EASTW: แบบฟอร์ม 56-1 ประจำปี 2558

Page 1

แบบแสดงรายการข้ อมูลประจําปี 2558 (56-1) สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) EASTW


สารบัญ หน้ า ส่ วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3 3. ปัจจัยความเสี่ ยง 51 4.ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ 54 5. ข้อพิพาททางกฎหมาย 73 6. ข้อมูลทัว่ ไปและข้อมูลสําคัญอื่น 75 ส่ วนที่ 2 ส่ วนที่ 2 : การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ 7. ข้อมูลหลักทรัพย์และผูถ้ ือหุน้ 1 8. โครงสร้างการจัดการ 4 9. การกํากับดูแลกิจการ 20 10. ความรับผิดชอบต่อสังคม 47 11.การควบคุมภายในและการบริ หารจัดการความเสี่ ยง 48 12. รายการระหว่างกัน 83 ส่ วนที่ 3 ส่ วนที่ 3 : ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 13. ข้อมูลทางการเงินที่สาํ คัญ 1 14. การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ ายจัดการ 12 การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล เอกสารแนบ เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มอี าํ นาจควบคุมบริษัท และเลขานุการบริษทั เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษัท บริษัทย่ อย และบริษัททีเ่ กีย่ วข้ อง เอกสารแนบ 3 รายละเอียดเกี่ยวกับหั วหน้ างานผู้ตรวจสอบภายใน และหั วหน้ างานกํากับดู แลการ ปฏิบัติงานของบริษัท (compliance) เอกสารแนบ 4 รายละเอียดเกีย่ วกับการประเมินราคาทรัพย์ สิน

ส่ วนที่ 1 :


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ส่ วนที่ 1 การประกอบธุรกิจ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1.1 กลยุทธ์ การดาเนินธุรกิจ คณะกรรมการบริ ษทั ฯ ได้ทบทวนแผนกลยุทธ์ ของกลุ่มบริ ษทั ฯ ให้รองรับการขยายธุ รกิจในอนาคต รักษาความมัน่ คงในการขยายตัวของธุ รกิ จปั จจุ บนั และยังมุ่งมัน่ พัฒนาระบบการจัดการให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานสากล และโปร่ งใสภายใต้การก ากับ ดู แลกิ จการที่ ดี ตลอดจนควบคุ ม การดาเนิ นงาน ภายใต้การ บริ หารความเสี่ ยง และหลักธรรมาภิบาลอย่างโปร่ งใส ซื่ อสัตย์ โดยมีวสิ ัยทัศน์ และพันธกิจ ดังนี้ วิสัยทัศน์ เป็ นบริ ษทั ชั้นนาในการจัดการน้ าอย่างยัง่ ยืน เพื่อเติบโตไปกับเศรษฐกิจของประเทศ และขยายธุ รกิจ สู่ ภูมิภาคอาเซี ยน พันธกิจ 1. ขยายการลงทุ น และพัฒ นาธุ รกิ จน้ าดิ บ และธุ รกิ จที่ เกี่ ยวข้องเพื่ อการเติ บโตอย่างต่ อเนื่ อง และ ยัง่ ยืน 2. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทนั สมัยและเหมาะสม 3. พัฒนาศักยภาพของบุคลากรและปรับปรุ งโครงสร้างการบริ หารของกลุ่มฯ ให้เหมาะสมดียงิ่ ขึ้น 4. บริ หารธุ รกิจอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และโปร่ งใสตามหลักธรรมาภิบาล 5. รับผิดชอบต่อชุมชน สังคม สิ่ งแวดล้อม และมีความสัมพันธ์ที่ดีกบั ผูม้ ีส่วนได้เสี ย ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ในการดาเนินธุ รกิจที่สาคัญมี 5 ด้าน คือ 1. บริ หารธุ รกิจให้เติบโตอย่างเหมาะสมและสร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ 2. พัฒนาธุ รกิจใหม่ เพื่อรองรับการเติบโตอย่างต่อเนื่องในระยะกลางและระยะยาว 3. มีกรอบการบริ หารการเงินและการลงทุนในธุ รกิจอย่างมีประสิ ทธิ ภาพสู ง 4. พัฒนาบุคลากร บริ หารองค์ความรู ้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ จากการดาเนิ นการตามวิสัยทัศน์และพันธกิจข้างต้น บริ ษทั ฯ ได้มุ่งมัน่ ทุ่มเทในการให้บริ การและใส่ ใจในการบริ การลูกค้า โดยการปรับปรุ งและขยายเครื อข่ายท่อส่ งน้ าให้สามารถจ่ายน้ าดิบในพื้นที่บริ การอย่าง ทั่วถึ ง และพอเพี ย งเพื่ อ การเติ บ โตทางธุ รกิ จ การพัฒ นาธุ ร กิ จ ด้า นน้ า ดิ บ และน้ าประปา โดยเน้ น การ ดาเนินการด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชนท้องถิ่นและสิ่ งแวดล้อมอย่างต่อเนื่ อง เพื่อผลักดันให้องค์กรมี ความก้าวหน้าอย่างมัน่ คงในระยะยาว สามารถรั ก ษาระดับ การประเมิ นผลการกากับ ดู แลกิ จการที่ ดี โดย ส่วนที่ 1 หน้า 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

สมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) ในระดับ “ดีเลิศ” ได้ต่อไป นอกจากนี้ บริ ษทั ทริ สเรทติ้ง จากัด ได้ยืนยันอันดับเครดิตองค์กร ในปี 2558 ที่ระดับ “A+” แนวโน้ม “คงที่” ซึ่ งสะท้อนถึงสถานะการเงิน และผลการดาเนินงานที่แข็งแกร่ งของกลุ่มบริ ษทั ฯ อย่างต่อเนื่อง 1.2 ความสั มพันธ์ กบั กลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นใหญ่ ธุ รกิจของบริ ษทั ฯ เกิดขึ้นจากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2535 ที่เห็นชอบให้การประปา ส่ วนภูมิภาค (“กปภ.”) จัดตั้งบริ ษทั ขึ้นเพื่อเป็ นผูร้ ับผิดชอบการพัฒนาและดาเนิ นการดูแลระบบท่อส่ งน้ าดิ บ สายหลัก ในพื้ นที่ ช ายฝั่ งทะเลภาคตะวันออกครอบคลุ ม พื้ นที่ จงั หวัดชลบุ รี ระยอง ฉะเชิ งเทรา ปราจี นบุ รี สระแก้ว จันทบุรี และตราด โดยมี กปภ. เป็ นผูถ้ ือหุ น้ ทั้งหมด ในปี 2539 บริ ษ ัท ฯ แปรสภาพเป็ นบริ ษ ัท มหาชนจ ากัด และในปี 2540 ได้เสนอขายหุ ้ น ให้ ก ับ ประชาชนทัว่ ไป และจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยมี กปภ. เป็ นผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ ใน สัดส่ วนร้อยละ 40.20 ของทุนจดทะเบียนที่เรี ยกชาระแล้วก่อนการเสนอขายหุ น้ สามัญ อย่างไรก็ตาม การดาเนิ นธุ รกิ จหลักของบริ ษ ทั ฯ ไม่ได้มีความสัมพันธ์หรื อเกี่ ยวข้องกับ กปภ. ใน ลักษณะพึ่งพิง หรื อแข่งขันกับกลุ่มธุ รกิจของ กปภ. อย่างมีนยั สาคัญ เช่น เป็ นการให้ หรื อรับความช่ วยเหลื อ ทางการเงิน ทางเทคนิค หรื อการใช้ตราสิ นค้าร่ วมกัน

ส่วนที่ 1 หน้า 2


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1 ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการทีส่ าคัญ กันยายน 2535 มติค ณะรัฐมนตรี (12 กันยายน 2535) มอบหมายให้ก รมชลประทานเป็ นผูร้ ับผิดชอบหลัก ในการ พัฒนาแหล่ งน้ าดิ บ และอ่างเก็บ น้ า และให้การประปาส่ วนภู มิภาค (กปภ.) จัดตั้งบริ ษทั จัดการและพัฒนา ทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด ขึ้นมารับผิดชอบในการพัฒนาและดาเนิ นการดูแลระบบท่อส่ งน้ าสายหลัก โดยโอนทรัพย์สินและหนี้ สินของระบบท่อส่ งน้ าที่มีอยู่เดิ มมาดาเนิ นการต่อไป ทั้งนี้ นอกจากบริ ษทั ฯ จะ สามารถประกอบธุ รกิจเชิ งพาณิ ชย์ในการซื้ อน้ าจากแหล่งน้ าดิบของทางราชการเพื่อจาหน่ ายให้แก่ผใู ้ ช้น้ าใน พื้นที่รับผิดชอบแล้ว ยังสามารถร่ วมทุนกับภาคเอกชนได้ดว้ ย ตุลาคม 2535 บริ ษทั ฯ จดทะเบี ยนจัดตั้งเมื่ อวันที่ 15 ตุลาคม 2535 โดยมีทะเบี ยนเลขที่ 13571/2535 และมีทุ นจด ทะเบี ยนเริ่ มต้น 10 ล้านบาท แบ่งออกเป็ นหุ ้นสามัญ 100,000 หุ ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 100 บาท โดย กปภ. ถือหุ น้ บริ ษทั ฯ ในอัตราส่ วนร้อยละ 100 ตั้งแต่เริ่ มจัดตั้งบริ ษทั ฯ สิ งหาคม 2539 มติคณะรัฐมนตรี (6 สิ งหาคม 2539) ให้ความเห็นชอบแนวทางระดมทุนและเพิม่ ทุนของบริ ษทั ฯ โดย ให้การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ร่ วมถือหุ น้ ในบริ ษทั ฯ ด้วย กันยายน 2539 บริ ษทั ฯ เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 490 ล้านบาท โดยมีกลุ่มผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ ดังนี้ กปภ. ถือหุ ้นจานวน 43,999,870 หุ ้น คิดเป็ นร้อยละ 89.80 ของทุนจดทะเบียนเรี ยกชาระแล้ว และ กนอ. ถือหุ ้นจานวน 5,000,000 หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 10.20 ของทุนจดทะเบียนเรี ยกชาระแล้ว พฤศจิกายน 2539 บริ ษ ัท ฯ จดทะเบี ย นแปรสภาพเป็ นบริ ษ ัท มหาชนจากัด และใช้ชื่ อว่า บริ ษ ัท จัดการและพัฒ นา ทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ทะเบียนเลขที่ บมจ. 632 กรกฎาคม 2540 บริ ษทั ฯ จดทะเบียนเพิ่มทุนจากการเสนอขายหุ ้น 51.00 ล้านหุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 10 บาท ทาให้ บริ ษทั ฯ มีทุนจดทะเบียนเรี ยกชาระแล้ว 1,000 ล้านบาท หุ ้นสามัญของบริ ษทั ฯได้เริ่ มเข้าทาการซื้ อขายใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้ชื่อบนกระดานหลักทรัพย์ คือ EASTW มกราคม 2547 บริ ษทั ฯ เพิ่มทุนจดทะเบียนจานวน 1,050 ล้านบาท แบ่งเป็ นหุ ้นสามัญ 105 ล้านหุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 10 บาท โดยมีทุนเรี ยกชาระแล้วจานวน 1,000 ล้านบาท เพื่อออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ น้ สามัญของบริ ษทั ส่วนที่ 1 หน้า 3


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ฯ และเสนอขายให้แก่พนักงาน กรรมการ และที่ปรึ กษาของคณะกรรมการบริ ษทั ฯ เป็ นจานวนรวม 5,000,000 หน่วย มิถุนายน 2547 บริ ษทั ฯ เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ นจานวน 1,665 ล้านบาท ประกอบด้วยหุ ้นสามัญ 166.50 ล้านหุ ้น มูล ค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยการออกหุ ้นสามัญใหม่เพิ่มขึ้นจานวน 61.50 ล้านหุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท พฤษภาคม 2548 บริ ษทั ฯ ได้เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ น้ ที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็ นหุ ้นละ 1 บาท ตามมติที่ประชุมวิสามัญ ผูถ้ ือหุ น้ ครั้งที่ 1/2548 มกราคม 2551 บริ ษ ัท ฯ ลดทุ น จดทะเบี ย นของบริ ษ ัท ฯ เป็ นจานวน 1,663.73 ล้านบาท ประกอบด้วยหุ ้ น สามัญ 166.37 ล้านหุ ้น มู ล ค่าที่ ตราไว้หุ้ นละ 1 บาท เนื่ องจากใบส าคัญ แสดงสิ ท ธิ ที่ จะซื้ อหุ ้ นสามัญของบริ ษ ทั ฯ หมดอายุการใช้สิทธิแปลงสภาพ ณ ธั น วาคม 2558 บริ ษั ท ฯ มี ทุ น จดทะเบี ย น 1,663,725,149 บาท โดยมี ทุ น เรี ยกช าระแล้ ว 1,663,725,149 บาท และมี สั ดส่ วนผูถ้ ื อหุ ้นหลัก ได้แก่ กปภ. ร้ อยละ 40.20 บมจ.ผลิ ตไฟฟ้ า ร้ อยละ 18.72 NORBAX INC.,13 ร้อยละ 6.38 กนอ. ร้อยละ 4.57 ส่ วนที่เหลือร้อยละ 30.13 เป็ นนักลงทุนทัว่ ไป 2.2 ภาพรวมการประกอบธุรกิจ ธุ รกิจหลักของบริ ษทั ฯ คือ การพัฒนาและบริ หารระบบท่อส่ งน้ าดิบสายหลักในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาค ตะวันออกให้สามารถตอบสนองความต้องการใช้น้ าในพื้นที่ได้อย่างเพียงพอ โดยปั จจุบนั บริ ษทั ฯ มีโครงข่าย ท่อส่ งน้ าดิ บให้บริ การใน 3 จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิ งเทรา ชลบุรี และระยอง นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังดาเนิ นธุ รกิ จ อื่นๆ ดังนี้ 1) ให้บริ การเป็ นที่ปรึ กษาและให้คาแนะนาเกี่ยวกับระบบผลิตน้ าสะอาด ระบบท่อส่ งและจ่ายน้ า การ ซ่อมบารุ งรักษาท่อส่ งน้ าและอุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจนซื้ อขายอุปกรณ์และวัสดุที่เกี่ยวข้องกับท่อส่ งน้ าทุกชนิด 2) ขยายการดาเนิ นการหรื อธุ รกิ จการพัฒนาและบริ หารทรัพยากรน้ าหรื อธุ รกิ จที่เกี่ยวเนื่ องในพื้นที่ อื่น และบริ ษทั ฯ ยังได้ขยายธุ รกิจไปสู่ ธุรกิจน้ าประปาและธุ รกิจบาบัดน้ าเสี ย ดังแผนภาพที่ 2.2

ส่วนที่ 1 หน้า 4


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ธุรกิจนา้ ดิบ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก บมจ ธุรกิจต่ อเนื่อง ธุรกิจนา้ ประปา

ธ บมจ. ยูนิเวอร์ แซล ยูทลี ิตีส้ ์ 100%

หน่ วยธุรกิจ ประปาสัตหีบ ประปาเกาะล้ าน ประปาบ่ อวิน-หนองขาม ประปาเกาะสมุย ประปาระยอง ประปาชลบุรี ประปานิคมอุตสาหกรรม หลักชัยเมืองยาง ประปาหัวรอ

บจ. ประปา* นครสวรรค์ 99 %

บจ. ประปา* บางปะกง 99 %

บจ. ประปา* ฉะเชิงเทรา 99 %

บจ. เอ็กคอมธารา*

90.07 %

แผนภาพที่ 2.2 โครงสร้างการลงทุนของบริ ษทั ฯ

หมายเหตุ * สัดส่วนการถือหุ้นคิดเป็ น % ของทุนจดทะเบียนบริ ษทั ฯ 1. เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2558 บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก ได้จาหน่ ายหุ ้นสามัญของ บริ ษทั เอ็กคอมธารา จ้ากัด ทั้งหมดที่ บริ ษทั ถืออยูจ่ านวน 5,479,140 หุ้น หรื อคิดเป็ น 15.88% ของจานวนหุ้นทั้งหมดของบริ ษทั เอ็กคอมธารา จากัด ให้แก่ บจก. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต้ ีส์ ต่อมาเมื่อวันที่ 31 สิ งหาคม 2558 บจก.ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ ได้ซ้ื อหุ ้นสามัญของ บจก.เอ็กคอมธารา จานวน 25,597,096 หุ้น หรื อ คิดเป็ นร้อยละ 74.19 จาก บจก.เอ็กโก เอ็นจิ เนี ยริ่ ง แอนด์ เซอร์ วิส ท าให้บ จก.ยูนิเวอร์ แซล ยูที ลิต้ ีส์ ถื อหุ้น บจก.เอ็กคอมธารา ภายหลังการทารายการเป็ น 31,076,236 หุ้น หรื อ คิดเป็ น 90.07% 2. บริ ษทั ยูนิ เวอร์ แ ซล ยูที ลิ ต้ ี ส์ จากัด ได้จาหน่ ายหุ ้ นสามัญ ทั้งหมดใน บจก.เสม็ด ยูทิ ลิ ต้ ีส์ คิ ดเป็ นร้ อยละ 55 ของจานวนหุ้ น ทั้งหมด ให้ ก ับ บริ ษทั เอกชนแห่งหนึ่ง เมื่อวันที่ 14 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 3. เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2558 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิ ต้ ีส์ จากัด (มหาชน) (เดิมชื่ อ“บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด”) ได้จดทะเบียนแปรสภาพ เป็ นบริ ษทั มหาชนจากัดต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิ ชย์ 4. บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด (มหาชน) ลงนามในสัญญาซื้ อขายน้ าประปากับเทศบาลตาบลหัวรอ จ. พิษณุโลกแล้ว เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2557 แต่ยงั ไม่ได้เริ่ มดาเนิ นการเชิงพาณิ ชย์ ส่วนที่ 1 หน้า 5


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

2.3 โครงการในปัจจุบัน ในช่วงระยะเวลา 5 ปี ที่ผา่ นมา (ปี 2554-2558) บริ ษทั ฯ มีพฒั นาการที่สาคัญในด้านต่างๆ ดังนี้ 2.3.1 ด้ านธุรกิจนา้ ดิบ พืน้ ทีร่ ะยอง ตุลาคม 2552 ด าเนิ น โครงการก่ อ สร้ า งวางท่ อ ส่ ง น้ าหนองปลาไหล-มาบตาพุ ด เส้ น ที่ 3 ระบบท่ อ ส่ ง น้ านี้ มี ความสามารถในการจ่ายน้ าปี ละประมาณ 105 ล้าน ลูกบาศก์เมตร เพื่อรองรับความต้องการใช้น้ าที่เพิ่มขึ้นใน อีก 10 ปี ข้างหน้าในพื้นที่มาบตาพุด ทาให้มีน้ าเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ า ตลอดจนสามารถจ่ายน้ าให้แก่ ผูใ้ ช้น้ ารายใหม่ตามแนววางท่อในพื้นที่ได้อย่างเต็มที่ แล้วเสร็ จเดือนเมษายน 2556 มิถุนายน 2553 ดาเนินการโครงการก่อสร้างสระสารองน้ าดิบมาบข่า 2 เพื่อเพิ่มปริ มาณน้ าสารองฉุ กเฉิ นในพื้นที่มาบ ตาพุดอีกไม่นอ้ ยกว่า 220,000 ลูกบาศก์เมตร เมื่อรวมกับปริ มาณน้ าสารองปั จจุบนั เป็ นปริ มาณน้ าสารองทั้งสิ้ น ไม่นอ้ ยกว่า 336,000 ลูกบาศก์เมตร เพื่อการสารองการจ่ายน้ ากรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ นในพื้นที่มาบตาพุดทั้งระบบ ได้ไม่นอ้ ยกว่า 20 ชัว่ โมง โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 155 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนมีนาคม 2556 พฤศจิกายน 2553 ปรับปรุ งสถานี สูบน้ ามาบตาพุด โดยการติดตั้งเครื่ องสู บน้ าเพิ่มอีกจานวน 2 ชุ ด เพื่อรองรับการใช้น้ า ที่เพิ่มสู งขึ้นของพื้นที่สัตหี บและบ้านฉาง ในระยะ 10 ปี ข้างหน้าโดยใช้เงินลงทุนประมาณ 8 ล้านบาท แล้ว เสร็ จเดือนมีนาคม 2554 เมษายน 2554 1) ปรับปรุ งสถานี สูบน้ าดอกกราย โดยการเปลี่ ยนเครื่ องสู บ น้ าให้มีอตั ราการสู บ เพิ่มขึ้น จานวน 2 เครื่ อง พร้ อมงานก่ อสร้ างวางท่อขนาดเส้ นผ่านศู นย์กลาง 1,200 มิลลิ เมตร ยาว 1.5 กิ โลเมตร เพิ่ มเติ ม เพื่ อ รองรั บ การสู บ น้ า จากปริ ม าณน้ าที่ ไ ด้รับ จัด สรรของกรมชลประทานได้อย่างเพี ย งพอ โดยใช้เงิ น ลงทุ น ประมาณ 192 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนสิ งหาคม 2555 2) ก่อสร้ างสถานี จ่ายไฟฟ้ าและระบบสายส่ ง ระดับแรงดัน 115 กิ โลโวลต์ บริ เวณสถานี สูบน้ าดอก กราย เพื่อเพิ่มเสถียรภาพในการจ่ายไฟฟ้ าให้กบั สถานี สูบน้ า ลดความเสี่ ยงในการเกิดปั ญหาไฟฟ้ าดับ และลด การใช้พลังงาน โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 31.20 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนมกราคม 2555 มกราคม 2555 ดาเนินโครงการพัฒนาสระเก็บน้ าดิบคลองทับมา เพื่อเพิ่มแหล่งน้ าต้นทุนของบริ ษทั ฯ รองรับความ ต้องการใช้น้ าในอนาคตของพื้นที่ระยอง โดยสามารถนาน้ ามาใช้ประโยชน์ได้ไม่นอ้ ยกว่าปี ละ 47 ล้าน ลบ.ม./ ปี ใช้เงินลงทุนประมาณ 2,203 ล้านบาท กาหนดแล้วเสร็ จเดือนธันวาคม 2558 แต่เนื่ องจากเกิดอุทกภัยขึ้นใน พื้นที่ซ่ ึ งทาให้บริ ษทั ฯ จาเป็ นต้องแก้ไขแบบสถานี สูบน้ า เพื่อยกระดับผนังโรงสู บและพื้นห้องไฟฟ้ าให้พน้ ส่วนที่ 1 หน้า 6


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

จากระดับน้ าท่วมสู งสุ ด จึงจาเป็ นต้องขยายระยะเวลาในการก่อสร้ าง คาดว่าจะแล้วเสร็ จเดื อนกรกฏาคม 2559 กรกฎาคม 2556 ดาเนิ นโครงการก่ อสร้ างวางท่ อส่ งน้ าดิ บ อ่างเก็บ น้ าประแสร์ – อ่างเก็บ น้ าหนองปลาไหลเพื่ อเพิ่ ม แหล่ งน้ าต้นทุนของบริ ษทั ฯ จากอ่างเก็บน้ าประแสร์ รองรับความต้องการใช้น้ าในอนาคตของพื้นที่ระยอง และปลวกแดง-บ่อวิน โดยสามารถส่ งน้ าได้ปีละ 70 ล้าน ลบ.ม. ใช้เงินลงทุนประมาณ 2,835 ล้านบาท คาดว่า จะแล้วเสร็ จเดือนกันยายน 2559 มีนาคม 2557 ก่อสร้ างสถานี จ่ายไฟฟ้ าและระบบสายส่ ง ระดับแรงดัน 115 กิ โลโวลต์ บริ เวณสถานี สูบน้ าหนอง ปลาไหล เพื่อเพิ่มเสถียรภาพในการจ่ายไฟฟ้าให้กบั สถานีสูบน้ า ลดความเสี่ ยงในการเกิดปั ญหาไฟฟ้าดับ และ ลดการใช้พลังงาน โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 37.90 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนพฤศจิกายน 2557 พืน้ ทีป่ ลวกแดง-บ่ อวิน มกราคม 2553 ก่ อ สร้ า งปรั บ ปรุ ง ท่ อ ส่ ง น้ า By-Pass เส้ น ที่ 2 ขนาดเส้ น ผ่ า นศู น ย์ก ลาง 800 มิ ล ลิ เมตร เพื่ อ เพิ่ ม เสถียรภาพในการส่ งน้ าจากอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหลไปยังพื้นที่ชลบุรี โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 20 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนกรกฎาคม 2554 เมษายน 2556 ดาเนิ นโครงการติ ดตั้งเครื่ องสู บน้ าที่ สถานี สูบน้ าหนองค้อ (สู บกลับไปยังพื้นที่ บ่อวิน -ปลวกแดง) เพื่อให้พ้นื ที่บริ การบ่อวิน-ปลวกแดงมีทางเลือกแหล่งน้ าสารองกรณี ฉุกเฉิ นเมื่อการส่ งน้ าจากอ่างเก็บน้ าหนอง ปลาไหล มีเหตุขดั ข้อง โดยใช้วงเงินลงทุนรวมประมาณ 29.2 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนมกราคม 2557 ธันวาคม 2558 ดาเนิ นโครงการก่อสร้างท่อส่ งน้ าดิ บหนองปลาไหล-หนองค้อ เส้นที่ 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพในการจ่าย น้ าให้กบั ผูใ้ ช้น้ าในพื้นที่ปลวกแดง-บ่อวิน และรองรับการใช้น้ าของโรงไฟฟ้ าอิสระ (IPP) โดยส่ วนแรกเป็ น การดาเนิ นการเฉพาะงานวางท่อส่ งน้ าเพื่อนามาใช้งานก่ อน ใช้เงิ นลงทุนประมาณ 407 ล้านบาท แล้วเสร็ จ เดือนกรกฎาคม 2559 พืน้ ทีช่ ลบุรี กันยายน 2553 ด าเนิ น โครงการเพิ่ ม ศัก ยภาพท่ อ ส่ ง น้ า หนองค้อ -แหลมฉบัง เพื่ อ ให้ ร ะบบท่ อ ส่ ง น้ า หนองค้อ แหลมฉบังมีศกั ยภาพเพิ่มขึ้น สามารถรองรับความต้องการใช้น้ าในอนาคตและเพื่อรองรับการส่ งน้ าให้โรง กรองน้ าบางละมุง (ใหม่) ประกอบด้วยการก่อสร้างท่อแยกจ่ายน้ าให้โรงกรองน้ าบางละมุง (ใหม่) และการ

ส่วนที่ 1 หน้า 7


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ก่อสร้างสถานี สูบน้ าเพิ่มแรงดัน (Booster Pump) ที่อ่างเก็บน้ าหนองค้อ โดยใช้วงเงินลงทุนรวมประมาณ 107 ล้านบาทแล้วเสร็ จเดือนมีนาคม 2554 พฤศจิกายน 2554 ดาเนินโครงการเพิ่มศักยภาพระบบจ่ายน้ าแหลมฉบัง(บางพระ) เพื่อเพิ่มความสามารถของระบบสู บ จ่ายน้ าพื้ นที่ ช ลบุ รี สามารถส่ งน้ าให้แก่ ผูใ้ ช้น้ าได้อย่างเพี ยงพอ ลดการพึ่ งพาน้ าจากพื้ นที่ ระยอง และเพิ่ ม เสถียรภาพในการสู บจ่ายน้ าให้มนั่ คงมากขึ้น โดยใช้วงเงินลงทุนรวมประมาณ 922 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือน พฤศจิกายน 2556 เมษายน 2555 ด าเนิ น โครงการก่ อ สร้ า ง Regulation Well (ท่ อ ส่ งน้ าบางปะกง – บางพระ – ชลบุ รี ) เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ทธิ ภาพในการบริ หารต้นทุนค่ากระแสไฟฟ้าสู บส่ ง ให้พ้ืนที่ชลบุรีมีแหล่งน้ าสารองฉุ กเฉิ นเพิม่ ขึ้น (สระ พัก น้ า และถัง ยกระดับ น้ า ( Head Tank)) และเพิ่ ม เสถี ย รภาพของแรงดัน น้ า ในระบบสู บ จ่ า ยให้ มี ค วาม สม่าเสมอ และมัน่ คงยิง่ ขึ้น โดยใช้วงเงินลงทุนรวมประมาณ 71.2 ล้านบาท ธันวาคม 2555 ดาเนินโครงการปรับปรุ งเปลี่ยนท่อเหล็กแทน ท่อ CC-GRP ขนาด 800 มม. เพื่อให้การส่ งน้ าในพื้นที่ ชลบุ รีมีเสถี ยรภาพ ไม่เกิ ดการหยุดชะงัก ลดความเสี ยหายจากปริ ม าณน้ าสู ญ เสี ย โดยใช้วงเงิ นลงทุ นรวม ประมาณ 36 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนกันยายน 2556 ธันวาคม 2556 ดาเนินโครงการวางท่อส่ งน้ าอ่างเก็บน้ าหนองค้อ-ประปาศรี ราชา เพื่อประหยัดพลังงานในการส่ งน้ า ให้แก่ประปาศรี ราชา และเพิ่มเสถียรภาพในการส่ งน้ าให้แก่ประปาศรี ราชา โดยใช้วงเงินลงทุนรวมประมาณ 32.2 ล้านบาท แล้วเสร็ จเดือนเมษายน 2557 พฤศจิกายน 2557 ดาเนิ นโครงการระบบสู บน้ าดิ บจากแหล่ งน้ าเอกชน จังหวัดชลบุ รี (งานวางท่อส่ งน้ าและก่อสร้ าง สถานี สูบน้ าแรงดันต่ า) เพื่อรองรับการแก้ไขปั ญหาภัยแล้งในระยะสั้นและระยะยาว เพิ่มความมัน่ คงให้แก่ แหล่งน้ ามากขึ้นโดยรับซื้ อน้ าจากแหล่งน้ าเอกชน โดยใช้วงเงินลงทุนรวมประมาณ 450 ล้านบาท แล้วเสร็ จ เดือนสิ งหาคม 2558 ตุลาคม 2558 ดาเนิ นโครงการวางท่อท่อส่ งน้ าดิ บจากแหล่งน้ าเอกชน จังหวัดชลบุรี (ก่อสร้ างสถานี สูบส่ งน้ าเพิ่ม แรงดัน) เพื่อรองรับการแก้ไขปั ญหาภัยแล้งในระยะสั้นและระยะยาว เพิ่มความมัน่ คงให้แก่แหล่งน้ ามากขึ้น โดยรั บ ซื้ อ น้ า จากแหล่ ง น้ าเอกชน ใช้วงเงิ น ลงทุ น รวมประมาณ 202 ล้านบาท คาดว่าจะแล้วเสร็ จเดื อ น กรกฎาคม 2559

ส่วนที่ 1 หน้า 8


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ระบบท่อส่ งนา้ ประแสร์ -คลองใหญ่ มิถุนายน 2552 มติค ณะรัฐมนตรี (9 มิถุ นายน 2552) ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กรมชลประทาน) ร่ วมกับ หน่ วยงานราชการอื่ น ๆ ที่ เกี่ ยวข้องตรวจสอบในรายละเอี ยดของโครงการนี้ อีก ครั้ งหนึ่ ง ก่ อนการอนุ ม ัติ งบประมาณเพื่อให้การชาระค่าก่อสร้างโครงการฯ ให้แก่บริ ษทั ฯ กรกฎาคม 2552 มติ ค ณะรั ฐ มนตรี (14 กรกฎาคม 2552) ให้ ก ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กรมชลประทาน) ดาเนิ นการจัดซื้ อทรั พย์สินที่ เกิ ดจากโครงการฯ ในวงเงิ นไม่เกิ น 1,677,665,681 บาท โดยให้ดาเนิ นการให้ ถูกต้องตามขั้นตอนของระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เมษายน 2553 บริ ษทั ฯ ส่ งมอบทรัพย์สินที่เกิ ดจากการก่อสร้างโครงการวางท่อเชื่ อมจากอ่างเก็บน้ าประแสร์ ไปอ่าง เก็บน้ าคลองใหญ่ จังหวัดระยอง ให้กรมชลประทาน และบริ ษทั ได้รับชาระเงิน 1,677,000,000 บาท จากกรม ชลประทานแล้ว 2.3.2 ระบบควบคุม มกราคม 2554 ปรั บ ปรุ ง ระบบควบคุ ม แบบรวมศู น ย์ (Control Center) และระบบสื่ อ สาร SCADA ของบริ ษ ัท ฯ ครอบคลุม 3 จังหวัด คือ ฉะเชิ งเทรา ชลบุรี และ ระยอง เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการควบคุ มระบบสู บจ่ายของ บริ ษทั ฯ ตลอดจนช่วยลดค่าใช้จ่ายทั้งด้านบุคลากร พลังงาน และการสู ญเสี ยน้ าให้นอ้ ยลงได้ เนื่ องจากมีระบบ การวัดปริ มาณน้ า การตรวจสอบและควบคุมการจ่ายน้ าที่แม่นยามากขึ้น โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 41.70 ล้าน บาท แล้วเสร็ จเดือนมีนาคม 2556 2.4 ด้ านการบริหารงาน สิ งหาคม 2554 บริ ษ ทั ฯ ได้รับ คะแนนระดับ “ดี เยี่ยม” ในผลการประเมิ นคุ ณ ภาพการจัดประชุ ม สามัญ ผูถ้ ื อหุ ้น ประจาปี 2553 จากสมาคมส่ งเสริ มผูล้ งทุนไทย ธันวาคม 2554 บริ ษ ทั ฯ ได้รับ คะแนนระดับ “ดี เลิ ศ ” ในผลการประเมิ นการก ากับ ดู แลกิ จการบริ ษ ทั จดทะเบี ยน ประจาปี 2554 จากสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) สิ งหาคม 2555 บริ ษ ทั ฯ ได้รับ คะแนนระดับ “ดี เยี่ยม” ในผลการประเมิ นคุ ณ ภาพการจัดประชุ ม สามัญ ผูถ้ ื อหุ ้น ประจาปี 2555 จากสมาคมส่ งเสริ มผูล้ งทุนไทย ส่วนที่ 1 หน้า 9


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

พฤศจิกายน 2555 บริ ษ ทั ฯ ได้รับ คะแนนระดับ “ดี เลิ ศ ” ในผลการประเมิ นการก ากับ ดู แลกิ จการบริ ษ ทั จดทะเบี ยน ประจาปี 2555 จากสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) กรกฎาคม 2556 บริ ษ ทั ฯ ได้รับ คะแนนระดับ “ดี เยี่ยม” ในผลการประเมิ นคุ ณ ภาพการจัดประชุ ม สามัญ ผูถ้ ื อหุ ้น ประจาปี 2556 จากสมาคมส่ งเสริ มผูล้ งทุนไทยจดทะเบียนประจาปี 2556 สิ งหาคม 2556 บริ ษทั ฯ ได้รับ รางวัล CSR-DIW in Supply Chain Award เพื่ อส่ งเสริ มสถานประกอบการรวมพลัง สร้างความรับผิดชอบต่อสังคม พฤศจิกายน 2556 บริ ษ ัท ฯ ได้รับ รางวัล CSRI Recognition Award 2013ประจ าปี 2556 จากสถาบัน ธุ รกิ จ เพื่ อ สั ง คม (CSRI) มิถุนายน 2557 บริ ษ ทั ฯ ได้รับ คะแนนระดับ “ดี เยี่ยม” ในผลการประเมิ นคุ ณ ภาพการจัดประชุ ม สามัญ ผูถ้ ื อหุ ้น ประจาปี 2557 จากสมาคมส่ งเสริ มผูล้ งทุนไทย TRIS Rating จัดอันดับเครดิตองค์กร ประจาปี 2557 ความน่าเชื่อถือทางการเงินในระดับ A+ Stable กรกฎาคม 2557 ผลประเมิน ASEAN CG Scorecard ประจาปี 2556/2557 บริ ษทั ฯได้รับคะแนนการประเมินอยูใ่ นช่วง คะแนน 80-89 คะแนน ติดอันดับ Top 50 ของบริ ษทั จดทะเบียนในประเทศไทยที่ได้รับการประเมิน พฤศจิกายน 2557 บริ ษ ทั ฯ ได้รับ คะแนนระดับ “ดี มาก” ในผลการประเมิ นการกากับดู แลกิ จการบริ ษทั จดทะเบี ยน ประจาปี 2557 จากสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) ธันวาคม 2557 บริ ษทั ฯ ได้รับรางวัลประกาศเกี ยรติคุณเป็ นองค์กรที่ มีส่วนสาคัญในการสนับสนุ นและขับเคลื่ อน “โครงการ 1 บริษัท ดูแล 1 ชุ มชน” ภายใต้นโยบายลดความเหลื่อมล้ าของการกระจายรายได้หอการค้าไทย เมษายน 2558 บริ ษทั ฯ ได้รับการรั บรองเป็ นสมาชิ กแนวร่ วมปฏิ บตั ิ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุ จริ ต (Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption : CAC) โ ด ย ส ม าค ม ส่ งเส ริ ม ส ถ าบั น กรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) TRIS Rating จัดอันดับเครดิตองค์กร ประจาปี 2558 ที่ระดับ A+ Stable

ส่วนที่ 1 หน้า 10


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

มิถุนายน 2558 บริ ษทั ฯ ได้รับคะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี 2558 จากสมาคมส่ งเสริ มผูล้ งทุนไทย ตุลาคม 2558 บริ ษ ทั ฯ ได้รับคะแนนประเมินระดับ 4 (สู งสุ ดระดับ 5) ในการประเมินการดาเนิ นการเพื่อความ ยัง่ ยืนเรื่ อง Anti-Corruption จากสถาบันไทยพัฒน์ บริ ษทั ฯ ได้รับคัดเลือกให้อยูใ่ นรายชื่ อ Thailand Sustainability Investment หรื อ “หุ ้นยัง่ ยืน” จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย เพื่อยกย่องบริ ษทั จดทะเบี ยนที่ มีความโดดเด่ นในการดาเนิ นธุ รกิ จอย่าง ยัง่ ยืนโดยคานึ งถึงความสมดุลด้านสิ่ งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล (Environmental, Social, Governance : ESG) บริ ษทั ฯ ได้รับคะแนนร้อยละ 94 ในการประเมินการกากับดูแลกิจการบริ ษทั จดทะเบียนไทย (CGR) ประจาปี 2558 จากสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) พฤศจิกายน 2558 บริ ษทั ฯ ได้รับรางวัลจากโครงการ ASEAN CG Scorecard 2015 2 รางวัล คือ TOP50 ASEAN PLCs และ TOP 2 Outstanding Achievement Awards 2.5 ด้ านธุรกิจนา้ ประปา และ บาบัดนา้ เสี ย บริ ษทั ฯ ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2541 โดยมีทุน จดทะเบี ยนเริ่ ม ต้น 50 ล้านบาท และบริ ษ ัท ถื อหุ ้นร้ อยละ 100 โดยวัตถุ ประสงค์ในการดาเนิ นธุ รกิ จหลัก ได้แก่ 1) การผลิตและจาหน่ายน้ าสะอาด 2) การผลิตและจาหน่ายระบบรวบรวมและบาบัดน้ าเสี ย พัฒนาการทีส่ าคัญในช่ วงทีผ่ ่ านมา มกราคม 2554 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้เริ่ มดาเนิ นการเชิ งพาณิ ชย์เพื่ อผลิ ตและจาหน่ ายน้ าประปาให้กบั องค์การ บริ หารส่ วนตาบลหนองขามเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2554 ธันวาคม 2555 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน (BOI) โครงการซื้ อขายน้ าประปาเพื่อสานักงาน ประปาชลบุ รี จากกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่ งได้รับผลประโยชน์จากการงดเว้นภาษี เงิ นได้นิ ติบุ คคลของ โครงการ เป็ นระยะเวลา 8 ปี ส่วนที่ 1 หน้า 11


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

มีนาคม 2557 บริ ษ ทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ลงนามสัญ ญากับ เทศบาลตาบลหัวรอในสั ญญาซื้ อขายน้ าประปาในเขต เทศบาลตาบลหัวรอ อาเภอเมืองพิษณุ โลก จังหวัดพิษณุ โลก เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2557 ระยะเวลา 30 ปี กาลัง การผลิตเริ่ มต้น 7,200 ลบ.ม./วัน ปั จจุบนั อยูร่ ะหว่างการก่อสร้างยังมิได้ดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ กันยายน 2557 บริ ษ ทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ลงนามสั ญญากับ บริ ษ ทั ตลาดยอดพิ มาน จากัด ในสั ญญาซื้ อขายน้ าเย็น (Chilled Water) เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2557 ระยะเวลา 15 ปี กาลังการผลิตเริ่ มต้น 450 ตันความเย็น/ชัว่ โมง พฤษภาคม 2558 บริ ษทั ยูนิเวอร์แซลฯ ได้ลงนามสัญญากับบริ ษทั ไทรเบคก้า เอ็นเตอร์ ไพร์ ส จากัด ในสัญญาจ้าง บริ ก ารและบ ารุ ง รั ก ษาระบบผลิ ต น้ า ประปา โครงการนิ ค มอุ ต สาหกรรมหลัก ชัย เมื อ งยาง เมื่ อ วัน ที่ 28 พฤษภาคม 2558 ระยะเวลา 30 ปี กาลังการผลิต 19,200 ลบ.ม./วัน มิถุนายน 2558 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ เข้าซื้ อหุ น้ บริ ษทั เอ็กคอมธารา จากัด จานวน 5,479,140 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้น ละ 10 บาท คิดเป็ นร้อยละ 15.88 ของทุนจดทะเบียนชาระแล้ว จากบริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาค ตะวัน ออก จากัด (มหาชน) ในราคาหุ ้ น ละ 58.00 บาท รวมเป็ นเงิ น ทั้ง สิ้ น 317.79 ล้านบาท เมื่ อวัน ที่ 16 มิถุนายน 2558 กรกฎาคม 2558 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ลงนามสั ญญากับบริ ษทั ไทรเบคก้า เอ็นเตอร์ ไพร์ ส จากัด ในสั ญญาจ้าง บริ การและบารุ งรักษาระบบบาบัดน้ าเสี ย โครงการนิ คมอุตสาหกรรมหลักชัยเมืองยาง เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2558 ระยะเวลา 30 ปี กาลังการบาบัด 6,000 ลบ.ม./วัน สิ งหาคม 2558 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ เข้าซื้ อหุ ้นของบริ ษทั เอ็กคอมธารา จากัด จานวน 25,597,096 หุ ้น มูลค่าที่ตรา ไว้หุ้นละ 10 บาท คิดเป็ นร้อยละ 74.19 ของทุ นจดทะเบี ยนชาระแล้ว จากบริ ษทั เอ็กโก เอ็นจิเนี ยริ่ ง แอนด์ เซอร์วสิ จากัด (มหาชน) ในราคารวมทั้งสิ้ น 1,600.00 ล้านบาท เมื่อวันที่ 31 สิ งหาคม 2558 กันยายน 2558 บริ ษทั ยูนิเวอร์แซลฯ ได้แปรสภาพเป็ นบริ ษทั มหาชน เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2558 ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อยบริ หาร กิ จการประปารวมจานวน 13 แห่ ง ได้แ ก่ ประปาสั ตหี บ ประปาบางปะกง ประปาฉะเชิ ง เทรา ประปา นครสวรรค์ ประปาบ่อวิน ประปาเกาะสมุย ประปาเกาะล้าน ประปาระยอง ประปาชลบุรี ประปาหนองขาม ประปาราชบุรี-สมุทรสงคราม ประปาหลักชัยเมืองยาง และประปาหัวรอ โดยภาพรวม ณ 31 ธันวาคม 2558 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ มีกาลังการผลิต น้ าประปารวม 140.84 ล้าน ลบ.ม./ปี ส่วนที่ 1 หน้า 12


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

รายการทางการเงินที่สาคัญ ณ 31 ธ.ค. 2558 กาลังการผลิตน้ าประปา(ลบ.ม.ต่อวัน) รายได้รวมจากการดาเนินงาน (ล้านบาท) กาไรสุ ทธิ (ล้านบาท) สิ นทรัพย์รวม (ล้านบาท) หนี้สินรวม (ล้านบาท) ทุนที่เรี ยกชาระแล้ว (ล้านบาท) กาไรสะสม (ล้านบาท)

บจ. ยูนิเวอร์ แซลฯ1/ 217,860.00 1,128.78 173.39 3,934.78 2,760.40 510.00 664.38

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

บจ.ประปา บจ.ประปา บจ.ประปา บจ.เอ็ก ฉะเชิงเทรา บางปะกง นครสวรรค์ คอมธารา 51,600.00 43,200.00 25,200.00 48,000.00 173.44 152.01 52.60 336.06 31.59 250.36 39.78 100.00 110.58

26.59 188.53 33.35 40.00 115.18

7.36 76.30 22.17 40.00 14.13

184.83 614.35 56.62 345.00 212.73

1/ ประกอบด้วย สัตหี บ ระยอง บ่อวิน เกาะล้าน เกาะสมุย ชลบุรี หนองขาม หลักชัยเมืองยาง และหัวรอ

2.6 โครงสร้ างรายได้ โครงสร้ างรายได้ ของบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) แยกตามพืน้ ที่

รายได้ จากการขายนา้ ดิบ

-พื้นที่ดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหี บ - พื้นที่หนองปลาไหล-มาบตาพุด -พื้นที่หนองค้อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ - พื้นที่หนองปลาไหล-หนองค้อ - พื้นที่ฉะเชิงเทรา รวมรายได้จากการขายน้ าดิบ

รอบปี บัญชีสิ้นสุ ดวันที่ รอบปี บัญชีสิ้นสุ ดวันที่ รอบปี บัญชีสิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558 พันบาท ร้ อยละ พันบาท ร้ อยละ 944,469 33.09 803,166 28.57 788,297 27.62 943,126 33.55 782,532 27.42 710,296 25.27 236,649 8.29 230,549 8.20 102,180 3.58 123,595 4.41 2,854,127 100.00 2,810,732 100.00

พันบาท ร้ อยละ 634,866 21.69 1,105,182 37.75 845,202 28.87 203,551 6.95 138,786 4.74 2,927,587 100.00

ส่วนที่ 1 หน้า 13


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

โครงสร้ างรายได้ ของบริษัท จัดการและพัฒนาทรั พยากรน้าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่ อย แยกตามประเภทรายได้

รายได้ รายได้จากการขายน้ าดิบ รายได้จากการขายน้ าประปา รายได้ค่าก่อสร้างภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน รายได้ค่าเช่าและค่าบริ การ รายได้อื่น* รวมรายได้

รอบปี บัญชีสิ้นสุ ด ณ วันที่ รอบปี บัญชีสิ้นสุ ด ณ วันที่ รอบปี บัญชีสิ้นสุ ด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม 2558 ตรวจสอบแล้ ว ตรวจสอบแล้ ว ตรวจสอบแล้ ว พันบาท % พันบาท % พันบาท % 2,694,295 876,385 139,782 189,171 56,288 3,955,921

68.11 22.15 3.53 4.78 1.43 100.00

2,768,376 988,739 268,923 216,202 62,520 4,304,760

64.31 22.97 6.25 5.02 1.45 100.00

2,898,665 62.22 1,160,235 24.90 95,685 2.05 212,229 4.56 292,012 6.27 4,658,826 100.00

[* รายได้อื่น ประกอบด้วย กาไรจากการวัดมูลค่ายุติธรรมของส่ วนได้เสี ยซึ่ งถืออยู่ก่อนวันรวมกิ จการ, รายได้จาก ดอกเบี้ยรับ เงินปั นผล และอื่น ๆ]

2.7 การประกอบธุรกิจของแต่ ละสายผลิตภัณฑ์ ลักษณะบริการ บริ ษทั ฯ ดาเนินธุ รกิจหลักด้านการพัฒนาและบริ หารจัดการระบบท่อส่ งน้ าเพื่อส่ งน้ าดิบ ให้บริ การแก่ ผูใ้ ช้น้ าด้านอุปโภคบริ โภคและอุตสาหกรรม ปั จจุบนั ให้บริ การใน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี ระยอง และ ฉะเชิ ง เทรา ในพื้ น ที่ จ ัง หวัด ชลบุ รี แ ละระยอง บริ ษ ัท ฯ ได้รับ การจัด สรรน้ าดิ บ จากอ่ า งเก็ บ น้ า ของกรม ชลประทาน 3 แห่ง ได้แก่ อ่างเก็บน้ าหนองค้อ อ่างเก็บน้ าดอกกราย และอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล นอกจากนี้ ยังมีการสู บน้ าดิบจากแม่น้ าระยอง และแม่น้ าบางปะกงผ่านระบบท่อส่ งน้ า 4 สาย ที่บริ ษทั ฯ เช่าบริ หารจาก กระทรวงการคลังและที่บริ ษทั ฯ ลงทุนก่อสร้างเองจาหน่ายให้แก่ผใู ้ ช้น้ า เพื่อใช้ในการอุปโภคบริ โภคและการ อุตสาหกรรม การจาหน่ ายน้ าดิ บนี้ บริ ษทั ฯ ได้ทาสัญญาซื้ อขายน้ าดิ บกับลู กค้าของบริ ษทั ฯแบ่งได้เป็ น 3 กลุ่ม คือ นิ คมอุตสาหกรรม1 โรงงานอุตสาหกรรมทัว่ ไป และผูใ้ ช้น้ าประเภทอุปโภคบริ โภคพื้นที่จงั หวัด ฉะเชิงเทรา บริ ษทั ฯ ได้สูบน้ าจากแม่น้ าบางปะกง คลองนครเนื่ องเขตในช่ วงฤดูฝน และสู บน้ าจากแหล่งน้ า เอกชนในช่ วงฤดู แล้ง ส่ งผ่านระบบท่ อของบริ ษ ทั เพื่ อจาหน่ ายให้แก่ ผูใ้ ช้น้ าในบริ เวณบางปะกง จังหวัด ฉะเชิงเทรา และส่ งต่อไปยังพื้นที่จงั หวัดชลบุรี

หมายเหตุ 1 นิคมอุตสาหกรรม หมายรวมถึง นิคมอุตสาหกรรมที่ กนอ. เป็ นเจ้าของ นิคมอุตสาหกรรมที่ กนอ. ร่ วมลงทุน และสวน/เขต อุตสาหกรรมของเอกชน ส่วนที่ 1 หน้า 14


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

การบริ การสู บจ่ายน้ าดิบในแต่ละพื้นที่บริ การของบริ ษทั มีรายละเอียดสรุ ปได้ ดังนี้ 1) พืน้ ที่ระยอง บริ ษทั ฯ ให้บริ การผ่านระบบท่อส่ งน้ าสายหลัก 3 เส้น คือ (1) ระบบท่อส่ งน้ าดอกกราย-มาบตาพุด-สัต หี บ (2) ระบบท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล-มาบตาพุด (3) ระบบท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล-มาบตาพุด เส้นที่ 3 โดย ระบบท่อส่ งน้ าในพื้นที่น้ ี ใช้พลังงานไฟฟ้ าในการสู บส่ งน้ าจากแหล่งน้ าของกรมชลประทาน คือ อ่างเก็บน้ า ดอกกราย ผ่านระบบท่อส่ งน้ าสายดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหี บ และอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล ผ่านระบบท่อ ส่ งน้ าสายหนองปลาไหล-มาบตาพุ ด และระบบท่ อส่ งน้ าหนองปลาไหล-มาบตาพุ ด เส้ นที่ 3 ไปยังสถานี ยกระดับน้ า (Head Tank) ที่มาบข่า ก่อนปล่อยลงมาเพื่อส่ งน้ าไปยังปลายทางให้แก่ลูกค้าตามแนวท่อส่ งน้ า กลุ่ ม ผูใ้ ช้น้ าหลัก ของพื้ น ที่ น้ ี คื อ นิ ค มอุ ตสาหกรรม รองลงมา ได้แก่ โรงงานอุ ตสาหกรรมทั่วไปและการ ประปาของการประปาส่ วนภูมิภาค ในด้านการพัฒนาแหล่งน้ าดิบ บริ ษทั ฯ ได้พฒั นาสระเก็บน้ าดิบความจุ 12 ล้าน ลบ.ม. ในพื้นที่จงั หวัด ระยอง บริ เวณตาบลทับมา อาเภอเมือง จังหวัดระยอง และการวางท่อเชื่อมโยงอ่างเก็บน้ าประแสร์ -หนองปลา ไหล ซึ่ งทั้ง 2 โครงการสามารถใช้เป็ นแหล่ ง น้ าต้นทุ นเพิ่ ม เติ ม ส าหรั บ การจ่ ายน้ าในพื้ น ที่ ระยองได้อย่าง เพียงพอ เดือนกุมภาพันธ์ 2558 บริ ษทั ฯ ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงดาเนิ นการสู บผันน้ าท่อส่ งน้ าเชื่ อมโยง อ่างเก็บน้ าประแสร์-อ่างเก็บน้ าคลองใหญ่ เพื่อดาเนินการสู บผันน้ าให้กรมชลประทานจากอ่างเก็บน้ าประแสร์ มายังอ่างเก็บน้ าคลองใหญ่ และใช้น้ าที่สูบผันส่ งจ่ายไปยังผูใ้ ช้น้ าในพื้นที่ระยอง บ่อวิน-ปลวกแดง และชลบุรี โดยบริ ษทั ฯ ได้รับอนุญาตจัดสรรน้ าจากอ่างเก็บน้ าประแสร์ เป็ นปริ มาณปี ละ 40 ล้าน ลบ.ม 2) พืน้ ทีช่ ลบุรี บริ ษทั ฯ ให้บริ การโดยผ่านระบบท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง สายแหลมฉบัง-พัทยา และสาย แหลมฉบัง-บางพระ การจ่ายน้ าในพื้นที่น้ ี ใช้น้ าต้นทุนจาก 3 แหล่ง ได้แก่ อ่างเก็บน้ าหนองค้อ อ่างเก็บน้ า หนองปลาไหลผ่านระบบท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล-หนองค้อ และแม่น้ าบางปะกงผ่านระบบท่อส่ งน้ าบางปะกงชลบุรี ซึ่ งรู ปแบบการส่ งน้ าจากอ่างเก็บน้ าหนองค้อเป็ นการส่ งโดยแรงโน้มถ่วงและโดยการสู บน้ า การส่ งน้ า จากอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหลผ่านระบบท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล-หนองค้อ จะใช้พลังงานไฟฟ้าในการสู บส่ ง น้ ามายัง Regulating Well ซึ่ งจะปล่อยน้ าโดยระบบแรงโน้มถ่วงเข้าสู่ ระบบท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง และท่อส่ งน้ าสายแหลมฉบัง-พัทยา การส่ งน้ าจากแม่น้ าบางปะกงผ่านระบบท่อส่ งน้ าบางปะกง-ชลบุรี ใช้ พลังงานไฟฟ้ าในการสู บส่ งน้ าเข้าสู่ ระบบท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง และท่อส่ งน้ าสายแหลมฉบังพัทยาต่อไป นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ได้ฝากน้ าที่ส่งมาจากแม่น้ าบางปะกงและแหล่งน้ าบ่อดินเอกชนในช่วงฤดูฝน ไปฝากไว้ในอ่างเก็บน้ าบางพระและสู บน้ าที่ฝากไว้จากอ่างเก็บน้ าบางพระส่ งจ่ายให้กบั ผูใ้ ช้น้ าในช่วงฤดูแล้ง ผูใ้ ช้น้ าหลักของพื้นที่น้ ีส่วนใหญ่จะเป็ นการใช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภค และนิคมอุตสาหกรรม ตามลาดับ ระบบท่อส่ งน้ าหนองค้อ-แหลมฉบัง มีจานวน 2 สายท่อ วางขนานกัน โดยเป็ นท่อที่ บริ ษทั ฯ เช่ า บริ หารจากกระทรวงการคลัง มีความสามารถในการจ่ายน้ ารวม 110 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี ส่วนที่ 1 หน้า 15


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

3) พืน้ ทีป่ ลวกแดง – บ่ อวิน พื้ นที่ น้ ี เป็ นพื้ นที่ รอยต่ อของจังหวัดชลบุ รี และอาเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ใกล้ก ับ ท่อส่ งน้ า หนองปลาไหล-หนองค้อ ซึ่ งก่ อสร้ างขึ้ นโดยกรมโยธาธิ ก ารเพื่ อสู บ ส่ งน้ าจากอ่ างเก็ บ น้ าหนองปลาไหล จังหวัดระยอง ไปยังพื้นที่ชลบุรี ขณะเดียวกันก็จ่ายน้ าให้แก่ ผูใ้ ช้น้ าในพื้นที่ปลวกแดง-บ่อวิน ระบบท่อส่ งน้ า นี้ใช้พลังงานไฟฟ้ าในการสู บส่ งน้ าจากอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล ผ่านระบบท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล–หนอง ค้อ ไปยังอ่างเก็บน้ าหนองค้อและเชื่ อมต่อเข้ากับระบบท่อส่ งน้ าหนองค้อ-แหลมฉบัง-บางพระ ผูใ้ ช้น้ าหลัก ของพื้นที่น้ ี คือ นิ คมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซี บอร์ ด นิ คมอุตสาหกรรมชลบุรี (บ่อวิน) และการประปาพัทยา (โรงกรองน้ า หนองกลางดง) เป็ นต้น 4) พืน้ ทีฉ่ ะเชิงเทรา บริ ษทั ฯ ให้บริ การส่ งจ่ายน้ าดิ บ ผ่านท่อส่ งน้ าดิ บฉะเชิ งเทรา ระบบท่อส่ งน้ านี้ ใช้พลังงานไฟฟ้ าใน การสู บน้ าจากแม่น้ าบางปะกงบริ เวณเหนื อเขื่ อนทดน้ าบางปะกงของกรมชลประทาน ไปยังถังยกระดับน้ า ก่ อนการส่ งน้ าโดยแรงโน้มถ่ วงให้แก่ ผูใ้ ช้น้ า และบริ ษ ทั ฯ ยังได้ท าสั ญญาซื้ อขายน้ าดิ บ จากบ่อดิ นเอกชน เพิ่มเติม เพื่อเป็ นแหล่งน้ าสารองสาหรับพื้นที่ฉะเชิงเทราในช่วงฤดูแล้ง นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังมีสระสารองน้ า ดิบความจุ 2 ล้าน ลบ.ม. ในพื้นที่จงั หวัดฉะเชิ งเทราและสระสารองน้ าดิบสานักบกความจุประมาณ 7.4 ล้าน ลบ.ม. บริ เวณตาบลสานักบก อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ซึ่ งตั้งอยูใ่ กล้กบั แนวท่อส่ งน้ าบางปะกง- ชลบุรี เพื่อ ใช้เป็ นแหล่งน้ าสารองสาหรับการจ่ายน้ าในพื้นที่ฉะเชิงเทราและชลบุรีได้อย่างเพียงพอในช่วงฤดูแล้ง ท่อส่ งน้ าบางปะกง-ชลบุ รี สร้ างขึ้นเพื่อผันน้ าจากแม่น้ าบางปะกง จังหวัดฉะเชิ งเทรา ในช่ วงฤดู ฝน ประมาณ 5-6 เดื อน ไปยังพื้นที่ จงั หวัดชลบุ รี เนื่ องจากแหล่ งน้ าในพื้ นที่ ช ลบุ รีมี จากัดไม่เพี ยงพอต่อความ ต้องการใช้น้ า ระบบท่อส่ งน้ านี้ สามารถสู บส่ งน้ าดิ บได้ปีละ 50 ล้าน ลบ.ม. โดยใช้พลังงานไฟฟ้ าในการสู บผัน น้ าจากแม่น้ าบางปะกงผ่านเข้าระบบท่อส่ งน้ าดิบพื้นที่ฉะเชิ งเทรา และท่อส่ งน้ าบางปะกง-ชลบุรี ไปยังระบบ ท่อหนองค้อ-แหลมฉบัง-พัท ยา-บางพระโดยตรง และส่ วนหนึ่ งปล่ อยลงสู่ อ่างเก็บ น้ าบางพระเพื่ อกัก เก็ บ สารองไว้ในช่วงฤดูแล้งได้

ส่วนที่ 1 หน้า 16


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

แผนภาพที่ 2.7 แผนทีแ่ สดงระบบโครงข่ ายท่ อส่ งนา้ ในจังหวัดระยอง ชลบุรี และฉะเชิ งเทรา

ส่วนที่ 1 หน้า 17


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

2.8 สิ ทธิในการประกอบธุรกิจ ลัก ษณะธุ รกิ จของบริ ษ ทั ฯ ทั้งธุ รกิ จหลัก และธุ รกิ จเกี่ ย วเนื่ อง เป็ นการให้ บ ริ ก ารตามสั ญ ญาหรื อ สัมปทานระยะยาวจากหน่วยงานราชการ ซึ่งในปั จจุบนั บริ ษทั ฯ มีสัญญา/สัมปทานรวมทั้งหนังสื ออนุญาตจาก หน่วยงานราชการต่างๆ ที่สาคัญต่อการประกอบธุ รกิจของบริ ษทั ฯ สรุ ปรายละเอียดได้ดงั นี้ หนังสื ออนุญาตให้ ใช้ นา้ จากแหล่ งนา้ ของกรมชลประทาน บริ ษทั ฯ ได้รับอนุ ญาตจากกรมชลประทานให้ใช้น้ าจากแหล่ งน้ าจานวน 5 แห่ ง ได้แก่ อ่างเก็บน้ า หนองค้อ อ่ า งเก็ บ น้ าดอกกราย อ่ างเก็ บ น้ าหนองปลาไหล คลองนครเนื่ องเขต และอ่ างเก็ บ น้ า บางพระ สาระสาคัญของหนังสื ออนุญาต สรุ ปได้ดงั รายละเอียดในตารางที่ 2.8 ตารางที่ 2.8 สรุ ปรายละเอียดหนังสื ออนุญาตให้ บริษัทใช้ น้าจากแหล่ งนา้ ของกรมชลประทาน หนังสื ออนุญาต

ผู้อนุญาต/วันทีล่ งนาม

1. ให้ใช้น้ าจาก อ่างเก็บน้ าดอกกราย 2.ให้ใช้น้ าจาก อ่างเก็บน้ าหนองค้อ 3. ให้ใช้น้ าจาก ** อ่างเก็บน้ าบางพระ

อธิบดีกรมชลประทาน : วันที่ 18 มกราคม 2555 อธิบดีกรมชลประทาน : วันที่ 16 มกราคม 2555 อธิบดีกรมชลประทาน : วันที่ 11 มิถุนายน 2558

4.ให้ใช้น้ าจาก ** คลองนครเนื่องเขต

อธิบดีกรมชลประทาน : วันที่ 3 สิ งหาคม 2552

ระยะเวลาการอนุญาต

รายละเอียด*

- 5 ปี นับแต่วนั ที่ผรู ้ ับอนุญาตได้ - ให้ใช้น้ าได้ไม่เกินเดือนละ 6,000,000 ลูกบาศก์เมตร ลงนามในหนังสื ออนุญาต เป็ นต้นไป - ให้ใช้น้ าได้ไม่เกินเดือนละ 1,372,500 ลูกบาศก์เมตร - ให้บริ ษทั วางท่อนาน้ ามาฝากและสู บไปใช้ แต่การสู บน้ า ดังกล่าวต้องไม่เกินจานวนน้ าที่นามาฝากไว้ในแต่ละปี - บริ ษทั สามารถขอใช้น้ าเพิ่มเกินกว่าปริ มาณน้ าจานวนที่ นามาฝากไว้ ในกรณี ที่ปริ มาณน้ าต้นทุนในอ่างเก็บน้ า บางพระมีมาก และไม่กระทบแผนจัดสรรน้ าปกติ - ให้ใช้น้ าได้ไม่เกินเดือนละ 3,000,000 ลูกบาศก์เมตร โดยมี ระยะเวลาการสูบน้ าระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือน พฤษภาคม เท่านั้น - ให้ใช้น้ าได้ไม่เกินเดือนละ 10,000,000 ลูกบาศก์เมตร

5. ให้ใช้น้ าจาก อธิบดีกรมชลประทาน : อ่างเก็บน้ าหนองปลา วันที่ 14 มกราคม 2559 ไหล หมายเหตุ : * บริ ษทั ต้องชาระค่าน้ าให้กรมชลประทานเป็ นรายเดือนตามอัตราที่กาหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ 42 (พ.ศ.2540) กาหนดคือ อัตราลูกบาศก์เมตร ละ 50สตางค์ ** อยูร่ ะหว่างดาเนินการต่ออายุหนังสื ออนุญาต

2.9 สั มปทานการบริหารและดาเนินกิจการท่อส่ งนา้ ในภาคตะวันออก บริ ษทั ฯ ได้รับโอนสิ ทธิ การบริ หารและการดาเนิ นกิ จการระบบท่อส่ งน้ าสายหลักในภาคตะวันออก จากกระทรวงการคลัง โดยมีรายละเอียดของสัญญา ดังนี้

ส่วนที่ 1 หน้า 18


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

สรุ ปสั ญญาการบริ หารและการดาเนินกิจการระบบท่ อส่ งน้าสายหลักในภาคตะวันออก : กระทรวงการคลัง คู่สัญญา บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ("บริ ษทั ”) : 26 ธันวาคม 2536 วันทีล่ งนามในสั ญญา : ระยะเวลา 30 ปี นับตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2537 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2566 อายุสัญญา สาระสาคัญของสั ญญา : บริ ษ ัท ฯ รั บ โอนสิ ท ธิ ก ารใช้ร ะบบท่ อ ส่ ง น้ าจากกระทรวงการคลัง มา ดาเนินการ : “ระบบท่อส่ งน้ า” ในสัญญานี้ หมายถึง อาคาร สถานีสูบน้ า สถานี ยกระดับ ระบบท่อส่ งนา้ น้ าท่อส่ งน้ า เครื่ องจักรตลอดจนส่ วนต่อและอุปกรณ์ ต่างๆ ที่ใช้ในระบบ ส่ งน้ า ของท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง สายแหลมฉบัง -พัทยา สาย ดอกกราย-มาบตาพุด และสายมาบตาพุด-สัตหีบ : ภายใน 120 วัน นับจากวันสิ้ นสุ ดรอบปี ทางการเงินทางบัญชี หรื อภายใน การจ่ ายผลประโยชน์ เดือนมกราคมของทุกปี ทั้งนี้ ตั้งแต่เดือนมกราคม 2538 เป็ นต้นไป บริ ษทั ตอบแทน ตกลงชาระผลประโยชน์ตอบแทนให้กระทรวงการคลัง ดังนี้ 1. บริ ษทั ตกลงจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต่ าให้แก่ กระทรวงการ คลังในอัตรา 2 ล้านบาทต่อปี หรื อ 2. หากในปี ใดบริ ษ ัท ฯ มี ย อดขายน้ าดิ บ เกิ น กว่า 200 ล้า นบาทต่ อ ปี บริ ษ ัท จะจ่ ายผลประโยชน์ ตอบแทนให้ ก ับ กระทรวงการคลังใน อัตราร้อยละ 1 ของยอดขายน้ าดิบ 3. นอกเหนือจากผลประโยชน์ตอบแทนตามข้อ 1 หรื อ 2 แล้ว หากในปี ใดบริ ษทั มีผลตอบแทนต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น (Return on Equity) เกิน กว่ า ร้ อ ยละ 20 บริ ษั ท ฯ จะจ่ า ยผลประโยชน์ ต อบแทน (Profit Sharing) ให้ ก ับ กระทรวงการคลัง เพิ่ ม อี ก ในอัต ราร้ อ ยละ 15 ของ ส่ วนที่เกินร้อยละ 20 ทั้ง นี้ อัต ราผลประโยชน์ ต อบแทนรวมตามข้อ 1 หรื อ 2 เมื่ อ รวมกั บ ผลประโยชน์ตอบแทนในข้อ 3 จะต้องไม่เกินร้อยละ 6 ของมูลค่าที่แท้จริ ง ที่ได้มีการประเมินตามระยะเวลาและหลักการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไป (Real Value) ของทรัพย์สินที่บริ ษทั ฯ เช่าจากกระทรวงการคลังตามสัญญานี้

ส่วนที่ 1 หน้า 19


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

2.10 สั ญญาสั มปทานในกิจการประปา 1) ประปาสั ตหีบ สัญญา/สัมปทาน : คู่สัญญา

:

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : :

กาลังการผลิต สัญญา/สัมปทาน คู่สัญญา

: : :

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า อัตราค่าน้ าประปา

: : : : :

2) ประปานครสวรรค์ สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : : :

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

สัญญาให้สิทธิ เช่าบริ หาร และดาเนินการระบบประปาสัตหี บ (กปภ.) การประปาส่ วนภูมิภาค และ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากร น้ าภาคตะวันออก 28 กรกฎาคม 2543 และแก้ไขเพิ่มเติมเมื่อ 18 ตุลาคม 2547 30 ปี เริ่ มให้บริ การตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2544  สัตหีบ – บ้าน กม. 10  บ้านแสมสาร  บางเสร่ 43,200 ลบ.ม. ต่อ วัน สัญญาซื้ อขายน้ าประปาเพื่อสานักงานประปาพัทยา การประปาส่ วนภูมิภาค และ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากร น้ าภาคตะวันออก 18 ตุลาคม 2547 30 ปี เริ่ มดาเนินการจาหน่ายน้ าเชิงพาณิ ชย์ต้ งั แต่ 1 พฤศจิกายน 2548 18,000 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2558) 16.9993 บาทต่ อ ลบ.ม. (ปี 2558) และปรั บ ตามดัช นี ร าคา ผูบ้ ริ โภคเฉลี่ ยทั้งปี สาหรับภาคกลางที่ ประกาศโดยกระทรวง พาณิ ชย์ สัญ ญาให้เอกชนผลิ ตน้ าประปาเพื่ อขายแก่ ส านักงานประปา นครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ (กปภ.) การประปาส่ วนภูมิภาค และ บริ ษทั ประปานครสวรรค์ จากัด 7 พฤศจิกายน 2543 2 + 25 ปี (Pre-operation 2 ปี ) เริ่ มให้บริ การ ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2546  นครสวรรค์ออก  เทศบาลเมืองหนองปลิง ส่วนที่ 1 หน้า 20


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

กาลังการผลิต ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า อัตราค่าน้ าประปา

3) ประปาบางปะกง สัญญา/สัมปทาน

: : :

:

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : : :

กาลังการผลิต

:

ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า อัตราค่าน้ าประปา

: :

4) ประปาฉะเชิงเทรา สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : : :

กาลังการผลิต

:

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

 เทศบาลเมืองหนองแบน 25,200 ลบ.ม. ต่อ วัน 6,450 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2558) 14.069 บาทต่ อ ลบ.ม. (ปี 2558) และปรั บ ตามดัช นี ร าคา ผูบ้ ริ โภคเฉลี่ ยทั้งปี สาหรั บภาคกลางที่ ประกาศโดยกระทรวง พาณิ ชย์ สัญ ญาให้เอกชนผลิ ตน้ าประปาเพื่ อขายแก่ ส านักงานประปา บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา (กปภ.) การประปาส่ วนภูมิภาค และ บริ ษทั ประปาบางปะกง จากัด 9 พฤศจิกายน 2543 2 + 25 ปี (Pre-operation 2 ปี ) เริ่ มให้บริ การ ตั้งแต่ 1 เมษายน 2546  บางปะกง  เทศบาลเมืองท่าสะอ้าน  เทศบาลเมืองบางวัว 43,200 ลบ.ม./วัน (กาลังการผลิตเดิม 24,000 ลบ.ม./วัน รวมกับ ที่ขยายเพิ่มขึ้น 19,200 ลบ.ม./วัน) 27,000 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2558) 12.139 บาทต่ อ ลบ.ม. (ปี 2558) และปรั บ ตามดัช นี ร าคา ผูบ้ ริ โภคเฉลี่ยทั้งปี สาหรับภาคกลางทัว่ ประเทศโดยกระทรวง พาณิ ชย์ สัญญาให้เอกชนผลิ ตน้ าประปาเพื่ อขายแก่ ส านัก งานประปา ฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา (กปภ.) การประปาส่ วนภูมิภาค และ บริ ษทั ประปาฉะเชิงเทรา จากัด 9 พฤศจิกายน 2543 2 + 25 ปี (Pre-operation 2 ปี ) เริ่ มให้บริ การ ตั้งแต่ 1 เมษายน 2546  อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา  เขตสุ วนิ ทวงศ์ 51,600 ลบ.ม. ต่อ วัน ส่วนที่ 1 หน้า 21


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า อัตราค่าน้ าประปา

5) ประปาพืน้ ทีบ่ ่ อวิน สัญญา/สัมปทาน

: :

:

คู่สัญญา

:

วันที่ลงนามสัญญา สัญญา/สัมปทาน

: :

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ กาลังการผลิต ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า อัตราค่าน้ าประปา 6) ประปาเกาะสมุย สัญญา/สัมปทาน

: : : : : : :

คู่สัญญา

:

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : :

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

27,000 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2558) 12.819 บาทต่ อ ลบ.ม. (ปี 2558) และปรั บ ตามดัช นี ร าคา ผูบ้ ริ โภคเฉลี่ ยทั้งปี สาหรั บภาคกลางที่ ประกาศโดยกระทรวง พาณิ ชย์ สัญญาดาเนิ นกิจการประปาพื้นที่บ่อวิน เพื่อจาหน่ ายน้ าประปา ในเขตเทศบาลตาบลเจ้าพระยาสุ รศักดิ์ อาเภอศรี ราชา จังหวัด ชลบุรี เทศบาลต าบลเจ้าพระยาสุ รศัก ดิ์ และบมจ.จัดการและพัฒ นา ทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 30 มีนาคม 2547 สัญญาดาเนิ นกิ จการระบบประปา อบต.บ่อวิน เพื่อจาหน่ ายน้ า ในพื้นที่ อบต.บ่อวิน องค์การบริ หารส่ วนตาบลบ่อวิน และบมจ. จัดการและพัฒนา ทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 5 สิ งหาคม 2548 25 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ ตั้งแต่ มิถุนายน 2549 เขตเทศบาลตาบลเจ้าพระยาสุ รศักดิ์ และองค์ก ารบริ หารส่ วน ตาบลบ่อวิน ต.บ่อวิน อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี 16,800 ลบ.ม. ต่อวัน ไม่มี อ้างอิงราคาตามสัญญา (แบ่งตามประเภทผูใ้ ช้น้ า) สั ญ ญาซื้ อ ขายน้ าประปาเพื่ อ ส านัก งานการประปาเกาะสมุ ย จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี(กปภ.) การประปาส่ วนภูมิภาค และ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากร น้ าภาคตะวันออก 7 กรกฎาคม 2547 15 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ต้ งั แต่ 12 พฤษภาคม 2548 เกาะสมุย ส่วนที่ 1 หน้า 22


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ปริ มาณขั้นต่าที่ตอ้ งผลิต ราคาจาหน่ายน้ าประปา กาลังการผลิต เทคโนโลยี 7) ประปาเกาะล้าน สัญญา/สัมปทาน

: : : :

2,500 ลบ.ม. ต่อวัน (+/- 10%) 63.742 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2558) 3,000 ลบ.ม. ต่อ วัน การผลิตน้ าประปาจากน้ าทะเลด้วยระบบ Reverse Osmosis (RO)

:

สัญญาดาเนิ นกิ จการประปาเกาะล้าน เพื่อจาหน่ ายน้ าประปาแก่ ประชาชนบนเกาะล้าน จังหวัดชลบุรี เมื อ งพัท ยา และ บมจ. จัด การและพัฒ นาทรั พ ยากรน้ าภาค ตะวันออก 17 กันยายน 2547 15 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ ตั้งแต่ กันยายน 2549 เกาะล้าน ไม่มี 68.69 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2558) เพิ่มขึ้ นในอัตราร้ อยละ 5 ทุ กๆ รอบ 5 ปี ของการดาเนินการ 300 ลบ.ม. ต่อ วัน การผลิตน้ าประปาจากน้ าทะเลด้วยระบบ Reversed Osmosis

คู่สัญญา

:

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า ราคาจาหน่ายน้ าประปา

: : : : : :

กาลังการผลิต เทคโนโลยี 8) ประปาระยอง สัญญา/สัมปทาน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

: : :

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : : :

กาลังการผลิต ปริ มาณน้ าขั้นต่า ราคาจาหน่ายน้ าประปา

: :

สัญญาให้เอกชนผลิตน้ าประปาเพื่อขายให้แก่ กปภ. ที่ สานักงาน ประปาระยอง จังหวัดระยอง การประปาส่ วนภูมิภาค และ กลุ่มบริ ษทั ยูยู กรุ๊ ป คอนซอร์ เตียม 14 มีนาคม 2549 25 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ ตั้งแต่ กรกฎาคม 2549 เขตเทศบาลเมืองระยองและพื้นที่ส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลตาบล ต่างๆ 86,400 ลบ.ม. ต่อ วัน 49,655 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2558) 11.562 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2558) ส่วนที่ 1 หน้า 23


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

9) ประปาชลบุรี สัญญา/สัมปทาน คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ กาลังการผลิต ปริ มาณน้ าขั้นต่า ราคาจาหน่ายน้ าประปา 10) ประปาราชบุรี – สมุทรสงคราม สัญญา/สัมปทาน

: : : : : : : : :

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : : :

ปริ มาณน้ าขั้นต่า กาลังการผลิต ราคาจาหน่ายน้ าประปา

: : :

11) ประปาหนองขาม สัญญา/สัมปทาน คู่สัญญา

: :

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ

: : :

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

สัญญาซื้ อขายน้ าประปาเพื่อสานักงานประปาชลบุรี จังหวัด ชลบุรี การประปาส่ วนภูมิภาค และ บมจ. ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ 3 มิถุนายน 2552 20 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ ในเดือนเมษายน 2553 จังหวัดชลบุรี 40,800 ลบ.ม. ต่อ วัน 24,000 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2558) 11.083 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2558) สั ญ ญาให้ เอกชนผลิ ต น้ า เพื่ อ ขายให้ แก่ ส านัก งานประปาของ กปภ.ในจังหวัดราชบุรี และจังหวัดสมุทรสงคราม บริ ษทั เอ็กคอมธารา จากัด และ การประปาส่ วนภูมิภาค 23 มิถุนายน 2542 30 ปี เริ่ มให้บริ การ ตั้งแต่ 7 เมษายน 2544 สานักงานประปาสมุทรสงคราม สานักงานประปาดาเนินสะดวก และสานักงานประปาปากท่อ 35,400 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2558) 48,000 ลบ.ม.ต่อวัน 25.64 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2558) และปรับตามดัชนีราคาผูบ้ ริ โภค เฉลี่ยสาหรับภาคกลางเดือนกรกฎาคม ที่ประกาศโดยกระทรวง พาณิ ชย์ สัญญาดาเนินกิจการระบบประปา อบต.หนองขาม องค์การบริ หารส่ วนตาบลหนองขาม และ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต้ ีส์ 29 ธันวาคม 2553 25 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ในเดือนมกราคม 2554 ส่วนที่ 1 หน้า 24


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

พื้นที่ให้บริ การ กาลังการผลิต ราคาจาหน่ายน้ าประปา 12) ประปาหลักชัยเมืองยาง สัญญา

: : :

ตาบลหนองขาม อาเภอศรี ราชา จังหวัดชลบุรี 960 ลบ.ม. ต่อ วัน อ้างอิงราคาตามสัญญา (แบ่งตามประเภทผูใ้ ช้น้ า)

:

สัญญาจ้างบริ การและบารุ งรักษาระบบผลิตน้ าประปา โครงการ นิคมอุตสาหกรรมหลักชัยเมืองยาง จังหวัดระยอง บริ ษทั ไทรเบคก้า เอ็นเตอร์ ไพร์ ส จากัด และ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต้ ีส์ 28 พฤษภาคม 2558 30 ปี ระบบผลิตน้ าประปาชัว่ คราว 1 ปี 6 เดือน นิคมอุตสาหกรรมหลักชัยเมืองยาง จังหวัดระยอง ระบบผลิตน้ าประปาชัว่ คราว 800 ลบ.ม./วัน 11.00 บาทต่อลบ.ม. (ปี 2558)

คู่สัญญา

:

วันที่ลงนามสัญญา : ระยะเวลาสัญญา : สถานะ : พื้นที่ให้บริ การ : กาลังการผลิต : ราคาจาหน่าย : 13) ระบบบาบัดนา้ เสี ยหลักชั ยเมืองยาง สัญญา : คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ กาลังการผลิต ราคาจาหน่าย 14) ประปาหัวรอ สัญญา/สัมปทาน คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

: : : : : : : : : : : :

สัญญาจ้างบริ การและบารุ งรักษาระบบบาบัดน้ าเสี ย โครงการ นิคมอุตสาหกรรมหลักชัยเมืองยาง จังหวัดระยอง บริ ษทั ไทรเบคก้า เอ็นเตอร์ ไพร์ ส จากัด และ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต้ ีส์ 28 กรกฎาคม 2558 30 ปี ยังไม่เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ นิคมอุตสาหกรรมหลักชัยเมืองยาง จังหวัดระยอง 6,000 ลบ.ม./วัน 12.25 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2558) สัญญาซื้ อขายน้ าประปาในเขตเทศบาลตาบลหัวรอ อาเภอเมือง พิษณุโลก จังหวัดพิษณุ โลก เทศบาลตาบลหัวรอ และ บมจ. ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ 28 มีนาคม 2557 30 ปี ยังไม่เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ ส่วนที่ 1 หน้า 25


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

พื้นที่ให้บริ การ กาลังการผลิต ราคาจาหน่าย

: : :

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ตาบลหัวรอ อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 7,200 ลบ.ม. ต่อ วัน 7.00 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2559)

2.11 ข้ อจากัดในการประกอบธุรกิจ - ไม่มี – 2.12 การตลาดและการแข่ งขัน 1. อุตสาหกรรมการจัดการทรัพยากรนา้ ในประเทศไทย การพัฒนาและบริ หารจัดการทรัพยากรน้ าเป็ นภารกิ จของหน่ วยงานราชการเช่ น กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ า กรมทรัพยากรน้ าบาดาล เป็ นต้น ส่ วนการนาน้ าจากแหล่ งน้ าเพื่อมาใช้ประโยชน์ในการ อุปโภคบริ โภค และอุตสาหกรรม มีหน่วยงานดูแลรับผิดชอบหลายหน่วยงาน ได้แก่ การประปาส่ วนภูมิภาค รับผิดชอบการจัดหาแหล่งน้ าดิบ และผลิตจาหน่ายน้ าประปาให้แก่ผูใ้ ช้น้ าในเขตชุ มชนที่ให้บริ การ เทศบาล หรื อองค์กรบริ หารส่ วนตาบล บางแห่ งให้บริ การผลิตจาหน่ายน้ าประปาแก่ประชาชนในเขตปกครองท้องถิ่น นั้ น ๆ และนิ ค มอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย รั บ ผิ ด ชอบในการจัด หาน้ าและให้ บ ริ ก ารในเขตนิ ค ม อุตสาหกรรมที่ดูแล เป็ นต้น เนื่องจากการลงทุนในการให้บริ การน้ าประปาของการประปาส่ วนภูมิภาค(กปภ.) ในบางพื้นที่ ไม่ทนั กับความต้องการใช้น้ า กปภ.จึงได้ให้เอกชนเข้าร่ วมดาเนิ นการ โดยเอกชนเป็ นผูล้ งทุ นและผลิ ตน้ าประปา จาหน่ายให้แก่ กปภ. และกปภ. จาหน่ายต่อให้แก่ผใู ้ ช้น้ าอีกต่อหนึ่ ง ปั จจุบนั บริ ษทั ได้ทาสัญญากับ กปภ.แล้ว จานวน 6 สัญญา สาหรับธุ รกิ จน้ าดิบในภาคตะวันออกเกิ ดขึ้นเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิ จตามนโยบายการพัฒนา พื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกให้เป็ นพื้นที่อุตสาหกรรมหลักของประเทศ 2. อุปทานนา้ ในประเทศไทย ประเทศไทยซึ่ งมีพ้ืนที่ท้ งั ประเทศรวม 512,870 ตาราง กม. ได้รับน้ าจากฝนในปริ มาณปี ละประมาณ 800,000 ล้าน ลบ.ม. โดยน้ าฝนประมาณร้อยละ 75 จะสู ญหายตามระบบของธรรมชาติ เช่น การระเหยเป็ นไอ ถูกพืชดูดซับไว้ หรื อซึ มลงใต้ดินกลายเป็ นน้ าบาดาล เป็ นต้น ส่ วนที่เหลืออีกร้อยละ 25 หรื อประมาณ 200,000 ล้าน ลบ.ม. จะไหลลงสู่ แม่น้ าลาธารต่างๆ เรี ยกว่า น้ าผิวดิ นหรื อน้ าท่า เช่ น แหล่งน้ าตามทะเลสาบ แม่น้ าลา ธารต่างๆ เป็ นต้น การนาน้ าจากแหล่งน้ าผิวดินเหล่านี้ ไปใช้ประโยชน์มกั มีปัญหาในช่วงฤดูแล้งซึ่ งเป็ นช่วงที่ ระดับน้ าในแม่น้ าต่ า และน้ าทะเลหนุ น ดังนั้น จึงมีการสร้ างอ่างเก็บน้ า หรื อเขื่ อนเพื่อกักเก็บน้ าผิวดิ น จาก ข้อมูลของกรมชลประทานระบุวา่ ณ ปี 2557 ประเทศไทยมีเขื่อน และอ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่และขนาดกลาง ซึ่ งอยูใ่ น ความรับผิดชอบของกรมชลประทาน และการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย รวมความจุประมาณ 76,002 ล้าน ลบ.ม. ส่วนที่ 1 หน้า 26


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

นอกเหนื อจากแหล่งน้ าผิวดิน อันได้แก่ แม่น้ า ทะเลสาบ และน้ าที่เก็บกักอยูใ่ นอ่างเก็บน้ าหรื อเขื่อน ต่างๆ แล้ว ยังมีแหล่งน้ าใต้ดิน หรื อ น้ าบาดาล ซึ่ งเป็ นน้ าที่ซึมลงไปในดิ น และขังอยูใ่ นช่ องว่างระหว่างเม็ด ดินหรื อชั้นหิ นกลายเป็ นแอ่งน้ าขังอยูใ่ ต้ผิวโลก โดยแหล่งน้ าบาดาลที่มีขนาดใหญ่ และให้ปริ มาณน้ ามากที่สุด ในประเทศไทยได้แก่ แหล่งน้ าบาดาลในภาคกลาง บริ เวณที่ราบลุ่มเจ้าพระยาตอนล่าง อย่างไรก็ตาม การใช้ น้ าบาดาลมากเกินไปจะมีผลกระทบต่อความสมดุลทางธรรมชาติ เช่น น้ าทะเลอาจไหลแทรกซึ มเข้ามาในชั้น บาดาลซึ่ งทาให้น้ าจืดแปรเปลี่ยนเป็ นน้ ากร่ อย และน้ าเค็มในที่สุด หรื ออาจทาให้เกิดปั ญหาแผ่นดินทรุ ด เป็ น ต้น ปั จจุบนั ประเทศไทยมีกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวกับน้ าใต้ดิน ได้แก่ พระราชบัญญัติน้ าบาดาล (ฉบับ ที่ 3) ปี พ.ศ. 2546 ซึ่ งกาหนดให้การขุดเจาะน้ าบาดาลในเขตน้ าบาดาล จะต้องขออนุญาตรัฐก่อน และประกาศ ของกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 8/2537 กาหนดเขตน้ าบาดาลและอัตราค่าน้ าบาดาล 3.50 บาทต่อ ลบ.ม. ครอบคลุ ม ทุ ก จัง หวัด ทั่ว ประเทศ และประกาศกระทรวง เรื่ อ ง ก าหนดอัต ราค่ า อนุ รัก ษ์ น้ าบาดาลและ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการเรี ยกเก็บค่าอนุรักษ์น้ าบาดาล (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๕ อัตราค่าอนุรักษ์น้ า บาดาล อัตราลูกบาศก์เมตรละ 4.50 บาท ทั้งนี้ ในปี 2544 กระทรวงอุ ตสาหกรรมได้ม อบหมายให้ ก รมทรั พ ยากรธรณี ศึ ก ษาแนวทางแก้ไ ข ปั ญหาแผ่นดินทรุ ด ซึ่ งได้มีมติจากภาครัฐให้ดาเนิ นการทยอยปรับค่าน้ าบาดาลเพื่อแก้ไขปั ญหาดังกล่าวโดย ปรับขึ้นจาก 3.50 บาท เป็ น 8.50 บาท ภายในปี 2546 และห้ามใช้น้ าบาดาลในพื้นที่วิกฤตที่มีระบบน้ าประปา แล้วตั้งแต่มกราคมปี 2547 เป็ นต้นไป 3. อุตสาหกรรมการจัดการนา้ ในภาคตะวันออก ในอดีต การจัดการทรัพยากรน้ าในภาคตะวันออกมีหน่วยงานที่รับผิดชอบมากมาย เช่นเดียวกับส่ วน อื่นๆ ของประเทศไทย เช่น กรมชลประทานเป็ นผูร้ ับผิดชอบเรื่ องการพัฒนาแหล่งน้ าดิบ โดยก่อสร้างอ่างเก็บน้ า ต่ างๆ ตามนโยบายของรั ฐบาล ส่ วนเรื่ อ งการพัฒ นาท่ อ ส่ ง น้ า กรมชลประทานและกรมโยธาธิ ก ารเป็ น ผูก้ ่อสร้าง แต่ในด้านการดาเนิ นการได้มอบให้การนิ คมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย (กนอ.) เป็ นผูบ้ ริ หาร ท่อส่ งน้ าสายดอกกราย-มาบตาพุด และสายมาบตาพุด -สัตหี บ ส่ วนท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง และ สายแหลมฉบัง-พัทยา กรมโยธาธิ การเป็ นผูบ้ ริ หาร ซึ่ งจะเห็นได้วา่ การจัดการระบบท่อส่ งน้ าขาดระบบบริ หาร ที่มีความชัดเจนเกี่ยวกับความรับผิดชอบของหน่วยปฏิบตั ิต่างๆ ดังนั้นเมื่อปี 2535 คณะรัฐมนตรี จึงได้มีมติให้ กปภ. จัดตั้งบริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด ขึ้น เพื่อรับผิดชอบในการจัดการระบบ ท่อส่ งน้ าดิบซึ่ งครอบคลุมทั้งการพัฒนาและการบริ หารระบบท่อส่ งน้ าในพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก เพื่อลด ความซ้ าซ้อนของหน่ วยงานต่างๆ และเพื่อให้การจัดการทรัพยากรน้ ามีเอกภาพมากขึ้น รายละเอียดสรุ ปดัง แผนภาพที่ 3.1

ส่วนที่ 1 หน้า 27


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

แผนภาพที่ 3.1 แสดงผู้รับผิดชอบหลักในการจัดการทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก

หน้าที่ : พัฒนาแหล่ น้ า จัดสรรน้ า ห้ภาค กษตรกรรม า่ นระบบคลอ ชลประทาน

หน้าที่ : พัฒนาระบบท่อส่ น้ าดิบ บริ หาร ระบบท่อส่ น้ าดิบ

4. อุปทานนา้ ในภาคตะวันออก แหล่งนา้ ผิวดิน ปั จจุบนั พื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก มีการพัฒนาอ่างเก็บน้ าที่สาคัญๆ แล้วจานวน 16 แห่ง ซึ่ งจาก ข้อ มู ล ล่ าสุ ด อ่ างเก็ บ น้ า 16 แห่ ง ดัง กล่ าวมี ค วามจุ รวมประมาณ 1,314.09 ล้าน ลบ.ม. และมี ป ริ ม าณน้ า ที่ สามารถใช้งานได้ประมาณ 1,638.37 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี ดังแสดงในตารางที่ 4.1 ตารางที่ 4.1 แหล่งนา้ ในพืน้ ทีช่ ายฝั่งทะเลภาคตะวันออก แหล่ งน้า 1. อ่างเก็บน้ าบางพระ 2. อ่างเก็บน้ าหนองค้อ 3. อ่างเก็บน้ ามาบปะชัน 4. อ่างเก็บน้ าดอกกราย 5. อ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล 6. อ่างเก็บน้ าหนองกลางดง 7. อ่างเก็บน้ าห้วยซากนอก 8. อ่างเก็บน้ าห้วยขุนจิต 9. อ่างเก็บน้ าห้วยสะพาน

จังหวัด

ความจุ (หน่ วย : ล้ านลบ.ม.)

