EASTW: Form 56-1 Year 2011

Page 1


สารบัญ หน้ า ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลสรุ ป (Executive Summary) ....................................................................... 1 ส่ วนที่ 2 บริษัททีอ่ อกหลักทรัพย์ ......................................................................................... 1 ปัจจัยความเสี่ ยง ...................................................................................................... 3 ลักษณะการประกอบธุ รกิจ ................................................................................. .... 6 ลักษณะการประกอบธุ รกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ ......................................... 27 การวิจยั และพัฒนา .................................................................................................. 79 ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุ รกิจ ....................................................................... 80 โครงการในอนาคต ................................................................................................ 87 ข้อพิพาททางกฎหมาย ............................................................................................ 88 โครงสร้างเงินทุน ................................................................................................... 89 การจัดการ............................................................................................................... 91 การควบคุมภายใน .................................................................................................. 115 รายการระหว่างกัน ................................................................................................. 118 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน ........................................................................ 123 ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง................................................................................................ 140 ส่ วนที่ 3 การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล ........................................................................ 1 เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริ หาร และผู้มีอานาจควบคุมบริษัท เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัท บริษัทย่ อยและบริษัททีเ่ กีย่ วข้ อง เอกสารแนบ 3 แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 1 ข้อมูลสรุ ป

ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลสรุ ป (Executive Summary) บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) ได้จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นในรู ป ของบริ ษทั จากัดภายใต้ชื่อ บริ ษทั จัดการและพัฒนาการทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2535 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่ มแรก 10 ล้านบาท โดยมี การประปาส่ วนภูมิภาค (กปภ.) เป็ น ผูถ้ ือหุ ้น ร้อยละ 100 การจัดตั้งบริ ษทั ในครั้งนั้นเป็ นไปตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2535 ที่เห็นชอบให้ กปภ. จัดตั้งบริ ษทั ขึ้นเพื่อเป็ นผูร้ ับผิดชอบการพัฒนาและดาเนิ นการดูแลระบบท่อส่ งน้ าดิบสายหลักในพื้นที่ชายฝั่ง ทะเลภาคตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่จงั หวัดชลบุรี ระยอง ฉะเชิ งเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว จันทบุรี และตราด ต่อมาในปี 2539 บริ ษทั ได้แปรสภาพเป็ นบริ ษทั มหาชน และในปี 2540 จึงได้เสนอขายหุ ้นให้กบั ประชาชน ทัว่ ไปและจดทะเบี ยนในตลาดหลัก ทรั พย์แห่ งประเทศไทย โดยมี กปภ. เป็ นผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ ในสัดส่ วน ร้อยละ 44 ของทุนจดทะเบียนที่เรี ยกชาระแล้วก่อนการเสนอขายหุ น้ สามัญ การเติบโตของบริ ษทั ที่มีอย่างต่อเนื่ องในช่ วงเวลากว่า 15 ปี ที่ผา่ นมา นับเป็ นความสาเร็ จของบริ ษทั และอาจ กล่าวได้วา่ บริ ษทั ถือเป็ นต้นแบบของการแปรรู ปรัฐวิสาหกิจให้กบั รัฐวิสาหกิจด้านน้ า ปั จจุบนั นอกจากธุ รกิจ หลัก ของบริ ษ ทั ซึ่ ง คื อการพัฒนาและบริ หารระบบท่ อส่ ง น้ าสายหลัก ในพื้ นที่ ช ายฝั่ ง ตะวันออก โดยผ่า น โครงข่ายระบบท่อส่ งน้ าดิบรวม 4 โครงข่าย ในพื้นที่จงั หวัดฉะเชิ งเทรา ชลบุรี และระยอง มีความยาวท่อของ ระบบรวมทั้งสิ้ น 324 กิโลเมตรแล้ว บริ ษทั ยังได้ขยายธุ รกิจไปยังธุ รกิจที่เกี่ยวเนื่ องด้านน้ าอย่างครบวงจร ซึ่ ง รวมถึงธุ รกิจน้ าประปา และระบบการบาบัดน้ าเสี ย โดยบริ ษทั ได้จดั ตั้งบริ ษทั ในเครื อเพื่อดาเนิ นกิจการธุ รกิจที่ เกี่ยวเนื่อง ดังนี้ บริษัท

ทุนจดทะเบียน ชำระแล้ ว ณ 31 ธ.ค.52

บจ. ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต้ ีส์

510 ล้านบาท

สัดส่ วน กำรถือหุ้น

กำรประกอบธุรกิจ

100%

ดาเนินธุรกิจด้านน้ าประปา บาบัดน้ าเสี ย รวมถึงการสารวจ ออกแบบ ก่อสร้าง และควบคุมงานก่อสร้าง รวมทั้งให้ คาปรึ กษาเกี่ยวกับระบบผลิตน้ าประปาและระบบบาบัดน้ า เสี ยด้วย

ผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ในงวดตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั และ บริ ษทั ย่อยมี รายได้รวมทั้งสิ้ น 3,310.04 ล้านบาท โดยประกอบด้วยรายได้จากการจาหน่ ายน้ าดิ บประมาณ ร้อยละ 68.31 ธุ รกิ จประปาร้อยละ 23.14 รายได้ค่าเช่ าและบริ การ ร้อยละ 6.75 และดอกเบี้ยรับและเงิ นปั น ผลรวมถึง รายได้อื่นอีก ร้อยละ 1.80 ซึ่ งรายได้รวมงวดตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2554 เพิ่มขึ้น ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายงานข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 1 ข้อมูลสรุ ป

202.53 ล้านบาท จากงวดเดียวกันของปี ก่อน หรื อคิดเป็ นอัตราการเพิ่มร้อยละ 6.52 (ปี 2553 หักรายการพิเศษ รายได้จากการขายสิ นทรัพย์โครงการอ่างเก็บน้ าประแสร์ จานวน 1,567.29 ล้านบาท) โดยมีสาเหตุหลักจากการ ขยายตัวของรายได้จากธุ รกิจน้ าดิ บที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.78 จากปริ มาณน้ าดิ บจาหน่ ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.81 ตาม การเจริ ญเติบโตของอุตสาหกรรมปิ โตรเคมีของลูกค้าในพื้นที่ระยอง และรายได้จากธุ รกิจประปาที่ปรับเพิ่มขึ้น ร้อยละ 6.93 จากการเพิ่มขึ้นของผูใ้ ช้น้ ารายเดิ มและการมีผใู ้ ช้น้ ารายใหม่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะประปาชลบุรีซ่ ึ ง เริ่ มจาหน่ายตั้งแต่เดือนเมษายน ปี 2553 บริ ษทั และบริ ษทั ย่อย มีกาไรจากผลการดาเนินงานก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษี (EBIT) รวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.43 เมื่อเปรี ยบเทียบจากรอบระยะเวลาเดี ยวกันของปี ก่อน เป็ นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของรายได้จากธุ รกิ จน้ าดิ บ และธุ รกิจน้ าประปา รวมถึงการควบคุมและบริ หารต้นทุนที่มีประสิ ทธิ ภาพ โดยเฉพาะต้นทุนค่าไฟฟ้ า และค่า น้ าดิบ ในปี 2554 คณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารบริ ษทั ได้ร่วมกันทบทวนทบทวนกรอบกลยุทธ์ระยะ 10 ปี ของ กลุ่มบริ ษทั ให้รองรับการขยายธุ รกิจในอนาคต นอกเหนื อจากการทบทวนแผนวิสาหกิจของบริ ษทั แล้ว บริ ษทั ยังมุ่งมัน่ พัฒนาระบบการจัดให้มีคุณภาพมาตรฐานสากล และโปร่ งใสภายใต้การกากับดูแลกิจการที่ดีตลอดจน การควบคุมการดาเนินงาน ภายใต้การบริ หารความเสี่ ยงและหลักธรรมาภิบาลอย่างโปร่ งใส ซื่ อสัตย์ นอกจากนี้ บริ ษทั ทริ สเรทติ้ง จากัด ได้ยืนยันอันดับเครดิตองค์กรและตราสารหนี้ ที่ระดับ “A+” แนวโน้มอันดับเครดิต “คงที่” ซึ่งสะท้อนถึงสถานะที่แข็งแกร่ งของกลุ่มบริ ษทั นอกจากนี้บริ ษทั ยังคงมุ่งมัน่ ทุ่มเทในการให้บริ การและใส่ ใจในสิ่ งแวดล้อมอย่างจริ งจัง ในการปรับปรุ งและ ขยายเครื อข่ายท่อส่ งน้ าเพื่อให้สามารถจ่ายน้ าดิ บในพื้นที่บริ การอย่างทัว่ ถึ งและพอเพียงเพื่อการเติ บโตทาง ธุ รกิ จ และการพัฒนาธุ รกิ จด้านน้ าอย่างต่อเนื่ องและเหมาะสม รวมถึ งการสร้ างความรั บผิดชอบต่อสังคม ชุมชนท้องถิ่นและสิ่ งแวดล้อม ซึ่ งจะมีส่วนสาคัญในการผลักดันให้องค์กรมีความก้าวหน้าอย่างมัน่ คงในระยะ ยาวต่อไป

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายงานข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 1 หน้า 2


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 บริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์

ส่ วนที่ 2 บริษัททีอ่ อกหลักทรัพย์ ชื่อบริ ษทั บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ” หรื อ “EASTW”) ลักษณะประเภทธุ รกิจ พัฒนาการบริ หารและจัดการแหล่ ง น้ าทางระบบท่อส่ งน้ าดิ บ เพื่อจาหน่ ายน้ าดิ บแก่ ผูใ้ ช้ น้ า นอกจากนั้น บริ ษ ัท ยัง บริ ก ารให้ ค าแนะน าเกี่ ย วกับ ระบบผลิ ต น้ า สะอาด ตลอดจนระบบท่อส่ งน้ าภายในนิ คมอุตสาหกรรม หรื อโรงงานอุตสาหกรรม รับตรวจ ซ่ อม ซื้ อ-ขาย อุปกรณ์ และวัสดุ ที่เกี่ ยวกับการส่ งน้ าทุกชนิ ด รวมทั้งรับเป็ น ที่ปรึ กษา ในการซ่อมบารุ งท่อส่ งน้ า เครื่ องมือเครื่ องจักรต่างๆ และสามารถร่ วมทุนกับเอกชนได้ ที่ต้ งั สานักงานใหญ่ เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 เลขทะเบียนบริ ษทั 0107539000316 (เดิมเลขที่ บมจ.632) จดทะเบียนวันที่ 18 พฤศจิกายน 2539 เว็บไซต์ www.eastwater.com โทรศัพท์ (662) 272-1600 โทรสาร (662) 272-1601 ถึง 3 หุน้ สามัญของบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั มีทุนจดทะเบียนและหุ น้ ชาระแล้ว ดังนี้ ทุนจดทะเบียน 1,663,725,149 หุน้ มูลค่าหุ น้ ละ 1.- บาท รวมมูลค่า 1,663,725,149.- บาท ทุนชาระแล้ว 1,663,725,149 หุน้ มูลค่าหุ น้ ละ 1.- บาท รวมมูลค่า 1,663,725,149.- บาท รายชื่ อกิจการทีบ่ ริษัทถือหุ้นตั้งแต่ ร้อยละ 10 ขึน้ ไป ชื่อบริษัท บริษัท ยูนิเวอร์ แซล ยูทลี ติ สี้ ์ จากัด (ยูยู) เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (662) 272-1688 โทรสาร: (662) 272-1690 ถึง 2 บริษัท ประปานครสวรรค์ จากัด เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (056) 256-690 และ (662) 272-1688 โทรสาร: (056) 256-526 และ (662) 272-1690 ถึง 2

ชนิด ของหุ้น

ทุนจดทะเบียน ชาระแล้ว (ล้านบาท)

สัดส่ วน การถือหุ้น (ร้ อยละ)

บริ หารกิจการประปา และบริ หารระบบบาบัด น้ าเสี ยในรู ปสัญญาสัมปทาน สัญญาจ้างบริ หารและ สัญญาเช่าบริ หาร

สามัญ

510

100

บริ หารกิจการประปา รวมถึง ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา ให้แก่สานักงานประปา นครสวรรค์และงานบริ การ ผูใ้ ช้น้ า

สามัญ

40

บจ. ยูยู ถือหุน้ อยู่ 99.9999875

ประเภทธุรกิจ

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 1


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ชื่อบริษัท

บุคคลอ้ างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์ (หุน้ สามัญ)

โทรศัพท์: โทรสาร: ผู้สอบบัญชี

โทรศัพท์: โทรสาร:

ชนิด ของหุ้น

ทุนจดทะเบียน ชาระแล้ว (ล้านบาท)

สัดส่ วน การถือหุ้น (ร้ อยละ)

บริ หารกิจการประปา รวมถึง ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา ให้แก่สานักงานประปา บางปะกงและงานบริ การ ผูใ้ ช้น้ า

สามัญ

40

บจ. ยูยู ถือหุน้ อยู่ 99.9999875

บริ หารกิจการประปา รวมถึง ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา ให้แก่สานักงานประปา ฉะเชิงเทราและงานบริ การ ผูใ้ ช้น้ า

สามัญ

100

บจ. ยูยู ถือหุน้ อยู่ 98.99997

ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา

สามัญ

345

15.88

ประเภทธุรกิจ

บริษัท ประปาบางปะกง จากัด เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (038) 539-365 ถึง 7 และ (662) 272-1688 โทรสาร: (038) 539-368 และ (662) 272-1690 ถึง 2 บริษัท ประปาฉะเชิงเทรา จากัด เลขที่ 1 อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 23-25 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์: (038) 814-427 ถึง 9 และ (662) 272-1688 โทรสาร: (038) 814-427 และ (662) 272-1690 ถึง 2 บริษัท เอ็กคอมธารา จากัด เลขที่ 222 หมู่ที่ 5 อาคารเอ็กโก ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุ งเทพมหานคร 10210 โทรศัพท์: (662) 998-5710 โทรสาร: (662) 955-0937

ส่วนที่ 2 บริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์

บริ ษทั ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุ งเทพมหานคร 10110 (662) 229-2800 (662) 654-5427 บริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จากัด 179/74-80 อาคารบางกอกซิต้ ีทาวเวอร์ ชั้น 15 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุ งเทพมหานคร 10120 (662) 286-9999 (662) 286-5050

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 2


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 ปั จจัยความเสี่ ยง

1. ปัจจัยเสี่ ยง บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ตระหนักถึงปั จจัยความเสี่ ยงต่างๆ อัน อาจเกิดขึ้นและส่ งผลกระทบต่อการประกอบธุ รกิจ บริ ษทั จึงได้มีการพิจารณาเตรี ยมการและกาหนดแนวทาง ในการบริ หารความเสี่ ยงในแต่ละด้าน โดยในช่วงที่ผา่ นมา บริ ษทั ได้วิเคราะห์ถึงปั จจัยแห่ งความเสี่ ยงที่สาคัญ ที่อาจมีผลกระทบต่อการประกอบธุ รกิ จทางด้านการบริ หารจัดการทรัพยากรน้ า และได้ดาเนิ นการทบทวน ปรับปรุ งโครงสร้างองค์กรและกระบวนการบริ หารความเสี่ ยงในด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อเสริ มสร้างระบบ การบริ หารความเสี่ ยงให้ได้มาตรฐานเทียบเคียงระดับสากล และมีความพร้อมในการรองรับการบริ หารความ เสี่ ยงตามแนวทางของ COSO คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง มีบทบาทสาคัญในการกาหนดนโยบาย ทบทวนความเพียงพอของนโยบาย และกากับดูแลความเสี่ ยงที่มีนยั สาคัญสาหรับกลุ่มบริ ษทั (Corporate Risks) โดยมีเป้ าหมายในการบริ หาร ความเสี่ ย งคื อ การบริ ห ารความเสี่ ย งต่ า งๆ ให้อ ยู่ภ ายในขอบเขตที่ ก าหนด และดาเนิ นธุ ร กิ จ ให้ ไ ด้อตั รา ผลตอบแทนที่เหมาะสม รวมถึงการติดตามผลการดาเนินงาน ตามแผนบริ หารความเสี่ ยง พิจารณารายงานผล การบริ หารความเสี่ ยงเป็ นประจาทุกไตรมาส เพื่อควบคุมความเสี่ ยงอย่างต่อเนื่ อง ในปี 2554 มีความเสี่ ยงที่ มีนยั สาคัญได้แก่ ความเสี่ ยงจากการบริ หารอุปสงค์-อุปทาน ความเสี่ ยงจากการปรับตัวของราคาต้นทุนน้ าดิ บ ความเสี่ ยงจากการปฏิบตั ิการ ความเสี่ ยงจากและการดาเนินงานบริ หารความเสี่ ยงของบริ ษทั สรุ ปดังนี้ 1. ความเสี่ ยงจากการบริหารอุปสงค์ -อุปทาน บริ ษทั ได้รับผลกระทบจากความเสี่ ยงจากการบริ หารอุปสงค์-อุปทาน อันเนื่องจาก 2 ปัจจัยเสี่ ยงหลักคือ 1.1 ความอ่อนไหวของความต้องการปริ มาณน้ าดิบจากลูกค้า (Demand forecast) ซึ่ งคาดการณ์ได้ยาก อัน เกิดจากความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะปัญหาหนี้สินยุโรปและภาวะวิกฤตอุทกภัย ภายในประเทศ ส่ ง ผลกระทบต่ อการลดกาลังการผลิ ตและปริ ม าณการใช้น้ า ของลู ก ค้า ซึ่ งบริ ษ ทั เตรี ยมมาตรการรองรับโดยเน้นกิจกรรม CRM อย่างใกล้ชิด และปรับปรุ งกระบวนการบริ การจ่าย น้ า ให้มี ป ระสิ ท ธิ ภาพมากขึ้ น เพื่อตอบสนองความต้องการของลู ก ค้าได้รวดเร็ วและหลากหลาย รู ปแบบ 1.2 ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศและภาวะภัยแล้ ง ความไม่แน่นอนและคาดการณ์ยากของฤดูฝน และภาวะภัยแล้งส่ งผลต่อความต้องการใช้น้ าของลูกค้าอย่างมีนยั สาคัญ โดยเฉพาะลูกค้าที่มีแหล่งน้ า ดิบเป็ นของตนเอง ทั้งนี้ บริ ษทั มีมาตรการด้านการบริ หารสัญญา การกาหนดปริ มาณน้ าขั้นต่าในการ ซื้ อ-ขาย ( Minimum Guarantee) กับลูกค้าให้ชดั เจน และการเข้าพบลูกค้าเป็ นประจาสม่ าเสมอเพื่อ สอบถามแผนการผลิ ต หรื อโครงการในอนาคตที่ จ ะด าเนิ นการ ท าให้ บ ริ ษ ัท มี ส่ ว นร่ ว มในการ วางแผนร่ วมกัน ตลอดจนเข้าร่ วมทบทวนปริ มาณน้ าใช้เป็ นประจาทุกไตรมาส

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 3


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 ปั จจัยความเสี่ ยง

2. ความเสี่ ยงจากการปรับตัวของราคาต้ นทุนนา้ ดิบ ต้นทุนน้ าดิบของบริ ษทั ได้รับผลกระทบจากปั จจัยเสี่ ยง 3 ปัจจัยหลักคือ 2.1 การปรับตัวเพิม่ ขึ้นของอัตราค่าไฟฟ้ าอัตโนมัติ (Ft) ของการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค ซึ่ งเป็ นปั จจัยหลัก ที่ส่งผลให้ตน้ ทุนขายดาเนิ นการที่ปรับเพิ่มขึ้น บริ ษทั ได้เตรี ยมมาตรการรองรับด้วยแผนอนุรักษ์ พลังงานและดาเนิ นการตามแผนอนุ รักษ์อย่างต่อเนื่ อง นอกจากนี้ ยงั จัดทาแผนสู บ จ่ายน้ าเป็ น ประจาทุกเดือนเพื่อเฝ้ าติดตามผลดาเนินงานอย่างใกล้ชิด 2.2 การผันน้ าเพื่อสารองน้ าดิบไว้ในภาวะภัยแล้ง ในการเตรี ยมความพร้อมเพื่อรองรับภาวะภัยแล้งที่ จะเกิดขึ้นระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคมของทุกปี นั้น บริ ษทั จาเป็ นต้องผันน้ าจากแหล่งน้ า ที่ห่างไกลจากแหล่งเดิ มมาเก็บไว้ ซึ่ งกระทบโดยตรงต่อต้นทุนค่าไฟฟ้ าจากการผันน้ า บริ ษทั มี แผนเฝ้ าระวังและป้ องกันภาวะภัยแล้งประจาปี เพื่อลดความเสี่ ยงจากความไม่แน่ นอนของสภาพ อากาศที่แปรปรวน รวมถึงจัดกิจกรรม War Room เพื่อหารื อร่ วมลูกค้าและรายงานสถานการณ์น้ า อย่างใกล้ชิด 2.3 คุณภาพน้ าดิ บและภาวะมลพิษบริ เวณแนวรอบแหล่งน้ า ด้วยสภาพแวดล้อมและมลพิษในพื้นที่ ภาคตะวันออก อาจจะส่ งผลต่ อคุ ณภาพน้ าในแหล่ งน้ า ทั้งบริ เวณรอบแนวอ่างเก็บน้ าหลักที่ มี ชุ ม ชนเข้า มาอาศัย อยู่เ ป็ นจานวนมากขึ้ น ปั ญ หามลพิ ษ ทางดิ น และอากาศที่ ป ล่ อ ยจากแหล่ ง อุตสาหกรรม ดังนั้น ตลอดระยะเวลาที่ดาเนินธุรกิจมาจนถึงปี 2554 บริ ษัทร่ วมกับชุ มชนในการ เฝ้ าระวังและอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมบริ เวณโดยรอบต้ นทางแหล่ งน้าดิบ 3. ความเสี่ ยงจากการปฏิบัติการ ความเสี่ ยงจากการดาเนินงานภายในองค์กร บริ ษทั ได้รับผลกระทบจากปัจจัยเสี่ ยง 2 ปัจจัยหลักคือ 3.1 ความเสี่ ยงกรณี ไฟฟ้ าขัดข้อง บริ ษทั ดาเนินการสู บจ่ายน้ าให้แก่ลูกค้าตลอด 24 ชัว่ โมง การมีแหล่ง น้ าสารองจึงเป็ นสิ่ งจาเป็ นในยามฉุ กเฉิ น เช่น กรณี ไฟฟ้ าดับ กรณี ซ่อมบารุ งหรื อประสานแนวท่อ บริ ษ ทั ได้มีขอ้ ตกลงกับการไฟฟ้ าส่ วนภูมิ ภาคเกี่ ยวกับการหยุดจ่า ยกระแสไฟฟ้ า จึ งต้องมี น้ า สารองไว้ใช้จากสระสารองเพื่อส่ งน้ าดิบให้ลูกค้าได้อย่างต่อเนื่ องในกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ น ปั จจุบนั บริ ษทั มีแหล่งน้ าสารองกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ น มีความจุ 116,300 ลูกบาศก์เมตร ซึ่ งสามารถสารอง น้ า ดิ บ ได้ป ระมาณ 6.3 ชั่วโมง อย่า งไรก็ตาม บริ ษ ทั มี ก ารวางแผนปฏิ บตั ิ ก ารกรณี ที่เกิ ดเหตุ ฉุ กเฉิ นเพื่อที่จะทาให้การสู บจ่ายน้ าเป็ นไปอย่างต่อเนื่ อง และบริ ษทั มี แผนที่จะเพิ่มปริ มาณน้ า สารอง โดยก่ อสร้ างสระสารองบริ เวณพื้ นที่ มาบข่าความจุ ประมาณ 220,000 ลู กบาศก์เมตร เพิ่มเติมอีกแห่ งหนึ่ ง ซึ่ งจะทาให้ปริ มาณน้ าสารองกรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ น รวมทั้งสิ้ นสามารถสารอง จ่ายน้ าได้ถึง 24 ชัว่ โมง

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 4


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 ปั จจัยความเสี่ ยง

3.2 ความเสี่ ยงจากความเสี ยหายต่อระบบท่อส่ งน้ าของบริ ษทั ซึ่ งอาจพบปั ญหาการสึ กกร่ อน หรื อจากการ ก่อสร้ างสาธารณู ปโภคอื่นในบริ เวณแนวท่อ อาจทาให้ท่อแตกหรื อรั่ วได้ อย่างไรก็ดี บริ ษทั ได้จดั แผนการ ซ่อมบารุ งเชิงป้ องกัน และตรวจสอบระบบท่อส่ งน้ าและการซ่อมบารุ งตามแผนงานอย่างต่อเนื่ อง รวมทั้งจัดทา ประกันความเสี่ ยงภัยกับบริ ษทั ประกันภัย ซึ่ งเป็ นผูร้ ับผิดชอบความเสี่ ยงที่เกี่ยวกับความเสี ยหายของระบบท่อที่ อาจเกิดจากเหตุการณ์ต่างๆ โดยครอบคลุมทุกเส้นท่อ ตลอดจนทาประกันความเสี่ ยงภัยทรัพย์สินของบริ ษทั และประกันภัยความรับผิดชอบต่อบุคคลภายนอก รวมถึ งความเสี ยหายที่เกิ ดจากการหยุดชะงัก เพื่อช่ วยให้ บริ ษทั สามารถให้บริ การจ่ายน้ าได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิ ทธิ ภาพ 4. ความเสี่ ยงจากความขัดแย้ งกับชุ มชน การใช้ทรัพยากรจากแหล่งน้ า อาจส่ งผลต่อภาพลักษณ์ของบริ ษทั ทั้งนี้บริ ษทั ได้จดั สรรงบประมาณ เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวติ และสิ่ งแวดล้อม โดยสร้างสัมพันธภาพกับชุ มชนในพื้นที่ ตลอดจนการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง และยังได้สนับสนุ นโครงการพัฒนาในท้องถิ่ นอย่างสม่ าเสมอ เพื่อลดความขัดแย้งและสร้ างทัศนคติ ที่ดีต่อ บริ ษทั โดยได้ดาเนินการร่ วมกับชุมชน อาทิ การขุดลอกคูคลอง บริ การรถน้ าดื่มเคลื่อนที่ โครงการค่ายเยาวชน ผูน้ าด้า นการอนุ รัก ษ์ทรั พ ยากรน้ า และสิ่ ง แวดล้อมพร้ อมมอบทุ นการศึ กษา โครงการปลู ก ป่ าชายเลนเพื่ อ อนุ รั ก ษ์สิ่ ง แวดล้อ ม จัด กิ จ กรรมคอนเสิ ร์ ต การกุ ศ ล รวมถึ ง สนับ สนุ น กิ จ กรรมพัฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และ สิ่ งแวดล้อมให้แก่ชุมชน อาทิ วัด โรงเรี ยน ส่ วนราชการ และสาธารณกุศลต่างๆ 5. ความเสี่ ยงจากนโยบายของรัฐบาลและหน่ วยงานราชการทีเ่ กีย่ วข้ อง ความไม่แน่ นอนของนโยบายของหน่ วยงานราชการต่างๆ ที่ เกี่ ยวข้องกับการดาเนิ นงานของบริ ษทั อาจมี ผลกระทบต่อบริ ษทั อาทิ ความล่าช้าในการออกใบอนุญาตจากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ความชัดเจนของ อัตราเรี ย กเก็ บ ค่ า เช่ า ท่ อส่ ง น้ า หนองปลาไหล-หนองค้อ อย่า งไรก็ ดี บริ ษ ทั ยัง คงได้รับ ความร่ วมมื อจาก หน่ วยงานราชการที่เกี่ ยวข้องด้วยดี มาตลอด อีกทั้งการจัดตั้งและการดาเนิ นธุ รกิ จของบริ ษทั เป็ นไปตามมติ คณะรั ฐมนตรี ใ นการส่ ง เสริ ม การลงทุ น ด้า นอุ ตสาหกรรม และการท่ องเที่ ย วในพื้ น ที่ พ ฒ ั นาชายฝั่ ง ทะเล ตะวันออกของรัฐบาล นอกจากความเสี่ ยงหลักของกลุ่มบริ ษทั (Corporate Risks) ซึ่ งมีการกากับดูแลโดย คณะกรรมการบริ หารความ เสี่ ยงแล้ว บริ ษทั ยังได้จดั ทาคู่มือบริ หารความเสี่ ยงและแผนปฏิบตั ิการบริ หารความเสี่ ยงให้หน่วยงานต่างๆ รับผิดชอบดาเนินการควบคุมความเสี่ ยงให้อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ โดยมีการทบทวนความเสี่ ยงทุกไตรมาส ซึ่ งพิจารณาเหตุการณ์ท้ งั หมดที่อาจเกิดขึ้นไม่จากัดเฉพาะความเสี่ ยงที่เป็ นความเสี ยหาย แต่ยงั รวมถึงปั จจัย แวดล้อมต่างๆ ที่บ่งชี้ โอกาสเกิดความเสี่ ยงกับบริ ษทั ภายใต้สถานการณ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 5


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1 ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการทีส่ าคัญ บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) (บริ ษทั ) จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2535 เพื่อให้การบริ หารจัดการระบบท่อส่ งน้ าดิบในภาคตะวันออกมีเอกภาพสามารถ รองรับต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจภาคตะวันออกที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ ว โดยให้กรมชลประทานเป็ น ผูร้ ับผิดชอบหลักในการพัฒนาแหล่งน้ าดิบและอ่างเก็บน้ า และให้การประปาส่ วนภูมิภาค (กปภ.) จัดตั้งบริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด ขึ้นมารับผิดชอบในการพัฒนาและดาเนินการดูแลระบบท่อ ส่ งน้ าสายหลัก โดยโอนทรัพย์สินและหนี้สินของระบบท่อส่ งน้ าที่มีอยูแ่ ล้วมาดาเนินการต่อไป ทั้งนี้ นอกจาก บริ ษทั จะสามารถประกอบธุ รกิจเชิงพาณิ ชย์ในการซื้ อน้ าจากแหล่งน้ าดิบของทางราชการเพื่อขายให้แก่ผใู ้ ช้น้ า ในพื้นที่รับผิดชอบแล้ว ยังสามารถร่ วมทุนกับภาคเอกชนได้ดว้ ย บริ ษทั ได้จดทะเบียนจัดตั้งเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2535 โดยมีทะเบียนเลขที่ 13571/2535 และมีทุนจดทะเบียน เริ่ มต้น 10 ล้านบาท แบ่งออกเป็ นหุ น้ สามัญ 100,000 หุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท โดย กปภ. ถือหุ ้นบริ ษทั ในอัตราส่ วนร้อยละ100 ตั้งแต่เริ่ มจัดตั้งบริ ษทั โดยต่อมาเมื่อวันที่ 6 สิ งหาคม 2539 ได้มีมติคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบแนวทางระดมทุนและเพิ่มทุนของ บริ ษทั โดยให้การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) เข้ามาร่ วมถือหุ น้ ในบริ ษทั ด้วย วันที่ 25 กันยายน 2539 บริ ษทั ได้เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 490 ล้านบาท ซึ่ งมีกลุ่มผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ ดังนี้ กปภ. ถือหุน้ จานวน 43,999,870 หุ ้น คิดเป็ นร้อยละ 89.80 ของทุนจดทะเบียนเรี ยกชาระแล้ว และ กนอ. ถือหุน้ จานวน 5,000,000 หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 10.20 ของทุนจดทะเบียนเรี ยกชาระแล้ว วันที่ 18 พฤศจิกายน 2539 บริ ษทั ได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็ นบริ ษทั มหาชนจากัด และใช้ชื่อว่า บริ ษทั จัดการ และพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ทะเบียนเลขที่ บมจ. 632 วันที่ 14 กรกฎาคม 2540 บริ ษทั ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนจากการเสนอขายหุ ้น 51.00 ล้านหุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 10 บาท ทาให้บริ ษทั มีทุนจดทะเบียนเรี ยกชาระแล้ว 1,000 ล้านบาท วันที่ 28 กรกฎาคม 2540 หุ ้นสามัญของบริ ษทั ได้เริ่ มเข้าทาการซื้ อขายเป็ นครั้งแรกในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย โดยใช้ชื่อบนกระดานหลักทรัพย์ คือ EASTW วันที่ 28 มกราคม 2547 ที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ได้มีมติอนุมตั ิให้บริ ษทั ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อ หุ น้ สามัญของบริ ษทั และเสนอขายให้แก่พนักงาน กรรมการ และที่ปรึ กษาของคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นจานวน รวม 5,000,000 หน่วย รวมทั้งได้มีมติเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริ ษทั เพื่อรองรับการออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ดังกล่าว จึงทาให้ บริ ษทั มีทุนจดทะเบียนเพิ่มขึ้นเป็ น 1,050 ล้านบาท แบ่งเป็ นหุ ้นสามัญ 105 ล้านหุ น้ มูลค่าหุ ้น ละ 10 บาท โดยมีทุนเรี ยกชาระแล้วจานวน 1,000 ล้านบาท

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 6


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2547 ที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ได้มีมติให้เพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริ ษทั เป็ นจานวน 1,665 ล้านบาท ประกอบด้วยหุน้ สามัญ 166.50 ล้านหุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 10 บาท โดยการออกหุน้ สามัญ ใหม่เพิ่มขึ้นจานวน 61.50 ล้านหุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 10 บาท โดยมีรายละเอียดการจัดสรรหุ น้ สามัญเพิ่มทุน เป็ น ดังนี้ 1. หุน้ สามัญจานวน 20 ล้านหุ ้น จัดสรรให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นสามัญเดิมของบริ ษทั ตามสัดส่ วนการถือหุ น้ 2. หุน้ สามัญจานวน 32 ล้านหุ ้น จัดสรรเพื่อรองรับการใช้สิทธิ ตามใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะเสนอขายให้แก่ผู ้ ถือหุ น้ สามัญของบริ ษทั ตามสัดส่ วนการถือหุ น้ 3. หุน้ สามัญจานวน 7.5 ล้านหุ ้น จัดสรรเพื่อเสนอขายให้แก่ประชาชนทัว่ ไป 4. หุ น้ สามัญจานวน 2 ล้านหุ ้นจัดสรรเพื่อรองรับการใช้สิทธิ ตามใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่ให้แก่ประชาชนทัว่ ไป พร้อมการเสนอขายหุ ้นสามัญเพิ่มทุน ณ ธันวาคม 2554 บริ ษทั มีทุนจดทะเบียน 1,663.73 ล้านบาท โดยมีทุนเรี ยกชาระแล้ว 1,663.73 ล้านบาท และมี สัดส่ วนผูถ้ ือหุ น้ หลัก ได้แก่ กปภ. ร้อยละ 40.20 บมจ.ผลิตไฟฟ้ า ร้อยละ 18.72 กนอ. ร้อยละ 4.57 ส่ วนที่ เหลือร้อยละ 36.51 เป็ นนักลงทุนทัว่ ไป 2.2 ภาพรวมการประกอบธุรกิจ ธุ รกิจหลักของบริ ษทั คือ พัฒนาและบริ หารระบบท่อส่ งน้ าดิบสายหลักในพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก ให้สามารถตอบสนองความต้องการใช้น้ าในพื้นที่ได้อย่างเพียงพอ โดยปั จจุบนั บริ ษทั ฯ มีโครงข่ายท่อส่ งน้ าดิบ ให้บริ การใน 3 จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง นอกจากธุ รกิจหลักดังกล่าวข้างต้นแล้ว บริ ษทั ฯ ยัง มีวตั ถุประสงค์อื่นๆ ดังนี้ 1) ให้บริ การเป็ นที่ปรึ กษาและให้คาแนะนาเกี่ยวกับระบบผลิตน้ าสะอาด ระบบท่อส่ งและจ่ายน้ า การซ่อม บารุ งรักษาท่อส่ งน้ าและอุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจนซื้ อขายอุปกรณ์และวัสดุที่เกี่ยวข้องกับท่อส่ งน้ าทุกชนิด 2) ขยายการดาเนินการหรื อธุ รกิจการพัฒนาและบริ หารทรัพยากรน้ าหรื อธุ รกิจที่เกี่ยวเนื่ องในพื้นที่อื่น

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 7


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้ขยายธุ รกิจเกี่ยวข้องไปสู่ ธุรกิจน้ าประปาและธุ รกิจบาบัดน้ าเสี ย ดังรู ปโครงสร้างของกลุ่มบริ ษทั บจ.ประปาฉะเชิงเทรา 100% *

ธุรกิจนา้ ดิบ บมจ.จัดการและพัฒนา ทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก

บจ.ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลติ ี้ส์ 100% *

ธุรกิจนา้ ประปา & บาบัดนา้ เสีย

บจ.ประปาบางปะกง 100% * บจ.ประปานครสวรรค์ 100% *

บจ.เอ็กคอมธารา  15.88 % *

ประปาสัตหีบ ประปาเกาะล้าน ประปาเกาะสี ชงั ประปาบ่อวิน ประปาเกาะสมุย ประปาระยอง

หมายเหตุ * ถือหุน้ เป็ นสัดส่ วน % ของทุนจดทะเบียนบริ ษทั  บจ.เอ็กคอมธารา ถือหุน้ โดย บจ. เอ็กโก้ เอ็นจิเนียริ่ ง แอนด์ เซอร์วสิ 74.20%, บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 15.88%, นายจตุรงค์ สดวกการ และนายสมภพ สมประสงค์ 9.13%, และรายย่อยอื่น ๆ 0.79%

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 8


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

 การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการทีส่ าคัญทีเ่ กี่ยวกับการประกอบธุรกิจและการบริหารงาน ในช่วงระยะ 5 ปี ที่ ผ่านมา (ปี 2550-2554) บริ ษทั มีพฒั นาการที่สาคัญในด้านต่างๆ ดังนี้ ด้ านธุรกิจนา้ ดิบ โครงการในปัจจุบัน พืน้ ทีร่ ะยอง มกราคม 2552

ปรับปรุ งระบบท่อส่ งน้ าบริ เวณสถานีสูบน้ ามาบตาพุดโดยการเพิ่มการประสานท่อ เพื่อให้ระบบท่อส่ งน้ ามาบตาพุด-สัตหี บ มีศกั ยภาพเพิ่มขึ้นสามารถรองรับการใช้น้ า ในอนาคต และเปลี่ยนเครื่ องสู บน้ าที่สถานีสูบน้ าดอกกรายสามารถเพิ่มปริ มาณการ สู บน้ าจากอ่างเก็บน้ าดอกกรายจาก 82.8 ล้าน ลบ.ม. เป็ น 96.2 ล้านลบ.ม. โดยใช้ วงเงินลงทุนรวม 49 ล้านบาท แล้วเสร็ จ

ตุลาคม 2552

เริ่ มดาเนินการโครงการก่อสร้างวางท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล-มาบตาพุด เส้นที่ 3 คาด ว่าจะแล้วเสร็ จในต้นปี 2555 ระบบท่อส่ งน้ านี้มีความสามารถในการจ่ายน้ าปี ละ ประมาณ 105 ล้าน ลบ.ม. เพื่อรองรับความต้องการใช้น้ าที่เพิม่ ขึ้นในอีก 10 ปี ข้างหน้า ของพื้นที่มาบตาพุด ทาให้มีน้ าเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ า ตลอดจนสามารถจ่าย น้ าให้แก่ผใู ้ ช้น้ ารายใหม่ตามแนววางท่อในพื้นที่ได้อย่างเต็มที่

มกราคม 2553

ก่อสร้างสถานีไฟฟ้ าแรงดัน 115-22 เควี และระบบสายส่ ง 115 เควี บริ เวณสถานีสูบ น้ าเพิ่มแรงดัน (Booster Pump) เพื่อเพิ่มเสถียรภาพในการจ่ายไฟฟ้ าให้กบั สถานีสูบ น้ า ลดความเสี่ ยงในการเกิดปั ญหาไฟฟ้ าดับ โดยระบบไฟฟ้ าเดิม 22 เค.วี. สามารถใช้ เป็ นระบบสารองได้ และเพื่อลดต้นทุนค่าพลังงานไฟฟ้ าในการสู บน้ า โดยใช้เงิน ลงทุนประมาณ 28 ล้านบาท งานก่อสร้างแล้วเสร็ จเดือนธันวาคม 2553

มิถุนายน 2553

เริ่ มดาเนินการโครงการก่อสร้างสระสารองน้ าดิบมาบข่า 2 เพื่อเพิ่มปริ มาณน้ าสารอง ฉุ กเฉิ นในพื้นที่มาบตาพุดอีกไม่นอ้ ยกว่า 220,000 ลบ.ม. เมื่อรวมกับปริ มาณน้ าสารอง ปั จจุบนั เป็ นปริ มาณน้ าสารองทั้งสิ้ น ไม่นอ้ ยกว่า 336,000 ลบ.ม. เพื่อการสารองการ จ่ายน้ ากรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ นในพื้นที่มาบตาพุดทั้งระบบได้ไม่นอ้ ยกว่า 20 ชัว่ โมง โดย ใช้เงินลงทุนประมาณ 155 ล้านบาท การก่อ สร้างจะแล้วเสร็ จในกลางปี 2555

พฤศจิกายน 2553

ปรับปรุ งสถานีสูบน้ ามาบตาพุด โดยการติดตั้งเครื่ องสู บน้ าเพิ่มอีกจานวน 2 ชุด เพื่อรองรับการใช้น้ าที่เพิ่มสู งขึ้นของพื้นที่สัตหีบและบ้านฉาง ในระยะ 10 ปี ข้างหน้า โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 8 ล้านบาท แล้วเสร็ จ

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 9


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

เมษายน 2554

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

- ปรับปรุ งสถานี สูบน้ าดอกกราย โดยการเปลี่ ยนเครื่ องสู บน้ าให้มีอตั ราการสู บที่ มากขึ้น จานวน 2 เครื่ อง พร้อมงานก่อสร้ างวางท่อขนาด 1,200 มม. ยาว 1.5 กม. เพิ่มเติม เพื่อรองรับการสู บน้ าจากปริ มาณน้ าที่ได้รับจัดสรรของกรมชลประทาน ได้อย่างเพียงพอ โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 192 ล้านบาท จะแล้วเสร็ จในกลางปี 2555 - ก่อสร้างสถานีจ่ายไฟฟ้ าแรงดัน 115 – 22 เควี และระบบสายส่ ง 115 เควี บริ เวณ สถานีสูบน้ าดอกกราย เพื่อเพิ่มเสถียรภาพในการจ่ายไฟฟ้ าให้กบั สถานี สูบน้ า ลด ความเสี่ ยงในการเกิ ดปั ญหาไฟฟ้ าดับและลดการใช้พลังงาน โดยใช้เงินลงทุน ประมาณ 31.20 ล้านบาท

สิ งหาคม 2554

อนุมตั ิโครงการพัฒนาสระเก็บน้ าดิบคลองทับมา เพื่อเพิ่มแหล่งน้ าต้นทุนของบริ ษทั รองรับความต้องการใช้น้ าในอนาคตของพื้นที่ระยอง โดยสามารถนาน้ ามาใช้ ประโยชน์ได้ไม่นอ้ ยกว่าปี ละ 32.5 ล้าน ลบ.ม./ปี จะเริ่ มดาเนินการก่อสร้างในปี 2555 โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 1,530 ล้านบาท

พืน้ ทีป่ ลวกแดง-บ่ อวิน มกราคม 2553

ก่อสร้างปรับปรุ งท่อส่ งน้ า By-Pass เส้นที่ 2 ขนาด 800 มม.เ พื่อเพิ่มเสถียรภาพในการ ส่ งน้ าจากอ่างฯ หนองปลาไหลไปยังพื้นที่ชลบุรี โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 20 ล้านบาท

พืน้ ทีช่ ลบุรี เมษายน 2552

ก่อสร้างระบบสู บน้ าดิบ แพสู บน้ าดิบอ่างเก็บน้ าบางพระ เพื่อรองรับการสู บน้ าจาก อ่างเก็บน้ าบางพระส่ งจ่ายให้แก่ผใู ้ ช้น้ าในพื้นที่หนองค้อ-แหลมฉบัง โดยใช้วงเงิน ลงทุนประมาณ 57 ล้านบาท

พฤษภาคม 2553

เริ่ มดาเนินการโครงการเพิ่มศักยภาพท่อส่ งน้ าหนองค้อ-แหลมฉบัง เพื่อให้ระบบท่อ ส่ งน้ าหนองค้อ-แหลมฉบังมีศกั ยภาพเพิ่มขึ้นสามารถรองรับความต้องการใช้น้ าใน อนาคต และเพื่อรองรับการส่ งน้ าให้โรงกรองน้ าบาง ละมุง(ใหม่) ประกอบด้วยการ ก่อสร้างท่อแยกจ่ายน้ าให้โรงกรองน้ าบางละมุง (ใหม่) และการก่อสร้างถานีสูบน้ า Booster Pump ที่อา่ งเก็บน้ าหนองค้อ โดยใช้วงเงินลงทุนรวมประมาณ 107 ล้านบาท

พฤศจิกายน 2554

เริ่ มดาเนินการโครงการเพิ่มศักยภาพระบบจ่ายน้ าแหลมฉบัง(บางพระ) เพื่อเพิ่ม ความสามารถของระบบสู บจ่ายน้ าพื้นที่ชลบุรี สามารถส่ งน้ าให้แก่ผใู ้ ช้น้ าได้อย่าง เพียงพอ ลดการพึ่งพาน้ าจากพื้นที่ระยองและเพิ่มเสถียรภาพในการสู บจ่ายน้ าให้มนั่ คง มากขึ้น โดยใช้วงเงินลงทุนรวมประมาณ 850 ล้านบาท

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 10


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

พืน้ ทีฉ่ ะเชิงเทรา กันยายน 2551

กันยายน 2552

ก่อสร้างท่อ By-Pass บริ เวณถังยกระดับน้ า (Head Tank) ศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา แล้วเสร็ จ ซึ่ งจะสามารถเพิ่มศักยภาพในการสู บผันน้ าจากแม่น้ าบางปะกงไปยังพื้นที่ ชลบุรีในช่วงฤดูฝนผ่านระบบท่อส่ งน้ าดิบฉะเชิงเทราได้เพิ่มขึ้น และเพิ่มแรงดันน้ า ให้แก่ผใู ้ ช้น้ าในพื้นที่ฉะเชิงเทราได้เพิ่มขึ้นประมาณ 1-2 บาร์ - ก่อสร้างระบบสู บน้ าดิบ สระสารองน้ าดิบสานักบกแล้วเสร็ จ โดยติดตั้งเครื่ องสู บ น้ าจานวน 2 ชุด ความสามารถในการสู บประมาณ 50,000 ลบ.ม./วัน เพื่อใช้ใน การสู บผันน้ าจากสระสารองน้ าดิบสานักบก มายังพื้นที่ฉะเชิงเทราในช่วงฤดูแล้ง วงเงินลงทุนรวมประมาณ 55 ล้านบาท - ก่อสร้างสถานีสูบน้ าแรงต่าบริ เวณสถานีสูบน้ าบางปะกง เพื่อรองรับการสู บน้ า จากแม่น้ าบางปะกงซึ่ งจะช่วยลดค่าพลังงานในการสู บผันน้ าไปพื้นที่ชลบุรี ในช่วงฤดูฝน วงเงินลงทุนรวมประมาณ 33 ล้านบาท

ระบบท่อส่ งนา้ ประแสร์ -คลองใหญ่ มิถุนายน 2552

มติคณะรัฐมนตรี (9 มิถุนายน 2552) ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กรม ชลประทาน) ร่ วมกับหน่วยงานราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบในรายละเอียดของ โครงการนี้ อีกครั้งหนึ่ง ก่อนการอนุมตั ิงบประมาณเพื่อให้การชาระค่าก่อสร้าง โครงการฯ ให้แก่ บริ ษทั

กรกฎาคม 2552

มติคณะรัฐมนตรี (14 กรกฎาคม 2552) ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กรม ชลประทาน) ดาเนินการจัดซื้ อทรัพย์สินที่เกิดจากโครงการฯ ในวงเงินไม่เกิน 1,677,665,681 บาท โดยให้ดาเนินการให้ถูกต้องตามขั้นตอนของระเบียบสานัก นายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

ธันวาคม 2552

มติคณะรัฐมนตรี (1 ธันวาคม 2552) ปรากฏดังนี้ 1. รับทราบผลการดาเนิ นการจัดซื้ อทรัพย์สินที่เกิดจากการก่อสร้ างโครงการฯ จากบริ ษทั ในราคารวมภาษีมูลค่าเพิ่มเป็ นจานวนเงิ น 1,677,000,000 บาท (เป็ นราคาสุ ทธิ ภายหลังการเจรจาต่อรองระหว่างกรมชลประทานกับบริ ษทั ) 2. ยกเลิกในหลักการในรายละเอียดของโครงการดังกล่าวตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 2 สิ งหาคม 2548 ที่กาหนดว่า “ก่อสร้ างในวงเงิ น 1,680,000,000 บาท โดยเห็ น ควรอนุ ม ัติ ง บด าเนิ น การวงเงิ น 1,008,000,000 บาท ใน ปี งบประมาณ พ.ศ.2550 ส่ วนที่เหลื อ 672,000,000 บาท ให้ผ่อนชาระคื น East Water โดยหักจากค่าน้ า”

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 11


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

3. อนุ มตั ิงบประมาณจากเงิ นงบประมาณรายจ่าย งบกลาง รายการเงิ นสารอง จ่ายเพื่อกรณี ฉุกเฉิ นหรื อจาเป็ นเพื่อเป็ นค่าใช้จ่ายในการจัดซื้ อทรัพย์สินที่เกิด จากการก่อสร้างโครงการฯ เป็ นจานวนเงิน 1,677,000,000 บาท มกราคม 2553

บริ ษทั ได้ลงนามใน“สัญญาซื้ อขายทรัพย์สินที่เกิดจากการก่อสร้างโครงการวางท่อ เชื่อมจากอ่างเก็บน้ าประแสร์ ไปอ่างเก็บน้ าคลองใหญ่ จังหวัดระยอง” กับกรม ชลประทาน ในวันที่ 15 มกราคม 2553 ในวงเงิน 1,677,000,000 บาท (รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม) โดยมีกาหนดส่ งมอบทรัพย์สินให้กรมชลประทานภายใน 90 วัน นับ ถัดจากวันลงนามในสัญญา

เมษายน 2553

บริ ษทั ส่ งมอบทรัพย์สินที่เกิดจากการก่อสร้างโครงการวางท่อเชื่อมจากอ่างเก็บน้ า ประแสร์ ไปอ่างเก็บน้ าคลองใหญ่ จังหวัดระยอง ให้กรมชลประทาน และบริ ษทั ได้รับชาระเงิน 1,677,000,000 บาท จากกรมชลประทานแล้ว

ระบบควบคุม มกราคม 2554

ด้ านการบริหารงาน พฤษภาคม 2549

กรกฎาคม 2549

ปรับปรุ งระบบควบคุมแบบรวมศูนย์ (Control Center) และระบบสื่ อสาร SCADA ของบริ ษทั ที่ครอบคลุม 3 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และ ระยอง เพื่อเพิ่ม ประสิ ทธิ ภาพการควบคุมระบบสู บจ่ายของบริ ษทั ตลอดจนช่วยลดค่าใช้จ่ายทั้งด้าน บุคลากร พลังงาน และการสู ญเสี ยน้ าให้นอ้ ยลงได้ เนื่ องจากมีระบบการวัดปริ มาณน้ า การตรวจสอบและควบคุมการจ่ายน้ าที่แม่นยามากขึ้น โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 41.70 ล้านบาท คาดว่าจะแล้วเสร็ จกลางปี 2555 บริ ษทั มีประกาศปรับอัตราค่าน้ าดิบ เพื่อสะท้อนต้นทุนค่ากระแสไฟฟ้ า เพิม่ ขึ้น 0.50 บาทต่อลบ.ม. และให้ใช้โครงสร้างค่าน้ าใหม่ เพื่อสะท้อนต้นทุนจากการ ลงทุนที่เพิ่มขึ้น สาหรับผูใ้ ช้น้ ารายใหม่และลูกค้าปั จจุบนั สาหรับการใช้น้ าส่ วนที่ เพิ่มขึ้น จากฐานปริ มาณการใช้น้ าเดิมปี 2549 โดยมีผลตั้งแต่วนั ที่ 1 กันยายน 2549 เป็ นต้นไป บริ ษทั ได้รับรางวัลรายงานบรรษัทภิบาลดี เด่นในระดับ “ดีมาก” ในการประกาศ รางวัล SET Awards 2006 เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2549 ซึ่ งจัดโดยตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยร่ วมกับวารสารการเงินธนาคาร สาหรับรางวัลดังกล่าว เป็ นรางวัลที่มอบให้กบั บริ ษทั จดทะเบียนที่ดีเด่น ในด้านการรายงานการปฏิบตั ิตาม หลักการก ากับดู แลกิ จการที่ ดี 15 ข้อ ตามที่ตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย กาหนด

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 12


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

พฤศจิกายน 2549

เมษายน 2550

มีนาคม 2551

มิถุนายน 2551

พฤศจิกายน 2551

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ทริ สเรตติง้ ประกาศผลยืนยันอันดับเครดิตขององค์กร และตราสารหนี้ ของบริ ษทั ที่ ระดับ “A+” แนวโน้มอันดับเครดิต “คงที่” โดยสะท้อนถึงสถานะที่แข็งแกร่ งของ ธุ รกิจน้ าดิบในเขตชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกและธุ รกิจในเครื อ คะแนน “ดีมาก” ในการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผูถ้ ือหุ ้นสามัญประจาปี จาก สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สมาคมส่ งเสริ มการ ลงทุนไทย และสมาคมบริ ษทั จดทะเบียน ตามหนังสื อเลขที่ กลต.ก. 705/2550 เรื่ อง แจ้ง ผลการประเมิ น ของโครงการประเมิ น คุ ณ ภาพการประชุ ม ผู้ถื อ หุ ้น สามัญ ประจาปี 2549 ของบริ ษทั ที่ไม่ได้ปิดรอบบัญชีในเดือน ธันวาคม 2548 บริ ษทั ขายหุน้ สามัญที่ถือครองใน EHP ทั้งจานวน (คิดเป็ นร้อยละ 50 ของทุนจด ทะเบียนชาระแล้วของ EHP) คะแนน “ดีมาก” ในการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผูถ้ ือหุน้ สามัญประจาปี จาก สานักงานคณะกรรมการ กากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สมาคมส่ งเสริ มผู ้ ลงทุนไทย และสมาคมบริ ษทั จดทะเบียน ตามหนังสื อ เลขที่ กลต.ก. 1028/2551 เรื่ อง แจ้งผลการประเมินคุณภาพ การจัดประชุมผูถ้ ือหุน้ สามัญ ประจาปี 2550 ของ บริ ษทั ที่ไม่ได้ปิดรอบบัญชีในเดือน ธันวาคม 2550 และขอความร่ วมมือในการ เปิ ดเผยผลการประเมิน บริ ษทั ได้รับรางวัลรายงานบรรษัทภิบาลดีเด่นในระดับ “ดีมาก” ในการประกาศ รางวัล Set Awards 2008 เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2551 ซึ่งจัดโดยตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยร่ วมกับวารสารการเงินการธนาคาร

พฤษภาคม 2552

ลงนามสัญญากูเ้ งินระยะยาวจากธนาคารออมสิ น วงเงิน 1,700 ล้านบาท ระยะเวลา เงินกู้ 10 ปี สาหรับการลงทุนในโครงการวางท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล-มาบตาพุด เส้นที่ 3

มิถุนายน 2552

คะแนน “ดีมาก” ในการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผูถ้ ือหุ ้นสามัญประจาปี จาก สานักงานคณะกรรมการ กากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สมาคมส่ งเสริ มผู ้ ลงทุนไทย และสมาคมบริ ษทั จดทะเบียน ตามหนังสื อ เลขที่ กลต.ก. 1028/2551 เรื่ อง แจ้งผลการประเมินคุณภาพ การจัดประชุมผูถ้ ือหุ ้นสามัญ ประจาปี 2551 ของ บริ ษทั ที่ไม่ได้ปิดรอบบัญชี ในเดือน ธันวาคม 2550 และขอความร่ วมมือในการ เปิ ดเผย ผลการประเมิน

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 13


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

พฤศจิกายน 2552

บริ ษทั ได้รับ “รางวัลประกาศเกี ยรติคุณคณะกรรมการแห่ งปี ดี เด่น 2551/2552 (Board of the Year Awards 2008/2009) เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2552 ซึ่ งจัดโดย สมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทยร่ วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศ ไทย สภาหอการค้าแห่ งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย สมาคม ธนาคารไทย สมาคมบริ ษทั จดทะเบียนและสภาธุ รกิจตลาดทุนไทย

กุมภาพันธ์ 2553

คะแนน “ดีมาก” ในผลการประเมินการกากับดูแลกิจการบริ ษทั จดทะเบียน ปี 2552 จาก สมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย

พฤษภาคม 2553

บริ ษทั ส่ งเสริ มความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) โดยให้ความสาคัญในการพัฒนา คุณภาพชีวติ ของชุมชนที่ดีและยัง่ ยืน และการปลูกจิตสานึกให้แก่พนักงานในองค์กร เรื่ องความรับผิดชอบต่อสังคม จึงจัดกิจกรรม “อาสาสร้างสรรค์...ร่ วมฝันกับชุมชน” เพื่อให้พนักงานเรี ยนรู ้วถิ ีความเป็ นอยูข่ องชุมชน สร้างความเข้าใจ ที่ดีต่อกันและ ตระหนักถึงความรับผิดชอบ จนก่อเกิดเป็ นวัฒนธรรมอันดีงามขององค์กรในที่สุด โดยมี ระยะเวลาการดาเนินโครงการตั้งแต่เดือนพฤษภาคม – เดือนพฤศจิกายน 2553

สิ งหาคม 2553

บริ ษทั ได้รับคะแนนระดับ “ดีเยี่ยม” ในผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2553 จาก สมาคมส่ งเสริ มผูล้ งทุนไทย

กันยายน 2553

บริ ษทั สนับสนุนโครงการฝนหลวง ในพื้นที่ภาคตะวันออก ให้แก่สานักฝนหลวงและ การบินเกษตร สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เนื่องจากโครงการดังกล่าว เป็ นการส่ งเสริ มความรับผิดชอบทางสังคม และเป็ นประโยชน์ต่อผูใ้ ช้น้ า และประชาชน ทัว่ ไปด้วย

สิ งหาคม 2554

บริ ษทั ได้รับคะแนนระดับ “ดีเยีย่ ม” ในผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญ ผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2553 จากสมาคมส่ งเสริ มผูล้ งทุนไทย

ธันวาคม 2554

บริ ษทั ได้รับคะแนนระดับ “ดีเลิศ” ในผลการประเมินการกากับดูแลกิจการบริ ษทั จดทะเบียนประจาปี 2554 จากสมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD)

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 14


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ด้ านธุรกิจนา้ ประปา และ บาบัดนา้ เสี ย 1. บริษัท ยูนิเวอร์ แซล ยูทลี ติ สี้ ์ จากัด บริ ษทั ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2541 โดยมีทุนจด ทะเบียนเริ่ มต้น 50 ล้านบาท และบริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 โดยวัตถุประสงค์ในการดาเนินธุ รกิจหลัก ได้แก่ 1) การผลิตและจาหน่ายน้ าสะอาด 2) การผลิตและจาหน่ายระบบรวบรวมและบาบัดน้ าเสี ย พัฒนาการทีส่ าคัญในช่ วงทีผ่ ่ านมา มีนาคม 2549 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ลงนามสัญญากับการประปาส่ วนภูมิภาค ในสัญญาให้ เอกชนผลิตน้ าประปาเพื่อขายให้แก่การประปาส่ วนภูมิภาคที่สานักงานประปา ระยอง โดยมีกาลังการผลิต 31.54 ล้านลบ.ม./ปี เป็ นระยะเวลา 25 ปี มูลค่า โครงการลงทุนรวมประมาณ 600 ล้านบาท เมษายน 2549 -บริ ษทั ประปาบางปะกง จากัด ซึ่ งเป็ นประปาในเครื อของบริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ จากัดได้ปรับปรุ งระบบสู บจ่ายน้ าและขยายกาลังการผลิต โดยเพิม่ กาลังการผลิต จาก 8.76 ล้านลบ.บ./ปี เป็ น 15.77 ล้านลบ.ม./ปี มีมูลค่าการลงทุนรวม 21.00 ล้าน บาท -ลงนามสัญญาบริ หารโรงบาบัดน้ าเสี ยเมืองพัทยา เป็ นระยะเวลา 3 ปี มกราคม 2550 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ลงนามสัญญากับการประปาส่ วนภูมิภาค เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2550 เป็ นรู ปแบบสัญญาให้เอกชนผลิ ตน้ าประปา และบารุ งรักษาระบบประปา ให้แก่ การประปาส่ วนภูมิภาคที่สถานี ผลิตน้ าห้วยเสนง สานักงานประปาสุ รินทร์ โดยมีขนาด กาลังการผลิต 38,400 ลบ.ม./วัน ระยะเวลาดาเนินการ 2 ปี พฤษภาคม 2550

บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ลงนามสัญญากับบริ ษทั โดยให้บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ เป็ นผู ้ ศึ ก ษาปรั บ ปรุ ง ระบบท่ อส่ ง น้ า สายหลัก ในพื้ น ที่ ช ายฝั่ ง ทะเลตะวันออก โดยมี มู ล ค่ า โครงการ 1.8 ล้านบาท

มิถุนายน 2550

บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ขยายกาลังการผลิตน้ าประปาสาหรับประปานครสวรรค์ เพิ่มอีก 1.25 เท่า ทาให้มีกาลังการผลิตรวม เป็ น 7.00 ล้านลบ.ม./ปี โดยมีมูลค่าการลงทุนรวม 46.50 ล้านบาท

สิ งหาคม 2550

บริ ษทั ยูนิเวอร์แซลฯ เป็ นผูช้ นะการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auction) งาน โครงการจ้างเหมาลดน้ าสู ญเสี ย เพื่อสานักงานประปาเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 15


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

กุมภาพันธ์ 2551

บริ ษ ัท ยูนิ เ วอร์ แ ซลฯ ได้ล งนามสั ญ ญากับ การประปาส่ ว นภู มิ ภ าค เมื่ อ วัน ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2551สัญญาจ้างลดน้ าสู ญเสี ยในพื้นที่สานักงานประปาอ้อมน้อย-สามพรานสมุทรสงคราม ระยะเวลาสัญญา 2 ปี ที่วงเงินงบประมาณ 98.38 ล้านบาท

มิถุนายน 2551

บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ลงนามสัญญากับ การประปาส่ วนภูมิภาค งานลดน้ าสู ญเสี ยใน พื้นที่สานักงานประปาพัทยา ระยะเวลาโครงการ 14 เดื อน ที่วงเงินงบประมาณ 11.20 ล้านบาท

กันยายน 2551

- บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ลงนามสัญญากับ การประปาส่ วนภูมิภาค งานลดน้ าสู ญเสี ย ในพื้นที่สานักงานประปาปทุมธานี -รังสิ ต ระยะเวลาโครงการ 5 ปี ที่วงเงินงบประมาณ 359.51 ล้านบาท - บริ ษ ทั ยูนิเวอร์ แซลฯ ได้ล งนามสั ญญากับ การประปาส่ วนภู มิ ภาค เมื่ อวันที่ 24 กันยายน 2551 ในสัญญาจ้างเอกชนบริ หารจัดการผลิตน้ าประปา และบารุ งรักษาระบบ ประปาที่โรงกรองน้ าบางเหนี ยวดา สานักงานประปาภูเก็ต ขนาดกาลังการผลิ ต 12,000 ลบ.ม/วัน เป็ นระยะเวลา 3 ปี

มิถุนายน 2552

บริ ษ ัท ยู นิ เ วอร์ แ ซลฯ ได้ล งนามสั ญ ญากับ การประปาส่ ว นภู มิ ภ าค เมื่ อ วัน ที่ 3 มิถุนายน 2552 ในสัญญาซื้ อขายน้ าประปาเพื่อสานักงานประปาชลบุรี จังหวัดชลบุ รี ระยะเวลาสัญญา 20 ปี ราคาค่าน้ าประปาเริ่ มต้น 9.75 บาท/ลบ.ม. โดยมีปริ มาณน้ ารับซื้ อ เฉลี่ย 24,000 ลบ.ม/วัน (หรื อ คิดเป็ น 8.76 ล้านลบ.ม. ต่อปี )

มีนาคม 2553

บริ ษทั UU ได้ลงนามสัญญากับ บริ ษทั เอ็กคอมธารา จากัด เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2553 ในสั ญ ญาจ้า งงานผลิ ต สู บ ส่ ง น้ า ประปา บ ารุ ง รั ก ษาระบบประปา และงานอื่ น ๆ ที่ เกี่ ยวข้อง ในโครงการเอกชนร่ วมลงทุนประปาราชบุรี -สมุทรสงคราม เป็ นระยะเวลา สัญญา 3 ปี กาลังการผลิตรวม 48,000 ลบ.ม./วัน

ธันวาคม 2553

บริ ษทั UU ได้ลงนามสัญญากับ องค์การบริ หารส่ วนตาบลหนองขาม เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2553 ใน“สัญญาดาเนิ นกิ จการประปาในพื้นที่ อบต. หนองขาม” ระยะเวลา สัญญา 25 ปี

มกราคม 2554

บริ ษทั UU ได้เริ่ มดาเนิ นการเชิ งพาณิ ชย์ เพื่อผลิตและจาหน่ายน้ าประปาให้กบั องค์การ บริ หารส่ วนตาบลหนองขาม เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2554

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 16


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ี ส์ จากัด และบริ ษทั ย่อยบริ หารกิ จการประปารวม จานวน 11 แห่ง ได้แก่ ประปาสัตหี บประปาบางปะกง ประปาฉะเชิ งเทรา ประปานครสวรรค์ ประปาเกาะสี ชงั ประปาพื้นที่บ่อวิน ประปาเกาะสมุย ประปาเกาะล้าน ประปาระยอง ประปาชลบุรี และประปาหนองขาม โดย ภาพรวม ณ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซลฯ มีกาลังการผลิต น้ าประปารวม 99.45 ล้าน ลบ.ม./ปี รายการทางการเงินที่สาคัญ ณ 31 ธ.ค. 25543/

บจ. ยูนิเวอร์ แซลฯ1/

กาลังการผลิตน้ าประปา (ลบ.ม.ต่อวัน) รายได้จากการดาเนินงาน (ล้านบาท) 2/ กาไรสุ ทธิ (ล้านบาท) สิ นทรัพย์รวม (ล้านบาท) หนี้สินรวม (ล้านบาท) ทุนที่เรี ยกชาระแล้ว (ล้านบาท) กาไรสะสม (ล้านบาท)

155,470.00 849.31 80.62 1,565.48 700.44 510.00 355.04

บจ.ประปา ฉะเชิงเทรา

บจ.ประปาบาง ปะกง

51,600.00 127.70 25.95 210.48 25.23 100.00 85.25

43,200.00 121.12 21.47 158.50 31.81 40.00 86.69

บจ.ประปา นครสวรรค์ 22,200.00 40.72 6.57 73.24 24.09 40.00 9.15

1/ ประกอบด้วย สัตหี บ ระยอง บ่อวิน เกาะสี ชงั เกาะล้าน เกาะสมุย ชลบุรี และหนองขาม 2/ รายได้จากการดาเนินงาน หมายถึง รายได้รวม 3/ ผลการดาเนินงานงวด 12 เดือน สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2554

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 17


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

3.2.3 สั ญญาสั มปทานในกิจการประปา 1) ประปาสั ตหีบ สัญญา/สัมปทาน : สัญญาให้สิทธิ เช่าบริ หาร และดาเนินการระบบประปาสัตหี บ (กปภ.) คู่สัญญา : การประปาส่ วนภูมิภาค และ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากร น้ าภาคตะวันออก วันที่ลงนามสัญญา : 28 กรกฎาคม 2543 15 พฤศจิกายน 2543 และแก้ไขเพิ่มเติมเมื่อ 18 ตุลาคม 2547 ระยะเวลาสัญญา : 30 ปี สถานะ : เริ่ มให้บริ การตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2544 พื้นที่ให้บริ การ :  สัตหีบ – บ้าน กม. 10  บ้านแสมสาร  บางเสร่ กาลังการผลิต : 31,200 ลบ.ม. ต่อ วัน สัญญา/สัมปทาน : สัญญาซื้ อขายน้ าประปาเพื่อสานักงานประปาพัทยา คู่สัญญา : การประปาส่ วนภูมิภาค และ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากร น้ าภาคตะวันออก วันที่ลงนามสัญญา : 18 ตุลาคม 2547 ระยะเวลาสัญญา : 30 ปี สถานะ : เริ่ มดาเนินการจาหน่ายน้ าเชิงพาณิ ชย์ต้ งั แต่ 1 พฤศจิกายน 2548 ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า : 18,000 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2554) อัตราค่าน้ าประปา : 15.3463 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2554) และปรับตามดัชนีราคา ผูบ้ ริ โภคเฉลี่ยทั้งปี สาหรับภาคกลางทัว่ ประเทศโดยกระทรวง พาณิ ชย์ 2) ประปาบางปะกง สัญญา/สัมปทาน : สัญญาให้เอกชนผลิตน้ าประปาเพื่อขายแก่สานักงานประปา บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา (กปภ.) คู่สัญญา : การประปาส่ วนภูมิภาค และ บริ ษทั ประปาบางปะกง จากัด วันที่ลงนามสัญญา : 9 พฤศจิกายน 2543 ระยะเวลาสัญญา : 2 + 25 ปี (Pre-operation 2 ปี ) สถานะ : เริ่ มให้บริ การ ตั้งแต่ 1 เมษายน 2546 พื้นที่ให้บริ การ :  บางปะกง  เทศบาลเมืองท่าสะอ้าน ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 18


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

กาลังการผลิต

:

ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า อัตราค่าน้ าประปา

: :

3) ประปาฉะเชิงเทรา สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : : :

กาลังการผลิต ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า อัตราค่าน้ าประปา

: : :

4) ประปานครสวรรค์ สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : : :

กาลังการผลิต

:

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

 เทศบาลเมืองบางวัว 43,200 ลบ.ม./วัน (กาลังการผลิตเดิม 24,000 ลบ.ม./วัน รวมกับ ที่ขยายเพิ่มขึ้น 19,200 ลบ.ม./วัน) 27,000 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2554) 10.968 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2554) และปรับตามดัชนีราคา ผูบ้ ริ โภคเฉลี่ยทั้งปี สาหรับภาคกลางทัว่ ประเทศโดยกระทรวง พาณิ ชย์ สัญญาให้เอกชนผลิตน้ าประปาเพื่อขายแก่สานักงานประปา ฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา (กปภ.) การประปาส่ วนภูมิภาค และ บริ ษทั ประปาฉะเชิงเทรา จากัด 9 พฤศจิกายน 2543 2 + 25 ปี (Pre-operation 2 ปี ) เริ่ มให้บริ การ ตั้งแต่ 1 เมษายน 2546  อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา  เขตสุ วนิ ทวงศ์ 51,600 ลบ.ม. ต่อ วัน 27,000 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2554) 11.583 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2554) และปรับตามดัชนีราคา ผูบ้ ริ โภคเฉลี่ยทั้งปี สาหรับภาคกลางทัว่ ประเทศโดยกระทรวง พาณิ ชย์

สัญญาให้เอกชนผลิตน้ าประปาเพื่อขายแก่สานักงานประปา นครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ (กปภ.) การประปาส่ วนภูมิภาค และ บริ ษทั ประปานครสวรรค์ จากัด 7 พฤศจิกายน 2543 2 + 25 ปี (Pre-operation 2 ปี ) เริ่ มให้บริ การ ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2546  นครสวรรค์ออก  เทศบาลเมืองหนองปลิง  เทศบาลเมืองหนองแบน 22,200 ลบ.ม. ต่อ วัน

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 19


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า อัตราค่าน้ าประปา

: :

