ้นจากการปรับปรุ งจากประสบการณ์หรื อการ เปลี่ยนแปลงในข้อสมมติฐานจะต้องรับรู ้ในส่ วนของเจ้าของผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นในงวดที่เกิดขึ้น และได้รวมอยูใ่ น กําไรสะสมในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่ วนของเจ้าของ ต้นทุนบริ การในอดีตจะถูกรับรู ้ทนั ทีในกําไรหรื อขาดทุน 2.18 การจ่ ายโดยใช้ ห้ ุนเป็ นเกณฑ์ กลุ่มกิจการบันทึกผลตอบแทนพนักงานโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ โดยที่กลุ่มกิจการได้รับบริ การจากพนักงานเป็ นสิ่ งตอบแทน สําหรับสิ ทธิการซื้ อหุน้ ที่กิจการ (หรื อผูถ้ ือหุน้ ของกลุ่มกิจการ) มอบให้ มูลค่ายุติธรรมของบริ การของพนักงานเพื่อแลกเปลี่ยน กับ การให้สิท ธิ ซ้ื อหุ ้น จะรั บ รู ้ เป็ นค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จและสํารองอื่ น ในส่ วนของเจ้าของ จํานวนรวม ที่บนั ทึกเป็ นค่าใช้จ่ายจะอ้างอิงจากมูลค่าของมูลค่ายุติธรรมของสิ ทธิ ซ้ื อหุ ้น ณ วันที่กิจการ (หรื อเจ้าของของกลุ่มกิจการ) แสดงความจํานงว่าจะมอบให้พนักงาน เมื่ อมี การใช้สิท ธิ กลุ่มกิ จการจะออกหุ ้น ใหม่ สิ่ งตอบแทนที่ ได้รับสุ ท ธิ ด้วยต้นทุ นในการทํารายการทางตรงจะบันทึ ก ไปยังทุนเรื อนหุน้ (มูลค่าตามบัญชี) และ ส่ วนเกินมูลค่าหุน้

41


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.19 สิ นทรัพย์ ทางการเงินและหนีส้ ิ นทางการเงิน สิ น ทรั พ ย์ท างการเงิ น ที่ สําคัญ ซึ่ งได้แสดงในงบแสดงฐานะการเงิ น ประกอบด้วย เงิ น สดและรายการเที ยบเท่ าเงิ น สด ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่น เงินให้กูย้ มื ระยะสั้นแก่บริ ษทั อื่น บริ ษทั ร่ วมและบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน รายการบางรายการของ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินฝากธนาคารที่ติดภาระคํ้าประกัน และสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี้ สินทางการเงินที่แสดงใน งบแสดงฐานะการเงินประกอบด้วย เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่น รายการบางรายการ ของหนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน และหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ซึ่งนโยบายการบัญชีเฉพาะ สําหรับรายการแต่ละรายการได้เปิ ดเผยแยกไว้ในแต่ละหัวข้อที่เกี่ยวข้อง 2.20 ประมาณการหนีส้ ิ น - ทั่วไป ประมาณการหนี้ สินจะรับรู ้ก็ต่อเมื่อ กลุ่มกิจการมีภาระผูกพันในปั จจุบนั ตามกฎหมายหรื อตามข้อตกลงซึ่ งจัดทําไว้อนั เป็ น ผลสื บเนื่ องมาจากเหตุการณ์ ในอดี ต ซึ่ งการชําระภาระผูกพันนั้นมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ว่าจะส่ งผลให้กลุ่มกิ จการ ต้องสู ญเสี ยทรัพยากรออกไปและสามารถประมาณการจํานวนที่ตอ้ งจ่ายได้อย่างน่าเชื่อถือ ในกรณี ที่มีภาระผูกพันที่คล้ายคลึงกันหลายรายการ กลุ่มกิจการกําหนดความน่าจะเป็ นที่กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรเพื่อจ่าย ชําระภาระผูกพันเหล่านั้น โดยพิจารณาจากความน่ าจะเป็ นโดยรวมของภาระผูกพันทุ กประเภท แม้ว่าความเป็ นไปได้ ค่อนข้างแน่ที่กลุ่มกิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรเพื่อชําระภาระผูกพันบางรายการที่จดั อยูใ่ นประเภทเดียวกันจะมีระดับตํ่า กลุ่มกิจการจะวัดมูลค่าของจํานวนประมาณการหนี้สิน โดยใช้มูลค่าปั จจุบนั ของรายจ่ายที่คาดว่าจะต้องนํามาจ่ายชําระภาระผูกพัน โดยใช้อตั ราก่อนภาษีซ่ ึ งสะท้อนถึงการประเมินสถานการณ์ ตลาดในปั จจุบนั ของมูลค่าของเงินตามเวลาและความเสี่ ยง เฉพาะของหนี้ สิน ที่ กาํ ลังพิจารณาอยู่ การเพิ่ มขึ้ นของประมาณการหนี้ สิน เนื่ องจากมู ลค่าของเงิ นตามเวลา จะรั บรู ้ เป็ น ดอกเบี้ยจ่าย 2.21 การรับรู้ รายได้ รายได้ประกอบด้วยมูลค่ายุติธรรมที่จะได้รับจากการขายสิ นค้าและบริ การซึ่ งเกิดขึ้นจากกิจกรรมตามปกติของกลุ่มกิจการ รายได้จะแสดงด้วยจํานวนเงินสุ ทธิจากภาษีขาย เงินคืนและส่ วนลด โดยไม่รวมการขายภายในกลุ่มกิจการสําหรับงบการเงินรวม รายได้จากการขายสิ นค้ารับรู ้เมื่อความเสี่ ยงและผลตอบแทนที่เป็ นสาระสําคัญของความเป็ นเจ้าของสิ นค้าได้โอนไปยังผูซ้ ้ื อแล้ว รายได้จากการให้บริ การรับรู ้เมื่อให้บริ การในงวดเดียวกับที่การให้บริ การเสร็ จสิ้ นลง รายได้ตามสัญญารับรู ้โดยอ้างอิงตามขั้นความสําเร็ จของระดับบริ การที่ทาํ เสร็ จแล้ว ดูนโยบายการบัญชีขอ้ 2.8 สัญญาก่อสร้าง รายได้อื่นรับรู ้ตามเกณฑ์ดงั นี้ รายได้ดอกเบี้ยรับรับรู ้ตามเกณฑ์สัดส่ วนของเวลาโดยคํานึ งถึงอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริ งของช่วงเวลาจนถึงวันครบอายุและ คํานึงถึงจํานวนเงินต้นที่เป็ นยอดคงเหลือในบัญชีสาํ หรับการบันทึกค้างรับของกลุ่มกิจการ 42


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.22 ต้ นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินประกอบด้วย ดอกเบี้ยจ่ายจากเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน และดอกเบี้ยจ่ายจากหนี้สินภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน 2.23 การจ่ ายเงินปันผล เงิ น ปั น ผลที่ จ่ายไปยังผูถ้ ื อ หุ ้น ของบริ ษ ทั จะรั บ รู ้ ในด้านหนี้ สิ น ในงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จการในรอบ ระยะเวลาบัญชี ซึ่งที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ได้อนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผล 2.24 ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงาน ส่ วนงานดําเนิ น งานได้ถู ก รายงานในลัก ษณะเดี ยวกับ รายงานภายในที่ นําเสนอให้ผูม้ ี อ าํ นาจตัด สิ น ใจสู งสุ ด ด้านการ ดําเนิ นงาน ผูม้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ นงานหมายถึงบุคคลที่มีหน้าที่ในการจัดสรรทรัพยากรและประเมินผล การปฏิบตั ิงานของส่ วนงานดําเนินงาน ซึ่งพิจารณาว่าคือ คณะกรรมการบริ ษทั ที่ทาํ การตัดสิ นใจเชิงกลยุทธ์

3

การจัดการความเสี่ ยงทางการเงิน 3.1

ปัจจัยความเสี่ ยงทางการเงิน กิจกรรมของกลุ่มกิ จการย่อมมีความเสี่ ยงทางการเงินที่ หลากหลายซึ่ งได้แก่ ความเสี่ ยงจากตลาด (รวมถึงความเสี่ ยงจาก อัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ ยงด้านมูลค่ายุติธรรมอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ ยงด้านกระแสเงินสด อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ ยงด้านราคา) ความเสี่ ยงด้านการให้สินเชื่อ และความเสี่ ยงด้านสภาพคล่อง แผนการจัด การความเสี่ ย งโดยรวมของกลุ่ ม กิ จ การจึ งมุ่ ง เน้น ความผัน ผวนของตลาดการเงิ น และแสวงหาวิธี ก ารลด ผลกระทบที่ทาํ ให้เสี ยหายต่อผลการดําเนินงานทางการเงินของกลุ่มกิจการให้เหลือน้อยที่สุดเท่าที่เป็ นไปได้ การจัดการความเสี่ ยงดําเนิ นงานโดยฝ่ ายการเงิน เป็ นไปตามนโยบายที่ อนุ มตั ิ โดยคณะกรรมการบริ ษทั ฝ่ ายการเงินของ กลุ่มกิจการจะชี้ประเด็น ประเมิน และป้องกันความเสี่ ยงทางการเงินด้วยการร่ วมมือกันทํางานอย่างใกล้ชิดกับหน่วยปฏิบตั ิงานต่างๆ ภายในกลุ่มกิจการ

43


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 3

การจัดการความเสี่ ยงทางการเงิน (ต่อ) 3.1

ปัจจัยความเสี่ ยงทางการเงิน (ต่อ) 3.1.1 ความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่ องจากกลุ่มกิจการดําเนิ นงานระหว่างประเทศจึงย่อมมีความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศซึ่ งเกิดจาก สกุลเงินที่หลากหลาย ความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นจากรายการธุรกรรมในอนาคต การรับรู ้รายการของสิ นทรัพย์ และหนี้สิน และเงินลงทุนสุ ทธิในหน่วยงานต่างประเทศ กลุ่มกิจการป้ องกันความเสี่ ยงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่เกิดจากสัญญาซึ่ งผูกมัดให้ซ้ื อสิ นค้าจากต่างประเทศ สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าที่ใช้ในแผนป้ องกันความเสี่ ยงจะมีช่วงอายุครบกําหนดไม่เกิน 1 เดือนถึง 4 เดือน ซึ่งสอดคล้องกับข้อผูกมัดการซื้อที่เกี่ยวข้อง 3.1.2 ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ย รายได้และกระแสเงินสดจากการดําเนิ นงานของกลุ่มกิ จการส่ วนใหญ่ ไม่ข้ ึนกับการเปลี่ ยนแปลงอัตราดอกเบี้ ย ในตลาด ธุรกรรมทั้งหมดที่ใช้อนุพนั ธ์ดา้ นอัตราดอกเบี้ยต้องได้รับอนุมตั ิจากผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายการเงินก่อนเข้าทํารายการ กลุ่มกิจการไม่มีสินทรัพย์ที่ตอ้ งอ้างอิงอัตราดอกเบี้ยอย่างมีนยั สําคัญ 3.1.3 ความเสี่ ยงด้านการให้สินเชื่อ กลุ่มกิ จการไม่มีการกระจุกตัวอย่างมี นัยสําคัญของความเสี่ ยงทางด้านสิ นเชื่ อ กลุ่มกิ จการมี นโยบายที่ เหมาะสม เพื่ อ ทําให้เชื่ อ มั่น ได้ว่าได้ข ายสิ น ค้าและให้บ ริ การแก่ ลูก ค้าที่ มี ป ระวัติสิ น เชื่ อ อยู่ในระดับ ที่ เหมาะสมคู่ สัญ ญา ในอนุ พนั ธ์ทางการเงินและรายการเงินสดได้เลือกที่จะทํารายการกับสถาบันการเงินที่มีระดับความน่ าเชื่ อถือสู ง กลุ่มกิจการมีนโยบายจํากัดวงเงินธุรกรรมการให้สินเชื่อกับสถาบันการเงินแต่ละแห่งอย่างเหมาะสม 3.1.4 ความเสี่ ยงด้านสภาพคล่อง จํานวนเงินสดที่ มีอย่างเพียงพอย่อมแสดงถึงการจัดการความเสี่ ยงของสภาพคล่องอย่างรอบคอบ ความสามารถ ในการหาแหล่งเงินทุนพบได้จากการที่มีวงเงินสิ นเชื่ อในการกูย้ ืมที่ได้มีการตกลงไว้แล้วอย่างเพียงพอ ส่ วนงาน บริ หารการเงินของกลุ่มกิจการได้ต้ งั เป้ าหมายว่าจะใช้ความยืดหยุน่ ในการระดมเงินทุนโดยการรักษาวงเงินสิ นเชื่อ ที่ตกลงไว้ให้เพียงพอในระดับหนึ่ ง เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของกระแสเงินสดที่อาจจะเกิดขึ้นได้ นอกจากนี้ กลุ่มกิจการได้ฝากเงินสดและเงินฝากธนาคารไว้กบั สถาบันการเงินที่มีคุณภาพด้านความน่าเชื่อถือสู ง

44


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 3

การจัดการความเสี่ ยงทางการเงิน (ต่อ) 3.2

การประมาณมูลค่ ายุติธรรม ตารางต่อไปนี้แสดงการวิเคราะห์เครื่ องมือทางการเงินที่วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมจําแนกตามวิธีการประมาณมูลค่า ความ แตกต่างของระดับข้อมูลสามารถแสดงได้ดงั นี้ • ราคาเสนอซื้อขาย (ไม่ตอ้ งปรับปรุ ง) ในตลาดที่มีสภาพคล่องสําหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินอย่างเดียวกัน (ข้อมูลระดับ 1) • ข้อมูลอื่ นนอกเหนื อจากราคาเสนอซื้ อขายซึ่ งรวมอยู่ในข้อมูลระดับ 1 ทั้งที่สามารถสังเกตได้โดยตรง (ได้แก่ ข้อมูล ราคา) หรื อโดยอ้อม (ได้แก่ ข้อมูลที่คาํ นวณมาจากราคา) สําหรับสิ นทรัพย์น้ นั หรื อหนี้สินนั้น (ข้อมูลระดับที่ 2) • ข้อมูลสําหรับสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สินซึ่ งไม่ได้มาจากข้อมูลที่สามารถสังเกตได้จากตลาด (ข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้) (ข้อมูลระดับที่ 3) สิ นทรัพย์ทางการเงิน อันได้แก่ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ อื่นรวมถึงสิ นทรัพย์ อนุพนั ธ์ทางการเงิน และหนี้สินทางการเงินอันได้แก่ เงินกูย้ มื ระยะสั้น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่นรวมถึงหนี้สินอนุพนั ธ์ทางการเงิน มีมูลค่ายุติธรรมใกล้เคียงกับราคาตามบัญชีเนื่องจากมีระยะเวลาครบกําหนดที่ส้ นั ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ตารางต่อไปนี้แสดงสิ นทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินของกลุ่มกิจการ ที่วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ข้ อมูล ระดับ 1

ข้ อมูล ระดับ 2

ข้ อมูล ระดับ 3

บาท

บาท

บาท

สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ ทางการเงิน สิ นทรัพย์ตราสารอนุพนั ธ์ สิ นทรัพย์ รวม หนีส้ ิ น หนีส้ ิ นทางการเงิน หนี้สินตราสารอนุพนั ธ์ หนีส้ ิ นรวม

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 รวม

ข้ อมูล ระดับ 1

ข้ อมูล ระดับ 2

ข้ อมูล ระดับ 3

รวม

บาท

บาท

บาท

บาท

บาท

-

599,019 599,019

-

599,019 599,019

-

-

-

-

-

-

-

-

-

106,367 106,367

-

106,367 106,367

มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า กําหนดโดยใช้อตั ราที่กาํ หนดโดยธนาคารคู่สญ ั ญาของกลุ่มกิจการ เสมือนว่าได้ยกเลิกสัญญาเหล่านั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 และอยู่ในข้อมูลระดับ 2 ของลําดับขั้น มูลค่ายุติธรรม ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเทคนิคในการประเมินมูลค่าในระหว่างงวด ขั้นตอนการประเมินมูลค่ ายุติธรรม หน่วยงานด้านการเงินของกลุ่มกิจการได้ทาํ การประเมินมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ทางการเงินสําหรับการรายงานในงบการเงิน ซึ่งได้รายงานโดยตรงต่อผูบ้ ริ หารด้านการเงินในแต่ละไตรมาส 45


