EFORL : Annual Report 2014

Page 1


สารบัญ

ความรับผิดชอบตอสังคม การประกอบธุรกิจ

รายงานการกํากับดูแลกิจการ

ขอมูลทางการเงิน

ขอมูลทั่วไป

คณะกรรมการบริษัท รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผูบริหาร ผูมีอํานาจควบคุมและเลขานุการบริษัท การดํารงตําแหนงของผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทในบริษัทยอย และบริษัทที่เกี่ยวของ นโยบายความรับผิดชอบตอสังคม ภาพรวมธุรกิจ โครงสรางการถือหุนกลุม บริษัท พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ปจจัยเสี่ยง โครงสรางองคกร นโยบายการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัท ผูบริหาร การสรรหากรรมการและผูบริหาร การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทยอยและบริษัทรวม การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสีย่ ง คาตอบแทนของผูสอบบัญชี คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร รายการระหวางกัน คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงานป 2557 รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอมูลหลักทรัพยและผูถือหุน ขอมูลทั่วไปของบริษัทและบริษัทที่เกี่ยวของ และขอมูลของบุคคลอางอิง

7 8 14 16 23 30 33 40 65 69 70 77 78 79 85 86 87 91 92 94 98 106 108 159 161


1

วิสัยทัศน เรามุงมั่นเปนผูนําดานการจัดจําหนายและใหบริการผลิตภัณฑทางการ แพทยและสุขภาพ เพื่อการดํารงชีวิตที่ดีของประชาชน.

พันธกิจ 

นําเขา จัดจําหนายและใหบริการ เครื่องมือทางการแพทย วิทยาศาสตร และผลิตภัณฑดานสุขภาพที่มีคุณภาพและทันสมัย เพื่อชวยในการตรวจวินิจฉัย การปองกัน การรักษาโรค และการ สงเสริมสุขภาพแกแพทย บุคลากรทางการแพทย และประชาชน ดวยราคายุติธรรม. บริหารงานดวยระบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล พรอมหลักบรรษัทภิบาล เพื่อการเติบโตที่มั่นคง และยั่งยืน. ขยายธุรกิจใหม ๆ ที่เกี่ยวของกับสุขภาพ ความงามและ สาธารณสุข เพื่อเปนการเพิ่มฐานรายได และกระจายความเสี่ยง.


2

EFORL: บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) หัวขอ ขอมูลงบการเงิน ขอมูล ณ วันที่ เงินสด ('000 บาท) สินทรัพยรวม ('000 บาท) หนี้สินหมุนเวียน ('000 บาท) หนี้สินรวม ('000 บาท) มูลคาหุนที่เรียกชําระแลว ('000 บาท) สวนของผูถือหุน ('000 บาท) ขายสุทธิ ('000 บาท) รายไดรวม ('000 บาท) ตนทุนขาย ('000 บาท) กําไรจากการดําเนินงานกอนหัก ('000 บาท) ภาษี ดอกเบี้ยจาย ('000 บาท) กําไรสุทธิ ('000 บาท) กําไรตอหุน (บาท) อัตราสวนทางการเงิน อัตราสวนสภาพคลอง อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว (เทา) อัตราสวนการชําระหนี้ อัตราสวนหนีส้ ินตอสวนของผูถือหุน (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระ (เทา) ดอกเบี้ย อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร อัตรากําไรขั้นตน (%) อัตรากําไรสุทธิ (%) + อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย (%) + อัตราผลตอบแทนผูถือหุน (%) อัตราสวนแสดงการดําเนินงาน อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา+ (เทา) + ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) + อัตราสวนหมุนเวียนสินทรัพยถาวร (เทา)

2557++ ม.ค. - ธ.ค.

2556++ ม.ค. - ธ.ค.

2555++ ม.ค. - ธ.ค.

31-12-57 339,442.00 7,366,275.00 2,433,451.00 5,417,056.00 690,001.00 938,501.00 1,450,248.00 1,490,212.00 942,713.00 305,815.00

31-12-56 641,263.00 840,992.00 141,378.00 143,216.00 920,001.00 697,776.00 158,228.00 170,765.00 103,577.00 28,176.00

31-12-55 9,494.00 60,856.00 27,764.00 29,537.00 280,001.00 31,319.00 77,510.00 87,203.00 76,188.00 -64,268.00

18,689.00 240,729.00 0.03

75 26,457.00 0

1,161.00 -65,429.00 -0.02

0.66 0.4

5.77 5.04

0.71 0.71

5.77 16.36

0.21 375.68

0.94 -55.36

35 16.15 7.45 29.42

34.54 15.49 6.25 7.26

1.71 -75.03 -58.09 -102.18

5.24 69.71 2.86

4.17 87.49 7.45

9.26 39.4 1.52


3

อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ+ ระยะเวลาขายสินคาเฉลีย่ + อัตราสวนหมุนเวียนสินทรัพย+

(เทา) (วัน) (เทา)

จํานวนหุน มูลคาที่ตราไวบาทตอหุน หมายเหตุ + ปรับเต็มป ++

คํานวณโดยใชขอ มูลจากงบรวม *คํานวณโดยใชมูลคาการซือ้ ขายหลักทรัพยรวมทุกวิธีการซื้อขาย **หลักทรัพยในหมวดกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย (Property Fund) จะไมมกี ารคํานวณคา EPS และ P/E นอกจากนี้ คา BVPS และ P/BV จะหมายถึง คา NAV และ P/NAV ตามลําดับ (มีผลตั้งแต 31 มีนาคม 2552 เปนตนไป)

2.87 127.2 0.36

1 364.81 0.38

N/A N/A 0.79

920 0.075

920 0.10

280 0.10


4

สารจากประธานกรรมการและประธานเจาหนาที่บริหาร ในป 2557 เปนปที่สําคัญถือเปนจุดเริ่มตนของบริษัทในการกาวเขาสูธุรกิจดานสุขภาพ และบริการความงามอยางเต็มรูปแบบ โดยมีการขยายฐานกลุมลูกคาเปาหมาย ครอบคลุมทุกสวนตลาด ทั้งในประเทศและระดับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน บริษัทไดลดบทบาทธุรกิจดานสื่อลง โดยมีการจําหนายบริษัท เอนโม จํากัด ใหแกบุคคลภายนอก ในขณะเดียวกันบริษัทหันมามุงเนนการขยายธุรกิจดานสุขภาพและ บริการความงาม โดยเขารวมลงทุนในบริษัท แดทโซ เอเชีย คอรปอเรชั่น จํากัด และเขา ลงทุนเปนผูถือหุนใหญในบริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด จึงสงผลใหบริษัทมี รายไดขยายตัวอยางกาวกระโดด จาก 158.2 ลานบาทในป 2556 เปน 1,452.2 ลานบาท ในป 2557 และกําไรสุทธิเติบโตจาก 26.5 ลานบาทในป 2556 เปน 251.4 ลานบาทในป 2557 ในป 2558 แมวาบริษัทยังคงตองเผชิญกับความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจของ ประเทศและเศรษฐกิจโลก แตบริษัทถือเปนความทาทายที่จะตองปรับกลยุทธทางธุรกิจ เพื่อยืนหยัดตอการเติบโตของยอดขายสินคาและบริการของกลุมบริษัทอยางตอเนื่อง โดย จะมุงเนนการคิดคนนวัตกรรมและพัฒนาสินคาใหมๆ ที่มีคุณสมบัติพิเศษและมีความ แตกตางเหนือคูแขงขัน ตลอดจนการสรางแบรนดใหมเพื่อนําเสนอตอผูบริโภค โดยมี เปาหมายในการเปนผูนําธุรกิจสุขภาพและบริการความงามที่มีคุณภาพเปนสําคัญ บริษัทพรอมที่จะผลักดันใหผูมีสวนไดเสียทุกฝาย ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจนสังคมและประเทศชาติโดยรวม ใหไดรับประโยชนและมีความพึงพอใจสูงสุด เติบโต กาวหนาอยางยั่งยืนไปพรอมๆ กัน ทายที่สุดนี้ ใครขอขอบพระคุณทานผูถือหุน ลูกคาภาครัฐและเอกชน พันธมิตรทางธุรกิจ สถาบันการเงิน คณะผูบริหารและบุคลากรของบริษัท รวมถึงสื่อมวลชนทุกแขนงที่ให ความไววางใจและสนับสนุนบริษัทดวยดีตลอดมา

นายปรีชา นันทนฤมิต ประธานกรรมการ

นายธีรวุทธิ์ ปางวิรุฬหรักข ประธานเจาหนาที่บริหาร


5

สารจากคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท อี ฟอร แอล เอล จํากัด (มหาชน) ประกอบดวยกรรมการอิสระ 3 ทาน คือ นายรุจพงศ ประภาสะโนบล ประธาน กรรมการตรวจสอบ นายชาย วัฒนสุวรรณ และผูชวยศาสตราจารยสัมพันธ หุนพยนต ไดปฏิบัติภารกิจตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ใหการดําเนินการของ บริษัทเปนไปตามขอบังคับของบริษัท กฎหมาย กฎเกณฑ ระเบียบขอบังคับที่เกี่ยวของ กับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ อาทิ การสอบทานงบการเงิน การกําหนด และตรวจสอบระบบการควบคุมภายใน และใหคําปรึกษาแนะนํา เพื่อใหบริษัทดําเนิน ธุรกิจภายใตหลักบรรษัทภิบาลที่ดี ตลอดจน พิจารณา คัดเลือก ใหความเห็นชอบการ เสนอแตงตั้งผูสอบบัญชีของบริษัท และเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชี ทั้งโดยมีและไมมี ฝายจัดการเขารวม เปนตน ในป 2557 คณะกรรมการตรวจสอบไดประชุมรวมกับผูสอบบัญชีภายนอก ผู ตรวจสอบภายใน และฝายจัดการรวม 7 ครั้ง สรุปสาระสําคัญไดดังนี้:1. การสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจําป 2557 คณะกรรมการตรวจสอบไดเชิญผูสอบบัญชีเขารวมประชุมทุกครั้ง กอนนําเสนอ คณะกรรมการบริษัท เพื่อรับฟงคําชี้แจง ขอสังเกต ขอเสนอแนะและมีความเห็นวางบ การเงินและรายการปรับปรุงบัญชีที่มีผลกระทบตองบการเงินอยางมีสาระสําคัญ จัดทํา ขึ้นอยางถูกตอง เชื่อถือได ครบถวน และจัดทําขึ้น ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง โดยทั่วไป. 2. การกํากับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณา อนุมัติแนวทางและแผนการตรวจสอบประจําป 2557 และรับทราบผลการตรวจสอบใน ประเด็นสําคัญ ตลอดจนใหคําแนะนําในการปรับปรุงระบบการควบคุมภายใน เพื่อให การดําเนินการดานตางๆของบริษัท มีความถูกตอง รัดกุมและเกิดประสิทธิผล 3. การสอบทานการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบตาง ๆ ที่เกี่ยวของ คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานการปฏิบัติงานของฝายจัดการ เพื่อใหการปฏิบัติ เปนไปตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยฯ ขอกําหนดของตลาด หลักทรัพยฯ รวมถึงกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ อยางถูกตองครบถวน.


6

5. การสอบทานรายการเกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทาน รายการเกี่ยวโยงกันของบริษัท บริษัทยอย บริษัทที่รวมลงทุนและบุคคลในกลุม ตลอดจนรายการระหวางกลุมธุรกิจที่อาจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนตาม ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสํานักงานกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย เพื่อใหการดําเนินธุรกิจของบริษัท เปนไปตามเงื่อนไขธุรกรรมปกติ และมีการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ. 6. การพิจารณาคัดเลือกและเสนอการแตงตั้งผูสอบบัญชี ประจําป 2558 คณะกรรมการตรวจสอบไดใหความเห็นชอบ เพื่อเสนอตอคณะกรรมการบริษัท แตงตั้ง นายสมคิด เตียตระกูล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2875 หรือนายธีรศักดิ์ ฉั่วศรีสกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 6624 หรือ นางสุมาลี โชคดีอนันต ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 3322 หรือ หรือนางสาวศันสนีย พูลสวัสดิ์ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 6977 ใน นามบริษัท แกรนทธอนตัน จํากัด เปนผูสอบบัญชีของบริษัท ประจําป 2558 อีกรอบ บัญชีหนึ่ง 7. การประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ ตามแนวทางที่ตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด อันจะชวยสงเสริมและสนับสนุนการกํากับดูแล กิจการที่ดี (Corporate Governance) คณะกรรมการตรวจสอบไดประเมินผลการ ปฏิบัติงานของตนเองทั้งคณะ (Self-assessment) และประเมินเปนรายบุคคล จากผล การประเมินดังกลาว คณะกรรมการตรวจสอบมีการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ.

(นายรุจพงศ ประภาสะโนบล) ประธานกรรมการตรวจสอบ


7

คณะกรรมการบริษัท

นายปรีชา นันท์ นฤมิต

นายธีรวุทธิ์ ปางวิรุฬห์ รักข์

นายรุ จพงศ์ ประภาสะโนบล

นายชาย วัฒนสุวรรณ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัมพันธ์ หุ่นพยนต์

นายโกศล วรฤทธินภา


8

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผูบริหาร ผูมีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท นายปรีชา นันทนฤมิต

อายุ 57 ป

ตําแหนง

ประธานกรรมการ, กรรมการผูจัดการสายงานธุรกิจเครื่องมือแพทย ประธานกรรมการบริหาร และผูมอี ํานาจลงนามผูกพันบริษัท 2.87% ไมมี ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมไฟฟา-อิเลคทรอนิกส คณะครุศาสตรอตุ สาหกรรมและวิทยาศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (ไทย-เยอรมัน) ผานการอบรมหลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) สมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Intensive Care Ventilator, Advance Ventilation Hamilton Medical AG, ประเทศสวิสเซอรแลนด Patient Monitoring System, Telemedicine Nihon Kohden Corporation, ประเทศญี่ปุน 2557 - ปจจุบัน กรรมการ, ประธานกรรมการบริหาร บริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด กรรมการ บริษัท ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง จํากัด กรรมการ บริษัท วุฒิศักดิ์ ฟารมาซี อินเตอร จํากัด กรรมการ บริษัท วุฒิศักดิ์ คอสเมติกส อินเตอร จํากัด กรรมการ บริษัท วุฒิศักดิ์ แกรนด อินเตอร จํากัด กรรมการ บริษัท ดับบลิว. เอส. เซอรจีรี่ 2014 จํากัด 2556 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ, กรรมการบริหาร, กรรมการผูจัดการ สายงานธุรกิจเครื่องมือ แพทย บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) 2555 - ปจจุบัน ที่ปรึกษารองผูวาการไฟฟานครหลวง ฝายการเทคโนโลยีสารสนเทศและ ระบบสื่อสาร ที่ปรึกษา ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ บมจ.ปตท. (ระบบทอจัดจําหนายกาซ ธรรมชาติ หนวยธุรกิจกาซธรรมชาติ 2528 - 2556 ที่ปรึกษา รองผูอํานวยการใหญ ฝายบริหารทั่วไป บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) กรรมการผูจดั การ, บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (เครื่องมือแพทย)

สัดสวนการถือหุน ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง


9

นายธีรวุทธิ์ ปางวิรุฬหรักข ตําแหนง

อายุ 53 ป กรรมการ, กรรมการบริหาร, ประธานเจาหนาที่บริหารและผูมีอํานาจลงนาม ผูกพันบริษัท สัดสวนการถือหุน ไมมี ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร ไมมี คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาโท การบริหารการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร การอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการดานความมั่นคงขั้นสูง; สมาคมวิทยาลัย ปองกันราชอาณาจักร ผานการอบรมหลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) สมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การเงินการธนาคาร; Copenhagen Business School (ประเทศเดนมารก) การพัฒนาอุตสาหกรรม; Research Institute of Management (RVB Institute) ประเทศเนเธอรแลนด ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง 2557 - ปจจุบัน กรรมการ, บริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด พ.ค.2557 - ปจจุบนั กรรมการ, บริษัท แอมเน็กซ จํากัด กรรมการ, บริษัท แกรนดซี พรอพเพอรตี้ จํากัด เม.ย.2557 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ, บริษัท สเปซเมด จํากัด ก.ย.2556 - ปจจุบัน กรรมการ, กรรมการบริหาร และประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) 2555 - ปจจุบัน อนุกรรมการคณะกรรมการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ ผูประกอบการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2554 - 2556 นักวิชาการประจํา คณะกรรมาธิการพลังงาน สภาผูแทนราษฏร 2554 - 2556 กรรมการ บริษัท ฮอทพอท จํากัด (มหาชน) 2555 - 2556 กรรมการ บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 2552 - 2555 ผูอํานวยการดานการลงทุนภาคพืน้ เอเชีย กองทุน Shore Cap สหรัฐอเมริกา 2547 - 2553 กรรมการบริหาร บริษัท จันทรธารารีสอรทแอนดสปา จํากัด


10

นายรุจพงศ ประภาสะโนบล

อายุ 63 ป

ตําแหนง สัดสวนการถือหุน ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม

กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการตรวจสอบ ไมมี ไมมี ปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขาการตลาดและธุรกิจระหวางประเทศ สถาบัน บัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร สาขาการคลัง มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต ผานการอบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน 63/2006 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Audit Committee Program (ACP) รุน 33/2010 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Advanced Audit Committee Program ครั้งที่ 9/2012 (Certificate of Completion) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ก.ค.2556 - ปจจุบัน ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) ที่ปรึกษา บริษัทหลักทรัพย จัดการกองทุนรวมกรุงศรี จํากัด 2555 - ปจจุบัน กรรมการสถาบันคุม ครองเงินฝาก ประธานอนุกรรมการดานเทคโนโลยีสารสนเทศของคณะกรรมการสถาบัน คุมครองเงินฝากและอนุกรรมการของคณะอนุกรรมการกํากับการพัฒนาระบบ การคุมครองเงินฝาก คณะกรรมการคุมครองเงินฝาก 2554 - 2556 ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) 2553 - ปจจุบัน ที่ปรึกษา บริษัท สยามราชธานี จํากัด (ธุรกิจ outsource แรงงานและใหเชา รถยนต และธุรกิจอสังหาริมทรัพย) 2552 - ปจจุบัน ที่ปรึกษา บริษัท ปุยเอนเอฟซี จํากัด (มหาชน) ที่ปรึกษา บริษัท เอสซีแมนเนจเมนท จํากัด และบริษัทในเครือ กรรมการ, กรรมการตรวจสอบ บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) 2550 - ปจจุบัน กรรมการบริหาร บริษัท เพลินจิต แคปปตอล จํากัด (ธุรกิจที่ปรึกษาการเงิน) 2549 - ปจจุบัน กรรมการบริหาร บริษัท ครอสลิงค โซลูชั่น จํากัด (รับเหมาทํางานระบบ) 2548 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัทหลักทรัพย จัดการกองทุนรวมกรุงศรี จํากัด


11

2546 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท โอเรียลทัล ไลฟสไตล จํากัด (พัฒนาและบริหารทรัพยสิน) 2544 - ปจจุบัน ที่ปรึกษา บริษัท เกอฮาวส ลิฟวิ่ง จํากัด (ผลิตพรอมติดตั้งประตู/หนาตาง) 2537 - ปจจุบัน ที่ปรึกษา บริษัท นูทริก จํากัด มหาชน (ผลิตและจําหนายอาหารสัตว) 2535 - ปจจุบัน ที่ปรึกษา บริษัท ไทยโมเดอนแพ็คเกจจิ้ง แอนด อินซูเลชั่นจํากัด

นายชาย วัฒนสุวรรณ

อายุ 49 ป

ตําแหนง สัดสวนการถือหุน ไมมี ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม

กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

ไมมี ปริญญาตรี บริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาโท บริหารธุรกิจ University of Baltimore (Sigma Iota Epsilon) แม รี่แลนด สหรัฐอเมริกา ผานการอบรมหลักสูตร Certification Program (DCP) รุน 177/2013 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Advanced Audit Committee Program (AACP) รุน14/2014 2557 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท วุฒิศักดิ์ ฟารมาซี อินเตอร จํากัด พ.ค.2557 - ปจจุบนั บริษัท แอมเน็กซ จํากัด 2556 - ปจจุบัน กรรมการตรวจสอบ บริษัท สเปซเมด จํากัด กรรมการตรวจสอบ บริษัท อีฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) ก.ค.2555 - ปจจุบัน กรรมการบริษัท บริษัท ปญจพล เปเปอร อินดัสตรี้ จํากัด ต.ค.2552 - ปจจุบนั กรรมการ กรรมการผูจัดการ บริษทั พีซีแอล แพลนเนอร จํากัด 2550 – ต.ค.2552 รองกรรมการผูจดั การ บริษัท เพลินจิต แคปปตอล จํากัด


12

ผูชวยศาสตราจารยสัมพันธ หุนพยนต

อายุ 63 ป

ตําแหนง กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ สัดสวนการถือหุน ไมมี ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร ไมมี คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม ปริญญาตรี นิติศาสตรบณ ั ฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ประกาศนียบัตรกฎหมายและการพัฒนา สถาบันสังคมศึกษา(ISS) กรุงเฮก เนเธอรแลนด ผานการอบรมหลักสูตร Public Director Certification Program, สถาบัน พระปกเกลา ป 2554 Cert. of Successful Formulation & Execution of Strategy, Thai Institute of Director, 2011 Cert. of Audit Committee Program, Thai Institute of Director, 2009 Cert. of Director Certification Program, Thai Institute of Director, 2008 ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง 2557-ปจจุบนั กรรมการ, กรรมการตรวจสอบ บริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด กรรมการ บริษัท วุฒิศักดิ์ คอสเมติกส อินเตอร จํากัด 2556 - ปจจุบัน ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษทั สเปซเมด จํากัด กรรมการตรวจสอบ บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) 2554 - ปจจุบัน กรรมการผูทรงคุณวุฒิ สภาสถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน 2552 - 2554 ประธานกรรมการดําเนินโครงการปริญญาโทสําหรับผูบริหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 2551 - 2554 กรรมการ การไฟฟาสวนภูมิภาค 2545 - 2553 คณะบดี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร


13

นายโกศล วรฤทธินภา

อายุ 60 ป

ตําแหนง สัดสวนการถือหุน ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม

กรรมการและผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท 3.80% ไมมี ปริญญาตรี คณะแพทยศาสตร สาขาเทคนิคการแพทย จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ผานการอบรมหลักสูตร การพัฒนาการจัดการโรงพยาบาล 2557 – ปจจุบัน กรรมการ บริษัท ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง จํากัด กรรมการ บริษัท วุฒิศักดิ์ ฟารมาซี อินเตอร จํากัด กรรมการ บริษัท วุฒิศักดิ์ คอสเมติกส อินเตอร จํากัด กรรมการ บริษัท วุฒิศักดิ์ แกรนด อินเตอร จํากัด กรรมการ บริษัท ดับบลิว.เอส.เซอรจีรี่ 2014 จํากัด 2556 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) 2522 - ปจจุบัน นักกายอุปกรณ ระดับ 9 โรงพยาบาลทหารผานศึก

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

นางสาวมัทธณา หนูปลอด

อายุ 31 ป

ตําแหนง สัดสวนการถือหุน ไมมี ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร คุณวุฒิการศึกษา/ประวัติการอบรม

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ยอนหลัง

เลขานุการบริษัท ไมมี ปริญญาตรี คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผานการอบรมวิชาวาความ แหงสภาทนายความ รุน 30 ผานการอบรมวิชาวาความ แหงสภาทนายความ รุน 30 ผานการอบรมหลักสูตร Fundamental Practice for Corporate Secretary (FPCS25) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย 2555 - ปจจุบัน เลขานุการบริษัท บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) 2554 - 2555 ผูชวยเลขานุการบริษัท บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) 2550 - 2554 บริษัท สํานักงานกฎหมายฟารอสี ฑ (ประเทศไทย) จํากัด


14

รายละเอียดการดํารงตําแหนงของผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมในบริษัทยอย บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ

รายชื่อ

บริษัท

บริษัท ยอย

1. นายปรีชา นันทนฤมิต

X,O

2. นายปริน ชนันทรานนท

V

3. นายธีรวุทธิ์ ปางวิรุฬหรักข

/,M

4. นายรุจพงศ ประภาสะโนบล

/, //

5. นายชาย วัฒนสุวรรณ

/, //

/, //

6. ผศ.สัมพันธ หุนพยนต

/, //

/, //

7. นายโกศล วรฤทธินภา

/

8. นางกนกวัลย วรรณบุตร

O

9. นางสาวอรทัย โคมกระจาง

N

X

บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ 1

2 3 4

5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32

/

/ / X X

/ /

X

/

/ / / / / / / / / M

/

/

/ /

/

/

หมายเหตุ : สัญลักษณตําแหนงของคณะกรรมการและผูบริหาร X ประธานกรรมการบริษัท

V รองประธานกรรมการบริษัท

/ กรรมการ

N เจาหนาที่บริหาร

// กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

O ผูบริหาร

M ประธานเจาหนาที่บริหาร

O

/ /


15

รายละเอียดบริษัทที่เกี่ยวของ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32.

บริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด บริษัท วุฒิศักดิ์ ฟารมาซี อินเตอร จํากัด บริษัท วุฒิศักดิ์ คอสเมติกส อินเตอร จํากัด บริษัท วุฒิศักดิ์ แกรนด อินเตอร จํากัด บริษัท ดับบลิว. เอส. เซอรจรี ี่ 2014 จํากัด การไฟฟานครหลวง บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท ทีเอทีเอส จํากัด บริษัท แอมเน็กซ จํากัด บริษัท แกรนดซี พรอพเพอรตี้ จํากัด บริษัท ฮอทพอท จํากัด (มหาชน) บริษัท จันทรธารารีสอรทแอนดสปา จํากัด สถาบันคุมครองเงินฝาก บริษัท สยามธานี จํากัด บริษัท ปุยเอนเอฟซี จํากัด (มหาชน) บริษัท เอสซีแมนเนจเมนท จํากัด บริษัท เพลินจิต แคปปตอล จํากัด บริษัท ครอสลิงค โซลูชั่น จํากัด บริษัท หลักทรัพยจดั การกองทุนรวมกรุงศรี จํากัด บริษัท โอเรียลทัล ไลฟสไตล จํากัด บริษัท เกอฮาวส ลิฟวิ่ง จํากัด บริษัท นูทริก จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยโมเดอนแพ็คเกจจิ้ง แอนด อินซูเลชั่น จํากัด บริษัท ปญจพล เปเปอร อินดัสตรี้ จํากัด บริษัท พีซีแอล แพลนเนอร จํากัด สภาสถาบันการจัดการปญญาภิวฒ ั น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บริษัท วุฒิศักดิ์ คลิกนิก อินเตอรกรุป จํากัด (มหาชน) บลจ.โซลาริส จํากัด บริษัท อาซีฟา จํากัด


16

นโยบายความรับผิดชอบตอสังคม ขอมูลโดยรวม

1.

บริษัทตระหนักถึงความรับผิดชอบตอสังคม โดยกําหนดไวเปนหนึ่งในวิสัยทัศนของบริษัท และบริษัทยอย ใหถือเปนภาพ (Picture หรือ View) ที่ตองทําใหบังเกิดขึ้นจริง ตามมุมมองของผูมีสวนไดเสีย ซึ่งหมายความ รวมถึงสังคมดวย โดยใหประชาชนมีการดํารงชีวิตและคุณภาพชีวิตที่ดี ใหถือเปนสวนหนึ่งในการดําเนินงาน ตามปกติ (in-process) (รายละเอียดวิสัยทัศนปรากฏตามบทที่ 1 ขอ 1.1 วิสัยทัศน วัตถุประสงค เปาหมายฯ). นอกจากนี้ ในถอยแถลงพันธกิจ (Mission Statement) ของบริษัทและบริษัทยอยไดใหความสําคัญกับ การดําเนินการดานตาง ๆ เชน ดานกระบวนการธุรกิจ (นําเขา จัดจําหนายและใหบริการ) การปฏิบัติตอลูกคาและ คูแขงขัน (ดวยราคายุติธรรม) การประเมินความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ (ขยายธุรกิจใหม ๆ เพิ่มฐานรายได และกระบริหารความเสี่ยง) การจัดหาวัตถุดิบ การปฏิบัติตอพนักงาน (บริหารงานดวยระบบการจัดการที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตามหลักบรรษัทภิบาล) เปนตน เพื่อนําไปสูการเติบโตอยางยั่งยืนไปดวยกันทั้ง บริษัทผูมีสวนไดเสียและสังคมที่มั่นคงยั่งยืน (Sustainable Growth) (รายละเอียดวิสัยทัศนปรากฏตามบทที่ 1 ขอ 1.1 วิสัยทัศน วัตถุประสงค เปาหมายฯ). สืบเนื่องจากแนวทางเกี่ยวกับ “ความรับผิดชอบตอสังคมของกิจการ” ซึ่งจัดทําโดยตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย ปจจุบันกําหนดหลักการไวดังนี้ (“หลักการ 8 ขอ”1) :1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8)

การประกอบกิจการดวยความเปนธรรม การตอตานการทุจริตคอรรัปชั่น การเคารพสิทธิมนุษยชน การปฏิบัติตอแรงงานอยางเปนธรรม ความรับผิดชอบตอผูบริโภค การดูแลรักษาสิ่งแวดลอม การรวมพัฒนาชุมชนหรือสังคม และ การมีนวัตกรรมและเผยแพรนวัตกรรมซึ่งไดจากการดําเนินงานที่มีความรับผิดชอบตอสังคม สิ่งแวดลอม และผูมีสวนไดเสีย.

บริษัทอยูในภาวะเริ่มตนในการดําเนินการดานความรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility) อยางจริงจัง ซึ่งรายละเอียดอาจครอบคลุมถึงไตรมาสแรกของป 2558 และสามารถแสดง

1

หลักการตามแนวทางความรับผิดชอบตอสังคมของกิจการที่จัดทําขึ้นโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยมี 10 ขอ หลักการ 8 ขอขางตน คือ หลักการ 10 ขอดังกลาวที่ไมรวม 2 หัวขอ คือ การกํากับดุแลกิจการที่ดี ซึ่งไดกําหนดใหเปดเผยแยกตางหากภายใตหัวขอ “การกํากับดูแล กิจการ” ของรายงานนี้แลว และหัวขอรายงานดานสังคม/สิ่งแวดลอม ซึ่งคือการเปดเผยในหัวขอนี้อยูแลว.


17

นโยบายใหการดําเนินธุรกิจของบริษัท เปนไปดวยความรับผิดชอบตอสังคม สิ่งแวดลอม และกลุมผูมีสวนไดเสีย ตามหลักการ 8 ขอ ดังนี้ 1) การประกอบกิจการดวยความเปนธรรม บริษัทเนนจรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ ครอบคลุมกับการเคารพกฎหมาย ไมมีสวนไดสวนเสียและผลประโยชนที่มีความขัดแยงกัน การรักษาความลับ การใชขอมูลภายใน การปฏิบัติตอลูกคา คูแขง พนักงาน ความปลอดภัยดานสุขอนามัยและสิ่งแวดลอม บริษัทมี การจัดทําคูมือพนักงาน พัฒนากระบวนการวัดประสิทธิผลของระบบ นําหลักการดานคุณภาพ ตามแนวทางรางวัล คุณภาพแหงชาติ (Thailand Quality Award – TQA) หรือเกณฑเพื่อการดําเนินงานที่เปนเลิศ (The Seven Malcolm Baldrige Criteria) 2) การตอตานการทุจริตคอรรัปชั่นบริษัทใชนโยบายการดําเนินกิจการใหถูกตองตามกฎหมาย และเปนประโยชนตอสังคม สนับสนุนใหพนักงานปฏิบัติงานอยางมีคุณธรรมและเปนพลเมืองที่ดี บริษัทกําลัง พัฒนามาตรการหรือตัวชี้วัดดานตาง ๆ รวมทั้งการวัดความเปนประชาชนที่ดี (Measures of Good Citizenship) โดยบริษัทไดประกาศเจตนารมณการเขารวมโครงการตอตานคอรรัปชั่น ที่มีชื่อวาโครงการแนวรวมปฏิบัติของ ภาคเอกชนไทยในการตอตานทุจริต (Collective Anti-Corruption – CAC) และในป 2558 บริษัทมีแผนการ ดําเนินการตามการประกาศเจตนารมณอยางเปนรูปธรรมะตอไป. 3) การเคารพสิทธิมนุษยชน บริษัทมีนโยบายที่จะปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับที่เกี่ยวของกับ พนักงานและหลักการเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ถือปฏิบัติตอพนักงานอยางเทาเทียม เคารพในความเปนปจเจกและ ความมีศักดิ์ศรี โดยที่ผานมาไมเคยมีขอรองเรียนที่เปนหลักฐานเชิงประจักษเรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชน. 4) การปฏิบัติตอแรงงานอยางเปนธรรม บริษัทตระหนักดีวา บุคลากรเปนทรัพยากรที่มีคาของ บริษัท ปฏิบัติตอพนักงานเปนไปตามกฎหมายแรงงาน หรือใหสวัสดิการประโยชนตาง ๆ ที่สมเหตุสมผลสอดคลอง กับสภาวะเศรษฐกิจ. 5) ความรับผิดชอบตอผูบริโภค บริษัทพิถีพีถันในการคัดสรรผลิตภัณฑและบริการแกลูกคา กลุมเปาหมาย เนื่องดวยเกี่ยวความงาม สุขภาพ อนามัยของผูบริโภค ผลิตภัณฑ องคประกอบทุกรายการที่จําเปน จะตองไดรับการรับรองจากองคการอาหารและยา (อย.) ตลอดจนบริษัทคัดสรรผลิตภัณฑระดับแนวหนาดาน คุณภาพ ประสิทธิภาพ ภาพลักษณ ความเปนผูนําดานเทคโนโลยีและความปลอดภัย ตลอดจนสุขอนามัยใหแก ผูบริโภค ผูรับบริการ รวมทั้งบุคลากรทางการแพทย และบุคลากรดานความงาม. 6) การดูแลรักษาสิ่งแวดลอม บริษัทรณรงคดานการประหยัดพลังงาน การใชวัสดุสํานักงาน สิ้นเปลืองตาง ๆ อยางคุมคา เชน การใชกระดาษรียูส (Re-used) การเปด-ปดเครื่องไฟฟา เครื่องปรับอากาศ ระหวางชวงพัก การจัดสื่อแจกเปนซีดี หรือ Soft files แทนที่จะเปนกระดาษ จัดทําเปนรูปเลม เนนการสื่อสาร ประชุม จัดทําธุรกรรมตาง ๆ ทางอินเทอรเน็ตใหมากขึ้น ลดการเดินทางไป-มาภายในระหวางสํานักงาน เปนตน. 7) การรวมพัฒนาชุมชนหรือสังคมบริษัทตระหนักถึงการทําประโยชนเพื่อสังคม ในป 2557 บริษัท ไดมีสวนรวมในการสนับสนุนเครื่องมือแพทย ประกอบการอบรมโครงการฝกอบรมการชวยชีวิตขึ้นพื้นฐาน หรือ ปฏิบัติการชวยฟนคืนชีพ (Cardiopulmonary resuscitation) CPR คือการชวยเหลือผูที่อยูในภาวะหยุดหายใจ


18

หรือภาวะหัวใจหยุดเตนใหกลับมามีการหายใจและไหลเวียนคืนสูสภาพเดิม CPR และรวมสนับสนุนงบประมาณ การปรับปรุงหองเจาะเลือด สําหรับโรงพยาบาลที่ไมไดอยูในกรุงเทพ 8) การมีนวัตกรรมและเผยแพรนวัตกรรมซึ่งไดจากการดําเนินงานที่มีความรับผิดชอบตอสังคม สิ่งแวดลอม และผูมีสวนไดเสีย เปนกิจกรรมการสัมมนา การใหองคความรูดานเทคนิคและเครื่องมือทางการ แพทยใหม ๆ ใหแก แพทย และบุคลากรทางการแพทยตาง ๆ (รายละเอียดแสดงไวแลวในภาพทายบทนี้). 2.

การดําเนินงานและการจัดทํารายงาน

บริษัทไดวางแผนดําเนินงานและจัดรายงานตามแนวทางรางวัลคุณภาพแหงชาติ (Thailand Quality Award – TQA) หรือเกณฑเพื่อการดําเนินงานที่เปนเลิศ (The Seven Malcolm Baldrige Criteria) แนวทางตามมาตรฐานสากลทั้งที่เปนกรอบการจัดทํารายงานขององคกรแหงความริเริ่มวาดวยการรายงานสากล (Global Reporting Initiative – GRI) และแนวทางการจัดทํารายงานแหงความยั่งยืนที่จัดทําโดยตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย. ตลอดจนในป 2558 นี้ บริษัทจะพัฒนาตัวชี้วัดใหสอดคลองกับแนวคิดดานแผนที่เชิงกลยุทธ “Strategy Map” “Balanced Scorecard” และ “KPIs” 2โดยเนนตัวชี้วัดที่เปน “ความเปนประชาชนที่ดี (Good Citizenship)” เปนพิเศษ. ซึ่งรายละเอียดรายงาน กิจกรรมดานความรับผิดชอบของกิจการที่มีตอสังคมนั้น บริษัทจะแสดง ในเว็บไซตของบริษัท. 3.

กิจกรรมเพื่อประโยชนตอสังคมและสิ่งแวดลอม (after process)

เนื่องดวยธุรกิจหลักของบริษัท เปนตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย กิจกรรมเพื่อ ประโยชนตอสังคมและสิ่งแวดลอมในป 2557 นั้น บริษัทไดมีการสนับสนุนกิจกรรมตาง ๆ อาทิ กิจกรรมทาง ศาสนา การกีฬา การศึกษา การมอบหรือบริจาคเครื่องมืออุปกรณทางการแพทย การกอสราง ปรับปรุงอาคาร และหองที่ใชปฏิบัติการทางการแพทย เปนตน. ซึ่งเปนกิจกรรมที่ไดทําตอเนื่องตลอดทั้งป นอกจากจะเปนการบริจาค สนับสนุนดานเงินทุนและเครื่องมือ อุปกรณทางการแพทย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ดานสุขอนามัยใหแกประชาชนทั่วไป ทั่วประเทศแลว ผูบริหาร และบุคลากรของบริษัทไดเล็งเห็นความสําคัญที่จะตอบแทนสังคม ตองการใหประชาชนมีสุขภาพที่ดี ก็ไดเขารวม กิจกรรมตาง ๆ ดวย โดยมีตารางแสดงรายละเอียดเรียงตามลําดับกอนหลัง แสดงในหนาถัดไป :-

2

ใชแนวทฤษฎีของ Paul R. Niven ผูเขียนหนังสือ “Balanced Scorecard: Step-by-step” และ “Balanced Scorecard Diagnostics” เปน หลัก.


19

1

วันเดือน เม.ย.

2 3

16 พ.ค. 16 พ.ค.

4 5

3 มิ.ย. 25 มิ.ย.

6

8 ก.ย.

7

22 ก.ย.

8 9

30 ก.ย. 9 ธ.ค.

ที่

10 9 ธ.ค. 11 15 ธ.ค.

12 15 ธ.ค. 13 ธ.ค. 14 16 ธ.ค. 15 18 ธ.ค. 16 22 ธ.ค.

กิจกรรม, ผลิตภัณฑ, เงินทุนที่บริจาค หรือองค ความรูที่เปนวิทยาทาน สนับสนุนเครื่องมือแพทย ประกอบการอบรม โครงการ CPR รวมบริจาคทอดผาปามหากุศล รวมสนับสนุนโครงการแรลลี่ ครบรอบ 4 ป มหาวิทยาลัยพะเยา รวมบริจาคเพื่อครุภัณฑการแพทย รวมทําบุญฉลองครบรอบ 60 ป โรงพยาบาล เพชรบูรณ ตูแช 2 ประตู ยี่หอ HAIERS รุน SC6500 ขนาด 21.7 คิว จํานวน 1 ตู เครื่องปรับอากาศ ยี่หอ Mitsubushi ขนาด 18,000 BTU รุน MS-GJ18VA จํานวน 1 เครื่อง รวมบริจาคเงินทอดผาปามหากุศล สมทบกองทุน จัดหาเครื่องมือแพทย รวมบริจาคแกศูนยรับบริจาคอวัยวะ พัดลมไอเย็น CLARTE 13 ลิตร สีเทาจํานวน 1 เครื่อง Integrated AMP รุน AS300 ยี่หอ Yamaha และ ลําโพง รุน NSAW 392 สีขาว จํานวน 1 ชุด น้ํายา TB BEADS

สถาบัน/หนวยงาน

จังหวัด

โรงพยาบาลปทุมธานี

ปทุมธานี

โรงพยาบาลสุโขทัย มหาวิทยาลัยพะเยา

สุโขทัย พะเยา

โรงพยาบาลสุโขทัย โรงพยาบาลเพชรบูรณ

สุโขทัย เพชรบูรณ

โรงพยาบาลหัวไทร

นครศรีธรรม ราช

โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย

โรงพยาบาลอุดรธานี ภาควิชาอายุรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร การแพทย รวมบริจาคโครงการสมทบทุนสรางอาคารเฉลิมพระ ศูนยอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาล เกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาราช บริจาคเครื่องติดตามการทํางานของหัวใจ โรงพยาบาลจอมทอง และ เครี่องกระตุกหัวใจ น้ํายา TB BEADS ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะ แพทยศาสตรศิรริ าชพยาบาล รวมสนับสนุนการจัดกอลฟการกุศล นักศึกษา โรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลา วิทยาลัยการทัพเรือ รวมสนับสนุนงบประมาณการปรับปรุงหองเจาะ โรงพยาบาลพะโตะ เลือด

สุโขทัย อุดรธานี กรุงเทพฯ เชียงใหม นนทบุรี

นครราชสีมา เชียงใหม กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ ชุมพร


20

บรรยากาศการอบรมในโครงการ CPR โรงพยาบาลปทุมธานี – เม.ย.57

รวมบริจาคการทอดผาปาเพื่อครุภัณฑทางการแพทย รพ.สุโขทัย – 3 มิ.ย.57


21

บริจาคสมทบทุนกองผาปาซื้อเครื่องมือแพทย รพ.เพชรบูรณ - 25 มิถุนายน

บริจาคสมทบทุนจัดซื้อเครื่องมือแพทย รพ.ศรีสังวร สุโขทัย -22 กันยายน


22

บริจาคเครื่องติดตามการทํางานของหัวใจ และ เครี่องกระตุกหัวใจ รพ.จอมทอง เมื่อ ธันวาคม 2557

นอกจากนี้ บริษัทไดจัดจางพนักงานที่อวัยวะบางสวนพิการ ซึ่งมีทักษะทํางานดานตาง ๆ ไดดี เชน รับ พนักงานที่มีปญหาดานการไดยิน รวมทํางานดานธุรการเอกสาร การรวบรวมเอกสารติดตามหนี้คางชําระ เปนตน.


23

ภาพรวมของธุรกิจ บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) (“บริษัท” หรือ “EFORL”) จดทะเบียนเปนบริษัทมหาชนใน ประเทศไทยและจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2552(ชื่อเดิมคือ บริษัท แอป โซลูท อิมแพค จํากัด (มหาชน))ปจจุบันบริษัทดําเนินธุรกิจเปนตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการ แพทยและใหบริการสื่อโฆษณา. บริษัทยอยของบริษัทประกอบดวย : ธุรกิจเปนตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย (บจก.สเปซเมด(Spacemed) บริษัท ถือหุน 100%)  ธุรกิจใหบริการดานความงามและธุรกิจแฟรนไชส(บจก.วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป(WCIG)) บริษัทถือหุน 60% โดยผาน บจก.ดับบลิวซีไอโฮลดิ้ง(WCIH)  ธุรกิจเจาของสิทธิการเปนผูนําเขาและจําหนายผลิตภัณฑความงามของกลุม QUADRA จากประเทศ อิตาลี ภายใตชื่อแบรนด That’so, รานขายปลีกเครื่องสําอาง (บจก.แดทโซ เอเชีย คอรปอเรชั่น บริษัทถือหุน 18%) และ  ธุรกิจเกมสออนไลน (บจก.เอนโม(ENMO)) ไดจําหนายหุนแกบุคคลภายนอกแลว เมื่อ 18 ก.ย.57 ที่อยูของบริษัท ตั้งอยูเลขที่ 184 ถนนราชวิถี แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร. วิสัยทัศน วัตถุประสงค เปาหมาย หรือกลยุทธในการดําเนินงานของบริษัทหรือกลุมบริษัทในภาพรวม  วิสัยทัศน เรามุงมั่นเปนผูนําดานการจัดจําหนายและใหบริการผลิตภัณฑทางการแพทยและสุขภาพ เพื่อการ ดํารงชีวิตที่ดีของประชาชน. (To provide trustworthy and reliable healthcare products for improving wellness.)  พันธกิจ  นําเขา จัดจําหนายและใหบริการ เครื่องมือทางการแพทย วิทยาศาสตร และผลิตภัณฑดานสุขภาพที่ มีคุณภาพและทันสมัย เพื่อชวยในการตรวจวินิจฉัย การปองกัน การรักษาโรค และการสงเสริม สุขภาพแกแพทย บุคลากรทางการแพทย และประชาชน ดวยราคายุติธรรม.  บริหารงานดวยระบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล พรอมหลักบรรษัทภิบาล เพื่อการ เติบโตที่มั่นคงและยั่งยืน.  ขยายธุรกิจใหม ๆ ที่เกี่ยวของกับสุขภาพ ความงามและสาธารณสุข เพื่อเปนการเพิ่มฐานรายได และ กระจายความเสี่ยง.


24

หรือสามารถแสดงพันธกิจดานการเปนบรรษัทภิบาลไดดังนี้  A Healthcare Solutions company adhering to good governance of decision making and implementation.  วัตถุประสงค 3 2

1. วัตถุประสงคระยะสั้น (Short-term Objectives) – ระยะหนึ่งป(ป 2558)  ดานการตลาดและการจัดการเชิงกลยุทธ • ยอดขายเพิ่มขึ้นไมนอยกวา 20% (จากฐานลูกคาเดิม 15% ลูกคาใหม 20-25%). • เพิ่มผลิตภัณฑหรือบริการใหม ๆ ไมนอยกวา 5 รายการ (ตอ SBUs). • คาใชจายดานการตลาดและการขาย จะตองลดลงไมนอยกวา 2% เมื่อเทียบกับยอดขาย. • พัฒนาตราสินคารวมถึงภาพลักษณองคกร (Corporate Image) ภายใตการจัดการของ EFORLและกลุมบริษัทในเครือทั้งหมดใหเปนที่รูจักเพิ่มขึ้น (Brand and Corporate Awareness/Recognition) ในทุก ๆ ผลิตภัณฑและบริการไมนอยกวา 20% (ซึ่งบริษัทจะ พัฒนาหาตัวชี้วัดที่เหมาะสมตอไป). • กอตั้ง พัฒนา รวมกิจการเพื่อใหเปนหนวยธุรกิจเชิงกลยุทธ (SBUs) ทั้งที่เปนการบูรณาการ ไปขางหนา(Forward Integration) และบูรณาการไปขางหลัง (Backward Integration) ไม นอยกวา 1-2 SBUs.  ดานการดําเนินงาน • ลดตนทุนการดําเนินงานที่ควบคุมไดในทุก ๆ SBUs ลงไมนอยกวา 10%. • พัฒนาเพิ่มเสริมจํานวนบุคลากร สงเสริมบุคลากร ระดับบริหารจัดการขั้นกลาง (Middle Level Management) ขึ้น ไมนอยกวา 2-3 อัตราในทุก ๆ SBUs เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการบริหารจัดการ. • บริษัทจะยกระดับบุคลากรในทุกระดับใหมีคุณคามากขึ้น (Value Added) ดวยการ ฝกอบรม การ Coaching, On-the-Job Training, Workshop ฯลฯ รวมแลวไมนอยกวา 18 ชั่วโมงและ 30 ชั่วโมงตอคนตอป (ในระดับจัดการและระดับปฏิบัติการตามลําดับ) 3

บริษัทไดกําหนดวัตถุประสงคระยะสั้นและระยะปานกลางไวกอน เพื่อใหการวางแผนการดําเนินงานของบริษัทมีความสมจริง (Realistic) บรรลุได (Achievable) และวัดได (Measurable) มีความเปนไปไดในทางปฏิบตั ิ บริษัทขอละการกําหนดวัตถุประสงคระยะยาว (Long-term Objectives) ซึ่งเปนระยะ 6-10 ปขางหนา เพราะมียังมีปจจัยที่เปนพลวัต ตามภาวะการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของภาวะเศรษฐกิจโลกในปจจุบัน ทําใหการคาดการณใหแมนยํานั้น มีความเปนไปไดอยูในเกณฑต่ํา ทั้งทางดานการตลาด พฤติกรรมผูบริโภค สถานการณตลาดเงินตลาดทุน เทคโนโลยีและปจจัยดานมหภาคอื่น ๆ เปนตน.


25

ภายในป 2558.(ชางเครื่องมือแพทย/คลินิกความงามใหอบรมดาน ISO 17025 เพื่อรองรับ ระบบ HA และ JCI). พัฒนาเว็บไซตของบริษัทเพื่อเปนแหลงขอมูลที่สําคัญทางดานนักลงทุนสัมพันธ (Investor Relations -IR) การจัดการสรางความสัมพันธกับลูกคา (Customer Relationship Management – CRM) ความรับผิดชอบตอสังคมของกิจการ (Corporate Social Responsibility – CSR) ตลอดจนขอมูลการตลาด ความเคลื่อนไหวดานหลักทรัพย ผลิตภัณฑบริการ และอื่น ๆ ใหสมบูรณภายในป 2558 (ออกเว็บไซตใหม www.eforlaim.comภายในไตรมาสที่ 2 ของป 2558. เริ่มศึกษาวางแผนพัฒนาระบบงานการวางแผนทรัพยากรของกิจการ (Enterprise Resources Planning – ERP) ทั้งทางดานระบบบัญชีการเงิน สินคาคงคลัง ระบบการขาย ระบบการใหบริการ และโลจิสติกส ภายในป 2558 (จะมีความสมบูรณไมนอยกวา 50%) และจะใชงานไดจริงภายในกลางป 2559. พัฒนากฎบัตร ระเบียบปฏิบัติ ระบบงานภายใน การสื่อสารภายในบริษัท ใหเกิดระบบการ ติดตามกํากับการปฏิบัติงาน (Compliance) ใหมีความสมบูรณไมนอยกวา 50% (เทียบกับ มาตรฐานทั่วไปดาน Compliance ของบริษัทระดับ SET 50). จัดตั้งหนวยงานภายในเพื่อประสานงานกับตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ และใหขอมูลที่มี ความโปรงใสแกผูมีสวนไดเสีย ผูลงทุน ตลอดจนผูสนใจตาง ๆ ทั้งทางดาน IR, CSR และ ขอมูลดานบรรษัทภิบาล (Corporate Governance) ภายในไตรมาสที่ 2 ของป 2558. ปรับปรุงพัฒนาการกํากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อให CG Scorecard ในป 2558 อยูในระดับที่ ไมนอยกวาบริษัทจดทะเบียนโดยรวมของป 2557 (72%).