6,450 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2554) 12.702 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2554) และปรับตามดัชนีราคา ผูบ้ ริ โภคเฉลี่ยทั้งปี สาหรับภาคกลางทัว่ ประเทศโดยกระทรวง พาณิ ชย์

5) ประปาสี ชัง สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา

:

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า อัตราค่าน้ า

: : : : : :

กาลังการผลิต เทคโนโลยี

: :

สัญญาดาเนินกิจการประปาเทศบาลตาบลเกาะสี ชงั อาเภอเกาะ สี ชงั จังหวัดชลบุรี เทศบาลตาบลเกาะสี ชงั และ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากร น้ าภาคตะวันออก 28 พฤศจิกายน 2543 15 ปี เริ่ มจ่ายนาเชิงพาณิ ชย์ต้ งั แต่ สิ งหาคม 2547 เกาะสี ชงั ไม่มี 68.69 บาทต่อ ลบ.ม. เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5 ทุกๆรอบ 3 ปี ของการดาเนินการ 250 ลบ.ม. ต่อ วัน การผลิตน้ าประปาจากน้ าทะเลด้วยระบบ Reversed Osmosis

6) ประปาราชบุรี – สมุทรสงคราม สัญญา/สัมปทาน :

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ กาลังการผลิต สัญญา/สัมปทาน

: : : : : : :

สัญญาให้เอกชนผลิตน้ าประปาเพื่อจาหน่ายแก่สานักงาน ประปา ราชบุรี และสานักงานประปาสมุทรสงคราม ( กปภ. ) การประปาส่ วนภูมิภาค และ บริ ษทั เอ็กคอมธารา จากัด 23 มิถุนายน 2542 30 ปี เริ่ มให้บริ การ ตั้งแต่ มีนาคม 2544 ราชบุรี – สมุทรสงคราม 42,000 ลบ.ม. ต่อ วัน สัญญาจ้างผลิตน้ าประปาและบารุ งรักษาระบบผลิตน้ าประปา และท่อส่ งน้ าประปา (เพื่อดาเนินการให้แก่ บจ. เอ็กคอมธารา ใน การผลิตน้ าประปาเพื่อจาหน่ายแก่สานักงานประปาราชบุรีและ สานักงานประปาสมุทรสงคราม

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 20


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

คู่สัญญา

:

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ ปริ มาณน้ าขั้นต่า ค่าจ้างดาเนิ นการ

: : : : :

7) ประปาพืน้ ทีบ่ ่ อวิน สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา

:

วันที่ลงนามสัญญา

:

สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : :

กาลังการผลิต ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า อัตราค่าน้ าประปา

: : :

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

บริ ษทั เอ็กคอมธารา จากัด และ บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด 7 เมษายน 2553 3 ปี เริ่ มให้บริ การ ตั้งแต่ เมษายน 2553 34,000 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2554) 4.362 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2554)

สัญญาดาเนินกิจการประปาพื้นที่บ่อวิน เพื่อจาหน่ายน้ าประปา ในเขตเทศบาลตาบลเจ้าพระยาสุ รศักดิ์ อาเภอศรี ราชา จังหวัด ชลบุรี เทศบาลตาบลเจ้าพระยาสุ รศักดิ์ และบมจ.จัดการและพัฒนา ทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 30 มีนาคม 2547 สัญญาดาเนินกิจการระบบประปา อบต.บ่อวิน เพื่อจาหน่ายน้ า ในพื้นที่ อบต.บ่อวิน องค์การบริ หารส่ วนตาบลบ่อวิน และบมจ. จัดการและพัฒนา ทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 5 สิ งหาคม 2548 25 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ ตั้งแต่ มิถุนายน 2549 เขตเทศบาลตาบลเจ้าพระยาสุ รศักดิ์ และองค์การบริ หารส่ วน ตาบลบ่อวิน ต.บ่อวิน อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี 9,600 ลบ.ม. ต่อวัน ไม่มี อ้างอิงราคาตามสัญญา (แบ่งตามประเภทผูใ้ ช้น้ า)

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 21


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

8) ประปาเกาะสมุย สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา

:

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ ปริ มาณขั้นต่าที่ตอ้ งผลิต ราคาจาหน่ายน้ าประปา

: : : : : :

กาลังการผลิต เทคโนโลยี

: :

3,000 ลบ.ม. ต่อ วัน การผลิตน้ าประปาจากน้ าทะเลด้วยระบบ Reversed Osmosis (RO)

9) ประปาเกาะล้าน สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา

:

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ ปริ มาณซื้ อขายขั้นต่า ราคาจาหน่ายน้ าประปา

: : : : : :

กาลังการผลิต เทคโนโลยี

: :

สัญญาดาเนินกิจการประปาเกาะล้าน เพื่อจาหน่ายน้ าประปาแก่ ประชาชนบนเกาะล้าน จังหวัดชลบุรี เมืองพัทยา และ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาค ตะวันออก 17 กันยายน 2547 15 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ ตั้งแต่ กันยายน 2549 เกาะล้าน ไม่มี 65.42 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2554) เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5 ทุกๆ รอบ 5 ปี ของการดาเนินการ 300 ลบ.ม. ต่อ วัน การผลิตน้ าประปาจากน้ าทะเลด้วยระบบ Reversed Osmosis

สัญญาซื้ อขายน้ าประปาเพื่อสานักงานการประปาเกาะสมุย จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี (กปภ.) การประปาส่ วนภูมิภาค และ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากร น้ าภาคตะวันออก 7 กรกฎาคม 2547 15 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ต้ งั แต่ 12 พฤษภาคม 2548 เกาะสมุย 2,500 ลบ.ม. ต่อวัน (+/- 10%) 56.513 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2554)

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 22


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

10) ประปาระยอง สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : : :

กาลังการผลิต ปริ มาณน้ าขั้นต่า ราคาจาหน่ายน้ าประปา

: :

11) ประปาภูเก็ต สัญญา/สัมปทาน

:

คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : : :

กาลังการผลิต ค่าจ้างดาเนิ นการ

: :

สัญญาให้เอกชนบริ หารจัดการผลิตน้ าประปา และบารุ งรักษา ระบบประปา สถานีผลิต-จ่ายน้ าประปาโรงกรองน้ าบางเหนียวดา สานักงานประปาภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต(กปภ.) การประปาส่ วนภูมิภาค และ บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด 24 กันยายน 2551 3 ปี เริ่ มให้บริ การ ตั้งแต่ ตุลาคม 2551 (สิ้ นสุ ดสัญญา 1 ตุลาคม 2554) พื้นที่ให้บริ การของการประปาส่ วนภูมิภาคโดยอยูร่ อบนอกของ เทศบาลเมืองภูเก็ต 12,000 ลบ.ม. ต่อ วัน 1.148 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2554)

12) ประปาชลบุรี สัญญา/สัมปทาน คู่สัญญา วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ

: : : : : :

สัญญาซื้ อขายน้ าประปาเพื่อสานักงานประปาชลบุรี จังหวัด ชลบุรี การประปาส่ วนภูมิภาค และ บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด 3 มิถุนายน 2552 20 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ ในเดือน เมษายน 2553 จังหวัดชลบุรี

สัญญาให้เอกชนผลิตน้ าประปาเพื่อขายให้แก่ กปภ. ที่ สานักงาน ประปาระยอง จังหวัดระยอง การประปาส่ วนภูมิภาค และ กลุ่มบริ ษทั ยูยู กรุ๊ ป คอนซอร์ เตียม 14 มีนาคม 2549 25 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ ตั้งแต่ กรกฎาคม 2549 เขตเทศบาลเมืองระยองและพื้นที่ส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลตาบล ต่างๆ 86,400 ลบ.ม. ต่อ วัน 40,000 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2554) 10.436 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2554)

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 23


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

กาลังการผลิต ปริ มาณน้ าขั้นต่า ราคาจาหน่ายน้ าประปา

: :

13) ประปาหนองขาม สัญญา/สัมปทาน คู่สัญญา

: :

วันที่ลงนามสัญญา ระยะเวลาสัญญา สถานะ พื้นที่ให้บริ การ กาลังการผลิต ราคาจาหน่ายน้ าประปา

: : : : :

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

24,000 ลบ.ม. ต่อ วัน 24,000 ลบ.ม.ต่อวัน (ปี 2554) 10.012 บาทต่อ ลบ.ม. (ปี 2554)

สัญญาดาเนินกิจการระบบประปา อบต.หนองขาม องค์การบริ หารส่ วนตาบลหนองขาม และ บริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูที ลิต้ ีส์ จากัด 29 ธันวาคม 2553 25 ปี เริ่ มดาเนินการเชิงพาณิ ชย์ ในเดือน มกราคม 2554 ตาบลหนองขาม อาเภอศรี ราชา จังหวัดชลบุรี 720 ลบ.ม. ต่อ วัน อ้างอิงราคาตามสัญญา (แบ่งตามประเภทผูใ้ ช้น้ า)

3.3. ข้ อจากัดในการประกอบธุรกิจ - ไม่มี –

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 24


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2.3 โครงสร้างรายได้ – การเงิน โครงสร้างรายได้ของบริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) แยกตามพื้นที่ รอบปี บัญชีสิ้นสุด รอบปี บัญชีสิ้นสุด รอบปี บัญชีสิ้นสุด ณวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ณวันที่ 31 ธันวาคม 2554

รายได้จากการขายน้ าดิบ

พันบาท

ร้อยละ

พันบาท

ร้อยละ

พันบาท

ร้อยละ

-พื้นที่ดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหี บ

575,380

28.59

787,341

35.33

782,024

32.83

- พื้นที่หนองปลาไหล-มาบตาพุด

654,739

32.53

663,627

29.78

791,915

33.25

-พื้นที่หนองค้อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ

567,934

28.22

526,670

23.64

599,986

25.19

- พื้นที่หนองปลาไหล-หนองค้อ

158,743

7.89

203,713

9.14

187,017

7.85

55,700

2.77

47,055

2.11

20,826

0.88

2,012,496

100.00

2,228,406

100.00

2,381,768

100.00

- พื้นที่ฉะเชิงเทรา* รวมรายได้จากการขายน้ าดิบ

โครงสร้างรายได้ของบริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)และบริ ษทั ย่อย แยก ตามประเภทรายได้ รอบปี บัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ตรวจสอบแล้ว ร้อยละ พันบาท

รอบปี บัญชีสิ้นสุด รอบปี บัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ตรวจสอบแล้ว ตรวจสอบแล้ว พันบาท ร้อยละ พันบาท ร้อยละ 66.16 45.29 2,261,016 68.31 2,117,502

รายได้ 1,904,364 รายได้จากการขายน้ าดิบ 635,933 22.09 รายได้จากการขายน้ าประปา ราบได้จากการขายสิ นทรัพย์โครงการ 3,245 0.11 รายได้จากการขายตูน้ ้ าและน้ าดื่ม 282,364 9.81 รายได้ค่าเช่าและค่าบริ การ 52,589 1.83 รายได้อื่น 2,878,495 100.00 รวมรายได้ [ ***รายได้อื่น ประกอบด้วยรายได้จากดอกเบี้ยรับ เงินปั นผล และอื่น ๆ ]

716,233

15.32

765,849

23.14

1,567,290

33.53

-

-

-

-

-

-

232,266

4.97

223,519

6.75

41,508

0.89

59,652

1.80

4,674,799

100.00

3,310,036

100.00

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 25


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ

2.4 เป้ าหมายการดาเนินธุ รกิจ ธุรกิจหลัก เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญด้านบริ หารจัดการทรัพยากรน้ าอย่างครบวงจร เพื่อสร้างความพึงพอใจ สู งสุ ดแก่ผใู ้ ช้น้ าด้วยคุณภาพตามมาตรฐานสากล รวมถึงพัฒนาและบริ หารจัดการ แหล่งน้ า เพื่อเพิ่มเสถียรภาพและความเพียงพอของแหล่งน้ า ธุรกิจเกีย่ วเนื่อง

ขยายธุ รกิจหลักและธุ รกิจเกี่ยวเนื่องด้านน้ าอย่างครบวงจร ทั้งกิจการประปาและ บริ หารจัดการระบบบาบัดน้ าเสี ย เทคโนโลยีการบริ หารระบบจัดการน้ า เพื่อสร้าง บริ การที่มีประสิ ทธิ ภาพและสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล

การบริหารจัดการ

พัฒนาระบบการจัดการที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและโปร่ งใสภายใต้การบริ หาร ความเสี่ ยงและกากับดูแลกิจการที่ดี สร้างประโยชน์สูงสุ ดต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยอย่าง โปร่ งใสและเป็ นธรรม เพื่อสร้างมูลค่าเพิม่ แก่องค์กรในระยะยาว รวมถึงเป็ นองค์กร แห่งการเรี ยนรู ้และพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่ อง

สั งคมและสิ่ งแวดล้อม

ดาเนินธุ รกิจที่ไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อสิ่ งแวดล้อม และมุง่ เน้นการส่ งเสริ มกิจกรรม การพัฒนาคุณภาพชีวติ และสิ่ งแวดล้อม เพื่อเอื้อประโยชน์ร่วมกันต่อสังคม ชุมชนใน ระดับพื้นที่ และเป็ นแบบอย่างของธุ รกิจเพื่อสังคมในระดับประเทศ

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 26


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

3. การประกอบธุรกิจของแต่ ละผลิตภัณฑ์ /บริการ 3.1 ลักษณะบริการ บริ ษทั ฯ ดาเนิ นธุ รกิจหลักด้านการพัฒนาและบริ หารจัดการระบบท่อส่ งน้ าเพื่อส่ งน้ าดิบ ให้บริ การแก่ผใู ้ ช้น้ า ด้านอุปโภคบริ โภคและอุตสาหกรรม โดยมีบริ การเสริ ม คือ การให้คาปรึ กษาทางวิศวกรรมแก่ลูกค้า ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ให้บริ การใน 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิ งเทรา สาหรับพื้นที่จงั หวัดชลบุรีและ ระยอง บริ ษทั ฯ ซื้ อน้ าดิ บจากอ่างเก็บน้ าของกรมชลประทาน 3 แห่ ง ได้แก่ อ่างเก็บน้ าหนองค้อ อ่างเก็บน้ า ดอกกราย และอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล นอกจากนี้ ยงั มีการสู บน้ าดิ บจากแม่น้ าระยอง และแม่น้ าบางปะกง ด้วย โดยสู บส่ งผ่านระบบท่อส่ งน้ า 4 สายที่บริ ษทั ฯ เช่าบริ หารจากกระทรวงการคลัง และระบบท่อส่ งน้ าที่ บริ ษทั ฯ ลงทุนก่อสร้ างเอง เพื่อจาหน่ ายให้แก่ ผใู ้ ช้น้ าใช้ในการอุปโภคบริ โภคและการอุตสาหกรรม การ จาหน่ ายน้ าดิ บนี้ บริ ษทั ฯ ได้ทาสัญญาซื้ อขายน้ าดิ บกับลูกค้าของบริ ษทั ฯ แบ่งได้เป็ น 3 กลุ่ ม คือ นิ คม อุตสาหกรรม1 โรงงานอุตสาหกรรมทัว่ ไป และอุปโภคบริ โภค2 ในพื้นที่จงั หวัดฉะเชิงเทรา บริ ษทั ฯ สู บน้ า จากแม่น้ าบางปะกงและคลองนครเนื่ องเขตส่ งผ่านระบบท่อของบริ ษทั ฯ เพื่อจาหน่ายให้แก่ผใู ้ ช้น้ าในบริ เวณ บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา สาหรั บบริ การเสริ มของบริ ษทั ฯ ลู กค้าส่ วนใหญ่ของบริ ษทั ฯ จะเป็ นลู กค้าที่ ใช้บริ การระบบท่อส่ งน้ าของ บริ ษทั ฯ โดยบริ ษทั ฯ จะให้คาปรึ กษาถึงการออกแบบและเทคนิ คการวางท่อ รวมไปถึ งระบบผลิ ตน้ าสะอาด ระบบลดน้ าสู ญเสี ยและอื่นๆ เพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพในการใช้น้ า โดยที่บริ ษทั ฯ จะได้รับผลตอบแทนในรู ป ของค่าธรรมเนียมการให้คาปรึ กษาเป็ นคราวๆ ไป การบริ การสู บจ่ายน้ าดิบในแต่ละพื้นที่บริ การของบริ ษทั ฯ มีดงั นี้ 1) พืน้ ทีร่ ะยอง บริ ษทั ฯ ให้บริ การผ่านระบบท่อส่ งน้ าดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหี บร่ วมกับระบบท่อส่ งน้ าสายหนองปลา ไหล-มาบตาพุ ด ระบบท่ อ ส่ ง น้ า ในพื้ น ที่ น้ ี ใช้พ ลัง งานไฟฟ้ าในการสู บ ส่ ง น้ า จากแหล่ ง น้ า ของกรม ชลประทาน คือ อ่างเก็บน้ าดอกกราย ผ่านระบบท่อส่ งน้ าสายดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหี บ และอ่างเก็บ น้ าหนองปลาไหล ผ่านระบบท่อส่ งน้ าสายหนองปลาไหล-มาบตาพุดไปยังสถานี รับน้ าเพื่อพักน้ าและเพิ่ม แรงดันน้ า โดยใช้พลังงานไฟฟ้ าสู บน้ าขึ้นไปยังสถานี ยกระดับน้ า (Head Tank) ที่มาบข่า ก่อนปล่อยลงมา เพื่อส่ ง น้ าไปยังปลายทางให้แก่ ลูกค้าตามท่ อส่ งน้ า กลุ่ ม ผูใ้ ช้น้ า หลักของพื้นที่ น้ ี คือ นิ ค มอุ ตสาหกรรม รองลงมาได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรมทัว่ ไปและการประปาของการประปาส่ วนภูมิภาค

1

2

นิคมอุตสาหกรรม หมายรวมถึง นิ คมอุตสาหกรรมที่ กนอ. เป็ นเจ้าของ นิ คมอุตสาหกรรมที่ กนอ. ร่ วมลงทุน และสวน/เขตอุตสาหกรรมของ เอกชน ส่ วนใหญ่เป็ นลักษณะการจาหน่ ายแบบค้าส่ ง (Wholesale) ให้แก่หน่ วยงานของรัฐคือ การประปาส่ วนภูมิภาค มีบางกรณี เท่านั้นที่จาหน่ ายให้ ผูใ้ ช้เพื่อการอุปโภคบริ โภครายอื่น เช่น โรงพยาบาลสิ ริกิต์ ิ นิ คมสร้างตนเองจังหวัดระยอง สถานี อนามัยมาบข่า เป็ นต้น

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 27


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

บริ ษทั กาลังก่อสร้างระบบท่อส่ งน้ าสายหนองปลาไหล-มาบตาพุด เส้นที่ 3 คาดว่าจะแล้วเสร็ จในปลายปี 2555 ระบบท่อส่ งน้ านี้ มีความสามารถในการส่ งจ่ายน้ าปี ละประมาณ 105 ล้าน ลบ.ม. ทาให้มีน้ าเพียงพอ ต่อความต้องการใช้น้ า ตลอดจนสามารถจ่ายน้ าให้แก่ผใู ้ ช้น้ ารายใหม่ตามแนววางท่อในพื้นที่ได้อย่างเต็มที่ ระบบท่อส่ งน้ านี้ใช้พลังงานไฟฟ้ าในการสู บส่ งน้ าจากแหล่งน้ าของกรมชลประทาน คือ อ่างเก็บน้ าหนอง ปลาไหลไปยังสถานี ยกระดับน้ า (Head Tank) ที่มาบข่า ก่อนปล่อยลงมาเพื่อส่ งน้ าไปยังปลายทางให้แก่ ลูกค้าตามท่อส่ งน้ า นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังได้มีโครงการพัฒนาสระเก็บน้ าดิ บคลองทับมาเป็ นแหล่งน้ าดิ บแห่ งใหม่เพิ่มเติ ม ซึ่งสามารถรองรับความต้องการ ใช้น้ าในอนาคตของพื้นที่ระยอง โดยสามารถนาน้ ามาใช้ประโยชน์ได้ไม่ น้อยกว่าปี ละ 32.5 ล้าน ลบ .ม. 2) พืน้ ทีช่ ลบุรี บริ ษทั ฯ ให้บริ การโดยผ่านระบบท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง สายแหลมฉบัง-พัทยา และสายแหลม ฉบัง-บางพระ การจ่ายน้ าในพื้นที่น้ ี ใช้น้ าต้นทุนจาก 3 แหล่ง ได้แก่ อ่างเก็บน้ าหนองค้อ อ่างเก็บน้ า หนองปลาไหลผ่านระบบท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล-หนองค้อ และแม่น้ าบางปะกงผ่านระบบท่อส่ งน้ าบาง ปะกง-บางพระ-ชลบุรี ซึ่ งรู ปแบบการส่ งน้ าจากอ่างเก็บน้ าหนองค้อเป็ นการไหลโดยแรงโน้มถ่วง เนื่ องจาก สภาพภูมิประเทศมีความเหมาะสมกล่าวคือ อ่างเก็บน้ าหนองค้อตั้งอยู่บนที่สูง ในขณะที่ปลายทางรับน้ า เป็ นที่ต่าทาให้ไม่จาเป็ นต้องใช้พลังงานไฟฟ้ าในการสู บส่ งน้ า สาหรับการส่ งน้ าจากอ่างเก็บน้ าหนองปลา ไหลผ่านระบบท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล-หนองค้อ จะใช้พลังงานไฟฟ้ าในการสู บส่ งน้ ามายัง Regulating Well ซึ่ งจะปล่อยน้ าโดยระบบแรงโน้มถ่วงเข้าสู่ ระบบท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง และท่อส่ งน้ า สายแหลมฉบัง-พัทยา ส่ วนการส่ งน้ าจากแม่น้ าบางปะกงผ่านระบบท่อส่ งน้ าบางปะกง-บางพระ-ชลบุรี ใช้ พลังงานไฟฟ้ าในการสู บส่ งน้ าเข้าสู่ ระบบท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง และท่อส่ งน้ าสายแหลมฉบังพัท ยาต่อไป นอกจากนี้ บริ ษ ทั ฯ ได้ฝ ากน้ า ที่ ส่ งมาจากแม่น้ าบางปะกงในช่ วงฤดู ฝ น ไว้ในอ่า งเก็บ น้ า บางพระและสู บน้ าที่ ฝากไว้จากอ่างเก็บน้ าบางพระส่ งจ่ายให้กบั ผูใ้ ช้น้ าในช่ วงฤดูแล้ง ผูใ้ ช้น้ าหลักของ พื้นที่น้ ีส่วนใหญ่จะเป็ นการใช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภค และนิคมอุตสาหกรรม ตามลาดับ ท่อส่ งน้ าหนองค้อ-แหลมฉบัง มีจานวน 2 สายท่อ วางขนานกัน โดยเป็ นท่อที่บริ ษทั ฯ เช่ าบริ หารจาก กระทรวงการคลัง มีความสามารถในการจ่ายน้ ารวม 80 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี 3) พืน้ ทีป่ ลวกแดง – บ่ อวิน พื้นที่น้ ี เป็ นพื้นที่รอยต่อของจังหวัดชลบุรี และอาเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง อยู่ในแนวสายท่อส่ งน้ า หนองปลาไหล-หนองค้อ ระบบท่อส่ งน้ าสายนี้ สร้างขึ้นโดยกรมโยธาธิ การเพื่อสู บส่ งน้ าจากอ่างเก็บน้ า หนองปลาไหล จังหวัดระยอง ไปยังพื้นที่ชลบุรี ในอัตราปี ละ 78 ล้าน ลบ.ม. บริ ษทั ฯ จัดแผนการใช้ท่อส่ ง น้ าสายนี้โดยจะนาน้ าไปเสริ มให้ผใู ้ ช้น้ าในพื้นที่ชลบุรี ปี ละ 50-60 ล้าน ลบ.ม. ส่ วนที่เหลือจะเป็ นการจ่าย น้ าให้แก่ผใู ้ ช้น้ าระหว่างทางในพื้นที่ปลวกแดง-บ่อวิน ระบบท่อส่ งน้ านี้ ใช้พลังงานไฟฟ้ าในการสู บส่ งน้ า ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 28


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

จากแหล่งน้ าของกรมชลประทาน คือ อ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล ผ่านระบบท่อส่ งน้ าสายหนองปลาไหล– หนองค้อ ไปยังสถานีปล่อยน้ า (Outlet) บริ เวณอ่างเก็บน้ าหนองค้อและมีท่อเชื่ อมต่อเข้ากับระบบท่อส่ งน้ า หนองค้อ-แหลมฉบัง -บางพระ ผูใ้ ช้น้ าหลัก ของพื้ นที่ น้ ี คือ นิ คมอุตสาหกรรมอีส เทิ ร์นซี บอร์ ด นิ คม อุตสาหกรรมชลบุรี (บ่อวิน) และการประปาพัทยา (โรงกรองน้ า หนองกลางดง) 4) พืน้ ทีฉ่ ะเชิงเทรา บริ ษ ัท ฯ ให้บ ริ ก ารส่ ง จ่ า ยน้ า ดิ บ ให้ แ ก่ ภ าคอุ ต สาหกรรมและอุ ป โภคบริ โ ภค ผ่า นท่ อ ส่ ง น้ า ดิ บ พื้ น ที่ ฉะเชิงเทรา ระบบท่อส่ งน้ านี้ ใช้พลังงานไฟฟ้ าในการสู บน้ าจากแม่น้ าบางปะกงบริ เวณเหนื อเขื่อนทดน้ า บางปะกงของกรมชลประทาน ไปยังถังยกระดับน้ าที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 16 เมตร สู ง 45.50 เมตร ซึ่ งจะทาหน้าที่สารองน้ าและปรับสภาพแรงดันน้ าให้เหมาะสมต่อการส่ งจ่ายน้ า และอาศัยแรงโน้มถ่วง โลกเป็ นแรงดันในการส่ งจ่ายน้ าดิบให้แก่ผใู ้ ช้น้ า และในปี 2547 บริ ษทั ฯ ยังได้รับจัดสรรน้ าดิบจากคลอง นครเนื่ องเขต ในอัตรา 15 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี เพื่อเป็ นแหล่ งน้ าส ารองเพิ่ มเติ มสาหรั บพื้นที่ ฉะเชิ งเทรา ในช่วงฤดูแล้ง นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังมีสระสารองน้ าดิบความจุ 2 ล้าน ลบ.ม. ในพื้นที่จงั หวัดฉะเชิงเทรา และสระสารองน้ าดิบความจุประมาณ 7.4 ล้าน ลบ.ม. บริ เวณตาบลสานักบก อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ซึ่ ง ตั้งอยู่ใกล้กบั แนวท่อส่ งน้ าบางปะกง- ชลบุ รี เพื่ อใช้เป็ นแหล่ งน้ าสารองส าหรั บการจ่ายน้ า ในพื้นที่ ฉะเชิงเทราและชลบุรีได้อย่างเพียงพอในช่วงฤดูแล้ง ท่อส่ ง น้ า บางปะกง-ชลบุรี สร้ า งขึ้ นเพื่ อผันน้ าจากแม่ น้ า บางปะกง จัง หวัดฉะเชิ ง เทรา ในช่ วงฤดู ฝ น ประมาณ 5-6 เดือน ไปยังพื้นที่หนองค้อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ จังหวัดชลบุรี เนื่ องจากแหล่งน้ าใน พื้นที่ชลบุรีมีจากัดไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้น้ าในพื้นที่ จึงเป็ นการเพิ่มศักยภาพด้านแหล่งน้ าควบคู่ ไปกับการผันน้ าจากอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล จังหวัดระยอง ระบบท่อส่ งน้ าบางปะกง-ชลบุรี สามารถ สู บส่ งน้ าดิบได้ปีละ 50 ล้าน ลบ.ม. โดยใช้พลังงานไฟฟ้ าในการสู บผันน้ าจากแม่น้ าบางปะกงผ่านเข้า ระบบท่อส่ งน้ าดิบพื้นที่ฉะเชิ งเทรา และท่อส่ งน้ าบางปะกง-ชลบุรี ไปยังระบบท่อหนองค้อ-แหลมฉบังพัทยา-บางพระโดยตรง โดยบริ ษทั ฯ มีการบริ หารปริ มาณน้ าส่ วนเกินกว่าความต้องการใช้น้ าในช่วงเวลา นั้นจะสามารถปล่อยน้ าผ่านสถานี ปล่อยน้ า (Outlet) ลงสู่ อ่างเก็บน้ าบางพระเพื่อกักเก็บสารองไว้ในช่วง ฤดูแล้งได้ นอกเหนื อจากการบริ หารระบบท่อส่ งน้ าแล้ว การดาเนิ นงานหลักของบริ ษทั ฯ ยังครอบคลุ มถึงการพัฒนา ระบบท่อส่ งน้ าใหม่ๆ ในพื้นที่ความรับผิดชอบของบริ ษทั ฯ และให้บริ การลูกค้าโดยเป็ นที่ปรึ กษาในการวาง ระบบท่อส่ งน้ าเชื่อมจากระบบของบริ ษทั ฯ ไปยังจุดรับน้ าของผูใ้ ช้น้ า เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการ ใช้น้ าได้อย่างเต็มประสิ ทธิภาพ

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 29


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

แผนทีแ่ สดงแนวท่ อส่ งนา้ ในจังหวัดระยอง ชลบุรี และฉะเชิ งเทรา ของบริษัทฯ

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 30


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

3.2 สิ ทธิในการประกอบธุรกิจ ลักษณะธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ทั้งธุ รกิจหลักและธุ รกิจเกี่ยวเนื่อง เป็ นการให้บริ การตามสัญญาหรื อสัมปทานระยะ ยาวจากหน่ วยงานราชการ ซึ่ งในปั จจุบนั บริ ษทั ฯ มีสัญญา/สัมปทานรวมทั้งหนังสื ออนุ ญาตจากหน่ วยงาน ราชการต่างๆ ที่สาคัญต่อการประกอบธุ รกิจของบริ ษทั ฯ สรุ ปรายละเอียดได้ดงั นี้ 3.2.1 หนังสื ออนุญาตให้ ใช้ นา้ จากแหล่ งนา้ ของกรมชลประทาน ธุ รกิจน้ าดิบของบริ ษทั ฯ ที่ให้บริ การในพื้นที่จงั หวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิ งเทราเป็ นแหล่งน้ าซึ่ งอยูใ่ น ความรับผิดชอบของกรมชลประทานและจะต้องได้รับอนุ ญาตจากกรมชลประทานก่อนจึงจะสามารถนา น้ ามาใช้ได้ 5 แห่ ง ได้แก่ อ่างเก็บน้ าหนองค้อ อ่างเก็บน้ าดอกกราย อ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล อ่างเก็บน้ า บางพระ และคลองนครเนื่ องเขต โดยในปี 2554 บริ ษทั ฯ ได้รับอนุ มตั ิจดั สรรน้ าจากอ่างเก็บน้ าดอกกราย เพิ่มเติมจาก 96.2 ล้าน ลบ.ม./ปี เป็ น 116 ล้าน ลบ.ม./ปี และจากอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหลเพิ่มเติมจาก 66 ล้าน ลบ.ม./ปี เป็ น 120 ล้าน ลบ.ม./ปี นอกจากนี้ ยงั ได้รับ อนุ ญาตให้สูบน้ า จากอ่ างเก็บน้ า บางพระได้ กรณี ที่ปริ มาณน้ าต้นทุนในอ่างเก็บน้ าบางพระมีมาก นอกเหนื อจากน้ าที่เก็บฝากในอ่างเก็บน้ าบางพระไว้ โดยจะพิ จ ารณาเป็ นรายปี ไป ซึ่ งบริ ษัท ฯ ได้ รั บ หนั ง สื อ อนุ ญ าตให้ ใ ช้ น้ าจากแหล่ ง น้ าทั้ง 5 แห่ ง มีสาระสาคัญของหนังสื ออนุญาตดังนี้ สรุ ปหนังสื ออนุญาตให้ ใช้ นา้ จากอ่ างเก็บนา้ หนองค้ อ หัวข้ อ ผูอ้ นุญาต ผูร้ ับอนุญาต วัน ที่ ล งนามใน หนังสื ออนุญาต ระ ย ะ เ วล ากา ร อนุญาต

สาระสาคัญของ หนังสื ออนุญาต

รายละเอียด อธิบดีกรมชลประทาน บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ฯ”) 28 มีนาคม 2550 5 ปี นับตั้งแต่วนั ที่ผรู ้ ับอนุญาตได้ลงนามในหนังสื ออนุ ญาต เป็ นต้นไป ทั้งนี้ ก่อนครบ กาหนดเวลาการอนุ ญาต หากบริ ษทั ฯยังมีความประสงค์จะใช้น้ าจากอ่างเก็บน้ าหนอง ค้อไปใช้ในกิ จการต่อไปอี ก บริ ษทั ฯต้องทาหนังสื อขอต่ออายุหนังสื ออนุ ญาตไปยัง อธิ บดี กรมชลประทานหรื อผูท้ ี่อธิ บดีมอบหมาย ก่อนครบกาหนดเวลาการอนุ ญาตไม่ น้อยกว่า 60 วัน แต่กรมชลประทานสงวนสิ ทธิ ที่จะอนุ ญาตหรื อไม่ก็ได้ โดยจะคานึ งถึง งานชลประทานเป็ นการสาคัญ  กรมชลประทานอนุ ญาตให้บริ ษทั ฯใช้ที่ดินในเขตชลประทานเพื่อวางท่อ ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 600 - 1,000 มม. จานวน 3 ท่อ ในเขตคันอ่างเก็บน้ าหนองค้อ ซึ่ ง ตั้งอยู่ ต. หนองขาม อ. ศรี ราชา จ. ชลบุรี และอนุ ญาตให้สูบน้ าเพื่อนาไปใช้ในกิ จการ จ่ายน้ าดิบให้แก่นิคมอุตสาหกรรม การประปา และโรงงานอุตสาหกรรม โดยให้ใช้น้ า ได้ไม่เกินเดือนละ 1,372,500 ลบ.ม.

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 31


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

 บริ ษทั จะต้องชาระค่าน้ าให้กรมชลประทานเป็ นรายเดือนตามอัตราที่กฎกระทรวง ฉบับที่ 42 (พ.ศ. 2540) กาหนด คื อ อัตราลบ.ม.ละ 50 สตางค์ ทั้งนี้ หากมี การออก กฎกระทรวงกาหนดอัตราขึ้นใหม่ บริ ษทั ฯจะต้องชาระเงินค่าน้ าตามอัตราใหม่ทนั ที  เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ ถ้ากรมชลประทานมีความจาเป็ นให้ร้ื อถอนท่อหรื อ สิ่ งปลู ก สร้ างอื่ นตามที่ ได้อนุ ญาตไว้น้ ี กรมชลประทานจะแจ้งให้บริ ษ ทั ฯทราบเป็ น หนังสื อ และบริ ษทั ฯจะต้องรื้ อถอนท่อหรื อสิ่ งปลูกสร้างอื่นออกไปให้พน้ เขตที่ดินของ กรมชลประทานภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่ได้รับแจ้งหนังสื อ  หากกรมชลประทานพิ จารณาเห็ นว่า น้ า ในอ่ า งเก็ บ น้ า ตามที่ อนุ ญาตให้สู บ ตาม หนัง สื ออนุ ญาตนี้ ไม่ เพี ย งพอแก่ ก ารส่ ง น้ า เพื่ อ การเกษตร สมควรให้ง ดการสู บ น้ า ชัว่ คราว กรมชลประทานจะแจ้งให้บริ ษทั ฯงดสู บน้ าได้ตามความจาเป็ นจนกว่าจะสั่ง เปลี่ยนแปลง และเมื่อได้รับคาสั่งดังกล่าวบริ ษทั ฯจะต้องหยุดสู บน้ าตามที่สั่งทันที หมายเหตุ บริ ษทั ฯ อยูใ่ นระหว่างการประสานงานกับกรมชลประทานเพื่อขอต่ออายุหนังสื ออนุญาตให้ใช้น้ าจากอ่างเก็บน้ า หนองค้อ ซึ่งตามสัญญาเดิมครบกาหนดในเดือน มกราคม 2555 นี้

สรุ ปหนังสื ออนุญาตให้ ใช้ นา้ จากอ่ างเก็บนา้ ดอกกราย หัวข้ อ ผูอ้ นุญาต ผูร้ ับอนุญาต วันที่ลงนามใน หนังสื ออนุญาต ระยะเวลาการ อนุญาต

สาระสาคัญของ หนังสื ออนุญาต

รายละเอียด อธิบดีกรมชลประทาน บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ฯ”) 14 กุมภาพันธ์ 2550 5 ปี นับตั้งแต่วนั ที่ผูร้ ั บอนุ ญาตได้ลงนามในหนังสื ออนุ ญาต เป็ นต้นไป ทั้งนี้ ก่ อน ครบกาหนดเวลาการอนุ ญาต หากบริ ษทั ฯยังมี ความประสงค์จะใช้น้ าจากอ่างเก็บน้ า ดอกกรายไปใช้ในกิจการต่อไปอีก บริ ษทั ฯต้องทาหนังสื อขอต่ออายุหนังสื ออนุ ญาตไป ยังอธิ บดีกรมชลประทานหรื อผูท้ ี่อธิ บดีมอบหมาย ก่อนครบกาหนดเวลาการอนุ ญาตไม่ น้อยกว่า 60 วัน แต่กรมชลประทานสงวนสิ ทธิ ที่จะอนุ ญาตหรื อไม่ก็ได้ โดยจะคานึ งถึง งานชลประทานเป็ นการสาคัญ  กรมชลประทานอนุญาตให้บริ ษทั ฯใช้ที่ดินในเขตชลประทานเพื่อวางท่อ ขนาดเส้น ผ่า นศู นย์ก ลาง 1,350 มม. จานวน 1 ท่ อ ในเขตคันอ่ างเก็ บ น้ า ดอกกราย ซึ่ ง ตั้ง อยู่ ต. แม่น้ าคู ้ อ. ปลวกแดง จ. ระยอง และอนุ ญาตให้สูบน้ าเพื่อนาน้ าไปจ่ายเป็ นน้ าดิบเพื่อ การอุปโภคบริ โภคและการอุตสาหกรรม โดยให้สูบน้ าได้ไม่เกิ นเดือนละ 9,666,667 ลบ.ม.  บริ ษทั จะต้องชาระค่าน้ าให้กรมชลประทานเป็ นรายเดือนตามอัตราที่กฎกระทรวง

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 32


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

ฉบับที่ 42 (พ.ศ. 2540) กาหนด คื อ อัตราลบ.ม.ละ 50 สตางค์ ทั้งนี้ หากมี การออก กฎกระทรวงกาหนดอัตราขึ้นใหม่ บริ ษทั ฯจะต้องชาระเงินค่าน้ าตามอัตราใหม่ทนั ที  เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ ถ้ากรมชลประทานมีความจาเป็ นให้ร้ื อถอนท่อหรื อ สิ่ งปลู ก สร้ า งอื่ นตามที่ ได้อนุ ญาตไว้น้ ี กรมชลประทานจะแจ้งให้บริ ษทั ฯทราบเป็ น หนังสื อ และบริ ษทั ฯจะต้องรื้ อถอนท่อหรื อสิ่ งปลูกสร้างอื่นออกไปให้พน้ เขตที่ดินของ กรมชลประทานภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่ได้รับแจ้งหนังสื อ  หากกรมชลประทานพิ จารณาเห็ นว่า น้ า ในอ่ า งเก็ บ น้ า ตามที่ อนุ ญาตให้สู บ ตาม หนัง สื ออนุ ญาตนี้ ไม่ เ พี ย งพอแก่ ก ารส่ ง น้ า เพื่ อการเกษตร สมควรให้ ง ดการสู บ น้ า ชัว่ คราว กรมชลประทานจะแจ้งให้บริ ษทั ฯงดสู บน้ าได้ตามความจาเป็ นจนกว่าจะสั่ง เปลี่ยนแปลง และเมื่อได้รับคาสั่งดังกล่าวบริ ษทั ฯจะต้องหยุดสู บน้ าตามที่สั่งทันที หมายเหตุ บริ ษทั ฯ อยูใ่ นระหว่างการประสานงานกับกรมชลประทานเพื่อขอต่ออายุหนังสื ออนุญาตให้ใช้น้ าจากอ่างเก็บน้ า หนองค้อ ซึ่งตามสัญญาเดิมครบกาหนดในเดือน มกราคม 2555 นี้

สรุ ปหนังสื ออนุญาตให้ ใช้ นา้ จากอ่ างเก็บนา้ หนองปลาไหล หัวข้ อ ผูอ้ นุญาต ผูร้ ับอนุญาต วันที่ลงนามใน หนังสื ออนุญาต ระยะเวลาการ อนุญาต

สาระสาคัญของ หนังสื ออนุญาต

รายละเอียด อธิบดีกรมชลประทาน บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ฯ”) 23 มิถุนายน 2553 5 ปี นับตั้งแต่วนั ที่ ผรู ้ ับอนุ ญาตได้ลงนามในหนังสื ออนุ ญาต เป็ นต้นไป ทั้งนี้ ก่อน ครบกาหนดเวลาการอนุ ญาต หากบริ ษทั ฯยังมี ความประสงค์จะใช้น้ าจากอ่างเก็บน้ า หนองปลาไหลไปใช้ใ นกิ จการต่ อไปอี ก บริ ษ ทั ฯต้องท าหนัง สื อขอต่ ออายุหนัง สื อ อนุญาตไปยังอธิบดีกรมชลประทานหรื อผูท้ ี่อธิบดีมอบหมาย ก่อนครบกาหนดเวลาการ อนุญาตไม่นอ้ ยกว่า 60 วัน แต่กรมชลประทานสงวนสิ ทธิ ที่จะอนุ ญาตหรื อไม่ก็ได้ โดย จะคานึงถึงงานชลประทานเป็ นการสาคัญ  กรมชลประทานอนุญาตให้บริ ษทั ฯใช้ที่ดินในเขตชลประทานเพื่อวางท่อ ขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง 1,200 และ 1,350 มม. จานวน 2 ท่อ ในเขตอ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล ซึ่ ง ตั้งอยู่ ต. ละหาร อ. ปลวกแดง จ. ระยอง และอนุ ญาตให้สูบน้ าเพื่อนาไปใช้ในกิ จการ จาหน่ ายน้ าดิ บเพื่ออุตสาหกรรมและอุปโภค-บริ โภค โดยให้สูบน้ าได้ไม่เกิ นเดื อนละ 10,000,000 ลบ.ม.  บริ ษทั จะต้องชาระค่าน้ าให้กรมชลประทานเป็ นรายเดือนตามอัตราที่กฎกระทรวง ฉบับที่ 42 (พ.ศ. 2540) กาหนด คือ อัตราลบ.ม.ละ 50 สตางค์ ทั้งนี้ หากมี การออก

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 33


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

กฎกระทรวงกาหนดอัตราขึ้นใหม่ บริ ษทั ฯจะต้องชาระเงินค่าน้ าตามอัตราใหม่ทนั ที  เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ ถ้ากรมชลประทานมีความจาเป็ นให้ร้ื อถอนท่อหรื อ สิ่ งปลู กสร้ างอื่ นตามที่ ได้อนุ ญาตไว้น้ ี กรมชลประทานจะแจ้ง ให้บ ริ ษทั ฯทราบเป็ น หนังสื อ และบริ ษทั ฯจะต้องรื้ อถอนท่อหรื อสิ่ งปลูกสร้างอื่นออกไปให้พน้ เขตที่ดินของ กรมชลประทานภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่ได้รับแจ้งหนังสื อ  หากกรมชลประทานพิ จ ารณาเห็ น ว่า น้ า ในอ่ า งเก็ บ น้ า ตามที่ อนุ ญาตให้สู บตาม หนัง สื อ อนุ ญาตนี้ ไม่ เ พี ย งพอแก่ ก ารส่ ง น้ า เพื่ อการเกษตรสมควรให้ ง ดการสู บ น้ า ชัว่ คราว กรมชลประทานจะแจ้งให้บริ ษทั ฯงดสู บน้ าได้ตามความจาเป็ นจนกว่าจะสั่ง เปลี่ยนแปลง และเมื่อได้รับคาสั่งดังกล่าวบริ ษทั ฯจะต้องหยุดสู บน้ าตามที่สั่งทันที สรุ ปหนังสื ออนุญาตให้ ใช้ นา้ จากอ่างเก็บนา้ บางพระ หัวข้ อ ผูอ้ นุญาต ผูร้ ับอนุญาต วัน ที่ ล งนามใน หนังสื ออนุญาต ระ ย ะ เ วล าก า ร อนุญาต

สาระสาคัญของ หนังสื ออนุญาต

รายละเอียด อธิบดีกรมชลประทาน บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ฯ”) 4 มิถุนายน 2551 5 ปี นับตั้งแต่วนั ที่ผรู ้ ับอนุ ญาตได้ลงนามในหนังสื ออนุ ญาต เป็ นต้นไป ทั้งนี้ ก่อน ครบกาหนดเวลาการอนุ ญาต หากบริ ษทั ฯยังมี ความประสงค์จะใช้น้ าจากอ่างเก็บน้ า บางพระไปใช้ในกิจการต่อไปอีก บริ ษทั ฯต้องทาหนังสื อขอต่ออายุหนังสื ออนุ ญาตไป ยังอธิ บดีกรมชลประทานหรื อผูท้ ี่อธิ บดีมอบหมาย ก่อนครบกาหนดเวลาการอนุ ญาตไม่ น้อยกว่า 60 วัน แต่กรมชลประทานสงวนสิ ทธิ ที่จะอนุ ญาตหรื อไม่ก็ได้ โดยจะคานึ งถึง งานชลประทานเป็ นการสาคัญ  กรมชลประทานอนุญาตให้บริ ษทั ฯใช้ที่ดินในเขตชลประทานเพื่อวางท่อ ขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง 700-1,200 มม.จานวน 2 ท่อ เพื่อนาน้ ามาฝากและสู บน้ าไปใช้ แต่การสู บ น้ าดังกล่าวต้องไม่เกิ นจานวนน้ าที่นามาฝากไว้ในแต่ละปี โดยไม่หักอัตราการระเหย และรั่วซึ ม แต่หากปี ใดที่ใช้น้ าน้อยกว่าน้ าที่นามาฝากไว้ตอ้ งยกน้ าส่ วนที่เหลือในปี นั้น ให้แก่กรมชลประทานโดยไม่คิดมูลค่า และจะทาการตัดยอดบัญชี ประจาปี ทุกวันที่ 31 กรกฎาคมของทุ ก ปี บริ ษ ทั ฯ สามารถขอใช้น้ า จากอ่ า งเก็ บ น้ า บางพระเพิ่ ม เกิ นกว่า ปริ มาณน้ าจานวนที่ นามาฝากไว้ ในกรณี ที่ปริ มาณน้ าต้นทุนในอ่างเก็บน้ าบางพระมี มาก และไม่กระทบแผนจัดสรรน้ าปกติ โดยจะพิจารณาเป็ นรายปี  บริ ษทั จะต้องชาระค่าน้ าให้กรมชลประทานเป็ นรายเดือนตามอัตราที่กฎกระทรวง ฉบับที่ 42 (พ.ศ. 2540) กาหนด คื อ อัตราลบ.ม.ละ 50 สตางค์ ทั้งนี้ หากมี การออก

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 34


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

กฎกระทรวงกาหนดอัตราขึ้นใหม่ บริ ษทั ฯจะต้องชาระเงินค่าน้ าตามอัตราใหม่ทนั ที  เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ ถ้ากรมชลประทานมีความจาเป็ นให้ร้ื อถอนท่อหรื อ สิ่ งปลู ก สร้ า งอื่ นตามที่ ได้อนุ ญาตไว้น้ ี กรมชลประทานจะแจ้งให้บริ ษทั ฯทราบเป็ น หนังสื อ และบริ ษทั ฯจะต้องรื้ อถอนท่อหรื อสิ่ งปลูกสร้างอื่นออกไปให้พน้ เขตที่ดินของ กรมชลประทานภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่ได้รับแจ้งหนังสื อ  หากกรมชลประทานพิจารณาเห็นว่า น้ าในอ่างเก็บน้ าบางพระตามหนังสื ออนุ ญาตนี้ ไม่ เ พี ย งพอแก่ ก ารส่ ง น้ าเพื่ อ การเกษตร สมควรให้ ง ดการสู บ น้ าชั่ ว คราว กรม ชลประทานจะแจ้งให้บริ ษทั ฯงดสู บน้ าได้ตามความจาเป็ นจนกว่าจะสั่งเปลี่ ยนแปลง และเมื่อได้รับคาสั่งดังกล่าวบริ ษทั ฯจะต้องหยุดสู บน้ าตามที่สั่งทันที สรุ ปหนังสื ออนุญาตให้ ใช้ นา้ จากคลองนครเนื่องเขต หัวข้ อ ผูอ้ นุญาต ผูร้ ับอนุญาต วัน ที่ ล งนามใน หนังสื ออนุญาต ระ ย ะ เ วล าก า ร อนุญาต

สาระสาคัญของ หนังสื ออนุญาต

รายละเอียด อธิบดีกรมชลประทาน บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ฯ”) 3 สิ งหาคม 2552 5 ปี นับตั้งแต่วนั ที่ผูร้ ั บอนุ ญาตได้ลงนามในหนังสื ออนุ ญาต เป็ นต้นไป ทั้งนี้ ก่ อน ครบกาหนดเวลาการอนุ ญาต หากบริ ษทั ฯยังมี ความประสงค์จะใช้น้ าจากคลองนคร เนื่ องเขตไปใช้ในกิจการต่อไปอีก บริ ษทั ฯต้องทาหนังสื อขอต่ออายุหนังสื ออนุ ญาตไป ยังอธิ บดีกรมชลประทานหรื อผูท้ ี่อธิ บดีมอบหมาย ก่อนครบกาหนดเวลาการอนุ ญาตไม่ น้อยกว่า 60 วัน แต่กรมชลประทานสงวนสิ ทธิ ที่จะอนุ ญาตหรื อไม่ก็ได้ โดยจะคานึ งถึง งานชลประทานเป็ นการสาคัญ  กรมชลประทานอนุญาตให้บริ ษทั ฯใช้ที่ดินในเขตชลประทานเพื่อวางท่อ ขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง 16 นิ้ว เพื่อสู บน้ าจากคลองนครเนื่ องเขตวันละ 100,000 ลบ.ม. ไม่เกิ น เดื อนละ 3,000,000 ลบ.ม. โดยมีระยะเวลาการสู บน้ าระหว่างเดื อนมกราคม ถึ งเดื อน พฤษภาคมเท่านั้น  บริ ษทั ฯจะต้องชาระค่าน้ าให้กรมชลประทานเป็ นรายเดือนตามอัตราที่กฎกระทรวง ฉบับที่ 42 (พ.ศ. 2540) กาหนด คื อ อัตราลบ.ม.ละ 50 สตางค์ ทั้งนี้ หากมี การออก กฎกระทรวงกาหนดอัตราขึ้นใหม่ บริ ษทั ฯจะต้องชาระเงินค่าน้ าตามอัตราใหม่ทนั ที  เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ ถ้ากรมชลประทานมีความจาเป็ นให้ร้ื อถอนท่อหรื อ สิ่ งปลู ก สร้ า งอื่ นตามที่ ได้อนุ ญาตไว้น้ ี กรมชลประทานจะแจ้งให้บริ ษทั ฯทราบเป็ น หนังสื อ และบริ ษทั ฯจะต้องรื้ อถอนท่อหรื อสิ่ งปลูกสร้างอื่นออกไปให้พน้ เขตที่ดินของ

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 35


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

กรมชลประทานภายใน 15 วัน นับแต่วนั ที่ได้รับแจ้งหนังสื อ  หากกรมชลประทานพิจารณาเห็นว่า น้ าในคลองนครเนื่องเขตตามหนังสื ออนุ ญาตนี้ ไม่ เ พี ย งพอแก่ ก ารส่ ง น้ าเพื่ อ การเกษตร สมควรให้ ง ดการสู บ น้ าชั่ ว คราว กรม ชลประทานจะแจ้งให้บริ ษทั ฯงดสู บน้ าได้ตามความจาเป็ นจนกว่าจะสั่งเปลี่ ยนแปลง และเมื่อได้รับคาสั่งดังกล่าวบริ ษทั ฯจะต้องหยุดสู บน้ าตามที่สั่งทันที 3.2.2 สั มปทานการบริหารและดาเนินกิจการท่อส่ งนา้ ในภาคตะวันออก บริ ษ ทั ฯ ได้รับ โอนสิ ท ธิ ก ารบริ หารและการดาเนิ นกิ จการระบบท่ อส่ ง น้ า สายหลัก ในภาคตะวันออก จากกระทรวงการคลัง โดยมีรายละเอียดของสัญญา ดังนี้ สรุ ปสั ญญาการบริ หารและการดาเนินกิจการระบบท่ อส่ งน้าสายหลักในภาคตะวันออก คู่สัญญา :  กระทรวงการคลัง  บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ("บริ ษทั ”) วันที่ลงนามในสัญญา : 26 ธันวาคม 2536 อายุสัญญา : ระยะเวลา 30 ปี นับตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2537 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2566 สาระสาคัญของสัญญา : บริ ษ ัท ฯ รั บ โอนสิ ท ธิ ก ารใช้ร ะบบท่ อ ส่ ง น้ า จากกระทรวงการคลัง มา ดาเนินการ ระบบท่อส่ งน้ า : “ระบบท่อส่ งน้ า” ในสัญญานี้ หมายถึง อาคาร สถานีสูบน้ า สถานี ยกระดับ น้ าท่อส่ งน้ า เครื่ องจักรตลอดจนส่ วนต่อและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในระบบ ส่ งน้ า ของท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง สายแหลมฉบัง-พัทยา สาย ดอกกราย-มาบตาพุด และสายมาบตาพุด-สัตหีบ การสิ้ นสุ ดของสัญญา : 1. สิ้ นสุ ดตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ในสัญญา และ/หรื อ 2. ในกรณี ที่ กระทรวงการคลังมีความจาเป็ นจะต้องใช้ที่ราชพัส ดุ เพื่ อ ประโยชน์ของรัฐหรื อของทางราชการ บริ ษทั ฯ ยินยอมให้กระทรวง การคลัง บอกเลิ ก สั ญ ญาได้ โดยบอกกล่ า วเป็ นหนัง สื อให้บ ริ ษ ัท ฯ ทราบล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 30 วัน 3. ถ้า บริ ษัท ฯ ปฏิ บ ัติ ผิ ด สั ญ ญาข้อ หนึ่ งข้อ ใดอัน เป็ นสาระส าคัญ กระทรวงการคลังมีสิทธิ บอกเลิก สัญญาได้ทนั ที เว้นแต่ในกรณี ที่ กระทรวงการคลังเห็นว่ายังสามารถแก้ไขให้ถูกต้องได้ การจ่ายผลประโยชน์ : ภายใน 120 วัน นับจากวันสิ้ นสุ ดรอบปี ทางการเงินทางบัญชี หรื อภายใน ตอบแทน เดือนมกราคมของทุกปี ทั้งนี้ ตั้งแต่เดือนมกราคม 2538 เป็ นต้นไป บริ ษทั ตกลงชาระผลประโยชน์ตอบแทนให้กระทรวงการคลัง ดังนี้ ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 36


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

หลักประกัน

รายละเอียดระบบ ท่อส่ งน้ า

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

1. บริ ษทั ฯ ตกลงจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนขั้นต่าให้แก่กระทรวงการ คลังในอัตรา 2 ล้านบาทต่อปี หรื อ 2. หากในปี ใดบริ ษ ัท ฯ มี ย อดขายน้ า ดิ บ เกิ น กว่า 200 ล้า นบาทต่ อ ปี บริ ษทั ฯ จะจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนให้กบั กระทรวงการคลังใน อัตราร้อยละ 1 ของยอดขายน้ าดิบ 3. นอกเหนือจากผลประโยชน์ตอบแทนตามข้อ 1 หรื อ 2 แล้ว หากในปี ใดบริ ษทั ฯ มีผลตอบแทนต่อส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้น (Return on Equity) เกิ นกว่า ร้ อยละ 20 บริ ษ ทั ฯ จะจ่ า ยผลประโยชน์ ตอบแทน (Profit Sharing) ให้กบั กระทรวงการคลังเพิ่มอีกในอัตราร้ อยละ 15 ของ ส่ วนที่เกินร้อยละ 20 ทั้ง นี้ อัต ราผลประโยชน์ ต อบแทนรวมตามข้อ 1 หรื อ 2 เมื่ อ รวมกับ ผลประโยชน์ตอบแทนในข้อ 3 จะต้องไม่เกินร้อยละ 6 ของมูลค่าที่แท้จริ ง ที่ได้มีการประเมินตามระยะเวลาและหลักการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไป (Real Value) ของทรัพย์สินที่บริ ษทั ฯ เช่าจากกระทรวงการคลังตามสัญญานี้ : บริ ษ ทั ฯ ได้นาหนังสื อค้ า ประกันของธนาคารกรุ ง ไทย จากัด (มหาชน) ตามแบบที่ ก ระทรวงการคลัง เห็ น ชอบ เลขที่ 2-091340 ลงวัน ที่ 28 ธันวาคม 2536 เป็ นจานวนเงิน 2,000,000 บาท (สองล้านบาท) มามอบ ให้กบั กระทรวงการคลังไว้เพื่อเป็ นหลักประกันในการปฏิบตั ิตามสัญญานี้ และกระทรวงการคลัง จะคื นหลัก ประกันดัง กล่ า ว เมื่ อบริ ษ ทั ฯ สิ้ นสุ ด ความผูกพันตามสัญญานี้ ทั้งนี้ กระทรวงการคลังอาจขอให้บริ ษทั ฯ เพิ่ม วงเงินได้ 1. ระบบท่อส่ งน้ าดอกกราย-มาบตาพุด ประกอบด้วย :  โรงสู บน้ า และเครื่ องสู บน้ าดิบบริ เวณอ่างเก็บน้ าดอกกราย  ท่อส่ งน้ าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1,350 มม. ความยาว 26.5 กม. พร้อมอุปกรณ์ประกอบ  สถานียกระดับน้ าบริ เวณมาบข่า (Head Tank)  สถานีรับน้ ามาบตาพุด (Receiving Well) 2. ระบบท่อส่ งน้ ามาบตาพุด-สัตหีบ ประกอบด้วย  ท่อส่ งน้ าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 900 มม. ความยาว 8.2 กม. และ ขนาดเส้ น ผ่ า นศู น ย์ก ลาง 700 มม. ความยาว 14.3 กม. พร้ อ ม อุปกรณ์ ประกอบ  สถานียกระดับน้ าบริ เวณสถานีมาบตาพุด (Head Tank)  สถานีรับน้ าสัตหี บ (Receiving Well)

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 37


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

3. ระบบท่อส่ งน้ าหนองค้อ-แหลมฉบัง 1 และ 2 ประกอบด้วย  ท่อส่ งน้ าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1,000 มม. ความยาว 10.60 กม. และขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 900 มม. ความยาว 4.40 กม. พร้อม อุปกรณ์ประกอบ  สถานีรับน้ าแหลมฉบัง (Receiving Well) 4. ระบบท่อส่ งน้ าแหลมฉบัง-พัทยา ประกอบด้วย  ท่ อส่ ง น้ า ขนาดเส้ นผ่า นศู น ย์ก ลาง 600 มม. ความยาว 14.9 กม. พร้อมอุปกรณ์ประกอบ  สถานีรับน้ าพัทยา (Receiving Well)

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 38


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

3.2.3 กรมธรรม์ ประกันภัยทรัพย์สินของบริษัท บริ ษทั ฯได้ทาประกันความเสี่ ยงภัยของทรั พย์สินทั้งความเสี ยหายต่อทรั พย์สินโดยตรง (All Risks) และ ผลกระทบอันเกิดกับธุ รกิจหยุดชะงักจากการเสี ยหายของทรัพย์สินของบริ ษทั ฯ (Business Interruption) ดังนี้ สรุ ปกรมธรรม์ ประกันภัยทรัพย์สินรับโอนจากระทรวงการคลัง 1. กรมธรรม์เลขที่ 14016-114-120000705 ผูท้ าประกัน บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) บริ ษทั ผูร้ ับประกันภัย บริ ษทั ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) ระยะเวลาให้ความคุม้ ครอง 31 ธันวาคม 2554 – 31 ธันวาคม 2555 ประเภทการให้ความคุม้ ครอง ประกันความเสี่ ยงภัยทั้งปวง (All Risks Insurance) จากความเสี ยหาย ทางกายภาพของทรัพย์สินเอาประกันอันเนื่ องมาจากเหตุภายนอก (External Cause) ทั้งนี้ การคุม้ ครองนี้จะยกเว้นไม่คุม้ ครองความ เสี ยหายส่ วนแรก (Deductibles) จานวน 50,000 บาท ในแต่ละครั้ง ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ 2,115,985.99 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) จานวนเงินเอาประกันภัย 2,626,237,648.31 บาท ทรัพย์สินที่เอาประกันภัย 1. ทรัพย์สินที่รับโอนมาจากกระทรวงการคลัง 1.1 โครงการดอกกราย – มาบตาพุด 415,655,233.00 บาท 1.2 โครงการมาบตาพุด – สัตหีบ 189,793,744.00 บาท 1.3 โครงการหนองค้อ – แหลมฉบัง 131,977,687.00 บาท 1.4 โครงการแหลมฉบัง – พัทยา 69,275,687.00 บาท 1.5 โครงการหนองปลาไหล – หนองค้อ 1,564,665,297.31 บาท 1.6 โครงการหนองค้อ – แหลมฉบัง (ระยะ 2) 254,870,000.00 บาท รวม 2,626,237,648.31 บาท ผูร้ ับผลประโยชน์ กระทรวงการคลัง และ/หรื อ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาค ตะวันออก 2. กรมธรรม์เลขที่ 14016-114-120000683 ผูท้ าประกัน บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) บริ ษทั ผูร้ ับประกันภัย บริ ษทั ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) ระยะเวลาให้ความคุม้ ครอง 31 ธันวาคม 2554 - 31 ธันวาคม 2555 ประเภทการให้ความคุม้ ครอง ประกันความเสี ยหายในการที่ธุรกิจหยุดชะงัก อันเนื่ องมาจากทรัพย์สิน เสี ยหาย (Business Interruption Insurance) ภายในระยะเวลา 3 เดือน ทั้งนี้ การคุม้ ครองนี้จะ ยกเว้นไม่คุม้ ครอง ความเสี ยหายในส่ วนแรก (Deductibles) เป็ นระยะเวลา 3 วัน ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ 72,595.22 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 39


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

จานวนเงินเอาประกันภัย ผูร้ ับผลประโยชน์

90,100,069.80 บาท กระทรวงการคลัง และ/หรื อ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาค ตะวันออก กรมธรรม์เลขที่ 14013-114-120000380 ผูท้ าประกัน บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) บริ ษทั ผูร้ ับประกันภัย บริ ษทั ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) ระยะเวลาให้ความคุม้ ครอง 31 ธันวาคม 2554 - 31 ธันวาคม 2553 ประเภทการให้ความคุม้ ครอง ประกันภัยความรับผิดต่อบุคคลภายนอก ความรับผิดตามกฎหมายซึ่ ง เกิดขึ้นภายในสถานที่ประกอบการหรื อเกิดขึ้นจากการใช้สถานที่ ประกอบการ ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ 268,570.00 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) จานวนเงินจากัดความรับผิด ไม่เกิน 50,000,000.00 บาท ต่อครั้ง และตลอดระยะเวลาเอาประกันภัย รับผิดชอบเองส่ วนแรก 50,000.00 บาทแรก สาหรับความเสี ยหายต่อทรัพย์สินของ บุคคลภายนอกเท่านั้น สถานที่ต้ งั ทรัพย์สิน สถานที่ต้ งั ของทรัพย์สินรับโอนจากกระทรวงการคลังในโครงการต่าง ๆ ในบริ เวณระหว่าง จ.ชลบุรี และ จ.ระยอง ดังนี้ 1) โครงการดอกกราย-มาบตาพุด 2) โครงการมาบตาพุด-สัตหีบ 3) โครงการหนองค้อ-แหลมฉบัง 4) โครงการแหลมฉบัง-พัทยา 5) โครงการหนองปลาไหล-หนองค้อ 6) โครงการหนองค้อ-แหลมฉบัง (ระยะ2) ผูร้ ับผลประโยชน์ กระทรวงการคลัง และ/หรื อ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาค ตะวันออก บริ ษทั ฯได้ทาประกันความสู ญเสี ยหรื อความเสี ยหายทางกายภาพของทรัพย์สินที่เอาประกันภัย อันเนื่ องมาจาก อุบตั ิเหตุใดๆ ภายใต้ขอ้ ตกลงคุม้ ครอง เงื่อ นไข และข้อยกเว้นของกรมธรรม์ประกันความเสี่ ยงภัยทรัพย์สิน ฉบับมาตรฐาน (GIA Form) ดังนี้

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 40


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

สรุ ปกรมธรรม์ ประกันภัยทรัพย์สินของบริษัท 1. กรมธรรม์เลขที่ 14016-114-120000753 ผูท้ าประกัน บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) บริ ษทั ผูร้ ับประกันภัย บริ ษทั ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) ระยะเวลาให้ความคุม้ ครอง 31 ธันวาคม 2554 – 31 ธันวาคม 2555 ประเภทการให้ความคุม้ ครอง ความสู ญเสี ยหรื อความเสี ยหายทางกายภาพของทรัพย์ที่เอาประกัน อัน เนื่องมาจากอุบตั ิเหตุใดๆ ภายใต้ขอ้ ตกลงคุม้ ครอง เงื่อนไข และ ข้อยกเว้นของกรมธรรม์ประกันความเสี่ ยงภัยทรัพย์สิน ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ 554,255.72 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) จานวนเงินเอาประกันภัย 687,909,007.49 บาท สถานที่เอาประกันภัย บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) (สานักงานใหญ่) 1 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร ทรัพย์สินที่เอาประกัน อาคารสานักงาน เครื่ องจักร อุปกรณ์สานักงาน และทรัพย์สินอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการดาเนิ นธุ รกิจของผูเ้ อาประกันภัยรวมถึงทรัพย์สินที่อยู่ ในความดูแลและรักษาของผูเ้ อาประกันภัยในฐานะผูร้ ักษาทรัพย์ ผูเ้ อาประกันภัย บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 2. กรมธรรม์เลขที่ ผูท้ าประกัน บริ ษทั ผูร้ ับประกันภัย ระยะเวลาให้ความคุม้ ครอง ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ จานวนเงินเอาประกันภัย สถานที่เอาประกันภัย

ทรัพย์สินที่เอาประกัน

14016-114-120000694 บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) บริ ษทั ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) 31 ธันวาคม 2554 – 31 ธันวาคม 2555 5,518,863.12 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) 6,849,687,100.74 บาท 1. ศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา-ชลบุรี 54/1 หมู่ 1 ตาบลบางขวัญ อาเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 2. ศูนย์ปฏิบตั ิการระยอง 477 ถนนสุ ขมุ วิท ตาบลห้วยโป่ ง อาเภอเมือง จังหวัดระยอง สิ่ งปลู ก สร้ า ง (ไม่ ร วมฐานราก) ส่ ว นปรั บ ปรุ งอาคาร อุ ป กรณ์ สานักงาน เครื่ องจักร เครื่ องมือ อุปกรณ์ทุ กชนิดที่ใช้ในการดาเนิ น ธุ รกิจ สถานีเครื่ องสู บน้ า รวมถึง ระบบท่อต่างๆ ทั้งบนดินและใต้ดิน

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 41


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ผูเ้ อาประกันภัย

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

ที่ อ ยู่ ร ะหว่ า งสถานี สู บ น้ า กับ สถานที่ โ ครงการต่ า งๆ ที่ ร ะบุ ไ ว้ใ น แผนการดาเนินธุ รกิจ บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

3. กรมธรรม์เลขที่ 14016-114-120000672 ผูท้ าประกัน บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) บริ ษทั ผูร้ ับประกันภัย บริ ษทั ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) ระยะเวลาให้ความคุม้ ครอง 31 ธันวาคม 2554 – 31 ธันวาคม 2555 ประเภทการให้ความคุม้ ครอง ความสู ญเสี ยทางการเงินเนื่ องจากผลกาไรที่ลดลงจากผลกระทบของ อุบตั ิเหตุต่อทรัพย์สินที่เอาประกันภัยที่คุม้ ครองตามรายการเอา ประกันภัยที่ศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา-ชลบุรี และศูนย์ปฏิบตั ิการ ระยอง ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ 189,339.71 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) จานวนเงินเอาประกันภัย 234,996,760.61 บาท สถานที่เอาประกันภัย 1. ศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา-ชลบุรี 54/1 หมู่ 1 ตาบลบางขวัญ อาเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 2. ศูนย์ปฏิบตั ิการระยอง 477 ถนนสุ ขมุ วิท ตาบลห้วยโป่ ง อาเภอเมือง จังหวัดระยอง ทรัพย์สินที่เอาประกัน 1. กาไรขั้นต้น 2. การเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายในการดาเนินธุ รกิจ ผูเ้ อาประกันภัย บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก 4. กรมธรรม์เลขที่ 14013-114-120000376 ผูท้ าประกัน บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) บริ ษทั ผูร้ ับประกันภัย บริ ษทั ทิพยประกันภัย จากัด (มหาชน) ระยะเวลาให้ความคุม้ ครอง 31 ธันวาคม 2554 – 31 ธันวาคม 2555 ประเภทการให้ความคุม้ ครอง ให้ความคุม้ ครองความรับผิดตามกฎหมายของผูเ้ อาประกันภัยต่อ บุคคลภายนอกสาหรับ การเสี ยชี วิต บาดเจ็บต่อร่ างกาย หรื อความเสี ยหายต่อทรั พย์สินอัน เนื่ อ งมาจากอุ บ ัติ เ หตุ ซ่ ึ งเกิ ด จากความบกพร่ องของสถานที่ เ อา ประกันภัย หรื อความประมาทเลิ นเล่ อในการดาเนิ นธุ รกิ จของผูเ้ อา ประกันภัย หรื อลูกจ้างของผูเ้ อาประกันภัย ค่าเบี้ยประกันภัยสุ ทธิ 268,570.00 บาท (รวมอากรและภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 42


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

จานวนเงินจากัดความรับผิด สาหรับการบาดเจ็บ สู ญเสี ยชีวติ และความเสี ยหายต่อทรัพย์สินของ บุคคลภายนอก ไม่เกิน 50,000,000.00 บาท ต่ออุบตั ิเหตุแต่ละครั้ง และ ตลอดระยะเวลาประกันภัย รับผิดชอบเองส่ วนแรก 50,000.00 บาทแรก สาหรับความเสี ยหายที่เกิดขึ้นแต่ละครั้ง สถานที่เอาประกันภัย 1. สานักงานใหญ่ 2. ศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา-ชลบุรี รวมถึงตามแนวท่อส่ งน้ าดิบ ดังนี้ หนองค้อ-แหลมฉบัง โรงกรองบางพระ 2 นครเนื่องเขต ศรี ราชา บางปะกง-ชลบุรี ฉะเชิงเทรา 3. ศูนย์ปฏิบตั ิการระยอง รวมถึงตามแนวท่อส่ งน้ าดิบ ดังนี้ มาบตาพุด ดอกกราย-มาบตาพุด แม่น้ าระยอง หนองปลาไหล-หนองค้อ หนองปลาไหล-มาบตาพุด ผูเ้ อาประกันภัย บมจ. จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