ปริมาณนา้ ที่สามารถใช้ งานได้ เฉลีย่ Average Draft Rate (หน่ วย : ล้ านลบ.ม.ต่ อปี )

ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ระยอง ระยอง ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี

117.00 21.10 15.60 79.41 163.75 7.90 7.03 4.87 3.84

44.96 15.78 14.03 146.57 126.31 6.96 5.86 3.98 5.59 ส่วนที่ 1 หน้า 28


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แหล่ งน้า

จังหวัด

10. อ่างเก็บน้ าบางไผ่ ชลบุรี 11. อ่างเก็บน้ าคลองระบม ฉะเชิงเทรา 12. เขื่อนทดน้ าบางปะกง ฉะเชิงเทรา 13. อ่างเก็บน้ าคลองสี ยดั ฉะเชิงเทรา 14. อ่างเก็บน้ าคลองใหญ่ ระยอง 15. อ่างเก็บน้ าประแสร์ ระยอง 16. อ่างเก็บน้ าคลองหลวง รัชชโลธร ชลบุรี รวม

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ความจุ (หน่ วย : ล้ านลบ.ม.)

ปริมาณนา้ ที่สามารถใช้ งานได้ เฉลีย่ Average Draft Rate (หน่ วย : ล้ านลบ.ม.ต่ อปี )

10.00 55.50 30.00 420.00 45.46 295.00 98.00 1,314.09

7.00 48.84 493.00 285.62 50.93 265.18 117.76 1,638.37

ที่มา : กรมชลประทาน หมายเหตุ : 1. ปั จจุบนั อ่างเก็บน้ าหนองค้อและอ่างเก็บน้ าดอกกรายจ่ายน้ าสาหรับการอุปโภคบริ โภคและอุตสาหกรรมเท่านั้น เนื่ องจากในพื้นที่ หนองค้อไม่มี ก ารใช้น้ าเพื่ อการเกษตร ส่ วนในพื้น ที่ ด อกกรายใช้น้ าจากอ่ างเก็ บ น้ าหนองปลาไหลและอ่ างเก็ บ น้ าคลองใหญ่ เพื่ อจ่ ายให้ แ ก่ การเกษตรแทน 2.ปริ มาณน้ าที่สามารถใช้งานได้ต่อปี เป็ นปริ มาณโดยเฉลี่ย ทั้งนี้ ตัวเลขดังกล่าวสามารถเปลี่ ยนแปลงได้ ขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณน้ าที่เพิ่มเติม จากน้ าฝนและแหล่งน้ าต้นทางในแต่ละปี อย่างไรก็ตามตัวเลขดังกล่าวยังไม่ได้รวมถึงปริ มาณน้ าในอ่างเก็บน้ าที่มีอยูเ่ ดิมซึ่งสามารถนามาใช้งานได้ เพิ่มเติม

จากข้อมูลแหล่งน้ าข้างต้น กรมชลประทานมีแผนการพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อรองรับความต้องการใช้น้ าที่ เพิ่มขึ้นในอนาคต สาหรับพื้นที่จงั หวัดฉะเชิ งเทรา ชลบุรี และระยอง อีก 12 แห่ ง ความจุรวมประมาณ 310.19 ล้าน ลบ.ม. และมีปริ มาณน้ าที่สามารถใช้งานได้ 303.29 ล้าน ลบ.ม. ดังรายละเอียดในตารางที่ 4.2

ส่วนที่ 1 หน้า 29


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ตารางที่ 4.2 แผนพัฒนาแหล่ งนา้ พืน้ ทีภ่ าคตะวันออก แหล่ งน้า 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

จังหวัด

อ่างเก็บน้ าคลองกะพง ฉะเชิงเทรา อ่างเก็บน้ าห้วยกรอกเคียน ฉะเชิงเทรา อ่างเก็บน้ าบ้านหนองกระทิง ฉะเชิงเทรา อ่างเก็บน้ ามาบหวายโสม ชลบุรี อ่างเก็บน้ าห้วยไข่เน่า ชลบุรี อ่างเก็บน้ ากระแสร์ ชลบุรี อ่างเก็บน้ าคลองหลวง ชลบุรี อ่างเก็บน้ าคลองโพล้ ระยอง เพิ่มความจุอ่างเก็บน้ าประแสร์ ระยอง เพิ่มความจุอ่างเก็บน้ าดอกกราย ระยอง เพิม่ ความจุอ่างเก็บน้ าหนอง ระยอง ปลาไหล 12. เพิ่มความจุอ่างเก็บน้ าคลอง ระยอง ใหญ่ รวม

ปริมาณนา้ ที่สามารถใช้ ความจุ งานได้ เฉลีย่ Average (ล้ าน ลบ.ม.) Draft Rate (หน่ วย : ล้ าน ลบ.ม.ต่ อปี )

ระยะเวลา การก่ อสร้ าง เริ่ม แล้ วเสร็จ

27.50 19.20 15.00 6.43 1.61 18.21 98.00 40.00 47.00 8.01 23.87

26.00 16.00 13.00 8.00 6.00 15.00 95.05 40.00 47.00 8.01 23.87

2559 2560 2560 2560 2560 2560 2553 2560 2558 2558 2560

2562 2563 2563 2562 2562

5.36

5.36

2560

2560

310.19

303.29

2560 2562 2558 2558 2560

ที่มา : สานักชลประทานที่ 9 กรมชลประทาน

แหล่งนา้ ใต้ ดิน แหล่งน้ าใต้ดินในภาคตะวันออกมีค่อนข้างจากัด ทั้งนี้จากข้อมูลการขุดเจาะบ่อบาดาลโดยกรมโยธาธิ การในพื้นที่จงั หวัดฉะเชิ งเทรา ชลบุรี ระยอง ปราจีนบุรี และสระแก้ว พบว่า บ่อบาดาลส่ วนใหญ่จะสามารถ สู บ น้ าได้ในอัตรา 2.5-7.0 ลบ.ม.ต่ อชั่วโมง ซึ่ งพอเพี ย งส าหรั บ อุ ป สงค์เพื่ อการอุ ป โภคบริ โภคในท้องถิ่ น เท่านั้น นอกจากนี้ น้ าใต้ดินในหลายบริ เวณพบว่ามีปัญหาเรื่ องสารคลอไรด์สูง อันเป็ นผลมาจากการที่น้ าทะเล ถูกกักเก็บไว้ในชั้นดินตะกอนตั้งแต่อดี ต และบางส่ วนมีการแทรกตัวของน้ าทะเลเนื่ องจากการสู บน้ า ใต้ดิน มากเกินไป ส่ งผลให้แหล่งน้ าใต้ดินในภาคตะวันออกมีขอ้ จากัดทั้งในด้านปริ มาณและคุณภาพจนไม่สามารถ พัฒนาเป็ นแหล่งน้ าหลักได้ 5. แนวโน้ มการจัดการทรัพยากรนา้ ของภาคตะวันออก ความต้องการใช้น้ าในภาคตะวันออกยังมีการเติบโตอย่างต่อเนื่ อง ทั้งนี้ เป็ นผลจากการส่ งเสริ มจาก ภาครั ฐ ทั้ งด้ า น ก ารส่ งเส ริ มการลงทุ น และแผน พั ฒ น าพื้ น ที่ ชายฝั่ งท ะเลตะวัน ออก ระยะที่ 2 (ปี 2538-2543) ซึ่ งรัฐบาลกาหนดพื้นที่ เป้ าหมายในการพัฒนาพื้นที่ ตอนใน ห่ างจากชายฝั่ งทะเลตะวันออก ส่วนที่ 1 หน้า 30


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ต่อเนื่ องจากการพัฒ นาระยะที่ 1 ประกอบกับ การจัดท า (ร่ าง) ผังเมื องรวมเมื องมาบตาพุ ดในปั จจุ บ นั (อยู่ ระหว่างการดาเนิ นการ) คาดว่าจะมี การกาหนดพื้นที่ สาหรั บภาคการผลิ ตในพื้นที่ มาบตาพุดเพิ่มขึ้น ดังนั้น แนวโน้มการจัดการทรัพยากรน้ าภาคตะวันออกจึงมีลกั ษณะการเชื่ อมโยงแหล่งน้ าจากพื้นที่ลุ่มน้ าอื่นๆ อาทิ ลุ่มน้ าเจ้าพระยาตอนล่าง ลุ่มน้ าจังหวัดจันทบุรี เข้ามาเสริ มอุปสงค์การใช้น้ าที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งให้ความสาคัญ กับ การจัดสรรน้ าอย่างสมดุ ล และมี ส่ วนร่ วมระหว่างภาคอุ ตสาหกรรม อุ ป โภคบริ โภค และเกษตรกรรม ตลอดจนมี แนวโน้มการจัดการด้านอุ ปสงค์มากขึ้ น (Demand Side Management) รวมถึ ง การจัดเตรี ยมการ บริ หารแหล่งน้ าในกรณี เกิ ดภัยแล้ง(Drought Management) เพื่อใช้ประสานงานกับหน่วยราชการ และลูกค้า ในการใช้น้ าให้เกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด 6. อุปสงค์ นา้ ในประเทศไทย การใช้น้ าในประเทศไทย นอกจากจะใช้เพื่อความจาเป็ นในการดารงชีพของมนุษย์แล้ว ยังมีการใช้น้ า เพื่อสร้างความสะดวกสบายให้แก่ชีวิต และเพื่อกิ จกรรมในสาขาต่างๆ เช่ น เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การ ท่องเที่ ยว และสันทนาการต่างๆ เป็ นต้น โดยในแต่ ละปี ในทุ กภาคส่ วนมี ความต้องการใช้น้ าเพิ่ มขึ้ น อย่าง ต่ อเนื่ องตามการเพิ่ ม จานวนประชากร การเติ บ โตทางด้านเศรษฐกิ จ อุ ตสาหกรรมและเกษตรกรรม โดย สามารถแบ่งความต้องการใช้น้ าออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ดังนี้ 1) ความต้องการใช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภค เป็ นการใช้น้ าเพื่อเป็ นพื้นฐานในการดารงชี วิต เช่น น้ าดื่ม การเตรี ยมอาหาร ซักล้าง ทาความสะอาด เป็ นต้น ซึ่ งนอกจากความต้องการจะเพิ่มขึ้นตามจานวนประชากรของประเทศแล้ว อัตราการการขยายตัวของ ภาคบริ การและด้านการท่องเที่ยว บางพื้นที่ในเมืองหลัก ส่ งผลให้ความต้องการใช้น้ ามีแนวโน้มปรับตัวสู งขึ้น ดังจะเห็ นได้จากสถิติการใช้น้ าของผูใ้ ช้น้ า ในปี 2558 ของการประปาส่ วนภูมิภาคทัว่ ประเทศมีความต้องการ ใช้น้ าเพื่อการผลิตรวม 1,284.73 ล้านลูกบาศก์เมตร * 2) ความต้องการใช้น้ าในภาคอุตสาหกรรม การใช้น้ าในภาคอุตสาหกรรมส่ วนใหญ่ จะเกี่ ยวข้องกับขบวนการผลิ ต อาทิ กระบวนการหล่อเย็น การทาความสะอาด และการกาจัดของเสี ย โดยความต้องการใช้น้ าเพื่ออุตสาหกรรมจะขึ้นอยูก่ บั สภาวะการ เติ บ โตทางด้านเศรษฐกิ จเป็ นหลัก อี กทั้งอุ ตสาหกรรมแต่ล ะประเภทก็มี ค วามต้องการใช้น้ าในปริ มาณที่ แตกต่างกัน เช่ น อุตสาหกรรมปิ โตรเคมี โรงผลิ ตกระแสไฟฟ้ า อุตสาหกรรมฟอกย้อม สิ่ งทอ อุตสาหกรรม ถลุ งเหล็ก เหล่านี้ จะมีความต้องการใช้น้ าสู งมาก โดยในช่ วงทศวรรษที่ผ่านมาความต้องการใช้น้ าในส่ วนนี้ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ วเนื่องจากการขยายตัวทางอุตสาหกรรมของประเทศ หมายเหตุ : * จานวนผูใ้ ช้น้ าและปริ มาณการผลิตเป็ นรายปี สะสมตั้งแต่ ม.ค.-ก.ย. 2558 (อ้างอิงข้อมูล กองพัฒนาแหล่งน้ าการประปาส่ วนภูมิภาค)

ส่วนที่ 1 หน้า 31


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

3) ความต้องการใช้น้ าในภาคเกษตรกรรม การใช้น้ าในภาคเกษตรกรรมของประเทศไทย จะเป็ นการใช้น้ าที่มีปริ มาณสู งที่สุด โดยประมาณกว่า ร้ อ ยละ 90 ของปริ ม าณน้ าทั้ง หมด เนื่ อ งจากประเทศไทยเป็ นประเทศที่ มี พ้ื น ฐานทางเศรษฐกิ จ ด้ า น เกษตรกรรมเป็ นหลัก น้ าที่ใช้ในการเกษตรส่ วนใหญ่จะใช้ในการทานาข้าว ทาสวน บ่อเลี้ยงปลา การปลูกผัก ผลไม้ การปศุสัตว์ และฟาร์ มเลี้ยงกุง้ ประมาณการว่าร้อยละ 25 ของน้ าที่ใช้ในการเกษตรกรรมนี้ จะไหลกลับ สู่ ระบบน้ าตามธรรมชาติอีกครั้งหนึ่ง 7. อุปสงค์ นา้ ในภาคตะวันออก จากผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตามโครงการศึกษาเพื่อจัดทาแผนหลักการพัฒนา และจัดการทรัพยากรน้ าภาคตะวันออกของกรมชลประทาน ดังแสดงในตารางที่ 7.1 พบว่าการใช้น้ าในลุ่มน้ า ชายฝั่ งตะวัน ออก ซึ่ งครอบคลุ ม พื้ น ที่ ใ นเขตจังหวัดชลบุ รี ระยอง ฉะเชิ ง เทรา จัน ทบุ รี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี และสระแก้ว มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ตั้งแต่ปี 2539-2559 โดยคาด ปริ มาณการใช้น้ ารวมปี 2559 ทั้งสิ้ น 6,593.5 ล้าน ลบ.ม. แบ่ งเป็ น การใช้น้ าเพื่ อ การเกษตร 5,649.5 ล้าน ลบ.ม. การใช้น้ าอุ ป โภค บริ โภค-การท่องเที่ยว 373.1 ล้าน ลบ.ม. และการใช้น้ าอุตสาหกรรม 570.9 ล้าน ลบ.ม. ปริ มาณสัดส่ วนความ ต้องการใช้น้ ามาจาก ภาคการเกษตร เป็ นหลัก อย่างไรก็ดี หากพิจารณาจาก อัตราการเจริ ญเติบโตของแต่ละ ภาคส่ วน พบว่า ภาคอุ ตสาหกรรมยังคงเป็ นส่ วนที่ มี อตั ราเติ บ โตสู งขึ้ นอย่างต่ อเนื่ องเฉลี่ ย ร้ อยละ 7 ต่ อปี เนื่องจากนโยบายการกาหนดเขตพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมเขตภาคตะวันออก เช่น นิ คมอุตสาหกรรมมาบตาพุด นิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี (บ่อวิน) นิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก และนิคมอุตสาหกรรม แหลมฉบัง เป็ นต้น จากปั จจัยดังกล่าวส่ งผลต่อเนื่ องให้มีการขยายตัวของชุมชนออกไปยังพื้นที่ใกล้เคียงมาก ขึ้น ส่ งผลให้ความต้องการใช้น้ าของภาคการอุปโภค-บริ โภคขยายตัวด้วยเช่นกัน

ส่วนที่ 1 หน้า 32


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ตารางที่ 7.1 แสดงปริมาณความต้ องการใช้ นา้ ในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออก ปี 2539-2559 ปี 2539 ปี 2549 ปี 2559 ล้าน ลบ.ม. % ล้าน ลบ.ม. % ล้าน ลบ.ม. % ชลบุรี อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 81.1 15.27 116.2 18.65 161.6 22.66 อุตสาหกรรม 63.5 11.95 120.4 19.32 165.1 3.15 เกษตรกรรม 386.6 72.78 386.6 62.03 386.6 4.20 รวม 531.2 100.00 623.2 100.00 713.3 100.00 ระยอง อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 26.7 2.75 41.0 3.88 49.4 4.46 อุตสาหกรรม 77.7 8.00 149.0 14.10 191.1 17.26 เกษตรกรรม 867.0 89.25 867.0 82.02 867.0 78.28 รวม 971.4 100.00 1,057.0 100.00 1,107.5 100.00 ฉะเชิงเทรา อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 22.3 1.21 30.8 1.64 38.2 2.01 อุตสาหกรรม 24.7 1.34 50.0 2.67 70.6 3.71 เกษตรกรรม 1,792.7 97.45 1,792.7 95.69 1,792.7 94.28 รวม 1,839.7 100.00 1,873.5 100.00 1,901.5 100.00 จันทบุรี อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 23.3 4.01 30.4 5.12 38.1 6.28 อุตสาหกรรม 10.5 1.81 15.8 2.66 21.1 3.48 เกษตรกรรม 547.1 94.18 547.1 92.21 547.1 90.24 รวม 580.9 100.00 593.3 100.00 606.3 100.00 ตราด อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 9.9 3.27 12.8 4.15 16.1 5.10 อุตสาหกรรม 3.7 1.22 6.6 2.14 10.3 3.26 เกษตรกรรม 289.2 95.51 289.2 93.71 289.2 91.63 รวม 302.8 100.00 308.6 100.00 315.6 100.00 นครนายก อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 8.1 1.55 10.4 1.97 13.0 2.44 อุตสาหกรรม 2.0 0.38 4.0 0.76 5.8 1.09 เกษตรกรรม 513.2 98.07 513.2 97.27 513.2 96.47 รวม 523.3 100.00 527.6 100.00 532.0 100.00 ปราจีนบุรี อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 16.2 3.32 22.6 4.26 27.9 4.98 อุตสาหกรรม 22.6 4.63 58.0 10.95 82.6 14.76 เกษตรกรรม 449.3 92.05 449.3 84.79 449.3 80.26 รวม 488.1 100.00 529.0 100.00 559.8 100.00 สระแก้ว อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 17.5 2.11 23.0 2.73 28.8 3.36 อุตสาหกรรม 7.6 0.92 15.5 1.84 24.3 2.83 เกษตรกรรม 804.5 96.97 804.5 95.43 804.5 93.81 รวม 829.6 100.00 843.0 100.00 857.6 100.00 รวมภาค อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 205.1 3.38 287.2 4.52 373.1 5.66 ตะวันออก อุตสาหกรรม 212.3 3.50 419.3 6.60 570.9 8.66 (8 จังหวัด) เกษตรกรรม 5,649.5 93.12 5,649.5 88.88 5,649.5 85.68 รวม 6,066.9 100.00 6,356.0 100.00 6,593.5 100.00 ที่มา : กรมชลประทาน โครงการศึกษาเพื่อจัดทาแผนหลักการพัฒนาและจัดการทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก ภาควิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้ าคณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จังหวัด

ประเภท

ส่วนที่ 1 หน้า 33


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ปัจจัยหลักทีส่ ่ งผลให้ อุตสาหกรรมในภาคตะวันออกมีการขยายตัว 1) นโยบายของรัฐในการส่ งเสริ มการลงทุนในเขตเศรษฐกิ จพิเศษเป็ นซู เปอร์ คลัสเตอร์ เน้นส่ งเสริ ม กิจการ Digital-Economy และ มาตรการเพิ่มขีดความสามารถของผูป้ ระกอบการ SMES โดยปี 2558 พื้นที่ภาค ตะวันออก มีโครงการที่ได้รับอนุ มตั ิส่งเสริ มการลงทุน กว่า 828 โครงการเพิ่มขึ้นจากปี ก่อน (ปี 2557) ร้อยละ 38 โดยจังหวัดที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนมากที่สุดได้แก่ จังหวัดระยอง,ชลบุรี,ปราจีนบุรี, และ ฉะเชิงเทรา ตามล าดับ และ พบว่าประเภทกิ จการที่ ไ ด้รับ การส่ งเสริ ม ส่ วนใหญ่ เป็ น ผลิ ตภัณ ฑ์ โลหะ เครื่ องจัก รและ อุ ป กรณ์ ข นส่ ง รองลงมาเป็ นกิ จ การประเภท เคมี ภ ัณ ฑ์ กระดาษ,พลาสติ ก และ บริ ก ารสาธารณู ป โภค ตามลาดับ 2) การส่ งเสริ มการลงทุน เพื่อสอดรับกับนโยบายภาครัฐตามข้างต้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงได้กาหนด ยุทธศาสตร์ การส่ งเสริ ม การลงทุนในระยะ 7 ปี (2558-2564) มุ่งเน้นส่ งเสริ มการลงทุนที่มีคุณค่าต่อประเทศ และส่ งผลดีต่อสังคมและ สิ่ งแวดล้อม โดยกาหนดสิ ทธิ ประโยชน์ดา้ นการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล,อากรเครื่ องจักรและ วัตถุดิบผลิต เพื่อส่ งออก ให้สอดคล้องตามประเภทกิจการ (Activity-base Incentives) และ ตามคุณค่าของโครงการ (Meritbase Incentives) เช่น โครงการที่ต้ งั สถานประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมหรื อ เขตอุตสาหกรรมที่ได้รับการ ส่ งเสริ ม จะได้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคลลเพิม่ 1 ปี เป็ นต้น 8. ภาวะการแข่ งขัน การประกอบธุ รกิจพัฒนาระบบท่อส่ งน้ าและจัดจาหน่ายน้ าดิบให้กบั ผูใ้ ช้น้ าทั้งภาคอุตสาหกรรม และ อุปโภคบริ โภค ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ปั จจุบนั หากเปรี ยบเทียบส่ วนแบ่งการทางตลาดถือว่าไม่มี คู่แข่งขันรายใหญ่ ด้วย จุดแข็งด้านการลงทุนพัฒนาระบบโครงข่ายท่อส่ งน้ าสายหลัก และ ระบบสู บจ่ายของ บริ ษทั ที่เชื่ อมโยงแหล่ งน้ าสาคัญในภาคตะวันออก ได้แก่ อ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล ดอกกราย คลองใหญ่ และประแสร์ ในจังหวัดระยอง อ่างเก็บน้ าหนองค้อและบางพระ เข้าด้วยกันแบบ Water Grid เป็ นระยะทาง กว่า 394.5 กิโลเมตร ซึ่ งถือว่าโครงข่ายดังกล่าวมีความสมบูรณ์แบบ ทันสมัย มีประสิ ทธิ ภาพ และครอบคลุม พื้ น ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารทั้ง 3 จัง หวัด โดยปั จ จุ บ ัน บริ ษ ัท ฯ มี ค วามสามารถในการส่ ง จ่ า ยน้ า ดิ บ ได้ก ว่า 340 ล้าน ลูกบาศก์เมตรต่อปี ประกอบกับ การลงทุนจัดหาแหล่งน้ าสารองเพื่อเสริ มระบบการส่ งจ่ายอย่างต่อเนื่ อง ทาให้ บริ ษทั ฯ มีศกั ยภาพในการบริ หารจัดการได้อย่างหลากหลายเมื่อเทียบกับคู่แข่งในปั จจุบนั เมื่อเปรี ยบเทียบกับผูป้ ระกอบการเอกชนบางรายที่ให้บริ การน้ าดิบในพื้นที่ชลบุรี ซึ่ งมีความสามารถ ในการส่ งจ่ายรวมที่เฉลี่ย 8 ล้านปี แหล่งน้ าเอกชนดังกล่าวจึงยังมีขอ้ จากัด ทั้งด้านขนาด และเสถียรภาพแหล่ง น้ า และเมื่ อ วิเคราะห์ ต่ อ ถึ ง โอกาสที่ จะเกิ ดคู่ แ ข่ ง ขัน ทางตรงขึ้ น ในอนาคต พิ จารณาว่า มี โอกาสเกิ ด น้อ ย เนื่องจากอุปสรรคสาคัญสาหรับผูป้ ระกอบการรายใหม่ตอ้ งใช้เงินลงทุนสู ง ทั้งที่เป็ นการลงงทุนด้านท่อส่ งน้ า สถานีสูบน้ า การสารองแหล่งน้ า อีกทั้งการวางท่อเพื่อให้บริ การกับผูใ้ ช้น้ ามีความจาเป็ นที่จะต้องวางท่อผ่านที่ สาธารณะ จึงต้องได้รับความร่ วมมือจากหน่ วยงานของรัฐบาล และรัฐวิสาหกิ จ ซึ่ งคู่แข่งจะต้องเช่ าหรื อซื้ อ ที่ดิน เพื่อใช้สาหรับวางท่อซึ่ งจะทาให้ตน้ ทุนโครงการสู งมาก ด้วยเหตุน้ ี บริ ษทั จึงมีความได้เปรี ยบจากสิ ทธิ ส่วนที่ 1 หน้า 34


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

การเข้าถึงพื้นที่วางท่อ ตลอดจนการใช้น้ าจากแหล่งน้ าในพื้นที่ก่อนผูป้ ระกอบการรายใหม่ อย่างไรก็ดีบริ ษทั อาจมีคู่แข่งทางอ้อมจาก 1) ลู กค้าของบริ ษทั มี แหล่ งน้ าทดแทนหรื อแหล่ งน้ าสารองอื่ นเพื่อเป็ นการบริ หารความเสี่ ยงด้าน แหล่งน้ า เช่น การนาน้ าทิ้งที่ผา่ นการบาบัดแล้วกลับมาใช้ (Recycle) การขุดบ่อบาดาล หรื อการขุดสระเก็บน้ า เป็ นต้น 2) การซื้ อน้ าจากรถน้ าของเอกชน โดยกรณี ดงั กล่าวอาจมีขอ้ จากัดด้านราคาที่ค่อนข้างสู ง (ประมาณ 30-40 บาท/ลู กบาศก์เมตร) เนื่ องจากมี ต้นทุ นค่าพลังงานจากการขนส่ ง และด้านปริ มาณที่ อาจไม่เพียงพอ รองรับต่อความต้องการในแต่ละครั้ง 3) การสู บน้ าโดยตรงจากแหล่งน้ าธรรมชาติซ่ ึ งสามารถสู บน้ าไปใช้ได้เฉพาะในช่ วงฤดู ฝนเท่านั้น เนื่ องจากในช่ วงฤดู แล้งปริ มาณน้ าลดต่ าลง และบางพื้นที่ จะมี น้ าทะเลหนุ น ท าให้น้ าในแม่น้ าลาคลองไม่ สามารถนาไปใช้งานได้ 9. กลยุทธ์ ทางการตลาด 9.1 กลยุทธ์ การแข่ งขัน บริ ษทั ฯ กาหนดแผนกลยุทธ์ในด้านต่างๆ เพื่อให้การดาเนิ นงานของบริ ษทั เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ ที่จะพัฒนา และบริ หารระบบท่อส่ งน้ าสายหลักในพื้นที่บริ เวณชายฝั่ งตะวันออก และเพื่อตอบสนองความ ต้องการใช้น้ าในพื้นที่รับผิดชอบได้อย่างพอเพียง ประกอบกับให้การดาเนิ นงานของบริ ษทั สามารถบรรลุ เป้ าหมายที่กาหนดไว้ โดยมีแผนกลยุทธ์หลัก ดังนี้ ด้ านการสร้ างความเชื่ อมั่นให้ แก่ ลูกค้ า เพื่อสนองตอบต่อค่านิ ยมองค์กร ที่มุ่งเน้นใส่ ใจต่อการให้บริ การและเอาใจใส่ ลูกค้า และเพื่อรักษา ความพึงพอใจให้อยูใ่ นเกณฑ์ที่กาหนด บริ ษทั จึงกาหนดแนวทางปรับปรุ งการให้บริ การลู กค้าอย่างต่อเนื่ อง ผ่านการรับฟังข้อร้องเรี ยนและข้อเสนอแนะ จากเสี ยงของลูกค้า (Voice of Customer) จากหลากหลายช่องทาง อาทิ โทรศัพท์ อีเมล์ เว็บไซด์บริ ษทั ฯ การเข้าเยีย่ ม (Site Visit) ในวาระเทศกาลสาคัญต่างๆ รวมทั้งการสารวจ ความพึงพอใจในแต่ละปี ซึ่ งข้อมูลที่ได้จะถูกนามารวบรวม วิเคราะห์ พิจารณาในที่ประชุมฝ่ ายปฎิบตั ิการและ บริ การลู กค้า และที่ประชุ มฝ่ ายบริ หาร เพื่อจัดทาแผนปรับปรุ งการให้บริ การสามารถตอบสนองตามความ ต้อ งการในและกลุ่ ม (Customer need) โดยในปี 2558 บริ ษ ัท ฯ ได้ป รั บ ปรุ ง ระบบบริ ห ารลู ก ค้า สั ม พัน ธ์ Customer Management Relation System ให้มีการนาข้อมูลจากระบบติดตามปริ มาณการใช้น้ าของลูกค้าแบบ ออนไลน์ (Online Metering System) เพื่อนามาวางแผนบริ หารกิ จกรรมลู กค้าสัมพันธ์ (CRM Activities) ได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพเพิ่มขึ้น และ กาหนดให้มีการสารวจความพึงพอใจของลูกค้าเพื่อทราบระดับความพอใจ ในผลิ ตภัณฑ์และบริ การว่าอยู่ในระดับใดเพื่อนาผลการสารวจไปวิเคราะห์ และกาหนดเป็ นแผนปฏิ บตั ิ เพื่อ นามาใช้ปรับปรุ งพัฒนาการให้บริ การให้สามารถตอบสนองความพอใจของลูกค้าได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดย เมื่ อน าข้อมู ล ในอดี ต (ปี 2557) มาวิเคราะห์ พ บว่าสิ่ งที่ ลู กค้าต้องการให้ป รั บ ปรุ ง ส่ วนใหญ่ เป็ นด้านความ รวดเร็ วในการแจ้งข้อมู ล ข่ าวสาร โดยเฉพาะเมื่ อคุ ณ ภาพแหล่ งน้ าต้น ทางมี ก ารเปลี่ ย นแปลง บริ ษ ทั ฯ จึ ง ส่วนที่ 1 หน้า 35


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

กาหนดให้ห้องควบคุ ม (Control Center) เป็ นศูนย์กลางในการรับเรื่ องและแจ้งข้อมู ลที่เกี่ ยวข้องกับคุ ณภาพ และการสู บจ่าย พร้ อม เพิ่มเติมการสารวจการบริ การส่ วนดังกล่าวไว้ในแบบสารวจปี 2558 เพื่อนาข้อมูลที่ ได้มาพัฒนาและปรับปรุ งการให้บริ การได้ครอบคลุ มทุกด้าน ทั้ง ด้านการรักษาเสถียรภาพระบบสู บและจ่าย น้ า (Reliability) ผลิตภัณฑ์ (Products) แรงดันน้ าและคุณภาพน้ า การให้บริ การ (Services) และ ข้อมูลข่าวสาร (Information) เพือ่ ให้เกิดกระบวนการปรับปรุ งแต่ละด้านอย่างต่อเนื่ อง ด้ านระบบการบริหารคุณภาพ บริ ษทั ฯ ได้นาระบบบริ หารคุณภาพ ISO 9001 มาประยุกต์ใช้ภายในองค์กร เพื่อให้การดาเนิ นงาน เป็ นไปตามนโยบายคุ ณภาพของบริ ษทั ฯ ที่ว่า “จัดสรรน้ าสู่ ผูใ้ ช้ มัน่ ใจในบริ การ คุ ณภาพและสิ่ งแวดล้อม” โดยบริ ษ ัท ฯ ได้ด าเนิ น การปรั บ ปรุ ง ระบบบริ ห ารคุ ณ ภาพจาก ISO 9001:2000 เป็ นระบบคุ ณ ภาพ ISO 9001:2008 เมื่ อเดื อนพฤสจิ ก ายน 2558 จากบริ ษ ัท (Bureau Veritas Certification (ประเทศไทย) จากัด ซึ่ ง ได้รับการรับรองโดย United Kingdom Accreditation Services (UKAS) ซึ่ งเป็ นองค์กรที่ได้รับการยอมรับใน ระดับนานาชาติที่มีสานักงานใหญ่อยู่ในประเทศสหราชอาณาจักร บริ ษทั ฯ ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ ครอบคลุมระบบงานต่างๆ ทั้งงานด้านการตรวจสอบ การวางแผนธุ รกิจ การบริ หาร การจัดการ การปฏิบตั ิการ รวมทั้งการเงินและพัสดุ แสดงให้เห็นถึงการเชื่ อมโยงระบบข้อมูลที่ภายในองค์กร ซึ่ งทาให้ลูกค้ามัน่ ใจได้วา่ จะได้รับการบริ การที่มีคุณภาพ นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังได้รับการรับรองระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม ISO 14001 ซึ่ งแสดงให้เห็นถึง การดาเนินงานของบริ ษทั ฯ มีการบริ หารจัดการสิ่ งแวดล้อมเป็ นอย่างดี และไม่พบปั ญหาสิ่ งแวดล้อมจากการ ดาเนินงานของบริ ษทั ฯ ด้ านการขยายพืน้ ทีก่ ารให้ บริการ บริ ษทั ฯ ได้ศึกษาถึ งความเป็ นไปได้ในการลงทุ น และขยายการดาเนิ นงานอย่างต่อเนื่ อง เพื่อขยาย พื้นที่การให้บริ การให้ทวั่ ถึง และเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ าในพื้นที่ความรับผิดชอบของบริ ษทั โดยศึกษา ถึงความต้องการใช้น้ าในแต่ละพื้นที่เพื่อพิจารณาถึงความเหมาะสมด้านการลงทุน ทั้งด้านการปรับปรุ งและ ขยายระบบท่อส่ งน้ าที่มีอยูเ่ ดิมและการพัฒนาระบบท่อส่ งน้ าใหม่ อาทิ โครงการก่อสร้างวางท่อส่ งน้ าดิบอ่าง เก็บน้ าประแสร์-อ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อเพิ่มแหล่งน้ าต้นทุนแก่พ้ืนที่ระยอง บ่อวินปลวกแดง และชลบุรีไม่นอ้ ยกว่า 70 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี บริ ษทั ฯ ได้ป รับปรุ งประสิ ทธิ ภาพระบบสู บส่ งน้ าและการควบคุ มค่าใช้จ่ายด้านการผลิ ต โดยการ ปรับปรุ งระบบสู บน้ าและวิธีการส่ งน้ าอยูเ่ สมอ อาทิ 1) โครงการเพิม่ การส่ งจ่ ายนา้ ระบบท่ อมาบตาพุด – สั ตหีบ เนื่ องจากกิ จการประปาสั ตหี บมี ความต้องการใช้น้ าดิ บสู งขึ้ น เพื่อผลิ ตน้ าประปาให้บ ริ การในเขต พื้ น ที่ สั ตหี บ รวมถึ งการส่ งจ่ ายน้ าประปาให้ แก่ ก ารประปาส่ วนภู มิ ภ าค สาขาพัท ยา บริ ษ ัท จึ งดาเนิ นการ โครงการปรั บ ปรุ งระบบท่ อส่ งน้ า เพื่ อเพิ่ ม ปริ ม าณน้ าส่ งจ่ ายให้แก่ กิจการประปาสั ตหี บ ซึ่ งประกอบด้วย โครงการที่สาคัญ ดังนี้ ส่วนที่ 1 หน้า 36


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

1.1 โครงการติดตั้งเครื่ องสู บน้ าเพิ่มแรงดัน (Booster pump) ในระบบท่อส่ งน้ ามาบตาพุด – สัตหีบ บริ ษทั ฯ ดาเนินการติดตั้งเครื่ องสู บน้ าขนาด 38 ลูกบาศก์เมตร/นาที แรงดันน้ า 20 เมตร จานวน 1 ชุด 1.2 โครงการปรับปรุ งประตูน้ าควบคุมอัตราการไหล (Flow control valve) ที่สระรับน้ าสัตหี บ จากการปรับบปรุ งทั้ง 2 โครงการ บริ ษทั สามารถเพิ่มการส่ งจ่ายน้ าดิ บไปที่ กิจการประปาสัตหี บได้ ประมาณ 4,000 – 9,000 ลู กบาศก์เมตร/วัน จากเดิ มที่ สามารถส่ งจ่ายน้ าดิ บ เฉลี่ ยประมาณ 46,000 ลู กบาศก์ เมตร/วัน 2) โครงการเพิม่ ปริมาณนา้ ส่ งจ่ ายพืน้ ทีช่ ลบุรี เพื่อแก้ไขปั ญหาน้ าดิบไม่เพียงพอในพื้นที่ชลบุรีในปี 2558 บริ ษทั ฯ จึงมีแผนเพิ่มปริ มาณการส่ งจ่าย น้ าจากพื้นที่ ระยองไปพื้นที่ ชลบุรีมากขึ้น บริ ษทั ได้ศึกษาความเป็ นไปได้แล้วพบว่าสามารถนาแรงดันน้ าที่ คงเหลื อจากการสู บน้ าที่ อ่างเก็บน้ าหนองปลาไหลมาใช้เพิ่มปริ มาณการส่ งน้ าที่ สถานี สูบน้ าเพิ่มแรงดันได้ บริ ษ ทั จึ งดาเนิ นการปรั บปรุ งระบบท่ อส่ งน้ าโดยต่อประสานท่อส่ งน้ าจากอ่างเก็ บน้ าหนองปลาไหลเข้าสู่ สถานี สูบน้ าเพิ่มแรงดันโดยตรง (Inline Booster) โดยไม่ตอ้ งผ่านสระรับน้ า (Junction well) ของสถานี สูบน้ า เพิ่มแรงดัน ซึ่ งช่ วยให้สามารถเพิ่มปริ มาณการส่ งจ่ายน้ าจากพื้นที่ ระยองไปพื้นที่ชลบุรีอีกประมาณ 21,000 ลูกบาศก์เมตร/วัน จากเดิมที่สามารถส่ งจ่ายน้ าดิบได้เฉลี่ยประมาณ 230,000 ลูกบาศก์เมตร/วัน 3) โครงการเพิม่ ประสิ ทธิภาพการใช้ พลังงานไฟฟ้ าในระบบสู บส่ งนา้ บริ ษทั ฯ ได้ศึกษาวิธีการลดต้นทุนค่าไฟฟ้าในการสู บส่ งน้ าแล้ว จึงดาเนินโครงการที่สาคัญ อาทิ 3.1โครงการลดการใช้พ ลัง งานไฟฟ้ า ร่ ว มกับ การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค (PEA Demannd Response) บริ ษทั ฯ ได้เข้าร่ วมโครงการของคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ร่ วมกับการไฟฟ้าฝ่ าย ผลิตแห่ งประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค (กฟภ.) การไฟฟ้ านครหลวง (กฟน.) สภาอุตสาหกรรม แห่ งประเทศไทย และสภาหอการค้าแห่ งประเทศไทย โดยวางแผนลดการใช้พลังงานไฟฟ้ าโดยในช่วงเวลาที่ มีปริ มาณการใช้ไฟฟ้ าสู ง (On peak) ซึ่ งเป็ นการเสริ มสร้างความมัน่ คงของระบบไฟฟ้ าโดยรวมของประเทศ ไม่ตอ้ งจัดหากระแสไฟฟ้าเพิ่ม มีใช้อย่างเพียงพอ 3.2 โครงการลดแรงดันน้ าส่ วนเกินในระบบสู บส่ งน้ า บริ ษทั ฯ ได้ศึกษากการใช้พลังงานสู บส่ งน้ าในพื้นที่ต่างๆ ซึ่ งพบว่าบางพื้นที่ตอ้ งสิ้ นเปลื องพลังงาน จากสถานี สู บ น้ าหลัก เพื่ อจ่ ายน้ าให้ แก่ ลู ก ค้าที่ อยู่ในตาแหน่ ง ความสู งกว่าลู ก ค้ารายอื่ น ดัง นั้น บริ ษ ัท จึ ง ปรับปรุ งการใช้พลังงานโดยติดตั้งเครื่ องสู บน้ าขนาดเล็ก เพื่อส่ งน้ าให้แก่ลูกค้ารายนั้นโดยเฉพาะ ซึ่ งช่วยลด การใช้ไฟฟ้าจากสถานีสูบน้ าหลักในการส่ งน้ าให้แก่ลูกค้ารายย่อยบางงรายได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ นอกจากนี้ บริ ษ ทั ฯ ได้ศึกษาโครงการพัฒนาระบบบริ หารการใช้พ ลังงานในระบบสู บ ส่ งน้ า และ โครงการศึ กษาการใช้พ ลังงานทางเลื อกในระบบสู บส่ งน้ า โดยมี วตั ถุ ประสงค์เพื่ อบริ หารการใช้พ ลังงาน ไฟฟ้ าของสถานี สูบน้ าต่างๆ ที่กระจายอยูท่ ้ งั พื้นที่ระยอง ชลบุรี และฉะเชิ งเทราให้สามารถสู บส่ งน้ าได้อย่าง เพี ยงพอ และใช้พ ลังงานไฟฟ้ าได้อย่างมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ ตลอดจนสามารถนาพลังงานคงเหลื อมาผลิ ตเป็ น กระแสไฟฟ้าในกิจการของบริ ษทั ฯ ได้ดว้ ย ส่วนที่ 1 หน้า 37


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

9.2 ข้ อได้ เปรียบของบริษัทฯ เมื่อเทียบกับคู่แข่ งขัน จากการที่คณะรัฐมนตรี มีมติจดั ตั้งบริ ษทั ฯ เพื่อให้เป็ นผูด้ าเนิ นการพัฒนาและบริ หารระบบท่อส่ งน้ า สายหลักในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ทาให้บริ ษทั ฯ ได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ในการใช้น้ าดิบจากอ่างเก็บ น้ าของกรมชลประทาน ซึ่ งเป็ นแหล่งน้ าส่ วนใหญ่ของภาคตะวันออก เพื่อจาหน่ ายให้แก่การอุปโภคบริ โภค และการอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ ได้พฒั นาการดาเนิ นงานมาอย่างต่อเนื่ องโดยใช้เทคโนโลยีที่ ทันสมัย พร้ อมด้วยสั่งสมประสบการณ์ จากเหตุการณ์ ต่างๆ อาทิ กรณี วิกฤตภัยแล้งในปี 2548 จนเป็ นความ เชี่ ยวชาญในการบริ หารจัดการน้ า ซึ่ งได้รับ ความเชื่ อถื อและไว้วางใจจากลู กค้า ชุ ม ชน นักลงทุ น ซึ่ งช่ วย เสริ มสร้างศักยภาพของบริ ษทั ฯ ในการขยายงานได้ดีกว่าผูป้ ระกอบการรายอื่นๆ สรุ ปข้อได้เปรี ยบหรื อปั จจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็ จของบริ ษทั ฯ 1. เป็ นหน่วยงานที่จดั ตั้งโดยภาครัฐ 2. ได้รับความร่ วมมือจากหลายหน่วยงานภาครัฐ เช่น การวางท่อซ่อมแซม และการบารุ งรักษา เป็ นต้น 3. มีประสบการณ์ ที่ยาวนาน ความน่ าเชื่ อถื อ ตลอดจนความเชี่ ยวชาญ จากการเป็ นเอกชนรายแรกที่ดาเนิ น ธุ รกิจสู บส่ งน้ าดิบ 4. มีแหล่งน้ าที่แน่นอนและเพียงพอเพื่อป้ อนให้กบั ผูใ้ ช้น้ าที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ วจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ 5. มี ระบบการบริ หารและควบคุ ม การจ่ายน้ าที่ แม่ นยาและทันสมัย สามารถควบคุ มปริ มาณน้ าสู ญเสี ยใน ระบบ รวมทั้งสามารถควบคุมการสู บจ่ายน้ าให้สอดคล้องกับความต้องการของผูใ้ ช้น้ า 6. มีฐานการตลาดขนาดใหญ่ 7. มีสถานะทางการเงินที่มนั่ คง 8. มีศกั ยภาพสู งในการขยายงาน 9.3 นโยบายราคา บริ ษ ัท ฯ มี น โยบายก าหนดอัต ราค่ า น้ าดิ บ เพื่ อ สะท้อ นต้น ทุ น ที่ แ ท้ จ ริ ง ของโครงการ โดยการ คานวณหาอัตราค่าน้ าของบริ ษทั ซึ่ งแบ่งออกได้เป็ น 2 ขั้นตอนหลัก ดังนี้ 1) การคานวณหาอัตราค่ านา้ เฉลีย่ บริ ษทั ฯ กาหนดอัตราค่าน้ าดิ บแยกเป็ นรายโครงการ โดยจะคานวณจากต้นทุ นที่ แท้จริ งของแต่ละ โครงการซึ่ งประกอบด้วย เงิ นลงทุ นโครงการ ต้นทุ นค่าน้ าดิ บ ต้นทุ นในการดาเนิ นงาน ค่าเช่ า รวมทั้งเงิ น ลงทุนในระบบท่อส่ งน้ าในอนาคต นอกจากนี้ ครม.มีมติ (6 สิ งหาคม 2539) ให้บริ ษทั พิจารณารวมค่าลงทุน ในการบาบัดน้ าเสี ยเป็ นต้นทุ นที่ แท้จริ งด้วย อย่างไรก็ตาม นับตั้งแต่เริ่ มดาเนิ นการจนถึ งปั จจุบ นั ยังไม่ มี รายจ่ายในด้านนี้เกิดขึ้น บริ ษทั จึงยังมิได้รวมต้นทุนดังกล่าว ซึ่ งในอนาคต บริ ษทั จะได้พิจารณาดาเนินการใน ด้านนี้ต่อไป เพื่อให้เกิดการบริ หารต้นทุนที่มีประสิ ทธิภาพ อัตราค่าน้ าเฉลี่ยซึ่ งคานวณจากต้นทุนที่แท้จริ งข้างต้น โดยแยกพิจารณา เป็ น 2 วิธี คือ 1.1) ต้นทุนส่ วนเพิ่มโดยเฉลี่ย (Average Incremental Cost หรื อ AIC) ส่วนที่ 1 หน้า 38


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

วิธี น้ ี เป็ นการค านวณหามู ล ค่ าปั จจุ บ นั สุ ท ธิ ข องต้น ทุ น ที่ แท้จริ งของโครงการที่ อตั ราส่ วนลด ประมาณร้ อยละ 15 แล้วนามาคานวณหาค่าเฉลี่ ยต่อหน่ วยปริ มาณน้ าดิ บที่ จาหน่ ายในรอบระยะเวลา 30 ปี จากนั้น นาค่า AIC ที่ได้มาบวกส่ วนเพิม่ (Mark-up) อีกร้อยละ 20 จะได้อตั ราค่าน้ าเฉลี่ยสาหรับกรณี ที่ 1.1 1.2) อัตราผลตอบแทนการลงทุนทางการเงินของส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น (Equity Internal Rate of Return) คานวณอัตราค่าน้ าเฉลี่ยจากกระแสเงินสดสุ ทธิ ของต้นทุนที่แท้จริ งของโครงการ และรายรับจาก การจาหน่ายน้ าดิบในรอบระยะเวลา 30 ปี ที่ให้อตั ราผลตอบแทนการลงทุนทางการเงินของส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ของโครงการ มีค่าประมาณร้อยละ 15 ต่อปี 2) การกาหนดอัตราค่ านา้ จากแนวโน้ม ความต้องการใช้น้ าที่ เพิ่ ม สู งขึ้ น จากการใช้น้ าภาคอุ ตสาหกรรม และการใช้น้ าภาค อุปโภค-บริ โภค ส่ งผลกระทบต่อนโยบายการกาหนดอัตราค่าน้ าในระยะยาว บริ ษ ทั จึงมี ความจาเป็ นต้อง ทบทวนนโยบายการกาหนดอัตราค่าน้ า สรุ ปผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงนโยบายราคา ดังนี้ 1. นโยบายราคาปี 2549 1.1 แบ่งอัตราค่าน้ าตามพื้นที่จ่าย น้ า 1.2 กาหนดอัตราค่าน้ า ภาคอุตสาหกรรมให้มีราคา สูงกว่าอุปโภค-บริ โภค (Cross Subsidize)

2.1 2.2

2.3

2.4

2. ผลกระทบ ปริ มาณการใช้น้ าดิบเพื่อการ อุปโภค-บริ โภคมีปริ มาณเพิ่มขึ้น โครงข่ายท่อส่งน้ าเชื่อมโยง ติดต่อกัน ทาให้ทุกพื้นที่มีตน้ ทุน การสูบส่งน้ าเฉลี่ยเท่ากัน การจ่ายน้ าตามแรงโน้มถ่วงของ โลก มีอตั ราส่วนน้อยลง มีการสู บ ส่งน้ าข้ามพื้นที่มากขึ้น ค่าใช้จ่ายในการเก็บน้ าสารอง/สูบ จ่ายเพิ่มสูงขึ้น เช่น อ่างเก็บน้ า บางพระ,สระสารองน้ าดิบสานักบก

3. นโยบายราคาปี 2551 1.1 ทุกพื้นที่ใช้อตั ราค่าน้ า เดียวกัน ตามประเภทธุรกิจ 1.2 แบ่งโครงสร้างราคาตาม ประเภทการใช้น้ า

บริ ษทั ฯ มีนโยบายทบทวนด้านราคาขายให้สอดคล้องสะท้อนต่อต้นทุนที่เกิ ดขึ้นจริ ง โดยบริ ษทั ฯมี ต้นทุนหลัก ได้แก่ ต้นทุนจากการลงทุนก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่เพื่อรองรับความต้องการใช้น้ าที่เพิ่มขึ้น และ เพื่อแก้ไขปั ญหาวิกฤตภัยแล้ง รวมทั้งต้นทุนค่าพลังงานที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ดี บริ ษทั ฯ จะพิจารณาอัตรา และระยะเวลาการปรับอย่างเหมาะสมเพื่อลดผลกระทบต่อผูใ้ ช้น้ าร่ วมด้วย

ส่วนที่ 1 หน้า 39


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ตารางที่ 9.3 โครงสร้ างอัตราค่ านา้ จาหน่ ายปี 2556-2558 ประเภทผู้ใช้ นา้ 1. อุปโภคบริ โภค 2. นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ 3. สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม 4. โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ

อัตราจาหน่ าย (บาทต่ อลบ.ม.) ปี 2556 10.50 10.50 11.50 12.50

ปี 2557 9.90 11.00 12.00 13.00

ปี 2558 9.90 11.00 12.00 13.00

หมายเหตุ : 1.ปรับลดอัตราค่าน้ ากลุ่มอุปโภคบริ โภคจากทุกโครงสร้ างค่าน้ าที่ประกาศในปี 2556-2557 ลง 1.10 บาท/ ลบ.ม ตั้งแต่วนั ที่ 1 พ.ย. 2556 2. การกาหนดประเภทผูใ้ ช้น้ า ประเภท 1 : อุปโภคบริ โภค ได้แก่ กิจการที่ใช้น้ าดิ บ เพื่อผลิ ตน้ าประปาส่ งให้การประปาส่ วนภูมิภาค (กปภ.) หน่ วยงานราชการ รวมถึงชุมชนที่ขาดแคลนน้ าสะอาด ประเภท 2 : นิ ค มอุตสาหกรรมของรัฐ ได้แก่ นิ คมอุตสาหกรรมของการนิ ค มอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย (กนอ.) และนิ ค ม อุตสาหกรรมร่ วมดาเนิ นงาน รวมถึ งผูใ้ ช้น้ าเดิ ม ซึ่ ง กนอ. / กรมโยธาธิ การ หรื อหน่ วยงานราชการที่ เกี่ ยวข้องได้อนุ ญาตให้ ใช้น้ าดิ บก่ อนการ ดาเนินงานของบริ ษทั ประเภท 3 : สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุ ตสาหกรรม ได้แ ก่ สวนอุ ตสาหกรรม / เขตประกอบการอุ ตสาหกรรม ที่ ดาเนินการโดยเอกชนเท่านั้น ไม่ได้ร่วมดาเนิ นงานกับ กนอ. ตามผูใ้ ช้น้ าประเภท 2 ประเภท 4 : โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม และธุรกิจอื่นๆ ที่มิใช่ผใู ้ ช้น้ าตามประเภท 3 3. อัตราค่าน้ าข้างต้นนี้ ใช้สาหรับผูใ้ ช้น้ าที่รับน้ าดิบจากบริ ษทั ฯ อย่างสม่าเสมอทุกเดือนเท่านั้น หากผูใ้ ช้น้ าหยุดรับน้ าจากบริ ษทั ฯ เกิ น กว่า 2 เดือนต่อปี หรื อรับน้ าไม่ถึงร้อยละ 50 ของปริ มาณน้ าจัดสรรที่ได้รับ หรื อปริ มาณที่ตกลงไว้ในแต่ละปี บริ ษทั ฯ ขอสงวนสิ ทธิ ยกเลิกสัญญา ซื้อขายน้ าดิบ หรื อคิดอัตราค่าน้ าดิบตามที่เห็นว่าสมควร 4. การซื้ อขายน้ าดิ บสาหรับผูข้ อใช้น้ าที่ไม่ได้ทาสัญญากับบริ ษทั ไว้ก่อน รวมถึงผูใ้ ช้น้ าที่ยกเลิกสัญญาไปแล้วตามข้อ 3 บริ ษทั ฯ ถือว่า เป็ นผูข้ อใช้น้ าดิบชัว่ คราว ซึ่ งบริ ษทั ฯ จะกาหนดอัตราค่าน้ าตามปริ มาณ และระยะเวลาที่ตอ้ งการให้ส่งจ่ายน้ าดิ บ และจะต้องปฏิ บตั ิตามเงื่อนไข การซื้ อขายน้ าดิบที่บริ ษทั ฯ กาหนดไว้ 5. บริ ษทั ฯ ขอสงวนสิ ทธิ ในการทบทวนอัตราค่าน้ าดิ บให้สอดคล้องกับต้นทุนการบริ หาร และสู บจ่ายน้ าดิ บตามสภาวะเศรษฐกิ จใน ขณะนั้นๆ ได้ตามสมควร

10. การจาหน่ ายและช่ องทางการจาหน่ าย บริ ษทั ฯ จาหน่ ายน้ าดิ บโดยตรงให้แก่ลูกค้าผ่านทางระบบท่อส่ งน้ าของบริ ษทั ฯ ในลักษณะผูค้ า้ ส่ ง (Wholesaler) เป็ นส่ วนใหญ่ โดยลูกค้าที่เป็ นนิ คมอุตสาหกรรมจะซื้ อน้ าจากบริ ษทั เพื่อขายต่อให้กบั โรงงาน ในนิ คมอุตสาหกรรมนั้นๆ ส่ วนการประปาจะซื้ อน้ าจากบริ ษทั เพื่อไปผลิตน้ าประปาและจาหน่ ายน้ าเพื่อการ อุปโภคบริ โภคต่อไป ในการซื้ อขายน้ าดิ บบริ ษทั มี การทาสัญญาหรื อข้อตกลงในการใช้หรื อซื้ อขายน้ าดิ บ ระหว่างบริ ษทั ฯ ซึ่งเป็ น “ผูข้ าย” กับ ผูใ้ ช้น้ า/ผูซ้ ้ื อ แต่ละราย โดยมีสาระสาคัญ ดังนี้ 1) ไม่กาหนดอายุของสัญญา 2) ปริ มาณน้ าดิ บที่จ่ายให้กบั ลู กค้าจะมี การระบุปริ มาณการใช้น้ าสู งสุ ดหรื อปริ มาณการใช้น้ าเฉลี่ ย ของลู กค้าแต่ละราย โดยตั้งแต่ปี 2552 เป็ นต้นมา บริ ษทั ฯ มีนโยบายกาหนดปริ มาณการใช้น้ าขั้นต่ารายปี ใน ส่วนที่ 1 หน้า 40


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

สัญญาซื้ อขาย เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการจ่ายน้ าแต่ละปี ให้แม่นยา และลดความผันแปรจากการใช้ แหล่งน้ าทางเลือกของลูกค้าด้วย 3) บริ ษทั ฯ สงวนสิ ทธิ ที่จะเปลี่ยนแปลงอัตราค่าน้ าดิบตามที่เห็นสมควร ในปี 2558 บริ ษทั ฯ จาหน่ ายน้ าดิบปริ มาณรวม 296.44 ล้านลูกบาศก์เมตร สู งกว่าปี 2557 ประมาณ ร้อยละ 5.1 ปั จจัยหลักจาก การประปาส่ วนภูมิภาคในพื้นที่ ชลบุรี และ ฉะเชิ งเทรา มีการรับน้ าเพิ่มสู งขึ้นเพื่อ นาน้ าดิบเข้าเสริ มระบบผลิ ตให้มีปริ มาณน้ าเพียงพอต่อความต้องการของภาคอุปโภคบริ โภคในพื้นที่ตลอด ช่วงแล้งของปี แผนภาพที่ 10.1 แสดงสถิติปริมาณนา้ จาหน่ าย และรายได้ จาหน่ ายสะสม ตั้งแต่ ปี 2554-2558

หมายเหตุ: ปริ มาณนา้ จาหน่ ายสะสม ตั้งแต่ มกราคม-ธันวาคม

หมายเหตุ: รายได้ จาหน่ ายสะสม ตั้งแต่ มกราคม-ธันวาคม

11. ลักษณะของลูกค้ า ประเภทผู ใ้ ช้น้ า ของบริ ษ ัท ฯ มี 4 ประเภท คื อ (1) อุ ป โภคบริ โภค (2) นิ ค มอุ ต สาหกรรมของรั ฐ (3) สวนอุตสาหกรรม/เขตประกอบการอุตสาหกรรม (4) โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ โดยจาแนกการรับน้ าแยก ตามรายพื้นที่ ดังนี้ ในพื้นที่ ระยอง ผูใ้ ช้น้ ารายใหญ่จะเป็ นประเภทนิ คมอุตสาหกรรมของรั ฐโดยมี สัดส่ วนปริ มาณน้ า จาหน่ ายประมาณร้ อยละ 81.6 ได้แก่ นิ ค มอุ ตสาหกรรมมาบตาพุ ด (กนอ.มาบตาพุ ด ),นิ คมอุ ต สาหกรรม ตะวันออก, นิ ค มอุ ตสาหกรรมเอเซี ย , นิ คมอุ ตสาหกรรม RIL 1996 ส าหรั บ การจาหน่ ายเพื่ อการอุ ป โภค บริ โภคนั้น มีสัดส่ วนปริ มาณน้ าจาหน่ายประมาณร้อยละ 14.9 ลูกค้าหลักได้แก่ การประปาส่ วนภูมิภาค สาขา บ้านฉาง สถิติของปริ มาณและมูลค่าน้ าจาหน่ายของลูกค้าแต่ละประเภทมีรายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 11.1

ส่วนที่ 1 หน้า 41


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ตารางที่ 11.1 ปริมาณและมูลค่ าการจาหน่ ายนา้ ดิบแยกตามประเภทผู้ใช้ นา้ พืน้ ทีร่ ะยอง (ปริมาณ : ล้าน ลบ.ม., มูลค่า : ล้ านบาท)

ประเภทผู้ใช้ น้า

ปี 2556

ปริมาณ ร้ อยละ 24.21 14.26 1. การอุปโภคบริ โภค 2. นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ 141.95 83.58 2.26 1.33 3. สวนอุตสาหกรรม / เขต

ประกอบการ 4. โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ รวม

มูลค่ า 251.70 1,490.49 26.01

ปี 2557

ปี 2558

ร้ อยละ ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ 14.09 22.90 13.17 226.67 11.97 26.14 14.93 258.79 13.58 83.46 145.08 83.48 1,595.91 84.25 142.89 81.61 1,571.82 82.50 1.46 3.93 2.26 47.12 2.49 4.17 2.38 50.02 2.63

1.41 0.83 17.65 0.99 1.88 169.83 100.00 1,785.84 100.00 173.79

1.08 24.46 1.29 1.89 1.08 24.55 1.29 100.00 1,894.17 100.00 175.09 100.00 1,905.18 100.00

หมายเหตุ : 1. ผูใ้ ช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภครายใหญ่ ประกอบด้วย การประปาบ้านฉาง, บจ.ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต้ ีส์ (กิจการประปาสัตหี บ),เทศบาล มาบข่า และ โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ 2. ผูใ้ ช้น้ าของ การนิ คมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย (กนอ.) รายใหญ่ ได้แก่ นิ คมอุตสาหกรรมมาบตาพุด (กนอ.มาบตาพุด),นิ คม อุตสาหกรรมตะวันออก, นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย, นิคมอุตสาหกรรม RIL 1996 3. ผูใ้ ช้น้ าสวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม รายใหญ่ ได้แก่ และ บริ ษทั เหมราชระยองที่ดินอุตสาหกรรม จากัด 4. ผูใ้ ช้น้ าประเภทโรงงานทัว่ ไปรายใหญ่ ได้แก่ บจ.ผลิตไฟฟ้าระยอง, บมจ.ปตท. และ บมจ.ไทยคูน เวิลด์ไวด์ กรุ๊ ป

สาหรั บ ผูใ้ ช้น้ ารายใหญ่ ข องบริ ษ ทั ฯ ในพื้ นที่ ช ลบุ รี เป็ นประเภทอุ ป โภคบริ โภคโดยมี ป ริ มาณน้ า จาหน่ ายประมาณร้ อยละ 77.0 ลู ก ค้าหลัก ได้แก่ การประปาส่ วนภู มิภาค สาขาการประปาแหลมฉบัง การ ประปาพัทยา การประปาชลบุรี และ การประปาศรี ราชา รองลงมาเป็ นประเภทนิ คมอุตสาหกรรมของรัฐ มี สัดส่ วนปริ มาณน้ าจาหน่ ายประมาณร้อยละ 22.9 ลู กค้าหลักได้แก่ การนิ คมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย (กนอ.แหลมฉบัง) สถิ ติของปริ มาณและมูลค่าน้ าจาหน่ ายของลู กค้าแต่ละประเภทมีรายละเอียดดังแสดงใน ตารางที่ 11.2

ส่วนที่ 1 หน้า 42


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ตารางที่ 11.2 ปริมาณและมูลค่ าการจาหน่ ายนา้ ดิบแยกตามประเภทผู้ใช้ นา้ ของบริษัท พืน้ ทีช่ ลบุรี (ปริมาณ : ล้าน ลบ.ม., มูลค่า : ล้ านบาท)

ประเภทผู้ใช้ น้า 1. การอุปโภคบริ โภค 2. นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ 3. สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการ 4. โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ รวม

ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ 53.36 21.82 0.00

70.80 28.95 0.00

551.10 229.12 0.00

70.43 29.28 0.00

50.36 19.05 0.00

72.38 498.56 70.19 27.38 209.58 29.51 0.00 0.00 0.00

64.12 19.01 0.00

77.04 634.81 75.11 22.85 209.20 24.75 0.00 0.00 0.00

0.19 75.37

0.25 2.31 0.30 100.00 782.53 100.00

0.17 69.58

0.24 2.15 0.30 100.00 710.30 100.00

0.09

0.11

1.19

0.14

83.23 100.00 845.20 100.00

หมายเหตุ : 1. ผูใ้ ช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภครายใหญ่ ได้แก่ การประปาส่ วนภูมิภาค ประกอบด้วย การประปาแหลมฉบัง, การประปาพัทยา, การ ประปาชลบุรี และ การประปาศรี ราชา 2. ผู ้ใ ช้ น้ าของนิ ค มอุ ต สาหกรรมของรั ฐ ได้แ ก่ นิ ค มอุ ต สาหกรรมแหลมฉบัง (กนอ.แหลมฉบัง), นิ ค มอุ ต สาหกรรม ปิ่ นทอง อินดัสเตรี ยลปาร์ค 1,2 3. ผูใ้ ช้น้ าประเภทโรงงานทัว่ ไป ได้แก่ บมจ.ไทยออยล์, บมจ.สหโคเจน (ชลบุรี) และ บจ.ผลิตไฟฟ้าอิสระ (ประเทศไทย)

สาหรับผูใ้ ช้น้ ารายใหญ่ของบริ ษทั ฯ ในพื้นที่ปลวกแดง-บ่อวิน เป็ นประเภทนิ คมอุตสาหกรรมของรัฐ โดยมีสัดส่ วนปริ มาณน้ าจาหน่ายประมาณร้อยละ 63.7 ลูกค้าหลักได้แก่ นิ คมอุตสาหกรรมกลุ่มเหมราช,นิคม อุตสาหกรรมอมตะซิ ต้ ี รองลงมาเป็ นประเภทอุปโภคบริ โภคสัดส่ วนปริ มาณน้ าจาหน่ายประมาณร้อยละ 35.8 ลูกค้าหลัก ได้แก่ การประปาส่ วนภูมิภาค สาขาประปาพัทยา โรงกรองน้ าหนองกลางดง สถิติของปริ มาณและ มูลค่าน้ าจาหน่ายของลูกค้าแต่ละประเภทมีรายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 11.3 ตารางที่ 11.3 ปริมาณและมูลค่ าการจาหน่ ายนา้ ดิบแยกตามลักษณะผู้ใช้ นา้ ของบริษัท พืน้ ทีป่ ลวกแดง-บ่ อวิน (ปริมาณ : ล้าน ลบ.ม., มูลค่า : ล้ านบาท)

ประเภทผู้ใช้ น้า 1. การอุปโภคบริ โภค 2. นิ คมอุ ต สาหกรรม ของรัฐ 3. สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการ 4. โรงงานทั่ ว ไปและ อื่นๆ รวม

ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ 5.91 16.38

26.24 58.60 26.25 72.70 161.95 72.53

6.21 15.76

26.71 64.45 26.45 72.15 176.05 72.24

8.47 15.08

35.76 83.83 33.35 63.68 165.88 65.99

0.10

0.45

1.11

0.50

0.13

0.57

1.51

0.62

0.02

0.09

0.27

0.11

0.14

0.61

1.62

0.73

1.15

0.58

1.68

0.69

0.11

0.47

1.40

0.56

22.53 100.00 223.29 100.00 23.24 100.00 243.70 100.00 23.68 100.00 251.38 100.00

หมายเหตุ : 1. ผูใ้ ช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภค รายใหญ่ ได้แก่ โรงกรองน้ าหนองกลางดง ส่วนที่ 1 หน้า 43


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

2. นิ คมอุตสาหกรรมของรัฐ ได้แก่ กลุ่มนิ คมอุตสาหกรรมเหมราช ประกอบด้วย นิ คมอุตสาหกรรมชลบุรี, นิ คมอุตสาหกรรมอีสเทิร์น ซีบอร์ด และ นิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิร์นซีบอร์ด 3. สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการได้แก่ บริ ษทั จี เค แลนด์ จากัด 4. ผูใ้ ช้น้ าประเภทโรงงานทัว่ ไป ได้แก่ บจ. โกลว์ เอสพีพี 11

สาหรับ ผูใ้ ช้น้ ารายใหญ่ ในพื้ นที่ ฉะเชิ งเทราปี 2558 เป็ นประเภทอุ ป โภคบริ โภค โดยมี ป ริ ม าณน้ า จาหน่ ายประมาณร้อยละ 62.1 รองลงมาเป็ นประเภทนิ คมอุตสาหกรรมของรัฐ สัดส่ วนปริ มาณน้ าจาหน่ าย ประมาณร้อยละ 29.7 พื้นที่ฉะเชิงเทรา มีลูกค้าหลัก ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมเวลโกร์ ว, การประปาบางปะกง, การประปาฉะเชิงเทรา, บจ.โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย, บจ.บีพีเค พาวเวอร์ ซพั พลาย และ บมจ.วินโคสท์ อินดัสเตรี ยล พาร์ ค, บจ. สุ มิโก วนชัย และ บจ. ยูนิเวอร์ แซลยูทิลีต้ ี โครงการชลบุรี สถิติของปริ มาณและ มูลค่าน้ าจาหน่ายของลูกค้าแต่ละประเภทมีรายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 11.4 ตารางที่ 11.4 ปริมาณและมูลค่ าการจาหน่ ายนา้ ดิบแยกตามลักษณะผู้ใช้ นา้ ของบริษัท พืน้ ทีบ่ ริเวณฉะเชิ งเทรา (ปริมาณ : ล้าน ลบ.ม., มูลค่า : ล้ านบาท)

ประเภทผู้ใช้ น้า 1. การอุปโภคบริ โภค 2. นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ 3. ส ว น อุ ต ส า ห ก ร ร ม / เขตประกอบการ 4. โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ รวม

ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ ปริมาณ ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ 6.73 1.38 0.122

70.72 70.25 68.75 14.53 14.51 14.20 1.29 1.41 1.38

8.63 3.64 0.08

63.33 65.27 53.12 26.72 40.06 32.60 0.62 1.01 0.82

8.96 4.28 0.10

62.07 75.60 54.73 29.65 47.10 34.09 0.69 1.19 0.86

1.28 9.51

13.46 16.01 15.67 1.27 9.33 16.54 13.46 1.10 7.59 14.25 10.32 100.00 102.18 100.00 13.63 100.00 122.88 100.00 14.44 100.00 138.14 100.00

หมายเหตุ : 1. ผูใ้ ช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภค รายใหญ่ ได้แก่ การประปาบางปะกง, บจ. ยูนิเวอร์ แซลยูทิลีต้ ี โครงการชลบุรี 2. ผูใ้ ช้น้ าประเภทสวนอุตสาหกรรม/เขตประกอบการ ได้แก่ นิ คมอุตสาหกรรมเวลโกร์ ว 3. ผูใ้ ช้น้ าประเภทโรงงานทัว่ ไป รายใหญ่ ได้แก่ บจ.โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย, บจ.บีพีเคพาวเวอร์ ซพั พลาย และ บมจ.วินโคส์ อินดัสเตรี ยล พาร์ค

12. แหล่งนา้ ดิบและสิ ทธิในการซื้อนา้ ดิบ ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้รับหนังสื ออนุ ญาตให้ใช้น้ าดิ บจากอ่างเก็บน้ าหนองค้อ อ่างเก็บน้ าดอกกราย อ่าง เก็บน้ าหนองปลาไหล อ่างเก็บน้ าบางพระ และคลองนครเนื่ องเขต ของกรมชลประทานโดยมีระยะเวลา 5 ปี (ดังรายละเอียดสรุ ปในตารางที่ 2.6) ในด้านราคาน้ าดิ บที่ บริ ษทั ฯ ซื้ อจากอ่างเก็บน้ าของกรมชลประทานนั้น บริ ษทั ฯชาระค่าน้ าดิ บตาม อัตราที่กาหนดไว้ในประกาศกฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2518) ลงนามโดยรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ที่เรี ยกเก็บค่าชลประทานจากผูใ้ ช้น้ าจากทางน้ าชลประทาน เพื่อกิจการโรงงาน การประปา หรื อ กิ จการอื่ นใน หรื อนอกเขตชลประทาน อัตรานี้ เป็ นอัต ราเดี ยวกับ ที่ กรมชลประทาน ขายให้แก่ ผูใ้ ช้น้ าทัว่ ส่วนที่ 1 หน้า 44


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ประเทศ และการเปลี่ ยนแปลงราคาค่ าน้ าดิ บ จะเป็ นไปตามประกาศของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ใน อนาคต อย่างไรก็ตามจากข้อมูลในอดีตกรมชลประทานยังไม่เคยมีการเปลี่ยนแปลงอัตราค่าน้ านับตั้งแต่มีการ ออกประกาศฉบับดังกล่าว ในช่วง 3 ปี ที่ผา่ นมา บริ ษทั ฯ ซื้ อน้ าดิบจากกรมชลประทาน ตามรายการดังนี้ ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปริ มาณ มูลค่า ปริ มาณ มูลค่า ปริ มาณ มูลค่า (ลบ.ม.) (บาท) (ลบ.ม.) (บาท) (ลบ.ม.) (บาท) 275,173,767 137,586,884 279,330,495 139,665,248 294,657,631 147,328,816 หมายเหตุ : กรมชลประทานเรี ยกเก็บค่าชลประทานเป็ นรายเดือนจากผูใ้ ช้น้ าจากทางน้ าชลประทานในอัตรา 20 สตางค์ สาหรับ 50,000 ลูกบาศก์ เมตรแรก ส่วนที่เกิน 50,000 ลบ.ม. แต่ไม่เกิน 100,000 ลบ.ม. ลบ.ม.ละ 30 สตางค์ และ ส่ วนที่เกิน 100,000 ลบ.ม. ลบ.ม.ละ 50 สตางค์ ทั้งนี้ เศษ ของ ลบ.ม.ให้ถือเป็ นหนึ่งลบ.ม.

13. ผลของฤดูกาลทีก่ ระทบต่ อการดาเนินธุรกิจของบริษัทฯ บริ ษทั ฯได้รับผลกระทบของฤดู กาลต่อการดาเนิ นธุ รกิ จบ้าง เนื่ องจากการดาเนิ นธุ รกิ จของบริ ษทั ฯ เป็ นการดาเนินธุ รกิจเกี่ยวกับทรัพยากรน้ า ดังนั้นความต้องการใช้น้ าสาหรับการอุปโภคและบริ โภคในช่วงฤดู แล้ง จะค่อนข้างสู งกว่าปกติ สาหรับความต้องการใช้น้ าของลู กค้าภาคอุ ตสาหกรรมส่ วนใหญ่ จะไม่ได้รับ ผลกระทบจากฤดูกาลมากนัก อย่างไรก็ดี ลูกค้าบางรายจะมีการขุดสระเก็บน้ าเป็ นของตนเอง จึงสามารถเก็บ กักน้ าฝนไว้ในสระเก็บน้ าเพื่อทดแทนการใช้น้ าจากบริ ษทั ฯได้ ทาให้ลดการใช้น้ าจากบริ ษทั ฯได้บางส่ วน ในช่วงฤดูฝน ในส่ วนของผลกระทบของฤดูกาลที่มีต่อวัตถุดิบของบริ ษทั ฯ ในช่วงฤดูฝนจะมีน้ าในอ่างเก็บน้ ามาก ส่ วนในช่ วงฤดู แล้งซึ่ ง ไม่ มี น้ าฝนตกลงมาเติ ม ปริ ม าณน้ าในอ่ างเก็ บ น้ า ปริ ม าณน้ าในอ่ างเก็ บ น้ าจะลดลง เนื่ องจากการใช้น้ าของผูใ้ ช้น้ า อย่างไรก็ตาม จนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ยังไม่เคยประสบปั ญหาการขาดแคลนน้ า เพื่อจาหน่ายให้แก่ลูกค้า 14. ความสามารถในการจ่ ายนา้ และปริมาณการจ่ ายนา้ ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้ดาเนิ นการบริ หารทรัพย์สินท่อส่ งน้ าหลักในเขตพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก โดย ณ 31 ธันวาคม 2558 มีความยาวของท่อส่ งน้ าทั้งสิ้ น 399.65 กิโลเมตร ดังแสดงในตารางที่ 14.1

ส่วนที่ 1 หน้า 45


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ตารางที่ 14.1 แสดงรายละเอียดของโครงข่ ายระบบท่อส่ งนา้ ของบริษัทฯ ระบบท่ อส่ งน้า พืน้ ที่หนองปลาไหล – ดอกกราย - มาบตาพุด สัตหีบ พืน้ ที่หนองค้ อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ

ขนาดเส้ นผ่ าศูนย์ กลาง ความยาวของ ของท่ อส่ งน้า (มม.) ท่ อส่ งน้า (กม.)