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 4

ประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ข้ อสมมติฐานและการใช้ ดุลยพินิจ การประมาณการ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจ ได้มีการประเมินทบทวนอย่างต่อเนื่ อง และอยูบ่ นพื้นฐานของประสบการณ์ ในอดีตและปั จจัยอื่น ๆ ซึ่งรวมถึงการคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ในอนาคตที่เชื่อว่ามีเหตุผลในสถานการณ์ขณะนั้น ประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ และข้ อสมมติฐาน กลุ่มกิ จการมีการประมาณการทางบัญชี และใช้ขอ้ สมมติฐานที่เกี่ ยวข้องกับเหตุการณ์ ในอนาคต ผลของประมาณการทางบัญชี อาจไม่ตรงกับผลที่เกิดขึ้นจริ ง ประมาณทางการบัญชีที่สาํ คัญและข้อสมมติฐานที่มีความเสี่ ยงอย่างเป็ นสาระสําคัญที่อาจเป็ นเหตุให้เกิด การปรับปรุ งยอดคงเหลือของสิ นทรัพย์และหนี้สินในรอบระยะเวลาบัญชีหน้า มีดงั นี้ (ก) การรับรู ้รายได้ กลุ่มกิจการรับรู ้รายได้ตามสัญญาโดยอ้างอิงตามขั้นความสําเร็ จของงาน สําหรับสัญญาบริ การที่มีราคาคงที่ กลุ่มกิจการกําหนด ขั้นความสําเร็ จของงานโดยใช้วธิ ีอตั ราส่ วนของต้นทุนงานตามสัญญาที่เกิดขึ้นของงานที่ทาํ เสร็ จจนถึงปั จจุบนั กับประมาณการ ต้นทุนงานตามสัญญาทั้งสิ้ น (ข) ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรั พ ย์ภาษี เงิน ได้รอการตัดบัญ ชี เกิ ดจากผลแตกต่างชัว่ คราวบางรายการซึ่ งมี ความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ที่จะใช้สิท ธิ ประโยชน์ทางภาษี โดยการประมาณการของผูบ้ ริ หาร ซึ่ งมีขอ้ สมมติฐานจากการคาดการณ์ ผลกําไรที่คาดว่าจะเกิ ดขึ้นในอนาคต และปรั บปรุ งด้วยปั จจัยความผันผวนภายนอกอย่างอื่ นที่ คาดว่าจะกระทบต่อประมาณผลกําไรที่ คาดว่าจะเกิ ดขึ้น รวมทั้ง การพิจารณาการใช้ผลขาดทุนทางภาษีในอดีต ซึ่งผูบ้ ริ หารได้พิจารณาด้วยหลักความระมัดระวังรอบคอบ (ค) ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน มูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานขึ้นอยูก่ บั หลายปั จจัยที่ใช้ในการคํานวณตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย โดยมี ขอ้ สมมติ ฐานหลายตัว รวมถึงข้อสมมติฐานเกี่ ยวกับอัตราคิดลด การเปลี่ยนแปลงของข้อสมมติฐานเหล่านี้ จะส่ งผล กระทบต่อมูลค่าของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน กลุ่มกิ จการได้พิจารณาอัตราคิดลดที่ เหมาะสมในแต่ละปี ซึ่ งได้แก่อตั ราดอกเบี้ ยที่ ควรจะใช้ในการกําหนดมูลค่าปั จจุบนั ของ ประมาณการกระแสเงิ นสดที่ คาดว่าจะต้องจ่ ายภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน ในการพิ จารณาอัตราคิ ดลดที่ เหมาะสม กลุ่มกิจการพิจารณาใช้ อัตราผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเป็ นสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินที่ตอ้ งจ่ายชําระผลประโยชน์ เมื่อเกษียณอายุ และมีอายุครบกําหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาที่ตอ้ งจ่ายชําระภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานที่เกี่ยวข้อง ข้อสมมติฐานหลักอื่นๆสําหรับภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานอ้างอิงกับสถานการณ์ปัจจุบนั ในตลาด ข้อมูลเพิ่มเติมเปิ ดเผย ในหมายเหตุ 27

46


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 5

การจัดการความเสี่ ยงในส่ วนของทุน วัตถุประสงค์ของกลุ่มกิจการในการบริ หารทุนของกลุ่มกิจการนั้นเพื่อดํารงไว้ซ่ ึ งความสามารถในการดําเนินงานอย่างต่อเนื่องของ กลุ่มกิ จการเพื่อ สร้ างผลตอบแทนต่อผูถ้ ื อหุ ้นและเป็ นประโยชน์ต่อ ผูท้ ี่ มีส่วนได้เสี ยอื่ น และเพื่อดํารงไว้ซ่ ึ งโครงสร้ างของทุ น ที่เหมาะสมเพือ่ ลดต้นทุนทางการเงินของทุน ในการดํารงไว้หรื อปรับโครงสร้างของทุน กลุ่มกิจการอาจปรับนโยบายการจ่ายเงินปั นผลให้กบั ผูถ้ ือหุ ้น การคืนทุนให้แก่ผถู ้ ือหุ ้น การออกหุน้ ใหม่ หรื อการขายทรัพย์สินเพื่อลดภาระหนี้สิน

6

ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงานของกลุ่มกิจการ ในการวัดผลการดําเนิ นงานของกลุ่มกิจการ กลุ่มกิจการมีการพิจารณาจากกําไรขั้นต้นจากรายได้ต่างๆ โดยจัดประเภทของรายได้ ออกเป็ น รายได้ตามสัญญา รายได้จากการขาย รายได้จากการให้บริ การ และรายได้จากกิ จการร่ วมค้า ยอดรายได้ได้ตดั รายการ ระหว่างกันออกแล้ว กําไรขั้นต้นคํานวณจากยอดรายได้หกั ด้วยต้นทุนงานตามสัญญาและต้นทุนขายและต้นทุนการให้บริ การ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 รายได้ ตามสั ญญา บาท

รายได้ จากการขาย บาท

รายได้ จาก การให้ บริการ บาท

รายได้

926,160,095

12,451,108

119,626,520

กําไร(ขาดทุน)ขั้นต้น

103,979,736

5,917,780

42,828,984

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร และต้นทุนทางการเงินที่ไม่ได้ปันส่วน รายได้อื่นที่ไม่ได้ปันส่ วน กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ไม่ได้ปันส่ วน กําไร(ขาดทุน)จากการตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ถาวร ที่ยงั ไม่ได้ปันส่ วน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่ไม่ได้ปันส่ วน กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จอื่นที่ยงั ไม่ปันส่ วน กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี หัก ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จรวมส่ วนที่เป็ น ของบริ ษทั ใหญ่

รายได้ จาก การดําเนินงาน ร่ วมกัน บาท (11,989,961)

รวม บาท 1,058,237,723 140,736,539 (254,738,677) 12,281,881 9,321,290 (179,855) 1,290,600 10,499 (91,277,723) 2,170 (91,275,553)

47


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 6

ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงานของกลุ่มกิจการ (ต่อ) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 รายได้ ตามสั ญญา บาท

รายได้ จากการขาย บาท

รายได้ จาก การให้ บริการ บาท

รายได้ จาก การดําเนินงาน ร่ วมกัน บาท

รายได้

972,726,577

31,571,242

94,118,676

44,214,330

1,142,630,825

กําไรขั้นต้น

167,636,647

3,034,781

44,182,115

35,343,928

250,197,471

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร และต้นทุนทางการเงินที่ไม่ได้ปันส่วน รายได้อื่นที่ไม่ได้ปันส่ วน กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ไม่ได้ปันส่ วน กําไร(ขาดทุน)จากการตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ถาวร ที่ยงั ไม่ได้ปันส่ วน ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่ไม่ได้ปันส่ วน กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จอื่นที่ยงั ไม่ปันส่ วน กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี หัก ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จรวมส่ วนที่เป็ นของ

รวม บาท

(223,925,458) 16,342,416 2,815,422 (182,341) (9,508,322) (27,430) 35,711,758 153 35,711,911

บริ ษทั ใหญ่

กลุ่มกิจการไม่ได้ปันส่ วนสิ นทรัพย์แยกตามส่ วนงาน รายได้ของกลุ่มกิจการจากลูกค้ารายใหญ่สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีจาํ นวน 362.84 ล้านบาท และ 326.10 ล้านบาท ตามลําดับ รายได้ของกลุ่มกิ จการแยกตามเขตภูมิศาสตร์ โดยกําหนดจากสถานที่ ต้ งั ของลูกค้าสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 แสดงได้ดงั นี้

ประเทศไทย ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประเทศอื่น ๆ รวม

พ.ศ. 2559 พันบาท

พ.ศ. 2558 พันบาท

620,180 13,513 424,545 1,058,238

672,396 101,675 368,560 1,142,631

48


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 7

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด

เงินสด เงินฝากธนาคาร - ประเภทกระแสรายวัน - ประเภทออมทรัพย์ - ประเภทเงินฝากประจํา

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

318,120 43,503,495 27,408 11,000 43,860,023

318,120 42,711,245 27,408 11,000 43,067,773

188,312 45,170,129 28,008 3,910,000 49,296,449

154,046 44,406,708 28,008 3,910,000 48,498,762

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ และเงินฝากธนาคารประเภทเงินฝากประจําระยะสั้นที่มีกาํ หนด ระยะเวลา 3 เดื อ น มี อ ัตราดอกเบี้ ยร้ อยละ 0.04 ต่ อปี และ 0.80 - 1.00 ต่ อ ปี ตามลําดับ (ณ วันที่ 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2558 : ร้ อยละ 0.028 - 1 ต่อปี และ 0.80 - 1.50 ต่อปี ตามลําดับ) 8

ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีอ้ ื่น (สุ ทธิ)

ลูกหนี้การค้า - บริ ษทั อื่น - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 37 ข)) หัก ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ - ลูกหนี้การค้า - บริ ษทั อื่น ลูกหนี้การค้า - ยังไม่ออกใบแจ้งหนี้ งานระหว่างทําส่ วนที่เกินกว่าเงินรับล่วงหน้า ตามสัญญา (สุ ทธิ) (หมายเหตุ 10 ก) ลูกหนี้อื่น - บริ ษทั อื่น - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 37 ข)) เงินประกันผลงานค้างรับ เงินทดรองจ่าย - บริ ษทั อื่น - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 37 ข)) ค่าธรรมเนียมธนาคารรอตัดบัญชี ดอกเบี้ยค้างรับ - บริ ษทั อื่น - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 37 ข)) ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ลูกหนี้เงินให้กยู้ มื พนักงาน

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

143,582,999 156,092 143,739,091

195,869,894 48,072,238 243,942,132

141,843,053 1,133,836 142,976,889

194,120,781 48,150,382 242,271,163

(3,280,525) 140,458,566 -

(4,487,664) 239,454,468 72,108,943

(2,304,025) 140,672,864 -

(3,311,164) 238,959,999 72,108,943

224,657,813

122,200,036

224,657,813

120,544,673

911,555 1,565,000

273,367 4,210,776 -

1,107,335 1,372,500

230,973 4,298,387 -

607,300 10,950 -

1,132,527 3,538,312 22,990,969

562,817 10,950 -

952,817 3,538,312 22,990,969

344,645 5,060,531 24,986 373,641,346

3,805,227 96,371 469,810,996

344,645 5,053,042 24,986 373,806,952

348,389 3,682,798 96,371 467,752,631 49


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 8

ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีอ้ ื่น (สุ ทธิ) (ต่อ) ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า แยกตามอายุหนี้ที่คา้ งชําระได้ดงั นี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ลูกหนี้ที่ยงั ไม่ถึงกําหนดชําระ เกินกว่ากําหนดเวลาชําระหนี้ 1 - 30 วัน 31 - 60 วัน 61 - 90 วัน 91 - 180 วัน 181 - 365 วัน มากกว่า 365 วัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

102,239,377

51,677,842

102,508,245

51,495,301

16,831,738 14,974,622 609,163 2,287,086 2,798,882 3,998,223 143,739,091

60,518,350 5,844,808 1,573,754 76,074,752 20,540,815 27,711,811 243,942,132

16,777,168 14,974,622 609,163 2,287,086 2,798,882 3,021,723 142,976,889

60,370,690 5,680,540 1,573,754 76,074,752 19,364,315 27,711,811 242,271,163

ยอดคงเหลือของลูกหนี้การค้า - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน แยกตามอายุหนี้ที่คา้ งชําระได้ดงั นี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ลูกหนี้ที่ยงั ไม่ถึงกําหนดชําระ เกินกว่ากําหนดเวลาชําระหนี้ 1 - 30 วัน 31 - 60 วัน 61 - 90 วัน 91 - 180 วัน 181 - 365 วัน มากกว่า 365 วัน

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

128,400

15,883,588

1,106,144

15,961,732

27,692 156,092

668 19,020 13,403,837 18,765,125 48,072,238

27,692 1,133,836

668 19,020 13,403,837 18,765,125 48,150,382

50


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 9

ลูกหนีพ้ นักงานตามสั ญญาเช่ าการเงิน (สุ ทธิ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ลูกหนี้พนักงานภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงินมีอายุของสัญญาโดยเฉลี่ย 5 ปี และคิดดอกเบี้ยในอัตราคงที่ตามระบุในสัญญา ซึ่ งจํานวนที่ถึงกําหนดจ่าย ตามสัญญาเป็ นดังนี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ จํานวนเงินที่ถึงกําหนดจ่ ายชําระตามสั ญญา ไม่ เกิน 1 ปี พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ลูกหนี้พนักงานตามสัญญาเช่าการเงิน ดอกเบี้ยที่ยงั ไม่ถือเป็ นรายได้ หัก ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ

208,380 (22,785) 185,595 185,595

208,380 (22,785) 185,595 185,595

1 - 5 ปี พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 590,410 (64,558) 525,852 525,852

798,790 (87,343) 711,447 711,447

รวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 798,790 (87,343) 711,447 711,447

1,007,170 (110,128) 897,042 897,042

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ลูกหนี้พนักงานตามสัญญาเช่าการเงินของกลุ่มกิจการไม่มียอดหนี้คา้ งชําระ

51


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 10

งานระหว่ างทําตามสั ญญา ก)

งานระหว่ างทําส่ วนที่เกินกว่ าเงินรับล่ วงหน้ าตามสั ญญา (สุ ทธิ) งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท งานระหว่างทําตามสัญญา กําไรตามส่ วนงานที่ทาํ เสร็ จ ขาดทุนตามส่ วนงานที่ทาํ เสร็ จ หัก เงินเรี ยกเก็บตามสัญญา หัก ค่าเผือ่ ผลขาดทุนตามสัญญา

ข)

256,524,161 40,300,902 296,825,063 (72,167,250) 224,657,813 224,657,813

162,942,287 37,500,848 (277,942) 200,165,193 (77,965,157) 122,200,036 122,200,036

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 256,524,161 40,300,902 296,825,063 (72,167,250) 224,657,813 224,657,813

160,743,470 37,065,189 (277,942) 197,530,717 (76,986,044) 120,544,673 120,544,673

เงินรับล่ วงหน้ าตามสั ญญาส่ วนที่เกินกว่ างานระหว่ างทํา (สุ ทธิ) งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท เงินเรี ยกเก็บตามสัญญา หัก งานระหว่างทําตามสัญญา กําไรตามส่ วนงานที่ทาํ เสร็ จ

38,170,756 (18,366,588) (1,036,771) 18,767,397

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 38,170,756 (18,366,588) (1,036,771) 18,767,397

-

52


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 11

สิ นค้ าคงเหลือ (สุ ทธิ) งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท สิ นค้าสําเร็ จรู ป สิ นค้าระหว่างผลิต วัตถุดิบ อะไหล่และวัสดุสิ้นเปลือง หัก ค่าเผือ่ สิ นค้าล้าสมัยและเคลื่อนไหวช้า เงินมัดจําค่าซื้อวัตถุดิบ วัตถุดิบระหว่างทาง

12

16,944,895 56,092,759 215,723,063 9,350,996 (4,122,536) 293,989,177 10,089,595 31,028,065 335,106,837

26,071,404 42,938,519 198,329,222 9,224,368 (6,982,578) 269,580,935 13,901,996 12,011,544 295,494,475

14,287,306 43,874,983 197,666,877 8,739,471 (3,170,452) 261,398,185 10,066,752 26,699,498 298,164,435

23,330,535 28,943,283 173,831,992 8,677,802 (6,278,524) 228,505,088 13,811,152 11,677,986 253,994,226

ภาษีมูลค่ าเพิม่ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ภาษีมูลค่าเพิ่มรอขอคืน ภาษีซ้ือยังไม่ถึงกําหนดชําระ ภาษีมูลค่าเพิ่มรอนําส่ ง ภาษีขายยังไม่ถึงกําหนด

13

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

17,431,260 5,259,187 (581,607) (73,464) 22,035,376

17,844,695 2,311,871 (65,890) 20,090,676

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 17,138,609 5,060,122 (73,464) 22,125,267

17,406,100 2,292,191 (65,890) 19,632,401

เงินฝากสถาบันการเงินที่ติดภาระคํา้ ประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 เงินฝากสถาบันการเงินที่ติดภาระคํ้าประกันเป็ นเงินฝากประจําที่มีกาํ หนดระยะเวลา 3 เดือน ถึง 12 เดือน มีอตั ราดอกเบี้ยร้อยละ 1.00 ต่อปี (พ.ศ. 2558 : ร้อยละ 1.10 ต่อปี ) เงินฝากประจําดังกล่าวใช้เป็ นหลักประกัน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (หมายเหตุ 22)

