EASTW: Form 56-1 Year 2013

Page 1

แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี 2556 (56-1) สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) EASTW


สารบัญ หน้ า ส่ วนที่ 1 :

การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุ รกิจ 2. ลักษณะการประกอบธุ รกิจ 3. ปัจจัยความเสี่ ยง 4.ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุ รกิจ 5. ข้อพิพาททางกฎหมาย 6. ข้อมูลทัว่ ไปและข้อมูลสาคัญอื่น ส่ วนที่ 2 : การจัดการและการกากับดูแลกิจการ 7. ข้อมูลหลักทรัพย์และผูถ้ ือหุน้ 8. โครงสร้างการจัดการ 9. การกากับดูแลกิจการ 10. ความรับผิดชอบต่อสังคม 11.การควบคุมภายในและการบริ หารจัดการความเสี่ ยง 12. รายการระหว่างกัน ส่ วนที่ 3 : ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 13. ข้อมูลทางการเงินที่สาคัญ 14. การวิเคราะห์และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล เอกสารแนบ เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริ หาร ผู้มีอานาจควบคุมบริษัท และเลขานุการบริษัท เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัท บริษัทย่อย และบริษัททีเ่ กีย่ วข้ อง เอกสารแนบ 3 รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้ างานผู้ตรวจสอบภายใน และหัวหน้ างานกากับดูแลการ ปฏิบัติงานของบริษัท (compliance)

1 5 52 55 67 69 72 75 90 112 114 119 122 133


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ส่ วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1.1 การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาทีส่ าคัญ บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ วันที่ 12 กันยายน 2535 ซึ่ งเห็ นชอบให้ การประปาส่ วนภูมิภาค (กปภ.) จัดตั้งบริ ษทั ขึ้ นเพื่ อเป็ น ผูร้ ั บผิดชอบการพัฒนาและดูแลระบบท่อส่ งน้ าดิ บสายหลักในพื้นที่ ชายฝั่ งทะเลภาคตะวันออก ครอบคลุ ม พื้นที่จงั หวัดชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว จันทบุรี และตราด โดยจดทะเบียนเป็ นบริ ษทั จากัด เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2535 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่ มแรก 10 ล้านบาท โดยมี กปภ. เป็ นผูถ้ ือหุน้ ทั้งหมด ในปี 2539 บริ ษทั แปรสภาพเป็ น บริ ษทั มหาชน และในปี 2540 ได้เสนอขายหุ ้นให้กบั ประชาชน ทัว่ ไป และจดทะเบี ยนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยมี กปภ. เป็ นผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ ในสัดส่ วน ร้อยละ 40.20 ของทุนจดทะเบียนที่เรี ยกชาระแล้วก่อนการเสนอขายหุ น้ สามัญ บริ ษทั มีการเจริ ญเติบโตอย่างต่อเนื่ องตลอดเวลา 21 ปี ที่ผา่ นมา ปั จจุบนั นอกจากธุ รกิ จหลักในด้าน การพัฒนา และบริ หารระบบท่อส่ งน้ าสายหลักในพื้นที่ชายฝั่ งตะวันออกผ่านโครงข่ายระบบท่อส่ งน้ าดิ บ 4 โครงข่าย ครอบคลุมพื้นที่จงั หวัดฉะเชิ งเทรา ชลบุรี และระยอง แล้ว บริ ษทั ยังขยายธุ รกิจที่เกี่ยวเนื่ องด้านน้ า ได้แก่ ธุ รกิจน้ าประปา การบาบัดน้ าเสี ย รวมถึงธุ รกิจด้านพลังงาน และสิ่ งแวดล้อม ผ่านบริ ษทั ในเครื อ ดังนี้

บริษัท

ทุนจดทะเบียน ชาระแล้ ว ณ 31 ธ.ค.56

บจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต้ ีส์

510 ล้านบาท

สัดส่ วน การถือหุ้น

การประกอบธุรกิจ

100%

ดาเนินธุรกิจด้านน้ าประปา บาบัดน้ าเสี ย รวมถึง การสารวจออกแบบ ก่ อสร้ าง และควบคุมงาน ก่อสร้าง รวมทั้งให้คาปรึ กษาเกี่ยวกับระบบผลิต น้ าประปา และระบบบาบัดน้ าเสี ยด้วย

บจ.อีดบั เบิ้ลยู ยูทีลิต้ ีส์

250,000 บาท

100%

ขนส่งน้ าทางท่อ

บจ.อีดบั เบิ้ลยู วอเตอร์บาลานซ์(ชลบุรี)

250,000 บาท

100%

ขนส่งน้ าทางท่อ

บจ.อีดบั เบิ้ลยู สมาร์ทวอเตอร์(ระยอง)

250,000 บาท

100%

ผลิตและจาหน่ายน้ าอุตสาหกรรม

บจ.เสม็ดยูทิลิต้ ีส์

60 ล้านบาท

55%

ผลิตน้ าประปาจากน้ าทะเล

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ผลการดาเนินงาน งวดวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2556 บริ ษทั และบริ ษทั ย่อย มีรายได้รวมทั้งสิ้ น 3,816.14 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจานวน 90.19 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 2.42 โดยมีกาไรสุ ทธิ รวมทั้งสิ้ น 1,315.97 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจานวน 75.80 ล้านบาท หรื อร้อยละ 6.11 เมื่อเปรี ยบเทียบกับปี 2555 บริ ษทั มีรายได้จากการ จาหน่ายน้ าดิบประมาณร้อยละ 70.60 ธุ รกิจประปาร้อยละ 22.97 รายได้ค่าเช่าและบริ การ ร้อยละ 4.97 และ รายได้อื่นอีก เช่นดอกเบี้ยรับและเงินปั นผลร้อยละ 1.47 โดยบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยมีอตั ราส่ วนกาไรขั้นต้นอยูท่ ี่ ร้อยละ 56.87 โดยในปี 2556 ที่ผ่านมาปริ มาณการจาหน่ ายน้ าดิ บลดลงจากปี ก่อนประมาณร้อยละ 2.45 (ไม่รวม ปริ มาณน้ าดิบที่ส่งให้กิจการประปาของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยจานวน 21.19 ล้านลูกบาศก์เมตร อันเนื่องมาจาก ความต้องการใช้น้ าที่ลดลงในช่วงไตรมาส 4 โดยมีสาเหตุหลักมาจากปริ มาณฝนตกค่อนข้างมากทาให้ลูกค้า สามารถใช้น้ าจากแหล่งน้ าของตัวเองได้มากขึ้นกว่าปี ก่อน ประกอบกับความผันผวนของสภาวะเศรษฐกิจ และ สถานการณ์การเมืองในประเทศ ส่ งผลให้ผใู ้ ช้น้ าบางรายต้องลดกาลังการผลิ ต ซึ่ งทาให้การใช้น้ าดิบลดลง อย่างไรก็ตามรายได้จากธุ รกิจน้ าดิบยังคงขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.14 จากการปรับขึ้นอัตราจาหน่ายน้ าดิบตาม โครงสร้างอัตราจาหน่ ายน้ าดิบ ในปี 2556 ส่ วนรายได้จากธุ รกิ จประปาได้ปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.13 จากการ จาหน่ายน้ าประปาเพิ่มขึ้นในพื้นที่บางปะกง ฉะเชิ งเทรา และสัตหี บ (ดังปรากฏตามข้อมูลในหมวดที่ 3 หัวข้อ ที่ 14 เรื่ องการวิเคราะห์ และอธิบายของฝ่ ายจัดการ) สาหรับโครงการลงทุนขนาดใหญ่ที่สาคัญ เพื่อให้บริ ษทั สามารถจ่ายน้ าได้เพียงพอกับปริ มาณการใช้ น้ าที่เพิ่มขึ้นในภาคอุตสาหกรรม ได้แก่ โครงการวางท่อส่ งน้ าดิบหนองปลาไหล-มาบตาพุด เส้นที่ 3 ในพื้นที่ จังหวัดระยอง และโครงการเพิ่มศักยภาพระบบจ่ายน้ าแหลมฉบังในพื้นที่จงั หวัดชลบุรี นอกจากนี้ บริ ษทั มีการ ลงทุนเพื่อลดความเสี่ ยงการหยุดชะงักในการสู บส่ งน้ าโดยลงทุนสร้างแหล่งน้ าสารอง ในโครงการสร้างสระ สารองน้ าดิบมาบข่า 2 ซึ่ งดาเนินการแล้วเสร็ จในปี 2556 และอยู่ระหว่างก่อสร้ างสระเก็บน้ าดิบคลองทับมา จังหวัดระยอง ซึ่ งคาดว่าจะแล้วเสร็ จในปี 2559 นอกจากนั้น ในปี 2556 บริ ษทั ได้ชะลองานก่อสร้างโครงการ ท่อส่ งน้ าดิบประแสร์ – หนองปลาไหล ออกไปจากแผนเดิมที่จะเริ่ มก่อสร้างในช่วงต้นปี 2556 เพื่อศึกษาและ ทบทวนโครงการดังกล่าวเพิ่มเติม และมีแผนจะเริ่ มดาเนินการในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 ต่อไป สาหรับเหตุการณ์ สาคัญในธุ รกิ จหลักของกลุ่มบริ ษทั นั้น บริ ษทั ได้ปรับลดอัตราค่าน้ าดิ บลูกค้ากลุ่ม อุปโภคบริ โภคลดลง 1.10 บาทต่อลูกบาศก์เมตร เพื่อเป็ นการบรรเทาค่าใช้จ่ายให้กบั ประชาชนในภาค ครัวเรื อน จากอัตราเดิมที่ 10.50 บาทต่อลูกบาศก์เมตร เป็ น 9.40 บาทต่อลูกบาศก์เมตร โดยมีผลตั้งแต่วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2556 อย่างไรก็ดี การปรับโครงสร้างอัตราค่าน้ าดิบครั้งนี้ ส่ งผลต่ออัตราค่าน้ าดิบเฉลี่ยปี 2556 ลดลง ร้อยละ 0.38 สาหรับธุ รกิจน้ าประปาบริ ษทั ได้ขายกิจการประปาเกาะสี ชงั ซึ่ งเป็ นระบบผลิตน้ าประปา จากน้ าทะเล มีกาลังการผลิต 250 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ให้แก่เทศบาลตาบลเกาะสี ชงั เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2556 คิดเป็ นมูลค่ารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 2.50 ล้านบาท เนื่ องจากเทศบาลประปาเกาะสี ชงั ขอซื้ อกิจการประปากลับไป ดาเนินการเองตามสิ ทธิในสัญญาสัมปทานการผลิตน้ าประปา

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 2


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ในปี 2556 คณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารบริ ษทั ได้ร่วมกันทบทวนแผนกลยุทธ์ ของกลุ่มบริ ษทั ให้รองรั บการขยายธุ รกิ จในอนาคต และยังมุ่งมัน่ พัฒนาระบบการจัดการให้มีคุณภาพมาตรฐานสากล และ โปร่ งใสภายใต้การกากับดูแลกิ จการที่ดี ตลอดจนควบคุมการดาเนิ นงาน ภายใต้การบริ หารความเสี่ ยง และ หลักธรรมาภิบาลอย่างโปร่ งใส ซื่อสัตย์ พร้อมทบทวนปรับปรุ งวิสัยทัศน์ และพันธกิจใหม่ ดังนี้ วิสัยทัศน์ เป็ นบริ ษทั ชั้นนาในการจัดการน้ าอย่างยัง่ ยืน เพื่อเติบโตไปกับเศรษฐกิจของประเทศ และขยายธุ รกิจสู่ ภูมิภาคอาเซียน พันธกิจ 1. ขยายการลงทุน และพัฒนาธุ รกิจน้ าดิบ และธุ รกิจที่เกี่ยวข้องเพื่อการเติบโตอย่างต่อเนื่อง และยัง่ ยืน 2. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทนั สมัยและเหมาะสม 3. พัฒนาศักยภาพของบุคลากรและปรับปรุ งโครงสร้างการบริ หารของกลุ่มฯ ให้เหมาะสมดียงิ่ ขึ้น 4. บริ หารธุ รกิจอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และโปร่ งใสตามหลักธรรมาภิบาล 5. รับผิดชอบต่อชุมชน สัมคม สิ่ งแวดล้อม และมีความสัมพันธ์ที่ดีกบั ผูม้ ีส่วนได้เสี ย ทั้งนี้ บริ ษทั ทริ สเรทติ้ง จากัด ได้ยืนยันอันดับเครดิตองค์กรและตราสารหนี้ ในปี 2556 ที่ระดับ “A+” แนวโน้ม “คงที่” ซึ่งสะท้อนถึงสถานะการเงิน และผลการดาเนินงานที่แข็งแกร่ งของกลุ่มบริ ษทั อย่างต่อเนื่อง บริ ษทั ยังคงมุ่งมัน่ ทุ่มเทในการให้บริ การและใส่ ใจในสิ่ งแวดล้อมอย่างจริ งจัง โดยปรับปรุ งและขยาย เครื อข่า ยท่ อส่ ง น้ า ให้ส ามารถจ่ า ยน้ า ดิ บ ในพื้ นที่ บ ริ ก ารอย่า งทัว่ ถึ ง และพอเพีย งเพื่ อการเติ บ โตทางธุ รกิ จ รวมถึ งการพัฒนาธุ รกิ จด้านน้ า ด้านพลังงาน และสิ่ งแวดล้อมตลอดจนการมุ่งเน้นเรื่ องความรับผิดชอบต่อ สังคม ชุมชนท้องถิ่นและสิ่ งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ซึ่ งจะมีส่วนสาคัญในการผลักดันให้องค์กรมีความก้าวหน้า อย่างมัน่ คงในระยะยาว สามารถรักษาะระดับการประเมินผลการกากับดูแลกิ จการที่ดี โดยสมาคมส่ งเสริ ม สถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) ในระดับ “ดีเลิศ” ได้ต่อไป 1.2 ความสั มพันธ์ กบั กลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นใหญ่ ธุ รกิจของบริ ษทั เกิดขึ้นจากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2535 ที่เห็นชอบให้ การประปา ส่ วนภูมิภาค จัดตั้งบริ ษทั ขึ้นเพื่อเป็ นผูร้ ับผิดชอบการพัฒนาและดาเนิ นการดูแลระบบท่อส่ งน้ าดิบสายหลักใน พื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่จงั หวัดชลบุรี ระยอง ฉะเชิ งเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว จันทบุรี และตราด โดยมี การประปาส่ วนภูมิภาค (กปภ.) เป็ นผูถ้ ือหุ น้ ทั้งหมด ในปี 2539 บริ ษทั แปรสภาพเป็ น บริ ษทั มหาชนจากัด และในปี 2540 ได้เสนอขายหุ น้ ให้กบั ประชาชน ทัว่ ไป และจดทะเบี ยนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยมี กปภ. เป็ นผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ ในสัดส่ วน ร้อยละ 40.20 ของทุนจดทะเบียนที่เรี ยกชาระแล้วก่อนการเสนอขายหุ น้ สามัญ __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 3


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

นอกจาก กปภ. จะเป็ นผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ของบริ ษทั แล้ว กปภ. ยังเป็ นลูกค้าในการซื้ อน้ าดิบจากบริ ษทั เพื่อนาไปจาหน่ายให้กบั ประชาชนในพื้นที่ ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา โดยในปี 2556 สัดส่ วนในการซื้ อ น้ าดิบของกปภ. จากบริ ษทั เท่ากับ ร้อยละ 24.45 อย่างไรก็ตาม การดาเนิ นธุ รกิ จหลักของบริ ษทั ไม่ได้มีความสัมพันธ์ หรื อเกี่ ยวข้องกับ กปภ. ใน ลักษณะพึ่งพิง หรื อแข่งขันกับกลุ่มธุ รกิจของ กปภ. อย่างมีนยั สาคัญ เช่น เป็ นการให้ หรื อรับความช่วยเหลือ ทางการเงิน ทางเทคนิค หรื อการจัดหาวัตถุดิบ การใช้ตราสิ นค้าร่ วมกัน

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 4


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1 ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการที่สาคัญ กันยายน 2535

มติคณะรัฐมนตรี (12 กันยายน 2535) ให้กรมชลประทานเป็ นผูร้ ับผิดชอบหลักในการ พัฒนาแหล่ ง น้ าดิ บและอ่างเก็บน้ า และให้การประปาส่ วนภูมิภาค (กปภ.) จัดตั้ง บริ ษ ทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด ขึ้ นมารับผิดชอบในการพัฒนาและ ดาเนินการดูแลระบบท่อส่ งน้ าสายหลัก โดยโอนทรัพย์สินและหนี้สินของระบบท่อส่ งน้ าที่ มีอยูเ่ ดิมมาดาเนินการต่อไป ทั้งนี้ นอกจากบริ ษทั จะสามารถประกอบธุ รกิจเชิ งพาณิ ชย์ใน การซื้ อน้ าจากแหล่งน้ าดิบของทางราชการเพื่อขายให้แก่ผใู ้ ช้น้ าในพื้นที่รับผิดชอบแล้ว ยัง สามารถร่ วมทุนกับภาคเอกชนได้ดว้ ย

ตุลาคม 2535

บริ ษทั จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2535 โดยมีทะเบียนเลขที่ 13571/2535 และมี ทุนจดทะเบี ยนเริ่ มต้น 10 ล้านบาท แบ่งออกเป็ นหุ ้นสามัญ 100,000 หุ ้น มูลค่าที่ ตราไว้ หุน้ ละ 100 บาท โดย กปภ. ถือหุ น้ บริ ษทั ในอัตราส่ วนร้อยละ100 ตั้งแต่เริ่ มจัดตั้งบริ ษทั

สิ งหาคม 2539

มติคณะรัฐมนตรี (6 สิ งหาคม 2539) ให้ความเห็ นชอบแนวทางระดมทุนและเพิ่มทุนของ บริ ษทั โดยให้การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ร่ วมถือหุ น้ ในบริ ษทั ด้วย

กันยายน 2539

บริ ษทั เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 490 ล้านบาท ซึ่ งมีกลุ่มผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ ดังนี้ กปภ. ถือหุ ้น จานวน 43,999,870 หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 89.80 ของทุนจดทะเบียนเรี ยกชาระแล้ว และ กนอ. ถือหุน้ จานวน 5,000,000 หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 10.20 ของทุนจดทะเบียนเรี ยกชาระแล้ว

พฤศจิกายน 2539 บริ ษ ทั จดทะเบี ยนแปรสภาพเป็ นบริ ษทั มหาชนจากัด และใช้ชื่ อว่า บริ ษทั จัดการและ พัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ทะเบียนเลขที่ บมจ. 632 กรกฎาคม 2540 บริ ษทั จดทะเบียนเพิ่มทุ นจากการเสนอขายหุ ้น 51.00 ล้านหุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ทาให้บริ ษทั มีทุนจดทะเบียนเรี ยกชาระแล้ว 1,000 ล้านบาท หุ ้นสามัญของบริ ษทั ได้เ ริ่ ม เข้า ท าการซื้ อขายในตลาดหลัก ทรั พ ย์แห่ ง ประเทศไทย โดยใช้ชื่ อบนกระดาน หลักทรัพย์ คือ EASTW มกราคม 2547

บริ ษทั เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริ ษทั เป็ นจานวน 1,050 ล้านบาท แบ่งเป็ นหุ ้นสามัญ 105 ล้านหุ ้น มู ลค่า หุ ้นละ 10 บาท โดยมี ทุนเรี ยกชาระแล้วจานวน 1,000 ล้านบาท เพื่ อออก ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ ้นสามัญของบริ ษทั และเสนอขายให้แก่พนักงาน กรรมการ และที่ปรึ กษาของคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นจานวนรวม 5,000,000 หน่วย

มิถุนายน 2547

บริ ษทั เพิ่มทุนจดทะเบียนของบริ ษทั เป็ นจานวน 1,665 ล้านบาท ประกอบด้วยหุ ้นสามัญ 166.50 ล้านหุ ้น มูล ค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยการออกหุ ้นสามัญใหม่เพิ่มขึ้นจานวน 61.50 ล้านหุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 10 บาท

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 5


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

พฤษภาคม 2548 บริ ษทั ได้เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ น้ ที่ตราไว้หุน้ ละ 10 บาท เป็ นหุ ้นละ 1 บาท ตามมติที่ประชุม วิสามัญผูถ้ ือหุ น้ ครั้งที่ 1/2548 มกราคม 2551

บริ ษทั ลดทุนจดทะเบียนของบริ ษทั เป็ นจานวน 1,663.73 ล้านบาท ประกอบด้วยหุ ้นสามัญ 166.37 ล้า นหุ ้น มู ล ค่ า ที่ ตราไว้หุ้ นละ 1 บาท เนื่ อ งจากใบส าคัญแสดงสิ ทธิ ที่ จะซื้ อหุ ้ น สามัญของบริ ษทั หมดอายุการใช้สิทธิแปลงสภาพ

ณ ธันวาคม 2556 บริ ษทั มีทุนจดทะเบียน 1,663,725,149 บาท โดยมีทุนเรี ยกชาระแล้ว 1,663,725,149 บาท และมี สัดส่ วนผูถ้ ื อหุ ้นหลัก ได้แก่ กปภ. ร้ อยละ 40.20 บมจ.ผลิตไฟฟ้ า ร้อยละ 18.72 NORBAX INC.,13 ร้อยละ 8.21 กนอ. ร้อยละ 4.57 ส่ วนที่เหลือร้อยละ 28.30 เป็ นนักลงทุนทัว่ ไป 2.2 ภาพรวมการประกอบธุรกิจ ธุ รกิ จหลัก ของบริ ษ ทั คื อ การพัฒนาและบริ หารระบบท่อส่ ง น้ า ดิ บ สายหลัก ในพื้ นที่ ชายฝั่ งทะเล ตะวันออกให้สามารถตอบสนองความต้องการใช้น้ าในพื้นที่ได้อย่างเพียงพอ โดยปั จจุบนั บริ ษทั มีโครงข่าย ท่อส่ งน้ าดิ บให้บริ การใน 3 จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิ งเทรา ชลบุรี และระยอง นอกจากธุ รกิ จหลักดังกล่าวข้างต้น แล้ว บริ ษทั ยังมีวตั ถุประสงค์อื่นๆ ดังนี้ 1) ให้บริ การเป็ นที่ปรึ กษาและให้คาแนะนาเกี่ ยวกับระบบผลิ ตน้ าสะอาด ระบบท่อส่ งและจ่ายน้ า การซ่ อม บารุ งรักษาท่อส่ งน้ าและอุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจนซื้ อขายอุปกรณ์และวัสดุที่เกี่ยวข้องกับท่อส่ งน้ าทุกชนิด 2) ขยายการดาเนินการหรื อธุ รกิจการพัฒนาและบริ หารทรัพยากรน้ าหรื อธุ รกิจที่เกี่ยวเนื่องในพื้นที่อื่น นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้ขยายธุ รกิจเกี่ยวข้องไปสู่ ธุรกิจน้ าประปาและธุ รกิจบาบัดน้ าเสี ย ดังแผนภาพที่ 2.2 บจ. ประปาฉะเชิงเทร(100%) บจ.ประปาบางปะกง(100%) บจ.ประปานครสวรรค์(100%) บจ.เสม็ดยูทิลติ ี้ส์( 5%)k บจ.ยูนเิ วอร์ แซล ยูทีลติ ี้ส์

ธุรกิจน้าดิบ บมจ.จัดการและ พัฒนาทรัพยากรน้า ภาคตะวันออก

ธุรกิจนา้ ประปา&

100% *

บาบัดนา้ เสี ย

บจ.เอ็กคอมธารา j 15.88 % *

ธุรกิจขนส่ งนา้

บจ. อีดบั เบิ้ลยู ยูทีลติ สี้ ์ 100%)

ผ่านท่ อ

บจ. อีดบั เบิ้ลยู วอเตอร์ บาลานซ์ ชลบุรี (100%)

ธุรกิจนา้ อุตสาหกรรม

การประปาสั ตหีบ ตหี บ การประปาสั การประปาเกาะล้ าน าน การประปาเกาะล้ การประปาเกาะสี การประปาบ่ชอัง วิน การประปาบ่ อวิน การประปาเกาะสมุ ย การประปาเกาะสมุ ย การประปาระยอง การประปาระยอง

บจ.อีดบั เบิ้ลยู สมาร์ ทวอเตอร์ ระยอง 100%)

แผนภาพที่ 2.2 โครงสร้างการลงทุนของบริ ษทั

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 6


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

หมายเหตุ * ถือหุ้นเป็ นสัดส่วน % ของทุนจดทะเบียนบริ ษทั j บจ.เอ็กคอมธารา ถือหุ ้นโดย บจ. เอ็กโก้ เอ็นจิเนี ยริ่ ง แอนด์ เซอร์ วิส 74.19%, บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 15.88% และ รายย่อยอื่น ๆ 9.93% k บจ.เสม็ดยูทิลิต้ ีส์ ถือหุ ้นโดยบริ ษทั ร้อยละ 55 และอบจ.ระยอง ถือหุ้นร้อยละ 45 ของจานวนหุ ้นทั้งหมด

2.3 การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการทีส่ าคัญทีเ่ กีย่ วกับการประกอบธุรกิจและการบริหารงาน ในช่วงระยะ 5 ปี ที่ผา่ นมา (ปี 2552-2556) บริ ษทั มีพฒั นาการที่สาคัญ ในด้าน ต่างๆ ดังนี้ 2.3.1 ด้ านธุรกิจนา้ ดิบ โครงการในปัจจุบัน พืน้ ทีร่ ะยอง มกราคม 2552 ปรับปรุ งระบบท่อส่ งน้ าโดยการเพิ่มการประสานท่อบริ เวณสถานี สูบน้ ามาบตาพุด เพื่อเพิ่ม ศักยภาพระบบท่อส่ งน้ ามาบตาพุด-สั ตหี บให้ส ามารถรองรั บการใช้น้ าใน อนาคต และเปลี่ ยนเครื่ องสู บน้ าที่สถานี สูบน้ าดอกกรายสามารถเพิ่มปริ มาณการสู บ น้ าจากอ่างเก็บน้ าดอกกราย จาก 82.8 ล้าน ลูกบาศก์เมตร เป็ น 96.2 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยใช้วงเงินลงทุนรวม 49 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนกันยายน 2552 ตุลาคม 2552 เริ่ ม ดาเนิ นการโครงการก่ อสร้ า งวางท่ อส่ ง น้ า หนองปลาไหล-มาบตาพุ ด เส้ นที่ 3

มกราคม 2553

มิถุนายน 2553

ระบบท่อส่ งน้ านี้ มีความสามารถในการจ่ายน้ าปี ละประมาณ 105 ล้าน ลูกบาศก์เมตร เพื่อรองรับความต้องการใช้น้ าที่เพิ่มขึ้นในอีก 10 ปี ข้างหน้าของพื้นที่มาบตาพุด ทา ให้มีน้ าเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ า ตลอดจนสามารถจ่ายน้ าให้แก่ผใู ้ ช้น้ ารายใหม่ ตามแนววางท่อในพื้นที่ได้อย่างเต็มที่ แล้วเสร็ จเดือนเมษายน 2556 ก่อสร้างสถานี ไฟฟ้ าและระบบสายส่ ง ระดับแรงดัน 115 กิโลโวลต์ บริ เวณสถานี สูบ น้ าเพิ่มแรงดัน (Booster Pump) เพื่อเพิ่มเสถี ยรภาพในการจ่ายไฟฟ้ าให้กบั สถานี สูบ น้ า ลดความเสี่ ยงในการเกิ ดปั ญหาไฟฟ้ าดับ โดยระบบไฟฟ้ าเดิ ม ระดับแรงดัน 22 กิ โลโวลต์ สามารถใช้เป็ นระบบสารองได้ และเพื่อลดต้นทุนค่าพลังงานไฟฟ้ าใน การสู บน้ า โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 28 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนธันวาคม 2553 เริ่ มดาเนินการโครงการก่อสร้างสระสารองน้ าดิบมาบข่า 2 เพื่อเพิ่มปริ มาณน้ าสารอง ฉุ กเฉิ นในพื้นที่มาบตาพุดอีกไม่นอ้ ยกว่า 220,000 ลูกบาศก์เมตร เมื่อรวมกับปริ มาณ น้ าสารองปั จจุ บนั เป็ นปริ มาณน้ าสารองทั้งสิ้ น ไม่น้อยกว่า 336,000 ลู กบาศก์เมตร เพื่อการสารองการจ่ายน้ ากรณี เกิ ดเหตุฉุกเฉิ นในพื้นที่มาบตาพุดทั้งระบบได้ไม่น้อย กว่า 20 ชัว่ โมง โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 155 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนมีนาคม 2556

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 7


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

พฤศจิกายน 2553

ปรั บ ปรุ ง สถานี สู บ น้ า มาบตาพุ ด โดยการติ ดตั้ง เครื่ อ งสู บ น้ า เพิ่ ม อี ก จ านวน 2 ชุ ด เพื่อรองรับการใช้น้ าที่เพิ่มสู งขึ้นของพื้นที่สัตหี บและบ้านฉาง ในระยะ 10 ปี ข้างหน้า โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 8 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนมีนาคม 2554

เมษายน 2554

- ปรับปรุ งสถานี สูบน้ าดอกกราย โดยการเปลี่ ยนเครื่ องสู บน้ าให้มีอตั ราการสู บที่ มากขึ้ น จานวน 2 เครื่ อง พร้ อมงานก่ อสร้ างวางท่อขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 1,200 มิลลิ เมตร ยาว 1.5 กิ โลเมตร เพิ่มเติ ม เพื่อรองรั บการสู บน้ าจากปริ มาณน้ าที่ ได้รับ จัดสรรของกรมชลประทานได้อย่างเพียงพอ โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 192 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนสิ งหาคม 2555 - ก่อสร้ างสถานี จ่ายไฟฟ้ าและระบบสายส่ ง ระดับแรงดัน 115 กิ โลโวลต์ บริ เวณ สถานี สูบน้ าดอกกราย เพื่อเพิ่มเสถี ยรภาพในการจ่ายไฟฟ้ าให้กบั สถานี สูบน้ า ลด ความเสี่ ยงในการเกิ ดปั ญหาไฟฟ้ าดับ และลดการใช้พ ลังงาน โดยใช้เงิ นลงทุ น ประมาณ 31.20 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนมกราคม 2555

สิ งหาคม 2554

อนุ มตั ิโครงการพัฒนาสระเก็บน้ าดิ บคลองทับมา เพื่อเพิ่มแหล่งน้ าต้นทุนของบริ ษทั รองรั บ ความต้อ งการใช้ น้ า ในอนาคตของพื้ น ที่ ร ะยอง โดยสามารถน าน้ า มาใช้ ประโยชน์ได้ไม่นอ้ ยกว่าปี ละ 32.5 ล้าน ลบ.ม./ปี จะเริ่ มดาเนิ นการก่อสร้างในปี 2555 โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 1,520 ล้านบาท

มกราคม 2555

เริ่ มดาเนินการโครงการพัฒนาสระเก็บน้ าดิบคลองทับมา (ส่ วนที่ 1) เพื่อเพิ่มแหล่งน้ า ต้นทุนของบริ ษทั รองรับความต้องการใช้น้ าในอนาคตของพื้นที่ระยอง โดยสามารถ นาน้ ามาใช้ประโยชน์ได้ไม่นอ้ ยกว่าปี ละ 32.5 ล้าน ลบ.ม./ปี ใช้เงินลงทุนประมาณ 1,520 ล้านบาท ต่อจากนั้นจะเริ่ มดาเนิ นการก่อสร้ างโครงการพัฒนาสระเก็บน้ าดิ บ คลองทับมา (ส่ วนขยาย) โดยสามารถนาน้ ามาใช้ประโยชน์ได้รวมแล้วไม่น้อยกว่า ปี ละ 55 ล้าน ลบ.ม./ปี ใช้เงินลงทุนเพิ่มอีกประมาณ 1,208 ล้านบาท คาดว่าจะแล้ว เสร็ จปี 2559

กรกฎาคม 2556

เริ่ มดาเนิ นการโครงการก่ อสร้ างวางท่อส่ งน้ าดิ บอ่างเก็บน้ าประแสร์ – อ่างเก็บน้ า หนองปลาไหล เพื่อเพิ่มแหล่ งน้ าต้นทุ นของบริ ษทั จากอ่างเก็บน้ าประแสร์ รองรั บ ความต้องการใช้น้ าในอนาคตของพื้นที่ระยอง และปลวกแดง-บ่อวิน โดยสามารถส่ ง น้ าได้ปีละ 70 ล้าน ลบ.ม. ใช้เงินลงทุนประมาณ 2,838 ล้านบาท คาดว่าจะแล้วเสร็ จ เดือนตุลาคม 2559 โดยในเดือนกรกฎาคม 2556 ได้พิจารณาจัดซื้ ออุปกรณ์เครื่ องสู บ น้ าและท่อเหล็ก จากกิจการร่ วมค้าบ้านค่าย-ซิสโก ในวงเงินไม่เกิน 839.05 ล้านบาท

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 8


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

พืน้ ทีป่ ลวกแดง-บ่ อวิน มกราคม 2553 ก่ อ สร้ า งปรั บ ปรุ ง ท่ อ ส่ ง น้ า By-Pass เส้ น ที่ 2 ขนาดเส้ น ผ่ า นศู น ย์ก ลาง 800 มิลลิเมตร เพื่อเพิ่มเสถียรภาพในการส่ งน้ าจากอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหลไปยังพื้นที่ ชลบุรี โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 20 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนกรกฎาคม 2554 พืน้ ทีช่ ลบุรี ตุลาคม 2551

กันยายน 2553

พฤศจิกายน 2554

เมษายน 2555

ธันวาคม 2555

ก่อสร้างแพสู บน้ าดิ บอ่างเก็บน้ าบางพระ เพื่อรองรับการสู บน้ าจากอ่างเก็บน้ าบางพระ ส่ งจ่ายให้แก่ผใู ้ ช้น้ าในพื้นที่หนองค้อ-แหลมฉบัง โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 57 ล้าน บาท แล้วเสร็ จเดือนเมษายน 2552 เริ่ มดาเนินการโครงการเพิ่มศักยภาพท่อส่ งน้ าหนองค้อ-แหลมฉบัง เพื่อให้ระบบท่อส่ ง น้ าหนองค้อ-แหลมฉบังมี ศ กั ยภาพเพิ่มขึ้ น สามารถรองรั บความต้องการใช้น้ าใน อนาคต และเพื่อรองรับการส่ งน้ าให้โรงกรองน้ าบางละมุง (ใหม่) ประกอบด้วยการ ก่อสร้ างท่อแยกจ่ายน้ าให้โรงกรองน้ าบางละมุง (ใหม่) และการก่อสร้ างสถานี สูบน้ า เพิ่มแรงดัน( Booster Pump) ที่อ่างเก็บน้ าหนองค้อ โดยใช้วงเงินลงทุนรวมประมาณ 107 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนมีนาคม 2554 เริ่ ม ด าเนิ น การโครงการเพิ่ ม ศัก ยภาพระบบจ่ า ยน้ า แหลมฉบัง (บางพระ) เพื่ อ เพิ่ ม ความสามารถของระบบสู บ จ่า ยน้ าพื้ นที่ ชลบุ รี สามารถส่ ง น้ า ให้แก่ ผูใ้ ช้น้ าได้อย่า ง เพียงพอ ลดการพึ่งพาน้ าจากพื้นที่ระยอง และเพิ่มเสถียรภาพในการสู บจ่ายน้ าให้มนั่ คง มากขึ้น โดยใช้วงเงิ นลงทุนรวมประมาณ 850 ล้านบาท คาดว่าจะแล้วเสร็ จมิถุนายน 2557 เริ่ มดาเนิ นการโครงการก่อสร้ าง Regulation Well (ท่อส่ งน้ าบางปะกง – บางพระ – ชลบุรี ) เพื่ อเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพในการบริ หารต้นทุ นค่า กระแสไฟฟ้ าสู บ ส่ ง ให้พ้ื นที่ ชลบุรีมีแหล่งน้ าสารองฉุ กเฉิ นเพิ่มขึ้น (สระพักน้ า และถังยกระดับน้ า ( Head Tank)) และเพิ่มเสถียรภาพของแรงดันน้ าในระบบสู บจ่ายให้มีความสม่าเสมอ และมัน่ คงยิ่งขึ้น โดยใช้วงเงินลงทุนรวมประมาณ 71.2 ล้านบาท เริ่ มดาเนิ นการโครงการปรับปรุ งเปลี่ ยนท่อเหล็กแทน ท่อ CC-GRP ขนาด 800 มม. เพื่อให้การส่ งน้ าในพื้นที่ชลบุรีมีเสถียรภาพ ไม่เกิดการหยุดชะงัก ลดความเสี ยหายจาก ปริ มาณน้ าสู ญเสี ย โดยใช้วงเงิ นลงทุ นรวมประมาณ 36 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดื อน กันยายน 2556

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 9


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

พืน้ ทีฉ่ ะเชิงเทรา มีนาคม 2551

กันยายน 2551

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ก่อสร้างท่อ By-Pass บริ เวณถังยกระดับน้ า (Head Tank) ศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา แล้วเสร็ จ ซึ่ งจะสามารถเพิ่มศักยภาพในการสู บผันน้ าจากแม่น้ าบางปะกงไปยังพื้นที่ ชลบุรีในช่วงฤดูฝนผ่านระบบท่อส่ งน้ าดิบฉะเชิ งเทราได้เพิ่มขึ้น และเพิ่มแรงดันน้ า ให้แก่ ผูใ้ ช้น้ า ในพื้นที่ ฉ ะเชิ ง เทราได้เพิ่ มขึ้ นประมาณ 1-2 บาร์ แล้วเสร็ จเดื อน กันยายน 2551 - ก่อสร้างระบบสู บน้ าดิบ สระสารองน้ าดิบสานักบกแล้วเสร็ จ โดยติดตั้งเครื่ องสู บ น้ าจานวน 2 ชุด ความสามารถในการสู บประมาณ 50,000 ลูกบาศก์เมตร/วัน เพื่อใช้ ในการสู บผันน้ าจากสระสารองน้ าดิบสานักบก มายังพื้นที่ฉะเชิ งเทราในช่วงฤดูแล้ง วงเงินลงทุนรวมประมาณ 55 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนมีนาคม 2552 - ก่อสร้ างสถานี สูบน้ าแรงต่าบริ เวณสถานี สูบน้ าบางปะกง เพื่อรองรับการสู บน้ า จากแม่น้ าบางปะกงซึ่ งจะช่ วยลดค่าพลังงานในการสู บผันน้ าไปพื้นที่ชลบุรีในช่ วง ฤดูฝน วงเงินลงทุนรวมประมาณ 33 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนสิ งหาคม 2552

ระบบท่อส่ งนา้ ประแสร์ -คลองใหญ่ มิถุนายน 2552 มติ คณ ะ รั ฐม น ตรี ( 9 มิ ถุ นา ย น 2552) ให้ ก ร ะ ท ร วง เก ษต ร แล ะ ส หก ร ณ์ (กรมชลประทาน) ร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานราชการอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้อ งตรวจสอบใน รายละเอียดของโครงการนี้อีกครั้งหนึ่ง ก่อนการอนุ มตั ิงบประมาณเพื่อให้การชาระค่า ก่อสร้างโครงการฯ ให้แก่ บริ ษทั กรกฎาคม 2552 มติ ค ณะรั ฐ มนตรี (14 กรกฎาคม 2552) ให้ ก ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กรมชลประทาน)

ธันวาคม 2552

ดาเนิ นการจัดซื้ อทรัพย์สินที่เกิ ดจากโครงการฯ ในวงเงินไม่เกิ น 1,677,665,681 บาท โดยให้ดาเนิ นการให้ถูกต้องตามขั้นตอนของระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยการ พัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มติคณะรัฐมนตรี (1 ธันวาคม 2552) ปรากฏดังนี้ 1. รับทราบผลการดาเนิ นการจัดซื้ อทรัพย์สินที่เกิ ดจากการก่ อสร้ างโครงการฯ จาก บริ ษทั ในราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่มเป็ นจานวนเงิน 1,677,000,000 บาท (เป็ นราคาสุ ทธิ ภายหลังการเจรจาต่อรองระหว่างกรมชลประทานกับบริ ษทั ) 2. ยกเลิ กในหลักการในรายละเอียดของโครงการดังกล่าวตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่ อ วันที่ 2 สิ งหาคม 2548 ที่ กาหนดว่า “ก่ อสร้ างในวงเงิ น 1,680,000,000 บาท โดยเห็ น ควรอนุมตั ิงบดาเนินการวงเงิน 1,008,000,000 บาท ในปี งบประมาณ พ.ศ.2550 ส่ วนที่ เหลือ 672,000,000 บาท ให้ผอ่ นชาระคืน East Water โดยหักจากค่าน้ า”

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 10


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

มกราคม 2553

เมษายน 2553

ระบบควบคุม มกราคม 2554

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

3. อนุ มตั ิงบประมาณจากเงิ นงบประมาณรายจ่าย งบกลาง รายการเงินสารองจ่ายเพื่อ กรณี ฉุกเฉิ นหรื อจาเป็ นเพื่อเป็ นค่าใช้จ่ายในการจัดซื้ อทรัพย์สินที่เกิดจากการก่อสร้าง โครงการฯ เป็ นจานวนเงิน 1,677,000,000 บาท บริ ษทั ได้ลงนามใน“สัญญาซื้ อขายทรัพย์สินที่เกิ ดจากการก่ อสร้ างโครงการวางท่อ เชื่ อมจากอ่ า งเก็ บ น้ า ประแสร์ ไ ปอ่ า งเก็ บ น้ า คลองใหญ่ จัง หวัด ระยอง” กับ กรม ชลประทาน ในวัน ที่ 15 มกราคม 2553 ในวงเงิ น 1,677,000,000 บาท (รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม) โดยมีกาหนดส่ งมอบทรัพย์สินให้กรมชลประทานภายใน 90 วัน นับ ถัดจากวันลงนามในสัญญา บริ ษทั ส่ งมอบทรัพย์สินที่เกิ ดจากการก่ อสร้ างโครงการวางท่อเชื่ อมจากอ่างเก็บน้ า ประแสร์ ไปอ่างเก็บน้ าคลองใหญ่ จังหวัดระยอง ให้กรมชลประทาน และบริ ษทั ได้รับ ชาระเงิน 1,677,000,000 บาท จากกรมชลประทานแล้ว

ปรับปรุ งระบบควบคุมแบบรวมศูนย์ (Control Center) และระบบสื่ อสาร SCADA ของบริ ษ ทั ที่ ครอบคลุ ม 3 จัง หวัด คื อ ฉะเชิ ง เทรา ชลบุ รี และ ระยอง เพื่ อเพิ่ ม ประสิ ทธิ ภาพการควบคุมระบบสู บจ่ายของบริ ษทั ตลอดจนช่วยลดค่าใช้จ่ายทั้งด้าน บุคลากร พลังงาน และการสู ญเสี ยน้ าให้นอ้ ยลงได้ เนื่ องจากมีระบบการวัดปริ มาณ น้ า การตรวจสอบและควบคุ ม การจ่ า ยน้ า ที่ แ ม่ น ย ามากขึ้ น โดยใช้ เ งิ น ลงทุ น ประมาณ 41.70 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนมีนาคม 2556

2.3.2 ด้ านการบริหารงาน มีนาคม 2551 บริ ษทั ขายหุ ้นสามัญที่ถือครองในบริ ษทั อีสเทิร์น โฮบาสไพพ์ จากัด (EHP) ทั้ง จานวน (คิดเป็ นร้อยละ 50 ของทุนจดทะเบียนชาระแล้วของ EHP) มิถุนายน 2551 บริ ษ ทั ได้รับคะแนนระดับ “ดี มาก” ในผลการประเมิ นคุ ณภาพการจัดประชุ ม ผูถ้ ื อหุ ้นสามัญประจาปี จากสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรั พย์และตลาด หลักทรัพย์ สมาคมส่ งเสริ มผูล้ งทุนไทย และสมาคมบริ ษทั จดทะเบียน ตามหนังสื อ เลขที่ กลต.ก. 1028/2551 เรื่ อง แจ้งผลการประเมินคุ ณภาพ การจัด ประชุมผูถ้ ือหุน้ สามัญ ประจาปี 2550 ของบริ ษทั ที่ไม่ได้ปิดรอบบัญชี ในเดือน ธันวาคม 2550 และขอความร่ วมมือในการเปิ ดเผยผลการประเมิน พฤศจิกายน 2551 บริ ษทั ได้รับรางวัลรายงานบรรษัทภิบาลดี เด่นในระดับ “ดีมาก” ในการประกาศ รางวัล SET Awards 2008 เมื่ อวัน ที่ 21 พฤศจิ ก ายน 2551 ซึ่ งจัดโดยตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยร่ วมกับวารสารการเงินการธนาคาร __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 11


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

พฤษภาคม 2552

ลงนามสัญญากูเ้ งินระยะยาวจากธนาคารออมสิ น วงเงิน 1,700 ล้านบาท ระยะเวลา เงินกู้ 10 ปี สาหรับการลงทุนในโครงการวางท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล-มาบตาพุด เส้นที่ 3

มิถุนายน 2552

บริ ษทั ได้รับคะแนนระดับ “ดีมาก” ในผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผูถ้ ือ หุ ้ น สามัญ ประจ าปี จากส านัก งานคณะกรรมการ ก ากับ หลัก ทรั พ ย์แ ละตลาด หลักทรัพย์ สมาคมส่ งเสริ มผูล้ งทุนไทย และสมาคมบริ ษทั จดทะเบียน ตามหนังสื อ เลขที่ กลต.ก. 1028/2551 เรื่ อง แจ้งผลการประเมินคุณภาพ การจัด ประชุมผูถ้ ือหุ ้น สามัญ ประจาปี 2551ของบริ ษทั ที่ไม่ได้ปิดรอบบัญชี ในเดือน ธันวาคม 2550 และ ขอความร่ วมมือในการเปิ ดเผย ผลการประเมิน

พฤศจิกายน 2552

บริ ษ ัท ได้รับ “รางวัล ประกาศเกี ย รติ คุ ณคณะกรรมการแห่ ง ปี ดี เด่ น 2551/2552 (Board of the Year Awards 2008/2009) เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2552 ซึ่ งจัดโดย สมาคมส่ ง เสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัท ไทยร่ วมกับ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย สภาหอการค้าแห่ งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย สมาคมธนาคารไทย สมาคมบริ ษทั จดทะเบียนและสภาธุ รกิจตลาดทุนไทย

กุมภาพันธ์ 2553

บริ ษทั ได้รับคะแนนระดับ “ดีมาก” ในผลการประเมินการกากับดูแลกิจการบริ ษทั จดทะเบียน ปี 2552 จากสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย

พฤษภาคม 2553

บริ ษทั ส่ งเสริ มความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) โดยให้ความสาคัญในการพัฒนา คุ ณภาพชี วิ ตของชุ ม ชนที่ ดีและยัง่ ยืน และการปลู ก จิ ตส านึ ก ให้แก่ พ นัก งานใน องค์กรเรื่ องความรับผิดชอบต่อสังคม จึงจัดกิจกรรม “อาสาสร้ างสรรค์...ร่ วมฝั น กับชุ มชน” เพื่อให้พนักงานเรี ยนรู ้วิถีความเป็ นอยูข่ องชุ มชน สร้างความเข้าใจ ที่ดี ต่อกันและตระหนัก ถึ งความรั บ ผิดชอบ จนก่ อเกิ ดเป็ นวัฒนธรรมอันดี ง ามของ องค์กรในที่สุด โดยมีระยะเวลาการดาเนินโครงการตั้งแต่เดือนพฤษภาคม – เดือน พฤศจิกายน 2553

สิ งหาคม 2553

บริ ษทั ได้รับคะแนนระดับ “ดี เยี่ยม” ในผลการประเมินคุ ณภาพการจัดประชุ ม สามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2553 จาก สมาคมส่ งเสริ มผูล้ งทุนไทย

กันยายน 2553

บริ ษทั สนับสนุ นโครงการฝนหลวง ในพื้นที่ภาคตะวันออก ให้แก่สานักฝนหลวง และการบินเกษตร สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เนื่องจากโครงการ ดังกล่าวเป็ นการส่ งเสริ มความรับผิดชอบทางสังคม และเป็ นประโยชน์ต่อผูใ้ ช้น้ า และประชาชนทัว่ ไปด้วย

สิ งหาคม 2554

บริ ษทั ได้รับคะแนนระดับ “ดีเยี่ยม” ในผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุ ม สามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2553 จากสมาคมส่ งเสริ มผูล้ งทุนไทย

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 12


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ธันวาคม 2554

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

บริ ษทั ได้รับคะแนนระดับ “ดีเลิศ” ในผลการประเมินการกากับดูแลกิจการบริ ษทั จดทะเบียนประจาปี 2554 จากสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD)

สิ งหาคม 2555

บริ ษทั ได้รับคะแนนระดับ “ดีเยี่ยม” ในผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุ ม สามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี 2555 จากสมาคมส่ งเสริ มผูล้ งทุนไทยจดทะเบียนประจาปี 2555

พฤศจิกายน 2555

บริ ษทั ได้รับคะแนนระดับ “ดีเลิศ” ในผลการประเมินการกากับดูแลกิจการบริ ษทั จดทะเบียนประจาปี 2555 จากสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD)

กรกฎาคม 2556

บริ ษทั ได้รับคะแนนระดับ “ดีเยี่ยม” ในผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุ ม สามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี 2556 จากสมาคมส่ งเสริ มผูล้ งทุนไทยจดทะเบียนประจาปี 2556

สิ งหาคม 2556

บริ ษทั ได้รับรางวัล CSR-DIW in Supply Chain Award เพื่อส่ งเสริ มสถาน ประกอบการรวมพลังสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม

พฤศจิกายน 2556

บริ ษทั ได้รับรางวัล CSRI Recognition Award 2013ประจาปี 2556 จากสถาบัน ธุ รกิจเพื่อสังคม (CSRI)

2.3.3 ด้ านธุรกิจนา้ ประปา และ บาบัดนา้ เสี ย 1. บริษัท ยูนิเวอร์ แซล ยูทลี ติ สี้ ์ จากัด บริ ษทั ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2541 โดยมีทุน จดทะเบียนเริ่ มต้น 50 ล้านบาท และบริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 โดยวัตถุประสงค์ในการดาเนินธุ รกิจหลัก ได้แก่ 1) การผลิตและจาหน่ายน้ าสะอาด 2) การผลิตและจาหน่ายระบบรวบรวมและบาบัดน้ าเสี ย พัฒนาการทีส่ าคัญในช่ วงทีผ่ ่ านมา มีนาคม 2549 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ลงนามสัญญากับการประปาส่ วนภูมิภาค ในสัญญาให้ เอกชนผลิ ตน้ าประปาเพื่ อขายให้แก่ ก ารประปาส่ วนภู มิภาคที่ ส านักงานประปา ระยอง โดยมี ก าลัง การผลิ ต 31.54 ล้านลบ.ม./ปี เป็ นระยะเวลา 25 ปี มู ล ค่ า โครงการลงทุนรวมประมาณ 600 ล้านบาท

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 13


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

เมษายน 2549

- บริ ษทั ประปาบางปะกง จากัด ซึ่ งเป็ นประปาในเครื อของบริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ จากัดได้ปรับปรุ งระบบสู บจ่ายน้ าและขยายกาลังการผลิ ต โดยเพิ่มกาลังการผลิ ต จาก 8.76 ล้านลบ.บ./ปี เป็ น 15.77 ล้านลบ.ม./ปี มีมูลค่าการลงทุนรวม 21.00 ล้าน บาท - ลงนามสัญญาบริ หารโรงบาบัดน้ าเสี ยเมืองพัทยา เป็ นระยะเวลา 3 ปี

มกราคม 2550

บริ ษ ัท ยูนิ เ วอร์ แ ซลฯ ได้ล งนามสั ญ ญากับ การประปาส่ ว นภู มิ ภ าค เมื่ อ วัน ที่ 16 มกราคม 2550 เป็ นรู ป แบบสั ญญาให้เอกชนผลิ ตน้ า ประปา และบ ารุ ง รั ก ษาระบบ ประปา ให้แก่ ก ารประปาส่ วนภู มิ ภาคที่ ส ถานี ผ ลิ ตน้ า ห้วยเสนง ส านัก งานประปา สุ รินทร์ โดยมีขนาดกาลังการผลิต 38,400 ลบ.ม./วัน ระยะเวลาดาเนินการ 2 ปี

พฤษภาคม 2550

บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ลงนามสัญญากับบริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาค ตะวันออก จากัด (มหาชน) โดยให้บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ เป็ นผูศ้ ึกษาปรับปรุ งระบบท่อ ส่ งน้ าสายหลักในพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก โดยมีมูลค่าโครงการ 1.80 ล้านบาท

มิถุนายน 2550

- บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ขยายกาลังการผลิตน้ าประปาสาหรับประปานครสวรรค์ เพิ่ม อีก 1.25 เท่า ทาให้มีกาลังการผลิตรวม เป็ น 7.00 ล้านลบ.ม./ปี โดยมีมูลค่าการลงทุน รวม 46.50 ล้านบาท

สิ งหาคม 2550

บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ เป็ นผูช้ นะการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิ กส์ (E-Auction) งานโครงการจ้างเหมาลดน้ าสู ญเสี ย เพื่อสานักงานประปาเพชรบุ รี จังหวัดเพชรบุ รี สัญญา 1 ปี ที่วงเงินงบประมาณ 38.00 ล้านบาท

กุ ม ภาพัน ธ์ 2551

บริ ษ ัท ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ล งนามสั ญญากับ การประปาส่ วนภู มิ ภ าค เมื่ อวัน ที่ 18 กุ ม ภาพันธ์ 2551สั ญ ญาจ้า งลดน้ า สู ญ เสี ย ในพื้ นที่ ส านัก งานประปาอ้อ มน้อ ย-สาม พราน-สมุทรสงคราม ระยะเวลาสัญญา 2 ปี ที่วงเงินงบประมาณ 98.38 ล้านบาท

มิถุนายน 2551

บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ลงนามสัญญากับ การประปาส่ วนภูมิภาค งานลดน้ าสู ญเสี ยใน พื้นที่สานักงานประปาพัทยา ระยะเวลาโครงการ 14 เดือน ที่วงเงินงบประมาณ 11.20 ล้านบาท

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 14


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

กันยายน 2551

- บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ลงนามสัญญากับ การประปาส่ วนภูมิภาค งานลดน้ า สู ญเสี ยในพื้นที่สานักงานประปาปทุมธานี -รังสิ ต ระยะเวลาโครงการ 5 ปี ที่วงเงิน งบประมาณ 359.51 ล้านบาท - บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ลงนามสัญญากับ การประปาส่ วนภูมิภาค เมื่ อวันที่ 24 กันยายน 2551 ในสัญญาจ้างเอกชนบริ หารจัดการผลิตน้ าประปา และบารุ งรักษาระบบ ประปาที่โรงกรองน้ าบางเหนียวดา สานักงานประปาภูเก็ต ขนาดกาลังการผลิต 12,000 ลบ.ม/วัน เป็ นระยะเวลา 3 ปี

มิถุนายน 2552

บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ลงนามสัญญากับ การประปาส่ วนภูมิภาค เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2552 ในสัญญาซื้ อขายน้ าประปาเพื่อสานักงานประปาชลบุรี จังหวัดชลบุรี ระยะเวลา สัญญา 20 ปี ราคาค่าน้ าประปาเริ่ มต้น 9.75 บาท/ลบ.ม. โดยมีปริ มาณน้ ารับซื้ อเฉลี่ ย 24,000 ลบ.ม/วัน (หรื อ คิดเป็ น 8.76 ล้านลบ.ม. ต่อปี )

มีนาคม 2553

บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ล งนามสัญญากับ บริ ษ ทั เอ็กคอมธารา จากัด เมื่ อวันที่ 15 มีนาคม 2553 ในสัญญาจ้างงานผลิตสู บส่ งน้ าประปา บารุ งรักษาระบบประปา และงาน อื่ นๆ ที่ เกี่ ยวข้อง ในโครงการเอกชนร่ วมลงทุ นประปาราชบุ รี -สมุ ทรสงคราม เป็ น ระยะเวลาสัญญา 3 ปี กาลังการผลิตรวม 48,000 ลบ.ม./วัน

ธันวาคม 2553

บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ลงนามสัญญากับ องค์การบริ หารส่ วนตาบลหนองขาม เมื่อ วันที่ 29 ธันวาคม 2553 ใน“สัญญาดาเนิ นกิ จการประปาในพื้นที่ อบต. หนองขาม” ระยะเวลาสัญญา 25 ปี

มกราคม 2554

บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้เริ่ มดาเนิ นการเชิ งพาณิ ชย์ เพื่อผลิตและจาหน่ายน้ าประปา ให้กบั องค์การบริ หารส่ วนตาบลหนองขาม เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2554

ธันวาคม 2555

บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน (BOI) โครงการซื้ อขายน้ าประปา เพื่อสานักงานประปาชลบุรี จากกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่ งได้รับผลประโยชน์จากการ งดเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลของโครงการ เป็ นระยะเวลา 8 ปี

ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูที ลิต้ ี ส์ จากัด และบริ ษ ทั ย่อยบริ หารกิ จการ ประปารวมจานวน 10 แห่ ง ได้แก่ ประปาสัตหี บ ประปาบางปะกง ประปาฉะเชิ งเทรา ประปานครสวรรค์ ประปาพื้นที่บ่อวิน ประปาเกาะสมุย ประปาเกาะล้าน ประปาระยอง ประปาชลบุรี และประปาหนองขาม โดยภาพรวม ณ 31 ธันวาคม 2556 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ มีกาลังการผลิต น้ าประปารวม 108.52 ล้าน ลบ.ม./ปี __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 15


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

รายการทางการเงินที่สาคัญ ณ 31 ธ.ค. 25563/ กาลังการผลิตน้ าประปา (ลบ.ม.ต่อวัน) รายได้จากการดาเนินงาน (ล้านบาท) 2/ กาไรสุ ทธิ (ล้านบาท) สิ นทรัพย์รวม (ล้านบาท) หนี้สินรวม (ล้านบาท) ทุนที่เรี ยกชาระแล้ว (ล้านบาท) กาไรสะสม (ล้านบาท)

บจ. ยูนิเวอร์ แซลฯ1/ 180,310.00 903.16 74.52 1,802.02 833.70 510.00 458.32

บจ.ประปา ฉะเชิงเทรา 51,600.00 149.96 31.58 238.64 28.69 100.00 109.95

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

บจ.ประปาบาง ปะกง 43,200.00 131.11 27.46 185.45 32.57 40.00 112.88

บจ.ประปา นครสวรรค์ 22,200.00 43.63 8.58 72.91 18.39 40.00 14.52

1/ ประกอบด้วย สัตหี บ ระยอง บ่อวิน เกาะสี ชงั เกาะล้าน เกาะสมุย ชลบุรี และหนองขาม โดยสัมปทานประกอบ กิจการประปาเกาะสี ชงั ได้ขายโอนสิ ทธิให้กบั สานักงานเทศบาลตาบลเกาะสี ชงั ดาเนินการต่อ เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2556 2/ รายได้จากการดาเนินงาน หมายถึง รายได้รวม 3/ ผลการดาเนินงานงวด 12 เดือน สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2556

2. บริษัท เสม็ดยูทลิ ติ สี้ ์ จากัด บริ ษทั ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั เสม็ด ยูทีลิต้ ีส์ จากัด เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ.2555 โดยมีทุนจดทะเบียนรวม 60 ล้านบาท และบริ ษทั ถือหุ น้ ร้อยละ 55 รวมกับองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดระยอง ถือหุ น้ ร้อยละ 45 โดย วัตถุประสงค์ในการดาเนินธุ รกิจหลัก พื้นที่ เกาะเสม็ด ตาบลเพ อาเภอเมือง จังหวัดระยอง ได้แก่ 1) ผลิตน้ าสะอาด น้ าจืดจากทะเล การรวบรวมวัตถุดิบ ซ่ อมแซมและบารุ งรักษา ตามวัตถุประสงค์ 2) จาหน่ายน้ าสะอาด น้ าจืดจากทะเล การรวบรวมวัตถุดิบ ซ่อมแซมและบารุ งรักษา ตามวัตถุประสงค์ 2.3.4 ด้ านธุรกิจเกีย่ วเนื่อง 1. บริษัท อีดับเบิล้ ยู ยูทลี ติ สี้ ์ จากัด บริ ษทั ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั อีดบั เบิล้ ยู ยูทิลิต้ ีส์ จากัด เพื่อดาเนินธุ รกิจขนส่ งน้ าผ่านท่อ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2555 โดยมีทุนจดทะเบียนรวม 1 ล้านบาท โดยเรี ยกชาระแล้วร้อยละ 25 ปั จจุบนั ยังไม่ได้เริ่ ม ดาเนินธุ รกิจ 2. บริษัท อีดับเบิล้ ยู วอเตอร์ บาลานซ์ ชลบุรี จากัด บริ ษทั ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั อีดบั เบิ้ลยู วอเตอร์ บาลานซ์(ชลบุรี) จากัด เพื่อดาเนิ นธุ รกิจขนส่ งน้ าผ่านท่อ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2555 โดยมีทุนจดทะเบียนรวม 1 ล้านบาท โดยเรี ยกชาระแล้วร้อยละ 25 ปัจจุบนั ยัง ไม่ได้เริ่ มดาเนินธุ รกิจ

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 16


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

3. บริษัท อีดับเบิล้ ยู สมาร์ ทวอเตอร์ ระยอง จากัด บริ ษทั ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั อีดบั เบิ้ลยู สมาร์ ทวอเตอร์ (ระยอง) จากัด เพื่อดาเนิ นธุ รกิจผลิตและจาหน่าย น้ าอุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2555 โดยมีทุนจดทะเบียนรวม 1 ล้านบาท โดยเรี ยกชาระแล้วร้อย ละ 25 ปั จจุบนั ยังไม่ได้เริ่ มดาเนินธุ รกิจ 2.4 โครงสร้ างรายได้ โครงสร้างรายได้ของบริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) แยกตามพื้นที่ รอบปี บัญชีสิ้นสุดวันที่ รอบปี บัญชีสิ้นสุดวันที่ รอบปี บัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2556

รายได้จากการขายน้ าดิบ

พันบาท

ร้อยละ

พันบาท

-พื้นที่ดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหี บ

997,544

32.83

942,670

- พื้นที่หนองปลาไหล-มาบตาพุด

788,297

33.25

812,134

-พื้นที่หนองค้อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ

782,532

25.19

- พื้นที่หนองปลาไหล-หนองค้อ

243,697

7.85

759,079 223,287

- พื้นที่ฉะเชิงเทรา รวมรายได้จากการขายน้ าดิบ

102,180

0.88

24,435

2,914,250

100.00

2,761,605

ร้อยละ 34.13 29.41 27.49 8.09 0.88 100.00

พันบาท

ร้อยละ

944,469

33.09

788,297

27.62

782,532

27.42

236,649

8.29

102,180

3.58

2,854,127

100.00

โครงสร้างรายได้ของบริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)และบริ ษทั ย่อย แยกตามประเภทรายได้

รายได้ รายได้จากการขายน้ าดิบ รายได้จากการขายน้ าประปา รายได้จากการขายสิ นทรัพย์โครงการ รายได้ค่าเช่าและค่าบริ การ รายได้อื่น*

รอบปี บัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ รอบปี บัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ รอบปี บัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2556 ตรวจสอบแล้ว ตรวจสอบแล้ว ตรวจสอบแล้ว % % % พันบาท พันบาท พันบาท 2,261,016

68.31

765,849

23.14

-

-

223,519

6.75

59,652

1.80

2,612,221 841,602 223,588 48,538

70.11 22.59 6.00 1.30

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

2,694,295 876,385 -

70.60 22.97 -

189,513

4.97

55,945

1.46

ส่วนที่ 1 หน้า 17


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

รายได้ รวมรายได้

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

รอบปี บัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ รอบปี บัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ รอบปี บัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2556 ตรวจสอบแล้ว ตรวจสอบแล้ว ตรวจสอบแล้ว % % % พันบาท พันบาท พันบาท 100.00 100.00 3,816,138 100.00 3,310,036 3,725,949

[ * รายได้อื่น ประกอบด้วยรายได้จากดอกเบี้ยรับ เงินปั นผล และอื่น ๆ ]

