EASTW: รายงานประจำปี 2558

Page 1

น้ำ คือ ชีว�ต เพราะน้ำสรรสรางทุกสิ�ง


เลือกสรรนวัตกรรม ประยุกตใชอยางสัมฤทธิ์ผล กวา 2 ทศวรรษที่อีสท วอเตอรมุงมั่น ตั้งใจ และทุมเท เพ�อคงความเปนบริษัทชั้นนำดานการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ และดวยวิสัยทัศนที่กวางไกล ดวยความเชี่ยวชาญในการบริหารจัดการน้ำกวา 24 ป อีสท วอเตอร หรือ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) จึงไดคิดคนโมเดล 3W ซึ่งเปนโมเดลการบริหารจัดการน้ำครบวงจรอยางบูรณาการ โดยเริ่มตนดวย Water Grid ขยายสู Water Network และตามดวย Water Complex โดยมี เปาหมายในการแกปญหาน้ำแลง น้ำทวม ซ้ำซาก คุณภาพน้ำเสื่อมโทรม และเปน รากฐานสูการมีน้ำใชอยางเพียงพอในอนาคต สรางความมั่นคงและยั่งยืนใหกับ ระบบน้ำของประเทศ


พ��นที่ใหบร�การ

ปริมาณน้ำแยกตามพื้นที่ ณ 31 ธันวาคม 2558 ปริมาณน้ำรวม 296.44 ลาน ลบ.ม.

59.06%

32.95%

7.99%

หนองปลาไหลมาบตาพุดสัตหีบ

ฉะเช�งเทราชลบุร�

หนองปลาไหลหนองคอ หนวย : ลาน ลบ.ม.


61.15

%

แผนภูมิแสดงกลุมลูกคาของอีสท วอเตอร

3

สวนอุตสาหกรรม

4

โรงงานทั่วไป

5

%

5%

กิจการประปา ของกลุมบริษัท อีสท วอเตอร

1.4

2

8.69

1

อุปโภค-บริโภค

นิคมอุตสาหกรรม

27.64%

%

1.07


1 3

โครงขายทอสงน้ำที่สมบูรณแบบที่สุดแหงแรกในอาเซียน

ของประเทศ สงจายน้ำครอบคลุมพื้นที่บริการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี

จังหวัด

ระยอง

ทุนจดทะเบียนปจจุบัน

ลานบาท

1,663.73 394.5 โครงขายทอสงน้ำความยาวกวา กิโลเมตร

ความสำเร็จ พ.ศ. 2558

2

รางวัลจาก ก.ล.ต. ประเทศฟลิปปนส

TRIS Rating

จัดอันดับเครดิตองคกร ประจำป 2558

ที่ระดับ

คะแนน

รางวัล

TOP 50 ASEAN PLCs และ TOP 2 Outstanding Achievement Awards

ไดรับคะแนนเต็ม

Stable

ในการประเมินคุณภาพการจัด ประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2558 จากสมาคมสงเสริมผูลงทุนไทย


สารบัญ 42

วิสัยทัศน พันธกิจ และยุทธศาสตร

11

ปจจัยความเสี่ยง

จุดเดนในรอบป

12

สารจากประธานคณะกรรมการบริษัทฯ

15

คำอธิบายและการวิเคราะห ผลการดำเนินงานของฝายจัดการ ประจำป 2558

46

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

16

การกำกับดูแลกิจการที่ดี

55

รายงานคณะกรรมการบริหารและการลงทุน

19

การประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายใน

88

คำอธิบายและการวิเคราะห ผลการดำเนินงานของ ฝายจัดการ ประจำป 2558

รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัทฯ ตอรายงานทางการเงิน

91

55

รายงานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา

20

รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

22

44

รายงานคณะกรรมการกำหนดเกณฑประเมิน ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และพิจารณาคาตอบแทน

23

ประวัติคณะกรรมการบริษัทฯ

24

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต 92 งบแสดงฐานะการเงิน 93

ประวัติที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัทฯ

30

รายการระหวางกัน

154

ประวัติผูบริหาร

32

คาตอบแทนของผูสอบบัญชี

156

โครงสรางองคกร

38

ขอมูลทั่วไป

157

สภาพตลาดภาวะอุตสาหกรรมและการแขงขัน

40

ผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก

160

ลักษณะการดำเนินธุรกิจ และสัดสวนการถือหุนบริษัทในเครือ

42

ลักษณะการดำเนินธุรกิจ และสัดสวนการถือหุน บริษัทในเครือ

46

การกำกับดูแล กิจการที่ดี

88

การประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายใน

91

รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัทฯ ตอรายงานทางการเงิน


WATER CHANGES EVERYTHING Water is Life.

วิสัยทัศน เปนบริษัทชั้นนำในการจัดการน้ำอยางยั่งยืน เพ�อเติบโตไปกับเศรษฐกิจของประเทศ และขยายธุรกิจสูภูมิภาคอาเซียน

พันธกิจ 1. ขยายการลงทุนและพัฒนาธุรกิจน้ำดิบและธุรกิจที่เกี่ยวของ เพ�อการเติบโตอยางตอเน�องและยั่งยืน 2. เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่ทันสมัยและเหมาะสม 3. พัฒนาศักยภาพของบุคลากรและปรับปรุงโครงสรางการบริหาร ของกลุมฯ ใหเหมาะสมยิ่งขึ้น 4. บริหารธุรกิจอยางมีประสิทธิภาพ และโปรงใสตามหลักธรรมาภิบาล 5. รับผิดชอบตอชุมชน สังคม สิ่งแวดลอม และมีความสัมพันธที่ดี กับผูมีสวนไดเสีย

ยุทธศาสตร 1. บริหารธุรกิจใหเติบโตอยางเหมาะสมและสรางมูลคาเพิ่มของผลิตภัณฑ 2. พัฒนาธุรกิจใหม เพ�อรองรับการเติบโตอยางตอเน�องในระยะกลาง และระยะยาว 3. มีกรอบการบริหารการเงินและการลงทุนในธุรกิจอยางมีประสิทธิภาพสูง 4. พัฒนาบุคลากร บริหารองคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรมใหมๆ 5. มีการกำกับดูแลกิจการที่ดี ดวยความหวงใยชุมชน สังคมและสิ่งแวดลอม


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2558

12

จุดเด่นในรอบปี งบก�ำไรขาดทุน (ล้านบาท) รายได้น�้ำดิบ รายได้น�้ำประปา รวมรายได้ EBITDA ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ ก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่

2554 2,261.02 765.85 3,310.04 1,868.57 1,008.02 1,007.55

2555 2,612.22 841.60 3,725.95 2,079.04 1,240.17 1,239.74

2556 2,694.30 876.38 3,816.141 2,196.13 1,312.85 1,312.94

2557 2,768.38 988.74 4,035.841 2,288.42 1,334.45 1,334.21

2558 2,898.67 1,160.24 4,563.141 2,444.71 1,591.24 1,584.94

งบแสดงฐานะทางการเงิน สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของบริษัทใหญ่

2554 10,784.47 3,848.27 6,936.20 6,933.08

2555 12,440.09 5,119.62 7,320.46 7,316.94

2556 13,480.45 5,578.52 7,901.93 7,872.13

2557 15,243.45 6,726.37 8,517.07 8,487.56

2558 19,627.46 10,127.90 9,499.56 9,294.69

2554 4.17 0.61 0.42 30.44 14.91 9.75 0.56

2555 4.40 0.75 0.44 33.27 17.40 10.68 0.70

2556 4.73 0.79 0.42 34.40 17.31 10.13 0.71

2557 5.10 0.80 0.45 33.06 16.31 9.29 0.79

2558 5.59 0.95 0.222 34.73 17.83 9.09 1.09

อัตราส่วนทางการเงิน มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น ก�ำไรสุทธิต่อหุ้น เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น อัตราก�ำไรสุทธิต่อรายได้รวม อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (ROE) อัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้น (D/E)

หมายเหตุ:

(ล้านบาท)

(บาทต่อหุ้น) (บาทต่อหุ้น) (บาทต่อหุ้น) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (เท่า)

รายได้รวมปี 2556 - 2558 ไม่ได้รวมรายได้ค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทาน ซึ่งเกิดจากการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) เรื่องข้อตกลงสัมปทานบริการ 2 ปี 2558 เงินปันผลระหว่างกาลประกาศจ่ายตามมติคณะกรรมการบริษทั ฯ ในการประชุมครัง้ ที่ 12/2558 เมือ่ วันที่ 21 สิงหาคม 2558 ในอัตราหุน้ ละ 0.22 บาท ทัง้ นีใ้ นวันที่ 25 เมษายน 2559 คณะกรรมการบริษทั ฯ จะเสนอให้ทปี่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2558 พิจารณาอนุมตั กิ ารจ่ายเงินปันผลจากผลการด�ำเนินงาน ของเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2558 ในอัตราหุ้นละ 0.25 บาท 1


ปริมาณจำหนายน้ำดิบและรายไดจำหนายน้ำดิบของบริษัทฯ 3000

2,612 2,261

2,118 1,904 1,538

1,356

1500

1,673

250

271

263

257

248

257

233

1000

216

500

200

ปริมาณจำหนาย

2000

209

201 191

0

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

รายไดจำหนายน้ำดิบ (ลานบาท)

2556

2557

2558

150

ปริมาณจำหนายน้ำดิบ (ลาน ลบ.ม.)

หมายเหตุ: ไมรวมปริมาณน้ำดิบที่สงใหกิจการประปาของบริษัทและบริษัทยอย

แหลงที่มาของรายได (ลานบาท) 3,310.04

100%

8.55% 23.14%

80%

3,816.14 1

3,725.95 7.30% 22.59%

4,035.84 1

6.43% 22.97%

4,336.82 1

6.91% 24.50%

6.41% 26.75%

13

60% 68.31%

40%

70.11%

70.60%

68.59%

66.84%

20% 0%

2554

หมายเหตุ:

1 2

2555 รายไดจากการขายน้ำดิบ

2556 2557 รายไดจากการขายน้ำประปา

2558 รายไดอื่นๆ

รายไดรวมป 2556 - 2558 ไมไดรวมรายไดคา กอสรางภายใตสญ ั ญาสัมปทาน ซึง่ เกิดจากการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) เรื่องขอตกลงสัมปทานบริการ ป 2558 รายไดอน่ื ๆ ไมรวมกำไรจากการวัดมูลคายุตธิ รรมของสวนไดเสีย 15.88% ทีถ่ อื ในบริษทั เอ็กคอมธารา จำกัด กอนวันรวมธุรกิจ จำนวน 226.32 ลานบาท

ประวัติการจายเงินปนผล (บาทตอหุน) บาท/หุน

0.5

0.35

0.4 0.3

0.25

0.25

0.25

2549

2550

2551

0.38

0.42

0.44

0.42

0.45

0.47

0.22

0.2 0.1 0.0

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

หมายเหตุ: ป 2558 เงินปนผลระหวางกาลประกาศจายตามมติคณะกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมครั้งที่ 12/2558 เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2558 ในอัตรา หุนละ 0.22 บาท ทั้งนี้ในวันที่ 25 เมษายน 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ จะเสนอใหที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจำป 2558 พิจารณาอนุมัติ การจายเงินปนผลจากผลการดำเนินงานของเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2558 ในอัตราหุนละ 0.25 บาท

รายงานประจ�ำปี 2558

รายไดน้ำดิบ

300

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

2500

2,899

2,768

2,694


รายงานประจ�ำปี 2558

14 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)


สารจากประธานคณะกรรมการบริษัทฯ ความส�ำเร็จดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงแผนกลยุทธ์ทาง ธุรกิจที่มีประสิทธิภาพของบริษัทฯ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ ได้พิจารณา ทบทวน และปรับแผนกลยุทธ์อยู่เสมอ รวมทั้ง เปิดโอกาสให้พนักงานทัง้ องค์กรได้นำ� เสนอโครงการผ่านกิจกรรม “Rolling Corporate Plan” และกิจกรรม “Inno Wave Project” เพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบงาน และการสร้างนวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนให้องค์กร ก้าวหน้าอย่าง ยัง่ ยืน ทีส่ ำ� คัญ บริษทั ฯยังคงยึดมัน่ การปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดี โดยการด�ำเนินงานอย่างมีความรับผิดชอบต่อ ผู้มีส่วนได้เสีย ให้ความส�ำคัญต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้ในปี 2558 นี้ บริษทั ฯ ได้รบั รางวัลด้านธรรมาภิบาล ได้แก่ รางวัล TOP 50 ASEAN PLCs และ TOP 2 Outstanding Achievement Awards ในโครงการ ASEAN CG Scorecard 2015 จากหน่วยงานก�ำกับดูแลตลาดทุนในอาเซียน (ASEAN Capital Markets Forum) ณ ประเทศฟิลิปปินส์ นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ รั บ การคั ด เลื อ กให้ อ ยู ่ ใ นรายชื่ อ Thailand Sustainability Investment 2015 หรือรายชื่อ “หุ้นยั่งยืน” จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อันเป็นผลจากการน�ำหลัก ธรรมาภิบาลมาปฏิบัติได้อย่างจริงจัง การให้ความร่วมมือกับ ภาครัฐในการต่อต้านการทุจริต ซึ่งบริษัทฯ ผ่านการรับรองจาก โครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการ ทุจริต (CAC) เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2558 สุดท้ายนี้ ในนามของคณะกรรมการบริษทั ฯ ผมขอขอบคุณ ลูกค้า ผู้ถือหุ้น พันธมิตรทางธุรกิจ และผู้มีส่วนได้เสียทั้งภาครัฐ และเอกชน ที่ให้การสนับสนุนการด�ำเนินกิจการของบริษัทฯ ด้วยดีเสมอมา คณะกรรมการบริษัทฯ และพนักงานทุกคนยังคง ท�ำงานด้วยความมุ่งมั่น เพื่อให้ อีสท์ วอเตอร์ เป็นองค์กรชั้นน�ำ ด้านการบริหารจัดการน�้ำอย่างยั่งยืน เติบโตไปกับเศรษฐกิจของ ประเทศ และขยายธุรกิจสู่ภูมิภาคอาเซียน สมดังเป้าหมายของ บริษัทฯ ต่อไป

นายวิทยา ฉายสุวรรณ ประธานคณะกรรมการบริษัทฯ

15 รายงานประจ�ำปี 2558

ในปี 2558 ประเทศไทยประสบปัญหาการขาดแคลนน�้ำ อย่างรุนแรงในหลายพืน้ ที่ สืบเนือ่ งจากวิกฤติการณ์การเปลีย่ นแปลง ของสภาพภูมอิ ากาศ ซึง่ นับวันยิง่ ทวีความรุนแรง คณะกรรมการ บริษัทฯ ได้ลงพื้นที่เพื่อส�ำรวจความพร้อม ตลอดจนการประชุม ร่วมกับผู้ประกอบการและหน่วยงานภาครัฐเกี่ยวกับมาตรการ ในการแก้ปญ ั หาภัยแล้ง ท�ำให้บริษทั ฯ สามารถจัดหาแหล่งน�ำ้ ดิบ ส�ำรองเพิ่มเติมได้อย่างเพียงพอ สร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้า ในการให้บริการอย่างต่อเนื่องตลอดปี สืบเนื่องจากมาตรการส่งเสริมการลงทุนตามนโยบาย เขตเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอร์ของรัฐบาล ท�ำให้คาดว่า จะเกิดอุปสงค์ในการใช้นำ้� เพิม่ สูงขึน้ ในหลายพืน้ ที่ อาทิ ส่วนขยาย เขตนิ ค มอุ ต สาหกรรมมาบตาพุ ด เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษตาม แนวชายแดน ตลอดจนนิคมอุตสาหกรรมใหม่ ดังนั้น บริษัทฯ จึงเตรียมแผนการพัฒนาแหล่งน�้ำต้นทุนในระยะยาว และพัฒนา Water Grid เป็น Water Network โดยพื้นที่ต้นแบบที่ก�ำลัง ด�ำเนินการอยู่ คือ โครงการก่อสร้างวางท่อเชื่อมโยงอ่างเก็บน�้ำ หนองปลาไหล-อ่างเก็บน�ำ้ หนองค้อ 2 และอ่างเก็บน�ำ้ คลองหลวงหนองค้ อ ซึ่ ง จะสามารถรองรั บ ความต้ อ งการใช้ น�้ ำ ของทุ ก ภาคส่วนในอีก 10 ปีข้างหน้าได้อย่างเพียงพอ ไม่เพียงเท่านั้น บริษทั ฯ ยังได้วางแผนธุรกิจโดยน�ำแนวคิดการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน มาใช้ควบคู่กับการท�ำธุรกิจที่เน้นการใช้น�้ำทุกหยดอย่างคุ้มค่า และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผ่านโครงการ Water Complex เพือ่ ช่วยแก้ปญ ั หามลพิษและคุณภาพน�ำ้ ให้ดขี นึ้ อีกทัง้ ยังช่วยเพิม่ ปริมาณน�้ำต้นทุนให้กับภาคอุตสาหกรรม ลดปัญหาการแย่งน�้ำ ระหว่างภาคเกษตรกรรมและอุปโภคบริโภคในระยะยาวอีกด้วย ส�ำหรับผลประกอบการทางด้านการเงิน บริษทั ฯ มีความ สามารถท�ำก�ำไรเพิ่มขึ้นจากปี 2557 ประมาณร้อยละ 18 เกิด จากการขยายธุรกิจที่ได้มอบหมาย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ยูยู ซึง่ เป็นบริษทั ในเครือ ซือ้ หุน้ จาก บริษทั เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ด�ำเนินธุรกิจประปาในพื้นที่จังหวัดราชบุรี เพื่อเพิ่มฐานรายได้ระยะยาว ประกอบกับการควบคุมค่าใช้จ่าย ต่างๆ โดยเฉพาะดอกเบี้ยจ่ายได้กว่า 40 ล้านบาท จากการปรับ โครงสร้างวงเงินกู้ยืมส�ำหรับสินเชื่อระยะยาว (Refinance) และ เพิ่มทางเลือกการกู้ยืมระยะสั้น ซึ่งท�ำให้บริษัทฯ สามารถรักษา ความเชื่อมั่นและความแข็งแกร่งด้านการเงิน ไว้ที่ระดับ “A+ แนวโน้ม Stable” จากการประเมินโดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด (TRIS) ประจ�ำปี 2558

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น


รายงาน บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจ�ำปี 2558

16

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ก�ำหนด และคณะกรรมการบริษทั ฯ ได้กำ� หนดองค์ประกอบคุณสมบัติ วาระการด�ำรงต�ำแหน่ง และหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ของคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ ไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ปัจจุบนั คณะกรรมการตรวจสอบประกอบ ด้วย นายอมร เลาหมนตรี เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นายชนินทร์ ทินนโชติ และนางธัชดา จิตมหาวงศ์ เป็นกรรมการ ตรวจสอบ ในปี 2558 คณะกรรมการตรวจสอบ มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 19 ครั้ง ซึ่งได้รวมถึงการประชุมหารือร่วมกับ ผูต้ รวจสอบภายใน ผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ และผูส้ อบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการประชุมและการด�ำเนินงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ทุกไตรมาส ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบปฏิบัติหน้าที่ ตามที่ระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งสอดคล้องกับข้อก�ำหนดของ ก.ล.ต. และ ตลท. อย่างครบถ้วน สรุปสาระส�ำคัญในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดังนี้

1. สอบทานรายงานทางการเงิน

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินประจ�ำปี และรายไตรมาส ของบริษทั ฯ และงบการเงินรวม ร่วมกับ ผู้สอบบัญชี ผู้ตรวจสอบภายใน ตลอดจนรับฟังค�ำชี้แจงจากฝ่ายบริหาร ผลการสอบทานพบว่างบการเงินดังกล่าวมีความ ถูกต้อง เชือ่ ถือได้ และมีการเปิดเผยข้อมูลทีเ่ พียงพอและทันเวลา รวมทัง้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ขอ้ สังเกตในประเด็น ที่จะเป็นประโยชน์แก่บริษัทฯ นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายบริหารของ บริษัทฯ 1 ครั้ง เพื่อรับทราบความเป็นอิสระและขอบเขตการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี

2. สอบทานประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแผนการตรวจสอบภายในประจ�ำปี 2558 ซึ่งรวมถึงขอบเขตการตรวจสอบ โดยพิจารณาบนพื้นฐานความเสี่ยง (Risk Based Internal Audit Plan) กระบวนการในการปฏิบัติงานทั้งหมดของ กลุม่ บริษทั อีสท์ วอเตอร์ และข้อมูลจากผลประเมินความเสีย่ งของบริษทั ฯ ส�ำหรับปี 2558 การสัมภาษณ์ผบู้ ริหารถึงความ ต้องการหรือประเด็นข้อกังวล การวิเคราะห์งบการเงิน และข้อสังเกตที่ได้รับจากผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาสอบทานผลการตรวจประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล ระบบการควบคุม ภายในตามทีฝ่ า่ ยตรวจสอบร่วมกับบริษทั ทีป่ รึกษาตรวจสอบภายในได้ดำ� เนินการทดสอบตามมาตรฐานสากล กระบวนการ ท�ำงานต่างๆ ภายในกลุม่ บริษทั อีสท์ วอเตอร์ ทุกไตรมาส ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติมทีเ่ ป็นประโยชน์ ในการปรับปรุงการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้นแก่บริษัทฯ และมีการติดตามฝ่ายบริหารในการ ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะอย่างต่อเนือ่ ง โดยให้รายงานการปรับปรุงแก้ไขต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการตรวจสอบทุกครัง้ รวมทัง้ ได้ให้ฝา่ ยบริหารในหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องประเมินการควบคุมภายในตามแบบประเมินความเพียงพอของการควบคุม ภายในของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งผลการประเมินพบว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ดี และ เหมาะสมเพียงพอ


คณะกรรมการตรวจสอบได้ก�ำกับดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส และได้สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตาม ข้อก�ำหนดกฎหมายที่เกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจ กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งให้ฝ่ายบริหารรายงานสรุปผลการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ของบริษัทฯ เป็นประจ�ำทุกปี

4. การก�ำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาและอนุมัติ แผนปฏิบัติการ งบประมาณประจ�ำปีและกรอบอัตราก�ำลังของ ฝ่ายตรวจสอบ ตลอดจนสนับสนุนและส่งเสริมให้ฝา่ ยตรวจสอบสามารถปฏิบตั งิ านได้อย่างเป็นอิสระและเพือ่ ให้การปฏิบตั ิ งานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นจึงก�ำหนดให้ฝ่ายตรวจสอบมีสายบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาคูม่ อื และกฎบัตรฝ่ายตรวจสอบ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และสอดคล้องกับ สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมเป็นการเฉพาะกับผู้สอบบัญชี เพื่อให้ความมั่นใจว่าผู้สอบบัญชี มีความเป็น อิสระ และเพื่อท�ำความเข้าใจในแผนงานและขอบเขตการท�ำงานของผู้สอบบัญชี

17

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาข้อก�ำหนดการจ้างงานผู้สอบบัญชี เพื่อการสรรหาและคัดเลือกผู้สอบบัญชี ของกลุ่มบริษัทอีสท์ วอเตอร์ ประจ�ำปี 2559 และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาเห็นชอบ และเสนอขอ อนุมัติต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2558 ต่อไป

รายงานประจ�ำปี 2558

5. สอบทานการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีและการพิจารณาแต่งตั้งผู้สอบบัญชี

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

3. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2558

18

6. การประเมินตนเองและการทบทวนคู่มือกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยยึดหลักการก�ำกับดูแล กิจการที่ดีซึ่งได้รายงานผลต่อคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา ทั้งนี้ผลการประเมินตนเองอยู่ในเกณฑ์ดีมาก รวมทั้ง คณะกรรมการตรวจสอบได้ทบทวนกฎบัตรและคู่มือคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานในปีที่ผ่านมาครบถ้วนตามที่ได้รับมอบหมาย และสอดคล้องกับแนวทาง ปฏิบัติที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อเสนอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ โดยสรุปคณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าทีค่ รบถ้วนตามทีไ่ ด้ระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบทีไ่ ด้ รับอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ ซึง่ สอดคล้องกับข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และมีความเห็นสอดคล้องกับความเห็นของผูส้ อบบัญชีวา่ รายงานทางการเงินของ บริษัทฯ มีความถูกต้องตามที่ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย อีกทั้งบริษัทฯ ได้จัดให้มีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที่เหมาะสมมีประสิทธิผล โดยการด�ำเนินงานตลอดปี 2558 ไม่พบประเด็นปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ และได้มีการปรับปรุงการด�ำเนินงานต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ สอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมการด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบัน ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

นายอมร เลาหมนตรี ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ


รายงาน

คณะกรรมการบริหารและการลงทุนได้ปฏิบัติงานภายใต้ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย โดยด�ำเนินการ ภายใต้นโยบายของคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ตลอดจนแสวงหาและประเมินโอกาสในการ ลงทุนในธุรกิจใหม่ เพื่อเพิ่มอัตราการเติบโตของก�ำไรสุทธิของบริษัทฯอย่างต่อเนื่อง ได้ประสานงานกับประธาน กรรมการ การประปาส่วนภูมภิ าค เพือ่ เข้าเยีย่ มชมกิจการของบริษทั ฯ และหารือการด�ำเนินงานร่วมกันในอนาคต ตลอดจน ประสานงานกับคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ในการน�ำบริษทั ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ จ�ำกัด (มหาชน) เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สรุปผลการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญในปี 2558 ได้ดังนี้ 1. กลั่นกรองและน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ส�ำหรับปี 2558-2560 โดยมุ่งเน้นการขยายธุรกิจทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับบริษัทฯ และการควบคุมค่าใช้จ่าย การบริหารทางการเงินอย่างเหมาะสม เพื่อรองรับวงเงินการคุ้มครองเงินฝากที่ทยอยปรับลดลง 2. ติดตามความก้าวหน้าการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร รวมทั้งพิจารณานโยบาย กลยุทธ์ ทิศทางในการด�ำเนิน ธุรกิจ โครงการลงทุนต่างๆ รวมถึงการจัดสรรก�ำไรจากผลการด�ำเนินงาน ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและ การแข่งขัน พร้อมให้ความเห็นและข้อแนะน�ำในเบือ้ งต้น ก่อนน�ำเสนอยังคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณา 3. ทบทวนแผนหลักการพัฒนาแหล่งน�้ำและระบบท่อส่งน�้ำพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก เพื่อสนับสนุน การเติบโตทางเศรษฐกิจในพื้นที่ สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐ และเห็นชอบโครงการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง เร่งด่วนในพื้นที่จังหวัดชลบุรี 4. พิจารณาและน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ ปรับลดต้นทุนทางการเงินเพื่อการบริหารหนี้ระยะยาว และ เพิ่มทางเลือกในการกู้ยืมเงินระยะสั้น เพื่อบริหารสภาพคล่องของบริษัทฯ และวางแผนการบริหารการเงิน การลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. พิจารณาและน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติการขายหุ้นบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ให้แก่บริษัท ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ จ�ำกัด (มหาชน) เพือ่ แยกการบริหารกิจการประปาออกจากบริษทั ฯ ให้เกิดความชัดเจน และเพื่อสนับสนุนการแปลงสภาพบริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด เป็นบริษัทมหาชน 6. ติดตามรายงานสถานะการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ รวมถึงสถานการณ์น�้ำ ความก้าวหน้า โครงการลงทุนที่ส�ำคัญ และโครงการพัฒนาธุรกิจของบริษัทฯ อย่างสม�่ำเสมอเป็นประจ�ำทุกเดือน ทั้งนี้ คณะกรรมการบริหารและการลงทุนจะได้พัฒนาการก�ำหนดนโยบายในการบริหารและการลงทุนที่เป็น ประโยชน์ เพื่อผลักดันแผนการขยายธุรกิจในด้านต่างๆ ให้สอดรับกับนโยบายทางภาครัฐ เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่ง ในการด�ำเนินธุรกิจ รวมทั้งเสถียรภาพด้านการเงินอย่างยั่งยืนของบริษัทฯ ต่อไป

นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร ประธานคณะกรรมการบริหารและการลงทุน

19 รายงานประจ�ำปี 2558

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริหารและการลงทุน


รายงาน บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา

รายงานประจ�ำปี 2558

20

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระ 4 ท่าน เป็นผู้ก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของกรรมการและฝ่ายจัดการให้เป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และ สอดคล้องตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงหลักสากลของ ASEAN Corporate Governance Scorecard (ASEAN CG Scorecard) นอกจากนี้ยังครอบคลุมถึงการน�ำเสนอแนวนโยบาย และแนวปฏิบัติด้านบรรษัทภิบาลทั้ง 5 หมวด ได้แก่ สิทธิของผู้ถือหุ้น การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียม บทบาท ของผู้มีส่วนได้เสีย การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ในปี 2558 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา ได้มีการจัดประชุมรวม 9 ครั้ง ซึ่งกรรมการเข้าร่วมประชุม คิดเป็นร้อยละ 97.22 โดยมีผลการด�ำเนินงานสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้

1. ด้านธรรมาภิบาล เห็นชอบจัดท�ำแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) และรายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) โดยบริษทั ฯ ได้รบั ผลการประเมินระดับการพัฒนาความยัง่ ยืนเรือ่ ง Anti-Corruption Progress Indicators ของบริษทั จดทะเบียนไทย ประจ�ำปี 2558 จากผลการส�ำรวจของสถาบันไทยพัฒน์ ที่ระดับ 4 จากคะแนนเต็ม 5 ตลอดจนมีการเปิดเผย ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ รายไตรมาส เพื่อให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และประชาชนทั่วไป ได้รับทราบข้อมูล อันเป็นสาระส�ำคัญอย่างทันท่วงที ผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ อาทิ กิจกรรมพบปะนักลงทุน (Opportunity Day) จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เว็บไซต์ของบริษัทฯ เป็นต้น เห็นชอบจัดท�ำรายงานความยั่งยืน ตามกรอบ GRI - G4 (Global Reporting Initiative) โดยมีเป้าหมายยื่นขอ ใบรับรองจากสถาบัน GRI ระดับ Core แล้วเสร็จพร้อมรายงานความยั่งยืนประจ�ำปี 2558 เห็นชอบแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการทุกชุด ในรูปแบบการประเมินตนเองทัง้ องค์คณะ และ แบบประเมินรายบุคคล โดยแนะน�ำให้ปรับแบบฟอร์มให้มคี วามครบถ้วนชัดเจนยิง่ ขึน้ ตามแนวทางที่ ตลท. เผยแพร่ สนับสนุนให้มกี ารประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2557 โดยให้ขอ้ มูลทัง้ หมดแก่ผถู้ อื หุน้ ล่วงหน้าอย่างเพียงพอและ ทันเวลาตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ท�ำให้บริษัทฯ ได้รับผลการประเมินอยู่ที่ร้อยละ 100 ประเมินโดย สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย ด�ำเนินการจัดท�ำแบบประเมินตนเองเกี่ยวกับมาตรการต่อต้านคอร์รัปชัน โดยได้รับรองสถานะเป็นสมาชิก แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption: CAC) ซึ่งเป็นการตอกย�้ำถึงพันธกิจต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันในองค์กรทุกรูปแบบ โดยมุ่งเน้นให้เกิดการด�ำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพสูงสุด ผ่านเกณฑ์การประเมินด้านความยัง่ ยืนและได้รบั เลือกให้อยูใ่ นรายชือ่ “หุน้ ยัง่ ยืน” หรือ Thailand Sustainability Investment 2015 โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นรางวัลที่มอบให้แก่บริษัทจดทะเบียนที่ด�ำเนิน ธุรกิจโดยค�ำนึงถึงความสมดุลด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล


2. ด้านการสรรหา น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ ในการเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยสามารถเสนอชือ่ บุคคลทีเ่ ห็นว่าเหมาะสม เพื่อด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการบริษัทฯ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปี 2558 น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ ในการแต่งตัง้ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษทั ในเครือ คณะกรรมการ ชุดย่อย ทดแทนกรรมการที่ครบวาระและกรณีที่กรรมการลาออก โดยได้พิจารณาคุณสมบัติของบุคคลที่ได้รับ การเสนอชื่อทดแทนอย่างรอบคอบ มีคุณสมบัติครบถ้วนตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจน มีความรู้ความสามารถที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์กับบริษัทฯ สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระและไม่มี ประวัติด่างพร้อยหรือต้องห้ามตามกฎหมายมหาชน น�ำเสนอการปรับปรุงหลักเกณฑ์ คุณสมบัติ รวมถึงแบบประเมินการสรรหากรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ ด้วยความ รอบคอบและรัดกุม ตลอดจนเสนอให้มกี ารเพิม่ ช่องทางการประกาศรับสมัครงานและระยะเวลาการรับสมัครงาน ให้มากขึน้ ต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ให้ได้มาซึง่ บุคคลผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถและประสบการณ์ทเี่ หมาะสม ในการด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารสูงสุดขององค์กร คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา พร้อมมุ่งมั่นพัฒนาประสิทธิภาพการควบคุมและก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ควบคูไ่ ปกับการด�ำเนินงานด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม และสิง่ แวดล้อม ตลอดจนมุง่ เน้นการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน และการปฏิบตั ติ ามจริยธรรมธุรกิจอย่างเคร่งครัดเพือ่ การเติบโตขององค์กรอย่างยัง่ ยืน ทัง้ นีร้ ายละเอียดได้เปิดเผยไว้เพือ่ ความโปร่งใสในการตรวจสอบในรายงานประจ�ำปี ฉบับนี้แล้ว

พล.ต.ต.วิชัย สังข์ประไพ ประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ได้รับการประเมินจากส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ประเทศฟิลปิ ปินส์ ติดอันดับ Top 50 ASEAN PLCs และรางวัล Top 2 Outstanding Achievement Awards ซึ่ ง เป็ น รางวั ล ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง การมี พัฒนาการทางด้าน CG โดดเด่นอย่างก้าวกระโดด แสดงถึงความมุ่งมั่นในการน�ำหลักก�ำกับดูแลกิจการที่ดีมาใช้ ในการด�ำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม

21 รายงานประจ�ำปี 2558

ได้รับการประเมินด้านการก�ำกับดูแลกิจการบริษัท จดทะเบี ย นไทยประจ� ำ ปี 2558 จากสถาบั น กรรมการบริษัทไทย (IOD) โดยการสนับสนุนของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) อยู่ที่ 94 คะแนน จาก 100 คะแนน ซึ่งแสดงให้เห็นว่า บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญกับการปฏิบัติตามนโยบาย ทางด้าน CG อย่างเป็นรูปธรรม และเน้นการด�ำเนิน ธุรกิจทีค่ วบคูไ่ ปกับการรับผิดชอบต่อสังคม เพือ่ การ เติบโตอย่างยั่งยืน


รายงาน บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

รายงานประจ�ำปี 2558

22

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งยึดหลักการบริหารความเสีย่ งตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) เพื่อสนับสนุนการบริหาร 3 ด้าน ได้แก่ 1) หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) 2) หลักนิติธรรม (Rule of Law) และ 3) หลักคุณธรรม (Integrity) โดยได้ด�ำเนินการทบทวน และปรับปรุงนโยบายและ เกณฑ์บริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กรให้สอดคล้องกับทิศทางการด�ำเนินธุรกิจตามมาตรฐานสากล ในปี 2558 ได้น�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทในการปรับระดับความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงานประเด็นความ ไม่เพียงพอของปริมาณน�้ำต้นทุนจากความเสี่ยงระดับกลางในปี 2557 ขึ้นเป็นระดับสูง สืบเนื่องจากวิกฤตภัยแล้ง ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชลบุรี และจังหวัดฉะเชิงเทรา และเร่งรัดแผนบริหารความเสีย่ งในการก่อสร้างโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ เพือ่ แก้วกิ ฤตดังกล่าว ตลอดจนการจัดหาแหล่งน�ำ้ เพิม่ เติมให้แล้วเสร็จตามแผน เน้นย�ำ้ การปฏิบตั ติ ามระเบียบ ข้อบังคับของ ทางราชการให้ครบถ้วน รวมถึงการระมัดระวังความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินทั้งของบริษัทฯ และคู่ค้าที่เกี่ยวข้อง ที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างก่อสร้าง นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ในด้านการเติบโตของการใช้น�้ำดิบที่อาจมีแนวโน้มลดลง ซึ่งท�ำให้บริษัทฯ มีความจ�ำเป็นต้องขยายธุรกิจออกไปโดยผ่านกลุม่ บริษทั อีสท์ วอเตอร์ ทัง้ นีค้ ณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีการติดตามและ ประเมินผลการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ เพือ่ น�ำไปพัฒนาและปรับปรุงระบบการบริหารความเสีย่ งให้มปี ระสิทธิภาพ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถควบคุมและลดระดับความเสี่ยงจนอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ตลอดจนติดตามผลการบริหาร ความเสี่ยงด้านอื่นๆ อย่างสม�่ำเสมอ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองเป็นประจ�ำ ทุกปี เพื่อน�ำผลการประเมินการปฏิบัติงานมาปรับปรุงแก้ไขให้การบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ สนับสนุนภารกิจ แผนยุทธศาสตร์ เป้าหมายธุรกิจ รวมถึงการวางแผนการตรวจสอบภายในบนพื้นฐานความเสี่ยง (Risk Based Audit) อันจะสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่บริษัทฯ ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสีย รายงานฉบับนีจ้ งึ เป็นการแสดงความมุง่ มัน่ ว่า เราจะลดความเสีย่ งทุกด้าน เพือ่ ให้การขับเคลือ่ นภารกิจของบริษทั ฯ เป็นไปด้วยความราบรื่น ประสบแต่ความรุ่งเรืองในการพัฒนางานอย่างมั่นคงยั่งยืนตลอดไป

นายไมตรี อินทุสุต ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง


รายงาน

คณะกรรมการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ได้แต่งตั้งคณะกรรมการ ก�ำหนดเกณฑ์ประเมินผลการด�ำเนินงานบริษัทฯ และพิจารณาค่าตอบแทน รวมถึงอนุมัติกฎบัตรคณะกรรมการ ตามแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน เพื่อใช้เป็นกรอบในการก�ำหนดคุณสมบัติและแนวทาง การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์ฯ และพิจารณาค่าตอบแทนไว้อย่างชัดเจน ในปี 2558 คณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์ฯ และพิจารณาค่าตอบแทนได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งสรุปสาระส�ำคัญได้ ดังนี้

1. พิจารณาเกณฑ์ประเมินผลการด�ำเนินงาน (Corporate KPIs) ประจ�ำปี 2558 ของบริษัทฯ และกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่ให้สอดคล้องกับแนวนโยบายธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงานใช้เป็นกรอบ ประเมินผลการด�ำเนินงานระดับต่างๆ

2. ติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงาน (Corporate KPIs) ทุกไตรมาส รวมถึงให้ข้อเสนอแนะแนวทางการ ปรับปรุงและพัฒนาการด�ำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผลการด�ำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมายที่ก�ำหนดไว้

3. พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ เสนอทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาอนุมตั ิ รวมถึงก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษัทในเครือทุกคณะ โดยเทียบเคียงกับรายงานการส�ำรวจค่าตอบแทนกรรมการของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

4. พิจารณากลั่นกรอง โครงสร้างค่าจ้างเงินเดือนและระดับต�ำแหน่งงานของพนักงานทุกระดับให้เป็นมาตรฐาน ซึ่งไม่ได้ปรับมากว่า 8 ปีให้สามารถแข่งขันได้ ตลอดจนก�ำหนดหลักปฏิบัติการโอนย้ายพนักงานไปปฏิบัติงาน บริษทั ในเครือ/บริษทั ร่วมทุน เพือ่ การก�ำกับดูแลบริษทั ในเครือและเป็นส่วนหนึง่ ในการพัฒนาบุคลากร เพิม่ การ เรียนรู้ในกระบวนการปฏิบัติงาน และเป็นการเปิดโอกาสการเติบโตในสายอาชีพ

คณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์ฯ และพิจารณาค่าตอบแทนได้ปฏิบัติหน้าที่ โดยค�ำนึงถึงผลการด�ำเนินงานของ บริษทั ฯ ในปี 2558 และเทียบเคียงกับธุรกิจทีใ่ กล้เคียงกัน ทัง้ นี้ เพือ่ ให้คา่ ตอบแทนมีความเหมาะสม เป็นธรรม และสร้าง แรงจูงใจต่อกรรมการ และพนักงานทุกระดับให้สามารถปฏิบตั หิ น้าทีเ่ พือ่ บรรลุเป้าหมายตามทิศทางธุรกิจทีค่ ณะกรรมการ บริษัทฯ ก�ำหนด ซึ่งเป็นการสร้างผลประโยชน์ในระยะยาวของบริษัทฯ

นายสหัส ประทักษ์นุกูล ประธานคณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน

23 รายงานประจ�ำปี 2558

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์ประเมินผลการด�ำเนินงานของ บริษัทฯ และพิจารณาค่าตอบแทน


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการบริษัทฯ

รายงานประจ�ำปี 2558

24

นายวิทยา ฉายสุวรรณ ต�ำแหน่ง

ประธานคณะกรรมการบริษัทฯ (กรรมการอิสระ)

การศึกษา

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

วปอ. 2550 TEPCOT 6 บยป. 4 RCP 36/2015

ประสบการณ์ท�ำงาน

ตุลาคม 2558 - ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการ บริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด (ข) มิถุนายน 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท อะมานะฮ์ ลิสซิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) (ก) พฤษภาคม 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (ข) มีนาคม 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) (ข) มกราคม 2558 - ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการ บริษทั ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ จ�ำกัด (มหาชน) (ข) 1 ธันวาคม 2557 - ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการบริษัทฯ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) (ก) 2557 - ปัจจุบัน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ 2552 - 2557 ผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2550 - 2552 รองอธิบดีกรมการข้าว 2549 - 2550 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ รักษาการในต�ำแหน่ง รองอธิบดีกรมการข้าว สรุป การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัทฯ และบริษัทอื่น (ก) บริษัทจดทะเบียน 2 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน 4 แห่ง

อายุ 61 ปี


อายุ 65 ปี

ต�ำแหน่ง

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการธรรมาภิบาล และสรรหา กรรมการ (กรรมการอิสระ)

อายุ 53 ปี

ต�ำแหน่ง

ประธานคณะกรรมการบริหารและการลงทุน กรรมการก�ำหนดเกณฑ์ และประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการ (กรรมการอิสระ)

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยแห่งรัฐเพนซิลเวเนีย นิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การศึกษา

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

25

ประสบการณ์ท�ำงาน

รายงานประจ�ำปี 2558

การศึกษา

นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

นายอมร เลาหมนตรี

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ DCP 208/2015 DAP 114/2015 AACP 18/2015 FSD 27/2015

ประสบการณ์ท�ำงาน

1 ธันวาคม 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) (ก) 2557 - ปัจจุบัน คณะท�ำงานรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย 2550 - 2553 ที่ปรึกษาด้านกฎหมาย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 2548 - 2550 ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย 2545 - 2548 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย 2543 - 2545 ผู้อ�ำนวยการส่วนพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย สรุป การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัทฯ และบริษัทอื่น (ก) บริษัทจดทะเบียน 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน ไม่มี

รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

HRP 4/2013 SFE 13/2011 ACP 28/2009 DCP 105/2008

1 ธันวาคม 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) (ก) 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) (ข) 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท อะมานะฮ์ ลิสซิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) (ก) 2552 - 2553 กรรมการ ธนาคารออมสิน 2551 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท หลักทรัพย์ฟินันเซีย ไซรัส จ�ำกัด (มหาชน) (ก) 2551 - 2557 กรรมการอิสระ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) สรุป การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัทฯ และบริษัทอื่น (ก) บริษัทจดทะเบียน 3 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน 1 แห่ง


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2558

26

รศ.ดร. ชนินทร์ ทินนโชติ

อายุ 53 ปี

พลต�ำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ

ต�ำแหน่ง

ต�ำแหน่ง

การศึกษา

การศึกษา

กรรมการตรวจสอบ กรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา กรรมการ (กรรมการอิสระ)

วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต (การส�ำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การผลิตเชิงบูรณาการข้อมูลแผนที่และข้อมูล ภูมิสารสนเทศ) International Institute for Aerospace Survey and Earth Science (ITC), The Netherlands วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (ส�ำรวจ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประกาศนียบัตรขั้นสูง (การแผนที่) International Institute for Aerospace Survey and Earth Science (ITC), The Netherlands

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

DCP 201/2015 DAP 114/2015 AACP 18/2015 RCL 1/2015 PDI 13/2015

ประสบการณ์ท�ำงาน

9 ธันวาคม 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ การประปานครหลวง (กปน.) (ข) 1 ธันวาคม 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) (ก) 2557 - ปัจจุบัน หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมส�ำรวจ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2556 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร (กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ) ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (องค์การมหาชน) (ข) 2550 - ปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมส�ำรวจ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543 - 2549 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมส�ำรวจ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรุป การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัทฯ และบริษัทอื่น (ก) บริษัทจดทะเบียน 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน 2 แห่ง

อายุ 61 ปี

ประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ (กรรมการอิสระ)

พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

ปรม. 6 มหานคร รุ่นที่ 2 หลักสูตรโรงเรียนผู้ก�ำกับ รุ่นที่ 35 หลักสูตรการบริหารงานต�ำรวจขั้นสูง รุ่นที่ 25 RMP 6/2015

ประสบการณ์ท�ำงาน

8 ธันวาคม 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) (ก) 23 มิถุนายน 2557 รองจเรต�ำรวจ ส�ำนักงานจเรต�ำรวจ 27 ธันวาคม 2554 รองผู้บัญชาการนครบาล 16 กุมภาพันธ์ 2552 ผู้บังคับการต�ำรวจนครบาล 1 1 ตุลาคม 2551 ผู้บังคับการต�ำรวจนครบาล 3 18 ธันวาคม 2546 ผู้บังคับการต�ำรวจนครบาล 2 สรุป การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัทฯ และบริษัทอื่น (ก) บริษัทจดทะเบียน 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน ไม่มี


ต�ำแหน่ง

กรรมการก�ำหนดเกณฑ์ และประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบริหารและการลงทุน กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ (กรรมการอิสระ)

การศึกษา

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการ) โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

ประสบการณ์ท�ำงาน

2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) (ข) 8 ธันวาคม 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) (ก) 2557 นายทหารฝ่ายเสนาธิการ ประจ�ำผู้บังคับบัญชา กองทัพบก กองบัญชาการกองทัพบก 2553 ผู้บังคับกองพันทหารราบที่ 3 กองพลที่ 1 รักษาพระองค์ 2552 ผู้ช่วยนายทหารยุทธการ กองยุทธการ กองทัพน้อยที่ 1 2549 ผู้ช่วยหัวหน้าฝ่ายยุทธการ กองพลทหารราบที่ 6 2546 ผู้บังคับกองร้อยกองบัญชาการกองทัพบกภาคที่ 1 สรุป การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัทฯ และบริษัทอื่น (ก) บริษัทจดทะเบียน 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน 1 แห่ง

นางธัชดา จิตมหาวงศ์

อายุ 58 ปี

ต�ำแหน่ง

กรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา กรรมการตรวจสอบ กรรมการ (กรรมการอิสระ)

การศึกษา

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศิลปศาสตรบัณฑิต (การบัญชี) เกียรตินิยมอันดับสอง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

DCP 208/2015 DAP 114/2015 AACP 18/2015 FSD 27/2015

ประสบการณ์ท�ำงาน

24 ธันวาคม 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) (ก) 28 พฤศจิกายน 2554 - ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการส�ำนักก�ำกับและพัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลัง ภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ กรมบัญชีกลาง 2550 - 2554 ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาระบบการคลัง กรมบัญชีกลาง 2548 - 2550 เลขานุการกรม กรมบัญชีกลาง 2542 - 2548 คลังจังหวัด กรมบัญชีกลาง 2540 - 2541 หัวหน้าฝ่ายแผนงาน กรมบัญชีกลาง 2539 - 2540 หัวหน้าผู้ตรวจสอบภายใน กรมบัญชีกลาง สรุป การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัทฯ และบริษัทอื่น (ก) บริษัทจดทะเบียน 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน ไม่มี

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

อายุ 42 ปี

27 รายงานประจ�ำปี 2558

พันเอก เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2558

28

ดร. วีรพงศ์ ไชยเพิ่ม

อายุ 49 ปี

นายชนินทร์ เชาวน์นิรัติศัย

ต�ำแหน่ง

ต�ำแหน่ง

การศึกษา

การศึกษา

กรรมการ

Doctor of Engineering in Environmental Engineering (Water and Wastewater Engineering) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) Master of Science in Civil Engineering (Environmental Engineering) University of Missouri-Rolla, U.S.A. วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

วธอ. 1 วพน. 3 DCP 161/2012 ปปร. 15

ประสบการณ์ท�ำงาน

25 เมษายน 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) (ก) 23 มีนาคม 2555 - ปัจจุบัน ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรกฎาคม 2554 - มีนาคม 2555 รองผู้ว่าการ (ยุทธศาสตร์และการเงิน) การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ตุลาคม 2551 - มิถุนายน 2554 รองผู้ว่าการ (ท่าเรืออุตสาหกรรม) การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) มกราคม - กันยายน 2551 รักษาการในต�ำแหน่ง รองผู้ว่าการ (ท่าเรืออุตสาหกรรม) การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ตุลาคม 2547 - กันยายน 2551 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอ�ำนวยการ ส�ำนักงานนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรือ อุตสาหกรรม การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) พฤศจิกายน 2546 - ตุลาคม 2547 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายยุทธศาสตร์และพัฒนาธุรกิจ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) สรุป การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัทฯ และบริษัทอื่น (ก) บริษัทจดทะเบียน 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน ไม่มี

อายุ 59 ปี

กรรมการ

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) University of Missouri-Rolla, U.S.A. วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) University of Missouri-Rolla, U.S.A.

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ DCP 192/2014 ปปร.

ประสบการณ์ท�ำงาน

1 ตุลาคม 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) (ก) 1 ตุลาคม 2558 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) (ก) 2557 รองผู้ว่าการนโยบายและแผน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 2556 กรรมการ บริษัท กฟผ.อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด 2555 ผู้ช่วยผู้ว่าการควบคุมระบบก�ำลังไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 2554 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายควบคุมระบบก�ำลังไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 2553 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายระบบควบคุมและป้องกัน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สรุป การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัทฯ และบริษัทอื่น (ก) บริษัทจดทะเบียน 2 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน ไม่มี


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

อายุ 54 ปี

ต�ำแหน่ง

กรรมการ

การศึกษา

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประสบการณ์ท�ำงาน

1 ธันวาคม 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) (ก) 27 พฤศจิกายน 2558 - ปัจจุบัน รองผู้ว่าการ (ปฏิบัติการ 3) การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) 1 ตุลาคม 2556 - 26 พ.ย. 2558 ผู้อ�ำนวยการ การประปาส่วนภูมิภาคเขต 1 การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) 2554 - 2556 ผู้อ�ำนวยการ การประปาส่วนภูมิภาคเขต 3 การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) 2551 - 2554 ผู้อ�ำนวยการ การประปาส่วนภูมิภาคเขต 8 การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) 2549 - 2551 ผู้อ�ำนวยการ กองแผนงานและประเมินผล 3 การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) 2544 - 2549 ผู้อ�ำนวยการ กองวิชาการ การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) สรุป การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในปัจจุบันของบริษัทฯ และบริษัทอื่น (ก) บริษัทจดทะเบียน 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน ไม่มี

หมายเหตุ นบส. : หลักสูตรเสริมสมรรถนะหลักด้านการบริหารส�ำหรับนักบริหารระดับสูง สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน ส�ำนักงาน ก.พ. บยป. : หลักสูตรนักบริหารการยุตธิ รรมทางปกครองระดับสูง ส�ำนักงานศาลปกครอง ปปร. : หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยส�ำหรับนักบริหาร ระดับสูง ปรม. : หลักสูตรการบริหารภาครัฐและกฎหมายมหาชน ปรอ. : หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร พสบ. : หลักสูตรอบรมพัฒนาสัมพันธ์ระดับผู้บริหาร กองบัญชาการกองทัพไทย มหานคร : ผู้บริหารระดับสูงด้านการบริหารงานพัฒนาเมือง วตท. : หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน วธอ. : หลักสูตรนักบริหารระดับสูงด้านการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม และการลงทุน สถาบันวิทยาการธุรกิจและอุตสาหกรรม วปอ. : หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร วพน. : หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยาการพลังงาน AACP : Advanced Audit Committee Program ACP : Audit Committee Program DAP : Director Accreditation Program DCP : Director Certification Program FND : Finance for Non-Finance Director HRP : How to Develop a Risk Management Plan PDI : หลักสูตรการก�ำกับดูแลกิจการส�ำหรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของ รัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน RCL : Risk Management Program for Coporate Leaders RCP : Role of the Chairman Program RMP : Risk Management Committee Program SFE : Successful Formulation & Execution the Strategy TEPCOT : Top Executive Program in Commerce and Trade

29 รายงานประจ�ำปี 2558

นายเอกชัย อัตถกาญน์นา


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัท

รายงานประจ�ำปี 2558

30

พลเอก ธนดล เผ่าจินดา

อายุ 64 ปี

ต�ำแหน่ง

ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัทฯ ทีป่ รึกษาคณะกรรมการบริหารและการลงทุน ทีป่ รึกษาคณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์ และประเมินผลการด�ำเนินงาน ของบริษัทฯ และพิจารณาค่าตอบแทน

การศึกษา

วิทยาศาสตรบัณฑิต (วทบ.) โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

วิทยาลัยการทัพบก ชุดที่ 45 หลักสูตรหลักประจ�ำ ชุดที่ 63 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก DAP 119/2015

ประสบการณ์ท�ำงาน

2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) 24 ธันวาคม 2557 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัทฯ ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารและการลงทุน ทีป่ รึกษาคณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์ และประเมินผลการด�ำเนินงานของ บริษัทฯ และพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) 2554 ที่ปรึกษาพิเศษกองทัพบก 2552 - 2554 ผู้บัญชาการ หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน 2526 ผู้บังคับกองร้อย กรมนักเรียนเตรียมรักษาพระองค์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

พลเรือเอก อมรเทพ ณ บางช้าง

อายุ 61 ปี

ต�ำแหน่ง

ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัทฯ ทีป่ รึกษาคณะกรรมการบริหารและการลงทุน

การศึกษา

การจัดการภาครัฐและเอกชนมหาบัณฑิต (เกียรตินิยม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปรอ. รุ่นที่ 20 วิทยาลัยการทัพเรือ รุ่นที่ 30 เสนาธิการทหารเรือ รุ่นที่ 48 หลักสูตรชั้นต้นพรรคนาวิน รุ่นที่ 22 International Surface Warfare Officers กองทัพเรือสหรัฐ โรงเรียนนายเรือสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน โรงเรียนนายเรือ รุ่นที่ 70 โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 13

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ วตท. รุ่นที่ 11 วพน. รุ่นที่ 1 DAP 98/2012

ประสบการณ์ท�ำงาน

2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) 24 ธันวาคม 2557 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัทฯ ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารและการลงทุน บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ


ต�ำแหน่ง

ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัทฯ ทีป่ รึกษาคณะกรรมการบริหารและการลงทุน

การศึกษา

Master of Business Administration Florida Institute of Technology U.S.A. Bachelor of Science (Civil Engineering) Central New England College of Technology U.S.A. นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

บยป. 6 บสบ. 5 วตท. 12 วปอ. 2546 นบส. 1 รุ่นที่ 43 หลักสูตรเสนาธิการ รุ่นที่ 44

ประสบการณ์ท�ำงาน

1 ตุลาคม 2558 - ปัจจุบัน รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 24 ธันวาคม 2557 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาคณะกรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารและการลงทุน บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) 2555 - 2558 อธิบดีกรมชลประทาน กรมชลประทาน 2554 รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2552 เลขาธิการส�ำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2551 ผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2549 รองอธิบดี กรมชลประทาน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

อายุ 58 ปี

31 รายงานประจ�ำปี 2558

นายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ประวัติผู้บริหาร

รายงานประจ�ำปี 2558

32

นายเจริญสุข วรพรรณโสภาค

อายุ 52 ปี

ต�ำแหน่ง

รองกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายปฏิบัติการ และรักษาการกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่

การศึกษา

M.Sc. Hydraulic Engineering International Institute for Hydraulic and Environmental Engineering (IHE), Delft, The Netherlands วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (ทรัพยากรน�้ำ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE) Thai Institute of Directors, 2015 หลักสูตร ประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุ่นที่ 14/2015 สถาบันพระปกเกล้า Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute Berkeley USA., 2013 (Module 2) Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute Berkeley USA., 2012 (Module 1) Director Certification Program - DCP 146/2011, Thai Institute of Directors Senior Executive Program - SEP 2010 Executive Development Program (EDP) รุ่น 3/2009, Thai Listed Companies Association

ประสบการณ์ท�ำงาน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ธ.ค. 58 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายปฏิบัติการ และรักษาการกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ม.ค. 54 - พ.ย. 58 รองกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายปฏิบัติการ มี.ค. 53 - ธ.ค. 53 รักษาการรองกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายปฏิบัติการ ม.ค. 52 - ก.พ. 53 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริการลูกค้า และรักษาการรองกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายงานวางแผนและบริการลูกค้า ส.ค. 51 - พ.ค. 52 กรรมการ บริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด พ.ย. 45 - ธ.ค. 51 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายวางแผนโครงการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)


นางน�้ำฝน รัษฎานุกูล

ต�ำแหน่ง

ต�ำแหน่ง

การศึกษา

การศึกษา

รองกรรมการผู้อ�ำนวยใหญ่ สายการเงินและบัญชี

MS. (Finance) University of Colorado, USA บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2013 (Module 2) Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2012 (Module 1) Director Certification Program - DCP 155/2012 Advance Senior Executive Program - ASEP 2010

ประสบการณ์ท�ำงาน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ธ.ค. 58 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี พ.ค. - พ.ย. 58 รองกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี และรักษาการกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ม.ค. 54 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี ม.ค. 52 - ธ.ค.53 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายการเงินและบัญชี มิ.ย. 50 - ธ.ค. 51 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายอ�ำนวยการ และรักษาการผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล พ.ย. 45 - มิ.ย. 50 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจต่อเนื่อง พ.ย. 44 - ต.ค. 45 รักษาการผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจต่อเนื่อง มี.ค. 44 - ต.ค. 44 ผู้จัดการ แผนกพัฒนาธุรกิจ

อายุ 53 ปี

ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช M.A. สาขาบริหารรัฐกิจ Glasgow College of Technology, UK Certificate in Computer Programming and Information Processing London school, UK รัฐศาสตรบัณฑิต (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

Sustainable Brands’15 Bangkok (TMA), 2015 หลักสูตร นักบริหารการยุติธรรมทางปกครองระดับสูง (บยป.) รุ่นที่ 5 หลักสูตร การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ส�ำหรับนักบริหารระดับสูง (ก.พ.ร.) รุ่นที่ 1 Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2013 (Module 2) Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2012 (Module 1) Senior Executive Program - SEP 2011 หลักสูตร ประกาศนียบัตรชั้นสูง การเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยส�ำหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่น 11 หลักสูตร ประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารงานภาครัฐและกฎหมาย มหาชน (ปรม.) รุ่น 1 Director Certification Program - DCP 4/2000

ประสบการณ์ท�ำงาน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ก.ค. 58 - ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ก.พ. - ก.ค. 58 ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายทรัพยากรบุคคล มิ.ย. 50 - ก.พ. 58 ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ และเลขานุการบริษัทฯ ก.พ. 47 - มิ.ย. 50 ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ส�ำนักตรวจสอบ และเลขานุการบริษัทฯ พ.ย. 44 - ก.พ. 47 ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักตรวจสอบ มี.ค. 44 - ต.ค. 44 ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ 2537 - 2544 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบริหาร

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

อายุ 50 ปี

33 รายงานประจ�ำปี 2558

นายน�ำศักดิ์ วรรณวิสูตร


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

นางธิดารัชต์ ไกรประสิทธิ์ ต�ำแหน่ง

ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายการเงินและบัญชี

การศึกษา

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (CPA)

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

34 รายงานประจ�ำปี 2558

อายุ 52 ปี

Strategic CFO in Capital Markets Program, 2015 ประกาศนียบัตร CFO รุ่นที่ 19/2015 Director Certification Program - DCP 197/2014 Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2013 (Module 2) Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2012 (Module 1) Audit Committee Program (ACP) รุ่น 26/2009 Executive Development Program (EDP) รุ่น 4 หลักสูตร การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะส�ำหรับนักบริหารระดับสูง รุน่ 5

