รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำ�ภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน) อาคารอิสท์ วอเตอร์ เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 TEL : 02-272-1600 FAX : 02-272-1601-3 www.eastwater.com
การเติบโต อยางยั่งยืน”
“กาวแรกสู่
รายงานการพัฒนา อย่างยั่งยืน ประจำ�ปี
2554
สารบัญ • •
สารจากผู้บริหาร กลยุทธ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อความยั่งยืน - อีสท์ วอเตอร์ กับความรับผิดชอบต่อสังคม - การศึกษาบริบทด้านความรับผิดชอบต่อสังคมทั้งภายในและภายนอก - การพัฒนาระบบคุณภาพกับความรับผิดชอบต่อสังคม - การบูรณาการความรับผิดชอบต่อสังคม • การดำ�เนินธุรกิจของอีสท์ วอเตอร์ • วิสัยทัศน์ พันธกิจ กับนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร • โครงสร้างการบริหาร • รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ ปี 2554 • การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หรือ ธรรมาภิบาล - นโยบายเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการ - สิทธิของผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ - ภาวะผู้นำ�และวิสัยทัศน์ - การประชุมผู้ถือหุ้น - ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ - จริยธรรมทางธุรกิจ - การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร - การรวมหรือแยกตำ�แหน่ง - ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร - การประชุมคณะกรรมการบริษัท - คณะกรรมการชุดต่างๆ - คณะกรรมการตรวจสอบ - คณะกรรมการบริหารและการลงทุน - คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา - คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง - คณะกรรมการกำ�หนดเกณฑ์และพิจารณาผลการดำ�เนินงาน ของบริษัทและพิจารณาค่าตอบแทน • ปัจจัยเสี่ยง - ความเสี่ยงจากการบริหารอุปสงค์-อุปทาน - ความเสี่ยงจากการปรับตัวของราคาต้นทุนนํ้าดิบ - ความเสี่ยงจากการปฏิบัติการ - ความเสี่ยงจากความขัดแย้งกับชุมชน - ความเสี่ยงจากนโยบายของรัฐบาลและหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง • การเชื่อมโยงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - การจัดการนํ้าอย่างยั่งยืน - การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม - ด้านพัฒนาชุมชน สังคม - การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ตลอดจนใส่ใจสุขภาพ ความปลอดภัย และความมั่นคงของพนักงาน - ความรับผิดชอบในการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์และอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง • ข้อมูลการดำ�เนินงานด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ อีสท์ วอเตอร์ ปี 2554 • ภาคผนวก : ตารางดัชนีชี้วัด Global Reporting Initiative Guideline (GRI) - G 3.1
04 05 06 06 07 07 08 10 11 12 14 14 15 15 16 16 17 17 17 17 18 18 18 18 18 19 19 20 21 21 22 22 22 24 25 28 34 36 41 45 52
สารจาก ผู้บริหาร
ประพันธ์ อัศวอารี (กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่)
วิกฤตมหาอุทกภัยของประเทศไทยที่เกิดขึ้นในปี 2554 ที่ผ่านมานั้น นับเป็น ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นรุนแรงที่สุดในรอบ 50 ปี ซึ่งส่งผลกระทบต่อ เศรษฐกิจ สังคม และความเป็นอยู่โดยรวมของคนในประเทศเป็นอย่างมาก บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) หรือ อีสท์ วอเตอร์ จึงได้ร่วมด�ำเนินการกับภาครัฐเพื่อแก้ไขปัญหาเร่งด่วนในพื้นที่ ประสบภัยด้วยการสูบน�้ำออกจากพื้นที่ ตลอดจนเตรียมแผนการฟื้นฟูส�ำหรับ ประชาชนที่ได้รับผลกระทบในระยะยาว โดยมีเป้าหมายหลักในการแก้ไข บรรเทาความเดือดร้อนทีเ่ กิดขึน้ กับผูค้ นในประเทศให้กลับสูส่ ภาพปกติเร็วทีส่ ดุ โดยการใช้ทักษะความรู้ความช�ำนาญที่สั่งสมมากว่า 19 ปี จากการบริหาร จัดการทรัพยากรน�้ำ เพื่อความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ ควบคู่ไปกับความ รับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมตามเจตนารมย์แรกเริ่มในการ ก่อตั้งบริษัทฯ จวบจนทุกวันนี้ จากสถานการณ์เลวร้ายทีเ่ กิดขึน้ นีเ้ อง ท�ำให้ อีสท์ วอเตอร์ ตระหนักถึงบทบาท และความส�ำคัญในการบริหารจัดการน�้ำ และความจ�ำเป็นในการพัฒนาความรู้ ความสามารถขององค์กรเกีย่ วกับเทคโนโลยี การจัดการนำ�้ ในการด�ำเนินธุรกิจ เช่น การใช้ระบบควบคุมการสูบส่งน�้ำทางไกลแบบศูนย์รวม หรือ Supervisory Control And Data Acquisition (SCADA) เพื่อให้บริการสูบส่งน�้ำและสร้าง
4
| SUSTAINABLE DEVELOPMENT REPORT 2011
ความพึงพอใจแก่ผใู้ ช้นำ �้ รวมถึงการลดความเสีย่ งในระยะยาวและยัง่ ยืนให้กบั ลูกค้า ชุมชน และสังคมควบคู่กันไปโดยตลอด อีสท์ วอเตอร์ จึงวาง กลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจที่ให้ความส�ำคัญใน 4 ด้าน ซึ่งครอบคลุมทั้งในด้าน การเติบโตทางธุรกิจ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการเรียนรู้และพัฒนาองค์กร ตลอดจนเทคโนโลยีสารสนเทศ และที่ส�ำคัญด้านกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลยุทธ์ทั้ง 4 ด้านนี้ เป็นการมุ่งเน้นถึงความส�ำคัญในการด�ำเนินงานเพื่อ ตอบสนองความต้องการเชิงธุรกิจทีค่ วบคูไ่ ปกับการสร้างคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี อง ชุมชนทัง้ ในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน สิง่ ส�ำคัญทีต่ อ้ งค�ำนึงถึงคือการ ตอบสนองความต้องการและสร้างการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย ซึ่งรวม ถึงพนักงาน คู่ค้า ลูกค้า ผู้ถือหุ้น สังคม และชุมชน เพื่อให้ได้รับการยอมรับ และสนับสนุน ลดความเสี่ยงในการด�ำเนินธุรกิจที่อาจถูกต่อต้านหรือ ข้อโต้แย้งให้ต้องสะดุดหยุดลง โดยในปีนี้ อีสท์ วอเตอร์ ได้เริ่มสร้างความ ชัดเจนถึงแนวทางการด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมที่สอดรับไป กับกลยุทธ์ระยะสั้นและระยะยาวขององค์กร ทั้ง 4 ด้าน โดยมุ่งหวังให้การ ด�ำเนินงานของ อีสท์ วอเตอร์ นั้นได้รับความเห็นชอบ และความร่วมมือ ทั้ง จากบุคลากรภายในและภายนอกองค์กร เพือ่ ให้สามารถตอบสนองต่อความ ต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดได้อย่างยั่งยืน
กลยุทธ์ด้าน ความรับผิดชอบ ต่อสังคมเพื่อ ความยั่งยืน
อีกับความรั สท์บผิดวอเตอร์ ชอบต่อสังคม ความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นหลักส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจของ อีสท์ วอเตอร์ มาโดยตลอด เนือ่ งจาก เข้าใจถึงความส�ำคัญของทรัพยากรน�ำ้ ทีเ่ ป็นปัจจัยส�ำคัญนับตัง้ แต่การด�ำรงชีพขัน้ พืน้ ฐานของทุกคนใน สังคม กระทั่งการเป็นองค์ประกอบส�ำคัญของการผลิตและพัฒนาสินค้า บริการต่างๆ ดังนั้น ความรับผิดชอบต่อสังคมของอีสท์ วอเตอร์ จึงเป็น “การบริหารจัดการน�้ำเพื่อตอบสนองต่อความ ต้องการทางธุรกิจโดยไม่ลดทอนคุณภาพชีวติ ของคนในชุมชนและสังคมโดยรวม” โดย อีสท์ วอเตอร์ ได้สร้างสรรค์กิจกรรมต่างๆ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน และสังคมอีกทั้งยังร่วม เป็นสมาชิกของ CSR Club ใน สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทยเพื่อเป็นอีกก�ำลังหนึ่งในการส่งเสริม สังคมและชุมชนในวงกว้าง ทั้งนี้เพื่อให้การด�ำเนินธุรกิจของ อีสท์ วอเตอร์ น�ำไปสู่การพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศ และชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีของสังคมควบคู่กันอย่างยั่งยืน ดังนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน อีสท์ วอเตอร์ จึงได้ก�ำหนดกลยุทธ์การ ด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมแบบบูรณาการ (An Integrated Corporate Responsibility Strategy) ขึ้นโดยมีแผนแม่บทการด�ำเนินงานที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ใน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้าน สังคม และด้านสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนงานและกรอบระยะเวลา 4 ปี (2554-2557) ดังแสดงใน แผนผังการด�ำเนินงาน
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
5
กลย ท ธ์ ก ารด� ำ เนิ น งาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมแบบบูรณาการ ศึกษาบริบทภายนอกและภายใน
East Water CSR to SD
ก�ำหนดแนวทางการพัฒนา การน�ำ CSR เข้าสู่การบริหารจัดการ การสื่อสาร การประเมิน และการรายงาน
2554
2555
การศึ ก ษา บริบทด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
2556
2557
ในระยะเริ่มแรกของแผนการด�ำเนินงาน ซึ่งครอบคลุมระยะเวลาในปี พ.ศ. 2554 เป็นช่วงของการเตรียมความพร้อม โดยได้ท�ำการรวบรวม เอกสารข้อมูลการด�ำเนินงานต่างๆ เพือ่ จัดท�ำรายงานการพัฒนาเพือ่ ความ ยั่งยืน (Sustainability Development Report/ SD Report ) ตาม แนวทางของ GRI (Global Reporting Initiatives: G 3.1) พร้อมทั้งได้ สรรหาคณะท�ำงานรายงานความยั่งยืน โดยได้ให้ความรู้ เพื่อสร้างความ เข้าใจกับคณะท�ำงานดังกล่าวก่อนเป็นล�ำดับแรก และจะด�ำเนินการ ถ่ายทอดให้กับพนักงานทุกฝ่ายต่อไป
ในระยะเดียวกันนี ้ ได้ระดมความคิดเพือ่ วางแนวทางการด�ำเนินงานโครงการ CSR และวางกลยุทธ์ในการพัฒนาองค์กรเพือ่ ความยัง่ ยืน ตลอดจนเริม่ ก�ำหนด ทิศทางการพัฒนาการด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรขึน้ โดยศึกษาถึงหลักการ แนวทาง และมาตรฐานภายนอกต่างๆ รวมถึงบริบท ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่มีส่วนส�ำคัญกับการด�ำเนินงานของ องค์กร ทางด้านกระบวนการต่างๆ ภายในองค์กร อีสท์ วอเตอร์ มีนโยบาย โครงการและกิจกรรมต่างๆ ที่สัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคม ดังนั้น อีสท์ วอเตอร์ จึงเห็นถึงโอกาสที่จะเชื่อมโยง กระบวนการและกิจกรรมต่างๆ เหล่านัน้ เข้ากับประเด็นด้านความยัง่ ยืนทัง้ 3 ด้าน ดังกล่าวเข้าด้วยกัน
6
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
การพั ฒ นา ระบบคุณภาพกับความรับผิดชอบต่อสังคม ปัจจุบนั อีสท์ วอเตอร์ ได้มคี ณะท�ำงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ รับผิดชอบ การปรับปรุงระบบคุณภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพการให้บริการในด้านต่างๆ แก่ทกุ กลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียให้เกิดความพึงพอใจสูงสุด เพือ่ เป้าหมายเชิง ธุรกิจ ดังนั้น ในปี 2555 อีสท์ วอเตอร์ จึงมีแผนที่จะผนวกคณะท�ำงาน ชุดดังกล่าว กับคณะท�ำงานรายงานความยั่งยืนเข้าด้วยกัน เพื่อเชื่อมโยง กิจกรรมต่างๆ ในกระบวนการด�ำเนินธุรกิจให้สอดประสานควบคู่ไปกับ ความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างชัดเจน (CSR in-process) และให้เกิด กระบวนการควบคุมที่ดีตามมาตรฐานสากล
การบูความรัรณาการ บผิดชอบต่อสังคม จากแนวทางการท�ำ CSR in-Process หรือการน�ำความรับผิดชอบต่อสังคม เข้าไปอยู่ในทุกส่วนของกระบวนการท�ำงานหลักของธุรกิจ (Core Business Process) โดยเริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์ การจัดหา วัตถุดบิ การจ้างงานหรือแรงงาน กระบวนการผลิต การตลาด ความรับผิดชอบ ต่อลูกค้า ผู้บริโภค ตลอดจนสภาพแวดล้อมและชุมชนโดยรอบแหล่งน�้ำ ของ อีสท์ วอเตอร์ การปฏิบัติตามความรับผิดชอบด้านต่างๆ เหล่านี้ ปี
ถือเป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในทุกขั้นตอนการท�ำงานปกติในการด�ำเนินธุรกิจ ท�ำให้การพัฒนากระบวนการด�ำเนินธุรกิจของ อีสท์ วอเตอร์ สามารถวัด วิเคราะห์ และประเมินถึงผลลัพธ์ โดยผลที่ตามมาสามารถสร้างคุณค่า ให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม รวมถึงมีวงจรการพัฒนาระบบคุณภาพ ที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างต่อเนื่องตลอดไป
การด�ำเนินงาน
เป้าหมาย
2554
การศึกษาบริบทด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
- มีการก�ำหนดมาตรฐานส�ำคัญด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ส�ำหรับการพัฒนาองค์กร - มีทีมงานรับผิดชอบ - มีทิศทางการพัฒนาด้านความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร
2555
การพัฒนาคุณภาพกับความรับผิดชอบต่อสังคม
- มีกรอบแนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมสามารถก�ำหนดแนวทาง การพัฒนาคุณภาพและความรับผิดชอบต่อสังคม - มีแนวปฏิบัติและแผนปฏิบัติการทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
การบูรณาการความรับผิดชอบต่อสังคม
- มีการบูรณาการความรับผิดชอบต่อสังคมเข้าไปสู่ทุกหน่วยงาน
2556 และ 2557
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
7
การด�ำเนิน ธุรกิจของ อีสท์ วอเตอร์ อีสท์ วอเตอร์ หรือ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) เป็นบริษทั บริหารจัดการน�ำ้ ดิบโดยสูบส่งผ่านโครงข่ายท่อส่งน�ำ้ หรือ Water Grid ที่ทันสมัยและสมบูรณ์ที่สุดแห่งเดียวในประเทศไทย ด้วยความยาวประมาณ 340 กิโลเมตร ซึ่งเชื่อมโยงแหล่งน�้ำส�ำคัญในภาคตะวันออกด้วยโครงข่ายระบบ ท่อส่งน�้ำ 4 สาย ในพื้นที่จังหวัด ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา ได้แก่ โครงข่าย ท่อส่งน�้ำ หนองปลาไหล-ดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหีบ, โครงข่ายท่อส่งน�้ำ หนองค้อ- แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ, โครงข่ายท่อส่งน�้ำหนองปลาไหล-หนองค้อ และโครงข่ายท่อส่งน�้ำพื้นที่ฉะเชิงเทรา โดยระบบท่อส่งน�้ำทั้งหมดมีความสามารถส่ง จ่ายน�ำ้ ให้ลกู ค้าได้ถงึ 473 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ซึง่ สามารถตอบสนองความต้องการ ของประชาชนในด้านอุปโภค-บริโภค ตลอดจนสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมในเขต อุตสาหกรรมหลักพื้นที่ภาคตะวันออกได้เป็นอย่างดี ปัจจุบัน อีสท์ วอเตอร์ มีส�ำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงเทพมหานคร และศูนย์ปฏิบัติการ ตั้งอยู่ที่ ต.มาบตาพุด อ.เมือง จ.ระยอง
8
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
WATER SOLUTION FOR ALL ตลอดระยะเวลาการด�ำเนินธุรกิจ อีสท์ วอเตอร์ มีบทบาทส�ำคัญ ในด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำระยะยาวในพื้นที่ภาค ตะวันออกซึ่งถือเป็นเขตเศรษฐกิจหลักของประเทศ ซึ่งช่วยรัฐ ประหยัดงบประมาณในการลงทุนและบริหารจัดการน�้ำกว่า 7,000 ล้านบาท ตลอดจนน�ำส่งผลตอบแทนต่างๆเพื่อให้รัฐน�ำ ไปพัฒนาประเทศต่อไป
(EW)
วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่เกี่ยวข้อง กับความ ยั่งยืน
STAKEHOLDERS
CORPORATE WATER LEARNING REUSE DEVELOPMENT develop and manage
SYSTEM DEVELOP water MANAGE system FINANCE and INVESTMENT AND
develop and manage
water solution for all
WATER STAKEHOLDERS REUSE SYSTEM
water reuse system WATER REUSE SYSTEM management WATER MANAGEMENT water solution for all management
DEVELOP AND MANAGE
DEVELOP AND MANAGE WATER SOLUTION FOR ALL
WATER
water solution for all SOLUTION
stakeholders
SOLUTION FOR ALL
WATER management management WATER REUSE SYSTEM SYSTEM
reuse system WATER water raw water pipeline network SOLUTION management FOR ALL develop and
FOR ALL
manage RAW water PIPRLINE network
raw water pipeline network management water management Water Solution for all source STAKEHOLDERS water solution for all supply WATER SYSTEM
STAKEHOLDERS water solution for all
corporate learning
WATER development SYSTEM
finance and investment
Water Solution for all
Water Solution for all
วิสัยทัศน์ (Vision)
พันธกิจ (Mission)
มุ่งสู่การเป็นผู้น�ำด้านการจัดการน�้ำอย่างมีคุณค่าเพื่อความก้าวหน้า ทางเศรษฐกิจ และสังคมอย่างยั่งยืน หรือ Water solution for all
1.ขยายการลงทุนธุรกิจประปาและน�้ำเสีย เพื่อการเติบโตของบริษัท อย่างยั่งยืน 2.รักษาการเติบโตของธุรกิจน�้ำดิบอย่างต่อเนื่อง 3.ด�ำรงไว้ซึ่งการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและมีความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม 4.เสริมสร้างความเป็นผู้น�ำและศูนย์ความรู้ทางเทคโนโลยีน�้ำ
ค่านิยมองค์กร IACT
I : Integrity คุณธรรม C : Customer Service Orientation ความใส่ใจบริการลูกค้า
A : Achievement Orientation ความมุ่งมั่นท�ำงานให้ส�ำเร็จ T : Teamwork and Leadership การท�ำงานเป็นทีม และภาวะผู้น�ำทีม
แนวทางการบริหาร อีสท์ วอเตอร์ ได้ยึดหลักการด�ำเนินธุรกิจภายใต้หลักการก�ำกับกิจการที่ดีหรือ ธรรมาภิบาล โดยให้ความส�ำคัญแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียม กันและด�ำเนินกิจการอย่าง “โปร่งใส ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และสามารถแข่งขันได้” ตามแนวทางการปฏิบัติของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อให้ เกิดความสมดุลทั้งในด้านการสร้างรายได้ของบริษัท ควบคู่ไปกับความ รับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม บริษัทจึงได้ก�ำหนดให้มีนโยบาย ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR policy) โดยทุกปีจะจัดสรรก�ำไรสุทธิไม่เกิน 5% ส�ำหรับด�ำเนินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม ของชุมชน
10
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
ทั้งในและนอกพื้นที่บริการของ อีสท์ วอเตอร์ อย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2554 อีสท์ วอเตอร์ได้ใช้เงินจ�ำนวน 28.85 บาทในโครงการความรับผิด ชอบต่อสังคม นอกจากนี้ ยังมุ่งเน้น การให้ความรู้ ความช่วยเหลือ ตลอดจน พัฒนา “ทรัพยากรน�้ำ” ของชุมชนเป็นส�ำคัญ ด้วยประสบการณ์และความ เชีย่ วชาญเรือ่ งนำ�้ ทีเ่ รามี ท�ำให้เราสามารถแบ่งปันด้วยพืน้ ฐานการให้อย่าง ยั่งยืน หรือ “พลังการให้อย่างสร้างสรรค์” (Power of creative sharing) ตามแนวคิดของผู้บริหารระดับสูง
โครงสร้าง การบริหาร คณะกรรมการบรษิัท
บรษิัท จดัการและพฒ ั นาทรพัยากรนำ้ ภาคตะวนัออก จากดั (มหาชน)
คณะกรรมการ บรหิาร และการลงทนุ
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
คณะกรรมการบรหิาร ความเสย่ีง
คณะกรรมการ ธรรมาภบิาลและ สรรหา
คณะกรรมการกําหนดเกณฑ และประเมนิผลการดําเนนิงาน ของบรษิัทและพจิารณาคา่ตอบเเทน
กรรมการผอำ ู้ นวยการใหญ สํานกักรรมการผอู้ํานวยการใหญ และเลขานกุารบรษิัท
ฝา่ยตรวจสอบ
รองกรรมการผอู้ํานวยการใหญ สายปฏบิตักิาร
ฝา่ย วางแผนโครงการ
ฝา่ยปฏบิตักิาร และบรกิารลกูคา้
รองกรรมการผอู้ํานวยการใหญ สายการเงนิและบญ ั ชี
ฝา่ย สอ่ืสารองคก์ร
ฝา่ยพฒ ั นาธรุกจิ
ฝา่ย ทรพัยากรบคุคล
ฝา่ย อํานวยการ
ฝา่ยการเงนิ และบญ ั ชี
ฝา่ยเทคโนโลยี สารสนเทศ
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
11
รางวัลแห่ง ความภาคภูมิใจ ปี 2554
สิงหาคม 2554
บริษัทได้รับคะแนนระดับ “ดีเยี่ยม” ในผลการประเมินคุณภาพการจัด ประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2553 จากสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย
ธันวาคม 2554
บริษัทได้รับคะเเนนระดับ“ดีเลิศ”ในผลการประเมินการก�ำกับดูเเล กิจการบริษัทจดทะเบียนประจ�ำปี 2554 จากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD)
12
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
“อีสท์ วอเตอร์ เราสร้างอนาคตที่ยั่งยืน”
การก�ำกับดูแล กิจการที่ดี หรือ ธรรมาภิบาล
Equity toward High Integrity
คุณน�้ำฝน รัษฎานุกูล ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ส�ำนักกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่ เเละเลขานุการบริษัท
คณะกรรมการบริษัทได้ ให้ความส�ำคัญ อย่างต่อเนื่องในการด�ำเนินธุรกิจภายใต้หลักการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ มี งุ่ เน้นการสร้างประโยชน์สงู สุด ให้แก่ผู้ถือหุ้น โดยค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุก ฝ่าย รวมทัง้ การให้ความส�ำคัญกับความรับผิดชอบ ต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม
คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความส�ำคัญอย่างต่อเนื่องในการด�ำเนินธุรกิจภาย ใต้หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ มี งุ่ เน้นการสร้างประโยชน์สงู สุดให้แก่ผถู้ อื หุน้ โดยค�ำนึงถึงผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกฝ่าย รวมทัง้ การให้ความส�ำคัญกับความรับ ผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ส�ำหรับปีที่ผ่านมาบริษัทได้มุ่งเน้น เรื่องการน�ำหลักการและแนวปฏิบัติที่ดีตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ส�ำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2549 จากตลาดหลักทรัพย์ฯ มาเป็นแนวทางการ บริหารกิจการและยกระดับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีโดยน�ำหลักการดังกล่าว มาปฏิบัติให้ได้มากที่สุดรวมทั้งการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการก�ำกับดูแล กิจการที่ดีของกลุ่มบริษัท โดยมุ่งหวังให้บุคลากรทุกระดับด�ำเนินงานอย่าง “โปร่งใส ซื่อสัตย์ รับผิดชอบและสามารถแข่งขันได้”
นโยบายเกี่ยวกับ การก�ำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำหนดวิสยั ทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) รวมทัง้ นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ซึง่ ได้ก�ำหนดเป็นลายลักษณ์ อักษร ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2546 ทั้งนี้ ได้มอบหมายให้คณะ กรรมการธรรมาภิบาลน�ำเสนอยังคณะกรรมการบริษัทพิจารณา ทบทวนนโยบายเพื่อให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับ เหตุการณ์ปจั จุบนั ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้พนักงานใหม่ของกลุม่ บริษทั ได้ตระหนัก ถึงการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางธุรกิจ ซึ่งเป็นหัวข้อหนึ่งที่ก�ำหนด ไว้ในหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ในวันปฐมนิเทศพนักงานใหม่ของ กลุ่มบริษัทได้ลงนามรับทราบเอกสารจรรยาบรรณทางธุรกิจเพื่อน�ำ ไปปฏิบัติให้สอดคล้องต่อไป เช่นเดียวกับคณะกรรมการบริษัทได้ลง นามรับทราบในคู่มือคณะกรรมการบริษัทในวันปฐมนิเทศกรรมการ บริษัทที่เข้าใหม่เช่นกัน
14
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
สิทธิของผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ บริษัทได้ตระหนักถึงสิทธิของผู้ถือหุ้นทุกราย โดยค�ำนึงถึงสิทธิขั้นพื้นฐาน ที่ผู้ถือหุ้นพึงได้รับตามที่กฎหมายและข้อบังคับก�ำหนด และการปฏิบัติต่อ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม เช่น การก�ำหนดนโยบายและแนว ปฏิบัติต่างๆ ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การเปิดเผยข้อมูลที่ถูก ต้อง โปร่งใส และทันเวลา เป็นต้น ส�ำหรับสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่ม ต่างๆ ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า พนักงาน ผู้ร่วมค้า สังคมและสิ่งแวดล้อม บริษทั ก�ำหนดปรัชญาการท�ำงานโดยมุง่ เน้นความรับผิดชอบและการปฏิบตั ิ อย่างเสมอภาคเป็นที่น่าเชื่อถือ นอกจากนี้ ยังก�ำหนดให้มีช่องทางแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนการกระท�ำ ผิดกฎหมาย หรือจรรยาบรรณ รายงานทางการเงินที่ไม่ถกู ต้อง หรือระบบ ควบคุมภายในที่บกพร่อง และกลไกในการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสในการ ร่วมสอดส่องดูแลผลประโยชน์บริษัท ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดย ร้องเรียนยังคณะกรรมการตรวจสอบผ่านช่องทางดังต่อไปนี้ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : คณะกรรมการตรวจสอบ AC_EW@eastwater.com จดหมายธรรมดา : คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออกจ�ำกัด (มหาชน) อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 25 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ทั้งนี้ ก�ำหนดให้เปิดเผยนโยบายไว้ในรายงานประจ�ำปี (56-2) และให้ ร้องเรียนผ่านช่องทางดังกล่าวบนเว็บไซต์บริษทั : www.eastwater.com
ภาวะผู้น�ำและวิสัยทัศน์ คณะกรรมการบริษัทมีบทบาทส�ำคัญยิ่งในการก�ำหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย และแผนกลยุทธ์ของบริษทั โดยการก�ำหนดแผนธุรกิจระยะยาว ( Corporate Plan ) ทุกๆ 3 ปี รวมทั้งได้ให้ฝ่ายบริหารศึกษาวิเคราะห์แผนธุรกิจระยะ 10 ปี เนือ่ งจากปัจจัยแวดล้อมทัง้ ในด้านภูมศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส�ำหรับการด�ำเนินการในแต่ละปีฝ่ายบริหาร ของบริษทั ได้น�ำเสนอกลยุทธ์และกิจกรรมต่างๆ ต่อคณะกรรมการบริหาร และการลงทุนและคณะกรรมการบริษัทตามล�ำดับเพื่อพิจารณาให้ความ คิดเห็น และอนุมัติก�ำหนดแผนปฏิบัติการรวมถึงงบประมาณค่าใช้จ่าย รายปี นอกจากนีฝ้ า่ ยบริหารด�ำเนินการรายงานความคืบหน้าของแผนปฏิบตั ิ การประจ�ำปี ปัญหาอุปสรรคที่ส�ำคัญในการประชุมคณะกรรมการตรวจ สอบและรายงานยังคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบต่อไป รวมถึงการน�ำ เสนอให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั จิ ดั จ้างโครงการลงทุนทีส่ �ำคัญ มูลค่ามากกว่า 200 ล้านบาทขึ้นไป คณะกรรมการบริษัทได้มีการติดตามผลการด�ำเนินงานของฝ่ายบริหาร โดยก�ำหนดให้มีการรายงานผลการด�ำเนินงานเปรียบเทียบเป้าหมายและ ผลประกอบการของบริษัท โดยก�ำหนดเป็นระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการบริษัทเรื่องรายงานสถานะการเงินรายไตรมาส นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั ได้ตระหนักถึงการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อก�ำหนด ต่างๆจึงได้ก�ำหนดให้ฝ่ายบริหารรายงานการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ ด้านกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (ตลท.)