2.5 การประกอบธุรกิจของแต่ ละสายผลิตภัณฑ์ ลักษณะบริการ บริ ษทั ดาเนินธุ รกิจหลักด้านการพัฒนาและบริ หารจัดการระบบท่อส่ งน้ าเพื่อส่ งน้ าดิบ ให้บริ การแก่ ผูใ้ ช้น้ าด้านอุปโภคบริ โภคและอุตสาหกรรม ปั จจุบนั ให้บริ การใน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี ระยอง และ ฉะเชิงเทรา ในพื้นที่จงั หวัดชลบุรีและระยอง บริ ษทั ได้รับการจัดสรรน้ าดิบจากอ่างเก็บน้ าของกรมชลประทาน 3 แห่ง ได้แก่ อ่างเก็บน้ าหนองค้อ อ่างเก็บน้ าดอกกราย และอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล นอกจากนี้ยงั มีการสู บ น้ าดิบจากแม่น้ าระยอง และแม่น้ าบางปะกงด้วย โดยสู บส่ งผ่านระบบท่อส่ งน้ า 4 สายที่บริ ษทั เช่าบริ หารจาก กระทรวงการคลัง และที่บริ ษทั ลงทุนก่อสร้างเองจาหน่ายให้แก่ผใู ้ ช้น้ าใช้ในการอุปโภคบริ โภค และการ อุตสาหกรรม การจาหน่ายน้ าดิบนี้ บริ ษทั ได้ทาสัญญาซื้ อขายน้ าดิบกับลูกค้าของบริ ษทั แบ่งได้เป็ น 3 กลุ่ม คือ นิคมอุตสาหกรรม1 โรงงานอุตสาหกรรมทัว่ ไป และอุปโภคบริ โภค2 ในพื้นที่จงั หวัดฉะเชิงเทรา บริ ษทั สู บน้ าจากแม่น้ าบางปะกง และคลองนครเนื่องเขตส่ งผ่านระบบท่อของบริ ษทั เพื่อจาหน่ายให้แก่ผใู ้ ช้น้ าใน บริ เวณบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา และส่ งต่อไปยังพื้นที่จงั หวัดชลบุรี การบริ การสู บจ่ายน้ าดิบในแต่ละพื้นที่บริ การของบริ ษทั มีดงั นี้ 1 พืน้ ที่ระยอง บริ ษทั ให้บริ การผ่านระบบท่อส่ งน้ าสายหลัก 3 เส้น คือ (1)ระบบท่อส่ งน้ าดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหี บ (2)ระบบท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล-มาบตาพุด (3)ระบบท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล-มาบตาพุด เส้นที่ 3 โดยระบบ ท่อส่ งน้ าในพื้นที่ น้ ี ใช้พลังงานไฟฟ้ าในการสู บส่ งน้ าจากแหล่งน้ าของกรมชลประทาน คื อ อ่างเก็บน้ าดอก กราย ผ่านระบบท่อส่ งน้ าสายดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหี บ และอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล ผ่านระบบท่อส่ งน้ า สายหนองปลาไหล-มาบตาพุด และระบบท่อส่ งน้ าหนองปลาไหลขมาบตาพุด เส้นที่ 3 ไปยังสถานี ยกระดับน้ า (Head Tank) ที่มาบข่า ก่อนปล่อยลงมาเพื่อส่ งน้ าไปยังปลายทางให้แก่ลูกค้าตามแนวท่อส่ งน้ า กลุ่มผูใ้ ช้น้ า 1

นิ คมอุตสาหกรรม หมายรวมถึ ง นิ คมอุตสาหกรรมที่ กนอ. เป็ นเจ้าของ นิ คมอุตสาหกรรมที่ กนอ. ร่ วมลงทุน และสวน/เขตอุตสาหกรรมของ เอกชน 2 ส่วนใหญ่เป็ นลักษณะการจาหน่ายแบบค้าส่ ง (Wholesale) ให้แก่หน่วยงานของรัฐคือ การประปาส่ วนภูมิภาค มีบางกรณี เท่านั้นที่จาหน่ ายให้ผใู้ ช้ เพื่อการอุปโภคบริ โภครายอื่น เช่น โรงพยาบาลสิ ริกิต์ ิ นิ คมสร้างตนเองจังหวัดระยอง สถานี อนามัยมาบข่า เป็ นต้น

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 18


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

หลักของพื้นที่น้ ี คือ นิ คมอุตสาหกรรม รองลงมา ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรมทัว่ ไปและการประปาของการ ประปาส่ วนภูมิภาค 2 พืน้ ทีช่ ลบุรี บริ ษทั ให้บริ การโดยผ่านระบบท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง สายแหลมฉบัง -พัทยา และสาย แหลมฉบัง-บางพระ การจ่ายน้ าในพื้นที่น้ ี ใช้น้ าต้นทุนจาก 3 แหล่ง ได้แก่ อ่างเก็บน้ าหนองค้อ อ่างเก็บน้ า หนองปลาไหลผ่านระบบท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล-หนองค้อ และแม่น้ าบางปะกงผ่านระบบท่อส่ งน้ าบางปะกงชลบุรี ซึ่ งรู ปแบบการส่ งน้ าจากอ่างเก็บน้ าหนองค้อเป็ นการส่ งโดยแรงโน้มถ่วงและโดยการสู บน้ า สาหรับการ ส่ งน้ าจากอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหลผ่านระบบท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล-หนองค้อ จะใช้พลังงานไฟฟ้ าในการ สู บส่ งน้ ามายัง Regulating Well ซึ่ งจะปล่อยน้ าโดยระบบแรงโน้มถ่วงเข้าสู่ ระบบท่อส่ งน้ าสายหนองค้อแหลมฉบัง และท่ อส่ ง น้ า สายแหลมฉบัง -พัท ยา ส่ ว นการส่ ง น้ า จากแม่ น้ า บางปะกงผ่า นระบบท่ อ ส่ ง น้ า บางปะกง-ชลบุรี ใช้พลังงานไฟฟ้ าในการสู บส่ งน้ าเข้าสู่ ระบบท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง และท่อส่ ง น้ าสายแหลมฉบัง-พัทยาต่อไป นอกจากนี้ บริ ษทั ได้ฝากน้ าที่ส่งมาจากแม่น้ าบางปะกงในช่วงฤดูฝน ไว้ในอ่าง เก็บน้ าบางพระและสู บน้ าที่ฝากไว้จากอ่างเก็บน้ าบางพระส่ งจ่ายให้กบั ผูใ้ ช้น้ าในช่วงฤดูแล้ง ผูใ้ ช้น้ าหลักของ พื้นที่น้ ีส่วนใหญ่จะเป็ นการใช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภค และนิคมอุตสาหกรรม ตามลาดับ ท่อส่ งน้ าหนองค้อ-แหลมฉบัง มีจานวน 2 สายท่อ วางขนานกัน โดยเป็ นท่อที่บริ ษทั เช่ าบริ หารจาก กระทรวงการคลัง มีความสามารถในการจ่ายน้ ารวม 110 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี 3 พืน้ ทีป่ ลวกแดง – บ่ อวิน พื้นที่ น้ ี เป็ นพื้นที่ รอยต่อของจัง หวัดชลบุ รี และอาเภอปลวกแดง จัง หวัดระยอง ใกล้ก ับท่ อส่ ง น้ า หนองปลาไหล-หนองค้อ ซึ่ ง ก่ อสร้ า งขึ้ นโดยกรมโยธาธิ ก ารเพื่ อสู บ ส่ ง น้ า จากอ่ า งเก็ บ น้ า หนองปลาไหล จังหวัดระยอง ไปยังพื้นที่ชลบุรี ขณะเดี ย วกันก็ จ่า ยน้ า ให้แก่ ผูใ้ ช้น้ า ในพื้ นที่ ป ลวกแดง-บ่ อวิน ระบบท่ อ ส่ งน้ านี้ใช้พลังงานไฟฟ้ าในการสู บส่ งน้ าจากอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล ผ่านระบบท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล– หนองค้อ ไปยังอ่างเก็บน้ าหนองค้อและเชื่ อมต่อเข้ากับระบบท่อส่ งน้ าหนองค้อ-แหลมฉบัง-บางพระ ผูใ้ ช้น้ า หลักของพื้นที่ น้ ี คือ นิ คมอุ ตสาหกรรมอี สเทิ ร์นซี บอร์ ด นิ คมอุ ตสาหกรรมชลบุ รี (บ่อวิน) และการประปา พัทยา (โรงกรองน้ า หนองกลางดง) 4 พืน้ ทีฉ่ ะเชิงเทรา บริ ษทั ให้บริ การส่ งจ่ายน้ าดิบ ผ่านท่อส่ งน้ าดิบฉะเชิ งเทรา ระบบท่อส่ งน้ านี้ ใช้พลังงานไฟฟ้ าในการ สู บน้ าจากแม่น้ าบางปะกงบริ เวณเหนือเขื่อนทดน้ าบางปะกงของกรมชลประทาน ไปยังถังยกระดับน้ าก่อนการ ส่ งน้ าโดยแรงโน้มถ่วงให้แก่ผใู ้ ช้น้ า และบริ ษทั ยังได้รับจัดสรรน้ าดิ บจากคลองนครเนื่ องเขต ในปริ มาณ 15 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี เพื่อเป็ นแหล่งน้ าสารองสาหรับพื้นที่ฉะเชิ งเทราในช่ วงฤดูแล้ง นอกจากนี้ บริ ษทั ยังมีสระ สารองน้ าดิบความจุ 2 ล้าน ลบ.ม. ในพื้นที่จงั หวัดฉะเชิ งเทราและสระสารองน้ าดิบความจุประมาณ 7.4 ล้าน __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 19


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ลบ.ม. บริ เวณตาบลสานักบก อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ซึ่ งตั้งอยูใ่ กล้กบั แนวท่อส่ งน้ าบางปะกง- ชลบุรี เพื่อใช้ เป็ นแหล่งน้ าสารองสาหรับการจ่ายน้ าในพื้นที่ฉะเชิงเทราและชลบุรีได้อย่างเพียงพอในช่วงฤดูแล้ง ท่อส่ งน้ าบางปะกง-ชลบุรี สร้ างขึ้นเพื่อผันน้ าจากแม่น้ าบางปะกง จังหวัดฉะเชิ งเทรา ในช่ วงฤดูฝน ประมาณ 5-6 เดื อน ไปยัง พื้นที่ จงั หวัดชลบุ รี เนื่ องจากแหล่ ง น้ าในพื้ นที่ ช ลบุ รีมีจากัดไม่เพีย งพอต่อความ ต้องการใช้น้ า ระบบท่อส่ งน้ านี้สามารถสู บส่ งน้ าดิบได้ปีละ 50 ล้าน ลบ.ม. โดยใช้พลังงานไฟฟ้ าในการสู บผันน้ า จากแม่น้ าบางปะกงผ่านเข้าระบบท่อส่ งน้ าดิบพื้นที่ฉะเชิ งเทรา และท่อส่ งน้ าบางปะกง-ชลบุรี ไปยังระบบท่อ หนองค้อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระโดยตรง และส่ วนหนึ่งปล่อยลงสู่ อ่างเก็บน้ าบางพระเพื่อกักเก็บสารองไว้ ในช่วงฤดูแล้งได้

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 20


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

แผนภาพที่ 2.5 แผนทีแ่ สดงระบบโครงข่ ายท่ อส่ งนา้ ในจังหวัดระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 21


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

2.6 สิ ทธิในการประกอบธุรกิจ ลัก ษณะธุ ร กิ จ ของบริ ษ ัท ทั้ง ธุ ร กิ จ หลัก และธุ ร กิ จ เกี่ ย วเนื่ อ ง เป็ นการให้ บ ริ ก ารตามสั ญ ญาหรื อ สัมปทานระยะยาวจากหน่วยงานราชการ ซึ่ งในปั จจุบนั บริ ษทั มีสัญญา/สัมปทานรวมทั้งหนังสื ออนุ ญาตจาก หน่วยงานราชการต่างๆ ที่สาคัญต่อการประกอบธุ รกิจของบริ ษทั สรุ ปรายละเอียดได้ดงั นี้ 1 หนังสื ออนุญาตให้ ใช้ นา้ จากแหล่ งนา้ ของกรมชลประทาน บริ ษ ทั ได้รับ อนุ ญาต จากกรมชลประทานให้ใ ช้น้ าจากแหล่ ง น้ า จานวน 5 แห่ ง ได้แก่ อ่ า งเก็ บ น้ า หนองค้อ อ่างเก็บน้ าดอกกราย อ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล คลองนครเนื่องเขต และอ่างเก็บน้ าบางพระ สาระสาคัญของหนังสื ออนุญาต สรุ ปได้ดงั รายละเอียดในตารางที่ 2.6 ตารางที่ 2.6 สรุ ปรายละเอียดหนังสื ออนุญาตให้บริ ษทั ใช้น้ าจากแหล่งน้ าของกรมชลประทาน หนังสืออนุญาต

ผู้อนุญาต/วันทีล่ งนาม

1. ให้ใช้น้ าจาก อ่างเก็บน้ าดอกกราย 2.ให้ใช้น้ าจาก อ่างเก็บน้ าหนองค้อ 3. ให้ใช้น้ าจาก อ่างเก็บน้ าบางพระ

อธิบดีกรมชลประทาน : วันที่ 18 มกราคม 2555 อธิบดีกรมชลประทาน : วันที่ 16 มกราคม 2555 อธิบดีกรมชลประทาน : วันที่ 4 มิถุนายน 2551

4.ให้ใช้น้ าจาก คลองนครเนื่องเขต

อธิบดีกรมชลประทาน : วันที่ 3 สิ งหาคม 2552

ระยะเวลาการอนุญาต

รายละเอียดj

- 5 ปี นับแต่วนั ที่ผรู ้ ับอนุญาตได้ - ให้ใช้น้ าได้ไม่เกินเดือนละ 9,666,667 ลูกบาศก์เมตร ลงนามในหนังสื ออนุญาต เป็ นต้นไป - ให้ใช้น้ าได้ไม่เกินเดือนละ 1,372,500 ลูกบาศก์เมตร - ให้บริ ษทั วางท่อนาน้ ามาฝากและสู บไปใช้ แต่การสู บน้ า ดังกล่าวต้องไม่เกินจานวนน้ าที่นามาฝากไว้ในแต่ละปี - บริ ษทั สามารถขอใช้น้ าเพิ่มเกินกว่าปริ มาณน้ าจานวนที่ นามาฝากไว้ ในกรณี ที่ปริ มาณน้ าต้นทุนในอ่างเก็บน้ า บางพระมีมาก และไม่กระทบแผนจัดสรรน้ าปกติ - ให้ใช้น้ าได้ไม่เกินเดือนละ 3,000,000 ลูกบาศก์เมตร โดยมี ระยะเวลาการสูบน้ าระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือน พฤษภาคม เท่านั้น - ให้ใช้น้ าได้ไม่เกินเดือนละ 10,000,000 ลูกบาศก์เมตร

5. ให้ใช้น้ าจาก อธิบดีกรมชลประทาน : อ่างเก็บน้ าหนองปลา วันที่ 23 มิถุนายน 2553 ไหล หมายเหตุ : j บริ ษทั ต้องชาระค่าน้ าให้กรมชลประทานเป็ นรายเดือนตามอัตราที่กฎกระทรวง ฉบับที่ 42 (พ.ศ.2540) กาหนดคือ อัตราลูกบาศก์เมตรละ 50 สตางค์

2.7 สั มปทานการบริหารและดาเนินกิจการท่อส่ งนา้ ในภาคตะวันออก บริ ษ ทั ได้รับ โอนสิ ท ธิ ก ารบริ หารและการดาเนิ นกิ จการระบบท่ อส่ ง น้ า สายหลัก ในภาคตะวันออก จาก กระทรวงการคลัง โดยมีรายละเอียดของสัญญา ดังนี้

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 22


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

สรุ ปสั ญญาการบริ หารและการดาเนินกิจการระบบท่ อส่ งน้าสายหลักในภาคตะวันออก คู่สัญญา :  กระทรวงการคลัง  บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ("บริ ษทั ”) วันที่ลงนามในสัญญา : 26 ธันวาคม 2536 อายุสัญญา : ระยะเวลา 30 ปี นับตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2537 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2566 สาระสาคัญของสัญญา : บริ ษัท รั บ โอนสิ ท ธิ ก ารใช้ ร ะบบท่ อ ส่ ง น้ าจากกระทรวงการคลัง มา ดาเนินการ ระบบท่อส่ งน้ า : “ระบบท่อส่ งน้ า” ในสัญญานี้ หมายถึง อาคาร สถานีสูบน้ า สถานี ยกระดับ น้ าท่อส่ งน้ า เครื่ องจักรตลอดจนส่ วนต่อและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในระบบ ส่ งน้ า ของท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง สายแหลมฉบัง -พัทยา สาย ดอกกราย-มาบตาพุด และสายมาบตาพุด-สัตหีบ การจ่ายผลประโยชน์ : ภายใน 120 วัน นับจากวันสิ้ นสุ ดรอบปี ทางการเงินทางบัญชี หรื อภายใน ตอบแทน เดือนมกราคมของทุกปี ทั้งนี้ ตั้งแต่เดือนมกราคม 2538 เป็ นต้นไป บริ ษทั ตกลงชาระผลประโยชน์ตอบแทนให้กระทรวงการคลัง ดังนี้ 1. บริ ษทั ตกลงจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต่ าให้แก่ กระทรวงการ คลังในอัตรา 2 ล้านบาทต่อปี หรื อ 2. หากในปี ใดบริ ษทั มียอดขายน้ าดิบเกินกว่า 200 ล้านบาทต่อปี บริ ษทั จะจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้กบั กระทรวงการคลังในอัตราร้ อย ละ 1 ของยอดขายน้ าดิบ 3. นอกเหนือจากผลประโยชน์ตอบแทนตามข้อ 1 หรื อ 2 แล้ว หากในปี ใดบริ ษทั มีผลตอบแทนต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น (Return on Equity) เกิน กว่าร้อยละ 20 บริ ษทั จะจ่ายผลประโยชน์ตอบแทน (Profit Sharing) ให้กบั กระทรวงการคลังเพิ่มอี กในอัตราร้ อยละ 15 ของส่ วนที่ เกิ น ร้อยละ 20 ทั้ง นี้ อัต ราผลประโยชน์ ต อบแทนรวมตามข้อ 1 หรื อ 2 เมื่ อ รวมกับ ผลประโยชน์ตอบแทนในข้อ 3 จะต้องไม่เกินร้อยละ 6 ของมูลค่าที่แท้จริ ง ที่ได้มีการประเมินตามระยะเวลาและหลักการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไป (Real Value) ของทรัพย์สินที่บริ ษทั เช่าจากกระทรวงการคลังตามสัญญานี้

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 23


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

2.8 สั ญญาสั มปทานในกิจการประปา 1 ประปาสั ตหีบ 1.1) สัญญา/สัมปทาน : สัญญาให้สิทธิ เช่าบริ หาร และดาเนินการระบบประปาสัตหี บ (กปภ.) คู่สัญญา : การประปาส่ วนภูมิภาค และ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากร น้ าภาคตะวันออก วันที่ลงนามสัญญา : 28 กรกฎาคม 2543 และแก้ไขเพิ่มเติมเมื่อ 18 ตุลาคม 2547 ระยะเวลาสัญญา : 30 ปี สถานะ : เริ่ มให้บริ การตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2544 พื้นที่ให้บริ การ :  สัตหีบ – บ้าน กม. 10  บ้านแสมสาร  บางเสร่ กาลังการผลิต : 43,200 ลบ.ม. ต่อ วัน 1.2) สัญญา/สัมปทาน : สัญญาซื้ อขายน้ าประปาเพื่อสานักงานประปาพัทยา คู่สัญญา : การประปาส่ วนภูมิภาค และ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากร น้ าภาคตะวันออก วันที่ลงนามสัญญา : 18 ตุลาคม 2547 ระยะเวลาสัญญา : 30 ปี สถานะ : เริ่ มดาเนินการจาหน่ายน้ าเชิงพาณิ ชย์ต้ งั แต่ 1 พฤศจิกายน 2548 ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า : 18,000 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2556) อัตราค่าน้ าประปา : 16.3202 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2556) และปรับตามดัชนีราคา ผูบ้ ริ โภคเฉลี่ยทั้งปี สาหรับภาคกลางที่ประกาศโดยกระทรวง พาณิ ชย์ 2 ประปานครสวรรค์ สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : : :

สัญญาให้เอกชนผลิตน้ าประปาเพื่อขายแก่สานักงานประปา นครสวรรค์ออก จังหวัดนครสวรรค์ (กปภ.) การประปาส่ วนภูมิภาค และ บริ ษทั ประปานครสวรรค์ จากัด 7 พฤศจิกายน 2543 2 + 25 ปี (Pre-operation 2 ปี ) เริ่ มให้บริ การ ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2546  นครสวรรค์ออก  เทศบาลเมืองหนองปลิง

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 24


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

กาลังการผลิต ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า อัตราค่าน้ าประปา

: : :

3 ประปาบางปะกง สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : : :

กาลังการผลิต

:

ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า อัตราค่าน้ าประปา

: :

4 ประปาฉะเชิงเทรา สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : : :

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

 เทศบาลเมืองหนองแบน 22,200 ลบ.ม. ต่อ วัน 6,450 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2556) 13.509 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2556) และปรับตามดัชนีราคา ผูบ้ ริ โภคเฉลี่ยทั้งปี สาหรับภาคกลางที่ประกาศโดยกระทรวง พาณิ ชย์

สัญญาให้เอกชนผลิตน้ าประปาเพื่อขายแก่สานักงานประปา บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา (กปภ.) การประปาส่ วนภูมิภาค และ บริ ษทั ประปาบางปะกง จากัด 9 พฤศจิกายน 2543 2 + 25 ปี (Pre-operation 2 ปี ) เริ่ มให้บริ การ ตั้งแต่ 1 เมษายน 2546  บางปะกง  เทศบาลเมืองท่าสะอ้าน  เทศบาลเมืองบางวัว 43,200 ลบ.ม./วัน (กาลังการผลิตเดิม 24,000 ลบ.ม./วัน รวมกับ ที่ขยายเพิ่มขึ้น 19,200 ลบ.ม./วัน) 27,000 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2556) 11.657 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2556) และปรับตามดัชนีราคา ผูบ้ ริ โภคเฉลี่ยทั้งปี สาหรับภาคกลางที่ประกาศโดยกระทรวง พาณิ ชย์

สัญญาให้เอกชนผลิตน้ าประปาเพื่อขายแก่สานักงานประปา ฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา (กปภ.) การประปาส่ วนภูมิภาค และ บริ ษทั ประปาฉะเชิงเทรา จากัด 9 พฤศจิกายน 2543 2 + 25 ปี (Pre-operation 2 ปี ) เริ่ มให้บริ การ ตั้งแต่ 1 เมษายน 2546  อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา  เขตสุ วนิ ทวงศ์

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 25


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

กาลังการผลิต ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า อัตราค่าน้ าประปา

: : :

51,600 ลบ.ม. ต่อ วัน 27,000 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2556) 12.311 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2556) และปรับตามดัชนีราคา ผูบ้ ริ โภคเฉลี่ยทั้งปี สาหรับภาคกลางที่ประกาศโดยกระทรวง พาณิ ชย์

5 ประปาสี ชัง สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา

:

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ

: : :

พื้นที่ให้บริ การ ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า อัตราค่าน้ า

: : :

กาลังการผลิต เทคโนโลยี

: :

สัญญาดาเนินกิจการประปาเทศบาลตาบลเกาะสี ชงั อาเภอเกาะ สี ชงั จังหวัดชลบุรี เทศบาลตาบลเกาะสี ชงั และ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากร น้ าภาคตะวันออก 28 พฤศจิกายน 2543 15 ปี เริ่ มจ่ายน้ าเชิงพาณิ ชย์ต้ งั แต่ สิ งหาคม 2547 – 1 กันยายน 2556 และเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2556 ขายโอนสิ ทธิสัมปทานประกอบ กิจการประปาเกาะสี ชงั ให้กบั สานักงานเทศบาลตาบลเกาะสี ชงั เกาะสี ชงั ไม่มี 68.69 บาทต่อ ลบ.ม. เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5 ทุกๆรอบ 3 ปี ของการดาเนินการ 250 ลบ.ม. ต่อ วัน การผลิตน้ าประปาจากน้ าทะเลด้วยระบบ Reversed Osmosis

6 ประปาพืน้ ทีบ่ ่ อวิน สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา

:

วันที่ลงนามสัญญา สัญญา/สัมปทาน

: :

คู่สัญญา

สัญญาดาเนินกิจการประปาพื้นที่บ่อวิน เพื่อจาหน่ายน้ าประปา ในเขตเทศบาลตาบลเจ้าพระยาสุ รศักดิ์ อาเภอศรี ราชา จังหวัด ชลบุรี เทศบาลตาบลเจ้าพระยาสุ รศักดิ์ และบมจ.จัดการและพัฒนา ทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 30 มีนาคม 2547 สัญญาดาเนินกิจการระบบประปา อบต.บ่อวิน เพื่อจาหน่ายน้ า ในพื้นที่ อบต.บ่อวิน องค์ก ารบริ หารส่ วนตาบลบ่ อวิน และบมจ.จัดการและพัฒนา

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 26


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : :

กาลังการผลิต ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า อัตราค่าน้ าประปา

: : :

7 ประปาเกาะสมุย สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา

:

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ ปริ มาณขั้นต่าที่ตอ้ งผลิต ราคาจาหน่ายน้ าประปา กาลังการผลิต เทคโนโลยี

: : : : : : : :

8 ประปาเกาะล้าน สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา

:

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ

: : :

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 5 สิ งหาคม 2548 25 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ ตั้งแต่ มิถุนายน 2549 เขตเทศบาลตาบลเจ้าพระยาสุ รศักดิ์ และองค์การบริ หารส่ วน ตาบลบ่อวิน ต.บ่อวิน อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี 9,600 ลบ.ม. ต่อวัน ไม่มี อ้างอิงราคาตามสัญญา (แบ่งตามประเภทผูใ้ ช้น้ า)

สัญญาซื้ อขายน้ าประปาเพื่อสานักงานการประปาเกาะสมุย จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี (กปภ.) การประปาส่ วนภูมิภาค และ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากร น้ าภาคตะวันออก 7 กรกฎาคม 2547 15 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ต้ งั แต่ 12 พฤษภาคม 2548 เกาะสมุย 2,500 ลบ.ม. ต่อวัน (+/- 10%) 61.011 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2556) 3,000 ลบ.ม. ต่อ วัน การผลิตน้ าประปาจากน้ าทะเลด้วยระบบ Reversed Osmosis (RO)

สัญญาดาเนินกิจการประปาเกาะล้าน เพื่อจาหน่ายน้ าประปาแก่ ประชาชนบนเกาะล้าน จังหวัดชลบุรี เมืองพัทยา และ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาค ตะวันออก 17 กันยายน 2547 15 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ ตั้งแต่ กันยายน 2549

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 27


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

พื้นที่ให้บริ การ ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า ราคาจาหน่ายน้ าประปา

: : :

กาลังการผลิต เทคโนโลยี

: :

9 ประปาระยอง สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : : :

กาลังการผลิต ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า ราคาจาหน่ายน้ าประปา

: :

10 ประปาชลบุรี สัญญา/สัมปทาน คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ กาลังการผลิต ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า ราคาจาหน่ายน้ าประปา

: : : : : : : :

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

เกาะล้าน ไม่มี 65.42 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2556) เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5 ทุกๆ รอบ 5 ปี ของการดาเนินการ 300 ลบ.ม. ต่อ วัน การผลิตน้ าประปาจากน้ าทะเลด้วยระบบ Reversed Osmosis

สัญญาให้เอกชนผลิตน้ าประปาเพื่อขายให้แก่ กปภ. ที่ สานักงาน ประปาระยอง จังหวัดระยอง การประปาส่ วนภูมิภาค และ กลุ่มบริ ษทั ยูยู กรุ๊ ป คอนซอร์ เตียม 14 มีนาคม 2549 25 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ ตั้งแต่ กรกฎาคม 2549 เขตเทศบาลเมืองระยองและพื้นที่ส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลตาบล ต่างๆ 86,400 ลบ.ม. ต่อ วัน 43,500 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2556) 11.098 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2556)

สัญญาซื้ อขายน้ าประปาเพื่อสานักงานประปาชลบุรี จังหวัด ชลบุรี การประปาส่ วนภูมิภาค และ บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด 3 มิถุนายน 2552 20 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ ในเดือน เมษายน 2553 จังหวัดชลบุรี 28,800 ลบ.ม. ต่อ วัน 24,000 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2556) 10.647 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2556)

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 28


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

11 ประปาราชบุรี – สมุทรสงคราม สัญญา/สัมปทาน :

คู่สัญญา

:

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า ค่าจ้างดาเนิ นการ

: : : : :

12 ประปาหนองขาม สัญญา/สัมปทาน คู่สัญญา

: :

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ กาลังการผลิต ราคาจาหน่ายน้ าประปา

: : : : : :

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

สัญญาจ้างงานผลิต สู บส่ งน้ าประปา บารุ งรักษาระบบประปา และงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ให้แก่ บริ ษทั เอ็กคอมธาราจากัด โครงการเอกชนร่ วมลงทุนประปาราชบุรี-สมุทรสงคราม บริ ษทั เอ็กคอมธารา จากัด และ บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด 4 เมษายน 2556 6 ปี เริ่ มให้บริ การ ตั้งแต่ เมษายน 2556 35,400 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2556) 4.955 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2556)

สัญญาดาเนินกิจการระบบประปา อบต.หนองขาม องค์การบริ หารส่ วนตาบลหนองขาม และ บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด 29 ธันวาคม 2553 25 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ ในเดือน มกราคม 2554 ตาบลหนองขาม อาเภอศรี ราชา จังหวัดชลบุรี 1,560 ลบ.ม. ต่อ วัน อ้างอิงราคาตามสัญญา (แบ่งตามประเภทผูใ้ ช้น้ า)

2.9 การตลาดและการแข่ งขัน น้ าเป็ นทรั พยากรธรรมชาติ ที่สาคัญและเป็ นปั จจัยพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการดารงชี วิตและการพัฒนา ประเทศ ทั้งด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม บริ ษทั ได้เล็งเห็นความสาคัญของทรัพยากรน้ าและได้พยายาม บริ หารการจัดการทรัพยากรน้ าในพื้นที่ภาคตะวันออกโดยผ่านระบบท่อส่ งน้ าให้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สู งสุ ด และเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ าทั้งในภาคอุปโภคบริ โภคและภาคอุตสาหกรรม ภายใต้ทรัพยากรน้ า ที่มีอยู่อย่างจากัด อีกทั้งการสร้ างจิตสานึ กในการใช้น้ าอย่างรู ้ คุณค่าแก่เยาวชนอันเป็ นพื้นฐานความเข้าใจ ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ และสิ่ งแวดล้อม(CSR) เพื่อรักษาความสามารถในการแข่งขันอย่างยัง่ ยืน

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 29


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

1. อุตสาหกรรมการจัดการทรัพยากรนา้ ในประเทศไทย การพัฒนาและบริ หารจัดการทรัพยากรน้ าเป็ นภารกิจของหน่วยงานราชการเช่น กรมชลประทาน กรม ทรัพยากรน้ า กรมทรัพยากรน้ าบาดาล เป็ นต้น ส่ วนการนาน้ าจากแหล่งน้ าเพื่อมาใช้ประโยชน์ในการอุปโภค บริ โ ภค และอุ ต สาหกรรม มี ห น่ ว ยงานดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบหลายหน่ ว ยงาน ได้แ ก่ การประปาส่ ว นภู มิ ภ าค รับผิดชอบการจัดหาแหล่งน้ าดิ บ และผลิ ตจาหน่ ายน้ าประปาให้แก่ผใู ้ ช้น้ าในเขตชุ มชนที่ให้บริ การ เทศบาล หรื อองค์กรบริ หารส่ วนตาบล บางแห่ งให้บริ การผลิตจาหน่ายน้ าประปาแก่ประชาชนในเขตปกครองท้องถิ่น นั้น ๆ และนิ ค มอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย รั บ ผิ ด ชอบในการจัด หาน้ าและให้ บ ริ ก ารในเขตนิ ค ม อุตสาหกรรมที่ดูแล เป็ นต้น เนื่องจากการลงทุนในการให้บริ การน้ าประปาของการประปาส่ วนภูมิภาค(กปภ.) ในบางพื้นที่ ไม่ทนั กับความต้องการใช้น้ า กปภ.จึงได้ให้เอกชนเข้าร่ วมดาเนิ นการ โดยเอกชนเป็ นผูล้ งทุนและผลิ ตน้ าประปา จาหน่ายให้แก่ กปภ. และกปภ. จาหน่ายต่อให้แก่ผใู ้ ช้น้ าอีกต่อหนึ่ ง ปั จจุบนั บริ ษทั ได้ทาสัญญากับ กปภ.แล้ว จานวน 6 สัญญา สาหรับธุ รกิ จน้ าดิบในภาคตะวันออกเกิ ดขึ้นเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิ จตามนโยบายการพัฒนา พื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกให้เป็ นพื้นที่อุตสาหกรรมหลักของประเทศ 2. อุปทานนา้ ในประเทศไทย ประเทศไทยซึ่ งมี พ้ืนที่ท้ งั ประเทศรวม 512,870 ตาราง กม. ได้รับน้ าจากฝนในปริ มาณปี ละประมาณ 800,000 ล้าน ลบ.ม. โดยน้ าฝนประมาณร้อยละ 75 จะสู ญหายตามระบบของธรรมชาติ เช่น การระเหยเป็ นไอ ถูกพืชดูดซับไว้ หรื อซึ มลงใต้ดินกลายเป็ นน้ าบาดาล เป็ นต้น ส่ วนที่เหลืออีกร้อยละ 25 หรื อประมาณ 200,000 ล้าน ลบ.ม. จะไหลลงสู่ แม่น้ าลาธารต่างๆ เรี ยกว่า น้ าผิวดินหรื อน้ าท่า เช่น แหล่งน้ าตามทะเลสาบ แม่น้ าลาธาร ต่างๆ เป็ นต้น การนาน้ าจากแหล่งน้ าผิวดินเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์มกั มีปัญหาในช่วงฤดูแล้งซึ่ งเป็ นช่วงที่ระดับ น้ าในแม่น้ าต่า และน้ าทะเลหนุน ดังนั้น จึงมีการสร้างอ่างเก็บน้ า หรื อเขื่อนเพื่อกักเก็บน้ าผิวดิน จากข้อมูลของ กรมชลประทานระบุ ว่า ณ ปี 2555 ประเทศไทยมีเขื่อน และอ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่และขนาดกลางซึ่ งอยู่ใน ความรับผิดชอบของกรมชลประทาน และการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่ งประเทศไทย รวมความจุประมาณ 76,002 ล้าน ลบ.ม. นอกเหนื อจากแหล่งน้ าผิวดิ น อันได้แก่ แม่น้ า ทะเลสาบ และน้ าที่เก็บกักอยูใ่ นอ่างเก็บน้ าหรื อเขื่อน ต่างๆ แล้ว ยังมีแหล่งน้ าใต้ดิน หรื อ น้ าบาดาล ซึ่ งเป็ นน้ าที่ซึมลงไปในดิน และขังอยูใ่ นช่องว่างระหว่างเม็ดดิน หรื อชั้นหิ นกลายเป็ นแอ่งน้ าขังอยูใ่ ต้ผิวโลก โดยแหล่งน้ าบาดาลที่มีขนาดใหญ่ และให้ปริ มาณน้ ามากที่สุดใน ประเทศไทยได้แก่ แหล่งน้ าบาดาลในภาคกลาง บริ เวณที่ราบลุ่มเจ้าพระยาตอนล่าง อย่างไรก็ตาม การใช้น้ า บาดาลมากเกิ นไปจะมี ผลกระทบต่อความสมดุ ลทางธรรมชาติ เช่ น น้ าทะเลอาจไหลแทรกซึ มเข้ามาในชั้น บาดาลซึ่ งทาให้น้ าจืดแปรเปลี่ยนเป็ นน้ ากร่ อย และน้ าเค็มในที่สุด หรื ออาจทาให้เกิ ดปั ญหาแผ่นดินทรุ ด เป็ น ต้น ปั จจุบนั ประเทศไทยมีกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวกับน้ าใต้ดิน ได้แก่ พระราชบัญญัติน้ าบาดาลปี พ.ศ. 2520 ซึ่ งก าหนดให้ ก ารขุ ด เจาะน้ า บาดาลในเขตน้ า บาดาล จะต้อ งขออนุ ญ าตรั ฐ ก่ อ น และประกาศของ __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 30


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

กระทรวงอุต สาหกรรมฉบับ ที่ 8/2537 ก าหนดเขตน้ าบาดาลและอัตราค่ าน้ าบาดาล 3.50 บาทต่ อ ลบ.ม. ครอบคลุมทุกจังหวัดทัว่ ประเทศ ทั้งนี้ในปี 2544 กระทรวงอุตสาหกรรมได้มอบหมายให้กรมทรัพยากรธรณี ศึกษาแนวทางแก้ไขปั ญหา แผ่นดินทรุ ด ซึ่ งได้มีมติจากภาครัฐให้ดาเนิ นการทยอยปรับค่าน้ าบาดาลเพื่อแก้ไขปั ญหาดังกล่าวโดยปรับขึ้น จาก 3.50 บาท เป็ น 8.50 บาท ภายในปี 2546 และห้ามใช้น้ าบาดาลในพื้นที่วกิ ฤตที่มีระบบน้ าประปาแล้วตั้งแต่ มกราคมปี 2547 เป็ นต้นไป 3. อุตสาหกรรมการจัดการนา้ ในภาคตะวันออก ในอดีต การจัดการทรัพยากรน้ าในภาคตะวันออกมีหน่ วยงานที่รับผิดชอบมากมาย เช่นเดี ยวกับส่ วน อื่นๆ ของประเทศไทย เช่น กรมชลประทานเป็ นผูร้ ับผิดชอบเรื่ องการพัฒนาแหล่งน้ าดิบ โดยก่อสร้ างอ่างเก็บน้ า ต่ า งๆ ตามนโยบายของรั ฐ บาล ส่ ว นเรื่ อ งการพัฒ นาท่ อ ส่ ง น้ า กรมชลประทานและกรมโยธาธิ ก ารเป็ น ผูก้ ่อสร้ าง แต่ในด้านการดาเนิ นการได้มอบให้การนิ คมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย (กนอ.) เป็ นผูบ้ ริ หาร ท่อส่ งน้ าสายดอกกราย-มาบตาพุด และสายมาบตาพุด-สัตหี บ ส่ วนท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง และสาย แหลมฉบัง-พัทยา กรมโยธาธิ การเป็ นผูบ้ ริ หาร ซึ่ งจะเห็นได้วา่ การจัดการระบบท่อส่ งน้ าขาดระบบบริ หารที่มี ความชัดเจนเกี่ยวกับความรับผิดชอบของหน่ วยปฏิ บตั ิต่างๆ ดังนั้นเมื่อปี 2535 คณะรัฐมนตรี จึงได้มีมติให้ กปภ. จัดตั้งบริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด ขึ้น เพื่อรับผิดชอบในการจัดการระบบ ท่อส่ งน้ าดิบซึ่ งครอบคลุมทั้งการพัฒนาและการบริ หารระบบท่อส่ งน้ าในพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก เพื่อลด ความซ้ าซ้อนของหน่ วยงานต่างๆ และเพื่อให้การจัดการทรัพยากรน้ ามีเอกภาพมากขึ้น รายละเอียดสรุ ปดัง แผนภาพที่ 3.1 แผนภาพที่ 3.1 แสดงผู้รับผิดชอบหลักในการจัดการทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก

กรมชลประทาน หน้าที่ : พัฒนาแหล่งน้ า/จัดสรรน้ าให้ภาคเกษตรกรรมผ่านระบบคลองชลประทาน

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากร นา้ ภาคตะวันออก หน้าที่ : พัฒนาระบบท่อส่งน้ าดิบ/บริ หาร ระบบท่อส่งน้ าดิบ

จาหน่ ายให้ โรงงานและนิคม อุตสาหกรรม

จาหน่ ายให้ เพือ่ การอุปโภค บริโภค

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 31


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

4. อุปทานนา้ ในภาคตะวันออก แหล่งน้ าผิวดิน ปั จจุบนั พื้นที่ชายฝั่ งทะเลภาคตะวันออก มีการพัฒนาอ่างเก็บน้ าที่สาคัญๆ แล้วจานวน 15 แห่ ง ซึ่ ง จากข้อมูลล่าสุ ด อ่างเก็บน้ า 15 แห่ งดังกล่าวมีความจุรวมประมาณ 1,199.59 ล้าน ลบ.ม. และมีปริ มาณน้ าที่ สามารถใช้งานได้ประมาณ 1,520.05 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี ดังแสดงในตารางที่ 4.1 ตารางที่ 4.1 แหล่งน้ าในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก แหล่ งน้า 1. อ่างเก็บน้ าบางพระ 2. อ่างเก็บน้ าหนองค้อ 3. อ่างเก็บน้ ามาบปะชัน 4. อ่างเก็บน้ าดอกกราย 5. อ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล 6. อ่างเก็บน้ าหนองกลางดง 7. อ่างเก็บน้ าห้วยซากนอก 8. อ่างเก็บน้ าห้วยขุนจิต 9. อ่างเก็บน้ าห้วยสะพาน 10. อ่างเก็บน้ าบางไผ่ 11. อ่างเก็บน้ าคลองระบม 12. เขื่อนทดน้ าบางปะกง 13. อ่างเก็บน้ าคลองสี ยดั 14. อ่างเก็บน้ าคลองใหญ่ 15. อ่างเก็บน้ าประแสร์ รวม

จังหวัด ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ระยอง ระยอง ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ฉะเชิงเทรา ฉะเชิงเทรา ระยอง ระยอง

ความจุ (หน่ วย : ล้ านลบ.ม.)

ปริมาณนา้ ที่สามารถใช้ งานได้ เฉลีย่ Average Draft Rate (หน่ วย : ล้ านลบ.ม.ต่ อปี )

117.00 21.10 15.60 71.40 163.75 7.90 7.03 4.87 3.84 10.00 36.00 30.00 325.00 40.10 248.00 1,199.59

44.96 15.78 14.03 146.57 126.31 6.96 5.86 3.98 5.59 7.00 48.28 493.00 285.62 50.93 265.18 1,520.05

ที่มา : กรมชลประทาน หมายเหตุ : 1. ปัจจุบนั อ่างเก็บน้ าหนองค้อและอ่างเก็บน้ าดอกกรายจ่ายน้ าสาหรับการอุปโภคบริ โภคและอุตสาหกรรมเท่านั้น เนื่ องจากในพื้นที่หนองค้อไม่มี การใช้น้ าเพื่อการเกษตร ส่ วนในพื้นที่ดอกกรายใช้น้ าจากอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหลเพื่อจ่ายให้แก่การเกษตรแทน 2.ปริ มาณน้ าที่สามารถใช้งานได้ต่อปี เป็ นปริ มาณโดยเฉลี่ย ทั้งนี้ ตัวเลขดังกล่าวสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณน้ าที่เพิ่มเติมจากน้ าฝน และแหล่งน้ าต้นทางในแต่ละปี อย่างไรก็ตามตัวเลขดังกล่าวยังไม่ได้รวมถึงปริ มาณน้ าในอ่างเก็บน้ าที่มีอยูเ่ ดิมซึ่งสามารถนามาใช้งานได้เพิ่มเติม

จากข้อมูลแหล่งน้ าข้างต้น กรมชลประทานมีแผนการพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อรองรับความต้องการใช้น้ าที่ เพิ่มขึ้นในอนาคต สาหรับพื้นที่จงั หวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง อีก 10 แห่ง ความจุรวมประมาณ 241.09 ล้าน ลบ.ม. และมีปริ มาณน้ าที่สามารถใช้งานได้ 300.90 ล้าน ลบ.ม. ดังรายละเอียดในตารางที่ 4.2

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 32


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ตารางที่ 4.2 แผนพัฒนาแหล่งน้ าพื้นที่ภาคตะวันออก

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

แหล่ งน้า

จังหวัด

อ่างเก็บน้ าคลองกะพง อ่างเก็บน้ าห้วยกรอกเคียน อ่างเก็บน้ าบ้านหนองกระทิง อ่างเก็บน้ ามาบหวายโสม อ่างเก็บน้ าห้วยไข่เน่า อ่างเก็บน้ ากระแสร์ อ่างเก็บน้ าคลองหลวง อ่างเก็บน้ าคลองโพล้ อ่างเก็บน้ าคลองมะเฟื อง อ่างเก็บน้ าคลองน้ าเขียว รวม

ฉะเชิงเทรา ฉะเชิงเทรา ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ระยอง ระยอง ระยอง

ความจุ (ล้ าน ลบ.ม.)

ปริมาณนา้ ที่สามารถใช้ งานได้ เฉลีย่ Average Draft Rate (หน่ วย : ล้ าน ลบ.ม.ต่ อปี )

27.50 19.20 15.00 6.43 1.61 15.00 98.00 40.00 0.85 17.50 241.09

26.00 16.00 13.00 8.00 8.00 15.00 112.00 70.00 2.10 30.80 300.90

ระยะเวลา การก่ อสร้ าง เริ่ม แล้ วเสร็จ 2557 2557 2557 2558 2558 2559 2553 2558 2559 2559

2560 2559 2559 2560 2559 2560 2560 2560 2560 2560

ที่มา : สานักชลประทานที่ 9 กรมชลประทาน

แหล่งน้ าใต้ดิน สาหรับแหล่งน้ าใต้ดินในภาคตะวันออกมีค่อนข้างจากัด ทั้งนี้จากข้อมูลการขุดเจาะบ่อบาดาลโดยกรม โยธาธิ การในพื้นที่จงั หวัดฉะเชิ งเทรา ชลบุ รี ระยอง ปราจีนบุรี และสระแก้ว พบว่า บ่อบาดาลส่ วนใหญ่จะ สามารถสู บน้ าได้ในอัตรา 2.5-7.0 ลบ.ม.ต่อชั่วโมง ซึ่ งพอเพียงสาหรับอุ ปสงค์เพื่อการอุปโภคบริ โภคใน ท้องถิ่นเท่านั้น นอกจากนี้ น้ าใต้ดินในหลายบริ เวณพบว่ามีปัญหาเรื่ องสารคลอไรด์สูง อันเป็ นผลมาจากการที่ น้ าทะเลถูกกักเก็บไว้ในชั้นดินตะกอนตั้งแต่อดีต และบางส่ วนมีการแทรกตัวของน้ าทะเลเนื่ องจากการสู บน้ า ใต้ดินมากเกิ นไป ส่ งผลให้แหล่ งน้ าใต้ดินในภาคตะวันออกมีขอ้ จากัดทั้งในด้านปริ มาณและคุ ณภาพจนไม่ สามารถพัฒนาเป็ นแหล่งน้ าหลักได้ 5. แนวโน้ มการจัดการทรัพยากรนา้ ของภาคตะวันออก ความต้องการใช้น้ า ในภาคตะวันออกยัง มี แนวโน้ม การเติ บ โตอย่า งต่อเนื่ อง ทั้ง นี้ เป็ นผลจากการ ส่ งเสริ มจากภาครัฐ ทั้งด้านการส่ งเสริ มการลงทุนและแผนพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก ระยะที่ 2 (ปี 2538-2543) ซึ่ งรั ฐบาลก าหนดพื้นที่ เป้ าหมายในการพัฒนาพื้ นที่ ตอนใน ห่ างจากชายฝั่ งทะเลตะวันออก ต่อเนื่ องจากการพัฒนาระยะที่ 1 ดังนั้นแนวโน้มการจัดการทรั พยากรน้ าภาคตะวันออกจึ ง มี ลกั ษณะการ เชื่อมโยงแหล่งน้ าจากพื้นที่ลุ่มน้ าอื่นๆ อาทิ ลุ่มน้ าเจ้าพระยาตอนล่าง ลุ่มน้ าจังหวัดจันทบุรี เข้ามาเสริ มอุปสงค์ การใช้ น้ าที่ เ พิ่ ม ขึ้ น รวมทั้ ง ให้ ค วามส าคั ญ กั บ การจั ด สรรน้ าอย่ า งสมดุ ล และมี ส่ วนร่ วมระหว่ า ง ภาคอุ ต สาหกรรม อุ ป โภคบริ โภค และเกษตรกรรม ตลอดจนมี แ นวโน้ม การจัดการด้า นอุ ป สงค์ม ากขึ้ น __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 33


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

(Demand Side Management) รวมถึ ง การจัดเตรี ยมการบริ หารแหล่ งน้ าในกรณี เกิ ดภัยแล้ง(Drought Management) เพื่อใช้ประสานงานกับหน่วยราชการ และลูกค้าในการใช้น้ าให้เกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด 6. อุปสงค์ นา้ ในประเทศไทย การใช้น้ าในประเทศไทย นอกจากจะใช้เพื่อความจาเป็ นในการดารงชี พของมนุ ษย์แล้ว ยังมีการใช้น้ า เพื่อสร้ างความสะดวกสบายให้แก่ชีวิต และเพื่อกิ จกรรมในสาขาต่างๆ เช่ น เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การ ท่องเที่ยว และสันทนาการต่างๆ เป็ นต้น ความต้องการใช้น้ าในประเทศเพิ่มปริ มาณสู งขึ้นเรื่ อยๆ ตามการเพิ่ม ของจานวนประชากร การเติบโตทางด้ านเศรษฐกิ จ อุ ตสาหกรรมและเกษตรกรรม โดยสามารถแบ่งความ ต้องการใช้น้ าออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ดังนี้ 1) ความต้องการใช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภค เป็ นการใช้น้ าเพื่อเป็ นพื้นฐานในการดารงชี วิต เช่ น น้ าดื่ม การเตรี ยมอาหาร ซักล้าง ทาความสะอาด เป็ นต้น ซึ่งนอกจากความต้องการจะเพิ่มขึ้นตามจานวนประชากรของประเทศแล้ว อัตราการใช้น้ าต่อบุคคลยัง แปรผันไปตามสภาพความเจริ ญทางเศรษฐกิจและมาตรฐานการครองชี พ โดยอัตราการใช้น้ าในชุ มชนเมืองจะ มีมากกว่าชนบท และในชุ มชนที่มีสภาพทางด้านเศรษฐกิ จดีจะมีการพัฒนาการทางด้านอุปกรณ์อานวยความ สะดวกของครอบครัวทาให้อตั ราการใช้น้ าอยู่ในเกณฑ์สูง ดังจะเห็ นได้จากสถิ ติการใช้น้ าของผูใ้ ช้น้ า ในปี 2555 ของการประปาส่ ว นภู มิ ภาคทั่วประเทศ และส่ วนของพื้ นที่ ใ ห้บ ริ ก าร ส านัก งานการประปาเขต 1 ครอบคลุมพื้นที่บริ การในภาคตะวันออก ที่แสดงไว้ดงั ตารางที่ 6.1 และ 6.2 ตารางที่ 6.1 สถิติการใช้น้ าการประปาส่ วนภูมิภาคทัว่ ประเทศ จานวนประปา (แห่ง)

จานวนหน่วย บริ การ (แห่ง)

จานวนผูใ้ ช้น้ า (ราย)

รวมปริ มาณการผลิต (ลูกบาศก์เมตร/ปี )

ความต้องการน้ าดิบ (ลูกบาศก์เมตร/ปี )

231

356

3,462,466

1,528,500,546

1,699,060,402

ตารางที่ 6.2 สถิติการใช้น้ าการประปาส่ วนภูมิภาค พื้นที่ให้บริ การสานักงานการประปาเขต 1 จานวนประปา (แห่ง)

จานวนหน่วย บริ การ (แห่ง)

จานวนผูใ้ ช้น้ า (ราย)

22 16 574,932 ที่มา: http://.wr.pwa.co.th กองพัฒนาแหล่งน้ าการประปาส่วนภูมิภาค

รวมปริ มาณการผลิต (ลูกบาศก์เมตร/ปี )

ความต้องการน้ าดิบ (ลูกบาศก์เมตร/ปี )

274,791,981

305,221,882

2) ความต้องการใช้น้ าในภาคอุตสาหกรรม การใช้น้ าในภาคอุตสาหกรรมส่ วนใหญ่ จะใช้ในขบวนการผลิ ต การหล่ อเย็น การทาความสะอาด และการกาจัดของเสี ย การเพิ่มขึ้ นของความต้องการใช้น้ าเพื่ออุ ตสาหกรรมจะขึ้ นอยู่กบั สภาวะการเติ บโต __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 34


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ทางด้านเศรษฐกิ จเป็ นหลัก ทั้งนี้ อุตสาหกรรมแต่ละประเภทจะต้องการใช้น้ าในปริ มาณที่แตกต่างกัน เช่ น อุตสาหกรรมปิ โตรเคมี โรงผลิตกระแสไฟฟ้ า อุตสาหกรรมฟอกย้อม สิ่ งทอ อุตสาหกรรมถลุงเหล็ก เหล่านี้ จะ มีความต้องการใช้น้ าสู งมาก โดยในช่ วงทศวรรษที่ผ่านมาความต้องการใช้น้ าในส่ วนนี้ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว เนื่องจากการขยายตัวทางอุตสาหกรรมของประเทศ 3) ความต้องการใช้น้ าในภาคเกษตรกรรม การใช้น้ า ในภาคเกษตรกรรมของประเทศไทย จะเป็ นการใช้น้ า ที่ มีป ริ ม าณสู ง ที่ สุด คื อประมาณ ร้ อ ยละ 90 ของปริ ม าณน้ า ทั้ง หมด เนื่ องจากประเทศไทยเป็ นประเทศที่ มี พ้ื นฐานทางเศรษฐกิ จซึ่ งอาศัย การเกษตรเป็ นหลัก น้ าที่ใช้ในการเกษตรส่ วนใหญ่จะใช้ในการทานาข้าว ทาสวน บ่อเลี้ ยงปลา การปลูกผัก ผลไม้ การปศุสัตว์ และฟาร์ มเลี้ยงกุง้ ประมาณการว่าร้อยละ 25 ของน้ าที่ใช้ในการเกษตรกรรมนี้ จะไหลกลับ สู่ ระบบน้ าตามธรรมชาติอีกครั้งหนึ่ง 7.อุปสงค์ นา้ ในภาคตะวันออก จากผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตามโครงการศึกษาเพื่อจัดทาแผนหลักการพัฒนาและ จัดการทรั พ ยากรน้ าภาคตะวันออกของกรมชลประทาน ดังแสดงในตารางที่ 4.5 พบว่าการใช้น้ าในลุ่ มน้ า ชายฝั่ ง ตะวันออก ซึ่ งครอบคลุ ม พื้ น ที่ ใ นเขตจัง หวัดชลบุ รี ระยอง ฉะเชิ ง เทรา จัน ทบุ รี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี และสระแก้ว มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ตั้งแต่ปี 2539-2559 โดยคาด ปริ มาณการใช้น้ ารวม ปี 2559 ทั้งสิ้ น 6,593.5 ล้าน ลบ.ม. แบ่งเป็ น การใช้น้ าเพื่อการเกษตร 5,649.5 ล้าน ลบ.ม. การใช้น้ าอุปโภค บริ โภค-การท่องเที่ยว 373.1 ล้าน ลบ.ม. และการใช้น้ าอุตสาหกรรม 570.9 ล้าน ลบ.ม. โดยปริ มาณสัดส่ วน ความต้องการใช้น้ ามาจาก ภาคการเกษตร เป็ นหลัก อย่างไรก็ดี หากพิจารณาจาก อัตราการเจริ ญเติบโตของแต่ ละภาคส่ วน พบว่า ภาคอุตสาหกรรมยังคงเป็ นส่ วนที่มีอตั ราเติบโตสู งขึ้นอย่างต่อเนื่ องเฉลี่ ยร้อยละ 7 ต่อปี เนื่องจากนโยบายการกาหนดเขตพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมเขตภาคตะวันออก เช่น นิ คมอุตสาหกรรมมาบตาพุด นิ ค มอุ ต สาหกรรมเหมราชชลบุ รี (บ่ อ วิน ) นิ ค มอุ ตสาหกรรมเหมราชตะวันออก และนิ ค มอุ ต สาหกรรม แหลมฉบัง เป็ นต้น จากปั จจัยดังกล่าวส่ งผลต่อเนื่ องให้มีการขยายตัวของชุ มชนออกไปยังพื้นที่ใกล้เคียงมาก ขึ้น ส่ งผลให้ความต้องการใช้น้ าของภาคการอุปโภคบริ โภคขยายตัวด้วยเช่นกัน ตารางที่ 7.1 แสดงปริ มาณความต้องการใช้น้ าในพื้นที่ภาคตะวันออก ปี 2539-2559 จังหวัด ชลบุรี

ระยอง

ประเภท อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว อุตสาหกรรม เกษตรกรรม รวม อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว อุตสาหกรรม เกษตรกรรม

ปี 2539 ล้าน ลบ.ม. % 81.1 15.27 63.5 11.95 386.6 72.78 531.2 100.00 26.7 2.75 77.7 8.00 867.0 89.25

ปี 2549 ล้าน ลบ.ม. % 116.2 18.65 120.4 19.32 386.6 62.03 623.2 100.00 41.0 3.88 149.0 14.10 867.0 82.02

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ปี 2559 ล้าน ลบ.ม. % 161.6 22.66 165.1 3.15 386.6 4.20 713.3 100.00 49.4 4.46 191.1 17.26 867.0 78.28

ส่วนที่ 1 หน้า 35


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ปี 2539 ปี 2549 ปี 2559 ล้าน ลบ.ม. % ล้าน ลบ.ม. % ล้าน ลบ.ม. % รวม 971.4 100.00 1,057.0 100.00 1,107.5 100.00 ฉะเชิงเทรา อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 22.3 1.21 30.8 1.64 38.2 2.01 อุตสาหกรรม 24.7 1.34 50.0 2.67 70.6 3.71 เกษตรกรรม 1,792.7 97.45 1,792.7 95.69 1,792.7 94.28 รวม 1,839.7 100.00 1,873.5 100.00 1,901.5 100.00 จันทบุรี อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 23.3 4.01 30.4 5.12 38.1 6.28 อุตสาหกรรม 10.5 1.81 15.8 2.66 21.1 3.48 เกษตรกรรม 547.1 94.18 547.1 92.21 547.1 90.24 รวม 580.9 100.00 593.3 100.00 606.3 100.00 ตราด อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 9.9 3.27 12.8 4.15 16.1 5.10 อุตสาหกรรม 3.7 1.22 6.6 2.14 10.3 3.26 เกษตรกรรม 289.2 95.51 289.2 93.71 289.2 91.63 รวม 302.8 100.00 308.6 100.00 315.6 100.00 นครนายก อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 8.1 1.55 10.4 1.97 13.0 2.44 อุตสาหกรรม 2.0 0.38 4.0 0.76 5.8 1.09 เกษตรกรรม 513.2 98.07 513.2 97.27 513.2 96.47 รวม 523.3 100.00 527.6 100.00 532.0 100.00 ปราจีนบุรี อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 16.2 3.32 22.6 4.26 27.9 4.98 อุตสาหกรรม 22.6 4.63 58.0 10.95 82.6 14.76 เกษตรกรรม 449.3 92.05 449.3 84.79 449.3 80.26 รวม 488.1 100.00 529.0 100.00 559.8 100.00 สระแก้ว อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 17.5 2.11 23.0 2.73 28.8 3.36 อุตสาหกรรม 7.6 0.92 15.5 1.84 24.3 2.83 เกษตรกรรม 804.5 96.97 804.5 95.43 804.5 93.81 รวม 829.6 100.00 843.0 100.00 857.6 100.00 รวมภาค อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 205.1 3.38 287.2 4.52 373.1 5.66 ตะวันออก อุตสาหกรรม 212.3 3.50 419.3 6.60 570.9 8.66 (8 จังหวัด) เกษตรกรรม 5,649.5 93.12 5,649.5 88.88 5,649.5 85.68 รวม 6,066.9 100.00 6,356.0 100.00 6,593.5 100.00 ที่มา : กรมชลประทาน โครงการศึกษาเพื่อจัดทาแผนหลักการพัฒนาและจัดการทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก ภาควิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้ าคณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จังหวัด

ประเภท

ปั จจัยหลัก ที่ส่งผลให้อุตสาหกรรมในภาคตะวันออกมีการขยายตัว มีดงั นี้ (ก) นโยบายของรั ฐ ในการพัฒนาพื้ นที่ ช ายฝั่ ง ทะเลภาคตะวัน ออก ในระยะที่ ผ่า นมารั ฐบาล ได้ ดาเนิ นการตามแนวทางการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่ งทะเลตะวันออก ระยะที่ 1 โดยมีเป้ าหมายหลักในการพัฒนา พื้นที่ บริ เวณแหลมฉบัง จังหวัดชลบุ รี และพื้นที่ มาบตาพุด จังหวัดระยอง โดยการจัดตั้งนิ คมอุ ตสาหกรรม ควบคู่ไปกับการพัฒนาท่าเรื อน้ าลึก ตลอดจนพัฒนาชุ มชนใหม่เพื่อรองรับแรงงานและประชากรที่เพิ่มมากขึ้น อีกทั้งยังครอบคลุ มถึ งการพัฒนาเมืองให้เป็ นศูนย์กลางต่างๆ เช่ น จังหวัดชลบุรี เป็ นศูนย์กลางภูมิภาคในเชิ ง ธุ รกิ จการค้า พื้นที่ แหลมฉบัง เป็ นเมื องท่ าสมัยใหม่ พื้นที่ พทั ยาเป็ นเมื องท่ องเที่ ยวและศูนย์พาณิ ช ย์ พื้ นที่ __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 36


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

มาบตาพุดเป็ นศูนย์กลางอุตสาหกรรมสมัยใหม่ของประเทศ และจังหวัดระยองเป็ นศูนย์บริ การ ฐานการศึกษา และศูนย์วจิ ยั ด้านเทคโนโลยี ในขณะที่สนามบินสุ วรรณภูมิเป็ นพื้นที่รองรับ บุคลากรในอุตสาหกรรมการบิน และขนส่ งทางอากาศ เป็ นต้น (ข) การส่ งเสริ มการลงทุน คณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุ นได้แ บ่ ง เขตการส่ ง เสริ ม การลงทุ น เป็ น 3 เขต โดยให้สิ ท ธิ แ ละ ประโยชน์สูงสุ ดแก่โครงการที่ประกอบการหรื อตั้งโรงงานในเขต 3 เพื่อสนับสนุ นการกระจายอุตสาหกรรม ไปสู่ ภูมิภาคยิง่ ขึ้น สาหรับพื้นที่ให้บริ การของบริ ษทั ซึ่ งอยูบ่ ริ เวณจังหวัดชลบุรี ฉะเชิ งเทรา และระยอง ถูกจัด อยูใ่ นเขต 2 โดยมีนโยบายในการผลักดัน และกระตุน้ เศรษฐกิจในภาคตะวันออกอย่างต่อเนื่ อง ทั้งนี้ ในปี 2555 ได้อนุมตั ิโครงการทั้งสิ้ น 679 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน 336,610 ล้านบาท คิดเป็ นสัดส่ วนการลงทุนถึงร้อยละ 94 ของมูลค่าการส่ งเสริ มการลงทุนของทั้งภาคตะวันออก 8. ภาวะการแข่ งขัน การประกอบธุ รกิจพัฒนาระบบท่อส่ งน้ าและจัดจาหน่ายน้ าดิบให้กบั ผูใ้ ช้น้ าทั้งภาคอุตสาหกรรม และ อุปโภคบริ โภค ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของบริ ษทั ในปั จจุบนั ไม่มีคู่แข่งขันรายใหญ่ อีกทั้งโอกาส ที่จะเกิดคู่แข่งขันทางตรงขึ้นในอนาคตก็มีโอกาสเป็ นไปได้นอ้ ยเช่นกัน เนื่องจากบริ ษทั ได้รับอนุญาตให้ใช้น้ า จากอ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่ของกรมชลประทานไว้ก่อน ส่ วนแหล่งน้ าอื่นๆ ที่พอจะใช้ทดแทนกันได้ เช่ น บ่อ บาดาล ก็มีขอ้ จากัดทั้งในด้านปริ มาณและคุณภาพ นอกจากนี้ อุปสรรคสาคัญสาหรับผูป้ ระกอบการรายใหม่ที่ จะเข้ามาในอุตสาหกรรมนี้ ก็คือ การลงทุนในธุ รกิจขนส่ งน้ าทางท่อส่ งน้ า ต้องใช้เงินลงทุนสู ง ทั้งที่เป็ นค่าท่อ ส่ งน้ า ค่าสถานีสูบน้ า การสารองแหล่งน้ า อีกทั้งการวางท่อเพื่อให้บริ การกับผูใ้ ช้น้ ามีความจาเป็ นที่จะต้องวาง ท่ อ ผ่า นที่ ส าธารณะ จึ ง ต้อ งได้รับ ความร่ ว มมื อ จากหน่ วยงานของรั ฐ บาล และรั ฐ วิ ส าหกิ จ มิ ฉ ะนั้น แล้ว ผูป้ ระกอบการจะต้องเช่ าหรื อซื้ อที่ ดิน เพื่อใช้สาหรั บวางท่อซึ่ งจะทาให้ตน้ ทุ นโครงการสู งมาก ด้วยเหตุ น้ ี บริ ษทั ซึ่ งถูกจัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี จึงมีความได้เปรี ยบในด้านความร่ วมมือที่ได้รับจากหน่วยงานของ รัฐบาล เช่น กรมชลประทาน กรมทางหลวง เป็ นต้น ในบางพื้นที่ผปู ้ ระกอบการบางรายอาจมีการจัดหาน้ าดิบจากเอกชนรายย่อยอื่นๆ ในพื้นที่ เพื่อเป็ นการ บริ หารความเสี่ ยง และลดภาระการลงทุนแหล่งน้ าสารองของตนเองได้บา้ ง แต่เอกชนรายย่อยอื่นๆ มีขอ้ จากัด ในการเพิ่มปริ มาณน้ าดิบจาหน่ ายให้แก่ผปู ้ ระกอบ เนื่ องจากมีขอ้ จากัดด้านการขอใช้น้ าจากกรมชลประทาน และแหล่งน้ ามีปริ มาณจากัด อย่างไรก็ดี บริ ษทั อาจมีคู่แข่งทางอ้อมได้ ดังนี้ 1) ลูกค้าของบริ ษทั อาจมีแหล่งน้ าทดแทนหรื อแหล่งน้ าสารองอื่น เช่น การนาน้ าทิ้งที่ผา่ นการบาบัด แล้วกลับมาใช้ (Recycle) การขุดบ่อบาดาล หรื อการขุดสระเก็บน้ า เป็ นต้น 2) การซื้ อน้ าจากรถน้ าของเอกชน แต่น้ าดังกล่าวมี ราคาสู งถึ งประมาณ 30-40 บาท/ลูกบาศก์เมตร รวมทั้งสามารถให้บริ การในปริ มาณที่ค่อนข้างจากัด __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 37


