CHOW: รายงานประจำปี 2557

Page 1


QUALITY STEEL CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

40%

LOGISTIC

VERTEX LOGISTIC SERVICES

76.67%

HOLDING COMPANY

CHOW ENERGY

100%

INVESTMENT

CHOW INTERNATIONAL

100% DEVELOPER PREMIER SOLUTION

* ตั ว เลขร้ อ ยละแสดงสั ด ส่ ว นที่ บริ ษั ท ถื อ หุ้น


สารบัญ 04

สรุปข้อมูลทางการเงิน

10

คณะกรรมการบริษัท และผู้บริหาร

33

ความรับผิดชอบต่อสังคม

46

โครงสร้างองค์กรและการจัดการ

69

การควบคุมภายใน และการบริหาร จัดการความเสี่ยง

75

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

06

สารจากประธานกรรมการ

20

ข้อมูลทั่วไปของบริษัท

08

สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

25

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

40

44

ปัจจัยความเสี่ยง

โครงสร้างผู้ถือหุ้น

59

67

การก�ำกับดูแลกิจการ

70

รายการระหว่างกัน

76

รายงานของผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต

รายงานของคณะกรรมการ การตรวจสอบ

73

การวิเคราะห์ และค�ำอธิบาย ของฝ่ายจัดการ

77

งบการเงิน

85

หมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

ผูล้ งทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษทั ทีอ่ อกหลักทรัพย์เพิม่ เติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูล ประจ�ำปี (แบบ 56-1) ของบริษทั ทีแ่ สดงไว้ใน www.sec.or.th หรือ www.chowsteel.com”


CREATING A BETTER TOMORROW

วิสัยทัศน์

พันธกิจ

เป็นบริษัทชั้นนําในการผลิตและจําหน่ายเหล็กแท่งยาวใน ประเทศไทย โดยมุ่งเน้นเป็นผู้นําด้านต้นทุนและคุณภาพ ภายใต้ วิมาตรฐานสากลด้ สยั ทัศน์ (VISION)วยจรรยาบรรณที่มุ่งเน้นความรับ ผิดชอบต่อลูกค้า พนักงาน คู่ค้า สภาพแวดล้อมและสังคม เป็นบริษัทชั้นนําในการผลิต และจําาหน่ายเหล็ก แท่งยาว ในประเทศไทย โดยมุ่งเน้นเป็นผู้นําด้านต้นทุน และคุณภาพ ภายใต้ มาตรฐานสากลด้วยจรรยาบรรณ VISION ที่มุ่งเน้นความรับผิดชอบต่อลูกค้า พนักงาน คูค่ า้ สภาพ อมและสัinงคม To be แวดล้ the leader the manufacturing and distribution of billet in Thailand by focusing on controllingTocosts, quality of an be themaintaining leader in the manufacturing and international standard, acting ethicalliy distribution of billetand in Thailand by focusing on towards our customers, controlling costs,employees, maintainingpartners, quality of an the environment society and acting ethicalliy internationaland standard, towards our customers, employees, partners, the environment and society

INVESTMENT

25%

25% 002

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

1. ผลิตภัณฑ์เหล็กที่มีคุณภาพ 2. มุ่งสู่การเจริญเติบโตด้วยการขยายกําลังการผลิตและ ผลิตสินค้าต้นทุนต�่ำ พันธกิจ (MISSION) 3. ปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนอง 1. ผลิตภัณฑ์เความต้ หล็กที่มอีคงการของลู ุณภาพ กค้า 2. มุ่งสู่การเจริ เติบโตด้ ยการขยายกํงงานทดแทน าาลังการผลิต 4. ต่อญยอดธุ รกิจวโครงการพลั และ ผลิ5.ตสิพันฒค้านาทรั ต้นทุพนยากรบุ ต�ำ่ คคล อย่างต่อเนื่องเพิ่มพูนทักษะ 3. ปรั บ ปรุ ง และพั นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ เเหมาะสมกั พื่ อ ตอบสนอง ความรูฒ้ ความสามารถให้ บงาน ความ 6.ต้อเสริ งการของลู า วิต อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของชุมชน มสร้างคุกณค้ภาพชี 4. ต่อยอดธุรกิและมี จโครงการพลั ความรับงผิงานทดแทน ดชอบต่อสังคม 5. พัMISSION ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คล อย่ า งต่ อ เนื่ อ งเพิ่ ม พู น ทั ก ษะ ความรู้ ความสามารถให้เหมาะสมกับงาน 1. มQuality 6. เสริ สร้MISSION างคุณsteel ภาพชีวproducts ติ อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมของชุมชน 2. Achieve growth และมีความรับผิดชอบต่throught อสังคม expanding productions while controlling 1. Quality steel products costs. 3. Improve the product to matchexpanding the 2.steel Achieve growth throught 1. Quality products needs growth ofproductions ourthrought customers. while controlling costs. 2. Achieve expanding productions 3. Improve the product match the needs of 4. Develop Renewable EnergytoProjects while controlling costs. our 5. Continute to develop humanthecapital 3. Improve the customers. product to match needs of 4. employees Develop Renewable Projects our so customers. that have theEnergy skills and 5. Renewable Continute to develop 4. Develop Energy knowledge necessary to Projects workhuman in thecapital so that employees have thecapital skills and knowledge 5. Continute to develop human so that capity assigned to them. necessary to work in the capity assigned to employees the ofskills knowledge 6. Increasehave qulity life,and repectthe them. necessary the capity assigned communityto work and inenvironment and 6. Increase qulity of life, repect the community to them. practice CSRenvironment and practice CSR 6. Increase and qulity of life, repect the community and environment and practice CSR


มุง มัน่ พัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑเ หล็กแทงยาว ส ูมาตรฐานสากล WE ARE DEDICATED TO PROVIDING STEEL PRODUCTS OF THE HIGHEST INERNATIONAL QUALITY

บริษทั เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

ผลิ ต และจ� ำ หน่ า ยเหล็ ก แท่ ง ยาว (Steel Billet) ให้ แ ก่ โ รง รีดเหล็กภายในประเทศและต่างประเทศเพื่อน�ำไปผลิตต่อด้วย การรีดเป็นผลิตภัณฑ์เหล็กทรงยาว (Long Products) และ ใช้เทคโนโลยีหลอมเหล็กด้วยเตาหลอมเหล็กแบบเหนี่ยวน�ำ กระแสไฟฟ้า (Electric Induction Furnace : EIF) The Company operates business of producing and selling steel billet to the domestic and foreign rolling mills for further rolling into Long Products by using steel melting technology of Electric Induction Furnace: EIF.


สรุปข้อมูลทางการเงิน Financial Highlights

( หน่วย : ล้านบาท / Unit : Million Bath )

งบการเงินรวม (Consolidated Financial Statements)

สรุปข้อมูลทางการเงิน (FINANCIAL HIGHLIGHTS) ผลการด�ำเนินงาน

Operating Performance

• รายได้รวม • ก�ำไรขั้นต้น • ก�ำไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และค่าใช้จ่ายตัดจ�ำหน่าย (EBITDA) • ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ ส่วนที่เป็นของบริษัท

ฐานะการเงิน • • • • • •

• Total Revenues • Gross Profit • Earnings Before Interest, Tax, Depreciation and Amortization (EBITDA) • Net Profit (Loss) – on Company’s part

4,363.23 231.74

4,836.28 298.83

4,156.14 236.11

243.14 25.46

304.8 105.17

245.24 47.34

3,792.66 2,514.69 1,277.98 1,264.29 800.00 800.00

3,180.09 1,870.62 1,309.47 1,282.93 800.00 800.00

4,728.33 3,349.72 1,378.61 1,295.94 800.00 800.00

5.33% 0.62% 2.00% 1.97

5.86% 2.26% 8.29% 1.43

5.74% 1.01% 3.02% 2.43

0.03 1.00 1.60

0.13 1.00 1.64

0.06 1.00 1.72

Financial Position

สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนที่เป็นของบริษัท ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว

อัตราส่วนทางการเงิน • • • •

2555 / 2012 2556 / 2013 2557 / 2014

• • • • • •

Total Assets Total Liabilities Shareholders’ Equity Shareholders’ Equity – on Company’s part Registered Capital Paid-up Capital

Financial Ratios

อัตราก�ำไรขั้นต้น อัตราก�ำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น อัตราหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้น (เท่า)

ข้อมูลต่อหุน้ (บาทต่อหุน้ )

• • • •

Gross Profit Margin Net Profit Margin Return on Equity Debt/Equity Ratio (times)

Stock Data (Baht Per Share)

• ก�ำไรสุทธิต่อหุ้น • มูลค่าหุน้ ที่ตราไว้ • มูลค่าหุน้ ทางบัญชี

• Net Earnings Per Share • Par Value • Book Value

ฐานะการเงิน

FINANCIAL POSITIONS

ส่วนของผู้ถือหุ้น / Shareholders’ Equity หนี้สิน / Total Liabilities สินทรัพย์ / Total Assets

3,792.66

1,279.98

1,309.47

2555 2012 2,514.69

3,180.09

1,378.61

2556 2013 1,870.62

3,349.72

4,728.33

2557 2014


300

245.2

EBITDA ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ / Net Profit (Loss)

400 304.8

OPERATIONAL PERFORMANCE

500

243.14

ผลการด�ำเนินงาน

109

200

27

42

100 0

2555 2012

2557 2014

3

2

1.43

อัตราส่วนหนี้สินต่อผู้ถือหุ้น / Debt to Equity Ration

2556 2013

2.43

DEBT / EQUITY RATIO

Unit : Million Baht

1.97

อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

หน่วย : ล้านบาท

1 หน่วย : เท่า

Unit : Times

0 2555 2012

อัตราก�ำไร ขั้นต้น / Gross Profit Margin

5

อัตราก�ำไรสุทธิ / Net Profit Margin

4

2 1

5.74 %

6.09 % 2.26 %

3

2557 2014

1.01 %

6

0.62 %

PROFIT MARGIN

7 5.33 %

อัตราก�ำไร

2556 2013

หน่วย : ร้อยละ Unit : %

0 2555 2012

2556 2013

2557 2014


ในปี 2557 เป็นปีแหง่ การเริม่ ต้น ขยายฐานธุรกิจไปสูธ่ รุ กิจใหมๆ่ ที่ช่วยเสริมศักยภาพและความ เจริญมัง่ คัง่ ในธุรกิจอยา่ งมัน่ คง ในระยะยาว

2014 is the time for pacing forward to new business phases to strengthen our potential and stability in a sustainable future.


สารจากประธานกรรมการ

Messages from the Chairman

เรียน ทานผูถ อื หุ น

To all shareholders

ในปี 2557 เป็นปีแห่งการเริม่ ต้นขยายฐานธุรกิจไปสูธ่ รุ กิจใหม่ๆ ที่ช่วยเสริมศักยภาพและความเจริญมั่งคั่งในธุรกิจอย่างมั่นคงใน ระยะยาว บริษัทได้มองหาช่องทางทางเลือกในการลงทุนในธุรกิจ ต่างๆ ที่ช่วยเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับธุรกิจ โดยเล็งเห็นถึง โอกาสในการลงทุนในธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน ซึ่งสร้าง ผลตอบแทนทีแ่ น่นอนในระยะยาวอย่างยัง่ ยืน ตลอดจนช่วยกระจาย ความเสีย่ งในอุตสาหกรรมเหล็กทีม่ คี วามผันผวนอย่างมากในปัจจุบนั จึงได้เลือกลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โดยเริ่มต้นลงทุน ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลและการส่งเสริม การลงทุนจากสถาบันการเงินต่างๆ กอปรกับบริษัทมีความพร้อม ด้านบุคลากรทีม่ ปี ระสบการณ์และเชีย่ วชาญการท�ำธุรกิจในประเทศ ญีป่ นุ่ จึงได้ลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศ ญี่ปุ่นเป็นระยะแรก โดยมีขนาดก�ำลังการผลิตเริ่มต้นประมาณ 18 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ ยังได้เพิ่มกลยุทธ์ในการลงทุน โดยบรรลุข้อ ตกลงกับพันธมิตรทางธุรกิจ เพือ่ ลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่นรวมอีก 33 เมกะวัตต์ เพื่อเสริมสร้าง ความเชือ่ มัน่ และความสามารถในการแข่งขันพร้อมขยายความร่วม มือโครงการอื่นๆ ในระยะต่อไป นับเป็นก้าวย่างแห่งการเติบโตที่ ส�ำคัญอีกก้าวหนึ่งของบริษัท

2014 is the time for pacing forward to new business phases to strengthen our potential and stability in a sustainable future. The Company after careful analysis and consideration has seen the opportunity in alternative energy business where the long term yield is definitely guaranteed. Besides, to ease the risk from highly volatile steel industry at present, the Company chosen to put its investment in solar power plan in Japan with support from government and fund from financial institutions. Another supporting factors in this new investment is the promptitude of our personnel with experience and expertise in operating business in Japan. The initial time of solar power plant operation in Japan produced 18 megawatt power. We have also implemented investment strategies by signed in mutual agreements with our business partners to join the investment in another solar power plant with production capacity of 33 megawatts in Japan, to ensure the confidence, capability and competitiveness. This can be counted as another big step we have taken toward the success.

ในปีที่ผ่านมา บริษัทยังคงรักษาผลประกอบการให้อยู่ในเกณฑ์ ทีน่ า่ พอใจไว้ได้จากสภาวะเศรษฐกิจหดตัว และด้วยความทุม่ เทและ ศักยภาพในการบริหารงานของทีมงานอย่างมืออาชีพ ตลอดจนการ เข้าไปลงทุนในธุรกิจใหม่ทจี่ ะเป็นแรงผลักดันให้บริษทั มีความเจริญ เติ บ โตอย่ า งก้ า วไกลและมั่ น คง รวมทั้ ง ยั ง เป็ น การเสริ ม สร้ า ง ผลประกอบการของบริษัทให้ประสบความส�ำเร็จและมีเสถียรภาพ มากยิ่งขึ้น ท้ายที่สุดนี้ ข้าพเจ้าในนามคณะกรรมการ ขอขอบคุณผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ที่ร่วมแรงร่วมใจในการพัฒนาบริษัทจนเจริญ ก้าวหน้า และขอขอบคุณผู้ถือหุ้น พันธมิตรทางธุรกิจ ที่ให้ความไว้ วางใจและสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทด้วยดีตลอดปีที่ ผ่านมา จนท�ำให้บริษทั สามารถด�ำเนินงานบรรลุวสิ ยั ทัศน์ เป้าหมาย นโยบาย และสะท้อนเป็นรูปธรรมในผลการด�ำเนินงานในที่สุด ภายใต้หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อทุกฝ่าย

In the previous year, the Company maintained its revenue in the satisfied level, despite the economic slowdown. With great effort, dedication and capabilities of our team spirit, as well as new investment, I do believe that these will be the major engine which will drive us toward stable growth and success. Finally, I, on behalf of the board of directors, would like to express my gratigude to all ,management and employees for your devotion and collaboration which is a part of our glory and success. Also, I would like to thank all shareholders and business partners for your continual trust and support in our business operation in the past year. We have accomplished vission, mission, target and policy. The result is obviously shown in the work performance. Under good corporate governance, the Company will continue its assignements for the best benefits of all stakeholders.

ดร.ปรัชญา เปียมสมบูรณ์ PRACHYA PIUMSOMBOON, PH.D., P.E. Chairman of the Board of Directors ประธานกรรมการ บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

007


ปี 2557 เป็นอีกปีทมี่ คี วามผันผวน ต่ออุตสาหกรรมเหล็กอย่างมาก การชะลอตัวทางเศรษฐกิจ อย่างไร ก็ตามบริษทั ก็ยงั คงผลประกอบการ มีก�ำไรสุทธิเป็นจ�ำนวนเงิน 41.65 ล้านบาท ยังคงความน่าชื่นชม ยินดีกับนักลงทุนด้วยดีเสมอมา

2014 was another year where we experienced severe volatility of metal industry as a result of economic. Nonetheless, forward the congrats to investors as the net profit totaled at THB 41.65 million.


สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

Messages from Chief Executive Officer

เรียน ทานผูถ อื หุ น

To all shareholders

บริษัทยังคงมุ่งมั่นทุ่มเทบริหารงาน หาโอกาสและช่องทางการ แข่งขันและพัฒนาธุรกิจให้ทนั ต่อยุคสมัย เพื่อเสริมสร้างโอกาสทาง ธุรกิจ และการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2557 ที่ผ่านมา บริษัทจึงได้เพิ่มโอกาสการลงทุน เพื่อช่วยลดความเสี่ยงทางธุรกิจ โดยขยายการลงทุนไปยังธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน เพื่อช่วย เสริมสร้างให้ผลประกอบการของบริษัทมีความมั่นคงและสร้างผล ตอบแทนอย่างคุ้มค่าให้กับนักลงทุนได้อย่างเต็มที่ อย่างไรก็ตาม บริษัทยังคงมองหาช่องทางและการลงทุนในธุรกิจอื่นๆ ที่ช่วยเสริม สร้างความเจริญเติบโตและมั่นคงต่อไปในอนาคต

The Company continued to fulfill its commitment and dedication to business operation, development as well expanding on continual basis. In 2014, the Company has expended its investment in alternative solar power plant to lower the business risk and stabilize the income. In addition, the Company still looking for new possibilities to invest, with aim to support growth and sustainability.

ปี 2557 เป็นอีกปีที่มีความผันผวนต่ออุตสาหกรรมเหล็กอย่าง มาก การชะลอตัวทางเศรษฐกิจ ตลอดจนทิศทางการเติบโตอย่าง ไม่มีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดความยากล�ำบากในการด�ำเนินธุรกิจ อย่างยิง่ อย่างไรก็ตามบริษทั ก็ยงั คงผลประกอบการมีกำ� ไรสุทธิเป็น จ�ำนวนเงิน 41.65 ล้านบาท ยังคงความน่าชื่นชมยินดีกับนักลงทุน ด้วยดีเสมอมา และในปีนี้ บริษัทก็ยังคงคัดสรรสิ่งดีดีแก่ผู้ถือหุ้น ทุกท่าน โดยได้เพิ่มการลงทุนในธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ในประเทศญี่ปุ่น ที่ได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลญี่ปุ่น ซึ่งเป็นธุรกิจ ที่ให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่าอย่างต่อเนื่องในระยะยาว บริษัทจึงหวัง เป็นอย่างยิ่งที่จะสร้างผลตอบแทนที่ให้ความคุ้มค่ากับผู้ถือหุ้น ทุกท่าน ตลอดจนสร้างความเชื่อมั่นต่อนักลงทุน และพันธมิตรทาง ธุรกิจอย่างต่อเนื่อง สุดท้ายนี้ บริษทั ขอขอบคุณท่านผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า คูค่ า้ ผูม้ อี ปุ การคุณ พนั ก งาน พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ทุ ก ท่ า น ที่ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น และ มอบความไว้วางใจแก่บริษัท โดยบริษัทขอให้ค�ำมั่นว่าจะด�ำเนิน ธุรกิจด้วยแนวคิดที่จะสร้างความยั่งยืน สู่ธุรกิจ ด้วยการบริหารงาน ที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ยึดหลักธรรมมาภิบาลที่ดี และค�ำนึงถึง ผู้มีส่วนได้เสียในทุกภาคส่วน และตระหนักถึงพันธกิจในอันที่จะ น�ำพาบริษัทไปสู่จุดมุ่งหมายที่ตั้งปณิธานไว้ได้

2014 was another year where we experienced severe volatility of metal industry as a result of economic recession resulting in inefficient growth. Nonetheless, forward the congrats to investors as the net profit totaled at THB 41.65 million. In this year, the Company has invested in solar power plant business in Japan with support of Japanese government. As investment in energy business generates long term yield, the Company expects to return a lucrative profit to all shareholders as well as to create confidence among investors and business alliance continuously. I would like to close the statement by expressing my appreciation to all shareholders, business partners, sponsors, employees, trading partners for all your support and trust. We promise to conduct our business focusing on sustainability, transparency, corporate governance and take into consideration the interest of all stakeholders as well as accomplishing targeted mission of success altogether.

นายอนาวิล จิรธรรมศิริ Mr. Anavin Jiratomsiri ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร Chief Executive Officer

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

009


คณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร

The Board of Directors and Top Executives

04

02

01. ดร.ปรัชญา เปี่ยมสมบูรณ์

Pruchya Piumsomboon, Ph.D., P.E ประธานกรรมการ Chairman of the Board of Directors

02. รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ อยู่ถนอม

Associate Professor Narong Yoothanom, Ph.D. รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน Vice Chairman, Independent Director, Audit Committee, Chairman of Nomination and Remuneration Committee Member

03. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กัลยาภรณ์ ปานมะเริง

Assistant Professor Kalyaporn Pan-ma-rerng กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง Director, Independent Director, Chairman of the Audit Committee, Nomination and Remuneration Committee Member, Chairman of Risk Management Committee

010

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

01

03

05

04. นายนพปฎล เจสัน จิรสันติ์

Mr. Noppadon Jason Chirasanti กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ Director, Independent Director, Audit Commitee

05. นายกณวรรธน์ อรัญ

Mr. Kanawath Aran กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสี่ยง Director, Independent Director, Audit Committee, Risk Management Committee Member

06. นายสงวนเกียรติ์ ลิ่วมโนมนต์

Mr. Sanguankiat Lewmanomont กรรมการ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน Director, Nomination and Remuneration Committee Member

06


07

10

08

07. นายมาร์ค ดี. เรมีจาน Mr. Mark D. Remijan กรรมการอิสระ Independent Director

08. นายอนาวิล จิรธรรมศิริ

Mr. Anavin Jiratomsiri กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการบริหารความเสี่ยง Director, Chief Executive Director, Chief Executive Officer, Nomination and Remuneration Committee Member, Risk Management Committee Member

09. นางสาว คู เมน ไว

Miss Koo Man Wai กรรมการ กรรมการบริหาร รองกรรมการผู้จัดการ ผู้อ�ำนายการฝ่ายจัดซื้อ Director, Executive Director, Deputy Managing Director, Vice President - Procurement

11

09

12

10. นางสาวศรุตา จิรธรรมศิริ Miss Sharuta Jiratomsiri กรรมการ กรรมการบริหาร ผู้อ�ำนวยการฝ่ายขายและการตลาด Director, Executive Director, Vice President - Sales and Marketing 11. นายสุทธิชัย สุรพัฒน์ Mr. Suttichai Suraphat กรรมการบริหาร รองกรรมการผู้จัดการ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการเงินและบริหาร Executive Director, Duputy Managing Director, Vice President - Finance & Administration 12. นายวรวิทย์ เอื้อทรัพย์สกุล Mr. Worravit Auesapsakul กรรมการบริหาร ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชี Executive Director, Vice President of Accounting

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

011


ประวัตคิ ณะกรรมการบริษทั Board of Directors Profile

ดร.ปรัชญา เปี่ยมสมบูรณ์

Pruchya Piumsomboon, Ph.D., P.E

63 ปี / years

ประธานกรรมการ / Chairman of the Board of Directors คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • ปริญญาเอก ด้านวิศวกรรม (Operations Research), Texas A&M University, ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ภาครัฐร่วมเอกชน รุน่ 12) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 12/2001 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุ่น 32/2013 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบนั • กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน / บริษัท เอสวีไอ จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ / บริษทั เพรสซิเด้นท์ ออโตโมบิล อินดัสทรีส์ จ�ำกัด • กรรมการผู้จัดการ / บริษัท ซิม ซิสเต็ม ประเทศไทย จ�ำกัด • กรรมการผู้จัดการ / บริษัท ปกิณ พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด • กรรมการ / บริษัท คาซาวดี จ�ำกัด • กรรมการ / บริษัท เปี่ยมทิพย์ จ�ำกัด • คณะกรรมการกิจการ APEC และคณะกรรมการกิจการ องค์การระหว่างประเทศ สภาหอการค้าไทย สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 0.10% (จ�ำนวน 784,800 หุ้น) ปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ พ.ศ. 2552

Education / training

• Ph.D. (Operations Research), Texas A&M University, USA • Diploma, National Defense College, the Joint State-Private Sector Course Class 12 • Director Certification Program (DCP), Class 12/2001, Thai Institute of Directors • Role of the Chairman Program (RCP), Class 32/2013, Thai Institute of Directors

Other Current Position(s)

• Independent Director, Chairman Audit Committee, and Nomination and Remuneration / SVI Public Company Limited • Chairman of the Board of Directors / President Automobile Industries Co., Ltd. • Managing Director / CIM System (Thailand) Co., Ltd. • Managing Director / Pakin Property Co., Ltd. • Director / Kasawadee Co., Ltd. • Director / Piamtip Co., Ltd. • Subcommittee of APEC and International Organization Affairs Committee The Thai Chamber of Commerce

Shareholding as of 31 December 2014 0.10% (total 784,800 shares)

Appointed as director in 2009 012

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ อยู่ถนอม

Associate Professor Narong Yoothanom, Ph.D. 72 ปี / years

รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน / Vice Chairman of the Board of Directors, Independent Director, Audit Committee, and Chairman of the Nomination and Remuneration Committee คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • ปริญญาเอก (EE) Missouri University of Science and Technology, USA • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 78/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบัน • รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีปทุม • ผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายนอกส�ำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) • ประธานผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายใน / ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา • กรรมการ / บริษัท เอสพียูนิเสอร์ช จ�ำกัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 -ไม่มีปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ พ.ศ. 2552

Education / Tranning

• Doctor of Philosophy in Electrical Engineering, University of Missouri of Science and Technology, USA • Director Accreditation Program (DAP) Class 78/2009, Thai Institute of Directors

Other Current Position(s)

• Vice Rector / Sripatum University • The Inspector of National Education Standards and Quality Assessment • Chairman of Self Assessment Report / Commission on Higher Education. • Director / SP Uni Search Co., Ltd.

Shareholding as of 31 December 2014 -none-

Appointed as director in 2009


ประวัตคิ ณะกรรมการบริษทั

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กัลยาภรณ์ ปานมะเริง

Assistant Professor Kalyaporn Pan-ma-rerng 62 ปี / years

กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา และก�ำหนดค่าตอบแทน และประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง / Director, Independent Director, Chairman of the Audit Committee, Nomination and Remuneration Committee, and Chairman of Risk Management Committee คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • ปริญญาโท พัฒนศาสตร์ (บริหารธุรกิจ) สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ • ประกาศนียบัตรผู้บริหารมหาวิทยาลัยระดับสูง (รุ่นที่ 8) ทบวงมหาวิทยาลัย • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 28/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 13/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบัน • ผู้ช่วยอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีปทุม • ผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายใน ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา • ผู้ตรวจประเมินคุณภาพภายนอก ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) • ที่ปรึกษาด้านการบัญชีและการเงิน กระทรวงการคลัง • คณะกรรมการฝ่ายการเงินและเหรัญญิก สโมสรเอธานอล ไบโอดีเซล แห่งประเทศไทย • กรรมการ / บริษัท เพรสซิเด้นท์ ออโตโมบิล อินดัสทรีส์ จ�ำกัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 -ไม่มีปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ พ.ศ. 2552

Education / Tanning

• Master of Business Administration, National Institute of Development Administration (NIDA) • Certificate Advanced Higher Education Management (Class 8), Ministry of University Affairs • Director Accreditation Program (DAP) Class 28/2004, Thai Institute of Directors • Audit Committee Program (ACP) Class 13/2006, Thai Institute of Directors

Other Currents Position(s)

• Assistant to the Rector / Sirpatum University • Internal Evaluator / The Commission on Higher Education • External Quality Assessment / The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization) • Financial and Accounting Consultant / Ministry of Finance • Finance and Treasurer Committee / Ethanol and Biodiesel Club of Thailand • Director / President Automobile Industries Co., Ltd.

นายนพปฎล เจสัน จิรสันติ์

Mr. Noppadon Jason Chirasanti

44 ปี / years

กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ / Director, Independent Director, and Audit Committee คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • ปริญญาโท Business Economics, Bentley Graduate School of Business,Massachusetts, USA • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ St. Louis University, USA • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 78/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ / บริษัท เมอร์คิวรี่ ไนน์ จ�ำกัด • กรรมการ กรรมการผู้จัดการ / บริษัท พีเอ็มดี พลัส จ�ำกัด • กรรมการ กรรมการผู้จัดการ / บริษัท ไอบายนาว จ�ำกัด • รองกรรมการผู้จัดการ / บริษัท คอนแทงโก จ�ำกัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 -ไม่มีปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ พ.ศ. 2552

Education / Training

• Master of Science in Business Economics, Bentley Graduate School of Business, Massachusetts, USA • Master of Business Administration, St. Louis University, USA • Director Accreditation Program (DAP) Class 78/2009, Thai Institute of Directors

Other Current Position(S)

• Director / Mercury Nine Co., Ltd. • Director / Managing Director, PMD Plus Co., Ltd. • Director / Managing Director, IBUYNOW Co., Ltd. • Deputy Managing Director / Contango Co., Ltd.

Shareholding as of 31 December 2014 -none-

Appointed as director in 2009

Shareholding as at 31 December 2014 -none-

Appointed as director in 2009 บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

013


ประวัตคิ ณะกรรมการบริษทั

นายกณวรรธน์ อรัญ

Mr. Kanawath Aran

48 ปี / years

กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบริหารความเสีย่ ง / Director, Independent Director, Audit Committee, and Risk Management Committee

นายสงวนเกียรติ์ ลิ่วมโนมนต์

Mr. Sanguankiat Lewmanomont

39 ปี / years

กรรมการ และกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน / Director, and Nomination and Remuneration Committee

คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • ปริญญาโท นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 78/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบัน • หัวหน้าส�ำนักงาน ทนายความและที่ปรึกษากฎหมาย / ส�ำนักงานกฎหมาย เค แอนด์ พาร์ทเนอร์ • กรรมการ กรรมการผู้จัดการ / บริษัท เค แอนด์ พาร์ทเนอร์ จ�ำกัด • กรรมการ / บริษัท เพรสซิเด้นท์ ออโตโมบิล อินดัสทรีส์ จ�ำกัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 -ไม่มีปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ พ.ศ. 2552

คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • นักปริญญาเอก (บริหารธุรกิจ) • ปริญญาโท คณิตศาสตร์การเงิน Boston University, USA • ปริญญาโท คอมพิวเตอร์ Boston University, USA • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 50/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ / บริษัท บริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา จ�ำกัด • คณะอนุกรรมการเครื่องหมายการค้า / กระทรวงพาณิชย์ • กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ / บริษัท เมเจอร์ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ / บริษทั มโนมนต์ เรียลเอสเตรท จ�ำกัด • กรรมการ กรรมการผู้จัดการ / บริษัท ส�ำนักกฎหมาย ลิ่วมโนมนต์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด • กรรมการ / บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 -ไม่มีปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ พ.ศ. 2552

Education / Training

Education / Training

• Master of Laws, Ramkhamhaeng University • Master of Business Administration, Sripatum • Director Accreditation Program (DAP) Class 78/2009, Thai Institute of Directors

Other Current position(s)

• Manager, Lawyer and legal adviser / K & Partner Law Office • Director, and Managing Director / K & Partner Co., Ltd. • Director / President Automobile Industries Co., Ltd.

Shareholding as of 31 December 2014 -none-

Appointed as director in 2009

• Ph.D. Candidate under “Intellectual Property Management” • Master of Science in Computer Information System, Boston University, USA • Master of Science in Actuarial Sciences Concentration in Mathematical Finance, Boston University, USA • Bachelor of Laws, Ramkhamhaeng University • Bachelor of Business Administration (Finance and Banking), Thammasat University • Director Accreditation Program (DAP) class 50/2006, Thai Institute of Directors

Other Current Position(s)

• Director / Intellectual Property Management Co., Ltd. • Subcommittee of trademark Appeal Board / Ministry of Commerce • Independent Director and Audit Committee / Major Development Public Company Limited • Director, Managing Director / Manomont Real Estate Co., Ltd. • Director, Managing Director / Lewmonomont International Law Office (LILO) Co., Ltd. • Director / Chow Energy Co., Ltd.

Shareholding as of 31 December 2014 -none-

Appointed as director in 2009

014

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


ประวัตคิ ณะกรรมการบริษทั

นายมาร์ค ดี. เรมีจาน Mr. Mark D. Remijan

48 ปี / years

กรรมการอิสระ / Independent Director คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (เกียรตินยิ ม) University of Pennsylvania, USA • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (เครื่องจักรกล) Massachusetts Institute of Technology, USA • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 65/2007 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบัน • ผู้ร่วมก่อตั้งและผู้อ�ำนวยการฝ่ายการเงิน / กลุ่มบริษัท คีรี แทรเวล • กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ / บริษัท บิวเดอร์สมาร์ท จ�ำกัด (มหาชน) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 0.05% (จ�ำนวน 414,000 หุ้น) ปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ พ.ศ. 2552

Education / training

• Master of Business Administration in Finance, (Honors), University of Pennsylvania, USA • Bachelor of Science in Mechanical Engineering, Massachusetts Institute of Technology, USA • Director Accreditation Program (DAP) class 65/2007, Thai Institute of Directors

Other Current Position(s)

• Partner, Chief Financial Officer / Khiri Travel Group of Company • Independent Director, and Audit Committee / Builder Smart Public Company Limited

Shareholding as of 31 December 2014 0.05% (total 414,000 shares)

Appointed as director in 2009

นายอนาวิล จิรธรรมศิริ Mr. Anavin Jiratomsiri

36 ปี / years

กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และกรรมการบริหารความเสีย่ ง / Director, Chief Executive Committee, Chief Executive Officer, Nomination and Remuneration Committee, and Risk Management Committee คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • ปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • หลักสูตร Risk Management Seminar & Workshop ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 28/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ / บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด • กรรมการ / บริษัท เวอเทค โลจิสติคส์ เซอร์วิส จ�ำกัด • กรรมการ / สมาคมอุตสาหกรรมเหล็กไทย • ที่ปรึกษา / สมาคมการค้าไทย-ยุโรป สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 51% (จ�ำนวน 408,000,000 หุ้น) ปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ พ.ศ. 2552

Education / training

• Bachelor of Arts (Political Science), Ramkhamhaeng University • Risk Management Seminar & Workshop, The Stock Exchange of Thailand • Director Accreditation Program (DAP) Class 28/2004, Thai Institute of Director

Other Current Position(s)

• Director / Chow Energy Co., Ltd. • Director / Vertex Logistics Services Co., Ltd. • Director / The Association of Thai Steel Industries • Advisor / Thai-Europe Trade Association

Shareholding as of 31 December 2014 51% (total 408,000,000 shares)

Appointed as director in 2009

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

015


ประวัตคิ ณะกรรมการบริษทั

นางสาว คู เมน ไว

Miss Koo Man Wai

41 ปี / years

นางสาวศรุตา จิรธรรมศิริ Miss Sharuta Jiratomsiri

37 ปี / years

กรรมการ กรรมการบริหาร รองกรรมการผูจ้ ดั การ และผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายจัดซือ้ / Director, Executive Committee, Deputy Managing Director, and Vice President of Procurement

กรรมการ กรรมการบริหาร และผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายขายและการตลาด / Director, Executive Director, and Vice President of Sales and Marketing

คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • Book Keeping and Accountant, London Chamber of Commerce and Industry, United Kingdom • Trading Practice Studies, Lee Wai Lee Technical Institute • หลักสูตร Risk Management Seminar & Workshop ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 28/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ / บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 5.06% (จ�ำนวน 40,500,000 หุ้น) ปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ พ.ศ. 2552

คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • Suffolk Sawyer School of Management, Suffolk University, USA • Risk Management Seminar & Workshop ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 78/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบัน -ไม่มีสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 5.06% (จ�ำนวน 40,500,000 หุ้น) ปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ พ.ศ. 2552

Education/ Training

Education / Training

• Book Keeping and Accountant, London Chamber of Commerce and Industry, United Kingdom • Trading Practice Studies, Lee Wai Lee Technical Institute • Risk Management Seminar & Workshop, The Stock Exchange of Thailand • Director Accreditation Program (DAP) class 28/2004, Thai Institute of Director

Other Current Position(s)

• Director, Chow Energy Co., Ltd.

Shareholding as of 31 December 2013 5.06% (total 40,500,000 shares)

Appointed as director in 2009

016

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

• Suffolk Sawyer School of Management, Suffolk University, USA • Risk Management Seminar & Workshop, The Stock Exchange of Thailand • Director Accreditation Program (DAP) class 78/2009, Thai Institute of Director

Other Current Position(s) -none-

Shareholding as 31 December 2014 5.06% (total 40,500,000 shares)

Appointed as director in 2009


คณะผูบ้ ริหาร Top Executives

นายอนาวิล จิรธรรมศิริ Mr. Anavin Jiratomsiri

นายสุทธิชัย สุรพัฒน์ 36 ปี / years

กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และกรรมการบริหารความเสีย่ ง / Director, Chief Executive Committee, Chief Executive Officer, Nomination and Remuneration Committee, and Risk Management Committee คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • ปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • หลักสูตร Risk Management Seminar & Workshop ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 28/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท เวอเทค โลจิสติคส์ เซอร์วิส จ�ำกัด • กรรมการ สมาคมอุตสาหกรรมเหล็กไทย • ที่ปรึกษา สมาคมการค้าไทย-ยุโรป สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 51% (จ�ำนวน 408,000,000 หุ้น) ปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ พ.ศ. 2552

Education / training

• Bachelor of Arts (Political Science), Ramkhamhaeng University • Risk Management Seminar & Workshop, The Stock Exchange of Thailand • Director Accreditation Program (DAP) Class 28/2004, Thai Institute of Director

Other Current Position(s)

• Director / Chow Energy Co., Ltd. • Director / Vertex Logistics Services Co., Ltd. • Director / The Association of Thai Steel Industries • Advisor / Thai-Europe Trade Association

Shareholding as of 31 December 2014 51% (total 408,000,000 shares)

Appointed as director in 2009

Mr. Suttichai Suraphat

41 ปี / years

กรรมการบริหาร รองกรรมการผูจ้ ดั การ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายการเงินและบริหาร / Executive Committee Deputy Managing Director Vice President of Finance and Administration คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (สาขาการเงิน) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • ประกาศนียบัตร Strategic Financial Management: Managing for Value Creation รุ่นที่ 1 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ประกาศนียบัตร CFO รุ่นที่ 17 สภาวิชาชีพบัญชี • หลักสูตร Risk Management Seminar & Workshop ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 -ไม่มี-

Education / training

• Master of Business Administration in Finance, Ramkhamhaeng University • Strategic Financial Management: Managing for Value Creation Class 1, Thammasat Business School • CFO Certification Program Class 17, Federation of Accounting Profession • Risk Management Seminar & Workshop, the Stock Exchange of Thailand

Other Current Position(s)

• Director / Premier Solution Co., Ltd.

Shareholding as of 31 December 2014 -none-

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

017


คณะผูบ้ ริหาร

นางสาว คู เมน ไว

Miss Koo Man Wai

41 ปี / years

นางสาวศรุตา จิรธรรมศิริ Miss Sharuta Jiratomsiri

37 ปี / years

กรรมการ กรรมการบริหาร รองกรรมการผูจ้ ดั การ และผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายจัดซือ้ / Director, Executive Committee, Deputy Managing Director, and Vice President of Procurement

กรรมการ กรรมการบริหาร และผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายขายและการตลาด / Director, Executive Director, and Vice President of Sales and Marketing

คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • Book Keeping and Accountant, London Chamber of Commerce and Industry, United Kingdom • Trading Practice Studies, Lee Wai Lee Technical Institute • หลักสูตร Risk Management Seminar & Workshop ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 28/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ / บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 5.06% (จ�ำนวน 40,500,000 หุ้น) ปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ พ.ศ. 2552

คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • Suffolk Sawyer School of Management, Suffolk University, USA • Risk Management Seminar & Workshop ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 78/2009 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบัน -ไม่มีสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 5.06% (จ�ำนวน 40,500,000 หุ้น) ปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ พ.ศ. 2552

Education/ Training

Education / Training

• Book Keeping and Accountant, London Chamber of Commerce and Industry, United Kingdom • Trading Practice Studies, Lee Wai Lee Technical Institute • Risk Management Seminar & Workshop, The Stock Exchange of Thailand • Director Accreditation Program (DAP) class 28/2004, Thai Institute of Director

Other Current Position(s)

• Director, Chow Energy Co., Ltd.

Shareholding as of 31 December 2013 5.06% (total 40,500,000 shares)

Appointed as director in 2009

018

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

• Suffolk Sawyer School of Management, Suffolk University, USA • Risk Management Seminar & Workshop, The Stock Exchange of Thailand • Director Accreditation Program (DAP) class 78/2009, Thai Institute of Director

Other Current Position(s) -none-

Shareholding as 31 December 2014 5.06% (total 40,500,000 shares)

Appointed as director in 2009


คณะผูบ้ ริหาร

นายวรวิทย์ เอื้อทรัพย์สกุล Mr. Worravit Auesapsakul

36 ปี / years

กรรมการบริหาร ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบัญชี / Executive Committee, Vice President of Accounting

เลขานุการบริษทั Company Secretary นางสาวศิริรัตน์ คงเพ็ง

Miss Sirirat Khongpeng

34 ปี / years

คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • ปริญญาโท พาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบัน • กรรมการ / บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 -ไม่มี-

เลขานุการบริษทั / Company Secretary

Education / Training

Educaton / Training

• Master of Accounting, Thammasat University

Other Current Position(s)

• Director / Premier Solution Co., Ltd.

Shareholding as of 31 December 2014 -none-

คุณวุฒิสูงสุดทางการศึกษา / การอบรม • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามค�ำาแหง • หลักสูตร Company Secretary Program (CSP) รุ่น 10/2005 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Effective Minute Taking (EMT) รุ่น 20/2011 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Company Reporting Program (CRP) รุ่น 3/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Board Reporting Program (BRP) รุ่น 11/2013 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Anti-Corruption : The Practical Guide (ACPG) รุ่น 12/2014 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การด�ำารงต�ำแหน่งส�ำคัญอื่นในปัจจุบัน -ไม่มีสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 -ไม่มี-

• Master of Business Administration, Ramkhamhaeng University • Company Secretary Program (CSP) class 10/2005, Thai Institute of Director • Effective Minute Taking (EMT) class 20/2011, Thai Institute of Director • Company Reporting Program (CRP) class 3/2012, Thai Institute of Director • Board Reporting Program (BRP) class 11/2013, Thai Institute of Director • Anti-Corruption : The Practical Guide (ACPG) class 12/2014 Thai Institute of Director

Other Current Position(s) -none-

Shareholding as of 31 December 2014 -none-

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

019


ข้อมูลทั่วไปของบริษัท รายละเอียดของบริษัท

ชื่อบริษัท ชื่อย่อหลักทรัพย์ เลขทะเบียนบริษัท ลักษณะการประกอบธุรกิจ สถานที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซด์ อีเมล์ สถานที่ตั้งโรงงาน สถานที่ตั้งสาขา ทุนจดทะเบียน ทุนช�ำระแล้ว

: บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED : CHOW : 0107552000049 : ผลิตและจ�ำหน่ายเหล็กแท่งยาว (Steel Billet) : เลขที่ 209/1 อาคาร เค. ทาวเวอร์ ชั้น 18 ยูนิต 3 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 : 0-2260-3101-8 : 0-2260-3100 : www.chowsteel.com : info@chowsteel.com : 518/1 หมู่ที่ 9 ต�ำบลหนองกี่ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี : 518/3 หมู่ที่ 9 ต�ำบลหนองกี่ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี : 800,000,000 บาท (ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 800,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) : 800,000,000 บาท (ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 800,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท)

รายละเอียดของบริษัทย่อย ชื่อบริษัทย่อย เลขทะเบียนธุรกิจ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�ำระเต็มมูลค่า ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ที่ตั้งสาขา โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซด์ สัดส่วนที่บริษัทถือหุ้น

020

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

: บริษัท เวอเทค โลจิสติคส์ เซอร์วิส จ�ำกัด : 0105552098837 : ประกอบกิจการให้บริการขนส่งสินค้าทางบก : 18,000,000 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 18,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1,000 บาท : 18,000,000 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 18,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1,000 บาท : 209/1 อาคาร เค.ทาวเวอร์ ชั้น 18 ยูนิต 3 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 : 518/1 หมู่ที่ 9 ต�ำบลหนองกี่ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี 25110 : 0-3745-5478 : 0-3745-5479 : http://www.vertexlogistics.co.th : ร้อยละ 40 ของทุนจดทะเบียนและเรียกช�ำระแล้ว


ข้อมูลทัว่ ไปของบริษทั

ชื่อบริษัทย่อย

เลขทะเบียนธุรกิจ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�ำระเต็มมูลค่า ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร เว็บไซด์ สัดส่วนที่บริษัทถือหุ้น

: บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด

: 0105557181252 : ประกอบธุรกิจในลักษณะ Holding Company ด้วยการถือหุ้นในบริษัทต่างๆ ซึ่ง ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวข้องการลงทุน การผลิต และจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานประเภทต่างๆ : 221,536,980 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 22,153,698 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท : 221,536,980 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 22,153,698 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท : 209/1 อาคาร เค.ทาวเวอร์ ยูนิต 3 ชั้นที่ 18 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 : 0-2260-3101-8 : 0-2260-3100 : www.chowenergy.co.th : ร้อยละ 76.67 ของทุนจดทะเบียนและเรียกช�ำระแล้ว

รายละเอียดของบริษัทย่อยทางอ้อม ชื่อบริษัทย่อยทางอ้อม : บริษัท เชาว์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด เลขทะเบียนธุรกิจ : 0105556101158 ประเภทธุรกิจ : ประกอบกิจการเพื่อลงทุนในธุรกิจพลังงานทดแทนทั้งในและต่างประเทศ ทุนจดทะเบียน : 130,000,000 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 1,300,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ทุนที่ออกและช�ำระเต็มมูลค่า : 130,000,000 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 1,300,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ : 209/1 อาคาร เค.ทาวเวอร์ ยูนิต 3 ชั้นที่ 18 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 เว็บไซด์ : http://www.chow-international.com สัดส่วนที่บริษัทถือหุ้น : บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน (บริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัท เชาว์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ในสัดส่วนร้อยละ 76.67 โดยถือผ่าน บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด) ชื่อบริษัทย่อยทางอ้อม : บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด เลขทะเบียนธุรกิจ : 0105556119812 ประเภทธุรกิจ : ประกอบกิจการด้านที่ปรึกษาการลงทุน ที่ปรึกษาพัฒนาและบริหาร โครงการพลังงานทดแทนอย่างครบวงจรทั้งในและต่างประเทศ ทุนจดทะเบียน : 7,100,000 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 71,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ทุนที่ออกและช�ำระเต็มมูลค่า : 7,100,000 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 71,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ : 209/1 อาคาร เค.ทาวเวอร์ ยูนิต 3 ชั้นที่ 18 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : 0-2664-1798-99 โทรสาร : 0-2664-1808 เว็บไซด์ : http://www.ps-cl.com อีเมล์ : info@ps-cl.com สัดส่วนที่บริษัทถือหุ้น : บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน (บริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด ในสัดส่วนร้อยละ 76.67 โดยถือผ่าน บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด) บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

021


ข้อมูลทัว่ ไปของบริษทั

022

ชื่อบริษัทย่อยทางอ้อม เลขทะเบียนธุรกิจ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�ำระเต็มมูลค่า ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ สัดส่วนที่บริษัทถือหุ้น

: Premier Solution Japan Kabushiki-Kaisha : 0100-01-160888 : ประกอบธุรกิจในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า รวมทั้งการบริหารจัดการโรงไฟฟ้า ภายหลังจากโรงไฟฟ้าเริ่มเปิดด�ำเนินการ : 100,000,000 เยนญี่ปุ่น ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 1,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 เยนญี่ปุ่น : 100,000,000 เยนญี่ปุ่น ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 1,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 เยนญี่ปุ่น : ชั้น 12 2-2-2 อุชิซาอิวาอี-โซ ชิโยดะ จังหวัดโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น : บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน (บริษัทฯ ถือ หุ้นทางอ้อมใน บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด ในสัดส่วนร้อยละ 76.67 โดยถือผ่าน บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด)

ชื่อบริษัทย่อยทางอ้อม เลขทะเบียนธุรกิจ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�ำระเต็มมูลค่า ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ สัดส่วนที่บริษัทถือหุ้น

: AE Solar Godo Kaisha : 0100-03-019030 : ประกอบธุรกิจในการจัดหาสัญญาจ�ำหน่ายไฟฟ้า (FIT) รวมถึงการจัดหาที่ดิน (Land) ที่ใช้ ในการก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ตลอดจนใบอนุญาตต่างๆ (Permit) ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ : 10,000 เยนญี่ปุ่น : 10,000 เยนญี่ปุ่น : ชั้น 12 2-2-2 อุชิซาอิวาอี-โซ ชิโยดะ จังหวัดโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น : Premier Solution Japan Kabushiki-Kaisha ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน (บริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อมใน Premier Solution Japan Kabushiki-Kaisha ในสัดส่วนร้อยละ 76.67 โดยถือผ่าน บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด)

ชื่อบริษัทย่อยทางอ้อม เลขทะเบียนธุรกิจ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�ำระเต็มมูลค่า ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ สัดส่วนที่บริษัทถือหุ้น

: Premier Solution GmbH : HRB100189 : ประกอบธุรกิจประกันภัยโครงการและประกันประสิทธิภาพของโครงการพลังงานทดแทน : 25,000 ยูโร : 25,000 ยูโร : Rechtsanwalt (attorney at law) Christoph Lang LL.M., Steingasse 10-89073 Ulm : บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน (บริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อมใน บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด ในสัดส่วนร้อยละ 76.67 โดยถือผ่าน บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด)

ชื่อบริษัทย่อยทางอ้อม เลขทะเบียนธุรกิจ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน

: Sun Energy Goko Kaisha : 0100-03-020215 : ประกอบธุรกิจในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า รวมทั้งการบริหารจัดการโรงไฟฟ้า ภายหลังจากโรงไฟฟ้าเริ่มเปิดด�ำเนินการ : 10,000 เยนญี่ปุ่น

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


ข้อมูลทัว่ ไปของบริษทั

ทุนที่ออกและช�ำระเต็มมูลค่า ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ สัดส่วนที่บริษัทถือหุ้น

: 10,000 เยนญี่ปุ่น : ชั้น 12 2-2-2 อุชิซาอิวาอี-โซ ชิโยดะ จังหวัดโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น : Premier Solution Japan Kabushiki-Kaisha ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน (บริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อมใน Premier Solution Japan Kabushiki-Kaisha ในสัดส่วนร้อยละ 76.67 ของทุนจดทะเบียนโดยถือผ่าน บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด)

ชื่อบริษัทย่อยทางอ้อม เลขทะเบียนธุรกิจ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�ำระเต็มมูลค่า ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ สัดส่วนที่บริษัทถือหุ้น

: Sol Power Godo Kaisha : 0100-03-020122 : ประกอบธุรกิจในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า รวมทั้งการบริหารจัดการโรงไฟฟ้า ภายหลังจากโรงไฟฟ้าเริ่มเปิดด�ำเนินการ : 10,000 เยนญี่ปุ่น : 10,000 เยนญี่ปุ่น : ชั้น 12 ตึกฟูโกกุ เซเม 2-2-2 อุชิซาอิวาอี-โอ ชิโยดะ จังหวัดโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น : Premier Solution Japan Kabushiki-Kaisha ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน (บริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อมใน Premier Solution Japan Kabushiki-Kaisha ในสัดส่วนร้อยละ 76.67 ของทุนจดทะเบียนโดยถือผ่าน บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด)

รายละเอียดบริษัทร่วมทุน ชื่อบริษัทร่วมทุน เลขทะเบียนธุรกิจ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�ำระเต็มมูลค่า ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ สัดส่วนที่บริษัทถือหุ้น

: บริษัท โอเวอร์ซี กรีน เอนเนอร์ยี่ จ�ำกัด : 0125557023622 : ประกอบธุรกิจเพื่อให้บริการด้านการบริหารจัดการโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ในประเทศญี่ปุ่น : 1,000,000 บาท : 1,000,000 บาท : 8/8 หมู่ที่ 2 ถนนงามวงศ์งาน ต�ำบลบางเขน อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี : บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 40 ของทุนจดทะเบียน (บริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อมใน บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด ในสัดส่วนร้อยละ 76.67 ของทุนจดทะเบียนโดยถือผ่าน บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด)

ชื่อบริษัทร่วมทุน เลขทะเบียนธุรกิจ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและช�ำระเต็มมูลค่า ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ สัดส่วนที่บริษัทถือหุ้น

: RICI International Investment Pte. Ltd. : 201434861C : ประกอบธุรกิจเพื่อลงทุนโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น : 100 ดอลลาร์สิงคโปร์ : 100 ดอลลาร์สิงคโปร์ : 8 Marina Boulevard, #05-02, Marina Bay Financial Centre, Singapore 018981 : บริษัท เชาว์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 40 ของทุนจดทะเบียน (บริษัทฯ ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัท เชาว์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ในสัดส่วนร้อยละ 76.67 ของทุนจดทะเบียนโดยถือผ่าน บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด)

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

023


ข้อมูลทัว่ ไปของบริษทั

บุคคลอ้างอิงต่างๆ นายทะเบียนหลักทรัพย์

ผู้สอบบัญชี

ที่ปรึกษากฎหมาย

เลขานุการบริษัท

นักลงทุนสัมพันธ์

024

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

: บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2229-2800 โทรสาร 0-2359-1259 เว็บไซด์ : www.tsd.co.th : นายประดิษฐ รอดลอยทุกข์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 218 บริษัท เอเอสที มาสเตอร์ จ�ำกัด เลขที่ 790/12 ทองหล่อทาวเวอร์ ซอยทองหล่อ 18 ถ.สุขุมวิท 55 แขวงคลองตัน เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0-2714-8842 โทรสาร 0-2185-0225 เว็บไซด์ : www.astmaster.co.th : บริษัท ส�ำนักกฎหมาย ลิ่วมโนมนต์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด 256 อาคารลิ่วมโนมนต์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320 โทรศัพท์ 0-2274-0461-4 โทรสาร 0-2274-0465 เว็บไซด์ : www.lewmanomont.com : นางสาวศิริรัตน์ คงเพ็ง อีเมล sirirat@chowsteel.com โทรศัพท์ 0-2260-3101 ถึง 8 ต่อ 121 โทรสาร 0-2260-3100 : นายสุทธิชัย สุรพัฒน์ อีเมล ir@chowsteel.com โทรศัพท์ 0-2260-3101 ถึง 8 ต่อ 110 โทรสาร 0-2260-3100


ลักษณะการประกอบธุรกิจ คุณอนาวิล จิรธรรมศิริ ได้ก่อตั้งบริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด ขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2546 เพื่อประกอบธุรกิจผลิตและ จ�ำหน่ายเหล็กแท่งยาวให้แก่โรงรีดเหล็กภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อน�ำไปผลิตต่อด้วยการรีดเป็นผลิตภัณฑ์เหล็กทรงยาว (Long Products) ได้แก่ เหล็กเส้นกลม เหล็กข้ออ้อย และเหล็กลวด เป็นต้น โดยใช้เศษเหล็ก (Scrap) เป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต และใช้ เทคโนโลยีการหลอมเหล็กด้วยเตาหลอมเหล็กแบบเหนี่ยวน�ำกระแสไฟฟ้า (Electric Induction Furnace: EIF) ภายในโรงงานของบริษัท ซึ่งตั้งอยู่ในเขตอุตสาหกรรมกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี

ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการที่สำ�คัญของบริษัทมีดังนี้

2546

2550

2552

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด ก่อตั้งขึ้นด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก จ� ำ น ว น 4 0 0 ล ้ า น บ า ท โ ด ย มี วัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจผลิต และจ�ำหน่ายเหล็กแท่งยาว

ได้ รั บ บั ต รส่ ง เสริ ม การลงทุ น เลขที่ 2228(2)/2550 ส�ำหรับกิจการการผลิต เหล็ ก แท่ ง ยาว เฟสที่ 2 จากคณะ กรรมการส่งเสริมการลงทุน ซึ่งได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็นเวลา 8 ปี และลดหย่อนเหลืออัตราร้อยละ 50 จากอัตราภาษีปกติเป็นเวลา 5 ปี

เข้าเป็นสมาชิกของ London Metal Exchange (LME) ซึ่งเป็นตลาดซื้อขาย ล่วงหน้าระดับโลกภายใต้ชื่อ CHOW KABINBURI โดยมีชื่อย่อในการซื้อขาย (SWORD Codes) แบ่งตามสถานที่ ตั้งคลังสินค้าคือ CHOWFE ส�ำหรับ Far East ContractและCHOWME ส�ำหรับ Mediterranean Contract

2547 เริ่ ม ด� ำ เนิ น การก่ อ สร้ า งโรงงานซึ่ ง ตั้งอยู่ เลขที่ 518/1 หมู่ 9 ต�ำบลหนองกี่ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี

2548 ได้ รั บ บั ตรส่ ง เสริม การลงทุน เลขที่ 1337(2)/2548 ส�ำหรับกิจการการผลิต เหล็ ก แท่ ง ยาว จากคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน ซึ่งได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล เป็นเวลา 8 ปี และ ลดหย่อนอัตราร้อยละ 50 จากอัตรา ภาษีปกติเป็นเวลา 5 ปี เริ่ ม ด� ำ เนิ น การผลิ ต เชิ ง พาณิ ช ย์ โรงงานเฟสที่ 1 ด้วยก�ำลังการผลิต สูงสุด 250,000 ตันต่อปี