 ดานการเงิน • บริษัทจะมีกําไรสุทธิรวม (Net Profit) ไมต่ํากวา 400.0 ลานบาท. • บริษัทจะประกาศจายเงินปนผลไมนอยกวารอยละ 40ของกําไรสุทธิหลังหักภาษีเงินไดนิติ บุคคลของงบการเงินเฉพาะหลังหักสํารองตามกฎหมาย และเงินสะสมอื่น ๆ ตามที่บริษัท กําหนด. • บริษัทจะลดหนี้สินรวมลงประมาณรอยละ 40เพื่อเปนการลดตนทุนทางการเงินลง ดวยการ ปรับโครงสรางทางการเงินและโครงสรางธุรกิจ. • บริษัทจายชําระหนี้สินระยะสั้นและหนี้สินระยะยาวไดตามกําหนด. 2. วัตถุประสงคระยะปานกลาง (Mid-Range Objectives) – ระยะสาม-หาปถัดไป (ป 2559-2561 หรือป 2559-2563)  ดานการตลาดและการจัดการเชิงกลยุทธ


26

• ภายในป 2563 บริษัทจะมีรายไดรวมไมนอยกวา 10,000 ลานบาท. • ธุรกิจดานความงามจะมีกลุมผลิตภัณฑใหมและบริการใหม ๆ เพิ่มขึ้นจําหนายในตลาด สะดวกซื้อ. • บริษัทจะรักษาอัตราคาใชจายดานการตลาดและการขายใหอยูในระดับไมเกินรอยละ10เมื่อ เทียบกับรายได. • พัฒนาตราสินคารวมถึงภาพลักษณองคกร (Corporate Image) ภายใตการจัดการของ EFORL ใหเปนที่รูจัก (Brand and Corporate Awareness/Recognition) ในระดับ อาเซียน (ภายในป 2560) และระดับภูมิภาค Pacific Rim (ภายในป 2563) (บริษัทจะ พัฒนาหาตัวชี้วัดที่เหมาะสมตอไป). • เพิ่มความแข็งแกรงของธุรกิจโดยเนนเลือกธุรกิจที่มีอัตรากําไรขั้นตนสูงดวยวิธีการควบรวม กิจการ (Merger and Acquisition). • กระจายธุรกิจออกไปในธุรกิจหรือตลาดใหม ๆ ไดแกประเทศในกลุมประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC).  ดานการดําเนินงาน • บริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยูใหสามารถหมุนเวียนปรับใชกับกลุมธุรกิจของบริษัททั้งหมด เพื่อลดตนทุนการดําเนินงาน. • ยกระดับบุคลากรระดับบริหารจัดการขั้นกลาง (Middle Level Management) ใหขึ้นเปน ผูบริหารระดับสูง ขณะเดียวกันมีการศึกษาและเตรียมแผนงานเรื่อง Successor Plan. • วุฒิศักดิ์คลินิกจะตองไดรับรองมาตรฐานJoint Commission International Accreditation Standards (JCI). • บริษัทจะพัฒนาสรางสถาบันฝกอบรมดานสุขภาพและความงาม (Health and Beauty Training Institute) เพื่อยกระดับมาตรฐานการใหบริการแกกลุมบริษัท. • ยกระดับเปาหมายองคกรไปสูธุรกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise). • เพิ่มประสิทธิภาพระบบสารสนเทศและการสื่อสารภายในบริษัท ทําใหระยะเวลาการ ดําเนินงาน (Lead-time) สั้นลงอยางนอยรอยละ 10 ในทุก ๆ กิจกรรม. • นําระบบ Enterprise Resources Planning – ERP มาใชกับระบบงานบัญชีการเงิน สินคา คงคลัง ระบบการขาย ระบบการใหบริการ และโลจิสติกส โดยใชงานไดจริงภายในกลางป 2559 (EFORL และ WCIG). • พัฒนากฎบัตร ระเบียบปฏิบัติ ระบบงานภายใน การสื่อสารภายในบริษัท ใหเกิดระบบการ ติดตามกํากับการปฏิบัติงาน (Compliance) ใหมีความสมบูรณ(เทียบกับมาตรฐานทั่วไป ดาน Compliance ของบริษัทระดับ SET 50).


27

• ปรับปรุงพัฒนาการกํากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อให CG Scorecard อยูในระดับที่ไมนอยกวา SET 100 ของป 2557 (80%) ภายในป 2560. • พัฒนาระบบแผนเชิงกลยุทธ ตัวชี้วัด (KPIs) ดวยเครื่องมือตามแนวทาง Balanced Scorecard และเชื่อมโยงกับระบบงาน ERP (Enterprise Resources Planning).  ดานการเงิน • บริษัทจะมีกําไรสุทธิรวม (Net Profit) ไมต่ํากวา 1,000.0 ลานบาท ภายใน 3 ปขางหนา. • บริษัทจะประกาศจายเงินปนผลไมต่ํากวารอยละ 50. • บริษัทจะรักษาอัตราสวนหนี้สินรวมตอสวนของผูถือหุน(D/E Ratio) ไมเกิน 1:1 ภายในป 2560  เปาหมาย  บริษัทจะจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ ระดับนานาชาติภายในป 2563.  บริษัทจะสรางผลกําไรจากการดําเนินงานใหอยูในระดับมาตรฐานไมต่ํากวาคูแขงขันในระดับ เดียวกันเพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดใหแกนักลงทุนและผูมีสวนไดเสีย(Profitability).  บริษัทจะสรางความพึงพอใจสูงสุดใหลูกคาดวยผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ การรับประกัน การบริการ หลังการขายดวยการตอบสนองความตองการของลูกคาอยางรวดเร็ว พรอมทั้งรับฟง ขอเสนอแนะ การติติง เพื่อนําไปแกไขปรับปรุงตอไปดวยความเต็มใจ (Customer Service).  บริษัทจะนําขอผิดพลาด บกพรอง ของเสีย ของชํารุด การรอคอยของลูกคา ผลิตภัณฑและ/หรือ บริการที่ไมประสบความสําเร็จ เปนเครื่องเตือนใจ นําไปเปนกรณีศึกษาและถือเปนบทเรียนที่ สําคัญในการปรับปรุงกระบวนการภายใน (Internal Process) ใหดียิ่งขึ้น (Retention).  บริษัทจะเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงานทุกกระบวนการ เชน เพิ่มอัตราการปดยอดขาย (Closing ratio) ลดระยะเวลาและตนทุนดานการจัดสงและโลจิสติกส ประสิทธิภาพในการใช ทรัพยสิน เปนตน (Efficiency).  บริษัทมุงดานการเติบโต ทั้งที่เปนยอดขาย ปริมาณสินคาและบริการ ฐานลูกคาที่เพิ่มขึ้น อัตรา การสูญเสียลูกคาที่ลดลง จํานวนสาขาที่เพิ่มขึ้น ความหลากหลายและความครอบคลุมของ ผลิตภัณฑและบริการที่เพิ่มขึ้น การเขาไปเสริมหรือปดจุดที่ตลาดยังมีชองวางอยู การใหบริการ การจัดวางผลิตภัณฑในตําแหนงที่เหมาะสม (Right Positioning) มีกําไร และกระตือรือรนที่จะ เขาทําตลาดที่เปดใหม (Emerging market) เปนตน (Growth).


28

 กลยุทธการดําเนินงาน • กลยุทธการตลาด ธุรกิจเครื่องมือแพทย  บริษัทจะเนนการเปนตัวแทนจําหนายสินคาหลายยี่หอจากคูคาที่เปนผูนําตลาดสินคานั้นๆ ใน ระดับโลก.  เนนสวนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) โดยใหความสําคัญกับผลิตภัณฑ (Product) ที่ ตองมีการคัดสรร และพิธีพิถันในการสงมอบ ติดตั้ง คุณภาพ เกรดดี (ยี่หอ) มีชื่อเสียงในระดับ สากล มีประกันสินคา การบริการระหวางขายและหลังขายที่เปนเลิศ.  การกําหนดราคาขาย เปนราคาที่กําหนดจากตนทุนบวกกําไรที่ตองการและเปนราคาที่แขงขันได (Competitive Price).  เนนระบบการสรางแรงจูงใจใหกับทีมงานขาย (Sales force) ดวยระบบการใหรางวัล ระบบ คอมมิชชั่นที่เหมาะสม บาง package ก็จัดในอัตรากาวหนา.  เพิ่มชองทางการจัดจําหนายทางเว็บไซต พัฒนาระบบ CRM ใหสมบูรณ ใหระบบ CRM และ ระบบเว็บไซตทําหนาที่การตลาดและการขายไดตลอดเวลา 24 ชั่วโมง และทุกที่ (Ubiquitous – or found everywhere, ever-present).  เนนความเปนผูนําดานเทคโนโลยีของผลิตภัณฑทั้งดานการแพทย และบริการดานความงาม การ เปนผูนําดานนวัตกรรม (A Product Innovative Leader) เมื่อเทียบกับบรรดาคูแขงขันใน ตลาด.  เนนการสรางความสัมพันธกับลูกคาในระยะยาว พัฒนาระบบ CRM อยางจริงจัง. ใหลูกคาเกิด ความรูสึกวา บริษัทไดรวมเติบโต ไปสูความสําเร็จรวมกัน เปน Business Partner กัน. ธุรกิจบริการความงาม  เนนการออกผลิตภัณฑและบริการใหม ๆ ที่แตกตางจากคูแขงขัน.  ใหความสําคัญดานคุณภาพผลิตภัณฑและบริการ ทั้งดานวัตถุดิบ บรรจุภัณฑ และความ ปลอดภัย.  เพิ่มรายไดและกําไรตอสาขาที่มีอยูประมาณ 120 สาขาทั่วประเทศ ใหอยูในระดับที่เหนือกวาคู แขงขันในตลาดเดียวกัน.  เนนความเปนผูนําดานเทคโนโลยีของผลิตภัณฑทั้งดานการแพทย และบริการดานความงาม การ เปนผูนําดานนวัตกรรม (A Product Innovative leader) เมื่อเทียบกับบรรดาคูแขงขันใน ตลาด.


29

• กลยุทธการดําเนินงาน  นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใชประโยชนในการดําเนินงาน เชน ระบบ Enterprise Resources Planning – ERP มาใช เพื่อใหเกิดกระบวนการทํางานที่มี ประสิทธิภาพ รวดเร็วลดขั้นตอน งายตอการตรวจสอบ ติดตาม กํากับ ออกรายงาน.  เนนความรวดเร็ว ทันการณในการจัดสง ครบถวน ถูกตอง การติดตั้ง และการบริการหลังการ ขายที่เปนเลิศ.  การอบรมใหความรูกับพนักงาน ทั้งที่สาขา (WCIG) และพนักงานขาย ชาง (EFORL) ทางดาน ผลิตภัณฑและบริการ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ สื่อสารกับลูกคาไดถูกตอง เปนการเพิ่ม ประสิทธิภาพการทํางาน. • กลยุทธการเงิน  บริษัทจะบริหารสภาพคลองใหมีกระแสเงินสดสวนเกินโดยเนนมาจากกิจกรรมดําเนินการ.  นําบัญชีเชิงการจัดการ (Managerial Accounting) เขามาชวยวิเคราะหผลการดําเนินงาน เชน ตนทุนผันแปร ตนทุนคงที่ ตนที่ควบคุมได ตนทุนที่ควบคุมไมได การวิเคราะหจุดคุมทุน เพื่อ กําหนดราคาและปริมาณขายที่เหมาะสม เปนตน.  การลงทุนในสินทรัพยรายการที่มีมูลคาสูง จะตองมีการศึกษา Cost-Benefit Analysis พรอมทั้ง เปรียบเทียบวิเคราะหขอดีขอดอย “เชา” หรือ “ซื้อ”.  จัดลําดับความสําคัญ (Prioritize)และความจําเปนในการจายเงิน ในการจัดทํางบประมาณเงิน สด. บริษัทมีธุรกรรมเกี่ยวของเปนกลุมบริษัท สามารถแสดงเปนผังแสดงความเชื่อมโยงของหนวยธุรกิจเชิงกล ยุทธตาง ๆ (Strategic Business Units –SBUs) และสัดสวนการถือหุนภายในกลุมบริษัทดังแสดงในหนาถัดไป


30

ผังแสดงความเชื่อมโยงของหนวยธุรกิจ (SBUs) และโครงสรางการถือหุนของกลุมบริษัท EFORL 1

60%

That’so

Enmo

4 18%

SPACEMED

3

15%

25%

WCIH 7

6

5 99.99%

FOUNDERS

SOLARIS Asset Management 2

100%

100%

WCIG 8 100%

จําหนายใหแกบุคคลภายนอกที่ไมมีความ เกี่ย วของ เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2557

WCI

WPI

WGI

WSS

9

10

11

12

99.97%

99.99%

99.97%

99.98%


31

โดยที่:1 2

หมายถึง หมายถึง

3

หมายถึง

4.

หมายถึง

5

หมายถึง

6

หมายถึง

7

หมายถึง

8

หมายถึง

9

หมายถึง

10

หมายถึง

11

หมายถึง

“บริษัท” บมจ.อี ฟอร แอล เอม บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุนโซลาริส จํากัด (Solaris Asset Management Co., Ltd.) ซึ่งกองทุนนี้ ไมมีความสัมพันธเกี่ยวของ กันกับบริษัทและผูถือหุนเดิมของ WCIG. ผูกอตั้งกลุมบริษัทวุฒิศักดิ์ 3 ทาน ประกอบดวย นายพลภัทร จันทรวิเมลือง นายวุฒิศักดิ์ ลิ่มพานิช และนายณกรณ กรณหิรัญ. บจก.แดทโซ เอเชีย คอรปอเรชั่น(That’so Asia Corporation Co., Ltd.) – ทุน จดทะเบียนชําระแลว 200.0 ลานบาท.(บริษัทมีหุนอยู 18% ซึ่งไมถึงกึ่งหนึ่ง บริษัท จึงไมมีสิทธิในการเขาบริหารจัดการ) ลักษณะธุรกิจ: ธุรกิจนําเขาสินคา เครื่องสําอางและบริการเสริมความงาม รานขายปลีกเครื่องสําอาง. บจก.เอนโม(Enmo Co., Ltd.) – บริษัทถือหุน 99.99% ทุนจดทะเบียน 33.8 ลานบาท.ลักษณะธุรกิจ:เกมสออนไลน บริษัทไดจําหนายหุนใหแกบุคคลภายนอก แลว ตามมติคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 18 ก.ย.57 ทั้งนี้เปนไปตามวิสัยทัศน และพันธกิจของบริษัท (รายละเอียดแสดงในขอ 1.1). บจก.สเปซเมด(Spacemed Co., Ltd.) – บริษัทถือหุน 100% ทุนจดทะเบียน 50 ลานบาท. ลักษณะธุรกิจ: ตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย. บจก.ดับบลิวซีไอโฮลดิ้ง(WCI Holding Co., Ltd. - WCIH) –บริษัทถือหุน 60% กองทุนโซลาริส 15% และผูกอตั้งกลุมบริษัทวุฒิศักดิ์ 25% โดยมีทุนจดทะเบียน 1,000ลานบาท.ลักษณะธุรกิจ: ลงทุนในบจก. วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป. บจก.วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป(Wuttisak Clinic Inter Group Co., Ltd.WCIG) –WCIH ถือหุน 100% (หมายถึงบริษัทถือหุน 60%) ทุนจดทะเบียน 1.53 ลานบาท. ลักษณะธุรกิจ: ประกอบธุรกิจใหบริการดานความงามและธุรกิจแฟรน ไชส. บจก.วุฒิศักดิ์ คอสเมติก อินเตอร(Wuttisak Cosmetics Inter Co., Ltd.-WCI) WCIG ถือหุน 99.97% ทุนจดทะเบียน 0.10 ลานบาท. ลักษณะธุรกิจ: ซื้อมาขายไป เครื่องสําอางและอาหารเสริม. บจก.วุฒิศักดิ์ ฟารมาซีอินเตอร(Wuttisak Pharmacy Inter Co., Ltd.-WPI) – WCIG ถือหุน 99.99% ทุนจดทะเบียน 2.0 ลานบาท. ลักษณะธุรกิจ: ซื้อมาขายไป เครื่องผลิตภัณฑยาและอาหารเสริม.

บจก.วุฒิศักดิ์ แกรนด อินเตอร(Wuttisak Grand Inter Co., Ltd.-WGI) – WCIG


32

12

หมายถึง

ถือหุน 99.97% ทุนจดทะเบียน 0.10 ลานบาท. ลักษณะธุรกิจ: ผูใหบริการเกี่ยวกับ การบริหารจัดการทรัพยสิน (ปจจุบันไมมีการดําเนินธุรกิจ). บจก. ดับบลิว.เอส.เซอรจีรี่ 2014(W.S.Surgery 2014 Co., Ltd.-WSS) – WCIG ถือหุน 99.98% ทุนจดทะเบียน 1.0 ลานบาท. ลักษณะธุรกิจ: ซื้อมาขายไปและ ใหบริการเสริมความงาม โดยทําศัลยกรรมพลาสติก (ปจจุบันไมมีการดําเนินธุรกิจ).


33

พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ เดิมบริษัทชื่อ “บริษัท แอปโซลูท อิมแพค จํากัด (มหาชน)” (“Absolute Impact PCL” หรือ “AIM”) กอตั้งขึ้นโดยนายปริน ชนันทรานนท เมื่อเดือนสิงหาคม 2548 ดวยทุนจดทะเบียนเริ่มตน 50.0 ลานบาท เพื่อประกอบธุรกิจใหบริการและผลิตสื่อโฆษณา ซึ่งในระยะ 3 ปที่ผานมา (พ.ศ.2555-2557) มีเหตุการณ การ เปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญดังนี้ พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญชวง 3 ปที่ผานมา (พ.ศ.2555-2557) พฤศจิกายน 2555 บริษัทไดจดทะเบียนเลิกบริษัทยอย คือ บริษัท อรูมายไลท จํากัด ซึ่งประกอบธุรกิจให คําปรึกษาธุรกิจ ใหคําปรึกษาและจัดกิจกรรมทางการตลาดและประชาสัมพันธ โดย บริษัทถือหุนอยูรอยละ 99.99. ซึ่งการยกเลิกบริษัทยอยนี้ ไมสงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับบริษัทจดทะเบียน เนื่องจาก บริษัทไดเขาดําเนินกิจการแทนบริษัทยอย และยังคงธํารงรักษาฐานลูกคาไว. ธันวาคม 2555

บริษัทไดสิ้นสุดบันทึกขอตกลงความรวมมือการสนับสนุนโครงการสงเสริมการเผยแพร ผลงานทางการศึกษาและองคความรูอื่น (uNetwork.TV) กับมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี. บริษัทไดสิ้นสุดบันทึกขอตกลงความรวมมือการสนับสนุนโครงการติดตั้งและโฆษณา ประเภทตาง ๆ กับกลุมบริษัทเดอะมอลล ในการแสดงความรวมมือการสนับสนุน โครงการติดตั้งและบริหารสื่อโฆษณาประเภทตาง ๆ คือ สื่อโฆษณาบริเวณบันไดเลื่อน และประตูหองน้ํา (Sticker Wrap) ซุมประตู (Arch) หนาลิฟท (Sticker Wrap) และ สื่อโฆษณา Mock Up ใหแก Home Fresh Mart ของศูนยการคาเดอะมอลล.

มกราคม 2556

บริษัทไดสิ้นสุดบันทึกขอตกลงความรวมมือการสนับสนุนโครงการสงเสริมการเผยแพร ผลงานทางการศึกษาและองคความรูอื่น (uNetwork.TV) กับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ และมหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา.

พฤษภาคม 2556

บริษัทไดสิ้นสุดบันทึกขอตกลงความรวมมือการสนับสนุนโครงการสงเสริมการเผยแพร ผลงานทางการศึกษาและองคความรูอื่น (uNetwork.TV) กับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวน ดุสิต.

มิถุนายน 2556

บริษัทไดดําเนินการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทจาก 280,000,900 บาท เปน 1,380,002,025 บาท โดยออกหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทจํานวน 11,000,011,250 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.10 บาท รวม 1,100,001,125 บาท เพื่อจัดสรรใหแกบุคคล ในวงจํากัด (Private Placement – PP) จํานวน 5,000,000,000 หุน ราคาขายตอหุน 0.10 บาท สําหรับผูถือหุนเดิม (Rights Offering) จํานวน 1,400,004,500 หุน ราคา


34

พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญชวง 3 ปที่ผานมา (พ.ศ.2555-2557) ขายตอหุน 0.10 บาท และเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน สามัญ เพิ่มทุนที่จัดสรรใหแกผูถือหุนเดิมของบริษัทตามสัดสวนการถือหุน จํานวน 4,600,006,750 หนวยสามารถแสดงตารางการคํานวณไดดังนี้:หนวย : บาท เดิมบริษัทมีทุนจดทะเบียนชําระแลว 280,000,900 ออกหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 11,000,011,250หุน 1) จัดสรรใหแกบุคคลในวงจํากัด (Private 500,000,000 Placement – PP) 5,000,000,000 หุน มูลคาที่ ตราไวหุนละ 0.10 บาท 2) จัดสรรใหแกผูถือหุนเดิม (Rights Offering) 140,000,450 1,400,004,500 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.10 บาท 3) และเพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่ 460,000,675 จะซื้อหุนสามัญ 4,600,006,750 หนวย มูลคาที่ตรา ไวหุนละ 0.10 บาท บริษัทไดรับทุนจดทะเบียนชําระแลวจาก 280,000,900บาท เปน 780,000,900 บาท ซึ่งทุนจดทะเบียนที่ไดรับการชําระนั้นมาจากการขายหุนสามัญเพิ่มทุนสําหรับบุคคลใน วงจํากัด (Private Placement – PP) จํานวน 5,000,000,000 หุน มูลคาที่ตราไว 0.10 บาทตอหุน รวม 500,000,000 บาท สามารถแสดงตารางการคํานวณไดดังนี้:หนวย : บาท เดิมบริษัทมีทุนจดทะเบียนชําระแลว 280,000,900 ไดรับชําระจากการขายหุนสามัญเพิ่มทุน 500,000,000 สําหรับบุคคลในวงจํากัด (Private Placement) จํานวน 5,000,000,000 หุน ทุนจดทะเบียนชําระแลว 780,000,900 กรกฎาคม 2556

บริษัทไดดําเนินการเพิ่มทุนจดทะเบียนชําระแลวจาก 780,000,900 บาท เปน 920,001,350 บาท โดยการเพิ่มทุนจดทะเบียนชําระแลวดังกลาวนี้ มาจากการขายหุน สามัญเพิ่มทุนสําหรับผูถือหุนเดิม (Rights Offering) จํานวน 1,400,004,500 หุน มูล คาที่ตราไว 0.10 บาทตอหุน รวม 140,000,450 บาท สามารถแสดงตารางการคํานวณ ไดดังนี้:หนวย : บาท เดิมบริษัทมีทุนจดทะเบียนชําระแลว 780,000,900


35

พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญชวง 3 ปที่ผานมา (พ.ศ.2555-2557) ไดรับชําระจากการขายหุนสามัญเพิ่มทุนสําหรับผู 140,000,450 ถือหุนเดิม (Rights Offering) จํานวน 1,400,004,500 หุน @ 0.10 บาท ทุนจดทะเบียนชําระแลว 920,001,350 สิงหาคม 2556 บริษัทไดแตงตั้งนายธีรวุทธิ์ ปางวิรุฬหรักข เปนประธานเจาหนาที่บริหาร (Chief Executive Officer – CEO) ของบริษัท. บริษัทไดจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิจะซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนครั้งที่ 2 (EFORL-W2) ที่ จัดสรรใหแกผูถือหุนเดิมของบริษัทตามสัดสวนการถือหุน (Rights Offering) จํานวน 4,600,006,750 หนวย โดยไมคิดมูลคา ในอัตราสวน 2 หุนสามัญเดิมตอใบสําคัญ แสดงสิทธิ 1 หนวย. กันยายน 2556

บริษัทไดเปลี่ยนชื่อจากบริษัทเดิม “บริษัท แอปโซลูท อิมแพค จํากัด(มหาชน)” เปน “บริษัท อี ฟอรแอล เอม จํากัด (มหาชน)” พรอมเปลี่ยนสัญลักษณ (Logo) ของ บริษัท. บริษัทไดลงทุนซื้อหุนสามัญของบริษัท สเปซเมด จํากัด (“สเปซเมด”) ซึ่งประกอบ ธุรกิจเปนตัวแทนจําหนายอุปกรณและเครื่องมือทางการแพทย (อาทิ GE, BioSystems, Sinopharm, DIAMOND, Olympus, NK, Carestream, CareFusion เปนตน) จํานวน 50,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท คิดเปนรอยละ 100 ของ ทุนจดทะเบียนชําระแลวของบริษัท สเปซเมด จํากัด ในราคาหุนละ 287.83 บาท รวม เปนเงินทั้งสิ้น 14,391,255 บาท. ที่ประชุมผูถือหุนมีมติอนุมัติใหบริษัทจําหนายหุนสามัญของบริษัท เอนโม จํากัด (บริษัทยอย) จํานวน 6,999,996 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 5 บาท คิดเปนรอยละ 100 ของทุนจดทะเบียนชําระแลว โดยขายในราคาทุนหุนละ 4.83 บาท รวมเปนเงินทั้งสิ้น 33.80 ลานบาท และมอบหมายใหคณะกรรมการบริษัทฯ ดําเนินการหานักลงทุนที่มี ความสนใจในธุรกิจเกม ออนไลน โดยบุคคลหรือนิติบุคคลที่รับซื้อหุนของบริษัท เอนโม จํากัด ตองไมเปนบุคคลที่เกี่ยวโยงหรือบุคคลที่เกี่ยวของกับบริษัท

ตุลาคม 2556

บริษัทไดยกเลิกบันทึกขอตกลงความรวมมือการสนับสนุนโครงการสงเสริมการเผยแพร ผลงานทางการศึกษาและองคความรูอื่น (uNetwork.TV) กับมหาวิทยาลัยศรีปทุม. บริษัทไดลงทุนซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท สเปซเมด จํากัด จํานวน 45.0 ลานบาท โดยบริษัท สเปซเมด จํากัด ออกหุนใหมเปนหุนสามัญจํานวน 450,000 หุน มูลคาที่ ตราไวหุนละ 100 บาท เพื่อคงสัดสวนการถือหุนของบริษัทไว โดยบริษัท สเปซเมด


36

พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญชวง 3 ปที่ผานมา (พ.ศ.2555-2557) จํากัด นําเงินเพิ่มทุนดังกลาวไปใชเปนเงินทุนหมุนเวียน. พฤศจิกายน 2556

บริษัทไดรับการแตงตั้งเปนตัวแทนจําหนายผลิตภัณฑการแพทยยี่หอ “Hamilton” โดยมีเขตความรับผิดชอบทั่วทุกจังหวัดในประเทศไทย.

ธันวาคม 2556

บริษัทไดรับการแตงตั้งเปนตัวแทนจําหนายผลิตภัณฑการแพทยยี่หอ “NIHON KOHDEN” โดยมีเขตความรับผิดชอบทั่วทุกจังหวัดในประเทศไทย. บริษัทไดยกเลิกสัญญาบริการมัลติมีเดียกับบริษัท สยามพารากอน ดีเวลลอปเมนท จํากัด และบริษัท สุขุมวิทซิตี้มอลล จํากัด. บริษัทยกเลิกบันทึกขอตกลงความรวมมือการสนับสนุนโครงการติดตั้งและบริหารสื่อ โฆษณาประเภทตาง ๆ ระหวาง Home Fresh & Gourmet market (Shelf Media) ในศูนยการคาเดอะมอลล.

26 กุมภาพันธ 2557

ที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร มีมติแตงตั้งให “นายปรีชา นันทนฤมิต” ดํารงตําแหนง ประธานกรรมการบริหาร. ยายที่ตั้งสํานักงานใหญจากเดิม เลขที่ 1768 ชั้น 24 อาคารไทยซัมมิททาวเวอร ถนน เพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร เปน เลขที่ 184 ถนน ราชวิถี แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700.

18 เมษายน 2557

ที่ประชุมผูถือหุนมีมติอนุมัติใหบริษัทลดทุนจดทะเบียนบริษัท จํานวน 345,000,506.25 บาท จาก 1,380,002,025.00 บาท เปน 1,035,001,518.75 บาท โดยการลดมูลคาหุนที่ตราไวจาก 0.10 บาท เปนมูลคาหุนละ 0.075 บาท

พฤษภาคม 2557

บริษัทลงนามบันทึกขอตกลงตอทายสัญญาสิทธิบริหารพื้นที่ในการโฆษณา, จัด กิจกรรมและการบริหารรานคายอยรถเข็น (Kiosk) ที่อาคารจัตุรัสจามจุรี (สัญญา) ฉบับลงวันที่ 29 กันยายน 2557 ขยายระยะเวลา 2 เดือน ตั้งแต เดือน พฤษภาคม – ตุลาคม 2557

24 มิถุนายน 2557

คณะกรรมการบริษัทมีมติให บริษัทซื้อหุนสามัญของบริษัท แดทโซ เอเชีย คอร ปอเรชั่น จํากัด (“แดทโซ”) จํานวน 360,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท คิด เปนรอยละ 18 ของทุนจดทะเบียนชําระแลว โดยซื้อในราคาหุนละ 100 บาท รวมเปน เงินทั้งสิ้น 36.0 ลานบาท จากผูถือหุนของแดทโซรายหนึ่ง ซึ่งมิไดเปนบุคคลที่เกี่ยวโยง กันของบริษัท. คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติจําหนายหุนสามัญ บริษัท เอนโม จํากัด จํานวน 6,999,996 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 5 บาท คิดเปนรอยละ 100 ของทุนจดทะเบียน


37

พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญชวง 3 ปที่ผานมา (พ.ศ.2555-2557) ชําระแลว รวมเปนเงิน 34,999,980 บาท (สามสิบสี่ลานเกาแสนเกาหมื่นเกาพันเกา รอยแปดสิบบาทถวน) ใหแกนายกิตติพงษ ธรรมชุตาภรณ ซึ่งไมเปนบุคคลเกี่ยวโยง หรือบุคคลที่เกี่ยวกับบริษัทแตอยางใด 26 มิถุนายน 2557

บริษัทดําเนินการตรวจสอบวิเคราะหสถานะหรือการสอบทานพิเศษ (Due Diligence) เพื่อเปนขอมูลประกอบการพิจารณาการซื้อหุน บริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด (WCIG) และบริษัทยอย โดยไดแตงตั้งที่ปรึกษาดานตาง ๆ ดังนี้:1) ที่ปรึกษาทางการเงิน – บริษัท แอดไวเซอรี่พลัส จํากัด. 2) ทีป่ รึกษากฎหมาย – บริษัท วีระวงศ ชินวัฒน และเพียงพะนอ จํากัด. 3) ทีป่ รึกษาดานวิเคราะหความเสี่ยงดานบัญชีและภาษี – บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด 4) ที่ปรึกษาทางการเงินอิสระ – บริษัท แคปปตอล แอ็ดวานเทจ จํากัด. 5) ที่ปรึกษาดานการระดมทุน – บริษัท ไพรมสตรีท แอดไวเซอรี่ (ประเทศไทย) จํากัด.

15 กันยายน 2557

บริษัทมีมติจัดตั้งบริษัทใหม “บริษัท ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง จํากัด”(WCI Holding Co., Ltd. หรือ “WCIH”) เพื่อเขาถือหุนในบริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอร กรุป จํากัด (WCIG) ดวยทุนจดทะเบียน 1.0 ลานบาท แบงออกเปนหุนสามกลุม 1) บริษัทถือหุน รอยละ 60, 2) ผูกอตั้ง WCIG เดิมถือหุนรอยละ 25 และ 3) กองทุนโซลาริส ถือหุน รอยละ 25. โดยออกหุนสามัญจํานวน 100,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท โดยผูลงทุนตอง ชําระในราคา 25 บาทตอหุน สามารถแสดงตารางการคํานวณไดดังนี้:หนวย : บาท ทุนจดทะเบียนที่ชําระแลว หุนสามัญ 100,000 หุน ๆ ละ 10 บาท 1,000,000 สวนเกินมูลคาหุน ๆ ละ 15 บาท 1,500,000 รวมทุนจดทะเบียนที่ชําระแลว 2,500,000

3 ธันวาคม 2557

มติที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทเมื่อ 21 พ.ย. 57 ใหบริษัทเพิ่มทุนจดทะเบียน WCIH จาก 1.0 ลานบาท เปน 1,000 ลานบาท โดยการออกหุนใหมจํานวน 99.9 ลาน หุน มูลคาตราไวหุนละ 10 บาท ในราคาหุนละ 25 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 2,497.50 ลานบาท สามารถแสดงตารางการคํานวณไดดังนี้:-


38

พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญชวง 3 ปที่ผานมา (พ.ศ.2555-2557) 15 กันยายน 2557 หนวย : บาท ทุนจดทะเบียนที่ชําระแลว หุนสามัญ 100,000 หุน ๆ ละ 10 บาท สวนเกินมูลคาหุน ๆ ละ 15 บาท รวมทุนจดทะเบียนที่ชําระแลว

1,000,000 1,500,000 2,500,000

3 ธันวาคม 2557 หนวย : บาท ทุนจดทะเบียนที่ชําระเพิ่มเติม หุนสามัญ 99,900,000 หุน ๆ ละ 10 บาท สวนเกินมูลคาหุน ๆ ละ 15 บาท รวมทุนจดทะเบียนที่ชําระเพิ่มเติม

999,000,000 1,498,500,000 2,497,500,000

สรุปณ 3 ธันวาคม 2557 หนวย : บาท

3 ธันวาคม 2557

ทุนจดทะเบียนที่ชําระแลว หุนสามัญ 100 ลานหุน ๆ ละ 10 บาท 1,000,000,000 สวนเกินมูลคาหุน ๆ ละ 15 บาท 1,500,000,000 รวมทุนจดทะเบียนที่ชําระแลว 2,500,000,000 บริษัทไดเขาซื้อหุนทั้งหมดของ บจก.วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป (WCIG) ผาน บจก. ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง ซึ่งเปนบริษัทยอยที่บริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 60 ของจํานวน หุนทั้งหมด. WCIG เปนกลุมธุรกิจที่ดําเนินงานอยูในธุรกิจเสริมความงามและผิวพรรณอยางครบ วงจร (รายละเอียดดูในเอกสารแนบที่ 5) ที่เนนใหคําปรึกษาและตรวจรักษาปญหาดาน ผิวพรรณ และลดกระชับสัดสวน ภายใตชื่อ “วุฒิศักดิ์ คลินิก” ซึ่งมีสาขาใหบริการ ครอบคลุมทั่วประเทศ นอกจากนี้ WCIG ยังมีการใหบริการลักษณะ ฟรานไชสใน ตางประเทศ (กลุม CLMV – Cambodia, Laos, Myanmar และ Vietnam) WCIG มี บริษัทยอยทั้งหมด 4 บริษัท ประกอบดวย:1. บจก.วุฒิศักดิ์ คอสเมติก อินเตอร (“WCI”) ดําเนินธุรกิจจําหนายเครื่องดื่มเพื่อ สุขภาพ (เชน น้ํา กลูตา เฮลติ (Gluta Healthi), Collagen VitC, Prune


39

พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญชวง 3 ปที่ผานมา (พ.ศ.2555-2557) Berry, Click Coffee) และเครื่องสําอาง. 2. บจก.วุฒิศักดิ์ ฟารมาซี อินเตอร (“WPI”) ดําเนินธุรกิจจําหนายผลิตภัณฑ อาหารเสริม. 3. บจก.วุฒิศักดิ์ แกรนด อินเตอร (“WGI”) ปจจุบันไมมีการดําเนินธุรกิจ และ. 4. บจก.ดับบลิว.เอส.เซอรจีรี่ 2014 (“WSS”) ดําเนินธุรกิจใหบริการเสริมความ งามโดยการทําศัลยกรรม พลาสติก/ตกแตง ปจจุบันไมมีการดําเนินธุรกิจ. 16 ธันวาคม 2557 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทของ WCIG มีมติอนุมัติโครงสรางองคกรใหมโดย กําหนดใหมีคณะกรรมการยอยขึ้นมา 4 คณะ ประกอบดวย:1. คณะกรรมการตรวจสอบและบริหารความเสี่ยง 2. คณะกรรมการบริหาร 3. คณะกรรมการการบริการทางการแพทยและพัฒนาผลิตภัณฑ และ 4. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน โดยกําหนดขอบเขตและอํานาจหนาที่ของกรรมการแตละคณะเพื่อให WCIG มีการ บริหารงานใหเปนไปตามมาตรฐานบริษัทชั้นนําในอนาคต เพื่อใหตลาดหลักทรัพย, สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (“ก.ล.ต.”) และผูถือ หุน มีความมั่นใจวา WCIG มีระบบการควบคุมภายในที่ดีเหมาะสมกับกิจการ. มกราคม 2558 WCIG ไดทําวาจาง บจก. 15 ที่ปรึกษาธุรกิจ ทําการประเมินมูลคาธุรกิจของ WCIG ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 โดย บจก. 15 ที่ปรึกษาธุรกิจ มีความเห็นวามูลคาตลาด (Market Value) ของธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีมูลคาประมาณ 5,400.0 ลานบาท (หาพันสี่รอยลานบาท).


40

ลักษณะการประกอบธุรกิจ โครงสรางรายได โครงสรางรายไดตามที่ปรากฏในงบการเงินรวม โดยจําแนกตามกลุมธุรกิจในระยะ 3 ปที่ผานมา แสดงไดดังนี้ สายผลิตภัณฑ/กลุมธุรกิจ

ดําเนินการโดย

การใหบริการเสริมความงาม ตัวแทนจําหนายเครื่องมือและ อุปกรณทางการแพทย บริการสื่อโฆษณา

WCIG EFORL, Spacemed EFORL

เกมสออนไลน ที่ปรึกษากิจกรรมทางการตลาด และประชาสัมพันธ รวม

ENMO EFORL, ENMO

%ถือ หุนของ บริษัท 60% 100%

ป 2557 รายได1

%

276,491 1,180,908

19% 79%

82,859

52%

99.99%

25,054

2%

55,079

99.99%

1,015 8,245

1%

4,700 15,590

1,491,713 100%

ป 2556 รายได

%

ป 2555 รายได

%

35%

60,139

78%

3% 10%

7,948 9,423

10% 12%

158,228 100%

77,510

100%

หมายเหตุ 1. จัดกลุมรายไดตามหมวดที่แสดงในรายงานทางการเงินของผูสอบบัญชี ป 2557. 1.

ธุรกิจของบริษัท (EFORL)

“บริษัท” เดิมชื่อ “บมจ.แอปโซลูท อิมแพค” กอตั้งในเดือนสิงหาคม 2548 ดวยทุนจดทะเบียนเริ่มตน 50.0 ลานบาท เพื่อประกอบธุรกิจใหบริการและผลิตสื่อโฆษณา และมีบจก.เอนโม เปนบริษัทยอยประกอบธุรกิจ เกมสออนไลน ตอมาวันที่ 19 กุมภาพันธ 2552 บริษัทไดรับอนุญาตใหเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ และตั้งแตป 2552 บริษัทมีผลประกอบการขาดทุนอยางตอเนื่อง จนกระทั่งในเดือนมิถุนายน 2556 บริษัทไดมีกลุมนักลงทุนใหมเขามาลงทุนในบริษัท. ภายหลังนักลงทุนใหมเขามาในเดือนกันยายน 2556 บริษัทมีการปรับโครงสรางการดําเนินธุรกิจโดยเพิ่ม ธุรกิจใหมซึ่งเปนธุรกิจจําหนายอุปกรณและเครื่องมือแพทยดวยการเขาซื้อหุนสามัญของ บจก.สเปซเมด ซึ่งดําเนิน ธุรกิจเปนตัวแทนจําหนายอุปกรณและเครื่องมือทางการแพทยในสัดสวนรอยละ 100 ของทุนจดทะเบียนชําระ แลว และในชวงเดือนพฤศจิกายนและธันวาคม 2556 บริษัทไดรับการแตงตั้งเปนตัวแทนจําหนายเครื่องมือและ อุปกรณทางการแพทยยี่หอ Hamilton และ Nihon Kohdenแตเพียงผูเดียวในประเทศไทย เชน เครื่องชวย หายใจในหองผูปวยหนัก ยี่หอ Hamilton เครื่องเฝาติดตามสภาวะผูปวย ยี่หอ Nihon Kohdenเปนตน. ปจจุบันบริษัทมีสํานักงานใหญตั้งอยูเลขที่ 184 ถนนราชวิถี แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด ทุนจดทะเบียน 1,035.0 ลานบาท และทุนจดทะเบียนชําระแลว 690.0 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 9,200 ลานหุน มูลคาตราไว หุนละ 0.075 บาท.


41

สําหรับแนวโนมการประกอบธุรกิจของบริษัทในอนาคต บริษัทมีแผนที่จะทยอยลดสัดสวนการประกอบ ธุรกิจเดิม ซึ่งเปนธุรกิจใหบริการและผลิตสื่อโฆษณา เกมสออนไลนลง จนกระทั่งไมมีการดําเนินธุรกิจเดิมตอไปใน อนาคต ดังจะเห็นไดจากในชวงเดือนกันยายน 2557 บริษัทไดมีการจําหนายบจก.เอนโม ซึ่งเปนบริษัทยอยที่ ประกอบธุรกิจเกมสออนไลนออกไป โดยบริษัทจะเนนใหความสําคัญกับธุรกิจตัวแทนจําหนายเครื่องมือและ อุปกรณทางการแพทย รวมทั้งการขยายขอบเขตครอบคลุมถึงการประกอบธุรกิจที่เกี่ยวของกับการขายและ ใหบริการเสริมความงาม. 1) ลักษณะผลิตภัณฑหรือบริการ บริษัทไดเปนตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย ตลอดจนน้ํายาที่ใชในทางการแพทย ของบริษัท ผลิตภัณฑและ/หรือบริการของบริษัท แบงออกเปน 5 กลุมหลัก ๆ ดังนี้: กลุมเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย 1) ผลิตภัณฑดานวินิจฉัยทางการแพทย (Medical Diagnostics). 2) ผลิตภัณฑดานการผาตัด (Treatment/Operations). 3) ผลิตภัณฑดานนวัตกรรมทางการแพทยและเวชสารสนเทศ (Medical Innovative & Medical Information Technology). 4) ผลิตภัณฑดานการฟนฟูสุขภาพและชวยชีวิตครบวงจร (Health Recovery & Life Healthy Integration) และ. 5) การบริการหลังการขาย (After Sales Services).  น้ํายาวิเคราะหในหองปฏิบัติการ  Medical Home Device รายละเอียดผลิตภัณฑและบริการ บริษัท (EFORL) เปนตัวแทนจําหนวยแตผูเดียวในประเทศไทย. Hamilton • เครื่องชวยหายใจดวยปริมาตรและความดัน. Medical AG. • เครื่องชวยหายใจสําหรับเคลื่อนยายผูปวย. • เครื่องชวยหายใจในหอง MRI.


42

บริษัท (EFORL) เปนตัวแทนจําหนวยแตผูเดียวในประเทศไทย.

Airon Corporation

• เครื่องชวยหายใจสําหรับเคลื่อนยายผูปวย สามารถใชในหอง MRI ได.

GE Healthcare Pte., Ltd.

• เครื่องใหยาสลบพรอมระบบชวยหายใจ. • เครื่อง X-ray, Computed Tomography (CT) Scan และ Magnetic Resonance Imaging (MRI). • เครื่องใหความอบอุนและตูอบทารก.


43

บริษัท (EFORL) เปนตัวแทนจําหนวยแตผูเดียวในประเทศไทย.

Nihon Kohden Singapore Pte Ltd.

• เครื่องตรวจสัญญาณชีพผูปวย ทั้งแบบชนิด ขางเตียงและชนิดศูนยรวม. • เครื่องกระตุนหัวใจและติดตามสัญญาณชีพ จร. • เครื่องตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจและโปรแกรม วิเคราะหแสดงผลคลื่นหัวใจที่สามารถสงผาน ระบบ Telemedicine. • มอนิเตอรขางเตียงคนไข.

CareFusion International

• เครื่องวัดสมรรถภาพปอด. • เครื่องวัดระดับการเผาผลาญพลังงานใน รางกาย.

Care Stream Medical Imaging

• เครื่อง X-ray ชนิด Digital.


44

บริษัท (EFORL) เปนตัวแทนจําหนวยแตผูเดียวในประเทศไทย. Solutions. • เครื่องแปลงภาพ X-ray. • เครื่อง X-ray ชนิดเคลื่อนยาย. • เครื่อง X-ray เครื่องมืออุปกรณดานทันตก รรม (Dental Product). • เครื่อง Medical Imaging.

Biosystems

• เครื่องวิเคราะหสารเคมีในเลือดและปสสาวะ. • น้ํายาตรวจวิเคราะหเลือดและปสสาวะ.

Siemens

• เครื่องวิเคราะหสารเคมีในเลือดและปสสาวะ. • น้ํายาตรวจวิเคราะหเลือดและปสสาวะ.

2) การตลาดและภาวการณแขงขัน ฝายการตลาดของบริษัทไดประมาณการขนาดตลาดผลิตภัณฑเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยทั่ว ประเทศแลวมีมูลคารวมไมนอยกวา 20,000 ลานบาทตอป โดยบริษัทประมาณการวายอดขายที่บริษัทสามารถ เขาถึงและบรรลุไดประมาณ 2,000 – 2,500 ลานบาทตอป. ลูกคากลุมเปาหมาย เปนทั้งโรงพยาบาล สถานพยาบาลภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ โดยบริษัทแบงทีม ขาย บริการ ซอมบํารุง ใหคําปรึกษาออกเปน 2 กลุมใหญ ๆ คือ สวนที่ดูแลลูกคาในกรุงเทพฯ และปริมณฑล และ สวนที่ดูแลลูกคาในตางจังหวัด โดยมีศูนยใหบริการกระจายทั่วทุกภาค. เมื่อพิจารณาถึงตลาดทั้งหมดของบริษัทในทุก ๆ ผลิตภัณฑและ/หรือบริการแลวแสดงเปนสัดสวนไดดังนี้


45

จําหนายใหแกโรงพยาบาล สถานีอนามัยในกรุงเทพฯ และปริมณฑลราว 40% และเปนโรงพยาบาล สถานีอนามัยในตางจังหวัด 60%.

ลูกคาที่เปนโรงพยาบาลเอกชน ประมาณ 35% และลูกคาที่เปนโรงพยาบาลของรัฐ 65%.

ผลิตภัณฑอุปกรณเครื่องมือแพทย (Non-Consumable) ประมาณ 60% และสวนที่เปนน้ํายาเคมีทาง การแพทย (Consumable) ประมาณ 40% ดานคูแขงขัน


46

คูแขงขันมีหลายกิจการทั้งที่เปนบริษัทในประเทศและบริษัทในตางประเทศ (เชน Medi Top, PCL, XOVIC, Roche, Abbot เปนตน) ตางผลิตภัณฑก็ตางคูแขงขันกัน แตโดยรวมแลวทุก ๆ สวนตลาด (Segment) ที่ มีการแบงสวนตลาดตามประเภทผลิตภัณฑ บริษัทจะเปนผูนําตลาดรวม (Market Leader)บางผลิตภัณฑก็เปน ผูนําตลาดรวม (Co-Market Leader) พรอม ๆ กับมีคูแขงเพิ่มขึ้น ทั้งที่เปนคูแขงขันรายเดิมและรายใหมโดยคูแขงขันมีกิจกรรมตาง ๆ อาทิ: มีการเปด Booth หรือ Kiosk ในสถานบริการหรือโรงพยาบาลที่บริษัททําตลาดอยูและมีธุรกรรม ซื้อขายกันมายาวนานและตอเนื่อง.  คูแขงขันพรอมที่จะมีกิจกรรมแขงคูขนานทันที เมื่อบริษัทไดทําการตลาดอยู. ดานผลิตภัณฑและ/หรือบริการ บริษัทไดคัดสรรผลิตภัณฑทางการแพทยชั้นนําเปนที่ยอมรับในวงการสาธารณสุขทั่วไป ผลิตภัณฑรายการ หลัก ๆ บริษัทไดรับใหเปนผูจัดจําหนายแตเพียงผูเดียว เชน Hamilton, Nihon Kohden, GE, Carestreamเปน ตน ยอดการจําหนายมีการเติบโตอยางตอเนื่อง. บริษัทเนนบริการที่ดี การเขาถึงกลุมลูกคา การเขาไปพบพรอมกับขอเสนอที่เปน Solution การเยี่ยม เยือนที่สม่ําเสมอ. บริษัทพยายามหาตลาดที่เปน Niche (เฉพาะกลุม) และ/หรือที่เปนตลาดใหม (Emerging market) พรอมที่จะเขาวางผลิตภัณฑใหมที่เปนที่ยอมรับทันทีเชน ผลิตภัณฑทางดานทันตกรรม (Dental Product) ตาง ๆ (กลอง เครื่อง X-ray ภายนอก). ดานราคา บริษัทเนนราคาที่เหมาะสม แขงขันได บริษัทพยายามผลักดันนโยบายการตั้งราคา ที่ราคามาจากคุณคาที่ ลูกคาคาดหวังวาจะไดรับ (Value Base) มากกวาการตั้งราคาขายบนฐานของตนทุนสินคา (Cost base). ดานการสงเสริมการตลาด บริษัทจัดวางบุคลากรทั้งคุณภาพและปริมาณที่เหมาะสม ในตลาดแตละตลาด เพิ่มความถี่ในการสื่อสาร กับกลุมเปาหมาย การเพิ่มแรงจูงใจ และแพ็คเก็จทางการตลาดใหม ๆ . พรอมกับบริษัทไดจัด Events การสัมมนาการอบรมทางวิชาการ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การจัดRoad Show การชวยเหลือสนับสนุนกิจกรรมตาง ๆ ของลูกคา ใหลูกคาตระหนักวา บริษัทเปนผูมีสวนไดเสียรวมกันใน กลุมหวงโซแหงคุณคา (Value Chains). ดานชองทางการจัดจําหนาย


47

ระบบการขายโดยผานตัวแทน ยังถือเปนชองการจําหนายหลักของบริษัท ในระยะตอไปบริษัทจะเนนชอง ทางการขายดานระบบ Customer Relationship Management-CRM ผานเว็บไซต หรือ Block ตาง ๆ ของ บริษัทใหมากขึ้น. 3) การจัดหาผลิตภัณฑและบริการ เครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยที่บริษัทเปนตัวแทนจําหนายนั้น เปนการนําเขามาจาก ตางประเทศ อาทิ กลุมประเทศในยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และสิงคโปร เปนตน. สําหรับบริษัทใหญ ๆ ที่ใหบริษัทเปนตัวแทนจัดจําหนายแตเพียงผูเดียวในประเทศไทยนั้น ไดมีการจัด วางระบบสารสนเทศ (ซอฟทแวรเฉพาะ และการมี Email Loop) ติดตอสื่อสาร ทราบความเคลื่อนไหว ความ ตองการของลูกคาเปาหมาย และสามารถกําหนดแผนงานและกลยุทธ เพื่อสนองตอความตองการของลูกคาไดตาม กําหนด. 4) งานที่ยังไมสงมอบ ‘- ไมมี 2.