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

3) การสู บน้ าโดยตรงจากแหล่งน้ าธรรมชาติซ่ ึ งสามารถสู บน้ าไปใช้ได้เฉพาะในช่ วงฤดู ฝนเท่านั้น เนื่ องจากในช่ วงฤดู แล้ง ปริ ม าณน้ าที่ ท าให้จะลดต่ า ลง และบางพื้ นที่ จะมี น้ า ทะเลหนุ น ท าให้น้ า ในแม่ น้ า ลาคลองไม่สามารถนาไปใช้งานได้ 9. กลยุทธ์ ทางการตลาด ก กลยุทธ์ การแข่ งขัน บริ ษทั กาหนดแผนกลยุทธ์ในด้านต่างๆ เพื่อให้การดาเนิ นงานของบริ ษทั เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ที่ จะพัฒนา และบริ หารระบบท่ อส่ งน้ าสายหลักในพื้ นที่ บริ เวณชายฝั่ ง ตะวันออก และเพื่อตอบสนองความ ต้องการใช้น้ าในพื้นที่ รับผิดชอบได้อย่างพอเพียง ประกอบกับให้การดาเนิ นงานของบริ ษทั สามารถบรรลุ เป้ าหมายที่กาหนดไว้ โดยมีแผนกลยุทธ์หลัก ดังนี้ ด้ านการสร้ างความเชื่ อมั่นให้ แก่ ลูกค้ า ในปี 2556 บริ ษทั ยังคงปรับปรุ งการให้บริ การลูกค้าอย่างต่อเนื่ องผ่านกระบวนการรับฟั งเสี ยงของ ลูกค้า (Voice of Customer) โดยรับฟั งเสี ยงทั้งลูกค้าปั จจุบนั และ ในอนาคต จากระบบสารสนเทศและข้อ ร้ อ งเรี ย น ผ่า นแผนการเยี่ย มเยี่ ย นลู ก ค้า การส ารวจความพึ ง พอใจ และกิ จ กรรมต่ า งๆ ตามแผนกลยุ ท ธ์ (Customer Relationship Management : CRM เพื่อนาข้อมูลสารสนเทศที่ได้มาปรับปรุ งการให้บริ การได้ตรง ตามความต้องการของลูกค้า (Customer need) โดยครอบคลุมทั้งหมดด้วยกัน 4 ด้าน ได้แก่ 1. ด้ านการรั กษาเสถียรภาพระบบสู บและจ่ ายน้า Reliability) ได้มีการจัดลาดับความสาคัญของ เครื่ องจักรอุปกรณ์ และ ความพร้อมของเครื่ องจักร โดยแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ Class A (มีความสาคัญ สู ง) Class B (มีความสาคัญปานกลาง) และ Class C (มีความสาคัญปกติ) เพื่อใช้กาหนดเกณฑ์การซ่ อมแซม ตามลาดับความสาคัญของสถานีและอุปกรณ์ รวมถึงการเพิ่มศักยภาพของระบบโครงข่ายท่อส่ งน้ า และ แหล่งน้ าของบริ ษทั โดยมีโครงการลงทุนที่สาคัญ ได้แก่  โครงการเพิ่มศักยภาพระบบจ่ายน้ าแหลมฉบัง (บางพระ) มีวต ั ถุประสงค์เพื่อเพิ่มความสามารถของ ระบบสู บจ่ายน้ าให้แก่พ้นื ที่ชลบุรี สามารถส่ งน้ าให้แก่ผใู ้ ช้น้ าได้อย่างเพียงพอ ลดการพึ่งพาน้ าจากพื้นที่ระยอง และเพิ่มเสถียรภาพในการสู บจ่ายน้ าให้มนั่ คงมากขึ้น  โครงการพัฒนาสระเก็บน้ าดิบคลองทับมา มีวต ั ถุประสงค์เพื่อเพิ่มแหล่งน้ าต้นทุนของบริ ษทั รองรับ ความต้องการใช้น้ าในอนาคตของพื้นที่ระยอง 2. ด้ านผลิตภัณฑ์ Products) มีการกาหนดเงื่อนไขเพิ่มเติมในการให้บริ การตามระดับ SLA โดยเน้น ด้านแรงดันน้ าและคุณภาพน้ า พร้อมกับจัดทา Work Procedure ในระบบบริ หารคุณภาพ (ISO) เพื่อแก้ไข ปั ญหาที่เกิดขึ้นทันทีที่ระบบควบคุมแบบรวมศูนย์ ( Control Center ) มีการแจ้งเตือนขึ้นมา 3. ด้ านการบริ การ Services) มีการยกระดับเกณฑ์ความพึงพอใจในการให้บริ การให้สูงขึ้น และ จาแนกกลุ่มการให้บริ การตามปริ มาณการใช้น้ าดิบ เพื่อให้บริ การได้รวดเร็ วตรงตามความสาคัญอย่างเร่ งด่วน มากขึ้น และ __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 38


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

4. ด้ านประชาสั มพันธ์ Information) มีการจัดทาข้อมูลข่าวสารส่ งให้ลูกค้าตามระดับลูกค้า โดยมี ความถี่ ในการส่ งแตกต่างกัน (Weekly, Monthly, Quarterly) มีการปรับปรุ งฐานข้อมูลลูกค้า (Information Customize Report) เพื่อส่ งข้อมูล Customize Report, Water Quality, Water situation, News Letter ให้ตรงตาม ความต้องการของแต่ละกลุ่มลูกค้ามากขึ้น ด้ านระบบการบริหารคุณภาพ บริ ษทั ได้นาระบบบริ หารคุณภาพ ISO 9001:2000 มาประยุกต์ใช้ภายในองค์กร เพื่อให้การดาเนินงาน เป็ นไปตามนโยบายคุณภาพของบริ ษทั ที่วา่ “จัดสรรน้ าสู่ ผใู ้ ช้ มัน่ ใจในบริ การ คุณภาพและสิ่ งแวดล้อม” โดย บริ ษทั ได้ดาเนินการขอการรับรองระบบคุณภาพ ISO 9001:2000 จากบริ ษทั (Bureau Veritas Certification (ประเทศไทย) จากัด ซึ่ งได้รับการรับรองโดย United Kingdom Accreditation Services (UKAS) ซึ่ งเป็ นองค์กร ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติที่มีสานักงานใหญ่อยูใ่ นประเทศสหราชอาณาจักร และถือว่าเป็ นบริ ษทั น้ าแห่งแรกในประเทศไทยที่ได้รับรองคุณภาพ ISO 9001:2000 บริ ษ ทั ได้รับการรั บ รองระบบคุ ณภาพครอบคลุ มระบบงานต่ างๆ ทั้งงานด้านการตรวจสอบ การ วางแผนธุ รกิจ การบริ หาร การจัดการ การปฏิ บตั ิการ รวมทั้งการเงิ นและพัสดุ แสดงให้เห็ นถึ งการเชื่ อมโยง ระบบข้อมูลภายในองค์กร ซึ่ งทาให้ลูกค้ามัน่ ใจได้วา่ จะได้รับการบริ การที่มีคุณภาพ นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้รับ การรับรองระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม ISO 14000 ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการดาเนินงานของบริ ษทั มีการบริ หาร จัดการสิ่ งแวดล้อมเป็ นอย่างดี และไม่พบปั ญหาสิ่ งแวดล้อมจากการดาเนินงานของบริ ษทั ด้ านการขยายพืน้ ทีก่ ารให้ บริการ บริ ษทั ได้ศึกษาถึงความเป็ นไปได้ในการลงทุน และขยายการดาเนิ นงานอย่างต่อเนื่ อง เพื่อขยายพื้นที่ การให้บริ การให้ทวั่ ถึ ง และเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ าในพื้นที่ความรับผิดชอบของบริ ษทั โดยศึกษาถึ ง ความต้องการใช้น้ าในแต่ละพื้นที่เพื่อพิจารณาถึงความเหมาะสมด้านการลงทุน ทั้งด้านการปรับปรุ งและขยาย ระบบท่ อส่ งน้ า ที่ มี อยู่เดิ ม และการพัฒนาระบบท่ อส่ ง น้ า ใหม่ อาทิ โครงการวางท่อส่ งน้ าหนองปลาไหลมาบตาพุด เส้นที่ 3 ซึ่ งโครงการขยายระบบท่อส่ งน้ าที่มีอยูเ่ ดิมจะทาให้การจ่ายน้ าในพื้นที่ระยองมีศกั ยภาพใน การสู บจ่ายเพิ่มขึ้น การปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพระบบสู บส่ งน้ าและการควบคุมค่าใช้จ่ายด้านการผลิต บริ ษทั ได้ปรับปรุ ง ระบบสู บน้ าและวิธีการส่ งน้ าอยูเ่ สมอ เช่น 1. ปรับปรุ งระบบสู บส่ งน้ าให้สามารถสู บน้ าจากอ่างเก็บน้ าดอกกรายไปถึงปลายทางที่สัตหี บได้ โดย ไม่ตอ้ งใช้พลังงานไฟฟ้ าสู บน้ าขึ้นไปสถานี ยกระดับน้ าที่มาบตาพุด ทาให้สามารถประหยัดค่าพลังงานไฟฟ้ า ได้อย่างมาก เป็ นต้น 2. บริ ษทั ได้จดั ให้มีระบบบารุ งรักษาเชิ งป้ องกัน (Preventive Maintenance) อย่างต่อเนื่ อง โดยมี ทีมงานที่คอยตรวจเช็คและซ่อมแซมระบบการสู บส่ งน้ าอย่างสม่าเสมอเพื่อป้ องกันการสึ กกร่ อนของระบบท่อ และอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ประตูน้ า และมาตรวัดน้ า เป็ นต้น __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 39


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

3. ติดตั้งเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าสารองที่สถานีสูบน้ าดอกกราย ทาให้สามารถสู บจ่ายน้ าได้ต่อเนื่ องแม้ไม่มี ไฟฟ้ าจากการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค อีกทั้งยังช่ วยประหยัดค่าไฟฟ้ าในช่ วง Peak load ได้จานวนมากในกรณี ที่ ต้นทุนค่าน้ ามันเชื้อเพลิงต่ากว่าต้นทุนการใช้ไฟฟ้ าด้วย ข ข้ อได้ เปรียบของบริษัท เมื่อเทียบกับคู่แข่ งขัน จากการที่คณะรัฐมนตรี มีมติจดั ตั้งบริ ษทั เพื่อให้เป็ นผูด้ าเนิ นการพัฒนาและบริ หารระบบท่อส่ งน้ าสาย หลักในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ทาให้บริ ษทั ได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ในการใช้น้ าดิบจากอ่างเก็บน้ าของ กรมชลประทาน ซึ่ งเป็ นแหล่งน้ าส่ วนใหญ่ของภาคตะวันออก เพื่อจาหน่ายให้แก่การอุปโภคบริ โภคและการ อุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ได้พฒั นาการดาเนินงานมาอย่างต่อเนื่องโดยใช้เทคโนโลยีที่ทนั สมัย พร้อม ด้วยสั่งสมประสบการณ์จากเหตุการณ์ต่างๆ อาทิ กรณี วิกฤตภัยแล้งในปี 2548 ปั ญหาทางการเงิน จนเกิดเป็ น ความเชี่ ย วชาญในการบริ ห ารจัด การน้ า และการเงิ น ได้รั บ ความเชื่ อ ถื อ และไว้ว างใจจากลู ก ค้า ชุ ม ชน นักลงทุน โดยทั้งหมดช่วยเสริ มสร้างศักยภาพของบริ ษทั ในการขยายงานได้ดีกว่าผูป้ ระกอบการรายอื่นๆ สรุ ปข้อได้เปรี ยบหรื อปั จจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็ จของบริ ษทั 1. เป็ นหน่วยงานที่จดั ตั้งโดยภาครัฐ 2. ได้รับความร่ วมมือจากหลายหน่วยงานภาครัฐ เช่น การวางท่อ การซ่อมแซม และการบารุ งรักษา เป็ นต้น 3. มีประสบการณ์ ที่ยาวนาน ความน่ าเชื่ อถือ ตลอดจนความเชี่ ยวชาญ จากการเป็ นเอกชนรายแรกที่ดาเนิ น ธุ รกิจสู บส่ งน้ าดิบ 4. มีแหล่งน้ าที่แน่นอนและเพียงพอเพื่อป้ อนให้กบั ผูใ้ ช้น้ าที่เพิม่ ขึ้นอย่างรวดเร็ วจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ 5. มีระบบการบริ หารและควบคุมการจ่ายน้ าที่แม่นยาและทันสมัย สามารถควบคุมปริ มาณน้ าสู ญเสี ยในระบบ รวมทั้งสามารถควบคุมการสู บจ่ายน้ าให้สอดคล้องกับความต้องการของผูใ้ ช้น้ า 6. มีฐานการตลาดขนาดใหญ่ 7. มีสถานะทางการเงินที่มนั่ คง 8. มีศกั ยภาพสู งในการขยายงาน ค นโยบายราคา บริ ษทั มีนโยบายกาหนดอัตราค่าน้ าดิบเพื่อสะท้อนต้นทุนที่แท้จริ งของโครงการ โดยการคานวณหา อัตราค่าน้ าของบริ ษทั ซึ่งแบ่งออกได้เป็ น 2 ขั้นตอนหลัก ดังนี้ 1 การคานวณหาอัตราค่ านา้ เฉลีย่ บริ ษทั ก าหนดอัตราค่ าน้ าดิ บแยกเป็ นรายโครงการ โดยจะค านวณจากต้นทุ นที่ แท้จริ งของแต่ ล ะ โครงการซึ่ งประกอบด้วย เงิ นลงทุ นโครงการ ต้นทุ นค่าน้ าดิ บ ต้นทุ นในการดาเนิ นงาน ค่าเช่ า รวมทั้งเงิ น ลงทุนในระบบท่อส่ งน้ าในอนาคต นอกจากนี้ ครม.มีมติ (6 สิ งหาคม 2539) ให้บริ ษทั พิจารณารวมค่าลงทุน ในการบาบัดน้ าเสี ยเป็ นต้นทุ นที่ แท้จริ งด้วย อย่างไรก็ตาม นับตั้งแต่เริ่ มดาเนิ นการจนถึ งปั จจุ บนั ยังไม่มี __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 40


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

รายจ่ายในด้านนี้เกิดขึ้น บริ ษทั จึงยังมิได้รวมต้นทุนดังกล่าว ซึ่ งในอนาคต บริ ษทั จะได้พิจารณาดาเนินการใน ด้านนี้ต่อไป เพื่อให้เกิดการบริ หารต้นทุนที่มีประสิ ทธิ ภาพ อัตราค่าน้ าเฉลี่ยซึ่ งคานวณจากต้นทุนที่แท้จริ งข้างต้น โดยแยกพิจารณา เป็ น 2 วิธี คือ 1.1) ต้นทุ นส่ วนเพิ่มโดยเฉลี่ ย (Average Incremental Cost หรื อ AIC) วิธีน้ ี เป็ นการคานวณหามูลค่า ปั จจุ บนั สุ ทธิ ของต้นทุนที่แท้จริ งของโครงการที่ อตั ราส่ วนลดประมาณร้ อยละ 15 แล้วนามาคานวณหา ค่าเฉลี่ยต่อหน่วยปริ มาณน้ าดิบที่จาหน่ายในรอบระยะเวลา 30 ปี จากนั้น นาค่า AIC ที่ได้มาบวกส่ วนเพิ่ม (Mark-up) อีกร้อยละ 20 จะได้อตั ราค่าน้ าเฉลี่ยสาหรับกรณี ที่ 1.1 1.2) อัตราผลตอบแทนการลงทุนทางการเงินของส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น (Equity Internal Rate of Return) คานวณอัตราค่าน้ าเฉลี่ ยจากกระแสเงิ นสดสุ ท ธิ ของต้นทุ นที่แท้จริ งของโครงการ และรายรับจากการ จาหน่ายน้ าดิ บในรอบระยะเวลา 30 ปี ที่ให้อตั ราผลตอบแทนการลงทุนทางการเงินของส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ของโครงการ มีค่าประมาณร้อยละ 15 ต่อปี 2 การกาหนดอัตราค่ านา้ จากแนวโน้ม ความต้องการใช้น้ าที่ เพิ่ม สู งขึ้ น จากการใช้น้ าภาคอุ ตสาหกรรม และการใช้น้ า ภาค อุปโภคบริ โภค ส่ งผลกระทบต่อนโยบายการกาหนดอัตราค่าน้ าในระยะยาว บริ ษทั จึ งมี ความจาเป็ นต้อง ทบทวนนโยบายการกาหนดอัตราค่าน้ า สรุ ปผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงนโยบายราคา ดังนี้ 1. นโยบายราคาปี 2549 1.1 แบ่งอัตราค่าน้ าตามพื้นที่จ่าย น้ า 1.2 ก า ห น ด อั ต ร า ค่ า น้ า ภาคอุ ต สาหกรรมให้มี ราคา สู ง ก ว่ า อุ ป โ ภ ค บ ริ โ ภ ค (Cross Subsidize)

2.1 2.2

2.3

2.4

2. ผลกระทบ ปริ ม าณการ ใ ช้ น้ าดิ บ เ พื่ อ การ อุปโภคบริ โภคมีปริ มาณเพิ่มขึ้น โ ค ร ง ข่ า ย ท่ อ ส่ ง น้ า เ ชื่ อ ม โ ย ง ติ ด ต่ อ กัน ท าให้ทุ ก พื้ น ที่ มี ต ้น ทุ น การสูบส่งน้ าเฉลี่ยเท่ากัน การจ่ า ยน้ าตามแรงโน้ม ถ่ ว งของ โลก มีอตั ราส่ วนน้อยลง มีการสู บ ส่งน้ าข้ามพื้นที่มากขึ้น ค่าใช้จ่ายในการเก็บน้ าสารอง/สู บ จ่ า ยเพิ่ ม สู งขึ้ น เช่ น อ่ า งเก็ บ น้ า บางพระ,สระสารองน้ าดิบสานักบก

3. นโยบายราคาปี 2551 1.1 ทุ ก พื้ น ที่ ใ ช้ อ ั ต ร า ค่ า น้ า เดียวกัน ตามประเภทธุรกิจ 1.2 แบ่ ง โครงสร้ า งราคาตาม ประเภทการใช้น้ า

สาหรับปี 2555 บริ ษทั ได้ทบทวนการกาหนดราคาค่าน้ าดิ บ พบว่า ต้นทุนในการดาเนิ นการสู บส่ ง น้ าดิ บได้เพิ่มสู งขึ้นหลายประการ ได้แก่ ต้นทุนค่าไฟฟ้ าที่เพิ่มสู งขึ้นจากการปรับค่า Ft ของการไฟฟ้ าส่ วน ภูมิภาคต้นทุนจากการเพิ่มศักยภาพแหล่งน้ า ต้นทุนจากการสารองน้ าดิบเพื่อป้ องกันปั ญหาการขาดแคลนน้ า โดยคณะกรรมการบริ ษทั ได้เห็ นชอบให้นาโครงสร้ างอัตราค่าน้ าดิ บที่ประกาศตั้งแต่ปี 2551 สาหรับปี 25532555 ที่เคยชลอไว้ นากลับมาใช้ใหม่สาหรับปี 2555-2557 ดังแสดงในตารางที่ 9.1 __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 41


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ตารางที่9.1 โครงสร้างอัตราค่าน้ า ประเภทผู้ใช้ นา้ 1. อุปโภคบริ โภค 2. นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ 3. สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม 4. โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ

อัตราค่ าใช้ นา้ บาท/ลบ.ม. ปี 2555 10.00 10.00 11.00 12.00

ปี 2556 10.50 10.50 11.50 12.50

ปี 2557 11.00 11.00 12.00 13.00

หมายเหตุ 1. การกาหนดประเภทผูใ้ ช้น้ า ประเภท 1 : อุปโภคบริ โภค ได้แก่ กิจการที่ใช้น้ าดิบ เพื่อผลิตน้ าประปาส่ งให้การประปาส่ วนภูมิภาค (กปภ.) หน่วยงานราชการ รวมถึงชุมชนที่ขาดแคลนน้ าสะอาด ประเภท 2 : นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ ได้แก่ นิ คมอุตสาหกรรมของการนิ คมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย (กนอ.) และนิคม อุตสาหกรรมร่ วมดาเนิ นงาน รวมถึงผูใ้ ช้น้ าเดิม ซึ่ ง กนอ. / กรมโยธาธิ การ หรื อหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องได้อนุญาตให้ใช้น้ าดิบก่อนการ ดาเนินงานของบริ ษทั ประเภท 3 : สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม ได้แก่ สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม ที่ ดาเนินการโดยเอกชนเท่านั้น ไม่ได้ร่วมดาเนิ นงานกับ กนอ. ตามผูใ้ ช้น้ าประเภท 2 ประเภท 4 : โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม และธุรกิจอื่นๆ ที่มิใช่ผใู ้ ช้น้ าตามประเภท 3 2. อัตราค่าน้ าตามประกาศฉบับนี้ ใช้สาหรับผูใ้ ช้น้ าที่รับน้ าดิบจากบริ ษทั อย่างสม่าเสมอทุกเดือนเท่านั้น หากผูใ้ ช้น้ าหยุดรับน้ าจากบริ ษทั เกินกว่า 2 เดือนต่อปี หรื อรับน้ าไม่ถึงร้ อยละ 50 ของปริ มาณน้ าจัดสรรที่ได้รับ หรื อปริ มาณที่ตกลงไว้ในแต่ละปี บริ ษทั ขอสงวนสิ ทธิ ยกเลิกสัญญาซื้ อขาย น้ าดิบ หรื อคิดอัตราค่าน้ าดิบตามที่เห็นว่าสมควร 3. การซื้อขายน้ าดิบสาหรับผูข้ อใช้น้ าที่ไม่ได้ทาสัญญากับบริ ษทั ไว้ก่อน รวมถึงผูใ้ ช้น้ าที่ยกเลิกสัญญาไปแล้วตามข้อ 3 บริ ษทั ถือว่าเป็ นผูข้ อใช้น้ า ดิบชัว่ คราว ซึ่ งบริ ษทั จะกาหนดอัตราค่าน้ าตามปริ มาณ และระยะเวลาที่ตอ้ งการให้ส่งจ่ายน้ าดิบ และจะต้องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขการซื้อขายน้ าดิบที่ บริ ษทั กาหนดไว้ 4. บริ ษทั ขอสงวนสิ ทธิ ในการทบทวนอัตราค่าน้ าดิบให้สอดคล้องกับต้นทุนการบริ หาร และสู บจ่ายน้ าดิบตามสภาวะเศรษฐกิจในขณะนั้นๆ ได้ ตามสมควร ทั้งนี้ ตามมติคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่13/2556 เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2556 ได้มีมติเห็นชอบให้โครงสร้างอัตราค่าน้ าดิบมีความ แตกต่างระหว่างลูกค้ากลุ่มอุปโภคบริ โภค และกลุ่มนิ คมอุตสาหกรรม โดยอนุมตั ิให้ปรับลดอัตราค่าน้ ากลุ่มอุปโภคบริ โภคของทุกโครงสร้างค่าน้ า ที่ประกาศในปี 2556-2557 ลง 1.10 / ลบ.ม. และให้มีผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2556 เพื่อเป็ นการดูแลและลดค่าครองชี พให้กลุ่มผูใ้ ช้น้ า อุปโภคบริ โภค

10.

การจาหน่ ายและช่ องทางการจาหน่ าย บริ ษ ทั จาหน่ า ยน้ า ดิ บ โดยตรงให้แก่ ลู ก ค้า ผ่า นทางระบบท่ อส่ ง น้ า ของบริ ษ ทั ในลัก ษณะผูค้ ้า ส่ ง (Wholesaler) เป็ นส่ วนใหญ่ โดยลูกค้าที่เป็ นนิคมอุตสาหกรรมจะซื้ อน้ าจากบริ ษทั เพื่อขายต่อให้กบั โรงงานใน นิ คมอุ ตสาหกรรมนั้นๆ ส่ วนการประปาจะซื้ อน้ าจากบริ ษทั เพื่อไปผลิ ตน้ าประปาและจาหน่ ายน้ าเพื่อการ อุปโภคบริ โภคต่อไป ในการซื้ อขายน้ าดิ บบริ ษทั ทาสัญญาหรื อข้อตกลงในการใช้หรื อซื้ อขายน้ าดิ บระหว่าง บริ ษทั ซึ่งเป็ น “ผูข้ าย” กับ ผูใ้ ช้น้ า/ผูซ้ ้ื อ แต่ละราย โดยมีสาระสาคัญ ดังนี้ 1) ไม่กาหนดอายุของสัญญา (ยกเว้น บริ ษทั ผลิตไฟฟ้ าระยอง จากัด ซึ่ งกาหนดอายุสัญญา 30 ปี )

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 42


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

2) ปริ มาณน้ าดิบที่จ่ายให้กบั ลูกค้าจะมีการระบุปริ มาณการใช้น้ าสู งสุ ดหรื อปริ มาณการใช้น้ าเฉลี่ยของ ลู ก ค้า แต่ ล ะราย ปั จจุ บ นั บริ ษ ทั มี นโยบายกาหนดปริ ม าณการใช้น้ า ขั้นต่ า รายปี เพื่ อประโยชน์ ใ นการวาง แผนการจ่ายน้ าแต่ละปี ให้แม่นยา และลดความผันแปรจากการใช้แหล่งน้ าทางเลือกของลูกค้าด้วย 3) บริ ษทั สงวนสิ ทธิ ที่จะเปลี่ยนแปลงอัตราค่าน้ าดิบตามที่เห็นสมควร ในปี 2556 บริ ษทั จาหน่ายน้ าดิบปริ มาณ 277.96 ล้านลูกบาศก์เมตร ใกล้เคียงกับปี 2555 ที่มีปริ มาณ น้ าจาหน่าย 278.96 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยต่ากว่าเล็กน้อยประมาณร้อยละ 0.26 และต่ากว่าเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้ 279.37 ล้านลูกบาศก์เมตร ปัจจัยหลัก เนื่องจากผูใ้ ช้น้ าได้รับผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจ โดยเฉพาะกลุ่มปิ โตรเคมีที่ชะลอตัวจากสภาวะการส่ งออก รวมกับปั ญหาการเมืองภายในประเทศ ส่ งผลต่อความเชื่ อมัน่ และการ ลงทุน ทาให้การใช้น้ าในภาคอุตสาหกรรมชะลอตัวลง ส่ วนการใช้น้ าภาคอุปโภคบริ โภค โดยเฉพาะกลุ่มหลัก ได้แก่ การประปาส่ วนภูมิ ภาค (กปภ.) มี แนวโน้ม ปรั บ ตัวรั บ น้ า ลดลง เนื่ องจาก มี แหล่ ง น้ าส ารองเพิ่ มขึ้ น อย่างไรก็ดี อัตราค่าน้ าของปี 2556 ก็ส่งผลช่วยให้รายได้ค่าน้ าดิ บเพิ่มกว่าก่อนเป็ น 2,914.25 ล้านบาท เติบโต ขึ้นกว่าปี ก่อน ประมาณร้อยละ 5.53 ดังสถิติปริ มาณและรายได้จาหน่ ายน้ าตั้งแต่ปี 2551-2556 ที่แสดงใน แผนภาพที่ 10.1 แผนภาพที่ 10.1 แสดงสถิติปริ มาณน้ าจาหน่าย และรายได้จาหน่ายสะสม ตั้งแต่ปี 2551-2556

หมายเหตุ: ปริ มาณนา้ จาหน่ ายสะสม ตั้งแต่ มกราคม-ธันวาคม

หมายเหตุ: รายได้ จาหน่ ายสะสม ตั้งแต่ มกราคม-ธันวาคม

11. ลักษณะของลูกค้ า ประเภทผูใ้ ช้น้ า ของบริ ษ ัท มี 4 ประเภท คื อ (1) อุ ป โภคบริ โ ภค (2) นิ ค มอุ ต สาหกรรมของรั ฐ (3) สวนอุตสาหกรรม/เขตประกอบการอุตสาหกรรม (4) โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ ปั จจุบนั ลูกค้าส่ วนใหญ่ของบริ ษทั ในพื้นที่ระยอง จะเป็ นประเภทนิคมอุตสาหกรรมของรัฐโดยมี สัดส่ วนมูลค่าน้ าจาหน่ายประมาณร้อยละ 83.5 สาหรับการจาหน่ายเพื่อการอุปโภคบริ โภคนั้น มีสัดส่ วนมูลค่า น้ าจาหน่ายประมาณร้อยละ 14.1 ลูกค้าหลักได้แก่ การประปาบ้านฉาง และบจ.ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ (กิจการ ประปาสัตหีบ) สถิติของปริ มาณ และมูลค่าน้ าจาหน่ายของลูกค้าแต่ละประเภทมีรายละเอียดดังแสดงในตาราง ที่ 11.1

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 43


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ตารางที่ 11.1ปริ มาณและมูลค่าการจาหน่ายน้ าดิบแยกตามประเภทผูใ้ ช้น้ า พื้นที่ระยอง (ปริ มาณ : ล้าน ลบ.ม., มูลค่า : ล้านบาท) ประเภทผู้ใช้ น้า 1. การอุปโภคบริ โภค 2. นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ 3. สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการ 4. โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ รวม

ปี 2554 ปริมาณ ร้ อยละ

มูลค่ า

ปี 2555 ร้ อยละ ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า

ปี 2556 ร้ อยละ ปริมาณ ร้ อยละ

27.20 15.89 236.94 15.06 27.60 15.58 272.40 15.52 140.22 81.91 1,297.03 82.43 145.86 82.32 1,440.63 82.10 2.85 1.66 29.17 1.85 2.28 1.29 24.68 1.41

24.21 141.95 2.26

มูลค่า

ร้ อยละ

14.26 251.70 14.09 83.58 1,490.49 83.46 1.33 26.01 1.46

0.92 0.54 10.38 0.66 1.44 0.81 17.10 0.97 1.41 0.83 17.65 0.99 171.19 100.00 1,573.52 100.00 177.18 100.00 1,754.81 100.00 169.83 100.00 1,785.85 100.00

หมายเหตุ : 1. ผูใ้ ช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภครายใหญ่ ประกอบด้วย การประปาบ้านฉาง, บจ.ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ (กิ จการประปาสัตหี บ), เทศบาล มาบข่า และ โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ 2. ผูใ้ ช้น้ าของ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) รายใหญ่ ได้แก่ นิ คมอุตสาหกรรมมาบตาพุด (กนอ.มาบตาพุด) 3. ผูใ้ ช้น้ าสวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม รายใหญ่ ได้แก่ นิ คมอุตสาหกรรมตะวันออก, นิ คมอุตสาหกรรมเอเซี ย , นิคมอุตสาหกรรม RIL 1996 และ บจ.สุขมุ วิท อินเตอร์ ดิเวลลอปเม้นท์ 4. ผูใ้ ช้น้ าประเภทโรงงานทัว่ ไปรายใหญ่ ได้แก่ บจ.ผลิตไฟฟ้ าระยอง, บมจ.ปตท. และ บมจ.ไทยคูน เวิลด์ไวด์ กรุ๊ ป

สาหรับผูใ้ ช้น้ ารายใหญ่ของบริ ษทั ในพื้นที่ชลบุรี เป็ นประเภทอุปโภคบริ โภคโดยมีสัดส่ วนมูลค่าน้ า จาหน่ า ยประมาณร้ อ ยละ 70.4 ลู ก ค้า หลัก ได้แ ก่ การประปาส่ ว นภู มิ ภ าค รองลงมาเป็ นประเภทนิ ค ม อุตสาหกรรมของรัฐ มีสัดส่ วนจาหน่ ายประมาณร้ อยละ 29.3 ลูกค้าหลักได้แก่ การนิ คมอุ ตสาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย (กนอ.แหลมฉบัง) สถิติของปริ มาณ และมูลค่าน้ าจาหน่ายของลูกค้าแต่ละประเภทมีรายละเอียด ดังแสดงในตารางที่ 11.2 ตารางที่ 11.2 ปริ มาณและมูลค่าการจาหน่ายน้ าดิบแยกตามประเภทผูใ้ ช้น้ าของบริ ษทั พื้นที่ชลบุรี (ปริ มาณ : ล้าน ลบ.ม., มูลค่า : ล้านบาท) ปี 2554 ประเภทผู้ใช้ น้า 1. การอุปโภคบริ โภค 2. นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ 3. สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการ 4. โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ รวม

ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า 47.67 19.73 0.00

70.52 415.22 29.18 182.47 0.00 0.00

ปี 2555 ปี 2556 ร้ อย ร้ อยละ ปริมาณ มูลค่ า ร้ อยละ ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ ละ 69.20 55.71 72.56 550.31 72.50 53.36 70.80 551.10 70.43 30.41 20.83 27.13 206.04 27.14 21.82 28.95 229.12 29.28 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.20 0.30 2.30 0.38 67.60 100.00 599.99 100.00

0.23 0.30 2.74 0.36 76.77 100.00 759.08 100.00

0.19 75.37

0.25 2.31 0.30 100.00 782.53 100.00

หมายเหตุ : 1. ผูใ้ ช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภครายใหญ่ ได้แก่ การประปาส่ วนภูมิภาค ประกอบด้วย การประปาแหลมฉบัง, การประปาพัทยา, การประปาชลบุรี และ การ ประปาศรี ราชา 2. ผูใ้ ช้น้ าของ การนิ คมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย (กนอ.) รายใหญ่ ได้แก่ นิ คมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง (กนอ.แหลมฉบัง)

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 44


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

3. ผูใ้ ช้น้ าสวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม รายใหญ่ ได้แก่ บมจ.สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง และนิ คมอุตสาหกรรมปิ่ นทอง 1 และ 2 4. ผูใ้ ช้น้ าประเภทโรงงานทัว่ ไป ได้แก่ บมจ.ไทยออยล์, บมจ.สหโคเจน (ชลบุรี) และ บจ.ผลิตไฟฟ้ าอิสระ (ประเทศไทย)

สาหรับผูใ้ ช้น้ ารายใหญ่ของบริ ษทั ในพื้นที่ปลวกแดง-บ่อวิน เป็ นประเภทนิ คมอุตสาหกรรมของรัฐ โดยมีสัดส่ วนมูลค่าน้ าจาหน่ายประมาณร้ อยละ 72.2 รองลงมาเป็ นประเภทอุปโภคบริ โภคสัดส่ วนมูลค่าน้ า จาหน่ายประมาณร้อยละ 26.5 ลูกค้าหลักในพื้นที่น้ ี ได้แก่ นิ คมอุตสาหกรรมกลุ่มเหมราช, นิคมอุตสาหกรรม อมตะซิ ต้ ี, นิ คมอุตสาหกรรมจีเคแลนด์, บจ.ไทยเนชัน่ แนล พาวเวอร์ , โรงกรองน้ าหนองกลางดง และ บจ.ยูนิเวอร์ แซล ยูทิ ลิ ต้ ี ส์ (กิ จการประปาบ่ อวิน) สถิ ติข องปริ ม าณและมู ล ค่ า น้ าจาหน่ ายของลู กค้า แต่ ล ะ ประเภทมีรายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 11.3 ตารางที่ 11.3 ปริ มาณและมูลค่าการจาหน่ายน้ าดิบแยกตามลักษณะผูใ้ ช้น้ าของบริ ษทั พื้นที่ปลวกแดง-บ่อวิน (ปริ มาณ : ล้าน ลบ.ม., มูลค่า : ล้านบาท) ประเภทผู้ใช้ น้า 1. การอุปโภคบริ โภค 2. นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ 3. สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการ 4. โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ รวม

ปี 2554 ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ ปริมาณ 6.85 33.28 59.66 31.90 5.91 13.54 65.79 125.27 66.98 16.38 0.06 0.29 0.62 0.33 0.10 0.13 0.63 1.46 0.78 20.58 100.00 187.02 100.00

ปี 2555 ปี 2556 ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ 26.24 58.60 26.25 6.21 26.71 64.45 26.45 72.70 161.95 72.53 16.77 72.15 176.05 72.24 0.45

1.11

0.50

0.13

0.14 0.61 1.62 0.73 0.13 22.53 100.00 223.28 100.00 23.24

0.57

1.51

0.62

0.58 1.68 0.69 100.01 243.69 100.00

หมายเหตุ : 1. ผูใ้ ช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภค รายใหญ่ ได้แก่ โรงกรองน้ าหนองกลางดง 2. ผูใ้ ช้น้ าสวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม รายใหญ่ ได้แก่ กลุ่มนิ คมอุตสาหกรรมเหมราช ประกอบด้วย นิ คมอุตสาหกรรมชลบุรี , นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด และ นิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิร์นซีบอร์ด เป็ นต้น 3. ผูใ้ ช้น้ าประเภทโรงงานทัว่ ไป ได้แก่ บจ.ไทยเนชัน่ แนล พาวเวอร์

สาหรับผูใ้ ช้น้ ารายใหญ่ในพื้นที่ฉะเชิงเทราปี 2556 เป็ นประเภทอุปโภคบริ โภค โดยมีสัดส่ วนมูลค่า น้ าจาหน่ายประมาณร้อยละ 68.8 รองลงมาเป็ นประเภทโรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ สัดส่ วนมูลค่าน้ าจาหน่าย ประมาณร้อยละ 15.67 พื้นที่ฉะเชิงเทรา มีลูกค้า จานวน 8 ราย ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมเวลโกร์ ว, นิคม อุตสาหกรรมอมตะนคร, การประปาบางปะกง, การประปาฉะเชิงเทรา, บจ.โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย, บจ. บีพีเค พาวเวอร์ซพั พลาย และ บมจ.วินโคสท์ อินดัสเตรี ยล พาร์ค และ โครงการใหม่ในปี 2556 ได้แก่ บจ. ยูนิ เวอร์ แซลยูทิลีต้ ี โครงการชลบุรี สถิติของปริ มาณและมูลค่าน้ าจาหน่ายของลูกค้าแต่ละประเภทมีรายละเอียด ดังแสดงในตารางที่ 11.4

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 45


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ตารางที่ 11.4 ปริ มาณและมูลค่าการจาหน่ายน้ าดิบแยกตามลักษณะผูใ้ ช้น้ าของบริ ษทั พื้นที่บริ เวณฉะเชิงเทรา (ปริ มาณ : ล้าน ลบ.ม., มูลค่า : ล้านบาท) ประเภทผู้ใช้ น้า 1. การอุปโภคบริ โภค 2. นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ 3. สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการ 4. โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ รวม

ปี 2554 ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ ปริมาณ 1.06 49.54 9.26 44.52 0.34 0.21 9.81 1.91 9.18 0.48 0.13 6.07 1.31 6.30 0.13 0.74 2.14

34.58 8.32 40.00 100.00 20.80 100.00

1.25 2.20

ปี 2555 ปี 2556 ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ 15.45 3.44 14.08 6.73 70.77 70.25 68.75 21.82 4.82 19.73 1.38 14.57 14.51 14.20 5.91

1.36

5.57

56.82 14.81 60.62 100.00 24.43 100.00

0.122 1.28 9.51

1.26

1.41

1.38

13.46 16.01 15.67 100.00 102.18 100.00

หมายเหตุ : 1. ผูใ้ ช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภค รายใหญ่ ได้แก่ การประปาบางปะกง, บจ. ยูนิเวอร์ แซลยูทิลีต้ ี โครงการชลบุรี 2. ผูใ้ ช้น้ าประเภทสวนอุตสาหกรรม/เขตประกอบการ นิ คมอุตสาหกรรมเวลโกร์ ว 3. ผูใ้ ช้น้ าประเภทโรงงานทัว่ ไป รายใหญ่ ได้แก่ บจ.โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย, บจ.บีพีเคพาวเวอร์ ซพั พลาย และ บมจ.วินโคส์ อินดัสเตรี ยล พาร์ค

ในภาพรวมจะเห็นได้วา่ พื้นที่ที่บริ ษทั บริ หารระบบท่อส่ งน้ าอยูใ่ นปั จจุบนั มีลูกค้ารายใหญ่ ได้แก่ การ นิ คมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย และการประปาส่ วนภูมิภาค สาหรับลูกค้ารายอื่นๆ ของบริ ษทั มีท้ งั สวน อุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรม และหน่วยงานต่างๆ ทั้งของรัฐบาลและเอกชน ซึ่ งมีความสัมพันธ์อนั ดีกบั บริ ษทั เช่นกัน เนื่องจากตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมา บริ ษทั สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดีเสมอ มา และบริ ษทั ยังมีความพยายามที่จะพัฒนาและปรับปรุ งบริ การของบริ ษทั เพื่อตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าให้ดียิ่งขึ้น สาหรับโอกาสที่บริ ษทั จะสู ญเสี ยลูกค้ารายใหญ่มีความเป็ นไปได้น้อย เนื่ องจากบริ ษทั เป็ น ผูพ้ ฒั นาและบริ หารระบบท่อส่ งน้ าดิบแต่เพียงผูเ้ ดียวในพื้นที่ชายฝั่ งทะเลภาคตะวันออก อีกทั้งลูกค้ารายใหญ่ ทั้ง 3 รายเป็ นผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั 12. แหล่งนา้ ดิบและสิ ทธิในการซื้อนา้ ปัจจุบนั บริ ษทั ได้รับหนังสื ออนุญาตให้ใช้น้ าดิบจากอ่างเก็บน้ าหนองค้อ อ่างเก็บน้ าดอกกราย อ่างเก็บ น้ าหนองปลาไหล อ่างเก็บน้ าบางพระ และคลองนครเนื่ องเขต ของกรมชลประทานโดยมี ระยะเวลา 5 ปี (ดังรายละเอียดสรุ ปในตารางที่ 4.1) ในด้านราคาน้ าดิบที่บริ ษทั ซื้ อจากอ่างเก็บน้ าของกรมชลประทานนั้น บริ ษทั ชาระค่าน้ าดิบตามอัตรา ที่กาหนดไว้ในประกาศกฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2518) ลงนามโดยรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ที่ เรี ยกเก็บค่าชลประทานจากผูใ้ ช้น้ าจากทางน้ าชลประทาน เพื่อกิ จการโรงงาน การประปา หรื อ กิ จการอื่ นใน หรื อนอกเขตชลประทาน อัตรานี้ เป็ นอัตราเดี ย วกับ ที่ ก รมชลประทาน ขายให้แก่ ผูใ้ ช้น้ า ทัว่ ประเทศ และการเปลี่ยนแปลงราคาค่าน้ าดิบจะเป็ นไปตามประกาศของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในอนาคต อย่างไรก็ตามจากข้อมูลในอดี ตกรมชลประทานยังไม่เคยมี การเปลี่ ยนแปลงอัตราค่าน้ านับตั้งแต่มีการออก ประกาศฉบับดังกล่าว

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 46


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ในช่วง 3 ปี ที่ผา่ นมา บริ ษทั ซื้ อน้ าดิบจากกรมชลประทาน ตามรายการดังนี้ ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปริ มาณ มูลค่า ปริ มาณ มูลค่า ปริ มาณ มูลค่า (ลบ.ม.) (บาท) (ลบ.ม.) (บาท) (ลบ.ม.) (บาท) 269,329,109 134,664,555 283,950,260 141,975,131 287,791,771 143,895,885 หมายเหตุ : กรมชลประทานเรี ยกเก็บค่าชลประทานเป็ นรายเดือนจากผูใ้ ช้น้ าจากทางน้ าชลประทานในอัตรา 20 สตางค์ สาหรับ 50,000 ลูกบาศก์ เมตรแรก ส่วนที่เกิน 50,000 ลบ.ม. แต่ไม่เกิน 100,000 ลบ.ม. ลบ.ม.ละ 30 สตางค์ และ ส่ วนที่เกิน 100,000 ลบ.ม. ลบ.ม.ละ 50 สตางค์ ทั้งนี้ เศษ ของลบ.ม.ให้ถือเป็ นหนึ่งลบ.ม.

13. ผลของฤดูกาลทีก่ ระทบต่ อการดาเนินธุรกิจของบริษัท บริ ษทั ได้รับผลกระทบของฤดูกาลต่อการดาเนิ นธุ รกิจบ้าง เนื่ องจากการดาเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั เป็ น การดาเนินธุ รกิจเกี่ยวกับทรัพยากรน้ า ดังนั้นความต้องการใช้น้ าสาหรับการอุปโภคและบริ โภคในช่วงฤดูแล้ง จะค่ อ นข้า งสู ง กว่ า ปกติ ส าหรั บ ความต้อ งการใช้น้ า ของลู ก ค้า ภาคอุ ต สาหกรรมส่ ว นใหญ่ จะไม่ ไ ด้รั บ ผลกระทบจากฤดูกาลมากนัก อย่างไรก็ดี ลูกค้าบางรายจะมีการขุดสระเก็บน้ าเป็ นของตนเอง จึงสามารถเก็บ กักน้ าฝนไว้ในสระเก็บน้ าเพื่อทดแทนการใช้น้ าจากบริ ษทั ได้ ทาให้ลดการใช้น้ าจากบริ ษทั ได้บางส่ วนในช่วง ฤดูฝน ในส่ วนของผลกระทบของฤดูกาลที่ มีต่อวัตถุ ดิบของบริ ษทั ในช่ วงฤดูฝนจะมี น้ าในอ่างเก็บน้ ามาก ส่ วนในช่ วงฤดู แล้ง ซึ่ ง ไม่ มี น้ า ฝนตกลงมาเติ ม ปริ ม าณน้ า ในอ่ า งเก็ บ น้ า ปริ ม าณน้ า ในอ่ า งเก็ บ น้ า จะลดลง เนื่ องจากการใช้น้ าของผูใ้ ช้น้ า อย่างไรก็ตาม จนถึ งปั จจุบนั บริ ษทั ยังไม่เคยประสบปั ญหาการขาดแคลนน้ า เพื่อจาหน่ายให้แก่ลูกค้า 2.10 ความสามารถในการจ่ ายนา้ และปริมาณการจ่ ายนา้ ปั จจุบนั บริ ษทั ได้ดาเนิ นการบริ หารทรัพย์สินท่อส่ งน้ าหลักในเขตพื้นที่ชายฝั่ งทะเลภาคตะวันออก โดย ณ 31 ธันวาคม 2556 มีความยาวของท่อส่ งน้ าทั้งสิ้ น 377.8 กิโลเมตร ดังแสดงในตารางที่ 2.10 ตารางที่ 2.10 แสดงรายละเอียดของโครงข่ายระบบท่อส่ งน้ าของบริ ษทั ระบบท่ อส่ งน้า พืน้ ที่หนองปลาไหล – ดอกกราย - มาบตาพุด สัตหีบ พืน้ ที่หนองค้ อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ พืน้ ที่หนองปลาไหล-หนองค้ อ

ขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลาง ความยาวของ ของท่ อส่ งน้า (มม.) ท่ อส่ งน้า (กม.)

ความสามารถในการส่ งจ่ ายน้า ในพืน้ ที่โดยเฉลีย่ (ล้าน ลบ.ม.ต่ อปี )

700 – 1,500

134.0

316

600 – 1,000

70.4

110

900 – 1,350

52.5

78

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 47


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ระบบท่ อส่ งน้า พืน้ ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ระบบท่อบางปะกง-ชลบุรี รวม

ขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลาง ความยาวของ ของท่ อส่ งน้า (มม.) ท่ อส่ งน้า (กม.) 600 – 1,500 60.1 1,400 60.8 377.8

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ ความสามารถในการส่ งจ่ ายน้า ในพืน้ ที่โดยเฉลีย่ (ล้าน ลบ.ม.ต่ อปี ) 65 50 619

หมายเหตุ : ความสามารถในการส่ งจ่ายน้ าดิ บคิดที่ 24 ชัว่ โมงต่อวัน ณ อัตราการไหล (Flow Rate) ของระบบในปั จจุบนั เช่ น ระบบท่อส่ งน้ าใน พื้นที่หนองค้อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ ซึ่งใช้แรงโน้มถ่วงในการส่ งจ่ายน้ าจะหมายถึง ความสามารถในการไหลของน้ าผ่านระบบท่อตลอด 24 ชัว่ โมง โดยอาศัยเพียงแรงโน้มถ่วงของโลกเป็ นแรงขับเคลื่อนการไหลของน้ า ส่ วนระบบท่อส่ งน้ าในพื้นที่ดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหี บซึ่ งใช้เครื่ อง สูบน้ าในการส่ งจ่ายน้ า จะหมายถึง ความสามารถในการไหลของน้ าผ่านระบบท่อตลอด 24 ชัว่ โมง โดยอาศัยกาลังของเครื่ องสู บน้ าของระบบใน ปัจจุบนั

2.11 ขั้นตอนและเทคโนโลยีในการดาเนินงาน 1. ขั้นตอนในการดาเนินงาน ในการดาเนินงานเพื่อส่ งมอบน้ าดิบให้แก่ลูกค้าของบริ ษทั ซึ่ งเป็ นธุ รกิจหลัก สามารถสรุ ปขั้นตอนการ ดาเนินงาน ที่สาคัญดังนี้ 1) กระบวนการวางแผนโครงการ ซึ่ งรวมถึ งการวางแผนโครงการ เพื่อสรรหาและพัฒนาแหล่งน้ า การศึกษาความเหมาะสม เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ ยง และความคุม้ ทุน ก่อนลงทุนก่อสร้างโรงสู บน้ า การวางท่อ จ่ายน้ าขนาดใหญ่ และการควบคุมโครงการ ทั้งนี้ กระบวนการดังกล่าวเป็ นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ตอ้ ง ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐและชุมชนอย่างต่อเนื่อง ดังรายละเอียดแสดงในแผนภาพที่ 2.11

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 48


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

รายงานผลการดาเนินงาน

คณะกรรมการบริษทั (BOD)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

การกากับองค์ กร

ระบบเฝ้ าติดตาม

-การบริ หารความเสี่ ยง

ข้ อมูล และสารสนเทศ

ธุรกิจ เกีย่ วเนือ่ ง

ธุรกิจ หลั ก

การสื่ อสารองค์ กร/

(ธุรกิจ ประปา นา้ เสี ย และอื่นๆ)

(ธุรกิจ นา้ ดิบ )

ชุ มชนสั มพันธ์ (CSR)

พัฒนาธุรกิจ

วางแผนโครงการ/

การตลาดและขาย

ควบคุมโครงการ/ จัดหาแหล่ งนา้

การบริการหลั งการขาย/ ลู กค้ าสั มพันธ์

สู บจ่ ายนา้ ดิบ/ ควบคุมคุณภาพ

ผ่านโครงข่ายท่อน้ าดิบ

ลูกค้า/คู่ความร่วมมือ

ลูกค้า/คู่ความร่วมมือ

ระบบบริหาร - การวางแผนกลยุทธธ์

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ชุมชน, ผู้ถือหุ้น, พนักงาน

(กฎหมาย/CG/ตรวจสอบ)

ซ่ อมบารุง/ กระบวนการหลั ก ( Core Process)

จัดการทรัพยากรบุคคล

การสอบเทียบมาตร

การเงินการบัญชี

จัดซื้อและอานวยการ/ ความปลอดภัย

บจ.ยูนเิ วอร์ แซลยูทลี ิ ตสี้ ์ (UU)

ผู้ส่งมอบ

แผนภาพที่ 2.11 แสดงระบบงานของการดาเนิ นธุ รกิจของ East Water 2) กระบวนการตลาดและการขาย เป็ นกระบวนการศึกษาความต้องการใช้น้ าของลูกค้า การพยากรณ์ การใช้น้ าในอนาคต การจัดสรรน้ าให้กบั ลูกค้าแต่ละรายตลอดจนการกาหนดจุดประสานและควบคุมการวาง ท่อรับน้ าดิบพร้อมสถานีมาตรวัดน้ า รวมทั้งการเจรจาทาสัญญาซื้ อขายน้ า 3) กระบวนการสู บจ่ายน้ าดิบ เป็ นกระบวนการสู บจ่ายน้ าดิบจากอ่างเก็บน้ า หรื อแหล่งน้ าธรรมชาติไป ยังลูกค้าตามปริ มาณที่ลูกค้าต้องการ East Water ใช้ระบบ SCADA ในการควบคุ มการสู บส่ งน้ า และเฝ้ า ติดตามกระบวนการสู บจ่ายน้ าดิบในด้านอัตราการไหล แรงดัน ณ อ่างเก็บน้ า และแหล่งน้ าธรรมชาติ ตลอด แนวเส้นท่อจนถึงสถานีรับน้ าของลูกค้า 4) กระบวนการซ่ อมบารุ งรักษาและสอบเทียบมาตร เป็ นกระบวนการเพื่อรักษาเสถี ยรภาพและเพิ่ม ประสิ ทธิ ภาพการสู บจ่ายน้ า โดยมีการบารุ งรักษาเชิ งป้ องกัน การซ่ อมแซมอุปกรณ์ให้พร้อมใช้งานตลอดจน การสอบเทียบ อุปกรณ์ให้มีความเที่ยงตรงและแม่นยา อันจะส่ งผลให้เครื่ องจักรและวัสดุอุปกรณ์มีการใช้งาน ที่ยาวนาน และลดภาระการลงทุน

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 49


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

5) กระบวนการ CRM เป็ นกระบวนการที่มีก ารรวบรวมข้อมูลความต้องการลูกค้า เพื่อวางแผนการ ให้บริ การหลังการขายอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและบริ หารจัดการข้อร้องเรี ยน จัดกิจกรรมเสริ มสร้างความสัมพันธ์ และความเข้าใจอันดีกบั ลูกค้า 6) กระบวนการด้านทรัพยากรบุคลากร ประกอบด้วยการสรรหาและคัดเลือกพนักงาน การประเมินผล การปฏิ บตั ิงานของพนักงาน การฝึ กอบรมและพัฒนาบุ คลากรเพื่อให้พนักงานสามารถปฏิ บตั ิ งานได้อย่าง สอดคล้องตามหน้าที่ง านที่ได้รับมอบหมายและมีประสิ ทธิ ภาพ รวมถึ งการจัดให้มีสภาพแวดล้อมในการ ทางานที่ดี 7) กระบวนการทางด้านบัญชี และการเงิน จัดทาบัญชี และรายงานทางการเงินต่างๆ ให้สอดคล้องกับ กฎหมาย มาตรฐานการบัญชี ตามประกาศและข้อกาหนดต่างๆ ที่ เกี่ ยวข้อง บริ หารการเงิ นและลงทุ นเพื่ อ ควบคุ มรายได้ ค่าใช้จ่าย ภายใต้กรอบงบประมาณของบริ ษทั นอกจากนี้ ยงั ดาเนิ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลด้าน การเงินเพื่อการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารอย่างสม่าเสมอ 8) กระบวนการจัดซื้ อและอานวยการ ดาเนิ นการวางแผนและควบคุ มการจัดหาพัสดุ อุปกรณ์ให้เกิ ด ประโยชน์สูงสุ ดต่อกลุ่มบริ ษทั อานวยความสะดวกในการบริ หารสานักงาน ทรัพย์สินของบริ ษทั ตลอดจนการ ดูแลด้านความปลอดภัยและอาชี วอนามัยในการทางานของพนักงานให้เป็ นไปตามนโยบายและข้อบังคับ ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 9) กระบวนการ Corporate Social Responsibility (CSR) ดาเนิ นการเพื่อให้มนั่ ใจว่าองค์กรสามารถ ดาเนินการได้โดยมีความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่ งแวดล้อม คืนกาไรสู่ สังคมโดย ช่วยเหลือชุ มชนใน พื้นที่ปฏิบตั ิการ เป็ นผูน้ าให้ทุกคนตระหนักคุณค่าของน้ า และร่ วมอนุ รักษ์ทรัพยากรน้ า อันจะส่ งผลให้บริ ษทั ดาเนินธุ รกิจอยูค่ ู่สังคมอย่างยัง่ ยืน 2. เทคโนโลยีเพือ่ ควบคุมการสู บจ่ ายนา้ ดิบ บริ ษทั ได้นาเทคโนโลยีระบบ SCADA หรื อ Supervisory Control and Data Acquisition มาใช้ในการ ควบคุมการสู บส่ งน้ าในพื้นที่รับผิดชอบของบริ ษทั ในพื้นที่จงั หวัด ระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา โดยมีการพัฒนา และปรั บปรุ งระบบอย่างต่อเนื่ อง เพื่อให้บริ ษทั สามารถบริ หารจัดการน้ าได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ ระบบ SCADA เป็ นระบบควบคุมและประมวลผลระยะไกล โดยใช้การทางานของอุปกรณ์ Programmable Logic Controller (PLC) ผ่านเครื่ องคอมพิวเตอร์ และระบบสื่ อสารข้อมูลหลายแบบ เช่ น Fiber Optic, Wireless Network, โทรศัพท์ (PSTN), GSM และ GPRS เป็ นต้น นอกจากนี้ ยังสามารถรายงานถึงสถานะของระบบ ณ จุดใดจุดหนึ่ ง และ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ ง (Real Time) ซึ่ งจะส่ งผลให้บริ ษทั สามารถใช้ขอ้ มูลเหล่านี้ ในการ ควบคุมระบบการสู บจ่ายน้ าได้อย่างแม่นยา และลดค่าใช้จ่ายในด้านบุคลากรที่ใช้ในการควบคุมการสู บส่ งน้ า ปั จจุบนั บริ ษทั ได้รวมศูนย์ควบคุมการทางานหลักของระบบ SCADA ไว้ที่จงั หวัดระยอง บริ เวณ อ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล เพื่อใช้เป็ นศูนย์กลางในการควบคุ มการทางานของสถานี ลูกข่าย (Slave Station) ติดตั้งอยูต่ ามจุดต่างๆ เช่น สถานีสูบน้ า สถานียกระดับน้ า จุดรับน้ าของลูกค้า เป็ นต้น ภายในสถานี ลูกข่ายจะมี อุปกรณ์ ควบคุ มซึ่ งรับสัญญาณข้อมูลจากอุปกรณ์ มาตรวัด เช่ น มาตรวัดปริ มาณน้ า (Flow Meter) มาตรวัด __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 50


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ความดัน (Pressure Meter) มาตรวัดอุณหภูมิ (Temperature Meter) และเครื่ องตรวจจับ (Sensor) ข้อมูลหลักที่ ได้จากอุ ปกรณ์ ควบคุ มข้า งต้นจะแสดงผลบนแผนภาพขนาดใหญ่ ส่ วนข้อมู ลในรายละเอี ย ดจะแสดงบน จอคอมพิวเตอร์ ซึ่ งติดตั้งไว้ภายในศูนย์ควบคุม ข้อมูลสาคัญที่ใช้ในการควบคุมการสู บส่ งน้ า เช่น ปริ มาณการ ไหลของน้ า ความดัน น้ า รวมทั้ง อุ ณ หภู มิ ข องอุ ป กรณ์ แ ละเครื่ องจัก ร จะถู ก แปลงเป็ นสั ญ ญาณผ่ า น ระบบสื่ อสารไปยังศูนย์ควบคุมการทางาน และแปลงสัญญาณส่ งต่อไปยังคอมพิวเตอร์ เพื่อประมวลผลไปใช้ ในการควบคุมระบบสู บส่ งน้ าของบริ ษทั ให้มีประสิ ทธิ ภาพ นอกจากนี้ บริ ษทั ได้พฒั นาระบบ SCADA แบบรวมศูนย์ ให้เชื่ อมโยงระบบ SCADA ในพื้นที่ ปฏิบตั ิการทั้งหมดเข้าด้วยกัน สามารถควบคุมและเฝ้ าระวัง (Control & Monitor) ระบบสู บส่ งน้ าของพื้นที่ ระยอง ชลบุรี และฉะเชิ งเทรา ได้จากสานักงานใหญ่ และสานักงานมาบตาพุด เพื่อนาข้อมูลที่ได้จากศูนย์ ควบคุ มไปใช้ประโยชน์ในการบริ หารและการจัดการ โดยวิเคราะห์ เปรี ยบเที ยบกับสภาวะการทางานของ ระบบควบคุมที่ติดตั้งอยู่ที่สถานี ลูกข่าย และศึกษาพฤติกรรมการใช้น้ าของลูกค้าในแต่ละช่ วงเวลา เพื่อนามา กาหนดค่าตัวแปรต่างๆ ในกระบวนการสู บส่ งน้ าที่เหมาะสมและเกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด ในด้านการสื่ อสาร ข้อมูลสาหรับระบบ SCADA นั้น บริ ษทั ได้เล็งเห็ นว่า ปั จจุ บนั ระบบสื่ อสาร GPRS สามารถให้บริ การ ครอบคลุ มพื้นที่ปฏิ บตั ิการของบริ ษทั ได้อย่างทัว่ ถึ ง และมี ความมัน่ คงในการให้บริ การมากขึ้ น จึ งได้ ปรับเปลี่ยนระบบสื่ อสารของสถานี ลูกข่ายไปใช้แบบ GPRS แทนการใช้ระบบสื่ อสารแบบสัญญาณวิทยุ จาก เดิมที่มีการใช้งานระบบสื่ อสารแบบ GPRS จานวน 10 สถานี ได้เพิม่ ขึ้นเป็ น 26 สถานี ในอนาคต บริ ษทั มีแนวทางที่จะพัฒนาระบบความปลอดภัยของเครื อข่าย Ethernet ที่ใช้ในงานระบบ SCADA โดยเพิ่มจานวนอุปกรณ์ป้องกันการโจมตีจากภายนอก (Firewall) และจาแนกหมายเลขเครื อข่าย (Network ID) เพื่อป้ องกันการบุกรุ กเครื อข่ายระบบ SCADA ผ่านช่ องทางจากภายนอกเข้ามายังเครื อข่าย ภายใน และมีการตรวจสอบสิ ทธิ์ การใช้งานระบบ SCADA และเครื อข่าย Ethernet ก่อนเข้าถึงข้อมูลทุกครั้ง 3. ผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้อม บริ ษทั ได้ดาเนิ นการป้ องกันผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมให้เป็ นไปตามมาตรฐานและกฎหมาย และ บริ ษ ทั ไม่ เคยมี ขอ้ พิ พาทหรื อถู ก ฟ้ องร้ องเกี่ ย วกับปั ญหาสิ่ ง แวดล้อมแต่ อย่า งใด นอกจากนี้ บริ ษทั ได้รับ ใบรั บรองมาตรฐานระบบคุ ณภาพ ISO 9001:2008 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 และมาตรฐานระบบการจัดการ สิ่ งแวดล้อม ISO 14001:2004 จาก บริ ษทั BVC (Thailand) Ltd. แล้ว ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 51