3.3. ข้ อจากัดในการประกอบธุรกิจ - ไม่มี –

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 43


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

3.4 การตลาดและการแข่ งขัน น้ าเป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญและเป็ นปั จจัยพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการดารงชี วิตและการพัฒนาประเทศ ทั้ง ด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม บริ ษทั ฯ ได้เล็งเห็ นความสาคัญของทรัพยากรน้ าและได้พยายามบริ หาร การจัดการทรัพยากรน้ าในพื้นที่ภาคตะวันออกโดยผ่านระบบท่อส่ งน้ าให้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด และเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ าทั้งในภาคอุปโภคบริ โภคและภาคอุตสาหกรรม ภายใต้ทรัพยากรน้ าที่มีอยู่ อย่างจากัด อีกทั้งการสร้างจิตสานึกในการใช้น้ าอย่างรู ้คุณค่าแก่เยาวชนอันเป็ นพื้นฐานความเข้าใจ และเป็ น การแก้ไขปั ญหาอย่างยัง่ ยืน ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ และสิ่ งแวดล้อม 3.4.1 อุตสาหกรรมการจัดการทรัพยากรนา้ ในประเทศไทย นับตั้งแต่อดีต ประเทศไทยได้มีการจัดตั้งหน่วยงานหลายแห่ งขึ้น เพื่อรับผิดชอบเรื่ องการบริ หารและจัดการ ทรั พ ยากรน้ า โดยแต่ ล ะหน่ วยงานได้รับ มอบหมายให้รับ ผิดชอบทั้ง ทางตรงและทางอ้อมต่ อการจัดการ ทรัพยากรน้ า ทาให้เกิดความซ้ าซ้อนในการดาเนินการเรื่ องการจัดการทรัพยากรน้ า เมื่อพิจารณาในด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับน้ า พบว่าประเทศไทยมีบทบัญญัติของกฎหมายเกี่ยวกับน้ ามากมาย กระจัดกระจายอยูใ่ นกฎหมายหลายฉบับ โดยการใช้น้ าเพื่อวัตถุประสงค์บางประการก็ไม่มีกฎหมายที่กล่าวถึง โดยตรง เช่น การใช้น้ าเพื่อการอุตสาหกรรม แต่จะมีแฝงอยูใ่ นกฎหมายฉบับอื่นๆ แทน ได้แก่ พระราชบัญญัติ การชลประทานหลวง พ.ศ. 2485 เป็ นต้น และจากการที่กฎหมายเกี่ยวกับน้ า มีจานวนมากและแต่ละฉบับมี เนื้ อหาซ้ าซ้อนกัน ก่อให้เกิ ดปั ญหาในทางปฏิ บตั ิ ทาให้เกิ ดความล่าช้า เนื่ องจากต้องเสี ยเวลาในการตีความ และวินิจฉัย นอกจากนี้ กฎหมายน้ าที่ใช้บงั คับอยูใ่ นปั จจุบนั ส่ วนใหญ่ประกาศใช้มามากกว่า 20 ปี โดยหลาย ฉบับมีอายุกว่า 50-60 ปี และมิได้มีการปรับปรุ งให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในปั จจุบนั จะเห็นว่านอกเหนือจากความซ้ าซ้อนของกฎหมายแล้ว องค์กรที่รับผิดชอบก็มีหน้าที่ซ้ าซ้อนเช่นกัน โดยขาด กฎหมายหลักและองค์กรกลางที่ทาหน้าที่วางนโยบายทัว่ ไปที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกหน่วยงานต้องปฏิบตั ิ ตาม ท าให้ เ กิ ดความสั บ สนและความล่ า ช้า ในการด าเนิ น การ เพื่ อ แก้ไ ขปั ญ หาดัง กล่ า ว คณะกรรมการ ทรัพยากรน้ าแห่งชาติ (กนช.) จึงได้ถูกจัดตั้งขึ้นตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยการบริ หารทรัพยากร น้ าแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เพื่อให้การบริ หารทรัพยากรน้ าดาเนินไปอย่างมีเอกภาพ โดย กนช. จะมีกรมทรัพยากร น้ า ทาหน้าที่ฝ่ายเลขานุ การคณะกรรมการฯ อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิ บตั ิ กนช. ไม่มีอานาจที่จะบังคับให้ หน่ วยงานอื่นต้องปฏิ บตั ิตามแนวนโยบายที่วางไว้โดยตรง เนื่องจาก กนช. ถูกจัดตั้งขึ้นตามระเบียบสานัก นายกฯ ทาให้ไม่มีอานาจควบคุ มการดาเนิ นงานของหน่ วยงานอื่นที่มีกฎหมายในลาดับสู งกว่ารองรับ เช่ น พระราชบัญญัติ เป็ นต้น ดังนั้นเพื่อเป็ นการแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงได้มีการเสนอให้จดั ทากฎหมายแม่บท ขึ้น โดยการร่ างพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ า เพื่อเสนอเป็ นกฎหมายในการควบคุมและบริ หารแหล่งน้ า ที่ดิน ที่ต่อเนื่องกับแหล่งน้ า และทรัพยากรธรรมชาติที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งจัดให้มีโครงสร้างการบริ หารการใช้น้ าเป็ น ระดับกระทรวง เพื่อวางนโยบายและกากับดูแลการจัดการเกี่ยวกับทรัพยากรน้ าให้เป็ นไปอย่างเหมาะสม ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 44


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

และในปี 2545 คณะรัฐบาลได้ปฏิ รูประบบราชการและปรับโครงสร้ างการบริ หารงาน โดยจัดตั้งกระทรวง ทบวง กรมขึ้นใหม่ เพื่อให้แต่ละหน่ วยงานสามารถปฏิ บตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากยิ่งขึ้น โดยมีการ ออกกฎกระทรวงและระบุอานาจหน้าที่กรมชลประทาน และกรมทรัพยากรน้ า เพื่อรับผิดชอบเรื่ องการบริ หาร และจัดการทรัพยากรน้ า ดังนี้ 1) ภารกิ จกรมชลประทาน โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ออกกฎกระทรวง พ.ศ. 2545 ให้กรม ชลประทาน มีภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งน้ าตามศักยภาพของลุ่มน้ าให้เพียงพอ โดยจัดสรรน้ าให้กบั ผูใ้ ช้ น้ าทุกประเภท เพื่อให้ผใู ้ ช้น้ าได้รับน้ าอย่างทัว่ ถึงและเป็ นธรรมตลอดจนป้ องกันความเสี ยหายอันเกิดจากน้ า 2) ภารกิ จกรมทรัพยากรน้ า โดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ได้ออกกฎกระทรวง พ.ศ. 2545 ให้กรมทรั พ ยากรน้ า มี ภารกิ จเกี่ ยวกับ การเสนอแนะในการจัดท านโยบายและแผนและมาตรการที่ เกี่ ยวข้องกับทรัพยากรน้ า บริ หารจัดการ พัฒนา อนุ รักษ์ ฟื้ นฟู รวมทั้งควบคุ ม ดูแลกากับ ประสาน ติดตาม ประเมินผล และแก้ไขปั ญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ า พัฒนาวิชาการ กาหนดมาตรฐาน และถ่ายทอดเทคโนโลยี ด้านทรัพยากรน้ า ทั้งระดับภาพรวมและระดับลุ่มน้ า เพื่อการจัดการทรัพยากรน้ าที่เป็ นเอกภาพและยัง่ ยืน 3.4.1.1 อุปทานนา้ ในประเทศไทย ประเทศไทยซึ่ งมีพ้ืนที่ท้ งั ประเทศรวม 512,870 ตาราง กม. ได้รับน้ าจากฝนในปริ มาณปี ละประมาณ 800,000 ล้าน ลบ.ม. โดยน้ าฝนประมาณร้อยละ 75 จะสู ญหายตามระบบของธรรมชาติ เช่ น การระเหยเป็ นไอ ถูกพืช ดูดซับไว้ หรื อซึ มลงใต้ดินกลายเป็ นน้ าบาดาล เป็ นต้น ส่ วนที่เหลืออีกร้อยละ 25 หรื อประมาณ 200,000 ล้าน ลบ.ม. จะไหลลงสู่ แม่น้ าลาธารต่างๆ เรี ยกว่า น้ าผิวดิ นหรื อน้ าท่า เช่ น แหล่งน้ าตามทะเลสาบ แม่น้ าลาธาร ต่างๆ เป็ นต้น การนาน้ าจากแหล่ งน้ าผิวดิ นเหล่านี้ ไปใช้ประโยชน์มกั มี ปัญหาในช่ วงฤดู แล้งซึ่ งเป็ นช่ วงที่ ระดับน้ าในแม่น้ าต่ าและน้ าทะเลหนุ น ดังนั้น จึงมี การสร้ างอ่างเก็บน้ าหรื อเขื่ อนเพื่อกักเก็บน้ าผิวดิ น จาก ข้อมูลของกรมชลประทานระบุวา่ ณ ปี 2554 ประเทศไทยมีเขื่อนและอ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่และขนาดกลางซึ่ ง อยู่ในความรั บผิดชอบของกรมชลประทานและการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ตแห่ งประเทศไทย รวมความจุ ประมาณ 73,642.61 ล้าน ลบ.ม. นอกเหนือจากแหล่งน้ าผิวดิน อันได้แก่ แม่น้ า ทะเลสาบ และน้ าที่เก็บกักอยูใ่ นอ่างเก็บน้ าหรื อเขื่อนต่างๆ แล้ว ยังมีแหล่งน้ าใต้ดิน หรื อ น้ าบาดาล ซึ่ งเป็ นน้ าที่ซึมลงไปในดินและขังอยูใ่ นช่องว่างระหว่างเม็ดดินหรื อชั้นหิ น กลายเป็ นแอ่งน้ าขังอยูใ่ ต้ผวิ โลก โดยแหล่งน้ าบาดาลที่มีขนาดใหญ่และให้ปริ มาณน้ ามากที่สุดในประเทศไทย ได้แก่ แหล่งน้ าบาดาลในภาคกลาง บริ เวณที่ราบลุ่มเจ้าพระยาตอนล่าง อย่างไรก็ตาม การใช้น้ าบาดาลมากเกินไปจะมีผลกระทบต่อความสมดุลทางธรรมชาติ เช่น น้ าทะเลอาจไหล แทรกซึ มเข้ามาในชั้นบาดาลซึ่ งทาให้น้ าจื ดแปรเปลี่ ยนเป็ นน้ ากร่ อยและน้ าเค็มในที่สุด หรื ออาจทาให้เกิ ด ปั ญ หาแผ่น ดิ น ทรุ ด เป็ นต้น ปั จ จุ บ ัน ประเทศไทยมี ก ฎหมายและข้อ บัง คับ ที่ เ กี่ ย วกับ น้ า ใต้ดิ น ได้แ ก่ พระราชบัญญัติน้ าบาดาลปี พ.ศ. 2520 ซึ่ งกาหนดให้การขุดเจาะน้ าบาดาลในเขตน้ าบาดาล จะต้องขออนุ ญาต ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 45


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

รัฐก่อน และประกาศของกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 8/2537 กาหนดเขตน้ าบาดาลและอัตราค่าน้ าบาดาล 3.50 บาทต่อลบ.ม.ครอบคลุมทุกจังหวัดทัว่ ประเทศ ทั้งนี้ในปี 2544 กระทรวงอุตสาหกรรมได้มอบหมายให้กรมทรัพยากรธรณี ศึกษาแนวทางแก้ไขปั ญหาแผ่นดิน ทรุ ด ซึ่ งได้มีมติจากภาครัฐให้ดาเนินการทยอยปรับค่าน้ าบาดาลเพื่อแก้ไขปั ญหาดังกล่าวโดยปรับขึ้นจาก 3.50 บาท เป็ น 8.50 บาท ภายในปี 2546 และห้ามใช้น้ าบาดาลในพื้นที่วิกฤตที่มีระบบน้ าประปาแล้วตั้งแต่มกราคม ปี 2547 เป็ นต้นไป 3.4.2 อุตสาหกรรมการจัดการนา้ ในภาคตะวันออก ในอดีต การจัดการทรัพยากรน้ าในภาคตะวันออกมีหน่วยงานที่รับผิดชอบมากมาย เช่นเดียวกับส่ วนอื่นๆ ของ ประเทศไทย เช่น กรมชลประทานเป็ นผูร้ ับผิดชอบเรื่ องการพัฒนาแหล่งน้ าดิ บ โดยก่อสร้ างอ่างเก็บน้ าต่างๆ ตามนโยบายของรัฐบาล ส่ วนเรื่ องการพัฒนาท่อส่ งน้ า กรมชลประทานและกรมโยธาธิ การเป็ นผูก้ ่อสร้าง แต่ ในด้านการดาเนิ นการได้มอบให้การนิ คมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย (กนอ.) เป็ นผูบ้ ริ หารท่อส่ งน้ าสาย ดอกกราย-มาบตาพุด และสายมาบตาพุด-สัตหี บ ส่ วนท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง และสายแหลมฉบัง พัทยา กรมโยธาธิการเป็ นผูบ้ ริ หาร ซึ่งจะเห็นได้วา่ การจัดการระบบท่อส่ งน้ าขาดระบบบริ หารที่มีความชัดเจน เกี่ยวกับความรับผิดชอบของหน่วยปฏิบตั ิต่างๆ ดังนั้นเมื่อปี 2535 คณะรัฐมนตรี จึงได้มีมติให้ กปภ. จัดตั้ง บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด ขึ้น เพื่อรับผิดชอบในการจัดการระบบท่อส่ งน้ า ดิ บซึ่ งครอบคลุ มทั้งการพัฒนาและการบริ หารระบบท่อส่ งน้ าในพื้นที่ชายฝั่ งทะเลตะวันออก เพื่อลดความ ซ้ าซ้อนของหน่วยงานต่างๆ และเพื่อให้การจัดการทรัพยากรน้ ามีเอกภาพมากขึ้น

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 46


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

แผนภาพแสดงผู้รับผิดชอบหลักในการจัดการทรัพยากรน้าในภาคตะวันออก อดีต

หน่วยงาน : กรมโยธาธิ การ หน้าที่ : บริ หารระบบท่อส่ งน้ า ดิบ จ า ห น่ า ย น้ า ใ ห้ โรงงานและนิ คม ฯ

จาหน่ายน้ าเพื่อการ อุปโภค – บริ โภค

ปัจจุบัน

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 47


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

3.4.2.1 อุปทานนา้ ในภาคตะวันออก แหล่งน้ าผิวดิน ปั จจุบนั พื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก มีการพัฒนาอ่างเก็บน้ าที่สาคัญๆ แล้วจานวน 15 แห่ง ซึ่ งจากข้อมูล ล่าสุ ด อ่างเก็บน้ า 15 แห่งดังกล่าวมีความจุรวมประมาณ 1,199.59 ล้าน ลบ.ม. และมีปริ มาณน้ าที่สามารถใช้ งานได้ประมาณ 1,520.05 ล้าน ลบ.ม.ต่อปี ดังแสดงในตาราง แหล่ งน้า 3 1. อ่างเก็บน้ าบางพระ 2. อ่างเก็บน้ าหนองค้อ 3. อ่างเก็บน้ ามาบปะชัน 4. อ่างเก็บน้ าดอกกราย 5. อ่างเก็บน้ าหนองปลาไหล 6. อ่างเก็บน้ าหนองกลางดง 7. อ่างเก็บน้ าห้วยซากนอก 8. อ่างเก็บน้ าห้วยขุนจิต 9. อ่างเก็บน้ าห้วยสะพาน 10. อ่างเก็บน้ าบางไผ่ 11. อ่างเก็บน้ าคลองระบม 12. เขื่อนทดน้ าบางปะกง 13. อ่างเก็บน้ าคลองสี ยดั 14. อ่างเก็บน้ าคลองใหญ่ 15. อ่างเก็บน้ าประแสร์ รวม

จังหวัด ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ระยอง ระยอง ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ฉะเชิงเทรา ฉะเชิงเทรา ระยอง ระยอง

ความจุ (หน่ วย : ล้ านลบ.ม.) 117.00 21.10 15.60 71.40 163.75 7.90 7.03 4.87 3.84 10.00 36.00 30.00 325.00 40.10 248.00 1,199.59

ปริมาณนา้ ที่สามารถใช้ งานได้ เฉลีย่ * Average Draft Rate (หน่ วย : ล้ านลบ.ม.ต่ อปี ) 44.96 15.78 14.03 146.57 126.31 6.96 5.86 3.98 5.59 7.00 48.28 493.00 285.62 50.93 265.18 1,520.05

ที่ม า : กรมชลประทาน * : ปริ ม าณน้ าที่ ส ามารถใช้ง านได้ต่ อปี เป็ นปริ ม าณโดยเฉลี่ ย ทั้ง นี้ ตัว เลขดัง กล่ า วสามารถ เปลี่ยนแปลงได้ ขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณน้ าที่เพิ่มเติมจากน้ าฝนและแหล่งน้ าต้นทางในแต่ละปี อย่างไรก็ตามตัวเลขดังกล่าวยังไม่ได้ รวมถึงปริ มาณน้ าในอ่างเก็บน้ าที่มีอยูเ่ ดิมซึ่งสามารถนามาใช้งานได้เพิ่มเติม

จากข้อมูลแหล่งน้ าข้างต้น กรมชลประทานมีแผนการพัฒนาแหล่งน้ าเพื่อรองรับความต้องการใช้น้ าที่เพิ่มขึ้น ในอนาคต สาหรับพื้นที่จงั หวัดฉะเชิ งเทรา ชลบุรี และระยอง อีก 10 แห่ ง ความจุรวมประมาณ 241.09 ล้าน ลบ.ม. และมีปริ มาณน้ าที่สามารถใช้งานได้ 300.90 ล้าน ลบ.ม. รายละเอียดเป็ นดังนี้

3

ปั จจุบนั อ่างเก็บน ้าหนองค้ อและอ่างเก็บน ้าดอกกรายจ่ายน ้าสาหรับการอุปโภคบริโภคและอุตสาหกรรมเท่านัน้ เนื่องจากในพื ้นที่หนองค้ อไม่ มีการใช้ น ้าเพื่อการเกษตร ส่วนในพื ้นทีด่ อกกรายใช้ น ้าจากอ่างเก็บน ้าหนองปลาไหลเพื่อจ่ายให้ แก่การเกษตรแทน

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 48


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แหล่ งน้า 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

จังหวัด

อ่างเก็บน้ าคลองกะพง ฉะเชิงเทรา อ่างเก็บน้ าห้วยกรอกเคียน ฉะเชิงเทรา อ่างเก็บน้ าบ้านหนองกระทิง ฉะเชิงเทรา อ่างเก็บน้ ามาบหวายโสม ชลบุรี อ่างเก็บน้ าห้วยไข่เน่า ชลบุรี อ่างเก็บน้ ากระแสร์ ชลบุรี อ่างเก็บน้ าคลองหลวง ชลบุรี อ่างเก็บน้ าคลองโพล้ ระยอง อ่างเก็บน้ าคลองมะเฟื อง ระยอง อ่างเก็บน้ าคลองน้ าเขียว ระยอง รวม

ความจุ (ล้ าน ลบ.ม.) 27.50 19.20 15.00 6.43 1.61 15.00 98.00 40.00 0.85 17.50 241.09

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

ปริมาณนา้ ที่สามารถใช้ งานได้ เฉลีย่ Average Draft Rate (หน่ วย : ล้ าน ลบ.ม.ต่ อปี ) 26.00 16.00 13.00 8.00 8.00 15.00 112.00 70.00 2.10 30.80 300.90

ระยะเวลา การก่ อสร้ าง เริ่ม แล้ วเสร็จ 2556 2559 2556 2558 2556 2558 2557 2559 2557 2558 2558 2559 2553 2559 2557 2559 2558 2559 2558 2559

ที่มา : สานักชลประทานที่ 9 กรมชลประทาน

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 49


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

แหล่งน้ าใต้ดิน สาหรับแหล่งน้ าใต้ดินในภาคตะวันออกมีค่อนข้างจากัด ทั้งนี้ จากข้อมูลการขุดเจาะบ่อบาดาลโดยกรมโยธาธิ การในพื้นที่จงั หวัดฉะเชิ งเทรา ชลบุรี ระยอง ปราจีนบุรี และสระแก้ว พบว่า บ่อบาดาลส่ วนใหญ่จะสามารถ สู บน้ าได้ในอัตรา 2.5-7.0 ลบ.ม.ต่อชั่วโมง ซึ่ งพอเพียงสาหรั บอุ ปสงค์เพื่อการอุ ปโภคบริ โภคในท้องถิ่ น เท่านั้น นอกจากนี้ น้ าใต้ดินในหลายบริ เวณพบว่ามีปัญหาเรื่ องสารคลอไรด์สูง อันเป็ นผลมาจากการที่น้ าทะเล ถูกกักเก็บไว้ในชั้นดินตะกอนตั้งแต่อดีตและบางส่ วนมีการแทรกตัวของน้ าทะเลเนื่องจากการสู บน้ าใต้ดินมาก เกิ นไป ส่ งผลให้แหล่ งน้ าใต้ดินในภาคตะวันออกมี ขอ้ จากัดทั้งในด้านปริ มาณและคุ ณภาพจนไม่สามารถ พัฒนาเป็ นแหล่งน้ าหลักได้ 3.4.2.2 แนวโน้ มการจัดการทรัพยากรนา้ ของภาคตะวันออก ความต้องการใช้น้ าในภาคตะวันออกยังมีแนวโน้มการเติบโตอย่างต่อเนื่ อง ทั้งนี้ เป็ นผลจากการส่ งเสริ มจาก ภาครัฐ ทั้งด้านการส่ งเสริ มการลงทุนและแผนพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก ระยะที่ 2 (ปี 2538-2543) ซึ่ งรัฐบาลกาหนดพื้นที่เป้ าหมายในการพัฒนาพื้นที่ตอนใน ห่ างจากชายฝั่ งทะเลตะวันออกต่อเนื่ องจากการ พัฒนาระยะที่ 1 ดังนั้นแนวโน้มการจัดการทรัพยากรน้ าภาคตะวันออกจึงมีลกั ษณะการเชื่อมโยงแหล่งน้ าจาก พื้นที่ลุ่มน้ าอื่นๆ อาทิ ลุ่มน้ าเจ้าพระยาตอนล่าง ลุ่มน้ าจังหวัดจันทบุรี เข้ามาเสริ มอุปสงค์การใช้น้ าที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งให้ความสาคัญกับการจัดสรรน้ าอย่างสมดุลและมีส่วนร่ วมระหว่างภาคอุตสาหกรรม อุปโภค-บริ โภค และเกษตรกรรม ตลอดจนมีแนวโน้มการจัดการด้านอุปสงค์มากขึ้น (Demand Side Management) รวมถึง การจัดเตรี ยมการบริ หารแหล่งน้ าในกรณี เกิดภัยแล้ง(Drought Management) เพื่อใช้ประสานงานกับหน่วย ราชการและลูกค้าในการใช้น้ าให้เกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด 3.4.3 อุปสงค์ นา้ ในประเทศไทย การใช้น้ าในประเทศไทย นอกจากจะใช้เพื่อความจาเป็ นในการดารงชี พของมนุ ษย์แล้ว ยังมีการใช้น้ าเพื่อ สร้ างความสะดวกสบายให้แก่ ชี วิต และเพื่ อกิ จกรรมในสาขาต่ า งๆ เช่ น เกษตรกรรม อุ ตสาหกรรม การ ท่องเที่ยว และสันทนาการต่างๆ เป็ นต้น ความต้องการใช้น้ าในประเทศเพิ่มปริ มาณสู งขึ้นเรื่ อยๆ ตามการเพิ่ม ของจานวนประชากร การเติ บโตทางด้านเศรษฐกิ จ อุ ตสาหกรรมและเกษตรกรรม โดยสามารถแบ่งความ ต้องการใช้น้ าออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ดังนี้ 1) ความต้องการใช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภค เป็ นการใช้น้ าเพื่อเป็ นพื้นฐานในการดารงชี วิต เช่ น น้ าดื่ ม การเตรี ยมอาหาร ซักล้าง ทาความสะอาด เป็ นต้น ซึ่ งนอกจากความต้องการจะเพิ่มขึ้นตามจานวนประชากรของประเทศแล้ว อัตราการใช้น้ าต่อบุคคลยังแปรผัน ไปตามสภาพความเจริ ญทางเศรษฐกิ จและมาตรฐานการครองชี พ โดยอัตราการใช้น้ าในชุ มชนเมื องจะมี มากกว่าชนบท และในชุ มชนที่มีสภาพทางด้านเศรษฐกิ จดี จะมีการพัฒนาการทางด้านอุปกรณ์อานวยความ สะดวกของครอบครัวทาให้อตั ราการใช้น้ าอยูใ่ นเกณฑ์สูง ดังจะเห็นได้จากสถิติการใช้น้ าของผูใ้ ช้น้ า ของการ

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 50


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

ประปาส่ วนภูมิภาคทัว่ ประเทศ และส่ วนของพื้นที่ให้บริ การ การประปาเขต 1 ครอบคลุมเขตภาคตะวันออก ที่ แสดงไว้ดงั ตารางต่อไปนี้ สถิติการใช้น้ าการประปาส่ วนภูมิภาคทัว่ ประเทศ จานวนหน่วย จานวนประปา จานวนผูใ้ ช้น้ า บริ การ (แห่ง) (ราย) (แห่ง) 231 356 3,298,362

รวมปริ มาณการผลิต (ลบ.ม./ปี )

ความต้องการน้ าดิบ (ลบ.ม./ปี )

1,408,930,319

1,487,724,054

สถิติการใช้น้ าการประปาส่ วนภูมิภาค พื้นที่ให้บริ การการประปาเขต 1 จานวนหน่วย จานวนประปา จานวนผูใ้ ช้น้ า รวมปริ มาณการผลิต บริ การ (แห่ง) (ราย) (ม.3/ปี ) (แห่ง) 22 16 545,237 252,904,760

ความต้องการน้ าดิบ (ม.3/ปี ) 272,907,382

ที่มา: http://.wr.pwa.co.th กองพัฒนาแหล่งน้ าการประปาส่วนภูมิภาค ข้อมูล ณ ปี 2554

2) ความต้องการใช้น้ าในภาคอุตสาหกรรม การใช้น้ าในภาคอุตสาหกรรมส่ วนใหญ่ จะใช้ในขบวนการผลิ ต การหล่ อเย็น การทาความสะอาด และการกาจัดของเสี ย การเพิ่มขึ้นของความต้องการใช้น้ าเพื่อการอุตสาหกรรมจะขึ้นอยูก่ บั สภาวะการเติบโต ทางด้านเศรษฐกิจเป็ นหลัก ทั้งนี้ การใช้น้ าเพื่อกิ จการอุตสาหกรรมแต่ละประเภทจะต้องการจานวนน้ าที่ใช้ แตกต่างกัน เช่ น อุตสาหกรรมปิ โตรเคมี โรงผลิ ตกระแสไฟฟ้ า อุตสาหกรรมฟอกย้อม สิ่ งทอ อุตสาหกรรม ถลุ งเหล็ก เหล่านี้ จะมีความต้องการใช้น้ าสู งมาก โดยในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาความต้องการใช้น้ าในส่ วนนี้ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ วเนื่องจากการขยายตัวทางอุตสาหกรรมของประเทศ 3) ความต้องการใช้น้ าในภาคเกษตรกรรม การใช้น้ าในภาคเกษตรกรรมของประเทศไทย จะเป็ นการใช้น้ าที่มีปริ มาณสู งที่สุด คือประมาณร้อย ละ 90 ของปริ มาณน้ าทั้งหมด เนื่ องจากประเทศไทยเป็ นประเทศที่มีพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจซึ่ งอาศัยการเกษตร เป็ นหลัก น้ าที่ใช้ในการเกษตรส่ วนใหญ่จะใช้ในการทานาข้าว ทาสวน บ่อเลี้ยงปลา การปลูกผักผลไม้ การปศุ สัตว์ และฟาร์ มเลี้ ยงกุง้ ประมาณการว่าร้ อยละ 25 ของน้ าที่ใช้ในการเกษตรกรรมนี้ จะไหลกลับสู่ ระบบน้ า ตามธรรมชาติอีกครั้งหนึ่ง

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 51


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

3.4.3.1 อุปสงค์ นา้ ในภาคตะวันออก จากผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตามโครงการศึกษาเพื่อจัดทาแผนหลักการพัฒนา และจัดการทรัพยากรน้ าภาคตะวันออกของกรมชลประทาน พบว่าการใช้น้ าในลุ่มน้ าชายฝั่ งตะวันออก ซึ่ ง ครอบคลุมพื้นที่ในเขตจังหวัดชลบุรี ระยอง ฉะเชิ งเทรา จันทบุรี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี และสระแก้ว มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2539-2559 โดยคาด ปริ มาณการใช้น้ ารวม ปี 2559 ทั้งสิ้ น 6,593.5 ล้าน ลบ.ม. แบ่งเป็ น การใช้น้ าเพื่อการเกษตร 5,649.5 ล้าน ลบ.ม. การใช้น้ าอุปโภคบริ โภค-การท่องเที่ยว 373.1 ล้าน ลบ.ม. และการใช้น้ าอุตสาหกรรม 570.9 ล้าน ลบ.ม. โดยปริ มาณสัดส่ วนความต้องการใช้น้ ามาจาก ภาค การเกษตร เป็ นหลัก อย่ า งไรก็ ดี หากพิ จ ารณาจาก อัต ราการเจริ ญเติ บ โตของแต่ ล ะภาคส่ ว น พบว่ า ภาคอุตสาหกรรมยังคงเป็ นส่ วนที่มีอตั ราเติบโตสู งขึ้นอย่างต่อเนื่ องเฉลี่ย 7 เปอร์ เซ็นต์ต่อปี เนื่องจากนโยบาย การก าหนดเขตพื้ นที่ นิ ค มอุ ต สาหกรรมเขตภาคตะวันออก เช่ น นิ คมอุ ตสาหกรรมมาบตาพุ ด นิ ค ม อุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี (บ่อวิน) นิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก และนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง เป็ นต้น จากปั จจัยดังกล่าวส่ งผลต่อเนื่องให้มีการขยายตัวของชุ มชนออกไปยังพื้นที่ใกล้เคียงมากขึ้น ส่ งผลให้ ความต้องการใช้น้ าของภาคการอุปโภค-บริ โภคขยายตัวด้วยเช่นกัน ตารางแสดงปริมาณความต้ องการใช้ นา้ ในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออก ปี 2539-2559 จังหวัด ชลบุรี

ระยอง

ฉะเชิงเทรา

จันทบุรี

ตราด

ประเภท อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว อุตสาหกรรม เกษตรกรรม รวม อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว อุตสาหกรรม เกษตรกรรม รวม อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว อุตสาหกรรม เกษตรกรรม รวม อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว อุตสาหกรรม เกษตรกรรม รวม อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว อุตสาหกรรม เกษตรกรรม รวม

ปี 2539 ล้าน ลบ.ม. % 81.1 15.27 63.5 11.95 386.6 72.78 531.2 100.00 26.7 2.75 77.7 8.00 867.0 89.25 971.4 100.00 22.3 1.21 24.7 1.34 1,792.7 97.45 1,839.7 100.00 23.3 4.01 10.5 1.81 547.1 94.18 580.9 100.00 9.9 3.27 3.7 1.22 289.2 95.51 302.8 100.00

ปี 2549 ล้าน ลบ.ม. % 116.2 18.65 120.4 19.32 386.6 62.03 623.2 100.00 41.0 3.88 149.0 14.10 867.0 82.02 1,057.0 100.00 30.8 1.64 50.0 2.67 1,792.7 95.69 1,873.5 100.00 30.4 5.12 15.8 2.66 547.1 92.21 593.3 100.00 12.8 4.15 6.6 2.14 289.2 93.71 308.6 100.00

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ปี 2559 ล้าน ลบ.ม. % 161.6 22.66 165.1 3.15 386.6 4.20 713.3 100.00 49.4 4.46 191.1 17.26 867.0 78.28 1,107.5 100.00 38.2 2.01 70.6 3.71 1,792.7 94.28 1,901.5 100.00 38.1 6.28 21.1 3.48 547.1 90.24 606.3 100.00 16.1 5.10 10.3 3.26 289.2 91.63 315.6 100.00

ส่วนที่ 2 หน้า 52


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) จังหวัด นครนายก

ประเภท อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว อุตสาหกรรม เกษตรกรรม รวม

ปี 2539 ล้าน ลบ.ม. % 8.1 1.55 2.0 0.38 513.2 98.07 523.3 100.00

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

ปี 2549 ล้าน ลบ.ม. % 10.4 1.97 4.0 0.76 513.2 97.27 527.6 100.00

ปี 2559 ล้าน ลบ.ม. % 13.0 2.44 5.8 1.09 513.2 96.47 532.0 100.00

ปราจีนบุรี

อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 16.2 3.32 22.6 4.26 27.9 4.98 อุตสาหกรรม 22.6 4.63 58.0 10.95 82.6 14.76 เกษตรกรรม 449.3 92.05 449.3 84.79 449.3 80.26 รวม 488.1 100.00 529.0 100.00 559.8 100.00 สระแก้ว อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 17.5 2.11 23.0 2.73 28.8 3.36 อุตสาหกรรม 7.6 0.92 15.5 1.84 24.3 2.83 เกษตรกรรม 804.5 96.97 804.5 95.43 804.5 93.81 รวม 829.6 100.00 843.0 100.00 857.6 100.00 รวมภาค อุปโภคบริ โภค-ท่องเที่ยว 205.1 3.38 287.2 4.52 373.1 5.66 ตะวันออก อุตสาหกรรม 212.3 3.50 419.3 6.60 570.9 8.66 (8 จังหวัด) เกษตรกรรม 5,649.5 93.12 5,649.5 88.88 5,649.5 85.68 รวม 6,066.9 100.00 6,356.0 100.00 6,593.5 100.00 ที่มา : กรมชลประทาน โครงการศึกษาเพื่อจัดทาแผนหลักการพัฒนาและจัดการทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก ภาควิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้ า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ปั จจัยหลัก ที่ส่งผลให้อุตสาหกรรมในภาคตะวันออกมีการขยายตัว มีดงั นี้ (ก) นโยบายของรัฐในการพัฒนาพืน้ ทีช่ ายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ในระยะที่ผา่ นมารัฐบาล ได้ดาเนิ นการตามแนวทางการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่ งทะเลตะวันออก ระยะที่ 1 โดยมี เป้ าหมายหลักในการพัฒนาพื้นที่บริ เวณแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี และพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง โดยการ จัดตั้งนิ คมอุตสาหกรรมควบคู่ไปกับการพัฒนาท่าเรื อน้ าลึ ก ตลอดจนพัฒนาชุ มชนใหม่เพื่อรองรั บแรงงาน และประชากรที่เพิ่มมากขึ้น อีกทั้งยังครอบคลุมถึงการพัฒนาเมืองให้เป็ นศูนย์กลางต่างๆ เช่ น จังหวัดชลบุรี เป็ นศูนย์กลางภูมิภาคในเชิงธุ รกิจการค้า พื้นที่แหลมฉบังเป็ นเมืองท่าสมัยใหม่ พื้นที่พทั ยาเป็ นเมืองท่องเที่ยว และศูนย์พาณิ ชย์ พื้นที่มาบตาพุดเป็ นศูนย์กลางอุตสาหกรรมสมัยใหม่ของประเทศ และจังหวัดระยองเป็ น ศูนย์บริ ก าร ฐานการศึ ก ษา และศู นย์วิจยั ด้านเทคโนโลยี ในขณะที่ ส นามบิ นสุ วรรณภู มิ เป็ นพื้นที่ รองรั บ บุคลากรในอุตสาหกรรมการบินและขนส่ งทางอากาศ เป็ นต้น (ข) การส่ งเสริมการลงทุน คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุ นได้แบ่งเขตการส่ งเสริ มการลงทุนเป็ น 3 เขต โดยให้สิทธิ และประโยชน์ สู งสุ ดแก่โครงการที่ประกอบการหรื อตั้งโรงงานในเขต 3 เพื่อสนับสนุนการกระจายอุตสาหกรรมไปสู่ ภูมิภาค ยิง่ ขึ้น สาหรับพื้นที่ให้บริ การของบริ ษทั ฯ ซึ่ งอยูบ่ ริ เวณจังหวัดชลบุรี ฉะเชิ งเทรา และระยอง ถูกจัดอยูใ่ นเขต 2 โดยมีนโยบายในการผลักดันและกระตุน้ เศรษฐกิจในภาคตะวันออกอย่างต่อเนื่ อง ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลา 6 ปี ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 53


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

ที่ผา่ นมา (2548-2554) โดยได้อนุมตั ิโครงการถึง 2,986 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน 1.66 ล้านล้านบาท คิดเป็ น สัดส่ วนการลงทุนถึง 58 % ของมูลค่าการส่ งเสริ มการลงทุนของทั้งประเทศ 3.4.3.2 ภาวะการแข่ งขัน การประกอบธุ รกิจพัฒนาระบบท่อส่ งน้ าและจัดจาหน่ายน้ าดิบให้กบั ผูใ้ ช้น้ าทั้งภาคอุตสาหกรรม และอุปโภค บริ โภค ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของบริ ษทั ฯ ในปั จจุบนั ไม่มีคู่แข่งขันรายใหญ่ อีกทั้งโอกาสที่จะ เกิดคู่แข่งขันทางตรงขึ้นในอนาคตก็มีโอกาสเป็ นไปได้นอ้ ยเช่นกัน เนื่ องจากบริ ษทั ฯ ขอใช้น้ าจากอ่างเก็บน้ า ขนาดใหญ่ ของกรมชลประทานไว้ก่อน ส่ วนแหล่ งน้ าอื่ นๆ ที่ พ อจะใช้ท ดแทนกันได้ เช่ น บ่ อบาดาล ก็ มี ข้อจากัดทั้งในด้านปริ มาณและคุ ณภาพ นอกจากนี้ อุปสรรคสาคัญสาหรับผูป้ ระกอบการรายใหม่ที่จะเข้ามา ในอุตสาหกรรมนี้ ก็คือ การที่ธุรกิจขนส่ งน้ าทางท่อส่ งน้ าเป็ นธุ รกิจที่ตอ้ งใช้เงินลงทุนสู ง ทั้งที่เป็ นค่าท่อส่ งน้ า ค่าสถานี สูบน้ า การสารองแหล่งน้ า อีกทั้งการวางท่อเพื่อให้บริ การกับผูใ้ ช้น้ ามีความจาเป็ นที่จะต้องวางท่อ ผ่ า นที่ ส าธารณะ จึ ง ต้อ งได้รั บ ความร่ ว มมื อ จากหน่ ว ยงานของรั ฐ บาล และรั ฐ วิ ส าหกิ จ มิ ฉ ะนั้น แล้ ว ผูป้ ระกอบการจะต้องเช่ าหรื อซื้ อที่ดิน เพื่อใช้สาหรั บวางท่อซึ่ งจะทาให้ตน้ ทุ นโครงการสู งมาก ด้วยเหตุ น้ ี บริ ษทั ฯ ซึ่ งถูกจัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี จึงมีความได้เปรี ยบในด้านความร่ วมมือที่ได้รับจากหน่ วยงาน ของรัฐบาล เช่น กรมชลประทาน กรมทางหลวง เป็ นต้น ในบางพื้นที่ผปู ้ ระกอบการบางรายอาจมีการจัดหาน้ าดิบจากเอกชนรายย่อยอื่นๆ ในพื้นที่ เพื่อเป็ นการบริ หาร ความเสี่ ยง และลดภาระการลงทุนแหล่งน้ าสารองของตนเองได้บา้ ง แต่เอกชนรายย่อยอื่นๆ มีขอ้ จากัดในการ เพิ่มปริ มาณน้ าดิ บจาหน่ ายให้แก่ผปู ้ ระกอบ เนื่ องจากมีขอ้ จากัดด้านการขอใช้น้ าจากกรมชลประทาน และ แหล่งน้ ามีปริ มาณจากัด ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ อาจมีคู่แข่งทางอ้อมได้ ดังนี้  ลูกค้าของบริ ษทั ฯ อาจมีแหล่ งน้ าทดแทนหรื อแหล่งน้ าสารองอื่ น เช่ น การนาน้ าทิ้งที่ ผ่านการ บาบัดแล้วกลับมาใช้ (Recycle) การขุดบ่อบาดาล หรื อการขุดสระเก็บน้ า เป็ นต้น  การซื้ อน้ าจากรถน้ าของเอกชน แต่น้ าดังกล่าวมีราคาสู งถึงประมาณ 30-40 บาท/ลูกบาศก์เมตร รวมทั้งสามารถให้บริ การในปริ มาณที่ค่อนข้างจากัด  การสู บน้ าโดยตรงจากแหล่งน้ าธรรมชาติซ่ ึ งสามารถสู บน้ าไปใช้ได้เฉพาะในช่วงฤดูฝนเท่านั้น เนื่ องจากในช่วงฤดูแล้งปริ มาณน้ าที่ทาให้จะลดต่ าลง และบางพื้นที่จะมีน้ าทะเลหนุ น ทาให้น้ า ในแม่น้ าลาคลองไม่สามารถนาไปใช้งานได้

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 54


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

กลยุทธ์ ทางการตลาด (ก) กลยุทธ์การแข่งขัน บริ ษทั ฯ ได้มีการกาหนดแผนกลยุทธ์ในด้านต่างๆ เพื่อให้การดาเนินงานของบริ ษทั ฯ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ ที่จะพัฒนา และบริ หารระบบท่อส่ งน้ าสายหลักในพื้นที่บริ เวณชายฝั่ งตะวันออก และเพื่อตอบสนองความ ต้องการใช้น้ าในพื้นที่รับผิดชอบได้อย่างพอเพียง ประกอบกับให้การดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ สามารถบรรลุ เป้ าหมายที่กาหนดไว้ โดยบริ ษทั ฯ มีแผนกลยุทธ์หลัก ดังนี้  ด้านการสร้างความเชื่ อมัน่ ให้แก่ลูกค้า ในปี 2554 บริ ษทั ได้ ปรับปรุ งกระบวนการทางาน การให้บริ การลูกค้าโดยจัดตั้งคณะทางาน Customer Service Improvement (CSI) รวบรวมทุกเสี ยงความต้องการของลูกค้า (Voice of Customer) นามาจัดทา ฐานข้อมูลปรับปรุ งการให้บริ การ และสร้างความเชื่อมัน่ ให้แก่ลูกค้า ทั้งด้านคุณภาพและปริ มาณ โดยกาหนด เป้ าหมาย ไม่มีการหยุดจ่ายน้ าในเส้นท่อสายหลัก ประกอบกับการกาหนดประเภทเครื่ องจักร และอุปกรณ์ ที่มี ความสาคัญที่ตอ้ งไม่มีการหยุดทางานและพร้อมใช้งาน 90 % และ การแก้ไขการหยุดจ่ายน้ าอันเนื่ องมาจาก ไฟฟ้ าดับ หรื อการซ่อมแซมและการทดสอบระบบท่อส่ งน้ า โดยจ่ายน้ าจากสระเก็บน้ าสารอง 3 แห่ ง ที่สถานี มาบตาพุด มาบข่า และหุ บบอน ซึ่ งมีความจุรวมกัน 127,000 ลูกบาศก์เมตร รวมทั้งกาหนดให้ผใู ้ ช้น้ าทุกรายมี สระน้ าเพื่อสารองน้ าไว้ใช้อย่างน้อยที่สุด 1 วันทาการ อีกทั้งบริ ษทั ฯ ยังได้ดาเนิ นการก่อสร้ างสระเก็บน้ า สารองเพิ่ ม ขึ้ นเพื่อเป็ นการพัฒนาระบบสู บ ส่ ง น้ า ให้มีค วามมัน่ คงยิ่ง ขึ้ น นอกจากนี้ บริ ษ ทั ฯ ยัง ได้ติดต่ อ ประสานงานกับการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคในการปรับปรุ งระบบการจ่ายไฟฟ้ ารวมทั้งจัดให้มีระบบไฟฟ้ าสารอง จากแหล่งอื่ น เพื่อลดปั ญหาการหยุดสู บจ่ายน้ าอันเนื่ องมาจากระบบไฟฟ้ าขัดข้อง ตลอดจนทาการศึ กษา เทคนิคการเชื่อมประสานท่อแยกให้ผใู ้ ช้น้ าโดยไม่ตอ้ งหยุดจ่ายน้ า (Wet Tap Technique) และการศึกษาการนา Mobile SCADA มาใช้เพื่อลดต้นทุนในการติดตั้งเป็ นผูใ้ ช้น้ าของบริ ษทั ฯ สาหรับในด้านคุณภาพน้ า บริ ษทั มีการจัดทาแผนการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ าแหล่งน้ า ประจาเดือน โดยหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานราชการ พร้อมทั้งได้จดั ส่ งข้อมูลผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ าให้ ลูกค้าเป็ นประจาทุ กเดื อน เพื่อให้ลูกค้าสามารถนาไปใช้ในการวางแผนการผลิ ต นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังมี นโยบายในการกาหนดราคาค่าน้ าที่เหมาะสม โดยสะท้อนต้นทุนที่แท้จริ ง เพื่อที่จะไม่ก่อให้เกิ ดภาระด้าน ต้นทุนการผลิตกับผูป้ ระกอบการ สรุ ปโครงการที่สาคัญเพื่อสร้างความเชื่อมัน่ ให้กบั ลูกค้าในปี 2554  โครงการก่อสร้างสระพักน้ ามาบข่า 2 ขนาดความจุ 220,000 ลบ.ม. เพือ่ เป็ นการสารองน้ าในกรณี ฉุกเฉิ น เพิ่มเติม และสร้างเสถียรภาพของระบบสู บจ่ายน้ าในพื้นที่ระยอง ให้มีความมัน่ คง สามารถสารองจ่ายน้ ากรณี ฉุ กเฉิ นได้ไม่นอ้ ยกว่า 20 ชัว่ โมง  โครงการเพิ่มศักยภาพระบบจ่ายน้ าแหลมฉบัง (บางพระ) เพื่อเพิ่มความสามารถของระบบสู บจ่ายน้ า ให้แก่ พ้ื นที่ ชลบุ รี สามารถส่ ง น้ า ให้แก่ ผูใ้ ช้น้ า ได้อย่า งเพี ยงพอ ลดการพึ่ ง พาน้ า จากพื้ นที่ ระยองและเพิ่ ม เสถียรภาพในการสู บจ่ายน้ าให้มนั่ คงมากขึ้น ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 55


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

 โครงการพัฒนาสระเก็บน้ าดิบคลองทับมา เพื่อเพิ่มแหล่งน้ าต้นทุนของบริ ษทั รองรับความต้องการใช้น้ า ในอนาคตของพื้นที่ระยอง  โครงการปรั บปรุ งสถานี สูบน้ าดอกกราย เพื่อรองรับการสู บน้ าจากปริ มาณน้ าที่ ได้รับจัดสรรของกรม ชลประทานได้อย่างพอเพียง  โครงการก่อสร้างสถานีจ่ายไฟฟ้ าแรงดัน 115-22 เควี ที่สถานีสูบน้ าดอกกราย เพื่อเพิม่ เสถียรภาพในการ จ่ายไฟฟ้ าให้กบั สถานีสูบน้ า ลดความเสี่ ยงในการเกิดปั ญหาไฟฟ้ าดับและลดการใช้พลังงาน นอกเหนื อจากการปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพระบบสู บส่ งน้ าแล้ว บริ ษทั ฯ ยังมีมาตรการในการควบคุมค่าใช้จ่าย ด้านการผลิต โดยปรับปรุ งระบบควบคุมและประเมินผลแบบศูนย์รวม (SCADA) ซึ่ งเป็ นระบบควบคุมและ ประเมินผลที่ใช้ในการควบคุมการสู บส่ งน้ าดิบของบริ ษทั ฯ ให้มีประสิ ทธิ ภาพเพิ่มขึ้น ระบบ SCADA นี้ จะ ช่วยให้บริ ษทั ฯ สามารถลดค่าใช้จ่ายทั้งด้านบุคลากร พลังงาน ตลอดจนการสู ญเสี ยน้ า 4 จากการชารุ ดของท่อ ส่ งน้ าให้นอ้ ยลงได้ เนื่องจากมีระบบการวัดปริ มาณน้ า การตรวจสอบและการควบคุมการจ่ายน้ าที่แม่นยามาก ขึ้น โดยปกติแล้วอัตราการสู ญเสี ยน้ าที่อยูใ่ นระดับยอมรับได้คือประมาณร้อยละ 5 ซึ่ งเมื่อบริ ษทั ฯ นาระบบ SCADA มาใช้ ปรากฏว่าสามารถลดอัตราการสู ญเสี ยน้ าโดยเฉลี่ยของบริ ษทั ฯ ลงให้เหลือที่ประมาณร้อยละ 3 เท่านั้น ซึ่ งเป็ นอัตราที่อยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานสากล นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังสามารถนาข้อมูลจากระบบ SCADA มาวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้น้ าของลูกค้า ในแต่ ละช่วงเวลาเพื่อบริ หารการใช้พลังงานไฟฟ้ าให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด โดยการหลีกเลี่ยงการเริ่ มเดินเครื่ องสู บ น้ าโดยไม่จาเป็ น เพื่อปรับระดับการใช้พลังงานไฟฟ้ าให้มีค่าคงที่และสม่ าเสมอมากที่สุดเพื่อลดต้นทุนด้าน การผลิตอีกด้านหนึ่ง ทั้งนี้ เนื่องจากช่วงการเริ่ มเดินเครื่ องสู บน้ าจะต้องใช้กระแสไฟฟ้ าสู งกว่าปกติ 5-7 เท่า อนึ่ง เดิมระบบ SCADA ใช้ สื่อเป็ นคลื่นวิทยุอย่ างเดียว ปั จจุบันบริ ษัทฯ ได้ ปรั บปรุ งมาเป็ นระบบ Fiber Optic จึงทาให้ ระบบ SCADA มีเสถียรภาพที่ดีและมีความรวดเร็ วมากขึน้  โครงการปรั บปรุ งระบบควบคุมแบบรวมศูนย์ (Control Center) บริ ษทั ฯ ได้มีโครงการปรับปรุ งระบบควบคุมแบบรวมศูนย์ (Control Center) เพื่อวัตถุประสงค์ ใน การปรับปรุ งระบบสื่ อสารระบบ SCADA ของกลุ่มบริ ษทั ฯ ให้เป็ นแบบ Control Center และมีมาตรฐาน ทันสมัย มีประสิ ทธิภาพสู งสุ ด อีกทั้งเพื่อปรับปรุ งระบบการจัดการฐานข้อมูลให้เป็ นมาตรฐาน และเก็บ ไว้เป็ นศูนย์กลาง รวมถึงพัฒนาระบบควบคุมของกลุ่มบริ ษทั ฯ ให้ผเู ้ กี่ยวข้องในส่ วนต่างๆ ทั้งในส่ วนของ บริ ษทั ฯ และลูกค้า สามารถเข้าถึ งได้ง่าย เช่ น การให้บริ การข้อมูล,รายงานต่างๆ ผ่านทาง Web Base Application หรื อเครื่ องมือทางสารสนเทศอื่นๆ ที่เป็ นไปได้ 4

การสูญเสียน ้าในระบบส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากการระบายตะกอนออกจากระบบเพื่อปรับปรุงคุณภาพน ้า ส่วนที่เหลือมีสาเหตุมาจากการ รั่วซึมของท่อส่งน ้า และลิ ้นปิ ด-เปิ ดน ้าซึง่ มีปริมาณเพียงเล็กน้ อย

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 56


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

โครงการปรับปรุ งระบบควบคุมแบบรวมศูนย์ (Control Center) นั้น ยังมีส่วนงานที่เพิ่มเติมในด้าน การพัฒนาระบบบริ หารจัดการน้ า เพื่อให้การจัดสรรน้ าและการบริ หารจัดการโครงข่ายระบบท่อส่ งน้ า เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ รวดเร็ ว และเกิดประโยชน์สูงสุ ด รวมทั้งเป็ นการวางแผนการจัดสรรน้ าจาก แหล่งน้ าต้นทุนที่มีอยูอ่ ย่างจากัด และบริ หารจัดการการใช้น้ าในพื้นที่ที่เหมาะสม โดยใช้ฐานข้อมูลจาก ระบบ SCADA ซึ่ งจะติดตั้งในโครงการนี้ โดยมีความสามารถส่ วนหนึ่ งในการจัดเก็บข้อมูลในส่ วนของ ปริ มาณการใช้น้ าของลูกค้าแต่ละรายซึ่ งสิ่ งต่างๆเหล่านี้ จะเป็ นการสร้ างความเชื่ อมัน่ ให้กบั ผูใ้ ช้น้ าใน พื้นที่บริ การของบริ ษทั ฯ ได้เป็ นอย่างดี  การบริ หารคุณภาพ บริ ษทั ฯ ได้นาระบบบริ หารคุณภาพ ISO 9001:2000 มาประยุกต์ใช้ภายในองค์กร เพื่อให้การดาเนิ นงาน เป็ นไปตามนโยบายคุ ณภาพของบริ ษทั ฯ ที่ ว่า “จัดสรรนา้ สู่ ผ้ ูใช้ มั่นใจในบริ การ คุณภาพและสิ่ งแวดล้ อม” โดยบริ ษ ัท ฯ ได้ด าเนิ นการขอการรั บ รองระบบคุ ณ ภาพ ISO 9001:2000 จากบริ ษ ทั (Bureau Veritas Certification (ประเทศไทย) จากัด ซึ่ งได้รับการรับรองโดย United Kingdom Accreditation Services (UKAS) ซึ่ งเป็ นองค์กรที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติที่มีสานักงานใหญ่อยู่ในประเทศอังกฤษ และถื อว่าเป็ น บริ ษทั น้ าแห่งแรกในประเทศไทยที่ได้รับรองคุณภาพ ISO 9001:2000 บริ ษทั ฯ ได้รับการรับรองระบบคุ ณภาพครอบคลุ มระบบงานต่างๆ ทั้งงานด้านการตรวจสอบ การวางแผน ธุ รกิ จ การบริ หาร การจัดการ การปฏิ บตั ิ การ รวมทั้งการเงิ นและพัสดุ แสดงให้เห็ นถึ งการเชื่ อมโยงระบบ ข้อมูลที่ภายในองค์กร ซึ่ งทาให้ลูกค้ามัน่ ใจได้วา่ จะได้รับการบริ การที่มีคุณภาพ นอกจากนี้บริ ษทั ฯ ยังผ่านการ รับรองระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม ISO 14000 ซึ่ งแสดงให้เห็นว่าการดาเนิ นงานของบริ ษทั ฯ มีการบริ หาร จัดการสิ่ งแวดล้อมเป็ นอย่างดี และไม่พบปั ญหาสิ่ งแวดล้อมจากการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ  การขยายพื้นที่การให้บริ การ บริ ษทั ฯ ได้ศึกษาถึ งความเป็ นไปได้ในการลงทุน และขยายการดาเนิ นงานอย่างต่อเนื่ อง เพื่อขยายพื้นที่การ ให้บริ การให้ทวั่ ถึ ง และเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ าในพื้นที่ความรับผิดชอบของบริ ษทั ฯ โดยศึ กษาถึ ง ความต้องการใช้น้ าในแต่ละพื้นที่เพื่อพิจารณาถึงความเหมาะสมด้านการลงทุน ทั้งด้านการปรับปรุ งและขยาย ระบบท่อส่ งน้ าที่มีอยูเ่ ดิมและการพัฒนาระบบท่อส่ งน้ าใหม่ อาทิ โครงการวางท่อส่ งน้ าหนองปลาไหล-มาบ ตาพุด เส้นที่ 3 ซึ่ งโครงการขยายระบบท่อส่ งน้ าที่มีอยูเ่ ดิมจะทาให้การจ่ายน้ าในพื้นที่ระยองจะมีศกั ยภาพใน การสู บจ่ายเพิ่มขึ้น พื้นที่ท่องเที่ยวภาคใต้ตอนล่าง สุ ราษฎร์ ธานี กระบี่ และภูเก็ต เป็ นต้น การปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพระบบสู บส่ งน้ าและการควบคุมค่าใช้จ่ายด้านการผลิ ต บริ ษทั ฯ ได้ปรับปรุ งระบบ สู บน้ าและวิธีการส่ งน้ าอยูเ่ สมอ เช่น

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 57


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

1. ปรับปรุ งระบบสู บส่ งน้ าให้สามารถสู บน้ าจากอ่างเก็บน้ าดอกกรายไปถึงปลายทางที่สัตหี บได้ โดยไม่ ต้องใช้พลังงานไฟฟ้ าสู บน้ าขึ้นไปสถานียกระดับน้ าที่มาบตาพุด ทาให้สามารถประหยัดค่าพลังงานไฟฟ้ า ลงได้อย่างมาก เป็ นต้น 2. บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีระบบบารุ งรั กษาเชิ งป้ องกัน (Preventive Maintenance) อย่างต่อเนื่ อง โดยมี ทีมงานที่ คอยตรวจเช็ คและซ่ อมแซมระบบการสู บส่ งน้ าอย่างสม่ าเสมอเพื่อป้ องกันการสึ กกร่ อนของ ระบบท่อ และอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ประตูน้ า และมาตรวัดน้ า เป็ นต้น 3. ติดตั้งเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าสารองที่สถานีสูบน้ าดอกกราย ซึ่ งทาให้สามารถจ่ายน้ าได้ตลอดเวลาแม้ไม่มี ไฟฟ้ าจากการไฟฟ้ าฯ อีกทั้งยังช่วยประหยัดค่าไฟฟ้ าในช่วง Peak load ได้จานวนมากในกรณี ที่ตน้ ทุนค่า น้ ามันเชื้อเพลิงต่ากว่าต้นทุนการใช้ไฟฟ้ าด้วย (ข) ข้ อได้ เปรียบของบริษัทฯ เมื่อเทียบกับคู่แข่ งขัน จากการที่คณะรัฐมนตรี มีมติจดั ตั้งบริ ษทั เพื่อให้เป็ นผูด้ าเนิ นการพัฒนาและบริ หารระบบท่อส่ งน้ าสายหลักใน พื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ทาให้บริ ษทั ฯ ได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ในการซื้ อน้ าดิบจากอ่างเก็บน้ าของกรม ชลประทาน ซึ่ งเป็ นแหล่ งน้ าส่ วนใหญ่ของภาคตะวันออก เพื่อจาหน่ ายให้แก่ การอุ ปโภคบริ โภคและการ อุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯ ได้พฒั นาการดาเนิ นงานมาอย่างต่อเนื่ องโดยใช้เทคโนโลยีที่ทนั สมัย พร้ อมด้วยสั่งสมประสบการณ์ จากเหตุการณ์ ต่างๆ หรื อจากวิกฤตภัยแล้งในปี 2548 และปั ญหาทางการเงิ น จนเกิ ดเป็ นความเชี่ ยวชาญในการบริ หารจัดการน้ าและการเงิ น ได้รับความเชื่ อถื อและไว้วางใจจากลู กค้า ชุ มชน นักลงทุน โดยทั้งหมดช่ วยเสริ มสร้างศักยภาพของบริ ษทั ในการขยายงานได้ดีกว่าผูป้ ระกอบการราย อื่นๆ สรุ ปข้อได้เปรี ยบหรื อปั จจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็ จของบริ ษทั 1. เป็ นหน่วยงานที่จดั ตั้งโดยภาครัฐ

2. ได้รับความร่ วมมือจากหลายหน่ วยงานภาครัฐ เช่ น การวางท่อและการบารุ งรักษา

3. มีประสบการณ์ที่ยาวนาน ความน่าเชื่ อถือ ตลอดจน 4. มี แหล่ ง น้ า ที่ แน่ นอนและเพี ย งพอเพื่ อป้ อนให้ก ับ ความเชี่ ยวชาญ จากการเป็ นเอกชนรายแรกที่ดาเนิ น ผูใ้ ช้น้ าของตน ธุ รกิจสู บส่ งน้ าดิบ 5. มีระบบการบริ หารและควบคุ มการจ่ายน้ าที่แม่นยา 6. มีฐานการตลาดขนาดใหญ่ และทันสมัย เพื่อควบคุ ม ปริ มาณน้ าสู ญเสี ยในระบบ รวมทั้ง เพื่ อ ควบคุ ม การสู บ จ่ า ยน้ า ให้ ส อดคล้อ งกับ ความต้องการของผูใ้ ช้น้ า 7. มีสถานะทางการเงินที่มนั่ คง

8. มีศกั ยภาพสู งในการขยายงาน

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 58


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

(ค) นโยบายราคา บริ ษทั ฯ มีนโยบายกาหนดอัตราค่าน้ าดิบเพื่อสะท้อนต้นทุนที่แท้จริ งของโครงการ โดยการคานวณหาอัตราค่า น้ าของบริ ษทั ฯ แบ่งออกได้เป็ น 2 ขั้นตอนหลัก ดังนี้ 1) การคานวณหาอัตราค่าน้ าเฉลี่ย บริ ษ ทั ฯ ก าหนดอัตราค่ าน้ าดิ บ แยกเป็ นรายโครงการ โดยจะคานวณจากต้นทุ นที่ แท้จริ ง ของแต่ล ะ โครงการซึ่ งประกอบด้วย เงินลงทุนโครงการ ต้นทุนค่าน้ าดิบ ต้นทุนในการดาเนิ นงาน ค่าเช่า รวมทั้ง เงินลงทุนในระบบท่อส่ งน้ าในอนาคต “นอกจากนี้ ครม.มีมติ (6 สิ งหาคม 2539) ให้บริ ษทั ฯ พิจารณา รวมค่าลงทุนในการบาบัดน้ าเสี ยเป็ นต้นทุนที่แท้จริ งด้วย อย่างไรก็ตาม นับตั้งแต่เริ่ มดาเนิ นการจนถึง ปั จจุ บ นั ยังไม่ มีรายจ่ายในด้านนี้ เกิ ดขึ้ น บริ ษทั ฯ จึ ง ยังมิ ได้รวมต้นทุ นดังกล่ าว ซึ่ งในอนาคต หาก บริ ษัท ด าเนิ น การในด้ า นนี้ จึ ง จะได้ พิ จ ารณาต่ อ ไป ทั้ง นี้ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การบริ หารต้ น ทุ น ที่ มี ประสิ ทธิภาพ” อัตราค่าน้ าเฉลี่ยซึ่งคานวณจากต้นทุนที่แท้จริ งข้างต้น โดยแยกพิจารณา เป็ น 2 วิธี คือ 1.1) ต้นทุนส่ วนเพิ่มโดยเฉลี่ย (Average Incremental Cost หรื อ AIC) วิธีน้ ี เป็ นการคานวณหามูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ ของต้นทุนที่แท้จริ งของโครงการที่อตั ราส่ วนลดประมาณ ร้ อยละ 15 แล้วนามาคานวณหาค่าเฉลี่ ยต่ อหน่ วยปริ ม าณน้ า ดิ บที่ จาหน่ า ยในรอบระยะเวลา 30 ปี จากนั้น นาค่า AIC ที่ได้มาบวกส่ วนเพิ่ม (Mark-up) อีกร้อยละ 20 จะได้อตั ราค่าน้ าเฉลี่ยสาหรับกรณี ที่ 1.1 1.2) อัตราผลตอบแทนการลงทุนทางการเงินของส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ (Equity Internal Rate of Return) โดยคานวณอัตราค่าน้ าเฉลี่ยจากกระแสเงินสดสุ ทธิ ของต้นทุนที่แท้จริ งของโครงการ และรายรับจาก การจาหน่ายน้ าดิบในรอบระยะเวลา 30 ปี ที่ให้อตั ราผลตอบแทนการลงทุนทางการเงินของส่ วนของ ผูถ้ ือหุ น้ ของโครงการ มีค่าประมาณร้อยละ 15 ต่อปี

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 59


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

2) การกาหนดอัตราค่าน้ า จากแนวโน้ม ความต้องการใช้ น้ าที่ เพิ่มสู งขึ้ น จากการใช้น้ าภาคอุ ตสาหกรรม และการใช้น้ า ภาคอุ ปโภคบริ โภค ส่ งผลกระทบต่อนโยบายการกาหนดอัตราค่าน้ าในระยะยาว บริ ษทั ฯ จึงมีความจาเป็ นต้องทบทวน นโยบายการกาหนดอัตราค่าน้ า สรุ ปผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงนโยบายราคาได้ ดังนี้ 1. นโยบายราคาปี 2549 1.1 แบ่งอัตราค่าน้ าตามพื้นที่ จ่ายน้ า 1.2 ค่าน้ าภาคอุตสาหกรรม ราคาสู งกว่าอุปโภคบริ โภค (Cross Subsidize)

2.1

2.2

2.3

2.4

2. ผลกระทบ ปริ มาณการใช้น้ าดิบเพื่อการ อุปโภค-บริ โภคมีปริ มาณ เพิม่ ขึ้น โครงข่ายท่อส่ งน้ าเชื่ อมโยง ติดต่อกัน ทาให้ทุกพื้นที่มี ต้นทุนการสู บส่ งน้ าเฉลี่ย เท่ากัน การจ่ายน้ าตามแรงโน้มถ่วง ของโลก มีอตั ราส่ วนน้อยลง มีการสู บส่ งน้ าข้ามพื้นที่มาก ขึ้น ค่าใช้จ่ายในการเก็บน้ าสารอง / สู บจ่ายเพิ่มสู งขึ้น เช่น อ่าง เก็บน้ าบางพระ, สระสารอง น้ าดิบสานักบก

3. นโยบายราคาปี 2551 2.1 ทุกพื้นที่ใช้อตั ราค่าน้ า เดียวกัน ตามประเภทธุ รกิจ 2.2 แบ่งโครงสร้างราคาตาม ปริ มาณการใช้น้ ารายใหญ่

ในด้า นของบริ ษ ทั ฯ เองคณะกรรมการบริ ษ ัท ฯ ในการประชุ ม เมื่ อ วัน ที่ 31 มกราคม 2554 ได้พิ จารณา ช่วยเหลื อภาระต้นทุนค่าน้ าดิ บให้แก่ลูกค้า จึงพิจารณาคงอัตราค่าน้ าดิบในปี 2554 ไว้ก่อน ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ จะ พิจารณาสภาวะต้นทุนการดาเนินงาน และผลกระทบทางเศรษฐกิจในอนาคตเพื่อกาหนดอัตราค่าน้ าหลังจากปี 2554 เป็ นต้นไป นอกจากนี้ ค ณะกรรมการบริ ษ ัท เห็ น ชอบให้บ ริ ษ ัท ฯ คิ ดส่ วนลดเฉพาะผูใ้ ช้น้ า ประปา ประเภทที่ อยู่อาศัยและราชการ ซึ่ ง มี สั ดส่ วนการใช้น้ า ประมาณร้ อยละ 40 ของปริ ม าณการใช้น้ า ประปา ทั้งหมด ในอัตราค่าน้ าดิ บ 7.90 บาท/ลบ.ม. ประเภทผูใ้ ช้น้ าอื่นๆ คิดอัตราค่าน้ าดิ บตามที่กาหนด คือ 9.25 บาท/ลบ.ม. โดยมีผลตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ทั้งนี้เพื่อเป็ นการแบ่งเบาภาระของ ประชาชนและหน่วยงานที่บริ การน้ าสะอาดแก่ประชาชนด้วย

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 60


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

อัตราค่ านา้ ประเภทผู้ใช้ นา้ 1. อุปโภคบริ โภค 2. นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ 3. สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม 4. โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ

ปี 2554 9.25 9.25 10.25 11.25

หมายเหตุ 1. การกาหนดประเภทผูใ้ ช้น้ า ประเภท 1 : อุปโภคบริ โภค ได้แก่ กิจการที่ใช้น้ าดิบ เพื่อผลิตน้ าประปาส่ งให้การประปาส่ วนภูมิภาค (กปภ.) หน่วยงาน ราชการ รวมถึงชุมชนที่ขาดแคลนน้ าสะอาด ประเภท 2 : นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) และ นิคมอุตสาหกรรมร่ วมดาเนินงาน รวมถึงผูใ้ ช้น้ าเดิม ซึ่ง กนอ. / กรมโยธาธิการ หรื อหน่วยงานราชการที่ เกี่ยวข้องได้อนุญาตให้ใช้น้ าดิบก่อนการดาเนินงานของบริ ษทั ประเภท 3 : สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม ได้แก่ สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม ที่ดาเนินการโดยเอกชนเท่านั้น ไม่ได้ร่วมดาเนินงานกับ กนอ. ตามผูใ้ ช้น้ าประเภท 2 ประเภท 4 : โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม และธุรกิจอื่นๆ ที่มิใช่ผใู้ ช้น้ าตามประเภท 3 2. อัตราค่าน้ าตามประกาศฉบับนี้ ใช้สาหรับผูใ้ ช้น้ าที่รับน้ าดิบจากบริ ษทั ฯ อย่างสม่าเสมอทุกเดือนเท่านั้น หากผูใ้ ช้น้ าหยุดรับน้ าจาก บริ ษทั ฯ เกินกว่า 2 เดือนต่อปี หรื อรับน้ าไม่ถึงร้อยละ 50 ของปริ มาณน้ าจัดสรรที่ได้รับ หรื อปริ มาณที่ตกลงไว้ในแต่ละปี บริ ษทั ฯ ขอสงวนสิ ทธิยกเลิกสัญญาซื้อขายน้ าดิบ หรื อคิดอัตราค่าน้ าดิบตามที่เห็นว่าสมควร 3. การซื้อขายน้ าดิบสาหรับผูข้ อใช้น้ าที่ไม่ได้ทาสัญญากับบริ ษทั ฯ ไว้ก่อน รวมถึงผูใ้ ช้น้ าที่ยกเลิกสัญญาไปแล้วตามข้อ 3 บริ ษทั ฯ ถือว่าเป็ นผูข้ อใช้น้ าดิบชัว่ คราว ซึ่งบริ ษทั ฯ จะกาหนดอัตราค่าน้ าตามปริ มาณ และระยะเวลาที่ตอ้ งการให้ส่งจ่ายน้ าดิบ และจะต้อง ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขการซื้อขายน้ าดิบที่บริ ษทั ฯ กาหนดไว้ 4. บริ ษทั ฯ ขอสงวนสิ ทธิ์ในการทบทวนอัตราค่าน้ าดิบให้สอดคล้องกับต้นทุนการบริ หาร และสู บจ่ายน้ าดิบตามสภาวะเศรษฐกิจใน ขณะนั้นๆ ได้ตามสมควร

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 61


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

บริ ษทั ฯ ได้ทบทวนการกาหนดราคาค่าน้ าดิบสาหรับปี 2555 พบว่า ต้นทุนในการดาเนิ นการสู บส่ งน้ าดิ บได้ เพิ่มสู งขึ้นหลายประการ ได้แก่ ต้นทุนค่าไฟฟ้ าที่เพิ่มสู งขึ้นจากการปรับค่า Ft ต้นทุนจากการเพิ่มศักยภาพ แหล่ ง น้ า คณะกรรมการบริ ษ ทั ฯนั้นได้เ ห็ นชอบให้น าโครงสร้ า งอัตราค่ า น้ า ดิ บ ที่ ป ระกาศตั้ง แต่ ปี 2551 สาหรับปี 2553-2555 ที่เคยชลอไว้ นากลับมาใช้ใหม่สาหรับปี 2555-2557 ดังแสดงในตารางข้างล่างนี้ ประเภทผู้ใช้ นา้ 1. อุปโภคบริ โภค 2. นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ 3. สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม 4. โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ

อัตราค่ าใช้ นา้ (บาท/ลบ.ม.) ปี 2555 10.00 10.00 11.00 12.00

ปี 2556 10.50 10.50 11.50 12.50

ปี 2557 11.00 11.00 12.00 13.00

หมายเหตุ 5. การกาหนดประเภทผูใ้ ช้น้ า ประเภท 1 : อุปโภคบริ โภค ได้แก่ กิจการที่ใช้น้ าดิบ เพื่อผลิตน้ าประปาส่ งให้การประปาส่ วนภูมิภาค (กปภ.) หน่วยงาน ราชการ รวมถึงชุมชนที่ขาดแคลนน้ าสะอาด ประเภท 2 : นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) และ นิคมอุตสาหกรรมร่ วมดาเนินงาน รวมถึงผูใ้ ช้น้ าเดิม ซึ่ง กนอ. / กรมโยธาธิการ หรื อหน่วยงานราชการที่ เกี่ยวข้องได้อนุญาตให้ใช้น้ าดิบก่อนการดาเนินงานของบริ ษทั ประเภท 3 : สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม ได้แก่ สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม ที่ดาเนินการโดยเอกชนเท่านั้น ไม่ได้ร่วมดาเนินงานกับ กนอ. ตามผูใ้ ช้น้ าประเภท 2 ประเภท 4 : โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม และธุรกิจอื่นๆ ที่มิใช่ผใู้ ช้น้ าตามประเภท 3 6. อัตราค่าน้ าตามประกาศฉบับนี้ ใช้สาหรับผูใ้ ช้น้ าที่รับน้ าดิบจากบริ ษทั ฯ อย่างสม่าเสมอทุกเดือนเท่านั้น หากผูใ้ ช้น้ าหยุดรับน้ าจาก บริ ษทั ฯ เกินกว่า 2 เดือนต่อปี หรื อรับน้ าไม่ถึงร้อยละ 50 ของปริ มาณน้ าจัดสรรที่ได้รับ หรื อปริ มาณที่ตกลงไว้ในแต่ละปี บริ ษทั ฯ ขอสงวนสิ ทธิยกเลิกสัญญาซื้อขายน้ าดิบ หรื อคิดอัตราค่าน้ าดิบตามที่เห็นว่าสมควร 7. การซื้อขายน้ าดิบสาหรับผูข้ อใช้น้ าที่ไม่ได้ทาสัญญากับบริ ษทั ฯ ไว้ก่อน รวมถึงผูใ้ ช้น้ าที่ยกเลิกสัญญาไปแล้วตามข้อ 3 บริ ษทั ฯ ถือว่าเป็ นผูข้ อใช้น้ าดิบชัว่ คราว ซึ่งบริ ษทั ฯ จะกาหนดอัตราค่าน้ าตามปริ มาณ และระยะเวลาที่ตอ้ งการให้ส่งจ่ายน้ าดิบ และจะต้อง ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขการซื้อขายน้ าดิบที่บริ ษทั ฯ กาหนดไว้ 8. บริ ษทั ฯ ขอสงวนสิ ทธิ์ในการทบทวนอัตราค่าน้ าดิบให้สอดคล้องกับต้นทุนการบริ หาร และสู บจ่ายน้ าดิบตามสภาวะเศรษฐกิจใน ขณะนั้นๆ ได้ตามสมควร

3.4.4 การจาหน่ ายและช่ องทางการจาหน่ าย บริ ษ ัท ฯ จ าหน่ า ยน้ าดิ บ โดยตรงให้ ก ับ ลู ก ค้า ผ่ า นทางระบบท่ อ ส่ ง น้ า ของบริ ษัท ฯ ในลัก ษณะผู ้ค ้า ส่ ง (Wholesaler) เป็ นส่ วนใหญ่ โดยลูกค้าที่เป็ นนิ คมอุตสาหกรรมจะซื้ อน้ าจากบริ ษทั ฯ เพื่อขายต่อให้กบั โรงงาน ในนิคมอุตสาหกรรมนั้นๆ ส่ วนการประปาจะซื้ อน้ าจากบริ ษทั ฯ เพื่อไปผลิตน้ าประปาและจาหน่ายน้ าเพื่อการ อุปโภคบริ โภคต่อไป ในการซื้ อขายน้ าดิ บบริ ษทั ฯ มีการทาสัญญาหรื อข้อตกลงในการใช้หรื อซื้ อขายน้ าดิ บ ระหว่างบริ ษทั ฯ ซึ่ งเป็ น “ผูข้ าย” กับ ผูใ้ ช้น้ า/ผูซ้ ้ื อ แต่ละราย โดยจะมีสาระสาคัญ ดังนี้ 1) ไม่กาหนดอายุของสัญญา (ยกเว้น บริ ษทั ผลิตไฟฟ้ าระยอง จากัด ซึ่ งกาหนดอายุสัญญา 30 ปี ) ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 62


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

2) ปริ มาณน้ าดิบที่จ่ายให้กบั ลูกค้าจะมีการระบุปริ มาณการใช้น้ าสู งสุ ดหรื อปริ มาณการใช้น้ าเฉลี่ยของลูกค้า แต่ละราย ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ มีนโยบายกาหนดปริ มาณการใช้น้ าขั้นต่ารายปี เพื่อประโยชน์ในการวางแผนการ จ่ายน้ าแต่ละปี ให้แม่นยา และลดความผันแปรจากการใช้แหล่งน้ าทางเลือกของลูกค้าด้วย 3) บริ ษทั ฯ สงวนสิ ทธิ ที่จะเปลี่ยนแปลงอัตราค่าน้ าดิบตามที่เห็นสมควร ในปี 2554 ปริ ม าณจาหน่ ายน้ า ดิ บเท่า กับ 261.55 ล้าน ลบ.ม. เพิ่ม ขึ้ นกว่า ปี 2553 ประมาณร้ อยละ 6.57 เนื่ องจากผูใ้ ช้น้ าได้รับผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิ จ และการเงิ นโลก จึ งทาให้ลดอัตราการผลิ ตกว่าปี ที่ ผ่านมา อย่างไรก็ตามจากนโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจของรัฐบาลตลอดจนการเริ่ มฟื้ นตัวของตลาดโลกจึงทาให้ สภาวะการผลิ ต และการใช้น้ าอุปโภคบริ โภคตั้งแต่กลางปี มีแนวโน้มสู งขึ้น ทั้งนี้ อตั ราค่าน้ าของปี 2554 ก็ ส่ งผลช่วยให้รายได้ค่าน้ าดิบเพิ่มกว่าก่อนเป็ น 2,381.77 ล้านบาท เติบโตขึ้นกว่าปี ก่อนด้วย 2,233.13

2,500

300

245.44 250

214.99

223.86

2,381 77

2,007.77

220.71

2,000

1,667.37

1,747.32

2550

2551

200

1,500 150

1,000

100

500

50

0

0

2550

2551

2552

2553

2554

หมายเหตุ: ปริ มาณนา้ จาหน่ ายสะสม ตั้งแต่ มกราคม-ธันวาคม

2552

2553

2554

หมายเหตุ: รายได้ จาหน่ ายสะสม ตั้งแต่ มกราคม-ธันวาคม

3.5 ลักษณะของลูกค้ า ลู ก ค้า หลัก ของบริ ษ ทั ฯ มี 4 ประเภท คื อ (1) อุ ปโภคบริ โ ภค (2) นิ ค มอุ ต สาหกรรมของรั ฐ (3) สวน อุตสาหกรรม/เขตประกอบการอุตสาหกรรม (4) โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ ปั จจุบนั ลูกค้าส่ วนใหญ่ของบริ ษทั ฯ ในพื้นที่ระยอง จะเป็ นกลุ่มนิ คมอุตสาหกรรม สาหรับการจาหน่ายเพื่อการอุปโภคบริ โภค นั้น เป็ นการใช้น้ า ของการประปาบ้านฉางและบจ.ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ (กิจการประปาสัตหีบ) ปริมาณและมูลค่ าการจาหน่ ายนา้ ดิบแยกตามประเภทผู้ใช้ นา้ พืน้ ที่ระยอง (ปริ มาณ : ล้าน ลบ.ม., มูลค่า : ล้านบาท)

ประเภทผูใ้ ช้น้ า

ปี 2552 ปริ มาณ ร้อยละ

มูลค่า

ปี 2553 ร้อยละ ปริ มาณ ร้อยละ

มูลค่า

ปี 2554 ร้อยละ ปริ มาณ ร้อยละ

มูลค่า

ร้อยละ

1. การอุปโภคบริ โภค 21.10 15.83% 186.08 15.17% 24.77 15.65% 215.74 14.83% 27.20 15.89% 236.94 15.06% 2. นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ 68.50 51.39% 633.64 51.65% 75.16 47.48% 695.20 47.80% 140.22 81.91% 1,297.03 82.43% 3. สวนอุตสาหกรรม / 37.05 27.79% 343.82 28.03% 49.03 30.98% 454.84 31.27% 2.85 1.66% 29.17 1.85% เขตประกอบการ 4. โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ 6.65 4.99% 63.24 5.15% 9.33 5.89% 88.54 6.09% 0.92 0.54% 10.38 0.66% รวม 133.30 100.00% 1,226.77 100.00% 158.29 100.00% 1,454.32 100.00% 171.19 100.00% 1,573.52 100.00% หมายเหตุ : 1. ผูใ้ ช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภครายใหญ่ ประกอบด้วย การประปาบ้านฉาง, บจ.ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต้ ีส์ (กิจการประปาสัตหีบ), เทศบาล มาบข่า และ โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 63


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

2. ผูใ้ ช้น้ าของ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) รายใหญ่ ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด (กนอ.มาบตาพุด) 3. ผูใ้ ช้น้ าสวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม รายใหญ่ ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมตะวันออก, นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย, นิคมอุตสาหกรรม RIL 1996 และ บจ.สุ ขมุ วิท อินเตอร์ ดิเวลลอปเม้นท์ 4. ผูใ้ ช้น้ าประเภทโรงงานทัว่ ไปรายใหญ่ ได้แก่ บจ.ผลิตไฟฟ้ าระยอง, บมจ.ปตท. และ บมจ.ไทยคูน เวิลด์ไวด์ กรุ๊ ป

สาหรับลูกค้ารายใหญ่ของบริ ษทั ฯ ในพื้นที่ชลบุรี ได้แก่ การประปาส่ วนภูมิภาค เพื่อนาไปใช้ในการอุปโภค บริ โภครองลงมา ได้แก่ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.แหลมฉบัง) ปริมาณและมูลค่ าการจาหน่ ายนา้ ดิบแยกตามประเภทผู้ใช้ นา้ ของบริษัทฯ พืน้ ที่ชลบุรี (ปริ มาณ : ล้าน ลบ.ม., มูลค่า : ล้านบาท)

ประเภทผูใ้ ช้น้ า

ปริ มาณ 54.58 7.66 2.62

ปี 2552 ร้อยละ มูลค่า 73.36% 475.35 10.29% 70.82 3.52% 24.61

ร้อยละ 72.06% 10.74% 3.73%

ปริ มาณ 42.53 8.04 2.41

ปี 2553 ร้อยละ มูลค่า 71.57% 370.45 13.53% 74.37 4.05% 22.36

ร้อยละ 70.19% 14.09% 4.24%

ปี 2554 ปริ มาณ ร้อยละ มูลค่า 47.67 70.52% 415.22 19.73 29.18% 182.47 0.00 0.00% 0.00

ร้อยละ 69.20% 30.41% 0.00%

1. การอุปโภคบริ โภค 2. นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ 3. สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการ 4. โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ 9.54 12.83% 88.84 13.47% 6.45 10.85% 60.60 11.48% 0.20 0.30% 2.30 0.38% รวม 74.39 100.00% 659.62 100.00% 59.43 100.00% 527.79 100.00% 67.60 100.00% 599.99 100.00% หมายเหตุ : 1. ผูใ้ ช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภครายใหญ่ ได้แก่ การประปาส่ วนภูมิภาค ประกอบด้วย การประปาแหลมฉบัง, การประปาพัทยา, การ ประปาชลบุรี และ การ ประปาศรี ราชา 2. ผูใ้ ช้น้ าของ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) รายใหญ่ ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง (กนอ.แหลมฉบัง) 3. ผูใ้ ช้น้ าสวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม รายใหญ่ ได้แก่ บมจ.สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง และนิคมอุตสาหกรรมปิ่ น ทอง 1 และ 2 4. ผูใ้ ช้น้ าประเภทโรงงานทัว่ ไป ได้แก่ บมจ.ไทยออยล์, บมจ.สหโคเจน (ชลบุรี) และ บจ.ผลิตไฟฟ้ าอิสระ (ประเทศไทย)

สาหรับลูกค้าของบริ ษทั ฯ ในพื้นที่ปลวกแดง-บ่อวิน มี 10 ราย โดยลูกค้ารายสาคัญ ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมกลุ่ม เหมราช, นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิ ต้ ี, นิคมอุตสาหกรรมจีเคแลนด์, บจ.ไทยเนชัน่ แนล พาวเวอร์ , โรงกรองน้ า หนองกลางดง และ บจ.ยูนิเวอร์ แซลยูทิลิต้ ีส์ (กิจการประปาบ่อวิน) ปริมาณและมูลค่ าการจาหน่ ายนา้ ดิบแยกตามลักษณะผู้ใช้ นา้ ของบริษัทฯ พืน้ ที่ปลวกแดง-บ่ อวิน (ปริ มาณ : ล้าน ลบ.ม., มูลค่า : ล้านบาท)

ปี 2552 ปริ มาณ ร้อยละ มูลค่า 1.19 10.06% 10.60 0.00% 9.12 76.91% 84.40

ปี 2553 ปริ มาณ ร้อยละ มูลค่า 9.17 40.66% 79.85 0.00% 11.73 52.03% 108.52

ปี 2554 ร้อยละ มูลค่า 33.28% 59.66 65.79% 125.27 0.29% 0.62

ประเภทผูใ้ ช้น้ า ร้อยละ ร้อยละ ปริ มาณ ร้อยละ 1. การอุปโภคบริ โภค 9.67% 39.17% 6.85 31.90% 2. นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ 0.00% 0.00% 13.54 66.98% 3. สวนอุตสาหกรรม / 77.03% 53.23% 0.06 0.33% เขตประกอบการ 4. โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ 1.54 13.03% 14.57 13.30% 1.65 7.31% 15.49 7.60% 0.13 0.63% 1.46 0.78% 11.86 100.00% 109.57 100.00% 22.55 100.00% 203.86 100.00% 20.58 100.00% 187.02 100.00% รวม หมายเหตุ : 1. ผูใ้ ช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภค รายใหญ่ ได้แก่ โรงกรองน้ าหนองกลางดง 2. ผูใ้ ช้น้ าสวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการอุตสาหกรรม รายใหญ่ ได้แก่ กลุ่มนิคมอุตสาหกรรมเหมราช ประกอบด้วย นิคม

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 64


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

อุตสาหกรรมชลบุรี, นิคม อุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด และ นิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิร์นซีบอร์ด 3. ผูใ้ ช้น้ าประเภทโรงงานทัว่ ไป ได้แก่ บจ.ไทยเนชัน่ แนล พาวเวอร์

สาหรับพื้นที่ฉะเชิงเทรา มีลูกค้า จานวน 7 ราย ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมเวลโกร์ว, นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร , การประปาบางปะกง, การประปาฉะเชิงเทรา, บจ.โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย, บจ.บีพีเค พาวเวอร์ซพั พลาย และ บมจ.วินโคสท์ อินดัสเตรี ยล พาร์ค ปริมาณและมูลค่ าการจาหน่ ายนา้ ดิบแยกตามลักษณะผู้ใช้ นา้ ของบริษัทฯ พืน้ ทีบ่ ริเวณฉะเชิงเทรา (ปริ มาณ : ล้าน ลบ.ม., มูลค่า : ล้านบาท)

ประเภทผูใ้ ช้น้ า

ปี 2552 ปริ มาณ ร้อยละ มูลค่า 0.00% 0.00% 0.83 71.43% 8.09

ร้อยละ 0.00% 0.00% 68.51%

ปี 2553 ปริ มาณ ร้อยละ มูลค่า 4.00 77.32% 43.82 0.00% 0.48 9.37% 4.60

ร้อยละ 73.83% 0.00% 9.75%

ปริ มาณ 1.06 0.21 0.13

ปี 2554 ร้อยละ มูลค่า 49.75% 9.26 9.67% 1.91 5.99% 1.31

ร้อยละ 44.52% 9.19% 6.30%

1. การอุปโภคบริ โภค 2. นิคมอุตสาหกรรมของรัฐ 3. สวนอุตสาหกรรม / เขตประกอบการ 4. โรงงานทัว่ ไปและอื่นๆ 0.33 28.57% 3.72 31.49% 0.69 13.31% 7.74 16.42% 0.74 34.60% 8.32 39.99% รวม 1.16 100.00% 11.81 100.00% 5.17 100.00% 47.16 100.00% 2.14 100.00% 20.81 100.00% หมายเหตุ : 1. ผูใ้ ช้น้ าเพื่อการอุปโภคบริ โภค รายใหญ่ ได้แก่ การประปาบางปะกง 2. ผูใ้ ช้น้ าประเภทสวนอุตสาหกรรม/เขตประกอบการ ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมเวลโกร์ว, นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร 3. ผูใ้ ช้น้ าประเภทโรงงานทัว่ ไป รายใหญ่ ได้แก่ บจ.โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย, บจ.บีพีเคพาวเวอร์ซพั พลาย และ บมจ.วินโคส์ อินดัส เตรี ยล พาร์ค

- รายชื่ อลูกค้ าบริเวณพืน้ ที่ระยอง ทีม่ ีสัดส่ วนปริมาณการซื้อขายเกินกว่ าร้ อยละ 30 (ปริ มาณ : ล้าน ลบ.ม., มูลค่า : ล้านบาท)

ปี 2552 มูลค่า ร้อยละ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด 633.64 31.56 รายชื่อ

ปี 2553 มูลค่า ร้อยละ 695.20 31.13

ปี 2554 มูลค่า ร้อยละ 718.67 30.17

จากข้างต้น จะเห็นได้วา่ พื้นที่ที่บริ ษทั ฯ บริ หารระบบท่อส่ งน้ าอยูใ่ นปั จจุบนั มีลูกค้ารายใหญ่ ได้แก่ การนิ คม อุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย และการประปาส่ วนภูมิภาค สาหรับลูกค้ารายอื่นๆ ของบริ ษทั ฯ มี ท้ งั สวน อุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรม และหน่วยงานต่างๆ ทั้งของรัฐบาลและเอกชน ซึ่ งมีความสัมพันธ์อนั ดีกบั บริ ษทั ฯ เช่นกัน เนื่ องจากตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา บริ ษทั ฯ สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดี เสมอมา และบริ ษทั ฯ ยังมีค วามพยายามที่จะพัฒนาและปรับปรุ งบริ การของบริ ษทั ฯ เพื่อตอบสนองความ ต้อ งการของลู ก ค้า ให้ ดียิ่ ง ขึ้ น ส าหรั บ โอกาสที่ บ ริ ษ ัท ฯ จะสู ญ เสี ย ลู ก ค้า รายใหญ่ มี ค วามเป็ นไปได้น้อ ย เนื่องจากบริ ษทั ฯ เป็ นผูพ้ ฒั นาและบริ หารระบบท่อส่ งน้ าดิบแต่เพียงผูเ้ ดียวในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก อีกทั้งลูกค้ารายใหญ่ท้ งั 3 รายเป็ นผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ฯ ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 65


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

3.6 การจัดหาผลิตภัณฑ์ และบริการ

3.6.1 แหล่งนา้ ดิบและสิ ทธิในการซื้อนา้ ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ได้รับหนังสื ออนุ ญาตให้ใช้น้ าดิ บจากอ่างเก็บน้ าหนองค้อ อ่างเก็บน้ าดอกกราย อ่าง เก็บน้ าหนองปลาไหล อ่างเก็บน้ าบางพระ และคลองนครเนื่องเขต ของกรมชลประทานโดยมีระยะเวลา 5 ปี (ดังรายละเอียดสรุ ปสัญญา/สัมปทานในส่ วนลักษณะบริ การ) ซึ่ งบริ ษทั ฯ สามารถขอต่ออายุหนังสื อ อนุญาตได้โดยทาหนังสื อไปยังกรมชลประทานก่อนหมดอายุไม่นอ้ ยกว่า 60 วัน ในด้านราคาน้ าดิบที่บริ ษทั ฯ ซื้ อจากอ่างเก็บน้ าของกรมชลประทานนั้น บริ ษทั ฯชาระค่าน้ าดิบตามอัตราที่ กาหนดไว้ในประกาศกฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2518) ลงนามโดยรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ที่เรี ยกเก็บค่าชลประทานจากผูใ้ ช้น้ าจากทางน้ าชลประทาน เพื่อกิจการโรงงาน การประปา หรื อ กิจการอื่นใน หรื อนอกเขตชลประทาน 5 อัตรานี้ เป็ นอัตราเดียวกับที่กรมชลประทาน ขายให้แก่ผใู ้ ช้น้ าทัว่ ประเทศ และการเปลี่ยนแปลงราคาค่าน้ าดิบจะเป็ นไปตามประกาศของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ใน อนาคต อย่างไรก็ตามจากข้อมูลในอดี ตที่ผา่ นมา กรมชลประทานยังไม่เคยมีการเปลี่ ยนแปลงอัตราค่าน้ า นับตั้งแต่มีการออกประกาศฉบับดังกล่าว ในช่วง 3 ปี ที่ผา่ นมา บริ ษทั ฯ ซื้ อน้ าดิบจากกรมชลประทาน ตามรายการดังนี้ ปี 2552 ปริ มาณ (ลบ.ม.) 225,486,766

5

ปี 2553 มูลค่า (บาท) 112,743,383

ปริ มาณ (ลบ.ม.) 243,975,160

ปี 2554 มูลค่า (บาท) 121,987,580

ปริ มาณ (ลบ.ม.) 269,329,109

มูลค่า (บาท) 134,664,555

กรมชลประทานเรียกเก็บค่าชลประทานเป็ นรายเดือนจากผู้ใช้ น ้าจากทางน ้าชลประทานในอัตรา ดังนี ้ - สาหรับ 50,000 ลบ.ม.แรก ลบ.ม.ละ 20 สตางค์ - ส่วนที่เกิน 50,000 ลบ.ม. แต่ไม่เกิน 100,000 ลบ.ม. ลบ.ม.ละ 30 สตางค์ - ส่วนที่เกิน 100,000 ลบ.ม. ลบ.ม.ละ 50 สตางค์ ทังนี ้ ้ เศษของลบ.ม.ให้ ถือเป็ นหนึ่งลบ.ม.

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 66


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

ในช่วงกลางปี 2548 ได้เกิดวิกฤติการณ์ขาดแคลนน้ าใช้เพื่ออุปโภคบริ โภคและอุตสาหกรรมขึ้นในพื้นที่ จังหวัดชลบุรีและระยอง เนื่ องจาก พื้นที่ดงั กล่าวประสบกับภาวะฝนทิ้งช่ วงตั้งแต่เดื อนตุลาคม 2547 ซึ่ ง ปกติเป็ นเดือนที่ฝนตกสู งสุ ดในรอบปี ทาให้อ่างเก็บน้ าหนองปลาไหลซึ่ งเป็ นแหล่งน้ าหลักมีปริ มาณน้ า เก็บกักต่ ากว่าเกณฑ์ปกติประมาณ 50 ล้าน ลบ.ม. ปริ มาณน้ าต้นทุนที่มีอยู่ท้ งั หมด เพียงพอต่อการใช้น้ า จนถึ งเดื อนพฤษภาคม 2548 ซึ่ งเป็ นช่ วงต้นฤดู ฝนซึ่ งปกติ จะมี ฝนตกปริ มาณค่อนข้างสู ง แต่ปรากฏว่า เหตุการณ์ฝนแล้งได้เกิดต่อเนื่ องออกไปยาวนานจนถึ งเดื อนสิ งหาคม กระทัง่ ปลายเดื อนสิ งหาคมจึงเริ่ มมี ฝนตกตามปกติจนทาให้ปริ มาณน้ าเข้าสู่ ภาวะปกติในเดือนกันยายน 2548 รัฐบาลได้ให้ความสาคัญมากกับการแก้ไขปั ญหาขาดแคลนน้ าในปี 2548 โดยมอบหมายให้บริ ษทั ฯ และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่ วมกันจัดทาการแก้ไขปั ญหาทั้งในระยะสั้น ระยะกลางและระยะยาว เพื่อให้มีน้ า เพี ย งพอต่ อ การใช้น้ า ระยะยาว ซึ่ งผลจากการด าเนิ น การแก้ไ ขปั ญ หาอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของทุ ก หน่ วยงานที่เกี่ ยวข้องทาให้ขา้ มพ้นวิกฤตในปี 2548 ได้อย่างปลอดภัย ส่ งผลให้ความเชื่ อมัน่ กลับคืนมา ด้วยความรวดเร็ ว พร้ อมกันนี้ เพื่อป้ องกันภัยแล้งที่อาจจะเกิ ดขึ้นได้อีกในอนาคต บริ ษทั ฯ จึงได้จดั ทา ระบบป้ องกันภัยแล้ง โดยประกอบด้วย ระบบเฝ้ าระวังและมาตรการแก้ไขปั ญหาภัยแล้ง การจัดหาแหล่ง น้ าสารอง การติดตั้งระบบสู บน้ ากลับ การพัฒนาอ่างเก็บน้ าขนาดเล็กและการจัดการด้านอุปสงค์ (Demand Side Management) อนึ่ ง สาหรับในด้านคุ ณภาพของน้ าดิ บนั้น โดยทัว่ ไปอยูใ่ นเกณฑ์ที่เหมาะสม ยกเว้นในบางฤดูกาลจะมี ปั ญหาด้านความขุ่นของน้ าในอ่างเก็บน้ า อย่างไรก็ตามบริ ษทั ฯ สามารถแก้ไขปั ญหาด้านความขุ่นของน้ า โดยการระบายตะกอนที่ตกค้างออกจากท่อส่ งน้ า รวมทั้งเปลี่ยนระดับสู บน้ าจากอ่างเก็บน้ า เพื่อให้ได้น้ าที่ มีคุณภาพดี ข้ ึน นอกจากนี้ น้ าดิ บที่ลูกค้าของบริ ษทั ฯ ทั้งที่ นาน้ าไปใช้เพื่อการอุตสาหกรรม และการ อุ ป โภคบริ โ ภคอยู่ ใ นเกณฑ์ คุ ณ ภาพที่ ย อมรั บ ได้ เนื่ อ งจากลู ก ค้า จะต้อ งน าน้ า ดิ บ ดัง กล่ า วไปผ่ า น กระบวนการปรับปรุ งคุณภาพน้ าอีกขั้นหนึ่งก่อนนาน้ าไปใช้ประโยชน์ 3.6.1.1 ผลของฤดูกาลทีก่ ระทบต่ อการดาเนินธุรกิจของบริษัทฯ บริ ษทั ฯ ได้รับผลกระทบของฤดูกาลต่อการดาเนินธุ รกิจบ้าง เนื่ องจากการดาเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั ฯ เป็ นการ ดาเนิ นธุ รกิ จเกี่ยวกับทรัพยากรน้ า ดังนั้นความต้องการใช้น้ าสาหรับการอุปโภคและบริ โภคในช่วงฤดูแล้ง จะค่ อนข้า งสู ง กว่า ปกติ ส าหรั บ ความต้องการใช้น้ า ของลู ก ค้า ภาคอุ ตสาหกรรมส่ วนใหญ่ จะไม่ ไ ด้รั บ ผลกระทบจากฤดูกาลมากนัก อย่างไรก็ดี ลูกค้าบางรายจะมีการขุดสระเก็บน้ าเป็ นของตนเอง จึงสามารถเก็บ กักน้ าฝนไว้ในสระเก็บน้ าเพื่อทดแทนการใช้น้ าจากบริ ษทั ฯ ได้ทาให้ลดการใช้น้ าจากบริ ษทั ฯ ได้บางส่ วน ในช่วงฤดูฝน ในส่ วนของผลกระทบของฤดูกาลที่มีต่อวัตถุดิบของบริ ษทั ฯ ในช่วงฤดูฝนจะมีน้ าในอ่างเก็บน้ ามาก ส่ วน ในช่ ว งฤดู แล้ง ซึ่ งไม่ มี น้ า ฝนตกลงมาเติ ม ปริ ม าณน้ า ในอ่ า งเก็ บ น้ า ปริ ม าณน้ า ในอ่ า งเก็ บ น้ า จะลดลง ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 67


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

เนื่องจากการใช้น้ าของผูใ้ ช้น้ า อย่างไรก็ตาม จนถึงปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ยังไม่เคยประสบปั ญหาการขาดแคลน น้ าเพื่อจาหน่ายให้แก่ลูกค้า ดังจะเห็นได้จากแผนภาพและตารางเปรี ยบเทียบอุปสงค์และอุปทานต่อไปนี้ อ่างเก็บนา้ ดอกกราย 90 2544

90 80

80

70 60

2545

70

2546

60

2547

2548

50

50

40

40

30

30

2551

20

20

2552

10

10

2549

0

0

2544

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2550

2553

2554

2554

อ่างเก็บนา้ หนองปลาไหล 200

200

180

180

160

160

140

140

2547

120

120

2548

100

100

2549

80

80

2550

60

60

2551

40

40

20

20

0

0

2544

2545 2546

2552 2553 2554

อ่างเก็บนา้ หนองค้ อ 25

25

20

20

15

15

10

10

5

5

0

0

2544

2545 2546 2547

2548 2549 2550

2551 2552 2553 2554

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 68


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

ตารางเปรี ยบเทียบอุปสงค์ และอุปทานของนา้ ดิบในพืน้ ที่ที่บริษัทฯ ดาเนินการ ในปัจจุบัน พื้นที่ระยอง ปี บัญชี

6

7

อุปสงค์ การใช้น้ า6 (ล้าน ลบ.ม. ต่อปี )

2548/2549

116.82

2549/2550

128.79

2550/2551

125.35

2552

133.67

2553

157.92

2554

171.18

อุปทาน แหล่งน้ า ระบบท่อส่ งน้ า อ่างเก็บน้ า ปริ มาณน้ าโดยเฉลี่ยที่ใช้งานได้ 7 ระบบท่อส่ งน้ า ความสามารถในการจ่ายน้ า (ล้าน ลบ.ม.ต่อปี ) (ล้าน ลบ.ม.ต่อปี ) ดอกกราย 146.57 ดอกกราย-มาบตาพุด และ 100.00 มาบตาพุด-สัตหีบ หนองปลาไหล 126.31 หนองปลาไหล-มาบตาพุด 100.00 ดอกกราย 146.57 ดอกกราย-มาบตาพุด และ 100.00 มาบตาพุด-สัตหีบ หนองปลาไหล 126.31 หนองปลาไหล-มาบตาพุด 100.00 ดอกกราย 146.57 ดอกกราย-มาบตาพุด และ 100.00 มาบตาพุด-สัตหีบ หนองปลาไหล 126.31 หนองปลาไหล-มาบตาพุด 100.00 ดอกกราย 146.57 ดอกกราย-มาบตาพุด และ 100.00 มาบตาพุด-สัตหีบ หนองปลาไหล 126.31 หนองปลาไหล-มาบตาพุด 100.00 ดอกกราย 146.57 ดอกกราย-มาบตาพุด และ 100.00 มาบตาพุด-สัตหีบ หนองปลาไหล 126.31 หนองปลาไหล-มาบตาพุด 100.00 ดอกกราย 146.57 ดอกกราย-มาบตาพุด และ 100.00 มาบตาพุด-สัตหีบ หนองปลาไหล 126.31 หนองปลาไหล-มาบตาพุด 100.00

ที่มา: ตัวเลขปริ มาณการจ่ายน ้าจริ งของบริ ษัทฯ ในพื ้นที่นนๆ ั ้ ซึง่ ปริ มาณอุปสงค์การใช้ น ้าที่สงู กว่าความสามารถในการจ่ายน ้าของอ่างเก็บน ้าหนองค้ อ เป็ นการสูบส่งน ้าจากอ่างเก็บน ้าหนองปลาไหลผ่านระบบท่อส่งน ้าหนองปลาไหล-หนองค้ อ ที่มา: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รายงานการศึกษาแผนหลักการนาระบบท่อส่งน ้าในพื ้นที่ชายฝั่ งทะเลภาคตะวันออก โดยตัวเลขปริ มาณน ้าเฉลี่ยที่ใช้ งานได้ คานวณจากข้ อมูลปริ มาณน ้าไหลเข้ าอ่างฯ ในอดีตของอ่างเก็บน ้านันๆ ้ อย่างไรก็ตาม ตัวเลขดังกล่าว ยังไม่ได้ รวมถึงปริ มาณน ้าเดิมที่มีอยู่ในอ่างฯ ซึง่ สามารถนามาใช้ งานได้ เพิ่มเติม

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 69


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

พื้นที่ชลบุรี ปี บัญชี

2548/2549

2549/2550

2550/2551

2552

2553

2554

อุปสงค์ การใช้น้ า (ล้าน ลบ.ม. ต่อปี )

อุปทาน อ่างเก็บน้ า

52.92

หนองค้อ

64.29

หนองปลาไหล หนองค้อ

70.92

หนองปลาไหล หนองค้อ

63.90

หนองปลาไหล หนองค้อ

59.28

หนองปลาไหล หนองค้อ

67.57

หนองปลาไหล หนองค้อ หนองปลาไหล

แหล่งน้ า ระบบท่อส่ งน้ า ปริ มาณน้ าโดยเฉลี่ยที่ใช้งานได้ ระบบท่อส่ งน้ า ความสามารถในการจ่ายน้ า (ล้าน ลบ.ม.ต่อปี ) (ล้าน ลบ.ม.ต่อปี ) 15.78 หนองค้อ-แหลมฉบัง และ แหลมฉบัง-พัทยา 80.00 126.31 หนองค้อ-แหลมฉบัง2* 15.78 หนองค้อ-แหลมฉบัง และ แหลมฉบัง-พัทยา 80.00 126.31 หนองค้อ-แหลมฉบัง2* 15.78 หนองค้อ-แหลมฉบัง และ แหลมฉบัง-พัทยา 80.00 126.31 หนองค้อ-แหลมฉบัง2* 15.78 หนองค้อ-แหลมฉบัง และ แหลมฉบัง-พัทยา 80.00 126.31 หนองค้อ-แหลมฉบัง2* 15.78 หนองค้อ-แหลมฉบัง และ แหลมฉบัง-พัทยา 80.00 126.31 หนองค้อ-แหลมฉบัง2* 15.78 หนองค้อ-แหลมฉบัง และ แหลมฉบัง-พัทยา 80.00 126.31 หนองค้อ-แหลมฉบัง2*

พื้นที่ปลวกแดง-บ่อวิน ปี บัญชี

อุปสงค์ การใช้น้ า (ล้าน ลบ.ม. ต่อปี )

อุปทาน อ่างเก็บน้ า

แหล่งน้ า ปริ มาณน้ าโดยเฉลี่ยที่ใช้งานได้ (ล้าน ลบ.ม.ต่อปี )

ระบบท่อส่ งน้ า ระบบท่อส่ งน้ า ความสามารถในการจ่ายน้ า (ล้าน ลบ.ม.ต่อปี )

2548/2549

20.73

หนองปลาไหล

126.31

หนองปลาไหล - หนองค้อ

78.00

2549/2550

17.20

หนองปลาไหล

126.31

หนองปลาไหล - หนองค้อ

78.00

2550/2551

18.15

หนองปลาไหล

126.31

หนองปลาไหล - หนองค้อ

78.00

2552

17.50

หนองปลาไหล

126.31

หนองปลาไหล - หนองค้อ

78.00

2553

22.53

หนองปลาไหล

126.31

หนองปลาไหล - หนองค้อ

78.00

2554

20.58

หนองปลาไหล

126.31

หนองปลาไหล - หนองค้อ

78.00

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 70


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

พื้นที่ฉะเชิงเทรา ปี บัญชี

อุปสงค์ การใช้น้ า (ล้าน ลบ.ม. ต่อปี )

อุปทาน แม่น้ า

แหล่งน้ า ปริ มาณน้ าโดยเฉลี่ยที่ใช้งานได้ (ล้าน ลบ.ม.ต่อปี )

ระบบท่อส่ งน้ า ระบบท่อส่ งน้ า ความสามารถในการจ่ายน้ า (ล้าน ลบ.ม.ต่อปี )

2548/2549

8.89

บางปะกง

> 7,840

ฉะเชิงเทรา

65.00

2549/2550

8.81

บางปะกง

> 7,840

ฉะเชิงเทรา

65.00

2550/2551

9.49

บางปะกง

> 7,840

ฉะเชิงเทรา

65.00

2552

6.20

บางปะกง

> 7,840

ฉะเชิงเทรา

65.00

2553

5.17

บางปะกง

> 7,840

ฉะเชิงเทรา

65.00

2554

2.14

บางปะกง

> 7,840

ฉะเชิงเทรา

65.00

3.6.2 ความสามารถในการจ่ ายนา้ และปริมาณการจ่ ายนา้ จริง ปัจจุบนั บริ ษทั ฯ ได้ดาเนิ นการบริ หารทรัพย์สินท่อส่ งน้ าหลักในเขตพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก โดย ณ 31 ธันวาคม 2554 มีความยาวของท่อส่ งน้ าทั้งสิ้ น 339.5 กม. ซึ่ งมีความสามารถสู บส่ งน้ ารวมประมาณ 473 ล้าน ลบ.ม. ดังตารางแสดงระบบท่อส่ งน้ า ระบบท่อส่ งน้ า พืน้ ที่หนองปลาไหล – ดอกกราย - มาบตาพุด - สัต หีบ - สายดอกกราย-มาบตาพุด - สายหนองปลาไหล-มาบตาพุด - สายมาบตาพุด-สัตหีบ - สายแม่น้ าระยอง-มาบข่า - ท่อแยกจ่ายน้ าเทศบาลตาบลมาบข่า

*

ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ความยาวของ ความสามารถในการส่ งจ่ายน้ า ของท่อส่ งน้ า (มม.) ท่อส่ งน้ า (กม.) ในพื้นที่โดยเฉลี่ย 8* (ล้าน ลบ.ม.ต่อปี ) 96.4 1,350 1,500 1,350 900 700 900 200

200

26.0 12.7 18.0 8.2 14.1 17.1 0.3

ความสามารถในการส่งจ่ายน ้าดิบคิดที่ 24 ชัว่ โมงต่อวัน ณ อัตราการไหล (Flow Rate) ของระบบในปั จจุบนั เช่น ระบบท่อส่งน ้าในพื ้นที่หนองค้ อ-แหลม ฉบัง-พัทยา-บางพระ ซึง่ ใช้ แรงโน้ มถ่วงในการส่งจ่ายน ้าจะหมายถึง ความสามารถในการไหลของน ้าผ่านระบบท่อตลอด 24 ชัว่ โมง โดยอาศัยเพียงแรง โน้ มถ่วงของโลกเป็ นแรงขับเคลื่อนการไหลของน ้า ส่วนระบบท่อส่งน ้าในพื ้นที่ดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหีบซึง่ ใช้ เครื่ องสูบน ้าในการส่งจ่ายน ้า จะหมายถึง ความสามารถในการไหลของน ้าผ่านระบบท่อตลอด 24 ชัว่ โมง โดยอาศัยกาลังของเครื่ องสูบน ้าของระบบในปั จจุบนั

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 71


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ระบบท่อส่ งน้ า พืน้ ที่หนองค้ อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ - สายหนองค้อ-แหลมฉบัง ระยะที่ 1 - สายแหลมฉบัง-พัทยา - สายแหลมฉบัง-โรงกรองน้ าบางพระ 2 - สายหนองค้อ-แหลมฉบัง ระยะที่ 2 - สายอ่างฯ บางพระ-โรงกรองน้ าบางพระ 1 - สายอ่างฯ บางพระ-โรงกรองน้ าบางพระ 2 - ท่อเชื่อมท่อส่ งน้ าบางปะกง/ชลบุรี-โรงกรองน้ า บางพระ 2 - สาย หนองปลาไหล-หนองค้อ By-Pass 1 - สาย หนองปลาไหล-หนองค้อ BY-Pass 2 พืน้ ที่หนองปลาไหล-หนองค้ อ - สายหนองปลาไหล-หนองค้อ - ท่อแยกจ่ายน้ าโรงกรองน้ าหนองกลางดง พืน้ ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา - ท่อส่ งน้ าฉะเชิงเทรา

- ท่อเชื่อมสถานีสูบน้ าฉะเชิงเทรา - สระสารองน้ า ดิบฉะเชิงเทรา

- ระบบท่อบางปะกง-ชลบุรี

- ท่อเชื่อมสระสารองน้ าดิบสานักบก - ท่อแยกจ่ายน้ าโรงกรองน้ าประปาศรี ราชา รวม

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ความยาวของ ความสามารถในการส่ งจ่ายน้ า ของท่อส่ งน้ า (มม.) ท่อส่ งน้ า (กม.) ในพื้นที่โดยเฉลี่ย 8* (ล้าน ลบ.ม.ต่อปี ) 70.4 80 1,000 10.7 900 3.4 600 15.0 700 8.0 1,200 10.7 1,000 3.4 500 3.6 710 4.1 700

0.9

900 800

3.1 7.5

1,350 900 500 1,500 1,350 1,000 700 710 630 1,500 1,350 700 160 1,400 1,200 1,000 700 800 900

52.5 39.9 4.5 8.1 60.1 15.6 18.1 6.4 5.7 4.0 8.9 0.4 0.5 0.1 0.4 53.0 0.9 1.0 2.2 3.0 0.7 339.5

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

78

65

50

473.00

ส่วนที่ 2 หน้า 72


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

ทั้งนี้ ในปี 2554 บริ ษทั บริ หารระบบท่อส่ งน้ าดิบครอบคลุม 4 พื้นที่ คือ พื้นที่หนองปลาไหล-ดอกกราย-มาบ ตาพุ ด -สั ต หี บ พื้ น ที่ ห นองค้อ -แหลมฉบัง -พัท ยา-บางพระ พื้ น ที่ ห นองปลาไหล – หนองค้อ และพื้ น ที่ ฉะเชิงเทรา โดยระบบท่อส่ งน้ าในทั้ง 3 พื้นที่ มีความสามารถในการจ่ายน้ า และปริ มาณการจ่ายน้ าจริ ง ดังนี้

ปี 2552 ความสามารถในการจ่ายน้ าเฉลี่ย (ล้าน ลบ.ม.ต่อปี ) พื้นที่หนองปลาไหล-ดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหีบ 200.00 พื้นที่หนองค้อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ 80.00 พื้นที่หนองปลาไหล-หนองค้อ 78.00 พื้นที่ฉะเชิงเทรา 65.00 ปริ มาณการจ่ายน้ าจริ ง (ล้าน ลบ.ม.) พื้นที่หนองปลาไหล-ดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหีบ 133.67 พื้นที่หนองค้อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ 63.90 พื้นที่หนองปลาไหล-หนองค้อ 17.50 พื้นที่ฉะเชิงเทรา 6.20 ปริ มาณการจ่ายน้ าจริ งเทียบกับความสามารถในการจ่ายน้ า เฉลี่ย (ร้อยละ) พื้นที่หนองปลาไหล-ดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหีบ 66.84 พื้นที่หนองค้อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ 79.88 พื้นที่หนองปลาไหล-หนองค้อ 22.44 พื้นที่ฉะเชิงเทรา 9.54 อัตราเพิ่ม (ลด) ของปริ มาณการจ่ายน้ าจริ ง (ร้อยละ) (เทียบกับ2550/2551) พื้นที่หนองปลาไหล-ดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหีบ 3.72 พื้นที่หนองค้อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ -11.41 พื้นที่หนองปลาไหล-หนองค้อ -3.90 พื้นที่ฉะเชิงเทรา -26.89

สาหรับรอบระยะเวลาบัญชี ปี 2553

ปี 2554

200.00 80.00 78.00 65.00

200.00 80.00 78.00 65.00

157.92 59.28 22.53 5.17

171.18 67.57 20.58 2.14

78.96 74.10 28.88 7.95 (เทียบกับ2552) 18.14 -7.23 28.74 -16.61

85.59 84.46 26.38 3.29 (เทียบกับ2553) 8.40 13.98 -8.66 -59.61

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 73


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

3.6.3 ขั้นตอนและเทคโนโลยีในการดาเนินงาน 3.6.3.1 ขั้นตอนในการดาเนินงาน บริ ษทั ฯ ประกอบธุ รกิจหลักในการพัฒนาและบริ หารทรัพยากรน้ าและระบบท่อส่ งน้ า และประกอบธุ รกิจรอง ในการให้คาปรึ กษาด้านวิศวกรรมแก่ลูกค้า โดยสามารถแบ่งการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ ได้เป็ น 3 ลักษณะ คือ 1) การพัฒนาระบบท่อส่ งน้ า ซึ่ งเป็ นขั้นตอนในการพัฒนาระบบท่อส่ งน้ าใหม่เพื่อขยายพื้นที่การให้บริ การ ของบริ ษทั ฯ และสามารถแบ่งตามประเภทของระบบท่อส่ งน้ าได้ 2 ระบบ คือ 1.1) ระบบท่อส่ งน้ าที่ไม่ใช้พลังงานไฟฟ้ าในการส่ งจ่ายน้ า 1.2) ระบบท่อส่ งน้ าที่ใช้พลังงานไฟฟ้ าในการส่ งจ่ายน้ า 2) การบริ ห ารทรั พ ยากรน้ า และระบบท่ อ ส่ ง น้ า เป็ นขั้น ตอนในการบริ ห ารระบบท่ อ ส่ ง น้ า ที่ บ ริ ษ ัท ฯ พัฒนาขึ้ นหรื อระบบท่ อส่ ง น้ าที่ บริ ษ ทั ฯ รั บ โอนมาจากหน่ วยราชการอื่ น เพื่ อให้การบริ หารทรั พ ยากรน้ า เป็ นไปโดยมีประสิ ทธิภาพสู งสุ ด ปัจจุบนั บริ ษทั ฯ บริ หารท่อส่ งน้ าใน 4 พื้นที่ คือ 2.1) พื้นที่หนองปลาไหล-ดอกกราย-มาบตาพุด-สัตหีบ 2.2) พื้นที่หนองค้อ-แหลมฉบัง-พัทยา-บางพระ 2.3) พื้นที่หนองปลาไหล-หนองค้อ 2.4) พื้นที่จงั หวัดฉะเชิงเทรา 3) การให้คาปรึ กษาด้านวิศวกรรมแก่ลูกค้า โดยการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ ในแต่ละส่ วนข้างต้น มีข้ นั ตอนการดาเนินงาน ดังนี้ การพัฒนาระบบท่อส่ งน้ า การพัฒนาระบบท่อส่ งน้ าเริ่ มจากบริ ษทั ฯ จะทาการพิจารณาเบื้องต้นถึงอุปสงค์การใช้น้ า และความขาด แคลนน้ าของแต่ ล ะพื้ น ที่ โดยมุ่ ง เน้ น บริ เ วณที่ มี ศ ัก ยภาพในการพัฒ นาอุ ต สาหกรรม เช่ น นิ ค ม อุตสาหกรรม หรื อบริ เวณที่มีความต้องการน้ าเพื่ออุปโภคบริ โภคสู ง หลังจากนั้นบริ ษทั ฯ จะว่าจ้างบริ ษทั ผูเ้ ชี่ยวชาญทาการศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ สาหรับระบบท่อส่ งน้ าในปั จจุบนั สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ระบบใหญ่ ๆ ตามสภาพภูมิประเทศที่จะทา การวางระบบ ดังนี้ 1.1) ระบบท่อส่ งน้ าที่ไม่ใช้พลังงานไฟฟ้ าในการส่ งจ่ายน้ า ระบบนี้ จะเป็ นระบบที่ส่งจ่ายน้ าโดยแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity) เพียงอย่างเดียว ซึ่ งใช้สาหรับ การส่ งจ่ายน้ าจากแหล่งน้ าที่อยู่ในภูมิประเทศซึ่ งเป็ นที่สูงไปยังสถานี รับน้ าปลายทางที่ต้ งั อยูใ่ นที่ต่ า โดยมีหลักการทางาน คือ เมื่ อเปิ ดประตูน้ า น้ าจะไหลผ่านเข้าสู่ ระบบท่อส่ งน้ าและไหลไปยัง สถานี รั บ น้ า ปลายทางโดยตรง โดยจะมี อุ ป กรณ์ หลัก คื อ ประตู น้ า ท่ อ ส่ ง น้ า และสถานี รับ น้ า ที่ ปลายทาง

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 74


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

1.2) ระบบท่อส่ งน้ าที่ใช้พลังงานไฟฟ้ าในการสู บจ่ายน้ า ระบบนี้ มีหลักการทางาน คือ สถานี สูบน้ าจะสู บน้ าจากแหล่งน้ า (อ่างเก็บน้ า) ไปยังสถานียกระดับ น้ าซึ่ งมีความสู งมากกว่าสถานี รับน้ าปลายทาง โดยสถานี ยกระดับน้ าจะทาหน้าที่ควบคุมแรงดันของ น้ าในการส่ งน้ าต่อไปยังสถานี รับน้ าปลายทางโดยแรงโน้มถ่ วงของโลก และอาจจะมี การติ ดตั้ง สถานี รับน้ าขึ้นระหว่างทางเพื่อสู บน้ าไปยังสถานี ยกระดับน้ าเป็ นช่ วง ๆ เพื่อเพิ่มแรงดันของน้ าใน กรณี ที่ท่อส่ งน้ ามีความยาวกว่าปกติ สาหรับอุปกรณ์หลักของระบบนี้ จะประกอบด้วย สถานี สูบน้ า ท่อส่ งน้ า สถานียกระดับน้ า (Head Tank) และสถานีรับน้ าปลายทาง ระบบท่อส่ งน้ า 2 ระบบข้างต้น จะมีความคล้ายคลึ งกัน แตกต่างเพียงระบบท่อส่ งน้ าที่ใช้พลังงาน ไฟฟ้ าจะมี อุปกรณ์ มากกว่าระบบท่อส่ งน้ าที่ ใช้แรงโน้มถ่วง เช่ น สถานี สูบน้ า สถานี ยกระดับน้ า และระบบควบคุมที่มีความซับซ้อนมากกว่า เป็ นต้น การวางระบบท่อส่ งน้ าจะเริ่ มต้นจากการศึกษาศักยภาพของแหล่งน้ าที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั และที่จะสามารถ พัฒนาได้ในอนาคต โดยบริ ษทั ฯ จะพิจารณาระยะทาง คุณภาพของแหล่งน้ า และปริ มาณน้ าของแหล่ง น้ านั้นที่จะสามารถจัดสรรให้กบั บริ ษทั ฯ หลังจากนั้นจึงจะศึกษาทางเลือกในการกาหนดแนววางท่อส่ ง น้ า ที่ ต้ งั สถานี สู บ น้ า ต่ า ง ๆ เพื่ อ หาความเป็ นไปได้ใ นการวางท่ อ ส่ ง น้ า นอกจากนี้ ยัง ต้อ งพิ จ ารณา เปรี ยบเทียบระยะความยาวท่อ และราคาระบบท่อพร้ อมที่ดินของสถานี สูบน้ าอีกด้วย ในการพิจารณา แนวท่อน้ าดิบจากสถานี สูบจ่ายน้ าหรื อจุดรับน้ าดิ บไปยังจุดที่ตอ้ งการน้ า และสถานี รับน้ าปลายทาง จะ ศึกษาหาแนวท่อที่มีระยะความยาวท่อสั้น และสะดวกต่อการวางท่อที่สุด อุปกรณ์ที่สาคัญของระบบท่อ ส่ งน้ าอี ก ประเภทหนึ่ ง ได้แก่ สถานี ย กระดับ น้ า ซึ่ ง ใช้ควบคุ ม ความดันของน้ าให้อยู่ในระดับที่ เพีย ง พอที่จะส่ งน้ าไปถึ งยังปลายทางรับน้ า ตาแหน่ ง ที่ต้ งั และความสู งของสถานี ยกระดับน้ าจะมีผลต่อการ กาหนดราคา ดังนั้นระบบท่อส่ งน้ าจึงต้องมีการออกแบบอย่างดี โดยการใช้สถานี ยกระดับน้ าที่สูงจะทา ให้เสี ยค่าไฟฟ้ าในการสู บน้ ามากขึ้น แต่ขณะเดียวกันก็อาจลดขนาดของท่อส่ งน้ าลงได้ ทาให้สามารถลด ต้นทุนในการก่อสร้างระบบท่อส่ งน้ าลงได้ ในด้านการออกแบบขนาดของท่อส่ งน้ า บริ ษทั ฯ จะต้อง ศึกษาเปรี ยบเทียบทั้งต้นทุนในปั จจุบนั และต้นทุนที่จะเกิ ดในอนาคตเพื่อการออกแบบว่าควรจะลงทุน วางท่อขนาดเท่าใด เช่ น การลงทุนวางท่อที่มีขนาดใหญ่เกินอุปสงค์การใช้น้ าที่จะเกิดในอนาคต เท่ากับ ว่าเป็ นการลงทุนที่สูงโดยไม่จาเป็ น บริ ษทั ฯ อาจเลื อกวางท่อที่มีขนาดพอเพียงไประยะหนึ่ งก่อนและ เมื่อเกิ ดอุปสงค์การใช้น้ ามากขึ้นในอนาคต บริ ษทั ฯ จึงจะพิจารณาวางท่อคู่ขนานเพิ่มเติมหรื ออาจ พิจารณาเสริ มเครื่ องสู บน้ าเพิม่ ความดัน (Booster Pump) เพื่อส่ งจ่ายน้ าในปริ มาณที่มากขึ้นได้ เป็ นต้น ภายหลังการศึกษาความเป็ นไปได้แล้วเสร็ จ หากโครงการมีความเป็ นไปได้ในการลงทุน บริ ษทั ฯ จะ ว่าจ้างที่ปรึ กษาให้สารวจพื้นที่และออกแบบรายละเอียดระบบท่อส่ งน้ า รวมทั้งการประสานงานกับกรม ชลประทาน เพื่อขอให้กรมชลประทานจัดสรรน้ าให้แก่บริ ษทั ฯ ภายหลังการออกแบบเสร็ จสิ้ น บริ ษทั ฯ จะติดต่อขออนุ ญาตหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการวางระบบท่อส่ งน้ าเช่น กรมทางหลวง การรถไฟ ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 75


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

แห่งประเทศไทย ในกรณี วางท่อส่ งผ่านถนนหรื อทางรถไฟ หรื อกรมเจ้าท่าในกรณี วางท่อในแม่น้ า เป็ น ต้น เนื่ องจากบริ ษทั ฯ ต้องวางระบบท่อผ่านพื้นที่ของหน่ วยงานนั้นๆ รวมทั้งติดต่อขอซื้ อหรื อเช่าที่ดิน จากเอกชน ในกรณี ที่ไม่สามารถวางระบบท่อในสถานที่ของราชการได้ หลังจากนั้น บริ ษทั ฯ จะว่าจ้าง บริ ษทั วิศวกรที่ปรึ กษาเพื่อควบคุมงานก่อสร้ าง แล้วจึงประกวดราคา เพื่อคัดเลือกผูร้ ับเหมาและเริ่ มการ ก่อสร้ างตามลาดับ ทั้งนี้ การดาเนิ นงานดังกล่าวตั้งแต่เริ่ มศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการเบื้องต้น จะอยู่ ภ ายใต้ก ารควบคุ ม ดู แ ลของฝ่ ายวางแผนโครงการของบริ ษ ัท ฯ โดยรั ฐ บาลรวมทั้ง ผู ้ถื อ หุ ้ น ภาครัฐบาล (กปภ. และ กนอ.) เพียงแต่วางนโยบายกว้างๆ ให้บริ ษทั ฯ เป็ นผูร้ ับผิดชอบในการพัฒนา ระบบท่ อส่ ง น้ า ในพื้ น ที่ ช ายฝั่ ง ทะเลภาคตะวันออกให้ส ามารถตอบสนองการเจริ ญเติ บ โตทางด้า น อุตสาหกรรมอย่างเพียงพอและทัว่ ถึง ทั้งนี้ ในการพิจารณาพัฒนาระบบท่อส่ งน้ า บริ ษทั ฯ จะพิจารณาถึง อุปสงค์การใช้น้ าและความขาดแคลนน้ าในแต่ละพื้นที่รวมทั้งความเป็ นไปได้ในการลงทุนเป็ นส่ วน สาคัญในการตัดสิ นใจ และภายหลังการก่ อสร้ างแล้วเสร็ จ บริ ษทั ฯ จะให้บริ การจ่า ยน้ าแก่ ผูป้ ระกอบการต่า งๆ โดยผูใ้ ช้น้ า จะต้องเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายในการวางท่อเชื่อมจากระบบของบริ ษทั ฯ ไปยังจุดรับน้ าของผูใ้ ช้น้ า รวมทั้ง การติดตั้งมาตรวัดน้ าเพื่อวัดปริ มาณการใช้น้ า ณ จุดรับน้ านี้ ซึ่ งการวางท่อและติดตั้งมาตรวัดน้ านี้ ลูกค้า อาจจะดาเนิ นการเองหรื อให้บริ ษทั ฯ ดาเนิ นการก็ได้ แต่ท้ งั นี้ การวางท่อและติดตั้งมาตรวัดน้ าดังกล่าว จะต้องเป็ นไปตามมาตรฐานและข้อกาหนดของบริ ษทั ฯ อย่างไรก็ตาม เนื่ องจากการลงทุนวางท่อใน บางกรณี มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสู ง และลูกค้าหลายรายสามารถใช้ท่อส่ งน้ าดังกล่าวร่ วมกันได้ ลูกค้าเหล่านี้ จึงมักจะลงทุนร่ วมกันโดยทาสัญญาว่าจ้างให้บริ ษทั ฯ เป็ นผูด้ าเนิ นการวางระบบท่อส่ งน้ าดิบ ซึ่ งในทาง ปฏิบตั ิ บริ ษทั ฯ จะเป็ นศูนย์กลางในการว่าจ้างผูร้ ับเหมาจากภายนอกมาดาเนิ นการแทน โดยบริ ษทั ฯ จะ ไม่คิดกาไรกับลู กค้าในการดาเนิ นการ ทั้งนี้ ในการทาสัญญารั บวางระบบท่อส่ งน้ าดิ บให้แก่ ลูกค้า บริ ษทั ฯ จะกาหนดให้ลูกค้ารับโอนกรรมสิ ทธิ์ ในท่อส่ งน้ า และส่ งมอบกรรมสิ ทธิ์ ท่อส่ งน้ าให้กบั บริ ษทั ฯ ภายหลังจากที่ระบบท่อหมดมูลค่าทางบัญชีแล้ว อย่างไรก็ดีบริ ษทั ฯ จะมีสิทธิ ในการบริ หารระบบท่อ ส่ งน้ าของลูกค้าได้ตลอดระยะเวลาที่ลูกค้ายังถือกรรมสิ ทธิ์ อยู่ เพื่อให้บริ ษทั ฯ สามารถบริ หารและจัดการ ระบบท่อส่ งน้ าโดยรวม ซึ่ งรวมถึงระบบท่อส่ งน้ าย่อยของลูกค้าได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 76


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

3.6.3.2 เทคโนโลยีเพือ่ ควบคุมการสู บจ่ ายนา้ ดิบ บริ ษทั ฯ ได้นาเทคโนโลยีระบบ SCADA หรื อ Supervisory Control and Data Acquisition มาใช้ในการ ควบคุมการสู บส่ งน้ าในพื้นที่รับผิดชอบของบริ ษทั ฯ ได้แก่ พื้นที่ฉะเชิ งเทรา ชลบุรี ระยอง โดยมีการ พัฒนาและปรับปรุ งระบบอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บริ ษทั ฯ สามารถบริ หารจัดการน้ าได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ระบบ SCADA เป็ นระบบควบคุ ม และประมวลผลระยะไกล โดยใช้ ก ารท างานของอุ ป กรณ์ Programmable Logic Controller (PLC) ผ่านเครื่ องคอมพิวเตอร์ และระบบสื่ อสารข้อมูลหลายแบบ เช่ น คลื่นวิทยุ, Fiber Optic, Wireless Network, โทรศัพท์ (PSTN), GSM และ GPRS เป็ นต้น นอกจากนี้ ยัง สามารถรายงานถึงสถานะของระบบ ณ จุดใดจุดหนึ่ง และ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง (Real Time) ซึ่ งจะส่ งผล ให้บริ ษทั ฯ สามารถใช้ขอ้ มูลเหล่านี้ ในการควบคุมระบบการสู บจ่ายน้ าได้อย่างแม่นยา และลดค่าใช้จ่าย ในด้านบุคลากรที่ใช้ในการควบคุมการสู บส่ งน้ า ปั จ จุ บ นั บริ ษ ัท ฯได้รวมศู น ย์ค วบคุ ม การท างานหลัก ของระบบ SCADA ไว้ที่ จงั หวัดระยองบริ เ วณ อ่ า งเก็ บ น้ า หนองปลาไหล เพื่ อใช้เป็ นศู นย์ก ลางในการควบคุ ม การท างานของสถานี ลู ก ข่ า ย (Slave Station) โดยสถานีลูกข่ายจะติดตั้งอยูต่ ามจุดต่างๆ เช่น สถานีสูบน้ า สถานียกระดับน้ า จุดรับน้ าของลูกค้า เป็ นต้น ภายในสถานี ลูกข่ายจะมีอุปกรณ์ควบคุมซึ่ งรับสัญญาณข้อมูลจากอุปกรณ์มาตรวัด เช่น มาตรวัด ปริ มาณน้ า (Flow Meter) มาตรวัดความดัน (Pressure Meter) มาตรวัดอุณหภูมิ (Temperature Meter) และ เครื่ องตรวจจับ (Sensor) ข้อมูลหลักที่ได้จากอุปกรณ์ ควบคุ มข้างต้นจะแสดงผลบนแผนภาพขนาดใหญ่ ส่ วนข้อมูลในรายละเอียดจะแสดงบนจอคอมพิวเตอร์ ซึ่ งติดตั้งไว้ภายในศูนย์ควบคุม ข้อมูลสาคัญที่ใช้ ในการควบคุ มการสู บส่ งน้ า เช่ น ปริ มาณการไหลของน้ า ความดันน้ า รวมทั้งอุณหภูมิของอุปกรณ์ และ เครื่ องจักร จะถูกแปลงเป็ นสัญญาณผ่านระบบสื่ อสารไปยังศูนย์ควบคุมการทางาน และแปลงสัญญาณส่ ง ต่อไปยังคอมพิวเตอร์ เพื่อประมวลผลไปใช้ในการควบคุมระบบสู บส่ งน้ าของบริ ษทั ฯ ให้มีประสิ ทธิ ภาพ เป็ นต้น นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ได้พฒั นาระบบ SCADA แบบรวมศูนย์ ให้เชื่ อมโยงระบบ SCADA ของพื้นที่ ปฏิบตั ิการทั้งหมดเข้าด้วยกัน สามารถควบคุมและเฝ้ าระวัง (Control & Monitor) ระบบสู บส่ งน้ าของพื้นที่ ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา ได้จากสานักงานใหญ่ เพื่อนาข้อมูลที่ได้จากศูนย์ควบคุมไปใช้ประโยชน์ใน การบริ หารและการจัดการ โดยวิเคราะห์เปรี ยบเทียบกับสภาวะการทางานของระบบควบคุมที่ติดตั้งอยู่ที่ สถานี ลูกข่าย และศึกษาพฤติกรรมการใช้น้ าของลูกค้าในแต่ละช่ วงเวลา รวมทั้งนามากาหนดค่าตัวแปร ต่างๆ ในกระบวนการสู บส่ งน้ าที่เหมาะสมและเกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด ในด้านการสื่ อสารข้อมูลสาหรับ ระบบ SCADA นั้น บริ ษทั ฯ ได้เล็งเห็นว่า ปั จจุบนั ระบบสื่ อสาร GPRS สามารถให้บริ การครอบคลุมพื้นที่ ปฏิ บ ตั ิ ก ารของบริ ษ ัท ฯ ได้อย่า งทั่วถึ ง และมี ค วามมัน่ คงในการให้บ ริ ก ารมากขึ้ น จึ ง ได้ป รั บ เปลี่ ย น ระบบสื่ อสารของสถานี ลูกข่ายไปใช้แบบ GPRS แทนการใช้ระบบสื่ อสารแบบสัญญาณวิทยุ จากเดิมที่มี การใช้งานระบบสื่ อสารแบบ GPRS จานวน 10 สถานี เพิ่มเป็ น 26 สถานี ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 77


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การประกอบธุรกิจของแต่ละผลิตภัณฑ์/บริ การ

ในอนาคต บริ ษทั ฯ มีแนวทางที่จะพัฒนาระบบความปลอดภัยของเครื อข่าย Ethernet ที่ใช้ในงานระบบ SCADA โดยเพิ่มจานวนอุปกรณ์ป้องกันการโจมตีจากภายนอก (Firewall) และจาแนกหมายเลขเครื อข่าย (Network ID) เพื่อป้ องกันการบุกรุ กเครื อข่ายระบบ SCADA ผ่านช่องทางจากภายนอกเข้ามายังเครื อข่าย ภายใน และมีการตรวจสอบสิ ทธิ์ การใช้งานระบบ SCADA และเครื อข่าย Ethernet ก่อนเข้าถึงข้อมูลทุก ครั้ง 4. การพัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศ ในรอบปี ที่ผา่ นมาบริ ษทั ได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศในด้านต่างๆ อาทิ 1. การพัฒนาระบบ ERP (Enterprise Resources Planning) ในระยะที่ 1 ซึ่ งประกอบด้วย 8 ระบบงาน คื อ ระบบจัดซื้ อจัดจ้า ง บริ หารสิ นค้าคงคลัง ขายและบัญชี ลู กหนี้ บัญชี เจ้าหนี้ บริ หารการเงิน บัญชีแยกประเภท บัญชี สินทรัพย์ถาวร และงบประมาณ โดยใช้ระยะเวลาใน การ Implement เป็ นเวลา 1 ปี และเริ่ มใช้งานจริ งในปลายปี 2554 2. การพัฒ นาระบบรั ก ษาความปลอดภัย ทางด้า นสารสนเทศ เพื่ อ สร้ า งเสถี ย รภาพเครื อ ข่ า ย คอมพิวเตอร์ ขององค์กรและความปลอดภัยของข้อมูล ประกอบด้วย ระบบป้ องกันการโจมตี จากภายนอก (Firewall) ระบบกรองอีเมล์ (Mail Gateway) ระบบเชื่ อมต่ออินเตอร์ เน็ต (Internet Gateway) และระบบป้ องกันไวรัส (Anti-Virus System) 3. การเตรี ยมความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีและบุคลากร เพื่อรองรั บการพัฒนาระบบจัดการองค์ ความรู้ (Knowledge Management หรื อ KM) และจัดให้มีการศึกษาดูงานด้าน KM ขององค์กร ภายนอกที่ประสบความสาเร็ จในการพัฒนาองค์ความรู้

3.6.4 ผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้ อม บริ ษทั ฯ ได้ดาเนิ นการป้ องกันผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมให้เป็ นไปตามมาตรฐานและกฎหมาย และบริ ษทั ฯ ไม่เคยมี ขอ้ พิ พาทหรื อถู กฟ้ องร้ องเกี่ ยวกับ ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมแต่ อย่างใด นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ได้รับ ใบรับรองมาตรฐาน ระบบคุ ณภาพ ISO 14001:2004 และระบบ ISO 9001:2000 จาก บริ ษทั BVC (Thailand) Ltd. แล้ว

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 78


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การวิจยั และพัฒนา

การวิจัยและพัฒนา

“ประกาศของคณะกรรมการกากับตลาดทุนที่ ทจ. 11/2552 เรื่ อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการ เปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริ ษัทที่ ออกหลักทรั พย์ ได้ ยกเลิกหัวข้ อนี ้”

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 79


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)ส่วนที่ 2 ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ

5. ทรัพย์สินทีใ่ ช้ ในการประกอบธุรกิจ 5.1 ทรัพย์สินทีใ่ ช้ ในการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทย่อยตามงบการเงินรวมของบริษัท 5.1.1 ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ -สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สิ นทรัพย์ ที่ดิน โรงสูบน้ า อาคาร ส่วนปรับปรุ ง อาคาร และอาคารเช่า เครื่ องจักร และอุปกรณ์ อุปกรณ์สานักงาน ยานพาหนะ งานระหว่างก่อสร้าง รวม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (ราคาทุน) หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์-สุทธิ

มูลค่ า (ล้ านบาท) 408.40 559.37 514.26 230.12 6,340.82 318.54 5.43 2,189.31 10,566.25 (2,193.54) 8,372.71

ทั้งนี้ ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์หลักที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั ฯ มีรายละเอียด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ดังนี้

ที่ดิน สิ นทรัพย์ โครงการฉะเชิงเทรา

ทีต่ ้งั - ต.คลองเขื่อนกิ่ง อ.คลองเขื่อน

สระพักน้ าดิบสาหรับโครงการ

แปลง)

ฉะเชิงเทรา

จ. ฉะเชิงเทรา (จานวน 4 แปลง) โครงการฉะเชิงเทรา (ต่อ) - ต.หนองจอก อ.บ้านโพธิ์ จ.ฉะเชิงเทรา (จานวน 2 แปลง) - ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา (จานวน 1 แปลง) สารองพื้นที่ฉะเชิงเทรา โครงการสถานีสูบน้ า

- เพื่อใช้ก่อสร้างเป็ นอาคารสู บน้ าและ

(บางคล้า) จ.ฉะเชิงเทรา (จานวน 20 - ต.บางขวัญ (สามประทวน) อ.เมือง

โครงการแหล่งน้ า

วัตถุประสงค์ ของการถือครอง

- ต.สานักบก อ.เมือง จ.ชลบุรี

- เพื่อใช้ก่อสร้างเป็ นสถานียกระดับน้ า สาหรับโครงการฉะเชิงเทรา - เพื่อใช้ติดตั้งระบบรับและจ่ายน้ า บริ เวณบางปะกง - เพื่อใช้วางท่อน้ าผ่านเข้าเขตการรถไฟ ฉะเชิงเทรา - เพื่อใช้เป็ นสระสารองพื้นที่ฉะเชิงเทรา

(จานวน 14 แปลง) - ถ.มอเตอร์เวย์ อ.บางปะกง จ. ฉะเชิงเทรา

- เพื่อใช้ก่อสร้างเป็ นอาคารสู บน้ าสาหรับ โครงการบางปะกง-ชลบุรี

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 80


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)ส่วนที่ 2 ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ

สิ นทรัพย์ โครงการสระสารองน้ า ดิบที่หุบบอน

ทีต่ ้งั

วัตถุประสงค์ ของการถือครอง

- ต.หนองขาม อ.ศรี ราชา จ.ชลบุรี (จานวน 3 แปลง)

โครงการสานักงานใหญ่ กรุ งเทพฯ

สาหรับท่อหนองปลาไหล-หนองค้อ

- ต.ลาดยาว อ.บางซื่อ กรุ งเทพฯ (จานวน 3 แปลง)

โครงการสระสารองน้ า ดิบมาบข่า 2

- เพื่อใช้ในการก่อสร้างสระสารองน้ าดิบ - เพื่อใช้ในการเป็ นที่ต้ งั ของอาคาร สานักงานใหญ่

- ต.หนองละลอก อ.บ้านค่าย จ. ระยอง

- ใช้ก่อสร้างสระสารองน้ าดิบบริ เวณ มาบข่าเป็ นแห่งที่ 2 เพื่อสารองน้ าดิบ สาหรับผูใ้ ช้น้ าพื้นที่มาบตาพุด

อาคาร สิ นทรัพย์

ทีต่ ้งั

วัตถุประสงค์ ของการถือครอง

อาคาร,ส่ วนปรับปรุ งและป้ าย สถานีรับน้ ามาบตาพุด

อาคาร สานักงานพื้นที่ระยอง

อาคาร,ส่ วนปรับปรุ งและป้ าย อาคารอเนกประสงค์,สถานีสูบน้ า

อาคาร โรงสู บและบ้านพัก

ส่ วนปรับปรุ งและป้ าย

ดอกกราย

พนักงาน

สถานีสูบน้ าหนองปลาไหล

อาคาร โรงสู บและบ้านพัก พนักงาน

อาคารและป้ าย

สถานีรับน้ าแหลมฉบัง

อาคารสานักงาน

และบ้านพัก

พนักงาน อาคารโรงสู บ

สถานีสูบน้ าหนองปลาไหล 2

อาคารโรงสู บน้ า

อาคารสานักงานใหญ่

อ.บางซื่อ กรุ งเทพฯ

อาคารสานักงานใหญ่ (27,000 ตรม.)

