EASTW: Annual Report 2010 THAI

Page 1

ทุกหยดน้ำ สรางชีวิต

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมทอง เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Tel : 02-272-1600 Fax : 02-272-1601-3 www.eastwater.com


สารบัญ 1 4 8 10 14 17 20 32 34 36 38 45 58 59 61 63 64 65 66 74 127 128 129 131 132

จุดเด่นในรอบปี กลยุทธ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ สารจากประธานกรรมการ คณะกรรมการบริษัทและที่ปรึกษา ผู้บริหารบริษัท โครงสร้างองค์กร สร้างความพึงพอใจผู้มีส่วนร่วม ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ลักษณะการดำเนินธุรกิจและสัดส่วนการถือหุ้นบริษัทในเครือ ปัจจัยเสี่ยง รายงาน และวิเคราะห์ผลการดำเนินงานของฝ่ายจัดการ การกำกับดูแลกิจการที่ดี นิยามกรรมการอิสระ การประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน รายงานการกำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานคณะกรรมการธรรมาภิบาล รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท รายการระหว่างกัน ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ข้อมูลทั่วไป รายชื่อผู้ถือหุ้น10 อันดับแรก นโยบายการจ่ายเงินปันผล


จุดเด่นในรอบปี

ตารางเปรียบเทียบความสามารถในการสูบส่งน้ำ กับปริมาณน้ำดิบที่สูบส่งให้ลูกค้าระหว่างปี 2546 - 2553 หน่วย : ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี

2546

ปริมาณการใช้น้ำรวม ความสามารถในการสูบส่งน้ำ อัตราความสามารถในการสูบส่งน้ำต่อปริมาณ ความต้องการ (หน่วย : เท่า)

156.52 177.65 190.10 199.36 211.20 227.69 328.00 343.00 423.00 423.00 473.00 473.00 2.10

2547

1.93

2548

2.23

2549

2.12

2550

2.24

2551

2.08

3 เดือน ต.ค.-ธ.ค. 2551 2552 1 2553 1 51.86 221.27 244.88 473.00 473.00 473.002 2.28

2.28

1.93

1 รอบระยะเวลาบัญชีตั้งแต่ 1 มกราคม -31 ธันวาคม 2โครงการวาท่อส่งน้ำดิบหนองปลาไหล-มาบตาพุด เส้นที่ 3 ซึง่ อยูร่ ะหว่างการก่อสร้างและมีกำหนดแล้วเสร็จในปี 2554 เพิม ่ ความสามารถ

หมายเหตุ ในการสูบส่งน้ำ 105.00 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี

ตารางเปรียบเทียบข้อมูลอัตราส่วนทางการเงิน รายการ มูลค่าตามบัญชี กำไรสุทธิต่อหุ้น เงินปันผลต่อหุ้น อัตรากำไรสุทธิต่อรายได้รวม อัตราผลตอบแทนต่อส่วน ของผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราส่วนหนี้ต่อส่วน ของผู้ถือหุ้น

งบการเงินเฉพาะบริษัทฯ งบการเงินรวม 3เดือน 3เดือน ต.ค.-ธ.ค. ต.ค.-ธ.ค. 2550 2551 2551 25521 25531 2550 2551 2551 25521 3.35 3.47 3.54 3.63 3.74 3.50 3.59 3.68 3.81 0.33 0.31 0.08 0.44 0.50 0.33 0.34 0.09 0.49 2 0.25 0.25 - 0.35 0.13 0.25 0.25 - 0.35 3 30.20 22.98 25.30 25.10 30.92 19.864 18.13 23.45 23.03 28.04 12.833 9.58 10.09 8.68 12.20 13.484 9.36 10.70 9.66 12.96 3 9.66 4.86 5.87 5.79 8.63 9.774 4.49 5.97 6.26 8.73 0.97

0.52

0.48

0.35

0.41

1.09

0.56

0.53

0.44

25531 3.98 0.55 0.132 27.873 19.444 13.413 14.034 9.463 9.564 0.49

1 รอบระยะเวลาบัญชีตั้งแต่ 1 มกราคม -31 ธันวาคม 2 เงินปันผลระหว่างกาลประกาศจ่ายตามมติคณะกรรมการบริษัทในการประชุมครั้งที่ 8/2553 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2553 3 ตัดรายการรายได้ ต้นทุน กำไร แลผลกระทบทางภาษีในส่วนที่เกี่ยวข้องของโครงการวางท่อเชื่อมโยง จากอ่างเก็บน้ำประแสร์ไป

หมายเหตุ อ่างเก็บน้ำคลองใหญ่ จังหวัดระยอง ออกจากการคำนวณเพือ่ การวิเคราะห์ เปรียบเทียบเฉพาะส่วนทีเ่ ป็นผลการดำเนินงานปกติของบริษทั 4 รวมรายการรายได้ ต้นทุน กำไร แลผลกระทบทางภาษีในส่วนที่เกี่ยวข้องของโครงการวางท่อเชื่อมโยงจากอ่างเก็บน้ำประแสร์ไป อ่างเก็บน้ำคลองใหญ่ จังหวัดระยอง

รวมและกำไรสุทธิ รายได้ เปรี ยบเทียบ 2550-2553 (ล้านบาท)

แหล่งที่มาของรายได้ (ล้านบาท)


ýıČĜIJśĤĜİĦĹĚŚ

ĔĜĭĚīČĒľĬēĒķĞú ĵĔŢĒĒľĬĵýļĚĐĮĽėēĹčśĸĒĐĩĵĞĶĞĩĚĤīģĚıĐĜ

ĵĔŢĒĒľĬĶûļĀĄįĽĀĹĚŚģīĚīĜďĒĬĚīĸăśĹčś

ģīĚīĜďĒĬĚīčİĽĚĹčś


ĒľĬēĒķĞúĒĮľĚĮĔĜĩĚīČ


วิสัยทัศน์

มุ่งสู่การเป็นผู้นำด้านการจัดการน้ำอย่างมีคุณค่าเพื่อ ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน หรือ Water solution for all

พันธกิจ

• พัฒนาและจัดการระบบประปา ระบบการนำน้ำกลับมา ใช้ ใ หม่ (Reuse) และระบบการบำบั ด น้ ำ เสี ย ด้ ว ย เทคโนโลยีและต้นทุนที่เหมาะสม • เป็นศูนย์ความรู้ทางเทคโนโลยีด้านน้ำในระดับภูมิภาค • สร้างความภาคภูมิใจแก่พนักงาน ในฐานะผู้นำด้านการ จัดการน้ำ • ดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชนท้องถิ่น และห่วงใยสิง่ แวดล้อม (Corporate Social Responsibility) • รักษาอัตราการเติบโตทางธุรกิจอย่างโปร่งใสและบูรณาการ • จัดหาแหล่งน้ำและบริหารจัดการโครงข่ายท่อส่งน้ำดิบเพื่อ การอุปโภคบริโภคและอุตสาหกรรมอย่างพอเพียง

กลยุทธ์

เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละพั น ธกิ จ บริ ษั ท ได้ ก ำหนดกลยุ ท ธ์ (Strategies)ให้สอดคล้องกันโดยกำหนดให้ครอบคลุม 4 ด้านสำคัญ ได้ แ ก่ ด้ า นการเงิ น และการลงทุ น ด้ า นกลุ่ ม ผู้ มี ผ ลประโยชน์ ร่ ว ม (Stakeholders) ด้านการจัดการ และด้านการเรียนรู้ การพัฒนาองค์กร และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีรายละเอียดดังนี้


1. ด้านการเงินและการลงทุน 1.1 เพิ่มรายได้หลักและพัฒนาธุรกิจต่อเนื่อง 1.2 ควบคุมต้นทุนให้เหมาะสม 1.3 บริหารทางการเงิน เพื่อรองรับการลงทุน 1.4 พัฒนาธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องและอื่นๆ 1.5 มุ่งพัฒนาธุรกิจและพันธมิตรในต่างประเทศ 1.6 ส่งเสริมนโยบายด้านราคาค่าน้ำดิบให้เหมาะสมกับต้นทุน 2. ด้านกลุ่มผู้มีผลประโยชน์ร่วม 2.1 สร้างความพึงพอใจแก่ผู้มีผลประโยชน์ร่วมด้านต่างๆ (Stakeholders) 2.2 ส่งเสริมภาพลักษณ์องค์กร 3. ด้านการจัดการ 3.1 จัดหาแหล่งน้ำและแหล่งน้ำสำรอง 3.2 เพิ่มปริมาณน้ำจำหน่าย 3.3 รักษาเสถียรภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการสูบจ่ายน้ำ 3.4 กำกับดูแลกิจการที่ดี 3.5 บริหารทรัพย์สินให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด 3.6 จัดโครงสร้างองค์กรเชื่อมโยงกลุ่มบริษัท 4. ด้านการเรียนรู้ การพัฒนาองค์กรและเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.1 พัฒนาความรู้ความสามารถและส่งเสริมให้มีความเจริญ ก้าวหน้าของพนักงาน และให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม 4.2 ส่งเสริมคุณภาพชีวิตและสภาพแวดล้อมของพนักงาน และสำนักงาน 4.3 พัฒนาระบบงานองค์กร (Enterprise System) แบบบูรณาการ (Integration) 4.4 รักษาเสถียรภาพและประสิทธิภาพของระบบ คอมพิวเตอร์และเครือข่ายกลุ่มบริษัท


คุณรูหรือไม ?

กอกน้ำที่

ใน 1 วัน คนเราใชน้ำ ในการอุปโภค ไปประมาณ

รั่ว

สิ้นเปลืองน้ำถึง

ตอ 1 วัน

คนเราบริโภคน้ำ

ประมาณ 2 ลิตร ตอวัน

และบริโภค ประมาณ

ทั้งชีวิต


ตองใชน้ำอยางนอย

มาใชในการ ผลิตอาหารใหกับ

1 ครอบครัว 4 คน ที่มีสมาชิก

แมวัวตองดื่มน้ำประมาณ เพื่อผลิตนม

3.5 ลิตร

1 ตั ว ไก

กระบวนการ ผลิตเนื้อ

ใชน้ำ


สารจาก ประธานกรรมการ


ในรอบปี 2553 ที่ ผ่ า นมา บริ ษั ท จั ด การและพั ฒ นา ทรัพยากรน้ำภาคตะวันออกจำกัด (มหาชน) ยังคงมีผลประกอบการทางธุรกิจที่ เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการภายใน และแก้ไขอุปสรรคต่างๆ อย่างเป็นระบบ สร้างความสมดุลในผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสีย ทุกฝ่าย รวมทั้งสร้างวิสัยทัศน์ในการก้าวไปข้างหน้าในทิศทางที่สร้างโอกาสทางธุรกิจอย่างยั่งยืน บริษัทยังคงรักษาการจัดการภายในที่มีประสิทธิภาพ ทั้งในด้านผลประกอบการโดยใช้กลยุทธ์ การควบคุมต้นทุน เช่น การลดต้นทุนค่าไฟฟ้าจากการสูบส่งน้ำ การบริหารจัดการต้นทุนทางการเงินเพื่อลด ดอกเบี้ ย จ่ า ย และการควบคุ ม งบประมาณค่ า ใช้ จ่ า ยของพนั ก งาน เป็ น ต้ น ซึ่ ง จากการบริ ห ารจั ด การ ดังกล่าวมีส่วนสนับสนุนให้บริษัทมีกำไรสุทธิดีขึ้นจากปี 2552 และส่งผลให้บริษัทสามารถประกาศจ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลประจำปีงบประมาณ 2553 นอกจากนั้นแล้วบริษัทยังคงมีการพัฒนาประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องได้แก่ การเตรียมความพร้อมด้านการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการบัญชีของไทย ไปสู่มาตรฐานการบัญชีสากลใหม่ การสร้างศูนย์ บริหารองค์ความรู้ (Knowledge Management Center) และการพัฒนาระบบ Enterprise Resources Planning เพื่อการ จัดการข้อมูลและสนับสนุนการทำงานของบริษัทอย่างเป็นระบบ การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อการสืบทอดตำแหน่งที่มี ความชัดเจน รวมทั้งการให้ข้อมูลแก่บริษัทผู้ร่วมค้าล่วงหน้าโดยเท่าเทียมกัน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการบริหารประสิทธิภาพและ ต้นทุนโครงการสำคัญตามแผนปฏิบัติการของบริษัท ทั้งนี้บริษัทตระหนักเป็นอย่างดีว่า ความมั่นคงทางธุรกิจของบริษัทขึ้นอยู่กับทรัพยากรธรรมชาติที่ต้องมีการแบ่งปันและ การอนุรักษ์ ดังนั้นจึงดำเนินแผนการจัดการน้ำให้มีความสมดุลทั้งด้านอุปสงค์และอุปทาน โดยเริ่มจากการสนับสนุนปฏิบัติการ ฝนหลวงเพื่อให้พื้นที่ภาคตะวันออกมีฝนตกอย่างพอเพียงและเป็นไปตามฤดูกาล การบริหารระบบสูบจ่ายน้ำอย่างเต็มประสิทธิภาพ ที่ลดการพึ่งพาจากแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยผันน้ำช่วงฤดูฝนมาไว้ที่อ่างเก็บน้ำและสระสำรองน้ำดิบของบริษัทเพื่อการสูบส่งน้ำดิบได้อย่าง เพียงพอในช่วงฤดูแล้ง การเพิ่มศักยภาพในการสูบส่งน้ำดิบโดยลงทุนในโครงการก่อสร้างแนวท่อส่งน้ำหนองปลาไหล-มาบตาพุด เส้นที่ 3 ที่สามารถรองรับปริมาณการใช้น้ำในพื้นที่มาบตาพุดภายในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า ทั้งนี้ในด้านอุปทานบริษัทได้ร่วมกับกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจัดให้มี “โครงการประกวดนวัตกรรม 3R” โดยส่งเสริมนวัตกรรมการลดความฟุ่มเฟือยในการบริโภค ทรัพยากรน้ำ การนำกลับมาใช้ซ้ำ และการหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ (Reduce Reuse Recycle) ที่เป็นประโยชน์และสามารถขยายผล เป็นต้นแบบนวัตกรรม 3R ให้แก่ชุมชนปฏิบัติได้จริง นอกจากนั้นแล้ว บริษัทยังคงยึดมั่นและทุ่มเทให้กับการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม ทั้งในด้านงบประมาณ โครงการสนับสนุน และการมีส่วนร่วมของพนักงานบริษัท โดยมีจุดประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับธุรกิจของบริษัท สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน และหน่วยงานราชการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งลดความขัดแย้งใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยในปี 2553 บริษัทได้ริเริ่มดำเนิน กิจกรรมที่สำคัญเช่น “โครงการจิตอาสา” โดยให้พนักงานทุกคนเข้าไปมีส่วนร่วมเรียนรู้วิถีชีวิต สร้างความสัมพันธ์ที่ดีฉันมิตรคู่คิดกับชุมชน “โครงการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง” ที่เน้นการพัฒนาชุมชนให้พึ่งตนเองได้ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นที่ปฏิบัติการ โดยเน้นให้ความรู้และข้อแนะนำด้านวิชาชีพแก่ชุมชน 36 แห่ง “โครงการประปาหมู่บ้าน” ที่สนองตอบต่อความต้องการใน ปัจจัยพื้นฐานของชุมชน “โครงการ East Water Young Leader Project” ที่สร้างเครือข่ายให้คนรุ่นใหม่ในชุมชนเกิดความตระหนักถึงความ สำคัญของทรัพยากรน้ำ เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นโครงการต่อเนื่องที่สำคัญในการยกระดับการ “ให้” สังคม พร้อมเป็นองค์กรเพื่อสังคม ทั้งนี้ผู้ถือหุ้นคือปัจจัยที่สำคัญที่สุดของความสำเร็จในปีที่ผ่านมา ดังนั้นบริษัทจึงยังคงรักษานโยบายการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับ ผู้ถือหุ้นในทุกโอกาส ทั้งการประชุมหารือทางธุรกิจกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท การให้ผู้ถือหุ้นเข้าเยี่ยมชมพื้นที่ปฏิบัติการ การให้สิทธิ

ผู้ถือหุ้นรายย่อยอย่างต่อเนื่องในการเสนอระเบียบวาระการประชุมและเสนอผู้แทนเพื่อการพิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท รวมทั้ง

การเข้าร่วมวันครบรอบสถาปนาของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท สุดท้ายนี้คณะกรรมการบริษัทขอขอบคุณ ท่านผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด รวมถึงพันธมิตรทั้งภาครัฐและเอกชนที่ สนับสนุนบริษัทด้วยดีมาโดยตลอด เราจะทำให้ท่านมั่นใจว่าบริษัทจะดำเนินธุรกิจอยู่บนพื้นฐานของหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี มีความโปร่งใส และยังคงมุ่งเน้นสร้างประสิทธิภาพในการทำงานสูงสุด เพื่อสร้างคุณค่าสูงสุดแก่ธุรกิจของบริษัทและสร้าง ผลตอบแทนที่มีความสมดุลให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้วยความใส่ใจในผลประโยชน์ของทุกฝ่ายเป็นสำคัญ

อุทิศ ธรรมวาทิน ประธานคณะกรรมการบริษัท


3 4

5 1

6

2

คณะกรรมการบริษัทและที่ปรึกษา 1 นายอุทศิ ธรรมวาทิน

อายุ 61 ปี ตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการ (กรรมการอิสระ) การศึกษา นิตศิ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเบิรก์ เลย์ ประเทศสหรัฐอเมริกา เนติบณ ั ฑิตไทย นิตศิ าสตรบัณฑิต (เกียรตินยิ มดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรมหลักสูตรสำคัญ DCP 3/2000, วปรอ. รุน่ 399 ประสบการณ์ทำงาน พ.ค. 51 - ปัจจุบนั ประธานคณะกรรมการบริษทั พ.ค. 50 - เม.ย. 51 กรรมการ ม.ค. 46 - ม.ค. 50 บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำ ภาคตะวันออก เม.ย. 52 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. ไทยออยล์ ก.ย. 53 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ.ไทยพาณิชย์นวิ ยอร์คไลฟ์ประกันชีวติ ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. แพนราชเทวี กรุป๊ ก.ค. 52 - ก.ย. 52 รองปลัดกระทรวงการคลัง ธ.ค. 46 - ก.ย. 52 กรรมการ บจ. บริหารสินทรัพย์สขุ มุ วิท ก.พ. 52 - ก.ย. 52 กรรมการ มี.ค. 51 - ม.ค. 52 บมจ. ท่าอากาศยานไทย ต.ค. 51 - มิ.ย. 52 อธิบดีกรมศุลกากร พ.ย. 49 - ก.ย. 51 รองปลัดกระทรวงการคลัง ต.ค. 47 - ต.ค. 49 อธิบดีกรมสรรพสามิต การถือครองหุน้ EW ไม่ม ี

10

2 นายกนกศักดิ์ ปิน่ แสง

อายุ 54 ปี

ตำแหน่ง กรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหารและการลงทุน กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน การศึกษา รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะและบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปริญญาตรีศลิ ปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง การอบรมหลักสูตรสำคัญ DCP 106/2008, DAP 73/2008 วปรอ. รุน่ 4414, วตท. รุน่ 9 ประสบการณ์ทำงาน พ.ค. 51 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. จัดการและพัฒนา ทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. เอกรัฐวิศวกรรม มี.ค. 52 - ก.ค. 53 กรรมการ บจ. ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ การถือครองหุน้ EW ไม่ม ี (วปรอ.) หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (วตท.) หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (ปรม.) หลักสูตรการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน (DCP) Directors Certification Program (DAP) Directors Accreditation Program


3 พล.ต.ท.สมยศ พุม่ พันธุม์ ว่ ง

อายุ 56 ปี

ตำแหน่ง กรรมการ ประธานคณะกรรมการกำหนดเกณฑ์ และประเมินผลการดำเนินงานของบริษทั กรรมการบริหารและการลงทุน กรรมการบริหารความเสีย่ ง การศึกษา ปริญญาโทสาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยปูนา่ ประเทศอินเดีย รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต รป.บ. (ตร.) โรงเรียนนายร้อยตำรวจ การอบรมหลักสูตรสำคัญ DCP 107/2008, FSD 2/2008 วปอ. รุน่ 2547, บ.ย.ส. รุน่ ที่ 13 วตท. รุน่ ที่ 10 ประสบการณ์ทำงาน พ.ค. 51 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก ก.พ. 52 - ปัจจุบนั กรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ธ.ค. 52 - ปัจจุบนั กรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ต.ค. 51 - ปัจจุบนั ผูช้ ว่ ยผูบ้ ญ ั ชาการตำรวจแห่งชาติ เม.ย. 51 - มี.ค. 53 กรรมการ การประปาส่วนภูมภิ าค มิ.ย. 51 - ก.ย. 51 ผูบ้ ญ ั ชาการ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง ก.พ. 51 - พ.ค. 51 จเรตำรวจ การถือครองหุน้ EW ไม่ม ี

5 นางมณฑา ประณุทนรพาล

อายุ 56 ปี

6 นางนิศกร ทัดเทียมรมย์

อายุ 62 ปี

ตำแหน่ง กรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง กรรมการกำหนดเกณฑ์และ ประเมินผลการดำเนินงานของบริษทั การศึกษา รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (เกียรตินยิ มดี) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ นิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรมหลักสูตรสำคัญ DCP 84 / 2007, วปรอ. รุน่ 4818 ประสบการณ์ทำงาน ม.ค. 51 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำ ภาคตะวันออก ม.ค. 51 - ปัจจุบนั กรรมการ และ ผูว้ า่ การ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ต.ค. 47 - ธ.ค. 50 รองผูว้ า่ การ 11 (ท่าเรืออุตสาหกรรม) การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย การถือครองหุน้ EW ไม่ม ี

ตำแหน่ง กรรมการ (กรรมการอิสระ) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา กรรมการกำหนดเกณฑ์และประเมินผลการ ดำเนินงานของบริษทั 4 นายวิเศษ ชำนาญวงษ์ อายุ 59 ปี การศึกษา MBA University of Winconsin, Madison, U.S.A. ตำแหน่ง กรรมการ ปริญญาตรี ศศ.บ. (เกียรตินยิ มอันดับสอง) ประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการบริหารความเสีย่ ง การอบรมหลักสูตรสำคัญ การศึกษา M. LLB. (Water Resources Eng.) DCP 120/2009, ACP 27/2009 Asia Institute of Technology วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วปรอ. รุน่ 4414, ปรม. รุน่ 6, RCP 24/2010 นิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประสบการณ์ทำงาน การอบรมหลักสูตรสำคัญ พ.ค. 52 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก DCP 121/2009 ปั จ จุ บ น ั กรรมการและเลขานุ การ ประสบการณ์ทำงาน คณะกรรมการศึ ก ษาการบริ หารจัดการด้านการ พ.ค. 52 - ปัจจุบนั กรรมการ งบประมาณ ด้านการบัญชี ด้านการเงินการคลังและ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก การตรวจสอบภายใน สภากาชาดไทย พ.ค. 52 - ปัจจุบนั กรรมการ และผูว้ า่ การ ต.ค. 53 - ปัจจุบนั คณะกรรมการตรวจสอบประจำมหาวิทยาลัยพะเยา การประปาส่วนภูมภิ าค (กปภ.) เม.ย. 48 - ธ.ค. 51 รองเลขาธิการคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ต.ค. 51 - เม.ย. 52 รองผูว้ า่ การ (ปฏิบตั กิ าร 3) (กปภ.) ต.ค. 47 - เม.ย. 48 ทีป่ รึกษาสำนักงบประมาณ (นักบริหาร ระดับ 10) ต.ค. 50 - ก.ย. 51 รองผูว้ า่ การ (บริหารและการเงิน) (กปภ.) สำนักงบประมาณ ม.ค. 50 - ก.ย. 50 รองผูว้ า่ การ (ปฏิบตั กิ าร 4) (กปภ.) ม.ค. 48 - ธ.ค. 49 รองผูว้ า่ การ (ปฏิบตั กิ าร 3) (กปภ.) การถือครองหุน้ EW ไม่ม ี การถือครองหุน้ EW ไม่ม ี (วปรอ.) หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปปร.) (วตท.) (ปรม.) (FSD)

หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน Financial Statement for Directors

11


11 8

13 10

14 12 9

7

คณะกรรมการและที่ปรึกษาบริษัท 7 นายบุญมี จันทรวงศ์

อายุ 64 ปี

ตำแหน่ง กรรมการ (กรรมการอิสระ) ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ การศึกษา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์การเกษตร Iowa State University, U.S.A. กสิกรรมและสัตวภิบาลบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การอบรมหลักสูตรสำคัญ DCP120/2009, ACP 27/2009 วปรอ. รุน่ 4212, ปปร. รุน่ 3 ประสบการณ์ทำงาน พ.ค. 52 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก มี.ค. 52 - ม.ค. 54 กรรมการ การไฟฟ้านครหลวง ม.ค. 52 - ม.ค. 54 กรรมการ บริษทั ขนส่ง จำกัด ต.ค. 48 - ก.ย. 49 ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ส.ค. 41 - ก.ย. 44 อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ ต.ค. 46 - ก.ย. 49 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การถือครองหุน้ EW ไม่ม ี

12

8 นางลีนา เจริญศรี

อายุ 65 ปี

ตำแหน่ง กรรมการ กรรมการสรรหา กรรมการบริหารความเสีย่ ง การศึกษา ปริญญาตรีบญ ั ชีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรมหลักสูตรสำคัญ ปปร. รุน่ 6, DCP 129/2010 ประสบการณ์ทำงาน ส.ค. 53 - ปัจจุบนั บจ.ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั นวนคร จำกัด (มหาชน) ส.ค. 51 - ปัจจุบนั คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจำ กระทรวงการคลัง ก.พ. 52 - ม.ค. 54 กรรมการ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก ก.พ. 52 - มิ.ย. 53 กรรมการ การประปาส่วนภูมภิ าค ม.ค. 43 - ธ.ค. 51 กรรมการ บมจ. เอ็น อี พี อสังหาริมทรัพย์และอุตสาหกรรม ต.ค. 47 - ก.ย. 48 รองปลัดกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลัง ต.ค. 45 - ก.ย. 47 ผูต้ รวจราชการกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลัง การถือครองหุน้ EW ไม่ม ี (วปอร.) หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปปร.) หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง (DCP) Directors Certification Program (ACP) Audit Committee Program


9 พล.ต.ต.พิมล สินธุนาวา

12 พลเอก ชยุติ สุวรรณมาศ

อายุ 58 ปี ตำแหน่ง ทีป่ รึกษาคณะกรรมการบริษทั ตำแหน่ง กรรมการ (กรรมการอิสระ) การศึกษา ปริญญาโท สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรม ประธานคณะกรรมการสรรหา มหาวิทยาลัยเทนเนสซีส่ เตท ประเทศสหรัฐอเมริกา กรรมการตรวจสอบ, กรรมการธรรมาภิบาล ประสบการณ์ทำงาน การศึกษา ปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา พ.ค. 51 - ปัจจุบนั ทีป่ รึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก ศิลปศาสตรบัณฑิต รป.บ. (ตร.) โรงเรียนนายร้อยตำรวจ เม.ย. 46 - ปัจจุบนั ผูท้ รงคุณวุฒพิ เิ ศษ ประจำกองทัพไทย การอบรมหลักสูตรสำคัญ ทีป่ รึกษา บจ. ทุนลดาวัลย์ DCP 104/2008, DAP 72/2008, ACP 22/2008 ปัจจุบนั บริษทั ของสำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย ์ ประสบการณ์ทำงาน ปัจจุบนั กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บมจ. โรงแรมราชดำริ พ.ค. 51 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก ส.ค. 50 - ก.ย. 53 กรรมการ บมจ. คริสเตียนีและนีลเซ็น (ไทย) ม.ค. 50 - พ.ค. 51 กรรมการ พ.ค. 52 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั เอ็กคอมธารา จำกัด บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก ต.ค. 42 - ก.ย. 44 ผูช้ ว่ ยผูบ้ ญ ั ชาการตำรวจภูธรภาค 6 จังหวัดพิษณุโลก การถือครองหุน้ EW ไม่ม ี การถือครองหุน้ EW ไม่ม ี 13 นายนคร จิรเศวตกุล อายุ 63 ปี 10 นายรัษฎา ผ่องแผ้ว อายุ 60 ปี ตำแหน่ง ทีป่ รึกษาคณะกรรมการบริษทั ตำแหน่ง กรรมการ การศึกษา ปริญญาตรี วิศวกรรมโยธา สาขาโครงสร้าง กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการกำหนดเกณฑ์และประเมินผล Post Graduate Diploma สาขา Hydrological การดำเนินงานของบริษทั Engineering (Dip. H. Delft) ประเทศเนเธอร์แลนด์ การศึกษา วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต ประสบการณ์ทำงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เม.ย. 53 - ปัจจุบนั ทีป่ รึกษา การอบรมหลักสูตรสำคัญ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก DCP 94/2007 มี.ค. 52 - ปัจจุบนั กรรมการ ประสบการณ์ทำงาน บจ. ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ ม.ค. 51 - ปัจจุบนั กรรมการ ก.พ. 50 - ก.ย. 50 รองผูว้ า่ การ (แผนและวิชาการ) บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำ ม.ค. 50 - ก.พ. 50 รองผูว้ า่ การ (ปฏิบตั กิ าร 4) ภาคตะวันออก ส.ค. 49 - ธ.ค. 49 รองผูว้ า่ การ (ปฏิบตั กิ าร 4) มี.ค. 49 - ปัจจุบนั กรรมการผูจ้ ดั การ และรักษาการแทนผูว้ า่ การ บจ. เอ็กโก เอ็นจิเนียริง่ แอนด์ เซอร์วสิ การประปาส่วนภูมภิ าค ก.ย. 41 - มี.ค. 49 รองกรรมการผูจ้ ดั การ การถือครองหุน้ EW ไม่ม ี บจ. เอ็กโก เอ็นจิเนียริง่ แอนด์ เซอร์วสิ 14 นายประพันธ์ อัศวอารี อายุ 54 ปี การถือครองหุน้ EW ไม่ม ี ตำแหน่ง กรรมการ 11 นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ อายุ 60 ปี การศึกษา ปริญญาตรีสาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การอบรมหลั ก สู ต รสำคั ญ ตำแหน่ง ทีป่ รึกษาคณะกรรมการบริษทั OWP 2010, PDI 4/2010 การศึกษา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมการเกษตร) DCP 101/2008, ACP 21/2007 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประสบการณ์ ท ำงาน วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์ ) พ.ค. 51 - ปัจจุบนั กรรมการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ม.ค. 50 - ม.ค. 51 บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก การอบรมหลักสูตรสำคัญ เม.ย. 50 - ปัจจุบนั กรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ วปรอ. 4414, ปปร. 8 บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก ประสบการณ์ทำงาน มี.ค. 50 - ปัจจุบนั กรรมการ บจ. ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ เม.ย. 51 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ การประปาส่วนภูมภิ าค เม.ย. 52 - ปัจจุบนั กรรมการ สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย ก.ย. 52 - ก.ย. 53 อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ พ.ค. 50 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. หลักทรัพย์ ซีมโิ ก้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส.ค. 52 - ก.พ. 54 กรรมการ บริษทั หลักทรัพย์ เคที ซีมโิ ก้ จำกัด ก.พ. 52 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. ท่าอากาศยานไทย เม.ย. 52 - ม.ค. 54 กรรมการ บริษทั ไทย ซาน มิเกล ลิเคอร์ จำกัด ม.ค. 52 - ปัจจุบนั กรรมการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย การถือครองหุน้ EW ไม่ม ี พ.ค. 51 - ก.พ. 52 กรรมการ (วปรอ.) หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก (ปปร.) หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง (PDI) การกำกับดูแลกิจการสำหรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การ ต.ค. 48 - ส.ค. 52 รองปลัดกระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มหาชน รุ่นที่ 4 สถาบันพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ ต.ค. 45 - ก.ย. 48 อธิบดีกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (OWP) Orchestrating Winning Performance - The global business program for การถือครองหุน้ EW ไม่ม ี individuals and teams, IMD International, Lausanne, Switzerland อายุ 69 ปี

(DAP) Directors Accreditation Program (ACP) Audit Committee Program (DCP) Directors Certification Program

13


2

ผู้บริหารบริษัท 1 นายประพันธ์ อัศวอารี

อายุ 54 ปี

1 5 3 4 6

2 นายเจริญสุข วรพรรณโสภาค

อายุ 47 ปี ตำแหน่ง กรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ ตำแหน่ง รักษาการรองกรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ สายปฏิบตั กิ าร การศึกษา ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง การศึกษา ปริญญาโท Hydraulic Engineering International Institute for Hydraulic and การอบรมหลักสูตรสำคัญ Environmental Engineering (IHE) Delft, OWP (2010), PDI 4/2010 The Netherland DCP 101/2008, ACP 21/2007 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ ทรัพยากรน้ำ ประสบการณ์การทำงาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ค. 51 - ปัจจุบนั กรรมการ ม.ค. 50 - ม.ค. 51 บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก ประสบการณ์การทำงาน มี.ค. 53 - ปัจจุบนั รักษาการรองกรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ เม.ย. 50 - ปัจจุบนั กรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ สายปฏิบตั กิ าร บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก มี.ค. 50 - ปัจจุบนั กรรมการ บจ. ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก ส.ค. 52 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั หลักทรัพย์ เคที ซีมโิ ก้ จำกัด ม.ค. 52 - ก.พ. 53 ผูอ้ ำนวยการฝ่ายบริการลูกค้า และรักษาการ พ.ค. 50 - ปัจจุบนั กรรมการ บมจ. หลักทรัพย์ ซีมโิ ก้ รองกรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ สายงานวางแผน ส.ค. 52 - ก.พ. 54 กรรมการ บริษทั หลักทรัพย์ เคที ซีมโิ ก้ จำกัด และบริการลูกค้า เม.ย. 52 - ม.ค. 54 กรรมการ บริษทั ไทย ซาน มิเกล ลิเคอร์ จำกัด บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก ส.ค. 51 - พ.ค. 52 กรรมการบริษทั บจ. เอ๊กคอมธารา พ.ย. 45 - ธ.ค. 51 ผูอ้ ำนวยการฝ่ายวางแผนโครงการ บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก (PDI) การกำกับดูแลกิจการสำหรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การ (OWP) (ACP) (DCP)

14

มหาชน รุ่นที่ 4 สถาบันพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ Orchestrating Winning Performance - The global business program for individuals and teams, IMD International, Lausanne, Switzerland Audit Committee Program Directors Certification Program


3 นางน้ำฝน รัษฎานุกลู

อายุ 48 ปี ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการอาวุโส สำนักกรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ เลขานุการบริษทั การศึกษา ปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Certificate in Computer Programming and Information Processing, UK ปริญญาโท สาขาบริหารรัฐกิจ Glasgow College of Technology, UK ปริญญาตรี บริหารรัฐกิจ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรมหลักสูตรสำคัญ - Director Certification Program - DCP 4/2000 - หลักสูตร ประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารงานภาครัฐและกฎหมาย มหาชน (ปรม.) รุน่ 1 - หลักสูตร ประกาศนียบัตรชั้นสูง การเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยสำหรับผูบ้ ริหารระดับสูง (ปปร.) รุน่ 11 ประสบการณ์การทำงาน มิ.ย. 50 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการอาวุโส สำนักกรรมการผูอ้ ำนวยการ ใหญ่ และเลขานุการบริษทั ฯ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก ก.พ. 47 - มิ.ย. 50 ผูอ้ ำนวยการอาวุโสสำนักตรวจสอบ และ เลขานุการบริษทั ฯ พ.ย. 44 - ก.พ. 47 ผูอ้ ำนวยการสำนักตรวจสอบ มี.ค. 44 - ต.ค. 44 ผูอ้ ำนวยการสำนักกรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ 4 นางธิดารัชต์ ไกรประสิทธิ ์ อายุ 47 ปี ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการอาวุโสฝ่ายตรวจสอบ การศึกษา ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรมหลักสูตรสำคัญ - Audit Committee Program (ACP) รุน่ 26/2009 - Executive Development Program (EDP) รุน่ 4 - หลักสูตร การบริหารเศรษฐกิจสาธารณสำหรับนักบริหารระดับสูง รุน่ 5 ประสบการณ์การทำงาน ม.ค. 52 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการอาวุโสฝ่ายตรวจสอบ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก มิ.ย. 50 - ธ.ค. 51 ผูอ้ ำนวยการอาวุโสฝ่ายการเงิน และบัญชี ต.ค. 47 - มิ.ย. 50 ผูอ้ ำนวยการอาวุโสฝ่ายการเงิน และทรัพยากรบุคคล 2544 - ต.ค. 47 ผูอ้ ำนวยการฝ่ายการเงิน และทรัพยากรบุคคล 2540 - 2544 ผูอ้ ำนวยการฝ่ายการเงิน และพัสดุ

5 นายเชิดชาย ปิตวิ ชั รากุล

อายุ 46 ปี ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการฝ่ายบริการลูกค้า การศึกษา ปริญญาโท วิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประสบการณ์การทำงาน มี.ค. 53 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการฝ่ายบริการลูกค้า บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก ม.ค. 52 - มี.ค. 53 ผูอ้ ำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก ส.ค. 51 - ม.ค. 52 รักษาการกรรมการผูจ้ ดั การ บจ. ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี ์ ก.ค. 51 - ม.ค. 52 กรรมการ บจ. ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี ์ มี.ค. 51 - ปัจจุบนั กรรมการ บจ. เอ๊กคอมธารา พ.ย. 50 - ม.ค. 52 ผูอ้ ำนวยการฝ่ายโครงการพิเศษ บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก มี.ค. 50 - ม.ค. 52 กรรมการ บจ. ประปาบางปะกง กรรมการ บจ. ประปาฉะเชิงเทรา กรรมการ บจ. ประปานครสวรรค์ พ.ย. 44 - พ.ย. 50 ผูอ้ ำนวยการศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉะเชิงเทรา และรักษาการผูอ้ ำนวยการศูนย์ปฏิบตั กิ ารระยอง บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก ต.ค. 43 - ต.ค. 44 ผูอ้ ำนวยการศูนย์ปฏิบตั กิ ารมาบตาพุด บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก 6 นายพจนา บุญศิร ิ อายุ 50 ปี ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการฝ่ายวางแผนโครงการ การศึกษา ปริญญาโท ภาควิชาบริหารธุรกิจ สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา ปริญญาตรี ครุศาสตร์อตุ สาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ประสบการณ์การทำงาน ม.ค. 52 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการฝ่ายวางแผนโครงการ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก พ.ย. 50 - ธ.ค. 51 ผูอ้ ำนวยการฝ่ายปฏิบตั กิ าร พ.ย. 46 - ต.ค. 50 ผุอ้ ำนวยการศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉะเชิงเทรา มี.ค. 44 - ต.ค. 46 ผูจ้ ดั การสำนักงานโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ 2541 - 2544 วิศวกรอาวุโส

15


7 8 10 9

ผู้บริหารบริษัท 7 นางสาวเฟือ่ งฟ้า นิม่ เจริญ

อายุ 46 ปี ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ การศึกษา ปริญญาโท วิทยาศาสตร์ สาขาการจัดการทรัพยากร (เศรษฐศาสตร์ทรัพยากร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ปริญญาตรี วิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ประสบการณ์การทำงาน มิ.ย. 50 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก พ.ย. 45 - มิ.ย. 50 ผูอ้ ำนวยการฝ่ายอำนวยการ พ.ย. 44 - ต.ค. 45 รักษาการผูอ้ ำนวยการฝ่ายอำนวยการ มี.ค. 44 - ต.ค. 44 ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการฝ่ายบริหาร 8 นายนำศักดิ์ วรรณวิสตู ร อายุ 45 ปี ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการฝ่ายการเงินและบัญชี การศึกษา ปริญญาโท สาขาการเงิน University of Colorado, USA ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประสบการณ์การทำงาน ม.ค. 52 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการฝ่ายการเงินและบัญชี บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก มิ.ย. 50 - ธ.ค. 51 ผูอ้ ำนวยการฝ่ายอำนวยการ และรักษาการผูอ้ ำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล พ.ย. 45 - มิ.ย. 50 ผูอ้ ำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจต่อเนือ่ ง พ.ย. 44 - ต.ค. 45 รักษาการผูอ้ ำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจต่อเนือ่ ง มี.ค. 44 - ต.ค. 44 ผูจ้ ดั การแผนกพัฒนาธุรกิจ

16

9 นางวิราวรรณ ธารานนท์ อายุ 52 ปี

ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการฝ่ายอำนวยการ การศึกษา ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (MBA) Sasin Graduate Institute of Business Administration of Chulalongkorn University ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์การทำงาน ม.ค. 52 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการฝ่ายอำนวยการ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก มิ.ย. 50 - ธ.ค. 51 ผูอ้ ำนวยการฝ่ายตรวจสอบ ต.ค. 49 - มิ.ย. 50 ผูอ้ ำนวยการสำนักกรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ ต.ค. 48 - ก.ย. 49 ผูจ้ ดั การสำนักกรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ 2547 - 2548 ผูจ้ ดั การงานบริหารความเสีย่ งกลุม่ บริษทั 10 นางสาวดวงแก้ว อึง้ ศรีทอง อายุ 49 ปี ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล การศึกษา ปริญญาโท Industrial Psychology, Western Michigan University, USA ปริญญาตรี จิตวิทยาอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประสบการณ์การทำงาน ม.ค. 52 - ปัจจุบนั ผูอ้ ำนวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคล บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก ส.ค. 50 - มี.ค. 51 ผูอ้ ำนวยการ, Human Resources Division Challenge Hospitality Co., Ltd. ก.พ. 49 - เม.ย. 50 Vice President, Human Resources Division T.C.C. Capital Land Limited พ.ค. 43 - ธ.ค. 48 ผูจ้ ดั การฝ่ายทรัพยากรบุคคล HMC Polymers Co., Ltd.


โครงสร้างองค์กร คณะกรรมการบริษัท

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ ธรรมาภิบาล

คณะกรรมการ พิจารณา ค่าตอบแทน

คณะกรรมการ บริหาร และการลงทุน

คณะกรรมการ สรรหา

คณะกรรมการ บริหาร ความเสี่ยง

คณะกรรมการ กำหนดกฎเกณฑ์ และประเมินผล การดำเนินงาน ของบริษัท

กรรมการผู้อำนวยการใหญ่

สำนักกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ และเลขานุการบริษัท

ฝ่ายตรวจสอบ

รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ สายปฏิบัติการ

ฝ่าย วางแผนโครงการ

ฝ่ายปฏิบัติการ และบริการลูกค้า

รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี

ฝ่าย สื่อสารองค์กร

ฝ่าย พัฒนาธุรกิจ

ฝ่าย ทรัพยากรบุคคล

ฝ่าย อำนวยการ

ฝ่าย ฝ่าย การเงินและบัญชี เทคโนโลยีสารสนเทศ

17


คุณรูหรือไม ?

ใน 1 วัน กาแฟ

เนื้อไก 0.5 กิโลกรัม

ใชน้ำในกระบวนการผลิต

97 ลิตร ตอ 1 แกว 1,084 ลิตร ใชน้ำในกระบวนการผลิต

ชา

ใชน้ำในกระบวนการผลิต

34 ลิตร ตอ 1 แกว

เราตางมี

น้ำ

เปนสวนประกอบ 18


เนื้อวัว

20 กรัม + ขนมปง

ใชน้ำในกระบวนการผลิต

1,934

ลิตร

สลัดรวม

ใชน้ำในกระบวนการผลิต

ไวน 1 แกว

ใชน้ำในกระบวนการผลิต

117 ลิตร

117 ลิตร น้ำอัดลม 16 ออนซ 125 ลิตร ใชน้ำในกระบวนการผลิต

น้ใชนำ้ำในกระบวนการผลิ เปลา 16ต ออนซ

0.473 ลิตร

เบียร 1 เหยือก ใชน้ำในกระบวนการผลิต

75.7 ลิตร

19


สร้างความพึงพอใจผู้มีส่วนร่วม (Stakeholders Satisfaction) การดำเนินธุรกิจของบริษัท มิได้มุ่งเพียงผลกำไรสูงสุดเพื่อประโยชน์ผู้ถือหุ้น (shareholders) แต่มุ่งเน้นการ พัฒนาความสัมพันธ์กับผู้ถือประโยชน์ร่วมกัน (stakeholders) อย่างสมดุล และรอบด้าน ทั้งสังคม ชุมชน ลูกค้า

ผู้ถือหุ้น ตลอดจนบุคลากรของอีสท์วอเตอร์เอง โดยในการดำเนินงานปี 2553 บริษัทได้ดำเนินโครงการและกิจกรรมต่างๆ มากมายเพื่อเป็นประโยชน์อันดี กับกลุ่ม (stakeholders) อันเป็นแนวทางในการพัฒนาธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน

สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)

บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง ความสำคั ญ ของการพั ฒ นา บุ ค ลากรทุ ก ระดั บ โดยมุ่ ง เน้ น การพั ฒ นาพนั ก งานเพื่ อ ให้ สอดคล้องกับภารกิจ กลยุทธ์ และค่านิยมหลักขององค์กร โดยในปี 2553 บริษัทได้ให้การสนับสนุนการฝึกอบรมพัฒนา พนักงานตามสมรรถนะ (Competency Based) ซึ่งได้ดำเนิน การฝึ ก อบรมพั ฒ นาสมรรถนะของผู้ บ ริ ห ารทางด้ า น การบริหารจัดการ รวมถึงพัฒนาสมรรถนะตามทักษะวิชาชีพ ของพนักงาน ผ่านกระบวนการฝึกอบรมทั้งภายในองค์กรและ การส่ ง พนั ก งานเข้ า รั บ การฝึ ก อบรมโดยสถาบั น ภายนอก ตลอดจนการศึ ก ษาดู ง านเพื่ อ ให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ แ ละ แลกเปลี่ ย นประสบการณ์ จ ากองค์ ก รชั้ น นำต่ า งๆ ทั้ ง

ในประเทศและต่างประเทศ อีกทั้งบริษัทได้ให้ความสำคัญ กับการสร้างวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ โดยการส่งเสริมการ เรียนรู้ภายในองค์กรเพื่อกระตุ้นให้พนักงานเกิดความสนใจ ใฝ่เรียนรู้อันเป็นแรงจูงใจของแต่ละบุคคลที่จะพัฒนาตนเอง และการทำงาน โดยจั ด กิ จ กรรม “เรี ย นรู้ เ คี ย งคู่ กั น ” (Knowledge Sharing) เพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ พ นั ก งานได้ ม ี

ส่วนร่วมในการเรียนรู้จากบุคลากรภายในองค์กร รวมถึงมี โอกาสแบ่งปันความรู้ต่างๆ ภายในองค์กร เพื่อนำไปประยุกต์ ใช้ ใ นการทำงาน และทำให้ เ กิ ด บรรยากาศในการสื่ อ สาร ระหว่างพนักงานด้วยกันอย่างสร้างสรรค์อีกด้วย

20

นอกจากนี้ บริ ษั ท ได้ ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาเรี ย นรู ้ อย่างต่อเนื่อง โดยได้ดำเนินการทดสอบวัดผลทักษะทางด้าน ภาษาอังกฤษ ควบคู่ไปกับการให้ความรู้ทางภาษาอังกฤษ นอกจากนี้ ยั ง ให้ ก ารสนั บ สนุ น การศึ ก ษาต่ อ ของพนั ก งาน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้พนักงานมีโอกาสในการพัฒนาความ รู้ ค วามสามารถของตนเองในสาขาที่ ส นใจ และนำความรู้

ที่ ไ ด้ รั บ จากการศึ ก ษา มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการพั ฒ นางานได้ อย่างเหมาะสม บริษัทเชื่อมั่นว่าการสื่อสารที่ดีจะทำให้พนักงานใน ทุกระดับเกิดความเข้าใจและเป็นปัจจัยที่จะนำไปสู่การบรรลุ เป้ า หมายขององค์ ก รร่ ว มกั น โดยบริ ษั ท จั ด ให้ มี รู ป แบบ การสื่ อ สารระหว่ า งผู้ บ ริ ห ารกั บ พนั ก งาน เพื่ อ รั บ ทราบ ความคิ ด เห็ น ของพนั ก งาน และสร้ า งความเข้ า ใจอั น ดี กั บ พนักงานอย่างต่อเนื่อง ผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ อาทิ CEO’s Mailbox กิ จ กรรม CEO พบพนั ก งาน การสำรวจ ความพึงพอใจของพนักงาน การประชุมระหว่างผู้บริหารกับ พนักงานในหน่วยงานต่างๆ เป็นต้น บุคลากรบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัท มีพนักงานทั้งสิ้น 148 คน เป็นพนักงานประจำ 147 คน และ พนักงานสัญญาจ้าง 1 คน ซึ่งเป็นผู้บริหารจำนวน 10 คน และพนักงานจำนวน 137 คน


ใส่ใจในบริการ (CRM)

ในปี 2553 บริษัทได้จัดให้ผู้บริหารของบริษัทพบปะรับฟังความคิดเห็น และข้อเสนอแนะต่างๆ กับผู้บริหารระดับสูงของลูกค้าเพื่อการหารือในโอกาสการ ขยายธุรกิจของบริษัท ตลอดจนเปิดโอกาสทางการสื่อสารโดยตรงระหว่างผู้บริหาร กิจกรรมสัมพันธ์กลุ่มพนักงานของลูกค้ามีกิจกรรมเชื่อมความสัมพันธ์ใน รู ป แบบต่ า งๆ ได้ แ ก่ การแข่ ง ขั น ฟุ ต บอลเชื่ อ มความสั ม พั น ธ์ , การร่ ว มแข่ ง ขั น

โบว์ลิ่ง, การประชุมลูกค้าและ Open House, การจัดเลี้ยงสังสรรค์ลูกค้า เป็นต้น

2

1

4

3 1. ผู้บริหารระดับสูง นิคมอุตสาหกรรมปิ่นทอง ดูงาน ณ ศูนย์ปฏิบัติการระยอง เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2553 2. แข่งขันฟุตบอล 7 คน วิทยาลัยเทคนิคบ้านค่าย เมื่อวันจันทร์ที่ 9 สิงหาคม 2553 3. จัดกิจกรรมประชุมลูกค้า / Open House 2010 ในวันศุกร์ที่ 20 สิงหาคม 2553 พื้นที่ระยอง-ปลวกแดง ณ ศูนย์ปฏิบัติการระยอง และวันอังคารที่ 14 กันยายน 2553 พื้นที่ชลบุรี-ฉะเชิงเทรา ณ Cape Racha อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 4. จัดเสวนา “คุยเรื่องน้ำกับ East Water” ณ ห้อง Fauna Ballroom The Zign Hotel พัทยา ชลบุรี จัดเสวนา “การทำฝนหลวง” เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2553 ณ โรงแรมเซ็นทราแกรนด์ พัทยา ชลบุรี