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

3. ปัจจัยความเสี่ ยง บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ตระหนักถึงปั จจัยความเสี่ ยง ต่างๆ อันอาจเกิดขึ้น และส่ งผลกระทบต่อการประกอบธุ รกิจ บริ ษทั จึงจัดเตรี ยมแผนบริ หารความเสี่ ยง เพื่อ รองรับเหตุการณ์ความเสี่ ยงต่างๆ คณะกรรมการบริ ษทั ได้มอบหมายให้คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง กาหนดนโยบาย และกากับ ดูแลความเสี่ ยงที่มีนยั สาคัญสาหรับกลุ่มบริ ษทั (Corporate Risks) โดยปรับปรุ งหลักเกณฑ์การประเมิ นความ เสี่ ยง อนุ มตั ิคู่มือบริ หารความเสี่ ยง และติดตามความก้าวหน้าตามแผนบริ หารความเสี่ ยงเป็ นรายเดื อนอย่าง ต่อเนื่อง โดยสรุ ปปั จจัยความเสี่ ยงที่มีนยั สาคัญต่อบริ ษทั ได้แก่ 1. ความเสี่ ยงด้ านแหล่ งนา้ และระบบสู บส่ ง 1.1 ความไม่ เพียงพอของปริ มาณน้าต้ นทุน ธุ รกิ จของบริ ษ ทั จาเป็ นต้องจัดหาน้ า ดิ บ ปริ มาณมาก ให้ เพี ยงพอตามความต้องการของลู ก ค้า ทั้งในกลุ่ มอุ ป โภคบริ โภคและอุ ตสาหกรรม บริ ษ ทั ติ ดตาม ปริ มาณน้ าในอ่างเก็บน้ าหลักทุกสัปดาห์ จากการคาดการณ์ความต้องการใช้น้ าเทียบกับปริ มาณน้ าใน แหล่งน้ าหลักในปี 2556 พบว่ามีปริ มาณน้ าต้นทุ นเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ าในปี 2557 ทั้งนี้ บริ ษทั ยังมีความจาเป็ นต้องติดตามปริ มาณน้ าต้นทุนในแหล่งน้ าต่างๆ อย่างต่อเนื่ อง เพื่อให้มนั่ ใจได้ ว่าปริ มาณน้ าต้นทุนในแหล่งน้ าต่างๆ มีความเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ าในอนาคตอยูเ่ สมอ 1.2 การเกิดความเสี ยหายต่ อระบบท่ อส่ งน้าของบริษัท ท่อส่ งน้ า และระบบสู บส่ งน้ าทั้งหมดเป็ นระบบที่ ได้รับการออกแบบ ก่ อสร้ างตามมาตรฐานวิศวกรรมอย่างเคร่ งครั ด อย่างไรก็ตามจากการใช้งาน ระบบสู บส่ งน้ าต่างๆ มาเป็ นระยะเวลากว่า 20 ปี ระบบสู บส่ ง และอุปกรณ์ต่างๆ จึงอาจพบปั ญหาการ สึ กกร่ อน หรื อชารุ ดเสี ยหายจากการก่อสร้างในบริ เวณแนวท่อ ซึ่ งทาให้ท่อแตกหรื อรั่วได้ อย่างไรก็ดี บริ ษทั ได้จดั แผนการซ่ อมบารุ งเชิ งป้ องกัน ตรวจสอบระบบท่อส่ งน้ า และซ่ อมบารุ งตามแผนงาน อย่างต่อเนื่ อง รวมทั้งจัดทาประกันทรัพย์สินกับบริ ษทั ประกันภัย เพื่อรับผิดชอบความเสี ยหายที่อาจ เกิ ดจากเหตุการณ์ต่างๆ ให้ครอบคลุ มทุกเส้นท่อ และประกันภัยความรับผิดชอบต่อบุคคลภายนอก รวมถึ งความเสี ยหายที่ เกิ ดจากการหยุดชะงัก เพื่อช่ วยให้บริ ษทั สามารถให้บริ การจ่ายน้ าได้อย่า ง ต่อเนื่อง และมีประสิ ทธิ ภาพ 1.3 การปรั บตัวเพิ่มขึ้นของอัตราค่ าไฟฟ้าอัตโนมัติ Ft ค่าไฟฟ้ าเป็ นต้นทุนหลักในการสู บส่ งน้ าของ ธุ รกิจน้ าดิบ และธุ รกิจประปา ค่า Ft ที่มีโอกาสปรับเพิ่มขึ้นทุกๆ 4 เดือน จึงเป็ นปั จจัยหลักที่ส่งผลให้ ต้นทุนสู บจ่ายน้ าปรับเพิ่มขึ้น บริ ษทั ดาเนิ นการลดความเสี่ ยงดังกล่าวในหลายมาตรการ อาทิ การ วางแผนสู บน้ าในช่วงเวลาที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้ าต่า (Off peak period) และบริ หารการจ่ายน้ าจาก แหล่งน้ าสารองในช่วงเวลาที่ความต้องการใช้ไฟฟ้ าสู ง (On peak period) ดาเนินการโครงการอนุรักษ์ พลังงาน ตลอดจนศึกษาการนาเทคโนโลยีที่ทนั สมัยมาปรับปรุ งกระบวนการสู บจ่ายน้ าดิบ รวมถึ ง การศึกษาความเหมาะสมในการนาอุปกรณ์ ช่วยประหยัดพลังงาน เช่น ระบบปรับความเร็ วรอบของ มอเตอร์ (Variable Speed Drive) มาใช้กบั ระบบสู บส่ งน้ า เป็ นต้น __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 52


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

1.4 คุณภาพน้าดิบในฤดูฝน และภาวะมลพิษบริ เวณแนวรอบแหล่ งน้า คุ ณภาพน้ าดิ บที่แปรผันตามฤดู โดยเฉพาะปั ญหาความขุ่นของน้ าดิ บในช่ วงฤดูฝนส่ งผลต่อคุ ณภาพน้ าดิ บที่ส่งมอบยังลูกค้า ทาให้ ต้นทุนในการผลิต และปรั บปรุ งคุ ณภาพน้ าของลูกค้าเพิ่มขึ้ น อย่างไรก็ตามลูกค้ามี ความต้องการ น้ า ดิ บ ที่ คุ ณภาพค่ อนข้างสม่ าเสมอ ท าให้บริ ษทั อาจต้องรั บภาระต้นทุ นผันน้ าของบริ ษ ทั เพิ่ม ขึ้ น เนื่ องจากการปรับเปลี่ยนแหล่งน้ าจากแหล่งที่วางแผนไว้เป็ นแหล่งน้ าอื่นที่คุณภาพน้ าดิบมีคุณภาพ ดีกว่า แต่ระยะทางไกลกว่าเดิม นอกจากนี้ บริ ษ ทั ยัง ตระหนัก ถึ ง การขยายตัวของชุ ม ชนบริ เวณรอบแนวอ่ า งเก็ บ น้ า หลัก ซึ่ งการใช้ชีวติ ประจาวันรวมถึงการเกษตรในพื้นที่อาจส่ งผลต่อคุณภาพน้ าดิบ ดังนั้น บริ ษทั จึงดาเนิ น กิจกรรมรักษาความสัมพันธ์ร่วมกับชุ มชนโดยรณรงค์ให้มีการเฝ้ าระวัง และปลูกฝังจิตสานึกในการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบริ เวณต้นน้ ารอบๆ แหล่งน้ าหลักอย่างต่อเนื่อง 2. ความเสี่ ยงทีอ่ าจส่ งผลให้ การดาเนินงานหยุดชะงัก 2.1 การหยุดจ่ ายนา้ เนื่องจากไฟฟ้าขัดข้ อง บริ ษทั ดาเนินการสู บจ่ายน้ าให้แก่ลูกค้าตลอด 24 ชัว่ โมง การมี แหล่งน้ าสารอง จึงเป็ นสิ่ งจาเป็ นในยามฉุ กเฉิ น เช่น กรณี ไฟฟ้ าดับ กรณี ซ่อมบารุ งหรื อประสานแนว ท่อจ่ายน้ าใหม่ เป็ นต้น ในกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ น บริ ษทั จึงต้องมีน้ าสารองจากสระสารองในพื้นที่ต่างๆ เพื่อส่ งน้ าดิบให้ลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง ปั จจุบนั บริ ษทั มีแหล่งน้ าสารองความจุรวม 116,300 ลูกบาศก์ เมตร โดยในปี 2556 บริ ษทั ก่อสร้ างสระสารองน้ ามาบข่า 2 จังหวัดระยองแล้วเสร็ จ ทาให้บริ ษทั มี ปริ มาณน้ าสารองรองรับเหตุฉุกเฉิ นในพื้นที่ระยองได้ถึง 17 ชัว่ โมง 2.2 ความเสี่ ย งจากอุ บั ติ เหตุ ร้า ยแรง และภั ยธรรมชาติ ในกรณี ที่ เกิ ดภัย พิ บ ตั ิ อุ บ ัติเหตุ ร้า ยแรง เช่ น แผ่นดิ นไหว และเหตุที่ เกิ ดจากการก่อการร้ าย วินาศกรรม เช่ น การวางระเบิ ด จลาจล รวมถึ งการ ชุ มนุ มที่เกิ ดจากกลุ่ มผูก้ ่ อความไม่สงบ เป็ นต้น บริ ษทั ได้จดั เตรี ยมแผนสารองฉุ กเฉิ น เพื่อรองรับ เหตุการณ์ ที่อาจเกิดขึ้น รวมถึ งการเตรี ยมความพร้ อมเพื่อให้พนักงานที่รับผิดชอบสามารถเข้าแก้ไข ปั ญหาเมื่ อเกิ ดกรณี ฉุกเฉิ นได้ทนั ที และจัดตั้งทีมฉุ กเฉิ นเพื่อประสานงานกับหน่ วยงานที่เกี่ ยวข้อง นอกจากนี้บริ ษทั ยังเพิ่มมาตรการในการตรวจสอบ และป้ องกันพื้นที่ปฏิบตั ิงาน โดยเพิ่มเติมอุปกรณ์ รักษาความปลอดภัยในสถานี สูบจ่ายน้ า และอาคารสานักงาน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการดูแล ป้ องกัน และเฝ้ าระวัง เช่ น กล้องโทรทัศน์วงจรปิ ด ไฟฟ้ าแสงสว่าง ป้ ายกาหนดแนวกั้น และป้ าย เตือนต่างๆ อย่างครบถ้วน นอกจากนี้ บริ ษทั ได้จดั ทาประกันภัยคุม้ ครองความเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้นต่อทรัพย์สินที่ใช้ใน การประกอบธุ รกิจ การหยุดชะงักของการประกอบธุ รกิจ (Business Interruption) รวมถึงการประกัน ความเสี ยหายที่เกิดจากบุคคลภายนอกเป็ นประจาทุกปี

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 53


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

3. ความเสี่ ยงด้ านการเงิน ความเสี่ ยงจากทิศทางอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เพิ่มขึ้น บริ ษทั มีภาระหนี้ สินอยู่ในรู ปแบบเงิ นกูร้ ะยะยาว สาหรั บนามาใช้ในการลงทุนก่ อสร้ างโครงการขนาดใหญ่ของบริ ษทั ทั้งนี้ บริ ษทั พิจารณาตัดสิ นใจ ลงทุนโครงการต่างๆ อย่างรอบคอบ และมีแผนการจัดหาเงินทุนด้วยอัตราดอกเบี้ยคงที่อย่างเพียงพอ อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกูข้ องตลาดที่ปรับสู งขึ้น อาจส่ งผลกระทบต่อผลการ ดาเนิ นงานของบริ ษทั ได้ เนื่ องจากเงื่อนไขของสิ นเชื่ อบางส่ วนยังคงเป็ นอัตราลอยตัว บริ ษทั จึงอาจ ต้องรับภาระความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่อาจปรับตัวสู งขึ้นตามตลาดในช่วงระยะเวลาหนึ่ ง บริ ษทั จึง ได้ว่าจ้างที่ปรึ กษาทางการเงิน เพื่อทบทวนโครงสร้างการเงินของกลุ่มบริ ษทั โดยศึกษาแนวทางการ จัดหาแหล่งเงินทุนด้วยวิธีการอื่น เช่น การออกหุ น้ กู้ หรื อแผนการปรับโครงสร้างทุนของกลุ่มบริ ษทั ที่ เหมาะสม และเพียงพอต่อการขยายธุ รกิจในอนาคต 4 ความเสี่ ยงจากการต่ อต้ านจากชุ มชนในการดาเนินธุรกิจของบริษัท ในแต่ละปี บริ ษทั จาเป็ นต้องใช้น้ าดิ บจากแหล่งน้ าในภาคตะวันออกในปริ มาณมาก จึงอาจ ส่ งผลต่อภาพลักษณ์รวมถึ งความไม่เข้าใจของชุ มชนต่อการใช้น้ าของบริ ษทั ได้ ดังนั้นคณะกรรมกร บริ ษทั ในการประชุ มครั้งที่ 10/2538 เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2538 ได้มีมติให้จดั สรรเงินร้อยละ 5 ของ ก าไรสุ ท ธิ เพื่ อ เป็ นค่ า ใช้จ่ า ยในการส่ ง เสริ ม พัฒนาสิ่ ง แวดล้อ ม สั ง คม และชนบท โดยมุ่ ง สร้ า ง สัมพันธภาพอันดี กบั ชุ มชนในพื้นที่ ตลอดจนการสร้ า งความเข้า ใจที่ ถูก ต้อง และยังได้สนับ สนุ น โครงการพัฒนาท้องถิ่นอย่างสม่าเสมอ เพื่อลดความขัดแย้งสร้างทัศนคติที่ดีต่อบริ ษทั โครงการสาคัญที่ ดาเนิ นร่ วมกับชุ ม ชน อาทิ การขุดลอกคู ค ลอง บริ ก ารรถน้ าดื่ มเคลื่ อนที่ โครงการค่ายเยาวชนผูน้ าด้านการอนุ รักษ์ทรั พยากรน้ า และสิ่ งแวดล้อม การมอบทุนการศึ กษาแก่ เยาวชน โครงการปลูกป่ าชายเลนเพื่ออนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม รวมถึ งสนับสนุ นกิ จกรรมพัฒนาคุ ณภาพ ชี วิต และสิ่ งแวดล้อมให้แก่ ศูนย์กลางชุ มชน เช่ น วัด โรงเรี ยน องค์การปกครองส่ วนท้องถิ่ น และ สาธารณกุศลต่างๆ เป็ นต้น อย่างต่อเนื่อง

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 54


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

4. ทรัพย์สินทีใ่ ช้ ในการประกอบธุรกิจ 4.1 ทรัพย์สินทีใ่ ช้ ในการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อยตามงบการเงินรวมของบริษัทฯ 4.1.1 ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ -สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีรายละเอียดแสดงในตารางที่ 4.1 ตารางที่ 4.1 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์-สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สิ นทรัพย์ ที่ดิน โรงสูบน้ า อาคาร ส่ วนปรับปรุ ง อาคาร และอาคารเช่า เครื่ องจักร และอุปกรณ์ อุปกรณ์สานักงาน ยานพาหนะ งานระหว่างก่อสร้าง รวม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (ราคาทุน) หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์-สุทธิ

มูลค่า (ล้านบาท) 455.44 1,033.47 515.44 266.01 8,763.02 339.83 1.24 1,975.01 13,349.46 (2,727.56) 10,621.90

ทั้งนี้ ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์หลักที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั ฯ มีรายละเอียด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ดังแสดงในตารางที่ 4.2-4.4 ตารางที่ 4.2 รายการสิ นทรัพย์ประเภทที่ดิน ที่ต้งั

พื้นที่ ไร่ -งาน-ตร.ว.

วัตถุประสงค์ของการถือครอง

- ต.คลองเขื่อนกิ่ง อ.คลองเขื่อน (บางคล้า)

263-0-94

- เพื่อใช้ก่อสร้างเป็ นอาคารสู บน้ าและสระพักน้ าดิบ

สิ นทรัพย์ โครงการ ฉะเชิงเทรา

จ.ฉะเชิงเทรา (จานวน 20 แปลง) - ต.บางขวัญ (สามประทวน) อ.เมือง

สาหรับโครงการฉะเชิงเทรา 13-3-66

จ. ฉะเชิงเทรา (จานวน 4 แปลง) โครงการ ฉะเชิงเทรา (ต่อ)

- ต.หนองจอก อ.บ้านโพธิ์ จ.ฉะเชิงเทรา

- เพื่อใช้ก่อสร้างเป็ นสถานียกระดับน้ าสาหรับ โครงการฉะเชิงเทรา

10-0-00

- เพื่อใช้ติดตั้งระบบรับและจ่ายน้ าบริ เวณบางปะกง

0-1-66

- เพื่อใช้วางท่อน้ าผ่านเข้าเขตการรถไฟฉะเชิ งเทรา

(จานวน 2 แปลง) - ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา (จานวน 1 แปลง)

โครงการแหล่งน้ า

- ต.สานักบก อ.เมือง จ.ชลบุรี

189-5-85

- เพื่อใช้เป็ นสระสารองพื้นที่ฉะเชิ งเทรา

- ถ.มอเตอร์เวย์ อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา

37-3-46

- เพื่อใช้ก่อสร้างเป็ นอาคารสู บน้ าสาหรับ

สารองพื้นที่ฉะเชิงเทรา โครงการสถานีสูบน้ า

โครงการบางปะกง-ชลบุรี

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 55


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) สิ นทรัพย์

พื้นที่ ไร่ -งาน-ตร.ว.

ที่ต้งั

โครงการสระพักน้ าที่

- ต.หนองขาม อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี

19-2-10

หนองค้อ

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ วัตถุประสงค์ของการถือครอง

- เพื่อใช้ในการก่อสร้างสระพักน้ าเส้นท่อ หนองปลาไหล-หนองค้อ

โครงการสานักงานใหญ่

- ต.ลาดยาว อ.บางซื่ อ กรุ งเทพฯ

1-2-48

- เพื่อใช้ในการเป็ นที่ต้งั ของอาคารสานักงานใหญ่

กรุ งเทพฯ โครงการสระมาบข่า

- ต.หนองละลอก อ.บ้านค่าย

150-2-30.1

จ.ระยอง โครงการ Reg well

-เพื่อใช้ในการก่อสร้างสระพักน้ าเส้นท่อ หนองปลา ไหล-มาบตาพุต

- ต.สุรศักดิ์ อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี

3-0-0

- เพื่อใช้ในการก่อสร้างสระพักน้ าเส้นท่อ หนองปลาไหล-หนองค้อ

โครงการสถานีสูบน้ า

- ต.เชิงเนิน อ.เมืองระยอง จ.ระยอง

ระยอง

3-3-62.5

(ที่ดินแม่น้ าระยอง)

-เพือ่ ใช้ในการก่อสร้างเป็ นอาคารสู บน้ าสาหรับจ่าย น้ าไปยังเส้นท่อหนองปลาไหล-มาบตาพุด

ตารางที่ 4.3 รายการสิ นทรัพย์ประเภทอาคาร สิ นทรัพย์

ที่ต้ งั

วัตถุประสงค์ของการถือครอง

อาคารสานักงานใหญ่

แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพฯ

อาคารสานักงานใหญ่

อาคาร,ส่วนปรับปรุ งและป้ าย

อาคารอเนกประสงค์,สถานี สูบน้ าดอกกราย

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-ส่งน้ า

ส่วนปรับปรุ งและป้ าย

สถานี สูบน้ าหนองปลาไหล โรงสู บที่ 1

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-ส่งน้ า

อาคารโรงสูบ

สถานี สูบน้ าหนองปลาไหล โรงสู บที่ 2

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-ส่งน้ า

อาคารโรงสูบ

สถานี สูบน้ าหนองปลาไหล โรงสูบที่ 3

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-ส่งน้ า

อาคารโรงสูบ

สถานี สูบน้ าฉะเชิ งเทรา

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-ส่งน้ า

อาคารและอาคารโรงสูบ

สถานี สูบน้ าบางปะกง

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-ส่งน้ า

อาคาร,ส่วนปรับปรุ งและป้ าย

สถานี รับน้ ามาบตาพุด

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-ส่งน้ า

อาคารและป้ าย

สถานี รับน้ าแหลมฉบัง

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-ส่งน้ า

อาคารสานักงาน

สถานี ยกระดับน้ าฉะเชิ งเทรา

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-ส่งน้ า

อื่นๆ

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-ส่งน้ า

ตารางที่ 4.4 เครื่ องสู บน้ า ท่อส่ งน้ า สระพักน้ าและอุปกรณ์อื่นๆ สิ นทรัพย์

ที่ต้งั

พื้นที่ระยอง เครื่ องสู บน้ า

- สถานี สูบน้ าหนองปลาไหล 1

เครื่ องสู บน้ า

- สถานี สูบน้ าหนองปลาไหล 2

เครื่ องสู บน้ า เครื่ องสู บน้ า

- สถานี สูบน้ าหนองปลาไหล 3 - สถานี สูบน้ าเพิ่มแรงดัน

เครื่ องสู บน้ า

- สถานี สูบน้ าดอกกราย

วัตถุประสงค์ของการถือครอง - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากสถานี Booster Pump เพื่อสูบต่อไปยังพื้นที่ ปลวกแดง-บ่อวิน - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหลไปยังมาบตาพุด - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหลไปยังมาบตาพุด - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหลไปยังพื้นที่ปลวก แดง-บ่อวิน - ใช้ในการสูบน้ าดิบจากอ่างเก็บน้ าดอกกรายไปยังมาบตาพุด

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 56


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) สิ นทรัพย์

ที่ต้งั

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ วัตถุประสงค์ของการถือครอง

เครื่ องสู บน้ า เครื่ องสู บน้ า พื้นที่ฉะเชิ งเทราเครื่ องสู บน้ า

- สถานี สูบน้ ามาบตาพุด - สถานี สูบน้ าแม่น้ าระยอง ชลบุรี - สถานี สูบน้ าคลองเขื่อน

- ใช้ในการสู บน้ าดิบจากมาบตาพุดไปยังสัตหี บ - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากแม่น้ าระยองไปยังมาบตาพุด - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากแม่น้ าบางปะกงไปยังพื้นที่ฉะเชิ งเทรา

เครื่ องสู บน้ า เครื่ องสู บน้ า เครื่ องสู บน้ า เครื่ องสู บน้ า เครื่ องสู บน้ า

- สถานี สูบน้ าสระสารอง - สถานี สูบน้ าสานักบก - สถานี สูบน้ าสวนสน - สถานี สูบน้ าหนองค้อ - สถานี สูบน้ าบางปะกง

เครื่ องสู บน้ า

- สถานี สูบน้ าแรงต่า

เครื่ องสู บน้ า

- สถานี สูบน้ าบางพระ 2

- ใช้ในการสู บน้ าดิบจากแม่น้ าบางปะกงไปยังพื้นที่ฉะเชิ งเทรา - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากสานักบกจ่ายไปยังพื้นที่ฉะเชิงเทรา - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากคลองนครเนื่ องเขตไปยังพื้นที่ฉะเชิ งเทรา - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากอ่างเก็บน้ าหนองค้อไปยังแหลมฉบัง-พัทยา - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากแม่น้ าบางปะกง เพื่อส่งจ่ายให้ผใู ้ ช้น้ าในพื้นที่ ชลบุรี-อ่างเก็บน้ าบางพระและพื้นที่ฉะเชิ งเทรา - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากแม่น้ าบางปะกงส่ งต่อให้สถานี สูบน้ าบางปะ กง - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากอ่างเก็บน้ าบางพระไปยังลูกค้าพื้นที่ชลบุรี

ท่อส่งน้ า

- แนวท่อหนองปลาไหลถึงมาบตาพุด (สถานีสูบ น้ าหนองปลาไหล โรงสูบที่ 2) - แนวท่อหนองปลาไหลถึงมาบตาพุด (สถานีสูบ น้ าหนองปลาไหล โรงสูบที่ 3) - แนวท่อเชื่อมต่อจากแนวท่อหนองปลาไหลหนองค้อ ไปยังแนวท่อหนองค้อ – แหลมฉบัง - แนวท่อฉะเชิ งเทรา – บางปะกง – ชลบุรี (By-Pass) -แนวท่อแม่น้ าระยอง –มาบข่า

- ใช้ในการส่ งน้ าดิบที่สูบมาจากอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหลไปยัง ปลายทางที่มาบตาพุด - ใช้ในการส่ งน้ าดิบที่สูบมาจากอ่างเก็บน้ าหนอง ปลาไหลไปยัง ปลายทางที่มาบตาพุด - ใช้ในการส่ งน้ าดิบเชื่ อมต่อจากแนวท่อหนองปลา ไหล-หนองค้อ ไปยังแนวท่อหนองค้อ– แหลมฉบัง - ใช้ในการรับน้ าดิบที่สูบจากแม่น้ าบางปะกง ไปยังฉะเชิงเทรา – บาง ปะกง – ชลบุรี -ใช้ในการรับน้ าดิบที่สูบจากแม่น้ าระยองไปเชื่ อมกับแนวท่อหนอง ปลาไหล-มาบตาพุต

สระพักน้ า

- พื้นที่ จ. ระยอง – ชลบุรี

- ระบบควบคุมและประเมินผลการสู บจ่ายน้ า

ต. มาบข่า

 ต. หนองขาม (หุบบอน) -พื้นที่ จ. ฉะเชิ งเทรา – ชลบุรี

ระบบ SCADA

- เป็ นแหล่งน้ าสารอง (จ่ายให้ลูกค้าพื้นที่มาบตาพุด – สัตหี บ) - เป็ นแหล่งน้ าสารอง (จ่ายให้ลูกค้าพื้นที่ชลบุรี – ปลวกแดง – บ่อวิน)

ต. คลองเขื่อน

- เป็ นแหล่งน้ าสารอง (จ่ายให้ลูกค้าฉะเชิ งเทรา)

ต. สานักบก

- เป็ นแหล่งน้ าสารอง (จ่ายให้ลูกค้าฉะเชิ งเทรา) - ระบบควบคุมและประเมินผลการสู บจ่ายน้ า

- พื้นที่ปฏิบตั ิการ จ.ระยอง ,ฉะเชิงเทราและชลบุรี

ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ มีสินทรัพย์จากสิ ทธิ การเช่ าจากสัญญาการบริ หารและดาเนิ นกิจการระบบท่อส่ งน้ า สายหลักในภาคตะวันออก ที่ทากับกระทรวงการคลัง โดยสิ นทรัพย์ที่เป็ นที่ดินและอาคารที่บริ ษทั ฯ ได้รับ สิ ท ธิ ก ารเช่ า จากสั ญ ญาดัง กล่ า วเมื่ อ สิ้ น สุ ดระยะเวลาสั ญ ญาฯ จะต้องส่ ง มอบคื น แก่ ก รมธนารั ก ษ์ ดัง รายละเอียดแสดงในตารางที่ 4.5-4.6

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 57


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ตารางที่ 4.5 รายการสิ นทรัพย์จากสิ ทธิสัญญาเช่าฯ ประเภทที่ดิน สิ นทรัพย์ โครงการดอกกราย-มาบตาพุด

โครงการมาบตาพุด-สัตหี บ

โครงการหนองค้อ-แหลมฉบัง

พื้นที่

ที่ต้ งั

วัตถุประสงค์ของการถือครอง

ไร่ -งาน-ตร.ว.

- สถานี สูบน้ าดอกกราย (จ.ระยอง) - สถานี ยกระดับน้ า (ต.มาบข่า จ.ระยอง) - สถานี รับน้ ามาบตาพุด (มาบตาพุด ระยอง) - สถานี ยกระดับน้ า (มาบตาพุด จ.ระยอง) - สถานี รับน้ าสัตหี บ (จ.ชลบุรี) -บริ เวณขอบอ่างเก็บน้ าหนองค้อและ สถานี รับน้ าแหลมฉบัง (จ.ชลบุรี)

16-3-60 4-3-92 17-2-11

เพื่อใช้ในการดาเนิ นงานของระบบท่อส่ ง น้ าสาย ดอกกราย-มาบตาพุด

3-3-11 14-2-54

เพื่อใช้ในการดาเนิ นงานของระบบท่อส่ ง น้ าสายมาบตาพุด-สัตหี บ

14-2-84

เพื่อใช้ในการดาเนิ นงานของระบบท่อส่ ง น้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง

ตารางที่ 4.6 รายการสิ นทรัพย์จากสิ ทธิการเช่าฯ ประเภทอาคาร สิ นทรัพย์

ที่ต้ งั

ขนาด (ตร.ม.)

วัตถุประสงค์ของการถือครอง

โครงการดอกกราย-มาบตาพุด - สิ่ งปลูกสร้าง (โรงสูบน้ า โรงไฟฟ้ า

- สถานีสูบน้ าดอกกราย (จ.ระยอง)

3,854.25

สานักงาน บ้านพัก สะพาน ฯลฯ) - สิ่ งปลูกสร้าง (ถังยกระดับน้ า บ้านพัก

เพื่อใช้ในการดาเนินงานของระบบ ท่อส่ งน้ าสายดอกกราย-มาบตาพุด

- สถานี ยกระดับน้ า (ต.มาบข่า จ.ระยอง)

354.00

ฯลฯ) - สิ่ งปลูกสร้าง (สานักงาน บ่อรับน้ าดิบ สระพักน้ าดิบ ฯลฯ)

- สถานีรับน้ ามาบตาพุด (มาบตาพุด

12,833.55

จ.ระยอง)

โครงการมาบตาพุด-สัตหี บ - สิ่ งปลูกสร้าง (สถานี ไฟฟ้ าย่อย ถังน้ า

- สถานียกระดับน้ า (มาบตาพุด จ.ระยอง)

233.55

ยกระดับ ฯลฯ) โครงการมาบตาพุด-สัตหี บ(ต่อ)

เพื่อใช้ในการดาเนินงานของระบบ ท่อส่ งน้ าสายมาบตาพุด-สัตหี บ

- สถานีรับน้ าสัตหี บ (จ.ชลบุรี)

4,370.25

- บริ เวณขอบอ่างเก็บน้ าหนองค้อ และสถานี

231.25

- สิ่ งปลูกสร้าง (บ้านพักพนักงาน บ่อรับน้ า ดิบ สระรับน้ าดิบ ฯลฯ) โครงการหนองค้อ-แหลมฉบัง - สิ่ งปลูกสร้าง (บ่อรับน้ า ฯลฯ)

รับน้ าแหลมฉบัง (จ.ชลบุรี)

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

เพื่อใช้ในการดาเนินงานของระบบ ท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง

ส่วนที่ 1 หน้า 58


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ทั้งนี้ บริ ษทั และ บริ ษทั ย่อย ยังมีทรัพย์สินหลักที่รับมอบจากการประปาส่ วนภูมิภาค (กปภ.) โดย การเข้ารับสัมปทานในการดาเนิ นกิ จการประปา 4 แห่ ง ได้แก่ ประปาสัตหี บ ประปาบางปะกง ประปา ฉะเชิ งเทรา และประปานครสวรรค์ เพื่อใช้ในการดาเนิ นการตามสัญญาสัมปทานซึ่ งบริ ษทั จะต้องส่ งคืน เมื่อสิ้ นสุ ดสัญญาสัมปทาน รายละเอียดทรัพย์สินดังกล่าว แสดงในตารางที่ 4.7 ตารางที่ 4.7 รายการทรัพย์สินหลักรับมอบจากสัญญาสัมปทาน กปภ. รายการ

ประปาสัตหี บ

ประปาบางปะกง

ประปาฉะเชิงเทรา

ประปานครสวรรค์

ระบบท่อส่งจ่ายน้ า

/

/

/

/

สถานีสูบน้ า (อาคารและเครื่ องสูบน้ า)

/

/

/

/

ระบบกรองน้ าและผลิตน้ าประปา

/

/

/

/

ถังน้ าใสและหอถังสู ง

/

/

/

/

สถานีเพิ่มแรงดัน

/

/

/

/

สิ นทรัพย์อื่น *

/

/

/

/

* หมายเหตุ สิ นทรัพย์อื่น ประกอบด้วย ตูค้ วบคุมระบบไฟฟ้ า เครื่ องสู บน้ าของสถานีสูบน้ าแรงต่า หม้อแปลงไฟฟ้ าแรงสู งเครื่ อง สู บจ่าย สารเคมี ถังควบคุมสู บจ่ายแก๊สคลอรี น เป็ นต้น

ข้อมูลงานระหว่างก่อสร้าง ณ 31 ธันวาคม 2556 จานวน 1,975 ล้านบาท ประกอบด้วยโครงการหลัก ได้แก่ โครงการ

มูลค่า ณ 31 ธันวาคม 2556 (ล้านบาท)

ธุรกิจน้ าดิบ ธุรกิจน้ าประปา

1,973.95 1.06

4.1.2 มูลค่ าสิ นทรัพย์ สุทธิ ณ 31 ธันวาคม 2556 กลุ่มบริ ษทั มีหนี้สินที่อาจเกิดจากการเข้าค้ าประกัน อาวัล ภาระจานองหรื อการค้ าประกันให้บุคคลอื่น ดังนี้ -

กลุ่มบริ ษทั มีหนี้ สินที่อาจเกิดขึ้นจากการเป็ นผูค้ ้ าประกันการปฏิบตั ิตามสัญญาของบริ ษทั ย่อยสามแห่ ง ใน กรณี ธนาคารในประเทศออกหนังสื อค้ าประกันให้แก่บริ ษทั ย่อยภายในวงเงิน 200 ล้านบาท สาหรับการค้ า ประกันหม้อแปลงไฟฟ้ า ค้ าประกันการผลิตและขายน้ าประปา ประกันสัญญาบันทึกข้อมูลผูใ้ ช้น้ า

-

หนี้ สินที่อาจเกิ ดขึ้นจากการที่ธนาคารในประเทศออกหนังสื อค้ าประกันเพื่อการใช้กระแสไฟฟ้ ากับการ ไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค หนังสื อค้ าประกันเกี่ยวกับการบริ หารและดาเนิ นกิจการระบบท่อส่ งน้ าสายหลักในภาค ตะวันออกกับกระทรวงการคลัง หนังสื อค้ าประกันเพื่อการปฏิ บตั ิตามสัญญากับการประปาส่ วนภูมิภาค และกับ กรมชลประทาน และหนัง สื อ ค้ า ประกัน เพื่ อ ประมู ล โครงการของบริ ษ ัท จ านวนรวมทั้ง สิ้ น

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 59


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

119.3 ล้านบาท และ 71.5 ล้านบาท ตามลาดับ (พ.ศ. 2555 : จานวน 202.5 ล้านบาท และ 149.4 ล้านบาท ตามลาดับ) ดังนั้น มูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิ ของกลุ่มบริ ษทั ฯ จะมีค่าเท่ากับมูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิ ตามบัญชี 7,897,581,573 บาท และมูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิ ต่อหุ น้ คือ 4.75 บาท (ณ 31 ธันวาคม 2556 บริ ษทั ฯมีจานวนหุน้ ที่ออกและเรี ยก ชาระแล้วเท่ากับ 1,663,725,149 หุน้ ) 4.2 ค่ าสิ ทธิในการประกอบกิจการภายใต้ สัญญาสั มปทานและต้ นทุนการได้ มาซึ่งสิ ทธิสัมปทานรอตัดบัญชี กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้รับสัมปทานในการดาเนิ นกิจการผลิตและจาหน่ายน้ าประปา ดังข้อมูลสรุ ปแสดงไว้ใน ส่ วนลักษณะบริ ก าร โดยมี ค่า สิ ทธิ ในการประกอบกิ จการภายใต้สัญญาสัมปทานของบริ ษ ทั ยูนิเ วอร์ แซล ยูทิลิต้ ีส์ จากัดและกิจการประปาใน 3 พื้นที่ คือ ประปาบางปะกง ประปาฉะเชิ งเทรา ประปานครสวรรค์ สุ ทธิ จานวน 555,571,905.00บาท และต้นทุนการได้มาซึ่ งสัมปทานรอตัดบัญชี 522,445,956.31 บาท (ณ 31 ธันวาคม 2556) 4.3 นโยบายการลงทุนในบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม ปัจจุบนั บริ ษทั ฯ มีเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม ณ 31 ธันวาคม 2556 ดังรายละเอียดแสดงใน ตารางที่ 4.8 ตารางที่ 4.8 การลงทุนของบริ ษทั และบริ ษทั ร่ วม ณ 31 ธันวาคม 2556 ชื่อบริ ษทั

ประเภทธุรกิจ

(บริ ษทั ย่อย) 1. บจ.ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ *

บริ หารกิจการประปาและงานวิศวกรรม

ทุนจดทะเบียน

ทุนชาระแล้ว

การถือหุ้น

(บาท)

(บาท)

%

510,000,000

510,000,000

100

บริ การ 2. บจ.ประปาบางปะกง **

ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา

40,000,000

40,000,000

99

3. บจ.ประปาฉะเชิงเทรา**

ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา

100,000,000

100,000,000

99

4. บจ.ประปานครสวรรค์**

ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา

40,000,000

40,000,000

100

5. บจ. อีดบั เบิ้ลยูทีลิต้ ีส์ *

ขนส่งน้ าทางท่อ

1,000,000

250,000

100

1,000,000

250,000

100

1,000,000

250,000

100

60,000,000

60,000,000

55

6. บจ อีดบั เบิล้ ยู วอเตอร์ ขนส่งน้ าทางท่อ บาลานซ์ (ชลบุรี) * 7. บจ. อีดบั เบิล้ ยู สมาร์ทวอเตอร์ (ระยอง) ผลิตและจาหน่ายน้ าอุตสาหกรรม * 8. บจ. เสม็ดยูทิลิต้ ีส์ *

ผลิตน้ าประปาจากน้ าทะเล

หมายเหตุ * ถือหุน้ โดยบริ ษทั ** ถือหุน้ โดยบริ ษทั ย่อย

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 60


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

โดยสัดส่ วนเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมทั้งหมด คิดเป็ นร้อยละ 6.94 ของสิ นทรัพย์รวม ของบริ ษทั ฯ ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ยังคงมีนโยบายการลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมเพิ่มขึ้นในอนาคต ดังนี้ - การลงทุ นในธุ รกิ จต่อเนื่ อง ขยายฐานธุ รกิ จที่ สนับสนุ นธุ รกิ จด้านกิ จการประปา เช่ นธุ รกิ จการ บริ หารระบบท่ อส่ ง จ่า ยน้ า เพื่ อลดน้ าสู ญเสี ย บริ หารระบบบาบัดน้ าเสี ย บริ ก ารวิศวกรรมและ เทคโนโลยีการจัดการน้ า เป็ นต้น - ธุ รกิ จบริ การ ด้านบริ การเทคนิ ค และวิศวกรรมที่เชื่ อมโยงกับธุ รกิ จปั จจุ บนั ของกลุ่ มบริ ษทั ฯ ตาม นโยบายของกลุ่มบริ ษทั ฯ ที่มุ่งเน้นเป็ นผูน้ าด้าน “ Water Solution ” ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ สามารถกาหนดนโยบายการบริ หารงานของบริ ษทั ย่อยทั้งหมด โดยการแต่งตั้ง กรรมการ ผูแ้ ทนของบริ ษทั ฯ ทั้งจากคณะกรรมการและคณะผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ เพื่อกาหนด แนวนโยบายบริ หารงาน เพื่อมอบหมายแก่คณะผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ย่อยรับนโยบายไปปฏิบตั ิต่อไป นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ กาหนดให้คณะผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ย่อยรายงานผลการดาเนินงานเป็ นราย ไตรมาสและรายปี เพื่อให้บริ ษทั ฯทราบความคืบหน้าของการดาเนิ นงานว่าเป็ นไปตามแผนงานที่ได้ กาหนดเป็ นนโยบายไว้ 4.4 กรมธรรม์ ประกันภัยทรัพย์สินของบริษัท บริ ษทั ได้ทาประกันความเสี่ ยงภัยของทรัพย์สินทั้งความเสี ยหายต่อทรัพย์สินโดยตรง (All Risks) และผลกระทบ อันเกิดกับธุ รกิจหยุดชะงักจากการเสี ยหายของทรัพย์สินของบริ ษทั (Business Interruption) ดังนี้ สรุ ปกรมธรรม์ ประกันภัยทรั พย์ สินรับโอนจากกระทรวงการคลัง 1. กรมธรรม์เลขที่ 14016-114-130001664 ผูท้ าประกัน บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) บริ ษทั ผูร้ ับประกันภัย บริ ษทั ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) ระยะเวลาให้ความคุม้ ครอง 31 ธันวาคม 2555 – 31 ธันวาคม 2556 ประเภทการให้ความคุม้ ครอง ประกันความเสี่ ยงภัยทั้งปวง (All Risks Insurance) จากความเสี ยหาย ทางกายภาพของทรัพย์สินเอาประกันอันเนื่องมาจากอุบตั ิเหตุใดๆ ภายใต้ขอ้ ตกลงคุม้ ครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นของกรมธรรม์ประกัน เสี่ ยงภัยทรัพย์สิน วงเงินจากัดความรับผิด สาหรับ ภัยน้ าท่วม คุม้ ครอง รวมกันไม่เกิน 20,000,000 บาทต่อครั้งและตลอดระยะเวลาเอา ประกันภัย (Combined Single limit for PD and BI), ภัยพายุ ภัย แผ่นดินไหว คุม้ ครอง 10% ของทุนประกันภัย ไม่เกิน 50,000,000 บาท __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 61


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ จานวนเงินเอาประกันภัย ทรัพย์สินที่เอาประกันภัย

ผูร้ ับผลประโยชน์

2. กรมธรรม์เลขที่ ผูท้ าประกัน บริ ษทั ผูร้ ับประกันภัย ระยะเวลาให้ความคุม้ ครอง ประเภทการให้ความคุม้ ครอง

ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ จานวนเงินเอาประกันภัย ผูร้ ับผลประโยชน์

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

แต่ละสถานที่แต่ละภัย รวมกันไม่เกิน 1,000,000 บาทต่อครั้งและตลอด ระยะเวลาเอาประกันภัย (Combined Single limit for PD and BI), ภัยจลาจลและนัดหยุดงาน ภัยจากการกระทาอันป่ าเถื่อนและเจตนาร้าย คุม้ ครองรวมกันไม่เกิน 200,000,000 บาทต่อครั้งและตลอดระยะเวลา เอาประกันภัย (Combined Single limit for PD and BI) 3,103,446.19 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิม่ แล้ว) 2,626,237,648.31 บาท 1. ทรัพย์สินที่รับโอนมาจากกระทรวงการคลัง 1.1 โครงการดอกกราย – มาบตาพุด 415,655,233.00 บาท 1.2 โครงการมาบตาพุด – สัตหีบ 189,793,744.00 บาท 1.3 โครงการหนองค้อ – แหลมฉบัง 131,977,687.00 บาท 1.4 โครงการแหลมฉบัง – พัทยา 69,275,687.00 บาท 1.5 โครงการหนองปลาไหล – หนองค้อ 1,564,665,297.31 บาท 1.6 โครงการหนองค้อ – แหลมฉบัง (ระยะ 2) 254,870,000.00 บาท รวม 2,626,237,648.31 บาท กระทรวงการคลัง และ/หรื อ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 14016-114-130001642 บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) บริ ษทั ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) 31 ธันวาคม 2555 - 31 ธันวาคม 2556 ความสู ญเสี ยทางการเงิ นเนื่ องจากผลกาไรที่ ลดลงจากผลกระทบของ อุ บ ัติ เ หตุ ต่ อ ทรั พ ย์สิ น ที่ เ อาประกัน ภัย ที่ คุ ้ม ครองตามรายการที่ เ อา ประกัน ภัย ที่ ศู น ย์ป ฏิ บ ัติ ก ารฉะเชิ ง เทรา-ชลบุ รี และศู น ย์ป ฏิ บ ัติ ก าร ระยอง ภายในระยะเวลา 3 เดื อน ทั้งนี้ การคุ ม้ ครองนี้ จะ ยกเว้นไม่ คุม้ ครองความเสี ยหายในส่ วนแรก (Deductibles) เป็ นระยะเวลา 5 วัน 367,955.88 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิม่ แล้ว) 311,374,788.92 บาท กระทรวงการคลัง และ/หรื อ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 62


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

3. กรมธรรม์เลขที่ ผูท้ าประกัน บริ ษทั ผูร้ ับประกันภัย ระยะเวลาให้ความคุม้ ครอง ประเภทการให้ความคุม้ ครอง

ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ จานวนเงินจากัดความรับผิด รับผิดชอบเองส่ วนแรก สถานที่ต้ งั ทรัพย์สิน

ผูร้ ับผลประโยชน์

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

14013-114-130000296 บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) บริ ษทั ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) 31 ธันวาคม 2555 - 31 ธันวาคม 2556 ความรับผิดตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก อันเป็ นจากการกระทาโดย ประมาท บกพร่ อง เลิ นเล่ อ ของบริ ษทั หรื อพนักงาน หรื อจากการที่ ทรั พย์สินของบริ ษทั สร้ างความเสี ยหายให้แก่ บุคคลภายนอก ทั้งทาง ร่ างกาย ทรัพย์สิน ตลอดจนกรณี ที่ทรัพย์สินของบุคคลภายนอกได้รับ ความเสี ยหายจากการดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั 268,570.00 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) ไม่เกิน 50,000,000.00 บาท ต่อครั้ง และตลอดระยะเวลาเอาประกันภัย 50,000. 00 บ า ทแ ร ก ส า ห รั บ คว า ม เ สี ย ห า ย ต่ อ ท รั พ ย์ สิ น ข อ ง บุคคลภายนอกเท่านั้น สถานที่ต้ งั ของทรัพย์สินรับโอนจากกระทรวงการคลังในโครงการต่างๆ ในบริ เวณระหว่าง จ.ชลบุรี และ จ.ระยอง ดังนี้ 1) โครงการดอกกราย-มาบตาพุด 2) โครงการมาบตาพุด-สัตหีบ 3) โครงการหนองค้อ-แหลมฉบัง 4) โครงการแหลมฉบัง-พัทยา 5) โครงการหนองปลาไหล-หนองค้อ 6) โครงการหนองค้อ-แหลมฉบัง (ระยะ 2) กระทรวงการคลัง และ/หรื อ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

บริ ษ ัท ได้ท าประกัน ความสู ญ เสี ย หรื อ ความเสี ย หายทางกายภาพของทรั พ ย์สิ น ที่ เ อาประกัน ภัย อัน เนื่องมาจากอุบตั ิเหตุใดๆ ภายใต้ข ้อตกลงคุ ม้ ครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นของกรมธรรม์ประกันความเสี่ ยงภัย ทรัพย์สินฉบับมาตรฐาน (GIA Form) ดังนี้ สรุ ปกรมธรรม์ ประกันภัยทรั พย์ สินของบริษัท 1. กรมธรรม์เลขที่ 14016-114-130001686 ผูท้ าประกัน บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) บริ ษทั ผูร้ ับประกันภัย บริ ษทั ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) ระยะเวลาให้ความคุม้ ครอง 31 ธันวาคม 2555 – 31 ธันวาคม 2556 __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 63


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ประเภทการให้ความคุม้ ครอง

ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ จานวนเงินเอาประกันภัย สถานที่เอาประกันภัย

ทรัพย์สินที่เอาประกัน

ผูเ้ อาประกันภัย 2. กรมธรรม์เลขที่ ผูท้ าประกัน บริ ษทั ผูร้ ับประกันภัย ระยะเวลาให้ความคุม้ ครอง ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ จานวนเงินเอาประกันภัย สถานที่เอาประกันภัย

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ความสู ญเสี ยหรื อความเสี ยหายทางกายภาพของทรัพย์ที่เอาประกัน อันเนื่องมาจากอุบตั ิเหตุใดๆ ภายใต้ขอ้ ตกลงคุม้ ครอง เงื่อนไข และ ข้อยกเว้นของกรมธรรม์ประกันความเสี่ ยงภัยทรัพย์สิน 881,483.12 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) 745,938,661.40 บาท บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) (สานักงานใหญ่) 1 ซอยวิภาวดี รังสิ ต 5 ถนนวิภาวดี รังสิ ต แขวงจอมพล เขตจตุ จกั ร กรุ งเทพมหานคร สิ่ งปลูกสร้างอาคาร (ไม่รวมฐานราก) รวมรั้วเฟอร์ นิเจอร์ เครื่ องตกแต่ง ติดตั้งตรึ งตราส่ วนต่อเติมและส่ วนปรับปรุ งอาคาร เครื่ องมื อเครื่ องใช้ สานักงานทุกชนิด คอมพิวเตอร์ เครื่ องอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ลิฟท์ เครื่ อง กาเนิดไฟฟ้ า เสาอากาศจานดาวเทียม รวมระบบอานวยความสะดวกทุก ชนิ ด เช่ น ระบบไฟฟ้ า ระบบประปา แสงสว่าง โทรศัพท์ ระบบปรั บ อากาศ ระบบดับ เพลิ ง ระบบสาธารณู ปโภคอื่ นๆ ก าแพงรั้ ว ทางเดิ น ประตู พื้น และผนังหิ นอ่อน ภูมิสถาปั ตย์ เครื่ องจักรอุปกรณ์สาหรับออก กาลังกาย อุปกรณ์ทุกชนิ ด และทรัพย์สินอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิ น ธุ รกิจของผูเ้ อาประกันภัยรวมถึงทรัพย์สินที่อยูใ่ นความดูแลรักษาของผู ้ เอาประกันภัยในฐานะผูร้ ักษาทรัพย์ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 14016-114-130001653 บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) บริ ษทั ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) 31 ธันวาคม 2555 – 31 ธันวาคม 2556 10,850,235,49 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิม่ แล้ว) 9,181,824,014.10 บาท 1. ศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา-ชลบุรี 54/1 หมู่ 1 ตาบลบางขวัญ อาเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 2. ศูนย์ปฏิบตั ิการระยอง 477 ถนนสุ ขมุ วิท ตาบลห้วยโป่ ง อาเภอเมือง จังหวัดระยอง

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 64


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ทรัพย์สินที่เอาประกัน

ผูเ้ อาประกันภัย 3. กรมธรรม์เลขที่ ผูท้ าประกัน บริ ษทั ผูร้ ับประกันภัย ระยะเวลาให้ความคุม้ ครอง ประเภทการให้ความคุม้ ครอง

ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ จานวนเงินเอาประกันภัย สถานที่เอาประกันภัย

ทรัพย์สินที่เอาประกัน ผูเ้ อาประกันภัย 4. กรมธรรม์เลขที่ ผูท้ าประกัน บริ ษทั ผูร้ ับประกันภัย ระยะเวลาให้ความคุม้ ครอง ประเภทการให้ความคุม้ ครอง

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

สิ่ งปลูกสร้าง (ไม่รวมฐานราก) ส่ วนปรับปรุ งอาคาร อุปกรณ์สานักงาน เครื่ องจักร เครื่ องมือ อุปกรณ์ทุกชนิดที่ใช้ในการดาเนิ นธุ รกิจ สถานี เครื่ องสู บน้ า รวมถึง ระบบท่อต่างๆ ทั้งบนดิ นและใต้ดินที่อยูร่ ะหว่าง สถานีสูบน้ ากับสถานที่โครงการต่างๆ ที่ระบุไว้ในแผนการดาเนินธุ รกิจ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 14016-114-130001675 บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) บริ ษทั ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) 31 ธันวาคม 2555 –31 ธันวาคม 2556 ความสู ญเสี ยทางการเงิ นเนื่ องจากผลกาไรที่ ลดลงจากผลกระทบของ อุ บ ัติ เ หตุ ต่ อ ทรั พ ย์ สิ นที่ เ อาประกัน ภัย ที่ คุ ้ม ครองตามรายการเอา ประกัน ภัย ที่ ศู น ย์ป ฏิ บ ัติ ก ารฉะเชิ ง เทรา-ชลบุ รี และศู น ย์ป ฏิ บ ัติ ก าร ระยอง ภายในระยะเวลา 3 เดือน ทั้ งนี้ ก ารคุ ้ ม ครองนี้ จะย ก เว้ น ไม่ คุม้ ครองความเสี ยหายในส่ วนแรก (Deductibles) เป็ นระยะเวลา 5 วัน 1,286,437.46 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิม่ แล้ว) 1,088,625,211.08 บาท 1. ศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา-ชลบุรี 54/1 หมู่ 1 ตาบลบางขวัญ อาเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 2. ศูนย์ปฏิบตั ิการระยอง 477 ถนนสุ ขมุ วิท ตาบลห้วยโป่ ง อาเภอเมือง จังหวัดระยอง 1. กาไรขั้นต้น 2. การเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายในการดาเนินธุ รกิจ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 14013-114-130000285 บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) บริ ษทั ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) 31 ธันวาคม 2555 – 31 ธันวาคม 2556 ความรับผิดตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก อันเป็ นจากการกระทาโดย ประมาท บกพร่ อง เลิ นเล่ อ ของบริ ษทั หรื อ พนักงาน หรื อจากการที่ ทรั พย์สินของบริ ษทั สร้ างความเสี ยหายให้แก่ บุคคลภายนอก ทั้งทาง

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 65


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ จานวนเงินจากัดความรับผิด รับผิดชอบเองส่ วนแรก

สถานที่เอาประกันภัย

ผูเ้ อาประกันภัย

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ร่ างกาย ทรัพย์สิน ตลอดจนกรณี ที่ทรัพย์สินของบุคคลภายนอกได้รับ ความเสี ยหายจากการดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั 268,570.00 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) ไม่เกิน 50,000,000.00 บาทต่อครั้ง และตลอดระยะเวลาประกันภัย 50,000.00 บาทแรก สาหรับความเสี ยหายต่อทรัพย์สินของ บุคคลภายนอกเท่านั้น 1. สานักงานใหญ่ 2. ศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา-ชลบุรี รวมถึงตามแนวท่อส่ งน้ าดิบ ดังนี้ - หนองค้อ-แหลมฉบัง - โรงกรองบางพระ 2 - นครเนื่องเขต - ศรี ราชา - บางปะกง-ชลบุรี - ฉะเชิงเทรา 3. ศูนย์ปฏิบตั ิการระยอง รวมถึงตามแนวท่อส่ งน้ าดิบ ดังนี้ - มาบตาพุด - ดอกกราย-มาบตาพุด - แม่น้ าระยอง - หนองปลาไหล-หนองค้อ - หนองปลาไหล-มาบตาพุด บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 66


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

5.

พพ

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

ฎหม

1. ข้อพิพาททางกฎหมายที่อาจมีผลกระทบต่อสิ นทรัพย์ของบริ ษทั ที่มีจานวนสู งกว่าร้อยละ 5 ของส่ วนของ ผูถ้ ือหุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีดงั นี้ องค์การบริ หารส่ วนตาบลบางบุตร(อบต.บางบุตร) ผูฟ้ ้ องคดีที่ 1 องค์การบริ หารส่ วนตาบลบ้านค่าย (อบต.บ้านค่าย) ผูฟ้ ้ องคดีที่ 2 และ นายสายัณห์ ยังดี ผูฟ้ ้ องคดีที่ 3 ได้ยื่นฟ้ องการประปาส่ วนภูมิภาค (กปภ.) ต่อศาลปกครองระยอง เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2549 เป็ นคดีพิพาท เกี่ยวกับการที่หน่ วยงานทางปกครองหรื อ เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ศาลปกครองระยองได้มีคาสั่งเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2549 เรี ยกให้กลุ่มบริ ษทั ยูยู กรุ๊ ป คอนซอร์ เตียม เข้ามาเป็ นคู่กรณี และทาคาให้การในคดี โดยกาหนดให้เป็ นผูถ้ ู กฟ้ องคดี ที่ 2 เนื่ องจากมี ส่วนได้เสี ยในกรณี พิพาทด้วย และต่อมาเมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2550 ศาลปกครองระยอง ได้มีคาพิพากษาเพิกถอนกระบวนการ คัดเลื อกเอกชนให้ผ ลิ ตน้ าประปาเพื่อขายให้แก่ กปภ. ในพื้ นที่ ของส านัก งานประปาระยอง(เพิ กถอนการ คัดเลือกกลุ่มบริ ษทั ยูยู กรุ๊ ป คอนซอร์ เตียม) และเพิกถอนสัญญาเลขที่ ฝกม. 1/2549 ลงวันที่ 14 มีนาคม 2549 ซึ่ งเป็ นผลจากการคัดเลือกที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย กปภ.และกลุ่ มบริ ษทั ยูยู กรุ๊ ป คอนซอร์ เตี ยม ได้อุทธรณ์ คาพิพากษาของศาลชั้นต้น(ศาลปกครอง ระยอง) ต่อศาลปกครองสู งสุ ด และระหว่างการพิจารณาคดีของศาลปกครองสู งสุ ด กปภ. ยังคงให้ กลุ่มบริ ษทั ยูยู กรุ๊ ป คอนซอร์ เตียม ปฏิ บตั ิตามสัญญาให้เอกชนผลิ ตน้ าประปา เพื่อขายให้แก่ กปภ. ที่สานักงานประปา ระยองต่อไป รวมถึง กปภ. ยังคงยืนยันสิ ทธิ หน้าที่ของคู่สัญญาที่มีต่อกันตามที่กาหนดไว้ในสัญญา จนกว่าคดี จะสิ้ นสุ ด หากคาพิพากษาศาลปกครองสู งสุ ดวินิจฉัยยืนตามคาพิพากษาศาลปกครองระยอง ส่ งผลให้สัญญาถูก เพิกถอน กลุ่มบริ ษทั ยูยู กรุ๊ ป คอนซอร์ เตียม มีสิทธิ เรี ยกร้ อง กปภ. จ่ายค่าชดเชย รวมถึ งต้นทุนการก่อสร้ าง และปรับปรุ งระบบประปาตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่นใดทั้งหมดที่เสี ยไปเพื่อให้ระบบประปาสามารถดาเนินงานได้ เมื่ อ วัน ที่ 27 พฤศจิ ก ายน 2555 ศาลปกครองสู ง สุ ดได้พิ จารณาคดี น้ ี โดยมี ป ระเด็ นแห่ ง คดี ที่ ต้อ ง พิจารณา คือ เรื่ องอานาจฟ้ องของผูฟ้ ้ องคดีท้ งั 3 และ เรื่ องความชอบด้วยกฎหมายของการจัดให้มีสัญญาฯ ซึ่ ง ตุลาการผูแ้ ถลงคดี มีความเห็นว่าผูฟ้ ้ องคดี ท้ งั 3 ไม่มีอานาจยื่นฟ้ องคดี เนื่ องจากไม่ใช่ ผไู ้ ด้รับผลกระทบ หรื อ เดือดร้อนเสี ยหายจากการคัดเลือกเอกชนให้ผลิตน้ าประปา จึงมีความเห็นให้องค์คณะของศาลปกครองสู งสุ ด พิจารณาพิพากษากลับคาพิพากษาศาลปกครองระยอง ส่ งผลให้คดีถึงที่สุดตามคาพิพากษาศาลปกครองสู งสุ ด เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2556ให้ยกฟ้ อง เนื่องจากผูฟ้ ้ องคดีไม่มีส่วนได้เสี ย จึงไม่มีอานาจฟ้ อง

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 67


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

2. ข้อพิพาททางกฎหมายที่มีผลกระทบต่อการดาเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อยอย่างมีนยั สาคัญ แต่ไม่สามารถประเมินผลกระทบเป็ นตัวเลขได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สรุ ปได้ดงั นี้ ด้วยบริ ษทั เสม็ด ยูทิลิต้ ีส์ จากัด เป็ นบริ ษทั ในเครื อ ที่บริ ษทั ร่ วมกับองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดระยอง จัดตั้งด้วยทุนจดทะเบียนทั้งสิ้ น 60 ล้านบาท เพื่อขยาย การลงทุนในธุ รกิ จด้านน้ า อีกทั้งเป็ นต้นแบบในการ ดาเนิ นธุ รกิจสาธารณู ปโภคอื่นๆ ในลักษณะการร่ วมลงทุนกับหน่วยงานท้องถิ่น (Public-Private Partnership: PPP) โดย EW ถือหุน้ ร้อยละ 55 มูลค่าหุ น้ คิดเป็ นเงินลงทุนของ EW 33 ล้านบาท ต่อมาบริ ษทั เสม็ด ยูทิลิต้ ีส์ จากัด คัดเลือกผูร้ ับจ้างรับเหมาก่อสร้างและติดตั้งระบบผลิตน้ าประปาจาก น้ าทะเลขนาด 50 ลบ.ม. /ชม. และได้ผูร้ ับจ้างคื อ กิ จการร่ วมค้า เจ.วี.บี .เอช ฟอร์ เอเวอร์ เพียว แต่เนื่ องจาก ผูร้ ับจ้างขาดคุณสมบัติไม่เป็ นไปตามประกาศประกวดราคาจึงไม่ได้ลงนามในสัญญา และให้ชะลอโครงการฯ ต่อมาผูร้ ับจ้างได้แจ้งยกเลิกสัญญาตามหนังสื อ ลงวันที่ 20 สิ งหาคม 2556 และเรี ยกร้องค่าเสี ยหาย เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2556 กิจการร่ วมค้า เจ.วี.บี.เอช ฟอร์ เอเวอร์ เพียว (โจทก์) ได้ยนื่ ฟ้ องบริ ษทั เสม็ด ยูทิลิต้ ีส์ จากัด (จาเลย) ณ ศาลจังหวัดระยอง ว่าผิดนัดผิดสัญญา และเรี ยกค่าเสี ยหาย เป็ นเงินจานวน 23,819,898 บาท

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 68


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ

6. ข้ อมูลทัว่ ไปและข้ อมูลสาคัญอืน่ ชื่อบริ ษทั บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ชื่อย่อหลักทรัพย์ EASTW ลักษณะประเภทธุ รกิจ พัฒ นาและดู แ ลโครงข่ า ยระบบท่ อ ส่ ง น้ าดิ บ เพื่ อ จ าหน่ า ยน้ าดิ บ ให้ แ ก่ ผู ้ใ ช้ น้ า นอกจากนั้น บริ ษทั ยังบริ การให้คาแนะนาเกี่ ยวกับระบบผลิ ตน้ าสะอาด ตลอดจน ระบบท่อส่ งน้ าภายในนิ คมอุ ตสาหกรรม หรื อโรงงานอุตสาหกรรม รับตรวจซ่ อม ซื้ อ-ขาย อุปกรณ์และวัสดุที่เกี่ยวกับการส่ งน้ าทุกชนิด รวมทั้งรับเป็ นที่ปรึ กษาในการ ซ่อมบารุ งท่อส่ งน้ า เครื่ องมือเครื่ องจักรต่างๆ และสามารถร่ วมทุนกับเอกชนได้ ที่ต้ งั สานักงานใหญ่ เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 เลขทะเบียนบริ ษทั 0107539000316 (เดิมเลขที่ บมจ.632) จดทะเบียนวันที่ 18 พฤศจิกายน 2539 เว็บไซต์ www.eastwater.com โทรศัพท์ (662) 272-1600 โทรสาร (662) 272-1601 ถึง 3 หุน้ สามัญของบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริ ษทั มีทุนจดทะเบียนและหุ น้ ชาระแล้ว ดังนี้ ทุนจดทะเบียน 1,663,725,149 หุน้ มูลค่าหุ น้ ละ 1 บาท รวมมูลค่า 1,663,725,149 บาท ทุนชาระแล้ว 1,663,725,149 หุน้ มูลค่าหุ น้ ละ 1 บาท รวมมูลค่า 1,663,725,149 บาท รายชื่ อกิจการทีบ่ ริษัทถือหุ้นตั้งแต่ ร้อยละ 10 ขึน้ ไป ชนิด ของหุ้น

ทุนจดทะเบียน ชาระแล้ว ล้านบาท

สัดส่ วน การถือหุ้น ร้ อยละ

ชื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

บริษัท ยูนิเวอร์ แซล ยูทลี ติ สี้ ์ จากัด ยูยู เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (662) 272-1688 โทรสาร: (662) 272-1690 ถึง 2 บริษัท ประปานครสวรรค์ จากัด เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (056) 256-690 และ (662) 272-1688 โทรสาร: (056) 256-526 และ (662) 272-1690 ถึง 2