2551 ไ ด ้ รั บ ป ร ะ ก า ศ นี ย บั ต ร รั บ ร อ ง มาตรฐานคุณภาพ ISO 9001 : 2000 จาก Bureau Veritas Certification ส�ำหรับการหล่อเหล็กแท่ง (Manufacturing of Steel Casting) ซึ่งได้ครบก�ำหนด ไปแล้วเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 เพิ่มทุนช�ำระแล้วเป็น 600 ล้านบาท โดยเสนอขายแก่ผู้ถือหุ้นเดิม เพื่อใช้ เป็นเงินลงทุนก่อสร้างโรงงานเฟสที่ 2 เริ่ ม ด� ำ เนิ น การผลิ ต เชิ ง พาณิ ช ย์ โรงงานเฟสที่ 2 ด้วยก�ำลังการผลิต สูงสุด 480,000 ตันต่อปี ท�ำให้มีก�ำลัง การผลิตสูงสุดรวมทั้งสิ้น 730,000 ตัน ต่อปี

จดทะเบี ย นแปรสภาพเป็ น บริ ษั ท มหาชนจ�ำกัด โดยใช้ชื่อว่า “บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)” และเปลี่ ย นแปลงมู ล ค่ า หุ ้ น ที่ ต ราไว้ จาก 100 บาทเป็น 1 บาทต่อหุ้น

2553 ได้ มี ก ารลงทุ น ซื้ อ หุ ้ น สามั ญ ของบริ ษั ท เวอเทค โลจิสติคส์ เซอร์วิส จ�ำกัด ซึ่ง ประกอบธุ ร กิ จ ขนส่ ง สิ น ค้ า ทางบกด้ ว ย มู ล ค่ า เงิ น ลงทุ น จ� ำ นวน 7.2 ล้ า นบาท ซึ่งคิดเป็น สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 40 ของทุน จดทะเบียน 18 ล้านบาท ซึ่งจะช่วยเสริม ศักยภาพการให้บริการด้านโลจิสติคส์แก่ บริษัทในการขนส่งสินค้าของบริษัทให้แก่ ลูกค้า ได้ รั บ ประกาศนี ย บั ต รรั บ รองมาตรฐาน คุณภาพ ISO 9001:2008 จาก Bureau Veritas Certification ส�ำหรับการหล่อ เหล็กแท่ง (Manufacturing of Steel Casting) ซึ่งจะครบก�ำหนดในวันที่ 28 ธันวาคม 2556 บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

025


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2554

2557

จดทะเบียนเพิ่มสาขา คือ เลขที่ 518/3 หมู่ที่ 9 ต�ำบลหนองกี่ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี เพิ่มทุนช�ำระแล้วเป็น 800 ล้านบาท โดย เสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแก่ประชาชน จ�ำนวน 200 ล้านหุ้นและเข้าจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ ในวันที่ 21 ธันวาคม 2554

2555 ได้รับใบรับรองว่าเป็นอุตสาหกรรรมสีเขียว ระดั บ ที่ 1 ความมุ ่ ง มั่ น สี เ ขี ย ว (Green Commitment) มีความมุ ่ ง มั่ นที่ จ ะลดผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อม และมีการสื่อสาร ภายในองค์การให้ทราบโดยทั่วกัน จาก กระทรวงอุตสาหกรรม ได้รับใบรับรองว่าเป็นอุตสาหกรรมสีเขียว ระดั บ ที่ 2 ปฏิ บั ติ ก ารสี เ ขี ย ว (Green Activity) การด�ำเนิ น กิ จกรรมเพื่ อลดผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้ส�ำเร็จตามความ มุ่งมั่นที่ตั้งไว้ จากกระทรวงอุตสาหกรรม ได้รับประกาศนียบัตรรับรองการได้ปฏิบัติ ตามมาตรฐานความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคมเบือ้ งต้น (CSR-DIW) จากกระทรวงอุตสาหกรรม

2556 บริ ษั ท ได้ จั ด ตั้ ง บริ ษั ท เชาว์ อิ น เตอร์ เนชั่นแนล จ�ำกัด (“CI”) ด้วยทุนจดทะเบียน 50 ล้านบาท โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบ ธุรกิจลงทุนในธุรกิจพลังงานทดแทนทั้งใน และต่างประเทศ มูลค่าเงินลงทุนจ�ำนวน 41.5 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 83 ของ ทุนจดทะเบียน และจัดตั้งบริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด “PSCL” ด้วยทุนจดทะเบียน 5 ล้านบาท โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบ ธุรกิจการที่ปรึกษาการลงทุน ที่ปรึกษาการ พัฒนาและบริหารโครงการพลังงานทดแทน อย่างครบวงจรทั้งในและต่างประเทศ มูลค่า เงินลงทุนจ�ำนวน 4.05 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 81 ของทุนจดทะเบียน เพื่อ ลงทุนในธุรกิจที่มี ศั กยภาพ และกระจาย ความเสี่ยงไปสู่ธุรกิจพลังงานทดแทน ซึ่งจะ ช่วยส่งเสริมและสร้างความเติบโตของราย ได้ที่มั่นคงและยั่งยืนให้แก่บริษัทในอนาคต

026

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

บริษัทฯ โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2557 ได้ ลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น มีขนาดโครงการประมาณ 18 เมกะวัตต์ ผ่านบริษทั เชาว์ อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (“CI”) ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย และแต่งตัง้ บริษทั พรีเมียร์ โซลูชนั่ จ�ำกัด (“PSCL”) เป็นผูพ้ ฒ ั นาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ดงั กล่าว บริษัทฯ โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2557 ได้ จัดตั้ง บริษัท พรีเมียร์ โซลูชนั่ เจแปน จ�ำกัด (“PSJP”) วัตถุประสงค์เพือ่ พัฒนาโครงการโรงไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ บริษัทย่อยทางอ้อมในประเทศญี่ปุ่น เพื่อขยายธุรกิจ ลงทุนในธุรกิจที่มี ศักยภาพ และกระจายความเสีย่ ง ซึ่งบริษัทถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 81 ของทุนจดทะเบียนโดย ถือผ่านบริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด โดยมีทุนจดทะเบียนเริ่มต้น 10,000 เยนญี่ปุ่น บริษัทฯ โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2557 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2557 อนุมัติให้บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น เจแปน จ�ำกัด (“PSJP”) เข้าลงทุนในบริษัท AE Solar Godo Kaisha (“AE Solar”) สัดส่วนร้อยละ 100 มูลค่าการลงทุน 10,000 เยน วัตถุประสงค์เพื่อ รองรับการลงทุนโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น ขนาดก� ำ ลั ง การ ผลิตประมาณ 18 เมกะวัตต์ ตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 1/2557 เมือ่ วันที่ 17 มกราคม 2557 เนื่องจาก AE Solar ได้รับใบอนุญาตขายไฟฟ้าที่ผลิตจากพลังงานแสง อาทิตย์ให้แก่การไฟฟ้าฯ จากกระทรวงเศรษฐกิจการค้าและอุตสาหกรรมประเทศญี่ปุ่น (METI) ดังนั้น การเข้าลงทุนใน AE Solar จะส่งผลให้กลุ่มบริษัทได้รับใบอนุญาตดังกล่าว ทางอ้อม บริษัท เชาว์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (“CI”) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือ เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 50,000,000 บาท เป็น 130,000,000 บาท เพือ่ รองรับการลงทุนโครงการพลังงานแสงอาทิตย์ใน ประเทศญี่ปุ่น ขนาดก�ำลัง การผลิ ต 18 เมกะวั ตต์ ตามมติ ที่ป ระชุ มคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2557 ซึ่งการเพิ่มทุนในครั้งนี้จะเป็นการรองรับการทยอย ช�ำระเงินของ CI ในโครงการดังกล่าว บริษัทฯ โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2557 เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2557 อนุมัติให้บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด (“PSCL”) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือ เพิ่มทุนจดทะเบียน จาก 5,000,000 บาท เป็น 7,100,000 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนใหม่ จ�ำนวน 21,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วน โดยบริษัทสละสิทธิ ในการซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของ PSCL บริษัทฯ โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2557 เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2557 อนุมัติให้ออกและเสนอขายตั๋วแลกเงินต่อผู้ลงทุนแบบเฉพาะเจาะจงและในวงจ�ำกัด ไม่เกิน 10 ฉบับ ณ ขณะใดขณะหนึ่งเพื่อเสริมสภาพคล่องด้านการเงินของบริษัท ในวงเงินไม่เกิน 1,000 ล้านบาท บริษัทฯ โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 7/2557 เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 อนุมัติให้บริษัท เชาว์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (“CI”) ลงนามสัญญาระหว่างผู้ถือหุ้น (Shareholders Agreement) เพื่อร่วมด�ำเนินการจัดตั้งบริษัทร่วมทุนในประเทศสิงคโปร์ เพือ่ ลงทุนโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญีป่ นุ่ ขนาดก�ำลังการผลิตรวมประมาณ


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2557 (ต่อ) 33 เมกะวัตต์ และอนุมัติให้บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด (“PSCL”) ลงนามสัญญา ระหว่างผู้ถือหุ้น (Shareholders Agreement) เพื่อร่วมด�ำเนินการจัดตั้งบริษัท ร่วมทุนในประเทศไทย เพื่อให้บริการด้านการบริหารจัดการโครงการผลิตไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น บริษัทฯ โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 8/2557 เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2557 อนุมัติเพิ่มทุนจดทะเบียนบริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น เจแปน จ�ำกัด (“PSJP”) จาก 10,000 เยนญี่ปุ่น เป็น 100,000,000 เยนญี่ปุ่น เพื่อรองรับการลงทุน โครงการพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น ขนาดก�ำลังการผลิตประมาณ 18 เมกะวัตต์ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2557 บริษัทฯ โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 8/2557 เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2557 อนุมัติให้เพิ่มวงเงินการออกและเสนอขายตั๋วแลกเงิน เพื่อใช้เป็นเงินลงทุนในบริษัทย่อยและลงทุนในธุรกิจพลังงานทดแทน ภายในวงเงินสูงสุด ณ ขณะใดขณะหนึ่ง จากไม่เกิน 1,000 ล้านบาท เป็นไม่เกิน 2,000 ล้านบาท จัดตั้งบริษัท โอเวอร์ซี่ กรีน เอนเนอร์ยี่ จ�ำกัด (“OGE”) ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2557 โครงการ Kyotango โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น ที่มีขนาดก�ำลังการผลิต 4.019 เมกะวัตต์ (DC) เริ่มจ�ำหน่ายไฟฟ้า เชิงพาณิชย์เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2557 จัดสรรและเสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนของ PSCL จ�ำนวน 21,000 หุน้ (คิดเป็นร้อยละ 29.58 ของทุนช�ำระแล้วของ PSCL ภายหลังการเสนอขาย) ให้แก่ นายซุง โคว ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการของ PSCL ในราคาขายที่ 763.21 บาท (มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท) รวมเป็นเงิน 16,027,410 บาท โดยราคาดังกล่าวเป็นราคาที่ตกลงร่วมกัน และเป็นราคาที่สูงกว่าราคาที่ประเมินได้ตามวิธีมูลค่าปัจจุบันสุทธิของกระแส เงินสดในราคาหุ้นละ 761.38 บาท ซึ่งประเมินโดยบริษัท ฟินเน็กซ์ แอ๊ดไวเซอรี่ จ�ำกัด จัดตั้งบริษัท อาร์ไอซีไอ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (“RICI”) ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2557 บริษัทฯ โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 10/2557 เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2557 มีมติให้จัดตั้งบริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด (“CE”) ด้วยทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 221,536,980 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 22,153,698 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เพื่อเป็นการปรับ โครงการการถือหุ้นในกลุ่มบริษัทย่อยของบริษัท บริษัทฯ โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 10/2557 เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2557 มีมติอนุมัติให้บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด (“CE”) เข้าซื้อหุ้นทั้งหมดของบริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด (“PSCL”) จ�ำนวน 71,000 หุ้น ในราคาหุ้นละ 761.38 บาท ราคาซื้อขายเป็นราคายุติธรรมที่ ประเมินได้ตามวิธีมูลค่าปัจจุบันสุทธิของกระแสเงินสด โดยที่ปรึกษาทางการเงินของบริษัท บริษัทฯ โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 10/2557 เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2557 มีมติอนุมัติให้บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด (“CE”) เข้าซื้อหุ้นทั้งหมดของบริษัท เชาว์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (“CI”) จ�ำนวน 1,300,000 หุ้น ในราคาหุ้นละ 128.83 บาท ราคาซื้อขายเป็นราคา ยุติธรรมที่ประเมินได้ตามวิธีมูลค่าปัจจุบันสุทธิของกระแสเงินสด โดยที่ปรึกษาทางการเงินของบริษัท บริษัทฯ ได้จัดตั้งบริษัทย่อยทางอ้อมแห่งใหม่ 3 บริษัท คือ 1.จัดตั้งบริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น เยอรมัน จ�ำกัด (“PSGM”) ที่ประเทศเยอรมัน เพื่อการ ประกันภัยโครงการและประกันประสิทธิภาพของโครงการพลังงานทดแทน ด้วยทุนจดทะเบียน 25,000 ยูโร 2.จัดตั้งบริษัท ซัน เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด (“Sun”) และ 3.จัดตั้งบริษัท โซล เพาเวอร์ จ�ำกัด (“Sol”) ที่ประเทศญี่ปุ่น ด้วยทุนจดทะเบียนเบื้องต้นบริษัทละ 10,000 เยนญี่ปุ่น เพื่อรองรับ การลงทุนโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น ขนาดก�ำลังการผลิตประมาณ 18 เมกะวัตต์ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัท ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2557

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

027


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัท บริษทั ประกอบธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายเหล็กแท่งยาว (Steel Billet) โดยมีเศษเหล็ก (Scrap) เป็นวัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิต เหล็กแท่งยาว ทั้งนี้ บริ ษั ท มี ก ระบวนการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ใช้ เ ทคโนโลยี ก ารผลิ ต ที่ น� ำ เข้ า จากต่ า งประเทศ และเป็นที่ ยอมรับในระดับสากล โดยกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เหล็กแท่ง ยาวของบริษัทมี 3 ขั้นตอนหลัก คือ ขั้นตอนการจัดเตรียมเศษเหล็ก ขั้นตอนการหลอมเศษเหล็ ก ด้ ว ยเตาแบบเหนี่ยวน�ำกระแสไฟฟ้า (Electric Induction Furnace: EIF) และปรุงแต่งส่วนผสมเหล็ก เพื่อให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานและตรงกั บ ความต้ อ งการของ ลูกค้า และขัน้ ตอนการหล่อน�ำ้ เหล็กเป็นเหล็กแท่งยาว โดยเทคโนโลยี การหลอมเหล็กด้วยเตาหลอมเหล็กแบบเหนี่ยวน�ำกระแสไฟฟ้าจะ ใช้วิธีเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้กลายเป็นพลังงานความร้อนส�ำหรับ การหลอมเหล็ก ทั้งนี้ การใช้พลังงานไฟฟ้าแทนการเผาไหม้ของ เชื้อเพลิงจะช่วยลดต้นทุนการผลิตและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หลังจากนั้น ลูกค้าจะน�ำเหล็กแท่งยาวไปผลิตต่อด้วยการรีดเป็น ผลิตภัณฑ์เหล็กทรงยาว ได้แก่ เหล็กเส้นกลม เหล็กข้ออ้อย และ เหล็กลวด เป็นต้น ผลิตภัณฑ์เหล็กทรงยาวเหล่านี้เป็นวัสดุหลักที่ ใช้ในอุตสาหกรรมการก่อสร้างขนาดกลางและขนาดเล็ก เช่น บ้าน อาคารพาณิชย์ และงานก่อสร้างทั่วไป รวมทั้งเครื่องมืออุปกรณ์ ส่วนประกอบยานยนต์ และชิ้นส่วนต่างๆ เป็นต้น และในอุตสาหกรรม การก่อสร้างขนาดใหญ่ที่ต้องการเหล็กแท่งยาวที่มีความแข็งแรงสูง เพื่อใช้ในงานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ต้องการความแข็งแรงและคงทน เช่น สะพาน เขื่อน ทางด่วน งานก่อสร้างที่ต้องรับแรงอัด หรืออาคารสูง เป็นต้น ปัจจุบัน บริษัทมีโรงงานผลิตเหล็กแท่งยาว และสาขา ตั้งอยู่ในเขตอุตสาหกรรมกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี บนเนื้อที่รวมประมาณ 70 ไร่ ซึ่งในระยะเริ่มแรกมีก�ำลังการผลิตสูงสุด 250,000 ตันต่อปี และได้ขยายก�ำลังการผลิตในโรงงานเฟสที่ 2 อีก 480,000 ตันต่อปี รวมเป็น ก�ำลังการผลิตสูงสุด 730,000 ตันต่อปี (ก�ำลังการผลิตสูงสุดที่ขออนุญาตในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)) อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากบริษทั ต้องการบริหารและควบคุมต้นทุนค่าไฟฟ้า จึงมีนโยบายผลิตเหล็กแท่งยาวเฉพาะในช่วงเวลาทีม่ คี วามต้องการใช้ไฟฟ้าต�ำ ่ (OffPeak Period) ซึ่งจะช่วยท�ำให้ต้นทุนค่าไฟฟ้าที่ใช้ในการผลิตของบริษัทมีจ�ำนวนต�่ำกว่าการด�ำเนินการผลิตในช่วงเวลาที่มีความต้องการ ใช้ไฟฟ้าสูง (Peak Period) ด้วยเหตุนี้ ท�ำให้โรงงานทั้งสองเฟสมีก�ำลังการผลิตเต็มที่ในช่วงเวลาที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าต�่ำรวมเท่ากับ 450,000 ตันต่อปี ทั้งนี้ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายหลักของบริษัท คือ โรงรีดที่ไม่มีเตาหลอมเป็นของตนเอง และโรงรีดที่มีเตาหลอมแต่มีก�ำลังการ ผลิตไม่เพียงพอ นอกจากนี้ บริษัทได้เข้าเป็นสมาชิกของ London Metal Exchange (LME) ซึ่งเป็นตลาดซื้อขายล่วงหน้าระดับโลก เพื่อเพิ่ม โอกาสและช่องทางการจ�ำหน่ายและส่งออกเหล็กแท่งยาวไปยังตลาดต่างประเทศ เช่น ประเทศในภูมิภาคอาเซียน เป็นต้น อีกทั้งเป็นการ แสดงว่าผลิตภัณฑ์ของบริษัทได้รับการยอมรับด้านคุณภาพว่ามีคุณภาพตามมาตรฐานสากล จึงถือได้ว่าเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์และ การประชาสัมพันธ์บริษัทและผลิตภัณฑ์ของบริษัทในตลาดต่างประเทศได้เป็นอย่างดี

028

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

บริษัทมีเป้าหมายที่จะขยายธุรกิจสู่โรงไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน เพื่อเป็นบริษัทชั้นน�ำในการจัดหาแหล่งพลังงานไฟฟ้าจากพลังงาน ทดแทนให้แก่ภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ โดยมุ่งเน้นพลังงานบริสุทธิ์ที่เป็นมิตรต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเป็น ศูนย์กลางการกระจายแหล่งพลังงานทางเลือกเพิ่มช่องทางให้แก่ภาครัฐและเอกชนในการหาแหล่งพลังงานมาทดแทนหรือเพิ่มเติมกับ พลังงานไฟฟ้าที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพและคุ้มค่ามากที่สุด อันจะส่งผลประโยชน์โดยตรงต่อผู้บริโภคอย่างยั่งยืน กลุม่ ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน ได้เริม่ ลงทุนในปี 2557 โดยเริม่ พัฒนาและก่อสร้างในระยะเริม่ ต้นในประเทศญีป่ นุ่ จากการเล็งเห็นถึง ความคุ้มค่าในการลงทุน ซึ่งเป็นโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โดยมีขนาดการลงทุนเริ่มต้นจ�ำนวน 18 เมกะวัตต์ ทั้งนี้ได้มีการก่อสร้าง แล้วเสร็จและจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าแล้วจ�ำนวน 1 โครงการ ได้แก่ โครงการเกียวแทงโก ขนาดก�ำลังผลิต 4.02 เมกะวัตต์ในเดือน พฤศจิกายนที่ผ่านมา

โครงสร้างรายได้ของบริษัทและบริษัทย่อย แบ่งตามประเภทของผลิตภัณฑ์ งบการเงินรวม ประเภทผลิตภัณฑ์

ด�ำเนินการโดย

ปี 2555

ปี 2556

ปี 2557

ล้านบาท

สัดส่วน

ล้านบาท

สัดส่วน

ล้านบาท

สัดส่วน

ผลิตภัณฑ์เหล็ก - เหล็กแท่งยาว SR 24

บริษัท

1,665.85

38.18%

1,553.12

32.11%

817.25

19.66%

- เหล็กแท่งยาว SD 30

บริษัท

2,453.65

56.23%

2,989.69

61.82%

2,765.55

66.54%

- เหล็กแท่งยาว SD 40

บริษัท

0.01

0.00%

34.22

0.71%

-

-

- เหล็กแท่งยาว 5 SP

บริษัท

223.53

5.12%

223.85

4.63%

453.71

10.92%

4,343.04

99.54%

4,800.88

99.27%

4,036.51

97.12%

บริษัทย่อย

6.13

0.14%

1.70

0.04%

1.23

0.03%

รายได้จากการจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้า บริษัทย่อย

-

-

-

-

3.51

0.08%

รายได้จากการพัฒนาโครงการ

บริษัทย่อย

-

-

10.86

0.22%

67.44

1.62%

รายได้อื่น

บริษทั และบริษทั ย่อย

14.06

0.32%

22.84

0.47%

47.45

1.15%

4,363.23 100.00%

4,836.28

100.00%

รวมรายได้จากการขาย รายได้จากการให้บริการขนส่ง

รายได้รวม

4,156.14 100.00%

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

029


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ลักษณะของผลิตภัณฑ์และบริการ ธุรกิจเหล็กแท่งยาว

บริษัทเป็นผู้ผลิตและจำ�หน่ายเหล็กแท่งยาว (Steel Billet) โดยสามารถผลิตได้หลายเกรดตามความต้องการของลูกค้า ด้วยการปรับ ส่วนประกอบทางเคมี เช่น ค่าคาร์บอน ค่าซิลิคอน และค่าแมงกานีส เป็นต้น ในระหว่างขั้นตอนการหลอมน้ำ�เหล็ก และผลิตได้หลายขนาด หน้าตัดและความยาว โดยการเปลี่ยนขนาดเบ้าหล่อและกำ�หนดความยาวของแท่งเหล็กด้วยเครื่องตัดอัตโนมัติ เพื่อให้สอดคล้องกับความ ต้องการของโรงรีดเหล็กทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ทั้งนี้ บริษัทจะติดเครื่องหมายและฉลากข้อมูลการผลิตบนเหล็กแท่งยาวที่บริษัทผลิต ทำ�ให้สามารถตรวจสอบได้ง่าย โดยเหล็กแท่งยาวของบริษัทจะถูกน�ำไปจ�ำหน่ายให้แก่โรงรีดเพื่อน�ำไปรีดต่อเป็นผลิตภัณฑ์เหล็กทรงยาวต่างๆ (Long Products) ซึ่ง สามารถแบ่งตามลักษณะและคุณสมบัติการใช้งานหลักออกเป็น 2 ประเภท คือ เหล็กเส้นกลม (ROUND BAR) ผลิตภัณฑ์เหล็กทรงยาว (Long Products) เหล็กข้ออ้อย (DEFORMED BAR)

1. เหล็กแท่งยาวสำ�หรับนำ�ไปผลิตต่อด้วยการรีดเป็นเหล็กเส้นกลม (ROUND BAR) เหล็กแท่งยาวที่ใช้ส�ำหรับน�ำไปผลิตต่อด้วยการรีดเป็นเหล็กเส้นกลม ได้แก่ เหล็กแท่งยาว SR 24 โดยมีขนาดหน้าตัด 100x100 มิลลิเมตร, 120x120 มิลลิเมตร และ 150x150 มิลลิเมตร และมีความยาวระหว่าง 6 เมตร ถึง 12 เมตร ซึ่งมีความแข็งแรงและมี ความยืดหยุ่นสูง โดยปกติ เหล็กเส้นกลมที่ผลิตได้จะถูกน�ำไปใช้ในอุตสาหกรรมการก่อสร้าง สิ่งปลูกสร้างขนาดกลางและขนาดเล็ก เช่น บ้าน อาคารพาณิชย์ และงานก่อสร้างทั่วไป เป็นต้น 2. เหล็กแท่งยาวสำ�หรับนำ�ไปผลิตต่อด้วยการรีดเป็นเหล็กข้ออ้อย (DEFORMED BAR) เหล็กแท่งยาวที่ใช้ส�ำหรับน�ำไปผลิตต่อด้วยการรีดเป็นเหล็กข้ออ้อย ได้แก่เหล็กแท่งยาว SD 30 และเหล็กแท่งยาว SD 40 โดยมีขนาด หน้าตัด 100x100 มิลลิเมตร, 120x120 มิลลิเมตร และ 150x150 มิลลิเมตร และมีความยาวระหว่าง 6 เมตร ถึง 12 เมตรซึ่งมีความแข็งแรง สูง เนื่องจากมีส่วนประกอบของคาร์บอนที่มากขึ้น แต่ความสามารถในการยืดตัวของเหล็กจะลดลง ทั้งนี้ เหล็กข้ออ้อยที่ผลิตได้จะมีพื้นผิว เป็นปล้อง และมีแรงยึดเกาะที่ผิวมาก โดยปกติจึงเหมาะส�ำหรับน�ำไปใช้ในอุตสาหกรรมการก่อสร้างขนาดใหญ่ และงานคอนกรีตเสริมเหล็ก ที่ต้องการความแข็งแรง เช่น สะพาน เขื่อน ทางด่วน และงานก่อสร้างที่ต้องรับแรงอัด หรืออาคารสูง เป็นต้นปัจจุบัน เหล็กที่มีส่วนประกอบ คาร์บอนสูงได้รับความนิยมมากขึ้น เนื่องจากสามารถรับน�้ำหนักได้มาก ท�ำให้สามารถลดปริมาณการใช้เหล็กลงได้

ธุรกิจไฟฟ้าพลังงานทดแทน กลุ่มบริษัทด�ำเนินธุรกิจเป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเพื่อจ�ำหน่ายให้แก่ภาครัฐในประเทศต่างๆ ที่เล็งเห็น ถึงศักยภาพในการผลิตและจ�ำหน่าย โดยปัจจุบันได้เริ่มลงทุนโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น ขนาดการลงทุนเริ่มต้นรวม 18 เมกะวัตต์ ซึ่งมีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้

030

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

โครงการ

ขนาดก�ำลังการผลิต

สถานะ/ความคืบหน้าโครงการ

โรงไฟฟ้าที่ดำ�เนินการแล้ว 1. โครงการเกียวแทงโก้

4 เมกะวัตต์

จ�ำหน่ายไฟเชิงพาณิชย์แล้ว (COD) ตั้งแต่ 12 พฤศจิกายน 2557

1. โครงการโออิตะ

3 เมกะวัตต์

- อยู่ระหว่างก�ำหนดวันเริ่มซื้อขายไฟฟ้า

2. โครงการอื่นๆ

11 เมกะวัตต์

- อยู่ระหว่างการก่อสร้าง

โรงไฟฟ้าที่อยู่ในแผนงาน

รวมก�ำลังการผลิต

18 เมกะวัตต์

โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โครงการเกียวแทงโก้ เป็นโรงไฟฟ้าแห่งแรกของกลุ่มบริษัท โดยด�ำเนินธุรกิจภายใต้บริษัท เออี โซลาร์ จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท และได้ท�ำสัญญาซื้อขายไฟฟ้า (PPA) โดยเริ่มจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ (Commercial Operation Date : COD) แล้วนับแต่วันที่ 12 พฤศจิกายน 2557 เป็นต้นมา ในอัตรา 40 เยนต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง มีระยะเวลาการรับซื้อ 20 ปี นับจากวันเริ่มต้นซื้อขายไฟฟ้า (COD)

โครงการเกียวแทงโก้

โครงการโออิตะ

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

031


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

จุดเด่นในการแข่งขันของบริษัท • บริษัทมีก�ำลัง การผลิตเหล็กแท่งยาวสูงสุดเท่ากับ 730,000 ตันต่อปี หรือ 450,000 ตันต่อ ปี (ช่วงเวลาที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าต�่ำ) ซึ่งท�ำให้บริษัทสามารถขยายก�ำลังการผลิตให้สอดคล้อง และรองรับความต้องการใช้เหล็กแท่งยาวที่จะเพิ่มสูงขึ้นตามนโยบายของภาครัฐบาลที่ต้องการ ตันต่อปี ส่งเสริมการลงทุน ซึ่งจะช่วยลดการพึ่งพิงการน�ำเข้าเหล็กแท่งยาว และผลกระทบต่อการขาด ดุลการค้าของประเทศ • บริษัทมีนโยบายด�ำเนินธุรกิจที่จะไม่ท�ำการแข่งขันกับลูกค้า โดยมุ่งเน้นผลิตเหล็กแท่งยาว เพื่อจ�ำหน่ายให้แก่ลูกค้าโดยตรง เพื่อ น�ำไปผลิตต่อด้วยการรีดเป็นผลิตภัณฑ์เหล็กทรงยาว ท�ำให้ได้รับความเชื่อมั่นและไว้วางใจจากลูกค้า และสั่งซื้อสินค้าจากบริษัทอย่าง ต่อเนื่อง โดยบริษัทสามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้แก่ลูกค้าได้อย่างต่อเนื่องและทันต่อความต้องการใช้ของลูกค้า

กำ�ลังการผลิตสูงสุด

730,000

• บริษัทสามารถผลิตสินค้าได้หลากหลายเกรด ขนาดหน้าตัด และความยาว เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ หลากหลายกลุ่ม • บริษัทผลิตสินค้าที่มีคุณภาพด้วยการใช้เครื่องจักรที่ทันสมัย และกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ โดยได้รับ ประกาศนียบัตร รั บ รองมาตรฐานคุณ ภาพ ISO 9001:2000 จาก Bureau Veritas Certification ตั้งแต่ปี 2551 และปัจจุบัน เป็น ISO 9001:2008 • บริษัทเป็นหนึ่งในสองบริษัทที่ผลิตเหล็กแท่งยาวในประเทศไทยที่ได้เข้าเป็นสมาชิกของ LME ซึ่งเป็นตลาดซื้อขายล่วงหน้าระดับโลก จึงถือได้ว่าผลิตภัณฑ์ของบริษัทมีมาตรฐานที่ยอมรับได้ในระดับโลก ซึ่งเป็นการเพิ่มความมั่นใจในคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ภาพพจน์ และเป็นการเพิ่มช่องทางการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ของบริษัททั้งในตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ โดยบริษัทสามารถจ�ำหน่าย ตรงและ/หรือจ�ำหน่ายผ่านระบบ LME ให้แก่ลูกค้าในตลาดต่างประเทศ • บริษัทได้ใช้โปรแกรม SAP ซึ่งเป็นระบบบริหารทรัพยากรส�ำหรับองค์กร (ERP) ท�ำให้สามารถเข้าถึงและตรวจสอบข้อมูล ได้อย่างรวดเร็ว แม่นย�ำ และสามารถน�ำข้อมูลรายงานทางการเงินมาใช้ในการบริหารและการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ • บริษัทมีการลงทุนในบริษทั เวอเทค โลจิสติคส์ เซอร์วิส จ�ำกัด และมี การท�ำสัญญาให้บริการขนส่งระหว่าง กันเป็นระยะเวลา 5 ปี ซึ่งจะช่วยเสริม บริ ก ารด้ า นโลจิ ส ติ ค ส์ ส� ำ หรั บ การ ขนส่ ง สิ น ค้ า ของบริ ษั ท ให้ แ ก่ ลู ก ค้ า ท�ำให้บริษัทสามารถใช้เวอเทคเป็นช่องทางการจัดจ�ำหน่ายในการส่งมอบสินค้าให้แก่ลูกค้าได้ตามระยะเวลาที่ก�ำหนด • บริษัทมีโรงงานตัง้ อยูใ่ นเขตอุตสาหกรรมกบินทร์บรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี ซึง่ มีระบบสาธารณูปโภคและระบบคมนาคมทีค่ รบครัน ใกล้แหล่ง วั ต ถุ ดิ บ และสะดวกต่อการกระจายสินค้าทั้งทางบกและทางทะเล นอกจากนี้ บริษัทยังได้รับส่วนลดค่าไฟฟ้ารายเดือนในอัตรา ร้อยละ 10 จากการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค อ�ำเภอกบินทร์บรุ ี เป็นเวลา 5 ปี นับแต่ วันที่เริ่มมีรายได้

• บริษัทมีโรงงานตั้งอยู่ในจังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งเป็นพื้นที่การลงทุนเขต 3 ทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุน โดยบริษัทได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุนจ�ำนวน 2 ฉบับ ซึ่งมีสิทธิประโยชน์ที่ส�ำคัญ เช่น ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นเวลา 8 ปี นับแต่วันที่เริ่มมีรายได้ ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติ เป็นเวลา 5 ปีนับจากวันที่พ้นก�ำหนด ระยะเวลาการยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล และได้รบั อนุญาตให้หกั ค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปาในอัตรา 2 เท่าของค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ จริง เป็นเวลา 10 ปีนับแต่วันที่เริ่มมีรายได้ เป็นต้น 032

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


ความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทในฐานะองค์กรที่ดีมุ่งที่จะเพิ่มคุณค่าให้กับสังคมด้วยการยึดมั่นหลักการในการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมเหล็กเพื่อสนับสนุน ส่งเสริมและเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างเสถียรภาพในตลาดอุตสาหกรรมเหล็ก ทั้งจะด�ำเนินกิจการอย่างมีความรับผิดชอบเพื่อสร้างประโยชน์ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

1. นโยบายภาพรวม

บริษัทมีความมุ่งมั่นในการผลิตและส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตรงตามความต้องการของลูกค้าภายใต้การก�ำกับดูแลองค์กรที่ดี โดย ด�ำเนินงานด้วยส�ำนึกความรับผิดชอบต่อผลกระทบในด้านต่างๆ ทั้งสิ่งแวดล้อมและชุมชนจากการประกอบกิจการขององค์กร โดยยึดหลัก การด�ำเนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้ เคารพต่อหลักสิทธิมนุษยชน ปฎิบัติตามข้อก�ำหนดของกฎหมาย ยึดต่อแนวปฎิบัติ สากล โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้เสีย รวมทัง้ จะมุง่ มัน่ พัฒนาปรับปรุง เพือ่ สร้างรากฐานของความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างต่อเนือ่ ง และยั่งยืน

2. การดำ�เนินงานและการจัดทำ�รายงาน 1. การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม

บริษทั มีนโยบายยึดถือความเป็นธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ รวมทั้งต้องด�ำเนินการและพยายามด�ำเนินการเพื่อให้เกิดความเป็นธรรม กับคู่ค้าและคู่แข่งขันโดยประโยชน์สูงสุดของบริษัท รวมทั้งปฏิบัติตามพันธะสัญญาอย่างเคร่งครัดเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน โดยก�ำหนดแนวปฏิบัติเรื่องการปฏิบัติต่อคู่ค้าอย่างเป็นธรรมไว้ในจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจ (The code of conduct) ดังนี้

แนวทางปฏิบัติ

- ในกรณีที่บริษัทคู่ค้ามีความเกี่ยวพันกับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานซึ่งอาจก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมในทางธุรกิจให้บุคคล ดังกล่าวต้องแจ้งรายงานต่อผู้บังคับบัญชาทราบเป็นลายลักษณ์อักษรก่อนที่บริษัทจะเข้าท�ำธุรกรรมนั้น - ผู้บริหาร และพนักงานต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการค้าที่มีต่อคู่ค้าอย่างซื่อตรงและเป็นธรรม กรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตาม เงื่อนไขได้ให้แจ้งรายงานต่อผู้บังคับบัญชาเพื่อติดต่อคู่ค้าเพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไข - ห้ามกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานให้หรือเสนอให้ทรัพย์สนิ -หรือผลประโยชน์แก่บคุ คลภายนอกอันจะท�ำให้เกิดความไม่เป็นธรรม ทางธุรกิจ รวมทั้งหลีกเหลี่ยงการรับทรัพย์สิน หรือผลประโยชน์จากคู่ค้า

2. การต่อต้านการทุจริต

บริษทั ได้ให้ความส�ำคัญกับการต่อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชัน่ โดยบริษทั ฯ ได้มกี ารประกาศแนวทางในการปฏิบตั งิ านตามนโยบาย ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นขึ้น เพื่อให้มั่นใจว่า บริษัทฯ มีนโยบายการก�ำหนดความรับผิดชอบ แนวปฏิบัติ และข้อก�ำหนดในการ ด�ำเนินการที่เหมาะสม เพื่อป้องกับคอร์รัปชั่นกับทุกกิจกรรมทางธุรกิจของบริษัทฯ และเพื่อให้การตัดสินใจและการด�ำเนินการทาง ธุรกิจที่อาจมีความเสี่ยงด้านการทุจริตคอร์รัปชั่นได้รับการพิจารณาและปฏิบัติอย่างรอบคอบ ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

033


ความรับผิดชอบต่อสังคม

แนวทางในการปฏิบัติงานตามนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

1. ห้ามกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ด�ำเนินการหรือยอมรับหรือให้การสนับสนุนการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ในทุกรูปแบบทั้งทางตรงและทางอ้อมโดยครอบคลุมถึงทุกบริษัทในเครือ รวมถึงผู้รับจ้างหรือผู้รับจ้างช่วงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และ ก�ำหนดให้มีการสอบทานการปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นนี้อย่างสม�่ำเสมอ ตลอดจนมีการทบทวนแนวทาง การปฏิบัติให้สอดคล้องกับนโยบาย ระเบียบปฏิบัติ ข้อก�ำหนด ข้อบังคับ ประกาศ กฎหมาย และการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ 2. มาตรฐานการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น เป็นส่วนหนึ่งของการด�ำเนินธุรกิจและเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ของบริษัทฯ ผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชา พนักงานทุกคนทุกระดับ ผู้ส่งมอบหรือผู้รับเหมาช่วงที่จะมีส่วนในการแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับการปฏิบัติเพื่อให้การด�ำเนินการด้านการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่นบรรลุตามนโยบายที่ก�ำหนด 3. บริษัทฯ พัฒนามาตรการการต่อต้านทุจริตและคอร์รัปชั่นให้สอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องรวมถึงหลักปฏิบัติด้านศีลธรรม โดยจัดให้มีการประเมินความเสี่ยงในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องหรือสุ่มเสี่ยงต่อการทุจริตและคอร์รัปชั่นและน�ำมาจัดท�ำเป็นคู่มือ แนวทางในการปฏิบัติแก่ผู้เกี่ยวข้อง 4. บริษัทฯ ไม่กระท�ำหรือสนับสนุนการให้สินบนในทุกรูปแบบ ทุกกิจกรรมที่อยู่ภายใต้การดูแล รวมถึงการควบคุม การบริจาคเพื่อ การกุศล การบริจาคให้แก่พรรคการเมือง การให้ของขวัญทางธุรกิจและสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ มีความโปร่งใสและไม่มีเจตนา เพื่อโน้มน้าวให้เจ้าหน้าที่ภาครัฐหรือเอกชนด�ำเนินการที่ไม่เหมาะสม 5. บริษัทฯ จัดให้มีการควบคุมภายในที่เหมาะสม สม�่ำเสมอเพื่อป้องกันไม่ให้พนักงานมีการปฏิบัติที่ไม่เหมาะสม โดยเฉพาะงาน จัดซื้อ งานบริหารคลังสินค้าและการจัดส่ง 6. บริษทั ฯ จัดให้ความรูด้ า้ นการต่อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชัน่ แก่คณะกรรมการ บริษัทฯ ผู้บริหารและพนักงานเพื่อส่งเสริมความซื่อสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบ ในการปฏิบตั ติ ามหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ รวมถึงสือ่ ให้เห็นความมุง่ มัน่ ของบริษทั ฯ 7. บริษทั ฯ จัดให้มีกลไกลการรายงานสถานะการเงินที่โปร่งใสและถูกต้องแม่นย�ำ 8. บริษัทฯ ส่งเสริมให้มีการสื่อสารที่หลากหลายช่องทางเพื่อให้พนักงานและ ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องสามารถแจ้งเบาะแสอันควรสงสัยโดยมัน่ ใจได้วา่ ผูแ้ จ้งเบาะแส ได้รับการคุ้มครอง โดยไม่ให้ถูกลงโทษ โยกย้ายที่ไม่เป็นธรรมหรือกลั่นแกล้ง ด้วยประการใด และรวมถึงการแต่งตั้งบุคคลเพื่อตรวจสอบติดตามทุกเบาะแสที่มีการแจ้งเข้ามา

3. การเคารพสิทธิมนุษยชน

บริษัทมีนโยบายยึดถือหลักสิทธิมนุษยชนและให้ความเคารพในเกียรติศักดิ์ศรีและสิทธิส่วนบุคคลของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน เปิดโอกาสการว่าจ้างงานอย่างเสมอภาคและไม่ยินยอมให้มีการเลือกปฏิบัติ การกีดกันแรงงาน การล่วงละเมิด หรือการข่มขู่คุกคามอันเนื่องมาจากความแตกต่างด้านสัญชาติ เชื้อชาติ ชนชั้น เพศ อายุ ศาสนา หลักความเชื่อ และสถานภาพ ทางสังคม ผูบ้ ริหารและพนักงานมีโอกาสทีจ่ ะได้รบั การสนับสนุนส่งเสริมการฝึกอบรมเพือ่ พัฒนาความรูค้ วามสามารถอย่างเท่าเทียม และเหมาะสมตามความจ�ำเป็นของต�ำแหน่งงานแต่ละระดับ บริษัทมีนโยบายดูแ ลรั ก ษาสภาพแวดล้ อ มในการท� ำ งานให้ มี ความปลอดภัย ถูกสุขลักษณะและเอื้อต่อการท�ำงานอย่างมีประสิทธิผล โดยก�ำหนดแนวปฏิบัติเรื่องการยึดถือหลักสิทธิมนุษยชน และความเท่าเทียมกันในโอกาสการท�ำงานไว้ในจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจ (The code of conduct) ดังนี้

แนวทางปฏิบัติ

- พึงปฏิบัติต่อเพื่อนร่วมงานด้วยความเคารพในเกียรติ ศักดิ์ศรีและสิทธิส่วนบุคคล - พึงปฏิบตั ิต่อบุคคลอย่างสุภาพโดยเท่าเทียมกันไม่เลือกปฏิบัติ แม้ว่าจะมีความแตกต่างในสัญชาติ เชื้อชาติ ชนชั้น เพศ อายุ ศาสนา หลักความเชื่อ สถานภาพทางสังคม - พึงเคารพในวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงามของไทยและของประเทศต่างๆ ทีม่ กี ารติดต่อด�ำเนินกิจกรรมทางธุรกิจ และด�ำเนินกิจกรรมในวิธีทางที่เหมาะสมต่อสภาพสังคมและเศรษฐกิจของประเทศนั้นๆ - เมื่อพบเหตุผิดปกติใดที่อาจส่งผลต่อความปลอดภัยในที่ท�ำงาน ผู้บริหารและพนักงานพึงแจ้งรายงานต่อผู้มีหน้าที่รับผิดชอบ เพื่อด�ำเนินการแก้ไขโดยทันที

034

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


ความรับผิดชอบต่อสังคม

4. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม การจ้างงานและแรงงานสัมพันธ์

บริษทั มีการจัดตัง้ คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ (คสว.) มีหน้าทีร่ ว่ มหารือในการจัดให้มสี วัสดิการและเพิม่ เติม สิทธิประโยชน์แก่พนักงาน รวมทั้ง มีการก�ำหนดนโยบายให้พนักงานได้รับสิทธิประโยชน์และสวัสดิการอย่างเป็นธรรม ซึ่งจากการ ให้ความส�ำคัญด้านแรงงานสัมพันธ์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ที่ดีให้แก่พนักงานส่งผลให้เกิดความพึงพอใจความรักและผูกพัน ต่อบริษัทเพิ่มขึ้น ดังจะเห็นได้จากสถิติการลาออกที่ลดลง

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

บริษทั ได้มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัย เพือ่ พิจารณาแก้ไขปัญหาและส่งเสริมกิจกรรมด้านความปลอดภัย โดยเปิด โอกาสให้พนักงานระดับปฏิบัติการเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของคณะกรรมการเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มาจากความต้องการของพนักงานที่ ปฏิบัติงานระดับปฏิบัติการ บริษัทให้ความส�ำคัญกับกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบกับพนักงานเองแล้ว บริษัทยังได้ให้ความ ส�ำคัญไปถึงกิจกรรมทีอ่ าจก่อให้เกิดผลกระทบต่อภายนอก จึงได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุมชนสัมพันธ์ขึ้นเพื่อร่วมกันพิจารณาปรับปรุง แก้ไขผลกระทบต่างๆ และส่งเสริมให้บริษัทมีส่วนร่วมกับกิจกรรมของชุมชนมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ บริษัทได้เข้าโครงการ CSR-DIW และได้รับใบรับรองว่าเป็น อุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 1 ความมุง่ มัน่ สีเขียว (Green Commitment) แสดงถึง การที่บริษัทมีความมุ่งมั่นที่จะลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและมีการสื่อสาร ภายในองค์กรให้ทราบโดยทั่วกัน และบริษัทยังได้รับใบรับรองอุตสาหกรรม สีเขียวระดับที่ 2 ปฏิบัติการสีเขียว (Green Activity) แสดงถึงการด�ำเนิน กิจกรรมเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมส�ำเร็วตามความมุ่งมั่นที่ตั้งไว้ และนอกจากนี้บริษัทยังได้รับประกาศนียบัตรรับรองการได้ ปฏิบัติตามมาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม จากกรมโรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม

ความหลากหลายและโอกาสแห่งความเท่าเทียม

บริษัทตระหนึกถึงความหลากหลายด้านภาษา เชื้อชาติ และการศึกษา ของพนักงาน ด้วยการเปิดช่องทางในการสื่อสารต่างๆ โดยผ่านหัวหน้างานและกล่องรับฟังความคิดเห็น แต่ไม่พบว่ามีข้อร้องเรียนจากพนักงานในเรื่องของการปฏิบัติที่ไม่เท่าเทียมกัน เกิดขึ้น

5. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค

บริษัทให้ความส�ำคัญกับการผลิตและส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตรงตามที่ลูกค้าต้องการและปฏิบัติหน้าที่โดยค�ำนึงถึง ประโยชน์สูงสุดของลูกค้าเป็นหลัก ทั้งนี้ ต้องเป็นไปโดยถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับและหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยก�ำหนด แนวปฏิบัติเรื่องการปฏิบัติต่อลูกค้าและคุณภาพผลิตภัณฑ์ไว้ในจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจ (The code of conduct) ดังนี้

แนวปฏิบัติ

- ต้องรูแ้ ละเข้าใจกระบวนการผลิตและปฏิบตั ติ ามระเบียบทีบ่ ริษทั ก�ำหนดไว้อย่างเคร่งครัดพือ่ ส่งมอบสินค้าและให้บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพ และรวดเร็ว - ต้องศึกษาและท�ำความเข้าใจในความต้องการของลูกค้า เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างถูกต้อง - ต้องปฏิบัติต่อลูกค้าด้วยความสุภาพให้เกียรติและมีน�้ำใจ - ต้องเคารพความเห็นและการตัดสินใจของลูกค้าไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของลูกค้า - ต้องรักษาข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าและไม่น�ำไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้ที่เกี่ยวข้องโดยมิชอบ - ต้องเอาใจใส่ต่อข้อร้องเรียนของลูกค้าและด�ำเนินการอย่างเป็นธรรม เพื่อด�ำเนินการให้ลูกค้าได้รับการตอบสนองอย่างรวดเร็ว

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

035


ความรับผิดชอบต่อสังคม

6. การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน

บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของทรั พ ยากรที่ ใ ช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ในกิ จ กรรมของบริ ษั ท รวมถึ ง การใช้ พ ลั ง งานต่ า งๆ ใน กระบวนการผลิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งพลังงานไฟฟ้าซึ่งเป็นพลังงานหลักของธุรกิจผลิตเหล็กแท่งยาว ทั้งนี้ บริษัทได้ถูกจัดให้เป็น โรงงานควบคุมหมายเลข TSIC-ID: 37110-0166 ตามพระราชกฤษฎีกาก�ำหนดโรงงานควบคุม พ.ศ.2540 บริษัทได้ประกาศเป็นนโยบายการอนุรักษ์พลังงานเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติให้กับองค์กรและได้มีการตั้งเป้าหมายการอนุรักษ์ พลังงานโดยเปรียบเทียบจากพลังงานทีใ่ ช้ตอ่ หน่วยผลผลิตและยังได้จดั ท�ำรายงานการจัดการพลังงาน รวมถึงแต่งตัง้ ให้มผี รู้ บั ผิดชอบ ด้านพลังงานทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ ามทีก่ ฎกระทรวงก�ำหนด โดยบริษทั ได้นำ� ส่งรายงานการจัดการพลังงานให้แก่กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงานในเดือนมีนาคมของทุกปี รวมทั้ง บริษัทฯ ได้รับการรับรองในโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด ส�ำหรับกลุม่ อุตสาหกรรมโลหะ จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม และ ได้รบั การรับรองว่าเป็นสถานประกอบการอุตสาหกรรม ทีด่ ำ� เนินงาน ตามหลักเกณฑ์ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม จากกระทรวงอุตสาหกรรม

การป้องกันและผลกระทบจากมลพิษ

บริษัทใช้เทคโนโลยีเตาหลอมเหนี่ยวน�ำด้วยไฟฟ้าซึ่งส่งผลให้ปริมาณมลพิษทางอากาศต�่ำกว่าเตาหลอมประเภทอื่น ส�ำหรับ มลสารที่เกิดขึ้น ได้แก่ ฝุ่นละออง ซึ่งประกอบด้วยฟูมออกไซด์ของเหล็กและโลหะอื่นๆ ที่เจือปนในเศษเหล็ก บริษัทจึงได้ติดตั้ง ระบบควบคุมการแพร่กระจายของมลสารที่แหล่งก�ำเนิด ด้วยเครื่องดักฝุ่นแบบถุงกรอง (Bag house filter) ท�ำให้สามารถลด ปริมาณมลพิษทางอากาศได้ จึงไม่ท�ำลายสุขภาพของพนักงานและชุมชมบริเวณข้างเคียงโรงงงาน บริษทั ได้ปฏิบตั ติ ามมาตรการป้องกัน แก้ไขและลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมโดยเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อมที่ ผ่านความเห็นชอบจากส�ำนักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2551และปัจจุบัน บริษทั ได้นำ� ส่งรายงานติดตามมาตรการดังกล่าวต่อส�ำนักงานนโยบาย และ แผนทรัพยากรธรรมชาติ และ สิง่ แวดล้อมเป็นประจ�ำทุก 6 เดือน โดยได้มกี ารว่าจ้างผูเ้ ชีย่ วชาญอิสระเพือ่ ท�ำการตรวจวัดคุณภาพสิง่ แวดล้อม จากรายงานผลการปฏิบตั ิ ตามมาตรการป้องกัน และลดผลกระทบสิง่ แวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิง่ แวดล้อมฉบับล่าสุดประจ�ำเดือนมกราคม-มิถนุ ายน 2557 ซึ่งจัดท�ำโดยบริษัท เอส.พี.เอส. คอนซัลติ้ง เซอร์วิส จ�ำกัด

7. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม

บริษัทก�ำหนดพื้นที่เป้าหมายการร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม โดยมุง่ เน้นการพัฒนาชุมชนทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีใ่ กล้เคียงบริเวณโรงงาน ภายใต้รัศมี 5 กิโลเมตร ประกอบด้วย 12 หมู่บ้าน ต�ำบลหนองกี่ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี และ 2 หมู่บ้าน ต�ำบลนาดี อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี รวมทั้งสิ้น 14 หมู่บ้าน ในปี 2557 มีโครงการที่ด�ำเนินการจ�ำนวนทั้งสิ้น 17 โครงการ ซึ่ง ครอบคลุมการด�ำเนินการ ดังนี้ 1. บริษัทจัดให้มีตัวแทนขององค์กรเข้าปรึกษาหารือกับชุมชน เพื่อด�ำเนินกิจกรรมและการพัฒนาชุมชนร่วมกันอย่างเป็นขั้นตอน และให้ความสนใจเป็นพิเศษกับกลุ่มผู้ที่ต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ กลุ่มผู้ถูกเลือกปฏิบัติ เช่น คนพิการภายในพื้นที่ โดยการ ก�ำหนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม การประกาศแต่งตั้งคณะท�ำงานความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทัง้ มีการสานเสวนากับ ชุมชนเพื่อหาความต้องการจัดท�ำแผนงานของโครงการร่วมกับชุมชน 2. บริษทั มีการรวมรวมข้อมูลจากชุมชนท้องถิ่นอย่างเหมาะสมก่อนการด�ำเนินกิจกรรมในการพัฒนาร่วมกับชุมชนโดยวิธกี ารจัดการ สานเสวนาเพื่อหาจุดสอดคล้องในการจัดท�ำแผนงานพัฒนาชุมชน 3. บริษัทมีการสนับสนุนการจัดท�ำสาธารณสมบัติและพัฒนาชุมชนร่วมกับองค์กรต่างๆ ในท้องถิ่นอย่างเหมาะสม เช่น การร่วม พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ และ กิจกรรมอาสาพัฒนาชุมชนภายในพื้นที่ การเข้าช่วยเหลือวัสดุ-อุปกรณ์ในการจัดการปัญหา เช่น งานวางท่อระบายน�้ำฝนของโรงเรียน วัด การซ่อมแซมหลังคาโรงอาหาร ห้องสมุด โรงเรียน การสร้างสนามเด็กเล่นเพื่อ ส่งเสริมสุขภาพ พลานามัยเด็ก โรงเรียนบ้านโคกสั้น โรงเรียนบ้านทด และ โรงเรียนบ้านโคกลาน เป็นต้น

036

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


ความรับผิดชอบต่อสังคม

4. บริษัทมีการสนับสนุน ส่งเสริมให้ประชาชนเป็นอาสาสมัครบริการชุมชน โดยการส่งเสริมและให้ความสนับสนุนร่วมมือกับ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองกี่ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี และอาสาสมัครในพื้นที่ 12 หมู่บ้าน ตั้งด่านจุดตรวจรถ รวมถึงสิ่งผิดกฎหมายและสนับสนุนอุปกรณ์ เช่น ป้ายจุดตรวจ ชุดตรวจสารเสพติด กระบองสัญญาณไฟ รวมถึงการสนับสนุน หน่วยงานที่เป็นอาสาสมัครภายในพื้นที่ เช่น มูลนิธิสัจจะพุทธธรรม ในการมอบสิ่งของอันเป็นสาธารณประโยชน์ เช่น เสื้อชูชีพ อุปกรณ์ช่วยชีวิต น�้ำดื่มส�ำหรับการบริการผู้เดินทางในช่วงเทศกาล เป็นต้น 5. บริษัทมีการจัดท�ำแผนงานการพัฒนาชุมชนที่มีการติดตามและประเมินผล โดยแผนงานนั้นเคารพต่อสิทธิและความคิดเห็น ของผู้อื่นพร้อมกับการรักษาผลประโยชน์ขององค์กรตามแผนงานของโครงการ เชาว์ อาสาสอนน้อง ที่ให้ความรู้กับนักเรียน ภายในพื้นที่ให้มีความรู้ความสามารถด้านภาษาอาเซี่ยน โดยได้มีการประชุมร่วมกันระหว่างคณะครู และ ได้ข้อคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์ส่วนรวมให้มีการน�ำความรู้ความสามารถของพนักงานภายในองค์กร มาถ่ายทอดให้กับนักเรียนในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2-3 ให้มที กั ษะความรูด้ า้ นการสือ่ สารในภาษาพม่า ซึง่ จะจัดท�ำในชัว่ โมงแนะแนว หรือ ชัว่ โมงชมรม สัปดาห์ละ 1.5 ชม. เป็นต้น 6. บริษัทมีการส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาและเข้าร่วมในกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของคนทุกระดับในท้องถิ่น มีการ ด�ำเนินการดังนี้ 6.1 จัดจ้างครูอัตราจ้างเพื่อสอนในโรงเรียนบ้านทดจ�ำนวน 1 อัตรา 6.2 จัดกิจกรรมส่งเสริมวิชาการด้านการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เมื่อเกิดเหตุการที่ไม่คาดคิดในการใช้ชีวิตประจ�ำวันให้กับ ชาวบ้านภายในพื้นที่ กว่า 150 คน 6.3 จัดให้มีการเข้าชมนิทรรศการในบริษัท ในงานสัปดาห์ความปลอดภัยประจ�ำปี 2557 6.4 จัดกิจกรรมค่ายเยาวชนให้กับโรงเรียนในพื้นที่ เพื่อให้โอกาสในการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง 6.5 จัดโครงการ เชาว์ อาสา สอนน้อง ให้ความรู้ด้านภาษาพม่าให้กับนักเรียนในพื้นที่ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2-3 7. ส่งเสริมกิจกรรมทางวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีในท้องถิ่น โดยการเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา เช่น งานทอดกฐิน ผ้าป่า เข้าพรรษา ออกพรรษา งานบวช งานบุญ และจัดค่ายธรรมะให้กับเยาวชนโดยรอบ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนต�ำบล หนองกี่ ร่วมกิจกรรมงานประเพณีท้องถิ่น เช่น งานสงกรานต์ ประเพณีแห่ดอกไม้ ลอยกระทง การร่วมพัฒนา ปรับภูมิทัศน์ ภายในชุมชน วัด และ โรงเรียน เป็นต้น 8. บริษัทมีการเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนให้กับชุมชน โดยการจัดท�ำเอกสารประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ สิทธิมุษยชนที่ควรรู้และจ�ำเป็นให้กับชุมชุนโดยรอบโรงงานจ�ำนวน 12 ชุมชน 9. การสร้างงานและการพัฒนาทักษะ บริษทั มีการวิเคราะห์ผลกระทบของการตัดสินใจในการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างงานใน ชุมชน และด�ำเนินการลงทุนเพือ่ บรรเทาความยากจนผ่านการสร้างงาน โดยบริษทั ได้จดั ท�ำโครงการ ด้านการส่งเสริมและพัฒนา อาชีพให้กับชาวบ้านในพื้นที่ เพื่อบรรเทาความยากจนผ่านการสร้างงานสร้างรายได้ให้กับชุมชนการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ลดต้นทุนในการผลิต รวมถึงการ ถ่ายทอดหลักความรู้ในการจัดการ การจัดท�ำบัญชี เป็นต้น 10. การจ้างงานและสร้างศักยภาพให้กบั กลุม่ คนทีต่ อ้ งได้รบั การดูแลเป็นพิเศษ โดยบริษทั มีการจ้างงานคนพิการภายในชุมชน และ มี การบริจาคเงินเข้ากองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ 11. บริษทั ได้สนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู้ ภูมิปัญญา และเทคโนโลยีของชุมชนที่มีศักยภาพในเชิงเศรษฐกิจ ไปพร้อมกับ การปกป้องสิทธิของชุมชน เช่นการ เผยแพร่ความรู้ เกี่ยวกับการท�ำมาตรฐาน GMP เพื่อให้ชาวบ้านในชุมชนจัดท�ำผลิตภัณฑ์ แปรรูปอย่างถูกสุขลักษณะ 12. บริษัทได้จัดการหาวิธีลดหรือขจัดผลกระทบด้านลบต่อสุขภาพ อันเกิดจากกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์หรือบริการ เช่น รายงาน ผลการศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ โดยมี ก ารลงพื้ น ที่ เ ยี่ ย มเยื อ นชุ ม ชนเป็ น ประจ� ำ ซึ่งนอกจากการฟัง ความคิดเห็นด้านต่างๆ แล้ว ก็ได้รวมเอาประเด็นด้านสุขภาพรวมไว้ด้วย 13. บริษทั ส่งเสริมการมีสขุ ภาพทีด่ ี โดยมีสว่ นช่วยให้ชมุ ชนได้รบั ยาและฉีดวัคซีน การออกก�ำลังกาย และโภชนาการทีด่ ี การป้องกันโรค การคุมก�ำเนิด และให้การดูแลเรื่องโภชนาการของเด็ก เช่น การสนับสนุนงบประมาณจัดสร้างสนามเด็กเล่นให้กับโรงเรียนบ้าน โคกสัน้ ซึง่ เป็นการเพิม่ โอกาสให้กบั เด็กในการออกก�ำลังกายทีเ่ หมาะสมตามวัยและการจัดท�ำเอกสารประชาสัมพันธ์ให้กบั คนใน ชุมชนเกี่ยวกับความรู้ด้านการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรค เป็นต้น