53


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 14

เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย

ชื่ อบริษัท บริ ษทั ช. ทวี เทอร์โมเทค จํากัด

ลักษณะธุรกิจ

จดทะเบียนใน

ผลิตตกแต่งประกอบและ ซ่อมแซมตูส้ าํ หรับบรรจุ และบรรทุกสิ นค้า

ประเทศไทย

สั ดส่ วนการถือหุ้น พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ร้ อยละ ร้ อยละ

99.99

99.99

ทุนชําระแล้ ว (หุ้นสามัญ) พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ล้ านบาท ล้ านบาท

20

20

งบการเงินเฉพาะกิจการ วิธีราคาทุน พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

22,599,950

22,599,950

54


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 15

การดําเนินงานร่ วมกัน เมื่ อวันที่ 2 สิ งหาคม พ.ศ. 2556 บริ ษทั ได้ทาํ สัญ ญาร่ วมกับบริ ษทั แห่ งหนึ่ งเพื่อตั้ง “กิ จการร่ วมค้า ที เอสพี-ซี ทีวี” (ประเภทการ ดําเนิ นงานร่ วมกัน) เพื่อยืน่ เสนองานโครงการติดตั้งระบบไฟฟ้ าแสงสว่างหลอด LED สําหรับอาคารในกํากับของกระทรวงกลาโหม โดยตามสัญญาบริ ษทั แบ่งปั นกําไรหรื อขาดทุนของกิจการร่ วมค้าในอัตราร้อยละ 50 สัญญานี้ มีอายุห้าปี ซึ่ งจะสิ้ นสุ ดในเดือนสิ งหาคม พ.ศ. 2561 และสามารถต่ออายุได้อีกหนึ่งปี ที่อยูข่ องกิจการร่ วมค้าตามที่จดทะเบียนตั้งอยูเ่ ลขที่ 96/25 หมู่ 3 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุ งเทพมหานคร เมื่ อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2556 กิ จการร่ วมค้าได้เข้าทําสัญญาซื้ อขายหลอด LED พร้ อมติดตั้งตามโครงการติ ดตั้งระบบไฟฟ้ า แสงสว่าง LED สําหรับอาคารในกํากับของกระทรวงกลาโหมกับสํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงกลาโหม มูลค่าตามสัญญา เป็ นเงิน 393 ล้านบาท กิจการร่ วมค้าต้องปฏิบตั ิงานตามสัญญาไว้เสร็ จสิ้ นภายในวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2557 รวมทั้งต้องปฏิบตั ิตาม เงื่อนไขอื่น ๆ ตามที่ระบุในสัญญา ณ วัน ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 กิ จ การร่ ว มค้า ที เอสพี - ซี ที วี ได้ถู ก ระงับ การปฏิ บ ัติ ต ามสั ญ ญากับ คู่ สั ญ ญาตามคํา สั่ ง จาก คณะกรรมการติดตามและตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐ (คตร.) ซึ่ งให้กิจการร่ วมค้าชะลอการดําเนิ นการตามโครงการไว้ก่อน อย่างไรก็ตาม ผูบ้ ริ หารได้มีการเจรจากับคู่สัญญาโดยคู่สัญญายินยอมที่จะจ่ายชําระเงินตามสัญญาในส่ วนที่ติดตั้งเสร็ จสิ้ นแล้วทั้งจํานวน และชําระค่าสิ นค้าส่ วนที่เหลือตามราคาทุนของสิ นค้า อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 กิจการร่ วมค้าได้รับหนังสื อยินยอมจากทางสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหมให้ กิจการร่ วมค้าเริ่ มดําเนินการตามโครงการต่อให้แล้วเสร็ จ ซึ่งกิจการร่ วมค้า พีเอสพี - ซีทีวี ได้ดาํ เนินการส่ งมอบหลอด LED ส่ วนที่เหลือ ทั้งหมดให้แก่ สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหมแล้ว เมื่ อ วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ทั้งนี้ กิจการร่ วมค้า ที เอสพี - ซี ทีวี จะต้อ ง คงสถานะไว้อีกอย่างน้อยสามปี ตามเงื่อนไขการรับประกันผลงานตามที่ระบุในสัญญา รายละเอียดเกี่ยวกับการดําเนินงานร่ วมกันมีดงั ต่อไปนี้

ประเภทธุรกิจ กิจการร่ วมค้า ทีเอสพี - ซีทีวี

โครงการติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่าง หลอด LED สําหรับอาคารในกํากับ ของกระทรวงกลาโหม

จัดตั้งขึน้ ใน ประเทศไทย

อัตราร้ อยละของหุ้นที่ถือ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 50

50

กลุ่มกิ จการมี ส่วนได้เสี ยร้ อยละ 50 ในกิ จการร่ วมค้า ที เอสพี - ซี ทีวี ซึ่ งเป็ นผูข้ ายสิ นค้าและให้บริ การในระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง หลอด LED ส่ วนได้เสี ยของกลุ่ มกิ จการในสิ นทรั พย์ หนี้ สิน รายได้และค่าใช้จ่าย ของกิ จการร่ วมค้าซึ่ งรวมอยู่ในงบแสดงฐานะ การเงินและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จมีจาํ นวนเงินดังนี้

55


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 15

การดําเนินงานร่ วมกัน (ต่อ) งบการเงินเฉพาะการดําเนินงานร่ วมกัน พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท สิ นทรัพย์หมุนเวียน

1,486,297

75,304,868

หนี้สินหมุนเวียน

(2,388,054)

(48,123,262)

(901,757)

27,181,606

4,545

44,214,640

(12,326,360)

(33,435,536)

สิ นทรัพย์หมุนเวียนสุ ทธิ รายได้ ค่าใช้จ่าย 16

เงินลงทุนในตราสารหนีท้ ี่ถือจนครบกําหนด เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่ถือจนครบกําหนด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และพ.ศ. 2558 ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาทุน (บาท) ต่ อหน่ วย

จํานวนหน่ วยทีถ่ ือ หลักทรัพย์

ราคาทุน บาท

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

1,000

1,000

1,000

1,000

1,000,000

1,000,000

หุน้ กูด้ อ้ ยสิ ทธิอายุ 10 ปี ครบกําหนด 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2565

เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่ถือจนครบกําหนดสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้

ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี การลงทุนเพิ่ม ราคาตามบัญชีสุทธิปลายปี

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

1,000,000 1,000,000

1,000,000 1,000,000

1,000,000 1,000,000

1,000,000 1,000,000

56


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 17

อสั งหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี การซื้อเพิ่มขึ้น ราคาตามบัญชีสุทธิปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี การซื้อเพิ่มขึ้น ราคาตามบัญชีปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม

งบการเงินรวม และงบการเงิน เฉพาะกิจการ ที่ดนิ บาท 81,577,261 81,577,261 81,577,261 81,577,261 81,577,261 81,577,261

ราคาตามบัญชีสุทธิ

81,577,261 81,577,261

มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

79,382,040

มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

79,382,040

มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนอ้างอิงจากวิธีเปรี ยบเทียบราคาขายโดยใช้การประเมินโดยผูป้ ระเมินอิสระซึ่ งมี คุณสมบัติของผูเ้ ชี่ยวชาญในวิชาชีพ และมีประสบการณ์ในทําเลที่ต้ งั และประเภทของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนที่มีการประเมินนั้น มูลค่ายุติธรรมอยูใ่ นระดับ 2 ของลําดับชั้นมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุ่มกิจการยังไม่มีจาํ นวนเงินที่เกี่ยวข้องกับอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนที่ได้รับรู ้ในกําไรหรื อ ขาดทุน 57


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 18

ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ (สุ ทธิ)

งบการเงินรวม (บาท)

อาคาร

ส่ วนปรับปรุ ง อาคาร

เครื่ องจักร และอุปกรณ์

เครื่ องตกแต่ ง ติดตั้งอุปกรณ์ สํ านักงาน และอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์

5,414,511 (2,305,392) 3,109,119

137,285,687 (49,228,322) 88,057,365

92,991,782 (19,295,337) 73,696,445

132,794,395 (109,655,098) 23,139,297

150,693,277 214,986,402 365,679,679

3,109,119 (661,654) 2,447,465

88,057,365 4,535,250 (6,953,223) 85,639,392

73,696,445 4,176,890 (4,718,914) 73,154,421

365,679,679 365,679,679

5,414,511 (2,967,046) 2,447,465

141,820,937 (56,181,545) 85,639,392

97,168,672 (24,014,251) 73,154,421

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ

ทีด่ นิ

ส่ วนปรับปรุ ง ทีด่ นิ

150,693,277 150,693,277

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี ซื้อสิ นทรัพย์ รับโอนจากงานระหว่างก่อสร้าง รับโอนจากสิ นค้าคงเหลือ จําหน่ายสิ นทรัพย์ - ราคาทุน - ค่าเสื่ อมราคาสะสม ตัดจําหน่าย - ราคาทุน - ค่าเสื่ อมราคาสะสม ค่าเสื่ อมราคา (หมายเหตุ 34) ราคาตามบัญชีสุทธิปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ

ยานพาหนะ

งานระหว่ าง ก่ อสร้ าง

รวม

11,885,353 (6,997,440) 4,887,913

26,560,350 (16,145,308) 10,415,042

7,322,505 7,322,505

564,947,860 (203,626,897) 361,320,963

23,139,297 8,888,426 (801,200) 629,224 (8,924,730) 22,931,017

4,887,913 4,522,001 (29,813) 11,729 (837,649) 817,378 (1,924,387) 7,447,172

10,415,042 58,429,757 639,567 1,100,000 (4,060,710) 66,523,656

7,322,505 33,200,702 (639,567) 39,883,640

361,320,963 328,739,428 1,100,000 (29,813) 11,729 (1,638,849) 1,446,602 (27,243,618) 663,706,442

140,881,621 (117,950,604) 22,931,017

15,539,892 (8,092,720) 7,447,172

86,729,674 (20,206,018) 66,523,656

39,883,640 39,883,640

893,118,626 (229,412,184) 663,706,442

58


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 18

ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ (สุ ทธิ) (ต่อ) งบการเงินรวม (บาท)

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี ซื้อสิ นทรัพย์ รับโอนจากงานระหว่างก่อสร้าง รับโอนจากสิ นค้าคงเหลือ ตัดจําหน่าย - ราคาทุน - ค่าเสื่ อมราคาสะสม ค่าเสื่ อมราคา (หมายเหตุ 34) ราคาตามบัญชีสุทธิปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ

อาคาร

ส่ วนปรับปรุ ง อาคาร

เครื่ องจักร และอุปกรณ์

เครื่ องตกแต่ ง ติดตั้งอุปกรณ์ สํ านักงาน และอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์

2,447,465 (661,868) 1,785,597

85,639,392 229,253 5,081,738 (7,383,424) 83,566,959

73,154,421 15,165,986 10,105,253 (4,792,750) 93,632,910

22,931,017 7,604,480 5,413,512 (12,647,303) 12,487,975 (9,281,068) 26,508,613

5,414,511 (3,628,914) 1,785,597

147,131,928 (63,564,969) 83,566,959

122,439,911 (28,807,001) 93,632,910

141,252,310 (114,743,697) 26,508,613

ทีด่ นิ

ส่ วนปรับปรุ ง ทีด่ นิ

365,679,679 365,679,679 365,679,679 365,679,679

ยานพาหนะ

งานระหว่ าง ก่ อสร้ าง

รวม

7,447,172 4,641,816 (58,311) 37,784 (2,420,727) 9,647,734

66,523,656 4,309,852 3,316,514 1,725,315 (9,483,795) 66,391,542

39,883,640 108,015,826 (23,917,017) 123,982,449

663,706,442 139,967,213 1,725,315 (12,705,614) 12,525,759 (34,023,632) 771,195,483

20,123,397 (10,475,663) 9,647,734

96,081,355 (29,689,813) 66,391,542

123,982,449 123,982,449

1,022,105,540 (250,910,057) 771,195,483

59


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 18

ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ (สุ ทธิ) (ต่อ)

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) เครื่ องตกแต่ ง ติดตั้งอุปกรณ์ สํ านักงาน ส่ วนปรับปรุ ง เครื่ องจักร และอุปกรณ์ อาคาร และอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์

ทีด่ นิ

ส่ วนปรับปรุ ง ทีด่ นิ

ยานพาหนะ

งานระหว่ าง ก่ อสร้ าง

อาคาร

รวม

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ

134,654,601 134,654,601

3,841,450 (2,143,558) 1,697,892

84,980,366 (44,705,812) 40,274,554

90,895,409 (18,403,661) 72,491,748

91,321,340 (77,122,625) 14,198,715

11,308,377 (6,615,184) 4,693,193

25,059,350 (15,317,908) 9,741,442

7,322,505 7,322,505

449,383,398 (164,308,748) 285,074,650

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี ซื้อสิ นทรัพย์ รับโอนจากงานระหว่างก่อสร้าง รับโอนจากสิ นค้าคงเหลือ จําหน่ายสิ นทรัพย์ - ราคาทุน - ค่าเสื่ อมราคาสะสม ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - ราคาทุน - ค่าเสื่ อมราคาสะสม ค่าเสื่ อมราคา (หมายเหตุ 34) ราคาตามบัญชีสุทธิปลายปี

134,654,601 214,986,402 349,641,003

1,697,892 (583,001) 1,114,891

40,274,554 4,535,250 (4,289,485) 40,520,319

72,491,748 4,176,890 (4,614,095) 72,054,543

14,198,715 7,526,804 (801,200) 629,224 (5,497,212) 16,056,331

4,693,193 4,440,584 (29,813) 11,729 (837,649) 817,378 (1,858,871) 7,236,551

9,741,442 58,429,757 639,567 1,100,000 (3,760,510) 66,150,256

7,322,505 30,212,408 (639,567) 36,895,346

285,074,650 324,308,095 1,100,000 (29,813) 11,729 (1,638,849) 1,446,602 (20,603,174) 589,669,240

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ

349,641,003 349,641,003

3,841,450 (2,726,559) 1,114,891

89,515,616 (48,995,297) 40,520,319

95,072,299 (23,017,756) 72,054,543

98,046,944 (81,990,613) 16,056,331

14,881,499 (7,644,948) 7,236,551

85,228,674 (19,078,418) 66,150,256

36,895,346 36,895,346

773,122,831 (183,453,591) 589,669,240

60


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 18

ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ (สุ ทธิ) (ต่อ)

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) เครื่ องตกแต่ ง ติดตั้งอุปกรณ์ สํ านักงาน ส่ วนปรับปรุ ง เครื่ องจักร และอุปกรณ์ อาคาร และอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี ซื้อสิ นทรัพย์ รับโอนจากงานระหว่างก่อสร้าง รับโอนจากสิ นค้าคงเหลือ ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์ - ราคาทุน - ค่าเสื่ อมราคาสะสม ค่าเสื่ อมราคา (หมายเหตุ 34) ราคาตามบัญชีสุทธิปลายปี

ทีด่ นิ

ส่ วนปรับปรุ ง ทีด่ นิ

อาคาร

349,641,003 349,641,003

1,114,891 (582,999) 531,892

40,520,319 229,253 5,081,738 (4,712,387) 41,118,923

72,054,543 15,081,108 10,105,253 (4,687,609) 92,553,295

16,056,331 6,681,853 1,679,741 (12,647,303) 12,487,975 (5,952,355) 18,306,242

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ

349,641,003 349,641,003

3,841,450 (3,309,558) 531,892

94,826,607 (53,707,684) 41,118,923

120,258,660 (27,705,365) 92,553,295

93,761,235 (75,454,993) 18,306,242

ยานพาหนะ

งานระหว่ าง ก่ อสร้ าง

รวม

7,236,551 4,516,702 (58,311) 37,784 (2,337,210) 9,395,516

66,150,256 4,309,852 3,316,514 1,725,315 (9,182,773) 66,319,164

36,895,346 107,270,349 (20,183,246) 123,982,449

589,669,240 138,089,117 1,725,315 (12,705,614) 12,525,759 (27,455,333) 701,848,484

19,339,890 (9,944,374) 9,395,516

94,580,355 (28,261,191) 66,319,164

123,982,449 123,982,449

900,231,649 (198,383,165) 701,848,484

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้นาํ ที่ ดิน พร้อมสิ่ งปลูกสร้าง ซึ่ งมี มูลค่าตามบัญชี สุทธิ รวม 218 ล้านบาท และ 226 ล้านบาท ไปจดจํานองเพื่อเป็ นหลักประกันเงินเบิ กเกินบัญชี และเงินกูย้ ืม จากสถาบันการเงิน (หมายเหตุ 22 และ 23) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชี ก่อนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมของอาคาร และอุปกรณ์ ซ่ ึ งหักค่าเสื่ อมราคาทั้งจํานวนแล้วแต่ยงั คงใช้งานอยู่ ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการมีจาํ นวนเงินทั้งสิ้ น 119,551,262 บาท และ 89,647,771 บาท (พ.ศ. 2558 : 116,094,381 บาท และ 86,646,434 บาท) ตามลําดับ

61


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 18

ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ (สุ ทธิ) (ต่อ) สิ นทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงินที่กลุ่มกิจการและบริ ษทั เป็ นผูเ้ ช่าซึ่งรวมแสดงในรายการข้างต้นประกอบด้วย ยานพาหนะ มีรายละเอียด ดังนี้