อาคารสานักงาน

สถานียกระดับน้ าฉะเชิงเทรา

อาคารสานักงานพื้นที่ ฉะเชิงเทรา

อาคารโรงสู บ

สถานีสูบน้ าฉะเชิงเทรา

อาคารโรงสู บน้ า

อาคารโรงสู บ

สถานีสูบน้ าบางปะกง

อาคารสานักงานและโรงสู บน้ า

อื่นๆ

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

เพื่อใช้ในสถานีปฏิบตั ิงาน

ส่วนที่ 2 หน้า 81


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)ส่วนที่ 2 ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ

เครื่องสู บนา้ ท่ อส่ งนา้ สระพักนา้ และอุปกรณ์ อนื่ ๆ สิ นทรัพย์

ทีต่ ้งั

เครื่ องสู บน้ า

- สถานีสูบน้ าหนองปลาไหล 2

เครื่ องสู บน้ า

- สถานีสูบน้ าฉะเชิงเทรา

เครื่ องสู บน้ า

- สถานีสูบน้ าบางปะกง

เครื่ องสู บน้ า เครื่ องสู บน้ า

เครื่ องสู บน้ า

ท่อส่ งน้ า

วัตถุประสงค์ ของการถือครอง - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากอ่างเก็บน้ า หนองปลาไหล เพื่อส่ งจ่ายให้ผใู ้ ช้น้ า ในพื้นที่ระยอง - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากแม่น้ าบางปะกง เพื่อส่ งจ่ายให้ผใู ้ ช้น้ าในพื้นที่ ฉะเชิงเทรา

- ใช้ในการสู บน้ าดิบจากแม่น้ าบางปะกง เพื่อส่ งจ่ายให้ผใู ้ ช้น้ าในพื้นที่ชลบุรี - สถานีสูบน้ าแม่น้ าระยอง - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากแม่น้ าระยอง เพื่อส่ งจ่ายให้ผใู ้ ช้น้ าในพื้นที่ระยอง - สถานีสูบน้ าบางพระ - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากอ่างเก็บน้ า บางพระ เพื่อส่ งจ่ายให้ผใู ้ ช้น้ าในพื้นที่ ชลบุรี - สถานีสูบน้ าสานักบก - ใช้ในการสู บน้ าดิบจากสระสารอง สานักบก เพื่อส่ งจ่ายให้ผใู ้ ช้น้ าใน พื้นที่ฉะเชิงเทรา - แนวท่อหนองปลาไหล - มาบตาพุด - ใช้ในการส่ งน้ าดิบที่สูบมาจากอ่างเก็บ น้ าหนองปลาไหลไปยังปลายทางที่ มาบตาพุด - แนวท่อเชื่ อมต่อจากแนวท่อหนอง - ใช้ในการส่ งน้ าดิบที่สูบจากอ่างเก็บน้ า ปลาไหล-หนองค้อ ไปยังแนวท่อ หนองปลาไหลผ่านไปยังปลายทางที่ หนองค้อ - แหลมฉบัง แหลมฉบัง - แนวท่อฉะเชิงเทรา – บางปะกง – - ใช้ในการรับน้ าดิบที่สูบจากแม่น้ าบาง ชลบุรี ปะกง ไปยังปลายทางที่ชลบุรี - แนวท่อแม่น้ าระยอง -มาบข่า - ใช้ในการรับน้ าดิบที่สูบจากแม่น้ า ระยองไปเชื่อมกับแนวท่อหนองปลา ไหล-มาบตาพุต

สระพักน้ า

- พื้นที่จ.ระยอง-ชลบุรี

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 82


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)ส่วนที่ 2 ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ

สิ นทรัพย์

ทีต่ ้งั  ต.มาบข่า  ต.หนองขาม (หุบบอน)

วัตถุประสงค์ ของการถือครอง -เป็ นแหล่งน้ าสารองพื้นที่ระยอง -เป็ นแหล่งน้ าสารองพื้นที่ชลบุรี

- พื้นที่จ.ฉะเชิงเทรา-ชลบุรี

ระบบ SCADA

 ต.คลองเขื่อน  ต.สานักบก

-เป็ นแหล่งน้ าสารองพื้นที่ฉะเชิงเทรา

- พื้นที่ปฏิบตั ิการ จ.ระยอง , ฉะเชิงเทราและชลบุรี

- ระบบควบคุมและประเมินผลการสู บ

-เป็ นแหล่งน้ าสารองพื้นที่ฉะเชิงเทรา

จ่ายน้ า

ทั้งนี้ บริ ษทั มีสินทรัพย์จากสิ ทธิ การเช่าจากสัญญาการบริ หารและดาเนินกิจการระบบท่อส่ งน้ าสายหลักใน ภาคตะวันออก ที่ทากับกระทรวงการคลัง โดยสิ นทรัพย์ที่เป็ นที่ดินและอาคารที่บริ ษทั ได้รับสิ ทธิ การเช่า จากสัญญาดังกล่าวเมื่อสิ้ นสุ ดระยะเวลาสัญญาฯ จะต้องส่ งมอบคืนแก่กรมธนารักษ์ รายละเอียดดังนี้ ทีด่ ิน สิ นทรัพย์ โครงการดอกกราย-มาบ ตาพุด

ทีต่ ้งั

- อ่างเก็บน้ าดอกกราย (จ.ระยอง) - สถานียกระดับน้ า (ต.มาบข่า จ.ระยอง) - สถานีรับน้ ามาบตาพุด (มาบตาพุด ระยอง) โครงการมาบตาพุด-สัตหีบ - สถานียกระดับน้ า (มาบตาพุด จ. ระยอง) - สถานีรับน้ าสัตหี บ (จ.ชลบุรี) โครงการหนองค้อ-แหลม - บริ เวณขอบอ่างเก็บน้ าหนองค้อและ ฉบัง สถานีรับน้ าแหลมฉบัง (จ.ชลบุรี)

วัตถุประสงค์ ของการถือครอง เพื่อใช้ในการดาเนิ นงานของระบบท่อ ส่ งน้ าสาย ดอกกราย-มาบตาพุด

เพื่อใช้ในการดาเนิ นงานของระบบท่อ ส่ งน้ าสายมาบตาพุด-สัตหีบ เพื่อใช้ในการดาเนิ นงานของระบบท่อ ส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง

อาคาร ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 83


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)ส่วนที่ 2 ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ

สิ นทรัพย์

ทีต่ ้งั

วัตถุประสงค์ ของการถือครอง

โครงการดอกกราย-มาบตาพุด - สิ่ งปลูกสร้าง (โรงสู บน้ า โรงไฟฟ้ า สานักงาน บ้านพัก

- อ่างเก็บน้ าดอกกราย (จ.ระยอง)

เพื่อใช้ในการดาเนินงานของระบบ ท่อส่ งน้ าสายดอกกราย-มาบตาพุด

สะพาน ฯลฯ) - สิ่ งปลูกสร้าง (ถังยกระดับน้ า บ้านพัก ฯลฯ)

- สถานียกระดับน้ า (ต.มาบข่า จ.ระยอง)

- สิ่ งปลูกสร้าง (สานักงาน บ่อ

- สถานีรับน้ ามาบตาพุด (มาบตา

รับน้ าดิบ

พุด จ.ระยอง)

สระพักน้ าดิบ ฯลฯ) โครงการมาบตาพุด-สัตหีบ - สิ่ งปลูกสร้าง (สถานีไฟฟ้ าย่อย - สถานียกระดับน้ า (มาบตาพุด

เพื่อใช้ในการดาเนินงานของระบบ

ถังน้ ายก

ท่อส่ งน้ าสายมาบตาพุด-สัตหีบ

จ.ระยอง)

ระดับ โรงสู บน้ าฯลฯ) - สิ่ งปลูกสร้าง (บ้านพัก

- สถานีรับน้ าสัตหี บ (จ.ชลบุรี)

พนักงาน บ่อรับน้ าดิบ สระรับ น้ าดิบ ฯลฯ) โครงการหนองค้อ-แหลมฉบัง - สิ่ งปลูกสร้าง (บ่อรับน้ า ฯลฯ)

- บริ เวณขอบอ่างเก็บน้ าหนอง

เพื่อใช้ในการดาเนินงานของระบบ

ค้อ และสถานีรับน้ าแหลมฉบัง

ท่อส่ งน้ าสายหนองค้อ-แหลมฉบัง

(จ.ชลบุรี)

ทั้งนี้ บริ ษทั และ บริ ษทั ย่อย ยังมีทรัพย์สินหลักที่รับมอบจากการประปาส่ วนภูมิภาค (กปภ.) โดยการเข้า รับสัมปทานในการดาเนินกิจการประปา 4 แห่ง ได้แก่ ประปาสัตหี บ ประปาบางปะกง ประปาฉะเชิงเทรา ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 84


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)ส่วนที่ 2 ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ

และประปานครสวรรค์ เพื่อใช้ในการดาเนินการตามสัญญาสัมปทานซึ่ งเมื่อสิ้ นสุ ดสัญญาสัมปทาน ทรัพย์สินจะส่ งมอบแก่ กปภ .ได้แก่ รายการ

ประปาสัตหีบ

ประปาบางปะกง

ประปาฉะเชิงเทรา

ประปานครสวรรค์

ระบบท่อส่งจ่ายน้ า

/

/

/

/

สถานีสูบน้ า (อาคารและเครื่ องสูบน้ า)

/

/

/

/

ระบบกรองน้ าและผลิตน้ าประปา

/

/

/

/

ถังน้ าใสและหอถังสูง

/

/

/

/

สถานีเพิ่มแรงดัน

/

/

/

/

สิ นทรัพย์อื่น *

/

/

/

/

* หมายเหตุ สินทรัพย์อื่น ประกอบด้วย ตูค้ วบคุมระบบไฟฟ้ า เครื่ องสูบน้ าของสถานีสูบน้ าแรงต่า หม้อแปลงไฟฟ้ าแรงสูงเครื่ องสูบจ่าย สารเคมี ถัง ควบคุมสูบจ่ายแก๊สคลอรี น เป็ นต้น

ข้อมูลงานระหว่างก่อสร้าง ณ 31 ธันวาคม 2554 จานวน 2,189.31 ล้านบาท ประกอบด้วยโครงการหลัก ได้แก่ โครงการ

มูลค่ า ณ 31 ธันวาคม 2554 (ล้ านบาท)

ธุรกิจน้ าดิบ

2,189.31

ธุรกิจน้ าประปา

0.00

5.1.2 มูลค่ าสิ นทรัพย์ สุทธิ ณ 31 ธันวาคม 2554 เนื่องจาก บริ ษทั ฯ ไม่มีการประเมินราคาทรัพย์สินและไม่มีหนี้สินที่อาจเกิดจากการเข้าค้ าประกัน อาวัล ภาระ จานองหรื อการค้ าประกันให้บุคคลอื่น ดังนั้น มูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิ ของบริ ษทั ฯ จะมีค่าเท่ากับมูลค่าสิ นทรัพย์ สุ ทธิตามบัญชี 6,933,081,662 บาท และมูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิ ต่อหุ น้ คือ 4.17 บาท (ณ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ฯมีจานวนหุ น้ ที่ออกและเรี ยกชาระแล้วเท่ากับ 1,663,725,149 หุน้ ) 5.2 ค่ าสิ ทธิในการประกอบกิจการภายใต้ สัญญาสั มปทานและต้ นทุนการได้ มาซึ่งสิ ทธิสัมปทานรอตัดบัญชี บริ ษ ทั ฯ ได้รับ สั ม ปทานในการดาเนิ นกิ จการผลิ ตและจาหน่ า ยน้ า ประปา ดัง ข้อมู ล สรุ ป แสดงไว้ใ นส่ ว น ลักษณะบริ การ โดยบริ ษทั ฯ มีค่าสิ ทธิ ในการประกอบกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานและจากการลงทุนกิจการ ประปาใน 3 พื้นที่ คือ ประปาบางปะกง ประปาฉะเชิงเทรา ประปานครสวรรค์ รวมสุ ทธิ จานวน 135,550,366 บาท และต้นทุนการได้มาซึ่งสัมปทานรอตัดบัญชี 541,773,752 บาท (ณ 31 ธันวาคม 2554)

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 85


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)ส่วนที่ 2 ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ

5.3 นโยบายการลงทุนในบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ มีเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม ณ 31 ธันวาคม 2554 ดังรายละเอียดดังนี้ ชื่อบริษทั

ประเภทธุรกิจ

(บริษทั ย่ อย) 1. บจ.ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ *

บริ หารกิจการประปาและ

ทุนจดทะเบียน

ทุนชาระแล้ ว

การถือหุ้น %

(บาท)

(บาท)

510,000,000

510,000,000

100

งานวิศวกรรมบริ การ 2. บจ.ประปาบางปะกง **

ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา

40,000,000

40,000,000

99

3. บจ.ประปาฉะเชิ งเทรา**

ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา

100,000,000

100,000,000

99

4. บจ.ประปานครสวรรค์**

ผลิตและจาหน่ายน้ าประปา

40,000,000

40,000,000

100

* ถือหุ้นโดยบริ ษทั ฯ ** ถือหุ้นโดยบริ ษทั ย่อย

โดยสัดส่ วนเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมทั้งหมด คิดเป็ นร้อยละ 5.27 ของสิ นทรัพย์รวมของ บริ ษทั ฯ ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ยังคงมีนโยบายการลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมเพิ่มขึ้นในอนาคต ดังนี้ - การลงทุ นในธุ รกิ จต่อเนื่ อง ขยายฐานธุ รกิ จที่ สนับสนุ นธุ รกิ จด้านกิ จการประปา เช่ นธุ รกิ จการ บริ หารระบบท่ อส่ ง จ่า ยน้ า เพื่ อลดน้ าสู ญเสี ย บริ หารระบบบาบัดน้ าเสี ย บริ ก ารวิศวกรรมและ เทคโนโลยีการจัดการน้ า เป็ นต้น - ธุ รกิ จบริ การ ด้านบริ การเทคนิ ค และวิศวกรรมที่เชื่ อมโยงกับธุ รกิ จปั จจุ บนั ของกลุ่ มบริ ษทั ฯ ตาม นโยบายของกลุ่มบริ ษทั ฯ ที่มุ่งเน้นเป็ น ผูน้ าด้าน “ Water Solution ” ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ สามารถกาหนดนโยบายการบริ หารงานของบริ ษทั ย่อยทั้งหมด โดยการแต่งตั้งกรรมการ ผูแ้ ทนของบริ ษทั ฯ ทั้งจากคณะกรรมการและคณะผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ฯ เพื่อกาหนดแนวนโยบาย บริ หารงาน เพื่อมอบหมายแก่คณะผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ย่อยรับนโยบายไปปฏิบตั ิต่อไป นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ กาหนดให้คณะผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ย่อยรายงานผลการดาเนินงานเป็ นรายไตรมาส และรายปี เพื่อให้บริ ษทั ฯทราบความคืบหน้าของการดาเนินงานว่าเป็ นไปตามแผนงานที่ได้กาหนดเป็ น นโยบายไว้

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 86


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 โครงการในอนาคต

โครงการในอนาคต

“ประกาศของคณะกรรมการกากับตลาดทุนที่ ทจ. 11/2552 เรื่ อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการ เปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริ ษัทที่ ออกหลักทรั พย์ ได้ ยกเลิกหัวข้ อนี ้”

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 87


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ข้อพิพาททางกฎหมาย

7.ข้ อพิพาททางกฎหมาย ข้อพิพาททางกฎหมายที่อาจมีผลกระทบต่อสิ นทรัพย์ของบริ ษทั ที่มีจานวนสู งกว่าร้อยละ 5 ของส่ วนของผูถ้ ือ หุน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีดงั นี้ การประปาส่ วนภูมิภาค (กปภ.) ถูกองค์การบริ หารส่ วนตาบลบางบุตร ผูฟ้ ้ องคดีที่ 1 องค์การบริ หารส่ วนตาบล บ้านค่าย ผูฟ้ ้ องคดีที่ 2 และนายสายัณห์ ยังดี ผูฟ้ ้ องคดีที่ 3 ยืน่ ฟ้ องต่อศาลปกครองระยองเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2549 เป็ นคดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรื อเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการโดย ไม่ชอบด้วย กฎหมาย ต่อมาเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2549 ศาลปกครองระยองได้มีคาสั่งเรี ยกให้กลุ่มบริ ษทั ยูยู กรุ๊ ป คอน ซอร์ เตียม เข้ามาเป็ นคู่กรณี และทาคาให้การในคดี โดยกาหนดให้เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 2 เนื่องจากมีส่วนได้เสี ยใน กรณี พิพาทด้วย เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2550 ศาลปกครองระยองมีคาพิพากษาเพิกถอนกระบวนการคัดเลือก เอกชนให้ผลิตน้ าประปาเพื่อขายให้แก่ กปภ. ในพื้นที่ของสานักงานประปาระยอง และเพิกถอนสัญญาเลขที่ ฝกม. 1/2549 ลงวันที่ 14 มีนาคม 2549 ซึ่ งเป็ นผลจากการคัดเลือกที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย อย่างไรก็ตาม กปภ. ยังคงให้ กลุ่มบริ ษทั ยูยู กรุ๊ ป คอนซอร์ เตียม ปฏิบตั ิตามสัญญาให้เอกชนผลิตน้ าประปา เพื่อขายให้แก่ กปภ. ที่ สานักงานประปาระยองต่อไป รวมถึง กปภ. ยังคงยืนยันสิ ทธิ หน้าที่ของคู่สัญญาที่มีต่อกันตามที่กาหนดไว้ใน สัญญา จนกว่าคดีจะสิ้ นสุ ด หากคาพิพากษาศาลปกครองสู งสุ ดวินิจฉัยยืนตามคาพิพากษาศาลปกครองระยอง ส่ งผลให้คู่สัญญากลับคืนสู่ สถานะเดิม กลุ่มบริ ษทั ยูยู กรุ๊ ป คอนซอร์ เตียม มีสิทธิ เรี ยกร้อง กปภ. จ่ายค่าชดเชย รวมถึงต้นทุนการก่อสร้างและปรับปรุ งระบบประปาตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่นใดทั้งหมดที่ เสี ยไปเพื่อให้ระบบ ประปาสามารถดาเนิ นงานได้ ขณะนี้ คดี ความดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนการสรุ ปข้อเท็จจริ งของตุลาการเจ้าของ สานวน (สรุ ปสานวน) ในชั้นอุทธรณ์ของศาลปกครองสู งสุ ด ตามเลขรับที่ อ.278/2550 และ ยังไม่มีกาหนด วันสิ้ นสุ ดของการแสวงหาข้อเท็จจริ ง หากเห็นว่าข้อเท็จจริ งเพียงพอที่จะทาคาพิพากษาได้ ตุลาการเจ้าของ สานวนจะกาหนดวันสิ้ นสุ ดของการแสวงหาข้อเท็จจริ งและนาเสนอสานวนให้องค์คณะพิจารณาพิพากษา ต่อไป

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 88


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 โครงสร้างเงินทุน

8. โครงสร้ างเงินทุน 8.1 หลักทรัพย์ของบริษัท 8.1.1 ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2554 บริ ษทั มีทุนจดทะเบียนและทุนที่เรี ยกชาระแล้ว 1,663.73 ล้านบาท แบ่งเป็ นหุ ้น 1,663.73 ล้านหุน้ มูลค่าหุ น้ ละ 1 บาท สาหรับประวัติการเปลี่ยนแปลงทุนจดทะเบียนในระยะที่ผา่ นมา ดังนี้ เดือน / ปี ที่จดทะเบียนการ เพิม่ ทุน ตุลาคม 2535 กันยายน 2539

ทุนจดทะเบียน (ล้านบาท) 10 490

ทุนชาระแล้ ว ทุนที่เพิม่ หลังเพิม่ ทุน (ล้านบาท) (ล้านบาท) 10 480 490

กรกฎาคม 2540

1,000

510

1,000

มกราคม 2541

1,050

0

1,000

มกราคม 2547

1,000

0

1,000

มกราคม 2547

1,050

0

1,000

มิถุนายน 2547

1,665

0

1,000

พฤษภาคม 2548

1,665

0

1,299.68

ธันวาคม 2550

1,665

0

1,663.73

1,663.73

0

1,663.73

มกราคม 2551

วัตถุประสงค์ ของการเพิม่ ทุน (ลดทุน) เสนอขายให้แก่ กปภ. เพื่อใช้ในการจัดตั้งบริ ษทั เสนอขายให้แก่ กปภ.และ กนอ. ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 6 สิ งหาคม 2539 เพื่อใช้ในการขยายโครงการตามที่คณะรัฐมนตรี อนุมตั ิ เสนอขายต่อประชาชนทัว่ ไปในราคาหุ ้นละ 30 บาท เพื่อใช้ในการขยาย งานของบริ ษทั เพื่อใช้รับรองการใช้สิทธิของพนักงานบริ ษทั ตามใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่ จะซื้ อหุ ้นสามัญของบริ ษทั ลดทุนจดทะเบียนจาก 1,050 ล้านบาท เป็ น 1,000 ล้านบาท เนื่ องจาก ใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อหุ ้นสามัญของบริ ษทั หมดอายุลง เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 1,000 ล้านบาท เป็ น 1,050 ล้านบาท เพื่อรองรับ การออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้อหุ ้นสามัญของบริ ษทั เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 1,050 ล้านบาท เป็ น 1,665 ล้านบาท เพื่อรองรับ การออกหุ ้นสามัญเพิ่มทุน และ ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ ้นสามัญ เพิม่ ทุนของบริ ษทั ได้เปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ ้นสามัญจากมูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท เป็ นหุ้นละ 1 บาท ตามมติ ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นครั้งที่ 1/2548 ทุนที่เรี ยกชาระแล้วจากการใช้สิทธิ ตามใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ ้น สามัญของบริ ษทั จดทะเบียนลดทุนเนื่ องจากใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ห มดอายุก ารใช้สิทธิ แปลงสภาพ

8.1.2 ตราสารแสดงสิ ทธิในผลตอบแทนทีเ่ กิดจากหลักทรัพย์อ้างอิง (NVDR) 30 ธันวาคม 2554 บริ ษทั EASTW 44,285,580 2.66 NVDR

(NVDR)

( www.set.or.th)

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 89


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 โครงสร้างเงินทุน

8.2 ผู้ถือหุ้น รายชื่อผูถ้ ือหุน้ ที่ถือหุ ้นสู งสุ ด 10 รายแรกของบริ ษทั ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2554 พร้อมทั้งจานวนหุ ้นที่ถือและ สัดส่ วนการถือหุ น้ มีดงั นี้ อันดับ

สั ดส่ วนการถือหุ้น จานวนหุ้น ร้ อยละ 668,800,000 40.20

ชื่อผู้ถือหุ้น

1

การประปาส่ วนภูมิภาค

2

ผลิตไฟฟ้ า จากัด (มหาชน)

311,443,190

18.72

3

NORBAX INC.,13

169,324,700

10.18

4

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

76,000,000

4.57

5

ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด

44,285,580

2.66

6

BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES, LONDON BRANCH

38,912,100

2.34

7

อเบอร์ดีนหุ้นระยะยาว

21,084,300

1.27

8

อเบอร์ดีนโกรท

16,976,700

1.02

9

AMERICAN INTERNATIONAL ASSURANCE COMPANY, LIMITED-TIGER

16,778,000

1.01

10

HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD

16,431,100

0.99

11

ผูถ้ ือหุ้นอื่น

283,689,479

17.05

จานวนหุ้นทั้งหมด 1,663,725,149 100.00 * ผูถ้ ือหุ้นลาดับที่ 3 มีชื่อเป็ นบริ ษทั นิติบุคคล หรื อ Nominee Account ซึ่งบริ ษทั ได้ตรวจสอบแล้ว Ultimate Shareholder ได้แก่ Utilico Emerging Markets Limited

8.3 นโยบายการจ่ ายเงินปันผล หากไม่มีความจาเป็ นอื่นใด คณะกรรมการบริ ษทั มีนโยบายที่จะเสนอให้ที่ประชุมผูถ้ ื อหุ ้นพิจารณาจ่ายเงินปั นผล ให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 30 ของกาไรสุ ทธิ ของงบการเงินรวมภายหลังหักเงินสารองตามกฎหมายในแต่ ละปี รวมถึงความจาเป็ นและความเหมาะสมอื่นๆ ตามที่บริ ษทั เห็นสมควร ในส่ วนนโยบายเงินปั นผลของบริ ษทั ย่อยจะคานึงถึงสภาพคล่องและแผนการลงทุนในอนาคตประกอบการพิจารณาการจ่ายเงินปั นผลตามนโยบายของ คณะกรรมการบริ ษทั ย่อย สรุ ปการจ่ายเงินปั นผลย้อนหลัง 5 ปี ปี

2548/2549

2549/2550

2550/2551

เงินปันผล (บาท/หุ้น)

0.25

0.25

0.25

2551 (ต.ค.-ธ.ค.) งดจ่าย

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

2552

2553

0.35

0.38

2554 (ระหว่างกาล) 0.12

ส่วนที่ 2 หน้า 90


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

9. การจัดการ 9.1 โครงสร้ างการจัดการ เพื่อสนับสนุ นกลไกการกากับดูแลกิจการที่ดีเพื่อรักษาไว้ซ่ ึ งประสิ ทธิ ผล โดยไม่ละเลยการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ ระบบการจัด การและการบริ ห ารความเสี่ ย งของบริ ษ ัท ให้ เ หมาะสม คณะกรรมการบริ ษ ัท ได้แ ต่ ง ตั้ง คณะกรรมการชุ ดย่อย ที่ มีความชานาญและเหมาะสมเพื่อช่ วยศึ กษา กลัน่ กรองงานที่ ได้รับมอบหมายให้มี ความถูกต้อง ชัดเจน สอดคล้องกับพันธกิ จและนโยบายของบริ ษทั ในเบื้องต้น ก่อนนาเสนอคณะกรรมการ บริ ษทั พิจารณาอนุ มตั ิ หรื อรับรอง หรื อให้ขอ้ แนะนาเพิ่มเติมแล้วแต่กรณี ซึ่ งคณะกรรมการชุ ดต่างๆ ที่ได้รับ การแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริ ษทั มีดงั นี้ - คณะกรรมการตรวจสอบ - คณะกรรมการบริ หารและการลงทุน - คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา - คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง - คณะกรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดาเนินงานของบริ ษทั และพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อให้บริ ษทั มีระบบการบริ หารและการจัดการที่ดี มีประสิ ทธิ ภาพและมีความโปร่ งใสต่อผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกฝ่ าย บริ ษทั จึงกาหนดโครงสร้าง ดังต่อไปนี้

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 91


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

9.1.1 คณะกรรมการบริษัท ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการ 1) มีหน้าที่รับผิดชอบและจัดการกิจการของบริ ษทั ให้เป็ นไปตามแผนการดาเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั (Corporate plan) เป้ าหมาย ข้อบังคับ และมติจากการประชุมผูถ้ ือหุน้ 2) ให้การบริ หารและจัดการของคณะกรรมการบริ ษทั ตั้งมัน่ ในความซื่ อสัตย์ สุ จริ ต โปร่ งใส โดยคานึ งถึ ง ผูถ้ ือหุ น้ และผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยทุกฝ่ าย 3) คณะกรรมการบริ ษทั สามารถมอบอานาจการบริ หารและจัดการให้กรรมการคนหนึ่ งหรื อเป็ นหมู่คณะ เพื่อ ดาเนิ นการตามมติที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนดไว้ได้ เว้นแต่บริ ษทั มีขอ้ บังคับไม่ให้ใช้อานาจดังกล่าว โดยมีการระบุไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 มกราคม 2554 คณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วย ลาดับที่ 1 นายชาญชัย 2 นางมณฑา

รายชื่อ

ตาแหน่ ง

สุนทรมัฏฐ์ ประณุทนรพาล

ประธานคณะกรรมการบริ ษทั (กรรมการอิสระ) ประธานคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง, กรรมการกาหนดเกณฑ์และ ประเมินผลการดาเนินงานของบริ ษทั และพิจารณาค่าตอบแทน 3 นายเพิ่มศักดิ์ รัตนอุบล กรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดาเนินงานของบริ ษทั และพิจารณา ค่าตอบแทน 4 นายรังสรรค์ ศรี วรศาสตร์ ประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา, กรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ) 5 นายวิเชียร อุดมรัตนะศิลป์ กรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา, กรรมการตรวจสอบ 6 นายสมชาย ชุ่มรัตน์ ประธานคณะกรรมการบริ หารและการลงทุน, กรรมการบริ หารความเสี่ ยง 7 นายพูลศักดิ์ ประณุทนรพาล ประธานคณะกรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดาเนินงานของบริ ษทั และพิจารณาค่าตอบแทน, กรรมการตรวจสอบ 8 นางอรุ ณี อัครประเสริ ฐกุล ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ, กรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา (กรรมการอิสระ) 9 พล.ต.อ.วุฒิ พัวเวส กรรมการบริ หารความเสี่ ยง (กรรมการอิสระ) 10 นางสาวณาริ นี ตะล่อมสิ น กรรมการบริ หารและการลงทุน 11 นายประพันธ์ อัศวอารี กรรมการบริ หารและการลงทุน, กรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการผูม้ ีอานาจลงนามผูกพันบริ ษทั ได้แก่ นายประพันธ์ อัศวอารี ลงลายมือชื่อร่ วมกับ นายเพิ่มศักดิ์ รัตนอุบล หรื อ นายสมชาย ชุ่มรัตน์ รวมเป็ นสองคนและประทับตราสาคัญของบริ ษทั

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 92


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

การประชุ มของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษทั มีกาหนดประชุ มประจาเดื อนโดยปกติในช่ วงสัปดาห์ที่ 4 ของเดือน โดยได้กาหนดวัน ประชุ มล่ วงหน้า ตลอดทั้งปี เพื่อให้กรรมการสามารถจัดเวลาการเข้าร่ วมประชุ มได้ทุ กครั้ ง โดยประธาน กรรมการและกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ซ่ ึ งทาหน้าที่เป็ นเลขานุ การคณะกรรมการบริ ษทั ร่ วมกันกาหนด ขอบเขต ระดับความส าคัญและเรื่ องที่ จะกาหนดเป็ นระเบี ย บวาระการประชุ ม โดยบรรจุ เรื่ องที่ ส าคัญใน ระเบียบวาระเรื่ องเพื่อพิจารณา และจัดเรี ยงเรื่ องต่างๆ ในระเบี ยบวาระดังกล่ าวตามลาดับความสาคัญ และ เร่ งด่วน โดยมีหนังสื อเชิญประชุมล่วงหน้าพร้อมระเบียบวาระการประชุม และเอกสารก่อนการประชุ ม เพื่อให้ คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีเวลาศึกษาข้อมูลก่อนเข้าประชุ มทุกครั้ง ในระหว่างการประชุ ม เมื่อฝ่ ายบริ หารจบ การนาเสนอระเบียบวาระแล้ว ประธานกรรมการจะกล่าวเชิญกรรมการให้ซกั ถามฝ่ ายบริ หาร หรื อแสดงความ คิดเห็นและอภิปรายปั ญหาร่ วมกัน และเมื่อได้ขอ้ สรุ ปจากการอภิปราย ประธานกรรมการจะทาหน้าที่สรุ ป เป็ นมติที่ประชุ ม เพื่อความชัดเจนถูกต้อง ให้ทุกฝ่ ายได้รับทราบร่ วมกันเพื่อให้มีการพิจารณาอย่างรอบคอบ รวมถึงจัดสรรเวลาที่เพียงพอ ที่ทาให้กรรมการสามารถอภิปรายปั ญหาร่ วมกันได้ ทั้งนี้ หากไม่มีผใู ้ ดคัดค้านมติ ที่ประชุ ม ประธานกรรมการจะนาเข้าสู่ การพิจารณาระเบียบวาระถัดไป ทั้งนี้ ในปี งบประมาณ 2554 คณะกรรมการบริ ษทั มีการประชุมทั้งสิ้ น 14 ครั้ง โดยการเข้าร่ วมประชุมของกรรมการบริ ษทั แต่ละคน สรุ ปได้ ดังนี้ ลา ดับ ที่

ตาแหน่ ง

การเข้ าร่ วมประชุม/ การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

สุนทรมัฏฐ์ ธรรมวาทิน

ประธานกรรมการ อดีตประธานกรรมการ

3/3 11/11

ปิ่ นแสง พุม่ พันธุ์ม่วง จันทรวงศ์ ทัดเทียมรมย์ สิ นธุนาวา ชานาญวงษ์ เจริ ญศรี

อดีตกรรมการ อดีตกรรมการ อดีตกรรมการ อดีตกรรมการ อดีตกรรมการ อดีตกรรมการ อดีตกรรมการ

10/10 10/10 10/10 11/11 10/11 11/12 -

ผ่องแผ้ว ประณุทนรพาล รัตนอุบล

อดีตกรรมการ กรรมการ กรรมการ

3/3 14/14 8/9

รายชื่อ

1 นายชาญชัย 2 นายอุทิศ 3 4 5 6 7 8 9

นายกนกศักดิ์ พล.ต.ท.สมยศ นายบุญมี นางนิศกร พล.ต.ต.พิมล นายวิเศษ นางลีนา*

10 นายรัษฎา 11 นางมณฑา 12 นายเพิม่ ศักดิ์

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ช่ วงระยะเวลาการดารงตาแหน่ ง เริ่ มเข้ารับตาแหน่งเมื่อ 22 ก.ย 2554 24 ม.ค. 2546 - 26 ม.ค. 2550 26 พ.ค. 2550 - 30 ก.ย. 2554 12 พ.ค. 2551 - 16 ก.ย. 2554 12 พ.ค. 2551 - 16 ก.ย. 2554 22 พ.ค. 2552 - 16 ก.ย. 2554 22 พ.ค. 2552 - 30 ก.ย. 2554 12 พ.ค. 2551 - 30 ก.ย. 2554 22 พ.ค. 2552 - 7 พ.ย. 2554 18 พ.ย. 2539 - 6 ก.พ. 2544 27 ก.พ. 2552 - 24 ม.ค. 2554 12 พ.ค. 2551 - 24 มี.ค. 2554 24 ม.ค. 2551 - ปั จจุบนั เริ่ มเข้ารับตาแหน่งเมื่อวันที่ 24 มี.ค. 2554

ส่วนที่ 2 หน้า 93


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ลา ดับ ที่

รายชื่อ

13 14 15 16 17 18 19 20

นายรังสรรค์ นายวิเชียร นายสมชาย นายพูลศักดิ์ นางอรุ ณี พล.ต.อ.วุฒิ นางสาวณาริ นี นายประพันธ์

หมายเหตุ :

ศรี วรศาสตร์ อุดมรัตนะศิลป์ ชุ่มรัตน์ ประณุทนรพาล อัครประเสริ ฐกุล พัวเวส ตะล่อมสิ น อัศวอารี

ตาแหน่ ง กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

การเข้ าร่ วมประชุม/ การประชุมทั้งหมด (ครั้ง)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

ช่ วงระยะเวลาการดารงตาแหน่ ง

12/13 3/3 3/3 2/2 2/2 2/2 14/14

เริ่ มเข้ารับตาแหน่งเมื่อวันที่ 31 ม.ค. 2554 เริ่ มเข้ารับตาแหน่งเมื่อวันที่ 19 ธ.ค. 2554 เริ่ มเข้ารับตาแหน่งเมื่อวันที่ 22 ก.ย 2554 เริ่ มเข้ารับตาแหน่งเมื่อวันที่ 22 ก.ย 2554 เริ่ มเข้ารับตาแหน่งเมื่อวันที่ 11 ต.ค. 2554 เริ่ มเข้ารับตาแหน่งเมื่อวันที่ 11 ต.ค. 2554 เริ่ มเข้ารับตาแหน่งเมื่อวันที่ 11 ต.ค. 2554 26 ม.ค. 2550 - 24 ม.ค. 2551 12 พ.ค. 2551 - ปั จจุบนั *นางลีนา เจริ ญศรี ได้ขอลาออกจากการดารงตาแหน่งกรรมการบริ ษทั โดยมีผลตั้งแต่วนั ที่ 24 มกราคม 2554 จึงมิได้เข้าร่ วมประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ในปี 2554

9.1.2 คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั เป็ นกรรมการอิสระที่เป็ นผูท้ รงความรู ้ในวิชาการด้านต่างๆ รวมทั้งด้าน การเงิน การงบประมาณ และมีความเข้าใจในธุ รกิจของบริ ษทั เป็ นอย่างดี ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูม้ ี อานาจในการแต่งตั้ง ถอดถอน และพิจารณาประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ มี หน้า ที่หลักในการพิจารณาสอบทานความถู ก ต้องและความน่ า เชื่ อถื อในงบ การเงินของบริ ษทั ว่ามีความน่าเชื่อถือตามมาตรฐานสากลก่อนนาเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั รวมทั้งจัด ให้มีกระบวนการบริ หารงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้สามารถดาเนินไปอย่างมีประสิ ทธิ ผล มีความเป็ น อิ ส ระ มุ่ ง เน้น การจัด ให้ มี แ นวปฏิ บ ัติ ที่ มี ค วามโปร่ ง ใส และชัด เจนระหว่า งคณะกรรมการบริ ษ ัท ฝ่ าย ตรวจสอบ ฝ่ ายบริ ห าร และผูส้ อบบัญ ชี เพื่ อ ทบทวนและให้ ค าแนะน าด้า นการประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพ ประสิ ทธิ ผลของระบบการควบคุ มภายในของบริ ษทั ให้ปฏิ บตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ และพิจารณารายการเกี่ยวโยงหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็ นไปตามกฎหมาย มีความ สมเหตุส มผล และคงไว้ซ่ ึ ง ประโยชน์สู งสุ ดของบริ ษทั ตลอดจนการเปิ ดเผยข้อมูล โดยบรรจุรายงานการ ตรวจสอบไว้ในรายงานประจาปี ของบริ ษทั นอกจากนั้น ยังมีบทบาทหน้าที่ ให้ความเห็ นชอบในเบื้องต้น เกี่ยวกับการแต่งตั้งและกาหนดค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชี เพื่อนาเสนอยังคณะกรรมการบริ ษทั และผูถ้ ือหุ ้น ต่อไป

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 94


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการตวจสอบของบริ ษทั ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 คน และ ที่ปรึ กษา 1 คน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ลาดับที่ 1. 2. 3. 4.

ชื่ อ – นามสกุล นางอรุ ณี อัครประเสริ ฐกุล นายพูลศักดิ์ ประณุทนรพาล นายรังสรรค์ ศรี วรศาสตร์ นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล

ตาแหน่ ง ประธานคณะกรรมการ กรรมการ กรรมการ ที่ปรึ กษาคณะกรรมการ

9.1.3 คณะกรรมการบริ หารและการลงทุน ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการบริ หารและการลงทุน คณะกรรมการบริ หารและการลงทุน เป็ นคณะกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั ให้มี บทบาทและหน้าที่ในการกากับดูแลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ให้มีประสิ ทธิ ภาพและมีความเข้มแข็งทางธุ รกิจ ตามแนวนโยบายของคณะกรรมการบริ ษทั โดยมี หน้าที่ ในการพิจารณากลัน่ กรองและทบทวนแผนธุ รกิ จ แผนการดาเนิ นงานต่างๆ และงบประมาณประจาปี และเรื่ องต่างๆ โดยเฉพาะการจัดซื้ อ-จัดจ้างในโครงการ ลงทุนที่เกินวงเงินที่ได้รับมอบอานาจ ก่อนนาเสนอคณะกรรมการบริ ษทั นอกจากนี้ คณะกรรมการบริ หาร และการลงทุนยังมีหน้าที่ในการกาหนดกระบวนการและหลักเกณฑ์การพิจารณาการลงทุ นโครงการต่างๆ รวมทั้ง การลงทุ นด้า นการเงิ น และสนับ สนุ นการบริ หารงานของฝ่ ายบริ หารให้บ รรลุ ว ตั ถุ ป ระสงค์และ เป้ าหมายของบริ ษทั รายชื่ อคณะกรรมการบริหารและการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริ หารและการลงทุนของบริ ษทั ประกอบด้วย ลาดับที่

ชื่อ – นามสกุล

ตาแหน่ ง

1.

นายสมชาย

ชุ่มรัตน์

ประธานคณะกรรมการ

2. 3.

นางสาวณาริ นี นายประพันธ์

ตะล่อมสิ น อัศวอารี

กรรมการ กรรมการ

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 95


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

9.1.4 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา ธรรมาภิบาล มี หน้า ที่ ส นับ สนุ นงานของคณะกรรมการบริ ษ ทั ให้ดาเนิ นไปอย่า งถู ก ต้อง โปร่ ง ใส และสามารถรั ก ษา ผลประโยชน์ของผูถ้ ื อหุ ้นและผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยของบริ ษทั โดยการกลัน่ กรองคู่มือคณะกรรมการบริ ษทั จรรยาบรรณทางธุ รกิจ จรรยาบรรณพนักงาน และดูแลให้หลักการกากับดูแลกิจการที่ดีมีผลในทางปฏิบตั ิที่มุ่งสู่ การพัฒนา และการกากับดูแลกิจการที่เป็ นเลิศ (Best Practices) ตลอดจน สอดส่ องและสอบทานให้แน่ใจว่าบริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตามข้อพึงปฏิบตั ิที่สาคัญของกระบวนการกากับดูแลกิจการที่มีประสิ ทธิ ผล เหมาะสมสอดคล้องกับ ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยให้มีการประเมินผลการปฏิบตั ิตามนโยบายเป็ นระยะ การสรรหา คณะกรรมการบริ ษทั ได้แ ต่งตั้งคณะกรรมการสรรหา เพื่อปฏิ บตั ิ ภารกิ จในการสรรหาและเสนอชื่ อบุคคลที่ เหมาะสมสาหรับเป็ นกรรมการบริ ษทั และบริ ษทั ในเครื อ กรรมการผูแ้ ทนของบริ ษทั กรรมการชุ ดย่อยของ บริ ษทั และกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ รวมทั้งให้ความเห็นต่อโครงสร้างการบริ หารงานของคณะกรรมการ บริ ษทั และคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ รายชื่อคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหาของบริ ษทั ประกอบด้วย ลาดับที่

ชื่อ – นามสกุล

ตาแหน่ ง

1.

นายรังสรรค์

ศรี วรศาสตร์

ประธานคณะกรรมการ

2. 3.

นายวิเชียร นางอรุ ณี

อุดมรัตนะศิลป์ อัครประเสริ ฐกุล

กรรมการ กรรมการ

การประชุ มคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา ในการประชุ มคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา ได้ให้ความสาคัญอย่างยิ่งในการกากับดูแลกิ จการที่ดี โดยนาหลักเกณฑ์การกากับดูแลกิ จการที่ดี และระเบียบปฏิบตั ิของคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาด หลัก ทรั พ ย์ และตลาดหลักทรั พย์แห่ ง ประเทศไทย มาเป็ นปั จจัยหลักในการเสริ ม สร้ า งองค์ก รให้มีระบบ บริ หารกิจการที่มีประสิ ทธิ ภาพ เกิดความโปร่ งใส ซื่ อสัตย์ รับผิดชอบ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดแก่ผถู ้ ือหุ ้น และผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ าย

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 96


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

9.1.5 คณะกรรมการบริหารความเสี่ ยง ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการบริหารความเสี่ ยง มีหน้าที่หลักในการกากับดูแล ทบทวน นโยบายและแผนบริ หารความเสี่ ยง วิธีปฏิบตั ิที่เป็ นมาตรฐาน กลยุทธ์ และการวัดความเสี่ ยง รวมทั้งให้ขอ้ แนะนาแก่ฝ่ายบริ หาร เพื่อให้มนั่ ใจได้วา่ การบริ หารความเสี่ ยงได้นาไป ปฏิบตั ิอย่างเหมาะสมและเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ โดยนาเสนอยังคณะกรรมการบริ ษทั ทุก 6 เดือน รายชื่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงของบริ ษทั ประกอบด้วย ลาดับที่

ชื่อ – นามสกุล

1.

นางมณฑา

2. 3. 4.

นายสมชาย พล.ต.อ. วุฒิ นายประพันธ์

ประณุทนรพาล ชุ่มรัตน์ พัวเวส อัศวอารี

ตาแหน่ ง ประธานคณะกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

9.1.6 คณะกรรมการกาหนดเกณฑ์ และประเมินผลการดาเนินงานของบริษัทและพิจารณาค่ าตอบแทน ขอบเขตอานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการกาหนดเกณฑ์ และประเมินผลการดาเนินงานของบริษัทและพิจารณา ค่ าตอบแทน การกาหนดเกณฑ์และพิจารณาผลการดาเนินงานของบริ ษทั คณะกรรมการบริ ษ ทั ได้แต่งตั้งคณะกรรมการก าหนดเกณฑ์และประเมิ นผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั โดยมี หน้าที่กาหนดและทบทวนเกณฑ์การประเมินผลการดาเนิ นงาน (Corporate KPIs) ประจาปี ของบริ ษทั ให้ สอดคล้อ งกับ แนวนโยบายธุ ร กิ จ ของบริ ษ ัท รวมทั้ง ติ ด ตามประเมิ น ผลการด าเนิ น งานของบริ ษ ัท เป็ น รายไตรมาส ตลอดจนให้ขอ้ แนะนาแก่ฝ่ายบริ หารในการปฏิบตั ิงานและรายงานผลยังคณะกรรมการบริ ษทั การพิจารณาค่าตอบแทน มีหน้าที่หลักในการเสนอแนะนโยบายค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นๆ ทั้งหมดทั้งในรู ปตัวเงินและมิใช่ตวั เงิ นของบุคลากรทุกระดับ ขององค์กรต่ อคณะกรรมการบริ ษทั และเสนอแนะยังคณะกรรมการบริ ษทั เพื่ อ พิ จ ารณาค่ า ตอบแทนประจ าปี ของคณะกรรมการบริ ษ ัท คณะกรรมการบริ ษ ัท ในเครื อ และกรรมการ ผูอ้ านวยการใหญ่ โดยต้องคานึ งถึงหน้าที่ ความรับผิดชอบ ภารกิ จที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้ง คานึ งถึ งส่ วน ของผูถ้ ือหุน้ ด้วย

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 97


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

9.1.9 ผู้บริหารของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ประกอบด้วย ลาดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

รายชื่อ นายประพันธ์ อัศวอารี นายเจริ ญสุข วรพรรณโสภาค นายนาศักดิ์ วรรณวิสูตร นางน้ าฝน รัษฎานุกลู นางธิดารัชต์ ไกรประสิ ทธิ์ นายเชิดชาย ปิ ติวชั รากุล นายพจนา บุญศิริ นางวิราวรรณ ธารานนท์ นางสาวดวงแก้ว อึ้งศรี ทอง นายสมบัติ อยูส่ ามารถ นางสาวกันยานาถ วีระพันธุ์

ตาแหน่ ง กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ สายปฏิบตั ิการ รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี ผูอ้ านวยการอาวุโส สานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ และ เลขานุการบริ ษทั ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายตรวจสอบ ผูอ้ านวยการฝ่ ายปฏิบตั ิการและบริ การลูกค้า ผูอ้ านวยการฝ่ ายวางแผนโครงการ ผูอ้ านวยการฝ่ ายอานวยการ ผูอ้ านวยการฝ่ ายทรัพยากรบุคคล ผูอ้ านวยการฝ่ ายการเงินและบัญชี ผูอ้ านวยการฝ่ ายสื่ อสารองค์กร

อานาจหน้ าทีข่ องกรรมการผู้อานวยการใหญ่ 1. รับผิดชอบผลการบริ หารกิจการของบริ ษทั ตามนโยบายที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนดโดยบริ หารจัดการ ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจและแผนวิสาหกิจ ( Corporate Plan) ของบริ ษทั ที่ได้รับการอนุมตั ิจาก คณะกรรมการบริ ษทั และมติที่ ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นโดยเป็ นไปตามระเบียบ วัตถุ ประสงค์ภายในขอบเขตของ กฎหมายและข้อบัง คับ ของบริ ษ ัท รวมทั้ง การควบคุ ม การด าเนิ น งานของบริ ษ ัท และบริ ษ ัท ในเครื อ ให้ สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ ยวข้องกับธุ รกิ จของ กลุ่มบริ ษทั รวมทั้งข้อกาหนดระเบียบปฏิบตั ิต่างๆ ที่บงั คับใช้ในบริ ษทั 2. รับผิดชอบต่อการบริ หารกิจการทั้งปวงของบริ ษทั ในการพัฒนาและจัดการระบบท่อส่ งน้ าสายหลักในพื้นที่ บริ เวณชายฝั่ งทะเลตะวันออก ที่ ได้รับ โอนสิ ทธิ มาดาเนิ นการครอบคลุ มถึ งการจาหน่ า ยน้ าดิ บให้แก่ นิค ม อุตสาหกรรม โรงงานอื่น ๆ และตลอดจนธุ รกิ จที่ เกี่ ยวข้อง โดยมีขอบเขตการดาเนิ นธุ รกิ จหลัก คื อ การ พัฒนาและบริ หารการจัดการทรัพยากรน้ าระบบท่อส่ งน้ า (Core Business) ทั้งนี้ ในกรณี ที่มีการมอบอานาจจากคณะกรรมการบริ ษทั ให้กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ปฏิบตั ิการแทนจะไม่ รวมถึงการอนุมตั ิให้ทารายการที่กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่หรื อบุคคลที่อาจมีส่วนได้เสี ย หรื อมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ (รายละเอียดเพิ่มเติมในส่ วนที่ 2 ข้อ 9.4.6 ความขัดแย้งของผลประโยชน์) 9.2 การสรรหากรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการบริ ษทั จะแต่งตั้งผูแ้ ทนจากคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา เพื่อคัดเลื อกบุคคลที่จะแต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ ษทั และกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ ตามความเหมาะสมใน แต่ละกรณี โดยในปี 2554 บริ ษทั ได้มีการกาหนดนโยบายการวางแผนสื บทอดตาแหน่งระดับผูบ้ ริ หารไว้เป็ น ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 98


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

แม่บท และแผนสื บทอดตาแหน่ งกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่เป็ นขั้นตอนในการดาเนิ นการที่โปร่ งใสและ สามารถตรวจสอบได้ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีมติเห็ นชอบในการให้สิทธิ แก่ผถู ้ ื อหุ ้นส่ วนน้อย เสนอชื่ อบุคคล ยังคณะกรรมการสรรหาเพื่อพิจารณาในเบื้องต้น ก่อนเสนอคณะกรรมการบริ ษทั ให้พิจารณา นาเสนอผูถ้ ือหุ ้น พิจารณาคัดเลือกเป็ นกรรมการบริ ษทั ในวันประชุ มผูถ้ ือหุ ้นด้วย ทั้งนี้ ตามข้อบังคับของ บริ ษทั คณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 5 คน และต้องไม่เกิ นกว่า 11 คน โดยให้ที่ ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นเป็ นผูพ้ ิจารณาเลื อกตั้ง และให้คณะกรรมการบริ ษทั เลื อกตั้งกรรมการด้วยกันเป็ นประธาน กรรมการบริ ษทั และอาจเลือกรองประธานกรรมการบริ ษทั รวมถึงกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ และตาแหน่ ง อื่นตามความเหมาะสมด้วยก็ได้ กรรมการบริ ษทั ไม่นอ้ ยกว่ากึ่ งหนึ่ งของจานวนกรรมการบริ ษทั ทั้งหมด ต้องมีถิ่นที่อยูใ่ นราชอาณาจักร การแต่งตั้งกรรมการบริ ษทั กระทาโดยที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น โดยมีหลักเกณฑ์และ วิธีการ ดังนี้ 1. ผูถ้ ือหุ น้ คนหนึ่งมีคะแนนเท่ากับหนึ่งหุ น้ ต่อหนึ่งเสี ยง 2. ผูถ้ ือหุ น้ แต่ละคนต้องใช้คะแนนเสี ยงที่มีอยูท่ ้ งั หมดตามข้อ 1. เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรื อหลาย คนเป็ นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสี ยงให้แก่ผใู ้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ 3. บุคคลซึ่ งได้รับคะแนนเสี ยงสู งสุ ดตามลาดับลงมา เป็ นผูไ้ ด้รับการเลื อกตั้งเป็ นกรรมการเท่า จานวนกรรมการที่จะพึงมี หรื อจะพึงเลื อกตั้งในครั้งนั้น ในกรณี ที่บุคคลซึ่ งได้รับการเลื อกตั้ง ในลาดับถัดลงมามีคะแนนเสี ยงเท่ากันเกินจานวนกรรมการที่จะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตั้งในครั้ง นั้น ให้ผเู ้ ป็ นประธานเป็ นผูอ้ อกเสี ยงชี้ขาด 4. คณะกรรมการบริ ษทั ต้องมี คุณสมบัติและไม่มีลกั ษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริ ษทั มหาชนจากัด 5. กรรมการอิสระ ต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามนิ ยามกรรมการอิสระที่บริ ษทั ได้กาหนดไว้ โดย สอดคล้องกับข้อกาหนดของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ที่ ป ระชุ ม ผู ้ถื อ หุ ้ น อาจลงมติ ใ ห้ ถ อดถอนกรรมการคนใดออกจากต าแหน่ ง ก่ อ นถึ ง คราวออกตามวาระ ดารงตาแหน่งได้ โดยต้องได้รับคะแนนเสี ยงสนับสนุ นไม่นอ้ ยกว่าสามในสี่ ของจานวนผูถ้ ือหุ ้นทั้งหมดที่เข้า ร่ วมประชุ ม และมีสิทธิ ออกเสี ยง และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่ งของจานวนหุ ้นที่ถือโดยผูถ้ ื อหุ ้น ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสี ยง คณะกรรมการบริ ษทั ประจาปี งบประมาณ 2554 จานวน 3 คน เป็ นกรรมการร่ วมกับผูถ้ ือหุ น้ ได้แก่ การ ประปาส่ วนภูมิภาคจานวน 1 คน คือ นายวิเชียร อุดมรัตนะศิลป์ และ บริ ษทั ผลิตไฟฟ้ า จากัด (มหาชน) จานวน 1 คน คือ นายเพิ่มศักดิ์ รัตนอุบล และการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จานวน 1 คน คือ นางมณฑา ประณุทนรพาล

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 99


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

1 นายชาญชัย 2 นายอุทิศ 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

นายกนกศักดิ์ พล.ต.ท.สมยศ นายบุญมี นางนิศกร พล.ต.ต.พิมล นายวิเศษ นางลีนา นายรัษฎา2 นางมณฑา นายเพิม่ ศักดิ2์ นายรังสรรค์ นายวิเชียร3 นายสมชาย นายพูลศักดิ์ นางอรุณี พล.ต.อ.วุฒิ นางสาวณาริ นี นายประพันธ์

สุนทรมัฏฐ์ ธรรมวาทิน ปิ่ นแสง พุม่ พันธุ์มว่ ง จันทรวงศ์ ทัดเทียมรมย์ สินธุนาวา ชานาญวงษ์ เจริ ญศรี ผ่องแผ้ ว ประณุทนรพาล รัตนอุบล ศรี วรศาสตร์ อุดมรัตนะศิลป์ ชุ่มรัตน์ ประณุทนรพาล อัครประเสริ ฐกุล พัวเวส ตะล่อมสิน อัศวอารี

หมายเหตุ :

ประธานกรรมการ อดีตประธาน1 กรรมการ อดีตกรรมการ1 อดีตกรรมการ1 อดีตกรรมการ1 อดีตกรรมการ1 อดีตกรรมการ1 อดีตกรรมการ1 อดีตกรรมการ1 อดีตกรรมการ1 กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

โบนัส ปี 2553 หลังจากหักภาษีแล้ ว

จานวนเดือนที่ดารงตาแหน่ ง 2554 (ม.ค.-ธ.ค.54) (สาหรั บ พิจารณาโบนัส)

ค่ าตอบแทนกรรมการ ตามจานวนเดือนที่ดารงตาแหน่ ง

เบีย้ ประชุม คณะกรรม การชุดย่ อย

รายชื่อคณะกรรมการ

เบีย้ ประชุม คณะกรรมการบริ ษัท 4

จานวนเดือนที่ดารงตาแหน่ งปี 2554

9.3 ค่ าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท และผู้บริ หาร 9.3.1 ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริ ษทั ระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2554

3 9

37,500 112,500

-

112,500 337,500

12

420,000

9 9 9 9 9 10 1 3 12 9 11 3 3 3 3 3 12

80,000 80,000 80,000 80,000 80,000 90,000 30,000 120,000 90,000 100,000 30,000 30,000 20,000 20,000 20,000 120,000

140,000 170,000 200,000 200,000 240,000 40,000 10,000 50,000 100,000 40,000 40,000 50,000 60,000 60,000 10,000 30,000 160,000

270,000 270,000 270,000 270,000 270,000 300,000 30,000 90,000 360,000 270,000 330,000 90,000 90,000 90,000 90,000 90,000 360,000

12 12 12 12 12 12 12 12 12 12

378,000 378,000 378,000 378,000 378,000 378,000 378,000 420,000 378,000 420,0005

1 อดีตประธานกรรมการ อดีตรองประธานกรรมการ และอดีตกรรมการ หมายถึงกรรมการบริ ษทั ที่พน้ วาระการดารงตาแหน่งก่อนวันที่ 31 ธันวาคม 2554 2 ค่าตอบแทนกรรมการบริ ษทั ของนายเพิ่มศักดิ์ รัตนอุบล และนายรัษฎา ผ่องแผ้ว จานวน 990,000 บาท ได้ดาเนินการตามระเบียบของ บมจ.ผลิตไฟฟ้ า (EGCO) ที่โอนค่าตอบแทนในฐานะกรรมการของ บริ ษทั อื่นๆ เข้าโดยตรงยังมูลนิธิ ไทยรักษ์ป่า

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 100


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

3 นายวิเชียร อุดมรัตนะศิลป์ ได้รับการอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั แต่งตั้งเป็ นกรรมการบริ ษทั เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2554 จึงยังมิได้เข้าร่ วมประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ในปี 2554 4 จานวนครั้งที่เข้าร่ วมประชุม มีรายการสรุ ปย่อที่หน้า 4 5 การหักภาษี ณ ที่จ่ายคานวณอยูใ่ นค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร

9.3.2 ค่ าตอบแทนผู้บริหาร ที่เป็ นตัวเงินในระหว่ างวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2554 ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั จานวน 12(1) คน ได้รับผลประโยชน์ตอบแทน สาหรับผลการดาเนินงานในปี 2554 ในรู ป เงินเดือนและค่าตอบแทน เป็ นเงินรวมทั้งสิ้ น 45,327,520.50 บาท หมายเหตุ (1) ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม – 3 มีนาคม 2554 มีจานวน 12 คน และในวันที่นางสาวเฟื่ องฟ้ า นิ่มเจริ ญ ลาออกจากบริ ษทั ทาให้จานวนผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มี 11 คน

9.3.3 การถือครองหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริ ษทั 11 คน ที่ดารงตาแหน่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ไม่มีผใู ้ ดถือครองหลักทรัพย์ของบริ ษทั ทั้งนี้ กรรมการที่เป็ นผูบ้ ริ หารและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั 11 คน มีการถือครองหุน้ สามัญจานวน 1,454,580 หุน้ ( ณ 30 ต.ค. 54) 9.3.4 การจ่ ายเงินสมทบในกองทุนสารองเลีย้ งชี พ ในปี งบประมาณ 2554 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ได้จ่ายเงินสมทบกองทุนสารอง เลี้ยงชีพให้แก่ผบู ้ ริ หารของ บริ ษทั จานวน 12(1) คน เป็ นจานวน 1,969,576.70 บาท หมายเหตุ (1) ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม – 3 มีนาคม 2554 มีจานวน 12 คน และในวันที่ นางสาวเฟื่ องฟ้ า นิ่มเจริ ญ ลาออกจากบริ ษทั ทาให้จานวนผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มี 11 คน

9.4 การกากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริ ษทั ได้ให้ความสาคัญอย่างต่อเนื่ องในการดาเนิ นธุ รกิ จภายใต้หลักการกากับดูแลกิ จการที่ดี มุ่ ง เน้นการสร้ า งประโยชน์ สู ง สุ ดให้แก่ ผูถ้ ื อหุ ้น โดยค านึ ง ถึ ง ผูม้ ี ส่ วนได้ส่ วนเสี ย ทุ ก ฝ่ าย รวมทั้ง การให้ ความสัมพันธ์กบั ความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่ งแวดล้อม สาหรับปี 2553 บริ ษทั ได้มุ่งเน้นเรื่ องการ นาหลักการและแนวปฏิ บตั ิที่ดีตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีสาหรับบริ ษทั จดทะเบียนปี 2549 จากตลาด หลักทรัพย์ฯ มาเป็ นแนวทางการบริ หารกิจการและยกระดับการกากับดูแลกิจการที่ดี โดยนาหลักการดังกล่าว มาปฏิ บตั ิให้ได้มากที่ สุด รวมทั้งการจัดกิ จกรรมเพื่อส่ งเสริ มการกากับดู แลกิ จการที่ดีของกลุ่ มบริ ษทั โดย มุ่งหวังให้บุคลากรทุกระดับดาเนินงานอย่าง “โปร่ งใส ซื่ อสัตย์ รับผิดชอบ และสามารถแข่งขันได้”

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 101


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

9.4.1 นโยบายการกากับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) รวมทั้งนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ ดี ซึ่ งได้กาหนดเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร ตั้งแต่วนั ที่ 1 สิ งหาคม 2546 ทั้งนี้ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการ ธรรมาภิ บ าลนาเสนอยัง คณะกรรมการบริ ษ ทั พิ จารณาทบทวนนโยบายเพื่ อให้มี ก ารพัฒนาอย่า งต่ อเนื่ อง สอดคล้องกับเหตุการณ์ปัจจุบนั ทั้งนี้ เพื่อให้พนักงานใหม่ของกลุ่มบริ ษทั ได้ตระหนักถึงการปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณทางธุ รกิจ ซึ่ งเป็ นหัวข้อ หนึ่ งที่กาหนดไว้ในหลักการกากับดู แลกิ จการที่ดี ในวันปฐมนิ เทศพนักงานใหม่ของกลุ่ มบริ ษทั ได้ลงนาม รับทราบเอกสารจรรยาบรรณทางธุ รกิจเพื่อนาไปปฏิบตั ิให้สอดคล้องต่อไป เช่นเดียวกับคณะกรรมการบริ ษทั ได้ลงนามรับทราบในคู่มือคณะกรรมการบริ ษทั ในวันปฐมนิเทศกรรมการบริ ษทั ที่เข้าใหม่เช่นกัน ในปี 2553 คณะกรรมการบริ ษทั ได้พิจารณาทบทวนเป็ นครั้งที่ 5 วันที่ 6 พฤษภาคม 2553 โดยได้กาหนดเป็ น ลายลักษณ์อกั ษรไว้ในคู่มือคณะกรรมการบริ ษทั และหลักการกากับดูแลกิจการ ดังนี้ - นโยบายเกี่ยวกับการป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายใน - นโยบายเกี่ยวกับการซื้ อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั - นโยบายความรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้ 9.4.2 ผู้ถือหุ้น : สิ ทธิและความเท่าเทียมกัน บริ ษทั ได้ตระหนักถึงสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ ้นทุกราย โดยคานึ งถึงสิ ทธิ ข้ นั พื้นฐานที่ผถู ้ ือหุ ้นพึงได้รับตามที่กฎหมาย และข้อบังคับกาหนด และการปฏิ บตั ิต่อผูถ้ ือหุ ้นอย่างเท่าเทียมและเป็ นธรรม เช่น การกาหนดนโยบายและ แนวปฏิบตั ิต่างๆ ตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี การเปิ ดเผยข้อมูลที่ถูกต้องโปร่ งใส และทันเวลา เป็ นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้บริ ษทั มีการดาเนินงานที่เจริ ญเติบโตอย่างมีคุณค่าและยัง่ ยืนต่อไป 9.4.3 สิ ทธิของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ยกลุ่มต่ างๆ ประโยชน์ร่วม ดังนี้ (1) ความรั บผิดชอบต่อผูถ้ ื อหุ ้นโดยค านึ ง ถึ งการลงทุ นให้ผลตอบแทนที่ เหมาะสมและยุติธรรม รักษาสถานภาพทางการเงินให้มีสภาวะมัน่ คง เพื่อประโยชน์ต่อความคงอยูแ่ ละเจริ ญเติบโต (2) ความรับผิดชอบต่อลูกค้า ด้วยการจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ า ตลอดจนบริ การต่างๆ ที่มี คุณภาพ และสร้างความพึงพอใจสู งสุ ดแก่ลูกค้า (3) ความรับผิดชอบต่อพนักงาน โดยให้ความเคารพต่อสิ ทธิ ตามกฎหมายของพนักงานทุกคน จัด ให้มีสภาพแวดล้อมของการทางานที่ดีปลอดภัย สวัสดิ การที่ดีและสภาพการจ้างที่ยุติธรรมเหมาะสมกับ สภาวะตลาด ส่ งเสริ มการใช้ทรัพยากรบุคคลอย่างมีค่าที่สุด ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 102


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

(4) ความรับผิดชอบต่อผูท้ ี่มีความสัมพันธ์ทางธุ รกิจโดยพยายามสร้างความสัมพันธ์ที่จะก่อให้เกิ ด ประโยชน์สูงสุ ดร่ วมกันทั้งกับผูร้ ับเหมา ผูจ้ ดั หา และผูร้ ่ วมทุนภายใต้การกากับดูแลกิจการที่ดี (5) ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม โดยดาเนิ นธุ รกิจที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม เคารพ และปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง เพื่อปกป้ องผลกระทบใดๆ ที่ก่อให้เกิดความสู ญเสี ยต่อ ชีวติ และทรัพย์สินของบุคลากร ชุมชน และสิ่ งแวดล้อม (6) ความรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้ โดยปฏิบตั ิต่อเจ้าหนี้ ตามเงื่อนไข ข้อกาหนดในสัญญา และไม่ปกปิ ด สถานะการเงินที่แท้จริ งของบริ ษทั และบริ ษทั ในเครื อ รวมทั้งไม่ใช้เงินทุนที่ได้จากการกูย้ ืมเงินไปในทาง ที่ขดั กับวัตถุประสงค์ในข้อตกลงที่ทากับผูใ้ ห้กยู้ มื ในปี 2553 คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนดเพิ่มเติมเรื่ องความรับผิดชอบต่อเจ้าหนี้ และเปิ ดเผยไว้ใน หลักการกากับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้ “ปฏิบตั ิต่อเจ้าหนี้ ตามเงื่อนไข ข้อกาหนดในสัญญา และไม่ปกปิ ดสถานะ การเงิ นที่ แท้จริ งของบริ ษทั และบริ ษทั ในเครื อ รวมทั้งไม่ใช้เงิ นทุ นที่ได้จากการกู้ยืมเงิ นไปในทางที่ขดั กับ วัตถุประสงค์ในข้อตกลงที่ทากับผูใ้ ห้กยู้ มื เงิน” การแจ้ งข้ อร้ องเรียน กาหนดให้มี ช่องทางแจ้งเบาะแสหรื อข้อร้ องเรี ย นการกระท าผิดกฎหมาย หรื อจรรยาบรรณ รายงานทาง การเงินที่ไม่ถูกต้อง หรื อระบบควบคุมภายในที่บกพร่ อง และกลไกในการคุม้ ครองผูแ้ จ้งเบาะแสในการร่ วม สอดส่ องดูแลผลประโยชน์บริ ษทั ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น โดยร้องเรี ยนยังคณะกรรมการตรวจสอบผ่าน ช่องทางดังต่อไปนี้ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ จดหมายธรรมดา :

: คณะกรรมการตรวจสอบ http://www. AC_EW@eastwater.com คณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออกจากัด (มหาชน) อาคารอีสท์วอเตอร์ ชั้น 25 เลขที่ 1 ซอยวิภาวดีรังสิ ต 5 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุ งเทพฯ 10900

9.4.4 การประชุ มผู้ถือหุ้น ก่ อนวันประชุ ม - แจ้งกาหนดวันประชุ มและระเบียบวาระการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2552 ให้ผถู้ ือหุ ้นทราบ ผ่านระบบสารสนเทศตลาดหลักทรัพย์ ฯ และเว็บไซต์บริ ษทั ล่วงหน้าก่อนวันประชุ มไม่นอ้ ยกว่า 30 วัน - จัดส่ ง หนัง สื อเชิ ญประชุ ม และรายละเอี ย ดระเบี ย บวาระการประชุ ม ประกอบด้วย วัตถุ ประสงค์ เหตุผล และความเห็นของคณะกรรมการบริ ษทั โดยได้จดั ส่ งยังผูถ้ ื อหุ ้นพร้ อมหนังสื อมอบฉันทะ ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 103


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

ฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้ อมทั้งแจ้งการเผยแพร่ เอกสารการประชุ มยังผูถ้ ื อหุ ้น ล่วงหน้า ก่อนวันประชุมไม่นอ้ ยกว่า 14 วัน และได้ประกาศลงหนังสื อพิมพ์ติดต่อกัน 3 วัน ก่อนวันประชุ มไม่ น้อยกว่า 3 วัน ทั้งนี้ บริ ษทั ได้นาข้อมูลหนังสื อเชิ ญประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นและเอกสารประกอบการประชุ ม เปิ ดเผยในเว็บไซต์บริ ษทั ล่วงหน้าก่อนวันประชุม 14 วัน - กรณี ที่ผถู ้ ือหุ น้ ที่ไม่สามารถเข้าร่ วมประชุมด้วยตนเองสามารถใช้สิทธิ ออกเสี ยงลงคะแนนตามหนังสื อ มอบฉันทะที่กาหนดโดยกรมพัฒนาธุ รกิจการค้า กระทรวงพาณิ ชย์ แบบ ก. หรื อ ข.หรื อ ค. พร้อมทั้ง กาหนดให้มีกรรมการอิสระ จานวน 2 คน ให้ผถู้ ือหุ ้นมอบฉันทะแทนในการเข้าประชุมและใช้สิทธิ ออกเสี ยง - เปิ ดโอกาสให้สิทธิ แก่ผถู ้ ือหุ ้นรายย่อยเสนอระเบียบวาระการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น และการเสนอชื่อ บุคคลเพื่อดารงตาแหน่งกรรมการผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั เป็ นการล่วงหน้า ทั้งนี้ ในปี 2552 ได้ เปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ ้นรายย่อยเสนอตั้งแต่วนั ที่ 1 ตุลาคม – 31 ธันวาคม 2552 และแจ้งล่วงหน้าผ่าน ระบบสารสนเทศของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์บริ ษทั ตั้งแต่วนั ที่ 28 กันยายน 2552 วันประชุ ม - ในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2552 เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2553 ณ ห้องวิภาวดีบอลรู ม โรงแรม โซฟิ เทลเซ็นทาราแกรนด์ กรุ งเทพฯ บริ ษทั ได้อานวยความสะดวกแก่ผถู ้ ือหุ ้น ในการลงทะเบียน และนับคะแนนเสี ยง โดยให้บริ ษทั ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด (TSD) นาโปรแกรม การลงทะเบียน (E-Voting) ตรวจนับคะแนนเสี ยงด้วยระบบ Barcode มาใช้ในการประชุม - คณะกรรมการบริ ษทั เข้าร่ วมประชุ ม จานวน 11 คน (ร้อยละ 100 ของจานวนกรรมการทั้งหมด) ซึ่ ง รวมถึงประธานคณะกรรมการบริ ษทั ประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาล ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการบริ หารและการลงทุน ประธานคณะกรรมการสรรหา ประธาน คณะกรรมการพิจารณาค่า ตอบแทน ประธานคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ย ง และประธาน คณะกรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดาเนินงานของบริ ษทั - ผูบ้ ริ หารระดับสู งของกลุ่มบริ ษทั ผูส้ อบบัญชี และที่ปรึ กษากฎหมายเข้าร่ วมประชุ มเพื่อตอบคาถาม และรับทราบความคิดเห็นของผูถ้ ือหุน้ - ก่อนเริ่ มการประชุ มประธานในที่ประชุ มแจ้งวิธีการลงคะแนน นับคะแนนในแต่ละระเบียบวาระ ทั้งนี้ ก่ อ นการลงมติ ทุ ก ระเบี ย บวาระ ประธานในที่ ป ระชุ ม เปิ ดโอกาสให้ ผูถ้ ื อ หุ ้ น ทุ ก รายมี สิ ท ธิ ใ นการ ตรวจสอบการดาเนิ นงานของบริ ษทั โดยเปิ ดโอกาสให้สอบถามแสดงความคิดเห็นโดยได้แจ้งผูถ้ ือหุ ้น อภิปรายภายในระยะเวลาอย่างเหมาะสม รวมทั้งข้อเสนอแนะต่างๆ อย่างเท่าเทียมกัน ทั้งนี้ กรรมการ และผูบ้ ริ หารตอบข้อซักถามอย่างชัดเจนทุกคาถามแล้วจึงให้ที่ประชุ มออกเสี ยงลงมติ สาหรับระเบียบ วาระการเลือกตั้งกรรมการ ประธานแจ้งให้ผถู ้ ือหุ น้ ลงคะแนนในบัตรลงคะแนนเป็ นรายบุคคล