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

037


ความรับผิดชอบต่อสังคม

3. กิจกรรมเพื่อประโยชน์ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนินธุรกิจโดยตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ซึ่งถือเป็น หน้าที่ส�ำคัญที่ต้องด�ำเนินการควบคู่กันอย่างจริงจังและต่อเนื่อง นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2550 ที่บริษัท เน้นการพัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับพื้นที่ โดยแบ่งเป็น 7 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านการศึกษา (Education) 2. ด้านอาชีพ (Career) 3. ด้านสิ่งแวดล้อม (Environment) 4. ด้านศาสนา (Religious) 5. ด้านกีฬาสาธารณสุขและความปลอดภัย (Sport, Public health and safety) 6. ด้านสังคม (Social) 7. ด้านแรงงานสัมพันธ์ (CSR in house) โดยในปี 2557 ที่ผ่านมา บริษัทมีการจัดท�ำโครงการพัฒนาชุมชนให้ตรงและสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน โดยการน�ำเอาวิธีการ สานเสวนาร่วมกับชุมชน เพื่อท�ำการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร และ สอบถามประเด็นข้อคิดเห็นต่างๆ เพื่อน�ำไปสู่การเขียนแผนงานโครงการให้ สอดคล้องกัน ซึ่งการจัดท�ำโครงการที่ผ่านมา สามารถสรุปได้ ดังนี้

ด้านการศึกษา

โครงการ จัดจ้างครูอัตราจ้าง จ�ำนวน 1 อัตราให้กับโรงเรียนภายในพื้นที่ ที่ขาดแคลนทรัพยากรบุคคลที่ส�ำคัญและ มีความจ�ำเป็นใน รายวิชาที่ต้องให้ความรู้กับเยาวชนภายในพื้นที่ เนื่องจากที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2554 ถึงปัจจุบัน ทางบริษัทให้ความส�ำคัญกับการศึกษาของ เยาวชน ซึ่งเป็นแรงผลักดันก�ำลังส�ำคัญของประเทศ ที่จะท�ำให้ประเทศมีศักยภาพในการพัฒนาด้านต่างๆ ในอนาคต ไม่ว่าจะเป็น ศักยภาพ ด้านวิทยาศาสตร์ ศักยภาพด้านการเงิน – เศรษฐกิจ ซึ่งล้วนแล้วแต่เกิดจากการ ปลูกฝัง ความส�ำคัญ และความเข้าใจ รวมถึง ทัศนคติที่ดีใน วัยเด็ก ดังนั้น การพัฒนาเด็กและเยาวชน จึงมีส่วนส�ำคัญยิ่ง การปลูกฝังหรือพัฒนา การถ่ายทอดความรู้ด้านเทคโนโลยี รวมไปถึงการสอน ที่เปิดโอกาสให้เยาวชน ได้แสดงออกถึงความสามารถตามที่ตนเองมีความถนัด ส่งเสริมทักษะ และความสามารถที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่นภายใน สังคม บริษัทฯ จึงมองเห็นความส�ำคัญของการสนับสนุนให้มีการคัดเลือกสรรหาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถถ่ายทอดความรู้ และ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการมาโดยตลอด โครงการ เชาว์ อาสา สอนน้อง เนื่องจากปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้า และ เทคโนโลยี เป็นส่วนผสมที่ส�ำคัญในการพัฒนาสังคม และ ธุรกิจ ให้มีประสิทธิภาพ ดังนั้นแล้ว การสื่อสารจึงเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นยิ่ง บริษัทฯ ได้มีการบริหารจัดการความสามารถของพนักงาน ตลอดจนให้ โอกาสในการมีส่วนได้ถ่ายทอดความรู้ ด้านภาษาพม่า ให้กับน้องๆ เยาวชนภายในพื้นที่ ที่ให้ความสนใจ รวมถึงจัดสื่อการสอนที่น่าสนใจ ให้ กับน้องๆ ให้มีการเรียนรู้ ประกอบกับ ความสนุกสนาน แตกต่าง และ เปิดโอกาสในการแสดงออกในด้านที่ถูกต้อง

ด้านอาชีพ

โครงการ เชาว์ เติมความรู้ สู่อาชีพ และโครงการเห็ดหรรษาพารวย เป็นโครงการที่จัดต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 เป็นกิจกรรม ด้านการส่งเสริม อาชีพให้แก่เกษตรกรภายในพืน้ ทีใ่ กล้เคียงบริษทั โดยการให้ความรูเ้ กีย่ วกับการจัดการเพาะก้อนเห็ดอย่างเต็มรูปแบบ สามารถน�ำมาต่อยอด เป็นอาชีพเสริมให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการกว่า 20 ครัวเรือน เป็นการรวมกลุ่มอาชีพท�ำก้อนเชื้อเห็ดเพื่อส่งขายของเกษตรกร หมู่ 2 บ้าน โคกขี้เหล็ก ต�ำบลหนองกี่ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี และกลุ่มเปิดดอกเพื่อจ�ำหน่ายของเกษตรกร หมู่ 4 บ้านสโมง ต�ำบลหนองกี่ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี รวมทั้ง การต่อยอดการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ดเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับกลุ่มเกษตรกรทั้งการให้ความรู้ทั้งทฤษฎี และปฎิบัติ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ฝึกปฎิบัติกันพร้อมอุปกรณ์ โดยการสอนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จ.นครราชสีมา และได้จัด ตั้งกลุ่มเพื่อจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ดังกล่าว 038

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


ความรับผิดชอบต่อสังคม

ด้านสิ่งแวดล้อม

โครงการ เชาว์ พัฒนาการเกษตรชุมชน อย่างยั่งยืน แนวคิดโครงการมาจากการส�ำรวจพื้นที่ทางการเกษตรของชาวบ้านในพื้นที่ซึ่งถือ เป็นอาชีพหลักของชุมชน และการน�ำข้อมูลจากการสานเสวนามาเป็นพื้นฐานในการจัดท�ำแผนงานดังกล่าว จากการส�ำรวจและการรวบรวม ข้อมูลพบว่าพื้นที่ท�ำการเกษตรของชุมชนส่วนใหญ่มีสภาพแห้งแล้งเพาะปลูกพืชไม่ได้ผลดีเท่าที่ควรเนื่องจากสภาพดินที่มีลักษณะเป็นดิน ทราย จึงได้มีการจัดท�ำแผนงานโครงการขึ้นเพื่อท�ำการฟื้นฟูสภาพดินและเพาะปลูกเป็นแปลงเกษตรน�ำร่องให้กับชาวบ้าน หมู่ 9 และ หมู่ 5 ต�ำบลหนองกี่ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี เป็นแปลงน�ำร่อง วัตถุประสงค์เพื่อสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรภายในชุมชน ให้ กลับมามีประกอบอาชีพทางการเกษตรได้อีกครั้ง และถือเป็นการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ปรับปรุงสภาพดินให้อุดมสมบูรณ์

ด้านศาสนา

โครงการค่ายธรรมะ ซึ่งเป็นโครงการที่จัดร่วมกับหน่วยงานบริหารภายในท้องถิ่น วัตถุประสงค์เพื่อให้เยาวชนในพื้นที่ ได้มีโอกาส เรียนรู้ วิถีชีวิต ภายใต้ศีล 5 ถือเป็นการทะนุบ�ำรุงศาสนา และเป็นการเผยแพร่หลักธรรมค�ำสอนทางศาสนาให้กับเยาวชน ซึ่งโครงการนี้จะคัดเลือก วัดภายในพื้นที่และมีพระสงฆ์เป็นผู้ให้ความรู้ เช่น วัดคลองมะเลา ต�ำบลหนองกี่ อ�ำเภอกบินร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี

ด้านกีฬา สาธารณสุข และความปลอดภัย

โครงการ ชุมชนสัมพันธ์ เชาว์ คัพ ตามที่ บริษัทได้เล็งเห็นความส�ำคัญของแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมซึ่งส่งผลให้องค์กรสามารถ เจริญเติบโตได้อย่างยั่งยืนไปพร้อมกับชุมชนและผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท จึงได้ประกาศนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและก�ำหนดใช้ เป็นแนวทางในการบริหารองค์กร ซึ่งการให้ความส�ำคัญกับสังคมรอบข้างควบคู่กับสังคมภายในเป็นสิ่งที่จ�ำเป็น ดังนั้น การจัดกิจกรรมเพื่อ ส่งเสริมการกีฬาระหว่างชุมชนและพนักงาน ภายใต้ชื่อโครงการ “ชุมชนสัมพันธ์ เชาว์คัพ” ปีที่ 3 เป็นการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลชาย เพื่อเสริมสร้างให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการท�ำกิจกรรมกับพนักงานและเปิดโอกาสในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนทัศนคติ รวมทั้ง ส่งเสริมสุขภาพ พลานามัย ภายในพื้นที่ต�ำบลหนองกี่ อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี

ด้านสังคม

โครงการ เชาว์ ส่งเสริม และ พัฒนาสังคม โดยการมีสว่ นสนับสนุน ในด้านต่างๆ ไม่วา่ จะเป็น ก�ำลังคน ความรูค้ วามสามารถด้านช่างฝีมอื เฉพาะ งบประมาณ ตลอดจน การรวมพนักงานที่มีจิตอาสา เข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมของแต่ละชุมชนที่ยังขาดแคลน และ มีความต้องการให้บริษัทฯ เข้าสนับสนุน เช่น กิจกรรมปรับภูมิทัศน์ วัด โรงเรียน และ การท�ำความสะอาดหมู่บ้าน เป็นต้น

ด้านแรงงานสัมพันธ์

โครงการ เชาว์ ธงฟ้า ลดค่าครองชีพ บริษทั มีการสานเสวนาร่วมกับผูม้ สี ว่ นได้เสีย 2 กลุม่ คือ พนักงานและชุมชน เพือ่ ให้เกิดการมีสว่ นร่วม โครงการ “เชาว์ ธงฟ้า ลดค่าครองชีพ” วัตถุประสงค์เพื่อให้พนักงานสามารถจับจ่ายใช้สอยสินค้าในราคาย่อมเยา ซึ่งบริษัทมีแผนจัด โครงการปีละ 4 ครั้ง โครงการ เชาว์ เปิดการเรียนรู้ ส�ำหรับพนักงาน โดยการสนับสนุนทุนส�ำหรับการศึกษาต่อของพนักงาน ที่มีความต้องการในการเข้าศึกษา ต่อในระดับต่างๆ เป็นต้น

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

039


ปัจจัยความเสี่ยง 1. ความเสี่ยงด้านวัตถุดิบ 1.1 ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบ

โดยปกติ วัตถุดิบที่ส�ำคัญส�ำหรับน�ำมาใช้ในกระบวนการหลอมและหล่อเป็นเหล็กแท่งยาว คือ เศษเหล็ก ซึ่งที่ผ่านมา บริษัทใช้เศษเหล็กคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 70 - ร้อยละ 80 ของต้นทุนการผลิต ดังนั้น ความผันผวนของราคาเศษเหล็ก จะมีผลกระทบโดยตรงต่อต้นทุนการผลิตและต้นทุนขายของบริษัท โดยปกติ ราคาเศษเหล็กที่จ�ำหน่ายในประเทศจะมีแนวโน้ม เปลี่ยนแปลง โดยอิงตามราคาขายเหล็กแท่งยาวและเศษเหล็กในตลาดโลก ซึ่งราคาเศษเหล็กในบางช่วงอาจมีการปรับตัวที่ เปลี่ยนแปลงค่อนข้างมากเป็นระยะๆ ดังนั้น หากราคาเศษเหล็กยังคงมีความผันผวน และบริษัทไม่สามารถปรับราคาขายสินค้า ของบริษัทให้สอดคล้องกับต้นทุนเศษเหล็กที่ใช้ในการผลิต และต้นทุนเศษเหล็กที่คงค้างอยู่ในสต็อก อาจท�ำให้บริษัทได้รับ ผลกระทบต่อความสามารถในการท�ำก�ำไรของบริษัทได้ บริษัทได้ตระหนักถึงความเสี่ยงดังกล่าวและเพื่อลดผลกระทบจากความเสี่ยงดังกล่าวบริษัทจึงมีนโยบายที่จะส�ำรอง ปริมาณเศษเหล็กไว้ให้เพียงพอต่อการผลิต โดยในสภาวะปกติ บริษัทมีนโยบายส�ำรองปริมาณเศษเหล็กประมาณ 1 - 2 เท่าของ ความต้องการใช้ในการผลิตในแต่ละเดือน รวมทั้งการก�ำหนดนโยบายสั่งซื้อเศษเหล็กเมื่อได้รับค�ำสั่งซื้อจากลูกค้า (Matching Order) ซึง่ จะช่วยท�ำให้บริษทั สามารถก�ำหนดราคาขายให้สอดคล้องกับต้นทุนขายของบริษทั และเกิดความยืดหยุน่ ทันต่อสภาวการณ์ ของตลาด ณ ขณะนั้นๆ ได้ในระดับหนึ่ง และยังได้เพิ่มมาตรการในการด�ำเนินการติดตามการเปลี่ยนแปลงของราคาเหล็กแท่ง ยาวและราคาวัตถุดิบอย่างใกล้ชิด โดยอาศัยประสบการณ์ และสัมพันธภาพที่ดีกับผู้จัดหาเศษเหล็ก เพื่อคาดการณ์สถานการณ์ แนวโน้มของราคาและปริมาณความต้องการใช้เหล็กแท่งยาวทัง้ ในและต่างประเทศ ใช้ประกอบการตัดสินใจปรับแผนในการสัง่ ซือ้ เศษเหล็ก หรือวางแผนการผลิตสินค้า ให้มีความเหมาะสม

1.2 ความเสี่ยงจากการจัดหาวัตถุดิบ และพึ่งพิงผู้จัดหาวัตถุดิบ

จากลักษณะการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทที่ต้องใช้เศษเหล็กเป็นวัตถุดิบหลัก และการซื้อเศษเหล็กจากผู้จัดหาเศษเหล็ก 5 อันดับแรก คิดเป็นสัดส่วนรวมกันประมาณร้อยละ 80-90 ของมูลค่าการซื้อเศษเหล็กทั้งหมด จึงอาจท�ำให้บริษัทมีความเสี่ยง ในการจัดหาเศษเหล็ก หากความต้องการใช้เศษเหล็กมีปริมาณมากกว่าปริมาณเศษเหล็กที่มีอยู่ และ/หรือผู้จัดหาเศษเหล็ก ไม่สามารถจัดหาและส่งมอบเศษเหล็กให้ได้ทันตามความต้องการใช้งานและบริษัทไม่สามารถจัดหาจากแหล่งอื่นได้ทันตาม แผนการผลิต ซึง่ อาจจะส่งผลให้บริษทั ขาดแคลนวัตถุดิบในการผลิตสินค้า ณ ช่วงขณะหนึ่ง และ/หรืออาจท�ำให้การจัดหา เศษเหล็กได้ในราคาที่เพิ่มสูงมากขึ้นจนท�ำให้บริษัทสูญเสียความสามารถในการแข่งขันเมื่อเทียบกับการน�ำเข้าเหล็กแท่งยาว จากต่างประเทศ ด้วยเหตุนี้ ปัจจัยดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อผลการด�ำเนินงานและฐานะทางการเงินของบริษัท อย่างไรก็ตาม บริษทั ได้ประเมินว่าบริษทั จะได้รบั ผลกระทบจากปัจจัยดังกล่าวไม่มากนัก เนือ่ งจากบริษทั ทีผ่ ลิตเหล็กแท่งยาว และบริษทั ผูผ้ ลิตเหล็กเส้นทีม่ เี ตาหลอมเศษเหล็กเพือ่ ผลิตเหล็กแท่งยาวเป็นของตนเองมีจำ� นวนน้อยราย ท�ำให้ปริมาณเศษเหล็ก ในสภาวะปกติยังมีจ�ำนวนเพียงพอกับปริมาณความต้องการใช้ และตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา (ซึ่งรวมถึงในช่วงสภาวะผิดปกติ ในปี 2551) บริษทั ไม่เคยประสบปัญหาในการจัดหาเศษเหล็ก นอกจากนี้ บริษทั ยังมีความสัมพันธ์ทดี่ กี บั ผูจ้ ดั หาเศษเหล็กทุกราย โดยมีการจัดซื้อเศษเหล็กอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน รวมทั้งการติดต่อสั่งซื้อเศษเหล็กจากต่างประเทศเป็นระยะๆ เพื่อสร้าง ความสัมพันธ์ทดี่ ี และใช้เป็นแหล่งจัดหาวัตถุดบิ ส�ำรองในกรณีทปี่ ริมาณเศษเหล็กในประเทศมีจำ� นวนไม่เพียงพอกับความต้องการ ใช้งาน กอปรกับบริษัทมีการติดตามสถานการณ์และแนวโน้มปริมาณความต้องการใช้เศษเหล็กอย่างใกล้ชิด รวมถึงมีนโยบาย ในการจัดเก็บเศษเหล็ก และมีการวางแผนการผลิตที่ชัดเจน ซึ่งบริษัทคาดว่าจะช่วยลดผลกระทบจากความเสี่ยงดังกล่าวได้ใน ระดับหนึ่ง

040

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


ปัจจัยความเสี่ยง

2. ความเสี่ยงด้านการตลาดและการจัดจำ�หน่าย 2.1 ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาเหล็กแท่งยาว

ผลิตภัณฑ์หลักของบริษัท คือ เหล็กแท่งยาว ซึ่งจะถูกน�ำไปผลิตต่อด้วยการรีดเหล็กเป็นผลิตภัณฑ์เหล็กทรงยาว ได้แก่ เหล็ก เส้นกลมและเหล็กข้ออ้อย โดยปกติอุปสงค์และอุปทานของเหล็กแท่งยาวขึ้นอยู่กับอุตสาหกรรมการก่อสร้าง ซึ่งจะใช้ผลิตภัณฑ์ เหล็กทรงยาวเป็นวัสดุหลักในการด�ำเนินงาน ทั้งนี้ เหล็กแท่งยาวเป็นสินค้าประเภท Commodity ดังนั้น ราคาเหล็กแท่งยาวจึงมี การเปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการบริโภคและความสามารถในการผลิตภายในประเทศและต่างประเทศ บริษัทได้ตระหนักถึงความเสี่ยงดังกล่าว และมีนโยบายที่จะผลิตสินค้าตามค�ำสั่งซื้อของลูกค้า ซึ่งจะท�ำให้บริษัทสามารถ ก�ำหนดราคาขายให้สอดคล้องกับต้นทุนขายของบริษัทและภาวะตลาด ณ ขณะนั้นๆ นอกจากนี้ บริษัทได้ก�ำหนดมาตรการใน การด�ำเนินการติดตามการเปลี่ยนแปลงของราคาเหล็กแท่งยาวอย่างใกล้ชิด โดยพิจารณาประกอบร่วมกับข้อมูลภาวะเศรษฐกิจ โดยรวม ข้อมูลภาวะของธุรกิจอุตสาหกรรมการก่อสร้าง และข้อมูลที่ได้รับจากการสอบถามลูกค้า เพื่อใช้ในการประมาณการ แนวโน้มความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์เหล็กทรงยาว ซึ่งจะมีผลต่อความต้องการใช้เหล็กแท่งยาว ทั้งนี้เพื่อน�ำมาใช้เป็นข้อมูลใน การตัดสินใจวางแผนการผลิต จ�ำหน่าย และการจัดเก็บเหล็กแท่งยาวคงคลังให้มคี วามเหมาะสมตามสถานการณ์และความต้องการ เพื่อลดผลกระทบจากความเสี่ยงดังกล่าวให้น้อยลง

2.2 ความเสี่ยงจากผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายของภาครัฐ

อุตสาหกรรมเหล็กของไทยเป็นอุตสาหกรรมเพือ่ ทดแทนการน�ำเข้าเป็นหลัก โดยเริม่ จากการพัฒนาเพื่อตอบสนองความต้องการ ผลิตภัณฑ์เหล็กขัน้ ปลายภายในประเทศ ซึง่ เป็นวัตถุดบิ ขัน้ พืน้ ฐานของอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งต่างๆ อุตสาหกรรมเหล็กในประเทศไทย จึงมีความสัมพันธ์อย่างมากต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ดังนั้น ภาครัฐจึงเล็งเห็นความส�ำคัญและมีมาตรการ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเหล็กในประเทศ ดังนี้ :

1) เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area หรือ AFTA)

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน (ASEAN) มีข้อตกลงว่าด้วยการลดอัตราภาษีศุลกากร ระหว่างประเทศสมาชิก (Common Effective Preferential Tariff Scheme: CEPT) โดยก�ำหนดให้ประเทศสมาชิกเดิม 6 ประเทศ ซึ่งประกอบด้วย ประเทศเนการาบรูไนดารุสซาลาม ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย ประเทศ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ และประเทศไทย ลดภาษีน�ำเข้าในบัญชีรายการลดภาษีภายใต้ CEPT ให้ เหลืออัตราร้อยละ 0 ภายในปี 2553 และประเทศสมาชิกใหม่ 4 ประเทศ ซึ่งได้แก่ ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า และประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา ก�ำหนดให้ลดภาษีน�ำเข้าในบัญชีรายการลดภาษีภายใต้ CEPT เหลือร้อยละ 0 ภายในปี 2558 รายการสินค้าที่ได้รับสิทธิ CEPT ครอบคลุมสินค้าทุกรายการรวมทั้งสิ้น 105,123 รายการ รวมถึง เหล็กและเหล็กกล้า ซึง่ เข้าข่ายหลักเกณฑ์กระบวนการผลิตทีผ่ า่ นการแปรสภาพอย่างเพียงพอในประเทศ โดยสินค้าประเภทเหล็กแท่ งยาว เหล็ก เส้น และเหล็กข้ออ้อยต้องลดอัตราภาษีศุลกากรอยู่ที่อัตราร้อยละ 0 ภายในปี 2553 ทั้งนี้ ปัจจุบันประเทศไทยเก็บภาษี ศุลกากรกับประเทศในกลุ่มอาเซียนในอัตราร้อยละ 2 - 5 ขึ้นอยู่กับประเภทและขนาดของสินค้า จึงมีแนวโน้มที่ราคา น�ำเข้าเหล็กเส้นจะถูกลงในอนาคต ในขณะที่ผลิตภัณฑ์เหล็กแท่งยาว ซึง่ เป็นสินค้าทีผ่ ลิตโดยบริษทั สามารถน�ำเข้าโดยเสรี โดยไม่ต้องเสียภาษีน�ำเข้าเนื่องจากประเทศไทยผลิตได้ไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ อย่างไรก็ดี เนื่องจากการน�ำเข้า เหล็กแท่งยาวจากต่างประเทศยังมีข้อจ�ำกัดด้านระยะเวลา ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการ และปริมาณสั่งซื้อขั้นต�่ำ ซึ่งเป็นผล

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

041


ปัจจัยความเสี่ยง

ท�ำให้ผู้ประกอบการยังคงนิยมใช้เหล็กแท่งยาวที่ผลิตในประเทศมากกว่า ด้วยเหตุนี้ บริษัทจึงคาดว่านโยบายในส่วนนี้จะ ไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อบริษัท แต่ในทางกลับกัน บริษัทคาดว่าจะได้รับผลกระทบทางบวกจากนโยบายนี้ เนื่องจากเป็น นโยบายที่ถือว่าเป็นการช่วยเหลือผู้ประกอบการในประเทศในการส่งออกเหล็กแท่งยาวไปยังตลาดต่างประเทศในภูมิภาค อาเซียน เนื่องจากประเทศที่เคยมีการเก็บภาษีน�ำเข้าเหล็กแท่งยาว เช่น ประเทศมาเลเซีย ประเทศสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ และประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม จะต้องยกเลิกก�ำแพงภาษีภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด อย่างไรก็ดี หากมีการยกเลิกนโยบายนีใ้ นอนาคตไม่วา่ ด้วยสาเหตุใดๆ ก็ตาม บริษทั ก็คาดว่าจะได้รบั ผลกระทบไม่มากนัก เนื่องจาก ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน ผู้ประกอบการในประเทศไม่สามารถผลิตเหล็กแท่งยาวให้คลอบคลุมกับความต้องการใช้ ในประเทศ ท�ำให้ตอ้ งมีการน�ำเข้าเหล็กแท่งยาวมาโดยตลอด และเมือ่ พิจารณาค่าขนส่งส�ำหรับสินค้าดังกล่าวแล้ว จะพบว่า มีค่าใช้จ่ายในการขนส่งสูงมาก และต้องใช้ระยะเวลาในการขนส่งเป็นระยะเวลานานกว่าการสั่งซื้อในประเทศ

2) นโยบายส่งเสริมการลงทุนกิจการผลิตเหล็กขั้นกลาง

คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment: BOI) ได้ประกาศแนวทางส่งเสริมการลงทุนกิจการผลิตเหล็ก เพือ่ เป็นการพัฒนาอุตสาหกรรมเหล็กคุณภาพสูง เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้แก่อุตสาหกรรมต่อเนื่อง และส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตและส่งออกเหล็กของภูมิภาค โดย BOI ได้ก�ำหนดให้กิจการผลิตเหล็ก ขัน้ กลางได้รบั สิทธิและประโยชน์ตามหลักเกณฑ์ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ 1/2543 ลงวันที่ 1 สิงหาคม 2543 ทั้งนี้ โรงงานของบริษัทตั้งอยู่ในจังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งเป็นเขตการส่งเสริมการลงทุนเขต 3 ท�ำให้บริษัทได้รับสิทธิและ ประโยชน์ที่ส�ำคัญ เช่น ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นระยะเวลา 8 ปี ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไร สุทธิที่ได้จากการลงทุนในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติเป็นระยะเวลา 5 ปีนับจากวันที่พ้นก�ำหนดระยะเวลายกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล และได้รับอนุญาตให้หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าน�้ำประปาเป็นจ�ำนวน 2 เท่าของจ�ำนวนเงินที่จ่ายจริง เป็นระยะเวลา 10 ปี เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ หากในอนาคต ภาครัฐได้ยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลงการให้สิทธิประโยชน์ดังกล่าว และ/หรือระยะเวลาของการได้รับสิทธิประโยชน์ดังกล่าวได้สิ้นสุดหรือครบก�ำหนดไป อาจมีผลกระทบต่อผลประกอบการ และความสามารถในการท�ำก�ำไรของบริษัท ทั้งนี้ บริษัทมั่นใจว่า ภาครัฐคงไม่มีการเปลี่ยนแปลงและ/หรือยกเว้นสิทธิประโยชน์ดังกล่าว เพราะจะกระทบต่อ ความเชือ่ มัน่ ของการลงทุนในทุกธุรกิจทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมการลงทุน อย่างไรก็ตาม บริษัทอาจได้รับผลกระทบจากการครบ ก�ำหนดของระยะเวลาส่งเสริม และ/หรือการครบก�ำหนดวงเงินที่ได้รับการส่งเสริม กล่าวคือ โรงงานเฟสที่ 1 และโรงงานเฟส ที่ 2 ของบริษัท ได้รับสิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุนดังกล่าวตั้งแต่เดือนธันวาคม 2548 และเดือนกรกฎาคม 2551 ตามล�ำดับ ซึ่งการได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจะสิ้นสุดเมื่อครบก�ำหนด 8 ปีนับจากระยะเวลาที่เริ่มได้รับ สิทธิประโยชน์ดังกล่าว กอปรกับมติคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนซึ่งได้อนุมัติการส่งเสริมการลงทุนให้แก่บริษัทที่ได้รับ การส่งเสริมการลงทุนให้เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ภายในระยะเวลาที่ได้รับสิทธิประโยชน์จาก BOI โดย เปลี่ยนจากการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลแบบจ�ำกัดวงเงินการลงทุน เป็นแบบไม่จ�ำกัดวงเงินการลงทุน ซึ่งก�ำหนดให้ ผู้ขอรับสิทธิประโยชน์ต้องยื่นค�ำขอต่อ BOI ตามมาตรการนี้ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2555 โดย ณ วันที่ 14 กันยายน 2554 บริษัทได้ยื่นขออนุมัติรับสิทธิประโยชน์เพิ่มเติมดังกล่าวแล้ว และสามารถเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ และ ด�ำเนินการตามที่ BOI ก�ำหนด ท�ำให้บริษทั สามารถได้รบั สิทธิประโยชน์ทางภาษีโดยไม่จำ� กัดจ�ำนวนเงินลงทุนดังกล่าว ดังนัน้ หากบริษทั มีกำ� ไรสุทธิในช่วงทีไ่ ด้รบั สิทธิประโยชน์เป็นจ�ำนวนเกินกว่าเงินลงทุนดังกล่าว บริษทั จะยังคงได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลทั้งจ�ำนวน ซึ่งจะส่งผลดีต่อผลประกอบการของบริษัท

042

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


ปัจจัยความเสี่ยง

3. ความเสี่ยงด้านการเงิน 3.1 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน

บริษัทมีการสั่งซื้อวัตถุดิบ ได้แก่ เศษเหล็กและสารเคมี และอะไหล่จากต่างประเทศ เพื่อใช้ในการประกอบธุรกิจของบริษัท โดยมีมูลค่าการสั่งซื้อคิดเป็นประมาณร้อยละ 5 ของมูลค่าการจัดซื้อทั้งหมด รวมทั้งนโยบายในการส่งออก เหล็กแท่งยาว ท�ำให้ บริษัทมีความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนจากการท�ำธุรกรรมดังกล่าว ทั้งนี้ บริษัทมีนโยบายในการป้องกันความเสี่ยง โดยการท�ำสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) กับสถาบันการเงินหลายแห่ง รวมทั้งบริษัทได้รับวงเงินส�ำหรับการป้องกันความเสี่ยงดังกล่าวจากสถาบันการเงินในประเทศ โดย บริษัทจะด�ำเนินการติดตามสถานการณ์เงินตราต่างประเทศอย่างใกล้ชิด เพื่อหาช่วงเวลาที่ค่าเงินตราต่างประเทศเอื้อประโยชน์ สูงสุดต่อบริษัท

4. ความเสี่ยงสำ�หรับผู้ลงทุน 4.1 ความเสี่ยงจากการมีกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่มีอิทธิพลต่อการดำ�เนินงาน

ครอบครัวจิรธรรมศิริ ถือหุน้ รวมกันจ�ำนวน 506.22 ล้านหุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 63.28 ของทุนจดทะเบียนแล้ว 800 ล้านบาท ดังนั้น หากกลุ่มผู้ถือหุ้นดังกล่าวออกเสียงไปในทิศทางเดียวกันจะท�ำให้สามารถควบคุมมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นได้เกือบทั้งหมด ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งการแต่งตัง้ กรรมการ หรือการขอมติในเรื่องอื่นที่ต้องใช้เสียงส่วนใหญ่ของทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ยกเว้นเรือ่ งทีก่ ฎหมาย หรือข้อบังคับบริษัทก�ำหนดให้ต้องได้รับคะแนนเสียง 3 ใน 4 ของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ดังนั้น ผู้ถือหุ้นรายอื่นจึงอาจไม่สามารถ รวบรวมคะแนนเสียงให้เพียงพอเพื่อตรวจสอบและถ่วงดุลในเรื่องที่ผู้ถือหุ้นรายใหญ่เสนอได้ บริษัทตระหนักถึงความเสี่ยงดังกล่าว จึงได้แต่งตั้งกรรมการตรวจสอบจ�ำนวน 4 ท่าน คิดเป็นอัตราร้อยละ 40 ของจ�ำนวน กรรมการทั้งหมดของบริษัท เพื่อท�ำหน้าที่เป็นกรรมการอิสระ ทั้งนี้ กรรมการตรวจสอบเป็นบุคคลที่มีความอิสระ มีวุฒิการศึกษา และคุณวุฒิ รวมทั้งมีความรู้ความสามารถที่จะคุ้มครองผู้ถือหุ้นรายย่อย นอกจากนี้ ในการตัดสินใจกระท�ำการหรือละเว้น กระท�ำการใดๆ คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายในการด�ำเนินงานโดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นเป็นหลักและหากบริษัท มีความจ�ำเป็นในการท�ำรายการกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง บริษัทจะปฎิบัติตามขั้นตอนการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกัน และหลักเกณฑ์ที่ประกาศไว้ของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอย่างเคร่งครัด

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

043


โครงสร้างผู้ถือหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ 10 อันดับแรกของบริษัท เป็นดังนี้ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557) รายชื่อ

จ�ำนวน(หุ้น)

สัดส่วนของจ�ำนวนหุ้นทั้งหมด

1. กลุ่มจิรธรรมศิร1/ิ

506,222,400

63.28%

2. กลุ่มหาญสวัสดิ2/์

33,700,000

4.21%

3. นายอุกฤษฎ์ ตัณฑเสถียร

25,278,100

3.16%

4. นางกมลรัตน์ จิตรประดับศิลป์

18,400,000

2.30%

5. นางสาวปรียานุช ปานะนนท์

17,126,900

2.14%

6. นางสาววราทิพย์ เจริญศิริวัฒน์

8,600,000

1.08%

7. นายคณิต พฤกษ์พระกานต์

4,000,000

0.50%

8. นายวสันต์ ฟองสมุทรรัตน์

2,691,200

0.34%

9. นางสาวคาริษฐา ถวิลวิทู

2,500,000

0.31%

10. นางสาวอัครอนงค์ อังควานิช

2,060,000

0.26%

620,578,600

77.57%

รวม

หมายเหตุ : 1/กลุ่มจิ รธรรมศิ ริ ประกอบด้วย (ก) นายอนาวิ ล จิ รธรรมศิ ริ ถือหุน้ จ� ำนวน 408,000,000 หุน้ (ข) นางสาวศรุตา จิ รธรรมศิ ริ ถือหุน้ จ� ำนวน 40,500,000 หุน้ (ค) นางสาวคู เมน ไว ถือหุน้ จ� ำนวน 40,500,000 หุน้ และ (ง) นางสาวกันยากร พงษ์ พานิ ช ถือหุน้ จ� ำนวน 17,222,400 หุน้ 2/ กลุ่มหาญสวัสดิ์ ประกอบด้วย (ก) นางสาวโรสลิ น หาญสวัสดิ์ ถือหุน้ จ� ำนวน 18,800,000 หุน้ และ (ข) นายโดม หาญสวัสดิ์ ถือหุน้ จ� ำนวน 14,900,000 หุน้

044

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


โครงสร้างผู้ถือหุ้น

นโยบายการจ่ายเงินปันผล นโยบายของบริษัท

บริษัทมีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 40 ของก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคลของงบการเงินเฉพาะ และหลังหัก ส�ำรองตามกฎหมาย และเงินสะสมอื่นๆ ตามที่บริษัทก�ำหนด ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับฐานะการเงิน ผลการด�ำเนินงาน แผนการลงทุน ความจ�ำเป็นและความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคต ตามที่คณะกรรมการบริษัท และ/หรือผู้ถือหุ้นของบริษัท เห็นสมควร นอกจากนี้ เงื่อนไขของสัญญาเงินกู้ได้ระบุว่า บริษัทสามารถจ่ายเงินปันผลได้ ก็ต่อเมื่อบริษัทได้รับอนุมัติให้น�ำหุ้นเข้าจดทะเบียน ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์

นโยบายของบริษัทย่อย

บริษัทมีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 40 ของก�ำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคลของงบการเงินเฉพาะ และหลังหัก ส�ำรองตามกฎหมาย และเงินสะสมอื่นๆ ตามที่บริษัทก�ำหนด ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวอาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับฐานะการเงิน ผลการด�ำเนินงาน แผนการลงทุน ความจ�ำเป็นและความเหมาะสมอื่นๆ ในอนาคต ตามที่คณะกรรมการบริษัท และ/หรือผู้ถือหุ้นของบริษัท เห็นสมควร ข้อมูลการจ่ายเงินปันผลที่ผ่านมาของบริษัท

รอบผลประกอบการ

2554

2556

2557

อัตราก�ำไรสุทธิต่อหุ้น

0.30

0.13

0.06

อัตราเงินปันผลต่อหุ้น

0.10

0.10

-

41.45%

77.59%

-

3 พฤษภาคม 2555

4 ธันวาคม 2556

-

อัตราการจ่ายเงินปันผลต่อก�ำไรสุทธิ (%) วันที่จ่าย

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

045


โครงสร้างองค์กรและการจัดการ

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง

ฝ่ายตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

สำ�นักเลขานุการบริษัท

สำ�นักงานใหญ่

รองกรรมการผู้จัดการ

ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายบัญชี

046

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายการเงินและ บริหาร

โรงงาน

รองกรรมการผู้จัดการ

ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายการขายและ การตลาด

ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายจัดซื้อ

ผู้จัดการโรงงาน


โครงสร้างองค์กรและการจัดการ

บริษทั ได้จดั โครงสร้างการจัดการทีส่ อดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยประกอบด้วย คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง โดยมีรายละเอียด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ดังต่อไปนี้ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท ตรวจสอบ บริหาร สรรหาและก�ำหนด บริหาร 10 ท่าน 4 ท่าน 6 ท่าน ค่าตอบแทน ความเสี่ยง 4 ท่าน 3 ท่าน ดร.ปรัชญา เปี่ยมสมบูรณ์

O

รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ อยู่ถนอม

XI

/

O

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กัลยาภรณ์ ปานมะเริง

I

O*

/

นายนพปฎล เจสัน จิรสันติ์

I

/ *

นายกณวรรธน์ อรัญ

I

/ *

นายสงวนเกียรติ ลิ่วมโนมนต์

/

นายมาร์ค ดี.เรมี จาน

/

นายอนาวิล จิรธรรมศิริ

/

O

นางสาวคู เมน ไว

/

/

นางสาวศรุตา จิรธรรมศิริ

/

/

/ /

นายสุทธิชัย สุรพัฒน์

/

นายวรวิทย์ เอื้อทรัพย์สกุล

/

นายสาธิต เชยบุบผา

/

หมายเหตุ :

O

/

/

O ประธานกรรมการ X รองประธานกรรมการ I กรรมการอิ สระ / กรรมการ * กรรมการตรวจสอบผูม้ ี ความรู้ทางด้านบัญชี และการเงิ น โดยมี นางสาวศิ ริรตั น์ คงเพ็ง เป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริ ษัทและเลขานุการบริ ษัท และนายสุทธิ ชยั สุรพัฒน์ เป็ นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

047


โครงสร้างองค์กรและการจัดการ

1. คณะกรรมการบริษัท กรรมการผู้มีอ�ำนาจผูกพันตามหนังสือรับรองบริษัท

กรรมการผู้ซึ่งมีอ�ำนาจลงลายมือชื่อแทนบริษัท คือ นายอนาวิล จิรธรรมศิริ หรือ นางสาวคู เมน ไว หรือ นางสาวศรุตา จิรธรรมศิริ กรรมการสองในสามคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราส�ำคัญของบริษัท

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท

1. จัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นเป็นการประชุมสามัญประจ�ำปีภายใน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีของบริษัท 2. จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย 3 เดือน ต่อ 1 ครั้ง โดยกรรมการทุกคนมีหน้าที่เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท และอาจมีการประชุมเพิ่มเติมในกรณีที่มีความจ�ำเป็น 3. จัดท�ำรายงานคณะกรรมการประจ�ำปี และรับผิดชอบต่อการจัดท�ำและการเปิดเผยงบการเงิน ซึ่งผู้สอบบัญชีตรวจสอบแล้ว เพื่อแสดงถึงฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา และน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาและอนุมัติ 4. มีอ�ำนาจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุม ผู้ถือหุ้น ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท และมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นโดยสม�่ำเสมอ 5. ก�ำหนดเป้าหมาย แนวทาง นโยบาย แผนงานและงบประมาณของบริษัท ควบคุมก�ำกับดูแ ลการบริหารและการจัดการของ คณะกรรมการบริหารให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้รับมอบหมาย เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่บริษัทและก�ำไรสูงสุด ให้แก่ผู้ถือหุ้น 6. มีอ�ำนาจตรวจสอบและพิจารณาอนุมัติ นโยบาย แนวทาง และแผนการด�ำเนินงานส�ำหรับโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของบริษัท ตามที่ได้รับเสนอจากคณะอนุกรรมการ และ/หรือฝ่ายบริหาร 7. คณะกรรมการมีหน้าทีใ่ นการก�ำกับดูแลให้บริษทั ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ อาทิเช่น การท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันและการซื้อหรือขายทรัพย์สินที่ส�ำคัญตามกฎเกณฑ์ของคณะกรรมการตลาดทุนหรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท เป็นต้น 8. พิจารณาโครงสร้างการบริหารงาน รวมทั้งมีอ�ำนาจแต่งตั้ง มอบหมาย หรือแนะน�ำให้อนุกรรมการหรือคณะท�ำงาน เพื่อพิจารณา หรือปฏิบัติในเรื่องหนึ่งเรื่องใดที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร 9. ติ ด ตามผลการด� ำ เนิ น งานให้ เ ป็ น ไปตามแผนงานและงบประมาณอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนติดตามการด�ำเนินกิจการและ การปฏิบัติงานของฝ่ายบริหารอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้การด�ำเนินกิจการของบริษัทเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล 10. กรรมการจะต้องไม่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษทั หรือเข้าเป็นหุน้ ส่วนในห้างหุน้ ส่วน สามัญ หรือเป็นหุ้นส่วนไม่จ�ำกัด ความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด หรือเป็นกรรมการของบริษัทเอกชน หรือบริษัทอื่นที่ประกอบ กิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษทั ไม่วา่ จะท�ำเพือ่ ประโยชน์ตนหรือเพื่อประโยชน์ผู้อ่นื เว้นแต่ จะได้แจ้งให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบก่อนที่จะมีมติแต่งตั้ง 11. กรรมการต้องแจ้งให้บริษัททราบโดยไม่ชักช้า หากมีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมในสัญญาที่บริษัทท�ำขึ้นหรือถือหุ้นหรือ หุ้นกู้เพิ่มขึ้นหรือลดลงในบริษัทหรือบริษัทในเครือ 12. ต้องมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นโดยสม�่ำเสมอ และด�ำเนินงานโดยรักษาผลประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้น ตลอดจนมีการเปิดเผย ข้อมูลต่อผู้ลงทุนอย่างถูกต้อง ครบถ้วน มีมาตรฐานและโปร่งใส 13. ด�ำเนินการให้บริษั ทมี ม าตรการการตรวจสอบภายใน เพื่อให้เกิดระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการจัดการ ความเสี่ยง และความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงิน โดยจัดให้มีหน่วยงานตรวจสอบภายในเป็นผู้ติดตามและด�ำเนินการร่วม และประสานงานกับคณะกรรมการตรวจสอบ 14. มีอ�ำนาจพิจารณาและอนุมัติเรื่องใดๆ ที่จ�ำเป็น และเกี่ยวเนื่องกับบริษัท หรือที่เห็นว่าเหมาะสมและเพื่อผลประโยชน์ของบริษัท

048

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


โครงสร้างองค์กรและการจัดการ

2. คณะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ

1. มีอำ� นาจในการเชิญฝ่ายบริหารหรือเจ้าหน้าทีข่ องบริษทั มาร่วมประชุมชีแ้ จง ให้ความเห็น หรือจัดส่งเอกสารทีร่ อ้ งขอ ตามความจ�ำเป็น 2. พิจารณาเสนอรายชือ่ ผูส้ อบบัญชีพร้อมทัง้ ค่าตอบแทนแก่คณะกรรมการบริษทั เพือ่ ขอรับการแต่งตัง้ จากทีป่ ระชุมใหญ่ผถู้ อื หุน้ และ ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชี 3. รับทราบการปฏิบัติงานอื่นที่มิใช่งานสอบบัญชี พร้อมค่าตอบแทนจากงานดังกล่าว เพื่อพิจารณามิให้ผู้สอบบัญชีขาดความเป็น อิสระในการปฏิบัติงาน 4. พิจารณาตัดสินใจในกรณีที่ฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชีมีความเห็นไม่ตรงกันเกี่ยวกับรายงานทางการเงิน 5. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมาย หรือระเบียบที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 6. พิจารณาและให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้ง ถอดถอน โยกย้าย หรือเลิกจ้าง และพิจารณาความดีความชอบของฝ่ายตรวจสอบ ภายใน 7. พิจารณารายงานจากคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และหารือกับฝ่ายบริหารเกีย่ วกับนโยบายการประเมินและการบริหารความเสีย่ ง 8. ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีเพื่อประชุมหารือ โดยไม่มีฝ่ายจัดการร่วมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 9. พิจารณารายงานทางการเงิน - สอบทานรายงานทางการเงิน และพิจารณาความครบถ้วนของข้อมูลที่คณะกรรมการตรวจสอบรับทราบ และประเมิน ความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่ใช้ในรายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาสและรายปี - สอบทานประเด็นเกี่ยวกับการบัญชี และรายงานทางการเงินที่มีสาระส�ำคัญ รวมทั้งรายการที่มีความซับซ้อนหรือผิดปกติ และ รายการที่ต้องใช้วิจารณญาณในการตัดสิน - สอบถามฝ่ายบริหาร และผู้สอบบัญชี เกี่ยวกับผลการตรวจสอบ ความเสี่ยงที่ส�ำคัญเกี่ยวกับรายงานทางการเงิน และแผนที่ จะลดความเสี่ยงดังกล่าว - สอบทานการควบคุมภายในเกี่ยวกับกระบวนการการจัดท�ำงบการเงินกับผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบภายใน 10. พิจารณาการควบคุมภายใน - สอบทานว่าฝ่ายบริหารได้กำ� หนดให้มกี ารควบคุมภายใน รวมถึงการควบคุมภายในของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ หมาะสม และแนวทางการสื่อสารความส�ำคัญของการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งบริษัท - สอบทานเพื่อให้มั่นใจได้ว่า ฝ่ายบริหารได้น�ำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้ตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชี เสนอไปปรับปรุงแก้ไขแล้ว 11. การตรวจสอบภายใน - สอบทานและอนุมัติกฎบัตรของฝ่ายตรวจสอบภายใน แผนงานประจ�ำปี ตลอดจนบุคลากรและทรัพยากรที่จ�ำเป็นในการ ปฏิบัติงานของฝ่ายตรวจสอบภายใน - สอบทานกิจกรรมและการปฏิบัติงานของกลุ่มตรวจสอบและก�ำกับ เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ ฝ่ายตรวจสอบภายในสามารถปฏิบัติงาน ได้อย่างเป็นอิสระ - สอบทานประสิทธิผลการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในว่า ได้มีการปฏิบัติตามมาตรฐานการตรวจสอบภายใน 12. มีอ�ำนาจในการด�ำเนินการตรวจสอบและสอบสวนตามที่จ�ำเป็นในเรื่องต่างๆ ซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมีนยั ส�ำคัญต่อฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษัท ได้แก่ - รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ - การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร่องที่ส�ำคัญในระบบควบคุมภายใน - การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของบริษัท

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

049


โครงสร้างองค์กรและการจัดการ

13. การก�ำกับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ - พิจารณากฎหมาย ระเบียบต่างๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลง และมีผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของบริษัทอย่างสม�่ำเสมอ - สอบทานข้อตรวจพบขององค์กรที่มีหน้าที่ใ นการก�ำกับดูแ ลบริษัท และผลการติดตามการแก้ไ ข รวมถึงรายงานให้แก่ คณะกรรมการบริษัท - สอบทานประสิทธิผลของระบบในการติดตามการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และผลการติดตามการแก้ไขในกรณีที่ไม่มี การปฏิบัติตาม 14. ก�ำกับดูแลการปฏิบัติตามหลักจริยธรรม จรรยาบรรณผู้บริหารและพนักงาน - สอบทานให้มั่นใจว่าหลักจริยธรรมธุรกิจ และจรรยาบรรณผู้บริหารและพนักงาน และนโยบายในการป้องกันความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ได้จัดท�ำเป็นลายลักษณ์อักษร และผู้บริหารและพนักงานทุกคนรับทราบ - ส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติตามหลักจริยธรรม จรรยาบรรณ และนโยบายในการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 15. ความรับผิดชอบอื่นๆ - ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการบริษัทได้มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ - สอบทานและประเมินกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบอย่างสม�่ำเสมอ และน�ำเสนอขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท เมื่อมีการแก้ไข - จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษทั และลงนามโดยประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ โดยมีข้อมูลอย่างน้อยดังนี้ :(ก) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท (ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท (ค) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท (ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (จ) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (ฉ) จ�ำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (ช) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (ซ) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท

3. คณะกรรมการบริหาร ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร

1. คณะกรรมการบริหารมีอำ� นาจหน้าทีจ่ ดั การงานและด�ำเนินกิจการของบริษทั ตามที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนด หรือได้รบั อนุมตั จิ าก คณะกรรมการบริษัทให้ด�ำเนินการเฉพาะกรณี 2. คณะกรรมการบริหารมีอ�ำนาจหน้าที่ในการบริหารธุรกิจของบริษัทตามนโยบายและแผนงานที่ก�ำหนดไว้ 3. คณะกรรมการบริหารมีอ�ำนาจตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบอ�ำนาจ 4. กิจการดังต่อไปนี้ให้เสนอเพื่อรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทก่อน 4.1 เรื่องเกี่ยวกับนโยบายของบริษัท 4.2 เรื่องที่หากท�ำไปแล้วจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างส�ำคัญแก่กิจการของบริษัท 4.3 เรื่องที่จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายโดยคณะกรรมการบริษัทเอง 4.4 เรื่องที่จะต้องปฏิบัติตามระเบียบที่บริษัทวางไว้ 4.5 เรื่องที่คณะกรรมการบริหารเห็นสมควรเสนอเพื่ออนุมัติเป็นรายเรื่อง หรือตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทได้วางไว้

050

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


โครงสร้างองค์กรและการจัดการ

5. คณะกรรมการบริหารมีอำ� นาจและหน้าที่ ในการด�ำเนินกิจกรรมตามทีก่ ำ� หนดเพือ่ บริหารบริษทั ให้ประสบความส�ำเร็จ บรรลุเป้าหมาย ของบริษัท ซึ่งรวมถึง 5.1 จัดท�ำและสอบทานวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ แผนทางการเงินและนโยบายที่ส�ำคัญของบริษทั และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 5.2 พิจารณากลั่นกรองแผนธุรกิจประจ�ำปี งบประมาณค่าใช้จ่ายประเภททุน เป้าหมายการปฏิบัติงาน รวมถึงสิ่งที่ต้องริเริ่ม ต่าง ๆ ที่ส�ำคัญ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติ 5.3 พิจารณากลัน่ กรองโครงการทีม่ คี า่ ใช้จา่ ยประเภททุนทีเ่ กินวงเงินทีค่ ณะกรรมการบริษทั ก�ำหนด เพือ่ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพื่อพิจารณาอนุมัติ 5.4 พิจารณาและอนุมัติในเรื่องต่าง ๆ ตามที่ก�ำหนดไว้ในอ�ำนาจด�ำเนินการหรือได้รับมอบอ�ำนาจจากคณะกรรมการบริษัท 5.5 พิจารณาทบทวนอ�ำนาจด�ำเนินการในเรื่องต่าง ๆ ตามที่ก�ำหนดไว้ในตารางการมอบอ�ำนาจ และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 5.6 จัดการและสร้างสมดุลระหว่างวัตถุประสงค์ในระยะสั้นและวัตถุประสงค์ในระยะยาว 5.7 พัฒนาและดูแลทรัพยากรบุคคลให้ดำ� เนินไปตามกลยุทธ์ดา้ นทรัพยากรบุคคล ทีค่ ณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน ได้ให้ความเห็นชอบไว้ 5.8 ติดตามและรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท เกี่ยวกับผลการด�ำเนินงานของบริษัทและความก้าวหน้าในการด�ำเนินการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัท 6. พิจารณาเรื่องการจัดสรรงบประมาณประจ�ำปีก่อนที่จะน�ำเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาและอนุมัติ ทั้งนี้ให้รวมถึงการ พิจารณาและอนุมัติการเปลี่ยนแปลงและเพิ่มเติมงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีในระหว่างที่ไม่มีการประชุมคณะกรรมการบริษัท ในกรณีเร่งด่วน และให้น�ำเสนอคณะกรรมการบริษัท เพื่อทราบในที่ประชุมคราวต่อไป 7. อนุมตั กิ ารซือ้ เศษเหล็กอันเป็นปกติธรุ ะของบริษทั ในจ�ำนวนไม่เกิน 10,000 เมตริกตันต่อรายการ หรือไม่เกิน 200 ล้านบาทต่อรายการ และไม่เกินจ�ำนวน 60,000 เมตริกตันต่อเดือน หรือไม่เกิน 1,200 ล้านบาทต่อเดือน 8. อนุมัติการขายสินค้าอันเป็นปกติธุระของบริษัท ในจ�ำนวนไม่เกิน 20,000 เมตริกตันต่อรายการ และไม่เกินจ�ำนวน 60,000 เมตริกตันต่อเดือน 9. อนุมัติค่าใช้จ่ายในการซื้อทรัพย์สินอันมีลักษณะเป็นการลงทุน (รวมถึงการซ่อมแซมเครือ่ งจักรและอุปกรณ์) นอกเหนือจากทีร่ ะบุไว้ ในงบประมาณประจ�ำปี ในวงเงินไม่เกิน 30 ล้านบาท 10. อนุมัติการใช้จ่ายเงินลงทุนที่ส�ำคัญๆ ที่ได้ก�ำหนดไว้ในงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีตามที่จะได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัท หรือตามที่คณะกรรมการบริษัทได้เคยมีมติอนุมัติในหลักการไว้แล้ว 11. จัดสรรเงินบ�ำเหน็จรางวัลซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทแล้วแก่พนักงานหรือลูกจ้างของบริษัท หรือบุคคลใดๆ ที่กระท�ำ กิจการให้บริษัท 12. แต่งตัง้ หรือมอบหมายให้บคุ คลใดบุคคลหนึง่ หรือหลายคนกระท�ำการอย่างหนึง่ อย่างใดแทนคณะกรรมการบริหารตามทีเ่ ห็น สมควรได้ และคณะกรรมการบริหารสามารถยกเลิก เพิกถอน เปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขอ�ำนาจนั้นๆ ได้

4. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน

1. มี บ ทบาทในการเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัท เกี่ยวกับอัตราค่าตอบแทนของประธานกรรมการ กรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ และคณะอนุกรรมการต่างๆ (ถ้ามี) (โดยขอรับความเห็นชอบจากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ในภายหลัง) 2. มีหน้าที่จัดท�ำนโยบายอัตราค่าตอบแทน และก�ำหนดเงื่อนไขในการว่าจ้างผู้บริหารระดับผู้อ�ำนวยการฝ่ายขึ้นไป 3. มีหน้าที่พิจารณาคุณสมบัติและความเหมาะสมของบุคคลากรที่จะด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารระดับผู้อ�ำนวยการฝ่ายขึ้นไป

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

051


โครงสร้างองค์กรและการจัดการ

4. พิจารณาและให้ความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทและติดตามดูแลการด�ำเนินการ เกี่ยวกับวิสัยทัศน์ และกลยุทธ์ทางด้าน ทรัพยากรบุคคลของบริษัท รวมทั้ง แผนงานพัฒนาผู้บริหารของบริษัทด้วย 5. จะท�ำการสรรหา และน�ำเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ส�ำหรับการเข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการเป็นครั้งแรก และพิจารณา ผลงาน คุณสมบัติ และความเหมาะสมของกรรมการที่พ้นต�ำแหน่งและสมควรได้รับเลือกตั้งใหม่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ และเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท

5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

1. ก�ำหนดนโยบายการบริหารความเสี่ยงเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาในเรื่องการบริหารความเสี่ยงโดยรวม เช่น ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้านตลาด ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ หรือความเสี่ยงอื่นๆ ที่มีนัยส�ำคัญต่อบริษัทเป็นต้น 2. ก�ำหนดกลยุทธ์โครงสร้างและทรัพยากรที่ใช้ในการบริหารความเสี่ยงให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหารความเสี่ยงของกลุ่มธุรกิจ อุตสาหกรรมเหล็ก โดยสามารถวิเคราะห์ ประเมิน วัดผล และติดตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิผล 3. ก�ำหนดวงเงินสูงสุดตามความเสี่ยงที่ก�ำหนด (Risk Limit) ในมิติต่างๆ ที่มีความส�ำคัญ เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา 4. ก�ำกับดูแล ทบทวนและให้ขอ้ เสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับนโยบายการบริหารความเสี่ยง วิธีปฏิบัติที่เป็นมาตรฐาน กลยุทธ์และการวัดความเสี่ยงโดยรวมเพื่อให้มั่นใจได้ว่ากลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงได้น�ำไปปฏิบัติอย่างเหมาะสม 5. กรรมการในคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทุกคนมีหน้าที่เข้าประชุม ซึ่งอาจเป็นการเข้าประชุมด้วยตนเองหรือการเข้าร่วม ประชุมทางโทรศัพท์ก็ได้ 6. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงอาจเชิญบุคคลอื่นเข้าร่วมประชุมตามความจ�ำเป็น ซึ่งจะต้องเป็นบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องหรือ รับผิดชอบในวาระที่พิจารณาในที่ประชุม

6. ผู้บริหาร

ณ วันที่ 31ธันวาคม 2557 บริษัทมีผู้บริหารจ�ำนวน 5 ท่าน ดังนี้ :1. นายอนาวิล 2. นางสาวคู เมน ไว 3. นายสุทธิชัย 4. นางสาวศรุตา 5. นายวรวิทย์

จิรธรรมศิริ สุรพัฒน์ จิรธรรมศิริ เอื้อทรัพย์สกุล

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร รองกรรมการผู้จัดการ และผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดซื้อ รองกรรมการผู้จัดการ และผู้อ�ำนวยการฝ่ายการเงินและบริหาร ผู้อ�ำนวยการฝ่ายขายและการตลาด ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชี

ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

1. ควบคุม ดูแลการด�ำเนินกิจการ และ/หรือบริหารงานประจ�ำวันของบริษัท รวมทั้งติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัท ในแต่ละวันเพื่อเตรียมตัว และป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน 2. ด� ำ เนิ น การหรือปฏิบัติง านให้เป็น ไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณที่ไ ด้รับอนุมัติจากคณะกรรมการและ/หรือ คณะกรรมการบริหารของบริษัท 3. มีอ�ำนาจในการให้ความเห็นชอบนิติกรรมที่เกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกรรมปกติของบริษัท เช่น การซื้อขาย การจัดหาสินค้า ค่าใช้จ่าย ในการด�ำเนินธุรกรรมปกติ การลงทุน การจัดหามาหรือการจ�ำหน่ายไปซึ่งเครื่องมือ ทรัพย์สิน และบริการ เป็นต้น เพื่อผลประโยชน์ ของบริษัท ภายใต้วงเงินอนุมัติที่ก�ำหนด

052

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


โครงสร้างองค์กรและการจัดการ

4. อนุมตั กิ ารซือ้ เศษเหล็กอันเป็นปกติธรุ ะของบริษทั ในจ�ำนวนไม่เกิน 5,000 เมตริกตันต่อรายการหรือไม่เกิน 100 ล้านบาทต่อรายการ และไม่เกินจ�ำนวน 30,000 เมตริกตันต่อเดือนหรือไม่เกิน 600 ล้านบาทต่อเดือน 5. อนุมัติการขายสินค้าอันเป็นปกติธุระของบริษัท ในจ�ำนวนไม่เกิน 10,000 เมตริกตันต่อรายการ และไม่เกินจ�ำนวน 30,000 เมตริกตันต่อเดือน 6. อนุมตั ิค่าใช้จ่ายในการซื้อทรัพย์สินอันมีลกั ษณะเป็นการลงทุน (รวมถึงการซ่อมแซมเครือ่ งจักรและอุปกรณ์) นอกเหนือจากทีร่ ะบุไว้ ในงบประมาณประจ�ำปี ในวงเงินไม่เกิน 15 ล้านบาทต่อรายการ 7. เป็นผูร้ บั มอบอ�ำนาจของบริษทั ในการบริหารกิจการของบริษทั ให้เป็นตามวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ นโยบาย ระเบียบ ข้อก�ำหนด ค�ำสัง่ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้นและ/หรือมติที่ประชุมคณะกรรมการและคณะกรรมการบริหารของบริษัททุกประการ 8. มีอ�ำนาจออกค�ำสั่ง ระเบียบ ประกาศ บันทึก เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามนโยบาย และผลประโยชน์ของบริษัท และเพื่อรักษา ระเบียบวินัยการท�ำงานภายในองค์กร 9. มีอำ� นาจกระท�ำการและแสดงตนเป็นตัวแทนของบริษทั ต่อบุคคลภายนอกในกิจการที่เกี่ยวข้องจ�ำเป็น และเป็นการด�ำเนินธุรกรรม ทางการค้าปกติ เพื่อผลประโยชน์ของบริษัท 10. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใด ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการและ/หรือคณะกรรมการบริหารของบริษัท รวมถึงการมอบอ�ำนาจ ช่วงในการด�ำเนินการดังกล่าวข้างต้นเพื่อก่อให้เกิดความคล่องตัวในการด�ำเนินงานของบริษัท

คุณสมบัติของผู้บริหาร

ผู้บริหารของบริษัทขอรับรองว่า เป็นผู้มีจริยธรรม มีความสามารถ มีประสบการณ์ในธุรกิจ มีการบริหารงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและ ระมัดระวังเพื่อประโยชน์ของบริษัท มีความตั้งใจที่จะด�ำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง มีความเข้าใจและรับผิดชอบต่อสาธารณชนและเป็นบุคคลที่ มีชอื่ อยูใ่ นระบบข้อมูลรายชือ่ ผูบ้ ริหาร ตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 5/2548 เรือ่ ง ข้อก�ำหนดเกีย่ วกับ ผู้บริหารของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์

การสรรหากรรมการและผู้บริหาร

คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนของบริษัทมีหน้าที่ในการสรรหากรรมการและผู้บริหาร ในการพิจารณาคัดเลือกบุคลที่จะ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการต่างๆ หรือผู้บริหาร มีหลักเกณฑ์และขั้นตอน ดังต่อไปนี้ :-

การสรรหากรรมการบริษัท

คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนของบริษัทจะพิจารณาคุณสมบัติเบื้องต้นและพิจารณาคัดเลือกตามเกณฑ์คุณสมบัติ ตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่เกี่ยวข้องตามเกณฑ์ที่กฎหมายก�ำหนด รวมทั้งพิจารณาจากปัจจัยในด้านอื่นๆ มาประกอบกัน เช่น ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจ และความเอื้อประโยชน์ต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท เป็นต้น โดยมีหลักเกณฑ์และขั้นตอนดังต่อไปนี้:1. กรรมการของบริษัทต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น 2. คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 5 คน และกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดต้องมีถิ่นที่ อยู่ในราชอาณาจักร และกรรมการต้องมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายก�ำหนด 3. คณะกรรมการบริษัทต้องมีกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ และมีจ�ำนวนไม่ต�่ำกว่า 3 คน ซึ่งกรรมการอิสระ ต้องถือหุ้นไม่เกินร้อยละหนึ่งของจ�ำนวนทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกช�ำระแล้วของบริษัท และบริษัทที่เกี่ยวข้องโดยรวมหุ้นที่ถือโดย บุคคลที่เกี่ยวข้องด้วย 4. ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจ�ำปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากต�ำแหน่งหนึง่ ในสาม ถ้าจ�ำนวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสาม ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ทสี่ ดุ กับส่วนหนึง่ ในสาม กรรมการทีจ่ ะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรกและปีทสี่ องภายหลังจดทะเบียน บริษัทนั้น ให้จับฉลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังต่อไป ให้กรรมการคนที่อยู่ในต�ำแหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออกจากต�ำแหน่ง กรรมการซึ่ง พ้นจากต�ำแหน่งแล้วนั้นอาจได้รับเลือกตั้งกลับเข้ามาเป็นกรรมการใหม่ได้ บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

053


โครงสร้างองค์กรและการจัดการ

5. ก่อนการประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญประจ�ำปีทกุ ครัง้ บริษัทจะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอรายชื่อบุคคลที่จะเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการแทน กรรมการที่ต้องออกตามวาระ โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะรวบรวมรายชื่อดังกล่าว เพื่อพิจารณาคุณสมบัติ ตามกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง และคัดเลือกรายชื่อที่เหมาะสม เพื่อน�ำเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติต่อไป 6. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการ โดยใช้เสียงข้างมากตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ :6.1. ผู้ถือหุ้นคนหนึ่ง มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง 6.2. ในการเลือกกรรมการ อาจใช้วิธีออกเสียงลงคะแนนเลือกกรรมการเป็นรายบุคคล คราวละคนหรือคราวละหลายคนรวมกันเป็นคณะ ตามแต่ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ จะเห็นสมควร แต่ในการลงมติแต่ละครัง้ ผูถ้ อื หุน้ ต้องออกเสียงด้วยคะแนนทีม่ อี ยูท่ งั้ หมด จะแบ่งคะแนนเสียง แก่คนใดหรือคณะใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ 6.3. การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการให้ใช้เสียงข้างมาก หากมีคะแนนเสียงเท่ากันให้ผเู้ ป็นประธานในทีป่ ระชุมเป็นผูอ้ อกเสียง ชี้ขาด 7. ในกรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอนื่ นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนคัดเลือก และน�ำเสนอบุคคล ซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจ�ำกัด และ พ.ร.บ.หลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป โดยมติดังกล่าวของคณะกรรมการจะต้องประกอบด้วย คะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจ�ำนวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าสองเดือน โดยบุคคล ซึ่งได้รับแต่งตั้งเข้าเป็นกรรมการแทนจะอยู่ในต�ำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน 8. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอาจลงมติให้กรรมการคนใดออกจากต�ำแหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของ จ�ำนวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุม และมีสิทธิออกเสียง

การสรรหากรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 3 คน โดยมีวาระอยู่ในต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี โดยคณะกรรมการบริษัท หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัทมีนโยบายในการสรรหากรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ ให้สอดคล้อง กับประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนที่ ทจ. 28/2551 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ โดยจะต้องมี คุณสมบัติดังนี้:1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละหนึ่งของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง โดยให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการตรวจสอบรายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจ�ำ หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. หรือก่อนวันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ 3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็น บิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และ บุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหาร หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทย่อย (ถ้ามี) 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ในลักษณะที่อาจเป็น การขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่งไม่ใช่กรรมการอิสระ หรือ ผู้บริหารของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เว้นแต่จะได้ พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. หรือก่อนวันที่ได้รับแต่งตั้งเป็น กรรมการตรวจสอบ ทัง้ นี้ ความสัมพันธ์ตามทีก่ ล่าวข้างต้นรวมถึงการท�ำรายการทางการค้าทีก่ ระท�ำเป็นปกติเพือ่ ประกอบกิจการ การเช่า หรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กู้ยืม ค�้ำประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นท�ำนองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลท�ำให้บริษัทหรือคู่สัญญามีภาระหนี้ที่ ต้องช�ำระต่ออีกฝ่ายหนึง่ ตัง้ แต่รอ้ ยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษทั หรือตัง้ แต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�ำ่ กว่า

054

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


โครงสร้างองค์กรและการจัดการ

ทั้งนี้ การค�ำนวณภาระหนีด้ งั กล่าวให้เป็นไปตามวิธกี ารค�ำนวณมูลค่าของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันตามประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ดังกล่าว ให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้น ในระหว่างหนึ่งปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผูบ้ ริหาร หรือหุน้ ส่วนผูจ้ ดั การของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งสังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่น ค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. หรือก่อนวันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึง่ รวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการ เกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจาก บริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ให้บริการ ทางวิชาชีพเป็นนิตบิ คุ คล ให้รวมถึงการเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผูบ้ ริหาร หรือหุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ ของผูใ้ ห้บริการ ทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ยื่นค�ำขออนุญาตต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. หรือก่อนวันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษทั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็นผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษัท 8. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัท 9. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตัดสินใจในการด�ำเนินกิจการของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง 10. ไม่เป็นกรรมการของบริษัทใหญ่ บริษัทย่อย หรือบริษัทย่อยล�ำดับเดียวกันเฉพาะที่เป็นบริษัทจดทะเบียน 11. มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถท�ำหน้าที่ในฐานะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ ต้องมีกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน ที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการบัญชีและ/หรือการเงินเพียงพอที่จะสามารถท�ำหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของ งบการเงินได้ ส�ำหรับหลักเกณฑ์และวิธกี ารแต่งตัง้ กรรมการตรวจสอบเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารแต่งตัง้ กรรมการบริษทั กรรมการตรวจสอบ ซึ่งพ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งให้กลับมาด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ กรณีที่ต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบว่างลงเพราะเหตุ อื่นใดนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษัทหรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นแต่งตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนเป็นกรรมการ ตรวจสอบเพื่อให้กรรมการตรวจสอบมีจ�ำนวนครบตามที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนด โดยบุคคลที่เป็นกรรมการตรวจสอบแทนจะอยู่ใน ต�ำแหน่งได้เพียงวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการตรวจสอบซึ่งตนทดแทน และบริษัทต้องแจ้งตลาดหลักทรัพย์ฯ ทันทีที่กรรมการตรวจสอบ ลาออกหรือถูกให้ออกก่อนครบวาระ

การสรรหากรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการบริหาร โดยเลือกจากกรรมการหรือผู้บริหารระดับสูงของบริษัททีส่ ามารถบริหารงานในเรือ่ ง ทีเ่ กีย่ วกับการด�ำเนินงานตามปกติธุรกิจและงานบริหารของบริษัท และสามารถก�ำหนดนโยบาย แผนธุรกิจ งบประมาณ โครงสร้างการบริหาร งาน รวมถึงการตรวจสอบและติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษัทตามนโยบายที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนด

การสรรหากรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน โดยเลือกจากกรรมการบริษัท เป็นจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยมีวาระอยู่ในต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี เพื่อท�ำหน้าที่สรรหา และน�ำเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ส�ำหรับการเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการเป็นครัง้ แรก และพิจารณาผลงาน คุณสมบัติ และความเหมาะสมของกรรมการทีพ่ น้ ต�ำแหน่งและสมควรได้รบั เลือกตัง้ ใหม่ เสนอต่อ คณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาให้ความเห็นชอบ และเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท รวมทัง้ มีหน้าทีเ่ สนอความเห็นต่อ คณะกรรมการบริษัท เกี่ยวกับอัตราค่าตอบแทนของประธานกรรมการ และกรรมการบริษัท เพื่อน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณา อนุมัติ และจัดท�ำนโยบายอัตราค่าตอบแทน และก�ำหนดเงื่อนไข ในการว่าจ้างผู้บริหารระดับผู้อ�ำนวยการฝ่ายขึ้นไป บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

055


โครงสร้างองค์กรและการจัดการ

การสรรหากรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยเลือกจากกรรมการเป็นจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยมีวาระอยู่ใน ต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี เพือ่ ท�ำหน้าทีก่ ำ� หนดนโยบายการบริหารความเสีย่ งเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาในเรือ่ งการบริหารความเสีย่ ง โดยรวม ซึ่งครอบคลุมความเสี่ยงในเรื่องต่าง ๆ เช่น ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยง ด้านตลาด ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ หรือความเสี่ยงอื่นๆ ที่มีนัยส�ำคัญต่อบริษัท เป็นต้น รวมทั้งก�ำกับดูแล ทบทวนและให้ข้อเสนอแนะ ต่อคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับนโยบายการบริหารความเสี่ยง วิธีปฏิบัติที่เป็นมาตรฐาน กลยุทธ์และการวัดความเสี่ยงโดยรวมเพื่อให้มั่นใจ ได้ว่ากลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงได้น�ำไปปฏิบัติอย่างเหมาะสม

การสรรหาผู้บริหาร

คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทนเป็นผู้พิจารณาคุณสมบัติและความเหมาะสมของบุคลากรที่มีประสบการณ์และความรู้ ความสามารถในการบริหารงานในสายงานที่เกี่ยวข้องเพื่อด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารระดับผู้อ�ำนวยการฝ่ายขึ้นไป โดยจะเสนอให้คณะกรรมการ บริษัท และ/หรือบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทพิจารณาแต่งตั้ง

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน กรรมการ ตามที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2557 ได้มีมติก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการบริษัทประจ�ำปี 2557 ซึ่ง รวมถึงแต่ไม่จ�ำกัดเพียง เงินเดือน โบนัส เบี้ยประชุม ค่าเบี้ยประกันภัยทางธุรกิจ ค่าตอบแทนพิเศษ และค่าตอบแทนอื่น เป็นจ�ำนวนไม่เกิน 5,000,000 บาท ซึ่งมีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้:(หน่วย : บาท)

องค์ประกอบค่าตอบแทน (1) ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท - ประธานกรรมการ - กรรมการ

ค่าเบี้ยประชุม (บาท/คน/ครั้ง)

20,000 15,000

30,000 20,000

-ไม่มี-

15,000 10,000

2. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง - ประธานกรรมการ - กรรมการ

-ไม่มี-

15,000 10,000

3. คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน - ประธานกรรมการ - กรรมการ

-ไม่มี-

15,000 10,000

(2) ค่าตอบแทนคณะกรรมการชุดย่อย 3 คณะ 1. คณะกรรมการตรวจสอบ - ประธานกรรมการ - กรรมการ

(3) สิทธิประโยชน์อื่นๆ 1. การประกันภัยความรับผิดชอบของกรรมการและเจ้าหน้าที่บริหาร (4) โบนัส ค่าเบี้ยประกันภัยทางธุรกิจ ค่าตอบแทนพิเศษ และค่าตอบแทนอื่น

056

ค่าตอบแทนรายเดือน (บาท/คน/เดือน)

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

ทุนประกันภัย วงเงิน 100,000,000 บาท ค่าเบี้ยประกันภัย ไม่เกิน 400,000 บาท การจ่ายโบนัส ค่าเบี้ยประกันภัยทางธุรกิจ ค่าตอบแทนพิเศษ และ ค่าตอบแทนอื่น มอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้จัดสรร และ เมื่อรวมค่าตอบแทนกรรมการของทุกคน ทุกรูปแบบแล้ว ก�ำหนดให้มี จ�ำนวนเงินไม่เกินวงเงิน 5,000,000 บาท


โครงสร้างองค์กรและการจัดการ

ทั้งนี้ กรรมการที่เป็นผู้บริหารจะไม่มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนรายเดือนและค่าเบี้ยประชุม ส�ำหรับการจ่ายค่าเบี้ยประชุมจะจ่ายเป็นรายครั้ง เฉพาะครั้งที่เข้าประชุม ในปี 2557 บริษัทได้จ่ายค่าตอบแทนกรรมการประกอบด้วยค่าเบี้ยประชุม ค่าตอบแทนรายเดือน ดังนี้

รายชื่อ

ต�ำแหน่ง

ปี 2557 (บาท)

ดร.ปรัชญา เปี่ยมสมบูรณ์

ประธานกรรมการ

520,000

รองศาสตราจารย์.ดร.ณรงค์ อยู่ถนอม

รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน

405,000

ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัลยาภรณ์ ปานมะเริง

กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

575,000

นายนพปฎล เจสัน จิรสันติ์

กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

360,000

นายกณวรรธน์ อรัญ

กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการบริหารความเสี่ยง

490,000

นายสงวนเกียรติ ลิ่วมโนมนต์

กรรมการ และกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน

360,000

นายมาร์ค ดี.เรมีจาน

กรรมการอิสระ

320,000

นายอนาวิล จิรธรรมศิริ

กรรมการ กรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และกรรมการบริหารความเสี่ยง

-

นางสาวคู เมน ไว

กรรมการ กรรมการบริหาร รองกรรมการผู้จัดการ และผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดซื้อ

-

นางสาวศรุตา จิรธรรมศิริ

กรรมการ กรรมการบริหาร และผู้อ�ำนวยการฝ่ายขายและการตลาด

-

รวมทั้งสิ้น

3,030,000

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

057


โครงสร้างองค์กรและการจัดการ

- ค่าตอบแทนกรรมการบริหารและผู้บริหาร ค่าตอบแทน

เงินเดือน โบนัส และสวัสดิการอื่นๆ

จ�ำนวนราย

5

ค่าตอบแทน (ล้านบาท)

10.41

- ค่าตอบแทนอื่นๆ เงินกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ บริษทั ได้จดั ตัง้ กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพให้แก่พนักงาน เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 30 พฤษภาคม 2554 โดยพนักงานจะจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 3 ของ เงินเดือนทุกเดือน ในขณะที่บริษัทจะจ่ายเงินสมทบในอัตราร้อยละ 3 ของเงินเดือนทุกเดือน และเมื่อเดือนมิถุนายน 2556 บริษัทมี การจดทะเบียนแก้ไขอัตราเงินสะสมโดยพนักงานสามารถเลือกอัตราเงินสะสมได้ตามอายุงาน และบริษัทจะจ่ายเงินสมทบในอัตรา เดียวกัน เป็นดังนี้ อายุงาน น้อยกว่า 3 ปี ตั้งแต่ 3 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป

อัตราเงินสะสม (ร้อยละของค่าจ้าง) 3 3 หรือ 5 3 หรือ 5 หรือ 7

โดยในปี 2557 บริษัทได้จ่ายเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพส�ำหรับผู้บริหาร 5 ราย รวมทั้งสิ้น 442,476 บาท

058

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


การกำ�กับดูแลกิจการ บริษัทมีนโยบายการปฏิบัติตามข้อพึงปฏิบัติที่ดี (Code of Best Practice) เพื่อเสริมสร้างความโปร่งใส และเป็นประโยชน์ต่อการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัท อันจะท�ำให้เกิดความเชื่อมั่ น ในกลุ ่ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ผู ้ ล งทุ น และผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ฝ่ า ย ดั ง นั้ น คณะกรรมการบริ ษั ท จึงได้มีการก�ำหนดหลักการการก�ำกับดูแลกิจการซึ่งเป็นการปฏิบัติตามแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีซึ่งก�ำหนดโดยตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยโดยหลักการการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทครอบคลุมหลักการ 5 หมวดดังนี้

หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น (The Rights of Shareholders)

บริษัทตระหนักและให้ความส�ำคัญในสิทธิพื้นฐานต่างๆของผู้ถือหุ้นทั้งในฐานะของเจ้าของบริษัท และในฐานะนักลงทุนในหลักทรัพย์ เช่นสิทธิในการซื้อขายหรือโอนหลักทรัพย์ที่ตนถืออยู่สิทธิในการได้รับข้อมูลของบริษัทอย่างเพียงพอ สิทธิในการที่จะได้รับส่วนแบ่งผลก�ำไร จากบริษัทสิทธิต่างๆในการประชุมผู้ถือหุ้นสิทธิในการแสดงความคิดเห็นสิทธิในการร่วมตัดสินใจในเรื่องส�ำคัญของบริษัทเช่นการจัดสรร เงินปันผลการแต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีการอนุมัติธุรกรรมที่ส�ำคัญและมีผลต่อทิศทางในการด�ำเนินธุรกิจของ บริษัท เป็นต้น นอกเหนือจากสิทธิพื้นฐานต่างๆข้างต้นแล้วบริษัทยังได้ด�ำเนินการในเรื่องต่างๆที่เป็นการอ�ำนวยความสะดวกในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้น ดังนี้ :1. บริษัทจะจัดให้มีการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปีทุกปี โดยจะจัดภายใน 4 เดือนนับจากวันสิ้นสุดรอบบัญชีในแต่ละปีพร้อมทั้งจัดส่ง หนังสือนัดประชุม และข้อมูลประกอบการประชุมตามวาระต่างๆให้ผู้ถือหุ้นรับทราบล่วงหน้าก่อนวันประชุม 7 วัน ก่อนการประชุม และลงประกาศหนังสือพิมพ์แจ้งวันนัดประชุมล่วงหน้าเป็นเวลา 3 วันติดต่อกันก่อนที่จะถึงวันประชุมโดยในแต่ละวาระการประชุมจะ มีความเห็นของคณะกรรมการประกอบไปด้วย 2. บริษัทจะเผยแพร่ข้อมูลประกอบวาระการประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้าในเว็บไซต์ของบริษัท พร้องทั้งชี้แจ้งสิทธิของผู้ถือหุ้นในการเข้าประชุม และสิทธิออกเสียงลงมติของผู้ถือหุ้น 3. ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเองบริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะให้กรรมการอิสระหรือบุคคลใดๆ เข้าร่วมประชุมแทนตนได้โดยใช้หนังสือมอบฉันทะแบบใดแบบหนึ่งที่บริษัทได้จัดส่งไปพร้อมกับหนังสือนัดประชุม 4. ก่อนการประชุมบริษทั จะเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ สามารถส่งความคิดเห็นข้อเสนอแนะข้อซักถามได้ลว่ งหน้าก่อนวันประชุมผ่านอีเมล์แอดแดรส ของเลขานุการคณะกรรมการบริษัท 5. ในการประชุมบริษทั จะเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นตั้งข้อซักถาม ให้ขอ้ เสนอแนะ หรือแสดงความเห็นต่อที่ประชุมในประเด็นต่างๆ อย่างอิสระ และเท่าเทียมกัน ทัง้ นีใ้ นการประชุมผูถ้ อื หุน้ จะมีกรรมการและผู้บริหารที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมเพือ่ ตอบค�ำถามและให้ขอ้ มูลรายละเอียด ในที่ประชุม

หมวดที่ 2 การปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน (The Equitable Treatment of Shareholders) บริษัทจะให้โอกาสแก่ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันทุกราย และก�ำหนดให้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมเป็นไปตามจ�ำนวนหุ้น โดยหนึ่งหุ้นมี สิทธิเท่ากับหนึ่งเสียงและไม่กระท�ำการใดๆ ที่เป็นการจ�ำกัดหรือละเมิดสิทธิหรือลิดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น ไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้น ส่วนน้อย นักลงทุนสถาบัน ผู้ถือหุ้นต่างชาติ บริษัทก�ำหนดให้กรรมการอิสระเป็นผู้มีหน้าที่ดูแลผู้ถือหุ้นส่วนน้อย โดยผู้ถือหุ้นส่วนน้อย สามารถเสนอแนะ แสดงความคิดเห็นหรือข้อร้องเรียนไปยังกรรมการอิสระซึ่งจะพิจารณาด�ำเนินการให้เหมาะสมในแต่ละเรื่อง เช่น หาก เป็นข้อร้องเรียน กรรมการอิสระจะด�ำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงและหาวิธีการแก้ไขให้เหมาะสม กรณีเป็นข้อเสนอแนะที่เป็นเรื่องส�ำคัญ และมีผลต่อผู้มีส่วนได้เสียโดยรวม หรือมีผลต่อการประกอบธุรกิจของบริษัท กรรมการอิสระจะเสนอเรื่องดังกล่าวต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อ พิจารณาก�ำหนดเป็นวาระการประชุมในการประชุมผู้ถือหุ้น เป็นต้น

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

059


การกำ�กับดูแลกิจการ

การด�ำเนินการประชุมเป็นไปตามข้อบังคับบริษัทตามล�ำดับวาระการประชุมมีการเสนอรายละเอียดในแต่ละวาระครบถ้วน มีการแสดง ข้อมูลประกอบการพิจารณาอย่างชัดเจน รวมทั้งจะไม่เพิ่มวาระการประชุมที่ไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้าโดยไม่จ�ำเป็น โดยเฉพาะวาระ ที่มีความส�ำคัญที่ผู้ถือหุ้นต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจ ทั้งนี้ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง และ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะให้กรรมการอิสระหรือบุคคลใดๆเข้าร่วมประชุมแทนตนได้ โดยใช้หนังสือมอบฉันทะที่บริษัทได้จัด ส่งไปพร้อมกับหนังสือนัดประชุม การลงคะแนนเสียงเป็นไปอย่างโปร่งใสตามล�ำดับวาระที่ก�ำหนด โดยวาระการเลือกตั้งกรรมการจะเปิด โอกาสให้ ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิในการแต่งตั้งกรรมการด้วยการลงมติเป็นรายคน นอกจากนัน้ บริษทั ได้ก�ำหนดมาตรการการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในโดยมิชอบ (Insider trading) ของบุคคลที่เกี่ยวข้อง ซึง่ หมายถึง กรรมการ ผู ้ บ ริ ห าร และพนัก งานในหน่ว ยงานที่เกี่ย วข้องกับข้อมูลภายใน (รวมทั้งคู่ส มรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคล ดังกล่าว) โดยห้ามบุคคลที่เกี่ยวข้องท�ำการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 1 เดือนก่อนมีการเปิดเผยงบการเงินราย ไตรมาส และงบการเงินประจ�ำปีและควรรอคอยอย่างน้อย 24 ชั่วโมงภายหลังการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวให้แก่สาธารณชนแล้ว รวมทั้งห้าม ไม่ให้เปิดเผยข้อมูลนั้นต่อบุคคลอื่นด้วย บริษัทได้ให้ข้อมูลแก่กรรมการ และผู้บริหารเกี่ยวกับหน้าที่ที่ผู้บริหารต้องรายงานการถือหลักทรัพย์ในบริษัท และบทก�ำหนดโทษตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 และตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และในกรณีที่กรรมการหรือ ผู้บริหารมีการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท ต้องรายงานการถือหลักทรัพย์ในบริษัทของตนเอง คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะตาม มาตรา 59 แห่ ง พระราชบัญ ญัติห ลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 ภายใน 3 วันท�ำการ ให้ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ทราบ เพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณะต่อไป

หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย (The Role of Stakeholders)

บริษัทได้ให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้เสียภายในได้แก่ พนักงานและผู้บริหารของบริษัทหรือ ผู้มีส่วนได้เสียภายนอกเช่นคู่แข่ง คู่ค้าลูกค้าเป็นต้นโดยบริษัทตระหนักดีว่าการสนับสนุนและข้อคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มจะเป็น ประโยชน์ในการด�ำเนินงานและการพัฒนาธุรกิจของบริษัทดังนั้นบริษัทจะปฏิบัติตามกฎหมายและข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สิทธิของ ผู้มีส่วนได้เสียดังกล่าวได้รับการดูแลเป็นอย่างดี นอกจากนั้นบริษัทยังส่งเสริมให้มีความร่วมมือระหว่างบริษัทและกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียแต่ละ กลุ่มเพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่บริษัทตามแนวทางดังต่อไปนี้ :(ก) ผู้ถือหุ้น

(ข) ลูกค้า

(ค) คู่ค้า

(ง) คู่แข่ง

(จ) พนักงาน

(ฉ) ชุมชนและสังคม (ช) สิ่งแวดล้อม

060

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

: บริษัทมุ่งเน้นพัฒนาองค์กรให้มีการเติบโตอย่างต่อเนื่องซึ่งจะส่งผลให้บริษทั มีรายได้และผลก�ำไร เพิ่มขึ้นได้เป็นการเพิ่มมูลค่าของบริษัทและส่งผลให้ผู้ถือหุ้นของบริษัทได้รับผลตอบแทนสูงสุด : บริษัทค�ำนึงถึงคุณภาพและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการเอาใจใส่แ ละรับผิดชอบต่อ ลูกค้าด้วยความซื่อสัตย์และเป็นธรรม : บริษัท มีน โยบายที่จะปฏิบัติต่อคู่ค้าอย่างเป็นธรรมเป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและ/หรือ ข้อตกลงในสัญญาทีท่ ำ� ร่วมกันเพือ่ ก่อให้เกิดความสัมพันธ์อนั ดีทางธุรกิจซึง่ จะเป็นประโยชน์ทกุ ฝ่าย : บริษัทส่งเสริมนโยบายการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรีและเป็นธรรม และจะปฏิบัติตามกรอบ กติกาการแข่งขันที่ดี : บริษัทมีนโยบายที่จะปฏิบัติต่อพนักงานทุกคนอย่างเท่าเทียม เป็นธรรม ให้ผลตอบแทนและ สวัสดิการที่เหมาะสม รวมถึงการสนับสนุนเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงาน : บริษัทให้ความส�ำคัญและรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม โดยด�ำเนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรม และ ให้การสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ที่เกื้อกูลและสร้างสรรค์ต่อสังคมตามความเหมาะสม : บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบต่างๆเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัดและวางแนวทาง ในการควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง


การกำ�กับดูเเลกิจการ

ทั้งนี้บริษัทจะปฏิบัติตามข้อก�ำหนดของกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย เหล่านั้นได้รับ การดูแลอย่างดี

หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and Transparency)

บริษัทตระหนักดีถึงความส�ำคัญของการเปิดเผยข้อมูลที่มีความถูกต้องครบถ้วนและโปร่งใสทั้งรายงานข้อมูลทางการเงินและข้อมูล ทั่วไปตามหลักเกณฑ์ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจน ข้อมูลอื่นที่ส�ำคัญที่มีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัทซึ่งล้วนมีผลต่อกระบวนการตัดสินใจของผู้ลงทุนและผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท โดยบริษัทได้เผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศของบริษัทต่อผู้ถือหุ้นนักลงทุนและสาธารณชนผ่านช่องทางและสื่อการเผยแพร่ข้อมูลต่างๆของ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยรวมถึงเว็บไซต์ของบริษัทคือ www.chowsteel.com ในส่วนของงานด้านผู้ลงทุนสัมพันธ์นั้น บริษัทมีการจัดตั้งฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์(Investor Relations)เพื่อท�ำหน้าที่ติดต่อสื่อสารกับ ผูล้ งทุน ผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ นักวิเคราะห์และภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ นีค้ ณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินและสารสนเทศทางการเงิน ที่ปรากฏในรายงานประจ�ำปี งบการเงินดังกล่าวจัดท�ำขั้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่ เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอรวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอในงบการเงิน ซึ่งในการนั้นคณะกรรมการตรวจสอบจะเป็น ผู้สอบทานคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายในรวมถึงการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน

หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (Responsibilities of the Board of Directors) 1. โครงสร้างคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยบุคคลซึ่งมีความรู้ความสามารถโดยเป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญในการก�ำหนดนโยบายและภาพรวมของ องค์กรตลอดจนมีบทบาทส�ำคัญในการก�ำกับดูแลตรวจสอบและประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัทให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้อย่างเป็น อิสระ ปัจจุบันคณะกรรมการบริษัทมีจ�ำนวน 10 ท่าน ประกอบด้วย กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 3 ท่าน และกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 7 ท่าน โดย กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 4 ใน 7 ท่านดังกล่าว มีคุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระ ซึ่งจะท�ำให้เกิดการถ่วงดุลในการออกเสียงพิจารณาเรื่อง ต่างๆ ตลอดจนมีคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งประกอบไปด้วยคณะกรรมการอิสระ 4 ท่าน ท�ำหน้าที่เป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นในการท�ำหน้าที่ ก�ำกับดูแลด�ำเนินงานของบริษัทให้มีความถูกต้องและโปร่งใส ตามข้อบังคั บ ของบริ ษั ทก�ำหนดไว้ว่าในการประชุ ม สามัญประจ�ำปี กรรมการต้องออกจากต�ำแหน่งหนึ่งในสามถ้าจ�ำนวนกรรมการที่ จะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วนหนึ่งในสามกรรมการที่จะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรกและปี ที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้นให้ใช้วิธีจับฉลากกันว่าผู้ใดจะออกส่วนปีหลังๆต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ในต�ำแหน่งนานที่สุดนั้น เป็นผู้ออกจากต�ำแหน่งอย่างไรก็ตามกรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจได้รับเลือกเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ก็ได้ นอกจากนี้ ค ณะกรรมการบริษัท ยัง ได้แต่ง ตั้ง คณะอนุกรรมการ 4 ชุดได้แ ก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะเรื่องและเสนอเรื่องให้คณะ กรรมการบริษัทพิจารณาหรือรับทราบซึ่งคณะอนุกรรมการแต่ละชุดมีสิทธิหน้าที่ตามที่ได้ก�ำหนดไว้ในอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ แต่ละชุด

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

061


การกำ�กับดูแลกิจการ

บริษัทได้แบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่ า งคณะกรรมการบริ ษั ท กั บ ผู ้ บ ริ ห ารอย่ า งชั ด เจนโดยคณะกรรมการบริ ษั ท ท�ำหน้าที่ในการก�ำหนดนโยบายและก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของผู้บริหารในระดับนโยบายในขณะที่ผู้บริหารท�ำหน้าที่บริหารงานของ บริษัทในด้านต่างๆให้เป็นไปตามนโยบายที่ก�ำหนดดังนั้นประธานกรรมการบริษัทและประธานเจ้าหน้าที่บริหารจึงเป็นบุคคลคนละคนกัน โดยทั้งสองต�ำแหน่งต้องผ่านการคัดเลือกจากคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้ได้บุคคลที่มีความเหมาะสมที่สุด ทั้งนี้บริษัทมีเลขานุการคณะกรรมการบริษัทซึ่งท�ำหน้าที่ให้ค�ำแนะน�ำด้านกฎเกณฑ์ต่างๆที่คณะกรรมการจะต้องทราบและปฏิบัติ หน้าที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการรวมทั้งประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ

2. บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยบุคคลที่มีความรู้ทักษะและความเชี่ยวชาญที่หลากหลายและมีภาวะผู้น�ำ ซึ่งเป็นที่ยอมรับโดย คณะกรรมการบริษัทจะมีส่วนร่วมในการก�ำหนดวิสัยทัศน์ภารกิจกลยุทธ์นโยบายแนวทางในการประกอบธุรกิจและก�ำกับดูแลการปฏิบัติงาน ของบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมายวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นและเพื่อประโยชน์ในการติดตามและก�ำกับดูแลการ ด�ำเนินงานของบริษัทอย่างใกล้ชิดคณะกรรมการบริษัทจึงได้จัดตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆเพื่อติดตามและดูแลการด�ำเนินงานของบริษัท 2.1 นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ บริษัทได้จัดให้มีนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัท เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรซึ่ ง ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ใ ห้ ความเห็นชอบนโยบายดังกล่าวทั้งนี้คณะกรรมการจะได้จัดให้มีการทบทวนนโยบายและการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวเป็น ประจ�ำนอกจากนี้ ภายหลังจากที่หุ้นสามัญของบริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว บริษัทจะถือ ปฏิบัติตามกฎและข้อบังคับต่างๆ ตามที่ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์ เอ็มเอไอ ก�ำหนดทุกประการ โดยจะเปิดเผยรายงานการก�ำกับดูแลกิจการไว้ในรายงานประจ�ำปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) 2.2 จรรยาบรรณธุรกิจ บริษัทได้ก�ำหนดหลักปฏิบัติเกี่ยวกับจรรยาบรรณของคณะกรรมการฝ่ายบริหารและพนักงานเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องยึดถือเป็น แนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจของบริษัทด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและเที่ยงธรรมทั้งการปฏิบัติต่อบริษัทผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุ่มสาธารณชนและสังคมรวมทั้งการก�ำหนดระบบติดตามการปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวเป็นประจ�ำ ทั้งนี้บริษัทได้มีการประกาศและแจ้งให้พนักงานทุกคนรับทราบและยึดปฏิบัติอย่างเคร่งครัดรวมถึงให้มีการปฏิบัติตาม แนวทางดังกล่าว 2.3 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทได้ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์บนหลักการที่ว่าการตัดสินใจใดๆในการด�ำเนินกิจกรรมทาง ธุรกิจจะต้องท�ำเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทเท่านั้นและควรหลีกเลี่ยงการกระท�ำที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยก�ำหนดให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือเกี่ยวโยงกับรายการที่พิจารณาต้องแจ้งให้บริษัททราบถึงความสัมพันธ์หรือการเกี่ยวโยง ของตนในรายการดังกล่าว และต้องไม่เข้าร่วมการพิจารณาตัดสินรวมถึงไม่มีอ�ำนาจอนุมัติในธุรกรรมนั้นๆ คณะกรรมการตรวจสอบจะน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทเกี่ ย วกั บ รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น และรายการที่ มี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ซึ่งได้มีการพิจารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบและได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยและหรือส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์รวมทั้งจะได้มีการเปิดเผยไว้ในงบการเงิน รายงานประจ�ำปีและแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ด้วย

062

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


การกำ�กับดูเเลกิจการ

2.4 ระบบการควบคุมภายใน บริษัทได้ให้ความส�ำคัญต่อระบบควบคุมภายในทั้งในระดับบริหารและระดับปฏิบัติงาน และเพื่อให้เกิดความมีประสิทธิภาพ ในการด�ำเนินงานบริษัทจึงได้ก�ำหนดภาระหน้าที่อ�ำนาจการด�ำเนินการของผู้ปฏิบัติงานและผู้บริหารไว้เป็นลายลักษณ์อักษร อย่างชัดเจนมีการควบคุมดูแลการใช้ทรัพย์สินของบริษัทให้เกิดประโยชน์และมีการแบ่งแยกหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ติดตามควบคุม และประเมินผลออกจากกันโดยบริษัทได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อท�ำหน้าที่ในการสอบทานระบบการควบคุม ภายในและการตรวจสอบภายในให้มีความเหมาะสมและมีประสิทธิผลและมีการว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกเพื่อท�ำหน้าที่ ติดตาม ตรวจสอบระบบควบคุมภายใน และรายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงาน หลักที่ส�ำคัญของบริษัทได้ด�ำเนินการตามแนวทางที่ก�ำหนดและมีประสิทธิภาพ 2.5 การบริหารความเสี่ยง บริษัทได้มีการท�ำการประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในที่มีอยู่เพื่อพิจารณาหาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข การปฏิบัติงานให้ผลการด�ำเนินงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 2.6 รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบจะท�ำหน้าทีส่ อบทานรายงานทางการเงินโดยมีฝา่ ยบัญชีและการเงิน และผู้สอบบัญชีมาประชุมร่วมกัน และน�ำเสนอรายงานทางการเงินต่อคณะกรรมการบริษทั ทุกไตรมาสโดยคณะกรรมการบริษทั เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินรวมของ บริษัทรวมทั้งสารสนเทศทางการเงิน (รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน) ที่ปรากฏในรายงาน ประจ�ำปีงบการเงินดังกล่าวจัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีรับรองและตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัทรวมทั้งจะด�ำเนิน การเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศที่ส�ำคัญทั้งข้อมูลทางการเงินและไม่ใช่การเงินบนพื้นฐานของข้อเท็จจริงอย่างครบถ้วนและ สม�่ำเสมอ

3. การประชุมคณะกรรมการ

ตามข้อบังคับของบริษัท บริษัทจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทอย่างน้อยทุก 3 เดือน และจะจัดให้มีการประชุมพิเศษเพิ่มตาม ความจ�ำเป็น มีการส่งหนังสือเชิญประชุมล่วงหน้า 7 วันก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณีจ�ำเป็นรีบด่วนเพื่อรักษาสิทธิประโยชน์ของบริษัท ทั้งนี้ ในการประชุมแต่ละครั้งได้มีการก�ำหนดวาระในการประชุมอย่างชัดเจน มีเอกสารประกอบการประชุมที่ครบถ้วนเพียงพอ โดยจัดส่งให้กับ คณะกรรมการล่วงหน้า เพื่อให้คณะกรรมการได้มีเวลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม ในการประชุม ประธานกรรมการบริษัทและประธานเจ้าหน้าที่บริหารเป็นผู้ร่วมกันก�ำหนดวาระการประชุมและพิจารณาเรื่องเข้าวาระ การประชุมคณะกรรมการบริษัท โดยเปิดโอกาสให้กรรมการแต่ละคนสามารถเสนอเรื่องต่างๆเพื่อเข้ารับพิจารณาเป็นวาระการประชุมได้ โดยที่กรรมการทุกท่านสามารถอภิปรายและแสดงความคิดเห็นได้อย่างเปิดเผย และมีประธานที่ประชุมเป็นผู้ประมวลความเห็นและข้อสรุป ที่ได้จากการประชุม ทั้งนี้ในการลงมติในที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทให้ถือมติเสียงข้างมาก โดยให้กรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งเสียง โดยกรรมการที่มีส่วนได้เสียจะไม่เข้าร่วมประชุมและ/หรือไม่ใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้นๆ ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ประธานในที่ ประชุมจะออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเพื่อชี้ขาด นอกจากนี้รายงานการประชุมจะถูกจัดท�ำเป็นลายลักษณ์อักษรภายหลังมีการประชุมเสร็จ และจัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการบริษัท พร้อมให้คณะกรรมการบริษัทและผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบได้

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

063


การกำ�กับดูแลกิจการ

ในปี 2557 บริษัทได้มีการจัดประชุมคณะกรรมการบริษัท 10 ครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ 7 ครั้ง คณะกรรมการบริหาร 10 ครั้ง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง 6 ครัง้ คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน 1 ครัง้ และคณะกรรมการตรวจสอบประชุมกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการ 1 ครั้ง โดยมีรายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละท่านดังนี้ : คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท ตรวจสอบ บริหาร สรรหาและก�ำหนด บริหาร รวม 10 ครั้ง รวม 7 ครั้ง รวม 10 ครั้ง ค่าตอบแทน ความเสี่ยง รวม 1 ครั้ง รวม 6 ครั้ง ดร.ปรัชญา เปี่ยมสมบูรณ์

10/10

-

-

-

-

รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ อยู่ถนอม

10/10

7/7

-

1/1

-

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กัลยาภรณ์ ปานมะเริง

10/10

7/7

-

1/1

6/6

8/10

5/7

-

-

-

10/10

7/7

-

-

6/6

นายสงวนเกียรติ ลิ่วมโนมนต์

9/10

-

-

1/1

-

นายมาร์ค ดี.เรมี จาน

8/10

-

-

-

-

นายอนาวิล จิรธรรมศิริ

9/10

-

10/10

1/1

6/6

นางสาวคู เมน ไว

6/10

-

10/10

-

-

นางสาวศรุตา จิรธรรมศิริ

8/10

-

10/10

-

-

นายสุทธิชัย สุรพัฒน์

-

-

10/10

-

-

นายวรวิทย์ เอื้อทรัพย์สกุล

-

-

10/10

-

-

นายสาธิต เชยบุบผา

-

-

10/10

-

-

นายนพปฎล เจสัน จิรสันติ์ นายกณวรรธน์ อรัญ

4. ค่าตอบแทน

บริษัทแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน และก�ำหนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการบริษัทไว้อย่างชัดเจนและโปร่งใส โดยค่าตอบแทนอยู่ในระดับที่เหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการแต่ละท่าน เพียงพอที่จะดูแลรักษากรรมการที่มีความรู้ ความสามารถ และต้องผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจ�ำปี (Annual General Meeting: AGM) ทั้งนี้ บริษัทก�ำหนดให้มีการเปิด เผยค่า ตอบแทนที่จ ่ายให้แ ก่กรรมการและผู้บริหารตามรูปแบบที่ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ก�ำหนด

064

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


การกำ�กับดูเเลกิจการ

5. การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร

คณะกรรมการมีนโยบายส่งเสริมให้มกี ารอบรมและให้ความรูแ้ ก่กรรมการผู้เกี่ยวข้องในระบบก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั ซึง่ ประกอบด้วย กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหาร ตลอดจนผู้บริหารของบริษัท เพื่อให้การปฏิบัติงานมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง หากมีการ เปลี่ยนแปลงกรรมการ บริษัทจะจัดให้มีการแนะน�ำแนวทางในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท และข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ของกรรมการใหม่ เพื่อส่งเสริมให้การปฏิบัติหน้าที่มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องภายใต้กรอบการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี นอกจากนี้ บริษัทได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญในการพัฒนาบุคลากรของบริษัท ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ดังนั้นบริษัทจึง มีนโยบายการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรของบริษัทในทุกระดับอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัทได้จัดท�ำระบบประเมินผลการปฏิบัติงานโดยมี ตัวชี้วัดประสิทธิภาพทั้งในระดับองค์กรและระดับหน่ว ยงาน และทบทวนลักษณะงานให้ส อดคล้องกับแผนงานทางธุรกิจ เพื่อน�ำไปสู่ การสร้างระบบการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ทั้งนี้บริษัทได้วางแนวทางโดยก�ำหนดแผนการฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานในส่วนต่างๆ ของบริษัท เพื่อให้เหมาะสมกับแผนการพัฒนาองค์กร และก�ำหนดแผนการฝึกอบรมและพัฒนาโดยการส�ำรวจความต้องการและความ จ�ำเป็นของฝ่ายต่างๆของบริษัทเพื่อความเหมาะสมและเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงานของหน่วยงานนั้นๆ

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน

บริษทั มีนโยบายและวิธกี ารดูแลกรรมการและผูบ้ ริหารในการน�ำข้อมูลภายในของบริษทั ซึง่ ยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนไปใช้เพื่อแสวงหา ประโยชน์ส่วนตน รวมทั้งการซื้อขายหลักทรัพย์ ดังนี้ :- ให้ความรู้แก่กรรมการรวมทั้งผู้บริหารฝ่ายต่างๆ เกี่ยวกับหน้าที่ที่ต้องรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่ บรรลุนิติภาวะ ต่อส�ำนัก งานก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลั ก ทรัพย์แห่งประเทศไทย ตามมาตรา 59 และ บทก�ำหนดโทษ ตามมาตรา 59 และบทก�ำหนดโทษ ตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 - ก�ำหนดให้กรรมการและผู้บริหารมีหน้าที่ต้องรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 ภายใน 3 วันท�ำการถัดไปจาก วันที่เกิดรายการเปลี่ยนแปลงและจัดส่งส�ำเนารายงานนี้ให้แก่บริษัทในวันเดียวกับวันที่ส่งรายงานต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ - บริษัทจะก�ำหนดให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และผูป้ ฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วข้องทีไ่ ด้รบั ทราบข้อมูลภายในที่เป็นสาระส�ำคัญ ซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ราคาหลักทรัพย์ จะต้องระงับการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 1 เดือนก่อนที่งบการเงินหรือข้อมูลภายในนั้น จะเปิดเผยต่อสาธารณชน และอย่างน้อย 24 ชั่วโมงภายหลังการเปิดเผยข้อมูลให้แก่สาธารณชนแล้ว รวมทั้งห้ามไม่ให้เปิดเผยข้อมูลที่ เป็นสาระส�ำคัญนั้นต่อบุคคลอื่น บริษทั ก�ำหนดบทลงโทษทางวินยั หากมีการฝ่าฝืนน�ำข้อมูลภายในไปใช้หาประโยชน์สว่ นตน ซึง่ เริม่ ตัง้ แต่การตักเตือนเป็นหนังสือ ตัดค่าจ้าง พักงานชัว่ คราวโดยไม่ได้รบั ค่าจ้าง หรือให้ออกจากงาน ทัง้ นี้ การลงโทษจะพิจารณาจากเจตนาของการกระท�ำและความร้ายแรงของความผิดนัน้ ๆ

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

065


การกำ�กับดูแลกิจการ

รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการและผู้บริหารในปี 2557 จ�ำนวน (หุ้น) รายชื่อ

ดร.ปรัชญา เปี่ยมสมบูรณ์

31 ธันวาคม 2556

31 ธันวาคม 2557

จ�ำนวนหุ้นเพิ่ม (ลด) ระหว่างปี (หุ้น)

888,400

784,800

(103,600)

รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ อยู่ถนอม

-

-

-

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กัลยาภรณ์ ปานมะเริง

-

-

-

นายนพปฎล เจสัน จิรสันติ์

-

-

-

นายกณวรรธน์ อรัญ

-

-

-

นายสงวนเกียรติ ลิ่วมโนมนต์

-

-

-

78,400

414,000

335,600

408,000,000

408,000,000

นางสาวคู เมน ไว

40,500,000

40,500,000

-

นางสาวศรุตา จิรธรรมศิริ

40,500,000

40,500,000

-

นายสุทธิชัย สุรพัฒน์

-

-

-

นายวรวิทย์ เอื้อทรัพย์สกุล

-

-

-

นายมาร์ค ดี. เรมีจาน นายอนาวิล จิรธรรมศิริ

หมายเหตุ : รวมการถื อครองหลักทรัพย์ ของคู่สมรสและบุตรที ย่ งั ไม่บรรลุนิติภาวะ (เว้นแต่ได้เปิ ดเผยเป็ นรายบุคคลไว้แล้ว)

066

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 4 ท่าน ได้แก่ ผศ.กัลยาภรณ์ ปานมะเริง ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งประธาน กรรมการตรวจสอบ รศ.ดร.ณรงค์ อยู่ถนอม นายนพปฏล เจสัน จิรสันติ์ และนายกณวรรธน์ อรัญ ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบทุกท่านมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งสอดคล้องกับข้อก�ำหนดและ แนวปฏิบัติท่ีดีของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามความรับผิดชอบและขอบเขตตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทอย่างเป็นอิสระ เพื่อช่วยให้การด�ำเนินงานของบริษัทเป็นไปโดยปราศจากความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีระบบ การควบคุมภายในที่เพียงพอ และผู้บริหารสามารถปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และเป็นไปตามนโยบายของบริษัท ในปี 2557 คณะกรรมการตรวจสอบได้มกี ารจัดประชุมรวม 7 ครัง้ และมีรายละเอียดการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน ดังนี้ 1. 2. 3. 4.