ประสบการณ์ท�ำงาน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ก.ค. 58 - ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายการเงินและบัญชี ม.ค. 52 - ก.ค. 58 ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบ มิ.ย. 50 - ธ.ค. 51 ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายการเงินและบัญชี ต.ค. 47 - มิ.ย. 50 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายการเงินและทรัพยากรบุคคล 2544 - ต.ค. 47 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายการเงินและทรัพยากรบุคคล 2540 - 2544 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายการเงินและพัสดุ

นายเชิดชาย ปิติวัชรากุล

อายุ 51 ปี

ต�ำแหน่ง

ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ประจ�ำส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ และรักษาการกรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน)

การศึกษา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

หลักสูตร การบริหารการตลาด สร้างภาพลักษณ์และลูกค้าสัมพันธ์ ยุคใหม่ส�ำหรับผู้บริหารองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน (Smart Marketing) รุ่นที่ 4/2558 Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2013 (Module 2) Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2012 (Module 1) Executive Development Program (EDP) รุ่น 3 หลักสูตร การบริหารจัดการน�้ำแบบบูรณาการ ส�ำหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่น 2 Director Certification Program - DCP 132/2010 Mini MBA ม.เกษตรศาสตร์ รุ่นที่ 21 (2002) Mini MIS ม.เกษตรศาสตร์ รุ่นที่ 2 (1997)

ประสบการณ์ท�ำงาน

ต.ค. 58 - ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ประจ�ำส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) รักษาการกรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ก.ย. 56 - ก.ย. 58 ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายปฏิบัติการและบริการลูกค้า มี.ค. 53 - ก.ย. 56 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายปฏิบัติการและบริการลูกค้า ม.ค. 52 - มี.ค. 53 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ส.ค. 51 - ม.ค. 52 รักษาการกรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตีส์ จ�ำกัด พ.ย. 50 - ม.ค. 52 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายโครงการพิเศษ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) พ.ย. 44 - พ.ย. 50 ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์ปฏิบัติการฉะเชิงเทรา และรักษาการผู้อ�ำนวยการ ศูนย์ปฏิบัติการระยอง บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)


ต�ำแหน่ง

ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่และ เลขานุการบริษัทฯ

การศึกษา

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บัญชีบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

Company Secretary Program (IOD), 2015 Director Certification Program - DCP 192/2014 Anti-Corruption : The Practical Guide, Thai Institute of Directors (IOD) - ACPG 8/2014 Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2013 (Module 2) Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2012 (Module 1) กฎหมายส�ำหรับการด�ำเนินกิจการที่เป็นบริการสาธารณะ สถาบันพระปกเกล้า หลักสูตร คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน Organizational Risk Management Program, Listed Companies Association

ประสบการณ์ท�ำงาน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ก.พ. 58 - ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่และเลขานุการบริษัทฯ ก.ย. 56 - ก.พ. 58 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ม.ค. 52 - ก.ย. 56 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายอ�ำนวยการ มิ.ย. 50 - ธ.ค. 51 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายตรวจสอบ ต.ค. 49 - มิ.ย. 50 ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ต.ค. 48 - ก.ย. 49 ผู้จัดการ ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ 2547 - 2548 ผู้จัดการ งานบริหารความเสี่ยงกลุ่มบริษัท

นางสาวกันยานาถ วีระพันธุ์

อายุ 46 ปี

ต�ำแหน่ง

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายสื่อสารองค์กร

การศึกษา

บริหารธุรกิจบัณฑิต (บัญชี) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2013 (Module 2) Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2012 (Module 1) Executive Development Program (EDP) รุ่น 5, 2010

ประสบการณ์ท�ำงาน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ก.พ. 54 - ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายสื่อสารองค์กร ส.ค. 50 - ม.ค. 54 ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายสื่อสารองค์กร ต.ค. 49 - ก.ค. 50 ผู้จัดการ งานประชาสัมพันธ์ ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ต.ค. 45 - ก.ย. 49 ผู้จัดการ ฝ่ายบริหารและประสานงานทั่วไป (Secondment - EHP) ธ.ค. 44 - ก.ย. 45 ผู้จัดการ แผนกกิจการสัมพันธ์ ฝ่ายอ�ำนวยการ มี.ค. 44 - พ.ย. 44 ผู้จัดการแผนกกิจการสัมพันธ์ ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

อายุ 57 ปี

35 รายงานประจ�ำปี 2558

นางวิราวรรณ ธารานนท์


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2558

36

นายโสกุล เชื้อภักดี

อายุ 51 ปี

นางสาวจินดา มไหสวริยะ

ต�ำแหน่ง

ต�ำแหน่ง

การศึกษา

การศึกษา

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายวิศวกรรม

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับบริหาร Anti-Corruption: The Practical Guide, Thai Institute of Directors (IOD) ACPG 13/2014

ประสบการณ์ท�ำงาน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ก.ค. 58 - ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิศวกรรม ม.ค. 57 - ก.ค. 58 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายวางแผนโครงการ 2554 - 2556 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิศวกรรม องค์การจัดการน�้ำเสีย 2552 - 2554 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท เจนเนอรัล เอนจิเนียริ่ง จ�ำกัด (มหาชน) 2541 - 2552 ผู้จัดการแผนกอาวุโส หน่วยธุรกิจต่อเนื่อง ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

อายุ 53 ปี

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายอ�ำนวยการ

พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ศิลปศาสตรบัณฑิต (การจัดการทั่วไป) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต หลักสูตร การบริหารจัดการธุรกิจสมัยใหม่ (Modern Executive Micro MBA), 2015 Train the trainer Anti - Corruption: The Practical Guide, Thai Institute of Directors (IOD) ACPG 13/2014 Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2013 (Module 2) Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2012 (Module 1) Executive Development Program (EDP) 2011

ประสบการณ์ท�ำงาน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ก.ค. 58 - ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายอ�ำนวยการ ก.พ. - มิ.ย. 58 รักษาการผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายอ�ำนวยการ 2554 - ก.พ. 58 ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายอ�ำนวยการ 2552 -2554 ผู้จัดการ แผนกจัดซื้อ ฝ่ายอ�ำนวยการ 2549 - 2552 ผู้จัดการ แผนกกิจการสัมพันธ์ ฝ่ายสื่อสารองค์กร 2547 - 2549 ผู้จัดการ แผนกจัดหาพัสดุ ฝ่ายอ�ำนวยการ


นางสาวธารทิพย์ โพธิสรณ์

ต�ำแหน่ง

ต�ำแหน่ง

การศึกษา

การศึกษา

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ

ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล และรักษาการผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สังคมวิทยาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลของผู้บริหารระดับกลาง (ปธก. 17/2015) สถาบันพระปกเกล้า Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2012 (Module 1) Executive Development Program (EDP 12) 2013

ประสบการณ์ท�ำงาน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ก.ค. 58 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล และรักษาการผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล เม.ย. 56 - ก.ค. 58 ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล 2555 - 2556 ผู้จัดการ แผนกจัดซื้อ 2554 - 2555 ผู้จัดการ แผนกพัฒนาบุคลากร 2552 - 2554 ผู้จัดการ แผนกทรัพยากรบุคคล

อายุ 44 ปี

ผู้จัดการ แผนกระบบเครือข่าย และรักษาการผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาศาสตรบัณฑิต (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Thailand ICT Management Forum & Thailand ICT Excellence Award 2016 ผู้จัดการมืออาชีพ (The Manager) Train the Trainer การจัดการไอซีที ส�ำหรับผู้จัดการสายงานไอซีที รุ่นที่ 3 Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2013 (Module 2) Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2012 (Module 1) CIO In Digital Marketing IBM Leadership Strategic Thinking

ประสบการณ์ท�ำงาน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ต.ค. 58 - ปัจจุบัน ผู้จัดการแผนกระบบเครือข่าย และรักษาการผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ธ.ค. 50 - ก.ย. 58 ผู้จัดการ แผนกระบบเครือข่าย

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

อายุ 50 ปี

37 รายงานประจ�ำปี 2558

นางสาวดวงรัตน์ พิทักษ์


โครงสรางองคกร

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการ บริษัท บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการ บริหารและ การลงทุน

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

38

คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

รายงานประจ�ำปี 2558

กรรมการ ผูอำนวยการใหญ

ฝายตรวจสอบ

รองกรรมการ ผูอำนวยการใหญ สายปฏิบัติการ

ฝายปฏิบัติการ และบริการลูกคา

ฝาย วิศวกรรม

กลุมงาน วางแผน โครงการ

ฝายพัฒนา ธุรกิจ


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการ กำหนดเกณฑและ ประเมินผลการดำเนินงาน ของบริษัทฯ และ พิจารณาคาตอบแทน

คณะกรรมการ ธรรมาภิบาล และสรรหา

รายงานประจ�ำปี 2558

39 สำนักกรรมการ ผูอำนวยการใหญ และเลขานุการ บริษัทฯ

รองกรรมการ ผูอำนวยการใหญ สายการเงิน และบัญชี

ฝายส�อสาร องคกร

ฝาย อำนวยการ

ฝาย ทรัพยากร บุคคล

ฝายการเงิน และบัญชี

ฝายเทคโนโลยี สารสนเทศ


สภาพตลาด บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน

รายงานประจ�ำปี 2558

40

ภาพรวมเศรษฐกิจไทยปี 2558

เศรษฐกิจไทยในปี 2558 ช่วงครึ่งปีแรก ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 2.9 ต�่ำกว่าที่คาดการณ์ เป็นผลจากปัจจัยเสี่ยง รอบด้าน อาทิ ความล่าช้าของการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะเศรษฐกิจจีนทีเ่ ป็นคูค่ า้ หลักของไทย ซึง่ ส่งผลกระทบ โดยตรงต่อภาคการส่งออก ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนจากค่าเงินดอลลาร์ที่แข็งค่าขึ้น นอกจากนี้ยังมีปัจจัย ภายในประเทศ ได้แก่ ความสามารถในการแข่งขันที่ลดลง ปัญหามาตรฐานการบินขององค์การการบินพลเรือนระหว่าง ประเทศ ICAO ปัญหาการท�ำประมงผิดกฎหมายและการค้ามนุษย์ ตลอดจนสถานการณ์ภัยแล้งที่เกิดขึ้นเป็นวงกว้าง เกือบทัง้ ประเทศ ปัจจัยเหล่านีส้ ง่ ผลต่อการลงทุนของภาคเอกชนทีช่ ะลอตัว เนือ่ งจากยังขาดความเชือ่ มัน่ ต่อภาวะเศรษฐกิจ โดยรวมและรอความชัดเจนจากการลงทุนของภาครัฐ อย่างไรก็ตาม ในช่วงครึ่งปีหลัง ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยแบบค่อยเป็นค่อยไป จากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐเพื่อช่วยผู้มีรายได้น้อยวงเงินรวม 1.36 แสนล้านบาท รวมถึงอานิสงส์จาก ภาคการท่องเที่ยว ท�ำให้ภาพรวมเศรษฐกิจไทยปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ 2.8 ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 0.9 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปี 2557

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขันในพื้นที่ภาคตะวันออก

แม้ว่าในปี 2558 เกือบทุกพื้นที่ของประเทศประสบภาวะภัยแล้งอย่างรุนแรง ส่งผลให้การผลิตภาคเกษตรหดตัว ในขณะที่ภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อยอยู่ที่ ร้อยละ 0.8 เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ร้อยละ 0.4 เป็นผลจากการ ขยายตัวของอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ยานยนต์ ผลิตภัณฑ์เคมี และยาสูบ โดยดัชนีความเชื่อมั่นในภาคตะวันออก เดือนกันยายน 2558 อยู่ที่ระดับ 92.9 สูงกว่าภูมิภาคอื่นๆ ด้วยภาคตะวันออกเป็นพื้นที่เดียวในปี 2558 ที่ไม่ประสบ ปัญหาขาดแคลนน�ำ้ มีนำ�้ ใช้เพียงพอกับความต้องการของทุกภาคส่วน เพราะมีการบริหารจัดการน�ำ้ อย่างเป็นระบบและ บูรณาการแบบอีสท์ วอเตอร์ โมเดล ที่ได้พัฒนาระบบท่อส่งน�้ำดิบด้วย Water Grid เชื่อมโยงแหล่งน�้ำส�ำคัญในภาค ตะวันออกกว่า 394.5 กม. พร้อมทั้งสามารถด�ำเนินการตามมาตรการป้องกันภัยแล้งได้สำ� เร็จตามแผน ได้แก่ การหา แหล่งน�้ำต้นทุนจากแหล่งน�้ำเอกชนอื่นๆ เพื่อเป็นแหล่งน�้ำส�ำรอง และการเร่งรัดโครงการวางท่ออ่างเก็บน�้ำประแสร์หนองปลาไหล เส้นที่ 2 แล้วเสร็จ โดยสะท้อนมายังปริมาณการใช้น�้ำดิบตลอดทั้งปีเป็นไปตามเป้าหมายเพิ่มขึ้นเล็กน้อย อยู่ที่ 296.4 ล้าน ลบ.ม. ปรับเพิ่มขึ้น 5.1% จากปีก่อน ในขณะที่ปริมาณการใช้น�้ำประปา อยู่ที่ 92.6 ล้าน ลบ.ม. เพิ่มขึ้น 4.26% จากปีก่อนเช่นกัน ส�ำหรับภาคตะวันออก ยังคงเป็นพืน้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญของประเทศและยังถูกบรรจุอยูใ่ นแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับล่าสุด ด้วยศักยภาพของพื้นที่ที่มีโครงข่ายคมนาคมที่เชื่อมโยงอย่างเป็นระบบทั้งทางน�้ำและ ทางบก มีเขตแนวชายแดนติดประเทศเพือ่ นบ้านอย่างกัมพูชา และมีชายฝัง่ ทะเลซึง่ เป็นทีต่ งั้ ของท่าเรือน�ำ้ ลึกประตูสำ� คัญ ของการส่งออก อีกทั้งมีความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติที่เอื้อต่อการท่องเที่ยว ท�ำให้การขยายตัวของ ภาคอุตสาหกรรมเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะพื้นที่ปลวกแดง-บ่อวิน ในจังหวัดชลบุรี ซึ่งจะกลายเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ ส�ำคัญของภูมภิ าคนี้ รวมถึงแผนการพัฒนาพืน้ ทีช่ ายฝัง่ ทะเลภาคตะวันออกในลักษณะทีเ่ ป็นซุปเปอร์คลัสเตอร์ ใน 7 จังหวัด และนโยบายการลงทุนตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ทั้งโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม โครงการรถไฟฟ้า รางคู่ การก่อสร้างมอเตอร์เวย์ 3 เส้นทาง และการบริหารจัดการน�้ำ เหล่านี้จะเป็นปัจจัยสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาอย่าง ต่อเนือ่ ง ภาคอุตสาหกรรมการผลิตของไทยมีแนวโน้มปรับตัวดีขนึ้ ส่งผลให้ความต้องการใช้นำ�้ ดิบและน�ำ้ ประปาของบริษทั ฯ ในปี 2559 มีแนวโน้มการเติบโตทีด่ เี มือ่ เทียบกับปี 2558 โดยคาดว่าปริมาณความต้องการใช้นำ�้ ดิบจะเติบโตอยูท่ ปี่ ระมาณ 3%


สถานการณ์น�้ำปี 2559

เป้าหมายการด�ำเนินการปี 2559

41

อีสท์ วอเตอร์ตั้งเป้ารายได้ปี 2559 เติบโตเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว โดยบริษัทฯ มีกลยุทธ์ ทีม่ งุ่ เน้นขยายฐานรายได้ในกลุม่ ลูกค้าน�ำ้ ดิบทีอ่ ยูใ่ นภูมภิ าคตะวันออก ซึง่ มีปจั จัยจากการเติบโตของนิคมอุตสาหกรรมใน กลุม่ ซุปเปอร์คลัสเตอร์ นอกจากนี้ ยังเดินหน้าตอบสนองนโยบายรัฐบาลทีจ่ ะสร้างระบบน�ำ้ ของประเทศสูค่ วามยัง่ ยืนโดย การลดปัญหาน�้ำแล้ง น�้ำท่วมซ�้ำซาก และมลพิษทางน�้ำ ด้วยโมเดลการบริหารจัดการน�้ำ 3 W ที่พัฒนาจาก Water Grid ให้เป็น Water Network และการวางระบบน�้ำด้วย Water Complex โดยมีเป้าหมายคือการสร้าง Smart City และ Factory Land เพื่อช่วยเพิ่มปริมาณน�้ำต้นทุน ลดต้นทุนค่าน�้ำ ควบคู่กับการลดปริมาณน�้ำเสียที่จะปล่อยออกสู่แหล่งน�้ำ สาธารณะ

รายงานประจ�ำปี 2558

ทั้งนี้ จากการคาดการณ์ของกรมอุตุนิยมวิทยาและศูนย์พยากรณ์ต่างๆ เมื่อเดือนธันวาคม 2558 คาดว่า ปรากฏการณ์เอลนีโญก�ำลังแรงจะยังคงอยู่ต่อเนื่องถึงต้นปี 2559 หลังจากนั้น จะค่อยๆ ลดระดับความรุนแรงลงและ เข้าสูส่ ภาวะปกติในช่วงกลางปี 2559 หรือประมาณเดือนมิถนุ ายน 2559 ดังนัน้ จึงคาดว่าช่วงกลางปีเป็นต้นไปสถานการณ์ น�้ำจะเข้าสู่สภาวะปกติ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

จากการประเมินปริมาณความต้องการใช้นำ�้ อุปโภค-บริโภค และอุตสาหกรรม ในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกพบว่าปริมาณ น�ำ้ ต้นทุนทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั เพียงพอกับการใช้นำ�้ ในช่วงฤดูแล้งของปี 2559 นี้ นอกจากนี้ อีสท์ วอเตอร์ได้จดั ให้มกี ารประชุม ติดตามสถานการณ์น�้ำอย่างต่อเนื่องเป็นประจ�ำทุกเดือนกับคณะท�ำงานศูนย์ปฏิบัติการน�้ำ (War Room) ภาคตะวันออก อันประกอบด้วย กรมชลประทาน ผู้ใช้น�้ำภาคอุปโภค - บริโภค และผู้ใช้น�้ำภาคอุตสาหกรรม เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับ ผู้ใช้น�้ำ อย่างไรก็ตามในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา สถานการณ์น�้ำปี 2559 ไม่ดีนัก แม้ว่า ผู้ใช้น�้ำจากระบบท่อของบริษัท จะมีนำ�้ ใช้อย่างเพียงพอ เพราะบริษทั ฯ ส�ำรองน�ำ้ ไว้ให้แล้ว แต่มผี ใู้ ช้นำ�้ บางรายทีไ่ ม่ได้เป็นลูกค้าประจ�ำของบริษทั ฯ มีแนวโน้ม จะขาดแคลนน�้ำในฤดูแล้ง บริษัทฯ ก็จะช่วยบรรเทาปัญหาการขาดแคลนน�้ำให้ โดยมาตรการป้องกันภัยแล้งในปี 2559 ซึ่งได้ด�ำเนินการต่อเนื่องจากปีก่อนเพื่อเพิ่มปริมาณน�้ำต้นทุน คือ การเร่งผันน�้ำจากอ่างเก็บน�้ำประแสร์มายังอ่างเก็บน�้ำ คลองใหญ่ เพือ่ ส่งจ่ายไปยังผูใ้ ช้นำ�้ ภาคอุตสาหกรรมและอุปโภคบริโภคในพืน้ ทีร่ ะยองและพืน้ ทีช่ ลบุรี การเร่งรัดโครงการ วางท่อส่งน�้ำดิบหนองปลาไหล - หนองค้อ 2 และการจัดหาแหล่งน�้ำดิบเอกชนในพื้นที่ชลบุรีเพิ่มเติม


ลักษณะการด�ำเนินธุรกิจ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

และสัดส่วนการถือหุ้นบริษัทในเครือ

รายงานประจ�ำปี 2558

42

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนินธุรกิจด้านการจัดหาและจ�ำหน่าย น�้ำดิบในภาคตะวันออก รวมถึงด�ำเนินธุรกิจต่อเนื่องด้านน�้ำประปาผ่านบริษัทในเครือ ลักษณะการด�ำเนินธุรกิจของ กลุ่มบริษัทฯ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน มีรายละเอียดพอสรุปได้ ดังนี้ 1. ธุรกิจน�้ำดิบ บริษัทฯ ด�ำเนินการพัฒนาและบริหารจัดการระบบท่อส่งน�้ำสายหลัก ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก เพื่อจ�ำหน่ายน�้ำดิบให้แก่นิคมอุตสาหกรรม กิจการประปาและโรงงานทั่วไป โดยมีพื้นที่บริการครอบคลุมจังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา มีความยาวท่อส่งน�้ำรวมทั้งสิ้น 394.5 กิโลเมตร สามารถสูบส่งน�้ำรวมได้ 619 ล้านลูกบาศก์เมตร ต่อปี 2. ธุรกิจต่อเนื่อง บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจต่อเนื่องผ่านบริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) (ยูยู) ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้น 100% มีวัตถุประสงค์ในการออกแบบ การผลิต และการจัดการน�้ำอย่างครบวงจรด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย โดยมีขอบเขตธุรกิจ ต่อเนื่องที่ด�ำเนินการ ได้แก่ การผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาส�ำหรับลูกค้าภาครัฐและเอกชน การผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาในต่างประเทศ การผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำอุตสาหกรรม การบ�ำบัดน�้ำเสีย การผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำ Recycle


ธุรกิจน้ำดิบ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก

ธุรกิจตอเน�อง ธุรกิจน้ำประปา

รายงานประจ�ำปี 2558

43

บมจ. ยูนิเวอรแซล ยูทีลิตี้ส

100%

หนวยธุรกิจ ประปาสัตหีบ ประปาเกาะลาน ประปาบอวิน-หนองขาม ประปาเกาะสมุย ประปาระยอง ประปาชลบุรี ประปานิคมอุตสาหกรรม หลักชัยเมืองยาง

บจ. ประปา นครสวรรค

99%

บจ. ประปา บางปะกง

99%

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ในปี 2558 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) (ยูยู) ได้ซอื้ หุน้ บริษทั เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ครัง้ แรกจาก บริษทั ฯ ร้อยละ 15.88 และครั้งต่อมาอีกร้อยละ 74.19 จากบริษัท เอ็กโก เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ เซอร์วิส จ�ำกัด (ESCO) รวมมีสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 90.07 ท�ำให้ปัจจุบัน ยูยู มีกิจการประปาในความรับผิดชอบจ�ำนวน 4 แห่ง และรับจ้าง บริหารระบบผลิตน�้ำประปากับหน่วยงานรัฐและเอกชน 8 แห่ง ดังรูป

บจ. ประปา ฉะเชิงเทรา

99%

บจ. เอ็กคอมธารา

90%


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ปัจจัยความเสี่ยง

รายงานประจ�ำปี 2558

44

บริษัทฯ ตระหนักถึงปัจจัยความเสี่ยงต่างๆ อันอาจเกิดขึ้น และส่งผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจ จึงมีการประเมิน โอกาสเกิดและผลกระทบต่อธุรกิจ ตลอดจนจัดเตรียมแผนบริหารความเสี่ยง เพื่อรองรับเหตุการณ์ความเสี่ยงต่างๆ อย่างสม�ำ่ เสมอ ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ก�ำหนดนโยบาย และก�ำกับ ดูแลความเสี่ยงที่มีนัยส�ำคัญส�ำหรับกลุ่มบริษัทอีสท์ วอเตอร์ (Corporate Risks) โดยทบทวนหลักเกณฑ์การประเมิน ความเสี่ยง และติดตามความก้าวหน้าตามแผนบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องทุกปี สรุปปัจจัยความเสี่ยงปี 2558 ที่มี นัยส�ำคัญต่อบริษัทฯ ประกอบด้วย

1. ความเสี่ยงด้านแหล่งน�้ำ และระบบสูบส่ง

1.1 ปริมาณน�ำ้ ต้นทุนไม่เพียงพอ ด้วยปรากฏการณ์เอลนีโญทีม่ กี ำ� ลังแรงอย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลกระทบต่อปริมาณฝน ในช่วงเดือนมิถุนายน - กันยายน 2558 ท�ำให้มีปริมาณฝนต�่ำกว่าค่าเฉลี่ยอย่างมาก โดยเฉพาะพื้นที่จังหวัดชลบุรีและ จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งบริษัทฯ ได้มีการเฝ้าระวังสถานการณ์น�้ำในพื้นที่ภาคตะวันออกอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะ สถานการณ์น�้ำอ่างเก็บน�้ำบางพระและอ่างเก็บน�้ำหนองค้อ พื้นที่จังหวัดชลบุรีและจังหวัดฉะเชิงเทรา ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้มี การด�ำเนินมาตรการต่างๆ เพือ่ ป้องกันแก้ไขปัญหาภัยแล้ง โดยมาตรการหลัก คือ 1) การผันน�ำ้ จากอ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์มายัง อ่างเก็บน�ำ้ หนองปลาไหล ท�ำให้มปี ริมาณน�ำ้ เพียงพอต่อการส่งจ่ายไปยังพืน้ ทีจ่ งั หวัดระยอง บ่อวิน - ปลวกแดง และจังหวัด ชลบุรี 2) การเร่งรัดโครงการวางท่อส่งน�ำ้ หนองปลาไหล-หนองค้อ เส้นที่ 2 ท�ำให้สามารถผันน�ำ้ จากอ่างเก็บน�ำ้ หนองปลา ไหลมายังพื้นที่จังหวัดชลบุรีได้มากขึ้น และ 3) ได้เตรียมการจัดซื้อน�้ำดิบเพิ่มเติมจากบ่อดินเอกชนในพื้นที่จังหวัดชลบุรี เพือ่ เสริมปริมาณน�ำ้ ต้นทุนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชลบุรแี ละจังหวัดฉะเชิงเทรา นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้มกี ารด�ำเนินมาตรการต่างๆ เพิ่มเติมทั้งในส่วนของการปรับปรุงสระส�ำรองส�ำนักบก การประสานงานกับกรมชลประทานและลูกค้าอย่างใกล้ชิด เพื่อ วางแผนการใช้นำ�้ และการส่งน�ำ้ ได้อย่างเพียงพอ ด้วยมาตรการป้องกันแก้ไขปัญหาภัยแล้งทีด่ ำ� เนินการข้างต้น จะส่งผลให้ ปริมาณน�้ำต้นทุนเพียงพอต่อความต้องการ และลูกค้าเกิดความมั่นใจและเชื่อมั่นว่าบริษัทฯ สามารถจัดหาน�้ำดิบให้ เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าได้ต่อเนื่องตลอดปี

1.2 ความเสียหายต่อระบบท่อส่งน�้ำ บริษัทฯ ด�ำเนินการซ่อมบ�ำรุงเชิงป้องกัน ตรวจสอบระบบท่อส่งน�้ำ และ

ซ่อมบ�ำรุงตามแผนงานอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าเครื่องจักร และอุปกรณ์ต่างๆ สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง ไม่เกิดความเสียหายระหว่างการใช้งาน รวมทั้งจัดท�ำประกันทรัพย์สินกับบริษัทประกันภัย เพื่อรับผิดชอบความเสียหาย ที่อาจเกิดจากเหตุการณ์ต่างๆ ให้ครอบคลุมทุกเส้นท่อ โดยได้ประกันภัยแบบการประกันความเสี่ยงทุกชนิด (All Risk Insurance) ประกันภัยความรับผิดชอบต่อบุคคลภายนอก และความเสียหายที่เกิดจากธุรกิจหยุดชะงัก เพื่อชดเชยการ สูญเสียรายได้หากท่อส่งน�้ำเกิดความเสียหายและบริษัทฯ ไม่สามารถจ่ายน�้ำได้

2. ความเสี่ยงที่อาจส่งผลให้การด�ำเนินงานหยุดชะงัก

2.1 การหยุดจ่ายน�้ำเนื่องจากไฟฟ้าขัดข้อง บริษัทฯ ด�ำเนินการสูบจ่ายน�้ำให้แก่ลูกค้าตลอด 24 ชั่วโมง การมี แหล่งน�ำ้ ส�ำรอง จึงเป็นสิง่ จ�ำเป็นในยามฉุกเฉิน เช่น กรณีไฟฟ้าดับ กรณีซอ่ มบ�ำรุงหรือประสานแนวท่อจ่ายน�ำ้ ใหม่ เป็นต้น ในกรณีเกิดเหตุฉกุ เฉิน บริษทั ฯ จึงต้องมีนำ�้ ส�ำรองจากสระส�ำรองในพืน้ ทีต่ า่ งๆ เพือ่ ส่งน�ำ้ ดิบทดแทนให้ลกู ค้าทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ที่ ที่มีไฟฟ้าขัดข้องหรือเกิดเหตุฉุกเฉินให้สามารถรับบริการได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ปัจจุบันบริษัทฯ มีแหล่งน�้ำส�ำรองความจุ รวม 116,300 ลูกบาศก์เมตร สามารถรองรับเหตุฉุกเฉินในพื้นที่จังหวัดระยองได้ไม่ต�่ำกว่า 17 ชั่วโมง


ความเสีย่ งจากการเพิม่ ขึน้ ของอัตราดอกเบีย้ เงินกู้ จากสถานะการเงินของกลุม่ บริษทั อีสท์ วอเตอร์ ทีเ่ ข้มแข็ง และ อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนที่ต�่ำ บริษัทฯ จึงพิจารณาด�ำเนินโครงการลงทุนต่างๆ ด้วยวงเงินสินเชื่อระยะยาวจากสถาบัน การเงิน รวมถึงการออกเสนอขายหุ้นกู้เป็นหลัก ตลอดจนควบคุมต้นทุนทางการเงินของบริษัทฯ อย่างระมัดระวัง ทั้งนี้ ในปี 2558 บริษัทฯ ได้ปรับลดต้นทุนทางการเงินเพื่อการบริหารหนี้ระยะยาว ด้วยการรีไฟแนนซ์สินเชื่อเงินกู้ยืมจาก สถาบันการเงินท�ำให้สามารถประหยัดดอกเบีย้ เงินกูไ้ ด้ประมาณ 100 ล้านบาท ตลอดอายุสญ ั ญาเงินกู้ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ได้เพิ่มสัดส่วนเงินกู้ที่มีเงื่อนไขอัตราดอกเบี้ยคงที่ เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่ต้นทุนดอกเบี้ยจะเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต

4. ความเสี่ยงจากการต่อต้านจากชุมชนในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ

ในแต่ละปี บริษัทฯ จ�ำเป็นต้องใช้น�้ำดิบจากแหล่งน�้ำในภาคตะวันออกในปริมาณมาก จึงอาจส่งผลต่อภาพลักษณ์ รวมถึงความไม่เข้าใจของชุมชนต่อการใช้น�้ำของบริษัทฯ ได้ บริษัทฯ จึงมีนโยบายในการจัดสรรเงินร้อยละ 5 ของ ก�ำไรสุทธิ ส�ำหรับการพัฒนาสิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชนในพื้นที่บริการ โดยมุ่งสร้างสัมพันธภาพอันดี ส่งเสริมทัศนคติ ที่ดีกับชุมชน สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องต่อการด�ำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ โดยการสนับสนุนโครงการพัฒนาท้องถิ่น และสนับสนุนให้ชุมชนต่างๆ มีน�้ำใช้เพื่อการอุปโภคบริโภค และเกษตรกรรมอย่างพอเพียง เช่น โครงการประปาชุมชน ตามแนวเส้นท่อในพื้นที่โครงการวางท่อเชื่อมอ่างเก็บน�้ำประแสร์-หนองปลาไหล โครงการเครือข่ายอีสท์ วอเตอร์รักษ์น�้ำ โครงการเพาะกล้าน้อยร้อยผืนป่าภาคตะวันออก ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงอีสท์ วอเตอร์ เป็นต้น

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

3. ความเสี่ยงด้านการเงิน

45 รายงานประจ�ำปี 2558

2.2 ธุรกิจหยุดชะงักเนื่องจากภัยพิบัติ (น�้ำท่วม ไฟไหม้ แผ่นดินไหว และดินถล่ม) ในกรณีที่เกิดภัยพิบัติ เช่น น�้ำท่วม ไฟไหม้ แผ่นดินไหว ดินถล่ม หรือกรณีการก่อการร้ายและวินาศกรรม เช่น การวางระเบิด จลาจล และการชุมนุม ทีเ่ กิดจากกลุม่ ผูก้ อ่ ความไม่สงบ บริษทั ฯ ได้จดั ท�ำแผนบริหารความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ (Business Continuity Plan: BCP) และซ้อมแผนดังกล่าวเป็นประจ�ำทุกปี ในปี 2558 ได้ด�ำเนินการซ้อมตามแผนดังกล่าวแล้วเสร็จในเดือนธันวาคม 2558 โดยการฝึกซ้อมแบบ Partial (การมีส่วนร่วม) และจ�ำลองการเข้าปฏิบัติงานที่ท�ำงานส�ำรอง (Alternate Site) เพื่อเตรียม ความพร้อมให้แก่พนักงานทุกคน นอกจากนี้ยังได้จัดเตรียมอุปกรณ์ สถานที่ ทรัพยากรที่ใช้ในการฟื้นคืนงานที่ส�ำคัญให้ สอดคล้องตามสถานการณ์ (Scenario) ที่ก�ำหนดขึ้น


ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ผลการด�ำเนินงานของฝ่ายจัดการ ประจ�ำปี 2558

รายงานประจ�ำปี 2558

46

1. เหตุการณ์ส�ำคัญของบริษัทฯ ในปี 2558 ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินการ 1.1 เหตุการณ์ส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจน�้ำดิบ 1. บริษัทฯ ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจร่วมกับกรมชลประทานและการประปาส่วนภูมิภาคเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2558 ในการด�ำเนินการสูบผันน�้ำเชื่อมโยงอ่างเก็บน�้ำประแสร์-คลองใหญ่ โดยบริษัทฯ เป็นผู้ด�ำเนินการสูบผันน�้ำทั้งระบบ ซึง่ บริษทั ฯ จะสามารถน�ำน�ำ้ ไปใช้ได้ 20 ล้านลูกบาศก์เมตร ในปีที่ 1 และเพิม่ เป็น 40 ล้านลูกบาศก์เมตร ตัง้ แต่ปที ี่ 2-5 2. ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 12/2558 เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2558 ได้มีมติอนุมัติโครงการวางท่อน�้ำดิบ หนองปลาไหล-หนองค้อ เส้นที่ 2 เพื่อรองรับความต้องการใช้น�้ำที่เพิ่มมากขึ้นและแก้ปัญหาการขาดแคลนน�้ำ ทั้งนี้ โครงการจะช่วยเพิ่มความสามารถในการสูบจ่ายน�้ำดิบจากอ่างฯหนองปลาไหลไปยังพื้นที่ชลบุรี และบ่อวิน-ปลวกแดง อีก 180,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน โดยมีมูลค่าเงินลงทุน 725 ล้านบาท และมีก�ำหนดแล้วเสร็จภายในปี 2559 1.2 เหตุการณ์ส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจน�้ำประปา 1. บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (ยูยู) ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับการประปานครหลวงเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2558 เพือ่ ร่วมกันวางแผนในการปรับลดจ�ำนวนครัวเรือนทีไ่ ม่มนี ำ�้ ประปาใช้ 3.9 ล้านครัวเรือน (ร้อยละ 17) ให้มีน�้ำประปาใช้อย่างเพียงพอและทั่วถึง และร่วมกันพัฒนาบุคลากร 2. ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2558 ได้มีมติเห็นชอบการปรับโครงสร้างธุรกิจประปาใน กลุ่มบริษัทอีสท์ วอเตอร์ โดยอนุมัติให้บริษัทฯ จ�ำหน่ายหุ้นสามัญของ บริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ทั้งหมดที่บริษัทฯ ถืออยู่จ�ำนวน 5,479,140 หุ้น หรือคิดเป็น 15.88% ของจ�ำนวนหุ้นทั้งหมดของบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ให้แก่ยูยู ในราคาหุ้นละ 58 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 317.79 ล้านบาท 3. เมือ่ วันที่ 28 พฤษภาคม 2558 ยูยไู ด้ลงนามในสัญญาจ้างบริการและบ�ำรุงรักษาระบบผลิตน�ำ้ ประปากับบริษทั ไทรเบคก้า เอ็นเตอร์ไพร์ส จ�ำกัด ผู้พัฒนานิคมอุตสาหกรรมหลักชัยเมืองยาง จังหวัดระยอง โดยสัญญาให้บริการแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ช่วงแรกจะให้บริการผลิตน�้ำประปาชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2558 ถึง 31 ธันวาคม 2559 ที่ปริมาณ ไม่น้อยกว่า 800 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และช่วงที่ 2 ให้บริการระบบผลิตน�้ำประปาขนาดก�ำลังการผลิต 19,200 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน เป็นระยะเวลา 30 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2589 4. ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 17 มิถนุ ายน 2558 ได้มมี ติอนุมตั แิ ผนการน�ำยูยเู ข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (Spin-Off) โดยการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนของยูยู ให้กับบุคคลทั่วไป (IPO) และผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯ (Pre-Emptive Right) รวมทั้งสิ้น 420,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท คิดเป็นร้อยละ 45.16 ของ ทุนที่ช�ำระแล้วของยูยู หลังการท�ำ IPO ทั้งนี้หุ้นสามัญจ�ำนวนไม่เกิน 67,000,000 หุ้น จะจัดสรรเพื่อให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้น ของบริษทั ฯ จองซือ้ ตามสัดส่วนการถือหุน้ ซึง่ ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1/2558 เมือ่ วันที่ 10 สิงหาคม 2558 ได้รับทราบแล้ว 5. ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2558 เมือ่ วันที่ 10 สิงหาคม 2558 ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้ยยู ซู อื้ หุน้ สามัญของ บริษทั เอ็กคอม ธารา จ�ำกัด จ�ำนวน 25,597,096 หุ้น หรือ คิดเป็นร้อยละ 74.19 จาก บริษทั เอ็กโก เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ เซอร์วิส จ�ำกัด มูลค่า 1,600 ล้านบาท และเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2558 ยูยูได้ช�ำระค่าหุ้นและรับโอนหุ้น บริษทั เอ็กคอมธารา จ�ำกัด โดยใช้แหล่งเงินจากเงินกู้ระยะสั้นจากสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง จ�ำนวน 1,600 ล้านบาท ท�ำให้ยูยูถือหุ้น บริษทั เอ็กคอม ธารา จ�ำกัด ภายหลังการท�ำรายการเป็น 31,076,236 หุ้น หรือ คิดเป็น 90.08% 6. บริษัทฯ ได้จ�ำหน่ายหุ้นสามัญทั้งหมดใน บริษทั เสม็ด ยูทิลิตี้ส์ จ�ำกัด คิดเป็นร้อยละ 55 ของจ�ำนวนหุ้นทั้งหมด หรือ จ�ำนวน 6.6 ล้านหุ้น ในราคาหุ้นละ 4.85 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 32.0 ล้านบาท ให้กับบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง และได้รับ ช�ำระค่าขายหุ้นทั้งหมดจากบริษัทเอกชนดังกล่าวแล้วเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2558 7. เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2558 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) (เดิมชื่อ “บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด”) ได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจ�ำกัดต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์แล้ว


2. การวิเคราะห์ผลการด�ำเนินการ 2.1. สรุปผลการด�ำเนินงาน ผลการด�ำเนินงานปี 2558 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีรายได้จากการขายและบริการรวมทั้งสิ้น 4,366.81 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จ�ำนวน 124.57 ล้านบาท หรือ 2.94% (หากไม่รวมรายได้ค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทาน จะมีรายได้จากการขายและ บริการรวม 4,271.13 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 297.81 ล้านบาท หรือ 7.50%) และมีก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ จ�ำนวน 1,584.94 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 250.74 ล้านบาท หรือ 18.79% เมื่อเทียบกับปี 2557

47 รายงานประจ�ำปี 2558

8. เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2558 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) (ยูยู) ได้น�ำส่งแบบแสดงรายการข้อมูลการ เสนอขายหลักทรัพย์ (แบบ filing) และร่างหนังสือชีช้ วนต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) โดยมีบริษัทหลักทรัพย์ เมย์แบงก์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทที่ปรึกษาทางการเงิน 1.3 เหตุการณ์ส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจอื่น 1. วันที่ 30 มีนาคม 2558 ยูยูได้ลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) กับบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GPSC เพื่อร่วมกันศึกษาและพัฒนาโครงการบ�ำบัดน�้ำเสียเพื่อน�ำกลับมาใช้ใหม่จากน�้ำเสียของเมืองพัทยา 2. เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2558 ยูยูได้ลงนามในสัญญาจ้างบริการและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียกับบริษัท ไทรเบคก้า เอ็นเตอร์ไพร์ส จ�ำกัด เพื่อให้บริการและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียขนาด 6,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ภายในนิคม อุตสาหกรรมหลักชัยเมืองยาง ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 เป็นระยะเวลา 30 ปี 1.4 เหตุการณ์ส�ำคัญอื่นๆ 1. เมือ่ วันที่ 20 มีนาคม 2558 บริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาเงินกูร้ ะยะยาว กับสถาบันการเงิน 2 แห่ง วงเงินรวม 2,800 ล้านบาท ระยะเวลา 5 ปี อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย 3.11% ต่อปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำมา Refinance เงินกู้ปัจจุบันของบริษัทฯ และบริษัทย่อย 2. เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2558 TRIS RATING ได้ประกาศคงอันดับเครดิตองค์กรของบริษัทฯ ที่ระดับ ‘A+’ ด้วยแนวโน้ม ‘Stable’ ซึ่งสะท้อนถึงสถานะทางการเงินที่แข็งแกร่งของบริษัทฯ และความเสี่ยงในการด�ำเนินธุรกิจที่อยู่ในระดับต�่ำ 3. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจ�ำปี 2557 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2558 ได้มีมติอนุมัติการจ่ายเงินปันผลประจ�ำปี 2557 ในอัตรา 0.45 บาทต่อหุน้ (ปี 2556 เท่ากับ 0.42 บาทต่อหุน้ ) คิดเป็นเงินปันผลจ่ายรวมทัง้ สิน้ 748.68 ล้านบาท ประกอบ ด้วยการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล (ม.ค. - มิ.ย. 2557) ในอัตรา 0.21 บาทต่อหุ้น เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 และการ จ่ายเงินปันผล 6 เดือนหลังของปี 2557 (ก.ค. - ธ.ค. 2557) ในอัตรา 0.24 บาทต่อหุ้น โดยมีก�ำหนดการจ่ายเงินปันผล ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2558 4. เมือ่ วันที่ 5 มิถนุ ายน 2558 บริษทั ฯ ได้มกี ารลงนามในสัญญาเงินกูร้ ะยะยาว 10 ปี กับสถาบันการเงินแห่งหนึง่ วงเงิน 1,000 ล้านบาท เพือ่ น�ำไปใช้ทดแทนเงินกูเ้ ดิมของโครงการทับมาและโครงการวางท่อประแสร์-หนองปลาไหล ในส่วนทีบ่ ริษทั ฯ ยังไม่ได้ท�ำการเบิกถอนเงินกู้ 5. เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2558 บริษัทฯ ได้มีการออกหุ้นกู้ชนิดไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกันและไม่มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ให้แก่ นักลงทุนสถาบันและนักลงทุนรายใหญ่ จ�ำนวน 2,400 ล้านบาท ประกอบด้วย หุ้นกู้ชุดที่ 1 อายุ 7 ปี วงเงินรวม 1,200 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย 3.84% ต่อปี และหุ้นกู้ชุดที่ 2 อายุ 10 ปี วงเงินรวม 1,200 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย 4.18% ต่อปี เพื่อน�ำไปช�ำระคืนเงินกู้ค่าก่อสร้างโครงการทับมาและโครงการวางท่อประแสร์-หนองปลาไหล ในส่วนที่บริษัทฯ ได้ท�ำการเบิกถอนเงินกู้ไปแล้วทั้งหมด 6. ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 12/2558 เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2558 ได้มีมติจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจาก ก�ำไรสุทธิส�ำหรับงวดระยะเวลา 6 เดือนสิ้นสุด 30 มิถุนายน 2558 ในอัตรา 0.22 บาทต่อหุ้น (ปี 2557 เท่ากับ 0.21 บาทต่อหุ้น) โดยมีการก�ำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิได้รับเงินปันผล เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2558 และจ่ายเงินปันผลเมื่อ วันที่ 17 กันยายน 2558 รวมเงินปันผลจ่ายทั้งสิ้น 366.02 ล้านบาท 7. เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2558 บริษัทฯ ได้ลงนามในสัญญาเงินกู้ระยะยาว 10 ปี กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง วงเงิน 1,700 ล้านบาท เพื่อน�ำไปใช้ทดแทนเงินกู้เดิมที่ใช้ในโครงการทับมาและโครงการวางท่อประแสร์-หนองปลาไหล

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)


ตาราง 1 : ภาพรวมผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

รายการ

รายงานประจ�ำปี 2558

48

2558

จ�ำนวนเงิน (ล้านบาท) % 2557

%

เพิ่ม (ลด) ล้านบาท %

น�้ำดิบจ�ำหน่าย (ล้านลูกบาศก์เมตร)

270.68

-

257.09

-

13.59

5.29%

น�้ำประปาจ�ำหน่าย (ล้านลูกบาศก์เมตร)

83.88

-

75.61

-

8.28

10.95%

4,366.81

100.00%

4,242.24

100.00%

124.57

2.94%

รายได้น�้ำดิบ

2,898.67

66.38%

2,768.38

65.26%

130.29

4.71%

รายได้น�้ำประปา

1,160.24

26.57%

988.74

23.31%

171.50

17.34%

รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ

212.23

4.86%

216.20

5.10%

(3.97)

(1.84%)

รายได้ค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทาน(1)

95.68

2.19%

268.92

6.34%

(173.24)

(64.42%)

ต้นทุนขายและบริการ

2,109.02

48.30%

2,097.65

49.45%

11.37

0.54%

ต้นทุนขายน�้ำดิบ

1,134.87

25.99%

1,039.69

24.51%

95.18

9.15%

ต้นทุนขายน�้ำประปา

707.28

16.20%

590.12

13.91%

117.15

19.85%

ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ

171.19

3.92%

198.91

4.69%

(27.73)

(13.94%)

ต้นทุนค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทาน(1)

95.68

2.19%

268.92

6.34%

(173.24)

(64.42%)

2,257.79

51.70%

2,144.59

50.55%

113.21

5.28%

รายได้อื่นๆ

65.69

1.50%

62.52

1.47%

3.17

5.07%

ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร

458.61

10.50%

412.23

9.72%

46.38

11.25%

1,864.88

42.71%

1,794.87

42.31%

70.00

3.90%

ต้นทุนทางการเงิน

114.18

2.61%

121.23

2.86%

(7.04)

(5.81%)

ก�ำไรก่อนภาษีฯ (EBT)

1,750.70

40.09%

1,673.65

39.45%

77.05

4.60%

ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

342.77

7.85%

339.20

8.00%

3.58

1.05%

1,407.92

32.24%

1,334.45

31.46%

73.47

5.51%

183.32

4.20%

-

-

183.32

N/A

ก�ำไรสุทธิ

1,591.24

36.44%

1,334.45

31.46%

256.79

19.24%

ก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่

1,584.94

36.30%

1,334.21

31.45%

250.74

18.79%

0.953

-

0.802

-

0.151

18.79%

2,444.71

55.98%

2,288.42

53.94%

156.28

6.83%

รายได้จากการขายและบริการ

ก�ำไรขั้นต้น

ก�ำไรก่อนต้นทุนการเงินและภาษีฯ (EBIT)

ก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินงานปกติ ก�ำไรจากการวัดมูลค่ายุติธรรมส่วนได้ ส่วนเสีย 15.88% ที่ถือในเอ็กคอมธารา ก่อนการรวมกิจการ(2)

อัตราส่วนก�ำไรสุทธิต่อหุ้น (EPS) EBITDA

หมายเหตุ : (1) เป็นรายได้และต้นทุนที่จะมีการรับรู้รายได้และต้นทุนเมื่อมีการก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทานของกิจการประปาตามมาตรฐานบัญชี TFRIC12 (2) กำ�ไรสุทธิจากการวัดมูลค่ายุติธรรมของส่วนได้เสียร้อยละ 15.88 ในส่วนของเจ้าของในบริษัท เอ็กคอมธารา จำ�กัด ที่กลุ่มบริษัทถือไว้ก่อนที่จะมีการ รวมธุรกิจ โดยมีรายละเอียดตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 40 งวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558


ม.ค. - ธ.ค. 2558 = 296.44 ล้านลูกบาศก์เมตร

ม.ค. - ธ.ค. 2557 = 282.06 ล้านลูกบาศก์เมตร โรงงานทั่วไป

โรงงานทั่วไป

1.07%

สวนอุตสาหกรรม

กิจการประปาของ กลุมบริษัทอีสท วอเตอร

8.69%

1.45%

อุปโภคบริโภค

27.64%

นิคมอุตสาหกรรม

61.15%

1.21%

สวนอุตสาหกรรม

กิจการประปาของ กลุมบริษัทอีสท วอเตอร

8.85%

1.45%

อุปโภคบริโภค

22.73%

นิคมอุตสาหกรรม

65.76%

หมายเหตุ ปริมาณน�้ำจ�ำหน่าย = ปริมาณน�้ำจ่าย - ปริมาณน�้ำที่ใช้ในกิจการประปาของกลุ่มบริษัทอีสท์ วอเตอร์ ภาพที่ 2 : ปริมาณน�้ำดิบจ่ายจ�ำแนกตามพื้นที่ (รวมปริมาณน�้ำดิบที่ส่งให้กิจการประปาในกลุ่มบริษัทอีสท์ วอเตอร์) ม.ค. - ธ.ค. 2558 = 296.44 ล้านลูกบาศก์เมตร

ฉะเชิงเทรา - ชลบุรี

ฉะเชิงเทรา - ชลบุรี

32.95%

ม.ค. - ธ.ค. 2557 = 282.06 ล้านลูกบาศก์เมตร

หนองปลาไหลมาบตาพุด-สัตหีบ

29.52%

61.62%

59.06%

หนองปลาไหล-หนองคอ

7.99%

หนองปลาไหลมาบตาพุด-สัตหีบ

หนองปลาไหล-หนองคอ

8.86%

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ภาพที่ 1 : ปริมาณน�้ำดิบจ่ายจ�ำแนกตามกลุ่มลูกค้า (รวมปริมาณน�้ำดิบที่ส่งให้กิจการประปาในกลุ่มบริษัทอีสท์ วอเตอร์)

49 รายงานประจ�ำปี 2558

2.2 ธุรกิจน�้ำดิบ 2.2.1 บริษัทฯ มีรายได้จากการขายน�้ำดิบ ปี 2558 รวม 2,898.67 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 130.29 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 4.71% YOY โดยมีปริมาณจ�ำหน่ายน�ำ้ ดิบรวม 270.68 ล้านลูกบาศก์เมตร (ไม่รวมปริมาณน�ำ้ ดิบทีส่ ง่ ให้กจิ การประปา ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย จ�ำนวน 25.76 ล้านลูกบาศก์เมตร) เพิม่ ขึน้ 13.59 ล้านลูกบาศก์เมตรหรือ 5.29% ในขณะที่ ราคาจ�ำหน่ายน�้ำดิบเฉลี่ย เท่ากับ 10.71 บาทต่อลูกบาศก์เมตร ลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี 2557 จ�ำนวน 0.06 บาทต่อลูกบาศก์เมตร หรือ 0.55% เนื่องจากการใช้น�้ำดิบส�ำหรับลูกค้าในกลุ่มอุปโภคบริโภคในพื้นที่จังหวัดชลบุรี และจังหวัดฉะเชิงเทราซึ่งมีอัตราค่าน�้ำที่ต�่ำกว่ามีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นมากท�ำให้อัตราค่าน�้ำเฉลี่ยปรับลดลง


2.2.2 ต้นทุนขายน�้ำดิบส�ำหรับปี 2558 มีต้นทุนขายรวม 1,134.87 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 95.18 ล้านบาท หรือ 9.15% ดังแสดงในตารางที่ 2

ตาราง 2 : ต้นทุนหลักธุรกิจน�้ำดิบ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

รายการ

รายงานประจ�ำปี 2558

50

2558

2557

เปลี่ยนแปลง

(ลบ)

(%)

(ลบ)

(%)

(ลบ)

(%)

ปริมาณ (ล้าน ลบ.ม.)

270.68

-

257.09

-

13.59

5.29

รายได้-น�้ำดิบ

2,898.67

100.00

2,768.38

100.00

130.29

4.71

ต้นทุนขายน�้ำดิบ

1,134.87

39.15

1,039.69

37.56

95.18

9.15

- ค่าน�้ำดิบ

154.80

5.34

139.96

5.06

14.84

10.60

- ค่าไฟฟ้า

473.83

16.35

420.19

15.18

53.64

12.77

- ค่าเสื่อมราคา

297.89

10.28

271.25

9.80

26.64

9.82

- ค่าซ่อมบ�ำรุง

63.83

2.20

72.02

2.60

(8.18)

(11.36)

- ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

144.52

4.99

136.28

4.92

8.25

6.05

1,763.79

60.85

1,728.68

62.44

35.11

2.03

ก�ำไรขั้นต้น

(1) ค่าน�้ำดิบ ปี 2558 จ�ำนวน 154.80 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2557 จ�ำนวน 14.84 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้น 10.60% เนื่องจากปริมาณจ�ำหน่ายที่เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับการซื้อน�้ำดิบจากแหล่งน�้ำเอกชนเพิ่มขึ้น 2.44 ล้านลูกบาศก์เมตร เมื่อเทียบกับปี 2557 (2) ค่าไฟฟ้า ปี 2558 จ�ำนวน 473.83 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 53.64 ล้านบาท หรือ 12.77% สาเหตุหลักมาจากปริมาณ การจ�ำหน่ายทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยเฉพาะในพืน้ ทีช่ ลบุรที ำ� ให้ตอ้ งมีการสูบผันน�ำ้ จากอ่างเก็บน�ำ้ หนองปลาไหลมาใช้ในพืน้ ที่ ชลบุรีเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้บริษัทฯ ได้เริ่มท�ำการผันน�้ำจากอ่างเก็บน�้ำประแสร์ตามมาตรการป้องกันภัยแล้ง ตั้งแต่เดือนเมษายน 2558 โดยมีปริมาณการสูบรวมในปี 2558 เท่ากับ 61.18 ล้านลูกบาศก์เมตร (3) ค่าเสื่อมราคา ปี 2558 จ�ำนวน 297.89 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 26.64 ล้านบาท หรือ 9.82% เนื่องจากบริษัทฯ เริ่ม บันทึกค่าเสื่อมราคาโรงสูบน�้ำและท่อส่งน�้ำส่วนขยายของโครงการบางพระตั้งแต่กันยายน 2557 (4) ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ปี 2558 จ�ำนวน 144.52 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8.25 ล้านบาท หรือ 6.05% ส่วนใหญ่มาจากการ บันทึกค่าตอบแทนการเช่า/บริหารท่อหนองปลาไหล-หนองค้อ และท่อหนองค้อ-แหลมฉบังระยะที่ 2 เพิม่ ขึน้ จาก ร้อยละ 3 เป็นร้อยละ 7 ของรายได้จำ� หน่ายน�ำ้ ดิบจากเส้นท่อดังกล่าวตามผลการหารือในเบือ้ งต้นระหว่างบริษทั ฯ กับกรมธนารักษ์ โดยใช้อัตราค่าตอบแทนใหม่ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2557 (5) ก�ำไรขั้นต้น ปี 2558 เท่ากับ 1,763.79 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 35.11 ล้านบาท หรือ 2.03% โดยมีอัตราก�ำไรขั้นต้น อยู่ที่ 60.85% ของรายได้จากการจ�ำหน่ายน�้ำดิบ 2.3 ธุรกิจน�้ำประปา 2.3.1 รายได้จากการจ�ำหน่ายน�้ำประปาปี 2558 เท่ากับ 1,160.24 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 171.50 ล้านบาท หรือ 17.34% โดย มีปริมาณจ�ำหน่าย 83.88 ล้านลูกบาศก์เมตร เพิ่มขึ้น 8.28 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือ 10.95% จากความต้องการ น�้ำประปาที่เพิ่มขึ้นและการลงทุนขยายท่อจ่ายน�้ำของประปาสัตหีบ (+10.81%) ประปาบ่อวิน (+12.46%) และการ ปรับปรุงเพิ่มแรงดันระบบจ่ายน�้ำของประปาฉะเชิงเทรา (+7.63%) และประปานครสวรรค์ (+8.23%) นอกจากนี้ บริษัทเริ่มรับรู้รายได้จาก บริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด (ประปาราชบุรี-สมุทรสงคราม) ตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม 2558 (หากไม่รวมปริมาณขายและรายได้ของ บริษทั เอ็กคอมธารา จ�ำกัด จะมีปริมาณจ�ำหน่ายรวม 79.56 ล้านลูกบาศก์เมตร เพิ่มขึ้น 3.95 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือ 5.22% และมีรายได้รวม 1,049.38 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 60.64 ล้านบาท หรือ 6.13%) ทั้งนี้ ราคาขายน�้ำประปาเฉลี่ยอยู่ที่ 13.83 บาทต่อลูกบาศก์เมตร เพิ่มขึ้น 0.75 บาทต่อลูกบาศก์เมตร หรือ 5.77%


2.3.2 ต้นทุนขายน�้ำประปาส�ำหรับปี 2558 เท่ากับ 707.28 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 117.15 ล้านบาท หรือ 19.85% โดยมี รายละเอียดแสดงในตารางที่ 3 ตาราง 3 : ต้นทุนหลักธุรกิจน�้ำประปา 2557

เปลี่ยนแปลง

(ลบ)

(%)

(ลบ)

(%)

(ลบ)

(%)

83.88

-

75.61

-

8.28

10.95

รายได้ - น�้ำประปา

1,160.24

100.00

988.74

100.00

171.50

17.34

ต้นทุนขายน�้ำประปา

707.28

60.96

590.12

59.68

117.15

19.85

- ค่าน�้ำดิบ

152.92

13.18

138.26

13.98

14.66

10.61

- ค่าไฟฟ้า

139.54

12.03

136.18

13.77

3.36

2.47

- สารเคมี

24.81

2.14

20.94

2.12

3.87

18.46

- คชจ.พนักงาน + Outsources

166.22

14.33

156.12

15.79

10.10

6.47

- ค่าเสือ่ มราคา+ ค่าตัดจ�ำหน่าย

190.98

16.46

114.64

11.59

76.34

66.59

- ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

32.80

2.83

23.98

2.43

8.82

36.78

452.96

39.04

398.62

40.32

54.34

13.63

ปริมาณ (ล้าน ลบ.ม.)