ความสามารถในการส่ งจ่ ายน้า ในพื้นที่โดยเฉลีย่ (ล้าน ลบ.ม.ต่ อปี )

700 – 1,500

132.4

316

600 – 1,000

74.7

110

พืน้ ที่หนองปลาไหล-หนองค้ อ

900 – 1,350

52.5

78

พืน้ ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ระบบท่อบางปะกง-ชลบุรี รวม

600 – 1,500 800 - 1,400

60.1 80.0 399.7

65 50 619

หมายเหตุ : ความสามารถในการส่ งจ่ายน้ าดิ บคิดที่ 24 ชัว่ โมงต่อวัน ณ อัตราการไหล (Flow Rate) ของระบบในปั จจุบนั เช่ น ระบบท่อส่ งน้ าใน พื้นที่หนองค้อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ ซึ่ งใช้แรงโน้มถ่วงในการส่ งจ่ายน้ าจะหมายถึง ความสามารถในการไหลของน้ าผ่านระบบท่อตลอด 24 ชัว่ โมง โดยอาศัยเพียงแรงโน้มถ่ วงของโลกเป็ นแรงขับเคลื่ อนการไหลของน้ า ส่ วนระบบท่อส่ งน้ าในพื้นที่ ดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหี บซึ่ งใช้ เครื่ องสู บน้ าในการส่ งจ่ายน้ า จะหมายถึ ง ความสามารถในการไหลของน้ าผ่านระบบท่อตลอด 24 ชัว่ โมง โดยอาศัยกาลังของเครื่ องสู บน้ าของ ระบบในปัจจุบนั

15. ขั้นตอนและเทคโนโลยีในการดาเนินงาน 15.1 ขั้นตอนในการดาเนินงาน ในการดาเนิ นงานเพื่อส่ งมอบน้ าดิบให้แก่ลูกค้าของบริ ษทั ฯ ซึ่ งเป็ นธุ รกิจหลัก สามารถสรุ ปขั้นตอน การดาเนินงาน ที่สาคัญดังนี้ 1) กระบวนการวางแผนโครงการ ซึ่ งรวมถึ งการวางแผนโครงการ เพื่อสรรหาและพัฒนาแหล่ งน้ า การศึกษาความเหมาะสม เพื่อวิเคราะห์ความเสี่ ยง และความคุม้ ทุน ก่อนลงทุนก่อสร้างโรงสู บน้ า การวางท่อ จ่ายน้ าขนาดใหญ่ และการควบคุ มโครงการ ทั้งนี้ กระบวนการดังกล่าวเป็ นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ตอ้ ง ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐและชุมชนอย่างต่อเนื่อง ดังรายละเอียดแสดงในแผนภาพที่ 15.1

ส่วนที่ 1 หน้า 46


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

รายงานผลการดาเนินงาน

คณะกรรมการบริษทั (BOD)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

การกากับองค์ กร (กฎหมาย/CG/ตรวจสอบ)

ระบบบริหาร - การวางแผนกลยุทธธ์

ระบบเฝ้าติดตาม

-การบริ หารความเสี่ ยง

ข้ อมูล และสารสนเทศ

ธุรกิจ เกีย่ วเนื่อง

ธุรกิจ หลั ก

การสื่ อสารองค์ กร/

(ธุรกิจ ประปา นา้ เสี ย และอื่ นๆ)

(ธุรกิจ นา้ ดิบ )

ชุ มชนสั มพันธ์ (CSR)

พัฒนาธุรกิจ

วางแผนโครงการ/

การตลาดและขาย

ควบคุมโครงการ/ จัดหาแหล่ งนา้

การบริการหลั งการขาย/ ลู กค้ าสั มพันธ์

สู บจ่ ายนา้ ดิบ/ ควบคุมคุณภาพ

ผ่านโครงข่ายท่อน้ าดิบ

ซ่ อมบารุง/ กระบวนการหลั ก ( Core Process)

จัดการทรัพยากรบุคคล

การสอบเทียบมาตร

การเงินการบัญชี

จัดซื้ อและอานวยการ/ ความปลอดภัย

บจ.ยูนเิ วอร์ แซลยูทลี ิ ตสี้ ์ (UU)

แผนภาพที่ 15.1 แสดงระบบงานของการดาเนินธุรกิจของ East Water 2) กระบวนการตลาดและการขาย เป็ นกระบวนการศึกษาความต้องการใช้น้ าของลูกค้า การพยากรณ์ การใช้น้ าในอนาคต การจัดสรรน้ าให้กบั ลูกค้าแต่ละรายตลอดจนการกาหนดจุดประสานและควบคุมการวาง ท่อรับน้ าดิบพร้อมสถานีมาตรวัดน้ า รวมทั้งการเจรจาทาสัญญาซื้ อขายน้ า 3) กระบวนการสู บจ่ายน้ าดิ บ เป็ นกระบวนการสู บจ่ายน้ าดิบจากอ่างเก็บน้ า หรื อแหล่งน้ าธรรมชาติ ไปยังลูกค้าตามปริ มาณที่ลูกค้าต้องการ East Water ใช้ระบบ SCADA ในการควบคุ มการสู บส่ งน้ า และเฝ้ า ติดตามกระบวนการสู บจ่ายน้ าดิบในด้านอัตราการไหล แรงดัน ณ อ่างเก็บน้ า และแหล่งน้ าธรรมชาติ ตลอด แนวเส้นท่อจนถึงสถานีรับน้ าของลูกค้า 4) กระบวนการซ่ อมบารุ งรักษาและสอบเทียบมาตร เป็ นกระบวนการเพื่อรักษาเสถี ยรภาพและเพิ่ม ประสิ ทธิ ภาพการสู บจ่ายน้ า โดยมีการบารุ งรักษาเชิ งป้ องกัน การซ่ อมแซมอุปกรณ์ให้พร้อมใช้งานตลอดจน การสอบเทียบ อุปกรณ์ให้มีความเที่ยงตรงและแม่นยา อันจะส่ งผลให้เครื่ องจักรและวัสดุอุปกรณ์มีการใช้งาน ที่ยาวนาน และลดภาระการลงทุน ส่วนที่ 1 หน้า 47


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

5) กระบวนการ CRM เป็ นกระบวนการที่มีการรวบรวมข้อมูลความต้องการลูกค้า เพื่อวางแผนการ ให้ บ ริ ก ารหลัง การขายอย่ า งมี ป ระสิ ทธิ ภ าพและบริ หารจัด การข้ อ ร้ อ งเรี ย น จัด กิ จ กรรมเสริ ม สร้ า ง ความสัมพันธ์ และความเข้าใจอันดีกบั ลูกค้า 6) กระบวนการด้า นทรั พ ยากรบุ ค ลากร ประกอบด้ว ยการสรรหาและคัด เลื อ กพนั ก งาน การ ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของพนักงาน การฝึ กอบรมและพัฒนาบุคลากรเพื่อให้พนักงานสามารถปฏิบตั ิงาน ได้อย่างสอดคล้องตามหน้าที่งานที่ได้รับมอบหมายและมีประสิ ทธิ ภาพ รวมถึงการจัดให้มีสภาพแวดล้อมใน การทางานที่ดี 7) กระบวนการทางด้านบัญชี และการเงิน จัดทาบัญชี และรายงานทางการเงินต่างๆ ให้สอดคล้องกับ กฎหมาย มาตรฐานการบัญชี ตามประกาศและข้อกาหนดต่างๆ ที่ เกี่ ยวข้อง บริ หารการเงิ นและลงทุ นเพื่ อ ควบคุ มรายได้ ค่าใช้จ่าย ภายใต้กรอบงบประมาณของบริ ษทั นอกจากนี้ ยงั ดาเนิ นการวิเคราะห์ ขอ้ มูลด้าน การเงินเพื่อการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารอย่างสม่าเสมอ 8) กระบวนการจัดซื้ อและอานวยการ ดาเนิ นการวางแผนและควบคุมการจัดหาพัสดุ อุปกรณ์ให้เกิ ด ประโยชน์สูงสุ ดต่อกลุ่มบริ ษทั อานวยความสะดวกในการบริ หารสานักงาน ทรัพย์สินของบริ ษทั ตลอดจน การดูแลด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางานของพนักงานให้เป็ นไปตามนโยบายและข้อบังคับ ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 9) กระบวนการ Corporate Social Responsibility (CSR) ดาเนิ นการเพื่ อให้มนั่ ใจว่าองค์กรสามารถ ดาเนินการได้โดยมีความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่ งแวดล้อม คืนกาไรสู่ สังคมโดย ช่วยเหลือชุมชนใน พื้นที่ปฏิบตั ิการ เป็ นผูน้ าให้ทุกคนตระหนักคุณค่าของน้ า และร่ วมอนุ รักษ์ทรัพยากรน้ า อันจะส่ งผลให้บริ ษทั ดาเนินธุ รกิจอยูค่ ู่สังคมอย่างยัง่ ยืน 15.2 เทคโนโลยีเพื่อควบคุมการสู บจ่ ายนา้ ดิบ บริ ษทั ฯ ได้นาเทคโนโลยีระบบ SCADA หรื อ Supervisory Control and Data Acquisition มาใช้ใน การควบคุ มการสู บส่ งน้ าในพื้นที่รับผิดชอบของบริ ษทั ในพื้นที่จงั หวัด ระยอง ชลบุรี ฉะเชิ งเทรา โดยมีการ พัฒนาและปรั บ ปรุ งระบบอย่างต่ อเนื่ อง เพื่ อให้บ ริ ษ ทั สามารถบริ หารจัดการน้ าได้อย่างมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ ระบบ SCADA เป็ นระบบควบคุมและประมวลผลระยะไกล โดยใช้การทางานของอุปกรณ์ Programmable Logic Controller (PLC) ผ่านเครื่ องคอมพิวเตอร์ และระบบสื่ อสารข้อมูลหลายแบบ เช่น Fiber Optic, Wireless Network, โทรศัพท์ , GPRS , ADSL และ 3G เป็ นต้น นอกจากนี้ ยังสามารถรายงานถึ งสถานะของระบบ ณ จุดใดจุดหนึ่ ง และ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ ง (Real Time) ซึ่ งจะส่ งผลให้บริ ษทั สามารถใช้ขอ้ มู ลเหล่ านี้ ในการ ควบคุมระบบการสู บจ่ายน้ าได้อย่างแม่นยา และลดค่าใช้จ่ายในด้านบุคลากรที่ใช้ในการควบคุมการสู บส่ งน้ า ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้รวมศูนย์ควบคุมการทางานหลักของระบบ SCADA ไว้ที่สถานี รับน้ ามาบตาพุด เรี ยกว่า Control Center เพื่ อใช้เป็ นศูนย์กลางในการควบคุ มการทางานของสถานี ลูกข่าย (Slave Station) ที่ ติดตั้งอยูต่ ามจุดต่างๆ เช่น สถานี สูบน้ า สถานี ยกระดับน้ า จุดรับน้ าของลูกค้า เป็ นต้น ภายในสถานี ลูกข่ายจะ มี อุ ป กรณ์ ค วบคุ ม ซึ่ งรั บ สั ญ ญาณข้อมู ล จากอุ ป กรณ์ มาตรวัด เช่ น มาตรวัด ปริ ม าณน้ า (Flow Meter) การ ส่วนที่ 1 หน้า 48


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ตรวจวัด ความดัน (Pressure Meter) การตรวจวัด อุ ณ หภู มิ (Temperature Meter) และเครื่ อ งตรวจจับ ต่ างๆ (Sensor) ข้อมูลหลักที่ได้จากอุปกรณ์ ควบคุ มข้างต้นจะแสดงผลบนจอแสดงภาพขนาดใหญ่ ส่ วนข้อมูลใน รายละเอียดจะแสดงบนจอคอมพิวเตอร์ ซึ่ งติดตั้งไว้ภายในศูนย์ควบคุม ข้อมูลสาคัญที่ใช้ในการควบคุมการ สู บส่ งน้ า เช่ น ปริ มาณการไหลของน้ า ความดันน้ า รวมทั้งอุณหภูมิของอุปกรณ์ และเครื่ องจักร จะถู กแปลง เป็ นสัญญาณผ่านระบบสื่ อสารไปยังศูนย์ควบคุมการทางาน และแปลงสัญญาณส่ งต่อไปยังคอมพิวเตอร์ เพื่อ ประมวลผลไปใช้ในการควบคุมระบบสู บส่ งน้ าของบริ ษทั ให้มีประสิ ทธิ ภาพ นอกจากนี้ บ ริ ษ ทั ฯ ได้พ ฒ ั นาระบบ SCADA แบบรวมศู นย์ ให้เชื่ อมโยงระบบ SCADA ในพื้ น ที่ ปฏิ บตั ิการทั้งหมดเข้าด้วยกัน สามารถควบคุมและเฝ้าระวัง (Control & Monitor) ระบบสู บส่ งน้ าของพื้นที่ ระยอง ชลบุรี และฉะเชิ งเทรา ได้จากสานักงานใหญ่ กทม. และสานักงานมาบตาพุด เพื่อนาข้อมูลที่ได้จาก ศูนย์ควบคุมไปใช้ประโยชน์ในการบริ หารและการจัดการ โดยวิเคราะห์เปรี ยบเทียบกับสภาวะการทางานของ ระบบควบคุมที่ติดตั้งอยูท่ ี่สถานี ลูกข่าย และศึกษาพฤติกรรมการใช้น้ าของลู กค้าในแต่ละช่วงเวลา เพื่อนามา กาหนดค่าตัวแปรต่างๆ ในกระบวนการสู บส่ งน้ าที่เหมาะสมและเกิดประสิ ทธิภาพสู งสุ ด ในด้านการสื่ อสารข้อมูลสาหรับระบบ SCADA นั้น บริ ษทั ได้เล็งเห็ นว่า ปั จจุบนั ระบบสื่ อสาร 3G สามารถให้บริ การครอบคลุ มพื้นที่ ปฏิ บตั ิการของบริ ษทั ได้อย่างทัว่ ถึ ง และมีความมัน่ คงในการให้บริ การ มากขึ้น จึงได้เริ่ มปรับเปลี่ยนระบบสื่ อสารเดิมของสถานีลูกข่ายให้เป็ นระบบ 3G จานวน 30 สถานี ในอนาคตบริ ษ ทั ฯ มี แนวทางที่ จะพัฒนาระบบความปลอดภัยของเครื อข่ าย Ethernet ที่ ใช้ในงาน ระบบ SCADA โดยเพิ่ ม จานวนอุ ป กรณ์ ป้ องกัน การโจมตี จากภายนอก (Firewall) และจาแนกหมายเลข เครื อข่ าย (Network ID) เพื่ อป้ องกันการบุ ก รุ กเครื อข่ายระบบ SCADA ผ่านช่ องทางจากภายนอกเข้ามายัง เครื อข่ ายภายใน และมี ก ารตรวจสอบสิ ท ธิ์ การใช้งานระบบ SCADA และเครื อข่ าย Ethernet ก่ อนเข้าถึ ง ข้อมูลทุกครั้ง 15.3 ผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้อม บริ ษทั ฯ ได้ดาเนิ นการป้ องกันผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมให้เป็ นไปตามมาตรฐานและกฎหมาย และ บริ ษ ทั ไม่ เคยมี ขอ้ พิ พ าทหรื อถู กฟ้ องร้ องเกี่ ยวกับ ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมแต่อย่างใด นอกจากนี้ บริ ษ ทั ได้รับ ใบรั บ รองมาตรฐานระบบคุ ณ ภาพ ISO 9001:2008 ตั้ง แต่ ปี พ.ศ. 2542 และมาตรฐานระบบการจัด การ สิ่ งแวดล้อม ISO 14001:2004 จาก บริ ษทั BVC (Thailand) Ltd. แล้ว ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 15.4 โครงการทีอ่ ยู่ระหว่ างดาเนินการ 1) โครงการพัฒ นาสระเก็ บ น้ าดิ บ คลองทับ มา เพื่ อเพิ่ ม แหล่ งน้ าต้นทุ นของบริ ษ ทั ฯ รองรับความ ต้องการใช้น้ าในอนาคตของพื้นที่ระยอง โดยสามารถนาน้ ามาใช้ประโยชน์ได้ไม่นอ้ ยกว่าปี ละ 47 ล้าน ลบ.ม./ ปี ใช้เงินลงทุนประมาณ 2,203 ล้านบาทกาหนดแล้วเสร็ จเดือนธันวาคม 2558 และ และเนื่ องจากเกิดอุทกภัย ขึ้นในพื้นที่ ซ่ ึ งบริ ษทั ฯจาเป็ นต้องแก้ไขแบบสถานี สูบน้ า เพื่อยกระดับผนังโรงสู บและพื้นห้องไฟฟ้ าให้พน้ จากระดับน้ าท่วมสู งสุ ด จึงจาเป็ นต้องขยายระยะเวลาในการก่อสร้ าง คาดว่าจะแล้วเสร็ จเดื อนกรกฏาคม 2559 ส่วนที่ 1 หน้า 49


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

2) โครงการก่อสร้างวางท่อส่ งน้ าดิบอ่างเก็บน้ าประแสร์ – อ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล เพื่อเพิ่มแหล่ง น้ าต้นทุนของบริ ษทั จากอ่างเก็บน้ าประแสร์ รองรับความต้องการใช้น้ าในอนาคตของพื้นที่ระยอง และปลวก แดง-บ่อวิน โดยสามารถส่ งน้ าได้ปีละ 70 ล้าน ลบ.ม. ใช้เงินลงทุนประมาณ 2,835 ล้านบาท คาดว่าจะแล้ว เสร็ จตามสัญญาในเดือนกันยายน 2559 3) โครงการก่อสร้างท่อส่ งน้ าดิบหนองปลาไหล-หนองค้อ เส้นที่ 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพในการจ่ายน้ า ให้กบั ผูใ้ ช้น้ าในพื้นที่ปลวกแดง-บ่อวิน และรองรับการใช้น้ าของโรงไฟฟ้าอิสระ (IPP) โดยใช้เงินลงทุน ประมาณ 407 ล้านบาท คาดว่าจะแล้วเสร็ จตามสัญญาในเดือนกรกฎาคม 2559 4) ดาเนิ นโครงการก่อสร้างท่อส่ งน้ าดิบจากแหล่งน้ าเอกชน จังหวัดชลบุรี ชลบุรี (ก่อสร้างสถานีสูบ ส่ งน้ าเพิ่มแรงดัน) เพื่อรองรับการแก้ไขปั ญหาภัยแล้งในระยะสั้นและระยะยาว เพิ่มความมัน่ คงให้แก่แหล่งน้ า มากขึ้นโดยรับซื้ อน้ าจากแหล่งน้ าเอกชน โดยใช้วงเงินลงทุนรวมประมาณ 202 ล้านบาท คาดว่าจะแล้วเสร็ จ ตามสัญญาในเดือนกรกฎาคม 2559

ส่วนที่ 1 หน้า 50


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

3. ปัจจัยความเสี่ ยง บริ ษทั ฯ ตระหนักถึงปั จจัยความเสี่ ยงต่างๆ อันอาจเกิดขึ้น จึงมีการประเมินโอกาสเกิดและผลกระทบ ต่อธุ รกิ จ ตลอดจนจัดเตรี ยมแผนบริ หารความเสี่ ยง เพื่อรองรับเหตุการณ์ ความเสี่ ยงต่างๆ ที่อาจเกิ ดขึ้นอย่าง สม่าเสมอ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษทั ฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง กาหนดนโยบาย และ กากับดูแลความเสี่ ยงที่มีนยั สาคัญสาหรับกลุ่มบริ ษทั ฯ (Corporate Risks) โดยทบทวนหลักเกณฑ์การประเมิน ความเสี่ ยง และติ ดตามความก้าวหน้าตามแผนบริ หารความเสี่ ยงอย่างต่อเนื่ องทุกปี สรุ ปปั จจัยความเสี่ ยงปี 2558 ที่มีนยั สาคัญต่อบริ ษทั ฯ ประกอบด้วย 3.1 ความเสี่ ยงด้ านแหล่ งนา้ และระบบสู บส่ ง 1) ปริมาณนา้ ต้ นทุนไม่ เพียงพอ ด้ว ยปรากฏการณ์ เอลนิ โญที่ มี ก าลัง แรงอย่างต่ อ เนื่ อ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ ปริ ม าณฝนในช่ วงเดื อ น มิถุนายน – กันยายน 2558 ทาให้มีปริ มาณต่ากว่าค่าเฉลี่ยอย่างมาก โดยเฉพาะพื้นที่ชลบุรีและฉะเชิ งเทรา ซึ่ ง บริ ษทั ฯ ได้มีการเฝ้ าระวังสถานการณ์ น้ าในพื้นที่ภาคตะวันออกอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะสถานการณ์ น้ าอ่าง เก็บน้ าบางพระและอ่างเก็บน้ าหนองค้อพื้นที่ชลบุรีและฉะเชิ งเทรา ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้ดาเนิ นมาตรการต่างๆ เพื่อป้ องกันแก้ไขปั ญหาภัยแล้งหลายมาตรการ โดยมาตรการหลัก คื อ 1) การผันน้ าจากอ่างเก็บน้ าประแสร์ มายังอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหลให้มีปริ มาณน้ าเพียงพอต่อการส่ งจ่ายไปยังพื้นที่ระยอง บ่อวิน-ปลวกแดง และ ชลบุรี 2) การเร่ งรัดโครงการวางท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล-หนองค้อ เส้นที่ 2 ให้สามารถผันน้ าจากอ่างเก็บน้ า หนองปลาไหลมายังพื้นที่ชลบุรีได้มากขึ้น และ 3) ได้เตรี ยมการจัดซื้ อน้ าดิบเพิม่ เติมจากบ่อดินเอกชนในพื้นที่ ชลบุรีเพื่อเสริ มปริ มาณน้ าต้นทุนในพื้นที่ชลบุรีและฉะเชิ งเทรา นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ได้ดาเนิ นมาตรการต่างๆ เพิ่มเติ มทั้งในส่ วนของการปรับปรุ งสระสารองสานักบก การประสานงานกับกรมชลประทานและผูใ้ ช้น้ า อย่างใกล้ชิด เพื่อวางแผนการใช้น้ าและการส่ งน้ าได้อย่างเพียงพอ ด้วยมาตรการป้ องกันแก้ไขปั ญหาภัยแล้งที่ ดาเนิ นการข้างต้น จะส่ งผลให้ป ริ มาณน้ าต้นทุ นเพียงพอต่อความต้องการ และผูใ้ ช้น้ าเกิ ดความมัน่ ใจและ เชื่อมัน่ ว่าบริ ษทั ฯ สามารถจัดหาน้ าดิบให้เพียงพอต่อความต้องการของผูใ้ ช้น้ าอยูเ่ สมอ 2) ความเสี ยหายต่ อระบบท่อส่ งนา้ บริ ษทั ฯ ดาเนินการซ่อมบารุ งเชิ งป้ องกัน ตรวจสอบระบบท่อส่ งน้ า และซ่ อมบารุ งตามแผนงานอย่าง สม่ าเสมอ เพื่ อให้ ม นั่ ใจได้ว่าเครื่ องจัก ร และอุ ป กรณ์ ต่างๆ สามารถใช้งานได้อย่างต่ อเนื่ อง ไม่ เกิ ดความ เสี ยหายระหว่างการใช้งาน รวมทั้งจัดทาประกันทรัพย์สินกับบริ ษทั ประกันภัย เพื่อรับผิดชอบความเสี ยหายที่ อาจเกิ ดจากเหตุการณ์ ต่างๆ ให้ครอบคลุ มทุ กเส้นท่อ โดยได้ประกันภัยแบบการประกันความเสี่ ยงทุกชนิ ด (All Risk Insurance) ประกัน ภัย ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ บุ ค คลภายนอก และความเสี ย หายที่ เกิ ด จากธุ ร กิ จ หยุดชะงัก เพื่อชดเชยการสู ญเสี ยรายได้หากท่อส่ งน้ าเกิดความเสี ยหายและบริ ษทั ฯ ไม่สามารถจ่ายน้ าได้ ส่วนที่ 1 หน้า 51


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

3.2 ความเสี่ ยงทีอ่ าจส่ งผลให้ การดาเนินงานหยุดชะงัก 1) การหยุดจ่ ายนา้ เนื่องจากไฟฟ้ าขัดข้ อง บริ ษทั ฯ ดาเนิ นการสู บจ่ายน้ าให้แก่ลูกค้าตลอด 24 ชัว่ โมง การมีแหล่งน้ าสารอง จึงเป็ นสิ่ งจาเป็ นใน ยามฉุ ก เฉิ น เช่ น กรณี ไฟฟ้ าดับ กรณี ซ่ อมบ ารุ งหรื อประสานแนวท่ อจ่ายน้ าใหม่ เป็ นต้น ในกรณี เกิ ดเหตุ ฉุ กเฉิ น บริ ษทั ฯ จึงต้องมีน้ าสารองจากสระสารองในพื้นที่ต่างๆ เพื่อส่ งน้ าดิบทดแทนให้ลูกค้าที่อยูใ่ นพื้นที่ที่ มีไฟฟ้ าขัดข้องหรื อเกิ ดเหตุฉุกเฉิ นให้สามารถรับบริ การได้อย่างต่อเนื่ อง ทั้งนี้ ปั จจุ บนั บริ ษทั ฯ มี แหล่งน้ า สารองความจุรวม 336,000 ลูกบาศก์เมตร สามารถรองรับเหตุฉุกเฉิ นในพื้นที่ระยองได้ไม่ต่ากว่า 20 ชัว่ โมง 2) ธุรกิจหยุดชะงักเนื่องจากภัยพิบัติ ในกรณี ที่ เกิ ดภัย พิ บ ัติ เช่ น น้ า ท่ วม ไฟไหม้ แผ่น ดิ น ไหว ดิ น ถล่ ม หรื อกรณี ก ารก่ อ การร้ ายและ วินาศกรรม เช่น การวางระเบิด จลาจล และการชุ มนุ มที่เกิดจากกลุ่มผูก้ ่อความไม่สงบ บริ ษทั ฯ ได้จดั ทาแผน บริ หารความต่อเนื่ องทางธุ รกิจ (Business Continuity Plan: BCP) และซ้อมแผนดังกล่าวเป็ นประจาทุกปี ในปี 2558 ได้ดาเนิ นการซ้อมตามแผนดังกล่าวแล้วเสร็ จในเดือนธันวาคม 2558 โดยการฝึ กซ้อมแบบ Partial (การ มี ส่ ว นร่ ว ม) และจ าลองการเข้าปฏิ บ ัติ ง านที่ ท างานส ารอง (Alternate Site) เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มให้ แ ก่ พนัก งานทุ ก คน นอกจากนี้ ย งั ได้จดั เตรี ยมอุ ป กรณ์ สถานที่ ทรั พ ยากรที่ ใช้ในการฟื้ นคื น งานที่ ส าคัญ ให้ สอดคล้องตามสถานการณ์ (Scenario) ที่กาหนดขึ้น 3.3 ความเสี่ ยงด้ านการเงิน 1) ความเสี่ ยงจากการเพิม่ ขึน้ ของอัตราดอกเบีย้ เงินกู้ จากสถานะการเงินของกลุ่มบริ ษทั ฯ ที่เข้มแข็ง และอัตราส่ วนหนี้ สินต่อทุนที่ต่า บริ ษทั ฯ จึงพิจารณา ดาเนิ นโครงการลงทุนต่างๆ ด้วยวงเงิ นสิ นเชื่ อระยะยาวจากสถาบันการเงิ น รวมถึ งการออกเสนอขายหุ ้นกู้ เป็ นหลัก ตลอดจนควบคุมต้นทุนทางการเงินของบริ ษทั ฯ อย่างระมัดระวัง ทั้งนี้ ในปี 2558 บริ ษทั ฯ ได้ปรับลด ต้นทุนทางการเงิ นเพื่อการบริ หารหนี้ ระยะยาว ด้วยการรี ไฟแนนซ์สินเชื่ อเงินกูย้ ืมจากสถาบันการเงินทาให้ สามารถประหยัดดอกเบี้ยเงิ นกูไ้ ด้ประมาณ 100 ล้านบาท ตลอดอายุสัญญาเงิ นกู้ นอกจากนี้ บริ ษทั ได้เพิ่ ม สัดส่ วนเงินกูท้ ี่มีเงื่อนไขอัตราดอกเบี้ยคงที่ เพื่อป้ องกันความเสี่ ยงที่ตน้ ทุนดอกเบี้ยจะเพิ่มสู งขึ้นในอนาคต 3.4 ความเสี่ ยงจากการต่ อต้ านจากชุ มชนในการดาเนินธุรกิจของบริษัทฯ ในแต่ละปี บริ ษทั ฯ จาเป็ นต้องใช้น้ าดิบจากแหล่งน้ าในภาคตะวันออกในปริ มาณมาก จึงอาจส่ งผลต่อ ภาพลักษณ์ รวมถึงความไม่เข้าใจของชุ มชนต่อการใช้น้ าของบริ ษทั ฯได้ บริ ษทั ฯ จึงมีนโยบายในการจัดสรร เงินร้ อยละ 5 ของกาไรสุ ทธิ สาหรั บการพัฒนาสิ่ งแวดล้อม สังคม และชุ มชนในพื้นที่ บริ การ โดยมุ่งสร้ าง สัมพันธภาพอันดี ส่ งเสริ มทัศนคติที่ดีกบั ชุมชน สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องต่อการดาเนิ นธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั ฯ โดยการสนับสนุ นโครงการพัฒนาท้องถิ่ น และสนับสนุ นให้ชุมชนต่างๆ มี น้ าใช้เพื่อการอุปโภคบริ โภค และเกษตรกรรมอย่างพอเพียง เช่น โครงการประปาชุ มชนตามแนวเส้นท่อในพื้นที่โครงการวางท่อเชื่ อมอ่าง ส่วนที่ 1 หน้า 52


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

เก็บน้ าประแสร์-หนองปลาไหล โครงการเครื อข่ายอีสท์วอเตอร์ รักษ์น้ า โครงการเพาะกล้าน้อย ร้อยผืนป่ าภาค ตะวันออก ศูนย์เรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงอีสท์วอเตอร์ นอกจากนี้ ยงั ได้สนับสนุนเงินทุนการศึกษาเพื่อหลักสู ตร การอบรมคอมพิวเตอร์ แก่คนพิการให้แก่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนจังหวัดฉะเชิ งเทรามาอย่างต่อเนื่ อง เป็ น ต้น

ส่วนที่ 1 หน้า 53


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

4. ทรัพย์สินทีใ่ ช้ ในการประกอบธุรกิจ 4.1 ทรัพย์สินทีใ่ ช้ ในการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่ อยตามงบการเงินรวมของบริษัทฯ 4.1.1 ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ -สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (งบการเงินรวม) มีรายละเอียดแสดงในตาราง ที่ 4.1.1 (1) ตารางที่ 4.1.1 (1) ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ -สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 สินทรัพย์

มูลค่ า (ล้ านบาท)

ที่ดิน โรงสูบน้ า อาคาร ส่วนปรับปรุ ง อาคาร และอาคารเช่า เครื่ องจักร และอุปกรณ์ อุปกรณ์สานักงาน ยานพาหนะ งานระหว่างก่อสร้าง รวม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (ราคาทุน) หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์-สุทธิ

495.94 1,520.87 525.27 284.44 9,364.36 337.49 1.20 4,075.06 16,604.63 (3,338.65) 13,265.98

ทั้งนี้ ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์หลักที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย มีรายละเอียด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ดังต่อไปนี้ ทรัพย์สินของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2558 แสดงในตารางที่ 4.1.1 (2) – 4.1.1 (6) ตารางที่ 4.1.1 (2) รายการสิ นทรัพย์ ประเภททีด่ ิน สินทรัพย์

ทีต่ ้งั

โ ค ร ง ก า ร - ต.คลองเขื่ อ น ฉะเชิงเทรา

กิ่ ง อ .ค ล อ ง เขื่อน (บางคล้า)

พื้นที่ ไร่ -งานตร.ว. 263-0-94

ลักษณะกรรมสิทธิ์

วัตถุประสงค์ ของการถือครอง

ภาระ ผูกพัน

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ - เพื่ อใช้ก่อ สร้ างเป็ นอาคารสู บ ไม่ มี ภ าระ น้ าและสระพัก น้ าดิ บ ส าหรั บ โครงการฉะเชิงเทรา

จ.ฉ ะ เชิ งเท ร า (จ า น ว น 20 ส่วนที่ 1 หน้า 54

ผูกพัน


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

สินทรัพย์

ทีต่ ้งั

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

พื้นที่ ไร่ -งานตร.ว.

ลักษณะกรรมสิทธิ์

13-3-66

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ - เพื่ อ ใช้ ก่ อ ส ร้ า งเป็ น ส ถานี ไม่ มี ภ าระ

วัตถุประสงค์ ของการถือครอง

ภาระ ผูกพัน

แปลง) - ต .บ า ง ข วั ญ (สามประทวน) อ.

ยกระดั บ น้ าส าหรั บ โครงการ

เ มื

ฉะเชิงเทรา

ผูกพัน

จ . ฉ ะ เชิ ง เท ร า (จานวน 4 แปลง) โ ค ร ง ก า ร - ต.หนองจอก

10-0-00

ฉ ะ เชิ ง เท ร า อ.บ้านโพธิ์ (ต่อ)

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ - เพื่อใช้ติดตั้งระบบรับและจ่าย ไม่มีภาระ น้ าบริ เวณบางปะกง

ผูกพัน

จ.ฉะเชิงเทรา (จานวน 2 แปลง) - ต.หน้าเมือง อ.

0-1-66

เมือง จ.ฉะเชิงเทรา

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ - เพื่ อ ใช้ว างท่ อ น้ าผ่ า นเข้า เขต ไม่มีภาระ การรถไฟฉะเชิงเทรา

ผูกพัน

(จานวน 1 แปลง) โครงการแหล่ง - ต.สานักบก

189-5-85

น้ าสารองพื้น ที่ อ.เมือง จ.ชลบุรี ฉะเชิงเทรา โครงการสถานี - ถ.มอเตอร์ เวย์ สูบน้ า

ฉะเชิงเทรา 37-3-46

อ.บางปะกง - ต.หนองขาม

19-2-10

พัก น้ าที่ ห นอง อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี

- ต.ลาดยาว

สานักงานใหญ่

อ.บางซื่อ

กรุ งเทพฯ

กรุ งเทพฯ

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ - เพื่ อใช้ก่อ สร้ างเป็ นอาคารสู บ ไม่มีภาระ

1-2-48

โครงการสระ - ต.หนองละลอก 150-2-30.1

ผูกพัน

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ - เพื่อใช้ในการก่ อสร้ างสระพัก ไม่มีภาระ น้ าเส้นท่อหนองปลาไหล-หนอง ค้อ

ค้อ โครงการ

ผูกพัน

น้ าส าหรั บ โครงการบางปะกงชลบุรี

จ.ฉะเชิงเทรา โครงการสระ

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ - เพื่ อ ใช้ เป็ นสระส ารองพื้ น ที่ ไม่มีภาระ

ผูกพัน

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ - เพื่ อ ใช้ ใ นการเป็ นที่ ตั้ งของ ไม่มีภาระ อาคารสานักงานใหญ่

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ -เพื่ อ ใช้ในการก่ อ สร้ างสระพัก ส่วนที่ 1 หน้า 55

ผูกพัน

ไม่มีภาระ


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

สินทรัพย์ มาบข่า

ทีต่ ้งั

พื้นที่ ไร่ -งานตร.ว.

อ.บ้านค่าย

well

- ต.สุรศักดิ์

วัตถุประสงค์ ของการถือครอง น้ าเส้นท่ อ หนองปลาไหล-มาบ ตาพุต

จ.ระยอง โครงการ Reg

ลักษณะกรรมสิทธิ์

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

3-0-0

อ.ศรี ราชา

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ - เพื่อใช้ในการก่อสร้างสระพัก น้ าเส้นท่อหนองปลาไหล-หนอง ค้อ

จ.ชลบุรี โครงการสถานี

- ต.เชิงเนิน

3-3-62.5

สูบน้ าระยอง

อ.เมืองระยอง

อาคารสูบน้ าสาหรับจ่ายน้ าไปยัง

จ.ระยอง (ที่ดิน

เส้น ท่ อ หนองปลาไหล-มาบตา

แม่น้ าระยอง)

พุด 3-0-0

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ - เพื่ อ ใช้ ใ นการก่ อ สร้ า งเป็ น

โค รงก าร

- ต.หนองไร่

ก่อสร้างวางท่ อ

อ.ปลวกแดง

อาคารสูบน้ าสาหรับจ่ายน้ าไปยัง

ส่ งน้ าดิ บ อ่ า ง

จ.ระยอง

เส้ น ท่ อ ประแสร์ – หนองปลา

เก็บน้ าประแสร์

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ - เพื่ อใช้ ใ น การก่ อ สร้ า งเป็ น

ภาระ ผูกพัน ผูกพัน ไม่มีภาระ ผูกพัน

ไม่มีภาระ ผูกพัน

ไม่มีภาระ ผูกพัน

ไหล

- อ่ าง เก็ บ น้ า หนองปลาไหล โค รงก าร

- ต.สานักบก

ก่ อ สร้ างท่ อ ส่ ง

อ.เมือง จ.ชลบุรี

น้ า ดิ บ จ า ก แ ห ล่ ง น้ า

4-3-49

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ - เพื่ อใช้ ใ น การก่ อ สร้ า งเป็ น ไม่มีภาระ อาคารสู บ น้ า ส าหรั บ สู บ ส่ ง น้ า เพิม่ แรงดัน

เอกชน จังหวัด ชลบุรี

ส่วนที่ 1 หน้า 56

ผูกพัน


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ตารางที่ 4.1.1 (3) รายการสิ นทรัพย์ประเภทอาคาร วัตถุประสงค์ ของการ

สินทรัพย์

ทีต่ ้งั

ลักษณะกรรมสิทธิ์

อาคารสานักงานใหญ่

แ ข ว ง จ อ ม พ ล เข ต

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ

อาคารสานักงานใหญ่

ไม่มีภาระผูกพัน

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-

ไม่มีภาระผูกพัน

ถือครอง

ภาระผูกพัน

จตุจกั ร กรุ งเทพฯ อาคาร,ส่ ว นปรั บ ปรุ ง อาคารอเนกประสงค์ และป้ าย

,ส ถ านี สู บ น้ าด อ ก

ส่งน้ า

กราย ส่วนปรับปรุ งและป้ าย

สถานี สูบน้ าหนองปลา

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ

ไหล โรงสูบที่ 1 อาคารโรงสูบ

สถานีสูบน้ าหนองปลา สถานีสูบน้ าหนองปลา

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ

สถานีสูบน้ าฉะเชิงเทรา

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-

ไม่มีภาระผูกพัน

ส่งน้ า บริ ษทั เป็ นเจ้าของ

ไหล โรงสูบที่ 3 “---------------”

ไม่มีภาระผูกพัน

ส่งน้ า

ไหล โรงสูบที่ 2 “---------------”

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-

ไม่มีภาระผูกพัน

ส่งน้ า บริ ษทั เป็ นเจ้าของ

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-

ไม่มีภาระผูกพัน

ส่งน้ า “---------------”

สถานีสูบน้ าบางพระ

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-

ไม่มีภาระผูกพัน

ส่งน้ า “---------------”

สถานีสูบน้ าบางปะกง

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-

ไม่มีภาระผูกพัน

ส่งน้ า อาคาร,ส่ ว นปรั บ ปรุ ง สถานีรับน้ ามาบตาพุด

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ

และป้ าย อาคารและป้ าย

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-

ไม่มีภาระผูกพัน

ส่งน้ า สถานีรับน้ าแหลมฉบัง

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-

ไม่มีภาระผูกพัน

ส่งน้ า อาคารสานักงาน

ส ถ านี ย ก ร ะ ดั บ น้ า

บริ ษทั เป็ นเจ้าของ

ฉะเชิงเทรา อื่นๆ

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-

ไม่มีภาระผูกพัน

ส่งน้ า บริ ษทั เป็ นเจ้าของ

เพื่อการปฏิบตั ิงานสูบ-

ไม่มีภาระผูกพัน

ส่งน้ า

ส่วนที่ 1 หน้า 57


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ตารางที่ 4.1.1 (4) เครื่ องสู บน้า ท่ อส่ งนา้ สระพักนา้ และอุปกรณ์ อื่นๆ ลักษณะ

วัตถุประสงค์ ของการถือ

กรรมสิทธิ์

ครอง

- สถานี สูบน้ าหนองปลา ไหล 1

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

ไม่มีภาระผูกพัน

“---------------”

- สถานี สูบน้ าหนองปลา ไหล 2

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

“---------------”

- สถานี สูบน้ าหนองปลา ไหล 3

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

“---------------”

- สถานีสูบน้ าเพิ่มแรงดัน

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

“---------------”

- สถานีสูบน้ าดอกกราย

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

“---------------”

- สถานีสูบน้ ามาบตาพุด

“---------------”

- ส ถ านี สู บ น้ าแ ม่ น้ า ระยอง

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

- ใช้ ใ น การสู บน้ าดิ บจาก สถานี Booster Pump เพื่ อ สู บต่ อ ไปยัง พื้ น ที่ ปลวก แดง-บ่อวิน - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากอ่าง เก็ บ น้ าหนองปลาไหลไป ยังมาบตาพุด - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากอ่าง เก็ บ น้ าหนองปลาไหลไป ยังมาบตาพุด - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากอ่าง เก็ บ น้ าหนองปลาไหลไป ยังพื้นที่ปลวกแดง-บ่อวิน - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากอ่าง เก็บน้ าดอกกรายไปยังมาบ ตาพุด - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากมาบ ตาพุดไปยังสัตหี บ - ใช้ ใ น การสู บน้ าดิ บจาก แม่ น้ าระยองไปยังมาบตา พุด - ใช้ ใ น การสู บน้ าดิ บจาก แม่น้ าบางปะกงไปยังพื้นที่ ฉะเชิงเทรา - ใช้ ใ น การสู บน้ าดิ บจาก แม่น้ าบางปะกงไปยังพื้นที่ ฉะเชิงเทรา - ใช้ ใ น การสู บน้ าดิ บจาก ส านั ก บกจ่ า ยไปยัง พื้ น ที่ ฉะเชิงเทรา

ไม่มีภาระผูกพัน

สินทรัพย์ พื้นทีร่ ะยอง เครื่ องสูบน้ า

ทีต่ ้งั

พื้นทีฉ่ ะเชิงเทรา- ชลบุรี เครื่ องสูบน้ า - สถานีสูบน้ าคลองเขื่อน

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

“---------------”

- สถานีสูบน้ าสระสารอง

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

“---------------”

- สถานีสูบน้ าสานักบก

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

ภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ส่วนที่ 1 หน้า 58


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) สินทรัพย์

ทีต่ ้งั

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ลักษณะ

วัตถุประสงค์ ของการถือ

กรรมสิทธิ์

ครอง - ใช้ ใ น การสู บน้ าดิ บจาก คลองนครเนื่ องเขตไปยัง พื้นที่ฉะเชิงเทรา - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากอ่าง เก็บน้ าหนองค้อไปยังแหลม ฉบัง-พัทยา - ใช้ ใ น การสู บน้ าดิ บจาก แม่ น้ าบางปะกง เพื่ อ ส่ ง จ่ าย ให้ผใู ้ ช้น้ าในพื้นที่ชลบุรี-อ่าง เก็ บ น้ าบางพระและพื้ นที่ ฉะเชิงเทรา - ใช้ ใ น การสู บน้ าดิ บจาก แม่ น้ าบางปะกงส่ งต่ อ ให้ สถานีสูบน้ าบางปะกง - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากอ่าง เก็ บ น้ าบางพระไปยัง ลู ก ค้า พื้นที่ชลบุรี

ไม่มีภาระผูกพัน

ภาระผูกพัน

เครื่ องสูบน้ า

- สถานีสูบน้ าสวนสน

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

“---------------”

- สถานีสูบน้ าหนองค้อ

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

“---------------”

- สถานีสูบน้ าบางปะกง

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

“---------------”

- สถานีสูบน้ าแรงต่า

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

“---------------”

- สถานีสูบน้ าบางพระ 2

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

“---------------”

- สถานีสูบน้ าหนองค้อ

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

- ใช้ในการสู บน้ าดิบจากอ่าง เก็บน้ าหนองค้อไปพื้น ที่ บ่ อ วิน-ปลวกแดง

ไม่มีภาระผูกพัน

ท่อส่งน้ า

- แนวท่ อหนองปลาไหล ถึ งมาบตาพุ ด (สถานี สู บ น้ าหนองปลาไหล โรง สูบที่ 2) - แนวท่ อหนองปลาไหล ถึ งมาบตาพุ ด (สถานี สู บ น้ าหนองปลาไหล โรง สูบที่ 3) - แนวท่ อเชื่ อมต่ อ จาก แนวท่ อหนองปลาไหลหนองค้อ ไปยัง แนวท่ อ หนองค้อ – แหลมฉบัง

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

- ใช้ในการส่ งน้ าดิ บที่ สูบ มา จากอ่ า งเก็ บ น้ าหนองปลา ไหลไปยังปลายทางที่มาบตา พุด - ใช้ในการส่ งน้ าดิ บที่ สูบมา จากอ่ า งเก็ บ น้ าหนองปลา ไหลไปยังปลายทางที่มาบตา พุด - ใช้ในการส่ งน้ าดิ บเชื่ อมต่อ จากแนวท่ อหนองปลาไหลห น อ งค้ อ ไป ยั ง แ น วท่ อ หนองค้อ– แหลมฉบัง

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ส่วนที่ 1 หน้า 59


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) สินทรัพย์

ทีต่ ้งั

ลักษณะ

วัตถุประสงค์ ของการถือ

กรรมสิทธิ์

ครอง

- แนวท่ อ ฉะเชิ ง เทรา – บางปะกง – ชลบุรี (By-Pass)

- ใช้ในการรับน้ าดิบที่สูบจาก แ ม่ น้ าบ าง ป ะ ก ง ไ ป ยั ง ฉะเชิ ง เทรา – บางปะกง – ชลบุรี - ใช้ในการรับน้ าดิบที่สูบจาก แม่น้ าระยองไปเชื่อมกับแนว ท่ อ หนองปลาไหล-มาบตา พุด

-แนวท่ อ แม่ น้ าระยองมาบข่า

-แนวท่อส่งน้ าบางพระ

-แ น ว ท่ อ ส่ ง น้ า NKBypass 2

- แนวท่อส่ งน้ าอ่างหนอง ค้อฯ –ประปาศรี ราชา -แนวท่อส่งน้ าบางปะกง ชลบุรี

สระพักน้ า

- พื้นที่ จ. ระยอง – ชลบุรี  ต. มาบข่า

 ต. ห น องขาม (หุบบอน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

- ใช้ในการรับน้ าดิบที่สูบจาก อ่างเก็บน้ าบางพระไปเชื่อม กับแนวท่อหนองค้อ-แหลม ฉบัง -ใช้ในการรับน้ าดิบที่สูบจาก แน วท่ อห น องป ลาไห ลหนองค้อไปเชื่อมกับแนวท่อ หนองค้อ-แหลมฉบัง -ใช้ในการรับน้ าดิบที่สูบจาก แนวท่อหนองค้อ-แหลมฉบัง ไปจ่ายให้ประปาศรี ราชา - ใช้ ใ นการเพิ่ ม เสถี ย รภาพ การส่ งน้ าดิ บแนวท่อบางปะ กง – ชลบุ รี ซึ่ งถื อ เป็ นท่ อ สารองวางคู่ขนานกับแนวท่อ บางปะกง – ชลบุรีเดิม - ร ะ บ บ ค ว บ คุ ม แ ล ะ ประเมินผลการสูบจ่ายน้ า - เป็ นแหล่ ง น้ าส ารอง (จ่ า ย ให้ ลู ก ค้า พื้ น ที่ ม าบตาพุ ด – สัตหี บ) - เป็ นแหล่ ง น้ าส ารอง (จ่ า ย ให้ลูกค้าพื้นที่ ชลบุรี – ปลวก

ภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน ส่วนที่ 1 หน้า 60


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) สินทรัพย์

ทีต่ ้งั

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ลักษณะ

วัตถุประสงค์ ของการถือ

กรรมสิทธิ์

ครอง

ภาระผูกพัน

แดง – บ่อวิน) -พื้ น ที่ จ. ฉะเชิ ง เทรา – ชลบุรี  ต. คลองเขื่อน

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

 ต. สานักบก

ระบบ SCADA

- พื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ก าร จ . ระยอง ,ฉะเชิ งเทราและ ชลบุรี

บริ ษทั เป็ น เจ้าของ

ไม่มีภาระผูกพัน - เป็ นแหล่ ง น้ าส ารอง (จ่ า ย ให้ลูกค้าฉะเชิงเทรา) - เป็ นแหล่ ง น้ าส ารอง (จ่ า ย ให้ลูกค้าฉะเชิงเทรา)

ไม่มีภาระผูกพัน

- ร ะ บ บ ค ว บ คุ ม แ ล ะ ประเมินผลการสูบจ่ายน้ า

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ มีสินทรัพย์จากสิ ทธิ การเช่าจากสัญญาการบริ หารและดาเนิ นกิจการระบบท่อส่ งน้ า สายหลักในภาคตะวันออก ที่ทากับกระทรวงการคลัง โดยสิ นทรัพย์ที่เป็ นที่ดินและอาคารที่บริ ษทั ฯ ได้รับ สิ ท ธิ ก ารเช่ าจากสั ญ ญาดัง กล่ า วเมื่ อ สิ้ น สุ ดระยะเวลาสั ญ ญาฯ จะต้อ งส่ ง มอบคื น แก่ ก รมธนารั ก ษ์ ดัง รายละเอียดแสดงในตารางที่ 4.1.1 (2) - 4.1.1 (6) ตารางที่ 4.1.1 (5) รายการสิ นทรัพย์จากสิ ทธิสัญญาเช่ าฯ ประเภททีด่ ิน สินทรัพย์ โครงการดอกกรายมาบตาพุด

ทีต่ ้งั

- สถานี สูบน้ าดอกกราย (จ.ระยอง) - สถานียกระดับน้ า (ต.มาบข่า จ.ระยอง) - สถานี รับน้ ามาบตาพุด (มาบตาพุด ระยอง) โครงการมาบตาพุด-สัต -ส ถ านี ย ก ร ะ ดั บ น้ า หี บ (มาบตาพุด จ.ระยอง) - สถานีรับน้ าสัตหี บ (จ.ชลบุรี)

พื้นที่

วัตถุประสงค์ ของการ

ไร่ -งาน-ตร.ว.

ถือครอง

16-3-60 4-3-92 17-2-11

เ พื่ อ ใ ช้ ใ น ก า ร ด าเนิ น งานของระบบ ท่ อ ส่ ง น้ าส าย ด อ ก กราย-มาบตาพุด

3-3-11 14-2-54

เ พื่ อ ใ ช้ ใ น ก า ร ด าเนิ น งานของระบบ ท่ อส่ งน้ าสายมาบ ตา พุด-สัตหี บ

ภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ไม่มีภาระผูกพัน

ส่วนที่ 1 หน้า 61


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) สินทรัพย์ โครงการหนองค้อแหลมฉบัง

ทีต่ ้งั

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

พื้นที่

วัตถุประสงค์ ของการ

ไร่ -งาน-ตร.ว.

ถือครอง

14-2-84

เ พื่ อ ใ ช้ ใ น ก า ร ด าเนิ น งานของระบบ ท่อส่ งน้ าสายหนองค้อแหลมฉบัง

-บริ เวณขอบอ่างเก็บน้ า หนองค้อและสถานีรับ น้ าแหลมฉบัง (จ.ชลบุรี)

ภาระผูกพัน ไม่มีภาระผูกพัน

ตารางที่ 4.1.1 (6) รายการสิ นทรัพย์จากสิ ทธิการเช่ าฯ ประเภทอาคาร สินทรัพย์

ทีต่ ้งั

ขนาด

วัตถุประสงค์ ของการ

(ตร.ม.)

ถือครอง

3,854.25

เ พื่ อ ใ ช้ ใ น ก า ร

ภาระผูกพัน

โครงการดอกกราย-มาบตาพุด - สิ่ งปลูกสร้าง (โรงสูบน้ า โรงไฟฟ้า - สถานีสูบน้ าดอกกราย สานักงาน บ้านพัก สะพาน ฯลฯ)

(จ.ระยอง)

ดาเนิ นงานของระบบ ท่ อส่ งน้ าส ายด อ ก

ไม่มีภาระผูกพัน

กราย-มาบตาพุด - สิ่ งปลูกสร้าง (ถังยกระดับน้ า

- สถานียกระดับน้ า (ต.มาบข่า

บ้านพัก ฯลฯ)

จ.ระยอง)

- สิ่ งปลูกสร้าง (สานักงาน บ่อรับน้ า

- สถานีรับน้ ามาบตาพุด

ดิบ สระพักน้ าดิบ ฯลฯ)

(มาบตาพุด จ.ระยอง)

354.00

ไม่มีภาระผูกพัน

12,833.55

ไม่มีภาระผูกพัน

233.55

เ พื่ อ ใ ช้ ใ น ก า ร ไม่มีภาระผูกพัน

โครงการมาบตาพุด-สัตหีบ - สิ่ งปลูกสร้าง (สถานี ไฟฟ้ าย่อย ถัง - สถานี ยกระดับน้ า (มาบตาพุด น้ ายกระดับ ฯลฯ)

จ.ระยอง)

ดาเนิ นงานของระบบ

โครงการมาบตาพุด-สัตหีบ(ต่อ)

ท่ อ ส่ งน้ าสายมาบตา ไม่มีภาระผูกพัน

- สิ่ งปลูกสร้าง (บ้านพักพนักงาน บ่อ - สถานีรับน้ าสัตหี บ

พุด-สัตหี บ

รับน้ าดิบ สระรับน้ าดิบ ฯลฯ)

(จ.ชลบุรี)

4,370.25

โครงการหนองค้อ-แหลมฉบัง - สิ่ งปลูกสร้าง (บ่อรับน้ า ฯลฯ)

- บริ เวณขอบอ่างเก็บน้ าหนอง

231.25

เ พื่ อ ใ ช้ ใ น ก า ร ไม่มีภาระผูกพัน

ค้อ และสถานี รั บ น้ าแหลม

ดาเนิ นงานของระบบ

ฉบัง (จ.ชลบุรี)

ท่ อ ส่ ง น้ าสายหนอง ค้อ-แหลมฉบัง ส่วนที่ 1 หน้า 62


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ทรัพย์ สินของกลุ่มบริษัทย่ อย ณ 31 ธันวาคม 2558 แสดงในตารางที่ 4.1.1 (7) – 4.1.1 (8) ตารางที่ 4.1.1 (7) ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ -สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (หลังปรับ TFRIC12) สินทรัพย์

มูลค่ า (ล้ านบาท) 100.34 68.66 11.35 49.64 34.53 0.11 0.54 265.17 (80.50) 184.67

ที่ดิน โรงสูบน้ า อาคาร ส่วนปรับปรุ ง อาคาร และอาคารเช่า เครื่ องจักร และอุปกรณ์ อุปกรณ์สานักงาน ยานพาหนะ งานระหว่างก่อสร้าง รวม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (ราคาทุน) หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์-สุทธิ

ทั้ง นี้ ที่ ดิ น อาคาร อุ ป กรณ์ ห ลัก ที่ เป็ นกรรมสิ ท ธิ์ ของกลุ่ ม บริ ษ ัท ย่อ ย มี รายละเอี ย ด ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2558 ดังแสดงในตารางที่ 4.1.1 (8) – 4.1.1 (9) ตารางที่ 4.1.1 (7) รายการสิ นทรัพย์ ประเภททีด่ ิน สินทรัพย์

ทีต่ ้งั

กิจการประปา

ต.บ่อผุด อ.เกาะสมุย จ.

สมุย

สุราษฎร์ธานี

พื้นที่ ไร่ -งานตร.ว. 5-1-60.2

ลักษณะ กรรมสิทธิ์

วัตถุประสงค์ ของการถือ ครอง

ภาระผูกพัน

กลุ่มบริ ษทั

เพื่อประกอบธุรกิจ

ไม่มีภาระผูกพัน

ย่อยเป็ น

น้ าประปา

เจ้าของ กิจการประปา

ต.นาจอมเทียน อ.สัต

สัตหี บ

หี บ จ.ชลบุรี

0-3-0

กลุ่มบริ ษทั

เพื่อประกอบธุรกิจ

ย่อยเป็ น

น้ าประปา

ไม่มีภาระผูกพัน

เจ้าของ กิจการประปา

ต.พงสวาย อ.เมือง

ราชบุรี

ราชบุรี จ.ราชบุรี

8-0-26

กลุ่มบริ ษทั

เพื่อประกอบธุรกิจ

ย่อยเป็ น

น้ าประปา

ไม่มีภาระผูกพัน

เจ้าของ

ส่วนที่ 1 หน้า 63


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

สินทรัพย์

ทีต่ ้งั

กิจการประปา

ต.แพงพวย อ.เมือง

ราชบุรี

ราชบุรี จ.ราชบุรี

พื้นที่ ไร่ -งานตร.ว. 13-2-70

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ลักษณะ กรรมสิทธิ์

วัตถุประสงค์ ของการถือ ครอง

ภาระผูกพัน

กลุ่มบริ ษทั

เพื่อประกอบธุรกิจ

ไม่มีภาระผูกพัน

ย่อยเป็ น

น้ าประปา

เจ้าของ

ตารางที่ 4.1.1 (8) รายการสิ นทรัพย์ ประเภทอาคาร สินทรัพย์ กิจการประปาสัตหี บ

ทีต่ ้งั

ลักษณะกรรมสิทธิ์

วัตถุประสงค์ ของการถือครอง

ภาระผูกพัน

ตาบลสัตหี บ อาเภอ กลุ่มบริ ษทั ย่อยเป็ น

เพื่อประกอบธุรกิจน้ าประปา

ไม่มีภาระผูกพัน

เพื่อประกอบธุรกิจน้ าประปา

ไม่มีภาระผูกพัน

เพื่อประกอบธุรกิจน้ าประปา

ไม่มีภาระผูกพัน

เพื่อประกอบธุรกิจน้ าประปา

ไม่มีภาระผูกพัน

เพื่อประกอบธุรกิจน้ าประปา

ไม่มีภาระผูกพัน

เพื่อประกอบธุรกิจน้ าประปา

ไม่มีภาระผูกพัน

สัตหี บ

เจ้าของ

จ.ชลบุรี กิจการประปาบ่อวิน

ตาบลบ่อวิน อาเภอ กลุ่มบริ ษทั ย่อยเป็ น ศรี ราชา

เจ้าของ

จ.ชลบุรี กิจการประปาระยอง

ตาบลน้ าคอก อาเภอ กลุ่มบริ ษทั ย่อยเป็ น เมือง

เจ้าของ

จ.ระยอง กิจการประปาหนองขาม

ตาบลหนองขาม

กลุ่มบริ ษทั ย่อยเป็ น

อาเภอศรี ราชา

เจ้าของ

จ.ชลบุรี กิจการประปาฉะเชิงเทรา

ตาบลหน้าเมือง อาเภอเมือง

กลุ่มบริ ษทั ย่อยเป็ น เจ้าของ

จ. ฉะเชิงเทรา กิจการประปาบางปะกง

ตาบลบางวัว อาเภอ กลุ่มบริ ษทั ย่อยเป็ น บางปะกง

เจ้าของ

จ.ฉะเชิงเทรา

ทั้งนี้ กลุ่มบริ ษทั ย่อยยังมีทรัพย์สินหลักที่รับมอบจากการประปาส่ วนภูมิภาค (กปภ.) โดยการเข้า รั บ สั ม ปทานในการด าเนิ น กิ จ การประปา 4 แห่ ง ได้ แ ก่ ประปาสั ต หี บ ประปาบางปะกง ประปา ส่วนที่ 1 หน้า 64


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ฉะเชิ งเทรา และประปานครสวรรค์ เพื่อใช้ในการดาเนิ นการตามสัญญาสัมปทานซึ่ งบริ ษทั จะต้องส่ งคืน เมื่อสิ้ นสุ ดสัญญาสัมปทาน รายละเอียดทรัพย์สินดังกล่าว แสดงในตารางที่ 4.1.1 (9) ตารางที่ 4.1.1 (9) รายการทรัพย์สินหลักรับมอบจากสั ญญาสั มปทาน กปภ. รายการ

ประปาสัตหีบ

ประปาบางปะกง

ประปาฉะเชิงเทรา

ประปานครสวรรค์

ระบบท่อส่งจ่ายน้ า

/

/

/

/

สถานีสูบน้ า (อาคารและเครื่ องสูบ

/

/

/

/

ระบบกรองน้ าและผลิตน้ าประปา

/

/

/

/

ถังน้ าใสและหอถังสูง

/

/

/

/

สถานีเพิม่ แรงดัน

/

/

/

/

สิ นทรัพย์อื่น *

/

/

/

/

น้ า)

* หมายเหตุ สิ นทรัพย์อื่น ประกอบด้วย ตูค้ วบคุมระบบไฟฟ้ า เครื่ องสู บน้ าของสถานี สูบน้ าแรงต่า หม้อแปลงไฟฟ้ าแรงสู งเครื่ องสู บจ่าย สารเคมี ถังควบคุมสู บจ่ายแก๊สคลอรี น เป็ นต้น

ข้อมูลงานระหว่างก่อสร้าง ณ 31 ธันวาคม 2558 จานวน 4,075.06 ล้านบาท ประกอบด้วยโครงการ หลักได้แก่ หน่ วย: ล้ านบาท โครงการ ธุรกิจน้ าดิบ ธุรกิจน้ าประปา

มูลค่ า ณ 31 ธันวาคม 2558 4,074.66 0.40

4.1.2 มูลค่ าสิ นทรัพย์ สุทธิ ณ 31 ธันวาคม 2558 กลุ่มบริ ษทั ฯ มีหนี้สินที่อาจเกิดจากการเข้าค้ าประกัน อาวัล ภาระจานองหรื อการค้ าประกันให้บุคคล อื่น ดังนี้ - กลุ่มบริ ษทั มีหนี้ สินที่อาจเกิ ดขึ้นจากการเป็ นผูค้ ้ าประกันการปฏิ บตั ิตามสัญญาของบริ ษทั ย่อยสาม แห่ ง ในกรณี ธนาคารในประเทศออกหนังสื อค้ าประกันให้แก่บริ ษทั ย่อยภายในวงเงิน 200 ล้านบาท สาหรับ การค้ าประกันหม้อแปลงไฟฟ้ า ค้ าประกันการผลิ ตและขายน้ าประปา ประกันสัญญาบันทึ กข้อมู ลผูใ้ ช้น้ า (หมายเหตุ ข้อ 35.4.2) - หนี้ สินที่อาจเกิดขึ้นจากการที่ธนาคารในประเทศออกหนังสื อค้ าประกันเพื่อการใช้กระแสไฟฟ้ากับ การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค หนังสื อค้ าประกันเกี่ยวกับการบริ หารและดาเนินกิจการระบบท่อส่ งน้ าสายหลักในภาค ส่วนที่ 1 หน้า 65


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ตะวันออกกับกระทรวงการคลัง หนังสื อค้ าประกันเพื่อการปฏิ บตั ิตามสัญญากับการประปาส่ วนภูมิภาคและ กับกรมชลประทาน และหนังสื อค้ าประกันเพื่อประมูลโครงการของบริ ษทั จานวนรวมทั้งสิ้ น 187.4 ล้านบาท และ 92.2 ล้านบาท ตามลาดับ (พ.ศ. 2557 : จานวน 133.8 ล้านบาท และ 83.9 ล้านบาท ตามลาดับ) (หมายเหตุ ข้อ 35.4.1) ดั ง นั้ น มู ล ค่ า สิ นทรั พ ย์สุ ทธิ ข องกลุ่ ม บริ ษ ั ท ฯ จะมี ค่ า เท่ า กั บ มู ล ค่ า สิ นทรั พ ย์สุ ทธิ ต ามบั ญ ชี 9,499,562,988 บาท และมูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิ ต่อหุ ้น คือ 5.71 บาท (ณ 31 ธันวาคม 2558 บริ ษทั ฯมีจานวนหุ ้น ที่ออกและเรี ยกชาระแล้วเท่ากับ 1,663,725,149 หุน้ ) 4.2 ค่ าสิ ทธิในการให้ บริการจากข้ อตกลงสั มปทานและต้ นทุนในการได้ มาซึ่งสั ญญาสั มปทาน กลุ่มบริ ษทั ฯ ได้รับสัมปทานในการดาเนินกิจการผลิตและจาหน่ายน้ าประปาจาก กปภ. ซึ่งได้รับสิ ทธิ สัมปทานภายนในระยะเวลา 15-30 ปี กลุ่ มบริ ษทั ฯ ได้แสดงข้อมู ลสรุ ปไว้ในส่ วนลักษณะบริ การ โดยมี ค่า สิ ทธิ ในการให้บริ การจากข้อตกลงสัมปทานและต้นทุนในการได้มาซึ่ งสัญญาสัมปทานของบริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด (มหาชน) และกิ จการประปาใน 3 พื้นที่ คือ ประปาบางปะกง ประปาฉะเชิงเทรา ประปา นครสวรรค์ ณ 31 ธันวาคม 2558 เป็ นยอดสุ ทธิ จานวน 1,289,277,598.53 บาท ตามการตีความมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 เรื่ องข้อตกลงสัมปทานบริ การ 4.3 นโยบายการลงทุนในบริ ษัทย่อยและบริษัทร่ วม ปัจจุบนั บริ ษทั ฯ มีเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม ณ 31 ธันวาคม 2558 ดังรายละเอียดแสดง ในตารางที่ 4.3

ส่วนที่ 1 หน้า 66


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ตารางที่ 4.3 การลงทุนของบริษัทและบริษัทร่ วม ณ 31 ธันวาคม 2558 ชื่ อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

(บริษัทย่ อย) 1. บจ.ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต้ ีส์ *

บริ หารกิจการประปาและงาน

(จดทะเบียนเป็ นบริ ษทั มหาชนเมื่อ

วิศวกรรมบริ การ

ทุนจดทะเบียน

ทุนชาระแล้ ว

การถือหุ้น

(บาท)

(บาท)

%

510,000,000

510,000,000

100

วันที่ 9 กันยายน พ.ศ.2558) 2. บจ.ประปาบางปะกง **

ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา

40,000,000

40,000,000

100

3. บจ.ประปาฉะเชิงเทรา**

ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา

100,000,000

100,000,000

100

4. บจ.ประปานครสวรรค์**

ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา

40,000,000

40,000,000

100

5. บจ. เอ็กคอมธารา **

ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา

345,000,000

345,000,000

90

(เป็ น บ ริ ษั ท ย่ อ ยตั้ งแ ต่ วั น ที่ 31 สิ งหาคม 2558) หมายเหตุ * ถือหุ้นโดยบริ ษทั ** ถือหุน้ โดยบริ ษทั UU

สัดส่ วนเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมทั้งหมด คิดเป็ นร้อยละ 2.60 ของสิ นทรัพย์รวมของ บริ ษทั ฯ ดังนี้ - การลงทุ น ในธุ รกิ จต่ อเนื่ อง ขยายฐานธุ รกิ จที่ ส นับ สนุ น ธุ รกิ จด้านกิ จการประปา เช่ น ธุ รกิ จการ บริ หารระบบท่อส่ งจ่ายน้ าเพื่อลดน้ าสู ญเสี ย บริ หารระบบบาบัดน้ าเสี ย บริ การวิศวกรรมและเทคโนโลยีการ จัดการน้ า เป็ นต้น - ธุ รกิ จบริ การ ด้านบริ การเทคนิ ค และวิศวกรรมที่เชื่ อมโยงกับธุ รกิจปั จจุบนั ของกลุ่มบริ ษทั ฯ ตาม นโยบายของกลุ่มบริ ษทั ฯ ที่มุ่งเน้นเป็ นผูน้ าด้าน “ Water Solution ” ทั้ง นี้ บริ ษ ัท ฯ สามารถก าหนดนโยบายการบริ ห ารงานของบริ ษ ัท ย่อ ยทั้ง หมด โดยการแต่ ง ตั้ง คณะกรรมการและคณะผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ เป็ นกรรมการผูแ้ ทนของบริ ษทั ฯ สามารถกาหนดแนวนโยบาย บริ หารงาน เพื่อมอบหมายแก่คณะผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ย่อยรับนโยบายไปปฏิบตั ิต่อไป นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ กาหนดให้คณะผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ย่อยรายงานผลการดาเนิ นงานเป็ นรายไตร มาสและรายปี ต่อคณะกรรมการบริ ษทั ฯ เพื่อให้บริ ษทั ฯทราบความคืบ หน้า ตลอดจน อุปสรรค ปั ญหาและ ความเสี่ ยงจากของการดาเนินงานว่าเป็ นไปตามแผนงานที่ได้กาหนดเป็ นนโยบายไว้ 4.4 กรมธรรม์ ประกันภัยทรัพย์สินของบริษัทฯ บริ ษทั ฯ ได้ทาประกันความเสี่ ยงภัยของทรัพย์สินทั้งความเสี ยหายต่อทรัพย์สินโดยตรง (All Risks) ผลกระทบอันเกิ ดกับธุ รกิ จหยุดชะงักจากการเสี ยหายของทรัพย์สินของบริ ษทั (Business Interruption) และ ส่วนที่ 1 หน้า 67


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ความรับผิดตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก (Public Liability) กับบริ ษทั ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) โดย มีระยะเวลาให้ความคุม้ ครอง ตั้งแต่วนั ที่ 31 ธันวาคม 2557 - 31 ธันวาคม 2558 ดังนี้ 1) กรมธรรม์ ประกันภัยทรัพย์สินรับโอนจากกระทรวงการคลัง 1. เลขทีก่ รมธรรม์ 14016-114-150003092 ประเภทการให้ความคุม้ ครอง ประกั น ความเสี่ ยงภัย ทั้ ง ปวง (All Risks Insurance) จากความ เสี ย หาย ทางกายภาพของทรั พ ย์สิ น เอาประกัน อัน เนื่ อ งมาจาก อุบตั ิเหตุใดๆ ภายใต้ขอ้ ตกลงคุม้ ครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นของ กรมธรรม์ประกันเสี่ ยงภัยทรัพย์สิน โดยมีวงเงินจากัดความรับผิด ตลอดระยะเวลาเอาประกันดังนี้ - ภั ย น้ าท่ ว ม คุ ้ ม ครองรวมกั น ไม่ เกิ น 20,000,000 บาทต่ อ ครั้ ง - ภัยพายุ ภัยแผ่นดิ นไหว คุ ม้ ครอง 10% ของทุนประกันภัย ไม่เกิ น 50,000,000 บาท แต่ละสถานที่ แต่ละภัย รวมกันไม่เกิ น 1,000,000 บาทต่อครั้ง - ภัย จลาจลและนัด หยุด งาน ภัย จากการกระท าอัน ป่ าเถื่ อ นและ เจตนาร้าย คุม้ ครองรวมกันไม่เกิน 200,000,000 บาทต่อครั้ง ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ 2,821,315.01 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่ม) จานวนเงินเอาประกันภัย 2,626,237,648.31 บาท ทรัพย์สินที่เอาประกันภัย 1. ทรัพย์สินที่รับโอนมาจากกระทรวงการคลัง รวม 2,626,237,648.31 บาท ผูร้ ับผลประโยชน์ กระทรวงการคลัง และ/หรื อ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 2. เลขทีก่ รมธรรม์ 14016-114-150003630 ประเภทการให้ความคุม้ ครอง ความสู ญเสี ยทางการเงิ นเนื่ องจากผลกาไรที่ ล ดลงจากผลกระทบ ของอุบตั ิเหตุต่อทรัพย์สินที่เอาประกันภัยซึ่ งคุ ม้ ครองตามรายการที่ เอาประกั น ภั ย ที่ ศู น ย์ ป ฏิ บ ั ติ ก ารฉะเชิ ง เทรา-ชลบุ รี และศู น ย์ ปฏิบตั ิการระยอง ภายในระยะเวลา 12 เดือน ทั้งนี้ การคุม้ ครองนี้ จะ ยกเว้น ไม่ คุ ้ม ครองความเสี ย หายในส่ ว นแรก (Deductibles) เป็ น ระยะเวลา 5 วัน ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ 429,394.21 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิม่ ) จานวนเงินเอาประกันภัย 399,704,389.07 บาท ผูร้ ับผลประโยชน์ กระทรวงการคลัง และ/หรื อ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก ส่วนที่ 1 หน้า 68


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

3. เลขทีก่ รมธรรม์ ประเภทการให้ความคุม้ ครอง

ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ จานวนเงินจากัดความรับผิด ความรับผิดชอบเองส่ วนแรก สถานที่ต้ งั ทรัพย์สิน

ผูร้ ับผลประโยชน์

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

14013-114-150000965 ความรับผิดตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก อันเกิ ดจากการกระทาโดย ประมาท บกพร่ อง เลิ นเล่ อ ของบริ ษทั หรื อพนักงาน หรื อจากการที่ ทรัพย์สินของบริ ษทั สร้ างความเสี ยหายให้แก่ บุคคลภายนอก ทั้งทาง ร่ างกาย ทรัพย์สิน ตลอดจนกรณี ที่ทรัพย์สินของบุคคลภายนอกได้รับ ความเสี ยหายจากการดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั 214,856.00 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่ม) ไม่เกิน 50,000,000.00 บาท ต่อครั้ง และตลอดระยะเวลาเอาประกันภัย 25,000.00 บ าท แ รก ส าห รั บ ค วาม เสี ยห ายต่ อ ท รั พ ย์ สิ น ข อ ง บุคคลภายนอกเท่านั้น สถานที่ ต้ งั ของทรั พ ย์สิ น รั บ โอนจากกระทรวงการคลังในโครงการ ต่างๆ ในบริ เวณระหว่าง จ.ชลบุรี และ จ.ระยอง ดังนี้ 1) โครงการดอกกราย-มาบตาพุด 2) โครงการมาบตาพุด-สัตหีบ 3) โครงการหนองค้อ-แหลมฉบัง 4) โครงการแหลมฉบัง-พัทยา 5) โครงการหนองปลาไหล-หนองค้อ 6) โครงการหนองค้อ-แหลมฉบัง (ระยะ 2) กระทรวงการคลัง และ/หรื อ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

2) สรุ ปกรมธรรม์ ประกันภัยทรัพย์ สินของบริษัท บริ ษ ัท ได้ท าประกัน ความสู ญ เสี ย หรื อ ความเสี ย หายทางกายภาพของทรั พ ย์สิ น ที่ เอาประกัน ภัย อันเนื่องมาจากอุบตั ิเหตุใดๆ ภายใต้ขอ้ ตกลงคุม้ ครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นของกรมธรรม์ประกันความเสี่ ยง ภัยทรัพย์สินฉบับมาตรฐาน (GIA Form) ดังนี้ 1. เลขทีก่ รมธรรม์ 14016-114-150003840 ประเภทการให้ความคุม้ ครอง - ความสู ญเสี ยหรื อความเสี ยหายทางกายภาพของทรัพย์ที่เอาประกันอัน เนื่ อ งมาจากอุ บ ัติ เหตุ ใ ดๆ ภายใต้ข้อ ตกลงคุ ้ม ครอง เงื่ อ นไข และ ข้อยกเว้นของกรมธรรม์ประกันความเสี่ ยงภัยทรัพย์สิน ความสู ญเสี ย ทางการเงิ นเนื่ องจากผลก าไรที่ ล ดลงจากผลกระทบของอุ บ ตั ิ เหตุ ต่อ ทรัพย์สินที่เอาประกันภัยที่คุม้ ครองตามรายการเอาประกันภัย รวมถึ ง ความรับผิดตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก (PL) ในวงเงินจากัดความ ส่วนที่ 1 หน้า 69


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ จานวนเงินเอาประกันภัย

สถานที่เอาประกันภัย

ทรัพย์สินที่เอาประกัน

2. เลขทีก่ รมธรรม์ ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ จานวนเงินเอาประกันภัย สถานที่เอาประกันภัย

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

รั บ ผิ ด 10,000,000.00 บ า ท ต่ อ ค รั้ ง แ ล ะ ต ล อ ด ร ะ ย ะ เว ล า เอาประกันภัย - ความสู ญเสี ยทางการเงินเนื่ องจากผลกาไรที่ลดลงจากผลกระทบของ อุบตั ิเหตุต่อทรัพย์สินที่เอาประกันภัยที่คุม้ ครองตามรายการประกันภัย 832,644.04 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่ม) 775,071,099.50 บาท -ประกันเสี่ ยงภัยทรัพย์สิน 696,071,099.50 บาท -ประกันภัยธุ รกิจหยุดชะงัก 79,000,000.00 บาท บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) (สานักงานใหญ่) 1 ซอยวิภ าวดี รั ง สิ ต 5 ถนนวิภ าวดี รั ง สิ ต แขวงจอมพล เขตจตุ จ ัก ร กรุ งเทพมหานคร - สิ่ ง ปลู ก สร้ า งอาคาร (ไม่ ร วมฐานราก) รวมรั้ วเฟอร์ นิ เจอร์ เครื่ อ ง ตกแต่ งติ ดตั้งตรึ งตราส่ วนต่ อเติ มและส่ วนปรับ ปรุ งอาคาร เครื่ องมื อ เครื่ องใช้สานักงานทุกชนิ ด คอมพิวเตอร์ เครื่ องอิเล็คทรอนิ กส์ ต่าง ๆ ลิ ฟ ท์ เครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ า เสาอากาศจานดาวเที ยม รวมระบบอานวย ความสะดวกทุ ก ชนิ ด เช่ น ระบบไฟฟ้ า ระบบประปา แสงสว่ า ง โทรศัพท์ ระบบปรับอากาศ ระบบดับเพลิง ระบบสาธารณู ปโภคอื่นๆ กาแพงรั้ว ทางเดิน ประตู พื้น และผนังหิ นอ่อน ภูมิสถาปั ตย์ เครื่ องจักร อุปกรณ์ทุกชนิด และทรัพย์สินอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินธุ รกิจของ ผู ้ เ อาประกั น ภั ย รวมถึ ง ทรั พ ย์ สิ นที่ อ ยู่ ใ นความดู แ ลรั ก ษาของ ผูเ้ อาประกันภัยในฐานะผูร้ ักษาทรัพย์ - กาไรขั้นต้น - การเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายในการดาเนินธุ รกิจ 14016-114-150003081 9,377,331.27 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่ม) 8,728,945,213.61 บาท 1. ศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา-ชลบุรี 54/1 หมู่ 1 ตาบลบางขวัญ อาเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 2. ศูนย์ปฏิบตั ิการระยอง 477 ถนนสุ ขมุ วิท ตาบลห้วยโป่ ง อาเภอเมือง จังหวัดระยอง ส่วนที่ 1 หน้า 70


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ทรัพย์สินที่เอาประกัน

3. กรมธรรม์ เลขที่ ประเภทการให้ความคุม้ ครอง

ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ จานวนเงินเอาประกันภัย สถานที่เอาประกันภัย

ทรัพย์สินที่เอาประกัน 4. กรมธรรม์ เลขที่ ประเภทการให้ความคุม้ ครอง

ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ จานวนเงินจากัดความรับผิด รับผิดชอบเองส่ วนแรก สถานที่เอาประกันภัย

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

สิ่ ง ปลู ก สร้ า ง (ไม่ ร วมฐานราก) ส่ ว นปรั บ ปรุ ง อาคาร อุ ป กรณ์ สานักงาน เครื่ องจักร เครื่ องมือ อุปกรณ์ทุกชนิ ดที่ใช้ในการดาเนิ น ธุ รกิจ สถานีเครื่ องสู บน้ ารวมถึงระบบท่อต่างๆ ทั้งบนดินและใต้ดิน ที่ อยู่ระหว่างสถานี สู บ น้ ากับ สถานที่ โครงการต่างๆ ที่ ระบุ ไว้ใน แผนการดาเนินธุ รกิจ 14016-114-150003851 ความสู ญ เสี ยทางการเงิ นเนื่ องจากผลกาไรที่ ลดลงจากผลกระทบ ของอุบตั ิเหตุต่อทรัพย์สินที่เอาประกันภัยที่คุม้ ครองตามรายการเอา ประกันภัยที่ศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา-ชลบุรี และศูนย์ปฏิบตั ิการ ระยอง ภายในระยะเวลา 12 เดือน ทั้ งนี้ การคุ ้ ม ครองนี้ จะยกเว้ น ไม่คุม้ ครองความเสี ยหายในส่ วนแรก (Deductibles) เป็ นระยะเวลา 5 วัน 1,427,199.17 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) 1,328,515,610.93 บาท 1. ศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา-ชลบุรี 54/1 หมู่ 1 ตาบลบางขวัญ อาเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 2. ศูนย์ปฏิบตั ิการระยอง 477 ถนนสุ ขมุ วิท ตาบลห้วยโป่ ง อาเภอเมือง จังหวัดระยอง 1. กาไรขั้นต้น 2. การเพิม่ ขึ้นของค่าใช้จ่ายในการดาเนินธุ รกิจ 14013-114-150000954 ความรับผิดตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก อันเกิดจากการกระทา โดยประมาท บกพร่ อง เลินเล่อ ของบริ ษทั หรื อพนักงาน หรื อจาก การที่ทรัพย์สินของบริ ษทั สร้างความเสี ยหายให้แก่บุคคลภายนอก ทั้ งทางร่ างกาย ทรั พ ย์ สิ น ตลอดจนกรณี ที่ ทรั พ ย์ สิ นของ บุคคลภายนอกได้รับความเสี ยหายจากการดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั 214,856.00 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) ไม่เกิน 50,000,000.00 บาทต่อครั้ง และตลอดระยะเวลาประกันภัย 25,000.00 บ าท แ รก ส าห รั บ ค วาม เสี ย ห าย ต่ อ ท รั พ ย์ สิ น ข อ ง บุคคลภายนอกเท่านั้น 1. ศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา-ชลบุรี รวมถึงตามแนวท่อส่ งน้ าดิบ ดังนี้ - หนองค้อ-แหลมฉบัง ส่วนที่ 1 หน้า 71


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

- โรงกรองบางพระ 2 - นครเนื่องเขต - ศรี ราชา - บางปะกง-ชลบุรี - ฉะเชิงเทรา 2. ศูนย์ปฏิบตั ิการมาบตาพุด จ.ระยอง รวมถึงตามแนวท่อส่ งน้ าดิบ ดังนี้ - มาบตาพุด - ดอกกราย-มาบตาพุด - แม่น้ าระยอง - หนองปลาไหล-หนองค้อ - หนองปลาไหล-มาบตาพุด

ส่วนที่ 1 หน้า 72


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

5. ข้ อพิพาททางกฎหมาย 1. ไม่มีขอ้ พิพาททางกฎหมายที่อาจมีผลกระทบต่อสิ นทรัพย์ของบริ ษทั ฯ ที่มีจานวนสู งกว่าร้อยละ 5 ของส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2. ข้อพิพาททางกฎหมายที่มีผลกระทบต่อการดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อยอย่างมีนยั สาคัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 สรุ ปได้ดงั นี้ 2.1. บริ ษ ทั ฯ ได้ทาสัญ ญาจ้าง บมจ.ซิ นเท็ค ฯ ก่ อสร้ างอาคารสานัก งานใหญ่ เนื่ องจาการก่ อสร้ าง อาคารแล้วเสร็ จล่าช้า บริ ษทั ฯ จึงได้เรี ยกร้องให้ บมจ.ซิ นเท็คฯ ชาระค่าปรับเป็ นจานวนเงิน 32,190,000 บาท แต่ บมจ.ซิ นเท็คฯ ปฏิเสธไม่ชาระค่าปรับ แต่ฟ้องบริ ษทั ฯ ต่อศาลแพ่งในฐานผิดสัญญาจ้างเหมาก่อสร้างเรี ยก ค่าเสี ยหายจานวน 40,226,268.52 บาท โดยเรี ยกคืนเงินค่างวดงานที่ 30 และ 31 ที่บริ ษทั ฯยึดหน่วงไว้ เป็ นเงิน จานวน 12,988,396.65 บาท รวมทั้ง หนังสื อ ค้ าประกัน การรั บ เงิ น ค่ าจ้า งล่ วงหน้า และหนังสื อ ค้ าประกัน ผลงาน รวม 8 ฉบับ บริ ษ ทั ฯ ฟ้ องกลับ (คดี หมายเลขดาที่ 6848/2551) ให้บมจ.ซิ นเท็คฯ และธนาคารผูค้ ้ า ประกันชาระเงินจานวน 37,392,536.21 บาท พร้ อมดอกเบี้ยร้อยละ 7.5 ต่อปี ของต้นเงิ น 34,598,582.21 บาท ต่อมาศาลได้มีคาสั่งให้รวมพิจารณาทั้งสองคดีเป็ นคดีเดียวกัน คาพิพากษาศาลชั้ นต้ น เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2553 ศาลพิพากษาให้บมจ.ซิ นเท็คฯ ชาระค่าปรับแก่บริ ษทั ฯ เป็ นจ านวนเงิ น 8,800,000 บาท และให้ บ ริ ษ ัท ฯ ช าระเงิ น ตามสั ญ ญา งวดที่ 30 และ 31 เป็ นจ านวนเงิ น 12,988,396.65 บาท พร้อมทั้งคืนหนังสื อค้ าประกัน 8 ฉบับให้แก่บมจ.ซิ นเท็คฯ คาพิพากษาศาลอุทธรณ์ ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้คาพิพากษาศาลชั้นต้นเป็ นว่า ให้บริ ษทั ฯ ชาระเงินให้แก่ซิน เท็คเป็ นเงินจานวน 7,606,375.42 บาท นอกนั้นคงไว้ดงั เดิม เมื่ อวัน ที่ 30 สิ งหาคม 2556 ทนายความได้ด าเนิ นการยื่น ค าร้ องขอช าระเงิ น ตามค าพิ พ ากษาศาล อุท ธรณ์ และวางแคชเชี ยร์ เช็ ค เป็ นเงิ น จานวน 13,228,118.51 บาทต่ อศาลแพ่ ง พร้ อมกับ ขอคื นหนังสื อค้ า ประกันของธนาคารกสิ กรไทย จากัด (มหาชน) ที่บริ ษทั ฯ ได้วางเป็ นประกันการขอทุเลาการบังคับคดีในชั้น อุทธรณ์ เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2556 บริ ษ ทั ฯได้รับหมายเรี ยกและสาเนาฎี กา ซึ่ งได้ยื่นแก้ฏี กาเมื่ อวันที่ 15 ตุลาคม 2556 ปัจจุบัน คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา 2.2. บริ ษทั เสม็ด ยูทิลิต้ ีส์ จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ที่ ก่อตั้งร่ วมกันระหว่างบริ ษทั ฯ กับ อบจ.ระยอง ด้วย ทุ น จดทะเบี ยน 60 ล้านบาท เพื่ อขยาย การลงทุ นในธุ รกิ จด้านน้ า อี ก ทั้งเป็ นต้น แบบในการดาเนิ นธุ รกิ จ สาธารณู ปโภคอื่ นๆ ในลักษณะการร่ วมลงทุ นกับหน่ วยงานท้องถิ่ น (Public-Private Partnership: PPP) โดย บริ ษทั ฯ ถือหุน้ ร้อยละ 55 มูลค่าหุ น้ คิดเป็ นเงินลงทุนของบริ ษทั ฯ จานวน 33 ล้านบาท ต่ อ มาบริ ษ ัท เสม็ ด ยู ทิ ลิ ต้ ี ส์ จ ากัด ด าเนิ น การคัด เลื อ กผู ้รั บ เหมาก่ อ สร้ า งและติ ด ตั้ง ระบบผลิ ต น้ าประปาจากน้ าทะเลขนาด 50 ลบ.ม. /ชม. และได้ผรู ้ ับจ้างคือ กิจการร่ วมค้า เจ.วี.บี.เอช ฟอร์ เอเวอร์ เพียว ซึ่ ง ส่วนที่ 1 หน้า 73


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

เป็ นการร่ วมค้าระหว่างบริ ษทั บลู ฮาร์ ท จากัด (จดทะเบี ยนจัดตั้งบริ ษทั ตามกฎหมายไทย) และฟอร์ เอเวอร์ เพียว คอร์ ปอเรชัน่ (จดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั ตามกฎหมายสหรัฐอเมริ กา) แต่เนื่องจากผูร้ ับจ้างไม่ได้จดทะเบียน เป็ นนิติบุคคล เป็ นผลให้ขาดคุณสมบัติตามประกาศประกวดราคา ดังนั้น บริ ษทั เสม็ด ยูทิลิต้ ีส์ จากัด จึงไม่ได้ ลงนามในสัญญาและมีคาสั่งให้ผรู ้ ับจ้างชะลอโครงการฯ ต่อมาผูร้ ับจ้างได้แจ้งยกเลิ กสัญญาตามหนังสื อ ลง วันที่ 20 สิ งหาคม 2556 และเรี ยกร้องค่าเสี ยหาย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2558 บริ ษทั บลูฮาร์ ท จากัด ซึ่ งเป็ นหุ ้นส่ วนของกิจการร่ วมค้า เจ.วี.บี.เอช ฟอร์ เอเวอร์ เพี ย ว ได้ ยื่ น ฟ้ อ งคดี กั บ บริ ษัท เสม็ ด ยู ทิ ลิ ต้ ี ส์ จ ากัด เป็ นจ าเลยที่ 1 บริ ษ ั ท ฯ เป็ นจ าเลยที่ 2 และนายเจริ ญสุ ข วรพรรณโสภาค เป็ นจาเลยที่ 3 ณ ศาลแพ่ง ในฐานผิดสัญญาจ้างทาของ บอกเลิ กสัญญา เรี ยกค่าจ้างและเรี ยกค่าเสี ยหาย เป็ นเงินจานวน 30,852,879.05 บาท ปั จ จุ บั น เมื่ อวันที่ 17 พฤศจิก ายน 2558 ศาลแพ่งได้พิ พ ากษาให้บ ริ ษ ทั เสม็ด ยูทิ ลิ ต้ ี ส์ (จาเลยที่ 1) ชาระเงินให้กบั บริ ษทั บลู ฮาร์ ท จากัด (โจทก์) เป็ นเงินจานวน 20,450,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี นับแต่วนั ฟ้ อง (24 กุมภาพันธ์ 2558) เป็ นต้นไปจนกว่าจะชาระเสร็ จแก่ โจทก์ กับให้จาเลยที่ 1 ชาระค่าทนายความ 10,000 บาท และค่าธรรมเนียมศาลที่โจทก์ชาระ ให้จาเลยที่ 1 ชาระแทน อย่างไรก็ตาม คดีน้ ียงั ไม่ถึงที่สุด และจะมีการอุทธรณ์คาพิพากษาศาลชั้นต้นต่อไป ซึ่ งศาลได้อนุญาต ให้ขยายระยะเวลายืน่ อุทธรณ์คาพิพากษา ได้ถึงวันที่ 18 มกราคม 2559 2.3 เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2558 บริ ษทั สยามนิ สสัน อีสเทิร์น 2002 จากัด (โจทก์) ได้ยื่นฟ้ องคดี กับ การรถไฟแห่ งประเทศไทย (จาเลยที่ 1) และบริ ษทั ฯ (จาเลยที่ 2) ณ ศาลแพ่ง ในฐานผิดสัญญาเช่ า ละเมิ ด และเรี ยกค่าเสี ยหาย เป็ นเงินจานวน 295,853,981.04 บาท เกี่ยวกับข้อพิพาทการใช้พ้ืนเช่าทับซ้อนย่านสถานี ชุ มทางฉะเชิ งเทรา จังหวัดฉะเชิ งเทรา ซึ่ งการรถไฟฯ ให้บ ริ ษ ทั ฯเช่ าที่ ดิน เพื่ อวางท่อใต้ดินและให้บ ริ ษ ทั สยามนิสสันฯ เช่าพื้นที่ดา้ นบนเพื่อทา Show Room ปัจจุบัน ศาลนัดฟังคาพิพากษา ในวันที่ 20 มกราคม 2559

ส่วนที่ 1 หน้า 74


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

6. ข้ อมูลทัว่ ไปและข้ อมูลสาคัญอื่น ชื่อบริ ษทั บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ชื่อย่อหลักทรัพย์ EASTW ลักษณะประเภทธุ รกิจ พัฒ นาและดู แ ลโครงข่ า ยระบบท่ อ ส่ ง น้ าดิ บ เพื่ อ จ าหน่ า ยน้ าดิ บ ให้ แ ก่ ผู ้ใ ช้ น้ า นอกจากนั้น บริ ษทั ฯ ยังบริ การให้คาแนะนาเกี่ยวกับระบบผลิตน้ าสะอาด ตลอดจน ระบบท่อส่ งน้ าภายในนิ คมอุตสาหกรรม หรื อโรงงานอุตสาหกรรม รับตรวจซ่ อม ซื้ อ-ขาย อุ ปกรณ์ และวัสดุ ที่เกี่ ยวกับการส่ งน้ าทุ กชนิ ด รวมทั้งรับเป็ นที่ ปรึ กษาใน การซ่อมบารุ งท่อส่ งน้ า เครื่ องมือเครื่ องจักรต่างๆ และสามารถร่ วมทุนกับเอกชนได้ ที่ต้ งั สานักงานใหญ่ เลขที่ 1 ซอยวิ ภ าวดี รั ง สิ ต 5 ถนนวิ ภ าวดี รั ง สิ ต แขวงจอมพล เขตจตุ จ ัก ร กรุ งเทพมหานคร 10900 เลขทะเบียนบริ ษทั 0107539000316 (เดิมเลขที่ บมจ.632) จดทะเบียนวันที่ 18 พฤศจิกายน 2539 เว็บไซต์ www.eastwater.com โทรศัพท์ (662) 272-1600 โทรสาร (662) 272-1601 ถึง 3 หุน้ สามัญของบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริ ษทั ฯ มีทุนจดทะเบียนและหุ น้ ชาระแล้ว ดังนี้ ทุนจดทะเบียน 1,663,725,149 หุน้ มูลค่าหุ น้ ละ 1 บาท รวมมูลค่า 1,663,725,149 บาท ทุนชาระแล้ว 1,663,725,149 หุน้ มูลค่าหุ น้ ละ 1 บาท รวมมูลค่า 1,663,725,149 บาท รายชื่ อกิจการทีบ่ ริษัทฯ ถือหุ้นตั้งแต่ ร้อยละ 10 ขึน้ ไป

ชื่ อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

บริษัท ยูนิเวอร์ แซล ยูทลี ติ สี้ ์ จากัด (มหาชน) (ยูยู) เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดี รังสิ ต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (662) 272-1688 โทรสาร: (662) 272-1690 ถึง 2 บริษัท ประปานครสวรรค์ จากัด เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดี รังสิ ต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร

บริ หารกิ จ การประปา และ บริ หารระบบบาบัดน้ าเสี ยใน รู ป สั ญ ญาสั ม ปทาน สั ญ ญา จ้ า งบริ ห ารและสั ญ ญ าเช่ า บริ หาร

สามัญ

ทุนจด ทะเบียน ชาระแล้ ว (ล้ านบาท) 510

บริ หารกิ จการประปา รวมถึ ง ผลิ ต และจ าหน่ า ยน้ าประปา ให้ แ ก่ ส านั ก งาน ป ร ะ ป า

สามัญ

40

ชนิด ของหุ้น

ส่วนที่ 1 หน้า 75

สัดส่ วน การถือหุ้น (ร้ อยละ) 100

(บมจ. ยูยู ถือหุน้ 99.99)


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ชนิด ของหุ้น

ทุนจด ทะเบียน ชาระแล้ ว (ล้ านบาท)

สัดส่ วน การถือหุ้น (ร้ อยละ)

ชื่ อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

10900 โทรศัพท์: (056) 256-690 และ (662) 272-1688 โทรสาร: (056) 256-526 และ (662) 272-1690 ถึง 2

นครสวรรค์แ ละงานบริ ก าร ผูใ้ ช้น้ า

บริษัท ประปาบางปะกง จากัด เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดี รังสิ ต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (038) 539-365 ถึง 7 และ (662) 272-1688 โทรสาร: (038) 539-368 และ (662) 272-1690 ถึง 2 บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จากัด เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดี รังสิ ต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจกั รกรุ งเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (038) 814-427 ถึง 9 และ (662) 272-1688 โทรสาร: (038) 814-427 และ (662) 272-1690 ถึง 2

บริ หารกิ จการประปา รวมถึ ง ผลิ ต และจ าหน่ า ยน้ าประปา ให้ แ ก่ ส านั ก งานประปาบาง ปะกงและงานบริ การผูใ้ ช้น้ า

สามัญ

40

(บมจ. ยูยู ถือหุน้ 99.99)

บริ หารกิ จการประปา รวมถึ ง ผลิ ต และจ าหน่ า ยน้ าประปา ให้ แ ก่ ส านั ก งาน ป ร ะ ป า ฉะเชิ ง เทราและงานบริ การ ผูใ้ ช้น้ า

สามัญ

100

(บมจ. ยูยู ถือหุน้ 98.99)

บุคคลอ้ างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัท ศูนย์ รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด (หุน้ สามัญ) 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุ งเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: (662) 009-9000 โทรสาร: (662) 009-9991 ผู้สอบบัญชี

โทรศัพท์: โทรสาร:

บริษัท ไพร้ ซวอเตอร์ เฮาส์ คูเปอร์ ส เอบีเอเอส จากัด 179/74-80 อาคารบางกอกซิ ต้ ีทาวเวอร์ ชั้น 15 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุ งเทพมหานคร 10120 (662) 286-9999 (662) 286-5050 ส่วนที่ 1 หน้า 76


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ส่ วนที่ 2 การจัดการและการกากับดูแลกิจการ 7. ข้ อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้น 7.1 หลักทรัพย์ ของบริษัทฯ 7.1.1 ทุนจดทะเบียน ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคห 2558 บริ ษ ัท ฯ หี ทุ น จดทะเบี ย นและเรี ยกนาระแล้ว 1,663.73 ล้านบาท แบ่งเป็ นาุ น้ สาหัญ 1,663.73 ล้านาุ ้น หูลค่าาุ น้ ละ 1 บาท ประวัติการเปลี่ยนแปลงทุนจดทะเบียนในระยะ ที่ผา่ นหา แสดงรายละเอียดในตารางที่ 7.1.1 ตารางที่ 7.1.1 ประวัติการเปลีย่ นแปลงทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ เดือน/ปี ทีจ่ ดทะเบียนการ เพิม่ /(ลด)ทุน ตุลาคห 2535

ทุนจดทะเบียน (ล้ านบาท) 10

ทุนจดทะเบียน เพิม่ /(ลด) (ล้ านบาท) -

ทุนชาระ แล้ ว (ล้ านบาท) 10

กันยายน 2539

490

480

490

กรกฎาคห 2540

1,000

510

1,000

หกราคห 2541

1,050

50

1,000

กุหภาพันธ์ 2547

1,000

(50)

1,000

กุหภาพันธ์ 2547

1,050

50

1,000

วัตถุประสงค์ ของการเพิม่ ทุน (ลดทุน) เสนอขายใา้แก่ กปภ. เพื่อใน้ในการจัดตั้ง บริ ษทั ฯ เสนอขายใา้แ ก่ กปภ.และ กนอ. ตาหหติ คณะรั ฐหนตรี เหื่ อวันที่ 6 สิ งาาคห 2539 เพื่ อ ใน้ ใ น การข ยายโค รงการต าห ที่ คณะรัฐหนตรี อนุหตั ิ เสนอขายต่อประนานนทัว่ ไปในราคาาุ ้น ละ 30 บาท มราคาพาร์ 10 บาท เพื่อใน้ใน การขยายงานของบริ ษทั ฯ เพื่ อ ใน้ร องรั บ การใน้สิ ท ธิ ข องพนั ก งาน บริ ษทั ตาหใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อาุน้ สาหัญของบริ ษทั ฯ ลดทุนจดทะเบียนจาก 1,050 ล้านบาท เป็ น 1,000 ล้านบาท เนื่ องจากใบสาคัญ แสดง สิ ท ธิ ที่ จะซื้ อาุ ้ น สาหั ญ ของบ ริ ษั ท ฯ าหดอายุลง เพิ่ ห ทุ น จดทะเบี ย นจาก 1,000 ล้านบาท เป็ น 1,050 ล้านบาท เพื่ อรองรั บ การออก ใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้ อาุ ้นสาหัญของ บริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2 าน้า 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน เดือน/ปี ทีจ่ ดทะเบียนการ เพิม่ /(ลด)ทุน หิถุนายน 2547

ทุนจดทะเบียน (ล้ านบาท) 1,665

ทุนจดทะเบียน เพิม่ /(ลด) (ล้ านบาท) 615

ทุนชาระ แล้ ว (ล้ านบาท) 1,000

พฤษภาคห 2548

1,665

0

1,299.69

ธันวาคห 2550

1,665

0

1,663.73

หกราคห 2551

1,663.73

(1.27)

1,663.73

แบบ 56-1 ประจาปี 2558 วัตถุประสงค์ ของการเพิม่ ทุน (ลดทุน) เพิ่ ห ทุ น จดทะเบี ย นจาก 1,050 ล้านบาท เป็ น 1,665 ล้านบาท เพื่ อรองรั บ การออก าุน้ สาหัญเพิ่หทุน และใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้อาุน้ สาหัญเพิ่หทุนของบริ ษทั ฯ ได้เปลี่ ย นแปลงหู ล ค่ า ที่ ต ราไว้ข องาุ ้ น สาหัญ จากหู ล ค่ าที่ ต ราไว้าุ้ น ละ 10 บาท เป็ น าุ ้ น ละ 1 บ าท ตาหหติ ที่ ป ระนุ ห วิสาหัญผูถ้ ือาุน้ ครั้งที่ 1/2548 ทุ น ที่ เรี ย กนาระแล้วจากการใน้สิท ธิ ต าห ใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้ อาุ ้นสาหัญของ บริ ษทั ฯ จดทะเบียนลดทุนเนื่องจากใบสาคัญแสดง สิ ทธิาหดอายุการใน้สิทธิแปลงสภาพ

7.1.2 หุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคห 2558 บริ ษทั หีาุ้นกูท้ ี่ยงั ไห่ได้ไถ่ถอนจานวน 2 นุด เป็ นจานวนเงิน 2,400 ล้าน บาท โดยหีรายละเอียดในตารางที่ 7.1.2 ตารางที่ 7.1.2 ประวัติการออกหุ้นกู้ หุ้นกู้ ครั้งทีอ่ อก 1/2558 นุดที่ 1

1/2558 นุดที่ 2

ประเภทหุ้นกู้

าุ ้ น กู้ ร ะ บุ นื่ อ ผู ้ ถื อ ประเภทไห่ ด้อ ยสิ ท ธิ ไห่หีาลักประกัน และ ไห่หีผแู ้ ทนผูถ้ ือาุน้ กู้ าุ ้ น กู้ ร ะ บุ นื่ อ ผู ้ ถื อ ประเภทไห่ ด้อ ยสิ ท ธิ ไห่หีาลักประกัน และ ไห่หีผแู ้ ทนผูถ้ ือาุน้ กู้

1,200

7 ปี

16 หิ.ย. 2565

3.84

ยอดคงเหลือ ณ 31 ธ.ค. 2558 (ล้ านบาท) 1,200

1,200

10 ปี

16 หิ.ย. 2568

4.18

1,200

มูลค่ าทีอ่ อก (ล้ านบาท)

อัตราดอกเบีย้ วันครบกาหนด อายุ (ร้ อยละต่อปี ) ไถ่ ถอน

อันดับความ น่ าเชื่ อถือของ หุ้นกู้(1) A+/Stable

A+/Stable

หมายเหตุ: (1) าุ้นกูไ้ ด้รับการจัดอันดับโดย บริ ษทั ทริ สเรทติ้ง จากัด เหื่อวันที่ 4 หิถุนายน 2558

ส่วนที่ 2 าน้า 2


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

7.2 ผู้ถือหุ้น ผูถ้ ือาุ ้น 10 รายแรก ของบริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน ณ วันปิ ดสหุดทะเบียนล่าสุ ด เหื่อวันที่ 30 ธันวาคห 2558 หีรายละเอียดดังตารางที่ 7.2 ตารางที่ 7.2 รายชื่ อผู้ถือหุ้นสู งสุ ด 10 รายแรกของบริษัทฯ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2558 ลำดับที่ ผู้ถือหุ้น 1 การประปาส่วนภูมิภาค 2 บริ ษทั ผลิตไฟฟ้า จากัด (มหาชน) 3 NORBAX INC.,13 4 การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 5 NORTRUST NOMINEES LTD. 6 BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES, LONDON BRANCH 7 บริ ษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด 8 กองทุนเปิ ดอเบอร์ดีนหุน้ ระยะยาว 9 กองทุนเปิ ดอเบอร์ดีนโกรท 10 กองทุนเปิ ดอเบอร์ดีนสมอลแค็พ ผูถ้ ือาุน้ อื่น

จำนวนหุ้น 668,800,000 311,443,190 106,165,400 76,000,000 42,184,575 29,812,100 28,346,620 27,465,700 25,598,900 25,133,300 322,775,364 1,663,725,149

สัดส่ วน (%) 40.20 18.72 6.38 4.57 2.54 1.79 1.70 1.65 1.54 1.51 19.40 100.00

หมายเหตุ 1. ผูถ้ ือหุ้นลาดับที่ 3 มีชื่อเป็ นบริ ษทั นิติบุคคลหรื อ NORMINEE ACCOUNT ซึ่งได้ตรวจสอบแล้วว่า ULTIMATE SHAREHOLDER ได้แก่ UTILICO EMERGING MARKETS LIMITED 2. ผูถ้ ือหุ้นในลาดับที่ 1 และ 4 เป็ นผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ที่เป็ นตัวแทนภาครัฐ และ ผูถ้ ื อหุ ้นลาดับที่ 2 เป็ นนิ ติบุคคล ซึ่ งผูถ้ ือหุ ้นทั้ง 3 ราย มีส่วนใน การกาหนดนโยบายการจัดการ โดยเสนอผูแ้ ทนเป็ นกรรมการให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุ้นพิจารณาแต่งตั้ง 3. ผูถ้ ือหุ้นในบริ ษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด ซึ่ งถื อใบแสดงสิ ทธิ ในผลประโยชน์ที่เกิ ดจากหลักทรัพย์อา้ งอิง (Non-Voting Depository Receipt : NVDR) ในรายการที่ 7 ไม่มีสิทธิ ออกเสี ยงในที่ประชุมผูถ้ ื อหุ้น ยกเว้น กรณี การใช้สิทธิ ออกเสี ยงเพื่อลงมติเกี่ ยวกับการเพิกถอนหุ้นออกจาก การเป็ นหลักทรัพย์จดทะเบี ยนในตลาดหลัก ทรัพย์ โดยจานวนหุ้นของบริ ษทั ที่นาไปออก NVDR นั้น อาจมี การเปลี่ ยนแปลงซึ่ งบริ ษทั ไม่ สามารถควบคุมได้ ผูล้ งทุนสามารถตรวจสอบจานวนหุ้นที่เป็ น NVDR ได้จากเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ (www.set.or.th)

7.3 นโยบายการจ่ ายเงินปันผล าากไห่ หีค วาหจาเป็ นอื่ นใด คณะกรรหการบริ ษ ทั ฯ หีนโยบายที่ จะเสนอใา้ที่ ประนุ หผูถ้ ื อาุ ้น พิจารณาจ่ายเงินปั นผลใา้แก่ผถู ้ ื อาุ ้นไห่นอ้ ยกว่าร้อยละ 30 ของกาไรสุ ทธิ ของงบการเงิ นรวหภายาลังาัก เงินสารองตาหกฎาหายในแต่ละปี รวหถึงควาหจาเป็ นและควาหเาหาะสหอื่นๆ ตาหที่บริ ษทั ฯ เา็นสหควร ในส่ วนของนโยบายการจ่ายเงินปั นผลของบริ ษทั ย่อยจะคานึ งถึงสภาพคล่องและแผนการลงทุนในอนาคต ประกอบในการพิจารณาการจ่ายเงินปั นผลตาหนโยบายของคณะกรรหการบริ ษทั ย่อย

ส่วนที่ 2 าน้า 3


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

8. โครงสร้ างการจัดการ 8.1 โครงสร้ างการจัดการ อี ส ท์ ว อเตอร์ เป็ นบริ ษ ัท จดทะเบี ย นในตลาดาลัก ทรั พ ย์แ า่ ง ประเทศไทย มตลท. หี ก ารจัด โครงสร้ า งองค์ ก รใา้ ส อดคล้ อ งกั บ าลั ก ธรรหาภิ บ าลส าารั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย น (Corporate Good governance) ของตลาดาลัก ทรั พ ย์แ า่ ง ประเทศไทย มตลท. ซึ่ งหุ่ ง เน้ น ใา้ เกิ ด ควาหโปร่ ง ใสในการ บริ าารงาน และสาหารถตรวจสอบได้ เพื่อประโยนน์สูงสุ ดของผูห้ ีส่วนได้เสี ยซึ่ งประกอบด้วย ผูถ้ ื อาุ ้น ลู กค้า ทั้งภาครัฐและเอกนน ตลอดจนประนานนที่ ได้รับบริ การน้ าดิ บ และน้ าประปาด้วยประสิ ทธิ ภาพ สู งสุ ด คณะกรรหการบริ ษ ัท ฯ ประกอบด้วยกรรหการอิ ส ระอย่างน้อ ย 1 ใน 3 ของจานวนกรรหการ ทั้งาหดโดยหีจานวนไห่นอ้ ยกว่า 3 คน เพื่อใา้เกิดการถ่วงดุลอานาจระาว่างกรรหการที่อาจหีผลประโยนน์ ได้เสี ยกับบริ ษทั ฯ เพื่อใา้หีระบบการบริ าารและการจัดการที่ดี หีประสิ ทธิ ภาพและหีควาหโปร่ งใสต่อผูท้ ี่ เกี่ ยวข้องทุ กฝ่ าย และได้กาานดขอบเขต อานาจาน้าที่ และควาหรับผิดนอบของคณะกรรหการบริ ษทั ฯ และคณะกรรหการนุ ดย่อยต่างๆ ไว้ในคู่หือคณะกรรหการบริ ษทั ฯ และกฎบัตรของคณะกรรหการนุ ดย่อย ต่างๆ ไว้อย่างนัดเจน ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ กาานดโครงสร้างองค์กร ดังรายละเอียดแสดงในแผนภาพที่ 8.1

แผนภาพที่ 8.1 แผนผังโครงสร้ างองค์ กร

ส่วนที่ 2 าน้า 4


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

8.2 คณะกรรมการบริษัทฯ รายชื่ อผู้บริหาร และเลขานุการบริษัทฯ 8.2.1 คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรหการบริ ษทั ฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรหการนุ ดย่อยที่หีควาหเนี่ ยวนาญนานาญและทักษะใน ด้านต่ างๆ ประกอบ เน่ น ด้านธุ รกิ จ อุ ตสาากรรห ด้านบัญ นี และการเงิ น ด้านกลยุท ธ์ เป็ นต้น เพื่ อน่ วย พิจารณากลัน่ กรองงานของฝ่ ายบริ าารใา้หีควาหถูกต้อง นัดเจน และสหบูรณ์ ก่อนนาเสนอคณะกรรหการ บริ ษทั ฯ ซึ่งคณะกรรหการนุดย่อย หี 5 นุด ดังนี้  คณะกรรหการตรวจสอบ  คณะกรรหการบริ าารและการลงทุน  คณะกรรหการบริ าารควาหเสี่ ยง  คณะกรรหการธรรหาภิบาลและสรราา  คณะกรรหการก าานดเกณฑ์ และประเหิ น ผลการด าเนิ น งานของบริ ษ ัท และพิ จารณา ค่าตอบแทน 1) ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการบริษัทฯ 1 หี าน้าที่ รับผิดนอบและจัดการกิ จการของบริ ษทั ฯ ใา้เป็ นไปตาหกลยุทธ์และแผนการดาเนิ น ธุ รกิจ มCorporate plan) เป้าาหาย ข้อบังคับ และหติจากการประนุหผูถ้ ือาุน้ 2 กากับดูแลกิจการโดยตั้งหัน่ ในควาหซื่ อสัตย์ สุ จริ ต โปร่ งใส โดยคานึ งถึงผูถ้ ือาุ ้น และผูห้ ีส่วน ได้เสี ยทุกฝ่ าย 3 คณะกรรหการบริ ษทั ฯ สาหารถหอบอานาจการบริ าารและจัดการใา้กรรหการคนานึ่ งารื อ าลายคน เพื่อดาเนินการตาหหติที่คณะกรรหการบริ ษทั ฯ กาานดไว้ได้ เว้นแต่บริ ษทั ฯ หีขอ้ บังคับไห่ใา้ใน้ อานาจดังกล่าว โดยหีการระบุไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร 2) รายชื่ อคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคห 2558 คณะกรรหการบริ ษ ัท ฯ ประกอบด้วยกรรหการอิ ส ระ จ านวน 7 คน กรรหการที่ ไห่ เป็ นผูบ้ ริ า าร 10 คน และกรรหการที่ เป็ นผูบ้ ริ าารอยู่ระาว่างการสรราา ดังรายละเอีย ด แสดงในตารางที่ 8.2.1 ตารางที่ 8.2.1 คณะกรรมการบริษัทฯ ลาดับที่ 1. 2.

รายชื่ อ นายวิทยา ฉายสุ วรรณ นายอหร เลาาหนตรี

การดารงตาแหน่ งในคณะกรรมการบริษัทฯ และ คณะกรรมการชุ ดย่ อยของบริษัทฯ ประธานคณะกรรหการบริ ษทั ฯ มกรรหการอิสระ กรรหการบริ ษทั ฯ มกรรหการอิสระ และ ประธานคณะกรรหการตรวจสอบ และ กรรหการธรรหาภิบาลและสรราา ส่วนที่ 2 าน้า 5


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

ลาดับที่

รายชื่ อ

3.

นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร

4.

นายนนินทร์ ทินนโนติ

5.

พลตารวจตรี วนิ ยั สังข์ประไพ

6.

พันเอกเปรหจิรัสย์ ธนไทยภักดี

7.

นางธันดา จิตหาาวงศ์

8. 9. 10.

นายวีรพงศ์ ไนยเพิ่ห นายนนินทร์ เนาวน์นิรัติศยั นายเอกนัย อัตถกาญน์นา

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

การดารงตาแหน่ งในคณะกรรมการบริษัทฯ และ คณะกรรมการชุ ดย่ อยของบริษัทฯ กรรหการบริ ษทั มกรรหการอิสระ และ ประธานคณะกรรหการบริ าารและการลงทุน และกรรหการ กาานดเกณฑ์และประเหิ นผลการดาเนิ นงานของบริ ษ ทั ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน กรรหการบริ ษทั มกรรหการอิสระ และ กรรหการธรรหาภิบาลและสรราา และ กรรหการตรวจสอบ กรรหการบริ ษทั มกรรหการอิสระ และ ประธานคณะกรรหการธรรหาภิบาลและสรราา และ กรรหการบริ าารควาหเสี่ ยง กรรหการบริ ษทั มกรรหการอิสระ และ กรรหการกาานดเกณฑ์และประเหินผลการดาเนิ นงานของ บริ ษทั ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน และ กรรหการบริ าารและการลงทุน และ กรรหการบริ าารควาหเสี่ ยง กรรหการบริ ษทั มกรรหการอิสระ และ กรรหการธรรหาภิบาลและสรราา และ กรรหการตรวจสอบ กรรหการบริ ษทั ฯ กรรหการบริ ษทั ฯ กรรหการบริ ษทั ฯ

3) การประชุ มคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรหการบริ ษทั ฯ จะกาานดวันประนุ หล่วงาน้าตลอดทั้งปี เพื่อใา้กรรหการสาหารถจัดสรร เวลาการเข้าร่ วหประนุ หได้ทุกครั้ง โดยประธานคณะกรรหการและกรรหการผูอ้ านวยการใาญ่จะร่ วหกัน กาานดขอบเขต และเรื่ องที่ จะกาานดเป็ นระเบี ยบวาระการประนุ ห แล้วหอบาหายเลขานุ ก ารบริ ษ ทั ฯ บรรจุเรื่ องที่สาคัญในระเบียบวาระเรื่ องเพื่อพิจารณา เรื่ องเพื่อทราบ และเรื่ องอื่นๆ ตาหลาดับควาหสาคัญ และเร่ งด่วน โดยหีนโยบายใา้ฝ่ายบริ าารนาส่ งานังสื อเนิ ญประนุ หพร้อหระเบียบวาระการประนุ ห และ เอกสารประกอบระเบียบวาระต่างๆ ก่อนการประนุ หล่วงาน้าอย่างน้อย 5 วันทาการ เพื่อใา้คณะกรรหการ บริ ษทั ฯ ได้หีเวลาศึกษาข้อหูลก่ อนเข้าประนุ หทุ กครั้ง าากกรรหการบริ ษทั ฯ ท่านใดหี ส่วนเกี่ ยวข้องารื อ ส่วนที่ 2 าน้า 6


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

หีส่วนได้เสี ยในแต่ละวาระการประนุ ห จะต้องงดออกเสี ยงลงหติารื อออกจากที่ประนุ ห เพื่อเป็ นการรักษา สิ ทธิารื อประโยนน์สูงสุ ดของบริ ษทั ฯ ในการประนุ ห ทุ ก ครั้ งจะหี ก ารก าานดระเบี ย บวาระการประนุ ห ที่ นัด เจน โดยในการประนุ ห คณะกรรหการบริ ษทั ฯ กรรหการทุกคนสาหารถอภิปรายและแสดงควาหคิดเา็ นได้อย่างเปิ ดเผย เป็ นอิสระ และหีการจดบันทึกการประนุ หคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ซึ่ งจะเวียนใา้คณะกรรหการทุกท่านพิจารณาภายใน 7 วัน เพื่อใา้กรรหการได้ตรวจสอบก่อนการรับรองการประนุ หในการประนุ หครั้งถัดไป ทั้งนี้ หติที่ประนุห และข้อแนะนาของคณะกรรหการบริ ษทั ฯ จะต้องหีควาหนัดเจน เพื่อใน้อา้ งอิงประกอบการทางานของฝ่ าย บริ าารตาหหติคณะกรรหการ ในปี 2558 คณะกรรหการบริ ษทั ฯ หีการประนุ หรวหทั้งสิ้ น 16 ครั้ง โดยหีสถิ ติการเข้าร่ วหประนุ ห ของกรรหการบริ ษทั ฯ แต่ละคนสรุ ปได้ ดังนี้ รายชื่ อคณะกรรมการ 1 นายวิทยา 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

นายไหตรี นายสาัส นายสหนึก นายอหร นายไพบูลย์ นายนนินทร์ พลตารวจตรี วินยั พันเอกเปรหจิรัสย์ นางธันดา นายวีรพงศ์ นายนนินทร์ นายเอกนัย นายวันนัย

ฉายสุวรรณ

ประธานคณะกรรหการ

อินทุสุต ประทักษ์นุกูล ลิ้หทองสิ ทธิคุณ เลาาหนตรี ศิริภาณุเสถียร ทินนโนติ สังข์ประไพ ธนไทยภักดี จิตหาาวงศ์ ไนยเพิ่ห เนาวน์นิรัติศยั อัตถกาญน์นา าล่อวัฒนตระกูล

อดีตกรรหการ อดีตกรรหการ อดีตกรรหการ กรรหการ กรรหการ กรรหการ กรรหการ กรรหการ กรรหการ กรรหการ กรรหการ กรรหการ กรรหการ และกรรหการ ผูอ้ านวยการใาญ่

การเข้ าร่ วมประชุ ม/ การประชุ มทั้งหมด (ครั้ง) 16/16

เริ่ หเข้ารับตาแาน่งเหื่อ 1 ธ.ค. 2557

9/13 12/13 10/15 16/16 16/16 14/16 15/16 15/16 15/16 9/16 2/3 1/1 6/7

1 ธ.ค. 2557 – 1 ต.ค. 2558 25 เห.ย. 2555 – 30 ก.ย. 2558 22 เห.ย. 2557 – 30 พ.ย. 2558 เริ่ หเข้ารับตาแาน่งเหื่อ 1 ธ.ค. 2557 เริ่ หเข้ารับตาแาน่งเหื่อ 1 ธ.ค. 2557 เริ่ หเข้ารับตาแาน่งเหื่อ 1 ธ.ค. 2557 เริ่ หเข้ารับตาแาน่งเหื่อ 8 ธ.ค. 2557 เริ่ หเข้ารับตาแาน่งเหื่อ 8 ธ.ค. 2557 เริ่ หเข้ารับตาแาน่งเหื่อ 24 ธ.ค. 2557 เริ่ หเข้ารับตาแาน่งเหื่อ 25 เห.ย. 2555 เริ่ หเข้ารับตาแาน่งเหื่อ 1 ต.ค. 2558 เริ่ หเข้ารับตาแาน่งเหื่อ 1 ธ.ค. 2558 30 ส.ค. 2556 – 31 พ.ค. 2558

ช่ วงระยะเวลาการดารงตาแหน่ ง

4) การประชุ มกรรมการอิสระและกรรมการทีไ่ ม่ เป็ นผู้บริหาร คณะกรรหการหีนโยบายกาานดใา้หีการประนุ หกรรหการอิสระร่ วหกัน และการประนุ หกรรหการ โดยไห่หีกรรหการที่เป็ นผูบ้ ริ าาร ารื อฝ่ ายบริ าารเข้าร่ วหการประนุห โดยในปี 2558 หีการประนุหกรรหการ อิสระและกรรหการที่ไห่เป็ นผูบ้ ริ าาร 1 ครั้ง เพื่อเปิ ดโอกาสใา้อภิปรายปั ญาาต่างๆ ที่เกี่ยวกับการาารายได้ จากธุ รกิจใาห่ และการขยายธุ รกิจสู่ ภูหิภาคอาเซี ยน การป้ องกันปั ญาาข้อขัดแย้งกับนุ หนนในการก่อสร้าง โครงการขนาดใาญ่ แผนการสื บ ทอดตาแาน่ งกรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ และนโยบายการกากับดู แล กิจการบริ ษทั ในเครื อ ส่วนที่ 2 าน้า 7


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

8.2.2 ผู้บริหารของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคห 2558 ผูบ้ ริ าารของบริ ษทั ฯ หีจานวน 11 คน ประกอบด้วย รักษาการ กรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ รองกรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ ผูอ้ านวยการอาวุโส และผูอ้ านวยการฝ่ าย ดังรายละเอียดแสดงในตารางที่ 8.2.2 ตารางที่ 8.2.2 ผู้บริหารของบริษัทฯ ลาดับที่ รายชื่ อ 1. นายเจริ ญสุ ข วรพรรณโสภาค 2. 3.

นายนาศักดิ์ นายเนิดนาย

วรรณวิสูตร ปิ ติวนั รากุล

4. 5. 6.

นางน้ าฝน นางธิ ดารันต์ นางวิราวรรณ

รัษฎานุกูล ไกรประสิ ทธิ์ ธารานนท์

7. 8. 9. 10. 11.

นายโสกุล นางสาวกันยานาถ นางสาวจินดา นางสาวดวงรัตน์ นางสาวธารทิพย์

เนื้อภักดี วีระพันธ์ หไาสวริ ยะ พิทกั ษ์ โพธิสรณ์

ตาแหน่ ง รักษาการกรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ และ รองกรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ สายปฏิบตั ิการ รองกรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ สายการเงินและบัญนี ผูอ้ านวยการอาวุโสประจาส านักกรรหการผูอ้ านวยการ ใาญ่ ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายพัฒนาธุ รกิจ ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายการเงินและบัญนี ผู ้อ านวยการส านั ก กรรหการผู ้อ านวยการใาญ่ และ เลขานุการบริ ษทั ฯ ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายวิศวกรรห ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายสื่ อสารองค์กร ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายอานวยการ รักษาการผูอ้ านวยการ ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล รักษาการผูอ้ านวยการ ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

8.2.3 เลขานุการบริษัทฯ คณะกรรหการบริ ษั ท ฯ มประนุ ห ครั้ งที่ 2/2558 – 16 กุ ห ภาพั น ธ์ 2558 ได้ อ นุ หั ติ แ ต่ ง ตั้ ง นางวิราวรรณ ธารานนท์ เป็ นเลขานุการบริ ษทั ฯ โดยหีประวัติพอสังเขปดังนี้ อายุ 56 ปี ตาแหน่ ง  ผูอ้ านวยการ สานักกรรหการผูอ้ านวยการใาญ่และเลขานุการบริ ษทั ฯ การศึกษา  MBA, สถาบันบัณฑิตบริ าารธุ รกิจ ศศินทร์ จุฬาลงกรณ์หาาวิทยาลัย  บัญนีบณั ฑิต คณะพาณิ นยศาสตร์และการบัญนี จุฬาลงกรณ์หาาวิทยาลัย

ส่วนที่ 2 าน้า 8


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

อบรมหลักสู ตรสาคัญ  หลัก สู ต ร Director Certification Program (DCP 192/2014) สมาคมส่ งเสริ ม สถาบัน กรรมการ บริ ษทั ไทย  หลั ก สู ตร Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG 8/2014) สมาคมส่ งเสริ มส ถาบั น กรรมการบริ ษทั ไทย  ห ลั ก สู ต ร Management Development Program ส ถ าบั น บั ณ ฑิ ต บ ริ ห ารธุ ร กิ จศ ศิ น ท ร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  หลักสู ตร Organization Risk Management Program สมาคมบริ ษทั จดทะเบียนไทย  หลักสู ตร Company Secretary Program สมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย  Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA.,2013 (Module 2)  Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA.,2012 (Module 1)  าลักสู ตร “กฎาหายสาารับการดาเนินกิจการที่เป็ นบริ การสาธารณะ” สถาบันพระปกเกล้า ประสบการณ์การทางาน บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก ก.พ.58 –ปัจจุบัน ผูอ้ านวยการ สานักกรรหการผูอ้ านวยการใาญ่และเลขานุการบริ ษทั ฯ ก.ย.56 – ก.พ. 58 ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล ม.ค. 52 – ก.ย.56 ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายอานวยการ เลขานุ การบริ ษทั ฯ มีหน้าที่สนับสนุนการกากับดูแลกิจการของคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ในการปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี จัดท าและเก็ บ เอกสารส าคัญของบริ ษ ทั ฯ ตามกฎหมาย รวมทั้งการเปิ ดเผยข้อมู ล ยังหน่ วยงานก ากับ ดู แล ที่เกี่ยวข้อง และรายงานโดยทันทีกรณี ที่อาจมีหรื อมีเหตุการณ์ ที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อบริ ษทั ฯ และตลาด ทุนโดยรวมอย่างมีนยั สาคัญ นอกจากนี้ เลขานุ การบริ ษทั ฯ ยังมีหน้าที่จดั ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ฯ และ การประชุ ม ผูถ้ ื อ หุ ้น ตามข้อ บัง คับ ของบริ ษ ัท ฯ ตลอดจนการจัด ให้มี ก ารประเมิ น ผลการปฏิ บ ัติ งานของ คณะกรรมการบริ ษ ัท ฯ ทั้งแบบองค์ค ณะ และแบบรายบุ ค คล เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการด าเนิ น งานของ คณะกรรมการ ตลอดจนการจัด ปฐมนิ เทศกรรมการและผู ้บ ริ หารให้ ไ ด้ รั บ ความรู ้ และเข้ า อบรม หลักสู ตรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิหน้าที่ของกรรมการและผูบ้ ริ หาร

ส่วนที่ 2 าน้า 9


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

8.3 อานาจหน้ าที่ของกรรมการผู้อานวยการใหญ่ 1. รับผิดนอบการบริ าารกิ จการของบริ ษทั ฯ ตาหนโยบายที่คณะกรรหการบริ ษทั ฯ กาานด โดย บริ าารจัดการใา้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และแผนวิสาากิ จ มCorporate Plan) ที่ได้รับการอนุ หตั ิ จากคณะกรรหการบริ ษทั ฯ และหติที่ประนุหผูถ้ ือาุ ้นโดยเป็ นไปตาหระเบียบ วัตถุประสงค์ภายในขอบเขต ของกฎาหายและข้อ บัง คับ ของบริ ษ ัท ฯ รวหทั้ง การควบคุ ห การด าเนิ น งานโดยรวหใา้ ส อดคล้อ งกับ กฎาหายว่าด้วยาลักทรัพย์และตลาดาลักทรัพย์ และกฎาหายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจ รวหทั้งระเบียบและ แนวปฏิบตั ิต่างๆ 2. รับผิดนอบต่อการบริ าารกิ จการทั้งปวงของบริ ษทั ฯ ในการพัฒนาและจัดการระบบท่อส่ งน้ า สายาลักในพื้นที่บริ เวณนายฝั่งทะเลภาคตะวันออกที่ได้รับโอนสิ ทธิ หาดาเนิ นการเพื่อการจาาน่ ายน้ าดิ บ ใา้แก่นิคหอุตสาากรรหโรงงานอื่นๆ ตลอดจนธุ รกิจที่เกี่ยวข้อง ทั้ง นี้ ในกรณี ที่ หี ก ารหอบอ านาจจากคณะกรรหการบริ ษ ัท ฯ ใา้ ก รรหการผู ้อ านวยการใาญ่ ปฏิบตั ิการแทนจะไห่รวหถึงการอนุ หตั ิใา้ทารายการที่กรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ารื อบุคคลที่อาจหีส่วนได้ เสี ย ารื อหีควาหขัดแย้งทางผลประโยนน์ 8.4 ค่ าตอบแทนของคณะกรรมการและผู้บริ หาร 8.4.1 ค่ าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรหการกาานดเกณฑ์และประเหินผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน จะเป็ นผูพ้ ิจารณากลัน่ กรองค่าตอบแทนของกรรหการบริ ษทั ฯ และผูบ้ ริ าารในเบื้องต้นทุกปี ก่อนนาเสนอ ยังคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ใา้ควาหเา็นนอบ เพื่อนาเสนอยังที่ประนุหสาหัญผูถ้ ือาุน้ ประจาปี พิจารณาอนุหตั ิ โดยอัตราค่าตอบแทนใา้เป็ นไปตาหสัดส่ วนระยะเวลาที่กรรหการดารงตาแาน่ ง ซึ่ งอ้างอิงจากกาไรสุ ทธิ เงิ นปั น ผล ผลการดาเนิ น งานของกรรหการบริ ษ ัท ฯ และเปรี ยบเที ยบกับ บริ ษ ัท ฯ อื่ น ในอุ ตสาากรรห เดี ย วกัน โดยในปี งบประหาณ 2558 ที่ ป ระนุ ห ผู ้ถื อ าุ ้ น ในการประนุ ห สาหัญ ผู ้ถื อ าุ ้ น ประจ าปี 2557 ม27 เหษายน 2558 ได้หีหติอนุหตั ิค่าตอบแทนกรรหการสาารับปี 2558 แยกเป็ นดังนี้ 1) ค่ าตอบแทนรายเดือนและค่ าเบีย้ ประชุ มของกรรมการบริษัทฯ และกรรมการชุ ดย่ อย 1.1 คณะกรรมการบริษัทฯ  ค่าตอบแทนรายเดือน เดือนละ 30,000 บาท/คน  เบี้ยประนุห ครั้งละ 10,000 บาท/คน ต่อครั้งที่เข้าประนุห ทั้ ง นี้ าากเดื อ นใดหี ก ารประนุ ห เกิ น 1 ครั้ ง คงใา้ ไ ด้ เบี้ ยประนุ ห เพี ย ง 1 ครั้ ง โดยใา้ ป ระธาน คณะกรรหการบริ ษทั ฯ ได้รับเพิ่หขึ้นอีกร้อยละ 25 1.2 คณะกรรมการชุ ดย่ อย  ไห่หีค่าตอบแทนรายเดือน  เบี้ยประนุหครั้งละ 10,000 บาท/คน ต่อครั้งที่เข้าประนุห ส่วนที่ 2 าน้า 10


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ทั้งนี้ าากเดือนใดหีการประนุหคณะกรรหการนุดย่อยเกิน 1 ครั้ง ใา้จ่ายได้ไห่เกิน 2 ครั้ง/คน/เดือน 2) ค่ าตอบแทน (โบนัส) ของคณะกรรมการบริษัทฯ ที่ประนุ หสาหัญผูถ้ ือาุ ้นประจาปี 2557 ม 27 เหษายน 2558 หีหติอนุ หตั ิคงค่าตอบแทน มโบนัส ของคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ในอัตรา 486,066 บาท/คน โดยใา้ประธานคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ได้รับเพิ่หขึ้นอีก ร้อยละ 25 ซึ่ งอัตราดังกล่าวเป็ นอัตราที่คงไว้ต้ งั แต่ปี 2554 ดังหีรายละเอียดในตาราง 8.4.1

ฉายสุวรรณ

2

น.ต.ศิธา

ทิวารี

3 4 5 6 7 8 9 10

ห.ล.ปาณสาร นายโนติศกั ดิ์ พล.อ.นูนยั นายปริ ญญา นายไทยรัตน์ นายกัลยาณะ พล.อ. สานาติ นายวีรพงศ์

าัสดินทร อาสภวิริยะ บุญย้อย นาคฉัตรี ย ์ โนติกะพุกกะณะ วิภตั ิภูหิประเทศ พิพิธกุล ไนยเพิ่ห

ประธาน คณะกรรหการ อดีตประธาน1 คณะกรรหการ อดีตกรรหการ1 อดีตกรรหการ1 อดีตกรรหการ1 อดีตกรรหการ1 อดีตกรรหการ1 อดีตกรรหการ1 อดีตกรรหการ1 กรรหการ

-

450,000

50,631.88

-

-

-

-

556,950.63

-

80,000

-

360,000

445,560.50 445,560.50 445,560.50 445,560.50 445,560.50 445,560.50 445,560.50 486,066.00

12

เบีย้ ประชุม4

150,000

12

คณะกรรมการบริษัทฯ

โบนัสจากผลดาเนินงาน ปี 2557 ทีจ่ ่ ายในปี 2558

นายวิทยา

ค่ าตอบแทนรายเดือนกรรมการ ตามจานวนเดือนทีด่ ารงตาแหน่ ง

1

เบีย้ ประชุม4

รายชื่ อคณะกรรมการ

คณะกรรมการชุดย่ อย

จานวนเดือนทีด่ ารงตาแหน่ งปี 2558

ตารางที่ 8.4.1 ค่ าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารในปี งบประมาณ 2558 (หน่ วย:บาท)

ส่วนที่ 2 าน้า 11


ประทักษ์นุกลู ลิห้ ทองสิ ทธิคุณ าล่อวัฒนตระกูล อินทุสุต เลาาหนตรี ศิริภาณุเสถียร ทินนโนติ สังข์ประไพ ธนไทยภักดี จิตหาาวงศ์ เนาวน์นิรัติศยั อัตถกาญน์นา

กรรหการ2 กรรหการ กรรหการ กรรหการ กรรหการ3 กรรหการ3 กรรหการ3 กรรหการ3 กรรหการ3 กรรหการ3 กรรหการ2 กรรหการ

9 11 5 9 12 12 12 12 12 12 3 1

80,000 90,000 40,000 70,000 120,000 120,000 110,000 110,000 110,000 120,000 20,000 10,000

คณะกรรมการชุดย่ อย

เบีย้ ประชุม4

250,000 80,000 100,000 270,000 300,000 270,000 100,000 290,000 270,000 -

โบนัสจากผลดาเนินงาน ปี 2557 ทีจ่ ่ ายในปี 2558

นายสาัส นายสหนึก นายวันนัย นายไหตรี นายอหร นายไพบูลย์ นายนนินทร์ พลตารวจตรี วนิ ยั พันเอกเปรหจิรัสย์ นางธันดา นายนนินทร์ นายเอกนัย

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ค่ าตอบแทนรายเดือนกรรมการ ตามจานวนเดือนทีด่ ารงตาแหน่ ง

11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22

คณะกรรมการบริษัทฯ

รายชื่ อคณะกรรมการ

เบีย้ ประชุม4

จานวนเดือนทีด่ ารงตาแหน่ งปี 2558

บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

270,000 330,000 150,000 270,000 360,000 360,000 360,000 360,000 360,000 360,000 90,000 30,000

486,066.00 324,044.00 486,066.00 40,505.50 40,505.50 40,505.50 40,505.50 40,505.50 40,505.50 -

หมายเหตุ : 1. อดีตประธานคณะกรรหการบริ ษทั ฯ และอดีตกรรหการบริ ษทั ฯ ที่พน้ วาระการดารงตาแาน่งก่อนวันที่ 31 ธันวาคห 2557 2. ค่าตอบแทนกรรหการบริ ษทั ฯ ของนายสาัส ประทักษ์นุกูล จานวน 1,086,066 บาท และของนายนนิ นทร์ เนาวน์นิรัติศยั จานวน 110,000 บาท ได้ดาเนินการตาหระเบียบของบหจ. ผลิตไฟฟ้า มEGCO) ที่โอนค่าตอบแทนในฐานะกรรหการของบริ ษทั ฯ ใา้กบั หูลนิธิไทยรักษ์ป่า 3. ได้รับการแต่งตั้งใา้ดารงตาแาน่งกรรหการบริ ษทั ฯ ตาหหติคณะกรรหการบริ ษทั ครั้งที่ 14/2557 เหื่อวันที่ 24 ธันวาคห 2557 4. จานวนครั้งที่เข้าร่ วหประนุห หีรายการสรุ ปย่อที่ส่วนที่ 2 าน้า 7

8.4.2 ค่ าตอบแทนผู้บริหาร กรรหการที่ เป็ นผูบ้ ริ าารและผูบ้ ริ า ารของบริ ษ ทั ฯ จานวน 11 คน ได้รับ ผลประโยนน์ ตอบแทน สาารับผลการดาเนินงานในปี 2558 ในรู ปเงินเดือนและค่าตอบแทน เป็ นเงินรวหทั้งสิ้ น 40,393,587.65 บาท

ส่วนที่ 2 าน้า 12


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

8.5 การถือครองหลักทรัพย์ ของกรรมการและผู้บริหาร ข้อหูล ณ วันที่ 31 ธันวาคห 2558 ลาดับ

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8.

9.

10.

11.

รายชื่ อ

ตาแหน่ ง

จานวนหุ้นที่ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 57

จานวนหุ้นที่ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 58

จานวนหุ้นที่ เปลีย่ นแปลง เพิม่ ขึน้ /ลดลง ระหว่างปี 2558

นายวิทยา ฉายสุวรรณ1/ คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นายอมร เลาหมนตรี 1/ คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นายชนินทร์ ทินนโชติ1/ คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร1/ คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ พันเอกเปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี2/ คู่สมรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติ ภาวะ พลตารวจตรี วิชยั สังข์ประไพ2/ คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นางธัชดา จิตมหาวงศ์3/ คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นายชนินทร์ เชาวน์นิรัติศยั 4/ คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นายเอกชัย อัตถกาญน์นา5/ คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นายเจริ ญสุข วรพรรณโสภาค

ประธานคณะกรรมการ

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

กรรมการอิสระ

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

กรรมการอิสระ

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

กรรมการอิสระ

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

กรรมการอิสระ

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

กรรมการอิสระ

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

กรรมการอิสระ

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

กรรมการ

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

กรรมการ

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

กรรมการ

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

ไม่มี ไม่มี

รักษาการกรรมการ ผูอ้ านวยการใหญ่

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไห่หี

ไห่หี

ไห่หี

คู่สหรสและบุตรที่ยงั ไห่บรรลุนิติ ภาวะ

ส่วนที่ 2 าน้า 13


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน ลาดับ

รายชื่ อ

12.

นายนาศักดิ์ วรรณวิสูตร

13.

คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นางน้ าฝน รัษฎานุกูล

14.

คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นางธิดารัชต์ ไกรประสิ ทธิ์

15.

คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นายเชิดชาย ปิ ติวชั รากุล

16.

คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นางวิราวรรณ ธารานนท์

17.

คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นางสาวกันยานาถ วีระพันธุ์

18.

คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นายโสกุล เชื้ อภักดี

19.

คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นางสาวจินดา มไหสวริ ยะ6/

20.

คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นางสาวดวงรัตน์ พิทกั ษ์7/

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ตาแหน่ ง

จานวนหุ้นที่ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 57

จานวนหุ้นที่ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 58

จานวนหุ้นที่ เปลีย่ นแปลง เพิม่ ขึน้ /ลดลง ระหว่างปี 2558

รองกรรมการ ผูอ้ านวยการใหญ่สาย การเงินและบัญชี

549,000

549,000

ไม่มี

24,580

24,580

ไม่มี

2,000

2,000

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

630,000

630,000

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

222,000

222,000

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

250

250

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

60,100

ไม่มี

60,100

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ผูอ้ านวยการอาวุโสฝ่ าย พัฒนาธุรกิจ

ผูอ้ านวยการอาวุโสฝ่ าย การเงินและบัญชี

ผูอ้ านวยการอาวุโส ประจาสานักกรรมการ ผูอ้ านวยการใหญ่

ผูอ้ านวยการสานัก กรรมการผูอ้ านวยการ ใหญ่และเลขานุการ บริ ษทั ฯ

ผูอ้ านวยการฝ่ ายสื่ อสาร องค์กร

ผูอ้ านวยการฝ่ าย วิศวกรรม

ผูอ้ านวยการฝ่ าย อานวยการ

ผูช้ ่วยผูอ้ านวยการฝ่ าย ทรัพยากรบุคคล และ

ส่วนที่ 2 าน้า 14


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน ลาดับ

รายชื่ อ

ตาแหน่ ง

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

จานวนหุ้นที่ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 57

จานวนหุ้นที่ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 58

จานวนหุ้นที่ เปลีย่ นแปลง เพิม่ ขึน้ /ลดลง ระหว่างปี 2558

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ไม่มี ภาวะ หมายเหตุ: 1/ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรหการบริ ษทั ฯ เหื่อวันที่ 1 ธันวาคห 2557 2/ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรหการบริ ษทั ฯ เหื่อวันที่ 8 ธันวาคห 2557 3/ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรหการบริ ษทั ฯ เหื่อวันที่ 24 ธันวาคห 2557 4/ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรหการบริ ษทั ฯ เหื่อวันที่ 1 ตุลาคห 2558 5/ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นกรรหการบริ ษทั ฯ เหื่อวันที่ 1 ธันวาคห 2558 6/ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นผูบ้ ริ าารบริ ษทั ฯ เหื่อวันที่ 1 กรกฎาคห 2558 7/ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นผูบ้ ริ าารบริ ษทั ฯ เหื่อวันที่ 21 กรกฎาคห 2558 8/ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นผูบ้ ริ าารบริ ษทั ฯ เหื่อวันที่ 1 ตุลาคห 2558

ไม่มี

ไม่มี

รักษาการผูอ้ านวยการ ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล

21.

คู่ ส มรสและบุ ต รที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภาวะ นางสาวธารทิพย์ โพธิสรณ์8/

รักษาการผูอ้ านวยการ ฝ่ ายเทคโนโลยี สารสนเทศ

รายงานการถือครองหลักทรัพย์ ของกรรมการและผู้บริหารทีล่ าออกระหว่ างปี 2558 ลาดับ

รายชื่ อ

ตาแหน่ ง

จานวนหุ้นที่ ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 57

จานวนหุ้นที่ ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 58

กรรหการ

5.

นายสาัส ประทักษ์นุกูล คู่สหรสและบุตรที่ยงั ไห่บรรลุนิติภาวะ นายไหตรี อินทุสุต คู่สหรสและบุตรที่ยงั ไห่บรรลุนิติภาวะ นายสหนึก ลิ้หทองสิ ทธิ คุณ คู่สหรสและบุตรที่ยงั ไห่บรรลุนิติภาวะ นายปิ ติพงษ์ นีรานนท์1/

ไห่หี ไห่หี ไห่หี ไห่หี ไห่หี ไห่หี ไห่หี

ไห่หี ไห่หี ไห่หี ไห่หี ไห่หี ไห่หี ไห่หี

จานวนหุ้นที่ เปลีย่ นแปลง เพิม่ ขึน้ /ลดลง ระหว่างปี 2558 ไห่หี ไห่หี ไห่หี ไห่หี ไห่หี ไห่หี ไห่หี

6.

คู่สหรสและบุตรที่ยงั ไห่บรรลุนิติภาวะ นายสหบัติ อยูส่ าหารถ2/

ไห่หี ไห่หี

ไห่หี ไห่หี

ไห่หี ไห่หี

21 ก.ค. 58

7.

คู่สหรสและบุตรที่ยงั ไห่บรรลุนิติภาวะ นายประสิ ทธิ์ สกุลเกสรี วรรณ

ไห่หี ไห่หี

ไห่หี ไห่หี

ไห่หี ไห่หี

30 ต.ค. 58

1. 2. 3.

กรรหการ กรรหการ ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายพัฒนาธุรกิจ ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายการเงินและบัญนี ผูน้ ่วยผูอ้ านวยการ ฝ่ ายตรวจสอบและ

วันที่สิ้นสุ ด การดารง ตาแหน่ ง 30 ก.ย. 58 1 ต.ค. 58 30 พ.ย. 58 1 ก.ค. 58

ส่วนที่ 2 าน้า 15


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน ลาดับ

รายชื่ อ

ตาแหน่ ง

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

จานวนหุ้นที่ ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 57

จานวนหุ้นที่ ถือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 58

จานวนหุ้นที่ เปลีย่ นแปลง เพิม่ ขึน้ /ลดลง ระหว่างปี 2558

ไห่หี

ไห่หี

ไห่หี

วันที่สิ้นสุ ด การดารง ตาแหน่ ง

รักษาการผูอ้ านวยการ ฝ่ ายตรวจสอบ คู่สหรสและบุตรที่ยงั ไห่บรรลุนิติภาวะ

หมายเหตุ: 1/ ย้ายกลับไปดารงตาแาน่งผูบ้ ริ าารในบริ ษทั ย่อยและลาออกเหื่อ 15 กันยายน 2558 2/โอนย้ายไปดารงตาแาน่งผูบ้ ริ าารในบริ ษทั ย่อย

8.6 การจ่ ายเงินสมทบในกองทุนสารองเลีย้ งชี พ บริ ษทั ฯ ได้จดั ใา้หีกองทุนสารองเลี้ยงนี พโดยบริ ษทั ฯ ได้จ่ายเงินสหทบในอัตราร้อยละ 8-10 ของ เงิ น เดื อน ในปี 2558 บริ ษ ทั ฯ ได้จ่ายเงิ น สหทบกองทุ นส ารองเลี้ ยงนี พ ส าารั บ ผูบ้ ริ าาร 11 ราย จานวน 1,898,938.43 ล้านบาท 8.7 บุคลากร และนโยบายในการพัฒนาพนักงาน 8.7.1 บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริ ษทั ฯ มีพนักงานทั้งสิ้ น 169 คน แบ่งเป็ นพนักงานประจา 166 คน พนักงานสัญญาจ้าง 3 คน ดังมีรายละเอียด ดังแสดงในตารางที่ 8.7.1 ตารางที่ 8.7.1 จานวนพนักงานบริษัทฯ ในปี 2558 แยกรายหน่ วยงาน ฝ่ ำย / สำนัก 1. ฝ่ ายสานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่และเลขานุการบริ ษทั ฯ 2. ฝ่ ายตรวจสอบ 3. รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ สายปฎิบตั ิการ 4. รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี 5. ฝ่ ายวิศวกรรม 6. ฝ่ ายปฏิบตั ิการและบริ การลูกค้า 7. ฝ่ ายสื่ อสารองค์กร 8. ฝ่ ายพัฒนาธุรกิจ 9. ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล 10. ฝ่ ายอานวยการ 11. ฝ่ ายการเงินและบัญชี 12. ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ 13. กลุ่มงานวางแผนโครงการ รวม

จำนวนพนักงำน (คน) 13 7 2 1 20 47 16 10 10 15 16 6 6 169 ส่วนที่ 2 าน้า 16


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

8.7.2 นโยบายในการพัฒนาพนักงาน กำรพัฒนำศักยภำพของพนักงำน บริ ษทั ฯ ได้จดั ทาแผนฝึ กอบรมและพัฒนาบุคลากรประจาปี ในหลักสู ตรต่างๆ ให้รองรับกับการ พัฒ นาสมรรถนะหลัก ขององค์ก ร และตามต าแหน่ ง งาน พนัก งานจะได้รั บ การอบรมในหลัก สู ต รที่ สอดคล้องกับ เป้ าหมายในการพัฒนารายบุ คคล (IDP) โดยบริ ษ ทั ฯจะพิ จารณาหลัก สู ตร สถาบันและ วิทยากร ที่มีชื่อเสี ยงและมีคุณภาพ ดังนี้  หลักสู ตรสาหรับผูบ้ ริ หาระดับสู ง เน้นการพัฒนาด้านการบริ หารกิจการ การกากับดูแล และ การสร้ างความสัมพันธ์อนั ดี ระหว่างภาครัฐและเอกชน ได้แก่ หลักสู ตรของสถาบันพระปกเกล้า, สมาคม ส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) , ศูนย์ส่งเสริ มการพัฒนาความรู ้ตลาดทุน (TSI) เป็ นต้น  หลักสู ตรสาหรับผูบ้ ริ หารระดับกลางและหัวหน้างาน เน้นการพัฒนาทักษะการบริ หาร จั ด การใน ด้ า น ต่ า ง ๆ ได้ แ ก่ The Manager, The Supervisor, Productivity Excellence, Corporate Plan รวมถึง หลักสู ตรด้านการเงิน และทักษะตามตาแหน่ง เป็ นต้น  หลักสู ตรสาหรับพนักงานระดับปฏิบตั ิการ เน้นการพัฒนาทักษะตามตาแหน่ งงานทั้งด้าน Soft Skill และ Technical Skill ได้แ ก่ การบริ ห ารโครงการและการบริ ห ารสั ญ ญา การสื่ อ สารอย่า งมี ประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล การแก้ปัญหาและการตัดสิ นใจ รวมทั้ง หลักสู ตรการคิดวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ เป็ นต้น  หลักสู ตร/โครงการอื่นๆ เช่น หลักสู ตร Train the trainer เพื่อพัฒนาพนักงานที่มีศกั ยภาพ มี ความรู ้ความเชี่ ยวชาญ ให้สามารถเป็ นวิทยากร / Trainer ถ่ายทอดความรู ้ ให้กบั พนักงานในองค์กร , เพื่อ รองรับการขยายตัวทางธุ รกิจสู่ ภูมิภาคอาเซี ยน ซึ่ งเป็ นการเริ่ มโครงการพัฒนาภาษาอังกฤษ จากรู ปแบบเดิม ที่อบรมในห้องเรี ยน เป็ นแบบออนไลน์ทางอินเทอร์ เน็ต (Online) และโครงการวัดศักยภาพด้านการบริ หาร จัดการของพนักงานระดับผูบ้ งั คับบัญชาหรื อเทียบเท่า รวมทั้งพนักงานระดับบริ หาร เพื่อนาผลการทดสอบ มาใช้ในการจัดทาแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) ต่อไป เป็ นต้น นอกจากหลั ก สู ตรที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ หน้ า ที่ ห ลั ก แล้ ว พนั ก งานยัง ได้ ศึ ก ษาดู ง านเกี่ ย วกั บ ระบบปฏิบตั ิการ (Operation) ยังต่างประเทศอีกด้วย บริ ษทั ฯ เป็ นองค์กรด้านทรัพ ยากรน้ า ดังนั้นจึ งให้ความสาคัญในเรื่ องการอนุ รักษ์พลังงานและ สภาพแวดล้อมการท างานอย่างต่ อเนื่ อ ง บริ ษ ัท ฯ ก าหนดการอบรมเพื่ อให้ ค วามรู ้ ด้า นที่ เกี่ ย วข้อ งกับ สภาพแวดล้อ มในแผนการฝึ กอบรมเป็ นประจ าทุ ก ปี ในปี 2558 มี ก ารจัด อบรมที่ เกี่ ย วข้อ งกับ ด้า น สิ่ งแวดล้อม จานวน 3 หลักสู ตร ดังนี้ 1. ความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางานสาหรับลูกจ้างทัว่ ไปและลูกจ้างที่ เข้าทางานใหม่ 2. จิตรักรักษ์พลังงาน (สานักงานกรุ งเทพ) 3. การอนุรักษ์พลังงาน (สานักงานระยอง) ส่วนที่ 2 าน้า 17


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

นอกจากนี้ บริ ษ ัท ฯได้ก ารจัด ท า แผนสื บ ทอดต าแหน่ ง (Succession Planning) โดยเฉพาะใน ตาแหน่ งงานที่มีความสาคัญกับองค์กร ให้มีความเชื่ อมโยงกับการวางแผนการพัฒนาสายอาชี พ (Career Development Plan) เมื่อพนักงานมีการเปลี่ยนแปลงเลื่อนตาแหน่งหรื อระดับงาน จะมีโปรแกรมการพัฒนา ที่ปรับพื้นฐาน เพื่อสร้างความพร้อมให้สามารถทางานในตาแหน่งใหม่ได้ตรงตามหน้าที่ความรับผิดชอบ นั้นๆ อีกด้วย จากการที่ บ ริ ษ ัท ฯ น าแนวคิ ด เรื่ อ งการพัฒ นาบุ ค ลากรในสั ด ส่ วน 70 -20 -10 (อ้ า งอิ ง The Career Architect Development Planner. 1996, Michael M Lombardo and Robert W.Eichinger) มาใช้ใ นการพัฒ นาบุ ค ลากร ซึ่ งบริ ษ ัท ฯได้ใ ช้วิธี ก ารพัฒ นาที่ หลากหลาย นอกเหนือจากการฝึ กอบรมข้างต้นแล้ว บริ ษทั ฯ ยังเลือกใช้วิธีการพัฒนา ที่ ทาให้ได้ผลลัพ ธ์ ที่ได้จากการพัฒนามากที่ สุ ด (สั ดส่ วน 70%) คื อ การหมุ นเวียนงาน (Job Rotation) นอกจากนี้ การหมุนเวียนงานยังเป็ นการเปิ ดโอกาสให้พนักงานได้เรี ยนรู ้ งานที่หลากหลาย มีความเข้าใจบทบาทและหน้าที่ที่แตกต่างกันของฝ่ ายอื่นๆ ก่อให้เกิด ความเห็นอกเห็นใจและเข้าใจความสาคัญของการทางานร่ วมกัน ในปี 2558 บริ ษั ท ฯ มี ก ารหมุ น เวี ย นงาน ร้ อ ยละ 21.89 ซึ่ งมี สั ด ส่ วนการ หมุ นเวียนงานมากกว่าบริ ษ ทั อื่ นในท้องตลาด และมี ก ารเลื่ อนตาแหน่ ง ร้ อยละ 2.96 (อ้างอิงผลการสารวจด้านทรัพยากรบุคคลประจาปี 2557 เรื่ องการเปรี ยบเทียบสัดส่ วน การหมุนเวียนงานกับบริ ษทั ในท้องตลาด ของสมาคมการจัดการธุ รกิจแห่ งประเทศไทย : TMA พบว่า มีสัดส่ วนการหมุนเวียนงาน ร้ อยละ 5.53 และการเลื่อนตาแหน่ ง ร้อยละ 8.63) นอกจากนี้ ย งั ได้จดั ท าแนวทางการบริ หารทรั พ ยากรบุ ค คล เพื่ อให้ มี ค วามชัดเจนมากขึ้ น อาทิ การปรั บ โครงสร้ า งค่ า จ้ า งเงิ น เดื อ น การบริ หารต าแหน่ ง งาน (Career Management) การบริ หาร ค่าตอบแทน หลักเกณฑ์การเลื่อนระดับ และหลักเกณฑ์การเลื่อนตาแหน่ง ทั้งนี้ ได้สื่อสารให้หวั หน้างาน และพนักงานมีความเข้าใจ และจะเริ่ มใช้แนวปฏิบตั ิ หลักเกณฑ์ฯ เต็มรู ปแบบในปี 2559 กำรจัดเก็บ กำรเผยแพร่ และกำรถ่ ำยทอดองค์ ควำมรู้ ตั้งแต่ ปี 2557 จนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้พฒั นาระบบ Internal Web ระบบที่จดั เก็บข้อมูลข่าวสาร ต่าง ๆ องค์ความรู ้ที่สาคัญจากทั้งภายในและภายนอกองค์กร รวมถึงเป็ นศูนย์กลางระบบต่างๆในองค์กรที่ สาคัญ เช่น ระบบจัดซื้ อ ระบบตรวจรับสิ นค้า ระบบจองห้องประชุม ระบบ Action Plan ระบบKPIs ระบบ ดู แลลู กค้า และระบบงานด้านทรัพ ยากรบุ คคล (HRIS) เพื่ อให้พนักงานรั บ รู ้ ขอ้ มู ลที่ เป็ นปั จจุ บนั อี กทั้ง สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวก และรวดเร็ ว ซึ่ งจะทาให้พนักงานสามารถเรี ยนรู ้ แก้ไขปั ญหาได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ และส่ งเสริ มให้พนักงานพัฒนาศักยภาพได้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งเป็ นรากฐานสาคัญใน การนาไปสู่ องค์กรแห่งความยัง่ ยืน

ส่วนที่ 2 าน้า 18


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ในปี 2558 ได้มี การพัฒนาระบบ Internal Web อย่างต่อเนื่ อง และเพิ่ มช่ องทางการเข้าใช้งานให้ ทัน สมัย สะดวกรวดเร็ ว มากยิ่ ง ขึ้ น โดยการพัฒ นาจากการใช้ง านบน WEB เป็ นการเข้า ใช้ ง านผ่ า น Application บนระบบมือถือ Android และ Smart Phone เพื่อตอบสนองวิถีชีวิต (Life Style) ของพนักงาน ในปัจจุบนั

ส่วนที่ 2 าน้า 19


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

9. กำรกำกับดูแลกิจกำร คณะกรรหการบริ ษทั ฯได้ใา้ควาหสาคัญอย่างต่อเนื่ องในการดาเนิ นธุ รกิ จภายใต้าลักการกากับ ดู แลกิ จการที่ ดี หุ่งเน้นการสร้ างประโยนน์สูงสุ ดใา้แก่ ผูถ้ ื อาุ ้น โดยคานึ งถึ งผูห้ ี ส่วนได้ส่วนเสี ยทุ กฝ่ าย รวหทั้งการใา้ควาหสาคัญกับควาหรับผิดนอบต่อสังคห นุ หนน และสิ่ งแวดล้อห สาารับปี ที่ผา่ นหาบริ ษทั ฯ ได้ทบทวนาลักการกากับดู แลกิ จการที่ดี โดยหุ่งเน้นเรื่ องการนาาลักการและแนวปฏิ บตั ิที่ดีตาหาลักการ ก ากับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ส าารั บ บริ ษ ัท จดทะเบี ย น ปี 2555 จากตลาดาลัก ทรั พ ย์ฯ และจาก ASEAN CG Scorecard หาเป็ นแนวทางในการด าเนิ น งาน เพื่ อ ยกระดับ การก ากับ ดู แลกิ จการที่ ดี ข องบริ ษ ัท ฯ ใา้ไ ด้ หาตรฐานสากล 9.1 นโยบายเกีย่ วกับการกากับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรหการบริ ษทั ฯได้กาานดวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) รวหทั้งนโยบายการกากับ ดูแลกิจการที่ดีไว้เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร ตั้งแต่วนั ที่ 1 สิ งาาคห 2546 โดยหอบาหายใา้คณะกรรหการธรรหาภิ บาลและสรราาพิจารณาทบทวนนโยบายและแนวปฏิบตั ิดา้ นการกากับดูแลกิจการที่ดีอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง ใา้สอดคล้องกับข้อกาานดของตลาดาลักทรัพย์แา่ งประเทศไทยและสานักงานคณะกรรหการาลักทรัพย์ และตลาดาลักทรัพย์ มก.ล.ต. พร้อหทั้งนาเสนอยังคณะกรรหการบริ ษทั ฯ เพื่อพิจารณาอนุหตั ิ บริ ษทั ฯ จะเผยแพร่ าลักการกากับดูแลกิจการที่ดีไปยังพนักงานทุกระดับ สาารับพนักงานใาห่จะ ลงนาหรั บ ทราบเอกสารจรรยาบรรณทางธุ รกิ จ ในวัน ปฐหนิ เทศ เพื่ อ ใา้ ต ระานั ก ถึ ง การปฏิ บ ัติ ต าห จรรยาบรรณทางธุ รกิ จ ซึ่ งเป็ นาัวข้อานึ่ งที่ กาานดไว้ในาลักการกากับดู แลกิ จการที่ ดี ที่ จะต้องนาไป ปฏิบตั ิใา้สอดคล้องต่อไป เน่นเดียวกับคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ก็จะลงนาหและรับทราบคู่หือคณะกรรหการ บริ ษทั ฯ ซึ่ งยึดาลักการกากับดูแลกิจการที่ดีในวันปฐหนิเทศกรรหการเน่นกัน าลักการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ฯ หีเนื้อาาแบ่งเป็ น 5 าหวด ได้แก่ 1) สิ ทธิของผูถ้ ือาุน้ มRights of shareholders 2) การปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือาุ ้นอย่างเท่าเทียหกัน มEquitable treatment of shareholders 3) บทบาทของผูห้ ีส่วนได้เสี ย มRole of stakeholders 4) การเปิ ดเผยข้อหูลและควาหโปร่ งใส มDisclosure and transparency 5) ควาหรับผิดนอบของคณะกรรหการ มResponsibilities of Board 1. สิ ทธิของผู้ถือหุ้น บริ ษทั ฯ ได้ตระานักถึ งสิ ทธิ ของผูถ้ ื อาุ ้นทุกราย โดยคานึ งถึ งสิ ทธิ ข้ นั พื้นฐานที่ผูถ้ ือาุ ้นพึงได้รับ ตาหที่ ก ฎาหายและข้อบังคับ ก าานด และการปฏิ บ ตั ิ ต่อผูถ้ ื อาุ ้นอย่างเท่ าเที ยหและเป็ นธรรห เน่ น การ ก าานดนโยบายและแนวปฏิ บ ัติต่า งๆ ตาหาลัก การก ากับ ดู แลกิ จการที่ ดี การเปิ ดเผยข้อ หู ล ที่ ถู ก ต้อ ง ส่วนที่ 2 าน้า 20


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

โปร่ งใส และทันเวลา เป็ นต้น ทั้งนี้ เพื่อใา้บริ ษทั ฯหีการดาเนิ นงานที่เจริ ญเติบโตอย่างหีคุณค่าและยัง่ ยืน ต่อไป 1.1 การประชุ มผู้ถือหุ้น ก่ อนวันประชุ ม  บริ ษท ั ฯ เปิ ดโอกาสใา้สิทธิ แก่ผถู ้ ือาุ ้นเสนอระเบียบวาระการประนุ หสาหัญผูถ้ ือาุ ้น และ เสนอนื่ อบุคคลเพื่อดารงตาแาน่ งกรรหการเป็ นการล่วงาน้า 3 เดื อน ตั้งแต่วนั ที่ 1 ตุลาคห ถึง 31 ธันวาคห 2558 โดยแจ้งผ่านระบบสารสนเทศของตลาดาลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ  บริ ษ ท ั ฯ แจ้งกาานดวันประนุ ห และระเบี ยบวาระการประนุ ห สาหัญผูถ้ ื อาุ ้น ประจาปี 2557 ใา้ผูถ้ ื อาุ ้นทราบผ่านระบบสารสนเทศตลาดาลักทรัพ ย์ ฯ และเว็บไซต์บริ ษทั ฯ ล่ วงาน้าก่ อนวัน ประนุหไห่นอ้ ยกว่า 30 วัน  บริ ษ ั ท ฯ จัด ส่ งานั ง สื อเนิ ญ ประนุ ห และรายละเอี ย ดระเบี ย บวาระการประนุ ห ซึ่ ง ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ เาตุผล และควาหเา็นของคณะกรรหการบริ ษทั ฯ พร้อหทั้งานังสื อหอบฉันทะ ฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษ และแจ้งการเผยแพร่ เอกสารการประนุหยังผูถ้ ือาุ ้นล่วงาน้าก่อนวันประนุหไห่ น้อยกว่า 28 วัน  บริ ษท ั ฯ ได้ลงประกาศานังสื อเนิญประนุหลงในานังสื อพิหพ์ติดต่อกัน 3 วัน และก่อนวัน ประนุหไห่นอ้ ยกว่า 3 วัน และได้นาานังสื อเนิญประนุหและเอกสารประกอบการประนุหเปิ ดเผยในเว็บไซต์ของ บริ ษทั ฯ ล่วงาน้าก่อนวันประนุห 30 วัน  กรณี ที่ผถ ู ้ ือาุ ้นที่ไห่สาหารถเข้าร่ วหประนุ หด้วยตนเอง ผูถ้ ือาุ ้นสาหารถใน้สิทธิ ออกเสี ยง ลงคะแนนตาหานังสื อหอบฉันทะที่กาานดโดยกรหพัฒนาธุ รกิจการค้า กระทรวงพาณิ นย์ แบบ ก. ารื อ ข. ารื อ ค. และบริ ษทั ฯ ได้กาานดใา้หีกรรหการอิสระ จานวน 3 คน ใา้ผูถ้ ือาุ ้นหอบฉันทะแทนในการเข้า ประนุห และใน้สิทธิออกเสี ยงลงคะแนน วันประชุ ม  ในการประนุ หสาหัญผูถ ้ ือาุ ้นประจาปี 2557 ในวันจันทร์ ที่ 27 เหษายน 2558 เวลา 13.00 น. ณ า้องหัฆวานรังสรรค์ สโหสรทาารบก กรุ งเทพหาานคร บริ ษทั ฯได้อานวยควาหสะดวกแก่ผถู ้ ื อาุ ้น ในการลงทะเบี ย นและนับ คะแนนเสี ย ง โดยใา้ บ ริ ษ ัท อิ น เวนท์ เทค ซิ ส เท็ ห ส์ มประเทศไทย จ ากัด มINVENTECH นาโปรแกรหการลงทะเบียน (E-Voting) ตรวจนับคะแนนเสี ยงด้วยระบบ Barcode หาใน้ ในการประนุ ห และเพื่อควาหโปร่ งใสบริ ษทั ฯ จึงจัดใา้หีผูต้ รวจสอบการนับคะแนนเสี ยงในการประนุ หผู ้ ถือาุ น้ จานวน 3 คน โดยเป็ นผูแ้ ทนจากสานักงานกฎาหาย และ ผูแ้ ทนจากผูถ้ ือาุ น้ ที่อยูใ่ นที่ประนุห  คณะกรรหการบริ ษท ั ฯ เข้าร่ วหประนุ ห จานวน 12 คน มร้อยละ 100 ของจานวนกรรหการ ทั้งาหด ซึ่งรวหถึงประธานคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ประธานคณะกรรหการบริ าารและการลงทุน ประธาน คณะกรรหการตรวจสอบ ประธานคณะกรรหการธรรหาภิบาลและสรราา และประธานคณะกรรหการ กาานดเกณฑ์และประเหินผลการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน ส่วนที่ 2 าน้า 21


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ผูบ้ ริ าารระดับสู งของกลุ่หบริ ษทั ฯ เลขานุการบริ ษทั ฯ ผูส้ อบบัญนี และที่ปรึ กษากฎาหาย เข้าร่ วหประนุหเพือ่ ตอบคาถาห และรับทราบควาหคิดเา็นของผูถ้ ือาุ ้น  ก่อนเริ่ หการประนุ หประธานในที่ ประนุ หแจ้งวิธีการลงคะแนนเสี ยงและนับคะแนนเสี ยง ในแต่ละระเบียบวาระ ทั้งนี้ ก่อนการลงหติทุกระเบียบวาระ ประธานในที่ประนุ หเปิ ดโอกาสใา้ผถู ้ ือาุ ้นทุก รายหีสิทธิ ในการตรวจสอบการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ โดยเปิ ดโอกาสใา้สอบถาห แสดงควาหคิดเา็น โดย ได้แจ้งผูถ้ ื อาุ ้นอภิปรายภายในระยะเวลาอย่างเาหาะสห รวหทั้งใา้สิทธิ เสนอแนะอย่างเท่าเทียหกัน ทั้งนี้ กรรหการ และผูบ้ ริ าารตอบข้อซักถาหอย่างนัดเจนทุกคาถาหแล้วจึงใา้ที่ประนุ หออกเสี ยงลงหติ สาารับ ระเบียบวาระการเลือกตั้งกรรหการ ประธานแจ้งใา้ผถู ้ ือาุน้ ลงคะแนนในบัตรลงคะแนนเป็ นรายบุคคล  ประธานในที่ ป ระนุ ห ได้แ จ้ง ผลการลงคะแนนในแต่ ล ะระเบี ย บวาระการประนุ ห ใา้ ที่ ประนุ หผูถ้ ือาุ ้นทราบทั้งก่อนเสนอระเบียบวาระใาห่และก่อนสิ้ นสุ ดการประนุ ห โดยประธานดาเนิ นการ ประนุ หใา้สอดคล้องกับข้อบังคับบริ ษทั ฯ โดยได้ประนุ หตาหลาดับระเบียบวาระที่กาานดไว้ในานังสื อ เนิ ญประนุ ห เว้นแต่ที่ประนุ หหี หติ ใา้เปลี่ ยนลาดับระเบียบวาระด้วยคะแนนเสี ยงไห่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของ จานวนผูถ้ ื อาุ ้นซึ่ งหาประนุ ห ทั้งนี้ ไห่หีการเปลี่ ยนลาดับระเบี ยบวาระจากที่ ระบุ ในานังสื อเนิ ญประนุ ห สาหัญผูถ้ ือาุน้ และเหื่อที่ประนุหได้พิจารณาครบทุกระเบียบวาระแล้วประธานเปิ ดโอกาสใา้ผถู ้ ือาุน้ ทราบ ว่าผูถ้ ื อาุ ้นซึ่ งรวหกันไห่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจานวนาุ ้นที่จาาน่ ายได้ท้ งั าหดอาจขอใา้ที่ประนุ หพิจารณา เรื่ องอื่นได้ ภายหลังการประชุ ม  บริ ษ ั ท ฯ เผยแพร่ ห ติ ที่ ป ระนุ ห ผู ้ถื อ าุ ้ น ประจ าปี 2557 ผ่ า นระบบสารสนเทศตลาด าลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์บริ ษทั ฯ ทันทีเหื่อการประนุหสิ้ นสุ ดลง  บริ ษท ั ฯ ได้จดั ทารายงานการประนุ หสาหัญผูถ้ ือาุ ้น และจัดส่ งใา้ตลาดาลักทรัพย์ฯ และ สานักงานคณะกรรหการกากับาลักทรัพย์และตลาดาลักทรัพย์ และกระทรวงพาณิ นย์ ภายใน 14 วันนับ จากวันประนุ ห โดยได้บนั ทึกประเด็นต่างๆ ในรายงานการประนุ ห พร้ อหทั้งบันทึกหติที่ประนุ หที่ นดั เจน และระบุผลการลงคะแนน ทั้งประเภทเา็นด้วย ไห่เา็นด้วย ารื องดออกเสี ยง  สหาคหส่ งเสริ หผูล ้ งทุนไทยได้จดั ทาโครงการประเหินคุณภาพการจัดประนุหสาหัญผูถ้ ือ าุน้ ประจาปี 2557 ซึ่งผลประเหินดังกล่าว บริ ษทั ฯ ได้รับคะแนนเต็ห 100 คะแนน อยูใ่ นระดับ “ดีเลิศ” นอกจากการประนุหสาหัญผูถ้ ือาุ ้นประจาปี 2557 แล้ว บริ ษทั ฯ หีการเรี ยกประนุหวิสาหัญ ผูถ้ ื อาุ ้น ครั้ งที่ 1/2558 จัดขึ้ นเหื่ อวันจันทร์ ที่ 10 สิ งาาคห 2558 โดยหีระเบียบวาระาลักคือ การพิ จารณา อนุ หตั ิใา้บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด มหาานน ซื้ อาุ ้นของบริ ษทั เอ็กคอหธารา จากัด จากบริ ษทั เอ็กโก เอ็นจิเนี ยริ่ ง แอนด์ เซอร์ วิส จากัด และระเบียบวาระเรื่ องรับทราบแผนการนาบริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยู ทีลิต้ ีส์ จากัด มหาานน เข้าจดทะเบียนในตลาดาลักทรัพย์ฯ โดยการประนุหวิสาหัญผูถ้ ือาุ น้ ดังกล่าว บริ ษทั ฯ ได้ใา้สิทธิ ต่อผูถ้ ือาุ ้น และหีการปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือาุ ้นอย่างเท่าเทียหกัน เน่นเดี ยวกับการประนุ หสาหัญผูถ้ ื อ าุน้ ประจาปี 2557 

ส่วนที่ 2 าน้า 22


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่ างเท่ าเทียมกัน บริ ษ ัท ฯ ปฏิ บ ัติ ต่ อ ผู ้ถื อ าุ ้ น อย่ า งเท่ า เที ย หและเป็ นธรรห เน่ น การเข้า ประนุ ห และออกเสี ย ง ลงคะแนนในการประนุ หผูถ้ ือาุ น้ การเปิ ดโอกาสใา้สิทธิ แก่ผถู ้ ือาุ ้นรายย่อยในการเสนอนื่ อบุคคลเพื่อดารง ตาแาน่ งเป็ นกรรหการบริ ษทั ฯ และเสนอระเบี ยบวาระในการประนุ หสาหัญผูถ้ ื อาุ ้นเป็ นการล่วงาน้า 3 เดื อนสุ ดท้าย ก่ อนวันสิ้ นสุ ดรอบปี บัญ นี ม1 ตุ ลาคห – 31 ธัน วาคห 2558 ผ่านทางเว็บ ไซต์ข องบริ ษ ทั ฯ http://www.eastwater.com ารื อ Corporate_secretary@eastwater.com และส่ งเรื่ องผ่ า นทางไปรษณี ย์ ลงทะเบี ยนตาหหาภายาลัง รวหถึ งการจัดใา้หีเอกสารที่ เกี่ ยวกับ การประนุ ห ผูถ้ ื อาุ ้นเป็ นภาษาอังกฤษ ส าารั บ ผู ้ถื อ าุ ้ น ต่ า งนาติ การก าานดนโยบายใา้ ก รรหการที่ หี ส่ ว นได้ เสี ย ารื อ หี ค วาหขัด แย้ง ทาง ผลประโยนน์ งดเว้นจากการหีส่วนร่ วหในการประนุหพิจารณาระเบียบวาระที่เกี่ยวข้อง เป็ นต้น 3. การคานึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้ เสี ย 3.1 ความรับผิดชอบต่ อผู้มีส่วนได้ เสี ย บริ ษทั ฯ กาานดปรันญาการทางานโดยหุ่งเน้นควาหรับผิดนอบและการปฏิบตั ิอย่างเสหอภาคเป็ น ที่น่าเนื่อถือต่อผูห้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย ดังนี้ 1) ความรั บ ผิดชอบต่ อผู้ ถือ หุ้ น บริ ษ ทั ฯ ค านึ งถึ งการลงทุ น ที่ ใา้ผลตอบแทนที่ เาหาะสหและ ยุติธรรห โดยรักษาสถานภาพทางการเงิ นใา้หีสถานะหัน่ คงเพื่อประโยนน์ต่อควาหคงอยูแ่ ละเจริ ญเติบโต อย่างยัง่ ยืน 2) ความรั บผิดชอบต่ อลูกค้ า ด้วยการจัดการ และพัฒนาทรัพยากรน้ า ตลอดจนบริ การต่างๆ ที่หี คุณภาพและสร้างควาหพึงพอใจสู งสุ ดแก่ลูกค้าบริ ษทั ฯ หุ่งหัน่ สร้างควาหพึงพอใจสู งสุ ดใา้แก่ลูกค้าในการ บริ าารจัดการน้ าใา้เพียงพอต่อการใน้งานของลู กค้าทุกรายด้วยบริ การอย่างใส่ ใจและเท่าเทียหกัน ในการ แก้ปัญาาที่เกี่ยวข้องเพื่อใา้บริ การแก่ลูกค้าอย่างดีที่สุดในเวลาที่เาหาะสหโดยหุ่งรักษาและพัฒนาระดับการ บริ การที่หีคุณภาพที่ดีข้ ึนในทุกพื้นที่อย่างต่อเนื่อง 3) ความรับผิดชอบต่ อเจ้ าหนี้ โดยปฏิบตั ิตาหเงื่อนไข ข้อกาานดในสัญญา และไห่ปกปิ ดสถานะ การเงินที่ แท้จริ งของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ในเครื อ รวหทั้งไห่ใน้เงินทุนที่ได้จากการกูย้ ืหเงินไปในทางที่ขดั กับวัตถุประสงค์ในข้อตกลงที่ทากับผูใ้ า้กยู้ หื เงิน 4) ความรับผิดชอบต่ อพนักงาน โดยใา้ควาหเคารพต่อสิ ทธิ ตาหกฎาหายของพนักงานทุกคน จัด ใา้หีสภาพแวดล้อหของการทางานที่ดี ปลอดภัย สวัสดิการที่ดี และสภาพการจ้างที่ยุติธรรหเาหาะสหกับ สภาวะตลาด ส่ งเสริ หใา้พนักงานทุกคนได้หีโอกาสเติบโตในสายอานีพและสร้างเสริ หควาหสัหพันธ์อนั ดี ระาว่างกัน และหีควาหผูกพันกับองค์กรอย่างต่อเนื่อง 5) ความรับผิดชอบต่ อผู้ที่มีความสั มพันธ์ ทางธุรกิจโดยพยายาหสร้างควาหสัหพันธ์ที่จะก่อใา้เกิด ประโยนน์สูงสุ ดร่ วหกันทั้งกับคู่คา้ ผูจ้ ดั าา และผูร้ ่ วหทุนภายใต้การกากับดูแลกิจการที่ดี

ส่วนที่ 2 าน้า 23


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

6) ความรับผิดชอบต่ อสั งคมและสิ่ งแวดล้อม โดยดาเนินธุ รกิจที่หีควาหรับผิดนอบต่อสังคห เคารพ และปฏิบตั ิ ตาหกฎาหายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง เพื่อปกป้ องผลกระทบใดๆ ที่ก่อใา้เกิ ดควาหสู ญเสี ยต่อ นีวติ และทรัพย์สินของบุคลากร นุหนน และสิ่ งแวดล้อห 7) ความรั บผิดชอบต่ อคู่แข่ ง บริ ษทั ฯ ปฏิ บตั ิภายใต้าลักการของการแข่งขันทางการค้าอย่างเที่ยง ธรรห และถูกกฎาหาย ไห่แสวงาาข้อหูลที่เป็ นควาหลับของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการที่ไห่สุจริ ต ารื อไห่ เาหาะสห 3.2 นโยบายทีจ่ ะไม่ เกีย่ วข้ องกับการละเมิดสิ ทธิมนุษยชน บริ ษทั ฯ ตระานักถึ งสิ ทธิ ควาหเท่าเที ยหกัน และการไห่ละเหิ ดสิ ทธิ หนุ ษยนนของพนักงานโดย ปฏิ บ ัติต าหาลัก สิ ท ธิ ห นุ ษ ยนนที่ ไ ด้รับ การคุ ้ห ครองตาหรั ฐธรรหนู ญ แา่ ง รานอาณาจัก รไทยารื อ ตาห กฎาหายไทย และตาหสนธิ สั ญญาที่ ป ระเทศไทยหี พนั ธกรณี ที่ ตอ้ งปฏิ บ ตั ิ ตาห ไห่กระท าการที่ เป็ นการ ละเหิดต่อศักดิ์ศรี ควาหเป็ นหนุ ษย์ สิ ทธิ และเสรี ภาพส่ วนบุคคล และไห่เลือกปฏิบตั ิต่อบุคคลใดบุคคลานึ่ ง โดยแบ่งแยกถิ่ นกาเนิ ด เนื้ อนาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายารื อสุ ขภาพ สถานะของบุ คคล ฐานะทาง เศรษฐกิจารื อสังคห ควาหเนื่อทางศาสนา การศึกษาอบรห ารื อควาหคิดเา็นทางการเหือง ารื อลักษณะส่ วน บุคคลที่ไห่เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิงาน 3.3 นโยบายและแนวปฏิบัติเกีย่ วกับการต่ อต้ านการทุจริต เหื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 บริ ษทั ฯ ได้ร่วหลงนาหแสดงเจตนารหณ์เป็ นแนวร่ วหปฏิบตั ิของภาคเอกนน ไทยในการต่ อต้านการทุ จริ ต มCollective Action Coalition : CAC) ซึ่ งเป็ นโครงการที่ รัฐบาลและสานักงาน คณะกรรหการป้ องกันและปราบปราหการทุ จริ ตแา่ งนาติ มป.ป.น. ร่ วหกับ 8 องค์ก รได้แก่ าอการค้าไทย สหาคหส่ งเสริ หสถาบันกรรหการบริ ษทั ไทย มThai Institute of Directors : IOD) าอการค้านานานาติ สหาคห บริ ษทั จดทะเบียนไทย สหาคหธนาคารไทย สภาธุ รกิจตลาดทุนไทย สภาอุตสาากรรหแา่ งประเทศไทย และ สภาอุตสาากรรหการท่องเที่ยวแา่ งประเทศไทย ผลักดันใา้หีหาตรการต่อต้านการทุจริ ตในภาคเอกนน ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้รับการรับรองเป็ นสหานิ กแนวร่ วหปฏิบตั ิของภาคเอกนนไทยในการต่อต้านการทุจริ ต เหื่อวันที่ 3 เหษายน 2558 บริ ษ ัท ฯ ได้กาานดแนวทางในการประพฤติ ป ฏิ บ ัติที่ เาหาะสหเกี่ ยวกับ เรื่ องการทุ จริ ตคอร์ รัป นั่น ภายในองค์ก รของคณะกรรหการ ฝ่ ายบริ า าร และพนักงานของบริ ษ ัท ฯ ไว้ในนโยบายต่ อ ต้านการทุ จริ ต คอร์ รัปนั่นภายในองค์กร โดยกาานดใา้หีการสอบทานการปฏิ บตั ิตาหนโยบายอย่างสห่ าเสหอ รายละเอียด นโยบายฯ สาหารถดู ไ ด้ ที่ http://eastw-th.listedcompany.com/anti_corruption.html ทั้ง นี้ ทุ ก าน่ ว ยงานได้ ร่ วหกันประเหิ นควาหเสี่ ยงด้านการเกิดทุ จริ ตในทุกกระบวนการเพื่อประกอบการปรั บปรุ งระบบภายในใา้ เาหาะสห และเป็ นฐานข้อหูลในการประเหินควาหเสี่ ยงในปี ต่อไป ในปี 2558 บริ ษ ัท ฯ ได้เข้าร่ วหกิ จกรรหต่ างๆ ของแนวร่ วหปฏิ บ ัติข องภาคเอกนนไทยในการ ต่อต้านการทุ จริ ตที่ จดั โดยสหาคหส่ งเสริ หสถาบันกรรหการบริ ษทั ไทย มThai Institute of Director: IOD และาน่ วยงานต่างๆอย่างต่อเนื่ อง เน่ น งานวันต่อต้านคอร์ รัปนั่นภายใต้าัวข้องาน “Active Citizen พลัง พลเหืองต่อต้านคอร์ รัปนัน่ ” เหื่อวันที่ 6 กันยายน 2558 เป็ นต้น ส่วนที่ 2 าน้า 24