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 104


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

- ประธานในที่ประชุ มได้แจ้งผลการลงคะแนนในแต่ละระเบียบวาระการประชุ มให้ที่ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น ทราบก่อนสิ้ นสุ ดการประชุม โดยประธานดาเนิ นการประชุ มให้สอดคล้องกับข้อบังคับบริ ษทั โดยได้ ประชุ มตามลาดับระเบียบวาระที่กาหนดไว้ในหนังสื อเชิ ญประชุ ม เว้นแต่ที่ประชุ มมี มติ ให้เปลี่ ยน ลาดับระเบียบวาระด้วยคะแนนเสี ยงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจานวนผูถ้ ือหุ ้นซึ่ งมาประชุ ม และเมื่อที่ ประชุ มได้พิจารณาครบทุกระเบียบวาระแล้ว ประธานแจ้งให้ผถู ้ ือหุ ้นทราบว่าผูถ้ ือหุ ้นซึ่ งรวมกันไม่ น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจานวนหุ ้นที่จาหน่ายได้ท้ งั หมดอาจขอให้ที่ประชุ มพิจารณาเรื่ องอื่น ทั้งนี้ ในปี 2552 บริ ษทั ไม่มีการเปลี่ ยนลาดับระเบียบวาระจากที่ระบุในหนังสื อเชิ ญประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้น และ ไม่มีการนาเสนอระเบียบวาระเพิ่มเติม ภายหลังการประชุ ม - บริ ษทั ได้จดั ทารายงานการประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้น และได้จดั ส่ งให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ และสานักงาน คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ภายใน 14 วันนับจากวันประชุม โดยได้บนั ทึก ประเด็นต่างๆ ในรายงานการประชุม พร้อมทั้งบันทึกมติที่ประชุมที่ชดั เจน และระบุผลการลงคะแนน ทั้งประเภทเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรื องดออกเสี ยง - บริ ษ ทั เผยแพร่ รายงานการประชุ ม สามัญผูถ้ ื อหุ ้นประจาปี ยัง ผูถ้ ื อหุ ้นผ่า นระบบสารสนเทศตลาด หลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์บริ ษทั ภายใน 14 วัน - สมาคมส่ งเสริ มผูล้ งทุนไทยได้จดั ทาโครงการประเมินคุ ณภาพการจัดประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี 2552 ซึ่ งผลประเมิ นดังกล่ าว บริ ษทั ได้รับ คะแนนระดับ “ดี เยี่ยม” (คะแนนการประเมิ นดี กว่าการ ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2551 ซึ่ งอยูใ่ นระดับดีมาก) 9.4.5 ภาวะผู้นาและวิสัยทัศน์ คณะกรรมการบริ ษทั มีบทบาทสาคัญยิง่ ในการกาหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย และแผนกลยุทธ์ของบริ ษ ทั โดยการ กาหนดแผนธุ รกิจระยะยาว (Corporate Plan) ทุกๆ 3 ปี สาหรับการดาเนินการในแต่ละปี ฝ่ ายบริ หารของ บริ ษทั ได้นาเสนอกลยุทธ์ และกิจกรรมต่างๆ ต่อคณะกรรมการบริ หารและการลงทุนและคณะกรรมการบริ ษทั ตามลาดับเพื่อพิจารณาให้ความคิดเห็น และอนุ มตั ิกาหนดแผนปฏิ บตั ิการรวมถึ งงบประมาณค่าใช้จ่ายรายปี นอกจากนี้ ฝ่ ายบริ หารดาเนินการรายงานความคืบหน้าของแผนปฏิบตั ิการประจาปี อุปสรรคปั ญหาที่สาคัญใน การประชุ มคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงและคณะกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส และคณะกรรมการ บริ ษทั ได้รับทราบเช่นกัน รวมถึงการนาเสนอให้คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาอนุมตั ิจดั จ้างโครงการลงทุนที่ สาคัญมูลค่ามากกว่า 200 ล้านบาทขึ้นไป คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีการติดตามผลการดาเนิ นงานของฝ่ ายบริ หาร โดยกาหนดให้มีการรายงานผลการ ดาเนิ นงานเปรี ยบเทียบเป้ าหมาย และผลประกอบการของบริ ษทั โดยกาหนดเป็ นระเบียบวาระการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั เรื่ องรายงานสถานะการเงินของบริ ษทั เป็ นรายไตรมาส นอกจากนี้ คณะกรรมการ ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 105


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

บริ ษทั ได้ตระหนักถึ งการปฏิ บตั ิ ตามกฎหมายและข้อกาหนดต่างๆ จึ งได้กาหนดให้ฝ่ายบริ หารรายงานการ เปลี่ ยนแปลงหลักเกณฑ์ด้านกฎหมาย กฎระเบียบต่างๆ ของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรั พย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 9.4.6 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนดนโยบายเกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ไว้ในหลักการกากับดูแลกิจการ ที่ดี และคู่มือคณะกรรมการบริ ษทั ดังนี้ - กรณี ที่คณะกรรมการบริ ษทั มอบหมายให้บุคลากรของบริ ษัทปฏิบตั ิการแทนคณะกรรมการบริ ษทั จะต้องจัดทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร หรื อบันทึกเป็ นมติคณะกรรมการบริ ษทั ไว้ในรายงานการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั โดยมี การกาหนดขอบเขตอานาจไว้อย่างชัดเจน ซึ่ งขอบเขตดังกล่าวต้องไม่ รวมถึ งการอนุ มตั ิให้ทารายการที่ผรู้ ับมอบอานาจ เป็ นบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรื อมีส่วนได้เสี ย - บุคลากรทุ กระดับมี หน้าที่ หลี กเลี่ ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่ งจะส่ งผลให้กลุ่มบริ ษทั เสี ย ผลประโยชน์หรื อก่อให้เกิดความขัดแย้งในการปฏิบตั ิงาน - พนักงานทุกคนมีหน้าที่เปิ ดเผยเรื่ องที่อาจเป็ นความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นให้ผบู ้ งั คับบัญชา ทราบ โดยต้องแนบรายละเอียดในเรื่ องดังกล่าวด้วย เพื่อรวบรวมเข้าหารื อยังกรรมการผูอ้ านวยการ ใหญ่ - ไม่ใช้อานาจหน้าที่ในตาแหน่งกรรมการบริ ษทั หรื อบริ ษทั ในเครื อเพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน ผู ้ ใกล้ชิด หรื อญาติสนิท ทั้งทางตรงและทางอ้อม คณะกรรมการบริ ษทั และผูม้ ีบริ หารมีหน้าที่ในการรายงาน ดังนี้ - รายงานการมี ส่วนได้เสี ยของตนและของบุ คคลที่ มีความเกี่ ยวข้องให้บริ ษทั ทราบ โดยเลขานุ การ บริ ษทั ส่ งสาเนารายงานให้ประธานคณะกรรมการและประธานคณะกรรมการตรวจสอบทราบ - รายงานการถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารและบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ซึ่ ง กาหนดเป็ นระเบียบวาระการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ทุกครั้ง ทั้งนี้ กรณี บริ ษทั มีการทารายการเกี่ยวโยงกันกาหนดให้ปฏิ บตั ิตามหลักเกณฑ์ของประกาศ สานักงานก.ล.ต. และตลาดหลักทรั พย์ฯ อย่างเคร่ งครัด ในการประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั ฝ่ าย บริ หารจะแจ้งให้ที่ประชุมทราบ โดยกรรมการที่มีส่วนได้เสี ยในรายการนั้น จะงดออกเสี ยงและไม่อยู่ ในที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั กรณี ของผูร้ ับจ้างและคู่คา้ บริ ษทั ได้กาหนดให้ทารายงานการมีส่วนได้เสี ยกับบุคคลที่เกี่ ยว โยงกันตามหลักเกณฑ์ของสานักงานก.ล.ต.เพื่อเป็ นข้อมูลให้ฝ่ายบริ หารพึงระมัดระวังขั้นตอนในการ อนุ มตั ิการทารายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่ งรายการระหว่างกันของบริ ษทั และ บริ ษทั ในเครื อ รวมถึงบริ ษทั และผูม้ ีส่วนได้เสี ยต่างๆ จะผ่านขั้นตอนการพิจารณาอนุ มตั ิอย่างถูกต้อง ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 106


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

ชัดเจน โดยใช้โครงสร้างราคาและเงื่อนไขทางการค้าทัว่ ไป เช่ นเดียวกับคู่คา้ รายอื่นๆ ของบริ ษทั โดยได้เปิ ดเผยรายละเอียดรายการระหว่างกันไว้ในรายงานประจาปี 9.4.7 จริยธรรมทางธุรกิจ เพื่ อ แสดงเจตนารมณ์ ใ นการดาเนิ นธุ รกิ จภายใต้ห ลัก การก ากับ ดู แ ลกิ จการที่ ดี คณะกรรมการบริ ษ ัท ได้ กาหนดให้ประกาศใช้ “ หลักกากับดูแลกิ จการที่ดีของกลุ่มบริ ษทั ” “คู่มือคณะกรรมการบริ ษทั ” และ จรรยาบรรณทางธุ รกิจ ซึ่ งประกาศใช้เมื่อวันที่ 17 สิ งหาคม 2549 โดยได้มีการปรับปรุ งให้ทนั สมัยและ เหมาะสมกับหลักเกณฑ์ที่เปลี่ยนแปลงต่างๆ อยูเ่ สมอ ทั้งนี้ ได้ปรับปรุ งครั้งล่าสุ ดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 เพื่อใช้เป็ นมาตรฐานในการประพฤติปฏิบตั ิ ตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี โดยกาหนดให้ กรรมการบริ ษทั ทุกท่านลงนามรับคู่มือคณะกรรมการบริ ษทั สาหรับพนักงานกลุ่มบริ ษทั ทุกคนได้เข้าร่ วม อบรมและทากิจกรรมโครงการส่ งเสริ มความรู ้ความเข้าใจในหลัก ธรรมาภิบาลอย่างต่อเนื่อง 9.4.8 การถ่ วงดุลของกรรมการทีไ่ ม่ เป็ นผู้บริหาร คณะกรรมการบริ ษทั มีจานวน 11 คน ประกอบด้วยโดยคณะกรรมการบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วย - กรรมการที่เป็ นผูบ้ ริ หาร 1 คน - กรรมการที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร 6 คน - กรรมการที่เป็ นอิสระ 4 คน 9.4.9 การประเมินผลงานกรรมการ คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีการประเมินตนเองในภาพรวมของผลการปฏิบตั ิงานอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่ องมาทุก ปี เพื่ อให้มี ก ารทบทวนผลงาน ปั ญหา และอุ ป สรรคต่ า งๆ ในระหว่า งปี ที่ ผ่า นมา โดยสามารถนาผลการ ประเมินไปพิจารณาปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพการดาเนินงานได้อย่างเหมาะสม ซึ่ งสอดคล้องกับหลักการกากับดูแล กิจการที่ดี ทั้งนี้ การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการบริ ษทั ในปี 2553 มีคะแนนรวมเฉลี่ยจาก กรรมการทุกคนเท่ากับ 4.86 คะแนน จาก 5 คะแนน โดยหัวข้อที่มีคะแนนเต็มต่อเนื่ องกันตั้งแต่ปี 2552 ได้แก่ 1) การแบ่ ง แยกหน้า ที่ ความรั บ ผิด ชอบของคณะกรรมการบริ ษ ทั และ ฝ่ ายบริ ห ารอย่า งชัดเจน 2) การ กาหนดให้มีขอ้ ห้ามปฏิ บตั ิที่อาจก่อให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 3) การทาหน้าที่ของประธาน กรรมการในการประชุม และ 4) การได้รับรายงานการประชุมในระยะเวลาที่เหมาะสม ตลอดจนตรวจสอบและ ท้วงติงในกรณี ที่เห็ นว่าไม่ถูกต้องครบถ้วน นอกจากนี้ หัวข้อที่มีคะแนนเพิ่มขึ้นโดยมีคะแนนเต็ม ส่ วนใหญ่ เกี่ยวกับการพิจารณาเรื่ องต่างๆในการประชุม โดยคณะกรรมการบริ ษทั แสดงความคิดเห็นที่เป็ นกลาง ไม่มีอคติ เป็ นอิสระจากฝ่ ายบริ หาร และผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ สร้างสรรค์ เป็ นเหตุเป็ นผล และรอบคอบ รวมทั้งการปฏิบตั ิต่อผู ้ ถือหุ น้ โดยเท่าเทียมกัน ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 107


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

9.4.10 การรวมหรือแยกตาแหน่ ง คณะกรรมการบริ ษทั มุ่งเน้นความโปร่ งใสในการดาเนิ นธุ รกิ จ กระจายอานาจการตัดสิ นใจ แบ่งอานาจการ กลัน่ กรอง และการพิจารณาอนุ ม ตั ิ อย่างชัดเจน โดยประธานคณะกรรมการบริ ษ ทั ไม่ เป็ นบุ ค คลเดี ย วกับ กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ รวมทั้งสมาชิ กคณะกรรมการตรวจสอบเป็ นกรรมการอิ สระทั้งคณะโดยไม่มี อานาจลงนามผูกพันกับบริ ษทั ไม่มีส่วนได้เสี ยในด้านการเงิน และการบริ หารงานของบริ ษทั รวมถึงบริ ษทั ในเครื อ 9.4.11 ค่ าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารเป็ นไปตามหลักการและนโยบายที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนด โดยคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนเป็ นผูพ้ ิจารณาอัตราค่าตอบแทนตามสัดส่ วนระยะเวลาที่เข้า ดารงตาแหน่งโดยอ้างอิงจากกาไรสุ ทธิ เงินปันผล และผลการดาเนินงานของกรรมการบริ ษทั และมี การปรับ ลดค่าตอบแทนรายเดือนตามสภาวะเศรษฐกิจ ซึ่ งจะพิจารณาทบทวนความเหมาะสมทุกปี และนาเสนออัตรา ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษทั ที่เหมาะสมต่อคณะกรรมการบริ ษทั และผูถ้ ือหุ ้น โดยในปี งบประมาณ 2553 บริ ษทั จ่ายค่าตอบแทนต่างๆ ให้คณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร สรุ ปได้ดงั นี้ 1. ค่าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน ( ดูรายละเอียดข้อ 9.3.1 และ 9.3.2 ) 2. ค่าตอบแทนอื่น 2.1 การถือครองหลักทรัพย์ ( ดูรายละเอียดข้อ 9.3.3 ) 2.2 การจ่ายเงินสมทบในกองทุนสารองเลี้ยงชีพ ( ดูรายละเอียดข้อ 9.3.4 ) 9.4.12 ระบบการควบคุม และการตรวจสอบภายใน บริ ษั ท ได้ ใ ห้ ค วามส าคั ญ ต่ อ ระ บบก ารควบคุ มภายใน โดยมุ่ ง เน้ น ให้ มี ก ารควบคุ มภาย ในที่ เพียงพอ เหมาะสม และเกื้อหนุนประสิ ทธิ ภาพของธุ รกิจ ทั้งในด้านการเงิน การดาเนินการ การบริ หารความ เสี่ ยง และการกากับดูแล โดยจัดให้มีหน่วยงานตรวจสอบภายใน ทาหน้าที่ในการตรวจสอบกระบวนการและ ขั้นตอนต่ า งๆ ในการบริ หารจัดการ ควบคู่ ไ ปกับ การประเมิ นความเสี่ ยง โดยจัดทาและติดตามผลการ ดาเนิ นงานตามแผนการตรวจสอบภายในและการบริ หารความเสี่ ยงของบริ ษทั โดยนาเสนอคณะกรรมการ ตรวจสอบและคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง เพื่อติดตามแนวโน้มของปั จจัยเสี่ ยงต่างๆ ให้สามารถลดลงอยู่ ในระดับที่ยอมรับได้ รวมถึงมีกลไกการควบคุมการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริ หารผ่านระบบบริ หารคุณภาพ ISO 90001:2000 ระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อม ISO 14001:2004 และกระบวนการตรวจติดตามประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิผลระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั และบริ ษทั ในเครื อ ทั้ง นี้ บริ ษ ัท ได้มี ก ารด าเนิ น การประเมิ น ความเพี ย งพอของระบบควบคุ ม ภายในในปี 2554 แล้ว ซึ่ ง คณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการตรวจสอบเห็ นว่าระบบการควบคุ มภายในอยู่ในระดับที่น่าพอใจ มี ความเพียงพอและเหมาะสมกับการดาเนิ นธุ รกิจ สร้างให้เกิ ดความโปร่ งใสในการดาเนิ นการ และส่ งเสริ ม ประสิ ทธิ ผลของการประกอบกิจการอย่างยัง่ ยืน ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 108


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

9.4.13 รายงานของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูร้ ับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย งบการเงินดังกล่าวจัดทาขึ้น ตามหลักการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไปในประเทศไทย และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง และประมาณการที่ดีที่สุด ในการจัดทา รวมทั้งมีการเปิ ดเผยอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิ นที่ปรากฏในรายงานประจาปี 2554 ( 56-2 ) คณะกรรมการบริ ษทั แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ งประกอบด้วยกรรมการอิสระ เป็ นผูด้ ูแลรับผิดชอบ เกี่ ยวกับคุ ณภาพของรายงานทางการเงิ น และระบบการควบคุ มภายใน และความเห็ นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ เกี่ยวกับเรื่ องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบที่ปรากฏในรายงานประจาปี 2553 ( 56-2 ) คณะกรรมการบริ ษทั มีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในมีความเพียงพอและเหมาะสมกับการดาเนินธุ รกิจ และสามารถสร้างความเชื่อมัน่ อย่างมีเหตุผลต่อความน่าเชื่ อถือของงบการเงินบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 โดยคณะกรรมการบริ ษทั ได้จดั ทารายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั ต่อ รายงานทางการเงินที่แสดงไว้ในรายงานประจาปี 2554 ( 56-2 ) คณะกรรมการธรรมาภิบาลซึ่ งได้สอบทานการปฏิบตั ิตามกระบวนการกากับดูแลกิจการที่ดีได้รายงาน ความเห็นไว้ตามที่ปรากฏในรายงานประจาปี 2554 ( 56-2 ) 9.4.14 ความสั มพันธ์ กบั ผู้ลงทุน บริ ษทั ตระหนักดีวา่ ข้อมูลและสารสนเทศต่างๆของบริ ษทั เป็ นข้อมูลที่สาคัญต่อการตัดสิ นใจของกลุ่มผูล้ งทุน นักวิเคราะห์และกลุ่มผูถ้ ือหุ น้ จึงให้ความสาคัญต่อการเปิ ดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่ งใส และทันเวลา ตามเกณฑ์ที่สานักงาน ก.ล.ต. และ ตลท. กาหนด นอกจากนี้ยงั ได้จดั ให้มีการเผยแพร่ ขอ้ มูลทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ อาทิ ข้อมูลบริ ษทั งบการเงิน การนาเสนอผลการดาเนินงานของบริ ษทั ข้อมูลทางการเงินที่ สาคัญ รายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ ายบริ หาร (MD&A) บทวิเคราะห์หลักทรัพย์ รวมทั้งรายงานสารสนเทศ ที่บริ ษทั แจ้งต่อ ตลท.ผ่านช่องทางของตลท.(www.set.or.th) และทางเว็ปไซต์ของบริ ษทั (www.eastwater.com) โดยปรับปรุ งข้อมูลให้เป็ นปั จจุบนั อย่างสม่าเสมอ ทั้งนี้ หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ (โทรศัพท์หมายเลข 02-272-1600 ต่อ 2378 โทรสารหมายเลข 02-272-1601 หรื อที่ ir@eastwater.com) ได้จดั ตั้งขึ้นเพื่อเป็ นศูนย์กลางและเป็ นตัวแทนในการติดต่อสื่ อสาร ให้บริ การข้อมูล ข่าวสารและจัดกิจกรรมต่างๆของบริ ษทั แก่ผลู ้ งทุน ผูถ้ ือหุ ้น นักวิเคราะห์ และประชาชนทัว่ ไป เพื่อนาเสนอ ผลงานและแจ้งสารสนเทศของบริ ษทั ในรู ปแบบต่างๆ โดยในปี 2554 สรุ ปกิจกรรมได้ดงั นี้

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 109


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ประเภทกิจกรรม การประชุมทางไกล ทางโทรศัพท์ สาหรับนักลงทุนต่างประเทศ (Conference Call) การจัดกิจกรรมพบผูล้ งทุนรายย่อยกับตลาดหลักทรัพย์ฯ (Opportunity Day) การเข้าพบผูบ้ ริ หารเพื่อสอบถามถึงแนวทางการบริ หารจัดการและความคืบหน้าของ โครงการต่างๆ (Company Visit) การจัดกิจกรรมเยีย่ มชมกิจการของบริ ษทั (Site Visit) ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

ส่วนที่ 2 การจัดการ

จานวน (ครั้ง) 1 4 8 1

นอกจากนี้ ยงั มี บริ การจัดส่ งข่าวสารของบริ ษทั ทางอี เมล์ (E-Newsletter) โดยผูส้ นใจสามารถสมัครได้ทาง เว็บไซต์ของบริ ษทั ทั้งนี้ หน่ วยงานนักลงทุ นสัมพันธ์ได้จดั ให้มีการรวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ต่างๆของนักลงทุน นักวิเคราะห์และผูถ้ ือหุ น้ เสนอต่อคณะผูบ้ ริ หารของบริ ษทั เพื่อปรับปรุ งการดาเนิ นงานให้ เหมาะสมในการดาเนินนโยบายของบริ ษทั ต่อไป 9.5 การดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายใน บริ ษทั กาหนดเรื่ องการใช้ขอ้ มูลภายในของกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานของบริ ษทั ไว้เป็ นลายลักษณ์ อักษรในหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งครอบคลุมประเด็นสาคัญ ดังนี้ 1. กรรมการ ฝ่ ายบริ หาร พนักงาน ผูป้ ฏิบตั ิงานสมทบ พนักงานของผูร้ ับจ้าง มีหน้าที่ตอ้ งยอมรับ พันธะผูกพัน ตามกฎหมายและจรรยาบรรณที่ตอ้ งปกป้ อง และไม่เปิ ดเผยข้อมูลและเอกสารที่เป็ น ความลับหรื อความลับทางการค้า ซึ่ งมีผลต่อความสาคัญอย่างยิ่งต่อความสาเร็ จและความมัน่ คง ของบริ ษทั 2. ข้อมูลลับทางการค้า ต้องได้รับการดูแลปกปิ ดมิให้รั่วไหลออกไปภายนอก การใช้ขอ้ มูลภายใน ร่ วมกันต้องอยูใ่ นกรอบที่ถือเป็ นหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น 3. การให้ขอ้ มูลข่าวสารแก่บุคคลภายนอกทุกข้อมูลที่ออกไปสู่ สาธารณชนต้องได้รับความเห็นชอบ จากกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ หากเป็ นข้อมูลเกี่ ยวกับผูร้ ่ วมทุนอื่นๆ ต้องได้รับความเห็นชอบ จากผูร้ ่ วมทุนด้วย โดยหน่วยงานกลางที่เป็ นผูใ้ ห้ขอ้ มูลแก่สาธารณชน ได้แก่ ฝ่ ายสื่ อสารองค์กร และงานนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) ฝ่ ายการเงินและบัญชี ทั้งนี้ ฝ่ ายสื่ อสารองค์กรมี หน้าที่แจ้งข่าวสารแก่พนักงานด้วย นอกจากนี้ บริ ษทั ได้แจ้งให้กรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั รับทราบถึงภาระหน้าที่การรายงานการได้มาหรื อ จาหน่ายหลักทรัพย์ของบริ ษทั ที่เกินกว่าร้อยละ 5 ของหลักทรัพย์ที่จาหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริ ษทั รวมถึง รายงานการถื อครองหลัก ทรั พ ย์ข องกรรมการและผูบ้ ริ ห ารของบริ ษ ัท ยัง ส านัก งานคณะกรรมการก ากับ ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 110


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามแบบและวิธีการที่ กาหนด รวมทั้งให้มีการรายงานในการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั ด้วยทุกครั้ง อนึ่ง ในปี 2554 คณะกรรมการบริ ษทั ได้จดั ให้มีระบบป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายใน (Insider Trading) โดยกาหนดเป็ นลายลักษณ์อกั ษรไว้ในคู่มือคณะกรรมการบริ ษทั และหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้ เรื่ องการใช้ขอ้ มูลภายใน : “ห้ามกรรมการ ผูบ้ ริ หาร พนักงานประจาของบริ ษทั รวมทั้งคู่สมรสและบุตรไม่ บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าวนาข้อมูลภายในของบริ ษทั ที่เป็ นสาระสาคัญซึ่ งยังไม่เปิ ดเผยต่อสาธารณชน ไปใช้ประโยชน์ในการซื้ อขาย หลักทรัพย์เพื่อเก็งกาไร หรื อสร้างความได้เปรี ยบให้กบั บุคคล หรื อกลุ่มบุคคล ใดกลุ่มหนึ่ง” เรื่ องการงดการซื้ อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั : “ให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานประจาของบริ ษทั รวมทั้ง คู่ ส มรส และบุ ตรที่ ย งั ไม่ บ รรลุ นิติ ภาวะของบุ ค คลดัง กล่ า ว งดการ ซื้ อ ขายหรื อโอนหุ ้ นบริ ษ ัท ในช่ ว ง ระยะเวลา 1 เดื อนก่อนการเปิ ดเผยข้อมูลงบการเงินต่อ ตลาดหลักทรัพย์ฯ และในช่ วงระยะเวลา 3 วันหลัง การเปิ ดเผยข้อมูลงบการเงินต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อให้ผถู ้ ือหุ ้นและผูล้ งทุนได้มีระยะเวลาที่เพียงพอในการ เข้าถึ งและทาความเข้าใจในสาระสาคัญของข้อมูลข่าวสารของบริ ษทั หรื อ งบการเงิ นที่เปิ ดเผยได้ต่อตลาด หลักทรัพย์ฯ เสร็ จสิ้ นแล้ว” 9.6 บุคลากร (1) บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั มีพนักงานทั้งสิ้ น 149 คน แบ่งเป็ นพนักงานประจา 148 คน และพนักงานสัญญาจ้าง 1 คน ดังมีรายละเอียดโดยสรุ ป ดังนี้ ฝ่ าย/ สานัก จานวนพนักงานทั้งสิ้ น (คน) 1. สานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่และ 17 เลขานุการบริ ษทั 5 2. ฝ่ ายตรวจสอบ 3. ฝ่ ายวางแผนโครงการ 16 4. ฝ่ ายปฏิบตั ิการและบริ การลูกค้า 39 5. ฝ่ ายสื่ อสารองค์กร 20 6. ฝ่ ายพัฒนาธุ รกิจ 7 7. ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล 5 8. ฝ่ ายอานวยการ 16 9. ฝ่ ายการเงินและบัญชี 20 10. ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ 5 รวม 149 ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 111


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

บริ ษทั พิจารณาถึ งความสาคัญของพนักงานที่ถือเป็ นผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยที่สาคัญ อีกทั้งองค์กรอาจไม่บรรลุ เป้ าหมายหากองค์กรขาดบุคคลากรที่มีความรู ้ความสามารถ ดังนั้นการบริ หารทรัพยากรบุคคลและการพัฒนา บุคคลากร จึ งมี ความสาคัญเป็ นอย่างยิ่ง ในปี 2554 บริ ษทั ยังคงมุ่งเน้นในการบริ หารบุคลากรเพื่อให้ เกิดผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กร ในด้านต่างๆ ดังนี้  สรรหา (Recruitment) บุคคลากรให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับงาน โดยกาหนดเกณฑ์ ด้านต่าง ๆ เพื่อยกระดับความสามารถของบุคลากร  โครงสร้ า งค่ าจ้า ง ค่ า ตอบแทน และสวัส ดิ ก าร(Remuneration Policy) ที่ ส ามารถ แข่ ง ขัน ได้ใ นกลุ่ ม ธุ รกิ จ บริ ก ารสาธารณู ป โภค ภายใต้ก รอบค่ า ใช้จ่ า ยบุ ค ลากรที่ เหมาะสม และสร้างขวัญและกาลังใจแก่พนักงาน  ฝึ กอบรมและพัฒนาบุคลากร (Training and Development) โดยการฝึ กอบรมทั้ง ภายในและภายนอก เพื่อให้มีศกั ยภาพและความสามารถในฐานะผูน้ าด้านการจัดการ น้ า (Competency) สามารถนาไปปฏิบตั ิได้อย่างสอดคล้องกับลักษณะงาน ส่ งผลต่อ การปฏิบตั ิงานให้บรรลุเป้ าหมายขององค์กร  พัฒนาระบบงานภายในองค์กร โดยสร้ างระบบการบริ หารทรั พยากรบุ คคลอย่าง บูรณาการ อาทิ ระบบการประเมินผลการปฏิ บตั ิงาน (Performance Management) ของพนักงานที่ โปร่ งใสและชัดเจน บริ หาร ระบบการสรรหาพนักงานผูม้ ี ผลงานดี (Talent Management) เสริ มสร้ างความเป็ นมื ออาชี พ และมี ความพร้ อมในการ ปรั บเปลี่ ย นรู ป แบบงานหรื อการโอนย้ายไปยัง หน่ วยงานใหม่ รวมทั้ง การสร้ า ง ความก้าวหน้าในอาชี พ (Career Path Management) ซึ่ งเป็ นปั จจัยสาคัญนาไปสู่ การ สร้างผูบ้ ริ หารใหม่ ในระบบพัฒนาผูบ้ ริ หาร (Successor Planning) เพื่อให้มีวิสัยทัศน์ และภาวะผูน้ าที่ดีข้ ึน ตลอดจนการปรับปรุ งโครงสร้างองค์กรให้สอดรับกับเป้ าหมาย และกลยุทธ์ขององค์กรในการขยายธุ รกิจในอนาคต  สื่ อสารภายในองค์กร (Internal Communication) โดยมุ่งสร้างความสัมพันธ์ที่ดีภายใน องค์ ก ร ตลอดจนเป็ นช่ อ งทางการกระจายข้อ มู ล ข่ า วสารไปสู่ พ นัก งานอย่ า งมี ประสิ ทธิ ภาพ เพื่อสร้างความภาคภูมิใจแก่พนักงานในความสาเร็ จขององค์กร (2) การเปลี่ยนแปลงจานวนพนักงานในรอบระยะเวลา 5 ปี ที่ผา่ นมา  ในปี พ.ศ. 2554 มีพนักงานจานวน 149 คน และมีพนักงานลาออกจานวน 34 คน (ณ 31 ธันวาคม 2554)  ในปี พ.ศ. 2553 มีพนักงานจานวน 148 คน และมีพนักงานลาออกจานวน 22 คน ( ณ 31 ธันวาคม 2553)  ในปี พ.ศ. 2552 มีพนักงานจานวน 143 คน และมีพนักงานลาออกจานวน 7 คน ( ณ 31 ธันวาคม 2552) ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 112


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

 ในปี พ.ศ. 2551 มีพนักงานจานวน 138 คน และมีพนักงานลาออกจานวน 7 คน ( ณ 30 กันยายน 2551)  ในปี พ.ศ. 2550 มีพนักงานจานวน 106 คน และมีพนักงานลาออกจานวน 7 คน ( ณ 30 กันยายน 2550) (3) ในปี 2554 บริ ษทั ยังคงเน้นย้ าและให้ความสาคัญกับการนาดัชนี วดั ความสาเร็ จของงาน (Corporate KPIs) โดยจะถูกถ่ายทอดมาในการประเมินผลงานพนักงานทุกระดับ รวมทั้งการประเมินสมรรถนะ (Competency) ของพนักงาน เพื่อให้พนักงานมีพฤติกรรมที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และกลยุทธ์ของ องค์กร ซึ่ งมีการสื่ อสารให้พนัก งานทุกระดับมีความรู้ และความเข้าใจถึ งพฤติกรรมตามที่องค์ก ร ต้องการ ทั้งนี้ ในการสื่ อสารนั้น เพื่อให้เข้าใจง่ าย จึงสื่ อสารให้พนักงานเข้าใจสมรรถนะหลักของ องค์กร Core Competency ของพนักงานทุกคน คือ I A C T ดังนี้ I ntegrity คุณธรรม A chievement Orientation ความมุ่งมัน่ ทางานให้สาเร็ จ C ustomer Service Orientation ความใส่ ใจบริ การลูกค้า T eamwork and Leadership การทางานเป็ นทีมและภาวะผูน้ าทีมและ สมรรถนะด้ านบริหารจัดการ Managerial Competency สาหรับผูบ้ ริ หารและหัวหน้างาน คือ D I S C ดังนี้ D eveloping Others การพัฒนาบุคลากร I nfluence and Effective Communication การโน้มน้าวจูงใจและการ สื่ อสารอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ S trategic Orientation การมุ่งเน้นกลยุทธ์ C hange Leadership การเป็ นผูน้ าในการเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่และฝ่ ายทรัพยากรบุคคล ยังมีการเน้นย้ากับพนักงานอย่างต่อเนื่ องใน นโยบายจาก CEO อ TCC ( Teamwork, Coaching, Communication ) บริ ษทั ได้จ่ายค่าตอบแทนในรู ปเงินเดือน ค่าตอบแทนที่เป็ นตัวเงินอื่นๆ และโบนัสจากผลงานปี 2554 ให้กบั พนักงานและผูบ้ ริ หาร รวมกันประมาณ 137,640,518.90 ล้านบาท

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 113


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การจัดการ

นโยบายในการพัฒนาพนักงาน ในพัฒนาพนักงาน บริ ษทั มีการดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ องในทุกระดับ โดยพนักงานทุกคนจะได้รับประเมิน Competency ตามระดับของพนักงานปี ละ 2 ครั้ง และผูบ้ งั คับบัญชาจะวางแผนการพัฒนาพนักงาน และเป็ น ผูด้ ูแลให้มีการพัฒนาตามแผน และกระบวนการพัฒนารองรั บตามความเหมาะสม เช่น การฝึ กปฏิบตั ิ (OJT) และ การมอบหมายงาน เป็ นต้น บริ ษทั มีการจัดหลักสู ตรต่างๆ รองรับกับ Competency หลักขององค์กร และมีการส่ งพนักงานเข้าอบรมใน หลักสู ตรที่จาเป็ นซึ่ งจัดโดยสถาบันที่มีชื่อเสี ยง โดยในปี 2554 พนักงานได้เข้ารับการอบรมในหลักสู ตรต่างๆ มีจานวนชัว่ โมงเฉลี่ย 77.7 ชม./คน โดยแบ่งตามกลุ่มระดับ ดังนี้ - พนักงานระดับปฏิบตั ิการ เฉลี่ย 58 ชม./คน ตัวอย่างหลักสู ตร เช่น The 7 Habits of Highly Effective People , ทักษะการนาเสนอ ภาษาอังกฤษ และหลักสู ตรด้าน Functional Competency เป็ นต้น - พนักงานระดับบังคับบัญชา เฉลี่ย 129 ชม./คน ตัวอย่างหลักสู ตร เช่ น กลยุทธ์ระยะยาว, ทักษะการ นาเสนอ และหลักสู ตรด้านภาวะผูน้ า เช่น EDP (Executive Development Program) , ความรู้ดา้ นงาน ตรวจสอบ, เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับบริ หาร ทักษะการบังคับบัญชา และ TQA เป็ นต้น - ผูบ้ ริ หารระดับสู ง เฉลี่ย 121.8 ชม./คน ตัวอย่างหลักสู ตร เช่น Executive Coaching Program, SEP (Senior Executive Programe ) ของสถาบันการศึกษาชั้นนา เป็ นต้น นอกจากหลักสู ตรที่ เกี่ ยวข้องกับทักษะในการบริ หาร และเกี่ ยวกับหน้าที่ หลักโดยตรงแล้ว ตั้งแต่ปี 2550 เป็ นต้นมา บริ ษทั สนับสนุ นให้พนักงานเข้าร่ วมการฝึ กปฏิ บตั ิธรรมตามสถานปฏิ บตั ิธรรมต่างๆ โดยถื อเป็ น การพัฒนาจิตใจวิธีการหนึ่ งที่สาคัญ เพื่อให้พนักงานดาเนิ นชี วิตได้อย่างมีความสุ ข ทั้งนี้ บริ ษทั เห็ นว่าเมื่อ พนักงานมีความสุ ขในชี วิต มีการฝึ กสมาธิ จะส่ งผลถึงประสิ ทธิ ผลในการทางานด้วย ซึ่ งพนักงานสามารถ เข้าร่ วมฝึ กปฏิ บตั ิธรรมได้ตามสถานที่ตนเองสะดวก และบริ ษทั ถื อว่าเป็ นการฝึ กอบรม จึงไม่นบั เป็ นวันลา ทั้งนี้มีพนักงานสนใจเข้าร่ วมการปฏิบตั ิธรรมเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ นอกจากวิธีการเรี ยนรู ้ โดยการฝึ กอบรมแล้ว สิ่ งที่มีความสาคัญต่อการเรี ยนรู ้ภายในองค์กร คือการนาความรู ้ ต่างๆ มาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ร่วมกัน ในปี 2554 มีหน่วยงานซึ่ งดูแลด้านการบริ หารความรู ้องค์กร ( Knowledge Management) เพื่อให้องค์ความรู ้ยงั อยูก่ บั องค์กรและหน่วยงาน จึงมีการเริ่ มต้นให้ทุกหน่วยงานสรุ ปความรู ้ที่ สาคัญของหน่วยงาน นาเก็บในระบบอิเลคทรอนิ คส์ และมีการนามาแลกเปลี่ยนให้ทุกหน่วยงานมีความเข้าใจ ว่าในแต่ละหน่วยงานมีความรู ้อะไรบ้าง

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 114


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การควบคุมภายใน

การประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในประจาปี 2554 บริ ษทั ได้ให้ความสาคัญต่อระบบการควบคุมภายใน โดยมุ่งเน้นให้มีการควบคุมภายในที่เพียงพอ เหมาะสม และเกื้อหนุนประสิ ทธิ ภาพของธุ รกิจ ทั้งในด้านการเงิน การดาเนิ นการ การบริ หารความเสี่ ยง และการกากับ ดูแล ทั้งนี้ หลักการและสาระสาคัญของการประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในสามารถ พิจารณา ได้ใน 5 ด้าน ดังนี้ 1. องค์ กรและสภาพแวดล้อม คณะกรรมการบริ ษ ทั มี บ ทบาทส าคัญในการก าหนดวิ สั ย ทัศ น์ นโยบาย และแผนกลยุ ท ธ์ ข องบริ ษ ทั ให้ ครอบคลุมตามหลัก Balanced Scorecard โดยการกาหนดแผนธุ รกิจระยะยาว รวมทั้งการให้ความคิดเห็น และ อนุ มตั ิกลยุทธ์ กิ จกรรมต่างๆ และแผนปฏิ บตั ิการรายปี นอกจากนั้นยังประยุกต์ใช้เกณฑ์การประเมินผลการ ดาเนินงาน (Key Performance Indicators) ในการวัดผลการปฏิบตั ิงานทัว่ ทั้งองค์กร เพื่อให้การติดตาม และ ประเมิ นผลการปฏิ บ ัติงานเป็ นไปอย่างเที่ ยงธรรม มี ประสิ ท ธิ ภาพ เป็ นระบบสอดคล้องกับเป้ าหมาย และ วัตถุประสงค์ขององค์กร นโยบายการบริ หารจัดการภายในองค์กรมุ่งเน้นให้มีกลไกการถ่วงดุ ลอานาจระหว่าง คณะกรรมการบริ ษทั ฝ่ ายบริ หาร และผูถ้ ือหุ ้น ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษทั ประกอบไปด้วยคณะกรรมการอิสระ หรื อกรรมการจาก ภายนอกไม่น้อยกว่า 3 คน เพื่อให้เกิ ดการถ่วงดุ ลอานาจกับกรรมการที่อาจมี ผลประโยชน์ขดั แย้งกับบริ ษทั ตลอดจนจัดให้มีการสื่ อสารกับผูล้ งทุนเพื่อเผยแพร่ และสื่ อสารข้อมูลต่างๆ ของบริ ษทั ให้สาธารณชนได้ทราบ อย่างสม่าเสมอ และแต่งตั้งคณะกรรมการชุดต่างๆ เพื่อช่วยในการพิจารณากลัน่ กรอง และให้คาวินิจฉัยในเรื่ อง สาคัญที่ เกี่ ยวข้องเพื่อรั กษาผลประโยชน์ของผูถ้ ื อหุ ้น นอกจากนี้ บริ ษทั ได้ประกาศใช้ หลักการกากับดู แล กิ จ การที่ ดี ของบริ ษัท จัด การและพัฒ นาทรั พ ยากรน้ า ภาคตะวัน ออก จ ากัด (มหาชน) จรรยาบรรณ คณะกรรมการบริ ษทั และ จรรยาบรรณทางธุ รกิจของพนักงาน เพื่อให้บุคลากรทุกระดับของบริ ษทั ได้ยึดถือ ปฏิบตั ิ โดยมุ่งเน้นความซื่ อสัตย์สุจริ ต และจริ ยธรรมในการดาเนินธุ รกิจ 2. การบริหารความเสี่ ยง บริ ษทั ใช้แนวคิดของการบริ หารความเสี่ ยงทัว่ ทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management) โดยการประเมิน ความเสี่ ยงในกระบวนการต่างๆ และวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ ยง มาตรการควบคุ มที่มีในปั จจุบนั รวมถึงการกาหนด มาตรการควบคุ มเพิ่มเติ ม โดยสนับสนุ นให้พนักงานทุ กฝ่ ายงาน มี ส่วนร่ วมในกระบวนการประเมิ น และ บริ หารความเสี่ ยงขององค์กรอย่างต่อเนื่อง มีการจัดทาคู่มือบริ หารความเสี่ ยงองค์กรและแผนปฏิบตั ิการบริ หาร ความเสี่ ยงประจาปี เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั ให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น รวมถึ งการ บริ หารจัดการเพื่อลดระดับความเสี่ ยงให้อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ สอดคล้องกับสถานการณ์แวดล้อม และความ ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 115


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การควบคุมภายใน

เสี่ ย งที่ แปรเปลี่ ยนไป นอกจากนี้ บ ริ ษ ทั ยัง กาหนดหน่ วยงานเฉพาะเพื่ อรั บ ผิดชอบในการ ติ ดตามผลการ ดาเนินงาน ตามแผนโครงการบริ หารความเสี่ ยง ประเมินผล และจัดทารายงานผลการบริ หารความเสี่ ยงเสนอ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง และคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณา และให้คาวินิจฉัยอันจะส่ งผลให้ กระบวนการบริ หารความเสี่ ยงของบริ ษทั เป็ นพลวัตร อย่างสม่าเสมอ และต่อเนื่อง 3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ ายบริหาร บริ ษทั มีการกาหนดขอบเขตอานาจหน้าที่ และวงเงินอานาจอนุ มตั ิของฝ่ ายบริ หารให้สอดคล้องกับหลักการ ควบคุมภายในที่ดีเรื่ องการแบ่งแยกหน้าที่งาน และการสอบทานงานระหว่างกัน โดยแยกงานในหน้าที่อนุ มตั ิ การบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลสารสนเทศ และหน้าที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพย์สิน ออกจากกัน นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้รับการรับรองระบบมาตรฐานคุณภาพ ISO9001:2008 และ ISO 14001:2004 ซึ่ งกาหนดให้บริ ษทั ต้องจัดทาคู่มือ และขั้นตอนการปฏิบตั ิ (Work Procedures and Work Instructions) เพื่อเป็ นมาตรฐานอ้างอิงใน การปฏิ บตั ิงาน รวมถึ งการจัดฝึ กอบรมพนักงานให้เข้าใจ และสามารถปฏิ บตั ิงานได้อย่างถูกต้อง สอดคล้อง ตามขั้นตอน และวิธีการปฏิบตั ิงานที่บริ ษทั กาหนดไว้ ในกรณี ของ รายการระหว่างกันของบริ ษทั และบริ ษทั ในเครื อ รวมถึ งบริ ษทั และผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมต่างๆ จะผ่านขั้นตอนการพิจารณาอนุ มตั ิอย่างถูกต้องชัดเจน ตามเงื่อนไข เช่ นเดียวกับ คู่คา้ รายอื่นๆ โดยได้เปิ ดเผย รายการดังกล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินแล้ว บริ ษ ัท มี ก ารติ ด ตามดู แ ลการด าเนิ น งานของบริ ษ ัท ในเครื อ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และสม่ า เสมอ โดยรายงาน ความก้าวหน้าผลการดาเนินงานของบริ ษทั ในเครื อ แต่ละแห่งต่อคณะกรรมการบริ ษทั ทราบ และมอบหมายให้ มี หน่ วยงานเฉพาะในการติ ดตามผลการดาเนิ นงานตามมติ ที่ คณะกรรมการบริ ษ ทั ได้ใ ห้ขอ้ เสนอแนะไว้ รวมทั้งการประสานนโยบายให้ทุกบริ ษทั มีทิศทางการดาเนิ นงานที่สอดคล้องเป็ นทิศทางเดียวกับนโยบายของ คณะกรรมการบริ ษทั นอกจากนั้นยังกาหนดให้มีหน่วยงาน ดูแลงานด้าน Compliance เพื่อกากับดูแลให้การ ดาเนินงานต่าง ๆ ของบริ ษทั สอดคล้องกับกฎหมาย กฎ ระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. ระบบสารสนเทศและการสื่ อสารข้ อมูล บริ ษทั ได้จดั ให้มีขอ้ มูลที่สาคัญต่าง ๆ อย่างเพียงพอเพื่อให้คณะกรรมการบริ ษทั ใช้ประกอบการตัดสิ นใจและ จัดส่ งให้คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นการล่วงหน้า เพื่อให้มีระยะเวลาทบทวนและศึกษาข้อมูลต่างๆ ในเบื้องต้น โดยทุกระเบียบวาระในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการชุดย่อย จะปรากฏรายละเอียดในสรุ ปความเป็ นมา รวมทั้งมติของที่ประชุ มในช่วงที่ผา่ นมาอ้างอิงไว้ รวมถึงมีการระบุ ข้อกาหนดทางกฎหมายที่เกี่ ยวข้องกับระเบี ยบวาระการประชุ มดังกล่าว (ถ้ามี ) เพื่อให้คณะกรรมการบริ ษ ัท ได้รับทราบข้อมูลอย่างครอบคลุ ม ครบถ้วน เพื่อประกอบการวินิจฉัย และให้ขอ้ เสนอแนะ เพื่อนาไปสู่ การ ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 116


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 การควบคุมภายใน

ปรั บ ปรุ ง และพัฒ นาองค์ก รอย่า งต่ อเนื่ อ ง จากนั้น จึ ง จะระบุ ข ้อ เท็ จจริ ง ในประเด็ น ความคื บ หน้า ในการ ดาเนิ นการของฝ่ ายบริ หารตามความเห็นของคณะกรรมการชุ ดต่างๆ ซึ่ งจะครอบคลุ มถึงเหตุผล การวิเคราะห์ ความอ่อนไหวทางธุ รกิ จ อุ ปสรรค หรื อผลกระทบที่ อาจเกิ ดขึ้ น ส่ วนการนาเสนอข้อเสนอแนะเพื่อการ พิจารณาจะมีประเด็นข้อพิจารณาหรื อแนวทางเลือกเพื่อการหารื อ และการพิจารณาไว้ทุกครั้ง ทั้งนี้ ในการ นาส่ งรายงานการประชุมแต่ละครั้ง บริ ษทั จะแจ้งให้กรรมการรายบุคคลสามารถแจ้งแก้ไขรายงานการประชุ ม ภายในระยะเวลาที่กาหนดภายหลังจากที่ได้รับรายงานการประชุมประมาณ 7 วัน นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้มีก ารประยุก ต์ใ ช้ และพัฒนาระบบสารสนเทศ และระบบฐานข้อมู ลภายในอย่า ง ต่อเนื่อง เพื่อให้บุคลากรทุกระดับในองค์กร สามารถเข้าถึงข้อมูล และสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิงาน ในระดับที่เหมาะสม ผ่านทางนโยบาย และระบบการกาหนดสิ ทธิ การเข้าถึงข้อมูลที่ชดั เจน และเป็ นระบบ เพื่อ นาข้อมูล และสารสนเทศดังกล่าวมาประกอบการพิจารณา และตัดสิ นใจในการปฏิบตั ิงาน 5. ระบบการติดตาม บริ ษทั มีการติดตามการปฏิบตั ิตามเป้ าหมายที่ระบุไว้ในแผนธุ รกิจระยะยาว และแผนปฏิบตั ิการประจาปี อย่าง ต่อเนื่ อง โดยมีการรายงานความคืบหน้าผลการปฏิบตั ิงาน และเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจาปี (KPIs) ในการประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประจาทุกไตรมาส เพื่อพิจารณากาหนดแนวทางการปรับปรุ ง แก้ไขความล่าช้า หรื อข้อบกพร่ องต่างๆ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ที่เปลี่ ยนแปลงไป โดยเน้นย้ าให้มีการ แก้ไขอย่างทันท่วงที บริ ษทั ให้ความสาคัญต่อการตรวจสอบภายในเป็ นอย่างยิ่ง โดยมุ่งเน้นเพิ่มคุณค่าของงานตรวจสอบภายในต่อ องค์กรโดยการใช้ขอ้ มูลผลการประเมินความเสี่ ยงภายในองค์ กร ประกอบการวางแผนการตรวจสอบ (Risk Based Audit) และได้จดั จ้างที่ปรึ กษาร่ วมดาเนิ นการตรวจสอบภายใน (Co-sourcing) กับฝ่ ายตรวจสอบเป็ น ประจาทุกปี เพื่อให้คณะกรรมการบริ ษทั รวมถึงฝ่ ายบริ หาร สามารถเชื่ อมัน่ ในประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผลของ ระบบการควบคุ ม ภายในของบริ ษ ัท รวมถึ ง ความถู ก ต้อ งน่ า เชื่ อ ถื อ ได้ข องข้อ มู ล สารสนเทศต่ า งๆ ทั้ง สารสนเทศทางการเงินการบัญชี และสารสนเทศที่ใช้ในการดาเนิ นงาน โดยการดาเนิ นงานต่าง ๆ สอดคล้อง กับข้อกฎหมาย กฎ ระเบี ยบ แลข้อบังคับที่ เกี่ ยวข้องกับบริ ษทั นอกจากนี้ ยงั มี กระบวนการติ ดตามผลการ ดาเนิ นงานผ่านระบบการตรวจติดตามระบบคุณภาพ และสิ่ งแวดล้อมภายในบริ ษทั ตามมาตรฐานสากล ISO 9001:2008 และ ISO 14001 : 2004 อย่างต่อเนื่อง จากการพิ จ ารณาสาระส าคัญ ของการประเมิ น ความเพี ย งพอของระบบควบคุ ม ภายในดัง กล่ า วข้า งต้น คณะกรรมการบริ ษทั เชื่ อมัน่ ว่า ระบบการควบคุ มภายในของบริ ษทั มี ความเพียงพอ และเหมาะสมกับการ ดาเนินธุ รกิจ มีความโปร่ งใสในการดาเนินการ และส่ งเสริ มประสิ ทธิ ผลของการประกอบกิจการที่ยงั่ ยืน ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 117


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 รายการระหว่างกัน

รายการระหว่างกัน

11.1 รายละเอียดของรายการระหว่างกัน บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยมีรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ซึ่ งผูส้ อบบัญชีได้ระบุไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินประจาปี สิ้ นสุ ด โดยมีรายละเอียดประเภทรายการดังต่อไปนี้ นิตบิ ุคคลทีอ่ าจ มีความขัดแย้ ง การประปาส่วนภูมิภาค (The Provincial Waterworks Authority) (“กปภ.”)

ลักษณะความสัมพันธ์ - กปภ. เป็ นผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ของ บริ ษัท ฯ โดย วัน ที่ 31 ธันวาคม 2554 กปภ. ถือหุ ้นใน สัดส่วนร้อยละ 40.20 ของทุนจด ทะเบียนที่ชาระแล้วของบริ ษทั ฯ

ลักษณะของรายการ ปริ มา รายการ ปริ มา น้ าดิบที่จาหน่าย (ล้าน ลบ.ม.) มูลค่าที่จดั จาหน่าย (ล้านบาท)

ปริ มา น้ าประปาจา วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2554 หน่าย (ล้าน ลบ.ม.) กปภ. และบริ ษทั มีกรรมการบาง มูลค่าที่จดั จาหน่ายน้ าประปา ท่านร่ วมกัน คือ นายวิเชียร อุดม (ล้านบาท) รัตนะศิลป์

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ปริมาณและ มูลค่ าของรายการ

ความจาเป็ น/หมายเหตุ

วันที่ 31 ธันวาคม 2554

นโยบายในการกาหนดราคา

บริ ษทั ฯ จาหน่ ายน้ าดิ บให้กบั กปภ. ใน 67.71 พื้ น ที่ ห นองค้อ -แหลมฉบั ง - พัท ยา บางพระ และพื้ น ที่ ด อกกราย- มาบตา 589.74 พุด- สัตหี บ

-บริ ษทั ฯ จาหน่ ายน้ า ดิ บให้กับ กปภ. ใน อัตราเดียวกับที่จาหน่ายน้ าให้กบั ผูใ้ ช้น้ าเพื่อ การอุ ป โภคบริ โ ภครายอื่ น ๆ และมี การท า สัญญาที่เป็ นลายลักษ ์อกั ษรที่ ชดั เจน หรื อ ในราคาปรั บลดตามมติ ที่ประชุ มวิสามัญ ผู ้ ถือหุ ้น ทั้งนี้ ในการออกเสี ยงลงมติเกี่ ยวกับ 0.89 บริ ษ ทั ฯจาหน่ า ยน้ า ประปาให้กับ กปภ อัตราค่าน้ า กรรมการหรื อผูถ้ ื อหุ ้นที่ มีส่วน 49.70 ในพื้นที่เกาะสมุย ได้ส่ ว นเสี ย จะไม่ มี สิ ท ธิ ใ นการออกเสี ย ง ลงคะแนน -บริ ษ ัท จ าหน่ า ยน้ า ประปาให้กับ กปภ.ใน ราคาตามที่ ต กลงร่ ว มกัน ตามที่ ร ะบุ ไ ว้ใ น สัญญา

ส่วนที่ 2 หน้า 118


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) นิตบิ ุคคลทีอ่ าจ มีความขัดแย้ ง การนิคมอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (The Industrial Estate Authority of Thailand) (“กนอ.”)

ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะของรายการ

- กนอ. เป็ นผูถ้ ือหุ ้นรายหนึ่ งของ ปริ มา รายการ บ ริ ษั ท ฯ โ ด ย วั น ที่ 3 1 ปริ มา น้ าดิบที่จาหน่าย ธันวาคม 2554 กนอ. ถือหุ ้นใน (ล้าน ลบ.ม.) สัดส่ วนร้ อยละ 4.57 ลง ทุ น จด ทะเบียนที่ชาระแล้วของบริ ษทั ฯ - นางม ฑา ประ ุทนรพาล เป็ น มูลค่าที่จดั จาหน่าย ผูว้ า่ การ และเป็ นกรรมการบริ ษทั (ล้านบาท)

ส่วนที่ 2 รายการระหว่างกัน ปริมาณและ มูลค่ าของรายการ

ความจาเป็ น/หมายเหตุ

บริ ษทั ฯ จาหน่ ายน้ าดิ บให้กบั กนอ. ใน พื้ น ที่ ห นองค้อ -แหลมฉบั ง - พัท ยา 85.74 บางพระ และพื้ น ที่ ด อกกราย- มาบตา พุด- สัตหี บ

793.06

นโยบายในการกาหนดราคา บริ ษัทฯ จาหน่ายน ้าดิบให้ กบั กนอ. ในอัตรา เดียวกับที่จาหน่ายน ้าให้ กบั ผู้ใช้ น ้าประเภท นิ ค มอุต สาหกรรมรายอื่ น ๆ และมี ก ารท า สัญญาที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษรที่ชดั เจน หรื อ ในราคาปรับลดตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ ถือหุ้น ทังนี ้ ้ ในการออกเสียงลงมติเกี่ยวกับ อัตราค่าน ้าและการเปลีย่ นแปลงอัตราค่าน ้า ที่บริ ษัทฯ จาหน่ายให้ กบั กนอ. กรรมการหรื อผูถ้ ือหุน้ ที่มีส่วนได้ส่วนเสี ยจะ ไม่มีสิทธิในการออกเสี ยงลงคะแนน

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 119


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 รายการระหว่างกัน

นิตบิ ุคคลทีอ่ าจ ปริมาณและ ลักษณะความสัมพันธ์ ลักษณะของรายการ มีความขัดแย้ ง มูลค่ าของรายการ กปภ. และบริ ษทั ยูนิเวอร์ UU เป็ นบริ ษทั ย่อยที่บริ ษทั ฯ ถือ รายได้จาหน่ายน้ าประปา แซล ยูทีลิต้ ีส์ จากัด (“UU”) หุ ้ น อยู่ ใ นสั ด ส่ วนร้ อ ยละ 100 ประปาบางปะกง – ล้าน ลบ.ม. 10.30 ของทุน จดทะเบียนที่ชาระ - ล้านบาท 111.57 แล้วของบริ ษทั ดังกล่าว ประปาฉะเชิงเทรา – ล้าน ลบ.ม. 10.27 - ล้านบาท 117.97 ประปานครสวรรค์ – ล้าน ลบ.ม. 3.41 - ล้านบาท 39.13 ประปาระยอง - ล้าน ลบ.ม. 16.69 -ล้านบาท 171.32 ประปาชลบุรี - ล้าน ลบ.ม. 7.96 -ล้านบาท 80.67 รายได้จากการให้บริ การของ UU แก่ กปภ. (ล้านบาท)

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ความจาเป็ น/หมายเหตุ

นโยบายในการกาหนดราคา

เป็ นรายการที่ UU จาหน่ ายน้ าประปา UU จ าหน่ า ยน้ าประปา ให้ แ ก่ กปภ. โดย ให้แ ก่ กปภ. ตามสัญ ญาสั ม ปทานของ ราคาค่าน้ าและวิธีการปรับอัตราค่าน้ าเป็ นไป บริ ษทั ประปาฉะเชิ งเทรา บริ ษทั ประปา ตามเงื่อนไขสัญญาสัมปทาน บางปะกง บริ ษทั ประปานครสวรรค์ การ ประปาระยอง และการประปาชลบุรี

UU ให้บริ การแก่ กปภ. โดยถือตามราคาที่ 79.07 เป็ นรายการที่ UU ให้บริ การแก่ กปภ. ระบุไว้ในสัญญา เช่ น โครงการลดน้ า สู ญ เสี ย ตามสัญ ญา สัมปทานของบริ ษทั ประปาฉะเชิ งเทรา บริ ษั ท ประปาบางปะกงและบริ ษั ท ประปานครสวรรค์

ส่วนที่ 2 หน้า 120


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) นิตบิ ุคคลทีอ่ าจ ลักษณะความสัมพันธ์ มีความขัดแย้ ง บมจ.ผลิ ตไฟฟ้ า (Egcomp) ESCO ซึ่ ง เป็ นบริ ษ ัท ย่อ ยของ และบริ ษทั ยูนิเวอร์ แซล ยูที Egcomp และบริ ษ ัท ฯ ถื อ หุ ้ น ลิต้ ีส์ จากัด (“UU”) ในบจ.เอ็กคอมธารา ในสัดส่ วน ร้ อ ย ล ะ 7 4 . 1 9 แ ล ะ 1 5 . 8 8 ตามลาดับ โดยบริ ษทั ถือหุ ้นใน UU ร้อยละ 100

ส่วนที่ 2 รายการระหว่างกัน

ปริมาณและ ความจาเป็ น/หมายเหตุ นโยบายในการกาหนดราคา มูลค่ าของรายการ รายได้บริ การจ้างผลิตน้ าประปา 56.09 เป็ นรายการที่ UU ให้บริ การแก่ บจ.เอ็ก เป็ นราคาตามสัญญาทางธุรกิจระหว่างกัน แ ละ บ ารุ ง รั กษ าร ะ บ บ ผ ลิ ต คอมธารา ในสัญญาจ้า งผลิ ตน้ าประปา ทัว่ ไป น้ าประปา แก่ บจ เอ็กคอมธารา และบารุ งรักษาระบบผลิตน้ าประปา และ (ล้านบาท) ท่อส่งน้ าประปา ลักษณะของรายการ

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 121


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่วนที่ 2 รายการระหว่างกัน

11.2 ขั้นตอนอนุมัติการทารายการระหว่างกัน ในการดาเนิ นธุ รกิ จของบริ ษ ทั ฯ จะเกิ ดรายการระหว่า งกันระหว่างบริ ษทั ฯ กับบุ คคลที่ อาจมี ความ ขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ อย่า งต่ อเนื่ อง เพื่ อเป็ นการคุ ้ม ครองผูล้ งทุ น ในกร ี ที่ มี ก ารท ารายการประเภท ดังกล่าว ที่ประชุมค ะกรรมการบริ ษทั ฯ ซึ่ งมีกรรมการตรวจสอบและกรรมการที่เป็ นอิสระเข้าร่ วมประชุ ม ด้วย จะเป็ นผูพ้ ิจาร าและอนุ มตั ิ รายการที่ อาจก่อให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อให้มนั่ ใจได้ว่า รายการประเภทดังกล่าวมีความสมเหตุสมผล ยุติธรรม และมีนโยบายในการกาหนดราคาที่เหมาะสม โดย กรรมการผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยจะไม่มีสิทธิ ออกเสี ยงในรายการประเภทดังกล่าว บริ ษทั ฯ จะดาเนิ นการเปิ ดเผย ชนิ ด มูลค่า และเหตุผลของการทารายการดังกล่าวทั้งในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และรายงานประจาปี เพื่อให้ผถู ้ ือหุ น้ และผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยอื่นๆ พิจาร าความสมเหตุสมผลในการทารายการ 11.3 นโยบายและแนวโน้ มในการทารายการระหว่างกัน บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ในเครื อยังคงมีนโยบายหรื อแนวโน้มในการทารายการระหว่างกันในลักษ ะที่เป็ น การดาเนิ นธุ รกิ จทัว่ ไป ในกร ี ที่บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ในเครื อเห็ นว่าจะได้รับผลตอบแทนที่เหมาะสมและ เป็ นไปในราคาและเงื่อนไขทัว่ ไปที่ไม่แตกต่างจากบุคคลภายนอก โดยในการทารายการระหว่างกันกับบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริ ษทั ฯ จะปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฯ ข้อบัง คับ ประกาศ ค าสั่ ง หรื อข้อก าหนดของตลาดหลัก ทรั พ ย์แห่ ง ประเทศไทย และของส านัก งาน ค ะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนถึงมาตรฐานการบัญชีที่กาหนดโดยสมาคมนัก บัญชี และผูส้ อบบัญชี รับ อนุ ญาตแห่ ง ประเทศไทยในเรื่ องของรายการระหว่า งกันอย่างเคร่ งครั ด รวมถึ ง พิจาร าถึงความสมเหตุสมผลของการทารายการ

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 122


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

12. ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 12.1 งบการเงิน 12.1.1 สรุ ปรายงานการสอบบัญชี 1) สรุ ปรายงานการตรวจสอบของผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตในระยะ 3 ปี ที่ผา่ นมา ผูส้ อบบัญชี ได้ให้ความเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินของบริ ษทั ฯ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะ การเงินของบริ ษทั ฯ ผลการดาเนินงานรวมและผลการดาเนินงานของบริ ษทั และกระแสเงินสดรวมและ กระแสเงินสดของบริ ษทั โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป 2) ตารางสรุ ปฐานะการเงินและผลการดาเนินงานเปรี ยบเทียบ 3 ปี ( 2552 -2554) เนื่ องจากบริ ษทั ฯ เป็ นบริ ษทั จดทะเบี ยนในตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย ผูล้ งทุนสามารถดูงบการเงิ น ล่าสุ ดของบริ ษทั ฯ ได้จาก Website ของสานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. (www.sec.or.th) หรื อ ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (www.set.or.th) หรื อดูได้จาก Website ของบริ ษทั ฯ (www.eastwater.com) โดยสามารถดูสรุ ปรายละเอียดฐานะการเงินและผลการดาเนินงานได้ดงั ตารางต่อไปนี้

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 123


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

ก) งบแสดงฐานะการเงินเปรี ยบเทียบ 3 ปี

รายการ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2554

2553 (ปรับปรุ งใหม่ )

2552

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท

%

พันบาท

%

พันบาท

%

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้ อื่น รายได้ค่างานลดน้ าสู ญเสี ยรอรับชาระจาก กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์โครงการ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายสุทธิ รวมสินทรัพย์ หมุนเวียน

128,690 95,000 417,583

1.19 0.88 3.87

442,884 375,055

4.48 3.79

124,569 311,365

1.36 3.40

10,133 7,879 39,834

0.10 0.07 0.37

16,613 9,559 20,107

0.17 0.10 0.20

26,625 9,284 646,486 46,555

0.29 0.10 7.08 0.51

34,657 733,776

0.32 6.80

864,218

8.74

1,164,884

12.74

91,470 217,160 8,372,710 456,006

0.86 2.01 77.64 4.23

2,076 91,470 230,466 7,537,824 429,079

0.02 0.93 2.33 76.26 4.34

9,076 85,388 6,775,830 390,518

0.10 0.93 74.07 4.27

541,774 169,573 23,063

5.02 1.57 0.21

542,318 143,899 13,973

5.49 1.45 0.14

556,752 152,248 -

6.09 1.66 -

178,940

1.66

29,249

0.30

13,082

0.14

10,050,696

93.20

9,020,354

91.26

7,982,894

87.26

10,784,472

100.00

9,884,572

100.00

9,147,778

100.00

สินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ าประกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน – สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ สิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน-สุทธิ ต้นทุนการได้มาซึ่ งสิ ทธิในสัมปทาน รอตัดบัญชี - สุทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุทธิ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน

รวมสินทรัพย์

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 124


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

รายการ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 (ปรับปรุ งใหม่ )

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท

%

พันบาท

%

%

พันบาท

ก) งบแสดงฐานะการเงินเปรี ยบเทียบ 3 ปี (ต่อ) หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนีส้ ินหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

33,000

0.31

552,588

5.59

369,000

4.03

เจ้าหนี้การค้า

105,664

0.98

137,556

1.39

65,594

0.72

เจ้าหนี้จากการซื้ อสิ นทรัพย์ถาวร

183,599

1.70

150,791

1.53

71,370

0.78

2,382

0.02

2,824

0.03

2,949

0.03

620,996

5.76

373,406

3.78

187,755

2.05

192,792

1.79

133,787

1.35

140,261

1.53

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

82,739

0.77

119,240

1.21

181,706

1.99

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

45,436

0.42

41,794

0.42

15,121

0.17

1,266,608

11.75

1,511,986

15.30

1,033,756

11.30

2,325

0.02

2,482

0.03

1,308

0.01

2,325,025

21.56

1,632,407

16.51

1,727,813

18.89

หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี

37,915

0.35

43,285

0.44

-

-

ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน

64,958

0.60

-

-

-

-

151,440

1.40

106,804

1.08

41,185

0.45

รวมหนีส้ ินไม่ หมุนเวียน

2,581,663

23.93

1,784,978

18.06

1,770,306

19.35

รวมหนีส้ ิน

3,848,271

35.68

3,296,964

33.36

2,804,062

30.65

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน-ส่ วนที่ถึง กาหนดชาระภายในหนึ่ งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย

รวมหนีส้ ิ นหมุนเวียน หนีส้ ินไม่ หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 125


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

รายการ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 (ปรับปรุ งใหม่ )

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท

%

พันบาท

%

พันบาท

%

ก) งบแสดงฐานะการเงินเปรี ยบเทียบ 3 ปี (ต่อ) ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียน

1,663,725

15.43

1,663,725

16.83

1,663,725

18.19

ทุนที่ออกและชาระแล้ว

1,663,725

15.43

1,663,725

16.83

1,663,725

18.19

ส่วนเกินมูลค่าหุ ้น

2,138,522

19.83

2,138,522

21.63

2,138,522

23.37

166,500

1.54

166,500

1.68

166,500

1.82

2,929,183

27.16

2,577,526

26.08

2,330,480

25.48

35,152

0.33

38,550

0.39

41,948

0.46

3,119

0.03

2,785

0.03

2,541

0.03

6,936,201

64.32

6,587,608

66.64

6,343,716

69.35

รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น

10,784,472

100.00

9,884,572

100.00

9,147,778

100.00

มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท/หุ้น)

4.17

3.96

3.81

1

1

1

1,663,725,149

1,663,725,149

1,663,725,149

กาไรสะสม จัดสรรแล้ว-สารองตามกฏหมาย ยังไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอื่นของส่วนผูถ้ ือหุ้น ส่วนของผูถ้ ือหุ้นส่วนน้อย รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น

มูลค่าที่ตราไว้ (บาท/หุ้น) จานวนหุ้นสามัญปลายงวด (หุ้น)

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 126


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

ข) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จเปรี ยบเทียบ 3 ปี

รายการ

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2553(ปรับปรุ งใหม่)

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2552

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท

%

พันบาท

%

พันบาท

%

รายได้ รายได้จากการขายน้ าดิบ

2,261,016

68.31

2,117,502

45.29

1,904,364

66.16

765,849

23.14

716,233

15.32

635,933

22.09

รายได้จากการขายตูน้ ้ าและน้ าดื่ม

-

-

-

-

3,245

0.11

รายได้จากการขายสิ นทรัพย์โครงการ

-

-

1,567,290

33.53

-

-

223,519

6.75

232,266

4.97

282,364

9.81

59,652

1.80

41,508

0.89

52,589

1.83

3,310,036

100.00

4,674,799

100.00

2,878,495

100.00

ต้นทุนขายน้ าดิบ

770,789

23.29

811,217

17.35

687,921

23.90

ต้นทุนขายน้ าประปา

433,505

13.10

404,592

8.65

331,249

11.51

ต้นทุนขายตูน้ ้ าและน้ าดื่ม

-

-

-

-

688

0.02

ต้นทุนจากการขายสิ นทรัพย์โครงการ

-

-

1,507,455

32.25

-

-

ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริ การ

192,932

5.83

210,958

4.51

239,889

8.33

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร

368,062

11.12

325,481

6.96

346,699

12.05

และสิ่ งแวดล้อม

33,555

1.01

34,604

0.74

21,650

0.75

ต้นทุนทางการเงิน

78,476

2.37

89,808

1.92

120,116

4.17

424,694

12.83

378,551

8.10

322,572

11.21

รวมค่าใช้ จ่าย

2,302,013

69.55

3,762,666

80.48

2,070,784

71.94

กาไรสุ ทธิสาหรับปี

1,008,023

30.45

912,133

19.52

807,711

28.06

รายได้จากการขายน้ าประปา

รายได้ค่าเช่าและค่าบริ การ รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้ จ่าย

ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาคุณภาพชีวิต

ภาษีเงินได้

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 127


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

รายการ

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2553(ปรับปรุ งใหม่)

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2552

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

ตรวจสอบแล้ว

พันบาท

%

พันบาท

%

พันบาท

%

ข) งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็ จเปรี ยบเทียบ 3 ปี (ต่ อ) กาไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอืน่ : ตัดจาหน่ายทรัพย์สินที่ได้รับโอนจากลูกค้า

(3,398)

(0.10)

(3,398)

(0.07)

(3,398)

(0.12)

(3,398)

(0.10)

(3,398)

(0.07)

(3,398)

(0.12)

กาไรเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี การแบ่ งปันกาไรสุ ทธิ ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ้นส่ วนใหญ่ ส่วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม

1,004,625

30.35

908,735

19.44

804,313

27.94

1,007,549 474

30.44 0.01

911,749 384

19.50 0.01

807,270 441

28.04 0.02

กาไรสุ ทธิสาหรับปี

1,008,023

30.45

912,133

19.51

807,711

28.06

ขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี – สุทธิจากภาษี

0.00

การแบ่ งปันกาไรเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ้นบริ ษทั ใหญ่

0.00

0.00

1,004,151

30.34

908,352

19.43

803,839

27.93

474

0.01

384

0.01

474

0.02

กาไรเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี

1,004,625

30.35

908,736

19.44

804,313

27.94

กาไรสะสมยังไม่ ได้จัดสรรยกมา

2,577,526

2,330,480

2,105,496

(40,333)

(32,508)

-

(615,559)

(632,195)

(582,286)

1,921,634

1,665,777

1,523,210

1,007,549

911,749

807,270

กาไรสะสมยังไม่ได้จดั สรรยกไป

2,929,183

2,577,526

2,330,480

จัดสรรแล้ว-สารองตามกฎหมาย

166,500

166,500

166,500

3,095,683

2,744,026

2,496,980

กาไรสุ ทธิต่อหุ้น

0.61

0.55

0.49

มูลค่าที่ตราไว้ (บาท/หุ้น)

1.00

1.00

1.00

1,663,725,149

1,663,725,149

1,663,725,149

ส่วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม

หัก

รายการปรับปรุ งของงวดก่อน จ่ายเงินปันผล

บวก

กาไรสุทธิ ประจาปี

กาไรสะสม

จานวนหุ้นสามัญปลายงวด (หุ้น)

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 128


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

2554

2553

2552

1,432,717

1,290,684

1,130,283

-

-

16,790

552

1,645

-

ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์อื่น

-

-

840

ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนระยะยาว

-

-

90

(2,199)

(55)

(45,226)

-

11

-

915

(22)

(471)

-

-

(10,681)

320,646

369,733

305,837

27,017

26,744

25,906

8,349

8,349

8,349

(3,398)

(3,398)

(3,398)

4,619

11,467

6,581

144

515

-

7,984

-

-

รายได้เงินปันผลรับ

(18,246)

(17,267)

(18,506)

ดอกเบี้ยรับ

(12,352)

(3,162)

(2,038)

76,951

88,473

119,690

1,843,699

1,773,717

1,534,046

ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรี ยบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ ว) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กาไรก่อนภาษีเงินได้ นิติบุคคล รายการปรับกระทบกาไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็ นเงินสดรับ(จ่ าย)จากกิจกรรมดาเนินงาน ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์

ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ (โอนกลับ) ค่าตัดจาหน่ ายสิ นค้าคงเหลือ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ (โอนกลับ) โอนกลับประมาณการหนี้สิน ค่าเสื่ อมราคา ค่าตัดจาหน่ ายต้นทุนการได้มาซึ่ งสิ ทธิ ในสัมปทาน ค่าสิ ทธิตดั จาหน่าย รายได้จากการตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ที่ได้รับโอนจากลูกค้า ขาดทุนจากการจาหน่าย/ตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ถาวร ขาดทุนจากการตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน

ดอกเบี้ยจ่ายและตัดจาหน่ ายดอกเบี้ยภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน กำไรจำกกำรดำเนินงำนก่อนกำรเปลีย่ นแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สิน

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 129


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 2554

2553

2552

(43,442)

509

(70,938)

รายได้ค่างานลดน้ าสูญเสี ยรอรับชาระจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

6,479

10,012

23,558

สิ นค้าคงเหลือ

1,680

(287)

46,411

-

646,487

-

(17,206)

(51,504)

(13,493)

(154,501)

(16,167)

(5,408)

เจ้าหนี้ การค้า

(31,891)

35,316

(1,929)

ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

(36,500)

8,358

37,883

3,325

(5,703)

(11,981)

44,635

65,619

3,784

เงินสดได้มำจำกกิจกรรมดำเนินงำน

1,618,832

2,468,910

1,544,485

จ่ายภาษีเงินได้

(363,508)

(388,221)

(320,728)

เงินสดสุ ทธิได้ มำจำกกิจกรรมดำเนินงำน

1,252,770

2,078,136

1,221,205

(95,000)

-

-

-

-

83,584

เงืนสดจ่ายเพื่อซื้ อสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย

(122)

-

-

เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้าประกัน

2,076

7,000

-

-

-

261,010

18,246

17,267

26,593

-

(6,083)

-

(318)

(6,354)

-

11,900

3,131

3,167

215

1,365

2,820

ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรี ยบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ ว) (ต่ อ) การเปลีย่ นแปลงในสินทรัพย์ดาเนินงาน (เพิม่ ขึน้ ) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

สิ นทรัพย์โครงการ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น การเปลีย่ นแปลงในหนีส้ ินดาเนินงานเพิม่ ขึน้ (ลดลง)

หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจ่ายเพื่อซื้ อเงินลงทุนชัว่ คราว เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนชัว่ คราว

เงินสดรับจากการขายหลักทรัพย์โดยมีสญ ั ญาซื้ อคืน เงินปันผลรับจากบริ ษทั ย่อยและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดจ่ายเพื่อซื้ อเงินลงทุนระยะยาว เงินสดจ่ายเพื่อซื้ ออสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดรับจากดอกเบี้ย เงินสดรับจากการจาหน่ ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 130


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน ค) งบกระแสเงินสดรวมเปรี ยบเทียบ 3 ปี (ตรวจสอบแล้ ว) (ต่ อ)

2554

2553

2552

(1,058,004)

(1,268,069)

(300,048)

เงินสดจ่ายเพื่อซื้ อสิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน

(86,817)

(39,742)

(43,228)

เงินสดจ่ายเพื่อการได้มาซึ่ งสิ ทธิ ในสัมปทาน

(30,818)

(7,116)

(48,411)

เงินสดจ่ายเพื่อซื้ อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน

(19,230)

-

-

(1,257,872)

(1,298,601)

(14,513)

เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น

33,000

183,588

361,500

จ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

(552,588)

-

-

เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

1,488,000

278,000

364,500

เงินสดจ่ายคืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน

(547,792)

(187,756)

(1,195,716)

(2,418)

(3,254)

(4,096)

เงินสดจ่ายค่าดอกเบี้ย

(76,809)

(89,679)

(127,974)

เงินสดจ่ายค่าดอกเบี้ยที่ต้ งั ขึ้นเป็ นทุน

(35,059)

(9,784)

-

(615,426)

(632,335)

(582,402)

เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมจัดหำเงิน

(309,092)

(461,220)

(1,184,188)

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดต้ นปี

(314,194) 442,884

318,315 124,569

22,504 102,065

128,690

442,884

124,569

32,808

79,421

45,701

1,268

-

-

33,548

-

-

-

-

4,287

เงินสดจ่ายซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

เงินสดจ่ายชาระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

เงินปันผลจ่ายแก่ผถู้ ือหุ้น

เงินสดและรำยกำรเทียบเท่ ำเงินสดปลำยปี ข้ อมูลกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิม่ เติม รายการที่ไม่ เกีย่ วข้ องกับกระแสเงินสด การซื้อทรัพย์สินโดยการก่อหนี้สินเพิ่มขึ้น (ลดลง)สุทธิ โอนที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย โอนสิ นทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาสัมปทานเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย โอนเปลี่ยนประเภทจากอุปกรณ์เป็ นสิ นทรัพย์โครงการ

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 131


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

12.2 รำยงำน และวิเครำะห์ ผลกำรดำเนินงำนของบริษทั ประจำปี 2554 (**กำรวิเครำะห์ ผลกำรดำเนินงำนปี 2554 ได้ ทำกำรวิเครำะห์ โดยแยกรำยกำรพิเศษโครงกำรอ่ ำงเก็บนำ้ ประ แสร์ ที่เกิดขึน้ ในปี 2553 ออกไปเนื่องจำกรำยกำรดังกล่ ำวทำให้ รำยได้ และกำไรเพิ่มขึน้ อย่ ำงมีนัยสำคัญ ทั้งนี ้ เพื่ อให้ ก ำรวิ เครำะห์ ผลกำรดำเนิ นงำนเป็ นกำรเปรี ย บเที ย บผลกำรดำเนิ นงำนที่ เกิ ดขึ น้ ตำมปกติ ได้ อย่ ำง ชัดเจนขึน้ ) 1. ภาพรวมผลการดาเนินงานรวม และการวิเคราะห์ งบการเงินรวม ในภาพรวมผลการดาเนินงานประจาปี 2554 บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย มีรายได้รวมทั้งสิ้ น 3,310.04 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจานวน 202.53 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 6.52 โดยมีกาไรสุ ทธิ รวมทั้งสิ้ น 1,008.02 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจานวน 140.96 ล้านบาท หรื อร้อยละ16.26 เมื่อเปรี ยบเทียบปี 2553 ซึ่ งในภาพรวมอยูใ่ นเกณฑ์ดี โดย แยกวิเคราะห์ในรายละเอียดได้ ดังนี้ 1. การวิเคราะห์ งบการเงินรวม ตารางแสดงผลการดาเนินงานของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยประจาปี 2554 เปรี ยบเทียบ กับ 2553 เพิม่ (ลด) หน่ วย: ล้ านบาท 2554 2553** ล้ านบาท % 1

ปริ มาณน้ าดิบจาหน่าย (ล้านลบ.ม.)