21


นอกจากนี้บริษัทยังให้ความสำคัญต่อการรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ร่ ว มกั บ ลู ก ค้ า และในปี 2553 บริ ษั ท ได้ มี กิ จ กรรม CSR ในโครงการต่ า งๆ ร่วมกับลูกค้า ได้แก่ การร่วมออกบูธแจกน้ำดื่มแก่ผู้ร่วมงานในพิธีเปิด สวนสาธารณะเนินพยอมของกลุ่ม SCG, งานมอบทุนโครงการ “พลังแห่งการแบ่งปัน : Power of Sharing” กับการนิคม อุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย, การร่ ว มก่ อ สร้ า งอาคาร ศาลาไทย (จัตุรมุข) หน้าศาลากลางจังหวัดฉะเชิงเทรา, ร่วมเป็นเจ้าภาพถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน ร่วมกับ การประปาส่ ว นภู มิ ภ าค ณ วั ด ลุ่ ม จั ง หวั ด ระยอง เป็นต้น

1

2

1. ร่วมงานและทำกิจกรรม “การเปิดสวนสาธารณะเนินพยอม” กับกลุ่ม SCG เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2553 2. เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2553 พิธีมอบทุนโครงการ “พลังแห่ง การแบ่งปัน : Power of Sharing

สำหรับการสนับสนุนการทำกิจกรรมในโครงการต่างๆ ของลูกค้าอย่าง ต่อเนื่อง เช่น งานครบรอบวันสถาปนาการประปาส่วนภูมิภาค, การสนับสนุนการ ประชุมทางวิชาการงานวันน้ำโลก 2553 ณ อิมแพค เมืองทองธานี, การสนับสนุน จัดทำรายงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ของการประปาส่วนภูมิภาค, สนับสนุน ของขวั ญ การจั ด ปี ใ หม่ ข องลู ก ค้ า , การสนั บ สนุ น โครงการศึ ก ษาดู ง าน เทคโนโลยีด้านน้ำของ บมจ. เหมราชพัฒนาที่ดิน เป็นต้น

3

1. เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 แสดงความยินดีครบรอบ 31 ปี การประปาส่วนภูมิภาค 2. เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2553 บริษัทได้เข้าร่วมงาน “คุณภาพน้ำ คุณภาพชีวิต” ณ อิมแพค เมืองทองธานี 3. กลุ่ม เหมราชฯ ศึกษาดูงานระบบผลิตน้ำประปาจากน้ำทะเล (RO) กิจการประปาเกาะล้าน และระบบประปา กิจการประปาสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2553

1 22

2


สร้าง ‘น้ำดี’ สู่สังคม (CSR)

ด้วยวิสัยทัศน์องค์กร “มุ่งสู่การเป็นผู้นำด้านการจัดการน้ำอย่างมีคุณค่า เพื่อความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคม อย่างยั่งยืน หรือ Water solution for all” ตลอดระยะเวลากว่า 18 ปีที่ผ่านมา บริษัทจึงสั่งสมประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ และพัฒนาศักยภาพในเรื่องดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่อง ประกอบทั้งผู้บริหารและพนักงานทุกคน มีความตั้งใจและปรารถนาอัน แรงกล้าที่จะนำความเชี่ยวชาญเหล่านี้มาพัฒนาให้ชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชนดียิ่งขึ้น ดังนั้น โครงการด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคม (CSR) ของบริษัทจึงมุ่งเน้นในเรื่องเกี่ยวกับ “น้ำ” แต่มิได้ละเลยการรับฟังและตอบสนองความต้องการของชุมชน ควบคู่กันไป โดยอยู่ภายใต้หลักการที่กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ (คุณประพันธ์ อัศวอารี) เน้นย้ำเสมอว่า “การพัฒนาชุมชน ควรอยู่บนพื้นฐานของความยั่งยืน เน้นการสอนวิธีจับปลา มากกว่าการนำปลาไปให้” ซึ่งในปี 2553 มีโครงการต่างๆ ดังนี้

โครงการส่งเสริมความรู้และสร้างนวัตกรรม

ค่ายเยาวชนผู้นำด้านการอนุรักษ์น้ำและ สิ่งแวดล้อม ซึ่งดำเนินการต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 ปัจจุบันมีโรงเรียนเครือข่ายแล้วทั้งสิ้นจำนวน 320 โรงเรี ย น มี ผู้ น ำเยาวชนผ่ า นค่ า ยและรั บ ทุ น บริ ษั ท ไปแล้ ว จำนวน 1,200 คน และในปี 2553 นี้ บริ ษั ท ได้ ส่ ง เสริ ม ให้ โรงเรียนที่ร่วมค่ายนำทุนที่ได้รับไปพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสีย จากโรงอาหาร โดยบริษัทร่วมกับสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม คอยเป็นที่ปรึกษาและให้คำแนะนำต่อไป ซึ่ง มีจำนวนโรงเรียนเป้าหมาย 80 แห่ง ในจังหวัดฉะเชิงเทราและ ชลบุรี การประกวดนวัตกรรม 3R โดยบริษัทร่วมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจัดขึ้นเป็น ปีแรก เพื่อส่งเสริมเยาวชนระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาให้มีโอกาสแสดงความ สามารถและทักษะที่เป็นนวัตกรรม ผนวกกับความคิดสร้างสรรค์ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ใ นการจั ด การด้ า นน้ ำ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ ชุ ม ชนและ ภาคอุ ต สาหกรรม สามารถขยายผลเป็ น ต้ น แบบนวั ต กรรม 3R ให้ กั บ ชุ ม ชนหรื อ ภาคอุ ต สาหกรรมได้ จ ริ ง ซึ่ ง ในปี นี้ มี ที ม จาก มหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วประเทศเข้าร่วมแข่งขัน จำนวน 22 ทีม รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ ทีม จากจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย นำเสนอ นวัตกรรมระบบเพาะเลี้ยงและเพิ่มจำนวน พืช ที่ประหยัดน้ำมากกว่า 100 ลิตร และ เพิ่ ม จำนวนพื ช ได้ เ ร็ ว และมากกว่ า ระบบแบบเดิ ม นอกจากนั้ น ยั ง สามารถหมุ น เวี ย นน้ ำ กลั บ มา ใช้ใหม่ได้อีกด้วย

23


การปรับปรุงและฝึกอบรมการบริหารประปาชุมชน โครงการต่ อ เนื่ อ งเป็ น ปี ที่ 2 เพื่ อ อบรมให้ แ ก่ ค ณะ กรรมการประปาชุมชนในเรื่องการปรับปรุง ดูแลรักษา หรือ พัฒนาระบบผลิตและคุณภาพน้ำให้ดียิ่งขึ้น รวมถึงให้ความรู้ ด้านการบริหารกิจการประปา เรียนรู้ต้นทุนการผลิต และหลัก การบริหารธุรกิจ เพื่อให้ชุมชนสามารถบริหารกิจการประปา ได้เองอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการพึ่งพารัฐ ในปี 2553 บริษัท ดำเนินการปรับปรุงระบบประปาชุมชนไปจำนวน 3 ตำบล (8 หมู่บ้าน) และจัดอบรมให้แก่ 17 อบต. ใน 3 จังหวัด ดังนี้ จังหวัดระยอง อบต.แม่น้ำคู้ อบต.ชุมแสง อบต.ปลวกแดง อบต.นิคมพัฒนา อบต.พนานิคม อบต.หนองบัว อบต.หนองไร่

จังหวัดฉะเชิงเทรา อบต.คลองเขื่อน อบต.บางเล่า อบต.บางตลาด อบต.บางโรง อบต.ก้อนแก้ว

จังหวัดชลบุรี อบต.พลูตาหลวง อบต.เขาคันทรง อบต.บางพระ อบต.หนองขาม อบต.บ่อวิน

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม

อบรมส่งเสริมอาชีพ “ลดรายจ่าย... สร้างรายได้ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง” จากการลงพื้นที่พบชุมชนอย่างต่อเนื่องทำให้ทราบ ว่าปัญหาของชุมชน คือ มีรายจ่ายมากกว่ารายได้ บริษัทจึง เกิดโครงการ “ลดรายจ่าย... เพิ่มรายได้ ตามแนวเศรษฐกิจ พอเพี ย ง” ขึ้ น โดยน้ อ มนำแนวพระราชดำริ “เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” มาปรั บ ให้ เ ข้ า กั บ สภาวะเศรษฐกิ จ ในปั จ จุ บั น

มุ่งหวังให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยการจัดอบรม ความรู้ให้กลุ่มแม่บ้านให้ฝึกหัดทำผลิตภัณฑ์เองและใช้เอง เพื่อลดการซื้อและรายจ่ายครัวเรือน หรือ ฝึกทำผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ และวิธีถนอมอาหารต่างๆ เพื่อสร้างอาชีพใหม่เสริม รายได้ครัวเรือนอีกทางหนึ่ง ในปี 2553 บริษัทจัดอบรมแม่ บ้ า นชุ ม ชนไปรวมทั้ ง สิ้ น 40 ชุ ม ชน โดยมี ผู้ เ ข้ า ร่ ว มอบรม 3,200 คน หัวข้อที่อบรม ได้แก่ • น้ำยาล้างจาน / น้ำยาซักผ้า / น้ำยาปรับผ้านุม่ / ครีมอาบน้ำ / แชมพูสมุนไพร • ไข่เค็มดินสอพอง • ตุ๊กตาการบูร • การเพาะเห็ด

24

1. จ.ระยอง จำนวน 16 ชุมชน ผู้เข้าร่วม 1,440 คน 2. จ.ฉะเชิงเทรา จำนวน 16 ชุมชน ผู้เข้าร่วม 1,035 คน 3. จ.ชลบุรี จำนวน 8 ชุมชน ผู้เข้าร่วม 725 คน


ขุดลอกคูคลอง ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ และปลูกป่าชายเลน ด้วยความตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ และเพื่อร่วมเทิดพระเกียรติเนื่องในวโรกาสวันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม 2553 บริษัทจึงจัดกิจกรรม ดังต่อไปนี้ 1. ขุดลอกคูคลอง ร่วมกับค่ายมหาสุรสิงหนาท หน่วย บัญชาการกองพลนาวิกโยธิน และหน่วยงานราชการ-ชุมชน ในพื้นที่ ในตำบลหนองบัว หนองไร่ เชิงเนิน ในจังหวัดระยอง จำนวน 7 แห่ง รวมระยะทาง 3 กิโลเมตร เพื่อให้ลำคลอง สะอาด ปราศจากวัชพืช สามารถใช้น้ำจากแหล่งน้ำได้อย่าง เต็มประสิทธิภาพ 2. ปล่อยพันธุ์ปลา 1,000,000 ตัว ร่วมกับองค์การ บริหารส่วนตำบลหนองบัว จ.ระยอง และชุมชนในพื้นที่ 3. ปล่ อ ยพั น ธุ์ ป ลา 500,000 ตั ว ร่ ว มกั บ เทศบาล ตำบลบางปะกง โรงเรียนและชุมชน ในโครงการ “ร่วมใจภักดิ์ เยาวชนรักษ์คูคลอง”

ฟุตบอลเยาวชน อบจ.-อีสท์ วอเตอร์ ลีก ตลอดระยะเวลาที่บริษัทก่อตั้งขึ้นได้ให้การสนับสนุน กิ จ กรรมด้ า นกี ฬ าของชุ ม ชนอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดย “ฟุ ต บอล” เป็นกีฬาอีกชนิดหนึ่งซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายใน ปัจจุบัน ดังนั้น บริษัทจึงร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัด ระยอง สมาคมกีฬาจังหวัดระยอง และ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาระยองเขต 1 และเขต 2 จัดการแข่งขันฟุตบอล เยาวชน อายุไม่เกิน 12 ปี ภายใต้ชื่อโครงการแข่งขันฟุตบอล ระยองยูธ “อบจ. - อีสท์ วอเตอร์ ลีก 2010” ขึ้นเป็นปีแรก โดย มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมเยาวชนให้ออกกำลังกาย ห่างไกล ยาเสพติด รวมถึงการมีวินัยและน้ำใจเป็นนักกีฬาด้วย ซึ่งมี ทีมจากชุมชนในจังหวัดระยองเข้าร่วมแข่งขันจำนวน 16 ทีม

ให้กำลังใจผู้พิการ ปัจจุบันจำนวนคนพิการมีเพิ่มมากขึ้นทุกปี และเพื่อ เป็ น การช่ ว ยเหลื อ คนพิ ก ารซึ่ ง เป็ น ผู้ ด้ อ ยโอกาสในสั ง คม บริษัทจึงร่วมกับ สภาคนพิการทุกประเภทจังหวัดฉะเชิงเทรา จัดทำโครงการ “เพื่อนเยี่ยมเพื่อน” ขึ้น โดยมุ่งหวังที่จะช่วยให้ กำลังใจแก่ผู้พิการในการดำเนินชีวิตต่อไปในสังคมอย่างมี ความสุข ไม่เกิดความท้อแท้สิ้นหวังคิดว่าตนเองเป็นภาระของ ผู้อื่น นอกจากนี้ยังได้จัดโครงการ “อบรมแกนนำการดูแลส่ง เสริมสุขภาพคนพิการ” เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจด้านหลัก ประกั น สุ ข ภาพหรื อ ระเบี ย บอั น เป็ น สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ด้ า นการ รักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการอีกด้วย

25


น้ำสะอาดเพื่อชุมชน บริษัทได้จัดการให้บริการด้านน้ำดื่มสะอาดในหลาย รู ป แบบทั้ ง การบริ จ าคตู้ น้ ำ ดื่ ม ระบบ Reversed Osmosis (RO) การให้บริการรถน้ำดื่มสะอาดเคลื่อนที่ระบบ RO น้ำดื่ม ชนิ ด ขวดและถ้ ว ย เพื่ อ ให้ ป ระชาชนมี น้ ำ ดื่ ม สะอาดในการ บริโภค และดำเนินโครงการต่อเนื่องมาโดยตลอดโดยมีผู้ใช้ บริการเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยเฉพาะในปี 2553 เกิดอุทกภัยขึ้น ในหลายพื้ น ที่ บริ ษั ท จึ ง ส่ ง รถน้ ำ ดื่ ม เคลื่ อ นที่ ไ ปช่ ว ยเหลื อ

ผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่จังหวัดอยุธยา นครราชสีมา และ สงขลา รวมทั้งสนับสนุนน้ำดื่มชนิดขวดและถ้วยผ่านยังหลาย หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

รถน้ำดื่มสะอาดเคลื่อนที่ระบบ RO

358

631,864

ครั้ง ลิตร

829,680 คน

น้ำดื่มขวด, น้ำถ้วย

288

102,729

ลิตร

285,927 คน

ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณีท้องถิ่น ในปี 2553 บริษัทได้ร่วมเป็นเจ้าภาพกฐินสามัคคี จำนวน 4 วัดหลัก ได้แก่ 1. วัดหนองฆ้อ ต.หนองบัว อ.บ้านค่าย จ.ระยอง 2. วัดหนองมะปริง ต.แม่น้ำคู้ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง 3. วัดหนองระกำ ต.พนานิคม อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง 4. วัดเขาดิน ต.เขาดิน อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา

26

ครั้ง

รวม

646

724,593

ครั้ง ลิตร

1,115,607 คน


นั ก ลงทุ น เป็ น อี ก กลุ่ ม ที่ มี ค วามสำคั ญ ยิ่ ง ต่ อ องค์กรด้วยเป็นผู้ที่มีส่วนสนับสนุนให้บริษัทสามารถขยับ ขยายการลงทุนได้ตามแผนงานที่วางไว้

เชื่อมโยงสัมพันธ์นักลงทุน

บ ริ ษั ท ตระหนั ก ดี ว่ า ข้ อ มู ล และสารสนเทศต่ า งๆ ของบริ ษั ท เป็ น ข้ อ มู ล ที่ ส ำคั ญ ต่ อ การตั ด สิ น ใจของกลุ่ ม ผู้ลงทุน นักวิเคราะห์และกลุ่มผู้ถือหุ้น จึงให้ความสำคัญต่อ การเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และทันเวลา ตามเกณฑ์ที่สำนักงาน ก.ล.ต. และ ตลท. กำหนด นอกจากนี้ ยั ง ได้ จั ด ให้ มี ก ารเผยแพร่ ข้ อ มู ล ทั้ ง ภาษาไทยและภาษา อังกฤษ อาทิ ข้อมูลบริษัท งบการเงิน การนำเสนอผลการ ดำเนินงานของบริษัทและรายงานและการวิเคราะห์ของฝ่าย บริหาร (MD&A) รายงานสารสนเทศที่บริษัทแจ้งต่อ ตลท. ผ่านช่องทางของ ตลท. (www.set.or.th) และทางเว็บไซต์

ของบริษัท (www.eastwater.com) โดยปรับปรุงข้อมูลให้เป็น ปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ หน่ ว ยงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ (โทรศั พ ท์ ห มายเลข 0-2272-1600 ต่อ 2317 โทรสารหมายเลข 0-2272-1601 หรือที่ ir@eastwater.com) ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นศูนย์กลาง และเป็นตัวแทนในการติดต่อสื่อสาร ให้บริการข้อมูลข่าวสาร และจั ด กิ จ กรรมต่ า งๆ ของบริ ษั ท แก่ ผู้ ล งทุ น ผู้ ถื อ หุ้ น นักวิเคราะห์ และประชาชนทั่วไป เพื่อนำเสนอผลงานและ แจ้งสารสนเทศของบริษัท ในรูปแบบต่างๆ สรุปได้ดังนี้

ประเภทกิจกรรม การประชุมกลุ่มนักวิเคราะห์การลงทุน (Analyst Meeting) การประชุมทางไกล ทางโทรศัพท์ สำหรับนักลงทุนต่างประเทศ (Conference Call) การจัดกิจกรรมพบผู้ลงทุนรายย่อยกับตลาดหลักทรัพย์ฯ (Opportunity Day) การเข้าพบผู้บริหารเพื่อสอบถามถึงแนวทางการบริหารจัดการและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ (Company Visit) การจัดกิจกรรมเยี่ยมชมกิจการของบริษัท (Site Visit)

จำนวน(ครั้ง) 1 9 4 15 2

ข้อมูล ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2553

นอกจากนี้ยังมีบริการจัดส่งข่าวสารของบริษัททางอีเมล (E-Newsletter) โดยผู้สนใจสามารถสมัครได้ทางเว็บไซต์ ของบริ ษั ท ทั้ ง นี้ ห น่ ว ยงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ไ ด้ จั ด ให้ มี ก ารรวบรวมความคิ ด เห็ น และข้ อ เสนอแนะต่ า งๆ ของนั ก ลงทุ น

นักวิเคราะห์และผู้ถือหุ้น เสนอต่อคณะผู้บริหารของบริษัท เพื่อปรับปรุงการดำเนินงานให้เหมาะสมในการดำเนินนโยบายของ บริษัทต่อไป

27


นอกจากการใส่ ใ จดู แ ลผลประโยชน์ ผู้ ถื อ หุ้ น และลู ก ค้ า เป็ น อย่ า ง ดีแล้ว อีสท์ วอเตอร์ยังให้ความสำคัญกับห่วงโซ่ธุรกิจที่อยู่รอบข้าง โดยการ จัดกิจกรรมสาธารณะประโยชน์มากมาย

ดูแลรอบรั้วอีสท์วอเตอร์ ด้านผู้เช่า

28

นอกจากการดำเนินงานในธุรกิจหลักอย่างต่อเนื่อง และยั่ ง ยื น แล้ ว บริ ษั ท ยั ง มี ธุ ร กิ จ ด้ า นการให้ เ ช่ า พื้ น ที่ ข อง อาคาร East Water ซึ่งในปี 2553 บริษัทมีรายได้จากการ

ให้เช่าพื้นที่อาคาร เป็นจำนวนเงินประมาณ 50 ล้านบาท จาก พื้นที่ให้เช่า 10,265 ตารางเมตร คิดเป็นร้อยละ 99 ของพื้นที่ เช่าทั้งหมด มีผู้เช่าพื้นที่ทั้งภาครัฐและเอกชน รวม 17 ราย โดยมีการจัดกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับผู้เช่าพื้นที่ ได้แก่ 1. กิจกรรมด้านสังคมและศาสนา บริษัทได้จัดกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมความสัมพันธ์ร่วม กั บ ผู้ เ ช่ า พื้ น ที่ อาทิ การบริ จ าคโลหิ ต ทุ ก ไตรมาส,

การบริ จ าคสิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ ใ นการอุ ป โภคและบริ โ ภคเพื่อ ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระสบภั ย น้ ำ ท่ ว ม รวมถึ ง กิ จ กรรมสื บ สาน ประเพณีในเทศกาลวันสำคัญ อาทิ การทำบุญใส่บาตรใน

วั น สำคั ญ ทางศาสนา, การลงนามถวายพระพรวั น เฉลิ ม พระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าฯ และพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ นอกจากนี้ ยั ง ได้ จั ด ให้ มี ก ารพบปะกั บ

ผู้บริหารของผู้เช่าพื้นที่เพื่อรับฟังความคิดเห็น ตลอดจนนำ

ข้อเสนอแนะต่างๆ มาปรับปรุงการให้บริการ

2. กิจกรรมการอนุรักษ์พลังงาน บริ ษั ท ได้ ใ ห้ ค วามสำคั ญ กั บ กิ จ กรรมการอนุ รั ก ษ์ พลังงาน โดยบรรจุไว้ในแผนปฏิบัติการ 3 ปี มีเป้าหมายใน การลดปริมาณการใช้พลังไฟฟ้าทั้งอาคารลง 10% ซึ่งได้รับ ความร่วมมือจากผู้เช่าพื้นที่เป็นอย่างดีในการร่วมกิจกรรม อนุรักษ์พลังงานต่างๆ อาทิ การอบรมและประชาสัมพันธ์เพื่อ รณรงค์ให้มีการใช้พลังงานอย่างถูกวิธี, การวางระบบบริหาร อาคารอัตโนมัติ, การจัดนิทรรศการและทัศนศึกษาดูงานด้าน อนุรักษ์พลังงานทั้งในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน 3. กิจกรรมความปลอดภัย บริ ษั ท ให้ ค วามสำคั ญ ไม่ เ พี ย งแต่ ค วามปลอดภั ย จากอุ บั ติ เ หตุ เ นื่ อ งมาจากการทำงานเท่ า นั้ น แต่ ยั ง มองถึ ง ความปลอดภัยในทุกมิติของชีวิตบุคลากร ทั้งความปลอดภัย นอกเวลาทำงาน ความปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บ รวมถึง ความปลอดภั ย ในชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น โดยจั ด ให้ พ นั ก งานมี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด กิ จ กรรมด้ า นความปลอดภั ย ในรู ป แบบ ต่ า งๆ และการรณรงค์ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ค วามรู้ ด้ า นความ ปลอดภัยอาชีวอนามัยอย่างสม่ำเสมอ ตลอดจนจัดให้มีแนว ปฏิ บั ติ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด การบริ ห ารจั ด การ อาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่ดี ประกอบด้วย


1. การจัดทำคู่มือความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้ อ มในการทำงาน เพื่ อ เป็ น มาตรฐานในการ ทำงานที่ปลอดภัยและลดความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุ 2. การจั ด ตั้ ง คณะกรรมการความปลอดภั ย เพื่ อ กำกับดูแลงานด้านความปลอดภัยของบริษัทให้เป็นไปตาม กฎหมาย 3. การรายงาน การสอบสวน และการวิ เ คราะห์ อุ บั ติ เ หตุ เพื่ อ ให้ ท ราบถึ ง สาเหตุ และการจั ด หามาตรการ แก้ไขป้องกันมิให้เกิดเหตุซ้ำ 4. การกำกั บ ดู แ ลควบคุ ม ผู้ รั บ จ้ า ง ในโครงการ ก่ อ สร้ า งทั้ ง ขนาดใหญ่ แ ละขนาดเล็ ก ให้ ป ฏิ บั ติ ง านอย่ า ง ปลอดภัย โดยจัดให้มีการตรวจติดตามและรายงานผลการ ดำเนินงานต่อที่ประชุมโครงการอย่างต่อเนื่อง 5. การตรวจติ ด ตามและประเมิ น ผลด้ า นความ ปลอดภัยอย่างสม่ำเสมอ โดยผู้ตรวจประเมินจากหน่วยงาน ภายนอก 6. การบริหารความเสี่ยงเกี่ยวกับอาคารและสถานที่ โดยจัดให้มีการตรวจสอบ บำรุงรักษา และซ่อมแซม อย่าง สม่ำเสมอ นอกจากนี้ บริ ษั ท ได้ ร่ ว มกั บ ผู้ เ ช่ า พื้ น ที่ จั ด กิ จ กรรม ด้ า นความปลอดภั ย ต่ า งๆ เช่ น การจั ด อบรมให้ ค วามรู้ กั บ

ผู้ เ ช่ า พื้ น ที่ ใ นหลั ก สู ต ร “การดั บ เพลิ ง ขั้ น ต้ น ” รวมถึ ง จั ด กิจกรรมการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ เพื่อ เป็นความรู้และเตรียมความพร้อมในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินกับ

ผู้เช่าพื้นที่ เป็นประจำทุกปี 4. การเพิ่มช่องทางในการสื่อสาร บริษัทได้เล็งเห็นความสำคัญของการสื่อสาร จึงได้ เพิ่ ม ช่ อ งทางในการสื่ อ สารระหว่ า งบริ ษั ท กั บ ผู้ เ ช่ า โดยได้ กำหนดให้มีหมายเลข Call Center 2201 เพื่อความสะดวก และรวดเร็วในการแจ้งข้อร้องเรียน และปัญหาต่างๆ จากการ บริการ, จัดให้มีเสียงตามสายเพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารและ เหตุการณ์ต่างๆ ให้ผู้เช่าทราบ ตลอดจนการจัดให้มีระบบ SMS Alert เพื่อแจ้งเหตุฉุกเฉินไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และจะขยายการบริการไปยังกลุ่มผู้เช่าในปีต่อไป

ด้านคู่ค้า ในรอบปี ที่ ผ่ า นมา บริ ษั ท มี โ ครงการที่ ส ำคั ญ ๆ ที่ สำเร็จบรรลุตามเป้าหมาย โดยได้รับความร่วมมือจากหน่วย งานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก ซึ่งรวมถึงผู้ค้าของ บริษัท ที่เป็นส่วนหนึ่งที่ผลักดันให้บริษัทประสบความสำเร็จได้ด้วยดี ทั้งนี้ บริษัทได้ปฏิบัติกับผู้ค้าตามเงื่อนไขทางการค้า และ/หรือ ข้ อ ตกลงตามสั ญ ญาที่ มี ต่ อ ผู้ ค้ า ในการซื้ อ ขายสิ น ค้ า และ บริการอย่างเป็นธรรม โปร่งใส ถูกต้องตามหลักวิชาการ และ สามารถตรวจสอบได้ นอกจากนี้ แ ล้ ว บริ ษั ท ยั ง จั ด ให้ มี กิจกรรมร่วมกับผู้ค้า ได้แก่ 1. การจัดเสวนากลุ่มผู้ค้า บริ ษั ท ได้ จั ด กิ จ กรรมให้ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งาน

ของบริษัท ได้พบปะกับผู้ค้า เพื่อให้ทราบนโยบายและแผน งานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นต่างๆ รวมทั้ ง ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ระหว่ า งดำเนิ น การ ผลจากการจั ด กิจกรรมได้นำมาปรับปรุงกระบวนการจัดหาให้เหมาะสมและ เป็ น ปั จ จุ บั น ให้ ส ามารถแข่ ง ขั น ได้ โดยการจั ด กิ จ กรรม

ดั ง กล่ า วได้ มี ก ารสอดแทรกความรู้ ใ นรู ป แบบการจั ด เวที เสวนา โดยได้เรียนเชิญวิทยากรที่มีประสบการณ์ด้านงานจัด ซื้ อ และกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง มาบรรยายให้ ค วามรู้ แ ก่ คู่ ค้ า และบุคลากรของบริษัท เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนิน งานให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลยิ่งขึ้น 2. การเยี่ยมชมกิจการของผู้ค้า (Site visit) บริษัทได้จัดให้มีการเยี่ยมชมกิจการของผู้ค้า เพื่อ เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้บริหาร และพนักงานที่เกี่ยวข้องได้มี โอกาสเข้าเยี่ยมชมกิจการงานของผู้ค้าที่ให้บริการในงานหลัก เพื่ อ สร้ า งความมั่ น ใจและความเข้ า ใจกระบวนการผลิ ต

สิ น ค้ า และบริ ก าร ตลอดจนการแลกเปลี่ ย นความรู้ แ ละ ประสบการณ์ร่วมกัน ทั้งในและต่างประเทศ ได้แก่ การเยี่ยม ชมโรงงานซ่อมแซมบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำ ระบบควบคุม ไฟฟ้า และโรงงานผลิตเครื่องสูบน้ำ เป็นต้น

29


คุณรูหรือไม ?

น้ำมากกวา

ที่เราใชในแตละวัน

หองน้ำ

ถูกใชไปใน

ในการ

กดชักโครก

ใชน้ำไปประมาณ

1

ครั้ง ลิตร

การ กดชักโครก

1 ครั้ง เทากับ น้ำดื่ม ของคนในครอบครัว 30

วัน


การแปรงฟน

แตถา

โดยใชแกว ใชน้ำเพียง

เปดน้ำทิ้งไว

ลิตร

จะเสียน้ำไปประมาณ

ลิตร

อาบน้ำ 5 นาที

ใชเวลา

จะมีการใชน้ำไป โดยเฉลี่ย

ลิตร

อาบน้ำ โดยใชฝกบัว

แทนการใชอางอาบน้ำ

เพราะน้ำที่บรรจุเต็มอางอาบน้ำ มีปริมาณ ประมาณ

ลิตร 31


ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน 1. ธุรกิจน้ำดิบ

จ ากการฟื้ น ตั ว ของเศรษฐกิ จ โลกและนโยบายการกระตุ้ น เศรษฐกิ จ

ของภาครัฐอย่างต่อเนื่อง ทำให้ยอดปริมาณจำหน่าย ปี 2553 สูงกว่า ปี 2552 ที่ประมาณ 9.9 %

โรงงานทั่วไป

นิคมเอกชนฯ

25.94%

2549

2550

223.91

2551

กนอ.

33.90%

อุปโภค-บริโภค

ปริมาณน้ำจำหน่าย (ล้าน ลบ.ม.)

214.99 195.61

7.83%

32.78%

220.71

2552

245.44

2553

หมายเหตุ: ปริมาณน้ำจำหน่ายสะสม ตั้งแต่มกราคม-ธันวาคม 2553

ปริมาณการใช้น้ำดิบ (ร้อยละ)

2. ผู้ใช้น้ำของบริษัท บริษัทมียอดจำหน่ายน้ำรวมประมาณ 245.44 ล้าน

ลบ.ม. โดยการใช้น้ำในภาคอุตสาหกรรม เริ่มมีแนวโน้มดีขึ้น จากอุตสาหกรรมผลิตยานยนต์และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่มี ยอดส่งออกปรับตัวขึ้น และรวมถึงการเริ่มรับน้ำดิบเพื่อการ ผลิตเชิงพาณิชย์ และเริ่มทดสอบเครื่องจักรของอุตสาหกรรม ปิ โ ตรเคมี ใ นพื้ น ที่ ม าบตาพุ ด ตั้ ง แต่ ช่ ว งกลางปี เ ป็ น ต้ น มา ประกอบกั บ เมื่ อ วั น ที่ 31 สิ ง หาคม 2553 กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ประกาศ 11 ประเภท กิจการที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ส่งผลให้ เหลือเพียง 3 โครงการ จาก 76 โครงการในพื้นที่มาบตาพุด ที่ ศาลปกครองมีคำสั่งถอนใบอนุญาต ทั้งนี้บริษัทประเมินว่า โครงการดั ง กล่ า วไม่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ภาพรวมปริ ม าณน้ ำ จำหน่ายใน ปี 2553 อย่างมีนัยสำคัญ

32

แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ • การใช้น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค โดยการประปา ส่วนภูมิภาค ได้แก่ แหลมฉบัง ศรีราชา ชลบุรี พัทยา และ อื่นๆ รวมถึงสัมปทานกิจการประปาของเอกชน ใช้น้ำดิบรวม กันมากถึงร้อยละ 32.78% • การใช้น้ำโดยนิคมอุตสาหกรรมของรัฐ ได้แก่ นิคม อุ ต สาหกรรมมาบตาพุ ด และแหลมฉบั ง ของการนิ ค ม อุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย ซึ่ ง ใช้ น้ ำ ดิ บ มากถึ ง ร้ อ ยละ 33.90% • นิคมอุตสาหกรรมเอกชน และสวนอุตสาหกรรม ต่างๆ เช่น บริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน), นิคม อุตสาหกรรม RIL1996 ของ บริษัท เอส ซี จี เคมิคอล จำกัด และสวนอุตสาหกรรมสหพัฒนพิบูลย์ ใช้น้ำดิบมากถึงร้อยละ 25.94% • ที่เหลืออีก 7.83% เป็นการใช้น้ำของโรงงานทั่วไป และธุรกิจอื่นๆ


3. ด้านการเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการน้ำ ในปี 2553 บริ ษั ท ได้ ด ำเนิ น การเพิ่ ม ศั ก ยภาพการ บริหารจัดการน้ำในด้านต่างๆ เพื่อรองรับการขยายตัวของ ความต้องการใช้น้ำในพื้นที่บริการของบริษัทดังนี้ • ด้ า นการเพิ่ ม ศั ก ยภาพของแหล่ ง น้ ำ บริ ษั ท ได้ ดำเนินการศึกษาทบทวนแผนหลักการพัฒนาแหล่งน้ำและ แผนหลักการปรับปรุงระบบท่อส่งน้ำในพื้นที่ภาคตะวันออก เพื่อทบทวนแผนหลักการพัฒนาแหล่งน้ำและระบบท่อส่งน้ำ ให้สามารถรองรับต่อความต้องการใช้น้ำในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้า โดยคาดว่าจะศึกษาแล้วเสร็จในต้นปี พ.ศ. 2554 และบริษัทได้ดำเนินการโครงการก่อสร้างสระสำรองน้ำดิบ มาบข่า 2 เพื่อเพิ่มเสถียรภาพระบบสูบจ่ายน้ำ โดยใช้เป็น แหล่งน้ำสำรองกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน เช่น ไฟฟ้าดับ สามารถ ส่งจ่ายน้ำได้ต่อเนื่อง รวมทั้งมีประโยชน์ในการบริหารต้นทุน ค่าพลังงานในการสูบจ่ายน้ำ โดยคาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จ ในปี 2554 • ด้านการเพิ่มศักยภาพของระบบท่อส่งน้ำ บริษัท ได้ดำเนินการปรับปรุงระบบท่อส่งน้ำสายหลักในพื้นที่จังหวัด ชลบุรีและระยอง เพื่อเพิ่มศักยภาพของระบบท่อส่งน้ำสาย หลักทั้งในด้านความสามารถในการส่งจ่ายน้ำและด้านการ บริหารจัดการระบบสูบจ่ายน้ำ ซึ่งได้แก่ งานก่อสร้างวางท่อ แยกจ่ า ยน้ ำ ดิ บ โรงกรองน้ ำ บางละมุ ง (ใหม่ ) งานก่ อ สร้ า ง สถานีสูบน้ำเพิ่มแรงดัน (Booster Pump) บริเวณอ่างเก็บน้ำ หนองค้อ งานปรับปรุงสถานีสูบน้ำมาบตาพุด ทั้ง 2 แห่งนี้ สามารถรองรับการใช้น้ำเพิ่มขึ้นได้ไม่น้อยกว่าปีละ 22 ล้าน ลบ.ม. อีกส่วนหนึ่งเป็นงานก่อสร้างวางท่อส่งน้ำหนองปลา ไหล-มาบตาพุด เส้นที่ 3 เมื่อแล้วเสร็จสามารถรองรับการ ขยายตั ว ของการใช้ น้ ำ ในภาคอุ ป โภคบริ โ ภคและภาค อุตสาหกรรมในพื้นที่มาบตาพุด-สัตหีบ ได้ไม่น้อยกว่าปี ละ 105 ล้าน ลบ.ม. ซึ่งเริ่มก่อสร้างตั้งแต่ปลายปี 2552 มีความก้าวหน้างานก่อสร้างประมาณร้อยละ 65 คาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จในปลายปี 2554 • ด้ า นการเพิ่ ม ศั ก ยภาพของการ บริหารจัดการน้ำ บริษัทได้ดำเนินการพัฒนา ระบบควบคุ ม การสู บ จ่ า ยน้ ำ แบบรวมศู น ย์ (Control Center) โดยกำหนดให้ ศู น ย์ ก าร ควบคุมระบบ Control Center มีศูนย์รวมอยู่ ที่ ส ำนั ก งานมาบตาพุ ด โดยปรั บ ปรุ ง ระบบ SCADA ของบริ ษั ท ให้ เ ป็ น แบบ Central Control มีมาตรฐาน ทันสมัย มีประสิทธิภาพ สู ง สุ ด มี ร ะบบการจั ด การฐานข้ อ มู ล เก็ บ ไว้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลาง และพั ฒ นาระบบควบคุ ม ของบริ ษั ท

รองรั บ การรวมศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารระยอง และศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก าร ฉะเชิ งเทรา-ชลบุรี เข้าด้วยกันเป็นศูนย์ปฏิบัติการเดียวกัน ทำให้ผู้เกี่ยวข้องในส่วนต่างๆ ทั้งบริษัท และลูกค้า สามารถ เข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ได้ ง่ า ย ซึ่ ง คาดว่ า จะดำเนิ น การพั ฒ นาระบบ ควบคุ ม การสู บ จ่ า ยน้ ำ แบบรวมศู น ย์ (Control Center) แล้วเสร็จในปี 2554

4. ด้านพัฒนาธุรกิจ

จากประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการน้ำทางภาค ตะวั น ออกและการดำเนิ น ธุ ร กิ จ น้ ำ ประปาที่ มี ก ารใช้ เทคโนโลยีที่หลากหลาย บริษัทจึงได้พยายามขยายโอกาสใน การลงทุนธุรกิจทางด้านน้ำจากความชำนาญที่มีอยู่ไปยังพื้น ที่อื่นๆ รวมถึงศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อพัฒนาธุรกิจทาง ด้านน้ำอื่นๆ เช่น การผลิตน้ำเพื่ออุตสาหกรรม การให้บริการ บำบัดน้ำเสีย และรวมถึงการบำบัดน้ำเสียเพื่อนำกลับมาใช้ ใหม่ เป็นต้น เพื่อให้บริษัทดำเนินธุรกิจทางด้านน้ำอย่างครบ วงจร นอกจากนี้ยังได้ศึกษาโอกาสในการขยายการลงทุนไป ยังธุรกิจด้านพลังงานทดแทน เพื่อเพิ่มรายได้นอกเหนือจาก รายได้ ห ลั ก จากธุ ร กิ จ ทางด้ า นน้ ำ และยั ง ช่ ว ยเสริ ม ภาพ ลักษณ์ในด้านการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม รวมถึงยังได้ศึกษา โครงการลงทุนในต่างประเทศ เช่น ประเทศ จีน อินเดีย และ ประเทศในกลุ่ ม สมาชิ ก อาเซี ย น รวมถึ ง ประเทศอื่ น ๆ ที่ มี ศักยภาพ ทั้งธุรกิจทางด้านน้ำและพลังงานทดแทน เพื่อเพิ่ม ช่องทางในการขยายโอกาสในการลงทุน

33


ลักษณะการดำเนินธุรกิจและสัดส่วนการถือหุ้นบริษัทในเครือ ธุรกิจน้ำดิบ (Core Business)

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) หรือ East Water จัดตั้งเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2535 เพื่อพัฒนาและบริหารจัดการระบบท่อส่งน้ำสายหลัก ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก โดยจำหน่ายน้ำดิบให้แก่

นิคมอุตสาหกรรม โรงงานทั่วไป และกิจการประปา ผ่านระบบท่อส่งน้ำดิบ 4 สาย ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา คือ 1) ระบบท่อส่งน้ำ หนองปลาไหล-ดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหีบ 2) ระบบท่อส่งน้ำ หนองค้อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ 3) ระบบท่อส่งน้ำหนองปลาไหล-หนองค้อ และ 4)ระบบท่อส่งน้ำพื้นที่ฉะเชิงเทรา โดยในปัจจุบันท่อส่งน้ำที่อยู่ภายใต้การ บริหารจัดการของบริษัท มีระยะทางรวม 339.5 กิโลเมตร และมีความสามารถสูบส่งน้ำได้รวมกันถึง 478 ล้าน ลบ.ม. ต่อปี

ธุรกิจหลัก ธุรกิจน้ำดิบ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก

ธุรกิจต่อเนื่อง ธุรกิจน้ำประปา

บจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ 100%

ประปาสัตหีบ ประปาเกาะล้าน ประปาเกาะสีชัง ประปาบ่อวิน ประปาเกาะสมุย ประปาระยอง

34

บจ. ประปานครสวรรค์ 100%

บจ. เอ็กคอมธารา 15.88%

บจ. ประปาบางปะกง 100%

บจ. ฉะเชิงเทรา 100%


พัฒนาการที่สำคัญของธุรกิจน้ำดิบ มกราคม 2553 มีนาคม 2553 เมษายน 2553

บริษทั ลงนามในสัญญาซือ้ ขายทรัพย์สนิ ทีเ่ กิดจากการก่อสร้างโครงการวางท่อเชือ่ มจากอ่างเก็บน้ำ ประแสร์ไปอ่างเก็บน้ำคลองใหญ่ จังหวัดระยอง (โครงการประแสร์ฯ) บริษทั ส่งมอบทรัพย์สนิ โครงการประแสร์ฯ ให้กรมชลประทาน คณะกรรมการตรวจรับทรัพย์สินของกรมชลประทานลงนามตรวจรับทรัพย์สินโครงการประแสร์ฯ และบริษัทได้รับการโอนเงินค่าทรัพย์สินโครงการนี้ตามสัญญาจากกรมชลประทาน

ทั้งนี้ หลังจากที่บริษัทได้รับชำระเงินแล้ว บริษัทได้ชำระเงินให้แก่ผู้รับเหมา และบันทึกบัญชีรับรู้

รายได้จากการซื้อขายทรัพย์สินในโครงการประแสร์ฯ แล้ว

ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง (Related Business)

- ธุรกิจน้ำประปา บริษทั ยูนเิ วอร์แซล ยูทลี ติ สี้ ์ จำกัด (UU) เป็นผูด้ ำเนินธุรกิจประปาสัมปทานในพืน้ ทีต่ า่ งๆ รวม 9 แห่ง ได้แก่ ประปาสัตหีบ ประปาบางปะกง ประปาฉะเชิงเทรา ประปานครสวรรค์ ประปาเกาะสีชัง ประปาพื้นที่บ่อวิน ประปา เกาะสมุย ประปาเกาะล้าน และประปาระยอง รวมทั้งยังดำเนินการรับจ้างผลิตน้ำประปาให้แก่บริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด และประปาราชบุรี-สมุทรสงคราม ตลอดจนบริหารลดน้ำสูญเสียในพื้นที่บริการภาค 2 ของการประปาอ้อมน้อย-สามพรานสมุทรสงคราม ประปาปทุมธานี-รังสิต และประปาพัทยา พัฒนาการที่สำคัญของธุรกิจน้ำประปา

มีนาคม 2553

บริษัท UU ได้ลงนามสัญญากับ บริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2553 สัญญา จ้างงานผลิตสูบส่งน้ำประปา บำรุงรักษาระบบประปา และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ในโครงการ เอกชนร่วมลงทุนประปาราชบุรี-สมุทรสงคราม เป็นระยะเวลาสัญญา 3 ปี กำลังการผลิตรวม 48,000 ลบ.ม./วัน

กุมภาพันธ์ 2553 สิงหาคม 2553 พฤศจิกายน 2553

คะแนน “ดี ม าก” ในผลการประเมิ น การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การบริ ษั ท จดทะเบี ย น ปี 2552 จาก สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย บริษัทได้รับคะแนนระดับ “ดีเยี่ยม” ในผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น

ประจำปี 2553 จากสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย บริษัทได้คะแนน 90.59 % จากการเข้าร่วมประกวด CSR Award 2010 จัดโดย ตลท.