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กัลยาภรณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ นายนพปฏล เจสัน นายกณวรรธน์

ปานมะเริง อยู่ถนอม จิรสันติ์ อรัญ

เข้าร่วมประชุม เข้าร่วมประชุม เข้าร่วมประชุม เข้าร่วมประชุม

7 ครั้ง 7 ครั้ง 5 ครั้ง 7 ครั้ง

โดยสามารถสรุปสาระส�ำคัญในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงิน และงบการเงิน รวมของของบริษัทและบริษัทย่อย ทั้งงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจ�ำปี ซึ่งผ่าน การสอบทานและตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีแล้ว และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาร่วมกับ ผู้สอบบัญชีของบริษัท โดยเห็นด้วยกับผู้สอบบัญชีว่า งบการเงินประจ�ำปี 2557 ได้จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานบัญชีที่รับรองทั่วไป และ ได้มีการเปิดเผยรายการที่มีสาระส�ำคัญในหมายเหตุประกอบงบการเงินครบถ้วน 2. สอบทานการปฏิบัติงานของฝ่ายตรวจสอบภายใน รวมทั้งอนุมตั แิ ผนการตรวจสอบประจ�ำปี การรายงานผลการตรวจสอบ การรายงานผล และการติดตามผล โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ขอ้ สังเกตและค�ำแนะน�ำเพือ่ ให้การตรวจสอบภายในมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ยิ่งขึ้น 3. สอบทานความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน โดยพิจารณาร่วมกับผู้สอบบัญชีของบริษัท ผู้ตรวจสอบภายในอิสระ และฝ่าย ตรวจสอบภายใน รวมทั้งได้ประเมินการควบคุมภายในในด้านต่างๆ เพื่อให้มั่นใจว่าการด�ำเนินงานของบริษัทเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิ ทธิ ผ ล และบรรลุตามเป้าหมายที่ก� ำ หนด โดยพิจ ารณาจากรายงานผลการตรวจสอบภายใน และผลการประเมินระบบการ ควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงตามแนวทางมาตรฐานสากล COSO-ERM (The Committee of Sponsoring Organizations of the Tread way Commission – Enterprise Risk Management) โดยไม่พบข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ ซึ่งสอดคล้องกับ ผลการประเมินของผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบภายในอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบจึงมีความเห็นว่า บริษัทมีระบบการควบคุม ภายในที่เหมาะสม เพียงพอ และมีประสิทธิผล

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

067


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

4. พิจารณาเสนอคณะกรรมการบริษัท เพื่อแต่งตั้งผู้สอบบัญชีประจ�ำปี 2557 โดยเสนอให้นายประดิษฐ์ รอดรอยทุกข์ จากบริษัท เอเอสที มาสเตอร์ จ�ำกัด และ/หรือ นางสุวิมล กฤตยาเกียรณ์ และ/หรือ นางสาวสมจินตนา พลหิรัญรัตน์ จากบริษัท สอบบัญชี ดีไอเอ อินเตอร์ เนชั่นแนล จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทประจ�ำปี 2557 พร้อมทั้งได้พิจารณาค่าตอบแทนการสอบบัญชี เพื่อน�ำเสนอต่อที่ประชุม ผู้ถือหุ้นต่อไป 5. ร่วมประชุมพิจารณาหารือและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับผู้บริหารของบริษัทและผู้สอบบัญชีเป็นครั้งคราว เพื่อรับทราบข้อสังเกต และ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน 6. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อให้บริษัทมีการปฏิบัติเป็นไปตามที่กฎหมายและ กฎระเบียบตามที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุนและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องก�ำหนด และเปิดเผยข้อมูลให้ครบถ้วนถูกต้อง โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ในปี 2557 บริษัทมีการจัดท�ำรายงานทางการเงิน และเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ และถูกต้อง ครบถ้วน เป็นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป มีการบริหารความเสี่ยงและระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล รวมทั้งมีระบบการตรวจสอบภายในที่เหมาะสม ตลอดจนมีกระบวนการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยคณะกรรมการตรวจสอบ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเป็นอิสระ โปร่ง ใส ตามหลักธรรมาภิบาลและแนวทางปฏิบัติที่ดีข องคณะกรรมการตรวจสอบ และได้ให้ ค�ำแนะน�ำและข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กัลยาภรณ์ ปานมะเริง ประธานกรรมการตรวจสอบ

รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ อยู่ถนอม กรรมการตรวจสอบ

068

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

นายนพปฏล เจสัน จิรสันติ์ กรรมการตรวจสอบ

นายกณวรรธน์ อรัญ กรรมการตรวจสอบ


การควบคุมภายใน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2557 โดยมีกรรมการตรวจสอบสอบทั้ง 4 ท่าน เข้าร่วมประชุมด้วย คณะกรรมการบริษัทได้ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยการอนุ มั ติ แ บบประเมิ น ที่ ฝ ่ า ยบริ ห ารจั ด ท� ำ และรายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ แล้วสรุปได้ว่า จาการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทในด้านต่างๆ 5 องค์ประกอบ คือ (1) การ ควบคุมภายในองค์กร (2) การประเมินความเสี่ยง (3) การควบคุมการปฏิบัติงาน (4) ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล และ (5) ระบบการติดตาม คณะกรรมการเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอและเหมาะสม โดยบริษัทได้จัดให้บุคลากร อย่างเพียงพอที่จะด�ำเนินการตามระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีระบบควบคุมภายในในเรื่องการติดตามควบคุมดูแลการด�ำเนิน ของบริษัทย่อย ให้สามารถป้องกันทรัพย์สินของบริษัทและบริษัทย่อยจากการที่กรรมการหรือผู้บริหารน�ำไปใช้โดยมิชอบหรือโดยไม่มี อ�ำนาจ ส�ำหรับการควบคุมภายในในหัวข้ออื่น คณะกรรมการเห็นว่าบริษัทมีการควบคุมภายในที่เพียงพอแล้ว

หัวหน้างานตรวจสอบภายใน

ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ครั้งที่ 3/2557 เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2557 ได้แต่งตั้งบริษัท ภัทรเกียรติ ออดิท แอนด์ คอนซัลติ้ง จ�ำกัด ให้ปฎิบัติหน้าที่ผู้ตรวจสอบภายในของบริษัทตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 - 31 ธันวาคม 2557 ซึ่งบริษัท ภัทรเกียรติ ออดิท แอนด์ คอนซัลติ้ง จ�ำกัด ได้มอบหมายให้ นายไชยโรจน์ ภัทรเกียรติพงษ์ ต�ำแหน่งหัวหน้าตรวจสอบภายในเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการปฏิบัติ หน้าที่ผู้ตรวจสอบภายในของบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาคุณสมบัติของบริษัท ภัทรเกียรติ ออดิท แอนด์ คอนซัลติ้ง จ�ำกัด และ นายไชยโรจน์ ภัทรเกียรติ พงษ์ แล้วเห็นว่า มีความเหมาะสมเพียงพอกับการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว เนื่องจากมีความเป็นอิสระ และมีประสบการณ์ในการปฎิบัติงาน ด้านการตรวจสอบภายในในธุรกิจ/อุตสาหกรรมที่มีลักษณะเดียวกับบริษัท มาเป็นระยะ 2 ปี เคยเข้ารับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง กับการปฏิบัติงานด้านตรวจสอบภายใน ได้แก่ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (Certified Public Accountant: CPA), ผู้ตรวจสอบภายในรับอนุญาต (Certified Internal Auditor: CIA) และ The Institute of Internal Auditors (IIA) – USA รุ่นที่ 1 ของปี 2541 โดยสอบได้ 1 ใน 5 คนแรก ของประเทศไทย และบริษัท ยัง ได้จัด ตั้ง ฝ่า ยตรวจสอบภายในเพื่อท�ำหน้าที่ประสานงานกับผู้ตรวจสอบอิสระที่ว่าจ้างภายนอกด้วย ทั้งนี้ การพิจารณาและอนุมัติแต่งตั้ง ถอดถอน โยกย้าย หรือเลิกจ้าง ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในของบริษัทจะ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

069


รายการระหว่างกัน บริษัทมี ก ารท�ำ รายการกับ บุค คลที่อาจมีความขัดแย้งต่างๆ โดยรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นนั้นเป็นการท�ำรายการกับผู้ถือหุ้นและ/ หรือผู้บริหารของบริษัท รวมถึงการท�ำรายการกับบริษัทที่เกี่ยวข้ อ งกั น ซึ่ ง มี บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขัดแย้งเป็นผู้ถือหุ้นและ/หรือผู้บริหาร ซึ่งสามารถสรุปลักษณะความสัมพันธ์ได้ดังนี้

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

บริษัทย่อย

บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด บริษัท เวอเทค โลจิสติคส์ เซอร์วิส จ�ำกัด บริษัท เชาว์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด บริษัท เออี โซลาร์ จ�ำกัด บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น เจแปน จ�ำกัด บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น เยอรมัน จ�ำกัด บริษัท ซัน เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด บริษัท โซล เพาเวอร์ จ�ำกัด

ลักษณะความสัมพันธ์

บริษัทถือหุ้นร้อยละ 76.67 และกรรมการร่วมกัน บริษัทถือหุ้นร้อยละ 40.00 และกรรมการร่วมกัน ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน

บริษัทร่วม

บริษัท โอเวอร์ซี กรีน เอนเนอร์ยี่ จ�ำกัด บริษัท อาร์ไอซีไอ อินเตอร์เนชั่นแนล อินเวสต์เมนต์ จ�ำกัด

บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

บริษัท ส�ำนักกฎหมาย ลิ่วมโนมนต์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด บริษัท ศรีธนเทพ จ�ำกัด

บุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

นายอนาวิล จิรธรรมศิริ นายธนชาต เผ่าพงษ์ไพบูลย์

070

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน

กรรมการร่วมกัน กรรมการร่วมกัน

ผู้ถือหุ้นและกรรมการ ผู้ถือหุ้นและกรรมการของบริษัทย่อย


รายการระหว่างกัน

รายการซื้อขายสินค้า/บริการ หรือทรัพย์สินของบริษัท ลักษณะรายการ

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

มูลค่าของรายการ (ล้านบาท)

บริษัทได้รับค่าเช่าพื้นที่ส�ำนักงาน บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด บริษัท เวอเทค โลจิสติคส์ เซอร์วิส จ�ำกัด

ความจ�ำเป็นและเหตุผล

0.71 0.26

บริ ษั ท ให้ เ ช่ า พื้ น ที่ ส� ำ นั ก งานและพื้ น ที่ โรงงานเพื่อใช้ในการประกอบธุรกิจ โดยเป็น ไปตามราคาที่ตกลงร่วมกัน

บริษัทได้รับดอกเบี้ยรับ

บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด บริษัท เชาว์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด

0.01 0.69 34.21

บริษัทให้กู้ยืมเงินแก่บริษัทย่อย เพื่อลงทุน ในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และใช้ หมุนเวียนในกิจการ โดยเป็นไปตามอัตรา ดอกเบี้ยที่ตกลงร่วมกัน

บริษัทว่าจ้างเพื่อใช้บริการ ด้านขนส่ง

บริษัท เวอเทค โลจิสติคส์ เซอร์วิส จ�ำกัด

61.95

บริษัทใช้บริการขนส่งผลิตภัณฑ์ให้แก่ลูกค้า และขนส่งภายในบริษัท โดยเป็นไปตาม ราคาตลาด

บริษัทว่าจ้างเพื่อใช้บริการ ด้านที่ปรึกษากฎหมาย

บริษัท ส�ำนักกฎหมาย ลิ่วมโนมนต์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด

0.50

บริ ษั ท ใช้ บ ริ ก ารด้ า นที่ ป รึ ก ษากฎหมาย ส�ำหรับการด�ำเนินธุรกิจทัว่ ไป โดยเป็นไปตาม ราคาที่ตกลงร่วมกัน

รายการค้ำ�ประกันเงินกู้ยืมสถาบันการเงินและสัญญาเช่าซื้อของบริษัท บุคคลที่อาจมีความขัดเเย้ง นายอนาวิล จิรธรรมศิริ

ลักษณะรายการ ค�ำ้ ประกันวงเงินสินเชือ่ รวม 1,530 ล้านบาท ให้แก่บริษัท โดยแบ่งเป็น 1.1 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืม ระยะสั้น 1.2 หนังสือค�้ำประกัน 1.3 เลตเตอร์ออฟเครดิต

มูลค่าเงินกู้ยืมคงค้าง (ล้านบาท)

ความจ�ำเป็นและเหตุผล เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท โดยไม่มีค่าธรรมเนียม ค�้ำประกันเงินกู้

800.00 40.00 -

รายการค้ำ�ประกันเงินกู้ยืมสถาบันการเงินและสัญญาเช่าซื้อของบริษัท เวอเทค โลจิสติคส์ เซอร์วิส จำ�กัด บุคคลที่อาจมีความขัดเเย้ง นายธนชาต เผ่าพงษ์ไพบูลย์

นายธนชาต เผ่าพงษ์ไพบูลย์

ลักษณะรายการ

มูลค่าเงินกู้ยืมคงค้าง (ล้านบาท)

ค�้ำประกันสัญญาเช่าซื้อ และหนังสือ ค�ำ้ ประกันทีอ่ อกโดยสถาบันการเงินให้ แก่เวอเทค เงินเบิกเกินบัญชี

17.03

ได้นำ� วงเงินส่วนหนึง่ ทีบ่ ริษทั ศรีธนเทพ จ�ำกัด ได้รับอนุมัติจากสถาบันการเงิน เข้ามาค�้ำประกันหนังสือค�้ำประกันที่ ออกโดยสถาบันการเงินส�ำหรับการใช้ บัตรน�้ำมัน

0.80

ความจ�ำเป็นและเหตุผล เพื่อใช้เป็นในการด�ำเนินธุรกิจของ เวอเทค โดยไม่มีค่าธรรมเนียมค�้ำประกันเงินกู้

8.92 เป็ น การค�้ ำ ประกั น ในหนั ง สื อ ค�้ ำ ประกั น ที่ ออกโดยสถาบันการเงินส�ำหรับการใช้บัตร น�้ำมัน

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

071


รายการระหว่างกัน

มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกัน

บริษัทก�ำหนดขั้นตอนการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกันของบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสั่ง หรือข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ โดยที่กรรมการ หรือ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งมีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ใดๆ กับบริษัทไม่มีสิทธิออกเสียงในการพิจารณาอนุมัติ การเข้าท�ำรายการระหว่างกันนั้นๆ

นโยบายหรือแนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต

นโยบายของบริษัทในการท�ำรายการระหว่างกันสามารถจ�ำแนกตามประเภทรายการ ได้ดังนี้ • รายการธุรกิจปกติและรายการสนับสนุนธุรกิจปกติซึ่งมีเงื่อนไขทางการค้าทั่วไป เช่น การซื้อหรือขายสินค้าและบริการ เป็นต้น บริษัท ได้ก�ำหนดนโยบายในการท�ำรายการระหว่างกันให้มีเงื่อนไขต่างๆ เป็นไปตามลักษณะการด�ำเนินการค้าปกติในราคาตลาด ซึ่งสามารถ เปรียบเทียบได้กับราคาที่เกิดขึ้นกับบุคคลภายนอก และให้ปฏิบัติเป็นไปตามสัญญาที่ตกลงร่วมกันอย่างเคร่งครัด พร้อมทั้งก�ำหนด ราคาและเงื่อนไขรายการต่างๆ ให้ชัดเจน เป็นธรรม และไม่ก่อให้เกิดการถ่ายเทผลประโยชน์ ทั้งนี้ ฝ่ายตรวจสอบภายในจะท�ำหน้าที่ ตรวจสอบข้อมูลและจัดท�ำรายงานเพื่อให้คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาและให้ความเห็นถึงความเหมาะสมของราคาและความ สมเหตุสมผลของการท�ำรายการเป็นประจ�ำทุกๆ ไตรมาส • รายการธุรกิจปกติและรายการสนับสนุนธุรกิจปกติซึ่งไม่มีเงื่อนไขทางการค้าทั่วไป และรายการระหว่างกันอื่นๆ เช่น รายการได้มาหรือ จ�ำหน่ายทรัพย์สิน และรายการรับหรือให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เช่น การกู้ยืม การค�้ำประกัน และการใช้ทรัพย์สินเป็นหลักประกัน เป็นต้น บริษัทมีนโยบายให้ค ณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้พิจารณาและให้ความเห็นเกี่ยวกับความสมเหตุสมผลและความจ�ำเป็น ของการท�ำรายการก่อนท�ำรายการ และจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสั่งหรือข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงการปฏิบัติตาม ข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการที่เกี่ยวโยงกันและการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินที่ส�ำคัญของบริษัทหรือ บริษัทย่อย (ถ้ามี) ทั้งนี้ กรรมการจะไม่มีสิทธิในการออกเสียงอนุมัติรายการใดๆ ที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสียใดๆ ในการท�ำรายการดังกล่าว รวมทั้งจะต้องเปิดเผยลักษณะความสัมพันธ์ และรายละเอียดของรายการดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา นอกจากนี้ ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความช�ำนาญในการพิจารณารายการระหว่าง กันดังกล่าว บริษัทจะให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระเป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อน�ำไปใช้ประกอบการตัดสินใจ ของคณะกรรมการ หรือผู้ถือหุ้น แล้วแต่กรณี

072

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ รายได้

ในปี 2557 บริษัทมีรายได้รวมจ�ำนวน 4,156 ล้านบาท ลดลงจากปี 2556 จ�ำนวน 680 ล้านบาท หรือคิดเป็นอัตรา ร้อยละ 14 ซึ่งเป็น ผลมาจากปริมาณขายเหล็กแท่งที่มีการลดลงตามสภาวะเศรษฐกิจที่มีการชะลอตัว และราคาขายเหล็กที่มีการปรับตัวลดลงตามกลไกตลาด

ต้นทุนขายและค่าใช้จ่าย

• ต้นทุนขายและต้นทุนบริการ

ในปี 2557 บริษัทมีต้นทุนขายและบริการจ�ำนวน 3,877 ล้านบาท โดยมีอัตราส่วนต้นทุนขายต่อรายได้จากการขายร้อยละ 94 เปรียบเทียบกับปี 2556 ที่มีอัตราส่วนดังกล่าวร้อยละ 94 ใกล้เคียงกัน เนื่องจากการบริหารสินค้าคงเหลือ และการบริหารอัตราส่วนก�ำไร (Matching order) รวมถึงการจัดซื้อวัตถุดิบให้สอดคล้องกับความต้องการใช้

• ค่าใช้จ่ายในการขาย

ในปี 2557 บริษัทมีค่าใช้จ่ายในการขาย จ�ำนวน 59 ล้านบาท ลดลงจ�ำนวน 7 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 10.7 เมื่อเทียบกับปี 2556 เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการขนส่งลดลงตามปริมาณการขายที่ลดลง

• ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

ในปี 2557 บริษัทมีค่าใช้จ่ายในการบริหาร จ�ำนวน 103 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2556 จ�ำนวน 27 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 36 เนื่องจากการขยายธุรกิจในส่วนของการพัฒนาโครงการไฟฟ้าพลังงานทดแทน ประกอบกับการปรับฐานเงินเดือนของพนักงาน

• ต้นทุนทางการเงิน

ต้นทุนทางการเงินของบริษัทมาจากดอกเบี้ยเงินกู้ยืมสถาบันการเงินและสินเชื่อเช่าซื้อ โดยในปี 2557 มีจ�ำนวน 76 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 5.57 ล้านบาท เนื่องจากการกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เพื่อน�ำไปลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น

กำ�ไรสุทธิ

ในปี 2557 บริษัทมีก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของบริษัทจ�ำนวน 47.34 ล้านบาท คิดเป็นอัตราก�ำไรสุทธิร้อยละ 1.15 และอัตราผลตอบแทน ต่อส่วนของผู้ถือหุ้นร้อยละ 3.65 เปรียบเทียบกับปี 2556 ที่มีก�ำไรสุทธิ 105 ล้านบาท คิดเป็นอัตราก� ำไรสุทธิ ร้อ ยละ 2.18 และอัตรา ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นร้อยละ 8.20 โดยก�ำไรสุทธิและอัตราก�ำไรของบริษัทที่ลดลง เกิดจากปริมาณและราคาขายเหล็กที่มี การปรับลดลงตามสภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอ

การวิเคราะห์ฐานะการเงิน สินทรัพย์

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีสินทรัพย์รวมจ�ำนวน 4,728 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 1,548 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 49 โดยการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ที่ส�ำคัญมาจากเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ ต้นทุนพัฒนาโครงการ และ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เนื่องจากเกิดการชะลอตัวของการบริโภคเหล็กตามสภาวะเศรษฐกิจในขณะที่บริษัทยังคงด�ำเนินการผลิต ท�ำให้ มีสินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น รวมทั้งในระหว่างปีกลุ่มบริษัทได้ลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น ส่งผลให้บริษัท มีสินทรัพย์รวมที่เพิ่มสูงมากขึ้น ทั้งนี้แหล่งของเงินทุนได้มาจากการกู้ยืมเงิน

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

073


การวิเเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ

สภาพคล่อง

ในปี 2557 บริษัทได้จ่ายกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงาน 794 ล้านบาท และกิจกรรมลงทุน จ�ำนวน 835 ล้านบาท โดยน�ำ เงินมาจากผลประกอบการที่มีก�ำไร และจากการกู้ยืมเงินระยะสั้นจากสถาบันการเงินมาลงทุนในสินค้า จ�ำนวน 534 ล้านบาท และลงทุน โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จ�ำนวน 1,046 ล้านบาท ท�ำให้บริษัทมีกระแสเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น 45 ล้านบาท

แหล่งที่มาของเงินทุน หนี้สิน

บริษัทมีหนี้สินรวมจ�ำนวน 3,350 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 1,479 ล้านบาท โดยสาเหตุมาจากการการกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เพื่อน�ำมาลงทุนโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์

ส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัทมีส่วนของผู้ถือหุ้นที่เป็นส่วนของบริษัทจ�ำนวน 1,296 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 13 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลมาจากผลประกอบการที่ บริษัทมีก�ำไร จ�ำนวน 47 ล้านบาท

โครงสร้างเงินทุน

อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 อยูใ่ นระดับ 2.47 เท่า เปรียบเทียบกับอัตราส่วน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ที่อยู่ในระดับ 1.43 เท่า โดยเป็นผลมาจากการกู้ยืมจากสถาบันการเงิน

ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชีในปี 2557 ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี

บริษัทจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่บริษัท เอเอสที มาสเตอร์ จ�ำกัด ที่ผู้สอบบัญชีของบริษัทสังกัดในรอบปีบัญชี 2557 เป็น จ�ำนวน 0.93 ล้านบาท และค่าสอบบัญชีของบริษัทย่อยจ�ำนวน 0.59 ล้านบาท โดยในระหว่างปี 2557 บริษัทมีการจัดตั้งบริษัทย่อยเพิ่มเติม 1 บริษัท มีค่าสอบบัญชีจ�ำนวน 0.13 ล้านบาท โดยบริษัทและบริษัทย่อยไม่มีการใช้บริการอื่นจากผู้สอบบัญชี

ค่าบริการอื่นๆ -ไม่มี-

074

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย รวมทั้งข้อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจ�ำปี 2557 ซึ่งงบการเงินดังกล่าว จัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่าง ระมัดระวัง และประมาณการทีส่ มเหตุสมผลในการจัดท�ำ รวมทัง้ ให้มกี ารเปิดเผยข้อมูลทีส่ ำ� คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไป คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบการบริหารความเสี่ยงและระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อ ให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่าข้อมูลทางบัญชีมคี วามถูกต้องครบถ้วน และเพียงพอที่จะด�ำรงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน ตลอดจนเพื่อไม่ให้เกิด การทุจริตหรือการด�ำเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระส�ำคัญ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระจ�ำนวน 4 ท่าน เพื่อท�ำหน้าที่สอบทานนโยบาย การบัญชีและคุณภาพของรายงานทางการเงิน สอบทานระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน ตลอดจนพิจารณาการเปิดเผยข้อมูล รายการระหว่างกัน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ใน รายงานประจ�ำปีนี้แล้ว งบการเงินของบริษัท และงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทย่อยได้รับการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท เอเอสที มาสเตอร์ จ�ำกัด โดยความเห็นของผู้สอบบัญชีได้ปรากฏในรายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจ�ำปีนี้แล้ว คณะกรรมการบริษทั มีความเห็นว่า บริษทั มีระบบการควบคุมภายในโดยรวมอยูใ่ นระดับดีเป็นที่น่าพอใจ และสามารถสร้างความเชือ่ มัน่ อย่างมีเหตุผลได้ว่างบการเงินของบริษัท และงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ได้แสดง ฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานที่ถูกต้องตามที่ควรตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายและกฎระเบียบอื่น ที่เกี่ยวข้อง

ดร.ปรัชญา เปี่ยมสมบูรณ์ ประธานกรรมการ

นายอนาวิล จิรธรรมศิริ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

075


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ คณะกรรมการและผู้ถือหุ้นบริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จำ�กัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษทั เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ซึง่ ประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบกระแสเงินสดรวม ส�ำหรับปีสิ้นสุด วันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญและหมายเหตุเรื่องอื่น ๆ และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน

ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน

ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินเหล่ า นี้ โ ดยถู ก ต้ อ งตามที่ ค วรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อให้สามารถจัดท�ำงบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด

ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี

ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตาม มาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งก�ำหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อก�ำหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ได้ ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็น สาระส�ำคัญของงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุม ภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับ สถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการ ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดท�ำขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้ง การประเมินการน�ำเสนอของงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

ความเห็น

ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ผลการด�ำเนินงานและกระแสเงินสด ส�ำหรับปีสิ้นสุดวัน เดียวกันของ บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และเฉพาะของบริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) โดยถูก ต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

ประดิษฐ รอดลอยทุกข์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 218 บริษัท เอเอสที มาสเตอร์ จ�ำกัด วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2558

076

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


งบการเงิน

งบการเงิน บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี ้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงฐานะการเงิน งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

บาท งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

หมายเหตุ

2557

2556

7 8 9 10 6.2 11

83,433,808 879,313,478 98,899,876 1,158,460,753 143,692,755 70,025,039 4,052,431 2,437,878,140

38,796,378 34,000,000 829,928,558 79,361,469 648,371,875 8,846,261 5,420,049 1,644,724,590

28,831,781 821,519,762 61,319,706 1,021,026,683 1,158,314,439 42,291,143 3,050,233 3,136,353,747

35,113,913 819,071,033 23,147,679 37,225,800 648,371,875 8,815,430 5,085,428 1,576,831,158

12 13 14 15

146,529,866 390,420

146,278,546 19,440,000 -

144,000,000 119,150,000 -

145,027,545 19,440,000 52,750,000 -

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

16

2,103,025,124

1,368,705,096

1,220,245,069

1,310,733,647

สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน

17

39,245,502

1

1

1

สินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี

27

231,837

สินทรัพย์ สินทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี ้การค้ า ลูกหนี ้อื่น เงินให้ ก้ ยู ืมระยะสันแก่ ้ บริษัทย่อย สินค้ าคงเหลือ ต้ นทุนโครงการระหว่างพัฒนา ลูกหนี ้กรมสรรพากร สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน เงินฝากที่ติดภาระคํ ้าประกัน เงินลงทุนเผื่อขาย เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทร่วม

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

-

-

-

1,030,967

942,912

1,030,967

942,912

2,290,453,716 4,728,331,856

1,535,366,555 3,180,091,145

1,484,426,037 4,620,779,784

1,528,894,105 3,105,725,263

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

077

หน้า 4


งบการเงิน

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บาท งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

หมายเหตุ

2557

2556

18

3,032,611,000

1,299,636,292

3,023,687,582

1,299,636,292

151,721,465

296,826,403

126,679,790

293,947,159

19

55,563,327

88,324,875

57,652,413

87,442,320

20

66,380,000

66,000,000

66,380,000

66,000,000

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น เงินกู้ยืมระยะยาว ส่วนที่ครบกําหนดชําระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาวส่วนที่จัดเป็น หนี้สินหมุนเวียน

20

-

66,380,000

-

66,380,000

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ส่วนที่ครบกําหนดชําระภายในหนึ่งปี

21

17,062,597

20,413,998

-

-

6.2

10,000,000

350,000

-

-

812,044

2,033,720

404,016

750,743

3,334,150,433

1,839,965,288

3,274,803,801

1,814,156,514

เงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคลและ บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

21

91,350

17,673,291

หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

27

9,477,831

9,477,831

9,477,831

9,477,831

ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน

22

6,005,196

3,506,208

4,846,013

3,132,961

15,574,377

30,657,330

14,323,844

12,610,792

3,349,724,810

1,870,622,618

3,289,127,645

1,826,767,306

รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

-

-

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

078

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

หน้า 5


งบการเงิน

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี ้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บาท งบการเงินรวม หมายเหตุ หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น (ต่ อ) ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ทุนเรือนหุ้น- หุ้นสามัญ มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 800,000,000 หุ้น ทุนที่ออกและชําระแล้ ว หุ้นสามัญ 800,000,000 หุ้น ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ผลต่างจากการเปลี่ยนสัดส่วน เงินลงทุนในบริษัทย่อย กําไรสะสม จัดสรรเพื่อทุนสํารองตามกฎหมาย ที่ยงั ไม่ได้ จดั สรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น รวมส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้ เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น

2557

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

2556

23 800,000,000

800,000,000

800,000,000

800,000,000

800,000,000 380,845,258

800,000,000 380,845,258

800,000,000 380,845,258

800,000,000 380,845,258

14

(38,585,104)

24

13,788,260 107,225,354 32,665,724 1,295,939,491 82,667,555 1,378,607,046 4,728,331,856

26

-

-

11,628,533 62,043,785 28,411,698 1,282,929,274 26,539,253 1,309,468,527 3,180,091,145

13,788,260 99,107,295 37,911,326 1,331,652,139 1,331,652,139 4,620,779,784

11,628,533 58,072,468 28,411,698 1,278,957,957 1,278,957,957 3,105,725,263

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

079


งบการเงิน

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี ้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 สําหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บาท งบการเงินรวม หมายเหตุ รายได้ รายได้ จากการขายและให้ บริ การ รายได้ อ่นื รวมรายได้ ค่ าใช้ จ่าย ต้ นทุนขายและให้ บริ การ ค่าใช้ จ่ายในการขาย ค่าใช้ จา่ ยในการบริ หาร รวมค่าใช้ จ่าย กําไรก่ อนส่ วนแบ่ งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่ วม และต้ นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริ ษัทร่วม กําไรก่ อนต้ นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ ต้ นทุนทางการเงิน กําไรก่ อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กําไรสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กําไร(ขาดทุน)จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงค่างบการเงิน กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี การแบ่ งปั นกําไร(ขาดทุน) ส่วนที่เป็ นของบริ ษัทใหญ่ ส่วนที่เป็ นของส่วนได้ เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม การแบ่ งปั นกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็ นของบริ ษัทใหญ่ ส่วนที่เป็ นของส่วนได้ เสียที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม กําไรต่ อหุ้นขัน้ พืน้ ฐาน กําไรส่วนที่เป็ นของบริ ษัทใหญ่

15

22

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

2557

2556

4,112,983,576 43,161,189 4,156,144,765

4,813,437,482 22,838,597 4,836,276,079

4,040,806,250 69,804,891 4,110,611,141

4,800,879,392 22,580,642 4,823,460,034

3,876,876,238 58,703,812 103,069,800 4,038,649,850

4,514,607,603 65,711,012 75,726,505 4,656,045,120

3,870,309,335 66,619,491 57,771,848 3,994,700,674

4,513,215,395 79,545,717 61,322,116 4,654,083,228

117,494,915 (9,580) 117,485,335 (75,509,108) 41,976,227 (322,954) 41,653,273

180,230,959 180,230,959 (69,942,395) 110,288,564 (1,717,020) 108,571,544

115,910,467 115,910,467 (72,715,913) 43,194,554 43,194,554

169,376,806 169,376,806 (66,270,912) 103,105,894 103,105,894

9,499,628

(4,880,788)

9,499,628

(4,880,788)

(6,841,792) 2,657,836 44,311,109

(1,649,691) (6,530,479) 102,041,065

9,499,628 52,694,182

(1,637,787) (6,518,575) 96,587,319

47,341,296 (5,688,023) 41,653,273

105,166,386 3,405,158 108,571,544

43,194,554 43,194,554

103,105,894 103,105,894

51,595,322 (7,284,213) 44,311,109

98,635,907 3,405,158 102,041,065

52,694,182 52,694,182

96,587,319 96,587,319

0.06

0.13

0.05

0.13

หมายเหตุ นหนึ่งของงบการเงิ ่งของงบการเงิ หมายเหตุปประกอบงบการเงิ ระกอบงบการเงินนเป็เป็นนส่ส่ววนหนึ นนีน้ นี้

080

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

หน้า 7


-

380,845,258

เปลีย่ นสัดส่วน

ทุนสํารอง

-

-

-

2,159,727

-

11,628,533

11,628,533

-

-

5,300,170

-

6,328,363

(38,585,104) 13,788,260

-

(38,585,104)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

107,225,354

47,341,296

-

-

(2,159,727)

-

62,043,785

62,043,785

103,516,695

(80,000,000)

(5,300,170)

-

-

9,499,628

-

-

-

-

(9,499,628)

(9,499,628)

(4,880,788)

-

-

-

(4,618,840)

ของเงินลงทุนเผื่อขาย

จัดสรร 43,827,260

มูลค่ายุติธรรม

ผลต่างจากการเปลีย่ นแปลง

ที่ยงั ไม่ได้

กําไรสะสม รวม องค์ประกอบอื่น

ผลต่างของ อัตราแลกเปลีย่ น

37,911,326

-

-

-

-

-

37,911,326

37,911,326

-

-

-

-

37,911,326

(5,245,602)

(5,245,602)

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

32,665,724

4,254,026

-

-

-

-

28,411,698

28,411,698

(4,880,788)

-

-

-

33,292,486

- สุทธิจากภาษี จากการแปลงค่างบการเงิน ของส่วนของผู้ถือหุ้น

จากการตีราคาที่ดิน

ส่วนเกินทุน

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี ้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้นรวม สําหรั บปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557

เงินลงทุนในบริ ษัทย่อย ตามกฎหมาย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี ้

800,000,000

-

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

-

-

-

-

-

-

-

เงินลงทุนในบริ ษัทย่อย

ผลต่างจากการเปลี่ยนสัดส่วน

จัดสรรสํารองตามกฎหมาย (หมายเหตุ 24) เงินปั นผลจ่ายให้ กบั ส่วนได้ เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุ ควบคุม

-

380,845,258

800,000,000

-

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 การลงทุนในบริ ษัทย่อยโดย ส่วนได้ เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม

-

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

-

-

380,845,258

-

เงินปั นผลจ่าย (หมายเหตุ 25)

800,000,000

-

จัดสรรสํารองตามกฎหมาย (หมายเหตุ 24)

-

380,845,258

มูลค่าหุ้น

ส่วนเกิน

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

-

800,000,000

โดยส่วนได้ เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม

การลงทุนในบริ ษัทย่อย

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556

ทุนที่ออก และชําระแล้ ว

ผลต่างจากการ

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวม ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557

1,295,939,491

51,595,322

(38,585,104)

-

-

-

1,282,929,274

1,282,929,274

98,635,907

(80,000,000)

-

-

1,264,293,367

บริ ษัทใหญ่

ผู้ถือหุ้น

รวมส่วนของ

82,667,555

(7,284,213)

38,585,104

(4,800,000)

-

29,627,410

26,539,253

26,539,253

3,405,158

-

-

9,450,000

13,684,095

ส่วนได้ เสียที่ ไม่มีอํานาจ ควบคุม

หน้า 8

1,378,607,046

44,311,109

-

(4,800,000)

-

29,627,410

1,309,468,527

1,309,468,527

102,041,065

(80,000,000)

-

9,450,000

1,277,977,462

รวม

งบการเงิน

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

081


082

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

24

800,000,000

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

จัดสรรสํารองตามกฎหมาย 380,845,258

-

380,845,258

800,000,000

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557

380,845,258

-

-

380,845,258

800,000,000

24

จัดสรรสํารองตามกฎหมาย

-

800,000,000

ส่วนเกินมูลค่าหุ้น

13,788,260

2,159,727

11,628,533

11,628,533

5,300,170

-

6,328,363

ทุนสํารอง ตามกฎหมาย

บาท องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

43,194,554 99,107,295

(2,159,727)

58,072,468

101,468,107 58,072,468

(5,300,170)

(80,000,000)

41,904,531

9,499,628 -

-

(9,499,628)

(4,880,788) (9,499,628)

-

-

(4,618,840)

37,911,326

-

37,911,326

37,911,326

-

-

37,911,326

9,499,628 37,911,326

-

28,411,698

(4,880,788) 28,411,698

-

-

33,292,486

ผลต่างจากการเปลี่ยนแปลง ส่วนเกินทุน รวม มูลค่ายุติธรรม จากการตีราคาที่ดิน องค์ประกอบอื่น ที่ยงั ไม่ได้ จดั สรร ของเงินลงทุนเผื่อขาย - สุทธิจากภาษี ของส่วนของผู้ถือหุ้น

กําไรสะสม

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี ้ จํากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการ สําหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

25

เงินปั นผลจ่าย

ยอดคงเหลื อ ณบปรุ วันงที่ 1 มกราคม 2556 หลังการปรั

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 -

หมายเหตุ

ทุนที่ออกและ ชําระแล้ ว

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการ ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557

หน้า 9

52,694,182 1,331,652,139

-

1,278,957,957

96,587,319 1,278,957,957

-

(80,000,000)

1,262,370,638

รวม

งบการเงิน


งบการเงิน

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี ้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกระแสเงินสด งบกระแสเงินสด ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 สําหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557

บาท งบการเงินรวม 2557 2556 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับกระทบกําไรเป็ นเงินสดสุทธิได้ มาจาก(ใช้ ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน หนี ้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้ าคงเหลือ(กลับรายการ) ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจําหน่าย กําไรจากการจําหน่ายอุปกรณ์ ขาดทุนจากการตัดจําหน่ายสินทรัพย์ กําไรจากการจําหน่ายเงินลงทุนเผื่อขาย ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริ ษัทร่วม ผลประโยชน์พนักงาน รายได้ เงินปั นผล ค่าใช้ จา่ ยดอกเบี ้ย กําไรจากการดําเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี ้สินดําเนินงาน สินทรัพย์ดําเนินงานลดลง(เพิ่มขึ ้น) ลูกหนี ้การค้ า ลูกหนี ้อื่น สินค้ าคงเหลือ ต้ นทุนโครงการระหว่างพัฒนา ลูกหนี ้กรมสรรพากร สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หนี ้สินดําเนินงานเพิ่มขึ ้น(ลดลง) เจ้ าหนี ้การค้ า เจ้ าหนี ้อื่น หนี ้สินหมุนเวียนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน เงินสดรับ(จ่าย)จากกิจกรรมดําเนินงาน จ่ายดอกเบี ้ย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้ มาจาก(ใช้ ไปใน)กิจกรรมดําเนินงาน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

41,976,227

110,288,564

43,194,554

103,105,894

24,000,652 127,757,767 267,189 (1,722,427) (2,874,572) 9,580 2,498,988 75,509,108

28,000 (10,968,983) 124,578,974 1,613,284 (804,246) 1,738,904 256,418 855,391 69,942,395

24,000,652 108,627,336 (1,722,428) (2,874,572) 1,713,052 (3,200,000) 72,715,913

(10,968,983) 108,317,429 1,613,284 (804,246) 256,418 494,048 66,270,912

267,422,512

297,528,701

242,454,507

268,284,756

(49,384,920) (20,989,961) (534,089,530) (143,692,755) (61,178,778) 1,367,618 988,878

70,247,731 (17,610,102) 135,615,671 15,567,220 (207,479) 44,220

(2,448,729) (39,623,581) (533,943,216) (33,475,713) 2,035,195 94,811

80,572,960 35,893,541 135,615,671 15,598,051 150,702 44,220

(145,104,938) (29,987,128) (1,008,782) (715,657,784) (76,706,894) (1,669,699) (794,034,377)

(72,969,886) 26,709,940 597,343 (104,000) 455,419,359 (70,887,198) (1,167,046) 383,365,115

(167,267,369) (27,015,489) (346,726) (559,536,310) (73,888,778) (182,866) (633,607,954)

(73,579,220) 23,203,225 99,695 (104,000) 485,779,601 (67,215,715) (91,412) 418,472,474

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี ้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ หน้า 10 บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

083


งบการเงิน

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี ้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) งบกระแสเงินสด (ต่ อ) ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 สําหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557

บาท

งบการเงินรวม 2557 2556 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับ(จ่าย)เงินลงทุนชัว่ คราว เงินสดรับจากการจําหน่ายเงินลงทุนเผื่อขาย เงินสดจ่ายเพื่อซื ้อเงินลงทุนในบริ ษัทย่อย เงินสดจ่ายเพื่อซื ้อเงินลงทุนในบริ ษัทร่วม เงินฝากที่ติดภาระคํ ้าประกัน(เพิ่มขึ ้น)ลดลง เงินให้ ก้ ยู ืมระยะสันแก่ ้ บริ ษัทย่อยเพิ่มขึ ้น เงินสดจ่ายเพื่อซื ้ออาคารและอุปกรณ์ (ข้ อมูลกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิ่มเติม) เงินสดจ่ายเพื่อซื ้อสินทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินสดรับจากการจําหน่ายอุปกรณ์ เงินปั นผลรับจากบริ ษัทย่อย เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงินเพิ่มขึ ้น เงินสดจ่ายชําระเงินกู้ยมื ระยะยาว เงินสดจ่ายชําระหนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกู้ยืมระยะสันจากบุ ้ คคลและบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกันเพิ่มขึ ้น เงินสดจ่ายเงินปั นผล เงินสดจ่ายปั นผลให้ กบั ส่วนได้ เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม เงินลงทุนเพิ่มในบริ ษัทย่อยโดยส่วนได้ เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม เงินสดสุทธิได้ มาจาก(ใช้ ไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่ างจากการแปลงค่ างบการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิ่มขึน้ (ลดลง) - สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันต้ นปี เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันสิน้ ปี ข้ อมูลกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิ่มเติม เงินสดจ่ายเพื่อซื ้ออาคารและอุปกรณ์ อาคารและอุปกรณ์ที่ได้ มาระหว่างปี ปรับปรุง เจ้ าหนี ้ซื ้อทรัพย์สิน(เพิ่มขึ ้น)ลดลง เงินสดจ่ายเพื่อซื ้ออาคารและอุปกรณ์

31,814,200 (66,400,000) 1,027,545 (983,800,883)

215,254 (45,550,000) (40,658,572) (37,225,800)

(863,122,189) (42,442,002) (19,183,152) (39,512,690) 2,616,822 1,418,581 2,616,822 3,200,000 (834,855,177) (116,717,740) (1,030,725,468)

(42,214,043) 1,418,581 (164,014,580)

34,000,000 31,814,200 (400,000) (251,320) -

(34,000,000) 215,254 (41,909,573) -

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

1,732,974,708 (475,356,450) (66,000,000) (97,086,188) (21,083,342) (20,636,928) 9,650,000 350,000 (80,000,000) (4,800,000) 29,627,410 9,450,000 1,680,368,776 (663,279,566) (6,841,792) 44,637,430 (396,632,191)

1,724,051,290 (66,000,000) 1,658,051,290 (6,282,132)

(475,356,450) (97,086,188) (71,030) (80,000,000) (652,513,668) (398,055,774)

38,796,378 83,433,808

435,428,569 38,796,378

35,113,913 28,831,781

433,169,687 35,113,913

(862,972,189) (150,000) (863,122,189)

(32,155,149) (9,220,531) (41,375,680)

(19,033,152) (150,000) (19,183,152)

(32,025,300) (9,220,531) (41,245,831)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี ้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

084

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

หน้า 11


หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 1. ข้อมูลทั่วไป บริษัท เชาว์ สตีลอินดัสทรี้ จํากัด (มหาชน) เป็นบริษัทที่จดทะเบียนในประเทศไทย ดําเนินธุรกิจหลักในการผลิตและจําหน่ายเหล็กแท่ง ผู้ถือ หุ้นรายใหญ่ได้แก่ กลุ่มจิรธรรมศิริ ซึ่งถือหุ้นในอัตราร้อยละ 64 บริษัทจัดตั้งขึ้นและมีที่อยู่ตามที่จดทะเบียนไว้ ดังนี้ -

สํานักงานใหญ่ตั้งอยู่เลขที่ 209/1 อาคารเคทาวเวอร์ ชั้น 18 ยูนิต 3 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร สาขาที่ 1 ตัง้ อยู่เลขที่ 518/1 หมู่ที่ 9 ตําบลหนองกี่ อําเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี สาขาที่ 2 ตัง้ อยู่เลขที่ 518/3 หมู่ที่ 9 ตําบลหนองกี่ อําเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี

บริษัทได้จดทะเบียนเข้าเป็นบริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2554 โดยหลักทรัพย์ทําการซื้อขายใน ส่วนของตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ

2. เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใช้โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง งบการเงินได้จัดทําขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงินเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นใน นโยบายการบัญชี งบการเงินรวมของบริษัทประกอบด้วยงบการเงินของบริษัท เชาว์ สตีลอินดัสทรี้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และบริษัทร่วม (รวมกัน เรียกว่า “กลุ่มบริษัท”) รายละเอียดบริษัทย่อยและบริษัทร่วมของบริษัทมีดังนี้ ถือหุ้นในอัตราร้อยละ บริษทั ย่อยทีบ่ ริษัทฯถือหุน้ โดยตรง บริษัท เวอเทคโลจิสติคส์ เซอร์วิส จํากัด บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยจี่ ํากัด(“CE”) บริษัท เชาว์ อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด (“CI”) บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จํากัด (“PSCL”)

2557

2556

ประเภทกิจการ

40.0 76.67

40.0 -

-

83.0 81.0

ขนส่งสินค้า ลงทุนในธุรกิจการผลิต และจําหน่ายไฟฟ้า จากพลังงานประเภทต่างๆ ลงทุนในบริษัทอืน่ ที่ปรึกษาการลงทุนระหว่างประเทศ บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

085


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ถือหุ้นในอัตราร้อยละ 2557 2556 บริษทั ย่อยทีบ่ ริษัทฯถือหุน้ โดยอ้อม ถือหุน้ โดย CE บริษัท เชาว์ อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด (“CI”) บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จํากัด (“PSCL”) ถือหุน้ โดย PSCL บริษัท เออี โซลาร์ จํากัด (“AE”)

ประเภทกิจการ

100 100

-

ลงทุนในบริษัทอืน่ ที่ปรึกษาการลงทุนระหว่างประเทศ

100

-

ผลิตและจําหน่ายพลังงานไฟฟ้า

บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น เจแปน จํากัด(“PSJP”) บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น เยอรมัน จํากัด (“PSGM”) ถือหุน้ โดย PSJP บริษัท ซัน เอ็นเนอร์ยี่ จํากัด (“SUN”) บริษัท โซล เพาเวอร์ จํากัด(“SOL”) บริษทั ร่วม ถือหุน้ โดย CI บริษัท อาร์ไอซีไอ อินเตอร์เนชั่นแนล อินเวสต์เมนต์ จํากัด (“RICI”) ถือหุน้ โดย PSCL

100 100

-

ให้บริการก่อสร้างและวางระบบโรงไฟฟ้า การประกันภัยโครงการ

100 100

-

เพื่อรองรับการลงทุนโครงการโรงไฟฟ้า เพื่อรองรับการลงทุนโครงการโรงไฟฟ้า

40

-

ลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้า

บริษัท โอเวอร์ซี กรีน เอนเนอร์ยี่ จํากัด (“OGE”)

40

-

บริหารจัดการโครงการโรงไฟฟ้า

รายการบัญชีที่สําคัญระหว่างบริษัทและบริษัทย่อยที่รวมในงบการเงินรวมได้หักกลบลบกันแล้ว เพื่อความสะดวกของผู้ใช้งบการเงินจึงได้มีการแปลงบการเงินเป็นภาษาอังกฤษจากงบการเงินตามกฎหมายที่จัดทําเป็นภาษาไทย

3. มาตรฐานการบัญชีที่เริ่มมีผลบังคับใช้ในปีบัญชีปัจจุบัน สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชีและแนวปฏิบัติทาง บัญชี ซึ่งมีผลบังคับใช้สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 ดังต่อไปนี้ วันที่มีผลบังคับใช้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555)

086

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

การนําเสนองบการเงิน ภาษีเงินได้ สัญญาเช่า รายได้ การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินลงทุนในบริษัทร่วม ส่วนได้เสียในการร่วมค้า งบการเงินระหว่างกาล

1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557 1 มกราคม 2557


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

วันที่มีผลบังคับใช้ วันที่มีผลบังคับใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงิ ฉบับที่ 2(ปรับปรุง 2555) น การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ 1 มกราคม 2557 การจ่ายโดยใช้ ฉบับที่ 32(ปรั (ปรับบปรุ ปรุงง2555) 2555) การรวมธุ รกิจ หุ้นเป็นเกณฑ์ 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2555) รกิจนภัย 1 มกราคม 2557 สัการรวมธุ ญญาประกั 2559 ฉบับที่ 45 สัสิญ ญาประกั น ภั ย 1 มกราคม 2559 นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิก 2557 ฉบับที่ 58 (ปรับปรุง 2555) ทรัพย์ไาม่เนิ หมุนนงาน เวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิก ส่สิวนนงานดํ 1 มกราคม 2557 ฉบัคบวามมาตรฐานการบั ที่ 8 (ปรับปรุง 2555)ญชี ส่วนงานดําเนินงาน 1 มกราคม 2557 การตี การตี ญชี ฉบัคบวามมาตรฐานการบั ที่ 15 สัญญาเช่าดําเนินงาน - สิ่งจูงใจที่ให้แก่ผ้เู ช่า 1 มกราคม 2557 15 สัญญาเช่านดํเนื าเนิอ้ หาสั นงานญ-ญาเช่ สิ่งจูงาใจที ก่ผู้เช่ปา แบบกฎหมาย 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 27 การประเมิ ที่ทํา่ใขึห้​้นแตามรู ฉบับที่ 27 การประเมินเนือ้ หาสัญญาเช่าที่ทําขึ้นตามรูปแบบกฎหมาย 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 29 การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ 1 มกราคม 2557 29 มปทานบริการ ฉบับที่ 32 สิการเปิ นทรัพดย์เผยข้ ไม่มอีตมูัวลตนของข้ - ต้นอตกลงสั ทุนเว็บไซต์ 1 มกราคม 2557 ฉบัคบวามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ ที่ 32 สินทรันพย์ไม่มีตัวตน - ต้นทุนเว็บไซต์ 1 มกราคม 2557 การตี การตี น ่ ย นแปลงในหนี้ สิ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการรื้ อ ถอน การบู ร ณะ 1 มกราคม 2557 ฉบัคบวามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ ที่ 1 การเปลี ฉบับที่ 1 การเปลี ้ สิ นาทียคลึ ่ เ กิ ดงขึกั้ น จากการรื้ อ ถอน การบู ร ณะ 1 มกราคม 2557 และหนี่ ย้สนแปลงในหนี ินที่มีลักษณะคล้ และหนี้สนินว่าทีข้่มอีลตกลงประกอบด้ ักษณะคล้ายคลึวงยสั กันญญาเช่าหรือไม่ ฉบับที่ 4 การประเมิ 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 45 การประเมิ ว่าข้อเ สีตกลงประกอบด้ วยสัญ้ อญาเช่ หรือไม่ร ณะและการ 1 มกราคม 2557 สิ ท ธิ ใ นส่ วนนได้ ย จากกองทุ น การรื ถอนาการบู ฉบับที่ 5 สิ ทปรั ธิ ใบนส่ นได้ เ สี ย จากกองทุ ปรุวงสภาพแวดล้ อม น การรื้ อ ถอน การบู ร ณะและการ 1 มกราคม 2557 ปรับบปรุปรุงสภาพแวดล้ อม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 เรื่อง การ 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 7 การปรั งย้อนหลังภายใต้ ฉบับที่ 7 การปรั บปรุงย้อนหลันงในสภาพเศรษฐกิ ภายใต้มาตรฐานการบั ญชี ฉบั เรื่อง การ 1 มกราคม 2557 รายงานทางการเงิ จที่มีภาวะเงิ นเฟ้บอทีรุ่ 29 นแรง รายงานทางการเงิ นในสภาพเศรษฐกิ ฉบับที่ 10 งบการเงิ นระหว่างกาลและการด้ อยค่าจที่มีภาวะเงินเฟ้อรุนแรง 1 มกราคม 2557 10 างกาลและการด้ อยค่า 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 12 ข้งบการเงิ อตกลงสันมระหว่ ปทานบริ การ ฉบับที่ 12 ข้โปรแกรมสิ อตกลงสัมทปทานบริ การลูกค้า 13 ธิพิเศษแก่ 1 มกราคม 2557 13 โปรแกรมสิ 1 มกราคม 2557 ฉบับที่ 17 การจ่ ายสินททรัธิพิเย์ศษแก่ ที่ไม่ใช่ลเูกงิค้นาสดให้เจ้าของ ฉบับที่ 17 การจ่ ายสินทรัพย์จทากลู ี่ไม่ใช่กเค้งิานสดให้เจ้าของ 1 มกราคม 2557 18 การโอนสิ ฉบับที่ 18 การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า 1 มกราคม 2557 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชีและการตีความมาตรฐานรายงานทางการเงิน ญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น นการตี ข้มาตรฐานการบั างต้น ไม่มีผลกระทบอย่ างเป็นสาระสําคัญต่องบการเงิ นี้ ความมาตรฐานการบัญชีและการตีความมาตรฐานรายงานทางการเงิน ข้างต้น ไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสําคัญต่องบการเงินนี้

4. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่มีผลบังคับใช้ 4. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไม่มีผลบังคับใช้ การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงินการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความ การปรับปรุงมาตรฐานการบั ความ มาตรฐานการบั ญชีที่เกี่ยวข้องญซึชี่งยัมาตรฐานการรายงานทางการเงิ งไม่มีผลบังคับใช้ และกลุ่มบริษัทนยัการตี งไม่ไคด้วามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นํามาถือปฏิบัติ โดยมีผลบังคับใช้สําหรันและการตี บรอบระยะเวลา มาตรฐานการบั ญชีอทหลั ี่เกี่ยงวัวข้นอทีง่ 1มกราคม ซึ่งยังไม่มในปี ีผลบัดงังคัต่บอใช้ไปนีและกลุ ่มบริษัทยังไม่ได้นํามาถือปฏิบัติ โดยมีผลบังคับใช้สําหรับรอบระยะเวลา บัญชีที่เริ่มต้นในหรื ้ บัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1มกราคม ในปีดังต่อไปนี้ ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระสําคัญแต่ไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท มีดังต่อไปนี้ ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระสําคัญแต่ไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท มีดังต่อไปนี้ ข) ข) วันที่มีผลบังคับใช้ วันที่มีผลบังคับใช้ มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการบั ชี ง 2557) ฉบับที่ 1 (ปรับญปรุ การนําเสนองบการเงิน 1 มกราคม 2558 ฉบับที่ 119(ปรั การนํ าเสนองบการเงิ 1 มกราคม 2558 (ปรับบปรุปรุง ง2557) 2557) ผลประโยชน์ ของพนักนงาน ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) ผลประโยชน์ของพนักงาน 1 มกราคม 2558 บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

087


มาตรฐานการบั มาตรฐานการบัญญชีชีทที่เี่เกีกี่ย่ยวข้ วข้อองง ซึซึ่ง่งยัยังงไม่ ไม่มมีผีผลบั ลบังงคัคับบใช้ ใช้ และกลุ และกลุ่ม่มบริ บริษษัทัทยัยังงไม่ ไม่ไได้ด้นนําํามาถื มาถืออปฏิ ปฏิบบัตัติ ิ โดยมี โดยมีผผลบั ลบังงคัคับบใช้ ใช้สสําําหรั หรับบรอบระยะเวลา รอบระยะเวลา บับัญญชีชีทที่เี่เริริ่ม่มต้ต้นนในหรื ในหรืออหลั หลังงวัวันนทีที่ ่1มกราคม 1มกราคมในปี ในปีดดังังต่ต่ออไปนี ไปนี้ ้ หมายเหตุ น ก)ก) ประกอบงบการเงิ กลุ กลุ่ม่มมาตรฐานการรายงานทางการเงิ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นน ทีที่เ่เปลี ปลี่ย่ยนแปลงอย่ นแปลงอย่าางมี งมีสสาระสํ าระสําาคัคัญญแต่ แต่ไไม่ม่มมีผีผลกระทบต่ ลกระทบต่ออกลุ กลุ่ม่มบริ บริษษัทัทมีมีดดังังต่ต่ออไปนี ไปนี้ ้

ข)ข)

มาตรฐานการบั มาตรฐานการบัญญชีชี ฉบั ฉบับบทีที่ ่11(ปรั (ปรับบปรุ ปรุงง2557) 2557) การนํ การนําาเสนองบการเงิ เสนองบการเงินน ฉบั ฉบับบทีที่ ่19 19(ปรั (ปรับบปรุ ปรุงง2557) 2557) ผลประโยชน์ ผลประโยชน์ขของพนั องพนักกงาน งาน ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) งบการเงินเฉพาะกิจการ ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) เงินลงทุนในบริษัทร่วม และการร่วมค้า ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2557) งบการเงินระหว่างกาล มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 งบการเงินรวม ฉบับที่ 11 การร่วมการงาน ฉบับที่ 12 การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการอื่น ฉบับที่ 13 การวัดมูลค่ายุติธรรม การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14 ข้อจํากัดสินทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ ข้อกําหนดเงินทุน ขั้นต่ําและปฏิสัมพันธ์ของรายการเหล่านี้ สําหรับมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน

วัวันนทีที่ม่มีผีผลบั ลบังงคัคับบใช้ ใช้ 11มกราคม มกราคม 2558 2558 วั1น1ทีมกราคม ่มีผลบังคั2558 บใช้ มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานฉบับปรับปรุงนี้กําหนดให้กิจการต้องรับรู้รายการกําไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยทันทีใน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ในขณะที่มาตรฐานฉบับเดิมอนุญาตให้กิจการเลือกรับรู้รายการดังกล่าวทันทีในกําไรขาดทุน หรือในกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือทยอยรับรู้ในกําไรขาดทุนก็ได้ มาตรฐานฉบับปรับปรุงดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่องบการเงินนี้เนื่องจากกลุ่มบริษัทรับรู้รายการกําไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัยทันทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นอยู่แต่เดิมแล้ว มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 เรื่อง งบการเงินรวมและมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง งบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดทํางบการเงินรวม โดยใช้แทนเนื้อหาเกี่ยวกับการบัญชี สําหรับงบการเงินรวมที่เดิมกําหนดอยู่ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานฉบับ นี้เปลี่ยนแปลงหลักการเกี่ยวกับการพิจารณาว่าผู้ลงทุนมีอํานาจการควบคุมหรือไม่ กล่าวคือ ภายใต้มาตรฐานฉบับนี้ผู้ลงทุนจะถือว่า ตนควบคุมกิจการที่เข้าไปลงทุนได้ หากตนมีสิทธิได้รับหรือมีส่วนได้เสียในผลตอบแทนของกิจการที่เข้าไปลงทุน และตนสามารถใช้ อํานาจในการสั่งการกิจกรรมที่ส่งผลกระทบต่อจํานวนเงินผลตอบแทนนั้นได้ ถึงแม้ว่าตนจะมีสัดส่วนการถือหุ้นหรือสิทธิในการ ออกเสียงโดยรวมน้อยกว่ากึ่งหนึ่งก็ตาม การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญนี้ส่งผลให้ฝ่ายบริหารต้องใช้ดุลยพินิจอย่างมากในการทบทวนว่า บริษัทและบริษัทย่อยมีอํานาจควบคุมในกิจการที่เข้าไปลงทุนหรือไม่และจะต้องนําบริษัทใดในกลุ่มกิจการมาจัดทํางบการเงินรวมบ้าง ฝ่ายบริหารของบริษัทเชื่อว่ามาตรฐานฉบับดังกล่าวจะไม่มีผลกระทบต่องบการเงินของบริษัท มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 เรื่อง การร่วมการงาน และมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) เรื่องเงินลงทุนในบริษัทร่วมและการร่วมค้า มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 11ใช้แทนมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า ซึ่งได้ถูกยกเลิกไป มาตรฐานฉบับนี้กําหนดให้กิจการบันทึกเงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกันโดยใช้วิธีส่วนได้เสีย ในขณะที่มาตรฐานฉบับที่ 31 กําหนดให้กิจการสามารถเลือกนําเงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมร่วมกันมาจัดทํางบการเงินรวมโดยใช้วิธีรวมตามสัดส่วน หรือบันทึก เป็นเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียก็ได้ 088

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 เปลี่ยนชื่อมาตรฐานเป็นเรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม และการร่วมค้าและระบุให้นําวิธีส่วนได้เสียมาใช้ ปฏิบัติสําหรับเงินลงทุนในบริษัทร่วมและเงินลงทุนในการร่วมค้า ฝ่ายบริหารของบริษัทเชื่อว่ามาตรฐานดังกล่าวจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสําคัญต่องบการเงินของบริษัท มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการอื่น มาตรฐานฉบับนี้กําหนดเรื่องการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับส่วนได้เสียของกิจการในบริษัทย่อยการร่วมการงานบริษัทร่วม รวมถึง กิจการที่มีโครงสร้างเฉพาะตัว มาตรฐานฉบับนี้ไม่มีผลกระทบต่องบการเงินของบริษัทเนื่องจากบริษัทได้เปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ส่วนได้เสียของกิจการในบริษัทร่วมไว้แต่เดิมแล้วในหมายเหตุ 15 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 เรือ่ งการวัดมูลค่ายุติธรรม มาตรฐานฉบับนี้กําหนดแนวทางเกี่ยวกับการวัดมูลค่ายุติธรรมและการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวกับการวัดมูลค่ายุติธรรม กล่าวคือ หาก กิจการต้องวัดมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หรือหนี้สินใดตามข้อกําหนดของมาตรฐานที่เกี่ยวข้องอื่น กิจการจะต้องวัดมูลค่ายุติธรรม นั้นตามหลักการของมาตรฐานฉบับนี้และใช้วิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไปในการรับรู้ผลกระทบจากการเริ่มใช้มาตรฐานนี้ จากการประเมินเบื้องต้น ฝ่ายบริหารของบริษัทเชื่อว่ามาตรฐานข้างต้นจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสําคัญต่องบการเงินของ กลุ่มบริษัท ค) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เปลี่ยนแปลงอย่างไม่มีสาระสําคัญและไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท มีดังนี้