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ได้รับผลการประเหินระดับการพัฒนาควาหยัง่ ยืนเรื่ อง Anti Corruption ของ บริ ษ ทั จดทะเบี ยนไทยปี 2558 ซึ่ งประเหิ นโดยสถาบันไทยพัฒ น์ที่ ระดับ 4 จาก 5 ระดับ โดยในปี 2558 บริ ษทั ฯ ได้ขยายขอบเขตการต่อต้านคอร์ รัปนัน่ ไปยังาุ ้นส่ วนทางธุ รกิ จ ผูเ้ น่ าอาคาร และคู่คา้ ไห่ใา้หีส่วน เกี่ยวข้องกับการทุจริ ตคอร์ รัปนัน่ ทุกรู ปแบบ เน่น การเรี ยก รับ และจ่ายสิ นบน โดยการประกาศนโยบายใน การไห่รับของขวัญของกานัลในเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ และจัดอบรหด้านการต่อต้านการทุจริ ตคอร์ รัปนั่น โดยประธานคณะกรรหการธรรหาภิบาลและสรราาและจัดเสวนาผูค้ า้ ผูเ้ น่ าอาคาร โดยหีผูเ้ ข้าร่ วหทั้งสิ้ น ประหาณ 78 คน 3.4 นโยบายการแจ้ งเบาะแสการกระทาผิด เพื่อเป็ นการใา้สิทธิ แก่ผูห้ ีส่วนได้เสี ยต่างๆ ในการติดตาหตรวจสอบการปฏิ บตั ิงานของบริ ษทั ฯ ารื อบริ ษทั ในเครื อใา้หีประสิ ทธิ ภาพประสิ ทธิ ผลและควาหโปร่ งใส คณะกรรหการบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ใน เครื อ จึ งจัดใา้หีน่ องทางในการแจ้งเบาะแส รั บเรื่ องราวร้ องทุ ก ข์ ร้ องเรี ยนเกี่ ยวกับ การดาเนิ นงานของ บริ ษทั ฯ ารื อบริ ษทั ในเครื อที่ ถือว่าเป็ นการกระทาผิดกฎาหาย รวหถึ งที่ อาจเกิ ดข้อขัดแย้งกับผูเ้ กี่ ยวข้อง เน่น คู่คา้ ผูใ้ น้น้ า นุ หนน และาน่วยงานต่างๆ เป็ นต้น ผูร้ ้องเรี ยนสาหารถจัดทาคาร้องเรี ยนเป็ นลายลักษณ์ อัก ษรประกอบกับ เอกสาราลัก ฐานต่ างๆหายัง คณะกรรหการบริ ษ ัท ารื อ บริ ษ ัท ในเครื อ เพื่ อ ใา้หี ก าร พิจารณาสื บสวน/สอบสวนข้อเท็จจริ ง และกาานดแนวทางแก้ไขปั ญาาเพื่อใา้เกิดควาหเป็ นธรรหกับทุก ฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ คณะกรรหการและผูบ้ ริ าารบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ในเครื อใา้ควาหเนื่ อหัน่ โดยลงนาหไว้ ในจรรยาบรรณทางธุ รกิ จของบริ ษทั ฯ ว่าจะรั กษาควาหลับ เกี่ ยวกับ ผูร้ ้ องเรี ยนร้ องทุ กข์โดยการปกป้ อง คุห้ ครอง เพื่อใา้ผรู ้ ้องเรี ยนร้องทุกข์ที่ใา้ถอ้ ยคาารื อใา้ขอ้ หูลใดๆ ด้วยควาหสุ จริ ตใจไห่ได้หีเจตนาในการ ใา้ร้ายารื อก่อใา้เกิดควาหเสี ยาายแก่ผใู ้ ด และผูร้ ้องเรี ยนร้องทุกข์จะได้รับการปฏิบตั ิอย่างเป็ นธรรหภายใต้ กฎ ระเบียบ และกฎาหายที่เกี่ยวข้อง ไห่ถูกกลัน่ แกล้ง รวหทั้งไห่หีการเปลี่ยนแปลงตาแาน่ งงาน ลักษณะ งาน สถานที่ทางาน พักงาน ข่หขู่ รบกวนการปฏิ บตั ิงาน เลิกจ้างารื อการอื่นใดที่หีลกั ษณะเป็ นการปฏิ บตั ิ อย่างไห่เป็ นธรรหต่อผูน้ ้ นั ในกรณี ที่บุคคลใดใา้การเป็ นพยาน ารื อร่ วหในการสอบสวนจะได้รับการคุ ห้ ครอง ไห่ถูกกลัน่ แกล้ง โยกย้ายาน้าที่ ารื อลงโทษแต่ประการใด เว้นแต่พนักงานหีเจตนาใา้การด้วยอคติ ปรักปรา ใา้ร้าย เป็ นเท็จ ารื อไห่ใา้ควาหร่ วหหือในกระบวนการสอบสวนาาควาหจริ ง และการพิจารณาลงโทษพนักงาน ตั้ง แต่ ข้ นั พัก งานขึ้ น ไป ในการพิ จารณาร้ องทุ ก ข์ก รรหการผู อ้ านวยการใาญ่ จะแต่ ง ตั้ง คณะกรรหการ พิ จารณาเป็ นคราวๆ ไป และจะสิ้ นสภาพลงทันที ที่ การพิ จารณาลงโทษารื อพิ จารณาข้อร้ องทุ กข์น้ ัน ๆ สิ้ นสุ ดลง บริ ษ ทั ฯ กาานดใา้หี น่องทางแจ้งเบาะแสารื อข้อร้ องเรี ยนการทุ จริ ตคอร์ รัป นั่น การกระท าผิด กฎาหาย ารื อจรรยาบรรณ รายงานทางการเงินที่ไห่ถูกต้อง การถูกละเหิดสิ ทธิ การทุจริ ตคอร์ รัปนัน่ ารื อ ระบบควบคุหภายในที่บกพร่ องผ่านน่องทางดังต่อไปนี้

ส่วนที่ 2 าน้า 25


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

เว็บไซต์ บริษัท : www.eastwater.com จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : คณะกรรหการตรวจสอบ AC_EW@eastwater.com กรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ CEO@eastwater.com เลขานุการบริ ษทั ฯ Corporate_secretary@eastwater.com จดหมายธรรมดา : คณะกรรหการตรวจสอบ บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน อาคารอีสท์วอเตอร์ นั้น 25 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงจอหพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพฯ 10900 กล่องแสดงความคิดเห็น : ฝ่ ายทรัพยากรบุคคลเป็ นผูด้ ูแลรับเรื่ องร้องเรี ยนจากพนักงานในสานักงาน กรุ งเทพฯ และ พื้นที่ปฏิบตั ิการ 4. การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใส คณะกรรหการบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ในเครื อดูแลใา้ฝ่ายบริ าารหีระบบการสื่ อสารที่เาหาะสห เพื่อ เผยแพร่ ขอ้ หูลที่สาคัญและเป็ นประโยนน์ต่อผูถ้ ือาุ ้น เน่ น รายงานทางการเงินที่ เป็ นไปตาหหาตรฐานการ บัญนี และผ่านการตรวจสอบจากผูส้ อบบัญนี ที่เป็ นอิสระ โดยบริ ษทั ฯ ยินดีที่จะปรับปรุ งตาหหาตรฐานการ บัญนี ที่หีการเปลี่ยนแปลงตลอดจนตาหคาแนะนาของผูส้ อบบัญนี และข้อหู ลทัว่ ไปเพื่อใา้ขอ้ หูลต่างๆ หี ควาหถูกต้อง ครบถ้วน โปร่ งใส และสหเาตุสหผลตาหประกาศของตลาดาลักทรัพย์แา่ งประเทศไทย และ สนับสนุนใา้ฝ่ายบริ าารเปิ ดเผยข้อหูลอื่นๆ โดยคานึงถึงหาตรการที่ดีในการรักษาควาหลับของข้อหูลซึ่งยัง ไห่พึงเปิ ดเผยที่อาจหีผลกระทบต่อการตัดสิ นใจซื้ อขายาลักทรัพย์ ารื อการเปลี่ ยนแปลงราคาาลักทรัพย์ ของบริ ษทั ฯ ข้อหู ลต่างๆ จะเผยแพร่ ผ่านระบบของตลาดาลัก ทรัพ ย์แา่ งประเทศไทย และเผยแพร่ ผ่านทาง เว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ www.eastwater.com และบริ ษั ท ในเครื อ www.uu.co.th ทั้ งภาษาไทยและ ภาษาอัง กฤษ โดยจะน าเสนอข้อ หู ล ที่ เป็ นปั จ จุ บ ัน รวหทั้ง บริ ษ ัท ฯ ยัง หี า น่ ว ยงานนั ก ลงทุ น สั ห พัน ธ์ มInvestor Relations เป็ นผู ้แ ทนบริ ษ ัท ฯ รั บ ผิ ด นอบการสื่ อสารประนาสั ห พัน ธ์ ข ้อ หู ล ข่ า วสารที่ เป็ น ประโยนน์ใา้ผถู ้ ือาุ น้ ผูล้ งทุน นักวิเคราะา์าลักทรัพย์ และผูท้ ี่เกี่ยวข้องได้รับทราบข้อหูลของบริ ษทั โดยผู ้ ถือาุ น้ สาหารถติดต่อาน่วยงานนักลงทุนสัหพันธ์ผา่ นทางน่องทางต่างๆ ดังนี้ โทรศัพท์ 02-272-1600 ต่อ 2489, 2456 อีเหล์ IR@eastwater.com เว็บไซต์ http://eastw-th.listedcompany.com/home.html นอกจากนี้บริ ษทั ฯ จัดใา้หีาน่วยงาน compliance ในแผนกกฎาหายเพื่อดูแลด้านการปฏิบตั ิงานใา้ สอดคล้อ งตาหกฎ ระเบี ย บต่ า งๆ ที่ เกี่ ย วข้อ งกับ ตลาดาลัก ทรั พ ย์แ า่ ง ประเทศไทย และ ส านั ก งาน คณะกรรหการก ากับ าลัก ทรั พ ย์และตลาดาลักทรั พ ย์ รวหถึ งการเปิ ดเผยข้อหู ล ผ่านน่ องทางต่ างๆ เน่ น

ส่วนที่ 2 าน้า 26


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

เว็บไซต์บริ ษทั ฯ เว็บไซต์ตลาดาลักทรัพย์ฯ และรายงานประจาปี เป็ นต้น โดยสารสนเทศดังกล่าวต้องหี ควาหถูกต้อง เพียงพอ ทันเวลา และครบถ้วนตาหที่กฎาหายกาานด เพื่อใา้ผลู ้ งทุนเกิดควาหเนื่อหัน่ ในการ ดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั ฯ 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรหการบริ ษทั ฯ เนื่ อหัน่ ว่ากระบวนการกากับดู แลกิ จการที่ ดีเป็ นาัวใจสาคัญในการนาพา องค์กรใา้บ รรลุ เป้ าาหายที่ ก าานดไว้ คณะกรรหการบริ ษ ทั ฯ หี ควาหรั บผิดนอบตาหกฎาหายและต้อง ปฏิ บตั ิตาหาลักการกากับดู แลกิ จการนี้ รวหทั้งหีควาหรับผิดนอบต่อผูห้ ีส่วนได้เสี ย มStakeholders โดยหี าน้าที่กากับดูแลการดาเนิ นงานของฝ่ ายบริ าารใา้หีประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิ ผลเพื่อก่อใา้เกิดประโยนน์ สู งสุ ดต่อกลุ่หบริ ษทั ฯ ผูถ้ ือาุ น้ และผูท้ ี่เกี่ยวข้อง 5.1 ภาวะผู้นาและวิสัยทัศน์ คณะกรรหการบริ ษ ทั ฯ หีบทบาทสาคัญยิ่งในการกาานดวิสัยทัศน์ นโยบาย และแผนกลยุทธ์ของ บริ ษทั โดยกาานดใา้พิจารณาทบทวนเป็ นประจาอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง และกาานดแผนธุ รกิ จระยะยาว (Corporate Plan) ทุ ก ๆ 3 ปี รวหทั้ง ได้ใ า้ ฝ่ ายบริ า ารศึ ก ษาวิเคราะา์ แผนาลัก การพัฒ นาแาล่ งน้ า และ ปรับปรุ งระบบท่อส่ งน้ าในพื้นที่ภาคตะวันออก ระยะ 10 ปี เนื่ องจากปั จจัยแวดล้อหทั้งในด้านภูหิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว สาารับการดาเนิ นการในแต่ละปี ฝ่ ายบริ าารของบริ ษทั ฯ ได้นาเสนอกลยุทธ์และกิจกรรหต่างๆ ต่อคณะกรรหการบริ าารและการลงทุน และคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ตาหลาดับเพื่อพิจารณาใา้ควาหเา็น และอนุ หตั ิแผนปฏิบตั ิการรวหถึงงบประหาณประจาปี นอกจากนี้ ฝ่าย บริ าารได้ดาเนิ นการรายงานควาหก้าวาน้าของแผนปฏิบตั ิการรวหถึงปั ญาาอุปสรรคที่สาคัญยังที่ประนุ ห คณะกรรหการตรวจสอบ และรายงานคณะกรรหการบริ ษทั ฯ เพื่อทราบทุกไตรหาส คณะกรรหการบริ ษทั ฯ ได้หี การติ ดตาหผลการดาเนิ นงานของฝ่ ายบริ าาร โดยกาานดใา้หีการ รายงานผลการดาเนินงานเปรี ยบเทียบเป้ าาหาย และผลประกอบการของบริ ษทั ฯ โดยกาานดเป็ นระเบียบ วาระการประนุ หเพื่อนาเสนอคณะกรรหการบริ าารและการลงทุนทุกเดื อน และนาเสนอคณะกรรหการ บริ ษทั ฯ เรื่ องรายงานสถานะการเงินและผลการดาเนิ นงานรายไตรหาส นอกจากนี้ คณะกรรหการบริ ษทั ฯ ได้ตระานักถึ งการปฏิ บตั ิ ตาหกฎาหายและข้อกาานดต่างๆ โดยฝ่ ายบริ าารจะรายงานการเปลี่ ยนแปลง าลัก เกณฑ์ ด้า นกฎาหาย กฎระเบี ย บต่ า งๆ ของส านัก งานคณะกรรหการก ากับ าลัก ทรั พ ย์แ ละตลาด าลักทรัพย์ และตลาดาลักทรัพย์แา่ งประเทศไทย รวหถึ งกฎาหายใาห่ที่ประกาศ ารื อจะประกาศใน้ใน อนาคต และเกี่ยวข้องกับบริ ษทั ฯ ยังคณะกรรหการบริ ษทั ฯ เพื่อทราบ 5.2 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรหการบริ ษทั ฯ ได้กาานดนโยบายเกี่ ยวกับควาหขัดแย้งทางผลประโยนน์ไว้ในาลักการ กากับดูแลกิจการที่ดี และคู่หือคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ดังนี้  กรณี ที่ ค ณะกรรหการบริ ษ ั ท ฯ หอบาหายใา้ บุ ค ลากรของบริ ษ ัท ฯ ปฏิ บ ัติ ก ารแทน จะต้อ ง หอบาหายโดยทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ารื อบันทึกเป็ นหติคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ไว้ในรายงานการ ส่วนที่ 2 าน้า 27


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ประนุ ห โดยหีการกาานดขอบเขตอานาจ าน้าที่ไว้อย่างนัดเจน ซึ่ งขอบเขตดังกล่าวต้องไห่รวหถึง การอนุหตั ิใา้ทารายการที่ผรู ้ ับหอบอานาจเป็ นบุคคลที่อาจหีควาหขัดแย้งทางผลประโยนน์ ารื อหี ส่ วนได้เสี ย ทั้งนี้ การตัดสิ นใจในการดาเนิ นกิ จการของบริ ษทั ฯ เป็ นการตัดสิ นใจในรู ปแบบองค์ คณะ (collective decision)  บุ คลากรทุ ก ระดับ ต้อ งาลี ก เลี่ ย งควาหขัดแย้ง ทางผลประโยนน์ ซึ่ งจะส่ งผลใา้ กลุ่ ห บริ ษ ท ั ฯ เสี ย ผลประโยนน์ารื อก่อใา้เกิดควาหขัดแย้งในการปฏิบตั ิงาน  พนั ก งานทุ ก คนหี า น้ า ที่ เปิ ดเผยเรื่ อ งที่ อ าจเป็ นควาหขัด แย้ง ทางผลประโยนน์ ที่ เ กิ ด ขึ้ นใา้ ผูบ้ ัง คับ บัญ นาทราบ โดยต้องแนบรายละเอี ย ดในเรื่ อ งดัง กล่ าวด้วย เพื่ อรวบรวหเข้า าารื อ ยัง กรรหการผูอ้ านวยการใาญ่  ไห่ใน้อานาจาน้าที่ ในตาแาน่ งกรรหการบริ ษท ั ฯ ารื อบริ ษทั ในเครื อเพื่อแสวงาาประโยนน์ส่วน ตน ผูใ้ กล้นิด ารื อญาติสนิท ทั้งทางตรงและทางอ้อห คณะกรรมการบริษัทฯ และผู้มีบริหารมีหน้ าทีใ่ นการรายงาน ดังนี้  รายงานการหี ส่ ว นได้ เ สี ย ของตน และของบุ ค คลที่ หี ค วาหเกี่ ย วข้อ งใา้ บ ริ ษ ัท ฯ ทราบ โดย เลขานุ การบริ ษทั ฯ จะส่ งสาเนารายงานใา้ประธานคณะกรรหการ และประธานคณะกรรหการ ตรวจสอบทราบ  รายงานการถือครองาลักทรัพย์ของคณะกรรหการบริ ษท ั ฯ ผูบ้ ริ าาร และบุคคลที่หีควาหเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ กรณี บริ ษทั ฯ หีการทารายการเกี่ยวโยงกัน กาานดใา้บริ ษทั ฯ ต้องปฏิบตั ิตาหาลักเกณฑ์ ของประกาศสานักงานก.ล.ต. และตลาดาลักทรัพย์ฯ อย่างเคร่ งครัดในการประนุหคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ฝ่ ายบริ าารจะแจ้งใา้ที่ประนุหทราบ โดยกรรหการที่หีส่วนได้เสี ยในรายการนั้นจะงดออกเสี ยง และไห่อยู่ ในที่ประนุหคณะกรรหการบริ ษทั ฯ กรณี ของผูร้ ับจ้าง และคู่คา้ บริ ษทั ฯ ได้กาานดใา้ทารายงานการหีส่วนได้เสี ยกับบุคคลที่เกี่ยว โยงกันตาหาลักเกณฑ์ข องส านักงาน ก.ล.ต.เพื่อเป็ นข้อหู ลใา้ฝ่ายบริ าารพึงระหัดระวังขั้นตอนในการ อนุ หตั ิการทารายการที่อาจหีควาหขัดแย้งทางผลประโยนน์ ซึ่ งรายการระาว่างกันของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ในเครื อ รวหถึ งบริ ษทั ฯ และผูห้ ีส่วนได้เสี ยต่างๆ จะผ่านขั้นตอนการพิจารณาอนุ หตั ิอย่างถู กต้อง นัดเจน โดยใน้โครงสร้างราคา และเงื่อนไขทางการค้าทัว่ ไป เน่นเดียวกับคู่คา้ รายอื่นๆ ของบริ ษทั ฯ โดยได้เปิ ดเผย รายละเอียดรายการระาว่างกันไว้ในรายงานประจาปี ม56-2 และแบบแสดงรายการข้อหูล 56-1 5.3 จริยธรรมทางธุรกิจ เพื่อแสดงเจตนารหณ์ในการดาเนินธุ รกิจภายใต้าลักการกากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรหการบริ ษทั ฯ ได้กาานดใา้ประกาศใน้ “ าลักกากับดู แลกิ จการที่ ดีของกลุ่หบริ ษทั ฯ” “คู่หือคณะกรรหการบริ ษทั ฯ” “คู่หือคณะกรรหการอิสระ” และจรรยาบรรณทางธุ รกิจ ซึ่ งประกาศใน้ครั้งแรกเหื่อวันที่ 17 สิ งาาคห 2549 โดยได้หี ก ารปรั บ ปรุ งใา้ท ัน สหัย และเาหาะสหกับ าลัก เกณฑ์ ต่างๆที่ เปลี่ ยนแปลงอยู่เสหอ เพื่ อเป็ น หาตรฐานในการประพฤติปฏิ บตั ิตาหาลักการกากับดู แลกิจการที่ดี โดยกาานดใา้กรรหการบริ ษทั ฯ ทุ ก ส่วนที่ 2 าน้า 28


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ท่านลงนาหรับคู่หือคณะกรรหการบริ ษทั ฯ และสาารับพนักงานกลุ่หบริ ษทั ฯ ได้จดั ใา้หีโครงการส่ งเสริ หควาหรู ้ ควาหเข้าใจด้านาลักธรรหาภิ บาลใา้ แก่ พ นัก งานอย่างต่ อเนื่ อง นอกจากนี้ พ นัก งานใาห่ จะได้รับ ควาหรู ้ ดังกล่าวในการปฐหนิเทศ และการจัดทาแบบทดสอบไปพร้อหกับควาหรู ้เกี่ยวกับธุ รกิจบริ ษทั ฯ 5.4 การถ่ วงดุลของกรรมการทีไ่ ม่ เป็ นผู้บริหาร คณะกรรหการบริ ษทั ฯ หีจานวน 10 คน โดยคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคห 2558 ประกอบด้วย กรรหการที่เป็ นผูบ้ ริ าาร 0 คน กรรหการที่ไห่เป็ นผูบ้ ริ าาร 10 คน กรรหการอิสระ 7 คน 5.5 การรวมหรื อแยกตาแหน่ ง คณะกรรหการบริ ษทั หุ่งเน้นควาหโปร่ งใสในการดาเนิ นธุ รกิ จ กระจายอานาจการตัดสิ นใจ แบ่ง อานาจการกลัน่ กรอง และการพิจารณาอนุ หตั ิอย่างนัดเจน โดยประธานคณะกรรหการบริ ษทั ไห่เป็ นบุคคล เดี ยวกับ กรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ รวหทั้งสหานิ กคณะกรรหการตรวจสอบเป็ นกรรหการอิ ส ระที่ ไห่ หี อานาจลงนาหอนุหตั ิผกู พันกับบริ ษทั ไห่หีส่วนได้เสี ยในด้านการเงิน และการบริ าารงานของบริ ษทั รวหถึง บริ ษทั ในเครื อ 5.6 การไปดารงตาแหน่ งกรรมการทีบ่ ริษัทอื่นของกรรมการ กรรมการผู้อานวยการใหญ่ และผู้บริ หาร 1. กรรหการบริ ษทั ไปดารงตาแาน่ งกรรหการในบริ ษทั จดทะเบียนได้ไห่เกิ น 3 แา่ ง และรวห บริ ษทั อื่นแล้วไห่เกิน 5 แา่ง โดยที่รวหถึงรัฐวิสาากิจ 2. กรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ และผูบ้ ริ าารดารงตาแาน่งกรรหการบริ ษทั จดทะเบียนอื่นได้ไห่ เกิน 4 บริ ษทั จดทะเบียน 5.7 การประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุ ดย่ อย คณะกรรหการบริ ษ ทั ฯ มประนุ ห ครั้ งที่ 10/2546 - 20 พฤศจิกายน 2546 หีหติเา็ นนอบใา้หี การ ประเหิ น ผลการปฏิ บ ตั ิ ง านของคณะกรรหการบริ ษ ทั ฯ อย่างสห่ าเสหอและต่ อเนื่ องทุ ก ปี เพื่ อใา้ หี ก าร ทบทวนผลงาน ปั ญ าา และอุ ป สรรคต่ า งๆ ในระาว่า งปี ที่ ผ่ านหา และสาหารถพิ จ ารณาปรั บ ปรุ ง ประสิ ทธิ ภาพการดาเนินงานอย่างเาหาะสห สอดคล้องกับาลักการกากับดูแลกิจการที่ดี นอกจากนี้ กฎบัตรคณะกรรหการนุ ดย่อยทุ กคณะ ระบุใา้คณะกรรหการนุ ดย่อยประเหินผลการ ปฏิ บ ัติ งานของตนเอง ทั้งแบบรายคณะและรายบุ ค คล และรายงานปั ญ าาอุ ป สรรคที่ เป็ นเาตุ ใ า้ ก าร ปฏิบตั ิงานไห่บรรลุตาหขอบเขต อานาจ าน้าที่ (ถ้าหี ยังคณะกรรหการบริ ษทั ฯ เพื่อทราบปี ละ 1 ครั้ง หลักเกณฑ์ การประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุ ดย่ อย การประเมินการปฏิบัติงานแบบองค์ คณะ 1. คณะกรรหการบริ ษทั ฯ ประเหินตนเองโดยครอบคลุหาัวข้อสาคัญ ดังนี้ 1. ควาหพร้อหของกรรหการ ส่วนที่ 2 าน้า 29


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

2. การกาานดกลยุทธ์ และวางแผนธุ รกิจ 3. การจัดการควาหเสี่ ยง และการควบคุหภายใน 4. การดูแลไห่ใา้เกิดควาหขัดแย้งทางผลประโยนน์ 5. การติดตาหรายงานทางการเงินและการดาเนินงาน 6. การประนุหคณะกรรหการบริ ษทั ฯ 7. อื่นๆ เน่ น การสรราา การพิจารณาค่าตอบแทน การประเหินผลงานกรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ เป็ น ต้น 2. คณะกรรหการตรวจสอบ ประเหินตนเองโดยครอบคลุหาัวข้อสาคัญ ดังนี้ 1. อานาจาน้าที่ 2. สหานิกคณะกรรหการตรวจสอบ 3. การประนุห 4. การควบคุหภายใน 5. การจัดทารายงานทางการเงิน 6. การปฏิบตั ิตาหกฎระเบียบ และข้อบังคับ 7. ผูส้ อบบัญนี 8. ผูต้ รวจสอบภายใน 9. การรายงานของคณะกรรหการตรวจสอบ 10. การประเหินผลการปฏิบตั ิงาน 11. กฎบัตร 3. คณะกรรหการนุดย่อยอื่น ได้แก่ 1 คณะกรรหการบริ าารและการลงทุน 2 คณะกรรหการธรรหาภิบาล และสรราา 3 คณะกรรหการบริ าารควาหเสี่ ยง และ 4 คณะกรรหการกาานดเกณฑ์และประเหินผล การดาเนินงานของบริ ษทั ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน ประเหินครอบคลุหาัวข้อสาคัญ ดังนี้ 1. ควาหพร้อหของกรรหการ 2. การประนุหคณะกรรหการ 3. อานาจ าน้าที่ และควาหรับผิดนอบของกรรหการ การประเมินการปฏิบัติงานแบบรายบุคคล การประเหินการปฏิบตั ิงานแบบรายบุคคลของคณะกรรหการทุกคณะ ครอบคลุหาัวข้อสาคัญ เน่ น การเข้าร่ วหประนุ ห ทัศนคติ และการพัฒนาควาหรู ้ควาหสาหารถอย่างต่อเนื่ องของกรรหการ สัหพันธภาพ กับฝ่ ายบริ าาร การประเหินจุดแข็งและจุดอ่อนของตนเอง เป็ นต้น ขั้นตอนการประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุ ดย่ อย เลขานุ ก ารบริ ษ ัท ฯ และเลขานุ ก ารคณะกรรหการนุ ด ย่ อ ยแต่ ล ะนุ ด จะน าส่ ง แบบประเหิ น คณะกรรหการบริ ษทั ฯ และคณะกรรหการนุ ดย่อย พร้อหสรุ ปข้อหูลสนับสนุ นเพื่อประกอบการพิจารณา ส่วนที่ 2 าน้า 30


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ประเหิ น ทั้ง แบบองค์ค ณะ และแบบรายบุ ค คลยังคณะกรรหการทุ ก นุ ดภายในเดื อนธัน วาคหของทุ ก ปี าลังจากนั้นเลขานุ ก ารบริ ษ ทั ฯ จะรวบรวหแบบประเหิ น ผลฯ เพื่ อจัดท ารายงานสรุ ป ผลการประเหิ น ฯ นาเสนอยังที่ประนุหคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ผลประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุ ดย่ อย ประจาปี 2558 คณะกรรหการบริ ษทั ฯ รับทราบผลการประเหินการปฏิ บตั ิงานของคณะกรรหการบริ ษ ทั ฯ และ คณะกรรหการนุ ด ย่ อ ย ในปี 2558 ในที่ ป ระนุ ห คณะกรรหการบริ ษ ัท ฯ มประนุ ห ครั้ งที่ 2/2559 – 16 กุหภาพันธ์ 2559 ซึ่ งส่ วนใาญ่หีผลการประเหิ นอยู่ในระดับสู งกว่าร้ อยละ 90 อย่างไรก็ดีได้กาานดแนว ทางการปรับปรุ งาัวข้อการประเหินที่ได้คะแนนต่า ของคณะกรรหการทุกนุ ด ทั้งแบบองค์คณะ และแบบ รายบุคคลใา้หีประสิ ทธิ ภาพหากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ เลขานุการบริ ษทั ฯ ได้กาานดแนวทางเพื่อสนับสนุ นการ ปฏิบตั ิงานของคณะกรรหการบริ ษทั ฯ และคณะกรรหการนุดย่อยใา้หีประสิ ทธิ ภาพหากยิง่ ขึ้น โดยหีคะแนน การประเหินผลสรุ ปได้ดงั นี้ คณะกรรมกำรชุดย่ อย 1. คณะกรรมการบริ ษทั ฯ 2. คณะกรรมการตรวจสอบ 3. คณะกรรมการบริ หารและการลงทุน 4. คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา 5. คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง 6. คณะกรรมการกาหนดเกณฑ์ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน คะแนนเฉลีย่ รวมทุกคณะ

ผลกำรประเมินฯ (แบบองค์ คณะ) คิดเป็ นร้ อยละ 91.42 100.00 92.00 97.00 87.33 92.67 93.40

ผลกำรประเมินฯ (แบบรำยบุคคล) คิดเป็ นร้ อยละ 93.64 98.73 90.00 99.00 93.33 93.33 94.67

9.2 คณะกรรมการชุ ดย่อย คณะกรรหการบริ ษ ทั ฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรหการนุ ดย่อย 5 นุ ด ประกอบด้วย 1 คณะกรรหการ ตรวจสอบ 2 คณะกรรหการบริ า ารและการลงทุ น 3 คณะกรรหการธรรหาภิ บ าลและสรราา 4 คณะกรรหการบริ าารควาหเสี่ ยง และ 5 คณะกรรหการกาานดเกณฑ์ประเหินผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อศึกษาและกลัน่ กรองงานที่ คณะกรรหการบริ ษทั ฯ หอบาหายใา้หีควาห ถู กต้อง นัดเจน สอดคล้องกับพันธกิ จ และนโยบายของบริ ษทั ฯ ในเบื้ องต้น ก่อนนาเสนอคณะกรรหการ บริ ษทั ฯ พิจารณาอนุ หตั ิ ารื อเา็นนอบ ารื อใา้ขอ้ แนะนาเพิ่หเติหแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ หีกรรหการ 2 ท่านคือ นายสาัส ประทักษ์นุกูล และ นายไหตรี อินทุสุต ได้ลาออกในน่ วงปลายปี 2558 ทาใา้ตาแาน่ งกรรหการ นุ ดย่อยที่ได้ดารงตาแาน่ งซึ่ งประกอบด้วยตาแาน่ งประธานคณะกรรหการกาานดเกณฑ์ประเหินผลการ ดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน กรรหการบริ าารและการลงทุน ประธานคณะกรรหการ ส่วนที่ 2 าน้า 31


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

บริ า ารควาหเสี่ ย ง และกรรหการก าานดเกณฑ์ ป ระเหิ น ผลการด าเนิ น งานของบริ ษ ัท ฯ และพิ จารณา ค่าตอบแทนว่างลงและอยูร่ ะาว่างการแต่งตั้งผูด้ ารงตาแาน่งทดแทนรายละเอียดคณะกรรหการนุดต่างๆ ที่ ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรหการบริ ษทั ฯ และการเข้าประนุหในปี งบประหาณ 2558 หีดงั นี้ 9.2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคห 2558 ประกอบด้วยกรรหการอิสระ 3 คน ดังนี้ ลาดับที่ 1. 2. 3.

ชื่ อ – นามสกุล นายอหร นายนนินทร์ นางธันดา

เลาาหนตรี ทินนโนติ จิตหาาวงศ์

ตาแหน่ ง ประธานคณะกรรหการ กรรหการ กรรหการ

ร่ วมประชุม/การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 19/19 19/19 19/19

คณะกรรหการตรวจสอบหีาน้าที่าลักในการพิจารณาสอบทานควาหถูกต้อง และควาหน่าเนื่ อถื อใน งบการเงินของบริ ษทั ฯ ว่าได้ปฏิ บตั ิสอดคล้องตาหหาตรฐานการบัญนี ของประเทศไทยซึ่ งประกาศโดยสภา วิ น านี พ บัญ นี ก่ อ นน าเสนอต่ อ คณะกรรหการบริ ษ ั ท ฯ รวหทั้ง จัด ใา้ หี ก ระบวนการบริ าารงานของ คณะกรรหการตรวจสอบใา้สาหารถดาเนิ นไปอย่างหีประสิ ทธิ ผล หีควาหเป็ นอิสระ หุ่งเน้นการจัดใา้หีแนว ปฏิ บตั ิ ที่หีควาหโปร่ งใส และนัดเจนระาว่างคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ฝ่ ายตรวจสอบ ฝ่ ายบริ าาร และผูส้ อบ บัญนี เพื่อทบทวนและใา้คาแนะนาด้านการประเหินประสิ ทธิ ภาพประสิ ทธิ ผลของระบบการควบคุหภายใน ของกลุ่ หบริ ษทั ฯ ใา้ปฏิ บตั ิ ตาหกฎาหาย ระเบี ยบ และข้อบังคับ ต่างๆ และพิจารณารายการเกี่ ยวโยง ารื อ รายการที่อาจหีควาหขัดแย้งทางผลประโยนน์ใา้เป็ นไปตาหกฎาหายว่าหี ควาหสหเาตุสหผล และคงไว้ซ่ ึ ง ประโยนน์สูงสุ ดของบริ ษทั ฯ ตลอดจนการเปิ ดเผยข้อหูลโดยรายงานของคณะกรรหการตรวจสอบจะถูกบรรจุ ไว้ในรายงานประจาปี ของบริ ษทั ฯ นอกจากนั้น ยังหีบทบาทาน้าที่ใา้ควาหเา็นนอบในเบื้องต้นเกี่ยวกับการ แต่งตั้ง ก าานดค่ าตอบแทน และเลิ ก จ้างผูส้ อบบัญนี เพื่ อนาเสนอยังคณะกรรหการบริ ษ ทั ฯ และผูถ้ ื อาุ ้น พิจารณา รวหถึงใา้ควาหเา็ นนอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างผูอ้ านวยการฝ่ ายตรวจสอบ รวหถึ ง การหีสายบังคับบัญนาโดยตรงกับฝ่ ายตรวจสอบเพื่อควาหเป็ นอิสระในการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายงานดังกล่าว 9.2.2 คณะกรรมการบริหารและการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคห 2558 ประกอบด้วยกรรหการอิสระ 2 คน และที่ปรึ กษา 3 คน ดังนี้ ลำดับที่ 1. 2. 3. 4.

ชื่ อ – นำมสกุล นายไพบูลย์ พันเอกเปรมจิรัสย์ พลเอกธนดล พลเรื อเอกอมรเทพ

ศิริภาณุเสถียร ธนไทยภักดี เผ่าจินดา ณ บางช้าง

ตำแหน่ ง ประธานคณะกรรมการ กรรมการ ที่ปรึ กษา ที่ปรึ กษา

ร่ วมประชุม/กำรประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 22/22 19/22 22/22 19/22 ส่วนที่ 2 าน้า 32


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน ลำดับที่ 5. 6. 7.

ชื่ อ – นำมสกุล นายเลิศวิโรจน์ นายสหัส นายวันชัย

ตำแหน่ ง

โกวัฒนะ ประทักษ์นุกลู 1 หล่อวัฒนตระกูล2

ที่ปรึ กษา อดีตกรรมการ อดีตกรรมการ

แบบ 56-1 ประจาปี 2558 ร่ วมประชุม/กำรประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 7/22 17/17 6/7

หมำยเหตุ : 1. ลาออกจากการเป็ นกรรมการบริ ษทั ฯ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2558 2. ลาออกจากการเป็ นกรรมการบริ ษทั ฯ เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2558

คณะกรรหการบริ าารและการลงทุน เป็ นคณะกรรหการที่ได้รับหอบาหายจากคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ใา้หีบทบาท และาน้าที่ในการกากับดูแลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ ใา้หีประสิ ทธิ ภาพ และหีควาหเข้หแข็ง ทางธุ รกิ จตาหแนวนโยบายของคณะกรรหการบริ ษทั ฯ โดยหีาน้าที่ในการพิจารณากลัน่ กรอง และทบทวน แผนธุ รกิ จ แผนการดาเนิ นงาน งบประหาณประจาปี และการอนุ หตั ิ ในโครงการลงทุ นที่ อยู่ภายใต้ก รอบ วงเงินที่ได้รับหอบอานาจจากคณะกรรหการบริ ษทั ฯ นอกจากนี้ ยังหีาน้าที่ในการกาานดกระบวนการ และ าลักเกณฑ์การพิจารณาการขยายการลงทุนโครงการต่างๆ รวหทั้งพิจารณาการศึกษาควาหเาหาะสหในการ ลงทุนและการเงิน ใา้คาปรึ กษา ารื อข้อเสนอแนะ รวหถึงสนับสนุนการบริ าารงานของฝ่ ายบริ าารใา้บรรลุ วัตถุ ประสงค์ และเป้ าาหายของบริ ษทั ฯ พร้ อหทั้งรายงานผลการปฏิ บตั ิ งานยังคณะกรรหการบริ ษทั ฯ เพื่ อ พิจารณาและเพื่อทราบอย่างสห่าเสหอ 9.2.3 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา ณ วันที่ 31 ธันวาคห 2558 ประกอบด้วยกรรหการอิสระ 4 คน ดังนี้ ลำดับที่ 1. 2. 3. 4.

ชื่ อ – นำมสกุล พลตารวจตรี วชิ ยั นายอมร นายชนินทร์ นางธัชดา

สังข์ประไพ เลาหมนตรี ทินนโชติ จิตมหาวงศ์

ตำแหน่ ง ประธานคณะกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ร่ วมประชุม/กำรประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 9/9 9/9 8/9 9/9

ด้ านธรรมาภิบาล คณะกรรหการธรรหาภิ บ าลและสรราาหี า น้าที่ ส นับ สนุ น งานของคณะกรรหการบริ ษ ัท ฯ ใา้ ดาเนิ นไปอย่างถูกต้อง โปร่ งใส และสาหารถรักษาผลประโยนน์ของผูถ้ ือาุ ้น ตลอดจนผูห้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย ของบริ ษทั ฯ โดยการกลัน่ กรองคู่หือคณะกรรหการบริ ษทั ฯ จรรยาบรรณทางธุ รกิจ จรรยาบรรณพนักงาน ตลอดจนสอดส่ อง และติดตาหการดาเนิ นงานใา้แน่ ใจว่าบริ ษทั ฯ ได้ปฏิบตั ิตาหข้อพึงปฏิบตั ิที่สาคัญของ

ส่วนที่ 2 าน้า 33


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

กระบวนการกากับดูแลกิจการที่หีประสิ ทธิ ผลเาหาะสหสอดคล้องกับข้อกาานดของตลาดาลักทรัพย์แา่ ง ประเทศไทยและข้อกาานดของ Asean CG Scorecard ด้ านการสรรหา คณะกรรหการบริ ษทั ฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรหการธรรหาภิบาลและสรราา เพื่อปฏิบตั ิภารกิจในการ สรราา และเสนอนื่อบุคคลที่เาหาะสหสาารับเป็ นกรรหการบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ในเครื อ กรรหการนุ ดย่อยของ บริ ษ ัท ฯ และกรรหการผู ้อ านวยการใาญ่ รวหทั้ง ตรวจสอบคุ ณ สหบัติ บุ ค คลที่ เาหาะสหเพื่ อ น าเสนอ คณะกรรหการบริ ษทั ฯ ในการดารงตาแาน่ งดังกล่ าวภายในกลุ่หบริ ษทั ฯ ใา้ควาหเา็ นต่อโครงสร้างการ บริ าารงานของคณะกรรหการบริ ษทั ฯ และคณะกรรหการนุ ดย่อยต่างๆ พร้อหทั้งนาเสนอยังคณะกรรหการ บริ ษทั ฯ เพื่อพิจารณา และอนุหตั ิการปรับปรุ งตาหควาหเาหาะสห 9.2.4 คณะกรรมการบริหารความเสี่ ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคห 2558 ประกอบด้วยกรรหการ 2 คน ดังนี้ ลำดับที่

ชื่ อ – นำมสกุล

ตำแหน่ ง

1.

พลตารวจตรี วชิ ยั

สังข์ประไพ

กรรมการ

2.

พันเอกเปรมจิรัสย์

ธนไทยภักดี

3.

นายไมตรี

อินทุสุต1

4.

นายวันชัย

หล่อวัฒนตระกูล2

กรรมการ อดีตประธาน คณะกรรมการ อดีตกรรมการ

ร่ วมประชุม/กำรประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 1/3 3/3 3/3 2/2

หมายเหตุ : 1. ลาออกจากการเป็ นกรรหการบริ ษทั ฯ เหื่อวันที่ 1 ตุลาคห 2558 2. ลาออกจากการเป็ นกรรหการบริ ษทั ฯ เหื่อวันที่ 31 พฤษภาคห 2558

คณะกรรหการบริ าารควาหเสี่ ยงหีาน้าที่าลักในการกากับดู แล และนาเสนอนโยบายการบริ าาร ควาหเสี่ ยงโดยรวหต่อคณะกรรหการบริ ษทั ฯ เพื่อทราบ โดยนโยบายครอบคลุหควาหเสี่ ยงประเภทต่างๆ ที่ สาคัญ ได้แก่ ควาหเสี่ ยงด้านกลยุทธ์ ควาหเสี่ ยงด้านปฏิ บตั ิงาน ควาหเสี่ ยงด้านการลงทุ น ควาหเสี่ ยงด้าน การตลาด และควาหเสี่ ย งที่ หี ผ ลกระทบต่ อนื่ อเสี ยงของกิ จการ นอกจากนี้ ค ณะกรรหการฯ ยังหี า น้า ที่ พิจารณาหาตรการในการประเหินควาหเสี่ ยงและอนุ หตั ิ แผนบริ าารควาหเสี่ ยง กาานดวิธีปฏิ บตั ิ ที่เป็ น หาตรฐาน กลยุทธ์ และการวัดควาหเสี่ ยง รวหทั้งใา้ขอ้ แนะนาแก่ฝ่ายบริ าาร พร้ อหทั้งกากับดูแล ทบทวน และติดตาหแผนบริ าารควาหเสี่ ยงเพื่อใา้หนั่ ใจได้ว่าการบริ าารควาหเสี่ ยงได้นาไปปฏิ บตั ิอย่างเาหาะสห และสาหารถควบคุหควาหเสี่ ยงได้อย่างหีประสิ ทธิ ภาพประสิ ทธิ ผล ใา้อยูใ่ นระดับที่ยอบรับได้

ส่วนที่ 2 าน้า 34


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

9.2.5 คณะกรรมการก าหนดเกณฑ์ และประเมิ น ผลการด าเนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และพิ จ ารณา ค่ าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคห 2558 ประกอบด้วยกรรหการ 2 คน ดังนี้

1.

นายไพบูลย์

ศิริภาณุเสถียร

กรรหการ

ร่ วมประชุม/การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 10/10

2.

พันเอกเปรหจิรัสย์

ธนไทยภักดี

กรรหการ

9/10

3.

พลเอกธนดล

เผ่าจินดา

9/10

4.

นายสาัส

ประทักษ์นุกลู 1

5

นายไหตรี

อินทุสุต2

ที่ปรึ กษา อดีตประธาน คณะกรรหการ อดีตกรรหการ

ลาดับที่

ชื่ อ – นามสกุล

ตาแหน่ ง

10/10 7/10

าหายเาตุ : 1. ลาออกจากการเป็ นกรรหการบริ ษทั ฯ เหื่อวันที่ 30 กันยายน 2558 2. ลาออกจากการเป็ นกรรหการบริ ษทั ฯ เหื่อวันที่ 1 ตุลาคห 2558

การกาหนดเกณฑ์ และประเมินผลการดาเนินงานของบริษัทฯ คณะกรรหการบริ ษ ทั ฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรหการกาานดเกณฑ์ และประเหิ นผลการดาเนิ นงานของ บริ ษทั ฯ โดยหีาน้าที่กาานดและทบทวนเกณฑ์การประเหินผลการดาเนิ นงาน มCorporate KPIs ประจาปี ของบริ ษทั ฯ ใา้สอดคล้องกับแนวนโยบายธุ รกิจของบริ ษทั ฯ รวหทั้งติดตาห ประเหินผลการดาเนินงานของ บริ ษทั ฯ เป็ นรายไตรหาส ตลอดจนใา้ขอ้ แนะนาแก่ฝ่ายบริ าารในการปฏิบตั ิงาน และรายงานผล ณ สิ้ นปี ยัง คณะกรรหการบริ ษทั ฯ เพื่อพิจารณาอนุหตั ิ การพิจารณาค่ าตอบแทน คณะกรรหการกาานดเกณฑ์และประเหินผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ และพิจารณาค่าตอบแทนได้ เสนอแนะยัง คณะกรรหการบริ ษ ัท ฯ เพื่ อ พิ จ ารณาค่ า ตอบแทนประจ าปี ของคณะกรรหการบริ ษ ั ท ฯ คณะกรรหการนุ ดย่อยของกลุ่หบริ ษทั ฯ ที่ปรึ กษาคณะกรรหการของกลุ่หบริ ษทั ฯ ที่ปรึ กษาคณะกรรหการ นุ ดย่อยของกลุ่หบริ ษทั ฯ กรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ ผูบ้ ริ าาร และพนักงานกลุ่หบริ ษทั ฯ นอกจากนี้ ยงั ได้ เสนอแนะนโยบายค่าตอบแทน และผลประโยนน์อื่นๆทั้งาหด ทั้งในรู ปตัวเงิน และหิใน่ตวั เงินของบุคลากร ทุ กระดับ ขององค์กรต่อคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ซึ่ งคณะกรรหการบริ ษ ทั ฯ ได้ใา้ควาหเา็ นนอบและฝ่ าย บริ าารได้นาไปกาานดเป็ นระเบียบและแนวปฏิบตั ิในกลุ่หบริ ษทั ฯ ต่อไป 9.3 การสรรหาและแต่ งตั้งกรรมการและผู้บริ หารระดับสู งสุ ด 9.3.1 กรรมการอิสระ กรรหการอิ สระเป็ นกลไกส าคัญในเรื่ องการกากับดู แลกิ จการที่ ดี โดยกรรหการอิสระท าาน้าที่ ในการ สนับสนุ นนโยบายที่ เป็ นประโยนน์ต่อผูถ้ ื อาุ ้น ารื อคัดค้านเหื่ อเา็ นว่าบริ ษทั ฯ อาจตัดสิ นใจไห่โปร่ งใส ซึ่ งอาจ กระทบต่อผลประโยนน์ของผูถ้ ือาุ ้น และผูห้ ีส่วนได้เสี ยอื่นๆ ดังนั้น กรรหการอิสระต้องหีควาหเป็ นอิสระจากการ ส่วนที่ 2 าน้า 35


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ควบคุหของผูบ้ ริ าาร ผูถ้ ือาุ น้ รายใาญ่ และต้องไห่หีส่วนเกี่ยวข้อง ารื อหีส่วนได้ส่วนเสี ยในทางการเงินและบริ าาร ของกิจการโดยบริ ษทั ฯได้กาานดนิยาหของ "กรรหการอิสระ" ใา้สอดคล้องตาหาลักการกากับดูแลกิจการที่ ดีและเข้หกว่าประกาศคณะกรรหการกากับตลาดทุน1 ดังนี้ (1) กรรหการที่หิได้เป็ นกรรหการบริ าาร มNon-Executive Director) และไห่ได้หีส่วนเกี่ ยวข้องกับ การบริ าารงานประจา และไห่เป็ นผูถ้ ือาุ ้นของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใาญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วห และไห่ได้เป็ น กรรหการที่เป็ นผูแ้ ทนของผูถ้ ือาุน้ รายใาญ่ โดยหีคุณสหบัติเป็ นไปตาหที่กฎาหายกาานด (2) ไห่เป็ นบุคคลที่หีควาหสัหพันธ์ทางสายโลาิ ต ารื อโดยการจดทะเบียนตาหกฎาหายในลักษณะ ที่เป็ น บิดา หารดา คู่สหรส พี่น้อง และบุตร รวหทั้ง คู่สหรสของบุตรของกรรหการรายอื่น ผูบ้ ริ าาร ผูถ้ ื อ าุ ้นรายใาญ่ ผูห้ ีอานาจควบคุห ารื อบุคคลที่จะได้รับการเสนอใา้เป็ นผูบ้ ริ าาร ารื อผูห้ ีอานาจควบคุหของ บริ ษทั ฯ ารื อ บริ ษทั ย่อย (3) ไห่ประกอบกิ จการที่หีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันที่หีนยั สาคัญกับกิจการบริ ษทั ฯ ารื อ บริ ษ ัท ย่อ ย ารื อ ไห่ เป็ นาุ ้ น ส่ วนที่ หี นัย ส าคัญ ในา้ างาุ ้ น ส่ วนารื อเป็ นกรรหการที่ หี ส่ วนร่ ว หการ บริ าารงาน ลู กจ้าง พนักงาน ที่ ปรึ กษา ที่ รับเงิ นเดื อนประจา ารื อถื อาุ ้นเกิ นร้ อยละ 1 ของจานวนาุ ้นที่หี สิ ทธิ ออกเสี ยงทั้งาหดของบริ ษทั อื่นซึ่ งประกอบกิจการที่หีสภาพอย่างเดียวกันและแข่งขันที่หีนยั กับกิจการ ของบริ ษทั ฯ ารื อบริ ษทั ย่อย (4) ไห่หีควาหสัหพันธ์ทางธุ รกิจกับบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใาญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วห ารื อนิ ติบุคคลที่อาจ หีควาหขัดแย้งในลักษณะที่อาจเป็ นการขัดขวางการใน้วจิ ารณญาณอย่างอิสระของตน มก ลักษณะควาหสัหพันธ์ ควาหสัหพันธ์ในลักษณะของการใา้บริ การทางวินานีพ 1) ผู ส้ อบบัญ นี ผู ใ้ า้ บ ริ ก ารทางวิ น านี พ เน่ น ที่ ป รึ ก ษากฎาหาย ที่ ป รึ ก ษาการเงิ น ผู ้ ประเหินราคาทรัพย์สินเป็ นต้น 2) ระดับนัยสาคัญที่ไห่เข้าข่ายอิสระ - กรณี ผสู ้ อบบัญนี : า้าหทุกกรณี - กรณี เป็ นผูใ้ า้บริ การด้านวินานีพอื่น : หูลค่ารายการเกิน 2 ล้านบาทต่อปี ควาหสัหพันธ์ทางการค้า/ธุ รกิจ มใน้แนวทางเดียวกับข้อกาานดรายการเกี่ยวโยงของตลาด าลักทรัพย์ฯ - ลัก ษณะควาหสั ห พัน ธ์ : ก าานดครอบคลุ ห รายการธุ รกิ จ ทุ ก ประเภท ได้แ ก่ รายการที่ เป็ นธุ รกรรหปกติ รายการเน่ า/ใา้เน่ าอสังาาริ หทรัพย์ รายการเกี่ ยวกับ ทรัพย์สิน/บริ การ และรายการใา้ารื อรับควาหน่วยเาลือทางการเงิน

1

ประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน ที่ ทจ.28/2551 เรื่ องการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่

ส่วนที่ 2 าน้า 36


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

- ระดับนัยสาคัญที่ไห่เข้าข่ายอิสระ : หูลค่ารายการหากกว่าารื อเท่ากับ 20 ล้านบาท ารื อหากกว่าารื อเท่ากับร้อยละ 3 ของสิ นทรัพย์ที่หีตวั ตนสุ ทธิ (NTA) ของบริ ษทั ฯ แล้วแต่จานวนใดจะต่ากว่า ทั้งนี้ ในการพิจารณาหูลค่ารายการใา้รวหรายการที่ เกิดขึ้นในระาว่าง 6 เดือนก่อนวันที่หีรายการในครั้งนี้ดว้ ย มข กรณี ที่หีลกั ษณะควาหสัหพันธ์ตาห ข้อ ก. กับนิ ติบุคคล บุคคลที่เข้าข่ายไห่อิสระ ได้แก่ ผูถ้ ื อ าุ น้ รายใาญ่ กรรหการ มยกเว้นกรรหการอิสระ/กรรหการตรวจสอบ มค กาานดน่ วงเวลาที่า้าหหีควาหสัหพันธ์ตาหข้อ ก. และข. ในปั จจุบนั และ 2 ปี ก่อนได้รับ การแต่งตั้ง (5) ไห่เป็ นกรรหการที่ได้รับแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็ นตัวแทนของกรรหการของบริ ษทั ฯ ผูถ้ ือาุ ้นรายใาญ่ ารื อผูถ้ ือาุ น้ ซึ่ งเป็ นผูเ้ กี่ยวข้องกับผูถ้ ือาุ น้ รายใาญ่ของบริ ษทั ฯ (6) ไห่หีลกั ษณะอื่นใดที่ทาใา้ไห่สาหารถใา้ควาหเา็นอย่างอิสระได้ (7) กรรหการอิสระที่หีคุณสหบัติตาหข้อ 1-6 อาจได้รับหอบาหายจากคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ใา้ ตัดสิ นใจในการดาเนินกิจการของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ใาญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วห บริ ษทั ย่อยลาดับเดียวกัน ารื อ นิติบุคคลที่อาจหีควาหขัดแย้ง โดยหีการตัดสิ นใจในรู ปแบบองค์คณะ (Collective decision) ได้ ม8 ระยะเวลาการดารงตาแาน่ งกรรหการอิสระ ไห่ควรเกิ น 9 ปี ติดต่อกัน นับจากวันที่ได้รับการ แต่งตั้งใา้ดารงตาแาน่งกรรหการอิสระครั้งแรก 9.3.2 การสรรหากรรมการและผู้บริหาร 1.หลักเกณฑ์ และกระบวนการในการแต่ งตั้งกรรมการใหม่ บริ ษทั ฯ จัดใา้หีคู่หือคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ซึ่ งระบุเรื่ องการสรราากรรหการว่า การพิจารณาสรร าาและแต่งตั้งผูท้ ี่เาหาะสหเพื่อหาดารงตาแาน่งคณะกรรหการบริ ษทั ฯ จะต้องดาเนินการตาหข้อบังคับของ บริ ษทั ฯและข้อกาานดของคณะกรรหการบริ ษทั ฯ โดยต้องเป็ นผูห้ ีคุณสหบัติตาหที่กฎาหายกาานด ทั้งนี้ คณะกรรหการบริ ษ ทั ฯ ได้พิ จารณาเา็ นนอบการปรับปรุ งาลัก การส าคัญประกอบการพิ จารณาสรราา กรรหการ เพื่อใา้สอดคล้องกับาลักการกากับดู แลกิ จการที่ ดีของบริ ษทั ฯ ที่ ได้แก้ไขตาหาลักเกณฑ์การ ก ากับ ดู แลกิ จการที่ ดีส าารั บ บริ ษ ัท จดทะเบี ย นในปี 2555 ของตลาดาลัก ทรั พ ย์แา่ งประเทศไทย และ าลักเกณฑ์การประเหินโครงการสารวจการกากับดู แลกิ จการบริ ษทั จดทะเบียนไทย ของสหาคหส่ งเสริ ห สถาบันกรรหการบริ ษทั ไทย (Thai Institute of Directors Association : IOD) โดยนาเสนอยังคณะกรรหการ บริ ษทั ฯ พิจารณาอนุหตั ิ สรุ ปสาระสาคัญได้ดงั นี้ - จะต้อ งเป็ นผู ้ที่ หี คุ ณ สหบัติ เาหาะสหไห่ หี ล ัก ษณะต้อ งา้ า หตาหข้อ ก าานดของ คณะกรรหการบริ ษทั ฯตาหที่ตลาดาลักทรัพย์แา่ งประเทศไทยกาานด และาากจะหี สถานะเป็ นกรรหการอิสระจะต้องหีคุณสหบัติสอดคล้องและครบถ้วนตาหคุณสหบัติ ที่กาานดไว้

ส่วนที่ 2 าน้า 37


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

- ต้องประกอบด้วยบุ ค คลที่ หีค วาหรู ้ ท้ งั ในด้านทรั พ ยากรน้ า ารื อวินานี พ แขนงอื่ นที่ เกี่ ยวข้องกับ การดาเนิ นธุ รกิ จ และหี กรรหการอย่างน้อย 1 คน เป็ นผูห้ ี ควาหรู ้ ควาห เนี่ยวนาญด้านบัญนีและการเงิน - ในการสรราาคณะกรรหการ บริ ษทั ฯจะพิจารณาควาหาลากาลายของทักษะในด้าน ต่างๆ ได้แก่ ควาหรู ้ ด้านธุ รกิ จอุ ตสาากรรห การเงิ นและบัญ นี ทักษะการบริ า าร จัดการ และการตัดสิ นใจ ธุ รกิ จเที ยบเคียงระดับสากล กลยุทธ์ทางธุ รกิ จ การบริ าาร วิกฤติ การกากับดู แลกิ จการที่ดี และด้านกฎาหาย เพื่อสนับสนุ นการดาเนิ น งานทุก ด้าน โดยสอดคล้องกับกลยุทธ์ในการดาเนินธุ รกิจของบริ ษทั ฯ - ประธานคณะกรรหการบริ ษทั ฯควรเป็ นกรรหการอิสระและไห่ควรเป็ นประธานารื อ สหานิกในคณะกรรหการนุดย่อยต่างๆ - บริ ษั ท ฯ ก าานดนโยบายการหอบาหายใา้ ค ณะกรรหการบริ ษั ท ฯ ไปเป็ น คณะกรรหการบริ ษทั ในเครื อโดยาากบริ ษทั ฯ ถือาุ ้นในบริ ษทั ในเครื อดังกล่าวตั้งแต่ ร้อยละ 50 ขึ้นไปบริ ษทั ฯ ควรได้รับสิ ทธิ แต่งตั้งกรรหการของบริ ษทั ฯ ารื อบุคคลที่ เาหาะสหเป็ นคณะกรรหการของบริ ษทั ในเครื อดังกล่ าว โดยหี สิทธิ กาานดใา้เป็ น กรรหการบริ า าร มExecutive Director) ไห่ น้ อ ยกว่ า กึ่ งานึ่ งของจ านวนต าแาน่ ง ผูบ้ ริ าารที่บ ริ ษ ทั ฯ ในเครื อดังกล่ าวหี ารื อจะหีในอนาคต และทั้งนี้ าากบริ ษ ทั ฯ หี สัดส่ วนการถื อาุ ้นสู งกว่าร้ อยละ50 ใา้บริ ษทั ฯ หี สิทธิ ในการแต่งตั้งคณะกรรหการ ของบริ ษทั ฯ ในเครื อดังกล่าวตาหสัดส่ วนที่บริ ษทั ฯ ถือครอง - จานวนบริ ษทั ที่ กรรหการสาหารถดารงตาแาน่ งกรรหการในบริ ษทั จดทะเบี ยนอื่ น กาานดใา้กรรหการที่เป็ นผูบ้ ริ าารมExecutive Director-ED) ดารงตาแาน่ งในบริ ษทั จดทะเบียน ไห่เกิ น 4 แา่ ง และกรรหการที่ไห่เป็ นผูบ้ ริ าารมNon Executive DirectorNED) ดารงตาแาน่ งกรรหการในบริ ษทั จดทะเบียนได้ไห่เกิน 3 แา่ ง และรวหบริ ษทั อื่นแล้วไห่เกิน 5 แา่ง โดยที่รวหถึงรัฐวิสาากิจ - จ ากัด อายุ ก รรหการบริ ษ ัท ฯ ไห่ เกิ น 75 ปี โดยไห่ จ ากัด วาระการด ารงต าแาน่ ง ติดต่อกันเพื่อไห่ใา้เสี ยโอกาสในการแต่งตั้งกรรหการที่ หีควาหรู ้ ควาหสาหารถและ ประสบการณ์ ทั้งนี้ กรณี กรรหการอิสระหีวาระการดารงตาแาน่งต่อเนื่องไห่เกิน 9 ปี นับจากวันที่ได้รับการแต่งตั้งใา้ดารงตาแาน่งกรรหการอิสระครั้งแรก - กรรหการอิ ส ระไห่ ถื อาุ ้ นของบริ ษ ัท ฯ บริ ษ ทั ใาญ่ บริ ษ ทั ย่อย บริ ษ ทั ร่ วหารื อนิ ติ บุ ค คลที่ อ าจหี ค วาหขั ด แย้ง มนั บ รวหบุ ค คลที่ เกี่ ย วข้ อ งตาหหาตรา 258 ตาห พระรานบัญญัติาลักทรัพย์และตลาดาลักทรัพย์ พ.ศ. 2551)

ส่วนที่ 2 าน้า 38


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

2. นโยบายกาหนดองค์ ประกอบของคณะกรรมการทีม่ ีความหลากหลาย ในการสรราาคณะกรรหการบริ ษ ทั ฯ จะก าานดคุ ณ สหบัติข องกรรหการที่ ต้องการสรราาใา้ สอดคล้ อ งกับ กลยุ ท ธ์ ใ นการด าเนิ น ธุ ร กิ จ และพิ จ ารณาควาหาลากาลายของทัก ษะในด้ า นต่ า งๆ ประกอบด้วย ควาหรู ้ทางธุ รกิจ อุตสาากรรห บัญนีและการเงิน ทักษะการบริ าารจัดการและตัดสิ นใจ ธุ รกิจ เทียบเคียงระดับสากล กลยุทธ์ทางธุ รกิจ การบริ าารวิกฤติ การกากับดูแลกิจการที่ดี และด้านกฎาหาย 3. การแต่ งตั้งและการพ้นตาแหน่ งของกรรมการบริษัทฯ 1. ฝ่ ายบริ าารต้องประสานงานกับ ผูท้ รงคุณวุฒิ เพื่อขอทราบประวัติ และตรวจสอบคุ ณสหบัติใน เบื้ องต้น าากหี คุณสหบัติผ่านเกณฑ์จึงนาเสนอยังคณะกรรหการธรรหาภิ บาลและสรราา เพื่ อพิ จารณา กลัน่ กรองและเา็นนอบคุณสหบัติในเบื้องต้น 2. ในการประนุหสาหัญประจาปี ทุกครั้ง กรรหการต้องออกจากตาแาน่ง 1 ใน 3 าากจานวนกรรหการ ที่จะแบ่งออกใา้ตรงเป็ นสาหส่ วนไห่ได้ ก็ใา้ออกโดยจานวนใกล้ที่สุดกับส่ วน 1 ใน 3 ทั้งนี้ กรรหการที่ จะต้องออกจากตาแาน่ งในปี แรก และปี ที่ ส องภายาลังจดทะเบี ยนบริ ษทั นั้น าากกรรหการหิ ได้ตกลง กันเองเป็ นวิธีอื่น ใา้ใน้จบั สลากกันว่าผูใ้ ดจะออก ส่ วนปี าลังๆต่อไปใา้กรรหการคนที่อยูใ่ นตาแาน่งนาน ที่สุดเป็ นผูอ้ อกจากตาแาน่ง กรรหการที่ออกตาหวาระนั้นอาจถูกเลือกเข้าหาดารงตาแาน่งใาห่ก็ได้ 3. ใา้ที่ป ระนุ หผูถ้ ื อาุ ้นเลื อกตั้งกรรหการโดยใน้เสี ยงข้างหาก โดยผูถ้ ื อาุ ้นคนานึ่ งหี คะแนนเสี ยง เท่ ากับ านึ่ งาุ ้นต่ อานึ่ งเสี ยงและสาหารถเลื อกตั้งกรรหการเป็ นรายบุ ค คล ทั้งนี้ บุ คคลซึ่ งได้รับ คะแนน สู งสุ ดตาหลาดับลงหาเป็ นผูไ้ ด้รับการเลือกตั้งเป็ นกรรหการ เท่าจานวนกรรหการที่จะพึงหีารื อพึงเลือกตั้ง ในครั้งนั้น ในกรณี ที่บุคคลซึ่ งได้รับการเลือกตั้งในลาดับถัดลงหาหีคะแนนเสี ยงเท่ากันเกินจานวนกรรหการ ที่พึงหีารื อจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นใา้ผเู ้ ป็ นประธานในที่ประนุ หออกเสี ยงเพิ่หขึ้นอีกานึ่ งเสี ยงเป็ นเสี ยงนี้ ขาด 4. ในกรณี ที่ตาแาน่งกรรหการว่างลงเพราะเาตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตาหวาระ ใา้คณะกรรหการ บริ ษทั ฯ เลือกบุคคลที่ผา่ นการกลัน่ กรองจากคณะกรรหการธรรหาภิบาลและสรราา ซึ่ งหีคุณสหบัติ และไห่ หีลกั ษณะต้องา้าหตาหกฎาหายว่าด้วยบริ ษทั หาานนจากัด และหีคุณสหบัติตาหที่บริ ษทั ฯ กาานด เข้าเป็ น กรรหการแทนในการประนุ หคณะกรรหการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรหการเาลือน้อยกว่าสองเดือน บุคคลซึ่ งเป็ นกรรหการแทนดังกล่าว จะอยูใ่ นตาแาน่งกรรหการได้เพียงเท่าวาระที่ยงั เาลืออยูข่ องกรรหการ ที่ตนแทน หติของคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ต้องประกอบด้วยคะแนนเสี ยงไห่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจานวน กรรหการที่ยงั เาลืออยู่ 5. นอกจากการพ้นตาแาน่งตาหวาระแล้ว กรรหการอาจพ้นตาแาน่งเหื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุณสหบัติ ารื อหีลกั ษณะต้องา้าหตาหกฎาหายว่าด้วยบริ ษทั หาานนจากัด (4) ที่ประนุหผูถ้ ือาุน้ ลงหติใา้ออก ส่วนที่ 2 าน้า 39


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

(5) ศาลหีคาสัง่ ใา้ออก 4. การแต่ งตั้งผู้บริหาร บริ ษทั ฯ ตระานักถึ งควาหสาคัญของการบริ าารจัดการองค์กรใา้หีป ระสิ ท ธิ ภาพจึ งได้กาานด นโยบายการสื บทอดตาแาน่งในระดับบริ าารโดยหีวตั ถุประสงค์เพื่อเป็ นาลักการและแนวทางของบริ ษทั ฯ ในการจัดเตรี ยหบุคลากรใา้พร้อหสาารับตาแาน่งในระดับบริ าารของบริ ษทั ฯ โดยยึดาลักควาหโปร่ งใส เป็ นธรรห และสาหารถตรวจสอบได้ (1) คณะกรรหการธรรหาภิบาลและสรราาหีาน้าที่กาานดาลักเกณฑ์การสรราา และพิจารณาอนุ หตั ิ แผนการสื บทอดตาแาน่ง รวหถึงคัดกรองพนักงานระดับบริ าารารื อบุคคลภายนอก สาารับดารงตาแาน่ง กรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ และนาเสนอยังคณะกรรหการบริ ษทั ฯ เพื่อพิจารณาอนุหตั ิต่อไป (2) กรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ และฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง หีาน้าที่กาานดาลักเกณฑ์การสรราาและพัฒนา บุคลากรที่หีควาหรู ้ควาหสาหารถ รวหถึงคัดเลือกพนักงานารื อบุค คลภายนอก สาารับดารงตาแาน่งระดับ รองกรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ เพื่อนาเสนอคณะกรรหการบริ าารและการลงทุ นพิ จารณาแต่งตั้ง ทั้งนี้ กรรหการผูอ้ านวยการใาญ่หีอานาจแต่งตั้งผูบ้ ริ าารระดับฝ่ าย 9.4 รายงานของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรหการบริ ษทั ฯ เป็ นผูร้ ับผิดนอบต่องบการเงินรวหของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย งบการเงิน ดังกล่ าวจัดท าขึ้ น ตาหาลัก การบัญ นี ที่ รับ รองทั่วไปในประเทศไทย ใน้ดุ ล ยพิ นิ จอย่างระหัดระวังและ ประหาณการที่ ดีที่สุดในการจัดทา รวหทั้งหี การเปิ ดเผยอย่างเพี ยงพอในาหายเาตุ ประกอบงบการเงิ นที่ ปรากฏในรายงานประจาปี 2558 (56-2) คณะกรรหการบริ ษ ทั ฯ แต่งตั้งคณะกรรหการตรวจสอบ ซึ่ งประกอบด้วยกรรหการอิ ส ระ เป็ น ผูด้ ูแลรับผิดนอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน และระบบการควบคุหภายใน และควาหเา็นของ คณะกรรหการตรวจสอบ เกี่ ย วกับ เรื่ องนี้ ปรากฏในรายงานของคณะกรรหการตรวจสอบที่ ป รากฏใน รายงานประจาปี 2558 (56-2) คณะกรรหการบริ ษทั ฯ หีควาหเา็ นว่า ระบบการควบคุ หภายในหีควาหเพียงพอและเาหาะสหกับ การดาเนินธุ รกิจ และสาหารถสร้างควาหเนื่อหัน่ อย่างหีเาตุผลต่อควาหน่าเนื่อถือของงบการเงินบริ ษทั และ บริ ษ ทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคห 2558 โดยคณะกรรหการบริ ษ ทั ได้จดั ท ารายงานควาหรับผิดนอบของ คณะกรรหการบริ ษทั ต่อรายงานทางการเงินที่แสดงไว้ในรายงานประจาปี 2555 (56-2) คณะกรรหการธรรหาภิ บ าลซึ่ งได้สอบทานการปฏิ บตั ิ ตาหกระบวนการกากับดู แลกิ จการที่ ดีได้ รายงานควาหเา็นไว้ตาหที่ปรากฏในรายงานประจาปี 2558 (56-2)

ส่วนที่ 2 าน้า 40


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

9.5 ความสั มพันธ์ กบั ผู้ลงทุน บริ ษทั ฯ ตระานักดี ว่าข้อหู ลและสารสนเทศต่างๆของบริ ษทั เป็ นข้อหู ลที่ สาคัญต่อการตัดสิ นใจ ของกลุ่ ห ผูล้ งทุ น นักวิเคราะา์ และกลุ่ หผูถ้ ื อาุ ้น บริ ษ ทั จึ งใา้ควาหส าคัญต่อการเปิ ดเผยข้อหู ล ที่ ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่ งใส และทันเวลา ตาหเกณฑ์ที่สานักงาน ก.ล.ต. และ ตลท. กาานด นอกจากนี้ ยงั ได้จดั ใา้หี การเผยแพร่ ข ้อ หู ล ทั้ง ภาษาไทยและภาษาอัง กฤษ อาทิ ข้อ หู ล บริ ษ ัท งบการเงิ น การน าเสนอผลการ ดาเนิ น งานของบริ ษ ทั ข้อหู ล ทางการเงิ น ที่ ส าคัญ รายงานและการวิเคราะา์ ของฝ่ ายบริ า าร มMD&A) รวหทั้งรายงานสารสนเทศที่บริ ษทั แจ้งต่อตลท. ผ่านน่องทาง www.set.or.th และทางเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ www.eastwater.com โดยปรับปรุ งข้อหูลใา้เป็ นปั จจุบนั อย่างสห่าเสหอ ทั้งนี้สาหารถติดต่อาน่วยงานนักลงทุนสัหพันธ์ทางโทรศัพท์าหายเลข 02-272-1600 ต่อ 2489 และ 2456 โทรสาราหายเลข 02-272-1601 ารื อที่ ir@eastwater.com ซึ่ งได้จดั ตั้งขึ้นเพื่อเป็ นศูนย์กลางและเป็ น ตัวแทนในการติดต่อสื่ อสาร ใา้บริ การข้อหูลข่าวสารและจัดกิ จกรรหต่างๆของบริ ษทั แก่ผลู ้ งทุน ผูถ้ ือาุ ้น นักวิเคราะา์ และประนานนทัว่ ไป เพื่อนาเสนอผลงานและแจ้งสารสนเทศของบริ ษทั ในรู ปแบบต่างๆ โดย ในปี 2558 สรุ ปกิจกรรหดังแสดงในตารางที่ 9.5 ตำรำงที่ 9.5 กิจกรรมนักลงทุนสั มพันธ์ ประเภทกิจกรรม การประชุมทางไกลทางโทรศัพท์ (Conference Call) การจัดกิจกรรมพบผูล้ งทุนรายย่อยกับตลาดหลักทรัพย์ฯ (Opportunity Day) การเข้าพบผู ้บ ริ ห ารเพื่ อ สอบถามถึ ง แนวทางการบริ ห ารจัด การและความ คืบหน้าของโครงการต่างๆ (Company Visit) การจัดกิจกรรมเยีย่ มชมกิจการของบริ ษทั (Site Visit)

กิจกรรมในปี 2558 (จำนวนครั้ง) 13 2 20 2

หมำยเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

นอกจากนี้ ยงั หี บริ การจัดส่ งข่าวสารของบริ ษทั ทางอีเหล์ มE-Magazine) โดยผูส้ นใจสาหารถแจ้ง ควาหประสงค์ได้ทางเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ทั้งนี้ าน่ วยงานนักลงทุนสัหพันธ์ได้จดั ใา้หีการรวบรวหควาห คิดเา็ นและข้อเสนอแนะต่างๆของนักลงทุน นักวิเคราะา์ และผูถ้ ื อาุ ้น เสนอต่อคณะผูบ้ ริ าารของบริ ษทั เพื่อปรั บปรุ งการดาเนิ นงานใา้เาหาะสหในการดาเนิ นนโยบายของบริ ษ ทั ต่อไป นอกจากนี้ ยงั ได้จดั ทา แบบสอบถาหควาหพึงพอใจของผูถ้ ื อาุ ้นในการประนุ หผูถ้ ือาุ ้นทุกครั้ง เพื่อนาผลส่ งยังฝ่ ายที่เกี่ ยวข้องหา ปรับปรุ งใา้การประนุหผูถ้ ือาุ น้ ในครั้งต่อไปหีประสิ ทธิ ภาพหากยิง่ ขึ้น

ส่วนที่ 2 าน้า 41


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

9.6 การดูแลเรื่ องการใช้ ข้อมูลภายใน บริ ษทั ฯ ได้กาานดนโยบายเกี่ยวกับการใน้ขอ้ หูลภายใน โดยระบุไว้ในาลักการกากับดูแลกิจการที่ ดีของกลุ่หบริ ษทั ฯ เพื่อใน้เป็ นาลักปฏิบตั ิสาารับกรรหการ ผูบ้ ริ าาร และพนักงาน ดังนี้ (1) นโยบายเกี่ยวกับการป้ องกันการใน้ขอ้ หูลภายใน า้าหผูบ้ ริ าาร พนัก งานประจาของบริ ษ ทั ฯ รวหทั้งคู่ส หรสและบุ ตรไห่ บ รรลุ นิติภาวะของ บุ ค คลดัง กล่ า วน าข้อ หู ล ภายในของบริ ษ ัท ฯ ที่ เป็ นสาระส าคัญ ซึ่ งยัง ไห่ เปิ ดเผยต่ อ สาธารณนนไปใน้ ประโยนน์ในการซื้ อขาย าลักทรัพย์เพื่อเก็งกาไร ารื อสร้างควาหได้เปรี ยบใา้กบั บุคคล ารื อกลุ่หบุคคลใด กลุ่หานึ่ง (2) นโยบายเกี่ยวกับการซื้ อขายาลักทรัพย์ของบริ ษทั ฯ ผูบ้ ริ าารและพนักงานประจาของบริ ษทั ฯ รวหทั้งคู่สหรสและบุตรที่ยงั ไห่บรรลุนิติภาวะของ บุ คคลดังกล่ าว งดการซื้ อ ขาย ารื อโอนาุ ้นบริ ษ ทั ฯ ในน่ วงระยะเวลา 1 เดื อนก่ อนการเปิ ดเผยข้อหู ลงบ การเงินต่อตลาดาลักทรัพย์แา่ งประเทศไทย และในน่วงระยะเวลา 3 วันาลังการเปิ ดเผยข้อหูลงบการเงิน ต่อตลาดาลักทรัพย์แา่งประเทศไทย เพื่อใา้ผถู ้ ือาุ ้นและผูล้ งทุนได้หีระยะเวลาที่เพียงพอในการเข้าถึงและ ทาควาหเข้าใจในสาระสาคัญของข้อหูลข่าวสารของบริ ษทั ฯ ารื องบการเงินที่เปิ ดเผยได้ต่อตลาดาลักทรัพย์ แา่งประเทศไทยเสร็ จสิ้ นแล้ว กรรหการและผูบ้ ริ าารระดับสู งต้องแจ้งต่อเลขานุ การบริ ษทั ฯ เกี่ยวกับการซื้ อขายาุ ้นของบริ ษทั ฯ อย่างน้อย 1 วันล่วงาน้าก่อนการซื้ อขาย โดยเลขานุ การบริ ษทั ฯ จะรายงานการซื้ อ-ขายาุ ้นดังกล่าว ใา้ที่ ประนุหคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ทราบทุกครั้ง ม3 นโยบายเกี่ยวกับข้อหูลทางธุ รกิจของกลุ่หบริ ษทั ฯ 1. กรรหการ ฝ่ ายบริ าาร พนักงาน ผู ป้ ฏิบตั ิงานสหทบ พนักงานของผูร้ ับจ้างของบริ ษทั ฯ และ บริ ษทั ในเครื อ ในบางครั้งจะต้องทางานกับข้อหูลและเอกสารที่ไห่สาหารถเปิ ดเผยต่อบุคคลภายนอกได้ และ / ารื อเป็ นควาหลับทางการค้า เน่ น ข้อหูลในสัญญา แบบแปลน แผนที่ ตัวเลข สู ตร การประดิ ษฐ์ คิดค้นต่างๆ เป็ นต้น ซึ่ งถือเป็ นสิ ทธิ ของกลุ่หบริ ษทั ฯ การปกป้ องข้อหูลประเภทนี้หีควาหสาคัญอย่างยิง่ ต่อ ควาหสาเร็ จของกลุ่หบริ ษทั ฯ ในอนาคต รวหทั้งหีควาหสาคัญต่อควาหหัน่ คงในอานี พการงานของทุกคน ด้วย ผูท้ ี่ได้ดารงตาแาน่งกรรหการ ฝ่ ายบริ าาร พนักงาน ผูป้ ฏิ บตั ิงานสหทบ พนักงานผูร้ ับจ้างของ กลุ่หบริ ษทั ฯ ารื อบริ ษทั ในเครื อ หีาน้าที่ตอ้ งยอหรับพันธะผูกพันตาหกฎาหายและจรรยาบรรณที่ตอ้ งไห่ เปิ ดเผยข้อหูลและเอกสารที่เป็ นควาหลับารื อควาหลับทางการค้านั้นๆ 2. นั้นควาหลับของข้อหูล ข้อหู ลลับทางการค้าซึ่ งเป็ นข้อหู ลภายในกลุ่ หบริ ษ ทั ฯ ต้องได้รับการดู แลปกปิ ดหิ ใา้รั่วไาล ออกไปภายนอกได้ ควาหลับของข้อหูลเาล่านั้นอาจแบ่งออกได้เป็ นาลายนั้นตาหควาหสาคัญจากน้อยไป าาหาก เน่น กาานดข้อหูลใา้เป็ น ข้อหูลที่เปิ ดเผย ข้อหูลปกปิ ด ข้อหูลลับ เป็ นต้น ส่วนที่ 2 าน้า 42


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

การใน้ขอ้ หูลภายในร่ วหกันต้องอยู่ในกรอบที่ ถือเป็ นาน้าที่ และควาหรับผิดนอบที่ ตนได้รับ หอบาหายเท่านั้น 3. การใา้ขอ้ หูลข่าวสารแก่บุคคลภายนอก ทุกข้อหูลที่ออกไปสู่ สาธารณนนต้องได้รับควาหเา็นนอบจากกรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ ารื อ กรรหการผูจ้ ดั การของบริ ษทั ในเครื อ ว่าจะเป็ นผูต้ อบเอง ารื อหอบาหายใา้ผาู ้ นึ่ งผูใ้ ดเป็ นผูใ้ า้ารื อผูต้ อบ ข้อหูล ทั้งนี้ขอ้ หูลเกี่ยวกับผูร้ ่ วหทุนอื่นๆ จะต้องได้รับควาหเา็นนอบจากผูร้ ่ วหทุนด้วย าน่ วยงานกลางที่ เป็ นผูใ้ า้ขอ้ หู ลแก่ส าธารณนน ได้แก่ ฝ่ ายสื่ อสารองค์กร แผนกการตลาด และงานนัก ลงทุ น สั ห พัน ธ์ มInvestor Relations) ทั้ง นี้ พนัก งานกิ จการสั ห พัน ธ์ หี า น้ า ที่ แจ้ง ข่ า วสารแก่ พนักงานด้วย ฝ่ ายที่เป็ นเจ้าของข้อหูล มActivity Owner) หีาน้าที่เป็ นผูใ้ า้รายละเอียดและประสานข้อหูลกับ ผูบ้ งั คับบัญนาตาหสายงาน โดยต้องได้รับการอนุ หตั ิจากกรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ ารื อกรรหการผูจ้ ดั การ ของบริ ษทั ในเครื อก่อนหีการเผยแพร่ 9.7 การกากับดูแลการดาเนินงานของบริษัทในเครื อ บริ ษทั ฯ กาานดนโยบายการบริ า ารงานในบริ ษทั ในเครื อ เพื่ อบริ า ารจัดการและก าานดแนว ทางการดาเนิ นธุ รกิ จเพื่อใา้การบริ าารงานเป็ นไปอย่างหีศกั ยภาพ หีประสิ ทธิ ภาพและหี ควาหเสี่ ยงอยู่ใน ระดับ ที่ เาหาะสห เพื่ อใา้บ ริ ษ ัท ฯ ได้รับ ผลตอบแทนที่ คุ ้ห ค่ าต่ อ การลงทุ น บริ ษ ัท ฯ จึ งหี น โยบายที่ จะ เสริ หสร้ างใา้กิจการของบริ ษทั ในเครื อหี ควาหแข็งแกร่ งและหี ศกั ยภาพที่ จะเติบโตอย่างยัง่ ยืนในอนาคต โดยแบ่งการกากับดูแลการดาเนินงานของบริ ษทั ในเครื อในด้านต่างๆ ดังนี้ 1.นโยบายการลงทุน 1 ปฏิ บตั ิาน้าที่ด้วยควาหรับผิดนอบ โดยถือประโยนน์ของบริ ษทั ฯ และผูถ้ ือาุ ้นโดยคานึ งถึ งการ ลงทุนที่ใา้ผลตอบแทนที่เาหาะสหและยุติธรรห รวหทั้งรักษาสถานภาพทางการเงินใา้หีสภาวะหัน่ คงเพื่อ ประโยนน์ต่อควาหคงอยูแ่ ละควาหเจริ ญเติบโตเป็ นสาคัญ 2 เหื่อคณะกรรหการบริ ษทั ในเครื อได้พิจารณาอนุ หตั ิการดาเนิ นธุ รกิจแล้ว บริ ษทั ในเครื อต้องแจ้งยัง คณะกรรหการบริ ษทั ฯ เพื่อทราบทุกครั้ง 3 าากการท าธุ ร กิ จ หี ล ั ก ษณะที่ เข้ า ข่ า ยรายการที่ เกี่ ย วโยงกั น เพื่ อ ใา้ เป็ นไปตาหประกาศ คณะกรรหการกากับาลักทรัพย์และตลาดาลักทรัพย์ บริ ษทั ในเครื อต้องใา้คณะกรรหการบริ ษทั ฯ พิจารณา อนุหตั ิการทารายการก่อน ทั้งนี้ การลงทุนาลักที่สาคัญจาเป็ นต้องได้รับการอนุหตั ิจากคณะกรรหการบริ ษทั ในเครื อ โดยหีผูแ้ ทนของบริ ษทั ฯ ร่ วหเป็ นคณะกรรหการพิจารณาโครงการดังกล่ าว ก่อนจะนาเสนอยัง คณะกรรหการบริ ษทั ฯ เพื่อพิจารณาต่อไป 4 บริ ษทั ในเครื อต้องรายงานผลการประกอบการและการดาเนิ นงานของธุ รกิ จที่สาคัญ พร้ อหทั้ง วิเคราะา์ ควาหอ่อนไาวทางธุ รกิ จและการประเหิ นผล โดยเปรี ยบเที ยบกับ เป้ าาหาย รวหถึ งแสดงควาห ส่วนที่ 2 าน้า 43


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คิดเา็ นารื อข้อเสนอแนะแนวทางการบริ าารกิจการของแต่ละบริ ษทั ในเครื อเพื่อใน้ประกอบการพิจารณา ก าานดนโยบายารื อ ปรั บ ปรุ ง ส่ ง เสริ ห ใา้ ธุ รกิ จของบริ ษ ัท ในเครื อหี ก ารพัฒ นาและเจริ ญ เติ บ โตอย่า ง ต่อเนื่อง 2. นโยบายการบริหารงานส่ วนกลาง 1 บริ ษทั ฯ จะดาเนินการแต่งตั้งผูบ้ ริ าารระดับสู งของบริ ษทั เพื่อร่ วหบริ าารจัดการบริ ษทั ในเครื อ ทั้ง ในระดับ นโยบายและระดับ ปฏิ บ ัติก ารเพื่ อ ใา้ ก ลุ่ ห บริ ษ ัท หี ก ารบริ า ารธุ รกิ จที่ เป็ นไปในทิ ศ ทางที่ สอดคล้องกับการดาเนิ นธุ รกิจาลัก ก่อใา้เกิ ดประโยนน์สูงสุ ดในภาพรวหและใา้หีควาหเนื่ อหโยงในด้าน นโยบาย และกลยุทธ์รวหทั้งสร้างผลกาไรใา้กบั บริ ษทั ในเครื อในอนาคต 2 การควบคุหภายใน โดยบริ ษทั ในเครื อใา้ควาหสาคัญกับการบริ าารควาหเสี่ ยงและการแก้ไข ปั ญาาที่เกิดขึ้นจากการตรวจประเหินประสิ ทธิ ภาพประสิ ทธิ ผลของระบบควบคุหภายในของฝ่ ายตรวจสอบ ใา้ ท ัน ท่ ว งที และาหั่น ทบทวนระบบการท างานเพื่ อ ควบคุ ห ควาหเสี่ ย งใา้ อ ยู่ใ นระดับ ที่ ย อหรั บ ได้ นอกจากนั้นการกาานดระเบี ยบพนักงานและการจัดาาพัส ดุ ตอ้ งดาเนิ นการใา้หีป ระสิ ท ธิ ภาพ รวดเร็ ว คล่องตัวและหี หาตรฐานเดี ยวกันในการปฏิ บตั ิงานตาหระเบียบพนักงานและระเบียบการจัดาาพัสดุของ บริ ษทั โดยพิจารณาวงเงินการบริ าารงานบุคคลและสวัสดิสงเคราะา์พนักงานใา้เป็ นไปตาหนโยบายของ บริ ษทั ที่กาานดไว้ในคู่หือพนักงานและการจัดาาพัสดุ ใา้สอดคล้องและเป็ นอัตราส่ วนที่เาหาะสหกับผล การดาเนินงานของบริ ษทั ในเครื อ 3. นโยบายทางการเงินและบัญชีต่อบริษัทในเครื อ 3. 1) ด้ านการจัดการและบริหารการเงิน ม1 การจัดาาแาล่ งเงินกู้ บริ ษทั ในเครื อต้องแจ้งข้อหูลควาหต้องการเงิ นกู้ โดยแสดงที่หาของควาห ต้องการในรู ป โครงการเงิ น ลงทุ นใา้ ฝ่ายการเงิ น และบัญ นี ข องบริ ษ ทั ทราบล่ วงาน้าอย่างน้อย 6 เดื อน ก่อนการเริ่ หดาเนิ นการโครงการลงทุนนั้นๆ เพื่อประโยนน์ในการพิจารณาทางเลือกแาล่งเงินกูท้ ี่หีขอ้ เสนอ ที่เาหาะสห ม2 การประกาศจ่ายปั นผลไห่นอ้ ยกว่าร้อยละ 30 ของกาไรสุ ทธิ ในแต่ละรอบระยะเวลาบัญนี เว้นแต่ หีเาตุผลอันสหควรที่จะต้องนาเงินสดจากส่ วนของเงินปั นผลไปใน้แทน ม3 การดารงอัตราส่ วนทางการเงินที่สาคัญตาหเงื่อนไขสัญญากูย้ หื เงินจะต้องดาเนินการอย่างเคร่ งครัด และแจ้งข้อหูลใา้ฝ่ายการเงินและบัญนีของบริ ษทั ทราบเป็ นรายเดือน 3.2) ด้ านการงบประมาณ ม1 การทางบประหาณลงทุนและดาเนินการต้องเป็ นไปตาหระเบียบงบประหาณของแต่ละบริ ษทั ที่สอดคล้องกับระเบียบงบประหาณของบริ ษทั ฯ ม2 การจัดทาและทบทวนงบประหาณต้องดาเนินการตาหกรอบเวลาและจัดส่ งข้อหูลใา้สอดคล้อง กับการดาเนินการของบริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2 าน้า 44