ด้านการบริหารจัดการ

35


ปัจจัยเสี่ยง

บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารความ เสี่ยงต่อการดำเนินธุรกิจ โดยถือว่าการบริหารความเสี่ยงเป็น องค์ประกอบที่สำคัญของทุกกระบวนการในการดำเนินธุรกิจ ของบริ ษั ท และบริ ษั ท ในเครื อ คณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมายให้ ค ณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง พิ จ ารณา กำหนดนโยบายและกำกั บ ดู แ ลความเสี่ ย งที่ มี นั ย สำคั ญ สำหรับกลุ่มบริษัท (Corporate Risks) ทั้งนี้ ฝ่ายบริหารมีการ ทบทวนความเสี่ยง แผนบริหารความเสี่ยง เป็นประจำทุกปี โดยกำหนดระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้และจัดทำเป็นคู่มือ บริ ห ารความเสี่ ย ง เสนอคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง พิจารณาอนุมัติ รวมถึงการติดตามผลการดำเนินงาน ตาม แผนบริหารความเสี่ยง รายงานผลต่อคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ ย งประจำทุ ก รายไตรมาส เพื่ อ ควบคุ ม ความเสี่ ย ง อย่างต่อเนื่อง ในปี 2553 มีความเสี่ยงที่มีนัยสำคัญ และการ ดำเนินงานบริหารความเสี่ยงของบริษัท สรุปดังนี้

1. ความเสี่ยงเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจ

1.1 ปริมาณน้ำในแหล่งน้ำอาจไม่เพียงพอกับความ ต้องการใช้น้ำ

ขัดแย้งและสร้างทัศนคติที่ดีต่อบริษัท โดยได้ดำเนินการร่วม กับชุมชน อาทิ การขุดลอกคูคลอง บริการรถน้ำดื่มเคลื่อนที่ จัดกิจกรรมคอนเสิร์ตการกุศล โครงการค่ายเยาวชนผู้นำด้าน การอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำและสิ่งแวดล้อมพร้อมมอบทุนการ ศึกษา โครงการปลูกป่าชายเลนเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวม ถึงสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมให้ แก่ชุมชน อาทิ วัด โรงเรียน ส่วนราชการ และสาธารณกุศล ต่างๆ ในปี 2553 - 2554 บริษัทมีโครงการวางท่อส่งน้ำ หนองปลาไหล - มาบตาพุด เส้นที่ 3 ซึ่งอาจเกิดปัญหาความ ขัดแย้งกับชุมชนที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ปฏิบัติการได้ บริษัทได้เข้า ชี้แจงโครงการให้ผู้นำท้องถิ่นในพื้นที่โครงการรับทราบก่อน การเริ่มโครงการ รวมทั้งจัดกิจกรรมชุมชนสัมพันธ์เพื่อสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีร่วมกัน

1.3 การเกิดความเสียหายต่อระบบท่อส่งน้ำ

ระบบท่ อ ส่ ง น้ ำ ของบริ ษั ท อาจพบปั ญ หาการ สึกกร่อน หรือจากการก่อสร้างสาธารณูปโภคอื่นในบริเวณ แนวท่อ ซึ่งอาจทำให้ท่อแตกหรือรั่วได้ อย่างไรก็ดี บริษัทได้ จัดแผนการซ่อมบำรุงเชิงป้องกัน และตรวจสอบระบบท่อส่ง น้ ำ และการซ่ อ มบำรุ ง ตามแผนงานอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้ ง

จั ด ทำประกั น ความเสี่ ย งภั ย กั บ บริ ษั ท ประกั น ภั ย ซึ่ ง เป็ น ผู้รับผิดชอบความเสี่ยงที่เกี่ยวกับความเสียหายของระบบท่อ ที่ อ าจเกิ ด จากเหตุ ก ารณ์ ต่ า งๆ โดยครอบคลุ ม ทุ ก เส้ น ท่ อ ตลอดจนทำประกั น ความเสี่ ย งภั ย ทรั พ ย์ สิ น ของบริ ษั ท และ ประกันภัยความรับผิดชอบต่อบุคคลภายนอก รวมถึงความ เสียหายที่เกิดจากการหยุดชะงัก เพื่อช่วยให้บริษัทสามารถให้ บริการจ่ายน้ำได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ

บริ ษั ท มี ก ารติ ด ตามปริ ม าณน้ ำ ในอ่ า งเก็ บ น้ ำ หลั ก

ในทุ ก สั ป ดาห์ รวมทั้ ง มี ก ารจั ด ทำและติ ด ตามแผนการสู บ จ่ายน้ำ แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง ทำให้ ใ นปี 2553 บริ ษั ท ไม่ มี ปั ญ หาด้ า นการ ขาดแคลนน้ำ และจากการประมาณการแหล่งน้ำต้นทุนซึ่งมี ระบบท่ อ เชื่ อ มโยงอ่ า งเก็ บ น้ ำ ประแสร์ - คลองใหญ่ โ ดย กรมชลประทาน ทำให้สามารถผันน้ำจากอ่างเก็บน้ำประแสร์ มายังอ่างเก็บน้ำคลองใหญ่และอ่างเก็บน้ำหนองปลาไหลได้ ประมาณ 70-80 ล้ า น ลู ก บาศก์ เ มตรต่ อ ปี ทำให้ บ ริ ษั ท มี 1.4 นโยบายของรัฐบาลและหน่วยงานราชการ แหล่งน้ำต้นทุนที่เพียงพอในระยะ 5 ปีข้างหน้า ที่เกีย่ วข้อง ความไม่แน่นอนของนโยบายของหน่วยงานราชการ 1.2 ความขัดแย้งกับชุมชนในการใช้ทรัพยากรน้ำจาก ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การดำเนิ น งานของบริ ษั ท อาจมี

แหล่งน้ำ ผลกระทบต่อบริษัท อาทิ ความล่าช้าในการออกใบอนุญาต บริ ษั ท ได้ จั ด สรรงบประมาณ เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพ จากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ความชัดเจนของอัตราเรียก ชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยสร้างสัมพันธภาพกับชุมชนในพื้นที่ เก็ บ ค่ า เช่ า ท่ อ ส่ ง น้ ำ หนองปลาไหล-หนองค้ อ อย่ า งไรก็ ดี ตลอดจนการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง และยังได้สนับสนุน บริ ษั ท ยั ง คงได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากหน่ ว ยงานราชการที่ โครงการพั ฒ นาในท้ อ งถิ่ น อย่ า งสม่ ำ เสมอ เพื่ อ ลดความ เกี่ยวข้องด้วยดีมาตลอด อีกทั้งการจัดตั้งและการดำเนินธุรกิจ

36


ของบริ ษั ท เป็ น ไปตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี ใ นการส่ ง เสริ ม กรมบังคับคดี การลงทุนด้านอุตสาหกรรม และการท่องเที่ยวในพื้นที่พัฒนา เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2546 บริษัทถูกฟ้องเป็นจำเลย ชายฝั่งทะเลตะวันออกของรัฐบาล ที่ 2 ในคดีความทางกฎหมายเกี่ยวกับการซื้อทรัพย์สินจาก กรมบั ง คั บ คดี คดี ห มายเลขดำที่ 1371/2546 โดยบริ ษั ท ดรอยส์ เนส แอสโซซิเอท จำกัด (โจทก์) ได้ฟ้องต่อศาลให้ 1.5 ความเพียงพอของปริมาณน้ำสำรอง เพิกถอนนิติกรรมการซื้อขายที่ดินระหว่างกรมบังคับคดีและ กรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน บริ ษั ท หรื อ ให้ ก รมบั ง คั บ คดี กั บ บริ ษั ท ร่ ว มกั น หรื อ แทนกั น เนื่ อ งจากบริ ษั ท ได้ มี ข้ อ ตกลงกั บ การไฟฟ้ า ส่ ว น ชดใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ ซึ่งมีจำนวนทุนทรัพย์ตามฟ้อง เป็น ภูมิภาคเกี่ยวกับการหยุดจ่ายกระแสไฟฟ้า จึงต้องมีน้ำสำรอง จำนวนเงิน 302.2 ล้านบาท ต่อมาวันที่ 26 มกราคม 2549 ไว้ใช้จากสระสำรองเพื่อส่งน้ำดิบให้ลูกค้าได้อย่างต่อเนื่องใน ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง และเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2549 กรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ปัจจุบันบริษัทมีแหล่งน้ำสำรองกรณีเกิด โจทก์ได้ยื่นอุทธรณ์ และบริษัทได้ยื่นคำแก้อุทธรณ์ เมื่อวันที่ เหตุฉุกเฉิน มีความจุ 101,600 ลูกบาศก์เมตร ซึ่งสามารถ 19 มิถุนายน 2549 ปัจจุบันสถานะของคดีอยู่ในระหว่างการ สำรองน้ำดิบได้ประมาณ 6.3 ชั่วโมง อย่างไรก็ตาม บริษัทได้ ดำเนินกระบวนพิจารณาคดีของศาลอุทธรณ์ มีการวางแผนปฏิบัติการกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินเพื่อที่จะทำให้ อย่างไรก็ตาม บริษัทเชื่อว่า การซื้อทรัพย์สินดังกล่าว การสูบจ่ายน้ำเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และบริษัทมีแผนที่จะเพิ่ม เป็ น ไปโดยชอบและได้ รั บ ความคุ้ ม ครองตามกฎหมาย ซึ่ ง ปริมาณน้ำสำรอง โดยก่อสร้างสระสำรองบริเวณพื้นที่มาบข่า บริษัทได้ยื่นประมูลตามขั้นตอนการขายทอดตลาดตามคำสั่ง ความจุประมาณ 250,000 ลูกบาศก์เมตร เพิ่มเติมอีกแห่ง ศาลหรือคำสั่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จากกรมบังคับคดีโดย หนึ่ง ซึ่งจะทำให้ปริมาณน้ำสำรองกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน รวมทั้ง สุ จ ริ ต และได้ ช ำระเงิ น ครบถ้ ว น ตลอดจนจดทะเบี ย นโอน สิ้นสามารถสำรองจ่ายน้ำได้ถึง 24 ชั่วโมง กรรมสิทธิ์จากกรมบังคับคดีเรียบร้อยแล้วและคาดว่าจะชนะ คดีในที่สุด 2 ความเสี่ยงด้านการเงิน 2. การฟ้องร้องเกี่ยวกับกระบวนการคัดเลือกเอกชน การสูบน้ำจากแหล่งน้ำที่พัฒนาใหม่ซึ่งเป็นการสูบ ให้ผลิตน้ำประปา เพื่อขายให้แก่การประปาส่วนภูมิภาคใน ผั น น้ ำ จากแหล่ ง น้ ำ ใกล้ เ คี ย งและการเพิ่ ม ขึ้ น ของอั ต ราค่ า พื้นที่ของสำนักงานประปาระยอง การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) ถูกองค์การบริหาร ไฟฟ้าอัตโนมัติ (Ft) ส่งผลให้ต้นทุนค่าพลังงานที่ใช้ในการสูบ น้ำเพิ่มสูงขึ้น แม้ว่าบริษัทจะไม่สามารถควบคุมค่าไฟฟ้า ซึ่ง ส่วนตำบลบางบุตร ผู้ฟ้องคดีที่ 1 องค์การบริหารส่วนตำบล เปลีย่ นแปลงตามสภาพเศรษฐกิจ และราคาน้ำมันในตลาดโลก บ้านค่าย ผู้ฟ้องคดีที่ 2 และนายสายัณห์ ยังดี ผู้ฟ้องคดีที่ 3 ได้ แต่บริษัทได้ดำเนินการบริหารการใช้ไฟฟ้า โดยการเลือก ยื่นฟ้องต่อศาลปกครองระยองเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2549 สูบน้ำจากแหล่งน้ำที่มีต้นทุนต่ำเป็นลำดับแรกและเลือกสูบ เป็ น คดี พิ พ าทเกี่ ย วกั บ การที่ ห น่ ว ยงานทางปกครองหรื อ น้ ำ ในช่ ว งเวลาที่ อั ต ราค่ า ไฟฟ้ า ต่ ำ สุ ด ตลอดจนปรั บ ปรุ ง เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ต่อมา ประสิทธิภาพเครื่องสูบน้ำ นอกจากนี้ บริษัทยังได้จัดทำแผน เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2549 ศาลปกครองระยองได้มีคำสั่ง อนุรักษ์พลังงาน และดำเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงาน เรียกให้กลุ่มบริษัท ยูยู กรุ๊ป คอนซอร์เตียม เข้ามาเป็นคู่กรณี และทำคำให้การในคดี โดยมีสถานะในคดีเป็นผู้ถูกฟ้องคดี อย่างต่อเนื่อง ที่ 2 เนื่องจากมีส่วนได้เสียในกรณีพิพาทด้วย เมื่อวันที่ 16 มี น าคม 2550 ศาลปกครองระยองมี ค ำพิ พ ากษาเพิ ก ถอน 3 ความเสี่ยงด้านกฎหมาย กระบวนการคัดเลือกเอกชนให้ผลิตน้ำประปาเพื่อขายให้แก่ ข้ อ พิ พ าททางกฎหมายที่ อ าจมี ผ ลกระทบต่ อ กปภ. ในพื้ น ที่ ข องสำนั ก งานประปาระยอง และเพิ ก ถอน สินทรัพย์ของบริษัทที่มีจำนวนสูงกว่าร้อยละ 5 ของส่วนของ สัญญาเลขที่ ฝกม. 1/2549 ลงวันที่ 14 มีนาคม 2549 ซึ่งเป็น ผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 16 พฤศจิกายน 2553 มีดังนี้ ผลจากการคั ด เลื อ กที่ ไ ม่ ช อบด้ ว ยกฎหมาย อย่ า งไรก็ ต าม 1. การฟ้ อ งร้ อ งเกี่ ย วกั บ การซื้ อ ทรั พ ย์ สิ น จาก กปภ.และบริ ษั ท ย่ อ ยได้ มี ก ารยื่ น อุ ท ธรณ์ ต่ อ ศาลปกครอง

37


ระยอง เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2550 และศาลปกครองจังหวัด ระยองมี ค ำสั่ ง รั บ อุ ท ธรณ์ พร้ อ มทั้ ง ส่ ง คำอุ ท ธรณ์ ใ ห้ ศ าล ปกครองสูงสุด ขณะนี้คดีความดังกล่าวอยู่ในระหว่างขั้นตอน การพิจารณาของศาลปกครองสูงสุดตามเลขรับที่ อ.278/50 ทั้งนี้ เนื่องจากการประปาส่วนภูมิภาคและบริษัทต้องปฏิบัติ ตามสัญญาและมีสิทธิหน้าที่ต่อกันตามที่กำหนดไว้ในสัญญา ต่ อ ไปจนกว่ า คดี จ ะถึ ง ที่ สุ ด ซึ่ ง เป็ น ไปตามมาตรา 70 แห่ ง

พระราชบั ญ ญั ติ จั ด ตั้ ง ศาลปกครองและวิ ธี พิ จ ารณาคดี ปกครอง พ.ศ. 2542 ฝ่ายบริหารของบริษัทย่อยเห็นว่าบริษัท ย่ อ ยจะไม่ ไ ด้ รั บ ความเสี ย หายจากการยกเลิ ก สั ญ ญา เนื่องจากกรณีที่มีการยกเลิกสัญญา กปภ. จะต้องจ่ายเงิน

ชดเชยต้ น ทุ น การก่ อ สร้ า งและปรั บ ปรุ ง ระบบประปาและ ค่าใช้จ่ายอื่นที่บริษัทย่อยได้จ่ายไป นอกจาก ความเสีย่ งหลักของกลุม่ บริษทั (Corporate Risks) ซึ่งมีการกำกับดูแลโดย คณะกรรมการบริหารความ เสี่ ย งแล้ ว บริ ษั ท ได้ จั ด ทำคู่ มื อ บริ ห ารความเสี่ ย งและแผน ปฏิบัติการบริหารความเสี่ยงให้หน่วยงานต่างๆ รับผิดชอบ ดำเนินการควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ โดย มีการทบทวนความเสี่ยงทุกไตรมาส ทั้งนี้ พิจารณาเหตุการณ์ ทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นไม่จำกัดเฉพาะความเสี่ยงที่เป็นความ เสียหาย แต่ยังรวมถึงปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ที่บ่งชี้โอกาสเกิด ความเสีย่ งกับบริษทั ภายใต้สถานการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป

รายงาน และวิเคราะห์

ผลการดำเนินงานของฝ่ายจัดการ ประจำปี 2553

1. การวิเคราะห์กำไรขาดทุน / การวิเคราะห์ผล การดำเนินงานรวม

โดยมีสาเหตุหลักนอกจากการขยายตัวของรายได้จากการ ขายน้ำดิบ และรายได้จากการขายน้ำประปาแล้วในเดือน เมษายน 2553 บริษัทได้มีการส่งมอบทรัพย์สินโครงการและ ได้ รั บ ชำระเงิ น เต็ ม จำนวนสำหรั บ โครงการก่ อ สร้ า งวางท่ อ ส่งน้ำประแสร์-คลองใหญ่ มูลค่า 1,567.29 ล้านบาท โดยมี รายละเอียดการวิเคราะห์รายได้แต่ละประเภท ดังนี้ รายได้จากธุรกิจน้ำดิบ รายได้จากธุรกิจน้ำดิบที่เพิ่มขึ้น 213.14 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 11.19 เป็นผลจากปริมาณจำหน่ายน้ำดิบ 1.1 การวิเคราะห์รายได้ เพิ่มขึ้น โดยในปี 2553 ปริมาณน้ำดิบจำหน่ายรวมเพิ่มสูงขึ้น ในปี 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้รวมทั้งสิ้น กว่ารอบระยะเวลาเดียวกันของปีก่อน ประมาณ 22.98 ล้าน 4,674.80 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,796.30 ล้านบาท หรือร้อยละ ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 10.99 โดยมีอัตราค่าน้ำดิบเฉลี่ยรวม 62.40 เมื่อเปรียบเทียบจากรอบระยะเวลาเดียวกันของปีก่อน ทุกพื้นที่ 9.10 บาท ต่อ ลบ.ม.

ผลการดำเนินงานรวมสะสมประจำปี 2553 บริษัท และบริ ษั ท ย่ อ ย มี ก ำไรสุ ท ธิ ร วมทั้ ง สิ้ น 908.94 ล้ า นบาท เพิ่ม ขึ้นจำนวน 101.23 ล้ านบาท หรื อ ร้ อ ยละ 12.53 เมื่ อ เปรียบเทียบกับรอบระยะเวลาเดียวกันของปี 2552 มี EBIT รวมทั้งสิ้น 1,380.49 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 130.09 ล้านบาท หรือ คิดเป็นร้อยละ 10.40 โดยมี EBITDA จากผลการดำเนินงาน รวมทั้งสิ้น 1,781.92 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปี ก่ อ น จำนวน 194.83 ล้ า นบาท หรื อ ร้ อ ยละ 12.28 ซึ่ ง วิเคราะห์ในรายละเอียดได้ดังนี้

38


รายได้จากธุรกิจประปา รายได้จากธุรกิจประปาเพิ่มขึ้น 80.30 ล้านบาท หรือ คิดเป็นร้อยละ 12.63 โดยมีปริมาณน้ำประปาจำหน่าย เพิ่ม ขึ้นร้อยละ 11.07 จากปริมาณจำหน่ายที่เพิ่มขึ้นเป็น 58.91 ล้ า นลบ.ม. ในปี 2553 จากการใช้ น้ ำ เพิ่ ม ขึ้ น ของผู้ ใ ช้ น้ ำ

รายเดิม และมีผู้ใช้น้ำรายใหม่เพิ่มขึ้น รวมถึงรายได้จำหน่าย น้ ำ ประปาให้ แ ก่ ป ระปาชลบุ รี ซึ่ ง เริ่ ม จ่ า ยน้ ำ ตั้ ง แต่ เ ดื อ น เมษายน 2553 โดยมีปริมาณน้ำจำหน่ายเฉพาะประปาชลบุรี ในปี 2553 จำนวน 5.06 ล้านลบ.ม. คิดเป็นมูลค่าขายรวม ของประปาชลบุรี ประมาณ 49.30 ล้านบาท อีกทั้งประปา ระยองยังมีปริมาณน้ำจำหน่ายเพิ่มขึ้น 0.73 ล้านลบ.ม. คิด เป็นมูลค่าขายรวมของประปาระยองเพิ่มขึ้น 11.62 ล้านบาท รายได้จากการขายสินทรัพย์โครงการ บริ ษั ท บั น ทึ ก รั บ รู้ ร ายได้ จ ากการขายสิ น ทรั พ ย์ โครงการวางท่อเชื่อมโยงอ่างเก็บน้ำประแสร์ - อ่างเก็บน้ำ คลองใหญ่ ซึ่ ง บริ ษั ท ได้ ส่ ง มอบโครงการและได้ รั บ เงิ น

เต็ ม จำนวนจากกรมชลประทานในวั น ที่ 2 เมษายน 2553 และวั น ที่ 8 เมษายน 2553 ตามลำดั บ โดยเป็ น รายได้ โครงการรวมจำนวนทั้งสิ้น 1,567.29 ล้านบาท รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ ลดลง 50.10 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 17.74 เนื่องจากการลดลงของรายได้ค่า บริ ก ารของบริ ษั ท ย่ อ ยจากการทยอยสิ้ น สุ ด สั ญ ญาลงของ โครงการบริหารระบบเพื่อควบคุมน้ำสูญเสียของสำนักงาน ประปาพัทยา ในเดือนธันวาคม 2552 และสำนักงานประปา อ้ อ มน้ อ ย - สามพราน - สมุ ท รสาคร ในเดื อ น กุ ม ภาพั น ธ์ 2553 รวมถึงมูลค่างานที่ลดลงของโครงการบริหารระบบเพื่อ ควบคุ ม น้ ำ สู ญ เสี ย ของสำนั ก งานประปาปทุ ม ธานี - รั ง สิ ต และการประปานครหลวง (กปน.) ทำให้ ร ายได้ ง านลดน้ ำ

สู ญ เสี ย ในปี 2553 ลดลง 73.90 ล้ า นบาท ขณะที่ ร ายได้

ค่าเช่าอาคารและบริการสำนักงานของบริษัทเพิ่มขึ้นจากรอบ ระยะเวลาเดี ย วกั น ของปี ก่ อ น จำนวน 20.87 ล้ า นบาท เนื่องจากมีจำนวนผู้เช่าอาคารเพิ่มขึ้น คิดเป็นพื้นที่เช่าแล้ว ร้อยละ 99.40 ของพื้นที่เช่าทั้งหมด

รายได้อื่น รายได้ อื่ น ๆ ลดลง 10.97 ล้ า นบาท หรื อ คิ ด เป็ น

ร้อยละ 34.22 เมื่อเปรียบเทียบกับรอบระยะเวลาเดียวกันของ ปี 2552 เนื่องจากบริษัทย่อยมีการรับรู้รายได้จากการกลับ รายการค่าใช้จ่ายในธุรกิจประปาที่ได้ตั้งสำรองไว้และต่อมา ไม่สามารถใช้สิทธิเรียกร้องได้เนื่องจากขาดอายุความตาม กฎหมาย จำนวน 10.70 ล้านบาท

1.2 การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย

ในปี 2553 บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยมี ค่ า ใช้ จ่ า ยรวม ทั้งสิ้น 3,294.31 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,666.21 ล้านบาท หรือ คิดเป็น 1.02 เท่า เมื่อเปรียบเทียบจากรอบระยะเวลาเดียวกัน ของปีก่อน สืบเนื่องจากสาเหตุสำคัญดังนี้ ต้นทุนจากธุรกิจน้ำดิบ ต้ น ทุ น จากธุ ร กิ จ น้ ำ ดิ บ เพิ่ ม ขึ้ น 123.30 ล้ า นบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 17.92 จากปริมาณน้ำจำหน่ายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10.67 ส่วนต่างต้นทุนที่เพิ่ม เกิดจากผลกระทบจาก การปรับวิธีประมาณการคิดค่าเสื่อมราคาจากเดิมที่ใช้วิธีคิด ค่าเสื่อมราคาแบบแปรผันตามหน่วยการผลิตเป็นวิธีเส้นตรง ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายค่าเสื่อมราคาระบบท่อส่งน้ำสำหรับงวด 12 เดือน สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2553 เพิ่มขึ้นจำนวน 60.13 ล้ า นบาท เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ รอบระยะเวลาเดี ย วกั น ของ ปีก่อน อีกทั้งต้นทุน ค่าน้ำดิบที่เพิ่มขึ้นจำนวน 3.23 ล้านบาท และค่าไฟฟ้าสูบส่งเพิ่มขึ้นอีก 45.20 ล้านบาท จากปริมาณ น้ำดิบจำหน่ายที่เพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 10.99 ต้นทุนจากธุรกิจน้ำประปา ต้นทุนจากธุรกิจน้ำประปา เพิ่มขึ้น 73.34 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 22.14 ซึ่งเพิ่มสูงขึ้นตามปริมาณการขาย ที่เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 11.07 โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริษัทได้ รั บ รู้ ต้ น ทุ น ขายเพิ่ ม ขึ้ น จากการเริ่ ม จำหน่ า ยน้ ำ ของประปา ชลบุรี ตั้งแต่ เดือน เมษายน 2553 ซึ่งมีปริมาณน้ำประปา จำหน่ายในปี 2553 รวมทั้งสิ้น 5.06 ล้านลบ.ม. คิดเป็นต้น ทุนขายรวมเฉพาะของประปาชลบุรี จำนวน 44.38 ล้านบาท และมีต้นทุนของโครงการประปาระยองเพิ่มขึ้น 7.33 ล้าน บาท จากปริมาณน้ำประปาจำหน่ายที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่ประปา ระยองจำนวน 0.73 ล้านลบ.ม.

39


ต้นทุนจากการขายสินทรัพย์โครงการ บริษัทบันทึกรับรู้ต้นทุนขายโครงการวางท่อเชื่อมโยง อ่ า งเก็ บ น้ ำ ประแสร์ - อ่ า งเก็ บ น้ ำ คลองใหญ่ ซึ่ ง บริ ษั ท ได้

ส่งมอบโครงการและได้รับเงินเต็มจำนวนจากกรมชลประทาน ในวันที่ 2 เมษายน 2553 และวันที่ 8 เมษายน 2553 ตามลำดับ โดยเป็นต้นทุนโครงการรวมจำนวนทัง้ สิน้ 1,507.46 ล้านบาท ต้นทุนค่าเช่าและบริการ ต้ น ทุ น ค่ า เช่ า และบริ ก ารลดลง 33.40 ล้ า นบาท คิดเป็นร้อยละ 13.92 โดยต้นทุนค่าบริการที่ลดลง สอดคล้อง กับรายได้ค่าบริการที่ลดลงเนื่องจากการทยอยสิ้นสุดอายุของ สัญญาโครงการด้านวิศวกรรมบริการ ในขณะที่ต้นทุนค่าเช่า เพิ่มสูงขึ้นจำนวน 23.46 ล้านบาท เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของ ผู้เช่าอาคาร และส่วนหนึ่งเป็นการรับรู้ต้นทุนค่าเสื่อมราคา อาคารสำนักงานเพิ่มขึ้นจำนวน 1.35 ล้านบาท ภายหลังจาก ศาลชั้ น ต้ น ได้ มี ค ำตั ด สิ น ในคดี ค วามระหว่ า งบริ ษั ท กั บ ผู้รับจ้างก่อสร้างอาคาร ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการขาย เพิ่มขึ้น 8.35 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 20.22 เนื่องจากบริษัทได้สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า อย่างต่อเนื่อง ผ่านกิจกรรมด้าน Customer Relationship Management: CRM เช่น การจัดเลี้ยงขอบคุณลูกค้าเพื่อเปิด โอกาสให้ลูกค้าได้มีโอกาสพบ สอบถาม และแจ้งข้อมูลความ เห็นต่างๆ กับ ผู้ บริ หารของบริษั ทอย่างต่อ เนื่อ ง นอกจากนี้ บริษัทยังมุ่งเน้นการประชาสัมพันธ์องค์กรเพื่อให้เกิดการรับรู้ ในวงกว้างผ่านสื่อต่างๆ อย่างไรก็ดี ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นเป็น ค่าใช้จ่ายตามแผนการดำเนินงานที่บริษัทได้กำหนดไว้ ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร ลดลง 10.43 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 4.79 จากการควบคุมค่าใช้จา่ ยต่างๆ อย่างต่อเนือ่ ง

40

ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม เพิ่ ม ขึ้ น 12.95 ล้ า นบาท คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 59.84 เนื่องจากบริษัทเล็งเห็นความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาภัยแล้ง ซึ่งกระทบต่อประชาชนในวงกว้าง อีกทั้งยังอาจส่งผลกระทบ ต่อปริมาณน้ำสำรองของบริษัท โดยการสนับสนุนโครงการ ฝนหลวงภาคตะวั น ออก กั บ กองทุ น ฝนหลวงและการบิ น เกษตร เพื่อการจัดทำฝนเทียมในการบรรเทาภาวะภัยแล้ง และการขาดแคลนน้ำของภาคเกษตรกรรม และในปี 2553 บริ ษั ท ยั ง อยู่ ร ะหว่ า งการก่ อ สร้ า งโครงการวางท่ อ ส่ ง น้ ำ ดิ บ หนองปลาไหล - มาบตาพุด เส้นที่ 3 บริษัทจึงให้ความสำคัญ ในการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และความสัมพันธ์อันดี ระหว่างบริษัทกับชุมชนแวดล้อมในพื้นที่ให้บริการของบริษัท ผ่านการทำกิจกรรมด้าน Corporate Social Responsibility: CSR ของบริษัท ได้แก่ กิจกรรมอาสาสร้างสรรค์ร่วมกับชุมชน หรือกิจกรรมจิตอาสา หรือโครงการปรับปรุง และส่งมอบฐาน พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดระยอง นอกจากนี้ในปี 2553 ที่ผ่านมา บริษัทยังสนับสนุนงบประมาณเพื่อการช่วยเหลือผู้ประสบภัย น้ ำ ท่ ว ม รวมถึ ง สนั บ สนุ น โครงการ “มหกรรมเทิ ด ไท้ อ งค์ ราชิ นี ฯ ” ผ่ า นทางกองทุ น แม่ ข องแผ่ น ดิ น และสนั บ สนุ น กระทรวงวัฒนธรรมในการจัดงานเฉลิมพระเกียติพระบาท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว ใ น โ อ ก า ส ม ห า ม ง ค ล เ ฉ ลิ ม พระชนมพรรษา 83 พรรษา 5 ธันวาคม 2553 ต้นทุนทางการเงิน ลดลง 30.31 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 25.23 เมื่ อ เปรี ย บเที ย บจากรอบระยะเวลาเดี ย วกั น ของปี ก่ อ น เนื่องจากบริษัทหมดภาระในการจ่ายดอกเบี้ยจำนวน 32.00 ล้านบาท สำหรับวงเงินกู้จากสถาบันการเงินแห่งหนึ่งที่นำมา ใช้ในกิจกรรมดำเนินงาน จากการทยอยชำระคืนเงินต้นที่ถึง กำหนด และการชำระคืนเงินต้นก่อนกำหนดของเงินกู้ระยะ ยาวรวมจำนวน 700 ล้านบาทในปี 2552 รวมถึงการบริหาร เงินทุนหมุนเวียนโดยใช้เงินกู้ระยะสั้นซึ่งมีต้นทุนการเงิน เฉลี่ย ร้อยละ 2.75 ในปี 2553 ซึ่งต่ำกว่าต้นทุนเงินกู้จากธนาคาร


1.3 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน ประจำปี 2553 และ 2552 อัตราส่วนทางการเงิน อัตรากำไรขั้นต้นน้ำดิบ (ร้อยละ) อัตรากำไรขั้นต้นน้ำประปา (ร้อยละ) อัตรากำไรขั้นต้นรวม (ร้อยละ) อัตรากำไรขั้นต้นรวม *ไม่รวมโครงการประแสร์ (ร้อยละ) อัตรากำไรสุทธิ/รายได้รวม (ร้อยละ) อัตรากำไรสุทธิ/รายได้รวม *ไม่รวมโครงการประแสร์ (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้น (ROE) (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้น (ROE) *ไม่รวมโครงการประแสร์ (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) *ไม่รวมโครงการประแสร์ (ร้อยละ) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า)

ปี 2553 61.69 43.51 38.12 57.10 19.44 27.87 14.03 13.41 9.56 9.46 0.49

ปี 2552 63.88 47.91 59.90 28.06 12.96 8.74 9.05 0.44

ผลต่าง -2.19 -4.40 -21.78 -2.80 -8.62 -0.19 1.07 0.45 0.82 0.41 0.05

* คำนวณอัตราส่วนทางการเงินโดยตัดรายการรายได้ และต้นทุนจากการขายอื่น รวมถึงกำไร และผลกระทบทางภาษีในส่วนที่เกี่ยวข้องของ โครงการวางท่อเชื่อมโยงจากอ่างเก็บน้ำประแสร์ ไปอ่างเก็บน้ำคลองใหญ่ จังหวัดระยอง ออกจากการคำนวณเพื่อการวิเคราะห์เปรียบเทียบ เฉพาะส่วนที่เป็นผลการดำเนินงานปกติของบริษัท

รายละเอียดอัตราส่วนแสดงความสามารถในการทำ กำไรของกลุ่มบริษัท มีดังนี้ • อัตรากำไรขั้นต้น • อัตรากำไรขั้นต้นน้ำดิบ ที่ร้อยละ 61.69 ลด ลงจากงวดเดี ย วกั น ของปี ก่ อ นร้ อ ยละ 2.19 สาเหตุหลักจากการเปลี่ยนแปลงวิธีประมาณ การค่าเสื่อมราคา ส่งผลให้ค่าเสื่อมราคาสะสม สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 เพิ่ ม ขึ้ น จำนวน 60.13 ล้ า นบาท ทั้ ง นี้ อั ต รา กำไรขั้นต้นสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 หากปรับวิธีการคำนวณค่าเสื่อม ราคาเป็ น วิ ธี เ ส้ น ตรงทั้ ง หมดเช่ น เดี ย วกั บ การ คำนวณค่ า เสื่ อ มราคาในปี 2553 เพื่ อ การ วิเคราะห์เปรียบเทียบอัตรากำไรขั้นต้นน้ำดิบ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 จะอยู่ ที่ ร้ อ ยละ 60.72 ซึ่ ง แสดงว่ า บริ ษั ท

มีอัตรากำไรขั้นต้นของธุรกิจน้ำดิบที่ดีขึ้นหาก พิ จ ารณาบนฐานการคำนวณค่ า เสื่ อ มราคา เดียวกัน • อัตรากำไรขั้นต้นน้ำประปา ที่ร้อยละ 43.51 ลดลงจากงวดเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 4.40 เนื่องจากอัตราดัชนีราคาผู้บริโภค (Consumer Price Index) เฉลี่ยทั้งปี 2552 ซึ่งมีค่าติดลบ (-0.8%) ส่ ง ผลให้ อั ต ราราคาจำหน่ า ยน้ ำ ประปาสำหรับปี 2553 ซึ่งมีสูตรคำนวณ โดย อ้างอิงตามดัชนีดังกล่าวมีค่าลดลง ในขณะที่ ในปี 2553 อั ต ราเงิ น เฟ้ อ เฉลี่ ย อยู่ ที่ ร้ อ ยละ 3.30 ซึ่งส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่าย

41


• อัตรากำไรขั้นต้นรวม อยู่ที่ร้อยละ 57.10 ซึ่ง จำนวน 290.07 ล้านบาทโดยมีสาเหตุหลักจาก ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 2.80 1. การลดลงของสินทรัพย์โครงการจำนวน 646.49 เป็ น ผลสื บ เนื่ อ งจากที่ อ ธิ บ ายไว้ แ ล้ ว สำหรั บ ล้านบาท เนื่องจากบริษัทได้ส่งมอบทรัพย์สินที่เกิดจากการ กำไรขัน้ ต้นน้ำดิบ และน้ำประปาดังกล่าวข้างต้น ก่อสร้างโครงการวางท่อเชื่อมจากอ่างเก็บน้ำประแสร์ ไปอ่าง เก็บน้ำคลองใหญ่ ให้แก่กรมชลประทาน เมื่อวันที่ 2 เมษายน • อัตรากำไรสุทธิ 2553 และได้ รั บ ชำระราคาจากกรมชลประทานทั้ ง จำนวน อยู่ที่ร้อยละ 27.87 ลดลงจากรอบระยะเวลาเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2553 2. การเพิ่ ม ขึ้ น ของเงิ น สด และรายการเที ย บเท่ า ของปี ก่ อ นร้ อ ยละ 0.19 เป็ น ผลจากการเปลี่ ย นแปลงวิ ธี ประมาณการค่าเสื่อมราคาในธุรกิจน้ำดิบ ในขณะที่บริษัท เงินสด จำนวน 318.32 ล้านบาท เนื่องจาก ณ สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2553 บริษัทลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีข้อตกลงว่าจะ มีต้นทุนทางการเงินลดลง ซื้อคืน (Repurchase Agreements : REPO) สุทธิ 295.00 ล้านบาท เพื่อสำรองเงินสดไว้สำหรับการลงทุนและเป็นเงิน • อัตราผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้น (ROE) ทุ น หมุ น เวี ย นของบริ ษั ท อี ก ทั้ ง บริ ษั ท ย่ อ ยมี ร ายการเงิ น สด และ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ROA) และรายการเที ย บเท่ า เงิ น สดเพิ่ ม ขึ้ น สุ ท ธิ 15.10 ล้ า นบาท อยู่ที่ร้อยละ 13.41 และ ร้อยละ 9.46 โดยเพิ่มขึ้น โดยสาเหตุ ห ลั ก มาจากเงื่ อ นไขสั ม ปทานของบริ ษั ท ประปา จากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 0.45 และ ร้อยละ 0.41 ฉะเชิงเทรา จำกัด กำหนดให้ต้องดำรงผลกำไรจากการดำเนิน ตามลำดับ ธุรกิจหลังหักเงินปันผลจ่ายไว้ในรูปเงินฝากธนาคาร 3. การเพิ่ ม ขึ้ น ของสิ น ทรั พ ย์ ห มุ น เวี ย นอื่ น จำนวน • อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (D/E Ratio) 48.44 ล้านบาท สาเหตุหลักเกิดจากลูกหนี้อื่นของบริษัทย่อย ในระดับ 0.49 เท่า เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี เพิ่มขึ้น จำนวน 46.73 ล้านบาท จากการบันทึกรับรู้ลูกหนี้ ก่ อ นร้ อ ยละ 0.05 สาเหตุ ห ลั ก จากบริ ษั ท อยู่ ร ะหว่ า งการ ผู้รับจ้างรายหนึ่งสำหรับค่าปรับ กรณีไม่สามารถส่งมอบงาน ก่อสร้างโครงการวางท่อจากอ่างเก็บน้ำหนองปลาไหล - มาบตาพุด ตามกำหนดจำนวน 41.85 ล้านบาท รวมถึงการบันทึกลูกหนี้ เส้นที่ 3 ส่งผลให้มีการกู้ยืมเงินเพื่อลงทุนในโครงการดังกล่าว ผู้รับจ้างรายหนึ่ง ซึ่งบริษัทย่อย จ่ายเงินทดแทนไปก่อนเพื่อ เพิ่ ม ขึ้ น โดยบริ ษั ท มี อั ต ราส่ ว นความสามารถในการชำระ บรรเทาการดำเนินงาน จำนวน 2.68 ล้านบาท และจะได้ ดอกเบี้ยและเงินต้น (DSCR) ในระดับ 3.82 เท่า แสดงให้เห็น เรียกเก็บจากผู้รับจ้างรายดังกล่าว เต็มจำนวน ว่าบริษัทยังคงมีความสามารถในการชำระดอกเบี้ย และภาระ เงินกู้ที่ถึงกำหนดชำระในเกณฑ์ดี ทั้งนี้ การดำรงอัตราส่วน สิ น ทรั พ ย์ ไ ม่ ห มุ น เวี ย น เปลี่ ย นแปลงเพิ่ ม ขึ้ น ทางการเงิ น ของบริ ษั ท อยู่ ภ ายใต้ เ งื่ อ นไขสั ญ ญาเงิ น กู้ ใ น 1,012.89 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจาก การดำรง D/E Ratio ที่อัตราไม่เกิน 2 เท่า และ DSCR ใน 1. การเพิ่มขึ้นของรายการ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์อัตราไม่ต่ำกว่า 1.1 เท่า สุ ท ธิ จำนวน 1,015.10 ล้ า นบาท สาเหตุ ห ลั ก จากการซื้ อ สินทรัพย์เพิ่มเติมสุทธิกับการตัดค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์โดย 2. รายงานและการวิเคราะห์ด้านฐานะการเงิน ในส่วนของบริษัทเป็นการรับมอบงวดงานก่อสร้างโครงการ วางท่อหนองปลาไหล - มาบตาพุด เส้นที่ 3ในปี 2553 รวม 2.1 การวิเคราะห์สินทรัพย์ จำนวน 1,215.60 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทและบริษัทย่อย 2. การลดลงของต้นทุนการได้มาซึ่งสิทธิในสัมปทาน มี สิ น ทรั พ ย์ ร วม 9,870.60 ล้ า นบาท เปลี่ ย นแปลงเพิ่ ม ขึ้ น รอตัดบัญชี - สุทธิ จำนวน 14.43 ล้านบาท เนื่องจากบริษัท 722.82 ล้ า นบาท เมื่ อ เปรี ย บเที ย บ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม ย่อยบันทึกค่าตัดจำหน่ายสิทธิดังกล่าวในปี 2553 จำนวน 2552 รวม 26.74 ล้านบาท สุทธิกับการลงทุน และบันทึกเพิ่มเติม สิ น ทรั พ ย์ ห มุ น เวี ย นมี ก ารเปลี่ ย นแปลงลดลง สิทธิในสัมปทานจากการปรับปรุงท่อส่งน้ำสายหลักในพื้นที่

42


ประปาระยอง และโครงการติ ด ตั้ ง มิ เ ตอร์ วั ด ปริ ม าณน้ ำ ใน พื้นที่ประปาสัตหีบจำนวนรวม 12.31 ล้านบาท 3. การเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น จำนวน 16.17 ล้านบาท สาเหตุหลักจากเงินที่บริษัท ในเครือ 2 แห่ง ได้จ่ายล่วงหน้าเป็นจำนวนรวม 18.00 ล้านบาท เพื่อให้ได้มา ซึ่ ง สิ ท ธิ ใ นการอ้ า งอิ ง และการรั บ คำปรึ ก ษาจากบริ ษั ท ที่ ปรึกษาต่างประเทศรายหนึ่งตามเงื่อนไขการรับสัมปทานกับ การประปาส่ ว นภู มิ ภ าค ตลอดอายุ สั ญ ญาสั ม ปทาน โดย บริษัทย่อย บันทึกรายการดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชี และจะทยอยตัดจำหน่ายตลอดอายุสัญญาสัมปทานคงเหลือ 4. การลดลงของเงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน จำนวน 7.00 ล้านบาท โดยโอนจัดประเภทไปเป็นสินทรัพย์ หมุนเวียนในงวดบัญชีปัจจุบัน เนื่องจากการเจรจาขอปรับ เงื่ อ นไขให้ บ ริ ษั ท ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งคงภาระผู ก พั น ของเงิ น ฝาก ออมทรัพย์ที่มีกับธนาคาร 5. การเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนระยะยาว - สุทธิ จำนวน 6.08 ล้านบาท เป็นผลจากการลงทุนเพิ่มในบริษัท เอ็กคอม ธารา จำกัด ซึ่งทำให้สัดส่วนทุนในบริษัทดังกล่าวเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 15.00 เป็นร้อยละ 15.88

2.2 การวิเคราะห์หนี้สิน

เป็นการบริหารต้นทุนทางการเงินให้มีประสิทธิภาพ 3. การเพิ่มขึ้นของเจ้าหนี้จากการซื้อสินทรัพย์ถาวร จำนวน 79.42 ล้านบาท สาเหตุหลักที่เป็นส่วนของบริษัทเกิด จากเจ้าหนี้การค้าที่เพิ่มขึ้นของการก่อสร้างโครงการวางท่อส่ง น้ำดิบ หนองปลาไหล - มาบตาพุด เส้นที่ 3 ในปีปัจจุบันที่สูง กว่าปีก่อนจำนวนรวม 51.64 ล้านบาท และการบันทึกรับรู้หนี้ สินเพิ่มเติมจำนวน 13.89 ล้านบาท ในคดีความเกี่ยวกับการ ก่อสร้างอาคารสำนักงานใหญ่ ระหว่างบริษัทกับบริษัทผู้รับ จ้างเหมาก่อสร้างตามคำพิพากษาของศาลชั้นต้น และในส่วน ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทย่อยจากการลงทุนปรับปรุงระบบท่อส่ง น้ำประปาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4. การเพิ่มขึ้นของเจ้าหนี้การค้า จำนวน 35.32 ล้าน บาท สาเหตุหลักจากบริษัทย่อยอยู่ระหว่างการเจรจา และ สรุ ป หาข้ อ ตกลงกั บ บริ ษั ท ผู้ รั บ จ้ า งรายหนึ่ ง โดยใช้ สิ ท ธิ ยึ ด หน่วงเงินค่าจ้างผลิตน้ำที่ต้องจ่ายแก่บริษัทดังกล่าวไว้เป็น เงินจำนวนรวม 23.04 ล้านบาท รวมถึงการบันทึกรับรู้เงิน ค่า ชดเชยอีกจำนวน 11.85 ล้านบาท ที่บริษัทย่อยต้องจ่ายแก่ กปภ. เนื่ อ งจากการส่ ง น้ ำ ไม่ ถึ ง เกณฑ์ ขั้ น ต่ ำ ตามเงื่ อ นไข สัญญา อย่างไรก็ดีบริษัทย่อยอยู่ระหว่างการเจรจา และใช้ สิทธิเรียกร้องจากบริษัทผู้รับจ้างสำหรับค่าชดเชยดังกล่าวเต็ม จำนวนต่อไป หนี้ สิ น ไม่ ห มุ น เวี ย น เปลี่ ย นแปลงลดลง 28.61 ล้านบาท ซึ่งมีสาเหตุหลักจาก 1. การลดลงของเงินกู้ระยะยาวจากสถาบันการเงิน จำนวน 95.41 ล้านบาท สาเหตุหลักจากบริษัท และบริษัท ย่ อ ยเบิ ก ใช้ เ งิ น กู้ เ พิ่ ม เติ ม สำหรั บ โครงการลงทุ น ต่ า งๆ รวม จำนวน 278.00 ล้ า นบาท สุ ท ธิ กั บ การชำระคื น เงิ น กู้ ต าม กำหนดสัญญาในปี 2553 จำนวน 187.75 ล้านบาท ในขณะ ที่ มี ก ารโอนจั ด จำแนกประเภทเป็ น ส่ ว นที่ ถึ ง กำหนดชำระ ภายในหนึ่งปี เพิ่มขึ้นจำนวน 373.41 ล้านบาท 2. การเพิ่มขึ้นของเงินประกันผลงาน จำนวน 65.62 ล้านบาท สาเหตุหลักจากเงินประกันผลงานที่ บริษัทหักไว้ จากค่ า งวดงานก่ อ สร้ า งโครงการวางท่ อ ส่ ง น้ ำ ดิ บ หนอง ปลาไหล - มาบตาพุด เส้นที่3 จำนวนเงิน 57.64 ล้านบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทและบริษัทย่อย มี หนี้สินรวม 3,253.68 ล้านบาท เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 449.62 ล้านบาท โดยเปรียบเทียบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 หนี้ สิ น หมุ น เวี ย น เปลี่ ย นแปลงเพิ่ ม ขึ้ น จำนวน 478.23 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจาก 1. การเพิ่มขึ้นของเงินกู้ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี จำนวน 185.65 ล้านบาท โดยสาเหตุ ห ลั ก เกิ ด จากเงิ น กู้ ยื ม ระยะยาวเฉพาะส่ ว นของ บริษัท ที่เพิ่มขึ้นจำนวน 150.00 ล้านบาท จากเดิม ณ สิ้นปี 2552 มี ส่ ว นที่ ค รบกำหนดชำระภายในหนึ่ ง ปี ร วมจำนวน 100.00 ล้านบาท ได้ปรับเพิ่มขึ้นเป็น 250.00 ล้านบาท ณ สิ้ น ปี 2553 ตามเงื่ อ นไขสั ญ ญาเงิ น กู้ ร ะหว่ า งบริ ษั ท กับสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง 2. การเพิ่มขึ้นของเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการ 2.3 การวิเคราะห์ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีส่วนของผู้ถือหุ้นของ เงิน จำนวน 183.59 ล้านบาท สาเหตุหลักจากบริษัทออก ตั๋วแลกเงินเพื่อมาใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน และส่วนหนึ่งเพื่อ บริษัทใหญ่ จำนวน 6,614.14 ล้านบาท และส่วนของผู้ถือหุ้น ใช้จ่ายชำระค่าลงทุนก่อสร้างในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์เพื่อ ส่ ว นน้ อ ย จำนวน 2.79 ล้ า นบาท รวมส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น

43


เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 273.20 ล้านบาท โดยเปรียบเทียบ จาก วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ซึ่งเป็นผลสุทธิจากการบันทึกกำไร สุทธิตั้งแต่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2553 จำนวน 908.94 ล้านบาท สุทธิกับเงินปันผลจ่าย รวม 632.20 ล้านบาท และ การตั ด จำหน่ า ยทรั พ ย์ สิ น ที่ ไ ด้ รั บ โอนจากลู ก ค้ า จำนวน 3.40 ล้านบาท

3. การวิเคราะห์กระแสเงินสด

สำหรับปี 2553 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้น งวดยกมา 124.57 ล้านบาท โดยในระหว่างงวดมีเงินสดสุทธิ เพิ่มขึ้น 318.32 ล้านบาท ประกอบด้วยรายการดังนี้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน จำนวน 2,078.14 ล้านบาท มีสาเหตุหลักจาก - ผลการดำเนินงานที่ดีขึ้นของบริษัทเป็นผลให้กำไร สุทธิก่อนภาษีเงินได้ตั้งแต่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2553 มีจำนวน 1,290.68 ล้านบาท ปรับด้วยรายจ่ายที่ไม่ใช่เงินสด ได้แก่ ค่าเสื่อมราคา ค่าใช้จ่ายตัดจำหน่ายสินทรัพย์ต่างๆ จำนวน 414.99 ล้านบาท สุทธิกับเงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ และดอกเบี้ ย จ่ า ย และการตั ด จำหน่ า ยดอกเบี้ ย ภายใต้ สัญญาเช่าการเงิน จำนวน 68.04 ล้านบาท - การเปลี่ ย นแปลงสิ น ทรั พ ย์ และหนี้ สิ น จากการ ดำเนิ น งานเป็ น ผลให้ เ งิ น สดเพิ่ ม ขึ้ น สุ ท ธิ จ ำนวน 692.64 ล้านบาท - บริษัทมีเงินสดจ่ายภาษีเงินได้สะสมถึง ณ สิ้นปี 2553 จำนวนรวม 388.22 ล้านบาท

44

เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมการลงทุน จำนวน 1,298.60 ล้านบาท มีสาเหตุหลักจาก - การลงทุนหลักในสินทรัพย์ถาวร จำนวน 1,274.42 ล้ า นบาท โดยการลงทุ น หลั ก ในโครงการก่ อ สร้ า งวางท่ อ

ส่งน้ำดิบหนองปลาไหล - มาบตาพุด เส้นที่ 3 - การจ่ า ยซื้ อ สิ ท ธิ ใ นสั ม ปทาน และการลงทุ น ใน สิ น ทรั พ ย์ ภ ายใต้ สั ญ ญาสั ม ปทานในธุ ร กิ จ ประปาจำนวน 46.86 ล้านบาท - การซื้ อ หุ้ น สามั ญ เพิ่ ม ของบริ ษั ท เอ็ ก คอมธารา จำกัด จำนวน 6.08 ล้านบาท เงินสดสุทธิใช้ไปจากกิจกรรมจัดหาเงิน จำนวน 461.22 ล้านบาท สาเหตุหลักจาก - เงินสดได้มาสุทธิรวม 270.58 ล้านบาท จากการ กู้ ยื ม เงิ น ทั้ ง ระยะสั้ น และระยะยาวจำนวนสุ ท ธิ 461.59 ล้านบาท สุทธิกบั การชำระคืนเงินกูย้ มื ทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว จำนวน 191.01 ล้านบาท - เงินสดจ่ายปันผลจำนวน 632.34 ล้านบาท และ เงินสดจ่ายดอกเบี้ยจำนวนรวม 99.46 ล้านบาท ดังนั้น ณ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทและบริษัทย่อยมี เงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสดปลายงวด ทั้งสิ้น 442.88 ล้านบาท


การกำกับดูแลกิจการที่ดี

ค ณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ใ ห้ ค วามสำคั ญ อย่ า งต่ อ เนื่องในการดำเนินธุรกิจภายใต้หลักการกำกับดูแลกิจการที่ด ี มุ่งเน้นการสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น โดยคำนึงถึงผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย รวมทั้งการให้ความสำคัญกับความ รับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม สำหรับปีที่ผ่าน มาบริ ษั ท ได้ มุ่ ง เน้ น เรื่ อ งการนำหลั ก การและแนวปฏิ บั ติ ที่ ดี ตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2549 จากตลาดหลักทรัพย์ฯ มาเป็นแนวทางการบริหาร กิจการและยกระดับการกำกับดูแลกิจการที่ดีโดยนำหลักการ ดังกล่าวมาปฏิบัติให้ได้มากที่สุด รวมทั้งการจัดกิจกรรมเพื่อ ส่งเสริมการกำกับดูแลกิจการที่ดีของกลุ่มบริษัท โดยมุ่งหวัง ให้บคุ ลากรทุกระดับดำเนินงานอย่าง “โปร่งใส ซือ่ สัตย์ รับผิดชอบ และสามารถแข่งขันได้”

นโยบายเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทได้กำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) รวมทั้งนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งได้กำหนดเป็นลายลักษณ์อักษร ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2546 ทั้ ง นี้ ไ ด้ ม อบหมายให้ ค ณะกรรมการธรรมาภิ บ าลนำ เสนอยังคณะกรรมการบริษัทพิจารณาทบทวนนโยบายเพื่อให้ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับเหตุการณ์ปัจจุบัน ทั้งนี้ เพื่อให้พนักงานใหม่ของกลุ่มบริษัทได้ตระหนัก ถึงการปฏิบัติตามจรรยาบรรณทางธุรกิจ ซึ่งเป็นหัวข้อหนึ่งที่ กำหนดไว้ในหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ในวันปฐมนิเทศ พนักงานใหม่ของกลุ่มบริษัทได้ลงนามรับทราบเอกสารจรรยาบรรณทางธุรกิจเพื่อนำไปปฏิบัติให้สอดคล้องต่อไป เช่นเดียว กั บ คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ล งนามรั บ ทราบในคู่ มื อ คณะ กรรมการบริษทั ในวันปฐมนิเทศกรรมการบริษทั ทีเ่ ข้าใหม่เช่นกัน

45


ใ นปี 2553 คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ พิ จ ารณา ทบทวนเป็นครั้งที่ 5 เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 โดยได้ กำหนดเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในคู่มือคณะกรรมการบริษัท และหลักการกำกับดูแลกิจการ ดังนี้ - นโยบายเกี่ยวกับการป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน - นโยบายเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท - นโยบายความรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้

สิทธิของผู้ถือหุ้น

บ ริ ษั ท ได้ ต ระหนั ก ถึ ง สิ ท ธิ ข องผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก ราย โดย คำนึงถึงสิทธิขั้นพื้นฐานที่ผู้ถือหุ้นพึงได้รับตามที่กฎหมายและ ข้อบังคับกำหนด และการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียม และเป็นธรรม เช่น การกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติต่างๆ ตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี การเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง โปร่งใส และทันเวลา เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้บริษัทมีการดำเนิน งานที่เจริญเติบโตอย่างมีคุณค่าและยั่งยืนต่อไป

สิทธิของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ

บริษัทกำหนดปรัชญาการทำงานโดยมุ่งเน้นความ รับผิดชอบและการปฏิบัติอย่างเสมอภาคเป็นที่น่าเชื่อถือต่อผู้ มีส่วนได้ส่วนเสีย ดังนี้ (1) ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น โดยคำนึ ง ถึ ง การ ลงทุ น ให้ ผ ลตอบแทนที่ เ หมาะสมและยุ ติ ธ รรม รั ก ษา สถานภาพทางการเงินให้มีสภาวะมั่นคง เพื่อประโยชน์ต่อ ความคงอยู่และเจริญเติบโต (2) ความรับผิดชอบต่อลูกค้า ด้วยการจัดการและ พัฒนาทรัพยากรน้ำ ตลอดจนบริการต่างๆ ที่มีคุณภาพ และ สร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้า (3) ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ พนั ก งาน โดยให้ ค วาม เคารพต่ อ สิ ท ธิ ต ามกฎหมายของพนั ก งานทุ ก คน จั ด ให้ มี สภาพแวดล้อมของการทำงานที่ดี ปลอดภัย สวัสดิการที่ดี และสภาพการจ้างที่ยุติธรรมเหมาะสมกับสภาวะตลาด ส่ง เสริมการใช้ทรัพยากรบุคคลอย่างมีค่าที่สุด (4) ความรับผิดชอบต่อผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ โดยพยายามสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ที่ จ ะก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สูงสุดร่วมกันทั้งกับผู้รับเหมา ผู้จัดหา และผู้ร่วมทุนภายใต้ การกำกับดูแลกิจการที่ดี (5) ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดย ดำเนินธุรกิจที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม เคารพและปฏิบัติ ตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง เพื่อปกป้องผลกระทบ ใดๆ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความสู ญ เสี ย ต่ อ ชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ของ