ธุรกิจของบริษัทยอย (Spacemed)

สเปซเมด เปนบริษัทยอยของบริษัท โดยบริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 100 ของทุนจดทะเบียนและเรียก ชําระแลว สเปซเมดจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2548 สํานักงานใหญตั้งอยูเลขที่ 402 ซอยจรัญ สนิทวงศ 66/1 ถนนจรัญสนิทวงศ แขวงบางพลัด เขตบางพลัด กรุงเทพฯ ทุนจดทะเบียนชําระแลว 50.0 ลาน บาท แบงเปนหุนสามัญ 500,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท. สเปซเมด ประกอบธุรกิจหลักเปนตัวแทนจําหนายอุปกรณและเครื่องมือทางการแพทยยี่หอ A&D, Olympus, Cardinal Detecto, Diamond เปนตน (รายละเอียดผลิตภัณฑแสดงไวแลวในเอกสารแนบ 5) สเป ซเมดเปนตัวแทนแตเพียงผูเดียวในประเทศไทย. 1) ลักษณะผลิตภัณฑหรือบริการ มีลักษณะธุรกรรมและการจําแนกประเภทผลิตภัณฑเหมือนบริษัท (EFORL) เพียงแต มุงเนนสวนที่เปน กลอง อุปกรณทางการแพทยที่เปน Non-consumable product บางยี่หอที่มีราคาจําหนายไมสูง ขนาดตลาด และการแบงสวนการตลาด (โรงพยาบาลรัฐ และเอกชน,ลูกคาในกรุงเทพฯ ปริมณฑลและตางจังหวัด) ก็เปนไปใน แนวทางเดียวกับบริษัท.


48

รายละเอียดผลิตภัณฑและบริการ บริษัทยอย(SPACEMED) เปนตัวแทนจําหนวยแตผูเดียวในประเทศไทย. IRadimed Corporation

• เครื่องควบคุมการใหสารละลายในหอง MRI.

Trudell Medical International

• เครื่องพนยา.

Eco medics

• เครื่องตรวจภูมิแพระยะเริ่มตน.

Devibiss Healthcare Co., Ltd.

• เครื่องชวยหายใจขณะนอนหลับ นอนกรน. • เครื่องพนยาขยายหลอดลม. • เครื่องผลิตออกซิเจน. • เครื่องดูดเสมหะ. • กาซบริสุทธิ์และกาซผสมตาง ๆ .

Praxair (Thailand) Co., Ltd. Servona GmbH

• เครื่องชวยพูด กลองเสียงเทียม.

Medlume Co., Ltd. • กลองสองระบบภายใน.

A&D Co., Ltd.

• เครื่องตรวจความดันโลหิต.

Cardinal Scale • เครื่องชั่งน้ําหนัก วัดสวนสูง สําหรับเด็กและ Manufacturing Co., ผูใหญ. Ltd.


49

บริษัทยอย(SPACEMED) เปนตัวแทนจําหนวยแตผูเดียวในประเทศไทย.

Sakura Finetek Japan Co., Ltd.

• เครื่องเตรียมชิ้นเนื้อสําหรับงานทางจุลชีววิทยา.

Olympus Singapore Pte., Ltd.

• กลองจุลทรรศน.

Omron Healthcare • เครื่องตรวจวัดภาวะหลอดเลือดแข็งตัวหรืออุด (Thailand) Co., Ltd. ตัน.

2) การตลาดและภาวการณแขงขัน การทําตลาดและการใชกลยุทธสวนประสมทางการตลาด ก็เปนไปในแนวทางเดียวกันกับบริษัท ทั้งนี้ เนื่องจากเปนกลุมบริษัทเดียวกัน ผูบริหารและคณะจัดการจึงมียุทธศาสตรในการทําการตลาดที่คลายคลึงกัน. 3) การจัดหาผลิตภัณฑและบริการ เครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยที่บริษัทเปนตัวแทนจําหนายนั้น เปนการนําเขามาจากตางประเทศ อาทิ กลุมประเทศในยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และสิงคโปร เปนตน. สําหรับบริษัทใหญ ๆ ที่แตงตั้งใหบริษัทเปนตัวแทนจัดจําหนายแตเพียงผูเดียวในประเทศไทยนั้น ไดมีการ จัดวางระบบสารสนเทศ (ซอฟทแวรเฉพาะ และการมี Email Loop) ติดตอสื่อสาร ทราบความเคลื่อนไหว ความ ตองการของลูกคาเปาหมาย และสามารถกําหนดแผนงานและกลยุทธ เพื่อสนองตอความตองการของลูกคาไดตาม กําหนด. 4) งานที่ยังไมสงมอบ ‘- ไมมี –


50

3.

ธุรกิจของบริษัทยอย (บจก.วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป - WCIG)

เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2557 บริษัทไดเขาซื้อหุนทั้งหมดของบจก.วุฒิศักดิ์ อินเตอรกรุป ผานบจก. ดับบลิว ซีไอ โฮลดิ้ง ซึ่งเปนบริษัทยอยที่บริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 60 ของจํานวนหุนทั้งหมด. บจก.วุฒิศักดิ์ อินเตอรกรุป จํากัด (WCIG) กอตั้งเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2555 เปนกลุมธุรกิจที่ ดําเนินงานอธุรกิจเสริมความงามและผิวพรรณ โดยเปนผูใหบริการเสริมความงามอยางครบวงจร ที่เนนให คําปรึกษาและตรวจรักษาปญหาดานผิวพรรณ และลดกระชับสัดสวน ภายใตชื่อ “วุฒิศักดิ์ คลินิก” ซึ่งมีสาขา ใหบริการครอบคลุมทั่วประเทศ และมีการใหบริการลักษณะแฟรนไชส (Franchise) ในตางประเทศ WCIG มี บริษัทยอยทั้งหมด 4 บริษัทไดแก 1) บจก.วุฒิศักดิ์คอสเมติกอินเตอร (“WCI”) ดําเนินธุรกิจจําหนายเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ (เชนน้ํากลูตา เฮลติ (GlutaHealthi), Collagen VitC, Prune Berry, Click Coffee) และเครื่องสําอาง. 2) บจก.วุฒิศักดิ์ฟารมาซีอินเตอร (“WPI”) ดําเนินธุรกิจจําหนายผลิตภัณฑอาหารเสริม. 3) บจก.วุฒิศักดิ์แกรนดอินเตอร (“WGI”) ปจจุบันไมมีการดําเนินธุรกิจ. 4) บจก.ดับบลิว.เอส.เซอรจีรี่ 2014 จํากัด (“WSS”) ดําเนินธุรกิจใหบริการเสริมความงามโดยการ ทําศัลยกรรมพลาสติก/ตกแตงปจจุบันไมมีการดําเนินธุรกิจ. 1) ลักษณะผลิตภัณฑหรือบริการ

ธุรกิจหลักของกลุมบริษัท WCIG คือการเปนผูใหบริการเสริมความงามอยางครบวงจรดวยเทคโนโลยีที่ ทันสมัย เนนใหคําปรึกษาและตรวจรักษาปญหาดานผิวพรรณ และลดกระชับสัดสวน ภายใตชื่อ “วุฒิศักดิ์ คลินิก” และยังดําเนินธุรกิจจําหนายเครื่องสําอาง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ และ ผลิตภัณฑอาหารเสริม ผานบริษัทลูกซึ่งยา และเวชสําอาง ไดรับการรับรองมาตรฐานสินคาจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาที่ขึ้นทะเบียนถูกตอง แลวโดย: ไดรับเลขที่ใบรับแจง สําหรับสินคากลุม Cosmetic  ไดรับการขึ้นทะเบียนยา “Reg. No.” สําหรับสินคากลุมยาทา ยากิน


51

WCIG ประสบความสําเร็จในการสรางเครื่องดื่มบํารุงสุขภาพผานหลายชองทางการจัดจําหนาย เชน คลินิกวุฒิศักดิ์ รานยา รานสะดวกซื้อ 7-eleven เทสโกโลตัส และ หางสรรพสินคา. ลูกคากลุมเปาหมายหลักของ วุฒิศักดิ์ คลินิกเปนกลุมผูหญิง และขยายไปครอบคลุมกลุมผูชายที่เปนคน รุนใหม ที่ใหความสนใจเรื่องความสวยความงามเปนพิเศษ (Metrosexual) ที่มีการเติบโตอยางมีนัยสําคัญ กลุม ลูกคาเหลานี้มีการใชจายเงินเพื่อซื้อ เสื้อผา บํารุงผิวหนา ผม และผิวพรรณมากกวาคนทั่วไป ใชเงินและเวลาสวน ใหญกับภาพลักษณของตัวเอง ซึ่งเปนกลุมคนวัยทํางานที่มีกําลังซื้อ ตลอดจนกลุมนักเรียน นักศึกษาที่มีปญหา ผิวพรรณ เปนตน. วุฒิศักดิ์ คลินิกมีจุดเดนคือ ในการรักษาทุกครั้งจะตองพบแพทยเพื่อใหคําแนะนําในการรักษาทุกครั้ง บริการหลัก ๆ ที่ทางวุฒิศักดิ์ เสนอใหกับลูกคา โดยสังเขปมีดังนี้(รายละเอียดผลิตภัณฑและบริการของวุฒิศักดิ์ แสดงไวในเอกสารแนบ 5) :การทําทรีตเมนท บริการเลเซอร แบงเปนกลุมตางๆดังนี้:   

ลดรอยสิว (Acne/Scars) ลดริ้วรอย (Aging) หนาขาวใส ฟนฟูสภาพผิว และปรับลดความเสื่อมสภาพผิว (Whitening / Rejuvenating) ลดกระชับสัดสวน (Body Shaping)

นอกจากนั้นยังใหบริการรับผลิตภัณฑกลับไปใชเองที่บานอีกดวย. ธุรกิจเสริมความงามมีสาขาทั่วประเทศไทย ซึ่งแบงเปน 2 ประเภทใหญ ๆ  สาขาที่ตั้งที่หองเชาอาคารพาณิชย หองเชายานชุมชน (standalone) มีจํานวน 31 สาขา  สาขาที่ตั้งอยูในพื้นที่ของหางสรรพสินคา (Discount store community mall) เชน เซ็นทรัล เดอะ มอลล โรบินสัน รวมถึง รานคาปลีกสมัยใหม (Modern trade) เชน เทสโกโลตัส และ บิ๊กซี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คิดเปนจํานวน 89 สาขาซึ่ง ณ ปจจุบัน หรือ ตนป 2558 มีจํานวน 90 สาขา WCIG ไดเตรียมความพรอมตอการเปดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือเออีซี(Asean Economic Community: AEC) ดวยการขายแฟรนไชสไปยังประเทศเพื่อนบาน ประกอบดวย สปป.ลาว, สหภาพเมียนมาร กัมพูชา และเวียดนาม (หรือกลุมประเทศ CLMV อันประกอบดวย Cambodia, Laos, Myanmar และ Vietnam)รวม 11สาขา.    

สปป.ลาว: มี 4 สาขา ประกอบดวย สะหวันนะเขตหลวงพระบางเวียงจันทน และปากเซ. เมียนมาร: มี 2 สาขาในเมืองยางกุง. เวียดนาม: มี 2 สาขาในเมืองโฮจิมินห. กัมพูชา: มี 3 สาขาในกรุงพนมเปญ 2 สาขา และเมืองเสียมราฐ 1 สาขา.


52

โดยเจาของแฟรนไชสใหสิทธิผูรับแฟรนไชสแตเพียงผูเดียวในการดําเนินธุรกิจคลินิกเสริมความงามใน ประเทศดังกลาวขางตน ซึ่งผูรับแฟรนไชสตกลงวาจะดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจภายใตเครื่องหมายการคาและตรา ผลิตภัณฑของเจาของแฟรนไชส. รายไดจากแฟรนไชส ประกอบดวย:1. คาธรรมเนียมแรกเขา (Franchisee fee). 2. รายไดคาRoyalty Fee ในอัตราสวนรอยละตามที่กําหนดในสัญญาแฟรนไชสตอรายไดของสาขาแฟ รนไชส และ. 3. รายไดจากการขายสินคาหรือผลิตภัณฑใหกับ Franchisee. รายละเอียดผลิตภัณฑและบริการ ผลิตภัณฑและบริการของ WCIG (อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ตามการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดานสุขภาพและความงามรายละเอียดเพิ่มเติมสามารถดูไดใน (www.wuttisakclinic.com) สามารถจําแนกไดดังนี้ บริการ (Services) 1 หนาใส ไรสิว (ACNE/SCARS) ACNE CENTER ACNE FOCUS –รักษาสิวตั้งแตเริม่ ตนดวยเทคโนโลยีที่ดูแลผิวเฉพาะจุด รักษาสิวอักเสบ ผลัดเซลล ผิว เผยผิวสวยกระจางใสตั้งแตใบหนาจรดลําคอ กระตุนการสรางคอลลาเจน และเพิ่มการ ไหลเวียนของโลหิต เผยผิวกระจางใสอยางเปนธรรมชาติ. ACTIVE ACNE TREATMENT –ปรนนิบัติผิวขาวกระจางใสไรสิวแบบที่ตองการดวยทรีทเมนท คุณภาพระดับพรีเมีย่ ม ลดเลือนรอยดําใหแลดูจางลง เผยผิวเรียบเนียน ชุมชื่น ไมทิ้งรอยแผลเปน และไมมผี ลขางเคียง ใหเผยผิวสวยเนียนใสไดอยางมั่นใจ. ACNE LITE –หยุดสิวใสเปะ รักษาสิวอักเสบ รอยแดง รอยดําดวยเลเซอรทมี่ ีความยาวคลื่นพิเศษ เหมาะสําหรับผูที่ตองการบํารุงผิวใหแลดูออนเยาวล้ําลึก เผยผิวหนาใส เรียบเนียน ปลอดภัยและ เห็นผลชัดเจน จนรูสึกได. ACNE CLEAR –เคลียรจบทุกปญหาสิว ดวยการดูแลผิวแบบเต็มขั้น รักษาสิว ริ้วรอย รอยแดง และ การอักเสบจากสิว ดวยเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพในการฉายแสงสูง ชวยดูแลผิวใหเรียบเนียน ออนเยาว เผยหนาใส เปลงปลั่งเปนธรรมชาติ ปลอดภัยและเห็นผลชัดเจน ภายใตการรักษาโดย แพทยผูมีประสบการณยาวนาน. ACNE SCAR TREATMENT ACTIVE CRYSTAL PEELING –เผยผิวเปลงประกายดุจอัญมณี ดวยผงคริสตัลที่มีขนาดเล็กเนื้อ ละเอียด ระบบสุญญากาศจะชวยผลัดเซลลผิวเกาใหหลุดออก ลดรอยหลุมที่เกิดจากการอับเสบ ของผิว แผลเปนนูนราบเรียบมากขึ้น ทั้งยังเพิ่มเสนใยคอลลาเจน ทําใหริ้วรอยเล็ก ๆ คอย ๆ จางลง และดีขึ้นอยางตอเนื่อง เผยผิวหนาใสเรียบเนียนอยางเปนธรรมชาติ.


53

บริการ (Services)

2

GOLDEN CRYSTAL –เผยผิวเรืองรองดุจทองคํา ดวยตัวยาสีทองสกัดจากธรรมชาติ ถือวาเปนตัว ยาที่ดีที่สุดในการทําทรีทเมนทตัวยาระดับ A CLASS ชวยลดเลือนริว้ รอย จุดดางดํา ลดรอยหลุมที่ เกิดจากการอักเสบของผิว ทําใหผวิ เรียบเนียนกระจางใสยาวนาน. ULTRA DEEP CRYSTAL –หนาใสไรริ้วรอย ดวยเทคโนโลยีใหมในการดูแลผิวหนาขาวกระจางใส สมบูรณ เปนการผลักตัวยาลึกระดับเซลลโดยไมตองใชเข็ม ลดรอยหลุมที่เกิดจากการอักเสบของผิว พรอมทั้งชวยกระตุนการสรางคอลลาเจน ฟนฟูผิวจากภายในสูภายนอก. SIGNATURE CRYSTAL –ดูแลผิวสวยเรียบเนียนกระชับ เรือรอง ดวยตัวยาระดับ A CLASS เปน การผลักตัวยาลึกระดับเซลลโดยไมตองใชเข็ม ลดเลือนริ้วรอย และรอยหลุมที่เกิดจากการอักเสบ ของผิว เผยผิวใหมสวยกระจางใสยิ่งกวา. SIGNATURE SCAR & PORE และ PLASMA SIGNATURE SCAR & PORE –ปรับผิวใหเรียบเนียน ตึงกระชับ ไรริ้วรอย ดวยเลเซอรหนาใส รักษาหลุมสิว และหลุมแผลเปนตาง ๆ พรอมกระตุน 3 องคประกอบสําคัญของผิว ทั้งคอลลาเจน อีลาสติน และไฮยาลูนิก แอซิด เปนการสงพลังงานเปน ระยะ ๆ ดวยเข็มที่ออกแบบพิเศษ ทําใหพลังงานลงสูผิวชั้นลึก ฟนฟูคอลลาเจน และเสนใยอีลา สตินไดเต็มที่ ผิวจึงมีความยืดหยุนเหมือนผิวเด็กและแลดูออนเยาว. หนาเด็กออนกวาวัย (AGE REVERSE) FACIAL LIFTING SIGNATURE LIFT และ PLASMA SIGNATURE LIFT (LASER) – ยกกระชับหนา ดูแลทุกปญหา ริ้วรอย พรอมกระตุน 3 องคประกอบสําคัญของผิว ทั้งคอลลาเจน อีลาสติน และไฮยาลูนิก แอซิด เปนการสงพลังงานเปนระยะ ๆ ดวยเข็มที่ออกแบบพิเศษ ทําใหพลังงานลงสูผิวชั้นลึก ฟนฟูคอลลา เจน และเสนใยอีลาสตินไดเต็มที่ ผิวจึงมีความยืดหยุนเหมือนผิวเด็ก และแลดูออนเยาว. GOLDEN LIFT (TREATMENT) – ยกกระชับกลามเนื้อใบหนาเรียวเล็กไดรูป ดวยตัวยาสีทองสกัด จากสารธรรมชาติ ชวยกระชับกลามเนื้อบนใบหนา ใหเห็นหนาเรียวสวย พรอมเพิ่มการไหลเวียน โลหิตใหดียิ่งขึ้น ใหคุณมีผิวหนาขาวใสอมชมพุ ดูสุขภาพดี. SUPER LIFTING (TREATMENT) – ยกกระชับหนาใหดูออนเยาวขนึ้ อยางเปนธรรมชาติ ปรับหนา เรียวไดรูป เพิม่ การไหลเวียนของโลหิต โดยกระตุนเซลลไดลึกถึง 2 ระดับชั้น กระชับรูขุมขน ลด เลือนริ้วรอย และความมัน ชวยใหใบหนาขาวใสดูเปลงปลั่งสุขภาพดี. REJUNVENATION DOUBLE CHIN– โปรแกรมที่ดีทสี่ ุดในการลดปริมาณไขมันสวนเกิน บริเวณใตคางไดอยางมี ประสิทธิภาพ ชวยใหคางเรียวไดรปู เพิ่มกระบวนการไหลเวียนของโลหิต ทําใหผิวดูสดใส เปลงปลั่ง หยุดปญหาผิวหยอนคลอย ใหกลับมาตึงกระชับอีกครั้ง. LIPO-LIFT– ยกใบหนาเรียวสวยเปนธรรมชาติ ดวยโปรแกรมลดไขมันบริเวณแกมสวนลาง สามารถลดไดประมาณ 15-30% กระชับหนาใหเรียวขึ้นภายใน 1 สัปดาห ผลการรักษาจะอยูไ ด ประมาณครั้งละ 3 เดือน. SKIN BOOSTER– เติมเต็มผิวสวยสมบูรณแบบเสมือนผิวฉ่ําน้ํา ดวยการผสาน 2 เทคนิค RESTYLANE VITA และ PLASMA BOOSTER ปรับหนาใหสวยไดรปู มีมิติ ลดความหยาบกราน ของผิว ชวยลดขนาดรูขมุ ขน ฟนฟูผิวหนาใสใหชุมชื่นยาวนาน.


54

บริการ (Services)

3

COCKTAIL RENEWIZE– ผิวขาวใสทั่วเรือนราง พรอมสรางเซลลผิวใหม ทําใหผิวแลดูออนเยาวถึง 5 เทา บํารุงผิวกายใหเรียบเนียนดวยตัวยา COCKTAIL ANTI-OXIDANT โดยการฉีด VIT C&B COMPLEX COCKTAIL ANTI-OXIDANT เปนตัวยาที่ใหทางน้ําเกลือ ดูแลผิวหนาผิวกายใหเรียบ เนียน เสริมความเรียบเนียนขาวใสทั่วเรือนรางดวยครีมบํารุงสูตรเขมขน ปลอดภัยและเห็นผล ชัดเจน. BOTOX– ยกกระชับหนา ปรับหนาเรียวสวยไดรูป ดวยการฉีดโบท็อกกราม ลดปญหาริ้วรอยแหง วัยไดอยางเห็นผล ทั้งบริเวณหนาผาก ระหวางคิ้ว หางตา เห็นผลรวดเร็ว และอยูไดนานหลาย เดือน. FILLER– แกไขรูปหนาใหสวยไดรปู ดวยการฉีดฟลเลอร ชวยเติมเต็มรองแกม โหนกแกม รองมุม ปากใหตื้นขึ้น ปรับรูปคางใหสวยไดรูป ผิวกระชับเตงตึงขึ้นจนคุณรูส กึ ไดตั้งแตครั้งแรก โดยอาการ บวมแดงและความเจ็บในการฉีดจะลดลง เพราะมีสว นผสมของยาชา เปนทีน่ ิยมมากสําหรับผูที่ไม ตองการทําศัลยกรรม. PLASMA REJUVENENATION– มหัศจรรยแหงการยอนวัย ฟนฟูผวิ ใหแลดูออนเยาว รักษาฝา กระ แลดูจางลง และผูท ี่มีปญ  หาใตตา หมองคล้าํ มีริ้วรอย ผิวหยาบกราน ไมสดใส ไดผลชัดเจน มากในผูที่มีผิวบาง (ปริมาณของตอมไขมันนอย ผิวแหงกรานขาดการบํารุง) เห็นผลไดตั้งแตครั้ง แรกที่ทํา. PREMIUM SILK–ยกกระชับหนา มุมปาก แนวกราม และแกม พรอมปรับรูปหนาเรียวสวยทันใจ โดยไมตองพึ่งศัลยกรรม ผิวหนาตึงกระชับ ดวยเทคนิคการดึงหนาดวยวัสดุเสนใยสังเคราะหพิเศษ “ULTIMATE THREAD” โดยตัวเกี่ยวเล็ก ๆ จะทําหนาที่เกี่ยวเนื้อเยื่อใตผิวหนัง เพื่อดึงผิวหนาให ยกขึ้นในทิศทางที่เหมาะสม จึงรูสกึ ไดถึงผิวที่ยกกระชับและตึงขึ้นทันทีหลังทํา ผานการรับรองโดย องคการอาหารและยาของไทยและอีกหลายประเทศวาปลอดภัย และมีประสิทธิภาพในการรักษา ตามมาตรฐานการแพทยสากล. ULTRA HIFU– ใบหนาเรียวสวยไดรูป โดยไมตองพึ่งศัลยกรรม ดวยเทคนิคการยกกระชับผิว โดย ใชคลื่นอัลตาซาวนชนิดพิเศษ (HIGH FOCUSED ULTRA SOUND) ผานการรับรองจาก FDA ทั้ง ในอเมริกา ยุโรป เกาหลี และประเทศไทย วามีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในการรักษาสูง เหมาะสําหรับผูที่มีปญ  หาผิวหยอนคลอยไมกระชับ ทั้งบริเวณใบหนา และใตคาง หนังตาตก คิ้วตก หรือผูที่มรี ิ้วรอยรอบดวงตา เห็นผลไดตั้งแตครั้งแรกที่ทํา และอยูไ ดนาน 1-2 ป. หุนเปะ ทุกองศา (BODY SHAPING) VELA BODY – สวยเปะทุกองศา ลดปญหาเซลลลูไลท และไขมันสะสม ทั้งสะโพก หนาทอง ตนขาหรือตน แขน ดวยพลังแสงอินฟราเรด เปนการกระชับสัดสวน ลดอาการไมเรียบเนียน (ผิวเปลือกสม) ไดอยางมี ประสิทธิภาพ. ACNE BODY TREATMENT – คอรสรักษาสิวที่แผนหลัง เปลงประกายผิวขาวใส ไรสิว ดวยพลังแหงทรีต เมนต และวิตามินเขาบํารุงผิวอยางล้ําลึก ตรงจุด สามารถอวดผิวสวยอยางมั่นใจ (มีเฉพาะบางสาขา โปรด ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน www.wuttisakclinic.com). BODY REJUVENATION – คอรสฟนฟูสภาพผิวพรรณ ผลลัพธของผิวเนียนใสผุดผอง ดวยขั้นตอนการส ครับผิวอยางออนโยนชุมชื่น ผอนคลายดวยการอบสปาโอโซน การนวดน้ํานมบริสุทธิ์และบํารุงผิวขาวใส


55

บริการ (Services) ดวยไบรทเทนนิ่งมาสก (มีเฉพาะบางสาขา โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน www.wuttisakclinic.com). MILK MASSAGE–คอรสนวดตัวดวยน้ํานม ยอนวัยสูผ ิวออนเยาว เผยผิวนุม ชุมชื้นเหมือนผิวเด็กแรกเกิด ดวยน้ํานมบริสุทธิ์ พรอมทรีตเมนต เขาบํารุงผิวสวยกระจางใส (มีเฉพาะบางสาขา โปรดดูรายละเอียด เพิ่มเติมใน www.wuttisakclinic.com). SUPER BRIGHT TREATMENT –คอรสขาวอมชมพู เสนหแหงผิวขาวเรียบเนียนสม่าํ เสมอ ดวยทรีตเมนต ที่เขาบํารุงล้ําลึก ลดริ้วรอย รอยแผลเปน และจุดดางดําบนเรือนรางไดอยางเห็นผล (มีเฉพาะบางสาขา โปรดดูรายละเอียดเพิม่ เติมใน www.wuttisakclinic.com). 4 ผิวขาวใส ไรฝา (MELASMA WHITENING/REJUVENTATING) FACIAL TREATMENT ACTIVE DERMA WHITE – เผยผิวขาวแลดูออนกวาวัย และลดความมันบนใบหนา ดวยการผลัด เซลลผิวที่ตายแลวใหหลุดออก ทําใหผิวรับสารอาหารและวิตามินตาง ๆ ลงลึกถึงผิวชั้นใน ลดรอย เหี่ยวยน เพิ่มความชุมชื้นเนียนนุมใหกับผิว. ACTIVE MELASMA TREATMENT – ดูแลผิวหนาใหกระจางใสยาวนาน ดวยทรีทเมนท คุณภาพ รักษาฝา กระ จุดดางดําใหแลดูจางลง พรอมชวยตอตานอนุมูลอิสระ ลดการสรางเม็ดสีฟนฟู ผิวหนาใหแลดูออนเยาวยาวนาน. ACTIVE BEAUTY PERFECT – ความลับของผิวสวยเรียบเนียนนาทะนุถนอมปรนนิบัติแบบครบ วงจร ดวยคุณคาของวิตามินและครีมบํารุงสูตรพิเศษ เปนการผลักสารอาหารใหซมึ ลึกสูผิวชั้นใน ดวยเครื่อง SUPER SONIC ทั้งยังกระตุนการทํางานของเซลลใตชั้นผิว รักษาจุดดาง ดํา สิว ฝา กระ ลบรอยเหี่ยวยนเล็ก ๆ บนผิวหนา เผยผิวขาวกระจางใส กระชับ ชุมชื้น และนุมนวล. GOLDEN BEAUTY – เผยผิวเรืองรองดุจทองคํา ดวยตัวยาสีทองสกัดจากธรรมชาติ ถือวาเปนตัว ยาที่ดีที่สุดในการทําทรีทเมนท ชวยลดเลือนรอยดํา การสรางเมดสีเมลานิน จุดดางดําแลดูจางลง ปรับสีผิวใหเรียบเนียนสม่ําเสมอ ชะลอการเกิดริ้วรอยกอนวัย ลดการสูญเสียน้ําของผิว ชวยให ผิวพรรณสดใส ไมหมองคล้าํ . ULTRA DEEP BEAUTY – หนาใสไรริ้วรอย ดวยเทคโนโลยีใหม ในการดูแลผิวหนาขาวกระจางใส สมบูรณแบบ เปนการผลักตัวยาลึกระดับเซลลโดยไมตองใชเข็ม ชวยกระตุนการสรางคอลลาเจน ฟนฟูผิวจากภายในสูภายนอก. SIGNATURE BEAUTY – คืนความสมดุลสูผิว เผยผิวขาวเรียบเนียนกระจางใส ดวยตัวยาระดับ A CLASS ผสานการสกัดจากธรรมชาติ เปนการผลักตัวยาลึกระดับเซลลโดยไมตองใชเข็ม ผลัดเซลล ผิวที่แหงกราน ลดรอยดํา เผยผิวขาวเนียนสวยเปนธรรมชาติ. LASER FIXEL REJUVENATION LASER – เลเซอรหนาใสใหมลาสุด ที่ใชระบบการสแกนและแสงเลเซอรที่ มีประสิทธิภาพสูงมากกวาเดิม สามารถตรวจสภาพผิวของคนไข และกําหนดพลังงานการรักษาได ตรงกับปญหาของแตละคนไดมากที่สุด เหมาะสําหรับผูที่มีปญหาหลุมสิว แผลเปนจากสิว รูขุมขน กวาง รอยแตกลาย ริ้วรอยบนใบหนา ผิวเสื่อมจากวัย และแสงแดด รวมทั้งรอยแผลเปนจาก อุบัติเหตุและการผาตัด. HAIR REMOVAL LASER – เผยผิวนุมเรียบเนียนนาสัมผัส ดวยเลเซอรกําจัดขนที่เห็นผลชัดเจน


56

บริการ (Services) ละเอียดกวาดวยระบบสแกนทุก ๆ อณูผิว เรียกไดวา “เปนเลเซอรกาํ จัดขนที่เหมาะสมกับผิวของ คนไทยมากทีส่ ุด” ดีกวาการกําจัดขนดวย IPL ทั่วไป เพราะสามารถสงพลังงานลงลึกไปยังรากขน พลังงานความรอนที่เกิดขึ้นจะทําลายรากขนใหนอยและเบาบางลง โดยไมทําลายผิวชั้นบน ทั้งยัง ชวยกระชับรูขุมขน ลดริ้วรอย และปรับสีผิวใหสม่ําเสมอ. PIGMENT LASER – เทคโนโลยีในการรักษาฝา กระลึก จุดดางดํา ซึ่งเปนที่นิยมมากเพราะใหผล ชัดเจนขึ้นถึง 80% โดยลําแสงเลเซอรจะเขาไปทําลายเซลลเม็ดสีใหแตกออก จากนั้นระบบของ รางกายจะทําการกําจัดเซลลเหลานี้ออกไป ทําใหฝา กระ จุดดางดํา แลดูจางลงทุกครั้งหลังรักษา ซึ่งจะไดผลดีขึ้นเมื่อทํารวมกับ IPL และ LASER เหมาะสมสําหรับผูทมี่ ีผิวดาง จุดสีน้ําตาล หรือมีจุด แดงบนใบหนา. DOUBLE LASER LASER FOCUS – ตอบโจทยผูที่มปี ญหาฝา กระ รอยดํา เผยผิวขาวกระจางใสยาวนาน พรอมเขา ฟนบํารุงผิวใหเรียบเนียนขึ้นอยางเปนธรรมชาติ. DOUBLE WHITE LASER – ผิวขาวกระจางใสอยางเปนธรรมชาติ ดวยนวัตกรรมแหงการลดเลือน ริ้วรอย รักษาฝา รอยแดง และจุดดางดํา พรอมทั้งกระตุนการสรางคอลลาเจน เพิ่มความชุมชื้นนุม เนียนใหกับผิวหนา พรอมทั้งการทํา LASER PEEL เทคโนโลยีลาสุดในการผลัดเซลลผิวชั้นบน บํารุง ผิวล้ําลึกดวยการทํา HYDRO BALANCE TREATMENT เติมเต็มความชุมชื้นและสรางสมดุลแหง ผิว. DUAL WHITE LASER – ผิวหนาสวยกระจางใส ดวยเลเซอรเฉพาะที่เหมาะสมกับทุกสภาพผิว รักษาดวยเครื่อง DUAL YELLOW ประสิทธิภาพสูง ชวยรักษาฝา กระ จุดดางดําไดอยางเห็นผล. CLEAR-MAXX LASER – การบําบัดผิวดวยแสงเลเซอรชนิดสงพลังงานลงสูผิวหนังชั้นลึก ควบคูกับ การทําการรักษาพิเศษถึง 5 ชนิดชวยแกไขและฟนฟูหลากปญหาผิว กระชับรูขุมขน และผิวที่ หยอนคลอย ชวยใหผิวเรียบเนียนสม่ําเสมอ รักษาสิวอักเสบไดดีกวาการฉีดสิว รอยดําแลดูจางลง ทุกขั้นตอนสะดวกรวดเร็ว และไมตองพักฟน. TRI POWER – ปรับและฟนบํารุงผิวใหดูเรียบเนียนสม่ําเสมอ รักษาฝา กระ จุดดางดํา ปกปองการ เกิดริ้วรอยแหงวัย พรอมคืนความชุมชื้นนุมเนียนใหผิว เผยผิวขาวสุขภาพดีจากภายในสูภายนอก อยางแทจริง. SIGNATURE LASER – ผลัดเซลลผิวชั้นบนดวยเลเซอรหนาใส ลดการอักเสบ ซอมแซมผิว กระตุน การสรางคอลลาเจน และเพิ่มการไหลเวียนของโลหิต พรอมการทํา LASER PEEL เทคโนโลยีลาสุด ในการผลิตเซลลผิวชั้นบน บํารุงผิวล้ําลึกดวยการทํา HYDRO BALANCE TREATMENT เติมเต็ม ความชุมชื้นและสรางสมดุลแหงผิว เพื่อผิวสวยกระจางใสตั้งแตใบหนาจรดลําคออยางเปน ธรรมชาติ. DUAL GREEN & YELLOW – ดูแลผิวหนาและคอรักษาสิวอักเสบ ฝา รอยแดง รอยดํา ชวยให แผลเปนดูจางลง เผยผิวขาวเนียนใสดวยเทคโนโลยีแสงเลเซอรที่ดีทสี่ ุดและทันสมัยที่สดุ ไดรับการ รับรองประสิทธิภาพจาก FDA ทั้งในอเมริกา ยุโรป เกาหลี และประเทศไทย วามีความปลอดภัย และมีประสิทธิภาพในการรักษา เหมาะกับทุกสภาพผิว.


57

ผลิตภัณฑ (PRODUCTS) 1 ความตองการเฉพาะ (SPECIFIC NEEDS) เพื่อผิวที่สะอาด (CLEANSER) CLEANSING LOTION – โลชัน่ ทําความสะอาดผิวหนาไดอยาง ล้ําลึกหมดจด ทั้งเครื่องสําอางและมลพิษที่เจอระหวางวัน โดย ไมสูญเสียความชุมชื้นของผิว เนื้อโลชั่นบางเบา และไมมี สวนประกอบของน้ํามัน ทําใหผิวหนาชุมชื้น สะอาด สดชื่น เผย ผิวสุขภาพดีจนสัมผัสได. NANO FACIAL FOAMING CLEANSER – นวัตกรรมแหงการ ทําความสะอาดผิวหนา ดวยโฟมเนื้อเนียนละเอียดนุม สวนผสม นําเขาจากประเทศฝรั่งเศส กําจัดสิ่งสกปรกไดอยางล้ําลึกดวย คุณคา Nano Marine Collagen ที่มีอนุภาคขนาดเล็ก เขา บํารุงผิวอยางล้ําลึกถึงผิวชั้นใน เพื่อผิวชุมชื่น เตงตึง กระชับ เนียนเดงเสมือนผิวเด็ก. DEFINING TONER – โทนเนอรที่มีสวนผสมจากสารสกัดจาก ธรรมชาติ ชวยปรับและรักษาสมดุลคากรดดางของผิว ขจัดสิ่ง สกปรกที่ตกคางที่ผิวและรูขุมขน พรอมผลัดเซลลผิวอยาง ออนโยนใหคุณเปลงประกายผิวสวยสุขภาพดี แลดูออนเยาว เรียบเนียนจนสัมผัสได. เพื่อผิวหนาใสไรสิว (ACNE CARE) แตมสิว (ACENE SPOT) – เจลแตมหัวสิว รักษาสิวไดอยางครบ วงจรและตรงจุด มีสวนประกอบวาชวยยับยั้งเชื้อ P. Acnes ซึ่ง เปนตัวการทําใหเกิดสิวอักเสบ และชวยลดปริมาณน้ํามันจาก ตอมไขมันในผิวหนัง และรักษาสมดุลของการผลัดเซลลของผิว. ACNE SOAP – สบูล ดการอักเสบของผิวกาย รักษาสิวไดอยางหมดจด พรอมชวยลดการเกิดสิวใหมไดอยางเห็นผล. ACNE LOTION – โลชั่นสูตรออนโยน เหมาะสําหรับผิวที่เปนสิวงาย รักษาสิวที่เกิดจากน้ํามันสวนเกิน และชวยตอตานแบคทีเรีย เพื่อผิวสวย กระจางใสยาวนาน. เพื่อผิวขาวกระจางใส ไมหมองคล้ํา (WHITENING)


58

ผลิตภัณฑ (PRODUCTS) AH CARE G60 CREAM – ครีมเนื้อนุมมีสวนผสมนําเขาจากประเทศ ฝรั่งเศส ชวยฟนฟูผิวดวยการผลัดเซลลผิวอยางออนโยน ดวยครีมที่มี สวนผสมของกรดไฮยาลูลอนิก กรดไกลโคลิก และอารจินีน กระตุนการ ผลัดเซลลผิว การสรางคอลลาเจน และเสนใยของผิว เพื่อผิวขาวกระจาง ใส ชุมชื้น แลดูสุขภาพดี. WHITEN CREAM – ครีมเพิ่มความกระจางใสใหกับผิวหนาในขั้นตอน เดียว สวนผสมนําเขาจากประเทศสวิสเซอรแลนด ประกอบดวยสารสกัด จากชะเอมเทศ PT 40 และอารบตู ิน ที่ทําใหผิวขาวกระจางใส นอกจากนั้นเนื้อครีมยังชวยปรับสภาพผิวใหนุมเนียนขึ้นอยางเปน ธรรมชาติ. ARBUTIN CREAM – ผิวสวยสดใส สุขภาพดีดวยครีมที่ทําใหผิวหนา แลดูขาวกระจางใส รอยดางดําแลดูจางลง สวนผสมนําเขาจากประเทศ ญี่ปุน ดวยครีมที่มีสวนผสมของสารอัลฟาอารบตู ิน และสารสกัดจาก ชะเอมเทศ คืนความขาวกระจางใสใหกับผิวคุณ. เพื่อฟนฟูและบํารุงผิวอยางล้ําลึก (REJUNEVATION) DIAMOND ELASTIN SERUM – เซรั่มที่มสี วนผสมนําเขาจากประเทศ สเปน ที่สุดของนวัตกรรมความงามจากธรรมชาติดวย “ผงเพชร” ผสาน ดวยเทคโนโลยีอันทันสมัยที่ดึงเอาคุณคาจากพฤกษชาติใหกลายมาเปน Diamond Elastin ปรนนิบัตผิ ิวหนาใหเรียบเนียน ออนเยาว ชุมชื่น ตอตานริ้วรอยพรอมกระชับรูขุมขนบนใบหนา เพื่อผิวเรียบเนียนไรความ มัน. COLLAGEN PLUS CAVIAR COMPLEX & HYALURONIC SERUM – เซรั่มที่มสี วนผสมนําเขาจากประเทศสเปน เสริมสรางอาหารผิวดวยสาร สกัดธรรมชาติจากทองทะเลทั้ง ไขปลาคารเวียร และสาหรายสีน้ําตาล เพิ่มความชุมชื้น รักษาความยืดหยุน ใหกับผิว พรอมลดเลือนริ้วรอย เพื่อ ผิวออนเยาวและแข็งแรง. PROTOX LIFT SERUM – เซรัม่ ที่มีสวนผสมนําเขาจากประเทศฝรัง่ เศส มีคุณสมบัตคิ ลายการทําโบท็อกซ ชวยยกกระชับผิวหนาอยางออนโยน ชะลอการเกิดริ้วรอย โดยเฉพาะบริเวณหนาผาก เพื่อผิวพรรณที่ออน เยาวไรกาลเวลา. VIT C NANO SERUM PLUS KINETIN – เซรัม่ บํารุงผิวเนื้อบางเบา ที่มี สวนผสมนําเขาจากประเทศสเปน เขมขนดวยสารบํารุงที่เหมาะสมกับ ทุกสภาพผิว วิตามินซีคณ ุ ภาพสูงนําเขาฟนฟูผิวหนา ชวยลดความหมอง คล้ํา ผสานกับสารสกัดจากธรรมชาติ เติมเต็มรองริ้วรอย ปกปองผิวจาก อนุมูลอิสระ เพื่อผิวคงความออนวัย ขาวกระจางใสยาวนาน.


59

ผลิตภัณฑ (PRODUCTS) LIPOSOME PLUS AMINO PEPTIDE & MOISTURIZER COMPLEX GEL – เซรั่มเพิม่ ความชุมชื้นและปกปองผิวจากปญหาริ้วรอย ที่นําเขา จากประเทศฝรั่งเศส สารสกัดจากสาหรายจากใตทะเลลึก และเปปตไทต 2 ชนิด พรอมวิตามินซี ชวยใหผิวชุมชื้นกระชับและเรียบเนียนออนเยาว พรอมยกกระชับผิวหนาอยางออนโยน ลดความลึกและชวยชะลอการ เกิดริ้วรอยบริเวณหนาผากและรอบดวงตาใหดูจางลง เพื่อผิวพรรณที่คง ดูออนเยาว. HYDRATING SERUM – เซรั่มที่อดุ มไปดวย Hyaluronic วิตามินอี และ jojoba oil เพิ่มความชุมชื้นใหผิว ลดการเกิดผิวแหงกราน เหมาะ สําหรับทุกสภาพผิว สามารถใชไดทั้งกลางวันและกลางคืน เพื่อผิวชุมชื้น แลดูสุขภาพดี. NUTRIENT CREAM – ผิวขาวชุมชื่นกระจางใส ดวยครีมที่มสี ารตาน อนุมูลอิสระบํารุงผิวหนานุมเรียบเนียนนาสัมผัส เหมาะสําหรับผูทมี่ ผี ิว แหง. MOISTURIZING CREAM 2 – ครีมมอยเจอรไรเซอรสูตรเขมขน มี สวนผสมจากสารสกัดจากตนโจโจบา ใหความชุมชื้นแกผิวอยางล้ําลึก ชวยใหผิวพรรณขาวกระจางใสและผิวสุขภาพดีอยางเห็นไดชัด. ALOE SOOTHING GEL – เจลวานหางจระเข มีลักษณะเปนเนื้อเจลใส เหมาะกับทุกสภาพผิว รวมถึงแพงาย ชวยกักเก็บความชุมชื้นอยางล้าํ ลึก วิตามินซีและวิตามินอีในเนื้อเจล ชวยตานอนุมูลอิสระ ชะลอการเสือ่ ม ของผิว ชวยใหผิวขาวกระจางใสอยางเปนธรรมชาติ พรอมรักษาความชุม ชื้น ใหแกผิว ทําใหผิวเรียบเนียนแข็งแรง ไรริ้วรอย และรอยแผลเปน. เพื่อผิวหนาไรฝา กระ จุดดางดํา (MELASMA) MELAZURE PLUS – เซรั่มเพื่อผิวกระจางใส ที่มีสวนผสมนําเขาจาก ประเทศฝรั่งเศส ผสาน 2 เซรั่มเขาดวยกันทันทีที่กดหัวปมของ MelaZure Serum และ Nano White Serum เพื่อเสริมสราง คุณสมบัติในการดูแลผิวใหเพิ่มมากขึ้น ลดการสรางเม็ดสีเมลานิน และ ตานอนุมูลอิสระสาเหตุแหงความหมองคล้ําและริ้วรอย พรอมผลัดเซลล ผิวดวยสารสกัดจากทองทะเล คืนความแข็งแรงใหแกผิวดวยสารสกัด จากทองทะเล คืนความออนเยาวใหผิวกระจางใส รักษาฝา กระ จุดดาง ดํา ใหแลดูจางลง Co-enzyme Q10 ชวยตอตานริ้วรอยไดอยางเห็นผล. MELAZURE SERUM – เซรั่มบํารุงผิวเนื้อบางเบา สารจากเอนไซม Lignin Peroxidase ผสานเทคโนโลยี Nano Encapsulation Vitamin C เขมขน ชวยลดเลือนการสรางเม็ดสีเมลานินและตานอนุมลู อิสระ สาเหตุแหงความหมองคล้ํา และริว้ รอยบนใบหนา พรอมผลัดเซลลผวิ และปรับสภาพผิวใหกระจางใสอยางเปนธรรมชาติ เพิ่มความแข็งแรง


60

ผลิตภัณฑ (PRODUCTS) ใหแกผิวดวย สารสกัดจากทองทะเล คืนความออนเยาวใหผิวกลับมา เปลงปลั่ง ฝา กระ จุดดางดํา แลดูจางลง. เพื่อดวงตา (FOR EYE) GLOW ACTIVE EYES SERUM –เซรั่มบํารุงรอบดวงตาเนื้อบางเบาที่มี สวนผสมนําเขาจากประเทศญี่ปุน อุดมไปดวยสารสกัดจากธรรมชาติ Rice callus stem cell และ Growth Factor ชวยฟนฟูเนื้อเยื่อรอบ ดวงตา พรอมกระตุนการสราง Fibroblast ใหผิวนุมกระจางใส ลดรอย บวม รอยหมองคล้าํ และรอยเหี่ยวยนของผิวรอบดวงตา. EYE WRINKLE PROTECTION CREAM – ครีมบํารุงรอบดวงตาที่มี สวนผสมนําเขาจากประเทศฝรั่งเศส ชวยบํารุงลดเลือนริ้วรอยหมองคล้ํา บริเวณใตตาและผิวรอบ ๆ ดวงตาอยางออนโยน ที่มีสวนผสมที่นําเขา จากประเทศฝรั่งเศส เพื่อผิวเปลงประกาย เรียบเนียน ไรริ้วรอย. เพื่อผิวสวยมั่น กลา ทาแดด (SUN PROTECTION) SUN PROTECTION LOTION – โลชั่นกันแดดเนื้อบางเบา ที่ชวย ปกปองผิวจากรังสี UVA และ UVB ไดอยางมีประสิทธิภาพ ไมทิ้งครบ ขาว หรือความเหนอะหนะไวทผี่ ิว แตสามารถปกปองแสงแดดไดอยาง เต็มประสิทธิภาพ. BODY SUN SCREEN LOTION – โลชั่นกันแดดเนื้อบางเบา กันแดดได ทั้งรังสี UVA และ UVB เนื้อโลชั่นซึมซับและเคลือบปกปองผิวไดอยางมี ประสิทธิภาพ ปกปองผิวหนังจากแสงแดด และใหความชุมชื้นได ยาวนานถึง 24 ชั่วโมง. SUPER SUN BLOCK SPF 60 PA+++ - ครีมกันแดด Waterproof ชวยปกปองผิวจากรังสี UVA และ UVB ไดอยางมีประสิทธิภาพ มี สวนผสมที่กันน้ําได จึงปกปองผิวไดจากทุกกิจกรรม. เพื่อผิวสวยทั่วเรือนราง (BODY CARE) MILD AHA LOTION (AHA MILK) – โลชั่นบํารุงผิวหนาสูตรออนโยน ที่ มีสวนผสมของ AHA อุดมดวยสารจากธรรมชาติ กรดแลกติกเขมขนชวย กระตุนการผลัดเซลลผิว สาร Tocopheryl Acetate ในรูปแบบของ วิตามินอี ชวยตานอนุมูลอิสระเสริมสรางผิวใหแข็งแรง สุขภาพดี ดูขาว เปลงประกายตั้งแตเชาจรดเย็น. BODY RADIANCE LOTION – โลชั่นเพื่อผิวขาวใสเปลงประกายทั่ว เรือนราง ประกอบดวยสารสกัด Pearl extract และวิตามินเอเขมขน จากสารสกัด Vigna ชวยปรับสภาพสีผิว เนื้อโลชั่นซึมซาบเขาสูผ ิวหนัง ไดงายไมเหนอะหนะ ผิวนุม ชุมชื้น และขาวกระจางใส สมบูรณแบบ.