261.55

244.88

16.67

6.81

2

ปริ มาณน้ าประปาจาหน่าย (ล้านลบ.ม.)

62.67

58.91

3.76

6.38

3

รายได้จากการขายน้ าดิบ

2,261.02

2,117.50

143.52

6.78

4

รายได้จากการขายน้ าประปา

765.85

716.23

49.62

6.93

5

รายได้ค่าเช่าและค่าบริ การและรายได้อื่น**

283.17

273.77

9.40

3.43

6

รวมรายได้**

3,310.04

3,107.51

202.53

6.52

7

รวมต้นทุนขายและค่าใช้จ่าย**

1,798.84

1,786.85

11.99

0.67

8

กาไร(ขาดทุน)ก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้**

1,511.19

1,230.85

280.34

22.77

9

กาไร(ขาดทุน)สุทธิ**

1,008.02

867.06

140.96

16.26

** ปี 2553 หั กรำยกำรพิเศษโครงกำรอ่ ำงเก็บนำ้ ประแสร์ ซึ่งประกอบด้ วย รำยได้ จำกกำรขำยสิ นทรั พย์โครงกำร จำนวน 1,567.29 ล้ ำนบำท ต้ นทุน จำกกำรขำยสิ นทรั พย์โครงกำรจำนวน 1,507.46 ล้ ำนบำท กำไรก่ อนดอกเบีย้ จ่ ำยและภำษีเงินได้ จำนวน 59.83 ล้ ำนบำท กำไรสุทธิ จำนวน 41.88 ล้ ำนบำท (กำไรสุทธิ หลังหั กภำษี 30%)

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 132


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

1.1 งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 1.1.1 รายได้ ในปี 2554 ปริ มาณน้ าดิบจาหน่ายรวม 261.51 ล้านลบ.ม.เพิม่ ขึ้นจานวน 16.67 ล้านลบ. ม. หรื อคิดเป็ นร้อยละ 6.81 โดยปริ มาณน้ าดิบจาหน่ ายที่เพิ่มขึ้นส่ วนใหญ่มาจากโครงข่ายท่อส่ งน้ า หนองปลาไหล-มาบตาพุด ซึ่ งมีลูกค้าที่ใช้น้ าปริ มาณมากถึ ง 86.17 ล้านลบ.ม. เพิ่มขึ้นจานวน 13.96 ล้านลบ.ม.หรื อคิดเป็ น ร้อยละ 16.20 ทั้งนี้ เป็ นไปตามการเจริ ญเติบโตของอุตสาหกรรมปิ โตรเคมีของ ลูกค้าในพื้นที่ระยอง ส่ วนปริ มาณน้ าประปาจาหน่ายรวม 62.67 ล้านลบ.ม.เพิ่มขึ้นจานวน 3.76 ล้าน ลบ.ม. หรื อคิดเป็ นร้อยละ 6.38 โดยสัดส่ วนที่เพิ่มขึ้นมาจากประปาชลบุรีซ่ ึ งเริ่ มจาหน่ายตั้งแต่เดือน เมษายน ปี 2553 ดังนั้นรายได้จากการขายน้ าดิ บและน้ า ประปาจึ งเพิ่มขึ้ นตามปริ มาณน้ าจาหน่ า ย ดังกล่าว ส่ วนรายได้จากค่าเช่ าและบริ การ ประกอบด้วยค่าเช่ าและบริ การของอาคารอีสวอร์ เตอร์ ซ่ ึ ง ปั จจุบนั มีอตั ราการให้เช่า (Occupancy rate) เต็ม 100% และมีการทยอยปรับค่าเช่าเพิ่มขึ้นสาหรับผูเ้ ช่า ที่ ค รบก าหนดตามสั ญญา และอี ก ส่ วนหนึ่ ง คื อ รายได้ค่ าบริ การของบริ ษทั ย่อยที่ ล ดลงเนื่ องจาก สัญญาให้บริ การลดน้ าสู ญเสี ยในระบบประปาที่กาลังจะหมดอายุลง และบางโครงการมีการเลื่อนไปปี 2555 เนื่องจากอุทกภัยในปลายปี 2554 หน่ วย:ล้ านบาท รายได้รวม** ต้นทุนขาย** กาไรขั้นต้น** ค่าใช้จ่ายขายและบริ หาร** EBIT** ต้นทุนทางการเงิน EBT** ภาษีเงินได้** กาไรสุทธิ**

2554 3,310.04 1,397.22 1,912.81 401.62 1,511.19 78.48 1,432.72 424.69 1,008.02

% 100 42 58 12 46 2 44 13 31

2553**

%

3,107.51 1,422.30 1,685.21 364.55 1,320.66 89.81 1,230.85 363.79 867.06

100 46 54 12 43 3 40 12 28

1.**ปี 2553 หักรำยกำรพิเศษโครงกำรอ่ ำงเก็บนำ้ ประแสร์ ประกอบด้วย รำยได้จำกกำรขำยสิ นทรั พย์โครงกำร จำนวน 1,567.29 ล้ ำนบำท ต้ นทุนจำกกำรขำยสิ นทรั พย์โครงกำรจำนวน 1,507.46 ล้ ำนบำท กำไรก่ อนดอกเบีย้ จ่ ำยและ ภำษีเงินได้ จำนวน 59.83 ล้ ำนบำท กำไรสุทธิ จำนวน 41.88 ล้ ำนบำท (กำไรสุทธิ หลังหั กภำษี 30%)

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 133


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

1.1.2 ต้ นทุนขาย จากตารางแสดงโครงสร้างต้นทุนขายเป็ นสัดส่ วนต่อรายได้รวม ปี 2554 เปรี ยบเทียบกับ ปี 2553 จะ เห็นว่าต้นทุนขายปี 2554 คิดเป็ นสัดส่ วนต่อรายได้รวมลดลง จากร้อยละ 46 เป็ นร้อยละ 42 ทั้งนี้เกิด จาก 3 สาเหตุหลักได้แก่ 1) ต้ นทุนค่ าไฟฟ้า (คิดเป็ นร้อยละ 36 ของต้นทุนรวม) ลดลงเนื่องจากปริ มาณน้ าในอ่างเก็บน้ า บางพระมากกว่าคาดการณ์และเพียงพอต่อความต้องการ จึงสามารถลดค่าไฟฟ้ าที่ตอ้ งใช้ในการสู บน้ า จากแม่น้ าบางปะกงไปอ่างเก็บน้ าบางพระ 2) ต้ น ทุ น น้ า ดิ บ (คิ ด เป็ นร้ อ ยละ19 ของต้น ทุ น รวม) ลดลงจากการลดการซื้ อ น้ าจาก บริ ษทั เอกชนรายหนึ่งสาหรับพื้นที่จ่ายน้ าชลบุรี เนื่ องจากสภาวะแหล่งน้ าที่มีปริ มาณน้ าในอ่างเก็บน้ า มากกว่าเกณฑ์ปกติ 3) ค่ าเสื่ อมราคา (คิดเป็ นร้อยละ 28 ของต้นทุนรวม) เนื่องจากการปรับประมาณการอายุการใช้ งานของสิ นทรัพย์เพิม่ ขึ้นในกลุ่มของเครื่ องสู บน้ า ตามมาตรฐานการบัญชีใหม่ ซึ่ งประเมินมูลค่าการ ใช้งานของสิ นทรัพย์เพิ่มขึ้นตามลักษณะการใช้งานจริ ง ทาให้ค่าเสื่ อมราคาลดลงจานวน48.3 ล้านบาท 1.1.3 ค่ าใช้ จ่ายขายและบริหาร ในปี 2554 บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย มีค่าใช้จ่ายขายและบริ หารเป็ นสัดส่ วนต่อรายได้รวมประมาณ ร้อย ละ 12 โดยในปี 2554ที่ผา่ นมาบริ ษทั ฯมีนโยบายในการทาศึกษาธุ รกิจใหม่ โดยทาการศึกษาความ เป็ นไปได้ของโครงการ (feasibility study) เพื่อรองรับการเตรี ยมขยายธุ รกิจน้ าเสี ยและการบริ หาร จัดการด้านสิ่ งแวดล้อมของกลุ่มบริ ษทั โดยใช้เงินทุนประมาณ 17.45 ล้านบาท รวมทั้งมีค่า ประชาสัมพันธ์บริ ษทั ในการจัดงาน 109 ปี ของกรมชลประทาน ประมาณ 10 ล้านบาท นอกจากนี้ บริ ษทั ฯได้ให้ความสาคัญกับโครงการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility-CSR) และเตรี ยมงบประมาณในส่ วนนี้ประมาณ ร้อยละ 1 ของรายได้รวม โดย กิจกรรมได้จดั ขึ้นทั้งด้านพัฒนาชุมชน ด้านน้ าและสิ่ งแวดล้อม ด้านพัฒนาเยาวชน และด้านกีฬา ศาสนา วัฒนธรรม โดยกิจกรรมในปี 2554 ที่ผา่ นมาได้แก่  นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ “84 พรรษา ดวงใจราษฎร์ ปราชญ์แห่งน้ า”  โครงการออกให้บริ การรถน้ าดื่มเคลื่อนที่รวมประมาณ 97,770 ลิตร  โครงการพัฒนาระบบบาบัดน้ าเสี ยในโรงอาหารของโรงเรี ยนและการเฝ้ าระวังคุณภาพน้ า 89 แห่ง  กิจการฝนหลวง แก่สานักงานฝนหลวงและการบินเกษตร  โครงการ ”Student in Free Enterprise (SIFE)”

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 134


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

 กิจกรรมค่ายเยาวชนผูน้ าเพื่อการอนุ รักษ์น้ า(East Water Young Leader) โดยมีนกั เรี ยน นักศึกษาเข้า ร่ วมในโครงการนี้จานวน 1,200 คนและมีโรงเรี ยนอีกจานวน 320 โรงเรี ยน  โครงการประกวดแข่ งขันนวัตกรรมการจัดการน้ า 3R (Reduce Reuse Recycle) สาหรับนิ สิ ต นักศึกษาเพื่อชิงรางวัลจาก รัฐมนตรี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม  กิจกรรมช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย โดยสนับสนุนเงินช่วยเหลือผ่านหน่วยงานราชการและตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เข้ากองทุน “ตลาดหุ น้ ร่ วมใจ ช่วยภัยน้ าท่วม” บริ การรถน้ าดื่มเคลื่อนที่ 3 คันวิง่ บริ การในพื้นที่ประสบอุทกภัย รวมทั้ง ช่วยกรมชลประทานผันน้ าท่วมโดยย้ายปั้ มจุ่ม (submerge)จากสถานีสูบน้ าบางประกง และช่วยผลักดันน้ าโดยการปั้ มน้ าจากสถานีสูบน้ าคลอง เขื่อน เป็ นการผันน้ าท่วมออกสู่ ทะเล 1.1.4 ต้ นทุนทางการเงิน ปี 2554 ดอกเบี้ยจ่ายจานวน 78.48 ล้านบาทลดลงจานวน 11.33 ล้านบาทหรื อคิดเป็ นร้อยละ 12.62 โดยเป็ นดอกเบี้ยจ่ายของเงินกูจ้ ากสถาบันการเงิน ทั้ง 3 แห่งที่บริ ษทั ยังมีเงินกูค้ งค้างอยูจ่ านวน 2,946.02 ล้านบาทเป็ นเงินกูร้ ะยะยาว จานวน 2,325.02 ล้านบาท และเงินกูย้ มื ระยะยาว-ส่ วนที่ถึง กาหนดชาระภายในหนึ่งปี จานวน 621.00 ล้านบาท โดยมีอตั ราดอกเบี้ยเฉลี่ยร้อยละ 4.04 1.2

งบแสดงฐานะทางการเงิน เพิม่ (ลด)

2554

2553

(ล้ านบาท)

(ล้ านบาท)

ล้ านบาท

%

1 เงินสดสุทธิจากการดาเนินงาน **

1,252.77

1,431.65

(178.88)

(12.50)

2 สิ นทรัพย์รวม

10,784.47

9,884.57

899.90

9.10

3 หนี้สินรวม

3,848.27

3,296.96

580.28

17.83

4 รวมส่วนของผูถ้ ือหุน้

6,936.2

6,616.92

319.28

4.82

** ปี 2553 หั ก รำยกำรพิเศษโครงกำรอ่ ำงเก็บนำ้ ประแสร์ เงินสดได้ รับจำกกำรขำยสิ นทรั พย์โครงกำร จำนวน 646.49 ล้ ำนบำท

1.2.1 ในส่ วนของงบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมี สิ นทรัพย์รวม 10,784.47 ล้านบาท เพิม่ ขึ้นจานวน 899.90 ล้านบาทหรื อคิดเป็ นร้อยละ 9.10 โดย หลักมาจากการรับมอบงวดงานโครงการก่อสร้างวางท่อหนองปลาไหล - มาบตาพุด เส้นที่ 3 จานวน รวม 739.68 ล้านบาท โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 โครงการดังกล่าวมีความคืบหน้าของโครงการ ..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 135


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

ไปกว่าร้อยละ 89.73% และนอกจากนี้บริ ษทั ฯ มีการลงทุนในการปรับปรุ งกาลังการผลิต เพื่อให้ การสู บส่ งน้ าที่มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้นและลดต้นทุนขายลง เช่น โครงการสถานีจ่ายไฟฟ้ าและสู บน้ า ดอกกราย พื้นที่จงั หวัด ระยอง จานวน 74 ล้านบาท และโครงการสารวจและก่อสร้างท่อส่ งน้ ามาบ ข่า พื้นที่จงั หวัดระยอง จานวน 101.74 ล้านบาท รวมทั้งปรับปรุ งระบบ SCADA จานวน 18.93 ล้าน บาท นอกจากนี้บริ ษทั ฯได้พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของบริ ษทั ได้แก่ ระบบ ERP อีก จานวน 44.24 ล้านบาท รวมรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์รวมเพิม่ ขึ้น 1,119.46 ล้านบาท และหัก ค่าเสื่ อมราคา จานวน 284.57 ล้านบาท สุ ทธิ เพิ่มจากโครงการดังกล่าว จานวน 834.89 ล้านบาท ใน ส่ วนของสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นปี 2554 จานวน 178.94 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจานวน 149.69 ล้านบาท นั้นมาจากเงินล่วงหน้าตามสัญญาโครงการก่อสร้างสถานี สูบน้ าบางพระ จานวน 143.62 ล้านบาทซึ่ง เป็ นโครงการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพกาลังสู บส่ งน้ าในพื้นที่ฉะเชิงเทรา ซึ่ งในปั จจุบนั พื้นที่ดงั กล่าวพึ่งพา น้ าจากพื้นที่ระยองซึ่ งมีตน้ ทุนการสู บส่ งน้ าสู งกว่า ซึ่ งโครงการดังกล่าวจะเริ่ มปี 2555 และเสร็ จสิ้ น ประมาณปลายปี 2556 1.2.2ในส่ วนของหนี้ สินรวม ณวันที่ 31 ธันวาคม 2554 โดยภาพรวมบริ ษทั ฯ ได้จดั หาแหล่งเงินทุน ให้เหมาะสมกับการใช้เงินทุนและได้ตน้ ทุนทางการเงินที่ดีข้ ึน มีเงินกูร้ ะยะยาวจากสถาบันการเงิ น จานวนรวม 2,325.02 ล้านบาท โดยเพิ่มขึ้ นจานวน 692.62 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 42.43 บริ ษทั มีการใช้เงินกูร้ ะยะยาวจากสถาบันการเงิ นเพื่อสนับสนุ นโครงการก่อสร้ างวางท่อหนองปลา ไหล-มาบตาพุด เส้นที่ 3 และในปี 2554 บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยได้เบิกเงิ นกูร้ ะยะยาวตามวงเงิ นกู้ ธนาคาร จานวนรวม 1,488.0 ล้านบาทและจ่ายคืนเงิ นกูร้ ะยะสั้นและระยะยาวรวมจานวน 795.38 ล้านบาท โดยบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมีวงเงินกูท้ ี่ยงั มิได้เบิกใช้อีกจานวน 1,449.0 ล้านบาท ณ สิ้ นปี 1.2.3ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีส่วนของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ใหญ่ จานวน 6,933.08 ล้านบาทและ ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม จานวน 3.12 ล้านบาท รวมส่ วนผูถ้ ือหุ น้ 6,936.20 ล้านบาท เพิม่ ขึ้น 348.59 ล้านบาท หรื อ คิดเป็ นร้อยละ 5.29 ซึ่ งเป็ นผลสุ ทธิ จากการบันทึกกาไรสุ ทธิ ปี 2554 จานวน 1,008.02 ล้านบาท สุ ทธิ กบั เงินปั นผลจ่าย รวม 615.42 ล้านบาท และการตัดจาหน่ายทรัพย์สินที่ ได้รับโอนจากลูกค้าจานวน 3.40 ล้านบาทโดยในปี 2554 บริ ษทั ฯ มีการจ่ายเงินปั นผล 2 ครั้ง ใน วันที่ 12 เมษายน 2554 จ่ายเงินปั นผลสาหรับปี 2553 จานวนเงิน 0.25 บาทต่อหุ ้น จากผลการ ดาเนินงานปี 2553 และ ในวันที่ 20 กันยายน 2554 จานวนเงิน 0.12 บาทต่อหุ น้ เป็ นเงินปั นผล ระหว่างกาลจากผลการดาเนิ นงานสาหรับงวด 6 เดือนสิ้ นสุ ดวันที่ 30 มิถุนายน 2554

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 136


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

2. การวิเคราะห์ งบกระแสเงินสดรวม สาหรับ ปี 2554 บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นงวดยกมา 442.88 ล้านบาท โดยในระหว่างงวดมีเงินสดสุ ทธิ ลดลง 314.19 ล้านบาท ประกอบด้วยรายการ ดังนี้  เงินสดสุ ทธิ ได้มาจากกิจกรรมดาเนินงาน จานวน 1,252.77 ล้านบาท มีสาเหตุหลักจาก - ผลการดาเนิ นงานที่ดีข้ ึนของบริ ษทั เป็ นผลให้กาไรสุ ทธิ ก่อนภาษีเงินได้ของปี 2554 มี จานวน 1,432.72 ล้านบาท ปรับด้วยรายจ่ายที่ไม่ใช่เงินสด ได้แก่ ค่าเสื่ อมราคา ค่าใช้จ่าย ตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ต่างๆจานวน 320.65 ล้านบาท เมื่อสุ ทธิ กบั เงินปั นผลรับ ดอกเบี้ยรับ และดอกเบี้ยจ่าย และการตัดจาหน่ายดอกเบี้ยภายใต้สัญญาเช่าการเงิน จานวน 35.37 ล้าน บาท โดยส่ วนใหญ่ค่าเผื่อการลดมูลค่าฯและลูกหนี้อื่นที่เปลี่ยนแปลงเป็ นผลมาจากการ ตรวจรับงานโครงการก่อสร้างวางท่อส่ งน้ าดิบหนองปลาไหล-มาบตพุด เส้นที่ 3 - การเปลี่ยนแปลงสิ นทรัพย์ และหนี้สินจากการดาเนินงานเป็ นผลให้เงินสดเพิ่มขึ้นสุ ทธิ จานวน 227.42ล้านบาท โดยการเปลี่ยนแปลงของสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นที่เพิ่มขึ้นจาก เงินล่วงหน้าโครงการก่อสร้างสถานีสูบน้ าบางพระ จานวน 143.62 ล้านบาท - บริ ษทั มีเงินสดจ่ายภาษีเงินได้สะสมถึง ณ สิ้ นปี 2554 จานวนรวม 363.51 ล้านบาท  เงินสดสุ ทธิ ใช้ไปในกิจกรรมการลงทุน จานวน 1,257.87 ล้านบาท มีสาเหตุหลักจาก - การลงทุนหลักในสิ นทรัพย์ถาวร จานวน 1,058.00 ล้านบาท ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นเงินที่ลงทุน ในโครงการก่อสร้างวางท่อส่ งน้ าดิบหนองปลาไหล - มาบตาพุด เส้นที่ 3 - การลงทุ น ในทรั พ ย์สิ น กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ประปา ได้แ ก่ สิ ท ธิ ใ นสั ม ปทานและการลงทุ น ใน สิ นทรัพย์ภายใต้สัมปทานในธุ รกิจน้ าประปาจานวน 86.82 ล้านบาท - การฝากเงิ นประจากับสถาบันการเงิ นเพื่อเป็ นการบริ หารเงิ นระยะสั้น จานวนเงิ น 95.0 ล้านบาท โดยได้รับดอกเบี้ยร้อยละ 2.30 ถึง ร้อยละ 4.00 ต่อปี  เงินสดสุ ทธิ ใช้ไปจากกิจกรรมจัดหาเงิน จานวน 309.09 ล้านบาท มาจาก 2 รายการหลักๆได้แก่ - เงินสดได้มาสุ ทธิรวม จานวน 1,521.00 ล้านบาท จากการกูย้ ืมเงินทั้งระยะสั้นและระยะ ยาวจานวนสุ ทธิ ล้านบาท สุ ทธิ กบั การชาระคืนเงินกูย้ มื ทั้งระยะสั้นและระยะยาว จานวน 1,100.38 ล้านบาท รวมทั้งดอกเบี้ยจ่ายจานวน 76.80 ล้านบาท - เงินปั นผลจ่ายจานวน 615.43 ล้านบาท บริ ษทั ฯมีการจ่ายเงินปั นผล 2 ครั้งตามรายละเอียด ในหัวข้อ 1.2.3

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 137


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

3. การวิเคราะห์ อตั ราส่ วนทางการเงินทีส่ าคัญ 2554

2553

เพิม่ (ลด)

อัตรากาไรขั้นต้นน้ าดิบ (%)

65.91%

61.69%

4.22%

อัตรากาไรขั้นต้นประปา (%)

43.40%

43.51%

-0.12%

อัตรากาไรขั้น/ต้นรายได้รวม (%)

57.79%

54.23%

3.56%

อัตรากาไรสุทธิ/รายได้รวม (%)

30.45%

27.90%

2.55%

อัตราผลตอบแทนต่อผูถ้ ือหุน้ (ROE) (%)

14.88%

13.70%

1.17%

อัตราผลตอบแทนต่อสิ นทรัพย์(ROA) (%)

9.76%

9.62%

0.14%

อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผูถ้ ือหุน้ (เท่า)

0.55

0.49

0.06

อัตราส่วนความสามารถในการชาระดอกเบี้ยและเงินต้น (DSCR) (เท่า)

1.94

2.26

-0.32

รายละเอียดอัตราส่ วนแสดงความสามารถในการทากาไรของกลุ่มบริ ษทั มีดงั นี้ o อัตรากาไรขั้นต้ นนา้ ดิบ อยูท่ ี่ร้อยละ 65.91 เพิ่มขึ้นจาก ปี 2553 ร้อยละ 4.2 โดยต้นทุนขายของน้ า ดิบลดลงเนื่องจากค่าเสื่ อมราคาปรับตัวลดลงจากการทบทวนการขยายอายุใช้งานเครื่ องสู บน้ าตาม มาตรฐานการบัญชีใหม่ และการควบคุมต้นทุนการสู บส่ งน้ าดิบได้ดี o อัตรากาไรขั้นต้ นนา้ ประปา อยูท่ ี่ร้อยละ 43.40 ลดลงจากปี 2553 ร้อยละ 0.12 เนื่ องจากสัดส่ วน ต้นทุนขายที่สูงขึ้นของสัญญาขายน้ าประปาชลบุรี ซึ่ งเริ่ มจาหน่ายน้ าตั้งแต่เมษายน 2553 แต่ไม่ กระทบกับอัตรากาไรขั้นต้นประปาในภาพรวม o อัตราผลตอบแทนต่ อผู้ถือหุ้น (ROE) และ อัตราผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ (ROA) อยูท่ ี่ร้อยละ 14.88 และ ร้อยละ 9.76 โดยอัตราผลตอบแทนต่อผูถ้ ือหุ ้น (ROE) เพิม่ ขี้นร้อยละ 1.17 เนื่องจาก บริ ษทั มีกาไรสุ ทธิ ในปี 2554 จานวน 1,008.02 ล้านบาท หักด้วยการจ่ายเงินปั นผลจานวน 615.56 บาท และอัตราผลตอบแทนต่อสิ นทรัพย์ (ROA) เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี ก่อนร้อยละ 0.14 o อัตราส่ วนหนีส้ ิ นต่ อส่ วนของผู้ถือหุ้น (D/E Ratio) และอัตราส่ วนความสามารถในการชาระ ดอกเบีย้ และเงินต้ น (DSCR) อยูท่ ี่ระดับ 0.55 เท่า และ1.94 เท่า โดยอัตราส่ วนหนี้สินต่อส่ วนผูถ้ ือ หุ น้ เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี ก่อน 0.06 เท่า และอัตราส่ วนความสามารถในการชาระดอกเบี้ย

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 138


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 2 ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน

และเงินต้นลดลง 0.32 เท่า สาเหตุหลักมาจากหนี้สินระยะยาวที่เพิม่ ขึ้นและผลกระทบของการนา มาตรฐานการบัญชีฉบับใหม่และมาใช้มีผลให้หนี้สินไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้น และค่าเสื่ อมราคาลดลง โดยบริ ษัทฯดารงอัตราส่ วนทางการเงินของบริ ษทั ฯอยูภ่ ายใต้เงื่อนไขสัญญาเงินกู้ ในการดารง D/E Ratio ที่อตั ราไม่เกิน 2 เท่า และ DSCR ในอัตราไม่ต่ากว่า 1.1 เท่า

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 139


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

ส่ วนที่ 2 ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้อง

13. ข้ อมูลอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้ อง - ไม่มี -

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ส่วนที่ 2 หน้า 140


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) ส่วนที่ 3 การรับรองความถูกต้องของข้อมูล

ส่ วนที่ 3 การรับรองความถูกต้ องของข้ อมูล บริ ษทั ได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ฉบับนี้ และด้วยความระมัดระวังแล้ว ข้าพเจ้า ขอรับรองว่า ข้อมูลดังกล่าวถูกต้องครบถ้วน ไม่เป็ นเท็จ ไม่ทาให้ผอู ้ ื่นสาคัญผิด หรื อไม่ขาดข้อมูลที่ควรต้อง แจ้งในสาระสาคัญ นอกจากนี้ บริ ษทั ขอรับรองว่า (1) งบการเงินและข้อมูลทางการเงินที่สรุ ปมาในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี ได้แสดงข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วนในสาระสาคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดาเนิ นงาน และกระแสเงินสดของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยแล้ว (2) บริ ษทั เป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อการจัดให้บริ ษทั มีระบบการเปิ ดเผยข้อมูลที่ดี เพื่อให้แน่ใจว่าบริ ษทั ได้เปิ ดเผย ข้อมูลในส่ วนที่เป็ นสาระสาคัญทั้งของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยอย่างถูกต้องครบถ้วนแล้ว รวมทั้ควบคุมดูแล ให้มีการปฏิบตั ิตามระบบดังกล่าว (3) บริ ษทั ได้จดั ให้มีระบบการควบคุมภายในที่ดีและควบคุมดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามระบบดังกล่าว และ บริ ษทั ได้แจ้งข้อมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ต่อผูส้ อบบัญชีและ คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั แล้ว ซึ่ งครอบคลุมถึงข้อบกพร่ องและการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญของ ระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทาที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทารายงานทางการเงิน ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ทั้งนี้ เพื่อเป็ นหลักฐานว่าเอกสารทั้งหมดเป็ นเอกสารชุดเดียวกันกับบริ ษทั ที่ถูกต้องแล้ว บริ ษทั ได้มอบหมาย ให้ นางน้ าฝน รัษฎานุกลู เป็ นผูล้ งลายมือชื่อกากับเอกสารนี้ไว้ทุกหน้าด้วย หากเอกสารใดไม่มีลายมือชื่อของ นางน้ าฝน รัษฎานุกลู กากับไว้ บริ ษทั จะถือว่าไม่ใช่ขอ้ มูลที่ บริ ษทั ได้รับรองความถูกต้องของข้อมูลไว้ ชื่อ 1. นายเพิ่มศักดิ์ รัตนอุบล

ตาแหน่ ง กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม

2. นายประพันธ์ อัศวอารี

กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่และ กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม

................................................................................

ตราประทับบริ ษทั

................................................................................

ผูร้ ับมอบอานาจ ชื่อ นางน้ าฝน รัษฎานุกลู

ตาแหน่ ง ผูอ้ านวยการอาวุโส สานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ และเลขานุการบริ ษทั

แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

ลายมือชื่อ ...............................................................................

ลายมือชื่อ

............................................................................. ส่วนที่ 3 หน้า 1


รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหารของบริษทั ณ ธันวาคม 2554 ลาดับที่

1

2

3

ชื่ อ-นามสกุล

นายประพันธ์ อัศวอารี

นายเจริ ญสุข วรพรรณโสภาค

นายนาศักดิ์ วรรณวิสูตร

อายุ

55

48

46

เอกสารแนบ 1 ตาแหน่ง

กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่

รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ สายปฏิบตั ิการ

รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี

สัดส่ วนการถือหุ้น ในบริ ษทั (%) (จานวนหุ ้น) ไม่มี

ไม่มี

หุ ้นสามัญ 549,000 หุ ้น และ ในนามคู่สมรส 24,580 หุ ้น 0.034%

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผูบ้ ริ หาร และผูม้ ีอานาจควบคุม ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

คุณวุฒิสูงสุด ทางการศึกษา

ประสบการณ์ทางาน ระยะเวลา

ตาแหน่งปั จจุบนั

บริ ษทั /หน่วยงาน

ประเภทธุรกิจ

รัฐศาสตรบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง

พ.ค. 51 - ปั จจุบนั ม.ค. 50 - ม.ค. 51 เม.ย. 50 - ปั จจุบนั มี.ค. 50 - ปั จจุบนั เม.ย. 52 - ปั จจุบนั พ.ค. 50 - ก.พ.55

กรรมการ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

จาหน่ายน้ าดิบ

กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บจ.ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิต้ ีส์ สมาคมบริ ษทั จดทะเบียนไทย บมจ.หลักทรัพย์ ซี มิโก้

จาหน่ายน้ าดิบ กิจการประปาและบริ หารระบบ สมาคม บริ ษทั หลักทรัพย์

รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ สายปฏิบตั ิการ รักษาการรองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ สายปฏิบตั ิการ ผูอ้ านวยการฝ่ ายบริ การลูกค้า และ รักษาการ รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ สายวางแผนและบริ การลูกค้า ผูอ้ านวยการฝ่ ายวางแผนโครงการ กรรมการ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ

รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ สายการเงินและบัญชี ผูอ้ านวยการฝ่ ายการเงินและบัญชี ผูอ้ านวยการฝ่ ายอานวยการ ผูอ้ านวยการฝ่ ายพัฒนาธุรกิจต่อเนื่อง รักษาการผูอ้ านวยการฝ่ ายพัฒนาธุรกิจต่อเนื่อง ผูจ้ ดั การแผนกพัฒนาธุรกิจ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

• Executive Coaching มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย (เบิร์กเลย์) ประเทศสหรัฐอเมริ กา • Orchestrating Winning Program (OWP), IMD International ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ • การกากับดูแลกิจการสาหรับกรรมการและผูบ้ ริ หาร ระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชน รุ่ นที่ 4 สถาบันพัฒนากรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสูง ภาครัฐ (PDI) ( 2553 ) • DCP 101/2008* • ACP 21/2007* M.Sc.Hydraulic Engineering, International Institute for Hydraulic and Environmental Engineering (IHE), Delft, the Netherlands. • วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต (ทรัพยากรน้ า) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ม.ค. 54 - ปั จจุบนั มี.ค. 53 - ธ.ค. 53 ม.ค. 52 - ก.พ 53 พ.ย. 45 – ธ.ค. 51 ส.ค. 51 - พ.ค. 52

• DCP 146/2011* • Senior Executive Program - SEP 2010 • Executive Development Program (EDP) รุ่ น 3 MS.(Finance) University of Colorado, USA บัญชีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ม.ค. 54 - ปั จจุบนั ม.ค. 52 - ธ.ค. 53 มิ.ย. 50 - ธ.ค. 51 พ.ย. 45 - มิ.ย. 50 พ.ย. 44 - ต.ค. 45 มี.ค. 44 - ต.ค. 44

• Advance Senior Executive Program - ASEP 2010

Page 8

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บจ.เอ็กคอมธารา

จาหน่ายน้ าดิบ ธุรกิจน้ าประปา

จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ

.........................รับรองความถูกต ้อง แบบแสดงรายการข ้อมูล ประจาปี 2554 (แบบ 56-1)


รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหารของบริษทั ณ ธันวาคม 2554 ลาดับที่

4

ชื่ อ-นามสกุล

นางน้ าฝน รัษฎานุกูล

อายุ

49

เอกสารแนบ 1 ตาแหน่ง

ผูอ้ านวยการอาวุโส สานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ และเลขานุการบริ ษทั

สัดส่ วนการถือหุ้น ในบริ ษทั (%) (จานวนหุ ้น) หุ ้นสามัญ 2,000 หุ ้น และ ในนามบุตรที่ ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 24,000 หุ ้น 0.002%

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผูบ้ ริ หาร และผูม้ ีอานาจควบคุม ไม่มี

คุณวุฒิสูงสุด ทางการศึกษา

ประสบการณ์ทางาน ระยะเวลา

M. A. สาขาบริ หารรัฐกิจ Glasgow College of Technology, UK รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช Certificate in Computer Programming and Information Processing, UK รัฐศาสตรบัณฑิต (บริ หารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มิ.ย. 50 - ปั จจุบนั

ตาแหน่งปั จจุบนั

บริ ษทั /หน่วยงาน

ประเภทธุรกิจ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

จาหน่ายน้ าดิบ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

จาหน่ายน้ าดิบ

พ.ย. 44 - ก.พ. 47 มี.ค. 44 - ต.ค. 44

ผูอ้ านวยการอาวุโส สานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ และเลขานุการบริ ษทั ผูอ้ านวยการอาวุโสสานักตรวจสอบ และเลขานุการบริ ษทั ผูอ้ านวยการสานักตรวจสอบ ผูอ้ านวยการสานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ

ม.ค. 52 - ปั จจุบนั มิ.ย. 50 - ธ.ค. 51 ต.ค. 47 - มิ.ย. 50 2544 - ต.ค. 47

ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายตรวจสอบ ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายการเงินและบัญชี ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายการเงิน และทรัพยากรบุคคล ผูอ้ านวยการฝ่ ายการเงินและทรัพยากรบุคคล

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ

มี.ค. 53 - ปั จจุบนั ม.ค. 52 - มี.ค. 53 ส.ค. 51 - ม.ค. 52 ก.ค. 51 - ม.ค. 52 มี.ค. 51- ปั จจุบนั พ.ย. 50 - ม.ค. 52 มี.ค. 50 - ม.ค. 52

ผูอ้ านวยการฝ่ ายบริ การลูกค้า ผูอ้ านวยการฝ่ ายพัฒนาธุรกิจ รักษาการกรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ กรรมการบริ ษทั ผูอ้ านวยการฝ่ ายโครงการพิเศษ กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั กรรมการบริ ษทั ผูอ้ านวยการศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา และ รักษาการผูอ้ านวยการศูนย์ปฏิบตั ิการระยอง ผูอ้ านวยการศูนย์ปฏิบตั ิการมาบตาพุด

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บจ.ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตีส์ บจ.ยูนิเวอร์แซล ยูทีลิตีส์ บจ.เอ็กคอมธารา บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บจ.ประปาบางปะกง บจ.ประปาฉะเชิงเทรา บจ.ประปานครสวรรค์ บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าประปา จาหน่ายน้ าประปา จาหน่ายน้ าประปา จาหน่ายน้ าดิบ บริ หารระบบรวบรวม และบาบัดน้ าเสี ย

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

จาหน่ายน้ าดิบ

ก.พ. 47 - มิ.ย. 50

• Senior Executive Program - SEP 2011 • Director Certification Program - DCP 4/2000 • หลักสูตรประกาศนี ยบัตรชั้นสูงการ บริ หารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน (ปรม.) รุ่ น 1 • หลักสูตรประกาศนี ยบัตรชั้นสูง การเมืองการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยสาหรับผูบ้ ริ หารระดับสูง (ปปร.) รุ่ น11 5

6

นางธิดารัชต์ ไกรประสิ ทธิ์

นายเชิดชาย ปิ ติวชั รากุล

48

47

ผูอ้ านวยการอาวุโส ฝ่ ายตรวจสอบ

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายปฏิบตั ิการและบริ การลูกค้า

หุ ้นสามัญ 630,000 หุ ้น 0.038%

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บัญชีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • Audit Committee Program - (ACP) รุ่ น 26/2009 • Executive Development Program - (EDP) รุ่ น 4 • หลักสูตรการบริ หารเศรษฐกิจสาธารณะ สาหรับ นักบริ หารระดับสูง รุ่ น 5 วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต ( เทคโนโลยีสารสนเทศ ) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น • Executive Development Program - (EDP) รุ่ น 3

พ.ย. 44 - พ.ย.50 ต.ค. 43 - ต.ค. 44

Page 8

จาหน่ายน้ าดิบ

.........................รับรองความถูกต ้อง แบบแสดงรายการข ้อมูล ประจาปี 2554 (แบบ 56-1)


รายละเอียดเกี่ยวกับผู้บริหารของบริษทั ณ ธันวาคม 2554 ลาดับที่

7

ชื่ อ-นามสกุล

นายพจนา บุญศิริ

อายุ

51

เอกสารแนบ 1 ตาแหน่ง

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายวางแผนโครงการ

สัดส่ วนการถือหุ้น ในบริ ษทั (%) (จานวนหุ ้น) หุ ้นสามัญ 5,000 หุ ้น 0.000%

ความสัมพันธ์ ทางครอบครัว ระหว่างผูบ้ ริ หาร และผูม้ ีอานาจควบคุม ไม่มี

คุณวุฒิสูงสุด ทางการศึกษา

ประสบการณ์ทางาน ระยะเวลา

บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา ครุ ศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา • Executive Development Program - (EDP) รุ่ น 4

8

นางวิราวรรณ ธารานนท์

53

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายอานวยการ

ไม่มี

ไม่มี

MBA, สถาบันบัณฑิตบริ หารธุรกิจ ศศินทร์แห่ งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บัญชีบณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

9

นางสาวดวงแก้ว อึ้ งศรี ทอง

50

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายทรัพยากรบุคคล

ไม่มี

ไม่มี

ปริ ญญาเอก สาขาพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Western Michigan University ประเทศสหรัฐอเมริ กา

41

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายการเงินและบัญชี

10 นายสมบัติ อยูส่ ามารถ

บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บัญชีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • Executive Development Program - (EDP) รุ่ น 5

11 นางสาวกันยานาถ วีระพันธุ์

43

ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายสื่ อสารองค์กร

บริ หารธุรกิจบัณฑิต ( บัญชี ) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • Executive Development Program - (EDP) รุ่ น 5

Page 8

ม.ค. 52 - ปั จจุบนั พ.ย. 50 - ธ.ค. 51 พ.ย. 46 - ต.ค. 50 มี.ค. 44 - ต.ค. 46 2541 - 2544 ม.ค.52 - ปั จจุบนั มิ.ย. 50 - ธ.ค. 51 ต.ค. 49 - มิ.ย. 50 ต.ค. 48 - ก.ย. 49 2547 - 2548 ม.ค.52 - ปั จจุบนั ส.ค. 50 – มี.ค. 51 ก.พ.49 – เม.ย. 50 พ.ค.43 – ธ.ค. 48 ก.พ. 54 – ปั จจุบนั ต.ค. 52 – ม.ค. 54 เม.ย. 52 – ก.ย. 52 เม.ย. 52 – ม.ค. 54 มี.ค. 50 – มี.ค. 52 เม.ย. 48 – ก.พ. 50 พ.ย. 46 – มี.ค. 48 เม.ย. 46 – ต.ค. 46 ก.ค. 44 – มี.ค. 46 ก.พ. 54 – ปั จจุบนั ส.ค. 50 – ม.ค. 54 ต.ค. 49 – ก.ค. 50 ต.ค. 45 – ก.ย. 49 ธ.ค. 44 – ก.ย. 45 มี.ค. 44 – พ.ย. 44 ม.ค. 39 – ก.พ. 44

ตาแหน่งปั จจุบนั

ผูอ้ านวยการฝ่ ายวางแผนโครงการ ผูอ้ านวยการฝ่ ายปฏิบตั ิการ ผูอ้ านวยการศูนย์ปฏิบตั ิการฉะเชิงเทรา ผูจ้ ดั การสานักงานโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ วิศวกรอาวุโส ผูอ้ านวยการฝ่ ายอานวยการ ผูอ้ านวยการฝ่ ายตรวจสอบ ผูอ้ านวยการสานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ ผูจ้ ดั การสานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ ผูจ้ ดั การงานบริ หารความเสี่ ยงกลุ่มบริ ษทั ผูอ้ านวยการฝ่ ายทรัพยากรบุคคล Director, Human Resources Division Vice President, Human Resources Division Human Resources Manager ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายการเงินและบัญชี ผูช้ ่วยผูอ้ านวยการ ฝ่ ายการเงินและบัญชี รักษาการผูช้ ่วยผูอ้ านวยการ ฝ่ ายการเงินและบัญขี ผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชีเเละการเงิน (Secondment – UU) ผูจ้ ดั การแผนกบัญชี ฝ่ ายการเงินและบัญชี ผูจ้ ดั การ ฝ่ ายบริ หารและการเงิน (Secondment – GWS) ผูจ้ ดั การแผนกงบประมาณและการเงิน ฝ่ ายการเงินและบัญชี รักษาการ ผูจ้ ดั การแผนกงบประมาณและการเงิน ฝ่ ายการเงินและบัญชี นักบัญชีอาวุโส ฝ่ ายการเงินและบัญชี ผูอ้ านวยการ ฝ่ ายสื่ อสารองค์กร ผูช้ ่วยผูอ้ านวยการ ฝ่ ายสื่ อสารองค์กร ผูจ้ ดั การ งานประชาสัมพันธ์ สานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ ผูจ้ ดั การ แผนกบริ หารและประสานงานทัว่ ไป (Secondment – EHP) ผูจ้ ดั การ แผนกกิจการสัมพันธ์ ฝ่ ายอานวยการ ผูจ้ ดั การ แผนกกิจการสัมพันธ์ สานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ นักประชาสัมพันธ์ ฝ่ ายอานวยการ

บริ ษทั /หน่วยงาน

ประเภทธุรกิจ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก Challenge Hospitality Co., Ltd. T.C.C. Capital Land Limited HMC Polymers Co., Ltd. บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ โรงแรม อสังหาริ มทรัพย์ ธุรกิจโพลีโพรพิลีน จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก

จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ จาหน่ายน้ าดิบ

.........................รับรองความถูกต ้อง แบบแสดงรายการข ้อมูล ประจาปี 2554 (แบบ 56-1)


ประวัติกรรมการ และทีป่ รึกษาฯบริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) / Profile ลาดับ อายุ / Age ที่ No.

ชื่ อ-นามสกุล / Name

1 นายชาญชัย สุ นทรมัฏฐ์

( วัน/เดือน/ปี ) (D/M/Y)

ตาแหน่ ง / Position

64 ประธานคณะกรรมการ (กรรมการอิสระ) 10 เม.ย.2490

ประสบการณ์ ทางาน / Work Experience

ต.ค. 54 - ปัจจุบนั เม.ย.53 - ต.ค.54 2548 - 2550

2 นายสมชาย ชุ่ มรัตน์

62 กรรมการ 23 ก.พ.2493 ประธานคณะกรรมการบริ หารและการลงทุน กรรมการบริ หารความเสี่ ยง

เอกสารแนบ 1

1

ต.ค.54 - ปัจจุบนั 2552 - 2553 2551-2553 2550-2551

2549-2550

2548-2549 2543-2548

ประธานคณะกรรมการ บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก กรรมการ ธนาคารออมสิ น อธิบดีกรมการปกครอง กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย กรรมการ บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก กรรมการ บริ ษทั เอ.ที.ซี .โมบาย จากัด ปลัดกระทรวงแรงงาน อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย กรรมการ การประปาส่วนภูมิภาค รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ประธานคณะกรรมการ การประปานครหลวง ผูว้ า่ ราชการจังหวัดพระนครศรี อยุธยา สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสระแก้ว สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

การศึกษา / Education

การอบรม การถือครอง หลักสู ตรสาคัญ / หุ้นEW / EW Special Course Shareholding

รัฐประศาสนศาสตร์ มหาบัณฑิต Middle Tennessee State University U.S.A. รัฐศาสตรบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

DCP155/2012

ไม่มี

พัฒนบริ หารศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ รัฐศาสตรบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

DCP 97/2008 RCP 15/2008 วปอ.รุ่ น 2542

ไม่มี

Page1 .........................รับรองความถูกต ้อง แบบแสดงรายการข ้อมูล ประจาปี 2554 (แบบ 56-1)


ประวัติกรรมการ และทีป่ รึกษาฯบริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) / Profile ลาดับ อายุ / Age ที่ No.

ชื่ อ-นามสกุล / Name

3 นายพูลศักดิ์ ประณุทนรพาล

( วัน/เดือน/ปี ) (D/M/Y)

ตาแหน่ ง / Position

61 กรรมการ (กรรมการอิสระ) 20 ส.ค.2493 ประธานคณะกรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผล การดาเนินงานของบริ ษทั และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ

ประสบการณ์ ทางาน / Work Experience

ต.ค.54 - ปัจจุบนั 1 พ.ย.53 - ปัจจุบนั

20 ต.ค.51 - 30 ก.ย.53 ต.ค.51 - ก.ย.53 13 พ.ย.49 - 19 ต.ค.51 ต.ค.47 - พ.ย.49 ต.ค.43 - ก.ย.47 4 นายวิเชียร อุดมรัตนะศิลป์

59 กรรมการ (ผู้แทนจากกปภ.) 1 ม.ค.2496 กรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา

ธ.ค. 54 - ปัจจุบนั 2554 - ปัจจุบนั 2552 - ปัจจุบนั 2551 - ปัจจุบนั

5 นางมณฑา ประณุทนรพาล

57 กรรมการ 25 ก.ค. 2497 ประธานคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง กรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดาเนินงาน ของบริ ษทั และพิจารณาค่าตอบแทน

เอกสารแนบ 1

2

ม.ค. 51 - ม.ค.55 ม.ค. 51 - ม.ค.55 ต.ค. 47 - ธ.ค. 50

กรรมการ บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนาธุรกิจ และรักษาการคณบดีคณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดจันทบุรี สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ประธานคณะกรรมการลุ่มน้ าทะเลชายฝั่งตะวันออก ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสุรินทร์ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครนายก สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดนนทบุรี สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการ บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก รองผูว้ า่ การ (วิชาการ) การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) รองผูว้ า่ การ (วิชาการ) การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) กรรมการ องค์การจัดการน้ าเสี ย (อจน.) กรรมการ บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก กรรมการ และ ผูว้ า่ การ การนิคมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย รองผูว้ า่ การ 11 ( ท่าเรื ออุตสาหกรรม ) การนิคมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย

การศึกษา / Education

การอบรม การถือครอง หลักสู ตรสาคัญ / หุ้นEW / EW Special Course Shareholding วปอ.รุ่ น 2546 DCP155/2012 MIR12/2012 ACP38/2012

ไม่มี

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมสิ่ งแวดล้อม) สถาบันเทคโนโลยีแห่ งเอเซีย (เอ.ไอ.ที) วิทยาศาสตรบัณฑิต (สุขาภิบาล) มหาวิทยาลัยมหิ ดล

DCP 94/2007

ไม่มี

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

DCP 84 / 2007 วปรอ.รุ่ น4818

ไม่มี

รัฐศาสตรมหาบัณฑิต Utah State University , U.S.A. ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์ ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Page2 .........................รับรองความถูกต ้อง แบบแสดงรายการข ้อมูล ประจาปี 2554 (แบบ 56-1)


ประวัติกรรมการ และทีป่ รึกษาฯบริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) / Profile ลาดับ อายุ / Age ที่ No.

ชื่ อ-นามสกุล / Name

6 นางอรุณี อัครประเสริฐกุล

7 นางสาวณารินี ตะล่ อมสิน

( วัน/เดือน/ปี ) (D/M/Y)

ตาแหน่ ง / Position

กรรมการ (กรรมการอิสระ) 62 1 ต.ค.2492 ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา

45

กรรมการ 22 พ.ค.2509 กรรมการบริ หารและการลงทุน

ประสบการณ์ ทางาน / Work Experience

ต.ค.54 - ปัจจุบนั

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก กรรมการบริ หาร

2537-2549

บริ ษทั SEAB (Thailand) จากัด ผูอ้ านวยการฝ่ ายอาวุโส ธนาคารทหารไทย จากัด (มหาชน)

2534-2537

ผูอ้ านวยการฝ่ าย

2530-2534

ธนาคารเอเชีย จากัด (มหาชน) รองผูจ้ ดั การฝ่ าย

ต.ค.54 - ปัจจุบนั

2552 - 2553 56 กรรมการ (กรรมการอิสระ) 14 พ.ค. 2498 กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา

กรรมการ

2550

2553 - 2554

8 นายรังสรรค์ ศรีวรศาสตร์

เอกสารแนบ 1

3

ก.พ. 54 - ปัจจุบนั

2553 - ปัจจุบนั

ธนาคารกรุ งไทย จากัด (มหาชน) กรรมการ บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก ผูช้ ่วยเลขานุการรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิการ

การศึกษา / Education

การอบรม การถือครอง หลักสู ตรสาคัญ / หุ้นEW / EW Special Course Shareholding

บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิ ชยศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เศรษฐศาสตรบัณฑิต คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

DCP155/2012

การจัดการระบบสารสนเทศ มหาวิทยาลัยโกลเด้นเกท

DCP155/2012 FSD15/2012

ประเทศสหรัฐอเมริ กา

DAP94/2012

MIR12/2012 MFM7/2012 ACP38/2012

สานักรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ ที่ปรึ กษารัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงการคลัง สานักรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง

รัฐศาสตรบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์

กรรมการ บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก กรรมการ

บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ บริ หารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชี )

นบส.1 รุ่ น 42 บยส.รุ่ น 10 ปปร.รุ่ น13

การท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทย กรรมการบริ หารศาลยุติธรรม บริ หารกองทุนวิจยั และพัฒนา กสทช.

มหาวิทยาลัยรามคาแหง นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช

วตท.10 บยป.2 DCP 81/2006

อธิบดีกรมบัญชีกลาง กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง กรรมการ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กรรมการ กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ กรรมการและเลขานุการ กองทุนให้เงินกูย้ ืมเพือ่ การศึกษา (กยศ.) กรรมการ องค์กรร่ วมไทย-มาเลเซี ย กรรมการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผล สถาบันส่งเสริ มกิจการบ้านเมืองที่ดี

ไม่มี

ไม่มี

สาขาบริ หารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่มี

ACP 26/2009 SFE 2/2008 IFFT Executive Program for Senior Management 2006 วปอ. รุ่ น 2549

Page3 .........................รับรองความถูกต ้อง แบบแสดงรายการข ้อมูล ประจาปี 2554 (แบบ 56-1)


ประวัติกรรมการ และทีป่ รึกษาฯบริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) / Profile ลาดับ อายุ / Age ที่ No.

ชื่ อ-นามสกุล / Name

9 พล.ต.อ.วุฒิ พัวเวส

ตาแหน่ ง / Position

( วัน/เดือน/ปี ) (D/M/Y)

60 กรรมการ (กรรมการอิสระ) 19 ก.ย.2494 กรรมการบริ หารความเสี่ ยง

ประสบการณ์ ทางาน / Work Experience

ต.ค.54 - ปัจจุบนั

พ.ค. 51 - ปัจจุบนั

กรรมการ

รัฐศาสตรบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์

DCP 101/2008

ม.ค.50 - ม.ค. 51

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่

มหาวิทยาลัยรามคาแหง

ACP 21/2007

24 มี.ค.54 - ปัจจุบนั มี.ค.54 - ปัจจุบนั 2544 - 2554 2537 - 2543

11 นายประพันธ์ อัศวอารี

55 5 พ.ค. 2499

กรรมการ

การอบรม การถือครอง หลักสู ตรสาคัญ / หุ้นEW / EW Special Course Shareholding

รัฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (ตร.) โรงเรี ยนนายร้อยตารวจ

2549 - 2552 58 กรรมการ (ผู้แทนจาก EGCO) 6 ส.ค. 2496 กรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดาเนินงาน ของบริ ษทั และพิจารณาค่าตอบแทน

การศึกษา / Education

กรรมการ บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก รองผูบ้ ญั ชาการตารวจแห่ งชาติ สานักงานตารวจแห่ งชาติ ผูช้ ่วยผูบ้ ญั ชาการตารวจแห่ งชาติ สานักงานตารวจแห่ งชาติ กรรมการ บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก รองกรรมการผูจ้ ดั การสายปฏิบตั ิการ บจ.เอ็กโก เอ็นจิเนี ยริ่ ง แอนด์ เซอร์ วิส ผูจ้ ดั การฝ่ ายวิศวกรรมและธุรกิจพลังงาน บจ.เอ็กโก เอ็นจิเนี ยริ่ ง แอนด์ เซอร์ วิส Vice President งานก่อสร้ างเครื่ องกลไฟฟ้ าด้านอุตสาหกรรมและอาคาร ผูจ้ ดั การโครงการ Steam Methame Reformer Furnace บริ ษทั อิตลั ไทยวิศวกรรม จากัด

2552 - 2554

10 นายเพิ่มศักดิ์ รัตนอุบล

เอกสารแนบ 1

4

เม.ย. 50 - ปัจจุบนั

บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก มี.ค.50 - ต.ค.54

กรรมการ บจ. ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์

เม.ย. 52 – ปัจจุบนั

กรรมการ สมาคมบริ ษทั จดทะเบียนไทย

พ.ค.50 - ปัจจุบนั

กรรมการ บมจ. หลักทรัพย์ ซี มิโก้

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่ องกล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วปอ.รุ่ น 2545

ไม่มี

DCP 124/2009

ไม่มี

ไม่มี

Executive Coaching ม.แคลิฟอร์ เนี ย U.S.A. Orchestrating Wining Program (OWP) IMD International สวิตเซอร์ แลนด์

Page4 .........................รับรองความถูกต ้อง แบบแสดงรายการข ้อมูล ประจาปี 2554 (แบบ 56-1)


ประวัติกรรมการ และทีป่ รึกษาฯบริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน) / Profile ลาดับ อายุ / Age ที่ No.

ชื่ อ-นามสกุล / Name

12 นายสุ รพล พงษ์ทดั ศิริกลุ

( วัน/เดือน/ปี ) (D/M/Y)

ตาแหน่ ง / Position

60 ทีป่ รึกษาคณะกรรมการบริษทั 4 มี.ค. 2495

ประสบการณ์ ทางาน / Work Experience

พ.ย. 54 - ปัจจุบนั 1 ต.ค.53 - ปัจจุบนั 2552 2551 2549 2548

13 นายนคร จิรเศวตกุล

65 ทีป่ รึกษาคณะกรรมการบริษทั 31 มี.ค.2490

เอกสารแนบ 1

5

เม.ย. 53 - ปัจจุบนั มี.ค.52 - ต.ค.54 ก.พ.50 - ก.ย.50 ม.ค.50 - ก.พ.50 ส.ค.49 - ธ.ค.49

ที่ปรึ กษาคณะกรรมการบริ ษทั บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ผูว้ า่ ราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ผูว้ า่ ราชการจังหวัดชลบุรี สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสระแก้ว สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ผูว้ า่ ราชการจังหวัดอานาจเจริ ญ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ที่ปรึ กษาคณะกรรมการบริ ษทั บมจ.จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก กรรมการ บจ. ยูนิเวอร์ แซล ยูทีลิต้ ีส์ รองผูว้ า่ การ (แผนและวิชาการ) การประปาส่วนภูมิภาค รองผูว้ า่ การ (ปฏิบตั ิการ 4) การประปาส่วนภูมิภาค รองผูว้ า่ การ (ปฏิบตั ิการ 4) และรักษาการแทนผูว้ า่ การ การประปาส่วนภูมิภาค

การศึกษา / Education

การอบรม การถือครอง หลักสู ตรสาคัญ / หุ้นEW / EW Special Course Shareholding

รัฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) สาขาการปกครอง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์

นปส.รุ่ น 29 วปอ.2547

ไม่มี

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมโยธา สาขาโครงสร้าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Post Graduate Diploma สาขา Hydrological Engineering (Dip.H.Delft) ประเทศเนเธอร์ แลนด์

-

ไม่มี

หมายเหตุ DCP หมายถึง Director Certification Program RCP หมายถึง Role of the Chairman Program ACP หมายถึง Audit Committee Program SFE หมายถึง Successful Formulation & Execution the Strategy วปอ. หมายถึง หลักสูตรวิทยาลัยป้ องกันราชอาณาจักร วปรอ. หมายถึง หลักสู ตรการป้ องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่ วมเอกชน นบส. หมายถึง หลักสู ตรนักบริ หารระดับสู ง บยส. หมายถึง หลักสูตรผูบ้ ริ หารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง ปปร. หมายถึง หลักสูตรการเมืองการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยสาหรับนักบริ หารระดับสูง วตท. หมายถึง หลักสู ตรผูบ้ ริ หารระดับสู ง สถาบันวิทยาการตลาดทุน นปส. หมายถึง หลักสู ตรนักปกครองระดับสูง บยป. หมายถึง หลักสูตรนักบริ หารยุติธรรมทางปกครองระดับสูง IFFT หมายถึง International Financial fraud Training Program From International Revenue Service (IRS.) GEORGIA,USA.