บริษัทได้ตระหนักถึงสิทธิของผู้ถือหุ้นทุก ราย โดยค�ำนึงถึงสิทธิขนั้ พื้นฐานทีผ่ ถู้ อื หุน้ พึงได้รับ ตามที่กฎหมายและข้อบังคับก�ำหนด และการปฏิบัติ ต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม คุณธิดารัชต์ ไกรประสิทธิ์ ผู้อ�ำนวยการอาวุโสฝ่ายตรวจสอบ
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
15
การประชุมผู้ถือหุ้น
ความขัดแย้งทางผลประโยชน์
อีสท์ วอเตอร์ จัดการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ เป็นประจ�ำทุกปี โดยการประชุม สามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2553 ทีผ่ า่ นมา จัดขึน้ ในวันพฤหัสบดีที่ 24 มีนาคม 2554 เวลา 13.30 น. ณ ห้องจูปิเตอร์ ชั้น 3 โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอน เวนชั่น ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงหลักสี่ เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ซึ่ง การประชุมในครั้งนี้สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยได้จัดท�ำโครงการประเมิน คุณภาพการจัดประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2553 ซึง่ ผลประเมินดังกล่าว บริษัทได้รับคะแนนระดับ “ดีเยี่ยม”
คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำหนดนโยบายเกีย่ วกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ไว้ในหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และคู่มือคณะกรรมการบริษัท โดยก�ำหนดให้บุคลากรทุกระดับมีหน้าที่หลีกเลี่ยงความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ซึ่งจะส่งผลให้กลุ่มบริษัทเสียผลประโยชน์หรือก่อให้เกิด ความขัดแย้งในการปฏิบัติงาน กรณีข้อปฏิบัติต่อผู้รับจ้างและคู่ค้า บริษัทได้ ก�ำหนดให้ท�ำรายงานการมีสว่ นได้เสียกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันตามหลักเกณฑ์ ของส�ำนักงาน ก.ล.ต. เพื่อเป็นข้อมูลให้ฝ่ายบริหารพึงระมัดระวังขั้นตอน ในการอนุมตั กิ ารท�ำรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึง่ รายการ ระหว่างกันของบริษัทและบริษัทในเครือ รวมถึงบริษัทและผู้มีส่วนได้เสีย ต่างๆ จะผ่านขั้นตอนการพิจารณาอนุมัติอย่างถูกต้อง ชัดเจน โดยใช้ โครงสร้างราคาและเงือ่ นไขทางการค้าทัว่ ไป เช่นเดียวกับคูค่ า้ รายอืน่ ๆ ของ บริษัท โดยได้เปิดเผยรายละเอียดรายการระหว่างกันไว้ในรายงานประจ�ำปี
16
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
จริยธรรมทางธุรกิจ เพือ่ แสดงเจตนารมณ์ในการด�ำเนินธุรกิจภายใต้หลักการก�ำกับดูแลกิจการ ทีด่ ี คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำหนดให้ประกาศใช้ “ หลักก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีของกลุ่มบริษัท” “คู่มือคณะกรรมการบริษัท” และจรรยาบรรณทาง ธุรกิจ ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2549 โดยได้มีการปรับปรุงให้ ทันสมัยและเหมาะสมกับหลักเกณฑ์ที่เปลี่ยนแปลงต่างๆ อยู่เสมอ เพื่อใช้ เป็นมาตรฐานในการประพฤติปฏิบัติ ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ด ี โดยก�ำหนดให้กรรมการบริษทั ทุกท่านลงนามรับคูม่ อื คณะกรรมการบริษทั ส�ำหรับพนักงานกลุม่ บริษทั ได้จดั ให้มโี ครงการส่งเสริมความรูค้ วามเข้าใจด้าน หลักธรรมมาภิบาลให้แก่พนักงานทั่วทั้งองค์กรอย่างต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกปี
การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร คณะกรรมการบริษัทมีจ�ำนวน 11 คน โดยคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ประกอบด้วย กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการอิสระ
การรวมหรือแยกต�ำแหน่ง คณะกรรมการบริษัทมุ่งเน้นความโปร่งใสในการด�ำเนินธุรกิจ กระจาย อ�ำนาจการตัดสินใจ แบ่งอ�ำนาจการกลั่นกรอง และการพิจารณาอนุมัติ อย่างชัดเจน โดยประธานคณะกรรมการบริษัทไม่เป็นบุคคลเดียวกับ กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ รวมทั้งสมาชิกคณะกรรมการตรวจสอบเป็น กรรมการอิสระที่ไม่มีอ�ำนาจลงนามอนุมัติผูกพันกับบริษัท ไม่มีส่วนได้เสีย ในด้านการเงิน และการบริหารงานของบริษัท รวมถึงบริษัทในเครือ
ค่าตอบแทนของกรรมการ และผู้บริหาร ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารเป็นไปตามหลักการ และนโยบายทีค่ ณะกรรมการบริษทั ก�ำหนด โดยคณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทนเป็นผู้พิจารณาอัตราค่าตอบแทนตามสัดส่วนระยะเวลาที่เข้า ด�ำรงต�ำแหน่ง โดยอ้างอิงจากก�ำไรสุทธิ เงินปันผล และผลการด�ำเนินงาน ของกรรมการบริษัทและมีการปรับลดค่าตอบแทนรายเดือนตามสภาวะ เศรษฐกิจ ซึ่งจะพิจารณาทบทวนความเหมาะสมทุกปี และน�ำเสนออัตรา ค่าตอบแทนที่เหมาะสมต่อคณะกรรมการบริษัท และผู้ถือหุ้น
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
17
การประชุม คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั มีก�ำหนดประชุมประจ�ำเดือนโดยปกติในช่วงสัปดาห์ที่ 4 ของเดือน โดยได้ก�ำหนดวันประชุมล่วงหน้าตลอดทั้งปี เพื่อให้กรรมการ สามารถจัดเวลาการเข้าร่วมประชุมได้ทุกครั้ง โดยประธานกรรมการและ กรรมการผูอ้ �ำนวยการใหญ่ซงึ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นเลขานุการคณะกรรมการบริษทั ร่วมกันก�ำหนดขอบเขต ระดับความส�ำคัญและเรื่องที่จะก�ำหนดเป็น ระเบียบวาระการประชุม โดยบรรจุเรื่องที่ส�ำคัญในระเบียบวาระเรื่องเพื่อ พิจารณา และจัดเรียงเรื่องต่างๆ ในระเบียบวาระดังกล่าวตามล�ำดับความ ส�ำคัญ และเร่งด่วน โดยมีหนังสือเชิญประชุมล่วงหน้าพร้อมระเบียบวาระ การประชุม และเอกสารก่อนการประชุม เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทได้มี เวลาศึกษาข้อมูลก่อนเข้าประชุมทุกครั้ง
คณะกรรมการชุดต่างๆ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยที่มีความช�ำนาญและ เหมาะสมเพื่อช่วยศึกษา กลัน่ กรองงานที่ได้รับมอบหมายให้มีความถูกต้อง ชัดเจนสอดคล้องกับพันธกิจและนโยบายของบริษทั ในเบือ้ งต้น ก่อนน�ำเสนอ คณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมตั ิ หรือรับรอง หรือให้ขอ้ แนะน�ำเพิม่ เติม แล้วแต่กรณี โดยรายละเอียดคณะกรรมการชุดต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้ง จากคณะกรรมการบริษัทและการเข้าประชุมในปีงบประมาณ 2554 คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าทีห่ ลักในการพิจารณาสอบทานความถูกต้องและความน่าเชือ่ ถือในงบ การเงินของบริษัทว่ามีความน่าเชื่อถือตามมาตรฐานสากลก่อนน�ำเสนอต่อ คณะกรรมการบริษัท รวมทั้งจัดให้มีกระบวนการบริหารงานของคณะ กรรมการตรวจสอบให้สามารถด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิผล มีความเป็น อิสระ มุ่งเน้นการจัดให้มีแนวปฏิบัติที่มีความโปร่งใสและชัดเจน ระหว่าง คณะกรรมการบริษัท ฝ่ายตรวจสอบ ฝ่ายบริหาร และผู้สอบบัญชี เพื่อ ทบทวนและให้ค�ำแนะน�ำด้านการประเมินประสิทธิภาพประสิทธิผลของ ระบบการควบคุมภายในของบริษัท ให้ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบและข้อ บังคับต่างๆ และพิจารณารายการเกีย่ วโยงหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายมีความสมเหตุสมผล และคงไว้ซึ่ง ประโยชน์สูงสุดของบริษัท ตลอดจนการเปิดเผยข้อมูล โดยบรรจุรายงานการตรวจสอบไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัท นอกจาก นั้นยังมีบทบาทหน้าที่ ให้ความเห็นชอบในเบื้องต้นเกี่ยวกับการแต่งตั้งและ ก�ำหนดค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี เพื่อน�ำเสนอยังคณะกรรมการบริษัท และผู้ถือหุ้นต่อไป
18
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
คณะกรรมการบริหารและการลงทุน เป็นคณะกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทให้มีบทบาท และหน้าที่ในการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษทั ให้มปี ระสิทธิภาพและ มีความเข้มแข็งทางธุรกิจตามแนวนโยบายของคณะกรรมการบริษัท โดย มีหน้าที่ในการพิจารณากลัน่ กรองและทบทวนแผนธุรกิจแผนการด�ำเนินงาน ต่างๆ และงบประมาณประจ�ำปี และเรือ่ งต่างๆ โดยเฉพาะการจัดซือ้ -จัดจ้าง ในโครงการลงทุนทีเ่ กินวงเงินที่ได้รบั มอบอ�ำนาจ ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการ บริษัท นอกจากนี้คณะกรรมการบริหารและการลงทุนยังมีหน้าที่ ในการ ก�ำหนดกระบวนการและหลักเกณฑ์การพิจารณาการลงทุนโครงการต่างๆ รวมทัง้ การลงทุนด้านการเงิน และสนับสนุนการบริหารงานของฝ่ายบริหาร ให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายของบริษัท คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา ธรรมาภิบาล มีหน้าที่สนับสนุนงานของคณะกรรมการบริษัทให้ด�ำเนินไปอย่างถูกต้อง โปร่งใสและสามารถรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของบริษัท โดยการกลั่นกรองคู่มือคณะกรรมการบริษัทจรรยาบรรณทาง ธุรกิจ จรรยาบรรณพนักงานและดูแลให้หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีมีผล ในทางปฏิบัติที่มุ่งสู่การพัฒนา และการก�ำกับดูแลกิจการที่เป็นเลิศ (Best Practices) ตลอดจนสอดส่องและสอบทานให้แน่ใจว่าบริษัทได้ปฏิบัติตาม ข้อพึงปฏิบัติที่ส�ำคัญของกระบวนการก�ำกับดูแลกิจการที่มีประสิทธิผล เหมาะสมสอดคล้องกับข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยให้มีการประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายเป็นระยะ
การสรรหา คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหา เพื่อปฏิบัติภารกิจใน การสรรหาและเสนอชื่อบุคคลที่เหมาะสมส�ำหรับเป็นกรรมการบริษัทและ บริษทั ในเครือ กรรมการผูแ้ ทนของบริษทั กรรมการชุดย่อยของบริษทั และ กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ รวมทั้งให้ความเห็นต่อโครงสร้างการบริหาร งานของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีหน้าที่หลักในการก�ำกับดูแล ทบทวนนโยบายและแผนบริหารความเสี่ยง วิธปี ฏิบตั ทิ เี่ ป็นมาตรฐาน กลยุทธ์ และการวัดความเสีย่ งรวมทัง้ ให้ขอ้ แนะน�ำ แก่ฝ่ายบริหาร เพื่อให้มั่นใจได้ว่าการบริหารความเสี่ยงได้น�ำไปปฏิบัติอย่าง เหมาะสมและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ โดยน�ำเสนอยังคณะกรรมการบริษทั ทุก 6 เดือน
การพิจารณาค่าตอบแทน มีหน้าที่หลักในการเสนอแนะนโยบายค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นๆ ทั้งหมดทั้งในรูปตัวเงินและมิใช่ตัวเงินของบุคลากรทุกระดับขององค์กรต่อ คณะกรรมการบริษัท และเสนอแนะยังคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา ค่าตอบแทนประจ�ำปีของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษทั ในเครือ และกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ โดยต้องค�ำนึงถึงหน้าที่ ความรับผิดชอบ ภารกิจที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้งค�ำนึงถึงส่วนของผู้ถือหุ้นด้วย
คณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์และประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัท และพิจารณาค่าตอบแทน ก�ำหนดเกณฑ์และประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัท คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์และประเมินผล การด�ำเนินงานของบริษทั โดยมีหน้าทีก่ �ำหนดและทบทวนเกณฑ์การประเมิน ผลการด�ำเนินงาน (Corporate KPIs) ประจ�ำปีของบริษัทให้สอดคล้องกับ แนวนโยบายธุรกิจของบริษัท รวมทั้งติดตาม ประเมินผลการด�ำเนินงาน ของบริษัทเป็นรายไตรมาส ตลอดจนให้ข้อแนะน�ำแก่ฝ่ายบริหารในการ ปฏิบัติงานและรายงานผลยังคณะกรรมการบริษัท
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
19
ปัจจัยเสี่ยง
Determination to be successful corporate
อีสท์ วอเตอร์ ตระหนักถึงปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ อันอาจเกิดขึ้นและส่ง ผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจจึงได้มีการพิจารณาเตรียมการและก�ำหนด แนวทางในการบริหารความเสีย่ งในแต่ละด้าน โดยในช่วงทีผ่ า่ นมาได้วเิ คราะห์ ถึงปัจจัยแห่งความเสีย่ งทีส่ �ำคัญ ทีอ่ าจมีผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจทาง ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรนํ้า และได้ด�ำเนินการทบทวนปรับปรุง โครงสร้างองค์กร และกระบวนการบริหารความเสี่ยงในด้านต่างๆ อย่างต่อ เนื่อง เพื่อเสริมสร้างระบบการบริหารความเสี่ยงให้ได้มาตรฐานเทียบเคียง ระดับสากล และมีความพร้อมในการรองรับการบริหารความเสีย่ งตามแนวทาง ของ COSO
20
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีบทบาทส�ำคัญในการก�ำหนดนโยบาย ทบทวนความเพียงพอของนโยบาย และก�ำกับดูแลความเสี่ยงที่มีนัยส�ำคัญ ส�ำหรับกลุ่ม บริษัท (Corporate Risks) โดยมีเป้าหมายในการบริหาร ความเสี่ยงคือ การบริหารความเสี่ยงต่างๆ ให้อยู่ภายในขอบเขตที่ก�ำหนด และด�ำเนินธุรกิจให้ได้อัตราผลตอบแทนที่เหมาะสม รวมถึงการติดตามผล การด�ำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง พิจารณารายงานผลการบริหาร ความเสีย่ งเป็นประจ�ำทุกไตรมาส เพือ่ ควบคุมความเสีย่ งอย่างต่อเนือ่ ง ในปี 2554 มีความเสี่ยงที่มีนัยส�ำคัญสรุปดังนี้
1. ความเสี่ยงจากการบริหาร อุปสงค์-อุปทาน บริษัท ได้รับผลกระทบจากความเสี่ยงจากการบริหารอุปสงค์-อุปทาน อันเนื่องจาก 2 ปัจจัย ได้แก่ 1.1 ความอ่อนไหวของความต้องการปริมาณน�ำ้ ดิบจากลูกค้า (Demand forecast) ซึ่งคาดการณ์ได้ยาก อันเกิดจากความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจโลก โดย เฉพาะปัญหาหนี้สินยุโรปและภาวะวิกฤตอุทกภัยภายในประเทศ ส่งผล กระทบต่อการลดก�ำลังการผลิตและปริมาณการใช้น�้ำของลูกค้า ซึ่ง บริษัทเตรียมมาตรการรองรับโดยเน้นกิจกรรม CRM อย่างใกล้ชิด และ ปรับปรุงกระบวนการบริการจ่ายนำ�้ ให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ เพือ่ ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าได้รวดเร็วและหลากหลายรูปแบบ 1.2 ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศและภาวะภัยแล้ง ความไม่แน่นอนและคาดการณ์ยากของฤดูฝนและภาวะภัยแล้งส่งผลต่อ ความต้องการใช้น�้ำของลูกค้าอย่างมีนัยส�ำคัญ โดยเฉพาะลูกค้าที่มีแหล่ง น�้ำดิบเป็นของตนเอง ทั้งนี้บริษัทมีมาตรการด้านการบริหารสัญญา การ ก�ำหนดปริมาณน�้ำขั้นต�่ำในการซื้อ-ขาย ( Minimum Guarantee) กับ ลูกค้าให้ชัดเจน และการเข้าพบลูกค้าเป็นประจ�ำสม�่ำเสมอเพื่อสอบถาม แผนการผลิต หรือโครงการในอนาคตที่จะด�ำเนินการ ท�ำให้บริษัทมีส่วน ร่วมในการวางแผนร่วมกัน ตลอดจนเข้าร่วมทบทวนปริมาณนำ�้ ใช้เป็นประจ�ำ ทุกไตรมาส
2. ความเสี่ยงจากการปรับตัว ของราคาต้นทุนน�้ำดิบ ต้นทุนน�้ำดิบของบริษัทได้รับผลกระทบจากปัจจัยเสี่ยง 3 ปัจจัย ได้แก่ 2.1 การปรับตัวเพิ่มขึ้นของอัตราค่าไฟฟ้าอัตโนมัติ (Ft) ของการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลให้ต้นทุนการด�ำเนินการที่ปรับเพิ่มขึ้น บริษัทได้ เตรียมมาตรการรองรับด้วยแผนอนุรักษ์พลังงานและด�ำเนินการตามแผน อนุรกั ษ์อย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนีย้ งั จัดท�ำแผนสูบจ่ายน�ำ้ เป็นประจ�ำทุกเดือน เพื่อเฝ้าติดตามผลด�ำเนินงานอย่างใกล้ชิด 2.2 การผันน�้ำเพื่อส�ำรองน�้ำดิบไว้ในภาวะภัยแล้ง ในการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับภาวะภัยแล้งที่จะเกิดขึ้นระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ - พฤษภาคมของทุกปีนั้น บริษัทจ�ำเป็นต้องผันน�้ำจากแหล่งน�้ำ ที่ห่างไกลจากแหล่งเดิมมาเก็บไว้ ซึ่งกระทบโดยตรงต่อต้นทุนค่าไฟฟ้าจาก การผันน�้ำ บริษัทมีแผนเฝ้าระวังและป้องกันภาวะภัยแล้งประจ�ำปี เพื่อลด ความเสีย่ งจากความไม่แน่นอนของสภาพอากาศทีแ่ ปรปรวน รวมถึงจัดกิจกรรม War Room เพือ่ หารือร่วมกับลูกค้า หน่วยงานภาครัฐและรายงานสถานการณ์ น�้ำอย่างใกล้ชิด 2.3 คุณภาพน�้ำดิบและภาวะมลพิษ บริเวณแนวรอบแหล่งน�้ำ ด้วยสภาพแวดล้อมและมลพิษในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออก อาจจะส่งผลต่อคุณภาพ น�้ำในแหล่งน�้ำ ทั้งบริเวณรอบแนวอ่างเก็บน�้ำหลักที่มีชุมชนเข้ามาอาศัยอยู่ เป็นจ�ำนวนมากขึ้น ท�ำให้เกิดปัญหามลพิษทางนํ้า ดิน และอากาศที่ปล่อย จากแหล่งอุตสาหกรรม ดังนั้น ตลอดระยะเวลาที่ด�ำเนินธุรกิจมาจนถึงปี 2554 บริษัทได้ร่วมกับชุมชนในการเฝ้าระวังและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบริเวณ โดยรอบต้นทางแหล่งน�้ำดิบ
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
21
3. ความเสี่ยงจากการ ปฏิบัติการ
4. ความเสี่ยงจากความขัดแย้ง กับชุมชน