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ม3 จัดใา้หีการติดตาหและประเหินผลการใน้งบประหาณ ทั้งด้านลงทุนและดาเนินการอย่างเาหาะสห 3.3) ด้ านการบัญชี ม1 การจัดทาบัญนีตอ้ งเป็ นไปตาหนโยบายการบัญนีซ่ ึงเป็ นไปตาหหาตรฐานการบัญนีของประเทศ ไทย และภายใต้กฎเกณฑ์การเป็ นบริ ษทั ในเครื อของบริ ษทั ฯ ซึ่ งเป็ นบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดาลักทรัพย์ แา่งประเทศไทย ม2 การส่ งงบการเงินใา้บริ ษทั ทางบการเงินรวหต้องผ่านการสอบทานโดยผูส้ อบบัญนีของกลุ่ห บริ ษทั ที่รับการแต่งตั้งตาหที่ได้รับควาหเา็ นนอบจากคณะกรรหการบริ ษทั ฯ และผ่านการอนุ หตั ิโดยหติที่ ประนุหสาหัญผูถ้ ือาุน้ ประจาปี แล้ว ม3 การส่ งงบการเงินใา้บริ ษทั ฯ ทางบการเงินรวหต้องดาเนินการตาหระยะเวลาที่ฝ่ายการเงินและ บัญนีของบริ ษทั ฯ แจ้งใา้บริ ษทั ในเครื อทราบในแต่ละไตรหาส ม4 การจัดทาบัญนีของบริ ษทั ในเครื อต้องใน้ผงั บัญนีในระบบบัญนีแยกประเภทและ Software บัญนีระบบเดียวกับของบริ ษทั ฯ 3.4) ด้ านการภาษีอากร ม1 การจัดทาและนาส่ งภาษีใา้กรหสรรพากรต้องเป็ นไปตาหประหวลรัษฎากรของประเทศไทย ม2 ในกรณี ที่ หีป ระเด็น ควาหเสี่ ยงทางภาษี ที่ หี สาระส าคัญ ใา้บริ ษ ทั ในเครื อแจ้งข้อหูล ใา้ฝ่าย การเงินและบัญนีของบริ ษทั ฯ ทราบโดยทันทีในกรณี เร่ งด่วนและหีการสรุ ปรายงานควาหคืบาน้าของการ ดาเนินการที่เกี่ยวข้องเป็ นประจารายไตรหาส 9.8 ค่ าตอบแทนผู้สอบบัญชี ส าารั บ ปี 2558 บริ ษ ทั ฯ จ่ ายค่ าตอบแทนใา้แก่ บ ริ ษ ัท ไพร้ ซ วอเตอร์ เฮาส์ คูเปอร์ ส เอบี เอเอส จากัด เป็ นค่าตอบแทนจากการสอบบัญนี และค่าใน้จ่ายอื่น มค่าเดิ นทาง สาารับบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย จานวนรวหทั้งสิ้ น 2,296,000 บาท หีรายละเอียด ดังนี้ 1) 2) 3) 4) 5) 6)

บริษัทฯ บหจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บจ. ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ บจ. ประปาฉะเนิงเทรา บจ. ประปาบางปะกง บจ. ประปานครสวรรค์ บจ. เอ็กคอหธารา รวมค่ าสอบบัญชี

ค่ าสอบบัญชี(บาท) 890,000 655,000 230,000 230,000 180,000 111,000 2,296,000

ส่วนที่ 2 าน้า 45


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

หมายเหตุ : 1) บริ ษทั ย่อยจ่าย ค่าตอบแทนงานบริ การอื่น ซึ่ งได้แก่ ค่าจัดทางบการเงินเสหือนมPro Forma Financial Information และค่ า ที่ ป รึ ก ษาการน าบริ ษ ัท เข้าจดทะเบี ย นในตลาดาลัก ทรั พ ย์ ใา้ แก่ บ ริ ษ ัท ไพร้ซ์วอเตอร์ เฮาส์ คูเปอร์ ส เอบีเอเอส จากัด มPWC ในรอบปี 2558 เป็ นจานวนเงินรวห 1,550,000 บาท 2) ค่าใน้จ่ายอื่น มค่าเดินทาง : ไห่เกินร้อยละ 2 ของค่าธรรหเนียหการสอบบัญนี

ส่วนที่ 2 าน้า 46


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

10. ความรับผิดชอบต่ อสั งคม 10.1 ความรับผิดชอบต่ อสั งคมของบริษัทฯ บริ ษทั ฯ ได้จดั ทาข้อหู ลควาหรั บผิดนอบต่อสังคหขององค์กร โดยการจัดทารายงานควาหยัง่ ยืน ประจาปี 2558 ตาหกรอบการรายงานในระดับสากลของ The Global Reporting Initiative (GRI-G4) ท่าน สาหารถดาวน์โาลดได้จากเวบไซด์ของบริ ษทั (http://eastw-th.listedcompany.com/ar.html) 10.2 การป้ องกันการมีส่วนเกีย่ วข้ องกับการคอร์ รัปชั่น บริ ษ ัท ฯ แสดงเจตนารหณ์ เป็ นแนวร่ ว หปฏิ บ ัติ ข องภาคเอกนนไทยในการต่ อ ต้า นการทุ จ ริ ต มCollective Anti-Corruption : CAC เหื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 ซึ่ งเป็ นโครงการที่ได้รับการสนับสนุ นจาก รัฐบาลและสานักงานคณะกรรหการป้ องกันและปราบปราหการทุจริ ตแา่งนาติมป.ป.น. และบริ ษทั ฯ ได้รับ การรับ รองเป็ นสหานิ กแนวร่ วหปฏิ บตั ิ ของภาคเอกนนไทยในการต่อต้านการทุ จริ ต เหื่ อวันที่ 3 เหษายน 2558 และได้กาานดแนวทางในการประพฤติปฏิ บตั ิที่เาหาะสหเกี่ ยวกับเรื่ องการทุจริ ตคอร์ รัปนัน่ ภายใน องค์กรของคณะกรรหการ ฝ่ ายบริ าาร และพนักงานของบริ ษทั ฯ ไว้ในนโยบายต่อต้านการทุจริ ตคอร์ รัปนัน่ ภายในองค์กร โดยกาานดใา้หีการสอบทานการปฏิ บตั ิตาหนโยบายอย่างสห่าเสหอ รายละเอียดนโยบายฯ สาหารถดูได้ที่ http://eastw-th.listedcompany.com/anti_corruption.html

ส่วนที่ 2 าน้า 47


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

11. การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ ยง กำรประเมินควำมเพียงพอของระบบกำรควบคุมภำยในประจำปี 2558 ในการประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559 คณะกรรมการได้ เห็นชอบระบบการควบคุมภายในจากรายงานผลการประเมินของคณะกรรมการตรวจสอบซึ่ งได้ประเมิน ระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ใน 5 ด้าน ประอกอบด้วยการควบคุมภายในองค์กร การประเมินความ เสี่ ยง การควบคุ ม การปฏิ บ ตั ิ งาน ระบบสารสนเทศและการสื่ อสารข้อมู ล และระบบการติดตาม โดยมี รายละเอียดดังนี้ กำรควบคุมภำยในองค์ กร (Control Environment) คณะกรรมการและผูบ้ ริ หารประกาศใช้ “หลักการกากับดูแลกิจการที่ดีของกลุ่มบริ ษทั จัดการและ พัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)” ซึ่ งถือเป็ นนโยบายและวินยั อย่างหนึ่ งที่บุคลากรของ กลุ่มบริ ษทั ต้องรับทราบและทาความเข้าใจและปฏิบตั ิให้สอดคล้องกับนโยบายและจรรยาบรรณต่างๆอย่าง สม่ าเสมอ หลักการดังกล่ าวได้ครอบคลุ มถึ งการปฏิ บตั ิ หน้าที่ ประจาวัน และการตัดสิ นใจในเรื่ องต่างๆ รวมทั้งการปฏิ บ ัติต่อคู่ ค ้า ลู ก ค้า บุ ค คลภายนอก นอกจากนี้ ได้ป ระกาศใช้จรรยาบรรณทางธุ รกิ จของ พนักงาน (Code of Conduct) ครอบคลุ มกลุ่ มบริ ษ ทั ฯ ทั้งนี้ พ นัก งานที่ ฝ่าฝื นหรื อละเมิ ดจรรยาบรรณจะ ได้รับการสอบสวนและลงโทษตามที่บริ ษทั กาหนดไว้ในคู่มือพนักงาน บริ ษทั ฯ ได้กาหนดให้คณะกรรมการบริ ษทั และฝ่ ายบริ หารมีการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ออกจาก กันอย่างชัดเจน คณะกรรมการบริ ษทั จะไม่เข้าไปเกี่ยวข้องในภาระหน้าที่ของฝ่ ายบริ หาร เพื่อสร้างดุลยภาพ ระหว่างการบริ หารและการกากับดูแลกิ จการ รวมทั้งมีการติดตามการบริ หารงานเพื่อให้มนั่ ใจว่า นโยบาย และกระบวนการที่ เหมาะสมได้นามาใช้ในทางปฏิ บ ตั ิ อย่างมี ประสิ ทธิ ผล โดยคณะกรรมการบริ ษทั ได้ พิจารณาสรรหาและแต่งตั้งผูท้ ี่เหมาะสมเพื่อมาดารงตาแหน่ งผูบ้ ริ หารระดับสู ง การแต่งตั้งคณะกรรมการ ชุ ดต่างๆ จะต้องดาเนิ นการตามข้อบังคับของบริ ษทั และข้อกาหนดของคณะกรรมการบริ ษทั ตามที่ ตลาด หลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทยก าหนดไว้ คณะกรรมการมี บ ทบาทส าคัญ ในการก าหนดวิสั ย ทัศ น์ แผน ยุท ธศาสตร์ ระยะ 3 ปี และแผนปฏิ บตั ิ การประจาปี ผูบ้ ริ หารทุ ก หน่ วยงานจะร่ วมจัดท าแผนปฏิ บตั ิ การ ประจาปี (Action Plan) ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ ที่กาหนดไว้ในแผนระยะยาวเพื่อนาไปสู่ การปฏิบตั ิ โดยมีการกาหนดเป้ าหมาย วัตถุประสงค์ งบประมาณ ปั จจัยความเสี่ ยงในกิ จกรรมหลักที่จะดาเนิ นการใน แต่ล ะช่ วงเวลา ผลตอบแทนที่ คาดว่าจะได้รับ ที่ สามารถวัดได้อย่างเป็ นรู ป ธรรมเพื่ อให้บ รรลุ เป้ าหมาย โดยรวม บริ ษ ัท ฯ มี โครงสร้ างองค์ก รที่ ชัดเจนเพื่ อ สนับ สนุ น การบรรลุ วตั ถุ ป ระสงค์ข องบริ ษ ัท ฯ และ สนับสนุ นให้การควบคุ มภายในเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยมีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบทั้ง ในสายงานปฏิ บ ตั ิ งานหลักและสายงานสนับสนุ น รวมทั้งมุ่ งเน้นให้มี กลไกการถ่ วงดุ ลอานาจระหว่าง

ส่วนที่ 2 าน้า 48


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คณะกรรมการบริ ษ ัท ฝ่ ายบริ ห าร และผูถ้ ื อหุ ้น ตลอดจนจัดให้มี ห น่ วยงานเพื่ อสื่ อสารกับ ผูล้ งทุ น เพื่ อ เผยแพร่ ขอ้ มูลต่างๆ ของบริ ษทั ให้สาธารณชนได้ทราบอย่างสม่าเสมอ นอกจากนี้ บริ ษ ัท ฯ ได้ค านึ ง ถึ ง ความมุ่ ง มั่น ในการจู ง ใจ พัฒ นาและรั ก ษาบุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ้ ความสามารถ จึงได้จดั ให้มีแผนพัฒนาพนักงานรายบุคคล (IDP) รวมทั้งมีนโยบายการบริ หารสายอาชี พ และแผนทดแทนตาแหน่ งงานเพื่อเตรี ยมความพร้อมการทดแทนพนักงานโดยเฉพาะระดับบริ หารและใน กลุ่มหลักธุ รกิจ รวมทั้งมีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานพนักงานตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้เป็ นดัชนี ช้ ีวดั ผล การดาเนินงาน เพื่อใช้ในการพิจารณาความดีความชอบ การประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment) บริ ษทั ฯ ใน้แนวคิดของการบริ าารควาหเสี่ ยงทัว่ ทั้งองค์กร มEnterprise Risk Management) โดยใา้ ผู บ้ ริ า ารและพนัก งานที่ เกี่ ย วข้อ งร่ ว หกัน บ่ ง นี้ ควาหเสี่ ย ง การวิเคราะา์ ปั จ จัย เสี่ ย งทั้ง โอกาสเกิ ด และ ผลกระทบเพื่อกาานดหาตรการควบคุหที่เาหาะสห บริ ษทั ฯ จัดตั้งาน่ วยงานบริ าารจัดการควาหเสี่ ยงเพื่อ จัดทาแผนบริ าารควาหเสี่ ยง ติดตาหผลการจัดการเพื่อลดระดับควาหเสี่ ยงใา้อยูใ่ นระดับที่ยอหรับได้ และ ทบทวนปั จจัยควาหเสี่ ยงเพื่อเสนอคณะกรรหการบริ าารควาหเสี่ ยงพิจารณาก่อนนาเสนอคณะกรรหการ บริ ษทั ทุกไตรหาส เพื่อพิจารณาและใา้คาวินิจฉัยอันจะส่ งผลใา้กระบวนการบริ าารควาหเสี่ ยงของบริ ษทั หี ควาหต่อเนื่ อง ทั้งนี้ ได้สื่อสารนโยบายและแนวปฏิบตั ิในการบริ าารควาหเสี่ ยงใา้พนักงานทุกคนรับทราบ และถื อปฏิ บตั ิเพื่อใา้เป็ นส่ วนานึ่ งของวัฒนธรรหขององค์กรว่า ทุกคนหีส่วนร่ วหดูแลองค์กรร่ วหกันผ่าน กระบวนการบริ าารควาหเสี่ ยงที่ เข้าใจตรงกัน นอกจากนั้นแล้วบริ ษ ทั ได้หี การจัดท าแผนบริ าารควาห ต่อเนื่ องทางธุ รกิ จ มBusiness Continuities Plan : BCP และหี ก ารซ้อหแผน เพื่ อใา้ เกิ ดควาหหัน่ ใจได้ว่า สาหารถดาเนินการใา้บรรลุผลตาหแผนดังกล่าว ในกรณี ที่เกิดภาวะวิกฤติารื อเาตุฉุกเฉิ น กำรควบคุมกำรปฏิบัติงำน (Control Activities) บริ ษ ทั ฯ ประกาศใช้ระเบี ยบและแนวปฏิ บ ตั ิ ต่างๆ อาทิ ด้านการจัดซื้ อจัดจ้าง งบประมาณ การ ลงทุนและบริ หารโครงการ การบัญชี และการเงิน เป็ นต้น นอกจากนี้ ยงั ได้กาหนดขอบเขตอานาจหน้าที่ และวงเงิ นอานาจอนุ มตั ิ ของฝ่ ายบริ หารให้ส อดคล้องกับ หลักการควบคุ มภายในที่ ดี รวมทั้งจัดให้มี การ แบ่งแยกหน้าที่งาน และการสอบทานงานระหว่างกัน โดยแยกงานในหน้าที่อนุมตั ิ การบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลสารสนเทศ และหน้าที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพย์สินออกจากกัน นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้รับการรับรอง ระบบมาตรฐานคุ ณภาพ ISO9001:2008 และ ISO 14001:2004 ซึ่ งกาหนดให้บ ริ ษทั ต้องจัดท าคู่มื อและ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่สาคัญ เพื่อเป็ นมาตรฐานอ้างอิงในการปฏิบตั ิงาน รวมถึงการจัดฝึ กอบรมพนักงาน ให้เข้าใจ และสามารถปฏิ บตั ิงานได้อย่างถู กต้อง สอดคล้องตามขั้นตอน และวิธีการปฏิบตั ิงานที่บริ ษทั ฯ กาหนดไว้ หากมีรายการระหว่างกันของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย รวมถึงผูม้ ีส่วนได้เสี ยต่างๆ จะผ่านขั้นตอน การพิจารณาอนุ มตั ิอย่างถู กต้องชัดเจน หากรายการระหว่างกันมีนยั สาคัญฝ่ ายตรวจสอบ คณะกรรมการ ตรวจสอบ ฝ่ ายบริ หาร และผูส้ อบบัญชีจะดาเนิ นการพิจารณาอย่างรอบคอบและดาเนิ นการตามข้อกาหนด ส่วนที่ 2 าน้า 49


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ของตลาดาลักทรัพย์ฯ ตลอดจนเปิ ดเผยในาหายเาตุประกอบงบการเงิน และรายงานใา้สานักงาน ก.ล.ต. ทราบ อีกทั้งในการออกเสี ยงเพื่อลงหติเกี่ยวกับรายการเกี่ยวโยง กรรหการที่หีส่วนได้เสี ยจะงดออกเสี ยงใน หติดงั กล่าว ระบบสำรสนเทศและกำรสื่ อสำรข้ อมูล (Information & Communication) บริ ษทั ฯ มีการประยุกต์ใช้และพัฒนาระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูลภายในอย่างต่อเนื่ อง โดยกาหนดเป็ นนโยบายเกี่ ยวกับ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารไว้ในหลักการกากับดู แล กิจการที่ดีของบริ ษทั เพื่อให้พนักงานมีความเข้าใจการใช้สื่อภายในต่างๆภายใต้การควบคุมภายในที่ดี อาทิ การใช้Internet E-mail และสื่ อ โทรคมนาคมต่ างๆ ได้แ ก่ โทรศัพ ท์ โทรสาร วิท ยุรับ -ส่ ง อุ ป กรณ์ รับ สัญญาณ เป็ นต้น รวมทั้งได้สื่อสารให้บุคลากรของบริ ษทั ได้เข้าใจถึงการปฏิบตั ิตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ สารสนเทศ ได้แก่ พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารฯ พ.ร.บ. อิเล็กทรอนิกส์ฯ เพื่อไม่ให้เกิดการฝ่ าฝื นกฎหมาย บริ ษทั ฯ จัดใา้หี call center เพื่อรับเรื่ องร้องเรี ยนจากบุคคลภายนอก และหีนักลงทุนสัหพันธ์ทา าน้าที่ติดต่อสื่ อสารและจัดกิจกรรหร่ วหกับผูถ้ ือาุ ้นและนักลงทุนรวหทั้งหีน่องทางการสื่ อสารพิเศษเพื่อใา้ พนักงานและาน่วยงานภายนอกสาหารถแจ้งข้อหูลารื อการร้องเรี ยนแก่บริ ษทั โดยผ่านทาง AC_EW ารื อ CEO Mail Box ระบบกำรติดตำม (Monitoring Activities) บริ ษทั ฯ ให้ความสาคัญต่อการตรวจสอบภายในเพื่อเพิ่มคุณค่าต่อองค์กรโดยการใช้ขอ้ มูลประเมิน ความเสี่ ยงภายในองค์กร ประกอบการวางแผนการตรวจสอบ (Risk Based Audit) และมอบหมายให้ฝ่าย ตรวจสอบร่ วมกับที่ปรึ กษาการตรวจสอบภายในสอบทานประสิ ทธิ ภาพประสิ ทธิ ผลของระบบการควบคุม ภายในของทุ ก กระบวนการท างานและรายงานต่ อผูบ้ ริ ห ารและคณะกรรมการตรวจสอบทุ ก ไตรมาส เพื่อให้คณะกรรมการบริ ษทั ฯ รวมถึงฝ่ ายบริ หารสามารถเชื่ อมัน่ ในประสิ ทธิ ภาพประสิ ทธิ ผลของระบบการ ควบคุมภายในของบริ ษทั รวมถึงความถูกต้องน่ าเชื่ อถือได้ของข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ทั้งสารสนเทศทาง การเงินการบัญชี และสารสนเทศที่ใช้ในการดาเนินงาน ทั้งนี้ฝ่ายตรวจสอบได้ติดตามผลการปรับปรุ งแก้ไข ตามประเด็ น ที่ ตรวจพบและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบ และน าเสนอคณะกรรมการ ตรวจสอบอย่างต่อเนื่ อง นอกจากนี้ ยงั มีกระบวนการติดตามผลการดาเนิ นงานผ่านระบบการตรวจติดตาม ระบบคุณภาพ และสิ่ งแวดล้อมภายในบริ ษทั ฯ ตามมาตรฐานสากล ISO 9001:2008 และISO 14001 : 2004 โดยบริ ษทั ฯ ผูใ้ ห้การรับรองอย่างต่อเนื่อง บริ ษ ัท ฯ ติ ด ตามดู แ ลการด าเนิ น งานของบริ ษ ัท ย่อ ยอย่า งต่ อ เนื่ อ งและสม่ า เสมอ โดยรายงาน ความก้าวหน้าผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ย่อยแต่ละแห่งต่อคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ทราบทุกไตรมาส และ มอบหมายให้มี หน่ วยงานเฉพาะในการติ ดตามผลการดาเนิ นงานตามมติ ที่ คณะกรรมการบริ ษ ทั ได้ให้ ข้อเสนอแนะไว้ รวมทั้งการประสานนโยบายให้ทุกบริ ษทั มีทิศทางการดาเนิ นงานที่สอดคล้องเป็ นทิศทาง เดี ยวกับนโยบายบริ ษทั แม่ นอกจากนั้นบริ ษทั ฯ มอบหมายให้เลขานุ การบริ ษทั ฯ ดู แลงานด้านกฎหมาย

ส่วนที่ 2 าน้า 50


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

รวหถึ งงานด้าน Compliance เพื่อกากับดู แลใา้การดาเนิ นงานของบริ ษทั สอดคล้องกับกฎาหาย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง จากการพิ จารณาสาระส าคัญ ของการประเหิ น ควาหเพี ย งพอของระบบควบคุ ห ภายในข้างต้น คณะกรรหการบริ ษ ทั หี ค วาหเา็ นสอดคล้องกับ คณะกรรหการตรวจสอบและผูส้ อบบัญ นี ว่า ระบบการ ควบคุ หภายในของบริ ษทั หี ควาหเพียงพอและเาหาะสหกับการดาเนิ นธุ รกิ จ โดยบริ ษทั จัดใา้หีบุคลากร อย่างเพียงพอที่จะดาเนิ นการตาหระบบได้ รวหทั้งหีระบบการควบคุหภายในการติดตาหดูแลการดาเนินงาน ของบริ ษทั ย่อยได้อย่างหีประสิ ทธิ ภาพ และส่ งเสริ หประสิ ทธิ ผลของการประกอบกิจการที่ยงั่ ยืน อนึ่ งตาหโครงสร้ างของบริ ษ ทั ฯ ได้ก าานดใา้ หี ฝ่ ายตรวจสอบซึ่ งสายบังคับ บัญ นาขึ้ น ตรงต่ อ คณะกรรหการตรวจสอบ หีบุคลากรจานวน 7 คน ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ อยูร่ ะาว่างการสรราาาัวาน้าาน่วยงาน ของฝ่ ายตรวจสอบ และบริ ษทั ฯ ได้ว่าจ้างบริ ษทั เคพีเอ็หจี ภู หิไนย ที่ ปรึ กษาธุ รกิ จ จากัด มKPMG) เป็ นที่ ปรึ ก ษาด้านการตรวจสอบภายใน ทั้งนี้ ค ณะกรรหการตรวจสอบจะเป็ นผูค้ ดั เลื อกและประเหิ น ผลการ ปฏิ บตั ิงานของผูอ้ านวยการฝ่ ายตรวจสอบร่ วหกับผูบ้ ริ าารระดับสู ง (CEO) ซึ่ งจากผลการประเหินสรุ ปได้ ว่าบุคคลดังกล่าวสาหารถปฏิ บตั ิงานอยู่ในระดับที่ดี และหีควาหเข้าใจในกิ จกรรหและการดาเนิ นงานของ บริ ษ ัท ฯ จึ งเา็ น ว่าหี ค วาหเาหาะสหกับ ต าแาน่ ง ดัง กล่ า ว อี ก ทั้ง ตาหกฎบัต รคณะกรรหการตรวจสอบ กาานดใา้การแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง และพิจารณาควาหดีควาหนอบของาัวาน้าาน่วยงานฝ่ ายตรวจสอบ ต้องได้รับควาหเา็นนอบจากคณะกรรหการตรวจสอบ

ชื่ อ-สกุล ตำแหน่ ง คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ

รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้ างานผู้ตรวจสอบภายในบริษัทฯ นายประสิ ทธิ์ สกุลเกสรี วรรณ* ผู ้ช่ ว ยผู ้อ านวยการฝ่ ายตรวจสอบ และรั ก ษาการผู ้อ านวยการฝ่ าย ตรวจสอบ  ปริ ญญาโท บริ หารธุ รกิจ (การบัญชี ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  ปริ ญญาตรี การบัญชีตน้ ทุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุ งเทพ วิทยาเขตเทคนิคกรุ งเทพฯ

ประสบการณ์ ทางาน

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก ก.ค. - ต.ค. 58 ผูน้ ่วยผูอ้ านวยการฝ่ าย และรักษาการผูอ้ านวยการฝ่ าย ตรวจสอบ 2556 – 2558 ผูจ้ ดั การแผนกเลขานุการคณะกรรหการบริ ษทั ฯ ก.พ. 54 ผูจ้ ดั การสานักกรรหการผูอ้ านวยการใาญ่ หี.ค. 53 ผูจ้ ดั การแผนกวิเคราะา์และพัฒนาระบบ ต.ค. 52 ผูจ้ ดั การแผนกตรวจสอบ ส่วนที่ 2 าน้า 51


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้ างานผู้ตรวจสอบภายในบริษัทฯ หี.ค. 52 รักษาการผูจ้ ดั การแผนกตรวจสอบ ต.ค. 47 นักตรวจสอบอาวุโส พ.ย. 45 นักตรวจสอบ การอบรมหลักสู ตรสาคัญ

 Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA.,2013 (Module 2)  Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA.,2012 (Module 1)  กฎาหายสาารับการดาเนินกิจการที่เป็ นบริ การสาธารณะ

หมำยเหตุ : *ลาออกจากตาแหน่งโดยมีผลวันที่ 31 ตุลาคม 2558 และอยูใ่ นระหว่างการสรรหาผูอ้ านวยการฝ่ ายตรวจสอบ คนใหม่

ส่วนที่ 2 าน้า 52


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

แบบประเมินควำมเพียงพอของระบบกำรควบคุมภำยใน ประจำปี 2558

บริษัท จัดกำรและพัฒนำทรัพยำกรนำ้ ภำคตะวันออก จำกัด (มหำชน)

แบบประเมินนีจ้ ดั ทำโดยบริษทั ซึ่งเป็ นควำมเห็นของคณะกรรมกำรบริษทั เกีย่ วกับควำมเพียงพอของระบบกำรควบคุมภำยใน

ส่วนที่ 2 าน้า 53


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

แบบประเมินควำมเพียงพอของระบบกำรควบคุมภำยใน แนวคิดและวัตถุประสงค์ การหีระบบการควบคุ หภายในที่ดีหีควาหสาคัญอย่างยิ่งสาารับบริ ษทั จดทะเบี ยนารื อบริ ษทั ที่ หี ประนานนเป็ นผูถ้ ือาุ ้น โดยระบบที่ ดีจะสาหารถน่ วยป้ องกัน บริ าาร จัดการควาหเสี่ ยงารื อควาหเสี ยาาย ต่าง ๆ ที่ อาจเกิ ดขึ้นกับบริ ษทั และผูท้ ี่หีส่วนได้เสี ยได้เป็ นอย่างดี ดังนั้น จึงเป็ นาน้าที่ของคณะกรรหการ บริ ษทั ที่จะต้องดาเนิ นการใา้หนั่ ใจว่า บริ ษทั หีระบบควบคุหภายในที่เาหาะสห และเพียงพอในการดูแลการ ดาเนิ นงานใา้เป็ นไปตาหเป้ าาหาย วัตถุ ประสงค์ กฎาหาย ข้อกาานดที่ เกี่ ยวข้องได้อย่างหีประสิ ทธิ ภาพ สาหารถป้ องกันทรัพย์สิน จากการทุจริ ต เสี ยาาย รวหทั้งหีการจัดทาบัญนี รายงานที่ถูกต้องน่าเนื่อถือ สานักงานคณะกรรหการกากับ าลักทรัพย์และตลาดาลักทรั พย์ มก.ล.ต. ได้รับควาหร่ วหหื อเป็ น อย่า งดี จ ากไพร้ ซ วอเตอร์ เฮาส์ คู เปอร์ ส ประเทศไทย มPwC Thailand) ในการพัฒ นาแบบประเหิ น ควาห เพี ย งพอของระบบควบคุ ห ภายใน ม“แบบประเหิ น ”) ฉบับ นี้ ขึ้ น เพื่ อ เป็ นเครื่ อ งหื อน่ ว ยใา้ บ ริ ษ ัท ใน้เป็ น แนวทางในการประเหินควาหเพียงพอของระบบการควบคุหภายในของบริ ษทั ด้วยตนเอง แบบประเหินนี้ ได้จดั ทาตาหแนวคิดของ COSO2 มThe Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission ที่ได้ปรับ ปรุ ง framework ใาห่ เหื่ อเดื อนพฤษภาคห 2556 และนาหาปรับใา้ เข้าใจง่ายขึ้น รวหทั้งเาหาะสหกับบริ ษทั จดทะเบียนไทย ซึ่ งคาถาหาลักยังแบ่งออกเป็ น 5 ส่ วนเน่นเดียวกับ แนวทางของ COSO เดิ ห แต่ได้ขยายควาหแต่ละส่ วนออกเป็ นาลักการย่อยรวห 17 าลักการ เพื่อใา้เข้าใจ และเา็นภาพของแต่ละส่ วนได้นดั เจนยิง่ ขึ้น การนาไปใช้ บริ ษ ทั ควรใน้แบบประเหิ นนี้ เป็ นแนวทางในการประเหิ นารื อทบทวนควาหเพี ยงพอของระบบ ควบคุ หภายในอย่างน้อยทุกปี และอาจหีการทบทวนเพิ่หเติหาากเกิดเาตุการณ์ ที่อาจส่ งผลกระทบต่อการ ดาเนิ น งานของบริ ษ ัท อย่างหี นัย ส าคัญ การประเหิ น ดัง กล่ าวควรผ่านการพิ จารณาของคณะกรรหการ ตรวจสอบและคณะกรรหการบริ ษทั ด้วย เพื่อใา้เกิ ดการแลกเปลี่ ยนควาหเา็ นหี ควาหเข้าใจตรงกัน และ สาหารถกาานดแนวทางปฏิบตั ิที่เาหาะสหกับบริ ษทั ได้ การตอบแบบประเหินในแต่ละข้อ ควรอยู่บนพื้นฐานของการปฏิ บตั ิจริ ง าากประเหินแล้วพบว่า บริ ษทั ยังขาดการควบคุหภายในที่เพียงพอในข้อใด มไห่วา่ จะเป็ นการไห่หีระบบในเรื่ องนั้น ารื อหีแล้วแต่ยงั ไห่เาหาะสห บริ ษทั ควรอธิ บายเาตุผลและแนวทางแก้ไขประกอบไว้ดว้ ย

2

เป็ นคณะกรรมการร่ วมของสถาบันวิชาชี พ 5 แห่ ง ได้แก่ สถาบันผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตแห่ งสหรัฐอเมริ กา (AICPA) สถาบันผูต้ รวจสอบ ภายในสากล (Institute of Internal Auditors หรื อ IIA) สถาบันผูบ้ ริ หารการเงิน (Financial Executives Institute หรื อ FEI) สมาคมนักบัญชี แห่ งสหรั ฐ อเมริ กา (American Accounting Association หรื อ AAA) และสถาบัน นั ก บัญ ชี เ พื่ อ การบริ หาร (Institute of Management Accountants หรื อ IMA) ส่วนที่ 2 าน้า 54


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

กำรควบคุมภำยในองค์ กร 1. องค์ กรแสดงถึงความยึดมั่นในคุณค่ าของความซื่ อตรง (integrity) และจริยธรรม คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาตอบ 1.1 คณ ะกรรหการและผู ้ บ ริ า ารก าา น ด แนวทาง และหี ก ารปฏิ บัติ ที่ อ ยู่บ นาลัก ควาห ซื่ อตรงและการรั ก ษาจรรยาบ รรณ ในการ ดาเนินงาน ที่ครอบคลุหถึง 1.1.1 การปฏิ บัติ า น้าที่ ป ระจ าวัน และการ ตัดสิ นใจในเรื่ องต่าง ๆ 1.1.2 ก าร ป ฏิ บั ติ ต่ อ คู่ ค้ า ลู ก ค้ า แ ล ะ บุคคลภายนอก

1.2 มี ข ้ อ ก าหนดที่ เป็ นลายลั ก ษณ์ อั ก ษรให้

ผูบ้ ริ ห ารและพนัก งานปฏิ บัติ ห น้าที่ ด้วยความ ซื่อตรงและรักษาจรรยาบรรณ ที่ครอบคลุมถึง 1.2.1 มี ขอ้ กาหนดเกี่ ยวกับจริ ยธรรม (code of conduct) ส าหรั บ ผู ้บ ริ หารและพนั ก งาน ที่ เหมาะสม 1.2.2 มี ข้ อ ก าห น ด ห้ าม ผู ้ บ ริ ห าร แ ล ะ พนักงานปฏิ บัติต นในลักษณะที่ อ าจก่ อให้เกิ ด ความขัด แย้ง ทางผลประโยชน์ กับ กิ จ การ ซึ่ ง รวมถึ ง การห้ ามคอร์ รั ป ชัน อัน ท าให้ เกิ ด ความ เสี ยหายต่อองค์กร2 1.2.3 มีบทลงโทษที่ เหมาะสมหากมีการฝ่ า ฝื นข้อกาหนดข้างต้น

กลุ่ ห บริ ษ ัท ได้ป ระกาศใน้ “าลัก การก ากับ ดู แ ล กิจการที่ดีของกลุ่หจากัด มหาานน ” ฉบับทบทวน ครั้งที่ 9 ณ วันที่ 16 กุหภาพันธ์ 2558 ที่ ได้ทบทวน ใา้สอดคล้องกับหาตรฐานสากลของกลุ่หประเทศ (OECD) โดยประกาศใา้ บุ ค ลากรทุ ก ระดับ ของ กลุ่ ห บริ ษ ัท ตั้งแต่ กรรหการฝ่ ายบริ า าร พนัก งาน ผู ้ ป ฏิ บั ติ งาน ได้ ยึ ด ถื อป ฏิ บั ติ ซึ่ งหี า ลั ก การ ประกอบด้วย 5 าหวด ดังนี้ าหวดที่ 1 สิ ทธิของผูถ้ ือาุน้ าหวดที่ 2 การปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือาุน้ อย่างเท่าเทียห าหวดที่ 3 การคานึงถึงบทบาทของผูห้ ีส่วนได้เสี ย าหวดที่ 4 การเปิ ดเผยข้อ หู ล และควาหโปร่ ง ใส าหวดที่ 5 ควาหรับผิดนอบของคณะกรรหการ บริ ษ ัท ฯ จัดท าและประกาศใช้ “จรรยาบรรณทาง ธุ ร กิ จ ของพนั ก งาน ” ฉบั บ ทบทวน ณ วัน ที่ 18 เมษายน 2557 โดยอยู่ ภ ายใต้ห ลัก การก ากับ ดู แ ล กิจการที่ดีของบริ ษทั ให้เข้าใจง่าย สามารถปฏิบตั ิได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม

าากพนักงานที่ ฝ่าฝื นกฎระเบี ยบ ตลอดจนละเหิ ด จรรยาบรรณ จะถู ก สอบสวนและลงโทษตาห ระเบียบที่กาานดในคู่หือพนักงานของบริ ษทั ฯ

หมำยเหตุ 2 บริ ษทั ฯ ควรกาหนดการควบคุมภายในตามมาตรการต่อต้านคอร์ รัปชันให้เหมาะสมกับความเสี่ ยงของบริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2 าน้า 55


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

ใช่

1.2.4 หี ก ารสื่ อ ส ารข้ อ ก าา น ด แ ล ะ บทลงโทษข้างต้นใา้ผูบ้ ริ าารและพนักงานทุ ก คนรั บ ทราบ เน่ น รวหอยู่ ใ นการปฐหนิ เทศ พนั ก งานใาห่ ใา้ พ นั ก งานลงนาหรั บ ทราบ ข้ อ ก าานดและบทลงโทษเป็ นประจ าทุ ก ปี รวหทั้ งหี ก ารเผยแพร่ code of conduct ใา้ แ ก่ พนักงานและบุคคลภายนอกได้รับทราบ

1.3 หีกระบวนการติดตาหและประเหิ นผลการ ปฏิบตั ิตาห Code of Conduct 1.3.1 การติ ด ตาหและประเหิ น ผลโดย าน่วยงานตรวจสอบภายในารื อาน่วยงานกากับ ดูแลการปฏิบตั ิ (compliance unit) 1.3.2 การประเหินตนเองโดยผูบ้ ริ าาร และพนักงาน 1.3.3 การประเมินโดยผูเ้ ชี่ยวชาญที่ เป็ นอิสระจากภายนอกองค์กร

ไม่ ใช่

 

1.4.2 มี ก ระบวนการที่ ท าให้ ส ามารถ ลงโท ษ ห รื อจั ด การกั บ การฝ่ าฝื น ได้ อ ย่ า ง เหมาะสม และภายในเวลาอันควร 1.4.3 มีการแก้ไขการกระทาที่ขดั ต่อหลัก ความซื่ อ ตรงและการรั กษาจรรยาบรรณอย่า ง เหมาะสม และภายในเวลาอันควร

คาตอบ บริ ษทั ฯ หีการบรรยาย เพื่อนี้แจงและทาควาหเข้าใจ ข้อ ก าานดและบทลงโทษใา้ แ ก่ ฝ่ ายบริ า ารและ พนักงานทุ กคนได้รับทราบ โดยแจกจ่ าย Code of Conduct ใา้ แ ก่ พ นั ก งานทุ ก คนและใา้ ล งนาห รั บ ทราบควาหเข้ า ใจ รวหทั้ งบรรจุ อ ยู่ ใ นการ ปฐหนิ เทศพนัก งานใาห่ ที่ ทุ กคนต้อ งยึด ถื อ เป็ น าลักปฏิบตั ิในการดาเนินงานอย่างเคร่ งครัด

1.4 มีการจัดการอย่างทันเวลา หากพบการไม่ ปฏิ บัติตามข้อกาหนดเกี่ ยวกับความซื่ อตรงและ การรักษาจรรยาบรรณ 1.4.1 หีกระบวนการที่ทาใา้สาหารถตรวจ พบการฝ่ าฝื นได้ภายในเวลาที่เาหาะสห

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

บริ ษ ัท หี า น่ วยงานตรวจสอบภายในหาสอบทาน กระบวนการปฏิ บัติ งานครอบคลุห ทุ ก กิ จ กรรหที่ ส าคั ญ ข อ ง บ ริ ษั ท อ ย่ า ง ส ห่ าเส ห อ ร ว ห ถึ ง กระบวนการที่ เกี่ ย วข้อ งกับ หาตรการต่ อ ต้านการ คอร์รัปนัน่ อื่นๆ บริ ษทั ฯ จัดสัหหนาาัวข้อ “ผูน้ าและาลักธรรหาภิ บาลกับคอรัปนัน่ ” บรรยายโดย พล.ต.ต. วินยั สังข์ ประไพ เหื่อวันที่ 15 ตุลาคห 2558 ซึ่งหีผบู ้ ริ าารและ พนัก งานทั้งกลุ่ ห บริ ษ ัท เข้าร่ ว หฟั ง และอย่างไรก็ ตาหในปี 2559 ได้วางแผนจัดทาการประเหินตนเอง โดยผูบ้ ริ า ารและพนัก งานและการประเหิ น โดย ผูเ้ นี่ ย วนาญที่ เป็ นอิ ส ระจากภายนอกองค์กร เพื่ อ ประเหินผลการปฏิบตั ิตาห Code of Conduct บริ ษั ท หี ก ารสื่ อสารผลการควบคุ ห ภายในใา้ บุคลากรที่ รับผิดนอบทราบ เพื่อสาหารถตรวจพบ แก้ ไ ข และลงโทษได้ อ ย่ า งเาหาะสห ทั น เวลา รวหทั้งทบทวนควาหเาหาะสหของระบบงานและ หาตรการต่างๆใา้หีควาหรัดกุหหากยิง่ ขึ้น

ส่วนที่ 2 าน้า 56


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

2. คณะกรรมการมีความเป็ นอิสระจากฝ่ ายบริหาร และทาหน้ าทีก่ ากับดูแล (Oversight) และ พัฒนาการดาเนินการด้ านการควบคุมภายใน คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาตอบ 2. 1 หี ก า ร ก า า น ด บ ท บ า ท า น้ า ที่ ข อ ง

คณะกรรหการแยกจากฝ่ ายบริ าาร โดยได้สงวน สิ ท ธิ์ อ านาจเฉพาะของคณะกรรหการไว้อ ย่า ง นัดเจน

2.2 คณะกรรมการก ากับ ดู แ ลให้ มี ก ารก าหนด

เป้ าหมายการดาเนิ นธุรกิจที่ ชดั เจนและวัดผลได้ เพื่อเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ริ หาร และพนักงาน

2.3 คณะกรรมการกากับ ดู แ ลให้ บ ริ ษ ท ั กาหนด

บทบาทหน้าที่ ของคณะกรรมการและผูบ้ ริ ห าร ให้ถูกต้องตามกฎหมาย กฎบัตร ซึ่ งครอบคลุ ม บทบาทที่ สาคัญ ของคณะกรรมการตรวจสอบ ผูส้ อบบัญชี ผูต้ รวจสอบภายใน และผูร้ ับผิดชอบ

บริ ษทั ฯ ได้จดั ทาคู่มือคณะกรรมการบริ ษทั ไว้อย่าง เป็ นลายลักษณ์ อกั ษรระบุ ถึงคณะกรรมการบริ ษทั และฝ่ ายบริ ห ารมี การแบ่ งแยกบทบาทหน้าที่ ออก จากกันอย่างชัดเจน คณะกรรมการบริ ษทั จะไม่เข้า ไปเกี่ ย วข้อ งในภาระหน้า ที่ ข องฝ่ ายบริ ห าร เพื่ อ สร้ างดุ ล ยภาพระหว่างการบริ ห ารและการก ากับ ดู แ ลกิ จ การ รวมทั้ง มี ก ารติ ด ตามการบริ ห ารงาน เพื่ อ ให้ ม ั่ น ใจว่ า นโยบาย และกระบวนการที่ เห ม าะส ม ได้ น าม าใช้ ใ น ท างป ฏิ บั ติ อ ย่ า งมี ประสิ ทธิผล คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ อ นุ ม ัติ วิ สั ย ทั ศ น์ แผน ยุทธศาสตร์ระยะ 3 ปี และแผนปฏิบตั ิการประจาปี ที่ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ ระยะยาวเพื่อนาไปสู่ การปฏิบตั ิโดยมีการกาหนดเป้ าหมาย วัตถุประสงค์ งบประมาณ ปั จ จัยความเสี่ ย ง กิ จ กรรมหลัก ที่ จ ะ ดาเนิ นการในแต่ละช่วงเวลา ผลตอบแทนที่ คาดว่า จะได้รับที่สามารถวัดได้อย่างเป็ นรู ปธรรม ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ห ารและการลงทุ น เป็ นผู ้ พิ จ ารณารายละเอี ย ดของแผนปฏิ บั ติ ก ารและ งบประมาณประจาปี ก่ อนนาเสนอคณะกรรมการ บริ ษทั เพื่อพิจารณา อีกทั้งฝ่ ายบริ หารมีการนาเสนอ รายงานความก้าวหน้าของแผนปฏิ บตั ิการและการ ใช้ ง บประมาณทุ ก ไตรมาสให้ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบ เพื่อรับทราบผลติดตามการดาเนิ นงาน ทุกโครงการ และเพื่อรับทราบปั ญหา/อุปสรรคใน การดาเนิ นการตามแผนงาน รวมทั้งการจัดให้มีการ สื่ อสารให้พนักงานรับทราบทิ ศทางภารกิ จในการ ดาเนินธุรกิจร่ วมกันทั้งกลุ่มบริ ษทั โครงสร้ างคณะกรรมการบริ ษ ัท มอบหมายให้ ค กก .CG เป็ น ผู ้ พิ จารณ าสรรห าและแต่ ง ตั้ งผู ้ ที่ เหมาะสมเพื่อมาดารงตาแหน่งคณะกรรมการบริ ษทั โดยจะต้องดาเนิ นการตามข้อบังคับของบริ ษทั และ ข้อก าหนดของคณะกรรมการบริ ษ ัท ตามที่ ต ลาด ส่วนที่ 2 าน้า 57


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

ใช่

ต่อรายงานทางการเงิน

2.4 คณะกรรหการเป็ นผูห้ ีควาหรู ้เกี่ ยวกับธุ รกิ จ ของบริ ษทั และหีควาหเนี่ยวนาญที่เป็ นประโยนน์ ต่ อ บ ริ ษั ท า รื อสาหารถขอค าแน ะน าจาก ผูเ้ นี่ยวนาญในเรื่ องนั้นๆได้ 2.5 คณะกรรหการประกอบด้วยกรรหการอิสระ ที่ หีควาหรู ้ ควาหสาหารถน่ าเนื่ อถื อ และหี ควาห เป็ นอิสระในการปฏิ บัติาน้าที่ อย่างแท้จริ ง เน่ น ไห่ หี ค วาหสั ห พัน ธ์ ท างธุ ร กิ จ กั บ บริ ษ ั ท ไห่ หี ควาหสัหพันธ์อื่นใด อันอาจหีอิทธิ พลต่อการใน้ ดุ ล ยพิ นิ จ และปฏิ บัติ า น้าที่ อ ย่างเป็ นอิ ส ระ ใน จานวนที่เาหาะสหเพียงพอ 2.6 คณะกรรหการก ากั บ ดู แ ลการพัฒ นาและ ปฏิ บั ติ เรื่ องการควบคุ ห ภายในในองค์ ก ร ซึ่ ง ครอบคลุ ห ทั้ งการสร้ า งสภาพแวดล้ อ หการ ควบคุ ห การประเหิ น ควาหเสี่ ย ง กิ จ กรรหการ ควบคุห ข้อหูลและการสื่ อสาร และการติดตาห

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ หลักทรั พย์แห่ งประเทศไทยกาหนดไว้ รวมทั้งได้ ก าหนดบทบาทหน้าที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการชุ ด ย่อ ยไว้อ ย่า งครอบคลุ ม ได้แ ก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการธรรมาภิ บาลและสรรหา คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ยง คณะกรรมการบริ หารและการลงทุน คณะกรรมการ กาหนดเกณฑ์และประเมิ นผลการดาเนิ นงานของ บริ ษทั

บริ ษั ท ฯ จัด ท าคู่ หื อ กรรหการอิ ส ระซึ่ งก าานด คุณสหบัติและการปฏิบตั ิาน้าที่ของกรรหการอิสระ โดยกาานดสัดส่ วนใา้หีจานวน 1 ใน 3 ของจานวน กรรหการทั้งคณะไว้อย่างนัดเจน

มีการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ เพื่อกากับดูแล และติ ด ตามการด าเนิ นงานของฝ่ ายบริ ห ารเป็ น ประจาทุกเดือน

ส่วนที่ 2 าน้า 58


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

3. ฝ่ ายบริ ห ารได้ จั ด ให้ มี โครงสร้ า งสายการรายงาน การก าหนดอ านาจในการสั่ งการและความ รั บ ผิ ด ชอบที่ เหมาะสมเพื่ อ ให้ องค์ ก รบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ภายใต้ การก ากั บ ดู แ ล (oversight) ของ คณะกรรมการ คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาตอบ 3.1 ผูบ้ ริ าารระดับสูงกาานดโครงสร้างองค์กรที่ สนับสนุนการบรรลุวตั ถุประสงค์ของบริ ษทั โดย พิ จ ารณาถึ ง ควาหเาหาะสหทั้ง ทางธุ ร กิ จ และ กฎาหาย รวหถึ งการจัดใา้หีการควบคุหภายใน อย่างหีประสิ ทธิ ภาพ เน่น แบ่งแยกาน้าที่ในส่ วน งานที่ สาคัญ ซึ่ งทาใา้เกิ ดการตรวจสอบถ่วงดุ ล ระาว่างกัน หีงานตรวจสอบภายในที่ข้ ึนตรงกับ กรรหการตรวจสอบ และหี ส ายการรายงานที่ นัดเจน เป็ นต้น

3.2 ผูบ้ ริ หารระดับสู งกาหนดสายการรายงานใน

บริ ษ ัท โดยพิจารณาถึ งความเหมาะสมเกี่ ยวกับ อานาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ และการสื่ อสาร ข้อมูล

3.3 มี ก ารกาหนด มอบหมาย และจ ากัด อ านาจ

หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบอย่ า งเหมาะสม ระหว่างคณะกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หารระดับสู ง ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน

บริ ษทั ฯ มีโครงสร้างองค์กรที่ชดั เจนเพื่อสนับสนุน การดาเนิ นงานของฝ่ ายบริ หาร และให้การควบคุม ภายในเป็ นไปอย่ า งมี ป ระสิ ทธิ ภ าพ โดยมี ก าร แบ่ ง แยกหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบทั้ งในสายงาน ปฏิ บัติงานหลักและสายงานสนับ สนุ น ตลอดจน จัด ตั้งหน่ วยงานตรวจสอบภายในเป็ นหน่ วยงาน ระดับฝ่ ายที่ข้ ึนตรงกับคณะกรรมการตรวจสอบ ในปี 2558 ได้จัดตั้งกลุ่มงานวางแผนโครงการเพื่ อ ดูแลด้านการสร้างศักยภาพของระบบท่อส่ งน้ าสาย หลักและสายรอง จัดทาแผนงานโครงการในธุรกิ จ น้ าดิ บและส่ วนที่ เกี่ ยวเนื่ องกับธุ รกิ จให้บ รรลุตาม เป้ าห ม าย ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ โ ด ย ต ร ง เพื่ อ ค ว าม เตรี ยมพร้อมต่อวิกฤตภัยแล้งและรักษาความมัน่ คง เพียงพอของน้ าดิบ ฝ่ ายต่างๆมีการรายงานต่อสายการบังคับบัญชา ตาม โครงสร้ างองค์ก รที่ เห็ น ชอบโดยคณะกรรมการ นอกจากนี้ ผูบ้ ริ หารระดับสู งมีการรายงานแผนงาน ปั ญหาและอุปสรรคในการดาเนิ นงานต่อที่ ประชุม ผูบ้ ริ หาร ( Management Meeting) ทุกเดือนเพื่อร่ วมกัน แก้ปัญ หาที่ เกี่ ยวข้องและสื่ อสารให้แก่ พ นักงานที่ เกี่ยวข้องต่อไป คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนดระเบียบด้านอานาจ ด าเนิ น การภายในองค์ ก ร มี ผ ลบั ง คับ ใช้ว ัน ที่ 1 กุ ม ภาพัน ธ์ 2555 โดยคณะกรรมการมอบหมาย อานาจให้กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ เป็ นผูม้ ีอานาจ ในการบริ หารกิ จการภายในของบริ ษทั และจัดการ กิจการของบริ ษทั กับบุคคลภายนอก ทั้งนี้ให้เป็ นไป ตามนโยบายของคณะกรรมการบริ ษ ัท และมติ ที่ ประชุมผูถ้ ือหุ ้น และสอดคล้องกับแผนปฏิ บตั ิการ ของบริ ษ ัท ข้อ ก าหนดของตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย ระเบี ย บข้อ บั ง คับ ของบริ ษ ัท และ ขอบเขตวัตถุประสงค์แห่งนิติบุคคลของบริ ษทั อาทิ ส่วนที่ 2 าน้า 59


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

ใช่

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ การสื่ อสารกับบุ คคลภายนอกเป็ นหน้าที่ หลักของ ฝ่ ายสื่ อสารองค์กร

4. องค์ กรแสดงถึงความมุ่งมั่นในการจูงใจ พัฒนาและรักษาบุคลากรทีม่ ีความรู้ ความสามารถ คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาตอบ 4.1 บริ ษทั มีนโยบายและวิธีการปฏิบตั ิเพื่อจัดหา พั ฒ นา และรั ก ษ าบุ คลากรที่ มี ความรู ้ แ ละ ความสามารถที่ เหมาะสม และมี กระบวนการ สอบทานนโยบายและวิธี ก ารปฏิ บัติ น้ ั นอย่า ง สม่าเสมอ 4.2 บ ริ ษั ท มี กระบ วน การป ระเมิ น ผลการ ปฏิ บั ติ ง าน การให้ แ รงจู ง ใจหรื อรางวัล ต่ อ บุคลากรที่ มีผลการปฏิ บัติงานดี และการจัดการ ต่อบุคลากรที่มีผลงานไม่บรรลุเป้ าหมาย รวมถึง การสื่ อสารกระบวนการเหล่านี้ ให้ผูบ้ ริ หารและ พนักงานทราบ

บริ ษทั ฯ มอบหมายให้ฝ่ายทรัพยากรบุคคลกาหนด บทบาทหน้าที่ ในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กร ซึ่ งบริ ษ ัท ให้ ค วามส าคัญ กับ การพัฒ นาพนั ก งาน รายบุคคล

4.3 บริ ษั ท มี ก ระบวนการแก้ ไ ขปั ญหาหรื อ เตรี ยมพร้อมสาหรับการขาดบุคลากรที่ มีความรู ้ และความสามารถที่เหมาะสมอย่างทันเวลา

4.4 บริ ษทั ฯ มีกระบวนการสรรหา พัฒนา และ รั ก ษาผู ้บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก คน เช่ น การ จัดระบบที่ปรึ กษา (mentoring) และการฝึ กอบรม

บริ ษ ัท ฯ มี ก ระบวนการประเมิ น ผลพนั ก งานทุ ก ระดับ โดยนาดัชนี ช้ ี วดั ความสาเร็ จของงาน (KPI : Key Performance Indicator) มาใช้ใ นการประเมิ น ผล พนักงานทุกระดับ ทั้งนี้ KPIs จะมีความสอดคล้อง ตั้ง แต่ ร ะดับ องค์ ก ร ระดับ หน่ ว ยงาน และระดับ บุ ค คล เพื่ อ ให้ เป้ าหมายในการท างานเป็ นไปใน ทิ ศทางเดี ยวกัน และสอดคล้อ งกับ วิสัยทัศน์ และ พันธกิ จขององค์กร รวมทั้ง มีการจ่ายผลตอบแทน ซึ่ ง มุ่ ง เน้น การจ่ ายตามผลงาน (Pay for Performance) ซึ่ งจะสร้างแรงจูงใจให้พนักงานที่ ศกั ยภาพ และมี ผลงานดี มีการประชุมหารื อในคณะผูบ้ ริ หาร ในการพิจารณา โอนย้ายพนักงาน (Job Rotation) ซึ่ งเป็ นแนวทาง หนึ่ งในการพัฒ นาศัก ยภาพ และเตรี ย มบุ ค ลากร ภายใน เปิ ดโอกาสให้ พ นั ก งานได้เรี ย นรู ้ ง าน ที่ หลากหลาย ทั้งนี้ เพื่อเป็ นการเตรี ยมพร้อมสาหรับ การขาดบุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ้ และความสามารถ ภายในองค์กร มีการจัดทาแผนพัฒนารายบุคคล ซึ่ งมี การกาหนด แนวทางการพัฒนาที่ หลากหลาย เช่น การสอนงาน การมอบหมายงาน การให้รับผิดชอบงานโครงการ รวมทั้ง การฝึ กอบรมให้ พ นัก งานทุ ก ระดับ อย่า ง ต่อเนื่อง

ส่วนที่ 2 าน้า 60


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

ใช่

4.5 บริ ษทั มี แผนและกระบวนการสรรหาผูส้ ื บ ทอดตาแหน่ง (succession plan) ที่สาคัญ

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ แผนทดแทนตาแหน่ง (Succession Plan) เพื่อเตรี ยม ความพร้ อ มของพนัก งานภายในในการทดแทน ตาแหน่ งพนักงานระดับบริ หาร หรื อตาแหน่ งงาน ในกลุ่มหลัก (Core) ที่มีความสาคัญในองค์กร

5. องค์ ก รก าหนดให้ บุ ค ลากรมี ห น้ าที่และความรั บ ผิด ชอบในการควบคุ ม ภายใน เพื่ อ ให้ บ รรลุ ต าม วัตถุประสงค์ ขององค์ กร คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาตอบ 5.1 คณะกรรมการและผูบ้ ริ หารมี กระบวนการ และการสื่ อ สารเชิ ง บังคับ ให้ บุ ค ลากรทุ กคนมี ความรับผิดชอบต่อการควบคุมภายใน และจัดให้ มีการปรับปรุ งแก้ไขกระบวนการปฏิบตั ิ ในกรณี ที่จาเป็ น

5.2 คณะกรรมการและผูบ้ ริ หารกาหนดตัวชี้ วดั ผลการปฏิบตั ิงาน การสร้างแรงจูงใจ และการให้ รางวัล ที่ เหมาะสม โดยพิ จ ารณาทั้ งเรื่ อ งการ ปฏิ บัติตาม Code of Conduct และวัตถุป ระสงค์ ในระยะสั้นและระยะยาวของบริ ษทั 5.3 คณ ะกรรมการและผู ้ บ ริ ห ารป ระเมิ น แรงจูงใจและการให้รางวัลอย่างต่อเนื่อง โดยเน้น ให้สามารถเชื่อมโยงกับความสาเร็ จของหน้าที่ใน การปฏิบตั ิตามการควบคุมภายในด้วย

5.4 คณะกรรมการและผูบ้ ริ หารได้พิจารณาไม่ให้ มีการสร้างแรงกดดันที่มากเกินไป ในการปฏิบตั ิ หน้าที่ของบุคลากรแต่ละคน

บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด ท าจรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ ของ พนักงาน เพื่ อให้เป็ นแนวทางการปฏิ บัติ งานตาม หลักการกากับดู แลกิ จการที่ ดีของพนักงานทุ กคน ให้ ด าเนิ น งานบรรลุ เป้ า หมายโดยรวมของกลุ่ ม บริ ษ ัท ซึ่ งก าหนดปั จ จัย ภายในที่ ส นั บ สนุ น การ ด าเนิ น งานด้ว ยความโปร่ ง ใสภายใต้ร ะบบการ ควบคุ ม ภายในที่ ดี โดยถื อ ว่า ข้อ ปฏิ บั ติ ใ นคู่ มื อ จรรยาบรรณเป็ นส่ วนหนึ่ งของระเบี ยบข้อบังคับ พนักงานที่ พึ งปฏิ บัติ และอาจมี ความผิด ทางวินัย หากละเลยการปฏิบตั ิงาน บริ ษทั ประเมินผลการดาเนิ นงานของพนักงาน โดย หัวหน้างานใช้เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน เป็ นตัวชี้วดั การปฏิบตั ิงาน (KPIs) ของพนักงานทุก คน

บริ ษทั ฯ กาหนดเกณฑ์วดั ผลการดาเนิ นงาน(KPIs) ด้า นการตรวจพบประเด็ น ซ้ าจากการตรวจสอบ ภายใน เพื่อจูงใจให้มีการควบคุมภายในที่ดี รวมถึง การให้ ร างวัล แก่ ก ลุ่ ม พนัก งานในกิ จกรรมระดม ความคิ ด เห็ นร่ วมกั น เช่ น รางวัล ส าหรั บ กลุ่ ม พนักงานที่นาเสนอแผนกลยุทธ์

บริ ษทั มีนโยบาย work life balance โดยจัดให้มีกิจกรรม เพื่ อ สร้ า งสมดุ ล ในการปฏิ บ ัติ ง านแก่ พ นั ก งานอย่า ง สม่าเสมอทั้งทางด้านร่ างกายและจิตใจ อาทิ การจัดกีฬา เชื่ อมความสัมพัน ธ์ การเข้าฟั งธรรมและการท าบุญตัก บาตร เป็ นต้น รวมถึงมีช่องทางให้พนักงานสามารถขอ อนุญาตปฏิบตั ิงานที่บา้ นในกรณี มีเหตุจาเป็ น ส่วนที่ 2 าน้า 61


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

กำรประเมินควำมเสี่ ยง ((Risk Assessment) 6. องค์ กรกาหนดวัตถุประสงค์ ไว้ อย่ างชั ดเจนเพียงพอ เพื่อให้ สามารถระบุ และประเมินความเสี่ ยง ต่ าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการบรรลุวตั ถุประสงค์ ขององค์ กร คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาตอบ 6.1 บริ ษัท สามารถปฏิ บั ติ ต ามมาตรฐานการ บัญชีที่รับรองโดยทัว่ ไป และเหมาะสมกับธุรกิจ ในขณะนั้น โดยแสดงได้ว่ารายการในรายงาน ทางการเงินมีตวั ตนจริ ง ครบถ้วน แสดงถึงสิ ทธิ หรื อภาระผูก พัน ของบริ ษ ัทได้ถูกต้อง มี มูลค่ า เหมาะสม และเปิ ดเผยข้อมูลครบถ้วน ถูกต้อง 6.2 บริ ษั ท ก าหนดสาระส าคั ญ ของรายการ ทางการเงิ น โดยพิจารณาถึ งปั จจัยที่ สาคัญ เช่ น ผู ้ใ ช้ ร ายงานทางการเงิ น ขนาดของรายการ แนวโน้มของธุรกิจ 6.3 รายงานทางการเงิ น ของบริ ษ ัท สะท้อ นถึ ง กิจกรรมการดาเนินงานของบริ ษทั อย่างแท้จริ ง

คณ ะกรรมการบ ริ ษั ท แต่ ง ตั้ งคณ ะกรรมการ ต รวจส อ บ เพื่ อ ท าห น้ าที่ ให้ ค วาม มั่ น ใจ แ ก่ คณะกรรมการบริ ษทั และฝ่ ายบริ หาร ตลอดจนผูม้ ี ส่ วนได้เสี ยอื่ นๆว่ารายงานทางการเงิ นของบริ ษ ัท และกลุ่มบริ ษทั มีความน่าเชื่อถือตามมาตรฐานการ บัญ ชี ที่ รั บ รองทั่ว ไป และมี ค วามเพี ยงพอในการ เปิ ดเผยข้อมูล คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาให้ มี ก ารสอบทาน หรื อ ตรวจสอบเพิ่ ม เติ ม ในบาง รายการที่เห็นว่ามีการเปิ ดเผยไม่เพียงพอ หรื อทาให้ ผูอ้ ่านอาจเกิ ดความเข้าใจผิดเป็ นนัยสาคัญ และใน กรณี ที่จาเป็ นต้องเปลี่ ยนแปลงนโยบายบัญ ชี หรื อ ระบบบัญชีให้สอดคล้องตามมาตรฐานการบัญชี ที่ ปรับเปลี่ ยนใหม่ จะมอบหมายให้ฝ่ายบริ ห ารด้าน การเงินและผูต้ รวจสอบภายในทาการสอบทานและ รายงาน รวมทั้งรั บ ฟั งข้อ คิ ด เห็ น จากผูส้ อบบัญ ชี ของบริ ษทั ก่อนด้วย อีกทั้งคณะกรรมการตรวจสอบ จัด ประชุ ม ร่ ว มกับ ผู ้ส อบบัญ ชี เพื่ อ หารื อ ผลการ จัดท าและสอบทานงบการเงิ นของบริ ษทั ในทุ กๆ ไตรมาส

ส่วนที่ 2 าน้า 62


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

ใช่

6.4 คณะกรรมการหรื อ คณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ ยง อนุมตั ิและสื่ อสารนโยบายการบริ หาร ความเสี่ ยงให้ ผู ้บ ริ หารและพนั ก งานทุ ก คน รั บ ทราบและถื อ ปฏิ บัติ จนเป็ นส่ ว นหนึ่ งของ วัฒนธรรมขององค์กร

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ บริ ษทั ได้กาหนดให้มีคณะกรรมการบริ หารความ เสี่ ยง ซึ่งในกฎบัตรคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง กาหนดอานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบไว้ดงั นี้ 1. เห็ น ชอบและน าเสนอนโยบายการบริ ห าร ความเสี่ ย งโดยรวม ต่ อ คณะกรรมการบริ ษ ัท เพื่ อ ทราบ โดยครอบคลุ มความเสี่ ยงประเภทต่ างๆ ที่ สาคัญ ได้แก่ ความเสี่ ยงด้านกลยุทธ์ ความเสี่ ยงด้าน ปฏิบตั ิงาน ความเสี่ ยงด้านการลงทุน ความเสี่ ยงด้าน การตลาด และความเสี่ ยงที่ มีผลกระทบต่อชื่ อเสี ยง ของกิจการ 2. พิ จ ารณามาตรการประเมิ น ความเสี่ ย งและ อนุ ม ัติ แ ผนบริ ห ารความเสี่ ย งของบริ ษัท (Risk Management Plan: RMP) ให้สอดคล้องกับนโยบาย การบ ริ ห ารค วาม เสี่ ยงที่ ก าห น ดไว้ ซึ่ งจะมี องค์ป ระกอบของ การวิเคราะห์ ประเมิ น วัด ผล และติดตามกระบวนการบริ หารความเสี่ ยงได้อย่าง มีประสิ ทธิผล และรายงานคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อ ทราบต่อไป 3. กากับดูแล ทบทวน และติดตาม RMP พร้อม ให้ขอ้ เสนอแนะต่อคณะกรรมการบริ ษ ทั เกี่ ยวกับ นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ยง เพื่อให้มนั่ ใจได้ว่า การบ ริ ห ารความ เสี่ ยงได้ น าไป ป ฏิ บั ติ อย่ า ง เหมาะสมและสามารถบริ หารให้ เป็ นไปตาม วัตถุประสงค์ได้ครบถ้วน 4. พิ จ ารณาและให้ ค วามเห็ น ในการก าหนด ระดับความเสี่ ยงที่ ยอมรับ ได้ (Risk Appetite) และ ความเบี่ยงเบนของระดับความเสี่ ยงที่ยอมรับได้ของ องค์กร (Risk Tolerance) 5. พิ จ ารณาอนุ ม ัติ ก ารแก้ไ ขคู่ มื อ บริ ห ารความ เสี่ ย ง อ ย่ า ง น้ อ ย ปี ล ะ 1 ค รั้ ง ก่ อ น น าเส น อ คณะกรรมการบริ ษทั เพื่อทราบ (ถ้ามี) 6. น าเสนอแผนบริ หารความเสี่ ยง (RMP) ประจาปี และนาเสนอรายงานผลการดาเนินงานต่อ คณะกรรมการบริ ษทั ฯ เพื่อให้ทราบถึงผลการดา-

ส่วนที่ 2 าน้า 63


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

ใช่

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ เนิ นงานตามแผน RMP ของบริ ษทั อย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง 7. ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นใดตามที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริ ษทั ฯ บริ ษทั ฯ ใช้แนวคิดของการบริ หารความเสี่ ยงทัว่ ทั้ง อ ง ค์ ก ร (Enterprise Risk Management) โ ด ย ใ ห้ ผูบ้ ริ หารและพนักงานที่เกี่ยวข้องร่ วมกันบ่งชี้ความ เสี่ ยง การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ ยง มาตรการควบคุมที่ มี ในปั จจุบนั การระบุความเสี่ ยงไว้ในแผนปฏิบตั ิการ รวมถึงกาหนดมาตรการควบคุ มเพิ่มเติมตามความ เหมาะสมและจาเป็ น ซึ่ งแผนกนโยบายและแผน เป็ นผูม้ ีหน้าที่รวบรวมข้อมูลทั้งหมดและสื่ อสารให้ พนั ก งานที่ เกี่ ย วข้อ งทุ ก คนรั บ ทราบ รวมทั้ งจัด พนักงานเข้าอบรมภายในและภายนอกบริ ษทั อย่าง ต่อเนื่องและสม่าเสมอ

7. องค์ กรระบุ และวิเคราะห์ ความเสี่ ยงทุก ประเภทที่อ าจกระทบต่ อ การบรรลุวัตถุ ประสงค์ ไว้ อ ย่ าง ครอบคลุมทัว่ ทั้งองค์ กร คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาตอบ 7.1 บริ ษ ัท ระบุ ค วามเสี่ ยงทุ กประเภทซึ่ งอาจมี ผลกระทบต่อการดาเนิ นธุ รกิ จ ทั้งระดับองค์กร หน่วยธุรกิจ ฝ่ ายงาน และหน้าที่งานต่าง ๆ

บริ ษทั ฯ กาหนดกรอบคะแนนระดับความเสี่ ยงสู ง กลาง และต่ า เพื่ อ ใช้ ใ น การพิ จ ารณ าโอกาส (Likelihood) และผลกระทบของปั จจัยเสี่ ยง ( Impact) ทั้ งในด้า นกลยุท ธ์ การปฏิ บั ติ ง าน การเงิ น กฎ/ ระเบี ยบ และการทุจริ ต มีการกาหนดดัชนี วดั ความ เสี่ ยงแต่ละรายการเป็ นระดับสู ง กลาง และต่ า โดย จะท าการศึ กษาและวิเคราะห์ ถึ งสาเหตุ ข องความ เสี่ ยงจากความอ่ อ นไหวทางธุ ร กิ จ (SWOT) ตาม ปั จจัยแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง เพื่อกาหนดกิ จกรรม และแนวทางการควบคุมที่ ถูกต้อง มีผูร้ ับผิดชอบที่ เหมาะสม

ส่วนที่ 2 าน้า 64


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

ใช่

7.2 บริ ษทั วิเคราะห์ความเสี่ ยงทุกประเภทที่อาจ เกิ ด จากทั้ งปั จจั ย ภายในและปั จจั ย ภายนอก องค์ก ร ซึ่ งรวมถึ ง ความเสี่ ย งด้านกลยุท ธ์ การ ดาเนิ นงาน การรายงาน การปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

7.3 ผูบ ้ ริ หารทุ กระดับมี ส่วนร่ วมในการบริ หาร

ความเสี่ ยง 7.4 บริ ษทั ได้ประเมินความสาคัญของความเสี่ ยง โดยพิ จ ารณาทั้ งโอกาสเกิ ด เหตุ ก ารณ์ และ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น 7.5 บริ ษ ัท มี ม าตรการและแผนปฏิ บัติงานเพื่ อ จัดการความเสี่ ยง โดยอาจเป็ นการยอมรับความ เสี่ ยงนั้น (acceptance) การลดความเสี่ ยง (reduction) การหลีกเลี่ยงความเสี่ ยง (avoidance) หรื อการร่ วม รับความเสี่ ยง (sharing)

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ บริ ษทั ฯ กาหนดกรอบคะแนนระดับความเสี่ ยงสู ง กลาง และต่ า เพื่ อ ใช้ ใ น การพิ จ ารณ าโอกาส (Likelihood) และผลกระทบของปั จจัยเสี่ ยง ( Impact) ทั้ งในด้า นกลยุท ธ์ การปฏิ บั ติ ง าน การเงิ น กฎ/ ระเบี ยบ และการทุจริ ต มีการกาหนดดัชนี วดั ความ เสี่ ยงแต่ละรายการเป็ นระดับสู ง กลาง และต่ า โดย จะท าการศึ กษาและวิเคราะห์ ถึ งสาเหตุ ข องความ เสี่ ยงจากความอ่ อ นไหวทางธุ ร กิ จ (SWOT) ตาม ปั จจัยแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง เพื่อกาหนดกิ จกรรม และแนวทางการควบคุมที่ ถูกต้อง มีผูร้ ับผิดชอบที่ เหมาะสม

บริ ษทั ฯ กาหนดกรอบคะแนนระดับความเสี่ ยงสู ง กลาง และต่า จากการพิจารณาโอกาส (Likelihood) และผลกระทบ (Impact) ของปั จจัยเสี่ ยงในทุกด้าน บริ ษ ัท ก าหนดให้แ ผนกนโยบายและแผน ส านัก กรรมการผู ้อ านวยการใหญ่ ร วบรวมและจัด ท า แผนการบริ หารความเสี่ ยงจากหน่วยงานต่างๆ โดย ระบุมาตรการควบคุม ผูร้ ับผิดชอบ และกาหนดแล้ว เสร็ จ ทั้งนี้ ฝ่ายบริ หารซึ่ งรับผิดชอบความเสี่ ยงต่างๆ จะต้องเลือกทางเลือกในการตอบสนองความเสี่ ยง ที่ คาดว่าจะสามารถลดโอกาสหรื อผลกระทบของ ความเสี่ ยงให้เข้ามาสู่ ระดับที่องค์กรยอมรับได้ เช่น การติดตามสถานการณ์ที่มีความเสี่ ยง การจัดจ้างที่ ปรึ กษาผูม้ ี ความเชี่ ยวชาญ การลงทุนเพิ่มเติ มและ การวางแผนปฏิ บั ติ ก ารที่ ชัด เจน เป็ นต้น หรื อ พิจารณาหลี กเลี่ ยงความเสี่ ยง หรื อโอนความเสี่ ยง อาทิ การท าป ระกั น ภั ย การจ้ า งงาน ลั ก ษณ ะ Outsource การประเมิ น และติ ด ตามสถานการณ์ ปริ มาณน้ าพร้อมแผนรองรับ รวมถึงดาเนิ นการตาม แผนรองรั บ สถานการณ์ ภัย แล้ง (ถ้ามี ) หรื อ การ ยอมรับความเสี่ ยง โดยกาหนดช่วงของความเสี่ ยงที่ ยอมรับได้

ส่วนที่ 2 าน้า 65


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

8. องค์ กรได้ พิจารณาถึงโอกาสที่จะเกิดการทุจริ ต ในการประเมินความเสี่ ยงที่จะบรรลุวัตถุ ประสงค์ ขององค์ กร คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาตอบ 8.1 บริ ษทั ประเหินโอกาสที่จะเกิดการทุจริ ตขึ้น โดยครอบคลุ ห การทุ จ ริ ตแบบต่ างๆ เน่ น การ จัดทารายงานทางการเงินเท็จ การทาใา้สูญเสี ย ทรั พ ย์สิ น การคอร์ รั ป นั น การที่ ผู ้ บ ริ าาร ส า ห า ร ถ ฝ่ าฝื น ร ะ บ บ ค ว บ คุ ห ภ าย ใ น (management override of internal controls) การเปลี่ยนแปลงข้อหูลในรายงานที่สาคัญ การ ได้หาารื อใน้ไปซึ่งทรัพย์สินโดยไห่ถูกต้อง เป็ น ต้น

8.2 บริ ษทั ได้ทบทวนเป้ าหมายการปฏิ บัติงาน อย่างรอบคอบ โดยพิจารณาความเป็ นไปได้ของ เป้ าหมายที่ ก าหนดแล้ว รวมทั้ง ได้พิ จ ารณา ความสมเหตุ ส มผลของการให้ สิ่ ง จู ง ใจหรื อ ผลตอบแทนแก่ พ นั ก งานแล้ ว ด้ ว ยว่ า ไม่ มี ลั ก ษ ณ ะส่ งเส ริ ม ให้ พ นั กงาน กระท าไม่ เหมาะสม เช่ น ไม่ ต้ ัง เป้ า หมายยอดขายของ บริ ษ ัท ไว้สู ง เกิ น ความเป็ นจริ ง จนท าให้ เกิ ด แรงจูงใจในการตกแต่งตัวเลขยอดขาย เป็ นต้น

ค ณ ะ ก ร ร ห ก าร บ ริ ษั ท ฯ ไ ด้ ห อ บ า ห ายใ า้ คณะกรรหการตรวจสอบปฏิบตั ิาน้าที่าากพบารื อ หีขอ้ สงสัยว่าหี รายการารื อการกระท าที่ เกิ ดควาห ขัด แย้ง ทางผลประโยนน์ การทุ จ ริ ต ารื อหี สิ่ ง ผิ ด ปกติ า รื อ หี ค วาหบกพร่ อ งที่ ส าคัญ ในระบบ ค วบ คุ ห ภ ายใน แ ล ะฝ่ าฝื น กฎ า ห ายว่ า ด้ ว ย าลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดาลัก ทรั พ ย์ ข้อ ก าานดของ ตลาดาลักทรัพย์ ารื อกฎาหายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของบริ ษ ัท ซึ่ งส่ ง ผลกระทบอย่างหี นั ย ส าคัญ ต่ อ ฐานะการเงิน และผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ใา้ รายงานตรงต่ อ คณะกรรหการของบริ ษั ท เพื่ อ ด าเนิ น ก าร ป รั บ ป รุ ง แ ก้ ไ ข ภ าย ใ น เว ล าที่ คณะกรรหการตรวจสอบเา็นสหควร บริ ษทั ฯ ได้พิจารณาใช้ดัชนี วดั ผลการดาเนิ น งาน (Key Performance Indicators : KPIs) เพื่ อ วั ด ผ ล การปฏิ บั ติ ง านทั่ ว ทั้ งองค์ ก ร ซึ่ งคณะกรรมการ บริ ษทั จะได้พิจารณาอนุมตั ิในแต่ละปี โดยกาหนด KPIs ทั้งในระดับบุคคลและระดับฝ่ ายให้สอดคล้อง กับ KPIs ในระดับองค์กรที่ มีความ ท้าทาย และ สามารถนาไปปฏิบตั ิได้จริ ง มีการประเมินผล KPIs ทุกไตรมาส เพื่อกระตุน้ ให้เกิดการเร่ งรัดดาเนิ นการ ตามเป้ าห มาย และน าไปใช้ ใ นการพิ จ ารณ า ค่าตอบแทนประจาปี ของพนักงาน ผูบ้ ริ ห าร และ คณะกรรมการบริ ษทั ซึ่ งคณะกรรมการบริ ษ ัทได้ แต่งตั้งคณะกรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผล การดาเนิ นงานของบริ ษทั และพิจารณาค่าตอบแทน เพื่ อ พิ จ ารณาในรายละเอี ย ดความเหมาะสมของ เกณฑ์ ก ารประเมิ น ดั ง กล่ า ว ก่ อ นน าเสนอในที่ ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ัท เพื่ อ พิ จารณาอนุ ม ัติ ค่ า ตอบแทนของผู ้ บ ริ หารและพนั ก งาน โดย ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริ ษทั จะได้นาเสนอที่ ประชุมสามัญประจาปี ผูถ้ ือหุ ้นเพื่อพิจารณาอนุ มตั ิ ต่อไป ส่วนที่ 2 าน้า 66


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

ใช่

8.3 คณะกรรหการตรวจสอบได้พิ จารณาและ สอบถาหผูบ้ ริ า ารเกี่ ยวกับ โอกาสในการเกิ ด ทุ จ ริ ต และหาตรการที่ บ ริ ษ ัท ด าเนิ น การเพื่ อ ป้ องกันารื อแก้ไขการทุจริ ต 8.4 บริ ษ ัท ได้สื่อ สารใา้พนักงานทุ กคนเข้าใจ และปฏิ บั ติ ต าหนโยบายและแนวปฏิ บั ติ ที่ กาานดไว้

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ

บริ ษทั ฯ ได้ประกาศใน้าลักการกากับดูแลกิ จการที่ ดี จรรยาบ รรณ ค ณ ะกรรห ก ารบ ริ ษั ท แล ะ จรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ ของพนั ก งาน เพื่ อ ใา้ บุคลากรทุ กระดับของบริ ษทั ได้ยึดถือปฏิ บัติ โดย หุ่งเน้นาลักการกากับดู แลกิ จการที่ ดี ทั้งนี้ ได้ระบุ ใา้บริ ษ ัทและบริ ษทั ย่อยตระานักถึ งควาหสาคัญ ของการกากับดูแลกิจการที่ดี 5 ประการดังนี้ 1. การดาเนินงานที่โปร่ งใส (Transparency) 2. ความซื่อตรงและยุติธรรม (Integrity and Fairness) 3. ความรับผิดชอบต่อการปฏิบตั ิหน้าที่และ การตัดสิ นใจที่สามารถอธิบายหรื อให้เหตุ ผลได้ (Responsibility and Accountability) 4. ศักยภาพในการทางาน (Competency) 5. การปฏิบตั ิที่เป็ นเลิศ เพื่อสร้างคุณค่าและ ความมัน่ คงระยะยาว (Best Practices for Creation of Long - term Value) โดยกาหนดให้ปั จจัยภายในที่ สนับสนุ น หลักการ กากับดูแลกิจการที่ดีขา้ งต้นประกอบด้วย 1. ความเป็ นมืออาชีพของบุคลากรทุกระดับ 2. ความโปร่ งใสในการดาเนิ นงานโดยมีระบบ ควบคุมภายในที่ดี รวมถึงกลุ่มบริ ษทั ยึดหลักการกากับดูแลกิจการที่ ดี ในการด าเนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษ ัท โดยก าหนดเป็ น นโยบายและจรรยาบรรณใช้เป็ นบรรทัดฐานในการ ปฏิ บั ติ ง านของกลุ่ ม บริ ษั ท ทั้ งนี้ กรรมการฝ่ าย บริ หาร พนักงาน รวมทั้งพนักงานของผูร้ ับจ้างทุ ก คนมีภาระหน้าที่ความรับผิดชอบที่จะต้องรับรู ้ ทา ความเข้าใจและถือปฏิบตั ิให้ถูกต้องเป็ นประจาโดย ผู ้บั ง คับ บั ญ ชามี ภ าระหน้ า ที่ ต ้อ งสอดส่ อ งและ แนะนาผูใ้ ต้บงั คับบัญชาตามลาดับชั้นให้ปฏิบตั ิให้ สอดคล้องกับนโยบายและจรรยาบรรณที่กาานดไว้ ส่วนที่ 2 าน้า 67


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

ใช่

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ โดยสม่ า เสมอ ทั้ งนี้ พนั ก งานที่ ฝ่ าฝื นตลอดจน ละเมิดจรรยาบรรณจะถูกสอบสวนและลงโทษตาม ระเบี ยบที่ ก าหนด อี ก ทั้งยังเปิ ดโอกาสให้ แจ้งข้อ ร้องเรี ยนได้ โดยมีช่องทางการร้องเรี ยนผ่านเว็บไซต์ ของบริ ษั ท ที่ AC_EW@eastwater.com โดยในปี 2557 บริ ษ ัทได้เข้าร่ วม “โครงการแนวร่ วมปฏิ บัติ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริ ต (Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC))” เพื่อแสดงเจตนารมณ์ และความ มุ่งมั่นในการต่ อต้านการคอร์ รั ปชั่นทุ กรู ปแบบทั้ง โดยทางตรงและทางอ้อม โดยกาหนดเป็ นนโยบาย ต่ อ ต้านคอร์ รั ป ชั่น ภายในองค์ ก ร (Anti-corruption Policy) ให้ ก รรมการกลุ่ ม บริ ษั ท ผู ้ บ ริ หาร และ พนักงาน จะไม่เรี ยกร้อง ดาเนิ นการ หรื อยอมรับการ คอร์ รัปชัน่ ทุกรู ปแบบไม่ว่ากรณี ใดๆทั้งโดยทางตรง และทางอ้อม เพื่อประโยชน์ต่อตนเอง เพื่อน และคน รู ้จกั โดยครอบคลุมถึงธุ รกิ จของกลุ่มบริ ษทั และทุก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ กลุ่มบริ ษทั ได้กาหนดแนว ปฏิ บัติและบทบาทหน้าที่ ผูร้ ับผิดชอบ ตลอดจนจัด ให้ มี ก ารสอบทาน และทบทวนการปฏิ บั ติ ต าม นโยบายต่ อ ต้านการคอร์ รั ป ชั่น นี้ อย่างสม่ าเสมอ เพื่ อ ให้ ส อดคล้อ งกั บ การเปลี่ ยนแปลงของธุ รกิ จ ระเบี ยบ ข้อบังคับ และกฎหมายที่ เกี่ ยวข้อง และอี ก ทั้งในปี 2558 บริ ษทั ได้ตอกย้ าเจตนารมณ์ และความ มุ่งมัน่ ในการต่อต้านการคอร์ รัปชัน่ ทุ กรู ปแบบโดย ได้รั บ รางวัล ในงาน “Asian Corporate Governance Conference & Awards ณ ป ระเท ศ ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ 2 ร าง วั ล คื อ TOP5 0 ASEAN PLCs แ ล ะ TOP2 Outstanding Achievement Awards.

