GRAMMY: Annual Report 2010

Page 1

บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)

รายงานประจำ�ปี 2553


สารบัญ

สาส์นจากประธานกรรมการและประธานกรรมการบริหารร่วม รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร และโครงสร้างองค์กร โครงสร้างการดำ�เนินธุรกิจ และโครงสร้างการลงทุน บทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคม สรุปฐานะการเงิน และผลการดำ�เนินงาน โครงสร้างรายได้ ข้อมูลทั่วไป และลักษณะการประกอบธุรกิจ ปัจจัยความเสี่ยง โครงสร้างการถือหุ้น การจัดการ และการกำ�กับดูแลกิจการ รายการระหว่างกัน รายงานการกำ�กับดูแลกิจการ คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลรายงานทางการเงิน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต และงบการเงิน นิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ประวัติกรรมการและคณะผู้บริหาร บุคคลอ้างอิงอื่นๆ

004 005 006 012 013 016 030 031 032 052 054 086 095 096 097 098 147 150 159



สาส์นจากประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหารร่วม บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)

สาส์นจากประธานกรรมการ และประธานกรรมการบริหารร่วม บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ในช่วงปี 2553 บริษัทได้มีการปรับและพัฒนารูปแบบธุรกิจเพลงทำ�ให้ รายได้หลักจากสินค้าเพลงในรูปแบบดิจิตอล (Digital) การบริหารศิลปิน (Artist Management) และการจัดคอนเสิรต์ (Show biz) มีสดั ส่วนมากขึน้ โดยได้มีการลดขนาดหน่วยการผลิตสินค้าเพลงในรูปแบบ Physical ลง และเน้นการพัฒนาการขายสินค้าเพลงผ่านรูปแบบดิจิตอลให้มากขึ้น ทั้งนี้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับไลฟ์สไตล์ของผูบ้ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปตามความก้าวหน้า ของเทคโนโลยีในปัจจุบนั โดยบริษทั มีความเชือ่ ว่าการปรับและพัฒนารูปแบบ ธุรกิจดังที่กล่าวมานั้น ถือเป็นการเสริมสร้างความแข็งแกร่งของ Grammy ทางด้านคอนเทนต์ให้ไปสู่ช่องทางรายได้อื่นๆได้มากขึ้นกว่าเดิม นอกจากธุรกิจเพลงแล้ว บริษัทยังคงให้ความสำ�คัญกับธุรกิจอื่นๆ ภายใต้โมเดลใหม่ที่จะเน้นการเข้าสู่ “Entertainment and Multi-media Business” โดยธุรกิจที่คาดว่าจะเป็นธุรกิจดาวเด่นของบริษัทในอนาคต คือ ธุรกิจดิจิตอล ธุรกิจโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม และธุรกิจบริหารศิลปิน โดยในปีที่ผ่านมารายได้ของธุรกิจดิจิตอลเพิ่มขึ้นจนอยู่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งรายได้ที่มาจากการให้บริการในรูปแบบสมาชิกรายเดือน (Subscription Service) และจากคู่ค้าระบบมือถือ (Operators) ทุกราย สำ�หรับธุรกิจโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม (Satellite Business) ในปี 2553 บริษทั เปิดดำ�เนินการทัง้ หมด 6 ช่อง ได้แก่ ช่องแฟนทีวี (FAN TV) ช่องแบง แชนแนล (BANG CHANNEL) ช่องกรีน แชนแนล (GREEN CHANNEL) ช่องแอ็กซ์ แชนแนล (ACTS CHANNEL) ช่องมันนี่ แชนแนล (MONEY CHANNEL) และช่องใหม่ที่เริ่มทดลองออกอากาศในเดือนตุลาคม 2553 คือ ช่องสาระแน แชนแนล ซึ่งเป็นช่องรายการวาไรตี้ตลก โดยบริษัทได้ ร่วมลงทุนกับ บริษัท ลักษ์ 666 จำ�กัด ธุรกิจบริหารศิลปินรูปแบบใหม่ (Neo Artist Management) ที่เริ่มจาก การสรรหาและพัฒนาศิลปิน โดยเน้นที่ศิลปินเป็นจุดศูนย์กลาง เพื่อพัฒนา ศิลปินให้เต็มศักยภาพทีม่ ที ง้ั 360 องศา คือเน้นการพัฒนาทักษะทุกรูปแบบ คือทัง้ การร้อง การเต้น การแสดง และการพัฒนา EQ เพือ่ ให้เกิดความยัง่ ยืน ในตัวศิลปิน ซึง่ บริษทั มัน่ ใจว่าจะทำ�ให้เกิดความคุม้ ค่าในการลงทุนในศิลปิน แต่ละคนมากกว่ารูปแบบเดิม สำ�หรับธุรกิจรากฐาน (Fundamental) หลักอืน่ ๆของบริษทั นัน้ ปี 2553 ที่ผ่านมา ผลประกอบการยังคงเติบโตน่าพอใจ แม้ว่าประเทศไทยกำ�ลัง เผชิญภาวะวิกฤติเศรษฐกิจการเมืองอย่างต่อเนื่อง ธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน์ผ่านสื่อฟรีทีวี (FREE TV) ยังคงเติบโตดี ต่อเนือ่ ง ทัง้ ละครหลังข่าวและละครซิตคอม รายการเรียลิต้ี โชว์ (Reality Show) เช่น The Star 6 ซึง่ นอกจากจะเป็นรายการทีไ่ ด้รบั ความนิยมอย่างกว้างขวาง ยังเป็นรายการที่พัฒนาและสร้างศิลปินหน้าใหม่เข้าสู่วงการอีกด้วย โดย เฉพาะกลุ่มวาไรตี้และละครสำ�หรับวัยรุ่นนั้น ปีนี้แกรมมี่ยังคงความเป็นผู้นำ� เช่นกัน ธุรกิจวิทยุ (Radio Business) มีรายได้เพิ่มขึ้น จากการปรับแผนเพื่อ เพิ่มฐานรายได้ด้วยการจัดโชว์บิซ การจัดกิจกรรม (Activities) ผ่านคลื่น วิทยุตา่ งๆ รวมไปถึงการให้บริการด้านการท่องเทีย่ วนัน้ ผลตอบรับก็ยงั คง

นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ประธานกรรมการ 04

เป็นไปในทิศทางที่ดีอย่างต่อเนื่อง ส่วนธุรกิจสือ่ สิง่ พิมพ์ (Publishing Business) มีการปรับตัวเข้าสูน่ วิ มีเดีย มากขึน้ เช่น มีการจัดทำ�นิตยสาร Maxim ในรูปแบบ e-gazine ธุรกิจกลุม่ นี้ บริษัทมีนโยบายจะนำ�คอนเทนต์ไปใช้ประโยชน์กับธุรกิจโทรทัศน์ดาวเทียม รวมทั้งเข้าสู่การขายคอนเทนต์ผ่านทางอุปกรณ์อีเลกทรอนิกส์ (Gadget) รูปแบบใหม่ อาทิเช่น iPad อีกด้วย ส่วนธุรกิจภาพยนตร์ ( Movie Business) มีการผลิตภาพยนตร์จำ�นวน 3 เรือ่ ง โดยภาพยนตร์เรือ่ ง กวนมึนโฮ เป็นภาพยนตร์ทท่ี �ำ รายได้ Box Office สูงสุดถึง 126.3 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับภาพยนตร์ไทยทีเ่ ข้าฉายในปี 2553 กล่าวโดยสรุปได้ว่า บริษัทกำ�ลังก้าวเข้าสู่การปฏิรูปโครงสร้างธุรกิจให้ สามารถรองรับโอกาสใหม่ๆ ได้ครบทุกด้านจากนี้เป็นต้นไป ซึ่งจะเป็น จังหวะสำ�คัญในการวางแผนที่จะเติบโตขึ้นไปอีกอย่างต่อเนื่องในระยะยาว และนอกจากโครงสร้างทางธุรกิจที่แข็งแกร่งแล้ว บริษัทยังเป็นผู้นำ�ด้าน คอนเท้นต์ที่มีความครบถ้วนสมบูรณ์แบบ เนื่องจากแกรมมี่เชื่อมั่นว่า คอนเท้ นต์ ที่ แข็ ง แกร่ ง จะสามารถใช้ ป ระโยชน์ ได้ ม ากมายและยาวนาน ด้วยการบริหารคอนเทนต์ไปในสื่อหรือเครื่องมือให้ตรงกับไลฟ์สไตล์ของ ผู้บริโภค โดยอำ�นวยความสะดวกสบายให้กับผู้บริโภคมากที่สุด ควบคู่ ไปกับการสร้างแพลทฟอร์มของมีเดียให้เหมาะสมกับยุคสมัย ไม่ว่าจะเป็น นิว มีเดีย หรือเซ็กเมนต์ มีเดีย เสริมทัพไปกับแมส มีเดีย ซึ่งแกรมมี่มี ครอบคลุมครบถ้วนและเป็นผู้นำ�อยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม พันธกิจต่างๆของแกรมมี่คงจะบรรลุผลสำ�เร็จไปไม่ได้ หากขาดการสนับสนุนจากท่านผูถ้ อื หุน้ ผูบ้ ริหารทุกท่าน พันธมิตรทางธุรกิจ สถาบันการเงิน หน่วยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้อง บริษทั เอเจนซี และลูกค้าทุกท่าน รวมถึงพนักงานของกลุ่มบริษัทที่ได้ร่วมแรงร่วมใจกันฟันฝ่าอุปสรรคต่างๆ เหนืออื่นใด กลุ่มบริษัท จีเอ็มเอ็มแกรมมี่ยังคงยึดมั่นในเจตนารมณ์ที่จะ ดำ�เนินธุรกิจภายใต้หลักจริยธรรมและแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ควบคู่ไปกับการมีความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) จนกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กร โดยบูรณาการกับวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ และเป้าหมายขององค์กร เพื่อ เพิ่มความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย รวมทั้ง นำ�ไปสู่การสร้างความเจริญก้าวหน้าในเชิงธุรกิจ ที่ก้าวไปพร้อมกับการมี ส่วนร่วมในการพัฒนาและส่งเสริมการศึกษา การกีฬา ชุมชน สังคมและ สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องตลอดไป ผมในนามของคณะกรรมการ ขอขอบคุณทุกท่านและหวังเป็นอย่างยิ่งว่า บริษัทจะเติบโตและก้าวหน้าไปอย่างยั่งยืนและสร้างผลตอบแทนที่ดีต่อ ผู้ถือหุ้นทุกๆท่านในระยะยาวทั้งในด้านการปรับเพิ่มขึ้นของมูลค่าหุ้นใน ระยะยาว และผลตอบแทนที่น่าพอใจจากเงินปันผลในแต่ละปี สมกับที่ ทุกท่านได้ให้ความไว้วางใจกับบริษัทตลอดมา

นางสาวบุษบา ดาวเรือง ประธานกรรมการบริหารร่วม

นางสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา ประธานกรรมการบริหารร่วม


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วย กรรมการอิสระที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ ด้านการตลาด ด้านการเงิน และการบัญชี ด้านกฎหมาย โดยมี นายไชย ณ ศิลวันต์ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นายเดช บุลสุข นายวีระวงค์ จิตต์มิตรภาพ และนางสาวสุวภา เจริญยิ่ง เป็นกรรมการตรวจสอบ และมี ผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายตรวจสอบภายในทำ�หน้าทีเ่ ลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ในปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบฯ ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขต ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษั ท ตามกฎบั ต รคณะกรรมการ ตรวจสอบ (Audit Committee Charter) ซึ่งเป็นไปตามข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมทั้งสิ้น 5 ครั้ง โดยการเข้าร่วมประชุม ของคณะกรรมการตรวจสอบแต่ละท่านเป็นดังนี้ การประชุม ตำ�แหน่ง รายชื่อ วาระปกติ 4/5 ประธานกรรมการตรวจสอบ 1. นายไชย ณ ศิลวันต์ 5/5 กรรมการตรวจสอบ 2. นายเดช บุลสุข 4/5 3. นายวีระวงค์ จิตต์มิตรภาพ กรรมการตรวจสอบ 1/1 4. นางสาว สุวภา เจริญยิ่ง กรรมการตรวจสอบ -/3 นายวาณิช จรุงกิจอนันต์ กรรมการตรวจสอบ สรุปผลการปฏิบัติงานมีสาระสำ�คัญ ได้ดังต่อไปนี้ 1. พิจารณาสอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจำ�ปี 2553 รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลที่เป็นสาระสำ�คัญ เพื่อนำ�เสนอให้ที่คณะกรรมการ บริษทั พิจารณาอนุมตั ิ โดยมีการประชุมหารือแลกเปลีย่ นความคิดเห็นร่วมกับ ฝ่ายตรวจสอบภายใน ผูส้ อบบัญชี และฝ่ายบริหาร เพือ่ ให้รายงานทางการเงิน มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ 2. พิจารณาสอบทานประสิทธิภาพ และความเพียงพอของระบบการควบคุม ภายใน ระบบบริหารความเสี่ยง และระบบการตรวจสอบภายในของบริษัท ร่วมกับฝ่ายตรวจสอบภายใน ผู้สอบบัญชี และฝ่ายบริหาร 3. พิจารณาสอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจ รวมถึงนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และจริยธรรมธุรกิจ โดยประสานงาน กับผู้บริหารและฝ่ายตรวจสอบภายใน 4. พิจารณาเสนอแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย และพิจารณา ค่าสอบบัญชี ทั้งนี้สำ�หรับปี 2554 คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณา เสนอแต่งตัง้ นายณรงค์ พันตาวงษ์ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 3315 หรือนายศุภชัย ปัญญาวัฒโน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3930 หรือนายเติมพงษ์ โอปนพันธุ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4501 หรือนายกฤษดา เลิศวนา ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4958 (เฉพาะบริษัทในเครือ) หรือนายรุทร เชาวนะกวี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3247 (เฉพาะบริษัทในเครือ) แห่งบริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และบริษัทย่อย อีกวาระหนึ่ง ซึ่ ง ได้ ผ่ า นการประเมิ นความเป็ น อิ ส ระและคุ ณ ภาพงานของผู้ ส อบบั ญ ชี พร้อมทั้งพิจารณาความเหมาะสมของค่าสอบบัญชี จากคณะกรรมการ ตรวจสอบ ฝ่ายบริหารและฝ่ายตรวจสอบภายใน ซึ่งเมื่อคณะกรรมการ

บริษัทได้พิจารณาให้ความเห็นชอบแล้ว จะนำ�เสนอต่อที่ประชุมสามัญ ผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปีเพือ่ พิจารณาอนุมตั ติ อ่ ไป โดยปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ประชุมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วม 1 ครั้ง 5. สอบทานการทำ�รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ เพือ่ ให้มน่ั ใจว่ารายการดังกล่าวมีความสมเหตุผล เป็นไปตาม ข้อกำ�หนดหรือประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และมีการเปิดเผย อย่างถูกต้อง ครบถ้วน 6. พิจารณารายงานผลการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบภายใน ในแต่ละ ไตรมาส รวมทั้งติดตามผลการปฏิบัติงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อยตาม ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะของฝ่ายตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชี ให้ ความเห็นชอบแผนการตรวจสอบประจำ�ปี 2554 และพิจารณาความเป็นอิสระ ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน รวมทั้งให้ความเห็นชอบการประเมินผล การปฏิบัติงาน และผลตอบแทนของพนักงานหน่วยงานตรวจสอบ ซึ่ง ประเมินโดยประธานกรรมการบริหาร 7. พิจารณาทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และกฎบัตรของ หน่วยงานตรวจสอบภายในเป็นประจำ�อย่างน้อยปีละครั้ง เพื่อให้มั่นใจว่า กฎบัตรทัง้ 2 ยังมีความทันสมัย และเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมขององค์กร 8. คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินการปฏิบัติงานของตนเอง (Audit Committee Self Assessment) เกี่ยวกับองค์ประกอบและคุณสมบัติของ คณะกรรมการตรวจสอบ การปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และ ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ การฝึกอบรม และมีอ�ำ นาจและมีความเป็นอิสระในการปฏิบตั งิ าน โดยสรุปผล สำ�หรับปี 2553 ว่าคณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบัติหน้าที่เป็นไปตาม ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และได้นำ�เสนอสรุปผล การประเมิน และรายงานภารกิจต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 9. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และ จริยธรรมธุรกิจอย่างเหมาะสม และมีประสิทธิผล โดยมีการทบทวนโยบาย การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ใี ห้ทนั สมัยและเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมขององค์กร ร่วมกับฝ่ายบริหาร และฝ่ายตรวจสอบภายใน เพือ่ นำ�เสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทพิจารณาอนุมัติ จากการปฏิบตั หิ น้าทีด่ งั กล่าวข้างต้น คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า โดยรวมบริษัท และบริษัทย่อยมีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ เพียงพอและเหมาะสมกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั โดยไม่พบข้อบกพร่อง ของระบบการควบคุ ม ภายในที่ จ ะมี ผ ลกระทบอย่ า งเป็ น สาระสำ� คั ญ ต่ อ ความถูกต้อง และเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงิน และประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการบรรลุเป้าหมายขององค์กร รวมทั้งมีระบบการควบคุม ภายในเกี่ยวกับการทำ�ธุรกรรมกับ
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวอย่างเพียงพอและเหมาะสม ซึ่งคณะ กรรมการตรวจสอบ และฝ่ายบริหารได้ให้ความสำ�คัญกับการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี การควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บริษัทมีการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี มีการควบคุมภายในที่เพียงพอ เหมาะสมกับการดำ�เนินธุรกิจ มีการบริหารความเสี่ยงในระดับที่ยอมรับได้ ระบบบัญชี และรายงานทางการเงินมีความถูกต้องเชื่อถือได้ รวมทั้งได้ ปฏิบัติตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนด ของตลาดหลักทรัพย์ ระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั

(นายไชย ณ ศิลวันต์) ประธานกรรมการตรวจสอบ 25 กุมภาพันธ์ 2554 05


คณะกรรมการบริษัท นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม

ประธานกรรมการ, ประธานที่ปรึกษาบริษัท, ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรี นิเทศศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาเอก บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน

ประสบการณ์ทำ�งาน

2551 – ปัจจุบัน 2548 – ปัจจุบัน 2541 – ปัจจุบัน พ.ย. 2552 – ปัจจุบัน 2551 – ปัจจุบัน 2548 – ก.พ. 2552 2545 – ก.พ. 2552 2550 – 2551 2541 – 2551 2548 – 2550 2545 – 2550

ประธานที่ปรึกษาบริษัท ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการ กรรมการ / รองประธานกรรมการ บริษัท แฟมมิลี่ โนฮาว จำ�กัด ประธานที่ปรึกษาบริษัท บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน)

นางสาวบุษบา ดาวเรือง

รองประธานกรรมการ, กรรมการ, ประธานกรรมการบริหารร่วม, รองกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส (สายงานสร้างสรรค์), ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประสบการณ์ทำ�งาน

2552 – ปัจจุบัน 2551 – ปัจจุบัน 2548 – ปัจจุบัน 2544 – ปัจจุบัน 2537 – ปัจจุบัน ต.ค. 2553 – ปัจจุบัน พ.ค. 2553 – ปัจจุบัน 2551 – ปัจจุบัน 2545 – ก.พ. 2552 2546 – 2551

06

ประธานกรรมการบริหารร่วม รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง รองกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส (สายงานสร้างสรรค์) กรรมการ กรรมการ บริษัท จีอาร์ โวคอล สตูดิโอ จำ�กัด กรรมการ บริษัท แอ็กซ์ สตูดิโอ จำ�กัด ที่ปรึกษา บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัท / ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน)


คณะกรรมการบริษัท

นางสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา

กรรมการ, ประธานกรรมการบริหารร่วม, กรรมการบริหารความเสี่ยง

คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรี นิเทศศาสตรบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์ทำ�งาน

2552 – ปัจจุบัน 2545 – ปัจจุบัน ก.ย. 2553 – ปัจจุบัน พ.ค. 2553 – ปัจจุบัน เม.ย. 2553 – ปัจจุบัน 2552 – ปัจจุบัน 2550 – ปัจจุบัน 2550 – ปัจจุบัน 2545 – ปัจจุบัน 2532 – ปัจจุบัน 2551 – ก.พ. 2552 2550 – ก.พ. 2552 2532 – ก.พ. 2552 2548 – 2550 2545 – 2550

ประธานกรรมการบริหารร่วม / กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการ กรรมการ บริษัท เอ เจน อีเว้นท์ เอเจนซี่ จำ�กัด กรรมการ บริษัท แอ็กซ์ สตูดิโอ จำ�กัด กรรมการ บริษัท อิมเมจ ออน แอร์ จำ�กัด ประธานกรรมการ บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ / กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอไทม์ ทราเวิลเลอร์ จำ�กัด กรรมการ / กรรมการผู้จัดการ บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ / กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ-ไทม์ มีเดีย จำ�กัด รองประธานกรรมการ บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการบริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน)

นายกริช ทอมมัส

กรรมการ, กรรมการบริหาร, รองกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส (สายงานธุรกิจเพลง)

คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรี นิเทศศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประสบการณ์ทำ�งาน

2554 – ปัจจุบัน 2551 – ปัจจุบัน 2547 – ปัจจุบัน 2546 – ปัจจุบัน 2550 – ปัจจุบัน 2540 – ปัจจุบัน 2551 – 2553 2548 – 2549 2544 – 2546

รองกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส (สายงานธุรกิจเพลง) กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ (สังกัด แกรมมี่ โกลด์) กรรมการ บริษัท ทรี-อาร์ดี จำ�กัด กรรมการ / กรรมการผู้จัดการ บริษัท กริช ทอมมัส จำ�กัด รองกรรมการผู้อำ�นวยการ (สายงานธุรกิจเพลง) (รักษาการ) กรรมการผู้จัดการ (สายงาน จีเอ็มเอ็ม อินเตอร์เนชั่นแนล) รองกรรมการผู้จัดการ (สังกัดเพลงลูกทุ่ง)

07


คณะกรรมการบริษัท นางสาวสุวิมล จึงโชติกะพิศิฐ กรรมการ, ที่ปรึกษาบริษัท

คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการฝึกอบรม

จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD): • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 12/2544

ประสบการณ์ทำ�งาน

พ.ย. 2553 – ปัจจุบัน 2548 – ปัจจุบัน ต.ค. 2553 – ปัจจุบัน ก.ย. 2553 – ปัจจุบัน พ.ค. 2553 – ปัจจุบัน เม.ย. 2553 – ปัจจุบัน 2545 - 2547 2544 - 2546 2540 - 2544

กรรมการ ที่ปรึกษาบริษัท กรรมการ บริษัท จีอาร์ โวคอล สตูดิโอ จำ�กัด กรรมการ บริษัท เอ เจน อีเว้นท์ เอเจนซี่ จำ�กัด กรรมการ บริษัท แอ็กซ์ สตูดิโอ จำ�กัด กรรมการ บริษัท อิมเมจ ออน แอร์ จำ�กัด รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำ�กัด (มหาชน) ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายขายและการตลาด บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำ�กัด (มหาชน)

หมายเหตุ: (เข้าดำ�รงตำ�แหน่งระหว่างปี) นางสาวสุวิมล จึงโชติกะพิศิฐ ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท จากมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2553 โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 ทั้งนี้ เพื่อทดแทนตำ�แหน่งและวาระของ นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม ที่ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการบริษัท ก่อนครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน 2553

นายถกลเกียรติ วีรวรรณ กรรมการ, กรรมการบริหาร

คุณวุฒิการศึกษา

• ปริญญาตรี Communication & Theatre, Boston College U.S.A. • ปริญญาโท Broadcasting, Boston University, U.S.A.

ประสบการณ์ทำ�งาน

2552 - ปัจจุบัน ก.ย. 2553 – ปัจจุบัน พ.ค. 2553 – ปัจจุบัน 2547 – ปัจจุบัน 2546 – ปัจจุบัน 2545 – ปัจจุบัน 2534 – ปัจจุบัน 2545 – ก.พ. 2552

08

กรรมการ / กรรมการบริหาร กรรมการ บริษัท เอ เจน อีเว้นท์ เอเจนซี่ จำ�กัด กรรมการ / กรรมการผู้จัดการ บริษัท แอ็กซ์ สตูดิโอ จำ�กัด กรรมการ / กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซีเนริโอ จำ�กัด กรรมการ / กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทีน ทอล์ก จำ�กัด กรรมการ บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ / กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็กแซ็กท์ จำ�กัด กรรมการบริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน)


คณะกรรมการบริษัท

นายเกรียงกานต์ กาญจนะโภคิน กรรมการ, กรรมการบริหาร

คุณวุฒิการศึกษา

• ปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประวัติการฝึกอบรม

ประสบการณ์ทำ�งาน

2552 – ปัจจุบัน 2551 – ปัจจุบัน 2547 – ปัจจุบัน 2544 – 2547 การทำ�งานอื่นในปัจจุบัน

จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD): • หลักสูตร Financial Statement for Directors ปี 2551 • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 30/2547

กรรมการ / กรรมการบริหาร กรรมการ บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริหารร่วม บริษัท อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ “บริษัท อินเด็กซ์ อีเว้นท์ เอเจนซี่ จำ�กัด (มหาชน)”) กรรมการผู้อำ�นวยการ บริษัท อินเด็กซ์ อีเว้นท์ เอเจนซี่ จำ�กัด

• วิทยากรรับเชิญหลักสูตรปริญญาโท คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้า, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) • วิทยากร และผู้บรรยายพิเศษ ให้กับสถาบันและองค์กรที่มีชื่อเสียงต่างๆ

นายสถาพร พานิชรักษาพงศ์

กรรมการ, กรรมการบริหาร, กรรมการบริหารความเสี่ยง, ผู้ช่วยรองกรรมการผู้อำ�นวยการ (สายงานธุรกิจเพลง)

คุณวุฒิการศึกษา

• ปริญญาตรี วารสารศาสตรบัณฑิต (ภาพยนตร์และภาพถ่าย) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประสบการณ์ทำ�งาน

2552 – ปัจจุบัน 2552 – ปัจจุบัน 2551 – ปัจจุบัน 2552 – ปัจจุบัน 2550 – ปัจจุบัน 2548 – 2549 2550 – ก.พ. 2552 2548 – 2550 2545 – 2548

กรรมการ กรรมการบริหาร / กรรมการบริหารความเสี่ยง ผู้ช่วยรองกรรมการผู้อำ�นวยการ (สายงานธุรกิจเพลง) กรรมการ บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ / กรรมการผู้จัดการ บริษัท จีเอ็มเอ็ม ทีวี จำ�กัด (เดิมชื่อ “บริษัท แกรมมี่ เทเลวิชั่น จำ�กัด”) ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส สำ�นักประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท แกรมมี่ เทเลวิชั่น จำ�กัด รองกรรมการผู้จัดการ (กลุ่มธุรกิจเพลง) บริษัท อาร์ เอส โปรโมชั่น จำ�กัด (มหาชน)

09


คณะกรรมการบริษัท นายไชย ณ ศิลวันต์

กรรมการอิสระ, ประธานกรรมการตรวจสอบ, กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การเงิน) มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา

ประสบการณ์ทำ�งาน

2552 - ปัจจุบัน 2542 – ปัจจุบัน 2549 – ปัจจุบัน 2549 – ปัจจุบัน 2536 - ปัจจุบัน 2532 - ปัจจุบัน 2549 – เม.ย. 2552 2548 – ก.พ. 2552 2545 – ก.พ. 2552 2542 – ก.พ. 2552 2548 - 2549 2538 - 2549 2527 - 2538

ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการ / รองประธานกรรมการ บริษัท แอ็ดวานซ์ เอวิเอชั่น จำ�กัด ที่ปรึกษาอิสระ บริษัท เบญจจินดา โฮลดิ้ง จำ�กัด กรรมการ บริษัท เอออน (ประเทศไทย) จำ�กัด กรรมการ บริษัท เอออน กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำ�กัด กรรมการ บริษัท โพสต์ พับลิชชิง จำ�กัด (มหาชน) กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการตรวจสอบ กรรมการ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำ�กัด (มหาชน) ที่ปรึกษาอิสระ บริษัท ยูไนเต็ด คอมมูนิเกชั่นอินดัสตรี จำ�กัด (มหาชน) ผู้อำ�นวยการฝ่าย ฝ่ายธุรกิจโครงการ ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน)

นายเดช บุลสุข

กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ, กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประวัติการฝึกอบรม

จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD): • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) (รุ่นที่ 23/2547)

ประสบการณ์ทำ�งาน

2552 – ปัจจุบัน 2549 – ปัจจุบัน 2545 – ปัจจุบัน 2547 – ปัจจุบัน 2545 – ปัจจุบัน 2544 – ปัจจุบัน 2550 - 2552 2550 - 2552 2549 – มิ.ย. 2552 2549 – ก.พ. 2552 2545 – ก.พ. 2552 2547 – 2549 2544 - 2549 2527 – 2547

010

กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ซีซีซี บิซิเนส ดีเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด กรรมการ บริษัท สยามฟิวเจอร์ดีเวลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท เจ มาร์ท จำ�กัด (มหาชน) กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท อิออน ธนสินทรัพย์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ สำ�นักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (สสปน.) (องค์การมหาชน) ประธานคณะอนุกรรมการธรรมาภิบาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน สสปน. ที่ปรึกษาคณะกรรมการ บริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) ประธานกิตติมศักดิ์ บริษัท แมคไทย จำ�กัด (แมคโดนัลด์ ประเทศไทย) ประธานมูลนิธิ โรนัลด์ แมคโดนัลด์ เฮาส์ ประธานกรรมการ บริษัท แมคไทย จำ�กัด (แมคโดนัลด์ ประเทศไทย)


คณะกรรมการบริษัท

นายวีระวงค์ จิตต์มิตรภาพ กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ

คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท นิติศาสตร์มหาบัณฑิต (LLM.) University of Pennsylvania • เนติบัณฑิตไทย และเป็นทนายความจากประเทศไทยคนแรกที่สอบเป็นเนติบัณฑิตรัฐนิวยอร์คได้

ประวัติการฝึกอบรม

จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD): • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) (ปี 2543)

ประสบการณ์ทำ�งาน

2549 – ปัจจุบัน ก.พ. 2554 – ปัจจุบัน 2552 – ปัจจุบัน 2551 – ปัจจุบนั 2550 – ปัจจุบัน 2544 – ปัจจุบัน 2539 – 2551 2544 – 2550 2548 – 2549

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท สายการบินนกแอร์ จำ�กัด ประธานบริษทั บริษทั วีระวงค์, ชินวัฒน์ และเพียงพนอ จำ�กัด (เดิมชือ่ “บริษทั ไว้ท์ แอนด์ เคส (ประเทศไทย) จำ�กัด”) กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท อาหารสยาม จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำ�กัด (มหาชน) Executive Partner บริษัท ไว้ท์ แอนด์ เคส (ประเทศไทย) จำ�กัด กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ บริษัท ไอทีวี จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท นูทริกซ์ จำ�กัด (มหาชน)

การทำ�งานที่อื่นในปัจจุบัน

• กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการแข่งขันทางการค้าของกระทรวงพาณิชย์, • วิทยากรประจำ�ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD), • ที่ปรึกษาสมาคมบริษัทจดทะเบียน, • อาจารย์ผู้บรรยายความรู้ชั้นเนติบัณฑิตของสำ�นักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา

นางสาวสุวภา เจริญยิ่ง

กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ คุณวุฒิการศึกษา • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต (สาขาการเงิน) มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ • ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ

ประวัติการฝึกอบรม

จัดอบรมโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD): • หลักสูตร Successful Formulation & Execution of Strategy รุ่นที่ 6 ปี 2553 • หลักสูตร DCP Refresher รุ่นที่ 1 ปี 2548 • หลักสูตร Finance for Non Finance Director รุ่นที่ 1 ปี2546 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) (Fellow Member) รุ่นที่ 1 ปี 2543

จัดอบรมโดยสถาบันอื่น

ประสบการณ์ทำ�งาน

ส.ค. 2553 – ปัจจุบัน 2552 – ปัจจุบัน 2544 – ปัจจุบัน 2539 – 2544 2536 – 2539 2533 – 2536 2531 – 2533

• หลักสูตร Certified Financial Planner (CFP) รุ่นที่ 1 ปี 2552 จัดโดย : สมาคมนักวางแผนการเงินไทย • หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP 2) รุ่นที่ 2 ปี 2551 จัดโดย:สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูง (วตท. 1) รุ่นที่ 1 ปี 2548 จัดโดย : สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตร Certificate in Families Business : Generation to Generation ปี 2547 จัดโดย : Harvard Business School

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริษัท / กรรมการบริหาร บริษัทหลักทรัพย์ ธนชาต จำ�กัด (มหาชน) กรรมการผู้จัดการ บริษัทหลักทรัพย์ ธนชาต จำ�กัด (มหาชน) Chief Executive Officer บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ชโรเดอร์ รองกรรมการผู้จัดการ บริษัทหลักทรัพย์ เค จี ไอ จำ�กัด (มหาชน) รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท มอร์แกน เกรนเฟลล์ไทย จำ�กัด ผู้จัดการส่วนวานิชธนกิจ ธนาคารกสิกรไทย จำ�กัด (มหาชน)