ราคาทุนของสิ นทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ 19

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

60,213,655 (8,683,126) 51,530,529

60,213,655 (8,683,126) 51,530,529

สิ นทรัพย์ ไม่ มตี ัวตน (สุ ทธิ)

61,714,655 (3,154,484) 58,560,171

60,213,655 (2,026,883) 58,186,772

งบการเงินรวม

สิ ทธิบตั ร บาท

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ บาท

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ ความรู้ ทาง อยู่ระหว่ าง เทคนิค ติดตั้ง บาท บาท

4,752,897 4,752,897

4,724,230 (1,760,498) 2,963,732

38,932,292 (15,331,128) 23,601,164

4,000,000 (3,367,671) 632,329

-

52,409,419 (20,459,297) 31,950,122

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี ซื้อสิ นทรัพย์ ค่าตัดจําหน่าย (หมายเหตุ 34) ราคาตามบัญชีสุทธิปลายปี

4,752,897 4,752,897

2,963,732 (472,422) 2,491,310

23,601,164 300,000 (3,922,737) 19,978,427

632,329 (400,000) 232,329

-

31,950,122 300,000 (4,795,159) 27,454,963

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ

4,752,897 4,752,897

4,724,230 (2,232,920) 2,491,310

39,232,292 (19,253,865) 19,978,427

4,000,000 (3,767,671) 232,329

-

52,709,419 (25,254,456) 27,454,963

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี ซื้อสิ นทรัพย์ ค่าตัดจําหน่าย (หมายเหตุ 34) ราคาตามบัญชีสุทธิปลายปี

4,752,897 4,752,897

2,491,310 (472,423) 2,018,887

19,978,427 3,062,402 (4,201,258) 18,839,571

232,329 (232,327) 2

5,904,383 5,904,383

27,454,963 8,966,785 (4,906,008) 31,515,740

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ

4,752,897 4,752,897

4,724,230 (2,705,343) 2,018,887

42,294,694 (23,455,123) 18,839,571

4,000,000 (3,999,998) 2

5,904,383 5,904,383

61,676,204 (30,160,464) 31,515,740

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ

เครื่ องหมาย การค้ า บาท

รวม บาท

62


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 19

สิ นทรัพย์ ไม่ มตี ัวตน (สุ ทธิ) (ต่อ)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี ซื้อสิ นทรัพย์ ค่าตัดจําหน่าย (หมายเหตุ 34) ราคาตามบัญชีสุทธิปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี ซื้อสิ นทรัพย์ ค่าตัดจําหน่าย (หมายเหตุ 34) ราคาตามบัญชีสุทธิปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ อยู่ระหว่ าง ติดตั้ง บาท

เครื่ องหมาย การค้า บาท

สิ ทธิบัตร บาท

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ บาท

4,752,897 4,752,897

4,724,230 (1,760,498) 2,963,732

38,767,182 (15,306,136) 23,461,046

-

48,244,309 (17,066,634) 31,177,675

4,752,897 4,752,897

2,963,732 (472,422) 2,491,310

23,461,046 300,000 (3,906,226) 19,854,820

-

31,177,675 300,000 (4,378,648) 27,099,027

4,752,897 4,752,897

4,724,230 (2,232,920) 2,491,310

39,067,182 (19,212,362) 19,854,820

-

48,544,309 (21,445,282) 27,099,027

4,752,897 4,752,897

2,491,310 (472,423) 2,018,887

19,854,820 3,062,402 (4,184,709) 18,732,513

5,904,383 5,904,383

27,099,027 8,966,785 (4,657,132) 31,408,680

4,752,897 4,752,897

4,724,230 (2,705,343) 2,018,887

42,129,584 (23,397,071) 18,732,513

5,904,383 5,904,383

57,511,094 (26,102,414) 31,408,680

รวม บาท

63


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 20

ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี (สุ ทธิ) ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้

สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ที่จะใช้ประโยชน์ภายใน 12 เดือน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ที่จะใช้ประโยชน์เกินกว่า 12 เดือน หนีส้ ิ นภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ที่จะจ่ายชําระภายใน 12 เดือน หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ที่จะจ่ายชําระเกินกว่า 12 เดือน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุ ทธิ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

3,162,521

4,287,238

2,545,234

3,540,514

5,393,242 8,555,763

4,952,709 9,239,947

5,254,110 7,799,344

4,506,220 8,046,734

638,595

666,907

624,120

592,227

762,236 1,400,831

1,266,977 1,933,884

762,236 1,386,356

1,266,977 1,859,204

7,154,932

7,306,063

6,412,988

6,187,530

รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สาํ หรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท บาท บาท ยอดคงเหลือต้นปี เพิ่ม/(ลด)ในกําไรขาดทุน (หมายเหตุ 35) เพิม่ /(ลด)ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ยอดคงเหลือปลายปี

7,306,063 (148,506) (2,625) 7,154,932

7,468,091 (168,885) 6,857 7,306,063

6,187,530 78,210 147,248 6,412,988

6,999,579 (836,156) 24,107 6,187,530

64


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 20

ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี (สุ ทธิ) (ต่อ) รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงินได้รอตัดบัญชีสาํ หรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ (ต่อ) งบการเงินรวม

สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ ค่าเผือ่ สิ นค้าล้าสมัยและเคลื่อนไหวช้า กําไรจากการขายสิ นค้าคงเหลือระหว่างกัน ขาดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากเครื่ องมือทางการเงิน ประมาณการหนี้สินจากการรับประกันสิ นค้า ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน สิ นทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่าซื้ อ หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่า ขาดทุนทางภาษี

หนีส้ ิ นภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี กําไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากเครื่ องมือทางการเงิน สิ นทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่า หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่าซื้ อ

1 มกราคม พ.ศ. 2559 บาท

เพิม่ /(ลด)ใน กําไรขาดทุน บาท

เพิม่ /(ลด)ใน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น บาท

897,533 1,396,516 279,977 21,273 1,351,849 3,224,426 1,258,023 617,164 193,186 9,239,947

(241,428) (572,009) (96,384) (21,273) (163,531) 949,638 (129,203) (214,183) (193,186) (681,559)

(2,625) (2,625)

656,105 824,507 183,593 1,188,318 4,171,439 1,128,820 402,981 8,555,763

674,827 1,259,057 1,933,884 7,306,063

119,804 (215,980) (436,877) (533,053) (148,506)

(2,625)

119,804 458,847 822,180 1,400,831 7,154,932

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บาท

65


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 20

ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี (สุ ทธิ) (ต่อ) รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงินได้รอตัดบัญชีสาํ หรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ (ต่อ) งบการเงินรวม

สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ ค่าเผือ่ สิ นค้าล้าสมัยและเคลื่อนไหวช้า กําไรจากการขายสิ นค้าคงเหลือระหว่างกัน ขาดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากเครื่ องมือทางการเงิน ประมาณการหนี้สินจากการรับประกันสิ นค้า ค่าเผือ่ ผลขาดทุนจากงานตามสัญญา ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน สิ นทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่าซื้ อ หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่า ขาดทุนทางภาษี

หนีส้ ิ นภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี กําไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากเครื่ องมือทางการเงิน สิ นทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่า หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่าซื้ อ

1 มกราคม พ.ศ. 2558 บาท

เพิม่ /(ลด)ใน กําไรขาดทุน บาท

เพิม่ /(ลด)ใน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น บาท

715,716 1,570,617 584,499 1,918,567 65,619 2,700,008 737,822 8,292,848

181,817 (174,101) (304,522) 21,273 (566,718) (65,619) 517,561 1,258,023 (120,658) 193,186 940,242

6,857 6,857

897,533 1,396,516 279,977 21,273 1,351,849 3,224,426 1,258,023 617,164 193,186 9,239,947

44,444 780,313 824,757 7,468,091

(44,444) (105,486) 1,259,057 1,109,127 (168,885)

6,857

674,827 1,259,057 1,933,884 7,306,063

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท

66


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 20

ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี (สุ ทธิ) (ต่อ) รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงินได้รอตัดบัญชีสาํ หรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ (ต่อ) งบการเงินเฉพาะกิจการ

สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ ค่าเผือ่ สิ นค้าล้าสมัยและเคลื่อนไหวช้า ขาดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากเครื่ องมือทางการเงิน ประมาณการหนี้สินจากการรับประกันสิ นค้า ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน สิ นทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่าซื้ อ หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่า

หนีส้ ิ นภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี กําไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากเครื่ องมือทางการเงิน สิ นทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่า หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่าซื้ อ

1 มกราคม พ.ศ. 2559 บาท

เพิม่ /(ลด)ใน กําไรขาดทุน บาท

เพิม่ /(ลด)ใน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น บาท

662,233 1,255,705 21,273 1,303,872 2,971,123 1,258,023 574,505 8,046,734

(201,428) (621,615) (21,273) (163,531) 913,936 (129,203) (171,524) (394,638)

147,248 147,248

460,805 634,090 1,140,341 4,032,307 1,128,820 402,981 7,799,344

600,147 1,259,057 1,859,204 6,187,530

119,804 (155,775) (436,877) (472,848) 78,210

147,248

119,804 444,372 822,180 1,386,356 6,412,988

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บาท

67


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 20

ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี (สุ ทธิ) (ต่อ) รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงินได้รอตัดบัญชีสาํ หรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ (ต่อ) งบการเงินเฉพาะกิจการ

สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ ค่าเผือ่ สิ นค้าล้าสมัยและเคลื่อนไหวช้า กําไรจากการขายสิ นค้าคงเหลือระหว่างกัน ขาดทุนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากเครื่ องมือทางการเงิน ประมาณการหนี้สินจากการรับประกันสิ นค้า ค่าเผือ่ ผลขาดทุนจากงานตามสัญญา ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน สิ นทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่าซื้ อ หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่า

หนีส้ ิ นภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี กําไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากเครื่ องมือทางการเงิน สิ นทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่า หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สัญญาเช่าซื้อ

1 มกราคม พ.ศ. 2558 บาท

เพิม่ /(ลด)ใน กําไรขาดทุน บาท

เพิม่ /(ลด)ใน กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น บาท

715,716 1,456,522 584,499 1,760,658 65,619 2,484,467 622,134 7,689,615

(53,483) (200,817) (584,499) 21,273 (456,786) (65,619) 462,549 1,258,023 (47,629) 333,012

24,107 24,107

662,233 1,255,705 21,273 1,303,872 2,971,123 1,258,023 574,505 8,046,734

44,444 645,592 690,036 6,999,579

(44,444) (45,445) 1,259,057 1,169,168 (836,156)

24,107

600,147 1,259,057 1,859,204 6,187,530

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท

68


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 20

ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี (สุ ทธิ) (ต่อ) สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีสาํ หรับรายการขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้ยกไปจะรับรู ้ไม่เกินจํานวนที่เป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ว่า จะมีกาํ ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์ทางภาษีน้ นั ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุ่มกิจการและบริ ษทั ไม่ได้รับรู ้ สิ นทรั พย์ภาษี เงิน ได้รอตัดบัญ ชี ในงบการเงิ นรวมและงบการเงินเฉพาะกิ จการ จํานวน 18,985,222 บาท และ 14,560,026 บาท (พ.ศ. 2558 : ไม่มี) ตามลําดับ ที่เกิดจากรายการขาดทุนในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการจํานวน 94,926,113 บาท และ 72,800,130 บาท (พ.ศ. 2558 : ไม่มี) ตามลําดับ ที่สามารถยกไปเพื่อหักกลบกับกําไรทางภาษีในอนาคต โดยรายการขาดทุนดังกล่าว ประกอบด้วย งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ขาดทุนทางภาษีที่จะสิ้ นสุ ดเวลาการหักกลบ ปี พ.ศ. 2563 ขาดทุนทางภาษีที่จะสิ้ นสุ ดเวลาการหักกลบ ปี พ.ศ. 2564

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

965,932

-

-

-

รวมขาดทุนทางภาษี

93,960,181 94,926,113

-

72,800,130 72,800,130

-

สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีไม่ได้รับรู ้

18,985,222

-

14,560,026

-

ตามประกาศพระราชกฤษฎี กาที่ ออกเมื่ อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2554 กําหนดให้บริ ษทั ใช้อตั ราภาษีเงินได้นิติบุคคลร้ อยละ 20 สําหรับสองรอบปี บัญ ชี ที่เริ่ มต้นในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ต่อมาเมื่ อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ได้มีพระราช กฤษฎีกาใหม่ประกาศให้ขยายระยะเวลาในการใช้อตั ราภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 20 สําหรับรอบปี บัญชีที่เริ่ มต้นในระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ดังนั้นภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่คาดว่าจะสามารถใช้ประโยชน์ได้เกินกว่า 12 เดือนหลังจากปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ได้ถูกวัดมูลค่าโดยใช้อตั ราภาษีที่ร้อยละ 20 ณ วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2559 สภานิติบญั ญัติแห่งชาติได้อนุมตั ิร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิม่ เติมประมวลรัษฎากรเพื่อลดอัตราภาษี เงิ น ได้นิ ติ บุ ค คลจากร้ อ ยละ 30 ของกําไรสุ ท ธิ เป็ นร้ อ ยละ 20 ของกําไรสุ ท ธิ การแก้ไขดังกล่ าวใช้บ ังคับ สําหรั บ บริ ษ ัท หรื อ ห้างหุ ้น ส่ วนนิ ติบุคคลซึ่ งรอบระยะบัญ ชี เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ดังนั้นภาษี เงินได้รอการตัดบัญ ชี จึงได้ถูก วัดมูลค่าโดยใช้อตั ราภาษีที่ร้อยละ 20

69


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 21

เจ้ าหนีก้ ารค้ าและเจ้ าหนีอ้ ื่น

เจ้าหนี้การค้า - บริ ษทั อื่น - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 37 ข)) เจ้าหนี้อื่น - บริ ษทั อื่น - บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 37 ข)) ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย - ค่าใช้จ่ายพนักงานค้างจ่าย - ค่าเบี้ยปรับจากการส่ งมอบงานล่าช้า - ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายอื่นๆ เงินมัดจํารับล่วงหน้า เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน รายได้รับล่วงหน้า

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

121,921,518 115,786,125

62,300,738 3,976,511

109,346,717 126,957,072

58,463,225 5,011,637

2,927,349 200,000

790,056 230,000

2,599,155 200,000

787,916 230,000

22,868,112 12,366,458 513,499 3,509,052 15,000 280,107,113

22,916,416 6,407,444 9,103,928 2,637,157 1,838,984 15,000 110,216,234

21,423,679 11,863,728 513,499 3,509,052 15,000 276,427,902

22,916,416 6,407,444 7,054,131 2,377,157 1,838,984 15,000 105,101,910

70


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 22

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้ นจากสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้

ประเภทของเงินกู้ยืมระยะสั้ น

สกุลเงิน

สกุลเงิน ต่ างประเทศ

พ.ศ. 2559 บาทหรื อ อัตราดอกเบีย้ เทียบเท่ า (ร้ อยละต่ อปี )

เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร

บาท

-

5,116,703 5,116,703

7.12 - 7.68

ทรัสต์รีซีท

บาท

-

30,147,688

2.25 - 5.25

เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา ยูโร

681,032 -

24,518,847 -

4.88

-

งบการเงินรวม ครบกําหนด สกุลเงิน ชําระภายใน ต่ างประเทศ เมษายน - มิถุนายน พ.ศ. 2560 มีนาคม พ.ศ. 2560 -

รวม

บาท

-

298,791,956

19,434,011 19,434,011

7.36 - 7.68

-

-

-

-

-

378,667

15,070,763

1.75 - 3.51

เมษายน - พฤษภาคม พ.ศ. 2559

4.10 - 4.30

มกราคม - มิถุนายน พ.ศ. 2559

15,070,763 3.85 - 4.00

มกราคม - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

ครบกําหนด ชําระภายใน

-

54,666,535 ตัว๋ แลกเงิน

พ.ศ. 2558 บาทหรื อ อัตราดอกเบีย้ เทียบเท่ า (ร้ อยละต่ อปี )

-

298,791,956 358,575,194

695,059,242 695,059,242 729,564,016

วงเงินสิ นเชื่อข้างต้นมีที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้าง (หมายเหตุ 18) และเงินฝากประจํา (หมายเหตุ 13) ซึ่งเป็ นกรรมสิ ทธิ์ของบริ ษทั จดจํานองเป็ นหลักประกัน

71


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 22

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้ นจากสถาบันการเงิน (ต่อ) เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้

ประเภทของเงินกู้ยืมระยะสั้ น

สกุลเงิน

สกุลเงิน ต่ างประเทศ

พ.ศ. 2559 บาทหรื อ อัตราดอกเบีย้ เทียบเท่ า (ร้ อยละต่ อปี )

เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร

บาท

-

2,831,534 2,831,534

7.12 - 7.68

ทรัสต์รีซีท

บาท

-

29,112,687

2.25 - 4.78

เหรี ยญสหรัฐอเมริ กา ยูโร

681,032 -

24,518,847 -

4.88

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ ครบกําหนด สกุลเงิน ชําระภายใน ต่ างประเทศ เมษายน - พฤษภาคม พ.ศ. 2560 มีนาคม พ.ศ. 2560 -