61

ผลิตภัณฑ (PRODUCTS) BODY MOISTURIZER CREAM – ครีมที่มีสวนผสมนําเขาจาก สหรัฐอเมริกา อุดมไปดวยมอยสเจอรไรซเซอรเขมขน ที่มีสวนผสมของ โจโจบาและวิตามินอี ชวยใหผิวชุมชื้น แมในผิวที่แหงกราน. FERFUME GLU-CHA SHOWER GEL – ครีมที่มีสวนผสมนําเขาจาก สหรัฐอเมริกา อุดมไปดวยมอยสเจอรไรซเซอรเขมขน ที่มีสวนผสมของ โจโจบา และวิตามินอี ชวยใหผิวชุมชื้น แมในผิวที่แหงกราน. อาหารเสริมควบคุมน้ําหนัก (WEIGHT CONTROL) COTTON – สารสกัดจากธรรมชาติ ชวยในการดักจับไขมัน แปง และ น้ําตาล ปลอดภัย ไมกอใหเกิดอันตราย. L2 CAR (500 MG) – สารสกัดแอลคารนาทีน ชวยเผาผลาญไขมันเกา และไขมันใหม ใหมีหุนสวยเพรียวอยางมั่นใจ. KONJAC (500 MG) – สารสกัดจากผงบุกธรรมชาติ ทําใหรูสึกอิ่มเร็ว ทําใหไมอยากรับประทานอาหารจุกจิก. GREEN COFFEE BEAN – หุนเพรียวสวยเปะ ดวยน้ําพรุนผสมน้ําองุน แดง และผสมสารสกัดจากเมล็ดกาแฟเขียว ชวยยับยั้งการดูดซับของ ไขมัน และการสะสมไขมันใหม เสริมประสิทธิภาพดวยสารสกัดจาก ถั่วขาว พรอมแอล-คารเนทีน เพิ่มการเผาผลาญและสลายไขมันสวนเกิน ลดระดับคอเลสเตอรอล น้ําตาลในเลือด และไตรกลีเซอไรต มีรสชาติ หอม อรอย ทานงาย (ไมมรี สกาแฟ หรือ คาเฟอีน). อาหารเสริม ดูแลผิวพรรณ (BEAUTY & SKIN SUPPLEMENT) GLUTA – C – มีสารตานอนุมูลอิสระ ลดการสรางเม็ดสีเมลานิน ชวยให ผิวขาวกระจางใสสุขภาพดี. GLUTA HEALTHI FRENCH PINE BARK EXTRACT – เพื่อผิวขาว กระจางใส ดวยสวนผสมของกลูตา จากประเทศญี่ปุน ผสมเปลือกสน ฝรั่งเศส ชวยลดเซลสเม็ดสี ไดดีกวาน้ํากลูตาปกติทั่วไป เปลือกสนจาก ฝรั่งเศส ทําใหกระฝาจางลงและยังมีสารตอตานอนุมลู อิสระที่มากกวา วิตามิน ซี 20 เทา และวิตามินอี 50 เทา รสชาติอรอย ดืม่ งาย ดวย สวนผสมของน้ําสม และน้ําองุนขาว. COLLAGEN PEPTIDE PLUS – ลดเลือนริ้วรอย ผิวกระชับ รูขุมขนเล็ก ลงดวยสารสกัดจาก “เยื่อหุมไขปลาแซลมอนจากญี่ปุน” มีคุณสมบัติ ดีกวาคอลลาเจนทั่วไปถึง 10 เทา และนาโน โคเอนไซม คิวเท็น ซึ่ง รางกายดูดซึมไดดีกวาโคเอ็นไซมควิ เท็นปกติถึง 10 เทา จึงชวยลดริ้ว รอย และยกกระชับผิวไดดีกวา ผสมในน้ําทับทิมและน้ําองุนแดง.


62

2) การตลาดและภาวะการแขงขัน ปจจุบันตลาดความงามในประเทศไทยนั้น กําลังอยูในชวงขยายตัวคอนขางสูง ซึ่งสวนทางกับภาวะ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศดวยพฤติกรรมของคนไทยที่ใหความสําคัญกับความสวยความงามมาเปนอันดับตนๆ ทําใหธุรกิจคลินิกความงามในเมืองไทยยังคงขยายตัว 10-15% ตอป โดยภาพรวมของธุรกิจคลินิกความงามมี มูลคาตลาดรวมสูงถึง 2 หมื่นลานบาท. แนวโนมการเติบโตในปจจุบันของธุรกิจความงาม เดิมทีไดรับความสนใจจากผูหญิงวัยกลางคน แต ปจจุบันมีการเติบโตของกลุมลูกคาใหม 2 กลุมคือ กลุมผูชายวัยทํางานและเมโทรเซ็กชวล (Metrosexual) และ กลุมนักเรียน/นักศึกษาซึ่งเกิดจากความสนใจในการดูแลตัวเองที่เพิ่มขึ้นของคนทั้ง 2 กลุมที่ตองการมีรูปลักษณที่ดู ดีเพื่อเสริมสรางความมั่นใจและบุคลิกภาพของตนเองซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกลาวเกิดจากคานิยมของสังคมใน ปจจุบันและแรงกระตุนจากสื่อสารสนเทศตางๆที่มีอิทธิพลตอชีวิตประจําวันของกลุมคนดังกลาวเปนอยางมาก. แสดงใหเห็นวาตลาดคลินิกเสริมความงามในประเทศไทยยังมีโอกาสที่จะขยายตัวจากกลุมลูกคาทั้ง 2 กลุมนี้ไดเพิ่มขึ้นอีกยิ่งไปกวานั้นการเปดเสรีการคาสาหรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปลายป 2558 ที่ จะมาถึงยังเปนการแสดงถึงโอกาสทางธุรกิจในประเทศภูมิภาคอาเซียนของผูใหบริการคลินิกเสริมความงามซึ่งใน ปจจุบันมีผูใหบริการหลายราย รวมถึงวุฒิศักดิ์ ไดทําการขยายสาขาไปยังประเทศเพื่อนบานในกลุมของ AEC แลว. เนื่องจากตลาดคลินิกเสริมความงามยังมีโอกาสในการเติบโตทั้งในและตางประเทศในปจจุบันมีบริษัท จํานวนมากที่เล็งเห็นถึงโอกาสและศักยภาพของตลาดและไดทําการเปดใหบริการคลินิกเสริมความงามเพื่อขยาย กิจการของตนเองเพิ่มมากขึ้นจนทําใหเกิดการแขงขันที่รุนแรงในตลาดจากปริมาณผูใหบริการที่เพิ่มจํานวนอยาง รวดเร็วโดยจากการเก็บขอมูลของกระทรวงสาธารณสุขพบวาในป 2556 มีจํานวนคลินิกที่ใหบริการดานความงาม ทั้งรายเล็กและรายใหญรวมกวา 7,000 รายทั่วประเทศโดยวุฒิศักดิ์คลินิกมีสวนแบงตลาดมากที่สุดที่ 50% รองลงมาคือนิติพลคลินิกซึ่งผูใหบริการแตละรายยังคงตองทําการแขงขันทั้งดานคุณภาพการใหบริการและ การตลาดอยางตอเนื่องเพื่อรักษาและชิงสวนแบงจากการเติบโตของตลาดรวมทั้งจากสวนแบงตลาดของผู ใหบริการรายอื่น. ผูบริหารของ WCIG เล็งเห็นถึงการแขงขันของธุรกิจดานนี้ จึงไดจัดเตรียมแผนรองรับ โดยเนนการพัฒนา คุณภาพการใหบริการ เพื่อรักษาฐานลูกคาเกา และดึงลูกคาใหมใหเขามาใชบริการ อีกทั้งมีการคิดคนผลิตภัณฑ ใหม ๆ ใหเหมาะสมกับเทคโนโลยีที่ล้ําสมัย และขยายสาขาใหครอบคลุมทั้งในประเทศและตางประเทศตอไป. 3) การจัดหาผลิตภัณฑและบริการ ในการใหบริการคลินิกเสริมความงามวัตถุดิบหลักของการดําเนินงานลักษณะดังกลาว ประกอบดวย1) อุปกรณเวชภัณฑและเครื่องมือทางการแพทยและ 2) ยา/เวชสําอาง.


63

อุปกรณโดยสวนใหญที่ WCIG สั่งซื้อ จะเปนเครื่องเลเซอร เครื่อง Dual green and yellow เครื่อง IPL เครื่อง Vella II ซึ่งเปนเครื่องที่มีบริษัทไทยเปนตัวแทนจําหนายโดยนําเขาจากผูผลิตในตางประเทศเชน สาธารณรัฐประชาชนจีน เกาหลี ออสเตรเลีย เปนตน. WCIG มีการทําสัญญาวางจางบริษัท 4 บริษัท ผลิตเวชสําอางใหกับบริษัท โดยมีสัญญา 8 ป เริ่ม พฤษภาคม 2555 โดยทั้ง 4 บริษัทนี้จะไมผลิตหรือจําหนายเวชสําอางของ WCIG ใหกับคูคารายอื่น. ในสวนของการจัดซื้อยาของคลินิกเสริมความงามโดยทั่วไปจะเปนการซื้อขายผานตัวแทนจําหนาย (Agent) ไดรับการตรวจสอบและรับรองจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อ.ย.) วาเปนสินคาที่มี มาตรฐานและสามารถใชในการใหบริการคลินิกได. นอกจากนี้ WCIG ยังมีโรงงานบรรจุครีมบํารุงผิว ตั้งอยูที่ ซอยสามัคคี อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ซึ่งเปน ที่ตั้งเดียวกับบริษัทยอยของ WCIG. 4) งานที่ยังไมไดสงมอบ - ไมมี4

ธุรกิจของบริษัทที่เกี่ยวของ: บริษัท แดทโซ เอเชีย คอรปอรเรชั่น จํากัด

แดทโซ (That’so)เปนบริษัทที่เกี่ยวของกับบริษัท โดยบริษัทจะเขาถือหุนในสัดสวนรอยละ 18.0 ของทุน จดทะเบียนและทุนจดทะเบียนชําระแลว แดทโซจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2553 สํานักงาน ใหญตั้งอยูเลขที่ 361 ถนนบอนดสตรีท ตําบลบางพูด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. ทุนจดทะเบียนเรียกชําระแลว 200.0 ลานบาท แบงเปนหุนสามัญ 2,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท. แดทโซประกอบธุรกิจเปนผูนําเขาสินคาเครื่องสําอาง และบริการเสริมความงาม รานขายปลีก เครื่องสําอาง โดยแดทโซไดรับสิทธิในการจําหนายผลิตภัณฑ อุปกรณ และเครื่องสําอาง ภายใตแบรนด “That’so” แตเพียงผูเดียวในเอเชีย โดยไดรับสิทธิจาก Quadra Medical S.r.L.หรือกลุม Quadra จากประเทศ


64

อิตาลี ซึ่งเปนผลิตภัณฑเกี่ยวกับเครื่องสําอางเสริมความงาม และในอนาคตมีนโยบายจะเปดรานเพื่อจําหนาย สินคาเกี่ยวกับเครื่องสําอางและบํารุงผิว. ภายในไตรมาสที่ 2 ของป 2558 แดทโซ จะเปดจุดจําหนายที่สํานักงานใหญ (ถนนบอนดสตรีท เมืองทอง ธานี) และ ในป 2558 จะเปดสาขาที่ดิ เอ็มควอเทียร (The Emquartier) (ตรงขาม ดิ เอ็มโพเรี่ยม –The Emporium) ของกลุมเดอะมอลล. พรอม ๆ กับทําตลาดกับประเทศแถบเพื่อนบานและกลุมประเทศ Pacific Rim.


65

ปจจัยความเสี่ยง ปจจุบันบริษัท ประกอบธุรกิจ 3 ประเภทหลักคือ ธุรกิจตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการ แพทย ธุรกิจการใหบริการสื่อโฆษณา และธุรกิจการใหบริการดานความงาม ทั้งนี้ ในการประกอบธุรกิจดังกลาว ยอมมีความเสี่ยงตางๆ จากปจจัยทั้งภายในและภายนอกที่อาจสงผลกระทบตอฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน ของบริษัทในอนาคตได ตามรายละเอียดที่แสดงไวดานลาง อยางไรก็ตามนอกเหนือจากปจจัยความเสี่ยงที่ปรากฏ ในรายงานฉบับนี้ อาจมีความเสี่ยงอื่นๆ ซึ่งบริษัทไมอาจทราบไดในขณะนี้หรือเปนความเสี่ยงที่บริษัทพิจารณาใน ขณะนี้วาไมเปนสาระสําคัญ:1) ความเสี่ยงในดานการเปนตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย การเลือกผลิตภัณฑที่จะมาจัดจําหนายและใหบริการ บริษัทจะคัดสรรผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ มีชื่อเสียง เปนผูนําทางดานเทคโนโลยีและการบริการ เปนที่ยอมรับของผูใชและเปนผลิตภัณฑที่มีศักยภาพที่จะเติบโตใน อนาคต ซึ่งการเปนตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยนั้น จะตองมีการเจรจาตกลงกับทางผูผลิต หรือเจาของผลิตภัณฑ ซึ่งการตกลงดังกลาวจะมีกรอบระยะเวลาในการทําธุรกิจ ซึ่งทางผูผลิตหรือเจาของ ผลิตภัณฑอาจจะแตงตั้งตัวแทนใหมมาทําธุรกิจในเขตการขายเดียวกัน ดังนั้นบริษัทจึงไดเจรจาตอรองกับผูผลิต หรือเจาของผลิตภัณฑ เพื่อใหบริษัทไดเปนตัวแทนจําหนายแตเพียงผูเดียว (Exclusive Distributor) ในประเทศ ไทยใหไดมากที่สุด และเจรจาใหผูผลิตหรือเจาของผลิตภัณฑดังกลาวออกเอกสารเพื่อยืนยันการจดทะเบียน ผลิตภัณฑ (Free Sales Certificate) ใหแกบริษัทแตเพียงผูเดียว เพื่อที่บริษัทจะดําเนินการจดทะเบียนผลิตภัณฑ กับสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาของประเทศไทย. ทั้งนี้ทางบริษัทยังไดติดตอเจรจาเปนตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยที่หลากหลาย กับคูคาในแตละประเทศดวยเงื่อนไขที่แตกตางกัน เพื่อเปนการเพิ่มรายไดจากการขายใหกับบริษัท และเปนการ ปองกันหากทางผูผลิตหรือทางเจาของผลิตภัณฑรายใดมีปญหา หรือเกิดขอขัดของในการทําธุรกิจ บริษัทสามารถ ทําธุรกิจกับผูผลิตหรือทางเจาของผลิตภัณฑรายอื่นได. 2) ความเสี่ยงดานการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบขอบังคับ ภาครัฐมีกฎหมายและระเบียบขอบังคับตาง ๆ เพื่อควบคุมดูแลการประกอบธุรกิจและเพื่อคุมครองความ ปลอดภัยและสิทธิของประชาชน ไดแก พ.ร.บ.คุมครองผูบริโภค พ.ร.บ.อาหารและยา ประกาศคณะกรรมการการ ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ปปช.) เรื่องหลักเกณฑและวิธีการจัดทําและแสดงบัญชีรายการรับจาย ของโครงการที่บุคคลหรือนิติบุคคลเปนคูสัญญากับหนวยงานของรัฐ พ.ศ.2554. บริษัทจึงมีหนาที่ตองปฏิบัติตามกฎหมาย ประกาศ กฎเกณฑและระเบียบขอบังคับตางๆ และใหบุคลากร ของบริษัทคอยติดตามตรวจสอบและเขาอบรม สัมมนาเพื่อรับทราบขาวสารใหมๆ ของภาครัฐ เพื่อที่จะไดปฏิบัติ ตามกฎระเบียบไดอยางถูกตอง รวมถึงการสรางความสัมพันธที่ดีกับลูกคาและผูผลิตหรือเจาของผลิตภัณฑ ทั้งยังมี


66

การสงเสริมใหคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานปฏิบัติหนาที่ตามจรรยาบรรณทางธุรกิจ ตามหลักบรรษัทภิ บาล และปฏิบัติตามกฎหมาย เสริมสรางความโปรงใสในการทํางานและสรางความเชื่อถือจากสังคม. 3) ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ เนื่องจากเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย เปนผลิตภัณฑที่จะตองนําเขาจากตางประเทศและตอง ชําระคาสินคาเปนสกุลเงินตราตางประเทศ เพื่อลดผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศทางคณะกรรมการบริหารจึงไดกําหนดเงื่อนไขสําหรับการบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ และมีการติดตาม ควบคุมอยางตอเนื่อง. 4) ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงบุคลากร ธุรกิจของบริษัทเปนการใหขายและบริการ ซึ่งตองพึ่งพิงบุคลากรคอนขางสูงในการติดตอหาลูกคาและ สรางสรรคผลงานตางๆ เพื่อนําเสนอตอกลุมลูกคาเปาหมายใหเกิดความประทับใจและตกลงใชบริการ โดยบริษัท ยังไดใหความสําคัญกับการบริการหลังการขายตอกลุมเปาหมายของบริษัทลูกคาเปนหลัก ซึ่งไดรับการตอบรับ ดวยดีมาโดยตลอด. ในป 2556 บริษัทไดเพิ่มการลงทุนในธุรกิจตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย ซึ่งเปน ธุรกิจใหมที่นาสนใจในดานยอดขาย ผลกําไร และอัตราการเติบโตในอนาคต บริษัทจึงไดจัดหาบุคลากรและ ทีมงานที่มีความรูความสามารถและมีประสบการณในธุรกิจนี้มารวมงานในการบริหารจัดการและดําเนินงานใน สวนของการติดตอหาลูกคาและสรางสรรคผลงานตางๆ อาทิ ฝายบริหารระดับสูง ฝายการขาย และฝาย ปฏิบัติการที่มีประสบการณและมีความชํานาญ ถือวาเปนทรัพยสินที่สําคัญที่ชวยสงเสริมความสําเร็จใหแกบริษัท ทั้งนี้ หากบริษัทสูญเสียบุคลากรเหลานี้ไปไมวาดวยเหตุผลใดๆ อาจสงผลกระทบตอรายไดรวมของบริษัทได. อยางไรก็ตาม บริษัทมีมาตรการในการลดความเสี่ยงจากการสูญเสียบุคลากรดังกลาว โดยบริษัทให ความสําคัญกับการพัฒนาและสงเสริมบุคลากรใหมีสวนรวมในการดําเนินงานและเติบโตไปพรอมๆ กับ ความสําเร็จของบริษัท.รวมทั้งมีการจายคาตอบแทนในอัตราตลาด เพื่อจูงใจบุคลากรดังกลาวใหทํางานกับบริษัท อยางตอเนื่อง ซึ่งจากอดีตที่ผานมา อัตราหมุนเวียนของบุคลากรในตําแหนงที่สําคัญดังกลาวอยูในระดับที่ต่ํามาก ซึ่งสะทอนถึงความภักดีของบุคลากรที่มีตอองคกร รวมถึงความเชื่อมั่นในศักยภาพขององคกร. นอกจากนี้ บริษัทยังจะพัฒนาระบบการจัดการสรางความสัมพันธกับลูกคา (Customer relationship management –CRM) เพื่อใหบริษัทสามารถมีปฏิสัมพันธกับลูกคาปจจุบันและกลุมที่คาดหวังวาจะเปนลูกคา ตอไป. 5) ความเสี่ยงดานหนี้สินและดอกเบี้ย บริษัทEFORL มีหนี้สินเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการกูยืมเงินจากสถาบันการเงินจํานวน 1,400 ลานบาท เพื่อ ใชลงทุนในบริษัท ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง จํากัด รอยละ 60 โดยมีระยะเวลาการผอนชําระคืนไมเกิน 5 ป จํานวน


67

1,000 ลานบาท (Facility A1) และระยะเวลาในการชําระคืน 1 ป จํานวน 400 ลานบาท (Facility A2) ซึ่งแหลง เงินทุนของบริษัทในการชําระคืนเงินกูยืมมาจาก กระแสเงินสดจากการดําเนินงานของบริษัท และเงินสดรับจาก การใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ (EFORL-W2) ประมาณ 460 ลานบาท โดย EFORL-W2 มี การกําหนดใชสิทธิครั้งเดียวในวันที่ 22 สิงหาคม 2559 มียอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 จํานวน 4,599,606,717 หนวย ราคาใชสิทธิ 0.10 บาท อัตราการใชสิทธิ 1 หุนสามัญตอ 1 หนวย. ใบสําคัญแสดงสิทธิ อางถึงความเห็นของที่ปรึกษาทางการเงินอิสระจะเห็นวา ในป 2558 บริษัทมีกระแส เงินสดไมเพียงพอประมาณ 36.65 ลานบาท เนื่องจากตองจายชําระ เงินกูยืม Facility A1 บางสวน จํานวน 210.56 ลานบาท เงินกูยืม Facility A2 ที่มีกําหนดจายชําระงวดเดียวทั้งจํานวน (Bullet Payment) จํานวน 400 ลานบาทและชําระดอกเบี้ย. อยางไรก็ตามหากบริษัทมีผลการดําเนินงานในป 2558 สูงกวาระดับ 6 เดือนแรกของป 2557 และ/หรือ สามารถเจรจากับสถาบันการเงินเพื่อชําระคืนเงินตนในชวงแรกในจํานวนต่ํากวามาตรฐานของที่ปรึกษาทางการ เงินอิสระ อาจทําใหมีกระแสเงินสดเพียงพอได นอกจากนี้ ในป 2559 การใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิ EFORLW2 อาจมีความไมแนนอนขึ้นอยูกับราคาตลาดของหุนของบริษัทในอนาคต และถาบริษัทมีผลประกอบการต่ํากวา ในระดับ 6 เดือนแรกของป 2557 อาจสงผลกระทบตอสภาพคลองได. ดังนั้นบริษัทจึงจําเปนตองวางแผนในการจัดหาเงินทุนเพิ่มเติมเพื่อรองรับการชําระคืนเงินกูยืมและ ดอกเบี้ย ในป 2558 และ 2559 เชน การเพิ่มทุน ปรับโครงสรางทางการเงิน เปนตน. 6) ความเสี่ยงดานการไมมีอํานาจควบคุมเบ็ดเสร็จในกิจการของบริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด บริษัทถือหุนบริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด (WCIG) ทางออมผานการถือหุนในบริษัท ดับบลิว ซีไอ โฮลดิ้ง จํากัด (WCIH) รอยละ 60 ของจํานวนหุนทั้งหมดของ WCIH โดยสัดสวนการถือหุนดังกลาวเปน สัดสวนที่นอยกวารอยละ 75 ทําใหบริษัทไมสามารถควบคุมกิจการ WCIG ไดเบ็ดเสร็จทั้งหมด โดยมติสําคัญ ๆ ที่ กําหนดใหตองไดรับเสียง 3 ใน 4 ของที่ประชุมผูถือหุน เชน การเพิ่มทุน การลดทุน เปนตน บริษัทอาจมีความ เสี่ยงจากการไมสามารถรวบรวมคะแนนเสียงจากผูถือหุนเพื่ออนุมัติในมติที่สําคัญ ๆ ได. ทั้งนี้คณะกรรมการบริหาร และคณะจัดการของบริษัทจะตองใชความสามารถในการสื่อสาร สรางความ เขาใจ ใหมุงไปสูเปาหมายรวมกัน (Goal Congruence) เพื่อกําหนดนโยบายและทิศทางธุรกิจ ตลอดจนกํากับ ติดตาม เพื่อใหไดผลลัพธที่เหมาะสมถึงสูงสุดแกผูมีสวนไดเสียทุกฝาย. 7) ความเสี่ยงดานการแขงขันที่รุนแรงของธุรกิจเสริมความงามในอนาคต ธุรกิจเสริมความงามเปนธุรกิจที่มีการแขงขันรุนแรงหากพิจารณาพฤติกรรมผูบริโภคที่สนใจดูแลผิวพรรณ ดูแลตัวเองเพิ่มมากขึ้นและอยากเห็นผลลัพธอยางรวดเร็วโดยที่การใชเครื่องสําอางและครีมบํารุงผิวเพียงอยาง


68

เดียวไมเพียงพอและไมสามารถตอบโจทยความตองการของผูบริโภคไดทําใหเกิดความนิยมในการใชบริการสถาน เสริมความงามหรือคลินิกความงามเพื่อดูแลผิวหนาและผิวพรรณเพิ่มมากขึ้นดังจะเห็นไดจากจํานวนของ ผูประกอบการรายเดิมและรายใหมที่เขาสูตลาดมีจํานวนเพิ่มขึ้นอยางมากและตางแขงขันการทําการตลาดสรางกล ยุทธการขายการขยายสาขาไปยังพื้นที่ตาง ๆทั้งกรุงเทพฯปริมณฑลและหัวเมืองใหญ ๆเพื่อใหเขาถึงและ ครอบคลุมลูกคากลุมเปาหมายเชนกลุมวัยรุนนักเรียนนักศึกษากลุมคนทํางานกลุมแมบานที่มีฐานะซึ่งปจจัย ดังกลาวเปนปจจัยที่ทาทายแกบริษัทที่จะรักษาความเปนผูนําของแบรนดวุฒิศักดิ์คลินิกรวมทั้งสรางการเติบโต ตอไปใหไดอยางยั่งยืนในอนาคตอยางไรก็ตามWCIG เองตระหนักถึงความเสี่ยงดังกลาวและไดเตรียมวางแผน รองรับไวแลวเชนการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑและนวัตกรรมใหม ๆโดยเฉพาะผลิตภัณฑที่มีกําไรสูงการ ปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑอยางตอเนื่องใหเหมาะสมเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปสภาวะการแขงขันและความตองการ ของผูบริโภคการขยายกลุมลูกคาไปสู Segment ใหมและการขยายสาขาไปในตางประเทศเปนตน. 8) ความเสี่ยงดานธุรกิจผันผวนจากปจจัยภายนอก การเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจและความไมสงบทางการเมืองมีผลกระทบตอพฤติกรรมของผูบริโภค โดยเฉพาะในชวงที่ภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวหรือมีแนวโนมขยายตัวลดลงจะสงผลกระทบตอกําลังซื้อของผูบริโภค และความกังวลถึงความไมแนนอนของรายไดในอนาคตผูบริโภคตางประหยัดและลดคาใชจายประจําวันลงเพื่อ ออมเงินไวใชในอนาคตหรือชวงที่มีความไมสงบทางการเมืองจะสงผลกระทบตอการออกจากบานมาใชจายของ ผูบริโภคสงผลตออารมณและความกังวลของผูบริโภคซึ่งปจจัยภายนอกดังกลาวมีผลกระทบตอในวงกวางในหลาย อุตสาหกรรมเชน การทองเที่ยวธุรกิจดานบันเทิงการคาปลีกธุรกิจโฆษณาผูผลิตและจําหนายสินคาอุปโภคบริโภค สินคาฟุมเฟอยตางๆเปนตนรวมถึงสงผลกระทบตอบริษัทดวยเชนกัน. นอกจากนี้ สาขาสวนหนึ่งของWCIG ตั้งอยูภายในหางสรรพสินคาหรือศูนยการคาตาง ๆการที่จํานวนผูมา จับจายใชสอยภายในหางสรรพสินคาที่ลดลงในยามที่ภาวะเศรษฐกิจไมดีหรือมีความไมสงบทางการเมืองอาจสงผล กระทบตอจํานวนลูกคาที่มาใชบริการของWCIG อยางหลีกเลี่ยงไมไดอยางไรก็ตามWCIG ไดมีการวางแผนและ ปรับกลยุทธทางธุรกิจใหเหมาะสมในแตละสถานการณเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจและ ผลกระทบจากความไมสงบทางการเมือง.การพัฒนาผลิตภัณฑใหม เพื่อธํารงความเปน Product Innovative Leader ไว รวมทั้งการสรางแบรนดอยางแข็งแกรงใหเปนที่รูจักและรักษาคุณภาพการใหบริการอยางตอเนื่อง เพื่อใหผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากปจจัยภายนอกตอบริษัทลดลงและนอยกวาคูแขง.


69

โครงสรางบริษัท (EFORL) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 Organization Chart

Shareholders

External Auditor

Board of Directors Audit Commitee

Office of Legal and Board of Director Secretary

Executive Committee

Chief Executive Officer

Managing Director Business Development

Division Laboratory & Scientific Products

Managing Director Operations

Division Medical Health Products

Product Specialist ***

Product Specialist ***

Sales

Sales

Sales Support (BD., Clinical Technique Support, Sales Admin., Service)

Sales Support (BD., Clinical Technique Support, Sales Admin., Service)

Division Admin. & HR

1. Warehouse 2. Shipping

1. PO *

2. 3. 4. 5. 6. 7.

Division Supply Chain

Division Accounting & Finance

1. Accounting 2. Finance 3. Data Center

Division IT Support

1. IT Support

Com. Secretary Admin. HR & Payroll Delivery L/G Operations

Legend: * = Domestic PO *** = Foreign PO

หมายเหตุ : ผูตรวจสอบภายในจะรายงานตรงแกคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบจะรายงานผลการตรวจสอบและขอเสนอแนะใหฝา ยจัดการ โดยประธานเจาหนาที่บริหารรับทราบและดําเนินการ พัฒนา ปฏิบัติ แกไขและปรับปรุงตอไป.


70

นโยบายการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทยึดมั่นในหลักการบริหารจัดการที่มีระบบและกระบวนการกํากับดูแลกิจการที่ดีโดย กําหนดนโยบายการปฏิบัติตามขอพึงปฏิบัติที่ดี (Code of Best Practice) เพื่อผลักดันใหบริษัทมีการจัดการแบบ มืออาชีพ โปรงใส มีมาตรฐานในระดับสากล สามารถแขงขันได รวมทั้งเปนที่ยอมรับของผูถือหุน และผูเกี่ยวของ ทุกฝาย และเปนประโยชนตอการดําเนินธุรกิจของบริษัท คณะกรรมการบริษัทจึงมีการกําหนดหลักการ การกํากับ ดูแลกิจการ ซึ่งเปนการปฏิบัติตามแนวทางการกํากับดูแลกิจการที่ดีซึ่งกําหนดโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศ ไทย. 1) สิทธิของผูถือหุน:สิทธิและความเทาเทียมกัน บริษัทตระหนักและใหความสําคัญในสิทธิพื้นฐานตาง ๆ ของผูถือหุน ทั้งในฐานะเจาของบริษัท และใน ฐานะนักลงทุนในหลักทรัพย เชน สิทธิในการซื้อ ขาย หรือ โอนหลักทรัพยที่ตนถืออยู สิทธิในการไดรับขอมูลของ บริษัทอยางเพียงพอ สิทธิที่จะไดรับสวนแบงผลกําไรจากบริษัท สิทธิตาง ๆ ในการประชุมผูถือหุน สิทธิในการ แสดงความคิดเห็น และสิทธิในการรวมตัดสินใจในเรื่องสําคัญของบริษัท เชน การจัดสรรเงินปนผล การแตงตั้ง หรือถอดถอนกรรมการ การแตงตั้งผูสอบบัญชี การอนุมัติธุรกรรมที่สําคัญและมีผลตอทิศทางในการดําเนินธุรกิจ ของบริษัท เปนตน. ในการประชุมผูถือหุนคณะกรรมการบริษัทมีนโยบายอํานวยความสะดวก โดยจัดสงขอมูลสารสนเทศที่ ครบถวน ชัดเจน เพียงพอ และทันเวลา คณะกรรมการบริษัทสนับสนุนใหผูถือหุนเขารวมและใชสิทธิออกเสียงใน การประชุม หรือมอบฉันทะใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งเขารวมประชุม หรือกรรมการอิสระคนใดคนหนึ่งเปนผูออกเสียง แทนในกรณีที่ไมสามารถเขารวมประชุมได รวมทั้งเปดโอกาสใหผูถือหุนไดแสดงความคิดเห็น ขอคําอธิบาย หรือ ตั้งคําถามไดอยางเทาเทียมกัน. บริษัทมีนโยบาย จะใหโอกาสแกผูถือหุนอยางเทาเทียมกันทุกราย โดยกําหนดใหสิทธิออกเสียงในที่ ประชุมเปนไปตามจํานวนหุนที่ผูถือหุนถืออยู คือ หนึ่งหุนมีสิทธิเทากับหนึ่งเสียง และในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถ เขารวมประชุมดวยตนเอง บริษัทเปดโอกาสใหผูถือหุนสามารถมอบฉันทะใหกรรมการอิสระหรือบุคคลใด ๆ เขา รวมประชุมแทนตนได โดยใชหนังสือมอบฉันทะแบบหนึ่งแบบใดที่บริษัทไดจัดสงไปพรอมกับหนังสือนัดประชุม. นอกจากนี้ บริษัทไดกําหนดมาตรการปองกันการใชขอมูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading) ของบุคคล ที่เกี่ยวของ ซึ่งหมายถึง กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานในหนวยงานที่เกี่ยวของกับขอมูลภายใน (รวมทั้งคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกลาว) โดยหามบุคคลที่เกี่ยวของทําการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัท เปนระยะเวลาอยางนอย 1 เดือนกอนมีการเปดเผยงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจําป และควรรอ อยางนอย 24 ชั่วโมงภายหลังการเปดเผยขอมูลดังกลาวใหแกสาธารณชนแลว รวมทั้งหามไมใหเปดเผยขอมูลนั้น ตอบุคคลอื่นดวยซึ่งบริษัทจะมีการติดตามสอบถามใหกรรมการทุกทานรายงานสถานะ การเปลี่ยนแปลงจํานวน


71

หุนและการเปลี่ยนแปลงการมีสวนไดเสียในธุรกิจอื่นทั้งที่เกี่ยวของและไมเกี่ยวของกับบริษัท ทุกครั้งที่มีการ ประชุมคณะกรรมการ. บริษัทไดใหขอมูลแกกรรมการ และผูบริหารเกี่ยวกับหนาที่ที่ผูบริหารตองรายงานการถือหลักทรัพยใน บริษัท และบทกําหนดโทษตาม พ.ร.บ.หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535 และตามขอกําหนดของตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย และในกรณีที่กรรมการ หรือผูบริหารมีการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัท ตองรายงาน การถือหลักทรัพยในบริษัท ของตนเอง คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ภายใน 3 วันทําการ ใหสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพยทราบ เพื่อเผยแพรตอสาธารณะตอไป. บริษัทจัดการประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2557 เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2557 ณ หองประชุมเจาพระยา 1 โรงแรมริเวอร ไรน เพลส ถนนพิบูลสงคราม ตําบลสวนใหญ อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี โดยมี กรรมการ 7 คน เขารวมประชุม ในป 2557 บริษัทมอบใหบริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเปนนายทะเบียนหุนของบริษัท เปน ผูจัดสงหนังสือเชิญประชุมใหแกผูถือหุนลวงหนา รายงานการประชุมผูถือหุนที่จัดขึ้นในป 2557 ไดนําไปเปดเผยไว บนเว็บไซตของบริษัทฯหลังวันประชุม 14 วันหลังจากที่ไดเปดเผยในเว็บไซตของบริษัท บริษัทไดดําเนินการ ประกาศวิธีการเปดเผยผานไปยังตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเพื่อแจงใหผูถือหุนทราบ. ในป 2557 บริษัทจัดประชุมวิสามัญผูถือหุน หนึ่งครั้ง เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2557 ณ หองกรุงเทพ บอลรูม โรงแรมรอยัลซิตี้ เลขที่ 798,800 ถนนบรมราชชนนี แขวงบางบําหรุ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร โดยมี กรรมการ 6 คน เขารวม เนื่องจากในเดือนเมษายน 2557 กรรมการพนจากตําแหนงจํานวน 1 คน. บริษัทจะจัดใหมีการประชุมใหญสามัญประจําปทุกป โดยจะจัดภายใน 4 เดือนนับจากวันสิ้นสุดรอบบัญชี ในแตละป พรอมทั้งจัดสงหนังสือนัดประชุม และขอมูลประกอบการประชุมตามวาระตาง ๆ ใหผูถือหุนรับทราบ ลวงหนาไมนอยกวา 7 วัน กอนวันประชุม และลงประกาศหนังสือพิมพแจงวันนัดประชุมลวงหนาเปนเวลา 3 วัน ติดตอกันกอนที่จะถึงวันประชุม โดยในแตละวาระการประชุมจะมีความเห็นของคณะกรรมการประกอบไปดวย:1. ในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมดวยตนเอง บริษัทเปดโอกาสใหผูถือหุนสามารถมอบ ฉันทะใหกรรมการอิสระหรือบุคคลใดๆ เขารวมประชุมแทนตนได โดยใชหนังสือมอบฉันทะแบบใด แบบหนึ่งที่บริษัทไดจัดสงไปพรอมกับหนังสือนัดประชุม. 2. กอนการประชุม บริษัทจะเปดโอกาสใหผูถือหุนสามารถสงความคิดเห็น ขอเสนอแนะ ขอซักถามได ลวงหนากอนวันประชุมผานอีเมลแอดเดรสของเลขานุการบริษัท. 3. ในการประชุม บริษัทจะเปดโอกาสใหผูถือหุนตั้งขอซักถาม ใหขอเสนอแนะ หรือแสดงความเห็นตอที่ ประชุมในประเด็นตาง ๆ อยางอิสระและเทาเทียมกัน ทั้งนี้ ในการประชุมผูถือหุนจะมีกรรมการและ ผูบริหารที่เกี่ยวของเขารวมประชุมเพื่อตอบคําถามและใหขอมูลรายละเอียดในที่ประชุม.


72

4. ภายหลังการประชุม บริษัทจะจัดทํารายงานการประชุม โดยใหแสดงขอมูลอยางถูกตองครบถวน เพื่อใหผูถือหุนสามารถตรวจสอบได. 2) สิทธิของผูมีสวนไดเสียกลุมตาง ๆ บริษัทไดใหความสําคัญตอสิทธิของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ไมวาจะเปนผูมีสวนไดเสียภายใน ไดแก พนักงานและผูบริหารของบริษัท หรือผูมีสวนไดเสียภายนอก เชน คูแขง คูคา ลูกคา เปนตน โดยบริษัทตระหนักดี วา การสนับสนุนและขอคิดเห็นจากผูมีสวนไดเสียทุกกลุมจะเปนประโยชนในการดําเนินงานและการพัฒนาธุรกิจ ของบริษัท ดังนั้นบริษัทจะปฏิบัติตามกฎหมายและขอกําหนดที่เกี่ยวของเพื่อใหสิทธิของผูมีสวนไดเสียดังกลาว ไดรับการดูแลเปนอยางดี นอกจากนี้ บริษัทยังสงเสริมใหมีความรวมมือระหวางบริษัทและกลุมผูมีสวนไดเสียแตละ กลุม เพื่อสรางความมั่นคงใหแกบริษัทตามแนวทาง ดังตอไปนี้:ผูถือหุน : บริษัทมุงมั่นเปนตัวแทนที่ดีของผูถือหุนในการดําเนินธุรกิจ เพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดแกผูถือ หุน โดยคํานึงถึงการเจริญเติบโตของมูลคาบริษัทในระยะยาว รวมทั้งการดําเนินการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส และเชื่อถือได. พนักงาน : บริษัทตระหนักถึงความสําคัญของพนักงานบริษัท ซึ่งเปนทรัพยากรที่มีคายิ่งของบริษัท บริษัทจึง มุงใหการสนับสนุนในการพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรบุคคลเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดแกบริษัท อีกทั้งยัง สงเสริมใหพนักงานมีสวนรวมในการสรางวัฒนธรรมองคกรที่ดี มีการทํางานเปนทีม และเสริมสรางบรรยากาศและ ความรูสึกปลอดภัยในการทํางาน รวมทั้งจายคาตอบแทนในอัตราตลาดใหแกพนักงาน. คูแขง : บริษัทจะปฏิบัติตอคูแขงขันทางการคาใหสอดคลองกับหลักสากลตามกรอบกติกาการแขงขันที่ เปนธรรมโดยรักษาบรรทัดฐานของขอพึงปฏิบัติในการแขงขัน. คูคา : บริษัทปฏิบัติตอคูคาตามกรอบการคาที่สุจริตเปนไปดวยความเสมอภาคและเปนธรรม โดยยึดถือ การปฏิบัติตามสัญญาและคํามั่นที่ใหไวกับคูคาอยางเครงครัด. ลูกคา : ใหกับลูกคา.

บริษัทมีความมุงมั่นที่จะตอบสนองและใหบริการที่ดี เพื่อสรางความพึงพอใจและความเชื่อมั่น

เจาหนี้ : บริษัทตระหนักดีวาการสรางความสัมพันธกับเจาหนี้เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นและไววางใจเปน ภาระที่ตองปฏิบัติควบคูไปกับการปฏิบัติตามเงื่อนไขการกูยืมเงินดวยความซื่อสัตยสุจริต. ทั้งนี้ บริษัทจะปฏิบัติตามขอกําหนดของกฎหมายและกฎระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อใหสิทธิของผูมีสวนไดเสีย เหลานี้ไดรับการดูแลอยางดี. 3) การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส บริษัทตระหนักดีถึงความสําคัญของการเปดเผยขอมูลที่มีความถูกตอง ครบถวน และโปรงใส ทั้งรายงาน ขอมูลทางการเงินและขอมูลทั่วไป ตามหลักเกณฑของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตลอดจนขอมูลอื่นที่สําคัญที่มีผลกระทบตอราคาหลักทรัพยของ


73

บริษัทซึ่งลวนมีผลตอกระบวนการตัดสินใจของผูลงทุนและผูมีสวนไดเสียของบริษัท โดยบริษัทไดเผยแพรขอมูล สารสนเทศของบริษัทตอผูถือหุน นักลงทุน และสาธารณชนผานชองทางและสื่อการเผยแพรขอมูลตางๆ ของ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รวมถึง เว็บไซตของบริษัท คือ www.eforl-aim.com. ในสวนของงานดานผูลงทุนสัมพันธนั้น บริษัทยังไมไดมีการจัดตั้งหนวยงานเฉพาะในเรื่องนี้ อยางไรก็ตาม ในเบื้องตน บริษัทไดมอบหมายใหเลขานุการบริษัทและพนักงานการเงิน ทําหนาที่ติดตอสื่อสารกับผูลงทุน ผูถือ หุน รวมทั้งนักวิเคราะหและภาครัฐที่เกี่ยวของ. คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินของบริษัท และสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏใน รายงานประจําป งบการเงินดังกลาวจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย โดยเลือกใช นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอในงบการเงิน ซึ่ง คณะกรรมการตรวจสอบจะเปนผูสอบทานคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายใน รวมถึงการ เปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน. 4) ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทประกอบดวยบุคคลซึ่งมีความรูความสามารถ โดยเปนผูมีบทบาทสําคัญในการ กําหนดนโยบายและภาพรวมขององคกร ตลอดจนมีบทบาทสําคัญในการกํากับดูแล ตรวจสอบ และประเมินผล การดําเนินงานของบริษัทใหเปนไปตามแผนที่วางไวอยางเปนอิสระ. บริษัทไดแบงแยกบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบระหวางคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดตาง ๆ เพื่อติดตามและดูแลการดําเนินงานของบริษัทและผูบริหารอยางชัดเจน โดยคณะกรรมการบริษัททําหนาที่ในการ กําหนดนโยบายและกํากับดูแลการดําเนินงานของผูบริหารในระดับนโยบาย ในขณะที่ผูบริหารทําหนาที่ บริหารงานของบริษัทในดานตางๆ ใหเปนไปตามนโยบายที่กําหนด โดยทั้งสองตําแหนงตองผานการคัดเลือกจาก คณะกรรมการบริษัทเพื่อใหไดบุคคลที่มีความเหมาะสมที่สุด. คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยบุคคลที่มีความรู ทักษะและความเชี่ยวชาญที่หลากหลาย และมีภาวะ ผูนํา ซึ่งเปนที่ยอมรับ โดยมีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศน ภารกิจ กลยุทธ นโยบายแนวทางในการประกอบ ธุรกิจ และกํากับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัทใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับ และมติของที่ ประชุมผูถือหุน และเพื่อประโยชนในการติดตามและกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทอยางใกลชิด. ทั้งนี้ บริษัทมีเลขานุการคณะกรรมการบริษัทซึ่งทําหนาที่ใหคําแนะนําดานกฎเกณฑตางๆ ที่ คณะกรรมการจะตองทราบและปฏิบัติหนาที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ รวมทั้งประสานงานใหมีการ ปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ. บริษัทไดจัดใหมีนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัทเปนลายลักษณอักษร ซึ่งที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัท ครั้งที่ 2/2553 เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ 2553 ไดใหความเห็นชอบนโยบายดังกลาว ทั้งนี้ คณะกรรมการจะ ไดจัดใหมีการทบทวนนโยบายและการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวเปนประจํา ทั้งนี้ บริษัทจะถือปฏิบัติตามกฎและ


74

ขอบังคับตาง ๆ ตามที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยและหรือตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ กําหนดทุกประการ โดยจะเปดเผยรายงานการกํากับดูแลกิจการ ไวในรายงานประจําปและแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1). 1. จรรยาบรรณธุรกิจ บริษัทไดกําหนดหลักปฏิบัติเกี่ยวกับจรรยาบรรณของคณะกรรมการ ฝายบริหาร และพนักงาน เพื่อให ผูเกี่ยวของยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติหนาที่ตามภารกิจของบริษัทดวยความซื่อสัตย สุจริต และเที่ยงธรรมทั้ง การปฏิบัติตอบริษัท ผูมีสวนไดเสียทุกกลุม สาธารณชนและสังคม รวมทั้งการกําหนดระบบติดตามการปฏิบัติตาม แนวทางดังกลาวเปนประจํา. ทั้งนี้ บริษัทไดมีการประกาศและแจงใหพนักงานทุกคนรับทราบและยึดปฏิบัติอยางเครงครัด รวมถึงใหมี การปฏิบัติตามแนวทางดังกลาว. 2. ความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดนโยบายเกี่ยวกับความขัดแยงทางผลประโยชนบนหลักการที่วา การ ตัดสินใจใด ๆ ในการดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจจะตองทําเพื่อผลประโยชนสูงสุดของบริษัทเทานั้น และควร หลีกเลี่ยงการกระทําที่กอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน โดยกําหนดใหผูที่มีสวนเกี่ยวของหรือเกี่ยวโยงกับ รายการที่พิจารณา ตองแจงใหบริษัททราบถึงความสัมพันธหรือการเกี่ยวโยงของตนในรายการดังกลาว และตองไม เขารวมการพิจารณาตัดสิน รวมถึงไมมีอํานาจอนุมัติในธุรกรรมนั้น ๆ. คณะกรรมการตรวจสอบจะนําเสนอคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการที่มี ความขัดแยงทางผลประโยชน ซึ่งไดมีการพิจารณาความเหมาะสมอยางรอบคอบ และไดปฏิบัติตามหลักเกณฑที่ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและหรือสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย รวมทั้ง จะไดมีการเปดเผยไวในงบการเงิน รายงานประจําป และแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) ดวย. 3. ระบบการควบคุมภายใน บริษัทไดใหความสําคัญตอระบบควบคุมภายในทั้งในระดับบริหาร และระดับปฏิบัติงาน และเพื่อใหเกิด ความมีประสิทธิภาพในการดําเนินงาน บริษัทจึงไดกําหนดภาระหนาที่ อํานาจการดําเนินการของผูปฏิบัติงานและ ผูบริหารไวเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน มีการควบคุมดูแลการใชทรัพยสินของบริษัทใหเกิดประโยชน และมี การแบงแยกหนาที่ผูปฏิบัติงาน ผูติดตามควบคุมและประเมินผลออกจากกัน โดยบริษัทไดมีการแตงตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทําหนาที่ในการสอบทานระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในใหมี ความเหมาะสม และมีประสิทธิผล. 4. การบริหารความเสี่ยง บริษัทไดมีการทําการประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในที่มีอยู เพื่อพิจารณาหาแนวทางใน การปรับปรุงแกไขการปฏิบัติงานใหผลการดําเนินงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น.