หมายเหตุ: (เข้าดำ�รงตำ�แหน่งระหว่างปี) นางสาวสุวภา เจริญยิ่ง ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ จากมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2553 โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 11 สิงหาคม 2553 เพื่อ ทดแทนตำ�แหน่งและวาระของนายวาณิช จรุงกิจอนันต์ ที่ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2553 011


คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริหาร 1. นางสาวบุษบา ดาวเรือง ประธานกรรมการบริหารร่วม 2. นางสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา

9. นายคำ�รณ ปราโมช ณ อยุธยา

3. นายกิตติศักดิ์ ช่วงอรุณ

11. นายสถาพร พานิชรักษาพงศ์

ประธานกรรมการบริหารร่วม กรรมการบริหาร

กรรมการบริหาร

10. นายยงศักดิ์ เอกปรัชญาสกุล

กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร

4. นายกริช ทอมมัส

12. นายเกรียงกานต์ กาญจนะโภคิน

กรรมการบริหาร

กรรมการบริหาร

13. นายวิเชฐ ตันติวานิช \1

5. นายวิเชียร ฤกษ์ไพศาล

กรรมการบริหาร

กรรมการบริหาร

กรรมการบริหาร

กรรมการบริหาร

14. นายสิริชัย ตันติพงศ์อนันต์ \2

6. นายสันติสุข จงมั่นคง 7. นายสุวัฒน์ ดำ�รงชัยธรรม

กรรมการบริหาร

8. นายถกลเกียรติ วีรวรรณ

นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม \3 กรรมการบริหาร / เลขานุการคณะกรรมการบริหาร

กรรมการบริหาร

หมายเหตุ: ข้อมูลเพิ่มเติม และการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระหว่างปี 2553 1) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2553 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2553 มีมติอนุมัติแต่งตั้ง นายวิเชฐ ตันติวานิช เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการบริหาร (เข้าดำ�รงตำ�แหน่งระหว่างปี) โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 2) นายสิริชัย ตันติพงศ์อนันต์ ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการบริหาร โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 3) นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการบริหารและเลขานุการคณะกรรมการบริหาร (ออกระหว่างปี) โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน 2553

โครงสร้างองค์กรของบริษัท (ณ วันที่ 1 มีนาคม 2554) ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· àŢҹءÒúÃÔÉÑ·

ม.ล.กรกสิวัฒน เกษมศรี ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÃÃËÒ áÅСÓ˹´¤‹ÒµÍºá·¹

¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ºÃÔËÒäÇÒÁàÊÕ่§

นางสาวบุษบา ดาวเรือง และนางสายทิพย มนตรีกุล ณ อยุธยา

¤³Ð͹ءÃÃÁ¡Òà ºÃÔËÒäÇÒÁàÊÕ่§

ÊÒ§ҹ¡ÒõÅÒ´ áÅоѲ¹Ò¸ØáԨ

ÊÒ§ҹʹѺʹعÍ×่¹æ

ÊÒ§ҹʹѺʹع¡ÅÒ§

ÊÒ§ҹºÑÞªÕ¡ÒÃà§Ô¹ áÅйѡŧ·Ø¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸

¸ØáԨÇÔ·ÂØ

¡®ËÁÒÂ

¡ÒõÅÒ´

¡ÅØ‹ÁºÑÞªÕ

Corporate PR & Public Affairs

¸ØáԨ´Ô¨ÔµÍÅ

¸ØáԨâ·Ã·Ñȹ

·ÃѾÂҡúؤ¤Å

¾Ñ²¹Ò¸ØáԨ

ºÃÔËÒáÒÃà§Ô¹

ÊÌҧÊÃä

¸ØáԨÃѺ¨Ñ´¡Ô¨¡ÃÃÁ áÅФ͹àÊÔà µ

¸ØáԨâ·Ã·Ñȹ ¼‹Ò¹´ÒÇà·ÕÂÁ

à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È

Ê×่ÍÊÒà ÀÒ¾Åѡɳ ͧ¤ ¡Ã

¹Ñ¡Å§·Ø¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸

ʹѺʹعÍ×่¹æ

¸ØáԨÊ×่ÍÊÔ่§¾ÔÁ¾

¸ØáÒèѴ«×้Í

¸ØáԨÊÌҧÊÃä áÅкÃÔËÒáԨ¡ÃÃÁ ·Ò§¡ÒõÅÒ´

¾Ñ²¹ÒÃкºáÅÐ ÃÐàºÕº¤ÓÊÑ่§

¸ØáԨà¾Å§ áÅкÃÔËÒÃÈÔÅ» ¹

¸ØáԨÀҾ¹µÃ ¸ØáԨÍ×่¹

012

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒáӡѺ´ÙáÅ ¡Ô¨¡ÒÃáÅШÃÔ¸ÃÃÁ¸ØáԨ

»Ãиҹ¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒÃËÇÁ (CO-CEO)

½†ÒµÃǨÊͺÀÒÂã¹

˹‹Ç¸ØáԨ (BUSINESS UNIT)

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒÃ


โครงสร้างการดำ�เนินธุรกิจ

โครงสร้างการดำ�เนินธุรกิจ Total Music Business

ธุรกิจเพลง - บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ - บจก. ลักษ์ มิวสิค 999 - บจก. โกลบอล มิวสิค แอนด์ มีเดีย (ประเทศไทย) - บจก. โกลบอล มิวสิค แอนด์ มีเดีย (ประเทศจีน) - บจก. สนามหลวงการดนตรี - บจก. เอ็มจีเอ - บจก. จีเอ็มเอ็ม มิวสิค พับลิชชิ่ง อินเตอร์เนชั่นแนล - บจก. จีไอพี เมเนจเม้นท์ - บจก. คลีน คาราโอเกะ ธุรกิจรับจัดกิจกรรม และคอนเสิร์ต - บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ - บมจ. จีเอ็มเอ็ม มีเดีย ธุรกิจบริหารศิลปิน - บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ธุรกิจดิจิตอล - บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ - บจก. จีเอ็มเอ็ม ดิจิตอล โดเมน - บจก. ดิจิตอล อาร์มส์

ธุรกิจภาพยนตร์

- บจก. จีเอ็มเอ็ม ไท หับ - บจก. ที่ฟ้า - บจก. นาดาว บางกอก

ธุรกิจอื่น

- บมจ. จีเอ็มเอ็ม สตูดิโอ - บจก. มีฟ้า - บจก. จีเอ็มเอ็ม ฟิตเนสคลับ - บจก. ทรี-อาร์ดี - บจก. จีอาร์ โวคอล สตูดิโอ - บจก. แอ็กซ์ สตูดิโอ

ธุรกิจสื่อ

สื่อวิทยุ - บมจ. จีเอ็มเอ็ม มีเดีย - บจก. เรดิโอ คอนเซ็ป - บจก. เอ-ไทม์ มีเดีย - บจก. โอเพ่น เรดิโอ สื่อโทรทัศน์ - บจก. เอ็กแซ็กท์ - บจก. จีเอ็มเอ็ม ทีวี - บจก. ทีน ทอล์ก - บจก. ดีทอล์ค - บจก. แมส มอนิเตอร์ - บจก. ซีเนริโอ สื่อโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม - บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ - บมจ. จีเอ็มเอ็ม มีเดีย - บจก. เอ็กแซ็กท์ - บจก. จีเอ็มเอ็ม ทีวี - บจก. อิมเมจ ออนแอร์ - บจก. แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จำ�กัด - บจก. แฟมมิลี่ โนฮาว - บจก. ลักษ์ แซทเทิลไลท์ สื่อสิ่งพิมพ์ - บจก. อิมเมจ พับลิชชิ่ง - บจก. จีเอ็มเอ็ม อินเตอร์ พับลิชชิ่ง - บจก. จีเอ็มเอ็ม ไทมส์ - บจก. บลิส พับลิชชิ่ง - บจก. อิน พับลิชชิ่ง สร้างสรรค์ และบริหารกิจกรรมทางการตลาด - บมจ. อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ* - บจก. อีเว้นท์ โซลูชั่นส์ - บจก. แอสเพน อินเด็กซ์ อีเว้นท์ - บจก. เทรเบียง - บจก. มีเดีย วิชั่น (1994) - บจก. จี คอมมิวนิเคชั่นส - บจก. อินสปาย อิมเมจ - บจก. ไอธิ้งแอ็ด - บจก. ดี ซิกซ์ตี้ ทรี - บจก. เอ เจน อีเว้นท์ เอเจนซี่ - บจก. อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ ออนไลน์ - บจก. บลูมีเดีย คอมมิวนิเคชั่นส์

*เดิมชื่อ บมจ. อินเด็กซ์ อีเว้นท์ เอเจนซี่ 013


โครงสร้างการลงทุน

99.9%

บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)

ธุรกิจเพลง

ธุรกิจภาพยนตร์

• 100% บจก. โกลบอล มิวสิค แอนด์ มีเดีย (ประเทศไทย)* • 50% บจก. ลักษ์ มิวสิค 999* 1 • 100% บจก. เอ็มจีเอ • 100% บจก. คลีน คาราโอเกะ • 100% บจก. จีเอ็มเอ็ม มิวสิค พับลิชชิ่ง อินเตอร์เนชั่นแนล • 100% บจก. จีไอพี เมเนจเม้นท์* • 50% บจก. จี-แกรม 7 • 100% บจก. มอร์ มิวสิค* • 100% บจก. เอ็กซ์ทรอกาไนเซอร์* • 100% บจก. อราทิสท์ แมเนจเม้นท์* • 100% บจก. มิวสิค ก๊อปปี้ ไรท์ คอลเลคชั่น*

• 51% บจก. จีเอ็มเอ็ม ไท หับ 3 • 100% บจก. สวัสดีทวีสุข • 51% บจก. ฟีโนมีนา โมชั่นพิคเจอร์ส* 4 • 30% บจก. นาดาว บางกอก 5 • 100% บจก. ที่ฟ้า* • 100% บจก. อัพเพอร์ คัท*

บมจ. จีเอ็มเอ็ม มีเดีย

• 50% บจก. แฟมมิลี่ โนฮาว 2

ธุรกิจอื่น ๆ

• 50% บจก. จีอาร์ โวคอล สตูดิโอ 8 • 70% บจก. ทรี-อาร์ดี จำ�กัด 6

ธุรกิจวิทยุ

ธุรกิจโทรทัศน์

• 100% บจก. เอ-ไทม์ มีเดีย • 20% บจก. เอ-ไทม์ ทราเวิลเลอร์ 9 • 70% บจก. เอ เจน อีเว้นท์ เอเจนซี่ 10 • 100% บจก. โอเพ่น เรดิโอ* • 100% บจก. เรดิโอ คอนเซ็ป*

• 100% บจก. ดีทอล์ค • 100% บจก. จีเอ็มเอ็ม ทีวี • 100% บจก. ทีน ทอล์ก* • 100% บจก. แมส มอนิเตอร์

ธุรกิจสร้างสรรค์ และบริหาร กิจกรรมทางการตลาด

• 51% บจก. เอ็กแซ็กท์

• 50% บมจ. อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ 18** • 50% บจก. จี คอมมิวนิเคชั่นส 19 • 100% บจก. อีเว้นท์ โซลูชั่นส์ • 50% บจก. แอสเพน อินเด็กซ์ อีเว้นท์ 20 • 100% บจก. เทรเบียง • 51% บจก. มีเดีย วิชั่น (1994) 21 • 37% บจก. เอนคอร์ 22 • 60% บจก. อินสปาย อิมเมจ 23 • 40% บจก. ไอธิ้งแอ็ด 24 • 50% บจก. ดี ซิกซ์ตี้ ทรี 25 • 70% บจก. อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ ออนไลน์ 26 • 40% บจก. บลูมีเดีย คอมมิวนิเคชั่นส์ 27

014

ธุรกิจโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม

49% 50%

• บจก. แอ็กซ์ สตูดิโอ 50%

• 25% บจก. ซีเนริโอ 11

ธุรกิจโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม • 25% บจก. ลักษ์ แซทเทิลไลท์ 13 • 25% บจก. แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) 12

ธุรกิจสิ่งพิมพ์ • 70% บจก. อิมเมจ พับลิชชิ่ง 14 • 100% บจก. อิมเมจ ออนแอร์ • 70% บจก. จีเอ็มเอ็ม อินเตอร์ พับลิชชิ่ง 15 • 70% บจก. จีเอ็มเอ็ม ไทมส์ 16 • 100% บจก. บลิส พับลิชชิ่ง • 70% บจก. อิน พับลิชชิ่ง 17


100%

โครงสร้างการลงทุน

บจก. จีเอ็มเอ็ม โฮลดิ้ง • 100% บจก. สนามหลวงการดนตรี* • 100% บจก. จีเอ็มเอ็ม ดิจิตอล โดเมน* 100%

• บจก. ดิจิตอล อาร์มส์ • 100% บจก. จีเอ็มเอ็ม สตูดิโอ • 100% บจก. มีฟ้า • 100% บจก. จีเอ็มเอ็ม ฟิตเนสคลับ • 100% บจก. แกรมมี่ พับลิชชิ่ง เฮ้าส์* • 100% บจก. โกลบอล มิวสิค แอนด์ มีเดีย (ประเทศจีน)* • 91% บจก. เมจิค ฟิลม์*

โครงสร้างการถือครองหุ้นของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 หมายเหตุ * หยุดดำ�เนินการชั่วคราว **บมจ.อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ เดิมชื่อ “บมจ.อินเด็กซ์ อีเว้นท์ เอเจนซี่” ข้อมูลของผู้ถือหุ้นรายอื่นประกอบด้วย 1. บจก. ลักษ์ มิวสิค 999 คือ นายเกียรติศักดิ์ อุดมนาค ถือหุ้น 30% และนายชัชวาล ปุกหุต ถือหุ้น 20% 2. บจก. แฟมมิลี่ โนฮาว คือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถือหุ้น 50% 3. บจก. จีเอ็มเอ็ม ไท หับ คือ กลุ่มพูลวรลักษณ์ ถือหุ้น 27% บจก.หับโห้หิ้น บางกอก ถือหุ้น 14% 
และรายอื่นๆ ถือหุ้น 8% 4. บจก. ฟีโนมีนา โมชั่นพิคเจอร์ส คือ บจก. ฟีโนมีนา ถือหุ้น 49% 5. บจก. นาดาว บางกอก คือ นายทรงยศ สุขมากอนันต์ ถือหุ้น 45% บจก.หับโห้หิ้น บางกอก ถือหุ้น 10 % และรายอื่นๆ ถือหุ้น 15% 6. บจก. ทรี-อาร์ดี คือ นางสาวกนกดาว กาญจนภูษากิจ ถือหุ้น 10% นางกนกพร นิตย์ธรี านนท์ 
ถือหุน้ 10% และนายชัชวาล คูสมิทธิ์ ถือหุน้ 10% 7. บจก. จี-แกรม คือ บจก. ณ ฟ้า ถือหุ้น 50% 8. บจก. จีอาร์ โวคอล สตูดิโอ คือ นายรุ่งโรจน์ ดุลลาพันธ์ ถือหุ้น 50% 9. บจก. เอ-ไทม์ ทราเวิลเลอร์ คือ นายวรฤทธิ์ ไวยเจียรนัย ถือหุ้น 60% และนางสาวศรัชชญา ฉันทะนิธิ ถือหุ้น 20% 10. บจก. เอ เจน อีเว้นท์ เอเจนซี่ คือ นายวีระชัย นิชาภัทร ถือหุ้น 10% นายเอกรัตน์ ยังทองหลาง ถือหุน้ 10% และนายสิปปกร วงศ์สมาน ถือหุน้ 10% 11. บจก. ซีเนริโอ คือ นายถกลเกียรติ วีรวรรณ ถือหุน้ 52% และรายอืน่ ๆ ถือหุน้ 23% 12. บจก. แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) คือ แชนเนล(วี) เนเธอร์แลนด์ นัมเบอร์ 2 บี.วี. ถือหุน้ 49% 
และ บจก. ทรู วิชน่ั ส์ ถือหุน้ 26% 13. บจก. ลักษ์ แซทเทิลไลท์ คือ บริษัท ลักษ์ (666) จำ�กัด ถือหุ้น 75% 14. บจก. อิมเมจ พับลิชชิ่ง คือ นายคำ�รณ ปราโมช ณ อยุธยา ถือหุ้น 30%