Page5 .........................รับรองความถูกต ้อง แบบแสดงรายการข ้อมูล ประจาปี 2554 (แบบ 56-1)


บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 2

ข้ อมูลการดารงตาแหน่ งของผู้บริหารในบริษัททีเ่ กีย่ วข้ อง (ธันวาคม 2554) การประปา ส่ วนภูมิภาค

รายชื่อ 1. นายชาญชัย 2. นางมณฑา 3. นายเพิ่มศักดิ์ 4. นายรังสรรค์ 5. นายวิเชียร

สุนทรมัฏฐ์ ประณุทนรพาล รัตนอุบล ศรี วรศาสตร์ อุดมรัตนะศิลป์

6. นายสมชาย 7. นายพูลศักดิ์ 8. นางอรุ ณี 9. พล.ต.อ.วุฒิ 10.นางสาวณาริ นี 11.นายประพันธ์

ชุ่มรัตน์ ประณุทนรพาล อัครประเสริ ฐกุล พัวเวส ตะล่อมสิ น อัศวอารี

12. นพ.สุทธิชยั 13. นายปริ ญญา 14. นายผดุงศักดิ์ 15. นายสุรชัย 16. นายธานี 17. นายภัครธรณ์ 18. พ.ต.อ.ยิง่ ยศ

จันทร์อารักษ์ นาคฉัตรี ย ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา ขันอาสา สามารถกิจ เทียนไชย เทพจานงค์

หมายเหตุ

การนิคม อุตสาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย

บมจ.จัดการและ พัฒนาทรัพยากร นา้ ภาคตะวันออก 

ผูว้ า่ การ

บจ.ยูนิเวอร์ แซล บริษทั ประปา 31 ยูทีลติ สี้ ์ พืน้ ที่

  

รักษาการ ผูว้ า่ การ

 = ประธานกรรมการ

      กรรมการ ผูอ้ านวยการใหญ่





 = กรรมการ

1/ บริ ษทั ประปา 3 พื้นที่ ได้แก่ บจ.ประปาฉะเชิงเทรา บจ.ประปาบางปะกง และ บจ.ประปานครสวรรค์

..................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)


เอกสารแนบ 3

แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ประจาปี 2554

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรนา้ ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)

แบบประเมินนีจ้ ัดทาโดยบริษัท ซึ่งเป็ นความเห็นของคณะกรรมการบริษัท เกีย่ วกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน

...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 1


ส่ วนที่ 1 องค์ กรและสภาพแวดล้อม (Organizational Control and Environment Measure) องค์ก รและสภาพแวดล้อม หมายถึ ง การมี โครงสร้ างองค์ก และสภาพแวดล้อมที่ ดีซ่ ึ งเป็ น รากฐาน ที่สาคัญของระบบการควบคุ มภายในที่มีประสิ ทธิ ผล ดังนั้น จึงมีความจาเป็ นที่ตอ้ งสร้างสภาวะหรื อปั จจัย ต่าง ๆ ซึ่ งเอื้อให้ระบบการควบคุ มภายในดาเนิ นไปได้ตามที่บริ ษทั มุ่งหวัง เป็ นการสร้ างบรรยากาศ การ ควบคุมเพื่อส่ งเสริ มให้ทุกคนในบริ ษทั ตระหนักถึงความจาเป็ นของระบบการควบคุมภายใน เช่น การที่ฝ่าย บริ หารให้ความสาคัญต่อความซื่ อสัตย์สุจริ ตและจริ ยธรรมในการดาเนิ นธุ รกิ จ การจัดการโครงสร้ างของ องค์กรอย่างเหมาะสม การกาหนดหน้าที่ อย่างชัดเจน การมี นโยบายและระเบี ยบปฏิ บตั ิ ที่เป็ นลายลักษณ์ อักษร เป็ นต้น

1.1 คณะกรรมการได้ดูแลให้มีการกาหนดเป้ าหมายการดาเนิ นธุ รกิจที่ชดั เจนและวัดผลได้ เพื่อเป็ น แนวทางในการปฏิบตั ิงานของพนักงาน ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่ คณะกรรมการบริ ษทั ได้เล็งเห็ นถึ งความสาคัญในการกาหนดวิสัยทัศน์ นโยบายและแผนกลยุทธ์ ของบริ ษทั โดยการพิจารณาแผนธุ รกิจระยะยาว (Corporate Plan) ทุก ๆ 3 ปี ร่ วมกับบุคลากรของบริ ษทั ใน ทุกระดับ โดยแผนธุ รกิจระยะยาว(Corporate Plan)สาหรับปี 2554-2556 เน้นธุ รกิ จหลักของบริ ษทั การ บริ หารจัดการน้ าทุกประเภทอย่างครบวงจร การทบทวนเป้ าหมายให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ที่กาหนดไว้ และการวัดผลส าเร็ จของงาน ทั้ง นี้ บ ริ ษ ทั มี ก ารสื่ อสารเพื่ อ ให้พ นัก งานรั บ ทราบทิ ศ ทาง ภารกิ จและ วัตถุประสงค์ในการดาเนิ นการร่ วมกันทั้งกลุ่มบริ ษทั สาหรับการดาเนิ นการในแต่ละปี ทุกหน่วยงานจะร่ วม จัดทาแผนปฏิบตั ิการประจาปี (Action Plan) ประกอบด้วย โครงการ ตามแผนกลยุทธ์ที่กาหนดไว้ในแผน ระยะยาวเพื่อนาไปสู่ ก ารปฏิ บ ตั ิ โดยมี ก ารก าหนดเป้ าหมาย วัตถุ ป ระสงค์ งบประมาณ ปั จจัย ความเสี่ ย ง กิ จกรรมหลักที่ จะดาเนิ นการในแต่ ละช่ วงเวลา ผลตอบแทนที่ คาดว่า จะได้รับ ที่ ส ามารถวัดได้อย่า งเป็ น รู ป ธรรมเพื่ อ ให้ บ รรลุ เ ป้ าหมายโดยรวม ทั้ง นี้ คณะกรรมการบริ ห ารและการลงทุ น เป็ นผูพ้ ิ จ ารณาใน รายละเอียดของแผนปฏิ บตั ิการและงบประมาณประจาปี ก่อนนาเสนอยังคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณา อีกทั้งฝ่ ายบริ หารมีการรายงานยังคณะกรรมการตรวจสอบถึ งความก้าวหน้าของแผนปฏิ บตั ิการและการใช้ งบประมาณอย่างน้อยทุกไตรมาส เพื่อติดตามการดาเนิ นงานทุกโครงการ และเพื่อรับทราบปั ญหา/อุปสรรค ในการดาเนินการตามแผนงาน ทั้งนี้ในปี 2554 คณะกรรมการบริ ษทั ได้พิจารณาอนุมตั ิ กรอบกลยุทธ์ระยะ 10 ปี ของกลุ่มบริ ษทั (ปี 2555-2564) โดยมีวตั ถุประสงค์ที่สาคัญ เพื่อให้หน่วยธุ รกิจต่างๆ ของกลุ่มบริ ษทั มีทิศทางการเติบโตที่ชดั เจน อย่างยัง่ ยืน และกาหนดทิศทางการวางแผนธุ รกิจของกลุ่มบริ ษทั ในแต่ละปี

...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 2


1.2 คณะกรรมการบริ ษทั ได้ทบทวนเป้ าหมายการปฏิบตั ิงานแล้วว่า การตั้งเป้ าหมายได้ดาเนิ นการอย่าง รอบคอบ และได้พิจารณาถึ งความเป็ นไปได้ของเป้ าหมายที่กาหนด ตลอดจนได้มีการวิเคราะห์ถึงการให้ สิ่ งจูงใจ หรื อผลตอบแทนแก่พนักงานว่าเป็ นไปอย่างสมเหตุสมผล โดยไม่มีการจูงใจ หรื อให้ผลประโยชน์ ตอบแทนที่ เกิ นสมควรแก่ พนักงานในลักษณะที่ อาจนาไปสู่ การกระทาทุ จริ ต หรื อประพตติ มิ ชอบ (เช่ น ตั้งเป้ าหมายยอดขายของบริ ษทั ไว้สูงเกินความเป็ นจริ งทาให้เกิดแรงจูงใจในการตกแต่งตัวเลขยอดขาย เป็ นต้น)  ใช่  ไม่ใช่ คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีการพิจารณาทบทวนแผนธุ รกิจทุกปี เพื่อให้สอดคล้องกับปั จจัยเสี่ ยงและ สภาพแวดล้อ มที่ เ ปลี่ ย นไป มี ก ารก าหนดเป้ าหมายในแต่ ล ะกลยุ ท ธ์ ใ ห้ ค รอบคลุ ม ตามหลัก Balanced Scorecard ทั้งในด้านการเงินและการลงทุน ด้านกลุ่มผูม้ ีผลประโยชน์ร่วม(Stakeholders) ด้านการจัดการ และด้านการเรี ยนรู ้ การพัฒนาองค์กร และเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากนี้ ยงั ได้ประยุกต์ใช้ดชั นีวดั ผลการ ดาเนินงาน (Key Performance Indicators : KPIs) เพื่อวัดผลการปฏิบตั ิงานทัว่ ทั้งองค์กร ซึ่ งคณะกรรมการ บริ ษทั จะได้พิจารณาอนุ มตั ิในแต่ละปี โดยกาหนด KPIs ทั้งในระดับบุคคลและระดับฝ่ ายให้สอดคล้องกับ KPIs ในระดับองค์กรที่มีความท้าทาย และสามารถนาไปปฏิบ ัติได้จริ ง มีการประเมินผล KPIs ทุกไตรมาส เพื่อกระตุน้ ให้เกิดการเร่ งรัดดาเนิ นการตามเป้ าหมาย และนาไปใช้ในการพิจารณาค่าตอบแทนประจาปี ของ พนักงาน ผูบ้ ริ หาร และคณะกรรมการบริ ษทั ซึ่ ง คณะกรรมการบริ ษทั ได้แต่งตั้งคณะกรรมการกาหนดเกณฑ์ และประเมินผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั และพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อพิจารณาในรายละเอียดและความ เหมาะสมของเกณฑ์การประเมินดังกล่าว บริ ษทั ได้นาผล KPIs มาใช้ประกอบการพิจารณาค่าตอบแทนประจาปี ของคณะกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร และพนัก งาน โดยคณะกรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมิ นผลการดาเนิ นงานของบริ ษ ทั และ พิจารณาค่าตอบแทนเป็ นผูพ้ ิจารณารายละเอียดในเบื้องต้นก่อนนาเสนอในที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาอนุ มตั ิ ค่าตอบแทนของผูบ้ ริ หารและพนักงาน โดยค่าตอบแทนคณะกรรมการบริ ษทั จะได้ นาเสนอยังที่ประชุมสามัญประจาปี ผูถ้ ือหุ น้ เพื่อพิจารณาอนุมตั ิต่อไป 1.3 บริ ษทั ได้มีการจัดโครงสร้างองค์กรที่ช่วยให้ฝ่ายบริ หารสามารถดาเนิ นงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่ บริ ษทั มีโครงสร้างองค์กรที่ชดั เจน และมีการกระจายอานาจมายังคณะกรรมการชุ ดย่อยและผูบ้ ริ หาร ในระดับ ต่า งๆ โดยในปี 2554 ได้มี ก ารแต่ง ตั้งรองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ ส ายปฏิ บ ตั ิ ก ารและรอง กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่สายการเงิ นและบัญชี เพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการปฏิ บตั ิงาน รวมทั้งกระจาย อานาจการตัดสิ นใจไปยังฝ่ ายปฏิบตั ิการและบริ การลูกค้าในพื้นที่ปฏิบตั ิการตามความเหมาะสม โดยการมอบ อานาจหน้าที่และความรับผิดชอบเป็ นลายลักษณ์อกั ษรตามสายงานบังคับบัญชา เพื่อให้มีความคล่องตัวใน การตอบสนองความต้องการของลูกค้า สามารถแข่งขันการบริ การ และการสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า ทั้งนี้ ผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่ในส่ วนงานต่างๆขององค์กรมีความเข้าใจในขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบตามคาพรรณนา ...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 3


ลักษณะงาน (Job Descriptions) และเอกสารคู่มือคุณภาพในระบบ ISO 9001:2008 และ ISO 14001:2004 รวมทั้งระเบียบปฏิบตั ิต่างๆ ที่ได้ประกาศใช้ในองค์กร คณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารทุกระดับมีทศั นคติและแนวทางการปฏิบตั ิงานตามหลักการกากับ ดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย์ฯ ให้ความสาคัญกับการบริ หารความเสี่ ยงและการควบคุมภายในองค์กร สนับสนุนการสร้างแรงจูงใจและความสามารถของพนักงานให้ดาเนินการตามระบบที่วางไว้ เพื่อให้องค์กร บรรลุเป้ าหมายอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทั้งนี้ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุ ดย่อย เพื่อช่วยในการพิจารณากลัน่ กรอง และให้คาวินิจฉัยในเรื่ องที่สาคัญ ประกอบด้วย 1. คณะกรรมการบริ หารและการลงทุน 2. คณะกรรมการตรวจสอบ 3. คณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา 4. คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง 5. คณะกรรมการกาหนดเกณฑ์และประเมินผลการดาเนินงานของบริ ษทั และพิจารณา ค่าตอบแทน นอกจากนี้ บ ริ ษทั ได้มีนโยบายซึ่ ง กาหนดโครงสร้ า งคณะกรรมการบริ ษ ทั ต้องประกอบไปด้วย คณะกรรมการที่ มีคุณสมบัติและไม่มีลกั ษณะต้องห้ามตามที่กฎหมายกาหนด และมีกรรมการอิสระจานวน ไม่นอ้ ยกว่า 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการบริ ษทั ทั้งหมด ซึ่ งสอดคล้องกับนิ ยามกรรมการอิสระที่กาหนดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อทาหน้าที่ให้ความคิดเห็นและกาหนดนโยบายที่คานึ งถึงผลประโยชน์ ของบริ ษทั และคุม้ ครองผลประโยชน์ของผูถ้ ือหุ น้ รายย่อย ในปี 2554 คณะกรรมการบริ ษทั ได้พิจารณาทบทวนการจัดทาและประกาศใช้กฎบัตรคณะกรรมการ ชุ ดย่อยทั้ง 5 ชุ ด เพื่อความโปร่ งใส เป็ นรู ปธรรม ชัดเจนในการกาหนดขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ ให้มีความสอดคล้องกับโครงสร้างในปัจจุบนั 1.4 บริ ษทั มีขอ้ กาหนดเกี่ยวกับจริ ยธรรม (code of conduct) และข้อกาหนดห้ามฝ่ ายบริ หารและพนักงาน ปฏิ บตั ิตนในลักษณะที่อาจก่อให้เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั กิ จการเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร รวมทั้ง บทลงโทษหากมีการฝ่ าฝื น หรื อไม่  มี  ไม่มี 1.4.1 บริ ษทั ได้ประกาศใช้ “หลักการกากับดู แลกิ จการที่ ดี ของกลุ่ มบริ ษทั จัดการและพัฒนา ทรัพยากรน้ าภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)”ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยประกาศ ให้บุคลากรทุกระดับของบริ ษทั ตั้งแต่ กรรมการ ฝ่ ายบริ หาร พนักงาน ผูป้ ฏิบตั ิงานสมทบ ตลอดจนพนักงาน ของผูร้ ับจ้างได้ยึดถื อปฏิบตั ิ รวมทั้งได้มีการบรรรยาย เพื่อชี้ แจงและทาความเข้าใจหลักการดังกล่าวให้แก่ พนักงานใหม่ในวันปฐมนิ เทศและมีการเผยแพร่ หลักการดังกล่าวให้พนักงานกลุ่มบริ ษทั รับทราบผ่านสื่ อ ภายใน เพื่อประยุกต์ปฏิบตั ิให้สอดคล้องกันไป โดยหลักการดังกล่าวประกอบด้วย 1. วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมของค์กร ...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 4


2. นโยบายเกี่ยวกับคณะกรรมการบริ ษทั 3. บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ในเครื อ 4. การรายงานข้อมูล 5. นโยบายการบริ หารงานทรัพยากรบุคคล และจรรยาบรรณพนักงาน 6. ข้อพึงประพตติปฏิบตั ิต่อกลุ่มบริ ษทั 7. ข้อพึงประพตติปฏิบตั ิต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม 8. ข้อพึงประพตติปฏิบตั ิต่อผูบ้ งั คับบัญชา ผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ผูร้ ่ วมงาน 9. ข้อพึงประพตติปฏิบตั ิต่อตนเอง 10. นโยบายการบริ หารงานของบริ ษทั ในเครื อ 11. นโยบายเกี่ยวกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 12. นโยบายเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน 13. จรรยาบรรณของการจัดหา 14. นโยบายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจกรรมสาธารณะ 15. นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลทางธุ รกิจ 16. นโยบายเกี่ยวกับการใช้ขอ้ มูลภายใน 17. นโยบายเกี่ยวกับการซื้ อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั 18. นโยบายเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร 19. นโยบายด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัย สิ่ งแวดล้อม และความมัน่ คงปลอดภัย หลักปฏิ บตั ิ ดงั กล่ า วถื อเป็ นนโยบายและวินัย อย่างหนึ่ ง ที่ บุ คลากรของบริ ษทั ต้องปฏิ บตั ิ ตามให้ สอดคล้องอย่างสม่ าเสมอ ทั้งนี้ ในการพิจารณาเกี่ ยวกับข้อกาหนดด้านจริ ยธรรมและหลักการกากับดูแล กิจการที่ดีน้ นั คณะกรรมการบริ ษทั ได้แต่งตั้งคณะกรรมการธรรมาภิบาลและสรรหา เพื่อพิจารณากลัน่ กรอง ในรายละเอียดเบื้องต้นก่อนนาเสนอในที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณา 1.4.2 บริ ษัท จัด ท าคู่ มื อ คณะกรรมการบริ ษัท ซึ่ งส่ ว นหนึ่ งของคู่ มื อ ดั ง กล่ า วได้ ก าหนด “จรรยาบรรณของคณะกรรมการบริ ษทั ” โดยบริ ษทั ได้กาหนดคุณสมบัติที่สาคัญของกรรมการบริ ษทั ว่าต้อง มีความซื่ อสัตย์ เป็ นอิสระ มีคุณธรรม รักษาความลับ มีความรับผิดชอบ และมีความคิดริ เริ่ มมุ่งผลสัมตทธิ์ รวมถึ ง การก าหนดบทบาท อ านาจหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการบริ ษัท ต่ อ ผู ้มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ยอื่ น ๆ (Stakeholders) อย่างชัดเจน และคณะกรรมการบริ ษทั ทุกท่านได้รับฟั งการบรรยายสรุ ปคู่มือดังกล่าว เพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงาน ซึ่ งบริ ษทั ได้ปรับปรุ งคู่มือคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อโปร่ งใส และชัดเจนขึ้น ตามนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี 1.4.3 บริ ษทั จัดทาและประกาศใช้ “จรรยาบรรณทางธุ รกิจของพนักงาน” โดยอยูภ่ ายใต้หลักการ กากับดูแลกิจการที่ดี ของกลุ่มบริ ษทั ให้เข้าใจง่าย สามารถปฏิบตั ิได้อย่างถูกต้องเหมาะสมภายหลังการอบรม ในเรื่ องนี้ ทั้งนี้ พนักงานที่ ฝ่าฝื นกฎระเบียบ ตลอดจนละเมิดจรรยาบรรณ จะถูกสอบสวนและลงโทษตาม ระเบียบที่กาหนดในคู่มือพนักงานของบริ ษทั ...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 5


1.5 บริ ษทั มีการจัดทานโยบายและระเบียบวิธีปฏิบตั ิงานเป็ นลายลักษณ์อกั ษรในธุ รกรรมด้านการเงิ น การจัดซื้ อ และการบริ หารทัว่ ไปที่รัดกุมและสามารถป้ องกันการทุจริ ตได้หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่ ในปี 2554 คณะกรรมการบริ ษทั ได้พิจารณาทบทวนและอนุมตั ิประกาศใช้ระเบียบ หลักปฏิบตั ิต่างๆ ของบริ ษทั เพื่อให้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงานตามหลักการควบคุมภายในที่ดีประกอบด้วย ระเบียบ และแนวปฏิบตั ิดา้ นการจัดซื้ อจัดจ้าง ระเบียบและแนวปฏิบตั ิดา้ นงบประมาณ การบัญชีและการเงิน ระเบียบ และแนวปฏิบตั ิดา้ นการลงุทนและบริ หารโครงการลงทุน ระเบียบและแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับอานาจดาเนินการ ภายในองค์กร เพื่ อเพิ่ ม ความชัดเจนในการปฏิ บ ตั ิ ง านและเป็ นแนวทางการปฏิ บ ตั ิ ส าหรั บ พนักงานที่ เกี่ ย วข้อง รวมทั้งให้การดาเนิ นการร่ วมกันระหว่างบริ ษทั และบริ ษทั ในเครื อเป็ นไปในทิศทางเดี ยวกัน ทั้งนี้ พนักงาน ยังต้องจัดทาและปฏิบตั ิตามขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน (Work Procedures and Work Instructions) ที่สอดคล้อง กับระเบียบและระบบคุณภาพ ISO 9001:2008 และ ISO 14001:2004 โดยจัดให้มีการทบทวนเป็ นปั จจุบนั อย่างสม่าเสมอ 1.6 ในการก าหนดนโยบายและแผนการปฏิ บ ัติ ง าน บริ ษัท ได้ ค านึ ง ถึ ง ความเป็ นธรรมต่ อ คู่ ค ้ า เพื่อประโยชน์ของบริ ษทั ในระยะยาว ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่ บริ ษทั ได้ประกาศใช้ “หลักการกากับดูแลกิจการที่ดี ของกลุ่มบริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ า ภาคตะวันออก จากัด (มหาชน)” ซึ่ งได้กาหนดไว้ชดั เจน ในเรื่ องจรรยาบรรณของการจัดหา ที่ มุ่งเน้นในเรื่ อง การปฏิบตั ิต่อ ผูค้ า้ ผูข้ าย ผูร้ ับจ้าง ผูร้ ับเหมา หรื อผูร้ ับเหมาช่ วง อย่างเที่ยงธรรม โปร่ งใส และปฏิ บตั ิต่อกัน อย่างสุ ภาพชน บนพื้นฐานของความยุติธรรมในการเจรจาการค้า และการปฏิบตั ิตามข้อตกลงทางการค้าอัน จะส่ งผลที่เป็ นประโยชน์ต่อองค์กรในระยะยาว ทั้งนี้ ยงั คงมติคณะกรรมการตรวจสอบที่ให้บริ ษทั กาหนด นโยบายเรื่ องการห้ามมิให้ดาเนินการทาสัญญาที่มีลกั ษณะที่ขดั ต่อความสงบเรี ยบร้อยและศีลธรรมอันดีหรื อ สัญญาที่ก่อให้เกิดความไม่เป็ นธรรมทางการค้าและสื่ อสารไปยังบริ ษทั ในเครื อทุกแห่ งให้ปฏิบตั ิเป็ นบรรทัด ฐานเดี ยวกัน นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้จดั กิ จกรรม เพื่อรับฟั งความคิดเห็ นของผูค้ า้ และการสารวจความพึง พอใจของผูค้ า้ ที่มีต่อบริ ษทั เพื่อปรับปรุ งแผนการปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่องทุกปี

...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 6


ส่ วนที่ 2 การบริหารความเสี่ ยง (Risk Management Measure) การประกอบธุ รกิจของบริ ษทั ย่อมดาเนิ นการอยูท่ ่ามกลางความเสี่ ยงทางธุ รกิจตลอดเวลาโดยสาเหตุ ของความเสี่ ยงอาจมาจากปั จจัยภายใน เช่ น ผูบ้ ริ หารขาดความซื่ อสัตย์และจริ ยธรรม บริ ษทั ขยายงานอย่าง รวดเร็ วเกินไปทาให้ระบบงานไม่สามารถรองรับได้ หรื อการกากับดูแลไม่ทวั่ ถึง เป็ นต้น และปั จจัยภายนอก เช่ น การเปลี่ ย นแปลงของเทคโนโลยี หรื อพตติ ก รรมการบริ โภคสิ นค้า ท าให้มี ผ ลกระทบต่ อส่ วนแบ่ ง การตลาด เป็ นต้น ด้วยเหตุน้ ี การที่จะนาพาให้บริ ษทั รอดพ้นจากอันตรายที่เกิดจากความเสี่ ยงดังกล่าวได้น้ นั ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องดาเนินการต่อไปนี้อย่างสม่าเสมอ (1) พิ จ ารณาหรื อไตร่ ต รองถึ ง ลัก ษณะความเสี่ ย งที่ บ ริ ษ ัท ประสบอยู่ หรื อคาดว่ า จะประสบ (Identification of risk) (2) วิเคราะห์ ผ ลกระทบของความเสี่ ย งนั้นๆ ต่ อบริ ษ ทั และโอกาสที่ ค วามเสี่ ย งนั้นๆ จะเกิ ดขึ้ น (Analysis of risk) (3) กาหนดมาตรการเพื่อลดความเสี่ ยงให้อยูใ่ นระดับที่เหมาะสม (Management of risk)

2.1 บริ ษทั มีการประเมินอย่างสม่าเสมอหรื อไม่วา่ การประกอบธุ รกิจของบริ ษทั มีปัจจัยใดบ้างที่เป็ น ปั จจัยความเสี่ ยงทั้งที่มาจากภายนอกและภายใน ซึ่ งอาจมีผลกระทบต่อการดาเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั อย่างมีนยั สาคัญ  มี  ไม่มี การประเมินและการจัดการความเสี่ ยงในระดับต่างๆ คณะกรรมการบริ ษทั ได้แต่งตั้งคณะกรรมการ บริ หารความเสี่ ยงเพื่อพิจารณาและกลัน่ กรองในรายละเอียดก่อนนาเสนอยังคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อทราบ และให้ขอ้ เสนอแนะต่อไป ในปี 2554 มี การจัดทาคู่มือการบริ หารความเสี่ ยงองค์กร เพื่อกาหนดกรอบ มาตรฐานในการบริ หารความเสี่ ยง บริ ษทั ได้ประเมินความเสี่ ยงขององค์กรเป็ นประจาทุกปี และนารายงาน เสนอยัง คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งพิ จ ารณาวิ นิ จ ฉัย อย่า งน้อยทุ ก ไตรมาส เพื่ อ ให้ ส ามารถระบุ เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้น และส่ งผลกระทบกับองค์กร รวมทั้งจัดให้มีกระบวนการจัดการความเสี่ ยงให้อยูใ่ น ระดับที่ องค์กรยอมรับได้ เพื่อช่ วยให้เกิ ดความเชื่ อมัน่ อย่างสมเหตุ สมผลว่า องค์กรจะบรรลุ วตั ถุ ประสงค์ ตามที่ต้ งั เป้ าหมายไว้ การประเมินความเสี่ ยงมีการทบทวนอย่างสม่าเสมอ โดยจัดประชุ มระหว่างหน่วยงานภายในบริ ษทั เพื่อระบุความเสี่ ยงที่เกิดจากปั จจัยภายในและปั จจัยภายนอกที่อาจมีผลกระทบต่อการดาเนิ นธุ รกิ จ รวมถึ ง การพิจารณาความเสี่ ยงใหม่ที่อาจจะเกิดขึ้น ปรับลดระดับความเสี่ ยงของปั จจัยเสี่ ยงที่เคยระบุไว้เดิมให้ลดลง หรื อคงระดับความเสี่ ยงไว้ตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ตลอดจนเฝ้ าระวังความเสี่ ยงต่ามิให้สูงขึ้น

...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 7


บริ ษทั ได้มีการวิเคราะห์หรื อไม่วา่ เหตุการณ์ใดที่จะทาให้ปัจจัยที่เป็ นความเสี่ ยงนั้นเกิดขึ้น  มี  ไม่มี บริ ษ ทั ก าหนดกรอบคะแนนระดับ ความเสี่ ย งสู ง กลาง และต่ า เพื่ อใช้ใ นการพิ จารณาโอกาส (Likelihood) และผลกระทบของปั จจัย เสี่ ย ง (Impact) ทั้ง ในด้า นกลยุท ธ์ การดาเนิ นงาน การเงิ น และ กฎระเบียบ มีการกาหนดดัชนีวดั ความเสี่ ยงแต่ละรายการเป็ นระดับสู ง กลาง และต่า โดยจะทาการศึกษาและ วิเคราะห์ถึงสาเหตุของความเสี่ ยงจากความอ่อนไหวทางธุ รกิจ (SWOT) ตามปั จจัยแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง เพื่อกาหนดกิจกรรมและแนวทางการควบคุมที่ถูกต้อง มีผรู ้ ับผิดชอบที่เหมาะสม 2.2

2.3 บริ ษทั กาหนดให้มีมาตรการในการติดตามเหตุการณ์ที่เป็ นสาเหตุของปั จจัยความเสี่ ยง รวมทั้งมาตรการในการลดความเสี่ ยงเหล่านั้น ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่ บริ ษทั กาหนดให้งานวิเคราะห์ นโยบายและแผน สานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่รวบรวมและ จัดทาแผนปฏิ บตั ิการบริ หารความเสี่ ยงจากหน่ วยงานต่างๆ โดยระบุ มาตรการควบคุ ม ผูร้ ั บผิดชอบ และ กาหนดแล้วเสร็ จ ทั้งนี้ฝ่ายบริ หารซึ่ งรับผิดชอบความเสี่ ยงต่างๆ จะต้องเลือกทางเลือกในการตอบสนองความ เสี่ ยง ที่คาดว่าจะสามารถลดโอกาสหรื อผลกระทบของความเสี่ ยงให้เข้ามาสู่ ระดับที่องค์กรยอมรับได้ เช่ น การติ ดตามสถานการณ์ ที่มีความเสี่ ยง การจัดจ้างที่ ปรึ กษาผูม้ ีความเชี่ ยวชาญ การลงทุ นเพิ่มเติ มและการ วางแผนปฎิบตั ิการที่ชัดเจน เป็ นต้น หรื อพิจารณาหลี กเลี่ยงความเสี่ ยง หรื อโอนความเสี่ ยง อาทิ การทา ประกันภัย การ Outsource หรื อยอมรับความเสี่ ยง โดยกาหนดช่วงของความเสี่ ยงที่ยอมรับได้ 2.4 บริ ษทั ได้แจ้งให้พนักงานทุกคนที่เกี่ยวข้องรับทราบและปฏิบตั ิตามมาตรการบริ หารความเสี่ ยง ที่กาหนดไว้ ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่ บริ ษทั ใช้แนวคิดของการบริ หารความเสี่ ยงทัว่ ทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management) โดยให้ ผูบ้ ริ หารและพนักงานที่เกี่ ยวข้องร่ วมกันบ่งชี้ ความเสี่ ยง การวิเคราะห์ ปัจจัยเสี่ ยง มาตรการควบคุ มที่ มีใน ปั จจุบนั การระบุความเสี่ ยงไว้ในแผนปฏิบตั ิการ รวมถึงกาหนดมาตรการควบคุมเพิ่มเติมตามความเหมาะสม และจาเป็ น ซึ่ งงานวิเคราะห์นโยบายและแผนเป็ นผูม้ ีหน้าที่รวบรวมข้อมูลทั้งหมดและสื่ อสารให้พนักงานที่ เกี่ยวข้องทุกคนรับทราบ รวมทั้งจัดพนักงานเข้าอบรมภายในและภายนอกบริ ษทั อย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ กรณี ที่มีเหตุการณ์ฉุกเฉิ น ที่มีความเสี่ ยงสู งและอาจเกิดผลเสี ยหายต่อบริ ษทั อาทิ ท่อส่ งน้ าแตก หรื อ แหล่ ง น้ าช ารุ ด ซึ่ งส่ ง ผลต่ อ ระบบการสู บ จ่ า ยน้ า ของบริ ษัท ผู ้พ บเหตุ มี ห น้ า ที่ ใ นการรายงานตรงต่ อ ผูบ้ งั คับบัญชา และผูบ้ ริ หารระดับสู งทันทีที่เกิดเหตุ เพื่อให้การแก้ไขปั ญหาสามารถดาเนินการได้ทนั ที

...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 8


2.5 บริ ษ ัท มี ก ารติ ด ตามว่า หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ได้ป ฏิ บ ัติ ต ามแผนการบริ ห ารความเสี่ ย งที่ ก าหนดไว้ ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่ บริ ษทั ได้กาหนดให้งานวิเคราะห์นโยบายและแผนเป็ นผูท้ าหน้าที่ในการติดตามหน่วยงานต่างๆให้ ปฏิบตั ิตามแผนบริ หารความเสี่ ยงที่กาหนดไว้ โดยฝ่ ายบริ หารกาหนดให้ทุกหน่วยงานภายในบริ ษทั รายงาน ความคืบหน้าของการปฏิ บตั ิตามแผนปฏิ บตั ิการบริ หารความเสี่ ยงในส่ วนที่ตนรับผิดชอบไปยังงานบริ หาร ความเสี่ ยง เพื่อทบทวนความเหมาะสมก่อนนาเสนอแก่คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงและคณะกรรมการ บริ ษทั เพื่อพิจารณาอย่างน้อยทุกไตรมาส

...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 9


ส่ วนที่ 3 การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ ายบริ หาร (Management Control Activities) การควบคุ ม การปฏิ บ ัติง านของฝ่ ายบริ หาร เป็ นกิ จ กรรมที่ มี ค วามส าคัญเพื่ อ ให้บ ริ ษ ัท มัน่ ใจว่า แนวทางที่ฝ่ายบริ หารกาหนดไว้ได้รับการตอบสนองและปฏิบตั ิตามจากทุกคนในบริ ษทั ซึ่ งแนวทางดังกล่าว ได้แก่ (1) การกาหนดอานาจและระดับการอนุมตั ิรายการเป็ นไปอย่างเหมาะสม (2) มีการแบ่งแยกหน้าที่ที่อาจเอื้อให้เกิดการกระทาที่ทุจริ ตออกจากกัน (3) มีการกาหนดขั้นตอน และวิธีการทาธุ รกรรมกับผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวอย่างเหมาะสม เพื่อป้ องกันการถ่ายเทผลประโยชน์ (4) การกาหนดวิธีการเพื่อให้แน่ใจว่า บริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

3.1 บริ ษทั มีการกาหนดขอบเขตอานาจหน้าที่ และวงเงิ นอานาจอนุ มตั ิของฝ่ ายบริ หารในแต่ละระดับ ไว้อย่างชัดเจนและเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่ ระเบี ย บและแนวปฏิ บ ตั ิ ด้า นอ านาจดาเนิ น การภายในองค์ก รที่ บ ริ ษ ัท ประกาศใช้มี ก ารก าหนด ขอบเขตอานาจหน้าที่ และวงเงินที่มีอานาจอนุ มตั ิได้ของฝ่ ายบริ หารในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน และมีการ ปรับปรุ งให้เป็ นปั จจุบนั อย่างสม่าเสมอ 3.2 บริ ษทั มีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบในงาน 3 ด้านต่อไปนี้ ออกจากกันโดยเด็ดขาด เพื่อเป็ น การตรวจสอบซึ่ ง กันและกัน ใช่ หรื อไม่ (1) หน้าที่ อนุ มตั ิ (2) หน้าที่ บนั ทึ ก รายการบัญชี และข้อมูล สารสนเทศและ (3) หน้าที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพย์สิน  ใช่  ไม่ใช่ ระเบี ยบและแนวปฏิ บตั ิ ด้านอานาจดาเนิ นการภายในองค์กร กาหนดวงเงิ นการขออนุ มตั ิ ซ้ื อของ พนักงานในแต่ละระดับ และแบ่งแยกหน้าที่ รับผิดชอบของหน่ วยงานจัดซื้ อจัดจ้างออกจากหน่ วยงานรั บ พัสดุ และหน่วยงานบัญชี นอกจากนี้ยงั ได้กาหนดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน ในการคัดเลือกผูข้ าย การทาสัญญา และการประเมินผูข้ ายไว้ในระบบคุณภาพ ISO 9001:2008 ระเบียบด้านงบประมาณ การเงินและการบัญชี บริ ษทั กาหนดอานาจอนุ มตั ิการสั่งจ่าย หรื อชาระเงิน โดยให้มีผมู ้ ีอานาจลงนามอย่างน้อย 2 ท่าน ซึ่ งวงเงิ นอนุ มตั ิมีการแบ่งแยกตามระดับความรับผิดชอบ ฝ่ าย การเงินและบัญชี ของบริ ษทั ไม่มีอานาจอย่างเบ็ดเสร็ จในการอนุ มตั ิจ่าย นอกจากนี้ ยงั มีการแบ่งแยกหน้าที่ ระหว่าง ผูบ้ นั ทึกบัญชี ผูร้ ับเงิน และผูจ้ ่ายเงินด้วยเช่นกัน ในการตรวจรั บทรั พย์สิ นต่ างๆ จากการจัดซื้ อจัดจ้า งนั้น บริ ษทั ก าหนดการตรวจรับสิ นค้าหรื อ ทรั พย์สิน ให้มีการตรวจรั บโดยหน่ วยงานสิ นค้าคงคลัง และการตรวจรั บสิ นค้าและทรั พย์สินต่าง ๆ ให้ เป็ นไปตามระเบียบปฏิบตั ิดา้ นการบริ หารสิ นค้าคงคลัง แต่หากเป็ นงานบริ การหรื องานโครงการให้ตรวจรับ ...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 10


งานโดยผูใ้ ช้บริ การ และกรณี ที่เป็ นงานที่มีการจัดทานิติกรรมสัญญา การตรวจรับงานให้เป็ นไปตามระเบียบ การบริ หารสัญญา ในการดูแลทรัพย์สิน บริ ษทั กาหนดให้ฝ่าย/สานัก ซึ่ งเป็ นผูข้ อซื้ อ รับผิดชอบในการดูแลทรัพย์สินที่ จัดซื้ อ โดยฝ่ ายการเงินและบัญชีจะเป็ นผูค้ วบคุมความครบถ้วน และเป็ นปั จจุบนั ของทะเบียนทรัพย์สินถาวร ของบริ ษทั ทั้งนี้ มีก ารตรวจนับทรั พย์สิ นทั้งหมดเป็ นประจาทุ กปี ร่ วมกับฝ่ ายที่ เกี่ ยวข้อง เพื่อยืนยันความ ครบถ้วนและความมีอยูจ่ ริ งของทรัพย์สินด้วย โดยฝ่ ายอานวยการจะเข้าร่ วมการตรวจนับ และพิจารณาการ จัดทาประกันภัยทรัพย์สินตามความเหมาะสม 3.3 ในกรณี ที่บริ ษทั มีการทาธุ รกรรมกับผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับบุคคล ดังกล่าว บริ ษทั มีมาตรการที่ รัดกุมเพื่อติ ดตามให้การทาธุ รกรรมนั้นต้องผ่านขั้นตอนการอนุ มตั ิ ที่กาหนด ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่  ไม่มีกรณี ดงั กล่าว รายการระหว่างกันของบริ ษทั และบริ ษทั ในเครื อ รวมถึงผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมต่างๆ จะผ่านขั้นตอน การพิจารณา อนุ มตั ิอย่างถูกต้องชัดเจน โดยใช้โครงสร้ างราคา และเงื่อนไข เช่นเดียวกับ คู่คา้ รายอื่นๆ โดย ได้เปิ ดเผยรายการดังกล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิ น หากมีรายการระหว่างกันที่มีนยั สาคัญ อาทิ การจาหน่ายน้ าดิบให้กบั กปภ. ในอัตราที่แตกต่างจากผูใ้ ช้น้ ารายอื่น ฝ่ ายตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ฝ่ ายจัดการ และผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตจะดาเนิ นการพิจารณาอย่างรอบคอบและดาเนิ นการตามข้อกาหนด ของตลาดหลักทรัพย์ฯ ตลอดจนเปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินต่อไป คณะกรรมการบริ ษทั ได้อนุมตั ิหลักการที่เกี่ยวกับข้อตกลงทางการค้าที่มีเงื่อนไขการค้าโดยทัว่ ไปใน การทาธุ รกรรมระหว่างบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย และกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และบุ คคลที่มีความเกี่ ยวข้อง ตาม ประกาศของตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้ว ในกรณี ที่คณะกรรมการบริ ษทั หรื อบริ ษทั ในเครื อมีการมอบหมายให้บุคลากรของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ในเครื อทุกระดับ ปฏิบตั ิการแทนคณะกรรมการบริ ษทั หรื อบริ ษทั ในเครื อในเรื่ องใด การมอบหมายดังกล่าว จะต้องจัดทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร หรื อบันทึกเป็ นมติคณะกรรมการในรายงานการประชุ มคณะกรรมการ และมี การกาหนดขอบเขตอานาจหน้าที่ของผูร้ ับมอบอานาจไว้อย่างชัดเจน โดยขอบเขตดังกล่าวต้องไม่ รวมถึงการอนุมตั ิให้ทารายการที่ผรู้ ับมอบอานาจ หรื อบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสี ย หรื อมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ และให้ฝ่ายบริ หารรายงานให้คณะกรรมการทราบ บริ ษทั และบริ ษทั ในเครื อ ถื อเป็ นหน้าที่ของบุคลากรทุกระดับที่จะหลี กเลี่ยงความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ซึ่ งจะส่ งผลให้กลุ่มบริ ษทั ต้องเสี ยผลประโยชน์หรื อก่อให้เกิดความขัดแย้งในการปฏิบตั ิงาน

...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 11


3.4 ในกรณี ที่มีการทาธุรกรรมตาม 3.3 การพิจารณาอนุมตั ิธุรกรรมนั้นได้กระทาโดยผูท้ ี่ไม่มีส่วนได้เสี ย ในธุ รกรรมนั้นเท่านั้น ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่  ไม่มีกรณี ดงั กล่าว ในการออกเสี ยงเพื่อลงมติเกี่ ยวกับรายการเกี่ ยวโยง อาทิ การกาหนดอัตราค่าน้ าดิ บ กรรมการที่ มี ส่ วนได้ส่วนเสี ยจะไม่มีสิทธิ ออกเสี ยงในมติดงั กล่าว นอกจากนี้ การทาธุ รกรรมระหว่างบริ ษทั และผูถ้ ือหุ ้น ของบริ ษทั คณะกรรมการบริ ษทั มีการมอบอานาจลงนามให้แก่คณะกรรมการบริ ษทั และฝ่ ายบริ หารซึ่ งไม่มี ส่ วนได้ส่วนเสี ยต่อการทาธุ รกรรมเหล่านั้นโดยตรงเป็ นผูแ้ ทนลงนามในธุ รกรรมเหล่านั้น บริ ษทั ได้รายงาน “รายการระหว่างกัน-รายการระหว่างกันกับบุคลที่อาจมีความขัดแย้ง” ให้ กลต.ทราบ ในแบบ 56-1 รวมถึงได้ รายงานไว้ในหัวข้อ “รายการธุ รกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน” ในรายงานประจาปี (แบบ 56-2) ในกระบวนการจัดซื้ อจัดจ้าง ได้มีการส่ งแบบรายงานการมีส่วนได้เสี ยให้ผเู ้ สนอราคาหรื อผูร้ ับจ้าง ชี้แจงความสัมพันธ์เกี่ยวโยงระหว่างกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของบริ ษทั และบริ ษทั ในเครื อ เพื่อป้ องกันการขัดแย้งด้านผลประโยชน์ (Conflict of interest) 3.5 ในกรณี ที่มีการทาธุ รกรรมตาม 3.3 การพิจารณาอนุ มตั ิ ธุรกรรมนั้น ได้คานึ งถึ งประโยชน์สูงสุ ดของ บริ ษทั เป็ นสาคัญและพิจารณาโดยถือเสมือนเป็ นรายการที่กระทากับบุคคลภายนอก (on arms’ length basis) ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่  ไม่มีกรณี ดงั กล่าว การดาเนิ นธุ รกรรมดังกล่าวมีข้ นั ตอนการดาเนิ นการ และพิจารณาเป็ นไปตามระเบียบเช่นเดียวกับ ผูใ้ ช้น้ ารายอื่นๆ นอกจากนี้ ได้มีการกาหนดไว้อย่างชัดเจนในระเบียบที่เกี่ ยวข้อง รวมทั้งประกาศหลักการ ก ากับ ดู แลกิ จการที่ ดีว่า การดาเนิ นกิ จกรรมใดๆ ทางธุ รกิ จต้อ งเป็ นไปตามระเบี ย บที่ ก าหนดไว้ โดยให้ พิจารณาถึงประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั และผูถ้ ือหุ ้นเป็ นสาคัญ ทั้งนี้ ในรายการที่มีนยั สาคัญ อาทิ รายการที่มี มูลค่ามากกว่าหรื อเท่ากับ 3% ของสิ นทรัพย์ที่มีตวั ตนสุ ทธิ (Net Tangible Assets) บริ ษทั ได้พิจารณาจัด จ้าง บริ ษทั ที่ปรึ กษาการเงินอิสระ พิจารณาให้ความเห็นต่อการทาธุ รกรรมดังกล่าว เพื่อความโปร่ งใสในการ ดาเนินงาน ก่อนการนาเสนอผูถ้ ือหุน้ เพื่อพิจารณาอนุมตั ิตามกฎเกณฑ์ตลาดหลักทรัพย์ฯ 3.6 ในกรณี ที่ได้มีการอนุ มตั ิธุรกรรมกับผูท้ ี่เกี่ยวข้องในลักษณะที่มีผลผูกพันบริ ษทั ในระยะยาวไปแล้ว (เช่น การทาสัญญาซื้ อขายสิ นค้า การให้กูย้ ืม การค้ าประกัน) ได้มีการติดตามให้ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่ตกลง กันไว้ตลอดระยะเวลาที่มีผลผูกพันบริ ษทั หรื อไม่ (เช่นติดตามการชาระคืนหนี้ ตามกาหนด การทบทวนความ เหมาะสมของสัญญา เป็ นต้น)  ใช่  ไม่ใช่  ไม่มีกรณี ดงั กล่าว ระเบียบด้านการลงทุนและบริ หารโครงการลงทุน กาหนดว่าในกรณี ที่บริ ษทั ลงทุนในลักษณะที่เป็ น บริ ษทั ย่อย หรื อบริ ษทั ร่ วม(ที่บริ ษทั มีอานาจในการบริ หารจัดการ) มีความจาเป็ นต้องจัดหาเงินทุน หรื อก่อ ภาระผูกพันทางการเงิน ซึ่ งอาจมีผลต่อการละเมิดเงื่อนไขข้อตกลงในการผูกพันภาระหนี้ (Debt Covenants) ...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 12


ของบริ ษทั รายการดังกล่าวจะต้องได้รับการอนุมตั ิจากบริ ษทั ก่อนเข้าทารายการ รวมถึงมีการรายงานสถานะ ที่เป็ นปั จจุบนั ต่อบริ ษทั เพื่อให้สามารถติดตามภาระผูกพันทางการเงินได้อย่างมีประสิ ทธิ ผล ในส่ วนของสัญญาซื้ อขายน้ าดิบได้มีการติดตามให้คู่สัญญา (ผูใ้ ช้น้ า) ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ เช่น ติดตามอายุของหนังสื อค้ าประกันตามที่กาหนดไว้ในสัญญา ทบทวนความเหมาะสมของสัญญาซื้ อขาย น้ า ดิ บ กับ ผูใ้ ช้น้ า ที่ ดาเนิ นการในทุ ก ปี รวมถึ งติ ดตามการชาระค่ าน้ า จากผูใ้ ช้น้ า ทุ ก รายตามระยะเวลาที่ กาหนดอย่างเคร่ งครัด 3.7 กรณี ที่บริ ษทั มีมาตรการเกี่ยวกับการทาธุ รกรรมตาม 3.3 มาตรการดังกล่าวครอบคลุมไปถึงกรณี ที่ ผู้ ที่เกี่ยวข้องดังกล่าวนาโอกาสหรื อประโยชน์ของบริ ษทั ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวด้วย ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่  ไม่มีกรณี ดงั กล่าว บริ ษทั กาหนดไว้อย่างชัดเจนในหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั ว่า ผลประโยชน์ที่ขดั กันจะ เกิดจากกรณี ที่บุคลากรทุกระดับมีผลประโยชน์เกี่ยวพันกับบุคคลผูใ้ กล้ชิด หรื อตาแหน่ งที่รับผิดชอบ ไม่ว่า จะเป็ นด้านการเงิน หรื อด้านอื่นใดก็ตามในกิจการ ซึ่ งจะได้รับผลประโยชน์จากการตัดสิ นใจของบุคคลผูน้ ้ นั หรื อการรับรู ้กิจกรรมการดาเนินงาน หรื อแผนการในอนาคตของบริ ษทั พนักงานทุกคนมีหน้าที่ตอ้ งแจ้งเรื่ อง ที่อาจเป็ นผลประโยชน์ที่ขดั กันที่เกิดขึ้นให้ผบู ้ งั คับบัญชา และฝ่ ายจัดการของบริ ษทั ทราบตามลาดับ 3.8 ในกรณี ที่บริ ษทั มีเงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อยหรื อบริ ษทั ร่ วม บริ ษทั มีการติ ดตามดู แลการดาเนิ นงาน ของบริ ษทั ย่อยหรื อบริ ษทั ร่ วมอย่างสม่ าเสมอ รวมทั้งมีการกาหนดทิศทางให้บุคคลที่บริ ษทั แต่งตั้งให้เป็ น กรรมการหรื อผูบ้ ริ หารในบริ ษทั ดังกล่าวถือปฏิบตั ิ ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่  ไม่มีกรณี ดงั กล่าว ระเบียบและแนวปฏิบตั ิดา้ นการลงทุนและบริ หารโครงการ กาหนดว่าในกรณี ที่โครงการลงทุนนั้น เป็ นการร่ วมลงทุนกับองค์กรอื่น บริ ษทั จะส่ งผูแ้ ทนเข้าเป็ นกรรมการตามสัดส่ วนการถือหุ ้น และข้อกาหนด ในการร่ วมทุ นต้องครอบคลุ มถึ งสิ ทธิ ในการเข้าตรวจสอบกิ จการ และมี ขอ้ ตกลงในการนาส่ งแผนการ ดาเนินงาน งบประมาณ รวมถึงรายงานผลการดาเนินงาน เพื่อให้บริ ษทั สามารถติดตามผลการดาเนินงานของ กิจการร่ วมทุนได้อย่างมีประสิ ทธิ ผล โดยผูแ้ ทนของบริ ษทั มีบทบาทในการกากับดูแลการบริ หารจัดการ เพื่อให้มนั่ ใจว่าแผนการดาเนิ นงาน และผลประกอบการเป็ นไปตามวัตถุ ประสงค์ของการลงทุ นและเพื่อ ประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั โดยความรับผิดชอบดังกล่าวถือเป็ นส่ วนหนึ่ งของหน้าที่งานที่ได้รับมอบหมาย จากบริ ษทั ซึ่ งคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูพ้ ิจารณาค่าตอบแทนและการประกันความเสี่ ยงที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบตั ิหน้าที่ ตามความเหมาะสมต่อบทบาทความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้น เพื่อเป็ นการป้ องกันความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้น

...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 13


3.9 บริ ษทั มีมาตรการที่จะติดตามให้การดาเนิ นงานของบริ ษทั เป็ นไปตามกฎหมายที่เกี่ ยวข้องหรื อไม่ ทั้งนี้ เพื่อลดความเสี่ ยงในการประกอบธุ รกิจและรักษาชื่อเสี ยงของบริ ษทั  มี  ไม่มี บริ ษทั ได้มอบหมายให้เลขานุการบริ ษทั ดูแลงานด้านกฎหมาย โดยจัดให้มีแผนกกฎหมายทาหน้าที่ พิจารณาทบทวนข้อกฎหมายและข้อกาหนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิ จกรรมของบริ ษทั รวมทั้งทบทวนความ สอดคล้องของการปฏิ บตั ิตามข้อกาหนดกฎหมายดังกล่าวโดยการจัดส่ งเอกสารรายการที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามข้อ กฎหมาย ข้อกาหนด และระเบียบต่างๆ ให้ทุกหน่ วยงานทาการประเมิ นและส่ งคืนยังแผนกกฎหมายเพื่อ นามาพิจารณาประกอบการประเมิ นความสอดคล้องกับการปฏิ บตั ิงานจริ ง ในเอกสาร Law Compliance Checklist รวมถึ งให้ขอ้ เสนอแนะแก่ คณะกรรมการบริ ษทั ฝ่ ายบริ หาร และพนักงาน เพื่อให้ปฏิ บตั ิ ตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน รวมทั้งบริ ษทั ได้จดั จ้างที่ปรึ กษากฎหมาย ภายนอก เพื่อให้คาแนะนา ในกรณี ที่มีประเด็นข้อกฎหมายที่ตอ้ งใช้ประสบการณ์และความชานาญเฉพาะ ด้านในการพิจารณาดาเนินการ 3.10 ในกรณี ที่ บ ริ ษ ทั เคยมี ก ารกระท าที่ ฝ่ าฝื นกฎหมาย บริ ษ ทั มี ม าตรการแก้ไ ขและป้ องกันมิ ใ ห้เกิ ด การกระทาในลักษณะนั้นอีก หรื อไม่  มี  ไม่มี ไม่มีกรณี ดงั กล่าว

...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 14


ส่ วนที่ 4 ระบบสารสนเทศและการสื่ อสารข้ อมูล (Information and Communication Measure) หลัก การประการหนึ่ ง ของการปฏิ บตั ิหน้าที่ด้ วยความระมัดระวัง ไม่ ว่า จะเป็ นส าหรั บ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร ผูถ้ ื อหุ ้น หรื อผูท้ ี่ เกี่ ยวข้อง ก็คือ การตัดสิ นใจบนพื้นฐานข้อมูลที่ มีคุณภาพ และเพียงพอต่อการ ตัดสิ นใจ ไม่วา่ จะเป็ นข้อมูลทางการเงินหรื อข้อมูลอื่น ดังนั้น การสื่ อสารข้อมูลดังกล่าวไปยังผูท้ ี่เกี่ยวข้องจึง เป็ นสิ่ งจาเป็ นอย่างยิง่ และเป็ นสิ่ งที่จะช่วยให้เกิดความมีประสิ ทธิ ผลของระบบการควบคุมภายใน ข้อมูลที่มีคุณภาพควรมีคุณสมบัติดงั นี้ (1) มีเนื้อหาที่จาเป็ นเพียงพอต่อการตัดสิ นใจ (2) มีความถูกต้องสมบูรณ์ (3) มีความเป็ นปัจจุบนั (4) มีรูปแบบที่เข้าใจง่าย (5) มีการจัดเก็บที่ดี 4.1 ในการเสนอเรื่ องให้คณะกรรมการพิจารณา บริ ษทั ได้จดั ให้มีขอ้ มูลที่สาคัญต่าง ๆ อย่างเพียงพอ เพื่อให้คณะกรรมการใช้ประกอบการตัดสิ นใจ ใช่หรื อไม่ (ข้อมูลที่สาคัญต่าง ๆ ได้แก่ รายละเอียดของเรื่ องที่ เสนอให้พิจารณา เหตุผล ผลกระทบต่อบริ ษทั ทางเลือกต่างๆ เป็ นต้น)  ใช่  ไม่ใช่ บริ ษทั จัดทาระเบียบวาระเพื่อการประชุม โดยบรรจุเรื่ องสื บเนื่อง เรื่ องเพื่อพิจารณา เรื่ องเพื่อทราบ และเรื่ องอื่นไว้ตามลาดับ เพื่อความสะดวกในการประชุ มทุกระเบียบวาระในการประชุ มคณะกรรมการ บริ ษทั และคณะกรรมการชุดย่อย จะมีขอ้ มูลตามหัวข้อต่อไปนี้ (1) สรุ ปความเป็ นมา (2) สรุ ปสาระสาคัญ (3) เหตุผลและความจาเป็ น (4) กฎหมาย / กฎระเบียบ/ สัญญา / ข้อตกลงที่เกี่ยวข้อง (5) ข้อพิจารณา/ข้อเสนอแนะ เป็ นการสรุ ปประเด็นเพื่อการพิจารณา และ/หรื อแนวทางเลือกที่ ฝ่ ายจัดการประสงค์ให้คณะกรรมการบริ ษทั รับทราบ / พิจารณา / ให้ความเห็น / อนุมตั ิ (6) มติที่ประชุม นอกจากนั้นบริ ษทั ยังใช้ระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรม PowerPoint ซึ่ งแสดงเนื้ อหาโดยสรุ ปพร้อม รู ป ภาพประกอบ กราฟแสดงค่ า สถิ ติ แผนผัง แผนที่ ที่ ชัดเจนและเพี ย งพอ ทั้ง นี้ ใ นการประชุ ม มี ก าร กาหนดให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเข้าประชุมเพื่อนาเสนอรายละเอียดและตอบข้อซักถามของคณะกรรมการ ทั้งนี้ในส่ วนของการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพข้อมูลทางการเงินการบัญชี ในปี 2554 บริ ษทั ได้เริ่ มใช้ระบบ Enterprise Resource Planning (ERP) เพื่อเชื่อมโยงสารสนเทศภายในองค์กร เพิ่มความสามารถในการ สื่ อสาร สามารถควบคุม และประมวลผลเพื่อตัดสิ นใจ อีกทั้งช่วยบริ หารจัดการข้อมูลและบริ หารเวลาในการ ปฏิบตั ิงานของพนักงานให้มีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น ทั้งนี้ระบบ ERP มีซอฟต์แวร์ SAP ซึ่งเป็ นโปรแกรม ...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 15


คอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานในด้านบัญชีการเงิน และด้านบัญชีจดั การหรื อบัญชีบริ หาร ที่จะอานวยความ สะดวกให้บริ ษทั สามารถปิ ดงบการเงินได้รวดเร็ วยิง่ ขึ้น 4.2 กรรมการบริ ษทั ได้รับหนังสื อนัดประชุมหรื อเอกสารประกอบการประชุมที่ระบุขอ้ มูลที่จาเป็ นและ เพียงพอต่อการพิจารณาก่อนการประชุม อย่างน้อยภายในระยะเวลาขั้นต่าตามที่กฎหมายกาหนด ใช่หรื อไม่  ใช่ ได้รับก่อนวันประชุมโดยเฉลี่ย 5-7 วัน  ไม่ใช่ 4.3 รายงานการประชุ ม กรรมการ มี ร ายละเอี ย ดตามควรที่ ท าให้ผูถ้ ื อ หุ ้น สามารถตรวจสอบความ เหมาะสมในการปฏิ บ ัติ ห น้า ที่ ข องกรรมการได้ห รื อ ไม่ เช่ น ได้มี ก ารบัน ทึ ก ข้อ ซัก ถามของกรรมการ ความเห็นหรื อข้อสังเกตของกรรมการในเรื่ องที่พิจารณา ความเห็นของกรรมการรายที่ไม่เห็ นด้วยกับเรื่ องที่ เสนอพร้อมเหตุผล เป็ นต้น  ใช่  ไม่ใช่ งานเลขานุ ก ารบริ ษ ทั จะบันทึ กข้อซักถาม ความคิ ดเห็ นต่า งๆ และเหตุ ผลประกอบ รวมถึ งมติ ที่ ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ในรายงานการประชุมเป็ นภาพรวม นอกจากนั้นแล้วในการนาส่ งรายงานการ ประชุ มแต่ละครั้ ง งานเลขาฯจะแจ้งให้กรรมการรายบุคคลสามารถแจ้งแก้ไขรายงานการประชุ มภายใน ระยะเวลาที่ กาหนดภายหลังจากที่ ได้รับรายงานการประชุ มประมาณ 7 วัน จากนั้นหากมีผูแ้ จ้งขอแก้ไข รายงานการประชุม งานเลขาฯจะนาไปเสนอไว้ในการประชุ มครั้งถัดไปในระเบียบวาระรับรองรายงานการ ประชุ มครั้ งก่อน โดยจะระบุ ชื่อกรรมการผูข้ อแก้ไขรายงานฯ ไว้อย่างชัดเจน ซึ่ งหากกรรมการท่านอื่นมี ความเห็ นเป็ นอย่างอื่นก็สามารถแย้งได้ โดย จะบันทึกไว้ในรายงานฯ และสรุ ปเป็ นมติของที่ประชุ มต่อไป ซึ่ งจะมีรายละเอียด และเอกสารประกอบระเบียบวาระการประชุ มอย่างเพียงพอ และเหมาะสมให้ผถู ้ ื อหุ ้น และผูเ้ กี่ยวข้องสามารถตรวจสอบได้อย่างชัดเจน 4.4 บริ ษทั จัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชี และบัญชี ต่างๆ ไว้ครบถ้วนเป็ นหมวดหมู่ และไม่เคย ได้รับแจ้ง จากผูส้ อบบัญชี ว่า มี ข ้อบกพร่ องในเรื่ องนี้ หรื อเคยได้รับ แจ้งแต่ไ ด้แก้ไขข้อบกพร่ องนั้นอย่า ง ครบถ้วนแล้ว ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่ ไม่มีการแจ้งจากผูส้ อบบัญชี วา่ มีขอ้ บกพร่ องในเรื่ องนี้ 4.5 คณะกรรมการได้พิจารณาแล้วใช่หรื อไม่วา่ ฝ่ ายบริ หารได้ใช้นโยบายบัญชีตามหลักการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไปและเหมาะสมกับลักษณะธุ รกิจของบริ ษทั โดยไม่เลือกใช้นโยบายบัญชีที่ทาให้บริ ษทั แสดง ผลประกอบการที่คลาดเคลื่อนจากความเป็ นจริ ง  ใช่  ไม่ใช่ คณะกรรมการบริ ษทั แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เป็ นผูท้ าหน้าที่ในการสอบทานรายงานทาง การเงินของบริ ษทั เพื่อให้แน่ ใจว่าเป็ นไปตามหลักการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไป รวมถึงสอบทานการปฏิบตั ิงาน ...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 16


เพื่อให้แน่ ใจว่าเป็ นไปตามนโยบายบัญชี ที่คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนด นอกจากนี้ ยงั มีหน้าที่ซ่ ึ งกาหนด ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบให้ดาเนิ นการสอบทานกับผูส้ อบบัญชี ถึงประเด็นที่สาคัญที่อาจกระทบ ต่อความน่ าเชื่ อถื อของรายงานทางการเงิ น ตลอดจนเปิ ดเผยข้อมูลทางการเงิ นให้ตรงกับข้อเท็จจริ งอย่าง เพียงพอแก่ผมู ้ ีผลประโยชน์ร่วม อันจะก่อให้เกิ ดความมัน่ ใจว่าการรายงานข้อมูลทางการเงิ นของบริ ษทั มี ความถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อถือได้ และทันเวลา นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ส อบทาน และให้ค วามเห็ นเกี่ ย วกับ นโยบายบัญ ชี ตาม มาตรฐานการบัญชี IFRS โดยได้รับฟั งความคิดเห็ นจากฝ่ ายบริ หารและผูส้ อบบัญชี โดยตรงก่อนนาเสนอยัง คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาอนุมตั ิ โดยฝ่ ายบริ หารได้นาเสนอข้อมูลยังคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อรับทราบ ผลกระทบต่องบการเงินจากมาตรฐานการบัญชีใหม่ (IFRS) อย่างสม่าเสมอ

...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 17


ส่ วนที่ 5 ระบบการติดตาม(Monitoring) การที่ บริ ษ ทั จะดาเนิ นงานได้อย่างมี ป ระสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผ ล บริ ษ ทั ควรต้องติ ดตามอย่า ง สม่าเสมอว่า มีการปฏิบตั ิตามเป้ าหมายที่วางไว้ ระบบการควบคุมภายในยังดาเนิ นอยูอ่ ย่างต่อเนื่ อง และมีการ ปรับปรุ งแก้ไขให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งข้อบกพร่ องต่าง ๆ ได้รับการแก้ไขอย่าง ทันท่วงที 5.1 กรณี ที่บริ ษทั มีการกาหนดเป้ าหมายการดาเนิ นธุ รกิ จ คณะกรรมการบริ ษทั ฯได้เปรี ยบเทียบผลการ ดาเนินงานของฝ่ ายบริ หารว่าเป็ นไปตามเป้ าหมายการดาเนินธุ รกิจที่กาหนดไว้ ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่  ไม่มีกรณี ดงั กล่าว คณะกรรมการบริ ษ ทั พิ จารณาอนุ ม ตั ิ เป้ าหมายการด าเนิ นธุ รกิ จไว้ในแผนธุ รกิ จ (Corporate Plan) แผนปฏิบตั ิการประจาปี (Action Plan) และงบประมาณประจาปี รวมถึงดัชนีวดั ผลการปฏิบตั ิงานประจาปี (KPIs) โดยฝ่ ายบริ หาร มอบหมายให้สานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่เป็ นผูต้ ิ ดตามผลการดาเนิ นงาน เปรี ยบเทียบกับ ดัชนี วดั ผลที่กาหนดไว้ในด้านต่างๆ และให้ฝ่ายการเงินและบัญชี เป็ นผูต้ ิดตามผลการดาเนิ นงานเปรี ยบเทียบกับ งบประมาณ โดยทั้งสองฝ่ ายจะนาเสนอสรุ ปความคื บหน้าและผลการดาเนิ นงานของบริ ษ ทั ในการประชุ ม คณะกรรมการก าหนดเกณฑ์ และประเมิ นผลการด าเนิ นงานของบริ ษัท และพิ จารณาค่ า ตอบแทน และ คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประจาอย่างน้อยทุกไตรมาส ทั้งนี้ หากผลการดาเนิ นงานไม่เป็ นไปตามเป้ าหมายอย่างมี นัยสาคัญ หรื อคณะกรรมการต้องการทราบการรายงานในรายละเอียด ฝ่ ายที่เกี่ยวข้องกับผลการดาเนิ นงานนั้นจะ เข้าร่ วมชี้แจงและให้รายละเอียดในกรณี ดงั กล่าวทุกครั้ง 5.2 กรณี ที่ผลการดาเนิ นงานที่ เกิ ดขึ้ นมี ความแตกต่างจากเป้ าหมายที่ กาหนดไว้ บริ ษทั ได้ดาเนิ นการ แก้ไขภายในระยะเวลาที่เหมาะสม ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่  ไม่มีกรณี ดงั กล่าว ฝ่ ายบริ หารจะกาหนดแนวทางการแก้ไขผลการปฏิ บตั ิงานที่ไม่เป็ นไปตามเป้ าหมาย เพื่อให้บรรลุ ตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ อย่างไรก็ตามผลการปฏิ บตั ิงานที่ไม่เป็ นไปตามเป้ าหมายยังคงมีการรายงานให้ คณะกรรมการบริ ษทั ทราบแนวทางการแก้ไขและกาหนดเวลาแล้วเสร็ จ เพื่อให้คณะกรรมการบริ ษทั ได้ ทบทวน และสามารถให้ความเห็ นเพิ่มเติมต่อแนวทางที่กาหนดไว้ ทั้งนี้ บริ ษทั ได้รายงานการติดตามเรื่ อง ดังกล่าว โดยกาหนดให้เสนอไว้ในระเบียบวาระการประชุมเรื่ องการติดตามมติคณะกรรมการบริ ษทั

...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 18


5.3 บริ ษ ัท จัด ให้ มี ก ารตรวจสอบการปฏิ บ ัติ ต ามระบบการควบคุ ม ภายในที่ ว างไว้อ ย่า งสม่ า เสมอ ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่ บริ ษทั จัดให้มีฝ่ายตรวจสอบ ซึ่ งทางานร่ วมกันกับที่ปรึ กษาร่ วมตรวจสอบภายใน (Co-sourcing) ใน การวางแผนประจาปี ในการประเมินประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิ ผลของการออกแบบและการปฏิบตั ิตามการ ควบคุ มภายใน ตามพื้นฐานความเสี่ ยง (Risk Based Audit) และตรวจสอบและติดตามการปฏิบตั ิตาม ระบบงานคุณภาพ ตามมาตรฐานสากล ISO 9001:2008 ISO 14001:2004 โดยเน้นความครบถ้วนของทุก กระบวนการปฏิ บตั ิ งานของกลุ่มบริ ษทั ภายหลังจากการตรวจสอบแล้วเสร็ จ จะนารายงานต่อผูบ้ ริ หาร ระดับสู ง คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ ษทั อย่างน้อยทุกไตรมาส กรณี มีหน่ วยงานหรื อ กระบวนการที่เเพิ่มขึ้นจากการปรับปรุ งโครงสร้ างบริ ษทั หรื อการกาหนดระบบการทางานขึ้ นมาใหม่เช่ น การใช้ระบบ ERP เป็ นต้น การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะได้รับการพิจารณาในการจัดทาแผนการตรวจสอบ ด้วยเช่นกัน 5.4 กรณี ที่บริ ษทั มีการตรวจสอบภายใน บริ ษทั ได้กาหนดให้การรายงานผลการตรวจสอบต้องรายงาน ตรงต่อคณะกรรมการหรื อคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้ผตู ้ รวจสอบภายในสามารถปฏิบตั ิงานได้ อย่างอิสระและเสนอรายงานผลการตรวจสอบได้อย่างตรงไปตรงมา ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่  ไม่มีกรณี ดงั กล่าว ตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบและกฎบัตรฝ่ ายตรวจสอบ ได้ระบุความเป็ นอิสระของงาน ตรวจสอบภายใน โดยคณะกรรมการตรวจสอบประกันความอิ ส ระของฝ่ ายตรวจสอบตามโครงสร้ า งที่ กาหนดให้ฝ่ายตรวจสอบรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และส่ งเสริ มและกากับให้ผตู ้ รวจสอบทุก คนปฏิ บ ัติง านตามจรรยาบรรณแห่ ง วิ ช าชี พ และมาตฐานแห่ ง วิ ช าชี พ ทั้ง นี้ จากการทบทวนกฎบัต ร คณะกรรมการตรวจสอบประจาปี 2554 ได้เพิ่มเติมรายละเอียดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างผูส้ อบบัญชี ผู้ ตรวจสอบภายใน และฝ่ ายจัด การ ให้มี ค วามชัด เจนมากขึ้ น และจากการทบทวนคู่ มื อ คณะกรรมการ ตรวจสอบประจาปี 2554 ระบุ เรื่ องการพิ จารณาคุ ณสมบัติใ นเรื่ องความเป็ นอิ ส ระของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ให้พิจารณาตามข้อกาหนดและประกาศของตลาดหลักทรัพย์เป็ นสาคัญ นอกจากนั้นฝ่ ายตรวจสอบได้ประสานข้อมูลทางการเงิ นกับผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตที่เป็ นบริ ษทั ชั้น นาในการให้คาปรึ กษาระบบการปฏิบตั ิงานและการปรับปรุ งระบบควบคุ มภายในให้มีความน่าเชื่ อถื อมาก ขึ้นด้วย ทั้งนี้ ฝ่ ายตรวจสอบ ที่ปรึ กษาร่ วมตรวจสอบภายในและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตมีอิสระในการเข้าถึง ข้อมูลบุ คคลและหน่ วยงานต่างๆ ภายในองค์กร รวมทั้งสามารถรายงานและขอข้อเสนอแนะแนวทางการ แก้ไขปั ญหาที่สาคัญต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งการสื่ อสารโดยตรงหรื อเข้าร่ วมประชุม

...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 19


5.5 เมื่อมีการตรวจพบข้อบกพร่ องที่เป็ นสาระสาคัญ ได้มีการรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษทั ฯ/ คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณาสัง่ การแก้ไขภายในระยะเวลาอันควร ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่  ไม่มีกรณี ดงั กล่าว ฝ่ ายตรวจสอบของบริ ษทั และที่ปรึ กษาร่ วมตรวจสอบภายใน (Co-sourcing) จะทาหน้าที่รายงาน ประเด็นข้อตรวจพบจากการตรวจสอบภายในที่ เป็ นข้อบกพร่ องที่เป็ นสาระสาคัญยังคณะกรรมการตรวจ สอบและคณะกรรมการบริ ษทั ทุกครั้ง เมื่อสิ้ นสุ ดการตรวจสอบเป็ นประจาอย่างน้อยทุกไตรมาส โดยระบุ สาเหตุ ผลกระทบต่อการดาเนิ นงานขององค์กรและข้อเสนอแนะสาหรั บการแก้ไขปรับปรุ ง โดยให้ฝ่าย บริ หารและ/หรื อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องระบุความเห็น แนวทางแก้ไข ผูร้ ับผิดชอบ และระยะเวลาแล้วเสร็ จไว้ ในการรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ ษทั ซึ่ งจะมี ขอ้ เสนอแนะและมีการสั่งการ เพิ่มเติม ทั้งนี้ ในปี 2554 คณะกรรมการบริ ษทั เห็นชอบให้คณะกรรมการตรวจสอบแจ้งประเด็นข้อตรวจพบ จากการตรวจสอบภายในยัง ฝ่ ายบริ หารและติ ดตามการแก้ไ ขได้โดยตรงเพื่ อให้ก ารปรั บ ปรุ ง แก้ไ ขการ ดาเนินงานเป็ นไปอย่างรวดเร็ วยิง่ ขึ้น 5.6 บริ ษทั ต้องรายงานความคืบหน้าในการปรับปรุ งข้อบกพร่ องต่อคณะกรรมการบริ ษทั / คณะกรรมการตรวจสอบ ใช่หรื อไม่  ใช่  ไม่ใช่ ฝ่ ายตรวจสอบ ทาหน้าที่ติดตามผลการดาเนิ นงานการปรับปรุ งของฝ่ ายบริ หารของประเด็นที่ตรวจ พบตามแผนที่กาหนด และให้ความสาคัญต่อกาหนดระยะเวลาแล้วเสร็ จที่หน่วยงานผูร้ ับตรวจได้ระบุไว้เป็ น ประจ าทุ ก เดื อ น โดยได้จ ัด ท าสรุ ป ผลการติ ด ตามการปรั บ ปรุ ง และรายงานทุ ก ไตรมาสในที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบและสรุ ปรายงานยังคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อทราบ 5.7 บริ ษ ัท มี น โยบายให้ ฝ่ ายบริ ห ารต้อ งรายงานต่ อ คณะกรรมการบริ ษ ัท ฯโดยพลัน ในกรณี ที่ เ กิ ด เหตุการณ์ทุจริ ต หรื อสงสัยว่ามีเหตุการณ์ทุจริ ต มีการปฏิบตั ิที่ฝ่าฝื นกฎหมาย และมีการกระทาที่ผิดปกติอื่น ซึ่ งอาจกระทบต่อชื่อเสี ยงและฐานะการเงินของบริ ษทั อย่างมีนยั สาคัญ หรื อไม่  มี  ไม่มี  ไม่มีกรณี ดงั กล่าว ฝ่ ายที่เกี่ยวข้องกับประเด็นเหตุการณ์ทุจริ ต รวมถึงผูท้ ี่ได้รับมอบหมายจากฝ่ ายบริ หารหารื อร่ วมกับ แผนกกฎหมาย สานักกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ โดยแผนกกฎหมายมีบทบาทในการพิจารณาประเด็นข้อ กฎหมาย รวมถึงให้ความเห็นเพิ่มเติม กรณี ที่มีการปฏิบตั ิฝ่าฝื นกฎหมาย ทุจริ ต หรื อการกระทาที่ผดิ ปกติอื่นๆ ก่อนรายงานให้ฝ่ายบริ หารชี้ แจงยังคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาโดยเร่ งด่วน ทั้งนี้ หากคณะกรรมการ บริ ษทั ประสงค์ให้มีการตรวจสอบในรายละเอียดเพิ่มเติม อาจพิจารณามอบหมายให้คณะกรรมการ ตรวจสอบร่ วมดาเนินการพร้อมกับการเสนอแนะแนวทางการปรับปรุ งระบบการควบคุมภายในให้มี ประสิ ทธิ ภาพดียงิ่ ขึ้นด้วย ทั้งนี้ในปี 2554 ไม่มีกรณี เหตุการณ์ทุจริ ต และไม่มีการปฏิบตั ิฝ่าฝื นกฎหมายอย่าง มีนยั สาคัญ ...................รับรองความถูกต้อง แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2554 (แบบ 56-1)

หน้า 20


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.