บริ หารกิจการประปา และบริ หารระบบบาบัด น้ าเสี ยในรู ปสัญญาสัมปทาน สัญญาจ้างบริ หารและ สัญญาเช่าบริ หาร

สามัญ

510

100

บริ หารกิจการประปา รวมถึง ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา ให้แก่สานักงานประปา นครสวรรค์และงานบริ การ ผูใ้ ช้น้ า

สามัญ

40

(บจ. ยูยู ถือหุน้ 99.99) 1

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 69


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ ชนิด ของหุ้น

ทุนจดทะเบียน ชาระแล้ว ล้านบาท

สัดส่ วน การถือหุ้น ร้ อยละ

ชื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

บริษัท ประปาบางปะกง จากัด เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (038) 539-365 ถึง 7 และ (662) 272-1688 โทรสาร: (038) 539-368 และ (662) 272-1690 ถึง 2 บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จากัด เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (038) 814-427 ถึง 9 และ (662) 272-1688 โทรสาร: (038) 814-427 และ (662) 272-1690 ถึง 2 บริษัท เอ็กคอมธารา จากัด เลขที่ 222 หมู่ที่ 5 อาคารเอ็กโก ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุ งเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์: (662) 998-5710 โทรสาร: (662) 955-0937 บริษัท อีดบั เบิล้ ยู ยูทลี ติ สี้ ์ จากัด เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (038) 539-365 ถึง 7 และ (662) 272-1688 โทรสาร: (038) 539-368 และ (662) 272-1690 ถึง 2 บริษัท อีดบั เบิล้ ยู วอเตอร์ บาลานซ์ ชลบุรี จากัด เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (038) 539-365 ถึง 7 และ (662) 272-1688 โทรสาร: (038) 539-368 และ (662) 272-1690 ถึง 2 บริษัท เสม็ดยูทลิ ติ สี้ ์ จากัด เลขที่ 52/21 หมู่ 2 ตาบลน้ าคอก อาเภอเมือง จังหวัดระยอง

บริ หารกิจการประปา รวมถึง ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา ให้แก่สานักงานประปา บางปะกงและงานบริ การ ผูใ้ ช้น้ า

สามัญ

40

(บจ. ยูยู ถือหุน้ 99.99) 1

บริ หารกิจการประปา รวมถึง ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา ให้แก่สานักงานประปา ฉะเชิงเทราและงานบริ การ ผูใ้ ช้น้ า

สามัญ

100

(บจ. ยูยู ถือหุน้ 98.99)

ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา

สามัญ

345

15.88

ขนส่งน้ าผ่านท่อ

สามัญ

0.250

99.99 1

ขนส่งน้ าผ่านท่อ

สามัญ

0.250

99.99 1

ผลิตน้ าประปาจากน้ าทะเล

สามัญ

60

54.99 1

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 70


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

ผลิตและจาหน่ายน้ า บริษัท อีดบั เบิล้ ยู สมาร์ ทวอเตอร์ ระยอง จากัด อุตสาหกรรม เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (038) 539-365 ถึง 7 และ (662) 272-1688 โทรสาร: (038) 539-368 และ (662) 272-1690 ถึง 2

ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ ชนิด ของหุ้น

ทุนจดทะเบียน ชาระแล้ว ล้านบาท

สัดส่ วน การถือหุ้น ร้ อยละ

สามัญ

0.250

99.99 1

หมายเหตุ : 1. ไม่รวมการถือหุ น้ โดยผูก้ ่อการตามที่กฎหมายกาหนด

บุคคลอ้ างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริ ษทั ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด (หุน้ สามัญ) 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุ งเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์: (662) 229-2800 โทรสาร: (662) 654-5427 ผูส้ อบบัญชี

โทรศัพท์: โทรสาร:

บริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์ เฮาส์คูเปอร์ ส เอบีเอเอส จากัด 179/74-80 อาคารบางกอกซิ ต้ ีทาวเวอร์ ชั้น 15 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุ งเทพมหานคร 10120 (662) 286-9999 (662) 286-5050

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 71


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

7. ข้ อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้น 7.1 หลักทรัพย์ของบริษัท 7.1.1 ทุนจดทะเบียน ณ วัน ที่ 31 ธั น วาคม 2556 บริ ษัท มี ทุ น จดทะเบี ย นและเรี ยกช าระแล้ว 1,663,725,449 บาท แบ่งเป็ นหุ ้นสามัญ 1,663,725,449 ล้านหุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 1 บาท สาหรับประวัติการเปลี่ยนแปลงทุนจด ทะเบียนในระยะที่ผา่ นมา แสดงรายละเอียดในตารางที่ 7.1 ตารางที่ 7.1 ประวัติการเปลี่ยนแปลงทุนจดทะเบียนของบริ ษทั เดือน / ปี ที่จดทะเบียนการ เพิม่ /(ลด)ทุน

ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียน (ล้านบาท) เพิม่ /(ลด) (ล้านบาท)

ทุนชาระแล้ว (ล้านบาท)

ตุลาคม 2535 กันยายน 2539

10 490

480

10 490

กรกฎาคม 2540

1,000

510

1,000

มกราคม 2541

1,050

50

1,000

กุมภาพันธ์ 2547

1,000

(50)

1,000

กุมภาพันธ์ 2547

1,050

50

1,000

มิถุนายน 2547

1,665

615

1,000

พฤษภาคม 2548

1,665

0

1,299.69

ธันวาคม 2550

1,665

0

1,663.73

มกราคม 2551

1,663.73

(1.27)

1,663.73

วัตถุประสงค์ ของการเพิม่ ทุน (ลดทุน) เสนอขายให้แก่ กปภ. เพื่อใช้ในการจัดตั้งบริ ษทั เสนอขายให้แก่ กปภ.และ กนอ. ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6 สิ งหาคม 2539 เพื่อใช้ในการขยายโครงการ ตามที่คณะรัฐมนตรี อนุมตั ิ เสนอขายต่อประชาชนทัว่ ไปในราคาหุ ้นละ 30 บาท (ราคาพาร์ 10 บาท) เพื่อใช้ในการขยายงานของบริ ษทั เพื่อใช้รองรับการใช้สิทธิของพนักงานบริ ษทั ตาม ใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อหุ ้นสามัญของบริ ษทั ลดทุนจดทะเบียนจาก 1,050 ล้านบาท เป็ น 1,000 ล้าน บาท เนื่ องจากใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อหุ ้นสามัญของ บริ ษทั หมดอายุลง เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 1,000 ล้านบาท เป็ น 1,050 ล้าน บาท เพื่อรองรับการออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ ้น สามัญของบริ ษทั เพิม่ ทุนจดทะเบียนจาก 1,050 ล้านบาท เป็ น 1,665 ล้าน บาท เพื่อรองรับการออกหุ ้นสามัญเพิ่มทุน และ ใบสาคัญ แสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ ้นสามัญเพิ่มทุนของบริ ษทั ได้เปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ ้นสามัญจากมูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็ นหุ้นละ 1 บาท ตามมติ ที่ ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นครั้งที่ 1/2548 ทุนที่เรี ยกชาระแล้วจากการใช้สิทธิตามใบสาคัญแสดง สิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ ้นสามัญของบริ ษทั จดทะเบียนลดทุนเนื่องจากใบสาคัญแสดงสิ ทธิหมดอายุ การใช้สิทธิแปลงสภาพ

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 72


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

7.1.2 หุ้นกู้ บริ ษทั ไม่มีการออกหุ น้ กูใ้ ดๆ 7.2 ผู้ถือหุ้น ผูถ้ ือหุน้ 10 รายแรก ของบริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ณ วันปิ ดสมุดทะเบียนล่าสุ ด เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีรายะเอียดดังตารางที่ 7.2 ตารางที่ 7.2 รายชื่อผูถ้ ือหุน้ สู งสุ ด 10 รายแรกของบริ ษทั ณ วันที่ 27 ธันวาคม 2556 ลำดับที่ ผู้ถอื หุ้น 1 การประปาส่วนภูมิภาค 2 บริ ษัท ผลิตไฟฟ้ า จากัด (มหาชน) 3 NORBAX INC.,13 4 การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 5 BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES, LONDON BRANCH 6 บริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด 7 NORTRUST NOMINEES LTD. 8 กองทุนเปิ ดอเบอร์ ดีนหุ้นระยะยาว 9 คุณมิน เธียรวร 10 กองทุนเปิ ดอเบอร์ ดีนโกรท ผู้ถือหุ้นอื่น

จำนวนหุ้น 668,800,000 311,443,190 136,548,800 76,000,000 40,779,100 34,650,398 23,252,925 19,684,300 17,000,000 16,498,700 319,067,736 1,663,725,149

สัดส่ วน (%) 40.20 18.72 8.21 4.57 2.45 2.08 1.40 1.18 1.02 0.99 19.18 100.00

หมายเหตุ 1. ผู้ถือหุ้นลาดับที่ 3 มีชื่อเป็ นบริ ษัทนิ ติบคุ คลหรื อ NORMINEE ACCOUNT ซึ่ งได้ ตรวจสอบแล้ ว ULTIMATE SHAREHOLDER ได้ แก่ UTILICO EMERGING MARKETS LIMITED

2. ผู้ถือหุ้นในลาดับที่ 1 และ 4 เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ที่เป็ นตัวแทนภาครั ฐ และ ผู้ถือหุ้นลาดับที่ 2 เป็ นนิติบคุ คล ซึ่ งผู้ถือหุ้นทั้ง 3 ราย มีส่วนในการกาหนดนโยบายการจัดการ โดยเสนอผู้แทนเป็ นกรรมการให้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่ งตั้ง 3. ผู้ถือหุ้นในบริ ษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด ซึ่ งถือใบแสดงสิ ทธิ ในผลประโยชน์ ที่เกิดจากหลักทรั พย์อ้างอิ ง (Non-Voting Depository Receipt : NVDR) ในรายการที่ 6 ไม่ มีสิทธิ ออกเสี ยงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น ยกเว้ น กรณี การใช้ สิทธิ ออกเสี ยงเพื่อลงมติเกี่ยวกับการ เพิกถอนหุ้นออกจากการเป็ นหลักทรั พย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ โดยจานวนหุ้นของบริ ษัทที่นาไปออก NVDR นั้น อาจมีการ เปลี่ยนแปลงซึ่ งบริ ษัทไม่ สามารถควบคุมได้ ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบจานวนหุ้นที่เป็ น NVDR ได้ จากเว็บไซต์ ของตลาดหลักทรั พย์ (www.set.or.th)

7.3 นโยบายการจ่ ายเงินปันผล หากไม่มีความจาเป็ นอื่นใด คณะกรรมการบริ ษทั มีนโยบายที่จะเสนอให้ที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้นพิจารณา จ่ายเงินปั นผลให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 30 ของกาไรสุ ทธิ ของงบการเงินรวมภายหลังหักเงินสารองตาม กฎหมายในแต่ ล ะปี รวมถึ ง ความจาเป็ นและความเหมาะสมอื่ นๆ ตามที่ บ ริ ษ ทั เห็ นสมควร ในส่ วนของ __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 73


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

นโยบายการจ่ายเงินปั นผลของบริ ษทั ย่อยจะคานึงถึงสภาพคล่องและแผนการลงทุนในอนาคตประกอบในการ พิจารณาการจ่ายเงินปั นผลตามนโยบายของคณะกรรมการบริ ษทั ย่อย

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 74


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

8. โครงสร้ างการจัดการ 8.1 โครงสร้ างการจัดการ อีสท์วอเตอร์ เป็ นบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย (ตลท.) มีการจัดโครงสร้าง องค์ก รให้สอดคล้องกับหลักธรรมาภิ บ าลส าหรั บ บริ ษ ทั มหาชน (Corporate Good governance) ของ คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (กลต.) ซึ่ งมุ่งเน้นให้เกิดความโปร่ งใส ในการบริ หารงาน เพื่อประโยชน์สูงสุ ดของผูม้ ีส่วนได้เสี ยซึ่ งประกอบด้วย ผูถ้ ื อหุ ้น ลูกค้า ทั้งภาครัฐและ เอกชน ตลอดจนประชาชนที่ได้รับบริ การน้ าดิบ และน้ าประปาด้วยประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด ทั้งนี้ขอบเขต อานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการชุ ดย่อย ต่างๆ ได้มีการจัดทาเป็ นกฎบัตร และระบุไว้อย่างชัดเจนในคู่มือคณะกรรมการบริ ษทั โดยมีคณะกรรมการที่ เป็ นอิสระ หรื อกรรมการจากภายนอกไม่นอ้ ยกว่า 3 คน เพื่อให้เกิดการถ่วงดุลอานาจระหว่างกรรมการที่อาจมี ผลประโยชน์ได้เสี ยกับบริ ษทั เพื่อให้บริ ษทั มีระบบการบริ หารและการจัดการที่ดี มีประสิ ทธิ ภาพและมีความ โปร่ งใสต่อผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกฝ่ าย บริ ษทั จึงกาหนดโครงสร้างองค์กร ดังรายละเอียดแสดงในแผนภาพที่ 8.1

แผนภาพที่ 8.1 แผนผังโครงสร้างองค์กร

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 75


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

8.2 คณะกรรมการบริษัท เพื่ อสนับ สนุ น กลไกการก ากับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เพื่ อ รั ก ษาไว้ซ่ ึ งประสิ ท ธิ ผ ลโดยไม่ ล ะเลยการเพิ่ ม ประสิ ทธิ ภาพระบบการจัดการและการบริ หารความเสี่ ยงของบริ ษทั ให้เหมาะสม คณะกรรมการบริ ษทั ได้ แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย ที่มีความชานาญเหมาะสม เพื่อช่วยพิจารณากลัน่ กรองงานที่ได้รับมอบหมายให้มี ความถูกต้อง ชัดเจน และสมบูรณ์เบื้องต้น ก่อนนาเสนอคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูพ้ ิจารณาอนุ มตั ิ เห็นชอบ หรื อรับรอง แล้วแต่กรณี คณะกรรมการชุดต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริ ษทั มีดงั นี้  คณะกรรมการตรวจสอบ  คณะกรรมการบริ หารและการลงทุน  คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง  คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา  คณะกรรมการก าหนดเกณฑ์ แ ละประเมิ น ผลการด าเนิ น งานของบริ ษ ัท และพิ จ ารณา ค่าตอบแทน 8.2.1 ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการ 1) มีหน้าที่ รับผิดชอบและจัดการกิ จการของบริ ษทั ให้เป็ นไปตามแผนการดาเนิ นธุ รกิ จของบริ ษทั (Corporate plan) เป้ าหมาย ข้อบังคับ และมติจากการประชุมผูถ้ ือหุน้ 2) ให้การบริ หารและจัดการของคณะกรรมการบริ ษทั ตั้งมัน่ ในความซื่ อสัตย์ สุ จริ ต โปร่ งใส โดย คานึงถึงผูถ้ ือหุน้ และผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยทุกฝ่ าย 3) คณะกรรมการบริ ษทั สามารถมอบอานาจการบริ หารและจัดการให้กรรมการคนหนึ่ งหรื อเป็ นหมู่ คณะ เพื่ อดาเนิ นการตามมติ ที่ คณะกรรมการบริ ษทั ก าหนดไว้ได้ เว้นแต่บ ริ ษทั มี ข ้อบัง คับ ไม่ใ ห้ใ ช้อานาจ ดังกล่าว โดยมีการระบุไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร 8.2.2 รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 คณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วย กรรมการอิสระ จานวน 8 คน กรรมการ ที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร 10 คน และกรรมการที่เป็ นผูบ้ ริ หาร จานวน 1 คน ดังรายละเอียดแสดงในตารางที่ 8.2 ตารางที่ 8.2 คณะกรรมการบริ ษทั ลาดับที่

รายชื่อ

1 2

น.ต. ศิธา ทิวารี หม่อมหลวง ปาณสาร หัสดินทร

3

นายกัลยาณะ วิภตั ิภูมิประเทศ

การดารงตาแหน่ งในคณะกรรมการบริษัท และ คณะกรรมการชุดย่ อยของบริษัท ประธานคณะกรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) กรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) และ ประธานคณะกรรมการบริ หารและการลงทุน และ กรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา กรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) และ กรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา และ กรรมการตรวจสอบ

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 76


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ลาดับที่

รายชื่อ

4

พลเอกชูชยั

บุญย้อย

5

นายปริ ญญา นาคฉัตรี ย ์

6

พลเอกนายแพทย์ สหชาติ พิพิธกุล

7

นายไทยรัตน์ โชติกะพุกกะณะ

8

นายโชติศกั ดิ์ อาสภวิริยะ

9 10

นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม นายสหัส ประทักษ์นุกลู

11

นายวันชัย หล่อวัฒนตระกูล

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

การดารงตาแหน่ งในคณะกรรมการบริษัท และ คณะกรรมการชุดย่ อยของบริษัท กรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) และ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) และ ประธานคณะกรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดาเนินงานของ บริ ษทั และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) และ ประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา และ กรรมการบริ หารและการลงทุน กรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) และ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) และ ประธานคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง,กรรมการบริ หารและการลงทุน, กรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดาเนินงานของบริ ษทั และ พิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั และ กรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดาเนินงานของบริ ษทั และ พิจารณาค่าตอบแทน และ กรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการบริ ษทั และ กรรมการบริ หารและการลงทุน และ กรรมการบริ หารความเสี่ ยง

8.2.3 การประชุ มของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษทั มีกาหนดประชุ มประจาเดื อนโดยปกติในช่ วงสัปดาห์ที่ 4 ของเดื อน โดยได้กาหนดวัน ประชุ มล่วงหน้าตลอดทั้งปี เพื่อให้กรรมการสามารถจัดสรรเวลาการเข้าร่ วมประชุ มได้ทุกครั้ง โดยประธาน คณะกรรมการและกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ ซึ่ งทาหน้าที่เป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริ ษทั ร่ วมกันกาหนด ขอบเขต ระดับ ความสาคัญ และเรื่ องที่ จะกาหนดเป็ นระเบี ย บวาระการประชุ ม โดยบรรจุ เรื่ องที่ สาคัญใน ระเบี ยบวาระเรื่ องเพื่อพิจารณา และจัดเรี ยงเรื่ องต่างๆ ในระเบี ยบวาระดังกล่ าวตามลาดับความสาคัญ และ เร่ งด่วน โดยมีหนังสื อเชิญประชุมล่วงหน้าพร้อมระเบียบวาระการประชุม และเอกสารก่อนการประชุ ม เพื่อให้ คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีเวลาศึกษาข้อมูลก่อนเข้าประชุ มทุกครั้ง ในระหว่างการประชุ ม เมื่อฝ่ ายบริ หารจบ การนาเสนอระเบียบวาระแล้ว ประธานคณะกรรมการจะเชิญกรรมการให้ซกั ถามฝ่ ายบริ หาร หรื อแสดงความ คิดเห็น และอภิปรายปั ญหาร่ วมกัน เมื่อได้ขอ้ สรุ ปจากการอภิปราย ประธานคณะกรรมการจะทาหน้าที่สรุ ป __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 77


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

มติที่ประชุม เพื่อความชัดเจนถูกต้อง ให้ทุกฝ่ ายได้รับทราบร่ วมกันเพื่อให้มีการพิจารณาอย่างรอบคอบ รวมถึง จัดสรรเวลาที่เพียงพอที่ทาให้กรรมการสามารถอภิปรายปั ญหาร่ วมกันได้ ทั้งนี้ หากไม่มีผใู ้ ดคัดค้านมติ ที่ ประชุม ประธานคณะกรรมการจะนาเข้าสู่ การพิจารณาระเบียบวาระถัดไป ทั้งนี้ ในปี งบประมาณ 2556 คณะกรรมการบริ ษทั มีการประชุมรวมทั้งสิ้ น 14 ครั้ง โดยการเข้าร่ วม ประชุมของกรรมการบริ ษทั แต่ละคน สรุ ปได้ ดังนี้

รายชื่อคณะกรรมการ

การเข้ าร่ วมประชุ ม/ การประชุ มทั้งหมด (ครั้ง) 7/7

1 น.ต. ศิธา

ทิวารี

ประธานคณะกรรมการ

2 นายชนินทร์

เย็นสุ ดใจ

อดีตประธานคณะกรรมการ

6/6

3 นายจิรัฏฐ์

นิธิอนันตภร

อดีตกรรมการ

3/5

4 นายชินวัฒน์

อัศวโภคี

อดีตกรรมการ

5/5

5 นายประพันธ์*

อัศวอารี

อดีตกรรมการ

1/4

6 นางรัตนา

กิจวรรณ

อดีตกรรมการ

6/6

7 นางน้ าฝน

รัษฎานุกลู

อดีตกรรมการ

1/1

8 หม่อมหลวง ปาณสาร หัสดินทร

กรรมการ

8/10

9 นายกัลยาณะ

วิภตั ิภูมิประเทศ

กรรมการ

6/14

10 พล.อ. ชูชยั

บุญย้อย

กรรมการ

14/14

11 นายปริ ญญา

นาคฉัตรี ย ์

กรรมการ

14/14

12 นายไทยรัตน์

โชติกะพุกกะณะ

กรรมการ

14/14

13 นายวีรพงศ์

ไชยเพิ่ม

กรรมการ

8/14

14 นายสหัส

ประทักษ์นุกลู

กรรมการ

13/14

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ช่ วงระยะเวลา การดารงตาแหน่ ง เริ่ มเข้ารับตาแหน่ง เมื่อ11 มิ.ย. 2556 13 ธ.ค. 255528 พ.ค. 2556 13 ธ.ค. 255517 พ.ค. 2556 20 ธ.ค. 255517 พ.ค. 2556 26 ม.ค. 255030 เม.ย. 2556 1 เม.ย. 2555 10 มิ.ย. 2556 29 มี.ค 2555 17 เม.ย. 2555 เริ่ มเข้ารับตาแหน่ง เมื่อ30 เม.ย. 2556 เริ่ มเข้ารับตาแหน่ง เมื่อ 13 ธ.ค. 2555 เริ่ มเข้ารับตาแหน่ง เมื่อ 13 ธ.ค. 2555 เริ่ มเข้ารับตาแหน่ง เมื่อ 20 ธ.ค. 2555 เริ่ มเข้ารับตาแหน่ง เมื่อ 20 ธ.ค. 2555 เริ่ มเข้ารับตาแหน่ง เมื่อ 25 เม.ย. 2555 เริ่ มเข้ารับตาแหน่ง เมื่อ 25 เม.ย. 2555

ส่วนที่ 2 หน้า 78


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

15 พล.อ. สหชาติ

พิพิธกุล

กรรมการ

การเข้ าร่ วมประชุ ม/ การประชุ มทั้งหมด (ครั้ง) 6/7

16 นายโชติศกั ดิ์

อาสภวิริยะ

กรรมการ

5/7

17 นายวันชัย

หล่อวัฒนตระกูล

กรรมการ

4/4

รายชื่อคณะกรรมการ

ช่ วงระยะเวลา การดารงตาแหน่ ง เริ่ มเข้ารับตาแหน่ง เมื่อ 11 มิ.ย. 2556 เริ่ มเข้ารับตาแหน่ง เมื่อ 11 มิ.ย. 2556 เริ่ มเข้ารับตาแหน่ง เมื่อ 30 ส.ค. 2556

*ลาประชุมโดยได้รับอนุมตั ิจากประธานคณะกรรมการบริ ษทั รวม 3 ครั้ง 8.3 ผู้บริหารและเลขานุการของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั มีจานวน 9 คน ประกอบด้วย กรรมการผูอ้ านวยการ ใหญ่ รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ ผูอ้ านวยการอาวุโส และผูอ้ านวยการ ดังรายละเอียดแสดงในตารางที่ 8.3 ตารางที่ 8.3 ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ลาดับที่ รายชื่อ ตาแหน่ ง 1. นายวันชัย หล่อวัฒนตระกูล กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ 2. นายเจริ ญสุ ข วรพรรณโสภาค รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ สายปฏิบตั ิการ รักษาการ ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายพัฒนาธุ รกิจ 3. นายนาศักดิ์ วรรณวิสูตร รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี 4. นางน้ าฝน รัษฎานุกูล ผูอ้ านวยการอาวุโส สานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ และเลขานุการบริ ษทั 5. นางธิ ดารัชต์ ไกรประสิ ทธิ์ ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายตรวจสอบ 6. นายเชิดชาย ปิ ติวชั รากุล ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายปฏิบตั ิการและบริ การลูกค้า 7. นางวิราวรรณ ธารานนท์ ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล 8. นางสาวกันยานาถ วีระพันธ์ ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายสื่ อสารองค์กร 9. นายสมบัติ อยูส่ ามารถ ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายการเงินและบัญชี 8.3.1 อานาจหน้ าที่ของกรรมการผู้อานวยการใหญ่ 1. รับผิดชอบผลการบริ หารกิจการของบริ ษทั ตามนโยบายที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนด โดยบริ หาร จัดการให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิ จ และแผนวิสาหกิ จ (Corporate Plan) ที่ได้รับการอนุ มตั ิจาก คณะกรรมการบริ ษทั และมติที่ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นโดยเป็ นไปตามระเบียบ วัตถุ ประสงค์ภายในขอบเขตของ __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 79


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

กฎหมายและข้อบังคับของบริ ษทั รวมทั้งการควบคุมการดาเนิ นงานโดยรวมให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจ รวมทั้งข้อกาหนดระเบียบปฏิบตั ิต่างๆ 2. รับผิดชอบต่อการบริ หารกิจการทั้งปวงของบริ ษทั ในการพัฒนาและจัดการระบบท่อส่ งน้ าสายหลัก ในพื้นที่บริ เวณชายฝั่ งทะเลตะวันออกที่ได้รับโอนสิ ทธิ มาดาเนิ นการครอบคลุ มถึ งการจาหน่ ายน้ าดิ บให้แก่ นิคมอุตสาหกรรม โรงงานอื่นๆ ตลอดจนธุ รกิจที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ในกรณี ที่มีการมอบอานาจจากคณะกรรมการบริ ษทั ให้กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ปฏิ บตั ิการ แทนจะไม่รวมถึ งการอนุ มตั ิให้ทารายการที่กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่หรื อบุคคลที่อาจมีส่วนได้เสี ย หรื อมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (รายละเอียดเพิ่มเติมในส่ วนที่ 2 ข้อ 5.2 ความขัดแย้งของผลประโยชน์) 8.4 ค่ าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร 8.4.1 ค่ าตอบแทนของกรรมการ ค่าตอบแทนของกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารเป็ นไปตามนโยบายที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนด โดยควรให้มี ระดับและองค์ประกอบของค่าตอบแทนที่เหมาะสมเพียงพอที่จะจูงใจ และรักษากรรมการที่มีคุณภาพได้ แต่ ควรหลีกเลี่ยงการจ่ายที่เกินสมควร ทั้งนี้ คณะกรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั และพิจารณาค่าตอบแทน จะเป็ นผูพ้ ิจารณากลัน่ กรองในเบื้องต้น ก่อนนาเสนอยังคณะกรรมการบริ ษทั ให้ ความเห็นชอบ เพื่อนาเสนอยังที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจาปี พิจารณาอนุมตั ิ โดยอัตราค่าตอบแทนให้เป็ นไป ตามสัดส่ วนระยะเวลาที่กรรมการดารงตาแหน่ง ซึ่ งอ้างอิงจากกาไรสุ ทธิ เงินปั นผล และผลการดาเนิ นงานของ กรรมการบริ ษทั ซึ่งจะพิจารณาทบทวนความเหมาะสมทุกปี โดยในปี งบประมาณ 2556 บริ ษทั จ่ายค่าตอบแทน ต่างๆ ให้คณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร ดังนี้ 1.ค่ าตอบแทนรายเดือนและค่ าเบีย้ ประชุ ม ที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2555 เมื่อวันอังคารที่ 30 เมษายน 2556 มีมติ อนุมตั ิค่าตอบแทนกรรมการสาหรับปี 2556 แยกเป็ นดังนี้ คณะกรรมการบริษัท  ค่าตอบแทนรายเดือน เดือนละ 30,000 บาท/คน  เบี้ยประชุ ม ครั้ งละ 10,000 บาท/คน ทั้งนี้ หากเดื อนใดมีการประชุ มเกิ น 1 ครั้ ง คงให้ได้เบี้ ย ประชุมเพียง 1 ครั้ง โดยให้ประธานคณะกรรมการบริ ษทั ได้รับเพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 25 คณะกรรมการชุ ดย่ อย 1. คณะกรรมการตรวจสอบ  ค่าตอบแทนรายเดือน -ไม่มี เบี้ยประชุม คนละ 20,000 บาท/คน ต่อครั้งที่เข้าประชุม __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 80


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

2. คณะกรรมการชุดย่อยอื่นๆ  ค่าตอบแทนรายเดือน –ไม่มี เบี้ยประชุม คนละ 10,000 บาท/คน ต่อครั้งที่เข้าประชุม

สุ นทรมัฏฐ์

3 นายชนินทร์

เย็นสุ ดใจ

4 5 6 7 8 9 10 11 12

นายสมชาย นายพูลศักดิ์ นายรังสรรค์ นายวิเชียร นายเพิ่มศักดิ์ นางอรุ ณี พล.ต.อ.วุฒิ นางสาวณาริ ณี นายจิรัฏฐ์ *

ชุ่มรัตน์ ประณุทนรพาล ศรี วรศาสตร์ อุดมรัตนะศิลป์ รัตนอุบล อัครประเสริ ฐกุล พัวเวส ตะล่อมสิ น นิธิอนันตภร

ค่ าตอบแทนรายเดือนกรรมการ ตามจานวนเดือนที่ดารงตาแหน่ ง

2 นายชาญชัย

ประธาน คณะกรรมการ อดีตประธาน คณะกรรมการ1 อดีตประธาน คณะกรรมการ3 อดีตกรรมการ2 อดีตกรรมการ2 อดีตกรรมการ2 อดีตกรรมการ2 อดีตกรรมการ2 อดีตกรรมการ2 อดีตกรรมการ2 อดีตกรรมการ2 อดีตกรรมการ3

เบีย้ ประชุ ม คณะกรรมการชุ ดย่ อย5

ทิวารี

เบีย้ ประชุ ม คณะกรรมการบริษัท5

1 น.ต.ศิธา

จานวนเดือนที่ดารงตาแหน่ งปี 2556

รายชื่อคณะกรรมการ

โบนัสจากผลดาเนินงาน ปี 2555 ที่จ่าย ในปี 2556 (หลังหักภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย)

ทั้งนี้ คณะกรรมการชุ ดย่อยจะได้รับเบี้ยประชุ มตามครั้งที่เข้าร่ วมประชุ มแต่ไม่เกิ นเดื อนละ 20,000 บาท 2. ค่ าตอบแทน (โบนัส) ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษทั ในการประชุ มครั้งที่ 12/2548 (28 ธันวาคม 2548) ได้กาหนดหลักเกณฑ์การพิจารณา ค่าตอบแทนโบนัสคณะกรรมการบริ ษทั โดยจะจ่ายเมื่อบริ ษทั มีกาไรสุ ทธิ และจ่ายไม่เกินอัตราร้ อยละ 5 ของ กาไรสุ ทธิ ประจาปี โดยให้ประธานคณะกรรมการบริ ษทั ได้รับเพิ่มขึ้นอีกร้ อยละ 25 และอัตราการคานวณ โบนัส เป็ นไปตามสัดส่ วนระยะเวลาที่เข้าดารงตาแหน่ง การรายงานค่ าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท และผู้บริหารในปี งบประมาณ 2556 (หน่วย : บาท) ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริ ษทั ระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2556

7

87,500

-

262,500

-

-

-

-

-

445,560.50

5

62,500

-

187,500

40,505.50

5

30,000 110,000

150,000

437,459.40 437,459.40 401,004.45 109,364.85 162,022.00 437,459.40 401,004.45 401,004.45 36,454.95

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 81


อดีตกรรมการ3 อดีตกรรมการ3 อดีตกรรมการ3 อดีตกรรมการ3 กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการชุดย่อย

โบนัสจากผลดาเนินงาน ปี 2555 ที่จ่าย ในปี 2556 (หลังหักภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย)

อัศวโภคี กิจวรรณ อัศวอารี รัษฎานุกลู หัสดินทร วิภตั ิภูมิประเทศ บุญย้อย นาคฉัตรี ย ์ โชติกะพุกกะณะ ไชยเพิ่ม ประทักษ์นุกลู พิพิธกุล อาสภวิริยะ หล่อวัฒนตระกูล บุญเฟื่ อง

ค่ าตอบแทนรายเดือนกรรมการ ตามจานวนเดือนที่ดารงตาแหน่ ง

นายชินวัฒน์ นางรัตนา นายประพันธ์6 นางน้ าฝน6 ม.ล.ปาณสาร นายกัลยาณะ พล.อ.ชูชยั นายปริ ญญา นายไทยรัตน์ นายวีรพงศ์ นายสหัส4 พล.อ. สหชาติ นายโชติศกั ดิ์ นายวันชัย6 นางสาวกริ ชผกา

เบีย้ ประชุ ม คณะกรรมการชุ ดย่ อย5

13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

เบีย้ ประชุ ม คณะกรรมการบริษัท5

รายชื่อคณะกรรมการ

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

จานวนเดือนที่ดารงตาแหน่ งปี 2556

บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

5 5 4 8 12 12 12 12 12 12 7 7 4 11

50,000 50,000 10,000 -7 70,000 50,000 120,000 120,000 120,000 70,000 110,000 60,000 50,000 40,000 -

150,000 20,000 60,000 170,000 170,000 200,000 80,000 200,000 60,000 130,000 170,000 180,000 90,000 230,000

150,000 150,000 120,000 240,000 360,000 360,000 360,000 360,000 360,000 360,000 210,000 210,000 120,000 -

291,639.60 486,066.00 40,505.50 36,454.95 36,454.95 255,184.65 324,044.00 -

หมายเหตุ : * ปัจจุบนั นายจิรัฏฐ์ฯ ได้เปลี่ยนชื่อเป็ น นายพิบูลย์เขตรฯ 1 ถึงแก่อนิจกรรมวันที่ 2 ธันวาคม 2555 2 อดีตกรรมการที่พน้ วาระการดารงตาแหน่งก่อนวันที่ 1 มกราคม 2556 3 อดีตประธานคณะกรรมการบริ ษทั และอดีตกรรมการ ที่พน้ วาระการดารงตาแหน่งก่อนวันที่ 31 ธันวาคม 2556 4 ค่าตอบแทนกรรมการบริ ษทั ของนายสหัส ประทักษ์นุกูล จานวน 924,044 บาท ได้ดาเนินการ ตามระเบียบของ บมจ. ผลิตไฟฟ้ า (EGCO) ที่โอนค่าตอบแทนในฐานะกรรมการของบริ ษทั อื่นๆ เข้าโดยตรงยังมูลนิธิไทยรักษ์ป่า 5 จานวนครั้งที่เข้าร่ วมประชุม มีรายการสรุ ปที่หน้า 78 6 การหักภาษี ณ ที่จ่ายคานวณอยูใ่ นค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร 7 นางน้ าฝน รัษฎานุกลู มีหนังสื อยังบริ ษทั แจ้งขอไม่รับค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการบริ ษทั __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 82


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

8.4.2 ค่ าตอบแทนผู้บริหาร กรรมการที่เป็ นผูบ้ ริ หาร และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั จานวน 9 คน ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน สาหรับผล การดาเนินงานในปี 2556 ในรู ปเงินเดือนและค่าตอบแทน เป็ นเงินรวมทั้งสิ้ น 39,396,305 บาท 8.4.3 การถือครองหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริ ษทั 11 คน ที่ดารงตาแหน่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ไม่มีผใู ้ ดถือครองหลักทรัพย์ ของบริ ษทั ทั้ง นี้ กรรมการที่ เป็ นผูบ้ ริ หาร และผูบ้ ริ หารของบริ ษ ทั 9 คน มี ก ารถื อครองหุ ้นสามัญจานวน 2,011,160 หุน้ ( ณ 31 ธันวาคม 2556 ) 8.4.5 การจ่ ายเงินสมทบในกองทุนสารองเลีย้ งชี พ บริ ษทั ได้จดั ให้มีกองทุนสารองเลี้ยงชี พโดยบริ ษทั ได้สมทบในอัตราร้อยละ 8-10 ของเงินเดือน โดย ในปี 2556 บริ ษทั ได้จ่ายเงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชีพสาหรับผูบ้ ริ หาร 9 ราย จานวน 1.09 ล้านบาท 8.5 บุคลากร และนโยบายในการพัฒนาพนักงาน 8.5.1 บุคลากร (1) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริ ษทั มีพนักงานทั้งสิ้ น 155 คน แบ่งเป็ นพนักงานประจา 152 คน และพนักงานสัญญาจ้าง 3 คน ดังมีรายละเอียด ดังแสดงในตารางที่ 8.5 ตารางที่ 8.5 จานวนพนักงานบริ ษทั ในปี 2556 แยกรายหน่วยงาน ฝ่ าย/ สานัก จานวนพนักงานทั้งสิ้ น (คน) 1. สานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่และเลขานุการบริ ษทั 15 2. 2. รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ สายปฏิบตั ิการ 2 3. รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี 2 4. ฝ่ ายวางแผนโครงการ 18 5. ฝ่ ายปฏิบตั ิการและบริ การลูกค้า 44 6. ฝ่ ายพัฒนาธุ รกิจ 4 7. ฝ่ ายสื่ อสารองค์กร 16 8. ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล 10 9. ฝ่ ายอานวยการ 13 10. ฝ่ ายการเงินและบัญชี 20 11. ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ 4 12. ฝ่ ายตรวจสอบฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ 7 รวม 155

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 83


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

บริ ษทั พิจารณาถึ งความสาคัญของพนักงานซึ่ งเป็ นผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสี ยที่สาคัญ ในการดาเนิ นการ เพื่อให้องค์กรบรรลุ เป้ าหมาย ดังนั้นการบริ หารทรัพยากรบุ คคลและการพัฒนาบุคคล จึงมีความสาคัญเป็ น อย่างยิ่ง ในปี 2556 บริ ษทั ยังคงมุ่งเน้นในการบริ หารบุคลากรเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ของ องค์กร ในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. การสรรหาบุคลากร (Recruitment) ให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับงาน โดยกาหนดเกณฑ์ดา้ นต่างๆ เพื่อยกระดับความสามารถของบุคลากรที่จะเข้ามาปฏิบตั ิงานในองค์กร 2. การกาหนดโครงสร้ างค่าจ้าง ค่าตอบแทน และสวัสดิ การ (Remuneration Policy) ที่สามารถ แข่งขันได้ในกลุ่มธุ รกิ จบริ การสาธารณู ปโภค ภายใต้กรอบค่าใช้จ่ายบุ คลากรที่เหมาะสม และ สร้างขวัญและกาลังใจแก่พนักงาน 3. การฝึ กอบรมและพัฒนาบุคลากร (Training and Development) โดยการฝึ กอบรมทั้งภายในและ ภายนอก เพื่อเพิม่ ศักยภาพ และความสามารถในฐานะผูน้ าด้านการจัดการน้ า สามารถนาไปปฏิบตั ิ ได้อย่างสอดคล้องกับลักษณะงาน ส่ งผลต่อการปฏิบตั ิงานให้บรรลุเป้ าหมายขององค์กร 4. การพัฒนาระบบงานภายในองค์กร โดยสร้างระบบการบริ หารทรัพยากรบุคคลอย่างบูรณาการ อาทิ ระบบการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน (Performance Management) ของพนักงานที่โปร่ งใส และชัดเจน ระบบการสรรหาพนักงานผูม้ ีผลงานดี (Talent Management) เสริ มสร้างความเป็ นมือ อาชี พ และมี ความพร้ อมในการปรั บเปลี่ ยนรู ป แบบงานหรื อการโอนย้ายไปยังหน่ วยงานใหม่ รวมทั้งการสร้างความก้าวหน้าในอาชีพ (Career Path Management) ตลอดจนการเตรี ยมปรับปรุ ง โครงสร้างองค์กรให้สอดรับกับเป้ าหมาย และกลยุทธ์ขององค์กรในการขยายธุ รกิจในอนาคต 5. การสื่ อสารภายในองค์กร (Internal Communication) โดยมุ่งสร้างความสัมพันธ์ที่ดีภายในองค์กร ตลอดจนเป็ นช่ องทางการกระจายข้อมู ลข่ า วสารไปสู่ พ นัก งานอย่า งมี ป ระสิ ทธิ ภาพ และการ ทางานเป็ นที ม (Teamwork) และการรับข้อร้ องเรี ยนเพื่อการปรั บปรุ งการดาเนิ นงานให้มี ประสิ ทธิ ภาพ โปร่ งใส ตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี (2) ในปี 2556 บริ ษทั ยังคงให้ความสาคัญกับการนาดัชนี วดั ความสาเร็ จของงาน (Corporate KPIs) ใช้ในการประเมินผลงานพนักงานทุ กระดับ รวมทั้งการประเมิ นสมรรถนะ (Competency) ของพนักงาน เพื่ อให้พ นัก งานมี พ ฤติ ก รรมที่ ส อดคล้องกับ วิสั ย ทัศ น์ และกลยุท ธ์ ข ององค์ก ร มี ก ารสื่ อสารถ่ า ยทอดให้ พนักงานทุกระดับมีความรู้ และความเข้าใจถึ งพฤติกรรมที่องค์กรต้องการ โดยกาหนดสมรรถนะหลักของ องค์กร Core Competency ของพนักงานทุกคน คือ I A C T เพื่อให้เข้าใจง่าย ดังนี้ Integrity คุณธรรม Achievement Orientation ความมุ่งมัน่ ทางานให้สาเร็ จ Customer Service Orientation ความใส่ ใจบริ การลูกค้า Teamwork and Leadership การทางานเป็ นทีมและภาวะผูน้ าทีม __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 84


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

ทั้งนี้ บริ ษทั กาหนดสมรรถนะด้านบริ หารจัดการ Managerial Competency สาหรับผูบ้ ริ หารและ หัวหน้างาน คือ D I S C ดังนี้ Developing Others การพัฒนาบุคลากร Influence and Effective Communication การโน้มน้าวจูงใจ และ การสื่ อสารอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ Strategic Orientation การมุ่งเน้นกลยุทธ์ Change Leadership การเป็ นผูน้ าในการเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ บริ ษ ทั ยัง คงเน้นให้ผูบ้ ริ ห ารและพนัก งานนา Communication) ไปปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่อง

TCC (Teamwork, Coaching,

บริ ษทั ได้จ่ายค่าตอบแทนในรู ปเงิ นเดื อน ค่าตอบแทนที่ เป็ นตัวเงิ นอื่ นๆ และโบนัสจากผลงานปี 2556ให้กบั พนักงานและผูบ้ ริ หาร รวมกันทั้งสิ้ น 147,335,051.88 บาท

Individual Development

Performance Management

Results

short term

8.5.2 นโยบายในการพัฒนาพนักงาน แนวทางในการพัฒนาบุคลากร ในการพัฒนาบุ คลากร บริ ษทั มุ่งเน้นการพัฒนาทั้งในระดับบุคคล และระดับองค์กร เพื่อให้เกิ ด ผลลัพธ์ท้ งั ในระยะสั้น และระยะยาว ดังแผนภาพด้านล่าง

long term

Organization Development Career Development Succession Plan

individual

organization

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 85


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

ในปี 2556 บริ ษทั เริ่ มมีการจัดทาแผนพัฒนารายบุคคล (IDP: Individual Development Plan) เพื่อให้ มีการวัดผล ติดตามตรงตามความต้องการของสายงานและชัดเจนมากขึ้น ในปี 2557 การพัฒนารายบุคคล ได้ ใช้แนวทางในการพัฒนาพนัก งานทางด้านความรู้ ทัก ษะ และสมรรถนะ โดยยึดแนวคิ ดเรื่ องการพัฒนา บุคลากรในสัดส่ วน 70 -20 -10 โดยมุ่งเน้นให้พนักงานเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองจากการปฏิบตั ิงาน หรื องานที่ได้รับ มอบหมาย (On the Job Training) ร้อยละ 70 เรี ยนรู ้โดยได้รับการสนับสนุ นจากผูอ้ ื่น หรื อการถ่ายทอดความรู ้ (Learning from Other) ร้ อยละ 20 และเรี ยนรู ้ ผ่านหลักสู ตรตามแผนพัฒนาบุ คลากรประจาปี (Formal Learning) โดยการฝึ กอบรม ร้อยละ 10 การประเมินผลพนักงาน ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล จัดให้มีกระบวนการประเมินผลประจาปี (ปี ละ 2 ครั้ง) ซึ่ งในเอกสารประเมิน นั้นพนักงานสามารถแจ้งถึ งงานที่ ตนเองสนใจและความก้าวหน้าในวิชาชี พที่ ตอ้ งการ โดยในขั้นตอนการ ประเมิ นผูบ้ งั คับ บัญชาจะสื่ อ สารกับ ผูใ้ ต้บ ัง คับ บัญ ชาทราบถึ ง ความคาดหวัง ในงาน ข้อเด่ น -ข้อด้อยของ พนักงาน โอกาส และวิธีพฒั นา เมื่อมี ตาแหน่ งงานว่าง ฝ่ ายทรัพยากรบุคคลจะประชาสัมพันธ์ให้พนักงาน ภายในทราบ พนักงานที่สนใจสามารถสมัครได้เมื่อมีการประกาศรับสมัครภายใน ฝ่ ายทรัพยากรบุคคลจะ พิจารณาจากข้อมูลที่พนักงานแจ้งความประสงค์ไว้ รวมทั้งจากผลการประเมินพนักงาน ศักยภาพในการทางาน และโอกาสความก้าวหน้าของพนักงาน โดยในการโอนย้ายพนักงาน ผูบ้ ริ หารจะสื่ อสารสร้างความเข้าใจกับ พนักงานก่ อนการโอนย้าย และเป็ นการเพิ่มโอกาสในการเรี ยนรู ้ งาน การพัฒนาตนเองให้มีมุมมองในการ ทางานที่หลากหลายมากขึ้น ไม่ใช่การลงโทษแต่อย่างใด บริ ษทั มี การประเมิ นผลประจาปี ประกอบด้วย 2 ส่ วน คื อ ส่ วนของผลงานที่มีการกาหนดดัชนี วดั รายบุคคล (Individual KPIs) และในส่ วนของพฤติกรรมการทางานที่สอดคล้องกับค่านิ ยมขององค์กรและ สมรรถนะตามตาแหน่งงาน (Core Competency & Functional Competency) โดยผูบ้ งั คับบัญชาเป็ นผูต้ ิดตาม ดูแล และประเมินผล รวมทั้งการสื่ อสารสองทางกับผูใ้ ต้บงั คับบัญชาให้รับทราบผลการประเมิน เพื่อให้เกิ ด การปรับปรุ งและพัฒนาในโอกาสต่อไป ทั้งนี้ ขอ้ มูลจากการประเมินผลจะนาไปใช้ในการบริ หารทรัพยากร บุ คคลต่อไป เช่ น การพิจารณาเลื่ อนตาแหน่ ง การปรั บค่ าจ้างอย่างเป็ นธรรม และการพัฒนาของพนักงาน เป็ นต้น

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 86


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

การพัฒนาศักยภาพของพนักงาน

ในการพัฒนาพนักงานนั้น สามารถดาเนิ นการได้หลายวิธีนอกจากการอบรม (Class Room Training) แล้ว ยังสามารถดาเนิ นการได้โดยวิธีการต่าง ๆ เช่น การมอบหมายงาน การโอนย้ายงาน การดูงาน การสอน งาน การศึกษาต่อ และการให้เป็ นผูถ้ ่ายทอดงาน เป็ นต้น ซึ่ งการพัฒนาทักษะในแต่ละด้านอาจต้องใช้วิธีการที่ แตกต่างกันไป ส่ วนระบบการพัฒนาอื่นๆ ซึ่ งบริ ษทั ให้ความสาคัญ และยังต้องดาเนิ นการต่อเนื่ องให้ได้ผลลัพท์ อาทิ ระบบการสรรหาพนักงานผูม้ ีผลงานดี (Talent Management) เพื่อเสริ มสร้างความเป็ นมืออาชีพและมี ความพร้อมในการปรับเปลี่ยนรู ปแบบงาน หรื อการโอนย้ายไปยังหน่ วยงานใหม่ การบริ หารสายอาชี พของ พนักงาน (Career Path Management) และแผนทดแทนตาแหน่ง (Succession Plan) เพื่อเตรี ยมความพร้อม ของพนักงานภายใน ในการทดแทนตาแหน่งพนักงานระดับบริ หาร หรื อในตาแหน่งงานในกลุ่มหลัก (Core : Operations) ที่มีความสาคัญในด้านการสร้างรายได้ให้แก่องค์กร นอกจากนี้ บริ ษทั จัดหลักสู ตรต่างๆ รองรับกับ Competency หลักขององค์กร และมีการส่ งพนักงาน เข้าอบรมในหลักสู ตรที่น่าสนใจซึ่ งจัดโดยสถาบันที่มีชื่อเสี ยง โดยในปี 2556 พนักงานได้เข้ารับการอบรมใน หลักสู ตรต่างๆ ได้รับการอบรมในหลักสู ตรที่เหมาะสมในแต่ละระดับพนักงาน ดังนี้ - พนักงานระดับปฏิบตั ิการ ได้รับการอบรมในหลักสู ตร เช่น Communication Skill, Law and Quality System และหลักสู ตรด้าน Functional Competency (ความรู ้ตามตาแหน่ง) เป็ นต้น - พนักงานระดับบังคับบัญชา มีตวั อย่างหลักสู ตร เช่ น Strategic Thinking ,Finance for non Finance , กฎหมายแรงงาน และหลักสู ตรด้านภาวะผูน้ า เช่น EDP (Executive Development Program) , ทักษะ ในการบริ หาร รวมถึง หลักสู ตรด้าน Functional Competency (ความรู ้ตามตาแหน่ง) เป็ นต้น

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 87


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

- ผูบ้ ริ หารระดับสู ง ได้รับการอบรมในหลักสู ตร เช่น Executive Coaching Program, หลักสู ตร ของสถาบันพระปกเกล้า และสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) เป็ นต้น นอกจากหลักสู ตรที่เกี่ ยวข้องกับหน้าที่หลักโดยตรงแล้ว พนักงานยังได้รับการพัฒนาทักษะในการ บริ หาร ทัก ษะทางด้า นภาษาต่ า งประเทศ (อาเซี ย น) อี ก ด้วย นอกจากนี้ ตั้ง แต่ ปี 2550 เป็ นต้นมาบริ ษ ัท สนับสนุ นให้พนักงานเข้าร่ วมการฝึ กปฏิ บตั ิ ธรรมตามสถานปฏิ บตั ิ ธรรมต่างๆ โดยถื อเป็ นการพัฒนาจิตใจ วิธีการหนึ่ งที่สาคัญ เพื่อให้พนักงานดาเนิ นชี วิตได้อย่างมี ความสุ ข ซึ่ งพนักงานสามารถเข้าร่ วมฝึ กปฏิ บตั ิ ธรรมได้ตามสถานที่ตนเองสะดวก และบริ ษทั ถือว่าเป็ นการฝึ กอบรม จึงไม่นบั เป็ นวันลา การจัดเก็บ การเผยแพร่ และการถ่ ายทอดองค์ ความรู้ บริ ษทั ได้จดั ตั้งหน่วยงาน Knowledge Management (KM) ขึ้นตั้งแต่ปี 2553 เพื่อสร้างกระบวนการ จัดการองค์ความรู ้ขององค์กรอย่างจริ งจัง โดยหน่วยงาน KM มีหน้าที่รวบรวมองค์ความรู้ให้มีความสอดคล้อง ต่อพันธกิจ และ Core Competencies ขององค์กร เพื่อนามาประมวลผล และจัดลาดับความสาคัญ และกาหนด โครงสร้างองค์ความรู ้ โดยแบ่งออกเป็ น 2 หมวด คือ หมวด Core Process และ Support Process โดยกาหนด เป็ นดัชนีวดั KPI ให้แต่ละฝ่ ายเขียนบันทึกความรู ้อย่างน้อย 2 เรื่ องต่อปี รวมไปถึงพนักงานที่จดั อยูใ่ นกลุ่มที่มี ความเชี่ยวชาญสู ง หรื อพนักงานที่จะลาออก และในปี 2554 เริ่ มใช้โปรแกรมประยุกต์ Moodle เป็ นระบบ จัดเก็บองค์ความรู ้ (KM Intranet)

โครงการ InnoWAVE ปี 2 ในปี 2556 บริ ษทั ได้ดาเนินโครงการ “InnoWAVE ปี 2” ซึ่ งเป็ นโครงการที่ต่อยอดมาจาก The New Wave Project (EW) และ Innovation Award 2012 (UU) โดยเป็ นการจัดโครงการร่ วมกันทั้งกลุ่มบริ ษทั ซึ่ ง ยังคงเน้นแนวคิดสร้างสรรค์ โดยให้พนักงานนาเสนอ กระบวนการทางนวัตกรรม หรื อ Process Innovation ใช้แนวคิดนอกกรอบ (Think out of the Box) และ Innovative Thinking โดยมีวตั ถุประสงค์ของโครงการ 1) เปิ ดโอกาสให้กบั พนักงานฝ่ ายปฏิบตั ิการ (Front Office) และพนักงานฝ่ าย สนับสนุ น (Back Office) ได้แสดงออกถึ งแนวความคิดสร้ างสรรค์ในนวัตกรรม 2) ส่ งเสริ มการคิ ดค้น นวัตกรรมใหม่ๆ ที่เป็ นประโยชน์ต่อกลุ่มบริ ษทั 3) เพื่อก่อให้เกิดการขยายผลโดยการนาแนวคิดสร้างสรรค์ที่ __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 88


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

ได้รับรางวัลนวัตกรรมไปเป็ นต้นแบบของการพัฒนาให้ แก่ บริ ษทั ได้ และ4) เพื่อนานวัตกรรมใหม่ๆ มา ประกอบแนวทางพัฒนาธุ รกิจของบริ ษทั ในอนาคต ทั้ง นี้ โครงการดัง กล่ า วสามารถก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต่ อ บริ ษัท ในการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของ กระบวนการ (Process)ในการลดต้น ทุ น หรื อ เวลาที่ ใ ช้ใ นการด าเนิ น งาน ตลอดจนการพัฒ นาผลิ ต ภัณ ฑ์ (Product) และการบริ การ (Service) ให้เกิดความพึงพอใจแก่ลูกค้า จานวนพนักงานและผลงานที่เข้ าร่ วมโครงการ ฯ ทั้งกลุ่มบริ ษัท - พนักงานเข้าร่ วมทั้งหมด 189 คน แบ่งเป็ น EW 85 คน ,บริ ษทั UU 104 คน - ผลงานส่ งเข้าประกวดทั้งหมด 46 ผลงาน : Front Office 19 ผลงาน , Back Office 27 ผลงาน - ผลงานที่ผา่ นเข้ารอบทั้งหมด 19 ผลงาน : Front Office 11 ผลงาน , Back Office 8 ผลงาน ผลการตัดสิ นรางวัลดังภาพ

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 89


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

9. การกากับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริ ษทั ได้ให้ความสาคัญอย่างต่อเนื่ องในการดาเนิ นธุ รกิ จภายใต้หลักการกากับดูแล กิจการที่ดี มุ่งเน้นการสร้างประโยชน์สูงสุ ดให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ โดยคานึงถึงผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยทุกฝ่ าย รวมทั้งการ ให้ความสาคัญกับความรั บผิดชอบต่อสังคม ชุ มชน และสิ่ งแวดล้อม สาหรั บปี ที่ ผ่านมาบริ ษทั ได้ปรั บปรุ ง หลักการกากับดูแลกิจการที่ดี โดยมุ่งเน้นเรื่ องการนาหลักการและแนวปฏิบตั ิที่ดีตามหลักการกากับดูแลกิจการ ที่ดีสาหรับบริ ษทั จดทะเบียน ปี 2555 จากตลาดหลักทรัพย์ฯ มาเป็ นแนวทางการบริ หารกิ จการและยกระดับ การกากับดูแลกิจการที่ดีโดยนาหลักการดังกล่าวมาปฏิบตั ิให้ได้มากที่สุด รวมทั้งการจัดกิจกรรมเพื่อส่ งเสริ ม การกากับดูแลกิจการที่ดีของกลุ่มบริ ษทั โดยมุ่งหวังให้บุคลากรทุกระดับดาเนิ นงานอย่าง “โปร่ งใส ซื่ อสัตย์ รับผิดชอบ และสามารถแข่งขันได้” 9.1 นโยบายเกีย่ วกับการกากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) รวมทั้งนโยบายการกากับดูแล กิจการที่ดีซ่ ึ งได้กาหนดเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร ตั้งแต่วนั ที่ 1 สิ งหาคม 2546 ทั้งนี้ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการ ธรรมาภิบาลและสรรหานาเสนอยังคณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาทบทวนนโยบายเพื่อให้มีการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องสอดคล้องกับเหตุการณ์ปัจจุบนั ทั้งนี้ เพื่อให้พนักงานใหม่ของกลุ่มบริ ษทั ได้ตระหนักถึงการปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณทางธุ รกิจ ซึ่ งเป็ น หัวข้อหนึ่ งที่กาหนดไว้ในหลักการกากับดูแลกิ จการที่ดี ในวันปฐมนิ เทศพนักงานใหม่ของกลุ่มบริ ษทั ได้ลง นามรับทราบเอกสารจรรยาบรรณทางธุ รกิจเพื่อนาไปปฏิบตั ิให้สอดคล้องต่อไป เช่ นเดี ยวกับคณะกรรมการ บริ ษทั ได้ลงนามรับทราบในคู่มือคณะกรรมการบริ ษทั ในวันปฐมนิเทศกรรมการบริ ษทั ที่เข้าใหม่เช่นกัน หลักการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ประกอบด้วยหลักการและแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับการกากับดูแล กิจการ โดยมีเนื้อหาแบ่งเป็ น 5 หมวด ได้แก่ 1) สิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ (Rights of shareholders) 2) การปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุ ้นอย่างเท่าเทียมกัน (Equitable treatment of shareholders) 3) บทบาทของผูม้ ีส่วนได้เสี ย (Role of stakeholders) 4) การเปิ ดเผยข้อมูลและความโปร่ งใส (Disclosure and transparency) 5) ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (Responsibilities of Board) 1. สิ ทธิของผู้ถือหุ้น บริ ษทั ได้ตระหนักถึงสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ ้นทุกราย โดยคานึ งถึ งสิ ทธิ ข้ นั พื้นฐานที่ผถู ้ ือหุ ้นพึงได้รับตามที่ กฎหมายและข้อบัง คับ ก าหนด และการปฏิ บ ตั ิ ต่อผูถ้ ื อหุ ้นอย่า งเท่ า เที ย มและเป็ นธรรม เช่ น การก าหนด นโยบายและแนวปฏิ บตั ิ ต่างๆ ตามหลักการกากับดู แลกิ จการที่ดี การเปิ ดเผยข้อมูลที่ ถูกต้อง โปร่ งใส และ __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 90


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

ทันเวลา รวมถึ ง การบริ หารจัดการประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นโดยอานวยความสะดวกและให้สิทธิ แก่ ผูถ้ ื อหุ ้นอย่า ง เหมาะสมโดยดาเนินการสอดคล้องตามหลักการจัดประชุ มสามัญประจาปี ผูถ้ ือหุ ้นที่ดีตามที่ตลาดหลักทรัพย์ กาหนด ทั้งการเตรี ยมการก่อนวันประชุม ในวันประชุม และภายหลังการประชุม ดังนี้ การประชุ มผู้ถือหุ้น ก่ อนวันประชุ ม  บริ ษท ั เปิ ดโอกาสให้สิทธิ แก่ผูถ้ ื อหุ ้นรายย่อยเสนอระเบี ยบวาระการประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้น และเสนอชื่อบุคคลเพื่อดารงตาแหน่งกรรมการผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั เป็ นการล่วงหน้า 3 เดือน ตั้งแต่วนั ที่ 1 ตุลาคม ถึง 31 ธันวาคม 2555 โดยแจ้งผ่านระบบสารสนเทศของตลาด หลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ของบริ ษทั  บริ ษท ั แจ้งกาหนดวันประชุม และระเบียบวาระการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2555 ให้ ผูถ้ ือหุ ้นทราบผ่านระบบสารสนเทศตลาดหลักทรัพย์ ฯ และเว็บไซต์บริ ษทั ล่วงหน้าก่อนวัน ประชุมไม่นอ้ ยกว่า 30 วัน  บริ ษ ท ั จัดส่ งหนังสื อเชิ ญประชุ ม และรายละเอี ยดระเบี ย บวาระการประชุ ม ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ เหตุผล และความเห็นของคณะกรรมการบริ ษทั โดยได้จดั ส่ งยังผูถ้ ือหุ ้นพร้อม หนังสื อมอบฉันทะ ฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้ อมทั้งแจ้งการเผยแพร่ เอกสารการ ประชุมยังผูถ้ ือหุ ้น ล่วงหน้าก่อนวันประชุ มไม่นอ้ ยกว่า 14 วัน และได้ประกาศลงหนังสื อพิมพ์ ติดต่อกัน 3 วัน ก่อนวันประชุ มไม่นอ้ ยกว่า 3 วัน ทั้งนี้ บริ ษทั ได้นาข้อมูลหนังสื อเชิญประชุ ม ผูถ้ ือหุน้ และเอกสารประกอบการประชุมเปิ ดเผยในเว็บไซต์บริ ษทั ล่วงหน้าก่อนวันประชุม 30 วัน  กรณี ผถ ู ้ ือหุ ้นไม่สามารถเข้าร่ วมประชุ มด้วยตนเอง สามารถใช้สิทธิ ออกเสี ยงลงคะแนนตาม หนังสื อมอบฉันทะที่กาหนดโดยกรมพัฒนาธุ รกิจการค้า กระทรวงพาณิ ชย์ แบบ ก. หรื อ ข. หรื อ ค. พร้อมทั้งบริ ษทั ได้กาหนดให้มีกรรมการอิสระ จานวน 3 คน ให้ผถู้ ือหุ ้นมอบฉันทะ แทนในการเข้าประชุม และใช้สิทธิออกเสี ยง วันประชุ ม  ในการประชุ มสามัญผูถ ้ ือหุน้ ประจาปี 2555 ในวันอังคารที่ 30 เมษายน 2556 เวลา 13.30 น. ณ ห้องจูปิเตอร์ ชั้น 3 โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชัน่ ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงหลักสี่ เขต ดอนเมือง กรุ งเทพมหานคร บริ ษทั ได้อานวยความสะดวกแก่ผถู ้ ือหุ น้ ในการลงทะเบียน และ นับคะแนนเสี ยง โดยให้บริ ษทั ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด (TSD) นา โปรแกรมการลงทะเบียน (E-Voting) ตรวจนับคะแนนเสี ยงด้วยระบบ Barcode มาใช้ในการ ประชุม  คณะกรรมการบริ ษ ท ั เข้าร่ วมประชุ ม จานวน 11 คน (ร้ อยละ 100 ของจานวนกรรมการ ทั้งหมด) ซึ่ งรวมถึงประธานคณะกรรมการบริ ษทั ประธานคณะกรรมการบริ หารและการ ลงทุน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 91