15. บจก. จีเอ็มเอ็ม อินเตอร์ พับลิชชิ่ง คือ นางสาวลายคราม เลิศวิทยาประสิทธิ์ ถือหุ้น 19% 
และรายอื่นๆ ถือหุ้น 11% 16. บจก. จีเอ็มเอ็ม ไทมส์ คือ TP Ventures Private Ltd. ถือหุ้น 30% 17. บจก. อิน พับลิชชิ่ง คือ บจก.โอสถสภา ถือหุ้น 30% 18. บมจ. อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ คือ กลุ่มกาญจนะโภคิน ถือหุ้น 50% 19. บจก. จี คอมมิวนิเคชั่นส คือ นางสาวมนญา ทองดีเลิศ ถือหุ้น 50% 20. บจก. แอสเพน อินเด็กซ์ อีเว้นท์ จดทะเบียนจัดตัง้ ในประเทศสหรัฐอาหรับ เอมิเรต และ
ถือหุ้น 50% โดยนายฮาเชม อัล มาร์ ซอคกี 21. บจก. มีเดีย วิชั่น (1994) คือ นางนงลักษณ์ หงสกุล ถือหุ้น 49% 22. บจก. เอนคอร์ คือ บจก. เอ.วี.ซิสเท็มส์ ถือหุ้น 33% บจก. ไลท์ซอร์ส ถือหุ้น 20% และ
รายอื่นๆ ถือหุ้น 10% 23. บจก. อินสปาย อิมเมจ คือ นายพิเชฐ หลักดี ถือหุ้น 40% 24. บจก.ไอธิ้งแอ็ด คือ นายพิเศษ กาญจนะโภคิน ถือหุ้น 25% และรายอื่นๆ ถือหุ้น 35% 25. บจก. ดี ซิกซ์ตี้ ทรี คือ นางสาวศุภลักษ์ สุวัตถิ ถือหุ้น 33% และรายอื่นๆ ถือหุ้น 17% 26. บจก.อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ ออนไลน์ คือ นายอดิลฟิตรี ประพฤติสจุ ริต ถือหุน้ 25% และนายมงคล ผอบนาง ถือหุ้น 5% 27. บจก.บลูมีเดีย คอมมิวนิเคชั่นส์ คือ นายบูรพาภรณ์ มุสิกสินธร ถือหุ้น 40% และนายสันต์ ภิรมย์ภักดี ถือหุ้น 20%

015


บทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคม ร่วมบริจาคสร้างอาคารสาวิกาสิกขาลัย

ไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ประธานกรรมการ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) บริจาคเงินแก่แม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต จำ�นวน 4,000,000 บาท (สี่ล้านบาท) เพื่อร่วมสร้าง อาคารสาวิกาสิกขาลัย ในการจัดสร้าง “ห้อง ความสนุกสนานทางปัญญา” ซึ่งเป็นห้องที่ใช้ สื่อทางโทรทัศน์ทั้งภาพและเสียงในการอธิบาย ธรรมะ

สนับสนุนโครงการจัดทำ�เว็บไซต์

www.ourking.in.th

ไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ประธานกรรมการ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) รับมอบของที่ระลึกเพื่อแสดงความขอบคุณ จากปรีชา ส่งกิตติสนุ ทร ผูอ้ �ำ นวยการกองข่าว สำ�นักราชเลขาธิการ ในฐานะองค์กรที่ให้ การสนั บ สนุ น โครงการจั ด ทำ � เว็ บ ไซต์ www.ourking.in.th “ล้านภาพ ล้านถ้อยคำ� ล้านเรื่องราว”เพื่อเป็นคลังข้อมูลดิจิตอลใน การรวบรวมพระราชกรณียกิจและโครงการ อั น เนื่ อ งมาจากพระราชดำ � ริ ข องพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

บริจาคเงินสมทบ “กองทุนคนไทยช่วยผูป้ ระสบภัยเฮติ”ิ

บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) โดย คุณไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ประธานกรรมการ ได้รว่ มบริจาค เงินช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยกรณีเหตุโศกนาฏกรรมแผ่นดินไหว ที่ประเทศสาธารณรัฐเฮติ เป็นจำ�นวนเงิน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาทถ้วน) เพื่อสมทบทุน “กองทุนคนไทยช่วย ผู้ประสบภัยเฮติ​ิ” ด้าน เบิร์ด-ธงไชย แมคอินไตย์ ก็ได้ร่วม บริจาคเงินจำ�นวน 100,000 บาท เพือ่ ช่วยเหลือด้วยเช่นกัน โดยมี ใหม่ เจริญปุระ และ คริสตินา ่ อากีลา่ ร์ ศิลปินแกรมมี่ ในฐานะตัวแทนบริษัทฯ ไปร่วมบริจาคเงินผ่านทางสถานี วิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

016


บทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคม

บริจาคช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย

บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) นำ�ทีมศิลปินร่วมบริจาคสิ่งของและเงินช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในจังหวัดต่างๆ

• บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) นำ�ทีมโดย บุษบา ดาวเรือง ประธานกรรมการบริหาร บริจาคเงินช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ผ่าน คุณขวัญแก้ว วัชโรทัย นายกมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นจำ�นวนเงิน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาทถ้วน) โอกาสนี้ เบิร์ด-ธงไชย แมคอินไตย์ ยังได้ร่วมบริจาคเงินจำ�นวน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาทถ้วน) อีกด้วย • คุณฟ้าใหม่ ดำ�รงชัยธรรม ผูแ้ ทนคุณไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ประธานกรรมการ บริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) นำ�ทีมศิลปินมอบเงิน ช่วยหลือผู้ประสบอุทกภัย จำ�นวน 300,000 บาท (สามแสนบาทถ้วน) โดยมี สรยุทธ สุทัศนะจินดา ผู้แทนจากครอบครัวข่าว 3 รับมอบ ณ สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 • ศิลปินแกรมมี่ลงพื้นที่ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย โดยร่วมเดินทางไปกับมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย เพื่อนำ�สิ่งของ จำ�เป็นไปช่วยเหลือ ให้กำ�ลังใจผู้ประสบอุทกภัย และยังได้ร่วมทำ�อาหารกับเหล่าอาสาสมัคร เพื่อแจกจ่ายให้กับประชาชนผู้ได้รับความเดือดร้อน ในเขตพื้นที่จังหวัดอ่างทอง ในโอกาสนี้ศิลปินยังร่วมบริจาคเงินช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยอีกด้วย • ศิลปินแกรมมีร่ ว่ มสร้างความบันเทิงเพือ่ ให้ก�ำ ลังใจผูป้ ระสบอุทกภัย ในงานตลาดนัดธารน้ำ�ใจเพือ่ นพึง่ (ภาฯ) ช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัยจังหวัด อ่างทอง ณ บริเวณถนนคนเดิน หน้าจวนผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง • ร่วมร้องเพลงในแชร์ริตี้ คอนเสิร์ต และรณรงค์รับบริจาคสมทบทุนมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย • ร่วมบริจาคสิ่งของจำ�เป็น อาทิ ข้าวสาร, น้ำ�ดื่ม, อาหารแห้ง ฯลฯ ผ่านทางองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย สถานีวิทยุโทรทัศน์ช่อง 9 (โมเดิร์นไนน์) ซึ่งได้เปิด “ศูนย์รับบริจาคน้ำ�ท่วม” ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำ�ท่วม ณ ห้องโถง อาคารปฏิบัติการข่าว • ร่วมบริจาคผ่านสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (ช่อง 5) สนามเป้า โดยศิลปินได้ร่วมกับเหล่าพี่ๆทหารช่วยกันลำ�เลียงสิ่งของบริจาคขึ้นรถเพื่อ นำ�ไปมอบกับผู้ประสบภัยต่อไป • ร่วมบริจาคเครื่องอุปโภคบริโภค และช่วยลำ�เลียงสิ่งของบริจาคเพื่อนำ�ไปช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 • ร่วมบริจาคเครื่องอุปโภคบริโภค และช่วยลำ�เลียงสิ่งของบริจาคเพื่อนำ�ไปช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ สำ�นักพิมพ์เดลินิวส์ • ร่วมร้องเพลงและรับโทรศัพท์เพื่อระดมเงินบริจาคช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย สทท. (ช่อง 11) • นอกจากนี้ศิลปินยังได้เข้าร่วมจัดคอนเสิร์ตเฉพาะกิจเพื่อระดมทุนบริจาคอีกมากมาย

017


บทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคม

ก้าวสู่ปีที่ 28 บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) ก้าวสู่ปี 28 ในฐานะผู้นำ�ธุรกิจบันเทิงของประเทศไทยที่โดดเด่นด้วยศักยภาพและผลงานอันเป็น ที่ยอมรับ ดัวยความมุ่งมั่นของบริษัทฯ ที่จะพัฒนาคุณภาพและศักยภาพให้ดียิ่งขึ้น ในฐานะผู้นำ�ธุรกิจบันเทิงของไทย และก้าวสู่ความเป็นผู้นำ� ด้านบันเทิงของเอเชียให้เป็นที่ยอมรับในระดับโลก พร้อมกับความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม ซึ่งบริษัทฯได้ดำ�เนินการผ่านกิจกรรมเพื่อสังคม อย่างมากมายในการสร้างสรรค์สังคมไทยให้พัฒนาต่อไปอย่างยั่งยืน

มูลนิธิดำ�รงชัยธรรม

ครบรอบ 12 ปีแห่งการสร้างโอกาสทางการศึกษาให้เด็กไทย

เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2550 กระทรวงการคลังได้ประกาศให้มูลนิธิดำ�รงชัยธรรม เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล ลำ�ดับที่ 643 ของ ประกาศกระทรวงการคลังฯ ปัจจุบันมูลนิธิดำ�รงชัยธรรม ได้เปิดโอกาสทางการศึกษาให้แก่เยาวชนไทยมาเป็นระยะเวลา 12 ปี มูลนิธดิ �ำ รงชัยธรรม ก่อตัง้ โดยนายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ประธานกรรมการ บริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) เพือ่ เปิดโอกาสทางการศึกษา ให้เด็กไทยที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ เรียนดี ประพฤติดี และมีความสามารถ โดยมอบทุนการศึกษาต่อเนื่องครบวงจรจนจบปริญญาตรี ต่อเนื่องทุกปี ซึ่งในปี 2552 มูลนิธิมีนักเรียนทุนจำ�นวนรวมทั้งสิ้น 256 ราย และมีนักเรียนทุนจบการศึกษาในระดับปริญญาตรีแล้ว 164 ราย, ทุนสนับสนุน กิจกรรมสำ�หรับเยาวชนและรับเป็นผู้อุปถัมภ์ดูแลความเป็นอยู่และการศึกษาเด็กกำ�พร้าที่ประสบภัยจากคลื่นยักษ์สินามิ 100 คน เป็นระยะเวลา 10 ปี ในวงเงิน 100 ล้าน, โครงการ “ทุนสนับสนุนงานนิเทศศาสตร์” ปี 2547 เป็นจำ�นวนเงินทุนสนับสนุนทัง้ สิน้ 1,500,000 บาท โดยสนับสนุน 2 ส่วน คือ ทุนสนับสนุนการวิจยั และพัฒนางานนิเทศศาสตร์ 5 โครงการ และทุนสนับสนุนกิจกรรมเชิงนิเทศศาสตร์ 4 โครงการ ปัจจุบนั ผลงานวิจยั ทั้ง 5 โครงการดำ�เนินการเสร็จสิ้นเรียบร้อย โดยมูลนิธิฯ ได้มอบผลงานวิจัยให้แก่ห้องสมุดของสถาบันการศึกษา หน่วยงาน และองค์กรอื่น จำ�นวน 15 แห่งทั่วประเทศ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าทางด้านงานนิเทศศาสตร์สืบต่อไป

018


มูลนิธิดำ�รงชัยธรรม ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ จากกระทรวงศึกษาธิการ ไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ประธานกรรมการมูลนิธิดำ�รงชัยธรรม รับมอบโล่ประกาศเกียรติคุณ จาก อ่องจิต เมธยะประภาส ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผน สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะที่มูลนิธิดำ�รงชัยธรรมให้การสนับสนุนการศึกษา แก่เด็กและเยาวชนไทยอย่างต่อเนื่องเพื่อมอบโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน

ชินวรณ์ บุณยเกียรติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ มอบเข็มที่ระลึกเสมาคุณูปการและ ประกาศเกียรติคณ ุ บัตรแก่มลู นิธดิ �ำ รงชัยธรรม เนือ่ งในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงศึกษาธิการ ครบรอบ 118 ปี เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติในฐานะองค์การที่ทำ�คุณประโยชน์แก่กระทรวงศึกษาธิการ โดยสนับสนุนและส่งเสริมงานด้านการศึกษาเป็นเอนกอนันต์

โครงการร่วมใจบริจาคโลหิต

โครงการร่วมใจบริจาคโลหิต เป็นโครงการที่บริษัทฯ ร่วมกับสภากาชาดไทย จัดกิจกรรมเพื่อเชิญชวนผู้บริหาร พนักงาน และศิลปิน ตลอดจน ประชาชนในบริเวณใกล้เคียง เข้าร่วมบริจาคโลหิต เพื่อช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์

โครงการ Just Say No

โครงการ Just Say No เป็นโครงการเพื่อรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด ซึ่งแกรมมี่เป็นผู้นำ�ในการรณรงค์มาอย่างต่อเนื่อง ด้วยความตระหนักถึง ปัญหายาเสพติดที่เปรียบเสมือนมหันตภัยร้ายของสังคมอันส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ แกรมมี่จึงสานต่อกิจกรรม อาทิ โครงการ Just Say No, โครงการรณรงค์วันงดสูบบุหรี่โลก, โครงการรณรงค์เนื่องในวันต่อต้านยาเสพติดโลก, โครงการรณรงค์งดดื่มสุรา, โครงการรับน้อง ปลอดเหล้า, โครงการร็อกมันส์...ไม่มีเมา (Rock No L.) เป็นต้น

019


บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) สานต่อโครงการทูบีนัมเบอร์วัน

โครงการทูบีนัมเบอร์วัน ซึ่งมี ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เป็นองค์ประธาน ดำ�เนินการโดยกระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) จัดกิจกรรมทัวร์คอนเสิร์ตทูบีนัมเบอร์วันทั่วประเทศเพื่อให้เหล่าสมาชิกทูบีนัมเบอร์วันใน จังหวัดต่างๆ ได้ใช้เวลาว่างทำ�กิจกรรมที่เป็นประโยชน์เพื่อห่างไกลจากยาเสพติด ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เหล่าศิลปินแกรมมี่และชาวทูบีนัมเบอร์วัน ได้ร่วมดำ�เนินการมาอย่างต่อเนื่อง ที่ผ่านมาได้จัดทัวร์คอนเสิร์ตทูบีนัมเบอร์วันในจังหวัดต่างๆ ทุกภาคของประเทศไทย โดยมีศิลปินร่วมสานต่อ โครงการอย่างคับคั่ง

โครงการถนนสายแสงตะวัน เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีในสังคม

โครงการถนนสายแสงตะวัน เป็นโครงการที่แกรมมี่ร่วมกับภาครัฐบาลและหน่วยงานต่างๆสนับสนุนกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ต่อสังคม อาทิ การจัดทำ�เพลงเพือ่ สังคม, คอนเสิรต์ การกุศลเพือ่ แบ่งบันสังคม, กิจกรรม “เหงือ่ นีเ้ พือ่ เธอ” เพือ่ สถาบันการแพทย์สยามินทราธิราช คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาลัยมหิดล, โครงการแก้วตา-ดวงใจ, โครงการช่วยเหลือคนพิการ, โครงการรณรงค์วันเอดส์โลก, โครงการรณรงค์เพื่อยุติ ความรุนแรงต่อเด็กและสตรี, โครงการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ ภายใต้การดำ�เนินงานของสภากาชาดไทย อาทิ วันบริจาคโลหิตโลก, โครงการ ประมูลของรักช่วยกาชาดโลก, โครงการรณรงค์บริจาคดวงตาเพือ่ ช่วยชีวติ เพือ่ นมนุษย์, โครงการสนับสนุนกิจกรรมเพือ่ คนพิการ, โครงการประชาสัมพันธ์ ธงมหิดลของศิริราชมูลนิธิ เนื่องในวันมหิดล เพื่อหารายได้ช่วยเหลือผู้ป่วยที่ยากไร้ ฯลฯ

กิจกรรมส่งเสริมสิ่งแวดล้อม กรีนเวฟ 106.5 เอฟเอ็ม จัดกิจกรรมอนุรักษ์ชายทะเลบางแสน

ดีเจเต็บ - ดีเจแบม บุกฟื้นฟูทะเลบางแสน เที่ยว-ชม-ช้อปสุดเพลิน ในกรีนแฟน คลับ:Refresh the sea คลืน่ กรีนเวฟ 106.5 เอฟเอ็ม นำ�ทีมโดย ดีเจเต็บ - กีรติ ศิรสิ ทุ ธิพฒ ั นา และ ดีเจแบม พลาดิสัยสวัสดิ์ อาสาพาคนฟังไปพักร้อนพร้อมทำ�กิจกรรมดีๆใน กรีนแฟนคลับ : รีเฟรช เดอะ ซี เพื่อเรียนรู้การอนุรักษ์และคืนความสดใสให้ท้องทะเลร่วมกันผ่านวิธีการผสมก้อน จุลินทรีย์ ที่ชายหาดบางแสน พร้อมทั้งนำ�ท่องเที่ยวแหล่งวัฒนธรรมต่างๆ ในจังหวัด ชลบุรีร่วมกันเป็นการส่งท้าย