รวม

บาท

-

298,791,956

16,184,506 16,184,506

7.36 - 7.50

-

-

-

-

-

378,667

15,070,763

1.75 - 3.51

เมษายน - พฤษภาคม พ.ศ. 2559

4.10 - 4.30

มกราคม - มิถุนายน พ.ศ. 2559

15,070,763 3.85 - 4.00

มกราคม - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

ครบกําหนด ชําระภายใน

-

53,631,534 ตัว๋ แลกเงิน

พ.ศ. 2558 บาทหรื อ อัตราดอกเบีย้ เทียบเท่ า (ร้ อยละต่ อปี )

-

298,791,956 355,255,024

695,059,242 695,059,242 726,314,511

วงเงินสิ นเชื่อข้างต้นมีที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้าง (หมายเหตุ 18) และเงินฝากประจํา (หมายเหตุ 13) ซึ่งเป็ นกรรมสิ ทธิ์ของบริ ษทั จดจํานองเป็ นหลักประกัน

72


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 22

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้ นจากสถาบันการเงิน (ต่อ) เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ งบการเงินรวม

ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี เงินกูย้ มื เพิ่ม ชําระคืนเงินกูย้ มื ตัดจ่ายดอกเบี้ยจ่ายรอตัดบัญชี ราคาตามบัญชีสุทธิปลายปี

เงินเบิกเกินบัญชี บาท

ตั๋วสั ญญาใช้ เงิน บาท

ทรัสต์ รีซีท บาท

ตั๋วแลกเงิน บาท

19,434,011 4,652,139,780 (4,666,457,088) 5,116,703

270,000,000 (270,000,000) -

15,070,763 164,441,668 (124,845,896) 54,666,535

700,000,000 1,250,000,000 (1,650,000,000) 300,000,000 งบการเงินเฉพาะกิจการ

ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี เงินกูย้ มื เพิ่ม ชําระคืนเงินกูย้ มื ตัดจ่ายดอกเบี้ยจ่ายรอตัดบัญชี ราคาตามบัญชีสุทธิปลายปี

เงินเบิกเกินบัญชี บาท

ตั๋วสั ญญาใช้ เงิน บาท

ทรัสต์ รีซีท บาท

ตั๋วแลกเงิน บาท

16,184,506 4,565,157,355 (4,578,510,327) 2,831,534

270,000,000 (270,000,000) -

15,070,763 162,197,545 (123,636,774) 53,631,534

700,000,000 1,250,000,000 (1,650,000,000) 300,000,000

ตัว๋ แลกเงิน ดอกเบีย้ จ่ าย รอตัดบัญชี ตั๋วแลกเงิน(สุ ทธิ) บาท บาท (4,940,758) (18,768,558) 22,501,272 (1,208,044)

รวม บาท

695,059,242 1,231,231,442 (1,650,000,000) 22,501,272 298,791,956

729,564,016 6,317,812,890 (6,711,302,984) 22,501,272 358,575,194

ตั๋วแลกเงิน ดอกเบีย้ จ่ าย รอตัดบัญชี ตั๋วแลกเงิน(สุ ทธิ) บาท บาท

รวม บาท

(4,940,758) (18,768,558) 22,501,272 (1,208,044)

695,059,242 1,231,231,442 (1,650,000,000) 22,501,272 298,791,956

726,314,511 6,228,586,342 (6,622,147,101) 22,501,272 355,255,024 73


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 22

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้ นจากสถาบันการเงิน (ต่อ) เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ งบการเงินรวม

ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี เงินกูย้ มื เพิ่ม ชําระคืนเงินกูย้ มื ตัดจ่ายดอกเบี้ยจ่ายรอตัดบัญชี ราคาตามบัญชีสุทธิปลายปี

เงินเบิกเกินบัญชี บาท

ตัว๋ สั ญญาใช้ เงิน บาท

ทรัสต์ รีซีท บาท

ตั๋วแลกเงิน บาท

28,319,504 4,290,658,259 (4,299,543,752) 19,434,011

40,000,000 136,021,433 (176,021,433) -

237,590,765 129,211,178 (351,731,180) 15,070,763

2,200,000,000 (1,500,000,000) 700,000,000 งบการเงินเฉพาะกิจการ

ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี เงินกูย้ มื เพิ่ม ชําระคืนเงินกูย้ มื ตัดจ่ายดอกเบี้ยจ่ายรอตัดบัญชี ราคาตามบัญชีสุทธิปลายปี

เงินเบิกเกินบัญชี บาท

ตั๋วสั ญญาใช้ เงิน บาท

ทรัสต์ รีซีท บาท

ตั๋วแลกเงิน บาท

26,830,973 4,138,461,553 (4,149,108,020) 16,184,506

40,000,000 136,021,433 (176,021,433) -

208,429,524 126,598,130 (319,956,891) 15,070,763

2,200,000,000 (1,500,000,000) 700,000,000

ตั๋วแลกเงิน ดอกเบีย้ จ่ าย รอตัดบัญชี ตั๋วแลกเงิน(สุ ทธิ) บาท บาท (29,681,308) 24,740,550 (4,940,758)

รวม บาท

2,170,318,692 (1,500,000,000) 24,740,550 695,059,242

305,910,269 6,726,209,562 (6,327,296,365) 24,740,550 729,564,016

ตั๋วแลกเงิน ดอกเบีย้ จ่ าย รอตัดบัญชี ตั๋วแลกเงิน(สุ ทธิ) บาท บาท

รวม บาท

(29,681,308) 24,740,550 (4,940,758)

2,170,318,692 (1,500,000,000) 24,740,550 695,059,242

275,260,497 6,571,399,808 (6,145,086,344) 24,740,550 726,314,511 74


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 22

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้ นจากสถาบันการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 วงเงินสิ นเชื่อที่กลุ่มกิจการได้รับจากสถาบันการเงิน 8 แห่ง (วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 : 8 แห่ง) มีดงั นี้ งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 เหรียญ สหรัฐอเมริกา วงเงินเบิกเกินบัญชี วงเงินกูย้ มื ระยะยาว วงเงินกูย้ มื ระยะสั้น/ตัว๋ แลกเงิน วงเงินเลตเตอร์ออฟเครดิต/ ทรัสต์รีซีท/ โดเมสติคเลตเตอร์ออฟเครดิต วงเงินซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า วงเงินหนังสื อคํ้าประกัน

พ.ศ. 2558 บาท

เหรียญ สหรัฐอเมริกา

พ.ศ. 2559 บาท

เหรียญ สหรัฐอเมริกา

พ.ศ. 2558 บาท

เหรียญ สหรัฐอเมริกา

บาท

-

83,000,000 6,000,000 470,000,000

-

73,000,000 6,000,000 798,000,000

-

76,000,000 460,000,000

-

66,000,000 790,000,000

7,720,000 -

1,444,302,000 1,320,000,000 137,698,000

7,320,000 -

3,638,740,000 510,000,000 106,260,000

7,320,000 -

1,424,302,000 1,310,000,000 135,698,000

7,320,000 -

3,623,740,000 510,000,000 106,260,000

วงเงินสิ นเชื่ อคํา้ ประกันโดย 1) 2) 3) 4) 5) 6)

จดจํานองที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้างของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย (หมายเหตุ 18) เงินฝากสถาบันการเงินที่ติดภาระคํ้าประกัน (หมายเหตุ 13) โอนผลประโยชน์ตามกรมธรรม์ในสิ่ งปลูกสร้างให้ธนาคารเป็ นผูร้ ับประโยชน์ คํ้าประกันโดยกรรมการของบริ ษทั และบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันบางแห่ง จดจํานองที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้างของบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันบางแห่ง กรมธรรม์ประกันชีวติ ของบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

มูลค่ายุติธรรมของเงินกูย้ มื ระยะสั้นมีมูลค่าเท่ากับราคาตามบัญชี เนื่องจากผลกระทบของอัตราคิดลดไม่มีสาระสําคัญ 75


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 23

เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ราคาตามบัญชีสุทธิตน้ ปี เงินกูย้ มื เพิ่ม เงินกูย้ มื ชําระคืน ราคาตามบัญชีสุทธิปลายปี หัก ส่ วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี

3,460,047 (917,168) 2,542,879 (924,000) 1,618,879

4,384,047 (924,000) 3,460,047 (924,000) 2,536,047

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท -

-

กลุ่มกิจการมีเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินเป็ นเงินกูย้ มื จากธนาคารพาณิ ชย์หนึ่งแห่งในประเทศไทยในสกุลเงินบาท ดังต่อไปนี้ ในสกุลเงินบาทเป็ นวงเงินจํานวน 6 ล้านบาท เงินกูย้ มื ดังกล่าวมีดอกเบี้ยในอัตรา MLR ซึ่ งดอกเบี้ยมีกาํ หนดจ่ายเป็ นรายเดือน เงินกูน้ ้ ี มีกาํ หนดผ่อนชําระเงินต้นเป็ นงวดรายเดือนทั้งสิ้ น 84 งวด งวดละ 77,000 บาท เริ่ มผ่อนชําระเงินต้นงวดแรกเดือนเมษายน พ.ศ. 2556 บริ ษทั ได้จาํ นองที่ดินตามหมายเหตุ 18 เป็ นหลักทรัพย์ค้ าํ ประกันเงินกู้ยืมดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 จํานวนเงินกู้ ผูกพันตามสัญญาเงินกูย้ มื มีมูลค่าค้างจํานวน 2,542,879 บาท (วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 : จํานวน 3,460,047 บาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มูลค่ายุติธรรมของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินมีมูลค่าใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชี ของเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินที่บนั ทึกไว้ในงบแสดงฐานะการเงินเนื่องจากผลกระทบของอัตราคิดลดไม่มีสาระสําคัญ 24

หนีส้ ิ นตามสั ญญาเช่ าการเงิน (สุ ทธิ)

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หัก ดอกเบี้ยในอนาคตของสัญญาเช่าการเงิน หัก ส่ วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 45,571,907 (4,267,745) 41,304,162 (10,138,522) 31,165,640

57,903,954 (6,634,797) 51,269,157 (9,964,995) 41,304,162

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 45,571,907 (4,267,745) 41,304,162 (10,138,522) 31,165,640

57,688,508 (6,632,650) 51,055,858 (9,751,696) 41,304,162

76


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 24

หนีส้ ิ นตามสั ญญาเช่ าการเงิน (สุ ทธิ) (ต่อ) จํานวนเงินขั้นตํ่าที่ตอ้ งจ่ายสําหรับสัญญาเช่าการเงินข้างต้น มีดงั นี้

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ภายใน 1 ปี เกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี

25

หนีส้ ิ นหมุนเวียนอื่น

ภาษีหกั ณ ที่จ่ายค้างจ่าย เงินประกันสังคมค้างจ่าย

26

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

11,997,041 33,574,866 45,571,907

11,997,041 33,574,866 45,571,907

12,332,047 45,571,907 57,903,954

12,116,601 45,571,907 57,688,508

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

1,493,530 818,622 2,312,152

1,444,438 762,918 2,207,356

768,478 757,792 1,526,270

714,481 702,294 1,416,775

หุ้นกู้ (สุ ทธิ) หุ ้นกู้ (สุ ทธิ ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เป็ นหุ ้นกูช้ นิ ดระบุช่ือผูถ้ ือประเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีประกัน และไม่มีผูแ้ ทนผูถ้ ือหุ ้น ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท บาท บาท หุน้ กู้ สุ ทธิ หัก ส่ วนของหุน้ กูท้ ี่ถึงกําหนดไถ่ถอน ในหนึ่งปี สุ ทธิ

298,810,868

-

298,810,868

-

298,810,868

-

298,810,868

-

77


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 26

หุ้นกู้ (สุ ทธิ) (ต่อ) รายการเคลื่อนไหวสําหรับหุน้ กู้ (สุ ทธิ) สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้

ราคาตามบัญชีตน้ ปี สุ ทธิ เงินสดรับจากหุน้ กู้ ค่าใช้จ่ายทางตรงในการออกหุน้ กูร้ อตัดบัญชี การตัดจําหน่ายค่าใช้จ่ายทางตรงในการออกหุน้ กู้ ราคาตามบัญชีปลายปี สุ ทธิ

งบการเงินรวม บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ บาท

300,000,000 (1,500,000) 310,868 298,810,868

300,000,000 (1,500,000) 310,868 298,810,868

ตามมติที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2559 มีมติเป็ นเอกฉันท์อนุ มตั ิให้บริ ษทั ออกและเสนอขายหุ ้นกูม้ ูลค่า ไม่เกิน 1,000 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2559 บริ ษทั ได้เสนอขายหุ ้นกูช้ นิ ดระบุชื่อผูถ้ ือประเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีประกัน และไม่มีผแู ้ ทน ผูถ้ ือหุ ้นกู้ โดยเสนอขายให้แก่ผลู ้ งทุนทัว่ ไป และ/หรื อผูล้ งทุนสถาบันจํานวน 300,000 หน่ วย มูลค่าที่ตราไว้หน่ วยละ 1,000 บาท รวมทั้งสิ้ นมูลค่า 300 ล้านบาท โดยมีอตั ราดอกเบี้ยคงที่ในอัตราร้อยละ 4.95 และชําระดอกเบี้ยทุกไตรมาส โดยหุ ้นกูด้ งั กล่าวมีอายุ 2 ปี 6 เดือน ครบกําหนดไถ่ถอนวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ทั้งนี้ บริ ษทั มีหน้าที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่กาํ หนดไว้ในข้อกําหนดว่าด้วยสิ ทธิและหน้าที่ของผูอ้ อกหุน้ กู้ และผูถ้ ือหุน้ กูต้ ามที่ระบุ ไว้ในหนังสื อชี้ชวนเสนอขายหุน้ กู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หุน้ กูม้ ีมูลค่ายุติธรรม 300,042,969 บาท โดยมูลค่ายุติธรรมของหุน้ กูอ้ า้ งอิงจากราคาตลาดของหุน้ กู้ ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน (ระดับ 1 ของลําดับขั้นมูลค่ายุติธรรม)

78


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 27

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้

งบแสดงฐานะทางการเงิน ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ หนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน กําไรหรื อขาดทุนที่รวมอยูใ่ นกําไร จากการดําเนินงาน ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ การวัดมูลค่าใหม่สาํ หรับ ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

19,731,746 19,731,746

16,122,130 16,122,130

19,036,083 19,036,083

14,855,616 14,855,616

3,622,740 3,622,740

2,587,803 2,587,803

3,444,227 3,444,227

2,312,745 2,312,745

(13,124) (13,124)

34,287 34,287

736,240 736,240

120,537 120,537

โครงการเป็ นโครงการเกษียณอายุตามอัตราเงินเดื อนเดื อนสุ ดท้าย โดยผลประโยชน์ที่ให้จะขึ้นอยู่กบั ระยะเวลาการทํางานและ เงินเดือนในปี สุ ดท้ายของสมาชิกก่อนที่จะเกษียณอายุ รายการเคลื่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้ระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีดงั นี้

ณ วันที่ 1 มกราคม ต้นทุนบริ การปั จจุบนั ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย การวัดมูลค่าใหม่ (ผลกําไร)ขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง ข้อสมมติดา้ นประชากรศาสตร์ (ผลกําไร)ขาดทุนที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงข้อสมมติทางการเงิน (ผลกําไร)ขาดทุนที่เกิดจากประสบการณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

16,122,130 3,159,898 462,842 3,622,740

14,855,616 3,006,814 437,413 3,444,227

13,500,040 2,054,506 533,297 2,587,803

12,422,334 1,822,556 490,189 2,312,745

(706,449)

-

(50,147)

-

871,329 (178,004)

34,287

711,168 75,219

120,537

19,731,746

16,122,130

19,036,083

14,855,616 79


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 27

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) ข้อสมมติฐานหลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยที่ใช้เป็ นดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือนที่คาดไว้ อัตราการหมุนเวียนของพนักงาน อัตราการเสี ยชีวติ

อัตราการทุพพลภาพ

2.49 - 2.81% 5.00% 5.00% -30.00% ร้อยละ 50 ของ ตารางมรณะไทย (พ.ศ. 2551) ร้อยละ 10 ของ ตารางมรณะไทย

4.00% 5.62% - 6.37% 1.50% -5.00% ตามอัตราของ ตารางมรณะไทย (พ.ศ. 2551) ร้อยละ 15 ของ ตารางมรณะไทย

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 2.49% 5.00% 5.00% -30.00% ร้อยละ 50 ของ ตารางมรณะไทย (พ.ศ. 2551) ร้อยละ 10 ของ ตารางมรณะไทย

4.00% 6.37% 5.00% ตามอัตราของ ตารางมรณะไทย (พ.ศ. 2551) ร้อยละ 15 ของ ตารางมรณะไทย