46

บุคลากร ชุมชน และสิ่งแวดล้อม (6) ความรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้ โดยปฏิบัติต่อเจ้าหนี้ ตามเงื่อนไข ข้อกำหนดในสัญญา และไม่ปกปิดสถานะการ เงินที่แท้จริงของบริษัทและบริษัทในเครือ รวมทั้งไม่ใช้เงินทุน ที่ ไ ด้ จ ากการกู้ ยื ม เงิ น ไปในทางที่ ขั ด กั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นข้ อ ตกลงที่ทำกับผู้ให้กู้ยืม ในปี 2553 คณะกรรมการบริษัทได้กำหนดเพิ่มเติม เรื่องความรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้ และเปิดเผยไว้ในหลักการ กำกับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้ “ปฏิบัติต่อเจ้าหนี้ตามเงื่อนไข ข้อ กำหนดในสัญญา และไม่ปกปิดสถานะการเงินที่แท้จริงของ บริษัทและบริษัทในเครือ รวมทั้งไม่ใช้เงินทุนที่ได้จากการกู้ยืม เงินไปในทางที่ขัดกับวัตถุประสงค์ในข้อตกลงที่ทำกับผู้ให้กู้ ยืมเงิน” การแจ้งข้อร้องเรียน กำหนดให้ มี ช่ อ งทางแจ้ ง เบาะแสหรื อ ข้ อ ร้ อ งเรี ย น การกระทำผิดกฎหมาย หรือจรรยาบรรณ รายงานทางการ เงิ น ที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง หรื อ ระบบควบคุ ม ภายในที่ บ กพร่ อ ง และ กลไกในการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสในการร่วมสอดส่องดูแล ผลประโยชน์บริษัทได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยร้องเรียน ยังคณะกรรมการตรวจสอบผ่านช่องทางดังต่อไปนี้ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : คณะกรรมการตรวจสอบ AC_EW@eastwater.com จดหมายธรรมดา : คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำ ภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 25 เลขที่ 1 ซอย วิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ทั้ ง นี้ กำหนดให้ เ ปิ ด เผยนโยบายไว้ ใ นรายงานประจำปี (56-2) และให้ร้องเรียนผ่านช่องทางดังกล่าวบนเว็บไซต์ บริษัท : www.eastwater.com

การประชุมผู้ถือหุ้น

ก่อนวันประชุม - แจ้ ง กำหนดวั น ประชุ ม และระเบี ย บวาระการ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำปี 2552 ให้ผู้ถือหุ้นทราบผ่าน ระบบสารสนเทศตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์บริษัท ล่วง หน้าก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 30 วัน


- จั ด ส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม และรายละเอี ย ด ระเบียบวาระการประชุม ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ เหตุผล และความเห็นของคณะกรรมการบริษัท โดยได้จัดส่งยังผู้ถือ หุ้ น พร้ อ มหนั ง สื อ มอบฉั น ทะ ฉบั บ ภาษาไทยและภาษา อังกฤษ พร้อมทั้งแจ้งการเผยแพร่เอกสารการประชุมยังผู้ถือ หุ้ น ล่ ว งหน้ า ก่ อ นวั น ประชุ ม ไม่ น้ อ ยกว่ า 14 วั น และได้ ประกาศลงหนังสือพิมพ์ติดต่อกัน 3 วัน ก่อนวันประชุมไม่ น้อยกว่า 3 วัน ทั้งนี้บริษัทได้นำข้อมูลหนังสือเชิญประชุมผู้ถือ หุ้นและเอกสารประกอบการประชุมเปิดเผยในเว็บไซต์บริษัท ล่วงหน้าก่อนวันประชุม 14 วัน - กรณี ที่ ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ไ ม่ ส ามารถเข้ า ร่ ว มประชุ ม ด้ ว ย ตนเองสามารถใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนตามหนังสือมอบ ฉันทะที่กำหนดโดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ แบบ ก. หรือ ข. หรือ ค. พร้อมทั้งกำหนดให้มีกรรมการอิสระ จำนวน 2 คน ให้ผู้ถือหุ้นมอบฉันทะแทนในการเข้าประชุม และใช้สิทธิออกเสียง - เปิ ด โอกาสให้ สิ ท ธิ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น รายย่ อ ยเสนอ ระเบี ย บวาระการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น และการเสนอชื่ อ บุคคลเพื่อดำรงตำแหน่งกรรมการผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท เป็นการล่วงหน้า ทั้งนี้ ในปี 2552 ได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น รายย่อยเสนอตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2552 และ แจ้ ง ล่ ว งหน้ า ผ่ า นระบบสารสนเทศของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ และเว็บไซต์บริษัท ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน 2552 วันประชุม - ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 เมื่อ วั น ที่ 19 มี น าคม 2553 ณ ห้ อ งวิ ภ าวดี บ อลรู ม โรงแรม โซฟิเทลเซ็นทาราแกรนด์ กรุงเทพฯ บริษัทได้อำนวยความ สะดวกแก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ในการลงทะเบี ย นและนั บ คะแนนเสี ย ง โดยให้ บ ริ ษั ท ศู น ย์ รั บ ฝากหลั ก ทรั พ ย์ (ประเทศไทย) จำกั ด (TSD) นำโปรแกรมการลงทะเบี ย น (E-Voting) ตรวจนั บ คะแนนเสียงด้วยระบบ Barcode มาใช้ในการประชุม - คณะกรรมการบริษทั เข้าร่วมประชุม จำนวน 11 คน (ร้อยละ 100 ของจำนวนกรรมการทั้งหมด) ซึ่งรวมถึงประธาน คณะกรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาล ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการ บริหารและการลงทุน ประธานคณะกรรมการสรรหา ประธาน คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ประธานคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง และ ประธานคณะกรรมการกำหนดเกณฑ์ และประเมินผลการดำเนินงานของบริษัท

- ผู้บริหารระดับสูงของกลุ่มบริษัท ผู้สอบบัญชี และ ที่ ป รึ ก ษากฎหมายเข้ า ร่ ว มประชุ ม เพื่ อ ตอบคำถามและ รับทราบความคิดเห็นของผู้ถือหุ้น - ก่อนเริ่มการประชุมประธานในที่ประชุมแจ้งวิธีการ ลงคะแนน นับคะแนนในแต่ละระเบียบวาระ ทั้งนี้ก่อนการ ลงมติทุกระเบียบวาระ ประธานในที่ประชุมเปิดโอกาสให้ผู้ถือ หุ้นทุกรายมีสิทธิในการตรวจสอบการดำเนินงานของบริษัท โดยเปิดโอกาสให้สอบถามแสดงความคิดเห็นโดยได้แจ้งผู้ถือ หุ้นอภิปรายภายในระยะเวลาอย่างเหมาะสม รวมทั้งข้อเสนอ แนะต่างๆ อย่างเท่าเทียมกัน ทั้งนี้กรรมการและผู้บริหารตอบ ข้อซักถามอย่างชัดเจนทุกคำถามแล้วจึงให้ที่ประชุมออกเสียง ลงมติ สำหรับระเบียบวาระการเลือกตั้งกรรมการประธานแจ้ง ให้ผู้ถือหุ้นลงคะแนนในบัตรลงคะแนนเป็นรายบุคคล - ประธานในที่ ป ระชุ ม ได้ แ จ้ ง ผลการลงคะแนนใน แต่ละระเบียบวาระการประชุมให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นทราบก่อน สิ้ น สุ ด การประชุ ม โดยประธานดำเนิ น การประชุ ม ให้ สอดคล้ อ งกั บ ข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท โดยได้ ป ระชุ ม ตามลำดั บ ระเบี ย บวาระที่ ก ำหนดไว้ ใ นหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม เว้ น แต่ ที่ ประชุมมีมติให้เปลี่ยนลำดับระเบียบวาระด้วยคะแนนเสียงไม่ น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจำนวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุม และเมื่อที่ ประชุมได้พิจารณาครบทุกระเบียบวาระแล้วประธานแจ้งให้ ผู้ถือหุ้นทราบว่าผู้ถือหุ้นซึ่งรวมกันไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของ จำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้ทั้งหมดอาจขอให้ที่ประชุมพิจารณา เรื่ อ งอื่ น ทั้ ง นี้ ใ นปี 2552 บริ ษั ท ไม่ มี ก ารเปลี่ ย นลำดั บ ระเบียบวาระจากที่ระบุในหนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และไม่มีการนำเสนอระเบียบวาระเพิ่มเติม ภายหลังการประชุม - บริษัทได้จัดทำรายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และได้ จั ด ส่ ง ให้ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ และสำนั ก งานคณะ กรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ภายใน 14 วันนับจากวันประชุม โดยได้บันทึกประเด็นต่างๆ ในรายงาน การประชุม พร้อมทั้งบันทึกมติที่ประชุมที่ชัดเจน และระบุผล การลงคะแนน ทัง้ ประเภทเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง - บริษัทเผยแพร่รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำปียังผู้ถือหุ้นผ่านระบบสารสนเทศตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์บริษัทภายใน 14 วัน - สมาคมส่ ง เสริ ม ผู้ ล งทุ น ไทยได้ จั ด ทำโครงการ ประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 ซึ่งผลประเมินดังกล่าว บริษัทได้รับคะแนนระดับ “ดีเยี่ยม” (คะแนนการประเมินดีกว่าการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2551 ซึ่งอยู่ในระดับดีมาก)

47


ภาวะผู้นำและวิสัยทัศน์

- ไม่ ใ ช้ อ ำนาจหน้ า ที่ ใ นตำแหน่ ง กรรมการบริ ษั ท หรือบริษัทในเครือเพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน ผู้ใกล้ชิด หรือญาติสนิท ทั้งทางตรงและทางอ้อม คณะกรรมการบริ ษั ท และผู้ บ ริ ห ารมี ห น้ า ที่ ใ นการ รายงาน ดังนี้ - รายงานการมีส่วนได้เสียของตนและของบุคคลที่มี ความเกี่ยวข้องให้บริษัททราบ โดยเลขานุการบริษัทส่งสำเนา รายงานให้ ป ระธานคณะกรรมการและประธานคณะ กรรมการตรวจสอบทราบ - รายงานการถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการ บริษัทและผู้บริหารและบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ซึ่งกำหนด เป็นระเบียบวาระการประชุมคณะกรรมการบริษัททุกครั้ง ทั้งนี้ กรณีบริษัทมีการทำรายการเกี่ยวโยงกันกำหนด ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของประกาศสำนักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ อย่ า งเคร่ ง ครั ด ในการประชุ ม คณะ กรรมการบริ ษั ท ฝ่ า ยบริ ห ารจะแจ้ ง ให้ ที่ ป ระชุ ม ทราบ โดย กรรมการที่มีส่วนได้เสียในรายการนั้น จะงดออกเสียงและไม่ อยู่ในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท กรณีของผู้รับจ้างและคู่ค้า บริษัทได้กำหนดให้ทำ รายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย กั บ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วโยงกั น ตามหลั ก เกณฑ์ของสำนักงาน ก.ล.ต. เพื่อเป็นข้อมูลให้ฝ่ายบริหารพึง ระมัดระวังขั้นตอนในการอนุมัติการทำรายการที่อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ซึ่งรายการระหว่างกันของบริษัทและ บริษัทในเครือ รวมถึงบริษัทและผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ จะผ่าน ขั้ น ตอนการพิ จ ารณาอนุ มั ติ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง ชั ด เจน โดยใช้ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โครงสร้างราคาและเงื่อนไขทางการค้าทั่วไป เช่นเดียวกับคู่ค้า คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ก ำหนดนโยบายเกี่ ย วกั บ รายอื่ น ๆ ของบริ ษั ท โดยได้ เ ปิ ด เผยรายละเอี ย ดรายการ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ไว้ในหลักการกำกับดูแลกิจการ ระหว่างกันไว้ในรายงานประจำปี และแบบ 56-1 ที่ดี และคู่มือคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ - กรณีที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายให้บุคลากร จริยธรรมทางธุรกิจ ของบริษัท ปฏิบัติการแทนคณะกรรมการบริษัท จะต้องจัดทำ เ พื่ อ แสดงเจตนารมณ์ ใ นการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ภายใต้ เป็นลายลักษณ์อักษร หรือบันทึกเป็นมติคณะกรรมการบริษัท ไว้ ใ นรายงานการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท โดยมี ก าร หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทได้กำหนด กำหนดขอบเขตอำนาจไว้อย่างชัดเจน ซึ่งขอบเขตดังกล่าว ให้ ป ระกาศใช้ “หลั ก กำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องกลุ่ ม บริ ษั ท ” ต้องไม่รวมถึงการอนุมัติให้ทำรายการที่ผู้รับมอบอำนาจ เป็น “คู่มือคณะกรรมการบริษัท” และจรรยาบรรณทางธุรกิจ ซึ่ง บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือมีส่วนได้เสีย ประกาศใช้เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2549 โดยได้มีการปรับปรุง - บุคลากรทุกระดับมีหน้าที่หลีกเลี่ยงความขัดแย้ง ให้ทันสมัยและเหมาะสมกับหลักเกณฑ์ที่เปลี่ยนแปลงต่างๆ ทางผลประโยชน์ ซึ่งจะส่งผลให้กลุ่มบริษัทเสียผลประโยชน์ อยู่เสมอ ทั้งนี้ ได้ปรับปรุงครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 เพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการประพฤติปฏิบัติ ตามหลัก หรือก่อให้เกิดความขัดแย้งในการปฏิบัติงาน - พนั ก งานทุ ก คนมี ห น้ า ที่ เ ปิ ด เผยเรื่ อ งที่ อ าจเป็ น การกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยกำหนดให้กรรมการบริษัททุก ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นให้ผู้บังคับบัญชาทราบ ท่ า นลงนามรั บ คู่ มื อ คณะกรรมการบริ ษั ท สำหรั บ พนั ก งาน โดยต้องแนบรายละเอียดในเรื่องดังกล่าวด้วย เพื่อรวบรวม กลุ่มบริษัทได้จัดให้มีโครงการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจด้าน หลักธรรมาภิบาลให้แก่พนักงานอย่างต่อเนื่อง เข้าหารือยังกรรมการผู้อำนวยการใหญ่

ค ณะกรรมการบริ ษั ท มี บ ทบาทสำคั ญ ยิ่ ง ในการ กำหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย และแผนกลยุทธ์ของบริษัท โดย การกำหนดแผนธุรกิจระยะยาว (Corporate Plan) ทุกๆ 3 ปี สำหรับการดำเนินการในแต่ละปีฝ่ายบริหารของบริษัท ได้นำ เสนอกลยุทธ์และกิจกรรมต่างๆ ต่อคณะกรรมการบริหารและ การลงทุน และคณะกรรมการบริษทั ตามลำดับ เพือ่ พิจารณาให้ ความคิ ด เห็ น และอนุ มั ติ ก ำหนดแผนปฏิ บั ติ ก ารรวมถึ ง งบ ประมาณค่าใช้จ่ายรายปี นอกจากนี้ฝ่ายบริหารดำเนินการ รายงานความคื บ หน้ า ของแผนปฏิ บั ติ ก ารประจำปี ปั ญ หา อุปสรรคที่สำคัญในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและ รายงานยั ง คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ ทราบต่ อ ไป รวมถึ ง การนำเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติจัดจ้าง โครงการลงทุนที่สำคัญมูลค่ามากกว่า 200 ล้านบาทขึ้นไป คณะกรรมการบริษัทได้มีการติดตามผลการดำเนิน งานของฝ่ า ยบริ ห าร โดยกำหนดให้ มี ก ารรายงานผลการ ดำเนินงานเปรียบเทียบเป้าหมาย และผลประกอบการของ บริ ษั ท โดยกำหนดเป็ น ระเบี ย บวาระการประชุ ม คณะ กรรมการบริ ษั ท เรื่ อ งรายงานสถานะการเงิ น รายไตรมาส นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทได้ตระหนักถึงการปฏิบัติตาม กฎหมายและข้ อ กำหนดต่ างๆ จึ ง ได้ กำหนดให้ฝ่ ายบริ ห าร รายงานการเปลีย่ นแปลงหลักเกณฑ์ดา้ นกฎหมาย กฎระเบียบ ต่ า งๆ ของสำนั ก งานคณะกรรมการกำกั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

48


การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร คณะกรรมการบริษัทมีจำนวน 11 คน โดยคณะ กรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วย กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 1 คน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 6 คน กรรมการอิสระ 4 คน

การรวมหรือแยกตำแหน่ง

ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร เป็ น ไปตามหลั ก การและนโยบายที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท กำหนด โดยคณะกรรมการพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนเป็ น

ผู้ พิ จ ารณาอั ต ราค่ า ตอบแทนตามสั ด ส่ ว นระยะเวลาที่ เ ข้ า ดำรงตำแหน่ ง โดยอ้ า งอิ ง จากกำไรสุ ท ธิ เงิ น ปั น ผล และ ผลการดำเนินงานของกรรมการบริษัท ซึ่งจะพิจารณาทบทวน ความเหมาะสมทุกปี และนำเสนออัตราค่าตอบแทนที่เหมาะ สมต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท และผู้ ถื อ หุ้ น (ในส่ ว นของคณะ กรรมการบริษัท) โดยในปีงบประมาณ 2553 บริษัทจ่ายค่า ตอบแทนต่างๆ ให้คณะกรรมการบริษัท และผู้บริหาร สรุป ได้ดังนี้

คณะกรรมการบริ ษั ท มุ่ ง เน้ น ความโปร่ ง ใสในการ ดำเนินธุรกิจ กระจายอำนาจการตัดสินใจ แบ่งอำนาจการ กลั่นกรองและการพิจารณาอนุมัติอย่างชัดเจน โดยประธาน คณะกรรมการบริษัทไม่เป็นบุคคลเดียวกับกรรมการผู้อำนวย การใหญ่ รวมทั้ ง สมาชิ ก คณะกรรมการตรวจสอบเป็ น กรรมการอิ ส ระที่ ไ ม่ มี อ ำนาจลงนามอนุ มั ติ ผู ก พั น กั บ บริ ษั ท ไม่มีส่วนได้เสียในด้านการเงิน และการบริหารงานของบริษัท รวมถึงบริษัทในเครือ การรายงานค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท และผู้บริหารในปีงบประมาณ 2553 ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท ระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2553

1 นายอุทิศ ธรรมวาทิน 2 นายกนกศักดิ์ ปิ่นแสง 3 พล.ต.ท.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง 4 นายวิเศษ ชำนาญวงษ์ 5 นางมณฑา ประณุทนรพาล 6 นางนิศกร ทัดเทียมรมย์ 7 นายบุญมี จันทรวงศ์ 8 นางลีนา เจริญศรี 9 พล.ต.ต.พิมล สินธุนาวา 10 นายรัษฎา ผ่องแผ้ว (1) 11 นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ 12 นายณัฐจักร ปัทมสิงห์ ณ อยุธยา 13 พล.ต.อ.อชิรวิทย์ สุพรรณเภสัช 14 นายชาญชัย ตันติศิรินทร์

ประธานคณะกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ อดีตกรรมการ อดีตกรรมการ อดีตกรรมการ อดีตกรรมการ

12 137,500 - 450,000 12 110,000 210,000 360,000 12 110,000 230,000 360,000 12 110,000 70,000 360,000 12 90,000 80,000 360,000 12 110,000 220,000 360,000 12 70,000 210,000 360,000 12 110,000 80,000 360,000 12 110,000 260,000 360,000 12 100,000 80,000 360,000 - - - - - - - - - - - - - - - -

15 15 15 7 15 7 7 10 15 15 4 5 8 8

โบนัส

จำนวนเดือนที่ดำรงตำแหน่ง 2552 (ต.ค.51-ธ.ค.52) (สำหรับพิจารณาโบนัส)

ค่าตอบแทนกรรมการ

เบี้ยประชุม คณะกรรมการ ชุดย่อย

เบี้ยประชุม คณะกรรมการบริษัท

รายชื่อคณะกรรมการ

จำนวนเดือนที่ดำรงตำแหน่ง ปี 2553

หน่วย : บาท

656,250 525,000 525,000 245,000 525,000 245,000 245,000 350,000 525,000 525,000 140,000 175,000 280,000 280,000

หมายเหตุ : (1) ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทของนายรัษฎา ผ่องแผ้ว จำนวน 1,065,000บาท ได้ดำเนินการตามระเบียบของ บมจ.ผลิตไฟฟ้า (EGCO) ที่ โอนค่าตอบแทนในฐานะกรรมการของบริษัทอื่นๆ เข้าโดยตรงยังมูลนิธิ ไทยรักษ์ป่า ซึ่งเป็นมูลนิธิที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการดำเนินงานด้านป้องกัน การสร้าง จิตสำนึก และการสร้างเครือข่ายแนวร่วมให้เกิดพลังในการอนุรักษ์ผืนป่า และต้นน้ำลำธาร

49


ค่าตอบแทนผู้บริหาร กรรมการที่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห ารและผู้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท จำนวน 11 ราย ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน สำหรับผลการ ดำเนินงานในปี 2553 ในรูปเงินเดือนและค่าตอบแทน เป็น เงินรวมทั้งสิ้น 37,624,638.35 บาท การถือครองหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริษัท ที่ดำรงตำแหน่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ไม่มีผู้ใดถือครองหลักทรัพย์ของบริษัท ดัง

รายละเอียดปรากฏตามข้อมูลโดยย่อ ในหน้าที่ ทั้งนี้ ผู้บริหารของบริษัท 11 คน มีการถือครองหุ้น สามัญจำนวน 1,235,580 หุ้น (ณ 30 ธ.ค. 53) การจ่ายเงินสมทบในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ในปีงบประมาณ 2553 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทได้จ่ายเงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพให้แก่ กรรมการที่เป็นผู้บริหารและผู้บริหารของบริษัท จำนวน 11 คน เป็นจำนวน 1,807,133.76 บาท

เวลาการเข้าร่วมประชุมได้ทุกครั้ง โดยประธานกรรมการและ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ซึ่งทำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะ กรรมการบริษัท ร่วมกันกำหนดขอบเขต ระดับความสำคัญ และเรื่องที่จะกำหนดเป็นระเบียบวาระการประชุม โดยบรรจุ เรื่องที่สำคัญในระเบียบวาระเรื่องเพื่อพิจารณา และจัดเรียง เรื่องต่างๆ ในระเบียบวาระดังกล่าวตามลำดับความสำคัญ และความเร่ ง ด่ ว น โดยนำส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ล่ ว งหน้ า พร้อมระเบียบวาระการประชุม และเอกสารประกอบก่อนการ ประชุ ม เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ได้ มี เ วลาศึ ก ษาข้ อ มู ล ก่อนเข้าประชุมทุกครั้ง ในระหว่ า งการประชุ ม เมื่ อ ฝ่ า ยบริ ห ารจบการนำ เสนอระเบี ย บวาระแล้ ว ประธานกรรมการจะกล่ า วเชิ ญ กรรมการให้ซักถามฝ่ายบริหาร หรือแสดงความคิดเห็นและ อภิปรายปัญหาร่วมกัน และเมื่อได้ข้อสรุปจากการอภิปราย ประธานกรรมการจะทำหน้าที่สรุปเป็นมติที่ประชุม เพื่อความ ชัดเจนถูกต้อง ให้ทุกฝ่ายได้รับทราบร่วมกัน ทั้งนี้ หากไม่มี ผู้ใดคัดค้านมติที่ประชุม ประธานกรรมการจะนำเข้าสู่การ พิจารณาระเบียบวาระถัดไป ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2553 คณะกรรมการบริษัทมี การประชุมคณะกรรมการบริษัท การประชุมรวมทั้งสิ้น 12 ครั้ง โดยการเข้าร่วมประชุมของ คณะกรรมการบริษัทมีกำหนดประชุมประจำเดือน กรรมการบริษัทแต่ละคน สรุปได้ ดังนี้ โดยปกติในช่วงสัปดาห์ที่ 3 หรือ 4 ของเดือน โดยได้กำหนด วันประชุมล่วงหน้าตลอดทั้งปี เพื่อให้กรรมการสามารถจัด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการ นายอุทิศ ธรรมวาทิน กรรมการ นายกนกศักดิ์ ปิ่นแสง พล.ต.ท.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง กรรมการ กรรมการ นายวิเศษ ชำนาญวงษ์ นางมณฑา ประณุทนรพาล กรรมการ กรรมการ นางนิศกร ทัดเทียมรมย์ กรรมการ นายบุญมี จันทรวงศ์ กรรมการ นางลีนา เจริญศรี กรรมการ พล.ต.ต.พิมล สินธุนาวา กรรมการ นายรัษฎา ผ่องแผ้ว กรรมการ นายประพันธ์ อัศวอารี

การเข้าร่วมประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 12/12 12/12 12/12 12/12 10/12 12/12 7/12 11/12 12/12 11/12 12/12

ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายกำหนดให้มีการประชุมกรรมการอิสระร่วมกัน ซึ่งมีการประชุมในเดือนมกราคม และมิถุนายน 2553 รวมทั้งการประชุมกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร ซึ่งมีขึ้นในเดือน มกราคม 2553

50


คณะกรรมการชุดต่างๆ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย ที่มีความชำนาญและเหมาะสมเพื่อช่วยศึกษา กลั่นกรองงานที่ ได้ รั บ มอบหมายให้ มี ค วามถู ก ต้ อ ง ชั ด เจน สอดคล้ อ งกั บ พั น ธกิ จ และนโยบายของบริ ษั ท ในเบื้ อ งต้ น ก่ อ นนำเสนอคณะ กรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ หรือรับรอง หรือให้ข้อแนะนำเพิ่มเติมแล้วแต่กรณี โดยรายละเอียดคณะกรรมการชุดต่างๆ ที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท และการเข้าประชุมในปีงบประมาณ 2553 มีดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 คน และ ที่ปรึกษา 1 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ลำดับที่

ชื่อ – นามสกุล

ตำแหน่ง

ร่วมประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

1.

นางนิศกร ทัดเทียมรมย์

ประธานคณะกรรมการ

10/10

2.

พล.ต.ต.พิมล สินธุนาวา

กรรมการ

10/10

3.

นายบุญมี จันทรวงศ์

กรรมการ

10/10

4.

นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล

ที่ปรึกษาคณะกรรมการ

8/10

คณะกรรมการตรวจสอบ มี ห น้ า ที่ ห ลั ก ในการ พิจารณาสอบทานความถูกต้องและความน่าเชื่อถือในงบการ เงินของบริษัท ว่ามีความน่าเชื่อถือตามมาตรฐานสากลก่อน นำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท รวมทั้งจัดให้มีกระบวนการ บริหารงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้สามารถดำเนินไป อย่างมีประสิทธิผล มีความเป็นอิสระ มุ่งเน้นแนวปฏิบัติที่มี ความโปร่งใส และชัดเจนระหว่างคณะกรรมการบริษัท ฝ่าย ตรวจสอบ ฝ่ายบริหาร และผู้สอบบัญชี เพื่อทบทวนและให้ คำแนะนำด้ า นการประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพประสิ ท ธิ ผ ลของ ระบบการควบคุมภายในของบริษัท ให้ปฏิบัติตามกฎหมาย

ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ และพิจารณารายการเกี่ยวโยง หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไป ตามกฎหมาย มีความสมเหตุสมผล และคงไว้ซึ่งประโยชน์ สู ง สุ ด ของบริ ษั ท ตลอดจนการเปิ ด เผยข้ อ มู ล โดยบรรจุ รายงานการตรวจสอบไว้ ใ นรายงานประจำปี ข องบริ ษั ท นอกจากนั้น ยังมีบทบาทหน้าที่ให้ความเห็นชอบในเบื้องต้น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร แ ต่ ง ตั้ ง แ ล ะ ก ำ ห น ด ค่ า ต อ บ แ ท น ข อ ง ผู้สอบบัญชี เพื่อนำเสนอยังคณะกรรมการบริษัท และผู้ถือหุ้น ต่อไป

คณะกรรมการบริหารและการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการบริษัท 3 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ลำดับที่

ชื่อ – นามสกุล

ตำแหน่ง

ร่วมประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

1.

นายกนกศักดิ์ ปิ่นแสง

ประธานคณะกรรมการ

17/17

2.

พล.ต.ท.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง

กรรมการ

16/17

3.

นายประพันธ์ อัศวอารี

กรรมการ

17/17

51


คณะกรรมการบริ ห ารและการลงทุ น เป็ น คณะ กรรมการที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษั ท ให้ มี บทบาทและหน้าที่ในการกำกับดูแลการดำเนินงานของบริษัท ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและมี ค วามเข้ ม แข็ ง ทางธุ ร กิ จ ตามแนว นโยบายของคณะกรรมการบริ ษั ท โดยมี ห น้ า ที่ ใ นการ พิจารณากลั่นกรองและทบทวนแผนธุรกิจ แผนการดำเนิน งานต่ า งๆ และงบประมาณประจำปี และเรื่ อ งต่ า งๆ โดย

เฉพาะการจัดซื้อ-จัดจ้างในโครงการลงทุนก่อนนำเสนอคณะ กรรมการบริษัท นอกจากนี้ คณะกรรมการบริหารและการ ลงทุนยังมีหน้าที่ในการกำหนดกระบวนการและหลักเกณฑ์ การพิจารณาการลงทุนโครงการต่างๆ รวมทั้งการลงทุนด้าน การเงิน และสนับสนุนการบริหารงานของฝ่ายบริหารให้บรรลุ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของบริษัท

คณะกรรมการธรรมาภิบาล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการบริษัท 3 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ลำดับที่

ชื่อ – นามสกุล

ตำแหน่ง

ร่วมประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

1.

นายวิเศษ ชำนาญวงษ์

ประธานคณะกรรมการ

4/4

2.

พล.ต.ต.พิมล สินธุนาวา

กรรมการ

4/4

3.

นายประพันธ์ อัศวอารี

กรรมการ

4/4

โดยมีหน้าที่สนับสนุนงานของคณะกรรมการบริษัท ให้ ด ำเนิ น ไปอย่ า งถู ก ต้ อ ง โปร่ ง ใส โดยการกลั่ น กรองคู่ มื อ คณะกรรมการบริษัท จรรยาบรรณทางธุรกิจ จรรยาบรรณ พนักงาน และดูแลให้หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีมีผลใน ทางปฏิบตั ทิ มี่ งุ่ สูก่ ารพัฒนาและการกำกับดูแลกิจการทีเ่ ป็นเลิศ

(Best Practices) ตลอดจนสอดส่องและสอบทานให้แน่ใจว่า บริ ษั ท ได้ ป ฏิ บั ติ ต ามข้ อ พึ ง ปฏิ บั ติ ที่ ส ำคั ญ ของกระบวนการ กำกับดูแลกิจการที่มีประสิทธิผล เหมาะสมสอดคล้องกับข้อ กำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยให้มีการ ประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายเป็นระยะ

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการบริษัท 5 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ลำดับที่

ชื่อ – นามสกุล

ตำแหน่ง

ร่วมประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

1.

นางมณฑา ประณุทนรพาล

ประธานคณะกรรมการ

3/3

2.

พล.ต.ท.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง

กรรมการ

3/3

3.

นายวิเศษ ชำนาญวงษ์

กรรมการ

3/3

4.

นางลีนา เจริญศรี

กรรมการ

5.

นายประพันธ์ อัศวอารี

กรรมการ

3/3 3/3

โดยมีหน้าที่หลักในการกำกับดูแล ทบทวน นโยบาย เพื่อให้มั่นใจได้ว่าการบริหารความเสี่ยงได้นำไปปฏิบัติอย่าง และแผนบริหารความเสี่ยง วิธีปฏิบัติที่เป็นมาตรฐาน กลยุทธ์ เหมาะสมและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ โดยนำเสนอยังคณะ และการวั ด ความเสี่ ย ง รวมทั้งให้ข้อแนะนำแก่ ฝ่ า ยบริ ห าร กรรมการบริษัท

52


คณะกรรมการสรรหา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการบริษัท 3 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ลำดับที่

ชื่อ – นามสกุล

ตำแหน่ง

ร่วมประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

1.

พล.ต.ต.พิมล สินธุนาวา

ประธานคณะกรรมการ

5/5

2.

นายนิศกร ทัดเทียมรมย์

กรรมการ

5/5

3.

นางลีนา เจริญศรี

กรรมการ

5/5

คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหา ผู้แทนของบริษัท กรรมการชุดย่อยของบริษัท และกรรมการ เพื่อปฏิบัติภารกิจในการสรรหาและเสนอชื่อบุคคลที่เหมาะสม ผู้อำนวยการใหญ่ รวมทั้งให้ความเห็นต่อโครงสร้างการบริหาร สำหรั บ เป็ น กรรมการบริ ษั ท และบริ ษั ท ในเครื อ กรรมการ งานของคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการบริษัท 3 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ลำดับที่

ชื่อ – นามสกุล

ตำแหน่ง

ร่วมประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

1.

นายบุญมี จันทรวงศ์

ประธานคณะกรรมการ

4/4

2.

นายรัษฎา ผ่องแผ้ว

กรรมการ

4/4

3.

นายกนกศักดิ์ ปิ่นแสง

กรรมการ

4/4

ทั้งนี้คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เป็นผู้เสนอ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน มีหน้าที่หลักใน การเสนอแนะต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท เกี่ ย วกั บ นโยบาย แนะเกณฑ์การจ่ายโบนัสกรรมการตามสัดส่วนระยะเวลาที่ รูปแบบ และหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์ เข้าดำรงตำแหน่ง โดยอ้างอิงจากกำไรสุทธิ เงินปันผล และ อื่นๆ ของบุคลากรทุกระดับขององค์กร โดยเปิดเผยนโยบาย ผลการดำเนินงานของกรรมการบริษัท ซึ่งจะพิจารณาทบทวน การกำหนดค่ า ตอบแทน และจั ด ทำรายงานในรู ป แบบที่ ความเหมาะสมทุกปี กำหนด ตลอดจนเสนอแนะแนวทางการประเมินผลงานของ คณะกรรมการบริ ษั ท และบริ ษั ท ในเครื อ และกรรมการ ผู้อำนวยการใหญ่ คณะกรรมการกำหนดเกณฑ์และประเมินผลการดำเนินงานของบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยกรรมการบริษัท 4 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ลำดับที่

ชื่อ – นามสกุล

ตำแหน่ง

ร่วมประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

1.

พล.ต.ท.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง

ประธานคณะกรรมการ

5/5

2.

นายนิศกร ทัดเทียมรมย์

กรรมการ

5/5

3.

นางมณฑา ประณุทนรพาล

กรรมการ

5/5

4.

นายรัษฎา ผ่องแผ้ว

กรรมการ

4/5

53


คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ กำหนดเกณฑ์และประเมินผลการดำเนินงานของบริษัท โดย มีหน้าที่กำหนดและทบทวนเกณฑ์การประเมินผลการดำเนิน งาน (Corporate KPIs) ประจำปีของบริษัทให้สอดคล้องกับ แนวนโยบายธุรกิจของบริษัท รวมทั้งติดตามประเมินผลการ ดำเนินงานของบริษัทเป็นรายไตรมาส ตลอดจนให้ข้อแนะนำ แก่ ฝ่ า ยบริ ห ารในการปฏิ บั ติ ง านและรายงานผลยั ง คณะ กรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ได้ประเมินตนเองในภาพรวม ของผลการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องมาทุกปี เพื่อให้มีการทบทวนผลงาน ปัญหา และอุปสรรคต่างๆ ใน ระหว่ า งปี ที่ ผ่ า นมา โดยสามารถนำผลการประเมิ น ไป พิจารณาปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานได้อย่างเหมาะ สม ซึ่งสอดคล้องกับหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ทั้งนี้ การ ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการบริ ษั ท ในปี 2553 มีคะแนนรวมเฉลี่ยจากกรรมการทุกคนเท่ากับ 4.86 คะแนน จาก 5 คะแนน โดยหัวข้อที่มีคะแนนเต็มต่อเนื่องกัน ตั้งแต่ปี 2552 ได้แก่ 1) การแบ่งแยกหน้าที่ ความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัท และฝ่ายจัดการอย่างชัดเจน 2) การ กำหนดให้ มี ข้ อ ห้ า มปฏิ บั ติ ที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด Conflict of Interest 3) การทำหน้าที่ของประธานกรรมการในการประชุม และ 4) การได้รับรายงานการประชุมในระยะเวลาที่เหมาะสม ตลอดจนตรวจสอบและท้ ว งติ ง ในกรณี ที่ เ ห็ น ว่ า ไม่ ถู ก ต้ อ ง ครบถ้วน นอกจากนั้น หัวข้อที่มีคะแนนเพิ่มขึ้นเกี่ยวกับการ พิจารณาเรื่องต่างๆ ในการประชุม ทั้งการที่คณะกรรมการ บริษัทสามารถแสดงความคิดเห็นที่เป็นกลาง ไม่มีอคติ เป็น อิสระจากฝ่ายจัดการและผู้ถือหุ้นใหญ่ ได้อย่างสร้างสรรค์ เป็ น เหตุ เ ป็ น ผล และรอบคอบ รวมทั้ ง หั ว ข้ อ การปฏิ บั ติ ต่ อ

ผู้ถือหุ้นโดยเท่าเทียมกัน นอกจากนั้น ในการประชุมที่มีระเบียบวาระเกี่ยวกับ รายการเกี่ยวโยง กรรมการบริษัทที่มีส่วนได้ส่วนเสียก็จะแจ้ง งดให้ความเห็น และไม่ออกเสียงลงมติ

54

การปฐมนิเทศกรรมการ ในปี 2553 ไม่มีกรรมการเข้าใหม่ อย่างไรก็ตาม ใน กรณี มี ก รรมการเข้ า ใหม่ บริ ษั ท กำหนดให้ มี ก ารปฐมนิ เ ทศ สำหรับกรรมการเพื่อให้รับทราบนโยบายธุรกิจของบริษัทและ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ภายในบริษัท เช่น โครงสร้างผู้ถือหุ้น โครงสร้างองค์กร ผลการดำเนินงาน กฎหมาย กฎระเบียบที่ เกี่ยวข้องต่างๆ รวมถึง การติดตามมติคณะกรรมการบริษัทที่ ผ่ า นมา เป็ น ต้ น โดยกรรมการผู้ อ ำนวยการใหญ่ และ เลขานุการบริษัทจะเป็นผู้นำเสนอข้อมูลดังกล่าว พร้อมนำส่ง คู่ มื อ คณะกรรมการบริ ษั ท และข้ อ มู ล สำหรั บ กรรมการซึ่ ง ประกอบด้วย • ข้อมูลบริษัท • ผลการดำเนินงานและกิจกรรมของบริษัท • รายงานประจำปี ฉบับภาษาไทย • คู่มือคณะกรรมการบริษัท • หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี • รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท • คู่มือการบริหารความเสี่ยง • หนังสือบริคณห์สนธิ หนังสือรับรอง ข้อบังคับ และระเบียบบริษัท นอกจากนี้ บริ ษั ท มี น โยบายให้ ก รรมการเข้ า ใหม่ เยี่ยมชมกิจการของบริษัทในพื้นที่ปฏิบัติการ เพื่อให้เกิดความ เข้าใจธุรกิจมากขึ้น

การฝึกอบรมของคณะกรรมการ

บริษัทให้ความสำคัญต่อการเข้าอบรมหลักสูตรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความรู้ความสามารถ ความเข้าใจ ถึ ง หลั ก การของการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี กฎเกณฑ์ กฎ ระเบียบ ตลอดจนบทบาทและหน้าที่ของกรรมการบริษัท ใน การบริ ห ารงาน รวมถึ ง เพื่ อ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและมี จ รรยา บรรณ จึ ง ได้ ส นั บ สนุ น ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ศึ ก ษาและ อบรมเพิ่มเติมอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้ง บริษัทยังได้ดำเนินการ สมัครสมาชิก IOD ให้กรรมการ เพื่อประโยชน์ในการรับรู้ข่าว สารและเพิ่มเติมความรู้ และทุกครั้งที่บริษัทได้รับเอกสารแจ้ง การอบรมหรือเอกสารประกอบการอบรมที่เกี่ยวข้องกับคณะ กรรมการ บริษัทจะนำส่งข้อมูลดังกล่าวให้แก่กรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาศึกษาต่อไป


รายชื่อคณะกรรมการบริษัท นายอุทิศ ธรรมวาทิน นายกนกศักดิ์ ปิ่นแสง นางนิศกร ทัดเทียมรมย์ พล.ต.ท.สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง นางลีนา เจริญศรี นายวิเศษ ชำนาญวงษ์ พล.ต.ต. พิมล สินธุนาวา นางมณฑา ประณุทนรพาล นายรัษฎา ผ่องแผ้ว นายบุญมี จันทรวงศ์ นายประพันธ์ อัศวอารี

DCP

DCP 3/2000 DCP 106/2008 DCP 120/2009 DCP 107/2008 DCP 130/2010 DCP 121/2009 DCP 104/2008 DCP 84/2007 DCP 94/2007 DCP 120/2009 DCP 101/2008

(DCP) Directors Certification Program (FSD) Financial Statement for Directors (MFR) Monitoring the Quality of Financial

DAP

DAP 73/2008 DAP 72/2008

การอบรม IOD ACP FSD RCC

ACP 27/2009 ACP 22/2008 ACP 27/2009 ACP 21/2007

FSD 2/2008

RCC 10/2010

MFR

MFR 10/2010 MFR 10/2010

RCP

RCP 24/2010

(DAP) Directors Accreditation Program (ACP) Audit Committee Program (RCC) Role of the Compensation Committee Program (RCP) Reporting Role of Chairman Program

นโยบายสืบทอดตำแหน่งในระดับบริหาร

งานเลขานุการบริษัท

บริษทั ได้แต่งตัง้ ให้ นางน้ำฝน รัษฎานุกลู ผูอ้ ำนวยการ อาวุ โ ส สำนั ก กรรมการผู้ อ ำนวยการใหญ่ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เลขานุการบริษัท รายงานตรงต่อกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ รวมทั้ ง ทำหน้ า ที่ ด้ า นงานเลขานุ ก ารคณะกรรมการบริ ษั ท โดยรั บ ผิ ด ชอบการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และการ ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น รวมทั้ ง การจั ด ทำและเก็ บ รั ก ษาเอกสาร สำคั ญ ของบริ ษั ท และดู แ ลการปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย กฎ ระเบียบต่างๆ ของบริษัท ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทมหาชน และ เป็นศูนย์กลางข้อมูล หรือ กฎระเบียบของสำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) พร้อมทั้งงาน ด้ า นการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจของบริษัท (Compliance) รวมทั้ ง กำหนดให้ มี ก ารประเมิ น ความ พึงพอใจการปฏิบตั งิ านของงานเลขานุการคณะกรรมการบริษทั การประเมินผลงานของกรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ คณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมายให้ ค ณะกรรมการ เพื่อที่จะนำไปพัฒนาการทำงานต่อไป ประเมินผลงานกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ซึ่งเป็นผู้แทนของ คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้ประเมินผลการบริหารกิจการของ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ปีละหนึ่งครั้ง และเสนอผลการ ประเมิ น ประจำปี ข องกรรมการผู้ อ ำนวยการใหญ่ ยั ง คณะ กรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา

บริษัทตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการ องค์กรให้มีประสิทธิภาพ จึงได้กำหนดนโยบายการสืบทอด ตำแหน่งในระดับบริหาร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นหลักการ และแนวทางของบริ ษั ท ในการจั ด เตรี ย มบุ ค ลากรให้ พ ร้ อ ม สำหรับตำแหน่งในระดับบริหารของบริษัท โดยยึดหลักความ โปร่งใส เป็นธรรม และสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้ง เพื่อ เป็ น การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการบริ ห ารจั ด การองค์ ก ร และสร้างความมั่นใจ ให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ซึ่ง นโยบายดังกล่าวประกอบด้วยการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้มี มาตรฐานในการพิ จ ารณาคั ด เลื อ กบุ ค ลากร การคั ด กรอง ตำแหน่งงาน การประเมินศักยภาพของตัวบุคลากร และการ พัฒนาความพร้อมของบุคลากร

55


การสรรหากรรมการและผู้บริหาร ค ณะกรรมการบริ ษั ท จะแต่ ง ตั้ ง ผู้ แ ทนจากคณะ กรรมการบริษัทเป็นคณะกรรมการสรรหา เพื่อคัดเลือกบุคคล ที่จะแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท และกรรมการผู้อำนวยการ ใหญ่ ตามความเหมาะสมในแต่ละกรณี คณะกรรมการบริษัท ได้มีมติเห็นชอบในการให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอชื่อ บุคคล ยังคณะกรรมการสรรหาเพื่อพิจารณาในเบื้องต้น ก่อน เสนอคณะกรรมการบริ ษั ท ให้ พิ จ ารณานำเสนอผู้ ถื อ หุ้ น พิจารณาคัดเลือกเป็นกรรมการบริษัท ในวันประชุมผู้ถือหุ้น ด้ ว ย ทั้ ง นี้ ต ามข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท คณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 5 คน และต้องไม่เกินกว่า 11 คน โดยให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้พิจารณาเลือกตั้ง และ ให้คณะกรรมการบริษัทเลือกตั้งกรรมการด้วยกันเป็นประธาน กรรมการบริษัท และอาจเลือกรองประธานกรรมการบริษัท รวมถึ ง กรรมการผู้ อ ำนวยการใหญ่ และตำแหน่ ง อื่ น ตาม ความเหมาะสมด้วยก็ได้ กรรมการบริษัทไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจำนวนกรรมการบริ ษั ท ทั้ ง หมดต้ อ งมี ถิ่ น ที่ อ ยู่ ใ น

56

ราชอาณาจั ก ร การแต่ ง ตั้ ง กรรมการบริ ษั ท กระทำโดยที่ ประชุมผู้ถือหุ้น โดยมีหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังนี้ 1. ผู้ ถื อ หุ้ น คนหนึ่ ง มี ค ะแนนเท่ า กั บ หนึ่ ง หุ้ น ต่ อ หนึ่งเสียง 2. ผู้ ถื อ หุ้ น แต่ ล ะคนต้ อ งใช้ ค ะแนนเสี ย งที่ มี อ ยู่ ทั้งหมดตามข้อ 1. เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็น กรรมการก็ ไ ด้ แต่ จ ะแบ่ ง คะแนนเสี ย งให้ แ ก่ ผู้ ใ ดมากน้ อ ย เพียงใดไม่ได้ 3. บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมา เป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำนวนกรรมการที่จะ พึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการ เลือกตั้งในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำนวน กรรมการที่ จ ะพึ ง มี ห รื อ จะพึ ง เลื อ กตั้ ง ในครั้ ง นั้ น ให้ ผู้ เ ป็ น ประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 4. คณะกรรมการบริ ษั ท ต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ แ ละไม่ มี ลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด


5. กรรมการอิ ส ระต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว นตาม นิยามกรรมการอิสระที่บริษัทได้กำหนดไว้โดยสอดคล้องกับ ข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามารถลงมติให้ถอดถอนกรรมการ คนใดออกจากตำแหน่งก่อนครบอายุตามวาระดำรงตำแหน่ง ได้ โดยต้องได้รับคะแนนเสียงสนับสนุนไม่น้อยกว่าสามในสี่ ของจำนวนผู้ถือหุ้นทั้งหมดที่เข้าร่วมประชุมและมีสิทธิออก เสียง และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนหุ้น ที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง คณะกรรมการบริ ษั ท ประจำปี ง บประมาณ 2553 จำนวน 3 คน เป็นกรรมการร่วมกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ได้แก่ การประปาส่ ว นภู มิ ภ าค จำนวน 1 คน บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ้ า จำกัด (มหาชน) จำนวน 1 คน และการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย จำนวน 1 คน

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน

บริษัทกำหนดเรื่องการใช้ข้อมูลภายในของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัท ไว้เป็นลายลักษณ์อักษรใน หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งครอบคลุมประเด็นสำคัญ ดังนี้ 1. กรรมการ ฝ่ า ยบริ ห าร พนั ก งาน ผู้ ป ฏิ บั ติ ง าน สมทบ พนักงานของผู้รับจ้าง มีหน้าที่ต้องยอมรับพันธะผูกพัน ตามกฎหมายและจรรยาบรรณที่ต้องปกป้อง และไม่เปิดเผย ข้อมูลและเอกสารที่เป็นความลับหรือความลับทางการค้า ซึ่ง มีผลต่อความสำคัญอย่างยิ่งต่อความสำเร็จและความมั่นคง ของบริษัท 2. ข้อมูลลับทางการค้า ต้องได้รับการดูแลปกปิดมิ ให้รั่วไหลออกไปภายนอก การใช้ข้อมูลภายในร่วมกันต้องอยู่ ในกรอบที่ ถื อ เป็ น หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ มอบ หมายเท่านั้น 3. การให้ข้อมูลข่าวสารแก่บุคคลภายนอกทุกข้อมูล ที่ออกไปสู่สาธารณชนต้องได้รับความเห็นชอบจากกรรมการ

ผู้อำนวยการใหญ่ หากเป็นข้อมูลเกี่ยวกับผู้ร่วมทุนอื่นๆ ต้อง ได้รับความเห็นชอบจากผู้ร่วมทุนด้วย โดยหน่วยงานกลางที่ เป็นผู้ให้ข้อมูลแก่สาธารณชน ได้แก่ ฝ่ายสื่อสารองค์กร และ งานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ (Investor Relations) ฝ่ า ยการเงิ น

และบั ญ ชี ทั้ ง นี้ ฝ่ า ยสื่ อ สารองค์ ก รมี ห น้ า ที่ แ จ้ ง ข่ า วสารแก่

พนักงานด้วย นอกจากนี้ บริษัทได้แจ้งให้กรรมการและผู้บริหาร ของบริษัทรับทราบถึงภาระหน้าที่การรายงานการได้มาหรือ จำหน่ายหลักทรัพย์ของบริษัทที่เกินกว่าร้อยละ 5 ของหลัก ทรัพย์ที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัท รวมถึงรายงานการ ถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหารของบริษัทยัง สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามแบบและวิธีการที่กำหนด รวมทั้งให้มีการรายงานในการ ประชุมคณะกรรมการบริษัทด้วยทุกครั้ง อ นึ่ ง ในปี 2553 คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ จั ด ให้ มี ระบบป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน (Insider Trading) โดย กำหนดเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในคู่มือคณะกรรมการบริษัท และหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้ เรื่องการใช้ข้อมูลภายใน : “ห้ามกรรมการ ผู้บริหาร พนักงานประจำของบริษัท รวมทั้งคู่สมรสและบุตรไม่บรรลุ นิติภาวะของบุคคลดังกล่าวนำข้อมูลภายในของบริษัทที่เป็น สาระสำคัญซึ่งยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนไปใช้ประโยชน์ใน การซื้อขายหลักทรัพย์เพื่อเก็งกำไร หรือสร้างความได้เปรียบ ให้กับบุคคล หรือกลุ่มบุคคลใดกลุ่มหนึ่ง” เรื่องการงดการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท : “ให้ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานประจำของบริษัท รวมทั้งคู่ สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าว งด การซื้อ ขายหรือโอนหุ้นบริษัท ในช่วงระยะเวลา 1 เดือนก่อน การเปิดเผยข้อมูลงบการเงินต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ และในช่วง ระยะเวลา 3 วันหลังการเปิดเผยข้อมูลงบการเงินต่อตลาด หลักทรัพย์ฯ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนได้มีระยะเวลาที่เพียง พอในการเข้าถึงและทำความเข้าใจในสาระสำคัญของข้อมูล ข่ า วสารของบริ ษั ท หรื อ งบการเงิ น ที่ เ ปิ ด เผยได้ ต่ อ ตลาด หลักทรัพย์ฯ เสร็จสิ้นแล้ว”