020


บทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคม

โครงการเพื่อเด็กและเยาวชน

เป็นกิจกรรมที่แกรมมี่สร้างสรรค์ขึ้น เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นกำ�ลังสำ�คัญของชาติให้มีแนวคิดและทัศนคติที่ดีต่อตนเอง บุคคลรอบข้าง และสังคมส่วนรวม อาทิ โครงการมอบของขวัญเพื่อน้องเนื่องในวันเด็กแห่งชาติ, กิจกรรมรณรงค์เนื่องในวันเยาวชนแห่งชาติ, กิจกรรม Bangkok Music Award, กิจกรรมยลพิพิธภัณฑ์ฯ ผ่านความรู้สึก, กิจกรรมส่งเสริมและเผยแผ่ธรรมะในสถานศึกษา, การบริจาคหนังสือ เพื่อเยาวชน, กิจกรรมเลี้ยงอาหารและให้กำ�ลังใจเด็กด้อยโอกาส, กิจกรรมทำ�บุญเดือนเกิด เพื่อเด็กยากไร้ ฯลฯ

โครงการรณรงค์สร้างจิตสำ�นึก ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา

บริษทั ฯได้รว่ มมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทีเ่ กีย่ วข้องกับทรัพย์สนิ ทางปัญญา จัดทำ�โครงการรณรงค์ดา้ นทรัพย์สนิ ทางปัญญา “ถูก ถูกใจ ถูกกฎหมาย” เพื่อปลูกจิตสำ�นึกด้านลิขสิทธิ์ให้แก่ประชาชนผ่านกิจกรรมต่างๆ ภายใต้สโลแกน “ไม่ซื้อ ไม่ขาย ไม่ใช้ของปลอม” เพื่อกระตุ้นให้ ประชาชนตระหนักถึงผลงานทรัพย์สินทางปัญญา อันจะเป็นการลดปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ในระยะยาว

แกรมมี่รับโล่ประกาศเกียรติคุณองค์กรที่ประสบความสำ�เร็จ

อลงกรณ์ พลบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ มอบโล่ประกาศ เกียรติคณ ุ แก่บษุ บา ดาวเรือง ประธานกรรมการบริหาร บริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) ในฐานะองค์กรที่ประสบความสำ�เร็จในการนำ�ทรัพย์สิน ทางปัญญาไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เพือ่ ส่งเสริมเจ้าของทรัพย์สนิ ทางปัญญา และผู้ประกอบการ ให้มีการสร้างสรรค์ และนำ�ทรัพย์สินทางปัญญาไปพัฒนา ต่อยอด

021


บทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคม

แกรมมี่บริจาคสมทบทุนเนื่องในวันครบรอบกระทรวงพานิชย์

พรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพานิชย์ รับมอบเงินจาก ประภาวดี ธานีรนานนท์ ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์และ สื่อสารองค์กร บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) พร้อมด้วยศิลปิน สมทบทุนบริจาคมูลนิธวิ สิ สุกรรม เพือ่ สนับสนุนทุนการศึกษาแก่บตุ รธิดา ข้าราชการ เจ้าหน้าทีก่ ระทรวงพานิชย์ เนือ่ งในวันครบรอบการก่อตัง้ 90 ปีกระทรวงพานิชย์

นอกจากนี้ยังมีโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนสังคมในด้านต่างๆ อาทิ

กิจกรรมเทิดพระเกียรติ

บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) ได้เข้าร่วมกิจกรรมเทิดพระเกียรติในวาระต่างๆอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นการถวายพระพรและแสดง ความจงรักภักดี อาทิ กิจกรรมสัญจร “สือ่ ศิลปิน รวมใจ ถวายในหลวง” เพือ่ เผยแพร่พระมหากรุณาธิคณ ุ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูท่ พ่ี ระราชทาน โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำ�ริ , โครงการ “ล้านภาพ ล้านถ้อยคำ� ล้านเรือ่ งราว ทีเ่ ล่าขาน...งานในหลวง” เปิดตัวเว็บไซต์ www.ourking.in.th, โครงการส่งความสุขให้ “พ่อ” ด้วยรอยยิ้ม, คอนเสิร์ต “สายใยไทย สู่ใจพ่อ” โดยเบิร์ด-ธงไชย แมคอินไตย์ และกลุ่มนักร้องนักแสดง โดยรายได้ ส่วนหนึ่งทูลเกล้าถวายโดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา การผสานพลัง 11 ภาคี เผยแพร่งาน “๕ ปี สายใยรักแห่งครอบครัว”

บริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) โดยศิลปินในสังกัดและพันธมิตรบันเทิงได้รว่ มกันรณรงค์เชิญชวนร่วมงาน “๕ ปีสายใยรักแห่งครอบครัว” จัดโดยกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับ ๑๐ ภาคีเครือข่าย เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานความสำ�เร็จของโครงการ สายใยรักแห่งครอบครัวในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และเพือ่ เป็นของขวัญและเป็นการส่งเสริม พร้อมกระจาย รายได้ให้กับสมาชิกกลุ่มแม่บ้านโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ของสมาชิก ประสานงานพลังหน่วยงานภาคีเครือข่าย ร่วมขับเคลื่อนการดำ�เนินงานโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

022


โครงการ “รวมพลังจิตอาสา” เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย

บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) ร่วมกับ มูลนิธิรามาธิบดี ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จัดโครงการ “รวมพลังจิตอาสา” เพื่อช่วยเหลือคนไทยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสุขภาพที่ดีอย่างยั่งยืน ผ่านการรณรงค์เชิญชวนบริจาคสมทบ ทุนสร้างอาคารสมเด็จพระเทพรัตน์กับโครงการศิลปินจิตอาสา และโครงการต่อเนื่องอีกมากมาย อาทิ โครงการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำ�เนิดเทิดไท้ คู่ขวัญองค์ราชันราชินีิ เพื่อช่วยเหลือในการหาทุนให้กับผู้ป่วยที่ขาดแคลนทุนทรัพย์เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล, โครงการแกรมมี่ 4 ช่อง 4 ห้อง หัวใจให้น้องๆ ด้วยการระดมทุนเพื่อการผ่าตัดหัวใจให้เด็กด้อยโอกาส เป็นต้น

กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย งาน “พัทยา อินเตอร์เนชั่นแนล มิวสิค เฟสติวัล 2010”

ตามทีก่ ารท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย ได้จดั กิจกรรมท่องเทีย่ วควบคูค่ วามบันเทิงครัง้ ใหญ่แห่งปี เทศกาลดนตรีนานาชาติเมืองพัทยา ประจำ�ปี 2553 “พัทยา อินเตอร์เนชั่นแนล มิวสิค เฟสติวัล 2010” เพื่อปลุกกระแสการท่องเที่ยวภายใต้แคมเปญ “เที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคัก” โดยมอบหมายให้บริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมีจ่ �ำ กัด (มหาชน) เป็นผูด้ �ำ เนินการจัดงาน ซึง่ ถือเป็นมหกรรมดนตรีทย่ี ง่ิ ใหญ่งานหนึง่ ในเอเชีย โดยรวมพล ศิลปินที่มีชื่อเสียงของไทยและศิลปินต่างประเทศคับคั่ง เพื่อเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีและเป็นการเชิญชวนให้ชาวต่างประเทศมาท่องเที่ยวใน ประเทศไทยมากขึ้น

023


โครงการ SMILE@SIAM คืนรอยยิ้มให้เมืองไทย

บริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) ได้รว่ มแสดงพลังสร้างสรรค์ความสนุกอย่างเต็มที่ ในโครงการ “SMILE@SIAM” จัดโดยการท่องเทีย่ ว แห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นงานใหญ่ระดับชาติประกอบด้วยกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพื่อสร้างรอยยิ้มให้กับทุกคน และกระตุ้นให้เกิด การช็อป กิน เที่ยว โดยมีศิลปิน แกรมมี่เข้าร่วมกิจกรรมอย่างคับคั่ง เพื่อสร้างรอยยิ้มทั่วบริเวณสยามให้คนไทย และนักท่องเที่ยวได้สัมผัสกับ เสน่ห์แห่งยิ้มสยาม และ เพื่อคืนThailand : Land of Smiles ให้กับประเทศไทย

แกรมมี่มุ่งมั่นที่จะสานต่อกิจกรรมต่างๆอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เติบโตอย่างยั่งยืนตลอดไป

รางวัลที่ได้รับ

“จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่” คว้ารางวัล “Thailand’s Most Innovative Companies 2010” ตอกยำ�ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรม

บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) นำ�ทีมโดย ไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ประธานกรรมการ พร้อมบรรดาผู้บริหารร่วมกันแสดงความยินดี ในโอกาสที่บริษัทได้รับรางวัล “บริษัทที่มีความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมนำ�สู่การฟื้นฟูทางเศรษฐกิจ” ติด 1 ใน 10 บริษัทชั้นนำ�ของประเทศไทย โดยมี บุษบา ดาวเรือง ประธานกรรมการบริหาร เข้ารับรางวัลจาก ดร.วีระชัย วีระเมธีกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในงาน “Thailand’s Most Innovative Companies 2010” รางวัลครั้งนี้ยิ่งตอกยำ�ความเป็นผู้นำ�ของจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ในฐานะเป็นองค์กรที่มีนวัตกรรมโดดเด่นของประเทศไทย นอกจากนี้ที่ผ่านมาบริษัทยัง ได้รับการยกย่องด้านนวัตกรรมในระดับนานาชาติมาแล้ว จากที่เคยคว้ารางวัลบริษัทชั้นนำ�ของประเทศไทย อันดับหนึ่งด้านนวัตกรรมในการตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า ติดต่อกัน 6 ปีซ้อน, รางวัลบริษัทชั้นนำ�ซึ่งบริษัทอื่นพยายามลอกเลียนแบบ และเป็นบริษัทในกลุ่มธุรกิจบันเทิงรายเดียว 1 ใน 10 ของบริษัทชั้นนำ�ของประเทศไทย จากนิตยสารฟาร์อีสเทิร์น อีโคโนมิก รีวิว รวมถึง รางวัล Best Under The Billion 1 ใน 200 บริษัทชั้นนำ�จาก ทั่วโลก จากนิตยสาร Forbes เป็นต้น

024


บทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคม

นอกจากนีย้ งั มีรางวัลทางสังคมอีกมากมายทีเ่ กิดจากจิตสำ�นึกเพือ่ ส่วนรวม ตลอดจนรางวัลเชิดชูเกียรติตา่ งๆ ทีศ่ ลิ ปินของบริษทั ฯ ได้รับความไว้วางใจให้เป็นผู้นำ�ในการรณรงค์และเป็นแบบอย่างในการบำ�เพ็ญประโยชน์เพื่อสังคมด้านต่างๆ

025


บทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคม

รางวัลที่ได้รับในปี 2553 ลำ�ดับที่

026

รางวัล

ผู้รับรางวัล เบิร์ด-ธงไชย แมคอินไตย์

หน่วยงานที่มอบ

01

รางวัลศิลปินผู้ส่งเสริมภาษาไทย ดีเด่นประกายเพชร

มูลนิธิเพชรภาษา

02

โล่ที่ระลึกจากสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) สยามมกุฎราชกุมาร ในฐานะองค์กรที่ให้ การสนับสนุนกิจการต่างๆของคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล เนื่องในวันมหิดล

คณะแพทยศาสตร์ ศิริราช พยาบาล

03

รางวัลลูกที่มีความกตัญญูกตเวทีอย่างสูงต่อแม่ สิงโต-สิงหรัตน์ จันทร์ภักดี ในโอกาสวันแม่แห่งชาติ ปี 2553 พี สะเดิด–พีรพัฒน์ สวัสดิ์มูล โกไข่ - จุมพล ทองตัน

สภาสังคมสงเคราะห์แห่ง ประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์

04

รางวัลผู้ทำ�คุณประโยชน์ต่อเด็กและเยาวชน ดีเด่นแห่งชาติ สาขาสื่อมวลชนเพื่อเด็กและ เยาวชนที่ป้องกันปัญหาสังคม

ตั๊กแตน-ชลดา ทองจุลกลาง

สำ�นักงานส่งเสริมสวัสดิภาพ และพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และ ผู้สูงอายุ (สท.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์

05

รางวัล “รางวัลส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ความกตัญญูกตเวที ลูกกตัญญู แม่ดีเด่น” ในโอกาสวันแม่แห่งชาติ ปี 2553

กัน เดอะสตาร์-นภัทร อินทร์ใจเอื้อ พี สะเดิด–พีรพัฒน์ สวัสดิ์มูล ตั๊กแตน-ชลดา ทองจุลกลาง สน เดอะสตาร์ เตชินท์ ชยุติ กงจักร-กฤติน(ไมค์ไอดอล)

วิทยาลัยพุทธศาสตร์และ ปรัชญาฯ ร่วมกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนคร โดย สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม

06

โล่ประกาศเกียรติคุณศิลปินรณรงค์ต่อต้าน ยาเสพติด ประจำ�ปี พ.ศ. 2553

น้ำ�ชา–ชีรณัฐ ยูสานนท์

สำ�นักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามยา เสพติด

07

โล่ประกาศเกียรติคุณในฐานะแกนนำ�รณรงค์ เพื่อสังคมปลอดบุหรี่

น้ำ�ชา-ชีรณัฐ ยูสานนท์ ดิว-อรุณพงศ์ ชัยวินิตย์

กระทรวงสาธารณสุข

08

รางวัลเพชรในเพลง : • รางวัลการขับร้องเพลงดีเด่นด้านภาษาไทย ประเภทผู้ขับร้องเพลงไทยสากล (ชาย) ได้แก่ สุกฤษฎ์ วิเศษแก้ว และ นรินทร์ ภูวนเจริญ (เอ นรินทร์) • รางวัลการขับร้องเพลงดีเด่นด้านภาษาไทย ประเภทผู้ขับร้องเพลงไทยสากล (หญิง) ได้แก่ นันทิดา อัศวเหม • รางวัลการขับร้องเพลงดีเด่นด้านภาษาไทย ประเภทผู้ขับร้องเพลงไทยลูกทุ่ง (ชาย) ได้แก่ พงศธร ศรีจันทร์ และ ไมค์ ภิรมย์พร • รางวัลการขับร้องเพลงดีเด่นด้านภาษาไทย ประเภทผู้ขับร้องเพลงไทยลูกทุ่ง (หญิง) ได้แก่ ต่าย-อรทัย • รางวัลประเภทการประพันธ์เพลงดีเด่นด้านภาษาไทย ประเภทการประพันธ์ คำ�ร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ได้แก่ ครูสลา คุณวุฒิ, ปิติ ลิ้มเจริญ, อาทิตย์ สาระจูฑะ และ สนชัย สมบูรณ์ • รางวัลผู้ใช้ภาษาไทยถิ่นดีเด่น ได้แก่ ครูสลา คุณวุฒิ

สำ�นักวรรณกรรมและ ประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม

09

โล่เกียรติคุณ ในฐานะเยาวชนที่ประพฤติตน เป็นแบบอย่างที่ดี ตามโครงการ คนดี คิดดี สังคมดี

กัน เดอะสตาร์ 6–นภัทร อินทร์ใจเอื้อ

กระทรวงวัฒนธรรม

10

รับโล่คนดีศรีนครินทร์ ในฐานะได้รับการแต่งตั้ง เป็นทูตสุขภาวะ ผู้นำ�คนรุ่นใหม่ หัวใจสุขภาพ

ไอซ์-ศรัณยู วินัยพานิช เป๊ก-ผลิตโชค อายนบุตร เป๊ก-เปรมณัช สุวรรณานนท์ เต้ย-จรินทร์พร จุนเกียรติ

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


พรีเซ็นเตอร์

027


ลำ�ดับที่

028

พรีเซ็นเตอร์

ศิลปิน

หน่วยงาน

01

พรีเซ็นเตอร์รณรงค์บริจาคดวงตา ของสภากาชาดไทย

นัท–มีเรีย เบนเนเดตตี้

ศูนย์ดวงตาสภากาชาดไทย

02

พรีเซ็นเตอร์โครงการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำ�เนิด เทิดไท้คู่ขวัญองค์ราชันราชินี

สิงโต-สิงหรัตน์ จันทร์ภักดี หนูนา-หนึ่งธิดา โสภณ

มูลนิธริ ามาธิบดี ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

03

ทูตวัฒนธรรมทางดนตรีกระชับความสัมพันธ์ ไทย-จีน เทศกาลตรุษจีนเยาวราช

ชิน-ชินวุฒ อินทรคูสิน รุจ-ศุภรุจ เตชะตานนท์ กิ่ง เดอะสตาร์ วิน และป๊อป แคลอรี่ บลาบลา

กรุงเทพมหานครร่วมกับ ประชาคมเขตสัมพันธวงศ์

04

พรีเซ็นเตอร์โครงการ “แค่ขยับ = เริ่มออกกำ�ลังกาย”

ติ๊ก ชิโร่-มนัสวิน นันทเสน

สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

05

พรีเซ็นเตอร์ “เนื่องในวันงดสูบบุหรี่โลก”

น้ำ�ชา-ชีรณัฐ ยูสานนท์ ดิว-อรุณพงศ์ ชัยวินิตย์

กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมควบคุมโรค

06

พรีเซ็นเตอร์ประชาสัมพันธ์ ดอกมะลิ วันแม่แห่งชาติประจำ�ปี 2553

สิงโต-สิงหรัตน์ จันทร์ภักดี น้ำ�ชา-ชีรณัฐ ยูสานนท์ พี สะเดิด-พีรพัฒน์ สวัสดิ์มูล

สภาสังคมสงเคราะห์ แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

07

ศิลปินแกนนำ�คนรุ่นใหม่ รณรงค์เชิญชวน เลโอ-วงบีโอวาย บริจาคโลหิต เนื่องในวันบริจาคโลหิตโลก 2553 กงจักร–กฤติน วงศ์ถริชา

ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ ร่วมกับคณะกรรมการจัดหา และส่งเสริมผู้ให้โลหิตแห่ง สภากาชาดไทย

08

พรีเซ็นเตอร์ รณรงค์ต่อต้านยาเสพติด ประจำ�ปี พ.ศ. 2553

น้ำ�ชา-ชีรณัฐ ยูสานนท์

สำ�นักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปราม ยาเสพติด

09

ทูตวัฒนธรรมทางดนตรีในนามประทศไทย ร่วมงาน “ASEAN+3 Concert for the King”

นิโคล เทริโอ อ๊อฟ-ปองศักดิ์ รัตนพงษ์

กรมประชาสัมพันธ์ โดยสถานีวิทยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทย

10

พรีเซ็นเตอร์โครงการร็อกมันส์...ไม่มีเมา (Rock No L.)