กลุ่มกิจการมีความเสี่ ยงในหลายๆด้านที่เกี่ยวข้องกับโครงการผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุที่กาํ หนดไว้ โดยความเสี่ ยงที่มีนยั สําคัญ มีดงั ต่อไปนี้ การเปลี่ยนแปลงในอัตราผลตอบแทนที่แท้จริ งของพันธบัตรอัตราผลตอบแทนที่แท้จริ งของพันธบัตรที่ไม่ระบุดอกเบี้ย ที่ลดลง จะทําให้หนี้สินของโครงการเพิ่มสู งขึ้น ความอ่อนไหวของข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยเป็ นดังนี้ งบการเงินรวม ผลกระทบต่ อภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ ที่กาํ หนดไว้ การเปลีย่ นแปลง ในข้ อสมมติ

การเพิม่ ขึน้ ของข้ อสมมติ

การลดลงของข้ อสมมติ

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

อัตราคิดลด

ร้อยละ 1

ร้อยละ 1

อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือน

ร้อยละ 1

ร้อยละ 1

ลดลง ร้อยละ 11.15 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 12.44

ลดลง ร้อยละ 11.70 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 14.02

เพิม่ ขึ้น ร้อยละ 13.23 ลดลง ร้อยละ 10.75

เพิม่ ขึ้น ร้อยละ 14.02 ลดลง ร้อยละ 11.94

งบการเงินเฉพาะกิจการ ผลกระทบต่ อภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ ที่กาํ หนดไว้ การเปลีย่ นแปลง ในข้ อสมมติ

การเพิม่ ขึน้ ของข้ อสมมติ

การลดลงของข้ อสมมติ

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

อัตราคิดลด

ร้อยละ 1

ร้อยละ 1

อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือน

ร้อยละ 1

ร้อยละ 1

ลดลง ร้อยละ 10.97 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 12.20

ลดลง ร้อยละ 11.18 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 13.34

เพิ่มขึ้น ร้อยละ 12.99 ลดลง ร้อยละ 10.57

เพิ่มขึ้น ร้อยละ 13.32 ลดลง ร้อยละ 11.42

80


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 27

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) การวิเคราะห์ความอ่อนไหวข้างต้นนี้ อา้ งอิงจากการเปลี่ยนแปลงข้อสมมติ ขณะที่ให้ขอ้ สมมติอื่นคงที่ ในทางปฏิบตั ิสถานการณ์ ดังกล่าวยากที่จะเกิดขึ้น และการเปลี่ยนแปลงในข้อสมมติอาจมีความสัมพันธ์กนั ในการคํานวณการวิเคราะห์ความอ่อนไหวของ ภาระผูกพันผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงในข้อสมมติหลักได้ใช้วิธีเดี ยวกับ (มูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพัน โครงการผลประโยชน์ท่ีกาํ หนดไว้คาํ นวณด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method)) ณ วันสิ้ นรอบ ระยะเวลารายงาน)ในการคํานวณหนี้สินผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุที่รับรู ้ในงบแสดงฐานะการเงิน วิธีการและประเภทของข้อสมมติที่ใช้ในการจัดทําการวิเคราะห์ความอ่อนไหวไม่ได้เปลี่ยนแปลงจากปี ก่อน ระยะเวลาถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์คือ 24.23 ปี (พ.ศ. 2558 : 25.04 ปี ) การวิเคราะห์การครบกําหนดของการจ่ายชําระผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุที่ไม่มีการคิดลด: งบการเงินรวม ระหว่าง ระหว่าง 5 - 10 ปี 10 - 15 ปี บาท บาท

น้ อยกว่า 1 ปี บาท

ระหว่าง 1 - 5 ปี บาท

ณ พ.ศ. 2559 ผลประโยชน์ เมื่อเกษียณอายุ

491,250

3,100,453

12,684,551

ณ พ.ศ. 2558 ผลประโยชน์ เมื่อเกษียณอายุ

439,391

2,659,773

8,041,993

เกินกว่ า 15 ปี บาท

รวม บาท

16,123,022

49,525,525

81,924,801

16,079,812

88,006,967

115,227,936

งบการเงินเฉพาะกิจการ ระหว่าง ระหว่าง 5 - 10 ปี 10 - 15 ปี บาท บาท

เกินกว่ า 15 ปี บาท

รวม บาท

น้ อยกว่า 1 ปี บาท

ระหว่าง 1 - 5 ปี บาท

ณ พ.ศ. 2559 ผลประโยชน์ เมื่อเกษียณอายุ

491,250

3,100,453

12,551,927

15,783,721

45,673,615

77,600,966

ณ พ.ศ. 2558 ผลประโยชน์ เมื่อเกษียณอายุ

439,391

2,659,773

7,874,539

15,383,491

72,256,907

98,614,101

กลุ่มกิจการใช้กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานมาจ่ายผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุและผลประโยชน์ระยะยาวอื่น

81


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 28

ทุนเรื อนหุ้นและส่ วนเกินทุนจากหุ้นสามัญ ทุนเรื อนหุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 การใช้สิทธิใบสําคัญแสดงสิ ทธิ (หมายเหตุ 28.3) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 การลดทุนจดทะเบียน (หมายเหตุ 28.1) การเพิม่ ทุนจดทะเบียน (หมายเหตุ 28.2) หุน้ ปั นผลจ่าย (หมายเหตุ 29) การใช้ใบสําคัญแสดงสิ ทธิ (หมายเหตุ 28.3) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

ทุนทีอ่ อกและชําระแล้ ว

ส่ วนเกินทุน

จํานวนหุ้น

บาท

จํานวนหุ้น

บาท

บาท

1,080,000,000

270,000,000

720,000,000

180,000,000

291,360,242

1,080,000,000 (100,020) 107,989,998 1,187,889,978

270,000,000 (25,005) 26,997,500 296,972,495

104,510,700 824,510,700 91,643,225 266,787,848 1,182,941,773

26,127,675 206,127,675 22,910,806 66,696,962 295,735,443

25,966,889 317,327,131 58,576,717 375,903,848

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ทุนจดทะเบียนของบริ ษทั ประกอบด้วยหุ ้นสามัญ จํานวน 1,187,889,978 หุ ้น (31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 : 1,080,000,000 หุน้ ) มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 0.25 บาท (31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 : 0.25 บาท) 28.1 การลดทุนจดทะเบียน ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2559 พิจารณาและอนุมตั ิการลดทุนจดทะเบียน โดยบริ ษทั จะลดทุ นจดทะเที ยนจากจํานวน 1,080,000,000 หุ ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 0.25 บาท รวมจํานวน 270,000,000 บาท เป็ น ทุนจดทะเบียนใหม่จาํ นวน 1,079,899,980 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.25 บาท รวมจํานวน 269,979,995 บาท โดยการตัด หุน้ จดทะเบียนที่ยงั ไม่ได้จาํ หน่ายและไม่ได้มีไว้เพื่อรองรับการแปลงสภาพใบสําคัญแสดงสิ ทธิจาํ นวน 100,020 หุน้ มูลค่า ที่ตราไว้หุน้ ละ 0.25 บาท รวมจํานวน 25,005 บาท บริ ษ ทั ได้ดาํ เนิ น การจดทะเบี ยนลดทุ นจดทะเบี ยนดังกล่าวกับกรมพัฒ นาธุ รกิ จการค้า กระทรวงพาณิ ชย์ แล้วเมื่ อวัน ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

82


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 28

ทุนเรื อนหุ้นและส่ วนเกินทุนจากหุ้นสามัญ (ต่อ) 28.2 การเพิม่ ทุนจดทะเบียน ที่ ประชุ มสามัญ ผูถ้ ื อหุ ้น ครั้งที่ 1/2559 เมื่ อ วันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2559 พิจารณาและอนุ มตั ิ การเพิ่ มทุ น จดทะเบี ยนและ ออกใบสําคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อหุน้ สามัญที่ออกใหม่ของบริ ษทั โดยบริ ษทั จะเพิ่มทุนจดทะเบียนจากจํานวน 1,079,899,980 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.25 บาท รวมจํานวน 269,974,995 บาท เป็ นทุนจดทะเบียนใหม่จาํ นวน 1,187,889,978 หุ ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 0.25 บาท รวมจํานวน 296,972,495 บาท โดยการออกหุ ้นสามัญใหม่จาํ นวน 107,989,998 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุน้ ละ 0.25 บาท รวมจํานวน 26,997,500 บาท ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ จัดสรรให้ แก่ เพื่อรองรับการจ่ายหุน้ ปั นผลให้แก่ ผูถ้ ือหุน้ เดิม

จํานวนหุ้น

อัตราส่ วน (เดิม:ใหม่ )

มูลค่ าที่ตราไว้ (บาท)

107,989,998

10 หุน้ สามัญเดิม : 1 หุน้ เพิ่มทุน

0.25บาท

บริ ษทั ได้ดาํ เนินการจดทะเบียนเพิม่ ทุนจดทะเบียนดังกล่าวกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าแล้วเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 28.3 ใบสํ าคัญแสดงสิ ทธิ บริ ษ ัท ออกและเสนอขายใบสํ า คัญ แสดงสิ ท ธิ ท่ี จ ะซื้ อ หุ ้ น สามัญ ของบริ ษ ัท ในวัน ที่ 28 ตุ ล าคม พ.ศ. 2556 จํา นวน 360,000,000 หน่วย โดยไม่คิดมูลค่าให้แก่ผถู ้ ือหุน้ เดิมในอัตราส่ วนหุน้ สามัญ 2 หุน้ ต่อใบสําคัญแสดงสิ ทธิ 1 หน่วย โดยเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยได้ส่ังรับใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ ้นสามัญ ของบริ ษทั จํานวน 359,899,980 หน่วย เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนและอนุญาตให้เริ่ มทําการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2559 พิจารณาและอนุมตั ิการปรับอัตราการใช้สิทธิซ้ื อหุน้ สามัญ และราคาใช้สิทธิ ของใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ ้นสามัญครั้งที่ 1 (CHO-W1) เนื่ องจากการจ่ายหุ ้นปั นผล (หมายเหตุ 29) เข้าเงื่อนไขที่ บริ ษทั ต้องปรับอัตราการใช้สิทธิ ซ้ื อหุ ้นสามัญ และราคาใช้สิทธิ ของใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ตามรายละเอี ยด ดังต่อไปนี้ รายละเอียด อัตราการใช้สิทธิซ้ือหุน้ สามัญ ราคาใช้สิทธิ

สิ ทธิเดิม ใบสําคัญแสดงสิ ทธิ 1 หน่วยมีสิทธิ ซื้อหุน้ สามัญได้ 1 หุน้ 0.50 บาทต่อหุน้

สิ ทธิหลังการปรับ ใบสําคัญแสดงสิ ทธิ 1 หน่วยมีสิทธิ ซื้อหุน้ สามัญได้ 1.1 หุน้ 0.454 บาทต่อหุน้

83


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 28

ทุนเรื อนหุ้นและส่ วนเกินทุนจากหุ้นสามัญ (ต่อ) 28.3 ใบสํ าคัญแสดงสิ ทธิ (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ใบสําคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อหุน้ สามัญครั้งที่ 1 (CHO-W1) มีรายละเอียดดังนี้ อัตราการใช้สิทธิ : ราคาใช้สิทธิต่อหุน้ :

ใบสําคัญแสดงสิ ทธิ 1 หน่วย สามารถซื้อหุน้ สามัญเพิม่ ทุนได้ 1.1 หุน้ (อัตราการใช้สิทธิอาจ เปลี่ยนแปลงในภายหลังตามเงื่อนไขการปรับสิ ทธิ) 0.454 บาท ต่อหุน้ (ราคาการใช้สิทธิอาจเปลี่ยนแปลงในภายหลังตามเงื่อนไขการปรับสิ ทธิ)

ระยะเวลาการใช้สิทธิ : ผูถ้ ือใบสําคัญแสดงสิ ทธิสามารถใช้สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิ ทธิได้ท้ งั จํานวนหรื อเพียงบางส่ วน เมื่อครบกําหนดหนึ่งปี นับจากวันที่ออกใบสําคัญแสดงสิ ทธิ โดยวันกําหนดการใช้สิทธิ คือ วันทําการสุ ดท้ายของเดือนมีนาคม มิถุนายน กันยายนและธันวาคมของทุกปี โดยวันใช้ สิ ทธิครั้งแรกคือวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และวันใช้สิทธิครั้งสุ ดท้ายคือวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 มีผแู ้ สดงความจํานงในการใช้ใบสําคัญแสดงสิ ทธิในการซื้อหุน้ สามัญจํานวน 45,461,300 หุน้ และจ่ายชําระเงินเป็ นจํานวนทั้งสิ้ น 22,710,359 บาท (สุ ทธิ จากค่าใช้จ่ายที่ เกี่ ยวข้องในการใช้สิทธิ ซ้ื อหุ ้นสามัญจํานวน 20,291 บาท) ได้ถูกบันทึกเป็ นเงินรับล่วงหน้าค่าหุ ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 โดยบริ ษทั ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิ ชย์ เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2558 ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มี ผูแ้ สดงความจํานงในการใช้ใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ในการซื้ อหุ ้นสามัญ จํานวน 148,451,500 หน่ ว ย เป็ นเงิ น ทั้ง สิ้ น จํานวน 74,062,006 บาท (สุ ท ธิ จ ากค่ าใช้จ่ ายที่ เกี่ ย วข้อ งในการใช้สิ ท ธิ ซ้ื อ หุ ้นสามัญ จํานวน 163,744 บาท) โดยใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ในการซื้ อหุ ้นสามัญจํานวน 59,049,400 หน่ วย เป็ นเงินทั้งสิ้ น 29,384,205 บาท ได้ถูกจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิ ชย์เมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2558 วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 และวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ส่ วนที่เหลือจํานวน 89,402,100 หน่ วย เป็ นเงินทั้งสิ้ น 44,677,801 บาท ได้ถูกบันทึกไว้เป็ นเงินรับล่วงหน้าค่าหุ ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 โดยบริ ษทั ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนกับกรมพัฒนา ธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิ ชย์ เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2559 ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 มี ผูแ้ สดงความจํานงในการใช้ใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ในการซื้ อหุ ้นสามัญ จํานวน 177,385,748 หน่ วย เป็ นเงินทั้งสิ้ นจํานวน 80,737,007 บาท (สุ ทธิ จากค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องในการใช้สิทธิ ซ้ื อหุ ้นสามัญ จํานวน 141,129 บาท) โดยใบสําคัญแสดงสิ ทธิในการซื้ อหุ ้นสามัญจํานวน 177,385,748 หน่วย เป็ นเงินทั้งสิ้ น 80,737,007 บาท ได้ถูกจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิ ชย์เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2559, 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 และ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั ไม่มีใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ในการซื้ อหุ ้นสามัญ (CHO-W1) คงเหลือ เนื่ องจากสิ ทธิ ใน การใช้หมดอายุ (พ.ศ. 2558 : บริ ษทั มีใบสําคัญแสดงสิ ทธิในการซื้อหุน้ สามัญ (CHO-W1) คงเหลือที่ยงั ไม่ได้ใช้สิทธิจาํ นวน 165,987,180 หน่วย) 84


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 29

การจ่ ายเงินปันผลและการจัดสรรทุนสํ ารองตามกฎหมาย บริ ษทั จ่ายเงินปั นผลสําหรับปี พ.ศ. 2559 โดยจ่ายเป็ นหุน้ สามัญจํานวน 91.64 ล้านหุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 0.25 บาท ให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ในอัตรา 10 หุน้ เดิมต่อ 1 หุน้ ปั นผล รวมมูลค่า 22.91 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นอัตราการจ่ายเงินปั นผลในอัตรา 0.0250 บาทต่อหุน้ และจ่ ายเป็ นเงิ น สดในอัต ราหุ ้ น ละ 0.0058 บาทต่ อ หุ ้ น รวมมู ล ค่ า 5.32 ล้านบาท โดยบริ ษ ัท จัด สรรทุ น สํ ารองตามกฎหมาย เป็ นจํานวนทั้งสิ้ น 1,310,000 บาท ในปี พ.ศ. 2558 และบริ ษทั ได้จ่ายเงินปั นผลจํานวน 28,214,995 บาท ให้แก่ผถู ้ ือหุน้ แล้วเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บริ ษทั มีเงินปั นผลค้างจ่ายจํานวน 9,421 บาท (วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 : 26,927 บาท)

30

ทุนสํ ารองตามกฎหมาย งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ยอดคงเหลือต้นปี จัดสรรเพิ่มระหว่างปี ยอดคงเหลือปลายปี

6,820,000 6,820,000

5,510,000 1,310,000 6,820,000

ตามพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจํากัด บริ ษทั จะต้องจัดสรรกําไรสุ ทธิ ประจําปี ส่ วนหนึ่ งไว้เป็ นทุนสํารองไม่น้อยกว่าร้อยละห้า ของกําไรสุ ทธิประจําปี หักด้วยขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสํารองนี้จะมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละสิ บของทุนจดทะเบียน ซึ่งสํารองตามกฎหมายนี้จะไม่สามารถนําไปจ่ายเงินปั นผลได้ 31