57


นิยามกรรมการอิสระ

ก. ลักษณะความสัมพันธ์ 1. ถื อ หุ้ น ไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 1 ของจำนวนหุ้ น ที่ มี สิ ท ธิ

• ความสัมพันธ์ลักษณะการให้บริการวิชาชีพ ออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม 1. ผู้ ส อบบั ญ ชี ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารทางวิ ช าชี พ อื่ น เช่ น ที่ หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (นับรวมบุคคลที่เกี่ยวข้อง ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน ผู้ประเมิน ตามมาตรา 258 ตามพระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ราคาทรัพย์สิน เป็นต้น ตลาดหลักทรัพย์ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2551) 2. ระดับนัยสำคัญที่เข้าข่ายไม่อิสระ 2. ไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือโดยการจด - กรณีผู้สอบบัญชี : ห้ามทุกกรณี ทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คู่สมรส - กรณีเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพอื่น : มูลค่ารายการ พี่น้อง บุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เกิน 2 ล้านบาทต่อปี ผู้ มี อ ำนาจควบคุ ม หรื อ บุ ค คลที่ จ ะได้ รั บ การเสนอชื่ อ เป็ น

• ความสัมพันธ์ทางการค้า/ธุรกิจ (ใช้แนวทางเดียว ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทย่อย กั บ ข้ อ กำหนดรายการเกี่ ย วโยงของตลาดหลั ก 3. ไม่ เ ป็ น กรรมการที่ มี ส่ ว นร่ ว มในการบริ ห ารงาน ทรัพย์ฯ ) รวมทั้ ง ไม่ เ ป็ น ลู ก จ้ า ง พนั ก งาน ที่ ป รึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ เงิ น เดื อ น - ลักษณะความสัมพันธ์ : กำหนดครอบคลุมรายการ ประจำ หรื อ เป็ น ผู้ มี อ ำนาจควบคุ ม ของบริ ษั ท บริ ษั ท ใหญ่ ธุรกิจทุกประเภท ได้แก่ รายการที่เป็นธุรกรรม บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม บริ ษั ท ย่ อ ยลำดั บ เดี ย วกั น หรื อ ปกติ รายการเช่า/ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ในปัจจุบันและช่วง 2 ปี ก่อน เกี่ยวกับสินทรัพย์บริการ รายการให้หรือรับความ ได้รับการแต่งตั้ง ช่วยเหลือทางการเงิน 4. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและ - ระดับนัยสำคัญที่เข้าข่ายไม่อิสระ : มูลค่ารายการ เป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการบริษัทหรือบริษัทย่อย หรือไม่ มากกว่าหรือเท่ากับ 20 ล้านบาท หรือ มากกว่า เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วนหรือเป็นกรรมการที่มีส่วน หรือเท่ากับร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิ ร่วมการบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษา ที่รับเงินเดือน (NTA) แล้วแต่จำนวนใดต่ำกว่า ประจำ หรือถือหุ้นเกินร้อยละ 1 ของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออก ข. กรณี ที่ มี ลั ก ษณะความสั ม พั น ธ์ ต ามข้ อ ก. กั บ เสียงทั้งหมดของบริษัทอื่นซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่าง นิติบุคคล บุคคลที่เข้าข่ายไม่อิสระ ได้แก่ ผู้ถือ เดี ย วกั น และแข่ ง ขั น ที่ มี นั ย กั บ กิ จ การของบริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท หุ้นรายใหญ่ กรรมการ (ยกเว้นกรรมการอิสระ/ ย่อย กรรมการตรวจสอบ) 5. ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท โดยห้าม ค. กำหนดช่วงเวลาที่ห้ามมีความสัมพันธ์ตามข้อ ก. ผู้ ส อบบั ญ ชี เ ป็ น กรรมการอิ ส ระ หากเป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารทาง และ ข. ในปัจจุบันและ 2 ปี ก่อนได้รับแต่งตั้ง วิชาชีพอื่น เช่น ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน ผู้ 6. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทน ประเมินราคาทรัพย์สิน เป็นต้น ต้องมีมูลค่ารายการไม่เกิน 2 ล้านบาทต่อปี โดยมีรายละเอียดลักษณะความสัมพันธ์ตามที่ ของกรรมการบริ ษั ท ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง เป็ น ผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท สำนักงาน ก.ล.ต. กำหนด ดังต่อไปนี้ 7. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำให้ไม่สามารถให้ความเห็น ได้อย่างเป็นอิสระ

58


การประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ประจำปี 2553

บริษัทได้ให้ความสำคัญต่อระบบการควบคุมภายใน โดยมุ่งเน้นให้มีการควบคุมภายในที่เพียงพอ เหมาะสม และ เกือ้ หนุนประสิทธิภาพของธุรกิจ ทัง้ ในด้านการเงิน การดำเนินการ การบริหารความเสี่ยง และการกำกับดูแล ทั้งนี้หลักการและ สาระสำคัญของการประเมินความเพียงพอของระบบควบคุม ภายในสามารถ พิจารณาได้ใน 5 ด้าน ดังนี้

องค์กรและสภาพแวดล้อม

คณะกรรมการบริษัท มีบทบาทสำคัญในการกำหนด วิสัยทัศน์ นโยบาย และแผนกลยุทธ์ของบริษัท ให้ครอบคลุม ตามหลัก Balanced Scorecard โดยการกำหนดแผนธุรกิจ ระยะยาว รวมทั้ ง การให้ ค วามคิ ด เห็ น และอนุ มั ติ ก ลยุ ท ธ์ กิ จ กรรมต่ า งๆ และแผนปฏิ บั ติ ก ารรายปี นอกจากนั้ น ยั ง ประยุกต์ใช้ดัชนีวัดผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) ในการวัดผลการปฏิบัติงานทั่วทั้งองค์กร เพื่อ ให้การติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นไปอย่าง เที่ยงธรรม มีประสิทธิภาพ เป็นระบบสอดคล้องกับเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ขององค์กร นโยบายการบริหารจัดการภายในองค์กรมุ่งเน้นให้มี กลไกการถ่วงดุลอำนาจระหว่าง คณะกรรมการบริษทั ฝ่ายบริหาร และผู้ถือหุ้น ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัท ประกอบไปด้วยคณะ กรรมการอิสระ หรือกรรมการจากภายนอกไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการบริษัททั้งหมด เพื่อให้เกิดการถ่วงดุล

อำนาจกั บ กรรมการที่ อ าจมี ผ ลประโยชน์ ขั ด แย้ ง กั บ บริ ษั ท ตลอดจนจั ด ให้ มี ก ารสื่ อ สารกั บ ผู้ ล งทุ น เพื่ อ เผยแพร่ และ สื่อสารข้อมูลต่างๆ ของบริษัท ให้สาธารณชนได้ทราบอย่าง สม่ำเสมอ และแต่งตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ เพื่อช่วยในการ พิ จ ารณากลั่ น กรอง และให้ ค ำวิ นิ จ ฉั ย ในเรื่ อ งสำคั ญ ที่ เกี่ยวข้องเพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น นอกจากนี้บริษัท ได้ ป ระกาศใช้ หลั ก การกำกั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ของบริ ษั ท จั ด การและพั ฒ นาทรั พ ยากรน้ ำ ภาคตะวั น ออก จำกั ด (มหาชน) จรรยาบรรณคณะกรรมการบริ ษั ท และจรรยา บรรณทางธุรกิจของพนักงาน เพื่อให้บุคลากรทุกระดับของ บริ ษั ท ได้ ยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ เ พื่ อ มุ่ ง เน้ น ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และ จริยธรรมในการดำเนินธุรกิจ

การบริหารความเสี่ยง

บ ริ ษั ท ใช้ แ นวคิ ด ของการบริ ห ารความเสี่ ย งทั่ ว ทั้ ง องค์กร (Enterprise Risk Management) โดยการประเมิน ความเสี่ ย งในกระบวนการต่ า งๆ และวิ เ คราะห์ ปั จ จั ย เสี่ ย ง มาตรการควบคุมที่มีในปัจจุบัน รวมถึงการกำหนดมาตรการ ควบคุมเพิ่มเติม โดยสนับสนุนให้พนักงานทุกฝ่ายงาน มีส่วน ร่ ว มในกระบวนการประเมิ น และบริ ห ารความเสี่ ย งของ องค์ ก รอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และจั ด ทำแผนปฏิ บั ติ ก ารบริ ห าร ความเสี่ยง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบการควบคุมภายใน ของบริ ษั ท ให้ เ ข้ ม แข็ ง ยิ่ ง ขึ้ น รวมถึ ง การบริ ห ารจั ด การเพื่ อ

ลดระดับความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ สอดคล้องกับ สถานการณ์ แ วดล้ อ ม และความเสี่ ย งที่ แ ปรเปลี่ ย นไป นอกจากนี้บริษัท ยังกำหนดหน่วยงานเฉพาะเพื่อรับผิดชอบ ในการ ติดตามผลการดำเนินงาน ตามแผนโครงการบริหาร ความเสี่ ย ง ประเมิ น ผล และจั ด ทำรายงานผลการบริ ห าร ความเสี่ยงเสนอคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะ กรรมการบริษัท เพื่อพิจารณา และให้คำวินิจฉัยอันจะส่งผล ให้ ก ระบวนการบริ ห ารความเสี่ ย งของบริ ษั ท เป็ น พลวั ต ร อย่างสม่ำเสมอ และต่อเนื่อง

การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร

บ ริ ษั ท มี ก ารกำหนดขอบเขตอำนาจหน้ า ที่ และ วงเงินอำนาจอนุมัติของฝ่ายบริหารให้สอดคล้องกับหลักการ ควบคุ ม ภายในที่ ดี เ รื่ อ งการแบ่ ง แยกหน้ า ที่ ง าน และการ สอบทานงานระหว่างกัน โดยแยกงานในหน้าที่อนุมัติ การ บันทึกรายการบัญชี ข้อมูลสารสนเทศ และหน้าที่ในการดูแล จัดเก็บทรัพย์สิน ออกจากกัน นอกจากนี้บริษัท ยังได้รับการ รับรองระบบมาตรฐานคุณภาพ ISO9001:2000 และ ISO 14001:2004 ซึ่งกำหนดให้บริษัท ต้องจัดทำคู่มือ และขั้น ตอนการปฏิ บั ติ (Work Procedures and Work Instructions) เพื่ อ เป็ น มาตรฐานอ้ า งอิ ง ในการปฏิ บั ติ ง าน รวมถึงการจัดฝึกอบรมพนักงานให้เข้าใจ และสามารถปฏิบัติ งานได้อย่างถูกต้อง สอดคล้องตามขั้นตอน และวิธีการปฏิบัติ งานที่บริษัท กำหนดไว้ ใ นกรณี ข อง รายการระหว่ า งกั น ของบริ ษั ท และ บริษัทในเครือ รวมถึงบริษัท และผู้มีผลประโยชน์ร่วมต่างๆ

59


จะผ่านขั้นตอนการพิจารณาอนุมัติอย่างถูกต้องชัดเจน ตาม เงื่อนไข เช่นเดียวกับ คู่ค้ารายอื่นๆ โดยได้เปิดเผยรายการ ดังกล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินแล้ว บริษัทมีการติดตามดูแลการดำเนินงานของบริษัท ในเครื อ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและสม่ ำ เสมอ โดยรายงานความ ก้าวหน้าผลการดำเนินงานของบริษัทในเครือแต่ละแห่งต่อ คณะกรรมการบริ ษั ท ทราบ และมอบหมายให้ มี ห น่ ว ยงาน เฉพาะในการติ ด ตามผลการดำเนิ น งานตามมติ ที่ ค ณะ กรรมการบริษัท ได้ให้ข้อเสนอแนะ ไว้ รวมทั้งการประสาน นโยบายให้ทุกบริษัทมีทิศทางการดำเนินงานที่สอดคล้องเป็น ทิศทางเดียวกับนโยบายของคณะกรรมการบริษทั นอกจากนัน้ ยังกำหนดให้มีหน่วยงาน ดูแลงานด้าน Compliance เพื่อ กำกับดูแลให้การดำเนินงานต่างๆ ของบริษัท สอดคล้องกับ กฎหมาย กฎ ระเบียบข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล

บริษัทได้จัดให้มีข้อมูลที่สำคัญต่างๆ อย่างเพียงพอ เพื่อให้คณะกรรมการบริษัท ใช้ประกอบการตัดสินใจ และ จัดส่งให้คณะกรรมการบริษัทเป็นการล่วงหน้า เพื่อให้มีระยะ เวลาทบทวนและศึ ก ษาข้ อ มู ล ต่ า งๆ ในเบื้ อ งต้ น โดยทุ ก ระเบียบวาระในการประชุมคณะกรรมการบริษัท และคณะ กรรมการชุดย่อย จะปรากฏรายละเอียดในสรุปความเป็นมา รวมทั้งมติของที่ประชุมในช่วงที่ผ่านมาอ้างอิงไว้ รวมถึงมีการ ระบุ ข้ อ กำหนดทางกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ระเบี ย บวาระ การประชุ ม ดั ง กล่ า ว (ถ้ า มี ) เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ได้รับทราบข้อมูลอย่างครอบคลุม ครบถ้วน เพื่อประกอบการ วินิจฉัย และให้ข้อเสนอแนะ เพื่อนำไปสู่การปรับปรุง และ พัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง จากนั้นจึงจะระบุข้อเท็จจริงใน ประเด็นความคืบหน้าในการดำเนินการของฝ่ายบริหารตาม ความเห็ น ของคณะกรรมการชุ ด ต่ า งๆ ซึ่ ง จะครอบคลุ ม ถึ ง เหตุผล การวิเคราะห์ความอ่อนไหวทางธุรกิจ อุปสรรค หรือ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ส่วนการนำเสนอข้อเสนอแนะเพื่อ การพิ จ ารณาจะมี ป ระเด็ น ข้ อ พิ จ ารณา และ/หรื อ แนวทาง เลื อ กเพื่ อ การหารื อ /พิ จ ารณาไว้ ทุ ก ครั้ ง ทั้ ง นี้ ใ นการนำส่ ง รายงานการประชุ ม แต่ ล ะครั้ ง บริ ษั ท จะแจ้ ง ให้ ก รรมการ รายบุคคลสามารถแจ้งแก้ไขรายงานการประชุมภายในระยะ เวลาที่ ก ำหนดภายหลั ง จากที่ ไ ด้ รั บ รายงานการประชุ ม ประมาณ 7 วัน

60

น อกจากนี้ บริ ษั ท ยั ง ได้ มี ก ารประยุ ก ต์ ใ ช้ และ พัฒนาระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมูลภายในอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้บุคลากรทุกระดับในองค์กร สามารถเข้าถึง ข้อมูล และสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ในระดับ ที่เหมาะสมผ่านทางนโยบาย และระบบการกำหนดสิทธิการ เข้าถึงข้อมูลที่ชัดเจนและเป็นระบบ เพื่อนำข้อมูลและสาร สนเทศดังกล่าวมาประกอบการพิจารณา และตัดสินใจในการ ปฏิบัติงาน

ระบบการติดตาม

บริษัทมีการติดตามการปฏิบัติตามเป้าหมายที่ระบุ ไว้ในแผนธุรกิจระยะยาว และแผนปฏิบัติการประจำปีอย่าง ต่อเนื่อง โดยมีการรายงานความคืบหน้าผลการปฏิบัติงาน และดัชนีวัดผลการปฏิบัติงานประจำปี (KPIs) ในการประชุม คณะกรรมการบริษัท เป็นประจำทุกไตรมาส เพื่อพิจารณา กำหนดแนวทางการปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขความล่ า ช้ า หรื อ ข้ อ บกพร่องต่างๆ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นย้ำให้มีการแก้ไขอย่างทันท่วงที บริษัท ให้ความสำคัญต่อการตรวจสอบภายในเป็น อย่างยิ่ง โดยมุ่งเน้นเพิ่มคุณค่าของงานตรวจสอบภายในต่อ องค์ ก รโดยการใช้ ข้ อ มู ล ผลการประเมิ น ความเสี่ ย งภายใน องค์กร ประกอบการวางแผนการตรวจสอบ (Risk Based Audit) และได้ จั ด จ้ า งที่ ป รึ ก ษาร่ ว มดำเนิ น การตรวจสอบ ภายใน (Co-sourcing) กับฝ่ายตรวจสอบเป็นประจำทุกปี เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท รวมถึ ง ฝ่ า ยบริ ห าร สามารถ เชื่ อ มั่ น ในประสิ ท ธิ ภ าพ ประสิ ท ธิ ผ ลของระบบการควบคุ ม ภายในของบริษัท รวมถึงความถูกต้องน่าเชื่อถือได้ของข้อมูล สารสนเทศต่างๆ ทั้งสารสนเทศทางการเงินการบัญชี และ สารสนเทศที่ใช้ในการดำเนินงาน โดยการดำเนินงานต่างๆ สอดคล้ อ งกั บ ข้ อ กฎหมาย กฎ ระเบี ย บ และข้ อ บั ง คั บ

ที่เกี่ยวข้องกับบริษัท นอกจากนี้ยังมีกระบวนการติดตามผล การดำเนิ น งานผ่ า นระบบการตรวจติ ด ตามระบบคุ ณ ภาพ และสิ่ ง แวดล้ อ มภายในบริ ษั ท ตามมาตรฐานสากล ISO 9001:2000 และ ISO 14001 : 2004 อย่างต่อเนื่อง จากการพิจารณาสาระสำคัญของการประเมินความ เพี ย งพอของระบบควบคุ ม ภายในดั ง กล่ า วข้ า งต้ น คณะ กรรมการบริ ษั ท เชื่ อ มั่ น ว่ า ระบบการควบคุ ม ภายในของ บริษัท มีความเพียงพอ และเหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจ

มีความโปร่งใสในการดำเนินการ และส่งเสริมประสิทธิผลของ การประกอบกิจการที่ยั่งยืน


รายงานการกำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำปีงบประมาณ 2553

คณะกรรมการบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากร น้ ำ ภาคตะวั น ออก จำกั ด (มหาชน) เป็ น ผู้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะ กรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ทุ ก ท่ า นมี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมตามที่ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย (ตลท.) กำหนด และคณะกรรมการบริษัทได้ กำหนดองค์ประกอบคุณสมบัติ วาระการดำรงตำแหน่ง และ หน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ไว้เป็นลายลักษณ์อักษรในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ในปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบ มีการประชุม รวมทัง้ สิน้ 10 ครัง้ ซึง่ ได้รวมถึงการประชุมร่วมกับฝ่ายตรวจสอบ ผู้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท และผู้ ส อบบั ญ ชี โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบได้ ซั ก ถามและรั บ ฟั ง คำชี้ แ จงจากผู้ เ กี่ ย วข้ อ ง ดั ง กล่ า วจนเป็ น ที่ พ อใจ คณะกรรมการตรวจสอบรายงาน ผลการประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริษัทเป็นวาระประจำ ทั้งนี้ คณะกรรมการ ตรวจสอบปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามที่ ก ำหนดไว้ ใ นกฎบั ต รโดย ครบถ้วน ปรากฎสาระสำคัญสรุปได้ดังนี้

2. การกำกับดูแลระบบการควบคุมภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาแผนการตรวจสอบ ภายในประจำปี 2553 ซึ่งรวมถึงขอบเขตการตรวจสอบโดย พิจารณาบนพื้นฐานความเสี่ยง (Risk Based Internal Audit Plan) ที่ได้ข้อมูลจากผลประเมินความเสี่ยงของบริษัทสำหรับ ปี 2553 การสัมภาษณ์ผู้บริหารถึงความต้องการหรือประเด็น ข้อกังวล การวิเคราะห์งบการเงิน และข้อสังเกตที่ได้รับจาก ผู้สอบบัญชี โดยครอบคลุมทุกหน่วยงานภายในบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิ จ ารณาสอบทานผล การตรวจประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลระบบการ ควบคุมภายใน ตามที่ฝ่ายตรวจสอบร่วมกับบริษัทที่ปรึกษา ตรวจสอบภายในได้ดำเนินการทดสอบกระบวนการต่างๆ ใน บริ ษั ท เป็ น ระยะตามมาตรฐานสากล ซึ่ ง คณะกรรมการ ตรวจสอบได้ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมที่เป็นประโยชน์ในการ ปรั บ ปรุ ง การปฏิ บั ติ ง านให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล ยิ่งขึ้นแก่บริษัท และมีการติดตามฝ่ายบริหารในการปรับปรุง แก้ไขตามข้อเสนอแนะอย่างต่อเนื่อง โดยให้รายงานทุกครั้ง ในที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 1. การสอบทานความถูกต้องน่าเชื่อถือได้

จากผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน บริษัท ของงบการเงิน และรายการที่เกี่ยวโยงกัน มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ ไม่พบประเด็นปัญหา คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิ จ ารณาสอบทาน หรือข้อบกพร่องที่เป็นสาระสำคัญ ซึ่งสอดคล้องกับความเห็น งบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจำปี 2553 ของ ของผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัท และงบการเงินรวม ร่วมกับผู้สอบบัญชี ผู้ตรวจสอบ ภายใน ตลอดจนรับฟังคำชี้แจงจากฝ่ายบริหาร เพื่อให้มั่นใจ 3. การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบข้อ ได้ถึงความถูกต้องความเชื่อถือได้ และความเพียงพอของการ บังคับที่เกี่ยวข้อง ตั้งประมาณการทางบัญชี การเปิดเผยข้อมูลที่เพียงพอและ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ก ำกั บ ดู แ ลให้ มี ก าร ทันเวลา รวมทั้งให้ข้อสังเกตในประเด็นที่จะเป็นประโยชน์ เปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส และติดตามให้มีการปฏิบัติตาม แก่บริษัท ในปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทาน ข้อกำหนดกฏหมายที่เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจ และกฏหมาย และให้ความเห็นเกี่ยวกับนโยบายบัญชีตามมาตรฐานการ ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ บั ญ ชี IFRS ก่ อ นนำเสนอยั ง คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ 4. การกำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน พิจารณาอนุมัติใช้ในปี 2554 เป็นต้นไป คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิ จ ารณาและอนุ มั ติ แผนปฏิบัติการ งบประมาณประจำปี และกรอบอัตรากำลัง ของฝ่ า ยตรวจสอบ ตลอดจนสนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม ให้

61


ฝ่ายตรวจสอบสามารถปฏิบัติงานได้อย่างเป็นอิสระ และเพื่อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ง านมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น จึ ง กำหนดให้ ฝ่ า ยตรวจสอบมีสายบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบ ในปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิ จ ารณา อนุมัติจัดจ้างที่ปรึกษา บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ที่ปรึกษา ธุ ร กิ จ จำกั ด ร่ ว มปฏิ บั ติ ง านตรวจสอบภายใน ในรู ป แบบ Co-Sourcing กับบุคลากรของฝ่ายตรวจสอบ เพื่อถ่ายทอด แลกเปลี่ ย นความรู้ ป ระสบการณ์ เ พื่ อ พั ฒ นางานตรวจสอบ ภายในของกลุ่มบริษัทให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และนำเสนอ ประเด็นตรวจพบจากการตรวจสอบที่เพิ่มคุณค่าแก่องค์กร อย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก าร ปรั บ ปรุ ง คู่ มื อ และกฎบั ต รฝ่ า ยตรวจสอบ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป และกฎบั ต รคณะกรรมการ ตรวจสอบที่ มี ก ารทบทวนโดยได้ ผ่ า นการอนุ มั ติ จ ากคณะ กรรมการบริษัท

5. การสอบทานการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชี

คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมเป็นการเฉพาะ กับผู้สอบบัญชี เพื่อให้ความมั่นใจว่าผู้สอบบัญชีมีความเป็น อิ ส ระ และเพื่ อ ทำความเข้ า ใจในแผนงานและขอบเขต การทำงานของผู้สอบบัญชี ในการพิจารณาแต่งตั้งผู้สอบบัญชีประจำปี 2554 คณะกรรมการตรวจสอบได้รับทราบผลการประเมิน โดยฝ่าย บริหารของกลุ่มบริษัทในการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีราย ปั จ จุ บั น ซึ่ ง ได้ แ ก่ บริ ษั ท ไพร้ ซ วอเตอร์ เ ฮ้ า ส์ คู เ ปอร์ ส เอบี เ อเอส จำกั ด (PWC) จากผลการประเมิ น และการ พิ จ ารณาประสบการณ์ คุ ณ สมบั ติ และค่ า ธรรมเนี ย มแล้ ว คณะกรรมการตรวจสอบได้นำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท พิ จ ารณาเห็ น ชอบ ให้ น ำเสนอขออนุ มั ติ ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำปี 2553 แต่ ง ตั้ ง บริ ษั ท ไพร้ ซ วอเตอร์ เ ฮ้ า ส์

คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำกัด ประกอบด้วย นายวิเชียร กิ่งมนตรี เลขทะเบี ย น 3977 หรื อ นายประสิ ท ธิ์ เยื่ อ งศรี กุ ล เลขทะเบี ย น 4174 หรื อ นายสุ ด วิ ณ ปั ญ ญาวงศ์ ขั น ติ เลขทะเบียน 3534 เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท ประจำปี 2554 ค่าธรรมเนียมการสอบบัญชีของบริษัท จำนวน 940,000 บาท

62

6. การทบทวนคู่มือกฎบัตรและการประเมิน ตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ท บทวนกฎบั ต รและ คู่มือคณะกรรมการตรวจสอบ (ฉบับทบทวนครั้งที่ 7) เพื่อให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป และเพื่อให้มั่นใจ ว่าการปฏิบัติงานในปีที่ผ่านมาครบถ้วนตามที่ได้รับมอบหมาย และสอดคล้ อ งกั บ แนวทางปฏิ บั ติ ที่ ดี ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย (ตลท.) เพื่อเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทอนุมัติ รวมทั้งคณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินผล การปฏิบัติงานของตนเอง (Self-Assessment) ทั้งคณะ และ ประเมินเป็นรายบุคคลในลักษณะประเมินไขว้ โดยยึดหลัก การกำกับดูแลกิจการที่ดีซึ่งได้รายงานผลต่อคณะกรรมการ บริ ษั ท พิ จ ารณา ทั้ ง นี้ ผ ลการประเมิ น ตนเองทั้ ง คณะ และ รายบุคคลอยู่ในเกณฑ์ดีมาก โดยสรุ ป คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ครบถ้วนตามที่ได้ระบุไว้ในกฏบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที่ ได้ รั บ อนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการบริ ษั ท ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ข้อกำหนด ก.ล.ต. และ ตลท. และมีความเห็นสอดคล้องกับ ความเห็นของผู้สอบบัญชีว่ารายงานทางการเงินของบริษัท มีความถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามมาตรฐานการ บั ญ ชี ที่ รั บ รองทั่ ว ไปของประเทศไทย รวมทั้ ง มี ก ารเปิ ด เผย รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น อย่ า งครบถ้ ว น ถู ก ต้ อ ง อี ก ทั้ ง บริ ษั ท ได้จัดให้มีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน ที่เหมาะสมมีประสิทธิผล โดยการดำเนินงานตลอดปี 2553 ไม่ พ บประเด็ น ที่ เ ป็ น สาระสำคั ญ ในเรื่ อ งการไม่ ป ฏิ บั ติ ต าม ข้ อ กำหนด ข้ อ ผู ก พั น และกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งและมี ก าร ปรับปรุงการดำเนินงานต่างๆ เพื่อให้สอดคล้อง และเหมาะ สมกั บ สภาพแวดล้ อ มทางธุ ร กิ จ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปอย่ า ง ต่อเนื่อง (นางนิศกร ทัดเทียมรมย์) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ


รายงานคณะกรรมการธรรมาภิบาล คณะกรรมการ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) ได้ให้ความสำคัญในการ บริหารกิจการโดยยึดมั่นเรื่องคุณค่าขององค์กรพร้อมทั้งการเจริญเติบโตของกิจการอย่างยั่งยืน โดยมีเจตนารมณ์ที่จะนำหลัก การกำกับดูแลกิจการที่ดีมาใช้ในการบริหารกิจการ ทั้งนี้ได้ตระหนักถึงการยกระดับการกำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อสร้างความ เชื่อมั่นและความพึงพอใจให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ซึ่งในปี 2553 คณะกรรมการธรรมาภิบาลได้ให้ความเห็นชอบและ ได้นำเสนอยังคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาทบทวนหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี และคู่มือคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ - นโยบายเกี่ยวกับการป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน โดยกำหนดห้ามกรรมการ ผู้บริหาร พนักงานประจำของบริษัท รวมทั้งคู่สมรสและบุตรไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าวนำข้อมูลภายในของบริษัทที่เป็นสาระสำคัญซึ่งยังไม่เปิดเผย ต่อสาธารณชนไปใช้ประโยชน์ในการซื้อขายหลักทรัพย์เพื่อเก็งกำไร หรือสร้างความได้เปรียบให้กับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใด กลุ่มหนึ่ง - นโยบายเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท โดยกำหนดให้งดการซื้อขายหลักทรัพย์ในช่วงระยะเวลา 1 เดือน ก่อนการเปิดเผยข้อมูลงบการเงินต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ และในช่วงระยะเวลา 3 วันหลังการเปิดเผยข้อมูลงบการเงินต่อตลาด หลักทรัพย์ฯ ในช่วงการเปิดเผยงบการเงิน - นโยบายความรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้ โดยปฏิบัติต่อเจ้าหนี้ตามเงื่อนไข ข้อกำหนดในสัญญา และไม่ปกปิดสถานะการ เงินที่แท้จริงของบริษัท และบริษัทในเครือ รวมทั้งไม่ใช้เงินทุนที่ได้จากการกู้ยืมเงินไปในทางที่ขัดกับวัตถุประสงค์ในข้อตกลงที่ ทำกับผู้ให้กู้ยืมเงิน คณะกรรมการธรรมาภิบาลขอยืนยันเจตนารมณ์ที่จะนำหลักการกำกับดูแลกิจการสำหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2549 มาเป็นแนวทางการบริหารกิจการ พร้อมทั้งปรับปรุงแก้ไขให้ทันสมัย เหมาะสม สอดคล้องกับสภาวการณ์สังคม และเศรษฐกิจ ที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เพื่อนำเสนอยังคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาปรับปรุง พร้อมทั้งทำหน้าที่กำกับดูแลให้หลัก การกำกับดูแลกิจการที่ดีนำมาใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานได้ โดยมุ่งหวังการสร้างกิจการให้มีคุณค่าอย่างยั่งยืนแก่องค์กร ต่อไป นายวิเศษ ชำนาญวงษ์ ประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาล

63


รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีการทำงบการเงิน เพื่อแสดงฐานะทางการเงิน และผลการดำเนินงานของบริษัท สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ภายใต้พระราชบัญญัติมหาชน จำกัด พ.ศ. 2535 โดยคณะกรรมการบริษัทได้ตระหนัก ถึ ง ภาระหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบในฐานะกรรมการบริ ษั ท จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ในการเป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบ ต่องบการเงิน และงบการเงินรวมของบริษัท รวมถึงสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำปีสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วย กรรมการที่เป็นอิสระและไม่เป็น

ผู้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท เป็ น ผู้ ดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบเกี่ ย วกั บ คุ ณ ภาพการรายงานทางการเงิ น และสอบทานความเพี ย งพอและ ประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในของบริษัทและบริษัทในเครือ เพื่อให้มั่นใจได้อย่างสมเหตุผลว่า การบันทึกข้อมูล ทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วนและสามารถดำรงรักษาทรัพย์สิน รวมทั้ง เป็นแนวทางให้บริษัทและบริษัทในเครือรับทราบ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือดำเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสำคัญ ซึ่งมีความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งนี้ ป รากฏในรายงานการกำกั บ ดู แ ลกิ จ การของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำปี ง บประมาณ 2553 ของ คณะกรรมการตรวจสอบตามที่แสดงไว้ในรายงานประจำปีฉบับนี้ ดังนั้นคณะกรรมการบริษัทจึงมีความเห็นว่า บริษัทได้ใช้ดุลยพินิจอย่างรอบคอบระมัดระวัง สมเหตุสมผล และใช้วิธี การประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทำงบการเงินดังกล่าวภายใต้นโยบายการบัญชี ที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ สอดคล้องตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย รวมทั้งได้เปิดเผยข้อมูลสำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินแล้ว

(นายอุทิศ ธรรมวาทิน) ประธานกรรมการบริษัท

64

(นายประพันธ์ อัศวอารี) กรรมการผู้อำนวยการใหญ่


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

เสนอ ผู้ถือหุ้นของบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 งบกำไรขาดทุนรวม และ งบกำไรขาดทุนเฉพาะบริษัท งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น เฉพาะบริษัท และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท จัดการและ พัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำ ภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลใน งบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ของบริษัท จัดการและพัฒนา ทรั พ ยากรน้ ำ ภาคตะวั น ออก จำกั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย และของเฉพาะบริ ษั ท จั ด การและพั ฒ นาทรั พ ยากรน้ ำ ภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ที่นำมาแสดงเปรียบเทียบ ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่นซึ่งได้เสนอรายงานไว้อย่าง ไม่มีเงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 และได้ให้ข้อสังเกตไว้ 2 เรื่องคือ 1) เรื่องโครงการวางท่อเชื่อม โครงการหนึ่ง โดยบริษัทเป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างและจ่ายเงินแทนหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องไปก่อนเป็นจำนวน 646.5 ล้านบาท ซึ่งต่อมาหน่วยงานรัฐและบริษัทได้ลงนามในสัญญาซื้อขายทรัพย์สินโครงการดังกล่าว และ 2) เรื่องค่าตอบแทนโครงการ ท่อส่งน้ำของบริษัท ซึ่งบริษัทได้จ่ายค่าตอบแทนตามอัตราที่หน่วยงานรัฐกำหนดในเบื้องต้น แต่อาจมีการเปลี่ยนแปลงใน ภายหลัง ทั้งนี้หน่วยงานของรัฐอยู่ระหว่างการพิจารณาการจัดให้บริษัทเช่า/บริหาร และการปรับอัตราผลตอบแทนในโครงการ ซึ่งยังไม่มีข้อยุติ ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและ ปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามเชื่ อ มั่ น อย่ า งมี เ หตุ ผ ลว่ า งบการเงิ น แสดงข้ อ มู ล ที่ ขั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เป็ น สาระสำคั ญ หรื อ ไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจำนวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสำคัญซึ่ง ผู้บริหารเป็นผู้จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้า เชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะ บริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2553 ผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะบริษัท และกระแสเงินสดรวมและ กระแสเงิ น สดเฉพาะบริ ษั ท สำหรั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น เดี ย วกั น ของบริ ษั ท จั ด การและพั ฒ นาทรั พ ยากรน้ ำ ภาคตะวั น ออก จำกั ด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยมิได้เป็นการแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขต่องบการเงินข้างต้น ข้าพเจ้าขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการ เงินข้อ 30.5 เรื่องค่าตอบแทนโครงการท่อส่งน้ำซึ่งปัจจุบันบริษัทได้จ่ายค่าตอบแทนตามอัตราที่กำหนดในเบื้องต้น เนื่องจาก หน่วยงานของรัฐอยู่ระหว่างการพิจารณาการจัดให้บริษัท เช่า/บริหาร และการพิจารณาอัตราผลตอบแทนซึ่งอาจมีการ เปลี่ยนแปลงในภายหลัง วิเชียร กิ่งมนตรี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3977 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำกัด กรุงเทพมหานคร 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

65


งบดุล บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า รายได้ค่างานลดน้ำสูญเสียรอรับชำระ จากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ เงินปันผลค้างรับจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน สินทรัพย์โครงการ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน เงินลงทุนในบริษัทย่อย - สุทธิ เงินลงทุนระยะยาว - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน - สุทธิ ต้นทุนการได้มาซึ่งสิทธิในสัมปทานรอตัดบัญชี - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

66

หมายเหตุ 6 7 29.2 8 29.2 9 10 11 12 13 14 15 16 17

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 442,884,324 124,569,291 328,370,034 23,348,724 310,761,108 311,364,869 226,877,314 236,665,795 16,612,643 26,624,639 - - 9,558,954 9,283,507 - 11,251 - - - 18,038,996 - 646,486,465 - 646,486,465 94,998,346 46,554,884 38,686,672 30,682,396 874,815,375 1,164,883,655 593,934,020 955,233,627 2,076,000 9,076,000 2,076,000 9,076,000 510,000,000 511,499,930 - - 91,470,300 85,387,500 91,470,300 85,387,500 7,790,932,491 6,775,830,440 7,571,510,696 6,588,144,986 395,839,297 390,518,418 - - 542,317,810 556,752,273 - - 143,899,104 152,247,842 - - 29,248,983 13,082,073 6,495,557 6,988,877 8,995,783,985 7,982,894,546 8,18 1,552,553 7,201,097,293 9,870,599,360 9,147,778,201 8,775,486,573 8,156,330,920


งบดุล (ต่อ) บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - ส่วนที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - ส่วนที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี เจ้าหนี้จากการซื้อสินทรัพย์ถาวร ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินประกันผลงาน เงินประกันการเช่ารับจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

หมายเหตุ 18 19 20 21 20 21 29.2

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 100,909,667 65,593,830 552,587,913 369,000,000 2,823,812 2,948,681 373,406,060 187,755,474 150,790,877 71,369,506 133,787,088 140,261,483 189,703,526 181,706,288 7,977,425 15,121,219 1,511,986,368 1,033,756,481 2,481,480 1,308,420 1,632,406,466 1,727,812,526 106,804,273 41,184,931 - - 1,741,692,219 1,770,305,877 3,253,678,587 2,804,062,358

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 57,569,868 64,049,855 552,587,913 369,000,000 2,823,812 2,473,515 250,000,000 100,000,000 129,795,419 56,993,972 118,065,548 115,471,497 139,508,387 130,806,571 2,798,499 1,534,968 1,253,149,446 840,330,378 2,481,480 1,308,420 1,204,000,000 1,250,000,000 85,257,246 25,613,260 805,765 793,195 1,292,544,491 1,277,714,875 2,545,693,937 2,118,045,253

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

67


งบดุล (ต่อ) บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,663,725,149 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนที่ออกและชำระแล้ว หุ้นสามัญ 1,663,725,149 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้า - สุทธิ กำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ทุนสำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

(นายอุทิศ ธรรมวาทิน) ประธานกรรมการ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

68

หมายเหตุ 22 22 23 24

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 1,663,725,149 1,663,725,149 1,663,725,149 1,663,725,149 2,138,522,279 2,138,522,279 38,549,670 41,947,193 166,500,000 166,500,000 2,606,838,578 2,330,480,390 6,614,135,676 6,341,175,011 2,785,097 2,540,832 6,616,920,773 6,343,715,843 9,870,599,360 9,147,778,201

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 1,663,725,149 1,663,725,149 1,663,725,149 1,663,725,149 2,138,522,279 2,138,522,279 38,549,670 41,947,193 166,500,000 166,500,000 2,222,495,538 2,027,591,046 6,229,792,636 6,038,285,667 - - 6,229,792,636 6,038,285,667 8,775,486,573 8,156,330,920

(นายประพันธ์ อัศวอารี) กรรมการผู้อำนวยการใหญ่


งบกำไรขาดทุน บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 รายได้ รายได้จากการขายน้ำดิบ รายได้จากการขายน้ำประปา รายได้จากการขายสินทรัพย์โครงการ รายได้จากการขายอื่น ๆ รวมรายได้จากการขาย รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายน้ำดิบ ต้นทุนขายน้ำประปา ต้นทุนจากการขายสินทรัพย์โครงการ ต้นทุนขายอื่น ๆ รวมต้นทุนขาย ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม ค่าตอบแทนผู้บริหาร รวมค่าใช้จ่าย กำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน กำไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำไรสุทธิสำหรับปี การแบ่งปันกำไรสุทธิ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำไรต่อหุ้นสำหรับกำไรส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน หมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

หมายเหตุ 29.1 29.1 9 29.1 29.1 26 9 29.1 29.3 27 28

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 2,117,502,225 1,904,363,863 716,233,258 635,933,078 1,567,289,720 - 3,245,300 - 4,401,025,203 2,543,542,241 232,265,416 282,364,062 41,508,271 52,588,800 4,674,798,890 2,878,495,103 811,216,783 687,920,819 404,591,735 331,248,718 1,507,455,010 - - 688,205 2,723,263,528 1,019,857,742 206,492,269 239,889,074 49,641,874 41,293,356 208,715,462 235,218,818 34,604,368 21,650,029 71,589,357 70,187,202 3,294,306,858 1,628,096,221 1,380,492,032 1,250,398,882 (89,807,641) (120,116,069) 1,290,684,391 1,130,282,813 (381,746,492) (322,571,695) 908,937,899 807,711,118 908,553,615 807,270,583 384,284 440,535 908,937,899 807,711,118 0.55 0.49

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 2,228,405,523 2,012,496,010 243,463,695 224,072,165 1,567,289,720 - - 3,173,965 4,039,158,938 2,239,742,140 58,203,129 35,896,038 66,391,675 79,027,659 4,163,753,742 2,354,665,837 853,713,922 728,951,836 240,578,081 221,530,615 1,507,455,010 - - 155,937 2,601,747,013 950,638,388 55,075,432 30,136,726 46,690,899 39,494,406 158,086,823 173,478,400 32,095,002 18,816,040 49,535,013 45,174,813 2,943,230,182 1,257,738,773 1,220,523,560 1,096,927,064 (67,652,245) (104,770,351) 1,152,871,315 992,156,713 (325,771,396) (264,131,604) 827,099,919 728,025,109 827,099,919 728,025,109 - - 827,099,919 728,025,109 0.50 0.44

69


งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552

ทุนเรือนหุ้นที่ออก หมายเหตุ และชำระแล้ว

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 ตัดจำหน่ายทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้า กำไรสุทธิสำหรับปี บริษัทย่อยจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 ตัดจำหน่ายทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้า กำไรสุทธิสำหรับปี บริษัทย่อยจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

25 25

1,663,725,149 - - - - 1,663,725,149 1,663,725,149 - - - - 1,663,725,149

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

70

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ กำไรสะสม ทรัพย์สินที่ได้ ส่วนเกิน รับโอนจากลูกค้า มูลค่าหุ้นสามัญ - สุทธิ

2,138,522,279 - - - - 2,138,522,279 2,138,522,279 - - - - 2,138,522,279

41,947,193 (3,397,523) - - - 38,549,670 45,344,716 (3,397,523) - - - 41,947,193

จัดสรรแล้ว - ทุนสำรองตาม กฎหมาย

166,500,000 - - - - 166,500,000 166,500,000 - - - - 166,500,000

รวม

ส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัทใหญ่ ส่วนของผู้ถือหุ้น ยังไม่ได้จัดสรร ส่วนน้อย

2,330,480,390 - 908,553,615 - (632,195,427) 2,606,838,578 2,105,495,759 - 807,270,583 - (582,285,952) 2,330,480,390

6,341,175,011 (3,397,523) 908,553,615 - (632,195,427) 6,614,135,676 6,119,587,903 (3,397,523) 807,270,583 - (582,285,952) 6,341,175,011

2,540,832 - 384,284 (140,019) - 2,785,097 2,216,301 - 440,535 (116,004) - 2,540,832

รวม

6,343,715,843 (3,397,523) 908,937,899 (140,019) (632,195,427) 6,616,920,773 6,121,804,204 (3,397,523) 807,711,118 (116,004) (582,285,952) 6,343,715,843


งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2553 ตัดจำหน่ายทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้า กำไรสุทธิสำหรับปี เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 ตัดจำหน่ายทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้า กำไรสุทธิสำหรับปี เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

หมายเหตุ 25 25

งบการเงินเฉพาะบริษัท ทุนเรือนหุ้นที่ออก และชำระแล้ว 1,663,725,149 - - - 1,663,725,149 1,663,725,149 - - - 1,663,725,149

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้นสามัญ 2,138,522,279 - - - 2,138,522,279 2,138,522,279 - - - 2,138,522,279

ทรัพย์สินที่ได้ รับโอนจากลูกค้า สุทธิ 41,947,193 (3,397,523) - - 38,549,670 45,344,716 (3,397,523) - - 41,947,193

กำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ทุนสำรองตาม กฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร 166,500,000 2,027,591,046 - - - 827,099,919 - (632,195,427) 166,500,000 2,222,495,538 166,500,000 1,881,851,889 - - - 728,025,109 - (582,285,952) 166,500,000 2,027,591,046

(หน่วย : บาท)

รวม 6,038,285,667 (3,397,523) 827,099,919 (632,195,427) 6,229,792,636 5,895,944,033 (3,397,523) 728,025,109 (582,285,952) 6,038,285,667

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

71


งบกระแสเงินสด บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับกระทบกำไรก่อนภาษีเงินได้เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษัทย่อย (โอนกลับ) ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์อื่น ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนระยะยาว ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ (โอนกลับ) ค่าตัดจำหน่ายสินค้าคงเหลือ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) โอนกลับประมาณการหนี้สิน ค่าเสื่อมราคา 14, 15 ค่าตัดจำหน่ายต้นทุนการได้มาซึ่งสิทธิในสัมปทาน 16 ค่าสิทธิตัดจำหน่าย 17 รายได้จากการตัดจำหน่ายทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้า ขาดทุนจากการจำหน่าย/ตัดจำหน่ายสินทรัพย์ถาวร ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายสินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่ายและตัดจำหน่ายดอกเบี้ยภายใต้สัญญาเช่าการเงิน กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ และหนี้สินดำเนินงาน การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ดำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้า รายได้ค่างานลดน้ำสูญเสียรอรับชำระจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์โครงการ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

72

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 1,290,684,391 1,130,282,813 - - 1,400,000 16,790,000 245,003 840,496 - 90,000 (54,643) (45,225,848) 11,251 - (21,528) (471,290) - (10,680,790) 369,732,485 305,836,713 26,743,488 25,905,787 8,348,738 8,348,738 (3,397,523) (3,397,523) 11,467,015 6,580,538 514,395 - (17,267,095) (18,505,785) (3,161,482) (2,037,685) 88,472,875 119,689,807 1,773,717,370 1,534,045,971 509,066 (70,938,082) 10,011,995 23,557,613 (286,698) 46,411,332 646,486,465 - (51,503,996) (13,492,937) (16,166,906) (5,407,665) 35,315,837 (1,929,055) 8,357,815 37,883,506 (5,703,388) (11,981,177) 65,619,342 3,783,669 2,466,356,902 1,541,933,175 (388,220,888) (320,728,494) 2,078,136,014 1,221,204,681

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 1,152,871,315 992,156,713 (172,166) 3,500,000 - - 245,003 840,496 - - (54,643) (44,392,525) 11,251 - (21,528) (100,000) - - 319,502,917 258,814,887 - - - - (3,397,523) (3,397,523) 12,045,528 5,268,542 - - (45,827,091) (48,544,781) (2,283,469) (13,223,660) 66,441,971 104,424,349 1,499,361,565 1,255,346,498 9,788,481 (60,912,509) - - - 44,548,462 646,486,465 - (9,100,871) (3,802,750) 493,320 (4,394,551) (6,479,987) 11,125,084 8,701,816 24,276,872 2,708,060 5,905,374 59,656,556 45,052 2,211,615,405 1,272,137,532 (323,177,347) (268,626,849) 1,888,438,058 1,003,510,683


งบกระแสเงินสด (ต่อ) บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน เงินสดรับจากการขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายคืน เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนระยะยาว เงินสดรับจากการรับชำระคืนเงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บริษัทย่อย เงินปันผลรับจากบริษัทย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดจ่ายเพื่อซื้อสินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน เงินสดจ่ายเพื่อการได้มาซึ่งสิทธิในสัมปทาน เงินสดรับจากดอกเบี้ย เงินสดรับจากการจำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงินสดจ่ายซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน จ่ายคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายชำระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดจ่ายค่าดอกเบี้ย เงินสดจ่ายดอกเบี้ยที่ตั้งขึ้นเป็นทุน เงินปันผลจ่ายแก่ผู้ถือหุ้น เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี ข้อมูลเพิ่มเติมประกอบงบกระแสเงินสด รายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับกระแสเงินสด การซื้อทรัพย์สินโดยการก่อหนี้สินเพิ่มขึ้นสุทธิ โอนเปลี่ยนประเภทจากอุปกรณ์เป็นสินทรัพย์โครงการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 7,000,000 - - 261,010,051 - 83,584,275 13 (6,082,800) - - - 17,267,095 26,593,739 (39,741,703) (43,228,716) (7,115,986) (48,411,201) 3,131,290 3,167,047 1,364,493 2,819,525 (1,274,423,809) (300,048,173) (1,298,601,420) (14,513,453) 19 183,587,913 361,500,000 21 278,000,000 364,500,000 21 (187,755,474) (1,195,716,000) (3,253,743) (4,095,960) (89,678,895) (127,973,573) (9,783,916) - 25 (632,335,446) (582,401,956) (461,219,561) (1,184,187,489) 318,315,033 22,503,739 124,569,291 102,065,552 442,884,324 124,569,291 6 79,421,371 45,700,606 - 4,287,265

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 7,000,000 - - 261,010,051 - 83,584,275 (6,082,800) - - 300,000,000 63,866,087 52,618,739 - - - - 2,253,276 14,352,443 78,270 2,664,748 (1,225,709,461) (270,901,266) (1,158,594,628) 443,328,990 183,587,913 369,000,000 204,000,000 - (100,000,000) (1,150,000,000) (2,752,620) (2,480,641) (67,678,070) (112,842,078) (9,783,916) - (632,195,427) (582,285,952) (424,822,120) (1,478,608,671) 305,021,310 (31,768,998) 23,348,724 55,117,722 328,370,034 23,348,724 72,801,447 49,327,045 - 4,287,265

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

73


หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท 1.