ก�ำไรขั้นต้น

(1) ค่าน�้ำดิบ จ�ำนวน 152.92 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 14.66 ล้านบาท หรือ 10.61% เมื่อเทียบกับปี 2557 มาจากปริมาณ จ�ำหน่ายที่เพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่ประปาสัตหีบและบ่อวิน ท�ำให้มีการใช้น�้ำดิบของบริษัทฯ เพิ่มมากขึ้น (2) ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย จ�ำนวน 190.98 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 76.34 ล้านบาท หรือ 66.59% สาเหตุหลัก มาจากการเริ่มรับรู้ค่าเสื่อมราคางานขยายท่อจ่ายน�้ำประปาสัตหีบ-พัทยา 18,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ตั้งแต่ เดือนมิถุนายน 2557 และงานขยายท่อจ่ายน�้ำประปาในหลายพื้นที่ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่ายรายการ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนของ บริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด รวมจ�ำนวน 45.59 ล้านบาท (3) ค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ จ�ำนวน 32.80 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 8.82 ล้านบาท หรือ 36.78% โดยหลักมาจากค่าใช้จา่ ยของ บริษทั เอ็กคอมธารา จ�ำกัด (4) ก�ำไรขั้นต้น ส�ำหรับปี 2558 จ�ำนวน 452.96 ล้านบาท คิดเป็นอัตราก�ำไรขั้นต้นเท่ากับ 39.04% 2.4 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร ปี 2558 จ�ำนวน 458.61 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 46.38 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ 11.25% เนือ่ งจาก ในไตรมาสที่ 3/2558 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) (ยูยู) ได้บันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ มูลค่า 32.80 ล้านบาท ของลูกหนีอ้ นื่ ซึง่ เป็นบริษทั เอกชนแห่งหนึง่ เนือ่ งจากบริษทั เอกชนมีปญ ั หาในการด�ำเนินงานและขาดสภาพคล่อง ในการช�ำระเงินให้กับเจ้าหนี้ 2.5 ต้นทุนทางการเงิน ส�ำหรับปี 2558 มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 114.18 ล้านบาท ลดลง 7.04 ล้านบาท หรือลดลง 5.81% เนื่องจากบริษัทฯ ได้ท�ำการ Refinance และปรับโครงสร้างเงินกู้ของกล่มบริษัทอีสท์ วอเตอร์ท�ำให้มีต้นทุนดอกเบี้ยจ่ายลดลง ถึงแม้ว่าบริษัทฯ มีการ กูย้ มื เงินเพิม่ ขึน้ และเริม่ รับรูด้ อกเบีย้ จ่ายจากการรับมอบโรงสูบน�ำ้ และท่อสูบน�ำ้ ส่วนขยายของโครงการบางพระตัง้ แต่เดือน กันยายน 2557 โดยมีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2558 อยู่ที่ 3.11% ต่อปี

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

2558

51 รายงานประจ�ำปี 2558

รายการ


3. การวิเคราะห์สถานะการเงิน ตาราง 4 : แสดงภาพรวมงบแสดงฐานะการเงิน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

รายการ

รายงานประจ�ำปี 2558

52

จ�ำนวนเงิน (ล้านบาท) ณ 31 ธันวาคม 2558 ณ 31 ธันวาคม 2557

เพิ่ม/(ลด) ล้านบาท

%

สินทรัพย์รวม

19,627.46

15,243.45

4,384.02

28.76%

หนี้สินรวม

10,127.90

6,726.37

3,401.53

50.57%

รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

9,499.56

8,517.07

982.49

11.54%

- ส่วนของบริษัทใหญ่

9,294.69

8,487.56

807.14

9.51%

3.1 สินทรัพย์ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวม จ�ำนวน 19,627.46 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2557 จ�ำนวน 4,384.02 ล้านบาท โดยมีรายการที่เปลี่ยนแปลงเป็นสาระส�ำคัญ ดังนี้ (1) เงินสดและเงินลงทุนชั่วคราวจ�ำนวน 1,173.82 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,005.89 ล้านบาท จากการขายหุ้น บริษัท เอ็กคอม ธารา จ�ำกัด ของบริษัทฯ ให้กับยูยู จ�ำนวน 317.79 ล้านบาท และจากการที่ยูยูช�ำระคืนเงินกู้ให้กับบริษัทฯ จ�ำนวน 644.00 ล้านบาท เพื่อปรับโครงสร้างธุรกิจให้มีความชัดเจนและลดการพึ่งพิงระหว่างกันตามนโยบายการน�ำยูยูเข้า จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (2) ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์สทุ ธิ จ�ำนวน 13,265.98 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 1,518.20 ล้านบาท มาจากการรับมอบงานระหว่าง ก่อสร้างหลักได้แก่ โครงการวางท่อประแสร์-หนองปลาไหล และโครงการก่อสร้างสระคลองทับมา (3) สินทรัพย์ไม่มีตัวตนสุทธิ จ�ำนวน 3,831.90 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,106.54 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักมาจากการที่ยูยู ซื้อหุ้น บริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ครั้งแรกร้อยละ 15.88 จากบริษัทฯ และซื้อครั้งต่อมาอีกร้อยละ 74.19 จาก ESCO รวมมีสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 90.08% ท�ำให้เกิดการรวมธุรกิจจากการทยอยซื้อบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ดังนั้น ยูยจู งึ ต้องบันทึกสินทรัพย์สทุ ธิดว้ ยมูลค่ายุตธิ รรม ซึง่ รวมถึงสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนจ�ำนวน 2,192.00 ล้านบาท และค่าความ นิยม จ�ำนวน 103.28 ล้านบาท ซึง่ เกิดจากต้นทุนเงินลงทุนทีจ่ า่ ยสูงกว่ามูลค่ายุตธิ รรมทีย่ ยู มู ใี นสินทรัพย์สทุ ธิของบริษทั เอ็กคอมธารา จ�ำกัด เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 เรื่อง การรวมธุรกิจ โดยมีรายละเอียด ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 40 งวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 3.2 หนี้สิน ณ สิน้ เดือนธันวาคม 2558 บริษทั ฯ มีหนีส้ นิ รวม จ�ำนวน 10,127.90 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากสิน้ ปีกอ่ นจ�ำนวน 3,401.53 ล้านบาท โดยมีรายการหลักที่เปลี่ยนแปลง ดังนี้ (1) เงินกู้ยืมระยะสั้น จ�ำนวน 1,600.00 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,367.00 ล้านบาท โดยหลักมาจากเงินกู้ระยะสั้น (Bridging Finance) จ�ำนวน 1,600 ล้านบาท เพื่อน�ำไปช�ำระค่าหุ้น บริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ของยูยูซึ่งมีแผนจะช�ำระคืนเงินกู้ จากเงินที่ได้รับจากการ IPO (2) เจ้าหนี้จากการซื้อสินทรัพย์ถาวรจ�ำนวน 63.58 ล้านบาท ลดลง 415.47 ล้านบาท จากการช�ำระหนี้โครงการก่อสร้าง ของบริษัทฯ ที่ด�ำเนินการอยู่ ณ ปัจจุบัน (3) เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้ของบริษัทฯ จ�ำนวน 7,157.82 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,945.82 ล้านบาท โดยหลักมาจากเงินกูเ้ พือ่ ช�ำระค่าก่อสร้างของบริษทั ฯ และเงินกูข้ องยูยู เพือ่ น�ำมาช�ำระค่าหุน้ บริษทั เอ็กคอมธารา จ�ำกัด (4) หนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจำ� นวน 421.23 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 378.79 ล้านบาท โดยหลักมาจากการปันส่วนต้นทุน การรวมธุรกิจ บริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด (Purchase Price Allocation) จ�ำนวน 384.82 ล้านบาท (รายละเอียดตาม หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 40 งวดสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558) ซึง่ เป็นรายการทางบัญชีจากการประเมินมูลค่า สินทรัพย์ที่บริษัทฯ ได้รับมาในการรวมกิจการ บริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัดให้เป็นมูลค่ายุติธรรม


3.3 ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนของบริษัทใหญ่ จ�ำนวน 9,294.69 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2557 จ�ำนวน 807.14 ล้านบาท เนื่องจากก�ำไรสุทธิปี 2558 สุทธิกับการจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ

ณ 31 ธ.ค. 2558

ณ 31 ธ.ค. 2557

อัตราก�ำไรขั้นต้น / รายได้จากการขายและบริการ (%) (1)

52.86%

53.97%

อัตราก�ำไรสุทธิ / รายได้จากการขายและบริการ (%) (2)

32.96%

33.59%

อัตราผลตอบแทนต่อส่วนผู้ถือหุ้น (ROE) (%)

15.76%

16.31%

8.04%

9.29%

อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้น (D/E) (เท่า)

1.09

0.79

อัตราส่วนความสามารถในการช�ำระดอกเบี้ยและเงินต้น (DSCR) (เท่า)

2.45

2.91

รายการ (งบการเงินรวม) อัตราส่วนความสามารถในการท�ำก�ำไร

อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) (%)

(3)

(3)

อัตราส่วนโครงสร้างทางการเงินและภาระหนี้สิน

หมายเหตุ (1) อัตราก�ำไรขั้นต้น ไม่รวมรายได้ค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทานและรายได้อื่นๆ (2) อัตราก�ำไรสุทธิ ไม่รวมรายได้คา่ ก่อสร้างภายใต้สญ ั ญาสัมปทานและไม่รวมก�ำไรจากการวัดมูลค่ายุตธิ รรมส่วนได้สว่ นเสีย 15.88% ทีถ่ อื ในบริษทั เอ็กคอม ธารา จ�ำกัด ก่อนการรวมกิจการ (3) ROA และ ROE ไม่รวมก�ำไรจากการวัดมูลค่ายุติธรรมส่วนได้ส่วนเสีย 15.88% ที่ถือในบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ก่อนการรวมกิจการ

ผลการด�ำเนินงานปี 2558 ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ยังคงมีความสามารถในการท�ำก�ำไรอยู่ในเกณฑ์ดี โดยมีอัตราก�ำไร ขัน้ ต้น 52.86% และอัตราก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินงานปกติ 32.96% ส�ำหรับอัตราผลตอบแทนต่อส่วนผูถ้ อื หุน้ (ROE) อยูท่ ี่ 15.76% อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) อยูท่ ี่ 8.04% ซึง่ ลดลงจากปี 2557 เนือ่ งจากบริษทั มีการลงทุนในโครงการขนาดใหญ่เพือ่ รองรับ ความต้องการใช้น�้ำในอนาคต ในขณะที่อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้นปรับขึ้นเป็น 1.09 เท่า จากเงินกู้เพื่อน�ำไปช�ำระค่าหุ้น บจก.เอ็กคอมธาราและโครงการก่อสร้างของบริษัทฯ อย่างไรก็ดี หากพิจารณาสุทธิจากเงินฝากธนาคารและเงินลงทุนระยะสั้นแล้ว อัตราส่วนหนีส้ นิ สุทธิตอ่ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ เท่ากับ 0.96 เท่า ความสามารถในการช�ำระหนีข้ องบริษทั ยังคงอยูใ่ นเกณฑ์ดโี ดยมีอตั ราส่วน ความสามารถในการช�ำระดอกเบี้ยและเงินต้น (DSCR) ที่ 2.45 เท่า

ส่วนแบ่งการตลาด การประกอบธุรกิจพัฒนาระบบท่อส่งน�้ำและจัดจ�ำหน่ายน�้ำดิบให้กับผู้ใช้น�้ำทั้งภาคอุตสาหกรรม และอุปโภคบริโภค ในพื้นที่ ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ปัจจุบันหากเปรียบเทียบส่วนแบ่งการทางตลาดถือว่าไม่มีคู่แข่งขันรายใหญ่ ด้วยจุดแข็งด้านการลงทุน พัฒนาระบบโครงข่ายท่อส่งน�ำ้ สายหลัก และระบบสูบจ่ายของบริษทั ฯ ทีเ่ ชือ่ มโยงแหล่งน�ำ้ ส�ำคัญในภาคตะวันออก ได้แก่ อ่างเก็บน�ำ้ หนองปลาไหล ดอกกราย คลองใหญ่ และประแสร์ ในจังหวัดระยอง อ่างเก็บน�้ำหนองค้อและบางพระ เข้าด้วยกันแบบ Water Grid เป็นระยะทางกว่า 394.5 กิโลเมตร ซึ่งถือว่าโครงข่ายดังกล่าวมีความสมบูรณ์แบบ ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และครอบคลุมพื้นที่ ให้บริการทั้ง 3 จังหวัด โดยปัจจุบันบริษัทฯ มีความสามารถในการส่งจ่ายน�้ำดิบได้กว่า 340 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ประกอบกับ การ ลงทุนจัดหาแหล่งน�ำ้ ส�ำรองเพือ่ เสริมระบบการส่งจ่ายอย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้บริษทั ฯ มีศกั ยภาพในการบริหารจัดการได้อย่างหลากหลาย เมื่อเทียบกับคู่แข่งในปัจจุบัน

53 รายงานประจ�ำปี 2558

ตาราง 5 : แสดงอัตราส่วนทางการเงินที่ส�ำคัญ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

4. การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินที่ส�ำคัญ


ปี 2558 ผลการส�ำรวจความพึงพอใจ อ้างอิงผลส�ำรวจภายใน (Internal Satisfaction Survey) ลูกค้าทางตรง มีคะแนนความ พึงพอใจในภาพรวมอยู่ที่ระดับพึงพอใจมาก ที่คะแนนเฉลี่ย 4.48 (จากระดับ 5 คะแนน) คิดเป็นร้อยละ 89.6 สูงกว่าเกณฑ์ KPI ที่ ร้อยละ 80.0 และสูงกว่าปี 2557 ในทุกด้าน ผลคะแนนวิเคราะห์รายพื้นที่ พื้นที่ที่มีความพึงพอใจสูงสุด ได้แก่ ปลวกแดง-บ่อวิน ที่ระดับ 4.55 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 91.0 รองลงมา ได้แก่ จังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา ตามล�ำดับ และ ด้านการให้บริการที่ได้รับคะแนนสูงสุด ได้แก่ ด้านการ ให้บริการการขาย (Sale Service) รองลงมาเป็นด้านการซ่อมบ�ำรุง (Maintenance and Calibration Service) ที่ระดับคะแนน 4.57 (คิดเป็นร้อยละ 91.4) และ 4.54 (คิดเป็นร้อยละ 90.80) และมีภาพลักษณ์ทโี่ ดดเด่นด้านอัธยาศัย และการให้บริการ อย่างไรก็ดี จากผลการส�ำรวจพบว่ายังมีบางหมวดการให้บริการในบางพื้นที่ ที่มีคะแนนต�่ำกว่า 4 และภาพลักษณ์ที่ลูกค้าต้องการให้ปรับปรุง ได้แก่ ความรวดเร็วในการแจ้งข้อมูลข่าวสาร และการแจ้งเตือนคุณภาพแหล่งจ่ายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นเพื่อเป็นการปรับปรุง การให้บริการอย่างต่อเนือ่ ง บริษทั ฯ จึงก�ำหนดให้มที มี ผูร้ บั ผิดชอบเพือ่ เข้าตรวจสอบแต่ละประเด็นพร้อมก�ำหนดแนวทางแก้ไขปรับปรุง เพื่อเป็นการพัฒนาและยกระดับการให้บริการต่อไป

แนวเสนทอ หนองปลาไหลมาบตาพุด-สัตหีบ

ความพึงพอใจรวม 4.48

แนวเสนทอ หนองปลาไหลหนองคอ แนวเสนทอ ฉะเชิงเทรา-ชลบุรี

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ระดับความพึงพอใจของลูกค้า ปี 2558

รายงานประจ�ำปี 2558

54

เมือ่ เปรียบเทียบ ผูป้ ระกอบการเอกชนบางรายทีใ่ ห้บริการน�ำ้ ดิบในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชลบุรี มีความสามารถในการส่งจ่ายรวมทีเ่ ฉลีย่ 8 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี หากกรณีผู้ประกอบการต้องการขอรับน�้ำเพิ่ม แหล่งเอกชนดังกล่าวจึงยังมีข้อจ�ำกัด ทั้งด้านขนาดและ สเถียรภาพแหล่งน�้ำที่ใช้เพื่อการส่งจ่าย และเมื่อวิเคราะห์ต่อถึงโอกาสที่จะเกิดคู่แข่งขันทางตรงขึ้นในอนาคต พิจารณาว่ามีโอกาส เกิดน้อย เนื่องจากอุปสรรคส�ำคัญส�ำหรับผู้ประกอบการรายใหม่ที่จะเข้ามาในอุตสาหกรรมนี้ คือ การลงทุนในธุรกิจขนส่งน�้ำทาง ท่อส่งน�ำ้ ต้องใช้เงินลงทุนสูง ทัง้ ทีเ่ ป็นค่าท่อส่งน�ำ้ ค่าสถานีสบู น�ำ้ การส�ำรองแหล่งน�ำ้ อีกทัง้ การวางท่อเพือ่ ให้บริการกับผูใ้ ช้นำ�้ มีความ จ�ำเป็นที่จะต้องวางท่อผ่านที่สาธารณะ จึงต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานของรัฐบาล และรัฐวิสาหกิจ ซึ่งคู่แข่งจะต้องเช่าหรือ ซื้อที่ดินเพื่อใช้ส�ำหรับวางท่อซึ่งจะท�ำให้ต้นทุนโครงการสูงมาก ด้วยเหตุนี้บริษัทฯ ซึ่งถูกจัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี จึงมีความได้ เปรียบในด้านความร่วมมือที่ได้รับจากหน่วยงานของรัฐบาล เช่น กรมชลประทาน กรมทางหลวง เป็นต้น

พื้นที่ระยอง 4.45

พื้นที่ปลวกแดง-บอวิน 4.55

พื้นที่ชลบุรี 4.51

พื้นที่ฉะเชิงเทรา 4.41


นโยบายเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) รวมทั้งนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ ดี ไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษร ตัง้ แต่วนั ที่ 1 สิงหาคม 2546 โดยมอบหมายให้คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหาพิจารณา ทบทวนนโยบายและแนวปฏิบัติด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) พร้อมทั้ง น�ำเสนอยังคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ บริษทั ฯ ได้เผยแพร่หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ไี ปยังพนักงานทุกระดับ ส�ำหรับพนักงานใหม่จะลงนามรับทราบ เอกสารจรรยาบรรณทางธุรกิจในวันปฐมนิเทศ เพือ่ ให้ตระหนักถึงการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณทางธุรกิจ ซึง่ เป็นหัวข้อหนึง่ ทีก่ ำ� หนดไว้ในหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ทีจ่ ะต้องน�ำไปปฏิบตั ใิ ห้สอดคล้องต่อไป เช่นเดียวกับคณะกรรมการบริษทั ฯ จะลงนามและรับทราบคู่มือคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งยึดหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีในวันปฐมนิเทศกรรมการเช่นกัน หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ มีเนื้อหาแบ่งเป็น 5 หมวด ได้แก่ 1) สิทธิของผู้ถือหุ้น (Rights of shareholders) 2) การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน (Equitable treatment of shareholders) 3) บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย (Role of stakeholders) 4) การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and transparency) 5) ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (Responsibilities of Board)

55 รายงานประจ�ำปี 2558

คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ให้ความส�ำคัญต่อการด�ำเนินธุรกิจภายใต้หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยมุง่ เน้นการ สร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย รวมทั้งการให้ความส�ำคัญกับความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และ สิง่ แวดล้อม ส�ำหรับปีทผี่ า่ นมาบริษทั ฯ ได้ทบทวนหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยมุง่ เน้นการน�ำหลักการและแนวปฏิบตั ิ ที่ดีตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2555 จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ จาก ASEAN CG Scorecard มาเป็นแนวทางในการด�ำเนินงาน เพื่อยกระดับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ให้ได้ มาตรฐานสากล

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น

รายงานประจ�ำปี 2558

56

บริษทั ฯ ได้ตระหนักถึงสิทธิของผูถ้ อื หุน้ ทุกราย โดยค�ำนึงถึงสิทธิขนั้ พืน้ ฐานทีผ่ ถู้ อื หุน้ พึงได้รบั ตามทีก่ ฎหมายและ ข้อบังคับก�ำหนด และการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม เช่น การก�ำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติต่างๆ ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง โปร่งใส และทันเวลา เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อสร้างความเชื่อมั่น ให้แก่นักลงทุน 1.1 การประชุมผู้ถือหุ้น ก่อนวันประชุม บริษัทฯ ให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นเสนอระเบียบวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และเสนอชื่อบุคคลเพื่อด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการเป็นการล่วงหน้า 3 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม ถึง 31 ธันวาคม 2558 โดยแจ้งผ่านระบบสารสนเทศ ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ของบริษัทฯ บริษัทฯ แจ้งก�ำหนดวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 และระเบียบวาระการประชุมให้ผู้ถือหุ้นทราบผ่าน ระบบสารสนเทศตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์บริษัทฯ ล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 30 วัน บริษทั ฯ จัดส่งหนังสือเชิญประชุมและรายละเอียดระเบียบวาระการประชุมซึง่ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ เหตุผล และความเห็นของคณะกรรมการบริษัทฯ พร้อมทั้งหนังสือมอบฉันทะฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และแจ้ง การเผยแพร่เอกสารการประชุมยังผูถ้ อื หุน้ ล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่นอ้ ยกว่า 28 วัน เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ มีเวลาในการ ศึกษาข้อมูลและพิจารณาการลงมติ บริษัทฯ ได้ลงประกาศหนังสือเชิญประชุมลงในหนังสือพิมพ์ติดต่อกัน 3 วัน และก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน และได้น�ำหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการประชุมเปิดเผยในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ล่วงหน้าก่อนวัน ประชุม 30 วัน กรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง ผู้ถือหุ้นสามารถใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนตามหนังสือ มอบฉันทะทีก่ ำ� หนดโดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ แบบ ก. หรือ ข. หรือ ค. และบริษทั ฯ ได้กำ� หนด ให้มกี รรมการอิสระ จ�ำนวน 3 คน เป็นผูม้ อบฉันทะแทนผูถ้ อื หุน้ ในการเข้าประชุมและใช้สทิ ธิออกเสียงลงคะแนน วันประชุม ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 วันจันทร์ที่ 27 เมษายน 2558 เวลา 13.00 น. ณ ห้องมัฆวาน รังสรรค์ สโมสรทหารบก กรุงเทพมหานคร บริษัทฯ ได้อ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นในการลงทะเบียนและ นับคะแนนเสียง โดยให้บริษัท อินเวนท์เทค ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (INVENTECH) น�ำโปรแกรมการลง ทะเบียน (E-Voting) ตรวจนับคะแนนเสียงด้วยระบบ Barcode มาใช้ในการประชุม และเพือ่ ความโปร่งใสบริษทั ฯ จึงจัดให้มีผู้ตรวจสอบการนับคะแนนเสียงในการประชุมผู้ถือหุ้น จ�ำนวน 3 คน โดยเป็นผู้แทนจากส�ำนักงาน กฎหมาย และผู้แทนจากผู้ถือหุ้นที่อยู่ในที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ เข้าร่วมประชุม จ�ำนวน 12 คน (ร้อยละ 100 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด) ซึ่งรวมถึง ประธานคณะกรรมการบริษัทฯ ประธานคณะกรรมการบริหารและการลงทุน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา และประธานคณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์และประเมินผลการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ และพิจารณาค่าตอบแทน ผูบ้ ริหารระดับสูงของกลุม่ บริษทั ฯ เลขานุการบริษทั ฯ ผูส้ อบบัญชี และทีป่ รึกษากฎหมายเข้าร่วมประชุมเพือ่ ตอบ ค�ำถาม และรับทราบความคิดเห็นของผู้ถือหุ้น ก่อนเริ่มการประชุม ประธานในที่ประชุมแจ้งวิธีการลงคะแนนเสียงและนับคะแนนเสียงในแต่ละระเบียบวาระ ทั้งนี้ก่อนการลงมติทุกระเบียบวาระ ประธานในที่ประชุมได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิในการตรวจสอบ การด�ำเนินงานของบริษัทฯ เปิดโอกาสให้สอบถาม แสดงความคิดเห็น โดยได้แจ้งผู้ถือหุ้นอภิปรายภายใน ระยะเวลาอย่างเหมาะสม รวมทั้งให้สิทธิเสนอแนะอย่างเท่าเทียมกัน ทั้งนี้กรรมการและผู้บริหารตอบข้อซักถาม อย่างชัดเจนทุกค�ำถามแล้วจึงให้ที่ประชุมออกเสียงลงมติ ส�ำหรับระเบียบวาระการเลือกตั้งกรรมการ ประธาน แจ้งให้ผู้ถือหุ้นลงคะแนนในบัตรลงคะแนนเป็นรายบุคคล


นอกจากการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2557 แล้ว บริษทั ฯ มีการเรียกประชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2558 จัดขึ้นเมื่อวันจันทร์ที่ 10 สิงหาคม 2558 โดยมีระเบียบวาระหลักคือ การพิจารณาอนุมัติให้บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) ซื้อหุ้นของบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด จากบริษัท เอ็กโก เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ เซอร์วิส จ�ำกัด และ ระเบียบวาระเรื่องรับทราบแผนการน�ำบริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นดังกล่าว บริษัทฯ ได้ให้สิทธิต่อผู้ถือหุ้น และมีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน เช่นเดียวกับการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557

2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม เช่น การเข้าประชุมและออกเสียงลงคะแนนในการประชุม ผูถ้ อื หุน้ การเปิดโอกาสให้สทิ ธิแก่ผถู้ อื หุน้ รายย่อยในการเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการบริษทั ฯ และเสนอ ระเบียบวาระในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ เป็นการล่วงหน้า 3 เดือนสุดท้าย ก่อนวันสิน้ สุดรอบปีบญ ั ชี (1 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2558) ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ http://www.eastwater.com หรือ corporate_secretary@eastwater.com และส่งเรื่องผ่านทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตามมาภายหลัง รวมถึงการจัดให้มีเอกสารที่เกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้นเป็น ภาษาอังกฤษส�ำหรับผูถ้ อื หุน้ ต่างชาติ การก�ำหนดนโยบายให้กรรมการทีม่ สี ว่ นได้เสีย หรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ งดเว้นจากการมีส่วนร่วมในการประชุมพิจารณาระเบียบวาระที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น

3. การค�ำนึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

3.1 ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย

บริษัทฯ ก�ำหนดปรัชญาการท�ำงานโดยมุ่งเน้นความรับผิดชอบและการปฏิบัติอย่างเสมอภาคเป็นที่น่าเชื่อถือต่อ ผู้มีส่วนได้เสีย ดังนี้ (1) ความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ ค�ำนึงถึงการลงทุนทีใ่ ห้ผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมและยุตธิ รรม โดยรักษา สถานภาพทางการเงินให้มีสถานะมั่นคงเพื่อประโยชน์ต่อความคงอยู่และเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ภายหลังการประชุม บริษทั ฯ เผยแพร่มติที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 ผ่านระบบสารสนเทศของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ บริษัทฯ ทันทีเมื่อการประชุมสิ้นสุดลง บริษทั ฯ ได้จดั ท�ำรายงานการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ และจัดส่งให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ และส�ำนักงานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกระทรวงพาณิชย์ ภายใน 14 วันนับจากวันประชุม โดยได้บันทึก ประเด็นต่างๆ ในรายงานการประชุม พร้อมทัง้ บันทึกมติทปี่ ระชุมทีช่ ดั เจน และระบุผลการลงคะแนน ทัง้ ประเภท เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยได้จัดท�ำโครงการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 ซึ่ง ผลประเมินดังกล่าว บริษัทฯ ได้รับคะแนนเต็ม 100 คะแนน

57 รายงานประจ�ำปี 2558

ประธานในที่ประชุมได้แจ้งผลการลงคะแนนในแต่ละระเบียบวาระการประชุมให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบทั้งก่อน เสนอระเบียบวาระใหม่และก่อนสิน้ สุดการประชุม โดยประธานด�ำเนินการประชุมให้สอดคล้องกับข้อบังคับบริษทั ฯ โดยได้ประชุมตามล�ำดับระเบียบวาระที่ก�ำหนดไว้ในหนังสือเชิญประชุม เว้นแต่ที่ประชุมมีมติให้เปลี่ยนล�ำดับ ระเบียบวาระด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจ�ำนวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม ทั้งนี้ ไม่มีการเปลี่ยนล�ำดับ ระเบียบวาระจากที่ระบุในหนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และเมื่อที่ประชุมได้พิจารณาครบทุกระเบียบวาระ แล้วประธานเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นทราบว่าผู้ถือหุ้นซึ่งรวมกันไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่าย ได้ทั้งหมดอาจขอให้ที่ประชุมพิจารณาเรื่องอื่นได้


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2558

58

(2) ความรับผิดชอบต่อลูกค้า บริษัทฯ มุ่งมั่นสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้าในการบริหารจัดการน�้ำ ให้เพียงพอต่อการใช้งานของลูกค้าทุกรายด้วยบริการอย่างใส่ใจและเท่าเทียมกัน ในการแก้ปญ ั หาทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อให้บริการแก่ลูกค้าอย่างดีท่ีสุดในเวลาที่เหมาะสมโดยมุ่งรักษาและพัฒนาระดับการบริการที่มีคุณภาพที่ ดีขึ้นในทุกพื้นที่อย่างต่อเนื่อง (3) ความรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้ บริษัทฯ เน้นการปฏิบัติตามเงื่อนไข ข้อก�ำหนดในสัญญา และไม่ปกปิดสถานะ การเงินที่แท้จริงของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ รวมทั้งไม่ใช้เงินทุนที่ได้จากการกู้ยืมเงินไปในทางที่ขัดกับ วัตถุประสงค์ในข้อตกลงที่ท�ำกับผู้ให้กู้ยืมเงิน (4) ความรับผิดชอบต่อพนักงาน บริษัทฯ ให้ความเคารพต่อสิทธิตามกฎหมายของพนักงานทุกคน จัดให้ม ี สภาพแวดล้อมการท�ำงานทีด่ ี ปลอดภัย สวัสดิการทีด่ ี และสภาพการจ้างทีย่ ตุ ธิ รรมเหมาะสมกับสภาวะตลาด ส่งเสริมให้พนักงานทุกคนได้มีโอกาสเติบโตในสายอาชีพและเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน และ มีความผูกพันกับองค์กรอย่างต่อเนื่อง (5) ความรับผิดชอบต่อผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ บริษัทฯ มุ่งสร้างความสัมพันธ์อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดร่วมกันทั้งกับคู่ค้า ผู้เช่า และผู้ร่วมทุนภายใต้การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (6) ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจโดยมีความรับผิดชอบต่อสังคม เคารพและ ปฏิบัติตามกฎหมายตลอดจนข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง เพื่อปกป้องผลกระทบใดๆ ที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือ สูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินของบุคลากร ชุมชน และสิ่งแวดล้อม (7) ความรับผิดชอบต่อคู่แข่ง บริษัทฯ ปฏิบัติงานภายใต้หลักการของการแข่งขันทางการค้าอย่างเที่ยงธรรม และถูกกฎหมาย ไม่แสวงหาข้อมูลทีเ่ ป็นความลับของคูแ่ ข่งทางการค้าด้วยวิธกี ารทีไ่ ม่สจุ ริต หรือไม่เหมาะสม 3.2 นโยบายที่จะไม่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน บริษัทฯ ตระหนักถึงสิทธิความเท่าเทียมกัน และการไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชนของพนักงานโดยปฏิบัติตามหลัก สิทธิมนุษยชนที่ได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธกรณี ที่ต้องปฏิบัติตาม ไม่กระท�ำการที่เป็นการละเมิดต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ และเสรีภาพส่วนบุคคล และไม่เลือก ปฏิบัติต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยแบ่งแยกถิ่นก�ำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของ บุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมือง หรือลักษณะ ส่วนบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน 3.3 นโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริต บริษัทฯ มีความตระหนักยึดมั่นการด�ำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุ่มตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณทางธุรกิจ ซึ่งเป็นการสนับสนุนการเติบโตอย่างยั่งยืนให้แก่ บริษัทฯ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 บริษัทฯ ได้ร่วมลงนามแสดงเจตนารมณ์เป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition : CAC) ซึ่งเป็นโครงการที่รัฐบาลและส�ำนักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ร่วมกับ 8 องค์กรได้แก่ หอการค้าไทย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (Thai Institute of Directors : IOD) หอการค้านานาชาติ สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย สมาคมธนาคาร ไทย สภาธุรกิจตลาดทุนไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ผลักดันให้มีมาตรการต่อต้านการทุจริตในภาคเอกชน ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้รับการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติของ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2558


นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้รบั ผลการประเมินระดับการพัฒนาความยัง่ ยืนเรือ่ ง Anti Corruption ของบริษทั จดทะเบียน ไทยปี 2558 ซึ่งประเมินโดยสถาบันไทยพัฒน์ที่ระดับ 4 จาก 5 ระดับ โดยในปี 2558 บริษัทฯ ได้ขยายขอบเขตการ ต่อต้านคอร์รัปชั่นไปยังหุ้นส่วนทางธุรกิจ ผู้เช่าอาคาร และคู่ค้าไม่ให้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทุจริตคอร์รัปชันทุกรูปแบบ เช่น การเรียก รับ และจ่ายสินบน โดยการประกาศนโยบายในการไม่รับของขวัญของก�ำนัลในเว็บไซต์ของบริษัทฯ และ จัดอบรมด้านการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันโดยประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหาและจัดเสวนาผูค้ า้ ผูเ้ ช่า อาคาร โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้นประมาณ 78 คน

3.4 นโยบายค่าตอบแทนพนักงานทีส่ อดคล้องกับผลการด�ำเนินงานของบริษทั ทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว

พนักงานซึ่งเป็นผู้มีส่วนได้เสียที่ส�ำคัญโดยเป็นผู้ปฏิบัติงานเพื่อให้ผลประกอบการโตอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น คณะกรรมการบริษัทฯ จึงให้นโยบายการจ่ายค่าจ้างที่ดี ดังต่อไปนี้ สามารถแข่งขันได้ในธุรกิจโดยค�ำนึงถึงตลาดแรงงานและภาวะเศรษฐกิจของประเทศ สอดคล้องกับการประเมินผลงานเพื่อสร้างแรงจูงใจให้พนักงานในการสร้างผลงานที่ดีอย่างต่อเนื่อง ไม่สร้างภาระให้บริษัทฯ มากเกินไป (Ability to pay) โดยค�ำนึงถึงอัตราการเติบโตของบริษัทฯ สถานการณ์ เศรษฐกิจในปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต ในการจ่ายผลตอบแทนบริษัทฯ มุ่งเน้นการจ่ายผลตอบแทนตามผลงาน (Pay for Performance) โดยน�ำดัชนี ชี้วัดความส�ำเร็จของงาน (KPI: Key Performance Indicator) มาใช้ในการประเมินผลพนักงานทุกระดับ ทั้งนี้ KPIs จะมีความสอดคล้องตัง้ แต่ระดับองค์กร ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคล เพือ่ ให้เป้าหมายในการท�ำงานเป็นไปในทิศทาง เดียวกันและสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจขององค์กร

3.5 นโยบายการแจ้งเบาะแสการกระท�ำผิด (Whistle Blowing)

เพือ่ เป็นการให้สทิ ธิแก่ผมู้ สี ว่ นได้เสียต่างๆ ในการติดตามตรวจสอบการปฏิบตั งิ านของบริษทั ฯ หรือบริษทั ในเครือ ให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผลและความโปร่งใส คณะกรรมการบริษัทฯ และบริษัทในเครือ จึงจัดให้มีช่องทางในการแจ้ง เบาะแส รับเรื่องราวร้องทุกข์ ร้องเรียนเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ หรือบริษัทในเครือที่ถือว่าเป็นการกระท�ำผิด กฎหมาย รวมถึงที่อาจเกิดข้อขัดแย้งกับผู้เกี่ยวข้อง เช่น คู่ค้า ผู้ใช้น�้ำ ชุมชน และหน่วยงานต่างๆ เป็นต้น ผู้ร้องเรียน สามารถจัดท�ำค�ำร้องเรียนเป็นลายลักษณ์อกั ษรประกอบกับเอกสารหลักฐานต่างๆ มายังคณะกรรมการบริษทั ฯ หรือบริษทั ในเครือเพือ่ ให้มกี ารพิจารณาสืบสวน/สอบสวนข้อเท็จจริง และก�ำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาเพือ่ ให้เกิดความเป็นธรรมกับ ทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ นี้ คณะกรรมการและผูบ้ ริหารบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือให้ความเชือ่ มัน่ โดยลงนามไว้ในจรรยาบรรณ ทางธุรกิจของบริษทั ฯ ว่าจะรักษาความลับเกีย่ วกับผูร้ อ้ งเรียนร้องทุกข์โดยการปกป้องคุม้ ครอง เพือ่ ให้ผรู้ อ้ งเรียนร้องทุกข์

59 รายงานประจ�ำปี 2558

ในปี 2558 บริษัทฯ ได้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตที่ จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (Thai Institute of Director: IOD) และหน่วยงานต่างๆ อย่างต่อเนือ่ ง เช่น งานวันต่อต้านคอร์รัปชันภายใต้หัวข้องาน “Active Citizen พลังพลเมืองต่อต้านคอร์รัปชัน” เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2558 เป็นต้น

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

บริ ษั ท ฯ ได้ ก� ำ หนดแนวทางในการประพฤติ ป ฏิ บั ติ ที่ เ หมาะสมเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น ภายใน องค์กรของคณะกรรมการ ฝ่ายบริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ไว้ในนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันภายใน องค์กร โดยก�ำหนดให้มีการสอบทานการปฏิบัติตามนโยบายอย่างสม�่ำเสมอ รายละเอียดนโยบายฯ สามารถดูได้ที่ http://eastw-th.listedcompany.com/anti_corruption.html


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ที่ให้ถ้อยค�ำหรือให้ข้อมูลใดๆ ด้วยความสุจริตใจไม่ได้มีเจตนาในการให้ร้ายหรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ใด และ ผู้ร้องเรียนร้องทุกข์จะได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมภายใต้กฎ ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ไม่ถูกกลั่นแกล้ง รวมทั้งไม่มีการเปลี่ยนแปลงต�ำแหน่งงาน ลักษณะงาน สถานที่ท�ำงาน พักงาน ข่มขู่ รบกวนการปฏิบัติงาน เลิกจ้างหรือ การอื่นใดที่มีลักษณะเป็นการปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมต่อผู้นั้น

รายงานประจ�ำปี 2558

60

ในกรณีทบี่ คุ คลใดให้การเป็นพยาน หรือร่วมในการสอบสวนจะได้รบั การคุม้ ครอง ไม่ถกู กลัน่ แกล้ง โยกย้ายหน้าที่ หรือลงโทษแต่ประการใด เว้นแต่พนักงานมีเจตนาให้การด้วยอคติ ปรักปร�ำ ให้ร้าย เป็นเท็จ หรือไม่ให้ความร่วมมือ ในกระบวนการสอบสวนหาความจริง และการพิจารณาลงโทษพนักงานตั้งแต่ขั้นพักงานขึ้นไป ในการพิจารณาร้องทุกข์ กรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่จะแต่งตัง้ คณะกรรมการพิจารณาเป็นคราวๆ ไป และจะสิน้ สภาพลงทันทีทกี่ ารพิจารณาลงโทษ หรือพิจารณาข้อร้องทุกข์นั้นๆ สิ้นสุดลง บริษัทฯ ก�ำหนดให้มีช่องทางแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนการทุจริตคอร์รัปชัน การกระท�ำผิดกฎหมาย หรือ จรรยาบรรณ รายงานทางการเงินทีไ่ ม่ถกู ต้อง การถูกละเมิดสิทธิ การทุจริตคอร์รปั ชัน หรือระบบควบคุมภายในทีบ่ กพร่อง ผ่านช่องทางดังต่อไปนี้ เว็บไซต์บริษัท : www.eastwater.com จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : คณะกรรมการตรวจสอบ ac_ew@eastwater.com กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ceo@eastwater.com เลขานุการบริษัทฯ corporate_secretary@eastwater.com จดหมายธรรมดา : คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) อาคาร อีสท์วอเตอร์ ชั้น 25 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 กล่องแสดงความคิดเห็น : ฝ่ายทรัพยากรบุคคลเป็นผูด้ แู ลรับเรือ่ งร้องเรียนจากพนักงานในส�ำนักงานกรุงเทพฯ และ พื้นที่ปฏิบัติการ

3.6 กระบวนการในการจัดการกับเรื่องที่พนักงานร้องเรียนเกี่ยวกับเรื่องที่อาจเป็นการกระท�ำผิด

บริษัทฯ ก�ำหนดหลักเกณฑ์การร้องทุกข์ให้พนักงาน กรณีพนักงานมีความคิดเห็นหรือความขัดแย้งที่เกี่ยวกับสภาพ การจ้าง การท�ำงาน สิทธิประโยชน์ หน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงาน โดยมีหลักเกณฑ์การร้องทุกข์ ดังนี้ 3.6.1 ความหมายและขอบเขตการร้องทุกข์ (1) ข้อร้องทุกข์ต้องเป็นเรื่องเกี่ยวกับการท�ำงาน มิใช่เรื่องส่วนตัว เว้นแต่เรื่องนั้นจะเกี่ยวข้องกับการท�ำงาน (2) ข้อร้องทุกข์ของพนักงานต้องเป็นเรื่องเกี่ยวกับความคิดเห็น หรือข้อขัดแย้ง ว่าด้วยระบบ หรือวิธีการ ท�ำงานสิทธิประโยชน์ สัญญาหรือสภาพการจ้าง ความประพฤติและความเป็นธรรมของพนักงาน (3) ข้อร้องทุกข์ต้องมิใช่เรื่องร้องขอให้แต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง ปลดออก ไล่ออก ซึ่งตัวบุคคล 3.6.2 วิธีการและขั้นตอนการร้องทุกข์ (1) ก่อนที่จะเข้าด�ำเนินการร้องทุกข์ตามขั้นตอน พนักงานควรปรึกษาหารือกับผู้บังคับบัญชาโดยตรงก่อน และผูบ้ งั คับบัญชาทุกคนควรให้ความส�ำคัญแก่ปญ ั หาของพนักงาน ไม่วา่ จะเล็กน้อยเพียงใด จะต้องไม่ทงิ้ ปัญหาและต้องพยายามแก้ไขให้แล้วเสร็จโดยเร็ว


บริษัทฯ จัดให้มีการรับข้อเสนอแนะ ข้อร้องเรียนและความคิดเห็นของพนักงาน ดังนี้ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ceo@eastwater.com จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : คณะกรรมการตรวจสอบ ac_ew@eastwater.com กล่องรับความคิดเห็น : ชั้น 24 อาคารส�ำนักงานใหญ่ และชั้น 1 ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดระยอง

หากพนักงานเห็นว่าตนเองไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือพบเห็นจุดเสี่ยง หรือการกระท�ำใดๆ ที่อาจส่งผลกระทบกับ บริษัทฯ ก็สามารถด�ำเนินการร้องทุกข์ได้ทางช่องทางดังกล่าว ทั้งนี้กระบวนการร้องทุกข์และการสอบสวนหาข้อเท็จจริง ต่างๆ บริษัทฯ ได้ระบุไว้อย่างชัดเจนในคู่มือพนักงาน เพื่อให้พนักงานทุกคนรับทราบและปฏิบัติตามโดยเคร่งครัด

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

3.6.4 ความคุ้มครองผู้ร้องทุกข์และผู้เกี่ยวข้อง (1) ข้อร้องทุกข์จะได้รับการพิจารณาด้วยความเป็นธรรม ไม่ถูกกลั่นแกล้ง โยกย้ายหน้าที่ หรือลงโทษ แต่ประการใด เว้นแต่เป็นการร้องทุกข์ด้วยเจตนาที่ไม่สุจริต (2) พนักงานทีใ่ ห้การเป็นพยาน หรือร่วมในการสอบสวนจะได้รบั การคุม้ ครอง ไม่ถกู กลัน่ แกล้ง โยกย้ายหน้าที่ หรือลงโทษแต่ประการใด เว้นแต่พนักงานมีเจตนาให้การด้วยอคติ ปรักปร�ำ ให้ร้าย เป็นเท็จ หรือไม่ให้ ความร่วมมือในกระบวนการสอบสวนหาความจริง (3) การพิจารณาลงโทษพนักงานตัง้ แต่ขนั้ พักงานขึน้ ไป และการพิจารณาร้องทุกข์ กรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ จะแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาเป็นคราวๆ ไป และจะสิ้นสภาพลงทันทีที่การพิจารณาลงโทษหรือ พิจารณาข้อร้องทุกข์นั้นๆ สิ้นสุดลง

61 รายงานประจ�ำปี 2558

(2) หากปัญหาของพนักงานไม่ได้รับการแก้ไขในเวลาอันสมควร หรือเป็นปัญหาเกี่ยวข้องกับผู้บังคับบัญชา โดยตรง พนักงานอาจร้องทุกข์ดว้ ยตนเองกับผูบ้ งั คับบัญชาระดับเหนือขึน้ ไป เป็นหนังสือโดยชีแ้ จงสาเหตุ และข้อมูลที่สมบูรณ์ภายใน 7 วัน นับแต่วันที่มีการขัดแย้ง และผู้บังคับบัญชาต้องรีบไต่สวนข้อร้องทุกข์ วินิจฉัยและแจ้งผลให้แล้วเสร็จภายใน 20 วัน นับแต่วันที่ได้รับข้อร้องทุกข์ให้ผู้ร้องทุกข์ทราบ ด้วยการ ชีแ้ จงด้วยวาจา พร้อมบันทึกค�ำชีแ้ จง เหตุผลไว้ในส�ำนวน โดยผูร้ อ้ งทุกข์ลงลายมือชือ่ รับทราบผลพิจารณา หรือการวินิจฉัยเป็นหนังสือชี้แจง แล้วแต่กรณี 3.6.3 การอุทธรณ์ค�ำวินิจฉัย ผู้ร้องทุกข์ที่ไม่พอใจการชี้แจงหรือการวินิจฉัย มีสิทธิอุทธรณ์ต่อกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่หรือผู้ซึ่งได้รับ มอบหมาย เป็นหนังสือภายใน 7 วัน นับแต่ได้รับการชี้แจงหรือการวินิจฉัยตามข้อ 3.6.2 (2) โดยจะสอบสวนข้อเท็จจริง เพิ่มเติม (ถ้ามี) และพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับการอุทธรณ์ และชี้แจงด้วยวาจา พร้อมบันทึก ค�ำชี้แจง เหตุผล ไว้ในส�ำนวน โดยผู้ร้องทุกข์ลงลายมือชื่อรับทราบผลพิจารณา หรือการวินิจฉัยเป็นหนังสือชี้แจงแล้วแต่ กรณีและให้ถือว่าเป็นที่สุด


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

3.7 นโยบายหรือแนวทางในการปกป้องพนักงานหรือผู้แจ้งข้อมูลในการกระท�ำผิด ในการร้องเรียนที่อาจเกี่ยวข้องกับการกระท�ำผิดจรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน บริษัทฯ จะด�ำเนินการ ตรวจสอบตามขัน้ ตอนและบันทึกการสอบสวนไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยไม่เปิดเผยชือ่ ผูแ้ จ้งเบาะแส รวมทัง้ ด�ำเนินการ จัดเก็บข้อมูลการร้องเรียนเป็นความลับ เพื่อคุ้มครองผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับผู้แจ้งเบาะแสดังกล่าว

รายงานประจ�ำปี 2558

62

4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส คณะกรรมการบริษัทฯ และบริษัทในเครือดูแลให้ฝ่ายบริหารมีระบบการสื่อสารที่เหมาะสม เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ที่ส�ำคัญและเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้น เช่น รายงานทางการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและผ่านการตรวจสอบ จากผู้สอบบัญชีที่เป็นอิสระ โดยบริษัทฯ ยินดีที่จะปรับปรุงตามมาตรฐานการบัญชีที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดจนตาม ค�ำแนะน�ำของผู้สอบบัญชี และข้อมูลทั่วไปเพื่อให้ข้อมูลต่างๆ มีความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และสมเหตุสมผล ตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสนับสนุนให้ฝา่ ยบริหารเปิดเผยข้อมูลอืน่ ๆ โดยค�ำนึงถึงมาตรการ ที่ดีในการรักษาความลับของข้อมูลซึ่งยังไม่พึงเปิดเผยที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจซื้อขายหลักทรัพย์ หรือการ เปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ข้อมูลต่างๆ จะเผยแพร่ผา่ นระบบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเผยแพร่ผา่ นทางเว็บไซต์ของบริษทั ฯ www.eastwater.com และบริษัทในเครือ www.uu.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยจะน�ำเสนอข้อมูลที่เป็น ปัจจุบนั รวมทัง้ บริษทั ฯ ยังมีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) เป็นผูแ้ ทนบริษทั ฯ รับผิดชอบการสือ่ สาร ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ให้ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ ข้อมูลของบริษัทฯ โดยผู้ถือหุ้นสามารถติดต่อหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ผ่านทางช่องทางต่างๆ ดังนี้ โทรศัพท์ 02-272-1600 ต่อ 2489, 2456 อีเมล ir@eastwater.com เว็บไซต์ http://eastw-th.listedcompany.com/home.html นอกจากนี้บริษัทฯ จัดให้มีหน่วยงาน compliance ในแผนกกฎหมายเพื่อดูแลด้านการปฏิบัติงานให้สอดคล้อง ตามกฎ ระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์บริษัทฯ เว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์ฯ และ รายงานประจ�ำปี เป็นต้น โดยสารสนเทศดังกล่าวต้องมีความถูกต้อง เพียงพอ ทันเวลา และครบถ้วนตามที่กฎหมาย ก�ำหนด เพื่อให้ผู้ลงทุนเกิดความเชื่อมั่นในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ บริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลทีถ่ กู ต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และทันเวลา โดยจัดให้หน่วยงานนักลงทุน สัมพันธ์เป็นผู้รับผิดชอบในการรวบรวม จัดเตรียม และเผยแพร่ข้อมูลและรายงานต่างๆ อาทิเช่น ผลการด�ำเนินงานของ บริษัทฯ ข้อมูลทางการเงินที่ส�ำคัญ และรายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร (MD&A) ตลอดจนเป็นตัวแทนบริษัทฯ ในการติดต่อสื่อสารกับผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์ และบุคคลทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับบริษัทฯ ทุกกลุ่ม สามารถเข้าถึงข้อมูลและสื่อสารกับบริษัทฯ ได้อย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน ผ่านทางช่องทางต่างๆ อาทิเช่น การให้ ข้อมูลและตอบข้อซักถามทางโทรศัพท์และอีเมล การชีแ้ จงผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ในงาน “บริษทั จดทะเบียนพบ ผู้ลงทุน” (Opportunity Day) ซึ่งจัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การประชุมผ่านทางโทรศัพท์ รวมถึงการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ผ่านเว็บไซต์ของบริษัท รายงานประจ�ำปี และสื่ออื่นๆ นอกจากนี้นักลงทุนและนักวิเคราะห์ ยังสามารถขอนัดหมายเพื่อเข้าพบกับผู้บริหารของบริษัทฯ เพื่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้


โดยในปี 2558 บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมด้านลงทุนสัมพันธ์ที่ส�ำคัญดังนี้

การประชุมทางไกลทางโทรศัพท์ (Conference Call)

13

การจัดกิจกรรมพบผู้ลงทุนรายย่อยกับตลาดหลักทรัพย์ฯ (Opportunity Day)

2

การเข้าพบผู้บริหารเพื่อสอบถามถึงแนวทางการบริหารจัดการและความคืบหน้าของ โครงการต่างๆ (Company Visit)

20

การจัดกิจกรรมเยี่ยมชมกิจการของบริษัท (Site Visit)

2

หากนักลงทุนหรือผู้เกี่ยวข้องต้องการข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่อไปนี้ โทรศัพท์: 02-272-1600 ต่อ 2489 และ 2456 โทรสาร: 02-272-1601 Email: ir@eastwater.com

5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ เชื่อมั่นว่ากระบวนการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีเป็นหัวใจส�ำคัญในการน�ำพาองค์กรให้บรรลุ เป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ คณะกรรมการบริษัทฯ มีความรับผิดชอบตามกฎหมายและต้องปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแล กิจการนี้ รวมทัง้ มีความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย (Stakeholders) โดยมีหน้าทีก่ ำ� กับดูแลการด�ำเนินงานของฝ่ายบริหาร ให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อกลุ่มบริษัทฯ ผู้ถือหุ้น และผู้ที่เกี่ยวข้อง 5.1 ภาวะผู้น�ำและวิสัยทัศน์ คณะกรรมการบริษทั ฯ มีบทบาทส�ำคัญยิง่ ในการก�ำหนดวิสยั ทัศน์ นโยบาย และแผนกลยุทธ์ของบริษทั ฯ โดยก�ำหนด ให้พิจารณาทบทวนเป็นประจ�ำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และก�ำหนดแผนธุรกิจระยะยาว (Corporate Plan) ทุกๆ 3 ปี รวมทั้งได้ให้ฝ่ายบริหารศึกษาวิเคราะห์แผนหลักการพัฒนาแหล่งน�้ำ และปรับปรุงระบบท่อส่งน�้ำในพื้นที่ภาคตะวันออก ระยะ 10 ปี เนื่องจากปัจจัยแวดล้อมทั้งในด้านภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส�ำหรับ การด�ำเนินการในแต่ละปีฝ่ายบริหารของบริษัทฯ ได้น�ำเสนอกลยุทธ์และกิจกรรมต่างๆ ต่อคณะกรรมการบริหารและ การลงทุน และคณะกรรมการบริษทั ฯ ตามล�ำดับเพือ่ พิจารณาให้ความเห็น และอนุมตั แิ ผนปฏิบตั กิ ารรวมถึงงบประมาณ ประจ�ำปี นอกจากนี้ฝ่ายบริหารได้ด�ำเนินการรายงานความก้าวหน้าของแผนปฏิบัติการรวมถึงปัญหาอุปสรรคที่ส�ำคัญ ยังที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบทุกไตรมาส คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีการติดตามผลการด�ำเนินงานของฝ่ายบริหาร โดยก�ำหนดให้มีการรายงานผลการ ด�ำเนินงานเปรียบเทียบเป้าหมาย และผลประกอบการของบริษทั ฯ โดยก�ำหนดเป็นระเบียบวาระการประชุมเพือ่ น�ำเสนอ คณะกรรมการบริหารและการลงทุนทุกเดือนและน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ เรื่องรายงานสถานะการเงินและผลการ ด�ำเนินงานรายไตรมาส นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ตระหนักถึงการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อก�ำหนดต่างๆ โดยฝ่ายบริหารจะรายงานการเปลีย่ นแปลงหลักเกณฑ์ดา้ นกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงกฎหมายใหม่ที่ประกาศ หรือจะประกาศ ใช้ในอนาคต และเกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ยังคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

กิจกรรมในปี 2558 (จ�ำนวนครั้ง)

63 รายงานประจ�ำปี 2558

ประเภทกิจกรรม


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

5.2 ความขัดแย้งของผลประโยชน์

รายงานประจ�ำปี 2558

64

คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ไว้ในหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดี และคู่มือคณะกรรมการบริษัทฯ ดังนี้ กรณีที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายให้บุคลากรของบริษัทฯ ปฏิบัติการแทน จะต้องมอบหมายโดยท�ำ เป็นลายลักษณ์อักษร หรือบันทึกเป็นมติคณะกรรมการบริษัทฯ ไว้ในรายงานการประชุม โดยมีการก�ำหนด ขอบเขตอ�ำนาจ หน้าที่ไว้อย่างชัดเจน ซึ่งขอบเขตดังกล่าวต้องไม่รวมถึงการอนุมัติให้ท�ำรายการที่ผู้รับมอบ อ�ำนาจเป็นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือมีส่วนได้เสีย ทั้งนี้ การตัดสินใจในการด�ำเนิน กิจการของบริษัทฯ เป็นการตัดสินใจในรูปแบบองค์คณะ (Collective Decision) บุคลากรทุกระดับต้องหลีกเลี่ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่งจะส่งผลให้กลุ่มบริษัทฯ เสียผลประโยชน์ หรือก่อให้เกิดความขัดแย้งในการปฏิบัติงาน พนักงานทุกคนมีหน้าที่เปิดเผยเรื่องที่อาจเป็นความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นให้ผู้บังคับบัญชาทราบ โดยต้องแนบรายละเอียดในเรื่องดังกล่าวด้วย เพื่อรวบรวมเข้าหารือยังกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ไม่ใช้อ�ำนาจหน้าที่ในต�ำแหน่งกรรมการบริษัทฯ หรือบริษัทในเครือเพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน ผู้ใกล้ชิด หรือญาติสนิท ทั้งทางตรงและทางอ้อม คณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารมีหน้าที่ในการรายงาน ดังนี้ รายงานการมีส่วนได้เสียของตน และของบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องให้บริษัทฯ ทราบ โดยเลขานุการบริษัทฯ จะส่งส�ำเนารายงานให้ประธานคณะกรรมการบริษัทฯ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบทราบ รายงานการถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ กรณีบริษัทฯ มีการท�ำรายการเกี่ยวโยงกัน ก�ำหนดให้บริษัทฯ ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของประกาศ ส�ำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ อย่างเคร่งครัดในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ฝ่ายบริหารจะแจ้งให้ทปี่ ระชุม ทราบ โดยกรรมการที่มีส่วนได้เสียในรายการนั้นจะงดออกเสียง และไม่อยู่ในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ กรณีของผูร้ บั จ้าง และคูค่ า้ บริษทั ฯ ได้กำ� หนดให้ทำ� รายงานการมีสว่ นได้เสียกับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันตามหลักเกณฑ์ ของส�ำนักงาน ก.ล.ต. เพือ่ เป็นข้อมูลให้ฝา่ ยบริหารพึงระมัดระวังขัน้ ตอนในการอนุมตั กิ ารท�ำรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ซึ่งรายการระหว่างกันของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ รวมถึงบริษัทฯ และผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ จะผ่าน ขั้นตอนการพิจารณาอนุมัติอย่างถูกต้อง ชัดเจน โดยใช้โครงสร้างราคา และเงื่อนไขทางการค้าทั่วไป เช่นเดียวกับคู่ค้า รายอืน่ ๆ ของบริษทั ฯ โดยได้เปิดเผยรายละเอียดรายการระหว่างกันไว้ในรายงานประจ�ำปี (56-2) และแบบแสดงรายการ ข้อมูล 56-1

5.3 จริยธรรมทางธุรกิจ

เพื่อแสดงเจตนารมณ์ในการด�ำเนินธุรกิจภายใต้หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ก�ำหนด ให้ประกาศใช้ “หลักก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของกลุ่มบริษัทอีสท์ วอเตอร์” “คู่มือคณะกรรมการบริษัทฯ” “คู่มือ คณะกรรมการอิสระ” และจรรยาบรรณทางธุรกิจ ซึง่ ประกาศใช้ครัง้ แรกเมือ่ วันที่ 17 สิงหาคม 2549 โดยได้มกี ารปรับปรุง ให้ทันสมัย และเหมาะสมกับหลักเกณฑ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เพื่อเป็นมาตรฐานในการประพฤติปฏิบัติตามหลัก การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยก�ำหนดให้กรรมการบริษัทฯ ทุกท่านลงนามรับคู่มือคณะกรรมการบริษัทฯ และส�ำหรับ พนักงานกลุ่มบริษัทอีสท์ วอเตอร์ ได้จัดให้มีโครงการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจด้านหลักธรรมาภิบาลให้แก่พนักงาน อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้พนักงานใหม่จะได้รับความรู้ดังกล่าวในการปฐมนิเทศ และการจัดท�ำแบบทดสอบไปพร้อมกับ ความรู้เกี่ยวกับธุรกิจบริษัทฯ


5.5 การรวมหรือแยกต�ำแหน่ง

คณะกรรมการบริษัทฯ มุ่งเน้นความโปร่งใสในการด�ำเนินธุรกิจ กระจายอ�ำนาจการตัดสินใจ แบ่งอ�ำนาจการ กลั่นกรอง และการพิจารณาอนุมัติอย่างชัดเจน โดยประธานคณะกรรมการบริษัทฯ ไม่เป็นบุคคลเดียวกับกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่ รวมทั้งสมาชิกคณะกรรมการตรวจสอบเป็นกรรมการอิสระที่ไม่มีอ�ำนาจลงนามอนุมัติผูกพันบริษัทฯ ไม่มีส่วนได้เสียในด้านการเงิน และการบริหารงานของบริษัทฯ รวมถึงบริษัทในเครือ 5.6 การไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการทีบ่ ริษทั อืน่ ของกรรมการบริษทั ฯ กรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่และผูบ้ ริหาร 1. กรรมการบริษัทฯ ไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนได้ไม่เกิน 3 แห่ง และรวมบริษัทอื่นแล้ว ไม่เกิน 5 แห่ง โดยรวมถึงรัฐวิสาหกิจ 2. กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ และผู้บริหารด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทจดทะเบียนอื่นได้ไม่เกิน 4 บริษัท จดทะเบียน

5.7 บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทฯ

1. หน้าที่ต่อบริษัทฯ และบริษัทในเครือ 1. อุทิศเวลาให้บริษัทฯ หรือบริษัทในเครืออย่างเต็มความสามารถในการปฏิบัติภารกิจต่างๆ ในฐานะกรรมการ บริษัทฯ หรือบริษัทในเครือและปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณของบริษัทฯ และ บริษัทในเครือ 2. ใช้ดุลยพินิจที่เป็นอิสระในการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ 3. ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ทัง้ ในด้านการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณ และกฎหมายอย่างเต็มที่ พร้อมกับค�ำนึงถึงสิทธิประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ ของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ 4. ติดตามผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือในการปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงข้อก�ำหนดในสัญญาของบริษัทฯ และบริษัทในเครือกับคู่ค้าต่างๆ รวมถึงไม่กระท�ำการ ช่ ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น หรื อ ยอมเป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ จ ะท� ำ ให้ เ กิ ด การหลี ก เลี่ ย งการปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายหรื อ กฎระเบียบต่างๆ และดูแลให้ฝ่ายบริหารรายงานผลการด�ำเนินงานเรื่องที่ส�ำคัญของบริษัทฯ และบริษัท ในเครือเพื่อให้การด�ำเนินกิจการบรรลุตามเป้าหมายที่ก�ำหนดอย่างเต็มประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล 5. เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนทักษะ ประสบการณ์ และมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการบริษัทฯ ได้เข้าร่วมสัมมนาฝึกอบรมกับองค์กรหรือหน่วยงานทีจ่ ดั การอบรมสัมมนาในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการเพิม่ ศักยภาพ ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ เช่น หลักสูตรที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมกรรมการบริษัทไทย (IOD) สถาบันพระปกเกล้า เป็นต้น 6. จัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการบริษัทฯ ทั้งแบบรายคณะและรายบุคคลเป็นประจ�ำ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อรับทราบปัญหาและอุปสรรคการปฏิบัติงานและก�ำหนดแนวทางปรับปรุงเพื่อเพิ่ม ศักยภาพอย่างต่อเนื่อง 7. ก�ำหนดจัดให้มีการประชุมกรรมการอิสระและการประชุมกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารโดยไม่มีฝ่ายบริหาร ร่วมด้วยอย่างน้อย 1 ครั้ง และแจ้งผลการประชุมแก่กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ทราบ