ความเสี่ยงจากการด�ำเนินงานภายในองค์กร บริษัทได้รับผลกระทบจากปัจจัย การใช้ทรัพยากรจากแหล่งน�้ำ อาจส่งผลต่อภาพลักษณ์ของบริษัท ทั้งนี้บริษัทได้ เสี่ยง 2 ปัจจัย ได้แก่ จัดสรรงบประมาณ เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ และสิง่ แวดล้อม โดยสร้างสัมพันธภาพ กับชุมชนในพื้นที่ ตลอดจนการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง และยังได้สนับสนุน 3.1 ความเสี่ยงกรณี ไฟฟ้าขัดข้อง โครงการพัฒนาในท้องถิน่ อย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ลดความขัดแย้งและสร้างทัศนคติ บริษทั ด�ำเนินการสูบจ่ายน�ำ้ ให้แก่ลกู ค้าตลอด 24 ชัว่ โมง การมีแหล่งนำ�้ ส�ำรอง ที่ดีต่อบริษัท โดยได้ด�ำเนินการร่วมกับชุมชน อาทิ การขุดลอกคูคลอง บริการ จึงเป็นสิง่ จ�ำเป็นในยามฉุกเฉิน เช่น กรณีไฟฟ้าดับ กรณีซอ่ มบ�ำรุงหรือประสาน รถน�ำ้ ดืม่ เคลือ่ นที่ โครงการค่ายเยาวชนผูน้ �ำด้านการอนุรกั ษ์ทรัพยากรน�ำ้ และ แนวท่อ บริษทั ได้มขี อ้ ตกลงกับการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคเกีย่ วกับการหยุดจ่ายกระแส สิ่งแวดล้อมพร้อมมอบทุนการศึกษา โครงการปลูกป่าชายเลนเพื่ออนุรักษ์ ไฟฟ้า จึงต้องมีนำ�้ ส�ำรองไว้ใช้จากสระส�ำรองเพือ่ ส่งน�ำ้ ดิบให้ลกู ค้าได้อย่าง สิ่งแวดล้อม รวมถึงสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมให้แก่ ต่อเนื่องในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ปัจจุบันบริษัทมีแหล่งน�้ำส�ำรองกรณีเกิดเหตุ ชุมชน อาทิ วัด โรงเรียน ส่วนราชการ และสาธารณกุศลต่างๆ ฉุกเฉิน ความจุ 116,300 ลูกบาศก์เมตร ซึ่งสามารถส�ำรองน�้ำดิบได้ประมาณ 6.3 ชัว่ โมง อย่างไรก็ตาม บริษทั มีการวางแผนปฏิบตั กิ ารกรณีทเี่ กิดเหตุฉกุ เฉิน เพื่อที่จะท�ำให้การสูบจ่ายน�้ำเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และบริษัทมีแผนที่จะเพิ่ม ปริมาณน�้ำส�ำรอง โดยก่อสร้างสระส�ำรองบริเวณพื้นที่มาบข่าความจุประมาณ 220,000 ลูกบาศก์เมตร เพิ่มเติมอีกแห่งหนึ่ง ซึ่งจะท�ำให้ปริมาณน�้ำส�ำรอง กรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน รวมทั้งสิ้นสามารถส�ำรองจ่ายน�้ำได้ถึง 24 ชั่วโมง ความไม่แน่นอนของนโยบายของหน่วยงานราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ 3.2 ความเสี่ยงจากความเสียหายต่อระบบท่อส่งน�้ำของบริษัท ด�ำเนินงานของบริษัท อาจมีผลกระทบต่อบริษัท อาทิ ความล่าช้าในการออก ซึ่งอาจพบปัญหาการสึกกร่อน หรือจากการก่อสร้างสาธารณูปโภคอื่นใน ใบอนุญาตจากหน่วยงานราชการทีเ่ กีย่ วข้อง ความชัดเจนของอัตราเรียกเก็บค่าเช่า บริเวณแนวท่อ อาจท�ำให้ท่อแตกหรือรั่วได้ อย่างไรก็ดี บริษัทได้จัดแผนการ ท่อส่งน�้ำ หนองปลาไหล-หนองค้อ อย่างไรก็ดี บริษัทยังคงได้รับความร่วมมือจาก ซ่อมบ�ำรุงเชิงป้องกัน และตรวจสอบระบบท่อส่งน�้ำและการซ่อมบ�ำรุงตาม หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องด้วยดีมาตลอด อีกทั้งการจัดตั้งและการด�ำเนินธุรกิจ แผนงานอย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ จัดท�ำประกันความเสีย่ งภัยกับบริษทั ประกัน ของบริษทั เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีในการส่งเสริมการลงทุนด้านอุตสาหกรรม ภัย ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบความเสี่ยงที่เกี่ยวกับความเสียหายของระบบท่อที่อาจ และการท่องเที่ยวในพื้นที่พัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออก นอกจากความเสี่ยงหลัก เกิดจากเหตุการณ์ต่างๆ โดยครอบคลุมทุกเส้นท่อ ตลอดจนท�ำประกันความ ของกลุ่มบริษัท (Corporate Risks) ซึ่งมีการก�ำกับดูแลโดยคณะกรรมการบริหาร เสี่ยงภัยทรัพย์สินของบริษัทและประกันภัยความรับผิดชอบต่อบุคคลภายนอก ความเสี่ยงแล้วบริษัทยังได้จัดท�ำคู่มือบริหารความเสี่ยงและแผนปฏิบัติการบริหาร รวมถึงความเสียหายที่เกิดจากการหยุดชะงัก เพื่อช่วยให้บริษัทสามารถให้ ความเสีย่ งให้หน่วยงานต่างๆ รับผิดชอบด�ำเนินการควบคุมความเสีย่ งให้อยู่ในระดับ ที่ยอมรับได้ โดยมีการทบทวนความเสี่ยงทุกไตรมาส ซึ่งพิจารณาเหตุการณ์ บริการจ่ายน�้ำได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นไม่จ�ำกัดเฉพาะความเสี่ยงที่เป็นความเสียหาย แต่ยังรวมถึง ปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ที่บ่งชี้โอกาสเกิดความเสี่ยงกับบริษัท ภายใต้สถานการณ์ต่างๆ ที่ เปลี่ยนแปลงไป
5. ความเสี่ยงจากนโยบายของ รัฐบาลและหน่วยงาน ราชการที่เกี่ยวข้อง
คุณเจริญสุข วรพรรณโสภาค รองกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่สายปฏิบัติการ
22
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
นอกจากความเสี่ยงหลักของกลุ่มบริษัท (Corporate Risks) ซึง่ มีการก�ำกับดูแลโดย คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งแล้ว บริษทั ยังได้ จัดท�ำคู่มือบริหารความเสี่ยงและแผนปฏิบัติการบริหารความเสี่ยงให้ หน่วยงานต่างๆ รับผิดชอบด�ำเนินการควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับ ที่ยอมรับได้ โดยมีการทบทวนความเสี่ยงทุกไตรมาส ซึ่งพิจารณา เหตุการณ์ทงั้ หมดทีอ ่ าจเกิดขึน้ ไม่จำ� กัดเฉพาะความเสีย่ งทีเ่ ป็นความ เสียหาย แต่ยังรวมถึงปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ที่บ่งชี้โอกาสเกิดความเสี่ยง กับบริษัท ภายใต้สถานการณ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
23
การเชื่อมโยงผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย
power of creative sharing
นับเป็นปีแรกที่ อีสท์ วอเตอร์ จัดท�ำรายงานการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน เพือ่ สือ่ สาร ขอบเขตการด�ำเนินงานเกี่ยวกับการให้อย่างสร้างสรรค์ วิธีปฏิบัติ และผล ของการด�ำเนินการที่มีผลต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของ อีสท์ วอเตอร์ ระหว่างวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2554 โดยใช้แนวทาง
การรายการตามมาตรฐานสากล Global Reporting Initiative: GRI รุ่นที่ 3.1 หรือ Third Generation (G 3.1) ในการจัดท�ำ และหลังจากประเมิน ความสมบูรณ์ของเนือ้ หาเทียบกับแนวทางการรายงานด้านการพัฒนา อย่างยั่งยืนของ GRI แล้วนั้น ถือว่าเทียบเท่าระดับ C
การเชื่อมโยงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพือ่ ให้การด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ อีสท์ วอเตอร์ สามารถ ตอบสนองได้ตรงต่อความต้องการและความคาดหวังของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย อีสท์ วอเตอร์ จึงได้ท�ำการศึกษาถึงความต้องการและความคาดหวัง โดยได้ พิจารณากลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียจากข้อกฎหมายและขอบเขตความรับผิดชอบ ตามกฎหมาย จากผลกระทบของการด�ำเนินธุรกิจ โดยสามารถแบ่งกลุ่ม
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ถือหุ้น
ชุมชนทีอ่ ยู่ในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร
ลูกค้าผู้ใช้นํ้า
24
ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียออกเป็น 5 กลุม่ ได้แก่ ผูถ้ อื หุน้ , ชุมชนทีอ่ ยู่ในพืน้ ทีป่ ฏิบตั ิ การ, ลูกค้า, ผูร้ ว่ มค้าและพนักงาน ทัง้ นี ้ อีสท์ วอเตอร์ ได้มกี ารศึกษาความ คิดเห็นจากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งมีความต้องการและความคาดหวังที่ แตกต่างกันตามตารางด้านล่าง เพื่อน�ำมาเป็นกรอบแนวทางในการจัดท�ำ รายงานเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ประเด็นด้านความรับผิดชอบต่อสังคม - การพัฒนาเศรษฐกิจและการด�ำเนิน ธุรกิจอย่างยั่งยืน - การเข้าถึงทรัพยากรน�้ำ - การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและการตัดสินใจ - การพัฒนาชุมชน - ปริมาณและคุณภาพน�้ำ - การใช้น�้ำอย่างประหยัด
ผู้ร่วมค้า
- ความโปร่งใสและเป็นธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ
พนักงาน
- การจ้างงานอย่างเป็นธรรม - การพัฒนาทักษะ ความรู้ - สวัสดิการและคุณภาพชีวิตที่ดี - สภาพแวดล้อมการท�ำงานที่ดี มีความปลอดภัย
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
การตอบสนอง - การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี - การพัฒนาทางธุรกิจ - การบูรณาการความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน - การบริหารจัดการแหล่งน�้ำ - การเชื่อมโยงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดลอ้ม - การพัฒนาชุมชน - การปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล - การบริหารจัดการคุณภาพน�้ำ - การดูแลรับผิดชอบต่อผู้บริโภค - การปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล การด�ำเนินธุรกิจอย่างเป็นธรรม - การปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล - การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม และค�ำนึงถึงหลักสิทธิมนุษยชน
ทรัพยากรน�้ำเป็นสิ่งจ�ำเป็นใน การด� ำ รงชี วิ ต และเอื้ อ ประโยชน์ ต ่ อ อุตสาหกรรม ดังนัน้ การจัดการน�ำ้ อย่าง ยั่งยืนจึงเป็นสิ่งจ�ำเป็น คุณน�ำศักดิ์ วรรณวิสูตร รองกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี
การจัดการน�้ำอย่างยั่งยืน
ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งในกระบวนการที่ส�ำคัญที่สะท้อนให้เห็นถึงความมุ่งมั่นใน การบริหารจัดการน�้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้ปริมาณแหล่งน�้ำที่มีอยู่ อย่างจ�ำกัด และเตรียมพร้อมกับความผันผวนของสภาพอากาศ ตลอดจน สภาวะมลพิษ ของแหล่งน�้ำธรรมชาติที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน โดยในปี 2554 ได้ ถือได้ว่าเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความส�ำคัญไม่น้อยไปกว่า พัฒนาโครงการต่างๆ เพื่อสนับสนุนให้เกิดการจัดการน�้ำอย่างยั่งยืน ดังนี้ ทรัพยากรธรรมชาติอนื่ ๆ เพราะนำ�้ เป็นองค์ประกอบทีส่ �ำคัญของระบบนิเวศ และเป็นปัจจัยที่จ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ ตลอดจนเอื้อประโยชน์ • โครงการควบคุมน�้ำสูญเสีย ต่อกระบวนการผลิตในภาคอุตสาหกรรมอย่างมาก แต่มนี ำ�้ เพียงปริมาณร้อยละ หนึ่งในกระบวนการส�ำคัญของระบบสูบจ่ายน�้ำของ อีสท์ วอเตอร์ ก็คือ 3 เท่านั้นที่สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ กอรปกับปัจจุบันความต้องการใช้ การค�ำนึงถึงปริมาณนำ�้ ทีส่ ญ ู หายไปในระบบ จึงได้ด�ำเนินโครงการควบคุมน�ำ ้ น�้ำมีเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ อีกทั้งยังใช้อย่างสิ้นเปลืองไม่คุ้มค่า ท�ำให้ปริมาณน�้ำ สูญเสียมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาศักยภาพการบริหารงานควบคุม ที่มีอยู่อย่างจ�ำกัดอาจไม่เพียงพอต่อการน�ำมาใช้ประโยชน์ของมนุษย์ ระบบจ่ายน�้ำ และควบคุมอัตราน�้ำสูญเสียให้อยู่ ในเกณฑ์ที่เกิด ในอนาคตได้ ดังนั้นการจัดการน�้ำอย่างยั่งยืนจึงเป็นสิ่งจ�ำเป็น ประสิทธิภาพสูงสุด และสอดคล้องกับ Corporate Plan ขององค์กร
“น�้ำ”
อีสท์ วอเตอร์ ซึง่ มีโครงสร้างการผลิต และบริการทีต่ อ้ งใช้ทรัพยากรนำ�้ เป็น ฐานหลัก จึงให้ความส�ำคัญกับการลงทุนเพือ่ สร้าง จัดหา และบริหารจัดการ ทรัพยากรนำ �้ ให้เพียงพอกับความต้องการของผูใ้ ช้นำ �้ ทัง้ เพือ่ การอุปโภคบริโภค และอุตสาหกรรม โดยการน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยีทที่ นั สมัยเข้า มาช่วยเพิ่มศักยภาพในกระบวนการผลิต รวมถึงปรับปรุงระบบงานต่างๆ ที่ช่วยสนับสนุนการใช้ทรัพยากรน�้ำให้คุ้มค่า และเกิดการจัดการน�้ำอย่าง ยั่งยืนตั้งแต่ต้นทางการส่งน�้ำจนถึงปลายทางการส่งน�้ำ โดยเริ่มตั้งแต่การวาง นโยบายด้านการบริหารจัดการให้อยู่บนพื้นฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืน การวางแผนกลยุทธ์ และก�ำหนดเป้าหมายที่ค�ำนึงถึงความต้องการของทุก กลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย การติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงาน ตลอดจนการ ทบทวนแผนกลยุทธ์เป็นประจ�ำอย่างสมำ�่ เสมอ เพือ่ ให้สามารถตอบสนองต่อ วิสัยทัศน์ที่ว่า “มุ่งสู่การเป็นผู้น�ำด้านการจัดการน�้ำอย่างมีคุณค่า เพื่อความ ก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน : Water Solution for All” โดยมีกระบวนการบริหารความเสีย่ งทีช่ ว่ ยประเมินสถานการณ์ทอี่ าจส่ง ผลกระทบต่อความมั่นคงของธุรกิจ และช่วยให้การด�ำเนินงานเป็นไป ตามเป้าหมายขององค์กร นอกจากนี้ ในกระบวนการผลิต อีสท์ วอเตอร์ ได้พัฒนาระบบบริหารจัดการน�้ำ ผ่านโครงข่ายท่อส่งน�ำ้ ขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกให้ครอบคลุมพืน้ ที่ จังหวัด ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา ท�ำให้สามารถรองรับความต้องการการใช้น�้ำ ในปัจจุบนั และการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมในอนาคตได้อย่างเพียงพอ
อย่างไรก็ตาม เพื่อเพิ่มเสถียรภาพและความยั่งยืนในการจัดการน�้ำ ในปี 2554 อีสท์ วอเตอร์ จึงได้ตงั้ เป้าหมายการลดนำ�้ สูญเสียใหม่โดยให้มศี กั ยภาพ ในการควบคุมรักษาอัตรานำ�้ สูญเสียให้อยูท่ คี่ า่ มาตรฐานร้อยละ 3.5 และได้ ปรับการค�ำนวณจากเดิม ค�ำนวณปริมาณน�้ำสูญเสียในระบบท่อส่งน�้ำ (Water Loss) ซึ่งเป็นการค�ำนวนปริมาณนํ้าที่สูญหายไป โดยไม่สามารถ ระบุจ�ำนวน เวลา สถานที่ได้ รวมถึงน�้ำที่สูญเสียไปจากท่อแตกท่อรั่ว หรือ การระบายตะกอนในเส้นท่อก็ตาม โดยเปลี่ยนใหม่เป็นการค�ำนวณปริมาณ น�ำ้ ที่ไม่กอ่ ให้เกิดรายได้ (Non - Revenue Water) ซึง่ จะค�ำนวณจากปริมาณ น�้ำสูบจ่ายหักด้วยปริมาณน�้ำที่ออกบิลให้ลูกค้า และปริมาณน�้ำส�ำรอง ซึ่ง สามารถวัดปริมาณได้แน่นอนเท่านั้น สามารถแสดงปริมาณน�้ำที่ไม่ก่อให้ เกิดรายได้ในแต่ละปี ตั้งแต่ปี 2552-2554 ดังตารางด้านล่างนี้ ปริมาณน�้ำที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้
4.52%
1.72%
3.4%
2552 2553 2554
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
25
โครงการควบคุมน�้ำสูญเสียนี้ได้ด�ำเนินการโดยน�ำวิวัฒนาการด้าน IT มาช่วย ปรับปรุงและพัฒนางานให้เป็นระบบมากขึน้ ร่วมกับการพัฒนาระบบ SCADA และ District Metering Area (DMA) เพื่อรวบรวมข้อมูลการใช้น�้ำไม่ว่า จะเป็นปริมาณน�้ำ หรือแรงดันน�้ำตามแนวเส้นท่อทั้งหมดได้อย่างถูกต้อง แม่นย�ำ ซึง่ สามารถช่วยในการตรวจสอบ ติดตาม เส้นท่อทีม่ ปี ริมาณน�ำ้ ไหล ผิดปกติได้ ท�ำให้สามารถส�ำรวจหาสาเหตุและแก้ไขได้ทันเวลา ไม่ว่าจะ ท่อแตก ท่อรั่ว หรือเปลี่ยนมาตรวัดน�้ำของลูกค้าที่เสื่อมสภาพหรือช�ำรุด สามารถสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับลูกค้าจากการได้รับบริการที่ดี
• โครงการจัดหาแหล่งน�้ำส�ำรอง นอกเหนือจากคุณภาพน�้ำและแรงดันน�้ำที่เหมาะสม สิ่งส�ำคัญอย่างยิ่งต่อ ความพึงพอใจของลูกค้าก็คอื การจัดหาแหล่งนำ�้ ให้เพียงพอกับความต้องการ ของผู้ใช้ ทัง้ นี ้ สืบเนือ่ งมาจากรัฐบาลได้ให้ความส�ำคัญกับการแก้ไขปัญหาขาดแคลน น�้ำในปี 2548 โดยมอบหมายให้ อีสท์ วอเตอร์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันจัดท�ำการแก้ไขปัญหาภัยแล้งทัง้ ในระยะสัน้ ระยะกลางและระยะยาว เพื่อให้มีน�้ำเพียงพอต่อการใช้น�้ำในอนาคต ซึ่งผลจากการด�ำเนินการแก้ไข ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องท�ำให้ข้ามพ้นวิกฤต ในปี 2548 ได้อย่างปลอดภัย ส่งผลให้ความเชื่อมั่นกลับคืนมาด้วยความ รวดเร็ว พร้อมกันนี้ เพื่อป้องกันภัยแล้งที่อาจจะเกิดขึ้นได้อีกในอนาคต อีสท์ วอเตอร์ จึงได้จดั ท�ำระบบป้องกันภัยแล้ง โดยประกอบด้วย ระบบเฝ้าระวัง และมาตรการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง การจัดหาแหล่งน�้ำส�ำรอง การติดตั้งระบบ สูบน�้ำกลับ การพัฒนาอ่างเก็บน�้ำขนาดเล็ก และการจัดการด้านอุปสงค์ (Demand Side Management) ส�ำหรับการจัดหาแหล่งน�้ำส�ำรองนั้น อีสท์ วอเตอร์ ได้จัดหาแหล่งน�้ำ เพื่อใช้เป็นแหล่งน�้ำส�ำรอง ส�ำหรับการจ่ายน�้ำในพื้นที่บริการของบริษัทได้ อย่างเพียงพอในช่วงฤดูแล้ง โดยในปัจจุบัน บริษัทมีแหล่งน�้ำส�ำรองดังนี้ สระส�ำรองน�้ำดิบ สระส�ำรองน�้ำดิบ ฉะเชิงเทรา สระส�ำรองน�้ำดิบ ส�ำนักบก
ที่ตั้ง ความจุ (ล้าน ลบ.ม.) ต.คลองเขื่อน อ.คลองเขื่อน จ.ฉะเชิงเทรา ต.ส�ำนักบก อ.เมือง จ.ชลบุรี
2.0 7.4
ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มความมั่นคงทางด้านแหล่งน�้ำ อีสท์ วอเตอร์ ได้มีแผนการ พัฒนาแหล่งน�้ำอื่นๆ เพิ่มเติม เพื่อใช้เป็นแหล่งน�้ำหลักและแหล่งน�้ำส�ำรอง ในอนาคตอีกหลายโครงการ โดยคาดการณ์ว่าในพื้นที่ระยองและพื้นที่ บ่อวิน-ปลวกแดง จะต้องจัดหาแหล่งน�้ำเพิ่มเติมเพื่อเป็นแหล่งน�้ำส�ำรอง
26
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
ของระบบอีกประมาณ 25 ล้าน ลบ.ม. เพิ่มเติมจากที่ได้รับจัดสรรจาก กรมชลประทาน 276 ล้าน ลบ.ม. รายละเอียดตามแสดงในตารางด้านล่าง รวมถึงมีโครงการเพิม่ ศักยภาพในระบบจ่ายน�ำ้ เพือ่ ให้มนี ำ�้ เพียงพอกับปริมาณ การใช้น�้ำในอนาคตอีก 10 ปี ข้างหน้า (ปี 2564) ซึ่งในปัจจุบันอยู่ระหว่าง การศึกษาความเหมาะสมของโครงการอยู่ เช่น • โครงการเพิ่มศักยภาพระบบจ่ายน�้ำแหลมฉบัง (การก่อสร้างระบบสูบน�้ำที่อ่างเก็บน�้ำบางพระ) • โครงการขยายการส่งน�้ำให้พื้นที่ชลบุรี • โครงการสระส�ำรองในพื้นที่ระยอง ้ำที่ต้อง ปริมาณน�้ำต้นทุน ปริมาณการใช้น�้ำในอนาคต ปี 2564 ปริจัมดาณน� หาเพิ ่ม* (ล้าน ลบ.ม.) พื้นที่ระยอง พื้นที่บ่อวิน- รวม (ล้าน ลบ.ม.) ปลวกแดง 276
262
39 301 25
อีสท์ วอเตอร์ ยังมีกระบวนการพัฒนาห่วงโซ่ในการท�ำธุรกิจ (Value Chain) ซึ่งเป็นการบริหารจัดการกระบวนการต่างๆ ภายในองค์กรด้วยหลักห่วงโซ่ คุณภาพ เพื่อให้ทุกกระบวนการมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงอย่างบูรณา การเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการน�้ำอย่างยั่งยืน
• การประชุมประเมินสถานการณ์น�้ำร่วมกันกับหน่วยงาน ภาครัฐเพื่อหาแนวทางการบริหารจัดการน�้ำอย่างยั่งยืน อีสท์ วอเตอร์ เข้าร่วมการประชุม War room กับสถาบันน�ำ้ เพือ่ ความยัง่ ยืน สังกัดสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรมชลประทาน และลูกค้า ทุก 2 เดือน เพื่อประเมินสถานการณ์น�้ำของจังหวัดระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา ให้เพียงพอต่อความต้องการของทุกภาคส่วนและได้รว่ มกันก�ำหนดเกณฑ์ เฝ้าระวังคุณภาพน�้ำดิบเพื่ออุปโภคและอุตสาหกรรมขึ้น โดยมีการตรวจวัด คุณภาพนำ�้ ดิบรายวัน และการวิเคราะห์คณ ุ ภาพนำ�้ ดิบรายเดือนในแหล่งนำ�้ ต้นทุนดังกล่าว โดยมีตัวชี้วัดคุณภาพน�้ำที่ส�ำคัญ ได้แก่ ค่าความน�ำไฟฟ้า ของนำ�้ ดิบ (Conductivity), ค่าความขุน่ , ค่าคลอไรด์ ซึง่ เป็นค่าทีย่ อมรับ ได้ที่ได้ตกลงร่วมกันกับลูกค้าตาม SLA (Service Level Agreement)
• เทคโนโลยี ระบบควบคุมการสูบส่งน�้ำทางไกลแบบศูนย์รวม หรือ ระบบ SCADA (Supervisory Control and Data Acquisition) ช่วยให้รับรู้ข้อมูลทั้งแรงดัน และปริมาณน�้ำในเส้นท่อตลอดเส้นทาง รวมถึงปริมาณน�้ำในแหล่งน�้ำ โดยส่งข้อมูลตรงเข้าศูนย์ปฏิบัติการกลางที่ท�ำงานตลอด 24 ชั่วโมง ท�ำให้ สามารถติดตามผล และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ทันท่วงที ด้วยเทคโนโลยีดัง
กล่าว ท�ำให้ อีสท์ วอเตอร์ สามารถลดการใช้ทรัพยากรน�้ำที่ไม่ก่อให้เกิด • มาตรฐาน ISO 9001: 2008 และ ISO 14001: 2004 รายได้ทงั้ แก่ลกู ค้าและอีสท์ วอเตอร์ ได้แก่ น�ำ้ ทีเ่ กิดจากการแตกหรือรัว่ ของ อีสท์ วอเตอร์ น�ำ ISO 9001: 2008 ซึ่งเป็นมาตรฐานส�ำหรับระบบบริหาร ท่อ, การระบายน�้ำออกเพื่อการบ�ำรุงรักษาทุก 3 เดือน (เป็นการระบาย คุณภาพ (Quality Management System) ที่ได้รับการยอมรับใน ระดับ ตะกอนทีอ่ ยู่ในท่อ) รวมถึงน�ำ้ ทีร่ ะบายออกเพือ่ บรรเทาปัญหาคุณภาพน�ำ้ ดิบ สากลมาปรับใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ เพือ่ สะท้อนแนวทางการบริหารอย่างเป็น ระบบ ท�ำงานเป็นกระบวนการ ปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง เป็นผูน้ �ำ ตดั สิน กระบวนการตรวจสอบ ทัง้ การตรวจสอบจากหน่วยงานภายในและภายนอก ใจโดยยึดข้อเท็จจริงเป็นหลัก มุ่งเน้นเพื่อลูกค้า การมีส่วนร่วมของบุคคล การรับรองมาตรฐานต่างๆ ก็สามารถเป็นเครื่องพิสูจน์และยืนยันผลการ และความสัมพันธ์ที่เป็นประโยชน์ร่วมกันกับผู้ร่วมค้า ด�ำเนินงานที่ดีของบริษัท เช่น มาตรฐาน ISO 9001: 2008 และ ISO 14001: 2004 , ระบบธรรมาภิบาล จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส�ำหรับ ISO 14001 : 2004 เป็นมาตรฐานส�ำหรับระบบบริหารสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ซึ่งเป็นที่นิยมใช้งานอย่างแพร่หลาย ซึ่ง อีสท์ วอเตอร์ได้ยึดหลักการพื้นฐาน ส�ำคัญ 3 ประการ การป้องกันมลพิษ, การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และการปรับปรุง พัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาและสมรรถนะใน การรักษาสิ่งแวดล้อมโดยรวม
กฎหมาย/ข้อก�ำหนด/ ระเบียบที่ส�ำคัญ