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2557)

วันที่มีผลบังคับใช้ กรอบแนวคิดสําหรับการรายงานทางการเงิน สินค้าคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและ ข้อผิดพลาด เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน สัญญาก่อสร้าง ภาษีเงินได้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สัญญาเช่า รายได้ การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูล เกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ ต้นทุนการกู้ยืม การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุนแรง กําไรต่อหุ้น การด้อยค่าของสินทรัพย์

1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

089


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 6 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557)

ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อ าจเกิด ขึ้น และสินทรั พย์ที่อ าจ เกิดขึ้น สินทรัพย์ไม่มีตัวตน อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ การรวมธุรกิจ สัญญาประกันภัย สิ น ทรั พ ย์ ไ ม่ ห มุ น เวี ย นที่ ถื อ ไว้ เ พื่ อ ขายและการดํ า เนิ น งานที่ ยกเลิก การสํารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ ส่วนงานดําเนินงาน

วันที่มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2559 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558 1 มกราคม 2558

ความช่วยเหลือจากรัฐบาล-กรณีทไี่ ม่มีความเกี่ยวข้องอย่าง 1 มกราคม 2558 เฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2557) สัญญาเช่าดําเนินงาน - สิ่งจูงใจที่ให้แก่ผู้เช่า 1 มกราคม 2558 ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2557) ภาษีเงินได้-การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการหรือ 1 มกราคม 2558 ของผู้ถอื หุ้น 1 มกราคม 2558 ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) การประเมินเนือ้ หาสัญญาเช่าที่ทําขึ้นตามรูปแบบกฎหมาย ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ 1 มกราคม 2558 ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2557) รายได้-รายการแลกเปลีย่ นเกี่ยวกับบริการโฆษณา 1 มกราคม 2558 ฉบับที่ 32 (ปรับปรุง 2557) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - ต้นทุนเว็บไซต์ 1 มกราคม 2558 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ 1 มกราคม 2558 และหนี้สินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2557) การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ 1 มกราคม 2558 ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557) สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะและการ 1 มกราคม 2558 ปรับปรุงสภาพแวดล้อม ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557) การปรับปรุงย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 เรื่อง 1 มกราคม 2558 การรายงานทางการเงิ นในสภาพเศรษฐกิ จที่ มี ภาวะเงิ นเฟ้ อ รุนแรง ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า 1 มกราคม 2558 ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) ข้อตกลงสัมปทานบริการ 1 มกราคม 2558 ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2557) โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า 1 มกราคม 2558 ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2557) สัญญาสําหรับการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ 1 มกราคม 2558 ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) การจ่ายสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ 1 มกราคม 2558 ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557) การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า 1 มกราคม 2558 ฉบับที่ 20 ต้นทุนการเปิดหน้าดินในช่วงการผลิตสําหรับเหมืองแบบเปิด 1 มกราคม 2558 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 กําหนดให้มีการพิจารณาว่าข้อตกลงเป็นหรือประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่โดย อ้างอิงจากเนื้อหาของข้อตกลง การตีความนี้กําหนดให้ประเมินว่าข้อตกลงเข้าเงื่อนไขต่อไปนี้หรือไม่ (1) การปฏิบัติตามข้อตกลงขึ้นอยู่ กับการใช้สินทรัพย์ที่เฉพาะเจาะจง และ (2) ข้อตกลงดังกล่าวเป็นการให้สิทธิในการใช้สินทรัพย์นั้น การตีความนี้ไม่มีผลกระทบต่อกลุ่ม บริษัท 090

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

5. นโยบายการบัญชีที่สําคัญ 5.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดเงินฝากธนาคารและเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูงซึ่งถึงกําหนดจ่าย คืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจํากัดในการเบิกใช้ เงินฝากสถาบันการเงินที่มีข้อจํากัดในการใช้ได้แสดงไว้แยกต่างหากในบัญชี “เงินฝากที่ติดภาระค้ําประกัน” ภายใต้สินทรัพย์ไม่ หมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงิน 5.2 เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนชั่วคราวประกอบด้วยเงินฝากประจําที่มีอายุมากกว่า 3 เดือนถึง 12 เดือน 5.3 ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้การค้าแสดงด้วยมูลค่าตามใบส่งสินค้า หักด้วยค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญซึ่งประมาณจากการตรวจสอบยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นปี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หมายถึง ผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีของลูกหนี้การค้าเปรียบเทียบกับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับจาก ลูกหนี้การค้า หนี้สูญที่เกิดขึ้นในระหว่างปีตัดเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อสามารถระบุได้ 5.4 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ํากว่า ราคาทุนของสินค้าสําเร็จรูปวัตถุดิบ อะไหล่ และวัสดุคํานวณโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนัก ต้นทุนของการซื้อประกอบด้วยราคาซื้อและค่าใช้จ่ายทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการซื้อ สินค้านั้น เช่นค่าอากรขาเข้าและค่าขนส่ง หักด้วยส่วนลดและเงินที่ได้รับคืนจากการซื้อ สินค้า ต้นทุนของสินค้าสําเร็จรูป ประกอบด้วยค่าวัตถุดิบ ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายอื่นทางตรง และค่าโสหุ้ยในการผลิตซึ่งปันส่วนตามเกณฑ์การดําเนินงาน ตามปกติ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับประมาณจากราคาที่คาดว่าจะขายได้ตามปกติของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จ่ายที่จําเป็นเพื่อให้สินค้า นั้นสําเร็จรูปและค่าใช้จ่ายในการขาย 5.5 เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทย่อย บริ ษั ท ย่ อ ยหมายถึ ง กิ จ การ(ซึ่ ง รวมถึ ง กิ จ การเฉพาะกิ จ ) ที่ ก ลุ่ ม บริ ษั ท มี อํ า นาจในการควบคุ ม นโยบายการเงิ น และการดําเนินงาน และโดยทั่วไปแล้วกลุ่มบริษัทจะถือหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่ง ในการประเมินว่ากลุ่มบริษัทมีการ ควบคุมบริษัทอื่นหรือไม่ กิจการต้องพิจารณาถึงการมีอยู่และผลกระทบจากสิทธิในการออกเสียงที่เป็นไปได้ที่กิจการสามารถใช้ สิทธิหรือแปลงสภาพตราสารนั้นในปัจจุบันรวมถึงสิทธิในการออกเสียงที่เป็นไปได้ซึ่งกิจการอื่นถืออยู่ด้วย กลุ่มบริษัทรวมงบ การเงินของบริษัทย่อยไว้ในงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่กลุ่มบริษัทมีอํานาจในการควบคุมบริษัทย่อย กลุ่มบริษัทจะไม่นํางบการเงิน ของบริษัทย่อยมารวมไว้ในงบการเงินรวมนับจากวันที่กลุ่มบริษัทสูญเสียอํานาจควบคุม กลุ่มบริษัทบันทึกบัญชีการรวมธุรกิจโดยใช้วิธีการซื้อ สิ่งตอบแทนที่โอนให้สําหรับการซื้อบริษัทย่อย ต้องวัดด้วยมูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์ที่ผู้ซื้อโอนให้และหนี้สินที่ก่อขึ้นและส่วนได้เสียในส่วนของผู้ถือหุ้นที่ออกโดยกลุ่มบริษัท รวมถึงมูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์ หรือหนี้สินที่คาดว่าจะต้องจ่ายชําระ ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น และวัดมูลค่าเริ่มแรก ของสินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นในการรวมธุรกิจด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ ในการรวม ธุรกิจแต่ละครั้ง กลุ่มบริษัทวัดมูลค่าของส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมในผู้ถูกซื้อด้วยมูลค่ายุติธรรม หรือ มูลค่าของสินทรัพย์ สุทธิที่ระบุได้ของผู้ถูกซื้อตามสัดส่วนของหุ้นที่ถือ บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

091


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

กรณีที่มูลค่าสิ่งตอบแทนที่โอนให้ และมูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมในผู้ถูกซื้อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้อธุรกิจของ ส่วนได้เสียในส่วนของผู้ถือหุ้นของผู้ถูกซื้อที่ผู้ซื้อถืออยู่ก่อนการวมธุรกิจ มากกว่ามูลค่าสุทธิ ณ วันที่ซื้อของสินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุ ได้และหนี้สินที่รับมา ผู้ซื้อต้องรับรู้ค่าความนิยม หากมูลค่าของมูลค่าสิ่งตอบแทนที่โอนให้ และมูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจ ควบคุมในผู้ถูกซื้อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้อธุรกิจของส่วนได้เสียในส่วนของผู้ถือหุ้นของผู้ถูกซื้อที่ผู้ซื้อถืออยู่ก่อนการรวมธุรกิจ น้อยกว่ามูลค่าราคายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยเนื่องจากมีการต่อรองราคาซื้อ จะรับรู้ส่วนต่างโดยตรงไปยังกําไร หรือขาดทุน กิจการจะตัดรายการบัญชีระหว่างกิจการ ยอดคงเหลือ และรายการกําไรหรือขาดทุนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงระหว่างกลุ่มบริษัท นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูกเปลี่ยนเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัท เงินลงทุนในบริษัทย่อยจะบันทึกบัญชีด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า ต้นทุนจะมีการปรับเพื่อสะท้อนการเปลี่ยนแปลงสิ่งตอบ แทนที่เกิดขึ้นจากสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ ต้นทุนนั้นจะรวมส่วนแบ่งต้นทุนทางตรง รายการและส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม กลุ่มบริษัทปฏิบัติต่อรายการกับส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมเช่นเดียวกันกับส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นกลุ่มบริษัท สําหรับการซื้อ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนที่จ่ายให้และมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์สุทธิของหุ้นที่ซื้อมาใน บริษัทย่อยจะถูกบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น และกําไรหรือขาดทุนจากการขายในส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมจะถูกบันทึกใน ส่วนของผู้ถือหุ้น เมื่อกลุ่มบริษัทสูญเสียการควบคุมหรือมีอิทธิพลมีนัยสําคัญ ส่วนได้เสียในหุ้นที่เหลืออยู่จะวัดมูลค่าใหม่โดยใช้ราคายุติธรรม การ เปลี่ยนแปลงในมูลค่าจะรับรู้ในกําไรหรือขาดทุน มูลค่ายุติธรรมนั้นจะถือเป็นมูลค่าตามบัญชีเริ่มแรกของมูลค่าของเงินลงทุนที่ เหลือของบริษัทร่วม กิจการร่วมค้า หรือสินทรัพย์ทางการเงิน สําหรับทุกจํานวนที่เคยรับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นจะถูกจัด ประเภทใหม่เป็นกําไรหรือขาดทุนเสมือนมีการขายสินทรัพย์หรือหนี้สินที่เกี่ยวข้อง ถ้าส่วนได้เสียของเจ้าของในบริษัทร่วมนั้นลดลงแต่ยังคงมีอิทธิพลอย่างมีนัยสําคัญ กิจการต้องจัดประเภทรายการที่เคยรับรู้ใน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเข้ากําไรหรือขาดทุนเฉพาะสัดส่วนในส่วนได้เสียของเจ้าของที่ลดลง บริษัทร่วม บริษัทร่วมเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสําคัญแต่ไม่ถึงกับควบคุมซึ่งโดยทั่วไปก็คือการที่กลุ่มบริษัทถือหุ้น ที่มี สิทธิออกเสียงอยู่ระหว่างร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 50 ของสิทธิออกเสียงทั้งหมด เงินลงทุนในบริษัทร่วมรับรู้เริ่มแรกด้วยราคาทุนและ ใช้วิธีส่วนได้เสียในการแสดงในงบการเงินรวม กลุ่มบริษัทรับรู้เงินลงทุนในบริษัทร่วมซึ่งได้รวมค่าความนิยมที่ระบุไว้เมื่อได้มา สุทธิจากค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม ส่วนแบ่งกําไรหรือขาดทุนของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วมที่เกิดขึ้นภายหลังการได้มาจะรวมไว้ในกําไรหรือขาดทุน และส่วนแบ่งใน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ที่เกิดขึ้นภายหลังการได้มาจะรวมไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงภายหลัง การได้มาดังกล่าวข้างต้น จะปรับปรุงกับราคาตามบัญชีของเงินลงทุน เมื่อส่วนแบ่งขาดทุนของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วมมีมูลค่า เท่ากับหรือเกินกว่ามูลค่าส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วมนั้น กลุ่มบริษัทจะไม่รับรู้ส่วนแบ่งขาดทุนอีกต่อไป เว้นแต่กลุ่ม บริษัทมีภาระผูกพันในหนี้ของบริษัทร่วมหรือรับว่าจะจ่ายหนี้แทนบริษัทร่วม รายการกําไรที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงระหว่างกลุ่มบริษัทกับบริษัทร่วมจะตัดบัญชีเท่าที่กลุ่มบริษัทมีส่วนได้เสียในบริษัทร่วมนั้น รายการขาดทุนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงก็จะตัดบัญชีในทํานองเดียวกัน เว้นแต่รายการนั้นมีหลักฐานว่าสินทรัพย์ที่โอนระหว่างกัน เกิดการด้อยค่า 092

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัทร่วมจะเปลี่ยนนโยบายการบัญชีเท่าที่จําเป็นเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัท กําไรและขาดทุนเงิน ลงทุนจากการลดสัดส่วนในบริษัทร่วมจะรับรู้ในกําไรหรือขาดทุน เงินลงทุนในบริษัทร่วมแสดงในงบการเงินเฉพาะกิจการโดยใช้วิธีราคาทุน 5.6 เงินลงทุนเผื่อขาย เงิ น ลงทุ น เผื่ อ ขาย คื อ เงิ น ลงทุ น ที่จ ะถื อ ไว้ โ ดยไม่ ระบุ ช่ ว งเวลาและอาจขายเพื่ อ เสริม สภาพคล่ อ งหรื อ เมื่ อ อั ต ราดอกเบี้ ย เปลี่ยนแปลง ได้แสดงรวมไว้ในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่กรณีที่ฝ่ายบริหารแสดงเจตจํานงที่จะถือไว้ในช่วงเวลาน้อยกว่า 12 เดือนนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ก็จะแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน หรือเว้นแต่กรณีที่ฝ่ายบริหารมีความจําเป็น ที่ต้องขายเพื่อเพิ่มเงินทุนดําเนินงาน จึงจะแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน เงินลงทุนเผื่อขายรับรู้มูลค่าเริ่มแรกด้วยราคาทุน ซึ่งหมายถึงมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ให้ไปเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินลงทุนนั้น รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการทํารายการ และวัดมูลค่าในเวลาต่อมาด้วยมูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนวัดตามราคาเสนอ ซื้อล่าสุดที่อ้างอิงจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ณ วันทําการสุดท้ายของวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน รายการกําไรและ ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงของเงินลงทุนเผื่อขายรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัทจะทดสอบค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าเงินลงทุนนั้นอาจมีค่าเผื่อการด้อยค่าเกิดขึ้น หากราคาตาม บัญชีของเงินลงทุนสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน บริษัทจะบันทึกรายการขาดทุนจากค่าเผื่อการด้อยค่ารวมไว้ในงบกําไร ขาดทุน ในการจําหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมของผลตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการจําหน่ายเมื่อเปรียบเทียบกับราคา ตามบัญชีของเงินลงทุนนั้นจะบันทึกรวมอยู่ในกําไรหรือขาดทุน กรณีที่จําหน่ายเงินลงทุนที่ถือไว้ในตราสารหนี้หรือตราสารทุนชนิด เดียวกันออกไปบางส่วน ราคาตามบัญชีของเงินลงทุนที่จําหน่ายจะกําหนดโดยใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนักด้วยราคาตามบัญชีจาก จํานวนทั้งหมดที่ถือไว้ 5.7 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดินรับรู้เมื่อเริ่มแรกตามราคาทุน ที่ดินแสดงมูลค่าภายหลังด้วยมูลค่าที่ประเมินใหม่หักด้วยค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม(ถ้ามี) การตีราคาที่ดินใหม่ทําให้มูลค่าตามบัญชีที่เพิ่มขึ้นจะรับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นและจะแสดงอยู่ในส่วนเกินทุนจากการตี ราคาสินทรัพย์ในส่วนของผู้ถือหุ้น และหากมูลค่าของส่วนที่เคยมีการตีราคาเพิ่มนั้นลดลงกิจการต้องนําส่วนที่ลดลงจากการตี ราคาใหม่ไปรับรู้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และลดส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ข้างต้นที่อยู่ในส่วนของผู้ถือหุ้นลดลง ตามไปด้วย ส่วนที่ลดลงที่เหลือจะบันทึกไปยังกําไรหรือขาดทุนในแต่ละปีผลต่างระหว่างวิธีคิดค่าเสื่อมราคาที่คํานวณจาก มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ที่ตีราคาใหม่ที่บันทึกไปยังกําไรหรือขาดทุนกับค่าเสื่อมราคาที่คํานวณจากราคาทุนเดิมของ สินทรัพย์ จะถูกโอนจากส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ไปยังกําไรสะสม ส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ รับรู้เมื่อเริ่มแรกตามราคาทุน สินทรัพย์ทุกประเภทแสดงด้วยราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคา สะสม

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

093


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ค่าเสื่อมราคาคํานวณโดยวิธีเส้นตรง เพื่อลดราคาตามบัญชีของสินทรัพย์แต่ละชนิดตลอดประมาณการอายุการให้ประโยชน์ ของสินทรัพย์ดังต่อไปนี้ ส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารและงานระบบ แผงเซลล์แสงอาทิตย์ เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า เครื่องจักรและเครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องตกแต่งและเครื่องใช้สํานักงาน ยานพาหนะ

10 5 - 20 10 - 25 10 5 - 20 5 5

ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี

บริษัทมีการทบทวนมูลค่าคงเหลือ อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ และวิธีการคิดค่าเสื่อมราคาอย่างสม่ําเสมอ ในกรณีที่ราคาตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนซึ่งคํานวณจากมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะเกิดใน อนาคตจากการใช้สินทรัพย์อย่างต่อเนื่อง หรือจํานวนที่จะได้รับจากการจําหน่ายสินทรัพย์หักด้วยต้นทุนจากการจําหน่าย สินทรัพย์นั้นแล้วแต่จํานวนใดจะสูงกว่า ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน การซ่อมแซมและบํารุงรักษา จะรับรู้ในกําไรหรือขาดทุนในระหว่างปีบัญชีที่เกิดรายการขึ้น ต้นทุนของการปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่าง สําคัญจะถูกรวมไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์เมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตที่จะไหล เข้าสู่บริษัทจะมีมูลค่าสูงเกินกว่ามาตรฐานการใช้ประโยชน์เดิมของสินทรัพย์ที่มีไว้ตั้งแต่ต้นเมื่อได้มาซึ่งสินทรัพย์ที่มีอยู่ใน ปัจจุบัน การปรับปรุงหลักจะถูกตัดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการให้ประโยชน์ที่เหลืออยู่ของสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง งานระหว่างก่อสร้างและเครื่องจักรระหว่างติดตั้งแสดงในราคาทุนโดยที่ยังไม่มีการตัดค่าเสื่อมราคาจนกระทั่งสินทรัพย์นั้นจะ แล้วเสร็จและพร้อมที่จะใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ กํา ไรขาดทุน จากการขายอาคาร และอุป กรณ์ กํา หนดขึ้น จากราคาตามบัญ ชี และได้ร วมอยู่ใ นการคํ านวณกํ าไรจากการ ดําเนินงาน ในการจําหน่ายที่ดินที่มีการตีราคาใหม่ ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์จะโอนไปยังกําไรสะสม 5.8 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน โปรแกรมคอมพิวเตอร์แสดงตามราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสม บริษัทตัดจําหน่ายโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยวิธีเส้นตรงตาม อายุการใช้งานของสินทรัพย์เป็นระยะเวลา 5 ปี ใบอนุญาตแสดงตามราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสม บริษัทตัดจําหน่ายใบอนุญาตตามอายุของใบอนุญาตเป็นระยะเวลา 25 ปี

094

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

5.9 การด้อยค่าของสินทรัพย์ กลุ่มบริษัทได้สอบทานการด้อยค่าของสินทรัพย์เมื่อมีข้อบ่งชี้ว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์อาจจะไม่ได้รับคืนหรือเมื่อมูลค่า ตามบัญชีของสินทรัพย์เกินกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน(ราคาขายสุทธิหรือมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์นั้นแล้วแต่ราคาใด จะสูงกว่า) โดยที่การประเมินจะพิจารณาสินทรัพย์แต่ละรายการหรือพิจารณาจากหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดแล้วแต่กรณี ในกรณีที่มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์เกินกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนและบริษัทได้รับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในงบ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษัทจะบันทึกกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่รับรู้ในงวดก่อนๆโดยบันทึกเป็น รายได้อื่นเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่ารายการขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์หมดไปหรือยังคงมีอยู่แต่เป็นไปในทางที่ลดลง 5.10 การบัญชีสัญญาเช่าระยะยาว - กรณีที่บริษัทเป็นผู้เช่า สัญญาเช่าทรัพย์สินที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กับผู้เช่าถือเป็นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่า หรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิของจํานวนเงินที่ ต้องจ่ายตามสัญญาเช่า แล้วแต่มูลค่าใดจะต่ํากว่า โดยจํานวนเงินที่ต้องจ่ายจะปันส่วนระหว่างหนี้สินและค่าใช้จ่ายทางการเงิน เพื่อให้ได้อัตราดอกเบี้ยคงที่ต่อหนี้สินคงค้างอยู่โดยพิจารณาแยกแต่ละสัญญาภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทาง การเงินจะบันทึกเป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในงบกําไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ได้มาตาม สัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่า สัญญาระยะยาวเพื่อเช่าสินทรัพย์โดยที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ตกอยู่กับผู้ให้เช่าจะจัดเป็น สัญญาเช่าดําเนินงาน เงินที่ต้องจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดําเนินงาน (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้รับจากผู้ให้เช่า) จะบันทึกในงบ กําไรขาดทุนโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั้น 5.11 ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน บริษัทรับรู้ เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษัทและพนักงานของบริษัทได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมและเงินที่บริษัท จ่ายสมทบให้เป็นรายเดือน สินทรัพย์ของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพได้แยกออกจากสินทรัพย์ของบริษัท เงินที่บริษัทจ่ายสมทบ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในปีที่เกิดรายการ โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน บริษัทมีภาระสําหรับเงินชดเชยที่ต้องจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึ่งบริษัทถือว่าเงินชดเชย ดังกล่าวเป็นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานสําหรับพนักงาน บริ ษั ทคํ านวณหนี้ สิ นตามโครงการผลประโยชน์ หลั งออกจากงานของพนั กงานโดยใช้ วิ ธี คิ ดลดแต่ ละหน่ วยที่ ประมาณการไว้ (ProjectedUnitCreditMethod) โดยผู้เชี่ยวชาญอิสระได้ทําการประเมินภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

095


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ผลกําไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย (Actuarial gains and losses) สําหรับโครงการ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรู้ทันทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หนี้สินของโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน ประกอบด้วย มูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันตามโครงการ ผลประโยชน์ หักด้วย ต้นทุนบริการในอดีตที่ยังไม่ได้รับรู้ และผลกําไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยที่ยังไม่ได้รับรู้ 5.12 ประมาณการหนี้สิน กลุ่มบริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สินเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ของภาระผูกพันในปัจจุบันตามกฎหมายหรือจากการ อนุมานอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ในอดีต ภาระผูกพันดังกล่าวคาดว่าจะส่งผลให้ต้องเกิดการไหลออกของทรัพยากร เพื่อ จ่ายชําระภาระผูกพันและจํานวนที่ต้องจ่ายสามารถประมาณการได้อย่างน่าเชื่อถือ รายจ่ายที่จะได้รับคืนบันทึกเป็น สินทรัพย์แยกต่างหากก็ต่อเมื่อการได้รับคืนคาดว่าจะได้รับอย่างแน่นอนเมื่อได้จ่ายชําระประมาณการหนี้สินไปแล้ว 5.13 การรับรู้รายได้ รายได้จากการขายประกอบด้วยมูลค่าตามใบส่งสินค้าสุทธิจากภาษีขาย รับคืนและส่วนลด รายได้จากการขายสินค้าบริษัทรับรู้ เมื่อความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เป็นสาระสําคัญของความเป็นเจ้าของสินค้าได้โอนไปยังผู้ซื้อแล้ว รายได้จากการบริการรับรู้เมื่อการให้บริการแล้วเสร็จ รายได้อื่นรับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง 5.14 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ปัจจุบัน บริษัทบันทึกภาษีเงินได้ปัจจุบันตามจํานวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กับหน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยคํานวณจากกําไรทางภาษี ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริษัทบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชั่วคราวระหว่างราคาตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้องนั้น โดยใช้อัตราภาษีที่มีผลบังคับใช้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลา รายงาน บริษัทรับรู้หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชั่วคราวที่ต้องเสียภาษีทุกรายการ แต่รับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการ ตัดบัญชีสําหรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษี รวมทั้งผลขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้ในจํานวนเท่าที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้าง แน่ที่บริษัทจะมีกําไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ ยังไม่ได้ใช้นั้น บริษัทจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทุกสิ้นรอบระยะเวลารายงานและจะทําการปรับลด มูลค่าตามบัญชีดังกล่าวหากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษัทจะไม่มีกําไรทางภาษีเพียงพอต่อการนําสินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีทั้งหมดหรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์

096

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัทจะบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้นหากภาษีที่เกิดขึ้นเกี่ยวข้องกับรายการที่ได้บันทึกโดยตรง ไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น 5.15 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ บริษัทแปลงค่ารายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศให้เป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการ และแปลงค่าสินทรัพย์ และหนี้สินที่เป็นตัวเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงินให้เป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบ แสดงฐานะการเงิน รายการกําไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากรับหรือจ่ายชําระที่เป็นเงินตราต่างประเทศและที่เกิดการแปลงค่า สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินดังกล่าว ได้บันทึกทันทีในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 5.16 การแปลงค่างบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ งบการเงินของบริษัทย่อยในต่างประเทศที่นํามาจัดทํางบการเงินได้จัดทําขึ้นโดยใช้สกุลเงินเยนซึ่งเป็นหน่วยเงินตราซึ่งใช้ในการ ดําเนินงาน การแปลงค่าผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของบริษัทในกลุ่มบริษัท (ที่มิใช่สกุลเงินของเศรษฐกิจที่มีภาวะเงินเฟ้อ รุนแรง) ซึ่งมีสกุลเงินที่ใช้ในการดําเนินงานแตกต่างจากสกุลเงินที่ใช้นําเสนองบการเงินได้ถูกแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้นําเสนองบ การเงินดังนี้   

สินทรัพย์และหนีส้ ินที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงินแต่ละงวดแปลงค่าด้วยอัตราปิด ณ วันที่ของแต่ละงบแสดงฐานะ การเงินนั้น รายได้และค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ แปลงค่าด้วยอัตราถัวเฉลี่ย และ ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมดรับรู้ในองค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถอื หุ้น

5.17 กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไรสําหรับปีที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญด้วยจํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนักที่ ออกในระหว่างปี 5.18 เครื่องมือทางการเงิน สินทรัพย์ทางการเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินประกอบด้วยเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดและลูกหนี้การค้า หนี้สินทาง การเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน ประกอบด้วย เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืม และเจ้าหนี้อื่น ซึ่งนโยบายการบัญชีเฉพาะสําหรับ รายการแต่ละรายการได้เปิดเผยแยกไว้ในแต่ละหัวข้อที่เกี่ยวข้อง 5.19 การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝ่ายบริหารจําเป็นต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการในเรื่องที่ มีความไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี้ส่งผลกระทบต่อจํานวนเงินที่แสดงในงบการเงินและ ต่อข้อมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากจํานวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลย พินิจและการประมาณการที่สําคัญมีดังนี้ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กลุ่มบริษัทใช้หลักเกณฑ์การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้ประกอบกับการประเมินสถานภาพทางการเงินปัจจุบันของลูกหนีเ้ ป็นเกณฑ์ ในการพิจารณาการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยมีการกําหนดช่วงอายุลูกหนี้และสถานภาพของลูกหนี้ไว้เป็นเกณฑ์ในการตั้งค่า เผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ที่มีอายุหนี้ค้างชําระ

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

097


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าคงเหลือ กลุ่มบริษัทพิจารณาค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้าจากราคาที่คาดว่าจะขายได้ตามปกติของธุรกิจและตามสภาพปัจจุบันของสินค้า คงเหลือเป็นเกณฑ์มูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับหมายถึง มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับจากการขาย หักด้วยต้นทุนส่วนเพิ่มจากการทําต่อ เพื่อให้สินค้านั้นสําเร็จรูป หรือค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการทําให้สินค้านั้นพร้อมขายได้ในราคาที่คาดว่าจะได้รับ ที่ดินอาคารและอุปกรณ์และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ในการคํานวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ฝ่ายบริหารจําเป็นต้องทําการประมาณอายุการให้ประโยชน์และมูลค่า คงเหลื อ เมื่ อ เลิ ก ใช้ ง านของอาคารและอุ ป กรณ์ แ ละต้ อ งทบทวนอายุ ก ารให้ ป ระโยชน์ แ ละมู ล ค่ า คงเหลื อ ใหม่ ห ากมี ก าร เปลี่ยนแปลงเช่นนั้นเกิดขึ้น นอกจากนี้ฝ่ายบริหารจําเป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดินอาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการ ด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต่ํากว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้นในการนี้ฝ่ายบริหารจําเป็นต้องใช้ดุลยพินิจที่ เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น สัญญาเช่า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าดําเนินงานหรือสัญญาเช่าการเงินฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการ ประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่าบริษัทฯได้โอนหรือรับโอนความเสี่ยงและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ที่ เช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนี้สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานประมาณขึ้นตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยซึ่งต้องอาศัยข้อ สมมติฐานต่างๆในการประมาณการนั้น เช่นอัตราคิดลดอัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคตอัตรามรณะ และอัตราการเปลี่ยนแปลง ในจํานวนพนักงานเป็นต้น 5.20 บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทหมายถึงบุคคลหรือกิจการที่มีอํานาจควบคุมบริษัท ถูกควบคุมโดยบริษัทไม่ว่าจะเป็น โดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัท รวมถึงบริษัทที่ทําหน้าที่ถือหุ้นบริษัทย่อย และกิจการที่ เป็นบริษัทย่อยในเครือเดียวกัน นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลซึ่งถือหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมและมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสําคัญกับบริษัทผู้บริหารสําคัญ กรรมการหรือพนักงานของ บริษัท ตลอดทั้งสมาชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลดังกล่าว และกิจการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลเหล่านั้น ในการพิ จ ารณาความสั ม พั นธ์ ร ะหว่ างบุ ค คลหรือ กิ จ การที่ เ กี่ ย วข้อ งกั น กั บ บริ ษั ท แต่ ล ะรายการบริ ษั ท คํา นึ ง ถึ ง เนื้ อ หาของ ความสัมพันธ์มากกว่ารูปแบบทางกฎหมาย

098

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

6. รายการกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 6.1 ลักษณะความสัมพันธ์และนโยบายในการกําหนดราคา ลักษณะความสัมพันธ์และนโยบายในการกําหนดราคาระหว่างบริษัทกับบริษัทย่อย บุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกันมีดังนี้ ลักษณะความสัมพันธ์ บริษัทย่อย บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่จํากัด บริษัท เวอเทคโลจิสติคส์เซอร์วิส จํากัด

บริษัทถือหุ้นร้อยละ76.67และกรรมการร่วมกัน บริษัทถือหุ้นร้อยละ 40 และกรรมการร่วมกัน

บริษัท เชาว์ อินเตอร์เนชั่นแนลจํากัด

ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน

บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จํากัด

ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน

บริษัท เออี โซลาร์ จํากัด

ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน

บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น เจแปน จํากัด

ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน

บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น เยอรมัน จํากัด

ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน

บริษัท ซัน เอ็นเนอร์ยี่ จํากัด

ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน

บริษัท โซล เพาเวอร์ จํากัด

ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน

บริษัทร่วม บริษัท โอเวอร์ซี กรีน เอนเนอร์ยี่ จํากัด

ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน

บริษัท อาร์ไอซีไอ อินเตอร์เนชั่นแนล อินเวสต์เมนต์ จํากัด บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

ถือหุ้นโดยบริษัทย่อยและกรรมการร่วมกัน

บริษัท สํานักกฎหมาย ลิ่วมโนมนต์ อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด บริษัท ศรีธนเทพ จํากัด บุคคลทีเ่ กี่ยวข้องกัน นายอนาวิล จิรธรรมศิริ นายธนชาต เผ่าพงษ์ไพบูลย์

เงินให้กู้ยืม เงินกู้ยืม จําหน่ายทรัพย์สนิ รายได้ค่าเช่า ค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายในการบริหาร การค้ําประกัน

กรรมการร่วมกัน กรรมการร่วมกัน ผู้ถือหุ้นและกรรมการ ผู้ถือหุ้นและกรรมการของบริษัทย่อย นโยบายราคา อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 12 ต่อปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 12 ต่อปี ราคาเทียบเคียงราคาตลาด ราคาที่ตกลงร่วมกันตามสัญญา ราคาที่ตกลงร่วมกันตามสัญญา ราคาที่ตกลงร่วมกันตามสัญญา ไม่คิดค่าธรรมเนียม บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

099


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

6.2 6.2 ยอดคงเหลือระหว่างบริษัทกับบริษัทย่อยบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ยอดคงเหลือระหว ระหว่างบริษัทกับบริษัทยย่อย บุคคลและบริษัทเกีย่ วข วข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ2556 มีดังนี้ บาท งบการเงินรวม ลูกหนี้อื่น ((หมายเหตุ 10) 10) บริษัทยย่อย เงินให้กู้ยืมระยะสั้น บริษัทยย่อย ยอดคงเหลือ ณ วันตต้นปี บวก เพิม่ ขึน้ ระหว ระหว่างปี ลดลงระหว่างปี หัก ลดลงระหว ยอดคงเหลือ ณ วันสิน้ ปี เจ้าหนีอ้ ื่น ((หมายเหตุ 19) 19) บริษัทยย่อย วข้องกัน บริษัททีเ่ กีย่ วข รวม เงินกู้ยืมระยะสั้น บริษัทยย่อย ยอดคงเหลือ ณ วันตต้นปี ระหว่างปี บวก เพิม่ ขึน้ ระหว ลดลงระหว่างปี หัก ลดลงระหว ยอดคงเหลือ ณ วันสิน้ ปี วข้องกัน บริษัททีเ่ กีย่ วข ยอดคงเหลือ ณ วันตต้นปี ระหว่างปี บวก เพิม่ ขึน้ ระหว ยอดคงเหลือ ณ วันสิน้ ปี วข้องกัน บุคคลทีเ่ กีย่ วข ยอดคงเหลือ ณ วันตต้นปี ระหว่างปี บวก เพิม่ ขึน้ ระหว ลดลงระหว่างปี หัก ลดลงระหว ยอดคงเหลือ ณ วันสิน้ ปี รวมทั้งสิ้น หนี้สินหมุนเวียนอื่น บริษัทยย่อย ขายสินทรัพย์ บริษัทยย่อย 100

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

2557

2556

-

-

34,327,260

644,703

-

-

37,225,800 1,177,547,745 (193,746,862) 1,021,026,683

37,225,800 37,225,800

-

-

778,175 10,500 788,675

1,676,159 1,676,159

-

10,370,816 (10,370,816) -

395,158 395,158

-

-

10,000,000 10,000,000

-

-

-

350,000

-

-

-

(350,000) 10,000,000

350,000 350,000 350,000

-

-

-

-

108,560 -

63,560 24,800


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

6.3 รายได้และค่าใช้6.3 จ่ายระหว่ รายได้ างบริ และค่ ษัทากัใช้บจบริ่ายระหว่ ษัทที่เกีา่ยงบริ วข้อษงกั ัทกันบบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 6.3 รายได้แและค ละค่าาใชใช้จจา่ายระหว ยระหว่ารายได้ างบริ งบริษษแัทละค่ ัทกักับบบริ าบริ ใช้ษษจัทัท่าทียระหว่ ทีเกี่เกีย่ยวขวข้าองบริ องกังกันษนสํัทสํากัาหรับหรับริ นทีทีอ31 ่ งกั 31ธันธันสํนวาคม าวาคม หรับ2557และ ปี2557และ สิ้นสุดวัน2556มี ที2556มี ่ 31 ธัดนดังวาคม ังนีนี ้ 2557และ 2556มีดังนี้ รายได บบปีปีษสสัทินิ้นทีสุสุ่เดกีดวั่ยวันวข้ บาท บาท บาท งบการเงินนรวม รวม งบการเงินรวมงบการเงิ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ การงบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ 2557 2556 2557 2557 2556 2556 2557 2556 2556 2557 2556 2557 รายได้ค่าเช่า รายได้ค่าเช่า -บริษัทย่อย บริบริษษัทัทยย่ออยย ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับ -บริษัทย่อย บริบริษษัทัทยย่ออยย ค่าขนส่ง ค่าขนส่ง -บริษัทย่อย บริบริษษัทัทยย่ออยย ค่าที่ปรึกษาทางกฏหมาย ค่าที่ปรึกษาทางกฏหมาย 503,200 503,200 บริบริษษัทัททีทีเกี่เกีย่ยวขวข้อองกังกันน บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน บริษัทย่อย บริบริษษัทัทยย่ออยย -384,658 384,658 บริบริษษัทัททีทีเกี่เกีย่ยวขวข้อองกังกันน บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน 384,658 384,658 รวม รวม รวม 11,309,212 11,309,212 ค่าตอบแทนกรรมการและผู ค่าตอบแทนกรรมการและผู ้บริหาร ้บริหาร

-- -

-969,224 969,224

464,224 969,224 464,224

464

-- -

34,904,395 34,904,395

-34,904,395

-

-- -

61,947,994 61,947,994

76,774,169 61,947,994 76,774,169

76,774

161,000 503,200 161,000

503,200 161,000 503,200

161,000 503,200 161,000

161

-- - - 384,658 - - 384,658 11,425,785 11,309,212 11,425,785

-59,128 2259,128 -- -259,128 259,128 10,409,212 11,425,785 10,409,212

- - 259,128 -- - - 259,128 10,645,785 10,409,212 10,645,785

10,645

7. เงิยนบเท่ สดและรายการเที าเงินสด ยบเท่าเงินสด 7.7. เงินสดและรายการเที

บาท บาท บาท งบการเงินนรวม รวม งบการเงินรวม งบการเงิ งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ การงบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ 2557 2556 2557 2557 2556 2556 2557 2556 2556 2557 2556 2557 สด เงินสด 90,906 1 เงิเงินนสด 2207,753 07,753 1155,700 5207,753 5,700 9155,700 0,906 1152,506 5290,906 ,506 ฝากสถาบันนการเงิ การเงินน-เงิ-ออมทรั นออมทรั ฝากสถาบั 6,578,074 พย์ 2,063,591 6,578,074 1,658,946 2,063,591 1,503,383 1,658,946 1,5 2,063,591 1,658,946 1,503,383 เงิเงินนฝากสถาบั พพยย์ นการเงิน - ออมทรั6,578,074 กระแสรายวันน - กระแสรายวัน 70,717,289 34,535,179 70,717,289 21,235,283 34,535,179 31,416,116 21,235,283 31,4 - -กระแสรายวั 70,717,289 34,535,179 21,235,283 31,416,116 2,041,908 5,846,646 2,041,908 5,930,692 - ประจํา - ประจํา า 5,930,692 2,041,908 5,846,646 2,0 -ประจํ 2,041,908 5,846,646 2,041,908 5,930,692 รวม รวม 83,433,808 38,796,378 28,831,781 35,1 83,433,808 38,796,378 28,831,781 35,113,913 รวม 83,433,808 38,796,378 28,831,781 35,113,913

8. เงินลงทุนชั่วคราว 8.8. เงินลงทุนชั่วคราว ่ 31ธัธันนวาคม วาคม2556กลุ 2556กลุ ณ วัมน่มบริ ทีบริ่ 31 เงินนฝากประจํ ฝากประจํ 2556กลุ ่มประเภท บริษัท6มี6เดื เงิเดืนออฝากประจํ นวนา34ประเภท 34ลล้าานบาท นบาท 6 เดืโดยมี อโดยมี น จํอาอัตนวน ัตราดอกเบี ราดอกเบี 34 ล้ายนบาท ้ยรร้ออยละ ยละ โดยมี 1.75 อตัตต่ราดอกเบี ณณวัวันนทีที 31 ษษัทัทธัมีนมีเงิวาคม าาประเภท นนจํจําานวน 1.75 ออปีปี ้ยร้อยละ 1.75 ต่อปี

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

101


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

9.9. ลูกหนี้การค้า หนีก้การค ารค้าาณณวัวันนทีที 31 ่ 31ธัธันนวาคม วาคม2557และ 2557และ2556แยกตามอายุ 2556แยกตามอายุหหนีนีท ท้ ีคี่คา้างชํงชําาระได ระได้ดดังังนีนี ้ ลูลูกกหนี บาท บาท งบการเงินนรวม รวม งบการเงิ รบกําาหนดชํ หนดชําาระระ ยัยังงไมไม่คครบกํ หนดชําาระระ เกิเกินนกํกําาหนดชํ ยกว่าา 33เดืเดืออนน นน้ออยกว 3-6เดืเดืออนน 3-6 มากกว่าา1212เดืเดืออนน มากกว รวม รวม หนีส้สงสังสัยยจะสู จะสูญญ หัหักกคค่าาเผืเผือ่อหนี สุสุททธิธิ

2557 2557 411,728,581 411,728,581

2556 2556 679,860,050 679,860,050

งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ การ งบการเงิ 2557 2556 2557 2556 354,006,865 669,002,525 354,006,865 669,002,525

110,148,815 110,148,815 3357,436,082 57,436,082 28,000 28,000 8879,341,478 79,341,478 (28,000) (28,000) 879,313,478 879,313,478

150,068,508 150,068,508 -28,000 28,000 8829,956,558 29,956,558 (28,000) (28,000) 829,928,558 829,928,558

110,076,815 110,076,815 3357,436,082 57,436,082 -8821,519,762 21,519,762 -821,519,762 821,519,762

150,068,508 150,068,508 --8819,071,033 19,071,033 -819,071,033 819,071,033

10. ลูกหนี้อื่น 10. บาท บาท งบการเงินนรวม รวม งบการเงิ หนีอ้อืนื่น - -บริบริษษัทัทยย่ออยย(หมายเหตุ (หมายเหตุ6.2) 6.2) ลูลูกกหนี หนีอ้อืนื่น - -บริบริษษัทัทอือืน่น ลูลูกกหนี ยจ่าายล ยล่ววงหน งหน้าา คค่าาใชใช้จจา่ายจ ทดรองจ่าายย เงิเงินนทดรองจ รวม รวม

2557 2557 -55,889,464 55,889,464 39,740,447 39,740,447 3,269,965 3,269,965 98,899,876 98,899,876

2556 2556 -9,234,885 9,234,885 69,891,734 69,891,734 234,850 234,850 79,361,469 79,361,469

งบการเงินนเฉพาะกิ เฉพาะกิจจการ การ งบการเงิ 2557 2556 2557 2556 34,327,260 644,703 34,327,260 644,703 4,935,922 7,970,643 4,935,922 7,970,643 22,056,524 14,505,143 22,056,524 14,505,143 27,190 -27,190 61,319,706 23,147,679 61,319,706 23,147,679

ในช่ววงเริ งเริม่มตต้นนของการพั ของการพัฒฒนาโครงการพลั นาโครงการพลังงงานไฟฟ งานไฟฟ้าาในประเทศญี ในประเทศญีป่ปุนุ่นบริบริษษัทัทไดได้แแตต่งงตัตัง้งบริบริษษัทัททีทีป่ปรึรึกกษากฎหมายในประเทศญี ษากฎหมายในประเทศญีป่ปุนุ่นเป็เป็นนEscrow Escrow ในช Agentเพืเพือ่อดูดูแแลบั ลบัญญชีชีEscrow EscrowAccount Accountซึซึง่งบับัญญชีชีดดังังกล กล่าาวได วได้เปิเปิดดไวไว้กกับับธนาคารในประเทศญี ธนาคารในประเทศญีป่ปุนุ่นในนามของ ในนามของEscrow EscrowAgent Agentโดยมี โดยมีววัตัตถุถุปประสงค ระสงค์ Agent ในการดําาเนิเนินนโครงการพลั โครงการพลังงงานไฟฟ งานไฟฟ้าาในประเทศญี ในประเทศญีป่ปุนุ่นโดยบริ โดยบริษษัทัทเป็เป็นนผูผูม้มีอีอําํานาจในการอนุ นาจในการอนุมมัตัติเบิ​ิเบิกกจจ่าายยนอกจากนี นอกจากนีบ้บริริษษัทัทไมไม่มมีสีสิทิทธิธิไไดด้รรับับ เพืเพือ่อใชใช้ในการดํ ดอกเบีย้ยจากบั จากบัญญชีชีEscrow EscrowAccount Accountดัดังงกล กล่าาววณณวัวันนทีที 31 ่ 31ธัธันนวาคม วาคม2557 2557มีมียยอดเงิ อดเงินนฝากในบั ฝากในบัญญชีชีEscrow EscrowAccount Accountจํจําานวน นวน4.8 4.8ลล้าานบาทซึ นบาทซึง่ง ดอกเบี รวมอยูใ่ในน“ลู“ลูกกหนี หนีอ้อืนื่น- -บริบริษษัทัทอือืน่น””ในงบการเงิ ในงบการเงินนรวม รวม บับันนทึทึกกรวมอยู

102

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

11. 11. 11.สินค้าคงเหลือ งบการเงินรวม ราคาทุ ราคาทุ นนน ราคาทุ

สิสินสินคนค้าคาสําสําสําเร็าเร็จเร็จรูจรูปปรูป วัวัตวัตถุตถุดถุดิบดิบิบ ประกอบ ระกอบ วัวัสวัสดุสดุปดุประกอบ ินเปลื เปลื วัวัสวัสดุสดุสดุสินสิ้นเปลื อององง รวม รวม รวม

2557 2557 2557 927,089,150 927,089,150 927,089,150 136,162,872 136,162,872 136,162,872 59,322,924 59,322,924 59,322,924 64,135,355 64,135,355 64,135,355 1,186,710,301 1,186,710,301 1,186,710,301

2556 2556 2556 346,214,025 346,214,025 346,214,025 225,281,191 225,281,191 225,281,191 38,213,566 38,213,566 38,213,566 42,911,989 42,911,989 42,911,989 652,620,771 652,620,771 652,620,771

บาท บาท บาท คค่าคาเผืเผื ่อ่อการลดมู ลลคลค่าคาสิสิานสินคนค้าคา า าเผื ่อการลดมู การลดมู 2557 2556 2557 2556 2557 2556 (28,249,548) (4,248,896) (28,249,548) (4,248,896) (4,248,896) (28,249,548) -- -- -- -- -- -- (28,249,548) (4,248,896) (28,249,548) (4,248,896) (4,248,896) (28,249,548)

คงเหลื สิสินนสิคนค้าคาคงเหลื อออ-- สุสุ- ททสุธิทธิ ธิ าคงเหลื 2557 2556 2557 2556 2557 2556 898,839,602 341,965,129 898,839,602 341,965,129 341,965,129 898,839,602 136,162,872 225,281,191 136,162,872 225,281,191 225,281,191 136,162,872 38,213,566 59,322,924 59,322,924 38,213,566 38,213,566 59,322,924 64,135,355 42,911,989 64,135,355 42,911,989 42,911,989 64,135,355 1,158,460,753 648,371,875 1,158,460,753 648,371,875 648,371,875 1,158,460,753

บาท บาท บาท าเผื ่อการลดมู การลดมู คค่าคาเผืเผื ่อ่อการลดมู ลลคลค่าคาสิสิานสินคนค้าคา า 2557 2556 2557 2556 2557 2556 (28,249,548) (4,248,896) (28,249,548) (4,248,896) (4,248,896) (28,249,548) -- -- -- -- -- -- (28,249,548) (4,248,896) (28,249,548) (4,248,896) (4,248,896) (28,249,548)

คงเหลื าคงเหลื สิสินนสิคนค้าคาคงเหลื อออ-- สุสุ- ททสุธิทธิ ธิ 2557 2556 2557 2556 2557 2556 898,839,602 341,965,129 898,839,602 341,965,129 341,965,129 898,839,602 136,162,872 225,281,191 136,162,872 225,281,191 225,281,191 136,162,872 59,322,924 59,322,924 38,213,566 38,213,566 59,322,924 63,989,041 42,911,989 63,989,041 42,911,989 42,911,989 63,989,041 1,158,314,439 648,371,875 1,158,314,439 648,371,875 648,371,875 1,158,314,439

งบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาทุ ราคาทุ ราคาทุ นนน

สิสินสินคนค้าคาสําสําสําเร็าเร็จเร็จรูจรูปปรูป วัวัตวัตถุตถุดถุดิบดิบิบ ประกอบ ระกอบ วัวัสวัสดุสดุปดุประกอบ ินเปลื เปลื วัวัสวัสดุสดุสดุสินสิ้นเปลื อององง รวม รวม รวม

2557 2557 2557 927,089,150 927,089,150 927,089,150 136,162,872 136,162,872 136,162,872 59,322,924 59,322,924 59,322,924 63,989,041 63,989,041 63,989,041 1,186,563,987 1,186,563,987 1,186,563,987

2556 2556 2556 346,214,025 346,214,025 346,214,025 225,281,191 225,281,191 225,281,191 38,213,566 38,213,566 38,213,566 42,911,989 42,911,989 42,911,989 652,620,771 652,620,771 652,620,771

12. 12. 12.เงินฝากที่ติดภาระค้ําประกัน ่ 31 2557บริ และเงิ วมจํ นวน 144.0 นบาท และ 146.5 นบาท ณณณวัวันวันทีนที ที31  31ธัธันธันวาคม นวาคม วาคม2557บริ 2557บริ ษษัทษัทและกลุ ัทและกลุ และกลุ ม่มบริ มบริบริ ษษัทษัทมีัทมีเมีเงิงินเนงิฝากประจํ นฝากประจํ ฝากประจํ าาและเงิ าและเงิ นนฝากออมทรั นฝากออมทรั ฝากออมทรั พพยพย์รยรวมจํ รวมจํ าานวน านวน144.0 144.0ลล้าลานบาท านบาทและ และ146.5 146.5ลล้าาลนบาท านบาท ตามลํ ่ 31 2556 นวน 145.0 นบาทและ 146.3 นบาท ตามลํ ได้ ไปเป็ ทรั ประกั จากการที ตามลํ ตามลํ าาดัดัาบดับบ(วั(วั(วั นนทีนที ที31  31ธัธันธันวาคม นวาคม วาคม2556 2556จํจําจํานวน านวน145.0 145.0ลล้าลานบาทและ านบาทและ146.3 146.3ลล้าลานบาท านบาทตามลํ ตามลํ าาดัดัาบดับ)บ)ได ) ได นนํานําไปเป็ ําไปเป็ นนหลั นหลัหลั กกทรั กทรั พพยพย์คคยํา้ํคาประกั ําประกั นนจากการที นจากการที ่  ธนาคารออกหนั ประกั (หมายเหตุ 32) และวงเงิ 1818และ และ 20) ธนาคารออกหนั ธนาคารออกหนั งงสืสืงอสือคอค้ําคําประกั ําประกั นนน(หมายเหตุ (หมายเหตุ32) 32)และวงเงิ และวงเงิ นนกูนกูยกู้ยืมยืมจากสถาบั ืมจากสถาบั จากสถาบั นนการเงิ นการเงิ การเงิ นน(หมายเหตุ น(หมายเหตุ (หมายเหตุ18 และ20) 20)

13. 13. 13.เงินลงทุนเผื่อขาย งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ นความต้ ราคาทุ และมู รรม 31 31ธัธันนธัวาคม วาคม เงิเงินเงินลงทุ นลงทุ ลงทุ นนเผืนเผืเผื อ่อขายเป็ อขายเป็ ขายเป็ นนเงินเงินเงินลงทุ นลงทุ ลงทุ นนในหลั นในหลั ในหลั กกทรั กทรัทรั พพยพย์ใยในความต ในความต อองการของตลาด องการของตลาด งการของตลาดราคาทุ ราคาทุ นนนและมู และมู ลลคค่ลาคายุยุาตยุติธติธรรม ิธรรมณณณวัวันนวัทีนที ที่31 นวาคมมีมีดมีดังังดนีนีัง นี้  บาท บาท บาท 2557 2556 2556 2557 2556 2557 ราคาทุ ราคาทุ นนน -- 228,939,628 82,89,3993,96,26828 ราคาทุ การเปลี (9,499,628) หัหักหักกการเปลี ย่ยนแปลงมู ลลคลค่าคายุยุาตยุติธติธรรมของเงิ นนลงทุ นนน การเปลี ยนแปลงมู นแปลงมู ิธรรมของเงิ รรมของเงิ นลงทุ ลงทุ (9,499,628) -- (9,499,628) 19,440,000 มูมูลมูลคลค่าคายุายุตยุติธติธรรม ิธรรม รรม -- 19,440,000 19,440,000

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

103


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

การเปลี การเปลียนแปลงเงิ ย่ นแปลงเงินลงทุ นลงทุนเผื นเผือขายสํ อ่ ขายสําหรั าหรับปีบสปีินสสุิน้ ดสุวัดนวัทีน ที31่ 31ธันธัวาคม นวาคม2557มี 2557มีดังดนีัง นี้

บาท บาท 19119,440,000 ,94,4404,0,00000 (2((21,460,118) 12,14,6406,01,1181)8) 2,020,118 2,020,118 --

ยอดยกมาต ยอดยกมาต้นปีนปี ยอดยกมาต จําจํหน าหน ายในระหว างปี หน่ายในระหว ยในระหว่างปี การเปลี การเปลียนแปลงมู ่ย นแปลงมูลคลาค่คยุาตยุิธตรรม ิธรรม ยอดคงเหลื ยอดคงเหลือสิอนสิปีน้ ปี ในเดื ในเดือนมิ อนมิถุนถายน ุนายน2557 ัทได้ ไดรับรหุับนหุปัน้ นปัผลจากเงิ นผลจากเงินลงทุ นลงทุนเผื นเผือขายดั อ่ ขายดังกล งกล าวจํานวน านวน480,000 2557บริบริษัทษได กล่าวจํ 480,000หุนหุน้

14. 14. 14. เงินลงทุนในบริษัทย่อย งบการเงินเฉพาะกิจการ

ชื่อชืบริ ่อบริษัทษัท บริบริษัทษัทเวอเทคโลจิ เซอรวิสวิสจําจํกัาดกัด เวอเทคโลจิสติสคติสคส์สเซอร เซอร์ บริบริษัทษัทเชาว เชาวอินอิเตอร เตอรเนชั เชาว์ นเตอร์ เนชันแนล ่น แนลจําจํกัาดกั(“CI”) ด(“CI”) บริบริษษัท ัทพรีพรีเมีเยมีรยร์รโซลู โซลูชันชั่น จําจํกัาดกัด(“PSCL”) (“PSCL”) บริบริษษัท ัทเชาว เชาวเอ็เอ็นเนอร เนอรยีจยําี่จ กัําดกั(“CE”) เชาว์ นเนอร์ ด(“CE”)

รวม รวม

ประเภทกิ ประเภทกิจการ จการ

สัดสัสดวส่สนวน ทุนทุชํนาชํระแล ระแลว ว เงิเงินลงทุ นลงทุน น าระแล้ (ล(ล้ (ลานบาท) (รอยละ) านบาท) (ร(ร้ อยละ)

ขนส ขนสงสิงนสิคนาค้คา 18.0 ขนส่ 18.0 ลงทุ 130.0 ลงทุนในบริ นในบริษษัทอืัทน อืน่ 130.0 ทีปทีรึ่ป กรึษาการลงทุ กษาการลงทุน น ระหว ระหวางประเทศ 7.17.1 ระหว่ างประเทศ ลงทุ ลงทุนในธุ นในธุรกิรจกิการผลิ จการผลิต ต และจํ หนายไฟฟ ยไฟฟาจาก และจําหน าหน่ ายไฟฟ้ าจาก พลัพลังงานประเภทต งานประเภทตางๆ งงานประเภทต่ างๆ 221.5 221.5