65 รายงานประจ�ำปี 2558

คณะกรรมการบริษัทฯ มีจ�ำนวน 10 คน โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วย กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 0 คน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 10 คน กรรมการอิสระ 7 คน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

5.4 การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2558

66

2. หน้าที่ต่อผู้ถือหุ้น 1. ก�ำกับดูแลเพื่อให้เป็นที่มั่นใจว่าบริษัทฯ และบริษัทในเครือสร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น โดย พิจารณาถึงการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัทฯ และบริษัทในเครือโดยแสดงผลอย่างชัดเจนจากสถานะ ทางการเงิน ผลการบริหาร และการจัดการทีถ่ กู ต้องเหมาะสมโดยมีการปรับปรุงงานอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ปกป้อง และเพิ่มพูนผลประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้น 2. ก�ำกับดูแลเพือ่ ให้เป็นทีม่ นั่ ใจได้วา่ บริษทั ฯ และบริษทั ในเครือได้เปิดเผยข้อมูลทางการเงิน และการด�ำเนินงาน ต่อผูล้ งทุนอย่างถูกต้องตามความเป็นจริง มีสาระส�ำคัญครบถ้วนเท่าเทียมกัน ทันเวลา มีมาตรฐานและโปร่งใส ตามกฎเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ในเรื่องการเปิดเผยข้อมูลจากหน่วยงานก�ำกับดูแลที่เกี่ยวข้อง 3. ก�ำกับดูแลเพื่อให้เป็นที่มั่นใจได้ว่าผู้ถือหุ้นทุกรายได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน 3. หน้าที่ต่อเจ้าหนี้ 1. ก�ำกับดูแลเพือ่ ให้เป็นทีม่ นั่ ใจได้วา่ บริษทั ฯ และบริษทั ในเครือปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขข้อก�ำหนดในสัญญาเงินกูแ้ ละ ไม่ปกปิดสถานะการเงินที่แท้จริงของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ รวมทั้งไม่ใช้เงินทุนที่ได้จากการกู้ยืมเงินไป ในทางที่ขัดกับวัตถุประสงค์ในข้อตกลงที่ท�ำกับผู้ให้กู้ยืมเงิน 2. ในกรณีที่สงสัยว่าจะมีเหตุการณ์ที่จะส่งผลกระทบต่อเจ้าหนี้เช่นในกรณีที่บริษัทฯ หรือบริษัทในเครือมี สถานะการเงินที่ไม่มั่นคงหรืออยู่ในภาวะหนี้สินล้นพ้นตัว กรรมการบริษัทฯ หรือบริษัทในเครือจะเร่งหา ข้อแนะน�ำจากผู้เชี่ยวชาญภายนอกเพื่อปรับปรุงแก้ไขสถานการณ์ดังกล่าวอย่างรวดเร็ว รอบคอบ 4. หน้าที่ต่อผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ 1. การก�ำกับดูแล ในการสรรหา คัดเลือกพนักงาน และการท�ำธุรกิจกับผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ บริษัทฯ และบริษัทในเครือไม่ได้เลือก ปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องต่างๆ เนือ่ งจากความแตกต่างด้านเชือ้ ชาติ ศาสนา เพศ สถานภาพสมรส หรือความไร้สมรรถภาพ ทางกาย โดยปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องและมุ่งพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบในเรื่องผลกระทบที่ จะเกิดต่อพนักงาน ผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม


คณะกรรมการบริษัทฯ มีอ�ำนาจอนุมัติในเรื่องต่างๆ ตามกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบบริษัทฯ อาทิ แผนงาน และงบประมาณประจ�ำปี นโยบายการจ่ายเงินปันผล การก�ำหนดและการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี การปรับโครงสร้างการบริหาร เป็นต้น 5.9 หน้าที่ความรับผิดชอบของประธานคณะกรรมการบริษัทฯ และกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ประธานคณะกรรมการบริษทั ฯ และกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ตอ้ งเป็นผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถมีประสบการณ์ และคุณสมบัตทิ เี่ หมาะสม ไม่เป็นบุคคลเดียวกันเพือ่ ให้มกี ารถ่วงดุลอ�ำนาจโดยแยกหน้าทีก่ ารก�ำกับดูแลและการบริหารงาน ออกจากกัน ประธานคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร เป็นผู้น�ำของคณะกรรมการ และมีหน้าที่เป็น ผูเ้ รียกประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นประธานในทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นผูอ้ อกเสียงเพิม่ ขึน้ อีกหนึง่ เสียง เป็นเสียงชี้ขาดถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน และเป็นประธานในที่ประชุมผู้ถือหุ้น

กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่เป็นหัวหน้าและผู้น�ำคณะผู้บริหารของบริษัทฯ และเลขานุการบริษัทฯ รับผิดชอบ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ในการสนับสนุนการด�ำเนินงานของคณะกรรมการเพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นและผู้ม ี ส่วนได้เสียต่างๆ 5.10 เลขานุการบริษัทฯ เพือ่ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2551 ในส่วนหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ของกรรมการและผู้บริหาร และตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน พ.ศ. 2555 ในหมวด ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ (ประชุมครั้งที่ 2/2558 - 16 กุมภาพันธ์ 2558) จึงได้อนุมัติ แต่งตั้งนางวิราวรรณ ธารานนท์ เป็นเลขานุการบริษัทฯ โดยมีประวัติพอสังเขปดังนี้ อายุ 56 ปี ต�ำแหน่ง ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ การศึกษา MBA สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บัญชีบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

5.8 อ�ำนาจอนุมัติของคณะกรรมการบริษัทฯ

67 รายงานประจ�ำปี 2558

2. การรับเรื่องราวร้องทุกข์ / ร้องเรียน บริษัทฯ ให้สิทธิแก่ผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ ในการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานของบริษัทฯ หรือบริษัทในเครือ ให้มปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความโปร่งใสตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยเคร่งครัดและเปิดให้มชี อ่ งทาง ในการรับเรื่องราวร้องทุกข์ ร้องเรียนเกี่ยวกับการด�ำเนินงานของบริษัทฯ หรือบริษัทในเครือที่ถือว่าเป็นการกระท�ำผิด กฎหมายและข้อขัดแย้งกับผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้ใช้น�้ำ ชุมชน หน่วยงาน เป็นต้น โดยผู้ร้องเรียนสามารถจัดท�ำค�ำร้องเรียน เป็นลายลักษณ์อักษรประกอบกับเอกสารหลักฐานต่างๆ มายังคณะกรรมการบริษัทฯ หรือบริษัทในเครือดังรายละเอียด ในข้อ 3.5 เพื่อให้มีการพิจารณาสืบสวน/สอบสวนข้อเท็จจริง และก�ำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดความ เป็นธรรมกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ และบริษัทในเครือให้ความเชื่อมั่นว่าจะรักษาความลับ เกีย่ วกับผูร้ อ้ งเรียนร้องทุกข์โดยการปกป้องคุม้ ครอง เพือ่ ให้ผรู้ อ้ งเรียนได้รบั การปฏิบตั อิ ย่างเป็นธรรมภายใต้กฎ ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งไม่มีการเปลี่ยนแปลงต�ำแหน่งงาน ลักษณะงาน สถานที่ท�ำงาน พักงาน ข่มขู่ รบกวน การปฏิบัติงาน เลิกจ้าง หรือการอื่นใดที่มีลักษณะเป็นการปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรมต่อผู้นั้น


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2558

68

การอบรมหลักสูตรส�ำคัญ หลักสูตร Director Certification Program (DCP 192/2014) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หลักสูตร Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG 8/2014) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย หลักสูตร Management Development Program สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย หลักสูตร Organization Risk Management Program สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย หลักสูตร Company Secretary Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2013 (Module 2) Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA., 2012 (Module 1) หลักสูตร “กฎหมายส�ำหรับการด�ำเนินกิจการที่เป็นบริการสาธารณะ” สถาบันพระปกเกล้า ประสบการณ์การท�ำงาน บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ก.พ. 58 - ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ก.ย. 56 - ก.พ. 58 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล ม.ค. 52 - ก.ย. 56 ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายอ�ำนวยการ

เลขานุการบริษทั ฯ มีหน้าทีส่ นับสนุนการก�ำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการบริษทั ฯ ในการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ (Compliance) ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี จัดท�ำ และเก็บเอกสารส�ำคัญของบริษทั ฯ ตามกฎหมาย รวมทัง้ การเปิดเผยข้อมูลยังหน่วยงานก�ำกับดูแลทีเ่ กีย่ วข้อง และรายงาน โดยทันทีกรณีที่อาจมี หรือมีเหตุการณ์ที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อบริษัทฯ และตลาดทุนโดยรวมอย่างมีนัยส�ำคัญ นอกจากนี้เลขานุการบริษัทฯ ยังมีหน้าที่จัดประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และการประชุมผู้ถือหุ้นตามข้อบังคับของ บริษัทฯ ตลอดจนการจัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ ทั้งแบบองค์คณะ และแบบ รายบุคคล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการด�ำเนินงานของคณะกรรมการ ตลอดจนการจัดให้กรรมการ ผู้บริหารได้รับความรู้ และเข้าอบรมหลักสูตรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ และการปฐมนิเทศกรรมการ 5.11 ค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหาร ค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารเป็นไปตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ทัง้ นี้ คณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์และประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน จะเป็นผูพ้ จิ ารณากลัน่ กรองในเบือ้ งต้น ก่อนน�ำเสนอยังคณะกรรมการบริษทั ฯ ให้ความเห็นชอบ เพือ่ น�ำเสนอยังทีป่ ระชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีพิจารณาอนุมัติ โดยอัตราค่าตอบแทนให้เป็นไปตามสัดส่วนระยะเวลาที่กรรมการด�ำรงต�ำแหน่ง ซึ่งอ้างอิงจากก�ำไรสุทธิ เงินปันผล และผลการด�ำเนินงานของกรรมการบริษัทฯ ซึ่งจะพิจารณาทบทวนความเหมาะสม ทุกปี โดยในปีงบประมาณ 2558 ที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2557 (27 เมษายน 2558) ได้มีมติอนุมัติค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ส�ำหรับปี 2558 แยกเป็นดังนี้


1. ค่าตอบแทนรายเดือนและค่าเบี้ยประชุมของกรรมการบริษัทฯ และกรรมการชุดย่อย 1.1 คณะกรรมการบริษัทฯ ค่าตอบแทนรายเดือน เดือนละ 30,000 บาท/คน เบี้ยประชุม ครั้งละ 10,000 บาท/คน ต่อครั้งที่เข้าประชุม ทัง้ นี้ หากเดือนใดมีการประชุมเกิน 1 ครัง้ คงให้ได้เบีย้ ประชุมเพียง 1 ครัง้ โดยให้ประธานคณะกรรมการบริษทั ฯ ได้รับเพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 25 1.2 คณะกรรมการชุดย่อย ไม่มีค่าตอบแทนรายเดือน เบี้ยประชุมครั้งละ 10,000 บาท/คน ต่อครั้งที่เข้าประชุม ทัง้ นี้ หากเดือนใดมีการประชุมคณะกรรมการชุดย่อยเกิน 1 ครัง้ ให้จา่ ยได้ไม่เกิน 2 ครัง้ /คน/เดือน

ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2557 (27 เมษายน 2558) มีมติอนุมัติคงค่าตอบแทน (โบนัส) ของ คณะกรรมการบริษัทฯ ในอัตรา 486,066 บาท/คน โดยให้ประธานคณะกรรมการบริษัทฯ ได้รับเพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 25 ซึ่งอัตราดังกล่าวเป็นอัตราที่คงไว้ตั้งแต่ปี 2554 เป็นระยะเวลา 4 ปี (2554 - 2557)

ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารในปีงบประมาณ 2558

1 นายวิทยา ฉายสุวรรณ

ประธานคณะกรรมการ

12 150,000

โบนัสจากผลด�ำเนินงาน ปี 2557 ที่จ่ายในปี 2558

ค่าตอบแทนรายเดือนกรรมการ ตามจ�ำนวนเดือนที่ด�ำรงต�ำแหน่ง

เบี้ยประชุม4 คณะกรรมการชุดย่อย

รายชื่อคณะกรรมการ

เบี้ยประชุม4 คณะกรรมการบริษัทฯ

จ�ำนวนเดือนที่ด�ำรงต�ำแหน่ง ปี 2558

(หน่วย : บาท)

- 450,000

50,631.88

2 น.ต. ศิธา ทิวารี

อดีตประธาน1 คณะกรรมการ

-

-

-

-

556,950.63

3 ม.ล. ปาณสาร หัสดินทร

อดีตกรรมการ1

-

-

-

-

445,560.50

4 นายโชติศักดิ์ อาสภวิริยะ

อดีตกรรมการ1

-

-

-

-

445,560.50

5 พล.อ. ชูชัย บุญย้อย

อดีตกรรมการ1

-

-

-

-

445,560.50

6 นายปริญญา นาคฉัตรีย์

อดีตกรรมการ1

-

-

-

-

445,560.50

7 นายไทยรัตน์ โชติกะพุกกะณะ

อดีตกรรมการ1

-

-

-

-

445,560.50

8 นายกัลยาณะ วิภัติภูมิประเทศ

อดีตกรรมการ1

-

-

-

-

445,560.50

69 รายงานประจ�ำปี 2558

2. ค่าตอบแทน (โบนัส) ของคณะกรรมการบริษัทฯ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)


9 พล.อ. สหชาติ พิพิธกุล

อดีตกรรมการ1

-

-

10 นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม

กรรมการ

12

80,000

11 นายสหัส ประทักษ์นุกูล

กรรมการ2

9

12 นายสมนึก ลิ้มทองสิทธิคุณ

กรรมการ

13 นายวันชัย หล่อวัฒนตระกูล

-

โบนัสจากผลด�ำเนินงาน ปี 2557 ที่จ่ายในปี 2558

ค่าตอบแทนรายเดือนกรรมการ ตามจ�ำนวนเดือนที่ด�ำรงต�ำแหน่ง

เบี้ยประชุม4 คณะกรรมการชุดย่อย

-

445,560.50

- 360,000

486,066.00

80,000 250,000 270,000

486,066.00

11

90,000

- 330,000

324,044.00

กรรมการ

5

40,000

80,000 150,000

486,066.00

14 นายไมตรี อินทุสุต

กรรมการ

9

70,000 100,000 270,000

40,505.50

15 นายอมร เลาหมนตรี

กรรมการ

12

120,000 270,000 360,000

40,505.50

70

16 นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร

กรรมการ

12

120,000 300,000 360,000

40,505.50

17 นายชนินทร์ ทินนโชติ

กรรมการ

12

110,000 270,000 360,000

40,505.50

รายงานประจ�ำปี 2558

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

รายชื่อคณะกรรมการ

เบี้ยประชุม4 คณะกรรมการบริษัทฯ

จ�ำนวนเดือนที่ด�ำรงต�ำแหน่ง ปี 2558

(หน่วย : บาท)

18 พล.ต.ต. วิชัย สังข์ประไพ

กรรมการ

12

110,000 100,000 360,000

40,505.50

19 พ.อ. เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี

กรรมการ

12

110,000 290,000 360,000

40,505.50

20 นางธัชดา จิตมหาวงศ์

กรรมการ3

12

120,000 270,000 360,000

-

21 นายชนินทร์ เชาวน์นิรัติศัย

กรรมการ2

3

20,000

-

90,000

-

22 นายเอกชัย อัตถกาญน์นา

กรรมการ

1

10,000

-

30,000

-

หมายเหตุ : 1. อดีตประธานคณะกรรมการบริษัทฯ และอดีตกรรมการบริษัทฯ ที่พ้นวาระการด�ำรงต�ำแหน่งก่อน วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2. ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ ของนายสหัส ประทักษ์นุกูล จ�ำนวน 1,086,066 บาท และของ นายชนินทร์ เชาวน์นิรัติศัย จ�ำนวน 110,000 บาท ได้ด�ำเนินการตามระเบียบของบริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) (EGCO) ที่โอนค่าตอบแทนในฐานะกรรมการของบริษัทฯ ให้กับมูลนิธิไทยรักษ์ป่า 3. ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัทฯ ตามมติคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 14/2557 เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2557 4. จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม มีรายการสรุปย่อที่หน้า 75-79 ค่าตอบแทนผู้บริหาร กรรมการที่เป็นผู้บริหารและผู้บริหารของบริษัทฯ จ�ำนวน 11 คน ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน ส�ำหรับผลการ ด�ำเนินงานในปี 2558 ในรูปเงินเดือนและค่าตอบแทน เป็นเงินรวมทั้งสิ้น 40,393,587.65 บาท


5.14 การถือครองหลักทรัพย์ การถือครองหุ้นของกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหาร ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ล�ำดับ

1.

รายชื่อ

นายวิทยา ฉายสุวรรณ1/

ต�ำแหน่ง

จ�ำนวนหุ้นที่ ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 57

จ�ำนวนหุ้นที่ ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 58

จ�ำนวนหุ้นที่ เปลี่ยนแปลง เพิ่มขึ้น/ลดลง ระหว่างปี 2558

ประธานคณะกรรมการ บริษัทฯ

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 2.

นายอมร เลาหมนตรี1/

กรรมการอิสระ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 3.

นายชนินทร์ ทินนโชติ1/

กรรมการอิสระ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 4.

นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร1/

กรรมการอิสระ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 5.

พ.อ. เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี2/

กรรมการอิสระ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 6.

พล.ต.ต. วิชัย สังข์ประไพ2/

กรรมการอิสระ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 7.

นางธัชดา จิตมหาวงศ์3/ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

กรรมการอิสระ

71 รายงานประจ�ำปี 2558

5.13 นโยบายค่าตอบแทน CEO ทั้งระยะสั้นและระยะยาว รวมถึงผลการปฏิบัติงานของ CEO ค่าตอบแทนกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ เป็นไปตามนโยบาย หลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา อนุมัติ ทั้งนี้จะเชื่อมโยงกับผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ การประเมินผลงานกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่พิจารณาตาม การประเมินผลสัมฤทธิข์ องงานเปรียบเทียบกับแผนงานทีค่ ณะกรรมการอนุมตั ไิ ว้ รวมทัง้ จากดัชนีวดั ความส�ำเร็จของงาน (KPI: Key Performance Indicator) เทียบกับค่าเป้าหมายที่ต้ังไว้แต่ละปี เพื่อเป็นแนวทางในการด�ำเนินธุรกิจ ทั้งนี ้ คณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์และประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน เป็นผูพ้ จิ ารณาก�ำหนด ค่าตอบแทนของกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ที่สะท้อนถึงผลการปฏิบัติงาน พร้อมทั้งน�ำเสนอหลักการและค่าตอบแทนที่ เหมาะสมต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาและอนุมัติ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

5.12 นโยบายและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของผู้บริหาร บริษัทฯ ด�ำเนินการวัดผลการด�ำเนินงานของผู้บริหารทุกปี โดยน�ำดัชนีชี้วัดความส�ำเร็จของงาน (KPI: Key Performance Indicator) มาใช้ในการประเมินผลผู้บริหารรวมทั้งพนักงานทุกระดับ โดยมีการเปรียบเทียบ KPI ที่ ก�ำหนดไว้เป็นเป้าหมายกับผลการด�ำเนินงานเพื่อพิจารณาการปรับค่าจ้างและการจ่ายค่าตอบแทน (โบนัส) ประจ�ำปี


ล�ำดับ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

8.

นายชนินทร์ เชาวน์นิรัติศัย4/

ต�ำแหน่ง

จ�ำนวนหุ้นที่ ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 57

จ�ำนวนหุ้นที่ ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 58

จ�ำนวนหุ้นที่ เปลี่ยนแปลง เพิ่มขึ้น/ลดลง ระหว่างปี 2558

กรรมการ

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

549,000

549,000

ไม่มี

24,580

24,580

ไม่มี

2,000

2,000

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

630,000

630,000

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 9.

นายเอกชัย อัตถกาญน์นา5/

กรรมการ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 10.

นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม

กรรมการ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 11.

72 รายงานประจ�ำปี 2558

รายชื่อ

นายเจริญสุข วรพรรณโสภาค

รักษาการกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่ และรองกรรมการ ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ สายปฏิบัติการ และรักษาการผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ายปฏิบัติการและ บริการลูกค้า

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 12.

นายน�ำศักดิ์ วรรณวิสูตร

รองกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 13.

นางน�้ำฝน รัษฎานุกูล

ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 14.

นางธิดารัชต์ ไกรประสิทธิ์

ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ฝ่ายการเงินและบัญชี

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 15.

นายเชิดชาย ปิติวัชรากุล

ผู้อ�ำนวยการอาวุโส ประจ�ำส�ำนักกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 16.

นางวิราวรรณ ธารานนท์

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่และ เลขานุการบริษัทฯ


นางสาวกันยานาถ วีระพันธุ์

ต�ำแหน่ง

จ�ำนวนหุ้นที่ ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 57

จ�ำนวนหุ้นที่ ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 58

จ�ำนวนหุ้นที่ เปลี่ยนแปลง เพิ่มขึ้น/ลดลง ระหว่างปี 2558

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายสื่อสารองค์กร

222,000

222,000

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

250

250

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

60,100

ไม่มี

60,100

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 18.

นายโสกุล เชื้อภักดี

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายวิศวกรรม

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 19.

นางสาวจินดา มไหสวริยะ6/

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายอ�ำนวยการ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 20.

นางสาวดวงรัตน์ พิทักษ์7/

ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล และรักษาการผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 21.

นางสาวธารทิพย์ โพธิสรณ์8/

ผู้จัดการแผนกระบบ เครือข่าย และรักษาการผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ หมายเหตุ:

ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2557 ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2557 3/ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2557 4/ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 5/ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2558 6/ ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บริหารบริษัทฯ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2558 7/ ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บริหารบริษัทฯ เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2558 8/ ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บริหารบริษัทฯ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 1/ 2/

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

17.

รายชื่อ

73 ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

รายงานประจ�ำปี 2558

ล�ำดับ


รายงานการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหารที่ลาออกระหว่างปี 2558

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ล�ำดับ

รายงานประจ�ำปี 2558

74

1.

รายชื่อ

นายสหัส ประทักษ์นุกูล

ต�ำแหน่ง

จ�ำนวนหุ้นที่ ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 57

จ�ำนวนหุ้นที่ ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 58

จ�ำนวนหุ้นที่ เปลี่ยนแปลง เพิ่มขึ้น/ลดลง ระหว่างปี 2558

วันที่สิ้นสุด การด�ำรง ต�ำแหน่ง

กรรมการ

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

30 ก.ย. 58

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ 2.

นายไมตรี อินทุสุต

กรรมการ

คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ 3.

นายสมนึก ลิ้มทองสิทธิคุณ

กรรมการ

คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ 4.

นายปิติพงษ์ ชีรานนท์1/

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ 5.

นายสมบัติ อยู่สามารถ2/

ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายการเงิน และบัญชี

คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ 6.

นายประสิทธิ์ สกุลเกสรีวรรณ

คูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ

ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ายตรวจสอบ และรักษาการ ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายตรวจสอบ

1 ต.ค. 58 30 พ.ย. 58 1 ก.ค. 58

21 ก.ค. 58

30 ต.ค. 58

หมายเหตุ: 1/ ย้ายกลับไปด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารในบริษัทย่อย และลาออกเมื่อ 15 กันยายน 2558 2/ โอนย้ายไปด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารในบริษัทย่อย

5.15 การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ จะก�ำหนดวันประชุมล่วงหน้าตลอดทั้งปี เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ สามารถจัดสรร

เวลาการเข้าร่วมประชุมได้ทุกครั้ง โดยประธานคณะกรรมการบริษัทฯ และกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่จะร่วมกันก�ำหนด ขอบเขต และเรื่องที่จะก�ำหนดเป็นระเบียบวาระการประชุม แล้วมอบหมายเลขานุการบริษัทฯ บรรจุเรื่องที่ส�ำคัญใน ระเบียบวาระเรื่องเพื่อพิจารณา เรื่องเพื่อทราบ และเรื่องอื่นๆ ตามล�ำดับความส�ำคัญ และเร่งด่วน โดยมีนโยบายให้ ฝ่ายบริหารน�ำส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุม และเอกสารประกอบระเบียบวาระต่างๆ ก่อนการ ประชุมล่วงหน้าอย่างน้อย 5 วันท�ำการ เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีเวลาศึกษาข้อมูลก่อนเข้าประชุมทุกครั้ง หาก กรรมการบริษทั ฯ ท่านใดมีสว่ นเกีย่ วข้องหรือมีสว่ นได้เสียในแต่ละวาระการประชุม จะต้องงดออกเสียงลงมติหรือออกจาก ที่ประชุม เพื่อเป็นการรักษาสิทธิหรือประโยชน์ของบริษัทฯ


รายชื่อคณะกรรมการ

1 นายวิทยา ฉายสุวรรณ

การเข้าร่วมประชุม/ การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

ช่วงระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่ง

ประธานคณะกรรมการ บริษัทฯ

16/16

เริ่มเข้ารับต�ำแหน่งเมื่อ 1 ธ.ค. 2557

2 นายไมตรี อินทุสุต

อดีตกรรมการ

9/13

1 ธ.ค. 2557 - 1 ต.ค. 2558

3 นายสหัส ประทักษ์นุกูล

อดีตกรรมการ

12/13

25 เม.ย. 2555 - 30 ก.ย. 2558

4 นายสมนึก ลิ้มทองสิทธิคุณ

อดีตกรรมการ

10/15

22 เม.ย. 2557 - 30 พ.ย. 2558

5 นายอมร เลาหมนตรี

กรรมการ

16/16

เริ่มเข้ารับต�ำแหน่งเมื่อ 1 ธ.ค. 2557

6 นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร

กรรมการ

16/16

เริ่มเข้ารับต�ำแหน่งเมื่อ 1 ธ.ค. 2557

7 นายชนินทร์ ทินนโชติ

กรรมการ

14/16

เริ่มเข้ารับต�ำแหน่งเมื่อ 1 ธ.ค. 2557

8 พล.ต.ต. วิชัย สังข์ประไพ

กรรมการ

15/16

เริ่มเข้ารับต�ำแหน่งเมื่อ 8 ธ.ค. 2557

9 พ.อ. เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี

กรรมการ

15/16

เริ่มเข้ารับต�ำแหน่งเมื่อ 8 ธ.ค. 2557

10 นางธัชดา จิตมหาวงศ์

กรรมการ

15/16

เริ่มเข้ารับต�ำแหน่งเมื่อ 24 ธ.ค. 2557

11 นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม

กรรมการ

9/16

เริ่มเข้ารับต�ำแหน่งเมื่อ 25 เม.ย. 2555

12 นายชนินทร์ เชาวน์นิรัติศัย

กรรมการ

2/3

เริ่มเข้ารับต�ำแหน่งเมื่อ 1 ต.ค. 2558

13 นายเอกชัย อัตถกาญน์นา

กรรมการ

1/1

เริ่มเข้ารับต�ำแหน่งเมื่อ 1 ธ.ค. 2558

14 นายวันชัย หล่อวัฒนตระกูล

กรรมการ และกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่

6/7

30 ส.ค. 2556 - 31 พ.ค. 2558

การประชุมกรรมการอิสระและกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร คณะกรรมการบริษัทฯ มีนโยบายก�ำหนดให้มีการประชุมกรรมการอิสระร่วมกัน และการประชุมกรรมการบริษัทฯ โดยไม่มีกรรมการที่เป็นผู้บริหาร หรือฝ่ายบริหารเข้าร่วมการประชุม โดยในปี 2558 มีการประชุมกรรมการอิสระและ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 1 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้อภิปรายปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับการหารายได้จากธุรกิจใหม่ และการ ขยายธุรกิจสู่ภูมิภาคอาเซียน การป้องกันปัญหาข้อขัดแย้งกับชุมชนในการก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ แผนการสืบทอด ต�ำแหน่งกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ และนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการบริษัทในเครือ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ในปี 2558 คณะกรรมการบริษัทฯ มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 16 ครั้ง โดยมีสถิติการเข้าร่วมประชุมของกรรมการ บริษัทฯ แต่ละคนสรุปได้ ดังนี้

75 รายงานประจ�ำปี 2558

ในการประชุมทุกครัง้ จะมีการก�ำหนดระเบียบวาระการประชุมทีช่ ดั เจน โดยในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ กรรมการทุกคนสามารถอภิปรายและแสดงความคิดเห็นได้อย่างเปิดเผย เป็นอิสระ และมีการจดบันทึกการประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งจะเวียนให้คณะกรรมการทุกท่านพิจารณาภายใน 7 วัน เพื่อให้กรรมการได้ตรวจสอบก่อนการ รับรองการประชุมในการประชุมครั้งถัดไป ทั้งนี้ มติที่ประชุมและข้อแนะน�ำของคณะกรรมการบริษัทฯ จะต้องมีความ ชัดเจน เพื่อใช้อ้างอิงประกอบการท�ำงานของฝ่ายบริหารตามมติคณะกรรมการบริษัทฯ


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2558

76

นโยบายจ�ำนวนองค์ประชุมขั้นต�่ำ นอกเหนือจากข้อบังคับบริษทั ฯ ทีว่ า่ ด้วยองค์ประชุม และการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ แล้ว เพือ่ ให้เป็นไปตาม หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และมีประสิทธิภาพ บริษัทฯ ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับจ�ำนวนองค์ประชุมขั้นต�่ำ ณ ขณะที่ คณะกรรมการบริษัทฯ จะลงมติ ในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ต้องมีกรรมการอยู่ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจ�ำนวน กรรมการทั้งหมด

5.16 คณะกรรมการชุดต่างๆ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย 5 ชุด ประกอบด้วย 1) คณะกรรมการตรวจสอบ

2) คณะกรรมการบริหารและการลงทุน 3) คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา 4) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และ 5) คณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์ประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อศึกษาและ กลั่นกรองงานที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมายให้มีความถูกต้อง ชัดเจน สอดคล้องกับพันธกิจ และนโยบายของ บริษัทฯ ในเบื้องต้น ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ หรือเห็นชอบ หรือให้ข้อแนะน�ำเพิ่มเติมแล้วแต่ กรณี ทั้งนี้มีกรรมการ 2 ท่านคือนายสหัส ประทักษ์นุกูล และนายไมตรี อินทุสุต ได้ลาออกในช่วงปลายปี 2558 ท�ำให้ ต�ำแหน่งกรรมการชุดย่อยที่ได้ด�ำรงต�ำแหน่งซึ่งประกอบด้วยต�ำแหน่งประธานคณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์ประเมิน ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบริหารและการลงทุน ประธานคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง และกรรมการก�ำหนดเกณฑ์ประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และพิจารณาค่าตอบแทนว่างลงและ อยู่ระหว่างการแต่งตั้งผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทดแทนรายละเอียดคณะกรรมการชุดต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการ บริษัทฯ และการเข้าประชุมในปีงบประมาณ 2558 มีดังนี้

5.16.1 คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 คน ดังนี้ ร่วมประชุม/การประชุมทั้งหมด ล�ำดับที่ ชื่อ - นามสกุล ต�ำแหน่ง (ครั้ง) 1.

นายอมร เลาหมนตรี

ประธานคณะกรรมการ

19/19

2.

นายชนินทร์ ทินนโชติ

กรรมการ

19/19

3.

นางธัชดา จิตมหาวงศ์

กรรมการ

19/19

คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่หลักในการพิจารณาสอบทานความถูกต้อง และความน่าเชื่อถือในงบการเงิน

ของบริษทั ฯ ว่าได้ปฏิบตั สิ อดคล้องตามมาตรฐานการบัญชีของประเทศไทยซึง่ ประกาศโดยสภาวิชาชีพบัญชี ก่อนน�ำเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ รวมทั้งจัดให้มีกระบวนการบริหารงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้สามารถด�ำเนินไป อย่างมีประสิทธิผล มีความเป็นอิสระ มุ่งเน้นการจัดให้มีแนวปฏิบัติที่มีความโปร่งใส และชัดเจนระหว่างคณะกรรมการ บริษัทฯ ฝ่ายตรวจสอบ ฝ่ายบริหาร และผู้สอบบัญชี เพื่อทบทวน และให้ค�ำแนะน�ำด้านการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในของกลุ่มบริษัทฯ ให้ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ และ พิจารณารายการเกี่ยวโยง หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายว่ามีความสมเหตุ สมผล และคงไว้ซึ่งประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ ตลอดจนการเปิดเผยข้อมูลโดยรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ จะถูกบรรจุไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ นอกจากนั้น ยังมีบทบาทหน้าที่ให้ความเห็นชอบในเบื้องต้นเกี่ยวกับ การแต่งตั้ง ก�ำหนดค่าตอบแทน และเลิกจ้างผู้สอบบัญชี เพื่อน�ำเสนอยังคณะกรรมการบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นพิจารณา รวมถึงให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้างผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายตรวจสอบ รวมถึงการมีสายบังคับบัญชา โดยตรงกับฝ่ายตรวจสอบเพื่อความเป็นอิสระในการปฏิบัติงานของฝ่ายงานดังกล่าว


ล�ำดับที่

ชื่อ - นามสกุล

ต�ำแหน่ง

ร่วมประชุม/การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

1.

นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร

ประธานคณะกรรมการ

22/22

2.

พ.อ. เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี

กรรมการ

19/22

3.

พล.อ. ธนดล เผ่าจินดา

ที่ปรึกษา

22/22

4.

พล.ร.อ. อมรเทพ ณ บางช้าง

ที่ปรึกษา

19/22

5.

นายเลิศวิโรจน์ โกวัฒนะ

ที่ปรึกษา

7/22

6.

นายสหัส ประทักษ์นุกูล1

อดีตกรรมการ

17/17

7.

นายวันชัย หล่อวัฒนะตระกูล2

อดีตกรรมการ

6/7

หมายเหตุ : 1. ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2558 2. ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2558

คณะกรรมการบริหารและการลงทุน เป็นคณะกรรมการทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ ให้มบี ทบาท และหน้าทีใ่ นการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ ให้มปี ระสิทธิภาพ และมีความเข้มแข็งทางธุรกิจตามแนวนโยบาย ของคณะกรรมการบริษทั ฯ โดยมีหน้าทีใ่ นการพิจารณากลัน่ กรอง และทบทวนแผนธุรกิจ แผนการด�ำเนินงาน งบประมาณ ประจ�ำปี และการอนุมตั ใิ นโครงการลงทุนทีอ่ ยูภ่ ายใต้กรอบวงเงินทีไ่ ด้รบั มอบอ�ำนาจจากคณะกรรมการบริษทั ฯ นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่ในการก�ำหนดกระบวนการ และหลักเกณฑ์การพิจารณาการขยายการลงทุนโครงการต่างๆ รวมทั้งพิจารณา การศึกษาความเหมาะสมในการลงทุนและการเงิน ให้ค�ำปรึกษา หรือข้อเสนอแนะ รวมถึงสนับสนุนการบริหารงานของ ฝ่ายบริหารให้บรรลุวตั ถุประสงค์ และเป้าหมายของบริษทั ฯ พร้อมทัง้ รายงานผลการปฏิบตั งิ านยังคณะกรรมการบริษทั ฯ เพื่อพิจารณาและเพื่อทราบอย่างสม�่ำเสมอ 5.16.3 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 4 คน ดังนี้ ล�ำดับที่

ชื่อ - นามสกุล

ต�ำแหน่ง

ร่วมประชุม/การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

ประธานคณะกรรมการ

9/9

1.

พล.ต.ต. วิชัย สังข์ประไพ

2.

นายอมร เลาหมนตรี

กรรมการ

9/9

3.

นายชนินทร์ ทินนโชติ

กรรมการ

8/9

4.

นางธัชดา จิตมหาวงศ์

กรรมการ

9/9

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

5.16.2 คณะกรรมการบริหารและการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 2 คน และที่ปรึกษา 3 คน ดังนี้

77 รายงานประจ�ำปี 2558


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2558

78

ด้านธรรมาภิบาล คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหามีหน้าทีส่ นับสนุนงานของคณะกรรมการบริษทั ฯ ให้ดำ� เนินไปอย่างถูกต้อง โปร่งใส และสามารถรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ตลอดจนผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ โดยการกลั่นกรองคู่มือ คณะกรรมการบริษัทฯ จรรยาบรรณทางธุรกิจ จรรยาบรรณพนักงาน ตลอดจนสอดส่อง และติดตามการด�ำเนินงาน ให้แน่ใจว่าบริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามข้อพึงปฏิบัติที่ส�ำคัญของกระบวนการก�ำกับดูแลกิจการที่มีประสิทธิผลเหมาะสม สอดคล้องกับข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและข้อก�ำหนดของ Asean CG Scorecard ด้านการสรรหา คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา เพื่อปฏิบัติภารกิจในการสรรหา และ เสนอชือ่ บุคคลที่เหมาะสมส�ำหรับเป็นกรรมการบริษัทฯ และบริษัทในเครือ กรรมการชุดย่อยของบริษัทฯ และกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่ รวมทั้งตรวจสอบคุณสมบัติบุคคลที่เหมาะสมเพื่อน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ ในการด�ำรงต�ำแหน่ง ดังกล่าวภายในกลุ่มบริษัทฯ ให้ความเห็นต่อโครงสร้างการบริหารงานของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการ ชุดย่อยต่างๆ พร้อมทัง้ น�ำเสนอยังคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา และอนุมัติการปรับปรุงตามความเหมาะสม 5.16.4 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วยกรรมการ 2 คน ดังนี้ ล�ำดับที่

ชื่อ - นามสกุล

ต�ำแหน่ง

ร่วมประชุม/การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

1.

พล.ต.ต. วิชัย สังข์ประไพ

กรรมการ

1/3

2.

พ.อ. เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี

กรรมการ

3/3

3.

นายไมตรี อินทุสุต1

อดีตประธานคณะกรรมการ

3/3

4.

นายวันชัย หล่อวัฒนตระกูล2

อดีตกรรมการ

2/2

หมายเหตุ : 1. ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 2. ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2558

คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีหน้าทีห่ ลักในการก�ำกับดูแล และน�ำเสนอนโยบายการบริหารความเสีย่ งโดยรวม ต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ทราบและพิจารณาโดยนโยบายครอบคลุมความเสีย่ งประเภทต่างๆ ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ความ เสีย่ งด้านกลยุทธ์ ความเสีย่ งด้านปฏิบตั งิ าน ความเสีย่ งด้านการลงทุน ความเสีย่ งด้านการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง และความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อชื่อเสียงของกิจการ นอกจากนี้คณะกรรมการฯ ยังมีหน้าที่พิจารณามาตรการในการ ประเมินความเสี่ยงและอนุมัติแผนบริหารความเสีย่ ง ก�ำหนดวิธีปฏิบตั ิ ทีเ่ ป็นมาตรฐาน กลยุทธ์ และการวัดความเสีย่ ง รวมทัง้ ให้ขอ้ แนะน�ำแก่ฝา่ ยบริหาร พร้อมทัง้ ก�ำกับดูแล ทบทวน และติดตามแผนบริหารความเสีย่ งเพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ การ บริหารความเสีย่ งได้นำ� ไปปฏิบตั อิ ย่างเหมาะสม และสามารถควบคุมความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล ให้อยู่ ในระดับที่ยอมรับได้


ชื่อ - นามสกุล

ต�ำแหน่ง

ร่วมประชุม/การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

1.

นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร

กรรมการ

10/10

2.

พ.อ. เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี

กรรมการ

9/10

3.

พล.อ. ธนดล เผ่าจินดา

ที่ปรึกษา

9/10

4.

นายสหัส ประทักษ์นุกูล1

อดีตประธานคณะกรรมการ

10/10

5.

นายไมตรี อินทุสุต2

อดีตกรรมการ

7/10

หมายเหตุ : 1. ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2558 2. ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558

การก�ำหนดเกณฑ์และประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์และประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ โดยมี หน้าทีก่ ำ� หนดและทบทวนเกณฑ์การประเมินผลการด�ำเนินงาน (Corporate KPIs) ประจ�ำปีของบริษทั ฯ ให้สอดคล้องกับ แนวนโยบายธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้งติดตาม ประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ เป็นรายไตรมาส ตลอดจนให้ ข้อแนะน�ำแก่ฝ่ายบริหารในการปฏิบัติงาน และรายงานผล ณ สิ้นปียังคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ การพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์และประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ และพิจารณาค่าตอบแทนได้เสนอแนะยัง คณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาค่าตอบแทนประจ�ำปีของคณะกรรมการบริษทั ฯ คณะกรรมการชุดย่อยของกลุม่ บริษทั อีสท์ วอเตอร์ ทีป่ รึกษาคณะกรรมการของกลุม่ บริษทั อีสท์ วอเตอร์ ทีป่ รึกษาคณะกรรมการชุดย่อยของกลุม่ บริษทั อีสท์ วอเตอร์ กรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ ผูบ้ ริหาร และพนักงานกลุม่ บริษทั อีสท์ วอเตอร์ นอกจากนี้ ยังได้ เสนอแนะนโยบายค่าตอบแทน และผลประโยชน์อนื่ ๆ ทัง้ หมด ทัง้ ในรูปตัวเงิน และมิใช่ตวั เงินของบุคลากรทุกระดับขององค์กรต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ความเห็นชอบและฝ่ายบริหารได้น�ำไปก�ำหนดเป็นระเบียบและแนวปฏิบัติในกลุ่มบริษัท อีสท์ วอเตอร์ ต่อไป

5.17 หลักเกณฑ์ ขัน้ ตอน ผลการประเมินการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการชุดย่อย

การประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษัทฯ (ประชุมครั้งที่ 10/2546 - 20 พฤศจิกายน 2546) มีมติเห็นชอบให้มีการประเมินผลการ ปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ฯ อย่างสม�ำ่ เสมอและต่อเนือ่ งทุกปี เพือ่ ให้มกี ารทบทวนผลงาน ปัญหา และอุปสรรค ต่างๆ ในระหว่างปีที่ผ่านมา และสามารถพิจารณาปรับปรุงประสิทธิภาพการด�ำเนินงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับ หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี นอกจากนี้กฎบัตรคณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะ ระบุให้คณะกรรมการชุดย่อยประเมินผลการปฏิบัติงานของ ตนเอง ทั้งแบบรายคณะและรายบุคคล และรายงานปัญหาอุปสรรคที่เป็นเหตุให้การปฏิบัติงานไม่บรรลุตามขอบเขต อ�ำนาจ หน้าที่ (ถ้ามี) ยังคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบปีละ 1 ครั้ง

79 รายงานประจ�ำปี 2558

ล�ำดับที่

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

5.16.5 คณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์และประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ และพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วยกรรมการ 2 คน ดังนี้


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) รายงานประจ�ำปี 2558

80

หลักเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อย การประเมินการปฏิบัติงานแบบองค์คณะ 1. คณะกรรมการบริษัทฯ ประเมินตนเองโดยครอบคลุมหัวข้อส�ำคัญ ดังนี้ 1. ความพร้อมของกรรมการบริษัทฯ 2. การก�ำหนดกลยุทธ์ และวางแผนธุรกิจ 3. การจัดการความเสี่ยง และการควบคุมภายใน 4. การดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 5. การติดตามรายงานทางการเงินและการด�ำเนินงาน 6. การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ 7. อื่นๆ เช่น การสรรหา การพิจารณาค่าตอบแทน การประเมินผลงานกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ เป็นต้น 2. คณะกรรมการตรวจสอบ ประเมินตนเองโดยครอบคลุมหัวข้อส�ำคัญ ดังนี้ 1. อ�ำนาจหน้าที่ 2. สมาชิกคณะกรรมการตรวจสอบ 3. การประชุม 4. การควบคุมภายใน 5. การจัดท�ำรายงานทางการเงิน 6. การปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับ 7. ผู้สอบบัญชี 8. ผู้ตรวจสอบภายใน 9. การรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 10. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 11. กฎบัตร 3. คณะกรรมการชุดย่อยอืน่ ได้แก่ 1) คณะกรรมการบริหารและการลงทุน 2) คณะกรรมการธรรมาภิบาลและ สรรหา 3) คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และ 4) คณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์และประเมินผลการด�ำเนิน งานของบริษัทฯ และพิจารณาค่าตอบแทน ประเมินครอบคลุมหัวข้อส�ำคัญ ดังนี้ 1. ความพร้อมของกรรมการ 2. การประชุมคณะกรรมการ 3. อ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ

การประเมินการปฏิบัติงานแบบรายบุคคล การประเมินการปฏิบัติงานแบบรายบุคคลของคณะกรรมการบริษัทฯ ทุกคณะ ครอบคลุมหัวข้อส�ำคัญ เช่น การเข้าร่วมประชุม ทัศนคติ และการพัฒนาความรู้ความสามารถอย่างต่อเนื่องของกรรมการ สัมพันธภาพกับฝ่ายบริหาร การประเมินจุดแข็งและจุดอ่อนของตนเอง เป็นต้น ขั้นตอนการประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อย เลขานุการบริษทั ฯ และเลขานุการคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละชุด จะน�ำส่งแบบประเมินคณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการชุดย่อย พร้อมสรุปข้อมูลสนับสนุนเพื่อประกอบการพิจารณาประเมินทั้งแบบองค์คณะ และแบบราย บุคคลยังคณะกรรมการทุกชุดภายในเดือนธันวาคมของทุกปี หลังจากนัน้ เลขานุการบริษทั ฯ จะรวบรวมแบบประเมินผลฯ เพื่อจัดท�ำรายงานสรุปผลการประเมินฯ น�ำเสนอยังที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ


ผลการประเมินฯ ผลการประเมินฯ (แบบองค์คณะ) คิดเป็นร้อยละ (แบบรายบุคคล) คิดเป็นร้อยละ

1. คณะกรรมการบริษัทฯ

91.42

93.64

2. คณะกรรมการตรวจสอบ

100.00

98.73

3. คณะกรรมการบริหารและการลงทุน

92.00

90.00

4. คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา

97.00

99.00

5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

87.33

93.33

6. คณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน

92.67

93.33

คะแนนเฉลี่ยรวมทุกคณะ

93.40

94.67

5.18 หลักเกณฑ์ กระบวนการ ผลการประเมินการปฏิบัติงานของ CEO คณะกรรมการก�ำหนดเกณฑ์และประเมินผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน เป็นผูพ้ จิ ารณา ค่าตอบแทนประจ�ำปีของกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ โดยผลการประเมินการปฏิบัติงานของ CEO ต้องผ่านเกณฑ์ท ี่ คณะกรรมการอนุมัติไว้

5.19 การปฐมนิเทศกรรมการ

ในปี 2558 บริษทั ฯ ก�ำหนดให้มกี ารปฐมนิเทศกรรมการ เพือ่ ให้ได้รบั ทราบวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และนโยบายธุรกิจ ของบริษัทฯ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ เช่น โครงสร้างผู้ถือหุ้น โครงสร้างองค์กร ผลการด�ำเนินงาน กฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องต่างๆ รวมถึงการติดตามมติคณะกรรมการบริษัทฯ ที่ผ่านมา ปัญหาอุปสรรค และแผนยุทธศาสตร์ ในอนาคต เป็นต้น กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ และเลขานุการบริษัทฯ เป็นผู้น�ำเสนอรายละเอียดดังกล่าว พร้อมน�ำส่ง ข้อมูลส�ำหรับกรรมการซึ่งประกอบด้วย คู่มือคณะกรรมการบริษัทฯ แบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) รายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของกลุ่มบริษัทอีสท์ วอเตอร์ กฎบัตรคณะกรรมการชุดย่อย รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนดวันประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ส�ำหรับตลอดทั้งปี รายนามคณะกรรมการบริษัทฯ ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัทฯ และรายนามผู้บริหารชุดปัจจุบัน หนังสือบริคณห์สนธิ หนังสือรับรอง ข้อบังคับ และระเบียบบริษัทฯ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการชุดย่อย

81 รายงานประจ�ำปี 2558

ผลประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อย ประจ�ำปี 2558 คณะกรรมการบริษัทฯ รับทราบผลการประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการ ชุดย่อย ในปี 2558 ในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ (ประชุมครั้งที่ 2/2559 - 16 กุมภาพันธ์ 2559) ซึ่งส่วนใหญ่มี ผลการประเมินอยูใ่ นระดับสูงกว่าร้อยละ 90 อย่างไรก็ดไี ด้กำ� หนดแนวทางการปรับปรุงหัวข้อการประเมินทีไ่ ด้คะแนนต�ำ่ ของคณะกรรมการบริษทั ฯ ทุกชุด ทัง้ แบบองค์คณะ และแบบรายบุคคลให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ นอกจากนีเ้ ลขานุการ บริษัทฯ ได้ก�ำหนดแนวทางเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อยให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยมีคะแนนการประเมินผลสรุปได้ดังนี้


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีธรรมเนียมปฏิบตั ใิ ห้กรรมการใหม่เข้าเยีย่ มชมกิจการของบริษทั ฯ ในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารต่างๆ เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจในธุรกิจมากขึน้ โดยในปี 2558 ได้จดั ให้มกี ารเยีย่ มชมกิจการของบริษทั ฯ และเข้าพบผูม้ สี ว่ นได้เสีย ในพื้นที่ปฏิบัติการ เมื่อวันที่ 21-22 มกราคม 2558

รายงานประจ�ำปี 2558

82

5.20 การฝึกอบรมของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ และกรรมการที่เป็นผู้บริหารให้ความส�ำคัญต่อการเข้าร่วมการอบรมสัมมนาหลักสูตร ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่กรรมการอย่างสม�่ำเสมอ (ดังรายละเอียดปรากฏ ตามข้อมูลประวัติของแต่ละท่าน) ทั้งนี้บริษัทฯ ให้การสนับสนุนและด�ำเนินการให้กรรมการพิจารณาเข้ารับการอบรม ในหลักสูตรต่างๆ กับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย และสถาบันอืน่ ๆ ในทุกหลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้องอย่างต่อเนือ่ ง เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจถึงหลักการของการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี กฎระเบียบ ตลอดจนบทบาท และหน้าที่ของ กรรมการบริษัทฯ ในการก�ำกับดูแลองค์กรให้มีประสิทธิภาพ สอดคล้องตามหลักจรรยาบรรณที่บริษัทฯ ก�ำหนด อีกทั้ง ยังท�ำให้เกิดมุมมองความคิดที่เป็นประโยชน์เพื่อน�ำมาประยุกต์ใช้กับธุรกิจของบริษัทฯ ได้อย่างเหมาะสมต่อไป โดย ในปี 2558 หลักสูตรของ IOD มีกรรมการเข้าร่วมอบรม 6 คน จ�ำนวน 7 หลักสูตร พอสรุปได้ดังตาราง นอกจากนี้ยังได้ จองหลักสูตรด้านการบริหารความเสี่ยง หลักสูตร DCP และ DAP เพิ่มเติมในปี 2559 ส�ำหรับกรรมการที่ติดภารกิจ ไม่สามารถเข้าอบรมในปี 2558 ได้ รายชื่อคณะกรรมการบริษัทฯ และที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัทฯ

การอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมกรรมการบริษัทไทย (IOD) ณ 31 ธันวาคม 2558 AACP8

ACP2

DAP5

DCP1

FSD9

HRP4

RCL10

RCP6

RMP7

SFE3

-

-

-

-

-

-

-

36/2015

-

-

18/2015

-

27/2015

-

-

-

-

-

-

28/2009

105/2008

-

4/2013

-

-

-

13/2011

18/2015

-

114/2015 201/2015

-

-

1/2015

-

-

-

พล.ต.ต. วิชัย สังข์ประไพ11,12

-

-

-

-

-

-

-

-

6/2015

-

พ.อ. เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

นางธัชดา จิตมหาวงศ์

18/2015

-

27/2015

-

-

-

-

-

นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม

-

-

-

161/2012

-

-

-

-

-

-

นายชนินทร์ เชาวน์นิรัติศัย

-

-

-

192/2014

29/2015

-

-

-

-

-

นายเอกชัย อัตถกาญน์นา

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

คณะกรรมการบริษัทฯ นายวิทยา ฉายสุวรรณ11,12 นายอมร เลาหมนตรี นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร นายชนินทร์ ทินนโชติ

114/2015 208/2015 -

114/2015 208/2015

หมายเหตุ 1. AACP: Advanced Audit Committee Program 2. ACP: Audit Committee Program 3. DAP: Director Accreditation Program 4. DCP: Director Certification Program 5. FSD: Financial Statements for Directors 6. HRP: How to Develop a Risk Management Plan 7. RCL: Risk Management Program for Corporate Leaders 8. RCP: Role of the Chairman Program 9. RMP: Risk Management Committee Program 10. SFE: Successful Formulation & Execution the Strategy

ปี 2559 กรรมการสมัครเข้าอบรม 11. หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 12. หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 13. หลักสูตร Risk Management Program for Corporate Leaders (RCL)


นอกจากนี้ ในปี 2558 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรต่างๆ จากสถาบันอื่นๆ สรุปได้ดังนี้

นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร

หลักสูตรภูมิพลังแผ่นดิน สำ�หรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 4 ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นางธัชดา จิตมหาวงศ์

หลักสูตร Audit Committee Seminar Get Ready for the Year End สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

5.21 การสรรหากรรมการและผู้บริหาร

1. หลักเกณฑ์และกระบวนการในการแต่งตั้งกรรมการใหม่ บริษัทฯ จัดให้มีคู่มือคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งระบุเรื่องการสรรหากรรมการว่า การพิจารณาสรรหาและ แต่งตั้งผู้ที่เหมาะสมเพื่อมาด�ำรงต�ำแหน่งคณะกรรมการบริษัทฯ จะต้องด�ำเนินการตามข้อบังคับของบริษัทฯ และ ข้อก�ำหนดของคณะกรรมการบริษัทฯ โดยต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายก�ำหนด ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้พิจารณาเห็นชอบการปรับปรุงหลักการส�ำคัญประกอบการพิจารณาสรรหากรรมการ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ที่ได้แก้ไขตามหลักเกณฑ์การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนในปี 2555 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหลักเกณฑ์การประเมินโครงการส�ำรวจการก�ำกับดูแลกิจการบริษทั จดทะเบียน ไทย ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors Association: IOD) โดยน�ำเสนอยัง คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ สรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ จะต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อก�ำหนดของคณะกรรมการบริษัทฯ ตามที่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก�ำหนด และหากจะมีสถานะเป็นกรรมการอิสระจะต้องมีคุณสมบัติ สอดคล้องและครบถ้วนตามคุณสมบัติที่ก�ำหนดไว้ ต้องประกอบด้วยบุคคลทีม่ คี วามรูท้ งั้ ในด้านทรัพยากรน�ำ ้ หรือวิชาชีพแขนงอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินธุรกิจ และมีกรรมการอย่างน้อย 1 คน เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านบัญชีและการเงิน ในการสรรหาคณะกรรมการ บริษัทฯ จะพิจารณาความหลากหลายของทักษะในด้านต่างๆ ได้แก่ ความรู้ ด้านธุรกิจอุตสาหกรรม การเงินและบัญชี ทักษะการบริหารจัดการ และการตัดสินใจ ธุรกิจเทียบเคียงระดับ สากล กลยุทธ์ทางธุรกิจ การบริหารวิกฤติ การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และด้านกฎหมาย เพื่อสนับสนุน การด�ำเนินงานทุกด้าน โดยสอดคล้องกับกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ประธานคณะกรรมการบริษทั ฯ ควรเป็นกรรมการอิสระและไม่ควรเป็นประธานหรือสมาชิกในคณะกรรมการ ชุดย่อยต่างๆ บริษัทฯ ก�ำหนดนโยบายการมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทฯ ไปเป็นคณะกรรมการบริษัทในเครือ โดยหากบริษทั ฯ ถือหุน้ ในบริษทั ในเครือดังกล่าวตัง้ แต่รอ้ ยละ 50 ขึน้ ไป บริษทั ฯ ควรได้รบั สิทธิแต่งตัง้ กรรมการ ของบริษัทฯ หรือบุคคลที่เหมาะสมเป็นคณะกรรมการของบริษัทในเครือดังกล่าว โดยมีสิทธิก�ำหนดให้เป็น กรรมการบริหาร (Executive Director) ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนต�ำแหน่งผู้บริหารที่บริษัทในเครือ ดังกล่าวมี หรือจะมีในอนาคต และทั้งนี้หากบริษัทฯ มีสัดส่วนการถือหุ้นสูงกว่าร้อยละ50 ให้บริษัทฯ มีสิทธิ ในการแต่งตั้งคณะกรรมการของบริษัทในเครือดังกล่าวตามสัดส่วนที่บริษัทฯ ถือครอง จ�ำนวนบริษัทที่กรรมการสามารถด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น ก�ำหนดให้กรรมการที่เป็น ผู้บริหาร (Executive Director-ED) ด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียน ไม่เกิน 4 แห่ง และกรรมการที่ ไม่เป็นผู้บริหาร (Non Executive Director-NED) ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนได้ไม่เกิน 3 แห่ง และรวมบริษัทอื่นแล้วไม่เกิน 5 แห่ง โดยรวมถึงรัฐวิสาหกิจ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

หลักสูตร/สถาบัน

83 รายงานประจ�ำปี 2558

รายชื่อคณะกรรมการบริษัทฯ


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2558

84

จ�ำกัดอายุกรรมการบริษัทฯ ไม่เกิน 75 ปี โดยไม่จ�ำกัดวาระการด�ำรงต�ำแหน่งติดต่อกันเพื่อไม่ให้เสียโอกาส ในการแต่งตัง้ กรรมการทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ทัง้ นี้ กรณีกรรมการอิสระมีวาระการด�ำรง ต�ำแหน่งต่อเนื่องไม่เกิน 9 ปี นับจากวันที่ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระครั้งแรก กรรมการอิสระไม่ถือหุ้นของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (นับรวมบุคคลที่เกี่ยวข้องตามมาตรา 258 ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2551)

2. นโยบายก�ำหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการที่มีความหลากหลาย ในการสรรหาคณะกรรมการบริษทั ฯ จะก�ำหนดคุณสมบัตขิ องกรรมการทีต่ อ้ งการสรรหาให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ ในการด�ำเนินธุรกิจและพิจารณาความหลากหลายของทักษะในด้านต่างๆ ประกอบด้วย ความรู้ด้านธุรกิจ อุตสาหกรรม บัญชีและการเงิน ทักษะการบริหารจัดการและตัดสินใจ กลยุทธ์ทางธุรกิจ การบริหารวิกฤติการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และ ด้านกฎหมาย 3. การแต่งตั้งและการพ้นต�ำแหน่งของกรรมการบริษัทฯ 1. ฝ่ายบริหารต้องประสานงานกับผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อขอทราบประวัติ และตรวจสอบคุณสมบัติในเบื้องต้น หากมีคุณสมบัติผ่านเกณฑ์จึงน�ำเสนอยังคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา เพื่อพิจารณากลั่นกรอง และเห็นชอบคุณสมบัติในเบื้องต้น 2. ในการประชุมสามัญประจ�ำปีทุกครั้ง กรรมการต้องออกจากต�ำแหน่ง 1 ใน 3 หากจ�ำนวนกรรมการที่จะ แบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 ทั้งนี้ กรรมการที่จะต้อง ออกจากต�ำแหน่งในปีแรก และปีทสี่ องภายหลังจดทะเบียนบริษทั นัน้ หากกรรมการมิได้ตกลงกันเองเป็น วิธีอื่น ให้ใช้จับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ในต�ำแหน่งนานที่สุดเป็น ผู้ออกจากต�ำแหน่ง กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจถูกเลือกเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ก็ได้ 3. ให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เลือกตัง้ กรรมการโดยใช้เสียงข้างมาก โดยผูถ้ อื หุน้ คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุน้ ต่อหนึ่งเสียงและสามารถเลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล ทั้งนี้ บุคคลซึ่งได้รับคะแนนสูงสุดตามล�ำดับ ลงมาเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ เท่าจ�ำนวนกรรมการที่จะพึงมีหรือพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจ�ำนวนกรรมการที่พึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด 4. ในกรณีทตี่ ำ� แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอนื่ นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ เลือกบุคคลที่ผ่านการกลั่นกรองจากคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา ซึ่งมีคุณสมบัติ และไม่มี ลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษทั มหาชนจ�ำกัด และมีคณ ุ สมบัตติ ามทีบ่ ริษทั ฯ ก�ำหนด เข้าเป็น กรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการเหลือน้อยกว่าสองเดือน บุคคลซึ่งเป็นกรรมการแทนดังกล่าว จะอยู่ในต�ำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของ กรรมการทีต่ นแทน มติของคณะกรรมการบริษทั ฯ ต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของ จ�ำนวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ 5. นอกจากการพ้นต�ำแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการอาจพ้นต�ำแหน่งเมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจ�ำกัด (4) ที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติให้ออก (5) ศาลมีค�ำสั่งให้ออก