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

และประธานคณะกรรมการก าหนดเกณฑ์และประเมิ นผลการดาเนิ นงานของบริ ษ ทั และ พิจารณาค่าตอบแทน  ผูบ ้ ริ หารระดับสู งของกลุ่มบริ ษทั เลขานุการบริ ษทั ผูส้ อบบัญชี และที่ปรึ กษากฎหมายเข้า ร่ วมประชุมเพื่อตอบคาถาม และรับทราบความคิดเห็นของผูถ้ ือหุ น้  ก่อนเริ่ มการประชุ มประธานในที่ประชุ มแจ้งวิธีการลงคะแนน นับคะแนนในแต่ละระเบียบ วาระ ทั้งนี้ก่อนการลงมติทุกระเบียบวาระ ประธานในที่ประชุมเปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุ ้นทุกราย มีสิทธิ ในการตรวจสอบการดาเนิ นงานของบริ ษทั โดยเปิ ดโอกาสให้สอบถาม แสดงความ คิ ดเห็ น โดยได้แ จ้ง ผูถ้ ื อหุ ้ นอภิ ป รายภายในระยะเวลาอย่า งเหมาะสม รวมทั้ง ให้ สิ ท ธิ เสนอแนะอย่างเท่าเทียมกัน ทั้งนี้กรรมการและผูบ้ ริ หารตอบข้อซักถามอย่างชัดเจนทุกคาถาม แล้วจึงให้ที่ประชุมออกเสี ยงลงมติ สาหรับระเบียบวาระการเลือกตั้งกรรมการ ประธานแจ้ง ให้ผถู้ ือหุน้ ลงคะแนนในบัตรลงคะแนนเป็ นรายบุคคล  ประธานในที่ประชุ มได้แจ้งผลการลงคะแนนในแต่ละระเบียบวาระการประชุ มให้ที่ประชุ ม ผูถ้ ื อหุ ้นทราบทั้งก่อนเสนอระเบียบวาระใหม่ และก่อนสิ้ นสุ ดการประชุ ม โดยประธาน ดาเนิ นการประชุ มให้สอดคล้องกับข้อบังคับบริ ษทั โดยได้ประชุ มตามลาดับระเบียบวาระที่ กาหนดไว้ใ นหนัง สื อเชิ ญประชุ ม เว้นแต่ที่ป ระชุ ม มี มติ ใ ห้เปลี่ ยนล าดับระเบี ย บวาระด้วย คะแนนเสี ย งไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจานวนผูถ้ ื อหุ ้นซึ่ งมาประชุ ม และเมื่ อที่ ประชุ มได้ พิจารณาครบทุกระเบียบวาระแล้ว ประธานแจ้งให้ผถู ้ ือหุ น้ ทราบว่าผูถ้ ือหุ ้นซึ่ งรวมกันไม่นอ้ ย กว่า 1 ใน 3 ของจานวนหุ น้ ที่จาหน่ายได้ท้ งั หมดอาจขอให้ที่ประชุ มพิจารณาเรื่ องอื่น ทั้งนี้ ใน ปี การประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี 2555 บริ ษทั ไม่มีการเปลี่ยนลาดับระเบียบวาระจากที่ ระบุในหนังสื อเชิญประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ และไม่มีการนาเสนอระเบียบวาระเพิ่มเติม ภายหลังการประชุ ม  บริ ษ ท ั เผยแพร่ มติ การประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้นประจาปี 2555 ผ่านระบบสารสนเทศตลาด หลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์บริ ษทั ทันทีเมื่อการประชุมสิ้ นสุ ดลง  บริ ษ ท ั ได้จ ัดท ารายงานการประชุ ม สามัญ ผูถ้ ื อ หุ ้น และจัดส่ ง ให้ ตลาดหลัก ทรั พ ย์ฯ และ สานัก งานคณะกรรมการกากับ หลักทรั พ ย์และตลาดหลัก ทรั พย์ ภายใน 14 วันนับจากวัน ประชุ ม โดยได้บนั ทึกประเด็นต่างๆ ในรายงานการประชุ ม พร้อมทั้งบันทึกมติที่ประชุ มที่ ชัดเจน และระบุผลการลงคะแนน ทั้งประเภทเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรื องดออกเสี ยง  สมาคมส่ งเสริ มผูล ้ งทุนไทยได้จดั ทาโครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจาปี 2555 ซึ่ งผลประเมินดังกล่าว บริ ษทั ได้รับคะแนนระดับ “ดีเยีย่ ม” 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่ างเท่ าเทียมกัน บริ ษทั ปฏิ บตั ิต่อผูถ้ ือหุ ้นอย่างเท่าเทียมและเป็ นธรรม เช่น การเข้าประชุ มและออกเสี ยงลงคะแนนในการ ประชุ ม ผูถ้ ื อ หุ ้น การเปิ ดโอกาสให้ สิ ท ธิ แก่ ผูถ้ ื อ หุ ้น รายย่อ ยในการเสนอชื่ อบุ ค คลเพื่ อ ดารงต าแหน่ ง เป็ น __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 92


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

กรรมการบริ ษทั และเสนอระเบียบวาระในการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นเป็ นการล่วงหน้า การจัดให้มีเอกสารที่ เกี่ยวกับการประชุมผูถ้ ือหุ น้ เป็ นภาษาอังกฤษสาหรับผูถ้ ือหุ น้ ต่างชาติ การกาหนดนโยบายให้กรรมการที่มีส่วน ได้เสี ย หรื อมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ งดเว้นจากการมีส่วนร่ วมในการประชุ มพิจารณาระเบียบวาระที่ เกี่ยวข้อง เป็ นต้น 3. การคานึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้ เสี ย 3.1 ความรับผิดชอบต่ อผู้มีส่วนได้ เสี ย บริ ษทั กาหนดปรัชญาการทางานโดยมุ่งเน้นความรับผิดชอบและการปฏิบตั ิอย่างเสมอภาคเป็ นที่ น่าเชื่อถือต่อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย ดังนี้ (1) ความรั บผิดชอบต่อผูถ้ ื อหุ ้น โดยคานึ งถึ งการลงทุนให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมและยุติธรรม รักษาสถานภาพทางการเงิ นให้มีสภาวะมัน่ คง เพื่อประโยชน์ต่อความคงอยู่และเจริ ญเติบโต อย่างยัง่ ยืน (2) ความรับผิดชอบต่อลูกค้า ด้วยการจัดการ และพัฒนาทรัพยากรน้ า ตลอดจนบริ การต่างๆ ที่มี คุณภาพและสร้างความพึงพอใจสู งสุ ดแก่ลูกค้า บริ ษทั มุ่งมัน่ สร้ างความพึงพอใจสู งสุ ดให้แก่ ลูกค้าในการบริ หารจัดการน้ าให้เพียงพอต่อการใช้งานของลูกค้าทุกรายด้วยบริ การอย่างใส่ ใจ และเท่ า เที ย มกัน ในการแก้ปั ญหาที่ เกี่ ย วข้องเพื่ อ ให้บ ริ ก ารแก่ ลู ก ค้า อย่า งดี ที่ สุ ดในเวลาที่ เหมาะสมโดยมุ่งรักษาและพัฒนาระดับการบริ การที่มีคุณภาพที่ดีข้ ึนในทุกพื้นที่อย่างต่อเนื่ อง (3) ความรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้ โดยปฏิบตั ิตามเงื่อนไข ข้อกาหนดในสัญญา และไม่ปกปิ ดสถานะ การเงินที่แท้จริ งของบริ ษทั และบริ ษทั ในเครื อ รวมทั้งไม่ใช้เงินทุนที่ได้จากการกูย้ มื เงินไป ในทางที่ขดั กับวัตถุประสงค์ในข้อตกลงที่ทากับผูใ้ ห้กยู้ มื เงิน (4) ความรับผิดชอบต่อพนักงาน โดยให้ความเคารพต่อสิ ทธิ ตามกฎหมายของพนักงานทุกคน จัด ให้มีสภาพแวดล้อมของการทางานที่ดี ปลอดภัย สวัสดิการที่ดี และสภาพการจ้างที่ยุติธรรม เหมาะสมกับสภาวะตลาด ส่ งเสริ มให้พนักงานทุกคนได้มีโอกาสเติบโตในสายอาชี พและสร้าง เสริ มความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างกัน และมีความผูกพันกับองค์กรอย่างต่อเนื่อง (5) ความรับผิดชอบต่อผูท้ ี่มีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจโดยพยายามสร้างความสัมพันธ์ที่จะก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุ ดร่ วมกันทั้งกับผูร้ ับเหมา ผูจ้ ดั หา และผูร้ ่ วมทุนภายใต้การกากับดูแลกิจการที่ดี (6) ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม โดยดาเนิ นธุ รกิจที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม เคารพ และปฏิบตั ิ ตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง เพื่อปกป้ องผลกระทบใดๆ ที่ก่อให้เกิดความ สู ญเสี ยต่อชีวติ และทรัพย์สินของบุคลากร ชุมชน และสิ่ งแวดล้อม (7) ความรั บผิดชอบต่อคู่แข่ง บริ ษทั ปฏิ บตั ิภายใต้หลักการของการแข่งขันทางการค้าอย่างเที่ ยง ธรรมและถูกกฎหมาย ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็ นความลับของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการที่ไม่ สุ จริ ต หรื อไม่เหมาะสม __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 93


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

3.2 นโยบายทีจ่ ะไม่ เกีย่ วข้ องกับการละเมิดสิ ทธิมนุษยชน บริ ษทั ตระหนักถึ งสิ ทธิ ความเท่าเทียมกัน และการไม่ละเมิดสิ ทธิ มนุ ษยชนของพนักงานโดยปฏิ บตั ิ ตามหลักสิ ทธิมนุษยชนที่ได้รับการคุม้ ครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยหรื อตามกฎหมายไทย และ ตามสนธิ สัญญาที่ ประเทศไทยมีพนั ธกรณี ที่ตอ้ งปฏิ บตั ิตาม ไม่กระทาการที่ เป็ นละเมิดต่อศักดิ์ ศรี ความเป็ น มนุษย์ สิ ทธิ และเสรี ภาพส่ วนบุคคล และไม่เลือกปฏิบตั ิต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยแบ่งแยกถิ่นกาเนิ ด เชื้ อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรื อสุ ขภาพ สถานะของบุ คคล ฐานะทางเศรษฐกิ จหรื อสังคม ความเชื่ อทาง ศาสนา การศึ ก ษาอบรม หรื อ ความคิ ด เห็ น ทางการเมื อ ง หรื อ ลัก ษณะส่ ว นบุ ค คลที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้อ งกับ การ ปฏิบตั ิงาน 3.3 นโยบายและแนวปฏิบัติเกีย่ วกับการต่ อต้ านการทุจริต และห้ ามจ่ ายสิ นบนเพือ่ ประโยชน์ ทางธุรกิจ บริ ษทั แสดงเจตนารมณ์เป็ นแนวร่ วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริ ต ซึ่ งเป็ นโครงการ ที่ ได้รับการสนับ สนุ นจากรั ฐบาลและสานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุ จริ ตแห่ งชาติ (ป.ป.ช.) บริ ษทั กาหนดเป็ นโยบายให้ผบู้ ริ หาร และพนักงานจะต้องไม่ใช้ตาแหน่ ง และอานาจหน้าที่ เพื่อหา ผลประโยชน์ส่วนตน ในกรณี ที่มีผเู ้ สนอ เงิน ของขวัญ สันทนาการ การเดินทาง หรื อประโยชน์ตอบแทนอื่น อันอาจคานวณเป็ นเงินได้ ซึ่ งเป็ นการให้เปล่าหรื อเป็ นการให้โดยมีส่วนลดมากกว่าที่ให้กนั ตามปกติทางการค้า และหลีกเลี่ ยงการให้ของขวัญหรื อของที่ระลึ กต่อบุคคลใด หรื อหน่ วยงานใดที่อาจทาให้เกิ ดอิทธิ พลต่อการ ตัดสิ นใจอย่างใดอย่างหนึ่งในการปฏิบตั ิหน้าที่ ทั้งนี้หากจาเป็ นต้องให้ของขวัญ ของที่ระลึกที่มีค่าเกินกว่าปกติ วิสัยแก่ ผูเ้ กี่ ยวข้องทางธุ รกิ จ ต้องได้รับอนุ มตั ิจากผูบ้ งั คับบัญชา รวมทั้งจัดให้มีการอบรมพนักงานในเรื่ อง ธรรมาภิบาลและรับฟังความเห็น ข้อเสนอแนะของพนักงาน 3.4 การแจ้ งข้ อร้ องเรียน กาหนดให้มีช่องทางแจ้งเบาะแสหรื อข้อร้องเรี ยนการกระทาผิดกฎหมาย หรื อจรรยาบรรณ รายงาน ทางการเงินที่ไม่ถูกต้อง หรื อระบบควบคุมภายในที่บกพร่ อง และกลไกในการคุม้ ครองผูแ้ จ้งเบาะแสในการ ร่ วมสอดส่ องดูแลผลประโยชน์บริ ษทั ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น โดยร้องเรี ยนยังคณะกรรมการตรวจสอบ ผ่านช่องทางดังต่อไปนี้ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : คณะกรรมการตรวจสอบ AC_EW@eastwater.com กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ CEO@eastwater.com จดหมายธรรมดา : คณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 25 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพฯ 10900 ทั้งนี้ กาหนดให้เปิ ดเผยนโยบายไว้ในรายงานประจาปี (56-2) และให้ร้องเรี ยนผ่านช่องทางดังกล่าว บนเว็บไซต์บริ ษทั : www.eastwater.com __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 94


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

4. การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใส คณะกรรมการบริ ษทั และบริ ษทั ในเครื อดู แลให้ฝ่ายบริ หารมีระบบการสื่ อสารที่ เหมาะสม เพื่อเผยแพร่ ข้อมูลที่สาคัญและมีประสิ ทธิ ผลต่อผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมในการได้รับข้อมูลทางการเงินที่เป็ นไปตามมาตรฐาน การบัญชี และผ่านการตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชี ที่เป็ นอิสระโดยบริ ษทั ยินดี ที่จะปรับปรุ งตามคาแนะนาของ ผูส้ อบบัญ ชี และข้อมู ล ทั่วไปอย่า งถู ก ต้อง ครบถ้ว น โปร่ ง ใส และสมเหตุ ส มผลตามประกาศของตลาด หลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และสนับสนุ นให้ฝ่ายบริ หารเปิ ดเผยข้อมูลอื่นๆ โดยคานึงถึงมาตรการที่ดีในการ รั กษาความลับ ของข้อมูลที่ ยงั ไม่พึ งเปิ ดเผยที่ อาจมี ผลกระทบต่อการตัดสิ นใจซื้ อขายหลักทรั พ ย์ หรื อการ เปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ของบริ ษทั ข้อ มู ล ต่ า งๆ จะเผยแพร่ ผ่ า นระบบของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และน าเผยแพร่ ผ่ า น www.eastwater.com และ www.uu.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยฝ่ ายบริ หารนาเสนอข้อมูลที่เป็ น ปั จจุบนั ที่สุดรวมทั้งให้ขอ้ มูลยังหน่ วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ของบริ ษทั (Investor Relations) เพื่อเป็ นผูแ้ ทน บริ ษทั ในการสื่ อสารประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลข่าวสารที่เป็ นประโยชน์ให้ผถู ้ ือหุ ้น ผูล้ งทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และผูท้ ี่เกี่ยวข้องได้รับทราบข้อมูลของบริ ษทั โดยจัดให้มีช่องทางเพื่ออานวยความสะดวกในการติดต่อ ดังนี้ โทรศัพท์ 02-272-1600 ต่อ 2332, 2378, 2311 อีเมล์ IR@eastwater.com เว็บไซต์ http://eastw-th.listedcompany.com/home.html นอกจากนี้ บริ ษทั จัดให้มีหน่ วยงาน compliance เพื่อดูแลด้านการปฏิบตั ิให้สอดคล้องตามกฎ ระเบียบ ต่างๆ ที่เกี่ ยวข้องกับตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และ สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรั พย์และ ตลาดหลักทรัพย์ รวมถึ งการเปิ ดเผยข้อมูลผ่านช่ องทางต่างๆ เช่ น เว็บไซต์บริ ษทั เว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์ รายงานประจาปี เป็ นต้น โดยสารสนเทศดังกล่าวมีความถูกต้อง เพียงพอ ทันเวลา และครบถ้วนตามที่กฎหมาย กาหนด เพื่อให้ผลู ้ งทุนเกิดความเชื่อมัน่ ในการดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษทั เชื่ อมัน่ ว่ากระบวนการกากับดูแลกิ จการที่ดีเป็ นหัวใจสาคัญหนึ่ งในการนาพา องค์ ก รให้ บ รรลุ เ ป้ าหมายที่ ส าคัญ ที่ สุ ด ของกลุ่ ม บริ ษัท อัน ได้แ ก่ การเพิ่ ม มู ล ค่ า สู ง สุ ด ให้ ผู ้ถื อ หุ ้ น ซึ่ ง คณะกรรมการบริ ษทั มีความรับผิดชอบตามกฎหมาย และต้องปฏิบตั ิตามหลักการกากับดูแลกิจการนี้ รวมทั้งมี ความรับผิดชอบต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ย (Stakeholders) โดยมีหน้าที่กากับดูแลการดาเนิ นงานของฝ่ ายบริ หารให้มี ประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิ ผลอันเป็ นประโยชน์สูงสุ ดของกลุ่มบริ ษทั และของผูม้ ีผลประโยชน์ร่วม 5.1 ภาวะผู้นาและวิสัยทัศน์ คณะกรรมการบริ ษทั มีบทบาทสาคัญยิ่งในการกาหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย และแผนกลยุทธ์ของบริ ษทั โดยการกาหนดแผนธุ รกิจระยะยาว ( Corporate Plan ) ทุกๆ 3 ปี รวมทั้งได้ให้ฝ่ายบริ หารศึกษาวิเคราะห์แผน __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 95


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

ธุ รกิ จระยะ 10 ปี เนื่ องจากปั จจัยแวดล้อมทั้งในด้านภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยีเปลี่ ยนแปลงอย่าง รวดเร็ ว สาหรั บการดาเนิ นการในแต่ละปี ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ได้นาเสนอกลยุทธ์ และกิ จกรรมต่างๆ ต่อ คณะกรรมการบริ หารและการลงทุน และคณะกรรมการบริ ษทั ตามลาดับ เพื่อพิจารณาให้ความเห็ น และ อนุ มตั ิแผนปฏิบตั ิการรวมถึงงบประมาณประจาปี นอกจากนี้ ฝ่ายบริ หารได้ดาเนิ นการรายงานความคืบหน้า ของแผนปฏิ บ ัติ ก ารรวมถึ ง ปั ญ หาอุ ป สรรคที่ ส าคัญ ยัง ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบ และรายงาน คณะกรรมการบริ ษทั เพื่อทราบ รวมถึงการนาเสนอให้คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาอนุมตั ิจดั จ้างโครงการ ลงทุนที่สาคัญมูลค่ามากกว่า 200 ล้านบาทขึ้นไป คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีการติดตามผลการดาเนินงานของฝ่ ายบริ หาร โดยกาหนดให้มีการรายงานผล การดาเนินงานเปรี ยบเทียบเป้ าหมาย และผลประกอบการของบริ ษทั โดยกาหนดเป็ นระเบียบวาระการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั เรื่ องรายงานสถานะการเงินรายไตรมาส นอกจากนี้ คณะกรรมการบริ ษทั ได้ตระหนักถึง การปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้อกาหนดต่างๆ จึงได้กาหนดให้ฝ่ายบริ หารรายงานการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ ด้านกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ ของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาด หลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย รวมถึ งกฎหมายใหม่ที่ประกาศ หรื อจะประกาศใช้ในอนาคตและเกี่ ยวข้องกับ บริ ษทั ยังคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อทราบ 5.2 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนดนโยบายเกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ไว้ในหลักการกากับ ดูแลกิจการที่ดี และคู่มือคณะกรรมการบริ ษทั ดังนี้  กรณี ที่คณะกรรมการบริ ษทั มอบหมายให้บุคลากรของบริ ษทั ปฏิบตั ิการแทนคณะกรรมการบริ ษทั จะต้องจัดทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร หรื อบันทึกเป็ นมติ คณะกรรมการบริ ษทั ไว้ในรายงานการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั โดยมี การกาหนดขอบเขตอานาจไว้อย่างชัดเจน ซึ่ งขอบเขตดังกล่าวต้องไม่ รวมถึ งการอนุ มตั ิให้ทารายการที่ผรู้ ับมอบอานาจ เป็ นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรื อมีส่วนได้เสี ย  บุ ค ลากรทุ ก ระดับ มี ห น้า ที่ ห ลี ก เลี่ ย งความขัด แย้ง ทางผลประโยชน์ ซึ่ ง จะส่ ง ผลให้ ก ลุ่ ม บริ ษ ท ั เสี ย ผลประโยชน์หรื อก่อให้เกิดความขัดแย้งในการปฏิบตั ิงาน  พนักงานทุกคนมีหน้าที่เปิ ดเผยเรื่ องที่อาจเป็ นความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่เกิ ดขึ้นให้ผบ ู ้ งั คับบัญชา ทราบ โดยต้องแนบรายละเอียดในเรื่ องดังกล่าวด้วย เพื่อรวบรวมเข้าหารื อยังกรรมการผูอ้ านวยการ ใหญ่  ไม่ใช้อานาจหน้าที่ในตาแหน่ งกรรมการบริ ษท ั หรื อบริ ษทั ในเครื อเพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน ผู ้ ใกล้ชิด หรื อญาติสนิท ทั้งทางตรงและทางอ้อม

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 96


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารมีหน้าที่ในการรายงาน ดังนี้ รายงานการมีส่วนได้เสี ยของตน และของบุคคลที่ มีความเกี่ ยวข้องให้บริ ษทั ทราบ โดยเลขานุ การ บริ ษทั ส่ งสาเนารายงานให้ประธานคณะกรรมการ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบทราบ รายงานการถื อครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และบุคคลที่มีความเกี่ ยวข้อง ซึ่ ง งาน Compliance จะได้สอบทานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์เป็ นรายเดือนและแจ้งยังที่ ประชุมทราบ (ถ้ามี) ทั้งนี้ กรณี บริ ษทั มีการทารายการเกี่ยวโยงกันกาหนดให้ปฏิ บตั ิตามหลักเกณฑ์ของประกาศ สานักงานก.ล.ต. และตลท. อย่างเคร่ งครัดในการประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ฝ่ ายบริ หารจะแจ้งให้ที่ ประชุ มทราบ โดยกรรมการที่มีส่วนได้เสี ยในรายการนั้น จะงดออกเสี ยง หรื อออกจากที่ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั แล้วแต่กรณี กรณี ของผูร้ ับจ้าง และคู่คา้ บริ ษทั ได้กาหนดให้ทารายงานการมีส่วนได้เสี ยกับบุคคลที่เกี่ยว โยงกันตามหลักเกณฑ์ของสานักงาน ก.ล.ต.เพื่อเป็ นข้อมูลให้ฝ่ายบริ หารพึงระมัดระวังขั้นตอนในการ อนุ มตั ิการทารายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่ งรายการระหว่างกันของบริ ษทั และ บริ ษทั ในเครื อ รวมถึงบริ ษทั และผูม้ ีส่วนได้เสี ยต่างๆ จะผ่านขั้นตอนการพิจารณาอนุ มตั ิอย่างถูกต้อง ชัดเจน โดยใช้โครงสร้างราคา และเงื่อนไขทางการค้าทัว่ ไป เช่นเดี ยวกับคู่คา้ รายอื่นๆ ของบริ ษทั โดยได้เปิ ดเผยรายละเอียดรายการระหว่างกันไว้ในรายงานประจาปี และแบบ 56-1 5.3 จริยธรรมทางธุรกิจ

เพื่อแสดงเจตนารมณ์ในการดาเนินธุ รกิจภายใต้หลักการกากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริ ษทั ได้ กาหนดให้ประกาศใช้ “ หลักกากับดูแลกิ จการที่ดีของกลุ่มบริ ษทั ” “คู่มือคณะกรรมการบริ ษทั ” “คู่มือ คณะกรรมการอิสระ” และจรรยาบรรณทางธุ รกิจ ซึ่ งประกาศใช้ครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 สิ งหาคม 2549 โดยได้มีการปรับปรุ งให้ทนั สมัย และเหมาะสมกับหลักเกณฑ์ที่เปลี่ ยนแปลงต่างๆ อยู่เสมอ เพื่อเป็ น มาตรฐานในการประพฤติปฏิบตั ิ ตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี โดยกาหนดให้กรรมการบริ ษทั ทุก ท่านลงนามรับคู่มือคณะกรรมการบริ ษทั สาหรับพนักงานกลุ่มบริ ษทั ได้จดั ให้มีโครงการส่ งเสริ มความรู ้ความ เข้าใจด้านหลักธรรมาภิบาลให้แก่พนักงานอย่างต่อเนื่อง 5.4 การถ่ วงดุลของกรรมการทีไ่ ม่ เป็ นผู้บริหาร คณะกรรมการบริ ษทั มีจานวน 11 คน โดยคณะกรรมการบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วย กรรมการที่เป็ นผูบ้ ริ หาร

1 คน

กรรมการที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร

10 คน

กรรมการอิสระ

8 คน

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 97


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

5.5 การรวมหรือแยกตาแหน่ ง คณะกรรมการบริ ษทั มุ่งเน้นความโปร่ งใสในการดาเนิ นธุ รกิ จ กระจายอานาจการตัดสิ นใจ แบ่ง อานาจการกลัน่ กรอง และการพิจารณาอนุ มตั ิอย่างชัดเจน โดยประธานคณะกรรมการบริ ษทั ไม่เป็ นบุคคล เดี ยวกับกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ รวมทั้งสมาชิ กคณะกรรมการตรวจสอบเป็ นกรรมการอิสระที่ ไม่มี อานาจลงนามอนุ ม ตั ิ ผูก พันกับ บริ ษทั ไม่ มีส่ วนได้เสี ย ในด้า นการเงิ น และการบริ หารงานของบริ ษ ทั รวมถึงบริ ษทั ในเครื อ 5.6 การไปดารงตาแหน่ งกรรมการทีบ่ ริษัทอื่นของกรรมการ กรรมการผู้อานวยการใหญ่ และผู้บริ หาร 1. กรรมการบริ ษทั ไปดารงตาแหน่งกรรมการในบริ ษทั จดทะเบียนได้ไม่เกิน 3 แห่ง และรวมบริ ษทั อื่น แล้วไม่เกิน 5 แห่ง โดยที่รวมถึงรัฐวิสาหกิจ 2. กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ และผูบ้ ริ หารดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษทั จดทะเบียนอื่นได้ไม่เกิน 4 บริ ษทั จดทะเบียน 5.7 การประเมินผลงานกรรมการ คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีการประเมินตนเองในภาพรวมของผลการปฏิ บตั ิงานอย่างสม่ าเสมอและ ต่อเนื่องมาทุกปี เพื่อให้มีการทบทวนผลงาน ปั ญหา และอุปสรรคต่างๆ ในระหว่างปี ที่ผา่ นมา โดยสามารถ นาผลการประเมิ นไปพิ จารณาปรั บ ปรุ ง ประสิ ทธิ ภาพการดาเนิ นงานได้อย่า งเหมาะสม ซึ่ ง สอดคล้องกับ หลักการกากับดู แลกิ จการที่ดี ทั้งนี้ การประเมินผลการปฏิ บตั ิงานของคณะกรรมการบริ ษทั ในปี 2556 มี คะแนนรวมเฉลี่ยจากกรรมการทุกคนเท่ากับ 4.73 คะแนน จาก 5.00 คะแนน จากการประเมินในหัวข้อต่างๆ ดังนี้ 1. ความพร้อมของกรรมการ 2. การกาหนดกลยุทธ์ และวางแผนธุ รกิจ 3. การจัดการความเสี่ ยงและการควบคุมภายใน 4. การดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 5. การติดตามรายงานทางการเงินและการดาเนินงาน 6. การประชุมคณะกรรมการบริ ษทั 7. อื่นๆ เช่น การสรรหา (กรรมการบริ ษทั และกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่) การพิจารณาค่าตอบแทน การประเมินผลงานกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ 9.2 คณะกรรมการชุ ดย่ อย คณะกรรมการบริ ษทั ได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุ ดย่อยที่มีความชานาญและเหมาะสม เพื่อช่วยศึกษา กลัน่ กรองงานที่ได้รับมอบหมายให้มีความถูกต้อง ชัดเจน สอดคล้องกับพันธกิ จและนโยบายของบริ ษทั ใน เบื้องต้น ก่อนนาเสนอคณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาอนุ มตั ิ หรื อรั บรอง หรื อให้ขอ้ แนะนาเพิ่มเติ มแล้วแต่ __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 98


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

กรณี โดยรายละเอียดคณะกรรมการชุ ดต่างๆที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริ ษทั และการเข้าประชุ ม ในปี งบประมาณ 2556 มีดงั นี้ 9.2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่หลักในการพิจารณาสอบทานความถูกต้องและความน่ าเชื่ อถื อใน งบการเงินของบริ ษทั ว่ามีความน่าเชื่ อถือตามมาตรฐานสากลก่อนนาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั รวมทั้งจัด ให้มีกระบวนการบริ หารงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้สามารถดาเนินไปอย่างมีประสิ ทธิ ผล มีความเป็ น อิสระ มุ่งเน้นการจัดให้มีแนวปฏิบตั ิที่มีความโปร่ งใส และชัดเจนระหว่างคณะกรรมการบริ ษทั ฝ่ ายตรวจสอบ ฝ่ ายบริ หาร และผูส้ อบบัญชี เพื่อทบทวนและให้คาแนะนาด้านการประเมินประสิ ทธิ ภาพประสิ ทธิ ผลของ ระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ให้ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ และพิจารณารายการ เกี่ยวโยงหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็ นไปตามกฎหมาย มีความสมเหตุสมผล และ คงไว้ซ่ ึ งประโยชน์ สู ง สุ ด ของบริ ษ ัท ตลอดจนการเปิ ดเผยข้อ มู ล โดยบรรจุ ร ายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบไว้ในรายงานประจาปี ของบริ ษทั นอกจากนั้น ยังมี บทบาทหน้าที่ให้ความเห็ นชอบในเบื้ องต้น เกี่ยวกับการแต่งตั้งและกาหนดค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชี เพื่อนาเสนอยังคณะกรรมการบริ ษทั และผูถ้ ือหุ ้น พิจารณาอนุมตั ิต่อไป รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 คน และที่ปรึ กษา 1 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ลาดับที่

ชื่อ – นามสกุล

ตาแหน่ ง

ร่ วมประชุ ม/การประชุ มทั้งหมด (ครั้ง)

1. 2.

นายไทยรัตน์ พลเอก ชูชยั

โชติกะพุกกะณะ บุญย้อย

ประธานคณะกรรมการ กรรมการ

11/11 11/11

3.

นายกัลยาณะ

วิภตั ิภูมิประเทศ

กรรมการ

6/11

4.

นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล

ที่ปรึ กษาคณะกรรมการ

9/11

9.2.2 คณะกรรมการบริ หารและการลงทุน ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการบริ หารและการลงทุน คณะกรรมการบริ หารและการลงทุน เป็ นคณะกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั ให้ มีบทบาทและหน้าที่ในการกากับดูแลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ให้มีประสิ ทธิ ภาพ และมีความเข้มแข็งทางธุ รกิจ ตามแนวนโยบายของคณะกรรมการบริ ษ ทั โดยมี หน้า ที่ ใ นการพิ จารณากลัน่ กรอง และทบทวนแผนธุ รกิ จ แผนการดาเนิ นงาน งบประมาณประจาปี และเรื่ องต่างๆ โดยเฉพาะการจัดซื้ อจัดจ้างในโครงการลงทุนที่เกิ น วงเงินที่ได้รับมอบอานาจ ก่อนนาเสนอคณะกรรมการบริ ษทั นอกจากนี้ คณะกรรมการบริ หารและการลงทุนยังมี หน้าที่ในการกาหนดกระบวนการและหลักเกณฑ์การพิจารณาการลงทุนโครงการต่างๆ รวมทั้งการลงทุนด้าน __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 99


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

การเงิน และให้คาปรึ กษาหรื อเสนอแนะ รวมถึงสนับสนุนการบริ หารงานของฝ่ ายบริ หารให้บรรลุวตั ถุประสงค์ และเป้ าหมายของบริ ษทั พร้อมทั้งรายงานผลการปฏิบตั ิงานยังคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อทราบเป็ นรายเดือน รายชื่ อคณะกรรมการบริหารและการลงทุน คณะกรรมการบริ หารและการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วยกรรมการบริ ษทั 5 คน และ ที่ปรึ กษา 2 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ลาดับที่

ชื่อ – นามสกุล

ตาแหน่ ง

ร่ วมประชุ ม/การประชุ มทั้งหมด (ครั้ง)

หม่อมหลวง ปาณสาร

หัสดินทร1

ประธานคณะกรรมการ

นายจิรัฏฐ์

นิธิอนันตภร

อดีตประธานคณะกรรมการ

9/10 (ลาออก 17 พ.ค. 2556)

นายชินวัฒน์

อัศวโภคี

อดีตกรรมการ

9/10 (ลาออก 17 พ.ค. 2556)

นายประพันธ์

อัศวอารี 8

อดีตกรรมการ

6/10 (ลาออก 30 เม.ย. 2556)

นายนคร

จิรเศวตกุล9

อดีตที่ปรึ กษาคณะกรรมการ

6/6 (ลาออก 14 ส.ค. 2556)

นายพีรศักดิ์

เตชพิพิธกุล10

อดีตที่ปรึ กษาคณะกรรมการ

2/2 (ลาออก 20 พ.ค. 2556)

นายแพทย์ สุทธิชยั

จันทร์อารักษ์11

อดีตที่ปรึ กษาคณะกรรมการ

1/2 (ลาออก 20 พ.ค. 2556)

2.

พลเอก สหชาติ

พิพิธกุล2

กรรมการ

11/12

3.

นายโชติศกั ดิ์

อาสภวิริยะ3

กรรมการ

10/12

4.

นายวันชัย

หล่อวัฒนตระกูล4

กรรมการ

6/7

5.

นางสาวกริ ชผกา

บุญเฟื่ อง5

กรรมการ

9/10

6.

พลเรื อตรี สมาน

สุขวิบูลย์6

ที่ปรึ กษาคณะกรรมการ

7/7

7.

นายเปรมประชา

ศุภสมุทร7

ที่ปรึ กษาคณะกรรมการ

5/7

1.

หมายเหตุ :

12/12

1. หม่อมหลวง ปาณสาร หัสดินทร ได้รับการแต่งตั้งเป็ นประธานคณะกรรมการบริ หารและการลงทุน เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2556 2. พลเอก สหชาติ พิพธิ กุล ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ หารและการลงทุน เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2556 3. นายโชติศกั ดิ์ อาสภวิริยะ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ หารและการลงทุน เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2556 4. นายวันชัย หล่อวัฒนตระกูล ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ หารและการลงทุน เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2556 5. นางสาวกริ ชผกา บุญเฟื่ อง ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ หารและการลงทุน เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2556 6. พลเรื อตรี สมาน สุ ขวิบูลย์ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นที่ปรึ กษาคณะกรรมการบริ หารและการลงทุน เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2556 7. นายเปรมประชา ศุภสมุทร ได้รับการแต่งตั้งเป็ นที่ปรึ กษาคณะกรรมการบริ หารและการลงทุน เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2556 8. นายประพันธ์ อัศวอารี ลาประชุมโดยได้รับอนุมตั ิจากประธานคณะกรรมการบริ ษทั รวม 4 ครั้ง 9. นายนคร จิรเศวตกุล ได้รับการแต่งตั้งเป็ นที่ปรึ กษาคณะกรรมการบริ หารและการลงทุน เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2556 10. นายพีรศักดิ์ เตชพิพธิ กุล ได้รับการแต่งตั้งเป็ นที่ปรึ กษาคณะกรรมการบริ หารและการลงทุน เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2556 11. นายแพทย์สุทธิ ชยั จันทร์อารักษ์ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นที่ปรึ กษาคณะกรรมการบริ หารและการลงทุน เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2556

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 100


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

9.2.3 คณะกรรมการบริหารความเสี่ ยง ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการบริหารความเสี่ ยง คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงมีหน้าที่ หลักในการกากับดู แล ทบทวนนโยบายและแผนบริ หาร ความเสี่ ยงวิธีปฏิ บตั ิที่เป็ นมาตรฐาน กลยุทธ์ แ ละการวัดความเสี่ ยง รวมทั้งให้ขอ้ แนะนาแก่ฝ่ายบริ หาร เพื่อให้มนั่ ใจได้ว่าการบริ หารความเสี่ ยงได้นาไปปฏิ บตั ิ อย่างเหมาะสม และเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ โดย นาเสนอยังคณะกรรมการบริ ษทั อย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง รายชื่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ ยง คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วยกรรมการบริ ษทั 4 คน และ ที่ปรึ กษา 1 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้

ลาดับที่

ชื่อ – นามสกุล

ตาแหน่ ง

ร่ วมประชุ ม/การประชุ มทั้งหมด (ครั้ง)

4/4

นายโชติศกั ดิ์

อาสภวิริยะ1

ประธานคณะกรรมการ

นายชินวัฒน์

อัศวโภคี

อดีตประธานคณะกรรมการ

1/1 (ลาออก 17 พ.ค. 2556)

นางรัตนา

กิจวรรณ

อดีตกรรมการ

1/1 (ลาออก 10 มิ.ย. 2556 )

นายประพันธ์

อัศวอารี

อดีตกรรมการ

1/1 (ลาออก 30 เม.ย. 2556)

2.

นายสหัส

ประทักษ์นุกลู

กรรมการ

5/5

3.

นายวันชัย

หล่อวัฒนตระกูล2

กรรมการ

3/4

4.

นางสาวกริ ชผกา

บุญเฟื่ อง3

กรรมการ

4/4

5.

นายวุฒิพงษ์

เวชยานนท์4

ที่ปรึ กษาคณะกรรมการ

3/4

1.

หมายเหตุ :

1. นายโชติศกั ดิ์ อาสภวิริยะ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นประธานคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2556 2. นายวันชัย หล่อวัฒนตระกูล ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2556 3. นางสาวกริ ชผกา บุญเฟื่ อง ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2556 4. นายวุฒิพงษ์ เวชยานนท์ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นที่ปรึ กษาคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง เมื่อวันที่ 30 สิ งหาคม 2556

9.2.4 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา ธรรมาภิบาล มีหน้าที่สนับสนุนงานของคณะกรรมการบริ ษทั ให้ดาเนิ นไปอย่างถูกต้อง โปร่ งใส และสามารถรักษา ผลประโยชน์ของผูถ้ ื อหุ ้นและผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสี ยของบริ ษทั โดยการกลัน่ กรองคู่มือคณะกรรมการบริ ษทั จรรยาบรรณทางธุ รกิจ จรรยาบรรณพนักงาน และดูแลให้หลักการกากับดูแลกิจการที่ดีมีผลในทางปฏิบตั ิที่มุ่งสู่ การพัฒนา และการกากับดูแลกิจการที่เป็ นเลิศ (Best Practices) ตลอดจนสอดส่ องและสอบทานให้แน่ใจว่าบริ ษทั ได้ __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 101


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

ปฏิ บตั ิตามข้อพึงปฏิ บตั ิ ที่สาคัญของกระบวนการกากับดู แลกิ จการที่ มีประสิ ทธิ ผลเหมาะสมสอดคล้องกับ ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยให้มีการประเมินผลการปฏิบตั ิตามนโยบายเป็ นระยะ การสรรหา คณะกรรมการบริ ษทั ได้แ ต่งตั้งคณะกรรมการสรรหา เพื่อปฏิ บตั ิภารกิ จในการสรรหาและเสนอชื่ อ บุคคลที่ เหมาะสมส าหรับเป็ นกรรมการบริ ษทั และบริ ษ ทั ในเครื อ กรรมการชุ ดย่อยของบริ ษทั และกรรมการ ผู ้อ านวยการใหญ่ รวมทั้ง ให้ ค วามเห็ น ต่ อ โครงสร้ า งการบริ หารงานของคณะกรรมการบริ ษั ท และ คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ พร้อมทั้งนาเสนอยังคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณา และอนุมตั ิการปรับปรุ ง รายชื่อคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วยกรรมการบริ ษทั 4 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ลาดับที่

ชื่อ – นามสกุล

ตาแหน่ ง

ร่ วมประชุ ม/การประชุ มทั้งหมด (ครั้ง)

พลเอก สหชาติ

พิพิธกุล1

ประธานคณะกรรมการ

นายจิรัฏฐ์

นิธิอนันตภร

อดีตกรรมการ

0/1 (ลาออก 17 พ.ค. 2556)

นายชินวัฒน์

อัศวโภคี

อดีตกรรมการ

1/1 (ลาออก 17 พ.ค. 2556)

นายวีรพงศ์

ไชยเพิ่ม5

อดีตกรรมการ

1/1 (ลาออก 3 ก.ค. 2556)

2.

หม่อมหลวง ปาณสาร

หัสดินทร2

กรรมการ

5/5

3.

นายกัลยาณะ

วิภตั ิภูมิประเทศ3

กรรมการ

4/6

4.

นางสาวกริ ชผกา

บุญเฟื่ อง4

กรรมการ

5/5

1.

หมายเหตุ :

5/5

1. พลเอก สหชาติ พิพธิ กุล ได้รับการแต่งตั้งเป็ นประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2556 2. หม่อมหลวง ปาณสาร หัสดินทร ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2556 3. คณะกรรมการบริ ษทั (ประชุ มครั้งที่ 8/2556 – 11 มิถุนายน 2556) มีมติแต่งตั้งพลเอก สหชาติ พิพิธกุล ดารงตาแหน่งประธานคณะกรรมการ ธรรมาภิบาลและสรรหา โดยให้นายกัลยาณะ วิภตั ิภูมิประเทศ ยังคงเป็ นกรรมการในชุดนี้ 4. นางสาวกริ ชผกา บุญเฟื่ อง ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2556 5. นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ลาออกจากกรรมการชุดย่อยทุกคณะ มีผลเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2556

9.2.5 คณะกรรมการกาหนดเกณฑ์ และประเมินผลการดาเนินงานของบริษัทและพิจารณาค่ าตอบแทน ขอบเขตอานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการกาหนดเกณฑ์ และประเมินผลการดาเนินงานของบริษัทและ พิจารณาค่ าตอบแทน การกาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดาเนินงานของบริ ษทั คณะกรรมการบริ ษทั ได้แต่งตั้งคณะกรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั โดยมีหน้าที่กาหนดและทบทวนเกณฑ์การประเมินผลการดาเนินงาน (Corporate KPIs) ประจาปี ของบริ ษทั ให้ __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 102


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

สอดคล้องกับแนวนโยบายธุ รกิ จของบริ ษทั รวมทั้งติ ดตาม ประเมิ นผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั เป็ นราย ไตรมาส ตลอดจนให้ขอ้ แนะนาแก่ ฝ่ายบริ หารในการปฏิ บตั ิงานและรายงานผลฯ ณ สิ้ นปี ยังคณะกรรมการ บริ ษทั เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ การพิจารณาค่าตอบแทน มีหน้าที่หลักในการเสนอแนะนโยบายค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นๆ ทั้งหมดทั้งในรู ปตัวเงินและ มิใช่ ตวั เงินของบุคลากรทุกระดับขององค์กรต่อคณะกรรมการบริ ษทั และเสนอแนะยังคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาค่าตอบแทนประจาปี ของคณะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการชุ ดย่อยของกลุ่มบริ ษทั ที่ปรึ กษา คณะกรรมการของกลุ่ มบริ ษทั ที่ปรึ กษาคณะกรรมการชุ ดย่อยของกลุ่ มบริ ษทั กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานกลุ่มบริ ษทั โดยต้องคานึงถึงหน้าที่ ความรับผิดชอบ ภารกิจที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้ง คานึงถึงส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ด้วย พร้อมทั้งรายงานผลการดาเนินการยังคณะกรรมการบริ ษทั อย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง รายชื่ อ คณะกรรมการก าหนดเกณฑ์ แ ละประเมิ น ผลการด าเนิ น งานของบริ ษั ท และพิ จ ารณา ค่ าตอบแทน คณะกรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดาเนินงานของบริ ษทั และพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ประกอบด้วยกรรมการบริ ษทั 3 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ลาดับที่

1.

ชื่อ – นามสกุล

ตาแหน่ ง

ร่ วมประชุ ม/การประชุ มทั้งหมด (ครั้ง)

10/10

นายปริ ญญา

นาคฉัตรี ย ์

ประธานคณะกรรมการ

นายจิรัฏฐ์

นิธิอนันตภร

อดีตกรรมการ

1/2 (ลาออก 17 พ.ค. 2556)

นายวีรพงศ์

ไชยเพิม่ 1

อดีตกรรมการ

1/3 (ลาออก 3 ก.ค. 2556)

2.

นายสหัส

ประทักษ์นุกลู

กรรมการ

10/10

3.

นายโชติศกั ดิ์

อาสภวิริยะ2

กรรมการ

6/7

หมำยเหตุ : 1. นายวีรพงศ์ ไชยเพิม่ ลาออกจากกรรมการชุดย่อยทุกคณะ มีผลวันที่ 3 กรกฎาคม 2556 2. นายโชติศกั ดิ์ อาสภวิริยะ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั และพิจารณาค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2556

9.3 การสรรหาและแต่ งตั้งกรรมการและผู้บริ หารระดับสู งสุ ด 9.3.1 กรรมการอิสระ กรรมการอิ สระเป็ นกลไกส าคัญในเรื่ องการก ากับดู แลกิ จการที่ ดี โดยกรรมการอิ สระท าหน้าที่ ในการ สนับสนุนนโยบายที่เป็ นประโยชน์ต่อผูถ้ ือหุ น้ หรื อคัดค้านเมื่อเห็นว่าบริ ษทั อาจตัดสิ นใจไม่โปร่ งใส ซึ่ งอาจกระทบต่อ ผลประโยชน์ของผูถ้ ื อหุ ้น และผูม้ ีส่วนได้เสี ยอื่นๆ ดังนั้น กรรมการอิสระต้องมีความเป็ นอิสระจาก การควบคุ มของ ผูบ้ ริ หาร ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ และต้องไม่มีส่วนเกี่ ยวข้องหรื อมี ส่วนได้ส่วนเสี ยในทางการเงิ นและบริ หารของกิ จการ

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 103


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

บริ ษทั ได้กาหนดนิ ยามของ "กรรมการอิ สระ" ให้สอดคล้องตามหลักการกากับดู แลกิ จการที่ ดีและเข้มกว่า ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน1 ดังนี้ (1) กรรมการที่มิได้เป็ นกรรมการบริ หาร (Non-Executive Director) และไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ การบริ หารงานประจา และไม่เป็ นผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และไม่ได้เป็ น กรรมการที่เป็ นผูแ้ ทนของผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ โดยมีคุณสมบัติเป็ นไปตามที่กฎหมายกาหนด (2) ไม่เป็ นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิ ต หรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่ เป็ น บิดา มารดา คู่สมรส พี่นอ้ ง และบุตร รวมทั้ง คู่สมรสของบุตรของกรรมการรายอื่น ผูบ้ ริ หาร ผูถ้ ือหุ ้นราย ใหญ่ ผูม้ ีอานาจควบคุม หรื อบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็ นผูบ้ ริ หารหรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั หรื อ บริ ษทั ย่อย (3) ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย หรื อไม่เป็ นหุ น้ ส่ วนที่มีนยั ในห้างหุ น้ ส่ วนหรื อเป็ นกรรมการที่มีส่วนร่ วมการบริ หารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึ กษา ที่รับเงินเดือนประจา หรื อถือหุ น้ เกินร้อยละ 1 ของจานวนหุ น้ ที่มีสิทธิ ออกเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั อื่น ซึ่ งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย (4) ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุ รกิ จกับบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม หรื อนิ ติบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้งในลักษณะที่อาจเป็ นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน (ก) ลักษณะความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ในลักษณะของการให้บริ การทางวิชาชีพ 1) ผูส้ อบบัญชี ผูใ้ ห้บริ การทางวิชาชี พ เช่น ที่ปรึ กษากฎหมาย ที่ปรึ กษาการเงิ น ผูป้ ระเมิน ราคาทรัพย์สิน เป็ นต้น 2) ระดับนัยสาคัญที่ไม่เข้าข่ายอิสระ - กรณี ผสู้ อบบัญชี : ห้ามทุกกรณี - กรณี เป็ นผูใ้ ห้บริ การด้านวิชาชีพอื่น : มูลค่ารายการเกิน 2 ล้านบาทต่อปี ความสัมพันธ์ทางการค้า/ธุ รกิ จ (ใช้แนวทางเดี ยวกับข้อกาหนดรายการเกี่ ยวโยงของตลาด หลักทรัพย์ฯ) - ลักษณะความสัมพันธ์ : กาหนดครอบคลุมรายการธุ รกิจทุกประเภท ได้แก่รายการที่ เป็ นธุ รกรรมปกติ รายการเช่ า /ให้เช่ า อสัง หาริ ม ทรั พย์ รายการเกี่ ยวกับ ทรั พย์สิน/ บริ การ และรายการให้หรื อรับความช่วยเหลือทางการเงิน

1

ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ทจ.28/2551 เรื่ องการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ ้นที่ออก

ใหม่ __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 104


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

- ระดับนัยสาคัญที่ไม่เข้าข่ายอิสระ : มูลค่ารายการมากกว่าหรื อเท่ากับ 20 ล้านบาท หรื อมากกว่าหรื อเท่ากับร้ อยละ 3 ของสิ นทรัพย์ที่มีตวั ตนสุ ทธิ (NTA) ของบริ ษทั แล้วแต่ จานวนใดจะต่ า กว่า ทั้ง นี้ ใ นการพิ จารณามู ล ค่ า รายการให้รวมรายการที่ เกิดขึ้นในระหว่าง 6 เดือนก่อนวันที่มีรายการในครั้งนี้ดว้ ย (ข) กรณี ที่มีลกั ษณะความสัมพันธ์ตาม ข้อ ก. กับนิ ติบุคคล บุคคลที่เข้าข่ายไม่อิสระ ได้แก่ ผูถ้ ือหุ ้น รายใหญ่ กรรมการ (ยกเว้นกรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ) (ค) กาหนดช่วงเวลาที่ห้ามมีความสัมพันธ์ตามข้อ ก. และข. ในปั จจุบนั และ 2 ปี ก่อนได้รับการ แต่งตั้ง (5) ไม่เป็ นกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็ นตัวแทนของกรรมการของบริ ษทั ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูถ้ ือหุ น้ ซึ่ งเป็ นผูเ้ กี่ยวข้องกับผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ของบริ ษทั (6) ไม่มีลกั ษณะอื่นใดที่ทาให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างอิสระได้ (7) กรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติตามข้อ 1-6 อาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั ให้ ตัดสิ นใจในการดาเนิ นกิจการของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลาดับเดียวกัน หรื อนิ ติ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสิ นใจในรู ปแบบองค์คณะ (Collective decision) ได้ (8) ระยะเวลาการดารงตาแหน่ งกรรมการอิสระ ไม่ควรเกิ น 9 ปี ติ ดต่อกัน นับจากวันที่ ได้รับการ แต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งกรรมการอิสระครั้งแรก ในกรณี ที่จะแต่งตั้งกรรมการอิสระนั้นให้ดารงตาแหน่งต่อไป คณะกรรมการควรพิจารณาอย่างสมเหตุสมผลถึงความจาเป็ นดังกล่าว 9.3.2 การสรรหากรรมการและผู้บริหารระดับสู งสุ ด บริ ษทั จัดให้มีคู่มือคณะกรรมการบริ ษทั ซึ่ งระบุเรื่ องการสรรหากรรมการว่า การพิจารณาสรรหาและ แต่งตั้งผูท้ ี่เหมาะสมเพื่อมาดารงตาแหน่งคณะกรรมการบริ ษทั จะต้องดาเนิ นการตามข้อบังคับของบริ ษทั และ ข้อกาหนดของคณะกรรมการบริ ษทั ตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยกาหนดไว้ โดยมีหลักการสาคัญ ประกอบการพิจารณาสรุ ปสาระสาคัญได้ดงั นี้ 1. จะต้องเป็ นผูท้ ี่มีคุณสมบัติเหมาะสม ไม่มีลกั ษณะต้องห้ามตามข้อกาหนดของคณะกรรมการบริ ษทั ตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยกาหนด และหากจะมีสถานะเป็ นกรรมการอิสระจะต้องมีคุณสมบัติ สอดคล้องและครบถ้วนตามคุณสมบัติที่กาหนดไว้ 2. ประธานคณะกรรมการบริ ษทั ควรเป็ นกรรมการอิสระและไม่ควรเป็ นประธานหรื อสมาชิกใน คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ 3. บริ ษทั กาหนดนโยบายการมอบหมายให้คณะกรรมการบริ ษทั ไปเป็ นคณะกรรมการในบริ ษทั ใน เครื อ โดยหากบริ ษทั ถื อหุ ้นในบริ ษทั ในเครื อดังกล่ าวตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้ นไปบริ ษ ทั ควรได้รับสิ ทธิ แต่งตั้ง กรรมการของบริ ษทั หรื อบุคคลที่เหมาะสมเป็ นคณะกรรมการของบริ ษทั ในเครื อดังกล่าว โดยมีสิทธิ กาหนดให้ เป็ นกรรมการบริ หาร (Executive Director) ไม่นอ้ ยกว่ากึ่ งหนึ่ งของจานวนตาแหน่งผูบ้ ริ หารที่บริ ษทั ในเครื อ

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 105


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

ดังกล่ าวมี หรื อจะมีในอนาคต ทั้งนี้ หากบริ ษทั มีสัดส่ วนการถื อหุ ้นสู งกว่าร้ อยละ 50 ให้บริ ษทั มีสิทธิ ในการ แต่งตั้งคณะกรรมการของบริ ษทั ในเครื อดังกล่าวตามสัดส่ วนที่บริ ษทั ถือครอง 4. จานวนบริ ษทั ที่กรรมการสามารถดารงตาแหน่งกรรมการในบริ ษทั จดทะเบียนอื่นกาหนดให้ กรรมการที่เป็ นผูบ้ ริ หาร (Executive Director-ED) สามารถดารงตาแหน่ งไม่เกิ น 4 บริ ษทั จดทะเบียน และ กรรมการที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร (Non-Executive Director- Non–ED) ไม่เกิน 3 บริ ษทั จดทะเบียน และรวมบริ ษทั อื่นแล้วไม่เกิน 5 แห่ง โดยที่รวมถึงรัฐวิสาหกิจ 5. จากัดอายุกรรมการบริ ษทั ไม่เกิน 75 ปี โดยไม่จากัดวาระการดารงตาแหน่งติดต่อกันเพื่อไม่ให้ เสี ยโอกาสในการแต่งตั้งกรรมการที่มีความรู ้/ความสามารถ และประสบการณ์ 6. กรรมการอิสระไม่ถือหุ น้ ของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม หรื อนิติบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง (นับรวมบุคคลที่เกี่ ยวข้องตามมาตรา 258 ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2551) บริ ษทั ตระหนักถึงความสาคัญของการบริ หารจัดการองค์กรให้มีประสิ ทธิ ภาพ จึงได้กาหนดนโยบาย การสื บทอดตาแหน่ งในระดับบริ หาร โดยมี วตั ถุ ป ระสงค์เพื่อเป็ นหลักการและแนวทางของบริ ษทั ในการ จัดเตรี ยมบุคลากรให้พร้อมสาหรับตาแหน่งในระดับบริ หารของบริ ษทั โดยยึดหลักความโปร่ งใส เป็ นธรรม และสามารถตรวจสอบได้ สรุ ปดังนี้ (1) คณะกรรมการสรรหามีหน้าที่ กาหนดหลักเกณฑ์การสรรหา และพิจารณาอนุ มตั ิแผนการสื บทอด ต าแหน่ ง รวมถึ ง คัด กรองพนัก งานระดับ บริ ห ารหรื อ บุ ค คลภายนอก ส าหรั บ ด ารงต าแหน่ ง กรรมการ ผูอ้ านวยการใหญ่ และรายงานยังคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาอนุมตั ิต่อไป (2) กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่และฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง มีหน้าที่กาหนดหลักเกณฑ์การสรรหาและพัฒนา บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ รวมถึงคัดเลือกพนักงานหรื อบุคคลภายนอกสาหรับดารงตาแหน่งระดับรอง กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่และระดับรองลงมา 9.4 รายงานของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูร้ ับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย งบการเงินดังกล่าว จัดทาขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปในประเทศไทย โดยใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง และประมาณการ ที่ดีที่สุดในการจัดทา รวมทั้งมีการเปิ ดเผยอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ปรากฏในรายงาน ประจาปี 2556 (56-2) คณะกรรมการบริ ษทั แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ งประกอบด้วยกรรมการอิ สระ เป็ นผูด้ ู แล รั บ ผิ ด ชอบเกี่ ย วกับ คุ ณ ภาพของรายงานทางการเงิ น และระบบการควบคุ ม ภายใน และความเห็ น ของ คณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ ยวกับเรื่ องนี้ ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบที่ปรากฏในรายงาน ประจาปี 2556 (56-2) คณะกรรมการบริ ษทั มี ความเห็ นว่า ระบบการควบคุ มภายในมี ความเพียงพอและเหมาะสมกับการ ดาเนินธุ รกิจ และสามารถสร้างความเชื่ อมัน่ อย่างมีเหตุผลต่อความน่าเชื่ อถือของงบการเงินบริ ษทั และบริ ษทั __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 106


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 โดยคณะกรรมการบริ ษทั ได้จดั ทารายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริ ษทั ต่อรายงานทางการเงินที่แสดงไว้ในรายงานประจาปี 2556 (56-2) คณะกรรมการธรรมาภิบาลซึ่งได้สอบทานการปฏิบตั ิตามกระบวนการกากับดูแลกิจการที่ดีได้รายงาน ความเห็นไว้ตามที่ปรากฏในรายงานประจาปี 2556 (56-2) 9.5 ความสั มพันธ์ กบั ผู้ลงทุน บริ ษทั ตระหนักดีวา่ ข้อมูลและสารสนเทศต่างๆของบริ ษทั เป็ นข้อมูลที่สาคัญต่อการตัดสิ นใจของกลุ่ม ผูล้ งทุน นักวิเคราะห์และกลุ่มผูถ้ ือหุ น้ จึงให้ความสาคัญต่อการเปิ ดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่ งใส และ ทันเวลา ตามเกณฑ์ที่ สานักงาน ก.ล.ต. และ ตลท. ก าหนด นอกจากนี้ ยงั ได้จดั ให้มีก ารเผยแพร่ ข ้อมู ล ทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อาทิ ข้อมูลบริ ษทั งบการเงิน การนาเสนอผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ข้อมูล ทางการเงิ นที่สาคัญ รายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ ายบริ หาร (MD&A) บทวิเคราะห์ หลักทรั พย์ รวมทั้ง รายงานสารสนเทศที่บริ ษทั แจ้งต่อ ตลท. ผ่านช่องทางของ ตลท. (www.set.or.th) และทางเว็บไซต์ของบริ ษทั (www.eastwater.com) โดยปรับปรุ งข้อมูลให้เป็ นปั จจุบนั อย่างสม่าเสมอ ทั้งนี้ สามารถติดต่อหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ทางโทรศัพท์หมายเลข 02-272-1600 ต่อ 2489 และ 2449 โทรสารหมายเลข 02-272-1601 หรื อที่ ir@eastwater.com ซึ่ งได้จดั ตั้งขึ้นเพื่อเป็ นศูนย์กลางและเป็ น ตัวแทนในการติ ดต่อสื่ อสาร ให้บริ การข้อมูลข่ าวสารและจัดกิ จกรรมต่างๆของบริ ษทั แก่ ผูล้ งทุ น ผูถ้ ื อหุ ้น นักวิเคราะห์ และประชาชนทัว่ ไป เพื่อนาเสนอผลงานและแจ้งสารสนเทศของบริ ษทั ในรู ปแบบต่างๆ โดยในปี 2556 สรุ ปกิจกรรมดังแสดงในตารางที่ 9.5 ตารางที่ 9.5 กิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ ประเภทกิจกรรม การประชุมทางไกลทางโทรศัพท์ (Conference Call) การจัดกิจกรรมพบผูล้ งทุนรายย่อยกับตลาดหลักทรัพย์ฯ (Opportunity Day) การเข้าพบผูบ้ ริ หารเพื่อสอบถามถึงแนวทางการบริ หารจัดการและความคืบหน้าของ โครงการต่างๆ (Company Visit) การจัดกิจกรรมเยีย่ มชมกิจการของบริ ษทั (Site Visit) หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

กิจกรรมในปี 2556 (จานวนครั้ง) 3 1 16 2

นอกจากนี้ ยงั มีบริ การจัดส่ งข่าวสารของบริ ษทั ทางอีเมล์ (E-Newsletter) โดยผูส้ นใจสามารถแจ้งได้ ทางเว็บไซต์ของบริ ษทั ทั้งนี้หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ได้จดั ให้มีการรวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่างๆของนักลงทุน นักวิเคราะห์และผูถ้ ือหุ น้ เสนอต่อคณะผูบ้ ริ หารของบริ ษทั เพื่อปรับปรุ งการดาเนินงานให้ เหมาะสมในการดาเนินนโยบายของบริ ษทั ต่อไป

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 107


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

9.6 การดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายใน บริ ษทั ได้กาหนดนโยบายเกี่ยวกับการใช้ขอ้ มูลภายใน โดยระบุไว้ในหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีของ กลุ่มบริ ษทั เพื่อใช้เป็ นหลักปฏิบตั ิสาหรับกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน ดังนี้ (1) นโยบายเกี่ยวกับการซื้ อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั ผูบ้ ริ หารและพนักงานประจาของบริ ษทั รวมทั้งคู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุ นิติภาวะของ บุคคลดังกล่ าว งดการซื้ อ ขาย หรื อโอนหุ ้นบริ ษทั ในช่ วงระยะเวลา 1 เดื อนก่ อนการเปิ ดเผยข้อมูล งบการเงิ นต่อตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย และในช่ วงระยะเวลา 3 วันหลังการเปิ ดเผยข้อมูล งบการเงินต่อตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย เพื่อให้ผถู้ ือหุ ้นและผูล้ งทุนได้มีระยะเวลาที่เพียงพอ ในการเข้าถึงและทาความเข้าใจในสาระสาคัญของข้อมูลข่าวสารของบริ ษทั หรื องบการเงินที่เปิ ดเผย ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเสร็ จสิ้ นแล้ว (2) นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลทางธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั 1. กรรมการ ฝ่ ายบริ หาร พนักงาน ผูป้ ฏิบตั ิงานสมทบ พนักงานของผูร้ ับจ้างของบริ ษทั และ บริ ษทั ในเครื อในบางครั้งจะต้องทางานกับข้อมูลและเอกสารที่ไม่สามารถเปิ ดเผยต่อบุคคลภายนอก ได้ และ / หรื อเป็ นความลับ ทางการค้า เช่ น ข้อมู ลในสั ญญา แบบแปลน แผนที่ ตัวเลข สู ตร การ ประดิษฐ์คิดค้นต่างๆ เป็ นต้น ซึ่ งถือเป็ นสิ ทธิ ของกลุ่มบริ ษทั การปกป้ องข้อมูลประเภทนี้มีความสาคัญ อย่างยิง่ ต่อความสาเร็ จของกลุ่มบริ ษทั ในอนาคต รวมทั้งมีความสาคัญต่อความมัน่ คงในอาชี พการงาน ของทุกคนด้วย ผูท้ ี่ได้ดารงตาแหน่งกรรมการ ฝ่ ายบริ หาร พนักงาน ผูป้ ฏิบตั ิงานสมทบ พนักงานผูร้ ับจ้างของ กลุ่มบริ ษทั หรื อบริ ษทั ในเครื อ มีหน้าที่ตอ้ งยอมรับพันธะผูกพันตามกฎหมายและจรรยาบรรณที่ตอ้ ง ไม่เปิ ดเผยข้อมูลและเอกสารที่เป็ นความลับหรื อความลับทางการค้านั้นๆ 2. ชั้นความลับของข้อมูล ข้อมูลลับทางการค้าซึ่ งเป็ นข้อมูลภายในกลุ่ มบริ ษทั ต้องได้รับการดู แลปกปิ ดมิ ให้รั่วไหล ออกไปภายนอกได้ ความลับของข้อมูลเหล่านั้นอาจแบ่งออกได้เป็ นหลายชั้นตามความสาคัญจากน้อย ไปหามาก เช่น กาหนดข้อมูลให้เป็ น ข้อมูลที่เปิ ดเผย ข้อมูลปกปิ ด ข้อมูลลับ เป็ นต้น การใช้ขอ้ มูลภายในร่ วมกันต้องอยู่ในกรอบที่ถือเป็ นหน้าที่และความรับผิดชอบที่ตนได้รับ มอบหมายเท่านั้น 3. การให้ขอ้ มูลข่าวสารแก่บุคคลภายนอก ทุกข้อมูลที่ออกไปสู่ สาธารณชนต้องได้รับความเห็นชอบจากกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ว่า จะเป็ นผูต้ อบเอง หรื อมอบหมายให้ผูห้ นึ่ งผูใ้ ดเป็ นผูใ้ ห้หรื อผูต้ อบ ข้อมูลเกี่ ยวกับ ผูร้ ่ วมทุ นอื่ นๆ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากผูร้ ่ วมทุนด้วย