75

5. รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบจะทําหนาที่สอบทานรายงานทางการเงิน โดยมีฝายบัญชีและการเงิน และผูสอบ บัญชีมาประชุมรวมกันและนําเสนอรายงานทางการเงินตอคณะกรรมการบริษัททุกไตรมาส โดยคณะกรรมการ บริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินของบริษัท รวมทั้งสารสนเทศทางการเงิน (รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน) ที่ปรากฏในรายงานประจําป งบการเงินดังกลาวจัดทําขึ้นตามมาตรฐาน การบัญชีรับรองและตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีของบริษัท การเปดเผยขอมูลสารสนเทศที่สําคัญ ทั้งขอมูลทาง การเงิน และไมใชการเงิน ดําเนินการบนพื้นฐานของขอเท็จจริงอยางครบถวน และสม่ําเสมอดวย. 6. การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการมี การกํ า หนดการประชุมโดยปกติเปน ประจําทุก 3 เดือน และจะมีการประชุมพิเศษ เพิ่ ม เติ ม ตามความจํ า เป น โดยมี ก ารกํ า หนดวาระที่ ชั ด เจน นํ า ส ง เอกสารก อ นการประชุ ม ล ว งหน า เพื่ อ ให คณะกรรมการไดมีเวลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอกอนการประชุม เวนแตกรณีมีเหตุจําเปนเรงดวน และมีการ บันทึ กรายงานการประชุมและจัดเก็บรวบรวมเอกสารรายงานที่รับรองแลว เพื่อใชในการอางอิงและสามารถ ตรวจสอบได อยางไรก็ตามในป 2557 บริษัทจัดประชุมคณะกรรมการบริษัท จํานวน 8 ครั้ง. ในการประชุม ประธานกรรมการบริษัทเปนผูกําหนดวาระการประชุมและพิจารณาเรื่องเขาวาระการ ประชุมคณะกรรมการบริษัท โดยเปดโอกาสใหกรรมการแตละคนสามารถเสนอเรื่องตางๆ เพื่อเขารับการพิจารณา เปนวาระการประชุมได. ในการพิจารณาเรื่องตางๆ ประธานกรรมการบริษัท ซึ่งทําหนาที่ประธานในที่ประชุมจะเปดโอกาสให กรรมการแสดงความคิดเห็นไดอยางอิส ระ โดยในบางวาระอาจมีผูบ ริหารระดับสูงเขารวมประชุมดวยเพื่อให สารสนเทศรายละเอียดขอมูลที่เปนประโยชนเพิ่มเติมในฐานะผูที่เกี่ยวของ รวมทั้งจะไดรับทราบนโยบายโดยตรง เพื่อใหสามารถนําไปปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ในการลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทใหถือมติของ เสียงขางมาก โดยใหกรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งเสียง โดยกรรมการที่มีสวนไดเสียจะไมเขารวมประชุมและ / หรือไมใชสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น และถาคะแนนเสียงเทากัน ประธานในที่ประชุมจะออกเสียงเพิ่มขึ้น อีกหนึ่งเสียงเปนเสียงชี้ขาด. ในป 2557 บริษัทไดจัดประชุมคณะกรรมการทั้งสิ้น 8 ครั้ง ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 7 ครั้ง ประชุมคณะกรรมการบริหาร 2 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 17 ครั้ง ทั้งนี้ ในการประชุมคณะกรรมการ ป 2557บริษัท ดําเนินการจัดสงเอกสารประกอบวาระการประชุมลวงหนาทุกครั้ง เพื่อใหกรรมการบริษัทมีเวลาที่จะศึกษาขอมูล ในเรื่องตาง ๆ อยางเพียงพอ และจะมอบหมายใหเลขานุการคณะกรรมการเขารวมการประชุมดวยทุกครั้ง โดย เลขานุการคณะกรรมการจะเปนผูบันทึกรายงานการประชุม และจัดสงใหประธานกรรมการบริษัทพิจารณาลง ลายมือชื่อรับรองความถูกตอง โดยเสนอใหที่ประชุมรับรองในวาระแรกของการประชุมครั้งถัดไป รวมทั้งเปนผู จัดเก็บขอมูลหรือเอกสารเกี่ยวกับการประชุมตาง ๆ เพื่อสะดวกในการสืบคนอางอิงในภายหลัง.


76

รายชื่อ

ตําแหนง

จํานวนครั้งที่เขารวมประชุม

1. นายปรีชา นันทนฤมิต

ประธานกรรมการ,ประธานกรรมการบริหาร

9/10 (มีสิทธิเขาประชุม 10 ครั้ง)

2. นายปริน ชนันทรานนท

กรรมการ,ประธานกรรมการบริหาร

2/3 (มีสิทธิเขาประชุม 3 ครั้ง)

3. นายธีรวุทธิ์ ปางวิรุฬหรักข

กรรมการ, กรรมการบริหาร

10/10 (มีสิทธิเขาประชุม 10 ครั้ง)

4.นายโกศล วรฤทธินภา

กรรมการ,กรรมการบริหาร

8/8 (มีสิทธิเขาประชุม 8 ครั้ง)

5. นายรุจพงศ ประภาสะโนบล

กรรมการ,ประธานกรรรมการตรวจสอบ

13/15 (มีสิทธิเขาประชุม 15 ครั้ง)

6. นายชาย วัฒนสุวรรณ

กรรมการ,กรรมการตรวจสอบ

15/15 (มีสิทธิเขาประชุม 15 ครั้ง)

7. ผศ.สัมพันธ หุนพยนต

กรรมการ,กรรมการตรวจสอบ

15/15 (มีสิทธิเขาประชุม 15 ครั้ง)

7. คาตอบแทน บริ ษั ท มี น โยบายจ า ยค า ตอบแทนกรรมการและผู บ ริ ห ารในระดั บ ที่ เ หมาะสม โดยคํ า นึ ง ถึ ง ผลการ ดําเนินงานของบริษัทและความสอดคลองกับธุรกิจ/อุตสาหกรรมเดียวกัน รวมถึงความเหมาะสมกับหนาที่และ ความรับ ผิด ชอบของกรรมการและผูบริหารแตล ะทาน โดยบริษัทใชความระมัดระวังในการจายคาตอบแทน ผูบริหารของบริษัทใหอยูในระดับที่เหมาะสม เปนอัตราที่แขงขันไดในกลุมธุรกิจเดียวกัน เพื่อจะดูแลและรักษา ผูบริหารที่มีคุณภาพไว ผูบริหารที่ไดรับมอบหมายหนาที่และความรับผิดชอบเพิ่มขึ้นจะไดรับคาตอบแทนเพิ่มที่ เหมาะสมกับหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ บริษัทจัดใหมีคาตอบแทนกรรมการไว อยางชัดเจนและโปรงใส โดยกําหนดใหมีการเปดเผยคาตอบแทนที่จายใหแกกรรมการและผูบริหารตามแบบที่ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยกําหนด. 8. การพัฒนากรรมการและผูบริหาร บริ ษั ทมี น โยบายส งเสริ ม และอํ า นวยความสะดวกให มีก ารฝ ก อบรมและการให ความรู แ กก รรมการ ผูเกี่ยวของในระบบการกํากับดูแลกิจการของบริษัท เชน กรรมการ กรรมการตรวจสอบ ผูบริหาร เปนตน เพื่อใหมี การปรับปรุงการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง และในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการหรือแตงตั้งกรรมการใหม ฝาย จัดการจะจัดใหมีเอกสารและขอมูลที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการใหม รวมถึงการจัดใหมีการ แนะนําลักษณะธุรกิจ และแนวทางการดําเนินธุรกิจของบริษัทใหแกกรรมการใหม. 9. การรวมหรือแยกตําแหนง คณะกรรมการบริษัทกําหนดใหประธานกรรมการเปนบุคคลคนละคนกับประธานเจาหนาที่บริหาร โดยมี บทบาท อํานาจ และหนาที่ ซึ่งแบงแยกออกจากกันอยางชัดเจน เพื่อสรางดุลยภาพระหวางการบริหารและการ กํากับดูแลกิจการที่ดี


77

คณะกรรมการบริษัท บริษัทมีคณะกรรมการเพื่อกําหนดนโยบาย แนวทางการดําเนินงาน ชี้แนะดานการบริหารจัดการ กฎระเบียบ ความเปนบรรษัทภิบาล การกํากับและตรวจสอบการดําเนินงานอันคํานึงถึงความรับผิดชอบ และ ประโยชนของผูมีสวนไดเสียตาง ๆ รวม 3 ชุด ประกอบดวย 1) คณะกรรมการบริษัท 2) คณะกรรมการตรวจสอบ และ 3) คณะกรรมการบริหาร โดยมีรายละเอียดแสดงไวดังนี้. รายชื่อกรรมการ 1) นายปรีชา นันทนฤมิต** 2) นายปริน ชนันทรานนท** 3) นายธีรุวทธิ์ ปางวิรุฬหรักข 4) นายโกศล วรฤทธินภา 5) นายรุจพงศ ประภาสะโนบล* 6) นายชาย วัฒนสุวรรณ* 7) ผศ.สัมพันธ หุนพยนต

ตําแหนง ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร รองประธานกรรมการ* กรรมการ,กรรมการบริหาร กรรมการ,กรรมการบริหาร กรรมการ, ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ, กรรมการตรวจสอบ กรรมการ, กรรมการตรวจสอบ

การประชุมคณะกรรมการ จํานวนครั้ง จํานวนครั้งที่ สาเหตุการไม การประชุม เขารวมประชุม สามารถเขาประชุม 10 9 เดินทางไป ตางประเทศ 3 3 พนจากตําแหนง เนื่องจากครบวาระ 10 10 8 8 15 13 ติดภารกิจอื่น 15

15

-

15

15

-

ปจจุบัน ชื่อและจํานวนกรรมการผูมีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัท คือ นายปรีชา นันทนฤมิต นาย ธีรวุทธิ์ ปางวิรุฬหรักข นายโกศล วรฤทธินภา กรรมการสองในสามคนนี้ลงลายมือชื่อรวมกันและประทับตรา สําคัญของบริษัท. หมายเหตุ : ขอ 1. * กรรมการตรวจสอบผูมีความรูและประสบการณในการสอบทานงบการเงินของบริษัท. ขอ 2. ** กรรมการผูไดรับการแตงตั้งและลาออกจากตําแหนงในระหวางงวด. 1) นายปรีชา นันทนฤมิต ไดรับแตงตั้งเปนประธานกรรมการบริหาร เมื่อเดือนกุมภาพันธ 2557. 2) นายปริน ชนันทรานนท พนจากตําแหนงรองประธานกรรมการและกรรมการ เนื่องจากครบ วาระ เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2557 ลาออกจากตําแหนงประธานกรรมการบริหาร เมื่อเดือน


78

กุมภาพันธ 2557 และลาออกจากตําแหนงกรรมการบริหารเมื่อเดือนกันยายน 2557 ตามลําดับ. 3) นายโกศล วรฤทธินภา ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการบริหารเมื่อเดือนตุลาคม 2557.

ผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทและบริษัทยอยมีผูบริหารจํานวน 5 ทาน ดังนี้:บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) 1. นายธีรวุทธิ์ ปางวิรุฬหรักข ประธานเจาหนาที่บริหาร 2. นางกนกวัลย วรรณบุตร กรรมการผูจ ัดการสายงานธุรกิจสื่อมีเดีย ผูอํานวยการฝายการตลาดและพัฒนาธุรกิจ 3. นายปรีชา นันทนฤมิต กรรมการผูจัดการสายงานธุรกิจเครื่องมือ และอุปกรณทางการแพทย 4. นางสาวอรทัย โคมกระจาง ผูอํานวยการฝายการเงินและบัญชี ผูอํานวยการฝายทรัพยากรบุคคลและธุรการ หมายเหตุ : นางสาวอรทัย โคมกระจาง พนจากตําแหนงผูอํานวยการฝายการเงินและบัญชีผูอํานวยการฝาย ทรัพยากรบุคคลและธุรการเมื่อเดือนเมษายน 2557. บริษัท สเปซเมด จํากัด 1. นายจักรกริสน โลหะเจริญทรัพย

กรรมการผูจัดการ.

เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งใหนางสาวมัทธณา หนูปลอด ทําหนาที่เลขานุการบริษัท โดยใหมีอํานาจ หนาที่ตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 เพื่อรับผิดชอบการจัดประชุมคณะกรรมการบริษัทและการประชุมผูถือหุน รวมถึงชวยดูแลใหมีการ ปฏิบัติตามมติดังกลาว ดูแลและใหคําแนะนําแกคณะกรรมการเกี่ยวกับกฎเกณฑตาง ๆ ที่ตองปฏิบัติ การจัดทํา และเก็บรักษาทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการและรายงาน ประจําปของบริษัท หนังสือนัดประชุมผูถือหุน และรายงานการประชุมผูถือหุน รายงานการมีสวนไดเสียที่รายงาน โดยกรรมการหรือผูบริหาร และดําเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศกําหนด. นางสาวมัทธณา หนูปลอด  สําเร็จการศึกษาปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม.


79

 ผานการอบรมวิชาวาความ แหงสภาทนายความ รุน 30.  ผานการอบรมหลักสูตร FundamentalPractice for Corporate Secretary (FPCS25) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย.  โดยทําหนาที่เลขานุการบริษัท ตั้งแตป 2555 จนถึงปจจุบัน.

การสรรหากรรมการและผูบริหาร คณะกรรมการบริษัทและ/หรือบุ คคลที่ไดรับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาแตงตั้ง ผูบริหารโดยคํานึงถึงคุณสมบัติบุคลากรที่มีประสบการณและมีความรูความสามารถและมีความเชี่ยวชาญในการ บริหารงานในสายงานที่เกี่ยวของ. คณะกรรมการชุดยอย โครงสรางคณะกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ประกอบดวยคณะกรรมการและผูบริหาร สวนของ คณะกรรมการบริษัทมีจํานวน 6 ทาน ประกอบดวยกรรมการอิสระที่ไมเปนผูบริหาร และกรรมการที่เปนผูบริหาร โดยมีกรรมการอิสระจํานวน 3 ทาน (ครึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งคณะ) ซึ่งจะทําใหเกิดการถวงดุลในการออกเสียงใน การพิจารณาเรื่องตาง ๆ ตามเกณฑที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด ตามขอบังคับของบริษัทกําหนดไววาในการประชุมสามัญประจําป กรรมการ ตองออกจากตําแหนงอยางนอยจํานวนหนึ่งในสาม ถาจํานวนกรรมการที่จะแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได ก็ให ออกโดยจํานวนใกลที่สุดกับสวนหนึ่งในสาม กรรมการที่จะตองออกจากตําแหนงในปแรกและปที่สองภายหลังจด ทะเบียนบริษัทนั้นใหใชวิธีจับฉลากกันวาผูใดจะออก สวนปหลังๆ ตอไปใหกรรมการคนที่อยูในตําแหนงนานที่สุด นั้นเปนผูออกจากตําแหนง อยางไรก็ตาม กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจไดรับเลือกเขามาดํารงตําแหนงใหมก็ได คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการยอย 2 คณะ ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบและ คณะกรรมการบริหาร เพื่อปฏิบัติหนาที่เฉพาะเรื่องและเสนอเรื่องใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาหรือรับทราบ ตามขอบเขตอํานาจหนาที่ ที่กําหนด (1) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบประกอบดวยกรรมการอิสระ 3 คน ดังนี้ 1. นายรุจพงศ ประภาสะโนบล 2. นายชาย วัฒนสุวรรณ 3. ผศ. สัมพันธ หุนพยนต

ประธานกรรมการ กรรมการ และ กรรมการ

โดยนายรุจพงศ ประภาสะโนบลเปนผูมีความรูและประสบการณที่จะสอบทานความนาเชื่อถือของงบ การเงิน ไดรับการแตงตั้งเปนประธานกรรมการตรวจสอบอีกวาระหนึ่ง เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2557. นางสาวมัทธณา หนูปลอด เลขานุการบริษัท เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ.


80

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่รับผิดชอบการสอบทานรายการดานการเงินของบริษัท สอบทานความ เพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริหารความเสี่ยง การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ ระเบียบที่ เกี่ยวของ และจัดทํารายงานหรือใหความเห็นตอคณะกรรมการบริษัท เพื่ออนุมัติหรือเพื่อเสนอตอที่ประชุมผูถือ หุน แลวแตกรณี ดังนี้:1. สอบทานใหบริษัทมีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 3. สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยฯ ขอกําหนดของตลาด หลักทรัพยฯ และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพื่อทําหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอคาตอบแทนของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการ เขารวม 5. พิจารณารายการเกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตาม กฎหมายและขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผลและ เปนประโยชนสูงสุดตอบริษัท 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท ซึ่งรายงาน ดังกลาวลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้:6.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัท 6.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท 6.3 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนด ของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 6.4 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี 6.5 ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน 6.6 จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมประชุมของคณะกรรมการ ตรวจสอบแตละทาน 6.7 ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎ บัตร (Charter) 6.8 รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และความ รับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท


81

7. สอบทานและติดตามการบริหารความเสี่ยงที่สําคัญอยางตอเนื่องจากคณะกรรมการบริหารและฝาย บริหาร 8. พิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน รวมทั้งใหความเห็นเกี่ยวกับแผนงานและ ผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนใหความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตั้ง เลิกจางผูตรวจสอบภายใน 9. ในการปฏิบัติตามขอบเขตอํานาจหนาที่ ใหคณะกรรมการตรวจสอบเชิญฝายจัดการหรือหัวหนางาน เขารวมประชุมเพื่อชี้แจงหรือใหสงเอกสารที่เกี่ยวของได 10. คณะกรรมการตรวจสอบสามารถรับคําปรึกษาจากผูเชี่ยวชาญอิสระตามความเหมาะสมดวย คาใชจายของบริษัทตามขอบเขตงานที่รับผิดชอบ 11. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัท มอบหมายดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ (2) คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารประกอบดวยกรรมการ 3 คน ดังนี้ 1. นายปรีชา นันทนฤมิต 2. นายธีรวุทธิ์ ปางวิรุฬหรักข 3. นายโกศล วรฤทธินภา

ประธานกรรมการ กรรมการและ กรรมการ

นางสาวมัทธณา หนูปลอด เลขานุการบริษัท เปนเลขานุการคณะกรรมการบริหาร อํานาจหนาที่คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารมีอํานาจ หนาที่ และความรับผิดชอบตาม ที่คณะกรรมการบริษัทกําหนด และมอบหมาย และตามขอบเขตอํานาจ หนาที่และความรับผิดชอบที่กําหนดโดยคณะกรรมการบริษัท สรุปอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบที่สําคัญได ดังนี้:1. รับผิดชอบการบริหารงานในเรื่องเกี่ยวกับการดําเนินงานตามปกติ งานบริหารของบริษัท พิจารณากําหนดนโยบาย ทิศทาง และกลยุทธ การดําเนินธุรกิจของบริษัท กําหนดแผนการ เงิน งบประมาณ การบริหารทรัพยากรบุคคล การลงทุน ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ การ ประชาสัมพันธของบริษัท กํากับดูแลการบริหารความเสี่ยง เพื่อเสนอใหที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทพิจารณา และอนุมัติและ/หรือใหความเห็นชอบ รวมตลอดถึง การ ตรวจสอบและติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทตามนโยบายที่กําหนด 2. ดําเนินกิจการและบริหารกิจการของบริษัทตามวัตถุประสงค ขอบังคับ นโยบาย ระเบียบ ขอกําหนด คําสั่ง และมติของที่ประชุมคณะ กรรมการและ/หรือมติที่ประชุม ผูถือหุนของ บริษัททุกประการ


82

3. มีอํานาจพิจารณา อนุมัติ การทําธุรกรรมดานการขายสินคาและบริการ ( Price List), การขาย ในรายการที่เกี่ยวโยงกัน, การสงเสริมแผนการขาย, การอนุมัติเกี่ยวกับการประมูลงาน งาน ราชการและเอกชน, การลงทุนในสินทรัพยไมมีตัวตน, การลงทุนในหลักทรัพย, การลงทุนอื่น เชนการรวมทุน การกูยืม, การบริหารเงิน, เงินลงทุน เงินฝาก ตามตารางอํานาจอนุมัติของ บริษัท 4. มีอํานาจพิจารณาแตงตั้ง และควบคุมกํากับดูแลใหการดําเนินงานของ คณะทํางานที่แตงตั้ง บรรลุตามนโยบายและเปาหมายที่กําหนด 5. กําหนดโครงสรางองคกร อํานาจการบริหารองคกร รวมถึง การแตงตั้ง การวาจาง การ โยกยาย การกําหนดเงินคาจาง คาตอบแทน โบนัสพนักงานระดับผูบริหารซึ่งมิได ดํารง ตําแหนงกรรมการบริหาร และ การเลิกจาง ทั้งนี้ อํานาจของคณะกรรมการบริหาร จะไม รวมถึงการอนุมัติ รายการใดที่อาจมีความขัดแยง หรือรายการใดที่คณะกรรมการ บริหาร หรือ บุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรือผลประโยชนในลักษณะอื่นใด ขัดแยงกับบริษัท หรือบริษัทยอย ตามกฎเกณฑของ สํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย และ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งการอนุมัติรายการในลักษณะดังกลาว จะตองเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการและ/หรือที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาและอนุมัติ รายการดังกลาวตามที่ขอบังคับของบริษัท 6. จัดประชุมเพื่อพิจารณางบการเงินและพิจารณาผลการดําเนินงานของบริษัททุกฝายไตรมาส ไตรมาสละ 1 ครั้ง เวนแตจะมีกรณีตองพิจารณาเปนสําคัญหรือตองพิจารณาเปนพิเศษจึงจะมี การประชุมเพื่อพิจารณาหารือในเรื่องนั้น ๆ การสรรหากรรมการและแตงตั้งกรรมการและผูบริหาร (1) กรรมการอิสระ มีจํานวนรอยละ 50 ของคณะกรรมการบริษัท ประกอบดวย:1. นายรุจพงศ

ประภาสะโนบล

กรรมการอิสระ

2. นายชาย

วัฒนสุวรรณ

กรรมการอิสระ

3. ผศ.สัมพันธ

หุนพยนต

กรรมการอิสระ

กรรมการอิสระ ประกอบดวยกรรมการ 3 คน โดยมีวาระอยูในตําแหนงคราวละ 3 ป บริษัทมีนโยบายในการ สรรหากรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิ ส ระ ใหส อดคลองกับ ประกาศคณะกรรมการกํ ากับ ตลาดทุน ที่ ทจ. 28/2551 เรื่อง การขออนุญาตและอนุญาตใหเสนอขายหุนที่ออกใหมโดยตองมีคุณสมบัติดังนี้:1. ถื อ หุ น ไม เ กิ น ร อ ยละหนึ่ ง ของจํ า นวนทุ น จดทะเบี ย นที่ อ อกและเรีย กชํา ระแล ว ของบริ ษัท และบริ ษั ท ที่ เกี่ยวของโดยรวมหุนที่ถือโดยบุคคลที่เกี่ยวของดวย


83

2. ไมเปนผูที่มีความสัมพันธกับบริษัทและบริษัทที่เกี่ยวของในลักษณะที่มีสวนไดเสีย หรือไดผลประโยชนในดาน การเงินหรือการบริหารงาน ทั้งในปจจุบันและชวง 2 ปกอน เปนกรรมการอิสระ โดยลักษณะความสัมพันธ ดังกลาว ไดแก • เปนกรรมการที่มีสวนรวมในการบริห ารงาน พนักงาน ลูกจาง ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจําหรือผูมี อํานาจควบคุม • เปนผูใหบริการทางวิชาชีพ เชน เปนผูสอบบัญชี ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน หรือผูประเมิน ราคาทรัพยสิน • เปนผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจ เชน ซื้อ/ขายสินคาหรือบริการ ซื้อขายสินทรัพย ให/รับความชวยเหลือ ทางการเงิน เปนตน 3. ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เปน บิดา มารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท 4. ไมมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทหรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการ ใชวิจารณญาณอยางอิสระ และไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการ ดําเนินงานของบริษัท 5. ไมเปนกรรมการตรวจสอบเปนกรรมการใด ๆ ในบริษัทอื่นในกลุมที่เปนบริษัทจดทะเบียน นอกจากนี้ กรรมการอิสระที่ดํารงตําแหนงกรรมการตรวจสอบอยางนอย 1 คน จะตองเปนบุคคลที่มี ความรูและประสบการณดานการบัญชีหรือการเงินเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่ในการสอบทานความนาเชื่อถือ ของงบการเงินได รวมทั้งบริษัทจะพิจารณาคุณสมบัติในดานอื่น ๆ ประกอบดวย เชน ประสบการณในธุรกิจ ความ เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวของกับธุรกิจ ความมีจริยธรรม เปนตน. สําหรับหลักเกณฑและวิธีการแตงตั้งกรรมการตรวจสอบจะดําเนินการตามหลักเกณฑและวิธีการแตงตั้ง กรรมการบริษัท โดยกรรมการตรวจสอบซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระอาจไดรับการแตงตั้งใหกลับมาดํารงตําแหนง ใหม ไ ด ในกรณี ที่ ตํ า แหน ง กรรมการตรวจสอบว า งลงเพราะเหตุ อื่ น ใดนอกจากถึ ง คราวออกตามวาระ ให คณะกรรมการบริษัทแตงตั้งบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถวนเปนกรรมการตรวจสอบเพื่อใหกรรมการตรวจสอบมี จํานวนครบตามที่คณะกรรมการบริษัทกําหนด โดยบุคคลที่เปนกรรมการตรวจสอบแทนจะอยูในตําแหนงไดเพียง วาระที่เหลืออยูของกรรมการตรวจสอบซึ่งตนทดแทน และบริษัทตองแจงตลาดหลักทรัพยฯ ทันทีที่กรรมการ ตรวจสอบลาออกหรือถูกใหออกกอนครบวาระ.


84

(2) การสรรหากรรมการและผูบริหารสูงสุด บริษัทไมมีคณะกรรมการสรรหา ดังนั้นในการพิจารณาสรรหากรรมการที่ครบวาระหรือทดแทนตําแหนงที่ วางลง เปนหนาที่ของคณะกรรมการบริษัทที่จะพิจารณาสรรหากรรมการและผูบริหารระดับสูงสุด โดยบริษัทมี หลักเกณฑและขั้นตอน ดังตอไปนี้:การสรรหากรรมการ 1.

ทบทวนโครงสรางและองคประกอบที่เหมาะสมของคณะกรรมการบริษัททั้งคณะ เพื่อเสริมสราง ความเขมแข็งในภาพรวมใหกับคณะกรรมการบริษัทใหสอดคลองกับหลักการกํากับดูแลกิจการที่ ดี ขอกฎหมาย ขอบังคับบริษัท และกฎระเบียบที่เกี่ยวของ ดังนี้:1.1 คณะกรรมการบริษัทประกอบดวยกรรมการไมนอยกวา 5 คน และกรรมการไมนอยกวากึ่ง หนึ่ ง ของจํ า นวนกรรมการทั้งหมดตอ งมี ถิ่น ที่อยู ในราชอาณาจัก ร และกรรมการต องมี คุณสมบัติตามที่กฎหมายกําหนด. 1.2 ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจําปทุกครั้ง กรรมการออกจากตําแหนงในอัตราหนึ่งในสาม ถาจํานวนกรรมการที่จะแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนใกลที่สุดกับ ส ว นหนึ่ งในสาม กรรมการที่ จ ะต องออกจากตํ าแหน งในปแ รกและปที่ส องภายหลังจด ทะเบียนบริษัทนั้น ใหจับฉลากกันวาผูใดจะออก สวนปหลังตอไป ใหกรรมการคนที่อยูใน ตําแหนงนานที่สุดนั้นเปนผูออกจากตําแหนง กรรมการซึ่งพนจากตําแหนงแลวนั้นอาจไดรับ เลือกตั้งกลับเขามาเปนกรรมการใหมได.

2.

3.

ทบทวนคุณสมบัติทั่วไป คุณสมบัติเฉพาะ คุณสมบัติของกรรมการอิสระ พิจารณาจากปจจัย หลาย ๆ ดานประกอบกัน เชน ความรู ความสามารถ ประสบการณความชํานาญที่เกี่ยวของกับ ธุรกิจ และกําหนดเพิ่มเติมหลักเกณฑในการสรรหาและคัดเลือกเพื่อใหตรงกับสถานการณและ ความตองการของบริษัทและใหเปนไปตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อ ผานการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทแลวจะและเสนอตอที่ประชุมผูถือหุนเพื่อลง มติแตงตั้งเปนกรรมการบริษัทตอไป ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการ โดยใชเสียงขางมากตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้ 3.1 ผูถือหุนคนหนึ่ง มีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง 3.2 ในการเลือกกรรมการ อาจใชวิธีออกเสียงลงคะแนนเลือกกรรมการเปนรายบุคคล คราวละ คนหรือคราวละหลายคนรวมกันเปนคณะ ตามแตที่ประชุมผูถือหุนจะเห็นสมควร แตในการ ลงมติแตละครั้งผูถือหุนตองออกเสียงดวยคะแนนที่มีอยูทั้งหมด จะแบงคะแนนเสียงแกคนใด หรือคณะใดมากนอยเพียงใดไมได 3.3 การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการใหใชเสียงขางมาก หากมีคะแนนเสียงเทากันใหผู เปนประธานในที่ประชุมเปนผูออกเสียงชี้ขาด


85

3.4 ในกรณี ที่ ตํ า แหน ง กรรมการว า งลงเพราะเหตุ อื่ น นอกจากถึ ง คราวออกตามวาระ ให คณะกรรมการเลื อกบุ คคลซึ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมายวาดว ย บริษัทมหาชนจํากัดเขาเปนกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เวนแต วาระของกรรมการจะเหลือนอยกวาสองเดือน โดยบุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการดังกลาวแทน จะอยูในตําแหนงกรรมการไดเพียงเทาวาระที่ยังเหลืออยูของกรรมการที่ตนแทน โดยมติ ดังกลาวของคณะกรรมการจะตองประกอบดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวน กรรมการที่ยังเหลืออยู 3.5 ที่ประชุมผูถือหุนอาจลงมติใหกรรมการคนใดออกจากตําแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระได ดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนผูถือหุนซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุนนับรวมกันไดไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่มาประชุมและมี สิทธิออกเสียง คณะกรรมการบริ ษั ท และ/หรื อ บุ ค คลที่ไ ด รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท พิ จ ารณาแตง ตั้ ง คณะกรรมการชุดยอย โดยพิจารณาบุคลากรที่มีประสบการณและมีความรูความสามารถในการบริหารงาน เชน เปนผูมีความรูความสามารถในการสอบทานความเชื่อถือของงบการเงินบริษัท.

การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัทใชนโยบายบริหารจัดการบริษัทยอยรวมถึงกําหนดแนวทางการดําเนินธุรกิจโดยใชหลักการกํากับ ดูแลกิจการที่ดีตามมาตรฐานเดียวกับบริษัท เพื่อใหการบริหารงานเปนไปอยางมีศักยภาพ มีประสิทธิภาพ. มีการกําหนดนโยบายเสนอชื่อและใชสิทธิออกเสียงโดยการแตงตั้งบุคคลเปนกรรมการในบริษัทยอย ดําเนินการโดยฝายจัดการ กําหนดระเบียบปฏิบัติใหการเสนอชื่อและใชสิทธิออกเสียงดังกลาวตองไดรับอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัทดวย โดยบุคคลที่ไดรับแตงตั้งใหเปนกรรมการในบริษัทยอย มีหนาที่ดําเนินการเพื่อประโยชน ที่ดีที่สุดของบริษัทยอย และบริษัทไดกําหนดใหบุคคลที่ไดรับการแตงตั้งนั้น ตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ บริษัทกอนที่จะไปลงมติหรือใชสิทธิออกสียงในเรื่องสําคัญในระดับเดียวกับที่ตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ บริษัท หากเปนการดําเนินการโดยบริษัทเอง ทั้งนี้การสงกรรมการเพื่อเปนตัวแทนในบริษัทยอยดังกลาวเปนไป ตามสัดสวนการถือหุนของบริษัท. นอกจากนี้ บริษัท ไดกําหนดระเบียบใหบุคคลที่ไดรับการแตงตั้งจากบริษัทนั้น ตองดูแลใหบริษัทยอยมีขอบังคับใน เรื่องการรายการเกี่ย วโยงการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสิน ทรัพยหรือการทํารายการสําคัญอื่น ใดของบริษัทให ครบถวนถูกตอง และใชหลักเกณฑที่เกี่ยวของกับการเปดเผยขอมูลและการทํารายการขางตนในลักษณะเดียวกับ หลักเกณฑของบริษัท รวมถึงมีการกํากับดูแลใหมีการจัดเก็บขอมูลและการบันทึกบัญชีของบริษัทยอยใหบริษัท สามารถตรวจสอบและรวบรวมมาจัดทํางบการเงินรวมไดทันตามกําหนด.


86

นโยบายการลงทุนของบริษัทและบริษัทยอย 1. ฝายบริหารจะตองมีการศึกษาและประเมินผลการศึกษาเบื้องตน 2. การลงทุนโดยคณะกรรมการบริหารจะเปนผูกลั่นกรองการลงทุนแลวจึงนําเสนอผลการประเมิน พรอมทั้งสรุป ภาวการณลงทุนเพื่อนําเสนอยังคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติโครงการ ซึ่งจะตอเนื่องถึงการพัฒนา โครงการ การขยายการลงทุน และการอนุมัติงบลงทุน 3. นโยบายที่สําคัญของบริษัทยอย ทั้งนี้หากมีการตองจัดตั้งบริษัทยอย หรือยกเลิกบริษัทยอยเพื่อการบริหาร จัดการของบริษัทใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการบริษัทจะเปนผูมีอํานาจอนุมัติดังกลาว 4. คณะกรรมการบริษัท พิจารณาอนุมัติรายการลงทุนที่มีลักษณะเขาขายตามประกาศคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยกําหนด เชน รายการที่เกี่ยวโยงกัน รายการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพย 5. บริษัทยอยตองรายงานผลการประกอบการและการดําเนินงานของธุรกิจที่สําคัญ ประเมินผลโดยเปรียบเทียบ กับเปาหมาย รวมถึงแสดงความคิดเห็น หรือขอเสนอแนะแนวทางการบริหารกิจการของแตละบริษัทยอยเพื่อ ใชประกอบการพิจารณากําหนดนโยบายหรือปรับปรุงสงเสริมใหธุรกิจของบริษัทในเครือมีการพัฒนาและ เจริญเติบโตอยางตอเนื่อง. นโยบายการควบคุมภายใน และนโยบายการบริหารงานสวนกลาง U

คณะกรรมการบริษัทและฝายบริหารใหสายงานตรวจสอบภายในรายงานตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อการทําหนาที่อยางอิสระและรายงานผลการตรวจสอบใหคณะกรรมการบริษัททราบความคืบหนาเปนรายไตร มาส. สําหรับการบริหารงานในบริษัทยอยไดบริหารตามสัดสวนการลงทุน และคณะกรรมการบริษัท มีหนาที่ แตงตั้งผูบริหารที่จะไปปฏิบัติหนาที่กรรมการในบริษัทตางๆ เพื่อใหมีทิศทางที่สอดคลองและเชื่อมโยงในดาน นโยบายและกลยุทธ ทั้งนี้โดยพิจารณาจากความรู มีความเชี่ยวชาญในการบริหารงานในสายงานที่เกี่ยวของ. นโยบายดานการงบประมาณ การทํ า งบประมาณลงทุ นและดํ า เนิน การตองเปนไปตามระเบีย บงบประมาณของแตละบริษัทยอยที่ สอดคลองกับระเบียบงบประมาณของบริษัทฯและการจัดทําและทบทวนงบประมาณฯตองดําเนินการตามกรอบ เวลาและจัดสงขอมูลใหสอดคลองกับการดําเนินการของบริษัท.

การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริษัทมีนโยบายและวิธีการดูแลกรรมการและผูบริหารในการนําขอมูลภายในของบริษัท ซึ่งยังไมเปดเผย ตอสาธารณชนไปใชเพื่อแสวงหาประโยชนสวนตน รวมทั้งการซื้อขายหลักทรัพย ดังนี้:-


87

- ใหความรูแกกรรมการรวมทั้งผูบริหารฝายตางๆ เกี่ยวกับหนาที่ที่ตองรายงานการถือครองหลักทรัพยของตน คู ส มรส และบุ ตรที่ ยั ง ไม บ รรลุ นิ ติ ภ าวะ ตอ สํานั กงานกํากั บ หลักทรัพ ยและตลาดหลั กทรั พย และตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย ตามมาตรา 59 และบทกําหนดโทษ ตามมาตรา 59 และบทกําหนดโทษ ตาม มาตรา 275 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535. - กํา หนดให ก รรมการและผู บ ริ ห ารมี ห น า ที่ ต อ งรายงานการเปลี่ ย นแปลงการถื อ หลั ก ทรั พ ย ต อ สํ า นั กงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพย และ ตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535 ภายในวันทําการถัดไปจากวันที่เกิดรายการเปลี่ยนแปลงและจัดสงสําเนารายงาน นี้ใหแกบริษัทในวันเดียวกับวันที่สงรายงานตอสํานักงาน กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย. - บริ ษั ท จะกํ า หนดให ก รรมการ ผู บ ริ ห าร และผู ป ฏิ บั ติ ง านที่ เ กี่ ย วข อ งที่ ไ ด รั บ ทราบข อ มู ล ภายในที่ เ ป น สาระสําคัญ ซึ่งมีผลตอการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย จะตองระงับการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทเปน ระยะเวลาอยางนอย 1 เดือน กอนที่งบการเงินหรือขอมูลภายในนั้นจะเปดเผยตอสาธารณชน และควรรอคอย อยางนอย 24 ชั่วโมงภายหลังการเปดเผยขอมูลใหแกสาธารณชนแลว รวมทั้งหามไมใหเปดเผยขอมูลที่เปน สาระสําคัญนั้นตอบุคคลอื่น. บริษัทกําหนดบทลงโทษทางวินัยหากมีการฝาฝนนําขอมูลภายในไปใชหาประโยชนสวนตน ซึ่งเริ่มตั้งแต การตักเตือนเปนหนังสือ ตัดคาจาง พักงานชั่วคราวโดยไมไดรับคาจาง หรือใหออกจากงาน ทั้งนี้ การลงโทษจะ พิจารณาจากเจตนาของการกระทําและความรายแรงของความผิดนั้น ๆ.

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง • ความเห็นของคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในของบริษัท บริษัทตระหนักถึงความสําคัญตอการมีระบบการควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยงที่ เหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจ ฝายจัดการจึงไดมอบหมายใหผูตรวจสอบภายในที่ไดรับแตงตั้งเขาปฏิบัติงาน ตรวจสอบ ประเมินความเพียงพอและความเหมาะสมของระบบการควบคุมภายในป 2557 เพื่อใหมั่นใจวาบริษัท สามารถดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งการปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับที่เกี่ยวของ เพื่อใหบริษัทและกลุมบริษัทสามารถบริหารงานไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสอดคลองกับเจตนารมณ ในการดําเนินธุรกิจใหเจริญเติบโตอยางยั่งยืน โปรงใส มีคุณธรรม และสามารถตรวจสอบได สามารถลดหรือ ปองกันความเสี่ยงตาง ๆ. บริษัทและบริษัทยอยมีการกําหนดแนวทางระบบควบคุมภายในที่สอดคลองกับแนวทางการควบคุม ภายในตามมาตรฐานสากลของ COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission).


88

ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2558 ซึ่งมีคณะกรรมการ ตรวจสอบจํานวน 3 ทานเขารวมประชุมดวย คณะกรรมการไดพิจารณาและประเมินความเพียงพอของระบบการ ควบคุมภายในของบริษัท โดยการสอบถามขอมูลจากฝายบริหารในดานตางๆ 2 สวน คือ ระบบงานสินคาคงเหลือ และระบบงานจัดซื้อ จัดจาง จากการดําเนินงานในปที่ผานมา โดยพิจารณาจากผลการตรวจสอบของผูตรวจสอบ ภายในทีแ่ ตงตั้งขึ้น. คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นวา ภาพรวมระบบการควบคุมภายในของระบบคลังสินคาในปจจุบัน ยังคงมีความเพียงพอ โดยมีการปฏิบัติงานเปนไปตามนโยบายและคูมือการปฏิบัติงานของบริษัท ทั้งในเรื่องการ บันทึกรับสินคา การเบิกจาย การดูแลรักษา รวมถึงกระบวนการตรวจนับที่นาเชื่อถือได นอกจากนี้ระบบการ ควบคุมภายในของระบบการจัดซื้อ จัดจาง โดยรวมยังคงมีความเพียงพอ และปฏิบัติงานเปนไปตามนโยบายการ ปฏิบัติงานของบริษัทเชนกัน ซึ่งอาจจะพบขอบกพรองที่เกิดขึ้นอยูบาง อาทิ ใบสั่งซื้อบางรายการ ขาดรายละเอียด เกี่ยวกับปริมาณและราคา และบางรายการมีการลงนามของผูสั่งซื้อไมครบถวน บริษัทยังไมมีนโยบายการอนุมัติ Supplier List จึงทําใหขาดเอกสารการเปดหนาบัญชีผูขาย รวมทั้งเอกสารประกอบของผูขาย ยังไมมีการประเมิน ประสิทธิภาพการใหบริการของผูขายและบางรายมีการดําเนินการสั่งซื้อโดยยังไมมีการจัดทําใบขอสั่งซื้อ. จากขอบกพรองที่พบ บริษัทจะดําเนินการหาแนวทางเพื่อใหพนักงานปฏิบัติตามขอเสนอแนะของผู ตรวจสอบภายในโดยเร็ว. ผูทําหนาที่ตรวจสอบภายในของบริษัท คือ บริษัท ชญตร จํากัด ซึ่งเปนบริษัทอิสระจากภายนอก เพื่อ ทําหนาที่ในการสํารวจและประเมินระบบควบคุมภายในของบริษัท พรอมทั้งรายงานผลการตรวจสอบตอ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้เปนการแตงตั้งโดยมติที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2557 โดยบริษัท ชญตร จํากัดไดมอบหมายให นายฐิติวัชร สุพรรณพงศ เปนผูรับผิดชอบหลักในการปฏิบัติหนาที่ผูตรวจสอบภายในของบริษัท. คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาคุณสมบัติของบริษัท ชญตร จํากัด และนายฐิติวัชร สุพรรณพงศ แลวเห็นวามีความเหมาะสมเพียงพอกับการปฏิบัติหนาที่ดังกลาวเนื่องจากมีความเปนอิสระและมีประสบการณใน การปฏิบัติงานดานการตรวจสอบภายใน โดยคุณสมบัติ ผูสอบระบบการควบคุมภายในของผูดํารงตําแหนงหัวหนา งานตรวจสอบภายใน(ปรากฏตามเอกสารแนบ 3). บริษัท ชญตร จํากัด ไดเขาตรวจสอบระบบการควบคุมภายในของบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 พรอมทั้งทําการศึกษาและประเมินประสิทธิภาพระบบการควบคุมภายในของบริษัทในการปฏิบัติ ตามระเบียบการปฏิบัติงานและระบบการควบคุมภายในที่มีอยูของบริษัทตามที่เห็นวาจําเปน เพื่อประโยชนในการ กําหนดขอบเขตการปฏิบัติงานตรวจสอบใหรัดกุมและเหมาะสม โดยผูตรวจสอบระบบการควบคุมภายในมี


89

ขอสังเกตจากการตรวจสอบ จึงไดเสนอขอคิดเห็นพรอมทั้งขอเสนอแนะเพื่อใหบริษัทดําเนินการแกไขปรับปรุงให เหมาะสมและบริษัทไดปฏิบัติตามขอเสนอแนะของผูตรวจสอบภายในแลว.

• การดําเนินการสอบทานการควบคุมภายในของบริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด หลังจากที่บริษัทไดเขามาลงทุนและเปนผูถือหุนรายใหญของ WCIG บริษัทมีนโยบายปรับปรุง ยกระดับ มาตรฐานการบริหาร การจัดการและการควบคุมภายในใหมีความทันสมัย มีประสิทธิภาพ และมีความโปรงใสมาก ยิ่งขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจในทุก ๆ ดาน และเพื่อใหมีระบบการควบคุมภายในที่ถือปฏิบัติ เชนเดียวกันกับมาตรฐานการควบคุมภายในของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย โดย WCIG ไดรับเกียรติจาก ผูทรงคุณวุฒิซึ่งเปนผูมีความรูความสามารถและประสบการณที่หลากหลายเขามาเปนคณะกรรมการบริษัท. เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2557 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทของ WCIG มีมติอนุมัติโครงสรางองคกรโดย กําหนดใหมีคณะกรรมการยอยขึ้นมา 4 คณะไดแก คณะกรรมการตรวจสอบและบริหารความเสี่ยงคณะ กรรมการบริหาร คณะกรรมการการบริการทางการแพทยและพัฒนาผลิตภัณฑ และคณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาตอบแทน โดยกําหนดขอบเขตและอํานาจหนาที่ของกรรมการแตละคณะเพื่อให WCIG มีการบริหารงาน ใหเปนไปตามมาตรฐานบริษัทชั้นนําในอนาคต เพื่อใหตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และผูถือหุน มีความมั่นใจวา WCIG มีระบบการควบคุมภายในที่ดีเหมาะสม กับกิจการ นอกจากนี้ WCIG มีนโยบายแตงตั้งบริษัทภายนอกมาทําหนาที่เปนผูตรวจสอบภายใน (Internal Audit) และยังมีนโยบายการพิจารณาจัดตั้งสํานักตรวจสอบภายในขึ้นตามโครงสรางองคกรใหมอีกหนวยงานหนึ่ง ดวย เพื่อรวมกันวางแผนการปฏิบัติงานให WCIG มีระบบการควบคุมภายในอยางดีที่สุด. รายชื่อบุคคลผูทรงคุณวุฒิซึ่งเปนกรรมการ WCIG ในปจจุบัน มีดังตอไปนี้ :(1) คณะกรรมการบริษัท 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

นายอภิพร นายณกรณ นางพิสชา นายปรีชา นายสุพรรณ นายธีรวุทธิ์ พญ.ชญาดา ศ.นพ. สมรัตน

ภาษวัธน กรณหิรัญ ขจรเกียรติสกุล นันทนฤมิต เศษธะพาณิช ปางวิรุฬหรักข ชัยบุตร จารุลักษณานันท

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ


90

9. นายสายัณห สตางคมงคล 10. ผศ.สัมพันธ หุนพยนต 11. นพ.พิพัฒน ยิ่งเสรี 12. นายผดุงเดช อินทรลักษณ (2) คณะกรรมการตรวจสอบและบริหารความเสี่ยง

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ

1. นายสายัณห 2. ผศ.สัมพันธ 3. นพ.พิพัฒน 4. ศ.นพ. สมรัตน 5. นายผดุงเดช (3) คณะกรรมการบริหาร

สตางคมงคล หุนพยนต ยิ่งเสรี จารุลักษณานันท อินทรลักษณ

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

1. นายปรีชา 2. นายธีรวุทธิ์ 3. นายณกรณ

นันทนฤมิต ปางวิรุฬหรักข กรณหิรัญ

ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

(4) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 1. ผศ.สัมพันธ

หุนพยนต

2. นายปรีชา 3. นางพิสชา 4. นายณกรณ

นันทนฤมิต ขจรเกียรติสกุล กรณหิรัญ

ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

(5) คณะกรรมการการบริการทางการแพทยและพัฒนาผลิตภัณฑ 1. นพ.พิพัฒน ยิ่งเสรี ประธานกรรมการการบริการทางการแพทยและ พัฒนาผลิตภัณฑ 2. ศ.นพ.สมรัตน จารุลักษณานันท กรรมการการบริการทางการแพทยและ พัฒนาผลิตภัณฑ 3. พญ.ชญาดา ชัยบุตร กรรมการการบริการทางการแพทยและ พัฒนาผลิตภัณฑ 4. นายณกรณ กรณหิรัญ กรรมการการบริการทางการแพทยและ พัฒนาผลิตภัณฑ


91

ตนป 2558 คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทไดพิจารณาความคืบหนาการดําเนินการ ตามนโยบายการปรับปรุงการควบคุมภายในของ WCIG เกี่ยวกับการยกระดับมาตรฐานการบริหาร การจัดการ และการควบคุมภายในของ WCIG ใหมีความทันสมัยมีประสิทธิภาพ โดย WCIGมีมติแตงบริษัท พีแอนแอล อินเท อนอล ออดิท จํากัด เปนผูตรวจสอบภายใน โดยจะเริ่มดําเนินการตรวจสอบตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2558. นอกจากนี้ บริษัทและ WCIG มีนโยบายพิจารณาจัดตั้งสํานักตรวจสอบภายในขึ้นตามโครงสรางองคกร ใหมอีกหนวยงานหนึ่งเพื่อรวมกันวางแผนการปฏิบัติงานให WCIG มีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพตาม มาตรฐานการควบคุมภายในของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ.

การปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีในเรื่องอื่น ๆ บริษัทมีการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียนป 2555 ตามแนวทางที่ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด ยกเวนบางเรื่องที่บริษัทมิไดมีการปฏิบัติตามหลักการดังกลาว โดยมี รายละเอียดและเหตุผลประกอบ ดังนี้:ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1) การสรรหากรรมการ กรรมการชุดยอยและผูบริหารระดับสูงสุด คณะกรรมการสรรหาควรเปนกรรมการอิสระทั้งคณะ คณะกรรมการสรรหาทําหนาที่พิจารณาหลักเกณฑ และกระบวนการในการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมเพื่อดํารงตําแหนงกรรมการและผูบริหาร ระดับสูง รวมทั้งคัดเลือกบุคคลตามกระบวนการสรรหาที่ไดกําหนดไว และเสนอความเห็นตอคณะกรรมการ ซึ่งจะนําเสนอ ที่ประชุมผูถือหุนใหเปนผูแตงตั้งกรรมการ ทั้งนี้ควรเปดเผยหลักเกณฑและขั้นตอนในการสรรหา กรรมการและ ผูบริหารระดับสูงใหทราบ. แนวปฏิบัติของบริษัท บริษัทไมมีคณะกรรมการสรรหา การสรรหากรรมการและผูบริหารระดับสูงสุดเปนอํานาจ หนาที่ของคณะกรรมการบริษัท โดยคณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการ 3 คน และกรรมการอิสระ 3 คน.