40.0 40.0 --

บาท บาท ีราคาทุน น เงิเงินลงทุ นลงทุน น- วิ- ธวิีรธาคาทุ 2557 2557

2556 2556

7,200,000 7,200,000 7,200,000 7,200,000 -41,500,000 41,500,000

--

--

4,050,000 4,050,000

76.67 76.67

111,950,000 111,950,000

--

119,150,000 52,750,000 52,750,000 119,150,000

เซอรวิสวิสจําจํกัาดกัดบริบริษษัทจึัทงจึถืงอถืเป็ ้นและมีอําอนาจควบคุ ํานาจควบคุมในบริ มในบริษษัทัทเวอเทคโลจิ เวอเทคโลจิสติสคติสคส์สเซอร เซอร์ อเป็นบริ นบริษษัทยัทอย่ยยอยและนํ และนํามารวมในการจั ามารวมในการจัดทํดาทํงบ างบ บริบริษษัทถืัทอถืหุอนหุและมี การเงินรวมของกลุ นรวมของกลุมบริ ่ม บริษษัท ัท การเงิ ไดใชใสช้ชิทสธิ​ิทซธิือซหุื้อ นหุสามั ในระหวางปี เชาวอินอิเตอร เตอรเนชั ไดเพิเพิมทุ่ม นทุจดทะเบี ในระหว่ างปี2557 2557บริบริษษัท ัทเชาว เชาว์ นเตอร์ เนชันแนล ่น แนลจําจํกัาดกัได ดได้ นจดทะเบียนจํ ยนจํานวน านวน80.0 80.0ลาล้ลนบาท านบาทซึงซึบริ ่ง บริษษัทได ัทได้ ้น สามัญญ ในระหว เพิเพิมทุ่ม นทุตามสั นตามสัดสดวส่สนการถื วนการถือหุอนหุเดิ ้น เดิม มคิดคิเป็ ดเป็นเงินเงินลงทุ นลงทุนทีนเทีพิ่เ มพิทั่ม งทัสิ้ง นสิจํ้น าจํนวน านวน66.4 66.4ลาล้ลนบาท านบาท บริบริษษัทยัทอย่ยยแห ยแหงหนึ ไดจาจยเงิ ผลใหแกแผก่กูถผือู้ถ หุือนหุจํ้น าจํนวน อยแห่ งหนึงได่ง ได้ ่า ยเงินปันนปัผลให นผลให้ านวน18,000 18,000หุนหุ้น มูลมูคลาค่คหุานหุละ ้น ละ444.44 444.44บาท บาทรวมเป็ รวมเป็นเงินเงิน น8.08.0ลาล้ลนบาท านบาทเป็เป็นสนวส่สนของบริ วนของบริษษัท ัท จําจํนวน และสวนได นไดเสีเยสีทียไทีมไ่ มม่มีอมําีอนาจควบคุ ํานาจควบคุมจํมาจํนวน านวน4.84.8ลาล้ลนบาท ยแลวเมืวเมือวั่อ นวัทีน ที28่ 28มีนมีาคม านวน3.23.2ลาล้ลนบาท านบาทและส และส่ วนได้ านบาทซึงซึจ่ง าจ่จยแล ายแล้ นาคม2557 2557 ในเดื ไดลงนามในสั ญาระหวางผู ในเดือนกั อนกันยายน นยายน2557 2557 บริบริษษัทCI ัทCI และบริ และบริษษัท ัทPSCL PSCL ไดได้ ลงนามในสัญญญาระหว ญาระหว่ างผูถือ้ถหุือนหุ้น(Shareholders (Shareholders Agreement) Agreement)เพืเพือร่อวร่รมวม ดําดํเนิ นรอยละ และใหบริบกริารด ารดานการบริ าเนินการจั นการจัดตัดงตับริ ้งบริษษัทรัทวร่รมทุ วมทุนกันบกักลุ บกลุมบริ ่มบริษษัทราชบุ ัทราชบุรีโรฮลดิ ีโฮลดิง ้งในสั ในสัดสดวส่สนร วนร้ อยละ40:60 40:60เพืเพือลงทุ ่อลงทุนและให นและให้ การด้ านการบริหารจั หารจัดการ ดการ โครงการผลิ ไฟฟาพลั กลาวได วไดจัดจตั​ัดงตัแล แลวเสร็ ไดแกแก่กบริบริษษัท ัทRICI โครงการผลิตไฟฟ ตไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิ งงานแสงอาทิตยตใย์ยนประเทศญี ในประเทศญีปุน่ปุ่นโดยบริ โดยบริษษัทรัทวร่รมทุ วมทุนดันงดักล งกล่ าวได้ ้งแล้ วเสร็จ จไดได้ RICI และบริ และบริษษัทัท OGE OGE

104

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 10/2557 เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการได้มีมติอนุมัติให้จัดตั้งบริษัทย่อยแห่งใหม่ชื่อ ตามมติ ที่ประชุ คณะกรรมการบริ ษัทเพืครั่อเป็ ้งทีน่ 10/2557 เมื่อวันทีางการถื ่ 1 ธันวาคม 2557่มคณะกรรมการได้ นุมัติให้ษจัทัดCEประกอบธุ ตั้งบริษัทย่อยแห่ งใหม่นชในื่อ บริษัท เชาว์ เอ็นมเนอร์ ยี่จํากัด(“CE”) การปรับโครงสร้ อหุ้นในกลุ บริษัทย่อยของบริมีมษติัทอโดยบริ รกิจลงทุ บริ เชาว์ ตเอ็และจํ นเนอร์ายหน่ี่จําากัยไฟฟ้ ด(“CE”) เพื่อเป็ นการปรับโครงสร้ ในกลุ ัทย่อยของบริ ใน ธุรกิษจัทการผลิ าจากพลั งงานประเภทต่ างๆ จึางงการถื ให้บริษอหุัท้นCE ซื้อหุ่ม้บริ นทัษ้งหมดของบริ ษัทษัทCIโดยบริ และบริษษัทัทCEประกอบธุ PSCLจากบริรกิษจัทลงทุ เป็นนการ ธุแลกเปลี รกิจการผลิ ยไฟฟ้ษาัทจากพลั งให้บ76.67การปรั ริษัท CE ซื้อบหุโครงสร้ ้นทั้งหมดของบริ ัท CI และบริบโครงสร้ ษัทPSCLจากบริ ัทเป็นการม ่ยนกัตบและจํ การถือาหน่ หุ้นาในบริ CE ในสังงานประเภทต่ ดส่วนการถือหุา้นงๆร้อจึยละ างดังกล่าษวเป็ นการปรั างภายใต้กษารควบคุ แลกเปลี CE ในสั ส่วนการถื อหุ้นนร้อเดิยละ 76.67การปรั บโครงสร้ งดังกล่าวเป็นการปรับโครงสร้างภายใต้การควบคุม เดี ยวกัน ่ยบรินกัษบัทการถื จึงบันอทึหุก้นเงิในบริ นลงทุษนัทในบริ ษัทดCE ด้วยราคาทุ มของบริ ษัท CI และบริ ษัทาPSCL เดียวกัน บริษัทจึง้นบัดันงทึกล่ กเงิาวนลงทุ ัทCE ด้อวหุยราคาทุ ของบริษัทอCIยละ และบริ ษัท PSCL ผลจากการแลกหุ ทําให้นในบริ สัดส่วษนการถื ้นของบรินษเดิัทมลดลงจากร้ 83 ในบริ ษัท CI และร้อยละ 81 ในบริษัทPSCL เป็นร้อยละ ผลจากการแลกหุ ้ น ดั ง กล่ า ว ทํ า ให้ ส ั ด ส่ ว นการถื อ หุ ้ น ของบริ ษ ั ท ลดลงจากร้ อ ยละ 83 ในบริ ัท CIษและร้ อยละ 8138.5 ในบริล้ษาัทนบาท PSCLในส่ เป็นวนของผู ร้อยละ้ 76.67 ในบริษัทCE กลุ่มบริษัทจึงบันทึกผลต่างเป็นผลต่างจากการเปลี่ยนสัดส่วนเงินลงทุนษในบริ ัทย่อยจํ านวน 76.67 ในบริษัทCE กลุ่มบริษัทนจึรวม งบันทึกผลต่างเป็นผลต่างจากการเปลี่ยนสัดส่วนเงินลงทุนในบริษัทย่อยจํานวน 38.5 ล้านบาท ในส่วนของผู้ ถือหุ้นในงบแสดงฐานะการเงิ ถือหุ้นในงบแสดงฐานะการเงินรวม ในปัจจุบันกลุ่มบริษัทอยู่ในระหว่างการลงทุนในธุรกิจพลังงานหมุนเวียนซึ่งอาจจะต้องมีการจัดตั้งบริษัทใหม่ในรูปแบบของบริษัทย่อย ในปั จจุบอันบริกลุษ่มัทบริ อยู่ในระหว่ างการลงทุ พลังงานหมุนเวียนซึน่งอาจจะต้ องมีงงานหมุ การจัดตัน้งเวีบริยนในอนาคต ษัทใหม่ในรูปโดยบริ แบบของบริ ัทย่ษอัทย และ/หรื ร่วษมัทและ/หรื อการร่ วมค้าเพืน่อในธุ เข้าศึรกิกจษาโครงการและลงทุ ในธุรกิจพลั ษัทหรืษอบริ และ/หรื อบริงษจะเป็ ัทร่วมนหนึ และ/หรื วมค้าษเพืัทที่อ่จเข้ัดาตัศึ้งกใหม่ ษาโครงการและลงทุ นในธุรกิจพลังงานหมุนเวียนในอนาคต โดยบริษัทหรือบริษัท ย่อยบางแห่ ่งในผูอ้ลการร่ งทุนในบริ ดังกล่าว ย่อยบางแห่งจะเป็นหนึ่งในผู้ลงทุนในบริษัทที่จัดตั้งใหม่ดังกล่าว การลงทุนในบริษัทย่อย การลงทุ ัทย่อบริ ย ษัท PSCLได้ลงทุนในบริษัท AE ซึ่งจดทะเบียนในประเทศญี่ปุ่น เป็นจํานวนเงิน10,000 เยน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ ในเดือนมินถในบริ ุนายนษ2557 ในเดื อนมิถนุนจดทะเบี ายน 2557 100 ของทุ ยนบริษัท PSCLได้ลงทุนในบริษัท AE ซึ่งจดทะเบียนในประเทศญี่ปุ่น เป็นจํานวนเงิน10,000 เยน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน ในเดือนกรกฎาคม 2557 บริษัท PSCL ได้ลงทุนในบริษทั PSJP ซึ่งจดทะเบียนในประเทศญี่ปุ่น เป็นจํานวนเงิน100 ล้านเยน ซึ่งคิดเป็นร้อย ในเดื อนกรกฎาคม 2557 บริ ละ 100 ของทุนจดทะเบี ยนษัท PSCL ได้ลงทุนในบริษัท PSJP ซึ่งจดทะเบียนในประเทศญี่ปุ่น เป็นจํานวนเงิน100 ล้านเยน ซึ่งคิดเป็นร้อย ละ 100 ของทุนจดทะเบียน ในเดือนตุลาคม2557 บริษัท PSCL ได้ลงทุนในบริษัท PSGM จํากัด ซึ่งจดทะเบียนในประเทศเยอรมันเป็นจํานวนเงิน25,000 ยูโร ซึ่งคิดเป็น อนตุ100 ลาคม2557 บริษัท PSCL ร้ในเดื อยละ ของทุนจดทะเบี ยน ได้ลงทุนในบริษัท PSGM จํากัด ซึ่งจดทะเบียนในประเทศเยอรมันเป็นจํานวนเงิน25,000 ยูโร ซึง่ คิดเป็น ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน ในเดือนตุลาคม2557บริษัท PSJP ได้ลงทุนในบริษัท SUNซึ่งจดทะเบียนในประเทศญี่ปุ่น เป็นจํานวนเงิน10,000 เยน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ ในเดื อนตุลนาคม2557บริ 100 ของทุ จดทะเบียนษัท PSJP ได้ลงทุนในบริษัท SUNซึ่งจดทะเบียนในประเทศญี่ปุ่น เป็นจํานวนเงิน10,000 เยน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน ในเดือนตุลาคม2557บริษัท PSJPได้ลงทุนในบริษัท SOL ซึ่งจดทะเบียนในประเทศญี่ปุ่น เป็นจํานวนเงิน10,000 เยน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ ในเดื อนตุลนาคม2557บริ 100 ของทุ จดทะเบียนษัท PSJPได้ลงทุนในบริษัท SOL ซึ่งจดทะเบียนในประเทศญี่ปุ่น เป็นจํานวนเงิน10,000 เยน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

105


106

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

15.2

ไทย สิงค์โปร์

บริหารจัดการโครงการโรงไฟฟ้า ลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้า

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั้งขึ้น ในประเทศ

บริษัท โอเวอร์ซี กรีน เอนเนอร์ยี่ จํากัด บริษัท อาร์ไอซีไอ อินเตอร์เนชั่นแนลอินเวสต์เมนต์ จํากัด รวม

ชือ่ บริษัท

ส่วนแบ่งกําไร(ขาดทุน) ในระหว่างปีกลุ่มบริษัทรับรู้ส่วนแบ่งขาดทุนจากการลงทุนในบริษัทร่วมในงบการเงินรวม ดังนี้

บริษัท โอเวอร์ซี กรีน เอนเนอร์ยี่ จํากัด บริษัท อาร์ไอซีไอ อินเตอร์เนชั่นแนล อินเวสต์เมนต์ จํากัด รวม

ชื่อบริษัท

15.1 รายละเอียดของบริษัทร่วม

15. เงินลงทุนในบริษัทร่วม

40

40 -

-

ร้อยละของเงินลงทุน 2557 2556

-

400,000

390,420

390,420

-

-

บาท งบการเงินรวม ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 (9,580) (9,580) -

-

มูลค่าตามบัญชี ตามวิธีส่วนได้เสีย 2557 2556

งบการเงินรวม

2556

400,000

2557

ราคาทุน

บาท

หมายเหตุประกอบงบการเงิน


บริษัท โอเวอร์ซี กรีน เอนเนอร์ย่ี จํากัด บริษัท อาร์ไอซีไอ อินเตอร์เนชั่นแนล อินเวสต์เมนต์ จํากัด

ชื่อบริษัท

ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ราคาทุน บวก ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าสินทรัพย์ มูลค่าสุทธิตามบัญชี รายการระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มูลค่าสุทธิตามบัญชีต้นปี บวก ซื้อสินทรัพย์ รับเข้า(โอนออก) หัก จําหน่าย/ตัดจําหน่ายสินทรัพย์ หัก ค่าเสื่อมราคา มูลค่าสุทธิตามบัญชีสิ้นปี

งบการเงินรวม

629,637,838 (139,788,170) 489,849,668 489,849,668 9,110,174 8,854,923 (33,286,452) 474,528,313

98,532,140 (19,795) 98,512,345

อาคารและ งานระบบ

51,182,843 47,389,157 (39,860) 98,532,140

ที่ดินและส่วน ปรับปรุงที่ดิน

ทุนที่ออกและเรียกชําระ (รวมส่วนเกินมูลค่าหุ้น) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 2557 1,000,000 -

ข้อมูลทางการเงินของบริษัทร่วม ข้อมูลทางการเงินตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินของบริษัทร่วมโดยสรุปมีดังนี้

16. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

15.3

772,858,360 2,509,756 1,282,750 (69,651,104) 706,999,762

1,093,235,081 (315,193,944) (5,182,777) 772,858,360

เครื่องจักรและ เครื่องมือเครื่องใช้

สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 999,401 -

(54,377) (1,205,114) 3,048,940

-

2,632,536 1,675,895

16,977,917 (14,345,381) 2,632,536

เครื่องตกแต่งและ เครื่องใช้สํานักงาน

บาท

97,305,497 10,094,950 (2,298,863) (20,416,509) 84,685,075

156,334,055 (59,028,558) 97,305,497

1,237,637

1,237,637

1,237,637 9,830,697 (10,137,673) 930,661

-

1,462,415,838 33,221,472 (2,353,240) (124,578,974) 1,368,705,096

1,948,605,371 47,389,157 (528,395,913) (5,182,777) 1,462,415,838

รวม

กําไร(ขาดทุน)สําหรับปีสนิ้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 (23,949) -

งานระหว่างก่อสร้าง และเครื่องจักรระหว่าง ติดตั้ง

รายได้รวมสําหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 153 -

ยานพาหนะ

หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 23,350 -

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

107


108 งานระหวาางก างก งกออสร อสร สราางางง งานระหว งานระหว และเครื่อ่องจั ่องจั งจักกรระหว กรระหว รระหวาางางง และเครื และเครื ติติดติดตัดตั้งตั้ง้ง

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556สินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าการเงินที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้เช่าได้รวมแสดงในรายการข้างต้นประกอบด้วยยานพาหนะและเครื่องใช้สํานักงานมีมูลค่าตามบัญชีเป็น จํานวนเงิน 41.8ล้านบาท และจํานวนเงิน 57.6 ล้านบาท ตามลําดับ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ มูลค่าสุทธิตามบัญชี จํานวนเงิน 1,033.3 ล้านบาท และจํานวนเงิน 1,123.3ล้านบาท ตามลําดับ ได้ถูกจดจํานองไว้เป็นหลักทรัพย์ค้ําประกัน วงเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน (หมายเหตุ18 และ 20)

ินและส และสววนวนน อาคารและ เครื่อ่องจั ่องจั งจั​ักักรและ ักรและ รและ เครื เครื่อ่องตกแต ่องตกแต งตกแตงและ และ ทีที่ดที่ดิน่ดินและส อาคารและ อาคารและ เครื เครื เครื งงและ ปรับบปรุ บปรุ ปรุงทีงงที่ดที่ดิน่ดินิน งานระบบ เครื่อ่องมื ่องมื งมืออเครื อเครื เครื่อ่องใช ่องใช งใช เครื เครื่อ่องใช ่องใช งใชสสําสํานัํานักนักงาน กงาน งาน ยานพาหนะ รวม ปรัปรั งานระบบ เครื เครื เครื ยานพาหนะ ยานพาหนะ รวม รวม งานระบบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 31 2557 31 31 2557 2557 ราคาทุน 98,572,000 647,602,935 1,097,027,587 18,308,789 158,237,373 930,661 2,020,679,345 ตามบั ามบัญญญชีชีตชีตนตนปีนปีปี 98,374,050 (173,074,622) 474,528,313 (384,845,048) 706,999,762 2,795,574 27,105,287 930,661 1,310,733,647 1,310,733,647 มูหัมูกลมูลคลคค่าคาาสุาสุเสื ทสุทธิท่อธิตธิมราคาสะสม ตามบั 98,374,050 98,374,050 474,528,313 474,528,313 706,999,762 706,999,762 2,795,574 2,795,574 27,105,287 27,105,287 930,661 1,310,733,647 (59,655) (15,259,849) (73,552,298) - 930,661 (646,791,472) บวก บวก บวก ซื อ  สิ น ทรั พ ย 443,000 4,578,734 759,422 10,881,160 2,370,836 19,033,152 ซื ซื อ  อ  สิ สิ น น ทรั ทรั พ พ ย ย 443,000 443,000 4,578,734 4,578,734 759,422 759,422 10,881,160 10,881,160 2,370,836 2,370,836 19,033,152 19,033,152 (5,182,777) (5,182,777) หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าสินทรัพย์ บค่เขเข าท(โอนออก) (โอนออก) 50,892 706,999,762 551,705 (602,597) - -50,892 50,892 551,705 551,705 -3,048,940 -- -(602,597) (602,597) - -มูรับรัลรับเข าาสุา(โอนออก) ธิตามบัญชี 474,528,313 98,512,345 84,685,075 930,661 1,368,705,096 าหน หนาาย/ตั าย/ตั ย/ตัดดจํดจําจําหน าหน หนาายสิ ายสิ ยสินนทรั นทรั ทรัพพยพยย - -- -- -(3,194) (3,194) (3,194) (891,200) (891,200) (891,200) - -(894,394) (894,394) (894,394) หัหักหักกจํจําจําหน หัหักหักกคคาคาเสืาเสืเสืออมราคา อมราคา มราคา (34,028,829) (34,028,829) (34,028,829) (68,961,174) (68,961,174) (68,961,174) (960,346) (960,346) (960,346) (4,676,987) (4,676,987) (4,676,987) - -(108,627,336) (108,627,336) (108,627,336) รายการระหว่ างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 - -98,374,050 98,374,050 98,374,050 440,993,376 440,993,376 440,993,376 643,169,027 643,169,027 643,169,027 2,591,456 2,591,456 2,591,456 32,418,260 32,418,260 32,418,260 2,698,900 2,698,900 2,698,900 1,220,245,069 1,220,245,069 มูมูลมูลค่คลคาคาสุาสุทสุทธิทธิตธิตามบั ตามบั ามบัญญญชีชีสตชีสิน้ สินปีินปีปี 98,512,345 474,528,313 706,999,762 3,048,940 84,685,075 930,661 1,220,245,069 1,368,705,096 31 2557 2557 2557 บวก ซื้อสิ31 น31 ทรัพย์ 860,920 320,172,391 2,083,765 12,030,757 527,824,356 862,972,189 ราคาทุ นนน 998-98,83,,3737474,40,,05050500 66464848,80,,09050,892 9696,68,,82827277 11,1,,1010202,21,551,705 ,1515858,80,,02026266 18,741,155 18,741,155 55,296,533 55,296,533 55,296,533 2,698,900 2,698,900 2,698,900 1,925,365,491 1,925,365,491 1,925,365,491 รัราคาทุ บราคาทุ เข้า(โอนออก) -18,741,155 (602,597) าเสืาเสืเสือาอมราคาสะสม อย/ตั มราคาสะสม มราคาสะสม - -(207,103,451) (207,103,451) (207,103,451) (453,806,222) (453,806,222) (453,806,222) (16,149,699) (16,149,699) (16,149,699) (22,878,273) (22,878,273) (22,878,273) - -(699,937,645) (699,937,645) (699,937,645) หัหักหักกจํคคาคหน่ ดจําหน่ายสินทรัพย์ (3,194) (891,200) (894,394) อมราคา การด การดออยค อยค ยคาาสิาสินสินทรั นทรั ทรัพพยพยย - --(19,795) - -(5,182,777) (5,182,777) (5,182,777) - -- -- -(5,182,777) (5,182,777) (5,182,777) (34,031,806) (71,877,885) (1,127,652) (20,700,629) (127,757,767) หัหักหักกคค่คาคาาเผืาเสืเผืเผือ่ออการด มูมูมูลลมูลค่คลคาาคาสุสุาสุททสุทธิธิทธิตตธิตามบั ตามบั ามบั ามบัญ ญ ญ ชี ชี ชี 955,845,973 4,001,859 98,492,550 441,408,319 75,124,003 528,152,420 2,103,025,124 98,374,050 98,374,050 98,374,050 440,993,376 440,993,376 440,993,376 643,169,027 643,169,027 643,169,027 2,591,456 2,591,456 2,591,456 32,418,260 32,418,260 32,418,260 2,698,900 2,698,900 2,698,900 1,220,245,069 1,220,245,069 1,220,245,069 ญชีสิ้นปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ราคาทุ 98,572,000 1,417,751,683 20,388,358 ณ ณณวัวันวันทีนทีน ที31   31 31ธัธันธันวาคม นวาคม วาคม2557 2557 2557และ และ และ2556ที 2556ที 2556ทีดดินดินินอาคารและอุ อาคารและอุ อาคารและอุ ปปกรณ ปกรณ กรณมูมูลมูลคลคาคาสุาสุทสุทธิท648,514,747 ธิตธิตามบั ตามบั ามบัญญญชีชีชีจํจําจํานวนเงิ านวนเงิ นวนเงิ นนน1,033.3 1,033.3 1,033.3ลลาลานบาท านบาท นบาทและจํ และจํ และจํ าานวนเงิ านวนเงิ นวนเงินนน1,123.3 1,123.3 1,123.3ลล165,255,630 าลานบาท านบาท นบาทตามลํ ตามลํ ตามลําาดัาดับดับบไดได ไดถถูกถูกจดจํ ูก528,152,420 จดจํ จดจําานองไว านองไว นองไวเป็เเป็นป็นหลั นหลั หลัก2,878,634,838 กทรั กทรั ทรัพพยพยคยคําคําํา หัประกั ก ค่ า เสื อ ่ มราคาสะสม (79,450) (207,106,428) (456,722,933) (16,386,499) (90,131,627) (770,426,937) ประกั ประกันนวงเงิ นวงเงิ วงเงินนกูนกูยกูยืมยืมจากสถาบั ืมจากสถาบั จากสถาบันนการเงิ นการเงิ การเงินนน(หมายเหตุ (หมายเหตุ (หมายเหตุ118188และ และ และ20) 20) 20) (5,182,777) (5,182,777) หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าสินทรัพย์ มูลค่าสุทธิตามบัญชี 955,845,973 4,001,859 98,492,550 441,408,319 75,124,003 528,152,420 2,103,025,124

บาท บาท บาท

หมายเหตุประกอบงบการเงิน


บาท บาท บาท บาท เครื่อเครื งจั่อกงจั รและ เครื ่องตกแต่ งและ เครื อ ่ งตกแต งและ และ ก ั รและ เครื อ ่ งจั ก รและ เครื อ ่ งตกแต่ เครื อ  งจั ก รและ เครื อ  งตกแต งงงาน และ เครื่อเครื งมื่อองมื เครือ่อเครื งใช้่องใช เครื อ ่ งใช้ ส า ํ นั ก เครื่องใชสํานักงาน เครื ่องใช เครื ่องมือเครื งใช้ เครือ่องใช งใช้สสําํานันักกงาน งาน เครื

งานระหวางกอสราง ทีที่ด่ดินินและส่ ว น อาคารและ งานระหว่ อกสร้ างและ และเครืา่อางก่ งจั รระหว าง และส ววนน อาคารและ อาคารและ งานระหว่ งก่ อ สร้ างและ งและ ที ด ่ น ิ และส่ ที ด  น ิ และส ว น อาคารและ งานระหว า งก อ สร า ปรัปรับบปรุปรุงทีงที่ด่ดินิน งานระบบ ยานพาหนะ เครื อ ่ งจั ก รระหว่ า งติ ด ตั ้ง รวม ติดตั้ง ยานพาหนะ รวม งานระบบ ปรั บ ปรุ ง ที ด ่ น ิ งานระบบ ยานพาหนะ เครื อ ่ งจั ก รระหว่ า งติ ด ตั ง ้ รวม ปรั  ยานพาหนะ เครื อ  งจั ก รระหว า งติ ด ตั ง  รวม ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 31 2557 ณ วันที่ 11มกราคม 2556 2556 50,984,893 629,637,838 16,883,018 44,424,555 1,237,637 1,836,403,022 มูราคาทุ ลคาสุนทธิตามบัญชีตนปี 98,374,050 474,528,313 1,093,235,081 706,999,762 2,795,574 27,105,287 930,661 1,310,733,647 50,984,893 629,637,838 1,093,235,081 16,883,018 44,424,555 1,237,637 1,836,403,022 ราคาทุ น 5 0 , 9 8 4 , 8 9 3 6 2 9 , 6 3 7 , 8 3 8 1 , 0 9 3 , 2 3 5 , 0 8 1 1 6 , 883,018 44,424,555 1,237,637 1,836,403,022 ราคาทุ น บวก ซืส่อวนเกิ นทุพนยจากการตีราคาสินทรัพย์ 47,389,157 - 443,000 - 4,578,734 - 759,422 - 2,370,836 47,389,157 บวก สิส่นวทรั 10,881,160 19,033,152 นเกิ นนทุทุนจากการตีราคาสินทรัพย์  47,389,157 47,389,157 บวก 47,389,157 ส ว นเกิ บวก เสื่อมราคาสะสม -(139,788,170) (315,193,944) (14,307,284) (22,648,104) - (602,597) (491,937,502) รัหับกเขหัค่หัากาก(โอนออก) 50,892 551,705 ค่คาาเสืเสื่ออมราคาสะสม (139,788,170) (315,193,944) (14,307,284) (22,648,104) (491,937,502) มราคาสะสม (14,307,284) (22,648,104) -(491,937,502) (5,182,777) (5,182,777) หัหักก จํค่าาหน เผื่อาการด้ อ ยค่ า สิ น ทรั พ ย์ ย/ตั ดจําหน ทรัพพย์ย -(894,394) (5,182,777) -(5,182,777) ่ออการด้ อยค่ายสิ าสินนทรั หัก ค่าเผืเผื (5,182,777) -- (3,194) (5,182,777) --(891,200) - -การด มูหักลค่คหัาาสุกเสืทคอธิามราคา ตามบั ญชี อยคาสินทรัพย 98,374,050 489,849,668 772,858,360 2,575,734 21,776,451 1,237,637 1,386,671,900 (34,028,829) (68,961,174) (960,346) (4,676,987) - 1,237,637 (108,627,336) มูมูลลค่คาาสุสุททธิธิตตามบั 98,374,050 489,849,668 772,858,360 2,575,734 21,776,451 1,386,671,900 ามบัญญชีชี 2,575,734 1,386,671,900 21,776,451 1,237,637 รายการระหว่ า งปี ส น ้ ิ สุ ด วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2556 98,374,050 440,993,376 643,169,027 2,591,456 32,418,260 2,698,900 1,220,245,069 มูลครายการระหว่ าสุทธิตามบัญาชีงปีสินสปีิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มูลค่าสุท31 ธิตามบัญชีต้น2557 ปี 98,374,050 489,849,668 772,858,360 2,575,734 21,776,451 1,237,637 1,386,671,900 มูมูลลค่คาาสุสุททธิธิตตามบั 98,374,050 489,849,668 2,575,734 21,776,451 1,237,637 1,386,671,900 1,386,671,900 ามบัญญชีชีตต้นนปีปี 772,858,360 2,575,734 21,776,451 1,237,637 บวก ซื้อนสินทรัพย์ - 8,374,050 9,110,174 2,509,756 1,447,935 10,094,950 9,830,697 32,993,512 ราคาทุ 9 6 4 8 , 0 9 6 , 8 2 7 1 , 1 0 2 , 1 5 8 , 0 2 6 18,741,155 55,296,533 2,698,900 1,925,365,491 บวก 9,110,174 1,447,935 10,094,950 9,830,697 32,993,512 บวกซืซื้ออสิสินนทรั 2,509,756 1,447,935 10,094,950 9,830,697 32,993,512 ทรัพพย์ย รัหับกเข้คาา(โอนออก) -8,854,923 1,282,750 (10,137,673) เสืาาอ(โอนออก) มราคาสะสม (207,103,451) (453,806,222) (16,149,699) (22,878,273) (699,937,645) รัรับบเข้เข 8,854,923 1,282,750 (10,137,673) (โอนออก) (10,137,673) -าอย/ตั ดจํอายค หน่าสิยสิ นทรั พย์ -- - (5,182,777) (559,959) (614,336) หัหักกจํหัคหัากหน่ ากจํเผื การด - (54,377) (5,182,777) าาย/ตั ยสิ (54,377) (559,959) (614,336) หนนาาทรั ยสิพนนยทรั ทรัพพย์ย (54,377) (559,959) -(614,336) จําาหน่ หน ย/ตัดดจํจําาหน่ (33,286,452) (69,651,104) (1,173,718) (4,206,155) (108,317,429) หัมูลกคาค่สุาทเสืธิ่อตมราคา ญชี (33,286,452) (1,173,718) (4,206,155) (108,317,429) (69,651,104) (1,173,718) (4,206,155) - - 2,698,900 (108,317,429) 98,374,050 440,993,376 643,169,027 2,591,456 32,418,260 1,220,245,069 หัหักก ค่คาาเสืามบั เสื่ออมราคา มราคา 98,374,050 474,528,313 706,999,762 2,795,574 27,105,287 930,661 1,310,733,647 มูลค่าสุทธิตามบัญชีสิ้นปี 98,374,050 474,528,313 2,795,574 27,105,287 930,661 1,310,733,647 1,310,733,647 706,999,762 2,795,574 27,105,287 930,661 ามบัญญชีชีสสิ้นินปีปี มูมูลลค่คาาสุสุททธิธิตตามบั ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2556 31 2556 นที่ ธั31 ธันวาคม ณ วัณ นทีวั 31 นวาคม 25572556 และ 2556ทีดิน อาคารและอุปกรณ มูลคาสุทธิตามบัญชี จํานวนเงิน 1,033.3 ลานบาท และจํานวนเงิน 1,123.3 ลานบาท ตามลําดับ ไดถูกจดจํานองไวเป็นหลักทรัพยคํา ราคาทุ น 1,097,027,587 17,985,929 49,427,873 930,661 1,911,349,035 ราคาทุ 98,320) 74,050 647,602,935 647,602,935 11,097,027,587 ,097,027,587 117,985,929 7,985,929 49,427,873 930,661 98,374,050 647,602,935 49,427,873 930,661 1,911,349,035 1,911,349,035 ประกัราคาทุ นวงเงินนกูยืมจากสถาบันการเงิน (หมายเหตุ1898,374,050 และ หัก หัค่กาเสืค่า่อเสื มราคาสะสม (173,074,622) (384,845,048) (15,190,355) (22,322,586) (595,432,611) (384,845,048) (15,190,355) (22,322,586) -(595,432,611) ่อมราคาสะสม (173,074,622) (15,190,355) (22,322,586) (595,432,611) (384,845,048) (5,182,777) (5,182,777) หัก หัค่กาเผืค่า่อเผื การด้ อ ยค่ า สิ น ทรั พ ย์ (5,182,777) --(5,182,777) -่อการด้อยค่าสินทรัพย์ --(5,182,777) (5,182,777) มูลค่าสุทธิตามบัญชี 98,374,050 474,528,313 706,999,762 2,795,574 27,105,287 930,661 1,310,733,647 98,374,050 706,999,762 2,795,574 27,105,287 474,528,313 930,661 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 98,374,050 474,528,313 706,999,762 2,795,574 27,105,287 930,661 1,310,733,647 1,310,733,647

งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิจการ

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

109


110

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014

706,999,762 706,999,762 4,578,734 4,578,734 551,705 - 551,705 (68,961,174) (68,961,174) 643,169,027 643,169,027 11,102,158,026 ,102,158,026 1,102,158,026 (453,806,222) (453,806,222) (5,182,777) (5,182,777) 643,169,027 643,169,027

6648,096,827 48,096,827 648,096,827 (207,103,451) (207,103,451) 440,993,376 440,993,376

เครื่องจั​ักรและ ่องจัอเครื กรและ เครืเครื ่องมื ่องใช งใช้ เครื่องมือเครื่องใช้

474,528,313 474,528,313 443,000 443,000 50,892 - 50,892 (34,028,829) (34,028,829) 440,993,376 440,993,376

อาคารและ อาคารและ งานระบบ งานระบบ

18,741,155 18,741,155 (16,149,699) (16,149,699) (16,149,699) -2,591,456 2,591,456 2,591,456

2,795,574 2,795,574 759,422 - 759,422 - (3,194) (3,194) (3,194) (960,346) (960,346) (960,346) 2,591,456 2,591,456 2,591,456

เครื่องตกแต งตกแต่งงและ และ เครื อ ่ งตกแต่ ง และ เครื่องใช งใช้สสําํานันักกงาน งาน เครื่องใช้สํานักงาน

55,296,533 55,296,533 55,296,533 (22,878,273) (22,878,273) (22,878,273) -32,418,260 32,418,260 32,418,260

27,105,287 27,105,287 10,881,160 10,881,160 10,881,160 -(891,200) (891,200) (891,200) (4,676,987) (4,676,987) (4,676,987) 32,418,260 32,418,260 32,418,260

ยานพาหนะ ยานพาหนะ ยานพาหนะ

2,698,900 2,698,900 -- 2,698,900 --2,698,900 2,698,900 2,698,900

930,661 930,661 930,661 2,370,836 2,370,836 2,370,836 (602,597) (602,597) -- (602,597) --2,698,900 2,698,900 2,698,900

งานระหว งานระหว่าางก งก่ออสร สร้าางง งานระหว่ า งก่ อ สร้ และเครื และเครื่อ่องจั งจักกรระหว รระหว่าาางงง และเครืติ่อติดงจั ดตัตัก้ง้งรระหว่าง ติดตั้ง

1,925,365,491 1,925,365,491 1,925,365,491 (699,937,645) (699,937,645) (699,937,645) (5,182,777) (5,182,777) (5,182,777) 1,220,245,069 1,220,245,069 1,220,245,069

1,310,733,647 1,310,733,647 1,310,733,647 19,033,152 19,033,152 19,033,152 --(894,394) (894,394) (894,394) (108,627,336) (108,627,336) (108,627,336) 1,220,245,069 1,220,245,069 1,220,245,069

รวม รวม รวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ กรณ์ มูลคค่าสุทธิตามบัญชี จํานวนเงิน 1,033.3 ลล้านบาท และจํ และจําานวนเงิ นวนเงินน 1,123.3 1,123.3 ลล้าานบาท นบาท ตามลํ ตามลําาดัดับบ ได ได้ถถูกูกจดจํ จดจําานองไว นองไว้เเป็ป็นนหลั หลักกทรั ทรัพพยย์คคํา้ํา ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2557 และ 2556ที ่ ด ิ น อาคารและอุ ป กรณ์ มู ล ค่ า สุ ท ธิ ต ามบั ญ ชี จํ า นวนเงิ น 1,033.3 ล้ า นบาท และจํ า นวนเงิ น 1,123.3 ล้ า นบาท ตามลํ า ดั บ ได้ ถ ู ก จดจํ า นองไว้ เ ป็ น หลั ก ทรั พย์ค้ํา ประกันวงเงินกูย้ ืมจากสถาบันการเงิน (หมายเหตุ18 และ 20) ประกันวงเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน (หมายเหตุ18 และ 20)

ที่ดินและส และส่วน ทีปรั่ดบินปรุ และส่ งที่ดวินน ปรับปรุงที่ดิน รายการระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 31 ธันวาคม 2557 2557 รายการระหว่ า งปี ส น ้ ิ สุ ด วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2557 มูลคค่าสุทธิตามบัญชีตน้ ปี 98,374,050 มูบวก ลค่าซืสุอ้ ทสิธินตทรัามบั ญ ชี ต น ้ ปี 98,374,050 พยย์ ซื อ ้ สิ น ทรั พ ย์ รับวก บเข า (โอนออก) -เข้ หัรับกเข้จําา(โอนออก) หน -หน่าย/ตัดจําหน หน่ายสินทรัพยย์ าย/ตัดจําหน่ายสินทรัพย์ หัหักก คค่จําาเสืหน่อ่ มราคา -หัก ค่าเสื่อมราคา 98,374,050 มูลคค่าสุทธิตามบัญชีสิน้ ปี 98,374,050 มูลค่วันาสุทีท่ 31 ธิตามบั ญชีสิ้น2557 ปี ณ 31 ธันวาคม 2557 ณ วันทีน่ 31 ธันวาคม 2557 ราคาทุ 998,374,050 8,374,050 ราคาทุ น 98,374,050 หัก คค่าเสือ่ มราคาสะสม หัหักก คค่ค่าาเผื เสือ่อ่ การด มราคาสะสม -การด้อยค ยค่าสินทรัพยย์ มูหัลกคค่ค่าสุาเผื ทธิ่อตการด้ ามบัอญยค่ ชี าสินทรัพย์ 98,374,050 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 98,374,050

บาท บาท บาท

หมายเหตุประกอบงบการเงิน


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

17. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 17.

1 มกราคม ณณ วันวัทีน 1ที่มกราคม ราคาทุ ราคาทุ นน ายสะสม หักหักคาค่ตัาดตัจํดาจํหนาหน่ ายสะสม ตามบั มูลมูคลาค่สุาทสุธิทตธิามบั ญชีญชี รายการระหว่ ที่ 31 นวาคม รายการระหว างปีางปี สินสสุิ้นดสุวัดนวัทีน 31 ธันธัวาคม ตามบั มูลมูคลาค่สุาทสุธิทตธิามบั ญชีญตชีนตปี้นปี บวกซื บวกซื อสิ้อนสิทรันทรั พยพย์ หักหักคาค่ตัาดตัจํดาจํหนาหน่ ายาย ตามบั มูลมูคลาค่สุาทสุธิทตธิามบั ญชีญสชีินสปีิ้นปี ที่ 31 นวาคม ณณ วันวัทีน 31 ธันธัวาคม ราคาทุ ราคาทุ นน ายสะสม หักหักคาค่ตัาดตัจํดาจํหนาหน่ ายสะสม ตามบั มูลมูคลาค่สุาทสุธิทตธิามบั ญชีญชี

18. เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 18.

ืมระยะสั เงินเงิกูนยกูืม้ยระยะสั น ้น

บาท บาท งบการเงิ นรวม งบการเงิ นรวม 2557 2556 2557 2556

งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ 2557 2556 2557 2556

8,88,840,845 40,845 (8,840,844) (8,840,844) 11

8,88,840,845 40,845 (7,227,560) (7,227,560) 1,613,285 1,613,285

8,88,840,845 40,845 (8,840,844) (8,840,844) 11

8,88,840,845 40,845 (7,227,560) (7,227,560) 1,613,285 1,613,285

11 3939,512,690 ,512,690 (267,189) (267,189) 39,245,502 39,245,502

1,61,613,285 13,285 - (1,613,284) (1,613,284) 11

11

11

1,61,613,285 13,285 - (1,613,284) (1,613,284) 11

4848,353,535 ,353,535 (9,108,033) (9,108,033) 39,245,502 39,245,502

8,88,840,845 40,845 (8,840,844) (8,840,844) 11

8,88,840,845 40,845 (8,840,844) (8,840,844) 11

8,88,840,845 40,845 (8,840,844) (8,840,844) 11

- - -

บาท บาท งบการเงิ นรวม งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงิ นรวม 2557 2556 2557 2556 2556 2557 2556 2557 3,032,611,000 1,299,636,292 1,299,636,292 3,023,687,582 3,023,687,582 1,299,636,292 1,299,636,292 3,032,611,000

ที่ 31 นวาคม 2557บริ และวงเงิ ืมระยะสั ้นจากสถาบั นการเงิ านวนเงิ นรวม50ล50ล้ านบาทและ และ ณณ วันวัทีน 31 ธันธัวาคม 2557บริ ษัทษมีัทวมีงเงิวงเงิ นเบินกเบิเกิกนเกิบันญบัชีญแชีละวงเงิ นกูนยกูืม้ยระยะสั นจากสถาบั นการเงิ นเป็นเป็ นจํนาจํนวนเงิ นรวม านบาท 4,480 านบาท ตามลํ บ โดยมี ัตราดอกเบี ร้อยละ MMR, Prime+1% 4,480 ลาล้นบาท ตามลํ าดัาบดัโดยมี อัตอราดอกเบี ยรอ้ยยละ MMR, Prime+1% และเงิ ืมระยะสั ้นจากสถาบั นการเงิ ําประกั นโดย นฝากประจํ าและเงิ นฝากออมทรั ย์ (หมายเหตุ12)12)ทีดทีิน่ดิน วงเงิวงเงิ นเบินกเบิเกิกนเกิบันญบัชีญแชีละเงิ นกูนยกูืม้ยระยะสั นจากสถาบั นการเงิ น คนําค้ประกั นโดย เงินเงิฝากประจํ าและเงิ นฝากออมทรั พยพ(หมายเหตุ อาคารและอุ ปกรณ์ (หมายเหตุ ร่วมกั บการค้ ําประกั นโดยกรรมการบริ ัทบางท่ อาคารและอุ ปกรณ (หมายเหตุ 16)16) รวมกั บการค ําประกั นโดยกรรมการบริ ษัทษบางท านาน

19. เจ้าหนี้อื่น 19.

คาค่ใชาจใช้าจยค่ายค้ างจาางจ่ยาย น (หมายเหตุ เจาเจ้หนีาหนี อืน้อ-ื่นบริ- บริ ษัทษทีัทเกีทีย่เกีวข่ยวข้ องกัองกั น (หมายเหตุ 6.2)6.2) เจาเจ้หนีาหนี อนื ้อ- ื่นบริ-ษบริัทษอืนัทอื่น เจาเจ้หนีาหนี ซือ้ซทรัื้อทรั พยพสย์นิ สนิ รวมรวม

บาท บาท

งบการเงิ นรวม งบการเงิ นรวม 2557 2556 2557 2556 5353,909,250 ,909,250 8181,176,407 ,176,407 395,158 395,158 - 436436,429 ,429 6,46,478,156 78,156 822,490 670,312 822,490 670,312 55,563,327 88,324,875 88,324,875 55,563,327

งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ 2557 2556 2557 2556 5353,782,543 ,782,543 8383,024,855 ,024,855 788,675 1,676,159 788,675 1,676,159 2,22,258,705 58,705 2,02,070,994 70,994 822,490 670,312 822,490 670,312 57,652,413 87,442,320 57,652,413 87,442,320 บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

111


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

20.20. เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

้ยืมระยะยาวจากสถาบั นการเงิ เงินเงิกูยนืมกูระยะยาวจากสถาบั นการเงิ น น ส่วคนทีรบกํ ่ครบกํ าหนดชํ าระภายในหนึ หักหัสกวนที าหนดชํ าระภายในหนึ งปี ่งปี ส่วนที ่จัดนเป็หนีนหนี ้สินหมุ สวนที จัดเป็ สินหมุ นเวีนยเวีนยน สุทธิสุทธิ

บาทบาท งบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการ 2557 2556 2556 2557 66,66,380,000 380,000 132132,380,000 ,380,000 (66(66,380,000) ,380,000) (66(66,000,000) ,000,000) (66,380,000) (66,380,000) - - - -

ธันวาคม 2557เงิ ้ยืมจากสถาบั นการเงิ จํานวน 66.38ล้ านบาท (2556: จํานวน 132.38ล้ านบาท) ดดอกเบี ้ยในอั ณ วัณนทีวัน31ที่ 31 ธันวาคม 2557เงิ นกูยนืมกูจากสถาบั นการเงิ น จํนานวน 66.38ล านบาท (2556: จํานวน 132.38ล านบาท) คิดคิดอกเบี ยในอั ตราตรา ร้อยละ ดังากล่วจะจ าวจะจ่ นรายเดื อนตามที ว้ในสั ญญาเงิ รอยละ MLRMLR -0.5-0.5 ตอปีต่อเงิปีนเงิกูยนืมกูดั้ยืมงกล ายคืานยคืเป็นนเป็รายเดื อนตามที ระบุ่รไะบุ วใไนสั ญญาเงิ นกูนยกูืม้ยืม ดังากล่วขาาวข้งตานงต้คนําประกั ค้ําประกั นโดย นฝากประจํ าและเงิ นฝากออมทรั ย์ (หมายเหตุ และที ินอาคารและอุ ปกรณ์ (หมาย วงเงิวงเงิ นกูยนืมกูดั้ยืงมกล นโดย เงินเงิฝากประจํ าและเงิ นฝากออมทรั พยพ(หมายเหตุ 12)12) และที ดิน่ดอาคารและอุ ปกรณ (หมาย บการค้ ําประกั นโดยกรรมการบริ ัทบางท่ เหตุเหตุ 16)ร16)ร่ วมกัวบมกัการค ําประกั นโดยกรรมการบริ ษัทษบางท าน าน รายการเคลื ่อนไหวของเงิ ้ยืมระยะยาวจากสถาบั นการเงิ สําบหรัปีบสปีินสสุิ้นดสุวันดทีวัน31ที่3ธั1นวาคม ธันวาคม 2557สรุ นกูยนืมกูระยะยาวจากสถาบั นการเงิ นสํนาหรั 2557สรุ ปไดปดได้ังนีด ังนี้ รายการเคลื อนไหวของเงิ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

บาทบาท รายการระหว่างปีสิ้นสุดวัน31 ที่ 31ธันวาคม 2557 2557 ยอดคงเหลื ยอดคงเหลื อตนอปีต้นปี จ่านยคืเงินเงิกูยนืมกู้ยืม จายคื ยอดคงเหลื ยอดคงเหลื อสินอปีสิ้นปี ระยะเวลาการครบกํ าหนดของเงิ ้ยืมระยะยาวสรุ ระยะเวลาการครบกํ าหนดของเงิ นกูยนืมกูระยะยาวสรุ ปไดปดได้ังนีด ังนี้

ส่วคนทีรบกํ ่ครบกํ าหนดชํ าระภายใน สวนที าหนดชํ าระภายใน 1 ปี1 ปี ส่วจนทีัดเป็ ่จัดนเป็หนีนสหนีินหมุ ้สินหมุ สวนที นเวีนยเวีนยน รวมเงิ ้ยืมระยะยาวจากสถาบั นการเงิ รวมเงิ นกูยนืมกูระยะยาวจากสถาบั นการเงิ น น

132132,380,000 ,380,000 (66,000,000) (66,000,000) 66,380,000 66,380,000

บาทบาท งบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการ 2557 2556 2557 2556 66,66,380,000 380,000 - 66,380,000 66,380,000

66,66,000,000 000,000 66,380,000 66,380,000 132,380,000 132,380,000

ญญาเงิ กู้รขะบุอปฏิ ข้อปฏิ ัติและข้ กัดบางประการเช่ น การดํ ารงอั ตราส่ วนของหนี ส่วนของผู สัญสัญาเงิ นกูรนะบุ บัตบิและข อจําอกัจํดาบางประการเช น การดํ ารงอั ตราส วนของหนี สิน้สตินอต่สอวนของผู ถือ้ถหุือนหุเป็้น นเป็ตนต้น ตามข้ กําหนดของสั ญญาเงิ ที่จะไม่ นําพทรัยพสินย์ของบริ สินของบริ ัทไปจดจํ านอง ก่อภาระผู นในทรั คคลอื ตามข อกําอหนดของสั ญญาเงิ นกูยนืมกู้ยบริืมษบริัทษไดัทใได้ หคให้ํามัคนํามัที่นจะไม นําทรั ษัทษไปจดจํ านอง หรือหรืกอภาระผู กพักนพัในทรั พยพสย์ินสกัินบกับุบคบุคลอื น ่น ตลอดอายุ ัญญาเงิ กู้ และบริ ต้องปฏิ ัติตามเงื ่อนไขบางประการ น การดํ ารงอั ตราส่ วนทางการเงิ ้นรอบระยะเวลา ตลอดอายุ สัญสญาเงิ นกู นและบริ ษัทษตอัทงปฏิ บัตบิตามเงื อนไขบางประการ เชนเช่การดํ ารงอั ตราส วนทางการเงิ น เป็นนเป็ตนต้ณน วัณนสิวัน สิรอบระยะเวลา รายงาน สามารถดํ ตราส่ วนทางการเงิ นตามเงื ่อนไขที ว้ในสั ญญาเงิ นไปตามหลั กการบั ี่รับรองทั รายงาน บริษบริัทษไมัทสไม่ามารถดํ ารงอัารงอั ตราส วนทางการเงิ นตามเงื อนไขที ระบุ่รไะบุ วใไนสั ญญาเงิ นกูนยกูืม้ยเพื​ืมอเพืให่อเให้ ป็นเป็ไปตามหลั กการบั ญชีญทชี​ีรับทรองทั วไป่วไป จัดประเภทเงิ ดังากล่ ้สินหมุ จํานวน บริษบริัทษจึงัทจัจึดงประเภทเงิ นกูยนืมกูดั้ยงืมกล วเป็าวเป็ นหนีนหนี สินหมุ นเวีนยเวีนทัยนทั งจํา้งนวน 112

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

21. 21. 21. หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน 21. หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน

ภายใต ญาเช าการเงิ หนีหนี สิน้ส ภายใต สัญสัญ ญาเช าการเงิ นน ินภายใต้ ญาเช่ หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน หักหักดอกเบี ยรอตั ดบัดญ ชี ชี ดอกเบี ้ย รอตั บัญ หัก ดอกเบี้ยรอตัดบัญชี ค่ รบกํ าหนดชํ าระภายในหนึ หักหักสวส่สนที ครบกํ าหนดชํ าระภายในหนึ งปีง่ ปี วนที หัก ส่วนที่ครบกําหนดชําระภายในหนึ่งปี สุทสุธิทธิ สุทธิ

บาท บาท บาท

งบการเงิ นรวม งบการเงิ นรวม งบการเงินรวม 2556 2557 2557 2556 2557 2556 17,710,700 40,752,000 17,710,700 40,752,000 17,710,700 40,752,000 (2,664,711) (556,753) (556,753) (2,664,711) (556,753) (2,664,711) 17117,153,947 ,175,135,934,9747 38338,087,289 ,088,078,278,2989 17,153,947 38,087,289 (20,413,998) (17,062,597) (17,062,597) (20,413,998) (17,062,597) (20,413,998) 91,350 17,673,291 91,350 17,673,291 91,350 17,673,291

งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 2557 2556 -----------

ภายใต้ ายใต ญาเช าการเงิ จ้ ะโอนเป็ นของกลุ ม่ บริ อ่ ได ําระเงิ นงวดสุ ายแล กรรมสิ ทธิทใธินสิ นทรั พยพภย์ยายใต สัญสัญ ญาเช าการเงิ นนีนจนีะโอนเป็ นของกลุ มบริ ษัทษก็ัทตก็อตเมือ่ เมื อได ชําชระเงิ นงวดสุ ดทดาทท้ยแล วว กรรมสิ ์ใ นสิ นทรั ญาเช่ ได้ ยแล้ กรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าการเงินนี้จะโอนเป็นของกลุ่มบริษัทก็ต่อเมื่อได้ชําระเงินงวดสุดท้ายแล้ว ยได ญากั บสถาบั นการเงิ ่อโอนสิ การรั ับจากสั ญาจ างขนส งจากบริ ัทใหญ ่อการชํ บริบริ ษัทษยัทอยย่ยได ทําทสัําญสัญ ญากั บสถาบั นการเงิ นผูนใผูห้ใเหห้ชเาชช่เพืาเพื อโอนสิ ทธิทกธิารรั บเงิบนเงิทีนไทีด่ไรดด้ับรจากสั ญญ ญาจ างขนส งจากบริ ษัทษใหญ อการชํ าระาระ อยได้ ญาจ้ งขนส่ ใหญ่เพืเพื บริษัทย่อยได้ทําสัญญากับสถาบันการเงินผู้ให้เช่าเพื่อโอนสิทธิการรับเงินที่ได้รับจากสัญญาจ้างขนส่งจากบริษัทใหญ่ เพื่อการชําระ ญาเช หนีหนี ตามสั ญญ ญาเช าการเงิ นกันบกัสถาบั นการเงิ นดันงดักล าวาว ้ต ามสั ญาเช่ าการเงิ บสถาบั นการเงิ งกล กล่ หนี้ตามสัญญาเช่าการเงินกับสถาบันการเงินดังกล่าว

22. 22. 22. ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 22. ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน บริบริ ษัทษจัทาจ่จยค ายค่ ยค าชดเชยผลประโยชน าชดเชยผลประโยชน์ ชดเชยผลประโยชน หลัหงลัออกจากงานและบํ งออกจากงานและบํ าเหน็ าเหน็ จ จตามข ตามข อกํอากํหนดของพระราชบั าหนดของพระราชบั ญญ ญัญั ติคตุมิคครองแรงงาน ุม้ ครองแรงงานพ.ศ. พ.ศ.2541 2541ในการ ในการ ตามข้ บริษัทจ่ายค่าชดเชยผลประโยชน์หลังออกจากงานและบําเหน็จ ตามข้อกําหนดของพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ในการ ใหให ผลประโยชน ผลประโยชน เมืเอมืเกษี อ่ เกษี ยณยณและผลประโยชน และผลประโยชน ระยะยาวอื ระยะยาวอื นแก น่ แก พนัพกนังานตามสิ กงานตามสิ ทธิทแธิละอายุ และอายุ งาน งาน ให้ ลประโยชน์ และผลประโยชน์ แก่ ให้ผลประโยชน์เมื่อเกษียณ และผลประโยชน์ระยะยาวอื่นแก่พนักงานตามสิทธิและอายุงาน การเปลี การเปลี ยนแปลงในมู ย่ นแปลงในมู ลคลาคค่ปัาจปัจุจบจุันบของภาระผู ันของภาระผู กพักนพัของโครงการผลประโยชน นของโครงการผลประโยชน ของโครงการผลประโยชน์ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ งบการเงิ นรวม งบการเงิ นรวม งบการเงินรวม 2556 2557 2556 2557 2557 2556 ภาระผู กพักนพันณณวันวัตนนตต้ปีนปี ภาระผู ภาระผูกพัน ณ วันต้นปี นบริ การปั ันและดอกเบี ตนตต้ทุนนทุบริ การปั จจุจบจุันบและดอกเบี ย ย้ ต้นทุนบริการปัจจุบันและดอกเบีย้ ผลประโยชน จาจยในระหว างปี ผลประโยชน า่ ยในระหว างปี ผลประโยชน์ ยในระหว่ ผลประโยชน์จ่ายในระหว่างปี ขาดทุ นจากการประมาณการตามหลั กคณิ ตศาสตร ขาดทุ นจากการประมาณการตามหลั กคณิ ตศาสตร ศาสตร์ ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกั นภันยภัสํยาสํหรั บโครงการผลประโยชน พนัพกนังาน ประกั าหรั บโครงการผลประโยชน กงาน โครงการผลประโยชน์ ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน ภาระผู กพักนพันณณวันวัสินนสิปีน้ ปี ภาระผู ภาระผูกพัน ณ วันสิ้นปี คาค่คใชาใช้ จาจยที รับ่ร รูับใรูนกํ าไรหรื อขาดทุ นน ใช ่า ยที ้ใ นกํ าไรหรื อขาดทุ ค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในกําไรหรือขาดทุน สําหรับปีสนิ้ สุดวัทีน ที31 ่ 31 31 ธันวาคม สําหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม ตนต้ตทุนนทุบริ การปั จจุจบจุันบัน นบริ การปั ต้นทุนบริการปัจจุบัน ดอกเบี ย จากภาระผู กพักนพัน ดอกเบี ย้ จากภาระผู ดอกเบีย้ จากภาระผูกพัน รวม รวม

บาท บาท บาท

งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556 2557 2556 2557 2556

3,353,506,208 ,0560,62,02808 3,506,208 2,498,988 2,498,988 2,498,988 --

1,11,105,126 ,0150,51,21626 1,105,126 855,391 855,391 855,391 (104,000) (104,000) (104,000)

3,313,132,961 ,3123,29,69161 3,132,961 1,713,052 1,713,052 1,713,052 --

1,11,105,126 ,0150,51,21626 1,105,126 494,048 494,048 494,048 (104,000) (104,000) (104,000)

-6,005,196 6,005,196 6,005,196

1,649,691 1,649,691 1,649,691 3,506,208 3,506,208 3,506,208

-4,846,013 4,846,013 4,846,013

1,637,787 1,637,787 1,637,787 3,132,961 3,132,961 3,132,961

2,2,241,771 24,214,717,7171 2,241,771 257,217 257,217 257,217 2,498,988 2,498,988 2,498,988

80801,462 810,416,4262 801,462 53,929 53,929 53,929 855,391 855,391 855,391

1,511,503,484 0,530,438,4484 1,503,484 209,568 209,568 209,568 1,713,052 1,713,052 1,713,052

444440,119 04,101,1919 440,119 53,929 53,929 53,929 494,048 494,048 494,048

บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

113


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

้ใรูนกํ าไรหรื ออขาดทุ คาค่ใช คาใช้ าจใชาจยที จ่ายที ารยที ับ่รรูับรใับรูนกํ ใานกํ ไรหรื าไรหรื อขาดทุ ขาดทุ นขนานข้งต ขางต้ านงตนแสดงรวมในรายการดั นแสดงรวมในรายการดั แสดงรวมในรายการดั งตงอต่งไปนี ตออไปนี ไปนี  ้ บาท บาท บาท งบการเงิ นนรวม งบการเงิ รวม งบการเงิ นรวม 2557 2556 2556 2557 2557 2556