ข้อมูลทั่วไป

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) เป็นบริษัทมหาชนจำกัด ซึ่ง จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นในประเทศไทยและมีที่อยู่ตามที่ได้จดทะเบียนดังนี้ อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-26 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดี รังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร บริษัทเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อวัตถุประสงค์ในการรายงานข้อมูล จึงรวม เรียกบริษัทและบริษัทย่อยว่ากลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทดำเนินธุรกิจหลัก คือ พัฒนาและดูแลจัดการระบบท่อส่งน้ำสายหลักในพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเล ภาคตะวันออกของประเทศไทย จำหน่ายน้ำดิบ ผลิตและจำหน่ายน้ำประปา บริหารกิจการประปาครบวงจร และงานวิศวกรรมบริการ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทนี้ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

2. นโยบายการบัญชี

นโยบายการบัญชีที่สำคัญซึ่งใช้ในการจัดทำงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทมีดังต่อไปนี้

2.1

เกณฑ์การจัดทำงบการเงิน งบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท ได้ จั ด ทำขึ้ น ตามหลั ก การบั ญ ชี ที่ รั บ รองทั่ ว ไปภายใต้ พระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 ซึง่ หมายถึงมาตรฐานการบัญชีทอี่ อกภายใต้พระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพ บัญชี พ.ศ. 2547 และข้อกำหนดของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลัก ทรัพย์ว่าด้วยการ จัดทำและนำเสนอรายงานทางการเงินภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าของ องค์ประกอบของงบการเงิน การจัดทำงบการเงินให้สอดคล้องกับหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทยกำหนดให้ฝ่ายบริหาร ประมาณการและกำหนดสมมติฐานที่เกี่ยวข้องอันจะมีผลต่อตัวเลขของสินทรัพย์และหนี้สิน รวมทั้ง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสินทรัพย์และหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ในงบการเงิน และข้อมูลรายได้ และค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาที่เสนองบการเงินดังกล่าว ตัวเลขที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างจากตัวเลข ประมาณการ ถึงแม้ว่าฝ่ายบริหารได้จัดทำตัวเลขประมาณการขึ้นจากความเข้าใจในเหตุการณ์และ สิ่งที่ได้กระทำไปในปัจจุบันอย่างดีที่สุดแล้ว

74


งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทฉบับภาษาอังกฤษจัดทำขึ้นจากงบการเงินตามกฎหมายที่ เป็นภาษาไทย ในกรณีที่มีเนื้อความขัดแย้งกันหรือมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกันให้ใช้งบการ เงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเป็นหลัก งบการเงินรวมนี้ได้จัดทำขึ้นโดยรวมงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 ของบริษัท และบริษัทย่อยดังต่อไปนี้

จัดตั้งขึ้น

อัตราร้อยละ

ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

ในประเทศ

ของการถือหุ้น

พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552

ร้อยละ

ร้อยละ

บริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้นโดยตรง

บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด

ผลิตและจำหน่ายน้ำประปา การบำบัดน้ำเสีย การจำหน่ายเครื่องมือ อุปกรณ์และสารเคมี ที่เกี่ยวข้อง และลงทุนใน กิจการประปา 3 แห่ง

ประเทศไทย

100

100

บริษัท วอเตอร์ เทรดส์ แอนด์ เซอร์วิสเซส จำกัด

บริหารโครงการตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญชุมชน (จดทะเบียนเลิกบริษัทเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552)

ประเทศไทย

-

100

บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยบริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด

บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จำกัด

ผลิตและจำหน่ายน้ำประปา

ประเทศไทย

99

99

บริษัท ประปาบางปะกง จำกัด

ผลิตและจำหน่ายน้ำประปา

ประเทศไทย

99

99

บริษัท ประปานครสวรรค์ จำกัด

ผลิตและจำหน่ายน้ำประปา

ประเทศไทย

100

100

2.2

มาตรฐานการบัญชีใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ การตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินใหม่ และการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี

ก) แม่บทการบัญชี แม่บทการบัญชีฉบับปรับปรุงมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ข) มาตรฐานการบัญชีใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ การตีความมาตรฐานการ รายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการบัญชีที่มีการปรับปรุง มาตรฐานการบัญชีใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ การตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการบัญชีที่มีการปรับปรุงและมีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลา บัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 และวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 มีดังต่อไปนี้

75


มีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่องการนำเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) เรื่องสินค้าคงเหลือ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) เรื่องงบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) เรือ่ งนโยบายการบัญชี การเปลีย่ นแปลงประมาณการ ทางบัญชีและข้อผิดพลาด มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) เรื่องเหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) เรื่องสัญญาก่อสร้าง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) เรื่องที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่องสัญญาเช่า มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) เรื่องรายได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เรื่องผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) เรื่องต้นทุนการกู้ยืม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) เรื่องการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 26 เรื่องการบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์ เมื่อออกจากงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) เรื่องงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) เรื่องเงินลงทุนในบริษัทร่วม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 เรื่องการรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่ เงินเฟ้อรุนแรง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) เรื่องส่วนได้เสียในการร่วมค้า มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) เรื่องกำไรต่อหุ้น มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) เรื่องงบการเงินระหว่างกาล มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) เรื่องการด้อยค่าของสินทรัพย์ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) เรื่องประมาณการหนี้สิน และหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) เรื่องสินทรัพย์ไม่มีตัวตน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) เรื่องอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 เรื่องการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 เรื่องการรวมธุรกิจ (ปรับปรุง 2552) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 เรื่องสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการ (ปรับปรุง 2552) ดำเนินงานที่ยกเลิก มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 6 เรื่องการสำรวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่องสัญญาการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ ฉบับที่ 15

76


มีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่องภาษีเงินได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) เรื่องการบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการ เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) เรือ่ งผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ น เงินตราต่างประเทศ ผู้บริหารของบริษัทได้ประเมินและเห็นว่ามาตรฐานการบัญชีใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ใหม่ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการบัญชีที่มีการปรับปรุงดัง กล่าวจะมีผลกระทบต่องบการเงินที่นำเสนอดังนี้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) ได้กำหนดห้ามแสดงรายการรายได้และค่าใช้จ่ายใน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น โดยกิจการสามารถเลือกแสดงงบเดียว (งบกำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ) หรือสองงบ (งบกำไรขาดทุน และงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ) ในกรณีที่กิจการมีการปรับปรุง ย้อนหลัง หรือจัดประเภทรายการใหม่ กิจการต้องแสดงงบแสดงฐานะการเงิน ณ ต้นงวดของงวดที่นำมา เปรียบเทียบล่าสุด นอกเหนือจากการแสดงงบการเงิน ณ วันสิ้นงวดปัจจุบัน และ ณ วันสิ้นงวดก่อน อย่างไรก็ดีสำหรับงบการเงินซึ่งมีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 และเป็น รอบระยะเวลาบัญชีแรกที่กิจการนำมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) มาใช้แต่กิจการสามารถ เลือกที่จะแสดงงบแสดงฐานะการเงินเพียงสองงบโดยไม่แสดงงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันต้นงวดของงวด ที่นำมาเปรียบเทียบกลุ่มบริษัทจะเริ่มนำมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาปฏิบัติตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 โดยงบกำไรขาดทุน และงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จจะรวมแสดงแบบงบเดียว มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เกี่ยวข้องกับภาษีเงินได้ ซึ่งรวมถึงภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบัน และภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินหรือสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันคำนวณจากจำนวนที่คาดว่าจะ ต้องจ่ายแก่ หรือได้รับคืนจากหน่วยงานจัดเก็บภาษี โดยใช้อัตราภาษีและกฎหมายภาษีอากรที่บังคับ ใช้อยู่หรือที่คาดว่าจะมีผลบังคับใช้ภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี คำนวณโดยอ้างอิงจากผลแตกต่างชั่วคราวของฐานภาษีของสินทรัพย์หรือหนี้สิน และมูลค่าตามบัญชี ของสินทรัพย์หรือหนี้สินนั้นด้วยอัตราภาษีสำหรับงวดที่กิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีหรือในงวดที่กิจการคาดว่าจะต้องจ่ายชำระหนี้สินภาษี โดยใช้อัตราภาษี และกฎหมายภาษีอากรที่บังคับใช้อยู่หรือที่คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมีผลบังคับใช้ภายในสิ้นรอบระยะ เวลาที่ ร ายงาน กลุ่ ม บริ ษั ท จะเริ่ ม นำมาตรฐานการบั ญ ชี ฉ บั บ นี้ ม าถื อ ปฏิ บั ติ ก่ อ นตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 โดยการปรับปรุงย้อนหลัง ซึ่งคาดว่าจะมีผลกระทบต่องบการเงิน ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 โดยประมาณดังนี้

77


สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเพิ่มขึ้น กำไรสะสมเพิ่มขึ้น (ลดลง)

งบการเงินรวม ล้านบาท 30.61 43.47 (12.86)

งบการเงินเฉพาะบริษัท ล้านบาท 17.61 0.31 17.30

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) กำหนดให้กิจการต้องรวมต้นทุนที่ประมาณในเบื้องต้น สำหรับการรื้อ การขนย้าย และการบูรณะสถานที่ตั้งของสินทรัพย์ซึ่งเป็นภาระผูกพันของกิจการเป็น ส่วนหนึ่งของราคาทุนของสินทรัพย์ กิจการต้องคิดค่าเสื่อมราคาสำหรับส่วนประกอบของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์แต่ละส่วนแยกต่างหากจากกัน เมื่อส่วนประกอบแต่ละส่วนนั้นมีต้นทุนที่มีนัยสำคัญเมื่อ เทียบกับต้นทุนทั้งหมดของสินทรัพย์นั้น มาตรฐานที่มีการปรับปรุงใหม่กำหนดให้กิจการต้องทบทวน อายุการให้ประโยชน์ มูลค่าคงเหลือ และวิธีการคิดค่าเสื่อมราคาอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้นรอบปีบัญชี กลุ่มบริษัทจะเริ่มนำมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาปฏิบัติตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งไม่มีผล กระทบต่อกำไรสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 เกี่ยวข้องกับการบัญชีสำหรับผลประโยชน์พนักงาน ซึ่งสามารถจัด ประเภทได้ 4 ประเภท ได้แก่ ก) ผลประโยชน์ระยะสั้น ข) ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวมถึง โครงการสมทบเงิ น และโครงการผลประโยชน์ พ นั ก งาน ค) ผลประโยชน์ ร ะยะยาวอื่ น และ ง) ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กำหนดให้วัดมูลค่าโครงการผลประโยชน์พนัก งาน และผลประโยชน์ระยะยาวอื่นโดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ กิจการสามารถเลือก รับรู้ผลกำไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสำหรับโครงการผล ประโยชน์ในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จหรือกำไรขาดทุน ส่วนผลกำไรและขาดทุนจากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสำหรับสำหรับผลประโยชน์ระยะยาวอื่นให้รับรู้ในกำไรขาดทุน กลุ่ม บริษัทจะเริ่มนำมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาปฏิบัติตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 โดยมีผลกระทบ ทำให้กำไรสะสมลดลงและหนี้สินผลประโยชน์พนักงานเพิ่มขึ้น ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 สำหรับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท จำนวน 56.98 ล้านบาท และ 33.94 ล้านบาท ตามลำดับ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) กำหนดให้กิจการต้องรวมต้นทุนการกู้ยืมที่เกี่ยวข้อง โดยตรงกับการได้มา การก่อสร้าง หรือการผลิตสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไขเป็นส่วนหนึ่งของราคาทุนของ สินทรัพย์นั้น และยกเลิกวิธีทางเลือกในการรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายทันที กลุ่มบริษัทจะเริ่มนำมาตรฐานการ บัญชีฉบับนี้มาปฏิบัติตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 แต่การปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้จะไม่ มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินของกลุ่มบริษัทเนื่องจากกลุ่มบริษัทใช้วิธีรวมต้นทุน การกู้ยืมเป็นส่วนหนึ่งของราคาทุนของสินทรัพย์ที่เข้าเงื่อนไขอยู่แล้ว

78


มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) ได้มีการเพิ่มเติมคำจำกัดความของบุคคลหรือกิจการที่ เกีย่ วข้องกัน โดยให้รวมถึงบุคคลหรือกิจการที่มีอำนาจควบคุมร่วมในกิจการ การร่วมค้าที่กิจการเป็น ผู้ร่วมค้า และโครงการผลประโยชน์ตอบแทนหลังออกจากงานของพนักงานของกิจการ กลุ่มบริษัทจะ เริ่มนำมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาปฏิบัติตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งจะมีผลกระทบเฉพาะการ เปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงินเท่านั้น มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) ให้ข้อกำหนดสำหรับการแสดงรายการและการวัดมูล ค่าของอสังหา-ริมทรัพย์เพื่อการลงทุน กิจการต้องแสดงรายการอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเป็น รายการแยกต่างหากในงบแสดงฐานะการเงิน กิจการสามารถวัดมูลค่าได้สองวิธี คือ วิธีราคาทุน และ วิ ธี มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม สำหรั บ วิ ธี มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมกิ จ การต้ อ งรั บ รู้ ผ ลต่ า งจากการเปลี่ ย นแปลงในมู ล ค่ า ยุติธรรมในงบกำไรขาดทุน กลุ่มบริษัทจะเริ่มนำมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาปฏิบัติตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 โดยกลุ่มบริษัทจะใช้วิธีราคาทุนในการวัดมูลค่า และเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน 2.3

การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี ในไตรมาสหนึ่ง พ.ศ. 2553 บริษัทได้เปลี่ยนประมาณการทางบัญชีเกี่ยวกับการคำนวณค่าเสื่อมราคา ของเครื่องจักรและอุปกรณ์ประเภทระบบท่อส่งน้ำดิบจากวิธีผันแปรตามหน่วยผลิต ซึ่งคำนวณจาก ประมาณการหน่วยการขายแต่ไม่เกินกำลังการผลิตของสินทรัพย์ในระยะเวลา 40 ปี มาเป็นวิธีเส้น ตรงโดยคำนวณตามอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เหลืออยู่โดยประมาณ 34 - 37 ปี ซึ่งผู้บริหารของ บริษัทเห็นว่าเป็นวิธีที่เหมาะสมกว่าเนื่องจากสินทรัพย์ดังกล่าวเสื่อมสภาพตามระยะเวลา การเปลี่ ย นประมาณการทางบั ญ ชี ดั ง กล่ า วเป็ น การเปลี่ ย นไปข้ า งหน้ า ซึ่ ง ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงวิธีการคำนวณค่าเสื่อมราคาทำให้ค่าเสื่อมราคาสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 เพิ่มขึ้นเป็นจำนวน 60.13 ล้านบาท และกำไรสุทธิก่อนภาษีลดลงด้วยจำนวนที่เท่ากัน

2.4

บัญชีกลุ่มบริษัท - เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทย่อยหมายถึงกิจการ(ซึ่งรวมถึงกิจการเฉพาะกิจ) ที่กลุ่มบริษัทมีอำนาจในการควบคุมนโยบาย การเงินและการดำเนินงานและโดยทั่วไปแล้วกลุ่มบริษัทจะถือหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่ง ในการประเมินว่ากลุ่มบริษัทมีการควบคุมบริษัทอื่นหรือไม่ กิจการต้องพิจารณาถึงการมีอยู่และผล กระทบจากสิทธิในการออกเสียงที่เป็นไปได้ที่กิจการสามารถใช้สิทธิหรือแปลงสภาพตราสารนั้นใน ปัจจุบันรวมถึงสิทธิในการออกเสียงที่เป็นไปได้ซึ่งกิจการอื่นถืออยู่ด้วย กลุ่มบริษัทรวมงบการเงินของ บริษัทย่อยไว้ในงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่กลุ่มบริษัทควบคุมบริษัทย่อยจนกระทั่งอำนาจควบคุมจะ หมดไป กลุ่มบริษัทบันทึกการซื้อบริษัทย่อยด้วยวิธีการซื้อและแสดงต้นทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่ จ่ายไปหรือด้วยมูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนที่ออกให้ หรือด้วยภาระหนี้สินซึ่งกลุ่มบริษัทต้องรับผิด ชอบตั้ ง แต่ วั น ที่ ไ ด้ บ ริ ษั ท ย่ อ ยมา รวมถึ ง ต้ น ทุ น อื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งโดยตรงกั บ การได้ ม าซึ่ ง บริ ษั ท ย่ อ ย สินทรัพย์และหนี้สินที่ระบุได้ ซึ่งได้จากการซื้อบริษัทย่อยจะถูกวัดมูลค่าเริ่มแรกในวันที่ได้บริษัทย่อย นั้น ที่มูลค่ายุติธรรมโดยรวมส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยด้วย

79


ต้นทุนการได้บริษัทย่อยที่สูงกว่ามูลค่ายุติธรรมของส่วนแบ่งของสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยที่กลุ่ม บริษัทจะได้รับจะบันทึกเป็นค่าความนิยม ต้นทุนการได้บริษัทย่อยที่ต่ำกว่ามูลค่ายุติธรรมของส่วนแบ่งของสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยจะรับรู้ ในงบกำไรขาดทุนทันที รายการบัญชี ยอดคงเหลือ และรายการกำไรหรือรายการขาดทุนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงซึ่งเป็นผลจาก รายการระหว่างกันของกิจการที่อยู่ในกลุ่มบริษัท จะถูกตัดบัญชีออกไป เว้นแต่รายการขาดทุนที่เกิด ขึ้นจริงซึ่ง กลุ่มบริษัทพิจารณาแล้วว่ามีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่า กลุ่มบริษัทจะเปลี่ยน นโยบายการบัญชีของบริษัทในกรณีที่จำเป็นเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชีของบริษัท เงินลงทุนในบริษทั ย่อยแสดงในงบการเงินเฉพาะบริษทั โดยแสดงด้วยวิธรี าคาทุนและหักด้วยค่าเพือ่ การ ด้อยค่า (ถ้ามี) รายชื่อของบริษัทย่อยหลักของกลุ่มบริษัทได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 12 2.5

เงินตราต่างประเทศ รายการต่างๆ ในงบการเงินของแต่ละกิจการในกลุ่มบริษัทวัดมูลค่าโดยใช้สกุลเงินบาท งบการเงิน รวมนำเสนอในสกุลเงินบาท กลุ่มบริษัทแปลงค่ารายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศให้เป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ ที่เกิดรายการ และแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ในงบดุลให้เป็น เงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล รายการกำไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับ หรือจ่ายชำระที่เป็นเงินตราต่างประเทศ และที่เกิดจากการแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงิน ดังกล่าว ได้บันทึกไว้ในงบกำไรขาดทุน

2.6 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดหมายรวมถึงเงินสดในมือ และเงินฝากธนาคารทุกประเภทแต่ไม่ รวมเงินฝากธนาคารประเภทที่ต้องจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลาที่กำหนดอายุเกิน 3 เดือน เงินลงทุนระยะ สั้นอื่นที่มีสภาพคล่องสูงซึ่งมีอายุไม่เกินสามเดือนนับจากวันที่ได้มา 2.7

80

ลูกหนี้การค้า/รายได้ค่างานลดน้ำสูญเสียรอรับชำระ ลูกหนี้การค้าและรายได้ค่างานลดน้ำสูญเสียรอรับชำระรับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนี้ และจะ วัดมูลค่าต่อมาด้วยจำนวนเงินที่เหลืออยู่หักด้วยค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญซึ่งประมาณจากการสอบทาน ยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญหมายถึงผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีของลูกหนี้ การค้าและรายได้ค่างานลดน้ำสูญเสียรอรับชำระเปรียบเทียบกับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้ การค้า หนี้สูญที่เกิดขึ้นจะรับรู้ไว้ในงบกำไรขาดทุนโดยถือเป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายในการบริหาร กลุ่ ม บริ ษั ท บั น ทึ ก ส่ ว นต่ า งระหว่ า งจำนวนรายได้ ที่ รั บ รู้ แ ล้ ว ทั้ ง สิ้ น กั บ จำนวนรายได้ ที่ มี ก ารออก ใบแจ้งหนี้ให้กับลูกค้าแล้วในบัญชี “ลูกหนี้ส่วนที่ยังไม่ได้เรียกเก็บ” และ “รายได้ค่างานลดน้ำสูญเสีย ส่วนที่ยังไม่ได้เรียกเก็บ” แสดงรวมอยูใ่ นลูกหนีก้ ารค้า และรายได้คา่ งานลดน้ำสูญเสียรอรับชำระในงบดุล


2.8

2.9

สินคาคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ราคาทุนของ สิ น ค้ า คำนวณโดยวิ ธี เ ข้ า ก่ อ นออกก่ อ น ต้ น ทุ น ของการซื้ อ ประกอบด้ ว ยราคาซื้ อ และค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้อสินค้านั้น เช่นค่าอากรขาเข้าและค่าขนส่ง หักด้วยส่วนลดจากการจ่ายเงิน ตามเงื่อนไข กลุ่มบริษัทบันทึกบัญชีค่าเผื่อการลดมูลค่าของสินค้าเก่า ล้าสมัย และเสื่อมคุณภาพเท่า ที่จำเป็น เงินลงทุน เงิ น ลงทุ น ในตราสารหนี้ ที่ จ ะถื อ จนครบกำหนดแยกประเภทเป็ น เงิ น ลงทุ น ชั่ ว คราวหรื อ เงิ น ลงทุ น ระยะยาวตามอายุ ค งเหลื อ และแสดงมู ล ค่ า ตามวิ ธี ร าคาทุ น ตั ด จำหน่ า ยและหั ก ด้ ว ยค่ า เผื่ อ การ ด้อยค่า (ถ้ามี) กลุ่มตัดบัญชีส่วนเกิน/ส่วนต่ำกว่ามูลค่าตราสารหนี้ตามวิธีเส้นตรง ซึ่งจำนวนที่ตัด จำหน่ายนี้รวมอยู่ในงบกำไรขาดทุน เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดซึ่งถือเป็นเงินลงทุนทั่วไปแสดงมูลค่าตาม ราคาทุน และหักด้วยค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) กลุ่มบริษัทจะบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน (ถ้ามี) ในงบกำไรขาดทุน

2.10 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดินแสดงตามราคาทุนหลังหักค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) อาคารและอุปกรณ์แสดงตามราคาทุนหลัง หักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์คำนวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยใช้วิธีเส้นตรงเพื่อลดราคา ตามบัญชีของสินทรัพย์แต่ละชนิดตลอดอายุการให้ประโยชน์ที่ประมาณการไว้ของสินทรัพย์ดังต่อไป นี้ ยกเว้น ที่ดินซึ่งถือว่าประมาณการอายุการให้ประโยชน์มีไม่จำกัด โรงสูบน้ำ อาคาร ส่วนปรับปรุงที่ดิน อาคารและอาคารเช่า เครื่องจักรและอุปกรณ์ อุปกรณ์สํานักงาน ยานพาหนะ

33 ปี 15, 20, 25 ปี 5, 10, 15, 20 ปี 5, 10, 20, 25, 40 ปี 3, 5, 10 ปี 5 ปี

ในกรณีที่ราคาตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับ มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนทันที การซ่อมแซมและบำรุงรักษาจะรับรู้ในงบกำไรขาดทุนระหว่างงวดบัญชีที่เกิดรายการนั้น ต้นทุนของ การปรับปรุงให้ดีขึ้นที่สำคัญจะบันทึกรวมไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์หากมีความเป็นไปได้ค่อน

81


ข้างแน่ว่าการปรับปรุงนั้นจะทำให้บริษัทได้ประโยชน์กลับคืนมามากกว่าการใช้ประโยชน์โดยไม่มีการ ปรับปรุง สินทรัพย์ที่ได้มาจากการปรับปรุงหลักจะตัดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการให้ประโยชน์ที่เหลือ อยู่ของสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง รายการกำไรและขาดทุนจากการจำหน่ายคำนวณโดยเปรียบเทียบจากสิ่งตอบแทนที่ได้รับกับราคา ตามบัญชี และจะรวมไว้ในงบกำไรจากการดำเนินงาน ดอกเบี้ยจากการกู้ยืมเงินมาใช้ในการได้มาซึ่ง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ได้บันทึกเป็นส่วนหนึ่งของ ต้นทุนของสินทรัพย์นั้นตลอดช่วงเวลาการก่อสร้างและเตรียมสินทรัพย์นั้นให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะ ใช้ได้ตามประสงค์ ต้นทุนการกู้ยืมประกอบด้วย ดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกู้ยืมทั้งระยะสั้นและระยะยาว รวมทั้งภาษีที่เกี่ยวข้อง และจำนวนที่ตัดบัญชีส่วนลดหรือส่วนเกินที่เกี่ยวกับการกู้ยืม ส่วนต้นทุนการกู้ ยืมอื่นจะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน 2.11 สินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน สินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทานแสดงตามราคาทุนหลังหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทานแสดงรวมอยู่ในงบกำไรขาดทุน ซึ่งคำนวณ จากราคาทุนของสินทรัพย์โดยใช้วิธีเส้นตรงตามอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์แต่ไม่เกิน 15 20 และ 25 ปี ซึ่งเป็นระยะเวลาภายใต้สัญญาสัมปทาน 2.12 ต้นทุนการได้มาซึ่งสัมปทานรอตัดบัญชี ต้ น ทุ น การได้ ม าซึ่ ง สั ม ปทาน ได้ แ ก่ ค่ า ใช้ จ่ า ยโดยตรงในการให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง สั ญ ญาสั ม ปทานกั บ การประปาส่วนภูมิภาค ต้นทุนการได้มาซึ่งสัมปทานรอตัดบัญชีแสดงตามราคาทุนหลังหักค่าตัด จำหน่ า ยสะสมและค่ า เผื่ อ การด้ อ ยค่ า (ถ้ า มี ) ค่ า ตั ด จำหน่ า ยของต้ น ทุ น การได้ ม าซึ่ ง สั ม ปทานรอ ตัดบัญชีแสดงรวมอยู่ในงบกำไรขาดทุน ซึ่งคำนวณจากราคาทุนโดยวิธีเส้นตรงตามอายุของสัญญา สัมปทานที่บริษัทย่อยได้รับเป็นระยะเวลา 27 ปี และ 30 ปี 2.13 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่แสดงเป็นสินทรัพย์ในงบดุลรวมได้แก่ ต้นทุนค่าสิทธิในการประกอบกิจการของ บริษัทย่อยภายใต้สัญญาสัมปทานที่ได้รับจากกิจการหรือหน่วยงานของภาครัฐ โดยมีระยะเวลาใน การประกอบกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานอันจำกัด โดยแสดงในราคาทุนหักด้วยค่าตัดจำหน่าย สะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) สินทรัพย์ไม่มีตัวตนตัดจําหน่ายเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน ตามวิธีเส้นตรงภายในระยะเวลา 27 ปี ซึ่งเป็นระยะเวลาที่บริษัทย่อยได้รับในการประกอบธุรกิจ ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน กลุม่ บริษทั จะปรับลดมูลค่าของสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนดังกล่าวในกรณีทมี่ กี ารด้อย ค่าเกิดขึน้ 2.14 การด้อยค่าของสินทรัพย์ สิ น ทรั พ ย์ ที่ มี อ ายุ ก ารให้ ป ระโยชน์ ไ ม่ จ ำกั ด ซึ่ ง ไม่ มี ก ารตั ด จำหน่ า ยจะถู ก ทดสอบการด้ อ ยค่ า เป็ น ประจำทุ ก ปี สิ น ทรั พ ย์ อื่ น ที่ มี ก ารตั ด จำหน่ า ยจะมี ก ารทบทวนการด้ อ ยค่ า เมื่ อ มี เ หตุ ก ารณ์ ห รื อ

82


สถานการณ์บ่งชี้ว่าราคาตามบัญชีอาจต่ำกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน รายการขาดทุนจากการด้อย ค่าจะรับรู้เมื่อราคาตามบัญชีของสินทรัพย์สูงกว่ามูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับคืน ซึ่งหมายถึงจำนวนที่ สูงกว่าระหว่างมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายเทียบกับมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์จะถูกจัดเป็น หน่วยที่เล็กที่สุดที่สามารถแยกออกมาได้ เพื่อวัตถุประสงค์ของการประเมินการด้อยค่า สินทรัพย์ที่ ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงินนอกเหนือจากค่าความนิยมซึ่งรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าไปแล้ว จะถูกประเมินความเป็นไปได้ที่จะกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า ณ วันที่ในงบดุล 2.15 ประมาณการหนี้สิน กลุ่มบริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สินซึ่งไม่รวมถึงประมาณการหนี้สินสำหรับผลตอบแทนพนักงาน อันเป็นภาระผูกพันในปัจจุบันตามกฎหมายหรือตามข้อตกลงที่จัดทำไว้ อันเป็นผลสืบเนื่องมาจาก เหตุการณ์ในอดีตซึ่งการชำระภาระผูกพันนั้นมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะส่งผลให้บริษัทต้อง สูญเสียทรัพยากรออกไป และตามประมาณการที่น่าเชื่อถือของจำนวนที่ต้องจ่าย ในกรณีที่กลุ่ม บริษัทคาดว่าประมาณการหนี้สินเป็นรายจ่ายที่จะได้รับคืน เช่น ภายใต้สัญญาประกันภัย กลุ่มบริษัท จะบันทึกเป็นสินทรัพย์แยกต่างหากเมื่อคาดว่าน่าจะได้รับรายจ่ายนั้นคืนอย่างแน่นอน 2.16 สัญญาเช่าระยะยาว - กรณีที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้เช่า สั ญ ญาเช่ า ที่ ดิ น อาคาร และอุ ป กรณ์ ซึ่ ง ผู้ เ ช่ า เป็ น ผู้ รั บ ความเสี่ ย งและผลตอบแทนของความเป็ น เจ้าของเกือบทั้งหมดถือเป็นสัญญาเช่าการเงิน ซึ่งจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์ที่เช่า หรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิของจำนวนเงินที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่า แล้วแต่มูลค่าใด จะต่ำกว่า จำนวนเงินที่ต้องจ่ายดังกล่าวจะปันส่วนระหว่างหนี้สินและค่าใช้จ่ายทางการเงินเพื่อให้ได้ อัตราดอกเบี้ยคงที่ต่อหนี้สินคงค้างอยู่ โดยพิจารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่า หักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็นหนี้สินระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในงบกำไรขาดทุน ตลอดอายุของสัญญาเช่าเพื่อทำให้อัตราดอกเบี้ยแต่ละงวดเป็นอัตราคงที่สำหรับยอดคงเหลือของหนี้ สินทรัพย์ที่เหลืออยู่ สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งาน ของสินทรัพย์ที่เช่าหรืออายุของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า สั ญ ญาระยะยาวเพื่ อ เช่ า สิ น ทรั พ ย์ ซึ่ ง ผู้ ใ ห้ เ ช่ า เป็ น ผู้ รั บ ความเสี่ ย งและผลตอบแทนของความเป็ น เจ้าของเป็นส่วนใหญ่ สัญญาเช่านั้นถือเป็นสัญญาเช่าดำเนินงาน เงินที่ต้องจ่ายภายใต้สัญญาเช่า

ดังกล่าว (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้รับจากผู้ให้เช่า) จะบันทึกในงบกำไรขาดทุนโดยใช้วิธีเส้นตรง ตลอดอายุของสัญญาเช่านั้น ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกสัญญาเช่าดำเนินงานก่อนหมดอายุการเช่า เช่น เงินเพิ่มที่ต้องจ่าย ให้แก่ผู้ให้เช่า จะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่การยกเลิกนั้นเกิดขึ้น

2.17 ผลประโยชน์ของพนักงาน กลุ่มบริษัทจัดให้มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพซึ่งเป็นแผนการจ่ายสมทบตามที่กำหนดไว้ สินทรัพย์ของ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้แยกออกไปจากสินทรัพย์ของกลุ่มบริษัท และมีการบริหารโดยผู้จัดการ กองทุนภายนอก กองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้รับเงินสะสมเข้ากองทุนจากพนักงานและเงินสมทบจาก กลุ่มบริษัทที่เกี่ยวข้อง เงินจ่ายสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้น

83


กลุ่มบริษัทจัดให้มีผลประโยชน์พนักงานหลังการเลิกจ้างเพื่อจ่ายให้แก่พนักงานเป็นไปตามกฎหมาย แรงงานไทย จำนวนเงินดังกล่าวขึ้นอยู่กับฐานเงินเดือนและจำนวนปีที่พนักงานทำงานให้บริษัทนับถึง วันที่สิ้นสุดการทำงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต กลุ่มบริษัทรับรู้ผลประโยชน์พนักงานเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ 2.18 เงินกู้ยืม เงินกู้ยืมรับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ได้รับหักด้วยต้นทุนการจัดทำรายการที่เกิด ขึ้น ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทน (หักด้วยต้นทุนการจัดทำรายการที่เกิดขึ้น) เมื่อเทียบกับมูลค่าที่จ่าย คืนเพื่อชำระหนี้นั้นจะรับรู้ในงบกำไรขาดทุนตลอดช่วงเวลาการกู้ยืม ดอกเบี้ยจ่ายรับรู้เป็นค่าใช้จ่าย ตามเกณฑ์คงค้างตามอัตราดอกเบี้ยที่ระบุไว้ในสัญญา 2.19 การจ่ายเงินปันผล เงิ น ปั น ผลที่ จ่ า ยบั น ทึ ก ในงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท ในรอบระยะเวลาบั ญ ชี ซึ่ ง ที่ ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทที่เกี่ยวข้องได้อนุมัติการจ่ายเงินปันผล หรือโดยคณะกรรมการของบริษัท ใน กรณีประกาศจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล 2.20 การรับรู้รายได้ ก) รายได้จากการขาย รายได้จากการขายรับรู้เป็นรายได้เมื่อได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เป็นสาระสำคัญของความ เป็นเจ้าของสินค้าให้กับผู้ซื้อแล้วด้วยมูลค่าตามราคาในใบกำกับสินค้า (ซึ่งไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) หลังหักสินค้ารับคืนและส่วนลดแล้ว ข) รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ รายได้ค่าเช่ารับรู้เป็นรายได้ตามระยะเวลาของการให้เช่าตามอัตราที่กำหนดในสัญญา รายได้ค่าบริการรับรู้เป็นรายได้เมื่อได้ให้บริการแล้ว โดยพิจารณาตามขั้นความสำเร็จของงานด้วย มูลค่าซึ่งไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ค) รายได้จากโครงการวางท่อส่งน้ำและโครงการลดน้ำสูญเสีย รายได้จากโครงการวางท่อส่งน้ำและโครงการลดน้ำสูญเสียรับรู้เป็นรายได้ตามวิธีอัตราส่วนของงานที่ ทําเสร็จ กลุ่มบริษัท จะรับรู้รายการขาดทุนจากสัญญาเต็มจำนวนทันทีที่คาดว่าจะมีผลขาดทุนเกิดขึ้น ง) ดอกเบี้ยรับและเงินปันผลรับ ดอกเบีย้ รับถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้าง เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมือ่ สิทธิในการรับเงินปันผลเกิดขึน้ จ) รายได้อื่น รายได้อื่นรับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง

84


2.21 ภาษีเงินได้ กลุ่มบริษัทบันทึกภาษีเงินได้โดยคำนวณจากกำไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากรที่เกี่ยวข้อง กลุ่มบริษัทไม่รับรู้ภาษีเงินได้ค้างจ่ายและภาษีเงินได้ค้างรับที่จะเกิดขึ้นในอนาคตในส่วนของผลต่าง ชั่วคราวระหว่างฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สินกับราคาตามบัญชีที่แสดงอยู่ในงบการเงิน 2.22 ข้อมูลจำแนกตามส่วนงาน ข้อมูลจำแนกตามส่วนงานแสดงโดยแบ่งตามส่วนงานธุรกิจของการดำเนินงานต่าง ๆ ของกลุ่มบริษัท

3. ประมาณการทางบัญชีที่สำคัญ ข้อสมมติฐาน และการใช้ดุลยพินิจ

การประมาณการ ข้อสมมติฐานและการใช้ดุลยพินิจได้มีการประเมินทบทวนอย่างต่อเนื่อง และอยู่บนพื้นฐาน ของประสบการณ์ในอดีตและปัจจัยอื่นๆ ซึ่งรวมถึงการคาดการณ์ถึงเหตุการณ์ในอนาคตที่เชื่อว่ามีเหตุผลใน สถานการณ์ขณะนั้น การประมาณการทางบัญชี ข้อสมมติฐาน และการใช้ดุลยพินิจที่สำคัญ ได้แก่

3.1

3.2

3.3

มูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ มูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ คือ มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่กลุ่มบริษัทคาดว่าจะได้รับจากการใช้ สิ น ทรั พ ย์ แ ละทำการปรั บ ลดโดยอั ต ราคิ ด ลดที่ ก ำหนดโดยผู้ บ ริ ห ารของกลุ่ ม บริ ษั ท ประมาณการ กระแสเงินสดตามประมาณการทางการเงินสำหรับระยะเวลาที่เหลือของการใช้ทรัพย์สินหรือตามอายุ สัมปทานที่เหลืออยู่ได้อนุมัติแล้วโดยผู้บริหารของกลุ่มบริษัท โดยคิดคำนวณขึ้นจากประมาณการ อัตราการเติบโตทางธุรกิจ ซึ่งจะไม่สูงไปกว่ากำลังการผลิต และความต้องการของผู้ใช้น้ำ สมมติฐาน หลักที่ใช้ในการคำนวณหามูลค่าจากการใช้งาน คือ อัตราการเติบโต อัตราค่าใช้จ่ายต่อรายได้และ อัตรากำไรขั้นต้น ผู้บริหารกำหนดอัตราดังกล่าวจากผลการดำเนินงานในอดีต ความคาดหวังของการ พัฒนาตลาด และแผนทางธุรกิจ อัตราคิดลดที่ใช้เป็นอัตราก่อนหักภาษีและปรับสะท้อนความเสี่ยง เฉพาะของธุรกิจโดยคำนึงถึงระยะเวลาที่เหลือในการใช้สินทรัพย์แล้ว โดยวิธีการดังกล่าวข้างต้นอาจ เปลี่ยนแปลงได้เนื่องจากโครงสร้างรายได้ โครงสร้างต้นทุน อัตราคิดลด ภาวะอุตสาหกรรมและภาวะ เศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป สัญญาเช่า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าดำเนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่าย บริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่ากลุ่มบริษัท ได้โอนหรือรับโอนความเสี่ยงและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี ้ ในการประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณ การผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แต่ละราย โดยคำนึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต

85


อายุของหนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในขณะนั้น เป็นต้น 3.4

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ในการคำนวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารต้องประมาณ อายุการใช้งานและ มูลค่าซากเมื่อเลิกใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทำการทบทวน อายุการใช้งานและมูลค่าคง เหลือใหม่หากมีการเปลีย่ นแปลงเช่นนัน้ เกิดขึน้ นอกจากนี้ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลา และบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีของ สินทรัพย์นั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้ จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น

3.5

3.6

3.7

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ในการบันทึกและวัดมูลค่าของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ณ วันที่ได้มา ตลอดจนการทดสอบการด้อยค่าใน ภายหลัง ฝ่ายบริหารจำเป็นต้องประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากสินทรัพย์ หรือหน่วยของสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลดที่เหมาะสมในการคำนวณหา มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดนั้นๆ คดีฟ้องร้อง กลุ่มบริษัทมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย ซึ่งฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจ ในการประเมินผลของคดีที่ถูกฟ้องร้องแล้วและเชื่อมั่นว่าจะไม่มีความเสียหายที่เป็นสาระสำคัญเกิด ขึ้นจึงไม่ได้บันทึกประมาณการหนี้สิน ดังกล่าว ณ วันที่ในงบการเงิน มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่ไม่มีการซื้อขายในตลาดและไม่สามารถหา ราคาได้ในตลาดซื้อขายคล่อง ฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือ ทางการเงิ น ดั ง กล่ า ว โดยใช้ ห ลั กเกณฑ์และแบบจำลองการประเมินมูลค่า ซึ่งตัวแปรที่ใช้ใ นการ คำนวณมาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที่มีอยู่ในตลาดโดยคำนึงถึงสภาพคล่อง ข้อมูลความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าของเครื่องมือทางการเงินในระยะยาว การประมาณมูลค่ายุติธรรม ของเครื่องมือทางการเงินที่สำคัญคือ เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ซึ่งกลุ่มบริษัทประมาณ มูลค่ายุติธรรมโดยการคำนวณหามูลค่าปัจจุบันของเงินต้นและดอกเบี้ยที่จะจ่ายในอนาคตโดยใช้ อัตราดอกเบี้ยในตลาดในการคิดลด

4. การจัดการความเสี่ยงในส่วนของทุน

วัตถุประสงค์ของกลุ่มบริษัทในการบริหารทุนของบริษัทนั้นเพื่อดำรงไว้ซึ่งความสามารถในการดำเนินงานอย่าง

86


ต่อเนื่องของกลุ่มบริษัทเพื่อสร้างผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นและเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีส่วนได้เสียอื่น และเพื่อดำรง ไว้ซึ่งโครงสร้างของทุนที่เหมาะสมเพื่อลดต้นทุนทางการเงินของทุน ในการดำรงไว้หรือปรับโครงสร้างของทุน กลุ่มบริษัทอาจปรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้น การคืน ทุนให้แก่ผู้ถือหุ้น การออกหุ้นใหม่ หรือการขายทรัพย์สินเพื่อลดภาระหนี้สิน

5. การเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน

กลุ่มบริษัทดำเนินธุรกิจหลัก คือ การจำหน่ายน้ำดิบ การจำหน่ายน้ำประปา การบริหารกิจการน้ำประปา และ งานวิ ศ วกรรมบริ ก าร (โครงการลดน้ ำ สู ญ เสี ย ) โดยมี ก ารดำเนิ น ธุ ร กิ จ ในส่ ว นงานทางภู มิ ศ าสตร์ เ ดี ย วคื อ ประเทศไทย ข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงานสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 ใน งบการเงินรวมสามารถสรุปได้ดังนี้

87


5.1

ผลการดำเนินงานจำแนกตามส่วนงานธุรกิจ งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 รายได้จากการขาย รายได้ค่าบริการ ธุรกิจการ ธุรกิจการ ธุรกิจการ บริหาร งาน กิจการ วิศวกรรม จำหน่าย จำหน่าย น้ำดิบ น้ำประปา อื่น ๆ ประปา บริการ

อื่น ๆ รายได้ รายได้จากภายนอก 2,117,502 716,233 1,567,290 44,867 107,689 79,709 รายได้ระหว่างส่วนงาน 110,903 - - 242,768 - 4,389 2,228,405 716,233 1,567,290 287,635 107,689 84,098 รวมรายได้ ต้นทุนขายและบริการ (853,714) (497,259) (1,507,455) (254,502) (94,094) (76,413) กำไรจากการดำเนินงาน กำไรจากการดำเนินงาน 1,374,691 218,974 59,835 33,133 13,595 7,685 ตามส่วนงาน รายได้และค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้ปันส่วน รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหารและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ค่าตอบแทนผู้บริหาร ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ กำไรสุทธิ

88

(หน่วย : พันบาท)

ตัดรายการ ระหว่างกัน

รวม

- 4,633,290 (358,060) - (358,060) 4,633,290 353,681 (2,929,756) (4,379) 1,703,534

41,508 (49,642) (243,320) (71,589) (89,807) (381,746) 908,938


งบการเงินรวม พ.ศ. 2552 รายได้จากการขาย รายได้ค่าบริการ ธุรกิจการ ธุรกิจการ ธุรกิจการ บริหาร งาน กิจการ วิศวกรรม จำหน่าย จำหน่าย น้ำดิบ น้ำประปา อื่น ๆ ประปา บริการ

รายได้ รายได้จากภายนอก 1,904,364 635,933 รายได้ระหว่างส่วนงาน 108,132 - รวมรายได้ 2,012,496 635,933 ต้นทุนขายและบริการ (728,952) (428,243) กำไรจากการดำเนินงาน กำไรจากการดำเนินงาน ตามส่วนงาน 1,283,544 207,690 รายได้และค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้ปันส่วน รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหารและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ค่าตอบแทนผู้บริหาร ต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ กำไรสุทธิ

3,245 40,624 182,548 208 223,704 - 3,453 264,328 182,548 (688) (218,377) (166,186) 2,765 45,951 16,362

(หน่วย : พันบาท)

ตัดรายการ อื่น ๆ ระหว่างกัน

รวม

59,192 - 2,825,906 5,472 (337,516) - 64,664 (337,516) 2,825,906 (51,209) 333,908 (1,259,747) 13,455 (3,608) 1,566,159

52,588 (41,293) (256,868) (70,187) (120,116) (322,572) 807,711

89


5.2

สินทรัพย์จำแนกตามส่วนงานธุรกิจ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553

ธุรกิจการ ธุรกิจการ จำหน่าย จำหน่ายน้ำ น้ำดิบ ประปา ลูกหนี้การค้า 212,342 102,488 รายได้ค่างานลดน้ำสูญเสีย - - รอรับชำระ สินค้าคงเหลือ - 3,019 5,957 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ 6,914,674 สินทรัพย์ภายใต้สัญญา - 249,248 สัมปทาน - สุทธิ ต้นทุนการได้มาซึ่งสิทธิใน - 421,222 สัมปทานรอตัดบัญชี - สุทธิ - 143,899 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ส่วนกลางและ สินทรัพย์อื่น - - รวมสินทรัพย์ 7,127,016 925,833

90

ลูกหนี้การค้า รายได้ค่างานลดน้ำสูญเสีย รอรับชำระ สินค้าคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน - สุทธิ ต้นทุนการได้มาซึ่งสิทธิใน สัมปทานรอตัดบัญชี - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ส่วนกลางและสินทรัพย์ อื่น รวมสินทรัพย์

(หน่วย : พันบาท)

ธุรกิจการ บริหาร กิจการ ประปา 44,167 - 4,785 210,523

สินทรัพย์ งาน ส่วนกลาง วิศวกรรม และ ตัดรายการ บริการ สินทรัพย์อื่น ระหว่างกัน รวม 6,535 - (54,772) 310,760 16,613 - - 16,613 1,755 - - 9,559 529 659,249 - 7,790,932

146,591

-

-

-

395,839

121,095 -

- -

- -

- -

542,317 143,899

- 527,161

- 1,175,351 (514,671) 660,680 25,432 1,834,600 (569,443) 9,870,599 (หน่วย : พันบาท)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2552 ธุรกิจการ ธุรกิจการ จำหน่าย จำหน่ายน้ำ น้ำดิบ ประปา

ธุรกิจการ บริหาร กิจการ ประปา

สินทรัพย์ งาน ส่วนกลาง วิศวกรรม และ ตัดรายการ บริการ สินทรัพย์อื่น ระหว่างกัน

รวม

204,942 - 11 5,918,403

96,138 - 3,258 7,953

59,243 - 3,065 178,180

9,402 26,625 2,950 844

71 - - 670,450

(58,431) 311,365 - 26,625 - 9,284 - 6,775,830

-

262,217

128,301

-

-

-

390,518

- -

430,349 152,248

126,403 -

- -

- -

- -

556,752 152,248

- 6,123,356

- 952,163

- 495,192

- 1,456,071 (530,915) 925,156 39,821 2,126,592 (589,346) 9,147,778


5.3 ข้อมูลเกี่ยวกับการขายน้ำดิบแยกตามโครงข่าย 5.3.1 ปริมาณการขายและรายได้จากการขายน้ำดิบแยกตามโครงข่ายท่อส่งน้ำ งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 ปริมาณการขาย รายได้จากการขาย ปริมาณการขาย รายได้จากการขาย พันลูกบาศก์เมตร พันบาท พันลูกบาศก์เมตร พันบาท โครงข่ายท่อส่งน้ำหนองปลาไหล - มาบตาพุด 72,212 663,627 71,322 654,739 85,712 787,341 62,344 575,380 โครงข่ายท่อส่งน้ำดอกกราย - มาบตาพุด 64,428 573,725 70,096 623,634 โครงข่ายท่อส่งน้ำฉะเชิงเทรา - ชลบุรี 22,530 203,713 17,504 158,743 โครงข่ายท่อส่งน้ำหนองปลาไหล - หนองค้อ รวม 244,882 2,228,406 221,266 2,012,496

รายได้จากการขายน้ำดิบในโครงข่ายท่อส่งน้ำฉะเชิงเทรา - ชลบุรี ประกอบด้วย

โครงข่ายท่อส่งน้ำหนองค้อ - แหลมฉบัง 1 โครงข่ายท่อส่งน้ำหนองค้อ - แหลมฉบัง 2 โครงข่ายท่อส่งน้ำฉะเชิงเทรา รวม

(หน่วย : พันบาท)

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 416,820 429,918 109,850 138,016 47,055 55,700 573,725 623,634

5.3.2 สัดส่วนการขายน้ำดิบแก่ผู้ใช้น้ำแต่ละประเภท นิคมอุตสาหกรรม การประปา โรงงานทั่วไป รวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 51 32 17 100

(หน่วย : ร้อยละ) พ.ศ. 2552 51 33 16 100

91


6. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร - ประเภทกระแสรายวัน - ประเภทออมทรัพย์ - ประเภทฝากประจำ ตั๋วสัญญาใช้เงิน

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 525,000 625,500 7,000 102,247 145,300,055 120,130,366 2,052,269 3,711,178 295,000,000 - 442,884,324 124,569,291

(หน่วย : บาท)

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 80,000 107,185 4,000 7,000 31,233,765 19,523,361 2,052,269 3,711,178 295,000,000 - 328,370,034 23,348,724

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์มีอัตราดอกเบี้ยอยู่ที่ร้อยละ 0.50 ต่อปี (พ.ศ. 2552 : 0.50 ต่อปี) เงินฝากธนาคารประเภทฝากประจำมีอายุไม่เกิน 3 เดือน มีอัตราดอกเบี้ยอยู่ที่ร้อยละ 0.75 ต่อปี (พ.ศ. 2552 : ร้อยละ 0.75 ต่อปี) ตั๋วสัญญาใช้เงินมีอายุครบกำหนดไม่เกิน 1 เดือน มีอัตราดอกเบี้ย อยู่ที่ร้อยละ 1.87 - 1.90 ต่อปี

7. ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้การค้าส่วนที่เรียกเก็บแล้ว - บุคคลภายนอก - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 29.2) รวมลูกหนี้การค้าส่วนที่เรียกเก็บแล้ว ลูกหนี้การค้าส่วนที่ยังไม่เรียกเก็บ - บุคคลภายนอก - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 29.2) รวมลูกหนี้การค้าส่วนที่ยังไม่เรียกเก็บ

92

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 87,351,659 81,116,976 156,930,257 156,975,708 244,281,916 238,092,684 8,478,448 - 66,479,192 64,793,737 66,479,192 73,272,185 310,761,108 311,364,869

(หน่วย : บาท)

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 87,231,819 81,276,992 139,645,495 155,388,803 226,877,314 236,665,7955 - - - - - - 226,877,314 2,603,323,7505


ลูกหนี้การค้า - ส่วนที่เรียกเก็บแล้วสามารถแยกตามอายุลูกหนี้ที่ค้างชำระได้ดังนี้ ยังไม่ครบกำหนดชำระ เกินกำหนดไม่เกิน 3 เดือน เกินกำหนด 3 - 6 เดือน เกินกำหนด 6 - 12 เดือน เกินกำหนดมากกว่า 12 เดือน

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 222,062,902 219,596,524 21,192,632 7,447,279 688,631 7,626,225 337,751 3,360,944 61,712 - 244,281,916 238,092,684

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 224,648,014 218,169,635 1,202,918 7,447,279 688,631 7,626,225 337,751 3,360,944 - 61,712 226,877,314 236,665,795

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 - 11,251 9,558,954 9,272,256 9,558,954 9,283,507

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 - 11,251 - - - 11,251

8. สินค้าคงเหลือ

สินค้าสำเร็จรูป วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลือง

9.