คาตอบแทนของผูสอบบัญชี ในป 2557 ที่ประชุมผูถือหุนมีมติแตงตั้ง 1) นายสมคิด เตียตระกูล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2785 หรือ2) นางสุมาลี โชคดีอนันท ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3322 หรือ3) นายธีรศักดิ์ ฉั่วศรีสกุล ผูสอบบัญชีรับ อนุญาตเลขที่ 6624 หรือ4) นางสาวศันสนีย พูลสวัสดิ์ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 6977 เปนผูสอบบัญชีของ บริษัทแหงบริษัท แกรนทธอนตัน จํากัด เปนผูสอบบัญชีของบริษัทและบริษัทยอยสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีป


92

2557 และรอบระหวางกาล 3 ไตรมาส โดยบริษัทและบริษัทยอยไดชําระคาตอบแทนจากการสอบบัญชีใหแก ผูสอบบัญชีเปนเงินจํานวน 1,800,000 บาท โดยไมรวมคาใชจายอื่นที่เกี่ยวของ. คาตอบแทนผูบริหารสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้ พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม คาตอบแทนผูบริหาร ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน ผลประโยชนหลังออกจากงาน รวม

2557

2556

2557

2556

20,243 709 20,952

5,995 207 6,202

13,571 93 13,664

4,271 108 4,379

ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ผูบริหารที่สําคัญ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มี ดังนี้ พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2557 899

ผลประโยชนหลังออกจากงาน

2556 725

2557 573

2556 591

คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน  คาตอบแทนกรรมการ ตามที่ ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2557 เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2557 ไดมีมติอนุมัติกําหนด คาตอบแทนกรรมการบริษัทกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริหารตามรายละเอียดดังนี:้ คาตอบแทน (บาท/ครั้ง)

ประธาน กรรมการ

กรรมการ

คาเบี้ยประชุม

15,000

10,000

ประธาน กรรมการ ตรวจสอบ 15,000

กรรมการ ประธาน กรรมการ ตรวจสอบ กรรมการบริหาร บริหาร 15,000

15,000

10,000


93

ในป 2557 บริษัทมีการจัดประชุมคณะกรรมการจํานวน 8 ครั้ง ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบจํานวน 7 ครั้ง และประชุมคณะกรรมการบริหาร จํานวน 2ครั้ง คาตอบแทนกรรมการ ป 2557 รวมทั้งสิ้นจํานวน 1,575,000 บาทรายละเอียดการเขารวมประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ บริหารของบริษัทสามารถสรุปไดดังนี้:รายชื่อกรรมการ

กรรมการ 1.นายปรีชา นันทนฤมิต 7/8 2. นายปริน ชนันทรานนท 1/1 3. นายธีรวุทธิ์ ปางวิรุฬหรักข 8/8 4. นายโกศล วรฤทธินภา 8/8 5.นายรุจพงศ ประภาสะโนบล 7/8 6. นายชาย วัฒนสุวรรณ 8/8 7. ผศ. สัมพันธ หุนพยนต 8/8

จํานวนครั้งที่เขารวมประชุม กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหาร คาตอบแทน(บาท) 2/2 100,000 2/2 25,000 2/2 80,000 290,000 6/7 355,000 7/7 360,000 7/7 365,000

หมายเหตุ: มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการเขา-ออกจากตําแหนง ไดชี้แจงรายละเอียดไวในหมายเหตุ ขอ 8.1 เรื่องกรรมการบริษัทแลว.  คาตอบแทนผูบริหารบริษัทและบริษัทยอย คาตอบแทน เงินเดือนและคาตอบแทนอื่นๆ รวม

จํานวนคน 5 5

 คาตอบแทนอื่น - ไมมี -

จํานวนเงิน (บาท) 19,329,875 19,329,875


94

รายการระหวางกัน รายการระหวางกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง สินทรัพย หนี้สิน รายไดและคาใชจาย สวนหนึ่งของบริษัทเกิดจากรายการบัญชีกับกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่อยูภายใตการควบคุมของบริษัท หรือสามารถ ควบคุมบริษัททั้งทางตรงและทางออม หรือมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญในการตัดสินใจดานการเงินหรือการ ดําเนินงานของบริษัท. บุคคลที่อาจมีความขัดแยง / ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

1.บริษัท เอนโม จํากัด 1.รายไดคาบริการ ประกอบธุรกิจลงทุนในกิจการ ดานสื่อออนไลน เปนบริษัท ยอยของบริษัทโดยมีสัดสวน การถือหุนรอยละ 99.99 * บริษัทไดขายหุนทั้งหมดของ บริษัท เอนโม จํากัด เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2557 2.คาใชจา ยอื่น 2. บริษัท สเปซเมด จํากัด 1.รายไดคาบริการ ประกอบธุรกิจตัวแทนจําหนาย เครื่องมือและอุปกรณทางการ แพทยโดยมีสัดสวนการถือหุน รอยละ 100.00

มูลคารายการระหวางกันที่มี สาระสําคัญสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557 ของบริษัทและบริษัทยอย (พันบาท) งบการเงิน รวม -

งบการเงิน เฉพาะบริษัท 3,441

-

150

-

16

2.ซื้อสินคา

7,135

3.คาเชา

550

ความสมเหตุสมผลของ การทํารายการและ นโยบายการกําหนดราคา

บริษัทมีรายไดคา บริการจาก การใหบริษัทยอยใชบริการ พื้นที่ในการจัดกิจกรรม ทางการตลาดที่บริเวณ จามจุรสี แควรโดยอัตรา คาบริการเปนไปตามราคาที่ ตกลงกัน บริษัทจางบริษัทยอยจัด กิจกรรมงานวันเด็ก บริษัทมีรายไดคา บริการจาก การใหบริษัทยอยใชพื้นที่ จัดเก็บสินคาและชั้นวาง สินคา โดยอัตราคาบริการ เปนไปตามราคาตลาด บริษัทไดซื้อสินคาจากบริษัท ยอยเพื่อมาจําหนายใหลูกคา โดยซื้อในราคาทุนบวกกําไร สวนเพิ่ม บ ริ ษั ท ไ ด เ ช า อ า ค า ร สํ า นั ก งานของบริ ษั ท ย อ ย


95

บุคคลที่อาจมีความขัดแยง / ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันที่มี สาระสําคัญสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557 ของบริษัทและบริษัทยอย (พันบาท) งบการเงิน รวม

3. บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ประกอบธุรกิจจําหนาย เครื่องมือแพทย ซึ่งมีการถือ หุนโดยญาติกรรมการในบริษัท ยอยสาเหตุความจําเปนในการ รายการระหวางกันเกิดจาก 2 กรณี 1) กรณีบริษัทตองใชบริการ ดานโลจิสติกสกับบริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เพื่อนําสินคาที่บริษัท ไดรับแตงตั้งเปนตัวแทน จําหนายแลว แตยังอยูระหวาง การขอใบอนุญาต (อ.ย.) โดย คาดวารายการดังกลาวจะหมด ไปภายในป 2558 2) กรณีที่บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

ความสมเหตุสมผลของ การทํารายการและ นโยบายการกําหนดราคา

งบการเงิน เฉพาะบริษัท

4.ลูกหนี้อื่น

17

5.เจาหนี้การคา

721

6.เจาหนี้อื่น

54

1.ขายสินคา

123,765

104,014

2.ซื้อสินคา

617,628

589,332

3.ตนทุนอื่น

6,195

5,428

4.ขายสินทรัพย

126

โ ด ย คิ ด ค า เ ช า เ ดื อ น ล ะ 50,000 บาท บริษัทใหบริษัทยอยใช บริการพื้นที่จัดเก็บสินคา และชั้นวางสินคา และยัง ไมไดชําระคาบริการ บริษัทซื้อสินคาจากบริษัท ยอย โดยยังไมถึงกําหนด ชําระเงิน บริษัทยอยใหบริษัทเชา อาคารสํานักงานโดยยังไมถึง กําหนดชําระเงิน บริษัทและบริษัทยอยขาย สินคาใหกับบริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ในราคาตนทุนบวก กําไรสวนเพิ่ม บริษัทและบริษัทยอยไดซื้อ สินคาจากบริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ในราคาตนทุนบวก กําไรสวนเพิ่ม บริษัทและบริษัทยอยมี ตนทุนจากการใชบริการ เครื่องมือแพทยของบริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่น แนล จํากัดเพื่อขายน้ํายา วิเคราะหในหองปฏิบตั ิการ ราคาตามที่ตกลงกัน บริษัทยอยขายตูแชน้ํายา วิเคราะหในหองปฏิบตั ิการ


96

บุคคลที่อาจมีความขัดแยง / ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันที่มี สาระสําคัญสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557 ของบริษัทและบริษัทยอย (พันบาท) งบการเงิน รวม

ยังคงมีภาระผูกพันกับลูกคา ตามสัญญาเรื่องการสงมอบ สินคาจึงจําเปนตองซื้อสินคา จากบริษัท เพื่อนําสงมอบให ลูกคา โดยคาดวารายการ ดังกลาวจะหมดไปภายในป 2558

4.คุณณกรณ กรณหิรัญ

งบการเงิน เฉพาะบริษัท

5.ซื้อสินทรัพย

2,965

2,965

6.คาใชจายอื่น

12,602

12,602

7.ลูกหนี้การคา

14,410

7,936

8.เจาหนี้การคา

139,215

131,000

9.เจาหนี้อื่น

12,144

12,116

1.คาเชา

339

ความสมเหตุสมผลของ การทํารายการและ นโยบายการกําหนดราคา

ใหกับบริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ใน ราคาตนทุนบวกกําไรขั้นตน รอยละ 5 บริษัทซื้อสินทรัพยจาก บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด ในราคา ตนทุนบวกกําไรสวนเพิ่ม บริษัทไดจางบริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ในการนําเขาสินคา ขนสงสินคา เปนตน ในราคา ตามที่ตกลงกัน บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด ซื้อสินคา จากบริษัทและบริษัทยอย โดยยังไมครบกําหนดการ ชําระ บริษัทและบริษัทยอยซื้อ สินคาจากบริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โดยยังไมครบ กําหนดการชําระ บริษัทและบริษัทยอยไดใช บริการเครื่องมือแพทย และ บริการการนําเขาสินคา และ การขนสงจากบริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โดยยังไมครบ กําหนดการชําระ บริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก


97

บุคคลที่อาจมีความขัดแยง / ความสัมพันธกับบริษัท

ลักษณะรายการ

มูลคารายการระหวางกันที่มี สาระสําคัญสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2557 ของบริษัทและบริษัทยอย (พันบาท) งบการเงิน รวม

งบการเงิน เฉพาะบริษัท

กรรมการบริษัทยอย

5.คุณปริน ชนันทรานนท กรรมการบริษัท พนตําแหนง เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2557

6.บริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด

1.คาที่ปรึกษา

1.คาใชจายอื่น

2.เจาหนี้อื่น

ความสมเหตุสมผลของ การทํารายการและ นโยบายการกําหนดราคา

2,100

2,100

50

50

1,139

อินเตอรกรุป จํากัด ซึ่งถือ หุนโดยบริษัทยอย เชาที่ดิน ของคุณณกรณ กรณหิรญ ั เพื่อปลูกสรางเปนสํานักงาน ของบริษัท วุฒิศักดิ์ ฟารมา ซี อินเตอร จํากัด และเปน โรงงานในการบรรจุ ผลิตภัณฑบํารุงผิว และยังใช เปนโกดังเพื่อเก็บบรรจุภัณฑ ตาง ๆ ในราคาตามที่ตกลง กัน บริษัทไดจางคุณปริน ชนันทรานนท เปนที่ปรึกษา ดานธุรกิจใหบริการสื่อ โฆษณา เดือนละ 300,000 บาท บริษัทซื้อบัตรกํานัลของ บริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด เพื่อเปน ของขวัญใหลูกคาของบริษัท สําหรับเทศกาลปใหมโดย จายในราคาตลาด บริษัทไดจางผูสอบบัญชีรับ อนุญาตของบริษัทแหงหนึ่ง เพื่อตรวจสอบบัญชีของ บริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด เพื่อเปน ขอมูลในการตัดสินใจซื้อหุน โดยยังไมถึงกําหนดชําระเงิน


98

การอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงานป 2557 วิเคราะหการดําเนินงานและฐานะทางการเงิน 1) ผลประกอบการของบริษัท ตารางแสดงผลประกอบการเปรียบเทียบ (ป 2557 กับ ป 2556) สรุปไดดังนี้ หนวย : พันบาท รายการ รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ รวมรายไดจากการขายและใหบริการ กําไรกอนดอกเบีย้ และภาษี อัตรากําไร กําไรสุทธิสําหรับป อัตรากําไร สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัท อัตรากําไร

ป 2557 1,165,317 284,931 1,450,248 308,022 21% 251,443 17% 240,725 16%

ป 2556 82,032 76,196 158,228 28,176 16% 26,457 15% 26,457 15%

%เปลี่ยนแปลง 1,321% 274% 817% 993% 850% 810%

ผลประกอบการของบริษัท EFORL และบริษัทยอย ในป 2557 มีรายไดจากการขายและบริการรวม 1,450 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 817 เมื่อเทียบกับป 2556 ทั้งนี้มาจากการเติบโตของรายไดจากการ ขายและบริการจากกลุมธุรกิจตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย. ในเดือนธันวาคม 2557 บริษัทไดขยายการลงทุนไปในกลุมธุรกิจบริการความงาม โดยเปนการลงทุนผาน บจก.ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง (บริษัทยอย) ในสัดสวนรอยละ 60 เพื่อไปลงทุนใน บจก.วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป ทํา ใหบริษัทมีรายไดจากการขายและบริการจากกลุมธุรกิจบริการในป 2557 เพิ่มขึ้นจํานวน 276 ลานบาท. ในป 2557 บริษัทมีกําไรสุทธิรวม 251 ลานบาท (คิดเปนรอยละ 17 ของรายไดจากการขายและบริการ) เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 850 จากป 2556 (ซึ่งมีกําไรสุทธิรวม 26 ลานบาท) สาเหตุหลักเกิดจากบริษัทเริ่มลงทุนใน กลุมธุรกิจตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยในไตรมาสที่ 3 ของป 2556 จึงทําใหบริษัทรับรู รายไดจากธุรกิจนี้เพียงครึ่งหลังของป 2556 คือไตรมาสที่ 3 และ 4 เทานั้น ในขณะที่บริษัทรับรูรายไดจากธุรกิจนี้ ตลอดทั้งป 2557 อีกทั้งบริษัทยังไดรับการแตงตั้งเปนตัวแทนจําหนายอุปกรณและเครื่องมือแพทยชั้นนําหลาย ยี่หอ ผนวกกับการขยายการลงทุนในธุรกิจบริการความงามในปลายป 2557 นี้เอง ทําใหกําไรสุทธิของป 2557 เพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ (มีกําไรเพิ่มขึ้น 225 ลานบาท).


99

2)

สรุปผลประกอบแยกตามกลุมธุรกิจ หนวย : ลานบาท

รายไดตามกลุมธุรกิจ ตัวแทนจําหนายเครื่องมือและ อุปกรณทางการแพทย กําไรขั้นตน อัตรากําไรขั้นตน บริการสื่อโฆษณา กําไรขั้นตน อัตรากําไรขั้นตน บริการความงาม(1 เดือน ในป 2557) กําไรขั้นตน อัตรากําไรขั้นตน อื่น ๆ กําไรขั้นตน อัตรากําไรขั้นตน

ป 2557 1,181

ป 2556 83

%เปลี่ยนแปลง 1,323%

407 34% 25 9 36% 276 100 36% 9 NA.

31 37% 55 12 22% NA. 20 3 15%

1,213% (55%) (25%) NA. NA. (55%)

 ธุรกิจตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย ธุรกิจตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย ดําเนินการโดยบริษัทและบริษัทยอย (“บจก. สเปซเมด”)ซึ่งรายไดจากการขายและบริการในกลุมธุรกิจตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการ แพทยในป 2557 เพิ่มขึ้นรอยละ 1,323 เมื่อเทียบกับปกอน เนื่องจากบริษัทเริ่มลงทุนในกลุมธุรกิจตัวแทน จําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยในไตรมาสที่ 3 ป 2556 จึงทําใหป 2556 นั้น บริษัทรับรูรายไดจาก ธุรกิจนี้เพียงครึ่งปหลัง (ไตรมาสที่ 3 และ 4) ในขณะที่บริษัทรับรูรายไดในธุรกิจนี้เต็มปในป 2557. ป 2557 กําไรขั้นตนสําหรับธุรกิจตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย คิดเปน 407 ลาน บาท เพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ 1,213 เมื่อเปรียบเทียบกับป 2556 แตเมื่อพิจารณาในเชิงอัตรากําไรขั้นตนจะเห็นได วาในป 2557 บริษัทมีอัตรากําไรขั้นตนคิดเปนรอยละ 34 ซึ่งมีสัดสวนที่นอยลงเมื่อเทียบกับป 2556 (อัตรากําไร ขั้นตนรอยละ 37). สาเหตุหลักมาจากตนทุนผลิตภัณฑที่สูงขึ้น กอปรกับเงินบาทไทยมีคาออนลงเมื่อเทียบกับสกุล เงินดอลลาร สรอ.


100

 ธุรกิจบริการสื่อโฆษณา ธุรกิจบริการสื่อโฆษณา ดําเนินงานโดยบริษัทและบริษัทยอย (บจก.เอนโม) มีรายไดจากการใหบริการสื่อ โฆษณาในป 2557 ลดลงอัตรารอยละ 55 เมื่อเทียบกับป 2556 เนื่องจากบริษัทมีนโยบายและพันธกิจเนนการ ดําเนินธุรกิจตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย ซึ่งมีแนวโนมที่ดีและขนาดตลาดที่เขาถึงไดมี ขนาดที่ใหญกวา. บริษัทไดขายหุนสามัญทั้งหมดของ บจก.เอนโม เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2557. ในป 2557 กําไรขั้นตนสําหรับธุรกิจสื่อโฆษณา มีจํานวน 9 ลานบาท ลดลงในอัตรารอยละ 25 เมื่อเทียบ กับป 2556 แมวาอัตรากําไรขั้นตนในป 2557 จะสูงกวาป 2556 (รอยละ 36 เทียบกับรอยละ 22) แตก็มีนัยสําคัญ อยูในเกณฑต่ํา เนื่องจากยอดรายไดและกําไรขั้นตนของธุรกิจนี้ไมสูงนัก.  ธุรกิจบริการความงาม ธุรกิจบริการความงาม ดําเนินการโดย บจก.วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป (ถือหุนโดยบริษัทยอย – บจก. ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง) วันที่ 3 ธันวาคม 2557 บจก.ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง (บริษัทยอย) ไดซื้อหุนสามัญของ บจก.วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป บริษัทจึงรับรูรายไดของธุรกิจบริการความงามเพียงเดือนธันวาคมเดือนเดียวสําหรับป 2557. ดังนั้น รายไดจากการธุรกิจบริการความงามสําหรับงวด 1 เดือนของป 2557 จึงมีเพียง 276 ลานบาท. กําไรขั้นตนสําหรับธุรกิจบริการความงาม สําหรับงวด 1 เดือน หรือธันวาคมของป 2557 มีจํานวน 100 ลานบาท คิดเปนอัตรากําไรขั้นตนรอยละ36 และสัดสวนรายไดของธุรกิจบริการความงามตอรายไดรวมเทากับรอย ละ 19.


101

3)

รายการหลักในงบกําไรขาดทุนบริษัท EFORL และบริษัทยอยป 2557 และป 2556 รายการ

รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ ตนทุนขายและบริการ กําไรขั้นตน กําไรและรายไดอื่น ๆ คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร ตนทุนทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไรสําหรับปจากการดําเนินงาน กําไรสําหรับการดําเนินงานที่ยกเลิก กําไรจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตรประกันภัย – สุทธิภาษี กําไรสําหรับป การแบงปนกําไร สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัท สวนไดเสียทีไ่ มอยูในอํานาจควบคุม

ป 2557 พันบาท % 1,165,317 80% 284,931 20% (942,713) (65%) 507,535 35%

ป 2556 พันบาท 82,032 76,196 (103,577) 54,651

% 52% 48% (65%) 35%

% เปลี่ยนแปลง 1,321% 274% 810% 829%

39,964 4 (130,567) (111,117) (18,689) 287,126

3% (9%) (8%) (1%) 20%

12,537 5 (8,189) (30,823) (75) 28,101

8% (5%) (19%) (0%) 18%

219% 1,494% 261% 24,819% 922%

(37,890) 249,236 211 (4)

(3%) 17% 0% 0%

(1,644) 26,457 -

(1%) 17% -

2,205% 842% NA.

251,447

17%

26,457

17%

850%

26,457 -

810% NA.

3F

240,725 10,718

4F

 รายไดจากการขายและใหบริการ ป 2557 บริษัทมีรายไดจากการขายและบริการ เปนเงิน 1,165 ลานบาทและ 285 ลานบาทตามลําดับ ซึ่งมีอัตราการเติบโตเมื่อเทียบกับป 2556 เปนรอยละ 1,321และรอยละ 274 ตามลําดับ อันเปนผลจากการเติบโต ของธุรกิจตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยและธุรกิจบริการความงาม.

4

กําไรและรายไดอื่น ๆ ป 2557 มาจากกําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทยอย- บจก.เอนโม (25.5 ลานบาท) รายไดดอกเบี้ยรับ (9.4 ลานบาท) และรายไดอื่น (5 ลานบาท). 5 กําไรและรายไดอื่น ๆ ป 2556 มาจากกําไรจากการตอรองราคาซื้อ (5.4 ลานบาท) รายไดดอกเบี้ยรับ (6.1 ลานบาท) และรายไดอื่น ๆ (1 ลาน บาท).


102

 กําไรขั้นตน สําหรับป 2557 บริษัทมีกําไรขั้นตน เปนเงิน 508 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 829 เมื่อเทียบกับปกอน.  คาใชจายในการขายและบริหาร ในป 2557 บริษัทมีคาใชจายในการขายและคาใชจายในการบริหารเปนเงิน 131 ลานบาทและ 111 ลาน บาทตามลําดับ ซึ่งคิดเปนคาใชจายที่สูงขึ้นถึงรอยละ 520 เมื่อเทียบกับปกอน เนื่องจากบริษัทและบริษัทยอยมี การดําเนินงานดานธุรกิจอุปกรณและเครื่องมือทางการแพทยอยางเต็มตัว รวมถึงการดําเนินงานธุรกิจบริการความ งาม ซึ่งทําใหมีการใชคาใชจายดานกิจกรรมดานการตลาดมากกวาปกอนโดยในป 2557 สัดสวนคาใชจายในการ ขายและคาใชจายดานบริหาร คิดเปนรอยละ 9 และรอยละ 8 ตามลําดับเมื่อเทียบกับรายไดรวม.  ตนทุนทางการเงิน ป 2557 บริษัทและบริษัทยอยมีตนทุนทางการเงินรวม 19 ลานบาท ซึ่งเปนสัดสวนรอยละ 1.29 เมื่อ เทียบกับรายไดรวม โดยตนทุนทางการเงินสวนใหญมาจากดอกเบี้ยจายของบริษัทและบริษัทยอยจากการกูยืมเงิน จากสองธนาคารพาณิชยในประเทศ เปนจํานวนเงิน 3,400 ลานบาท เพื่อนํามาลงทุนซื้อหุนสามัญของ บจก.วุฒิ ศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป โดยมีอัตราดอกเบี้ย MLR – 1.000% ตอป.  กําไรสุทธิ ป 2557 บริษัทและบริษัทยอยมีกําไรสุทธิ 251 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 850 จากป 2556 กําไรสวนที่ เปนของผูถือหุนของบริษัทเทากับ 241 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 810 เมื่อเทียบกับปกอน.


103

การวิเคราะหอัตราสวนทางการเงิน (Financial Ratios Analysis) อัตราสวนทางการเงิน อัตราสวนวัดสภาพคลอง (Liquidity Ratios) อัตราสวนทุนหมุนเวียน (Current Ratio) อัตราสวนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio or Acid-Test Ratio) อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร (Profitability Ratios) อัตรากําไรตอยอดขาย (Return On Sales – ROS) อัตราสวนกําไรขั้นตน (Gross Profit Ratio) อัตราผลตอบแทนจากสวนของผูถือหุน (ReturnOn Equity – ROE) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม (Return OnAsset – ROA) กําไรตอหุน (บาท) (Earnings Per Share)-บาท อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน อัตราหมุนเวียนของสินทรัพยถาวร (FixedAsset Turnover/Utilization Ratio) – เทา อัตราหมุนเวียนของสินทรัพยรวม (Total AssetTurnover) – เทา อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน ระยะเวลาในการเก็บหนี้ (Day SalesOutstanding-DSO) – วัน อัตราหมุนเวียนของสินคาคงเหลือ (InventoryTurnover) – วัน อัตราสวนวัดความเสี่ยงหรือความสามารถในการชําระหนี้ (Leverage) อัตราสวนหนี้สินตอทุน (Debt-to-EquityRatio) – ตอ 1.0 ความสามารถในการจายตนทุนทางการเงิน (Times-Interest-Earn หรือ Interest Coverage ratio) – เทา อัตราสวนความสามารถในการชําระหนี้ (Debt ServiceCoverage Ratio) – เทา

ป 2557

ป 2556

0.66 0.43

5.71 4.99

17%

17%

35%

35%

13%

4%

3% 0.0273

3% 0.0029

0.25

6.26

0.2

0.19

123 266

133 735

2.78

0.21

16.36

375.68

17.02

594.07


104

เมื่อเทียบกับป 2556 สภาพคลองของบริษัทในป 2557 ลดต่ําลง (อัตราสวนทุนหมุนเวียน ป 2556 เปน 5.71 ในป 2557 ลดต่ําลงเปน 0.66) เนื่องจากบริษัทมุงเนนในการดําเนินงานดานธุรกิจอุปกรณและเครื่องมือทางการแพทยอยางเต็มตัว ทําให บริษัทมีผลประกอบการเปนที่นาพอใจ โดยมีกําไรตอหุนและROEดีขึ้นกวาปกอน ในแงประสิทธิภาพในดานการดําเนินงานเมื่อเทียบกับสินทรัพยหรือขนาดของบริษัทแลว การใชสินทรัพย ทั้งที่มีตัวตน (Tangible Asset) และไมมีตัวตน (Intangible Asset) จะเห็นไดวาอัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย ถาวรในป 2557 เปน 0.25 เทา ในขณะที่ปกอนเปน 6.26 เทา เนื่องมาจากบริษัทเขาลงทุนในบริษัทยอย (WCIG) ในปลายป 2557 ซึ่งมีสินทรัพยถาวรที่มีมูลคาสูง จากการพิจารณาระยะเวลาในการรับชําระหนี้ จะเห็นไดวาประสิทธิภาพในการเก็บหนี้ ในป 2557 ดีขึ้น กวาปกอน จากเดิมป 2556 มีระยะเวลาในการรับชําระหนี้จากลูกคาเฉลี่ย 133 วัน เปน 123 วัน ในป 2557 อยางไรก็ตามระยะเวลาในการรับชําระหนี้ยังเห็นไดวามีชวงเวลาที่นาน ทั้งนี้เปนเพราะลูกคาดานเครื่องมือและ อุปกรณทางการแพทยสวนใหญ ประมาณรอยละ 65 เปนโรงพยาบาลของรัฐ ซึ่งระบบระเบียบขั้นตอนการวางบิล การสงมอบ การตรวจรับฯ นั้น ตองยึดตามกฎระเบียบการจัดจาง ทําใหระยะเวลาการเก็บหนี้แตกตางจากลูกคาที่ เปนภาคเอกชน. อัตราหมุนเวียนสินคาคงเหลือในป 2557 ลดลงจากปกอน เดิมในป 2556 มีระยะเวลาหมุนเวียนสูงถึง 735 วัน ปรับเหลือ 266 วันในป 2557 เนื่องจากบริษัทมีการวางแผนการจัดซื้อที่ดีขึ้น ในดานอัตราสวนหนี้สินตอทุนนั้น บริษัทมีอัตราสวนที่เพิ่มขึ้น จากเดิมในป 2556 มีอยู 0.21 ตอ 1 เปน 2.78 ตอ 1 ในป 2557 เนื่องจากบริษัทและบริษัทยอยมีการกูยืมเงินจากสถาบันการเงินในปลายป 2557 เพื่อ นํามาลงทุน.


105

ปจจัยหรือเหตุการณทอี่ าจมีผลตอฐานะการเงินหรือการดําเนินงานอยางมีนัยสําคัญใน อนาคต สืบเนื่องมาจากปจจัยความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงดังที่แสดงในบทที่ 3 นั้น ปจจัยหรือเหตุการณที่ อาจมีผลตอฐานะการเงินหรือการดําเนินงานอยางมีนัยสําคัญ โดยบริษัทคํานึงถึงระดับความสามารถในการเขา บริหารจัดการกับปจจัยหรือเหตุการณดังกลาวไวดวย ซึ่งบริษัทไดกําหนดเกณฑลําดับความสําคัญ (Prioritize) ไว ดังนี้ :ระดับ 5 ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1 • • • • • • • •

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

สําคัญที่สุด สําคัญมาก สําคัญ สําคัญปานกลาง สําคัญนอย

การเปนตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย (ระดับ 5). การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบขอบังคับ (ระดับ 3). ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ (ระดับ 3). การพึ่งพิงบุคลากร (ระดับ 4). ภาระหนี้สินและดอกเบี้ย (ระดับ 3). การไมมีอํานาจควบคุมเบ็ดเสร็จในกิจการของ บจก.วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป (ระดับ 2). การแขงขันที่รุนแรงของธุรกิจเสริมความงามในอนาคต (ระดับ 3) และ ธุรกิจผันผวนจากปจจัยภายนอก (ระดับ 4).


106

รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผูถือหุนของบริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด(มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ซึ่ง ประกอบดวย งบแสดงฐานะการเงินรวมณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมงบแสดงการ เปลี่ย นแปลงส ว นของผู ถือหุ นรวม และงบกระแสเงิน สดรวม สําหรับ ปสิ้น สุดวันเดีย วกัน และหมายเหตุส รุป นโยบายการบัญชีที่สําคัญและหมายเหตุเรื่องอื่นๆและขาพเจาไดตรวจสอบงบการเงินเฉพาะของบริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) ซึ่งประกอบดวยงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 งบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน และงบกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน และหมาย เหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญและหมายเหตุเรื่องอื่นๆ ความรับผิดชอบของผูบริหารตองบการเงิน ผูบริหารเปนผูรับผิดชอบในการจัดทําและนําเสนองบการเงินเหลานี้โดยถูกตองตามที่ควรตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผูบริหารพิจารณาวาจําเปนเพื่อใหสามารถ จัดทํางบการเงิน ที่ปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญไมวาจะเกิดการทุจริ ตหรือ ขอผิดพลาด ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชี ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา โดยได ป ฏิ บั ติ ง านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบั ญ ชี ซึ่ ง กํ า หนดให ข า พเจ า ปฏิ บั ติ ต ามข อ กํ า หนดด า น จรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลวางบการเงิน ปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการตรวจสอบเพื่อใหไดมาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจํานวนเงิน และการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใชขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูสอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการ ประเมินความเสี่ยงจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญของงบการเงิน ไมวาจะเกิดจากการ ทุจริตหรือขอผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกลาว ผูสอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับ การจัดทําและการนําเสนองบการเงินโดยถูกตองตามที่ควรของบริษัท เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสม กับสถานการณ แตไมใชเพื่อวัตถุประสงคในการแสดงความเห็นตอประสิทธิผลของการควบคุมภายในของบริษัท การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผูบริหารใชและความสมเหตุสมผลของ ประมาณการทางบัญชีที่จัดทําขึ้นโดยผูบริหาร รวมทั้งการประเมินการนําเสนองบการเงินโดยรวม


107

ขาพเจาเชื่อวาหลักฐานการสอบบัญชีที่ขาพเจาไดรับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใชเปนเกณฑในการแสดง ความเห็นของขาพเจา ความเห็น ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนแสดงฐานะการเงินรวมบริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) และ บริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และผลการดําเนินงานรวมและกระแสเงินสดรวมสําหรับปสิ้นสุดวัน เดียวกัน และแสดงฐานะการเงินเฉพาะของบริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่องอื่น งบการเงินรวมของบริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน)และบริษัทยอย และงบการเงินเฉพาะของ บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน)สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีอื่นโดย แสดงความเห็นอยางไมมีเงื่อนไข และใหสังเกตเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เรื่องภาษีเงินได ตาม รายงานลงวันที่ 26กุมภาพันธ2557 นายธีรศักดิ์ ฉั่วศรีสกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 6624

กรุงเทพมหานคร 27กุมภาพันธ 2558


108

บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด งบแสดงฐานะการเงิน

(มหาชน ) และบริษัทยอย

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม

(หนวย : พันบาท ) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 31 ธันวาคม 2557 31 ธันวาคม

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว - สุทธิ ลูกหนี้การคา - ลูกคาทั่วไป - สุทธิ ลูกหนี้การคา - บริษัทที่เกี่ยวของ ลูกหนี้อื่น - บริษัทที่เกี่ยวของ สินคาคงเหลือ - สุทธิ สวนของลูกหนี้ตามสัญญาเชาการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป ภาษีมูลคาเพิ่มรอเรียกคืน คาเชาจายลวงหนาสวนที่ถึงกําหนดชําระ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยที่ถือไวสําหรับการดําเนินงานที รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน ลูกหนี้ตามสัญญาเชาการเงิน - สุทธิ เงินฝากธนาคารที่มีขอจํากัดในการใช เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทอื่น - สุทธิ คาเชาจายลวงหนาระยะยาว ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยไมมีตัวตน - สุทธิ คาความนิยม สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยที่ไดมาจากการค้ําประกัน ภาษีเงินไดถูกหัก ณ ที่จาย เงินประกันสัญญาเชา คาธรรมเนียมทางการเงินรอตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

6 7 8 5 5 9

339,442 140,781 473,837 14,410 553,520

641,263 5,097 57,543 103,524

113,651 105,236 375,645 7,936 151,909 258,351

619,768 5,097 27,953 -

10

7,265 1,133 2,644 68,334 4,162 1,605,528

6,133 4,032 817,592

7,265 12,292 4,162 1,036,447

3,224 656,042

7,173 36,000 13,530 1,028,367 2,066,076 2,244,430 33,877 100,000 7,106 131,989 90,611 1,588 5,760,747

300 15,436 3,217 86 3,653 2,579 25,271

7,173 1,559,391 36,000 6,123 12,758 7,035 34,232 1,408 1,664,120

78,191 10,851 906 3,653 2,399 96,000

7,366,275

842,863

2,700,567

752,042

14 11

10 12 13 14 15 16 12 23 12

17


109

บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด งบแสดงฐานะการเงิน

(มหาชน ) และบริษัทยอย

หมาย

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม

(หนวย : พันบาท ) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม

หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคาร เจาหนี้การคา - ผูคาทั่วไป เจาหนี้การคา - บริษัทที่เกี่ยวของ เจาหนี้อื่น - บริษัทที่เกี่ยวของ เจาหนี้คาซื้อสินทรัพย รายไดรับลวงหนา สวนของหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระ ประมาณการหนี้สินภายใตโปรแกรม การขายกับลูกคา ภาษีเงินไดคางจาย คานายหนาคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินที่ถือไวสําหรับการดําเนินงานที่ยกเลิ รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน - สุทธิ เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิ ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ผลประโยชนระยะยาวอื่น ประมาณการหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

18 5 5

45,571 307,648 139,215 12,144 7,094 676,438

16,868 118,547 1,190 -

170,261 131,721 13,309 1,560 10

13,053 12,594 1,190 -

19 21

3,949 1,031,579

255 -

266 610,526

255 -

4,524 37,779 39,585 116,712 11,213 2,433,451

1,431 1,173 3,764 143,228

15,319 13,629 11,213 967,814

844 2,573 30,509

1,662 2,368,421 26,279 16,733 153,951 409,446 7,113 2,983,605

312 1,421 126 1,859

46 789,474 1,339 490 252 791,601

312 1,288 87 1,687

5,417,056

145,087

1,759,415

32,196

11

19 21 20 22 12 23


110

บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด งบแสดงฐานะการเงิน

(มหาชน ) และบริษัทยอย

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม

(หนวย : พันบาท ) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม

หนี้สินและสวนของผูถือหุน (ตอ ) สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน - หุนสามัญ มูลคาหุนละ 0.075 บาท (2556 มูลคาหุนละ 0.10 บาท) - ทุนจดทะเบียน 13,800,020,250 หุน - ทุนเรือนหุนที่ออกและรับชําระแลว หุนสามัญ 9,200,013,500 หุน สวนเกินทุนจากการลดทุน สวนเกินทุนมูลคาหุนสามัญ กําไร (ขาดทุน) สะสม - จัดสรรเพื่อเปนสํารองตามกฎหมาย - ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของผูถือหุนบริษัท สวนไดเสียที่ไมอยูในอํานาจควบคุม รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

24

24

25

1,035,001

1,380,002

1,035,001

1,380,002

690,001 29,845 -

920,001 1,801

690,001 29,845 -

920,001 1,801

12,000 206,655 938,501 1,010,718 1,949,219

2,500 (226,526) 697,776 697,776

12,000 209,306 941,152 941,152

2,500 (204,456) 719,846 719,846

7,366,275

842,863

2,700,567

752,042


111

บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน ) และบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม (หนวย : พันบาท ) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 2556

งบการเงินรวม รายไดจากการขายและบริการ รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ รวมรายไดจากการขายและบริการ

หมายเหตุ 5

2557

2556

1,165,317 284,931 1,450,248

82,032 76,196 158,228

967,811 7,609 975,420

28,009 68,533 96,542

(759,600) (183,113) (942,713)

(51,401) (52,176) (103,577)

(622,676) (6,724) (629,400)

(13,688) (46,947) (60,635)

507,535 25,481 9,445 5,038 (130,567) (111,117) (18,689) 287,126 (37,890) 249,236 2,211 251,447

54,651 5,379 6,075 1,083 (8,189) (30,823) (75) 28,101 (1,644) 26,457 26,457

346,020 9,031 2,445 (85,613) (44,420) (6,805) 220,658 (490) 220,168 1,142 221,310

35,907 8,000 5,996 110 (2,696) (25,084) (75) 22,158 22,158 22,158

(4) 251,443

26,457

(4) 221,306

22,158

240,729 10,718 251,447

26,457 26,457

221,310 221,310

22,158 22,158

240,725 10,718 251,443

26,457 26,457

221,306 221,306

22,158 22,158

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไร (บาทตอหุน) จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (พันหุน)

0.0262 9,200,014

0.0044 6,035,713

0.0241 9,200,014

0.0037 6,035,713

กําไรตอหุนปรับลด กําไร (บาทตอหุน) จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (พันหุน)

0.0179 13,466,542

0.0044 6,035,713

0.0164 13,466,542

0.0037 6,035,713

ตนทุนขายและบริการ ตนทุนขาย ตนทุนการใหบริการ รวมตนทุนขายและบริการ กําไรขั้นตน กําไรจากการตอรองราคาซื้อ กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทยอย เงินปนผลรับ รายไดดอกเบี้ยรับ รายไดอื่น คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร ตนทุนทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไรสําหรับปจากการดําเนินงาน กําไรสําหรับการดําเนินงานที่ยกเลิก กําไรสําหรับป กําไร (ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับ กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย - สุทธิจากภาษี กําไร (ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป การแบงปนกําไรสําหรับป สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัท สวนไดเสียที่ไมอยูในอํานาจควบคุม

การแบงปนกําไร (ขาดทุน ) เบ็ดเสร็จสําหรับป สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัท สวนไดเสียที่ไมอยูในอํานาจควบคุม

5, 27

12

5 5, 27 5, 27 5 23 11

19


112

บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน ) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม (หนวย : พันบาท )

หมายเหตุ

ทุนที่ออก และชําระแลว

สวนเกิน มูลคาหุน

สวนของผูถือหุนของบริษัท กําไร (ขาดทุน ) สะสม สํารองตาม ยังไมได สวนเกิน กฎหมาย จัดสรร จากการลดทุน

รวม

สวนไดเสีย ที่ไมอยูใน อํานาจควบคุม

รวม

งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 เพิ่มทุน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ลดทุน สวนไดเสียที่ไมอยูในอํานาจควบคุมเพิ่มขึ้นระหวางป สํารองตามกฎหมาย กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

24

24 25

280,001 640,000 920,001

1,801 1,801

-

2,500 2,500

(252,983) 26,457 (226,526)

31,319 640,000 26,457 697,776

920,001 (230,000) 690,001

1,801 (1,801) -

29,845 29,845

2,500 (2,500) 12,000 12,000

(226,526) 204,456 (12,000) 240,725 206,655

697,776 240,725 938,501

1,000,000 10,718 1,010,718

31,319 640,000 26,457 697,776 697,776 1,000,000 251,443 1,949,219

บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน ) และบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม (หนวย : พันบาท )

หมายเหตุ

ทุนที่ออก และชําระแลว

สวนเกิน มูลคาหุน

สวนเกินทุน จากการลดทุน

กําไร (ขาดทุน ) สะสม สํารองตาม ยังไมได กฎหมาย จัดสรร

รวม

งบการเงินเฉพาะของบริษัท ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 เพิ่มทุน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ลดทุน สํารองตามกฎหมาย กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

24

24 25

280,001 640,000 920,001

1,801 1,801

-

2,500 2,500

(226,614) 22,158 (204,456)

57,688 640,000 22,158 719,846

920,001 (230,000) 690,001

1,801 (1,801) -

29,845 29,845

2,500 (2,500) 12,000 12,000

(204,456) 204,456 (12,000) 221,306 209,306

719,846 221,306 941,152


113

บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน ) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม 2557 2556 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรกอนภาษีเงินได รายการปรับปรุงเพื่อกระทบกําไรกอนภาษีเงินไดเปน เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน ) กิจกรรมดําเนินงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ตัดจําหนายคาธรรมเนียมทางการเงิน ขาดทุนจากการตัดจําหนายอุปกรณ กําไรจากการขายอุปกรณ กลับรายการคาเผื่อดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณ กําไรจากการตอรองราคาซื้อ คาเผื่อ (กลับรายการคาเผื่อ) หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุน (กําไร) ที่ยังไมเกิดขึ้นของเงินลงทุนชั่วคราว กําไรที่เกิดขึ้นจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทยอย ประมาณการหนี้สินผลประโยชนพนักงาน เงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย เงินสดสุทธิไดมาจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน สินทรัพยดําเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น ) ลูกหนี้การคา - ลูกคาทั่วไป ลูกหนี้การคา - บริษัทที่เกี่ยวของ ลูกหนี้อื่น - บริษัทที่เกี่ยวของ สินคาคงเหลือ ภาษีมูลคาเพิ่มรอเรียกคืน คาเชาจายลวงหนา สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินประกันสัญญาเชา สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง ) เจาหนี้การคา - ผูคาทั่วไป เจาหนี้การคา - บริษัทที่เกี่ยวของ เจาหนี้อื่น - บริษัทที่เกี่ยวของ รายไดรับลวงหนา คานายหนาคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เงินสดไดมาจาก (ใชไปใน ) การดําเนินงาน รับคืนภาษีเงินได จายดอกเบี้ย จายภาษีเงินได เงินสดไดมาจาก (ใชไปใน ) กิจกรรมดําเนินงาน

(หนวย : พันบาท ) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 2556

289,337

28,101

221,800

22,158

30,685 2,998 7,110 (6) (3,451) 730 111 (2,271) (25,481) 1,048 (9,445) 18,689

18,311 (3) (5,379) 331 (78) 210 (6,075) 75

10,598 1,268 766 (139) (2,271) 131 (9,031) 6,805

14,999 (3) (13) (78) 162 (8,000) (5,996) 75

310,054

35,493

229,927

23,304

(385,648) (14,410) (253,941) 5,000 220 37,305 (1,188) 991

(10,074) 3,456 137 866 (148,188) 118,547 (148) (11) 78 2,992 (84) (2,740) 246

(350,356) (7,936) (151,909) (274,599) (5,315) 991

(19,657) 437 122 866 (6,606) 12,594 (149) (11) 10,900 2,992 (84) (2,403) 11,405

170,301 20,668 12,144 (23,872) 16,930 10,516 (832) 168 (95,594) (14,299) (12,706) (122,599)

165,729 119,127 13,309 10 14,475 12,093 (126) 165 (234,415) (6,298) (9,789) (250,502)


114

บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน ) และบริษัทยอย งบกระแสเงินสด (ตอ ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม 2557 2556

(หนวย : พันบาท ) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 2556

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากธนาคารที่มีขอจํากัดในการใชลดลง เงินสดรับจากลูกหนี้ตามสัญญาเชาการเงิน ขายเงินลงทุนชั่วคราว ซื้อเงินลงทุนชั่วคราว เงินสดจายเพื่อซื้อสินทรัพย เงินสดจายเพื่อซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดรับจากการขายอุปกรณ เงินปนผลรับ รับดอกเบี้ย เงินใหกูยืมระยะสั้นกับบริษัทที่เกี่ยวของลดลง เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษัทยอย เงินสดจายเงินลงทุนในบริษัทยอย

300 1,810 502,245 (565,358) (10,042) (11,303) 126 14,439 35,000 (3,577,743)

5,298 (5,000) (195) (1,912) 10 4,829 (7,471)

1,810 422,629 (520,358) (4,084) (12,844) 10,187 35,000 (1,516,200)

(5,000) (40) (613) 10 8,000 4,754 900 (44,391)

เงินสดจายเงินลงทุนในบริษัทอื่น เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน

(36,000) (3,646,526)

(4,441)

(36,000) (1,619,860)

(36,380)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคารเพิ่มขึ้น จายชําระหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน จายชําระหนี้เงินกูยืมระยะสั้น เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของลดลง เงินกูยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น เงินสดรับจากสวนไดเสียที่ไมอยูในอํานาจควบคุมในบริษัทยอย เงินสดรับจากการเพิ่มทุน จายคาธรรมเนียมทางการเงิน

45,571 (680) (883,978) 3,400,000 1,000,000 (93,609)

(256) (3,780) 640,000 -

(255) 1,400,000 (35,500)

(256) (3,780) 640,000 -

เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมจัดหาเงิน

3,467,304

635,964

1,364,245

635,964

(301,821) 641,263 339,442

631,769 9,494 641,263

(506,117) 619,768 113,651

610,989 8,779 619,768

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง ) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นป รายการที่ไมกระทบกระแสเงินสด ลูกหนี้ตามสัญญาเชาการเงิน เจาหนี้คาซื้อสินทรัพย

14,438 7,094

-

14,438 1,560

-


115

บริษัท อี ฟอร แอล เอมจํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน วันที่ 31 ธันวาคม2557

1.

2.