กระบวนการเพื่อให้เป็นไป ตามกฎหมาย
ตัวชี้วัด
พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
จัดให้มีระบบบ�ำบัดน�้ำเสียอาคารเพื่อให้ได้ค่า มาตรฐานตามกฎหมายก�ำหนด
ค่า BOD, SS, TDS, TKN ได้มาตรฐานปล่อยทิ้ง
พรบ. ควบคุมน�้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542
จัดเก็บ เคลื่อนย้ายน�้ำมันเชื้อเพลิงอย่าง ปลอดภัยต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ตรวจวัดสภาพสถานีกักเก็บน�้ำมันเชื้อเพลิง เป็นประจ�ำทุก 5 ปี
พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
จัดสภาพแวดล้อมการท�ำงานเพื่อให้พนักงาน มีสถานที่ท�ำงานและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
-เสียงในสถานที่ท�ำงานไม่เกิน 90 เดซิเบล และความร้อนในการท�ำงานไม่เกิน 25.5 องศา เซลเซียส -สวัสดิการเป็นที่พึงพอใจของพนักงาน
พรบ. สิ่งปฏิกูลที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2535
ก�ำจัดขยะให้เป็นไปตามกฎหมายก�ำหนด
ขยะและขยะอันตรายได้รับการก�ำจัดที่เป็น ไปตามกฎหมายก�ำหนด
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
27
การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
พันธกิจดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความตัง้ ใจและใส่ใจในการรักษาดูแล สิ่งแวดล้อมขององค์กรอย่างเห็นได้ชัด ยิ่งไปกว่านั้น เพื่อให้เกิดการด�ำเนิน การอย่างเป็นรูปธรรมและได้มาตรฐานสากล อีสท์ วอเตอร์ ได้ด�ำเนินการ จัดท�ำระบบการจัดการด้านสิง่ แวดล้อมเพือ่ เป็นแนวทางในการประกอบธุรกิจ สิ่งแวดล้อมนับว่าเป็นปัจจัยส�ำคัญที่จ�ำเป็นต้องพิจารณาควบคู่ไปกับการ ระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ISO 14001 เป็นระบบซึ่งเป็นที่ยอมรับ ด�ำเนินกิจการต่างๆ ทั้งทางภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน อย่างแพร่หลายในระดับนานาชาติ โดยระบบมาตรฐาน ISO 14001 มีการ อีสท์ วอเตอร์ ในฐานะเป็นหน่วยหนึ่งของภาคเอกชนได้เล็งเห็นความส�ำคัญ ก�ำหนดโครงสร้างขององค์กรและความรับผิดชอบที่มีความจ�ำเป็น ในการ กับการจัดการและดูแลรักษาสภาพแวดล้อมควบคู่ไปกับการด�ำเนินธุรกิจที่ บริหารจัดการให้บรรลุตามเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัท นอกจากนี้ โปร่งใสและใส่ใจกับชุมชน โดยเฉพาะชุมชนในพื้นที่ปฏิบัติการของบริษัท ระบบ ISO 14001 จ�ำเป็นต้องได้รบั การสนับสนุนอย่างต่อเนือ่ งจากผูบ้ ริหาร อย่างไรก็ดี เพื่อให้การจัดการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมด�ำเนินการได้อย่างมี ระดับสูงและต้องมีการน�ำไปปฏิบตั ใิ นทุกระดับขององค์กรอย่างเป็นรูปธรรม ประสิทธิภาพและประสิทธิผล การก�ำหนดขอบเขตของการจัดการสิง่ แวดล้อม และเป็นระบบ อีสท์ วอเตอร์ ได้ปฎิบตั ติ ามกรอบและกฏเกณฑ์ตามมาตรฐาน เพือ่ ให้เข้ากับลักษณะขององค์กรจึงเป็นเรือ่ งจ�ำเป็น ในฐานะบริษทั ผูเ้ ชีย่ วชาญ ของ ISO 14001 จนได้ใบรับรองมาตราฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ในการจัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำในภาคตะวันออก อีสท์ วอเตอร์ ได้ ISO 14001: 2004 ในขอบเขตของ Administration of Water Distribution ก�ำหนดขอบเขตและนิยามของการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ไว้ว่า “กิจกรรม and Agreements ทุกกิจกรรม ที่ด�ำเนินธุรกิจของ อีสท์ วอเตอร์ จะต้องไม่เกิดปัญหากับสิ่ง 2. การก�ำหนดให้มนี โยบายด้านการพัฒนาคุณภาพชีวติ และ แวลล้อมต่อทุกกลุ่มที่มีส่วนได้ส่วนเสีย” จากการก�ำหนดกรอบดังกล่าว ท�ำให้ อีสท์ วอเตอร์ด�ำเนินการจัดการและ ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมได้อย่างเต็มความสามารถและมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ทั้งนี้ อีสท์ วอเตอร์ เป็นบริษัทที่ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการ จัดการทรัพยากรน�้ำซึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติพื้นฐานที่ส�ำคัญยิ่งต่อชีวิต สังคม และเศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นในระหว่างการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ ของบริษัทจึงค�ำนึงถึงทิศทางการพัฒนาประเทศและแนวโน้มปริมาณน�้ำฝน ตลอดจนสถานการณ์แหล่งน�้ำธรรมชาติอย่างใกล้ชิด ดังจะเห็นได้จากการ ก�ำหนดมาตราการต่างๆ เพื่อให้เกิดการส่งเสริมและด�ำเนินการในประเด็น การรักษาสิ่งแวดล้อม ดังนี้
สิ่งแวดล้อมเป็นหนึ่งในนโยบายหลักของบริษัท
อีสท์ วอเตอร์ตระหนักถึงความส�ำคัญของความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม โดยได้ก�ำหนดนโยบายด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิง่ แวดล้อมเป็นหนึ่ง ในนโยบายหลักของบริษัทโดยจัดสรรงบประมาณร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิ เพื่อคืนก�ำไรสู่สังคม ด้วยวิสัยทัศน์ขององค์กร “มุ่งสู่การเป็นผู้น�ำด้านการ จัดการน�้ำอย่างมีคุณค่า เพื่อความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคมอย่าง ยั่งยืน หรือ Water Solution for All” ตลอดระยะเวลา 19 ปี อีสท์ วอเตอร์ ได้สั่งสมประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญและพัฒนาศักยภาพ ทั้งนี้ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนมีความตั้งใจและความปรารถนาที่จะน�ำความเชี่ยวชาญนี้ มาใช้ประโยชน์และพัฒนาชุมชนให้ดียิ่งขี้น ดังนั้น โครงการด้านพัฒนา คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมจึงด�ำเนินการผ่านทางกิจกรรมด้านความ 1. การเพิ่มเรื่อง “ห่วงใยสังคมและสิ่งแวดล้อม” รับผิดชอบของสังคม (CSR) ภายใต้การดูแลรับผิดชอบจากแผนกกิจการ ไว้เป็นหนึ่งในพันธกิจขององค์กร สัมพันธ์และ CSR ฝ่ายสื่อสารองค์กร โดย อีสท์ วอเตอร์ ได้จัดกิจกรรมที่ อีสท์ วอเตอร์ ได้ก�ำหนดพันธกิจขององค์กรเพือ่ การด�ำเนินการอย่างมีทศิ ทาง เกี่ยวข้องและมุ่งเน้นในเรื่องน�้ำ พร้อมทั้งเปิดรับฟังความคิดเห็นและการ และเป้าหมาย หนึ่งในพันธกิจของอีสท์ วอเตอร์นั้นได้รวมถึง การด�ำรงไว้ซงึ่ ตอบสนองของชุมชน นโยบายด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละมีความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคมและสิง่ แวดล้อม ของอีสท์ วอเตอร์ ได้ด�ำเนินการผ่านกิจกรรมอันหลากหลายที่ครอบคลุม
อีสท์ วอเตอร์ จัดการสิ่งแวดล้อม ในกระบวนการผลิตภายในองค์กร ตลอดจน ดูแลรักษาทรัพยากรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การด�ำเนินธุรกิจ ในพื้นที่ปฏิบัติการ (ระยอง ฉะเชิงเทรา และชลบุรี) คุณพจนา บุญศิริ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายวางแผนโครงการ
28
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้กิจกรรมเหล่านี้ใช้วิธีในการเข้าถึง ชุมชน หรือ กลุ่มเป้าหมายที่แตกต่างกันไป กล่าวคือ ในแต่ละกิจกรรมนั้น ได้จัดขึ้นเพื่อให้เข้ากับลักษณะของผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยกิจกรรมในด้าน พัฒนาคุณภาพชีวติ และสิง่ แวดล้อมนีจ้ ดั ขึน้ โดยเน้นทีเ่ ด็กและเยาวชน รวมทัง้ ชุมชน มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ โครงการค่ายเยาวชน / ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในโรงเรียน โครงการประกวด นวัตกรรม 3R การเข้าไปมีส่วนร่วมในการประชุมสิ่งแวดล้อมว่าด้วยความ หลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) กิจกรรมปลูกป่า ปล่อยพันธุส์ ตั ว์นำ �้ โครงการเฝ้าระวังคุณภาพน�ำ้ บริเวณต้นน�ำ ้ และ โครงการลดต้นทุนค่าไฟฟ้า 115 KV เพื่อลดต้นทุนด้านพลังงานไฟฟ้าและลดการรบกวนไฟฟ้าเฟสเดียว กับชุมชนในช่วงเวลา On Peak กิจกรรมเหล่านี้นับว่าเป็นการด�ำเนินการ อย่างเป็นรูปธรรมในการแสดงให้เห็นถึงการตระหนักถึงความส�ำคัญของการ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีและสิ่งแวดล้อมอย่างเห็นได้ชัด
3.1 โครงการค่ายผู้น�ำเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์น�้ำ (East Water Young Leader Camp) โครงการค่ายผูน้ �ำเยาวชนเพือ่ การอนุรกั ษ์นำ �้ หรือ East Water Young Leader Camp เกิดขึ้นจากแนวคิดที่จะรณรงค์ส่งเสริมให้ชุมชนใน ท้องถิ่นมีความเข้าใจและเกิดจิตส�ำนึกในการร่วมกันอนุรักษ์และปกปัก รักษาทรัพยากรนำ�้ ทีม่ อี ยูอ่ ย่างจ�ำกัดให้มกี ารจัดการทีเ่ กิดประโยชน์และ คุม้ ค่าสูงสุดเพือ่ ความยัง่ ยืนในอนาคต โดยได้ด�ำเนินโครงการฯ มาอย่าง ต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2551 เป็นต้นมา เน้นการสร้างแนวร่วมที่เป็นเยาวชน ในพืน้ ที่ให้เป็นผูน้ �ำด้านการอนุรกั ษ์ทรัพยากรนำ�้ และสิง่ แวดล้อม สามารถ น�ำความรู้ไปขยายผลต่อยังโรงเรียนและชุมชนที่อยู่อาศัยของตนในวง กว้างต่อไป โดยตั้งเป้าหมายอยู่ที่จ�ำนวน 300 คนต่อปี ซึ่งปัจจุบันมี เยาวชนที่ผ่านโครงการนี้แล้วจ�ำนวน 1,200 คน จาก 320 โรงเรียน ในพืน้ ที่ จ.ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา ส�ำหรับในปี 2554 เป็นการ เข้าค่ายฯ รุ่นที่ 17-20 ระหว่างเดือน ส.ค.และ ก.ย. เมื่อปีที่ผ่านมา มีเยาวชนเข้าร่วมโครงการฯ จ�ำนวน 279 คน จาก 93 โรงเรียน นอกจากโครงการดังกล่าวจะปลูกฝังจิตส�ำนึกและสร้างการตระหนัก ถึงคุณค่าของน�้ำแล้ว ยังได้ส่งเสริมและสนับสนุนโอกาสทางการศึกษา ให้กับเยาวชนอีกด้วย โดย อีสท์ วอเตอร์ ได้มอบทุนการศึกษาให้กับ ผูท้ เี่ ข้าร่วมโครงการฯ รวมถึงมอบงบประมาณให้กบั โรงเรียนเพือ่ น�ำไป พัฒนาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในโรงอาหารของโรงเรียน เป็นการช่วยลด มลพิษทางน�้ำก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน�้ำธรรมชาติต่อไป ซึ่งเป็นการ ต่อยอดโครงการค่ายผู้น�ำเยาวชนฯ อย่างเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น
3. การก�ำหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ด้านผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ซึ่งประกอบด้วย การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การส่งเสริม/พัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อม
โครงการค่ายผู้น�ำเยาวชนอนุรักษ์น�้ำ นับว่าเป็นโครงการที่ตอบสนอง วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งประกอบด้วย การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การส่งเสริม พัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อม โดยเป็นกิจกรรมที่ช่วยพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อมในระยะยาว ตลอดจน เป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์องค์กรในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนา และจัดการน�้ำที่ส่งต่อความรู้ให้แก่ชุมชนในอีกระดับด้วย
กิจกรรมเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต นอกจากจะเป็นกิจกรรมที่สะท้อนให้ เห็นถึงความตัง้ ใจและตระหนักในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ทีด่ แี ละสิง่ แวดล้อม ของอีสท์ วอเตอร์อย่างเป็นรูปธรรมแล้ว ยังสะท้อนให้เห็นถึงความเอาใจใส่ การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การส่งเสริม/พัฒนาชุมชนและ สิ่งแวดล้อม เช่น ส่งเสริมการอนุรกั ษ์ทรัพยากรน�ำ้ และสิง่ แวดล้อม การมีสว่ นร่วมกับชุมชน และส่วนราชการในพื้นที่ปฏิบัติการ การสร้างความรับรู้ด้านภาพลักษณ์ องค์กรและการอนุรักษ์ทรัพยากรน�้ำ โดย อีสท์ วอเตอร์ค�ำนึงอยู่เสมอถึง ชุมชนซึ่งเป็นผู้ส่วนได้ส่วนเสียที่ส�ำคัญ กิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริมและ สอดคล้องกับการส่งเสริม/ พัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อม
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
29
3.2 โครงการระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในโรงอาหารของโรงเรียน โครงการระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงอาหารในโรงเรียน เป็นโครงการต่อยอด จากโครงการค่ายผูน้ �ำเยาวชนอนุรกั ษ์นาํ้ ซึง่ เกิดจากแนวความคิดทีว่ า่ ในปัจจุบัน ชุมชน อาคารบ้านเรือน และแหล่งสถานศึกษา เป็นแหล่ง ก�ำเนิดมลพิษทีส่ �ำคัญไม่ตา่ งจากอุตสาหกรรมขนาดเล็ก เนือ่ งจากมีการ ใช้นำ�้ และปล่อยนำ�้ เสียลงสูแ่ หล่งนำ�้ ธรรมชาติในปริมาณมากโดยไม่ผา่ น กระบวนการบ�ำบัดขัน้ ต้น ท�ำให้แหล่งน�ำ้ ธรรมชาติเสือ่ มโทรม มีคณ ุ ภาพ น�้ำค่อนข้างต�่ำ ไม่สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ ดังนั้น อีสท์ วอเตอร์ จึงได้จัดท�ำโครงการระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในโรงอาหารของโรงเรียน ขึน้ เพือ่ แสดงถึงการเอาใจใส่ตอ่ สิง่ แวดล้อมของชุมชนโดย อีสท์ วอเตอร์ ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยแก้ไขปัญหามลพิษทางน�้ำที่เกิดจากนํ้าทิ้ง ในครัวเรือน รวมทั้งสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับชุมชนที่เป็นสถานศึกษา โดยตั้งเป้าหมายให้โรงเรียนที่เข้าร่วมค่ายผู้น�ำเยาวชน เป็นโรงเรียน ต้นแบบที่มีระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในโรงอาหารที่ได้มาตรฐาน ส�ำหรับโครงการนีเ้ ป็นความร่วมมือระหว่างบริษทั ชมรมรักษ์สงิ่ แวดล้อม จ.ฉะเชิงเทรา และ ส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จ.ฉะเชิงเทรา ซึ่งมีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ด้านระบบบ�ำบัด น�้ำเสียในครัวเรือน รวมทั้งเป็นหน่วยงานที่ริเริ่มโครงการน�ำร่องสร้าง และติดตัง้ ถังดักไขมันในโรงอาหารของโรงเรียน โดยปัจจุบนั มีโรงเรียน ที่ด�ำเนินโครงการระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแล้วเสร็จทั้งสิ้น 93 โรงเรียน
3.3 โครงการประกวดนวัตกรรม 3R นอกจากโครงการทีม่ งุ่ เน้นเป้าหมายในพืน้ ทีป่ ฎิบตั กิ าร อีสท์ วอเตอร์ยงั ด�ำเนินโครงการเพื่อส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมในวงกว้างและสร้าง ภาพลักษณ์ทดี่ ตี อ่ องค์กร โครงการประกวดนวัตกรรม 3R จึงเป็นโครงการ ทีเ่ ปิดโอกาสให้เยาวชนทัว่ ประเทศแสดงผลงานในการประดิษฐ์นวัตกรรม การจัดการน�ำ้ ภายใต้กรอบแนวคิด 3R จากแนวคิดการน�ำนวัตกรรมการ ใช้ให้นอ้ ยลงและลดความฟุม่ เฟือยทรัพยากรนำ �้ การน�ำกลับมาใช้ซำ �้ และ การหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ หรือ นวัตกรรม 3R (Reduce Reuse Recycle) สู่การน�ำมาปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ได้จริง และความเชื่อใน ศักยภาพของเยาวชนไทยรุ่นใหม่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม จึงร่วมกับ อีสท์ วอเตอร์ จัดโครงการประกวดแข่งขัน นวัตกรรม 3R ขึน้ เพือ่ ส่งเสริมเยาวชนตัง้ แต่ระดับ อาชีวศึกษา ถึงระดับ อุดมศึกษา ให้มีโอกาสแสดงความสามารถและทักษะที่เป็นนวัตกรรม ผนวกกับความคิดสร้างสรรค์ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในการ จัดการน�้ำที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและภาคอุตสาหกรรม โดยโครงการ ที่ผ่านการคัดเลือกต้องสามารถขยายผลเป็นต้นแบบนวัตกรรม 3R ให้กับ ชุมชน ภาคเกษตรกรรม หรือภาคอุตสาหกรรมได้จริง ซึง่ โครงการ นี้ได้รบั เกียรติจาก สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย องค์การจัดการน�้ำเสีย การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมเป็น คณะกรรมการตัดสินด้วย โดยในการประกวดแข่งขันนวัตกรรม 3 R ปี 2 มีทีมเข้าร่วมประกวด ทั้งหมด 39 ทีม จาก 19 สถาบัน ผ่าน เข้ารอบคัดเลือก 10 ทีม ดังนี้
30
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
ล�ำดับ
ทีม
ชื่อสิ่งประดิษ ฐ์
สถาบัน
1
นามอุบล
ระบบจัดการน�้ำในธุรกิจล้างขัดสีรถยนต์
วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี
2
KKC.rmuti
ระบบรดน�้ำอัตโนมัติ 3R ภายใน มทร.อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
มทร.อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
3
K.RAMP_WATER
ระบบการน�ำน�้ำกลับมาใช้ใหม่ส�ำหรับ ชักโครกชนิดถังฟลัชจากอ่างล้างหน้า
ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
4
ตึกละออคูลสรูล
บ่อพักรักษ์น�้ำ
ม.ราชภัฏบุรีรัมย์-คณะวิทยาศาสตร์
5
หนุ่มนาข้าวสาวนาเกลือ
การจัดการน�้ำหลากจากการท�ำนาเกลือ สินเธาว์แบบตาก
ม.ขอนแก่น - คณะวิศวกรรมศาสตร์-สิ่ง แวดล้อม
6
KMUTT.E
เครื่องล้างผักและผลไม้แบบประหยัดน�้ำด้วย โอโซน (Ozy3R)
ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีวิศวกรรมศาสตร์-สิ่งแวดล้อม
7
Bio-Agro PSU
3-Section for Biogas and Water Reuse
ม.สงขลานครินทร์-อุตสาหกรรมเกษตร
8
อิเล็คโตรไฟท์ติ้ง
Rubber Separator by EC
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง - วิทยาศาสตร์
9
เทคนิคสิชล 1
กระบวนการละลายน�้ำแข็งส�ำหรับ อุตสาหกรรมแปรรูปสัตว์น�้ำ
วิทยาลัยเทคนิคสิชล
10
PURE DROP
ถังกลั่นน�้ำสะอาดพลังงานแสงอาทิตย์และกัก เก็บน�้ำฝนแบบผสมผสาน
ม.นเรศวร-วิศวกรรมศาสตร์-เครือ่ งกล (ทีมเก่า)
3.4 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) เป็นประเด็นสิ่งแวดล้อม ที่ได้รับความสนใจทั้งในแวดวงวิชาการแวดวงองค์กรนานาชาติที่ต่าง รณรงค์ให้หลายภาคส่วนเข้ามามีสว่ นร่วมในการรณรงค์ให้เกิดจิตส�ำนึก และเผยแพร่ข้อมูลในวงกว้างเกี่ยวกับ ประเด็นความหลากหลายทาง ชีวภาพ ในส่วนของภาคธุรกิจก็ได้มกี ารร้องขอจากหน่วยงานภาค รัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการน�ำประเด็นของความหลากหลาย ทางชีวภาพมาเป็นแนวทางปฏิบัติส�ำหรับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนใน ภาคธุรกิจ อีสท์ วอเตอร์ ก็ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในคณะท�ำงานจัด ท�ำแนวทางดังกล่าว ร่วมกับหน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชน
เพื่อที่จะบูรณาการแนวคิดมาใช้ในกิจกรรมของ CSR ตามนิยามของ ค�ำว่า “ความหลากหลายทางชีวภาพ” นัน้ อาจจะสรุปได้อย่างกว้าง โดย หมายถึง “การมีสิ่งมีชีวิตนานาชนิด นานาพันธุ์ในระบบนิเวศอันเป็น แหล่งที่อยู่อาศัย ซึ่งมีมากมายและแตกต่างกันทั่วโลก หรือการที่มี (species) สายพันธุ์ (genetic) และระบบนิเวศ (ecosystem) ที่แตกต่าง หลากหลายบนโลก” ความหมายดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงการให้ความ ส�ำคัญของสิง่ มีชวี ติ ในระบบนิเวศเพือ่ ด�ำรงและคงไว้ ซึง่ ความหลากหลาย ทาง ชีวภาพในเชิงของสายพันธุ์ ชนิดพันธุ์และตัวของระบบนิเวศเองด้วย ทัง้ นี้ ความหลากหลายทางชีวภาพของทัง้ 3 ส่วนจะช่วยให้เกิดความสมดุล และความสมบูรณ์ทางธรรมชาติให้คงอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน ประเด็นในเรือ่ งความ หลากหลายทางชีวภาพส�ำหรับบริษัทของเรานับว่าเป็นเรื่องใหม่