โต-ณัฐพล พุทธภาวนา นักร้องนำ�วง Hangman

สำ�นักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) ร่วมกับ สำ�นักงานคณะ กรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน(สพฐ.)

11

อาสาสมัครเปิดรับความคิดเห็นทางโทรศัพท์ “โครงการ 6 วัน 63 ล้านความคิด”

ไอซ์-ศรัณยู วินัยพานิช โอ๊ค-สมิทธิ์ อารยะสกุล เตชินทร์ ชยุติ ส้ม- มารี เออเจนี เลอเลย์

สำ�นักนายกรัฐมนตรี

12

ศิลปินแกนนำ�รณรงค์ขายดอกบานชื่น สัญลักษณ์ “วันเมตตาปัญญาอ่อน”

ติ๊ก ชิโร่-มนัสวิน นันทเสน ตีน่า-พิมพ์นารา ไรท์

มูลนิธิช่วยคนปัญญาอ่อน แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์

13

ทูตวัฒนธรรมทางดนตรีในนามประทศไทย กระชับความสัมพันธ์ระหว่างไทย-ญี่ปุ่น งาน Thai Festival Osaka 2010

อ๊อฟ-ปองศักดิ์ รัตนพงษ์ โอ๊ค-สมิทธิ์ อารยะสกุล นิว- นภัสสร ภูธรใจ จิ๋ว-ปิยนุช เสือจงพรู

สถานกงสุลใหญ่ไทย ณ นครโอซากา ประเทศญี่ปุ่น


บทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคม

ลำ�ดับที่

พรีเซ็นเตอร์

ศิลปิน

หน่วยงาน

14

ศิลปินแกนนำ�แสดงพลังเดินหน้าขับเคลื่อน เศรษฐกิจไทย โครงการ “เชื่อมั่นประเทศไทย รวมพลังไทยสู่อนาคต”

น้ำ�ชา-ชีรณัฐ ยูสานนท์ เตชินท์ ชยุติ ชาช่า–อริต์ตา รามณรงค์ เต้น–นรารักษ์ ใจบำ�รุง กงจักร–กฤติน วงศ์ถริชา

กระทรวงพาณิชย์ ร่วมกับภาค ธุรกิจ

15

พรีเซ็นเตอร์โครงการคนไทย...รักสายส่ง

ติ๊ก ชิโร่-มนัสวิน นันทเสน

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย

16

อาสาสมัครสายสืบผักสด โครงการ “ผักสด ปลอดภัย ส่งเสริม คนไทยสุขภาพดี”

เต้น–นรารักษ์ ใจบำ�รุง กงจักร–กฤติน วงศ์ถริชา

สำ�นักงานคณะกรรมการอาหาร และยา กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับกองบังคับการปราบปราม การกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับ การคุ้มครองผูบ้ ริโภค สำ�นักงาน ตำ�รวจแห่งชาติ

17

พรีเซ็นเตอร์โครงการกำ�ลังใจในพระดำ�ริฯ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา

รุจ-ศุภรุจ เตชะตานนท์ อาร์-อาณัตพล ศิริชุมแสง เอ-นรินทร์ ภูวนเจริญ

โครงการตามพระดำ�ริในการ ประทานกำ�ลังใจให้แก่กลุ่ม ผู้ด้อยโอกาสในกระบวนการ ยุติธรรม

18

ตัวแทนศิลปินรณรงค์เผยแพร่เรื่องประชาธิปไตย ดิว- อรุณพงศ์ ชัยวินิตย์ โครงการ“คนหน้าไมค์ หลังไมค์ หัวใจ เต้น–พลอย–กงจักร Dream On ประชาธิปไตย” วง Klear

กรมประชาสัมพันธ์ โดยสถานีวิทยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทย

19

พรีเซ็นเตอร์ประชาสัมพันธ์ธงมหิดล เนื่องในวันมหิดล

นัท – มีเรีย เบนเนเดตตี้ เตชินท์ ชยุติ

ศิริราชมูลนิธิ

20

ทูตวัฒนธรรมทางดนตรี สานสัมพันธ์อันดี ระหว่างไทย-มาเลเซีย งาน “Thai – Malaysian Cultural Exchange Performance”

ปนัดดา เรืองวุฒิ แก้ม - วิชญาณี เปียกลิ่น อาร์-อาณัตพล ศิริชุมแสง ดิว- อรุณพงศ์ ชัยวินิตย์

กรมประชาสัมพันธ์ โดยสถานีวิทยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทย

21

อาสาสมัครรณรงค์โครงการ “สวดมนต์ ข้ามปี เริ่มต้นดี ชีวิตดี ในปีใหม่”

พลับ-จุฑาภัทร เหล่าธรรมทัศน์ ชาช่า-อริต์ตา รามณรงค์

สำ�นักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับสำ�นักเลขาธิการมหา เถรสมาคม สำ�นักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ มูลนิธิ ศึกษาธิการ มูลนิธิวัดปัญญา เครือข่ายองค์กรงดหล้า และยุวพุทธิกสมาคม แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

22

พรีเซ็นเตอร์รณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัว

รุจ - ศุภรุจ เตชะตานนท์ ดิว- อรุณพงศ์ ชัยวินิตย์

กระทรวงพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์

23

ศิลปินแกนนำ�รณรงค์ป้องกันการติดเชื้อเอดส์ ประจำ�ปี 2553 เนื่องในโอกาสวันเอดส์โลก

ไอซ์ - ศรัณยู วินัยพานิช อาร์ – อาณัตพล ศิริชุมแสง หนูนา- หนึ่งธิดา โสภณ เกรซ - เดอะสตาร์ 6

ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย

24

อาสาสมัครรณรงค์จำ�หน่ายดอกป๊อปปี้ช่วยเหลือ ครอบครัวทหารผ่านศึก เนื่องในวันทหารผ่านศึก

หญิง-เจนนี่-เบลล์ วงบราเซียร์ เจมส์-เมาส์-เลโอ วงบีโอวาย. เตชินทร์ ชยุติ

มูลนิธิสงเคราะห์ครอบครัว ทหารผ่านศึก

029


สรุปฐานะการเงิน และผลการดำ�เนินงาน บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

สรุปฐานะการเงิน และผลการดำ�เนินงาน บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (หน่วย:ล้านบาท) งบการเงินรวม รายได้รวม รายได้จากการขายและบริการ ต้นทุนรวม กำ�ไรขั้นต้น กำ�ไรก่อนส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย กำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี

2553

2552

2551

8,812 8,587 5,226 3,361 591 523

8,124 7,878 4,796 3,082 541 511

7,806 7,546 4,234 3,312 828 705

430

461

639

สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท

7,565 3,750 628 3,187

6,926 3,440 501 2,984

6,813 3,138 707 2,968

จำ�นวนหุ้นถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก(ล้านหุ้น) กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น(บาท) เงินปันผลต่อหุ้น(บาท) มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น(บาท) อัตราส่วนกำ�ไรสุทธิต่อรายได้รวม อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัท อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์

530.3 0.99 0.81 6.01 6% 17% 7%

527.4 0.97 0.87 5.63 6% 17% 7%

490.0 1.44 1.25 6.06 9% 24% 10%

เงินปันผล*

ปี 2551 เงินปันผลอัตรา 1.25 บาทต่อหุ้น ในปี 2551 ประกอบด้วย :

เงินปันผลระหว่างกาลงวด 6 เดือนแรก ปี 2551 ในอัตรา 0.60 บาทต่อหุ้น ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2551 เมือ่ วันที่ 13 สิงหาคม 2551 และเงินปันผลประจำ�ปีงวด 6 เดือนหลัง ปี 2551 ในอัตรา 0.65 บาทต่อหุน้ ตามมติทป่ี ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2552 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2552

ปี 2552 เงินปันผลอัตรา 0.87 บาทต่อหุ้น ในปี 2552 ประกอบด้วย :

เงินปันผลระหว่างกาลงวด 6 เดือนแรก ปี 2552 ในอัตรา 0.55 บาทต่อหุ้น ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2552 เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2552 และเงินปันผลประจำ�ปีงวด 6 เดือนหลัง ปี 2552 ในอัตรา 0.32 บาทต่อหุ้น ตามมติที่ประชุมสำ�มัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2553 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2553

ปี 2553 เงินปันผลอัตรา 0.81 บาทต่อหุ้น* ในปี 2553 ประกอบด้วย :

เงินปันผลระหว่างกาลงวด 6 เดือนแรก ปี 2553 ในอัตรา 0.40 บาทต่อหุ้น ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2553 เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2553 และเงินปันผลประจำ�ปีงวด 6 เดือนหลัง ปี 2553 ในอัตรา 0.41 บาทต่อหุ้น* โดยการเสนอจากมติที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 หมายเหตุ:* เงินปันผลประจำ�ปีงวด 6 เดือนหลัง ปี 2553 ในอัตรา 0.41 บาทต่อหุน้ จะต้องได้รบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2554 ซึ่งจะประชุมในวันที่ 27 เมษายน 2554 จึงจะถือว่าอัตราการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวได้รับอนุมัติ 030


โครงสร้างรายได้

โครงสร้างรายได้สำ�หรับปี 2552-2553 2552

11%

´Ô¨ÔµÍÅ

22% ÊÔ¹¤ŒÒà¾Å§áÅФ‹ÒÅÔ¢ÊÔ·¸Ô์

¤Í¹àÊÔà µ 4% ºÃÔËÒÃÈÔÅ» ¹

8% 4% Í×่¹æ 4%

20% â·Ã·Ñȹ ¼‹Ò¹´ÒÇà·ÕÂÁ 1%

2% ÊÔ่§¾ÔÁ¾ 17%

â·Ã·Ñȹ

2553

ÀҾ¹µÃ

ÃѺ¨Ñ´áÅкÃÔËÒáԨ¡ÃÃÁ áÅкÃÔËÒèѴËÒÍػáó

ÇÔ·ÂØ 7%

¤Í¹àÊÔà µ 4%

9% ´Ô¨ÔµÍÅ

18% ÊÔ¹¤ŒÒà¾Å§áÅФ‹ÒÅÔ¢ÊÔ·¸Ô์

ºÃÔËÒÃÈÔÅ» ¹ 7% ÀҾ¹µÃ 2%

4% Í×่¹æ 2% ÊÔ่§¾ÔÁ¾ 20%

â·Ã·Ñȹ

ÃѺ¨Ñ´áÅкÃÔËÒáԨ¡ÃÃÁ áÅкÃÔËÒèѴËÒÍػáó

22%

â·Ã·Ñȹ ¼‹Ò¹´ÒÇà·ÕÂÁ

4%

สินค้าเพลงและค่าลิขสิทธิ์ ดิจิตอล คอนเสิร์ต บริหารศิลปิน ภาพยนตร์ โทรทัศน์ โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม วิทยุ รับจัดและบริหารกิจกรรมและบริการจัดหาอุปกรณ์ สิ่งพิมพ์ อื่นๆ รวม

8% ÇÔ·ÂØ 2552

22% 11% 4% 8% 4% 20% 1% 7% 17% 2% 4% 100%

2553

18% 9% 4% 7% 2% 22% 4% 8% 20% 2% 4% 100% 031


ข้อมูลทั่วไป และลักษณะการประกอบธุรกิจ

ข้อมูลทั่วไป บริษัท

ชื่อบริษัท : บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) (บริษัทฯ) การประกอบธุรกิจ : ธุรกิจบันเทิงและสื่อ ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ : เลขที่ 50 อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 เลขทะเบียนบริษัท : บมจ. 0107537000955 โฮมเพจบริษัท : www.gmmgrammy.com โทรศัพท์ : 0-2669-9000 โทรสาร : 0-2669-9009

ลักษณะธุรกิจ

ธุรกิจของบริษัทสามารถจำ�แนกออกได้เป็น 4 ประเภทธุรกิจหลัก ตามความแตกต่างของลักษณะการประกอบธุรกิจดังนี้ 1. ธุรกิจเพลงและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับเพลง ภายใต้โมเดล “การให้บริการเพลงแบบครบวงจร” (Total Music Business) ซึ่งประกอบด้วย ธุรกิจสินค้าเพลง และลิขสิทธิ์ ธุรกิจดิจิตอล คอนเทนต์ ธุรกิจโชว์บิซ และธุรกิจบริหารศิลปิน ธุรกิจสินค้าเพลง และลิขสิทธิ์ - ธุรกิจสินค้าเพลง (Physical Products) ได้แก่ ซีดี วีซดี ี ดีวดี ี และเอ็มพี 3 เป็นต้น โดยจัดจำ�หน่ายผ่านร้าน Modern Trade (Super Stores and Discount Stores) และ Traditional Trade (ร้านค้าส่ง และร้านค้าปลีก) ที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ และบริการจำ�หน่าย CD และ DVD ผ่านช่องทาง Call Center และ Online ที่ www.shopping8000.com - ธุรกิจการจัดเก็บค่าลิขสิทธิ์ (Rights Management Business) ได้แก่การจัดเก็บค่าลิขสิทธิ์จากผู้ประกอบการที่นำ�ผลงานเพลงของกลุ่มบริษัท ไปใช้ในทางการค้า รวมถึงการบริหารและจัดเก็บค่าลิขสิทธิ์และการบริหารตู้คาราโอเกะด้วย ธุรกิจดิจิตอล บริษทั มีการนำ�คอนเทนต์เพลงมาแปลงเป็นรูปแบบดิจติ อลเพือ่ กระจายไปสูเ่ ครือข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ อินเตอร์เน็ต และ ผูป้ ระกอบการภายนอก โดย มีการให้บริการดาวน์โหลดประเภทต่าง ๆ เช่น เสียงเรียกเข้า (Ringtone) เสียงรอสาย (Ringback Tone) เพลงเต็ม (Full Song) และมิวสิควีดีโอ (Full MV) ทั้งแบบรายเพลง (A la carte) และแบบเหมาจ่ายรายเดือน (Subscription Service) ผ่านช่องทาง *123 บริษัทให้บริการดาวน์โหลด ประเภทต่างๆ เช่น เสียงเรียกเข้าโทรศัพท์ (Ringtone) เสียงรอสาย (Ringback Tone) เพลงเต็ม (Full Song) และมิวสิควีดีโอ (Full MV) ทัง้ แบบรายเพลง และรายเดือน(Subscription Services) และยังมีบริการส่งเพลงบอกความรูส้ กึ *1234 Music Cupid / เว็บไซต์www.gmember.com ซึ่งเป็นศูนย์กลางรวบรวมข้อมูลเพลง ข่าวสารศิลปิน การดาวน์โหลดเพลง และกิจกรรมต่างๆ อีกมากมาย / เว็บไซต์ www.daraoke.com ซึ่งเป็น เว็บไซต์ร้องคาราโอเกะ Online / บริการดูดวงผ่านช่องทาง *4998 และบริการจำ�หน่าย CD และ DVD ผ่านช่องทาง Call Center และ Online ที่ www.shopping8000.com ธุรกิจโชว์บิซ (Show Business) ดำ�เนินธุรกิจสร้างสรรค์รับจ้างจัดกิจกรรมและงานแสดงต่างๆ เช่นคอนเสิร์ต และละครเวที ธุรกิจบริหารศิลปิน ดำ�เนินธุรกิจคัดสรร พัฒนาศิลปินใหม่ รวมถึงการดูแลและจัดหางานให้ศิลปินในสังกัด ทั้งในรูปแบบของ Music และ Non-Music Artists 2. ธุรกิจสื่อ ประกอบไปด้วย - สื่อวิทยุ เป็นการผลิต และจัดรายการวิทยุในระบบเอฟเอ็ม โดย ณ สิ้นปี 2553 กลุ่มบริษัทมีสถานีวิทยุเพลง 4 สถานี - สื่อโทรทัศน์ เป็นการเช่าช่วงเวลาจากทางสถานีโทรทัศน์ ช่อง 3 5 7 9 เพื่อผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทต่างๆ รวมถึงการรับจ้างผลิต ในปี 2553 กลุม่ บริษทั มีการผลิตรายการทัง้ สิน้ 31 รายการ โดยมีเวลาออกอากาศ เฉลีย่ ประมาณ 42 ชัว่ โมง 10 นาที ต่อสัปดาห์ - สือ่ โทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม เป็นธุรกิจผลิตรายการบันเทิง เพือ่ ออกอากาศในสถานีทวี ดี าวเทียมจำ�นวน 6 ช่อง ได้แก่ FAN TV, BANG CHANNEL, GREEN CHANNEL, ACTS CHANNEL, SARANAIR CHANNEL และรายการทางการเงินผ่านช่องMoney Channel ซึ่งบริษัทได้ร่วมทุนกับ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นการผลิตและจัดจำ�หน่ายนิตยสารแฟชั่น อิมเมจ นิตยสารผู้หญิง มาดาม ฟิกาโร และ เฮอร์เวิลด์ นิตยสารผู้ชาย แมกซิม และ นิตยสารบันเทิง “In Magazine” และพ๊อคเก็ตบุ๊คที่ได้รับความนิยมต่างๆ - ธุรกิจสร้างสรรค์และบริหารกิจกรรมทางการตลาดแบบครบวงจร เป็นธุรกิจให้บริการเกีย่ วกับงานกิจกรรมแบบครบวงจร ตัง้ แต่เสนอแนวความคิด ในการจัดกิจกรรม จัดหาผูร้ บั เหมาในงานด้านต่างๆ และติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ บริหารงานได้สอดคล้อง ตรงตามจุดมุง่ หมาย ของลูกค้าที่ตั้งไว้ โดยมีบริษัท อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ เป็นผู้ดูแลและดำ�เนินธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกัน อย่างครบวงจร 3. ธุรกิจภาพยนตร์ เป็นการผลิตภาพยนตร์เพื่อฉายตามโรงภาพยนตร์ 4. ธุรกิจอืน่ ๆ ซึง่ รวมถึงธุรกิจให้บริการสถานทีอ่ อกกำ�ลังกาย ธุรกิจบริหาร Call Center และธุรกิจการศึกษา เช่น โรงเรียนสอนดนตรีและการร้องเพลง เป็นต้น