ขอมูลทั่วไป บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน)จดทะเบียนเปนบริษัทมหาชนในประเทศไทยและจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ บริษัทดําเนินธุรกิจหลักเปนตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทยและใหบริการสื่อโฆษณาบริษัท ยอยประกอบธุรกิจจําหนายเครื่องมือแพทยและใหบริการดานความงาม ที่อยูของบริษัทตั้งอยูเลขที่ 184 ถนนราชวิถี แขวง บางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ผูถือหุนรายใหญของบริษัทคือ นายศุภชัย วัฒนาสุวิสุทธิ์ U

เกณฑในการจัดทํางบการเงินและงบการเงินรวม 2.1 เกณฑในการจัดทํางบการเงิน งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นเปนทางการเปนภาษาไทยตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ 2543 ตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ที่ออกภายใต พระราชบัญญั ติวิชาชี พบัญชี พ.ศ. 2547 และตามข อกําหนดของคณะกรรมการกํากั บ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยวาดวยการจัดทําและนําเสนอรายงานทางการเงินภายใตพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 การแปลงบการเงินฉบับนี้เปนภาษาอื่น ใหยึดถืองบการเงินที่จัดทําขึ้นเปนภาษาไทย เปนเกณฑ U

งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิม เวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอื่นเปนการเฉพาะ 2.2 มาตรฐานการบัญชีใหม มาตรฐานการบัญชีที่เริ่มมีผลบังคับในปปจจุบันและที่จะมีผลบังคับในอนาคตมีรายละเอียดดังนี้ มาตรฐานการบัญชีที่เริ่มมีผลบังคับในปปจจุบันมีดังนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555)

การนําเสนองบการเงิน

ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555)

งบกระแสเงินสด

ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555)

ภาษีเงินได

ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555)

สัญญาเชา

ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555)

รายได

ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555)

ผลประโยชนของพนักงาน

ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555)

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555)

การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน


116

ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555)

เงินลงทุนในบริษัทรวม

มาตรฐานการบัญชี(ตอ) ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555)

สวนไดเสียในการรวมคา

ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555)

งบการเงินระหวางกาล

ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555)

การดอยคาของสินทรัพย

ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555)

สินทรัพยไมมีตัวตน

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555)

การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ

ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555)

การรวมธุรกิจ

ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2555)

สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิก

ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555)

สวนงานดําเนินงาน

การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15

สัญญาเชาดําเนินงาน - สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา

ฉบับที่ 27

การประเมินเนื้อหาสัญญาเชาที่ทําขึ้นตามรูปแบบกฎหมาย

ฉบับที่ 29

การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ

ฉบับที่ 32

สินทรัพยไมมีตัวตน - ตนทุนเว็บไซต

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1

การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มี ลักษณะคลายคลึงกัน

ฉบับที่ 4

การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม

ฉบับที่ 5

สิ ท ธิ ใ นส ว นได เ สี ย จากกองทุ น การรื้ อ ถอน การบู ร ณะและการปรั บ ปรุ ง สภาพแวดลอม

ฉบับที่ 7

การปรับปรุงยอนหลังภายใตมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 เรื่อง การรายงาน ทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่มีภาวะเงินเฟอรุนแรง

ฉบับที่ 10

งบการเงินระหวางกาลและการดอยคา

ฉบับที่ 12

ขอตกลงสัมปทานบริการ

ฉบับที่ 13

โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา


117

ฉบับที่ 17

การจายสินทรัพยที่ไมใชเงินสดใหเจาของ

ฉบับที่ 18

การโอนสินทรัพยจากลูกคา

แนวปฏิบัติทางการบัญชีสําหรับการบันทึกบัญชีหุนปนผล มาตรฐานการบัญชีตามที่กลาวขางตนไดรับการปรับปรุงและจัดใหมีขึ้นเพื่อใหมีเนื้อหาตรงกันกับมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินระหวางประเทศ ซึ่งโดยสวนใหญเปนการปรับปรุงถอยคําและคําศัพท การตีความและการใหแนวปฏิบัติ ทางการบัญชีกับผูใชมาตรฐาน มาตรฐานการบัญชีดังกลาวไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินนี้

มาตรฐานการบัญชีที่จะมีผลบังคับในอนาคต สภาวิชาชีพบัญชีไดออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและฉบับใหมเปนจํานวนมาก ซึ่งมีผลบังคับใชสําหรับรอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 มาตรฐานการบัญชีดังกลาวไดรับการปรับปรุงหรือจัดใหมีขึ้น เพื่อใหมีเนื้อหาตรงกันกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวางประเทศโดยการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการบัญชีใน ครั้งนี้สวนใหญเปนการปรับปรุงถอยคําและคําศัพท การตีความและการใหแนวปฏิบัติทางการบัญชีกับผูใชมาตรฐาน อยางไรก็ตาม มาตรฐานการบัญชีตามที่กลาวขางตนบางฉบับเปนมาตรฐานการบัญชีที่มีการเปลี่ยนแปลงหลักการ สําคัญที่เกี่ยวของกับบริษัท ซึ่งประกอบดวยมาตรฐานดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน มาตรฐานฉบับปรับปรุงนี้กําหนดใหกิจการตองรับรูรายการกําไรขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัยทันทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ในขณะที่มาตรฐานฉบับเดิมอนุญาตใหกิจการเลือกรับรูรายการดังกลาว ทันทีในกําไรขาดทุน หรือในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือทยอยรับรูในกําไรขาดทุนก็ได มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 เรื่อง งบการเงินรวม มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 กําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการจัดทํางบการเงินรวม โดยใชแทนเนื้อหา เกี่ยวกับการบัญชีสําหรับงบการเงินรวมที่เดิมกําหนดอยูในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 เรื่อง งบการเงินรวมและงบ การเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานฉบับนี้เปลี่ยนแปลงหลักการเกี่ยวกับการพิจารณาวาผูลงทุนมีอํานาจการควบคุม หรือไม กลาวคือ ภายใตมาตรฐานฉบับนี้ผูลงทุนจะถือวาควบคุมกิจการที่เขาไปลงทุนได หากมีสิทธิไดรับหรือมีสวนได เสียในผลตอบแทนของกิจการที่เขาไปลงทุน และสามารถใชอํานาจในการสั่งการกิจกรรมที่สงผลกระทบตอจํานวนเงิน ผลตอบแทนนั้น ได ถึ งแมว าจะมี สัด สว นการถือ หุน หรื อสิ ทธิ ในการออกเสี ยงโดยรวมนอ ยกวา กึ่ง หนึ่ งก็ ตาม การ เปลี่ยนแปลงที่สําคัญนี้สงผลใหฝายบริหารตองใชดุลยพินิจอยางมากในการทบทวนวาบริษัท และบริษัทยอยมีอํานาจ ควบคุมในกิจการที่เขาไปลงทุนหรือไมพิจารณาวาบริษัทใดจะตองมาจัดทํางบการเงินรวม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 เรื่อง การวัดมูลคายุติธรรม มาตรฐานฉบับนี้กําหนดแนวทางเกี่ยวกับการวัดมูลคายุติธรรมและการเปดเผยขอมูลที่เกี่ยวกับการวัดมูลคายุติธรรม กลาวคือ หากกิจการตองวัดมูลคายุติธรรมของสินทรัพยหรือหนี้สินใดตามขอกําหนดของมาตรฐานที่เกี่ยวของอื่น กิจการจะตองวัดมูลคายุติธรรมนั้นตามหลักการของมาตรฐานฉบับนี้ และใชวิธีเปลี่ยนทันทีเปนตนไปในการรับรู ผลกระทบจากการเริ่มใชมาตรฐานนี้


118

จากการประเมินเบื้องตน ฝายบริหารของบริษัทเชื่อวามาตรฐานขางตนจะไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบ การเงิน 2.3 เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมนี้ไดรวมงบการเงินของบริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยที่บริษัทมีอํานาจ ควบคุมหรือถือหุนเกินกวารอยละ 50 ของหุนที่มีสิทธิออกเสียง ดังตอไปนี้ สัดสวนการลงทุน (รอย ละ) บริษัทยอย

บริษัท สเปซเมด จํากัด

2557

2556

100.00

100.00

-

99.99

60.00

-

บริษัท เอนโม จํากัด บริษัท ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง จํากัด

ลักษณะธุรกิจ

ตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพท ดานเกมสออนไลนและบริการสือ่ โฆษณา ลงทุนในบริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด

บริษัท ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง จํากัด ลงทุนใน บริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด ประกอบธุรกิจใหบริการดาน ความงามและธุรกิจแฟรนไชสโดยถือหุนรอยละ 100 ซึ่งมีบริษัทยอย 4 บริษัท ดังตอไปนี้

บริษัทยอย

สัดสวนการลงทุน (รอยละ) 2557

ลักษณะธุรกิจ

บริษัท วุฒิศักดิ์ คอสเมติก อินเตอร จํากัด บริษัท วุฒิศักดิ์ ฟารมาซี อินเตอร จํากัด

99.97 ซื้อมาขายไปเครื่องสําอางและอาหารเสริม ซื้อมาขายไปเครื่องผลิตภัณฑยาและอาหารเสริม 99.99 บริษัท วุฒิศักดิ์ แกรนด อินเตอร จํากัด 99.97 ผูใหบริการเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยสิน บริษัท ดับบลิว. เอส. เซอรจรี ี่ 2014 จํากัด 99.98 ซื้อมาขายไปและใหบริการเสริมความงามโดยการทํา ศัลยกรรมพลาสติกและตกแตง รายการบัญชีระหวางบริษัทกับบริษัทยอยที่มีสาระสําคัญไดถูกตัดรายการในการทํางบการเงินรวมแลว งบการเงินรวมนี้ไดจัดทําขึ้นโดยใชนโยบายการบัญชีเดียวกันสําหรับรายการบัญชีที่เหมือนกันหรือเหตุการณทางบัญชี ที่คลายคลึงกันสําหรับการจัดทํางบการเงินของบริษัท

อัตราสวนสินทรัพยรวมของบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557และ 2556และรายไดรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ที่รวมอยูในงบการเงินรวมสรุปไดดังนี้ รายไดรวมของบริษัทยอยคิด สินทรัพยรวมของบริษัทยอย เปน


119

คิดเปนอัตรารอยละของสินทรัพย รวม ในงบการเงินรวม 2557 2556 บริษัทยอย บริษัท สเปซเมด จํากัด บริษัท เอนโม จํากัด บริษัท ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง จํากัดและบริษัทยอ 3.

1.66 71.82

อัตรารอยละของรายไดรวม ในงบการเงินรวม 2557

19.31 0.93 -

2556

13.86 18.65

33.11 12.02 -

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ 3.1 การรับรูรายได รายไดจากการขายสินคา U

บริษัทและบริษัทยอยรับรูรายไดจากการขายสินคาเมื่อไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เปนสาระสําคัญของความ เปนเจาของของสินคาใหกับผูซื้อแลว รายไดจากการใหบริการ รายไดจากการใหบริการสื่อโฆษณาแสดงมูลคาตามใบแจงหนี้หลังจากหักสวนลดและไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม รายไดจากการใหบริการเกมสออนไลน รับรูเปนรายไดเมื่อลูกคาไดใชสิทธิในการเลนเกมส รายไดจากการใหบริการประเภทเรียกเก็บเงินลวงหนาจากลูกคาจะถูกบันทึกเปนรายไดรับลวงหนาและรับรูเปน รายไดในงวดที่ใหบริการ รายไดจากแฟรนไชสรับรูตามเกณฑคงคางซึ่งเปนไปตามเนื้อหาทางเศรษฐกิจของขอตกลงที่เกี่ยวของ ดอกเบี้ยรับรูตามเกณฑคงคางตามสัดสวนของเวลาโดยคํานึงถึงอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของสินทรัพย รายไดอื่นรับรูตามเกณฑคงคาง 3.2

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายถึง เงินสดในมือและเงินฝากธนาคารทุกประเภทที่มีสภาพคลองสูง (ซึ่งไมมี ขอจํากัดในการใช) และพรอมที่จะเปลี่ยนเปนเงินสดที่แนนอนเมื่อครบกําหนด ซึ่งมีความเสี่ยงในการเปลี่ยนแปลง มูลคานอย

3.3

เงินลงทุนชั่วคราว เงิ น ลงทุ น ชั่ ว คราวถื อ เป น หลั ก ทรั พ ย เ พื่ อ ค า ซึ่ ง แสดงด ว ยมู ล ค า ยุ ติ ธ รรม กํ า ไรหรื อ ขาดทุ น จากการปรั บ มู ล ค า หลักทรัพยรับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

3.4

ลูกหนี้การคาและคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ


120

ลูกหนี้การคาแสดงในราคาตามใบแจงหนี้สุทธิจากคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (ถามี)บริษัทและบริษัทยอยบันทึกคาเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญตามจํานวนหนี้ที่คาดวาจะเรียกเก็บจากลูกหนี้ไมได ทั้งนี้โดยการประมาณจากประสบการณการเรียกเก็บ หนี้ในอดีตควบคูกับการวิเคราะหสถานะปจจุบันของลูกหนี้ 3.5

สินคาคงเหลือ บริษัทและบริษัทยอยตีราคาสินคาคงเหลือตามราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา ราคาทุน คํานวณโดยวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก ตนทุนของการซื้อประกอบดวยราคาซื้อ และคาใชจายที่เกี่ยวของโดยตรงกับการ ซื้อสินคานั้น เชนคาอากรขาเขาและคาขนสงหักดวยสวนลดและอื่นๆ มูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับ ประมาณจากราคา ที่คาดวาจะขายไดตามปกติของธุรกิจหักดวยคาใชจายที่จําเปนในการขาย บริษัทและบริษัทยอยบันทึกคาเผื่อสินคาเคลื่อนไหวชาและสินคาเสียหายโดยพิจารณาจากประสบการณที่ผานมาใน อดีตและขอมูลที่มีอยูในปจจุบัน

3.6

ลูกหนี้ตามสัญญาเชาการเงิน ลูกหนี้ตามสัญญาเชาการเงิน แสดงดวยจํานวนหนี้คงเหลือตามสัญญาหักดวยรายไดทางการเงินรอรับรูและคาเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ บริษัทตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามระยะเวลาคางชําระของลูกหนี้

3.7

เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทยอยในงบการเงินเฉพาะบริษัท แสดงตามวิธีราคาทุน และบริษัทจะบันทึกผลกําไรหรือขาดทุน จากการจําหนายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จในงวดที่มีการจําหนายเงินลงทุนนั้น กรณีที่เงินลงทุนดังกลาวเกิดการ ดอยคา บริษัทจะรับรูผลขาดทุนจากการดอยคาเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

3.8

การรวมธุรกิจ บริษัทบันทึกบัญชีสําหรับการรวมธุรกิจโดยถือปฏิบัติตามวิธีซื้อ บริษัท (ผูซื้อ) วัดมูลคาตนทุนการซื้อธุรกิจดวย ผลรวมของสิ่งตอบแทนที่โอนใหซึ่งวัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรมณ วันที่ซื้อ และจํานวนของสวนของผูที่ไมมีอํานาจ ควบคุมในผูถูกซื้อ ในการรวมธุรกิจแตละครั้ง บริษัทจะวัดมูลคาสวนของผูที่ไมมีอํานาจควบคุมในผูถูกซื้อดวยมูลคา ยุติธรรมหรือมูลคาของสินทรัพยสุทธิที่ระบุไดของผูถูกซื้อตามสัดสวนของหุนที่ถือโดยผูที่ไมมีอํานาจควบคุมนั้น คาความนิยมถูกวัดมูลคา ณ วันที่ซื้อ โดยวัดจากมูลคายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนใหซึ่งรวมถึงการรับรูจํานวนสวน ไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมในผูถูกซื้อหักดวยมูลคาสุทธิ(มูลคายุติธรรม)ของสินทรัพยที่ระบุไดที่ไดมาและหนี้สินที่ รับมาซึ่งวัดมูลคา ณ วันที่ซื้อ หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นของบริษัทที่ถูกซื้อที่รับมาจากการรวมธุรกิจ รับรูเปนหนี้สินหากมีภาระผูกพันในปจจุบันซึ่งเกิดขึน้ จากเหตุการณในอดีตและสามารถวัดมูลคายุติธรรมไดอยางนาเชื่อถือ ตนทุนที่เกี่ยวของกับการซื้อที่เกิดขึ้นซึ่งเปนผลมาจากการรวมธุรกิจ เชน คาที่ปรึกษากฎหมาย คาธรรมเนียมวิชาชีพ และคาที่ปรึกษาอื่นๆ ถือเปนคาใชจายเมื่อเกิดขึ้น บริษัทยอย บริษัทยอยเปนกิจการที่อยูภายใตการควบคุมของกลุมบริษัท การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุมบริษัทมีอํานาจควบคุมทั้ง ทางตรงหรือทางออมในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของกิจการนั้น เพื่อไดมาซึ่งประโยชนจาก กิจกรรมของบริษัทยอย งบการเงินของบริษัทยอยไดรวมอยูในงบการเงินรวม นับแตวันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การ ควบคุมสิ้นสุดลง


121

3.9

นโยบายการบัญชีของบริษัทยอยไดถูกเปลี่ยนตามความจําเปนเพื่อใหเปนนโยบายเดียวกันกับของกลุมบริษัท ผล ขาดทุนในบริษัทยอยจะถูกปนสวนไปยังสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมแมวาการปนสวนดังกลาวจะทําใหสว นไดเสีย ที่ไมมีอํานาจควบคุมมียอดคงเหลือติดลบก็ตาม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ แสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและคาเผื่อการดอยคา (ถามี) คาเสื่อมราคาคํานวณโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใชงาน ดังนี้ าคารและสวนปรับปรุงอาคาร สวนปรับปรุงพื้นที่เชา อุปกรณและระบบสื่อโฆษณาดิจติ อล

20 ป 10 ป 5 ป และตามอายุการใหประโยชนคงเหลือ ของสัญญาติดตั้งโฆษณา เครื่องมือและอุปกรณ 5 ป เครื่องตกแตงและเครื่องใชสํานักงาน 5 ป ยานพาหนะ 5 ป ไมมีการคิดคาเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและสินทรัพยที่อยูระหวางการกอสราง

รายจายเกี่ยวกับการตอเติม การตออายุ หรือการปรับปรุงถือเปนราคาทุนของสินทรัพย สวนคาซอมแซมและคา บํารุงรักษารับรูเปนคาใชจายในรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดขึ้น กําไรและขาดทุนจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ คํานวณโดยเปรียบเทียบจากมูลคาตามบัญชีกับราคา ขาย และรับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

3.10 สินทรัพยไมมีตัวตน โปรแกรมคอมพิวเตอรและลิขสิทธิ์โปรแกรมเกมสออนไลน สินทรัพยไมมีตัวตนซึ่งมีอายุการใชงานจํากัดแสดงในราคาทุน หักคาตัดจําหนายสะสม และคาเผื่อการดอยคา (ถามี) คาตัดจําหนายบันทึกเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ คํานวณโดยวิธีเสนตรงตามเกณฑระยะเวลาที่คาดวา จะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจของสินทรัพยไมมีตัวตนดังนี้ โปรแกรมคอมพิวเตอร 3 - 5 ป และตามอายุการใหประโยชนคงเหลือของสัญญา ติดตั้งสื่อโฆษณา ลิขสิทธิ์โปรแกรมเกมสออนไลน ตามอายุสัญญาใหสิทธิ (2 ป) เครื่องหมายการคา ตราสินคา ชื่อทางการคาหรือบริการเฉพาะกิจการหรือกลุมกิจการที่ไดรับความนิยมและการยอมรับจากกลุมลูกคาใน เชิงพาณิชยโดยไมมีการตัดจําหนาย และมีการทดสอบการดอยคาทุกป


122

สิทธิการขยายกิจการในตางประเทศ สิทธิการขยายกิจการในตางประเทศมาจากการรวมธุรกิจที่สามารถรับรูแยกเปนสินทรัพยไมมีตัวตนรับรูดวยมูลคา ยุติธรรม โดยบริษัทจะมีการทบทวนราคาตามบัญชีใหมในแตละปและปรับปรุงหากการดอยคาเกิดขึ้น สัญญาที่ทํากับลูกคาและความสัมพันธกับลูกคาที่เกี่ยวของ สัญญาที่ทํากับลูกคาและความสัมพันธกับลูกคาที่เกี่ยวของที่ไดมาจากการรวมธุรกิจจะรับรูดวยมูลคายุติธรรม ณ วัน รวมธุรกิจ สัญญาที่ทํากับลูกคาและความสัมพันธกับลูกคาที่เกี่ยวของมีอายุการใหประโยชนที่ทราบไดแนนอนและวัด มูลคาที่ราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสม การตัดจําหนายคํานวณโดยใชวิธีเสนตรงตลอดอายุที่คาดวาจะใหประโยชน ของความสัมพันธกับลูกคา 3.11 การดอยคาของสินทรัพย บริษัทและบริษัทยอยจะประเมินวามีขอบงชี้ของสินทรัพยวามีการดอยคาหรือไม หากมีขอบงชี้วามีการดอยคา บริษัทและบริษัทยอยจะประมาณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพย หากราคาตามบัญชีของสินทรัพยสูงกวามูล คาที่คาดวาจะไดรับคืน บริษัทและบริษัทยอยปรับปรุงลดมูลคาของสินทรัพยนั้นลดลงใหเทากับมูลคาที่คาดวาจะ ไดรับคืน และรับรูผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของ สินทรัพย หมายถึงราคาขายสุทธิหรือมูลคาจากการใชของสินทรัพยนั้นแลวแตจํานวนใดจะสูงกวา 3.12 กําไรหรือขาดทุนจากการดําเนินงานที่ยกเลิก การดําเนินงานที่ยกเลิกเปนสวนประกอบของกลุมที่ถูกขายหรือจัดประเภทไวเพื่อขาย กําไรหรือขาดทุนจากการ ดําเนินงานที่ยกเลิกซึ่งประกอบดวยจากการวัดมูลคาของกําไรขาดทุนกอนและหลังภาษีของการดําเนินงานที่ยกเลิก และการขายสินทรัพยที่จัดประเภทไวเพื่อขาย 3.13 สัญญาเชาระยะยาว - กรณีที่บริษัทเปนผูเชา สัญญาเชาอุปกรณที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไดโอนไปใหกับผูเชาถือเปนสัญญาเชา การเงิน สัญญาเชาการเงินจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนตามมูลคาปจจุบันสุทธิของจํานวนเงินที่ตองจายตามสัญญา เชา โดยจํานวนเงินที่ตองจายจะปนสวนระหวางหนี้สิน และคาใชจายทางการเงินเพื่อใหไดอัตราดอกเบี้ยคงที่ตอ หนี้สินคงคางอยู ภาระผูกพันตามสัญญาเชาหักคาใชจายทางการเงินจะบันทึกเปนหนี้สินระยะยาว สวนคาใชจาย ทางการเงินจะบันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จตลอดอายุของสัญญาเชา สินทรัพยภายใตสัญญาเชาการเงินจะคิดคา เสื่อมราคาตลอดอายุการใชงานของสินทรัพยนั้น สัญญาเชาสินทรัพยโดยที่ความเสี่ยง และผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญตกอยูกับผูใหเชาจะจัดเปน สัญญาเชาดําเนินงาน เงินที่ตองจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงานจะบันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยใชวิธี เสนตรงตลอดอายุของสัญญาเชานั้น คาใชจายที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกสัญญาเชาดําเนินงานกอนหมดอายุการเชา เชน เบี้ยปรับที่ตองจายใหแกผูใหเชา จะบันทึกเปนคาใชจายในรอบระยะเวลาบัญชีที่การยกเลิกนั้นเกิดขึ้น 3.14 โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา


123

บริษัทยอยใหสิทธิพิเศษสําหรับลูกคาที่เปนสมาชิกบัตร โดยถือเปนสวนหนึ่งของรายการขายหรือบริการ โดยลูกคา จะไดรับคะแนนสะสมเพื่อสามารถนําไปใชสิทธิไดในอนาคตเพื่อรับสินคาหรือบริการเปนสวนลดหรือเงินสด โดยไม ตองจายคาตอบแทนตามเงื่อนไขที่กําหนดในบัตร ภายใตการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 13 การวัดมูลคาภาระผูกพันที่กิจการตองจัดหาสินคา หรือบริการในอนาคตพิจารณาจากสิ่งตอบแทนที่ไดรับจาการขายซึ่งปนสวนระหวาง รายการขายและใหบริการ เริ่มแรกซึ่งรับรูเปนรายไดและประมาณการตนทุนในอนาคตของการจัดหารางวัลใหแกลูกคาซึ่งจะรับรูเปนรายไดเมือ่ ลูกคามาใชสิทธิและบริษัทยอยไดปฏิบัติตามสัญญาภาระผูกพันที่จะจัดหารางวัลนั้น บริษัทยอยจะรับรูมลู คาสิ่งตอบแทนของคะแนนสะสมเปนรายไดรอตัดบัญชีและเมื่อลูกคามาใชสิทธิและเมื่อกลุม บริษัทไดปฏิบัติตามภาระผูกพันที่จะจัดหารางวัลนั้นจึงจะรับรูร ายไดรอตัดบัญชีเปนรายได 3.15 ผลประโยชนของพนักงาน ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน เงินเดือน คาจาง โบนัส เงินสมทบกองทุนประกันสังคมและเงินกองทุนสํารองเลี้ยงชีพรับรูเปนคาใชจายเมื่อเกิด รายการ ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน (โครงการสมทบเงิน) บริษัทรวมกับพนักงานของบริษัทไดรวมกันจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบดวยเงินที่พนักงานจายสะสมและ เงินที่บริษัทจายสมทบใหเปนรายเดือน สินทรัพยของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพไดแยกออกจากสินทรัพยของบริษัท เงิน ที่บริษัทจายสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพบันทึกเปนคาใชจายในปที่เกิดรายการ ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน (โครงการผลประโยชน) บริษัทและบริษัทยอยมีภาระสําหรับเงินชดเชยที่ตองจายใหแกพนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึ่ง บริษัทและบริษัทยอยถือวาเงินชดเชยดังกลาวเปนโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานสําหรับพนักงาน หนี้สินตามโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงานคํานวณโดยนักคณิตศาสตรประกันภัยใชวิธีคิดลดแต ละหนวยที่ประมาณการไว (ProjectedUnitCreditMethod) กําไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย (Actuarial gains or losses) เกิดจากการ เปลี่ยนแปลงอัตราการขึ้นเงินเดือนและคาแรงและอื่นๆในการคํานวณผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน รับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 3.16 ภาษีเงินได คาใชจายภาษีเงินไดสําหรับป ประกอบดวย ภาษีเงินไดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดปจจุบัน และภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีรับรูในกําไรหรือขาดทุน เวนแตในสวนที่เกี่ยวกับรายการที่รับรูโดยตรงในสวนของผูถือ หุนหรือกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ภาษีเงินไดปจจุบัน ภาษีเงินไดปจจุบัน ไดแก ภาษีที่คาดวาจะจายชําระหรือจะไดรับชําระ โดยคํานวณจากกําไรหรือขาดทุนประจําปที่ ตองเสียภาษี ซึ่งแตกตางจากกําไรขาดทุนที่ปรากฎในงบการเงิน คูณดวยอัตราภาษีที่ประกาศใชหรือที่คาดวามีบังคับ ใช ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน และรวมรายการการปรับปรุงทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปกอนๆ


124

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีบันทึกโดยคํานวณจากผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหวางมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย และหนี้สินและจํานวนที่ใชเพื่อการคํานวณทางภาษี ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีวัดมูลคาโดยใชอัตราภาษีที่คาดวาจะ ใชกับผลแตกตางชั่วคราวเมื่อมีการกลับรายการโดยใชอัตราภาษีที่ประกาศใชหรือที่คาดวามีผลบังคับใช ณ วันสิ้น รอบระยะเวลารายงาน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะบันทึกตอเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวากําไรเพื่อเสียภาษีในอนาคต จะมีจํานวนเพียงพอกับการใชประโยชนจากผลแตกตางชั่วคราวดังกลาว สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะถูก ทบทวน ณ ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงานและจะถูกปรับลดลงเทาที่ประโยชนทางภาษีจะมีโอกาสถูกใชจริง 3.17 รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย และหนี้สินที่เปนตัวเงินและเปนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ในรายงาน แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กําไรหรือขาดทุนจากการแปลงคาจะบันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 3.18 กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน คํานวณโดยการหารกําไรดวยจํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ออกจําหนายและชําระ แลวในระหวางป 3.19 กําไรตอหุนปรับลด กําไรตอหุนปรับลด คํานวณโดยการหารกําไรดวยจํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ออกจําหนายและชําระแลว ในระหวางปบวกดวยจํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุนสามัญที่บริษัทตองออกเพื่อรองรับการแปลงสภาพตราสารที่ อาจเปลี่ยนเปนหุนสามัญที่เกิดในระหวางป 3.20 สวนงานดําเนินงาน ผลการดําเนินงานของสวนงานที่รายงานตอคณะกรรมการบริหารของบริษัท (ผูมีอํานาจตัดสินใจสูงสุดดานการ ดําเนินงาน) จะแสดงถึงรายการที่เกิดขึ้นจากสวนงานดําเนินงานนั้นโดยตรงรวมถึงรายการที่ไดรับการปนสวนอยาง สมเหตุสมผล 3.21 การใชประมาณการทางบัญชี ในการจัดทํางบการเงินเพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบริหารตองใชการประมาณการและขอ สมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบตอจํานวนเงินที่เกี่ยวกับรายได คาใชจาย สินทรัพยหนี้สิน และการเปดเผย ขอมูลเกี่ยวกับสินทรัพยและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางจากจํานวนที่ไดประมาณการไว 3.22 ประมาณการหนี้สินและคาใชจาย และสินทรัพยที่อาจจะเกิดขึ้น บริษัทและบริษัทยอยจะบันทึกประมาณการหนี้สินและคาใชจายไวในงบการเงิน เมื่อบริษัทและบริษัทยอยมีภาระ ผูกพันตามกฎหมายหรือเปนภาระผูกพันที่คอนขางแนนอนที่มีผลสืบเนื่องจากเหตุการณในอดีต ซึ่งอาจทําใหบริษัท ตองชําระหรือชดใชตามภาระผูกพันนั้น และจํานวนที่ตองชดใชดังกลาวสามารถประมาณไดอยางสมเหตุสมผล สินทรัพยที่อาจเกิดขึ้นจะถูกรับรูเปนสินทรัพยแยกตางหาก เมื่อมีปจจัยสนับสนุนวาจะไดรับคืนแนนอน 4.

ประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ขอสมมติฐาน การใชดุลยพินิจ และการจัดการความเสี่ยงในสวนของทุน 4.1 ประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ขอสมมติฐาน และการใชดุลยพินิจ U


125

4.1.1 การดอยคาของลูกหนี้ บริษัทและบริษัทยอยไดบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพื่อใหสะทอนถึงการดอยคาของลูกหนี้อันเกิดมาจากการ ที่ไมมีความสามารถในการชําระหนี้ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญนั้นเปนการประเมินบนพื้นฐานจาก ความไมแนนอน ในการรับชําระหนี้และพิจารณาโดยผูบริหาร 4.1.2 คาเผื่อสําหรับสินคาเกา และเสื่อมคุณภาพ บริษัทและบริษัทยอยไดประมาณการคาเผื่อสําหรับสินคาเกา และเสื่อมคุณภาพเพื่อใหสะทอนถึงการดอยคา ของสินคาคงเหลือ โดยการประมาณการนั้นจะพิจารณาจากการหมุนเวียนและการเสื่อมสภาพของสินคา คงเหลือประเภทตางๆ 4.1.3 อาคารและอุปกรณ ฝายบริหารเปนผูประมาณการของอายุการใชงานและมูลคาซากของอาคารและอุปกรณของบริษัทและบริษัท ยอย โดยจะทบทวนคาเสื่อมราคาเมื่ออายุการใชงานและมูลคาซากมีความแตกตางไปจากการประมาณการ ในงวดกอน หรือมีการตัดจําหนายสินทรัพยที่เสื่อมสภาพหรือไมไดใชงานอีกตอไป 4.1.4 คาความนิยม และสินทรัพยไมมีตัวตน ในการบันทึกและวัดมูลคาของคาความนิยมและสินทรัพยไมมีตัวตน ณ วันที่ไดมา ตลอดจนการทดสอบการ ดอยคาในภายหลัง ฝายบริหารจําเปนตองประมาณการกระแสเงินสดที่คาดวาจะไดรับในอนาคตของสินทรัพย หรือ หนวยของสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสด รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลดที่เหมาะสมในการคํานวณหามูลคา ปจจุบันของกระแสเงินสดนั้นๆ 4.1.5 สัญญาเชา ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเชาวาเปนสัญญาเชาดําเนินงานหรือสัญญาเชาการเงิน ฝายบริหารไดใชดลุ ย พินิจในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาวา บริษัทและบริษัทยอยไดโอนหรือรับ โอนความเสี่ยงและผลประโยชนในสินทรัพยที่เชาดังกลาวแลวหรือไม 4.1.6 คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย บริษัทและบริษัทยอยพิจารณาคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย เมื่อพบวามูลคายุติธรรมของสินทรัพยดังกลาว ลดลงต่ํากวาทุนอยางมีสาระสําคัญ หรือเปนระยะเวลานาน ซึ่งความมีสาระสําคัญและระยะเวลานั้นขึ้นอยูกับ ดุลยพินิจของฝายบริหาร 4.1.7 ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน (โครงการผลประโยชน) หนี้สินตามโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงานประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ซึ่งขอสมมติฐานในการประมาณการดังกลาวประกอบดวย อัตราคิดลด จํานวนเงินเดือนที่คาดวาจะเพิ่มขึ้นใน อนาคต อัตรามรณะและปจจัยที่เกี่ยวของในเชิงประชากรศาสตรในการกําหนดอัตราคิดลดฝายบริหารได พิจารณาถึงอัตราดอกเบี้ยที่สะทอนถึงสภาพการณทางเศรษฐกิจในปจจุบัน สวนอัตรามรณะใชขอมูลตาราง อัตรามรณะที่เปดเผยทั่วไปในประเทศ อยางไรก็ตามผลประโยชนหลังการเลิกจางงานที่เกิดขึ้นจริงนั้นอาจ แตกตางไปจากที่ประมาณไว 4.1.8 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีรับรูโดยการประมาณการในการประเมินความสามารถในการทํากําไรทาง ภาษีในอนาคตของบริษัทที่นํามาหักกับผลแตกตางชั่วคราวที่สามารถใชประโยชนได นอกจากนั้น ผูบริหารตอง


126

ใชดุลยพินิจในการประเมินผลกระทบของกฏหมายหรือขอจํากัดทางดานเศรษฐกิจหรือความไมแนนอนของ กฏหมายภาษีอากร 4.1.9 คดีฟองรอง บริษัทและบริษัทยอยมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากขอพิพาททางกฎหมายและการถูกฟองรองเรียกคาเสียหาย ตามปกติธุรกิจ ซึ่งฝายบริหารไดใชดุลยพินิจในการประเมินผลของขอพิพาทและคดีที่ถูกฟองรองแลวและตั้งคา เผื่อความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น ในบัญชีในจํานวนที่สมเหตุสมผล ณ วันที่ในงบการเงิน อยางไรก็ตาม ผลที่ เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางไปจากที่ไดมีการประมาณการไว 4.2 การจัดการความเสี่ยงในสวนของทุน วัตถุประสงคของบริษัทในการบริหารทุนนั้นเพื่อดํารงไวซึ่งความสามารถในการดําเนินงานอยางตอเนื่องของบริษัท เพื่อ สรางผลตอบแทนตอผูถือหุนและเปนประโยชนตอผูที่มีสวนไดเสียอื่น เพื่อดํารงไวซึ่งโครงสรางของทุนที่เหมาะสม ในการดํารงไวหรื อปรับโครงสร างของทุน บริ ษัท อาจออกหุน ใหมหรื อออกหุ นกู เพื่อ ปรั บโครงสรา งหนี้ หรือ ขาย สินทรัพยเพื่อลดภาระหนี้ 5.

รายการกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัทมีรายการบัญชีที่เกิดขึ้นกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของกัน บริษัทเหลานี้เกี่ยวของกันโดยการมีผูถือหุนและหรือ กรรมการรวมกัน ดังนั้นงบการเงินนี้จึงแสดงรวมถึงผลของรายการเหลานี้ตามมูลฐานที่พิจารณารวมกันระหวางบริษัทกับ บุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของกัน ซึ่งมูลฐานที่ใชบางกรณีอาจแตกตางจากมูลฐานที่ใชสําหรับรายการที่เกิดขึ้นกับบุคคลหรือ บริษัทที่ไมเกี่ยวของกัน U

ชื่อ

ประเภทธุรกิจ

ลักษณะความสัมพันธ

บริษัท เอนโม จํากัด

ดานเกมสออนไลนและบริการสื่อโฆษณา บริษัทยอย (สิ้นสุดวันที่ 18 กันยายน 2557)

บริษัท สเปซเมด จํากัด

ตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณ ทางการแพทย

บริษัทยอย

บริษัท ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง จํากัด

ดานการลงทุน

บริษัทยอย

บริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด

บริการดานความงามและธุรกิจแฟรนไชส ถือหุนโดยบริษัทยอย

บริษัท วุฒิศักดิ์ คอสเมติก อินเตอร จํากัด

ซื้อมาขายไปเครื่องสําอางและอาหาร เสริม

ถือหุนโดยบริษัทยอยทางออม

บริษัท วุฒิศักดิ์ ฟารมาซี อินเตอร จํากัด ซื้อมาขายไปเครื่องผลิตภัณฑยาและ อาหาร เสริม

ถือหุนโดยบริษัทยอยทางออม

บริษัท วุฒิศักดิ์ แกรนด อินเตอร จํากัด ผูใหบริการเกี่ยวกับการบริหารจัดการ สินทรัพย

ถือหุนโดยบริษัทยอยทางออม


127

บริษัท ดับบลิว. เอส. เซอรจรี ี่ 2014 จํากัด

ซื้อมาขายไปและใหบริการเสริมความ งามโดยการทําศัลยกรรมพลาสติกและ ตกแตง

ถือหุนโดยบริษัทยอยทางออม

บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

ตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณ ทางการแพทย

ถือหุนโดยญาติกรรมการ ของบริษัทยอย

คุณปริน ชนันทรานนท

-

กรรมการบริหาร (ลาออกเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2557)

คุณณกรณ กรณหิรัญ

-

กรรมการบริษัทยอย

รายการบัญชีที่มีสาระสําคัญกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของกันสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้ (หนวย : พันบาท)

งบการเงินรวม

นโยบายการกําหนด ราคา ขายสินคา บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่น แนล จํากัด ตนทุนบวกกําไรสวนเพิ่ม

งบการเงินเฉพาะของ บริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 2557 2556

U

รายไดคาบริการ บริษัท สเปซเมด จํากัด บริษัท เอนโม จํากัด รวม

123,765

31,934

-

-

617,628 617,628

174,923 174,923

104,014

-

U

ซื้อสินคา บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่น แนล จํากัด บริษัท สเปซเมด จํากัด รวม

ราคาตลาด ราคาตามที่ตกลงกัน

16 3,441 3,457

3,715 3,715

589,332 7,135 596,467

12,203 1,485 13,688

ตนทุนบวกกําไรสวนเพิ่ม


128

นโยบายการกําหนด ราคา ตนทุนอื่น บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่น แนล จํากัด บริษัท เอนโม จํากัด รวม U

ขายสินทรัพย บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่น แนล จํากัด ซื้อสินทรัพย บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่น แนล จํากัด คาเชา บริษัท สเปซเมด จํากัด คุณ ณกรณ กรณหริ ัญ เงินปนผลรับ บริษัท สเปซเมด จํากัด ดอกเบี้ยรับ บริษัท เอนโม จํากัด รายไดอื่น บริษัท เอนโม จํากัด ดอกเบี้ยจาย คุณปริน ชนันทรานนท คาที่ปรึกษา คุณปริน ชนันทรานนท คาใชจายอื่น บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่น แนล จํากัด บริษัท เอนโม จํากัด บริษัท วุฒิศักดิ์ คลีนิก อินเตอร กรุปจํากัด

(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของ บริษัท งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 2557 2556

ราคาตามที่ตกลงกัน

ตนทุนบวกกําไรขั้นตน รอยละ 5

6,195 6,195

-

5,428 5,428

-

126

-

-

-

53 53

ตนทุนบวกกําไรสวนเพิ่ม 2,965

-

2,965

-

339

-

550 -

-

ตามที่ประกาศจาย

-

-

-

8,000

รอยละ 5.50 ตอป

-

-

-

33

ราคาตามที่ตกลงกัน

-

-

-

8,553

รอยละ 2.75 ตอป

-

9

-

9

เดือนละ 300,000 บาท

2,100

-

2,100

-

ราคาตามที่ตกลงกัน ราคาตลาด ราคาตลาด

12,602 -

-

12,602 150

16

50

-

50

-

เดือนละ 50,000 บาท ราคาตามที่ตกลงกัน


129

รวม

12,652

-

12,802

16

(หนวย : พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของ บริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 2557 2556 คาตอบแทนผูบริหาร ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน ผลประโยชนหลังออกจากงาน รวม

20,243 709 20,952

5,995 207 6,202

13,571 93 13,664

4,271 108 4,379

ยอดคงเหลือกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของกันที่มีสาระสําคัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557และ 2556มีดังนี้ งบการเงินรวม 2557 2556 ลูกหนี้การคา – บริษัทที่เกี่ยวของ บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ลูกหนี้อื่น – บริษัทที่เกี่ยวของ บริษัท สเปซเมด จํากัด บริษัท ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง จํากัด รวม

14,410

-

7,936

-

-

-

17 151,892 151,909

-

131,000 721 131,721

11,005 1,589 12,594

12,116 1,139 54 13,309

-

เจาหนี้การคา – บริษัทที่เกี่ยวของ บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท สเปซเมด จํากัด รวม

139,215 139,215

เจาหนี้อื่น – บริษัทที่เกี่ยวของ บริษัท อี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท วุฒิศักดิ์ คลีนิก อินเตอรกรุป จํากัด บริษัท สเปซเมด จํากัด รวม

12,144 12,144

ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน

(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 2556

118,547 118,547

-


130

งบการเงินรวม 2557 2556 ผูบริหารสําคัญ - ผลประโยชนหลังออกจากงาน 6.

899

725

573

591

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด U

(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 2556

งบการเงินรวม 2557 2556 เงินสด เงินฝากธนาคาร เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากออมทรัพย เงินฝากประจํา ตั๋วเงินฝาก รวม 7.

(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 2556

5,981

77

149

76

59,742 271,659 2,060 339,442

173 435,826 5,187 200,000 641,263

13,923 99,558 21 113,651

70 419,601 21 200,000 619,768

เงินลงทุนชั่วคราว – สุทธิ U

งบการเงินรวม 2557 2556 เงินลงทุนชั่วคราว กองทุนรวม หุนกู กําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลคา เงินลงทุน สุทธิ

(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 2556

40,637 100,000

5,092 -

5,092 100,000

5,092 -

144 140,781

5 5,097

144 105,236

5 5,097

รายการเคลื่อนไหวสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556ของเงินลงทุนชั่วคราวมีดังนี้


131

งบการเงินรวม 2557 2556 ราคาตามบัญชี-สุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้นจากการรวมธุรกิจ ซื้อระหวางป ขายระหวางป ปรับปรุงมูลคาตามมูลคายุติธรรม ราคาตามบัญชี-สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 8.

5,097 70,410 565,358 (502,245) 2,161 140,781

5,092 5 5,097

5,097 520,358 (422,629) 2,410 105,236

5,092 5 5,097

ลูกหนี้การคา - สุทธิ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556แยกตามอายุหนี้ที่คางชําระไดดังนี้ U

งบการเงินรวม 2557 2556 ยังไมครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ นอยกวา 3 เดือน 3 เดือน –6 เดือน 6 เดือน –12 เดือน มากกวา 12 เดือน รวม หัก : คาเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ สุทธิ 9.

(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 2556

(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 2556

374,996

48,603

334,019

27,663

47,490 35,496 11,434 6,099 475,515 (1,678) 473,837

7,660 734 546 1,556 59,099 (1,556) 57,543

31,831 8,195 1,600 375,645 375,645

249 41 1,239 29,192 (1,239) 27,953

สินคาคงเหลือ – สุทธิ U

งบการเงินรวม 2557 2556 สินคาสําเร็จรูป วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลือง วัสดุบรรจุภัณฑ อื่นๆ

456,573 43,170 49,092 6,535

103,524 -

(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 2556 258,351 -

-


132

รวม หัก : คาเผื่อสินคาคุณภาพ สุทธิ

555,370 (1,850) 553,520

103,524 103,524

258,351 258,351

-

10. ลูกหนี้ตามสัญญาเชาการเงิน – สุทธิ U

(หนวย: พันบาท) งบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 ลูกหนี้ตามสัญญาเชาการเงิน ไมเกิน 1 ป ที่เกิน 1 ป แตไมเกิน 5 ป รวม หัก : รายไดทางการเงินรอรับรู รวม หัก :สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สุทธิ

7,774 7,478 15,252 (814) 14,438 (7,265) 7,173

บริษัทไดทําสัญญาใหเชาเครื่องมือแพทยกับลูกคาเจ็ดราย มีระยะเวลา 2 - 4 ป 11. สินทรัพยที่ถือไวสําหรับการดําเนินงานที่ยกเลิก บริษัทมีสินทรัพยที่จะยกเลิกเนื่องจากไดรับสิทธิในการดําเนินธุรกิจใหบริการสื่อโฆษณาจากสัญญาเชาพื้นที่ภายในอาคาร ศูนยการคาแหงหนึ่ง ซึ่งสิทธิดังกลาวจะสิ้นสุดภายใน 1 ป U

รายละเอียดฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของสวนงานบริการสื่อโฆษณาที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะของบริษัทและ งบการเงินรวม มีดังตอไปนี้ (หนวย : พันบาท) งบการเงินรวม และ งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 สินทรัพย ลูกหนี้การคา สินทรัพยอื่น สินทรัพยสําหรับการดําเนินงานที่ยกเลิก

2,664 1,498 4,162


133

หนี้สิน เจาหนี้การคา หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินสําหรับการดําเนินงานที่ยกเลิก

8,521 2,692 11,213 (หนวย : พันบาท) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท

ผลการดําเนินงานของการดําเนินงานที่ยกเลิก รายไดรวม ตนทุนรวม รายไดอื่นรวม คาใชจายรวม กําไรสําหรับปจากการดําเนินงานที่ยกเลิก

34,314 (21,859) 3,203 (13,447) 2,211

25,054 (15,741) 3,193 (11,364) 1,142

12. เงินลงทุนในบริษัทยอย U

(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท ทุนชําระแลว สัดสวนรอยละการ วิธีราคาทุน ลงทุน 2557 2556 2557 2556 2557 2556 บริษัท สเปซเมด จํากัด บริษัท เอนโม จํากัด บริษัท ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง จํากัด รวม

50,000 1,000,00 0

35,000 33,800 -

100.00 60.00

100.00 99.99

59,391 1,500,000

1,559,391

44,391 33,800 78,191

ในระหวางป 2557 บริษัท สเปซเมด จํากัด ไดเรียกชําระคาหุนสามัญ มูลคาหุนละ 33.33 บาท จํานวน 450,000 หุน เปน เงินจํานวน 15 ลานบาทและ บริษัท เอนโม จํากัด ไดเรียกชําระคาหุนสามัญ มูลคาหุนละ 0.40 บาท จํานวน 3 ลานหุน เปน เงินจํานวน 1.20 ลานบาท


134

เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2557 คณะกรรมการของบริษัทไดอนุมัติจําหนายหุนสามัญของบริษัท เอนโม จํากัด จํานวน 6,999,996 หุน ในราคาหุนละ 5 บาท จํานวน 35 ลานบาทใหกับบุคคลที่ไมเกี่ยวของกัน และไดขายบริษัทดังกลาวแลว เมื่อ วันที่ 18 กันยายน 2557

ในระหวางป 2557 บริษัทไดลงทุนในหุนสามัญของบริษัท ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง จํากัด มีทุนจดทะเบียน 1พันลานบาท และ บริษัทถือหุน รอยละ 60 เพื่อลงทุนในบริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด

เงินลงทุนในบริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2557 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนไดมีมติอนุมัติการเขาซื้อหุนของบริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอร กรุป จํากัด ซึ่งประกอบธุรกิจเกี่ยวกับบริการดานความงามและธุรกิจแฟรนไชส บริษัทยอยลงทุนในหุนบุริมสิทธิจํานวน 53,396 หุน และหุนสามัญ จํานวน 36,418หุน หรือรอยละ 100 ของหุนทั้งหมดโดยตนทุนการซื้อหุนมีมูลคารวม 3,674 ลานบาท มูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินที่รับมา ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2557 ซึ่งเปนวันใกลเคียงที่สุดกับวันที่ซื้อธุรกิจสรุป ไดดังนี้ พันบาท สินทรัพย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุน – ระยะสั้น ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ คาเชาจายลวงหนาสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สินทรัพยหมุนเวียนอื่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน คาเชาจายลวงหนา เครื่องหมายการคา ความสัมพันธกับลูกคา สิทธิการขยายกิจการในตางประเทศ สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยที่ไดมาจากการค้ําประกัน ภาษีเงินไดถูกหัก ณ ที่จาย เงินประกันการเชา หนี้สิน เจาหนี้การคา

96,266 70,410 34,040 212,303 1,586 111,999 1,032,791 10,867 14,807 1,506,461 12,185 523,704 32,385 100,000 71 128,699

130,835


135

รายไดรับลวงหนา หนี้สินตามสัญญาเชาการเงินที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะสั้น ประมาณการหนี้สินภายใตโปรแกรมสงเสริมการขายกับลูกคา คานายหนาคางจาย ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน ประมาณการหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ภาระผูกพันสําหรับผลประโยชนของพนักงาน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ผลประโยชนระยะยาวอื่น หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น มูลคารวมของสินทรัพยสุทธิ คาความนิยม เงินสดจายเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย หัก: เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดของบริษัทยอย เงินสดจายสุทธิเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย

700,311 3,102 877,357 4,784 21,481 13,127 105,572 2,623 153,951 23,863 397,680 17,490 6,819 1,429,579 2,244,430 3,674,009 (96,266) 3,577,743

ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทมีตนทุนที่เกี่ยวของกับการซื้อธุรกิจจํานวน 25 ลานบาทที่เกี่ยวของกับ คาที่ปรึกษากฎหมายภายนอก คาที่ปรึกษาและคาใชจายในการตรวจสอบสถานะทางการเงิน ตนทุนเหลานี้ไดรวมอยูในคาใชจาย ในการบริหารในงบกําไรขาดทุนรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทรับรูหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นที่รับมาจากการรวมธุรกิจ ณ วันที่ซื้อ จํานวน 153.95 ลานบาท อยางไรก็ตาม ผูขายได ทําสัญญาเพื่อรับประกันความไมแนนอนจากหนี้สินดังกลาวจํานวน 100 ลานบาท มีระยะเวลา 2 ปนับแตวันที่ซื้อ บริษัทจึงรับรู สินทรัพยที่ไดมาจากการค้ําประกันจํานวน 100 ลานบาท ณ วันที่ซื้อ ในการจัดทํางบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทไดปรับปรุงรายการมูลคายุติธรรมของสิ่งตอบ แทนที่ไดรับจากการซื้อธุรกิจครั้งนี้ รวมทั้งวัดมูลคาของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมดวยมูลคายุติธรรม และบันทึกผลตาง ระหวางราคาซื้อกับมูลคาของสิ่งตอบแทนที่ไดรับจากการซื้อธุรกิจดังกลาวไวในบัญชี “คาความนิยม” เปนจํานวนเงิน 2,244 ลาน บาท โดยพิจารณาจากขอมูลในรางรายงานของผูประเมินราคาอิสระและปจจัยตางๆ ในปจจุบันที่อาจจะกระทบตอขอมูลดังกลาว แลว อยางไรก็ดี บริษัทมีนโยบายในการทบทวนมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่ไดมาที่ระบุได เชน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ เปนตน และหนี้สินที่รับมาและปนสวนมูลคายุติธรรมของรายการ ณ วันที่ซื้ออยางตอเนื่อง ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) หากไดรับขอมูลใหมเพิ่มเติมภายในหนึ่งปนับจากวันที่มีการซื้อธุรกิจเกี่ยวกับขอเท็จจริงและขอมูลที่สะทอน เหตุการณแวดลอม ที่มีอยู ณ วันที่ซื้อธุรกิจ บริษัทจะทําการปรับปรุงมูลคายุติธรรมดังกลาว หรือการรับรูสินทรัพยหรือ หนี้สินเพิ่มเติมซึ่งสินทรัพยหรือหนี้สินดังกลาวมีอยูแลว ณ วันที่ซื้อธุรกิจ กรณีดังกลาวการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการซื้อธุรกิจจะถูก ปรับปรุงใหมคาความนิยมที่เกิดจากการซื้อธุรกิจนี้ไมสามารถนํามาเปนคาใชจายทางภาษีไดในการซื้อกิจการดังกลาว บริษัทคาดวา จะกอใหเกิดศักยภาพรวมกันในการประกอบธุรกิจ และเปนการขยายขอบเขตของธุรกิจใหมีขนาดใหญขึ้น


136

ในการจัดทํางบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทไดรวมผลการดําเนินงานของ บริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัดและบริษัทยอยตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม 2557 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 รายละเอียดที่ สําคัญมีดังนี้ ลานบาท รายไดจากการขายสินคาและการใหบริการ กําไรสําหรับงวดสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัท

276 16

บริษัทไดรวมผลการดําเนินงานของบริษัทยอยใหมดังกลาวในชวงระหวางวันที่ 1 – 31 ธันวาคม 2557ในการจัดทํางบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557เนื่องจากใกลเคียงกับวันที่ซื้อธุรกิจ (4 ธันวาคม 2557) ผูบริหารของบริษัท พิจารณาวาผลการดําเนินงานรวมในชวงระยะเวลาดังกลาวไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557