บริษัทฯ ได้ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลภายใน โดยระบุไว้ในหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ กลุ่มบริษัทฯ เพื่อใช้เป็นหลักปฏิบัติส�ำหรับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ดังนี้ (1) นโยบายเกี่ยวกับการป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน ห้ามผู้บริหาร พนักงานประจ�ำของบริษัทฯ รวมทั้งคู่สมรสและบุตรไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าวน�ำ ข้อมูลภายในของบริษัทฯ ที่เป็นสาระส�ำคัญซึ่งยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนไปใช้ประโยชน์ในการซื้อขาย หลักทรัพย์เพื่อเก็งก�ำไร หรือสร้างความได้เปรียบให้กับบุคคล หรือกลุ่มบุคคลใดกลุ่มหนึ่ง (2) นโยบายเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ผู้บริหารและพนักงานประจ�ำของบริษัทฯ รวมทั้งคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าว งดการซื้อ ขาย หรือโอนหุ้นบริษัทฯ ในช่วงระยะเวลา 1 เดือนก่อนการเปิดเผยข้อมูลงบการเงินต่อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และในช่วงระยะเวลา 3 วันหลังการเปิดเผยข้อมูลงบการเงินต่อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนได้มีระยะเวลาที่เพียงพอในการเข้าถึงและ ท�ำความเข้าใจในสาระส�ำคัญของข้อมูลข่าวสารของบริษทั ฯ หรืองบการเงินทีเ่ ปิดเผยได้ตอ่ ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยเสร็จสิ้นแล้ว

กรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูงต้องแจ้งต่อเลขานุการบริษทั ฯ เกีย่ วกับการซือ้ ขายหุน้ ของบริษทั ฯ อย่างน้อย 1 วันล่วงหน้าก่อนการซื้อขาย โดยเลขานุการบริษัทฯ จะรายงานการซื้อ-ขายหุ้นดังกล่าว ให้ที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ ทราบทุกครั้ง (3) นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลทางธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ 1. กรรมการ ฝ่ายบริหาร พนักงาน ผูป้ ฏิบตั งิ านสมทบ พนักงานของผูร้ บั จ้างของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ ในบางครัง้ จะต้องท�ำงานกับข้อมูลและเอกสารทีไ่ ม่สามารถเปิดเผยต่อบุคคลภายนอกได้ และ / หรือเป็น ความลับทางการค้า เช่น ข้อมูลในสัญญา แบบแปลน แผนที่ ตัวเลข สูตร การประดิษฐ์คดิ ค้นต่างๆ เป็นต้น ซึ่งถือเป็นสิทธิของกลุ่มบริษัทอีสท์ วอเตอร์ การปกป้องข้อมูลประเภทนี้มีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อความ ส�ำเร็จของกลุ่มบริษัทอีสท์ วอเตอร์ ในอนาคต รวมทั้งมีความส�ำคัญต่อความมั่นคงในอาชีพการงานของ ทุกคนด้วย ผูท้ ไี่ ด้ดำ� รงต�ำแหน่งกรรมการ ฝ่ายบริหาร พนักงาน ผูป้ ฏิบตั งิ านสมทบ พนักงานผูร้ บั จ้างของกลุม่ บริษทั อีสท์ วอเตอร์ หรือบริษัทในเครือ มีหน้าที่ต้องยอมรับพันธะผูกพันตามกฎหมายและจรรยาบรรณที่ต้อง ไม่เปิดเผยข้อมูลและเอกสารที่เป็นความลับหรือความลับทางการค้านั้นๆ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

5.22 การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน

85 รายงานประจ�ำปี 2558

4. การแต่งตั้งผู้บริหาร บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำคัญของการบริหารจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพ จึงได้ก�ำหนดนโยบาย การสืบทอดต�ำแหน่งในระดับบริหาร โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เป็นหลักการและแนวทางของบริษทั ฯ ในการจัดเตรียมบุคลากร ให้พร้อมส�ำหรับต�ำแหน่งในระดับบริหารของบริษัทฯ โดยยึดหลักความโปร่งใส เป็นธรรม และสามารถตรวจสอบได้ (1) คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหามีหน้าทีก่ ำ� หนดหลักเกณฑ์การสรรหา และพิจารณาอนุมตั แิ ผนการ สืบทอดต�ำแหน่ง รวมถึงคัดกรองพนักงานระดับบริหารหรือบุคคลภายนอก ส�ำหรับด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่ และน�ำเสนอยังคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป (2) กรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ และฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง มีหน้าทีก่ ำ� หนดหลักเกณฑ์การสรรหา และพัฒนาบุคลากร ที่มีความรู้ความสามารถ รวมถึงคัดเลือกพนักงานหรือบุคคลภายนอก ส�ำหรับด�ำรงต�ำแหน่งระดับรอง กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ เพื่อน�ำเสนอคณะกรรมการบริหารและการลงทุนพิจารณาแต่งตั้ง ทั้งนี้ กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่มีอ�ำนาจแต่งตั้งผู้บริหารระดับฝ่าย


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2558

86

2. ชั้นความลับของข้อมูล ข้อมูลลับทางการค้าซึง่ เป็นข้อมูลภายในกลุม่ บริษทั ฯ ต้องได้รบั การดูแลปกปิดมิให้รวั่ ไหลออกไปภายนอกได้ ความลับของข้อมูลเหล่านัน้ อาจแบ่งออกได้เป็นหลายชัน้ ตามความส�ำคัญจากน้อยไปหามาก เช่น ก�ำหนด ข้อมูลให้เป็น ข้อมูลที่เปิดเผย ข้อมูลปกปิด ข้อมูลลับ เป็นต้น การใช้ข้อมูลภายในร่วมกันต้องอยู่ในกรอบที่ถือเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบที่ตนได้รับมอบหมาย เท่านั้น 3. การให้ข้อมูลข่าวสารแก่บุคคลภายนอก ทุกข้อมูลที่ออกไปสู่สาธารณชนต้องได้รับความเห็นชอบจากกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ หรือกรรมการ ผู้จัดการของบริษัทในเครือ ว่าจะเป็นผู้ตอบเอง หรือมอบหมายให้ผู้หนึ่งผู้ใดเป็นผู้ให้หรือผู้ตอบข้อมูล ทั้งนี้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ร่วมทุนอื่นๆ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ร่วมทุนด้วย หน่วยงานกลางที่เป็นผู้ให้ข้อมูลแก่สาธารณชน ได้แก่ ฝ่ายสื่อสารองค์กร แผนกการตลาด และแผนก นักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) ทัง้ นีพ้ นักงานกิจการสัมพันธ์มหี น้าทีแ่ จ้งข่าวสารแก่พนักงานด้วย ฝ่ายที่เป็นเจ้าของข้อมูล (Activity Owner) มีหน้าที่เป็นผู้ให้รายละเอียดและประสานข้อมูลกับผู้บังคับ บัญชาตามสายงาน โดยต้องได้รับการอนุมัติจากกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ หรือกรรมการผู้จัดการของ บริษัทในเครือก่อนมีการเผยแพร่

5.23 นิยามกรรมการอิสระ

กรรมการอิสระเป็นกลไกส�ำคัญในการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี มีหน้าทีใ่ นการสนับสนุนนโยบายทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ผู้ถือหุ้น หรือคัดค้านเมื่อเห็นว่าบริษัทฯ อาจตัดสินใจไม่โปร่งใส ซึ่งอาจกระทบต่อผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น และผู้มี ส่วนได้เสียอื่นๆ ดังนั้น กรรมการอิสระจึงต้องมีความเป็นอิสระจากการควบคุมของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และต้อง ไม่มสี ว่ นเกีย่ วข้อง หรือมีสว่ นได้เสียในทางการเงินและการบริหารกิจการ บริษทั ฯ ได้กำ� หนดนิยามของ “กรรมการอิสระ” ให้สอดคล้องตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและเข้มกว่าประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน1 ดังนี้

1

ประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ที่ทจ.28/2551 เรื่องการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่


2

มติคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา (ครั้งที่ 1/2558 วันที่ 8 มกราคม 2558)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

(1) กรรมการที่มิได้เป็นกรรมการบริหาร (Non-Executive Director) และไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหาร งานประจ�ำ และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และไม่ได้เป็นกรรมการทีเ่ ป็น ผู้แทนของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยมีคุณสมบัติเป็นไปตามที่กฎหมายก�ำหนด (2) ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็น บิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตรของกรรมการรายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอ�ำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหาร หรือผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ หรือ บริษัทย่อย (3) ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันที่มีนัยส�ำคัญกับกิจการบริษัทฯ หรือบริษัท ย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยส�ำคัญในห้างหุ้นส่วนหรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมการบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษา ที่รับเงินเดือนประจ�ำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด ของบริษัทอื่นซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือ บริษัทย่อย (4) ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้งในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน (ก) ลักษณะความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ในลักษณะของการให้บริการทางวิชาชีพ 1) ผสู้ อบบัญชี ผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพ เช่น ทีป่ รึกษากฎหมาย ทีป่ รึกษาการเงิน ผูป้ ระเมินราคาทรัพย์สนิ เป็นต้น 2) ระดับนัยส�ำคัญที่ไม่เข้าข่ายอิสระ - กรณีผู้สอบบัญชี : ห้ามทุกกรณี - กรณีเป็นผู้ให้บริการด้านวิชาชีพอื่น : มูลค่ารายการเกิน 2 ล้านบาทต่อปี ความสัมพันธ์ทางการค้า/ธุรกิจ (ใช้แนวทางเดียวกับข้อก�ำหนดรายการเกี่ยวโยงของตลาดหลักทรัพย์ฯ) - ลักษณะความสัมพันธ์ : ก�ำหนดครอบคลุมรายการธุรกิจทุกประเภท ได้แก่รายการทีเ่ ป็นธุรกรรมปกติ รายการเช่า/ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับทรัพย์สิน/บริการ และรายการให้หรือรับความ ช่วยเหลือทางการเงิน - ระดับนัยส�ำคัญทีไ่ ม่เข้าข่ายอิสระ : มูลค่ารายการมากกว่าหรือเท่ากับ 20 ล้านบาท หรือมากกว่าหรือ เท่ากับร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิ (NTA) ของบริษัทฯ แล้วแต่จ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า ทั้งนี้ ในการพิจารณามูลค่ารายการให้รวมรายการทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่าง 6 เดือนก่อนวันทีม่ รี ายการในครัง้ นีด้ ว้ ย (ข) กรณีที่มีลักษณะความสัมพันธ์ตาม ข้อ ก. กับนิติบุคคล บุคคลที่เข้าข่ายไม่อิสระ ได้แก่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ (ยกเว้นกรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ) (ค) ก�ำหนดช่วงเวลาที่ห้ามมีความสัมพันธ์ตามข้อ ก. และ ข. ในปัจจุบัน และ 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง (5) ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็นผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ (6) ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ท�ำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างอิสระได้ (7) กรรมการอิสระทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ ามข้อ 1-6 อาจได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ ให้ตดั สินใจในการ ด�ำเนินกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยล�ำดับเดียวกัน หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจ มีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบองค์คณะ (Collective decision) ได้ (8) ระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการอิสระ ไม่เกิน 9 ปีติดต่อกัน นับจากวันที่ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรง ต�ำแหน่งกรรมการอิสระครั้งแรก2

87 รายงานประจ�ำปี 2558


การประเมินความเพียงพอ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ของระบบการควบคุมภายใน

รายงานประจ�ำปี 2558

88

ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ ประเมินระบบการควบคุมภายในจากรายงานผลการประเมินของคณะกรรมการตรวจสอบซึง่ ได้ประเมินระบบการควบคุม ภายในของบริษัทในด้านต่างๆ 5 องค์ประกอบคือ การควบคุมภายในองค์กร การประเมินความเสี่ยง การควบคุมการ ปฏิบัติงาน ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล และระบบการติดตาม โดยมีรายละเอียดดังนี้

การควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) คณะกรรมการและผูบ้ ริหารประกาศใช้ “หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องกลุม่ บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)” ซึง่ ถือเป็นนโยบายและวินยั อย่างหนึง่ ทีบ่ คุ ลากรของกลุม่ บริษทั อีสท์วอเตอร์ตอ้ งรับทราบ และท�ำความเข้าใจและปฏิบัติให้สอดคล้องกับนโยบายและจรรยาบรรณต่างๆ อย่างสม�่ำเสมอ ที่ครอบคลุมถึงการปฏิบัติ หน้าที่ประจ�ำวัน และการตัดสินใจในเรือ่ งต่างๆ รวมทัง้ การปฏิบตั ติ อ่ คูค่ า้ ลูกค้า และบุคคลภายนอก และได้ประกาศใช้ จรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน (Code of Conduct) ที่อยู่ภายใต้หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของกลุ่มบริษัท อีสท์ วอเตอร์ ทั้งนี้พนักงานที่ฝ่าฝืนหรือละเมิดจรรยาบรรณจะได้รับการสอบสวนและลงโทษตามที่บริษัทก�ำหนดไว้ใน คู่มือพนักงาน บริษัทฯ ได้ก�ำหนดให้คณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายบริหารมีการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ออกจากกันอย่างชัดเจน คณะกรรมการบริษัทฯ จะไม่เข้าไปเกี่ยวข้องในภาระหน้าที่ของฝ่ายบริหาร เพื่อสร้างดุลยภาพระหว่างการบริหารและ การก�ำกับดูแลกิจการ รวมทั้งมีการติดตามการบริหารงานเพื่อให้มั่นใจว่า นโยบาย และกระบวนการที่เหมาะสมได้น�ำมา ใช้ในทางปฏิบัติอย่างมีประสิทธิผล โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ได้พิจารณาสรรหาและแต่งตั้งผู้ที่เหมาะสมเพื่อมาด�ำรง ต�ำแหน่งผูบ้ ริหารระดับสูงและแต่งตัง้ คณะกรรมการชุดต่างๆ ซึง่ จะต้องด�ำเนินการตามข้อบังคับของบริษทั ฯ และข้อก�ำหนด ของคณะกรรมการบริษทั ฯ ตามทีต่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก�ำหนดไว้ และมีบทบาทส�ำคัญในการก�ำหนดวิสยั ทัศน์ แผนยุทธศาสตร์ระยะ 3 ปี และแผนปฏิบัติการประจ�ำปี โดยผู้บริหารทุกหน่วยงานจะร่วมจัดท�ำแผนปฏิบัติการประจ�ำปี (Action Plan) ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ที่ก�ำหนดไว้ในแผนระยะยาวเพื่อน�ำไปสู่การปฏิบัติโดยมีการก�ำหนด เป้าหมาย วัตถุประสงค์ งบประมาณ ปัจจัยความเสีย่ ง กิจกรรมหลักทีจ่ ะด�ำเนินการในแต่ละช่วงเวลา ผลตอบแทนทีค่ าดว่า จะได้รับที่สามารถวัดได้อย่างเป็นรูปธรรมเพื่อให้บรรลุเป้าหมายโดยรวม บริษทั ฯ มีโครงสร้างองค์กรทีช่ ดั เจนเพือ่ สนับสนุนการบรรลุวตั ถุประสงค์ของบริษทั ฯ และให้การควบคุมภายในเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการแบ่งแยกหน้าทีค่ วามรับผิดชอบทัง้ ในสายงานปฏิบตั งิ านหลักและสายงานสนับสนุน รวมทัง้ มุ่งเน้นให้มีกลไกการถ่วงดุลอ�ำนาจระหว่าง คณะกรรมการบริษัทฯ ฝ่ายบริหาร และผู้ถือหุ้น ตลอดจนจัดให้มีการสื่อสาร กับผู้ลงทุนเพื่อเผยแพร่ และสื่อสารข้อมูลต่างๆ ของบริษัทให้สาธารณชนได้ทราบอย่างสม�่ำเสมอ นอกจากนี้บริษัทฯ ได้ค�ำนึงถึงความมุ่งมั่นในการจูงใจ พัฒนาและรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ จึงได้จัด ให้มแี ผนพัฒนาพนักงานรายบุคคล (IDP) รวมทัง้ มีนโยบายการบริหารสายอาชีพ และแผนทดแทนต�ำแหน่งงานเพือ่ เตรียม ความพร้อมการทดแทนพนักงานโดยเฉพาะระดับบริหารและในกลุ่มหลักธุรกิจ รวมทั้งมีการประเมินผลการปฏิบัติงาน พนักงานตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้เป็นดัชนีชี้วัดผลการด�ำเนินงาน เพื่อใช้ในการพิจารณาความดีความชอบ


การควบคุมการปฏิบัติงาน (Control Activities) บริษัทฯ ประกาศใช้ระเบียบและแนวปฏิบัติต่างๆ อาทิ ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง งบประมาณ การลงทุนและบริหาร โครงการ การบัญชีและการเงิน เป็นต้น และบริษทั ฯ ก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ และวงเงินอ�ำนาจอนุมตั ขิ องฝ่ายบริหาร ให้สอดคล้องกับหลักการควบคุมภายในที่ดี รวมทั้งจัดให้มีการแบ่งแยกหน้าที่งาน และการสอบทานงานระหว่างกัน โดย แยกงานในหน้าที่อนุมัติ การบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลสารสนเทศ และหน้าที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพย์สินออกจากกัน นอกจากนีบ้ ริษทั ยังได้รบั การรับรองระบบมาตรฐานคุณภาพ ISO 9001: 2008 และ ISO 14001: 2004 ซึง่ ก�ำหนดให้บริษทั ฯ ต้องจัดท�ำคูม่ อื และขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ เพือ่ เป็นมาตรฐานอ้างอิงในการปฏิบตั งิ าน รวมถึงการจัดฝึกอบรมพนักงานให้เข้าใจ และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง สอดคล้องตามขั้นตอน และวิธีการปฏิบัติงานที่บริษัทฯ ก�ำหนดไว้ หากมีรายการระหว่างกันของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย รวมถึงผูม้ สี ว่ นได้เสียต่างๆ จะผ่านขัน้ ตอนการพิจารณาอนุมตั ิ อย่างถูกต้องชัดเจน หากมีรายการระหว่างกันที่มีนัยส�ำคัญฝ่ายตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ฝ่ายบริหาร และ ผู้สอบบัญชีจะด�ำเนินการพิจารณาอย่างรอบคอบและด�ำเนินการตามข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ตลอดจนเปิดเผย ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และรายงานให้สำ� นักงาน ก.ล.ต. ทราบ อีกทัง้ ในการออกเสียงเพือ่ ลงมติเกีย่ วกับรายการ เกี่ยวโยง กรรมการที่มีส่วนได้เสียจะงดออกเสียงในมติดังกล่าว

ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล (Information & Communication)

บริษัทฯ มีการประยุกต์ใช้และพัฒนาระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูลภายในอย่างต่อเนื่อง โดยก�ำหนดเป็น นโยบายเกีย่ วกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารไว้ในหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ เพือ่ ให้พนักงาน มีความเข้าใจการใช้สอื่ ภายในต่างๆ ภายใต้การควบคุมภายในทีด่ ี อาทิ การใช้ Internet, E-mail และสือ่ โทรคมนาคมต่างๆ ได้แก่ โทรศัพท์ โทรสาร วิทยุรับ-ส่ง อุปกรณ์รับสัญญาณ เป็นต้น รวมทั้งได้สื่อสารให้บุคลากรของบริษัทฯ ได้เข้าใจถึง การปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศ ได้แก่ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารฯ พ.ร.บ. อิเล็กทรอนิกส์ฯ เพื่อไม่ให้เกิด การฝ่าฝืนกฎหมาย

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัทฯ ใช้แนวคิดของการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management) โดยให้ผู้บริหารและ พนักงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันบ่งชี้ความเสี่ยง การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงทั้งโอกาสเกิดและผลกระทบเพื่อก�ำหนดมาตรการ ควบคุม บริษัทฯ จัดตั้งหน่วยงานบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อจัดท�ำแผนบริหารความเสี่ยง ติดตามผลการจัดการเพื่อ ลดระดับความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และทบทวนปัจจัยความเสี่ยงเพื่อเสนอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง พิจารณาก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ ทุกไตรมาส เพือ่ พิจารณาและให้คำ� วินจิ ฉัยอันจะส่งผลให้กระบวนการบริหาร ความเสีย่ งของบริษทั ฯ มีความต่อเนือ่ ง ทัง้ นีไ้ ด้สอื่ สารนโยบายและแนวปฏิบตั ใิ นการบริหารความเสีย่ งให้พนักงานทุกคน รับทราบและถือปฏิบัติเพื่อให้เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมขององค์กรว่า ทุกคนมีส่วนร่วมดูแลองค์กรร่วมกันผ่าน กระบวนการบริหารความเสีย่ งทีเ่ ข้าใจตรงกัน นอกจากนัน้ แล้วบริษทั ฯ ได้มกี ารจัดท�ำแผนบริหารความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ (Business Continuities Plan: BCP) และมีการซ้อมแผน เพื่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่า สามารถด�ำเนินการให้บรรลุผล ตามแผนดังกล่าว

89 รายงานประจ�ำปี 2558

การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

บริษทั จัดให้มี call center เพือ่ รับเรือ่ งร้องเรียนจากบุคคลภายนอก และมีนกั ลงทุนสัมพันธ์ทำ� หน้าทีต่ ดิ ต่อสือ่ สาร และจัดกิจกรรมร่วมกับผู้ถือหุ้นและนักลงทุนรวมทั้งมีช่องทางการสื่อสารพิเศษเพื่อให้พนักงานและหน่วยงานภายนอก สามารถแจ้งข้อมูลหรือการร้องเรียนแก่บริษัท โดยผ่านทาง ac_ew@eastwater.com หรือ CEO Mail Box

รายงานประจ�ำปี 2558

90

ระบบการติดตาม (Monitoring Activities)

บริษัทให้ความส�ำคัญต่อการตรวจสอบภายในเพื่อเพิ่มคุณค่าต่อองค์กรโดยการใช้ข้อมูลประเมินความเสี่ยงภายใน องค์กร ประกอบการวางแผนการตรวจสอบ (Risk Based Audit) และมอบหมายให้ฝ่ายตรวจสอบร่วมกับที่ปรึกษา การตรวจสอบภายในสอบทานประสิทธิภาพประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในของทุกกระบวนการท�ำงานและ รายงานผูบ้ ริหารและคณะกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ รวมถึงฝ่ายบริหารสามารถเชือ่ มัน่ ในประสิทธิภาพประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ รวมถึงความถูกต้องน่าเชือ่ ถือได้ของข้อมูลสารสนเทศ ต่างๆ ทั้งสารสนเทศทางการเงินการบัญชี และสารสนเทศที่ใช้ในการด�ำเนินงาน ทั้งนี้ฝ่ายตรวจสอบได้ติดตามผล การปรับปรุงแก้ไขตามประเด็นที่ตรวจพบและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบ และน�ำเสนอคณะกรรมการ ตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังมีกระบวนการติดตามผลการด�ำเนินงานผ่านระบบการตรวจติดตามระบบคุณภาพ และสิ่งแวดล้อมภายในบริษัทตามมาตรฐานสากล ISO 9001: 2008 และ ISO 14001: 2004 โดยบริษัทฯ ผู้ให้การรับรอง อย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ มีการติดตามดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยอย่างต่อเนื่องและสม�่ำเสมอ โดยรายงานความก้าวหน้า ผลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยแต่ละแห่งต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ทราบ และมอบหมายให้มีหน่วยงานเฉพาะในการ ติดตามผลการด�ำเนินงานตามมติที่คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ข้อเสนอแนะไว้ รวมทั้งการประสานนโยบายให้ทุกบริษัท มีทศิ ทางการด�ำเนินงานทีส่ อดคล้องเป็นทิศทางเดียวกับนโยบายของคณะกรรมการบริษทั ฯ นอกจากนัน้ บริษทั มอบหมายให้ เลขานุการบริษัทฯ ดูแลงานด้านกฎหมาย รวมถึงงานด้าน Compliance เพื่อก�ำกับดูแลให้การด�ำเนินงานของบริษัทฯ สอดคล้องกับกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง จากการพิจารณาสาระส�ำคัญของการประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในข้างต้น คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเห็นสอดคล้องกับคณะกรรมการตรวจสอบและผูส้ อบบัญชีวา่ ระบบการควบคุมภายในของบริษทั มีความเพียงพอ และเหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจ โดยบริษทั ฯ จัดให้มบี คุ ลากรอย่างเพียงพอทีจ่ ะด�ำเนินการตามระบบได้ รวมทัง้ มีระบบ การควบคุมภายในในเรื่องการติดตามดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมประสิทธิผล ของการประกอบกิจการที่ยั่งยืน อนึง่ ตามโครงสร้างของบริษทั ฯ ได้กำ� หนดให้มฝี า่ ยตรวจสอบซึง่ สายบังคับบัญชาขึน้ ตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ โดยปัจจุบนั มีบคุ ลากรจ�ำนวน 7 ต�ำแหน่ง โดยปัจจุบนั บริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างการสรรหาหัวหน้าหน่วยงานของฝ่ายตรวจสอบ และบริษัทฯ ได้ว่าจ้างบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ที่ปรึกษาธุรกิจ จ�ำกัด (KPMG) เป็นที่ปรึกษาด้านการตรวจสอบภายใน (Consultant) ทัง้ นีค้ ณะกรรมการตรวจสอบจะเป็นผูค้ ดั เลือกและประเมินผลการปฏิบตั งิ านของผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายตรวจสอบ ร่วมกับผู้บริหารระดับสูง (CEO) ซึ่งจากผลการประเมินสรุปได้ว่าบุคคลดังกล่าวสามารถปฏิบัติงานอยู่ในระดับที่ด ี และมีความเข้าใจในกิจกรรมและการด�ำเนินงานของบริษัทฯ จึงเห็นว่ามีความเหมาะสมกับต�ำแหน่งดังกล่าว อีกทั้ง ตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบก�ำหนดให้การแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง และพิจารณาความดีความชอบของหัวหน้า หน่วยงานฝ่ายตรวจสอบ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ


รายงานความรับผิดชอบ

ในการนี ้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วย กรรมการทีเ่ ป็นอิสระและไม่เป็น ผู้บริหารของบริษัทฯ เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพการรายงานทางการเงิน และสอบทานความเพียงพอและ ประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ เพือ่ ให้มนั่ ใจได้อย่างสมเหตุผลว่า การบันทึกข้อมูล ทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วนและสามารถด�ำรงรักษาทรัพย์สิน รวมทั้ง เป็นแนวทางให้บริษัทฯ และบริษัทในเครือ รับทราบเพือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือด�ำเนินการทีผ่ ดิ ปกติอย่างมีสาระส�ำคัญ ซึง่ มีความเห็นของคณะกรรมการบริษทั ฯ ตรวจสอบเกีย่ วกับเรือ่ งนีป้ รากฏในรายงานการก�ำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจ�ำปีงบประมาณ 2558 ของคณะกรรมการตรวจสอบตามที่แสดงไว้ในรายงานประจ�ำปีฉบับนี้ ดังนัน้ คณะกรรมการบริษทั ฯ จึงมีความเห็นว่า บริษทั ฯ ได้ใช้ดลุ ยพินจิ อย่างรอบคอบระมัดระวัง เป็นไปตามข้อเท็จจริง และมีความสมเหตุสมผล และใช้วิธีการประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดท�ำงบการเงินดังกล่าวภายใต้นโยบายการบัญชี ที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอสอดคล้องตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย รวมทั้ง ได้เปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงินแล้ว

นายวิทยา ฉายสุวรรณ ประธานคณะกรรมการ

นายเจริญสุข วรพรรณโสภาค รองกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่สายปฏิบัติการ รักษาการกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่

91 รายงานประจ�ำปี 2558

คณะกรรมการบริษัทฯ ได้จัดให้มีการท�ำงบการเงิน เพื่อแสดงฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ภายใต้พระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน จ�ำกัด พ.ศ. 2535 โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ตระหนักถึงภาระหน้าที่และความรับผิดชอบในฐานะกรรมการบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ในการเป็น ผู้รับผิดชอบต่องบการเงิน และงบการเงินรวมของบริษัทฯ รวมถึงสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจ�ำปี ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ของคณะกรรมการบริษัทฯ ต่อรายงานทางการเงิน


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

รายงานประจ�ำปี 2558

92

เสนอผู้ถือหุ้นของบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทของบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รวมและงบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะบริษัท งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วน ของผู้ถือหุ้นเฉพาะบริษัท และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษัทส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุ สรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญและหมายเหตุเรื่องอื่นๆ ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการ เงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อให้สามารถจัดท�ำงบการเงินที่ปราศจากการแสดง ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงาน ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึง่ ก�ำหนดให้ขา้ พเจ้าปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบตั งิ าน ตรวจสอบเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญ หรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วธิ ีการตรวจสอบเพือ่ ให้ได้มาซึง่ หลักฐานการสอบบัญชีเกีย่ วกับจ�ำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบ การเงิน วิธกี ารตรวจสอบทีเ่ ลือกใช้ขนึ้ อยูก่ บั ดุลยพินจิ ของผูส้ อบบัญชี ซึง่ รวมถึงการประเมินความเสีย่ งจากการแสดงข้อมูลทีข่ ดั ต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญของงบการเงินไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบ บัญชีพจิ ารณาการควบคุมภายในทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดท�ำและการน�ำเสนองบการเงินโดยถูกต้องตามทีค่ วรของกิจการ เพือ่ ออกแบบ วิธกี ารตรวจสอบทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพือ่ วัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายใน ของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีทผี่ บู้ ริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณ การทางบัญชีที่จัดท�ำขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการน�ำเสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะบริษทั ของบริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และของเฉพาะบริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากร น�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ผลการด�ำเนินงานรวมและผลการด�ำเนินงานเฉพาะบริษัท และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะบริษทั ส�ำหรับปีสนิ้ สุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามทีค่ วรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ข้อมูลและเหตุการณ์ที่เน้น ข้าพเจ้าขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 37 เรื่องค่าตอบแทนโครงการท่อส่งน�้ำของบริษัท ปัจจุบันบริษัทได้จ่ายค่า ตอบแทนตามอัตราที่ก�ำหนดในเบื้องต้น เนื่องจากหน่วยงานของรัฐอยู่ระหว่างการพิจารณาการจัดให้บริษัทเช่าหรือบริหาร และ การพิจารณาอัตราผลตอบแทน ซึ่งอัตราผลตอบแทนอาจมีการเปลี่ยนแปลงในภายหลัง ทั้งนี้ ข้าพเจ้ามิได้แสดงความเห็นอย่างมี เงื่อนไขในเรื่องนี้ สุขุมาภรณ์ วงศ์อริยาพร ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4843 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด กรุงเทพมหานคร 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559


งบแสดงฐานะการเงิน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนระยะยาวอื่น อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ ค่าความนิยม สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้จากการซื้อสินทรัพย์ถาวร หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่ถือไว้เพื่อขาย รวมหนี้สินหมุนเวียน

6 7 8 9 10

11 12 13 14 15,40 16 17 18

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

311,218,269 862,597,548 447,163,960 9,380,954 33,849,439 1,664,210,170

249,113,610 546,522,937 282,813,930 13,644,864 1,092,095,341

112,859,747 55,069,783 420,588,385 9,231,640 61,063,020 57,677,839 716,490,414

90,464,122 290,352,713 39,774,457 32,009,985 452,601,277

510,000,000 510,000,000 91,470,300 91,470,300 216,901,860 224,620,933 231,204,029 239,476,697 13,265,976,381 11,747,778,313 13,066,999,015 11,592,737,268 103,283,004 3,831,896,900 1,725,358,935 36,075,087 41,032,716 23,287,820 12,693,150 521,907,368 725,033,042 488,272,036 670,483,115 17,963,253,333 14,526,954,673 14,332,550,167 13,145,200,096 19,627,463,503 15,243,445,087 15,424,645,508 13,597,801,373

19 20

1,600,000,000 133,930,355 63,579,191

233,000,000 130,002,645 479,050,047

104,880,884 58,418,193

139,000,000 111,599,966 457,153,810

21

2,856,313

2,008,414

2,856,313

2,008,414

19

752,200,000 149,494,958 175,190,960 60,958,337

563,280,000 129,534,752 155,043,267 49,155,958

560,000,000 111,844,526 118,264,607 34,569,583

454,000,000 117,371,988 98,974,598 27,490,526

2,938,210,114

269,099 1,741,344,182

990,834,106

1,407,599,302

22

10

หมายเหตุประกอบงบการเงินในหน้า 101 ถึงหน้า 153 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

93 รายงานประจ�ำปี 2558

หมายเหตุ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

(หน่วย: บาท)


งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (หน่วย: บาท)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

หมายเหตุ

รายงานประจ�ำปี 2558

94

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ประมาณการหนี้สินระยะยาว หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,663,725,149 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ทุนที่ออกและช�ำระแล้ว หุ้นสามัญ 1,663,725,149 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ทุนส�ำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น รวมส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

21 19 19 17 23 24 25

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

1,842,223 4,008,800,000 2,396,822,358 421,233,790 119,686,982 26,881,034 214,424,014 7,189,690,401 10,127,900,515

3,136,321 4,648,721,206 42,447,206 104,433,197 13,239,626 173,053,101 4,985,030,657 6,726,374,839

1,842,223 3,240,000,000 2,396,822,358 24,797,641 73,360,526 184,212,408 5,921,035,156 6,911,869,262

3,136,321 4,114,000,000 20,279,434 68,292,091 143,988,238 4,349,696,084 5,757,295,386

1,663,725,149

1,663,725,149

1,663,725,149

1,663,725,149

1,663,725,149 2,138,522,279

1,663,725,149 2,138,522,279

1,663,725,149 2,138,522,279

1,663,725,149 2,138,522,279

26

26 27 28

166,500,000 166,500,000 166,500,000 166,500,000 5,303,276,782 4,493,850,084 4,521,360,412 3,846,798,981 22,668,406 24,959,578 22,668,406 24,959,578 9,294,692,616 8,487,557,090 8,512,776,246 7,840,505,987 204,870,372 29,513,158 9,499,562,988 8,517,070,248 8,512,776,246 7,840,505,987 19,627,463,503 15,243,445,087 15,424,645,508 13,597,801,373

หมายเหตุประกอบงบการเงินในหน้า 101 ถึงหน้า 153 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

รวมรายได้จากการขายและบริการ รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายน�้ำดิบ ต้นทุนขายน�้ำประปา ต้นทุนค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทาน ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

2,898,665,222 1,160,235,181 95,684,548 212,228,991

2,768,375,793 988,739,040 268,923,208 216,202,093

2,927,586,675 363,987,505 92,881,473

2,810,731,725 335,719,500 86,766,051

4,366,813,942 292,011,900 4,658,825,842

4,242,240,134 62,519,603 4,304,759,737

3,384,455,653 307,051,878 3,691,507,531

3,233,217,276 78,941,831 3,312,159,107

1,134,873,809 707,275,881 95,684,548 171,185,488

1,039,690,961 590,123,299 268,923,208 198,914,696

1,154,494,116 310,468,841 68,702,409

1,065,246,030 283,136,381 69,039,080

2,109,019,726 19,627,895 438,982,686 114,180,633

2,097,652,164 14,147,147 398,087,249 121,225,452

1,533,665,366 16,168,292 283,477,025 80,047,215

1,417,421,491 10,700,793 262,503,597 81,224,697

31

2,681,810,940

2,631,112,012

1,913,357,898

1,771,850,578

32

1,977,014,902 (385,775,393)

1,673,647,725 (339,197,329)

1,778,149,633 (339,225,662)

1,540,308,529 (300,982,933)

1,591,239,509

1,334,450,396

1,438,923,971

1,239,325,596

หมายเหตุ 34

30 34

รวมต้นทุนขายและบริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ต้นทุนทางการเงิน รวมค่าใช้จ่าย ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ก�ำไรสุทธิส�ำหรับปี

หมายเหตุประกอบงบการเงินในหน้า 101 ถึงหน้า 153 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

95 รายงานประจ�ำปี 2558

รายได้ รายได้จากการขายน�้ำดิบ รายได้จากการขายน�้ำประปา รายได้ค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทาน รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

(หน่วย: บาท)


งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (หน่วย: บาท)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

หมายเหตุ

รายงานประจ�ำปี 2558

96

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น : รายการที่จะไม่จัดประเภทรายการใหม่ไปยัง ก�ำไรหรือขาดทุนในภายหลัง การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพันผลประโยชน์ หลังออกจากงาน ภาษีเงินได้เกี่ยวกับรายการที่จะไม่จัดประเภท รายการใหม่ไปยังก�ำไรหรือขาดทุนในภายหลัง รวมรายการที่จะไม่จัดประเภทรายการใหม่ไปยัง ก�ำไรหรือขาดทุนในภายหลัง รายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่ไปยัง ก�ำไรหรือขาดทุนในภายหลัง ทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้า การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของเงินลงทุนเผื่อขาย ภาษีเงินได้ของรายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่ ไปยังก�ำไรหรือขาดทุนในภายหลัง รวมรายการที่จะจัดประเภทรายการใหม่ไปยัง ก�ำไรหรือขาดทุนในภายหลัง

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

23

(14,078,675)

-

1,159,635

-

32

2,815,735

-

(231,927)

-

(11,262,940)

-

927,708

-

7.2

(3,397,523) 1,382,938

(3,397,523) -

(3,397,523) 1,382,938

(3,397,523) -

32

(276,587)

-

(276,587)

-

(2,291,172)

(3,397,523)

(2,291,172)

(3,397,523)

(13,554,112)

(3,397,523)

(1,363,464)

(3,397,523)

1,577,685,397

1,331,052,873

1,437,560,507

1,235,928,073

1,584,940,253 6,299,256 1,591,239,509

1,334,205,246 245,150 1,334,450,396

1,438,923,971 1,438,923,971

1,239,325,596 1,239,325,596

1,571,386,141 6,299,256 1,577,685,397

1,330,807,723 245,150 1,331,052,873

1,437,560,507 1,437,560,507

1,235,928,073 1,235,928,073

0.95

0.80

0.86

0.74

ก�ำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี - สุทธิจากภาษี ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี การแบ่งปันก�ำไรสุทธิ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม

การแบ่งปันก�ำไรเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ก�ำไรต่อหุ้นส�ำหรับก�ำไรส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

33

หมายเหตุประกอบงบการเงินในหน้า 101 ถึงหน้า 153 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


1,663,725,149

-

หมายเหตุประกอบงบการเงินในหน้า 101 ถึงหน้า 153 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

40

166,500,000

-

-

166,500,000 -

166,500,000

รายงานประจ�ำปี 2558

2,138,522,279

-

-

-

29

2,138,522,279 -

1,663,725,149 -

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี เงินปันผลจ่าย การเปลี่ยนแปลงส่วนได้เสีย ในความเป็นเจ้าของในบริษัทย่อย การจ�ำหน่ายบริษัทย่อย ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ที่ได้มาจากการรวมธุรกิจ

2,138,522,279

1,663,725,149

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี เงินปันผลจ่าย

24,959,578 (3,397,523) 21,562,055

4,493,850,084 1,573,677,313 (765,289,747) 1,039,132 5,303,276,782

1,106,351

-

-

1,106,351 -

-

22,668,406

-

-

24,959,578 (2,291,172) -

24,959,578

9,294,692,616

-

1,039,132 -

8,487,557,090 1,571,386,141 (765,289,747)

8,487,557,090

204,870,372

199,909,801

(3,819,085) (25,765,788)

29,513,158 6,299,256 (1,266,970)

29,513,158

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น ส่วนได้เสียที่ไม่มี บริษัทใหญ่ อ�ำนาจควบคุม 7,872,129,379 29,799,418 1,330,807,723 245,150 (715,380,012) (531,410)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

24,959,578

4,493,850,084

งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก�ำไรสะสม ผลก�ำไร ที่ยังไม่เกิดขึ้น รวม จัดสรรแล้ว ทรัพย์สินที่ได้ จากเงินลงทุน องค์ประกอบอื่น ทุนจดทะเบียน ทุนส�ำรอง รับโอนจาก ในหลักทรัพย์ ของส่วนของ หมายเหตุ ที่ออกและช�ำระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร ลูกค้า - สุทธิ เผื่อขาย เจ้าของ 1,663,725,149 2,138,522,279 166,500,000 3,875,024,850 28,357,101 28,357,101 - 1,334,205,246 (3,397,523) (3,397,523) 29 - (715,380,012) -

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

97

9,499,562,988

199,909,801

(2,779,953) (25,765,788)

8,517,070,248 1,577,685,397 (766,556,717)

8,517,070,248

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น 7,901,928,797 1,331,052,873 (715,911,422)

(หน่วย: บาท)


1,663,725,149

หมายเหตุประกอบงบการเงินในหน้า 101 ถึงหน้า 153 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

1,663,725,149 -

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี เงินปันผลจ่าย

29

1,663,725,149

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ก�ำไรเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี เงินปันผลจ่าย

2,138,522,279

2,138,522,279 -

2,138,522,279

ทุนจดทะเบียน หมายเหตุ ที่ออกและช�ำระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 1,663,725,149 2,138,522,279 29 -

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

รายงานประจ�ำปี 2558

166,500,000

166,500,000 -

166,500,000

4,521,360,412

3,846,798,981 1,439,851,679 (765,290,248)

3,846,798,981

ยังไม่ได้จัดสรร 3,322,853,397 1,239,325,596 (715,380,012)

ก�ำไรสะสม

21,562,055

24,959,578 (3,397,523) -

24,959,578

-

-

1,106,351

1,106,351 -

ผลก�ำไร ที่ยังไม่เกิดขึ้น จากเงินลงทุนใน หลักทรัพย์ เผื่อขาย

22,668,406

24,959,578 (2,291,172) -

24,959,578

รวม องค์ประกอบอื่น ของส่วนของ เจ้าของ 28,357,101 (3,397,523) -

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ทรัพย์สินที่ได้ รับโอนจาก ลูกค้า - สุทธิ 28,357,101 (3,397,523) -

งบการเงินเฉพาะบริษัท

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

จัดสรรแล้ว ทุนส�ำรอง ตามกฎหมาย 166,500,000 -

98 8,512,776,246

7,840,505,987 1,437,560,507 (765,290,248)

7,840,505,987

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น 7,319,957,926 1,235,928,073 (715,380,012)

(หน่วย: บาท)


งบกระแสเงินสด

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ก�ำไรจากการด�ำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ และหนี้สินด�ำเนินงาน การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ด�ำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินด�ำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น จ่ายภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน จ่ายประมาณการหนี้สินระยะยาว หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้มาจากการด�ำเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

1,977,014,902

1,673,647,725

1,778,149,633

1,540,308,529

18

372,373,173 181,677,184 (3,397,523) 32,802,184

373,967,007 116,645,961 (3,397,523) -

356,152,182 6,208,229 (3,397,523) -

337,676,715 5,176,245 (3,397,523) -

16 10

(3,824,583) 720,000 -

5,023,737 1,310,000 -

(310,280) -

3,956,281 990,000

12

(518,482) -

-

(226,319,820)

322,990 -

(226,319,820) (114,747) 9,991,131 12,718,434 (23,669,885) (8,769,306) 112,938,254

3,058,741 13,766,791 (24,486,277) (6,364,488) 120,065,993

(114,747) 7,707,993 (48,247,226) (10,392,443) 78,950,730

8,672,281 (48,456,273) (915,278) 80,203,311

2,433,620,916

2,273,237,667

1,938,386,728

1,924,537,278

(22,481,877) (149,314) 15,906,196 (5,440,715)

(7,002,432) 1,304,730 (16,329,796) 11,141,152

7,538,783 26,358,990 202,851

17,993,256 (14,404,507) (5,578,402)

(7,570,497) 27,318,736 36,485,962 (11,543,325) (5,705,719) 41,370,913 2,501,811,276 (386,645,544) 2,115,165,732

(14,101,268) 15,329,952 (8,415,662) (757,137) (14,442,161) 42,159,702 2,282,124,747 (337,127,083) 1,944,997,664

(6,719,082) 26,461,052 7,287,829 (1,479,925) 40,224,170 2,038,261,396 (340,743,430) 1,697,517,966

7,974,631 6,270,968 (11,349,765) (675,345) 33,465,129 1,958,233,243 (301,781,243) 1,656,452,000

13,14 16

40 24 30 30

24

หมายเหตุประกอบงบการเงินในหน้า 101 ถึงหน้า 153 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับกระทบก�ำไรก่อนภาษีเงินได้เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมด�ำเนินงาน ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจ�ำหน่าย รายได้จากการตัดจ�ำหน่ายทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้า หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุน (ก�ำไร) จากการจ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ขาดทุนจากการด้อยค่าสิทธิข้อตกลงสัมปทาน ขาดทุนจากการด้อยค่าเงินลงทุนในบริษัทย่อย ขาดทุน (ก�ำไร) จากการจ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่ายเงินลงทุน ในบริษัทย่อย ก�ำไรจากการจ�ำหน่ายเงินลงทุนระยะยาวอื่น ก�ำไรจากการวัดมูลค่ายุติธรรมของส่วนได้เสียของเงินลงทุน ซึ่งถืออยู่ก่อนวันรวมธุรกิจ ก�ำไรจากการขายเงินลงทุนเผื่อขาย ประมาณการหนี้สินระยะยาว ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่าย

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

99 รายงานประจ�ำปี 2558

หมายเหตุ

(หน่วย: บาท)


งบกระแสเงินสด (ต่อ)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

หมายเหตุ

รายงานประจ�ำปี 2558

100

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนชั่วคราว เงินสดรับจากการไถ่ถอนเงินลงทุนชั่วคราว เงินสดจ่ายเพื่อซื้อบริษัทย่อยสุทธิจากเงินสดที่ได้มา เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายบริษัทย่อยที่แสดงไว้เป็นสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน ที่ถือไว้เพื่อขาย เงินสดรับจากการตัดจ�ำหน่ายบริษัทย่อย เงินสดจ่ายจากการให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากการให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากดอกเบี้ย เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายเงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินปันผลรับจากเงินลงทุนระยะยาวอื่นและบริษัทย่อย เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพื่อซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดจ่ายเพื่อซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดจ่ายเพื่อซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และเงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง เงินสดจ่ายดอกเบี้ยส�ำหรับเงินกู้ยืมที่ตั้งขึ้นเป็นทุน

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

7 7 40

(1,324,914,033) 553,883,952 (1,456,220,816)

(109,367,779) 141,176,543 -

(945,140,000) 400,114,747 -

-

10

32,009,985 8,386,027 23,669,885 40,292,570 (103,742,862) (1,535,582)

7,271,028 24,486,277 11,754,139 (299,316,215) -

32,009,985 (644,000,000) 644,000,000 10,163,046 317,790,120 48,247,226 23,292,569 (1,250,600) (1,646,439)

427,010 1,133,118 48,456,273 10,162,922 (12,045,710) -

34.3 34.3 12

(1,956,825,984) (1,797,739,837) (1,928,236,490) (1,652,923,843) (131,968,011) (103,175,057) (131,968,011) (103,175,057)

เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

(4,316,964,869) (2,124,910,901) (2,176,623,847) (1,707,965,287)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายช�ำระเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายช�ำระเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายช�ำระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายหุ้นกู้ เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อยเพิ่มเติม เงินปันผลจ่ายแก่ผู้ถือหุ้นของกลุ่มบริษัท เงินปันผลจ่ายแก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย เงินสดจ่ายดอกเบี้ย

4,067,000,000 3,816,000,000 2,142,000,000 3,514,000,000 (2,700,000,000) (3,739,000,000) (2,281,000,000) (3,531,000,000) 2,773,000,000 1,384,000,000 1,812,000,000 1,320,000,000 (3,224,001,206) (582,360,000) (2,580,000,000) (504,000,000) (446,199) (1,818,189) (446,199) (1,818,189) 2,396,630,928 - 2,396,630,928 (2,779,953) (791,142,121) (715,217,200) (765,499,017) (715,217,061) (1,266,970) (531,408) (116,836,820) (111,606,671) (85,930,343) (73,882,074)

เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี ข้อมูลเพิ่มเติมประกอบงบกระแสเงินสด รายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับกระแสเงินสด เจ้าหนีจ้ ากการซือ้ สินทรัพย์ถาวรและหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน การเปลี่ยนเจ้าหนี้เงินกู้ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

2,400,157,659

49,466,532

637,755,369

8,082,676

6

198,358,522 112,859,747 311,218,269

(130,446,705) 243,306,452 112,859,747

158,649,488 90,464,122 249,113,610

(43,430,611) 133,894,733 90,464,122

19.2

63,168,190 2,000,000,000

455,121,108 -

58,418,192 2,000,000,000

443,256,226 -

หมายเหตุประกอบงบการเงินในหน้า 101 ถึงหน้า 153 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) เป็นบริษัทมหาชนจ�ำกัด ซึ่งจดทะเบียนจัดตั้งขึ้น ในประเทศไทยและมีที่อยู่ตามที่ได้จดทะเบียนดังนี้ อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-26 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร บริษัทเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อวัตถุประสงค์ในการรายงานข้อมูล จึงรวมเรียกบริษัทและ บริษัทย่อยว่ากลุ่มบริษัท บริษัทด�ำเนินธุรกิจหลัก คือ พัฒนาและดูแลจัดการระบบท่อส่งน�้ำสายหลักในพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย จ�ำหน่ายน�้ำดิบ รวมถึงการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา งบการเงินรวมนี้ได้จัดท�ำขึ้นโดยรวมงบการเงินส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 ของบริษัทและบริษัทย่อย ดังต่อไปนี้ ชื่อบริษัท

บริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นโดยตรง บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) (จดทะเบียนเป็น บริษัทมหาชน เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2558) บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยบริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จ�ำกัด บริษัท ประปาบางปะกง จ�ำกัด บริษัท ประปานครสวรรค์ จ�ำกัด บริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด (เป็นบริษัทย่อยตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2558)

ลักษณะธุรกิจ

ผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา การลดน�้ำสูญเสีย และลงทุน ในกิจการประปา 3 แห่ง ผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา ผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา ผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา ผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา

จัดตั้งขึ้น ในประเทศ

ประเทศไทย

อัตราร้อยละ ของการถือหุ้น พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ร้อยละ ร้อยละ 100 100

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ข้อมูลทั่วไป

101 ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย

100 100 100 90

99 99 100 -

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้รับอนุมัติเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 โดยคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ตามที่ได้รับมอบอ�ำนาจจากคณะกรรมการของบริษัท

2

นโยบายการบัญชี

นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญซึ่งใช้ในการจัดท�ำงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทมีดังต่อไปนี้

2.1 เกณฑ์การจัดท�ำงบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดท�ำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึง่ หมายถึงมาตรฐานการบัญชีทอี่ อกภายใต้พระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการจัดท�ำและน�ำเสนอรายงานทางการเงินภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ได้จดั ท�ำขึน้ โดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน ยกเว้น เรื่องที่อธิบายในนโยบายการบัญชีในล�ำดับต่อไปในเรื่องเงินลงทุนส�ำหรับเงินลงทุนเผื่อขาย

รายงานประจ�ำปี 2558

1


2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.1 เกณฑ์การจัดท�ำงบการเงิน (ต่อ)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

การจัดท�ำงบการเงินให้สอดคล้องกับหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปในประเทศไทยก�ำหนดให้ใช้ประมาณการทางบัญชีทสี่ ำ� คัญและการใช้ ดุลยพินิจของผู้บริหารซึ่งจัดท�ำขึ้นตามกระบวนการในการน�ำนโยบายการบัญชีของกลุ่มกิจการไปถือปฏิบัติ และต้องเปิดเผยเรื่องการ ใช้ดุลยพินิจของผู้บริหาร หรือ ความซับซ้อน หรือ เกี่ยวกับข้อสมมติฐานและประมาณการที่มีนัยส�ำคัญต่องบการเงินรวมในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อที่ 3 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ฉบับภาษาอังกฤษจัดท�ำขึน้ จากงบการเงินตามกฎหมายทีเ่ ป็นภาษาไทย ในกรณีทมี่ เี นือ้ ความ ขัดแย้งกันหรือมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกันให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเป็นหลัก 2.2 การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ การตีความมาตรฐาน การบัญชีและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ซึ่งและเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัท

ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องและมีผลกระทบต่อกลุ่มบริษัท มีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13

เรื่อง การน�ำเสนองบการเงิน เรื่อง การรวมธุรกิจ เรื่อง การวัดมูลค่ายุติธรรม

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) การเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญได้แก่การเพิ่มเติมข้อก�ำหนดให้กิจการจัดกลุ่มรายการ ที่แสดงอยู่ใน “ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น” โดยใช้เกณฑ์ว่ารายการนั้นสามารถจัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในก�ำไรหรือขาดทุน ในภายหลังได้หรือไม่ ดังนัน้ ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ จึงมีการระบุไว้สำ� หรับรายการทีจ่ ะถูกจัดประเภทใหม่เข้าไปไว้ในก�ำไรขาดทุน และรายการที่จะไม่ถูกจัดประเภทใหม่เข้าไปไว้ในก�ำไรขาดทุน

102 รายงานประจ�ำปี 2558

มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2557) กลุ่มบริษัทมีนโยบายการบัญชีใหม่เกี่ยวกับการรวมธุรกิจ ซึ่ง มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนีก้ ำ� หนดให้บนั ทึกบัญชีสำ� หรับการรวมธุรกิจโดยปฏิบตั ติ ามวิธซี อื้ รายการจ่ายเพือ่ ซือ้ ธุรกิจ ต้องบันทึกด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันรวมธุรกิจ ซึ่งรวมถึงสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายที่จัดประเภทเป็นหนี้สินซึ่งต้องวัดมูลค่า ภายหลังการรวมธุรกิจโดยผลต่างจะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ในการรวมธุรกิจแต่ละครั้งกิจการสามารถเลือกวิธีในการวัดมูลค่า ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในผู้ถูกลงทุนได้โดยวัดตามมูลค่ายุติธรรม หรือมูลค่าของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ของผู้ถูกซื้อ ตามสัดส่วนของหุ้นที่ถือโดยผู้ที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการรวมธุรกิจรับรู้เป็นค่าใช้จ่าย มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุง และลดความซ�้ำซ้อนของค�ำนิยามของมูลค่ายุติธรรม โดยการก�ำหนดค�ำนิยาม และแหล่งข้อมูลในการวัดมูลค่ายุติธรรม และการเปิดเผยข้อมูลส�ำหรับใช้ในมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงินของกลุ่มบริษัท ยกเว้นเรื่องการเปิดเผยข้อมูล 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการบัญชีที่มีการปรับปรุง และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง ซึง่ มีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 กลุม่ กิจการไม่ได้นำ� มาตรฐานทีป่ รับปรุงใหม่ดงั กล่าวมาถือปฏิบตั กิ อ่ นวันบังคับใช้

ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระส�ำคัญและเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัท มีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558)

เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ เรื่อง ส่วนงานด�ำเนินงาน

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2558) เรื่องผลประโยชน์พนักงาน ได้มีการอธิบายเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติทางบัญชีส�ำหรับ เงินสมทบจากพนักงานหรือบุคคลทีส่ ามแก่โครงการผลประโยชน์ทกี่ ำ� หนดไว้ให้ชดั เจนขึน้ การปรับปรุงดังกล่าวให้ความแตกต่างระหว่าง เงินสมทบทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริการทีเ่ กิดขึน้ ในรอบระยะเวลาบัญชีทเี่ งินสมทบนัน้ เกิดขึน้ เท่านัน้ และเงินสมทบทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริการ ที่มากกว่าหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2558) เรือ่ งการเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ได้รวมกิจการทีใ่ ห้บริการ ด้านผู้บริหารส�ำคัญแก่กิจการที่รายงาน หรือแก่บริษัทใหญ่ของกิจการที่รายงาน ซึ่งกิจการต้องเปิดเผยจ�ำนวนเงินที่กิจการได้จ่ายให้แก่ กิจการที่ให้บริการด้านผู้บริหารส�ำคัญ


2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2 การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ การตีความมาตรฐาน การบัญชีและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (ต่อ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ มาตรฐานการบัญชีที่มีการปรับปรุง และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง ซึ่งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 กลุ่มกิจการไม่ได้น�ำมาตรฐานที่ปรับปรุงใหม่ดังกล่าวมาถือปฏิบัติก่อนวันบังคับใช้ (ต่อ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์ ได้มีการก�ำหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูล ในกรณีทมี่ ลู ค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์วดั มูลค่าโดยใช้วธิ มี ลู ค่ายุตธิ รรมหักต้นทุนในการจ�ำหน่าย โดยการเปิดเผยดังกล่าว รวมถึง 1) ล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม 2) กรณีที่การวัดมูลค่ายุติธรรมอยู่ในล�ำดับชั้นที่ 2 และ 3 จะต้องมีการเปิดเผย เทคนิคที่ใช้ ในการวัดมูลค่ายุติธรรม และข้อสมมติฐานส�ำคัญที่ใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558) เรื่องส่วนงานด�ำเนินงาน ได้ก�ำหนดให้มีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ ดุลยพินิจของผู้บริหารในการรวมส่วนงานเข้าด้วยกัน และก�ำหนดให้น�ำเสนอการกระทบยอดสินทรัพย์ของส่วนงานกับสินทรัพย์ ของกิจการเมื่อกิจการรายงานข้อมูลสินทรัพย์ของส่วนงานให้กับผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงานของกิจการ ผูบ้ ริหารของกิจการได้ประเมินและพิจารณาว่ามาตรฐานทีป่ รับปรุงใหม่ดงั กล่าวข้างต้นจะไม่มผี ลกระทบทีม่ นี ยั ส�ำคัญต่อกลุม่ กิจการ 2.3 บัญชีกลุ่มบริษัท - เงินลงทุนในบริษัทย่อย

(1) บริษัทย่อย บริษทั ย่อยหมายถึงกิจการ (ซึง่ รวมถึงกิจการเฉพาะกิจ) ทีก่ ลุม่ บริษทั ควบคุม กลุม่ บริษทั ควบคุมกิจการเมือ่ กลุม่ บริษทั มีการเปิดรับ หรือมีสทิ ธิในผลตอบแทนผันแปรจากการเกีย่ วข้องกับผูไ้ ด้รบั การลงทุนและมีความสามารถท�ำให้เกิดผลกระทบต่อผลตอบแทนจาก การใช้อ�ำนาจเหนือผู้ได้รับการควบคุม กลุ่มบริษัทรวมงบการเงินของบริษัทย่อยไว้ในงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่กลุ่มบริษัทมีอ�ำนาจ ในการควบคุมบริษัทย่อย กลุ่มบริษัทจะไม่น�ำงบการเงินของบริษัทย่อยมารวมไว้ในงบการเงินรวมนับจากวันที่กลุ่มบริษัทสูญเสีย อ�ำนาจควบคุม กลุ่มบริษัทบันทึกบัญชีการรวมธุรกิจโดยถือปฏิบัติตามวิธีซื้อ สิ่งตอบแทนที่โอนให้ส�ำหรับการซื้อบริษัทย่อย ต้องวัดด้วยมูลค่า ยุตธิ รรมของสินทรัพย์ทผี่ ซู้ อื้ โอนให้และหนีส้ นิ ทีก่ อ่ ขึน้ เพือ่ จ่ายช�ำระให้แก่เจ้าของเดิมของผูถ้ กู ซือ้ และส่วนได้เสียในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ที่ออกโดยกลุ่มบริษัท รวมถึงมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ หรือหนี้สินที่คาดว่าจะต้องจ่ายช�ำระ ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อจะรับรู้ เป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น และวัดมูลค่าเริ่มแรกของสินทรัพย์ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นในการรวมธุรกิจ ด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ ในการรวมธุรกิจแต่ละครั้ง กลุ่มบริษัทวัดมูลค่าของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในผู้ถูกซื้อด้วย มูลค่ายุติธรรม หรือมูลค่าของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ของผู้ถูกซื้อตามสัดส่วนของหุ้นที่ถือ ในการรวมธุรกิจที่ด�ำเนินการส�ำเร็จจากการทยอยซื้อ ผู้ซื้อต้องวัดมูลค่าส่วนได้เสียที่ผู้ซื้อถืออยู่ในผู้ถูกซื้อก่อนหน้าการรวม ธุรกิจใหม่โดยใช้มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซื้อและรับรู้ผลก�ำไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการวัดมูลค่าใหม่นั้นในก�ำไรหรือขาดทุน สิง่ ตอบแทนทีค่ าดว่าจะต้องจ่ายโดยกลุม่ บริษทั รับรูด้ ว้ ยมูลค่ายุตธิ รรม ณ วันทีซ่ อื้ การเปลีย่ นแปลงในมูลค่ายุตธิ รรมของสิง่ ตอบแทน ทีค่ าดว่าจะต้องจ่ายทีร่ บั รูภ้ ายหลังวันทีซ่ อื้ ซึง่ จัดประเภทเป็นสินทรัพย์หรือหนีส้ นิ ให้รบั รูผ้ ลก�ำไรขาดทุนทีเ่ กิดขึน้ ในก�ำไรหรือขาดทุน หรือในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สิง่ ตอบแทนทีค่ าดว่าจะต้องจ่ายซึง่ จัดประเภทเป็นส่วนของผูถ้ อื หุน้ ต้องไม่มกี ารวัดมูลค่าใหม่ และ ให้บันทึกการจ่ายช�ำระในภายหลังไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้น กรณีที่มูลค่าสิ่งตอบแทนที่โอนให้ และมูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในผู้ถูกซื้อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้อธุรกิจของ ส่วนได้เสียในส่วนของผู้ถือหุ้นของผู้ถูกซื้อที่ผู้ซื้อถืออยู่ก่อนการรวมธุรกิจ มากกว่ามูลค่าสุทธิ ณ วันที่ซื้อของสินทรัพย์ที่ได้มาที่ ระบุได้และหนี้สินที่รับมา ผู้ซื้อต้องรับรู้ค่าความนิยม หากมูลค่าของมูลค่าสิ่งตอบแทนที่โอนให้ และมูลค่าส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจ ควบคุมในผู้ถูกซื้อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้อธุรกิจของส่วนได้เสียในส่วนของผู้ถือหุ้นของผู้ถูกซื้อที่ผู้ซื้อถืออยู่ก่อนการรวมธุรกิจ น้อยกว่ามูลค่าราคายุตธิ รรมของสินทรัพย์สทุ ธิของบริษทั ย่อยเนือ่ งจากมีการต่อรองราคาซือ้ จะรับรูส้ ว่ นต่างโดยตรงไปยังก�ำไรหรือ ขาดทุน กิจการจะตัดรายการบัญชีระหว่างกิจการ ยอดคงเหลือ และรายการก�ำไรหรือขาดทุนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงระหว่างกลุ่มบริษัท นโยบายการบัญชีของบริษัทย่อยได้ถูกเปลี่ยนเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัท ในงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษทั ย่อยจะบันทึกบัญชีดว้ ยราคาทุนหักค่าเผือ่ การด้อยค่า ต้นทุนจะมีการปรับเพือ่ สะท้อน การเปลี่ยนแปลงสิ่งตอบแทนที่เกิดขึ้นจากสิ่งตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ ต้นทุนนั้นจะรวมส่วนแบ่งต้นทุนทางตรง