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 108


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

หน่ วยงานกลางที่ เป็ นผูใ้ ห้ขอ้ มูล แก่ ส าธารณชน ได้แก่ แผนกประชาสัมพันธ์ ฝ่ ายสื่ อสาร องค์กร และงานนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) ทั้งนี้ พนักงานประชาสัมพันธ์มีหน้าที่แจ้ง ข่าวสารแก่พนักงานด้วย ฝ่ ายที่เป็ นเจ้าของข้อมูล (Activity Owner) มีหน้าที่เป็ นผูใ้ ห้รายละเอียดและประสานข้อมูลกับ ผูบ้ งั คับบัญชาตามสายงาน โดยต้องได้รับการอนุมตั ิจากกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ก่อนมีการเผยแพร่ 9.7 การกากับดูแลการดาเนินงานของบริษัทในเครือ บริ ษทั กาหนดนโยบายการบริ หารงานในบริ ษทั ในเครื อ เพื่อบริ หารจัดการและกาหนดแนวทางการดาเนิ น ธุ รกิ จเพื่อให้การบริ หารงานเป็ นไปอย่างมีศกั ยภาพ มีประสิ ทธิ ภาพและมีความเสี่ ยงอยู่ในระดับที่เหมาะสม เพื่อให้บริ ษทั ได้รับผลตอบแทนที่คุม้ ค่าต่อการลงทุน บริ ษทั จึงมีนโยบายที่จะเสริ มสร้ างให้กิจการของบริ ษทั ในเครื อมีความแข็งแกร่ งและมีศกั ยภาพที่จะเติบโตอย่างยัง่ ยืนในอนาคต โดยแบ่งการกากับดูแลการดาเนิ นงาน ของบริ ษทั ในเครื อในด้านต่างๆ ดังนี้ 1.นโยบายการลงทุน 1. ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความรับผิดชอบ โดยถือประโยชน์ของบริ ษทั และผูถ้ ือหุ ้นโดยคานึงถึงการลงทุนที่ ให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมและยุติธรรม รวมทั้งรักษาสถานภาพทางการเงิ นให้มีสภาวะมัน่ คงเพื่อ ประโยชน์ต่อความคงอยูแ่ ละความเจริ ญเติบโตเป็ นสาคัญ 2. เมื่ อคณะกรรมการบริ ษทั ในเครื อได้พิจารณาอนุ มตั ิ การดาเนิ นธุ รกิ จแล้ว บริ ษทั ในเครื อต้องแจ้งยัง คณะกรรมการบริ ษทั เพื่อทราบทุกครั้ง 3. หากการทาธุ รกิ จมีลกั ษณะที่เข้าข่ายรายการที่เกี่ ยวโยงกันเพื่อให้เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการ กากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ บริ ษทั ในเครื อต้องให้คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาอนุ มตั ิการ ทารายการก่อน ทั้งนี้ การลงทุนหลักที่สาคัญ จาเป็ นต้องได้รับการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั ใน เครื อ โดยมีผูแ้ ทนของบริ ษทั ร่ วมเป็ นคณะกรรมการพิจารณาโครงการดังกล่ าว ก่อนจะนาเสนอยัง คณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาต่อไป 4. บริ ษ ัท ในเครื อต้อ งรายงานผลการประกอบการและการดาเนิ น งานของธุ ร กิ จ ที่ ส าคัญ พร้ อ มทั้ง วิเคราะห์ ความอ่อนไหวทางธุ รกิ จและการประเมินผล โดยเปรี ยบเที ยบกับเป้ าหมาย รวมถึ งแสดง ความคิ ดเห็ น หรื อข้อเสนอแนะแนวทางการบริ หารกิ จการของแต่ ล ะบริ ษ ทั ในเครื อ เพื่ อใช้ ประกอบการพิจารณากาหนดนโยบาย หรื อปรับปรุ งส่ งเสริ มให้ธุรกิจของบริ ษทั ในเครื อมีการพัฒนา และเจริ ญเติบโตอย่างต่อเนื่อง 2. นโยบายการบริหารงานส่ วนกลาง 1. บริ ษทั จะดาเนิ นการแต่งตั้งผูบ้ ริ หารระดับสู งของบริ ษทั เพื่อร่ วมบริ หารจัดการบริ ษทั ในเครื อ ทั้ง ในระดับนโยบายและระดับปฏิบตั ิการเพื่อให้กลุ่มบริ ษทั มีการบริ หารธุ รกิจที่เป็ นไปในทิศทางที่ __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 109


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

สอดคล้องกับการดาเนินธุ รกิจหลัก ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดในภาพรวมและให้มีความเชื่ อมโยง ในด้านนโยบาย และกลยุทธ์รวมทั้งสร้างผลกาไรให้กบั บริ ษทั ในเครื อในอนาคต 2. การควบคุมภายใน โดยบริ ษทั ในเครื อให้ความสาคัญกับการบริ หารความเสี่ ยงและการแก้ไขปั ญหา ที่ เกิ ดขึ้ นจากการตรวจประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพประสิ ท ธิ ผ ลของระบบควบคุ ม ภายในของฝ่ าย ตรวจสอบให้ทนั ท่วงที และหมัน่ ทบทวนระบบการทางานเพื่อควบคุมความเสี่ ยงให้อยูใ่ นระดับที่ ยอมรั บ ได้ นอกจากนั้นการก าหนดระเบี ย บพนัก งานและการจัดหาพัส ดุ ต้องดาเนิ นการให้มี ประสิ ทธิ ภาพ รวดเร็ ว คล่องตัวและมีมาตรฐานเดี ยวกันในการปฏิ บตั ิงานตามระเบียบพนักงาน และระเบี ย บการจัด หาพัส ดุ ข องบริ ษ ทั โดยพิ จารณาวงเงิ น การบริ ห ารงานบุ คคลและสวัส ดิ สงเคราะห์พนักงานให้เป็ นไปตามนโยบายของบริ ษทั ที่กาหนดไว้ในคู่มือพนักงานและการจัดหา พัสดุ โดยให้สอดคล้องและเป็ นอัตราส่ วนกับผลการดาเนินงานของบริ ษทั ในเครื อ 3. นโยบายทางการเงินและบัญชีต่อบริษัทในเครือ 1. ด้ านการจัดการและบริหารการเงิน 1.1 การจัดหาแหล่งเงินกู้ บริ ษทั ในเครื อต้องแจ้งข้อมูลความต้องการเงินกู้ โดยแสดงที่มาของความ ต้องการในรู ปโครงการเงินลงทุนให้ฝ่ายการเงินและบัญชีของบริ ษทั ทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 6 เดื อน ก่อนการเริ่ มดาเนิ นการโครงการลงทุนนั้นๆ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาทางเลื อก แหล่งเงินกูท้ ี่มีขอ้ เสนอที่เหมาะสม 1.2 การประกาศจ่ายปั นผลไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 30 ของกาไรสุ ทธิ ในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี เว้น แต่มีเหตุผลอันสมควรที่จะต้องนาเงินสดจากส่ วนของเงินปั นผลไปใช้แทน 1.3 การดารงอัตราส่ วนทางการเงินที่สาคัญตามเงื่อนไขสัญญากูย้ มื เงินจะต้องดาเนิ นการอย่าง เคร่ งครัด และแจ้งข้อมูลให้ฝ่ายการเงินและบัญชีของบริ ษทั ทราบเป็ นรายเดือน 2. ด้ านการงบประมาณ 2.1 การทางบประมาณลงทุน และดาเนินการต้องเป็ นไปตามระเบียบงบประมาณของแต่ละบริ ษทั ที่สอดคล้องกับระเบียบงบประมาณของบริ ษทั 2.2 การจัดท าและทบทวนงบประมาณต้องด าเนิ น การตามกรอบเวลา และจัด ส่ ง ข้อ มู ล ให้ สอดคล้องกับการดาเนินการของบริ ษทั 2.3 จัดให้มีการติดตาม และประเมินผลการใช้งบประมาณ ทั้งด้านลงทุน และดาเนิ นการอย่าง เหมาะสม 3. ด้ านการบัญชี 3.1 การจัดทาบัญชีตอ้ งเป็ นไปตามนโยบายการบัญชีซ่ ึงเป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชีของประเทศ ไทย และภายใต้กฎเกณฑ์การเป็ นบริ ษทั ในเครื อของบริ ษทั ซึ่งเป็ นบริ ษทั จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3.2 การส่ งงบการเงินให้บริ ษทั ทางบการเงินรวมต้องผ่านการสอบทานโดยผูส้ อบบัญชีของกลุ่ม __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 110


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

บริ ษทั ที่รับการแต่งตั้งตามที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริ ษทั และผ่านการอนุ มตั ิ โดยมติที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี แล้ว 3.3 การส่ งงบการเงินให้บริ ษทั ทางบการเงินรวมต้องดาเนิ นการตามระยะเวลาที่ฝ่ายการเงิ นและ บัญชีของบริ ษทั แจ้งให้บริ ษทั ในเครื อทราบในแต่ละไตรมาส 3.4 การจัดทาบัญชี ของบริ ษทั ในเครื อต้องใช้ผงั บัญชี ในระบบบัญชี แยกประเภทและ Software บัญชีระบบเดียวกับของบริ ษทั 4. ด้ านการภาษีอากร 4.1 การจัดทาและนาส่ งภาษีให้กรมสรรพากรต้องเป็ นไปตามประมวลรัษฎากรของประเทศไทย 4.2 ในกรณี ที่ มี ป ระเด็นความเสี่ ย งทางภาษี ที่มี ส าระส าคัญให้บริ ษทั ในเครื อแจ้งข้อมูลให้ฝ่าย การเงิ นและบัญชี ของบริ ษทั ทราบโดยทันที ในกรณี เร่ งด่ วน และมีการสรุ ปรายงานความ คืบหน้าของการดาเนินการที่เกี่ยวข้องเป็ นประจารายไตรมาส 9.8 ค่ าตอบแทนผู้สอบบัญชี สาหรับ ปี 2556 บริ ษทั จ่ายค่าตอบแทนให้แก่บริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์ เฮาส์คูเปอร์ ส์ เอบีเอเอส จากัด เป็ น ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี และค่าใช้จ่ายอื่น (ค่าเดินทาง) สาหรับบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย จานวนรวมทั้งสิ้ น 2,433,440 บาท มีรายละเอียด ดังนี้ ค่ าสอบบัญชี รายการสอบบัญชี ค่าสอบบัญชี(บาท) 1) บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 890,000 2) บจ. ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ 655,000 3) บจ. ประปาฉะเชิงเทรา 230,000 4) บจ. ประปาบางปะกง 230,000 5) บจ. ประปานครสวรรค์ 180,000 6) บจ. เสม็ดยูทิลิต้ ีส์ 100,000 7) บจ. อีดบั เบิ้ลยู ยูทีลิต้ ีส์ 33,000 8) บจ. อีดบั เบิล้ ยู วอเตอร์ บาลานซ์ (ชลบุรี) 33,000 9) บจ. อีดบั เบิ้ลยู สมาร์ ทวอเตอร์ (ระยอง) 33,000 รวมค่ าสอบบัญชี 2,384,000 หมายเหตุ : ค่าใช้จ่ายอื่นๆ (ค่าเดินทาง) 49,440 ค่ าบริการอืน่ ๆ

- ไม่มี -

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 111


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

10. ความรับผิดชอบต่ อสั งคม 10.1 ความรับผิดชอบต่ อสั งคมของบริษัท บริ ษทั ได้จดั ทาข้อมูลความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร โดยการจัดทารายงานการพัฒนาที่ยงั่ ยืน ประจาปี 2556 ตามกรอบการรายงานในระดับสากลของ The Global Reporting Initiative (GRI) ท่านสามารถ ดาวน์โหลดได้จากเวบไซด์ของบริ ษทั (http://eastw-th.listedcompany.com/ar.html) 10.2 การป้องกันการมีส่วนเกีย่ วข้ องกับการคอร์ รัปชั่น บริ ษทั แสดงเจตนารมณ์ เป็ นแนวร่ วมปฏิ บตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริ ต(Collective Anti-Corruption : CAC) ซึ่ งเป็ นโครงการที่ได้รับการสนับสนุ นจากรัฐบาลและสานักงานคณะกรรมการ ป้ องกันและปราบปรามการทุ จริ ตแห่ งชาติ (ป.ป.ช.) และมีนโยบายและแนวปฏิ บตั ิ เกี่ ยวกับการต่อต้านการ ทุจริ ต และห้ามจ่ายสิ นบนเพื่อประโยชน์ทางธุ รกิจ ปรากฏอยูใ่ นหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั โดยมี รายละเอียดดังนี้ 1. การรับเงิน ของขวัญ สันทนาการ การเดินทาง หรื อประโยชน์ตอบแทนอื่นอันอาจคานวณเป็ นเงิน ได้ซ่ ึ งเป็ นการให้เปล่า หรื อเป็ นการให้โดยมีส่วนลดมากกว่าที่ให้กนั ตามปกติทางการค้าเป็ นสิ่ งที่ไม่พึงกระทา ผูบ้ ริ หารและพนักงานจะต้องไม่ใช้ตาแหน่ งเพื่อหาผลประโยชน์ส่วนตน ในกรณี ที่มีผเู ้ สนอให้สิ่ง ดังกล่าวจะต้องไม่รับสิ่ งนั้นในจานวนที่เกินความเหมาะสม การกระทาที่ไม่พึงกระทาตามวรรคที่ 1 และ 2 ให้หมายถึงการกระทาที่เป็ นการรับผลประโยชน์จาก ผูป้ ระกอบธุ รกิจกับบริ ษทั หรื อบริ ษทั ในเครื อ หรื อผูท้ ี่กาลังติดต่อเพื่อดาเนินธุ รกิจกับบริ ษทั หรื อบริ ษทั ในเครื อ 2. หลีกเลี่ยงการให้ของขวัญหรื อของที่ระลึกต่อบุคคลใด หรื อหน่วยงานใดที่อาจทาให้เกิดอิทธิ พลต่อ การตัดสิ นใจอย่างใดอย่างหนึ่งในการปฏิบตั ิหน้าที่ ทั้งนี้ หากจาเป็ นต้องให้ของขวัญ ของที่ระลึกที่มี ค่าเกินกว่าปกติวสิ ัยแก่ผเู ้ กี่ยวข้องทางธุ รกิจต้องได้รับอนุมตั ิจากผูบ้ งั คับบัญชา 3. กรณี ใ ห้ ค วามช่ ว ยเหลื อ หรื อ ให้ สิ่ ง ของอื่ น ใดแก่ ห น่ ว ยงานภายนอก ต้อ งได้รั บ อนุ ญ าตจาก ผูบ้ งั คับบัญชา 4. จัดให้มีการอบรมพนักงานในเรื่ องธรรมาภิบาลและรับฟังความเห็น ข้อเสนอแนะของพนักงาน 5. การปฏิบตั ิต่อผูค้ า้ ผูข้ าย ผูร้ ับเหมา 5.1 วางตัวกับผูค้ า้ ผูข้ าย ผูร้ ับเหมาให้อยูใ่ นระดับที่เหมาะสมเชิ งธุ รกิจเท่านั้น ระมัดระวังอย่าให้ มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดเป็ นพิเศษกับผูค้ า้ ผูข้ าย ผูร้ ับเหมารายใดรายหนึ่ งมากกว่ารายอื่นๆ จนอาจทาให้การ ตัดสิ นใจเลือกจัดหาการจัดประมูล การเจราจาต่อรองไม่เป็ นไปโดยยุติธรรมและเสมอภาคเท่าเทียมกันต่อทุก ฝ่ ายได้ 5.2 หลี กเลี่ยงการรับของกานัล สิ นน้ าใจ การรับเชิ ญไปในงานเลี้ ยงประเภทสังสรรค์ หรื องาน เลี้ยงรับรองจากผูค้ า้ ผูข้ าย ผูร้ ับเหมาที่จดั ขึ้นให้เป็ นการส่ วนตัว เพื่อหลีกเลี่ยงข้อครหาต่างๆ ที่อาจจะมีข้ ึนและ ป้ องกันไม่ให้เกิดความโน้มเอียงที่จะช่วยเหลือตอบแทนฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่งเป็ นพิเศษในโอกาสหลัง

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 112


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

5.3 ไม่กระทาการอันใดที่เป็ นไปเพื่อเรี ยกร้องผลประโยชน์ตอบแทนเป็ นการส่ วนตัวหรื อกลุ่ม จากผูค้ า้ ผูข้ าย ผูร้ ับเหมา ไม่วา่ ในโอกาสหรื อสถานการณ์ใดๆ ทั้งสิ้ น ห้ามรับเงินหรื อสิ นบนไม่วา่ ในรู ปแบบ ใดทั้งสิ้ น

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 113


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

11. การควบคุมภายในและการบริ หารจัดการความเสี่ ยง การประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในประจาปี 2556 ในการประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2557 คณะกรรมการได้ ประเมินระบบการควบคุมภายในจากรายงานผลการประเมินของคณะกรรมการตรวจสอบแล้วสรุ ปได้ว่าจาก การประเมินระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ในด้านต่างๆ 5 องค์ประกอบคือ การควบคุมภายในองค์กร การประเมินความเสี่ ยง การควบคุมการปฏิบตั ิงาน ระบบสารสนเทศและการสื่ อสารข้อมู ล และระบบการ ติดตาม โดยมีรายละเอียดดังนี้ การควบคุมภายในองค์ กร (Control Environment) คณะกรรมการบริ ษทั มีบทบาทสาคัญในการกาหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย และแผนกลยุทธ์ของบริ ษทั โดยการพิจารณาแผนธุ รกิ จระยะยาว รวมทั้งการให้ความคิ ดเห็ น และอนุ มตั ิ แผนปฏิ บตั ิการประจาปี ซึ่ ง ประกอบด้วย โครงการตามแผนกลยุทธ์ที่กาหนดไว้สอดคล้องกันกับแผนระยะยาว เพื่อนาไปสู่ การปฏิบตั ิโดย มี การกาหนดเป้ าหมาย วัตถุ ประสงค์ งบประมาณ ปั จจัยความเสี่ ยง กิ จกรรมหลักที่ จะดาเนิ นการในแต่ล ะ ช่ วงเวลา ผลตอบแทนที่ คาดว่าจะได้รับที่ ส ามารถวัดได้อย่า งเป็ นรู ปธรรมเพื่อให้บรรลุ เป้ าหมายโดยรวม นอกจากนั้นยัง ประยุกต์ใช้ดัชนี วดั ผลการดาเนิ นงานในการวัดผลการปฏิ บ ตั ิ งานทัว่ ทั้งองค์ก ร เพื่อให้การ ติ ดตาม และประเมิ น ผลการปฏิ บ ตั ิ ง านเป็ นไปอย่า งเที่ ย งธรรม มี ป ระสิ ท ธิ ภาพ เป็ นระบบสอดคล้องกับ เป้ าหมาย และวัตถุประสงค์ขององค์กร นโยบายการบริ หารจัดการภายใน บริ ษทั มีโครงสร้ างองค์กรที่แบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบทั้งใน สายงานปฏิ บตั ิงานหลักและสายงานสนับสนุ น รวมทั้งมุ่งเน้นให้มีกลไกการถ่วงดุ ลอานาจระหว่าง ผูถ้ ื อหุ ้น คณะกรรมการบริ ษทั และฝ่ ายบริ หาร ตลอดจนจัดให้มีการสื่ อสารกับผูล้ งทุนเพื่อเผยแพร่ และสื่ อสารข้อมูล ต่างๆ ของบริ ษทั ให้สาธารณชนได้ทราบอย่างสม่ าเสมอ และแต่งตั้งคณะกรรมการชุ ดต่างๆ เพื่อช่ วยในการ พิจารณากลัน่ กรอง และให้คาวินิจฉัยในเรื่ องสาคัญที่เกี่ยวข้องเพื่อรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ ือหุ ้น นอกจากนี้ บริ ษทั ได้ประกาศใช้หลักการกากับดูแลกิ จการที่ดี จรรยาบรรณคณะกรรมการบริ ษทั และจรรยาบรรณทาง ธุ รกิจของพนักงาน เพื่อให้บุคลากรทุกระดับของบริ ษทั ได้ยดึ ถือปฏิบตั ิ โดยมุ่งเน้นหลักการกากับดูแลกิจการที่ ดี ทั้งนี้พนักงานที่ฝ่าฝื น ตลอดจนละเมิดจรรยาบรรณจะถูกสอบสวน และลงโทษตามระเบียบที่กาหนด นอกจากนี้ บริ ษทั ได้คานึ งถึ งความสาคัญของพนักงาน จึงได้จดั ให้มีการพัฒนาพนักงานรายบุคคล (Individual Development Plan :IDP) รวมทั้งมีนโยบายการบริ หารสายอาชี พ และแผนทดแทนตาแหน่งงาน เพื่อเตรี ยมความพร้อมการทดแทนพนักงานโดยเฉพาะระดับบริ หาร และในกลุ่มหลักธุ รกิจ __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 114


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

การประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment) บริ ษทั ใช้แนวคิดของการบริ หารความเสี่ ยงทัว่ ทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management) โดยการ ประเมินความเสี่ ยงในกระบวนการต่างๆ และวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ ยง มาตรการควบคุมที่มีในปั จจุบนั รวมถึงการ กาหนดมาตรการควบคุ มเพิ่มเติม บริ ษทั มีหน่ วยงานบริ หารจัดการความเสี่ ยงเพื่อจัดทาแผนบริ หารความเสี่ ยง ติดตามผลการจัดการเพื่อลดระดับความเสี่ ยงให้อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ และทบทวนปั จจัยความเสี่ ยงเพื่อเสนอ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงพิจารณาก่อนนาเสนอคณะกรรมการบริ ษทั ทุกไตรมาส เพื่อพิจารณา และให้ คาวินิจฉัยอันจะส่ งผลให้กระบวนการบริ หารความเสี่ ยงของบริ ษทั มีความต่อเนื่ อง ทั้งนี้ ได้สื่อสารนโยบายและ แนวปฏิบตั ิในการบริ หารความเสี่ ยงให้พนักงานทุกคนรับทราบ และถือปฏิ บตั ิเพื่อให้เกิดเป็ นส่ วนหนึ่ งของ วัฒนธรรมขององค์กรว่า ทุกคนมีหน้าที่ และต้องมีส่วนร่ วมดูแลองค์กรร่ วมกันผ่านกระบวนการบริ หารความ เสี่ ย งที่ เข้า ใจตรงกัน นอกจากนั้นแล้วบริ ษทั ได้มี การจัดท าแผนบริ หารความต่ อเนื่ องทางธุ รกิ จ (Business Continuities Plan : BCP) เพื่อพร้อมรองรับเหตุการณ์หรื อสถานการณ์ที่เป็ นภัยคุกคามต่างๆ และทบทวนแผน ดังกล่าวให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบนั เป็ นระยะอย่างสม่าเสมอ การควบคุมการปฏิบัติงาน (Control Activities) บริ ษทั กาหนดขอบเขตอานาจหน้าที่ และวงเงินอานาจอนุ มตั ิของฝ่ ายบริ หารให้สอดคล้องกับหลักการ ควบคุมภายในที่ดีเรื่ องการแบ่งแยกหน้าที่งาน และการสอบทานงานระหว่างกัน โดยแยกงานในหน้าที่อนุ มตั ิ การบันทึ กรายการบัญชี ข้อมูลสารสนเทศ และหน้าที่ ในการดู แลจัดเก็บทรั พย์สินออกจากกัน นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้รับการรับรองระบบมาตรฐานคุณภาพ ISO9001:2008 และ ISO 14001:2004 ซึ่ งกาหนดให้บริ ษทั ต้องจัดท าคู่มื อและขั้นตอนการปฏิ บ ตั ิ เพื่อเป็ นมาตรฐานอ้างอิ งในการปฏิ บตั ิงาน รวมถึ งการจัดฝึ กอบรม พนักงานให้เข้าใจ และสามารถปฏิ บตั ิ งานได้อย่างถู กต้อง สอดคล้องตามขั้นตอน และวิธีการปฏิ บตั ิ งานที่ บริ ษทั กาหนดไว้ หากมีรายการระหว่างกันของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย รวมถึ งผูม้ ีส่วนได้เสี ยต่างๆ จะผ่านขั้นตอนการ พิ จารณาอนุ ม ตั ิ อย่า งถู ก ต้อ งชัด เจนหากมี รายการระหว่า งกันที่ มี นัย ส าคัญ ฝ่ ายตรวจสอบ คณะกรรมการ ตรวจสอบ ฝ่ ายจัดการ และผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตจะดาเนิ นการพิจารณาอย่างรอบคอบ และดาเนิ นการตาม ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ตลอดจนเปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และรายงานให้สานักงาน ก.ล.ต. ทราบ อีกทั้งในการประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั กาหนดให้กรรมการที่มีส่วนได้เสี ยในระเบียบวาระใด ต้องงดออกเสี ยงหรื ออกจากที่ประชุมแล้วแต่กรณี ในระเบียบวาระดังกล่าว

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 115


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

บริ ษ ทั มี ก ารติ ด ตามดู แลการด าเนิ น งานของบริ ษ ัท ย่อยอย่า งต่ อ เนื่ องและสม่ า เสมอ โดยรายงาน ความก้าวหน้าผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ย่อยแต่ละแห่ งต่อคณะกรรมการบริ ษทั ทราบ และมอบหมายให้มี หน่วยงานเฉพาะในการติดตามผลการดาเนินงานตามมติที่คณะกรรมการบริ ษทั ได้ให้คาแนะนาไว้ รวมทั้งการ ประสานนโยบายให้ ทุ ก บริ ษัท มี ทิ ศ ทางการด าเนิ น งานที่ ส อดคล้อ งเป็ นทิ ศ ทางเดี ย วกับ นโยบายของ คณะกรรมการบริ ษทั นอกจากนั้นบริ ษทั มอบหมายให้เลขานุการบริ ษทั ดูแลงานด้านกฎหมาย รวมถึงงานด้าน Compliance เพื่อกากับดูแลให้การดาเนินงานของบริ ษทั สอดคล้องกับกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ระบบสารสนเทศและการสื่ อสารข้ อมูล (Information & Communication) บริ ษทั ได้จดั ให้มีขอ้ มูลที่สาคัญอย่างเพียงพอ และนาส่ งล่ วงหน้าผ่านอุปกรณ์ สื่อสารหลายรู ปแบบ เพื่อให้คณะกรรมการบริ ษทั ใช้ประกอบการตัดสิ นใจ ระเบียบวาระในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั และ คณะกรรมการบริ ษทั ชุดย่อย จะมีขอ้ มูลต่างๆ ประกอบด้วยสรุ ปความเป็ นมา เหตุผลและความจาเป็ น มติของที่ ประชุ มในช่ วงที่ผ่านมา ข้อกาหนดทางกฎหมายที่ เกี่ ยวข้อง (ถ้ามี) ความคื บหน้าในการดาเนิ นการของฝ่ าย บริ ห ารตามความเห็ น ของคณะกรรมการชุ ด ต่ า งๆ รวมทั้ง น าเสนอข้อ เสนอแนะเพื่ อ การพิ จ ารณาซึ่ ง ประกอบด้วยแนวทางเลือกเพื่อการพิจารณาไว้ทุกครั้ง คณะกรรมการบริ ษ ทั แต่ง ตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบท าหน้าที่ สอบทานรายงานทางการเงิ นของ บริ ษทั เพื่อให้แน่ ใจว่าเป็ นไปตามหลักการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไปมีความน่ าเชื่ อถื อ ตลอดจนเปิ ดเผยข้อมูลทาง การเงินให้ตรงกับข้อเท็จจริ งอย่างเพียงพอ บริ ษทั จัดให้มีช่องทางการสื่ อสารพิเศษเพื่อให้พนักงานและหน่ วยงานภายนอกสามารถแจ้งข้อมูล หรื อการร้องเรี ยนแก่บริ ษทั โดยผ่านทาง จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : คณะกรรมการตรวจสอบ AC_EW@eastwater.com : กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ CEO@eastwater.com จดหมายธรรมดา : คณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 25 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพฯ 10900 เว็บไซต์บริ ษทั : www.eastwater.com นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้มีการประยุกต์ใช้และพัฒนาระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูลภายใน อย่างต่อเนื่ อง เพื่ อให้บุคลากรทุ กระดับ ในองค์ก รสามารถเข้า ถึ งข้อมูล และสารสนเทศที่ เกี่ ยวข้องกับการ ปฏิบตั ิงานตามระดับที่เหมาะสม โดยการกาหนดสิ ทธิ การเข้าถึงข้อมูลที่ชดั เจน การกาหนดเขตหวงห้าม การ กาหนดชั้นความลับของเอกสาร รวมทั้งได้สื่อสารให้บุคลากรของบริ ษทั ได้เข้าใจถึงการปฏิบตั ิตามกฎหมายที่ เกี่ ยวข้องกับสารสนเทศ ได้แก่ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารฯ พ.ร.บ. อิเล็กทรอนิ กส์ ฯ เพื่อไม่ให้เกิ ดการฝ่ าฝื น __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 116


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

กฎหมาย ผ่านช่องทางการสื่ อสารต่างๆ เช่น ประกาศคาสั่งของบริ ษทั การส่ งจดหมายอิเล็กทรอนิ คส์ เป็ นต้น เพื่อเน้นย้าให้พนักงานในบริ ษทั เห็นความสาคัญของการควบคุมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่าเสมอ ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) บริ ษ ทั มี การติ ดตามการปฏิ บ ตั ิ ตามเป้ าหมายที่ ระบุ ไ ว้ใ นแผนธุ รกิ จระยะยาว และแผนปฏิ บตั ิ ก าร ประจาปี อย่างต่อเนื่อง โดยมีการรายงานความคืบหน้าผลการปฏิบตั ิงาน และดัชนีวดั ผลการปฏิบตั ิงานประจาปี (KPIs) ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประจาอย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง เพื่อพิจารณากาหนดแนวทางการ ปรับปรุ งแก้ไขความล่าช้า หรื อข้อบกพร่ องต่างๆ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นย้ าให้ มีการแก้ไขอย่างทันท่วงที บริ ษทั ให้ความสาคัญต่อการตรวจสอบภายในเพื่อเพิ่มคุณค่าต่อองค์กรโดยการใช้ขอ้ มูลประเมินความ เสี่ ยงภายในองค์กร ประกอบการวางแผนการตรวจสอบ (Risk Based Audit) และมอบหมายให้ฝ่ายตรวจสอบ ร่ วมกับที่ปรึ กษาการตรวจสอบภายในสอบทานประสิ ทธิภาพประสิ ทธิผลของระบบการควบคุมภายในของทุก กระบวนการทางานและรายงานผูบ้ ริ หารและคณะกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส เพื่อให้คณะกรรมการ บริ ษทั รวมถึงฝ่ ายบริ หารสามารถเชื่อมัน่ ในประสิ ทธิ ภาพประสิ ทธิ ผลของระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั รวมถึ ง ความถู ก ต้อ งน่ า เชื่ อ ถื อ ได้ข องข้อ มู ล สารสนเทศต่ า งๆ ทั้ง สารสนเทศทางการเงิ น การบัญ ชี และ สารสนเทศที่ใช้ในการดาเนิ นงาน ทั้งนี้ ฝ่ายตรวจสอบได้ติดตามผลการปรับปรุ งแก้ไขตามประเด็นที่ตรวจพบ และข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบ และนาเสนอคณะกรรมการตรวจสอบอย่างต่อเนื่ อง นอกจากนี้ ยังมีกระบวนการติดตามผลการดาเนิ นงานผ่านระบบการตรวจติดตามระบบคุณภาพ และสิ่ งแวดล้อมภายใน บริ ษทั ตามมาตรฐานสากล ISO 9001:2008 และISO 14001 : 2004 อย่างต่อเนื่อง จากการพิ จ ารณาสาระส าคั ญ ของการประเมิ น ความเพี ย งพอของระบบควบคุ ม ภายในข้า งต้น คณะกรรมการบริ ษทั มีความเห็นสอดคล้องกับคณะกรรมการตรวจสอบและผูส้ อบบัญชี วา่ ระบบการควบคุ ม ภายในของบริ ษทั มีความเพียงพอและเหมาะสมกับการดาเนิ นธุ รกิ จ มี ความโปร่ งใสในการดาเนิ นการ และ ส่ งเสริ มประสิ ทธิ ผลของการประกอบกิจการที่ยงั่ ยืน อนึ่ งตามโครงสร้ า งของบริ ษัท ได้ ก าหนดให้ มี ฝ่ ายตรวจสอบซึ่ งสายบัง คับ บัญ ชาขึ้ นตรงต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยปั จจุ บนั มี นางธิ ดารัชต์ ไกรประสิ ทธิ์ ดารงตาแหน่ งผูอ้ านวยการอาวุโสฝ่ าย ตรวจสอบ ซึ่ งเป็ นหัวหน้าหน่วยงานของฝ่ ายตรวจสอบ และบริ ษทั ได้วา่ จ้างบริ ษทั เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ที่ปรึ กษา ธุ รกิจ จากัด (KPMG) โดยนายเติม เตชะศริ นทร์ นางเพ็ญนภา พุกกะรัตน์ และนางสาวลัญจกร ภาษีผล เป็ นที่ ปรึ ก ษาด้า นการตรวจสอบภายใน (Consultant) ทั้ง นี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะเป็ นผูป้ ระเมิ นผลการ ปฏิบตั ิงานของผูอ้ านวยการอาวุโสฝ่ ายตรวจสอบร่ วมกับผูบ้ ริ หารระดับสู ง (CEO) ซึ่ งจากผลการประเมินสรุ ป __________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 117


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ

ได้วา่ บุคคลดังกล่าวสามารถปฏิ บตั ิงานอยูใ่ นระดับที่ดี และมีประสิ ทธิ ภาพเหมาะสมกับตาแหน่งดังกล่าว อีก ทั้ง ตามกฎบัต รคณะกรรมการตรวจสอบก าหนดให้ ก ารแต่ ง ตั้ง โยกย้า ย เลิ ก จ้า งหั ว หน้ า หน่ ว ยงานฝ่ าย ตรวจสอบ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ หัวหน้ างานตรวจสอบภายในและหัวหน้ างานกากับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัท นางน้ าฝน รัษฎานุกลู ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการอาวุโสสานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ และ เลขานุการบริ ษทั (หัวหน้างานกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน) นางธิ ดารัชต์ ไกรประสิ ทธิ์ ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการอาวุโสฝ่ ายตรวจสอบ (หัวหน้าหน่วยงาน ตรวจสอบภายใน)

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 118


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การกากับดูแลกิจการ

12. รายการระหว่างกัน 12.1 รายละเอียดของรายการระหว่างกัน บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยมีรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ซึ่ งผูส้ อบบัญชีได้ระบุไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินประจาปี สิ้ นสุ ด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 โดยมีรายละเอียดประเภทรายการดังต่อไปนี้ นิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง การประปาส่วนภูมิภาค (The Provincial Waterworks Authority) (“กปภ.”)

ลักษณะความสัมพันธ์ - กปภ. เป็ นผูถ้ ือหุ้นใหญ่ของบริ ษทั ฯ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กปภ. ถือหุ ้นในสัดส่ วนร้อยละ 40.20 ของทุน จดทะเบียนที่ชาระแล้วของบริ ษทั ฯ

ลักษณะของรายการ ปริ มาณรายการ ปริ มาณน้ าดิบที่จาหน่าย (ล้าน ลบ.ม.) มูลค่าที่จดั จาหน่าย (ล้านบาท)

ปริ มาณน้ าประปาจา หน่าย (ล้าน ลบ.ม.) มูลค่าที่จดั จาหน่ายน้ าประปา (ล้านบาท) การนิคมอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (The Industrial Estate Authority of Thailand) (“กนอ.”)

- กนอ. เป็ นผูถ้ ือหุ้นรายหนึ่งของบริ ษทั ฯ ปริ มาณรายการ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กนอ. ปริ มาณน้ าดิบที่จาหน่าย ถือหุ ้นในสัดส่ วนร้อยละ 4.57 ลง ทุน (ล้าน ลบ.ม.) จดทะเบียนที่ชาระแล้วของบริ ษทั ฯ

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ปริมาณและ มูลค่ าของรายการ

ความจาเป็ น/หมายเหตุ

บริ ษทั ฯ จาหน่ายน้ าดิบให้กบั กปภ. ในพื้นที่ 67.96 หนองค้อ-แหลมฉบัง- พัทยา -บางพระ และ พื้นที่ดอกกราย- มาบตาพุด- สัตหี บ 703.44

0.94 บริ ษทั ฯจาหน่ายน้ าประปาให้กบั กปภ ในพื้นที่ เกาะสมุย 56.81

บริ ษทั ฯ จาหน่ายน้ าดิบให้กบั กนอ. ในพื้นที่ หนองค้อ-แหลมฉบัง- พัทยา -บางพระ และ 85.82 พื้นที่ดอกกราย- มาบตาพุด- สัตหี บ

ส่วนที่ 2 หน้า 119

นโยบายในการกาหนดราคา วันที่ 27 กันยายน 2556 คณะกรรมการบริ ษทั มีมติ เห็นชอบในหลักการกาหนดโครงสร้างอัตราค่าน้ า ดิบให้กลุ่มอุปโภคบริ โภคมีราคาต่ากว่ากลุ่ม อุตสาหกรรมประมาณ 1.00 บาท ต่อ ลบ.ม. เนื่องจากกลุ่มอุปโภคบริ โภคเป็ นการให้บริ การ สาธารณูปโภคพื้นฐานและมีความสามารถแบกรับ ต้นทุนน้อยกว่ากลุ่มอุตสาหกรรม โดยส่ วนกลุ่ม อุตสาหกรรมและกลุ่มอื่นๆพิจารณาให้คงตาม ประกาศโครงสร้างอัตราค่าน้ าดิบ

บริ ษทั ฯ จาหน่ายน้ าดิบให้กบั กนอ. เป็ นไป ตาม ประกาศโครงสร้างอัตราค่าน้ า โดยจัดอยูใ่ นกลุ่ม ประเภท กนอ. และผูใ้ ช้น้ ารายเดิม

ส่วนที่ 2 หน้า 119


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) นิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง

กปภ. และบริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด (“UU”)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะของรายการ

- นายวีรพงศ์ ไชยเพิม่ เป็ นผูว้ า่ การ และ เป็ นกรรมการบริ ษทั ฯ UU เป็ นบริ ษทั ย่อยที่บริ ษทั ฯ ถือหุ้นอยู่ ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของทุน จดทะเบียนที่ชาระแล้วของบริ ษทั ดังกล่าว

มูลค่าที่จดั จาหน่าย (ล้านบาท) รายได้จาหน่ ายน้ าประปา ประปาบางปะกง – ล้าน ลบ.ม. - ล้านบาท ประปาฉะเชิงเทรา – ล้าน ลบ.ม. - ล้านบาท ประปานครสวรรค์ – ล้าน ลบ.ม. - ล้านบาท ประปาระยอง - ล้าน ลบ.ม. -ล้านบาท ประปาชลบุรี - ล้าน ลบ.ม. -ล้านบาท

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 การกากับดูแลกิจการ ปริมาณและ มูลค่ าของรายการ

ความจาเป็ น/หมายเหตุ

นโยบายในการกาหนดราคา

เป็ นรายการที่ UU จาหน่ ายน้ าประปาให้แก่ กปภ. ตามสัญญาสัมปทานของบริ ษทั ประปา ฉะเชิงเทรา บริ ษทั ประปาบางปะกง บริ ษทั ประปานครสวรรค์ การประปาระยอง และการ ประปาชลบุรี

UU จาหน่ายน้ าประปา ให้แก่ กปภ. โดยราคาค่าน้ า และวิธีการปรับอัตราค่าน้ าเป็ นไปตามเงื่อนไข สัญญาสัมปทาน

901.06

11.04 123.77 11.20 132.04 3.39 41.39 18.14 198.54 9.65 100.18

ส่วนที่ 2 หน้า 120

ส่วนที่ 2 หน้า 120


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

12.2 ขั้นตอนอนุมตั ิการทารายการระหว่างกัน ในการดาเนิ นธุ รกิ จของบริ ษทั จะเกิ ดรายการระหว่างกันระหว่างบริ ษทั กับบุ คคลที่ อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์อย่างต่อเนื่ อง เพื่อเป็ นการคุ ม้ ครองผูล้ งทุนในกรณี ที่มีการทารายการประเภทดังกล่าว ที่ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั ซึ่งมีกรรมการตรวจสอบและกรรมการที่เป็ นอิสระเข้าร่ วมประชุ มด้วย จะเป็ นผูพ้ ิจารณา และอนุ มตั ิรายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อให้มนั่ ใจได้วา่ รายการประเภทดังกล่าวมี ความสมเหตุสมผล ยุติธรรม และมีนโยบายในการกาหนดราคาที่เหมาะสม โดยกรรมการผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย จะไม่มีสิทธิ ออกเสี ยงในรายการประเภทดังกล่าว บริ ษทั จะดาเนิ นการเปิ ดเผยชนิ ด มูลค่า และเหตุผลของการ ทารายการดังกล่าวทั้งในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น และรายงานประจาปี เพื่อให้ผถู ้ ื อหุ ้นและผูม้ ีส่วนได้ ส่ วนเสี ยอื่นๆ พิจารณาความสมเหตุสมผลในการทารายการ 12.3 นโยบายและแนวโน้มในการทารายการระหว่างกัน บริ ษทั และบริ ษทั ในเครื อยังคงมี นโยบายหรื อแนวโน้มในการทารายการระหว่างกันในลักษณะที่ เป็ นการ ดาเนิ นธุ รกิจทัว่ ไป ในกรณี ที่บริ ษทั และบริ ษทั ในเครื อเห็นว่าจะได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสมและเป็ นไปใน ราคาและเงื่ อนไขทัว่ ไปที่ไม่แตกต่างจากบุคคลภายนอก โดยในการทารายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริ ษทั จะปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง หรื อข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และของสานักงานคณะกรรมการกากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนถึงมาตรฐานการบัญชี ที่กาหนดโดยสมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชี รั บ อนุ ญ าตแห่ ง ประเทศไทยในเรื่ องของรายการระหว่ า งกัน อย่ า งเคร่ ง ครั ด รวมถึ ง พิ จ ารณาถึ ง ความ สมเหตุสมผลของการทารายการ

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 121


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

13. ข้ อมูลทางการเงินทีส่ าคัญ 13.1 งบการเงิน 13.1.1 สรุ ปรายงานการสอบบัญชี 1) สรุ ปรายงานการตรวจสอบของผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตในระยะ 3 ปี ที่ผา่ นมา ผูส้ อบบัญชี ได้ให้ความเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินของบริ ษทั ฯ แสดงฐานะการเงิน รวมและฐานะการเงินของบริ ษทั ฯ ผลการดาเนิ นงานรวมและผลการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ และกระแสเงิน สดรวมและกระแสเงินสดของบริ ษทั ฯ โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป 2) ตารางสรุ ปฐานะการเงินและผลการดาเนินงานเปรี ยบเทียบ 3 ปี ( 2554 -2556) เนื่องจากบริ ษทั ฯ เป็ นบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผูล้ งทุนสามารถ ดู งบการเงิ นล่ าสุ ดของบริ ษทั ฯ ได้จาก Website ของสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. (www.sec.or.th) หรื อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (www.set.or.th) หรื อดูได้จาก Website ของบริ ษทั ฯ (www.eastwater.com) โดยสามารถดูสรุ ปรายละเอียดฐานะการเงินและผลการดาเนินงานได้ดงั ตารางต่อไปนี้

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 122


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

ก) งบแสดงฐานะการเงินเปรียบเทียบ 3 ปี

ก) งบแสดงฐานะการเงินเปรี ยบเทียบ 3 ปี

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น รายได้ค่างานลดน้ าสูญเสี ยรอรับชาระกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพือ่ ขายสุทธิ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ าประกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน – สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ สิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน-สุทธิ ต้นทุนการได้มาซึ่งสิ ทธิในสัมปทาน รอตัดบัญชี - สุทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุทธิ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ตรวจสอบแล้ว % พันบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ตรวจสอบแล้ว % พันบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ตรวจสอบแล้ว % พันบาท

1.92

128,690

0.64

238,473 96,308

0.77

95,000

410,178

3.04

473,963

3.81

417,582

4,096

0.03

7,679

0.06

10,133

10,536 45,640

0.08

7,745

0.06

7,879

0.34

23,865

0.19

39,834

0.09 0.07 0.37

-

-

34,658

0.32

243,307

1.80

86,879

1.19 0.88 3.88

800,636

5.93

848,033

6.81

733,776

6.80

-

-

-

-

-

91,470

0.68

91,470

0.74

0.85

199,601

1.48

208,382

1.68

91,470 217,160

10,621,902

78.77

9,542,767

76.71

8,372,710

77.71

555,572

4.12

491,762

3.95

456,005

4.23

522,446

3.87

531,792

4.27

541,774

5.03

153,016

1.13

160,762

1.29

169,573

1.57

6,610

0.06

9,676

0.08

12,831

0.12

533,960

3.96

555,440

4.47

178,940

1.67

12,684,577

94.07

11,592,051

93.19

10,040,463

93.20

13,485,213

100.00

12,440,084

100.00

10,774,239

100.00

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

2.02

ส่วนที่ 3 หน้า 123


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ก) งบแสดงฐานะการเงินเปรี ยบเทียบ 3 ปี (ต่อ)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2556

2555

2554

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท หนี้สินและส่วนของผู้ถอื หุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้จากการซื้อสิ นทรัพย์ถาวร หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน-ส่วนที่ถึง กาหนดชาระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

พันบาท

%

พันบาท

%

%

156,000

1.16

111,000

0.89

33,000

0.31

144,147

1.07

157,561

1.27

105,664

0.98

264,227

1.96

38,465

0.31

183,599

1.7

301

-

2,024

0.02

2,382

0.02

568,610

4.22

737,690

5.93

620,996

5.76

ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย

131,519

0.98

135,653

1.09

192,792

1.79

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น

133,155

0.99

120,000

0.96

82,739

0.77

57,279

0.42

55,852

0.45

45,436

0.42

1,455,238

10.80

1,358,245

10.92

1,266,608

11.75

-

301

-

2,325

0.02

3,841,751

28.49

3,456,281

27.78

2,325,025

21.58

38,526

0.29

32,530

0.26

27,683

0.26

91,424

0.68

89,385

0.72

64,958

0.60

130,893

0.97

182,882

1.47

151,440

1.40

รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน

4,102,594

30.43

3,761,379

30.23

2,571,431

23.86

รวมหนี้สิน

5,557,832

41.23

5,119,624

41.15

3,838,039

35.61

รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 124


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ก) งบแสดงฐานะการเงินเปรี ยบเทียบ 3 ปี (ต่อ)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2556

2555

2554

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท

%

พันบาท

%

พันบาท

%

ส่วนของผูถ้ ือหุ้น ทุนจดทะเบียน

1,663,725

12.34

1,663,725

13.37

1,663,725

15.44

ทุนที่ออกและชาระแล้ว

1,663,725

12.34

1,663,725

13.37

1,663,725

15.44

ส่วนเกินมูลค่าหุน้

2,138,522

15.86

2,138,522

17.19

2,138,522

19.85

166,500

1.23

166,500

1.34

166,500

1.55

3,900,477

28.91

3,316,437

26.66

2,929,182

27.19

องค์ประกอบอื่นของส่วนผูถ้ ือหุน้

28,357

0.21

31,755

0.26

35,152

0.33

ส่วนของผูถ้ ือหุน้ ส่วนน้อย

29,800

0.22

3,521

0.03

3,119

0.03

7,927,381

58.77

7,320,460

58.85

6,936,200

64.39

13,485,213

100.00

12,440,084

100.00

10,774,239

100.00

กาไรสะสม จัดสรรแล้ว-สารองตามกฏหมาย ยังไม่ได้จดั สรร

รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือ หุน้ มูลค่าตามบัญชีต่อหุน้ (บาท/หุน้ ) มูลค่าที่ตราไว้ (บาท/หุน้ ) จานวนหุน้ สามัญปลายงวด (หุน้ )

4.76

4.40

4.17

1.00

1.00

1.00

1,663,725,149

1,663,725,149

1,663,725,149

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 125


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

ข) งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเปรียบเทียบ 3 ปี

ข) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จเปรียบเทียบ 3 ปี

สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31

สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31

สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31

ธันวาคม 2556

ธันวาคม 2555

ธันวาคม 2554

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท รายได้ รายได้จากการขายน้ าดิบ รายได้จากการขายน้ าประปา รายได้ค่าเช่าและค่าบริ การ รายได้อื่น

พันบาท

%

%

พันบาท

%

2,694,295

70.60

2,612,221

70.11

2,261,016

68.31

876,385

22.96

841,602

22.59

765,849

23.14

189,513

4.97

223,588

6.00

223,519

6.75

55,946

1.47

48,538

1.30

59,652

1.80

3,816,138

100.00

3,725,949

100.00

3,310,036

100.00

962,536

25.22

881,188

23.65

770,789

502,170

13.16

456,686

12.26

433,505

181,128

4.75

201,303

5.40

192,932

390,233

10.23

492,049

13.21

401,617

23.29 13.10 5.83 12.13

112,952

2.96

89,991

2.42

78,476

2.37

351,144

9.2

364,560

9.78

424,694

12.83

รวมค่าใช้จ่าย

2,500,164

65.52

2,485,777

66.72

2,302,013

69.55

กาไรสุทธิสาหรับปี

1,315,975

34.48

1,240,172

33.28

912,133

19.51

รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายน้ าดิบ ต้นทุนขายน้ าประปา ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริ การ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 126


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ข) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จเปรียบเทียบ 3 ปี

ธันวาคม 2556

ธันวาคม 2555

ธันวาคม 2554

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น : ตัดจาหน่ายทรัพย์สินที่ได้รับโอนจาก ลูกค้า ขาดทุนจากการประมาณการตาม หลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยสาหรับ โครงการผลประโยชน์พนักงาน

สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31

พันบาท

%

%

พันบาท

%

(3,398)

(0.09)

(3,398)

(0.09)

(3,398)

(0.10)

-

-

(25,813)

(0.69)

-

-

ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของ กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น

-

-

5,163

0.14

-

-

ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสาหรับปี – สุทธิจากภาษี

(3,398)

(0.09)

(24,048)

(0.64)

กาไรเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี

1,312,577

34.39

1,216,124

32.64

1,004,625

30.35

การแบ่งปันกาไรสุทธิ ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ ส่วนใหญ่ ส่วนที่เป็ นของส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม

1,316,057

34.48

1,239,742

33.27

1,007,549

30.44

(82)

-

430

0.01

474

0.01

กาไรสุทธิสาหรับปี

1,315,975

34.48

1,240,172

33.28

1,008,023

30.45

การแบ่งปันกาไรเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ใหญ่ ส่วนที่เป็ นของส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม

1,312,660

34.39

1,215,694

32.63

1,004,151

30.34

(82)

-

430

0.01

474

0.01

กาไรเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี

1,312,577

34.39

1,216,124

32.64

1,004,625

30.35

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

(3,398) (0.10)

ส่วนที่ 3 หน้า 127


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ข) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จเปรียบเทียบ 3 ปี (ต่อ)

สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31

สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31

สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31

ธันวาคม 2556

ธันวาคม 2555

ธันวาคม 2554

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท กาไรสะสมยังไม่ได้จัดสรรยกมา

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

%

พันบาท

%

พันบาท

%

3,316,437

2,929,182

2,577,526

-

-

(40,334)

(732,017)

(831,837)

(615,559)

รวม บวก กาไรสุทธิประจาปี กาไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น

2,584,420

2,097,345

1,921,633

1,316,057

1,239,742

1,007,549

-

(20,650)

-

กาไรสะสมยังไม่ได้จดั สรรยกไป จัดสรรแล้ว-สารองตามกฎหมาย

3,900,477

3,316,437

2,929,182

166,500

166,500

166,500

กาไรสะสม

4,066,977

3,482,937

3,095,682

0.79

0.75

0.61

1.0

1.00

1.00

1,663,725,149

1,663,725,149

1,663,725,149

หัก

รายการปรับปรุ งของงวดก่อน จ่ายเงินปั นผล

กาไรสุทธิต่อหุน้ มูลค่าที่ตราไว้ (บาท/หุน้ ) จานวนหุ้นสามัญ (หุน้ )

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 128


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรียบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ว) หน่วย: พันบาท ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรียบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ว) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กาไรก่อนภาษีเงินได้นติ ิบุคคล รายการปรับกระทบกาไรก่อนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล เป็นเงินสดรับ(จ่าย)จากกิจกรรมดาเนินงาน ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ (โอนกลับ) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) ค่าเสื่ อมราคา ค่าตัดจาหน่าย รายได้จากการตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ที่ได้รับโอนจากลูกค้า ขาดทุนจากการจาหน่าย/ตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ถาวร ขาดทุนจากการตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน รายได้เงินปั นผลรับ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่ายและตัดจาหน่ายดอกเบี้ยภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน กำไรจำกกำรดำเนินงำนก่อนกำรเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สนิ

2556

2555

2554

1,667,119

1,604,731

1,432,717

630

4,110

552

-

-

(2,199)

-

(300)

915

359,583

312,952

320,646

41,638

40,482

35,366

(3,398)

(3,398)

(3,398)

10,557

34,278

4,619

-

-

144

(24,053)

(25,094)

(18,246)

(9,168)

(8,292)

(12,352)

108,971

88,195

76,951

2,151,879

2,047,664

1,835,715

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 129


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน (หน่วย :พันบาท)

ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรียบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ว) (ต่อ)

2556

2555

2554

20,476

(56,080)

3,583

2,454

(43,442) 6,479

(2,791)

133

1,680

(9,945)

15,970

(17,206)

(11,519)

(7,270)

(1,866)

(13,414)

51,896

(31,891)

17,575

26,421

(36,500)

132

10,029

3,325

2,038

(1,386)

7,984

(51,989)

31,443

44,635

2,106,025

2,121,274

1,768,913

(113,548)

(77,529)

(76,809)

(357,904)

(408,534)

(363,508)

1,634,573

1,635,211

1,328,596

การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ดาเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น รายได้ค่างานลดน้ าสูญเสี ยรอรับชาระจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินดาเนินงานเพิ่มขึน้ (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้มำจำกกิจกรรมดำเนินงำน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มำจำกกิจกรรมดำเนินงำน

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 130


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

หน่วย ; พันบาท ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรียบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ว) (ต่อ) กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจาการเพิ่มทุนบริ ษทั ย่อย เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนชัว่ คราว เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนชัว่ คราว เงินสดจ่ายเพื่อซื้อสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ าประกัน เงินปันผลรับจากบริ ษทั ย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากดอกเบี้ย เงินสดรับจากการจาหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงินสดจ่ายค่าก่อสร้างเพิ่มขึ้น เงินสดจ่ายเพื่อซื้ออสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดจ่ายซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพื่อซื้อสิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน เงินสดจ่ายเพื่อการได้มาซึ่งสิ ทธิในสัมปทาน เงินสดจ่ายเพื่อซื้อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินสดจ่ายดอกเบี้ยสาหรับเงินกูย้ มื ที่ต้ งั ขึ้นเป็ นทุน เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจำกกิจกรรมจัดหำเงิน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น จ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายชาระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดรับจากการเพิ่มทุนบริ ษทั ย่อย เงินสดจ่ายค่าดอกเบี้ยที่ต้งั ขึ้นเป็ นทุน เงินปันผลจ่ายแก่ผถู ้ ือหุน้ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหำเงิน

2556

2555

2554

(94,753)

(51,307)

104,183

50,000

-

-

-

-

(95,000) (122) 2,076

24,053

25,094

18,246

8,652

8,067

11,900

2,751

652

215

-

(366,527)

(152,636)

-

(4)

(318)

(1,029,946)

(1,561,623)

(98,715)

(39,919)

(19,196)

(18,375)

(1,058,004) (86,817) (30,818)

(4,504)

(3,076)

(19,230)

(76,162)

(60,261)

-

(1,183,637)

(2,017,279)

(1,410,508)

409,500

388,000

(364,500)

(310,000)

967,831

2,339,970

(751,440)

(1,092,020)

(2,025)

(2,235)

33,000 (552,588) 1,488,000 (547,792) (2,418)

27,000

-

-

-

-

(732,469)

(831,863)

(35,058) (615,426)

(446,103)

491,852

(232,282)

-

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 131


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน (หน่วย :พันบาท)

ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรียบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ว) (ต่อ)

2556

2555

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี

4,833 238,473

109,783 128,689

(314,194) 442,884

เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงินสดปลำยปี

243,306

238,473

128,690

ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม รายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับกระแสเงินสด การซื้อทรัพย์สินถาวรโดยที่ยงั ไม่ได้ชาระเงิน โอนสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขายเป็ นที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

250,133,287

โอนสิ นทรัพย์ที่ถือไว้ขายเป็ นสิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญา สัมปทาน

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

38,465 1,390

33,267

2554

32,808 1,268 33,548

ส่วนที่ 3 หน้า 132


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

14. การวิเคราะห์ และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ (Management Discussion and Analysis: MD&A) 1. เหตุการณ์ สาคัญของบริษัทในรอบปี 2556 ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการดาเนินการ 1.1. สภาวะเศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยปี 2556 ขยายตัวร้อยละ 2.9 ซึ่ งชะลอตัวจากที่ขยายตัวร้อยละ 6.5 ในปี 2555 และต่ากว่าที่ คาดการณ์ในช่วงต้นปี ที่ร้อยละ 5.3 โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2556 ที่เศรษฐกิจไทยขยายตัวเพียง ร้อยละ 0.6 ซึ่ งส่ งผลให้ภาคการผลิตส่ วนใหญ่ชะลอตัวลง 1.2. สถานการณ์ นา้

สาหรั บ ปี 2556 ปริ ม าณแหล่ งน้ าในพื้นที่ ระยองช่ วงต้นปี อยู่ในเกณฑ์ค่ อนข้างดี ในขณะที่ พ้ืนที่ ชลบุ รี โดยเฉพาะอ่างเก็บน้ าหนองค้อมีระดับต่ ากว่าเกณฑ์เฉลี่ ยค่อนข้างมาก ทาให้ในช่ วงต้นปี บริ ษทั ต้องมีการหา แหล่งน้ าเพิ่มเติมจากแหล่งน้ าเอกชน รวมถึงมีการผันน้ าจากพื้นที่ระยองเพื่อนามาใช้ในพื้นที่ชลบุรี อย่างไรก็ดี ปริ มาณฝนของปี 2556 โดยเฉพาะในช่วงปลายเดือนกันยายนและเดือนตุลาคมทาให้ปริ มาณน้ าในอ่างเก็บน้ า หลักของบริ ษทั ในช่วงปลายปี 2556 และต้นปี 2557 อยูใ่ นเกณฑ์สูงกว่าค่าเฉลี่ยทุกอ่างเก็บน้ าและมีปริ มาณน้ า กักเก็บมากเพียงพอสาหรับการดาเนินกิจการในปี 2557 1.3. เหตุการณ์ สาคัญทีเ่ กีย่ วกับการดาเนินธุรกิจนา้ ดิบ 1.3.1. บริ ษทั ได้ชะลองานก่อสร้างโครงการท่อส่ งน้ าดิบประแสร์ – หนองปลาไหล ซึ่ งเดิมมีแผนเริ่ ม ก่อสร้างในช่วงต้นปี 2556 ออกไป โดยโครงการดังกล่าวจะเริ่ มดาเนินการในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 ต่อไป 1.3.2. บริ ษทั ได้ปรับโครงสร้างอัตราค่าน้ าดิบให้กบั ลูกค้ากลุ่มอุปโภคบริ โภคโดยลดลงในอัตรา 1.10 บาทต่อลูกบาศก์เมตร จากอัตราเดิมที่ 10.50 บาทต่อลูกบาศก์เมตร เป็ น 9.40 บาทต่อลูกบาศก์เมตร โดยมีผล ตั้งแต่วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2556 เพื่อเป็ นการบรรเทาค่าใช้จ่ายให้กบั ประชาชนในภาคครัวเรื อน อย่างไรก็ดี การ ปรับโครงสร้างอัตราค่าน้ าดิบครั้งนี้ ส่ งผลกระทบต่ออัตราค่าน้ าดิบเฉลี่ยปี 2556 ลดลง ร้อยละ0.38 1.4. เหตุการสาคัญทีเ่ กีย่ วข้ องกับการดาเนินธุรกิจนา้ ประปา 1.4.1. บริ ษทั ได้มีการขายกิจการประปาเกาะสี ชงั ให้แก่เทศบาลตาบลเกาะสี ชงั เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2556 คิดเป็ นมูลค่ารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 2.50 ล้านบาท เนื่ องจากเทศบาลประปาเกาะสี ชงั ขอซื้ อกิ จการประปา ตามสิ ทธิ ในสัญญาสัมปทานการผลิตน้ าประปา (กรมทรัพยากรน้ า) โดยกิจการประปาเกาะสี ชงั เป็ นระบบผลิต น้ าประปาจากน้ าทะเล มีกาลังการผลิต 250 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน 1.4.2 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2549 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยถูกฟ้ องเป็ น จาเลยร่ วมกับการประปาส่ วนภูมิภาคเกี่ยวกับความไม่ชอบด้วยการคัดเลือกเอกชนให้ผลิตน้ าประปาเพื่อขายให้ สานักงานประปาระยอง ซึ่ งเมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2550 ศาลปกครองจังหวัดระยองได้มีคาพิพากษาให้เพิกถอน กระบวนการคัดเลือกเอกชนให้ผลิตน้ าประปาเพื่อขายให้สานักงานประปาระยองตามที่โจทก์ร้องขอ โดยการ ประปาส่ วนภูมิภาคและบริ ษทั ย่อยได้มีการยื่นอุทธรณ์ต่อศาลปกครองระยอง เมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2550 และศาลปกครองจังหวัดระยองมีคาสั่งรับอุทธรณ์ พร้อมทั้งส่ งคาอุทธรณ์ ให้ศาลปกครองสู งสุ ด เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ศาลปกครองสู งสุ ดได้ มีคาพิพากษากลับคาพิพากษาของศาลปกครองระยองในคดี ดังกล่ าวข้ างต้ น โดยมีความเห็นว่ าโจทก์ ไม่ มีอานาจยื่นฟ้องคดี เนื่องจากไม่ ใช่ ผ้ ูได้ รับผลกระทบหรื อเดือดร้ อน เสี ยหายจากการคัดเลือกเอกชนให้ ผลิตนา้ ประปา ดังนั้น คดีจึงถือเป็ นสิ้นสุ ด

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 133


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

2. การวิเคราะห์ ผลการดาเนินการ 2.1. สรุ ปผลการดาเนินงาน สาหรับปี 2556 บริ ษทั และบริ ษทั ย่อย มีรายได้รวมทั้งสิ้ น 3,816.14 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจานวน 90.19 ล้านบาท หรื อเพิ่ม ขึ้ นร้ อยละ2.42 โดยมี ก าไรสุ ทธิ ส่วนที่ เป็ นของผูถ้ ื อหุ ้นบริ ษทั ใหญ่รวมทั้ง สิ้ น 1,316.06 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 76.32 ล้านบาท หรื อเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.16 เมื่อเปรี ยบเทียบกับปี ก่อน ตาราง 1 : ภาพรวมการดาเนินการของบริ ษทั น้ าดิบจาหน่าย (ล้านลูกบาศก์เมตร) น้ าประปาจาหน่าย (ล้านลูกบาศก์เมตร)

2556 256.77 68.39

จานวนเงิน (ล้านบาท) ร้ อยละ 2555 263.23 66.81

ร้ อยละ -

รายได้ รวม รายได้น้ าดิบ รายได้น้ าประปา รายได้ค่าเช่าอาคารและรายได้บริ การ รายได้อื่นๆ ต้ นทุนขายและบริการ ต้นทุนขายน้ าดิบ ต้นทุนขายน้ าประปา ต้นทุนเช่าและบริ การ กาไรขั้นต้ น ค่าใช้จ่ายขายและบริ หาร กาไรก่ อนต้ นทุนการเงินและภาษีฯ (EBIT) ต้นทุนทางการเงิน กาไรก่ อนภาษีฯ (EBT) ต้นทุนภาษีฯ กาไรสุทธิ กาไรสุ ทธิส่วนทีเ่ ป็ นของผู้ถอื หุ้นบริษัทใหญ่ อัตราส่ วนกาไรสุ ทธิต่อหุ้น (EPS)