งบการเงิ นนเฉพาะกิ จการ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงิ เฉพาะกิ จการ 2557 2556 2557 2556 2557 2556

สําหรับปีสนิ้ สุดวัทีน ที31 ที่ 31  31ธันวาคม นนขาย ตนต้ทุตนนทุทุขาย ขาย

90908,710 89,0781,0710 1,590,278 1,590,278 1,590,278 2,498,988 2,498,988 2,498,988

หหาราร คาค่ใช หาร คาใช้ าจใชาจยในการบริ จ่ายในการบริ ายในการบริ รวม

604,517 604,517 604,517 250,874 250,874 250,874 855,391 855,391 855,391

699,644 699,644 699,644 1,013,408 1,013,408 1,013,408 1,713,052 1,713,052 1,713,052

243,174 243,174 243,174 250,874 250,874 250,874 494,048 494,048 494,048

ฐฐานหลั กกในการประมาณการตามหลั กกคณิ ตตศาสตร์ ปประกั ขอข้สมมติ ฐานหลั กในการประมาณการตามหลั กคณิ ตศาสตร ประกั นภันนยภัภัยณยณวัณนวัทีนวัรนทีายงาน ขออสมมติ สมมติ านหลั ในการประมาณการตามหลั คณิ ศาสตร ระกั ที่รายงาน รายงาน

ดดลดลด อัตตราคิ ราคิ อัตอัราคิ ดลด นนเดือเดืนออนน อัตตราการเพิ ราการเพิ ขึ้นนของเงิ ของเงิ อัตอัราการเพิ มขึ่มนมขึของเงิ นเดื ยยนพนั กกงาน อัตตราการหมุ ราการหมุ นพนั งาน อัตอัราการหมุ นเวีนนเวียเวีนพนั กงาน อัตตรามรณะ รามรณะ อัตอัรามรณะ

งบการเงิ นนรวมและงบการเงิ นนเฉพาะกิ จการ งบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงิ รวมและงบการเงิ เฉพาะกิ จการ อรอยละ 4.03 - -4.37 ยละ 4.03 4.37 รอร้ยละ 4.03 - 4.37 ตอต่ปีตออปีปี อรอยละ - -7.3ต่ ยละ 5.0 7.3ต รอร้ยละ 5.05.0 - 7.3ต อปีออปีปี อรอยละ - 22.6 ผันนแปรตามอายุ แปรตามอายุ นักกงาน งาน ยละ - 22.6 ผันผัแปรตามอายุ พนัพพกนังาน รอร้ยละ 0 0- 022.6 2551แยกเกณฑ์ ตตามเพศชายและหญิ อัตตราตามตารางมรณะไทยปี ราตามตารางมรณะไทยปี 2551แยกเกณฑ ามเพศชายและหญิ อัตอัราตามตารางมรณะไทยปี 2551แยกเกณฑ ตามเพศชายและหญิ ง งง

23. 23. 23.ทุนจดทะเบียนและทุนที่ออกและชําระแล้ว 2557และ 2556 ุนุนจดทะเบี ยยนและทุ าระแล้ วเป็ แบ่แบ นหุหุน ้นหุสามั สามั ณณวัณนวัทีวันน ที31ที่ 31  31 ธันธัวาคม ธันนวาคม วาคม 2557และ 2557และ 2556 2556 บริบริษบริัษทษมีัทัทมีมีุนททจดทะเบี จดทะเบี ยนและทุ นและทุ นทีนนอทีอกและชํ ที่อออกและชํ อกและชํ าระแล าระแล วเป็ วนเป็เงินนเงินเงิน800 น800 800ลล้าานบาท ลนบาท านบาท แบ งงเป็เป็งนเป็ นสามั ญญญ 800 จําจํนวน จํานวน านวน 800 800 ลาล้นหุ ลานหุ านนหุ้นมูนลมูคมูลาลค่หุคานหุาละ หุ้นนละละ 1 1บาท 1บาท บาท

24. 24. 24.ทุนสํารองตามกฎหมาย ัทัทได้จไดัดจสรรทุ ัทัทมหาชน 2535 ไม่ ้ออยกว่ าาร้รออยละ 55ของ กํของ บริบริษบริัทษษได จัดัดสรรทุ สรรทุ นสํนนาสํส�รองตามกฎหมายตามพระราชบั สําำรองตามกฎหมายตามพระราชบั ารองตามกฎหมายตามพระราชบั รองตามกฎหมายตามพระราชบั ญญญัญญัตญัิบตติริบษิบริัษทริษมหาชน มหาชน จําจํกัจําจ�ดกัาำกัดพ.ศ. พ.ศ. 2535 2535 ไมนนไม ยกว นอ้ ยกว าายละ รร้ออยละ ของ 55ของ กําาไรสุ ไรสุ กําก�ทไรสุ ทำธิไร ธิ ทธิ มหาชน กัดดพ.ศ. พ.ศ. 2535 ไม่ ยกว่ ยละ สุประจํ ทธิาปปีาระจ� ักยขาดทุ ด้วยขาดทุ น(ถสะสม ามีาทุ)านทุาจนกว่ ทุนส�จำําจรองจะมี ยกว่ า10ของทุ ร้อยละ 10 ของทุ นจดทะเบี ษั ท ประจํ นนสะสม (ถ้า(ถมีา)มีาจนกว อร้อยละ 10ของทุ นนจดทะเบี ยยนของบริ นสะสม นวนไม นจอน�ำยกว าราอร้านยละ 10ของทุ นจดทะเบี ยนของบริ ษษัทษัททุัทยนทุนของบริ ประจํ หาปีปีักหดหักำวักด้ปียขาดทุ ดวหวยขาดทุ สะสม มี) (ถ้ )จนกว่ จนกว ทุสํนานสํรองจะมี สํารองจะมี าารองจะมี จํานวนไม่ ํานวนไม น้อนวนไม่ อยกว่ ยกว ยละ จดทะเบี นของบริ ทุสํนานสํรองตาม สํารองตาม ารองตาม ทุกฎหมายไม นส�ำรองตามกฎหมายไม่ ำมาจ่ายปันผลได้ กฎหมายไม่ สสามารถนํ ามาจ่ าสยปั นนผลได้ กฎหมายไม สามารถนํ ามาจ ายปั นยปัผลได ามารถนํ ามาจ าามารถน� ผลได

ในปี2557 2557และและ 2556 ษัทัดได้ จัดนสรรทุ นส�ำรองตามกฎหมายเป็ นจ�2.2 ำนวนเงิ น 2.2 ล้าานบาท และจ� ำนวนเงิตามลํ น 5.3าดับล้านบาท ในปี 2556 ัทบริ และจํ นวนเงิ ในปี 2557 และและ 2556 บริบริษบริัทษษได นสํานสํรองตามกฎหมายเป็ นจํนานจํนวนเงิ น น2.2 ลาล้นบาท และจํ านวนเงิ น น5.3 ลาล้นบาท ตามลํ าดับาดับ ในปี 2557 2556 ัทได้จไดัดจสรรทุ จัดสรรทุ สรรทุ สํารองตามกฎหมายเป็ ารองตามกฎหมายเป็ จํานวนเงิ านวนเงิ น 2.2 ลานบาท านบาท และจํ านวนเงิ น5.35.3 ลานบาท านบาท ตามลํ ตามล�ำดับ

25. 25. 25.เงินปันผลจ่าย ตามมติ ี่ปี่ปีประชุ มมคณะกรรมการบริ กกายน ่าจมยเงิ น่านผลให้ ตามมติ ตามมติ ทีปทททระชุ มคณะกรรมการบริ คณะกรรมการบริ ษัทษษัทครั ที้งครั ทีง5/2556เมื ที่้ง5/2556เมื อวั่อนอวัเมื ทีนวันที่อ8ที่ วั8พฤศจิ  น8พฤศจิ ายน ายน 2556คณะกรรมการได 2556คณะกรรมการได มีมติมี อีมตินุติอมนุอนุัตมมิใมัตีมหัติใติจห้ิใอาหจนุยเงิ าัตยเงิ นิใปันห้นปัจปัผลให ผลให แนกแปัผก่แนูถผกผล ือู้ถผือูถือ ตามมติ ระชุ คณะกรรมการบริ ษัทครั ัทงครั ที 5/2556เมื ่ 5/2556 ทีพฤศจิ ่ 8 กพฤศจิ ก2556คณะกรรมการได้ ายน 2556 คณะกรรมการได้ ยเงิ ตู ้ตถราหุ ้น้ น ละในอั 800 จํนวนเงิ นน80.0 โดยจ่ า80.0 ยเงิ นานผลดั งกล่ าวในวั นธัปันวาคม 2556 แในอั ก่ตผราหุ ื อนหุละ ตบาท ราหุ ละ 0.1 บาท ำ้นนวน ล้านนหุ ้น80.0 ำนวนเงิ นบาท โดยจ่ นวาคม ผลดั ง2556 กล่าวใน หุนหุให้ ในอั หุ้นนในอั ราหุ ละ 0.10.1 0.1 บาท บาท จํ้ นาจํนวน จํานวน านวน 800 800 ลาล้นหุ ลานหุ าจ�นนหุ เป็นเป็นเป็จํนาน800 จํานวนเงิ านวนเงิ 80.0 ลเป็าล้นบาท ลานนบาท าจ�นบาท โดยจ โดยจ านยเงิ ายเงิ นปันนปัล้ปัผลดั ผลดั งกล งากล วในวั าวในวั นาทีนยเงิ 4นทีธัที่4นธั4นวาคม 2556 วันที่ 4 ธันวาคม 2556

114

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


26. ส่ส่ววนได้ 26. นได้เสีเสียยทีที่ไม่​่ไม่มมีอีอํานาจควบคุ ํานาจควบคุมม 26. 26. 26. ส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม 26.26.ส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม ยอดยกมา ยอดยกมาณณวันวันทีที่ 1่ 11มกราคม 1มกราคม ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม การลงทุ นนเพิเพิ วนได้ เสีเสียเยทีสีที่ไยม่​่ไ ทีม่มมไมีอมีอํามนาจควบคุ มม ม การลงทุ ่มในบริ ในบริ อยโดยส่ วนได้ ําีอนาจควบคุ การลงทุ น่มเพิ มวัในบริ ยยโดยส่ อยโดยส วนได ํานาจควบคุ ยโดยส นได ยอดยกมา ณ นษทีษัท่ 1ัทษย่1ย่อยัทมกราคม ษนัทนย่นอยโดยส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม ส่ส่การลงทุ วสนแบ่ ง(กํ ไร)ขาดทุ วสนแบ่ งน(กํงาเพิ(กํ า่มไร)ขาดทุ วนแบ าในบริ ไร)ขาดทุ นแบ การลงทุ น(กํเพิ ในบริ นาเพิ่มไร)ขาดทุ มในบริษัทษย่ัทอยยโดยส่ อยโดยสวนได้ วนไดเสีเยสีทีย่ไทีม่ไมมีอมําีอนาจควบคุ ํานาจควบคุม ม ส่การจ่ วการลงทุ นแบ่ การจ่ ายปั ายปั นผล ผล การจ างนยปั นผล น การจ ส่การจ่ วสนแบ่ ง(กํงน(กําผล ไร)ขาดทุ วนแบ าไร)ขาดทุน น า่ยยปั การเปลี นนลงทุ นนในบริ ษษัทัทย่ษย่อยัทอยยยอย การเปลี ่ยนสั ดส่ส่วสดนเงิ วสนเงิ ลงทุ ในบริ การเปลี ยดนสั วนเงิ นลงทุ นในบริ  นสั การจ่ า ยปั น ผล การจ า ยปั น ผล การเปลี ่ยนสั ดอณวั ส่ณวั ยอดคงเหลื ออณวั นวนเงิ ธันธันวาคม ยอดคงเหลื นทีที่ น31 ่ นที31ลงทุ ยอดคงเหลื  31 ธันวาคม นในบริ วาคมษัทย่อย การเปลี ส่ดวสนเงิ ในบริ การเปลี่ยนสั ยอนสัดณวั นลงทุ นในบริษัทษย่ัทอยยอย ยอดคงเหลื นวทีนเงิ ่ น31ลงทุ ธันนวาคม ยอดคงเหลื ยอดคงเหลือ อณวัณวันทีน่ ที31 31ธันธัวาคม นวาคม

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บาท บาท บาท บาท งบการเงิ นนรวม งบการเงิ รวม งบการเงิ นรวม บาท บาท งบการเงิ น รวม 2557 2556 2557 2556 2557 2556 งบการเงิ น รวม งบการเงิ น รวม 2557 2556 26,539,253 13,684,095 26,539,253 13,684,095 26,539,253 13,684,095 2557 2556 2556 2557 26,539,253 13,684,095 29,627,410 9,450,000 29,627,410 9,450,000 29,627,410 9,450,000 26,539,253 13,684,095 26,539,253 13,684,095 9,450,000 (7,284,213) 3,405,158 (7,284,213) 3,405,158 (29,627,410 7(,72,8248,42,1231)3) 3,34,0450,51,51858 29,627,410 9,450,000 29,627,410 9,450,000 (7,284,213) (4,800,000) - 3,405,158 (4,800,000) -(4(,48,0800,0,0000)0) (7,284,213) 3,405,158 (7,284,213) 3,405,158 (4,800,000) 38,585,104 --- 38,585,104 38,585,104 (4,800,000) --26,539,253 (82,667,555 4,800,000) 38,585,104 82,667,555 26,539,253 82,667,555 26,539,253 38,585,104 -38,585,104 82,667,555 26,539,253 82,667,555 26,539,253 82,667,555 26,539,253

27. ภาษี 27. ภาษีเงิเนงินได้ได้ 27. 27. 27. ภาษีเงินได้ งบการเงิ รวม งบการเงิ รวม 27.27. ภาษี เงินนได้ งบการเงินรวม งบการเงินรวม

บาท บาท บาท บาท งบการเงิ นนรวม งบการเงิ รวม งบการเงิ นรวม บาท บาท งบการเงิ น รวม 2557 2556 2557 2556 2556 2557 งบการเงิ น รวม งบการเงิ น รวม 2557 2556 ภาษี ภาษีเงิเนงินได้ได้งวดปั งวดปัจจจุจุบบนั นั 2557 2556 2557 2556 ภาษีเงินได้งวดปัจจุบนั ค่ค่ภาษี เงวดปั งิเนงินเได้ 554,791 1,717,020 าคใช้ จเ่างิยภาษี ่า นจยภาษี 554,791 1,717,020 าจใช าได้ยภาษี งิได้ นจจุไดบนั คาใช้ ใช ได 55545,47,97191 1,17,1771,70,20020 ค่าภาษี ใช้ เงินดได้ดบับัญ 554,791 (231,837) - -1,717,020 (231,837) (231,837) ภาษี เงิเนจงินเ่าได้ อการตั ภาษี ได้ รอการตั ชี ชี งิยภาษี นรได รอการตั ดญ บัชีญ ได ค่ภาษี าคใช้ จ า ่ ยภาษี เ งิ น ได้ 554,791 1,717,020 าใช จ า  ยภาษี เ งิ น ได 5 5 4 , 7 9 1 11,717,020 ,717,020 (231,837) 322,954 1,717,020 322,954 1,717,020 322,954 รวม รวม เงินได้รอการตัดบัญชี (231,837) -1,717,020 (231,837) 322,954 ภาษี ภาษีเงิเนงิได้ นไดรอการตั รอการตัดบัดญ บัญชี ชี รวม รายการกระทบยอดจํ านวนเงิ นนระหว่ างค่ ใช้ เงิเนงิเนได้ ณณของกํ าไรทางบั ญญชี322,954 ทที่ ใช้ี่ ใทช้ชสี ใสํ าชํหรั บหรับปีปีบสสิ้ปีนิ้ นสุสสุิดนดวัสุนวัดนทีวัที่น่  ที รายการกระทบยอดจํ านวนเงิ ระหว่ างค่ าใช้ ผลคู ของกํ าไรทางบั กั บชีั บอักอั​ัตบตราภาษี าส1,717,020 หรั รายการกระทบยอดจํ านวนเงิ นระหว าางค าจใชจ่ า่ยภาษี  ายภาษี งิได้ นกไดกั บั บกผลคู ั บผลคู ณ ของกํ าไรทางบั ญชีก322,954 อัราภาษี ตราภาษี ํ า1,717,020 ระหว งค ใช าจยภาษี ได รวม รายการกระทบยอดจํ า นวนเงิ น ระหว่ า งค่ า ใช้ จ ่ า ยภาษี เ งิ น ได้ ก ั บ ผลคู ณ ของกํ า ไรทางบั ญ ชี ก ั บ อั ต ราภาษี ท ่ ี ใ ช้ ส ํ า หรั บปี สิ้ นสุ ดวั นที่ 3131ธั31นธันวาคม 2557 และ 2556 สามารถแสดงได้ ดดังนีังดนี้ ัง้ นี และ 2556 สามารถแสดงได้ 2557 ธัวาคม นวาคม 2557 และ 2556 สามารถแสดงได สามารถแสดงได 31 ธันวาคม 2557 และา2556 สามารถแสดงได้ บาท รายการกระทบยอดจํ นวนเงิ นระหว่ ญบาท กชีั บกัอับตอัราภาษี รายการกระทบยอดจํ านวนเงิ นระหวางค่ างคาใช้ าดใชจัง่ านีจยภาษี ้ายภาษีเงิเนงิได้ นไดกั บกัผลคู บผลคูณณของกํ ของกําไรทางบั าไรทางบั ญชีบาท ตราภาษีที่ ใทช้ี ใสชํ าสหรั ํ าหรับปีบสปีิ้ นสิสุนดสุวัดนวัทีน่ ที บาท งบการเงิ 3131ธันธัวาคม นวาคม2557 2557และ และ2556 2556สามารถแสดงได้ สามารถแสดงไดดังดนีัง้ นี งบการเงิ นนรวม นนเฉพาะกิ จจการ งบการเงิ รวม งบการเงิ เฉพาะกิ การ งบการเงิ นรวม งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ บาท บาท งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ งบการเงิ น รวม งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ 2557 2556 2557 2556 41,976,227 41,976,227 110,288,564 43,194,554 103,105,894 41,976,227 110,288,564 110,288,564 43,194,554 43,194,554 103,105,894 103,105,894 กํกําไรทางบั ญญชีญ เงิเนงินเได้ ากํไรทางบั ชีกกอ่ ชีอ่นภาษี นิติตบนิบุคิตุคคล าไรทางบั อ นภาษี งิได้ นนได ิบคล ุคคล  กนภาษี ได 2557 2556 2557 2556 2557 2556 2557 2556 41,976,227 110,288,564 43,194,554 103,105,894 อ่ นิตนภาษี นได้นิติบุคคล 20% 15%-20% 20% 15%-20% 20% 15%-20% 20% 15%-20% 20% 15%-20% 20% 15%-20% อัอักํตตาราภาษี เงิเนญ ราภาษี งินเได้ ิตบนิบุคิตุคคล อัไรทางบั ตราภาษี งิชีได้ นกนได ิบคล ุคเงิคล ได 41,976,227 110,288,564 103,105,894 41,976,227 110,288,564 43,194,554 43,194,554 103,105,894 20% 15%-20% 20% 15%-20% กํตากํไรทางบั ญ ชีกชีอ่ กนนภาษี เงิเนงิได้ าไรทางบั อ ิตนภาษี นไดนิตนิบตุคิบคล ุคคล ราภาษี งิชีนญ ิบุคเคล กํกํอัาไรทางบั ญเญ งิเนงินเได้ ณณอัณ 8,395,245 22,050,966 8,638,911 20,621,179 ากํไรทางบั ชีกได้ กอ่ ชีอ่นภาษี นิติตบนิบุคิตุคคลคู อัตตราภาษี 8,395,245 22,050,966 8,638,911 20,621,179 าไรทางบั ญ อ นภาษี งิได้ นนได ิบคลคู ุคคลคู อัราภาษี ตราภาษี 8,395,245 22,050,966 8,638,911 20,621,179  กนภาษี ได 20% 15%-20% 20% 15%-20% 20% 15%-20% 20% 15%-20% อักํตาอัไรทางบั ราภาษี งิเนงิชีได้ น ต ิ บ ิ ค ุ คล ตราภาษีเญ นกได น ต บ ิ ค ุ คล อ่ นภาษี งิบ:น:บได้: นิติบุคคลคูณอัตราภาษี 8,395,245 22,050,966 8,638,911 20,621,179 ผลกระทบทางภาษี สสําหรั ผลกระทบทางภาษี ําสหรั ผลกระทบทางภาษี ําบเหรั กํผลกระทบทางภาษี ากํไรทางบั เงิเนงิได้ 8,395,245 8,638,911 าไรทางบัญญชีกชีอ่ กนภาษี อ สนภาษี นไดนิตนิบตุคิบคลคู ุคคลคูณณอัตอัราภาษี ตราภาษี 8,395,245 22,050,966 22,050,966 8,638,911 20,621,179 20,621,179 การส่ งเสริ นนํานหรับ: (9,018,440) การส่ งเสริ มการลงทุ การลงทุ (9,018,440) (20,926,846) (9,018,440) (20,926,846) การส งมเสริ มการลงทุ (9(,90,1081,84,4404)0) (20,926,846) (2(02,09,2962,68,4864)6) (9,018,440) (9(,90,1081,84,4404)0) (20,926,846) (2(02,09,2962,68,4864)6) การส ผลกระทบทางภาษี สําสหรั ผลกระทบทางภาษี ําหรับ:บ: การลงทุ (9,018,440) 1,177,986 592,900 379,529 305,667 1,177,986 592,900 379,529 305,667 1,177,986 (20,926,846) 592,900 (9,018,440) 379,529 (20,926,846) 305,667 ค่ค่การส่ าคใช้ ยต้ มามามน าคใช้ จ่างเสริ ่า จยต้ องห้ งห้ าจใช าอมยต อางห ใช ยต งห การส่ ง เสริ ม การลงทุ น (9,018,440) (20,926,846) (9,018,440) (20,926,846) ( 9 , 0 1 8 , 4 4 0 ) ( 2 การส ง เสริ ม การลงทุ น 0 , 9 2 6 , 8 4 6 ) ( 9 , 0 1 8 , 4 4 0 ) ( 2 0 , 9 26,846) 1,177,986 592,900 379,529 305,667 ค่าภาษี ใช้ 554,791 -- -- 554,791 1,717,020 554,791 1,717,020 1,717,020 ภาษี เงิเนจงินเ่าได้ ภาษี ได้ ปัจอัจจุงห้ ได งิยต้ นปได ปจุบัจบานั จุมนั บนั 1,177,986 592,900 379,529 305,667 1,177,986 592,900 ค่าคใช้ จงิน่าจยต้ อัจงห้ าเใช ายต อจุงห 554,791 1,717,020 - 379,529 - 305,667 ภาษี บามนั าม (231,837) -- -- -- (231,837) (231,837) การเปลี ่ย่ยนแปลงของผลแตกต่ างชั คราว การเปลี างชั ว่  คราว  ได้นแปลงของผลแตกต่ นแปลงของผลแตกต การเปลี ยปนแปลงของผลแตกต าว่ งชั ว คราว 554,791 1,717,020 554,791 ภาษี ภาษีเงิเนงิ่ยได้ นนแปลงของผลแตกต่ ไดปัจปจุัจบจุนั บนั (231,837) -1,717,020 -- -- การเปลี างชัว่ คราว 322,954 -- -- 322,954 1,717,020 322,954 1,717,020 1,717,020 ค่ค่คาใช้ เงิเนงินเได้ ่ในงบกํ าไรขาดทุ นนเบ็เบ็ าคใช้ จ่ายภาษี ่า จยภาษี ที่แี่แสดงอยู ่ใ นงบกํ าไรขาดทุ ดเสร็ เสร็ จจ าไรขาดทุ นดเบ็ ดจเสร็ าจใช ายภาษี งิได้ นทได ทสดงอยู ีแสดงอยู ในงบกํ ใช ได (231,837) ---(231,837) การเปลี การเปลี่ยนแปลงของผลแตกต่ ยนแปลงของผลแตกตางชั างชัว่ คราว ว คราว 322,954 1,717,020 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งิเนงิเนได้ าหรั ่อ322,954 ษษัทัทษได้ได้ ับร1,717,020 ททางภาษี ตตรส่รส่ เสริ ม-มการลงทุ นน น ษาัทยภาษี ัทษไม่ไม่ าระภาษี ิตบนิบุคตาุคิคลสํ คลสํ าหรั บปีเบ็ ่องจากบริ งจากบริ ับผลประโยชน์ างภาษี ากบั งเสริ ัทมไม มงิได้ าระภาษี งิได้ น่ในนงบกํ ได บไรขาดทุ คลสํ าบนหรั ปี2557และ2556เนื 2557และ2556เนื องจากบริ ัทร1,717,020 ได รผลประโยชน์ ับผลประโยชน ทางภาษี จากบั ตงรส งเสริ มการลงทุ ไม ได ได ผลประโยชน รส 322,954 - - จจากบั -การลงทุ ค่าคใช้ จ่าษจบริ ยภาษี เมีภงิีเภนาระภาษี ที่แทสดงอยู เสร็ จจ าบริ ใชบริ นีภได ีแเสดงอยู ในิตนงบกํ าุคไรขาดทุ นปีบเบ็ด2557และ2556เนื ดเสร็ บริ(หมายเหตุ ษัทไม่ม30) ีภ30) าระภาษี (หมายเหตุ (หมายเหตุ 30) เงินได้นิติบุคคลสําหรับปี 2557และ2556เนื่องจากบริษัทได้รับผลประโยชน์ทางภาษีจากบัตรส่งเสริมการลงทุน (หมายเหตุ บริบริษัษทไม่ าระภาษี จากบั ัทไมมีภม30) ีภาระภาษีเงิเนงิได้ นไดนิตนิบตุคิบคลสํ ุคคลสําหรั าหรับปีบปี2557และ2556เนื 2557และ2556เนื่องจากบริ องจากบริษัษทได้ ัทไดรับรผลประโยชน์ ับผลประโยชนทางภาษี ทบริางภาษี จากบัตรส่ ตรสงเสริ งเสริมการลงทุ มการลงทุน น ษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน) (หมายเหตุ (หมายเหตุ30)30) CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED 115


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

ภาษีเเงิงินนได ได้รรอการตั อการตัดดบับัญญชีชีแแสดงยอดคงเหลื สดงยอดคงเหลืออในงบแสดงฐานะการเงิ ในงบแสดงฐานะการเงินดังนี ้ ภาษี

บาท งบการเงินรวม งบการเงิ 2557 2557 2556

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557 2556

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกกพัพันนผลประโยชน ผลประโยชน์พพนันักกงาน งาน ภาระผู หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี นเกินนทุทุนนจากการตี จากการตีรราคาที าคาทีด่ดินิน สส่ววนเกิ

231,837 231,837 (9,477,831) (9,477,831)

(9,477,831)

(9,477,831)

(9,477,831)

31ธัธันนวาคม วาคม2557และ 2557และ 2556บริ 2556บริษษัทัทมีมีหหนีนีส้สินินรอการตั รอการตัดดบับัญ 9.48ล้านบาทซึง่ เกิดจากส จากส่วนเกินทุนจากการตีราคาทีด่ ิน โดย ญชีชีจจําํานวน 9.48ล ณณวัวันนทีที ่31 แสดงสุททธิธิกกับับสส่ววนเกิ นเกินนทุทุนนจากการตี จากการตีรราคาที าคาทีด่ดินินซึซึง่งแสดงอยู แสดงอยูใ่ในองค นองค์ปประกอบอื ของส่วนของผูถ้ ือหุน้ ระกอบอืน่ ของส แสดงสุ

28. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ 28. รายการค่าาใช ใช้จจา่ายตามลั ยตามลักกษณะที ษณะทีส่สําําคัคัญญสํสําาหรั หรับบปีปีสสินิ้นสุสุดดวัวันนทีที ่ 31ธั 31ธันนวาคม2557 วาคม2557 และ 2556 ได ได้แกก่ รายการค บาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงิ 2557 2556 2557 2556 2557 การเปลีย่ยนแปลงในสิ นแปลงในสินนคค้าาสํสําาเร็เร็จจรูรูปป (589,048,095) 75,750,808 การเปลี (589,048,095) 75,750,808 (589,048,095) และวัสสดุดุสสินิ้นเปลื เปลือองใช งใช้ไไปป 3,545,651,660 3,609,453,489 3,545,651,660 3,609,453,489 วัวัตตถุถุดดิบิบและวั 3,545,651,660 ใช้จจา่ายสาธารณู ยสาธารณูปปโภค โภค 625,134,042 576,821,728 624,674,079 576,821,728 คค่าาใช 625,134,042 ขนส่งง คค่าาขนส 661,947,994 1,947,994 776,598,617 6,598,617 661,947,994 1,947,994 776,598,617 6,598,617 ใช้จจา่ายเกี ยเกีย่ยวกั วกับบพนั พนักกงาน งาน 160,026,300 157,157,235 133,978,674 144,988,235 คค่าาใช 160,026,300 มราคาและค่าาตัตัดดจํจําาหน หน่าายย 128,024,956 126,192,258 108,627,336 109,930,713 คค่าาเสืเสือ่อมราคาและค 128,024,956

29. ข้อมูลทางการเงินจําแนกตามส่วนงาน 29. งานได้รับ นงานดําาเนิเนินนงานที งานทีน่นําําเสนอนี เสนอนีส้สอดคล อดคล้อองกั งกับบรายงานภายในของกลุ รายงานภายในของกลุม่ บริษัททีผ่ ูม้ ีอํานาจตัดสินใจสูงสุดดด้านการดําเนินงานได ขข้ออมูมูลลสส่ววนงานดํ และสอบทานอย่าางสม งสม่ําําเสมอเพื เสมอเพือ่อใช ใช้ใในการตั นการตัดดสิสินนใจในการจั ใจในการจัดสรรทรัพยากรให ยากรให้กับสส่วนงานและประเมินผลการดําเนินงานของส งานของส่วนงาน และสอบทานอย กลุม่มบริ บริษษัทัทประกอบธุ ประกอบธุรรกิกิจจแปรรู แปรรูปปจํจําาหน หน่าายเหล็ ยเหล็กกชนิ ชนิดดตต่าางง ๆๆ ให ให้บบริริกการรั ารรับบจจ้าางขนส งขนส่งงสิสินนคค้าาโดยดํ โดยดําาเนิ เนินนธุธุรรกิกิจจในส ในส่ววนงานหลั นงานหลักกทางภู ทางภูมมิศิศาสตร าสตร์ กลุ วคืออในประเทศไทย ในประเทศไทย และลงทุ และลงทุนนและให และให้คคําําปรึ ปรึกกษา ษา โดยดํ โดยดําาเนิ เนินนธุธุรรกิกิจจในส ในส่ววนงานหลั นงานหลักกทางภู ทางภูมมศิ ิศาสตร าสตร์เเดีดียยวคื วคืออในประเทศญี ในประเทศญีปป่ ุนุ่นรายการ รายการ เดีเดียยวคื ามส่ววนงานแยกเป็ นงานแยกเป็นน 22 ประเภท ประเภท ดัดังงนีนี ้ บับัญญชีชีตตามส นงานเกีย่ยวกั วกับบรายได รายได้จจากการจํ ากการจําาหน หน่าายเหล็ ยเหล็กก ก.ก. สส่ววนงานเกี นงานเกีย่ยวกั วกับบรายได รายได้จจากการลงทุ ากการลงทุนนและให และให้คคําําปรึ ปรึกกษา ษา ข.ข. สส่ววนงานเกี

116

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

รายได้ และค่าใช้จ่ายจําแนกตามส่วนงานสําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2557 และ 2556ประกอบด้วย รายได้ และค และค่าาใช ใช้จจา่ายจํ ยจําาแนกตามส แนกตามส่ววนงานสํ นงานสําหรับปปี​ีสินสุ ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2557 และ 2556ประกอบด 2556ประกอบด้วย รายได พันบาท 2557 2556 พันบาท ก ข รวม ก ข 2556 2557 รายได้จากการขายและการให้บริการ 4,042,036 114,109 4,156,145 4,802,580 10,858 ข รวม ก ข ก าร 4,042,036 4,802,580 10,858 รายได จจาากการขายและการให้ กกวานงาน รขายและการใหบริ  บริกการ กํรายได้ าไรจากส่ 116,551 114,109 923 4,156,145 117,474 180,190 298 ไรจากส่ววนงาน นงาน กํกําาไรจากส 116,551 923 117,474 180,190 298

รวม 4,813,438 รวม 4,813,438 180,488 180,488

30. สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน 30. สิทธิประโยชน์จากการส่งเสริมการลงทุน 30.

บริษัทได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนตามบัตรส่งเสริมการลงทุนดังต่อไปนี้ บริษิษทได เสริมมการลงทุ การลงทุนนจากคณะกรรมการส จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนตามบัตรส รส่งเสริมการลงทุนดังตต่อไปนี้ บร ั ัทได้รรบการส ั บั การส่งงเสริ เลขที่ 1337 (2) /2548 ลงวันที่ 20 เมษายน 2548 เลขที่ ่ 1337 2228 (2) /2548 /2550 ลงวั นวาคม 2548 2550 1337 (2) /2548 เลขที ลงวันนทีที่ 20 เมษายน ่ 720 ธัเมษายน 2548 เลขที่ ่ 2228 2228 (2) (2) /2550 /2550 เลขที ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2550 สิทธิประโยชน์ที่สําคัญคือ ได้ รับยกเว้ ระโยชน์ คัญญคืคืออ าสําหรับเครื่องจักรและอุปกรณ์ตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ สิสิททธิธิปประโยชน ททสี​ี่สนาคั ํ ําอากรขาเข้  ได ได้รรบยกเว อากรขาเข้ ตถุ่อด่องจั ิบและวั สดุจปํากรณ เป็นทีต่ตามที ้องนํ่คาณะกรรมการพิ เข้ามาจากต่างประเทศเพื อากรขาเข้าาาสํสํสําาาหรั หรับบบวัเครื เครื กรณ์ ารณาอนุ่อมุใช้ตัิ ในการผลิตเพื่อการส่งออก ั ับยกเว้นนอากรขาเข หรั กรและอุ จารณาอน  ได ได้รรบยกเว อากรขาเข้าาาสํสํสําาาหรั หรับบบวัวัของที ําเข้าสมาเพื อากรขาเข้ หรั ทีตี่ บองนํ งนําเขเข้ามาจากต มาจากต่างประเทศเพื่อใช ใช้ในการผลิตเพื่อการส การส่งออก ั ับยกเว้นนอากรขาเข ตตถถุดุดบและวั ิ ิบ่นและวั ดดุจุาเป็ ํ า่อเป็ส่นงทกลั  ้อออกไป  ได ได้รรบยกเว ั​ั บยกเว้นนอากรขาเข ภาษี เ งิ น ได้ น ต ิ บ ิ ค ุ คลสํ า หรั บ กํ า ไรสุ ท ธิ เ ป็ น ระยะเวลาแปดปี น บ ั แต่ ว น ั ที เ ่ ริ ม ่ มี ร ายได้ จ ากการประกอบกิ จการผลิตเหล็ก อากรขาเข้าาสํสําาหรั หรับบของท ของทีนี่นาเข ํ าเข้ามาเพื่อสส่งกลับออกไป แท่ ระกอบกิ างเวลาที่ไนีด้บแต นได้นจิตากการประกอบกิ ิบุคคลจะได้รับอนุจการผลิ ญาตให้ตนเหล็ ําผลก  ได ได้รรงบยกเว ยกเว้นนภาษี ภาษีและในกรณี ได้นนติ​ิตบิ​ิบทคคลสํ หรับจกํการขาดทุ ระยะเวลาแปดปี ายได้ ั ับ(BILLET) เเงิงินนได ุ ุคี่ปคลสํ าาหรั าไรสุทธิเป็นนในระหว่ ระยะเวลาแปดป ั บรบั แต่ยกเว้ วนที ั นทีน่เภาษี ริ่มมีรเงิายได ขาดทุ นประจําและในกรณ ปีและในกรณี ที่เกิดขึ้นในระหว่ างเวลานั ้นไปหักนออกจากกํ าไรสุท่ไธิดด้ทรี่เบยกเว ดขึ้นภายหลั รับยกเว้ นภาษี เงินนได้ํานผลิติ แท่งง (BILLET) (BILLET) ในระหว่างเวลาที ได้นติบิุคคลจะได คคลจะได้ าตให้ แท ทีทประกอบกิ ี ี่ประกอบกิ จจการขาดทุ ในระหว ั บกิยกเว้ นภาษีเงิงนระยะเวลาได้ ได รบอนุ ับอนุ ญาตให บุขาดทุ คคลมี กําหนดเวลาไม่ นในระหว่ ห้าปีนับาาแต่ วนั พ้น้นกํไปหั าหนดเวลานั ้น โดยจะเลื าไรสุทงธิระยะเวลาได ของปีใดปีหนึร่งับหรืยกเว อหลายปี ประจํ ี่เกิดดขึขึเ้นกิ้นในระหว งเวลานั กออกจากกํ าไรสุทธธิอิ ทกหั ี่เกิกดจากกํ ขึ้นภายหลั ระยะเวลาได้ ยกเว้ นภาษีกเ็ไงิด้นได ได้นิติ ขาดทุ นนประจํ าาปปี​ีททีเกิ งเวลานั เกิ  บุได้ ับยกเว้ ไม่ต้องนําเงิเเกิกินนนปัหห้นาาผลจากกิ รับการส่งเสริ มนี้ไปรวมคํ เสียทภาษี เงินใได้ ่ไ็ ด้รับการ บุคครคลม คลมี นั การที พ้นกํ่ไาด้หนดเวลานน หนดเวลานั อกหัากนวณเพื จากกํา่อไรสุ ธิของปี ดปีตหลอดระยะเวลาที กีกาหนดเวลาไม ํ ํานหนดเวลาไม่ ปปีนีนบแต ั ับแต่ววจนพ ั ้น โดยจะเลื นนึึ ่งหหรืรอหลายป ื อหลายปี​ีกได ส่ได้งรรเสริ ม นนไม  ได ยกเว้ ไม่ตตอ้องนํ งนําาเงิเงินนปัปันนผลจากกิ ผลจากกิจการที่ไดด้รับการส การส่งเสริมนี้ไปรวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินได ได้ตลอดระยะเวลาที่ไดด้รับการ ับับยกเว  สได้ รเสริ ับอนุ ส่งงเสริ มม ญาตให้หักเงินลงทุนในการติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอํานวยความสะดวกร้อยละยี่สิบห้าของเงินลงทุนนอกเหนือไปจากการ หัได้กรรค่บอนุ เสืญ ่อญมราคาตามปกติ  ได าตให้หหกเงิ ลงทุนนในการติ ในการติดดตตังั้ หหรืรอก สร้างสิ่งอํานวยความสะดวกร นวยความสะดวกร้อยละย ยละยีีส่ ิบห บห้าของเงินลงทุนนอกเหนือไปจากการ ั ับาอนุ าตให ั ักเงินนลงทุ ื อก่อสร มราคาตามปกติ หัหักกคค่าาเสืเสื่อ่อมราคาตามปกติ ในฐานะที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนบริษัทต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกําหนดตามที่ระบุในบัตรส่งเสริมผลการดําเนินงานของ ธุในฐานะที รกิจที่ได้ร่ไ่ไับดด้การยกเว้ ภาษีมมเการลงทุ งินได้และธุ ได้รับบการยกเว้ ภาษี เงินได้อตกํามสิ ทธิพิเศษจากการส่ การลงทุ นข้างต้ การส่งนงเสริ เสริ การลงทุ บริรกิษษจัทัททีตต้่ไอม่งปฏิ นไขและข้ รส่งมเสริ ในฐานะที รรับับการส นนบริ ัติตามเงื่นอนไขและข าหนดตามที ่ระบุในบัตงเสริ รส มผลการดํ าเนิน นงานของ ภาษีเเงิงินนได ได้แและธุ ละธุรรกิกิจจทีที่ไมม่ไดด้ รบการยกเว ับการยกเว้นภาษีเงินได ได้ตามสิทธธิ​ิ พเศษจากการส ิเศษจากการส่งเสริมการลงทุนขข้างต งต้น ธุธุรรกิกิจจทีที่ไ่ไดด้รรบการยกเว ั ับการยกเว้นนภาษี รายได้จากการขายของบริษัทในงบการเงินเฉพาะกิจการสําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557และ 2556จํานวนเงิน 3,422.0 ล้าน บาท 4,800.9 ล้านบาท าดับ เป็นนนเฉพาะกิ ผลการดํจาการสํ เนินงานของธุ ริ้นกิสุจดทีวั่ไนด้ทีรบั ่ 31 การยกเว้ นภาษี เงินได้ทั้ง2556จํ จํานวนานวนเงิน 3,422.0 ลล้าน รายได้และ ากการขายของบริ ในงบการเงิ เฉพาะกิ าหรับปปี​ี สนสุ ธันวาคม 2557และ รายได จจากการขายของบริ ษษัทัทตามลํ ในงบการเงิ บาท และ และ 4,800.9 4,800.9 ลล้าานบาท นบาท ตามลํ ตามลําาดัดับบ เป็ เป็นนผลการดําเนินงานของธุรกิจที่ไดด้ รบการยกเว บั การยกเว้นภาษีเงินได ได้ ทงจํ บาท  ั้งจํานวน

31. เครื่องมือทางการเงิน 31. เครือ่ งมือทางการเงิน 31.

กลุ่มบริษัทต้องเผชิญกับความเสี่ยงทางการเงินที่สําคัญ ได้แก่ ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนความ เสี านการให้สนินททีเชืี ่ส่อาคั ติธรรม ่ยกลุงด ษัทมีนโยบายบริ หารความเสี ่ยงดั งนี้ กลุ่ยม่มงจากอั บริษษัทัทตตต้ราดอกเบี งเผชิญญกั้ยกับบความเสี ความเสี่ย่ยงด้ ่ยงทางการเงิ งทางการเงิ ําคัและมู ญ ได ได้ลแค่กก่ายุความเสี งด้่มาบริ นสภาพคล่ อง ความเสี ่ยงจากอั ตราแลกเปลี ่ยนความ กลุ บริ อองเผชิ ความเสี นสภาพคล งจากอัตตราดอกเบย ราดอกเบีี ้ย ความเสี ความเสี่ย่ยงด งด้าานการให นการให้ สนเชอ ินเชืื ่อ และมูลคค่ายยุ​ุ ตธรรม ิธรรม กลุ ่มบร บริ​ิ ษทมี ัทมีนโยบายบริหารความเสี่ยงดังนี้ เสีเสี่ย่ยงจากอั 31.1 ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง 31.1 ความเสี ความเสี่ย่ยงด้ งด้าานสภาพคล่ นสภาพคล่องหรื อง อความเสี่ยงในการระดมทุน คือ ความเสี่ยงที่กลุ่มบริษัทจะเผชิญความยุ่งยากในการระดมทุนให้ 31.1 เพี ยงพอและทั นเวลาต่อการปฏิ ัติตามภาระผู กพันที่ระบุไนนว้ใคืคืนเครื ่องมือทางการเงิ นบริความเสี ่ยงด้ญ นสภาพคล่ องอาจเกิดจากการที ความเสี งด้าานสภาพคล นสภาพคล่ งหรืออบความเสี ความเสี งในการระดมทุ ความเสี งที่ก่กลุลุม่มบริ จะเผชิ ญาความยุ ความยุ ยากในการระดมทุ ให้่ ความเสี ่ย่ยงด อองหรื ่ย่ยงในการระดมทุ ออ ความเสี ่ย่ยงที ษษัทัทจะเผชิ ง่งยากในการระดมทุ นนให กิ จ การไม่ ส ามารถขายสิ น ทรั พ ย์ ท างการเงิ น ได้ ท น ั เวลาด้ ว ยราคาที ใ ่ กล้ เ คี ย งกั บ มู ล ค่ า ยุ ต ธ ิ รรม เพียยงพอและทั งพอและทันนเวลาต เวลาต่ออการปฏิ การปฏิบบัตัติติตามภาระผู ามภาระผูกกพัพันนทีที่ร่ระบุ ะบุไไวว้ใในเครื นเครื่อ่องมื งมืออทางการเงิ ทางการเงินน ความเสี ความเสี่ย่ยงด งด้าานสภาพคล นสภาพคล่อองอาจเกิ งอาจเกิดดจากการที จากการที่​่ เพี การไม่สสามารถขายสิ ามารถขายสินนทรั ทรัพพยย์ททางการเงิ างการเงินนได ได้ททนเวลาด ยราคาที่ใ่ใกล กล้เเคีคียยงกั งกับบมูมูลลคค่าายยุตุตธรรม กิกิจจการไม ั ันเวลาด้ววยราคาที ิ ิธรรม บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

117


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

31.2 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนของบริษัทเกิดจากการซื้อขายบางส่วนของบริษัทเป็นการซื้อขายโดยได้จ่ายเงินและรับเงินเป็น สกุลเงินต่างประเทศ บริษัทได้ลดความเสี่ยงดังกล่าวโดยบริษัทได้ทําสัญญาขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเป็นครั้งคราวตาม ความจําเป็น ในการบริหารความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ บริษัทใช้ตราสารอนุพันธ์ทางการเงินดังนี้ ณ วันที่ 31ธันวาคม2557บริษัทมีสัญญาซื้อและขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าจํานวน 2,308.2 ล้านเยนและมีมูลค่ายุติธรรม สุทธิตามสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเชิงลบเป็นจํานวน 17.7 ล้านบาท มูลค่ายุติธรรมสุทธิตามสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคํานวณโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ ในงบแสดงฐานะการเงินโดยอ้างอิงจากธนาคารที่ให้กู้ยืมเสมือนว่ากลุ่มบริษัทได้ยกเลิกสัญญาเหล่านั้น ณ วันที่ในงบแสดง ฐานะการเงิน 31.3 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยเนื่องจากมีเงินฝากและมีหนี้สินกับสถาบันการเงิน บริษัทเชื่อว่าความผันผวนของ อัตราดอกเบี้ยในตลาดในอนาคตจะไม่ส่งผลกระทบอย่างเป็นสาระสําคัญต่อผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดของกิจการ ดังนั้นกลุ่มบริษัทจึงมิได้ใช้ตราสารอนุพันธ์ทางการเงินเพื่อป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว 31.4 ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกค้า อย่างไรก็ตามเนื่องจากกลุ่มบริษัทมีฐานของลูกค้าที่หลากหลาย และมีจํานวนมากราย ดังนั้นกลุ่มบริษัทจึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายอย่างเป็นสาระสําคัญจากการเก็บหนี้จากลูกหนี้เหล่านั้น กลุ่มบริษัทได้ประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยอาศัยการประเมินผลของฝ่ายบริหารเกี่ยวกับความสามารถในการจ่ายชําระ หนี้ของลูกหนี้ที่คงค้างอยู่ ณ วันสิ้นปี 31.5 มูลค่ายุติธรรม ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน อันได้แก่ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เงินกู้ยืม เจ้าหนี้ การค้า และค่าใช้จ่ายค้างจ่ายมีมูลค่าใกล้เคียงกับมูลค่ายุติธรรม

32. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น 32.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าดําเนินงานและค่าบริการ ณวันที่31 ธันวาคม 2557 กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันในการจ่ายค่าเช่าตามสัญญาภายใน 1 ปี จํานวน 2.3 ล้านบาท 32.2 หนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557บริษัทมีหนังสือค้ําประกันที่ออกโดยธนาคารเพื่อค้ําประกันการจ่ายชําระค่าไฟฟ้าของบริษัทเป็นเงิน 64.2 ล้านบาท (หมายเหตุ 12)

118

รายงานประจ�ำปี 2557

ANNUAL REPORT 2014


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

33. การบริหารจัดการทุน 33. การบริหารจัดการทุน วัต ถุป ระสงค์ใ นการบริ หารจัดการทุน ที่ สํา คั ญของบริษั ท คือ การจั ดให้มี ซึ่ งโครงสร้า งทางการเงิ นที่ เ หมาะสมและการดํ ารงไว้ ซึ่ ง วัความสามารถในการดํ ต ถุป ระสงค์ใ นการบริารงธุ ห ารจั การทุ รกิดจอย่ างต่นอทีเนื่ ส่อํางคั ญของบริษั ท คือ การจั ดให้มี ซึ่ ง โครงสร้า งทางการเงิ นที่ เ หมาะสมและการดํ ารงไว้ ซึ่ ง ความสามารถในการดํารงธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 งบการเงินของบริษัทแสดงอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเป็น 2.47 เท่า ณ วันกทีารณ์ ่ 31 ธัภนายหลั วาคม ง2557 งบการเงินของบริษทั แสดงอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเป็น 2.47 เท่า 34. เหตุ รอบระยะเวลารายงาน

34. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน

34.1 เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2558 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง ได้มีมติอนุมัติให้เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทย่อย 34.1 เมื ่ 20 มกราคม 2558เป็ทีน่ป21.0 ระชุมล้วิาสนบาท ามัญผูแบ่ ้ถืองหุเป็้นนของบริ ษัทญย่จํอายแห่ หนึ่ง ได้มีมหุติ้นอนุมูมลัตค่ิใาห้ทีเ่ตพิราไว้ ่มทุนหจดทะเบี นของบริ ษัทเย่รีอยยก ดัง่อกล่วันาทีวจาก 1.0 ล้านบาท หุ้นสามั นวนง2,100,000 ุ้นละ 10ยบาท โดยให้ ดัชํางกล่ า วจาก 1.0 ล้ า นบาท เป็ น 21.0 ล้ า นบาท แบ่ ง เป็ น หุ น ้ สามั ญ จํ า นวน 2,100,000 หุ น ้ มู ล ค่ า ที ่ ต ราไว้ ห ้ ุ น ละ 10 บาท โดยให้ ระค่าหุ้นเพิ่มทุนจํานวน 2,000,000 หุ้น ในอัตราหุ้นละ 7.50 เป็นจํานวนเงิน 15 ล้านบาท บริษัทย่อยได้จดทะเบียนการเพิ่มทุเนรีกัยบก ชํกระทรวงพาณิ าระค่าหุ้นเพิ่มชทุย์นแจํล้าวนวน หุ้น ในอั ตราหุ้นละ 7.50 เป็นจํานวนเงิน 15 ล้านบาท บริษัทย่อยได้จดทะเบียนการเพิ่มทุนกับ เมื่อวั2,000,000 นที่ 29 มกราคม 2558 กระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2558 34.2 เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทได้มีมติอนุมัติดังนี้ 34.2 เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทได้มีมติอนุมัติดังนี้ 34.2.1 ให้บริษัทออกและเสนอขายหุ้นกู้ เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินธุรกิจของบริษัท ในวงเงินไม่เกิน 5,000 ล้าน 34.2.1 ให้ ษัทออกและเสนอขายหุ ้ เพื่อญใช้ผูเ้ถป็ือนหุเงิ้นนเพืทุ่อนขออนุ หมุนเวีมัตยิตนในการดํ บาทบริโดยจะนํ าเสนอต่อที่ประชุ้นมกูสามั ่อไป าเนินธุรกิจของบริษัท ในวงเงินไม่เกิน 5,000 ล้าน บาท โดยจะนําเสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมัติต่อไป 34.2.2 อนุมัติให้บริษัท เชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จํากัด (ต่อไปนีเ้ รียกว่า “CE”) เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 221,536,980 บาท เป็น 34.2.2 อนุ มัติให้บริษัทบาทเชาว์ เอ็นเนอร์ยี่ จํา้นกัสามั ด (ต่ญอเพิไปนี า “CE”) เพิ่มทุนหุจดทะเบี 570,000,000 โดยการเสนอขายหุ ่มทุเ้ นรียจํกว่ านวน 34,846,302 ้น มูลค่ายทีนจาก ่ตราไว้ห221,536,980 ุ้นละ 10 บาท บาท ให้แก่ผเป็ู้ถนอื 570,000,000 โดยการเสนอขายหุ 34,846,302 ่ตราไว้ ละ 10ดส่บาท หุ้นเดิมของ CEบาท ในราคา 10 บาทต่อหุ้น้นสามั ทั้งญ นี้ เพิบริ่มษทุัทนมีจํคานวน วามประสงค์ จะซือ้ หุหุ้น้นเพิมู่มลทุค่นาทีของ CEหุ้นตามสั วนที่ไให้ ด้รแับก่ผหรืู้ถอือ หุจํา้นนวน เดิมของ CE ในราคา ทั้งนี้ บริษัทมีคบาทโดยภายหลั วามประสงค์จะซืงการทํ อ้ หุ้นเพิ ่มทุนของงกล่ CEาวตามสั ส่วนทีงคงถื ่ได้รอับหุ้นหรืในอ 26,715,212 หุ้น ซึ10 ่งคิดบาทต่ เป็นมูอลหุค่้นา 267,152,120 ารายการดั บริษัทดจะยั จํสัาดนวน ้น ซึ่งคินดชํเป็ นมูลวค่ของ า 267,152,120 งการทํ าว บริษัทจะยั้นงเพิ คงถื ส่วนร้26,715,212 อยละ 76.67หุของทุ าระแล้ CE เช่นเดิมบาทโดยภายหลั โดยมีวตั ถุประสงค์ จะนําารายการดั เงินที่ได้รงับกล่การเสนอขายหุ ่มทุอนหุต่้นอในผู้ สัถืดอหุส่วน้ นร้ 76.67จํานวน ของทุ348.46 นชําระแล้ล้วาของ เช่นสเดิํามหรัโดยมี วัตถุประสงค์ จะนํนาเงิ ่ได้รับษการเสนอขายหุ ่มทุษนัทต่ร่อวมผู้ เดิมอยละ ของ CE นบาทCEไปใช้ บการขยายกิ จการลงทุ เพิน่มทีในบริ ัทย่อย และ/หรื้นอเพิบริ ถืใดๆ อหุน้และ/หรื เดิมของอ เพืCEอ่ ใช้จํใานการชํ นวน 348.46 ไปใช้สอําสํหรัารองเพื บการขยายกิ าระคืนเงิล้นานบาท กู้ยมื และ/หรื อ่ ใช้เป็นจเงิการลงทุ นทุนหมุนเพิ นเวี่มยในบริ น ษัทย่อย และ/หรือ บริษัทร่วม ใดๆ และ/หรือ เพือ่ ใช้ในการชําระคืนเงินกู้ยมื และ/หรือ สํารองเพือ่ ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน นอกจากนี้ ภายหลังจากการเสนอขายหุ้นเพิ่มทุนของ CE แล้วเสร็จ CE มีความประสงค์จะเปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ นอกจากนี ภายหลั จากการเสนอขายหุ จากหุ้นละ้ 10 บาทงเป็ นหุ้นละ 0.10 บาท้นเพิ่มทุนของ CE แล้วเสร็จ CE มีความประสงค์จะเปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ จากหุ้นละ 10 บาท เป็นหุ้นละ 0.10 บาท 34.2.3 ให้นําเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติให้ CE แปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจํากัด เพื่อยื่นคําขอ 34.2.3 ให้ เสนอต่ อที่ประชุยมนในตลาดหลั ผู้ถือหุ้นของบริ ษัทพเพื ารณาอนุมัตหรื ิให้อCE แปรสภาพเป็ ากั้ดเรียเพืกว่​่อยืา่น“ตลาด คําขอ อนุนญําาตเข้ าจดทะเบี กทรั ย์แ่อห่พิงจประเทศไทย ตลาดหลั กทรัพย์ นเอ็บริมษเอัทมหาชนจํ ไอ (ต่อไปนี อนุ จดทะเบี นในตลาดหลั ย์แห่งประเทศไทย หรือ ตลาดหลั เอ็ม เอ ไอ อไปนี้เรียกว่บาท า “ตลาด หลักญทรัาตเข้ พย์”า)โดย CE ยจะดํ าเนินการเพิก่มทรั ทุนพจดทะเบี ยนจาก 570,000,000 บาทกเป็ทรันพทุย์นจดทะเบี ยน(ต่760,000,000 โดย หลั ก ทรั พ ย์ ” )โดย CE จะดํ า เนิ น การเพิ ม ่ ทุ น จดทะเบี ย นจาก 570,000,000 บาท เป็ น ทุ น จดทะเบี ย น 760,000,000 บาท โดย การเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 1,900,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.10บาท เสนอขายให้แก่ประชาชน การเสนอขายหุ ญเพิ ทุนจําดนวน 1,900,000,000 มูลค่าที่ตราไว้Rights) หุ้นละ 0.10บาท เสนอขายให้แก่ประชาชน (IPO) และผู้ถือหุ้น้นสามั ของบริ ษัท่มตามสั ส่วนการถื อหุ้นในบริษหุัท้น(Pre-emptive (IPO) และผู้ถือหุ้นของบริษัทตามสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (Pre-emptive Rights) ทั้งนี้ ภายหลังการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 1,900,000,000 หุ้น จะส่งผลให้บริษัทมีสัดส่วนการถือหุ้น ทัสามั ้งนี้ญภายหลั งการออกและเสนอขายหุ ้นสามัอญร้อเพิยละ ่มทุน57.50 จํานวน 1,900,000,000 ้น จะส่ งผลให้บริษัทบาท มีสัดหรืส่วอนการถื อหุ้น ของ CE ลดลงจากร้อยละ 76.67เหลื ของทุ นชําระแล้วจําหุนวน 760,000,000 สัดส่วนการ อร้งอคงมี ยละสถานะเป็ 57.50 ของทุ วจํานวน สามั ของ CEอยละ ลดลงจากร้ อยละ ถือหุญ ้นลดลงร้ 25.00 อย่ างไรก็76.67เหลื ดี CE จะยั นบริษนชํัทาย่ระแล้ อยของบริ ษัท 760,000,000 บาท หรือสัดส่วนการ ถือหุ้นลดลงร้อยละ 25.00 อย่างไรก็ดี CE จะยังคงมีสถานะเป็นบริษัทย่อยของบริษัท

35. การอนุมัติงบการเงิน 35. การอนุมตั ิงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 17กุมภาพันธ์ 2558 งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการของบริษัทเมื่อวันที่ 17กุมภาพันธ์ 2558 บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จ�ำกัด (มหาชน)

CHOW STEEL INDUSTRIES PUBLIC COMPANY LIMITED

119



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.