อีสท์ วอเตอร์ได้น�ำกลยุทธ์ด้านการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยส่งเสริมและพัฒนาชุมชน และสิ่งแวดล้อมสู่แผนปฏิบัติการประจ�ำปี คุณสมบัติ อยู่สามารถ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการเงินและบัญชี
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
31
อย่างไรก็ดี ฝ่ายสื่อสารองค์กรได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการระดมความคิด และรับฟังความคิดเห็นในเวทีตา่ งๆ เพือ่ น�ำข้อคิดมาปรับใช้ในการด�ำเนิน กิจกรรม CSR ที่มุ่งเน้นในเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายนที่ผ่านมา โดยคุณกันยานาถ วีระพันธุ์ ผู้อ�ำนวยการฝ่าย สื่อสารองค์กร ได้เข้าร่วมน�ำเสนอในการประชุมระดับนานาชาติ Asian Forum on Biodiversity ณ โรงแรมดุสติ ธานี อ. หัวหิน จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ โดยน�ำเสนอบทความในหัวข้อ Biodiversity and Corporate Social Responsibility (CSR): The Perspectives from East Water การเข้า ร่วมการประชุมในครั้งนี้แสดงให้เห็นความมุ่งมั่นและให้ความส�ำคัญกับ ประเด็นความหลากหลายทางชีวภาพ อย่างไรก็ดี การน�ำเสนอประเด็น ความหลากหลายทางชีวภาพในเชิงรูปธรรมนั้นจ�ำเป็นต้องได้รับความ ร่วมมือจากทุกฝ่าย เนื่องจากการระดมความคิดเห็นและข้อมูลจากทุก ฝ่ายจะมีประโยชน์ในการจัดการ และการด�ำเนินกิจกรรม CSR ทีม่ งุ่ เน้น ในประเด็นความหลากหลายทางชีวภาพ
3.5 โครงการปลูกป่า อีสท์ วอเตอร์ เล็งเห็นและตระหนักถึงความส�ำคัญในการดูแลสิง่ แวดล้อม จึงได้ร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานราชการ จัดกิจกรรมโครงการ ปลูกป่า ทั้งในบริเวณพื้นที่ป่าทั่วไปและป่าชายเลน โดย ในปี 2554 ที่ ผ่านมา อีสท์ วอเตอร์ได้ด�ำเนินโครงการปลูกป่าไปทั้งสิ้น 14 ครั้ง ครอบคลุมพื้นที่จังหวัด ระยอง ชลบุรีและฉะเชิงเทรา เป็นส่วนใหญ่ เนือ่ งจากเป็นพืน้ ทีป่ ฎิบตั ิการของอีสท์ วอเตอร์ โดยตลอดทัง้ ปีทผี่ า่ นมา ได้ด�ำเนินการปลูกป่าไปทั้งสิ้น 29,762 ต้น ซึ่งนับว่ากิจกรรมดังกล่าวได้ เป็นส่วนหนึ่งในการช่วยสร้างความชุ่มชื้นให้ผืนป่าและเป็นอีกหนึ่งพลัง ที่ช่วยดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
32
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
3.6 ขุดลอกคูคลอง อีสท์ วอเตอร์ มุ่งมั่นพัฒนาจัดส่งน�้ำให้แก่ภาคประชาชน และภาค อุตสาหกรรมเพือ่ ธุรกิจด�ำเนินต่อไปได้อย่างราบรืน่ อย่างไรก็ดี อีสท์ วอเตอร์ ยังตระหนักถึงความส�ำคัญของชุมชนและสิ่งแวดล้อม ในบริเวณพื้นที่ ปฎิบัติการของบริษัท จึงได้ร่วมด�ำเนินการและส่งเสริมกิจกรรมกับ หน่วยงานราชการ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีและก่อให้เกิดประโยชน์ โดยรวมแก่ชมุ ชน อีสท์ วอเตอร์ ร่วมกับหน่วยงานราชการ จัดท�ำโครงการ “ขุดลอกคูคลอง “ เพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน โดยเฉพาะในเรื่องการใช้น�้ำในแม่น�ำ้ล�ำคลอง และการสัญจรทางน�้ำ โดยในปี 2554 อีสท์ วอเตอร์ ร่วมกับคณะกรรมการบริหารจัดการน�้ำ อ�ำเภอคลองเขื่อน และองค์การบริหารส่วนต�ำบลก้อนแก้วได้จัดท�ำ โครงการก�ำจัดวัชพืชตามคลองในพื้นที่อ�ำเภอคลองเขื่อน โดยขุดลอก วัชพืชในคลอง จ�ำนวน 5 คลอง ได้แก่ คลองโปร่งแรด, คลองบางโรง, คลองกอไผ่, คลองสามเสร็จ, คลองก้อนแก้ว-ดอนสนาม รวมระยะทาง 13 กิโลเมตร
3.7 โครงการปล่อยพันธุ์สัตว์น�้ำ โครงการปล่อยพันธ์สัตว์น�้ำเป็นโครงการที่ อีสท์ วอเตอร์ด�ำเนินการ อันเนื่องมาจากการตระหนักรู้ถึงความส�ำคัญในการรักษาสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังเป็นการสร้างความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณอ่างเก็บน�้ำ และแหล่งน�้ำต่างๆ ยิ่งไปกว่านั้นยังเป็นการอนุบาลพันธุ์สัตว์น�้ำเพื่อให้ ชุมชนได้น�ำไปบริโภคในอนาคต โดยในปี 2554 ที่ผ่านมา อีสท์ วอเตอร์ ได้ด�ำเนินโครงการปล่อยพันธุ์สัตว์น�้ำทั้งสิ้น 9 ครั้ง จ�ำนวน 5,668,982 ตัว ประกอบด้วย พันธุ์ปลาและกุ้ง เพื่อให้เกิดสภาวะสมดุลและความหลาก หลายทางชีวภาพซึง่ เป็นหนทางหนึง่ ของการรักษาสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน
3.8 โครงการเฝ้าระวังคุณภาพน�้ำต้นน�้ำของอ่างเก็บน�้ำ เนือ่ งจากความห่วงใหญ่และใส่ใจในการรักษาสิง่ แวดล้อม อีสท์ วอเตอร์ จึงได้ร่วมกับผู้น�ำชุมชนและหน่วยงานการศึกษา ด�ำเนินโครงการเฝ้า ระวังคุณภาพต้นน�้ำบริเวณอ่างเก็บน�้ำ โดยเห็นว่าโครงการดังกล่าว เป็นการปลูกจิตส�ำนึกให้กบั เยาวชนและชุมชนทีอ่ ยู่ใกล้แหล่งนำ�้ ให้ตระหนัก ถึงคุณค่าของน�้ำ และหวงแหนอนุรักษ์แหล่งน�้ำให้คงอยู่อย่างยั่งยืน ดังนั้น จึงได้ให้การสนับสนุนโครงการดังกล่าว โดยเริ่มจากการเชิญผู้อ�ำนวย การโครงการแหลมผักเบี้ยไปช่วยตรวจวิเคราะห์คุณภาพน�้ำและให้ค�ำ ปรึกษาเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2554 จากนั้นบริษัทได้สนับสนุนงบ ประมาณ และเข้าร่วมประชุม-ตรวจคุณภาพน�้ำ รวมถึงให้ข้อมูลการ ตรวจคุณภาพน�้ำของบริษัทในบางจุดซึ่งเป็นประโยชน์ต่อโครงการ เพื่อ ให้ชุมชนได้เข้าใจถึงความเอาใจใส่ต่อสิ่งแวดล้อมของบริษัท อีกทั้ง เป็นการสานสัมพันธ์กบั ชุมชนในการสร้างความร่วมมือกันดูแลรักษา สิ่งแวดล้อม
3.9 โครงการลดต้นทุนค่าไฟฟ้า 115 KV เพือ่ ลดต้นทุนด้านไฟฟ้า และลดกระบวนการรบกวนไฟฟ้าเฟสเดียวกันกับชุมชนใน ช่วงเวลา On Peak อีสท์ วอเตอร์ ตระหนักและห่วงใยต่อความกังวลของชุมชน และสิง่ แวดล้อม ที่เกิดจากการด�ำเนินการทางธุรกิจ โดยจัดท�ำโครงการก่อสร้างสถานี ไฟฟ้า 115-22 KV เพื่อลดต้นทุนด้านไฟฟ้าและลดกระบวนการรบกวน ไฟฟ้าในเฟสเดียวกันกับชุมชนในช่วงเวลา On Peak และไฟฟ้าส�ำรอง แก่ระบบสูบจ่าย นับว่าโครงการดังกล่าวเป็นการเตรียมตัวเชิงรุกเพื่อ บรรเทาความกังวลของสาธารณชนที่เด่นชัดของ อีสท์ วอเตอร์ การด�ำเนินการดังกล่าวเป็นการเปลี่ยนหม้อแปลงไฟฟ้าที่ 115 KV แทน การใช้ไฟฟ้าที่กระแส 22 KV สืบเนื่องจากการใช้ไฟฟ้าที่แรงดัน 22 KV จะเป็นการรบกวนหรือแย่งแรงดันไฟฟ้ากับชุมชนที่มีความต้องการไฟฟ้า ในช่วงเวลาหัวค�่ำ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จึงช่วยขจัดปัญหาการเกิด ไฟฟ้าตกในชุมชนและยังส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อมด้วยการประหยัดพลังงาน จากการใช้พลังงานไฟฟ้าน้อยกว่าเดิม จากโครงการทั้งหมดที่กล่าวข้างต้นนี้นับว่าเป็นโครงการที่แสดงให้เห็น ถึงความตระหนักในการรักษาสิง่ แวดล้อมทีค่ วบคูไ่ ปกับการด�ำเนินธุรกิจ ของ อีสท์ วอเตอร์ โดยมีการจัดการสิ่งแวดล้อมในกระบวนการผลิต ขององค์กรเอง ตลอดจนดูแลรักษาทรัพยากรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ด�ำเนินธุรกิจในพื้นที่ปฏิบัติการ (ระยอง ฉะเชิงเทรา และชลบุรี)
อีสท์ วอเตอร์ ในฐานะเป็นหน่วยหนึ่ง ของภาคเอกชนเล็งเห็นความส�ำคัญของการจัดการ และดูแลรักษาสภาพแวดล้อมควบคู่กันไปกับการ ด�ำเนินธุรกิจที่โปร่งใสและใส่ใจกับชุมชน โดยเฉพาะ ชุมชนในพื้นที่ปฏิบัติการของบริษัท คุณวิราวรรณ ธารานนท์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอ�ำนวยการ
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
33
ด้านพัฒนาชุมชน สังคม
โครงการจังหวัดเคลื่อนที่ / อบจ.พบประชาชน
ในปี 2552 บริษทั มีความต้องการเข้าถึงชุมชนมากยิง่ ขึน้ จึงได้เข้าร่วมกิจกรรม จังหวัดเคลือ่ นที่ ของจังหวัดระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา ซึง่ จัดขึน้ ทุกเดือน อีสท์ วอเตอร์ ได้ตระหนักถึงการพัฒนาสังคมและชุนชม จึงได้ก�ำหนด โดยบริษัทได้ร่วมออกบูธเล่นเกมส์และประชาสัมพันธ์บริษัท เพื่อได้ใกล้ชิด พันธกิจที่ให้ความส�ำคัญต่อความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคมและสิง่ แวดล้อม กับชุมชนในพื้นที่ และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท โดยได้ก�ำหนดขอบเขตของการพัฒนาชุมชนและสังคม ไว้ดังนี้ ซึ่งยังด�ำเนินมาอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน และสังคม โดยใช้องค์ความรู้ และความช�ำนาญขององค์กรในการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานในการ ด�ำรงชีวติ ตามความต้องการของชุมชน และสังคมเป็นหลักเพือ่ ให้ เกิดความสมดุลในการใช้ทรัพยากรระหว่างองค์กรกับชุมชนและ การอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืน
โครงการพบปะเครือข่ายชุมชน “ลดรายจ่าย เพิม่ รายได้ ตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง” อีสท์ วอเตอร์ ได้น�ำแนวพระราชด�ำริ “เศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นหลัก ปรับให้เข้ากับสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบนั มุง่ หวังให้ประชาชนมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ด้วยการลดรายจ่าย สร้างรายได้ และใช้สงิ่ อุปโภคทีม่ คี ณ ุ ภาพอย่าง แท้จริง ซึง่ บริษทั ได้เริม่ โครงการตัง้ แต่ปี 2553 เป็นต้นมาโดยมุง่ หวังให้ชมุ ชน ที่เข้าอบรมสามารถต่อยอดไปถึงการรวมกลุ่มผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน โดยในปี 2554 ได้ด�ำเนินการอบรมจ�ำนวน 30 ชุมชน มีผเู้ ข้าร่วมอบรมจ�ำนวน 1,778 คน และได้รวมกลุ่มต่อยอดจากการอบรมสู่กลุ่มผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน จ�ำนวน 2 ชุมชน
ทัง้ นี้ อีสท์ วอเตอร์ ได้น�ำแผนกลยุทธ์ดา้ นการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี การส่งเสริม/ พัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อมสู่แผนปฏิบัติการประจ�ำปี โดยมีการส�ำรวจข้อมูล ความพึงพอใจของชุมชนเป็นประจ�ำทุกปี เพือ่ น�ำผลการส�ำรวจมาวิเคราะห์และ จัดท�ำแผนงานโครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ และสิง่ แวลล้อม พร้อมทัง้ คัดเลือก ชุมชนที่จะให้การสนับสนุนโดยพิจารณาจากความจ�ำเป็นและความเร่งด่วน ในการให้ความช่วยเหลือ แบ่งกลุ่มชุมชนได้เป็น 3 กลุ่มคือ ชุมชนบริเวณรอบ โครงการในอนาคตของบริษัท ชุมชนตามแนวเส้นท่อและชุมชนรอบอ่างเก็บน�้ำ โครงการคนพิการ ประกอบด้วย 2 โครงการหลัก ได้แก่ โครงการสร้างสัมพันธ์ชมุ ชนและ โครงการ ในปี 2553 บริษัทได้เห็นว่าคนพิการในจังหวัดฉะเชิงเทราซึ่งเป็นพื้นที่ปฏิบัติ พัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม การของบริษัท ส่วนใหญ่ขาดก�ำลังใจในการด�ำเนินชีวิตต่อไปในสังคมอย่าง มีความสุขเนื่องจากความยากล�ำบากของตนเอง โดยเฉพาะผู้ซึ่งเพิ่งจะเป็น ตั้งแต่บริษัทได้ด�ำเนินธุรกิจมาเกือบ 20 ปี ได้เข้าถึงชุมชนที่อยู่บริเวณโดยรอบ คนพิการทีย่ งั มิอาจยอมรับและปรับสภาพของตนเองได้ เกิดความท้อแท้ แนวเส้นท่อส่งน�ำ้ ดิบของบริษทั อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ แสดงเจตนารมณ์ถงึ ความเอาใจใส่ สิน้ หวังคิดว่าตนเองเป็นภาระของผูอ้ นื่ และบางส่วนยังขาดความรูค้ วามเข้าใจ ความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตของชุมชน โดยบริษัทได้รวบรวมข้อมูลปัญหาและ ด้านหลักประกันสุขภาพหรือระเบียบอันเป็นสิทธิประโยชน์ โดยเฉพาะสิทธิ ความต้องการของชุมชนในการน�ำมาพัฒนาโครงการ CSR เพื่อส่งเสริมคุณภาพ ประโยชน์ในด้านการรักษาพยาบาลและการฟืน้ ฟูสมรรถภาพคนพิการ ชีวิตของชุมชนในหลากหลายรูปแบบ ตามกลุ่มเป้าหมายได้แก่ กลุ่มแม่บ้าน ถึงแม้ว่าปัจจุบันรัฐบาลจะได้ก�ำหนดกฎระเบียบเกี่ยวกับการดูแลคนพิการ หรือพ่อบ้าน กลุ่มคนพิการ และกลุ่มบุคคลทั่วไป ตามนโยบาย เข้าใจ เข้าถึง แต่ก็มิได้เป็นหลักประกันว่าจะท�ำให้คนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ขึ้น เนื่องจาก พัฒนา คนพิการมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ แต่มีงบประมาณที่ค่อนข้างจ�ำกัด จากเหตุผล ดังกล่าวข้างต้น บริษัทฯ จึงได้ร่วมกับ สภาคนพิการทุกประเภทจังหวัด
34
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
อีสท์ วอเตอร์ ได้ตระหนักถึงการพัฒนา สังคมและชุนชม โดยได้ก�ำหนดพันธกิจที่ให้ความ ส�ำคัญต่อความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคมและ สิ่งแวดล้อม คุณกันยานาถ วีระพันธุ์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายสื่อสารองค์กร
ฉะเชิงเทรา จัดท�ำโครงการช่วยเหลือคนพิการ เพื่อแสดงออกถึงความ เอื้ออาทร ไม่ทอดทิ้งกันในสังคมขึ้น โดยแบ่งเป็น 2 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเพือ่ นเยีย่ มเพือ่ น และ กิจกรรมทัศนศึกษาดูงาน โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อให้กลุ่มคนพิการได้มีก�ำลังใจที่จะต่อสู้ชีวิต รับทราบข่าวสาร และสิทธิ ประโยชน์ของตนตามกฎหมาย รวมถึงการน�ำกลุม่ คนพิการทัศนศึกษาดูงาน เกีย่ วกับการตัง้ กลุม่ เพือ่ ประกอบอาชีพ เพือ่ น�ำกลับมาใช้ในการด�ำรงชีวติ ต่อไปได้ ซึ่งจากการด�ำเนินโครงการในปี 2554 ได้เข้าเยี่ยมให้ก�ำลังใจคน พิการ จ�ำนวน 20 คน จาก 5 อ�ำเภอ
โครงการอบรมประปาชุมชน
อ.แม่น�้ำคู้ จังหวัดะยอง กิจกรรมต่างๆ สะท้อนให้เห็นถึงความใส่ใจและตระหนักถึงความรับผิดชอบ ต่อสังคมและชุมชมในแง่ของการพัฒนา นอกจากนี้ อีสท์ วอเตอร์ยงั ให้ความ ส�ำคัญอย่างมากในประเด็นด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและพยายามเรียนรู้ ไปกับชุมชนเพื่อเข้าถึงความต้องการที่แท้จริง ท�ำความเข้าใจ ตลอดจน ช่วยเหลือชุมชนนัน้ ๆ ด้วยการน�ำความเชีย่ วชาญด้านนำ �้ ซึง่ ถือเป็นทรัพยากร ทีส่ �ำคัญต่อสิง่ แวดล้อมทีเ่ รามีมาแบ่งปันด้วยพืน้ ฐานการให้อย่างยัง่ ยืน กล่าวคือ เราเน้นการสอนวิธีจับปลา มากกว่าการน�ำปลาไปให้ เพื่อให้ชุมชน สามารถยืนได้ดว้ ยตนเอง เป็นเสมือนการให้และการแบ่งปันอย่างสร้างสรรค์ (Power of creative sharing) รวมถึงยังร่วมแบ่งปันในสิ่งที่เรารู้ที่เป็น ประโยชน์แก่ผทู้ ตี่ อ้ งจัดท�ำโครงการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และชักชวน หน่วยงานต่างๆ เข้าร่วมโครงการกับเราเพื่อสร้างเครือข่ายให้แผ่วงกว้างใน สังคมมากขึน้ อีกด้วย นับได้วา่ การให้อย่างสร้างสรรค์โดยใช้ความเชีย่ วชาญ ที่เรามีอย่างต่อเนื่องของอีสท์ วอเตอร์ ดังจะเห็นได้จากรายงานความยั่งยืน ในฉบับนี้ จะเป็นแรงช่วยขับเคลื่อนให้เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เติบโตอย่างแข็งแรงและยั่งยืนต่อไป
อีสท์ วอเตอร์ มุ่งหวังที่จะใช้ความรู้ความสามารถในการจัดการน�้ำเพื่อ ประโยชน์แก่สังคมและชุมชน ดังนั้น อีสท์ วอเตอร์ จึงได้ริเริ่มโครงการ ประปาหมู่บ้าน ในพื้นที่ปฎิบัติการทั้ง 3 จังหวัด ได้แก่ ระยอง ชลบุรี และ ฉะเชิงเทรา ขึน้ เมือ่ ปี 2551 และด�ำเนินการเรือ่ ยมาจนถึงปัจจุบนั อีสท์ วอเตอร์ ได้ให้ความรู้เรื่องการจัดการน�้ำโดยเฉพาะ ระบบประปาเพื่อซ่อมแซมระบบ ประปาชุมชนให้ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังได้จัดอบรมการ จัดการบัญชีเพื่อปรับปรุง ด้านรายรับ-รายจ่ายในกิจการประปาชุมชน โดยในปี 2554 อีสท์ วอเตอร์ ได้พัฒนาและบูรณาการกิจกรรมด้วยการ อีสท์ วอเตอร์ ได้ตระหนักถึงการพัฒนาสังคมและชุนชม โดยได้ก�ำหนด อบรมหัวหน้าชุมชนให้เรียนรู้ระบบประปา โดยมุ่งเน้นการแบ่งปันความรู้ให้ พันธกิจที่ให้ความส�ำคัญกับความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคมและสิง่ แวดล้อม เกิดขึน้ ระหว่างชุมชนให้ชมุ ชนสอนชุมชนกันเอง และเพิม่ การฝึกปฏิบตั จิ ริงหน้า งาน โดยมีโครงการน�ำร่องในพื้นที่จังหวัดระยอง ใน ต.หนองละลอก
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
35
การพัฒนาทรัพยากร บุคคล ตลอดจนใส่ใจ สุขภาพ ควาปลอดภัย และความมั่นคงของพนักงาน การพัฒนาทรัพยากรบุคคลเป็นจุดเริ่มต้นที่จะช่วยให้องค์กรเติบโตได้อย่าง ยั่งยืน ดังนั้น อีสท์ วอเตอร์ พิจารณาจากแนวคิดเรื่องความพึงพอใจในการ ท�ำงานและความคาดหวังของพนักงาน น�ำมาจัดท�ำเป็นแผนกลยุทธ์ดา้ นการ เรียนรู้ การพัฒนาองค์กรและเทคโนโลยีสารสนเทศ ด�ำเนินการผ่านฝ่าย ทรัพยากรบุคคลร่วมกับหน่วยงานต่างๆ วางแผนปฏิบัติงานและตัวชี้วัดที่ แต่ละหน่วยงานรับผิดชอบว่าพนักงานที่ปฏิบัติงานจ�ำเป็นต้องเพิ่มพูนความ รู้ความสามารถอย่างไรบ้าง เพื่อให้งานบรรลุผลส�ำเร็จ ประกอบกับข้อมูล การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร หรือ Competency Gap ที่ได้ รับจากการประเมินร่วมกับผูบ้ งั คับบัญชาและการระบุงานทีต่ นเองสนใจหรือ ทักษะด้านใดที่ตนเองต้องการพัฒนาของพนักงาน น�ำมาจัดท�ำเป็นแผนการ ฝึกอบรม โดยบริษัทเน้นการพัฒนา 3 ด้านคือ ความรู้ด้านธุรกิจขององค์กร ความรูด้ า้ นการเงินของผูท้ มี่ ไิ ด้อยู่ในสายการเงิน และด้านการติดต่อสือ่ สาร ทัง้ นี้ ความรูท้ างด้านธุรกิจขององค์กรมุง่ เน้นทีค่ วามรูด้ า้ นการบริหารจัดการ ระบบท่อส่งนำ�้ ในลักษณะเครือข่าย มีระบบโครงข่ายท่อส่งนำ �้ และการบริหาร ควบคุมน�ำ้ สูญหายทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง ซึง่ เป็นความสามารถพิเศษขององค์กร เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดความรูท้ ยี่ งั่ ยืน พร้อมผลักดันให้องค์กรบรรลุพนั ธกิจด้าน การเป็นศูนย์ความรู้ทางเทคโนโลยีด้านน�้ำในระดับภูมิภาค อีสท์ วอเตอร์ เชือ่ มัน่ ว่าพนักงานเป็นก�ำลังส�ำคัญในการขับเคลือ่ นขององค์กร ในการสร้างองค์กรให้เป็นเลิศในการด�ำเนินธุรกิจ เพื่อให้มีผลประกอบการ ที่ดี อีสท์ วอเตอร์ จึงมุ่งเน้นทิศทางในการพัฒนาพนักงานให้มีสมรรถนะ ตามค่านิยมองค์กร ซึ่งส่งเสริมให้เป็นทั้งการเป็นคนดีและคนเก่ง โดยมี นโยบายในการบริหารจัดการและปฏิบตั ติ อ่ พนักงานทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน เปิดโอกาสให้พนักงานได้เสนอแนะความคิดเห็นต่อองค์กรผ่าน CEO’s mailbox หรือการให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมให้พนักงานมีจริยธรรมใน การท�ำงาน และดูแลความเป็นอยูข่ องพนักงานด้านสภาพแวดล้อมในทีท่ �ำงาน เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของพนักงาน ตั้งแต่แรกเข้าบรรจุจนกระทั่ง พ้นสภาพการเป็นพนักงาน โดยมีการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลอย่าง เป็นระบบและบูรณาการ ประกอบด้วย การสรรหาบุคลากร การวางแผน ก�ำลังคน การประเมินผลการปฏิบตั ิ การบริหารสายอาชีพความก้าวหน้าของ พนักงาน การพัฒนาสมรรถนะผ่านกระบวนการฝึกอบรมและพัฒนา รวม ทั้งการจ่ายค่าตอบแทนและสวัสดิการที่มีการเทียบเคียงกับบริษัทในกลุ่ม ธุรกิจเดียวกัน
36
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