032


โครงสร้างรายได้ของกลุ่มบริษัท

โครงสร้างรายได้ของกลุ่มบริษัท ผลิตภัณฑ์/บริการ ดำ�เนินการโดย รายได้จากการจำ�หน่ายสินค้าเพลง บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ บริษัทย่อยอื่น รวมรายได้จากการจำ�หน่ายสินค้าเพลง รายได้จากค่าลิขสิทธิ์ รายได้จากค่าลิขสิทธิ์-ธุรกิจ Digital บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ บจก. จีเอ็มเอ็ม ดิจิตอล โดเมน บจก. ดิจิตอล อาร์มส์ รายได้จากค่าลิขสิทธิ์อื่น บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ บจก. จีเอ็มเอ็ม มิวสิค พับลิชชิ่ง อินเตอร์เนชั่นแนล บจก. คลีน คาราโอเกะ บจก. จีเอ็มเอ็ม ไท หับ บริษัทย่อยอื่น รวมรายได้จากค่าลิขสิทธิ์ รวมรายได้จากการจำ�หน่ายสินค้าเพลงและค่าลิขสิทธิ์ รายได้จากการจัดคอนเสิร์ต บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ บมจ. จีเอ็มเอ็ม มีเดีย บริษัทย่อยอื่น รวมรายได้จากการจัดคอนเสิร์ต รายได้ค่าบริหารศิลปิน บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ บจก. เอ็กแซ็กท์ บจก. สวัสดีทวีสุข บริษัทย่อยอื่น รวมรายได้ค่าบริหารศิลปิน รายได้จากการผลิตภาพยนตร์ บจก. จีเอ็มเอ็ม ไท หับ บริษัทย่อยอื่น รวมรายได้จากการผลิตภาพยนตร์ รายได้จากการผลิตรายการโทรทัศน์ บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ บจก. เอ็กแซ็กท์ บจก. จีเอ็มเอ็ม ทีวี บจก. ดีทอล์ค บจก. จีเอ็มเอ็ม ไท หับ บมจ. จีเอ็มเอ็ม มีเดีย รวมรายได้จากการผลิตรายการโทรทัศน์ รายได้จากการผลิตรายการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ บจก. เอ็กแซ็กท์ บจก. จีเอ็มเอ็ม ทีวี บมจ. จีเอ็มเอ็ม มีเดีย รวมรายได้จากการผลิตรายการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม รายได้จากการผลิตรายการวิทยุ บมจ. จีเอ็มเอ็ม มีเดีย บริษัทย่อยอื่น รวมรายได้จากการผลิตรายการวิทยุ

2553

2552

ล้านบาท

2551

ล้านบาท

%

ล้านบาท

%

%

1,263.7 0.0 1,263.7

14.3 0.0 14.3

1,394.7 (0.1) 1,394.6

17.2 0.0 17.2

1,700.8 0.0 1,700.8

21.8 0.0 21.8

803.0 0.0 6.9

9.1 0.0 0.1

860.3 23.1 6.8

10.6 0.3 0.1

529.0 59.6 20.4

6.8 0.8 0.3

14.5 189.8 127.3 0.0 2.9 1,144.5 2,408.1

0.2 2.2 1.4 0.0 0.0 13.0 27.3

19.6 187.3 148.9 11.6 10.5 1,268.1 2,662.7

0.2 2.3 1.8 0.1 0.1 15.6 32.8

44.4 189.5 164.7 0.4 23.5 1,031.6 2,732.4

0.6 2.4 2.1 0.0 0.3 13.2 35.0

223.0 88.7 1.7 313.4

2.5 1.0 0.0 3.6

214.1 58.0 31.4 303.6

2.6 0.7 0.4 3.7

305.5 44.1 28.4 378.0

3.9 0.6 0.4 4.8

543.7 56.1 1.0 5.3 606.1

6.2 0.6 0.0 0.1 6.9

566.0 31.6 6.1 1.7 605.4

7.0 0.4 0.1 0.0 7.5

551.2 18.4 0.0 7.8 577.4

7.1 0.2 0.0 0.1 7.4

210.8 0.1 210.9

2.4 0.0 2.4

328.6 0.1 328.7

4.0 0.0 4.0

217.7 2.7 220.4

2.8 0.0 2.8

17.5 1,263.2 466.8 120.2 64.0 7.9 1,939.5

0.2 14.3 5.3 1.4 0.7 0.1 22.0

0.2 1,049.5 392.7 126.1 35.2 43.7 1,647.4

0.0 12.9 4.8 1.6 0.4 0.5 20.3

22.2 802.8 444.0 123.4 8.4 47.7 1,448.5

0.3 10.3 5.7 1.6 0.1 0.6 18.6

123.8 96.2 85.9 50.5 356.4

1.4 1.1 1.0 0.6 4.0

43.8 22.6 27.0 23.3 116.7

0.5 0.3 0.3 0.3 1.4

2.0 0.0 0.0 0.0 2.0

0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

662.9 0.3 663.2

7.5 0.0 7.5

579.6 0.0 579.6

7.1 0.0 7.1

666.5 2.6 669.2

8.5 0.0 8.6 033


โครงสร้างรายได้ของกลุ่มบริษัท

ผลิตภัณฑ์/บริการ ดำ�เนินการโดย

2553

ล้านบาท

รายได้จากการบริการรับจัดและบริหารกิจกรรมและบริการจัดหาอุปกรณ์ บมจ. อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ (เดิมชือ่ “บมจ.อินเด็กซ์ อีเว้นท์ เอเจนซี”่ ) 696.9 132.4 บจก. มีเดีย วิชั่น (1994) 41.4 บจก. อีเว้นท์ โซลูชั่นส์ 0.0 บจก. อินสปาย อีเว้นท์ 15.9 บจก. เทรเบียง 21.0 บจก. จี คอมมูนิเคชั่นส 71.1 บจก. อินสปาย อิมเมจ 100.7 บจก. ดี ซิกซ์ตี้ ทรี 107.3 บจก. ไอธิ้งแอ็ด 248.1 กิจการร่วมค้า ไอดีทู 0.0 บจก. ทรี-อาร์ดี 238.5 บมจ. จีเอ็มเอ็ม มีเดีย 133.0 บริษัทย่อยอื่น 1,806.2 รวมรายได้จากการบริการรับจัดและบริหารกิจกรรมและบริการจัดหาอุปกรณ์ รายได้จากการโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ 3.6 บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ 61.0 บจก. อิมเมจ พับลิชชิ่ง 11.7 บจก. จีเอ็มเอ็ม อินเตอร์ พับลิชชิ่ง 19.0 บจก. จีเอ็มเอ็ม ไทมส์ 15.2 บจก. อิน พับลิชชิ่ง 3.1 บริษัทย่อยอื่น 113.6 รวมรายได้จากการโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ รายได้จากการจำ�หน่ายสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อการเรียนการสอน 5.3 บจก. อิมเมจ พับลิชชิ่ง 8.7 บจก. จีเอ็มเอ็ม ไทมส์ 39.4 บจก. บลิส พับลิชชิ่ง 15.1 บจก. อิน พับลิชชิ่ง 1.0 บริษัทย่อยอื่น 69.5 รวมรายได้จากการจำ�หน่ายสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อการเรียนการสอน รวมรายได้จากการโฆษณาและจำ�หน่ายสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อการเรียนการสอน 183.1 รายได้จากการให้บริการสตูดิโอ 0.2 บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ 2.7 บจก. จีเอ็มเอ็ม สตูดิโอ 2.8 รวมรายได้จากการให้บริการสตูดิโอ รายได้จากการรับจ้างผลิตและบริการ 54.1 บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ 7.8 บจก. จีเอ็มเอ็ม อินเตอร์ พับลิชชิ่ง 13.9 บจก. อิน พับลิชชิ่ง 0.0 บจก. ที่ฟ้า 19.8 บริษัทย่อยอื่น 95.7 รวมรายได้จากการรับจ้างผลิตและบริการ รายได้จากการบริหารงานและค่าที่ปรึกษา 0.0 บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ 1.8 บจก. เอ็กแซ็กท์ (0.1) บริษัทย่อยอื่น 1.7 รวมรายได้จากการบริหารงานและค่าที่ปรึกษา 14.6 ดอกเบี้ยรับ 44.1 เงินปันผลรับ 166.4 รายได้อื่นๆ 8,812.3 รวมรายได้

034

2552

%

ล้านบาท

7.9 1.5 0.5 0.0 0.2 0.2 0.8 1.1 1.2 2.8 0.0 2.7 1.5 20.5

2551

%

ล้านบาท

%

662.1 98.1 53.4 0.0 5.7 8.0 60.6 95.9 43.5 117.9 91.4 147.0 4.5 1,388.0

8.2 1.2 0.7 0.0 0.1 0.1 0.7 1.2 0.5 1.5 1.1 1.8 0.1 17.1

697.6 117.6 39.1 0.0 4.4 11.3 49.0 72.3 44.7 0.0 88.2 42.2 13.3 1,179.7

8.9 1.5 0.5 0.0 0.1 0.1 0.6 0.9 0.6 0.0 1.1 0.5 0.2 15.1

0.0 0.7 0.1 0.2 0.2 0.0 1.3

3.3 51.6 11.0 18.9 16.6 3.7 105.1

0.0 0.6 0.1 0.2 0.2 0.0 1.3

36.6 71.7 13.3 22.5 19.9 1.4 165.5

0.5 0.9 0.2 0.3 0.3 0.0 2.1

0.1 0.1 0.4 0.2 0.0 0.8 2.1

5.2 9.9 49.7 17.9 1.6 84.3 189.3

0.1 0.1 0.6 0.2 0.0 1.0 2.3

6.3 12.6 47.2 19.6 2.6 88.4 253.8

0.1 0.2 0.6 0.3 0.0 1.1 3.3

0.0 0.0 0.0

0.0 3.5 3.5

0.0 0.0 0.0

9.0 3.7 12.7

0.1 0.1 0.2

0.6 0.1 0.2 0.0 0.2 1.1

19.7 10.9 0.0 0.0 19.8 50.4

0.2 0.1 0.0 0.0 0.2 0.6

4.4 6.9 0.0 37.3 8.2 56.8

0.1 0.1 0.0 0.5 0.1 0.8

0.0 0.0 0.0 0.0 0.2 0.5 1.9 100.0

0.0 2.8 (0.5) 2.3 18.7 48.5 179.5 8,124.3

0.0 0.0 0.0 0.0 0.2 0.6 2.2 100.0

11.6 2.8 0.3 14.7 33.7 49.3 177.5 7,806.1

0.1 0.0 0.0 0.1 0.4 0.6 2.3 100.0


ข้อมูลทั่วไป และลักษณะการประกอบธุรกิจ

ธุรกิจเพลงและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับเพลง

ธุรกิจเพลง และค่าลิขสิทธิ์

ในปี 2553 ที่ผ่านมาบริษัทได้ผลิตผลงานเพลงจำ�นวน 276 อัลบั้ม ซึ่งครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายของผู้บริโภค ได้แก่ ป๊อบ ร็อก Alternative ลูกทุ่ง/ เพื่อชีวิต R&B Soul และ อัลบั้มรวมเพลงที่ได้รับความนิยมในแต่ละช่วงเวลาต่างๆของปี ในส่วนของการจัดจำ�หน่ายสินค้าเพลงนั้น บริษัทดำ�เนินการจัดจำ�หน่ายสินค้าทั้งปลีก และส่ง โดยจะเน้นการกระจายสินค้าให้แก่ Moderntrade ร้านค้า ประเภท Super Store Discount Store และ Traditional Trade (ผู้ค้าส่ง และค้าปลีก) ทั่วประเทศ รวมทั้งร้านค้าปลีกของบริษัทเองภายใต้ชื่อ Imagine โดย ณ. เดือนธันวาคม 2553 มีจำ�นวนสาขาทั้งสิ้น 157 สาขา ในส่วนของการบริหารและจัดเก็บค่าลิขสิทธิ์ บริษัทดำ�เนินการจัดเก็บค่าลิขสิทธิ์จากผู้ประกอบการภัตตาคาร ร้านอาหาร สื่อวิทยุ ร้านคาราโอเกะ ตู้ คาราโอเกะ และผู้ประกอบการอื่นๆ ที่นำ�ผลงานเพลงของบริษัทไปใช้ในเชิงการค้า

ธุรกิจดิจิตอล คอนเทนต์

ในปี 2553 ที่ผ่านมา ธุรกิจดิจิตอลหรือการซื้อขายสินค้าเพลงผ่านเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Internet เป็นช่องทางที่เติบโตมากที่สุดของธุรกิจ เพลง โดยบริษัทให้บริการดาวน์โหลดเพลงแบบรายเพลง (A la Carte) และการเป็นสมาชิกแบบรายเดือน (Subscription) กับผู้ให้บริการ เครือข่าย โทรศัพท์มือถือชั้นนำ�ในประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีการนำ�ผลงานเพลง ของบริษัทมาพัฒนาเป็นบริการในรูปแบบใหม่ๆตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ได้แก่ การ download content เพลงของบริษัทผ่านช่องทางที่หลากหลาย เช่น iPod เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีบริการอื่น ๆ ที่น่าสนใจ ได้แก่ บริการ ส่งเพลงบอกความรู้สึก *1234 Music Cupid ซึ่งมีทั้งประเภทเพลงอวยพรวันเกิด หรือเพลงบอก ความรู้สึก รัก เศร้า ตัดพ้อ ฯลฯ / เว็บไซต์ www.gmember.com ซึ่งเป็นศูนย์กลางการรวบรวมข้อมูลเพลง ข่าวสารศิลปิน ข้อมูลการดาวน์โหลดเพลง และกิจกรรมต่าง ๆ อีกมากมาย / เว็บไซต์ www.daraoke.com ซึ่งเป็นเว็บไซต์ร้องคาราโอเกะ Online / บริการดูดวงผ่านช่องทาง *4998 ซึ่งมีข้อดีต่างไปจากเบอร์บริการอื่น ๆ คือ เป็นที่เดียวที่ ใช้เวลาเกิดมาคำ�นวณดวงชะตาตามลัคนาและทันสมัยทีส่ ดุ เพราะผูใ้ ช้บริการสามารถใส่ขอ้ มูลเพียงครัง้ แรกครัง้ เดียว ระบบจะสามารถจดจำ�เบอร์โทรศัพท์ได้