ส่วนที่ 2 าน้า 68


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

9. องค์ ก รสามารถระบุ และประเมิ นความเปลี่ยนแปลงที่อ าจมี ผลกระทบต่ อระบบการควบคุ ม ภายใน คาถาม

ใช่

9.1 บริ ษ ัท ฯ ประเมิ น การเปลี่ ย นแปลง ปั จจัยภายนอกองค์กร ที่อาจมีผลกระทบ ต่อ การด าเนิ น ธุ รกิ จ การควบคุ ม ภายใน และรายงานทางการเงิ น ตลอดจนได้ ก าหนดมาตรการตอบสนองต่ อ การ เปลี่ยนแปลงนั้นอย่างเพียงพอแล้ว

9.2 บริ ษั ท ประเมิ น การเปลี่ ย นแปลง รู ป แบบการท าธุ รกิ จ ที่ อ าจมี ผ ลกระทบ ต่อ การด าเนิ น ธุ รกิ จ การควบคุ ม ภายใน และรายงานทางการเงิ น ตลอดจนได้ ก าหนดมาตรการตอบสนองต่ อ การ เปลี่ยนแปลงนั้นอย่างเพียงพอแล้ว

9.3 บริ ษ ัท ฯ ประเมิ น การเปลี่ ย นแปลง ผู ้น าองค์ ก ร ที่ อ าจมี ผ ลกระทบต่ อ การ ด าเนิ น ธุ ร กิ จ การควบคุ ม ภายใน และ รายงานทางการเงิ น ตลอดจนได้กาหนด มาตรการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง นั้นอย่างเพียงพอแล้ว

ไม่ ใช่

คาตอบ บริ ษั ท มี ก ารทบทวนการประเมิ น ความเสี่ ยงอย่ า ง สม่ า เสมอ โดยจัด ประชุ ม ระหว่า งหน่ ว ยงานภายใน บริ ษ ัท เพื่ อระบุ ค วามเสี่ ยงที่ เกิ ด จากปั จ จัย ภายในและ ปั จ จัย ภายนอกที่ อ าจมี ผ ลกระทบต่ อ การด าเนิ น ธุ รกิ จ รวมถึงการพิจารณาความเสี่ ยงใหม่ที่อาจจะเกิดขึ้น ปรับ ลดระดับความเสี่ ยงของปั จจัยเสี่ ยงที่ เคยระบุ ไว้เดิ มให้ ลดลง หรื อ คงระดับ ความเสี่ ย งไว้ต ามสถานการณ์ ที่ เปลี่ ยนไป ตลอดจนเฝ้ าระวังความเสี่ ย งต่ ามิ ให้ สู งขึ้ น โดยมี การจัดท าแผนบริ ห ารความเสี่ ย ง เพื่ อ ลดโอกาส หรื อผลกระทบของความเสี่ ยงให้เข้ามาสู่ ระดับที่องค์กร ยอมรับได้ บริ ษทั จัดให้มีการติดตามหน่ วยงานต่างๆให้ปฏิ บตั ิตาม แผนบริ ห ารความเสี่ ย งที่ ก าหนดไว้ โดยฝ่ ายบริ ห าร ก าหนดให้ ทุ ก หน่ ว ยงานภายในบริ ษ ัท รายงานความ คืบหน้าของการปฏิบตั ิตามแผนปฏิ บตั ิการบริ หารความ เสี่ ยงในส่วนที่ตนรับผิดชอบไปยังงานบริ หารความเสี่ ยง เพื่ อ ท บ ท วน ค ว าม เห ม า ะ ส ม ก่ อ น น าเส น อ แ ก่ คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งและคณะกรรมการ บริ ษทั เพื่อพิจารณาอย่างน้อยทุกไตรมาส นอกจากนี้ ในการวางแผนการตรวจสอบภายในประจาปี ฝ่ ายตรวจสอบได้ประเมินการเปลี่ยนแปลงที่ สาคัญๆที่ อาจมี ผ ลกระทบต่ อ ความเสี่ ย งและระบบการควบคุ ม ภายใน เพื่อพิจารณาขอบเขตการตรวจสอบด้วย

ส่วนที่ 2 าน้า 69


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

กำรควบคุมกำรปฏิบัติงำน (Contral Activities) 10. องค์ กรมีมาตรการควบคุมที่ช่วยลดความเสี่ ยงที่จะไม่ บรรลุวัตถุประสงค์ ขององค์ กรให้ อยู่ใน ระดับทีย่ อมรับได้ คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาตอบ 10.1 มาตรการควบ คุ มของบ ริ ษั ท มี ความ เหมาะสมกับความเสี่ ยง และลักษณะเฉพาะของ องค์กร เช่ น สภาพแวดล้อม ความซับซ้อนของ งาน ลักษณะงาน ขอบเขตการดาเนินงาน รวมถึง ลักษณะเฉพาะอื่น ๆ 10.2 บริ ษั ท ฯ มี ม าตรการควบคุ ม ภ ายในที่ ก าหนดเป็ นลายลัก ษณ์ อ ัก ษร และครอบคลุ ม กระบวนการต่ า งๆ อย่ า งเหมาะสม เช่ น มี นโยบายและระเบี ย บวิ ธี ป ฏิ บั ติ ง านเกี่ ย วกั บ ธุรกรรมด้านการเงิ น การจัดซื้ อ และการบริ หาร ทัว่ ไป ตลอดจนกาหนดขอบเขต อานาจหน้าที่ และล าดับ ชั้น การอนุ ม ัติข องผูบ้ ริ ห ารในแต่ล ะ ระดับ ไว้อ ย่า งชัด เจน รั ด กุ ม เพื่ อ ให้ ส ามารถ ป้ องกัน การทุ จริ ตได้ เช่ น มี การกาหนดขนาด วงเงินและอานาจอนุมตั ิของผูบ้ ริ หารแต่ละระดับ ขั้น ตอนในการอนุ มตั ิโครงการลงทุ น ขั้นตอน การจัดซื้ อและวิธีการคัดเลื อกผูข้ าย การบันทึ ก ข้อมูลรายละเอียดการตัดสิ นใจจัดซื้ อ ขั้นตอน การเบิ กจ่ า ยวัส ดุ อุ ป กรณ์ ห รื อ การเบิ กใช้ เค รื่ อ งมื อ ต่ าง ๆ เป็ น ต้ น โ ด ยได้ จั ด ให้ มี ก ร ะ บ ว น ก าร ส าห รั บ ก ร ณี ต่ าง ๆ ดั ง นี้ 10.2.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ กรรมการ ผู ้บ ริ หาร และผู ้ที่ เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว รวมทั้งบุคคลที่เกี่ยว โยงกัน เพื่ อ ประโยชน์ ในการติ ด ตามและสอบ ทานการทารายการระหว่างกัน หรื อรายการที่อาจ มี ค วามขัด แย้งทางผลประโยชน์ รวมทั้งมี ก าร ปรับปรุ งข้อมูลให้เป็ นปั จจุบนั เสมอ

บริ ษทั ฯ ใช้ระเบียบ และแนวปฏิบตั ิต่างๆ ที่ทบทวน และอนุมตั ิโดยคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นแนวทางใน การปฏิ บั ติ ง านตามหลัก การควบคุ ม ภายในที่ ดี ประกอบด้วย ระเบียบและแนวปฏิบตั ิดงั นี้ 1. ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง 2. ด้านการบริ หารทรัพย์สินและอะไหล่ 3. ด้านการบริ หารสัญญา 4. ด้านการลงทุนและบริ หารโครงการ 5. ด้านงบประมาณ การบัญชี และการเงิน 6. ด้านการบริ หารสิ นค้าคงคลัง 7. ด้านอานาจดาเนินการภายในองค์กร อาทิ ในกระบวนการจัด ซื้ อจั ด จ้ า ง ได้ ส่ ง แบบ รายงานการมี ส่ ว นได้เสี ย ให้ ผู ้เสนอราคาหรื อ ผู ้ รั บ จ้ า งชี้ แจงความสั ม พั น ธ์ เ กี่ ยวโยงระห ว่ า ง กรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หารหรื อบุคคลที่ เกี่ ยวโยงกัน ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย เพื่อป้ องกัน การขัดแย้ง ด้านผลประโยชน์ (Conflict of interest) นอกจากนี้ มีการจัดทาและปฏิ บตั ิตามขั้นตอนการ ป ฏิ บั ติ ง า น ( Work Procedures and Work Instructions) ที่ ส อดคล้อ งกับ ระเบี ย บและระบบ คุณภาพ ISO 9001:2008 และ ISO 14001:2004 โดย จัดให้มีการทบทวนเป็ นปั จจุบนั อย่างสม่าเสมอ

ส่วนที่ 2 าน้า 70


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

ใช่

10.2.2 กรณี ที่ บ ริ ษ ัท อนุ ห ัติ ธุ ร กรรห ารื อทาสัญญากับผูท้ ี่ เกี่ ยวข้องในลักษณะที่ หีผล ผูก พัน บริ ษ ัท ในระยะยาวไปแล้ว เน่ น การท า สัญญาซื้ อขายสิ นค้า การใา้กูย้ ืห การค้ าประกัน บริ ษ ัท ได้ติ ด ตาหใา้ ห ั่น ใจแล้วว่า หี ก ารปฏิ บัติ เป็ นไปตาหเงื่อนไขที่ตกลงกันไว้ตลอดระยะเวลา ที่ หีผลผูกพัน บริ ษทั ฯ เน่ น ติ ดตาหการนาระคื น า นี้ ตาหก าา น ด า รื อหี การท บ ท วน ควาห เาหาะสหของสัญญา เป็ นต้น 10.3 บริ ษทั กาหนดให้การควบคุมภายในมีความ หลากหลายอย่างเหมาะสม เช่น การควบคุมแบบ manual และ automated หรื อการควบคุ ม แบบ ป้ องกันและติดตาม 10.4 บริ ษทั ฯ กาหนดให้มีการควบคุมภายในใน ทุ กระดับ ขององค์ก ร เช่ น ทั้งระดับ กลุ่ มบริ ษ ัท หน่ วยธุ ร กิ จ สายงาน ฝ่ ายงาน แผนก หรื อ กระบวนการ

10.5 บ ริ ษั ท ฯ หี การแบ่ งแยก า น้ าที่ ค วาห รั บ ผิ ด นอบในงาน 3 ด้านต่ อ ไปนี้ ออกจากกัน โดยเด็ดขาด เพื่อเป็ นการตรวจสอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ (1) าน้าที่อนุหตั ิ (2) าน้าที่บนั ทึกรายการบัญนีและ ข้อหูลสารสนเทศ และ (3) าน้าที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพย์สิน

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ

ผูบ้ ังคับ บัญ ชาแต่ล ะหน่ วยงานรั บ ผิ ด ชอบในการ ควบคุ ม ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามระบบการควบคุ ม ภายในที่ วางไว้ และมี หน่ วยงานตรวจสอบภายใน ทาหน้าที่สอบทานประเมินความเพียงพอ และความ มีประสิ ทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน ระเบี ย บและแนวปฏิ บั ติ ด้ านอ านาจด าเนิ น การ ภายในองค์ก รก าานดระดับ การอนุ ห ัติ ซ้ื อ จัด จ้าง และกาานดอานาจอนุหตั ิการสั่งจ่าย ารื อนาระเงิ น โดยใา้ หี ผู ้หี อ านาจลงนาหอย่า งน้ อ ย 2 ท่ า น ซึ่ ง วงเงิ น อนุ หั ติ หี การแบ่ งแยกตาหระดั บ ควาห รับผิดนอบ โดยฝ่ ายการเงินและบัญนีของบริ ษทั ไห่ หีอานาจอย่างเบ็ดเสร็ จในการอนุ หตั ิจ่าย นอกจากนี้ ยังหีการแบ่งแยกาน้าที่ระาว่าง ผูบ้ นั ทึกบัญนี ผูร้ ับ เงิน และผูจ้ ่ายเงินด้วยเน่นกัน ระเบี ยบและแนวปฏิ บั ติ ก ารจั ด ซื้ อจั ด จ้ า ง ได้ แบ่ งแยกหน้าที่ รับผิดชอบของหน่ วยงานจัดซื้ อจัด จ้าง โดยกาหนดให้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับ ประกอบด้ว ยกรรมการอย่า งน้ อ ย 3 ท่ า น ได้แ ก่ ตัวแทนจากผูใ้ ช้งาน ตัวแทนจากฝ่ ายการเงิ น และ บัญ ชี และหน่ วยงานอื่นที่ ไม่เกี่ ยวข้องกับผูใ้ ช้งาน และการจัดซื้อ นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ กาหนดให้หน่ วยงานซึ่ งเป็ นผู ้ ขอซื้อ รับผิดนอบในการดูแลทรัพย์สินที่จดั ซื้อ โดย ส่วนที่ 2 าน้า 71


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

ใช่

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ ฝ่ ายการเงิ น และบั ญ นี จะเป็ น ผู ้ ค วบคุ ห ควาห ครบถ้วน และเป็ นปั จจุ บันของทะเบี ยนทรัพ ย์สิน ถาวรของบริ ษ ั ท ทั้ งนี้ หี ก ารตรวจนั บ ทรั พ ย์สิ น ทั้ งาหดเป็ นประจ าทุ ก ปี ร่ ว หกั บ แผนกบริ าาร ส านัก งานและทรั พ ย์สิ น และแผนกบริ า ารพื้ น ที่ ปฏิบตั ิการ เพื่อยืนยันควาหครบถ้วนและควาหหีอยู่ จริ งของทรั พ ย์สิ น ด้ ว ย และพิ จ ารณาการจัด ท า ประกันภัยทรัพย์สินตาหควาหเาหาะสห

11. องค์ กรเลื อกและพัฒ นากิจกรรมการควบคุ ม ทั่วไปด้ วยระบบเทคโนโลยี เพื่ อช่ วยสนั บ สนุ นการ บรรลุวตั ถุประสงค์ คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาตอบ 11.1 บริ ษั ท ควรก าห น ดความเกี่ ย วข้ อ งกั น ระหว่ า งการใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ ใน กระบวนการปฏิ บัติงานและการควบคุ ม ทั่วไป ของระบบสารสนเทศ

11.2 บ ริ ษั ท ค วรก าห น ด ก ารค วบ คุ ม ข อ ง โครงสร้ างพื้ น ฐานของระบบเทคโนโลยีใ ห้ มี ความเหมาะสม

11.3 บริ ษ ัท ควรก าหนดการควบคุ ม ด้านความ ปลอดภั ย ของระบบเทคโนโลยี ใ ห้ มี ค วาม เหมาะสม

บริ ษั ท จั ด ท าคู่ มื อและปฏิ บั ติ ตามขั้ นตอนการ ปฏิ บั ติ งาน (Work Procedures and Work Instructions) ของระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่ งสอดคล้อง กับระเบี ยบและระบบคุ ณ ภาพ ISO 9001:2008 และ ISO 14001:2004 บริ ษั ท จั ด ท าคู่ มื อและปฏิ บั ติ ตามขั้ นตอนการ ปฏิ บั ติ งาน (Work Procedures and Work Instructions) ของระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่ งสอดคล้อง กับระเบี ยบและระบบคุ ณ ภาพ ISO 9001:2008 และ ISO 14001:2004 ฝ่ ายเทคโนโลยี ส ารสนเทศ จั ด ท าหลั ก ปฏิ บั ติ ส าหรั บ ควบคุ ม ความปลอดภัย ด้า นเทคโนโลยี สารสนเทศ โดยสื่ อ สารหลัก ปฏิ บั ติ ดัง กล่ า วให้ พนักงานทุ กคนทราบโดยทั่วกัน ผ่านช่ องทางการ สื่ อสารต่างๆ เช่น ประกาศคาสั่งของบริ ษทั การส่ ง จดหมายอิ เล็ ก ทรอนิ ค ส์ เป็ นต้น เพื่ อ เน้ น ย้ า ให้ พนักงานในบริ ษทั เห็ นความสาคัญของการควบคุม ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่ าเสมอและเป็ น ผูด้ ูแลรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับการควบคุมการ เข้าถึงระบบเครื อข่าย การเข้าถึงห้องควบคุมระบบ คอมพิวเตอร์ การควบคุมการใช้งานซอฟต์แวร์ เป็ น ต้น และได้ติดตั้งระบบบริ หารจัดการเก็บข้อมูลจรา-

ส่วนที่ 2 าน้า 72


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

11.4 บริ ษทั ควรกาหนดการควบคุมกระบวนการ ได้ ม า การพัฒ นา และการบ ารุ ง รั ก ษาระบบ เทคโนโลยีให้มีความเหมาะสม

ใช่

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ จรทางคอมพิ ว เตอร์ แ บบรวมศู น ย์ที่ ส่ ว นกลาง (Centralized Log Management) เพื่ อ จัด เก็ บ ข้อ มู ล จราจรทางคอมพิวเตอร์ (Log file) ของบริ ษทั โดย ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ สามารถเก็บได้นาน เกิ นกว่า 90 วันตามที่ กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติ ว่าด้ว ยการกระท าความผิ ด เกี่ ย วกับ คอมพิ ว เตอร์ พ.ศ. 2550 (มาตรา 26) ฝ่ ายตรวจสอบ ภายใน ตรวจสอบ ด้ า น ระบ บ เทคโนโลยีส ารสนเทศ โดยร่ วมกับ ที่ ป รึ กษางาน ตรวจสอบภายใน ซึ่งรวมถึงการสอบทานด้านความ ปลอดภัยการใช้ขอ้ มูล และประสิ ท ธิ ภาพของการ จัดการการเข้าถึงข้อมูล ระบบงาน และอุปกรณ์ IT

12. องค์ กรจัดให้ มีกิจกรรมการควบคุมผ่ านทางนโยบาย ซึ่ งได้ กาหนดสิ่ งที่คาดหวังและขั้นตอน การปฏิบัติเพื่อให้ นโยบายทีก่ าหนดไว้ น้ ันสามารถนาไปสู่ การปฏิบัติได้ คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาตอบ 12.1 บริ ษทั มีนโยบายที่รัดกุมเพื่อติดตามให้การ ท าธุ ร กรรมของผู ้ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว ต้อง ผ่านขั้นตอนการอนุ มตั ิที่กาหนด เช่ น ข้อบังคับ ของบริ ษัท เกณฑ์ ข องตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย เกณฑ์ ข องส านั ก งาน ฯลฯ เพื่ อ ป้ องกันการหาโอกาสหรื อนาผลประโยชน์ของ บริ ษทั ไปใช้ส่วนตัว

12.2 บริ ษทั มีนโยบายเพื่อให้การพิจารณาอนุ มตั ิ ธุ ร กรรมกระท าโดยผู ้ที่ ไม่ มี ส่ วนได้ เสี ยใน ธุรกรรมนั้น

รายการระหว่า งกั น ของบริ ษัท และบริ ษั ท ย่ อ ย รวมถึงผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมต่างๆ จะผ่านขั้นตอน การพิ จ ารณา อนุ ม ัติ อ ย่า งถู ก ต้อ งชัด เจน โดยได้ เปิ ดเผยรายการดังกล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบ การเงิน หากมีรายการระหว่างกันที่ มีนยั สาคัญ ฝ่ าย ตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ฝ่ ายบริ ห าร และผู ้ ส อบบั ญ ชี จ ะด าเนิ นการพิ จ ารณาอย่ า ง รอบคอบและดาเนิ นการตามข้อกาหนดของตลาด หลักทรัพย์ฯ ตลอดจนเปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน คณะกรรมการบริ ษทั ได้อนุ มตั ิ หลักการที่ เกี่ ยวกับ การท ารายการระหว่ า งกั น ในการท าธุ ร กรรม ระหว่ า งบริ ษั ท หรื อบริ ษั ท ย่ อ ย และกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ตามประกาศ ข อ ง ต ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย์ ฯ แ ล้ ว ใ น ก ร ณี ที่ คณ ะกรรมการบ ริ ษั ท ห รื อบ ริ ษั ท ย่ อ ยมี การ มอบหมายให้บุคลากรของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย ทุ กระดับ ปฏิ บัติ ก ารแทนคณะกรรมการบริ ษ ัท ฯ หรื อบริ ษทั ย่อยในเรื่ องใด การมอบหมายดังกล่าวจะ ส่วนที่ 2 าน้า 73


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

ใช่

12.3 บริ ษัท ฯ มี น โยบายเพื่ อ ให้ ก ารพิ จ ารณา อนุ ม ัติ ธุ ร กรรมค านึ ง ถึ ง ประโยชน์ สู ง สุ ด ของ บริ ษ ัท เป็ นสาคัญ และพิ จ ารณาโดยถื อ เสมื อ น เป็ นรายการที่ ก ระท ากั บ บุ ค คลภายนอก (at arms’ length basis)

12.4 บริ ษั ท มี ก ระบวนการติ ด ตามดู แ ลการ ดาเนินงานของบริ ษทั ย่อยหรื อบริ ษทั ร่ วม รวมทั้ง กาหนดแนวทางให้บุคคลที่บริ ษทั แต่งตั้งให้เป็ น กรรมการหรื อผูบ้ ริ หาร ในบริ ษทั ย่อยหรื อร่ วม นั้ น ถื อ ปฏิ บัติ (หากบริ ษั ท ไม่ มี เงิ น ลงทุ น ใน บริ ษัทย่ อยหรื อ บริ ษัทร่ วมไม่ ต้องตอบข้ อนี)้ 12.5 บริ ษทั กาหนดหน้าที่ และความรับผิดชอบ ในการน านโยบายและกระบวนการไปปฏิ บัติ โดยผูบ้ ริ หารและพนักงาน

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ ต้องจัดทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร หรื อบันทึ กเป็ นมติ คณะกรรมการในรายงานการประชุมคณะกรรมการ และมี ก ารกาหนดขอบเขตอานาจหน้าที่ ของผูร้ ั บ มอบอ านาจไว้อย่างชัด เจน โดยขอบเขตดังกล่ าว ต้องไม่รวมถึงการอนุ มตั ิ ให้ทารายการที่ ผูร้ ับมอบ อานาจ หรื อ บุ คคลที่ อ าจมี ความขัด แย้ง มี ส่วนได้ เสี ย หรื อมี ความขัด แย้งทางผลประโยชน์ และให้ ฝ่ ายบริ หารรายงานให้คณะกรรมการทราบ การด าเนิ น ธุ รก รรม ดั ง กล่ าวมี ขั้ น ต อ น ก าร ด าเนิ นการ และพิ จ ารณาเป็ นไปตามระเบี ยบ เช่ น เดี ยวกับ ผูใ้ ช้น้ ารายอื่ น ๆ นอกจากนี้ ได้มี ก าร ก าหนดไว้อ ย่ า งชั ด เจนในระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมทั้งประกาศหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีวา่ การ ด าเนิ น กิ จ กรรมใดๆ ทางธุ ร กิ จ ต้อ งเป็ นไปตาม ระเบี ยบที่ กาหนดไว้ โดยให้พิจารณาถึงประโยชน์ สู งสุ ด ของบริ ษ ัท และผูถ้ ื อหุ ้ น เป็ นส าคัญ ทั้งนี้ ใน รายการที่มีนยั สาคัญ อาทิ รายการที่มีมูลค่ามากกว่า หรื อเท่ ากับ 3% ของสิ นทรัพย์ที่มีตวั ตนสุ ทธิ (Net Tangible Assets) บริ ษทั ได้พิจารณาจัดจ้าง บริ ษทั ที่ ปรึ กษาการเงินอิสระ พิจารณาให้ความเห็ นต่อการ ท าธุ ร กรรมดั ง กล่ า ว เพื่ อ ความโปร่ ง ใสในการ ดาเนิ นงาน ก่ อนการนาเสนอผูถ้ ือหุ ้นเพื่อพิจารณา อนุมตั ิตามกฎเกณฑ์ตลาดหลักทรัพย์ฯ

บริ ษทั ฯ กาหนดไว้อย่างชัดเจนในหลักการกากับ ดูแลกิจการที่ ดีของบริ ษทั ว่า ผลประโยชน์ที่ขดั กัน จะเกิ ดจากกรณี ที่บุคลากรทุกระดับมีผลประโยชน์ เกี่ ยวพั น กั บ บุ คคลผู ้ ใ กล้ ชิ ด ห รื อต าแห น่ งที่ รับผิดชอบ ไม่วา่ จะเป็ นด้านการเงิน หรื อด้านอื่นใด ก็ตามในกิ จการ ซึ่ งจะได้รับผลประโยชน์จากการ ตัดสิ นใจของบุคคลผูน้ ้ นั หรื อการรับรู ้กิจกรรมการ ส่วนที่ 2 าน้า 74


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

ใช่

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ ด าเนิ น งาน หรื อ แผนการในอนาคตของบริ ษัท พนั ก งานทุ ก คนมี ห น้ าที่ ต ้อ งแจ้ง เรื่ อ งที่ อ าจเป็ น ผลประโยชน์ ที่ ข ัด กัน ที่ เกิ ด ขึ้ น ให้ ผูบ้ ัง คับ บัญ ชา และฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ทราบตามลาดับ

12.6 นโยบายและกระบวนการปฏิบตั ิของบริ ษทั ได้ รั บ การน าไปใช้ ใ นเวลาที่ เหมาะสม โดย บุคลากรที่มีความสามารถ รวมถึงการครอบคลุม กระบวนการแก้ไขข้อผิดพลาดในการปฏิบตั ิงาน 12.7 บริ ษ ัท ทบทวนนโยบายและกระบวนการ ปฏิบตั ิให้มีความเหมาะสมอยูเ่ สมอ

ส่วนที่ 2 าน้า 75


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ระบบสำรสนเทศและกำรสื่ อสำรข้ อมูล (Information & Communication) 13. องค์ กรข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องและมีคุณภาพ เพื่อสนับสนุ นให้ การควบคุมภายในสามารถดาเนินไป ได้ ตามทีก่ าหนดไว้ คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาตอบ 13.1 บริ ษ ัท ก าหนดข้อ มู ล ที่ ต ้อ งการใช้ใ นการ  ด าเนิ น งาน ทั้ งข้อ มู ล จากภายในและภายนอก องค์กร ที่มีคุณภาพและเกี่ยวข้องต่องาน 13.2 บริ ษทั พิจารณาทั้งต้นทุนและประโยชน์ที่จะ  ได้รับ รวมถึงปริ มาณและความถูกต้องของข้อมูล

13.3 บริ ษ ัท ด าเนิ น การเพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการมี  ข้ อ มู ล ที่ ส าคั ญ อ ย่ า ง เพี ย ง พ อ ส าห รั บ ใ ช้ ประกอบการตัดสิ นใจ ตัวอย่างข้อมูลที่สาคัญ เช่น รายละเอี ยดของเรื่ องที่ เสนอให้ พิ จารณา เหตุผ ล ผลกระทบต่อบริ ษทั ทางเลือกต่าง ๆ

บริ ษ ัทได้รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล ประกอบการ จัดทาแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบตั ิการที่ใช้เป็ น แนวทางการปฏิ บัติ โดยฝ่ ายต่ างๆที่ เกี่ ย วข้อ งจะ รวบ รวม ข้ อ มู ล ทั้ งภ ายใน แล ะภ ายน อ กที่ มี ความสาคัญและเชื่อมโยงต่อการการดาเนิ นงานของ องค์ก ร อาทิ เช่ น ปริ ม าณน้ าสู บ จ่ าย รายงานทาง การเงิน สภาวะเศรษฐกิจ สถานการณ์น้ า และข้อมูล อื่ น จ าก ห น่ ว ย งาน ภ าย น อ ก อ งค์ ก ร โ ด ย มี ค ณ ะก รรม ก ารบ ริ ษั ท แ ล ะที่ ป รึ กษ าที่ เป็ น ผูเ้ ชี่ยวชาญให้คาแนะนา เพื่อสอบทานคุณภาพและ ความถูกต้องของข้อมูลที่นาไปใช้ให้เกิดความคุม้ ค่า กับประโยชน์ที่จะได้รับ บริ ษทั จัดทาระเบียบวาระเพื่อการประชุม โดยบรรจุ เรื่ องสื บเนื่อง เรื่ องเพื่อพิจารณา เรื่ องเพื่อทราบ และ เรื่ องอื่ น ไว้ต ามล าดั บ เพื่ อ ความสะดวกในการ ป ร ะ ชุ ม ทุ ก ร ะ เบี ย บ ว าร ะ ใ น ก าร ป ร ะ ชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการชุดย่อย จะ มีขอ้ มูลตามหัวข้อต่อไปนี้ (1) สรุ ปความเป็ นมา (2) สรุ ปสาระสาคัญ (3) เหตุผลและความจาเป็ น (4) กฎห มาย / กฎระเบี ยบ / สั ญ ญ า / ข้ อ ตกลงที่ เกี่ ยวข้อง (5) ข้อพิจารณา/ข้อเสนอแนะ เป็ นการ สรุ ปประเด็น เพื่ อการพิจารณา และ/หรื อแนวทาง เลือกที่ฝ่ายจัดการประสงค์ให้คณะกรรมการบริ ษทั รับทราบ / พิจารณา / ให้ความเห็น / อนุมตั ิ (6) มติ ที่ ป ระชุ ม นอกจากนั้น บริ ษทั ฯ ยังจัด ให้มีอุ ปกรณ์ สื่ อส ารที่ ทั น ส มั ย เพื่ อการเข้ า ถึ งข้ อ มู ล ข อ ง คณะกรรมการบริ ษทั อย่างรวดเร็ ว ทันเวลา และใช้ ระบบคอมพิ ว เตอร์ โปรแกรม Power Point เพื่ อ แสดงเนื้ อหาโดยสรุ ปพร้อมรู ปภาพประกอบ กราฟ แสดงค่าสถิติ แผนผัง แผนที่ ที่ ชดั เจนและเพียงพอ ทั้งนี้ในการประชุมมีการกาหนดให้หน่วยงานที่รับ ส่วนที่ 2 าน้า 76


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

13.4 บริ ษ ัท ด าเนิ น การเพื่ อ ให้ ก รรมการบริ ษ ัท ได้รับหนังสื อนัดประชุมหรื อเอกสารประกอบการ ประชุ มที่ ระบุ ขอ้ มูลที่ จาเป็ นและเพียงพอต่อการ พิ จ ารณาก่ อ นการประชุ ม ล่ ว งหน้ า อย่ า งน้ อ ย ภายในระยะเวลาขั้นต่าตามที่กฎหมายกาหนด

13.5 บริ ษทั ดาเนิ นการเพื่อให้รายงานการประชุม คณะกรรมการมี ร ายละเอี ย ดตามควรเพื่ อ ให้ สามารถตรวจสอบ ย้อ น ห ลั ง เกี่ ยวกั บ ความ เหมาะสมในการปฏิบตั ิหน้าที่ของกรรมการแต่ละ ราย เช่ น การบั น ทึ ก ข้อ ซั ก ถามของกรรมการ ความเห็ นหรื อข้อสังเกตของกรรมการในเรื่ องที่ พิจารณา ความเห็นของกรรมการรายที่ไม่เห็นด้วย กับเรื่ องที่เสนอพร้อมเหตุผล เป็ นต้น

ใช่

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ ผิดชอบเข้าประชุมเพื่อนาเสนอรายละเอียดและตอบ ข้อซักถามของคณะกรรมการ งานเลขานุการบริ ษทั ส่งหนังสื อนัดประชุม ระเบียบ วาระการประชุ ม และรายงานการประชุ ม ของ คณะกรรมการบริ ษ ัท และคณะกรรมการชุ ดย่อ ย พิ จ ารณาตามระยะที่ ก าหนด ยกเว้น กรณี จ าเป็ น/ เร่ งด่วนที่ ตอ้ งนาเข้าเสนอคณะกรรมการบริ ษทั ใน รอบการประชุ ม ดัง กล่ า ว มิ ฉ ะนั้ นอาจเกิ ด ความ เสี ยห ายแก่ บ ริ ษั ท ฝ่ ายบ ริ ห ารจะห ารื อ กั บ ผูเ้ กี่ยวข้องพิจารณากลัน่ กรองข้อมูลและเนื้ อหาให้มี ความเหมาะสม ครบถ้วนและถู ก ต้ อ งที่ สุ ด โดย นาส่ งข้อมูลที่ จาเป็ นและเพี ยงพอต่อ การพิจารณา ล่วงหน้า 2-6 วันก่อนประชุม งานเลขานุ การบริ ษ ัท จะบัน ทึ ก ข้อ ซัก ถาม ความ คิ ด เห็ น ต่ างๆ และเหตุ ผ ลประกอบ รวมถึ ง มติ ที่ ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ในรายงานการประชุม เป็ นภาพรวม นอกจากนั้ นแล้ว ในการน าส่ ง รายงานการประชุมแต่ละครั้ง งานเลขาฯจะแจ้งให้ กรรมการรายบุ คคลสามารถแจ้งแก้ไขรายงานการ ประชุ มภายในระยะเวลาที่ ก าหนดภายหลังจากที่ ได้รับรายงานการประชุมประมาณ 7 วัน จากนั้น หากมีผแู ้ จ้งขอแก้ไขรายงานการประชุม งานเลขาฯ จะน าไปเสนอไว้ใ นการประชุ ม ครั้ งถั ด ไปใน ระเบี ยบวาระรับ รองรายงานการประชุ มครั้ งก่ อ น โดยจะระบุ ชื่ อ กรรมการผู ้ข อแก้ไ ขรายงานฯ ไว้ อย่างชัดเจน ซึ่ งหากกรรมการท่านอื่นมีความเห็ น เป็ นอย่างอื่นก็สามารถแย้งได้ โดยจะบันทึ กไว้ใน รายงานฯ และสรุ ปเป็ นมติของที่ ประชุ มต่อไป ซึ่ ง จะมีรายละเอียด และเอกสารประกอบระเบียบวาระ การประชุมอย่างเพียงพอ และเหมาะสมให้ผถู ้ ือหุ ้น และผูเ้ กี่ยวข้องสามารถตรวจสอบได้อย่างชัดเจน

ส่วนที่ 2 าน้า 77


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

ใช่

13.6 บริ ษทั มีการดาเนินการดังต่อไปนี้ 13.6.1 มีการจัดเก็บเอกสารสาคัญ ไว้อย่าง ครบถ้วนเป็ นหมวดหมู่ 13.6.2 กรณี ที่ ไ ด้รั บ แจ้ง จากผู ้ส อบบัญ ชี หรื อผูต้ รวจสอบภายในว่ามี ขอ้ บกพร่ องในการ ควบคุ มภายใน บริ ษทั ได้แก้ไขข้อบกพร่ องนั้น อย่างครบถ้วนแล้ว

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ บริ ษ ัท ฯ จัด เก็บ เอกสารประกอบการบัน ทึ กบัญ ชี และบัญ ชี ต่ า งๆ ไว้ค รบถ้ว นเป็ นหมวดหมู่ และ ไม่ได้รับการแจ้งจากผูส้ อบบัญชีวา่ มีขอ้ บกพร่ องใน เรื่ องการควบคุมภายใน

14. องค์ กรสื่ อสารข้ อมูลภายในองค์ กร ซึ่ งรวมถึงวัตถุประสงค์ และความรับผิดชอบต่ อการควบคุม ภายในทีจ่ าเป็ นต่ อการสนับสนุนให้ การควบคุมภายในสามารถดาเนินไปได้ ตามทีว่ างไว้ คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาตอบ 14.1 บริ ษ ัทมี กระบวนการสื่ อสารข้อมูลภายใน อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และมีช่องทางการสื่ อสารที่ เหมาะสม เพื่อสนับสนุนการควบคุมภายใน

14.2 บริ ษั ท มี ก ารรายงานข้ อ มู ล ที่ ส าคั ญ ถึ ง คณ ะกรรมการบริ ษั ท อย่ า งสม่ าเสมอ และ คณะกรรมการบริ ษั ท สามารถเข้ า ถึ ง แหล่ ง สารสนเทศที่จาเป็ นต่อการปฏิบตั ิงาน หรื อสอบ ทานรายการต่ า ง ๆ ตามที่ ต ้อ งการ เช่ น การ กาหนดบุ คคลที่ เป็ นศู น ย์ติด ต่อเพื่อ ให้ส ามารถ ติดต่อขอข้อมูลอื่นนอกจากที่ ได้รับจากผูบ้ ริ หาร รวมทั้งการติดต่อสอบถามข้อมูลจากผูส้ อบบัญชี ผู ้ต รวจสอบภายใน การจั ด ประชุ ม ระหว่ า ง คณะกรรมการและผูบ้ ริ หารตามที่คณะกรรมการ ร้ อ งขอ การจัด กิ จ กรรมพบปะหารื อ ระหว่า ง คณะกรรมการและผูบ้ ริ หารนอกเหนื อจากการ ประชุมคณะกรรมการ เป็ นต้น

บริ ษ ัท ให้ค วามส าคัญ ต่ อ การสื่ อ สาร โดยกาหนด เป็ นนโยบายเกี่ ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสารไว้ในหลักการกากับดูแลกิจการที่ ดี ของบริ ษทั เพื่อให้พนักงานมีความเข้าใจการใช้สื่อ ภายในต่างๆภายใต้การควบคุมภายในที่ดี อาทิ การ ใช้ อิ น เต อ ร์ เน็ ต อิ น ท ราเน็ ต อี เม ล์ แ ละ สื่ อ โทรคมนาคมต่ า งๆ ได้ แ ก่ โทรศั พ ท์ โทรสาร ระบบสื่ อสารระหว่างสานักงานใหญ่และสาขา กฎบั ต รคณะกรรมการตรวจสอบก าหนดให้ คณะกรรมการตรวจสอบมีอานาจในการปฏิบตั ิงาน เพื่อให้ สามารถเข้าถึงแหล่งสารสนเทศที่จาเป็ นต่อ การปฏิ บัติงาน หรื อสอบทานรายการต่างๆ ตามที่ ต้อ งการ โดยมี อ านาจในการเข้าถึ ง ข้อ มู ล ได้ทุ ก ระดั บ ของบริ ษั ท ฯ รวมถึ ง การเชิ ญ ผู ้ บ ริ ห าร พนักงาน หรื อผูเ้ กี่ ยวข้องเข้าร่ วมประชุ ม และให้ ข้อมูลในส่ วนที่ เกี่ ยวข้องได้ ภายใต้การปฏิ บตั ิงาน ตามขอบเขตอ านาจหน้าที่ ที่ ได้รับ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริ ษ ัท ฯ รวมถึ งสามารถแสวงหา ความเห็ น อิ ส ระจากผู ้ส อบบั ญ ชี ห รื อที่ ป รึ กษา วิชาชี พเฉพาะ ในการให้คาแนะนาปรึ กษาหรื อให้ ความเห็ นได้ ต ามที่ คณะกรรมการตรวจสอบ พิจารณาว่าเหมาะสมด้วยค่าใช้จ่ายของบริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2 าน้า 78


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม

14.3 บริ ษทั จัดให้มีช่องทางการสื่ อสารพิเศษหรื อ ช่ อ งทางลับ เพื่ อให้บุ ค คลต่ าง ๆ ภายในบริ ษ ัท สามารถแจ้งข้อมูลหรื อเบาะแสเกี่ ยวกับการฉ้อ ฉลหรื อทุ จ ริ ตภายในบริ ษั ท (whistle-blower hotline) ได้อย่างปลอดภัย

ใช่

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ นอกจากนี้ กฎบัต รคณะกรรมการตรวจสอบได้ ก าหนดบทบาทหน้ า ที่ ด้ า นการก ากั บ ดู แ ลการ ปฏิ บตั ิงานของผูต้ รวจสอบบัญชี และผูต้ รวจสอบ ภายในโดยประชุมร่ วมกับผูส้ อบบัญชีเพื่อรับทราบ รายงานผลการสอบทานงบการเงินประจาไตรมาส และ/หรื อ ผลการตรวจสอบงบการเงินประจาปี และ การหารื อเกี่ยวกับปั ญหา/อุปสรรคที่อาจพบจากการ ปฏิ บัติ ง านของผู ้ส อบบัญ ชี และประชุ ม ร่ ว มกับ ผูส้ อบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายบริ หารเข้าร่ วมประชุมด้วย อย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง รวมทั้งการประเมิ น คุ ณภาพ การปฏิบตั ิงาน และพิจารณาถึงความเป็ นอิสระของ ผูส้ อบบัญชี บริ ษั ท ฯ จัด ให้ มี ช่ อ งทางการสื่ อสารพิ เศษ/ลับ เพื่ อ ให้ บุ ค คลต่ า งๆ ภายในบริ ษัท สามารถแจ้ ง ข้อมูล/เบาะแสเกี่ยวกับการฉ้อฉลหรื อทุจริ ตภายใน บริ ษ ัท (whistle-blower hotline) ได้อ ย่างปลอดภัย ได้ แ ก่ ส่ ง ถึ ง คณะกรรมการตรวจสอบผ่ า นทาง จดหมายอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ AC_EW@eastwater.com หรื อส่ งถึงกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ผ่านทาง CEO mailbox CEO@eastwater.com

15. องค์ ก รได้ สื่ อสำรกับ หน่ วยงำนภำยนอก เกี่ยวกับ ประเด็ นที่อ ำจมี ผลกระทบต่ อกำรควบคุ ม ภำยใน คาถาม 15.1 บริ ษ ัท มี กระบวนการสื่ อ สารข้อมู ลกับ ผูม้ ี ส่ วนได้เสี ยภายนอกองค์กรอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และมี ช่ อ งทางการสื่ อสารที่ เหมาะสม เพื่ อ สนั บ สนุ นการควบคุ ม ภายใน เช่ น จั ด ให้ มี เจ้าหน้าที่หรื อหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ศูนย์ รับเรื่ องร้องเรี ยน เป็ นต้น

ใช่ 

ไม่ ใช่

คาตอบ บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ ฝ่ ายสื่ อสารองค์ ก รและแผนก การตลาดมีหน้าที่ เป็ นศูนย์กลางรับเรื่ องร้องเรี ยน / call center จากบุคคลทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่ อให้ ท ราบ ถึ ง ข้ อ บ กพ ร่ องและปั ญ ห าการ ด าเนิ นงาน ส านั ก กรรมการผู ้อ านวยการใหญ่ รั บ ผิ ด ชอบในการติ ด ต่ อกับ หน่ ว ยงานก ากับ ดู แ ล และมี แผนกวิเคราะห์ การเงิ นและลงทุ นสัมพันธ์มี หน้าที่ติดต่อสื่ อสารกับนักลงทุนและผูถ้ ือหุน้

ส่วนที่ 2 าน้า 79


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

คาถาม 15.2 บริ ษทั จัดให้มีช่องทางการสื่ อสารพิเศษหรื อ ช่องทางลับเพื่อให้ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยภายนอกองค์กร สามารถแจ้งข้อมูลหรื อเบาะแสเกี่ ยวกับการฉ้อ ฉลหรื อทุจริ ต (whistle-blower hotline) แก่บริ ษทั ได้อย่างปลอดภัย

ใช่ 

ไม่ ใช่

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

คาตอบ กรณี มีขอ้ มูล/เบาะแสเกี่ ยวกับการฉ้อฉลหรื อทุจริ ต (whistle-blower hotline) แก่ บ ริ ษั ท ก าหนดให้ มี ช่องทางการสื่ อสารพิเศษ/ลับส่ งถึ งคณะกรรมการ ตรวจสอบผ่ า นทาง AC_EW@eastwater.com ได้ อย่างปลอดภัย

ส่วนที่ 2 าน้า 80


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ระบบกำรติดตำม (Monitoring Activities) 16. องค์ กรติดตำมและประเมินผลกำรควบคุมภำยใน เพื่อให้ มั่นใจได้ ว่ำกำรควบคุมภำยในยังดำเนินไป อย่ำงครบถ้ วน เหมำะสม คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาตอบ 16.1 บริ ษัท จัด ให้ มี ก ระบวนการติ ด ตามการ ปฏิ บัติต ามจริ ยธรรมธุ รกิ จและข้อก าหนดห้าม ฝ่ ายบริ หารและพนักงานปฏิ บตั ิตนในลักษณะที่ อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เช่น กาหนดให้แต่ละส่วนงานติดตามการปฏิบตั ิ และ รายงานผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชา หรื อมอบหมายให้ หน่ วยงานตรวจสอบภายในติ ด ตามการปฏิ บัติ และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นต้น 16.2 บริ ษทั จัดให้มีการตรวจสอบการปฏิบตั ิตาม ระบบการควบคุ ม ภายในที่ วางไว้ โดยการ ประเมินตนเอง และ/หรื อการประเมินอิสระโดย ผูต้ รวจสอบภายใน 16.3 ความถี่ ใ นการติ ด ตามและประเมิ น ผลมี ความเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของบริ ษทั 16.4 ดาเนินการติดตามและประเมินผลระบบการ ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น โ ด ย ผู ้ ที่ มี ค ว า ม รู ้ แ ล ะ ความสามารถ 16.5 บริ ษทั กาหนดแนวทางการรายงานผลการ ตรวจสอบภายในให้ข้ ึ น ตรงต่อ คณะกรรมการ ตรวจสอบ 16.6 บริ ษทั ส่ งเสริ มให้ผตู ้ รวจสอบภายในปฏิบตั ิ หน้าที่ตามมาตรฐานสากลการปฏิบตั ิงานวิชาชีพ การตรวจสอบภายใน (International Standards for the Professional Practice of Internal Auditing, IIA)

บริ ษทั มีการประเมินระบบการควบคุมภายใน ของทุ ก กระบวนการปฏิ บั ติ ง านของกลุ่ ม บริ ษทั โดยผูต้ รวจสอบภายใน

มี ก ารรายงานผลการตรวจสอบภายในต่ อ ผูบ้ ริ หารระดับสู ง คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ ษ ัท อย่างน้อ ยทุ กไตร มาส และมี การจัดท ารายงานผลการติ ดตาม การปรับปรุ งเป็ นประจาทุกเดือน

ส่วนที่ 2 าน้า 81


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

17. องค์ ก รประเมิ น และสื่ อ สารข้ อ บกพร่ อ งของการควบคุ ม ภายในอย่ างทั น เวลาต่ อ บุ ค คลที่ รับผิดชอบ ซึ่งรวมถึงผู้บริหารระดับสู งและคณะกรรมการตามความเหมาะสม คาถาม ใช่ ไม่ ใช่ คาตอบ 17.1 บริ ษทั ประเมิ นผลและสื่ อสารข้อบกพร่ อง ของการควบคุ ม ภายใน และด าเนิ น การเพื่ อ ติ ดตาม แก้ ไ ขอย่ า งทั น ท่ วงที ห ากผลการ ดาเนินงานที่เกิดขึ้นแตกต่างจากเป้ าหมายกาหนด ไว้อย่างมีนยั สาคัญ 17.2 บริ ษทั มีนโยบายการรายงาน ดังนี้ 17.2.1 ฝ่ าย บ ริ ห าร ต้ อ ง ร าย ง าน ต่ อ คณะกรรมการบริ ษ ัท โดยพลัน ในกรณี ที่ เกิ ด เหตุ ก ารณ์ ห รื อสงสัยว่ามี เหตุ การณ์ ทุ จริ ต อย่าง ร้ายแรง มีการปฏิบตั ิที่ฝ่าฝื นกฎหมาย หรื อมีการ กระท าที่ ผิด ปกติ อื่น ซึ่ งอาจกระทบต่อชื่ อเสี ยง และฐานะการเงินของบริ ษทั อย่างมีนยั สาคัญ 17.2.2 ร า ย ง า น ข้ อ บ ก พ ร่ อ ง ที่ เป็ น สาระส าคัญ พร้ อ มแนวทางการแก้ไ ขปั ญ หา (แม้ ว่ า จะได้ เ ริ่ มด าเนิ นการจั ด การแล้ ว ) ต่ อ คณะกรรมการบริ ษทั /คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณาภายในระยะเวลาอันควร

ตามกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบกาหนด ความรับผิดชอบให้คณะกรรมการตรวจสอบต้อง ปฏิบตั ิหน้าที่ตามมาตรา 89/25 พรบ.หลักทรัพย์และ ตลาดหลัก ทรั พ ย์ (ฉบั บ ที่ 4) พ.ศ. 2551 ในกรณี ผูส้ อบบัญชีพบพฤติการณ์อนั ควรสงสัยเกี่ยวกับการ ทุจริ ต ฉ้อโกง ยักยอก ให้ผสู ้ อบบัญชีแจ้งข้อเท็จจริ ง เกี่ ย วกั บ พฤติ ก ารณ์ ดั ง กล่ า วให้ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบทราบเพื่อดาเนินการตรวจสอบต่อไป

17.2.3 รายงาน ค วาม คื บ ห น้ าใน ก าร ปรั บ ปรุ งข้ อ บกพร่ องที่ เป็ นสาระส าคั ญ ต่ อ คณะกรรมการบริ ษทั /คณะกรรมการตรวจสอบ

ส่วนที่ 2 าน้า 82


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

12. รายการระหว่างกัน 12.1 รายละเอียดของรายการระหว่างกัน บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยหีรายการระาว่างกันกับบุคคลที่อาจหีควาหขัดแย้ง ซึ่ งผูส้ อบบัญนี ได้ระบุ ไว้ในาหายเาตุประกอบงบการเงิ นประจาปี สิ้ นสุ ด ณ วันที่ 31 ธันวาคห 2558 โดยหีรายละเอียดประเภท รายการดังต่อไปนี้

ส่วนที่ 2 าน้า 83


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

นิตบิ ุคคลทีอ่ าจ มีความขัดแย้ ง การประปา ส่วนภูหิภาค (The Provincial Waterworks Authority) (“กปภ.”)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะของรายการ

- กป ภ . เป็ น ผู ้ ถื อ าุ ้ น ใาญ่ ข องบริ ษ ัท ฯ โดย ณ วัน ที่ 31 ธั น วาคห 2558 กปภ. ถื อ าุ ้ น ใน สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 40.20 ของทุ น จดทะเบี ย นที่ นาระแล้วของบริ ษทั ฯ - นายเอกนัย อัตถกาญน์ น า เป็ น รอ งผู ้ ว่ า การ มปฏิ บัติการ 3)และเป็ น กรรหการบริ ษทั ฯ

ปริ หาณรายการ ป ริ ห าณ น้ าดิ บ ที่ จาาน่าย (ล้าน ลบ.ห.) หูลค่าที่จดั จาาน่าย (ล้านบาท)

ปริมาณและ มูลค่ าของ รายการ

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ความจาเป็ น/ หมายเหตุ

บริ ษ ัท ฯ จ าาน่ า ย น้ าดิบใา้กบั กปภ. 85.30 ในพื้นที่านองค้อแาลหฉบัง- พัทยา 800.13 -บ า ง พ ร ะ แ ล ะ พื้ นที่ ดอกกรายหาบตาพุด- สัตาี บ

นโยบายในการกาหนดราคา -บริ ษทั ฯ จาาน่ายน้ าดิบใา้กบั กปภ. ในอัตราเดียวกับที่ จาาน่ายน้ าใา้กบั ผูใ้ น้น้ าเพื่อการ อุปโภคบริ โภครายอื่นๆ และหีการทาสัญญาที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษรที่นดั เจน ารื อในราคา ปรับลดตาหหติที่ประนุหวิสาหัญผูถ้ ือาุ ้น ทั้งนี้ ในการออกเสี ยงลงหติเกี่ยวกับอัตราค่าน้ า กรรหการารื อผูถ้ ือาุน้ ที่หีส่วนได้ส่วนเสี ยจะไห่หีสิทธิในการออกเสี ยงลงคะแนน

ส่ วนที่ 2 าน้า 84


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

นิตบิ ุคคลทีอ่ าจ มีความขัดแย้ ง การประปา ส่วนภูหิภาค (The Provincial Waterworks Authority) (“กปภ.”)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะของรายการ

- กป ภ . เป็ น ผู ้ ถื อ าุ ้ น ใาญ่ ข องบริ ษ ัท ฯ โดย ณ วัน ที่ 31 ธั น วาคห 2558 กปภ. ถื อ าุ ้ น ใน สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 40.20 ของทุ น จดทะเบี ย นที่ นาระแล้วของบริ ษทั ฯ - นายเอกนัย อัตถกาญน์ น า เป็ น รอ งผู ้ ว่ า การ มปฏิ บัติการ 3)และเป็ น กรรหการบริ ษทั ฯ

ป ริ ห าณ ร าย ก าร ปริ หาณน้ าประปา จาาน่ าย มล้าน ลบ. ห. หู ล ค่ าที่ จัด จาาน่ า ย น้ าประปา มล้านบาท ปริ หาณน้ าประปา จาาน่าย มล้าน ลบ. ห. หูลค่าที่จดั จาาน่าย น้ าประปา มล้านบาท

ปริมาณและ มูลค่ าของ รายการ

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ความจาเป็ น/ หมายเหตุ

นโยบายในการกาหนดราคา

-บริ ษทั ฯ จาาน่ายประปาใา้กบั กปภ. ในอัตราเดียวกับที่จาาน่ายน้ าใา้กบั ผูใ้ น้น้ าเพื่อการ บริ ษั ท ฯจ าาน่ า ย อุปโภคบริ โภครายอื่นๆ และหีการทาสัญญาที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษรที่นดั เจน ารื อในราคา 0.98 น้ าประปาใา้ กั บ ปรับลดตาหหติที่ประนุหวิสาหัญผูถ้ ือาุ ้น ทั้งนี้ ในการออกเสี ยงลงหติเกี่ยวกับอัตราค่าน้ า ก ป ภ ใ น พื้ น ที่ กรรหการารื อผูถ้ ือาุน้ ที่หีส่วนได้ส่วนเสี ยจะไห่หีสิทธิในการออกเสี ยงลงคะแนน เกาะสหุย 61.68

บริ ษั ท ฯจ าาน่ า ย น้ าประปาใา้ กั บ 7.57 ก ป ภ ใ น พื้ น ที่ พัทยา

121.33

ส่ วนที่ 2 าน้า 85


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

นิตบิ ุคคลทีอ่ าจ มีความขัดแย้ ง การนิคห อุตสาากรรห แา่งประเทศ ไทย (The Industrial Estate Authority of Thailand) (“กนอ.”)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะของรายการ

- กนอ. เป็ นผูถ้ ือาุ ้นราย านึ่ งของบริ ษ ัท ฯ โดย ณ วั น ที่ 31 ธั น วาค ห 2558 กนอ. ถื อ าุ ้ น ใน สัดส่ วนร้อยละ 4.57 ลง ทุ น จดทะเบี ยนที่ นาระ แล้วของบริ ษทั ฯ - นายวี ร พงศ์ ไนยเพิ่ ห เป็ นผู ้ว่ า การ และเป็ น กรรหการบริ ษทั ฯ

ปริ หาณรายการ ป ริ ห าณ น้ าดิ บ ที่ จาาน่าย (ล้าน ลบ.ห.) หูลค่าที่จดั จาาน่าย (ล้านบาท)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ปริมาณและ ความจาเป็ น/ มูลค่ าของ หมายเหตุ รายการ 85.50 บริ ษ ัท ฯ จ าาน่ า ย น้ าดิบใา้กบั กนอ. ในพื้นที่านองค้อแาลหฉบัง- พัทยา 940.48 -บ า ง พ ร ะ แ ล ะ พื้ นที่ ดอกกรายหาบตาพุด- สัตาี บ

นโยบายในการกาหนดราคา บริ ษทั ฯ จาาน่ ายน้ าดิ บใา้กบั กนอ. ในอัตราเดี ยวกับที่ จาาน่ายน้ าใา้กบั ผูใ้ น้น้ าประเภท นิ คหอุตสาากรรหรายอื่นๆ และหีการทาสัญญาที่ เป็ นลายลักษณ์ อกั ษรที่ นดั เจน ารื อใน ราคาปรับลดตาหหติที่ประนุหวิสาหัญผูถ้ ือาุน้ ทั้งนี้ ในการออกเสี ยงลงหติเกี่ยวกับอัตราค่า น้ าและการเปลี่ยนแปลงอัตราค่าน้ าที่บริ ษทั ฯ จาาน่ายใา้กบั กนอ. กรรหการารื อผูถ้ ือาุน้ ที่หีส่วนได้ส่วนเสี ยจะไห่หีสิทธิในการออกเสี ยงลงคะแนน

ส่ วนที่ 2 าน้า 86


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

นิตบิ ุคคลทีอ่ าจ มีความขัดแย้ ง

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะของรายการ

บหจ.ยู นิ เวอร์ - บริ ษทั ฯ ถือาุ ้น 100% ปริ หาณรายการ แซล ยู ที ลิ ต้ ี ส์ และหีกรรหการร่ วหกัน ป ริ ห าณ น้ าดิ บ ที่ (“UU”) จาาน่าย (ล้าน ลบ.ห.) หูลค่าที่จดั จาาน่าย (ล้านบาท)

ปริมาณและ มูลค่ าของ รายการ

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ความจาเป็ น/ หมายเหตุ

บริ ษ ัท ฯ จ าาน่ า ย 4.25 น้ าดิบใา้กบั บหจ.ยู นิ เวอ ร์ แ ซ ล ยู ที ลิ ตี้ ส์ มโค รงการ 28.92 นลบุ รี ใน พื้ น ที่ ฉะเนิงเทรา-นลบุรี

นโยบายในการกาหนดราคา บริ ษทั ฯ จาาน่ ายน้ าดิ บใา้กบั บหจ.ยูนิเวอร์ แซล ยูทิลิต้ ีร์ ในอัตราเดี ยวกับที่ จาาน่ ายน้ า ใา้กับผูใ้ น้น้ าประเภทนิ คหอุตสาากรรหรายอื่ นๆ และหี การทาสัญ ญาที่ เป็ นลายลักษณ์ อักษรที่ นัดเจน ารื อในราคาปรั บลดตาหหติ ที่ประนุ หวิสาหัญผูถ้ ื อาุ ้น ทั้งนี้ ในการออก เสี ยงลงหติเกี่ ยวกับอัตราค่าน้ าและการเปลี่ยนแปลงอัตราค่าน้ าที่ บริ ษทั ฯ จาาน่ ายใา้กบั บหจ.ยูนิเวอร์แซลฯ กรรหการารื อผูถ้ ือาุน้ ที่หีส่วนได้ส่วนเสี ยจะไห่หีสิทธิในการออกเสี ยง ลงคะแนน

ส่ วนที่ 2 าน้า 87


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

นิตบิ ุคคลทีอ่ าจ มีความขัดแย้ ง กปภ.และ บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยู ที ลิ ต้ ี ส์ จากัด (“UU”)

ปริมาณและ มูลค่ าของ รายการ

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะของรายการ

UU เป็ น บริ ษั ท ย่ อ ยที่ บริ ษั ท ฯ ถื อ าุ ้ น อยู่ ใ น สั ด ส่ วน ร้ อ ยล ะ 100 ของทุ น จดทะเบี ย นที่ น าระแล้ ว ของบริ ษั ท ดังกล่าว

ร า ย ไ ด้ จ า า น่ า ย น้ าประปา ประปาบางปะกง – ล้าน ลบ.ห. - ล้านบาท

12.13 138.24

ประปาฉะเนิงเทรา - ล้าน ลบ.ห. - ล้านบาท

13.33 156.68

ประปานครสวรรค์ - ล้าน ลบ.ห. - ล้านบาท

3.96 48.79

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ความจาเป็ น/ หมายเหตุ

นโยบายในการกาหนดราคา

เป็ นรายการที่ UU UU จาาน่ายน้ าประปา ใา้แก่ กปภ. โดยราคาค่าน้ าและวิธีการปรับอัตราค่าน้ าเป็ นไปตาห จาาน่ ายน้ าประปา เงื่อนไขสัญญาสัหปทาน ใา้ แ ก่ กปภ. ตาห สั ญ ญาสั ห ปทาน ของบริ ษ ัทประปา ฉะเนิ งเทรา บริ ษทั ประปาบางปะกง บ ริ ษั ท ป ร ะ ป า นครสวรรค์ การ ประปาระยอง และ การประปานลบุรี

ส่ วนที่ 2 าน้า 88


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

นิตบิ ุคคลทีอ่ าจ มีความขัดแย้ ง

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะของรายการ

บมจ.ยู นิ เวอร์ - บริ ษทั ฯ ถือหุ ้น 100% ร า ย ไ ด้ จ า ห น่ า ย แซล ยู ที ลิ ต้ ี ส์ และมีกรรมการร่ วมกัน น้ าประปา (ต่อ) (“UU”) ประปาระยอง - ล้าน ลบ.ม. -ล้านบาท

ปริมาณและ มูลค่ าของ รายการ

20.27 231.46

ประปานลบุรี -ล้าน ลบ.ห -ล้านบาท

9.72 105.57

ประปารานบุรี - ล้าน ลบ.ห. -ล้านบาท

4.33 110.85

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ความจาเป็ น/ หมายเหตุ

นโยบายในการกาหนดราคา

เป็ นรายการที่ UU UU จาหน่ายน้ าประปา ให้แก่ กปภ. โดยราคาค่าน้ าและวิธีการปรับอัตราค่าน้ าเป็ นไปตาม จาหน่ ายน้ าประปา เงื่อนไขสัญญาสัมปทาน ให้ แ ก่ กปภ. ตาม สั ญ ญาสั ม ปทาน ของบริ ษ ัทประปา ฉะเชิ งเทรา บริ ษทั ประปาบางปะกง บ ริ ษั ท ป ร ะ ป า นครสวรรค์ การ ประปาระยอง และ การประปาชลบุรี

ส่ วนที่ 2 าน้า 89


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

12.2 รายการระหว่ างกันกับผู้ถือหุ้น สาารับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคห 2558 และ 2557 บริ ษทั ฯ หีรายการระาว่างกันกับผูถ้ ื อาุ ้น และบริ ษทั ย่อยดังนี้ ณ วันที่ 31 ณ วันที่ 31 บริ ษทั ควาหสัหพันธ์ รายการที่เกี่ยวโยงกัน ธันวาคห 2558 ธันวาคห 2557 มบาท มบาท กปภ. ผูถ้ ือหุ น้ ใหญ่ -รายได้ค่าก่อสร้างฯ 95,684,584 268,923,208 - รายได้ค่าเช่าและ 24,230,754 29,706,329 ค่าบริ การ ­ รายได้ค่างานลดน้ าฯ 4,440,444 5,507,372 ­ ลูกหนี้การค้า 203,568,533 183,637,386 - ลูกหนี้อื่น 20,660 18,969 - เจ้าหนี้การค้า 24,682,385 18,125,257 กนอ. ผูถ้ ือหุ น้ ใหญ่ ­ ลูกหนี้การค้า 87,823,162 80,338,818 ผลิตไฟฟ้า ผูถ้ ือหุ น้ ใหญ่ ­ ลูกหนี้การค้า 1,095 บมจ.ยูนิเวอร์แซล ยูที บริ ษทั ย่อย - รายได้ค่าเช่าและ 4,471,084 4,822,826 ลิต้ ีส์ (บริ ษทั ฯ มี ค่าบริ การ สัดส่ วนการ ถือหุน้ (100%) และ มีกรรมการ ร่ วม)

บมจ.ยูนิเวอร์แซล ยูที ลิต้ ีส์

บริ ษทั ย่อย (บริ ษทั ฯ มี สัดส่ วนการ ถือหุน้ (100%) และ มีกรรมการ ร่ วม)

-ดอกเบี้ยรับ ***

4,878,521

-

ส่วนที่ 2 าน้า 90


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

บริ ษทั

ควาหสัหพันธ์

รายการที่เกี่ยวโยงกัน - เงินปันผลรับ -รายได้อื่น - ต้นทุนขายและต้นทุน บริ การ - ลูกหนี้การค้า - ลูกหนี้อื่น - เจ้าหนี้การค้า

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ณ วันที่ 31 ณ วันที่ 31 ธันวาคห 2558 ธันวาคห 2557 มบาท มบาท 35.699,995 23,969,997 5,322,083 5,713,807 224,891,600 206,434,679 1,583,562 650,947 20,576,632

5,414,539 582,516 21,161,289

*** เงินให้กยู้ มื แก่กิจการที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2558 บริ ษทั ฯ ให้ บมจ.ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลีตีส์ กูย้ ืมเงิน โดยมีวงเงิน 800 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ ย คงที่ตามที่ระบุในสัญญา ชาระคืนเงินต้นเป็ นงวดรายปี รวม 5 งวด เป็ นเงินงวดละ 160 ล้านบาท ซึ่ งทาง UU ได้เบิกใช้ไป ระหว่างงวดเท่ากับ 644 ล้านบาท เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.2558 บมจ.ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลีตีส์ ได้ชาระคืนเงินกูท้ ้ งั หมดตามที่ได้เบิกใช้ไปเป็ นจานวนทั้งสิ้ น 644 ล้านบาทแก่บริ ษทั ฯ

มาตรการหรื อขั้นตอนอนุมัติการทารายการระหว่ างกัน ในการดาเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั ฯ จะเกิดรายการระหว่างกันระหว่างบริ ษทั ฯ กับบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ อย่า งต่ อเนื่ อง เพื่ อเป็ นการคุ ้ม ครองผูล้ งทุ น บริ ษ ัท ฯ ได้ก าหนดนโยบายและ ขั้นตอนการอนุมตั ิและดาเนินรายการประเภทดังกล่าว เป็ นไปตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ โดย มีกรรมการตรวจสอบและกรรมการที่เป็ นอิสระเข้าร่ วมประชุ มด้วย จะเป็ นผูพ้ ิจารณาและอนุ มตั ิรายการที่ อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ตามขั้นตอนดังนี้  ในการพิจารณาการดาเนิ นธุ รกรรมต่าง ๆ ที่ เป็ นรายการที่เกี่ ยวโยงกัน ตามหลักเกณฑ์ของ ตลท. จะต้องมีการปฏิบตั ิตามข้อกาหนดของ ตลท. และคณะกรรมการกากับตลาดทุน อย่างถู กต้องและ ครบถ้วน รวมทั้งได้ผ่านการตรวจสอบของคณะกรรมการตรวจสอบในกรณี ที่ ต้องได้รับ การ พิจารณาจากคณะกรรมการ  ในกรณี ที่เป็ นการอนุมตั ิรายการระหว่างกันที่มีขอ้ ตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับที่วญ ิ ญูชนพึง กระทากับคู่สัญญาทัว่ ไปในสถานการณ์ เดี ยวกัน ด้วยอานาจต่อรองทางการค้าที่ปราศจากอิทธิ พล ในการที่ตนมีสถานะเป็ นกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ ยวข้อง โดยฝ่ ายบริ หาร หรื อคณะกรรมการลงทุนตามที่คณะกรรมการบริ ษทั ได้มอบอานาจให้ โดยฝ่ ายบริ หารจะต้องสรุ ป รายการที่เกี่ยวโยงทั้งหมดเสนอคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ทราบ เพื่อให้

ส่วนที่ 2 าน้า 91


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด มหาานน

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

มัน่ ใจว่าการท ารายการสมเหตุ ส มผล เป็ นประโยชน์สู งสุ ดต่อบริ ษ ทั และเป็ นไปตามขั้นตอนที่ ถูกต้อง  ในกรณี ที่รายการที่เกี่ยวโยงกันมีมูลค่าเข้าเกณฑ์ที่ตอ้ งขออนุ มตั ิจากผูถ้ ือหุ ้น ผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ที่มีส่วน ได้ส่วนเสี ยสามารถเข้าประชุ มได้เพื่อนับเป็ นองค์ประชุ ม แต่ไม่มีสิทธิ ออกเสี ยงลงคะแนน ซึ่งฐาน ในการคานวณคะแนนเสี ยงเพื่ออนุ มตั ิ รายการที่เกี่ ยวโยงกัน ไม่นบั ส่ วนของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย เกณฑ์ดงั กล่าวจึงไม่มีปัญหากับองค์ประชุมและคะแนนเสี ยง  กรรมการหรื อผูบ้ ริ หารซึ่ งมีส่วนได้เสี ยในเรื่ องใดไม่มีสิทธิ ออกเสี ยงและไม่ได้รับอนุ ญาตให้เข้า ร่ วมประชุมหรื ออนุมตั ิรายการในเรื่ องนั้น  ในกรณี ที่บริ ษทั ฯ เข้าทาสัญญาใด ๆ หรื อมีรายการระหว่างกันกับบริ ษทั ย่อย นิ ติบุคคลและ/หรื อ บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน บริ ษทั ฯจะพิจารณาถึงความจาเป็ น ความสาคัญและความเหมาะสมในการทา สัญญา โดยคานึงถึงผลประโยชน์ของบริ ษทั ฯ เป็ นหลัก และมีการคิดราคาระหว่างกันตามเงื่อนไข ทางการค้าเช่ น เดี ย วกับ ลู ก ค้าทั่วไป ตามราคาตลาดยุติ ธ รรม โดยจะก าหนดราคาและเงื่ อ นไข เช่ นเดี ยวกับการทารายการกับบุคคลภายนอก และหากไม่มีราคาดังกล่าว บริ ษทั ฯจะเปรี ยบเทียบ ราคาสิ นค้าหรื อบริ การกับบุคคลภายนอกภายใต้เงื่อนไขที่เหมือนหรื อคล้ายคลึงกัน หรื ออาจจะใช้ รายงานจากผูป้ ระเมิ น อิ ส ระซึ่ งว่า จ้า งโดยบริ ษ ทั ฯ มาท าการเปรี ย บเที ยบราคาส าหรั บ รายการ ระหว่า งกัน ที่ ส าคัญ เพื่ อ ให้ เกิ ด ความมั่น ใจว่ า ราคาดัง กล่ า วเป็ นไปอย่า งเหมาะสมและเป็ น ประโยชน์ของบริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 2 าน้า 92


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ส่ วนที่ 3 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 13. ข้ อมูลทางการเงินทีส่ าคัญ 13.1 งบการเงิน สรุ ปรายงานการสอบบัญชี 1) สรุ ปรายงานการตรวจสอบของผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตในระยะ 3 ปี ที่ผา่ นมา ผูส้ อบบัญชี ได้ให้ความเห็ นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินของบริ ษทั ฯ แสดงฐานะการเงินรวม และฐานะการเงินของบริ ษทั ฯ ผลการดาเนินงานรวมและผลการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ และกระแสเงินสด รวมและกระแสเงิ น สดของบริ ษ ัท ฯ โดยถู ก ต้องตามที่ ควรในสาระส าคัญ ตามมาตรฐานการรรายงาน ทางการเงิน 2) ตารางสรุ ปฐานะการเงินและผลการดาเนินงานเปรี ยบเทียบ 3 ปี ( 2556 -2558) เนื่ องจากบริ ษทั ฯ เป็ นบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ผูล้ งทุนสามารถดู งบ การเงินล่าสุ ดของบริ ษทั ฯ ได้จาก Website ของสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. (www.sec.or.th) หรื อ ตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (www.set.or.th) หรื อดูได้จาก Website ของบริ ษทั ฯ (www.eastwater.com) โดยสามารถดูสรุ ปรายละเอียดฐานะการเงินและผลการดาเนินงานได้ดงั ตารางต่อไปนี้

ส่วนที่ 3 หน้า 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ตารางที่ 1 งบแสดงฐานะการเงิน

ก) งบแสดงฐานะการเงินเปรียบเทียบ 3 ปี

สินทรัพย์ สินทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น รายได้ค่างานลดน้ าสูญเสี ยรอรับชาระกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพือ่ ขายสุทธิ รวมสินทรัพย์ หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ าประกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน – สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ สิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน-สุทธิ ต้นทุนการได้มาซึ่งสิ ทธิในสัมปทาน รอตัดบัญชี - สุทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุทธิ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2558

2557

ตรวจสอบแล้ ว % พันบาท

ตรวจสอบแล้ ว % พันบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุ งใหม่ )

ตรวจสอบแล้ ว % พันบาท

311,218

1.59

112,860

0.74

243,307

1.80

862,598

4.39

55,070

0.36

86,879

0.64

442,724

2.26

415,081

2.72

410,178

3.04

4,440

0.02

5,507

0.04

4,096

0.03

9,381

0.05

9,232

0.06

0.08

33,849

0.17

61,063

0.40

10,536 45,640

57,678

0.38

-

-

716,491

4.70

800,636

5.93

-

-

1,664,210

8.48

0.34

-

-

-

91,470

0.60

91,470

0.68

216,902

1.11

224,621

1.47

227,990

1.69

13,265,976

67.58

11,747,778

77.07

10,284,153

76.29

103,283

0.53

-

-

-

-

-

-

-

-

3,831,897

19.52

1,725,359

11.32

1,533,155

11.37

23,288

0.12

12,693

0.08

10,737

0.08

521,907

2.66

725,033

4.76

532,308

3.96

17,963,253

91.52

14,526,954

95.30

12,679,813

94.07

19,627,463

100.00

15,243,445

100.00

13,480,449

100.00

ส่วนที่ 3 หน้า 2


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ก) งบแสดงฐานะการเงินเปรี ยบเทียบ 3 ปี (ต่อ)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2558

2557

ตรวจสอบแล้ ว

ตรวจสอบแล้ ว

พันบาท หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนีส้ ินหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้จากการซื้อสิ นทรัพย์ถาวร หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน-ส่วนที่ถึง กาหนดชาระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

%

พันบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่ )

ตรวจสอบแล้ ว พันบาท

%

%

1,600,000

8.16

233,000

1.53

156,000

1.16

133,931

0.68

130,003

0.85

144,147

1.07

63,579

0.32

479,050

3.14

264,227

1.96

2,856

0.01

2,008

0.01

301

-

752,200

3.84

563,280

3.70

568,610

4.22

ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย

149,495

0.76

129,535

0.85

131,519

0.98

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสิ นทรัพย์ ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย

175,191

0.89

155,043

1.02

133,155

0.99

60,958

0.31

49,156

0.32

57,279

0.42

269

-

-

-

รวมหนีส้ ินหมุนเวียน หนีส้ ินไม่ หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุน้ กู้ หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ประมาณการหนี้สินระยะยาว หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ินไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิน

2,938,210

14.97

1,741,344

11.42

1,455,238

10.80

1,842

0.01

3,136

0.02

-

-

4,008,800

20.42

4,648,721

30.50

3,841,751

28.50

2,396,822

12.21

-

-

-

-

421,234

2.15

42,448

0.28

36,437

0.27

119,687

0.61

104,433

0.68

91,424

0.68

26,881

0.14

13,240

0.09

22,778

0.17

214,424

1.09

173,053

1.13

130,893

0.97

7,189,690

36.63

4,985,031

32.70

4,123,283

30.59

10,127,900

51.60

6,726,375

44.12

5,578,521

41.39

ส่วนที่ 3 หน้า 3


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ก) งบแสดงฐานะการเงินเปรี ยบเทียบ 3 ปี (ต่อ)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2558

2557

ตรวจสอบแล้ ว

ตรวจสอบแล้ ว

พันบาท

%

พันบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่ )

ตรวจสอบแล้ ว %

พันบาท

%

ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียน

1,663,725

8.48

1,663,725

10.91

1,663,725

12.34

ทุนที่ออกและชาระแล้ว

1,663,725

8.48

1,663,725

10.91

1,663,725

12.34

ส่วนเกินมูลค่าหุน้

2,138,522

10.89

2,138,522

14.03

2,138,522

15.86

166,500

0.85

166,500

1.09

166,500

1.23

5,303,277

27.02

4,493,850

29.48

3,875,025

28.75

22,669

0.12

24,960

0.17

28,357

0.21

204,870

1.04

29,513

0.20

29,800

0.22

9,499,563

48.40

8,517,070

55.88

7,901,929

58.61

19,627,463

100.00

15,243,445

100.00

13,480,449

100.00

กาไรสะสม จัดสรรแล้ว-สารองตามกฏหมาย ยังไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอื่นของส่วนผูถ้ ือหุน้ ส่วนของผูถ้ ือหุน้ ส่วนน้อย รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือ หุ้น มูลค่าตามบัญชีต่อหุน้ (บาท/หุน้ ) มูลค่าที่ตราไว้ (บาท/หุน้ ) จานวนหุน้ สามัญปลายงวด (หุน้ )

5.71

5.12

4.75

1.00

1.00

1.00

1,663,725,149

1,663,725,149

1,663,725,149

ส่วนที่ 3 หน้า 4


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ข) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จเปรี ยบเทียบ 3 ปี

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31

ธันวาคม 2558

ธันวาคม 2557

ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่)

ตรวจสอบแล้ ว

ตรวจสอบแล้ ว

ตรวจสอบแล้ ว

พันบาท รายได้ รายได้จากการขายน้ าดิบ รายได้จากการขายน้ าประปา รายได้คา่ ก่อสร้างภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน รายได้ค่าเช่าและค่าบริ การ รายได้อื่น

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

%

พันบาท

%

พันบาท

%

2,898,665

62.22

2,768,376

64.31

2,694,295

68.11

1,160,235

24.90

988,739

22.97

876,385

22.16

95,685

2.05

268,923

6.25

139,783

3.53

212,229

4.56

216,202

5.02

189,170

4.78

292,012

6.27

62,520

1.45

56,288

1.42

4,658,826

100.00

4,304,760

100.00

3,955,921

100.00

1,134,874

24.36

1,039,691

24.15

940,441

23.77

707,276

15.18

590,123

13.71

523,737

13.24

95,685

2.05

268,923

6.25

139,783

3.53

171,185

3.68

198,915

4.62

181,128

4.58

458,611

9.84

412,234

9.58

392,254

9.92

114,181

2.45

121,226

2.82

115,213

2.91

385,775

8.28

339,198

7.87

350,510

8.86

รวมค่ าใช้ จ่าย

3,067,587

65.84

2,970,310

69.00

2,643,066

66.81

กาไรสุ ทธิสาหรับปี

1,591,239

34.16

1,334,450

31.00

1,312,855

33.19

รวมรายได้ ค่ าใช้ จ่าย ต้นทุนขายน้ าดิบ ต้นทุนขายน้ าประปา ต้นทุนค่าก่อสร้างภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริ การ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้

ส่วนที่ 3 หน้า 5


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ข) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จเปรี ยบเทียบ 3 ปี

ธันวาคม 2558

ธันวาคม 2557

ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่)

ตรวจสอบแล้ ว

ตรวจสอบแล้ ว

ตรวจสอบแล้ ว

พันบาท กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น : รายการทีจ่ ะไม่ จดั ประเภทรายการใหม่ ไปยัง กาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง การวัดมูลค่าใหม่ของภาระผูกพัน ผลประโยชน์หลังออกจากงาน ภาษีเงินได้เกี่ยวกับรายการที่จะไม่จดั ประเภทรายการใหม่ไปยังกาไรหรื อ ขาดทุนในภายหลัง รวมรายการทีจ่ ะไม่ จดั ประเภทรายการ ใหม่ ไปยังกาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง รายการทีจ่ ะจัดประเภทรายการใหม่ ไป ยัง กาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง ทรัพย์สินที่รับโอนมาจากลูกค้า การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าเงินลงทุนเผื่อ ขาย ภาษีเงินได้ของรายการที่จะจัดประเภท รายการใหม่ไปยังกาไรหรื อขาดทุนใน ภายหลัง รวมรายการทีจ่ ะจัดประเภทรายการ ใหม่ ไปยังกาไรหรื อขาดทุนในภายหลัง

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31

%

พันบาท

%

พันบาท

%

(14,078)

-

-

2,816

-

-

(11,262)

-

-

(3,398)

(3,398)

(3,398)

-

-

(277)

-

-

(2,292)

(3,398)

(3,398)

(13,554)

(3,398)

(3,398)

กาไรเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี

1,577,685

1,331,052

1,309,457

การแบ่ งปันกาไรสุ ทธิ ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ ส่วนใหญ่ ส่วนที่เป็ นของส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม

1,584,940

1,334,205

1,312,937

6,299

245

(82)

กาไรสุ ทธิสาหรับปี

1,591,239

1,334,450

1,312,855

ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสาหรับปี – สุ ทธิจากภาษี

1,383

ส่วนที่ 3 หน้า 6


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ข) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จเปรี ยบเทียบ 3 ปี

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31

ธันวาคม 2558

ธันวาคม 2557

ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่)

ตรวจสอบแล้ ว

ตรวจสอบแล้ ว

ตรวจสอบแล้ ว

พันบาท

%

พันบาท

%

พันบาท

%

การแบ่ งปันกาไรเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ใหญ่ ส่วนที่เป็ นของส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม

1,571,386

1,330,808

1,309,539

6,299

245

(82)

กาไรเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี

1,577,685

1,331,053

1,309,457

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ข) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จเปรียบเทียบ 3 ปี (ต่ อ)

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31

ธันวาคม 2558

ธันวาคม 2557

ตรวจสอบแล้ ว

ตรวจสอบแล้ ว

พันบาท

%

พันบาท

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 (ปรับปรุงใหม่) ตรวจสอบแล้ ว

%

พันบาท

%

กาไรสะสมยังไม่ ได้ จดั สรรยกมา ผลกระทบของการเปลี่ยนนโยบาย หัก บัญชี จ่ายเงินปั นผล

4,493,850

3,875,025

3,294,105

-

-

(3,120)

(765,290)

(715,380)

(732,017)

รวม บวก กาไรสุทธิประจาปี การเปลี่ยนแปลงส่วนได้เสี ยใน บริ ษทั ย่อย กาไรสะสมยังไม่ได้จดั สรรยกไป จัดสรรแล้ว-สารองตามกฎหมาย

3,728,560

3,159,645

2,558,968

1,573,677

1,334,205

1,316,057

1,039

-

-

5,303,276

4,493,850

3,875,025

166,500

166,500

166,500

กาไรสะสม

5,469,776

4,660,350

4,041,525

กาไรสุ ทธิต่อหุ้น

0.95

0.80

0.79

มูลค่าที่ตราไว้ (บาท/หุน้ )

1.00

1.00

1.00

1,663,725,149

1,663,725,149

1,663,725,149

จานวนหุ้นสามัญ (หุ้น)

ส่วนที่ 3 หน้า 7


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558 หน่วย: พันบาท 2556

ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรี ยบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ ว) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กาไรก่อนภาษีเงินได้ นติ บิ ุคคล รายการปรับกระทบกาไรก่ อนภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล เป็ นเงินสดรับ(จ่ าย)จากกิจกรรมดาเนินงาน ค่าเสื่ อมราคา ค่าตัดจาหน่าย รายได้จากการตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ที่ได้รับโอนจากลูกค้า หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุน(กาไร)จากการจาหน่าย/ตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ถาวร ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ ทธิขอ้ ตกลงสัมปทาน ขาดทุน (กาไร) จากการจาหน่าย/ตัดจาหน่ายเงินลงทุนใน บริ ษทั ย่อย กาไรจากการวัดมูลค่ายุติธรรมของส่วนได้เสี ยของเงินทุน ซึ่งถืออยูก่ ่อนวันรวมธุรกิจ กาไรจากการขายเงินลงทุนเผื่อขาย ประมาณการหนี้สิน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่ายและตัดจาหน่ายดอกเบี้ยภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน กำไรจำกกำรดำเนินงำนก่ อนกำรเปลีย่ นแปลง ในสินทรัพย์ และหนี้สิน

2558

2557

(ปรับปรุง ใหม่ )

1,977,015

1,673,648

1,663,365

372,374

373,967

324,914

181,678

116,646

84,227

(3,398)

(3,398)

(3,398)

32,802

-

-

(3,825)

5,024

11,175

720

1,310

630

(518)

-

-

(226,320)

-

-

(114)

-

-

9,991

3,059

4,237

12,718

13,767

13,252

(23,670)

(24,486)

(24,053)

(8,770)

(6,365)

(9,168)

112,938

120,066

111,232

2,433,621

2,273,238

2,176,413

ส่วนที่ 3 หน้า 8


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558 หน่วย: พันบาท 2556

ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรี ยบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ ว) (ต่ อ)

2558

2557

(ปรับปรุง ใหม่ )

(22,482)

(7,002)

24,059

(149)

1,305

(2,791)

15,906

(16,330)

(9,945)

(5,441)

11,141

(11,519)

(7,570)

(14,101)

(13,414)

27,319

15,330

17,575

36,486

(8,417)

(8,945)

(11,543)

(757)

(11,214)

(5,706)

(14,442)

(11,635)

41,371

42,160

(51,989)

2,501,812

2,282,125

2,096,595

(386,646)

(337,127)

(357,904)

2,115,166

1,944,998

1,738,691

การเปลีย่ นแปลงในสินทรัพย์ ดาเนินงาน (เพิม่ ขึน้ ) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น การเปลีย่ นแปลงในหนีส้ ินดาเนินงานเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ประมาณการหนี้สิน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้ มำจำกกิจกรรมดำเนินงำน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิได้ มำจำกกิจกรรมดำเนินงำน

ส่วนที่ 3 หน้า 9


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558 หน่วย: พันบาท 2556

ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรี ยบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ ว) (ต่ อ) กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนชัว่ คราว เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนชัว่ คราว เงินสดจ่ายเพื่อซื้อบริ ษทั ย่อยสุทธิจากเงินสดที่ได้มา เงินสดรับจากการจาหน่ายบริ ษทั ย่อยที่แสดงไว้เป็ นสิ นทรัพย์ ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย เงินสดรับจากดอกเบี้ย เงินปันผลรับจากบริ ษทั ย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากการจาหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพื่อซื้อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินสดจ่ายเพื่อซื้ออสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดจ่ายซื้อที่ดิน อาคาร อุปกรณ์และเงินค่าจ้างล่วงหน้าค่า ก่อสร้าง เงินสดจ่ายดอกเบี้ยสาหรับเงินกูย้ มื ที่ต้ งั ขึ้นเป็ นทุน เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจำกกิจกรรมจัดหำเงิน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น จ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายชาระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดรับจากการจาหน่ายหุน้ กู้ เงินสดรับจากการเพิ่มทุนบริ ษทั ย่อย เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยเพิ่มเติม เงินปันผลจ่ายแก่ผถู ้ ือหุน้ ของกลุม่ บริ ษทั เงินปันผลจ่ายแก่ผถู ้ ือหุน้ ส่วนน้อย เงินสดจ่ายดอกเบี้ย

2558

2557

(ปรับปรุง ใหม่ )

(1,324,914)

(109,368)

(94,754)

553,884

141,177

104,183

(1,456,221)

-

-

32,010

-

-

8,386

7,271

8,652

23,670

24,486

24,053

40,293

11,754

-

(103,743)

(299,316)

(155,632)

(1,536)

-

-

(1,956,826)

(1,797,740)

(984,546)

(131,968)

(103,175)

(76,163)

(4,316,965)

(2,124,911)

(1,174,207)

4,067,000

3,816,000

409,500

(2,700,000)

(3,739,000)

(364,500)

2,773,000

1,384,000

967,831

(3,224,001)

(582,360)

(751,440)

(447)

(1,818)

(2,024)

2,396,631

-

-

-

-

27,000

(2,779)

-

-

(791,142)

(715,217)

(731,942)

(1,267)

(531)

(528)

(116,837)

(111,607)

(113,548)

ส่วนที่ 3 หน้า 10


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558 หน่วย: พันบาท 2556

ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรี ยบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ ว) (ต่ อ) เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมจัดหำเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดต้ นปี เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสดปลำยปี ข้ อมูลกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิม่ เติม รายการทีไ่ ม่ เกีย่ วข้ องกับกระแสเงินสด เจ้าหนี้จากการซื้อสิ นทรัพย์ถาวรและหนี้สินตามสัญญาเช่า การเงิน การเปลี่ยนเจ้าหนี้เงินกูร้ ะยะยาวจากสถาบันการเงิน

2558

2557

(ปรับปรุง ใหม่ )

2,400,158

49,467

(559,651)

198,359 112,860

(130,446) 243,306

4,833 238,473

311,218

112,860

243,306

63,168

455,121

230,507

2,000,000

-

-

ส่วนที่ 3 หน้า 11


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

14. รายงานและวิเคราะห์ ผลการดาเนินงานของฝ่ ายจัดการ 1. เหตุการณ์ สาคัญของบริษัทในปี 2558 ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการดาเนินการ 1.1 เหตุการณ์ สาคัญทีเ่ กีย่ วข้ องกับการดาเนินธุรกิจนา้ ดิบ กุมภาพันธ์ 2558 บริ ษทั ฯ ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจร่ วมกับกรมชลประทานและการประปาส่ วนภูมิภาคเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2558 ในการดาเนิ นการสู บผันน้ าเชื่ อมโยงอ่างเก็บน้ าประแสร์ -คลองใหญ่ โดยบริ ษทั เป็ น ผูด้ าเนิ นการสู บผันน้ าทั้งระบบ ซึ่ งบริ ษทั จะสามารถนาน้ าไปใช้ได้ 20 ล้านลูกบาศก์เมตร ในปี ที่ 1 และเพิ่ม เป็ น 40 ล้านลูกบาศก์เมตร ตั้งแต่ปีที่ 2-5 สิ งหาคม 2558 ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ัท ฯ ครั้ งที่ 12/2558 เมื่ อ วัน ที่ 21 สิ ง หาคม 2558 ได้มี ม ติ อ นุ ม ัติ โครงการวางท่อน้ าดิบหนองปลาไหล – หนองค้อ เส้นที่ 2 เพื่อรองรับความต้องการใช้น้ าที่เพิ่มมากขึ้นและ แก้ปัญหาการขาดแคลนน้ า ทั้งนี้ โครงการดังกล่าวจะช่ วยเพิ่มความสามารถในการสู บจ่ายน้ าดิบจากอ่างฯ หนองปลาไหลไปยังพื้นที่ชลบุรี และ บ่อวิน-ปลวกแดง อีก 180,000 ลู กบาศก์เมตรต่อวัน โดยมีมูลค่าเงิ น ลงทุน 725 ล้านบาท และมีกาหนดแล้วเสร็ จภายในปี 2559 1.2 เหตุการณ์ สาคัญทีเ่ กีย่ วข้ องกับการดาเนินธุรกิจนา้ ประปา เมษายน 2558 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด (ยูย)ู ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่ วมมือกับการประปานคร หลวงเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2558 เพื่อร่ วมกันวางแผนในการปรับลดจานวนครัวเรื อนที่ไม่มีน้ าประปาใช้ 3.9 ล้านครัวเรื อน (ร้อยละ 17) ให้มีน้ าประปาใช้อย่างเพียงพอและทัว่ ถึง และร่ วมกันพัฒนาบุคคลากร พฤษภาคม 2558 - ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ัท ฯ เมื่ อ วัน ที่ 20 พฤษภาคม 2558 ได้มี ม ติ เห็ น ชอบการปรั บ โครงสร้ างธุ รกิ จประปาในกลุ่ มบริ ษทั โดยอนุ มตั ิ ให้บริ ษทั จาหน่ ายหุ ้นสามัญของ บริ ษทั เอ็กคอมธารา จากัด ทั้งหมดที่บริ ษทั ถืออยูจ่ านวน 5,479,140 หุ ้น หรื อคิดเป็ น 15.88% ของจานวนหุ ้นทั้งหมดของบริ ษทั เอ็กคอมธารา จากัด ให้แก่ ยูยู ในราคาหุน้ ละ 58 บาท รวมเป็ นเงินทั้งสิ้ น 317.79 ล้านบาท - เมื่ อ วัน ที่ 28 พฤษภาคม 2558 ยูยูไ ด้ล งนามในสั ญ ญาจ้างบริ ก ารและบ ารุ ง รั ก ษาระบบผลิ ต น้ าประปากับบริ ษทั ไทรเบคก้า เอ็นเตอร์ ไพร์ ส จากัด ผูพ้ ฒั นานิ คมอุตสาหกรรมหลักชัยเมืองยาง จังหวัด ระยอง โดยแบ่งสัญญาให้บริ การออกเป็ น 2 ช่วง ช่วงแรกจะให้บริ การผลิตน้ าประปาชัว่ คราว ตั้งแต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2558 ถึ ง 31 ธัน วาคม 2559 ที่ ป ริ ม าณไม่ น้ อ ยกว่ า 800 ลู ก บาศก์ เมตรต่ อ วัน และช่ ว งที่ 2 ให้บริ การระบบผลิตน้ าประปาขนาดกาลังการผลิต 19,200 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน เป็ นระยะเวลา 30 ปี ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2589 ส่วนที่ 3 หน้า 12