ฝ่ายทรัพยากรบุคคลมีการจัดแบ่งโครงสร้างเพื่อประสิทธิผลในการบริหาร จัดการ (Result Orientation) ดูแลและพัฒนาพนักงาน เพื่อความโปร่งใส และเป็นธรรม ดังนี้ • แผนกบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM : Human Resources Management) รับผิดชอบเกี่ยวกับนโยบาย กลยุทธ์ และระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารทรัพยากรบุคคลด้านการสรรหา (Recruitment) บุคลากรให้มี คุณสมบัตเิ หมาะสมกับงาน การบริหารอัตราก�ำลัง (Manpower Plan) การ บริหารโครงสร้างค่าจ้าง ค่าตอบแทน และสวัสดิการ (Remuneration Policy) ทีส่ ามารถแข่งขันได้ในกลุม่ ธุรกิจบริการสาธารณูปโภค ภายใต้กรอบ ค่าใช้จ่ายบุคลากรที่เหมาะสม และสร้างขวัญก�ำลังใจแก่พนักงาน รวมทั้ง ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) ของ พนักงานที่โปร่งใสและชัดเจน ซึ่งบริษัทได้น�ำแนวทางในการบริหารผล ตอบแทนโดยการพิจารณาจากผลของดัชนีชวี้ ดั ความส�ำเร็จ (KPIs) และจาก การประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติงาน (Competency) ทั้งนี้เพื่อกระตุ้น ให้พนักงานทุกคนตระหนักว่าเป้าหมายขององค์กรเป็นสิ่งที่ส�ำคัญที่ทุกคน ต้องช่วยกันผลักดันให้บรรลุเป้าหมาย โดยปัจจุบันนี้ดัชนีชี้วัดความส�ำเร็จมี 3 ระดับซึง่ จะมีความสอดคล้องกันทัง้ 3 ระดับ คือดัชนีชวี้ ดั ความส�ำเร็จระดับ องค์กร (Corporate KPIs) ดัชนีชวี้ ดั ความส�ำเร็จระดับหน่วยงาน (Department KPIs) และดัชนีชี้วัดความส�ำเร็จระดับบุคคล (Individual KPIs) • แผนกพัฒนาบุคลากร (HRD : Human Resources Development) รับผิดชอบเกี่ยวกับนโยบาย กลยุทธ์ และระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาพนักงานให้สอดคล้องกับเป้าหมายและแผนกลยุทธ์ขององค์กร โดย การฝึกอบรมทั้งภายในและภายนอก การดูงานต่างประเทศ ทั้งนี้เพื่อให้ พนักงานมีศักยภาพและความสามารถที่สอดคล้องกับต�ำแหน่งงาน รวมทั้ง เป็นการเตรียมพนักงานให้เติบโตในองค์กร
มีเป้าหมายให้พนักงานท�ำงานอย่างมีความสุข สนุกกับการท�ำงาน สร้างความ พึงพอใจ (Employee Satisfaction) และความผูกพัน (Employee Engagement) ในองค์กร โดยการสร้างบรรยากาศในการท�ำงานให้สนับสนุน เป้าหมายนี้ เพราะองค์กรใดที่พนักงานท�ำงานอย่างมีความสุข มีความ พึงพอใจและมีความผูกพันแล้ว องค์กรมักจะได้ผลลัพท์ทางธุรกิจที่เป็นเลิศ เช่นเดียวกัน อีสท์ วอเตอร์ มีการด�ำเนินการจัดท�ำแผนอัตราก�ำลังคนทีส่ อดคล้องกับการ ด�ำเนินธุรกิจภายใต้ความผันผวนของสภาวะเศรษฐกิจ โดยให้ความส�ำคัญ ในการสนองตอบต่อกลยุทธ์และแผนการลงทุนทั้งในระยะสั้นและระยะยาว แบ่งการบริหารจัดการออกเป็น 3 กลุ่มเพื่อการพัฒนาในแต่ละระดับอย่าง เหมาะสมตามสมรรถนะ (Competency) กล่าวคือ กลุ่มพนักงานระดับ ปฏิบัติการ กลุ่มพนักงานระดับผู้จัดการ มีผู้บริหารเป็นผู้ประเมินผลและ นอกจากการพัฒนาโดยวิธกี ารฝึกอบรมแล้ว บริษทั ยังให้ความส�ำคัญกับการ ดูแลการเติบโตในสายอาชีพ ส่วนกลุม่ ผูบ้ ริหารมีกรรมการผูอ้ �ำนวยการใหญ่ พัฒนาพนักงานรายบุคคล โดยมีเป้าหมายจะให้มีการจัดท�ำแผนพัฒนาราย เป็นผู้ประเมินผลและดูแลการเติบโตในสายอาชีพ บุคคล (IDP : Individual Development Plan) ให้ครบถ้วน โดยแผน พัฒนารายบุคคลจะมีเป้าหมายเพือ่ ให้พนักงานทุกคนตระหนักว่าการพัฒนา ตนเองนัน้ เป็นเรือ่ งทีต่ นเองเกีย่ วข้องอย่างมาก การวางแผนพัฒนาพนักงาน รายบุคคลจะครอบคลุมการพัฒนาในหลายๆ วิธีการ อาทิ การสอนงาน การฝึกปฏิบตั งิ าน การมอบงานโครงการ การศึกษาต่อ รวมทัง้ การฝึกอบรม อีสท์ วอเตอร์ มีการประเมินผลประจ�ำปี ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วน เป็นต้น ของผลงานที่มีการก�ำหนดตัวชี้วัด (Individual KPIs) และในส่วนของ พฤติกรรมการท�ำงานทีส่ อดคล้องกับค่านิยมขององค์กรและสมรรถนะตาม ส่วนระบบการพัฒนาอื่นๆ ซึ่งบริษัทให้ความส�ำคัญและยังต้องด�ำเนินการ ตามต�ำแหน่งงาน (Core Competency & Functional Competency) ต่อเนื่องให้ได้ผลลัพท์ อาทิ ระบบการสรรหาพนักงานผู้มีผลงานดี (Talent โดยผู้บังคับบัญชาเป็นผู้ติดตาม ดูแล และประเมินผล รวมทั้งการสื่อสาร Management) เพือ่ เสริมสร้างความเป็นมืออาชีพ และมีความพร้อมในการ สองทิศทาง (2-Way Communication) กับผู้ใต้บังคับบัญชาให้รับทราบ ปรับเปลี่ยนรูปแบบงานหรือการโอนย้ายไปยังหน่วยงานใหม่ การบริหาร ผลการประเมิน เพื่อให้เกิดการปรับปรุงและพัฒนาในโอกาสต่อไป ทั้งนี้ สายอาชีพของพนักงาน (Career Path Management) และแผนทดแทน ข้อมูลจากการประเมินผลจะน�ำไปใช้ในการบริหารทรัพยากรบุคคลต่อไป ต�ำแหน่ง (Succession Plan) เพื่อเตรียมความพร้อมของพนักงานภายใน เช่น การพิจารณาเลื่อนต�ำแหน่ง การปรับค่าจ้างอย่างเป็นธรรมและการ ในการทดแทนต�ำแหน่งพนักงานระดับบริหาร หรือในต�ำแหน่งงานในกลุ่ม พัฒนาของพนักงาน เป็นต้น หลัก (Core) ที่มีความส�ำคัญในองค์กร ในการพัฒนาศักยภาพของพนักงาน อีสท์ วอเตอร์ มีการด�ำเนินการ การพัฒนาพนักงานเริม่ น�ำแนวทางตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) อย่างต่อเนือ่ งในทุกระดับ โดยพนักงานทุกคนจะได้รบั ประเมิน Competency มาเป็นแนวทางในการพัฒนาพนักงานเพือ่ ให้ได้ผลลัพท์ทชี่ ดั เจน โดยบริษทั ตามระดับของพนักงานปีละ 2 ครั้ง ผู้บังคับบัญชาจะวางแผนการพัฒนา ยังคงต้องพัฒนาวิธีการติดตามผลการฝึกอบรมและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พนักงาน และเป็นผู้ดูแลให้มีการพัฒนาตามแผน พร้อมทั้งกระบวนการ พัฒนารองรับตามความเหมาะสม เช่น การฝึกปฏิบัติ (OJT) และการ • แผนกพนักงานสัมพันธ์ (Employee Relations) มอบหมายงาน เป็นต้น เพื่อด�ำเนินกิจกรรมของพนักงาน การสื่อสารภายในองค์กร (Internal Communication) โดยมุ่งสร้างความสัมพันธ์ที่ดีภายในองค์กร ตลอดจน อีสท์ วอเตอร์ มีการจัดหลักสูตรต่างๆ รองรับกับ Competency หลักของ เป็นช่องทางการกระจายข้อมูลข่าวสารไปสูพ่ นักงานอย่างมีประสิทธิผล เพือ่ องค์กร และมีการส่งพนักงานเข้าอบรมในหลักสูตรทีน่ า่ สนใจทีจ่ ดั โดยสถาบัน สร้างความภาคภูมใิ จแก่พนักงานในความส�ำเร็จขององค์กร รวมทัง้ การเน้นย�ำ้ ที่มีชื่อเสียง โดยในปี 2554 พนักงานได้เข้ารับการอบรมในหลักสูตรต่างๆ เรื่องวัฒนธรรมองค์กรในการท�ำงานเป็นทีม (Teamwork) การสื่อสาร มีจ�ำนวนชั่วโมงเฉลี่ย 77.7 ชม./คน โดยแบ่งตามกลุ่มระดับ ดังนี้ (Communication) และการสอนงาน (Coaching) นอกจากนี้องค์กรยัง
การพัฒนาศักยภาพพนักงาน
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
37
- พนักงานระดับปฏิบัติการ เฉลี่ย 58 ชม./คน ตัวอย่างหลักสูตร เช่น The 7 Habits of Highly Effective People , ทักษะการน�ำเสนอ ภาษาอังกฤษ และหลักสูตรด้าน Functional Competency เป็นต้น - พนักงานระดับบังคับบัญชา เฉลี่ย 129 ชม./คน ตัวอย่างหลักสูตร เช่น กลยุทธ์ระยะยาว, ทักษะการน�ำเสนอ และหลักสูตรด้านภาวะผู้น�ำ เช่น EDP (Executive Development Program) , ความรู้ด้านงานตรวจสอบ, เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับบริหาร ทักษะการบังคับบัญชา และ TQA เป็นต้น - ผูบ้ ริหารระดับสูง เฉลีย่ 121.8 ชม./คน ตัวอย่างหลักสูตร เช่น Executive Coaching Program, SEP (Senior Executive Program ) ของสถาบัน การศึกษาชั้นน�ำ เป็นต้น นอกจากหลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้องกับทักษะในการบริหาร และเกีย่ วกับหน้าทีห่ ลัก โดยตรงแล้ว ตัง้ แต่ป ี 2550 เป็นต้นมา อีสท์ วอเตอร์ สนับสนุนให้พนักงาน เข้าร่วมการฝึกปฏิบตั ธิ รรมตามสถานปฏิบตั ธิ รรมต่างๆ โดยถือเป็นการพัฒนา จิตใจวิธกี ารหนึง่ ทีส่ �ำคัญ เพือ่ ให้พนักงานด�ำเนินชีวติ ได้อย่างมีความสุข ทัง้ นี้ บริษัทเห็นว่าเมื่อพนักงานมีความสุขในชีวิต มีการฝึกสมาธิ จะส่งผลถึง ประสิทธิผลในการท�ำงานด้วย ซึ่งพนักงานสามารถเข้าร่วมฝึกปฏิบัติธรรม ได้ตามสถานทีต่ นเองสะดวก และถือว่าเป็นการฝึกอบรม จึงไม่นบั เป็นวันลา ทั้งนี้มีพนักงานสนใจเข้าร่วมการปฏิบัติธรรมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ความผูกพันของพนักงาน ที่มีต่อองค์กร อีสท์ วอเตอร์ มีการส�ำรวจความผูกพันของพนักงานที่มีต่อองค์กรอย่างต่อ เนื่องเป็นประจ�ำทุกปี ผลส�ำรวจประจ�ำปี 2554 มีผลคะแนนความผูกพันต่อ องค์กร ( Employee Engagement) เท่ากับ 3.65 และความพึงพอใจใน การท�ำงาน ( Employee Satisfaction) เท่ากับ 3.80 ซึ่งถือว่าอยู่ในเกณฑ์ ค่อนข้างสูง ปัจจัยการประเมินที่ได้รับคะแนนสูงสุดในด้านความผูกพันต่อ องค์กรคือด้านความรู้สึกมีคุณค่า และได้รับการยอมรับจากคนในองค์กร ส่วนปัจจัยการประเมินที่ ได้รับคะแนนสูงสุดในด้านความพึงพอใจในการ ท�ำงานคือการมีสัมพันธภาพต่อเพื่อนร่วมงาน ส่วนประเด็นทีค่ วรปรับปรุงได้แก่ เรือ่ งแผนพัฒนาบุคลากรและโอกาสก้าวหน้า ซึ่งบริษัทต้องด�ำเนินการอย่างเร่งด่วน
38
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
องค์กรที่เท่าเทียมกัน ดังทีก่ ล่าวมา อีสท์ วอเตอร์ มีนโยบายและการปฏิบตั ติ อ่ พนักงานทุกคนอย่าง เท่าเทียมกันและต่อต้านการเลือกปฏิบัติทั้งในด้านการแต่งตั้ง การโยกย้าย การพัฒนาสายอาชีพ ค่าจ้าง สวัสดิการ และการลงโทษ โดยไม่พิจารณาถึง ความแตกต่างในด้านเพศ ศาสนา เชื้อชาติ และความคิดด้านการเมือง ทัง้ นีเ้ คารพในสิทธิมนุษยชนและสิทธิแรงงาน โดยปฏิบตั ติ ามกฎหมายแรงงาน รวมถึงกฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างเคร่งครัด บริษทั สนับสนุนกิจกรรม ของพนักงานผ่านคณะกรรมการต่างๆ เช่น คณะกรรมการสวัสดิการใน สถานประกอบกิจการ คณะกรรมการอนุรกั ษ์พลังงาน และคณะกรรมการ ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เป็นต้น โดย อีสท์ วอเตอร์ ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ส�ำหรับคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ บริษัทด�ำเนินการ จัดการเลือกตั้ง การลงรับสมัครเช่นเดียวกับการเลือกตั้งในระดับประเทศ ทัง้ นีเ้ พือ่ ฝึกให้พนักงานเรียนรูแ้ ละเข้าใจกระบวนการประชาธิปไตยในองค์กร ผ่านกระบวนการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการฯ ตามกฎหมายคุ้มครอง แรงงาน และมีการจัดให้มกี ารประชุมคณะกรรมการสวัสดิการฯ เป็นประจ�ำ ต่อเนือ่ งทุกไตรมาส ตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด โดยใช้กลไกต่างๆ ในการปรึกษา หารือและร่วมกันแก้ปัญหาระหว่างบริษัทและพนักงาน นอกจากนี้ ยังเปิด โอกาสให้พนักงานแสดงความคิดเห็นและรับทราบข้อมูลความเคลื่อนไหว ขององค์กรผ่านช่องทางต่างๆ อย่างสม�ำ่ เสมอ เช่น การประชุมพนักงาน การ ประชุมคณะกรรมการชุดต่างๆ การสัมมนาภายในหน่วยงาน การสื่อความ ผ่านทางอีเมล อินเตอร์เน็ต เสียงตามสาย ภายในอาคาร วารสารภายใน เป็นต้น และมีการแจ้งผลการประชุมให้พนักงานทุกคนในองค์กรรับทราบ ผ่านทาง E-Mail
การพิจารณาค่าตอบแทน ประจ�ำปี คณะกรรมการบริษทั ได้มกี ารพิจารณาปรับขึน้ เงินเดือนและจ่ายโบนัสให้แก่ พนักงาน โดยพิจารณาจากผลการด�ำเนินงานของบริษัท (Corporate KPIs) และผลประกอบการของบริษัท (EBITDA) ประจ�ำปี เพื่อเป็นขวัญก�ำลังใจ ให้กบั พนักงาน เนือ่ งจากผลการด�ำเนินงานเป็นผลงานโดยรวมของพนักงาน ที่ให้ความร่วมมือในการปฏิบตั งิ านจนบริษทั ฯบรรลุเป้าหมายภายใต้หลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
ผลตอบแทนพนักงานและ สวัสดิการของพนักงาน
• ค่าช่วยเหลือดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อเคหะสงเคราะห์ • ค่าช่วยเหลือดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อซื้อยานพาหนะ • เงินช่วยเหลือค่าท�ำศพ กรณีพนักงานเสียชีวิต • การจ่ายค่าตอบแทนความชอบ เป็นต้น นอกจากนัน้ อีสท์ วอเตอร์ได้มกี ารจัดตัง้ กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ ซึง่ พนักงาน มีสิทธิเลือกนโยบายการลงทุน โดยสามารถเลือกอัตราสะสมตั้งแต่ร้อยละ 5-7 กรณีที่พนักงานมีอายุงานตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไปสามารถสะสมได้ถึงร้อยละ 10 ของเงินเดือน ในส่วนของบริษัท จะสมทบให้ที่ร้อยละ 8 และในกรณีที่ พนักงานมีอายุงานตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไปบริษัท จะสมทบให้ที่ร้อยละ 10 ของ เงินเดือน
ทั้งนี้ อีสท์ วอเตอร์ ยังมีการส�ำรวจเพื่อเทียบเคียงสวัสดิการกับกลุ่มธุรกิจ เดียวกันเป็นประจ�ำทุกปี เพือ่ ให้มกี ารปรับปรุงข้อมูลสอดคล้องกับภาวการณ์ นอกเหนือจากการจ่ายค่าจ้างและโบนัสให้แก่พนักงานอย่างเป็นธรรมแล้ว ทางเศรษฐกิจ รวมถึงสามารถแข่งขันกับตลาดในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน บริษทั มีการจัดระบบสวัสดิการให้แก่พนักงาน โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท นอกจากสวัสดิการในข้างต้นแล้ว ยังมีการมอบรางวัลทีร่ ะลึก (ทองค�ำ) เพือ่ เป็นการตระหนักว่าบุคลากรเป็นสิ่งมีค่าส�ำหรับองค์กร รวมถึงเพื่อเป็นการ ได้แก่ สร้างให้พนักงานมีความผูกพันกับองค์กรในระยะยาว ประเภทที่ 1 สวัสดิสงเคราะห์ยืดหยุ่น ซึ่งแบ่งออกเป็น 13 รายการ โดย อีกทั้ง ในช่วงวิกฤตการณ์อุทกภัยเมื่อปลายปี 2554 อีสท์ วอเตอร์ได้มีการ พนักงานสามารถเบิกได้ในวงเงินไม่เกินคนละ 80,000 บาทต่อปี จัดสรรเงินเพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อนเบื้องต้นให้แก่พนักงาน อาทิ จัดหาน�้ำดื่ม ที่พักอาศัยชั่วคราว ค่าเช่าบ้าน กระสอบทราย และอื่น ๆ ประเภทที่ 2 สวัสดิสงเคราะห์พื้นฐาน แบ่งออกเป็น รวมทัง้ มีการจ่ายเงินช่วยเหลือพนักงานทีบ่ า้ นพักได้เกิดความเสียหายหลัง • การตรวจสุขภาพประจ�ำปี น�้ำลดเป็นจ�ำนวนเงินคนละ 30,000 บาท • การประกันสุขภาพ รวมถึงครอบครัวพนักงาน / ประกันชีวิตหมู่
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
39
การบริหารผลตอบแทน ตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา บริษัทได้เริ่มมีการบริหารผลตอบแทนแก่ พนักงานให้มีความแตกต่างกันมากขึ้น โดยเน้นในเรื่องการวัดผลการปฎิบัติ งาน (KPIs) และ การประเมินสมรรถนะ (Competency) ของพนักงานให้ มีความชัดเจนและเข้าใจในทิศทางเดียวกันมากขึน้ เพือ่ เป็นการให้รางวัลแก่ พนักงานที่มีผลการปฏิบัติงานที่ดี ทั้งนี้บริษัทได้น�ำหลักการบริหาร ผลตอบแทนและสือ่ สารให้พนักงานทุกคนเข้าใจตรงกัน โดยบริษทั มีหลักการ ส�ำคัญคือ “ผู้ที่มีผลงานดี ต้องได้รับผลตอบแทนที่ดี” และในทางเดียวกัน ผู้ที่มีผลงานไม่ดีบริษัทต้องสื่อสารชัดเจนถึงสิ่งที่ต้องมีการพัฒนาต่อไป
การจ่ายค่าตอบแทนโดยเทียบ กับตลาดแรงงาน ในช่วงระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา บริษัทมีการท�ำศึกษาเรื่องของการจ่าย ค่าตอบแทนกับบริษทั ทีอ่ ยู่ในกลุม่ ธุรกิจเดียวกัน รวมถึงศึกษาดัชนีราคา ผู้บริโภค (CPI) อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาจ่ายค่าจ้าง และผลตอบแทนต่าง ๆ ให้แก่พนักงาน โดยสามารถเทียบเคียงกับตลาด แรงงานได้อย่างเหมาะสม
ในส่วนของ การส่งเสริมเรื่องสุขภาพ ชีวอนามัย และความปลอดภัย อีสท์ วอเตอร์ จัดสภาพแวดล้อมการท�ำงานเพื่อให้พนักงานมีสถานที่ท�ำงาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ผ่านการควบคุมความร้อนในการท�ำงานให้ไม่เกิน 25.5 องศาเซลเซียส ระดับเสียงในสถานที่ท�ำงานไม่ให้เกิน 90 เดซิเบล ตรวจวัดคุณภาพอากาศภายในอาคารสูง (Indoor Air Quality) ตรวจติดตาม เชื้อลีจิโอเนลล่า ตรวจความปลอดภัยในพื้นที่เพื่อหาจุดเสี่ยงและป้องกัน อุบตั เิ หตุ และตรวจประเมินสุขภาพ ด้านอาชีวอนามัยโดยแพทย์อาชีวอนามัย เพื่อเฝ้าระวังโรคจากการท�ำงาน ถือเป็นอีกการจัดการสภาพแวดล้อมที่ดี อย่างหนึ่งของ อีสท์ วอเตอร์ ท�ำให้มีโครงการอนุรักษ์การได้ยินเสียงเกิดขึ้น ในปี 2554 ซึ่งฝ่ายทรัพยากรบุคคลร่วมกับฝ่ายอ�ำนวยการและเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัย (จป.) ก�ำหนดโครงการเชิงป้องกันตั้งแต่ระดับเสียงความดัง 85 เดซิเบลขึน้ ไป (กฎหมายก�ำหนด 90 เดซิเบล) สนับสนุนให้มกี ารเฝ้าระวัง เสียง จัดกิจกรรมฝึกอบรม ส่งเสริมให้หวั หน้างานและพนักงานสวมใส่อปุ กรณ์ ป้องกัน รวมถึงจัดตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย ชีวอนามัย สิ่งแวดล้อม และ 5ส. ขึ้น โดยมีผลการจัดการและส่งเสริมบรรยากาศในการท�ำงาน ดังแสดงผลในตารางด้านล่าง คุณภาพอากาศ ภายในอาคาร 2553-2554
ระดับการ ควบคุม
2552
2553
2554
0.29 0.22 0.21 Formaldehyde 3 0.7 0.1 0.15 Carbon Monoxide 9 455 514 450 Carbon Dioxide 1000 ผลจากการศึกษาเมือ่ ปี 2553 เมือ่ เทียบกับตลาดพบว่า การจ่ายค่าตอบแทน < 100 < 100 < 100 150 ในส่วนของเงินเดือนจะน้อยกว่าค่าเฉลีย่ ในกลุม่ ทีส่ �ำรวจ 10 บริษทั หากรวม Respiration Dust 25.2 24.4 ผลประโยชน์ตอบแทนอืน่ ๆ เช่น ค่าครองชีพ เงินเพิม่ พิเศษสวัสดิสงเคราะห์ Temperature ( 0 C ) 22.5-25.5 24.8 85.7 87.3 90.0 ยืดหยุ่น รวมถึงสวัสดิการอื่น ๆ แล้วพบว่า บริษัทมีการจ่ายผลตอบแทนรวม Noice (Decibel: dBA) (Total Remuneration) สูงกว่าค่าเฉลี่ยของการจ่ายผลตอบแทนรวมจาก ผลส�ำรวจในกลุ่มตัวอย่าง อย่างไรก็ตาม บริษัทยังให้ความส�ำคัญกับการ ขณะเดียวกัน อีสท์ วอเตอร์ ยังให้ความส�ำคัญแก่ความมั่นคงระหว่าง จ่ายผลตอบแทนของพนักงาน ดังนั้นบริษัทจึงมีการติดตามและด�ำเนินการ การท�ำงานของพนักงานในองค์กร ซึ่งจัดตั้งคณะกรรมการสวัสดิการ เพื่อ ส�ำรวจค่าจ้างในกลุ่มธุรกิจใกล้เคียงอย่างต่อเนื่อง ดูแลสวัสดิการต่างๆ ของพนักงานให้เป็นไปตามความต้องการอย่างเท่าเทียม กันและเป็นธรรมมากที่สุด โดยมีการประชุมทุก 3 เดือน
การพัฒนาทรัพยากรบุคคลเป็นจุดเริม่ ต้น ที่จะช่วยให้องค์กรเติบโตได้อย่างยั่งยืน ดังนั้น อีสท์ วอเตอร์ พิจารณาจากแนวคิดเรื่องความพึง พอใจในการท�ำงานและ ความคาดหวังของพนักงาน น�ำมาจัดท�ำเป็นแผนกลยุทธ์ด้านการเรียนรู้ การ พัฒนาองค์กรและเทคโนโลยีสารสนเทศ คุณดวงแก้ว อึ้งศรีทอง ผู้อ�ำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล
40
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
ความรับผิดชอบ ในการตรวจสอบคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
โรงงานทั่วไป และอื่นๆ 7.11%
นิคมฯ ของเอกชน 28.46%
อุปโภคบริโภค 31.65% นิคมฯ ของรัฐ 32.78%
กราฟแสดงผู้ใช้น�้ำทั้ง 4 ประเภท
อีสท์ วอเตอร์ มีการปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ และอุปกรณ์ตา่ งๆทีเ่ กีย่ วข้องในการด�ำเนินธุรกิจ เพือ่ สร้างความไว้วางใจใน คุณภาพสินค้าแก่ลูกค้า ส�ำหรับปี 2554 ที่ผ่านมา อีสท์ วอเตอร์ ได้ตรวจสอบ คุณภาพน�้ำดิบซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์หลักของ อีสท์ วอเตอร์ ดังนี้ • บริการแจ้งคุณภาพน�้ำรายวัน และรายเดือน อีสท์ วอเตอร์ มีบริการแจ้งคุณภาพน�้ำดิบรายวัน และรายเดือน เพื่อความ สะดวก รวดเร็วต่อการรับข่าวสารคุณภาพนำ�้ ดิบ ซึง่ ลูกค้าสามารถตรวจสอบ คุณภาพน�้ำได้ด้วยตนเองผ่านเว็บไซต์ www.eastwater.com โดยการแจ้ง คุณภาพน�้ำดิบรายวันนั้น จะแจ้งค่าดัชนีคุณภาพน�้ำที่ส�ำคัญ 5 ค่า ได้แก่ ค่าความขุ่นของน�้ำ (Turbidity), ค่าความเป็นกรด-ด่าง (PH), ค่าการน�ำ ไฟฟ้า (Conductivity) , ค่าปริมาณออกซิเจนทีล่ ะลายนำ �้ (DO) และอุณหภูมิ ส�ำหรับการแจ้งคุณภาพน�้ำดิบรายเดือนนั้น จะแจ้งคุณภาพน�้ำที่ส�ำคัญ 45 ค่า ดังตาราง
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
41
42
ล�ำดับ
พารามิเตอร์
ล�ำดับ
พารามิเตอร์
1.