3,816.14 2,694.30 876.38 189.51 55.95 1,645.83 962.54 502.17 181.13 2,170.30 390.23 1,780.07 112.95 1,667.12 351.14 1,315.97 1,316.06 0.79

100.00 70.60 22.97 4.97 1.47 43.13 25.22 13.16 4.75 56.87 10.23 46.65 2.96 43.69 9.20 34.48 34.49 -

3,725.95 2,612.22 841.60 223.59 48.54 1,539.18 881.19 456.69 201.30 2,186.77 492.05 1,694.72 89.99 1,604.73 364.56 1,240.17 1,239.74 0.75

100.00 70.11 22.59 6.00 1.30 41.31 23.65 12.26 5.40 58.69 13.21 45.48 2.42 43.07 9.78 33.28 33.27 -

90.19 82.07 34.78 (34.08) 7.41 106.66 81.35 45.49 (20.18) (16.47) (101.82) 85.35 22.96 62.39 (13.42) 75.80 76.32 0.05

2.42 3.14 4.13 (15.24) 15.26 6.93 9.23 9.96 (10.02) (0.75) (20.69) 5.04 25.51 3.89 (3.68) 6.11 6.16 6.16

EBITDA

2,188.45

57.35

2,079.04

55.80

109.42

5.26

รายการ

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

เพิ่ม (ลด) ลบ. ร้ อยละ (6.46) (2.45) 1.58 2.36

ส่วนที่ 3 หน้า 134


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

2.2. ธุรกิจนา้ ดิบ 2.2.1. รายได้จากการขายน้ าดิ บปี 2556 รวม 2,694.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดี ยวกันของปี ก่อน จานวน 82.07 ล้านบาท หรื อเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.14 โดยมีปริ มาณการจาหน่ ายน้ าดิ บรวม 256.77 ล้านลูกบาศก์ เมตร (ไม่รวมปริ มาณน้ าดิบที่ส่งให้กิจการประปาของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย จานวน 21.19 ล้านลูกบาศก์เมตร) ซึ่ งลดลงจากปี ก่อนหน้าจานวน 6.46 ล้านลูกบาศก์เมตรหรื อลดลงร้อยละ 2.45 อันเนื่องมาจากความต้องการใช้ น้ าที่ลดลงในช่วงไตรมาส 4 (เฉพาะไตรมาส 4 ลดลง 6.74 ล้านลูกบาศก์เมตร เมื่อเทียบกับปี ก่อนหน้า) โดยมี สาเหตุหลักมาจากปริ มาณฝนที่ค่อนข้างมากในไตรมาส 4 ทาให้ลูกค้าสามารถใช้แหล่งน้ าของตัวเองเพิ่มมาก ขึ้น ประกอบกับสภาวะเศรษฐกิจและการเมืองในประเทศที่ส่งผลให้ผใู ้ ช้น้ าบางรายมีการลดกาลังการผลิตและ ใช้น้ าดิบลดลง ในส่ วนของราคาขายเฉลี่ยในปี 2556 เท่ากับ 10.49 บาทต่อลูกบาศก์เมตร เพิ่มขึ้นจากปี 2555 จานวน 0.57 บาทต่อลูกบาศก์เมตร หรื อร้อยละ 5.74 จากการปรับขึ้นค่าน้ าตามแผนการปรับอัตราค่าน้ าในปี 2556 ภาพที่ 1 : ปริ มาณน้ าดิบจ่ายจาแนกตามกลุ่มลูกค้า ปี 2556 = 277.96 ล้ านลูกบาศก์ เมตร

นิคมฯ ของรั ฐ

ปี 2555 = 278.69 ล้ านลูกบาศก์ เมตร

นิคมฯ ของรั ฐ

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 135


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

ภาพที่ 2 : ปริ มาณน้ าดิบจ่ายจาแนกตามพื้นที่ ปี 2556 = 277.96 ล้ านลูกบาศก์ เมตร

ปี 2555 = 278.69 ล้ านลูกบาศก์ เมตร

ฉะเชิงเทรา-ชลบุรี

ฉะเชิงเทรา-ชลบุรี หนองปลาไหลมาบตาพุด-สัตหีบ

หนองปลาไหลมาบตาพุด-สัตหีบ

หนองปลาไหลหนองค้ อ

หนองปลาไหลหนองค้ อ

2.2.2 ธุ รกิจน้ าดิบมีตน้ ทุนขายรวม 962.54 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 81.35 ล้านบาท หรื อ ร้อยละ 9.23 ดังแสดงใน ตารางที่ 2 ตาราง 2 : ต้นทุนหลักธุ รกิจน้ าดิบ รายการ รายได้จากการจาหน่ายน้ าดิบ ต้นทุนขายน้ าดิบ - ค่ านา้ ดิบ - ค่ าไฟฟ้ า - ค่ าเสื่ อมราคา - ค่ าซ่ อมบารุ ง - ค่ าใช้ จ่ายอื่นๆ กาไรขั้นต้น

2556 (ล้ านบาท) 2,694.30 962.54 151.16 366.99 259.44 64.82 120.13 1,731.76

ร้ อยละ 100.00 35.72 5.61 13.62 9.63 2.41 4.46 64.28

2555 (ล้ านบาท) 2,612.22 881.19 144.61 373.59 213.79 45.52 103.68 1,731.03

ร้ อยละ 100.00 33.73 5.54 14.30 8.18 1.74 3.97 66.27

เปลี่ยนแปลง (ล้ านบาท) ร้ อยละ 82.07 3.14 81.35 9.23 6.55 4.53 (6.60) (1.77) 45.65 21.35 19.30 42.40 16.45 15.86 0.73 0.04

(1) ค่ าน้าดิบ จานวน 151.16 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2555 จานวน 6.55 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจากการ

ซื้ อน้ าดิบเอกชนในพื้นที่ชลบุรี เนื่องจากปั ญาหาภัยแล้งในช่วงต้นปี ถึง กลางปี 2556 (2) ค่ าไฟฟ้า จานวน 366.99 ล้านบาท ลดลง 6.60 ล้านบาท สาเหตุหลักมาการผันน้ าจากอ่างเก็บน้ าประ แสร์ และแม่น้ าบางปะกงลดลงเนื่ องจากปริ มาณฝนที่ตกลงมามากในช่วงปลายปี 2556 ทาให้ปริ มาณ น้ าในอ่างเก็บน้ าหลักอยู่ในระดับสู ง โดยสุ ทธิ จากปั จจัยลบคือค่าไฟฟ้ าต่อหน่ วยเฉลี่ ยที่ปรับเพิ่มขึ้น ประมาณ ร้อยละ7.50 (จาก 3.17 บาทต่อกิโลวัตต์-ชัว่ โมง เป็ น 3.41 บาทต่อกิโลวัตต์-ชัว่ โมง) (3) ค่ าเสื่ อมราคา จานวน 259.44 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 45.65 ล้านบาท หรื อ ร้อยละ21.35 เนื่ องจากบริ ษทั มี การทยอยรับมอบงานโครงการระบบสู บส่ งหนองปลาไหล-มาบตาพุด เส้นที่ 3 ตั้งแต่ กันยายน 2555 __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 136


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

และรับมอบงานส่ วนที่เหลื อ ได้แก่ งานท่อส่ งน้ า โรงสู บน้ า เครื่ องสู บน้ าและระบบไฟฟ้ า ในเดื อน พฤศจิกายน 2556 (4) ค่ าซ่ อมบารุ ง จานวน 64.82 ล้านบาท เพิ่มขึ้ น 19.30 ล้านบาท สาเหตุ หลักมาจากงานปรั บปรุ ง ซ่อมแซมท่อส่ งน้ าบางปะกง – ชลบุรี และ หนองค้อ-แหลมฉบัง (5) ค่ าใช้ จ่ายอื่นๆ จานวน 120.13 ล้านบาท เพิ่มขึ้ น 16.45 ล้านบาท สาเหตุ หลักมาจากการจัดกลุ่ ม พนักงานบางส่ วนไปเป็ นต้นทุนขายน้ าดิ บเพื่อแสดงต้นทุนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมมากยิ่งขึ้ น เป็ นผลให้ค่าใช้จ่ายพนัก งานในส่ วนนี้ เพิ่มขึ้ น 13.83 ล้านบาท อย่า งไรก็ ดี ในภาพรวมค่าใช้จ่า ย พนักงานของบริ ษทั (ต้นทุนขาย+คชจ.ขายและบริ หาร) เพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 1.32 (6) กาไรขั้นต้ น ปี 2556 เท่ากับ 1,731.76 ล้านบาท ซึ่ งใกล้เคียงกับปี ก่อน อย่างไรก็ดี อัตรากาไรขั้นต้นปี 2556 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยูท่ ี่ระดับร้อยละ 64.28 ของรายได้จากการจาหน่ายน้ าดิบ จากสภาวะแหล่งน้ า ในช่วงกลาง-ปลายปี ที่อยูใ่ นเกณฑ์ดี ทาให้สามารถควบคุมต้นทุนได้ 2.3. ธุรกิจนา้ ประปา 2.3.1. รายได้จากการจาหน่ายน้ าประปาปี 2556 จานวน 876.38 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจานวน 34.78 ล้าน บาท หรื อ ร้อยละ4.13 จากปริ มาณการจาหน่ ายประปา 68.39 ล้านลูกบาศก์เมตร เพิ่มขึ้น 1.58 ล้านลูกบาศก์ เมตร หรื อ ร้อยละ2.36 ในขณะที่ราคาขายเฉลี่ ย เท่ากับ 12.81 บาทต่อลูกบาศก์เมตร เพิ่มขึ้น 0.22 บาทต่อ ลูกบาศก์เมตร หรื อ ร้อยละ1.73 2.3.2. ต้นทุนขายน้ าประปารวม 502.17 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 45.48 ล้านบาท หรื อ ร้อยละ9.96 สาเหตุ หลักมาจากปริ มาณขายที่เพิ่มขึ้น และการเปลี่ ยนแปลงรู ปแบบในการผลิ ตน้ าประปาในบางพื้นที่ สัมปทาน เพื่อให้ระบบผลิตมีเสถียรภาพและคุณภาพมากยิง่ ขึ้น ดังมีรายละเอียดแสดงในตารางที่ 3 ตาราง 3 ต้นทุนหลักธุ รกิจน้ าประปา รายการ รายได้จากการจาหน่ายน้ าประปา รวมต้นทุนขายน้ าประปา - ต้นทุนซื้อน้ าประปาเพื่อขาย - ค่าน้ าดิบ - ค่าไฟฟ้ า - สารเคมี - คชจ.พนักงาน - ค่าจ้าง Outsources - ค่าเสื่ อมราคา - ค่าใช้จ่ายอื่นๆ กาไรขั้นต้น

2556 (ล้ านบาท) ร้ อยละ 876.38 100.00 502.17 57.30 0.00 90.29 10.30 124.87 14.25 20.92 2.39 36.99 4.22 116.44 13.29 81.15 9.26 31.51 3.60 374.21 42.70

2555 (ล้ านบาท) ร้ อยละ 841.60 100.00 456.69 54.26 63.23 7.51 59.06 7.02 107.77* 12.81 26.16* 3.11 34.57 4.11 70.29* 8.35 76.41 9.08 19.19 2.28 384.92 45.74

เปลี่ยนแปลง (ล้านบาท) ร้อยละ 34.78 4.13 45.48 9.96 (63.23) (100.00) 31.23 52.87 17.09 15.86 (5.24) (20.01) 2.42 7.01 46.14 65.65 4.73 6.20 12.33 64.26 (10.70) (2.78)

หมายเหตุ * มีการปรับย้ายค่าไฟฟ้ าและค่าสารเคมีในปี 2555 จานวน 78.43 และ 22.06 ล้านบาท ตามลาดับ ซึ่ ง รวมอยูใ่ นสัญญาจ้าง Outsources เพื่อสามารถเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายกับปี 2556 ได้ (1) ต้ นทุนซื้อนา้ ประปาเพือ่ ขาย ในปี 2556 ลดลงทั้งจานวนจากปี 2555 เท่ากับ 63.23 ล้านบาทโดยบริ ษทั ได้ย กเลิ ก สั ญ ญาซื้ อขายน้ า ประปาส าหรั บ ประปาชลบุ รีก ับ บริ ษ ทั เอกชนแห่ ง หนึ่ ง เนื่ อ งจากไม่ สามารถผลิตและส่ งมอบได้ตามที่บริ ษทั กาหนด (2) ต้ นทุนผลิตน้าประปารวม 502.17 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2555 จานวน 45.48 ล้านบาท หรื อ ร้อยละ 9.96 สาเหตุหลักมาจากปริ มาณจาหน่ายที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.36 และ จากการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบใน __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 137


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

การผลิตน้ าประปาในบางพื้นที่สัมปทาน เพื่อให้ระบบผลิตมีเสถียรภาพและคุณภาพมากยิ่งขึ้น ดังนี้ 1) พื้นที่ สัม ปทานประปาชลบุ รี เปลี่ ยนจากการจ้างผูร้ ั บ จ้างให้ผลิ ตและรั บ ผิดชอบการดาเนิ นการทั้ง ระบบ มาเป็ นลงทุนและดาเนิ นการเองทั้งระบบ 2) พื้นที่สัมปทานประปาระยอง สัตหี บ บางปะกง และฉะเชิงเทรา เปลี่ยนจากการจ้างผูร้ ับจ้างผลิตและบารุ งรักษาระบบผลิตน้าประปา (O&M) ที่รวมค่า ไฟฟ้ าและค่าสารเคมี มาเป็ นการดาเนินการเอง (3) ค่ าเสื่ อมราคา จานวน 81.15 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 4.73 ล้านบาท หรื อ ร้อยละ 6.20 สาเหตุหลักมาจากการ เริ่ มรับรู ้ค่าเสื่ อมราคาของระบบประปาชลบุรี (4) กาไรขั้นต้ น ปี 2556 เท่ากับ 374.21 ล้านบาท หรื อเท่ากับ ร้อยละ 42.70 ของรายได้จากการจาหน่าย น้ าประปา 2.4 ค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร ปี 2556 มี จานวนรวม 390.23 ล้านบาท ลดลง 101.82 ล้า นบาท หรื อร้ อยละ 20.69 จากปี ก่ อน เนื่องจากการลดลงของค่าใช้จ่ายส่ งเสริ มการขาย ค่าโฆษณาและค่าประชาสัมพันธ์ เนื่องจากปี 2555 มีค่าใช้จ่าย ที่สัมพันธ์กบั กิจกรรมครบรอบ 20 ปี ตาราง 4 : ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร รายการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคุณภาพชีวติ และสิ่ งแวดล้อม รวม

2556 (ล้านบาท) 17.49 326.76 45.98 390.23

2555 (ล้านบาท) 53.02 376.81 62.22 492.05

เปลี่ยนแปลง (ล้ านบาท) (ร้ อยละ) (35.53) (61.01) (50.05) (13.28) (16.24) (26.10) (101.82) (20.69)

2.5 ต้ นทุนทางการเงิน ปี 2556 มีจานวนรวม 112.95 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 22.96 ล้านบาท หรื อ ร้อยละ25.51 จากปี ก่อน จากการ เริ่ มบันทึกดอกเบี้ยจ่ายสาหรับโครงการระบบสู บส่ งหนองปลาไหล-มาบตาพุด เส้นที่ 3 ที่มีการรับมอบ ทรัพย์สินบางส่ วนตั้งแต่เดือนกันยายน 2555 และส่ วนที่เหลือของโครงการ (โรงสู บน้ า เครื่ องสู บน้ าและระบบ ไฟฟ้ า) ในเดือนพฤศจิกายน 2556

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 138


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

2.6 ภาษีเงินได้ นิติบุคคล ปี 2556 มีจานวนรวม 351.14 ล้านบาท ลดลง 13.42 ล้านบาท หรื อ ร้อยละ 3.68 เนื่องจากการปรับลด อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากร้อยละ 23 มาอยูท่ ี่ร้อยละ 20 ในปี 2556 3. การวิเคราะห์ สถานะการเงิน ตาราง 5 : แสดงภาพรวมงบแสดงฐานะการเงิน รายการ สิ นทรัพย์รวม หนี้สินรวม รวมส่วนของผูถ้ ือหุน้ - ส่วนของบริ ษทั ใหญ่

จานวนเงิน (ล้านบาท) ณ 31 ธันวาคม 2556 ณ 31 ธันวาคม 2555 13,485.21 12,440.09 5,557.83 5,119.62 7,927.38 7,320.46 7,897.58 7,316.94

เพิ่ม/(ลด) ล้ านบาท ร้ อยละ 1,045.13 8.40 438.21 8.56 606.92 8.29 580.64 7.94

3.1. สิ นทรัพย์ ณ สิ้ นปี 2556 บริ ษทั มีสินทรัพย์รวม จานวน 13,485.21 ล้านบาท ซึ่ งเพิ่มขึ้นจากสิ้ นปี ก่อน จานวน 1,045.13 ล้านบาท หรื อ ร้อยละ8.40 ทั้งนี้มีรายการที่เปลี่ยนแปลงเป็ นสาระสาคัญ ดังนี้ (1) ลูกหนี้ การค้า 410.18 ล้านบาท ลดลง 63.78 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจากการจัดประเภทหนี้ สิน ใหม่ตามการทาสัญญาระหว่างบริ ษทั ในเครื อและบริ ษทั เอกชนรายหนึ่ง (ลูกหนี้) ไปเป็ นลูกหนี้ ไม่ หมุนเวียน จานวน 43.58 ล้านบาท (2) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สุทธิ จานวน 10,621.90 ล้านบาท เพิ่มขึ้ น 1,079.13 ล้านบาท จาก โครงการก่ อสร้ างของบริ ษทั สุ ท ธิ จากค่าเสื่ อมราคาโดยมี รายการหลัก ได้แก่ โครงการวางท่ อ หนองปลาไหล-มาบตาพุดเส้นที่ 3 จานวน 238.34 ล้านบาท (แล้วเสร็ จในเดือนพฤศจิกายน 2556) โครงการเพิ่มศักยภาพระบบสู บน้ าบางพระ จานวน 413.37 ล้านบาท โครงการก่อสร้างอ่าง เก็บน้ าทับมา จานวน 297.48 ล้าน โครงการวางท่อประแสร์ -หนองปลาไหล (สัญญาซื้ อเครื่ องสู บ น้ าและท่อ) 113.24 ล้านบาท และโครงการวางท่อส่ งน้ าบางปะกง-ชลบุรี 164.90 ล้านบาท (3) สิ นทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน จานวน 555.57 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 63.81 ล้านบาท มาจากงานวาง ท่อ สัตหี บ-พัทยา จานวน 38.46 ล้านบาท ส่ วนที่เหลือเป็ นงานซ่ อมบารุ งและปรับปรุ งระบบ ผลิตน้ าประปาอื่นๆ รวมกัน 3.2. หนีส้ ิ น ณ สิ้ นปี 2556 บริ ษทั มีหนี้ สินรวม จานวน 5,557.83 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้ นปี ก่อนจานวน 438.21 ล้านบาท หรื อ ร้อยละ8.56 โดยมีรายการหลักที่เปลี่ยนแปลง ดังนี้ (1) เจ้าหนี้ การซื้ อสิ นทรัพย์ถาวร จานวน 264.23 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 225.76 ล้านบาท มาจากเจ้าหนี้ โครงการก่อสร้างทรัพย์สินของบริ ษทั (2) เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน รวมจานวน 4,410.36 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 216.39 ล้านบาท มา จากเงินกูส้ าหรับโครงการก่อสร้างของบริ ษทั โดยสุ ทธิ จากการชาระคืนเงินกูร้ ะยะยาวตามกาหนด

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 139


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

3.3. ส่ วนของผู้ถือหุ้น ณ สิ้ นปี 2556 บริ ษทั มีส่วนของผูถ้ ือหุ ้นส่ วนของบริ ษทั ใหญ่ จานวน 7,897.58 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก สิ้ นปี ก่อน จานวน 580.64 ล้านบาท หรื อ ร้อยละ7.94 มาจากกาไรสุ ทธิ ประจาปี 2556 เมื่อสุ ทธิ จากเงินปั นผล จ่ายจานวน 732.04 ล้านบาท 4. การวิเคราะห์ งบกระแสเงินสด ตาราง 6 : แสดงภาพรวมงบกระแสเงินสด รายการ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ต้นงวด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ปลายงวด

จานวนเงิน (ล้านบาท) ปี 2556 ปี 2555 1,634.57 1,635.21 (1,183.64) (2,017.28) (446.10) 491.85 4.83 109.78 238.47 128.69 243.31 238.47

เพิ่ม/(ลด) ล้ านบาท (0.64) 833.64 (937.96) (104.95) 109.78 4.83

ในภาพรวมแล้วปี 2556 บริ ษ ทั และบริ ษ ทั ย่อยมี ก ระแสเงิ นสดรั บ ที่ ดีจากการดาเนิ นงาน และเมื่ อสุ ท ธิ ก ับ กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงินแล้ว บริ ษทั มีกระแสเงินสดรับเพิม่ ขึ้น 4.83 ล้านบาท 5. การวิเคราะห์ อตั ราส่ วนทางการเงินทีส่ าคัญ ตาราง 7 : แสดงอัตราส่ วนทางการเงินที่สาคัญ รายการ (งบการเงินรวม) อัตราส่วนความสามารถในการทากาไร อัตรากาไรขั้นต้น /รายได้รวม (ร้อยละ) อัตรากาไรสุทธิ /รายได้รวม (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนผูถ้ ือหุน้ (ROE) (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนต่อสิ นทรัพย์ (ROA) (ร้อยละ) อัตราส่วนโครงสร้างทางการเงินและภาระหนี้สิน อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผูถ้ ือหุน้ (เท่า) อัตราส่วนความสามารถในการชาระดอกเบี้ยและเงินต้น (DSCR) (เท่า)

31 ธ.ค. 2556

31 ธ.ค. 2555

เพิ่ม (ลด)

56.87 34.49 17.30 10.15

58.69 33.27 17.40 10.68

(1.82) 1.22 (0.10) (0.53)

0.70 2.53

0.70 2.87

(0.34)

ในปี 2556 ผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ยังคงมีความสามารถในการทากาไรอยูใ่ น เกณฑ์ดี โดยมีอตั รากาไรขั้นต้นและอัตรากาไรสุ ทธิ เท่ากับ ร้อยละ56.87 และ ร้อยละ34.49 ตามลาดับ สาหรับ อัตราผลตอบแทนต่อส่ วนผูถ้ ื อหุ ้น(ROE) และผลตอบแทนต่อสิ นทรัพย์ (ROA) มีการปรับลดลงจากปี 2555 เล็กน้อยอยูท่ ี่ ร้อยละ17.30 และ ร้อยละ10.15 ตามลาดับ เนื่องจาก บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยมีการลงทุนต่อเนื่ องใน โครงการก่ อสร้ างขนาดใหญ่ เพื่อเพิ่มศักยภาพทั้งด้านแหล่ งน้ าดิ บสารอง และการขยายความสามารถของ ระบบสู บส่ ง เพื่อให้สามารถรองรับการเติบโตของความต้องการใช้น้ าที่จะมีเพิ่มขึ้นในอนาคต __________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 140


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

6. ปริมาณนา้ ในอ่างเก็บนา้ หลักของบริษัท ตาราง 8 : ปริ มาณน้ าในอ่างเก็บน้ าหลักของบริ ษทั ณ 3 กุมภาพันธ์ 2557 หน่วย : ล้านลูกบาศก์เมตร รายการ ปริ มาณน้ า ร้อยละของความจุ ค่าเฉลี่ย (2549 – 2556) เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ย (2549 – 2556)

ชลบุรี บางพระ หนองค้อ 69.45 15.95 59 75 62.84 12.88 +6.61

+3.07

ระยอง ดอกกราย หนองปลาไหล คลองใหญ่ 58.07 139.24 32.41 81 85 81 52.91 130.42 30.84 +5.16

+8.82

+1.57

ประแสร์ 214.52 87 207.03 +7.49

ณ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2557 ปริ มาณน้ าในอ่างเก็บน้ าหลักของบริ ษทั ทั้งในพื้นที่ชลบุรีและระยองมี ปริ มาณมากกว่าค่าเฉลี่ยปี 2549 – 2556 ซึ่ งจะมีปริ มาณเพียงพอสาหรับความต้องการใช้น้ าในปี 2557 และ ส่ งผลดีกบั ต้นทุนในการสู บส่ ง

__________ : นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 3 หน้า 141



เอกสารแนบ 1 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

1. รายละเอียดเกี�ยวกับกรรมการบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ลําดับที�

ชื�อ-นามสกุล

วันเดือนปีเกิด

อายุ (ปี)

ตําแหน่ง

1

น.ต.ศิธา ทิวารี

6 พฤศจิกายน 2507

49

ประธานคณะกรรมการบริษัท

11 มิ.ย. 56 - ปัจจุบัน

(กรรมการอิสระ) 8 ก.พ.56 - ปัจจุบัน 2545 - ปัจจุบัน 2555 - 2556 2548 - 2549 2546 - 2547

ประสบการณ์ทํางาน ประธานคณะกรรมการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) (ก) ประธานกรรมการ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) (ก) นายทหารกองหนุนรับเบี�ยหวัด กองบัญชาการกองทัพอากาศ ที�ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

การศึกษา

การอบรมหลักสูตรสําคัญ การถือครองหุ้นEW ณ วันที� 31 ธ.ค.56

โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ รุ่นที� 43

DCP 178/2013

ไม่มี

วตท.16 โรงเรียนนายทหารชั�นผู้บังคับฝูง รุ่นที� 81 วิทยาศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายเรืออากาศ โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที� 24

เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง

สรุป การดํารงตําแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัท และบริษัทอื�น 2 แห่ง

(ก) บริษัทจดทะเบียน

(ข) กิจการที�ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน 2

ม.ล.ปาณสาร หัสดินทร

27 มิถุนายน 2488

68

กรรมการบริษัท

30 เม.ย. 56 - ปัจจุบัน

(กรรมการอิสระ) 27 ก.ย. 56 - ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการ บริหารและการลงทุน

ไม่มี กรรมการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) (ก) กรรมการ บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี�ส์ จํากัด (ข) กรรมการ บริษัท ประปาบางปะกง จํากัด (ข)

กรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา

Master of Architecture

UFS 2/2006

ไม่มี

University of Pennsylvania , U.S.A. สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กรรมการ บริษัท ประปานครสวรรค์ จํากัด (ข)

2554 2549 - 2552 2545 - 2549 2546 - 2548 2540 - 2546

กรรมการ บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จํากัด (ข) กรรมการผังเมือง กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย กรรมการ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กรรมการตรวจสอบ การประปานครหลวง รองปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร สํานักนายกรัฐมนตรี

สรุป การดํารงตําแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัท และบริษัทอื�น 1 แห่ง

(ก) บริษัทจดทะเบียน

(ข) กิจการที�ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

4 แห่ง

__________: นางนํ�าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้องแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2556 (แบบ 56-1) เอกสารแนบ 1


เอกสารแนบ 1 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ลําดับที� 3

ชื�อ-นามสกุล นายโชติศักดิ� อาสภวิริยะ

วันเดือนปีเกิด 26 มีนาคม 2497

อายุ (ปี) 59

ตําแหน่ง กรรมการ (กรรมการอิสระ)

11 มิ.ย. 56 - ปัจจุบัน 27 ก.ย. 56 - ปัจจุบัน

ประธานคณะกรรมการ

ประสบการณ์ทํางาน กรรมการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) (ก) กรรมการ บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี�ส์ จํากัด (ข)

บริหารความเสี�ยง

กรรมการ บริษัท ประปาบางปะกง จํากัด (ข)

กรรมการบริหารและการลงทุน

กรรมการ บริษัท ประปานครสวรรค์ จํากัด (ข)

กรรมการกําหนดเกณฑ์และ ประเมินผลการดําเนินงานของ

กรรมการ บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จํากัด (ข) ที�ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ โรงพยาบาลปิยะเวท ที�ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลัง ประธานกรรมการ บริษัท ทีวีไดเร็คอินโดไชน่า จํากัด ผู้อํานวยการ บริษัท ทีวีไดเร็ค จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท ฟิวเตอร์วิชั�น จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท บิสซิเนส แอร์ เซ็นเตอร์ จํากัด กรรมการผู้อํานวยการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) กรรมการผู้จัดการ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย

บริษัท และพิจารณาค่าตอบแทน

2554 - ปัจจุบัน 2555 - 2556 2554 - 2556 2554 - 2556 2554 - 2556 2554 - 2556 2549 - 2550 2546 - 2549

การศึกษา วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (การสื�อสารภาครัฐและเอกชน)

การอบรมหลักสูตรสําคัญ การถือครองหุ้นEW ณ วันที� 31 ธ.ค.56 -

ไม่มี

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ M.S.T. (Business Ed.) Portland State University , Oregon , U.S.A. นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สรุป การดํารงตําแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัท และบริษัทอื�น 1 แห่ง

(ก) บริษัทจดทะเบียน

(ข) กิจการที�ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

4 แห่ง

__________: นางนํ�าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้องแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2556 (แบบ 56-1) เอกสารแนบ 1


เอกสารแนบ 1 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ลําดับที� 4

ชื�อ-นามสกุล พล.อ.สหชาติ พิพิธกุล

วันเดือนปีเกิด 19 มีนาคม 2495

อายุ (ปี) 61

ตําแหน่ง กรรมการ (กรรมการอิสระ)

11 มิ.ย. 56 - ปัจจุบัน 27 ก.ย. 56 - ปัจจุบัน

ประธานคณะกรรมการ

ประสบการณ์ทํางาน กรรมการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) (ก)

การศึกษา แพทยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล

กรรมการ บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี�ส์ จํากัด (ข)

วิทยาศาสตรบัณฑิต

ธรรมาภิบาลและสรรหา

กรรมการ บริษัท ประปาบางปะกง จํากัด (ข)

กรรมการบริหารและการลงทุน

กรรมการ บริษัท ประปานครสวรรค์ จํากัด (ข)

การอบรมหลักสูตรสําคัญ การถือครองหุ้นEW ณ วันที� 31 ธ.ค.56 DCP 180/2013

ไม่มี

DCP 174/2013 ACP 44/2013

ไม่มี

มหาวิทยาลัยมหิดล

กรรมการ บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จํากัด (ข) 25 มิ.ย.56 - ปัจจุบัน 2554

กรรมการ องค์การเภสัชกรรม (ข) เจ้ากรม กรมแพทย์ทหารบก

สรุป การดํารงตําแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัท และบริษัทอื�น 1 แห่ง

(ก) บริษัทจดทะเบียน

(ข) กิจการที�ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน 5

นายไทยรัตน์ โชติกะพุกกะณะ 15 มิถุนายน 2495

61

กรรมการ (กรรมการอิสระ)

20 ธ.ค. 55 - ปัจจุบัน 28 ก.พ.56 - ปัจจุบัน

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

2549 - 2555 2545 - 2548 2543 - 2544 2530 - 2543

5 แห่ง กรรมการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) (ก) กรรมการ บรรษัทประกันสินเชื�ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) (ข) ปฏิบัติหน้าที� ประธานคณะกรรมการด้านการกํากับดูแลกิจการที�ดี และ การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม (CG&CSR) หัวหน้าทีม ฝ่ายตรวจสอบภายในบริษัทในเครือ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ผู้ชํานาญการ สํานักตรวจสอบภายใน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

Master of Science (Computer Science) California State University , Chico , California , U.S.A.

FID 1/2556

บริหารธุรกิจบัณฑิต (บัญชี) มหาวิทยาลัยรามคําแหง

พนักงานตรวจสอบอาวุโส สํานักตรวจสอบภายใน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) พนักงานตรวจสอบภายใน สํานักตรวจสอบภายใน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สรุป การดํารงตําแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัท และบริษัทอื�น 1 แห่ง

(ก) บริษัทจดทะเบียน

(ข) กิจการที�ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

1 แห่ง

__________: นางนํ�าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้องแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2556 (แบบ 56-1) เอกสารแนบ 1


เอกสารแนบ 1 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ลําดับที� 6

ชื�อ-นามสกุล นายปริญญา นาคฉัตรีย์

วันเดือนปีเกิด 24 มีนาคม 2484

อายุ (ปี) 72

ตําแหน่ง กรรมการ (กรรมการอิสระ)

20 ธ.ค. 55 - ปัจจุบัน 2555 - ปัจจุบัน

ประธานคณะกรรมการกําหนด เกณฑ์และประเมินผลการดําเนิน งานของบริษัท และพิจารณา ค่าตอบแทน

29 มี.ค.56 - ปัจจุบัน 12 มิ.ย.51 - 14 พ.ย.54 14 พ.ย.54 - 29 มี.ค.56

ประสบการณ์ทํางาน กรรมการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) (ก) ประธานกรรมการ มาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ�น ประธานกรรมการ กรรมการ บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี�ส์ จํากัด (ข) กรรมการ บริษัท ประปาบางปะกง จํากัด (ข) กรรมการ บริษัท ประปานครสวรรค์ จํากัด (ข) กรรมการ บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จํากัด (ข)

2554 - ปัจจุบัน

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกีฬามวย (ข)

2551 - ปัจจุบัน

กรรมการ บริษัท เอกรัฐวิศวกรรม จํากัด (มหาชน) (ก) ประธานกรรมการ บริษัท เอกรัฐโซล่าร์ จํากัด (ข)

2544

การศึกษา รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (กิตติมศักดิ�) มหาวิทยาลัยรามคําแหง

การอบรมหลักสูตรสําคัญ การถือครองหุ้นEW ณ วันที� 31 ธ.ค.56 นมธ.2

ไม่มี

FID 1/2556 TEPCOT 4 วตท.14 ปปร.6

เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาการเศรษฐกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต

วปอ.2532 RCC 12/2011 SFE 13/2011

สาขาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

DCP 111/2008

RCP 24/2010

Master Degree in Economics , Columbia University , U.S.A. ศึกษาศาสตรบัณฑิต (กศ.บ.) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง

ประธานกรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ประธานกรรมการ การประปาส่วนภูมิภาค ประธานกรรมการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จํากัด (มหาชน)

สรุป การดํารงตําแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัท และบริษัทอื�น 2 แห่ง (ก) บริษัทจดทะเบียน (ข) กิจการที�ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

6 แห่ง

__________: นางนํ�าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้องแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2556 (แบบ 56-1) เอกสารแนบ 1


เอกสารแนบ 1 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ลําดับที� 7

ชื�อ-นามสกุล นายกัลยาณะ วิภัติภูมิประเทศ

วันเดือนปีเกิด 15 มีนาคม 2508

อายุ (ปี) 48

ตําแหน่ง กรรมการ (กรรมการอิสระ)

13 ธ.ค.55 - ปัจจุบัน 12 พ.ย.56 - ปัจจุบัน

กรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา 30 ส.ค.56 - 12 พ.ย.56 กรรมการตรวจสอบ 2555 - 2556 2552 - 2555 2549 - 2552 2548 - 2549

ประสบการณ์ทํางาน กรรมการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) (ก) รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ที�ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจําด้านสังคม สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี รองอธิบดี กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ อัครราชทูตที�ปรึกษาและอัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงย่างกุ้ง

การศึกษา

การอบรมหลักสูตรสําคัญ การถือครองหุ้นEW ณ วันที� 31 ธ.ค.56

Master of Science (Diploma and International Studies) , University of London

FID 1/2556

ไม่มี

DCP 174/2013 ACP 44/2013

ไม่มี

รัฐศาสตรบัณฑิต สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยรามคําแหง

ผู้อํานวยการกองเอเชียตะวันออก 2 กระทรวงการต่างประเทศ อัครราชทูตที�ปรึกษา สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงย่างกุ้ง

สรุป การดํารงตําแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัท และบริษัทอื�น 1 แห่ง

(ก) บริษัทจดทะเบียน 8

พล.อ.ชูชัย บุญย้อย

18 มีนาคม 2494

62

กรรมการ (กรรมการอิสระ)

(ข) กิจการที�ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน 13 ธ.ค. 55 - ปัจจุบัน 2551

กรรมการตรวจสอบ 2548 - 2549 2546 - 2548 2517 - 2529

ไม่มี กรรมการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) (ก) ผู้บัญชาการ ศูนย์รักษาความปลอดภัย (ศรภ.) รองผู้บัญชาการ ศูนย์รักษาความปลอดภัย (ศรภ.) ผู้ช่วยผู้บัญชาการ ศูนย์รักษาความปลอดภัย (ศรภ.) อาจารย์กองวิชาวิศวกรรมสรรพาวุธ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

Master of Science , Aerospace Engineering University of Southern , California U.S.A.

FID 1/2556 วปอ.2547

วิทยาศาสตรบัณฑิต (ทบ.) โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

สรุป การดํารงตําแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัท และบริษัทอื�น 1 แห่ง

(ก) บริษัทจดทะเบียน

(ข) กิจการที�ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

ไม่มี

__________: นางนํ�าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้องแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2556 (แบบ 56-1) เอกสารแนบ 1


เอกสารแนบ 1 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ลําดับที� 9

ชื�อ-นามสกุล นายวีรพงศ์ ไชยเพิ�ม

วันเดือนปีเกิด

อายุ (ปี)

12 กุมภาพันธ์ 2509

47

ตําแหน่ง กรรมการ

25 เม.ย.55 - ปัจจุบัน 20 มี.ค.55 - ปัจจุบัน ก.ค.54 - มี.ค.55 ต.ค.51 - มิ.ย.54 ม.ค. - ก.ย.51 ต.ค.47 - ก.ย.51

พ.ย.46 - ต.ค.47

ประสบการณ์ทํางาน กรรมการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) (ก) ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) (ข) รองผู้ว่าการ (ยุทธศาสตร์และการเงิน) การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) รองผู้ว่าการ (ท่าเรืออุตสาหกรรม) การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) รักษาการในตําแหน่ง รองผู้ว่าการ (ท่าเรืออุตสาหกรรม) การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ผู้อํานวยการฝ่ายอํานวยการสํานักงานนิคมอุตสาหกรรม และท่าเรืออุตสาหกรรม การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ผู้อํานวยการฝ่ายยุทธศาสตร์และพัฒนาธุรกิจ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.)

การศึกษา

การอบรมหลักสูตรสําคัญ การถือครองหุ้นEW ณ วันที� 31 ธ.ค.56

Doctor of Engineering in Environmental Engineering

DCP 161/2012

(Water and Wastewater Engineering)

ปปร.15

ไม่มี

สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) Master of Science in Civil Engineering (Environmental Engineering) University of Missouri-Rolla , U.S.A. วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สรุป การดํารงตําแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัท และบริษัทอื�น 1 แห่ง

(ก) บริษัทจดทะเบียน 10

นายสหัส ประทักษ์นุกูล

20 พฤษภาคม 2498

58

กรรมการ กรรมการกําหนดเกณฑ์และ ประเมินผลการดําเนินงานของ บริษัท และพิจารณาค่าตอบแทน

(ข) กิจการที�ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน 25 เม.ย. 55 - ปัจจุบัน 1 ต.ค.54 - ปัจจุบัน

1 แห่ง กรรมการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) (ก) กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จํากัด (มหาชน) (ก)

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วปอ.2551 วตท.14

ไม่มี

DCP 73/2006

กรรมการ บริษัท กัลฟ์อิเล็คตริก จํากัด (มหาชน) (ก)

กรรมการบริหารความเสี�ยง

ประธานกรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จํากัด (ข) ประธานกรรมการ บริษัท เอ็กโก เอ็นจิเนียริ�ง แอนด์ เซอร์วิส จํากัด (ข) กรรมการ บริษัท ไซยะบุรี เพาเวอร์ จํากัด (ข)

ต.ค.53 - ก.ย.54 ม.ค.52 - ธ.ค.53

กรรมการ บริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร์ จํากัด (ข) รองผู้ว่าการนโยบายและแผน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กรรมการ บริษัท กฟผ.อินเตอร์เนชั�นแนล จํากัด

สรุป การดํารงตําแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัท และบริษัทอื�น 3 แห่ง

(ก) บริษัทจดทะเบียน

(ข) กิจการที�ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

4 แห่ง

__________: นางนํ�าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้องแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2556 (แบบ 56-1) เอกสารแนบ 1


เอกสารแนบ 1 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ลําดับที�

ชื�อ-นามสกุล

วันเดือนปีเกิด

อายุ (ปี)

ตําแหน่ง

11

นายวันชัย หล่อวัฒนตระกูล

2 มกราคม 2499

57

กรรมการ กรรมการผู้อํานวยการใหญ่

30 ส.ค.56 - ปัจจุบัน 15 ส.ค.56 - ปัจจุบัน

กรรมการบริหารและการลงทุน 27 ก.ย. 56 - ปัจจุบัน กรรมการบริหารความเสี�ยง

ประสบการณ์ทํางาน กรรมการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) (ก) กรรมการผู้อํานวยการใหญ่ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี�ส์ จํากัด (ข)

การศึกษา

การอบรมหลักสูตรสําคัญ การถือครองหุ้นEW ณ วันที� 31 ธ.ค.56

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาแหล่งนํ�า)

ปปร.6

สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

ปรอ.19 DCP 43/2004

ไม่มี

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กรรมการ บริษัท ประปาบางปะกง จํากัด (ข) กรรมการ บริษัท ประปานครสวรรค์ จํากัด (ข)

2555 - 2556 2553 - 2556

กรรมการ บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จํากัด (ข) กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริษัท เอส พี ซี จี จํากัด (มหาชน) กรรมการ และกรรมการวิชาการ สมาคมการประปาแห่งประเทศไทย (สปปท.)

สรุป การดํารงตําแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัท และบริษัทอื�น 1 แห่ง (ก) บริษัทจดทะเบียน (ข) กิจการที�ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

4 แห่ง

(B) Non-listed companies

4 companies

หมายเหตุ DCP : Director Certification Program วตท. : หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน UFS : Understanding the Fundamental of Financial Statements ACP : Audit Committee Program FID : Financial Instrument For Directors นมธ. : นักบริหารระดับสูง "ธรรมศาสตร์เพื�อสังคม" TEPCOT : Top Executive Program in Commerce and Trade ปปร. : หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักบริหารระดับสูง วปอ. : หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร RCC : Role of the Compensation Committee SFE : Successful Formulation & Execution the Strategy RCP : Role of the Chairman Program ปรอ. : หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

__________: นางนํ�าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้องแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2556 (แบบ 56-1) เอกสารแนบ 1


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1

2. รายละเอียดเกี�ยวกับผู้บริหาร และเลขานุการบริษัท ลําดับที�

ชื�อ-นามสกุล

อายุ

ตําแหน่ง

สัดส่วนการถือหุ้น

ความสัมพันธ์

คุณวุฒิสูงสุด

ประสบการณ์ทํางาน

ในบริษัท (%)

ทางครอบครัว

ทางการศึกษา

ระยะเวลา

ตําแหน่งปัจจุบัน

(จํานวนหุ้น)

ระหว่างผู้บริหาร วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาแหล่งนํ�า)

2556 - ปัจจุบัน

บริษัท/หน่วยงาน

ประเภทธุรกิจ

และผู้มีอํานาจควบคุม 1

นายวันชัย หล่อวัฒนตระกูล

57

กรรมการผู้อํานวยการใหญ่

ไม่มี

ไม่มี

กรรมการผู้อํานวยการใหญ่

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

กรรมการ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา)

กรรมการ กรรมการ

บจ.ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี�ส์ บจ. ประปาฉะเชิงเทรา

จําหน่ายนํ�าประปา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กรรมการ

บจ. ประปาบางปะกง

กิจการประปา

กรรมการ

บจ. ประปานครสวรรค์

กิจการประปา ธุรกิจพลังงาน

• หลักสูตรประกาศนียบัตรชั�นสูง การเมืองการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยสําหรับผู้บริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่น6

2555-2556

กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ

บริษัท เอส พี ซี จี จํากัด (มหาชน)

•หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

2553 - 2556

กรรมการ และกรรมการวิชาการ

สมาคมการประปาแห่งประเทศไทย (สปปท.)

กิจการประปา

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่น19 • Director Certification Program - DCP 43/2004 2

นายเจริญสุข วรพรรณโสภาค

50

M.Sc.Hydraulic Engineering,

ม.ค. 54 - ปัจจุบัน

รองกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ สายปฏิบัติการ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

ผู้อํานวยการใหญ่

International Institute for Hydraulic

ก.ย. 56 - ปัจจุบัน

รักษาการผู้อํานวยการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

สายปฏิบัติการ

and Environmental Engineering (IHE),

มี.ค. 53 - ธ.ค. 53

รักษาการรองกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ สายปฏิบัติการ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

Delft, the Netherlands.

ม.ค. 52 - ก.พ 53

ผู้อํานวยการฝ่ายบริการลูกค้า และ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

รักษาการ รองกรรมการผู้อํานวยการใหญ่

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

รองกรรมการ

ไม่มี

ไม่มี

วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (ทรัพยากรนํ�า) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

พ.ย. 45 – ธ.ค. 51

สายวางแผนและบริการลูกค้า

ส.ค. 51 - พ.ค. 52

ผู้อํานวยการฝ่ายวางแผนโครงการ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

กรรมการ

บจ.เอ็กคอมธารา

ธุรกิจนํ�าประปา

• Director Certification Program -DCP 146/2011* • Senior Executive Program - SEP 2010 • Executive Development Program (EDP) รุ่น 3 3

นายนําศักดิ� วรรณวิสูตร

48

รองกรรมการ

หุ้นสามัญ

ผู้อํานวยการใหญ่

549,000 หุ้น

สายการเงินและบัญชี

ไม่มี

MS.(Finance) University of Colorado, USA

ม.ค. 54 - ปัจจุบัน

รองกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ม.ค. 52 - ธ.ค. 53

ผู้อํานวยการฝ่ายการเงินและบัญชี

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ จําหน่ายนํ�าดิบ

และ

มิ.ย. 50 - ธ.ค. 51

ผู้อํานวยการฝ่ายอํานวยการ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

พ.ย. 45 - มิ.ย. 50

ผู้อํานวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจต่อเนื�อง

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

24,580 หุ้น

พ.ย. 44 - ต.ค. 45

รักษาการผู้อํานวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจต่อเนื�อง

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

0.034%

มี.ค. 44 - ต.ค. 44

ผู้จัดการแผนกพัฒนาธุรกิจ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

ในนามคู่สมรส

• Advance Senior Executive Program - ASEP 2010

__________: นางนํ�าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้องแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2556 (แบบ 56-1) เอกสารแนบ 1


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ลําดับที�

ชื�อ-นามสกุล

อายุ

ตําแหน่ง

เอกสารแนบ 1

สัดส่วนการถือหุ้น

ความสัมพันธ์

คุณวุฒิสูงสุด

ประสบการณ์ทํางาน

ในบริษัท (%)

ทางครอบครัว

ทางการศึกษา

ระยะเวลา

ตําแหน่งปัจจุบัน

บริษัท/หน่วยงาน

ประเภทธุรกิจ

(จํานวนหุ้น)

ระหว่างผู้บริหาร และผู้มีอํานาจควบคุม

4

นางนํ�าฝน รัษฎานุกูล

51

ผู้อํานวยการอาวุโส

หุ้นสามัญ

ผู้อํานวยการอาวุโส สํานักกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ และเลขานุการบริษัท

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

2,000 หุ้น

M. A. สาขาบริหารรัฐกิจ Glasgow College of Technology, UK

มิ.ย. 50 - ปัจจุบัน

สํานักกรรมการ ผู้อํานวยการใหญ่

และ

รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองการปกครอง)

ก.พ. 47 - มิ.ย. 50

ผู้อํานวยการอาวุโสสํานักตรวจสอบ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

และเลขานุการบริษัท

ในนามบุตรที�

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

Certificate in Computer Programming and Information

พ.ย. 44 - ก.พ. 47

ผู้อํานวยการสํานักตรวจสอบ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

24,000 หุ้น

Processing, UK

มี.ค. 44 - ต.ค. 44

ผู้อํานวยการสํานักกรรมการผู้อํานวยการใหญ่

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

0.002%

รัฐศาสตรบัณฑิต (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ไม่มี

และเลขานุการบริษัท

• Senior Executive Program - SEP 2011 • Director Certification Program - DCP 4/2000 • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั�นสูงการ บริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน (ปรม.) รุ่น 1 • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั�นสูง การเมืองการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยสําหรับผู้บริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่น11

หน้าที�และความรับผิดชอบหลักของเลขานุการบริษัท • ให้คําแนะนําเบื�องต้นแก่กรรมการในข้อกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของบริษัท ที�คณะกรรมการต้องทราบ และติดตามให้มีการปฏิบัติตามอย่างถูกต้องและสมํ�าเสมอ รวมถึงรายงานการเปลี�ยนแปลงในข้อกําหนดกฎหมายที�มีนัยสําคัญแก่กรรมการ • จัดการประชุมผู้ถือหุ้น และการประชุมคณะกรรมการให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับบริษัทฯ และข้อพึงปฏิบัติต่างๆ • บันทึกรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และการประชุมคณะกรรมการบริษัท รวมทั�งติดตามให้มีการปฏิบัติตามมติที�ประชุมผู้ถือหุ้น และที�ประชุมคณะกรรมการบริษัท • จัดทําและเก็บรักษาทะเบียนกรรมการ รายงานประจําปี หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท • ดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลและรายงานสารสนเทศต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ • ติดต่อและสื�อสารกับผู้ถือหุ้นให้ได้รับทราบสิทธิต่างๆของผู้ถือหุ้น และข่าวสารของบริษัท

__________: นางนํ�าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้องแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2556 (แบบ 56-1) เอกสารแนบ 1


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ลําดับที�

5

ชื�อ-นามสกุล

นางธิดารัชต์ ไกรประสิทธิ�

อายุ

50

ตําแหน่ง

เอกสารแนบ 1

สัดส่วนการถือหุ้น

ความสัมพันธ์

คุณวุฒิสูงสุด

ประสบการณ์ทํางาน

ในบริษัท (%) (จํานวนหุ้น)

ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริหาร และผู้มีอํานาจควบคุม

ทางการศึกษา

ระยะเวลา

ผู้อํานวยการอาวุโส

หุ้นสามัญ

ไม่มี

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ฝ่ายตรวจสอบ

630,000 หุ้น

บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

0.038% • Audit Committee Program - (ACP) รุ่น 26/2009

ตําแหน่งปัจจุบัน

บริษัท/หน่วยงาน

ประเภทธุรกิจ

ม.ค. 52 - ปัจจุบัน

ผู้อํานวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

มิ.ย. 50 - ธ.ค. 51

ผู้อํานวยการอาวุโส ฝ่ายการเงินและบัญชี

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

ต.ค. 47 - มิ.ย. 50

ผู้อํานวยการอาวุโส ฝ่ายการเงิน และทรัพยากรบุคคล

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

2544 - ต.ค. 47

ผู้อํานวยการฝ่ายการเงินและทรัพยากรบุคคล

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

• Executive Development Program - (EDP) รุ่น 4 • หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ สําหรับ นักบริหารระดับสูง รุ่น 5 6

นายเชิดชาย ปิติวัชรากุล

49

ผู้อํานวยการอาวุโส

วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต ( เทคโนโลยีสารสนเทศ )

ก.ย.56 - ปัจจุบัน

ผู้อํานวยการอาวุโสฝ่ายปฏิบัติการและบริการลูกค้า

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

ฝ่ายปฏิบัติการ

ไม่มี

ไม่มี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

มี.ค. 53 - ก.ย.56

ผู้อํานวยการฝ่ายบริการลูกค้า

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

และบริการลูกค้า

วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ม.ค. 52 - มี.ค. 53

ผู้อํานวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

ส.ค. 51 - ม.ค. 52

รักษาการกรรมการผู้จัดการ

บจ.ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตีส์

จําหน่ายนํ�าประปา

ก.ค. 51 - ม.ค. 52

กรรมการ

บจ.ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตีส์

จําหน่ายนํ�าประปา

มี.ค. 51- ปัจจุบัน

กรรมการบริษัท

บจ.เอ็กคอมธารา

จําหน่ายนํ�าประปา

พ.ย. 50 - ม.ค. 52

ผู้อํานวยการฝ่ายโครงการพิเศษ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

มี.ค. 50 - ม.ค. 52

กรรมการบริษัท

บจ.ประปาบางปะกง

กิจการประปา

กรรมการบริษัท

บจ.ประปาฉะเชิงเทรา

กิจการประปา

กรรมการบริษัท

บจ.ประปานครสวรรค์

กิจการประปา

ผู้อํานวยการศูนย์ปฏิบัติการฉะเชิงเทรา และ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ จําหน่ายนํ�าดิบ

• Executive Development Program - (EDP) รุ่น 3

พ.ย. 44 - พ.ย.50

รักษาการผู้อํานวยการศูนย์ปฏิบัติการระยอง 7

นางวิราวรรณ ธารานนท์

55

ผู้อํานวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล

ไม่มี

ไม่มี

ต.ค. 43 - ต.ค. 44

ผู้อํานวยการศูนย์ปฏิบัติการมาบตาพุด

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

MBA, สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ

ก.ย.56 - ปัจจุบัน

ผู้อํานวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ม.ค.52 -ก.ย.56

ผู้อํานวยการฝ่ายอํานวยการ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

บัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Corporate Secretary Program (CSP) รุ่น 9/2005

มิ.ย. 50 - ธ.ค. 51

ผู้อํานวยการฝ่ายตรวจสอบ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

ต.ค. 49 - มิ.ย. 50

ผู้อํานวยการสํานักกรรมการผู้อํานวยการใหญ่

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

ต.ค. 48 - ก.ย. 49

ผู้จัดการสํานักกรรมการผู้อํานวยการใหญ่

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

2547 - 2548

ผู้จัดการงานบริหารความเสี�ยงกลุ่มบริษัท

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

__________: นางนํ�าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้องแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2556 (แบบ 56-1) เอกสารแนบ 1


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 1 ลําดับที�

8

ชื�อ-นามสกุล

นายสมบัติ อยู่สามารถ

อายุ

43

ตําแหน่ง

ผู้อํานวยการ

สัดส่วนการถือหุ้น

ความสัมพันธ์

คุณวุฒิสูงสุด

ประสบการณ์ทํางาน

ในบริษัท (%) (จํานวนหุ้น)

ทางครอบครัว ระหว่างผู้บริหาร และผู้มีอํานาจควบคุม

ทางการศึกษา

ระยะเวลา

ไม่มี

ไม่มี

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ก.พ. 54 – ปัจจุบัน

ผู้อํานวยการ ฝ่ายการเงินและบัญชี

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ต.ค. 52 – ม.ค. 54

ผู้ช่วยผู้อํานวยการ ฝ่ายการเงินและบัญชี

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

เม.ย. 52 – ก.ย. 52

รักษาการผู้ช่วยผู้อํานวยการ ฝ่ายการเงินและบัญขี

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

• Executive Development Program - (EDP) รุ่น 5

เม.ย. 52 – ม.ค. 54

ผู้จัดการฝ่ายบัญชีเเละการเงิน (Secondment – UU)

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

มี.ค. 50 – มี.ค. 52

ผู้จัดการแผนกบัญชี ฝ่ายการเงินและบัญชี

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

เม.ย. 48 – ก.พ. 50

ผู้จัดการ ฝ่ายบริหารและการเงิน (Secondment – GWS)

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

พ.ย. 46 – มี.ค. 48 เม.ย. 46 – ต.ค. 46

ผู้จัดการแผนกงบประมาณและการเงิน ฝ่ายการเงินและบัญชี รักษาการ ผู้จัดการแผนกงบประมาณและการเงิน ฝ่ายการเงินและบัญชี

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ จําหน่ายนํ�าดิบ จําหน่ายนํ�าดิบ

ฝ่ายการเงินและบัญชี

9

นางสาวกันยานาถ วีระพันธุ์

44

ผู้อํานวยการ

หุ้นสามัญ

ฝ่ายสื�อสารองค์กร

220,000 หุ้น 0.013%

ไม่มี

บริหารธุรกิจบัณฑิต ( บัญชี ) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • Executive Development Program - (EDP) รุ่น 5

ตําแหน่งปัจจุบัน

บริษัท/หน่วยงาน

ประเภทธุรกิจ

ก.ค. 44 – มี.ค. 46

นักบัญชีอาวุโส ฝ่ายการเงินและบัญชี

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

ก.พ. 54 – ปัจจุบัน

ผู้อํานวยการ ฝ่ายสื�อสารองค์กร

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

ส.ค. 50 – ม.ค. 54

ผู้ช่วยผู้อํานวยการ ฝ่ายสื�อสารองค์กร

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

ต.ค. 49 – ก.ค. 50

ผู้จัดการ งานประชาสัมพันธ์ สํานักกรรมการผู้อํานวยการใหญ่

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

ต.ค. 45 – ก.ย. 49 ผู้จัดการ แผนกบริหารและประสานงานทั�วไป (Secondment – EHP) บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

ธ.ค. 44 – ก.ย. 45

ผู้จัดการ แผนกกิจการสัมพันธ์ ฝ่ายอํานวยการ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

มี.ค. 44 – พ.ย. 44

ผู้จัดการ แผนกกิจการสัมพันธ์ สํานักกรรมการผู้อํานวยการใหญ่

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

ม.ค. 39 – ก.พ. 44

นักประชาสัมพันธ์ ฝ่ายอํานวยการ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ�าภาคตะวันออก

จําหน่ายนํ�าดิบ

__________: นางนํ�าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้องแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี 2556 (แบบ 56-1) เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 2

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่อย (ข้อมูล ณ 31 ธันวาคม 2556) รายชื่อ

บจ.ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลติ ี้ส์               

บริษัท ประปา 3 พืน้ ที่*               

บจ.เสม็ด ยูทีลติ ี้ส์

บจ. อีดบั เบิล้ ยู ยูทีลติ ี้ส์

1. หม่อมหลวงปาณสาร หัสดินทร 2. นายโชติศกั ดิ์ อาสภวิริยะ 3. พลเอกนายแพทย์สหชาติ พิพิธกุล 4. นายปริ ญญา นาคฉัตรี ย ์ 5. นายวันชัย หล่อวัฒนตระกูล 6. นางสาวกริ ชผกา บุญเฟื่ อง 7. นายใหญ่ โรจน์สุวณิ ชกร 8. นายสยาม บางกุลธรรม 9. นายสมศักดิ์ จันทวัฒนา 10. นายนคร จิรเศวตกุล 11. นายทนุธรรม เกียรติไพบูลย์ 12. นายสมบูรณ์ ศุภอักษร 13. นายวิกรม คุม้ ไพโรจน์ 14.พล.ต.ต.มณเฑียร ประทีปะวณิ ช 15. นายนิพนธ์ บุญเดชานันทน์  16. นายสุ ทธิชยั จันทร์อารักษ์  17. นายกิตติพนั ธุ์ งามเสงี่ยม  18. นายภิเศก นวพันธุ์  19. นายเจริ ญสุ ข วรพรรณโสภาค  20. นายนาศักดิ์ วรรณวิสูตร  21. นายเชิดชาย ปิ ติวชั รากุล หมายเหตุ  = ประธานกรรมการ  = กรรมการ * บริ ษทั ประปา 3 พื้นที่ ได้แก่ บริ ษทั ประปาฉะเชิงเทรา จากัด บริ ษทั ประปาบางปะกง จากัด และบริ ษทั ประปานครสวรรค์ จากัด

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกลู รับรองความถูกต้องแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

บจ. อีดบั เบิล้ ยู วอเตอร์ บาลานซ์ (ชลบุรี)

บจ. อีดบั เบิล้ ยู สมาร์ ท วอเตอร์ (ระยอง)

 

เอกสารแนบ 2


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ3

รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้ างานผู้ตรวจสอบภายในและหัวหน้ างานกากับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัท 1. หัวหน้ างานกากับดูแลการปฏิบัตงิ านของบริษทั นางน้ าฝน รัษฎานุกลู ชื่อ สกุล ผูอ้ านวยการอาวุโสสานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ และเลขานุการบริ ษทั ตาแหน่ ง M. A. สาขาบริ หารรัฐกิจ Glasgow College of Technology, UK คุณวุฒิทางการศึกษา รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช รัฐศาสตรบัณฑิต (บริ หารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Certificate in Computer Programming and Information Processing, UK วุฒิบัตร ประสบการณ์ การทางาน

การอบรมหลักสู ตรสาคัญ

หน้ าที่ความรับผิดชอบ

บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก มิ.ย. 50 – ปัจจุบนั ผูอ้ านวยการอาวุโส สานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ และ เลขานุการบริ ษทั ก.พ. 47 - มิ.ย. 50 ผูอ้ านวยการอาวุโสสานักตรวจสอบ และเลขานุการบริ ษทั พ.ย. 44 - ก.พ. 47 ผูอ้ านวยการสานักตรวจสอบ มี.ค. 44 - ต.ค. 44 ผูอ้ านวยการสานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ • หลักสูตร นักบริ หารการยุติธรรมทางปกครองระดับสูง (บยป.) รุ่ น 5 • หลักสูตร การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนสาหรับนัก บริ หารระดับสูง (ก.พ.ร.) รุ่ น 1 • Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA.,2013 (Module 2) • Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA.,2012 (Module 1) • Senior Executive Program - SEP 25/2011 • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิ ปไตยสาหรับผูบ้ ริ หารระดับสูง (ปปร.) รุ่ น11 • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริ หารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน (ปรม.) รุ่ น 1 • Director Certification Program - DCP 4/2000 • ตรวจสอบ และกากับดูแลการประกอบธุรกิจของบริ ษทั ให้เป็ นไปตาม กฎหมายและประกาศต่าง ๆ ระเบียบ และวิธีการปฏิบตั ิงาน ที่เกี่ยวข้อง • จัดส่ งและจัดทารายงานผลการกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน และตรวจสอบถึง รายละเอียดเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อย่างสม่าเสมอ และรายงานโดยทันทีกรณี ที่ อาจมี หรื อมีเหตุการณ์ที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อบริ ษทั และตลาดทุน โดยรวมอย่างมีนยั สาคัญ

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

เอกสารแนบ 3


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ3

• เข้าร่ วมพิจารณากาหนดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน หรื อการทาธุรกรรมใหม่ ๆ ของบริ ษทั เพื่อให้ดาเนินการและปฏิบตั ิตามนโยบาย แนวทาง และเกณฑ์ที่ คณะกรรมการบริ ษทั กาหนด รวมทั้งหลักเกณฑ์ จรรยาบรรณ หรื อข้อพึง ปฏิบตั ิ ที่กาหนดโดยกฎหมาย • รวบรวม เผยแพร่ ขอ้ มูล และให้ความรู ้ คาปรึ กษาแก่หน่วยงานต่าง ๆ ใน บริ ษทั เกี่ยวกับวิธีปฏิบตั ิงาน เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมาย ประกาศ กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ จรรยาบรรณ หรื อข้อพึงปฏิบตั ิต่างๆ รวมทั้งการจัด อบรมความรู ้ที่เกี่ยวข้อง • ติดต่อหรื อประสานงานกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สานักงาน คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 2. หัวหน้ างานผู้ตรวจสอบภายใน นางธิ ดารัตน์ ไกรประสิ ทธิ์ ชื่อ สกุล ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายตรวจสอบ ตาแหน่ ง บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คุณวุฒิทางการศึกษา บัญชีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต (CPA) วุฒิบัตร บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก ประสบการณ์ การทางาน ม.ค. 52 – ปัจจุบนั ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายตรวจสอบ มิ.ย. 50 – ธ.ค. 51 ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายการเงิน และบัญชี ต.ค. 47 – มิ.ย. 50 ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายการเงิน และทรัพยากรบุคคล 2544 – ต.ค. 2547 ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายการเงิน และทรัพยากรบุคคล 2540 – 2544 ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายการเงินและพัสดุ • Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, การอบรมหลักสู ตรสาคัญ Berkeley US.,2012 • Audit Committee Program (ACP) รุ่ น 26/2009 • Executive Development Program (EDP) รุ่ น 4 • หลักสูตร การบริ หารเศรษฐกิจสาธารณะสาหรับนักบริ หารระดับสูง (ปศส.) รุ่ น 5

__________: นางน้ าฝน รัษฎานุกูล รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2556 (แบบ 56-1)

เอกสารแนบ 3


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.