ส่ วนได้ เสี ยที่ไม่ มีอาํ นาจควบคุม งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ยอดคงเหลือต้นปี ส่ วนแบ่งขาดทุนสุ ทธิในบริ ษทั ย่อย ยอดคงเหลือปลายปี

4,974 (2,170) 2,804

5,127 (153) 4,974

85


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 32

รายได้ อื่น สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท บาท บาท รายได้ค่าบริ การ ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น

33

6,646,238 4,207,916 1,427,727 12,281,881

4,384,189 9,203,094 2,755,133 16,342,416

10,559,687 8,723,289 1,258,958 20,541,934

8,512,118 13,066,755 2,755,069 24,333,942

ต้ นทุนทางการเงิน สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท บาท บาท ดอกเบี้ยจ่ายเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน ดอกเบี้ยจ่ายหนี้สินภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน ดอกเบี้ยจ่ายหุน้ กู้ ค่าตัดจําหน่ายค่าใช้จ่ายทางตรงในการออกหุน้ กู้

34

28,051,953 2,367,053 7,970,868 310,868 38,700,742

28,598,988 256,894 28,855,882

27,473,164 2,364,906 7,970,868 310,868 38,119,806

27,938,360 229,958 28,168,318

ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ รายการบางรายการที่รวมอยูใ่ นการคํานวณกําไรจากการดําเนินงานสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม สามารถนํามาแยกตามลักษณะได้ ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท การเปลี่ยนแปลงในสิ นค้าสําเร็ จรู ป และงานระหว่างทํา วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าใช้จ่ายในการขนส่ ง

(16,053,698) 716,643,322 170,404,179 38,929,640 6,464,863

(1,275,223) 712,962,693 163,347,830 32,286,527 21,708,274

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท (5,888,470) 693,297,578 159,285,992 32,112,465 5,951,913

(4,572,773) 677,276,917 151,259,138 24,980,383 21,483,621 86


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 35

ภาษีเงินได้ รายการกระทบยอดภาษีเงินได้สาํ หรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

ภาษีเงินได้ ปีปัจจุบัน : ภาษีเงินได้สาํ หรับกําไรทางภาษีสาํ หรับปี การปรับปรุ งจากการบันทึกภาษีเงินได้ ปี ก่อนสู งไป รวมภาษีเงินได้ปีปั จจุบนั

-

(9,798,250)

-

(9,798,250)

1,439,106 1,439,106

458,813 (9,339,437)

1,439,106 1,439,106

458,813 (9,339,437)

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี : รายการที่เกิดขึ้นจากผลแตกต่างชัว่ คราว (หมายเหตุ 20) รายได้(ค่าใช้จ่าย)ภาษีเงินได้

(148,506) 1,290,600

(168,885) (9,508,322)

78,210 1,517,316

(836,156) (10,175,593)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท (ขาดทุน)กําไรก่อนภาษีทางบัญชี ภาษีคาํ นวณจากอัตราภาษีร้อยละ 20 ผลกระทบ: ค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถหักภาษี ค่าใช้จ่ายที่สามารถหักภาษีได้เพิ่มขึ้น ขาดทุนทางภาษีที่ไม่ได้บนั ทึกเป็ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ตัดจําหน่ายภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี จากขาดทุนทางภาษียกมา ผลแตกต่างชัว่ คราวที่ไม่ได้บนั ทึก เป็ นสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี การปรับปรุ งจากการบันทึกภาษีเงินได้ ปี ก่อนสู งไป รายได้(ค่าใช้จ่าย)ภาษีเงินได้

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

(92,578,822)

45,247,510

(70,918,339)

47,081,736

18,515,764

(9,049,502)

14,183,667

(9,416,347)

(766,068) 1,080,230

(1,801,419) 1,027,121

(625,661) 1,080,230

(1,792,996) 1,027,121

(18,792,036)

(452,184)

(14,560,026)

(452,184)

(193,186)

-

-

-

6,790

308,849

-

-

1,439,106 1,290,600

458,813 (9,508,322)

1,439,106 1,517,316

458,813 (10,175,593)

87


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 36

กําไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้น ก)

กําไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน กําไร(ขาดทุ น)ต่อหุ ้นขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไรส่ วนที่ เป็ นของผูถ้ ื อหุ ้นสามัญ ด้วยจํานวนหุ ้นสามัญ ถัวเฉลี่ ย ถ่วงนํ้าหนักที่ออกจําหน่ายในระหว่างปี งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ส่ วนแบ่งกําไร(ขาดทุน)ที่เป็ น ของบริ ษทั ใหญ่ (บาท) จํานวนหุน้ สามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก (หุน้ ) กําไร(ขาดทุน)ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน (บาท)

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

(91,285,991) 1,042,753,891 (0.0875)

35,739,347 884,860,561 0.0404

(69,401,023) 1,042,753,891 (0.0666)

36,906,143 884,860,561 0.0417

บริ ษทั คํานวณกําไรต่อหุน้ สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ขึ้นใหม่เพื่อประโยชน์ในการเปรี ยบเทียบข้อมูลทาง การเงิน โดยใช้จาํ นวนหุ ้นสามัญถัวเฉลี่ ยถ่วงนํ้าหนักที่ ถือเสมื อนว่าได้ทาํ การเปลี่ ยนแปลงจํานวนหุ ้นสามัญที่ ออกและ เรี ยกชําระแล้วโดยให้สอดคล้องกับการเปลี่ ยนแปลงจํานวนหุ ้น สามัญ ที่ ออกและเรี ยกชําระแล้วจากการจ่ายหุ ้น ปั นผล ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ข)

กําไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้นปรับลด กําไร(ขาดทุน)ต่อหุ ้นปรับลดคํานวณโดยปรับจํานวนหุน้ สามัญถัวเฉลี่ยที่ถือโดยบุคคลกลุ่มภายนอกในระหว่างปี ปรับปรุ ง ด้วยจํานวนหุ ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดโดยสมมุติว่าหุ ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดได้แปลงเป็ นหุ ้นสามัญทั้งหมด บริ ษทั มีหุ้น สามัญเทียบเท่าปรับลดคือใบสําคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้ อหุ ้นสามัญ (หมายเหตุ 28) ส่ วนสิ ทธิ เลือกซื้ อหุ ้น บริ ษทั คํานวณจํานวนหุ ้น เทียบเท่าปรับลดโดยเปรี ยบเทียบจํานวนหุน้ ที่จะซื้อได้มีมูลค่ายุติธรรม (กําหนดจากราคาถัวเฉลี่ยของหุน้ สามัญของบริ ษทั ระหว่าง ปี ) โดยพิจารณาจากตัวเงินที่จะได้รับจากการใช้สิทธิกบั จํานวนหุน้ ที่อาจต้องออกหากมีการใช้สิทธิโดยไม่มีการปรับปรุ งกําไรแต่ อย่างใด

88


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 36

กําไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้น (ต่อ) ข)

กําไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้นปรับลด (ต่อ)

ส่ วนแบ่งกําไร(ขาดทุน) ที่เป็ นของบริ ษทั ใหญ่ (บาท) จํานวนหุน้ สามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก ที่ออกจําหน่ายและชําระแล้ว (หุน้ ) จํานวนหุน้ ที่เพิม่ ขึ้นจากการถือ เสมือนว่ามีการแปลงสภาพใบสําคัญ แสดงสิ ทธิ (หุน้ ) จํานวนหุน้ สามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักที่ใช้ ในการคํานวณกําไรต่อหุน้ ปรับลด (หุน้ ) กําไร(ขาดทุน)ต่อหุน้ ปรับลด (บาท)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558

(91,285,991)

35,739,347

(69,401,023)

36,906,143

1,042,753,891

884,860,561

1,042,753,891

884,860,561

-

1,042,753,891 (0.0875)

206,718,725

1,091,579,286 0.0327

-

1,042,753,891 (0.0666)

206,718,725

1,091,579,286 0.0338

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 จํานวนหุน้ สามัญที่เพิ่มขึ้นจากการถือเสมือนว่ามีการแปลงสภาพใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ไม่ถือว่าเป็ นหุ น้ สามัญเทียบเท่าปรับลด เนื่องจากการแปลงเป็ นหุน้ สามัญดังกล่าวไม่ทาํ ให้ขาดทุนต่อหุน้ สําหรับผูถ้ ือหุน้ สามัญเพิม่ ขึ้น 37

รายการกับบุคคลหรื อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริ ษทั หมายถึง บุคคลหรื อกิจการที่มีอาํ นาจควบคุมบริ ษทั ถูกควบคุม โดยบริ ษทั ไม่ว่าจะเป็ น โดยทางตรงหรื อทางอ้อม หรื ออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริ ษทั รวมถึงบริ ษทั ที่ทาํ หน้าที่ถือหุน้ บริ ษทั ย่อยและกิจการที่เป็ น บริ ษทั ย่อยในเครื อเดียวกัน นอกจากนี้ บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึง บริ ษทั ร่ วมและบุคคลซึ่งถือหุน้ ที่มีสิทธิออกเสี ยง ไม่ว่าทางตรงหรื อทางอ้อม และมีอิทธิ พลอย่างเป็ นสาระสําคัญกับบริ ษทั ผูบ้ ริ หารสําคัญ กรรมการหรื อพนักงานของบริ ษทั ตลอดทั้ง สมาชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลดังกล่าว และกิจการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลเหล่านั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สมาชิ กในตระกูลทวีแสงสกุลไทยถือหุ ้นในบริ ษทั รวมเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 52.24 จํานวนหุ ้นที่ถือ ร้อยละ 47.76 ถือโดยบุคคลทัว่ ไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 สมาชิกในตระกูลทวีแสงสกุลไทยถือหุน้ ในบริ ษทั รวมเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 46.63 จํานวนหุน้ ที่เหลือ ร้อยละ 53.37 ถือโดยบุคคลทัว่ ไป ในการพิ จ ารณาความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่างบุ ค คลหรื อ กิ จ การที่ เกี่ ย วข้อ งกัน กับ บริ ษ ัท แต่ ล ะรายการ บริ ษ ัท คํา นึ ง ถึ ง เนื้ อ หาของ ความสัมพันธ์มากกว่ารู ปแบบทางกฎหมาย เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยที่สาํ คัญเปิ ดเผยในหมายเหตุ 14

89


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 37

รายการกับบุคคลหรื อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) ความสัมพันธ์ระหว่างบริ ษทั กับบุคคลหรื อบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน ชื่ อบุคคลและกิจการ บริ ษทั ช. ทวี เทอร์โมเทค จํากัด

ประเภทธุรกิจ

ผลิต ตกแต่ง ประกอบและซ่อมแซม ตูท้ ี่ใช้สาํ หรับบรรจุและบรรทุกสิ นค้า กิจการร่ วมค้าทีเอสพี-ซี ทีวี จําหน่ายและติดตั้งหลอดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า กิจการร่ วมค้าเจวีซีซี ผลิต, ประกอบและซ่อมแซมรถโดยสาร ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติ กิจการร่ วมค้าเจวีซีอี ติดตั้งระบบตรวจสอบและติดตามการปฏิบตั ิการ เดินรถ (GPS) รถโดยสารประจําทาง กิจการร่ วมค้าเลคิเซ่ แอนด์ ช. ทวี ติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่างหลอด LED กิจการร่ วมค้าเจวีซีเคเค จัดสร้างโรงคลุมสําหรับต่อเรื อตรวจการณ์ ไกลฝั่ง (OPVs) กิจการร่ วมค้าเจวีโอพีวี ผลิตบล็อคต่าง ๆ ตัวเรื อตรวจการณ์ไกลฝั่ง (OPVs) บริ ษทั ทวีแสงไทย จํากัด จําหน่ายรถยนต์และอุปกรณ์อุตสาหกรรม ห้างหุน้ ส่ วนจํากัด ขอนแก่น ช. ทวี จําหน่ายรถยนต์ บริ ษทั บางกอก ซี ทีวี. อินเตอร์เทรด จํากัด ผลิตและส่ งออกสิ นค้าประเภทของใช้ในบ้าน บริ ษทั ขอนแก่น ช. ทวี (1993) จํากัด ผลิตและจําหน่ายรถพ่วง บริ ษทั เอพีเอส มัลติ-เทรด จํากัด จําหน่ายเครื่ องจักรและอุปกรณ์ทางการเกษตร บริ ษทั โอเจ ดีเวลอปเมนท์ จํากัด ให้เช่าพื้นที่ขายสังหาริ มทรัพย์ บริ ษทั ช. รวมทวี (หลักสี่ ) จํากัด ซื้ อขายรถยนต์ - ค้าปลีก บริ ษทั ขอนแก่นพัฒนาเมือง (เคเคทีที) จํากัด ระดมทุนเพื่อก่อสร้างระบบขนส่ งมวลชน ขนาดใหญ่ในจังหวัดขอนแก่น บริ ษทั รวมทวี มอเตอร์เซลส์ จํากัด ซื้ อขายแลกเปลี่ยนรถ บริ ษทั รวมทวี ขอนแก่น จํากัด ตัวแทนจําหน่ายรถ บริ ษทั ช. รวมทวีลิสซิ่ ง แอนด์เรี ยลเอสเตท จํากัด รับจํานอง ขาย แลกเปลี่ยนรถ บ้าน ห้างหุน้ ส่ วนจํากัด ตั้งฮัว่ ซิ ง นครปฐม จําหน่าย ซ่อมรถและขายอะไหล่ บริ ษทั วอลแลพ ทรัค แอนด์ บัส จํากัด จําหน่ายรถยนต์ บริ ษทั ตงฟง หางโจว มอเตอร์ (ประเทศไทย) จํากัด จําหน่ายรถยนต์ บริ ษทั บางจากไบโอเอทานอล จํากัด (ฉะเชิงเทรา) ผลิตและจําหน่ายเอทานอลและก๊าซชีวภาพจาก ผลิตผลทางการเกษตร

ลักษณะความสั มพันธ์ บริ ษทั ย่อย การดําเนินงานร่ วมกัน การดําเนินงานร่ วมกัน การดําเนินงานร่ วมกัน การดําเนินงานร่ วมกัน การดําเนินงานร่ วมกัน การดําเนินงานร่ วมกัน มีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการร่ วมกัน มีผเู ้ ป็ นหุน้ ส่ วนร่ วมกัน มีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการร่ วมกัน มีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการร่ วมกัน มีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการร่ วมกัน มีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการร่ วมกัน มีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการร่ วมกัน มีผถู ้ ือหุน้ และกรรมการร่ วมกัน มีกรรมการร่ วมกัน มีกรรมการร่ วมกัน มีกรรมการร่ วมกัน มีผเู ้ ป็ นหุน้ ส่ วนร่ วมกัน มีผถู ้ ือหุน้ ร่ วมกัน มีผถู ้ ือหุน้ ร่ วมกัน มีกรรมการร่ วมกัน

90


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 37

รายการกับบุคคลหรื อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) ความสัมพันธ์ระหว่างบริ ษทั กับบุคคลหรื อบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) ชื่ อบุคคลและกิจการ

ประเภทธุรกิจ

ลักษณะความสั มพันธ์

บริ ษทั อุบล ไบโอ เอทานอล จํากัด โรงงานผลิตเอทานอล นํ้ามันเชื้อเพลิงชีวภาพ บริ ษทั สมาร์ท คอนซัลติ้ง แอนด์ เซอร์วิสเซส จํากัด ให้บริ การทําบัญชี ตรวจสอบบัญชีและ ให้คาํ ปรึ กษาด้านบัญชี บริ ษทั สื่ อเสรี เพื่อการปฎิรูป จํากัด ประกอบกิจการร้านขายปลีกหนังสื อ หนังสื อพิมพ์และเครื่ องเขียน บริ ษทั เอเพ็กซ์ ดีเวลลอปเม้นท์ จํากัด (มหาชน) สร้างและพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์เพื่อขาย คุณอัศนา ทวีแสงสกุลไทย -

มีกรรมการร่ วมกัน มีกรรมการร่ วมกัน มีกรรมการร่ วมกัน มีกรรมการร่ วมกัน ผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั

นโยบายการกําหนดราคาสําหรับแต่ละประเภทรายการมีดงั นี้ ประเภทรายการ รายได้ตามสัญญา รายได้จากการขายและการให้บริ การ ซื้อ - ขายสิ นทรัพย์ถาวร/สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ซื้อวัตถุดิบ รายได้ค่าบริ หาร ค่าเช่าและรายได้อื่น รายจ่ายค่าเช่า ดอกเบี้ยรับและดอกเบี้ยจ่าย

นโยบายการกําหนดราคา ราคาที่ตกลงร่ วมกัน ราคาที่ตกลงร่ วมกัน ราคาที่ตกลงร่ วมกัน ราคาตามสัญญา และ/หรื อ ราคาที่ตกลงร่ วมกัน ราคาตามสัญญา ร้อยละ 7 ต่อปี

91


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 37

รายการกับบุคคลหรื อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) ก)