pH
24.
DO(mg/l)
2.
Turbidity(NTU)
25.
BOD5(mg/l)
3.
Conductivity(micro mhos/cm)
26.
Faecal Coliform(MPN/100 ml)
4.
Colour(pt-Co Unit)
27.
Phenol(mg/l)
5.
Total Solids(mg/l)
28.
Nickel(ppm as Ni)
6.
Total Suspended Solids(mg/l)
29.
Total Mercury(ppm as Hg)
7.
Total Dissolved Solids(mg/l)
30.
Cadmium(ppm as Cd)
8.
Total Alkalinity(ppm as CaCO3)
31.
Chromium(ppm as Cr+6)
9.
Total Hardness(ppm as CaCO3)
32.
Lead(ppm as Pb)
10.
Carbonate Hardness(ppm as CaCO3)
33.
Arsenic(ppm as As)
11.
Calcium(ppm as CaCO3)
34.
Cyanide(ppm as CN)
12.
Magnesium(ppm as CaCO3)
35.
DDD&DDT(ppb)
13.
Chloride(ppm as Cl-)
36.
BHC(ppb)
14.
Total Iron(ppm as Fe)
37.
Dieldrin(ppb)
15.
Manganese(ppm as Mn2+)
38.
Aldrin(ppb)
16.
Copper(ppm as Cu)
39.
Heptachlor(ppb)
17.
Zinc (mg/l as Zn)
40.
Endrin(ppb)
18.
Sulphate(ppm as SO4)
41.
COD (mg/l)
19.
Phosphate(ppm as Po4)
42.
Total Organic Carbon,TOC(mg/l)
20.
Nitrate Nitrogen(ppm as No3-N)
43.
Detergent(ABS)
21.
Ammonia Nitrogen(ppm as NH3-N)
44.
Oil & Grease
22.
Fluoride(ppm as F)
45.
Total Phosphorus
23.
Silica(ppm as SiO2)
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
• SLA (Service Level Agreement) SLA (Service Level Agreement) คือข้อตกลงซึ่งได้จากการเจรจาต่อรอง ร่วมกันระหว่างผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการ ในเรื่องการให้บริการที่ต�่ำสุด (Minimum Level of Service) ซึง่ เป็นบริการทีผ่ ใู้ ห้บริการต้องการให้บริการ แล้วผูใ้ ช้บริการตกลงยอมรับในบริการเหล่านัน้ อีสท์ วอเตอร์ ได้ด�ำเนินการ ปรับปรุงการให้บริการแก่ลกู ค้าโดยการจัดท�ำ SLA วิเคราะห์ความต้องการ ของลูกค้าทุกราย เพื่อจ�ำแนกความคาดหวังของลูกค้า และจัดหาวิธีการใน การตอบสนองความคาดหวังของลูกค้าให้มากยิ่งขึ้น โดย พบว่าลูกค้าผู้รับ บริการน�้ำดิบในปัจจุบนั มีความคาดหวังคุณลักษณะเฉพาะในการรับบริการ น�ำ้ ดิบทีแ่ ตกต่างกัน ตามวัตถุประสงค์ทางธุรกิจทีต่ า่ งกัน ทัง้ ในด้านเสถียรภาพ ของการให้บริการน�้ำดิบ (Reliability) แรงดันน�้ำดิบที่สม�่ำเสมอ รวมถึง คุณภาพของน�้ำดิบ ซึ่งได้จัด แบ่งประเภทของลูกค้าตามความคาดหวัง และ กระบวนการทางธุรกิจที่ต่างกัน ออกเป็น 4 กลุ่มดังนี้
2. ประเภทนิคมอุสาหกรรม ที่รับน�้ำดิบส่งลูกค้าภายในเป็นน�้ำประปา มุ่ง เน้นความส�ำคัญในด้านของปริมาณ รวมถึงคุณภาพน�้ำดิบ ที่เป็นไปตาม มาตรฐานเพื่อการผลิตน�้ำประปา เช่น โรงกรองน�้ำของการประปาส่วน ภูมิภาค, นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง, นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด, สวนอุตสาหกรรมสหพัฒน์พิบูลย์ เป็นต้น 3. ประเภทโรงงานทั่วไป/ธุรกิจที่รับน�้ำดิบไปใช้เองโดยตรง มุ่งเน้นความ ส�ำคัญในด้านคุณภาพน�้ำดิบเป็นหลัก เนื่องจากต้องปรับปรุงคุณภาพเป็น น�ำ้ สะอาดก่อน เพือ่ ให้เหมาะสมตามความต้องการเฉพาะของแต่ละกระบวนการ ผลิต เช่น โรงไฟฟ้าระยอง, บจ.ผลิตไฟฟ้าอิสระ,บจ. ไทย เนชั่นแนล พาวเวอร์,บมจ. สหโคเจน (ชลบุรี), บจ. โตโยต้า มอเตอร์ (บ้านโพธิ์)
4. ประเภทชุมชน มุ่งเน้นความส�ำคัญในด้านปริมาณเป็นหลัก ปริมาณที่ ต้องการจะไม่สูงมากเมื่อเทียบกับผู้ใช้น�้ำประเภทอื่น ใช้ประโยน์ชเพื่อการ บริการภาคชุมชน/สาธารณะ ไม่ค่อยได้รับผลกระทบจากความแปรปรวน 1. ประเภทนิคมอุสาหกรรม ที่รับน�้ำดิบแล้ว ส่งลูกค้าภายในเป็นน�้ำดิบ มุ่ง ด้านคุณภาพน�้ำ และแรงดันน�้ำ เช่น โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์, เน้นความส�ำคัญในด้าน เสถียรภาพด้านการส่งจ่าย ในส่วนของปริมาณและ เทศบาลต�ำบลมาบข่า, เรือนจ�ำกลางจ�ำระยอง แรงดันเป็นหลัก เนื่องจากเป็นกลุ่มลูกค้า ที่มีปริมาณความต้องการใช้น�้ำที่ ค่อนข้างสูงและต่อเนือ่ ง เช่น นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด, นิคมอุตสาหกรรม เกณฑ์ในการสูบส่งน�้ำดิบตามความคาดหวังของลูกค้าแต่ละประเภท ดังนี้ ตะวันออก, นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย, นิคมอุตสาหกรรม RIL 1996
คุณภาพ
ประเภท
แรงดัน (Bar)
1. นิคมฯ ที่ รับน�้ำดิบ แล้วส่งลูกค้าภายใน เป็นน�้ำดิบ
2.0
50
250
50
2. นิคมฯ ที่รับน�้ำดิบ แล้วส่งลูกค้าภายใน เป็นน�้ำประปา
1.5
50
1,000
250
3. โรงงานทั่วไป/ธุรกิจที่รับน�้ำดิบ ไปใช้เองโดยตรง
2.0
50
250-500
50-125
4. ชุมชน
1.5
200
1,000
250
Turbidity (NTU) Conductivity (µs/cm) Chloride (ppm)
หมายเหตุ ระบบควบคุมการสูบส่งน�้ำดิบ จะก�ำหนดเกณฑ์ควบคุมโดยละเอียดตามประเภทผู้ใช้น�้ำแต่ละราย
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
43
ทั้งนี้ ข้อมูล SLA ที่ได้ท�ำการส�ำรวจจากลูกค้า และความคาดหวัง ด้านอัตรา การรับน�้ำดิบ แรงดันน�้ำ และคุณภาพน�้ำดิบ จะถูกน�ำมาเป็นข้อมูลในระบบ SCADA ซึง่ เป็นระบบควบคุมการสูบส่งน�ำ้ ดิบให้สามารถเฝ้าระวังสถานะการ ให้บริการนำ�้ ดิบแก่ลกู ค้าแต่ละประเภทได้อย่างแม่นย�ำและสามารถตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลงเกณฑ์คุณภาพการบริการน�้ำดิบ (Feedback Control) รวมถึงรายงานสถานะการสูบส่งน�้ำที่จะส่งผลให้เกิดความไม่พึงพอใจจาก การส่งมอบน�้ำดิบที่ไม่ได้ตามความคาดหวังของลูกค้า โดยหากเกณฑ์การ ให้บริการเปลี่ยนแปลงไปจาก ค่า SLA ที่ก�ำหนดไว้ บริษัท จะด�ำเนินการ แจ้งเตือนให้แก่ผใู้ ช้นำ�้ ทราบล่วงหน้า เพือ่ การเตรียมความพร้อมในระบบ ต่อไป
และวิเคราะห์การสูบจ่ายน�้ำ รวมไปถึงกระบวนการ Improve process คือ 1. การจัดล�ำดับความส�ำคัญของเครื่องจักร และอุปกรณ์ เช่น A Bและ C ซึ่งเป็นค�ำนิยามของอุปกรณ์สูบจ่ายน�้ำที่พบความส�ำคัญระดับสูง กลาง และ ต�่ำประกอบกับ 2 .ความส�ำคัญของระบบเครื่องมือสื่อสารและเครื่องมือวัด 3. ความส�ำคัญของเครื่องจักร และ 4. การให้บริการลูกค้า ส�ำหรับขั้นตอน ต่อไป คือ Target ประกอบด้วย การใช้หลักการ Zero Breakdown คือ ไม่มีการหยุดจ่ายน�้ำในเส้นท่อส่งน�้ำสายหลักยกเว้นกรณี ช่อมแซมหรือบ�ำรุงรักษาไม่เกิน 8 ชั่วโมงต่อครั้ง โดยเครื่องจักรอุปกรณ์ ระดับ A ไม่มีการหยุดท�ำงาน อุปกรณ์ SCADA พร้อมใช้งาน ร้อยละ 90 รวมทั้งมาตรวัดน�้ำหลักช�ำรุดไม่เกิน 24 ชั่งโมงต่อราย ควบคู่กับการควบคุม คุณภาพที่ได้ผลดี (Effective Quality Control) และขั้นตอนสุดท้ายคือ Plan ซึง่ หมายถึงการวางแผนการจัดการและการให้บริการเพือ่ ก�ำหนดทิศทาง • CSI (Customer Services Improvement) CSI (Customer Services Improvement) เป็นกระบวนการที่สร้างความ การปฏิบัติ ความรับผิดชอบเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนในแต่ละปี เชื่อมั่นและความพึงพอใจแก่ผู้ใช้น�้ำอย่างต่อเนื่อง ในการให้บริการน�้ำดิบใน ก�ำหนดระดับความส�ำคัญเครื่องจักร์อุปกรณ์ในโครงข่ายท่อส่งน�้ำ พืน้ ทีแ่ ละส่งเสริมวิสยั ทัศน์ “มุง่ สูก่ ารเป็นผูน้ �ำด้านการจัดการนำ�้ อย่างมีคณ ุ ค่า เพื่อความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน (Water Solution for All)” และเพือ่ ประกอบการปฏิบตั งิ านให้บรรลุวตั ถุประสงค์ จึงมีกระบวนการ สถานี ตาม Model: Customer Service Improvement Quality Cycle จาก Model ดังกล่าวประกอบด้วยกระบวนการที่มีขั้นตอนตามล�ำดับ โดย เริ่มจากการรับฟังปัญหาต่างๆจากลูกค้า เช่น Voice of Customer ซึ่งได้มี การส�ำรวจความพึงพอใจ 2 ครัง้ ต่อปี ต่อด้วยกระบวนการ Customer Need คือการรวบรวมปัญหาของลูกค้ามาเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา ระบบสูบจ่ายน�้ำ ซึ่งปัญหาหลักๆที่พบได้แก่ น�้ำที่มีสิ่งปะปน แรงดันตกและ รับปริมาณน�้ำไม่เพียงพอต่อความต้องการ ดังนั้นจึงได้วางแนวทางในการ แก้ปัญหา คือ รักษาเสถียรภาพระบบสูบจ่ายน�้ำ เพื่อให้จ่ายน�้ำได้อย่างต่อ เนื่อง และเครื่องจักรพร้อมใช้งาน พร้อมทั้ง ผลผลิตที่เกิดจากการสูบจ่าย นำ�้ ประกอบด้วย คุณภาพของการสูบน�ำ้ ดิบ การได้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้องแม่นย�ำต่อ เนือ่ ง รวดเร็ว ประกอบกับการควบคุมและติดตามการเปลีย่ นแปลงคุณภาพ น�้ำ รวมไปถึงการให้บริการ ซึ่งมีองค์ประกอบ คือ การให้บริการทีร่ วดเร็ว ทัง้ ในด้านแก้ปญ ั หา การตรวจสอบสถานีลกู ค้า รวมไปถึงการสอบเทียบ เครื่องมือวัด ประกอบด้วย การให้บริการด้านข้อมูลข่าวสาร เช่น คุณภาพ น�้ำ สถานการณ์น�้ำ และปริมาณน�้ำหลังจากนั้นน�ำข้อมูลมาจัดท�ำรายงาน
เครื่องจักร์ อุปกรณ์
ชิ้นส่วน
ทัง้ หมดนี้ แสดงถึงความใส่ใจทีอ่ สี ท์ วอเตอร์มตี อ่ คุณภาพของผลิตภัณฑ์กอ่ น ส่งผลิตภัณฑ์จากต้นน�้ำก่อนถึงมือลูกค้าซึ่งเป็นปลายน�้ำ โดยน�ำข้อร้องเรียน ที่ได้รบั จากลูกค้ามาปรับปรุงกระบวนการท�ำงานอยูเ่ สมอ เพือ่ ให้ลกู ค้าไว้วางใจ ในน�้ำดิบของเรา ตลอดจนลดความกังวลใจของลูกค้าให้ได้มากที่สุด
อีสท์ วอเตอร์ มีการปรับปรุงอย่างต่อ เนือ่ งเพือ่ ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์และอุปกรณ์ ต่างๆที่เกี่ยวข้องในการด�ำเนินธุรกิจ เพื่อสร้าง ความไว้วางใจในคุณภาพสินค้าแก่ลูกค้า คุณเชิดชาย ปิติวัชรากุล ผู้อ�ำนวยการฝ่ายปฎิบัติการและบริการลูกค้า
44
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
ข้อมูล การด�ำเนินงาน ด้านการพัฒนา อย่างยั่งยืนของ อีสท์ วอเตอร์ ปี 2554 “อีสท์ วอเตอร์ เราสร้างสิ่งดี ๆ เพื่อชีวิต เพื่อธุรกิจและชุมชน”
รายงานผลการด�ำเนินงาน ปี 2554 หน่วย : ล้านบาท
3,000.00 2,500.00 2,000.00 1,500.00 1,000.00 500.00 0.00
2,746.95
รายรับ
1,911.83
1,525.23
รายจ่าย
ก�ำไร (Ebitda)
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
45
ตารางการเปรียบเทียบข้อร้องเรียน จ�ำนวนข้อร้องเรียน 2010 จ�ำนวนข้อร้องเรียน 2011
หน่วย : ครั้ง
4 3 2 1
พฤศจิกายน
กันยายน
กรกฎาคม
พฤษภาคม
มีนาคม
มกราคม
0
ตารางแสดงค่าเฉลี่ยคุณภาพน�้ำประจ�ำปี 2554
46
อ่างเก็บนํ้า
pH
ดอกกราย หนองปลาไหล คลองใหญ่ ประแสร์ แม่น�้ำระยอง ฉะเชิงเทรา สวนสน บางปะกง หนองค้อ บางพระ ส�ำนักบก
7.46 7.76 7.85 7.77 6.96 7.37 7.13 7.37 7.81 8.17 8.03
DO (mg/L)
| รายงานการพั รายงานผลการพั ฒนาอย่ ฒนาอย่ างยัา่งงยั ยืน่งยืประจำ น ประจำ �ปี �2554 ปี 2554
5.38 6.53 6.96 6.34 4.57 5.30 3.85 4.79 6.48 7.47 6.40
Turbidity (NTU) 9.36 10.02 27.51 3.77 93.03 37.46 40.87 76.64 13.34 9.38 10.21
Chloride (mg/L) 17.40 18.80 8.60 7.50 26.60 1065.20 60.40 4905.60 10.60 16.60 34.50
BOD (mg/L) 2.00 1.65 2.23 1.71 1.67 1.82 2.08 1.80 2.31 1.95 1.49
จ�ำนวนพนักงานแบ่งตามประเภท (ชาย – หญิง,พื้นที่) จ�ำนวนพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จ�ำนวนพนักงานทั้งหมด
149
จ�ำนวนพนักงาน แยกตามประเภทการจ้างงาน พนักงานประจ�ำ 148 พนักงานสัญญาจ้าง 1 รวม 149 จ�ำนวนพนักงานแยกตามพื้นที่ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ พื้นที่ปฏิบัติการ รวม
103 46 149
จ�ำนวนพนักงานแยกตามเพศ
74 75 149
หญิง ชาย รวม
จ�ำนวนชั่งโมงอบรมเฉลี่ยต่อคน 48.8
55.9
77.7 หน่วย : ชั่วโมง / คน
2554
จ�ำนวนชั่วโมงอบรม 2554 ผู้บริหาร
121.8
2553
2552
ผู้จัดการ
129.0 พนักงาน 58.0 หน่วย : ชั่วโมง
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
47
พนักงานลาออกในปี 2554 พนักงานลาออกในปี 2554 = 32 คน พนักงานลาออก แยกตามเพศ ชาย หญิง
หน่วย : คน หน่วย : ร้อยละ 5 15.625 27 84.375
พนักงานลาออก แยกตามพื้นที่ ส�ำนักงานกรุงเทพฯ พื้นที่ปฏิบัติการ
หน่วย : คน หน่วย : ร้อยละ 31 15.625 1 84.375
พนักงานลาออก แยกตามช่วงอายุ 20 - 30 (ปี) 30 - 40 (ปี) 40 - 60 (ปี)
หน่วย : คน หน่วย : ร้อยละ 7 96.875 22 3.125 3 9.37
การสูบจ่ายน�้ำ ในปี 2554
277
280 260
252
ปริมาณนํ้าที่สูบจ่ายทั้งหมด หน่วย : ล้าน ลบ.ม.
240
228
220 200 180
159
160
137
140
115
120 100
91
80
69
60 40 20 -
45 24
8 13
ม.ค.
4
3 24
32
24
36
48
ก.พ.
มี.ค.
1 16
เม.ย.
5 6
6 7
48
7 9
181 9 10
พ.ค.
72
มิ.ย.
14 10
90 83
77 72
64
151
56
40 61
204 11 10
15 11
83
ก.ค.
16 13
95
ส.ค.
107
ก.ย.
121
ต.ค.
135
พ.ย.
ธ.ค.