เงินลงทุนในบริษัท สเปซเมด จํากัด เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2556 ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนไดมีมติอนุมัติการเขาซื้อหุนของบริษัท สเปซเมด จํากัด จํานวน 50,000 หุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 100 ซึ่งบริษัทไดจายชําระเงินซื้อธุรกิจดังกลาวเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 14.4 ลานบาท มูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่ซื้อและหนี้สินที่รับมาของบริษัท สเปซเมด จํากัด ณ วันที่ซื้อ (วันที่ 19 กันยายน 2556) โดยมี รายละเอียดดังนี้ พันบาท เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น สินคาคงเหลือ เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระค้ําประกัน อุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น ภาษีเงินไดนติ ิคางจาย ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน มูลคารวมของสินทรัพยสุทธิ กําไรจากการตอรองราคาซื้อ เงินสดจายเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย

6,920 44,616 106,980 5,099 1,313 532 13 180 (145,445) (371) (67) 19,770 (5,379) 14,391


137

หักเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดของบริษัทยอย เงินสดจายสุทธิเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย

พันบาท (6,920) 7,471

เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2556 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท มีมติอนุมัติใหบริษัทซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท สเปซเมด จํากัด จํานวน 45,000,000 บาท โดยบริษัท สเปซเมด จํากัด ออกหุนใหมเปนหุนสามัญจํานวน 450,000 หุน มูลคาที่ตราไว หุ น ละ 100 บาท บริ ษั ท สเปซเมด จํ า กั ด ได เ รี ย กชํ า ระเงิ น ค า หุ น บางส ว นในวั น ที่ 2 ตุ ล าคม 2556 เป น จํ า นวนเงิ น 30,000,000 บาท 13. เงินลงทุนในบริษัทอื่น - สุทธิ U

(หนวย : พันบาท) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะของบริษัท ทุนชําระแลว สัดสวนรอยละการลงทุน วิธีราคาทุน 2557 2556 2557 2556 2557 2556 บริษัท แดทโซ เอเชีย คอรปอรเรชั่น จํากัด 200,000 18.00 36,000 8,000 8,000 บริษัท อิเมจิแมกซ จํากัด 108,000 108,000 7.40 7.40 รวม 44,000 8,000 (8,000) (8,000) หัก คาเผื่อการดอยคา สุทธิ 36,000 ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 5/2557 เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2557 คณะกรรมการไดอนุมัติในการจัดทําบันทึก ต อ ท า ยสั ญ ญาซื้ อ ขายหุ น สามั ญ ของบริ ษั ท แดทโซ เอเชี ย คอร ป อร เ รชั่ น จํ า กั ด ซึ่ ง ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ เป น ผู นํ า เข า สิ น ค า เครื่องสําอางและบริการเสริมความงาม และรานขายปลีกเครื่องสําอาง บริษัทลงทุนในหุนสามัญจํานวน 360,000 หุน หรือ รอยละ 18 ของทุนชําระแลว มูลคาหุนละ 100 บาท จํานวน 36 ลานบาท 14. คาเชาจายลวงหนา U

(หนวย : พันบาท) งบการเงินรวม 2557 คาเชาจายลวงหนา ไมเกิน 1 ป ที่เกิน 1 ป แตไมเกิน 5 ป รวม รายการเคลื่อนไหวสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีดังนี้

2,644 13,530 16,174


138

(หนวย : พันบาท) งบการเงินรวม 2557 ราคาตามบัญชี-สุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม บวก เพิ่มขึ้นจากการรวมธุรกิจ หัก คาตัดจําหนาย ราคาตามบัญชี-สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

16,394 (220) 16,174

15. สวนปรับปรุงอาคารและอุปกรณ – สุทธิ U

(หนวย : พันบาท) งบการเงินรวม

2556 ราคาทุน ที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุง อาคาร สวนปรับปรุงพื้นที่เชา อุปกรณและระบบสื่อโฆษณา ดิจิตอล เครื่องตกแตงและเครื่องใช สํานักงาน ยานพาหนะ สินทรัพยระหวางกอสราง รวม หักคาเสื่อมราคาสะสม อาคารและสวนปรับปรุง อาคาร สวนปรับปรุงพื้นที่เชา

เพิ่มขึ้น จากการ รวมธุรกิจ

เพิ่มขึ้น 186

ลดลง

ลดลงจาก การตัด จําหนาย และการ ดําเนินงาน ที่ยกเลิก

โอนเขา (ออก)

-

-

-

83,200 187,402

2557

454

83,200 186,762

83,882

513,707 414,263

2,106 (4,037) 3,791 (29,723)

(54,165)

5,292 -

517,068 418,048

14,106

167,941

1,940 (11,237)

(1,879)

100

170,971

2,412 28,706 7,895 100,854 1,402,474

1,097 2,261 11,381 (44,997)

(56,044)

32,215 (5,392) 4,764 - 1,413,668

37

26,220

965

-

-

-

27,222

-

95,971

5,733

924

-

-

100,780


139

อุปกรณและระบบสื่อโฆษณา ดิจิตอล เครื่องตกแตงและเครื่องใช สํานักงาน ยานพาหนะ รวม หัก คาเผื่อการดอยคาของ สินทรัพย สุทธิ U

U

69,701

135,558

16,726

26,739

52,423

-

142,823

9,783

72,595

4,259

8,914

1,432

-

76,291

1,245 80,766 (4,652)

19,544 349,888 (19,795)

1,052 28,735 -

36,577 8,103

53,855 -

-

21,841 368,957 (16,344)

15,436

1,028,367

การปนสวนคาเสื่อมราคา ตนทุนขาย

0B

คาใชจายในการบริหาร คาเสื่อมราคาสําหรับป

24,583 13,291 3,163 16,454

4,152 28,735

(หนวย : พันบาท)

2556

งบการเงินเฉพาะของบริษัท ลดลงจาก การ ดําเนินงานที่ เพิ่มขึ้น ลดลง ยกเลิก

2557

ราคาทุน อุปกรณและระบบสื่อโฆษณาดิจติ อล เครื่องตกแตงและเครื่องใชสํานักงาน ยานพาหนะ รวม

78,029 11,164 2,412 91,605

3,061 1,485 1,098 5,644

(29,723) (11,074) (40,797)

(48,312) (90) (48,402)

3,055 1,485 3,510 8,050

หักคาเสื่อมราคาสะสม อุปกรณและระบบสื่อโฆษณาดิจติ อล เครื่องตกแตงและเครื่องใชสํานักงาน ยานพาหนะ รวม หักคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย สุทธิ

66,369 8,488 1,245 76,102 (4,652) 10,851

8,728 541 577 9,846 -

(26,739) (8,880) (35,619) 4,652

(48,312) (90) (48,402) -

46 59 1,822 1,927 6,123


140

การปนสวนคาเสื่อมราคา ตนทุนขาย คาใชจายในการบริหาร

1B

12,121 2,715 14,836

คาเสื่อมราคาสําหรับป

8,559 1,287 9,846

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทและบริษัทยอย มีอุปกรณตามสัญญาเชาการเงินโดยมีมูลคาสุทธิตามบัญชีของ สินทรัพยดังกลาว จํานวนเงินประมาณ 9.3 ลานบาทและ 0.8 ลานบาทตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทและบริษัทยอยมีสวนหนึ่งของอุปกรณ ซึ่งคิดคาเสื่อมราคาเต็มมูลคา และยังใช งานอยู มีราคาทุนประมาณ 0.9 ลานบาท และ 6.6 ลานบาทตามลําดับ 16. สินทรัพยไมมีตัวตน – สุทธิ U

(หนวย : พันบาท) งบการเงินรวม

2556 โปรแกรมคอมพิวเตอรและลิขสิทธิ์ โปรแกรมออนไลน เครื่องหมายการคา ความสัมพันธกับลูกคา สิทธิการขยายกิจการในตางประเทศ รวม หักคาตัดจําหนายสะสม โปรแกรมคอมพิวเตอรและลิขสิทธิ์ โปรแกรมออนไลน สุทธิ คาตัดจําหนายสําหรับป

เพิ่มขึ้นจาก การรวม ธุรกิจ

44,393 19,112 1,506,461 12,185 523,704 44,393 2,061,462

(41,176) 3,217

(8,245)

เพิ่มขึ้น

ลดลง

12,864 12,864

(39,304) (39,304)

(1,950)

39,064

ลดลงจาก การ ดําเนินงาน ที่ยกเลิก

(3,924) 33,141 1,506,461 12,185 523,704 (3,924) 2,075,491

2,892

1,857

(9,415) 2,066,076 1,950

2556 ราคาทุน โปรแกรมคอมพิวเตอรและลิขสิทธิ์โปรแกรมออนไลน

2557

18,841

(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท เพิ่มขึ้น ลดลง 2557 12,843

(18,228)

13,456


141

หัก คาตัดจําหนายสะสม โปรแกรมคอมพิวเตอรและลิขสิทธิ์โปรแกรมออนไลน สุทธิ U

U

(17,935) 906

(752)

17,989

163

คาตัดจําหนายสําหรับป

(698) 12,758 752

17. คาธรรมเนียมทางการเงินรอตัดบัญชี U

(หนวย : พันบาท)

คาธรรมเนียมทางการเงินรอตัดบัญชี หักคาตัดจําหนายสะสม สุทธิ

2557 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท 93,609 35,500 (2,998) (1,268) 90,611 34,232

คาตัดจําหนาย

2,998

1,268

คาธรรมเนียมทางการเงินรอตัดบัญชีเปนคาธรรมเนียมทางการเงินในการจัดหาเงินกูยืมระยะยาวของบริษัทและบริษัทยอย ค า ธรรมเนี ย มทางการเงิ น รอตั ด บั ญ ชี ตั ด จํ า หน า ยคํ า นวณโดยวิ ธี อั ต ราดอกเบี้ ย ที่ แ ท จ ริ ง ตามอายุ สั ญ ญาที่ เ กี่ ย วข อ ง โดยประมาณ 5 ป 18. เงินกูยืมระยะสั้นจากธนาคาร U

(หนวย : พันบาท) 2557 งบการเงินรวม 15,000 30,571 45,571

ตั๋วสัญญาใชเงิน หนี้สินภายใตสญ ั ญาทรัสตรีซีท รวม ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2557บริ ษั ท ย อ ยมี ตั๋ ว สั ญ ญาใช เ งิ น และหนี้ สิ น ภายใต สั ญ ญาทรั ส ต รี ซี ท โดยมี อั ต ราดอกเบี้ ย รอยละ MLR-1.25 ตอป และรอยละ 2.52 - 2.98 ตอปตามลําดับ เพื่อใชสําหรับการซื้อสินคา หนี้สินดังกลาวค้ําประกันโดย บริษัท 2B

19. หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน – สุทธิ U

(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 2556

งบการเงินรวม 2557 2556 หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน ไมเกิน 1 ป

1,034

320

274

320


142

เกินกวา 1 ป แตไมเกิน 5 ป รวม หัก ดอกเบี้ยจายรอตัดบัญชี หัก สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สุทธิ

4,856 5,890 (279)

275 595 (28)

46 320 (8)

275 595 (28)

5,611 (3,949) 1,662

567 (255) 312

312 (266) 46

567 (255) 312

บริษัทและบริษัทยอยไดทําสัญญาเชาการเงินกับบริษัทในประเทศหลายแหงเพื่อเชาซื้อรถยนต โดยมีระยะเวลา 48 เดือน 20. ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน U

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม เพิ่มขึ้นจากการรวมธุรกิจ ตนทุนบริการปจจุบัน ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัย จายผลประโยชนพนักงาน ลดลงจากการจําหนายบริษัทยอย ยอดคงเหลือณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม 2557 2556 1,421 1,108 23,863 67 1,048 210 113 36 4 (126) (44) 26,279

1,421

(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 2556 1,288 1,091 131 162 42 35 4 (126) 1,339

1,288

คาใชจายที่รับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังตอไปนี้ งบการเงินรวม 2557 2556 ตนทุนบริการปจจุบัน ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน รวม

1,048 113 1,161

210 36 246

(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 2556 131 42 173

162 35 197

ขอสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ณ วันที่รายงานสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 มี ดังตอไปนี้ งบการเงินรวม (รอยละ)

งบการเงินเฉพาะของบริษัท (รอยละ)


143

อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือน อัตรามรณะ

4.01/ 4.07/ 4.77 5.02/ 5.75/ 5.00 100.00 ของ TMO 2008 (ตารางมรณะไทยป 2551)

4.01 5.02 100.00 ของ TMO 2008 (ตารางมรณะไทยป 2551)


144

21. เงินกูยืมระยะยาว – สุทธิ เงินกูยืมระยะยาวเปนเงินกูยืมที่มีหลักประกันซึ่งบริษัทและบริษัทยอยไดรับจากธนาคารพาณิชยในประเทศสองแหงโดยมีรายละเอียดดังนี้ (หนวย : พันบาท) 2557 อัตรา งบการเงิน ดอกเบี้ยตอ เฉพาะของ เงื่อนไขการชําระคืนเงินตน หลักประกันเพื่อค้ําประกัน งบการเงินรวม ป บริษัท 1. วงเงินกู 1,400 ลาน MLR ลบ จายชําระคืนเงินกู 400 ลานบาทภายในวันที่ 30 - ค้ําประกันรวมโดยบริษัทอี ฟอร แอล อินเตอรเนชั่นแนล 1,400,000 1,400,000 บาท รอยละ1 ธันวาคม 2558 เงินกูยืมสวนที่เหลือผอนชําระ จํากัด คืนเปนรายไตรมาสๆละ 52.63 ลานบาท เริ่ม - ค้ําประกันโดยกรรมการสองทาน ชําระงวดแรกในเดือนมีนาคม 2558 จนถึงเดือน กันยายน 2562 2,000,000 2. วงเงินกู 2,000 ลาน MLR ผอนชําระคืนเปนรายไตรมาสๆละ 105.26 ลาน - ค้ําประกันรวมเปนจํานวนรอยละ 60 ของหนี้สินทั้งหมด บาท บาท เริ่ ม ชํ า ระงวดแรกในเดื อ นมี น าคม 2558 โดยบริ ษั ท อี ฟอร แอล เอม จํ า กั ด (มหาชน) และค้ํ า จนถึงเดือนกันยายน 2562 ประกั น หนี้ สิ น ทั้ ง หมด โดยบริ ษั ท ดั บ บลิ ว ซี ไ อ โฮลดิ้ ง จํากัด บริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอร กรุป จํากัด บริษัท วุฒิศักดิ์ คอสเมติก อินเตอร จํากัด และบริษัท วุฒิศักดิ์ ฟารมาซี อินเตอร จํากัด - ค้ําประกันโดยกรรมการ - จดจํานองที่ดินและอาคารของสํานักงานใหญของบริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอร กรุป จํากัด รวม 3,400,000 1,400,000 หัก สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป (1,031,579) (610,526) เงินกูยืมระยะยาว – สุทธิ 2,368,421 789,474


145

การเปลี่ยนแปลงของเงินกูยืมระยะยาวสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีดังนี้ (หนวย : พันบาท) 2557 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม บวก กูเพิ่มเติม 3,400,000 1,400,000 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 3,400,000 1,400,000 ภายใตสัญญาเงินกู บริษัทและบริษัทยอยตองปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินบางประการตามที่ระบุในสัญญา เชน การดํารง อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน และอัตราสวนความสามารถในการชําระหนี้ใหเปนไปตามสัญญา เปนตน 22. ผลประโยชนระยะยาวอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทยอยมีผลประโยชนระยะยาวอื่นจํานวน 16.73 ลานบาท ซึ่งบริษัทยอยจายเงินสมทบเขา กองทุนของบริษัทใหกับพนักงาน U

23. ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและภาษีเงินได 23.1 ภาษีเงินได ภาษีเงินไดรับรูสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบดวย U

ภาษีเงินไดงวดปจจุบัน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี รวม

กําไรกอนภาษี อัตราภาษี ภาษีคํานวณจากอัตราภาษี ผลกระทบ : คาใชจายที่ไมสามารถหักภาษี รายไดที่ไมตองเสียภาษีและคาใชจาย หักเพิ่มได อื่น ภาษีเงินได อัตราภาษีเงินไดที่แทจริง (รอยละ)

งบการเงินรวม 2557 2556 27,530 1,717 10,360 (73) 37,890 1,644

(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 2556 490 490 -

งบการเงินรวม 2557 2556 289,337 28,101 20 20 57,867 5,620

(หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557 2556 221,800 22,158 20 20 44,360 4,432

1,764

(55)

1,340

(23)

(34,165) 12,424 37,890 13.10

(4,445) 524 1,644 5.85

(45,210) 490 0.22

(4,409) -

ที่


146

23.2 ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสามารถวิเคราะหไดดังนี้ (หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2557. 2556

งบการเงินรวม 2557 2556 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สุทธิ

40,233 (415,802) (375,569)

86 86

6,356 (6,846) (490)

-

การเปลีย่ นแปลงในสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี มีรายละเอียดดังนี้ (หนวย : พันบาท) งบการเงินรวม บันทึกเปนรายได (คาใชจาย) 1 มกราคม 2557 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี จาก : คาเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ คาเผื่อสินคาเสียหาย หนี้สินผลประโยชนพนักงาน ผลประโยชนระยะยาวอื่น ประมาณการหนี้สินภายใต โปรแกรม สงเสริมการขายกับลูกคา ประมาณการคารื้อถอน คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย คาเสื่อมราคาของสวนปรับปรุง อาคารเชา หนี้สินหมุนเวียนอื่น กําไรในสินคาคงเหลือ

63 23 -

เพิ่มขึ้นจาก การรวม ธุรกิจ

13 561 4,648 3,495

งบกําไร ขาดทุน

สวนของ ผูถือหุน

31 ธันวาคม 2557

154 (461)

-

230 100

342 (152)

-

5,013 3,343

-

905 237 3,269

-

19,555 884 609

957 -

239 3,959

(52) (2) (690)

-

17,703 810 -

1,852 74 609


147

86

32,385

6,088 7,762

-

-

18,122

-

18,122

-

397,680 397,680

18,122

-

397,680 415,802

ขาดทุนสะสมยกมา

หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี จาก : คาธรรมเนียมทางการเงินรอตัด บัญชี ผลแตกตางชั่วคราวจากการรวม ธุรกิจ

-

6,088 40,233

(หนวย : พันบาท)

1 มกราคม 2557 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจาก : หนี้สินผลประโยชนพนักงาน ขาดทุนสะสมยกมา หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจาก : คาธรรมเนียมทางการเงินรอตัดบัญชี

งบการเงินเฉพาะของบริษัท บันทึกเปนรายได (คาใชจาย) งบกําไร สวนของ ขาดทุน ผูถือหุน

31 ธันวาคม 2557

-

268

-

268

-

6,088 6,356

-

6,088 6,356

-

6,846

-

6,846

-

6,846

-

6,846

24. ทุนเรือนหุน U

ในการประชุมสามัญผูถือหุน เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2557 ผูถือหุนมีมติใหลดทุนจดทะเบียนของบริษัทจาก 1,380,000,000 บาท เปน 1,035,000,000 บาท โดยลดมูลคาหุนที่ตราไวจากราคาหุนละ 0.10 บาท เปนมูลคาหุนละ 0.075 บาท เพื่อลด ขาดทุนสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 โดยนําไปลดขาดทุนสะสมจํานวน 201.96 ลานบาท และทําใหเกิดสวนเกินทุน จากการลดมูลคาหุนจํานวน 29.85 ลานบาท บริษัทไดดําเนินการลดทุนจดทะเบียนและมูลคาหุนของบริษัทตอกรมพัฒนา ธุรกิจการคาเรียบรอยแลวเมื่อวันที่ 21 กรกฏาคม 2557 ในการประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2556 ที่ประชุมมีมติอนุมัติใหลดทุนจดทะเบียนหุน สามัญของบริษัทจาก 432,000,000 บาท เปน 280,000,900 บาท (โดยการลดหุนสามัญที่ยังไมไดออกจําหนายจํานวน


148

1,519,991,000 หุน มูลคาหุนละ 0.10 บาท) บริษัทไดจดทะเบียนลดทุนกับกรมพัฒนาธุรกิจการคาเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2556 ในการประชุมดังกลาว ที่ประชุมมีมติอนุมัติให 1) เพิ่มทุนจดทะเบียนหุนสามัญของบริษัทจาก 280,000,900 บาท เปน 1,380,002,0250 บาท (โดยการออกและเสนอขายหุนสามัญใหมจํานวน 11,000,011,250 หุน มูลคาหุนละ 0.10 บาท) และ 2) อนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ (AIM-W2) โดยจัดสรรใหแก ก) ใหผูถือหุนเดิมไมเกิน 1,400,004,500 หุน ตามสัดสวนการถือหุนเดิม 2:1 ข) บุคคลในวงจํากัด (Private Placement) ไมเกิน 5,000,000,000 หุน ค) รองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนที่ออกใหกับผูถือหุนตาม ก และ ข ตามสัดสวนการถือหุน เดิม 2:1 จํานวนไมเกิน 4,600,006,750 หุน เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2556 บริษัทไดจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกรมพัฒนาธุรกิจ การคาณ วันที่ 30 มิถุนายน 2556 บริษัทไดรับเงินเพิ่มทุนจากการออกหุนใหบุคคลในวงจํากัด จํานวน 500 ลานบาท และ ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 บริษัทไดรับเงินเพิ่มทุนจากการออกหุนใหผูถือหุนเดิม จํานวน 139 ลานบาท และหุนสวนที่ เหลือจากการจัดสรรใหผูถือหุนเดิมไดจัดสรรใหกับบุคคลในวงจํากัด จํานวน 1 ลานบาท รวมเปน 140 ลานบาท บริษัทไดจด ทะเบียนเพิ่มทุนกับกรมพัฒนาธุรกิจการคาเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2556 รายการเคลื่อนไหวของทุนจดทะเบียน และทุนที่ออกและชําระเต็มมูลคาสําหรับป 2557 และ 2556 แลวมีดังนี้

ทุนจดทะเบียน

วันที่ไดรับอนุมตั ิ

จํานวนพันหุน

มูลคาหุนละ (บาท)

พันบาท

4,320,000

0.100

432,000

(1,519,991)

0.100

(151,999)

11,000,011

0.100

1,100,001

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

13,800,020

0.100

1,380,002

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ลดทุน

13,800,020

0.100

1,380,002

13,800,020

0.025

345,000

13,800,020

0.075

1,035,002

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ลดทุน เพิ่มทุน

17 มิถุนายน 2556 17 มิถุนายน 2556

18 เมษายน 2557

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ทุนที่ออกและชําระเต็มมูลคาแลว

วันที่ไดรับอนุมตั ิ

จํานวนพันหุน

มูลคาหุนละ (บาท)

พันบาท


149

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ลดทุน

17 มิถุนายน 2556

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ลดทุน ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 25. สวนเกินมูลคาหุนและสํารองตามกฎหมาย สวนเกินมูลคาหุน

18 เมษายน 2557

2,800,009

0.100

280,001

6,400,005

0.100

640,000

9,200,014 9,200,014

0.100 0.100

920,001 920,001

9,200,014

0.025

230,000

9,200,014

0.075

690,001

U

ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุนสูงกวามูลคาหุน ที่จดทะเบียนไว บริษัทตองนําคาหุนสวนเกินนี้ตั้งเปนทุนสํารอง (“สวนเกินมูลคาหุน”) สวนเกินมูลคาหุนนี้ จะนําไปจายเปน เงินปนผลไมได สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะตองจัดสรรทุนสํารอง (“สํารอง ตามกฎหมาย”) อยางนอยรอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาสํารองดังกลาวมี จํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจายเปนเงินปนผลไมได 26. ใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุน 1) ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่จัดสรรใหแกผูถือหุนเดิมของบริษัท (EFORL-W2) ประเภทของใบสําคัญแสดงสิทธิ : ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ ครั้งที่ 2 ที่จัดสรร ใหแกผูถือหุนสามัญเดิมของบริษัท(“ใบสําคัญแสดงสิทธิ ครั้งที่ 2” หรือ “EFORL-W2”) จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกและเสนอขาย : 4,599,606,717 หนวย อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ : 3 ป นับตั้งแตวันที่ออกและเสนอขาย วันที่ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ : วันที่ 23 สิงหาคม 2556 อัตราการใชสิทธิ : ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวยตอ 1 หุนสามัญใหม ราคาการใชสิทธิ : ราคาการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิจะเทากับ 0.10 บาทตอหุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.10 บาท) จํานวนคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ : 4,599,606,717 หนวย 2556 การออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิของบริษัท มีรายละเอียดดังนี้ U


150

ประเภทของ ใบสําคัญแสดง สิทธิ

วันที่ออกและ เสนอขาย ใบสําคัญแสดง สิทธิ

EFORL – W2

23 สิงหาคม 2556

ราคาใชสิทธิ อัตราการใชสิทธิ จํานวนหุน (บาทตอ ใบสําคัญแสดง ที่ถูกใชสิทธิ (หุน) หุน) สิทธิตอหุนสามัญ

0.10

1:1

-

จํานวนหุนคงเหลือ เพื่อรองรับการใช สิทธิ (หุน)

กําหนดการใช สิทธิ

4,600,006,750

22 สิงหาคม 2559

27. คาใชจายตามลักษณะ U

(หนวย : พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 2557 2556 ซื้อสินคา เงินเดือนและผลประโยชนอื่นของพนักงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ตนทุนสวนแบงรายได คานายหนา คาเดินทาง ขาดทุนจากการตัดจําหนายอุปกรณ การเปลี่ยนแปลงในสินคาสําเร็จรูป

1,053,014 128,592 30,685 11,661 44,816 18,303 3,594 (270,689)

166,639 21,508 18,311 46,483 393 1,345 (99,895)

876,215 47,332 10,598 11,661 31,751 13,407 3,594 (254,806)

11,598 14,999 46,483 260 -

28. เงินกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ U

บริษัทไดจดทะเบียนจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงานตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพ.ศ. 2530 ตาม ระเบียบกองทุนบริษัทจายสมทบเขากองทุนนี้เทากับสวนที่พนักงานจายในอัตรารอยละ 2 ของเงินเดือนพนักงาน บริษัทได แตงตั้ง บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุนทิสโก จํากัด เปนผูจัดการกองทุน บริษัทจายเงินสมทบเขากองทุนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 เปนจํานวนเงิน 0.32 ลานบาท และ 0.13 ลานบาท ตามลําดับ

29. การสงเสริมการลงทุน U


151

บริษัทไดรับสิทธิพิเศษจากการไดรับการสงเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติการสงเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 ตามบัตร สงเสริมเลขที่ 1784 (7)/2549 ในธุรกิจประเภทการลงทุนในซอฟทแวรประเภท digital content โดยบริษัทไดรับสิทธิ ประโยชนหลายประการ มีโดยสังเขปดังนี้ ก) ไดรับยกเวนอากรขาเขาสําหรับเครื่องจักร ข) ไดรบั ยกเวนภาษีเงินไดสําหรับกําไรสุทธิเปนระยะเวลาแปดปนับตั้งแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการ ค) ไดรับอนุญาตใหนําผลขาดทุนประจําปที่เกิดขึ้นในระหวางเวลาไดรับยกเวนภาษีเงินไดไปหักออกจากกําไรสุทธิที่ เกิดขึ้นภายหลังระยะเวลาไดรับยกเวนภาษีเงินไดไมเกินหาปนับจากวันที่พนกําหนดชําระเวลายกเวนภาษีเงินได รายไดคาบริการสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 จําแนกตามกิจการที่ไดรับสงเสริมการลงทุน และที่ไมไดรับสงเสริม การลงทุนปรากฏดังนี้ (หนวย : พันบาท) งบการเงินเฉพาะของบริษัท 2556 กิจการที่ไดรับการสงเสริม กิจการที่ไมไดรับการสงเสริม รวม

1,597 57,197 58,794

ในฐานะที่เปนบริษัทไดรับการสงเสริมการลงทุนบริษัทตองปฏิบัติตามเงื่อนไขและขอกําหนดตางๆที่กําหนดในบัตรสงเสริม โดยเครงครัด


152

30. สวนงานดําเนินงาน บริษัทและบริษัทยอยมีสวนงานที่รายงานทั้งสิ้น 4 สวนงานหลักคือ (1) สวนงานธุรกิจตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย (2) สวนงานธุรกิจบริการสื่อโฆษณา(3) ธุรกิจบริการ ความงาม (4) อื่นๆและดําเนินธุรกิจในสวนงานทางภูมิศาสตรหลักในประเทศไทย บริษัทประเมินผลการปฏิบัติงานของสวนงานโดยพิจารณาจากรายไดและกําไรขั้นตนของแตละสวนงาน และ ประเมินกําไรหรือขาดทุนจากการดําเนินงานของทั้งกลุมโดยใชเกณฑเดียวกับที่ใชในการวัดกําไรหรือขาดทุนจากการดําเนินงานในงบการเงิน ขอมูลรายไดและกําไรขั้นตนตามสวนงานของบริษัท และบริษัทยอยสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังตอไปนี้ U

(หนวย : ลานบาท) งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ตัวแทนจําหนาย เครื่องมือและอุปกรณ ทางการแพทย 2557 2556 รายไดจากการขายและบริการจากลูกคาภายนอก 1,181 83 รายไดจากการขายและบริการระหวางสวนงาน 7 1 รวมรายได 1,188 84 407 31 กําไรขั้นตนตามสวนงาน กําไรจากการตอรองราคาซื้อ กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทยอย ดอกเบี้ยรับ ตนทุนทางการเงิน คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดจาย กําไรกอนภาษีเงินได

บริการสื่อโฆษณา

บริการความงาม

2557 25 25 9

2557 276 276 100

2556 55 4 59 12

อื่นๆ

2556 -

2557 -

2556 9 9

-

20 20 3

ตัดรายการระหวาง กัน 2557 2556 (8) (4) (8) (4) -

รวม 2557 1,491 1,491 516 25 9 (19) (28)

2556 158 158 46 5 6 (16)

287

28


153

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ -สุทธิ สินทรัพยไมมีตัวตน คาความนิยม สินทรัพยอื่น สินทรัพยรวม

1,028 2,066 2,244 2,058 7,397

15 3 824 843


154

ลูกคารายใหญ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทมีรายไดจากการจําหนายเครื่องมือและอุปกรณเครื่องมือ การแพทยจากลูกคารายใหญ จํานวน123.8 ลานบาทและ 20.3 ลานบาทตามลําดับ 31. เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน บริษัทและบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากการดําเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ และจากการไมปฏิบัติตามขอกําหนดตามสัญญาของคูสัญญา บริษัทและบริษัทยอยไมมีการออก หรือ ถือเครื่องมือทางการเงินที่เปนตราสารอนุพันธ เพื่อการเก็งกําไรหรือการคา U

U

ความเสีย่ งดานสภาพคลอง บริษัทและบริษัทยอยมีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคลองโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเทา เงินสดใหเพียงพอตอการดําเนินงานของกิจการและเพื่อทําใหผลกระทบจากความผันผวนของกระแสเงินสดลดลง U

ความเสีย่ งดานการใหสินเชื่อ บริษัทและบริษัทยอยไมมีการกระจุกตัวของลูกหนี้ที่เปนสาระสําคัญ เนื่องจากบริษัทและบริษัทยอยมีลูกคาเปนจํานวนมาก และบริษัทและบริษัทยอยมีนโยบายที่ดีในการควบคุมการใหสินเชื่อแกลูกหนี้ อยางไรก็ตามหากมีลูกหนี้ที่บริษัทและบริษัท ยอยคาดวาอาจจะมีปญหาดานการชําระเงินแลว ผูบริหารของกิจการมีนโยบายที่จะบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญใหเพียงพอ กับโอกาสที่จะเกิดความสูญเสียดังกลาว ความเสีย่ งของอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทและบริษัทยอยมีรายการบางรายการเปนเงินตราตางประเทศ ซึ่งทําใหเกิดความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ อยางไรก็ตาม ผูบริหารเชื่อวาความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศไมเปน สาระสําคัญ U

U

ความเสีย่ งของอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาดในอนาคต ซึ่งสงผล กระทบตอกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัทยอย เนื่องจากเงินกูยืมสวนใหญมีอัตราดอกเบี้ยแบบลอยตัว บริษัทและบริษัท ยอยมีความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ยของกระแสเงินสดที่เกิดจากเงินกูยืม โดยความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยดังกลาวเกิดจาก ความเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาด U

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 สินทรัพยทางการเงินและหนี้สินทางการเงินที่มีความเสี่ยงดานราคา และดานกระแส เงินสดอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยสรุปไดดังนี้


155

(หนวย : พันบาท) 2557 งบการเงินรวม เงินตน อัตราดอกเบีย้ อัตรา ปรับขึ้นลงตาม ดอกเบี้ย อัตราตลาด คงที่ สินทรัพย เงินฝากธนาคาร - เงินฝากออมทรัพย

- เงินฝากประจํา เงินลงทุนชั่วคราว - หุนกู หนี้สิน เงินกูยืมจากธนาคาร

271,659

-

งบการเงินเฉพาะของบริษัท อัตราดอกเบีย้ ถัวเฉลีย่ (รอย ละ)

รวม

271,659

ปรับขึ้นลงตาม อัตราตลาด

0.125% 0.75%

เงินตน อัตราดอกเบีย้ อัตรา ปรับขึ้นลงตาม ดอกเบี้ย อัตราตลาด คงที่

คงที่

-

99,558

2,060

2,060

-

1.00% 3.00%

- 100,000

100,000

-

5%

-

- 3,400,000

-

MLR

1,400,000

-

3,400,000

-

อัตราดอกเบีย้ ถัวเฉลีย่ (รอยละ) ปรับขึ้นลงตาม อัตราตลาด

รวม

-

99,558

0.125% 0.75%

คงที่

-

21

-

1.00% 2.25%

100,000 100,000

-

5%

MLR-1%

-

21

-

-


156

(หนวย : พันบาท) 2556 งบการเงินรวม เงินตน อัตราดอกเบีย้ อัตรา ปรับขึ้นลงตาม ดอกเบี้ย อัตราตลาด คงที่

งบการเงินเฉพาะของบริษัท อัตราดอกเบีย้ ถัวเฉลีย่ (รอย ละ)

รวม

ปรับขึ้นลงตาม อัตราตลาด

คงที่

เงินตน อัตราดอกเบีย้ อัตรา ปรับขึ้นลงตาม ดอกเบี้ย อัตราตลาด คงที่

รวม

อัตราดอกเบีย้ ถัวเฉลีย่ (รอยละ) ปรับขึ้นลง ตามอัตรา ตลาด คงที่

สินทรัพย เงินฝากธนาคาร - เงินฝากออมทรัพย - ตั๋วแลกเงิน - เงินฝากประจํา

435,826 - 200,000 -

5,187

435,826 200,000

0.125%0.75% -

5,187

-

1.25% 2.00%

419,601 -

- 419,601 200,000 200,000 21

21

0.125% 0.75% -

3.20% 1.00% 2.25%


157

32. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น U

32.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทและบริษัทยอยมีภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเชาและบริการที่จะตองชําระ มีดังนี้ (หนวย : พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัท ภายใน 1 ป เกินกวา 1 ป แตไมเกิน 5 ป รวม

294,919 218,422 513,341

2,996 2,571 5,567

32.2 บริษัทไดทําสัญญาวาจางที่ปรึกษา โดยมีคาตอบแทน จํานวน 0.30 ลานบาทตอเดือน ตั้งแตวันที่ 1 กันยายน 2557 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2558 32.3 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทและบริษัทยอยมีภาระผูกพันจากการที่ธนาคารออกหนังสือค้ําประกันในนามของ บริษัทและบริษัทยอย ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจ จํานวน 38ลานบาท และ 9 ลานบาท ตามลําดับ 32.4 บริษัทยอยมีวงเงินเล็ตเตอรออฟเครดิตและทรัสตรีซีทกับธนาคารในประเทศแหงหนึ่งจํานวนรวม 120 ลานบาท วงเงินสินเชื่อดังกลาวค้ําประกันโดยบริษัท ภายใตสัญญาวงเงินดังกลาว บริษัทตองปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงิน ซึ่ง กําหนดใหบริษัทและบริษัทยอยดํารงอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนไมเกิน 1.50 - 2.50:1 และไมนอยกวา 0 32.5 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัททําสัญญาจางพัฒนาโปรแกรมซอฟทแวรโดยมีมูลคาสัญญาและภาระผูกพัน จํานวน 9.20 ลานบาท 32.6 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทและบริษัทยอยตกลงทําสัญญาตัวแทนจําหนายเครื่องมือแพทยกับบริษัทใน ตางประเทศ 8kแหง โดยบริษัทและบริษัทยอยไดรับอนุญาตใหเปนตัวแทนจําหนายเครื่องมือแพทยในประเทศไทย สัญญามีผลตั้งแตวันที่ลงนามในสัญญา และจะสิ้นสุดเมื่อถูกบอกเลิกโดยฝายใดฝายหนึ่ง 33. คดีฟองรอง U

บริษัทและบริษัทยอยไดถูกฟองรองเปนจําเลยรวมกับผูอื่นอีก 12 ราย เพื่อถูกเรียกรองคาเสียหายโดยใหชําระหนี้รวมกับ ลูกจางจํานวน 5.20 ลานบาท และ 12.67 ลานบาท ตามลําดับ เนื่องจากลูกจางของบริษัทและบริษัทยอยไดยืนยันวามีการ ซื้อขายและบริการสินคาดังกลาวจริงดังนั้นบริษัทและบริษัทยอยในฐานะนายจางจึงตองรวมรับผิดตอโจทก ซึ่งขณะนี้คดี ดังกลาวอยูในระหวางขั้นตอนพิจารณาของศาลแพง ฝายบริหารเชื่อวาจะไมมีหนี้สินจากคดีความดังกลาว 34. เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2558 โดยมีมติใหเสนอการจายเงินปนผลใหจาก กําไรของผลการดําเนินงานสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 จํานวนรวม 92 ลานบาท โดยจายเงินปนผลเปนเงินสดใน อัตรา 0.01 บาท ตอหุน U

35. การจัดประเภทรายการบัญชีใหม U


158

รายการในงบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ที่แสดงเปรียบเทียบบางรายการ ไดมีการปรับเปลี่ยนและจัด ประเภทรายการใหมเพื่อใหสอดคลองกับรายการในงบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 36. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทแลวเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2558 U


159

ขอมูลหลักทรัพยและผูถือหุน จํานวนทุนจดทะเบียนและทุนชําระแลว ทุนของบริษัท ทุนจดทะเบียนและทุนที่ชําระแลวของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีดังนี้ :ทุนจดทะเบียน

1,380,002,025

บาท

ทุนที่เรียกชําระแลว

690,001,013

บาท

แบงเปนหุนสามัญ

9,200,013,500

หุน

มูลคาที่ตราไว

0.075

บาทตอหุน

ผูถือหุน รายชื่อผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก สรุปถึง ณ วันที่ 17 มีนาคม 2558 จัดทําโดยบริษัท ศูนยรับฝาก หลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด มีดังนี้ :ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

รายชื่อผูถือหุนใหญ นายศุภชัย วัฒนาสุวิสุทธิ์ นางพิชชุดา ชาน นางทัศนียวงศมณีโรจน นายพิสิฏฐภิสสาสุนทร นายจักรกริสนโลหะเจริญทรัพย นายชาครียโลหะเจริญทรัพย นายโกศล วรฤทธินภา น.ส.ลักษิญา อาลัยผล นายไว จามรมาน นายพุฒิเมศวรฤทธินภา อื่น ๆ รวม

จํานวนหุนสามัญ 552,577,850 480,129,400 450,000,000 430,500,000 401,000,000 400,970,000 350,000,000 300,000,000 250,000,000 231,334,900 5,353,501,350 9,200,013,500

สัดสวนการถือหุน % 6.01 5.22 4.89 4.68 4.36 4.36 3.80 3.26 2.72 2.51 58.19 100.00


160

การออกหลักทรัพยอื่น ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทที่จัดสรรใหแกผูถือหุนเดิมของบริษัท (EFORL-W2) ประเภทของใบสําคัญแสดงสิทธิ : ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ ครั้งที่ 2 ที่จัดสรร ใหแกผูถือหุนสามัญเดิมของบริษัท (“ใบสําคัญแสดงสิทธิครั้งที่ 2” หรือ “EFORL-W2”) จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ออกและเสนอขาย : 4,599,606,717 หนวย อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ : 3 ป นับตั้งแตวันที่ออกและเสนอขาย วันที่ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ : วันที่ 23 สิงหาคม 2556 อัตราการใชสิทธิ : ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวยตอ 1 หุนสามัญใหม ราคาการใชสิทธิ : ราคาการใชสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิจะเทากับ 0.10 บาทตอหุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.10 บาท) จํานวนคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 : 4,599,606,717 หนวย การออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิของบริษัท มีรายละเอียดดังนี้ ประเภทของ ใบสําคัญแสดงสิทธิ EFORL – W2

วันที่ออกและ เสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิ 23 สิงหาคม 2556

ราคาใชสิทธิ อัตราการใชสิทธิ (บาทตอ ใบสําคัญแสดงสิทธิ หุน) ตอหุนสามัญ 0.10 1:1

จํานวนหุนที่ ถูกใชสิทธิ (หุน) -

จํานวนหุนคงเหลือ เพื่อรองรับการใช สิทธิ (หุน) 4,599,606,717

กําหนดการใชสิทธิ 22 สิงหาคม 2559

นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทมีนโยบายจายเงินปนผลในอัตราไมต่ํากวารอยละ 40 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษีเงินไดนิติบุคคลของ งบการเงินเฉพาะหลังหักสํารองตามกฎหมาย และเงินสะสมอื่น ๆ ตามที่บริษัทกําหนด ทั้งนี้การจายเงินปนผล ดังกลาวอาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยูกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน แผนการลงทุน ความจําเปนและความ เหมาะสมอื่น ๆ ในอนาคต ตามที่คณะกรรมการบริษัทและ/หรือผูถือหุนของบริษัทเห็นสมควร.


161

ขอมูลทั่วไปของบริษัทและบริษัทที่เกี่ยวของ และขอมูลของบุคคลอางอิง 1) ขอมูลทั่วไปของบริษัทที่ออกหลักทรัพย บริษัท อี ฟอร แอล เอม จํากัด (มหาชน) ชื่อยอในตลาดหลักทรัพยฯ ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท ที่ตั้งสํานักงานใหญ โทรศัพท โทรสาร เว็บไซต ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว มูลคาที่ตราไวตอหุน

EFORL เปนตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย 0107551000142 184 ถนนราชวิถี แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700 02-8830871-9 02-8835051 www.eforlaim.com 1,380,002,025 บาท 690,001,013 บาท ประกอบดวย หุนสามัญ 9,200,013,500 หุน 0.075 บาท

2) ขอมูลทั่วไปของบริษัทที่เกี่ยวของ บริษัท เอนโม จํากัด ประเภทธุรกิจ ลงทุนในกิจการดานเกมสออนไลนและบริการสื่อโฆษณา เลขทะเบียนบริษัท 0105553117541 ที่ตั้งสํานักงาน 184 ถนนราชวิถี แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700 โทรศัพท 02-8830871-9 โทรสาร 02-8835051 เว็บไซต www.enmo.in.th ทุนจดทะเบียน 35,000,000 บาท ทุนชําระแลว 35,000,000 บาท ประกอบดวย หุนสามัญ 7,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวตอหุน 5 บาท สัดสวนการลงทุนโดยบริษัท รอยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนที่ชําระแลว *บริษัทไดขายหุนสามัญทั้งหมดของบริษัท เอนโม จํากัด เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2557

บริษัท สเปซเมด จํากัด


162

ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท ที่ตั้งสํานักงาน โทรศัพท โทรสาร เว็บไซต ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว มูลคาที่ตราไวตอหุน สัดสวนการลงทุนโดยบริษัท

ตัวแทนจําหนายเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย 0105548031031 402 ซอยจรัญสนิทวงศ 66/1 ถนนจรัญสนิทวงศ แขวงบางพลัด เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700 02-8835081-5 02-8835060 www.spacemed.us 50,000,000 บาท 50,000,000 บาท ประกอบดวย หุนสามัญ 500,000 หุน 100 บาท รอยละ 100 ของทุนจดทะเบียนที่ชําระแลว

บริษัท แดทโซ เอเชีย คอรปอเรชั่น จํากัด ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท ที่ตั้งสํานักงาน โทรศัพท โทรสาร เว็บไซต ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว มูลคาที่ตราไวตอหุน สัดสวนการลงทุนโดยบริษัท

เปนผูนําเขาสินคาเครื่องสําอางและบริการเสริมความงาม, รานขายปลีก เครื่องสําอาง 0105553045184 361 ถนนบอนดสตรีท ตําบลบางพูด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 02-5035023-4 02-5035028 www.thatsoasia.co.th 200,000,000 บาท 200,000,000 บาท ประกอบดวย หุนสามัญ 2,000,000 หุน 100 บาท รอยละ 18.0 ของทุนจดทะเบียนที่ชําระแลว

บริษัท ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง จํากัด ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท ที่ตั้งสํานักงาน โทรศัพท โทรสาร เว็บไซต

ลงทุนในบริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด 0105557138233 184 ถนนราชวิถี แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700 02-8830871-9 02-8835051 -


163

ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว มูลคาที่ตราไวตอหุน สัดสวนการลงทุนโดยบริษัท

1,000,000,000 บาท 1,000,000,000 บาท ประกอบดวย หุนสามัญ 100,000,000 หุน 10 บาท รอยละ 60 ของทุนจดทะเบียนที่ชําระแลว

บริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท ที่ตั้งสํานักงาน โทรศัพท โทรสาร เว็บไซต ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว มูลคาที่ตราไวตอหุน สัดสวนการลงทุน

ใหบริการดานความงามและธุรกิจแฟรนไชส 0125555004451 35/65 หมูที่ 2 ถนนงามวงศวาน ตําบลบางเขน อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 02-8346600 02-8346678 www.wuttisakclinic.com 1,533,950 บาท 1,533,950 บาท ประกอบดวย หุนสามัญ 99,999 หุน และหุนบุริมสิทธิ 53,396 หุน 10 บาท ถือหุนโดยบริษัท ดับบลิวซีไอ โฮลดิ้ง จํากัด รอยละ 100 ของทุนจดทะเบียนที่ ชําระแลว

บริษัท วุฒิศักดิ์ คอสเมติกอินเตอร จํากัด ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท ที่ตั้งสํานักงาน โทรศัพท โทรสาร เว็บไซต ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว มูลคาที่ตราไวตอหุน

ซื้อมาขายไปเครื่องสําอางและอาหารเสริม 0125555004604 104/4 ถนนสามัคคี ตําบลทาทราย อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 02-5914613-4 02-5914010 100,000 บาท 100,000 บาท ประกอบดวย หุนสามัญ 10,000 หุน 10 บาท


164

สัดสวนการลงทุน

ถือหุนโดยบริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด รอยละ 99.97 ของทุนจด ทะเบียนที่ชําระแลว

บริษัท วุฒิศักดิ์ ฟารมาซีอินเตอร จํากัด ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท ที่ตั้งสํานักงาน โทรศัพท โทรสาร เว็บไซต ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว มูลคาที่ตราไวตอหุน สัดสวนการลงทุน

ซื้อมาขายไปผลิตภัณฑยาและอาหารเสริม 0125555004621 104/4 ถนนสามัคคี ตําบลทาทราย อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 02-5914613-4 02-5914010 2,000,000 บาท 2,000,000 บาท ประกอบดวย หุนสามัญ 200,000 หุน 10 บาท ถือหุนโดยบริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด รอยละ 99.99 ของทุนจด ทะเบียนที่ชําระแลว

บริษัท วุฒิศักดิ์ แกรนด อินเตอร จํากัด ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท ที่ตั้งสํานักงาน โทรศัพท โทรสาร เว็บไซต ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว มูลคาที่ตราไวตอหุน สัดสวนการลงทุน

ใหบริการเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยสิน 0125555004612 35/65 หมูที่ 2 ถนนงามวงศวาน ตําบลบางเขน อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 02-8346600 02-8346678 100,000 บาท 100,000 บาท ประกอบดวย หุนสามัญ 10,000 หุน 10 บาท ถือหุนโดยบริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด รอยละ 99.97 ของทุนจด ทะเบียนที่ชําระแลว


165

บริษัท ดับบลิว.เอส.เซอรจีรี่ 2014 จํากัด ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท ที่ตั้งสํานักงาน โทรศัพท โทรสาร เว็บไซต ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว มูลคาที่ตราไวตอหุน สัดสวนการลงทุน

ซื้อมาขายไปและใหบริการเสริมความงามโดยการทําศัลยกรรมพลาสติกและ ตกแตง 0105556193621 4, 4/1-2, 4/4 อาคารศูนยการคาเซ็นทรัลเวิลด หองเลขที่ บี 506/2 ชั้น 5 ถนนราชดําริห แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 02-8346600 02-8346678 1,000,000 บาท 1,000,000 บาท ประกอบดวย หุนสามัญ 10,000 หุน 100 บาท ถือหุนโดยบริษัท วุฒิศักดิ์ คลินิก อินเตอรกรุป จํากัด รอยละ 99.98 ของทุนจด ทะเบียนที่ชําระแลว


166

ขอมูลของบุคคลอางอิง นายทะเบียนหลักทรัพย

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด เลขที่ 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท : (66) 2229 2000 โทรสาร : (66) 2654 5649 เว็บไซต www.tsd.co.th

ผูสอบบัญชี

นายธีรศักดิ์ ฉั่วศรีสกุล ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 6624 บริษัท แกรนท ธอนตัน จํากัด 87/1 อาคารแคปปตอล ทาวเวอร ออล ซีซั่นส เพลส ชั้น 18 ถนนวิทยุ แขวง ลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท : (66) 2205 8222 โทรสาร : (66) 2654 3339 เว็บไซด www.grantthornton.co.th



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.