รายการบัญชีกบั บุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันที่เกิดขึ้นสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท บริษัทย่ อย รายได้จากการขายและการให้บริ การ รายได้ค่าบริ หาร รายได้ค่าเช่า ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น ซื้อวัตถุดิบ รายจ่ายค่าเช่า บุคคลและกิจการที่เกีย่ วข้ องกันอื่น ๆ รายได้ตามสัญญา รายได้จากการขายและการให้บริ การ รายได้ค่าบริ หาร รายได้ค่าเช่า ดอกเบี้ยรับ รายได้จากการขายสิ นทรัพย์ รายได้อื่น ซื้อวัตถุดิบ รายจ่ายค่าเช่า รายจ่ายอื่น ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารสําคัญ - ผลประโยชน์ระยะสั้น - ผลประโยชน์หลังออกจากงาน

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

-

2,774,079 2,566,800 2,640,000 4,515,373 1,273,449 (54,167,304) (48,000)

4,131,469 2,566,800 2,640,000 3,863,962 1,487,929 (31,030,442) (48,000)

73,584 3,829,177 360,000 38,116 (118,623,012) (252,000) (5,467,183)

22,665,240 12,682,316 1,584,699 360,000 2,850,377 518,495 (76,512,917) (252,000) (1,950,000)

73,584 3,829,177 360,000 38,116 (118,623,012) (5,239,197)

22,665,240 12,682,316 1,584,699 360,000 2,850,377 518,495 (76,512,917) (1,950,000)

17,580,343 675,462

18,184,115 370,535

17,580,343 675,462

18,184,115 370,535

92


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 37

รายการกับบุคคลหรื อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) ข)

ยอดคงเหลือที่เกิดจากการซื้ อ/ขายสิ นค้าและบริ การและอื่น ๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 กับบุคคลและ กิจการที่เกี่ยวข้องกันมีดงั นี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ลูกหนีก้ ารค้ า (หมายเหตุ 8) บริ ษทั ย่อย

-

977,744

78,144

27,692 -

37,609 32,168,961 15,865,668

27,692 -

37,609 32,168,961 15,865,668

128,400 156,092

48,072,238

128,400 1,133,836

48,150,382

ดอกเบีย้ ค้างรับจากบริษทั ย่ อย (หมายเหตุ 8)

-

-

-

348,389

ลูกหนีอ้ ื่น (หมายเหตุ 8) บริ ษทั ย่อย

-

-

195,780

87,611

669 910,886 911,555

4,210,776 4,210,776

669 910,886 1,107,335

4,210,776 4,298,387

-

-

-

-

กิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น ๆ บริ ษทั วอลแลพ ทรัค แอนด์ บัส จํากัด บริ ษทั รวมทวีขอนแก่น จํากัด กิจการร่ วมค้า ทีเอสพี ซีทีวี Doll Fahrzeugbau GmbH บริ ษทั ขอนแก่นพัฒนาเมือง (เคเคทีที) จํากัด รวม

กิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น ๆ บริ ษทั วอลแลพ ทรัค แอนด์ บัส จํากัด กิจการร่ วมค้า ทีเอสพี ซีทีวี รวม เงินทดรองจ่ าย (หมายเหตุ 8) บริ ษทั ย่อย กิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น ๆ กิจการร่ วมค้า ทีเอสพี ซีทีวี บริ ษทั วอลแลพ ทรัค แอนด์ บัส จํากัด รวม

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

10,950 10,950

2,887,912 650,400 3,538,312

10,950 10,950

2,887,912 650,400 3,538,312

93


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 37

รายการกับบุคคลหรื อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) ข)

ยอดคงเหลือที่เกิดจากการซื้อ/ขายสิ นค้าและบริ การและอื่น ๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 กับบุคคลและ กิจการที่เกี่ยวข้องกันมีดงั นี้ (ต่อ) งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท เจ้ าหนีก้ ารค้ า (หมายเหตุ 21) บริ ษทั ย่อย กิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น ๆ บริ ษทั ขอนแก่น ช.ทวี (1993) จํากัด Doll Fahrzeugbau GmbH บริ ษทั รวมทวีขอนแก่น จํากัด บริ ษทั วอลแลพ ทรัค แอนด์ บัส จํากัด ห้างหุน้ ส่ วนจํากัด ตั้งฮัว่ ซิง นครปฐม รวม เจ้ าหนีอ้ ื่น (หมายเหตุ 21) บริ ษทั ย่อย กิจการและบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน บริ ษทั ขอนแก่น ช.ทวี (1993) จํากัด คุณอัศนา ทวีแสงสกุลไทย รวม

ค)

284,300 2,492,535 54,740 112,954,550 115,786,125

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

-

11,170,947

1,035,126

3,151,006 772,669 50,439 2,397 3,976,511

284,300 2,492,535 54,740 112,954,550 126,957,072

3,151,006 772,669 50,439 2,397 5,011,637

-

-

-

-

200,000 200,000

30,000 200,000 230,000

200,000 200,000

30,000 200,000 230,000

รายการเคลื่อนไหวระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 สําหรับเงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่บริ ษทั ย่อยมีดงั นี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ยอดคงเหลือต้นปี เพิม่ ขึ้น ลดลง ยอดคงเหลือปลายปี

-

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 58,600,000 24,963,762 (12,639,465) 70,924,297

25,500,000 58,500,000 (25,400,000) 58,600,000

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 เงินให้กูย้ มื แก่บริ ษทั ย่อยคงค้างเป็ นเงินให้กูย้ มื ระยะสั้นที่ไม่มีหลักประกันใน สกุลเงินบาทมีดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.00 ต่อปี เงินกูด้ งั กล่าวมีกาํ หนดชําระคืนเมื่อทวงถาม มู ล ค่ ายุติ ธ รรมของเงิ น กู้ยืม ระยะสั้ นแก่ บ ริ ษ ัท ย่อ ยมี มู ล ค่ าเท่ ากับ ราคาตามบัญ ชี เนื่ อ งจากผลกระทบของอัต ราคิ ด ลด ไม่มีสาระสําคัญ 94


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 38

ภาระผูกพัน ก)

สั ญญาซื้อขายเงินตราต่ างประเทศล่ วงหน้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 วันครบกําหนดชําระเงินของสัญญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าที่ เปิ ดสถานะไว้มีอายุระหว่าง 1 เดือน และ 7 เดือน จํานวนเงินและอัตราแลกเปลี่ยนที่จะได้รับตามสัญญามีดงั นี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ จํานวนเงินตามสั ญญา สกุลเงินต่ างประเทศ สั ญญาซื้อเงินตรา ต่ างประเทศ ดอลลาร์สหรัฐ ยูโร หยวน มูลค่าตามสัญญา มูลค่ายุติธรรม กําไร(ขาดทุน)จาก การเปลี่ยนแปลงมูลค่า สั ญญาขายเงินตรา ต่ างประเทศ ดอลลาร์สหรัฐ ยูโร มูลค่าตามสัญญา มูลค่ายุติธรรม กําไร(ขาดทุน)จาก การเปลี่ยนแปลงมูลค่า สิ นทรัพย์(หนี้สิน)ตราสาร อนุพนั ธ์

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

100,000 154,202 300,000

-

417,455 309,616

220,201

อัตราแลกเปลีย่ นตามสั ญญา พ.ศ. 2559

35.65 38.11 - 38.91 5.06

35.66 - 35.86 39.50 - 39.68

พ.ศ. 2558

-

38.78 - 39.49

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

3,565,000 5,920,242 1,517,182 11,002,424 11,001,708

-

(716)

-

14,962,927 12,255,812 27,218,739 26,619,004

8,624,747 8,624,747 8,731,114

599,735

(106,367)

599,019

(106,367)

มู ลค่ายุติธรรมของสัญ ญาซื้ อ ขายเงิน ตราต่างประเทศล่ วงหน้า กําหนดโดยใช้อตั ราที่ กาํ หนดโดยธนาคารคู่สัญ ญาของ กลุ่มกิจการเสมือนว่าได้ยกเลิกสัญญาเหล่านั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 และอยูใ่ นข้อมูลระดับ 2 ของ ลําดับขั้นมูลค่ายุติธรรม

95


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 38

ภาระผูกพัน (ต่อ) ข)

ภาระผูกพันตามหนังสื อคํา้ ประกัน ตามปกติของธุรกิจ บริ ษทั ได้มีการทําหนังสื อสัญญาคํ้าประกัน เพื่อใช้ในการคํ้าประกันสัญญาจ้างงาน และ คํ้าประกันไฟฟ้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 บริ ษทั มีหนังสื อสัญญาคํ้าประกัน ที่ออกในนามของบริ ษทั ดังต่อไปนี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท คํ้าประกันสัญญาจ้างงาน คํ้าประกันไฟฟ้า

ค)

102,447,703 1,200,000 103,647,703

325,614,439 800,000 326,414,439

ภาระผูกพันตามเลตเตอร์ ออฟเครดิต บริ ษทั ได้มีการทําเลตเตอร์ออฟเครดิตที่ออกโดยธนาคารเพื่อใช้ในการซื้อสิ นค้าต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 บริ ษทั มีเลตเตอร์ออฟเครดิตที่ออกในนามของบริ ษทั ดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 เงินตราต่ างประเทศ เลตเตอร์ออฟเครดิตที่ยงั ไม่ได้ใช้

236,966 ยูโร 3,537,720 หยวน

พ.ศ. 2558 บาทหรื อ เทียบเท่ า 9,036,980 18,454,516 27,491,496

เงินตราต่ างประเทศ 481,200 ยูโร 10,000,000 เยน

บาทหรื อ เทียบเท่ า 19,151,524 3,027,560 22,179,084

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 เงินตราต่ างประเทศ เลตเตอร์ออฟเครดิตที่ยงั ไม่ได้ใช้

236,966 ยูโร 3,537,720 หยวน

พ.ศ. 2558 บาทหรื อ เทียบเท่ า 9,036,980 1,8454,516 27,491,496

เงินตราต่ างประเทศ 481,200 ยูโร 10,000,000 เยน

บาทหรื อ เทียบเท่ า 19,151,524 3,027,560 22,179,084 96


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 38

ภาระผูกพัน (ต่อ) ง)

ภาระผูกพันตามสั ญญาเช่ าดําเนินงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 กลุ่มกิจการมีภาระผูกพันตามสัญญาเช่าดําเนินงานเพื่อเช่าที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้าง ยานพาหนะและอื่น ๆ ซึ่งจํานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายในอนาคตตามสัญญาเช่าดําเนินงานที่ไม่สามารถยกเลิกได้มีดงั นี้

ถึงกําหนดชําระภายในปี สิ้นสุ ด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562

ถึงกําหนดชําระภายในปี สิ้นสุ ด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561

จ)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2559 บาท บาท 6,699,200 2,919,700 2,308,000 11,926,900

6,431,200 2,919,700 2,308,000 11,658,900

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2558 บาท บาท 6,140,420 3,895,400 225,500 10,261,320

5,840,420 3,879,400 225,500 9,945,320

ภาระผูกพันรายจ่ ายฝ่ ายทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุ่มกิจการมีภาระผูกพันในการจ่ายค่าก่อสร้างอาคารและการติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็ นจํานวนเงิน 8,255,612 บาท (31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 : 980,394 บาท)

97


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 39

การจ่ ายโดยใช้ ห้ ุนเป็ นเกณฑ์ ในระหว่างปี พ.ศ. 2557 ผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ของกลุ่มกิจการได้แสดงความจํานงที่จะมอบใบสําคัญแสดงสิ ทธิของกลุ่มกิจการที่ตนถืออยูจ่ าํ นวน หนึ่งให้กบั พนักงานที่ได้รับเลือกของกลุ่มกิจการโดยไม่มีเงื่อนไข ซึ่งผูบ้ ริ หารพบว่าการให้ใบสําคัญแสดงสิ ทธิดงั กล่าวมีเนื้อหาตีความได้ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 เรื่ อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ ทําให้กลุ่มกิ จการต้องบันทึ กค่าใช้จ่ายผลตอบแทน พนักงานจากการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ในงบการเงินของกลุ่มกิ จการ โดยผูถ้ ื อหุ ้นใหญ่ ของกลุ่มกิ จการแสดงความจํานงที่ จะมอบ ใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ให้แก่พนักงานของบริ ษทั ใหญ่และบริ ษทั ย่อยเป็ นจํานวน 6,905,100 สิ ทธิ และ 496,300 สิ ทธิ ตามลําดับ รวมจํานวน 7,401,400 สิ ทธิ ทําให้บริ ษทั ต้องบันทึกค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จเฉพาะกิจการสําหรับปี สิ้ น สุ ดวัน ที่ 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2557 เป็ นจํานวน 29,013,488 บาท และ 27,067,992 บาท ตามลําดับ และส่ วนเกิ น มู ลค่าหุ ้น จาก การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ในงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิ จการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เพิ่มขึ้น 29,013,488 บาท และ 27,067,992 บาท ตามลําดับ

40

สิ ทธิประโยชน์ ในการรับการส่ งเสริมการลงทุน กลุ่มกิจการได้รับสิ ทธิพิเศษจากคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนดังต่อไปนี้ บริษทั บริ ษทั ช ทวี จํากัด (มหาชน)

เลขทีบ่ ัตร ส่ งเสริม

วันทีไ่ ด้ รับสิ ทธิพเิ ศษ

ผลิตโครงสร้างโลหะสําหรับงาน ก่อสร้างหรื องานอุตสาหกรรม (Fabrication industry) หรื อการซ่อม Platform บริ ษทั ช. ทวี เทอร์โมเทค จํากัด 1746(2)/2548 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ผลิตแผ่นผนัง (Sandwich panel)

*

2417(2)/2553 18 ตุลาคม พ.ศ. 2553

ชื่ อผลิตภัณฑ์

เริ่มตั้งแต่ วนั ที่

หมดอายุวนั ที่

1

สิ ทธิประโยชน์ ทส่ี ํ าคัญ* 2 3 4 5

5 เมษายน พ.ศ. 2554 4 เมษายน พ.ศ. 2562 

14 มีนาคม พ.ศ. 2548 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 

สิ ทธิและประโยชน์ที่สาํ คัญ

1) ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสําหรับเครื่ องจักรตามที่คณะกรรมการอนุมตั ิ 2) ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับกําไรสุ ทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มรวมกันไม่เกินร้อยละ 100 ของเงินลงทุน ไม่รวมค่าที่ดินและทุนหมุนเวียนมีกาํ หนดเวลาแปดปี นับแต่วนั ที่มีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น 3) ได้รับอนุญาตให้หกั เงินลงทุนในการติดตั้งหรื อก่อสร้างสิ่ งอํานวยความสะดวก ร้อยละยีส่ ิ บห้าของเงินลงทุน นอกเหนือไปจาก การหักค่าเสื่ อมราคาตามปกติ 4) ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสําหรับวัตถุดิบและวัสดุจาํ เป็ นที่ตอ้ งนําเข้ามาจากต่างประเทศ เพื่อใช้ในการผลิตเพื่อการส่ งออกเป็ น ระยะเวลาห้าปี นับแต่วนั นําเข้าครั้งแรก 5) ได้รับยกเว้นไม่ตอ้ งนําเงินปั นผลจากกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ ม ซึ่ งได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลไปรวมคํานวณเพื่อเสี ย ภาษีเงินได้ตลอดระยะเวลาที่ผรู ้ ับการส่ งเสริ มได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้น ทั้งนี้ กลุ่มกิจการจะต้องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับสิ ทธิและประโยชน์ที่ได้รับนั้นตามที่ระบุไว้ในบัตรส่ งเสริ มการลงทุนด้วย

98


บริษัท ช ทวี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 40

สิ ทธิประโยชน์ ในการรับการส่ งเสริมการลงทุน (ต่อ) ผลการดําเนินงานสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 จําแนกตามรายได้ส่วนที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน และส่ วนที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนแสดงไว้ดงั นี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท รายได้จากส่ วนธุรกิจ ที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน - รายได้ตามสัญญา - รายได้จากการขายและการให้บริ การ รวม ที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน - รายได้ตามสัญญา - รายได้จากการขายและการให้บริ การ รวม

41

926,160,095 132,077,628 1,058,237,723 1,058,237,723

972,726,577 169,904,248 1,142,630,825 1,142,630,825

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

915,477,124 134,972,499 1,050,449,623 1,050,449,623

919,491,006 173,601,639 1,093,092,645 1,093,092,645

เหตุการณ์ ภายหลังวันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน ที่ ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั เมื่ อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 เห็ นสมควรนําเสนอต่อที่ ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นพิจารณาและอนุ มตั ิ การลดทุนจดทะเบียน โดยบริ ษทั จะลดทุนจดทะเบียนจากจํานวน 1,187,889,978 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.25 บาท รวมจํานวน 296,972,495 บาท เป็ นทุนจดทะเบียนใหม่จาํ นวน 1,182,941,773 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 0.25 บาท รวมจํานวน 295,735,444 บาท โดยการตัดหุ ้นจดทะเบียนที่คงเหลือจากการจ่ายหุ ้นปั นผล และใบสําคัญแสดงสิ ทธิ หมดอายุจาํ นวน 4,948,205 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุน้ ละ 0.25 บาท รวมจํานวน 1,237,051 บาท

99



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.