สระส�ำนักบก แหล่งน�้ำสยาม สระส�ำรอง สระมาบข่า แม่น�้ำบางปะกง แม่น�้ำระยอง หนองค้อ บางพระ ดอกกราย หนองปลาไหล ปริมาณจริง 2554
48
รายงานการพัฒนาอย่ างยัา่งงยั ยืน่งยืประจำ �ปี �2554 | รายงานผลการพั ฒนาอย่ น ประจำ ปี 2554
ผลส�ำรวจความพึงพอใจของกลุ่มผู้ถือผลประโยชน์ร่วมของ บริษัทต่อผลการด�ำเนินงานของบริษัท จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ภาพรวมทุกกลุ่มผู้ถือผลประโยชน์ร่วม (Stakeholders) กลุ่มผู้เช่าพื้นที่ กลุ่มพนักงานของบริษัท กลุ่มบริษัทผู้ร่วมค้าและกลุ่ม AVL กลุ่มนักลงทุนและนักวิเคราะห์ ปี 2554 ปี 2553 ปี 2552
กลุ่มชุมชนและหน่วยงานราชการ
3.55
3.32 3.36
3.74, 74.8% (+13.8%)
3.05
3.51, 70.2% (-0.1%)
3.56
3.96
3.96
3.34
3.45, 69.0% (+2.8%)
3.31
กลุ่มลูกค้าผู้ใช้น�้ำดิบ
3.68, 73.6% (-5.6%) 3.71, 74.2% (-2.4%)
3.83
3.70 3.5 2.33
3.63, 72.6% (+1.6%)
3.70, 74.0% (+2.0%)
3.60
ผลการด�ำเนินงานของบริษัทโดยภาพรวม ปี 2554 เพิ่มขึ้นจากปี 2553 (+1.6%) กลุ่มผู้เช่าพื้นที่ กลุ่มชุมชนและกลุ่ม ลูกค้าผู้ใช้น�้ำดิบ ประเมินผลการด�ำเนิน งานของบริษัทเพิ่มขึ้น กลุ่มบริษัทผู้ร่วมค้าและ AVL กลุ่มนัก ลงทุนและกลุ่มพนักงาน ประเมินผลการ ด�ำเนินงานของบริษัทลดลง ความหมาย 1.00-1.50 = น้อย 1.51-2.50 = ค่อนข้างน้อย 2.51-3.50 = ปานกลาง 3.51-4.50 = ค่อนข้างมาก 4.51-5.00 = มาก
ผลส�ำรวจความพึงพอใจต่อการด�ำเนินงาน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ภาพรวมทุกกลุ่มผู้ถือผลประโยชน์ร่วม (Stakeholders) กลุ่มผู้เช่าพื้นที่ กลุ่มพนักงานของบริษัท กลุ่มบริษัทผู้ร่วมค้าและกลุ่ม AVL กลุ่มนักลงทุนและนักวิเคราะห์ ปี 2554 ปี 2553 ปี 2552
กลุ่มชุมชนและหน่วยงานราชการ กลุ่มลูกค้าผู้ใช้น�้ำดิบ
3.71
3.54 3.36 3.91
3.64, 73.4% (+11.2%)
3.11
4.18 3.99
3.81
3.79
385, 77.0% (+2.2%)
3.74
3.58
2.77
3.76, 75.2% (+1.0%)
3.85, 77.0% (-6.6%) 3.83, 76.6% (-3.2%)
3.61, 72.2% (+4.6%)
3.38 3.84
372, 74.4% (-2.4%)
ผลการด�ำเนินงานของบริษัทโดยภาพรวม ปี 2554 เพิ่มขึ้นจากปี 2553 (+1.0%) กลุ่มผู้เช่าพื้นที่ กลุ่มชุมชนและกลุ่ม พนักงานของบริษัท มีความพึงพอใจเพิ่มขึ้น กลุ่มบริษัทผู้ร่วมค้าและ AVL กลุ่ม นักลงทุนและนักวิเคราะห์ และกลุ่มลูกค้า ผู้ใช้น�้ำดิบ มีความพึงพอใจลดลงลดลง ความหมาย 1.00-1.50 = น้อย 1.51-2.50 = ค่อนข้างน้อย 2.51-3.50 = ปานกลาง 3.51-4.50 = ค่อนข้างมาก 4.51-5.00 = มาก
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
49
50
รวม
| รายงานผลการพั รายงานการพัฒนาอย่ ฒนาอย่ างยัา่งงยั ยืน่งยืประจำ น ประจำ �ปี �2554 ปี 2554 122,975 50,806 428,366
236,623 56,297 487,714
255,234 49,594 499,341
241,842 52,194 384,740
475,190
467,947
203,325 19,989 31,271 0
231,071 47,993
143,125 20,074 31,595 0
9,929 51,954
141,387 19,905 33,222 0
0 37,934 52,770 0
42,233 45,224 108,440 228
209,284 37,959 149,525 9,296
294,159
34,482 0
210,220 19,166 30,291 0
329,795
34,650 53,878
191,822 19,210 30,235 0
34,639 53,367
988,134 19,231 221,295 0
93,863 50,474
114,222 18,963 617,449 0
324,181 1,316,666 894,970
34,317 50,515
187,616 19,137 32,595 0
392,768
183,647 46,453
113,137 18,907 30,624 0
6,295,837
2,544,504 295,699 1,369,313 9,524 0 1,513,272 563,525 0
รวมค่าไฟฟ้าทั้งหมด (บาท) 24,120,033 22,577,042 25,630,838 23,745,146 25,148,310 24,349,717 23,220,018 25,556,777 22,487,297 22,257,193 23,428,711 26,341,978 288,863,060
รวมค่าไฟฟ้า (บาท)
พื้นที่ฉะเชิงเทรา สถานีสูบน�้ำดิบฉะเชิงเทรา สถานีสูบน�้ำสระส�ำรอง สถานีสูบน�้ำสวนสน สถานีสูบน�้ำท่าไข่ บ. แหล่งน�้ำสยาม จ�ำกัด สถานีสูบน�้ำส�ำรองส�ำนักบก สถานีสูบน�้ำบางปะกง ลงบางพระ
92,187,353
6,783,410 6,789,877 7,674,454 7,287,233 7,863,459 7,485,332 7,047,608 8,664,054 7,112,364 7,440,330 8,260,171 9,779,061
รวมค่าไฟฟ้า (บาท)
1 2 3 4 5 6 7 8
0 10,762,856 2,221,485 79,203,012
0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 598,025 573,745 1,291,469 1,070,716 1,390,123 1,325,878 1,286,687 973,033 76,780 479,373 680,310 1,016,716 0 0 0 0 0 0 0 142,977 1,030,793 614,474 98,612 334,629 6,185,386 6,216,132 6,382,984 6,216,517 6,473,336 6,159,454 5,760,921 7,548,044 6,004,791 6,346,484 7,481,248 8,427,716
พื้นที่ชลบุรี สถานีสูบน�้ำบางปะกง สถานีสูบน�้ำแพบางพระ สถานีอ่างหนองค้อ สถานีหนองค้อ By-pass
1 2 3 4
44,004,684
4,427,986 4,478,090 4,521,814 3,644,603 3,215,817 3,487,756 3,585,952 4,231,407 2,706,453 2,366,537 3,068,137 4,270,134
1
123,207,697
9,861,120 9,689,152 9,647,209 9,346,874 11,779,451 8,711,244 8,713,021 10,549,384 12,697,850
พื้นที่ปลวกแดง สถานีสูบน�้ำ NL1+BP
2,970,322 29,625,594 90,611,780
0.839 0.812 341,667 172,656 314,302 410,256 302,599 0 119,832 157,778 7,573 2,247,493 2,414,477 2,367,927 2,230,553 2,912,191 2,210,469 2,180,515 2,636,830 3,220,075 7,271,961 7,102,020 6,964,980 6,706,065 8,564,661 6,500,774 6,412,674 7,754,777 9,470,202
1 2 3
ก.พ.
0.813 0.778 0.760 พื้นที่ปลวกแดง/ชลบุรี (รวม) สถานีสูบน�้ำหนองปลาไหล2 253,798 498,224 391,638 สถานีสูบน�้ำหนองปลาไหล1 2,315,687 2,407,241 2,482,136 8,043,887 7,788,757 8,031,023 สถานีสูบน�้ำเพิ่มแรงดัน 10,613,372 10,694,222 10,904,798 รวมค่าไฟฟ้า (บาท)
ม.ค.
เดือน มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
พื้นที่ระยอง 6,552,652 5,813,090 6,739,081 6,183,807 6,668,805 6,751,288 6,489,634 6,650,370 5,750,709 3,762,359 4,117,075 4,620,550 70,099,420 สถานีสูบน�้ำดอกกราย สถานีสูบน�้ำหนองปลาไหล2 5,430,765 4,575,446 5,845,318 5,665,174 6,403,995 5,739,197 5,315,958 5,213,652 6,085,181 6,903,766 6,576,796 6,777,485 70,532,732 17,563 16,230 17,830 17,163 18,165 17,206 17,262 17,934 17,262 17,262 16,724 16,724 207,325 สถานีสูบน�้ำแม่น�้ำระยอง 439,710 429,118 447,602 447,825 490,356 440,573 469,446 449,565 491,147 450,272 494,840 485,257 5,535,709 สถานีสูบน�้ำมาบตาพุด 12,440,690 10,833,884 13,049,831 12,313,969 13,581,320 12,948,264 12,292,298 12,331,521 12,344,299 11,133,660 11,205,434 11,900,016 146,375,185 รวมค่าไฟฟ้า (บาท)
สถานี
1 2 3 4
ล�ำดับ
รายงานค่าไฟฟ้า
เกี่ยวกับรายงานฉบับนี้ Report Boundary รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนฉบับนี้ อีสท์วอเตอร์ ได้จัดท�ำขึ้นเป็นปีแรก เพื่อแสดงผลเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติ และผลของการด�ำเนินการที่มีผลต่อ เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อมประจ�ำปี โดยอ้างอิงตามแนวทาง Global Reporting Initiative Guideline (GRI) - G3.1 ซึ่งขอบเขตของการ รายงานจะครอบคลุมผลการด�ำเนินงานของบริษัททั้งหมดในทุกพื้นที่ ในระหว่าง วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2554 โดยยังไม่ได้ครอบคลุมถึงคู่ค้า
ติดต่อสอบถาม หากมีข้อสงสัยหรือค�ำถามที่เกี่ยวข้องกับการรายงานฉบับนี้ ในส่วนของ การจัดท�ำและเนือ้ หา สามารถติดต่อได้ที่ คุณ อินทราณี พหลพลพยุหเสนา ผู้จัดการแผนกประชาสัมพันธ์ ฝ่ายสื่อสารองค์กร
บริษัทจัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก อาคารอีสท์ วอเตอร์ ชั้น 24 เลขที่ 1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ขัน้ ตอนในการจัดท�ำรายงาน อีสท์ วอเตอร์ ได้มกี ารก�ำหนดเนือ้ หาส�ำคัญ โทรศัพท์ 02- 272-1600 ต่อ 2441 โทรสาร 02-2721486 ต่อ 2441 ด้วยการทบทวนประเด็นจากผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียภายในองค์กร การรวบรวม E-mail: pr@eastwater.com ความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกองค์กร เพื่อท�ำการจัดเก็บ รวบรวมข้อมูล ทบทวนและจัดล�ำดับความส�ำคัญโดยคณะท�ำงานร่วมกับ ผูเ้ ชีย่ วชาญภายนอก เพือ่ ให้รายงานมีความสมบูรณ์และโปร่งใสมากทีส่ ดุ จากการประเมินความสมบูรณ์ของเนื้อหาเทียบกับแนวทางการรายงาน ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนของ GRI แล้วนั้น รายงานฉบับนี้ถือว่าเทียบ เท่าระดับ C
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
51
Appendix Global Reporting Initiative Guideline (GRI)- G 3.1 Item 1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 2.10 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 3.8 3.9
3.10 3.11 3.12 3.13 4.1 4.2 4.3
52
Indicator CEO Statement Key Impacts Name of the organization Primary brands, products and services Operational structure Headquarter location Countries of operation Nature of ownership and legal form Market served Scale of the reporting organization Significant changes during the reporting period regarding size,structure or ownership Awards received in the reporting period Reporting period Date of most recent previous report Reporting cycle Contact for questions Process for defining report content Boundary of the report Limitation on the scope or boundary of the report Basis for reporting on joint ventures,subsidiaries,leased facilities,outsourced operations, and other entities that could affect comparability Data measurement techniques and the bases of calculations,including assumptions and techniques underlying estimations applied to the compilation of the Indicators and other information in the report. Explain any decisions not to apply or to substantially diverge from the GRI Indicator Protocols Explanation of the effect of any restatements of information provided in earliers reports Significant changes from previous reporting periods in the scope, boundary or measurement methods applied in the report GRI content index Policy and current practice practice with regard to seeking external assurance for the report. Governance Structure Whether the chair of the board of directors is also an executive officer Percentage of the board of directors that are independent or non-executive directors
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
Page 4 5-7 8 8 9-11 8 8 8 8 8 N/R 12 50 N/R 50 50 24 50 50 50 50
N/R N/R 51 N/R 11 17 17
Item 4.4 4.5 4.6 4.7
4.8 4.9 4.10 4.11 4.12 4.13 4.14 4.15 4.16 4.17
Indicator Mechanisms for shareholders and employees to provide recommendations or direction to the board of directors Linkage between compensation for members of the highest governance body, senior managers and executives (including departure arrangements) and the organization’s performance (including social and environment alperfomance) Processes in place for the highest governance body to ensure conflicts of interest are avoided Process for determining the qualifications and expertise of the members of the highest governance body for guiding the organization’s strategy on economic, environmental and social topics Internally developed statements of mission or values, codes of conduct and princples relevant to economic, environmental and social performance and the status of their implementation Procedures of the highest governance body or for overseeing the organization’s identification and management of economic,environment and social performance,including relevant risks and opportunities,and adherence or compliance with internationally agreed standards,codes of conduct and principles Processes for evaluating the highest governance body’s own performance,particularly with respect to economic,environmental and social performance Precautionary approach Agreements,principles or external initiatives on economic,environmental and social aspects Memberships in associations and national/international advocacy organization List of stakeholder groups engaged by the organization The basic of identifying and selecting stakeholders with whom to engage Approaches to stakeholder engagement Key topics and concerns that have been raised through stakeholder engagement Management Approach Disclosures C - Not Required B - Management Approach Disclosures for each Indicator Category A - Same as requirement for Level B
DMA EC
Provide a concise disclosure on the Management Approach items outlined below with reference to the following Economic Aspects: • Economic Performance; • Market Presence; and • Indirect Economic Impacts.
EC 1 (Core)
Direct economic value generated and distributed, including revenues, operating costs, employee compensation, donations and other community investments, retained earnings, and payments to capital providers and governments
Page 15 N/A 16 19 10 N/A
20-23 5 5 24 24 24 24
45
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
53
Item EC 2 (Core) EC 3 (Core) EC 4 (Core) EC 5 (ADD) EC 6 (Core) EC 7 (Core) EC 8 (Core) DMA EN EN 1 (Core) EN 2 (Core) EN 3 (Core) EN 4 (Core) EN 5 (ADD) EN 6 (ADD) EN 7 (ADD) EN 8 (Core) EN 9 (ADD) EN 10 (ADD) EN 11 (Core) EN 12 (Core)
54
Indicator
Page
Financial implications and other risks and opportunities for the organization’s activities due to climate change. Coverage of the organization’s defined benefit plan obligations. Significant financial assistance received from government.
N/A
Range of ratios of standard entry level wage compared to local minimum wage at significant locations of operation Policy, practices, and proportion of spending on locally-based suppliers at significant locations of operation. Procedures for local hiring and proportion of senior management hired from the local community at locations of significant operation. Development and impact of infrastructure investments and services provided primarily for public benefit through commercial, inkind, or pro bono engagement. Provide a concise disclosure on the Management Approach items outlined below with reference to the following Environmental Aspects : Materials, Energy, Water, Emission, Effulents and waste, Products and services, Compliance, Transport and Overall. Materials used by weight or volume.
40
Percentage of materials used that are recycled input materials. Direct energy consumption by primary energy source
40 N/A
N/A N/A 10,34
49 N/A 50
Indirect energy consumption by primary source.
N/A
Energy saved due to conservation and efficiency improvements. Initiatives to provide energy-efficient or renewable energy based products and services, and reductions in energy requirements as a result of these initiatives. Initiatives to reduce indirect energy consumption and reductions achieved. Total water withdrawal by source.
N/A
Water sources significantly affected by withdrawal of water.
34
Percentage and total volume of water recycled and reused.
N/A N/A
Location and size of land owned, leased, managed in, or adjacent to, protected areas and areas of high biodiversity value outside protected areas. Description of significant impacts of activities,products, and services on biodiversity in protected areas and areas of high biodiversity value outside protected areas
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
N/A N/A 49
N/A
Item EN 13 (ADD) EN 14 (ADD) EN 15 (ADD) EN 16 (Core) EN 17 (Core) EN 18 (ADD) EN 19 (core) EN 20 (Core) EN 21 (Core) EN 22 (Core) EN 23 (Core) EN 24 (ADD) EN 25 (ADD) EN 26 (Core) EN 27 (Core) EN 28 (Core) EN 29 (ADD) EN 30 (ADD) DMA HR HR 1 (Core)
Indicator
Page
Habitats protected or restored
N/A
Strategies, current actions, and future plans for managing impacts on biodiversity Number of IUCN Red List species and national conservation list species with habitats in areas affected by operations, by level of extinction risk. Total direct and indirect greenhouse gas emissions by weight. Other relevant indirect greenhouse gas emissions by weight
N/A
Initiatives to reduce greenhouse gas emissions and reductions achieved. Emissions of ozone-depleting substances by weight.
N/A
NO, SO, and other significant air emissions by type and weight. Total water discharge by quality and destination
N/A
Total weight of waste by type and disposal method.
N/A
Total number and volume of significant spills.
N/A
Weight of transported, imported, exported, or treated waste deemed hazardous under the terms of the Basel Convention Annex I, II, III, and VIII, and percentage of transported waste shipped internationally. Identity, size, protected status, and biodiversity value of water bodies and related habitats significantly affected by the reporting organization’s discharges of water and runoff. Initiatives to mitigate environmental impacts of products and services, and extent of impact mitigation. Percentage of products sold and their packaging materials that are reclaimed by category. Monetary value of significant fines and total number of non-monetary sanctions for non-compliance with environmental laws and regulations Significant environmental impacts of transporting products and other goods and materials used for the organization’s operations, and transporting members of the workforce Total environmental protection expenditures and investments by type. Provide a concise disclosure on the following Management Approach items with reference to the Human Rights Aspects Concerning Multinational Enterprises and Social Policy, Non-discrimination, Freedom of association and collective bargaining, Child labor, Forced and compulsory labor, Security practices Percentage and total number of significant investment agreements that include human rights clauses or that have undergone human rights screening.
N/A
N/A N/A N/A N/A N/A
N/A N/A N/A N/A N/A N/A 38
N/A
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
55
Item HR 2 (Core) HR 3 (ADD) HR 4 (Core) HR 5 (Core) HR 6 (Core) HR 7 (Core) HR 8 (ADD) HR 9 (ADD) HR 10 (Core) HR 11 (Core) DMA LA
LA 1 (core) LA 2 (Core) LA 3 (ADD) LA 4 (Core) LA 5 (Core) LA 6 (ADD) LA 7 (Core)
56
Indicator Percentage of significant suppliers and contractors that have undergone screening on human rights and actions taken Total hours of employee training on policies and procedures concerning aspects of human rights that are relevant to operations, including the percentage of employees trained. Total number of incidents of discrimination and actions taken. Operations identified in which the right to exercise freedom of association and collective bargaining may be at significant risk, and actions taken to support these rights. Operations identified as having significant risk for incidents of child labor, and measures taken to contribute to the elimination of child labor Operations identified as having significant risk for incidents of forced or compulsory labor, and measures taken to contribute to the elimination of forced or compulsory labor. Percentage of security personnel trained in the organization’s policies or procedures concerning aspects of human rights that are relevant to operations Total number of incidents of violations involving rights of indigenous people and actions taken Percentage and total number of operations that have been subject to human rights reviews and/or impact assessments Number of grievances related to human rights filed, addressed and resolved through formal grievance mechanisms. Provide a concise disclosure on the following Management Approach items with reference to should be the primary reference points. • Employment; • Labor/ Management Relations; • Occupational Health and Safety; • Training and Education; and • Diversity and Equal Opportunity. Total workforce by employment type, employment contract, and region Total number and rate of employee turnover by age group, gender, and region Benefits provided to full-time employees that are not provided to temporary or parttime employees, by significant locations of operation. Percentage of employees covered by collective bargaining agreements Minimum notice period(s) regarding operational changes, including whether it is specified in collective agreements Percentage of total workforce represented in formal joint management–worker health and safety committees that help monitor and advise on occupational health and safety programs. Rates of injury, occupational diseases, lost days, and absenteeism, and number of workrelated fatalities by region.
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
Page 38 38 N/R 38 38 38 N/R N/R N/R N/R
47 48 39-40 N/R N/R N/A N/A
Item LA 8 (Core) LA 9 (ADD) LA 10 (Core) LA 11 (ADD) LA 12 (ADD) LA 13 (Core) LA 14 (Core) LA 15 (Core) PR 1 (Core) PR 2 (ADD) PR 3 (Core) DMA PR
PR 1 (Core) PR 2 (ADD) PR 3 (Core) PR 4 (ADD)
Indicator Education, training, counseling, prevention,and risk-control programs in place to assist workforce members, their families, or community members regarding serious diseases. Health and safety topics covered in formal agreements with trade unions. Average hours of training per year per employee by employee category. Programs for skills management and lifelong learning that support the continued employability of employees and assist them in managing career endings. Percentage of employees receiving regular performance and career development reviews, by gender Composition of governance bodies and breakdown of employees per category according to gender, age group, minority group membership, and other indicators of diversity) Ratio of basic salary and remuneration of women to men by employee category, by significant locations of operation. Return to work and retention rates after parental leave, by gender. Life cycle stages in which health and safety impacts of products and services are assessed for improvement, and percentage of significant products and services categories subject to such procedures Total number of incidents of non-compliance with regulations and voluntary codes concerning health and safety impacts of products and services, by type of outcomes Type of product and service information required by procedures, and percentage of significant products and services subject to such information requirements. Provide a concise disclosure on the following Management Approach items with reference to the Product Responsibility Aspects: • Customer Health and Safety; • Product and Service Labeling; • Marketing Communications; • Customer Privacy; and • Compliance. Life cycle stages in which health and safety impacts of products and services are assessed for improvement, and percentage of significant products and services categories subject to such procedures Total number of incidents of non-compliance with regulations and voluntary codes concerning health and safety impacts of products and services, by type of outcomes Type of product and service information required by procedures, and percentage of significant products and services subject to such information requirements. Total number of incidents of non-compliance with regulations and voluntary codes concerning product and service information and labeling, by type of outcomes
Page 48 N/R 48 17 N/A N/A N/A N/A N/A N/A N/A
N/A N/A 47 N/A
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
|
57
Item PR 5 (ADD) PR 6 (Core) PR 7 (ADD) PR 8 (ADD) PR 9 (Core) DMA SO SO 1 (Core) SO 2 (Core) SO 3 (Core) SO 4 (Core) SO 5 (Core) SO 6 (ADD) SO 7 (ADD) SO 8 (Core)
58
Indicator
Page
Practices related to customer satisfaction, including results of surveys measuring customer satisfaction. Programs for adherence to laws, standards, and voluntary codes related to marketing communications, including advertising, promotion, and sponsorship. Total number of incidents of non-compliance with regulations and voluntary codes concerning marketing communications, including advertising, promotion, and sponsorship, by type of outcomes Total number of substantiated complaints regarding breaches of customer privacy and losses of customer data. Monetary value of significant fines for non-compliance with laws and regulations concerning the provision and use of products and services Provide a concise disclosure on the following Management Approach items with reference to the Society Aspects:Community, Corruption, Public policy, AntiCompetitive behaviour, Compliance Percentage of operations with implemented local community engagement, impact assessments, and development programs. Percentage and total number of business units analyzed for risks related to corruption Percentage of employees trained in organization’s anticorruption policies and procedures Actions taken in response to incidents of corruption.
49-50
Public policy positions and participation in public policy development and lobbying. Total value of financial and in-kind contributions to political parties, politicians, and related institutions by country. Total number of legal actions for anti-competitive behavior, anti-trust, and monopoly practices and their outcomes. Monetary value of significant fines and total number of non-monetary sanctions for non-compliance with laws and regulations.
N/A
| รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำ�ปี 2554
N/A N/A N/A N/A 24,34 17 N/A N/A N/A N/A N/A N/A
บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-26, 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Tel : 02-272-1600 Fax : 02-272-1601 www.eastwater.com