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ก) กลุ่มมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระส�ำคัญและเกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัท มีดังต่อไปนี้ (ต่อ)

103 รายงานประจ�ำปี 2558


2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.3 บัญชีกลุ่มบริษัท - เงินลงทุนในบริษัทย่อย (ต่อ)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจ�ำปี 2558

104

(2) รายการและส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม กลุ่มบริษัทปฏิบัติต่อรายการกับส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมเช่นเดียวกันกับส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นกลุ่มบริษัท ส�ำหรับการซื้อ ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี ำ� นาจควบคุม ผลต่างระหว่างสิง่ ตอบแทนทีจ่ า่ ยให้และมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์สทุ ธิของหุน้ ทีซ่ อื้ มาในบริษทั ย่อยจะถูกบันทึกในส่วนของผู้ถือหุ้น และก�ำไรหรือขาดทุนจากการขายในส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมจะถูกบันทึกในส่วนของ ผู้ถือหุ้น

2.4 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ

(ก) สกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานและสกุลเงินที่ใช้น�ำเสนองบการเงิน รายการที่รวมในงบการเงินของแต่ละบริษัทในกลุ่มบริษัทถูกวัดมูลค่าโดยใช้สกุลเงินของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจหลักที่บริษัท ด�ำเนินงานอยู่ (สกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงาน) งบการเงินแสดงในสกุลเงินบาท ซึ่งเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานและสกุลเงิน ที่ใช้น�ำเสนองบการเงินของบริษัท

(ข) รายการและยอดคงเหลือ รายการที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่ใช้ในการด�ำเนินงานโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการหรือ วันที่ตีราคาหากรายการนั้นถูกวัดมูลค่าใหม่ รายการก�ำไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับหรือจ่ายช�ำระที่เป็นเงินตรา ต่างประเทศ และทีเ่ กิดจากการแปลงค่าสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ ป็นตัวเงินซึง่ เป็นเงินตราต่างประเทศ ได้บนั ทึกไว้ในก�ำไรหรือขาดทุน เมือ่ มีการรับรูร้ ายการก�ำไรหรือขาดทุนของรายการทีไ่ ม่เป็นตัวเงินไว้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ องค์ประกอบของอัตราแลกเปลีย่ น ทั้งหมดของก�ำไรหรือขาดทุนนั้นจะรับรู้ไว้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นด้วย ในทางตรงข้ามการรับรู้ก�ำไรหรือขาดทุนของรายการที่ ไม่เป็นตัวเงินไว้ในก�ำไรหรือขาดทุน องค์ประกอบของอัตราแลกเปลีย่ นทัง้ หมดของก�ำไรหรือขาดทุนนัน้ จะรับรูไ้ ว้ในก�ำไรขาดทุนด้วย

2.5 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ในงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดรวมถึงเงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร ประเภทจ่ายคืนเมือ่ ทวงถามและทีต่ อ้ งจ่ายคืนเมือ่ สิน้ ระยะเวลาทีก่ ำ� หนดอายุไม่เกินสามเดือน และเงินลงทุนระยะสัน้ อืน่ ทีม่ สี ภาพคล่อง สูงซึ่งมีอายุไม่เกินสามเดือนนับจากวันที่ได้มา 2.6 ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้การค้ารับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนี้ และจะวัดมูลค่าต่อมาด้วยจ�ำนวนเงินที่เหลืออยู่หักด้วยค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ซึง่ ประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิน้ งวด ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญหมายถึงผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีของลูกหนีก้ ารค้า เปรียบเทียบกับมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั จากลูกหนีก้ ารค้า หนีส้ ญ ู ทีเ่ กิดขึน้ จะรับรูไ้ ว้ในก�ำไรหรือขาดทุนโดยถือเป็นส่วนหนึง่ ของค่าใช้จา่ ย ในการบริหาร 2.7 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�่ำกว่า ราคาทุนของสินค้าค�ำนวณโดยวิธีราคาถัวเฉลี่ย เคลือ่ นที่ ต้นทุนของการซือ้ ประกอบด้วยราคาซือ้ และค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรงกับการซือ้ สินค้านัน้ เช่นค่าอากรขาเข้าและค่าขนส่ง หักด้วยส่วนลดจากการจ่ายเงินตามเงื่อนไข มูลค่าสุทธิที่จะได้รับประมาณจากราคาปกติที่คาดว่าจะขายได้ของธุรกิจหักด้วยค่าใช้จ่าย ในการขาย กลุ่มบริษัทบันทึกบัญชีค่าเผื่อการลดมูลค่าของสินค้าเก่า ล้าสมัย และเสื่อมคุณภาพเท่าที่จ�ำเป็น 2.8 เงินลงทุน กลุม่ บริษทั จัดประเภทเงินลงทุนทีน่ อกเหนือจากเงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม และการร่วมค้า เป็น 4 ประเภท การจัดประเภท ขึน้ อยูก่ บั จุดมุง่ หมายขณะลงทุน ฝ่ายบริหารจะเป็นผูก้ ำ� หนดการจัดประเภททีเ่ หมาะสมส�ำหรับเงินลงทุน ณ เวลาลงทุนและทบทวนการ จัดประเภทอย่างสม�่ำเสมอ

(1) เงินลงทุนเพื่อค้า คือ เงินลงทุนเพื่อจุดมุ่งหมายหลักในการหาก�ำไรจากการเปลี่ยนแปลงราคาในช่วงเวลาสั้นไม่เกิน 3 เดือนนับแต่ เวลาที่ลงทุน และแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน

(2) เงินลงทุนที่ถือไว้จนครบก�ำหนด คือ เงินลงทุนที่มีก�ำหนดเวลาและผู้บริหารตั้งใจแน่วแน่และมีความสามารถถือไว้จนครบก�ำหนด ได้แสดงรวมไว้ในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่จะครบก�ำหนดภายใน 12 เดือนนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานก็จะแสดงไว้ใน สินทรัพย์หมุนเวียน


2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.8 เงินลงทุน (ต่อ) (3) เงินลงทุนเผือ่ ขาย คือ เงินลงทุนทีจ่ ะถือไว้โดยไม่ระบุชว่ งเวลาและอาจขายเพือ่ เสริมสภาพคล่องหรือเมือ่ อัตราดอกเบีย้ เปลีย่ นแปลง ได้แสดงรวมไว้ในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่กรณีที่ฝ่ายบริหารแสดงเจตจ�ำนงที่จะถือไว้ในช่วงเวลาน้อยกว่า 12 เดือนนับแต่วัน สิ้นรอบระยะเวลารายงาน ก็จะแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน หรือเว้นแต่กรณีที่ฝ่ายบริหารมีความจ�ำเป็นที่ต้องขายเพื่อเพิ่ม เงินทุนด�ำเนินงาน จึงจะแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน

(4) เงินลงทุนทั่วไป คือ เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่มีตลาดซื้อขายคล่องรองรับ

ในการจ�ำหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างมูลค่ายุตธิ รรมของผลตอบแทนสุทธิทไี่ ด้รบั จากการจ�ำหน่ายเมือ่ เปรียบเทียบกับราคาตามบัญชี ของเงินลงทุนนั้นจะบันทึกรวมอยู่ในก�ำไรหรือขาดทุน

105

เงินลงทุนทั้ง 4 ประเภทรับรู้มูลค่าเริ่มแรกด้วยราคาทุน ซึ่งหมายถึงมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ให้ไปเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินลงทุนนั้น รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการท�ำรายการ โดยในปัจจุบันกลุ่มบริษัทมีเงินลงทุนที่ถือไว้จนครบก�ำหนด เงินลงทุนเผื่อขาย และเงินลงทุนทั่วไป เงินลงทุนทีจ่ ะถือไว้จนครบก�ำหนดวัดมูลค่าภายหลังการได้มาด้วยวิธรี าคาทุนตัดจ�ำหน่ายตามอัตราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้จริง หักด้วยค่าเผือ่ การ ด้อยค่า เงินลงทุนเผือ่ ขายวัดมูลค่าในเวลาต่อมาด้วยมูลค่ายุตธิ รรม มูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนวัดตามราคาเสนอซือ้ ทีอ่ า้ งอิงจากตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ณ วันท�ำการสุดท้ายของวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน โดยอ้างอิงราคาเสนอซื้อล่าสุดจากตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย รายการก�ำไรและขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงของเงินลงทุนเพื่อค้ารับรู้ในงบก�ำไรขาดทุน รายการก�ำไรและขาดทุนที่ยัง ไม่เกิดขึ้นจริงของเงินลงทุนเผื่อขายรับรู้ในส่วนของก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น เงินลงทุนทั่วไป แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการลดลงของมูลค่า

2.9 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนจะถูกจัดประเภทเป็นสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขายเมื่อมูลค่าตามบัญชีที่จะได้รับคืนส่วนใหญ่มาจากการขาย และ การขายนัน้ ต้องมีความเป็นไปได้สงู มาก สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนนัน้ จะวัดมูลค่าด้วยจ�ำนวนทีต่ ำ�่ กว่าระหว่างมูลค่าตามบัญชีกบั มูลค่ายุตธิ รรม หักต้นทุนในการขาย หากมูลค่าตามบัญชีที่จะได้รับคืนส่วนใหญ่มาจากการขายมากกว่าที่จะได้รับคืนจากการใช้สินทรัพย์นั้นต่อไป 2.10 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพย์ที่ถือครองโดยกลุ่มบริษัทเพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่า หรือจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าของสินทรัพย์หรือ ทัง้ สองอย่าง และไม่ได้มไี ว้ใช้งานโดยกิจการในกลุม่ บริษทั จะถูกจัดประเภทเป็น อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน รวมถึงอสังหาริมทรัพย์ ที่อยู่ระหว่างก่อสร้างหรือพัฒนาเพื่อเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนในอนาคต การรับรูร้ ายการเมือ่ เริม่ แรกของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนด้วยวิธรี าคาทุน รวมถึงต้นทุนในการท�ำรายการและต้นทุนการกูย้ มื ต้นทุน การกูย้ มื ทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ วัตถุประสงค์ของการได้มา การก่อสร้างหรือผลิตอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนนัน้ จะรวมเป็นส่วนหนึง่ ของต้นทุน ของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ต้นทุนการกู้ยืมจะถูกรวมในขณะที่การซื้อหรือการก่อสร้างและจะหยุดรับรู้ทันทีเมื่อสินทรัพย์นั้น ก่อสร้างเสร็จอย่างมีนัยส�ำคัญ หรือระหว่างที่การด�ำเนินการพัฒนาสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไขหยุดชะงักลง หลังจากการรับรูเ้ มือ่ เริม่ แรกแล้วอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนจะบันทึกด้วยวิธรี าคาทุน หัก ค่าเสือ่ มราคาสะสม และค่าเผือ่ ผลขาดทุน จากการด้อยค่า ที่ดินไม่มีการหักค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนอื่นๆ จะค�ำนวณโดยใช้วิธีเส้นตรงเพื่อปันส่วนราคาทุน ตลอดประมาณการอายุการให้ประโยชน์ดังนี้ อาคาร ส่วนปรับปรุงอาคาร

20 และ 35 ปี 10 ปี

การรวมรายจ่ายในภายหลังเข้าเป็นมูลค่าบัญชีของสินทรัพย์จะกระท�ำก็ตอ่ เมือ่ มีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่ทกี่ ลุม่ บริษทั จะได้รบั ประโยชน์ เชิงเศรษฐกิจในอนาคตในรายจ่ายนั้น และต้นทุนสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ ค่าซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษาทั้งหมดจะรับรู้เป็น ค่าใช้จา่ ยเมือ่ เกิดขึน้ เมือ่ มีการเปลีย่ นแทนชิน้ ส่วนของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน จะตัดมูลค่าตามบัญชีของส่วนทีถ่ กู เปลีย่ นแทนออก

รายงานประจ�ำปี 2558

บริษทั จะทดสอบค่าเผือ่ การลดลงของมูลค่าของเงินลงทุนเมือ่ มีขอ้ บ่งชีว้ า่ เงินลงทุนนัน้ อาจมีคา่ เผือ่ การลดลงของมูลค่าเกิดขึน้ หากราคา ตามบัญชีของเงินลงทุนสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน บริษัทจะบันทึกรายการขาดทุนจากค่าเผื่อการลดลงของมูลค่ารวมไว้ในก�ำไร ขาดทุน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)


2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.11 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ที่ดินแสดงตามราคาทุนหลังหักค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) อาคารและอุปกรณ์วัดมูลค่าด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อ การด้อยค่า (ถ้ามี) ต้นทุนเริ่มแรกจะรวมต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินทรัพย์นั้น

รายงานประจ�ำปี 2558

106

ต้นทุนที่เกิดขึ้นภายหลังจะรวมอยู่ในมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์หรือรับรู้แยกเป็นอีกสินทรัพย์หนึ่งตามความเหมาะสม เมื่อต้นทุนนั้น เกิดขึ้นและคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตแก่บริษัทและต้นทุนดังกล่าวสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ และจะ ตัดมูลค่าตามบัญชีของชิน้ ส่วนทีถ่ กู เปลีย่ นแทนออก ส�ำหรับค่าซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษาอืน่ ๆ บริษทั จะรับรูต้ น้ ทุนดังกล่าวเป็นค่าใช้จา่ ย ในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น ทีด่ นิ ไม่มกี ารคิดค่าเสือ่ มราคา ค่าเสือ่ มราคาของอาคารและอุปกรณ์คำ� นวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยใช้วธิ เี ส้นตรงเพือ่ ลดราคาทุน ตลอดอายุการให้ประโยชน์ที่ประมาณการไว้ของสินทรัพย์ ดังต่อไปนี้ โรงสูบน�้ำ อาคาร ส่วนปรับปรุงอาคาร และอาคารเช่า เครื่องจักรและอุปกรณ์ - เครื่องจักร - ระบบผลิตน�้ำประปา - เครื่องมือและอุปกรณ์ อุปกรณ์สํานักงาน ยานพาหนะ

20, 35 ปี 20, 35 ปี 5, 10 ปี แต่ไม่เกินอายุสัญญาเช่า

30, 40 ปี 5, 15, 20 ปี 5 ปี 3, 5 ปี 5 ปี

กลุ่มบริษัทมีการทบทวนอายุการให้ประโยชน์ มูลค่าคงเหลือ และวิธีการคิดค่าเสื่อมราคาอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้นรอบปีบัญชี ในกรณีที่มูลค่าตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนทันที ผลก�ำไรหรือขาดทุนทีเ่ กิดจากการจ�ำหน่ายทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ ค�ำนวณโดยเปรียบเทียบจากสิง่ ตอบแทนสุทธิทไี่ ด้รบั จากการจ�ำหน่าย สินทรัพย์กับมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ และจะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ดอกเบี้ยจากการกู้ยืมเงินมาใช้ในการได้มาซึ่ง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ได้บันทึกเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนของสินทรัพย์นั้น ตลอด ช่วงเวลาการก่อสร้างและเตรียมสินทรัพย์นั้นให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามประสงค์ ต้นทุนการกู้ยืมประกอบด้วย ดอกเบี้ยที ่ เกิดจากเงินกู้ยืมทั้งระยะสั้นและระยะยาว รวมทั้งภาษีที่เกี่ยวข้อง และจ�ำนวนที่ตัดบัญชีส่วนลดหรือส่วนเกินที่เกี่ยวกับการกู้ยืม ส่วนต้นทุนการกู้ยืมอื่นจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในก�ำไรขาดทุน 2.12 ค่าความนิยม ค่าความนิยมคือสิ่งตอบแทนที่โอนให้ที่สูงกว่ามูลค่ายุติธรรมของส่วนแบ่งของกลุ่มบริษัทในสินทรัพย์และหนี้สินที่ระบุได้ และหนี้สิน ที่อาจเกิดขึ้นของบริษัทย่อย ณ วันที่ได้มาซึ่งบริษัทย่อยนั้น ค่าความนิยมที่เกิดจากการได้มาซึ่งบริษัทย่อยจะแสดงเป็นรายการ แยกต่างหากในงบแสดงฐานะการเงินรวม ค่าความนิยมทีร่ บั รูจ้ ะต้องถูกทดสอบการด้อยค่าทุกปี และแสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผือ่ การด้อยค่าสะสม ค่าเผือ่ การด้อยค่าของค่าความ นิยมที่รับรู้แล้วจะไม่มีการกลับรายการ ทั้งนี้มูลค่าคงเหลือตามบัญชีของค่าความนิยมจะถูกรวมค�ำนวณในก�ำไรหรือขาดทุนเมื่อมี การขายกิจการ ในการทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยม ค่าความนิยมจะถูกปันส่วนไปยังหน่วยทีก่ อ่ ให้เกิดกระแสเงินสด โดยทีห่ น่วยนัน้ อาจจะเป็น หน่วยเดียวหรือหลายหน่วยรวมกันซึ่งคาดว่าจะได้รับประโยชน์จากการรวมธุรกิจ ซึ่งค่าความนิยมเกิดขึ้นจากส่วนงานปฏิบัติการ ที่ระบุได้


2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

ในกรณีทกี่ ลุม่ บริษทั ในฐานะผูป้ ระกอบการเป็นผูด้ ำ� เนินการก่อสร้างหรือยกระดับการให้บริการ จะบันทึกรายได้และต้นทุนทีเ่ กีย่ วข้องกับ การก่อสร้างหรือการยกระดับการให้บริการ โดยอ้างอิงกับขัน้ ความส�ำเร็จของงานก่อสร้าง โดยรับรูส้ งิ่ ตอบแทนทีไ่ ด้รบั หรือค้างรับส�ำหรับ มูลค่าเริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินหรือสินทรัพย์ไม่มีตัวตน กลุ่มบริษัทรับรู้สินทรัพย์ทางการเงินหากกลุ่มบริษัทสร้างโครงสร้างพื้นฐานและมีสิทธิอันปราศจากเงื่อนไขตามสัญญาที่จะได้รับเงินสด หรือสินทรัพย์ทางการเงินอื่นจากผู้ให้สัมปทาน และรับรู้สินทรัพย์ไม่มีตัวตนหากกลุ่มบริษัทสร้างโครงสร้างพื้นฐานและได้รับสิทธิ (ใบอนุญาต) ในการเรียกเก็บค่าบริการจากผู้ใช้บริการสาธารณะ ซึ่งสิทธิในการเรียกเก็บค่าบริการจากผู้ใช้บริการสาธารณะไม่ใช่สิทธิ อันปราศจากเงื่อนไขที่จะได้รับเงินสด เนื่องจากจ�ำนวนเงินดังกล่าวขึ้นอยู่กับจ�ำนวนการใช้บริการสาธารณะ ในกรณีที่กลุ่มบริษัทได้รับ ช�ำระค่าบริการส�ำหรับการก่อสร้างบางส่วนเป็นสินทรัพย์ทางการเงินและบางส่วนเป็นสินทรัพย์ไม่มีตัวตน กลุ่มบริษัทบันทึกแต่ละ องค์ประกอบของสิ่งตอบแทนที่ได้รับแยกจากกัน ส�ำหรับรายได้และต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินการให้บริการ จะรับรู้เป็นรายได้ และต้นทุนเมื่อได้ให้บริการแล้วตามเงื่อนไขสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาในการบ�ำรุงรักษาหรือปรับปรุงซ่อมแซมโครงสร้างพื้นฐานที่ไม่ใช่เป็นการปรับปรุงเพื่อยกระดับ จะรับรู้และ วัดมูลค่าด้วยจ�ำนวนประมาณการที่ดีที่สุดของรายจ่ายที่ต้องน�ำไปจ่ายช�ำระภาระผูกพันในปัจจุบัน ณ วันสิ้นงวดบัญชี 2.14 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สิทธิในการให้บริการจากข้อตกลงสัมปทาน สิทธิในการให้บริการจากข้อตกลงสัมปทานเป็นสิทธิที่ได้มาจากข้อตกลงสัมปทานในการให้บริการผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาจาก ภาครัฐ ตามนโยบายการบัญชีทกี่ ล่าวไว้ในข้อ 2.13 สิทธิในการให้บริการจากข้อตกลงสัมปทานตัดจ�ำหน่ายเป็นค่าใช้จา่ ยในก�ำไรขาดทุน ตามวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาของสัญญาสัมปทาน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้บันทึกเป็นสินทรัพย์ไม่มีตัวตน โดยค�ำนวณจากต้นทุนในการได้มาและ ตัดจ�ำหน่ายโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุการให้ประโยชน์ที่ประมาณไว้ 10 ปี 2.15 การด้อยค่าของสินทรัพย์ สินทรัพย์ที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่ชัด ซึ่งไม่มีการตัดจ�ำหน่ายจะถูกทดสอบการด้อยค่าเป็นประจ�ำทุกปี สินทรัพย์อื่นที่มีการ ตัดจ�ำหน่ายจะมีการทบทวนการด้อยค่า เมื่อมีเหตุการณ์หรือสถานการณ์บ่งชี้ว่าราคาตามบัญชีอาจต�่ำกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน รายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรูเ้ มือ่ ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์สงู กว่ามูลค่าสุทธิทคี่ าดว่าจะได้รบั คืน ซึง่ หมายถึงจ�ำนวนทีส่ งู กว่า ระหว่างมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายเทียบกับมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์จะถูกจัดเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดที่สามารถแยกออกมาได้ เพื่อวัตถุประสงค์ของการประเมินการด้อยค่า สินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินนอกเหนือจากค่าความนิยม ซึ่งรับรู้รายการขาดทุน จากการด้อยค่าไปแล้ว จะถูกประเมินความเป็นไปได้ที่จะกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที่สิ้นรอบระยะเวลารายงาน 2.16 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ส�ำหรับงวดประกอบด้วย ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้จะรับรู้ในก�ำไรหรือ ขาดทุน ยกเว้นส่วนทีร่ บั รูใ้ นก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ หรือรับรูโ้ ดยตรงไปยังส่วนของผูถ้ อื หุน้ ในกรณีนี้ ภาษีเงินได้ตอ้ งรับรูใ้ นก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น หรือโดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้นตามล�ำดับ ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันค�ำนวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีอากรที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรือที่คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมีผลบังคับ ใช้ภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงานในประเทศที่บริษัทย่อย และบริษัทร่วมของกลุ่มบริษัทได้ด�ำเนินงานและเกิดรายได้ทางภาษี ผู้บริหารจะประเมินสถานะของการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเป็นงวดๆ โดยค�ำนึงถึงสถานการณ์ที่สามารถน�ำกฎหมายภาษีอากร ไปปฏิบัติซึ่งขึ้นอยู่กับการตีความ และจะตั้งประมาณการค่าใช้จ่ายภาษีอากร หากคาดว่าจะต้องจ่ายช�ำระเจ้าหน้าที่ภาษีอากร

107 รายงานประจ�ำปี 2558

ข้อตกลงสัมปทานบริการ คือ ข้อตกลงระหว่างภาครัฐ (ผู้ให้สัมปทาน) กับเอกชน (ผู้ประกอบการ) ที่ให้ผู้ประกอบการเป็นผู้ก่อสร้าง โครงสร้างพื้นฐานเพื่อให้บริการสาธารณะหรือเพื่อยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน การด�ำเนินการ และการบ�ำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐาน ในช่วงเวลาทีร่ ะบุไว้ ซึง่ ผูป้ ระกอบการจะได้รบั ค่าบริการตลอดระยะเวลาของข้อตกลง โดยผูใ้ ห้สมั ปทานจะมีการควบคุมหรือก�ำกับดูแล ประเภทของบริการทีผ่ ปู้ ระกอบการต้องด�ำเนินการในการใช้โครงสร้างพืน้ ฐานเพือ่ ให้บริการ กลุม่ ผูท้ ไี่ ด้รบั บริการ และราคาการให้บริการ และผู้ให้สัมปทานควบคุมส่วนได้เสียคงเหลือที่ส�ำคัญในโครงสร้างพื้นฐานเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาของข้อตกลงไม่ว่าโดยการเป็นเจ้าของ การได้รับประโยชน์ หรือวิธีอื่นใด

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

2.13 ข้อตกลงสัมปทานบริการ


2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.16 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (ต่อ)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีตั้งเต็มจ�ำนวนตามวิธีหนี้สิน เมื่อเกิดผลต่างชั่วคราวระหว่างฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สิน และราคา ตามบัญชีที่แสดงอยู่ในงบการเงินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีค�ำนวณจากอัตราภาษี (และกฎหมายภาษีอากร) ที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรือ ที่คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมีผลบังคับใช้ภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน และคาดว่าอัตราภาษีดังกล่าวจะน�ำไปใช้เมื่อสินทรัพย์ภาษี เงินได้รอตัดบัญชีที่เกี่ยวข้องได้รับประโยชน์ หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีได้มีการจ่ายช�ำระ

รายงานประจ�ำปี 2558

108

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจะรับรู้หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่ากลุ่มบริษัทจะมีก�ำไรทางภาษีเพียงพอที่จะน�ำจ�ำนวนผลต่าง ชั่วคราวนั้นมาใช้ประโยชน์ สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีจะแสดงหักกลบกันเมื่อกลุ่มบริษัทมีสิทธิตามกฎหมายที่จะน�ำสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวด ปัจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบัน และทั้งสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีเกี่ยวข้องกับภาษีเงินได้ที่ ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงานเดียวกัน และการเรียกเก็บเป็นหน่วยภาษีเดียวกัน หรือหน่วยภาษีต่างกัน ซึ่งตั้งใจจะจ่าย ด้วยยอดสุทธิ 2.17 เงินกู้ยืม เงินกู้ยืมรับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ได้รับหักด้วยต้นทุนการจัดท�ำรายการที่เกิดขึ้น ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทน (หักด้วยต้นทุนการจัดท�ำรายการที่เกิดขึ้น) เมื่อเทียบกับมูลค่าที่จ่ายคืนเพื่อช�ำระหนี้น้ันจะรับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุนตลอดช่วงเวลาการ กู้ยืม ดอกเบี้ยจ่ายรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์คงค้างตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง เงินกู้ยืมจัดประเภทเป็นหนี้สินหมุนเวียนเมื่อกลุ่มบริษัทไม่มีสิทธิเลื่อนช�ำระหนี้ออกไปอีกเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 12 เดือน นับจากวัน สิ้นรอบระยะเวลารายงาน 2.18 สัญญาเช่าระยะยาว กรณีที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้เช่า สัญญาระยะยาวเพื่อเช่าสินทรัพย์ซึ่งผู้ให้เช่าเป็นผู้รับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเป็นส่วนใหญ่ สัญญาเช่านั้น ถือเป็นสัญญาเช่าด�ำเนินงาน เงินที่ต้องจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดังกล่าว (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้รับจากผู้ให้เช่า) จะบันทึกในก�ำไร ขาดทุนโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั้น สัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ซึ่งผู้เช่าเป็นผู้รับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเกือบทั้งหมดถือเป็นสัญญาเช่า การเงิน ซึ่งจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่า หรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิของจ�ำนวนเงินที่ต้องจ่ายตาม สัญญาเช่า แล้วแต่มูลค่าใดจะต�่ำกว่า จ�ำนวนเงินที่ต้องจ่ายดังกล่าวจะปันส่วนระหว่างหนี้สินและค่าใช้จ่ายทางการเงินเพื่อให้ได้อัตรา ดอกเบีย้ คงทีต่ อ่ หนีส้ นิ คงค้างอยู่ โดยพิจารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จา่ ยทางการเงินจะบันทึกเป็นหนีส้ นิ ระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในก�ำไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่าเพื่อท�ำให้อัตราดอกเบี้ยแต่ละงวดเป็นอัตราคงที่ส�ำหรับ ยอดคงเหลือของหนี้สินทรัพย์ที่เหลืออยู่ สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ ที่เช่าหรืออายุของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า กรณีที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้ให้เช่า สินทรัพย์ที่ให้เช่าตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานรวมแสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงินในส่วนอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน และตัดค่าเสื่อม ราคาตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ด้วยเกณฑ์เดียวกันกับรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ของกลุ่มบริษัทซึ่งมีลักษณะ คล้ายคลึงกัน รายได้ค่าเช่า (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้จ่ายให้แก่ผู้ให้เช่า) รับรู้ด้วยวิธีเส้นตรงตลอดช่วงเวลาการให้เช่า 2.19 ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลประโยชน์พนักงานของกลุ่มบริษัทประกอบด้วยผลประโยชน์หลังออกจากงานและผลประโยชน์ระยะยาวอื่น ผลประโยชน์หลัง ออกจากงานประกอบด้วยโครงการสมทบเงินและโครงการผลประโยชน์ โครงการสมทบเงินเป็นโครงการที่กลุ่มบริษัทจ่ายเงินสมทบ ให้กับกิจการที่แยกต่างหาก กลุ่มบริษัทไม่มีภาระผูกพันตามกฎหมาย หรือภาระผูกพันจากการอนุมานที่จะต้องจ่ายช�ำระเพิ่มเติมจาก ที่ได้สมทบไว้แล้วหากกองทุนไม่มีสินทรัพย์เพียงพอที่จะจ่ายช�ำระภาระผูกพันจากการให้บริการของพนักงานทั้งในงวดปัจจุบันและ งวดก่อน โครงการผลประโยชน์เป็นโครงการที่ไม่ใช่โครงการสมทบเงิน โดยปกติโครงการผลประโยชน์จะก�ำหนดจ�ำนวนผลประโยชน์ ที่พนักงานจะได้รับเมื่อเกษียณอายุ ซึ่งจะขึ้นอยู่กับปัจจัยหนึ่งหรือหลายปัจจัย เช่น อายุพนักงาน อายุการท�ำงาน และค่าตอบแทน เป็นต้น ผลประโยชน์ระยะยาวอื่นเป็นผลประโยชน์ที่กลุ่มบริษัทจะให้พนักงานเมื่อมีอายุงานครบตามที่ก�ำหนด


2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.19 ผลประโยชน์ของพนักงาน (ต่อ)

2.19.1 ผลประโยชน์หลังออกจากงาน

โครงการสมทบเงิน กลุ่มบริษัทได้จัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ โดยใช้แผนการก�ำหนดอัตราการจ่ายสมทบโดยที่สินทรัพย์ของกองทุนได้แยก ออกจากสินทรัพย์ของกลุ่มบริษัทและบริหารโดยผู้จัดการกองทุน กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพดังกล่าวได้รับเงินเข้าสมทบกองทุน จากพนักงานและกลุ่มบริษัท บริษัทจะจ่ายสมทบให้กับกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งบริหารโดยผู้จัดการกองทุนภายนอก ตามเกณฑ์และข้อก�ำหนดของ พระราชบัญญัติกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 และกลุ่มบริษัทไม่มีภาระผูกพันที่จะ จ่ายเงินเพิม่ อีกเมือ่ ได้จา่ ยเงินสมทบไปแล้ว เงินสมทบจะถูกรับรูเ้ ป็นค่าใช้จา่ ยผลประโยชน์พนักงานเมือ่ ถึงก�ำหนดช�ำระ ส�ำหรับ เงินสมทบจ่ายล่วงหน้าจะถูกรับรู้เป็นสินทรัพย์จนกว่าจะมีการได้รับเงินคืนหรือหักออกเมื่อครบก�ำหนดจ่าย

โครงการผลประโยชน์ ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ กลุม่ บริษทั จัดให้มโี ครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานเพือ่ จ่ายเงินให้แก่พนักงานเป็นไปตามกฎหมายแรงงานไทย จ�ำนวนเงิน ดังกล่าวขึ้นอยู่กับฐานเงินเดือนและจ�ำนวนปีที่พนักงานท�ำงานให้บริษัทนับถึงวันที่สิ้นสุดการท�ำงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หนี้สินส�ำหรับโครงการผลประโยชน์จะรับรู้ในงบแสดงฐานะการเงินด้วยมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพัน ณ วันที่สิ้นรอบระยะ เวลารายงานหักด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ และปรับปรุงด้วยต้นทุนบริการในอดีตที่ยังไม่รับรู้ ภาระผูกพันนี้ ค�ำนวณโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยอิสระด้วยวิธคี ดิ ลดแต่ละหน่วยทีป่ ระมาณการไว้ ซึง่ มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันจาก โครงการผลประโยชน์ดงั กล่าวก�ำหนดโดยการคิดลดกระแสเงินสดทีต่ อ้ งจ่ายในอนาคตด้วยอัตราดอกเบีย้ พันธบัตรรัฐบาลซึง่ เป็นสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินของผลประโยชน์ที่จะต้องจ่ายให้แก่พนักงาน รวมทั้งมีเงื่อนไขและวันครบก�ำหนดใกล้เคียงกับ เงื่อนไขของภาระผูกพันของผลประโยชน์หลังออกจากงานโดยประมาณ ก�ำไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่เกิดขึ้นจากการปรับปรุงจากประสบการณ์หรือการ เปลี่ยนแปลงในข้อสมมติฐานจะต้องรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้นผ่านก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในงวดที่เกิดขึ้น ต้นทุนบริการในอดีตจะถูกรับรู้ทันทีในก�ำไรหรือขาดทุน

2.19.2 ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น กลุ่มบริษัทจัดให้มีผลประโยชน์ระยะยาวอื่นแก่พนักงานเมื่อมีอายุงานครบตามที่ก�ำหนดในนโยบายของบริษัท โดยจะรับรู้หนี้ สินส�ำหรับผลประโยชน์ระยะยาวอืน่ ในงบแสดงฐานะการเงินด้วยมูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพัน ณ วันทีส่ นิ้ รอบระยะเวลารายงาน ภาระผูกพันนี้ค�ำนวณโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัยอิสระด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ ก�ำไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย และต้นทุนบริการในอดีตจะถูกรับรูท้ นั ทีในก�ำไรหรือขาดทุน

2.20 ประมาณการหนี้สิน กลุ่มบริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สินอันเป็นภาระผูกพันในปัจจุบันตามกฎหมายหรือตามข้อตกลงที่จัดท�ำไว้ อันเป็นผลสืบเนื่อง มาจากเหตุการณ์ในอดีตซึง่ การช�ำระภาระผูกพันนัน้ มีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่วา่ จะส่งผลให้บริษทั ต้องสูญเสียทรัพยากรออกไป และ ตามประมาณการของจ�ำนวนทีต่ อ้ งจ่ายได้อย่างน่าเชือ่ ถือ ในกรณีทกี่ ลุม่ บริษทั คาดว่าประมาณการหนีส้ นิ เป็นรายจ่ายทีจ่ ะได้รบั คืน เช่น ภายใต้สญ ั ญาประกันภัย กลุม่ บริษทั จะบันทึกเป็นสินทรัพย์แยกต่างหากเมือ่ คาดว่าน่าจะได้รบั รายจ่ายนัน้ คืนอย่างแน่นอน ประมาณการ หนี้สินจะไม่รับรู้ส�ำหรับขาดทุนจากการด�ำเนินงานในอนาคต 2.21 การรับรู้รายได้ รายได้ประกอบด้วยมูลค่ายุตธิ รรมทีจ่ ะได้รบั จากการขายสินค้าและบริการ โดยไม่รวมรายการขายภายในกลุม่ บริษทั ส�ำหรับงบการเงินรวม นโยบายในการรับรู้รายได้แต่ละประเภทของกลุ่มบริษัทเป็นดังต่อไปนี้

ก) รายได้จากการขาย รายได้จากการขายรับรูเ้ ป็นรายได้เมือ่ ได้โอนความเสีย่ งและผลตอบแทนทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญของความเป็นเจ้าของสินค้าให้กบั ผูซ้ อื้ แล้ว ด้วยมูลค่าตามราคาในใบก�ำกับสินค้า (ซึ่งไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) หลังหักสินค้ารับคืนและส่วนลดแล้ว

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ

109 รายงานประจ�ำปี 2558


2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.21 การรับรู้รายได้ (ต่อ)

ข) รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ รายได้ค่าเช่ารับรู้เป็นรายได้ตามระยะเวลาของการให้เช่าตามอัตราที่ก�ำหนดในสัญญา

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

รายได้ค่าบริการรับรู้เป็นรายได้เมื่อได้ให้บริการแล้ว โดยพิจารณาตามขั้นความส�ำเร็จของงานด้วยมูลค่าซึ่งไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม

รายงานประจ�ำปี 2558

110

ค) ดอกเบี้ยรับและเงินปันผลรับ

ดอกเบี้ยรับถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้าง เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมื่อสิทธิในการรับเงินปันผลเกิดขึ้น

ง) รายได้อื่น

รายได้อื่นรับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง

2.22 การจ่ายเงินปันผล เงินปันผลที่จ่ายไปยังผู้ถือหุ้นของบริษัทบันทึกในงบการเงินของกลุ่มบริษัทในรอบระยะเวลาบัญชีซึ่งที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท ที่เกี่ยวข้องได้อนุมัติการจ่ายเงินปันผล หรือโดยคณะกรรมการของบริษัท ในกรณีประกาศจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล 2.23 ข้อมูลจ�ำแนกตามส่วนงาน ส่วนงานด�ำเนินงานได้ถกู รายงานในลักษณะเดียวกับรายงานภายในทีน่ ำ� เสนอให้ผมู้ อี ำ� นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงาน ผูม้ อี ำ� นาจ ตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงานหมายถึงบุคคลที่มีหน้าที่ในการจัดสรรทรัพยากรและประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนงาน ด�ำเนินงาน ซึ่งพิจารณาว่าคือ กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ ที่ท�ำการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์

3

ประมาณการทางบัญชีที่ส�ำคัญ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจ การประมาณการ ข้อสมมติฐานและการใช้ดลุ ยพินจิ ได้มกี ารประเมินทบทวนอย่างต่อเนือ่ ง และอยูบ่ นพืน้ ฐานของประสบการณ์ในอดีต และปัจจัยอื่นๆ ซึ่งรวมถึงการคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ในอนาคตที่เชื่อว่ามีเหตุผลในสถานการณ์ขณะนั้น การประมาณการทางบัญชี ข้อสมมติฐาน และการใช้ดุลยพินิจที่ส�ำคัญ ได้แก่

3.1 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ในการประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้ แต่ละราย โดยค�ำนึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในขณะนั้น เป็นต้น 3.2 มูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ มูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ คือมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่กลุ่มบริษัทคาดว่าจะได้รับจากการใช้สินทรัพย์และท�ำการปรับลด โดยอัตราคิดลดทีก่ ำ� หนดโดยผูบ้ ริหารของกลุม่ บริษทั ประมาณการกระแสเงินสดตามประมาณการทางการเงินส�ำหรับระยะเวลาทีเ่ หลือ ของการใช้ทรัพย์สินหรือตามอายุสัมปทานที่เหลืออยู่ที่ได้อนุมัติแล้วโดยผู้บริหารของกลุ่มบริษัท โดยคิดค�ำนวณขึ้นจากประมาณการ อัตราการเติบโตทางธุรกิจ ซึ่งจะไม่สูงไปกว่าก�ำลังการผลิต และความต้องการของผู้ใช้น�้ำ สมมติฐานหลักที่ใช้ในการค�ำนวณหามูลค่า จากการใช้คืออัตราการเติบโต อัตราค่าใช้จ่ายต่อรายได้และอัตราก�ำไรขั้นต้น ผู้บริหารก�ำหนดอัตราดังกล่าวจากผลการด�ำเนินงานใน อดีต ความคาดหวังของการพัฒนาตลาด และแผนทางธุรกิจ อัตราคิดลดที่ใช้เป็นอัตราก่อนหักภาษีและปรับสะท้อนความเสี่ยงเฉพาะ ของธุรกิจโดยค�ำนึงถึงระยะเวลาทีเ่ หลือในการใช้สนิ ทรัพย์แล้ว โดยวิธกี ารดังกล่าวข้างต้นอาจเปลีย่ นแปลงได้เนือ่ งจากโครงสร้างรายได้ โครงสร้างต้นทุน อัตราคิดลด ภาวะอุตสาหกรรมและภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ส�ำหรับการพิจารณาการด้อยค่าของสิทธิในการให้บริการจากข้อตกลงสัมปทาน กลุม่ บริษทั พิจารณาในระดับหน่วยสินทรัพย์ทกี่ อ่ ให้เกิด เงินสดซี่งเป็นสัมปทานการผลิตน�้ำประปาที่ได้รับในแต่ละพื้นที่ โดยก�ำหนดมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนจากมูลค่าจากการใช้ซึ่งพิจารณา จากมูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดสุทธิทคี่ าดว่าจะเกิดขึน้ ตลอดอายุการได้รบั สัมปทานทีเ่ หลืออยูข่ องแต่ละสัญญา โดยรายได้คำ� นวณ จากปริมาณการใช้นำ�้ ซึง่ จะไม่สงู ไปกว่าก�ำลังการผลิต ซึง่ ประมาณอัตราการเติบโตในช่วง 5 ปีแรกตามความต้องการของผูใ้ ช้นำ�้ ในแต่ละ พืน้ ที่ และคงทีห่ ลังจากปีที่ 5 และอัตราค่าน�ำ้ ใช้ตามทีก่ ำ� หนดในสัญญา โดยกลุม่ บริษทั ใช้อตั ราต้นทุนของเงินลงทุนถัวเฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนัก ก่อนภาษีร้อยละ 6.99 ต่อปีในการคิดลดกระแสเงินสดสุทธิที่ได้รับดังกล่าว นอกจากนี้กลุ่มบริษัททดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยมทุกปี โดยมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด พิจารณาจากการค�ำนวณมูลค่าจากการใช้ การค�ำนวณดังกล่าวอาศัยการประมาณการตามรายละเอียดในหมายเหตุขอ้ 15


3

ประมาณการทางบัญชีที่ส�ำคัญ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจ (ต่อ)

ข้อสมมติฐานหลักส�ำหรับภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ และผลประโยชน์ระยะยาวอื่นซึ่งอ้างอิงกับสถานการณ์ปัจจุบันในตลาด ได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 23 3.4 ประมาณการหนี้สินและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น กลุ่มบริษัทมีประมาณการหนี้สินส�ำหรับภาระผูกพันตามสัญญาข้อตกลงสัมปทานในการบ�ำรุงรักษาหรือปรับปรุงซ่อมแซมโครงสร้าง พื้นฐาน โดยประมาณการจากแผนในการบ�ำรุงรักษาตลอดอายุสัญญาสัมปทาน กลุ่มบริษัทมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย ซึ่งฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประเมินผลของคดีที่ ถูกฟ้องร้องแล้วและเชือ่ มัน่ ว่าจะไม่มคี วามเสียหายทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญเกิดขึน้ โดยไม่มบี นั ทึกประมาณการหนีส้ นิ จากคดีความทางกฎหมาย ไว้ในงบการเงิน 3.5 ความไม่แน่นอนที่ส�ำคัญ กลุ่มบริษัทมีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับการจัดให้บริษัท เช่า/บริหาร และการปรับอัตราผลตอบแทนในโครงการท่อส่งน�้ำ 2 โครงการ ตามที่ได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 37 ซึ่งฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการบันทึกค่าตอบแทนโครงการในงบการเงิน โดยใช้อัตราค่าตอบแทนจากประมาณการที่ดีที่สุดจากข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน 3.6 การประมาณมูลค่ายุติธรรม กลุ่มบริษัทประมาณมูลค่ายุติธรรมส�ำหรับเงินลงทุนเผื่อขาย อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน และเงินกู้ยืมระยะยาว โดยมูลค่ายุติธรรม สามารถจ�ำแนกตามวิธีประมาณมูลค่าความแตกต่างของระดับข้อมูลได้ดังนี้

ราคาเสนอซื้อขาย (ไม่ต้องปรับปรุง) ในตลาดที่มีสภาพคล่องส�ำหรับสินทรัพย์หรือหนี้สินอย่างเดียวกัน (ข้อมูลระดับ 1)

ข้อมูลอื่นนอกเหนือจากราคาเสนอซื้อขายซึ่งรวมอยู่ในข้อมูลระดับ 1 ทั้งที่สามารถสังเกตได้โดยตรง (ได้แก่ ข้อมูลราคา) หรือโดย อ้อม (ได้แก่ ข้อมูลที่ค�ำนวณมาจากราคา) ส�ำหรับสินทรัพย์นั้นหรือหนี้สินนั้น (ข้อมูลระดับที่ 2)

ข้อมูลส�ำหรับสินทรัพย์หรือหนีส้ นิ ซึง่ ไม่ได้มาจากข้อมูลทีส่ ามารถสังเกตได้จากตลาด (ข้อมูลทีไ่ ม่สามารถสังเกตได้) (ข้อมูลระดับที่ 3)

กลุ่มบริษัทได้เปิดเผยวิธีการประมาณมูลค่ายุติธรรมของรายการที่กล่าวข้างต้นไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่เกี่ยวข้อง

4

การจัดการความเสี่ยงในส่วนของทุน วัตถุประสงค์ของกลุ่มบริษัทในการบริหารทุนของบริษัทนั้นเพื่อด�ำรงไว้ซึ่งความสามารถในการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่องของกลุ่มบริษัท เพือ่ สร้างผลตอบแทนต่อผูถ้ อื หุน้ และเป็นประโยชน์ตอ่ ผูท้ มี่ สี ว่ นได้เสียอืน่ และเพือ่ ด�ำรงไว้ซงึ่ โครงสร้างของทุนทีเ่ หมาะสมเพือ่ ลดต้นทุน ทางการเงินของทุน ในการด�ำรงไว้หรือปรับโครงสร้างของทุน กลุ่มบริษัทอาจปรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้น การคืนทุนให้แก่ผู้ถือหุ้น การออกหุ้นใหม่ หรือการขายทรัพย์สินเพื่อลดภาระหนี้สิน

5

ข้อมูลจ�ำแนกตามส่วนงาน กลุม่ บริษทั ด�ำเนินธุรกิจหลัก คือ พัฒนาและดูแลจัดการระบบท่อส่งน�ำ้ สายหลักในพืน้ ทีบ่ ริเวณชายฝัง่ ทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยมีส่วนงานที่รายงานแบ่งตามกิจกรรมทางธุรกิจ ซึ่งประกอบด้วย การจ�ำหน่ายน�้ำดิบ การผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปา การบริหาร กิจการประปา และงานวิศวกรรมบริการ ส�ำหรับกิจกรรมทางธุรกิจอื่นๆ เช่น การให้เช่าอาคารส�ำนักงาน จะแสดงรวมในรายการอื่นๆ กลุ่มบริษัทมีการด�ำเนินธุรกิจในส่วนงานทางภูมิศาสตร์เดียวคือ ประเทศไทยจึงไม่มีการน�ำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเขตภูมิศาสตร์

111 รายงานประจ�ำปี 2558

มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันจากโครงการผลประโยชน์และผลประโยชน์ระยะยาวอืน่ ขึน้ อยูก่ บั หลายปัจจัยทีใ่ ช้ในการค�ำนวณตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัยโดยมีข้อสมมติฐานหลายตัว เช่น อัตราเงินเฟ้อ อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือนพนักงาน อัตราการเพิ่มขึ้นของ ราคาทอง รวมถึงข้อสมมติฐานเกี่ยวกับอัตราคิดลด การเปลี่ยนแปลงของข้อสมมติฐานเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อมูลค่าของภาระผูกพัน โครงการผลประโยชน์และผลประโยชน์ระยะยาวอื่น กลุ่มบริษัทได้พิจารณาอัตราคิดลดที่เหมาะสม ซึ่งได้แก่อัตราดอกเบี้ยที่ควรจะ ใช้ในการก�ำหนดมูลค่าปัจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะต้องจ่ายภาระผูกพัน โดยใช้อัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเป็นสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินที่จะจ่ายภาระผูกพันให้แก่พนักงาน และวันครบก�ำหนดใกล้เคียงกับระยะเวลาที่ต้องช�ำระภาระผูกพัน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

3.3 ผลประโยชน์พนักงาน


5

ข้อมูลจ�ำแนกตามส่วนงาน (ต่อ) นโยบายบัญชีส�ำหรับส่วนงานด�ำเนินงานเป็นไปตามนโยบายบัญชีที่กล่าวไว้ในหัวข้อสรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ และกลุ่มบริษัทฯ บันทึกรายการขายและโอนระหว่างส่วนงานเช่นเดียวกับการขายและโอนให้แก่บคุ คลภายนอก ในการจัดสรรทรัพยากรและประเมินผล การปฏิบัติงานของส่วนงาน ผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูงสุดด้านการด�ำเนินงาน วัดผลการด�ำเนินงานของแต่ละส่วนงานโดยใช้ก�ำไรจากการ ด�ำเนินงานของส่วนงาน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ข้อมูลจ�ำแนกตามส่วนงานส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้

รายงานประจ�ำปี 2558

112

(หน่วย: พันบาท) ส่วนงานขาย ธุรกิจ ธุรกิจ การจ�ำหน่าย การจ�ำหน่าย น�้ำดิบ น�้ำประปา รายได้ รายได้จากภายนอก รายได้ระหว่างส่วนงาน รวมรายได้ ต้นทุนขายและบริการ ก�ำไรจากการด�ำเนินงานตามส่วนงาน รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ที่ไม่ได้ปันส่วน รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ ก�ำไรสุทธิ

2,898,665 28,921 2,927,586 (1,154,494) 1,773,092

1,203,623 1,203,623 (825,298) 378,325

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 ส่วนงานบริการ ธุรกิจ งาน การบริหาร วิศวกรรม กิจการประปา บริการ 89,643 224,892 314,535 (239,706) 74,829

อื่นๆ

86,473 88,410 4,471 86,473 92,881 (79,005) (68,800) 7,468 24,080

ตัดรายการ ระหว่างกัน

รวม

(258,283) (258,283) 258,283 -

4,366,814 4,366,814 (2,109,020) 2,257,794 292,012 (19,628) (438,983) (114,181) (385,775) 1,591,239

(หน่วย: พันบาท) ส่วนงานขาย ธุรกิจ ธุรกิจ การจ�ำหน่าย การจ�ำหน่าย น�้ำดิบ น�้ำประปา รายได้ รายได้จากภายนอก รายได้ระหว่างส่วนงาน รวมรายได้ ต้นทุนขายและบริการ ก�ำไรจากการด�ำเนินงานตามส่วนงาน รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ที่ไม่ได้ปันส่วน รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ ก�ำไรสุทธิ

2,768,376 42,356 2,810,732 (1,065,246) 1,745,486

1,049,290 1,049,290 (735,799) 313,491

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 ส่วนงานบริการ ธุรกิจ งาน การบริหาร วิศวกรรม กิจการประปา บริการ 267,538 206,435 473,973 (404,212) 69,761

อื่นๆ

75,093 81,943 4,823 75,093 86,766 (77,003) (69,006) (1,910) 17,760

ตัดรายการ ระหว่างกัน

รวม

(253,614) (253,614) 253,614 -

4,242,240 4,242,240 (2,097,652) 2,144,588 62,519 (14,147) (398,087) (121,226) (339,197) 1,334,450


5

ข้อมูลจ�ำแนกตามส่วนงาน (ต่อ) ข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้ารายใหญ่ กลุ่มบริษัทมีรายได้ส่วนใหญ่จากหน่วยงานที่อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาล ซึ่งเกิดจากส่วนงาน การจ�ำหน่ายน�้ำดิบ การจ�ำหน่าย น�้ำประปา และงานวิศวกรรมบริการ โดยมีรายได้ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 จ�ำนวน 2,740.8 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 2,419.9 ล้านบาท)

เงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร

- ประเภทกระแสรายวัน - ประเภทออมทรัพย์ - ประเภทฝากประจ�ำ หลักทรัพย์โดยมีข้อตกลงว่าจะซื้อคืน

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 635,627 544,045 1,390,035 3,000 159,189,798 52,309,920 150,002,809 2,782 60,000,000 311,218,269 112,859,747

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 131,626 90,045 1,385,035 97,594,140 30,371,295 150,002,809 2,782 60,000,000 249,113,610 90,464,122

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.35 - 1.65 ต่อปี (พ.ศ. 2557 : ร้อยละ 0.40 - 2.70 ต่อปี) เงินฝากธนาคารประเภทฝากประจ�ำมีอายุไม่เกิน 3 เดือน มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.30 - 1.80 ต่อปี (พ.ศ. 2557 : ร้อยละ 1.15 ต่อปี) หลักทรัพย์โดยมีข้อตกลงว่าจะซื้อคืนมีอายุครบก�ำหนดไม่เกิน 1 เดือน มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.95 ต่อปี

113

7

เงินลงทุนชั่วคราว

เงินลงทุนชั่วคราว ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

เงินฝากประจ�ำ เงินลงทุนเผื่อขาย รวม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 316,074,611 55,069,783 546,522,937 862,597,548 55,069,783

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 546,522,937 546,522,937 -

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 55,069,783 86,878,547 35,000,000 379,774,033 109,367,779 (153,769,205) (141,176,543) 316,074,611 55,069,783

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 -

7.1 เงินฝากประจ�ำ

ราคาตามบัญชีต้นปี การได้มาจากการซื้อธุรกิจ (หมายเหตุ 40) ลงทุนเพิ่มระหว่างปี ไถ่ถอนระหว่างปี ราคาตามบัญชีปลายปี

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

รายงานประจ�ำปี 2558

6


7

เงินลงทุนชั่วคราว (ต่อ)

7.1 เงินฝากประจ�ำ (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เงินฝากประจ�ำกับสถาบันการเงินทีม่ รี ะยะเวลาครบก�ำหนดเกิน 3 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี มีอตั ราดอกเบีย้ ร้อยละ 1.90 ถึงร้อยละ 3.15 ต่อปี (พ.ศ. 2557 : ร้อยละ 2.60 ถึงร้อยละ 3.15 ต่อปี)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

7.2 เงินลงทุนเผื่อขาย

ราคาตามบัญชีต้นปี ลงทุนเพิ่มระหว่างปี จ�ำหน่ายระหว่างปี เพิ่มขึ้นจากการวัดมูลค่ายุติธรรม ราคาตามบัญชีปลายปี

รายงานประจ�ำปี 2558

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 545,140,000 1,382,937 546,522,937 -

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 545,140,000 1,382,937 546,522,937 -

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 945,140,000 (400,000,000) 1,382,937 546,522,937

มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนเผื่อขายมีรายละเอียดดังนี้

ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ก�ำไรที่ยังไม่เกิดขึ้น มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม

114

-

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 945,140,000 (400,000,000) 1,382,937 546,522,937 -

เงินลงทุนเผื่อขายเป็นเงินลงทุนในกองทุนเปิด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนเผื่อขาย เป็นราคาเสนอ ซื้อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องส�ำหรับสินทรัพย์อย่างเดียวกันซึ่งเป็นข้อมูลระดับที่ 1 (หมายเหตุ 3.6)

8

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น รายได้ค่างานลดน�้ำสูญเสียรอรับช�ำระ จากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 34.2) ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า อื่นๆ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

394,769,548 18,700,336 4,440,444

381,656,399 11,401,566 5,507,372

260,330,609 727,473 -

272,889,485 1,112,416 -

23,495,717 5,757,915 447,163,960

20,808,156 1,214,892 420,588,385

17,189,760 4,566,087 282,813,929

15,512,362 838,450 290,352,713


ลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ลูกหนี้การค้าส่วนที่เรียกเก็บแล้ว - บุคคลภายนอก - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 34.2) รวมลูกหนี้การค้าส่วนที่เรียกเก็บแล้ว ลูกหนี้การค้าส่วนที่ยังไม่เรียกเก็บ - บุคคลภายนอก - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 34.2) รวมลูกหนี้การค้าส่วนที่ยังไม่เรียกเก็บ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

102,960,542 197,755,076 300,715,618

111,317,722 204,310,185 315,627,907

102,646,349 157,684,260 260,330,609

105,089,839 164,774,034 269,863,873

417,311 93,636,619 94,053,930 394,769,548

6,361,378 59,667,114 66,028,492 381,656,399

260,330,609

3,025,612 3,025,612 272,889,485

ลูกหนี้การค้า - ส่วนที่เรียกเก็บแล้วสามารถวิเคราะห์ตามอายุลูกหนี้ที่ค้างช�ำระได้ดังนี้

ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระ เกินก�ำหนดไม่เกิน 3 เดือน เกินก�ำหนด 3 - 6 เดือน เกินก�ำหนด 6 - 12 เดือน เกินก�ำหนดมากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 299,761,258 314,889,964 942,773 361,697 1,131 136,967 10,456 164,732 615,153 689,700 301,330,771 316,243,060 (615,153) (615,153) 300,715,618 315,627,907

ลูกหนี้อื่นสามารถวิเคราะห์ตามอายุลูกหนี้ที่ค้างช�ำระได้ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระ เกินก�ำหนดมากกว่า 12 เดือน

9

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 259,397,719 269,133,853 932,890 360,871 129,870 164,732 615,153 689,700 260,945,762 270,479,026 (615,153) (615,153) 260,330,609 269,863,873 (หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

18,700,336

971,566

727,473

1,112,416

-

10,430,000

-

-

18,700,336

11,401,566

727,473

1,112,416

สินค้าคงเหลือ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

อะไหล่และวัสดุสิ้นเปลือง

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

9,380,954

9,231,640

-

-

9,380,954

9,231,640

-

-

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น (ต่อ)

115 รายงานประจ�ำปี 2558

8


10 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

เมือ่ วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2557 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริหารและการลงทุนครัง้ ที่ 14/2557 ตามทีไ่ ด้รบั มอบอ�ำนาจจากคณะกรรมการ ของบริษทั มีมติให้จำ� หน่ายหุน้ ของบริษทั เสม็ดยูทลิ ติ สี้ ์ จ�ำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยให้กบั บริษทั เอกชนแห่งหนึง่ บริษทั จึงได้แสดงเงินลงทุน ดังกล่าวเป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายในงบการเงินเฉพาะบริษัท ต่อมาเมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2558 บริษัทได้ท�ำสัญญา จะซือ้ จะขายหุน้ ของบริษทั ย่อยดังกล่าวทัง้ หมดร้อยละ 55 จ�ำนวน 6.6 ล้านหุน้ ในราคาหุน้ ละ 4.85 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 32.0 ล้านบาท และเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2558 บริษัทได้จ�ำหน่ายและโอนหุ้นให้แก่บริษัทเอกชนดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 สินทรัพย์และหนี้สินของบริษัท เสม็ดยูทิลิตี้ส์ จ�ำกัด ซึ่งถูกจัดประเภทเป็นถือไว้เพื่อขายในงบการเงิน รวม มีจ�ำนวน 57.7 ล้านบาทและ 0.3 ล้านบาท ตามล�ำดับ

11 เงินลงทุนในบริษัทย่อย

รายการเคลื่อนไหวของเงินลงทุนในบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีดังนี้

ณ วันที่ 1 มกราคม จ�ำหน่ายเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดประเภทเป็นสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะบริษัท มีรายละเอียดดังนี้

116 รายงานประจ�ำปี 2558

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 510,000,000 543,749,985 (750,000) 510,000,000 542,999,985 (32,999,985) 510,000,000 510,000,000