สินทรัพย์โครงการ

โดยมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2548 ได้อนุมัติโครงการเพื่อการแก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์ ขาดแคลนน้ำในภาคตะวันออกระยะเร่งด่วน ซึ่งรวมถึงโครงการวางท่อเชื่อมจากอ่างเก็บน้ำประแสร์ไปอ่างเก็บ น้ำคลองใหญ่ จังหวัดระยอง โดยมอบหมายให้บริษัทเป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างในวงเงิน 1,680 ล้านบาท โดย แยกเป็นดังนี้ ก)

วงเงิ น ส่ ว นที่ รั ฐ บาลสนั บ สนุ น จำนวน 1,008 ล้ า นบาท ซึ่ ง ในส่ ว นนี้ บ ริ ษั ท ได้ เ ข้ า ทำสั ญ ญาว่ า จ้ า ง ก่อสร้างวางท่อและอาคารประกอบ และสัญญาว่าจ้างจัดหาและติดตั้งเครื่องสูบน้ำและระบบไฟฟ้า โดยมีมูลค่าตามสัญญารวมประมาณ 919 ล้านบาท โดยการเข้าทำสัญญาดังกล่าวเป็นการกระทำ การแทนภาครัฐตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้บริษัทจะรับมอบงานและชำระเงินให้แก่ ผู้รับเหมาเมื่อบริษัทได้รับการโอนเงินจากกรมชลประทานเมื่อได้รับมอบงานก่อสร้างแล้ว

ข)

ส่วนวงเงินที่เหลืออีกจำนวน 672 ล้านบาท ให้บริษัทดำเนินการจ่ายไปก่อน และกรมชลประทานจะ ผ่อนชำระคืนภายหลังโดยหักจากค่าน้ำดิบทุกปีที่บริษัทซื้อจากกรมชลประทาน ซึ่งบริษัทได้จ่ายล่วง หน้าไปแล้วทั้งสิ้นจำนวนประมาณ 646.5 ล้านบาท (ประกอบด้วยมูลค่าท่อจำนวน 642 ล้านบาท และส่วนควบจำนวน 4.5 ล้านบาท) และแสดงในรายการบัญชีสินทรัพย์โครงการ

93


ต่อมาภายหลังกรมชลประทานได้ทำหนังสือถึงบริษัทแจ้งความประสงค์จะซื้อทรัพย์สินที่เกิดจากการ ก่ อ สร้ า งโครงการฯ ดั ง กล่ า วโดยวิ ธี พิ เ ศษ และเมื่ อ วั น ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2553 บริ ษั ท และ กรมชลประทานได้ลงนามในสัญญาซื้อขายทรัพย์สินที่เกิดจากการก่อสร้างโครงการฯดังกล่าว มูลค่า สัญญาเป็นราคารวมทั้งสิ้น 1,677 ล้านบาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) เมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2553 บริษัทได้ส่งมอบทรัพย์สินโครงการฯ ดังกล่าวให้แก่กรมชลประทาน และได้รับชำระเงินจากกรมชลประทานทั้งจำนวนแล้วเมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2553 และบันทึกเป็น รายได้ จ ากการขายสิ น ทรั พ ย์ โ ครงการจำนวน 1,567 ล้ า นบาท และต้ น ทุ น ในการขายสิ น ทรั พ ย์ โครงการจำนวน 1,507 ล้านบาท

10 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

ลูกหนี้อื่น (หมายเหตุ 29.2 และ 30.6) ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ภาษีซื้อยังไม่ถึงกำหนด เงินจ่ายล่วงหน้าค่าก่อสร้าง อื่น ๆ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 45,722,408 2,833,663 12,997,309 11,478,625 17,619,850 11,550,200 4,853,639 9,594,726 13,805,140 11,097,670 94,998,346 46,554,884

11 เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 2,200,408 2,833,663 10,784,398 9,089,432 13,760,766 8,208,024 - - 11,941,100 10,551,277 38,686,672 30,682,396

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 บริษัทมีเงินฝากธนาคารประเภทเงินฝากประจำจำนวนเงินรวมประมาณ 2.1 ล้านบาท (พ.ศ. 2552 : 9.1 ล้านบาท) ที่วางไว้เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันกับธนาคารพาณิชย์ในการออกหนังสือ ค้ำประกันธนาคารให้แก่กลุ่มบริษัทตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อที่ 30.4

94


12 เงินลงทุนในบริษัทย่อย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะ บริษัท มีรายละเอียดดังนี้

งบการเงินเฉพาะบริษัท ทุนชำระแล้ว สัดส่วนการลงทุน มูลค่าเงินลงทุน เงินปันผลรับ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2553 2552 2553 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 ประเทศ ประเภท ที่จด ล้าน ล้าน ชื่อบริษัท ธุรกิจ ทะเบียน บาท บาท ร้อยละ ร้อยละ บาท บาท บาท บาท ขาย เครื่อง จำหน่าย บริษัท วอเตอร์ น้ำดื่ม ประเทศ เทรดส์ แอนด์ - 5 - 100 - 4,999,930 - - เซอร์วิสเซส จำกัด อัตโนมัติ ไทย ผลิตและ บริษัท ยูนิ จำหน่าย น้ำ ประเทศ เวอร์แซล ประปา ไทย 510 510 100 100 510,000,000 510,000,000 28,560,000 30,039,000 ยูทีลิตี้ส์ จำกัด รวมเงินลงทุนในบริษัทย่อย 510,000,000 514,999.930 28,560,000 30,039,000 หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของ เงินลงทุนในบริษัทย่อย - (3,500,000) 510,000,000 511,499,930 เงินลงทุนในบริษัทย่อย - สุทธิ

เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัท ย่อยของบริษัทได้มีมติให้บริษัทย่อยจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผู้ถือหุ้น สำหรับผลประกอบการตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2552 ในอัตราหุ้นละ 0.589 บาท รวมเป็นเงิน 30.04 ล้านบาท โดยมีกำหนดจ่ายเป็นรายเดือน รวม 5 งวด งวดละ 6 ล้านบาท เริ่มตั้งแต่วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ถึง วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2553 เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทครั้งที่ 10/2552 มีมติอนุมัติการเลิกกิจการ ของ บริษัท วอเตอร์ เทรดส์ แอนด์ เซอร์วิสเซส จำกัด (WTS) โดยบริษัท WTS เป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจบริหาร โครงการตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญชุมชน ปัจจุบัน WTS ได้จดทะเบียนการเลิกบริษัทกับกระทรวงพาณิชย์ในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 และได้ทำการชำระบัญชีเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ซึ่งบริษัทได้ รับเงินคืนจำนวน 1.67 ล้านบาท เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2553 เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2553 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัท ยูนิเวอร์เซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด มีมติอนุมัติจ่าย เงินปันผล ในอัตราหุ้นละ 0.162 บาท รวมเป็นเงินปันผลทั้งสิ้น 8.26 ล้านบาท โดยบริษัทย่อยได้จ่ายเงินปันผล แล้วเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2553

95


เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด มีมติอนุมัติจ่าย เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการดำเนินงานงวดระยะเวลา 6 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ให้แก่ ผู้ถือหุ้นของบริษัทในอัตราหุ้นละ 0.398 บาท รวมเป็นเงินปันผลทั้งสิ้นจำนวน 20.30 ล้านบาท โดยบริษัทย่อย ดังกล่าวจ่ายเงินปันผลแล้วในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2553

13. เงินลงทุนระยะยาว - สุทธิ ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ การลงทุนเพิ่มขึ้น ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 85,387,500 85,387,500 6,082,800 - 91,470,300 85,387,500

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 85,387,500 85,387,500 6,082,800 - 91,470,300 85,387,500

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 บริษัทมีเงินลงทุนระยะยาว ซึ่งเป็นเงินลงทุนในตราสารทุนที่ ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดดังต่อไปนี้ (หน่วย : บาท)

เงินลงทุนระยะยาว เงินลงทุนทั่วไป - บริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด - กิจการร่วมค้า ยูยูอีอีไอ หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน รวมเงินลงทุนระยะยาว - สุทธิ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 91,470,300 85,387,500 90,000 - 91,470,300 85,477,500 (90,000) - 91,470,300 85,387,500 91,470,300 85,387,500

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 91,470,300 85,387,500 - - 91,470,300 85,387,500 - - 91,470,300 85,387,500 91,470,300 85,387,500

บริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทมีเงินลงทุนระยะยาวในตราสารทุนของบริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด ซึ่ง เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ง และดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตและขายน้ำประปาให้แก่การประปาส่วน ภูมิภาค เงินลงทุนดังกล่าวจัดประเภทเป็นเงินลงทุนทั่วไปและแสดงตามราคาทุนจำนวน 85.4 ล้านบาทและคิด เป็ น อั ต ราร้ อ ยละ 15 ของทุ น ชำระแล้ ว ของบริ ษั ท ดั ง กล่ า ว ต่ อ มาเมื่ อ วั น ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2553 บริษัทได้ซื้อหุ้นสามัญของบริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด จำนวน 304,140 หุ้น จากผู้ถือหุ้นเดิมในราคามูลค่าหุ้น ละ 20 บาท เป็นเงินจำนวนทั้งสิ้น 6.08 ล้านบาท ทำให้สัดส่วนการลงทุนของบริษัทเพิ่มจากร้อยละ 15.00 เป็น ร้อยละ 15.88

96


ในปี พ.ศ. 2553 บริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด มีมติจ่ายเงินปันผลตามรายละเอียดดังนี้ การประชุม

วันที่ประชุม

เงินปันผลต่อหุ้น จำนวนเงินรวม บาท ล้านบาท วันที่จ่าย ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น 19 เมษายน พ.ศ. 2553 0.84 4.6 29 เมษายน พ.ศ. 2553 ประชุมคณะกรรมการบริษัท 25 มิถุนายน พ.ศ. 2553 0.77 4.2 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ประชุมคณะกรรมการบริษัท 16 กันยายน พ.ศ. 2553 0.78 4.3 29 กันยายน พ.ศ. 2553 ประชุมคณะกรรมการบริษัท 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 0.75 4.1 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553

กิจการร่วมค้า ยูยูอีอีไอ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งมีเงินลงทุนระยะยาวในกิจการร่วมค้า ยูยูอีอีไอ ซึ่ง ประกอบธุรกิจการบำรุงรักษาและบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย โดยมีสัดส่วนการลงทุนร้อยละ 15 และมี ราคาทุน 90,000 บาท ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทย่อยมีมติอนุมัติการปิด กิ จ การร่ ว มค้ า ดั ง กล่ า ว กิ จ การร่ ว มค้ า ดั ง กล่ า วได้ มี ก ารชำระบั ญ ชี เ พื่ อ เลิ ก กิ จ การแล้ ว เสร็ จ เมื่ อ วั น ที่ 24 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2553 และกรมสรรพากรได้ มี ก ารขี ด ชื่ อ ออกจากทะเบี ย นภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม แล้ ว เมื่ อ วั น ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2553

14 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม

ที่ดิน โรงสูบน้ำ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 ราคาทุน 359,566,906 519,601,338 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม - (100,383,500) ราคาตามบัญชี - สุทธิ 359,566,906 419,217,838 สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 359,566,906 419,217,838 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ - - โอนสินทรัพย์ 8,089,375 13,403,334 จำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ - - ค่าเสื่อมราคา - (13,906,089) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ 367,656,281 418,715,083

อาคาร 720,688,043 (69,629,468) 651,058,575

ส่วนปรับปรุง ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร และอาคารเช่า และอุปกรณ์

อุปกรณ์ สำนักงาน

109,495,688 6,055,436,004 340,642,160 (39,395,228) (1,023,626,676) (192,774,347) 70,100,460 5,031,809,328 147,867,813

651,058,575 70,100,460 5,031,809,328 400,000 11,677,470 33,522,002 2,887,313 51,527,849 107,219,446 (2,242,675) (445,241) (6,746,685) (30,407,057) (14,686,631) (171,940,395) 621,696,156 118,173,907 4,993,863,696

147,867,813 7,380,517 2,600,000 (2,740,651) (47,229,567) 107,878,112

ยานพาหนะ 8,333,820 (3,251,024) 5,082,796

งานระหว่าง ก่อสร้าง

รวม

27,980,739 8,141,744,698 - (1,429,060,243) 27,980,739 6,712,684,455

5,082,796 27,980,739 6,712,684,455 - 302,415,138 355,395,127 - (185,727,317) - (59,990) (119,521) (12,354,763) (1,724,640) - (279,894,379) 3,298,166 144,549,039 6,775,830,440

97


(หน่วย : บาท)

ที่ดิน โรงสูบน้ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ราคาทุน 367,656,281 533,004,672 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม - (114,289,589) ราคาตามบัญชี - สุทธิ 367,656,281 418,715,083 สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 367,656,281 418,715,083 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ 21,380 - โอนสินทรัพย์ 5,537,491 14,960,209 จำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ - - ค่าเสื่อมราคา - (16,814,585) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ 373,215,152 416,860,707 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ราคาทุน 373,215,152 547,964,881 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม - (131,104,174) ราคาตามบัญชี - สุทธิ 373,215,152 416,860,707

งบการเงินรวม อาคาร

ส่วนปรับปรุง ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร และอาคารเช่า และอุปกรณ์

อุปกรณ์ สำนักงาน

ยานพาหนะ

งานระหว่าง ก่อสร้าง

รวม

721,523,794 (99,827,638) 621,696,156

172,245,759 6,140,155,103 (54,071,852) (1,146,291,407) 118,173,907 4,993,863,696

300,589,278 (192,711,166) 107,878,112

6,062,175 (2,764,009) 3,298,166

144,549,039 8,385,786,101 - (1,609,955,661) 144,549,039 6,775,830,440

621,696,156 13,179,977 2,308,483 (114,966) (31,754,943) 605,314,707

118,173,907 3,664,018 47,980,502 - (18,682,988) 151,135,439

4,993,863,696 8,859,009 89,814,507 (12,680,345) (228,247,213) 4,851,609,654

107,878,112 14,240,779 6,004,135 (1,906,568) (44,761,935) 81,454,523

3,298,166 - - (297,180) (1,282,132) 1,718,854

144,549,039 1,335,049,894 (166,605,327) (3,370,151) - 1,309,623,455

737,012,253 (131,697,546) 605,314,707

223,890,279 6,224,093,868 (72,754,840) (1,372,484,214) 151,135,439 4,851,609,654

316,200,208 (234,745,685) 81,454,523

5,494,263 (3,775,409) 1,718,854

1,309,623,455 9,737,494,359 - (1,946,561,868) 1,309,623,455 7,790,932,491

6,775,830,440 1,375,015,057 - (18,369,210) (341,543,796) 7,790,932,491

(หน่วย : บาท)

ที่ดิน ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 ราคาทุน 317,197,440 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม - ราคาตามบัญชี - สุทธิ 317,197,440 สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 317,197,440 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ - โอนสินทรัพย์ - จำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ - ค่าเสื่อมราคา - ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ 317,197,440

98

งบการเงินเฉพาะบริษัท ส่วนปรับปรุง ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร อุปกรณ์ และอาคารเช่า และอุปกรณ์ สำนักงาน

ยานพาหนะ

งานระหว่าง ก่อสร้าง

โรงสูบน้ำ

อาคาร

รวม

499,594,743 (95,628,698) 403,966,045

720,688,043 (69,629,468) 651,058,575

103,367,668 5,899,052,770 (37,418,114) (978,936,417) 65,949,554 4,920,116,353

317,479,946 (178,396,903) 139,083,043

3,882,009 (900,554) 2,981,455

27,980,739 7,889,243,358 - (1,360,910,154) 27,980,739 6,528,333,204

403,966,045 - 22,571,475 - (15,306,320) 411,231,200

651,058,575 400,000 2,887,313 (2,242,675) (30,407,057) 621,696,156

65,949,554 4,920,116,353 11,013,531 26,675,463 51,527,849 98,051,305 (445,241) (6,690,326) (13,929,063) (154,897,594) 114,116,630 4,883,255,201

139,083,043 4,877,548 2,600,000 (2,536,357) (43,507,067) 100,517,167

2,981,455 - - - (767,786) 2,213,669

27,980,739 6,528,333,204 287,694,247 330,660,789 (177,637,942) - (119,521) (12,034,120) - (258,814,887) 137,917,523 6,588,144,986


(หน่วย : บาท)

ที่ดิน โรงสูบน้ำ อาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ราคาทุน 317,197,440 522,166,218 721,523,794 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม - (110,935,018) (99,827,638) ราคาตามบัญชี - สุทธิ 317,197,440 411,231,200 621,696,156 สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ 317,197,440 411,231,200 621,696,156 ซื้อสินทรัพย์ 21,380 - 13,179,977 โอนสินทรัพย์ 5,537,491 14,960,210 2,308,483 จำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ - - (114,966) ค่าเสื่อมราคา - (16,091,660) (31,754,943) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ 322,756,311 410,099,750 605,314,707 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ราคาทุน 322,756,311 537,126,428 737,012,254 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม - (127,026,678) (131,697,547) ราคาตามบัญชี - สุทธิ 322,756,311 410,099,750 605,314,707

งบการเงินเฉพาะบริษัท ส่วนปรับปรุง ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร อุปกรณ์ และอาคารเช่า และอุปกรณ์ สำนักงาน 165,453,800 5,967,850,470 275,890,242 (51,337,170) (1,084,595,269) (175,373,075) 114,116,630 4,883,255,201 100,517,167 114,116,630 4,883,255,201 3,507,719 6,424,424 47,960,505 68,070,955 - (12,679,611) (17,863,491) (211,741,948) 147,721,363 4,733,329,021

ยานพาหนะ 3,882,009 (1,668,340) 2,213,669

งานระหว่าง ก่อสร้าง

รวม

137,917,523 8,111,881,496 - (1,523,736,510) 137,917,523 6,588,144,986

100,517,167 12,170,301 5,318,180 (1,835,450) (41,309,130) 74,861,068

2,213,669 137,917,523 6,588,144,986 - 1,285,565,005 1,320,868,806 - (144,155,824) - - (3,370,152) (18,000,179) (741,745) - (319,502,917) 1,471,924 1,275,956,552 7,571,510,696

216,922,024 6,027,849,749 291,976,788 (69,200,661) (1,294,520,728) (217,115,720) 147,721,363 4,733,329,021 74,861,068

3,882,009 1,275,956,552 9,413,482,115 (2,410,085) - (1,841,971,419) 1,471,924 1,275,956,552 7,571,510,696

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 กลุ่มบริษัทและบริษัทมีอาคารและอุปกรณ์ซึ่งหักค่าเสื่อมราคาเต็มจำนวนแล้ว แต่ยังคงใช้งานอยู่ ราคาทุนจำนวน 442.9 ล้านบาท และ 416.2 ล้านบาท ตามลำดับ (พ.ศ. 2552 : 392.6 ล้าน บาท และ 371.8 ล้านบาท ตามลำดับ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 กลุ่มบริษัทและบริษัทมียานพาหนะและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ซึ่งได้มาภายใต้ สัญญาเช่าการเงิน โดยมีมูลค่าสุทธิตามบัญชีคิดเป็นจำนวนเงิน 6.0 ล้านบาท และ 5.8 ล้านบาท ตามลำดับ (พ.ศ. 2552 : 4.9 ล้านบาท และ 3.9 ล้านบาท ตามลำดับ) ต้นทุนการกู้ยืมจำนวน 9.78 ล้านบาท (พ.ศ. 2552 : ไม่มี) เกิดจากเงินกู้ยืมที่ยืมมาเฉพาะเพื่อสร้างโครงการวาง ท่อโครงการหนึ่งและได้บันทึกเป็นต้นทุนของสินทรัพย์รวมอยู่ในการซื้อสินทรัพย์

99


15. สินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน - สุทธิ

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม

สินทรัพย์ภายใต้ สัญญาสัมปทาน / บาท งานระหว่างก่อสร้าง / บาท

100

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ โอนสินทรัพย์ ค่าเสื่อมราคา ขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

รวม / บาท

470,134,522 (87,687,631) 382,446,891

7,935,145 - 7,935,145

478,069,667 (87,687,631) 390,382,036

382,446,891 13,250,887 18,267,477 (25,942,334) (16,790,000) 371,232,921

7,935,145 29,617,829 (18,267,477) - - 19,285,497

390,382,036 42,868,716 - (25,942,334) (16,790,000) 390,518,418

501,652,886 (113,629,965) (16,790,000) 371,232,921

19,285,497 - - 19,285,497

520,938,383 (113,629,965) (16,790,000) 390,518,418


(หน่วย : บาท) สินทรัพย์ภายใต้ สัญญาสัมปทาน / บาท

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ โอนสินทรัพย์ จำหน่ายสินทรัพย์ - สุทธิ ค่าเสื่อมราคา ขาดทุนจากการด้อยค่า ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

งบการเงินรวม งานระหว่าง ก่อสร้าง / บาท

รวม / บาท

371,232,921 10,692,140 35,396,159 (329,395) (28,188,689) (1,400,000) 387,403,136

19,285,497 24,731,823 (35,396,159) (185,000) - - 8,436,161

390,518,418 35,423,963 - (514,395) (28,188,689) (1,400,000) 395,839,297

547,240,021 (141,646,885) (18,190,000) 387,403,136

8,436,161 - - 8,436,161

555,676,182 (141,646,885) (18,190,000) 395,839,297

บริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่จะต้องส่งมอบสินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทานให้การประปาส่วนภูมิภาคเมื่อระยะ เวลาสัญญาสัมปทานสิ้นสุดลง

101


16. ต้นทุนการได้มาซึ่งสิทธิในสัมปทานรอตัดบัญชี - สุทธิ

102

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 ราคาทุน หัก ค่าตัดจำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ โอนสินทรัพย์ ค่าตัดจำหน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ราคาทุน หัก ค่าตัดจำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ โอนสินทรัพย์ ค่าตัดจำหน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ราคาทุน หัก ค่าตัดจำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม

ต้นทุนการได้มา ซึ่งสิทธิในสัมปทาน รอตัดบัญชี บาท

งานระหว่าง ก่อสร้าง บาท

รวม บาท

234,835,194 (51,484,535) 183,350,659

350,896,200 - 350,896,200

585,731,394 (51,484,535) 534,246,859

183,350,659 - 268,272,748 (25,905,787) 425,717,620

350,896,200 48,411,201 (268,272,748) - 131,034,653

534,246,859 48,411,201 - (25,905,787) 556,752,273

503,107,942 (77,390,322) 425,717,620

131,034,653 - 131,034,653

634,142,595 (77,390,322) 556,752,273

425,717,620 - 132,486,334 (26,743,488) 531,460,466

131,034,653 12,309,025 (132,486,334) - 10,857,344

556,752,273 12,309,025 - (26,743,488) 542,317,810

635,594,276 (104,133,810) 531,460,466

10,857,344 - 10,857,344

646,451,620 (104,133,810) 542,317,810


17. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 ราคาทุน หัก ค่าตัดจำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ค่าตัดจำหน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ราคาทุน หัก ค่าตัดจำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ค่าตัดจำหน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ราคาทุน หัก ค่าตัดจำหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ ระยะเวลาการตัดจำหน่ายคงเหลือ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม 201,205,413 (40,608,833) 160,596,580 160,596,580 (8,348,738) 152,247,842 201,205,413 (48,957,571) 152,247,842 152,247,842 (8,348,738) 143,899,104 201,205,413 (57,306,309) 143,899,104 18 ปี 3 เดือน 17 ปี 3 เดือน

103


18. เจ้าหนี้การค้า บุคคลภายนอก กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 29.2)

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 76,486,126 55,091,720 13,696,822 14,354,373 24,423,541 10,502,110 43,873,046 49,695,482 100,909,667 65,593,830 57,569,868 64,049,855

19. เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 19.1 ตั๋วสัญญาใช้เงิน

ตั๋วสัญญาใช้เงิน

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 - 369,000,000 - 369,000,000 - 369,000,000 - 369,000,000

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ตั๋วสัญญาใช้เงินมีอัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 4.95 ต่อปี ครบกำหนดชำระคืน ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2553

19.2 ตั๋วแลกเงิน มูลค่าหน้าตั๋ว หัก ส่วนลดจากมูลค่าหน้าตั๋ว เงินกู้ตั๋วแลกเงิน - สุทธิ

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 555,000,000 - 555,000,000 - (2,412,087) - (2,412,087) - 552,587,913 - 552,587,913 -

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 บริษัทมีหนี้สินจากการออกตั๋วแลกเงินให้แก่สถาบันการเงินเพื่อเป็นการกู้ยืม เงินสำหรับลงทุนในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ตั๋วแลกเงินเป็นประเภทไม่มีหลักประกัน มีอายุประมาณ 6 เดือน และอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.51 - 2.14 ต่อปี

104


20. หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

จำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายซึ่งบันทึกเป็นหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน มีดังต่อไปนี้

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 2,897,522 3,161,140 2,897,522 2,660,016 ครบกำหนดภายในไม่เกิน 1 ปี 2,493,627 1,380,552 2,493,627 1,380,552 ครบกำหนดเกิน 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี 5,391,149 4,541,692 5,391,149 4,040,568 หัก ค่าใช้จ่ายทางการเงินในอนาคตของสัญญา เช่าการเงิน (85,857) (284,591) (85,857) (258,633) 5,305,292 8,798,793 5,305,292 7,822,503 มูลค่าปัจจุบันของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

มูลค่าปัจจุบันของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินมีรายละเอียดดังนี้

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 ครบกำหนดภายในไม่เกิน 1 ปี (ส่วนหมุนเวียน) 2,823,812 2,948,681 2,823,812 2,473,515 ครบกำหนดเกิน 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี 2,481,480 1,308,420 2,481,480 1,308,420 (ส่วนไม่หมุนเวียน) 5,305,292 4,257,101 5,305,292 3,781,935

105


21. เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

การเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินในระหว่างปีมีรายละเอียดดังนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม บวก กู้เพิ่ม หัก จ่ายคืนเงินกู้ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 1,915,568,000 2,746,784,000 278,000,000 364,500,000 (187,755,474) (1,195,716,000) 2,005,812,526 1,915,568,000

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 1,350,000,000 2,500,000,000 204,000,000 - (100,000,000) (1,150,000,000) 1,454,000,000 1,350,000,000

วงเงินกู้ที่ยังมิได้เบิกใช้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท วงเงิน พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท บาท บาท บาท บาท ส่วนของบริษัท 1,500 - - 1,250,000,000 1,350,000,000 1,250,000,000 1,350,000,000 ก) 1,000 967.0 1,000.0 33,000,000 - 33,000,000 - ข) 1,700 1,529.0 1,700.0 171,000,000 - 171,000,000 - ค) ส่วนของบริษัทย่อย - - ก) 240 - - 102,852,000 148,568,000 38.0 83.0 135,750,000 117,000,000 - - ข) 200 - - ค) 300 - - 284,210,526 300,000,000 171.0 200.0 29,000,000 - - - ง) 200 รวม 5,140 2,705.0 2,983.0 2,005,812,526 1,915,568,000 1,454,000,000 1,350,000,000 (373,406,060) (187,755,474) (250,000,000) (100,000,000) หัก ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินสุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระ 1,632,406,466 1,727,812,526 1,204,000,000 1,250,000,000 ภายในหนึ่งปี

106


เงินกู้ยืมระยะยาวของบริษัทและบริษัทย่อยที่ได้รับจากสถาบันการเงิน มีรายละเอียดดังนี้ เงินกู้ยืมระยะยาวของบริษัท

วงเงินกู้ วันทำ ระยะ อัตราดอกเบี้ย (ล้านบาท) สัญญา วัตถุประสงค์ ประเภท เวลา ก) 1,500 6 ธันวาคม ชำระหนี้เงินกู้ ไม่มีหลักประกัน 7 ปี เดือนที่ 1 ถึง 36 อัตราดอกเบี้ยคงที่ พ.ศ. 2550 โดยมี ส ถานะ ร้อยละ 4.80 ต่อปี เดือนที่ 37 ถึง 60 เท่าเทียมกับเจ้า อัตราร้อยละของดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้น หนี้สามัญที่ไม่มี ต่ ำ ลบ 1.75 ต่ อ ปี เดื อ นที่ 61 ถึ ง ห ลั ก ป ร ะ กั น เดือนสุดท้าย อัตราร้อยละของดอก และไม่ด้อยสิทธิ เบี้ยเงินกู้ยืมขั้นต่ำลบ 1.50 ต่อปี

ข) 1,000

ค) 1,700

22 พฤษภาคม ลงทุนตาม พ.ศ. 2552 โครงการ ปรับปรุงระบบ ท่อส่งน้ำดิบ

ไม่มีหลักประกัน 7 ปี โดยมี ส ถานะ เท่าเทียมกับเจ้า หนี้สามัญที่ไม่มี ห ลั ก ป ร ะ กั น และไม่ด้อยสิทธิ

เดือนที่ 1 ถึง 12 อัตราร้อยละของ ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมที่ธนาคารคิดกับ ลูกค้ารายใหญ่ชั้นดีสำหรับการให้กู้ ยืมซึ่งมีกำหนดระยะเวลาชำระคืนไม่ เกิน 1 ปี เดือนที่ 13 ถึง 48 อัตรา ร้อยละของดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้นต่ำ ลบ 1.75 ต่อปี เดือนที่ 49 ถึง เดือน สุดท้าย อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้นต่ำ ลบ 1.50 ต่ อ ปี เมื่ อ วั น ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2553 บริษัทมีการ แก้ไขเป็นอัตราดอกเบี้ยปีที่ 1 อัตรา ดอกเบี้ยร้อยละ 3.45 ต่อปี ปีที่ 2 ถึง ปีที่ 3 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ THBFIX บวก 1.75 ต่อปี ปีที่ 4 ถึงปีที่ 6 อัตรา ดอกเบี้ยร้อยละ THBFIX บวก 2.00 ต่อปี 25 สิงหาคม ลงทุนในการ ไม่มีหลักประกัน 10 ปี ปีที่ 1 ถึง ปีที่ 4 อัตราดอกเบี้ยคงที่ พ.ศ. 2552 ก่อสร้างระบบ ร้อยละ 3.50 ต่อปี ปีที่ 5 ถึง ปีที่ 7 ท่อส่งน้ำ อัตราร้อยละของดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้น ต่ำเฉลี่ยลบ 2.25 ต่อปี ปีที่ 8 ถึง ปีที่ 10 อัตราร้อยละของดอกเบี้ยเงินกู้ ยืมขั้นต่ำเฉลี่ยลบ 2.00 ต่อปี

การชำระคืนเงินต้น

เงื่อนไข

ชำระคืนเงินต้นทุก 6 เดือน รวม บริ ษั ท ต้ อ งปฏิ บั ติ ต าม 13 งวด โดยเริ่มชำระงวดแรก เงื่อนไขต่าง ๆ รวมถึง ในเดือนที่ 12 ของสัญญา โดย การดำรงอัตราส่วนหนี้ งวดที่ 1 ถึง งวดที่ 6 ชำระคืน สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น งวดละ 50 ล้านบาท งวดที่ 7 ในอัตราไม่เกิน 2 เท่า ถึง งวดที่ 11 ชำระคืนงวดละ และไม่ ต่ ำ กว่ า 0 เท่ า 200 ล้านบาท งวดที่ 12 ถึงงวด และอัตราส่วน DSCR ที่ 13 ชำระคืนงวดละ 100 ล้าน ไม่ ต่ ำ กว่ า 1.10 เท่ า บาท เป็นต้น ชำระคืนเงินกู้ทั้งจำนวนพร้อม บริ ษั ท ต้ อ งปฏิ บั ติ ต าม ดอกเบี้ยที่คงค้างชำระ (หากมี) เงื่ อ นไขต่ า งๆ รวมถึ ง ให้ แ ก่ ผู้ ใ ห้ กู้ ภ ายใน 12 เดื อ น การดำรงอัตราส่วนหนี้ นั บ จ า ก วั น ท ำ สั ญ ญ า สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เมื่ อ วั น ที่ 3 กั น ยายน พ.ศ. ในอัตราไม่เกิน 2 เท่า 2553 บริ ษั ท มี ก ารแก้ ไ ขการ และไม่ ต่ ำ กว่ า 0 เท่ า ชำระคื น เงิ น ต้ น โดยชำระคื น และอัตราส่วน DSCR ทุ ก ๆ 6 เดื อ น รวม 10 งวด ไม่ ต่ ำ กว่ า 1.10 เท่ า งวดละ 100 ล้ า นบาท ชำระ เป็นต้น งวดแรกสิ้นเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554

ชำระคืนเงินต้นทุก 6 เดือน รวม ไม่มี 16 งวด งวดละเท่าๆ กัน โดย เริ่มชำระงวดแรกในวันสุดท้าย ของเดือนที่ 30 นับจากวันเบิก เงินกู้งวดแรก

107


เงินกู้ยืมระยะยาวของบริษัทย่อย - บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด

วงเงินกู้ วันทำสัญญา วัตถุประสงค์ (ล้านบาท) ก) 240 24 เมษายน เพื่อลงทุนใน พ.ศ. 2549 โครงการผลิต น้ำประปา

ข)

200

ประเภท ระยะ อัตราดอกเบี้ย เวลา ไม่มีหลัก 7 ปี เดือนที่ 1 ถึง 48 อัตราร้อยละของดอกเบี้ย ประกัน เงินกู้ยืมขั้นต่ำลบ 1.50 ต่อปี เดือนที่ 49 เป็นต้นไป อัตราร้อยละของดอกเบี้ยเงินกู้ ยืมขั้นต่ำลบ 0.75 ต่อปี ต่อมาเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2552 มีการแก้ไขอัตราดอก เบี้ยตั้งแต่เดือนที่ 49 เป็นต้นไปเป็นอัตรา ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้นต่ำลบ 1.50 ต่อปีจน จบสัญญา 15 ธันวาคม เพื่อลงทุนใน ไม่มีหลัก 7 ปี ปีที่ 1 ถึง ปีที่ 4 อัตราร้อยละของดอกเบี้ย พ.ศ. 2551 กิจการประปา ประกัน เงินกู้ยืมขั้นต่ำลบ 1.75 ต่อปี ปีที่ 5 เป็นต้น ไป อัตราร้อยละของดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้นต่ำ ลบ 1.50 ต่อปี

เงินกู้ยืมระยะยาวของบริษัทย่อย - บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด วงเงินกู้ (ล้านบาท) วันทำสัญญา ค) 300 16 กันยายน พ.ศ. 2552

วัตถุประสงค์ ประเภท ระยะ เวลา ชำระคืนเงิน ไม่มีหลัก 10 ปี กู้ยืม ที่มีอยู่ ประกัน เดิมกับ บริษัท

108

ชำระคืนเงินต้นทุก 3 เดือน รวม 23 งวด งวดละเท่ า ๆ กัน โดยเริ่มชำระงวดแรก ในเดือนที่ 18 นับจากเดือน ที่ลงนามในสัญญากู้เงิน

บริ ษั ท ย่ อ ยต้ อ งปฏิ บั ติ ต าม เงื่ อ นไขต่ า งๆ รวมถึ ง การ ดำรงอัตราส่วน D/E ไม่เกิน 2 เท่า และอัตราส่วน DSCR ไม่ต่ำกว่า 1.25 เป็นต้น

ปีที่ 1 ถึง ปีที่ 5 อัตราร้อยละของ ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้นต่ำลบ 2.25 ต่อปี ปีที่ 6 เป็นต้นไป อัตราร้อย ละของดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้นต่ำลบ 2.00 ต่อปี

ชำระคืนเงินต้นทุก 6 เดือน รวม 19 งวด งวดละเท่า ๆ กัน โดยเริ่ม ชำระงวดแรกในวั น ทำการ สุดท้ายของเดือนที่ 12 นับแต่วัน ที่เบิกรับเงินกู้เป็นต้นไปให้เสร็จ สิ้นภายใน 10 ปี ชำระคืนเงินต้นทุก 6 เดือน รวม 18 งวด งวดละเท่าๆ กัน โดยเริ่ม ชำระงวดแรกในวั น ทำการ สุดท้ายของเดือนที่ 18 นับแต่วัน ที่เบิกรับเงินกู้เป็นต้นไปให้เสร็จ สิ้นภายใน 10 ปี

บ ริ ษั ท ย่ อ ย ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ต า ม เงื่อนไขต่าง ๆ รวมถึงการดำรง อั ต ราส่ ว น DSCR ไม่ ต่ ำ กว่ า 1.25 เท่า เป็นต้น

บริ ษั ท ย่ อ ยต้ อ งปฏิ บั ติ ต าม เงื่ อ นไขต่ า งๆ รวมถึ ง การ ดำรงอั ต ราส่ ว น DSCR ไม่ ต่ำกว่า 1.25 เท่า เป็นต้น

เงื่อนไข

ชำระคืนเงินต้นทุก 3 เดือน รวม 21 งวด งวดละเท่ า ๆ กัน โดยเริ่มชำระงวดแรกใน เดือนที่ 18 นับจากเดือนที่ ลงนามในสัญญาเงินกู้

การชำระคืนเงินต้น

11 ธันวาคม เพือ่ ลงทุนใน ไม่มีหลัก 10 ปี ปีที่ 1 ถึง ปีที่ 5 อัตราร้อยละของ พ.ศ. 2552 กิจการ ประกัน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้นต่ำลบ 2.25 ประปา ต่อปี ปีที่ 6 เป็นต้นไป อัตราร้อย ละของดอกเบี้ยเงินกู้ยืมขั้นต่ำลบ 2.00 ต่อปี

เงื่อนไข

อัตราดอกเบี้ย

ง) 200

การชำระคืนเงินต้น

บ ริ ษั ท ย่ อ ย ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ต า ม เงื่ อ นไขต่ า งๆ รวมถึ ง การดำรง อั ต ราส่ ว น DSCR ไม่ ต่ ำ กว่ า 1.10 เท่า เป็นต้น


22. ทุนเรือนหุ้น

ต้นปี พ.ศ. 2552 การออกหุ้น ณ สิ้นปี พ.ศ. 2552 การออกหุ้น ณ สิ้นปี พ.ศ. 2553

จำนวนหุ้น

1,663,725,149 - 1,663,725,149 - 1,663,725,149

หุ้นสามัญ

1,663,725,149 - 1,663,725,149 - 1,663,725,149

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น

2,138,522,279 - 2,138,522,279 - 2,138,522,279

(หน่วย : บาท) รวม

3,802,247,428 - 3,802,247,428 - 3,802,247,428

หุ้นสามัญจดทะเบียนทั้งหมดมีราคามูลค่าหุ้นละ 1 บาท (พ.ศ. 2552 : 1 บาท) หุ้นทั้งหมดได้ออกและชำระเต็ม มูลค่าแล้ว

23. ทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้า

ทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้า ได้แก่ ระบบท่อส่งน้ำและมาตรวัดน้ำ ซึ่งบริษัทรับโอนจากลูกค้าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 ตามสัญญาวางท่อส่งน้ำดิบและติดตั้งเป็นผู้ใช้น้ำ บริษัทบันทึกเป็นที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ คู่กับบัญชี ทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้าแสดงในส่วนผู้ถือหุ้นและทยอยรับรู้เป็นรายได้ตลอดอายุการให้ประโยชน์ของ สินทรัพย์

24. สำรองตามกฎหมาย

ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทต้องจัดสรรกำไร สุทธิประจำปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปี หักด้วยยอดขาดทุนสะสม ยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมายดัง กล่าวไม่สามารถนำไปจ่ายเป็นเงินปันผลได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 บริษัทได้จัดสรร ทุนสำรองตามกฎหมายไว้ครบถ้วนแล้ว

109


25. เงินปันผลจ่าย

เงินปันผลที่ประกาศจ่ายในระหว่างปี มีดังนี้

เงินปันผลรวม เงินปันผลต่อหุ้น อนุมัติโดย บาท วันที่จ่ายเงินปันผล บาท ปี พ.ศ. 2553 เงินปันผลสำหรับปี พ.ศ. 2552 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ 415,917,787 0.25 ปีเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 5 เมษายน พ.ศ. 2553 2553 เงินปันผลระหว่างกาลจาก ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ผลการดำเนินงานสำหรับ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. งวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 2553 30 มิถุนายน พ.ศ. 2553 216,277,640 0.13 21 กันยายน พ.ศ. 2553 632,195,427

ปี พ.ศ. 2552 เงินปันผลสำหรับรอบระยะเวลา บัญชีตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2551 เงินปันผลระหว่างกาลจาก ผลการดำเนินงานสำหรับ งวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552

อนุมัติโดย

เงินปันผลรวม บาท

ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 415,918,537 เมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท 166,367,415 เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2552

582,285,952

เงินปันผล ต่อหุ้น บาท

วันที่จ่ายเงินปันผล

0.25 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

0.10 23 กันยายน พ.ศ. 2552

26. รายได้อื่น

110

รายได้ดอกเบี้ย รายได้เงินปันผล (หมายเหตุ 29.1) อื่นๆ

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 3,161,482 2,037,685 2,283,469 13,223,660 17,267,095 18,505,785 45,827,091 48,544,781 21,079,694 32,045,330 18,281,115 17,259,218 41,508,271 52,588,800 66,391,675 79,027,659


27. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

รายการค่าใช้จ่ายตามลักษณะที่สำคัญได้แก่

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 214,663,075 198,724,494 131,893,649 121,953,203 เงินเดือน ค่าแรงและผลประโยชน์อื่นของพนักงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย 428,824,710 340,091,238 319,502,917 258,814,887 ค่าเช่าจ่าย 54,565,240 49,948,784 44,219,891 40,400,703 วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป 7,448,193 16,061,816 - - ค่าไฟฟ้า 340,714,338 334,932,529 301,887,499 248,451,030 ซื้อน้ำดิบ 161,602,664 156,475,376 151,582,267 146,984,148 ค่าจ้างและบริการ 291,015,290 275,805,106 36,020,876 32,686,739 ค่าซ่อมบำรุง 53,537,093 45,556,541 33,483,876 29,209,559 ขาดทุนจากการด้อยค่าและลดลงของมูลค่าสินทรัพย์ 1,645,003 17,720,496 245,003 4,340,496 และสำรองเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าบริหารกิจการ - - 186,605,005 169,803,465 ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม 34,604,368 21,650,029 32,095,002 18,816,040 ต้นทุนจากการขายสินทรัพย์โครงการ 1,507,455,010 - 1,507,455,010 - 198,231,874 171,129,812 198,239,187 186,278,503 อื่น ๆ 3,294,306,858 1,628,096,221 2,943,230,182 1,257,738,773

28. กำไรต่อหุ้น

กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญด้วยจำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วง น้ำหนักที่ถือโดยบุคคลภายนอกในระหว่างปี

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 908,553,615 807,270,583 827,099,919 728,025,109 กำไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ (บาท) จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยที่ถือโดยบุคคลภายนอก 1,663,725,149 1,663,725,149 1,663,725,149 1,663,725,149 ระหว่างปี (หุ้น) 0.55 0.49 0.50 0.44 กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท)

กลุ่มบริษัทไม่มีการออกหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดในระหว่างปี พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552

111


29. รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

กิจการและบุคคลที่ควบคุมบริษัทหรือถูกควบคุมโดยบริษัทหรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกับบริษัททั้งทางตรง หรือทางอ้อมไม่ว่าจะโดยทอดเดียวหรือหลายทอด กิจการและบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้อง กับบริษัท บริษัทย่อยและบริษัทย่อยลำดับถัดไป บริษัทร่วมและบุคคลที่เป็นเจ้าของส่วนได้เสียในสิทธิออก เสียงของบริษัทซึ่งมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำคัญเหนือกิจการ ผู้บริหารสำคัญรวมทั้งกรรมการและพนักงาน ของบริษัทตลอดจนสมาชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลเหล่านั้น กิจการและบุคคลทั้งหมดถือเป็นบุคคลหรือ กิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันซึ่งอาจมีขึ้นได้ต้องคำนึงถึงรายละเอียด ของความสัมพันธ์มากกว่ารูปแบบความสัมพันธ์ตามกฎหมาย บริษัทเป็นบริษัทมหาชนจำกัด โดยมีการประปาส่วนภูมิภาคเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายการต่อไปนี้เป็นรายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

29.1 รายการที่เกิดขึ้นระหว่างปี

112

รายได้จากการขายน้ำดิบ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย การประปาส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน)

(หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 767,885,161 706,150,587 767,885,161 706,150,587 577,137,564 555,117,610 577,137,564 555,117,610 55,654,932 8,645,056 55,654,932 8,645,056

บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด บริษัทที่เกี่ยวข้องกันอื่น บริษัท ผลิตไฟฟ้าระยอง จำกัด รายได้จากการขายน้ำประปา ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค รายได้จากการขายอื่น ๆ บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด

- - 110,903,298 108,132,147 26,079,552 - 26,079,552 - 1,400,677,657 1,295,992,805 1,511,580,955 1,404,124,952 529,499,097 466,304,780 56,729,534 54,443,866 207,750 - - -


รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด บริษัท วอเตอร์ เทรดส์ แอนด์ เซอร์วิสเซส จำกัด บริษัทที่เกี่ยวข้องกันอื่น บริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด ดอกเบี้ยรับ บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด เงินปันผลรับ บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด บริษัทกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น บริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด รายได้อื่น บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด ต้นทุนขายและต้นทุนค่าบริการ บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด บริษัท วอเตอร์ เทรดส์ แอนด์ เซอร์วิสเซส จำกัด

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552

107,985,628 - - 51,331,152 159,316,780

168,227,479 - - 37,484,654 205,712,133

- 3,359,006 - - 3,359,006

-

-

-

- 17,267,095 17,267,095

- 18,505,785 18,505,785

28,559,996 17,267,095 45,827,091

-

-

4,986,614

- 3,106,807 44,550 - 3,151,357 11,348,630 30,038,996 18,505,785 48,544,781 1,259,850

- - -

- - -

242,777,960 - 242,777,960

225,567,989 206,955 225,774,944

113


รายได้จากการขายน้ำดิบ ใช้ราคาเทียบเคียงกับราคาตลาด รายได้จากการขายน้ำประปา รายได้คา่ เช่าและค่าบริการและรายได้อนื่ ใช้ราคาทีต่ กลงร่วมกันตามทีร่ ะบุไว้ในสัญญา ต้นทุนขายและต้นทุนค่าบริการใช้ราคาที่ตกลงร่วมกันตามที่ระบุไว้ในสัญญา ดอกเบี้ยรับคำนวณโดยใช้อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 5.25 ต่อปี

29.2 ยอดคงค้าง ณ วันสิ้นปี ลูกหนี้การค้าส่วนที่เรียกเก็บแล้ว ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด บริษัทที่เกี่ยวข้องกันอื่น บริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด ลูกหนี้ส่วนที่ยังไม่ได้เรียกเก็บ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค บริษัทที่เกี่ยวข้องกันอื่น บริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด รายได้ค่างานลดน้ำสูญเสียรอรับชำระ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค - ส่วนที่เรียกเก็บแล้ว - ส่วนที่ยังไม่ได้เรียกเก็บ

114

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552

80,648,034 67,939,271 3,604,828 - 4,738,124 156,930,257

75,559,897 67,112,828 3,345,236 - 10,957,747 156,975,708

54,226,827 67,939,271 3,604,828 13,874,569 - 139,645,495

75,559,897 67,112,828 3,345,236 9,370,842 - 155,388,803

61,846,408 4,632,784 66,479,192

64,793,737 - 64,793,737

- - -

- - -

5,002,892 11,609,751 16,612,643

7,237,607 19,387,032 26,624,639

- - -

- - -


รายได้ค่างานลดน้ำสูญเสียรอรับชำระ - ส่วนที่เรียกเก็บแล้วสามารถแยกตามอายุหนี้ที่ค้างชำระได้ดังนี้ ยังไม่ถึงกำหนดชำระ ค้างชำระไม่เกิน 3 เดือน รวมรายได้ค่างานลดน้ำสูญเสียรอรับชำระ - ส่วนที่เรียกเก็บแล้ว เงินปันผลค้างรับ บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด ลูกหนี้อื่น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 3,865,064 3,237,585 1,137,828 4,000,022 5,002,892 7,237,607 - - 11,780 - 11,780

8,602 - 8,602

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 - - - - - - - 18,038,996 - 1,077,248 1,077,248

- 1,510,860 1,510,860

(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 เจ้าหนี้การค้า ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ การประปาส่วนภูมิภาค 24,423,541 9,177,359 3,461,711 บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด - - 40,411,335 บริษัทที่เกี่ยวข้องกันอื่น - 1,324,751 - บริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด 24,423,541 10,502,110 43,873,046 เจ้าหนี้อื่น (แสดงรวมในหนี้สินหมุนเวียนอื่น) บริษัทย่อย บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด - - 2,792,261 บริษัท วอเตอร์ เทรดส์ แอนด์ เซอร์วิสเซส จำกัด - - - - - 2,792,261 เงินประกันการเช่ารับ บริษัทย่อย 805,765 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด - - บริษัท วอเตอร์ เทรดส์ แอนด์ เซอร์วิสเซส จำกัด - - - - - 805,765

- 49,695,482 - 49,695,482 77,246 6,955 84,201 780,765 12,430 793,195

115


29.3 ค่าตอบแทนผู้บริหาร ในปี พ.ศ. 2553 กลุ่มบริษัทและบริษัทได้จ่ายเงินเดือน โบนัส ค่าเบี้ยประชุมและเงินบำเหน็จให้แก่ กรรมการและผู้บริหารซึ่งแสดงอยู่ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท เป็นจำนวนเงิน 71.6 ล้านบาท และ 49.5 ล้านบาท ตามลำดับ (พ.ศ. 2552: 70.2 ล้านบาท และ 45.2 ล้านบาท ตามลำดับ)

30. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

30.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 กลุ่มบริษัทและบริษัท มีภาระผูกพันเกี่ยวกับโครงการงานก่อสร้าง และวางท่ อ ส่ ง น้ ำ ที่ ยั ง ไม่ แ ล้ ว เสร็ จ ในงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท เป็ น จำนวนเงิ น 1,177.0 ล้านบาท และ 1,094.5 ล้านบาท ตามลำดับ (พ.ศ. 2552 : 1,823.1 ล้านบาท และ 1,770.8 ล้านบาท ตามลำดับ) 30.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าดำเนินงาน กลุ่มบริษัทและบริษัทมียอดรวมของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายในอนาคตตามสัญญาเช่าดำเนินงานที่ เกี่ยวข้องกับการเช่ายานพาหนะและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ไม่สามารถยกเลิกได้ ดังนี้ ภายใน 1 ปี 1 ถึง 5 ปี

งบการเงินรวม พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 11.3 8.1 13.8 12.3 25.1 20.4

(หน่วย : ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 4.5 3.2 4.2 2.0 8.7 5.2