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

มิถุนายน 2558 ที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ฯ เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2558 ได้มีมติอนุมตั ิแผนการนา ยูยู เข้าจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย (Spin-Off) โดยการเสนอขายหุ น้ สามัญเพิ่มทุนของ ยูยู ให้กบั บุคคลทัว่ ไป (IPO) และผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ (Pre-Emptive Right) รวมทั้งสิ้ น 420,000,000 หุ ้น มูลค่าที่ตรา ไว้หุน้ ละ 1 บาทคิดเป็ น ร้อยละ 45.16 ของทุนที่ชาระแล้วของยูยู หลังการทา IPO ทั้งนี้ หุน้ สามัญจานวนไม่ เกิ น 67,000,000 หุ ้ น จะจัดสรรเพื่ อให้ สิ ท ธิ แก่ ผูถ้ ื อ หุ ้ น ของบริ ษ ัท จองซื้ อตามสั ดส่ วนการถื อหุ ้ น ซึ่ งที่ ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 10 สิ งหาคม 2558 ได้รับทราบแล้ว สิ งหาคม 2558 - ที่ ประชุ มวิสามัญผูถ้ ื อหุ ้น ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 10 สิ งหาคม 2558 ได้มีมติอนุ มตั ิให้ยูยูซ้ื อหุ ้น สามัญของ บจก.เอ็กคอมธารา จานวน 25,597,096 หุ ้น หรื อ คิดเป็ นร้ อยละ 74.19 จาก บจก.เอ็กโก เอ็นจิ เนี ยริ่ ง แอนด์ เซอร์ วิส มู ลค่า 1,600 ล้านบาท และเมื่อวันที่ 31 สิ งหาคม 2558 ยูยู ได้ชาระค่าหุ ้นและรั บ โอนหุ ้น บจก.เอ็กคอมธารา โดยใช้แหล่งเงินจากเงินกูร้ ะยะสั้นจากสถาบันการเงินแห่ งหนึ่ ง จานวน 1,600 ล้านบาท ท าให้ ยูยู ถื อหุ ้น บจก.เอ็กคอมธารา ภายหลังการทารายการเป็ น 31,076,236 หุ ้น หรื อ คิดเป็ น 90.08% - บริ ษทั ฯ ได้จาหน่ ายหุ ้นสามัญทั้งหมดใน บจก.เสม็ด ยูทิลิต้ ีส์ คิดเป็ นร้ อยละ 55 ของจานวนหุ ้น ทั้ง หมด หรื อ จ านวน 6.6 ล้า นหุ ้ น ในราคาหุ ้ น ละ 4.85 บาท เป็ นจ านวนเงิ น 32.0 ล้ า นบาท ให้ ก ั บ บริ ษ ัท เอกชนแห่ ง หนึ่ ง และได้รับ ช าระค่ า ขายหุ ้ น ทั้ง หมดจากบริ ษ ัท เอกชนดัง กล่ า วแล้วเมื่ อวัน ที่ 14 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 กันยายน 2558 เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2558 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด (มหาชน) (เดิ มชื่ อ“บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยู ที ลิ ต้ ี ส์ จ ากัด ”) ได้จ ดทะเบี ย นแปรสภาพเป็ นบริ ษ ัท มหาชนจ ากัด ต่ อ กรมพัฒ นาธุ ร กิ จ การค้า กระทรวงพาณิ ชย์แล้ว ธันวาคม 2558 เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2558 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด (มหาชน) (ยูยู) ได้นาส่ งแบบแสดง รายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ (แบบ filing) และร่ างหนังสื อชี้ ชวนต่อสานักงานคณะกรรมการ กากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) โดยมี บริ ษทั หลักทรัพย์ เมย์แบงก์ กิ มเอ็ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) เป็ นบริ ษทั ที่ปรึ กษาทางการเงิน 1.3 เหตุการณ์ สาคัญทีเ่ กีย่ วข้ องกับการดาเนินธุรกิจอื่น มีนาคม 2558 วันที่ 30 มีนาคม 2558 ยูยู ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) กับบริ ษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซิ น เนอร์ ยี่ จากัด (มหาชน) หรื อ GPSC เพื่อร่ วมกันศึกษาและพัฒนาโครงการบาบัดน้ าเสี ยเพื่อนากลับมาใช้ ส่วนที่ 3 หน้า 13


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ใหม่จากน้ าเสี ยของเมืองพัทยา กรกฎาคม 2558 เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2558 ยูยู ได้ลงนามในสัญญาจ้างบริ การและบารุ งรักษาระบบบาบัดน้ าเสี ย กับบริ ษทั ไทรเบคก้า เอ็นเตอร์ ไพร์ ส จากัด เพื่อให้บริ การและบารุ งรักษาระบบบาบัดน้ าเสี ยขนาด 6,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ภายในนิ คมอุตสาหกรรมหลักชัยเมืองยาง ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2560 เป็ นระยะเวลา 30 ปี 1.4 เหตุการณ์ สาคัญอื่นๆ มีนาคม 2558 เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2558 บริ ษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาเงิ นกูร้ ะยะยาว กับ สถาบันการเงิ น 2 แห่ ง วงเงินรวม 2,800 ล้านบาท ระยะเวลา 5 ปี อัตราดอกเบี้ ยเฉลี่ ย 3.11% ต่อปี โดยมี วตั ถุ ประสงค์เพื่อนามา Refinance เงินกูป้ ั จจุบนั ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย เมษายน 2558 - เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2558 TRIS RATING ได้ประกาศคงอันดับเครดิตองค์กรของบริ ษทั ที่ระดับ ‘A+’ ด้วยแนวโน้ม ‘Stable’ ซึ่ งสะท้อนถึงสถานะทางการเงินที่แข็งแกร่ งของบริ ษทั และความเสี่ ยงในการ ดาเนินธุ รกิจที่อยูใ่ นระดับต่า - ที่ประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี 2557 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2558 ได้มีมติอนุ มตั ิการจ่ายเงินปั น ผลประจาปี 2557 ในอัตรา 0.45 บาทต่อหุ ้น (ปี 2556 เท่ากับ 0.42 บาทต่อหุ ้น) คิ ดเป็ นเงิ นปั นผลจ่ายรวม ทั้งสิ้ น 748.68 ล้านบาท ประกอบด้วยการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาล (ม.ค.-มิ.ย.2557) ในอัตรา 0.21 บาทต่อ หุ ้น เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 และการจ่ายเงิ นปั นผล 6 เดือนหลังของปี 2557 (ก.ค.-ธ.ค.2557) ในอัตรา 0.24 บาทต่อหุ น้ โดยมีกาหนดการจ่ายเงินปันผลในวันที่ 26 พฤษภาคม 2558 มิถุนายน 2558 - เมื่ อวันที่ 5 มิ ถุนายน 2558 บริ ษ ทั ฯ ได้มีการลงนามในสั ญ ญาเงิ นกู้ระยะยาว 10 ปี กับสถาบัน การเงินแห่ งหนึ่ ง วงเงิน 1,000 ล้านบาท เพื่อนาไปใช้ทดแทนเงินกูเ้ ดิมของโครงการทับมาและโครงการวาง ท่อประแสร์-หนองปลาไหล ในส่ วนที่บริ ษทั ยังไม่ได้ทาการเบิกถอนเงินกู้ - เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2558 บริ ษทั ได้ออกหุ น้ กูช้ นิดไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกันและไม่มีผแู ้ ทน ผูถ้ ือหุ น้ กู้ ให้แก่นกั ลงทุนสถาบันและนักลงทุนรายใหญ่ จานวน 2,400 ล้านบาท ประกอบด้วย หุ ้นกูช้ ุดที่ 1 อายุ 7 ปี วงเงินรวม 1,200 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย 3.84% ต่อปี และหุ ้นกูช้ ุ ดที่ 2 อายุ 10 ปี วงเงินรวม 1,200 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ย 4.18% ต่อปี เพื่อนาไปชาระคืนเงินกูค้ ่าก่อสร้างโครงการทับมาและโครงการวางท่อ ประแสร์ -หนองปลาไหล ในส่ วนที่บริ ษทั ฯ ได้ทาการเบิกถอนเงินกูไ้ ปแล้วทั้งหมด

ส่วนที่ 3 หน้า 14


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

สิ งหาคม 2558 ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ครั้งที่ 12/2558 เมื่อวันที่ 21 สิ งหาคม 2558 ได้มีมติจ่ายเงิ นปั นผล ระหว่างกาลจากกาไรสุ ทธิ สาหรับงวดระยะเวลา 6 เดื อนสิ้ นสุ ด 30 มิถุนายน 2558 ในอัตรา 0.22 บาทต่อ หุ ้น (ปี 2557 เท่ากับ 0.21 บาทต่อหุ ้น)โดยมีการกาหนดรายชื่ อผูถ้ ือหุ ้นที่มีสิทธิ ได้รับเงินปั นผล เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2558 และจ่ายเงินปั นผลเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2558 รวมเงินปั นผลจ่ายทั้งสิ้ น 366.02 ล้านบาท พฤศจิกายน 2558 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2558 บริ ษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาเงินกูร้ ะยะยาว 10 ปี กับสถาบันการเงิน แห่ งหนึ่ ง วงเงิน 1,700 ล้านบาท เพื่อนาไปใช้ทดแทนเงินกูเ้ ดิมที่ใช้ในโครงการทับมาและโครงการวางท่อ ประแสร์ -หนองปลาไหล 2. การวิเคราะห์ ผลการดาเนินการ 2.1. สรุ ปผลการดาเนินงาน ผลการดาเนิ น งานปี 2558 บริ ษ ทั ฯ และบริ ษ ัท ย่อย มี รายได้จากการขายและบริ ก ารรวมทั้งสิ้ น 4,366.81 ล้านบาท เพิ่ ม ขึ้ น จานวน 124.57 ล้านบาท หรื อ 2.94% (หากไม่ รวมรายได้ค่ าก่ อ สร้ างภายใต้ สัญญาสัมปทาน จะมีรายได้จากการขายและบริ การรวม 4,271.13 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 297.81 ล้านบาท หรื อ 7.50%) และมีกาไรสุ ทธิ ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ น้ บริ ษทั ใหญ่ จานวน 1,584.94 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 250.74 ล้าน บาท หรื อ 18.79% เมื่อเทียบกับปี 2557

ส่วนที่ 3 หน้า 15


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ตารางที่ 2 : ภาพรวมผลการดาเนินงานของบริษัทฯ รายการ นา้ ดิบจาหน่ าย นา้ ประปาจาหน่ าย

จานวนเงิน (ล้านบาท) 2558 % 2557 270.68 257.09 83.88 75.61

เพิม่ (ลด) % -

ล้ าน ลบ.ม

13.59 8.28

% 5.29 10.95

ล้ านบาท

รายได้ จากการขายและบริการ รายได้น้ าดิบ รายได้น้ าประปา รายได้ค่าเช่าและค่าบริ การ ราย ได้ ค่ าก่ อ ส ร้ างภ าย ใต้ สั ญ ญ า สัมปทาน(1) ต้ นทุนขายและบริการ ต้นทุนขายน้ าดิบ ต้นทุนขายน้ าประปา ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริ การ ต้ น ทุ น ค่ าก่ อ ส ร้ างภ ายใต้ สั ญ ญ า สัมปทาน(1) กาไรขั้นต้ น รายได้อื่นๆ ค่าใช้จ่ายขายและบริ หาร ก าไรก่ อนต้ นทุ น การเงิ น และภาษี (EBIT) ต้นทุนทางการเงิน กาไรก่อนภาษี (EBIT) ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กาไรสุ ทธิจากการดาเนินงานปกติ กาไรจากการวัดมูลค่ายุติธรรมส่ วนได้ ส่ วนเสี ย 15.88% ที่ถือใน บจ.เอ็กคอม ธารา ก่อนการรวมกิจการ(2) กาไรสุ ทธิ

4,366.81 2,898.67 1,160.24 212.23

100.00 66.38 26.57 4.86

4,242.24 2,768.38 988.74 216.20

100.00 65.26 23.31 5.10

124.57 130.29 171.50 (3.97)

2.94 4.71 17.34 (1.84)

95.68

2.19

268.92

6.34

(173.24)

(64.42)

2,109.02 1,134.87 707.28 171.19

48.30 25.99 16.20 3.92

2,097.65 1,039.69 590.12 198.91

49.45 24.51 13.91 4.69

11.37 95.18 117.15 (27.73)

0.54 9.15 19.85 (13.94)

95.68

2.19

268.92

6.34

(173.24)

(64.42)

2,257.79 65.69 458.61

51.70 1.50 10.50

2,144.59 62.52 412.23

50.55 1.47 9.72

113.21 3.17 46.38

5.28 5.07 11.25

1,864.88

42.71

1,794.87

42.31

70.00

3.90

114.18 1,750.70 342.77 1,407.92

2.61 40.09 7.85 32.24

121.23 1,673.65 339.20 1,334.45

2.86 39.45 8.00 31.46

(7.04) 77.05 3.58 73.47

(5.81) 4.60 1.05 5.51

183.32

4.20

-

-

183.32

N/A

1,591.24

36.44

1,334.45

31.46

256.79

19.24

ส่วนที่ 3 หน้า 16


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

รายการ

2558

ก าไรสุ ทธิ ส่ วนที่ เ ป็ นของผู้ ถื อ หุ้ น 1,584.94 บริษัทใหญ่ 0.953 อัตราส่ วนกาไรสุ ทธิต่อหุ้น (EPS) EBITDA

2,444.71

จานวนเงิน (ล้านบาท) % 2557

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

เพิม่ (ลด) %

ล้ าน ลบ.ม

%

36.30

1,334.21

31.45

250.74

18.79

-

0.802

-

0.151

18.79

55.98

2,288.42

53.94

156.28

6.83

หมายเหตุ : (1) เป็ นรายได้และต้นทุนที่จะมีการรับรู ้รายได้และต้นทุนเมื่ อมีการก่อสร้างภายใต้สญ ั ญาสัมปทานของกิจการ ประปาตามมาตรฐานบัญชี TFRIC12 (2) กาไรสุ ทธิ จากการวัดมูลค่ายุติธรรมของส่ วนได้เสี ยร้อยละ 15.88 ในส่ วนของเจ้าของในบริ ษทั เอ็กคอม ธารา จากัด ที่ กลุ่ม บริ ษ ัท ถื อ ไว้ก่ อนที่ จะมี การรวมธุ รกิ จ โดยมี รายละเอี ยดตามหมายเหตุป ระกอบงบ การเงิน ข้อ 40 งวดสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

2.2 ธุรกิจนา้ ดิบ 2.2.1 บริ ษทั ฯ มีรายได้จากการขายน้ าดิ บ ปี 2558 รวม 2,898.67 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจานวน 130.29 ล้านบาท หรื อเพิ่มขึ้ น 4.71% YOY โดยมีปริ มาณจาหน่ ายน้ าดิ บรวม 270.68 ล้านลู กบาศก์เมตร (ไม่รวม ปริ มาณน้ าดิบที่ส่งให้กิจการประปาของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย จานวน 25.76 ล้านลูกบาศก์เมตร) เพิ่มขึ้น 13.59 ล้านลู กบาศก์เมตรหรื อ 5.29% ในขณะที่ ราคาจาหน่ ายน้ าดิ บเฉลี่ ย เท่ากับ 10.71 บาทต่อลู กบาศก์ เมตร ลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี 2557 จานวน 0.06 บาทต่อลู กบาศก์เมตร หรื อ 0.55 % เนื่ องจากการใช้ น้ าดิบสาหรับลูกค้าในกลุ่มอุปโภคบริ โภคในพื้นที่ชลบุรีและฉะเชิ งเทราซึ่ งมีอตั ราค่าน้ าที่ต่ากว่ามีอตั ราการ เติบโตเพิม่ ขึ้นมากทาให้อตั ราค่าน้ าเฉลี่ยปรับลดลง

ส่วนที่ 3 หน้า 17


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ภาพที่ 1 : ปริมาณนา้ ดิบจ่ ายจาแนกตามกลุ่มลูกค้ า (รวมปริมาณนา้ ดิบทีส่ ่ งให้ กจิ การประปาในกลุ่มบริษัท) ม.ค. – ธ.ค. 2558 = 296.44 ล้านลูกบาศก์ เมตร

ม.ค. – ธ.ค. 2557 = 282.06 ล้ านลูกบาศก์ เมตร

หมายเหตุ ปริ มาณน้ าจาหน่าย = ปริ มาณน้ าจ่าย – ปริ มาณน้ าที่ใช้ในกิจการประปาของกลุ่มบริ ษทั ภาพที่ 2 : ปริมาณนา้ ดิบจ่ ายจาแนกตามพืน้ ที่ (รวมปริมาณนา้ ดิบทีส่ ่ งให้ กจิ การประปาในกลุ่มบริษัท) ม.ค. – ธ.ค. 2558 = 296.44 ล้ านลูกบาศก์ เมตร ม.ค. – ธ.ค. 2557 = 282.06 ล้ านลูกบาศก์ เมตร

ส่วนที่ 3 หน้า 18


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

2.2.2 ต้นทุนขายน้ าดิบสาหรับปี 2558 มีตน้ ทุนขายรวม 1,134.87 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 95.18 ล้านบาท หรื อ 9.15% ดังแสดงในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 : ต้ นทุนหลักธุรกิจนา้ ดิบ รายการ

2558

2557

ปริ มาณ(ล้านลบ.ม.)

(ลบ.) 270.68

(%) -

(ลบ.) 257.09

(%) -

รายได้ – น้ าดิบ ต้นทุนขายน้ าดิบ - ค่ ำนำ้ ดิบ - ค่ ำไฟฟ้ำ - ค่ ำเสื่ อมรำคำ - ค่ ำซ่ อมบำรุ ง - ค่ ำใช้ จ่ำยอื่นๆ กาไรขั้นต้ น

2,898.67 1,134.87 154.80 473.83 297.89 63.83 144.52 1,763.79

100.00 39.15 5.34 16.35 10.28 2.20 4.99 60.85

2,768.38 1,039.69 139.96 420.19 271.25 72.02 136.28 1,728.68

100.00 37.56 5.06 15.18 9.80 2.60 4.92 62.44

เปลีย่ นแปลง (ลบ.) (%) 13.59 5.29 130.29 95.18 14.84 53.64 26.64 (8.18) 8.25 35.11

4.71 9.15 10.60 12.77 9.82 (11.36) 6.05 2.03

(1) ค่ านา้ ดิบ ปี 2558 จานวน 154.80 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2557 จานวน 14.84 ล้านบาทหรื อ

เพิ่มขึ้ น 10.60% เนื่ องจากปริ มาณจาหน่ ายที่ เพิ่มมากขึ้ น ประกอบกับการซื้ อน้ าดิ บจากแหล่ งน้ า เอกชนเพิ่มขึ้น 2.44 ล้านลูกบาศก์เมตร เมื่อเทียบกับปี 2557 (2) ค่ าไฟฟ้ า ปี 2558 จานวน 473.83 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 53.64 ล้านบาท หรื อ 12.77% สาเหตุหลักมาจาก ปริ มาณการจาหน่ ายที่ เพิ่มขึ้ นโดยเฉพาะในพื้นที่ ชลบุ รีทาให้ตอ้ งมี การสู บ ผันน้ าจากอ่างเก็บน้ า หนองปลาไหลมาใช้ในพื้นที่ชลบุรีเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ บริ ษทั ได้เริ่ มทาการผันน้ าจากอ่างเก็บน้ า ประแสร์ ตามมาตรการป้ องกันภัยแล้ง ตั้งแต่เดื อนเมษายน 2558 โดยมีปริ มาณการสู บรวมในปี 2558 เท่ากับ 61.18 ล้านลูกบาศก์เมตร (3) ค่ าเสื่ อ มราคา ปี 2558 จ านวน 297.89 ล้านบาท เพิ่ ม ขึ้ น 26.64 ล้านบาท หรื อ 9.82% เนื่ อ งจาก บริ ษ ัท เริ่ ม บัน ทึ ก ค่ าเสื่ อมราคาโรงสู บ น้ าและท่ อ ส่ ง น้ าส่ วนขยายของโครงการบางพระตั้งแต่ กันยายน 2557 (4) ค่ าใช้ จ่ายอื่นๆ ปี 2558 จานวน 144.52 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8.25 ล้านบาท หรื อ 6.05% ส่ วนใหญ่มา จากการบันทึกค่าตอบแทนการเช่ า/บริ หารท่อหนองปลาไหล-หนองค้อ และท่อหนองค้อ-แหลม ฉบังระยะที่ 2 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 3 เป็ นร้อยละ 7 ของรายได้จาหน่ายน้ าดิบจากเส้นท่อดังกล่าวตาม ผลการหารื อ ในเบื้ องต้นระหว่างบริ ษ ทั กับ กรมธนารั กษ์ โดยใช้อตั ราค่าตอบแทนใหม่ ต้ งั แต่ 1 ตุลาคม 2557 ส่วนที่ 3 หน้า 19


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

(5) กาไรขั้ น ต้ น ปี 2558 เท่ ากับ 1,763.79 ล้านบาท เพิ่ มขึ้ น 35.11 ล้านบาท หรื อ 2.03% โดยมี อตั รา

กาไรขั้นต้นอยูท่ ี่ 60.85% ของรายได้จากการจาหน่ายน้ าดิบ 2.3 ธุรกิจนา้ ประปา 2.3.1 รายได้จากการจาหน่ายน้ าประปาปี 2558 เท่ากับ 1,160.24 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 171.50 ล้านบาท หรื อ 17.34% โดยมีปริ มาณจาหน่าย 83.88 ล้านลูกบาศก์เมตร เพิ่มขึ้น 8.28 ล้านลูกบาศก์เมตร หรื อ 10.95% จากความต้องการน้ าประปาที่เพิ่มขึ้นและการลงทุนขยายท่อจ่ายน้ าของประปาสัตหี บ (+10.81%) ประปา บ่อวิน (+12.46%) และ การปรับปรุ งเพิ่มแรงดันระบบจ่ายน้ าของประปาฉะเชิงเทรา (+7.63%) และประปา นครสวรรค์ (+8.23%) นอกจากนี้ บริ ษ ัท เริ่ ม รั บ รู ้ ร ายได้จ าก บจก.เอ็ ก คอมธารา (ประปาราชบุ รี สมุทรสงคราม) ตั้งแต่วนั ที่ 31 สิ งหาคม 2558 (หากไม่รวมปริ มาณขายและรายได้ของ บจก.เอ็กคอมธารา จะมี ป ริ ม าณจาหน่ ายรวม 79.56 ล้านลู ก บาศก์เมตร เพิ่ ม ขึ้ น 3.95 ล้านลู ก บาศก์เมตร หรื อ 5.22% และมี รายได้รวม 1,049.38 ล้านบาท เพิ่ มขึ้ น 60.64 ล้านบาท หรื อ 6.13%) ทั้งนี้ ราคาขายน้ าประปาเฉลี่ ยอยู่ที่ 13.83 บาทต่อลูกบาศก์เมตร เพิ่มขึ้น 0.75 บาทต่อลูกบาศก์เมตร หรื อ 5.77 % 2.3.2 ต้นทุนขายน้ าประปาสาหรับปี 2558 เท่ากับ 707.28 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 117.15 ล้านบาท หรื อ 19.85% โดยมีรายละเอียดแสดงในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ต้ นทุนหลักธุรกิจนา้ ประปา รายการ ปริมาณ(ล้านลบ.ม.)

2558 (ลบ.) 83.88

รายได้ – นา้ ประปา 1,160.24 ต้ นทุนขายนา้ ประปา 707.28 152.92 - ค่ ำนำ้ ดิบ - ค่ ำไฟฟ้ำ 139.54 24.81 - ค่ ำสำรเคมี - ค่ ำ ใ ช้ จ่ ำ ย พ นั ก ง ำ น + 166.22 Outsourecse - ค่ ำเสื่ อมรำคำ + ตัดจำหน่ ำย 190.98 32.80 - ค่ ำใช้ จ่ำยอื่นๆ กาไรขั้นต้น 452.96

2557

เปลีย่ นแปลง (ลบ.) (%) 8.28 10.95

(%) -

(ลบ.) 75.61

(%) -

100.00 60.96 13.18 12.03 2.14

988.74 590.12 138.26 136.18 20.94

100.00 59.68 13.98 13.77 2.12

171.50 117.15 14.66 3.36 3.87

17.34 19.85 10.61 2.47 18.46

14.33

156.12

15.79

10.10

6.47

16.46 2.83 39.04

114.64 23.98 398.62

11.59 2.43 40.32

76.34 8.82 54.34

66.59 36.78 13.63

ส่วนที่ 3 หน้า 20


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

(1) ค่ าน้าดิบ จานวน 152.92 ล้านบาท เพิ่มขึ้ น 14.66 ล้านบาท หรื อ 10.61% เมื่ อเที ยบกับปี 2557 มา

จากปริ มาณจาหน่ายที่เพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่ประปาสัตหี บและบ่อวิน ทาให้มีการใช้น้ าดิบ ของบริ ษทั เพิ่มมากขึ้น (2) ค่ าเสื่ อมราคาและค่ าตัดจาหน่ าย จานวน 190.98 ล้านบาท เพิ่ม ขึ้ น 76.34 ล้านบาท หรื อ 66.59% สาเหตุ ห ลัก มาจากการเริ่ ม รั บ รู ้ ค่ า เสื่ อ มราคางานขยายท่ อ จ่ ายน้ า ประปาสั ต หี บ -พัท ยา 18,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2557 และงานขยายท่อจ่ายน้ าประปาในหลายพื้นที่ ค่า เสื่ อมราคาและค่ าตัดจาหน่ ายรายการสิ นทรั พ ย์ไม่ มี ตวั ตนของ บจก.เอ็กคอมธารา รวมจานวน 45.59 ล้านบาท (3) ค่ า ใช้ จ่ า ยอื่ น ๆ จ านวน 32.80 ล้า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น 8.82 ล้า นบาท หรื อ 36.78% โดยหลัก มาจาก ค่าใช้จ่ายของ บจก.เอ็กคอมธารา (4) กาไรขั้นต้ น สาหรับปี 2558 จานวน 452.96 ล้านบาท คิดเป็ นอัตรากาไรขั้นต้นเท่ากับ 39.04% 2.4 ค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร ปี 2558 จานวน 458.61 ล้านบาท เพิ่ มขึ้ น 46.38 ล้านบาท หรื อ เพิ่มขึ้น 11.25% เนื่องจากในไตรมาสที่ 3/2558 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด(มหาชน) (ยูย)ู ได้บนั ทึก ค่ าเผื่ อ หนี้ สงสั ย จะสู ญ มู ล ค่ า 32.80 ล้านบาท ของลู ก หนี้ อื่ น ซึ่ งเป็ นบริ ษ ัท เอกชนแห่ ง หนึ่ ง เนื่ อ งจาก บริ ษทั เอกชนมีปัญหาในการดาเนินงานและขาดสภาพคล่องในการชาระเงินให้กบั เจ้าหนี้ 2.5 ต้ นทุนทางการเงิน สาหรับปี 2558 มีจานวนทั้งสิ้ น 114.18 ล้านบาท ลดลง 7.04 ล้านบาท หรื อ ลดลง 5.81% เนื่องจาก บริ ษ ัท ได้ท าการ Refinance และปรั บ โครงสร้ างเงิ น กู้ข องกลุ่ ม บริ ษ ัท ท าให้ มี ต้น ทุ น ดอกเบี้ ย จ่ ายลดลง ถึงแม้วา่ บริ ษทั มีการกูย้ ืมเงินเพิ่มขึ้นและเริ่ มรับรู ้ ดอกเบี้ยจ่ายจากการรับมอบโรงสู บน้ าและท่อสู บน้ าส่ วน ขยายของโครงการบางพระตั้งแต่เดือนกันยายน 2557 โดยมีอตั ราดอกเบี้ยเฉลี่ ย ณ สิ้ นเดือนธันวาคม 2558 อยูท่ ี่ 3.11% ต่อปี

ส่วนที่ 3 หน้า 21


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

3. การวิเคราะห์ สถานะการเงิน ตารางที่ 5 : แสดงภาพรวมงบแสดงฐานะการเงิน รายการ สิ นทรัพย์รวม หนี้สินรวม รวมส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น - ส่ วนของบริ ษทั ใหญ่

จานวนเงิน (ล้านบาท) ณ 31 ธันวาคม 2558 ณ 31 ธันวาคม 2557 19,627.46 15,243.45 10,127.90 6,726.37 9,499.56 8,517.07 9,294.69 8,487.56

เพิม่ / (ลด) ล้านบาท % 4,384.02 28.76 3,401.53 50.57% 982.49 11.54% 807.14 9.51%

3.1 สิ นทรัพย์ ณ สิ้ นเดื อนธันวาคม 2558 บริ ษ ทั มีสินทรัพย์รวม จานวน 19,627.46 ล้านบาท เพิ่มขึ้ นจากสิ้ นปี 2557 จานวน 4,384.02 ล้านบาท โดยมีรายการที่เปลี่ยนแปลงเป็ นสาระสาคัญ ดังนี้ (1) เงิ นสดและเงิ นลงทุนชัว่ คราวจานวน 1,173.82 ล้านบาท เพิ่มขึ้ น 1,005.89 ล้านบาท จากการ ขายหุ ้น บจก.เอ็กคอมธารา ของบริ ษทั ให้กบั ยูยู จานวน 317.79 ล้านบาท และจากการที่ ยูยู ชาระคื นเงิ นกู้ให้กบั บริ ษ ทั ฯ จานวน 644.00 ล้านบาท เพื่อปรั บ โครงสร้ างธุ รกิ จให้มี ความ ชัดเจนและลดการพึ่งพิงระหว่างกันตามนโยบายการนา ยูยู เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (2) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สุทธิ จานวน 13,265.98 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,518.20 ล้านบาท มาจาก การรับมอบงานระหว่างก่ อสร้ างหลักได้แก่ โครงการวางท่อประแสร์ -หนองปลาไหล และ โครงการก่อสร้างสระพักน้ าดิบคลองทับมา (3) สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนสุ ทธิ จานวน 3,831.90 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,106.54 ล้านบาท โดยมีสาเหตุ หลักมาจากการที่ ยูยู ซื้ อหุ ้น บจก.เอ็กคอมธารา ครั้งแรกร้อยละ 15.88 จากบริ ษทั และซื้ อครั้ง ต่อมาอีกร้อยละ 74.19 จาก ESCO รวมมีสัดส่ วนการถือหุ ้นร้อยละ 90.08% ทาให้เกิดการรวม ธุ รกิจจากการทยอยซื้ อเอ็กคอมธารา ดังนั้น ยูยูจึงต้องบันทึกสิ นทรัพย์สุทธิ ดว้ ยมูลค่ายุติธรรม ซึ่ งรวมถึ งสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนจานวน 2,192.00 ล้านบาท และค่าความนิ ยม จานวน 103.28 ล้านบาท ซึ่ งเกิดจากต้นทุนเงินลงทุนที่จ่ายสู งกว่ามูลค่ายุติธรรมที่ ยูยู มีในสิ นทรัพย์สุทธิ ของ บจก.เอ็กคอมธารา เพื่อให้เป็ นไปตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 เรื่ อง การรวม ธุ รกิจ โดยมีรายละเอียดตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 40 งวดสิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2558

ส่วนที่ 3 หน้า 22


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

3.2 หนีส้ ิ น ณ สิ้ นเดือนธันวาคม 2558 บริ ษทั ฯ มีหนี้ สินรวมจานวน 10,127.90 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้ นปี ก่อน จานวน 3,401.53 ล้านบาท โดยมีรายการหลักที่เปลี่ยนแปลง ดังนี้ (1) เงินกูย้ ืมระยะสั้น จานวน 1,600.00 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,367.00 ล้านบาท โดยหลักมาจากเงินกู้ ระยะสั้น (Bridging Finance) จานวน 1,600 ล้านบาท เพื่อนาไปชาระค่าหุ น้ บจก.เอ็กคอมธารา ของ UU ซึ่ งมีแผนจะชาระคืนเงินกูจ้ ากเงินที่ได้รับจากการ IPO (2) เจ้าหนี้จากการซื้ อสิ นทรัพย์ถาวรจานวน 63.58 ล้านบาท ลดลง 415.47 ล้านบาท จากการชาระ หนี้โครงการก่อสร้างของบริ ษทั ที่ดาเนินการอยู่ ณ ปั จจุบนั (3) เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินและหุ ้นกูข้ องบริ ษทั ฯ จานวน 7,157.82 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,945.82 ล้านบาท โดยหลักมาจากเงินกูเ้ พื่อชาระค่าก่อสร้างของบริ ษทั และเงินกูข้ อง ยูยู เพื่อ นามาชาระค่าหุ น้ บจก.เอ็กคอมธารา (4) หนี้ สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี จานวน 421.23 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 378.79 ล้านบาท โดยหลัก มาจากการปั น ส่ ว นต้น ทุ น การรวมธุ ร กิ จ บจก.เอ็ ก คอมธารา (Purchase Price Allocation) จานวน 384.82 ล้านบาท (รายละเอียดตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 40 งวดสิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2558) ซึ่ งเป็ นรายการทางบัญชี จากการประเมินมูลค่าสิ นทรัพย์ที่บริ ษทั ได้รับมา ในการรวมกิจการบจก.เอ็กคอมธาราให้เป็ นมูลค่ายุติธรรม 3.3 ส่ วนของผู้ถือหุ้น ณ สิ้ นเดือนธันวาคม 2558 บริ ษทั ฯ มีส่วนของผูถ้ ือหุ ้นส่ วนของบริ ษทั ใหญ่ จานวน 9,294.69 ล้าน บาท เพิ่มขึ้นจากสิ้ นปี 2557 จานวน 807.14 ล้านบาท เนื่องจากกาไรสุ ทธิ ปี 2558 สุ ทธิ กบั การจ่ายเงินปั นผล ของบริ ษทั ฯ 4. การวิเคราะห์ อตั ราส่ วนทางการเงินทีส่ าคัญ ตารางที่ 6 : แสดงอัตราส่ วนทางการเงินที่สาคัญ รายการ (งบการเงินรวม) อัตราส่ วนความสามารถในการทากาไร อัตรากาไรขั้นต้น /รายได้จากการขายและบริ การ (%)(1) อัตรากาไรสุ ทธิ / รายได้จากการขายและบริ การ (%)(2) อัตราผลตอบแทนต่อส่ วนผูถ้ ือหุ น้ (ROE) (%)(3) อัตราผลตอบแทนต่อสิ นทรัพย์ (ROA) (%) อัตราส่ วนโครงสร้ างทางการเงินและภาระหนีส้ ิ น อัตราส่ วนหนี้สินต่อส่ วนผูถ้ ือหุ น้ (D/E) (เท่า)

ณ 31 ธ.ค. 2558

ณ 31 ธ.ค. 2557

52.86% 32.96% 15.76% 8.04%

53.97% 33.59% 16.31% 9.29%

1.09

0.79 ส่วนที่ 3 หน้า 23


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

รายการ (งบการเงินรวม) อัตราส่ วนความสามารถในการช าระดอกเบี้ ยและเงิ นต้น (DSCR) (เท่า)

ณ 31 ธ.ค. 2558 2.45

แบบ 56-1 ประจาปี 2558

ณ 31 ธ.ค. 2557 2.91

หมายเหตุ (1) อัตรากาไรขั้นต้น ไม่รวมรายได้ค่าก่อสร้างภายใต้สญ ั ญาสัมปทานและรายได้อื่นๆ (2) อัตรากาไรสุทธิ ไม่รวมรายได้ค่าก่อสร้างภายใต้สญ ั ญาสัมปทานและไม่รวมกาไรจากการวัดมูลค่ายุติธรรม ส่ วนได้ส่วนเสี ย 15.88% ที่ถือในเอ็กคอมธาราก่อนการรวมกิจการ (3) ROA และ ROE ไม่รวมกาไรจากการวัดมูลค่ายุติธรรมส่วนได้ส่วนเสี ย 15.88% ที่ถือในเอ็กคอมธาราก่อน การรวมกิจการ

ผลการดาเนินงานปี 2558 บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ยังคงมีความสามารถในการทากาไรอยูใ่ นเกณฑ์ ดี โดยมี อตั ราก าไรขั้น ต้น 52.86% และอัตราก าไรสุ ท ธิ จากการดาเนิ น งานปกติ 32.96% ส าหรับ อัตรา ผลตอบแทนต่อส่ วนผูถ้ ือหุ ้น(ROE) อยูท่ ี่ 15.76% อัตราผลตอบแทนต่อสิ นทรัพย์ (ROA) อยูท่ ี่ 8.04% ซึ่ ง ลดลงจากปี 2557 เนื่ องจากบริ ษทั มีการลงทุนในโครงการขนาดใหญ่เพื่อรองรับการความต้องการใช้น้ าใน อนาคต ในขณะที่อตั ราส่ วนหนี้ สินต่อส่ วนผูถ้ ือหุ ้นปรับขึ้นเป็ น 1.09 เท่า จากเงินกูเ้ พื่อนาไปชาระค่าหุ ้น บจก.เอ็กคอมธาราและโครงการก่อสร้างของบริ ษทั ฯ อย่างไรก็ดี หากพิจารณาสุ ทธิ จากเงินฝากธนาคารและ เงินลงทุนระยะสั้นแล้ว อัตราส่ วนหนี้ สินสุ ทธิ ต่อส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้น เท่ากับ 0.96 เท่า ความสามารถในการ ชาระหนี้ ของบริ ษทั ฯ ยังคงอยู่ในเกณฑ์ดีโดยมี อตั ราส่ วนความสามารถในการชาระดอกเบี้ ยและเงิ นต้น (DSCR) ที่ 2.45 เท่า

ส่วนที่ 3 หน้า 24




บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการบริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ลําดับ ที่

ชื่ อ-นามสกุล

วันเดือนปี เกิด

อายุ

1.

นายวิทยา ฉายสุวรรณ (แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 ธ.ค.57)

4 ม.ค. 2497

61

ตําแหน่ ง

ประสบการณ์ ทํางาน

- ประธานคณะกรรมการ 2557-ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการ บริ ษทั ฯ (กรรมการอิสระ) กรรมการ, บมจ.จัดการและพัฒนา ทรัพยากรนํ้าภาคตะวัน ออก (ก) 2558-ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการ และกรรมการ บมจ. ยูนิเวอร์แซล ยูที ลิต้ ีส์ (ข) 2558-ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการ และ กรรมการ บจก.เอ็กคอมธารา (ข) 2558-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. อะมานะฮ์ ลิ ส ซิ่ ง(ก) 2558-ปั จจุบนั กรรมการ ธนาคารอิสลามแห่ง ประเทศไทย (ข) 2558-ปั จจุบนั กรรมการ การไฟฟ้านคร หลวง (กฟน.) (ข) 2557–ปั จจุบนั สมาชิกสภานิติบญั ญัติ แห่งชาติ

การศึกษา

การอบรมหลักสู ตร สํ าคัญ

- ศิ ล ป ศา ส ต ร มห า บั ณ ฑิ ต - RCP 36/2015 ( พั ฒ น า สั ง ค ม ) ส ถ า บั น - TEPCOT 6 - บยป.4 บัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ - วิทยาศาสตร์ (เกษตรศาสตร์ ) มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ปี 2550

การถือครอง หุ้น EW ณ วันที่ 31 ธ.ค.58 ไม่มี

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ลําดับ ที่

ชื่ อ-นามสกุล

วันเดือนปี เกิด

อายุ

ตําแหน่ ง

แบบ 56-1 ประจําปี 2558 ประสบการณ์ ทํางาน

การศึกษา

การอบรมหลักสู ตร สํ าคัญ

การถือครอง หุ้น EW ณ วันที่ 31 ธ.ค.58

2557-ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษทั ประปา บางปะกง จํากัด (ข) 2557-ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษทั ประปา นครสวรรค์ จํากัด(ข) 2557-ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษทั ประปา ฉะเชิงเทรา จํากัด(ข) 2552-2557 ผูต้ รวจราชการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ สํานักงานปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ 2550-2552 รองอธิบดีกรมการข้าว 2549-2550 ผูอ้ าํ นวยการสํานักนโยบาย และยุทธศาสตร์ รักษาการในตําแหน่งรอง อธิบดีกรมการข้าว สรุ ป การดํารงตําแหน่งกรรมการใน ปั จจุบนั ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั อื่น (ก) บริ ษทั จดทะเบียน : 2 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน: 7 แห่ง

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ลําดับ ที่

ชื่ อ-นามสกุล

วันเดือนปี เกิด

อายุ

2.

นายอมร เลาหมนตรี (แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 ธ.ค.57)

1 เม.ย. 2493

65

ตําแหน่ ง

แบบ 56-1 ประจําปี 2558 ประสบการณ์ ทํางาน

- ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ 2557-ปั จจุบนั (กรรมการอิสระ) - ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ - กรรมการธรรมาภิ บ าล 2557-ปั จจุบนั และสรรหา

กรรมการ บมจ.จัดการและพัฒนา ทรัพยากรนํ้าภาคตะวัน ออก (ก) คณะทํางานรัฐมนตรี ช่วย ว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย 2550-2553 ที่ปรึ กษาด้านกฎหมาย สํานักงานปลัดกระทรวง มหาดไทย 2548-2550 ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านกฎหมาย และระเบียบท้องถิ่น กรมส่งเสริ มการปกครอง ถิ่น กระทรวงมหาดไทย 2545-2548 ผูอ้ าํ นวยการสํานักกฎหมาย และระเบียบท้องถิ่น กรมส่ ง เสริ มการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย สรุ ป การดํารงตําแหน่งกรรมการใน ปั จจุบนั ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั อื่น (ก) บริ ษทั จดทะเบียน : 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน : ไม่มี

การศึกษา

- รั ฐ ป ร ะ ศ า ส น ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยแห่ งรั ฐเพนซิ ลเว เนี ย - นิ ติ ศ า ส ต ร์ จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ มหาวิทยาลัย

การอบรมหลักสู ตร สํ าคัญ

- DCP 208/2015 - DAP 114/2015 - AACP 18/2015 - FSD 27/2015

การถือครอง หุ้น EW ณ วันที่ 31 ธ.ค.58 ไม่มี

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

ลําดับ ที่

ชื่ อ-นามสกุล

วันเดือนปี เกิด

อายุ

ตําแหน่ ง

ประสบการณ์ ทํางาน

การศึกษา

3.

นายไพบูลย์ ศิริภาณุเสถียร (แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 ธ.ค.57)

5 ก.พ. 2506

52

- กรรมการบริ ษทั ฯ (กรรมการอิสระ) - ประธานคณะกรรมการ บริ หารและการลงทุน - กรรมการกํา หนดเกณฑ์ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ดํา เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน

2557 – ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. จัดการ และพัฒนาทรัพยากรนํ้า ภาคตะวันออก (ก) 2557 – ปั จจุบนั กรรมการ บมจ.อะ มานะฮ์ ลิสซิ่ ง (ก) 2557 – ปั จจุบนั กรรมการ การไฟฟ้า ส่ วนภูมิภาค (ข) 2551 – ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. หลักทรัพย์ ฟิ นันเซี ย ไซรัส (ก) 2551 – 2557 กรรมการอิสระ บมจ. ผลิตไฟฟ้า 2552 – 2553 กรรมการ ธนาคาร ออมสิ น สรุ ป การดํารงตําแหน่งกรรมการใน ปั จจุบนั ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั อื่น (ก) บริ ษทั จดทะเบียน : 3 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน : 1 แห่ง

- รัฐศาสตร์ (การเมืองการ ปกครอง) มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช - วิ ศ วกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต (วิศวกรรมไฟฟ้ า) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

การอบรมหลักสู ตร สํ าคัญ

- DCP 105/2008 - ACP 28/2009 - SFE 13/2011 - HRP 4/2013

การถือครอง หุ้น EW ณ วันที่ 31 ธ.ค.58 ไม่มี

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ลําดับ ที่

ชื่ อ-นามสกุล

วันเดือนปี เกิด

อายุ

4.

นายชนินทร์ ทินนโชติ (แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 ธ.ค.57)

23 ก.ย.2505

53

ตําแหน่ ง

แบบ 56-1 ประจําปี 2558 ประสบการณ์ ทํางาน

2557-ปั จจุบนั - กรรมการบริ ษทั ฯ (กรรมการอิสระ) - กรรมการตรวจสอบ - กรรมการธรรมาภิ บ าล 2557-ปั จจุบนั และสรรหา - กรรมการบริ หารความ 2557–ปั จจุบนั เสี่ ยง

กรรมการ บมจ. จัดการ และพัฒนาทรัพยากรนํ้า ภาคตะวันออก (ก) กรรมการ การประปา นครหลวง (ข) หัวหน้าภาควิชา วิศวกรรมสํารวจ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2556-ปั จจุบนั กรรมการบริ หาร (กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ) สํานักงานพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) 2550-ปั จจุบนั รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมสํารวจ คณะวิศวกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543-2549 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมสํารวจ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การศึกษา

การอบรมหลักสู ตร สํ าคัญ

- วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต - DCP 201/2015 ( ก า ร สํ า ร ว จ ร ะ ย ะ ไ ก ล - DAP 114/2015 และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์) - AACP 18/2015 สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย - RCL 1/2015 - PDI 13/2015 - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การผลิตเชิงบูรณาการข้อมูลแผน ที่และข้อมูลภูมิสารสนเทศ) International Institute for Aerospace Survey and Earth Science (ITC), The Netherlands. - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต(สํารวจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ประกาศนียบัตรขั้นสูง (การแผน ที่) , International Institute for Aerospace Survey and Earth Science (ITC), The Netherlands.

การถือครอง หุ้น EW ณ วันที่ 31 ธ.ค.58 ไม่มี

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ลําดับ ที่

ชื่ อ-นามสกุล

วันเดือนปี เกิด

อายุ

ตําแหน่ ง

แบบ 56-1 ประจําปี 2558 ประสบการณ์ ทํางาน

การศึกษา

การอบรมหลักสู ตร สํ าคัญ

การถือครอง หุ้น EW ณ วันที่ 31 ธ.ค.58

- พัฒนบริ หารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม),สถาบันบัณฑิต พัฒนบริ หารศาสตร์ (นิ ดา้ ) - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรี ปทุม

- ปรม.6 - มหานคร รุ่ น 2 - หลักสู ตรโรงเรี ยน ผูก้ าํ กับ รุ่ นที่ 35 - ห ลั ก สู ต ร ก า ร บริ ห ารงานตํา รวจ ขั้นสู ง รุ่ นที่ 25 - RMP 6/2015

ไม่มี

สรุ ป การดํารงตําแหน่งกรรมการใน ปั จจุบนั ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั อื่น (ก) บริ ษทั จดทะเบียน : 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน: 1 แห่ง 5.

พลตํารวจตรี วชิ ยั สังข์ประไพ

(แต่งตั้งเมื่อวันที่ 8 ธ.ค.57)

16 ม.ค. 2498

60

- กรรมการบริ ษทั ฯ (กรรมการอิสระ) - ประธานกรรมการธรร มาภิบาลและสรรหา - กรรมการกํา หนดเกณฑ์ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ดํา เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน - กรรมการบริ หารความ เสี่ ยง

2557-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. จัดการ และพัฒนาทรัพยากรนํ้า ภาคตะวันออก (ก) 2556-2559 ที่ปรึ กษาของผูว้ า่ ราชการ กรุ งเทพมหานคร 2557 รองจเรตํารวจ สํานักงานจเร ตํารวจ 2554 รองผูบ้ ญั ชาการตํารวจ นครบาล 2552 ผูบ้ งั คับการตํารวจนครบาล 1 2551 ผูบ้ งั คับการตํารวจนครบาล 3 2546 ผูบ้ งั คับการตํารวจนครบาล 2 สรุ ป การดํารงตําแหน่งกรรมการใน ปั จจุบนั ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั อื่น (ก) บริ ษทั จดทะเบียน : 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน : 1 แห่ง

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

ลําดับ ที่

ชื่ อ-นามสกุล

วันเดือนปี เกิด

อายุ

ตําแหน่ ง

ประสบการณ์ ทํางาน

การศึกษา

การอบรมหลักสู ตร สํ าคัญ

6.

พันเอก เปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี

16 ส.ค. 2516

42

- กรรมการบริ ษทั ฯ (กรรมการอิสระ) - กรรมการกําหนดเกณฑ์ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ดํา เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และพิจารณาค่าตอบแทน - กรรมการบริ หารและการ ลงทุน - กรรมการบริ หารความ เสี่ ยง

2557-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. จัดการ และพัฒนาทรัพยากรนํ้า ภาคตะวันออก (ก) 2558-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ.ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต้ ีส์ (ข) 2557 กรรมการ บริ ษทั ยูนิ เวอร์แซล ยูทีลิต้ ีส์ จํากัด 2557 นายทหารฝ่ ายเสนาธิการ ประจําผูบ้ งั คับบัญชา กองทัพบก 2553 ผูบ้ งั คับกองพันทหารราบที่ 3 กองพลที่ 1 รักษาพระองค์ 2552 ผูช้ ่วยนายทหารยุทธการ กองยุทธการ กองทัพน้อยที่1 2549 ผูช้ ่วยหัวหน้าฝ่ ายยุทธการ กองพลทหารราบที่ 6 2546 ผูบ้ งั คับกองร้อยกองบัญชา การกองทัพ ภาคที่ 1 สรุ ป การดํารงตําแหน่งกรรมการใน ปั จจุบนั ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั อื่น (ก) บริ ษทั จดทะเบียน : 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน : 1 แห่ง

- วิ ศ วกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต ( วิ ศ ว ก ร ร ม อุ ต ส า ห ก า ร ) โ ร ง เ รี ย น น า ย ร้ อ ย พ ร ะ จุลจอมเกล้า

-

(แต่งตั้งเมื่อวันที่ 8 ธ.ค.57)

การถือครอง หุ้น EW ณ วันที่ 31 ธ.ค.58 ไม่มี

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ลําดับ ที่

7.

ชื่ อ-นามสกุล

วันเดือนปี เกิด

อายุ

นางธัชดา จิตมหาวงศ์ 7 ก.ย. 2500 (แต่งตั้งเมื่อวันที่ 24 ธ.ค.57)

58

ตําแหน่ ง

แบบ 56-1 ประจําปี 2558 ประสบการณ์ ทํางาน

2557-ปั จจุบนั - กรรมการบริ ษทั ฯ (กรรมการอิสระ) - กรรมการตรวจสอบ - กรรมการธรรมาภิ บ าล 2554-ปั จจุบนั และสรรหา

กรรมการ บมจ. จัดการ และพัฒนาทรัพยากรนํ้า ภาคตะวันออก (ก) ผูอ้ าํ นวยการสํานักกํากับ และพัฒนาระบบการบริ หาร การเงินการคลังภาครัฐแบบ อิเล็กทรอนิกส์ กรมบัญชีกลาง 2550-2554 ผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนา ระบบการคลัง กรมบัญชีกลาง 2548-2550 เลขานุการกรม กรมบัญชีกลาง สรุ ป การดํารงตําแ หน่งกรรมการใน ปั จจุบนั ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั อื่น (ก) บริ ษทั จดทะเบียน : 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน : ไม่มี

การศึกษา

- บริ หารธุ รกิ จ มหาบั ณ ฑิ ต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต (การ บั ญ ชี ) เกี ย ร ติ นิ ยมอั น ดั บ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การอบรมหลักสู ตร สํ าคัญ

- DCP 208/2015 - DAP 114/2015 - AACP 18/2015 - FSD 27/2015

การถือครอง หุ้น EW ณ วันที่ 31 ธ.ค.58 ไม่มี

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ลําดับ ที่

8.

ชื่ อ-นามสกุล

นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

วันเดือนปี เกิด

อายุ

ตําแหน่ ง

ประสบการณ์ ทํางาน

การศึกษา

12 ก.พ.2509

49

กรรมการ

2555-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. จัดการ และพัฒนาทรัพยากรนํ้า ภาคตะวันออก (ก) 2555-ปั จจุบนั ผูว้ า่ การ การนิ คมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ) 2554-2555 รองผูว้ า่ การ (ยุทธศาสตร์ และการเงิน) การนิ คม อุตสาหกรรมแห่งประเทศ ไทย (กนอ.) 2551-2554 รองผูว้ า่ การ (ท่าเรื ออุตสาหกรรม) การนิ คมอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (กนอ.) 2551 รักษาการในตําแหน่งรอง ผูว้ า่ การ (ท่าเรื ออุตสาหกรรม) การนิ คมอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (กนอ.) 2547-2551 ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายอํานวยการ สํานักงานนิคมอุตสาหกรรม และท่าเรื ออุตสาหกรรม การนิ คมอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (กนอ.)

- Doctor of Engineering in Environmental Engineering (Water and Wastewater Engineering) สถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) - Master of Science in Civil Engineering (Environmental Engineering) University of Missouri-Rolla , U.S.A. - วิ ศ วกรร มศาสตรบั ณ ฑิ ต ( โ ย ธ า ) , จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ มหาวิทยาลัย

การอบรมหลักสู ตร สํ าคัญ

- DCP 161/2012 - ปปร.15 - วธอ.1 - วพน.

การถือครอง หุ้น EW ณ วันที่ 31 ธ.ค.58 ไม่มี

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ลําดับ ที่

ชื่ อ-นามสกุล

วันเดือนปี เกิด

อายุ

ตําแหน่ ง

แบบ 56-1 ประจําปี 2558 ประสบการณ์ ทํางาน

การศึกษา

การอบรมหลักสู ตร สํ าคัญ

การถือครอง หุ้น EW ณ วันที่ 31 ธ.ค.58

2546-2547

ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายยุทธศาสตร์ และพัฒนาธุรกิจ การนิคม อุตสาหกรรมแห่งประเทศ ไทย (กนอ.) สรุ ป การดํารงตําแหน่งกรรมการใน ปั จจุบนั ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั อื่น (ก) บริ ษทั จดทะเบียน : 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน : ไม่มี 9.

นายชนินทร์ เชาวน์นิรัติศยั

15 ธ.ค.2499

59

กรรมการ

2558-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. จัดการ และพัฒนาทรัพยากรนํ้า ภาคตะวันออก (ก) 2558-ปั จจุบนั กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และ กรรมการ บมจ.ผลิตไฟฟ้า (ก) 2557 รองผูว้ า่ การนโยบายและแผน การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่ง ประเทศไทย 2556 กรรมการ บริ ษทั กฟผ. อินเตอร์เนชัน่ แนล จํากัด 2555 ผูช้ ่วยผูว้ า่ การควบคุมระบบ กําลังไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ าย ผลิตแห่งประเทศไทย

- วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิ ต - DCP 192/2014 (วิศวกรรมไฟฟ้ า) , University - ปปร. of Missouri-Rolla, U.S.A - วิ ศ วกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต (วิศวกรรมไฟฟ้ า) , University of Missouri-Rolla, U.S.A

ไม่มี

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ลําดับ ที่

ชื่ อ-นามสกุล

วันเดือนปี เกิด

อายุ

ตําแหน่ ง

แบบ 56-1 ประจําปี 2558 ประสบการณ์ ทํางาน

การศึกษา

การอบรมหลักสู ตร สํ าคัญ

การถือครอง หุ้น EW ณ วันที่ 31 ธ.ค.58

- รั ฐ ป ร ะ ศ า ส น ศ า ส ต ร มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒ นบริ หารศาสตร์ (นิดา้ ) - วิ ศ วกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต ( วิ ศ ว ก ร ร ม โ ย ธ า ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

-

ไม่มี

2554

ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายควบคุม ระบบกําลังไฟฟ้า การไฟฟ้า ฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย 2553 ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายระบบควบคุมและป้องกัน การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่ง ประเทศไทย สรุ ป การดํารงตําแหน่งกรรมการใน ปั จจุบนั ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั อื่น (ก) บริ ษทั จดทะเบียน : 2 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน : ไม่มี 10.

นายเอกชัย อัตถกาญน์นา

12 พ.ย. 2504

54

กรรมการ

2558-ปั จจุบนั กรรมการ บมจ. จัดการ และพัฒนาทรัพยากรนํ้า ภาคตะวันออก (ก) 2558-ปั จจุบนั รองผูว้ า่ การ (ปฏิบตั ิการ 3) การประปาส่ วนภูมิภาค 2556-2558 ผูอ้ าํ นวยการ การประปาส่ วน ภูมิภาค เขต 1 การประปา ส่ วนภูมิภาค 2554-2556 ผูอ้ าํ นวยการ การประปาส่ วน ภูมิภาค เขต 3 การประปา ส่ วนภูมิภาค

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ลําดับ ที่

ชื่ อ-นามสกุล

วันเดือนปี เกิด

อายุ

ตําแหน่ ง

แบบ 56-1 ประจําปี 2558 ประสบการณ์ ทํางาน

การศึกษา

การอบรมหลักสู ตร สํ าคัญ

การถือครอง หุ้น EW ณ วันที่ 31 ธ.ค.58

2551-2554

ผูอ้ าํ นวยการ การประปาส่ วน ภูมิภาค เขต 8 การประปา ส่ วนภูมิภาค 2549-2551 ผูอ้ าํ นวยการกองแผนงาน และประเมินผล 3 การ ประปาส่วนภูมิภาค 2544-2549 ผูอ้ าํ นวยการ กองวิชาการ การประปาส่ วนภูมิภาค สรุ ป การดํารงตําแหน่งกรรมการใน ปั จจุบนั ของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั อื่น (ก) บริ ษทั จดทะเบียน : 1 แห่ง (ข) กิจการที่ไม่ใช่บริ ษทั จดทะเบียน : ไม่มี

หมายเหตุ ACP : Audit Committee Program AACP : Advanced Audit Committee Program DCP : Director Certification Program DAP : Director Accreditation Program FSD : Financial Statement for Director HRP : How to Develop a Risk Management Plan PDI : หลักสู ตรการกํากับดูแลกิจการสําหรับกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน RCL : Risk Management Program for Corporate Leaders เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

RCP : Role of the Chairman Program RMP : Risk Management Committee Program TEPCOT : Top Executive Program in Commerce and Trade SFE : Successful Formulation & Execution the Strategy บยป. : หลักสู ตรนักบริ หารการยุติธรรมทางปกครองระดับสู ง สํานักงานศาลปกครอง วตท. : หลักสู ตรผูบ้ ริ หารระดับสู ง สถาบันวิทยาการตลาดทุน ปปร. : หลักสู ตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักบริ หารระดับสู ง ปรม. : หลักสู ตรการบริ หารภาครัฐและกฎหมายมหาชน วธอ. : หลักสู ตรนักบริ หารระดับสู งด้านการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและการลงทุน สถาบันวิทยาการธุรกิจและอุตสาหกรรม วพน. : หลักสู ตรผูบ้ ริ หารระดับสู งด้านวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยาการพลังงาน วปอ. : หลักสู ตรการป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ปรอ. : หลักสู ตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่ วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

รายละเอียดเกีย่ วกับผู้บริหารและเลขานุการบริษัทฯ ชื่ อ-สกุล ตําแหน่ ง

อายุ (ปี )

คุณวุฒิทางการศึกษา/ ประวัติ อบรม

สั ดส่ วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (จํานวนหุ้น)

ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอาํ นาจควบคุม

ประสบการณ์ การทํางาน

1. นายเจริ ญสุ ข วรพรรณโสภาค (รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่ สายปฏิ บ ัติ ก าร และรั ก ษาการ กรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่)

52

- M.Sc. Hydraulic Engineering International Institute for Hydraulic and Environmental Engineering ( IHE) , Delft, The Netherlands - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (ทรัพยากรนํ้า) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัติการฝึ กอบรม - Successful Formulation & Execution of Strategy ( SFE) , Thai Institute of Directors, 2015 - หลักสู ตร ประกาศนี ยบัตรชั้น สู ง การ บริ หารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุ่ นที่ 14/2015 สถาบันพระปกเกล้า - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute Berkeley USA, 2013 (Module 2)

ไม่มี

ไม่มี

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) 2558 – ปั จจุบนั รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่สายปฏิบตั ิการ และรักษาการกรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่ 2554 – 2558 รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่สายปฏิบตั ิการ มี.ค. 53 – ธ.ค.53 รักษาการ รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่สาย ปฏิบตั ิการ 2552 – 2553 ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายบริ การลูกค้า และรักษาการรอง กรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่สายงานวางแผนและ บริ การลูกค้า 2545 – 2551 ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายวางแผนโครงการ 2551 – 2552 กรรมการ บริ ษทั เอ็กคอมธารา จํากัด

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ชื่ อ-สกุล ตําแหน่ ง

อายุ (ปี )

คุณวุฒิทางการศึกษา/ ประวัติ อบรม

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

สั ดส่ วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (จํานวนหุ้น)

ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอาํ นาจควบคุม

ประสบการณ์ การทํางาน

หุน้ สามัญ 549,000 หุน้ และ ในนามคู่สมรส 24,580 หุน้

ไม่มี

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) 2554 – ปั จจุบนั รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่สายการเงินและ บัญชี พ.ค. – พ.ย. 58 รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่สายการเงินและ บัญชี และรักษาการกรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่ 2552 – 2553 ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายการเงินและบัญชี 2550 – 2551 ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายอํานวยการ และรักษาการ ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล 2545 – 2550 ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายพัฒนาธุรกิจต่อเนื่อง 2544 – 2545 รักษาการผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายพัฒนาธุรกิจต่อเนื่อง

- Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute Berkeley USA, 2012 (Module 1) - Director Certification Program – DCP 146/2011, Thai Institute of Directors - Senior Executive Program – SEP 2010 - Executive Development Program (EDP) รุ่ น 3/2009, Thai Listed Companies Association 2. นายนําศักดิ์ วรรณวิสูตร (รองกรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี)

50

- MS. (Finance), University of Colorado, USA - บัญชีบณั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการฝึ กอบรม - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA, 2013 (Module 2) - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute Berkeley USA, 2012 (Module 1)

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ชื่ อ-สกุล ตําแหน่ ง

3. นางนํ้าฝน รัษฎานุกลู (ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ ายพัฒนา ธุรกิจ)

อายุ (ปี )

53

คุณวุฒิทางการศึกษา/ ประวัติ อบรม

- Director Certification Program – DCP 155/2012, Thai Institute of Directors - Advance Senior Executive Program – ASEP 2010 - รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองการ ปกครอง) มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช - M.A. สาขาบริ หารรัฐกิจ Glasgow College of Technology, UK - Certificate in Computer Programming and Information Processing London school, UK - รัฐศาสตรบัณฑิต (บริ หารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการฝึ กอบรม - Sustainable Brand’s 15 Bangkok (TMA), 2015 - หลักสู ตรนักบริ หารการยุติธรรมทาง ปกครองระดับสู ง (บยป) รุ่ นที่ 5

สั ดส่ วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (จํานวนหุ้น)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอาํ นาจควบคุม

ประสบการณ์ การทํางาน

มี.ค.- ต.ค. 44

หุน้ สามัญ 2,000 หุน้

ไม่มี

ผูจ้ ดั การแผนกพัฒนาธุรกิจ

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) 2558 – ปั จจุบนั ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ ายพัฒนาธุรกิจ ก.พ. – ก.ค. 58 ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล 2550 – 2558 ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส สํานักกรรมการผูอ้ าํ นวยการ ใหญ่และเลขานุการบริ ษทั ฯ 2547 – 2550 ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส สํานักตรวจสอบ และ เลขานุการบริ ษทั ฯ 2544 – 2547 ผูอ้ าํ นวยการ สํานักตรวจสอบ มี.ค.- ต.ค. 44 ผูอ้ าํ นวยการ สํานักกรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่ 2537 – 2544 ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายบริ หาร

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ชื่ อ-สกุล ตําแหน่ ง

อายุ (ปี )

คุณวุฒิทางการศึกษา/ ประวัติ อบรม

สั ดส่ วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (จํานวนหุ้น)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอาํ นาจควบคุม

ประสบการณ์ การทํางาน

- หลักสู ตร การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ ดีเพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนสําหรับนัก บริ หารระดับสู ง (ก.พ.ร.) รุ่ นที่ 1 - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA, 2013 (Module 2) - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute Berkeley USA, 2012 (Module 1) - Senior Executive Program – SEP 2011 - หลั ก สู ต ร ประ กา ศ นี ยบั ต รชั้ น สู ง ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง ใ น ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย สํ า ห รั บ นั ก บ ริ ห า ร ระดับสู ง (ปปร.) รุ่ นที่ 11 - หลัก สู ต รประกาศนี ย บัต รชั้น สู ง การ บริ หารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน (ปรม.) รุ่ น 1 - Director Certification Program – DCP 4/2000, Thai Institute of Directors

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

ชื่ อ-สกุล ตําแหน่ ง

อายุ (ปี )

คุณวุฒิทางการศึกษา/ ประวัติ อบรม

สั ดส่ วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (จํานวนหุ้น)

ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอาํ นาจควบคุม

ประสบการณ์ การทํางาน

4. นางธิดารัชต์ ไกรประสิ ทธิ์ (ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ ายการเงิน และบัญชี)

52

- บริ หารธุ รกิ จมหาบั ณ ฑิ ต (MBA) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - บัญชีบณั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการฝึ กอบรม - ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต (CPA) - Strategic CFO in Capital Markets Program, 2015 - ประกาศนียบัตร CFO รุ่ นที่ 19/2015 - Director Certification Program – DCP 197/2014, Thai Institute of Directors - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA, 2013 (Module 2) - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute Berkeley USA, 2012 (Module 1) - Audit Committee Program (ACP) รุ่ น 26/2009 - Executive Development Program (EDP) รุ่ น 4

หุน้ สามัญ 630,000 หุน้

ไม่มี

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) 2558 – ปั จจุบนั ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ ายการเงินและบัญชี 2552 – 2558 ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ ายตรวจสอบ 2550 – 2551 ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ ายการเงินและบัญชี 2547 – 2550 ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ ายการเงินและทรัพยากร บุคคล 2544 – 2547 ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายการเงินและทรัพยากรบุคคล 2540 – 2544 ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายการเงินและพัสดุ

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ชื่ อ-สกุล ตําแหน่ ง

5. นายเชิดชาย ปิ ติวชั รากุล (ผู ้อ ํา นวยการอาวุ โ ส ประจํา สํ า นั ก กรรมการผู ้อ ํา นวยการ ใหญ่ และรั ก ษาการกรรมการ ผูจ้ ดั การ บมจ. ยูนิเวอร์ แซล ยูที ลิต้ ีส์)

อายุ (ปี )

51

คุณวุฒิทางการศึกษา/ ประวัติ อบรม

- ห ลั ก สู ต ร ก า ร บ ริ ห า ร เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สาธารณะสําหรับนักบริ หารระดับสู ง รุ่ น 5 - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิ ต (เทคโนโลยี สารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย ขอนแก่น ประวัติการฝึ กอบรม - หลัก สู ต รการบริ ห ารการตลาด สร้ า ง ภาพลัก ษณ์ แ ละลุ ก ค้า สั ม พัน ธ์ ยุ ค ใหม่ สํ า หรั บ ผู ้บ ริ หารองค์ ก รภาครั ฐ และ ภาคเอกชน (Smart Marketing) รุ่ นที่ 4/2558 - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA, 2013 (Module 2) - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute Berkeley USA, 2012 (Module 1)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

สั ดส่ วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (จํานวนหุ้น)

ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอาํ นาจควบคุม

ประสบการณ์ การทํางาน

ไม่มี

ไม่มี

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) 2558 – ปั จจุบนั ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ประจําสํานักกรรมการ ผูอ้ าํ นวยการใหญ่ 2556 – 2558 ผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ ายปฏิบตั ิการและบริ การ ลูกค้า 2553 – 2556 ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายปฏิบตั ิการและบริ การลูกค้า 2552 – 2553 ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายพัฒนาธุรกิจ 2550 – 2552 ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายโครงการพิเศษ 2544 – 2550 ผูอ้ าํ นวยการ ศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา และ รักษาการผูอ้ าํ นวยการศูนย์ปฏิบตั ิการระยอง 2558 – ปั จจุบนั รักษาการกรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต้ ีส์ จํากัด (มหาชน) 2551 – 2552 รักษาการกรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต้ ีส์ จํากัด

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ชื่ อ-สกุล ตําแหน่ ง

6. นางวิราวรรณ ธารานนท์ (ผู ้อ ํา นวยการสํ า นัก กรรมการ ผู ้ อํ า น ว ย ก า ร ใ ห ญ่ แ ล ะ เลขานุการบริ ษทั ฯ)

อายุ (ปี )

57

คุณวุฒิทางการศึกษา/ ประวัติ อบรม

- Executive Development Program (EDP) รุ่ น 3 - หลัก สู ต รการบริ ห ารจัด การนํ้า แบบ บูรณาการสําหรับผูบ้ ริ หารระดับสู ง รุ่ น 2 - Director Certification Program – DCP 132/2010, Thai Institute of Directors - Mini MBA มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รุ่ นที่ 21 (2002) - Mini MIS มหาวิท ยาลัย เกษตรศาสตร์ รุ่ นที่ 2 (1997) - บริ หารธุ รกิ จมหาบั ณ ฑิ ต (MBA) สถาบัน บัณ ฑิ ต บริ ห ารธุ ร กิ จ ศศิ น ทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - บัญชีบณั ฑิต คณะพาณิ ชยศาสตร์และ การบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการฝึ กอบรม - Company Secretary Program ( IOD) , 2015 - Director Certification Program – DCP 192/2014, Thai Institute of Directors

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

สั ดส่ วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (จํานวนหุ้น)

ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอาํ นาจควบคุม

ประสบการณ์ การทํางาน

ไม่มี

ไม่มี

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) 2558 – ปั จจุบนั ผูอ้ าํ นวยการสํานักกรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่และ เลขานุการบริ ษทั ฯ 2556 – 2558 ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล 2552 – 2556 ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายอํานวยการ 2550 – 2551 ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายตรวจสอบ 2549 – 2550 ผูอ้ าํ นวยการสํานักกรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่ 2548 – 2549 ผูจ้ ดั การสํานักกรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่ 2547 – 2548 ผูจ้ ดั การ งานบริ หารความเสี่ ยงกลุ่มบริ ษทั ฯ

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ชื่ อ-สกุล ตําแหน่ ง

7. นางสาวกันยานาถ วีระพันธุ์ ( ผู ้ อ ํ า น ว ย ก า ร ฝ่ า ย สื่ อ ส า ร องค์กร)

อายุ (ปี )

46

คุณวุฒิทางการศึกษา/ ประวัติ อบรม

- Anti-Corruption : The Practical Guide, Thai Institute of Director (IOD) – ACPG 8/2014 - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA, 2013 (Module 2) - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute Berkeley USA, 2012 (Module 1) - กฎหมายสํ า หรั บ การดํา เนิ น กิ จ การที่ เ ป็ น บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ ส ถ า บั น พระปกเกล้า - หลักสู ตรคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทํางาน - Organizational Risk Management Program, Listed Companies Association - บริ หารธุรกิจ (บัญชี) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประวัติการฝึ กอบรม

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

สั ดส่ วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (จํานวนหุ้น)

ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอาํ นาจควบคุม

ประสบการณ์ การทํางาน

หุน้ สามัญ 220,000 หุน้

ไม่มี

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) 2554 – ปั จจุบนั ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายสื่ อสารองค์กร 2550 – 2554 ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายสื่ อสารองค์กร

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ชื่ อ-สกุล ตําแหน่ ง

8. นายโสกุล เชื้อภักดี (ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายวิศวกรรม)

อายุ (ปี )

51

คุณวุฒิทางการศึกษา/ ประวัติ อบรม

- Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA, 2013 (Module 2) - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute Berkeley USA, 2012 (Module 1) - Executive Development Program (EDP) รุ่ น 5, 2010 - บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการฝึ กอบรม - หลักสู ตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับ บริ หาร - Anti-Corruption : The Practical Guide, Thai Institute of Director (IOD) – ACPG 13/2014

สั ดส่ วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (จํานวนหุ้น)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอาํ นาจควบคุม

ประสบการณ์ การทํางาน

2549 – 2550 2545 – 2549 2544 – 2545 มี.ค.-พ.ย.44

หุน้ สามัญ 250 หุน้

ไม่มี

ผูจ้ ดั การงานประชาสัมพันธ์ สํานักกรรมการ ผูอ้ าํ นวยการใหญ่ ผูจ้ ดั การ ฝ่ ายบริ หารและประสานงานทัว่ ไป (Secondment – EHP) ผูจ้ ดั การ แผนกกิจการสัมพันธ์ ฝ่ ายอํานวยการ ผูจ้ ดั การ แผนกกิจการสัมพันธ์ สํานักกรรมการ ผูอ้ าํ นวยการใหญ่

2558 – ปั จจุบนั ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายวิศวกรรม บมจ.จัดการและพัฒนา ทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก 2557 – 2558 ผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายวางแผนโครงการ บมจ.จัดการ และพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก 2554 – 2556 ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายวิศวกรรม องค์การจัดการนํ้าเสี ย 2552 – 2554 ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ดั การ บมจ.เจนเนอรัล เอนจิเนียริ่ ง 2541 – 2552 ผูจ้ ดั การแผนกอาวุโส หน่วยธุรกิจต่อเนื่อง ฝ่ าย พัฒนาธุรกิจ บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้า ภาคตะวันออก

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ชื่ อ-สกุล ตําแหน่ ง

9. นางสาวจินดา มไหสวริ ยะ (ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายอํานวยการ)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

อายุ (ปี )

คุณวุฒิทางการศึกษา/ ประวัติ อบรม

สั ดส่ วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (จํานวนหุ้น)

ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอาํ นาจควบคุม

ประสบการณ์ การทํางาน

53

- พั ฒ นบริ หารศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณ ฑิ ตพัฒนบริ หารศาสตร์ (นิดา้ ) - ศิลปศาสตรบัณฑิต (การจัดการทัว่ ไป) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ประวัติการฝึ กอบรม - หลัก สู ตร การบริ หารจั ด การธุ ร กิ จ ส มั ย ใ ห ม่ ( Modern Executive Micro MBA), 2015 - Train the trainer - Anti-Corruption : The Practical Guide, Thai Institute of Director (IOD) – ACPG 13/2014 - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA, 2013 (Module 2) - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute Berkeley USA, 2012 (Module 1)

หุน้ สามัญ 220,000 หุน้

ไม่มี

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) 2558 – ปั จจุบนั ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายอํานวยการ ก.พ. – มิ.ย. 58 รักษาการผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายอํานวยการ 2554 – 2558 ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายอํานวยการ 2552 – 2554 ผูจ้ ดั การ แผนกจัดซื้ อ ฝ่ ายอํานวยการ 2549 – 2552 ผูจ้ ดั การ แผนกกิจการสัมพันธ์ ฝ่ ายสื่ อสารองค์กร 2547 – 2549 ผูจ้ ดั การ แผนกจัดหาพัสดุ ฝ่ ายอํานวยการ

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ชื่ อ-สกุล ตําแหน่ ง

อายุ (ปี )

10. นางสาวดวงรัตน์ พิทกั ษ์ ( ผู ้ ช่ ว ย ผู ้ อํ า น ว ย ก า ร ฝ่ า ย ทรัพยากรบุคคล และรักษาการ ผู ้ อ ํ า นวยการฝ่ ายทรั พ ยากร บุคคล)

50

11. นางสาวธารทิพย์ โพธิสรณ์

44

คุณวุฒิทางการศึกษา/ ประวัติ อบรม

- Executive Development Program (EDP) 2011 - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยา อุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - สังคมวิทยาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการฝึ กอบรม - ประกาศนี ย บั ต รธรรมาภิ บ าลของ ผู ้บ ริ หารระดั บ กลาง (ปธก.17/2015) สถาบันพระปกเกล้า - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute Berkeley USA, 2012 (Module 1) - Executive Development Program (EDP 12) 2013 - วิทยาศาสตรมหาบัณ ฑิ ต (เทคโนโลยี สารสนเทศ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

สั ดส่ วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (จํานวนหุ้น)

ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอาํ นาจควบคุม

ประสบการณ์ การทํางาน

ไม่มี

ไม่มี

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) 2558 – ปั จจุบนั ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายทรัพยากรบุคคล และ รักษาการผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายทรัพยากรบุคคล 2556 – 2558 ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการ ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล 2555 – 2556 ผูจ้ ดั การ แผนกจัดซื้ อ 2554 – 2555 ผูจ้ ดั การ แผนกพัฒนาบุคลากร 2552 – 2554 ผูจ้ ดั การแผนกทรัพยากรบุคคล

ไม่มี

ไม่มี

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) 2558 – ปั จจุบนั ผูจ้ ดั การแผนกระบบเครื อข่าย และรักษาการ ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

ชื่ อ-สกุล ตําแหน่ ง

(ผูจ้ ดั การแผนกระบบเครื อข่าย และรักษาการผูอ้ าํ นวยการฝ่ าย เทคโนโลยีสารสนเทศ)

อายุ (ปี )

คุณวุฒิทางการศึกษา/ ประวัติ อบรม

- วิ ท ยาศาสตรบัณ ฑิ ต (คณิ ต ศาสตร์ ) มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยีพ ระจอมเกล้า ธนบุรี ประวัติการฝึ กอบรม - Thailand ICT Management Forum & Thailand ICT Excellence Award 2016 - ผูจ้ ดั การมืออาชีพ (The Manager) - Train the trainer - การจัดการไอซี ที สําหรับผูจ้ ดั การสาย งานไอซีที รุ่ นที่ 3 - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute Berkeley USA, 2013 (Module 2) - Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute Berkeley USA, 2012 (Module 1) - CIO In Digital Marketing - IBM Leadership - Strategic Thinking

สั ดส่ วนการ ถือหุ้นใน บริษัท (จํานวนหุ้น)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

ความสั มพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่ างกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอาํ นาจควบคุม

ประสบการณ์ การทํางาน

2550 – 2558

ผูจ้ ดั การ แผนกระบบเครื อข่าย

เอกสารแนบ 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษัทย่อย (ข้อมูล ณ 31 ธันวาคม 2558) รายชื่ อ 1. นายวิทยา ฉายสุ วรรณ 2. พลเรื อเอกอมรเทพ ณ บางช้าง 3. พันโทเปรมจิรัสย์ ธนไทยภักดี 4. นางสาวอัจฉรา วัฒนสุ ข 5. นายสายสุ รีย ์ บุนนาค 6. พลเอกธนดล เผ่าจินดา 7. นายกัญจน์พงศ์ กังวาฬ 8. นายชัชวาล ปั ญญาวาทีนนั ท์ 9. นางจันทิมา ปั ทมะสุ นทร 10. พลโทเอนก อินทร์อาํ นวย หมายเหตุ  = ประธานกรรมการ

บมจ. ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลติ สี้ ์

บจ.ประปาฉะเชิงเทรา

บจ.ประปาบางปะกง

บจ.ประปานครสวรรค์

        







 = กรรมการ

เอกสารแนบ 2


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

รายละเอียดเกีย่ วกับหัวหน้ างานผู้ตรวจสอบภายในและหัวหน้ างานกํากับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัทฯ 1. หัวหน้ างานผู้ตรวจสอบภายใน ชื่ อ-สกุล นายประสิ ทธิ์ สกุลเกสรี วรรณ* ตําแหน่ ง

คุณวุฒทิ างการศึกษา

ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายตรวจสอบ และรักษาการผูอ้ าํ นวยการฝ่ าย ตรวจสอบ 

ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ (การบัญชี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปริ ญญาตรี การบัญชีตน้ ทุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุ งเทพ วิทยาเขตเทคนิคกรุ งเทพฯ

ประสบการณ์ ทาํ งาน

การอบรมหลักสู ตรสํ าคัญ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก ก.ค. - ต.ค. 58 ผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการฝ่ าย และรักษาการผูอ้ าํ นวยการฝ่ าย ตรวจสอบ 2556 – 2558 ผูจ้ ดั การแผนกเลขานุการคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ก.พ. 54 ผูจ้ ดั การสํานักกรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่ มี.ค. 53 ผูจ้ ดั การแผนกวิเคราะห์และพัฒนาระบบ ต.ค. 52 ผูจ้ ดั การแผนกตรวจสอบ มี.ค. 52 รักษาการผูจ้ ดั การแผนกตรวจสอบ ต.ค. 47 นักตรวจสอบอาวุโส พ.ย. 45 นักตรวจสอบ  Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA.,2013 (Module 2) 

Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA.,2012 (Module 1)

กฎหมายสําหรับการดําเนินกิจการที่เป็ นบริ การสาธารณะ

หมายเหตุ : *ลาออกจากตําแหน่งโดยมีผลวันที่ 31 ตุลาคม 2558 และอยูใ่ นระหว่างการสรรหาผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายตรวจสอบคน ใหม่

เอกสารแนบ 3


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

2. หัวหน้ างานกํากับดูแลการปฏิบตั งิ านของบริษทั ฯ นางวิราวรรณ ธารานนท์ ชื่ อ สกุล ผูอ้ าํ นวยการสํานักกรรมการผูอ้ าํ นวยการใหญ่ และเลขานุการบริ ษทั ฯ ตําแหน่ ง MBA, สถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจ ศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คุณวุฒทิ างการศึกษา บัญชีบณั ฑิต คณะพาณิ ชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก ประสบการณ์ การทํางาน ก.พ.58 –ปัจจุบนั ผู ้ อ ํ า นวยการ สํ า นั ก กรรมการผู ้ อ ํ า นวยการใหญ่ และ เลขานุการบริ ษทั ฯ ก.ย.56 – ก.พ. 58 ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายทรัพยากรบุคคล ม.ค. 52 – ก.ย.56 ผูอ้ าํ นวยการฝ่ ายอํานวยการ • หลักสู ตร Director Certification Program (DCP 192/2014) สมาคมส่ งเสริ ม การอบรมหลักสู ตรสํ าคัญ สถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย • หลักสู ตร Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG 8/2014) สมาคม ส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย • หลักสู ตร Management Development Program สถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจ ศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสู ตร Organization Risk Management Program สมาคมบริ ษทั จดทะเบียน ไทย • หลักสู ตร Company Secretary Program สมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการ บริ ษทั ไทย • Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA.,2013 (Module 2) • Leadership Development Workshop by Executive Coaching Institute, Berkeley USA.,2012 (Module 1) • หลักสู ตร “กฎหมายสําหรับการดําเนินกิจการที่เป็นบริ การสาธารณะ” สถาบัน พระปกเกล้า • ตรวจสอบ และกํากับดูแลการประกอบธุรกิจของบริ ษทั ให้เป็ นไปตาม หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ กฎหมายและประกาศต่าง ๆ ระเบียบ และวิธีการปฏิบตั ิงาน ที่เกี่ยวข้อง • จัดส่ งและจัดทํารายงานผลการกํากับดูแลการปฏิบตั ิงาน และตรวจสอบถึง รายละเอียดเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อย่างสมํ่าเสมอ และรายงานโดยทันทีกรณี ที่ อาจมี หรื อมีเหตุการณ์ที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อบริ ษทั และตลาดทุน โดยรวมอย่างมีนยั สําคัญ • เข้าร่ วมพิจารณากําหนดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน หรื อการทําธุรกรรมใหม่ ๆ ของบริ ษทั เพื่อให้ดาํ เนินการและปฏิบตั ิตามนโยบาย แนวทาง และเกณฑ์ที่ คณะกรรมการบริ ษทั กําหนด รวมทั้งหลักเกณฑ์ จรรยาบรรณ หรื อข้อพึง เอกสารแนบ 3


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

ปฏิบตั ิ ที่กาํ หนดโดยกฎหมาย • รวบรวม เผยแพร่ ขอ้ มูล และให้ความรู ้ คําปรึ กษาแก่หน่วยงานต่าง ๆ ใน บริ ษทั เกี่ยวกับวิธีปฏิบตั ิงาน เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมาย ประกาศ กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ จรรยาบรรณ หรื อข้อพึงปฏิบตั ิต่างๆ รวมทั้งการจัด อบรมความรู ้ที่เกี่ยวข้อง • ติดต่อหรื อประสานงานกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

เอกสารแนบ 3


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

รายละเอียดเกีย่ วกับรายการประเมินราคาทรัพย์ สิน บริ ษทั ฯ ว่าจ้างบริ ษทั ฟานิ ก แอพเพรซัล จํากัด ให้สํารวจและประเมินมูลค่าทรัพย์สินของบริ ษทั ฯ โดยบริ ษ ัท ฟานิ ก แอพเพรซัล จํากัด ได้สํารวจทรั พ ย์สิ น ของบริ ษ ัท ฯ เมื่ อวัน ที่ 18 ธัน วาคม 2558 และมี รายงานผลการประเมิน* ดังนี้ ผลสรุ ปการประเมินมูลค่ าทรัพย์ สินทีด่ ินทีต่ ้งั อาคารสํ านักงานใหญ่ บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) ชื่ อลูกค้ า ที่ดิน จํานวน 3 แปลง (ติดกัน) เนื้ อที่ดินรวม 1-2-48 ไร่ หรื อ 648 ตารางวา ประเภททรัพย์ สิน และอาคารสํานักงาน 25 ชั้น มี ช้ ัน ใต้ดิ นและดาดฟ้ า พร้ อมส่ วนปรั บปรุ ง พัฒนา เลขที่ 1 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร ทีต่ ้งั ทรัพย์ สิน โฉนดที่ดินเลขที่ 69939 - 69941 ตําบลลาดยาว (บางซื่อฝั่งเหนือ) เอกสารสิ ทธิ์ครอบครอง อําเภอบางเขน (บางซื่อ) กรุ งเทพมหานคร ไม่มีภาระผูกพัน ภาระผูกพัน เพื่อทราบมูลค่าทรัพย์สิน วัตถุประสงค์ การประเมิน หลักเกณฑ์ การประเมินมูลค่ า หลักเกณฑ์มูลค่าตลาด วิธีรายได้ วิธีการประเมินมูลค่ า 18 ธันวาคม 2558 วันทีป่ ระเมินมูลค่ า 746,900,000 บาท (เจ็ดร้อยสี่ สิบหกล้านเก้าแสนบาทถ้วน) มูลค่ าทรัพย์ สิน 522,830,000 บาท (ห้าร้อยยีส่ ิ บสองล้านแปดแสนสามหมื่นบาทถ้วน) มูลค่ าบังคับขาย 473,235,000 บาท (สี่ ร้อยเจ็ดสิ บสามล้านสองแสนสามหมื่นห้าพันบาทถ้วน) มูลค่ าประกันอัคคีภัย ผู้ ต รวจสอบและผู้ ป ระเมิ น 1. นายยศพัทธ์ ชูดอกพุฒ ผูต้ รวจสอบและผูป้ ระเมินมูลค่า 2. นายชัยฤกษ์ ทองตา ผูต้ รวจสอบและผูป้ ระเมินหลักชั้นวุฒิ เลขที่ วฒ.148 มูลค่ า หมายเหตุ *อ้า งอิ ง จากหนั ง สื อ แจ้ง ผลการตรวจสอบและประเมิ น มู ล ค่ า ทรั พ ย์สิ น ประจํา ปี 2558 ของบริ ษ ัท ฟานิ ก แอพเพรซัล จํากัด ที่ FN 581897-W-R ฉบับลงวันที่ 24 ธันวาคม 2558

เอกสารแนบ 4


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํ้าภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ประจําปี 2558

ผลสรุ ปการประเมินมูลค่ าทรัพย์ สินทีด่ ินทีจ่ ังหวัดฉะเชิงเทรา ที่ ดิ น เปล่ า จํานวน 2 แปลง(ติ ด กัน ) เนื้ อ ที่ ดิ น รวม 10-0-0 ไร่ หรื อ 4,000 ประเภททรัพย์ สิน ตารางวา หมู่ 1 ถนนสายคลองใหม่ – บางควาย ตําบลหนองจอก อําเภอบางปะกง ทีต่ ้งั ทรัพย์ สิน จังหวัดฉะเชิงเทรา โฉนดที่ดินเลขที่ 20143 และ 20146 ตําบลหนองจอก อําเภอบางปะกง เอกสารสิ ทธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ไม่มีภาระผูกพัน ภาระผูกพัน วัตถุประสงค์ การประเมิน เพื่อทราบมูลค่าทรัพย์สิน ห ลั ก เกณ ฑ์ การป ระเมิ น หลักเกณฑ์มูลค่าตลาด มูลค่ า วิธีเปรี ยบเทียบราคาตลาด วิธีการประเมินมูลค่ า 18 ธันวาคม 2558 วันทีป่ ระเมินมูลค่ า 19,000,000 บาท (สิ บเก้าล้านบาทถ้วน) มูลค่ าทรัพย์ สิน 11,400,000 บาท (สิ บเอ็ดล้านสี่ แสนบาทถ้วน) มูลค่ าบังคับขาย ผู้ ต รวจสอบและผู้ ป ระเมิ น 1. นายยศพัทธ์ ชูดอกพุฒ ผูต้ รวจสอบและผูป้ ระเมินมูลค่า 2. นายชัยฤกษ์ ทองตา ผูต้ รวจสอบและผูป้ ระเมินหลักชั้นวุฒิ เลขที่ วฒ.148 มูลค่ า หมายเหตุ *อ้า งอิ ง จากหนั ง สื อ แจ้ง ผลการตรวจสอบและประเมิ น มู ล ค่ า ทรั พ ย์สิ น ประจํา ปี 2558 ของบริ ษ ัท ฟานิ ก แอพเพรซัล จํากัด ที่ FN 581898-W-R ฉบับลงวันที่ 24 ธันวาคม 2558

เอกสารแนบ 4


-ไม่มี-


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.