งบการเงินเฉพาะบริษัท ทุนช�ำระแล้ว สัดส่วนการลงทุน มูลค่าเงินลงทุน พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ประเทศ ชื่อบริษัท ประเภทธุรกิจ ที่จดทะเบียน บริษทั ยูนเิ วอร์แซล ผลิตและจ�ำหน่าย ยูทลี ติ สี้ ์ จ�ำกัด (มหาชน) น�้ำประปา ประเทศไทย รวมเงินลงทุนในบริษทั ย่อย

ล้านบาท 510

ล้านบาท 510

ร้อยละ 100

ร้อยละ

บาท

บาท

เงินปันผลรับ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท

บาท

100 510,000,000 510,000,000 35,699,995 23,969,997 510,000,000 510,000,000 35,699,995 23,969,997

12 เงินลงทุนระยะยาวอื่น

ราคาตามบัญชีต้นปี จ�ำหน่ายระหว่างปี ราคาตามบัญชีปลายปี

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท จ�ำนวนหุ้น สัดส่วนการลงทุน มูลค่าเงินลงทุน พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 หุ้น หุ้น ร้อยละ ร้อยละ บาท บาท 5,479,140 5,479,140 15.88 15.88 91,470,300 91,470,300 (5,479,140) (15.88) - (91,470,300) 5,479,140 15.88 - 91,470,300


12 เงินลงทุนระยะยาวอื่น (ต่อ) บริษัทมีเงินลงทุนระยะยาวอื่น ซึ่งเป็นเงินลงทุนทั่วไปในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาด

เงินลงทุนทั่วไป - บริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด รวมเงินลงทุนระยะยาว

-

91,470,300 91,470,300

-

91,470,300 91,470,300

บริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตและขายน�้ำประปาให้แก่การประปาส่วนภูมิภาค เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2558 บริษัทจ�ำหน่ายเงินลงทุนในบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ทั้งหมดให้แก่บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) ในราคาหุ้นละ 58 บาท จ�ำนวน 5,479,140 หุ้น รวมเป็นเงิน 317.79 ล้านบาท และมีก�ำไรจากการจ�ำหน่ายเงินลงทุน แสดงรวมในรายได้อื่นในงบการเงินเฉพาะบริษัท จ�ำนวน 226.32 ล้านบาท เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2558 ของบริษัทได้มีมติอนุมัติให้บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) เข้าซื้อหุ้นสามัญของบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด จ�ำนวน 25,597,096 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 74.19 ของจ�ำนวนหุ้น ทัง้ หมดจากบริษทั เอ็กโก เอ็นจิเนียริง่ แอนด์ เซอร์วสิ จ�ำกัด รวมเป็นเงินทัง้ สิน้ 1,600.00 ล้านบาท และเมือ่ วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2558 บริษัทย่อยดังกล่าวได้เข้าซื้อหุ้นในบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด เป็นที่เรียบร้อยแล้วตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 40

13 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - สุทธิ (หน่วย: บาท)

ที่ดิน ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

งบการเงินรวม อาคารและส่วน ปรับปรุงอาคาร

รวม

47,388,642 47,388,642

235,108,855 (54,507,407) 180,601,448

282,497,497 (54,507,407) 227,990,090

47,388,642 635,906 48,024,548

180,601,448 6,247,460 (10,252,523) 176,596,385

227,990,090 6,883,366 (10,252,523) 224,620,933

48,024,548 48,024,548

241,356,314 (64,759,929) 176,596,385

289,380,862 (64,759,929) 224,620,933

48,024,548 48,024,548

176,596,385 1,535,582 (9,254,655) 168,877,312

224,620,933 1,535,582 (9,254,655) 216,901,860

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

117 รายงานประจ�ำปี 2558


13 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - สุทธิ (ต่อ) (หน่วย: บาท)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ที่ดิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ มูลค่ายุติธรรม

48,024,548 48,024,548 121,824,910

งบการเงินรวม อาคารและส่วน ปรับปรุงอาคาร 242,891,896 (74,014,584) 168,877,312 183,750,530

รวม 290,916,444 (74,014,584) 216,901,860 305,575,440

ค่าเสื่อมราคาจ�ำนวนเงิน 9.3 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 10.3 ล้านบาท) ได้รวมอยู่ในต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ (หน่วย: บาท)

ที่ดิน ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ ตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ ค่าเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ มูลค่ายุติธรรม

รายงานประจ�ำปี 2558

118

งบการเงินเฉพาะบริษัท อาคารและส่วน ปรับปรุงอาคาร

รวม

49,349,351 49,349,351

251,347,040 (58,272,052) 193,074,988

300,696,391 (58,272,052) 242,424,339

49,349,351 772,171 50,121,522

193,074,988 7,618,678 (171,819) (11,166,672) 189,355,175

242,424,339 8,390,849 (171,819) (11,166,672) 239,476,697

50,121,522 50,121,522

258,793,899 (69,438,724) 189,355,175

308,915,421 (69,438,724) 239,476,697

50,121,522 50,121,522

189,355,175 1,646,439 (9,919,107) 181,082,507

239,476,697 1,646,439 (9,919,107) 231,204,029

50,121,522 50,121,522 129,229,998

260,440,338 (79,357,831) 181,082,507 196,983,597

310,561,860 (79,357,831) 231,204,029 326,213,595

ค่าเสื่อมราคาจ�ำนวนเงิน 9.9 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 11.2 ล้านบาท) ได้รวมอยู่ในต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ


13 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - สุทธิ (ต่อ)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 รายได้ค่าเช่าและบริการอาคาร ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานโดยตรงที่เกิดจาก อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนซึ่งก่อให้เกิดรายได้ ค่าเช่าส�ำหรับงวด (อาคาร) ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานโดยตรงที่เกิดจาก อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนซึ่งไม่ได้ก่อให้เกิดรายได้ ค่าเช่าส�ำหรับงวด (ที่ดิน)

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

74,396,739

69,170,657

78,867,823

74,130,931

(61,113,219)

(62,050,192)

(61,113,219)

(62,050,192)

(375,979)

(203,536)

(375,979)

(203,536)

12,907,541

6,916,929

17,378,625

11,877,203

119 รายงานประจ�ำปี 2558

จ�ำนวนเงินที่เกี่ยวข้องกับอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ได้รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน ได้แก่

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ในปี พ.ศ. 2558 มูลค่ายุตธิ รรมของอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนได้มกี ารประเมินใหม่ โดยใช้รายงานของผูป้ ระเมินราคา ทีด่ นิ ประเมิน โดยใช้วิธีเปรียบเทียบราคาตลาด โดยน�ำราคาขายของที่ดินที่เปรียบเทียบกันได้ในบริเวณใกล้เคียงกันมาปรับปรุง ซึ่งเป็นมูลค่ายุติธรรม อยู่ในระดับ 2 ของล�ำดับชั้นมูลค่ายุติธรรม (หมายเหตุ 3.6) ส่วนอาคารและส่วนปรับปรุงอาคารประเมินโดยใช้วิธีรายได้ ซึ่งเป็นมูลค่า ยุติธรรมอยู่ในระดับ 3 ของล�ำดับชั้นมูลค่ายุติธรรม (หมายเหตุ 3.6) เนื่องจากใช้ข้อสมมติฐานที่ส�ำคัญจากข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ เช่น ค่าเช่าต่อตารางเมตร และประมาณการก�ำไรในอนาคต เป็นต้น


-

จ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ

ค่าเสื่อมราคา

ราคาตามบัญชี - สุทธิ

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม

ราคาทุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

427,049,159

-

427,049,159

427,049,159

-

โอนสินทรัพย์

ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

-

427,049,159

427,049,159

-

427,049,159

ที่ดิน

ซื้อสินทรัพย์

ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ราคาตามบัญชี - สุทธิ

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม

ราคาทุน

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557

14 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ

1,267,941,097

(225,787,237)

1,493,728,334

1,267,941,097

(37,358,523)

-

474,369,403

880,000

830,050,217

830,050,217

(188,428,714)

1,018,478,931

โรงสูบน�้ำ

333,272,013

(190,979,901)

524,251,914

333,272,013

(27,962,141)

(191,027)

5,166,346

3,887,329

352,371,506

352,371,506

(163,067,183)

515,438,689

อาคาร

รายงานประจ�ำปี 2558

8,398,886,813

9,109,167,346

6,984,658,929

(259,899,469)

(9,369,140)

685,009,603

50,836,958

6,518,080,977

6,518,080,977

127,590,151

6,984,658,929

(151,180,246) (2,124,508,417)

278,770,397

127,590,151

(24,319,680)

(189,258)

8,027,626

5,344,401

138,727,062

138,727,062

(127,330,758) (1,880,805,836)

266,057,820

เครื่องจักร และอุปกรณ์

งบการเงินรวม

45,476,852

(305,078,378)

350,555,230

45,476,852

(14,062,072)

(333,463)

7,865,865

9,545,846

42,460,676

42,460,676

(297,365,184)

339,825,860

อุปกรณ์ ส�ำนักงาน

428,941

(776,845)

1,205,786

428,941

(112,599)

-

รวม

(หน่วย: บาท)

1,776,409,663

(363,714,484)

(28,504,309)

2,561,361,171 11,747,778,313

- (2,998,311,024)

2,561,361,171 14,746,089,337

2,561,361,171 11,747,778,313

-

(18,421,421)

8,939,950

1,846,904,197

1,974,871,822 10,284,152,959

1,974,871,822 10,284,152,959

- (2,657,696,871)

1,974,871,822 12,941,849,830

งานระหว่าง ก่อสร้าง

- (1,171,498,893)

-

541,540

541,540

(699,196)

1,240,736

ยานพาหนะ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ส่วนปรับปรุง อาคารและ อาคารเช่า

120


495,937,159

-

495,937,159 1,244,829,585

(276,039,445)

1,520,869,030

1,244,829,585

(50,252,208)

-

25,918,296

1,222,400

-

1,267,941,097

โรงสูบน�้ำ

314,404,858

(210,870,605)

525,275,463

314,404,858

(19,890,704)

-

410,330

613,219

-

333,272,013

อาคาร

244,487,214 (22,534,958) (255,067,373) 6,985,612,899 9,364,356,028

1,855,408 (33,731) (23,006,933) 110,464,407 284,437,895

(173,973,488) (2,378,743,129) 6,985,612,899

(298,137,703)

30,691,452

4,059,512

110,464,407

337,486,050

3,377,635

-

39,348,347

39,348,347

(14,778,702)

(23,001)

181,274

6,969,559

1,522,365

45,476,852

6,984,658,929

127,590,151

อุปกรณ์ ส�ำนักงาน

เครื่องจักร และอุปกรณ์

ส่วนปรับปรุง อาคารและ อาคารเช่า

งบการเงินรวม

316,343

(886,644)

1,202,987

316,343

(112,598)

-

-

-

-

428,941

ยานพาหนะ

รายงานประจ�ำปี 2558

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

งานระหว่าง ก่อสร้าง

รวม

(หน่วย: บาท)

(363,108,518)

(36,467,949)

-

1,863,178,535

54,596,000

4,075,062,783 13,265,976,381

- (3,338,651,014)

4,075,062,783 16,604,627,395

4,075,062,783 13,265,976,381

-

(13,876,259)

(292,044,522)

1,819,622,393

-

2,561,361,171 11,747,778,313

ค่าเสื่อมราคาถูกบันทึกอยู่ในต้นทุนขายจ�ำนวน 345.2 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 314.1 ล้านบาท) และค่าใช้จ่ายในการบริหารจ�ำนวน 17.9 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 49.6 ล้านบาท)

ราคาตามบัญชี - สุทธิ

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม

ราคาทุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

495,937,159

-

ค่าเสื่อมราคา

ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

-

19,192,000

โอนสินทรัพย์

จ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ

-

49,696,000

การได้มาจากการซื้อธุรกิจ (หมายเหตุ 40)

ซื้อสินทรัพย์

427,049,159

ที่ดิน

ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

14 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ)

121


ราคาตามบัญชี - สุทธิ

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม

ราคาทุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

ค่าเสื่อมราคา

373,666,127

-

373,666,127

373,666,127

-

(772,170)

-

โอนสินทรัพย์

จ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ

-

374,438,297

374,438,297

-

374,438,297

ที่ดิน

ซื้อสินทรัพย์

ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ราคาตามบัญชี - สุทธิ

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม

ราคาทุน

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557

14 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ)

1,270,295,904

(226,292,754)

1,496,588,658

1,270,295,904

(36,886,466)

-

477,601,516

-

829,580,854

829,580,854

(189,406,288)

1,018,987,142

โรงสูบน�้ำ

321,677,822

(177,582,776)

499,260,598

321,677,822

(27,490,083)

(191,027)

5,166,346

3,887,329

340,305,257

340,305,257

(159,744,932)

500,050,189

อาคาร

รายงานประจ�ำปี 2558

8,315,642,148

8,983,422,352

6,924,486,650

(227,324,736)

(8,437,739)

659,314,456

16,988,394

6,483,946,275

6,483,946,275

117,210,101

6,924,486,650

(141,724,374) (2,058,935,702)

258,934,475

117,210,101

(23,124,009)

(177,077)

6,884,688

3,461,413

130,165,086

130,165,086

(120,626,594) (1,831,695,873)

250,791,680

เครื่องจักร และอุปกรณ์

งบการเงินเฉพาะบริษัท

35,077,649

(284,307,542)

319,385,191

35,077,649

(11,580,749)

(330,239)

2,518,630

7,584,404

36,885,603

36,885,603

(278,436,825)

315,322,428

อุปกรณ์ ส�ำนักงาน

398,338

(694,556)

1,092,894

398,338

(104,000)

-

รวม

(หน่วย: บาท)

1,745,883,790

(326,510,043)

(28,329,673)

2,549,924,677 11,592,737,268

- (2,889,537,704)

2,549,924,677 14,482,274,972

2,549,924,677 11,592,737,268

-

(18,421,421)

-

1,777,805,330

1,973,947,944 10,169,771,654

1,973,947,944 10,169,771,654

- (2,580,501,068)

1,973,947,944 12,750,272,722

งานระหว่าง ก่อสร้าง

- (1,151,485,636)

-

502,338

502,338

(590,556)

1,092,894

ยานพาหนะ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ส่วนปรับปรุง อาคาร

122


392,858,127

-

392,858,127 1,247,184,392

(276,544,962)

1,523,729,354

1,247,184,392

(50,252,208)

-

25,918,296

1,222,400

1,270,295,904

โรงสูบน�้ำ

303,344,154

(196,912,431)

500,256,585

303,344,154

(19,329,655)

-

410,330

585,657

321,677,822

อาคาร

(9,082,982) (242,824,983) 6,921,869,909 9,223,596,869

(22,265,557) 98,326,962 262,299,894

(163,972,932) (2,301,726,960) 6,921,869,909

(274,497,114)

227,327,705

1,380,000

98,326,962

302,959,223

21,963,519

2,002,418

28,462,109

28,462,109

(11,456,672)

(22,986)

181,274

4,682,844

35,077,649

6,924,486,650

117,210,101

อุปกรณ์ ส�ำนักงาน

เครื่องจักร และอุปกรณ์

ส่วนปรับปรุง อาคาร

งบการเงินเฉพาะบริษัท

294,338

(795,757)

1,090,095

294,338

(104,000)

-

-

-

398,338

ยานพาหนะ

รวม

(346,233,075)

(22,982,227)

-

1,843,477,049

4,074,659,024 13,066,999,015

- (3,214,450,156)

4,074,659,024 16,281,449,171

4,074,659,024 13,066,999,015

-

(13,876,259)

(274,409,605)

1,813,020,211

2,549,924,677 11,592,737,268

งานระหว่าง ก่อสร้าง

(หน่วย: บาท)

รายงานประจ�ำปี 2558

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ต้นทุนการกู้ยืมจ�ำนวน 131.9 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 103.2 ล้านบาท) เกิดจากเงินกู้ยืมที่ยืมมาเฉพาะเพื่อสร้างโครงการวางท่อ และระบบผลิตน�้ำประปา ได้บันทึกเป็นต้นทุนของสินทรัพย์รวมอยู่ในการซื้อสินทรัพย์ กลุ่มบริษัทใช้อัตราการตั้งขึ้นเป็นทุนตามอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่เกิดขึ้นจริงร้อยละ 1.95 - 4.75 (พ.ศ. 2557 : ร้อยละ 2.38 - 4.75)

รายการซือ้ ข้างต้นได้รวมการได้มาซึง่ สินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงินทีบ่ ริษทั เป็นผูเ้ ช่าจ�ำนวน 1.7 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริษทั มีสนิ ทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงินซึง่ เป็นอุปกรณ์สำ� นักงาน ราคาทุน และราคาตามบัญชีจ�ำนวน 8.4 ล้านบาท และ 4.1 ล้านบาท ตามล�ำดับ (พ.ศ. 2557 : 6.6 ล้านบาท และ 4.7 ล้านบาท ตามล�ำดับ)

ค่าเสื่อมราคาถูกบันทึกอยู่ในต้นทุนขายจ�ำนวน 317.2 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 291.8 ล้านบาท) และค่าใช้จ่ายในการบริหารจ�ำนวน 35.3 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 34.7 ล้านบาท)

ราคาตามบัญชี - สุทธิ

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม

ราคาทุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

392,858,127

-

ค่าเสื่อมราคา

ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

-

19,192,000

โอนสินทรัพย์

จ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ

-

373,666,127

ที่ดิน

ซื้อสินทรัพย์

ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

14 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ)

123


15 ค่าความนิยม

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

รายงานประจ�ำปี 2558

124

ณ วันที่ 1 มกราคม ราคาทุน หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ราคาตามบัญชีต้นงวด - สุทธิ การได้มาจากการซื้อธุรกิจ (หมายเหตุ 40) ราคาตามบัญชีปลายงวด - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ราคาทุน หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุทธิ

-

-

103,283,004 103,283,004

-

103,283,004 103,283,004

-

กลุม่ บริษทั มีการทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยม โดยมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของหน่วยสินทรัพย์ทกี่ อ่ ให้เกิดเงินสดพิจารณาจาก การค�ำนวณมูลค่าจากการใช้ การค�ำนวณดังกล่าวใช้ประมาณการกระแสเงินสดก่อนภาษีซงึ่ อ้างอิงจากงบประมาณทางการเงินครอบคลุม ระยะเวลาตลอดอายุของสัมปทานการผลิตน�้ำประปาที่ได้รับจากการซื้อธุรกิจที่เหลืออยู่ โดยมีข้อสมมติฐานที่ส�ำคัญคือปริมาณการ ซือ้ ขายน�ำ้ ประปาขัน้ ต�ำ่ คงทีแ่ ละอัตราค่าน�ำ้ ตามทีก่ ำ� หนดในสัญญาทีม่ อี ตั ราการเพิม่ ขึน้ คงที่ คิดจากค่าเฉลีย่ ดัชนีราคาผูบ้ ริโภคย้อนหลัง 10 ปี กลุ่มบริษัทใช้อัตราต้นทุนของเงินลงทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักก่อนภาษีร้อยละ 6.99 ต่อปีในการคิดลดกระแสเงินสดสุทธิที่ได้รับ ดังกล่าว

16 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม สิทธิในการให้บริการจาก โปรแกรม ข้อตกลงสัมปทาน คอมพิวเตอร์

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ ค่าตัดจ�ำหน่าย ขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

รวม

2,121,921,709 (616,099,507) (6,830,000) 1,498,992,202

41,602,831 (7,439,579) 34,163,252

2,163,524,540 (623,539,086) (6,830,000) 1,533,155,454

1,498,992,202 298,113,733 (111,469,716) (1,310,000) 1,684,326,219

34,163,252 12,045,709 (5,176,245) 41,032,716

1,533,155,454 310,159,442 (116,645,961) (1,310,000) 1,725,358,935


16 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ (ต่อ) (หน่วย: บาท)

2,421,345,442 (728,879,223) (8,140,000) 1,684,326,219

53,648,540 (12,615,824) 41,032,716

2,474,993,982 (741,495,047) (8,140,000) 1,725,358,935

1,684,326,219 2,192,000,000 95,684,549 (175,468,955) (720,000) 3,795,821,813

41,032,716 1,250,600 (6,208,229) 36,075,087

1,725,358,935 2,192,000,000 96,935,149 (181,677,184) (720,000) 3,831,896,900

4,709,029,991 (904,348,178) (8,860,000) 3,795,821,813

54,899,140 (18,824,053) 36,075,087

4,763,929,131 (923,172,231) (8,860,000) 3,831,896,900

ค่าตัดจ�ำหน่ายถูกบันทึกอยู่ในต้นทุนขายจ�ำนวนเงิน 176.6 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 112.1 ล้านบาท) และค่าใช้จ่ายในการบริหาร จ�ำนวนเงิน 5.1 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 4.5 ล้านบาท) ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 จ�ำนวน 8.9 ล้านบาท เกิดจากสิทธิในการให้บริการจากข้อตกลง สัมปทานประกอบกิจการประปาเกาะล้าน ซึ่งมีรายได้จากการขายน�้ำประปาลดลงจากแผนที่วางเอาไว้ เนื่องจากความต้องการของ ผู้ใช้น�้ำมีความไม่แน่นอน โดยมีแหล่งน�้ำธรรมชาติอื่นทดแทนการใช้น�้ำประปา (หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ ค่าตัดจ�ำหน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

41,602,831 (7,439,579) 34,163,252 34,163,252 12,045,709 (5,176,245) 41,032,716

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ การได้มาจากการซื้อธุรกิจ (หมายเหตุ 40) เพิ่มขึ้น ค่าตัดจ�ำหน่าย ขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

รวม

125 รายงานประจ�ำปี 2558

งบการเงินรวม สิทธิในการให้บริการจาก โปรแกรม ข้อตกลงสัมปทาน คอมพิวเตอร์


16 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ (ต่อ) (หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท โปรแกรมคอมพิวเตอร์

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ ค่าตัดจ�ำหน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

41,032,716 1,250,600 (6,208,229) 36,075,087 54,899,140 (18,824,053) 36,075,087

ค่าตัดจ�ำหน่ายถูกบันทึกอยู่ในต้นทุนขายจ�ำนวนเงิน 1.1 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 0.7 ล้านบาท) และค่าใช้จ่ายในการบริหารจ�ำนวนเงิน 5.1 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 4.5 ล้านบาท)

126 รายงานประจ�ำปี 2558

53,648,540 (12,615,824) 41,032,716

17 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี

สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่จะใช้ประโยชน์ ภายใน 12 เดือน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่จะใช้ประโยชน์ เกินกว่า 12 เดือน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่จะจ่ายช�ำระ ภายใน 12 เดือน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่จะจ่ายช�ำระ เกินกว่า 12 เดือน แสดงในงบแสดงฐานะการเงินได้ดังนี้ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี

7,810,957

422,131

5,136,337

422,131

35,285,303 43,096,260

26,351,568 26,773,699

14,672,103 19,808,440

13,658,418 14,080,549

276,587

-

276,587

-

440,765,643 441,042,230

56,527,755 56,527,755

44,329,494 44,606,081

34,359,983 34,359,983

23,287,820 421,233,790

12,693,150 42,447,206

24,797,641

20,279,434


17 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (ต่อ) ความเคลื่อนไหวของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (หน่วย: บาท)

ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 รายการที่บันทึกในก�ำไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 รายการที่บันทึกในก�ำไรขาดทุน รายการที่บันทึกในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

อาคารและ อุปกรณ์และ การด้อยค่า ของสินทรัพย์

364,571 364,571 6,560,437 6,925,008

4,511,442 953,488 5,464,930 1,997,161 7,462,091

ผลประโยชน์ พนักงาน 18,284,708 2,601,931 20,886,639 235,022 2,815,735 23,937,396

รายการอื่น 408 57,151 57,559 4,714,206 4,771,765

รวม 23,161,129 3,612,570 26,773,699 13,506,826 2,815,735 43,096,260 (หน่วย: บาท)

สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 รายการที่บันทึกในก�ำไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 การได้มาจากการซื้อธุรกิจ (หมายเหตุ 40) รายการที่บันทึกในก�ำไรขาดทุน รายการที่บันทึกในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

21,681,195 (1,521,312) 20,159,883 384,823,843 (8,547,575) 396,436,151

งบการเงินรวม ก�ำไรจากมูลค่า ยุตธิ รรมของ อาคารและอุปกรณ์ หลักทรัพย์เผือ่ ขาย 27,179,729 9,188,143 36,367,872 7,961,620 44,329,492

276,587 276,587

รวม 48,860,924 7,666,831 56,527,755 384,823,843 (585,955) 276,587 441,042,230 (หน่วย: บาท)

ค่าเผื่อหนี้สงสัย จะสูญ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 รายการที่บันทึกในก�ำไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 รายการที่บันทึกในก�ำไรขาดทุน รายการที่บันทึกในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

364,571 364,571 364,571

งบการเงินเฉพาะบริษัท ผลประโยชน์ พนักงาน รายการอืน่ 12,059,031 1,599,387 13,658,418 1,245,613 (231,927) 14,672,104

408 57,152 57,560 4,714,205 4,771,765

รวม 12,424,010 1,656,539 14,080,549 5,959,818 (231,927) 19,808,440

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

งบการเงินรวม

127 รายงานประจ�ำปี 2558


17 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี (ต่อ)

(หน่วย: บาท)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

อาคารและอุปกรณ์

รายงานประจ�ำปี 2558

128

หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 รายการที่บันทึกในก�ำไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 รายการที่บันทึกในก�ำไรขาดทุน รายการที่บันทึกในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

งบการเงินเฉพาะบริษัท ก�ำไรจากมูลค่ายุติธรรม ของหลักทรัพย์เผื่อขาย

25,608,616 8,751,367 34,359,983 9,969,511 44,329,494

18 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

เงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า เงินค่ามัดจ�ำและเงินประกัน ลูกหนี้อื่น ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - ลูกหนี้อื่น อื่นๆ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 469,640,301 678,298,969 31,033,992 2,099,373 20,753,197 19,974,084 32,802,184 24,180,702 (32,802,184) 479,878 479,914 521,907,368 725,033,042

รวม

276,587 276,587

25,608,616 8,751,367 34,359,983 9,969,511 276,587 44,606,081

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 469,640,301 651,648,469 18,603,670 18,806,521 28,065 28,125 488,272,036 670,483,115

ลูกหนี้อื่นจ�ำนวน 32.8 ล้านบาทเป็นลูกหนี้ระหว่างบริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) กับบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง เกี่ยวกับ การเรียกเก็บค่าปรับจากการส่งมอบน�้ำประปาไม่ถึงปริมาณขั้นต�่ำ (31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 แสดงเป็นลูกหนี้อื่นในลูกหนี้การค้าและ ลูกหนี้อื่น จ�ำนวน 10.4 ล้านบาท และในสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นจ�ำนวน 24.2 ล้านบาท) เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2558 คณะกรรมการของบริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) มีมติอนุมัติให้บันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจ�ำนวนส�ำหรับหนี้ ของบริษัทเอกชนที่ค้างอยู่ทั้งหมดจ�ำนวน 32.8 ล้านบาท เนื่องจากมีการยกเลิกสัญญาการซื้อน�้ำดิบกับบริษัทเอกชนรายดังกล่าว ในระหว่างปีและมีแนวโน้มว่าอาจจะไม่ได้รับช�ำระหนี้

19 เงินกู้ยืม งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 รายการหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ส่วนของเงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงก�ำหนด ช�ำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน รวมเงินกู้ยืมส่วนที่หมุนเวียน รายการไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุ้นกู้ รวมเงินกู้ยืมส่วนที่ไม่หมุนเวียน รวมเงินกู้ยืม

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

1,600,000,000

233,000,000

-

139,000,000

752,200,000 2,352,200,000

563,280,000 796,280,000

560,000,000 560,000,000

454,000,000 593,000,000

4,008,800,000 2,396,822,358 6,405,622,358 8,757,822,358

4,648,721,206 4,648,721,206 5,445,001,206

3,240,000,000 2,396,822,358 5,636,822,358 6,196,822,358

4,114,000,000 4,114,000,000 4,707,000,000


งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 233,000,000 1,600,000,000 1,600,000,000 233,000,000

ตั๋วสัญญาใช้เงิน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 139,000,000 139,000,000

บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) มีเงินกู้ยืมกับสถาบันการเงิน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเข้าซื้อหุ้นสามัญของบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด เงินกู้มีก�ำหนดช�ำระคืนภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ท�ำสัญญา และมีอัตราดอกเบี้ย BIBOR+อัตราร้อยละคงที่ต่อปี 19.2 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน การเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินในระหว่างปีมีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 5,212,001,206 4,410,361,206 4,773,000,000 1,384,000,000 (5,224,001,206) (582,360,000) 4,761,000,000 5,212,001,206

ณ วันที่ 1 มกราคม บวก เพิ่มขึ้น หัก ลดลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 4,568,000,000 3,752,000,000 3,812,000,000 1,320,000,000 (4,580,000,000) (504,000,000) 3,800,000,000 4,568,000,000

ในระหว่างปีบริษัทได้ท�ำสัญญาเปลี่ยนแปลงเจ้าหนี้เงินกู้จากสถาบันการเงินแห่งหนึ่งไปยังสถาบันการเงินอีกแห่งหนึ่ง ส�ำหรับเงินกู้ เงินต้นจ�ำนวน 2,000 ล้านบาท โดยมีอัตราดอกเบี้ยที่ลดลง วงเงิน ล้านบาท

วงเงินกู้ที่ยังมิได้เบิกใช้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

ส่วนของบริษัท ก) 1,000.0 ข) 1,700.0 ค) 1,520.0 595.0 ง) 975.0 37.0 จ) 1,215.0 841.0 ฉ) 2,900.0 1,875.0 ช) 800.0 ซ) 2,000.0 ฌ) 1,000.0 ญ) 1,700.0 1,700.0 ส่วนของบริษัทย่อย ก) 474.4 214.4 ข) 525.6 ค) 317.0 ง) 644.0 รวม 16,771. 0 1,700.0 3,562.4 หัก ส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินสุทธิจากส่วนที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี

800.0 2,000.0 1,000.0 -

137.3 1,168.7 925.0 938.0 374.0 1,025.0 -

800.0 2,000.0 1,000.0 -

137.3 1,168.7 925.0 938.0 374.0 1,025.0 -

317.0 644.0 4,761.0 (752.2) 4,008.8

363.7 280.3 5,212.0 (563.3) 4,648.7

3,800.0 (560.0) 3,240.0

4,568.0 (454.0) 4,114.0

129 รายงานประจ�ำปี 2558

19.1 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

19 เงินกู้ยืม (ต่อ)


1,000.0

1,700.0

1,520.0

975.0

1,215.0

2,900.0

ก)

ข)

ค)

ง)

จ)

ฉ)

วัตถุประสงค์

ลงทุนในการก่อสร้างระบบท่อส่งน�้ำดิบ

7 กรกฏาคม พ.ศ. 2557 ลงทุนในการก่อสร้างระบบท่อส่งน�้ำ

21 กันยายน พ.ศ. 2555 ลงทุนในโครงการพัฒนาสระเก็บน�้ำดิบ คลองทับมา

16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ลงทุนในโครงการระบบสูบส่งน�ำ้ บางพระ

23 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ลงทุนในโครงการพัฒนาสระเก็บน�้ำดิบ คลองทับมา

25 สิงหาคม พ.ศ. 2552

22 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ลงทุนตามโครงการปรับปรุงระบบท่อส่ง น�้ำดิบ

วันท�ำสัญญา

เงินกู้ยืมระยะยาวของบริษัท

วงเงินกู้ (ล้านบาท)

เงินกู้ยืมระยะยาวของบริษัทและบริษัทย่อยที่ได้รับจากสถาบันการเงินมีรายละเอียดดังนี้

19.2 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (ต่อ)

19 เงินกู้ยืม (ต่อ)

รายงานประจ�ำปี 2558

10 ปี

10 ปี

10 ปี

10 ปี

10 ปี

7 ปี

ระยะเวลา

อัตราดอกเบี้ย

- ปีที่ 1 ถึง ปีที่ 3 อัตราดอกเบี้ยร้อยละคงที่ต่อปี - ปีที่ 4 ถึง ปีที่ 10 อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 6 เดือน บวกอัตราร้อยละคงที่ต่อปี

- ปีที่ 1 ถึง ปีที่ 3 อัตราดอกเบี้ยร้อยละคงที่ต่อปี - ปีที่ 4 ถึง ปีที่ 10 อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 6 เดือน บวกอัตราร้อยละคงที่ต่อปี

- ปีที่ 1 ถึง ปีที่ 3 อัตราดอกเบี้ยร้อยละคงที่ต่อปี - ปีที่ 4 เป็นต้นไป คิดอัตราดอกเบี้ย MLR ลบด้วย อัตราร้อยละคงที่ต่อปี

- ปีที่ 1 ถึง ปีที่ 3 อัตราดอกเบี้ยร้อยละคงที่ต่อปี - ปีที่ 4 ถึง ปีที่ 10 อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจ�ำ 6 เดือน บวกอัตราร้อยละคงที่ต่อปี

- ปีที่ 1 ถึง ปีที่ 4 อัตราดอกเบี้ยร้อยละคงที่ต่อปี - ปีที่ 5 ถึง ปีที่ 10 อัตราร้อยละของ MLR ลบอัตรา ร้อยละคงที่ต่อปี

การช�ำระคืนเงินต้นคงเหลือ

จ่ายช�ำระเงินกู้ที่เหลืออยู่ทั้งจ�ำนวนแล้ว เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2558

จ่ายช�ำระเงินกู้ที่เหลืออยู่ทั้งจ�ำนวนแล้ว เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2558

จ่ายช�ำระเงินกู้ที่เหลืออยู่ทั้งจ�ำนวนแล้ว เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2558

จ่ายช�ำระเงินกู้ที่เหลืออยู่ทั้งจ�ำนวนแล้ว เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2558

จ่ายช�ำระเงินกู้ที่เหลืออยู่ทั้งจ�ำนวนแล้ว เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2558

จ่ายช�ำระเงินกู้ที่เหลืออยู่ทั้งจ�ำนวนแล้ว เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2558

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

- ปีที่ 1 อัตราดอกเบี้ยร้อยละคงที่ต่อปี - ปีที่ 2 ถึง ปีที่ 7 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ THBFIX บวกส่วนต่างที่ก�ำหนด

130


800.0

2,000.0

1,000.0

1,700.0

ช)

ซ)

ฌ)

ญ)

วงเงินกู้ (ล้านบาท)

ลงทุนในการก่อสร้างระบบท่อส่งน�้ำ

ช�ำระคืนเงินกู้ยืมที่มีอยู่เดิม

ลงทุนในการก่อสร้างระบบท่อส่งน�้ำ

วัตถุประสงค์

รายงานประจ�ำปี 2558

12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ลงทุนในการก่อสร้างระบบท่อส่งน�้ำ

5 มิถุนายน พ.ศ. 2558

20 มีนาคม พ.ศ. 2558

20 มีนาคม พ.ศ. 2558

วันท�ำสัญญา

เงินกู้ยืมระยะยาวของบริษัท (ต่อ)

19.2 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (ต่อ)

19 เงินกู้ยืม (ต่อ)

10 ปี

10 ปี

5 ปี

5 ปี

ระยะเวลา

ช�ำระคืนเงินต้น รวม 9 งวด โดยเริ่มช�ำระ งวดแรกในวันที่ 5 มิถุนายน 2560 - งวดที่ 1 ถึงงวดที่ 2 งวดละ 56 ล้านบาท - งวดที่ 3 ถึงงวดที่ 4 งวดละ 74 ล้านบาท - งวดที่ 5 ถึงงวดที่ 6 งวดละ 148 ล้านบาท - งวดที่ 7 เท่ากับ 166.50 ล้านบาท - งวดที่ 8 เท่ากับ 185 ล้านบาท - งวดที่ 9 เท่ากับ 92 ล้านบาท

- อัตราดอกเบี้ยร้อยละคงที่ต่อปี

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

- อัตราดอกเบี้ย BIBOR 6 เดือน บวกร้อยละคงที่ต่อปี ช�ำระคืนเงินต้น รวม 17 งวด โดยเริ่มช�ำระ งวดแรก ณ สิ้นปีที่ 2 หลังจากเบิกถอนเงินกู้ งวดแรก (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ยังไม่มี การเบิกถอน) - งวดที่ 1 ถึงงวดที่ 4 งวดละ 47.50 ล้านบาท - งวดที่ 5 ถึงงวดที่ 8 งวดละ 62.50 ล้านบาท - งวดที่ 9 ถึงงวดที่ 16 งวดละ 126.25 ล้านบาท และงวดสุดท้าย 250 ล้านบาท

ช�ำระคืนเงินต้น รวม 5 งวด โดยเริ่มช�ำระ งวดแรกในวันที่ 23 มีนาคม 2559 - งวดที่ 1 ถึงงวดที่ 5 งวดละ 400 ล้านบาท

- อัตราดอกเบี้ยร้อยละคงที่ต่อปี

การช�ำระคืนเงินต้นคงเหลือ ช�ำระคืนเงินต้น รวม 5 งวด โดยเริ่มช�ำระ งวดแรกในวันที่ 23 มีนาคม 2559 - งวดที่ 1 ถึงงวดที่ 5 งวดละ 160 ล้านบาท

อัตราดอกเบี้ย - อัตราดอกเบี้ยร้อยละคงที่ต่อปี

131


525.6

317.0

644.0

ข)

ค)

ง)

วัตถุประสงค์

8 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ช�ำระคืนเงินกู้ยืมที่มีอยู่เดิม

12 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ช�ำระคืนเงินกู้ยืมที่มีอยู่เดิม

21 กันยายน พ.ศ. 2555 เพื่อโครงการลงทุน

21 กันยายน พ.ศ. 2555 เพื่อโครงการลงทุน

วันท�ำสัญญา

5 ปี

5 ปี

10 ปี

10 ปี

ระยะเวลา

- อัตราดอกเบี้ยร้อยละคงที่ต่อปี

- อัตราดอกเบี้ยร้อยละคงที่ต่อปี

- ปีที่ 1 ถึง ปีที่ 3 อัตราดอกเบี้ยร้อยละคงที่ต่อปี - ปีที่ 4 เป็นต้นไป อัตราร้อยละของ MLR ลบอัตรา ร้อยละคงที่ต่อปี

- ปีที่ 1 ถึง ปีที่ 3 อัตราดอกเบี้ยร้อยละคงที่ต่อปี - ปีที่ 4 เป็นต้นไป อัตราร้อยละของ MLR ลบอัตรา ร้อยละคงที่ต่อปี

อัตราดอกเบี้ย

การช�ำระคืนเงินต้นคงเหลือ

ช�ำระคืนเงินต้นทุกปี รวม 5 งวด งวดละเท่าๆ กัน โดยเริ่มช�ำระงวดแรกในวันที่ 10 มิถุนายน 2559 ให้เสร็จสิ้นภายใน 5 ปี

ช�ำระคืนเงินต้นทุกปี รวม 5 งวด งวดละเท่าๆ กัน โดยเริ่มช�ำระงวดแรกในวันที่ 12 มิถุนายน 2559 ให้เสร็จสิ้นภายใน 5 ปี

จ่ายช�ำระเงินกู้ที่เหลืออยู่ทั้งจ�ำนวนแล้ว เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2558

จ่ายช�ำระเงินกู้ที่เหลืออยู่ทั้งจ�ำนวนแล้ว เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2558

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ในระหว่างปี 2558 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) ไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินที่ให้ด�ำรงอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) มีหนังสือแจ้ง ไปยังธนาคารขอผ่อนผันเงื่อนไขทางการเงินดังกล่าว และธนาคารได้มีหนังสือลงวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ยกเว้นการด�ำรงอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2559

เงินกู้ยืมระยะยาวของกลุ่มบริษัทเป็นประเภทไม่มีหลักประกัน ซึ่งกลุ่มบริษัทต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินต่างๆ รวมถึงการด�ำรงอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไม่เกิน 2 เท่าและการด�ำรงอัตราส่วน Debt Service Coverage Ratio ไม่ต�่ำกว่า 1.10 เท่า อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เฉลี่ย ปี 2558 เท่ากับร้อยละ 3.97

474.4

ก)

วงเงินกู้ (ล้านบาท)

เงินกู้ยืมระยะยาวของบริษัทย่อย - บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน)

19.2 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (ต่อ)

19 เงินกู้ยืม (ต่อ)

รายงานประจ�ำปี 2558

132


19 เงินกู้ยืม (ต่อ) 19.3 หุ้นกู้

หุ้นกู้ชุดที่ 1 ชื่อว่า “หุ้นกู้ของบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2558 ชุดที่ 1 ครบก�ำหนด ไถ่ถอนปี พ.ศ. 2565” (“หุน้ กูช้ ดุ ที่ 1”) มีอตั ราดอกเบีย้ คงทีเ่ ท่ากับร้อยละ 3.84 ต่อปี มูลค่าเสนอขายหุน้ กูช้ ดุ ที่ 1 รวม 1,200 ล้านบาท ก�ำหนดจ่ายดอกเบี้ยทุกๆ 6 เดือน คือ 16 มิถุนายน และ 16 ธันวาคม หุ้นกู้ชุดที่ 2 ชื่อว่า “หุ้นกู้ของบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2558 ชุดที่ 2 ครบก�ำหนด ไถ่ถอนปี พ.ศ. 2568” (“หุน้ กูช้ ดุ ที่ 2”) มีอตั ราดอกเบีย้ คงทีเ่ ท่ากับร้อยละ 4.18 ต่อปี มูลค่าเสนอขายหุน้ กูช้ ดุ ที่ 2 รวม 1,200 ล้านบาท ก�ำหนดจ่ายดอกเบี้ยทุกๆ 6 เดือน คือ 16 มิถุนายน และ 16 ธันวาคม

20 เจ้าหนี้การค้า

133

21 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

จ�ำนวนเงินขั้นต�่ำที่ต้องจ่ายซึ่งบันทึกเป็นหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน มีดังต่อไปนี้

ครบก�ำหนดภายในไม่เกิน 1 ปี ครบก�ำหนดเกิน 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี หัก ค่าใช้จ่ายทางการเงินในอนาคตของ สัญญาเช่าการเงิน มูลค่าปัจจุบันของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 3,169,794 2,584,794 1,885,348 3,446,392 5,055,142 6,031,186 (356,606) 4,698,536

(886,451) 5,144,735

มูลค่าปัจจุบันของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินมีรายละเอียดดังนี้

ครบก�ำหนดภายในไม่เกิน 1 ปี (ส่วนหมุนเวียน) ครบก�ำหนดเกิน 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี (ส่วนไม่หมุนเวียน)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 2,856,313 2,008,414 1,842,223 3,136,321 4,698,536 5,144,735

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 3,169,794 2,584,794 1,885,348 3,446,392 5,055,142 6,031,186 (356,606) 4,698,536

(886,451) 5,144,735

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 2,856,313 2,008,414 1,842,223 3,136,321 4,698,536 5,144,735

รายงานประจ�ำปี 2558

บุคคลภายนอก กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 34.2)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 109,978,723 111,877,388 23,951,632 18,125,257 133,930,355 130,002,645

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 83,569,041 85,274,912 21,311,843 26,325,054 104,880,884 111,599,966

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2558 บริษัทได้เสนอขายหุ้นกู้ครั้งที่ 1/2558 ประเภทไม่ด้อยสิทธิ และไม่มีหลักประกัน โดยเสนอขาย ให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันและหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ จ�ำนวน 2 ชุด มูลค่า 2,400 ล้านบาท มีมูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท โดยแบ่ง หุ้นกู้ออกเป็น 2 ชุด ดังนี้


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

22 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

รายงานประจ�ำปี 2558

134

โบนัสค้างจ่าย ค่าตอบแทนโครงการค้างจ่าย ค่าสาธารณูปโภคค้างจ่าย อื่นๆ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 77,684,868 71,385,580 55,199,655 33,997,407 19,184,061 18,493,691 23,122,376 31,166,589 175,190,960 155,043,267

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 53,462,938 47,841,666 55,199,655 33,997,407 9,602,014 17,135,525 118,264,607 98,974,598

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

23 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน

งบแสดงฐานะการเงิน โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น หนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน ก�ำไรหรือขาดทุน โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น การวัดมูลค่าใหม่ส�ำหรับ โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน

115,851,824 3,835,158 119,686,982

100,120,901 4,312,296 104,433,197

71,565,422 1,795,104 73,360,526

65,583,389 2,708,702 68,292,091

12,907,539 1,844,810 14,752,349

12,843,264 923,525 13,766,789

8,415,109 489,985 8,905,094

8,098,076 574,203 8,672,279

14,078,676 14,078,676

-

(1,159,634) (1,159,634)

-

23.1 โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน โครงการเป็นโครงการเกษียณอายุ ตามอัตราเงินเดือนเดือนสุดท้ายซึ่งให้ผลประโยชน์แก่สมาชิกในรูปการประกันระดับเงินเกษียณอายุ ที่จะได้รับ โดยผลประโยชน์ที่ให้จะขึ้นอยู่กับระยะเวลาการท�ำงานและเงินเดือนในปีสุดท้ายของสมาชิกก่อนที่จะเกษียณอายุ จ�ำนวนที่รับรู้ในงบแสดงฐานะการเงิน มีดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

มูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์

115,851,824

100,120,901

71,565,422

65,583,389

หนี้สินที่รับรู้ในงบแสดงฐานะการเงิน

115,851,824

100,120,901

71,565,422

65,583,389


23 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน (ต่อ) รายการเคลื่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานระหว่างปีมีดังนี้

ณ วันที่ 1 มกราคม ต้นทุนบริการปัจจุบัน ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย การวัดมูลค่าใหม่ ผลก�ำไรและขาดทุนที่เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงข้อสมมติด้านประชากรศาสตร์ ผลก�ำไรและขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงข้อสมมติทางการเงิน ผลก�ำไรและขาดทุนที่เกิดจากประสบการณ์ ผลประโยชน์ที่จ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 100,120,901 87,840,407 8,881,352 9,096,578 4,026,187 3,746,686

1,755,348

-

1,755,348

-

10,330,369 1,992,959 (11,255,292) 115,851,824

(562,770) 100,120,901

5,970,077 (8,885,059) (1,273,442) 71,565,422

(562,770) 65,583,389

สมมติฐานหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยมีดังนี้

อัตราคิดลด อัตราเงินเฟ้อ อัตราการขึ้นเงินเดือน

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 65,583,389 58,048,083 5,714,465 5,626,389 2,700,644 2,471,687

(หน่วย : ร้อยละต่อปี) พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 3.3 4.1 3.0 3.5 0.0 - 10.0 0.0 - 10.0

ผลกระทบต่อภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน การเพิ่มขึ้น/ (ลดลง) ของภาระ การเปลีย่ นแปลงในข้อสมมติ ผูกพัน (บาท) อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือน

เพิ่มขึ้นร้อยละ 1

(7,349,170)

ลดลงร้อยละ 1

8,630,255

เพิ่มขึ้นร้อยละ 1

8,292,316

ลดลงร้อยละ 1

(7,233,431)

การวิเคราะห์ความอ่อนไหวข้างต้นนีอ้ า้ งอิงจากการเปลีย่ นแปลงข้อสมมติ ขณะทีใ่ ห้ขอ้ สมมติอนื่ คงที่ ในทางปฏิบตั สิ ถานการณ์ดงั กล่าว ยากที่จะเกิดขึ้น และการเปลี่ยนแปลงในข้อสมมติอาจมีความสัมพันธ์กัน ในการค�ำนวณการวิเคราะห์ความอ่อนไหวของภาระผูกพัน ผลประโยชน์ที่ก�ำหนดไว้ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงในข้อสมมติหลักได้ใช้วิธีเดียวกับการค�ำนวณผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน ที่รับรู้ในงบแสดงฐานะการเงิน (วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method))

135 รายงานประจ�ำปี 2558

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

23.1 โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน (ต่อ)


23 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน (ต่อ) 23.2 ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น

จ�ำนวนที่รับรู้ในงบแสดงฐานะการเงิน มีดังนี้

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 มูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันผลประโยชน์ ระยะยาวอื่น หนี้สินที่สุทธิรับรู้ในงบแสดงฐานะการเงิน

รายงานประจ�ำปี 2558

4,312,296 4,312,296

รายการเคลื่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์ระยะยาวอื่นระหว่างปีมีดังนี้

ณ วันที่ 1 มกราคม ต้นทุนบริการปัจจุบัน ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ต้นทุนบริการในอดีต การวัดมูลค่าใหม่ ผลก�ำไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง ข้อสมมติด้านประชากรศาสตร์ ผลก�ำไรและขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการ เปลี่ยนแปลงข้อสมมติทางการเงิน ผลก�ำไรและขาดทุนที่เกิดจากประสบการณ์ ผลประโยชน์ที่จ่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม

136

3,835,158 3,835,158

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 4,312,296 3,583,136 853,508 793,875 142,202 129,650 849,099 -

1,795,104 1,795,104

2,708,702 2,708,702

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 2,708,702 2,247,072 493,934 491,618 93,945 82,585 (97,892) -

64,904

-

64,904

-

(768,538) (1,330,280) (288,033) 3,835,158

(194,365) 4,312,296

(475,868) (786,138) (206,483) 1,795,104

(112,573) 2,708,702

พ.ศ. 2558 18,950 บาท ร้อยละ 6.0

พ.ศ. 2557 24,500 บาท ร้อยละ 6.0

สมมติฐานหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยมีดังนี้ ราคาทอง อัตราการเพิ่มขึ้นของราคาทองค�ำ

24 ประมาณการหนี้สินระยะยาว

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 การได้มาจากการซื้อธุรกิจ (หมายเหตุ 40) ประมาณการหนี้สินส่วนที่เพิ่มขึ้น การรับรู้ค่าของเงินตามระยะเวลา ประมาณการหนี้สินที่ใช้ไประหว่างงวด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม ภาระผูกพันตามสัญญา ข้อตกลงสัมปทานบริการ 13,239,626 7,443,243 9,991,131 1,912,753 (5,705,719) 26,881,034


214,424,014

58,000 184,212,408

173,053,101

58,000 143,988,238

26 ทุนเรือนหุ้น ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 การออกหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 การออกหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

จ�ำนวนหุ้น 1,663,725,149 1,663,725,149 1,663,725,149

หุ้นสามัญ ส่วนเกินมูลค่าหุน้ 1,663,725,149 2,138,522,279 1,663,725,149 2,138,522,279 1,663,725,149 2,138,522,279

(หน่วย: บาท) รวม 3,802,247,428 3,802,247,428 3,802,247,428

หุ้นสามัญจดทะเบียนทั้งหมดมีราคามูลค่าหุ้นละ 1 บาท (พ.ศ. 2557 : 1 บาท) หุ้นทั้งหมดได้ออกและช�ำระเต็มมูลค่าแล้ว

27 ทุนส�ำรองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทต้องจัดสรรก�ำไรสุทธิประจ�ำปีส่วนหนึ่ง ไว้เป็นทุนส�ำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปี หักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนส�ำรองนี้จะมีจ�ำนวน ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ส�ำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถน�ำไปจ่ายเป็นเงินปันผลได้ บริษทั ได้จดั สรรทุนส�ำรอง ตามกฎหมายไว้ครบถ้วนแล้ว

28 องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

ณ วันที่ 1 มกราคม ทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้า ผลก�ำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 24,959,578 28,357,101 (3,397,523) (3,397,523) 1,106,350 22,668,405 24,959,578

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 24,959,578 28,357,101 (3,397,523) (3,397,523) 1,106,350 22,668,405 24,959,578

ทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้า เป็นระบบท่อส่งน�้ำและมาตรวัดน�้ำ ซึ่งบริษัทได้รับโอนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 ตามสัญญาวางท่อส่งน�้ำดิบ และติดตั้งเป็นผู้ใช้น�้ำ บริษัทบันทึกเป็นที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ในองค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้นและทยอยรับรู้เป็นรายได้ ตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์

137 รายงานประจ�ำปี 2558

เงินประกันผลงาน เงินประกันการเช่ารับจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 34.2)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 214,424,014 173,053,101

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 184,154,408 143,930,238

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

25 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น


29 เงินปันผลจ่าย

เงินปันผลที่ประกาศจ่ายในระหว่างปี มีดังนี้ อนุมัติโดย ปี พ.ศ. 2558 เงินปันผลส�ำหรับปี พ.ศ. 2557

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

เงินปันผลระหว่างกาลจาก ผลการด�ำเนินงานส�ำหรับงวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2558

วันที่จ่ายเงินปันผล

399.3

0.24

26 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

366.0

0.22

17 กันยายน พ.ศ. 2558

765.3 อนุมัติโดย ปี พ.ศ. 2557 เงินปันผลส�ำหรับปี พ.ศ. 2556 เงินปันผลระหว่างกาลจาก ผลการด�ำเนินงานส�ำหรับงวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2557

ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2557 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2557

เงินปันผลรวม เงินปันผลต่อหุน้ ล้านบาท บาท

วันที่จ่ายเงินปันผล

366.0

0.22

21 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

349.4

0.21

26 กันยายน พ.ศ. 2557

715.4

30 รายได้อื่น

รายงานประจ�ำปี 2558

138

ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2558

เงินปันผลรวม เงินปันผลต่อหุน้ ล้านบาท บาท

รายได้ดอกเบี้ย รายได้เงินปันผล ก�ำไรจากการจ�ำหน่ายเงินลงทุนระยะยาวอื่น ก�ำไรจากการวัดมูลค่ายุติธรรมของส่วนได้เสีย ซึ่งถืออยู่ก่อนวันรวมธุรกิจ อื่นๆ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 8,769,306 6,364,488 23,669,885 24,486,277 -

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 10,392,443 915,278 48,247,226 48,456,273 226,319,820 -

226,319,820 33,252,889 292,011,900

22,092,389 307,051,878

31,668,838 62,519,603

29,570,280 78,941,831

31 ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

รายการค่าใช้จ่ายตามลักษณะที่ส�ำคัญได้แก่

เงินเดือน ค่าแรงและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าเช่าจ่าย วัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป ค่าไฟฟ้า ซื้อน�้ำดิบ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 288,733,409 272,129,433 548,911,070 445,173,679 104,776,678 85,548,341 25,854,764 22,728,946 657,381,004 609,119,010 214,365,417 186,450,309

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 186,519,032 176,463,996 357,244,243 331,631,477 83,275,710 64,977,656 499,039,027 450,222,432 141,301,297 149,994,680


รายการค่าใช้จ่ายตามลักษณะที่ส�ำคัญได้แก่ (ต่อ)

ซื้อน�้ำประปา ค่าจ้างและบริการ ค่าซ่อมบ�ำรุง ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ค่าบริหารกิจการ ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม ต้นทุนทางการเงิน

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 206,374,545 202,186,122 128,719,050 139,055,337 720,000 2,300,000 18,369,159 14,501,465 114,180,633 121,225,452

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 61,061,260 60,009,986 48,032,568 54,796,623 84,102,974 92,068,482 990,000 156,870,340 146,424,693 18,369,159 14,501,465 80,047,215 81,224,697

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

407,036,060 (15,184,204) 391,851,856

334,931,997 211,071 335,143,068

344,015,702 (9,308,247) 334,707,455

293,677,034 211,071 293,888,105

(6,076,463) (6,076,463) 385,775,393

4,054,261 4,054,261 339,197,329

4,518,207 4,518,207 339,225,662

7,094,828 7,094,828 300,982,933

32 ภาษีเงินได้

ภาษีเงินได้งวดปัจจุบัน: ภาษีเงินได้งวดปัจจุบันส�ำหรับก�ำไรทางภาษี ส�ำหรับปี การปรับปรุงจากงวดก่อน รวมภาษีเงินได้งวดปัจจุบัน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี: รายการที่เกิดจากผลแตกต่างชั่วคราว รวมภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รวมค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

ภาษีเงินได้ส�ำหรับก�ำไรก่อนหักภาษีของกลุ่มบริษัทมียอดจ�ำนวนเงินที่แตกต่างจากการค�ำนวณก�ำไรทางทฤษฎีบัญชีคูณกับภาษีของ ประเทศที่บริษัทใหญ่ตั้งอยู่ โดยมีรายละเอียดดังนี้

ก�ำไรก่อนภาษี ภาษีค�ำนวณจากอัตราภาษี ร้อยละ 20 (พ.ศ. 2557 : ร้อยละ 20) ผลกระทบ: รายได้ที่ไม่ต้องเสียภาษี ค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถหักภาษี การปรับปรุงจากงวดก่อน ภาษีเงินได้ที่บันทึก

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 1,977,014,902 1,673,647,725

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 1,778,149,633 1,540,308,529

395,402,980

334,729,545

355,629,927

308,061,706

(2,170,211) 7,726,828 (15,184,204) 385,775,393

(4,897,255) 9,153,968 211,071 339,197,329

(9,310,210) 2,214,192 (9,308,247) 339,225,662

(9,691,255) 2,401,411 211,071 300,982,933

อัตราภาษีเงินได้ที่แท้จริงเป็นร้อยละ 19.60 (พ.ศ. 2557 : ร้อยละ 19.05)

139 รายงานประจ�ำปี 2558

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

31 ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ (ต่อ)


32 ภาษีเงินได้ (ต่อ)

ภาษีเงินได้ที่ (ลด) / เพิ่ม ที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นมีดังนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ก่อนภาษี

รายงานประจ�ำปี 2558

140

ก�ำไรจากมูลค่ายุติธรรมของ เงินลงทุนเผื่อขาย ก�ำไรขาดทุนตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยของผลประโยชน์ หลังออกจากงาน ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

พ.ศ. 2558 ภาษี (ลด) / เพิม่

หลังภาษี

พ.ศ. 2557 ภาษี (ลด) / เพิม่

ก่อนภาษี

หลังภาษี

(1,382,938)

268,152

(1,114,786)

-

-

-

14,078,675 (12,695,737)

(2,815,735) (2,547,583)

11,262,940 10,148,154

-

-

(หน่วย: บาท)

งบการเงินเฉพาะบริษัท ก่อนภาษี ก�ำไรจากมูลค่ายุติธรรมของ เงินลงทุนเผื่อขาย ก�ำไรขาดทุนตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยของผลประโยชน์หลัง ออกจากงาน ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

พ.ศ. 2558 ภาษี (ลด) / เพิม่

หลังภาษี

พ.ศ. 2557 ภาษี (ลด) / เพิม่

ก่อนภาษี

หลังภาษี

(1,382,938)

268,152

(1,114,786)

-

-

-

(1,159,635) (2,542,573)

231,927 500,079

(927,708) (2,042,494)

-

-

-

33 ก�ำไรต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานค�ำนวณโดยการหารก�ำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญด้วยจ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักที่ถือโดยบุคคล ภายนอกในระหว่างปี

ก�ำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ (บาท) จ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยในระหว่างปี (หุ้น) ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 1,584,940,253 1,334,205,246 1,663,725,149 1,663,725,149 0.95 0.80

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 1,438,923,971 1,239,325,596 1,663,725,149 1,663,725,149 0.86 0.74

กลุ่มบริษัทไม่มีการออกหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดในระหว่างปี พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 ดังนั้นจึงไม่มีการน�ำเสนอก�ำไรต่อหุ้น ปรับลด


34 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

บริษัทเป็นบริษัทมหาชนจ�ำกัด โดยมีการประปาส่วนภูมิภาคเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ร้อยละ 40.2 34.1 รายการที่เกิดขึ้นระหว่างปี งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

940,478,781 800,131,108 -

949,876,928 623,795,674 18,566,020

940,478,781 800,131,108 -

949,876,928 623,795,674 18,566,020

1,740,609,889

1,592,238,622

28,921,453 1,769,531,342

42,355,931 1,634,594,553

974,594,144

816,505,865

183,007,465

167,879,960

95,684,548

268,923,208

-

-

24,230,754

29,706,329

-

-

24,230,754

29,706,329

4,471,084 4,471,084

4,822,826 4,822,826

ดอกเบี้ยรับ บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน)

-

-

4,878,521

-

เงินปันผลรับ บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน)

-

-

35,699,995

23,969,997

รายได้จากการขายน�้ำดิบ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย การประปาส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) รายได้จากการขายน�้ำประปา ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค รายได้ค่าก่อสร้างภายใต้สัญญาสัมปทาน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน)

141 รายงานประจ�ำปี 2558

ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันซึง่ อาจมีขนึ้ ได้ตอ้ งค�ำนึงถึงรายละเอียดของความสัมพันธ์มากกว่า รูปแบบความสัมพันธ์ตามกฎหมาย

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

กิจการและบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับบริษัท ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม โดยผ่านกิจการอื่นแห่งหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งแห่ง โดยที่บุคคล หรือกิจการนั้นมีอ�ำนาจควบคุมบริษัท หรือถูกควบคุมโดยบริษัท หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัท รวมถึงบริษัทที่ด�ำเนิน ธุรกิจการลงทุน บริษัทย่อย และบริษัทย่อยในเครือเดียวกัน ถือเป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท บริษัทร่วมและบุคคลที่เป็นเจ้าของ ส่วนได้เสียในสิทธิออกเสียงของบริษัทซึ่งมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระส�ำคัญเหนือกิจการ ผู้บริหารส�ำคัญรวมทั้งกรรมการและพนักงานของ บริษัทตลอดจนสมาชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลเหล่านั้น กิจการและบุคคลทั้งหมดถือเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท


34 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 34.1 รายการที่เกิดขึ้นระหว่างปี (ต่อ) (หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

รายงานประจ�ำปี 2558

142

รายได้อื่น บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน)

-

-

5,322,083

5,713,807

ต้นทุนขายและต้นทุนค่าบริการ บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน)

-

-

224,891,600

206,434,679

รายได้จากการขายน�้ำดิบ ใช้ราคาที่ตกลงร่วมกันตามที่ระบุไว้ในสัญญา

รายได้จากการขายน�้ำประปา รายได้ค่าเช่าและค่าบริการและรายได้อื่นใช้ราคาที่ตกลงร่วมกันตามที่ระบุไว้ในสัญญา

ต้นทุนขายและต้นทุนค่าบริการใช้ราคาที่ตกลงร่วมกันตามที่ระบุไว้ในสัญญา

34.2 ยอดคงค้าง ณ วันสิ้นปี งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ลูกหนี้การค้าส่วนที่เรียกเก็บแล้ว ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) ลูกหนี้ส่วนที่ยังไม่ได้เรียกเก็บ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) รายได้ค่างานลดน�้ำสูญเสียรอรับช�ำระ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค - ส่วนที่เรียกเก็บแล้ว - ส่วนที่ยังไม่ได้เรียกเก็บ

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

109,931,914 87,823,162 -

123,970,272 80,338,818 1,095

68,278,536 87,823,162 -

82,045,194 80,338,818 1,095

197,755,076

204,310,185

1,582,562 157,684,260

2,388,927 164,774,034

93,636,619

59,667,114

-

-

93,636,619

59,667,114

-

3,025,612 3,025,612

482,766 3,957,678 4,440,444

771,962 4,735,410 5,507,372

-

-


34 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 34.2 ยอดคงค้าง ณ วันสิ้นปี (ต่อ) งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557

เจ้าหนี้การค้า ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน)

20,660

18,969

-

-

20,660

18,969

650,947 650,947

582,516 582,516

24,682,385

18,125,257

1,465,998

5,163,765

24,682,385

18,125,257

20,576,632 22,042,630

21,161,289 26,325,054

เงินประกันการเช่ารับ (แสดงรวมในหนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น) บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน)

143 -

-

58,000

58,000

34.3 เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ในระหว่างปี พ.ศ. 2558 เงินให้กู้ยืมระหว่างกันมีการเคลื่อนไหวดังต่อไปนี้ (หน่วย: บาท) ข้อมูลทางการเงินเฉพาะบริษัท ในระหว่างปี เพิ่มขึ้น ลดลง

31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

เงินให้กู้ยืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน)

-

644,000,000

(644,000,000)

-

-

644,000,000

(644,000,000)

-

เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2558 บริษัทเข้าท�ำสัญญาให้กู้ยืมเงินแก่บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทย่อย เพื่อใช้ในการด�ำเนินกิจการและใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน โดยมีวงเงิน 800.0 ล้านบาท เงินกู้ยืมดังกล่าวมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ต่อปี ตามที่ระบุในสัญญา โดยมีระยะเวลาการจ่ายช�ำระคืนเงินต้นเป็นงวดรายปี รวม 5 งวด เป็นเงินงวดละ 160.0 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2558 บริษัทได้รับช�ำระเงินให้กู้ยืมดังกล่าวคืนแล้วทั้งจ�ำนวน

รายงานประจ�ำปี 2558

ลูกหนี้อื่น (แสดงรวมในลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น) ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557


34 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) 34.4 ค่าตอบแทนผู้บริหารส�ำคัญ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ค่าตอบแทนผู้บริหารสามารถจ�ำแนกได้ดังนี้

ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน ผลประโยชน์ระยะยาวอื่นๆ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 90,211,898 91,263,501 2,309,710 5,393,644 24,960 56,589 92,546,568 96,713,734

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 54,764,550 59,702,186 1,105,571 4,239,516 12,194 45,136 55,882,315 63,986,838

35 ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 35.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันเกี่ยวกับโครงการงานก่อสร้างและวางท่อส่งน�้ำที่ยังไม่แล้วเสร็จในงบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทเป็นจ�ำนวนเงิน 1,789.9 ล้านบาท และ 1,740.8 ล้านบาท ตามล�ำดับ (พ.ศ. 2557 : 3,139.2 ล้านบาท และ 3,072.8 ล้านบาท ตามล�ำดับ) 35.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าด�ำเนินงาน กลุ่มบริษัทและบริษัทมียอดรวมของจ�ำนวนเงินขั้นต�่ำที่ต้องจ่ายในอนาคตตามสัญญาเช่าด�ำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการเช่ายานพาหนะ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และที่ดินที่ไม่สามารถยกเลิกได้ ดังนี้

รายงานประจ�ำปี 2558

144 ภายใน 1 ปี 1 ถึง 5 ปี มากกว่า 5 ปี

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 23.8 25.3 17.1 29.2 4.1 4.1 45.0 58.6

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 12.4 12.8 8.4 11.4 20.8 24.2

35.3 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาซื้อน�้ำดิบและน�้ำประปาและสัญญาบริการระยะยาว

35.3.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันตามสัญญาซื้อน�้ำดิบจากกรมชลประทานในอัตรา ที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง โดยไม่มีการก�ำหนดระยะเวลาสิ้นสุดของสัญญา

35.3.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาซื้อน�้ำดิบจากเอกชนที่จะต้องจ่ายขั้นต�่ำในอนาคต จ�ำนวนประมาณ 3,639.3 ล้านบาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 : จ�ำนวน 5,340.3 ล้านบาท)

35.3.3 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาบริการที่จะต้องจ่ายในอนาคตจ�ำนวนประมาณ 49.8 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 : 82.8 ล้านบาท)

35.4 การค�้ำประกัน

35.4.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุม่ บริษทั และบริษทั มีหนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการทีธ่ นาคารในประเทศออกหนังสือค�ำ้ ประกัน เพือ่ การใช้กระแสไฟฟ้ากับการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค หนังสือค�ำ้ ประกันเกีย่ วกับการบริหารและด�ำเนินกิจการระบบท่อส่งน�ำ้ สายหลัก ในภาคตะวันออกกับกระทรวงการคลัง หนังสือค�้ำประกันเพื่อการปฏิบัติตามสัญญากับการประปาส่วนภูมิภาคและกับ กรมชลประทาน และหนังสือค�้ำประกันเพื่อประมูลโครงการของบริษัทจ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 187.4 ล้านบาท และ 92.2 ล้านบาท ตามล�ำดับ (พ.ศ. 2557 : จ�ำนวน 133.8 ล้านบาท และ 83.9 ล้านบาท ตามล�ำดับ)


35 ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น (ต่อ) 35.4 การค�้ำประกัน (ต่อ) 35.4.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทมีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการเป็นผู้ค�้ำประกันการปฏิบัติตาม สัญญาของบริษัทย่อยสามแห่ง ในกรณีธนาคารในประเทศออกหนังสือค�้ำประกันให้แก่บริษัทย่อยภายในวงเงิน 200 ล้านบาท ส�ำหรับการค�้ำประกันหม้อแปลงไฟฟ้า ค�้ำประกันการผลิตและขายน�้ำประปา ประกันสัญญาบันทึกข้อมูลผู้ใช้น�้ำ

36 คดีฟ้องร้อง

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 กลุ่มบริษัทและบริษัทถูกฟ้องร้องเป็นจ�ำเลยในคดีความที่มีสาระส�ำคัญ ดังต่อไปนี้

36.1 เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2551 บริษัทถูกฟ้องเป็นจ�ำเลยโดยบริษัทแห่งหนึ่งในคดีความทางกฎหมายคดีหมายเลขด�ำที่ 5930/2551 เกีย่ วกับการผิดสัญญาจ้างเหมาก่อสร้าง โดยบริษทั ดังกล่าวได้ฟอ้ งต่อศาลแพ่งสัง่ ให้บริษทั ชดใช้คา่ เสียหายเป็นจ�ำนวนเงิน 40.2 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2551 บริษัทเป็นโจทก์ฟ้องกลับบริษัทรายดังกล่าวในคดีความทางกฎหมายและธนาคารพาณิชย์ ในประเทศแห่งหนึง่ ในฐานะผูค้ ำ�้ ประกันการท�ำงานให้บริษทั ดังกล่าว ตามคดีหมายเลขด�ำที่ 6848/2551 เกีย่ วกับการผิดสัญญาจ้างเหมา ก่อสร้างโดยบริษัทได้ฟ้องต่อศาลแพ่งสั่งให้จ�ำเลยทั้งสองรายดังกล่าวร่วมชดใช้ค่าเสียหายเป็นจ�ำนวนเงิน 37.4 ล้านบาท เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2552 ศาลแพ่งได้นัดชี้สองสถานคดีหมายเลขด�ำที่ 5930/2551 อย่างไรก็ตามทนายความของบริษัทได้ ยืน่ ค�ำร้องขอให้ศาลน�ำคดีหมายเลขด�ำที่ 6848/2551 รวมกันเนือ่ งจากเป็นคดีทเี่ กิดจากข้อเท็จจริงเดียวกัน ศาลพิจารณาแล้วจึงอนุญาต ให้น�ำคดีมารวมกัน และนัดชี้สองสถานก�ำหนดแนวทางการพิจารณาคดีและสืบพยานในวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2552 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2552 ศาลแพ่งได้ก�ำหนดนัดสืบพยานโจทก์ในวันที่ 17 - 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 และสืบพยานจ�ำเลย ในวันที่ 23 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

1. ให้คู่กรณีช�ำระค่าปรับเป็นเงิน 8.8 ล้านบาท และคืนเงินค่าจ้างล่วงหน้าจ�ำนวน 2.1 ล้านบาท รวมทั้งค่าจ้างผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ในช่วงส่งมอบงานล่าช้าเป็นเงิน 0.2 ล้านบาท รวมเป็นจ�ำนวนเงิน 11.1 ล้านบาท ให้แก่บริษัท

145

2. ให้บริษัทช�ำระค่างวดงานที่ 30 และ 31 ตามสัญญาเป็นเงิน 13.0 ล้านบาท ค่าจ้างงานแก้ไขเพิ่มเติมเป็นเงิน 7.0 ล้านบาท คืน เงินประกันผลงานจ�ำนวน 3.8 ล้านบาท รวมเป็นเงิน 23.8 ล้านบาท และให้คืนหนังสือค�้ำประกันทั้ง 8 ฉบับให้แก่คู่กรณี

รายงานประจ�ำปี 2558

เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ศาลแพ่งมีค�ำพิพากษาเป็นคดีหมายเลขแดงที่ 3169/2553 และ 3170/2553 สรุปได้ดังนี้

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

อย่างไรก็ตาม บริษัทได้มอบหมายทนายความของบริษัทยื่นอุทธรณ์ต่อศาลเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ในประเด็นหลักคือ จ�ำนวน เงินค่าปรับและค่าจ้างงานแก้ไขเพิ่มเติม ทั้งนี้เพื่อรักษาประโยชน์ของบริษัท อนึ่งบริษัทได้บันทึกหนี้สินไว้ในงบการเงินจ�ำนวน 16.8 ล้านบาท ส�ำหรับค่างวดงานก่อสร้างและเงินประกันผลงาน โดยยังมิได้บันทึก ส่วนค่าจ้างงานแก้ไขเพิ่มเติมจ�ำนวน 7.0 ล้านบาท ซึ่งยังไม่มีข้อยุติ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ศาลอุทธรณ์มีค�ำพิพากษา โดยลดจ�ำนวนเงินที่บริษัทต้องจ่ายค่าจ้างงานแก้ไขเพิ่มเติมจากเดิม 7.0 ล้านบาท เป็น 1.9 ล้านบาท ส่วนในประเด็นอื่นไม่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งบริษัทได้บันทึกหนี้สินเพิ่มเติมส�ำหรับค่าธรรมเนียมหนังสือ ค�้ำประกันและดอกเบี้ย จ�ำนวนทั้งสิ้น 5.6 ล้านบาท ในไตรมาส 3 ปี พ.ศ. 2556 ดังนั้นบริษัทได้บันทึกหนี้สินไว้ในงบการเงินแล้วทั้งสิ้น จ�ำนวน 22.4 ล้านบาท ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2556 บริษัทคู่กรณีได้ย่ืนฎีกาต่อศาล ในประเด็นหลักส�ำหรับจ�ำนวนเงินค่าปรับงานล่าช้าที่คู่กรณี ต้องจ่ายให้บริษัท และค่าจ้างงานแก้ไขเพิ่มเติมที่บริษัทต้องจ่ายให้กับคู่กรณี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 คดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา 36.2 เมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2558 บริษัทถูกฟ้องเป็นจ�ำเลยร่วมกับการรถไฟแห่งประเทศไทย ในคดีความแพ่งหมายเลขด�ำที่ พ62/2558 โดยบริษทั เอกชนแห่งหนึง่ ได้ฟอ้ งร้องเรียกค่าเสียหายกรณีบริษทั ได้วางท่อส่งน�ำ้ ดิบในเนือ้ ทีเ่ ช่าทับซ้อนกับเนือ้ ทีท่ โี่ จทก์เช่ากับการรถไฟ แห่งประเทศไทยในจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยโจทก์ได้ฟอ้ งต่อศาลแพ่งให้ชำ� ระค่าเสียหายเป็นจ�ำนวนเงิน 295.9 ล้านบาท พร้อมทัง้ ดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ 7.50 ต่อปี และเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2558 บริษัทได้ด�ำเนินการยื่นค�ำให้การและฟ้องแย้งเรียบร้อยแล้ว ศาลนัด ชี้สองสถานในวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 แต่ไม่สามารถไกล่เกลี่ยกันได้ เมื่อวันที่ 17 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ทนายโจทก์และ จ�ำเลยได้น�ำพยานเข้าสืบจนแล้วเสร็จ ต่อมาเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2559 ศาลได้อ่านค�ำพิพากษายกฟ้องคดีดังกล่าว เนื่องจากศาล เห็นว่าบริษทั และการรถไฟได้มกี ารตกลงระงับข้อพิพาทร่วมกับบริษทั เอกชนดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว ท�ำให้บริษทั เอกชนดังกล่าวไม่สามารถ น�ำข้อพิพาทที่ระงับไปแล้วมาฟ้องต่อศาลได้อีก


36 คดีฟ้องร้อง (ต่อ)

36.4 เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 บริษัทและบริษัทเสม็ดยูทิลิตี้ส์ จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยถูกฟ้องเป็นจ�ำเลยร่วมกัน โดยบริษัทเอกชน แห่งหนึ่งที่มีฐานะเป็นหุ้นส่วนของกิจการร่วมค้าแห่งหนึ่ง ตามคดีหมายเลขด�ำที่ พ808/2558 เกี่ยวกับการผิดสัญญาเรียกค่าจ้างและ ค่าเสียหาย โดยบริษทั เอกชนดังกล่าวได้ฟ้องต่อศาลแพ่งสัง่ ให้บริษทั และบริษทั ย่อยชดใช้คา่ เสียหายเป็นจ�ำนวนเงิน 30.9 ล้านบาท เมือ่ วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2558 บริษัทได้ยื่นค�ำให้การเรียบร้อยแล้ว ศาลนัดชี้สองสถานในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2558 แต่ไม่สามารถ ไกล่เกลี่ยกันได้ ศาลจึงนัดสืบพยานโจทก์และจ�ำเลยในวันที่ 15 - 17 กันยายน พ.ศ. 2558 ต่อมาเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ศาลได้อ่านค�ำพิพากษาให้ บริษัท เสม็ดยูทิลิตี้ส์ จ�ำกัด ช�ำระเงินแก่บริษัทเอกชนดังกล่าว เป็นจ�ำนวน 20.5 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย อัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี โดยยกฟ้องในส่วนของบริษัท ต่อมาเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ทนายความได้ยื่นค�ำร้องขอขยายระยะ เวลาอุทธรณ์ และศาลได้มีค�ำสั่งอนุญาตขยายระยะเวลาอุทธรณ์ค�ำพิพากษาจนถึงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

37 ค่าตอบแทนโครงการ

146

หน่วยงานรัฐแห่งหนึ่งอยู่ระหว่างการพิจารณาการจัดให้บริษัท เช่า/บริหาร และการปรับอัตราผลตอบแทนในโครงการท่อส่งน�้ำ 2 โครงการ (“โครงการฯ”) ตามหนังสือที่ออกโดยหน่วยงานของรัฐดังกล่าวซึ่งก�ำหนดให้บริษัทต้องจ่ายค่าตอบแทนในโครงการฯ ให้กบั หน่วยงานของรัฐในเบือ้ งต้นเป็นอัตราร้อยละของรายได้จากการขายน�ำ้ ดิบในโครงการฯ ตัง้ แต่ปที เี่ ริม่ เข้าด�ำเนินการ (ปี พ.ศ. 2541) และหากการพิจารณาได้ข้อยุติในอัตราที่มากกว่าอัตราที่บริษัทได้ช�ำระค่าตอบแทนไว้แล้ว บริษัทจะต้องยินยอมช�ำระเพิ่มเติมจน ครบถ้วนในครั้งเดียว หรือหากได้ข้อยุติในอัตราที่ต�่ำกว่า หน่วยงานรัฐดังกล่าวยินยอมคืนส่วนที่ช�ำระไว้เกินโดยการหักกลบลบหนี ้ กับผลประโยชน์ตอบแทนในปีต่อๆ ไป

รายงานประจ�ำปี 2558

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

36.3 เมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2558 บริษัทถูกฟ้องเป็นจ�ำเลย ในคดีศาลปกครอง หมายเลขด�ำที่ 601/2558 โดยบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง ได้ยนื่ ฟ้องเรียกร้องค่าเสียหายกรณีบริษทั ได้ผดิ สัญญาจ้างออกแบบและก่อสร้างโครงการวางท่อส่งน�ำ ้ โดยโจทก์ได้ฟอ้ งต่อศาลปกครอง กลางให้บริษัทช�ำระค่าเสียหายเป็นจ�ำนวนเงิน 76.42 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.50 ต่อปีของต้นเงินจ�ำนวน 63.07 ล้านบาท นับถัดจากวันฟ้องเป็นต้นไปจนกว่าบริษัทจะช�ำระเงินครบถ้วน เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 บริษัทเอกชนไม่ประสงค์ ที่จะด�ำเนินคดีกับบริษัทอีกต่อไป จึงขอถอนค�ำฟ้อง และให้จ�ำหน่ายคดีออกจากสารบบ ซึ่งศาลปกครองกลางได้อนุญาต ในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 มีผลให้คดีนี้ถึงที่สุด

เมือ่ วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2553 หน่วยงานรัฐดังกล่าวได้มหี นังสือถึงบริษทั แจ้งว่า การด�ำเนินการจัดให้บริษทั เช่าหรือบริหารโครงการฯ ข้างต้น รวมทั้งการก�ำหนดผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่าว ต้องด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือ ด�ำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 โดยคณะกรรมการตามมาตรา 13 มีอำ� นาจหน้าทีใ่ นการพิจารณาก�ำหนดอัตราค่าตอบแทนและ เจรจาต่อรองผลประโยชน์ตอบแทนกับบริษัท และเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 คณะกรรมการตามมาตรา 13 ได้มีมติเห็นชอบ ให้บริษัทเช่าท่อส่งน�้ำโดยไม่ต้องใช้วิธีประมูล ในปี พ.ศ. 2558 บริษัทและหน่วยงานรัฐดังกล่าวได้มีการประชุมร่วมกันเพื่อก�ำหนดอัตราค่าตอบแทน โดยเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 บริษัทได้มีหนังสือแจ้งถึงหน่วยงานรัฐว่าบริษัทยินดีที่จะช�ำระผลประโยชน์ตอบแทนการเช่าหรือบริหาร เป็นอัตราร้อยละ ของรายได้จากการขายน�้ำดิบในอัตราที่สูงขึ้นส�ำหรับปีปัจจุบัน และคงอัตราเดิมส�ำหรับปีที่ผ่านมา ซึ่งหน่วยงานรัฐดังกล่าวได้มีหนังสือ ลงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2558 แจ้งมายังบริษัทว่าจะต้องน�ำข้อเสนอดังกล่าวเข้าสู่กระบวนการพิจารณาก�ำหนดผลประโยชน์ตอบแทน ตามพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556 และน�ำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป โดย ในระหว่างการรอผลการพิจารณา หน่วยงานรัฐดังกล่าวไม่ขดั ข้องทีบ่ ริษทั จะช�ำระค่าตอบแทนเป็นการชัว่ คราวในอัตราใหม่ตงั้ แต่ปี 2558 เป็นต้นไป บริษัทได้บันทึกค่าตอบแทนโครงการดังกล่าวในงบการเงินโดยเปลี่ยนเป็นใช้อัตราค่าตอบแทนใหม่ส�ำหรับปี พ.ศ. 2558 และคงอัตรา เดิมส�ำหรับปีที่ผ่านมา ซึ่งฝ่ายบริหารพิจารณาว่าเป็นประมาณการที่ดีที่สุดจากข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน


รายงานประจ�ำปี 2558

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

15 ปี นับจากวันเริ่มซื้อขายน�้ำประปา (ตุลาคม 2549)

สัญญาด�ำเนินกิจการประปาเกาะล้าน

6

17 กันยายน พ.ศ. 2547 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) และเมืองพัทยา

สัญญาด�ำเนินกิจการระบบประปาพื้นที่บ่อวิน

5

25 ปี นับตั้งแต่วันที่เริ่มซื้อขายน�้ำ ประปา (วันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2548)

25 ปี นับตั้งแต่วันที่เริ่มซื้อขายน�้ำ ประปา (วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2546)

สัญญาให้เอกชนผลิตน�้ำประปาเพื่อขายให้ส�ำนักงานประปา 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 บริษัท ประปาบางปะกง จ�ำกัด ของการประปาส่วนภูมิภาค ที่ส�ำนักงานประปา บางปะกง และการประปาส่วนภูมิภาค จ.ฉะเชิงเทรา

4

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) และเทศบาลต�ำบลเจ้าพระยาสุรศักดิ์ / อบต. บ่อวิน

25 ปี นับตั้งแต่วันที่เริ่มซื้อขายน�้ำ ประปา (วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2546)

สัญญาให้เอกชนผลิตน�้ำประปาเพื่อขายให้ส�ำนักงานประปา 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จ�ำกัด ของการประปาส่วนภูมิภาค ที่ส�ำนักงานประปาฉะเชิงเทรา และการประปาส่วนภูมิภาค จ.ฉะเชิงเทรา

3

30 มีนาคม พ.ศ. 2547/ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2548

25 ปี นับตั้งแต่วันที่เริ่มซื้อขายน�้ำ ประปา (วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2546)

สัญญาให้เอกชนผลิตน�้ำประปาเพื่อขายให้ส�ำนักงานประปา 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 บริษัท ประปานครสวรรค์ จ�ำกัด ของการประปาส่วนภูมิภาค ที่ส�ำนักงานประปานครสวรรค์ และการประปาส่วนภูมิภาค จ.นครสวรรค์

30 ปี นับจากวันที่ กปภ. ได้ส่งมอบ ระบบประปาสัตหีบให้แก่บริษัท (วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2544)

ระยะเวลา

2

28 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) และ การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.)

คู่สัญญา

สัญญาให้สิทธิเช่าบริหารและด�ำเนินกิจการระบบประปา สัตหีบ

วันท�ำสัญญา

1

ชื่อสัญญา

1) ข้อตกลงสัมปทานที่กลุ่มบริษัทต้องส่งมอบสินทรัพย์ให้แก่ผู้ให้สัมปทานเมื่อสัญญาสิ้นสุดลง (BOOT)

ล�ำดับ

กลุ่มบริษัทมีข้อตกลงสัมปทานที่ส�ำคัญ ดังต่อไปนี้

38.1 ข้อตกลงสัมปทาน

38 สัญญาที่ส�ำคัญ

147

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

การจัดประเภทของข้อตกลง สัมปทาน


สัญญาแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาให้เช่าและด�ำเนินกิจการระบบ ประปาสัตหีบ (สัตหีบ - พัทยา)

สัญญาให้เอกชนผลิตน�้ำประปาเพื่อขายให้แก่การประปา ส่วนภูมิภาค ที่ส�ำนักงานประปาระยอง จ.ระยอง

สัญญาด�ำเนินกิจการระบบประปา อบต. หนองขาม

สัญญาซื้อขายน�้ำประปาในเขตเทศบาลต�ำบลหัวรอ อ�ำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก

8

9

10

ชื่อสัญญา

7

ล�ำดับ

28 มีนาคม พ.ศ. 2557

29 ธันวาคม พ.ศ. 2553

14 มีนาคม พ.ศ. 2549

18 ตุลาคม พ.ศ. 2547

วันท�ำสัญญา

คู่สัญญา

บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) และเทศบาลต�ำบลหัวรอ

บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) และ อบต. หนองขาม

บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) และการประปาส่วนภูมิภาค

30 ปี นับจากวันเริ่มซื้อขายน�้ำประปา ตามสัญญาตามที่ระบุไว้ในสัญญาหรือ นับจากวันเริ่มต้นส่งมอบน�้ำประปาที่ได้ ตกลงกันใหม่ (ปัจจุบันอยู่ระหว่างการ ก่อสร้าง)

25 ปี นับแต่วันเริ่มด�ำเนินการผลิต และจ�ำหน่ายน�้ำ (วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2554)

25 ปี นับจากวันเริ่มซื้อขายน�้ำประปา (วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2549)

30 ปี นับจากวันที่ กปภ. ได้ส่งมอบ ระบบประปาสัตหีบให้แก่บริษัท (วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2544)

ระยะเวลา

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) และการประปาส่วนภูมิภาค

2) ข้อตกลงสัมปทานที่กลุ่มบริษัทต้องส่งมอบสินทรัพย์ให้แก่ผู้ให้สัมปทานเมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จ (BTO)

38.1 ข้อตกลงสัมปทาน (ต่อ)

38 สัญญาที่ส�ำคัญ (ต่อ)

รายงานประจ�ำปี 2558

148 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

การจัดประเภทของข้อตกลง สัมปทาน


สัญญาซื้อขายน�้ำประปา เพื่อส�ำนักงานประปาชลบุรี จ.ชลบุรี

สัญญาให้เอกชนผลิตน�้ำประปาเพื่อขายให้ส�ำนักงานประปา ของการประปาส่วนภูมิภาคในจังหวัดราชบุรี และจังหวัด สมุทรสงคราม

12

13

20 ปี นับจากวันเริ่มซื้อขายน�้ำประปา (เมษายน 2553) 30 ปี นับจากวันเริ่มซื้อขายน�้ำประปา (วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2544)

บริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด และการประปาส่วนภูมิภาค

7 เมษายน พ.ศ. 2544

3 มิถุนายน พ.ศ. 2552

บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) และการประปาส่วนภูมิภาค

ระยะเวลา 15 ปี นับจากวันเริ่มซื้อขายน�้ำประปา (วันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2548)

คู่สัญญา

7 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) และการประปาส่วนภูมิภาค

วันท�ำสัญญา

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

การจัดประเภทของข้อตกลง สัมปทาน

รายงานประจ�ำปี 2558

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

สัญญาล�ำดับที่ 1-7 ล�ำดับที่ 11 และล�ำดับที่ 13 กลุ่มบริษัทได้ท�ำสัญญาจ้างกับบริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อเป็นผู้ด�ำเนินการในส่วนของการผลิตน�้ำประปา และการก่อสร้างหรือปรับปรุงโครงสร้าง พื้นฐานเพิ่มเติมตามสัญญาสัมปทานทั้งหมด

ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญในข้อตกลงสัมปทานที่กล่าวข้างต้น เช่น ผู้รับสัมปทานจะต้องด�ำเนินการก่อสร้าง บ�ำรุงรักษาและบริหารระบบผลิตน�้ำประปาให้มีปริมาณและคุณภาพตามที่ก�ำหนด และราคาน�้ำประปาเป็นราคา ตามที่ตกลงกัน โดยบางสัญญาจะมีปรับขึ้นตามสูตรการค�ำนวณที่อ้างอิงจากดัชนีราคาผู้บริโภค

สัญญาซื้อขายน�้ำประปาเพื่อส�ำนักงานประปาเกาะสมุย

ชื่อสัญญา

11

ล�ำดับ

3) ข้อตกลงสัมปทานที่กลุ่มบริษัทไม่ต้องส่งมอบสินทรัพย์ให้แก่ผู้ให้สัมปทาน แต่ให้สิทธิผู้ให้สัมปทานในการซื้อสินทรัพย์เมื่อผู้รับสัมปทานด�ำเนินงานไปได้กึ่งหนึ่งของอายุสัมปทาน

38.1 ข้อตกลงสัมปทาน (ต่อ)

38 สัญญาที่ส�ำคัญ (ต่อ)

149


38 สัญญาที่ส�ำคัญ (ต่อ)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

38.2 สัญญาอื่น

รายงานประจ�ำปี 2558

150

บริษัท

1) เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2536 บริษัทได้ท�ำสัญญาการบริหารและการด�ำเนินกิจการระบบท่อส่งน�้ำสายหลักในภาคตะวันออกกับ กระทรวงการคลัง เป็นระยะเวลา 30 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2537 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2566 โดยบริษัทตกลงจะ จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต�่ำให้กระทรวงการคลังในอัตรา 2 ล้านบาทต่อปี หรือในปีใดเมื่อบริษัทมียอดขายน�้ำดิบเกินกว่า 200 ล้านบาท บริษัทจะจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ในอัตราร้อยละ 1 ของยอดขายน�้ำดิบจากอ่างเก็บน�้ำหนองค้อและดอกกราย นอกเหนือจากผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่าวแล้ว หากในปีใดบริษทั มีผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (Return on equity) ในอัตรา เกินกว่าร้อยละ 20 บริษทั ฯจะจ่ายผลตอบแทนให้กบั กระทรวงการคลังเพิม่ อีกในอัตราร้อยละ 15 ของส่วนทีเ่ กินกว่าร้อยละ 20 ทัง้ นี้ อัตราผลประโยชน์ตอบแทนรวมจะต้องไม่เกินร้อยละ 6 ของมูลค่าที่แท้จริงของสินทรัพย์ที่บริษัทเช่าจากกระทรวงการคลังที่ได้ม ี การประเมินตามระยะเวลา

2) เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2550 บริษัทได้ท�ำสัญญาซื้อน�้ำดิบกับบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง เพื่อจัดซื้อน�้ำดิบโดยมีก�ำหนดระยะเวลา การซื้อน�้ำดิบเป็นระยะเวลา 10 ปี ในปริมาณขั้นต�่ำปีละ 10 ล้านลูกบาศก์เมตร

3) เมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2557 บริษัทได้ลงนามในสัญญาซื้อน�้ำดิบกับบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง โดยบริษัทตกลงซื้อน�้ำดิบในปริมาณ ขั้นต�่ำไม่น้อยกว่าปีละ 15 - 20 ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นระยะเวลา 40 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2598 เมือ่ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 บริษทั ได้เปลีย่ นแปลงสัญญาซือ้ ขายน�ำ้ ดิบกับบริษทั เอกชนแห่งหนึง่ โดยเปลีย่ นแปลง เกี่ยวกับระยะเวลาของสัญญาซื้อขายน�้ำดิบ จากระยะเวลา 40 ปี เป็น 30 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2588 ทั้งนี้ บริษัทและบริษัทเอกชนดังกล่าวจะท�ำการต่อสัญญาทุกๆ 10 ปี จนครบก�ำหนดระยะเวลา 30 ปี ซึ่งบริษัทตกลงซื้อน�้ำดิบในรอบการส่งน�้ำปีที่ 1 - 5 ต้องมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 15 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปีและในรอบการส่งน�้ำปีที่ 6 เป็นต้นไปไม่น้อยกว่า 20 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี

บริษัทย่อย

4) เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้ท�ำสัญญารับจ้างบริการและบ�ำรุงรักษาระบบ ผลิตน�้ำประปาของโครงการนิคมอุตสาหกรรมหลักชัยเมืองยาง จังหวัดระยอง กับบริษัทเอกชนแห่งหนึ่งเป็นระยะเวลา 1 ปี 6 เดือน ส�ำหรับระบบผลิตน�้ำระยะชั่วคราวนับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 และก�ำหนดระยะเวลา 30 ปีส�ำหรับระบบผลิตน�้ำระยะ ถาวร นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 โดยบริษัท บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) จะเป็นผู้ด�ำเนินการก่อสร้าง ระบบผลิตน�้ำประปา พร้อมทั้งผลิตน�้ำประปาเพื่อใช้ในกิจการของโครงการนิคมอุตสาหกรรมหลักชัยเมืองยาง เมื่อสัญญาสิ้นสุดลง บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) มีสิทธิรื้อถอนสินทรัพย์ที่น�ำมาติดตั้งและลงทุนคืนทั้งหมด

5) เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้ท�ำสัญญารับจ้างบริการและบ�ำรุงรักษาระบบ บ�ำบัดน�ำ้ เสียโครงการนิคมอุตสาหกรรมหลักชัยเมืองยาง จังหวัดระยอง กับบริษทั เอกชนแห่งหนึง่ มีกำ� หนดระยะเวลา 30 ปี นับตัง้ แต่ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 โดย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) จะเป็นผู้ด�ำเนินงานก่อสร้างระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย เมื่อ สัญญาสิ้นสุดลง บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) จะต้องส่งมอบระบบบ�ำบัดน�้ำเสียทั้งหมดโดยไม่คิดมูลค่าใดๆ ให้แก่ โครงการนิคมอุตสาหกรรมหลักชัยเมืองยาง จังหวัดระยอง

39 เครื่องมือทางการเงิน 39.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน เครื่องมือทางการเงินที่ส�ำคัญของกลุ่มบริษัท ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เจ้าหนี้ การค้า เงินกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาว และบางรายการของหนี้สินหมุนเวียนอื่น กลุ่มบริษัทย่อมมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือ ทางการเงินดังกล่าว ได้แก่ ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ การเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย แผนการจัดการความเสี่ยงโดยรวมของ กลุ่มบริษัทจึงมุ่งเน้นแสดงหาวิธีการลดผลกระทบที่ท�ำให้เสียหายต่อผลการด�ำเนินงานทางการเงินของกลุ่มบริษัทให้เหลือน้อยที่สุด เท่าที่เป็นไปได้ โดยมีนโยบายในการบริหารความเสี่ยงดังนี้


39 เครื่องมือทางการเงิน (ต่อ) 39.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ) กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ฝ่ายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการ ก�ำหนดให้มนี โยบายและวิธกี ารในการควบคุมสินเชือ่ ทีเ่ หมาะสม ดังนัน้ กลุม่ บริษทั จึงไม่คาดว่าจะได้รบั ความเสียหายทีเ่ ป็นสาระ ส�ำคัญจากการให้สินเชื่อ ถึงแม้ว่ากลุ่มบริษัทมีการกระจุกตัวที่กลุ่มลูกหนี้รายใหญ่จ�ำนวนน้อยราย แต่เนื่องจากลูกหนี้กลุ่ม ดังกล่าวเป็นภาครัฐ ฝ่ายบริหารเห็นว่าความเสีย่ งด้านดังกล่าวอยูใ่ นระดับต�ำ ่ จ�ำนวนเงินสูงสุดทีก่ ลุม่ บริษทั อาจต้องสูญเสียจาก การให้สินเชื่อ คือ มูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้การค้า และลูกหนี้อื่นที่แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน

39.1.2 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย กลุม่ บริษทั มีความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ทีส่ ำ� คัญอันเกีย่ วเนือ่ งกับเงินฝากสถาบันการเงิน และเงินกูย้ มื ระยะสัน้ และระยะยาว ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยในตลาดซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินงานและกระแสเงินสดของ กลุ่มบริษัท สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาดหรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่ง ใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบัน กลุ่มบริษัทมิได้ใช้เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์ในการจัดการความเสี่ยงที่ เกิดจากการผันผวนของอัตราดอกเบี้ยดังกล่าว

39.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของกลุ่มบริษัทจัดอยู่ในประเภทระยะสั้น กลุ่มบริษัทจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของ สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน ยกเว้นเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบัน การเงินซึ่งมีมูลค่าตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 คิดเป็นจ�ำนวนเงิน 4,761.0 ล้านบาท และ 5,149.8 ล้านบาท ตามล�ำดับ (เฉพาะของบริษัท : 3,800.0 ล้านบาท และ 4,143.6 ล้านบาท ตามล�ำดับ) มูลค่ายุติธรรมดังกล่าวอยู่ในระดับ 3 ของล�ำดับชั้นมูลค่ายุติธรรม (หมายเหตุ 3.6)

151

40 การซื้อธุรกิจ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2558 บริษัทได้จ�ำหน่ายเงินลงทุนทั้งหมดในบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ทั้งหมด ซึ่งคิดเป็นส่วนได้เสีย ร้อยละ 15.88 ของหุ้นสามัญให้แก่ บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นเงินจ�ำนวน 317.79 ล้านบาท ต่อมา เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2558 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้ซื้อส่วนได้เสียในบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ร้อยละ 74.19 ของ หุ้นสามัญ เป็นเงินจ�ำนวน 1,600.00 ล้านบาทจากบริษัท เอ็กโก เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ เซอร์วิส จ�ำกัด ท�ำให้บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) มีสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ทั้งหมดร้อยละ 90.07 และมีอ�ำนาจการควบคุมบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด นับตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ในการท�ำรายการข้างต้นมีค่าความนิยมจ�ำนวน 103.3 ล้านบาท ซึ่งแสดงถึงก�ำลังการผลิตส่วนที่เหลือของบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ในการสร้างรายได้ในอนาคตตลอดอายุสัญญาการผลิตน�้ำ และประโยชน์ร่วมกันในการบริหารจัดการด้านต้นทุนและค่าใช้จ่าย ค่าความนิยมที่รับรู้ไม่สามารถน�ำไปหักเพื่อใช้ประโยชน์ทางภาษีได้ สิ่งตอบแทนที่จ่าย มูลค่ายุติธรรมของส่วนได้เสียในบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ซึ่งถืออยู่ก่อนวันรวมธุรกิจ และสินทรัพย์ที่ได้มาและ หนี้สินที่จะรับรู้ ณ วันที่ซื้อกิจการ สรุปได้ดังนี้ เงินสดจ่าย มูลค่ายุติธรรมของส่วนได้เสียในบริษัท เอ็กคอมธารา จ�ำกัด ร้อยละ 15.88 ซึ่งถืออยู่ก่อนวันรวมธุรกิจ

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

39.1.1 ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ

(หน่วย: บาท) 1,600,000,000 317,790,120 1,917,790,120

รายงานประจ�ำปี 2558


40 การซื้อธุรกิจ (ต่อ) (หน่วย: บาท)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

มูลค่าที่รับรู้ ณ วันที่ซื้อส�ำหรับสินทรัพย์ที่ได้มาและหนี้สินที่รับมา เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เจ้าหนี้การค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น ประมาณการหนี้สินระยะยาว หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์ที่สามารถระบุได้สุทธิ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์สุทธิ ค่าความนิยม รวม

รายงานประจ�ำปี 2558

152

143,779,184 35,000,000 28,779,409 462,957 1,344,935 54,596,000 2,192,000,000 15,254 261,679 (12,660,237) (36,895,179) (7,443,242) (384,823,843) 2,014,416,917 (199,909,801) 1,814,507,116 103,283,004 1,917,790,120

มูลค่าต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการซื้อจ�ำนวน 1.4 ล้านบาท ได้รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารในงบก�ำไรขาดทุนรวมส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ก) ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม กลุ่มบริษัทเลือกที่จะรับรู้ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุมในผู้ถูกซื้อด้วยมูลค่าของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ของผู้ถูกซื้อตามสัดส่วน

ข) รายได้และผลก�ำไร บริษัทที่ถูกซื้อมามีรายได้จ�ำนวน 89.3 ล้านบาท และก�ำไรจ�ำนวน 60.3 ล้านบาทให้แก่กลุ่มบริษัทส�ำหรับรอบระยะเวลาตั้งแต่ วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ถ้าการซื้อกิจการเกิดขึ้น ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 รายได้รวมและก�ำไรรวมส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ส�ำหรับกลุ่มบริษัทจะเป็น 4,836.5 ล้านบาท และ 1,630.2 ล้านบาท ตามล�ำดับ

ค) มูลค่ายุติธรรมของส่วนได้เสียซึ่งถืออยู่ก่อนวันรวมธุรกิจ ในงบการเงินรวมมีก�ำไรจากการรวมธุรกิจที่มีการซื้อแบบเป็นขั้นจากการวัดส่วนได้เสียร้อยละ 15.88 ในส่วนของบริษัท เอ็กคอม ธารา จ�ำกัด จ�ำนวน 226.3 ล้านบาท


41 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้และการขายน�้ำดิบแยกตามโครงข่าย หน่วยงานรัฐแห่งหนึ่งที่เป็นเจ้าของท่อส่งน�้ำ ก�ำหนดให้บริษัทมีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการใช้และการขายน�้ำดิบแยกตามโครงข่าย เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการค�ำนวณผลประโยชน์ตอบแทน มีรายละเอียดดังนี้ 41.1 ปริมาณการใช้และการขายน�้ำดิบแยกตามโครงข่ายท่อส่งน�้ำ

ปริมาณการใช้นํ้าดิบทั้งหมด โครงข่ายท่อส่งน�้ำหนองปลาไหล - มาบตาพุด โครงข่ายท่อส่งน�้ำดอกกราย - มาบตาพุด โครงข่ายท่อส่งน�้ำฉะเชิงเทรา - ชลบุรี โครงข่ายท่อส่งน�้ำหนองปลาไหล - หนองค้อ รวม หัก ปริมาณการใช้นํ้าดิบเพื่อน�ำไปผลิตนํ้าประปา โครงข่ายท่อส่งน�้ำดอกกราย - มาบตาพุด โครงข่ายท่อส่งน�้ำหนองปลาไหล - หนองค้อ รวมรายได้จากการขายน�้ำดิบ

พ.ศ. 2557 ปริมาณ จ�ำนวนเงิน พันลูกบาศก์เมตร พันบาท

103,554 71,505 97,813 23,678 296,550

1,105,182 800,000 983,988 251,386 3,140,556

88,398 85,389 83,208 24,995 281,990

943,126 951,041 833,891 267,311 2,995,369

(16,680) (4,832) 275,038

(165,134) (47,835) 2,927,587

(14,937) (3,713) 263,340

(147,875) (36,762) 2,810,732

รายได้จากการขายน�้ำดิบในโครงข่ายท่อส่งน�้ำฉะเชิงเทรา - ชลบุรี ประกอบด้วย

โครงข่ายท่อส่งน�้ำหนองค้อ - แหลมฉบัง 1 โครงข่ายท่อส่งน�้ำหนองค้อ - แหลมฉบัง 2

(หน่วย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 681,931 552,137 163,271 158,159

โครงข่ายท่อส่งน�้ำฉะเชิงเทรา

138,786

123,595

รวม

983,988

833,891

41.2 สัดส่วนการขายน�้ำดิบแก่ผู้ใช้น�้ำแต่ละประเภท

นิคมอุตสาหกรรม การประปา โรงงานทั่วไป

รวม

(หน่วย : ร้อยละ) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 53 56 27 22 20

22

100

100

153 รายงานประจ�ำปี 2558

พ.ศ. 2558 ปริมาณ จ�ำนวนเงิน พันลูกบาศก์เมตร พันบาท

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

งบการเงินเฉพาะบริษัท


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

รายการระหว่างกัน

รายงานประจ�ำปี 2558

154

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีรายการระหว่างกันกับบุคคลทีอ่ าจมีผลประโยชน์ขดั แย้งในปี 2558 ได้แก่ผถู้ อื หุน้ รายใหญ่ ประกอบด้วย การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) และ บมจ. ผลิตไฟฟ้า (EGCO) โดยได้กระท�ำ อย่างยุติธรรม ตามราคาตลาดและเป็นไปตามปกติธุรกิจการค้า โดยบริษัทฯได้เปิดเผยรายการระหว่างกันครบถ้วนแล้วในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 34 เรื่องรายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

นโยบายหรือแนวโน้มการท�ำรายการระหว่างกันในอนาคต รายการระหว่างกันของบริษัทฯ ที่เกิดขึ้นในอนาคต บริษัทฯ จะด�ำเนินการให้เป็นไปในราคายุติธรรม และตามสภาพตลาด ในลักษณะธุรกิจทั่วไป โดยบริษัทจะปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสั่ง หรือ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมตลอดถึงการปฏิบัติตามข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูล การท�ำรายการที่ เกี่ยวโยง และการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่ส�ำคัญของบริษัทฯ ทัง้ นี้ หากมีรายการระหว่างกันของบริษทั ฯ เกิดขึน้ กับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือมีสว่ นได้สว่ นเสียในอนาคต บริษัทฯ จะเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ

รายการระหว่างกัน รายละเอียดของรายการระหว่างกัน บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ซึ่งผู้สอบบัญชีได้ระบุไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินประจ�ำปีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 โดยมีรายละเอียดประเภทรายการดังต่อไปนี้

1. รายได้จากการจ�ำหน่ายน�้ำดิบและน�้ำประปา ระหว่างกลุ่มบริษัทฯ กับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยมีปริมาณการซื้อขายและ นโยบายการก�ำหนดราคา ดังนี้ นิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะของรายการ

การประปา ส่วนภูมิภาค (The Provincial Waterworks Authority) (“กปภ.”)

กปภ. เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของ บริ ษั ท ฯ โดย ณ วั น ที่ 31 ธันวาคม 2558 กปภ. ถือหุ้น ในสัดส่วนร้อยละ 40.20 ของ ทุ น จดทะเบี ย นที่ ช� ำ ระแล้ ว ของบริษัทฯ

ปริมาณรายการ ปริมาณน�้ำดิบที่จ�ำหน่าย (ล้าน ลบ.ม.) มู ล ค่ า ที่ จั ด จ� ำ หน่ า ย (ล้านบาท)

ปริมาณรายการ นายเอกชัย อัตถกาญน์นา ป ริ ม า ณ น�้ ำ ป ร ะ ป า เป็นรองผูว้ า่ การ (ปฏิบตั กิ าร 3) จ�ำหน่าย (ล้าน ลบ.ม.) และเป็นกรรมการบริษัทฯ มู ล ค่ า ที่ จั ด จ� ำ หน่ า ย น�้ำประปา (ล้านบาท) ป ริ ม า ณ น�้ ำ ป ร ะ ป า จ�ำหน่าย (ล้าน ลบ.ม.) มู ล ค่ า ที่ จั ด จ� ำ หน่ า ย น�้ำประปา (ล้านบาท)

ปริมาณและ มูลค่าของ รายการ

ความจ�ำเป็น / หมายเหตุ

นโยบายในการก�ำหนดราคา

บริษัทฯ จ�ำหน่ายน�้ำดิบให้กับ กปภ. ในอัตรา เดี ย วกั บ ที่ จ� ำ หน่ า ยน�้ ำ ให้ กั บ ผู ้ ใ ช้ น�้ ำ เพื่ อ การ อุปโภคบริโภครายอื่นๆ และมีการท�ำสัญญาที่ เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรที่ ชั ด เจน หรื อ ในราคา ปรับลดตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ทั้งนี ้ ในการออกเสี ย งลงมติ เ กี่ ย วกั บ อั ต ราค่ า น�้ ำ บริษัทฯ จ�ำหน่ายน�้ำประปา กรรมการหรือผู้ถือหุ้นที่มีส่วนได้ส่วนเสียจะไม่มี ให้ กั บ กปภ. ในพื้ น ที่ สิทธิในการออกเสียงลงคะแนน 0.98 เกาะสมุย บริษทั ฯ จ�ำหน่ายน�ำ้ ประปาให้กบั กปภ. ในราคา ตามที่ตกลงร่วมกันตามที่ระบุไว้ในสัญญา 61.68

บริษทั ฯ จ�ำหน่ายน�ำ้ ดิบให้กบั กปภ. ในพื้ น ที่ ห นองค้ อ 85.30 แหลมฉบัง- พัทยา -บางพระ แ ล ะ พื้ น ที่ ด อ ก ก ร า ย 800.13 มาบตาพุด- สัตหีบ

บริษัทฯ จ�ำหน่ายน�้ำประปา 7.57 ให้กับ กปภ. ในพื้นที่ พัทยา 121.33


บมจ.ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิตี้ส์ (“UU”)

ลักษณะของรายการ

กนอ. เป็นผู้ถือหุ้นรายหนึ่ง ปริมาณรายการ ของบริษัทฯ โดย ณ วันที่ 31 ปริมาณน�้ำดิบที่จ�ำหน่าย ธันวาคม 2558 กนอ. ถือหุ้น (ล้าน ลบ.ม.) ในสัดส่วนร้อยละ 4.57 ลงทุน จดทะเบี ย นที่ ช� ำ ระแล้ ว ของ บริษัทฯ นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม เป็น มูลค่าที่จัดจ�ำหน่าย ผู้ว่าการ และเป็นกรรมการ (ล้านบาท) บริษัทฯ บริษัทฯ ถือหุ้น 100% และ ปริมาณรายการ ปริมาณน�้ำดิบที่จ�ำหน่าย มีกรรมการร่วมกัน (ล้าน ลบ.ม.) มูลค่าที่จัดจ�ำหน่าย (ล้านบาท)

กปภ. และบริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (“UU”)

บมจ.ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิตี้ส์ (“UU”)

UU เป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ รายได้จำ� หน่ายน�ำ้ ประปา ถื อ หุ ้ น อยู ่ ใ นสั ด ส่ ว นร้ อ ยละ ประปาบางปะกง 100 ของทุ น จดทะเบี ย นที่ ล้าน ลบ.ม. ล้านบาท ช�ำระแล้วของบริษัทดังกล่าว

ปริมาณและ มูลค่าของ รายการ

ความจ�ำเป็น/หมายเหตุ

บริษทั ฯ จ�ำหน่ายน�ำ้ ดิบให้กบั กนอ. ในพื้ น ที่ ห นองค้ อ 85.50 แหลมฉบัง- พัทยา -บางพระ แ ล ะ พื้ น ที่ ด อ ก ก ร า ย มาบตาพุด- สัตหีบ

940.48 บริษทั ฯ จ�ำหน่ายน�ำ้ ดิบให้กบั บมจ.ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ 4.25 (โครงการชลบุ รี ) ในพื้ น ที่ ฉะเชิงเทรา-ชลบุรี 28.92

12.13 138.24

ประปาฉะเชิงเทรา ล้าน ลบ.ม. ล้านบาท

13.33 156.68

ประปานครสวรรค์ ล้าน ลบ.ม. ล้านบาท

3.96 48.79

บริษัทฯ ถือหุ้น 100% และ ประปาระยอง ล้าน ลบ.ม. มีกรรมการร่วมกัน ล้านบาท

20.27 231.46

ประปาชลบุรี ล้าน ลบ.ม ล้านบาท

9.72 105.57

ประปาราชบุรี ล้าน ลบ.ม. ล้านบาท

4.33 110.85

นโยบายในการก�ำหนดราคา บริษัทฯ จ�ำหน่ายน�้ำดิบให้กับ กนอ. ในอัตรา เดียวกับที่จ�ำหน่ายน�้ำให้กับผู้ใช้น�้ำประเภทนิคม อุตสาหกรรมรายอืน่ ๆ และมีการท�ำสัญญาทีเ่ ป็น ลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน หรือในราคาปรับลด ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ ในการ ออกเสี ย งลงมติ เ กี่ ย วกั บ อั ต ราค่ า น�้ ำ และการ เปลีย่ นแปลงอัตราค่าน�ำ้ ทีบ่ ริษทั ฯ จ�ำหน่ายให้กบั กนอ. กรรมการหรือผู้ถือหุ้นที่มีส่วนได้ส่วนเสีย จะไม่มีสิทธิในการออกเสียงลงคะแนน บริษัทฯ จ�ำหน่ายน�้ำดิบให้กับ บมจ.ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ ในอัตราเดียวกับที่จ�ำหน่ายน�้ำให้กับ ผู้ใช้น�้ำประเภทนิคมอุตสาหกรรมรายอื่นๆ และ มีการท�ำสัญญาที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน หรื อ ในราคาปรั บ ลดตามมติ ที่ ป ระชุ ม วิ ส ามั ญ ผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ ในการออกเสียงลงมติเกี่ยวกับ อั ต ราค่ า น�้ ำและการเปลี่ ย นแปลงอั ต ราค่ า น�้ำ ที่บริษัทฯ จ�ำหน่ายให้กับ บมจ.ยูนิเวอร์แซลฯ กรรมการหรื อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย จะ ไม่มีสิทธิในการออกเสียงลงคะแนน

เป็นรายการที่ UU จ�ำหน่าย UU จ�ำหน่ายน�้ำประปา ให้แก่ กปภ. โดยราคา น�้ำประปาให้แก่ กปภ. ตาม ค่ า น�้ ำ และวิ ธี ก ารปรั บ อั ต ราค่ า น�้ ำ เป็ น ไปตาม สัญญาสัมปทานของบริษัท เงื่อนไขสัญญาสัมปทาน ประปาฉะเชิงเทรา บริษัท ประปาบางปะกง บริ ษั ท ประปานครสวรรค์ การ ประปาระยอง และการ ประปาชลบุรี

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

การนิคม อุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (The Industrial Estate Authority of Thailand) (“กนอ.”)

ลักษณะความสัมพันธ์

155 รายงานประจ�ำปี 2558

นิติบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี

รายงานประจ�ำปี 2558

156

1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) บริษทั ฯ และบริษัทย่อยจ่าย ค่าตอบแทนการสอบบัญชี ให้แก่ บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์ คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด (PwC) ในรอบปี 2558 เป็นจ�ำนวนเงินรวม 2,296,000 บาท

2. ค่าบริการอื่นๆ บริษัทย่อยจ่าย ค่าตอบแทนของงานบริการอื่น ซึ่งได้แก่ ค่าจัดท�ำงบการเงินเสมือน (Pro Forma Financial Information) และค่าทีป่ รึกษาการน�ำบริษทั เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ให้แก่บริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์ คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด (PwC) ในรอบปี 2558 เป็นจ�ำนวนเงินรวม 1,550,000 บาท


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ประเภทธุรกิจ

การบริหารจัดการทรัพยากรน�ำ้ ด้วยระบบโครงข่ายท่อส่งน�ำ้ ดิบขนาดใหญ่ ความยาว 394.5 กิโลเมตร เพือ่ ส่งจ่ายให้กบั กลุ่มนิคมอุตสาหกรรม ตลอดถึงครัวเรือนผู้อปุ โภคบริโภคมนพืน้ ที่ 3 จังหวัดภาคตะวันออกของประเทศไทย ได้แก่ ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา โดยภารกิจส�ำคัญ คือ การพัฒนาระบบท่อส่งน�ำ้ สายหลัก และจัดหาแหล่งน�ำ้ ส�ำรอง เพือ่ รับรองการขยายตัวของ ภาคอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว ซึ่งมีความต้องการน�้ำในปริมาณที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่

เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

เลขทะเบียนบริษัท

0107539000316 (เดิม บมจ.632)

เว็บไซต์

www.eastwater.com

โทรศัพท์

(662) 272-1600

โทรสาร

(662) 272-1601 ถึง 3

หุ้นสามัญของบริษัท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนและหุ้นช�ำระแล้ว ดังนี้ ทุนจดทะเบียน 1,663,725,149 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1.- บาท รวมมูลค่า 1,663,725,149.- บาท ทุนช�ำระแล้ว 1,663,725,149 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1.- บาท รวมมูลค่า 1,663,725,149.- บาท

157 รายงานประจ�ำปี 2558

ชื่อบริษัท

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ข้อมูลทั่วไป


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

รายชื่อกิจการที่บริษัทฯ ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป

รายงานประจ�ำปี 2558

158

ชื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จ�ำกัด (มหาชน) (ยูยู)

บริหารกิจการประปา และบริหารระบบบ�ำบัด น�้ำเสียในรูปสัญญา สัมปทาน สัญญาจ้าง บริหารและสัญญาเช่า บริหาร

สามัญ

510

100

บริษัท ประปานครสวรรค์ จ�ำกัด

บริหารกิจการประปา รวมถึงผลิตและจ�ำหน่าย เลขที่ 1 อาคาร อีสท์วอเตอร์ ชั้น 23 น�้ำประปาให้แก่ ซอยวิภาวดีรังสิต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจักร ส�ำนักงานประปา กรุงเทพมหานคร 10900 นครสวรรค์และงาน โทรศัพท์: (66 56) 256-690 และ (662) 272-1688 บริการผู้ใช้น�้ำ โทรสาร: (66 56) 256-526 และ (662) 272-1690 ถึง 2

สามัญ

40

(บมจ. ยูยู ถือหุ้น 99.99%)

บริษัท ประปาบางปะกง จ�ำกัด

บริหารกิจการประปา รวมถึงผลิตและจ�ำหน่าย เลขที่ 1 อาคาร อีสท์วอเตอร์ ชั้น 23 น�้ำประปาให้แก่ ซอยวิภาวดีรังสิต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจักร ส�ำนักงานประปา กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (66 38) 539-365 ถึง 7 และ (662) 272-1688 บางปะกงและงานบริการ ผู้ใช้น�้ำ โทรสาร: (66 38) 539-368 และ (662) 272-1690 ถึง 2

สามัญ

40

(บมจ. ยูยู ถือหุ้น 99.99%)

บริหารกิจการประปา รวมถึงผลิตและจ�ำหน่าย เลขที่ 1 อาคาร อีสท์วอเตอร์ ชั้น 23 น�้ำประปาให้แก่ ซอยวิภาวดีรังสิต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจักร ส�ำนักงานประปา กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (66 38) 814-427 ถึง 9 และ (662) 272-1688 ฉะเชิงเทราและงาน บริการผู้ใช้น�้ำ โทรสาร: (66 38) 814-427 และ (662) 272-1690 ถึง 2

สามัญ

100

(บมจ. ยูยู ถือหุ้น 98.99%)

เลขที่ 1 อาคาร อีสท์วอเตอร์ ชั้น 23 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (662) 272-1688 โทรสาร: (662) 272-1690 ถึง 2

บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จ�ำกัด

ชนิด ทุนจดทะเบียน ของหุ้น ช�ำระแล้ว (ล้านบาท)

สัดส่วน การถือหุ้น (ร้อยละ)


(หุ้นสามัญ) โทรศัพท์: โทรสาร:

ผู้สอบบัญชี โทรศัพท์: โทรสาร:

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 (662) 009-9000 (662) 009-9991 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด 179/74-80 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร์ ชั้น 15 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 (662) 286-9999 (662) 286-5050

159 รายงานประจ�ำปี 2558

นายทะเบียนหลักทรัพย์

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

บุคคลอ้างอิง


บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก

รายงานประจ�ำปี 2558

160

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ของบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) ณ วัน ปิดสมุดทะเบียนล่าสุด เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2558 เป็นดังนี้

ล�ำดับที่

ผู้ถือหุ้น

จ�ำนวนหุ้น

สัดส่วน (%)

1

การประปาส่วนภูมิภาค

668,800,000

40.20

2

บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน)

311,443,190

18.72

3

NORBAX INC.,13

106,165,400

6.38

4

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

76,000,000

4.57

5

NORTRUST NOMINEES LTD.

42,184,575

2.54

6

BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES, LONDON BRANCH

29,812,100

1.79

7

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด

28,346,620

1.70

8

กองทุนเปิดอเบอร์ดีนหุ้นระยะยาว

27,465,700

1.65

9

กองทุนเปิดอเบอร์ดีนโกรท

25,598,900

1.54

10

กองทุนเปิดอเบอร์ดีนสมอลแค็พ

25,133,300

1.51

322,775,364

19.40

1,663,725,149

100.00

ผู้ถือหุ้นอื่น

ที่มา : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด หมายเหตุ : ผูถ้ อื หุน้ ในล�ำดับที่ 1 และ 4 เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ทเี่ ป็นตัวแทนภาครัฐ และผูถ้ อื หุน้ ล�ำดับที่ 2 เป็นนิตบิ คุ คล ซึง่ ผูถ้ อื หุน้ ทัง้ 3 ราย มีส่วนในการก�ำหนดนโยบายการจัดการ โดยเสนอผู้แทนเป็นกรรมการให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้ง

นโยบายการจ่ายเงินปันผล คณะกรรมการบริษัทฯ มีนโยบายที่จะเสนอให้ที่ ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น ไม่ น ้ อ ยกว่ า ร้อยละ 30 ของก�ำไรสุทธิส่วนที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ของงบการเงินรวมภายหลังหักเงิน ส�ำรองตามกฎหมายในแต่ละปี ทั้งนี้การจ่ายเงินปันผล รวมถึงความจ�ำเป็นและความเหมาะสมอืน่ ๆ ตามทีบ่ ริษทั ฯ เห็นสมควร


น้ำ คือ ชีว�ต เพราะน้ำสรรสรางทุกสิ�ง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.