30.3 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาซื้อน้ำดิบและน้ำประปาและสัญญาบริการระยะยาว 30.3.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 บริษัทมีภาระผูกพันตามสัญญาซื้อน้ำดิบ จากกรมชลประทานในอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง 30.3.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันตามสัญญาซื้อ น้ ำ ดิ บ และน้ ำ ประปาจากบริ ษั ท เอกชน ตามเงื่ อ นไขและอั ต ราที่ ก ล่ า วไว้ ใ นหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อ 32.6 32.7 และข้อ 32.14 30.3.3 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 กลุ่มบริษัทและบริษัทมีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาบริการ ที่จะต้องจ่ายในอนาคตจำนวนประมาณ 189.9 ล้านบาท และ 8.2 ล้านบาท ตามลำดับ (พ.ศ. 2552 : 251.8 ล้านบาท และ 28.4 ล้านบาท ตามลำดับ)

116


30.4 การค้ำประกัน 30.4.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 กลุ่มบริษัทและบริษัทมีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการที่ ธนาคารในประเทศออกหนังสือค้ำประกันเพื่อการใช้กระแสไฟฟ้ากับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หนั ง สื อ ค้ ำ ประกั น เกี่ ย วกั บ การบริ ห ารและดำเนิ น กิ จ การระบบท่ อ ส่ ง น้ ำ สายหลั ก ใน ภาคตะวันออกกับกระทรวงการคลัง หนังสือค้ำประกันเพื่อการปฏิบัติตามสัญญากับการ ประปาส่วนภูมิภาคและกับกรมชลประทาน และหนังสือค้ำประกันเพื่อประมูลโครงการของ บริษัทจำนวนรวมทั้งสิ้น 266.1 ล้านบาท และ 138.1 ล้านบาท ตามลำดับ (พ.ศ. 2552 : จำนวน 227.9 ล้านบาท และ 51.6 ล้านบาท ตามลำดับ) 30.4.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 กลุ่มบริษัทมีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการ เป็นผู้ค้ำประกันการปฏิบัติตามสัญญาของบริษัทย่อยสามแห่ง ในกรณีธนาคารในประเทศ ออกหนังสือค้ำประกันให้แก่บริษัทย่อยภายในวงเงิน 200 ล้านบาท สำหรับการค้ำประกัน หม้อแปลงไฟฟ้า ค้ำประกันการผลิตและขายน้ำประปา ประกันสัญญาบันทึกข้อมูลผู้ใช้น้ำ

30.5 ค่าตอบแทนโครงการ หน่วยงานรัฐแห่งหนึ่งอยู่ระหว่างการพิจารณาการจัดให้บริษัท เช่า/บริหาร และการปรับอัตราผล ตอบแทนในโครงการท่อส่งน้ำ 2 โครงการ (“โครงการฯ”) ตามหนังสือที่ออกโดยหน่วยงานของรัฐดัง กล่าวซึ่งกำหนดให้บริษัทต้องจ่ายค่าตอบแทนในโครงการฯให้กับหน่วยงานของรัฐในเบื้องต้นเป็น อัตราร้อยละของรายได้จากการขายน้ำดิบในโครงการฯตั้งแต่ปีที่เริ่มเข้าดำเนินการก่อน และหากการ พิจารณาได้ข้อยุติในอัตราที่มากกว่าอัตราที่บริษัทได้ชำระค่าตอบแทนไว้แล้ว บริษัทจะต้องยินยอม ชำระเพิ่ ม เติ ม จนครบถ้ ว นในครั้ ง เดี ย ว หรื อ หากได้ ข้ อ ยุ ติ ใ นอั ต ราที่ ต่ ำ กว่ า หน่ ว ยงานรั ฐ ดั ง กล่ า ว ยินยอมคืนส่วนที่ชำระไว้เกินโดยการหักกลบลบหนี้กับผลประโยชน์ตอบแทนในปีต่อๆ ไป เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2553 หน่วยงานรัฐดังกล่าวได้มีหนังสือถึงบริษัทแจ้งว่า การดำเนินการจัด ให้ บริษัท เช่า/บริหารโครงการฯข้างต้น รวมทั้งการกำหนดผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่าว ต้องดำเนิน การตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 โดยคณะกรรมการตามมาตรา 13 มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณากำหนดอัตราค่าตอบแทนและ เจรจาต่อรองผลประโยชน์ตอบแทนกับบริษัทให้ได้ข้อยุติก่อน แล้วจึงจะเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่ออนุมัติ ตามนั ย มาตรา 21 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ดั ง กล่ า วต่ อ ไป และขณะนี้ เ รื่ อ งดั ง กล่ า วอยู่ ร ะหว่ า งการ พิจารณาขอความเห็นชอบจากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ กระทรวงการคลัง เพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรี ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว ทั้งนี้ เพื่อให้ขั้นตอนเป็นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสม คณะกรรมการตามมาตรา 13 จึงมอบหมายให้ หน่วยงานรัฐตามที่กล่าวในวรรคหนึ่ง ขอหารือไปยังสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเพื่อพิจารณา ว่าการดำเนินการจัดให้บริหาร/เช่าต้องเริ่มดำเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนเข้า ร่ วมงานหรื อ ดำเนิน การในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ตามมาตรา 13 หรือมาตรา 6 ก่อ น ต่ อ มา สำนั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก าได้ ต อบข้ อ หารื อ มายั ง หน่ ว ยงานรั ฐ ดั ง กล่ า วว่ า ไม่ มี ปั ญ หาข้ อ กฎหมายที่จะรับไว้พิจารณาให้ความเห็นทางกฎหมายได้ ดังนั้นปัจจุบันจึงอยู่ในระหว่างการขอความ เห็นชอบจากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและกระทรวงการคลัง เพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรี ตามที่กล่าวในวรรคก่อน 30 ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

117


30.6 ค่าปรับการส่งมอบงานล่าช้าและการส่งมอบน้ำไม่ถึงปริมาณขั้นต่ำ บริษัทย่อยได้ทำสัญญาซื้อขายน้ำประปาเพื่อสำนักงานประปาชลบุรี จังหวัดชลบุรี กับการประปาส่วน ภูมิภาคในวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2552 ซึ่งมีกำหนดที่จะต้องผลิตและขายน้ำประปาให้การประปา ส่วนภูมิภาคภายในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ดังนั้นบริษัทย่อยจึงได้ทำสัญญาซื้อขายน้ำประปากับ บริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง เพื่อให้ดำเนินการก่อสร้างระบบผลิตน้ำประปาเพื่อนำน้ำประปามาขายให้กับ การประปาส่ ว นภู มิ ภ าคตามสั ญ ญาดั ง กล่ า วข้ า งต้ น อย่ า งไรก็ ต ามบริ ษั ท เอกชนรายดั ง กล่ า วไม่ สามารถก่อสร้างระบบผลิตน้ำประปาให้เสร็จทันตามกำหนดเวลาที่บริษัทย่อยจะต้องขายน้ำให้การ ประปาส่วนภูมิภาค ทำให้บริษัทย่อยต้องจ่ายเงินชดเชยรายเดือนตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2552 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2553 และค่าปรับนับตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552 จนถึงวันที่ ก่อสร้างแล้ว เสร็จเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2553 เป็นจำนวน 32.0 ล้านบาท แก่การประปาส่วนภูมิภาค ซึ่ง บริษัทย่อยได้ชำระแล้วทั้งจำนวนภายในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553 อย่างไรก็ตามบริษัทย่อยสามารถ เรียกเงินชดเชยและค่าปรับดังกล่าวรวมทั้งดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี จากบริษัทเอกชน โดย หักกลบลบหนี้กับค่าน้ำประปาที่ทางบริษัทย่อยต้องซื้อจากบริษัทเอกชนดังกล่าวนั้นในทุกๆ เดือน ซึ่ง บริษัทย่อยแสดงยอดคงเหลือหลังหักกลบลบหนี้จำนวน 17.0 ล้านบาทเป็นส่วนหนึ่งของลูกหนี้อื่นรวม ในสินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ในงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 นอกจากนี้ตั้งแต่วันที่บริษัทย่อยเริ่มส่งน้ำให้การประปาส่วนภูมิภาคในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2553 บริ ษั ท ย่ อ ยส่ ง มอบน้ ำ ได้ ไ ม่ ถึ ง ข้ อ กำหนดขั้ น ต่ ำ ที่ ต้ อ งส่ ง มอบในแต่ ล ะวั น บริ ษั ท ย่ อ ยจึ ง บั น ทึ ก เงิ น ชดเชย และค่าปรับไว้ในงบการเงินจนถึง วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 จำนวน 16.05 ล้านบาท ซึ่ง การประปาส่วนภูมิภาคมีหนังสือมายังบริษัทย่อยเพื่อเรียกร้องเงินชดเชยและค่าปรับจากการที่บริษัท ย่อยไม่สามารถส่งมอบน้ำประปาได้ถึงตามปริมาณน้ำขั้นต่ำต่อวันดังกล่าว ตั้งแต่เดือนเมษายนถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 62.1 ล้านบาท เนื่องจากใช้หลักการคำนวณที่ แตกต่างกัน ต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 การประปาส่วนภูมิภาค มีหนังสือแจ้งมายังบริษัท ย่อยว่าได้มีการทบทวนการคิดเงินค่าชดเชย ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์การคำนวณของบริษัทย่อย บริษัทย่อยจึงไม่ได้บันทึกผลต่างดังกล่าวเป็นหนี้สินเพิ่มเติมในงบการเงิน นอกจากนี้บริษัทย่อยยัง สามารถเรียกร้องเงินชดเชยและค่าปรับดังกล่าวทั้งจำนวนที่ต้องจ่ายให้การประปาส่วนภูมิภาคได้จาก บริษัทเอกชนตามที่กล่าวในวรรคหนึ่ง

31. คดีฟ้องร้อง

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2552 กลุ่มบริษัทและบริษัทถูกฟ้องร้องเป็นจำเลยในคดีความที่ วงเงินฟ้องร้องมีสาระสำคัญมีดังต่อไปนี้

118

31.1 เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2546 บริษัทถูกฟ้องเป็นจำเลยโดยบริษัทแห่งหนึ่งในคดีความทางกฎหมาย เกี่ยวกับการซื้อทรัพย์สินจากกรมบังคับคดี โดยบริษัทดังกล่าวได้ฟ้องต่อศาลให้เพิกถอนนิติกรรมหรือ ชดใช้ ค่ า เสี ย หายแก่ บ ริ ษั ท ดั ง กล่ า วเป็ น จำนวนเงิ น 302.2 ล้ า นบาท อย่ า งไรก็ ต าม เมื่ อ วั น ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2549 ศาลชั้นต้นได้มีคำพิพากษายกฟ้องคดีดังกล่าวแล้ว แต่ต่อมาโจทก์ได้ยื่น อุทธรณ์และศาลอุทธรณ์รับอุทธรณ์เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2549 และบริษัทได้ทำคำแก้อุทธรณ์ ของโจทก์แล้ว ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 คดีอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ และเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ศาลอุทธรณ์มีคำพิพากษายืนตามศาลชั้นต้น ฝ่ายบริหารของ บริษัทเห็นว่าหากผลของคดีเป็นที่สิ้นสุดจะไม่มีผลเสียหายที่เป็นสาระสำคัญต่อบริษัท ดังนั้นบริษัทไม่ ได้มีการตั้งสำรองเผื่อหนี้สินดังกล่าวไว้ในบัญชี


31.2 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2549 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยถูกฟ้องเป็น จำเลยร่วมกับการประปาส่วนภูมิภาคในคดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ ของรัฐกระทำการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งโจทก์ได้ร้องขอต่อศาลปกครองให้เพิกถอนกระบวนการ คัดเลือกเอกชนให้ผลิตน้ำประปาเพื่อขายให้แก่การประปาส่วนภูมิภาคในพื้นที่ของสำนักงานประปา ระยอง และเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2550 ศาลปกครองจังหวัดระยองได้มีคำพิพากษาให้เพิกถอน กระบวนการคัดเลือกเอกชนให้ผลิตน้ำประปาเพื่อขายให้สำนักงานประปาระยองตามที่โจทก์ร้องขอ นอกจากนั้นยังเพิกถอนสัญญาให้เอกชนผลิตน้ำประปาเพื่อขายให้แก่การประปาที่สำนักงานประปา ระยอง ซึ่งเป็นผลจากกระบวนการคัดเลือกที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย อย่างไรก็ตาม การประปาส่วน ภูมิภาคและบริษัทย่อยได้มีการยื่นอุทธรณ์ต่อศาลปกครองระยองเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2550 และศาลปกครองจังหวัดระยองมีคำสั่งรับอุทธรณ์ พร้อมทั้งส่งคำอุทธรณ์ให้ศาลปกครองสูงสุดและ ขณะนี้คดีความดังกล่าวอยู่ในระหว่างขั้นตอนการสรุปข้อเท็จจริงของตุลาการเจ้าของสำนวน (สรุป สำนวน) ในชั้นอุทธรณ์ของศาลปกครองสูงสุดตามเลขรับที่ อ.278/50 ทั้งนี้เนื่องจากการประปาส่วน ภูมิภาคและบริษัทย่อยต้องปฏิบัติตามสัญญาและมีสิทธิหน้าที่ต่อกันตามที่กำหนดไว้ในสัญญาต่อไป จนกว่ า คดี จ ะถึ ง ที่ สุ ด ซึ่ ง เป็ น ไปตามมาตรา 70 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ จั ด ตั้ ง ศาลปกครองและวิ ธี พิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ฝ่ายบริหารของบริษัทย่อยเห็นว่าบริษัทย่อยจะไม่ได้รับความเสีย หายจากการยกเลิกสัญญา เนื่องจากกรณีที่มีการยกเลิกสัญญา การประปาส่วนภูมิภาคจะต้องจ่าย เงินชดเชยต้นทุนการก่อสร้างและปรับปรุงระบบประปาและค่าใช้จ่ายอื่นที่บริษัทย่อยได้จ่ายไป ดังนั้น บริษัทย่อยไม่ได้มีการบันทึกตั้งสำรองในบัญชี 31.3 เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2551 บริษัทถูกฟ้องเป็นจำเลยโดยบริษัทแห่งหนึ่งในคดีความทางกฎหมาย คดีหมายเลขดำที่ 5930/2551 เกี่ยวกับการผิดสัญญาจ้างเหมาก่อสร้าง โดยบริษัทดังกล่าวได้ฟ้องต่อ ศาลแพ่งสั่งให้บริษัทชดใช้ค่าเสียหายเป็นจำนวนเงิน 40.2 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2551 บริษัทเป็นโจทก์ฟ้องกลับบริษัทรายดังกล่าวในคดีความทาง กฎหมายและธนาคารพาณิชย์ในประเทศแห่งหนึ่งในฐานะผู้ค้ำประกันการทำงานให้บริษัทดังกล่าว ตามคดีหมายเลขดำที่ 6848/2551 เกี่ยวกับการผิดสัญญาจ้างเหมาก่อสร้างโดยบริษัทได้ฟ้องต่อศาล แพ่งสั่งให้จำเลยทั้งสองรายดังกล่าวร่วมชดใช้ค่าเสียหายเป็นจำนวนเงิน 37.4 ล้านบาท เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2552 ศาลแพ่งได้นัดชี้สองสถานคดีหมายเลขดำที่ 5930/2551 อย่างไร ก็ ต ามทนายความของบริ ษั ท ได้ ยื่ น คำร้ อ งขอให้ ศ าลนำคดี ห มายเลขดำที่ 6848/2551 รวมกั น เนื่องจากเป็นคดีที่เกิดจากข้อเท็จจริงเดียวกัน ศาลพิจารณาแล้วจึงอนุญาตให้นำคดีมารวมกัน และ นัดชี้สองสถานกำหนดแนวทางการพิจารณาคดีและสืบพยานในวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2552 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2552 ศาลแพ่งได้กำหนดนัดสืบพยานโจทก์ในวันที่ 17 - 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 และสืบพยานจำเลยในวันที่ 23 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ศาลแพ่งมีคำพิพากษาเป็นคดีหมายเลขแดงที่ 3169/2553 และ 3170/2553 สรุปได้ดังนี้ 1.

ให้คู่กรณีชำระค่าปรับเป็นเงิน 8.8 ล้านบาท และคืนเงินค่าจ้างล่วงหน้าจำนวน 2.1 ล้าน บาท รวมทั้งค่าจ้างผู้ควบคุมงานก่อสร้างในช่วงส่งมอบงานล่าช้าเป็นเงิน 0.2 ล้านบาท รวม เป็นจำนวนเงิน 11.1 ล้านบาท ให้แก่บริษัท

2.

ให้บริษัทชำระค่างวดงานที่ 30 และ 31 ตามสัญญาเป็นเงิน 13.0 ล้านบาท ค่าจ้างงาน

119


แก้ไขเพิ่มเติมเป็นเงิน 7.0 ล้านบาท คืนเงินประกันผลงานจำนวน 3.8 ล้านบาท รวมเป็นเงิน 23.8 ล้านบาท และให้คืนหนังสือค้ำประกันทั้ง 8 ฉบับให้แก่คู่กรณี อย่างไรก็ตาม บริษัทได้มอบหมายทนายความของบริษัทยื่นอุทธรณ์ต่อศาลเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ใน ประเด็นหลักคือ จำนวนเงินค่าปรับและค่าจ้างงานแก้ไขเพิ่มเติม ทั้งนี้เพื่อรักษาประโยชน์ของบริษัท อนึ่งบริษัทได้บันทึกหนี้สินไว้ในงบการเงินจำนวน 16.8 ล้านบาทสำหรับค่างวดงานก่อสร้างและเงินประกัน

ผลงาน โดยยังมิได้บันทึกส่วนค่าจ้างงานแก้ไขเพิ่มเติมจำนวน 7.0 ล้านบาทซึ่งยังไม่มีข้อยุติ 31.4 เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2552 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยถูกฟ้องเป็น จำเลยโดยอดีตพนักงานของบริษัทย่อย ในคดีความทางกฎหมายแรงงานคดีหมายเลขดำที่ 3630/ 2552 เกี่ยวกับการพ้นสภาพการเป็นพนักงานบริษัทย่อย โดยโจทก์ได้ฟ้องต่อศาลแรงงานกลางให้ บริษัทย่อยชดเชยความเสียหายเป็นจำนวนเงิน 36.9 ล้านบาท เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ศาลแรงงานกลางพิพากษายกฟ้องคดีโจทก์ และโจทก์ไม่ได้ยื่น อุทรณ์ตามเวลาที่กำหนด คดีจึงถือเป็นที่สุดแล้ว

32 สัญญาที่สำคัญ

บริษัทและบริษัทย่อยมีสัญญาที่สำคัญ นอกเหนือจากสัญญาอื่นๆ ตามที่ได้กล่าวไว้แล้วในหมายเหตุประกอบ งบการเงินที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้

บริษัท 32.1 เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2536 บริษัทได้ทำสัญญาการบริหารและการดำเนินกิจการระบบท่อส่งน้ำ สายหลักในภาคตะวันออกกับกระทรวงการคลัง เป็นระยะเวลา 30 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2537 ถึ ง วั น ที่ 30 กั น ยายน พ.ศ. 2566 โดยบริ ษั ท ตกลงจะจ่ า ยผลประโยชน์ ต อบแทนขั้ น ต่ ำ ให้ กระทรวงการคลังในอัตรา 2 ล้านบาทต่อปี หรือในปีใดเมื่อบริษัทมียอดขายน้ำดิบเกินกว่า 200 ล้าน บาท บริษัทจะจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้ในอัตราร้อยละ 1 ของยอดขายน้ำดิบจากอ่างเก็บน้ำ หนองค้อและดอกกราย นอกเหนือจากผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่าวแล้ว หากในปีใดบริษัทมีผล ตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Return on equity) ในอัตราเกินกว่าร้อยละ 20 บริษัทฯจะจ่ายผล ตอบแทนให้กับกระทรวงการคลังเพิ่มอีกในอัตราร้อยละ 15 ของส่วนที่เกินกว่าร้อยละ 20 ทั้งนี้อัตรา ผลประโยชน์ตอบแทนรวมจะต้องไม่เกินร้อยละ 6 ของมูลค่าที่แท้จริงของสินทรัพย์ที่บริษัทเช่าจาก กระทรวงการคลังที่ได้มี การประเมินตามระยะเวลา 32.2 เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 บริษัทได้ทำสัญญาจ้างบริหารกิจการประปาสัตหีบของการ ประปาส่วนภูมิภาคกับบริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด (“บริษัทย่อย”) เป็นระยะเวลา 10 ปี โดย บริษัทจะต้องจ่ายค่าจ้างบริหารจากยอดรายได้หลังหักค่าสิทธิและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องตามที่กำหนด ในสัญญา นอกจากนี้ บริษัทจะได้รับส่วนแบ่งกำไรจากบริษัทย่อยตามเงื่อนไขที่กำหนดในสัญญา ต่อ มาในวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2547 บริษัทได้เข้าทำการแก้ไขสัญญาดังกล่าวโดยตกลงให้บริษัทย่อย ขยายการลงทุนไปยังสำนักงานประปาพัทยา และขยายระยะเวลาบริหารกิจการประปาสัตหีบเป็น ระยะเวลา 30 ปี นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2544 แต่ต้องไม่เกินระยะเวลาตามสัญญาให้สิทธิเช่า บริหารและดำเนินกิจการระบบประปาสัตหีบระหว่างการประปาส่วนภูมิภาคและบริษัท

120


32.3 เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 บริษัทได้ทำสัญญากับบริษัทยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด(“บริษัท ย่อย”) เพื่อดำเนินกิจการประปาเทศบาลตำบลเกาะสีชัง เป็นระยะเวลา 15 ปี นับจากวันที่เริ่มซื้อขาย น้ำประปา และกำหนดให้บริษัทย่อยดำเนินการก่อสร้างและติดตั้งระบบน้ำประปา รวมทั้งบำรุงรักษา ระบบน้ำประปาให้สามารถใช้งานตามปกติได้ดีอีกอย่างน้อย 5 ปีหลังสิ้นสุดอายุของสัญญา นอกจาก นี้บริษัทย่อยจะต้องโอนทรัพย์สินที่ได้ลงทุนทั้งหมดให้แก่บริษัทและ/หรือเทศบาลตำบลเกาะสีชังเมื่อ ครบอายุสัญญาดำเนินกิจการประปาหรือสัญญาจ้างบริหารกิจการประปาแล้วแต่สัญญาใดจะสิ้นสุด ก่อน โดยบริษัทย่อยตกลงจะจ่ายค่าผลประโยชน์ตอบแทนในการเข้าดำเนินกิจการให้แก่เทศบาล ตำบลเกาะสีชังและบริษัทตามอัตราที่กำหนดไว้ในสัญญา 32.4 เมื่ อ วั น ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 บริ ษั ท ได้ ท ำสั ญ ญากั บ บริ ษั ท ยู นิ เ วอร์ แ ซล ยู ที ลิ ตี้ ส์ จำกั ด (“บริษัทย่อย”) เพื่อดำเนินกิจการระบบประปาบ่อวินเป็นระยะเวลา 25 ปี นับตั้งแต่วันที่บริษัทย่อย ลงทุนก่อสร้างระบบประปาบ่อวินเแล้วเสร็จและได้รับความเห็นชอบจากบริษัทให้เริ่มจ่ายน้ำในเชิง พาณิชย์ (วันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2548) โดยบริษัทย่อยต้องจัดหาที่ดินและก่อสร้างระบบผลิตน้ำ ประปาให้เพียงพอตลอดอายุสัญญา และโอนทรัพย์สินที่ได้ลงทุนทั้งหมดมอบให้แก่บริษัท และ/หรือ เทศบาล เมื่อครบอายุสัญญาดำเนินกิจการประปา หรือสัญญาจ้างบริหารกิจการประปา แล้วแต่ สัญญาใดจะสิ้นสุดก่อน โดยบริษัทต้องจ่ายค่าจ้างในการบริหารกิจการประปาบ่อวินเป็นรายปีที่อัตรา ร้ อ ยละที่ ก ำหนดไว้ ใ นสั ญ ญาของยอดรายได้ ค่ า น้ ำ ประปาและค่ า บริ ก ารรายเดื อ นเฉพาะส่ ว นที่ สามารถเรียกชำระจากผู้ใช้น้ำได้ ต่อมาเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2548 บริษัทได้ทำสัญญาให้สิทธิเช่าบริหารและดำเนินกิจการประปา องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) บ่อวิน กับองค์การบริหารส่วนตำบลบ่อวิน บริษัทจึงได้ทำสัญญา กับบริษัทย่อยเพื่อดำเนินกิจการระบบประปาบ่อวินฉบับใหม่ ลงวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 โดย ยกเลิกสัญญาฉบับลงวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 32.5 เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 บริษัท ได้ทำสัญญากับบริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด (“บริษัท ย่อย”) เพื่อการผลิตและขายน้ำประปา เพื่อสำนักงานประปาเกาะสมุย เป็นระยะเวลา 15 ปี นับจาก วันเริ่มส่งมอบน้ำประปา (วันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2548) โดยบริษัทย่อยจะต้องก่อสร้างระบบผลิต น้ำประปาแบบ Reverse Osmosis โดยมีท่อส่งน้ำไปยังระบบท่อจ่ายน้ำประปาของผู้ซื้อในบริเวณที่ กำหนด และมีท่อส่งน้ำไปยังระบบท่อจ่ายน้ำประปาของการประปาส่วนภูมิภาค และขายน้ำประปาที่ ผลิตโดยระบบดังกล่าว 32.6 เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2550 บริษัทได้ทำสัญญาซื้อน้ำดิบกับบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง เพื่อจัดซื้อ น้ำดิบโดยมีกำหนดระยะเวลาการซื้อน้ำดิบเป็นระยะเวลา 10 ปี ในปริมาณขั้นต่ำปีละ 10 ล้านลูก บาศก์เมตร 32.7 เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2552 บริษัทได้ทำสัญญาซื้อน้ำดิบกับบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง เพื่อจัดซื้อ น้ำดิบเป็นระยะเวลา 10 ปี ในปริมาณขั้นต่ำรอบปีการใช้น้ำที่ 1 จำนวน 6 ล้านลูกบาศก์เมตร รอบปี การใช้น้ำที่ 2 จำนวน 8 ล้านลูกบาศก์เมตร และตั้งแต่รอบปีการใช้น้ำที่ 3 เป็นต้นไป จำนวน 10 ล้าน ลูกบาศก์เมตร

121


บริษัทย่อย 32.8 บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จำกัด ได้ทำสัญญารับสัมปทานกับการประปาส่วนภูมิภาคเพื่อดำเนินการ ผลิตและจำหน่ายน้ำประปาให้แก่การประปาส่วนภูมิภาคที่สำนักงานการประปาฉะเชิงเทรา จังหวัด ฉะเชิงเทรา ตามสัญญาลงวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 มีกำหนดระยะเวลา 25 ปี นับตั้งแต่วันที่ เริ่มซื้อขายน้ำประปา (วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2546) 32.9 บริษัท ประปาบางปะกง จำกัด ได้ทำสัญญารับสัมปทานกับการประปาส่วนภูมิภาคเพื่อดำเนินการ ผลิตและจำหน่ายน้ำประปาให้แก่การประปาส่วนภูมิภาคที่สำนักงานการประปาบางปะกง จังหวัด ฉะเชิงเทรา ตามสัญญาลงวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 มีกำหนดระยะเวลา 25 ปี นับตั้งแต่วันที่ เริ่มซื้อขายน้ำประปา (วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2546) 32.10 บริษัท ประปานครสวรรค์ จำกัด ได้ทำสัญญารับสัมปทานกับการประปาส่วนภูมิภาคเพื่อดำเนินการ ผลิตและจำหน่ายน้ำประปาให้แก่การประปาส่วนภูมิภาคที่สำนักงานการประปานครสวรรค์ จังหวัด นครสวรรค์ ตามสัญญาลงวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 มีกำหนดระยะเวลา 25 ปี นับตั้งแต่วันที่ เริ่มซื้อขายน้ำประปา (วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2546) 32.11 บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จำกัด และบริษัท ประปาบางปะกง จำกัด ได้ทำสัญญาความชำนาญทาง วิชาการกับ Australian Water Technologies PTY Limited แห่งประเทศออสเตรเลีย ตามสัญญาลง วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2543 และบริษัทดังกล่าวได้โอนสิทธิเรียกร้องตามสัญญาให้บริษัท เอดับบลิวที อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำกัด (“AWT”) เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ทั้งนี้ บริษัทคู่ สัญญาตกลงที่จะให้ใช้ชื่อของบริษัทคู่สัญญาในการอ้างอิงและให้ความช่วยเหลือทางด้านความ ชำนาญทางวิชาการในการดำเนินงานตามสัญญาสัมปทาน โดยบริษัทย่อยตกลงที่จะจ่ายค่าบริการ ตามอัตราที่กำหนดไว้ในสัญญาเพื่อเป็นการตอบแทนการให้บริการดังกล่าว ต่อมา บริษัท Sydney Water Corporation ซึ่งเป็นบริษัทใหญ่ของบริษัท AWT มีความประสงค์จะเลิกกิจการบริษัท AWT และได้ มี ห นั ง สื อ รั บ รองให้ กั บ บริษัทย่อยทั้งสองแห่งว่าจะรับช่วงการให้บริการต่างๆ ตามเงื่ อ นไข สัญญาเดิมดังกล่าวต่อไป คณะกรรมการบริษัทย่อยพิจารณาแล้วเห็นควรรับเงื่อนไขดังกล่าว โดยขอ เจรจาลดหย่อนค่าตอบแทนดังกล่าวลง จากมูลค่าปัจจุบันของค่าตอบแทนที่คาดว่าจะต้องจ่ายใน อนาคตจำนวน52.35 ล้านบาท เป็นการจ่ายค่าตอบแทนล่วงหน้าครั้งเดียวให้กับบริษัท AWT จำนวน ไม่เกิน 18 ล้านบาทแทน ซึ่งผลการเจรจาเป็นประโยชน์กับบริษัทย่อยในการลดค่าใช้จ่ายดังกล่าว คณะกรรมการบริษัทย่อยจึงมีมติอนุมัติยกเลิกสัญญาฉบับนี้ เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2554 บริษัทย่อยได้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายรอตัดบัญชีไว้ในงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 32.12 เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2553 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด ได้ทำสัญญาจ้างผลิตน้ำประปา และบำรุงรักษาระบบผลิตน้ำประปาและท่อส่งน้ำประปาของโรงงานผลิตน้ำประปาหลักเมือง จังหวัด ราชบุรี และโรงงานผลิตน้ำประปาแพงพวย จังหวัดสมุทรสงคราม กับบริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด ซึ่ง เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เป็นระยะเวลา 3 ปี นับตั้งแต่วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2553 ครบกำหนด สัญญาวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2556 32.13 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2549 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด ได้ทำสัญญาผลิตน้ำประปาเพื่อ ขายให้แก่การประปาที่สำนักงานประปาระยอง จังหวัดระยอง กับการประปาส่วนภูมิภาค เป็นระยะ เวลา 25 ปี นับจากวันที่เริ่มซื้อขายน้ำประปา (วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2549) โดยสัญญากำหนดให้ บริษัทย่อยดำเนินการก่อสร้างระบบผลิตน้ำประปา ระบบส่งน้ำประปา และระบบจ่ายน้ำประปา และ ขยายกำลังการผลิตของระบบผลิตน้ำประปาเดิมที่สำนักงานประปาระยองมีอยู่ รวมทั้งบำรุงรักษา

122


ระบบน้ำประปา รวมทั้งทำการใด ๆ ที่เกี่ยวกับน้ำประปาแทนการประปาส่วนภูมิภาค โดยที่ทรัพย์สิน ต่ าง ๆ ที่บ ริ ษั ท ย่อ ยได้ ล งทุนให้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของการประปาส่วนภูมิภาคทันทีเมื่อดำเนิน การ ก่อสร้าง แล้วเสร็จ โดยบริษัทย่อยมีเพียงสิทธิครอบครองใช้ประโยชน์เพื่อทำการผลิตและขายน้ำ ประปาให้แก่การประปาส่วนภูมิภาคตลอดระยะเวลาตามสัญญา ซึ่งจะได้รับค่าน้ำประปาในอัตรา ตามที่กำหนดในสัญญา 32.14 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด ได้ทำสัญญาซื้อขายน้ำ ประปาเพื่อสำนักงานประปาชลบุรี จังหวัดชลบุรี กับ บริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง สัญญาดังกล่าวมีระยะ เวลาตั้งแต่วันที่ทั้งสองฝ่ายลงนามในสัญญา และจะสิ้นผลใช้บังคับเมื่อสัญญาซื้อขายน้ำประปาเพื่อ สำนักงานประปาชลบุรี จังหวัดชลบุรี กับการประปาส่วนภูมิภาค สิ้นสุดลงไม่ว่าด้วยสาเหตุใดก็ตาม ทั้งนี้สัญญากำหนดให้บริษัทเอกชนดังกล่าวดำเนินการก่อสร้างระบบผลิตน้ำประปาโดยไม่ต้องมอบ กรรมสิทธิ์ให้บริษัทย่อย และราคาซื้อขายเป็นไปตามราคาที่กำหนดในสัญญา 32.15 มื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2552 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด ได้ทำสัญญาซื้อขายน้ำประปา เพื่อสำนักงานประปาชลบุรี จังหวัดชลบุรี กับการประปาส่วนภูมิภาค สัญญาดังกล่าวมีระยะเวลา 20 ปี นับจากวันเริ่มซื้อขายน้ำประปา ทั้งนี้สัญญากำหนดให้บริษัทย่อยดำเนินการก่อสร้างระบบผลิตน้ำ ประปา โดยไม่ต้องส่งมอบกรรมสิทธิ์ให้การประปาส่วนภูมิภาค และราคาซื้อขายเป็นไปตามที่กำหนด ในสัญญา 32.16 เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2553 บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด ได้ทำสัญญาดำเนินการกิจการ ระบบประปา อบต.หนองขาม กับองค์การบริหารส่วนตำบลหนองขาม มีกำหนดระยะเวลา 25 ปี นับ แต่ วั น เริ่ ม ดำเนิ น การผลิ ต และจำหน่ า ยน้ ำ เมื่ อ สั ญ ญาสิ้ น สุ ด ลง บริ ษั ท ย่ อ ยจะต้ อ งส่ ง มอบระบบ ประปา อบต. หนองขาม และระบบที่บริษัทลงทุนเพิ่มเติม ตลอดจนทรัพย์สินที่บริษัทนำเข้ามาต่อ เชื่อมไว้ในระบบประปา อบต.หนองขามทั้งหมด โดยไม่คิดมูลค่าใดๆ ให้แก่ อบต. หนองขาม

33. เครื่องมือทางการเงิน

33.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน เครื่องมือทางการเงินที่สำคัญของกลุ่มบริษัท ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้ การค้า เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาว และเงินประกันผลงาน กลุ่มบริษัทย่อมมีความ เสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น ดั ง กล่ า ว ได้ แ ก่ ความเสี่ ย งด้ า นการให้ สิ น เชื่ อ การ เปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย แผนการจัดการความเสี่ยงโดยรวมของกลุ่มบริษัทจึงมุ่งเน้นแสดงหา วิธีการลดผลกระทบที่ทำให้เสียหายต่อผลการดำเนินงานทางการเงินของกลุ่มบริษัทให้เหลือน้อยที่สุด เท่าที่เป็นไปได้ โดยมีนโยบายในการบริหารความเสี่ยงดังนี้ 33.1.1 ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับ ลูกหนี้การค้า และลูกหนี้อื่น ฝ่าย บริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการกำหนดให้มีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่ เหมาะสม ดังนั้นกลุ่มบริษัทจึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็นสาระสำคัญจากการให้ สิ น เชื่ อ ถึ ง แม้ ว่ า กลุ่ ม บริ ษั ท มี ก ารกระจุ ก ตั ว ที่ ก ลุ่ ม ลู ก หนี้ ร ายใหญ่ จ ำนวนน้ อ ยราย แต่ เนื่องจากลูกหนี้กลุ่มดังกล่าวเป็นภาครัฐ ฝ่ายบริหารเห็นว่าความเสี่ยงด้านดังกล่าวอยู่ใน

123


ระดับต่ำ จำนวนเงินสูงสุดที่กลุ่มบริษัทอาจต้องสูญเสียจากการให้สินเชื่อ คือ มูลค่าตาม บัญชีของ ลูกหนี้การค้า และลูกหนี้อื่นที่แสดงอยู่ในงบดุล

33.1.2 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากสถาบันการเงิน และเงินกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาว อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน ส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาดหรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกล้เคียง กับอัตราตลาดในปัจจุบัน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของกลุ่มบริษัทจึงอยู่ในระดับต่ำ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่สำคัญสามารถจัดตาม ประเภทอัตราดอกเบี้ย และสำหรับสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ สามารถแยกตามวันที่ครบกำหนด หรือ วันที่มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มี การกำหนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ถึงก่อน) ได้ดังนี้

อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง มากกว่า 1 มากกว่า ตามราคา ตลาด ถึง 5 ปี 5 ปี

อัตราดอกเบี้ยคงที่

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า - ส่วนที่เรียกเก็บแล้ว รายได้ค่าบริการรอรับชำระจาก กิจการที่เกี่ยวข้องกัน-ส่วนที่เรียก เก็บแล้ว ลูกหนี้อื่น (แสดงรวมอยู่ในสินทรัพย์ หมุนเวียนอื่น) เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน หนี้สินทางการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้จากการซื้อสินทรัพย์ถาวร เงินประกันผลงาน

124

ภายใน 1 ปี

งบการเงินรวม

(พันบาท)

ไม่มี อัตรา ดอกเบี้ย

รวม

อัตราดอกเบี้ย

(ร้อยละต่อปี)

- - - - - -

- - - - 2,076 2,076

- - - - - -

442,359 - - - - 442,359

525 244,282 5,003 44,587 - 294,397

442,884 0.50 - 1.90 244,282 - 5,003 - 44,587 - 2,076 1.10 - 1.70 738,832

- 552,587 250,000 - - 802,587

- - 1,204,000 - - 1,204,000

- - - - - -

- - 551,813 - - 551,813

100,910 - - 150,791 106,804 358,505

100,910 - 552,587 1.51 - 2.14 2,005,813 3.45 - 4.38 150,791 - 106,804 - 2,916,905


อัตราดอกเบี้ยคงที่

สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า - ส่วนที่เรียกเก็บแล้ว เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน หนี้สินทางการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้จากการซื้อสินทรัพย์ถาวร เงินประกันผลงาน

ภายใน

มากกว่า 1

1 ปี

ถึง 5 ปี

- - - - - 2,076 - 2,076 - - 552,587 - 250,000 1,204,000 - - - - 802,587 1,204,000

งบการเงินเฉพาะบริษัท อัตราดอก เบี้ย ไม่มี มากกว่า ปรับขึ้นลง อัตรา ตามราคา อัตราดอก 5 ปี ตลาด ดอกเบี้ย รวม เบี้ย (พันบาท) (ร้อยละต่อปี) - 328,290 80 328,370 0.50 - 1.90 - - 226,877 226,877 - - - - 2,076 1.10 - 1.70 - 328,290 226,957 557,323 - - 57,570 57,570 - - - - 552,587 - - - - 1,454,000 3.45 - 4.38 - - 129,795 129,795 - - - 85,257 85,257 - - - 272,622 2,279,209

33.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของกลุ่มบริษัทจัดอยู่ในประเภทระยะสั้น กลุ่ม บริษัทจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่ แสดงในงบดุล ยกเว้นเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน ซึ่งมีมูลค่าตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 คิดเป็นจำนวนเงิน 1,801.8 ล้านบาท และ 1,790.7 ล้านบาท ตาม ลำดับ (เฉพาะของบริษัท : 1,250 ล้านบาท และ 1,272.1 ล้านบาท ตามลำดับ) มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำนวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันในขณะที่ทั้งสอง ฝ่ายมีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระใน ลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการกำหนดมูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องมือทางการ เงิ น มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมจะกำหนดจากราคาตลาดล่ า สุ ด หรื อ กำหนดขึ้ น โดยใช้ เ กณฑ์ ก ารวั ด มู ล ค่ า

ที่เหมาะสม

34 การจัดประเภทรายการในงบการเงิน

ตัวเลขของงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ที่นำมาแสดงเปรียบเทียบได้มีการ จัดประเภทรายการใหม่เพื่อให้เกิดความเหมาะสมและสอดคล้องกับการนำเสนอรายการงบการเงินใน ปี ปั จ จุ บั น ซึ่ ง ไม่ มี ผ ลกระทบต่ อ กำไรสุ ท ธิ ห รื อ ส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น ตามที่ เ คยรายงานไว้ แ ล้ ว การจั ด ประเภทรายการใหม่มีดังต่อไปนี้ (หน่วย : บาท)

125


เจ้าหนี้การค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น ต้นทุนขายน้ำดิบ ต้นทุนขายน้ำประปา ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท ตามที่จัด ตามที่เคย ตามที่จัด ตามที่เคย ประเภทใหม่ รายงานไว้ ประเภทใหม่ รายงานไว้ - - 64,049,855 25,912,192 - - 1,534,968 39,672,631 687,920,819 727,087,668 - - 331,248,718 319,903,426 - - 239,889,074 212,067,517 - -

35 เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน

เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้มีมติเห็นชอบให้เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่งจะจัดขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2554 เพื่อพิจารณาการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นจากกำไรสุทธิของปี 2553 ในอัตราหุ้นละ 0.38 บาท รวมเป็นเงิน 632.22 ล้านบาท ทั้งนี้ บริษัทโดยมติคณะกรรมการบริษัทในการ ประชุมครั้งที่ 8/2553 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ได้มีมติอนุมัติการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ประจำ งวดครึ่งปีสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ไปแล้วในอัตราหุ้นละ 0.13 บาท เป็นเงิน 216.28 ล้านบาท ซึ่ง จ่ายเมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2553 และเงินปันผลงวดสุดท้ายในอัตราหุ้นละ 0.25 บาท รวมเป็นเงิน 415.93 ล้านบาท บริษัทจะจ่ายและบันทึกบัญชีภายหลังจากได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2553 ของบริษัท

126


รายการระหว่างกัน บริษัทและบริษัทย่อย มีรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีผลประโยชน์ขัดแย้งในปี 2553 ได้แก่ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ประกอบด้วย การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) บมจ. ผลิตไฟฟ้า (EGCO) และ บริ ษั ท ย่ อ ยคื อ บริ ษั ท เอ็ ก คอมธารา จำกั ด ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ย่ อ ยถื อ หุ้ น ร้ อ ยละ 74.19 โดย บริ ษั ท เอ็ ก โก เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บมจ. ผลิตไฟฟ้า โดยบริษัทฯ ได้เปิดเผยรายการระหว่างกันครบถ้วนแล้วใน หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 29 เรื่องรายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

นโยบายหรือแนวโน้มการทำรายการระหว่างกันในอนาคต

รายการระหว่างกันของบริษัทฯ ที่เกิดขึ้นในอนาคต บริษัทฯ จะดำเนินการให้เป็นไปในราคายุติธรรม และตามสภาพ ตลาดในลักษณะธุรกิจทั่วไป โดยบริษัทจะปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง หรือข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมตลอดถึงการปฏิบัติตามข้อกำหนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูล การทำรายการที่เกี่ยวโยง และการได้มาหรือจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่สำคัญของบริษัท ทั้งนี้ หากมีรายการระหว่างกันของบริษัท เกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือมีส่วนได้ส่วนเสีย ในอนาคต บริษัทจะเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัท

127


ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2552 เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2553 มีมติแต่งตั้ง นายวิเชียร กิ่งมนตรี ผู้สอบบัญชี รับอนุญาตเลขที่ 3977 หรือ นายประสิทธ์ิ เยื่องศรีสกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4174 หรือ นายสุดวิณ ปัญญาวงศ์ขันติ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3534 ในนามบริษัท ไพร้ซ วอเตอร์เฮ้าส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท โดยให้คนใดคนหนึ่งเป็นผู้ทำการตรวจสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัท สำหรับปีงบประมาณ 2553 เริ่มต้น 1 มกราคม 2553 - สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2553 โดยมีค่าตอบแทนการสอบบัญชีเฉพาะของบริษัท จำนวน 950,000 บาท (เก้าแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) และรวมทั้งกลุ่มบริษัท จำนวน 2,350,000 บาท (สองล้านสามแสนห้าหมื่นบาทถ้วน)

128


ข้อมูลทั่วไป ชื่อบริษัท บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) ประเภทธุรกิจ พั ฒ นาการบริ ห ารและจั ด การแหล่ ง น้ ำ ทางระบบท่ อ ส่ ง น้ ำ ดิ บ เพื่ อ จำหน่ า ยน้ ำ ดิ บ แก่ ผู้ ใ ช้ น้ ำ นอกจากนั้น บริษัทยังบริการให้คำแนะนำเกี่ยวกับระบบผลิตน้ำสะอาด ตลอดจนระบบท่อส่งน้ำ ภายในนิคมอุตสาหกรรม หรือโรงงานอุตสาหกรรม รับตรวจซ่อม ซื้อ-ขาย อุปกรณ์และวัสดุที่

เกี่ยวกับการส่งน้ำทุกชนิด รวมทั้งรับเป็นที่ปรึกษาในการซ่อมบำรุงท่อส่งน้ำ เครื่องมือเครื่องจักร ต่างๆ และสามารถร่วมทุนกับเอกชนได้ ที่ตั้งสำนักงานใหญ่ เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 เลขทะเบียนบริษัท 0107539000316 (เดิมเลขที่ บมจ.632) เว็บไซต์ www.eastwater.com โทรศัพท์ (662) 272-1600 โทรสาร (662) 272-1601 ถึง 3 หุ้นสามัญของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทมีทุนจดทะเบียนและทุนชำระแล้ว ดังนี้ ทุนจดทะเบียน 1,663,725,149 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1.-บาท รวมมูลค่า 1,663,725,149.- บาท ทุนชำระแล้ว 1,663,725,149 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1.-บาท รวมมูลค่า 1,663,725,149.- บาท รายชื่อกิจการที่บริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ชื่อบริษัท

ประเภทธุรกิจ

ชนิด ของหุ้น

บริษัท ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตี้ส์ จำกัด (ยูยู) บริหารกิจการประปา สามัญ เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 และบริหารระบบบำบัด ซอยวิภาวดีรังสิต 5 แขวงจอมพล น้ำเสียในรูปสัญญาสัมปทาน เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 สัญญาจ้างบริหารและ โทรศัพท์: (662) 272-1688 สัญญาเช่าบริหาร โทรสาร: (662) 272-1690 ถึง 2 บริษัท วอเตอร์ เทรดส์ แอนด์ เซอร์วิสเซส จำกัด ประกอบกิจการดูแลตู้น้ำดื่ม สามัญ เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 แขวงจอมพล หยอดเหรียญ เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (662) 272-1600 โทรสาร: (662) 272-1602 หมายเหตุ ผู้ถือหุ้นของบริษัทในการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 20 พ.ย. 2552 มีมติเห็นชอบให้เลิก กิจการบริษัทและชำระบัญชีเสร็จ ณ วันที่ 25 ก.พ. 2553 ขณะนี้อยู่ระหว่างการชี้แจงการเลิกกิจการกับกรมสรรพากร บริษัท ประปานครสวรรค์ จำกัด บริหารกิจการประปา รวมถึง สามัญ ผลิตและจำหน่ายน้ำประปา เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ให้แก่สำนักงานประปา ซอยวิภาวดีรังสิต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจักร นครสวรรค์และงานบริการ กรุงเทพมหานคร 10900 ผู้ใช้น้ำ โทรศัพท์: (056) 256-690 และ (662) 272-1688 โทรสาร: (056) 256-526 และ (662) 272-1690 ถึง 2

ทุนจดทะเบียน ชำระแล้ว (ล้านบาท)

สัดส่วน การถือหุ้น (ร้อยละ)

510

100

5

100

40

บจ. ยูยู ถือหุ้นอยู่ 99.9999875

129


ทุนจดทะเบียน ชำระแล้ว (ล้านบาท)

สัดส่วน การถือหุ้น (ร้อยละ)

สามัญ

40

บจ. ยูยู ถือหุ้นอยู่ 99.9999875

สามัญ

100

บจ. ยูยู ถือหุ้นอยู่ 98.99997

ผลิตและจำหน่ายน้ำประปา สามัญ

345

15.88

ประเภทธุรกิจ

บริษัท ประปาบางปะกง จำกัด เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (038) 539-365-7 และ (662) 272-1688 โทรสาร: (038) 539-368 และ (662) 272-1690 ถึง 2 บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จำกัด เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (038) 814-427 ถึง 9 และ (662) 272-1688 โทรสาร: (038) 814-427 และ (662) 272-1690 ถึง 2

บริหารกิจการประปา รวมถึง ผลิตและจำหน่ายน้ำประปา ให้แก่สำนักงานประปา บางปะกงและงานบริการ ผู้ใช้น้ำ บริหารกิจการประปา รวมถึง ผลิตและจำหน่ายน้ำประปา ให้แก่สำนักงานประปา ฉะเชิงเทราและงานบริการ ผู้ใช้น้ำ

บริษัท เอ็กคอมธารา จำกัด เลขที่ 222 หมู่ที่ 5 อาคารเอ็กโก ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์: (662) 998-5710 โทรสาร: (662) 955-0937

บุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์ (หุ้นสามัญ) โทรศัพท์: โทรสาร: ผู้สอบบัญชี โทรศัพท์: โทรสาร:

130

ชนิด ของหุ้น

ชื่อบริษัท

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 (662) 229-2800 (662) 359-1259 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอส จำกัด 179/79-80 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร์ ชั้น 15 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 (662) 286-9999 (662) 286-5050


รายชื่อผู้ถือหุ้น10 อันดับแรก ณ 30 ธันวาคม 2553 ลำดับที่

ผู้ถือหุ้น

จำนวนหุ้น

สัดส่วน การถือหุ้น

1

การประปาส่วนภูมิภาค

668,800,000

40.20%

2

บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน)

311,443,190

18.72%

3

NORBAX INC.,13

169,324,700

10.18%

4

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

76,000,000

4.57%

5

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด

40,716,050

2.45%

6

BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES, LONDON BRANCH

38,912,100

2.34%

7

อเบอร์ดีนหุ้นระยะยาว

22,584,300

1.36%

8

อเบอร์ดีนโกรท

18,356,700

1.10%

9

AMERICAN INTERNATIONAL ASSURANCE COMPANY, LIMITED-TIGER

16,778,000

1.01%

10

HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD

16,670,800

1.00%

11

ผู้ถือหุ้นอื่นๆ (2,489 ราย)

284,139,309

17.08%

1,663,725,149

100.00%

จำนวนหุ้นทั้งหมด

131


นโยบายการจ่ายเงินปันผล คณะกรรมการบริ ษั ท มี น โยบายที่ จ ะเสนอให้ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น พิ จ ารณาจ่ า ยเงิ น ปั น ผลให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ไม่ น้ อ ยกว่ า ร้อยละ 30 ของกำไรสุทธิของงบการเงินรวมภายหลังหักเงินสำรองตามกฎหมายในแต่ละปี รวมถึงความจำเป็นและความ เหมาะสมอื่นๆ ตามที่บริษัทเห็นสมควร

132


ทุกหยดน้ำ สรางชีวิต

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิต 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมทอง เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Tel : 02-272-1600 Fax : 02-272-1601-3 www.eastwater.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.