ธุรกิจบริหารศิลปิน

บริษัทมีนโยบายการฝึกทักษะ และพัฒนาตัวศิลปินเพื่อเพิ่มความสามารถทางด้านการร้อง การแสดง การเต้นรำ� สำ�หรับศิลปินทั้งในส่วน Music และ Non-Music และเพิ่มช่องทางการจัดหารายได้ให้แก่ศิลปิน ทั้งในรูปแบบงานจ้าง คอนเสิร์ตผับ บาร์ รวมถึงการหางานให้ศิลปินในรูปแบบการเป็น Presenter ของสินค้าต่างๆ โดยในปี 2553 ศิลปินของบริษทั ได้เป็น presenter ของสินค้าหลากหลายแบรนด์ดว้ ยกัน เช่น กอล์ฟ-ไมค์ ไอซ์ ศรัณยู ชิน ชินวุฒิ น้�ำ ชา ชีรณัฐ ศิลปินในกลุ่มลูกทุ่ง และศิลปินในกลุ่ม rock เป็นต้น

ธุรกิจโชว์บิซ

เป็นธุรกิจที่ใช้ทรัพยากรทั้งผลงานเพลงและศิลปินที่กลุ่มบริษัทมีอยู่ ผ่านการจัดโชว์ ในรูปแบบของคอนเสิร์ตที่บริษัทเป็นผู้จัดทำ�ขึ้นเอง โดยปัจจุบัน คอนเสิร์ตมีความหลากหลายมากขึ้น ในรูปแบบของคอนเสิร์ตเพื่อโปรโมทอัลบั้ม และคอนเสิร์ตที่เป็นธีม (Theme) เฉพาะกิจ โดยในปี 2553 กลุ่มบริษัทได้ผลิตคอนเสิร์ต จำ�นวน 15 งาน โดยมีคอนเสิร์ตใหญ่ได้แก่ คอนเสิร์ต Body Slam Live in คราม คอนเสิร์ต 25 ปี ไมโคร ร็อค เล็ก เล็ก RETURNS คอนเสิร์ต Café on Stage โก๊ะตี๋ 6 แพร่ง และเฟสติวัลคอนเสิร์ตจำ�นวน 2 งาน คือ Big Mountain #1 และ #2 ในส่วนของธุรกิจโชว์บิซนี้ นอกจากช่องทางรายได้จากการจำ�หน่ายบัตรเข้าชม และรายได้จากการสนับสนุนของ Sponsor แล้ว ยังมีรายได้จากการ จำ�หน่ายสินค้าวีซีดี และดีวีดีบันทึกการแสดงสดของคอนเสิร์ตอีกด้วย 035


การตลาดและภาวะการแข่งขัน กลยุทธ์ในการแข่งขัน

• ผลิตผลงานที่มีคุณภาพและมีความหลากหลายครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มบริษัทเน้นการผลิตผลงานเพลงที่มีคุณภาพ และครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายที่แตกต่างกันโดยบริษัทได้จัดหน่วยงานสร้างสรรค์ผลงานเพลงออก เป็นกลุ่มเพลง 6 กลุ่มตามแนวเพลงและความถนัดของทีมงานระดับมืออาชีพของวงการเพลงเมืองไทย และด้วยคุณภาพของทีมงานและศิลปิน ทำ�ให้ผล งานของบริษัทเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้บริษัทสามารถครองส่วนแบ่งการตลาดเพลงในประเทศไทยที่แข็งแกร่งอย่างต่อเนื่องอีก ด้วย

• ธุรกิจบันเทิงครบวงจร

ปัจจุบันบริษัทมีโครงสร้างการดำ�เนินงานธุรกิจบันเทิงที่ครบวงจร ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของการจัดจำ�หน่ายสินค้าเพลง ธุรกิจภาพยนตร์ รวมถึงธุรกิจ สื่อ ทั้งวิทยุ โทรทัศน์ สิ่งพิมพ์ และ ธุรกิจโทรทัศน์ดาวเทียม รวมทั้งธุรกิจดิจิตอล ที่มีการร่วมมือกับคู่ค้าทางธุรกิจที่เป็นผู้ประกอบการให้บริการเครือข่าย โทรศัพท์มือถือชั้นนำ�ในประเทศไทยในการพัฒนา และให้เสนอบริการใหม่ๆ เช่น การให้บริการดาวน์โหลดเพลงแบบไม่จำ�กัด สำ�หรับผู้ที่สมัครเป็นสมาชิก รายเดือน (Subscription Service) เป็นต้น โดยการสร้างโครงธุรกิจให้ครอบคลุมครบวงจรจะต้องใช้เวลา และทุนเป็นจำ�นวนมาก

• มีชอ่ งทางและระบบการจัดจำ�หน่ายทีม่ ปี ระสิทธิภาพ สำ�หรับสินค้าประเภท Physical Products (ซีดี วีซดี ี ดีวดี ี และเอ็มพี 3 ) และดิจติ อล

สินค้าประเภท Physical Products (ซีดี วีซดี ี ดีวดี ี และเอ็มพี 3 ) ปัจจุบันบริษัทได้ขยายร้านค้าปลีก Imagine เพื่อครอบคลุมพื้นที่ให้ทั่วถึง และสะดวกแก่ผู้บริโภคมากขึ้น และยังนำ�ระบบซอฟแวร์ที่มีประสิทธิภาพ มาบริหารการกระจายสินค้าอีกด้วย นอกจากนี้ในปี 2553 บริษัทฯ ยังคงใช้กลยุทธ์ DRTV (Direct Response Television) คือ โฆษณาแนะนำ�สินค้าที่สอดรับกับไลฟ์สไตล์ของผู้ชม แต่ละรายการทีวีในเครือจีเอ็มเอ็ม แชนแนล เพื่อกระตุ้นให้เกิดการตัดสินใจซื้อสินค้าบริษัทได้มีการขยายช่องทางการจำ�หน่ายสินค้าเพลงที่เป็น physical productsผ่านบริการ “ อิมเมจิ้น ไดเร็ค” คือการจำ�หน่ายซีดี วีซีดี และดีวีดีทั้งเพลงและภาพยนตร์เก่าที่หาซื้อยากหรือสินค้าใหม่ที่วางแผงก่อนใคร ผ่าน รายการทีวีในเครือจีเอ็มเอ็ม แชนแนล พร้อมส่งถึงบ้านเพื่อตอบสนองคนที่มีไลฟ์สไตล์เร่งรีบ และ ไม่มีเวลาเดินซื้อซีดี วีซีดี และดีวีดีเพลงหรือภาพยนตร์ โดยตนเอง และในเดือนตุลาคมปี 2553 ได้มีการพัฒนารูปแบบการขายตรงผ่านทางช่องทาง www.shopping8000.com สินค้าประเภทดิจติ อล บริษัทได้เพิ่มการให้บริการดาวน์โหลดแบบไม่จำ�กัด (Unlimited) ผ่านบริการรายเดือน (Subscription Service) โดยลูกค้าสามารถเลือกดาวน์โหลด เพลงใหม่และจากคลังเพลงของบริษัทได้ตลอดเวลาโดยให้บริการผ่านโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ทุกรายตามรูปแบบที่แตกต่างกันไป ซึ่งบริการนี้ได้รับการ ตอบรับจากผู้บริโภคเป็นอย่างดี นอกจากนี้บริษัทยังร่วมกับกลุ่มธุรกิจในเครือทำ�การโปรโมทบริการดิจิตอลให้เป็นที่รู้จักและแพร่หลายมากขึ้นไม่ว่าจะเป็นกลุ่มธุรกิจสื่อโทรทัศน์(Free TV และ Cable TV) วิทยุ และนิตยสาร หรือแม้แต่ธุรกิจภาพยนตร์ เป็นต้น

• มีลขิ สิทธิเ์ พลงและศิลปินในสังกัดทีส่ ามารถสร้างมูลค่าเพิม่ ทางการตลาดในอนาคต

ในปัจจุบันกลุ่มบริษัทมีผลงานเพลงที่ผลิตในสังกัดเกือบ 20,000 เพลง ในคลังเพลง (Music Library) และศิลปินในสังกัดกว่า 300 คน ซึ่งนับเป็น สินทรัพย์ที่สำ�คัญของบริษัท โดยเพลงทั้งหมดได้ถูกจัดเก็บไว้ในรูปแบบมาสเตอร์เทป และแบบดิจิตอล ซึ่งสามารถนำ�มาสร้างสรรค์เป็นผลงานใหม่ใน รูปแบบต่างๆ ได้ เช่น การรวมอัลบั้มในรูปแบบของคาราโอเกะ การรวมเพลง (Compilation) หรือการจัดทำ�ดนตรีขึ้นมาใหม่ โดยใช้เนื้อร้องเดิม (cover) เป็นต้น ส่วนศิลปินในสังกัดของบริษัทนอกจากการออกอัลบั้มผลงานเพลงตามปกติแล้ว ยังจัดแสดงคอนเสิร์ต การรับงานจ้างต่างๆ รวมถึงการเป็น presenter โฆษณาสินค้า และการแสดงต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งทั้งหมดล้วนเป็นช่องทางในการสร้างรายได้ให้แก่บริษัทอย่างมีนัยสำ�คัญมาโดยตลอด

ลักษณะลูกค้าและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

ลูกค้าของสินค้าเพลงในรูปแบบของ เทป ซีดี และวีซีดีนั้นสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ Modern Trade (Discount Store) และ Traditional Trade (ผู้ค้าส่งและผู้ค้าปลีก) ส่วนลูกค้าของการจัดเก็บค่าลิขสิทธิ์เพลงนั้น สามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มหลักๆ ได้แก่ ร้านคาราโอเกะ ร้านอาหาร และผู้ ประกอบการอื่นๆ เช่นสถานีวิทยุ สายการบิน ห้างสรรพสินค้า ลูกค้าของสินค้าเพลงในรูปแบบดิจิตอลนั้น จะเป็นกลุ่มลูกค้าซึ่งค่อนข้างกว้าง และหลายหลาย ทั้งชาย-หญิง ซึ่งมีตั้งแต่นักเรียน นักศึกษา และคนใน วัยทำ�งาน เป็นผู้ที่ชื่นชอบในเสียงเพลง หรือที่เรียกว่า Music Lover มีความสนใจในเรื่องบันเทิง และศิลปิน โดย ลูกค้าที่ใช้บริการดาวน์โหลด จะเป็นผู้ที่ สามารถใช้งาน GPRS และ WAP บนมือ ถือได้ สำ�หรับกลุ่มเป้าหมาย จะเป็นผู้ที่ให้ความสนใจในเรื่องเทคโนโลยี เนื่องจากเครื่องมือสื่อสารในปัจจุบัน จะอิงการเคลื่อนไหวทางเทคโนโลยีเป็นสำ�คัญ เช่น Broadband และ 3G ดังนั้น ทางบริษัทเองจึงเล็งเห็นความสำ�คัญในข้อนี้ และมีการเตรียมความพร้อม ทั้งเรื่องบริการ และ Content เพื่อให้กลุ่มลูกค้าสามารถเข้าถึงบริการได้ง่ายและตรงกับความต้องการมากขึ้น

การจำ�หน่ายและช่องทางการจำ�หน่าย

สินค้าเพลงในรูปแบบของ เทป ซีดี และวีซีดีจะถูกจัดจำ�หน่ายผ่าน Modern Trade (Discount Store) และ Traditional Trade (ผู้ค้าส่งและผู้ค้าปลีก) ทั่วประเทศ สินค้าเพลงในรูปแบบดิจติ อลให้บริการดาวน์โหลดประเภทต่างๆ เช่น เสียงเรียกเข้า (Ringtone) เสียงรอสาย (Ringback Tone) เพลงเต็ม (Full Song) และมิวสิควีดีโอ (Full MV) ทั้งแบบรายเพลง (A la carte) และแบบเหมาจ่ายรายเดือน (Subscription Service) ผ่านช่องทาง *123 และยังมีบริการส่ง เพลงบอกความรู้สึก *1234 Music Cupid / เว็บไซต์www.gmember.com ซึ่งเป็นศูนย์กลางรวบรวมข้อมูลเพลง ข่าวสารศิลปิน การดาวน์โหลดเพลง และกิจกรรมต่างๆ อีกมากมาย / เว็บไซต์ www.daraoke.com ซึ่งเป็นเว็บไซต์ร้องคาราโอเกะ Online / บริการดูดวงผ่านช่องทาง *4998

สภาพการแข่งขัน

บริษัทมีโครงสร้างธุรกิจเพลงครบถ้วน มีธุรกิจสื่อ และธุรกิจภาพยนตร์ ซึ่งไม่มี คู่แข่งโดยตรง แต่จะมีคู่แข่งแยกตามธุรกิจย่อยที่แตกต่างกันออกไป ในปี 2553 ที่ผ่านมาธุรกิจเพลงเติบโตขึ้นจากช่องทางการขายในรูปแบบดิจิตอล คอนเทนต์ ในขณะที่ช่องทางการขายเพลงในรูปแบบของซีดี และวีซีดี ลดลง เพราะการเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภคซึ่งหันมานิยมการดาวน์โหลดเพลงมากขึ้น

036


ข้อมูลทั่วไป และลักษณะการประกอบธุรกิจ

ส่วนแบ่งการตลาดและขนาดของคู่แข่งขัน

ตลาดเพลงในประเทศไทยสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ เพลงไทย และเพลงสากล โดยคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 95 และร้อยละ 5 ตามลำ�ดับ โดยในส่วนของเพลงไทยยังแบ่งออกได้เป็นอีก 2 ประเภท คือ เพลงไทยสากล และเพลงไทยลูกทุ่ง โดยเพลงไทยสากลจะมีการพัฒนาแนว ดนตรีอย่างหลากหลายตามความเปลี่ยนแปลงในรสนิยมของผู้ฟังเพลง ในขณะที่แนวเพลงไทยลูกทุ่งมีการพัฒนาเนื้อหา และแนวดนตรีของเพลงให้ สอดคล้องกับการดำ�เนินชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย สำ�หรับส่วนแบ่งทางการตลาดของธุรกิจเพลงของบริษัทสามารถคิดเป็นสัดส่วนการครองส่วนแบ่งการตลาดสำ�หรับธุรกิจเพลงไทยได้ประมาณร้อยละ 70 โดยบริษัทเป็นผู้นำ�ทั้งในส่วนของเพลงไทยสากลและเพลงลูกทุ่ง ในปัจจุบันบริษัทมีคู่แข่งในธุรกิจเพลงมากกว่า 1บริษัท แต่มีคู่แข่งโดยตรงเพียง 1 บริษัทเท่านั้น ที่มีกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่ใกล้เคียงกัน

แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน

สำ�หรับแนวโน้มการแข่งขันในปี2554 คาดการณ์ว่าการแข่งขันของธุรกิจเพลงจะยังคงเป็นไปในทิศทางเดียวกับปีที่ผ่านมา และคาดการณ์ว่าธุรกิจ ดิจิตอล ยังมีแนวโน้มที่จะเติบโตขึ้นจากการที่ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะใช้บริการเพลงเพลงผ่านโทรศัพท์มือถือ และอุปกรณ์อื่นๆ มากขึ้น ในขณะเดียวกัน การละเมิดลิขสิทธิ์ก็ยังคงมีอยู่ กลยุทธ์ที่สำ�คัญในการดำ�เนินธุรกิจดิจิตอล คือการเพิ่มรูปแบบบริการ วิธีการ ช่องทาง และการส่งเสริมการตลาดในเชิงสร้างสรรค์ (Creative) ให้มาก ขึ้น โดยบริการในรูปแบบ Subscription หรือ ดาวน์โหลดแบบไม่จำ�กัดจำ�นวนเพลงยังคงเป็นบริการที่โดดเด่น และในปี 2554 นี้บริษัทจะให้ความสำ�คัญ กับการพัฒนา Application และวิธีการดาวน์โหลดผ่านอินเตอร์เน็ต เพื่อให้ผู้ใช้บริการสามารถดาวน์โหลด Content ได้ในหลายหลายอุปกรณ์ ไม่ว่าจะเป็น Smart Phone หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้บริษัทได้มีการเตรียมความพร้อมในการรองรับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นทุกขณะ โดยเฉพาะ เครือข่าย 3G ซึ่งจะทำ�ให้ลักษณะ Content และบริการหลากหลายมากยิ่งขึ้น เนื่องจากความสามารถให้การให้บริการดาวน์โหลดได้อย่างรวดเร็ว ในขณะเดียวกันสินค้าเพลงในรูปแบบ physical ก็จะค่อยๆ หดตัวลงตามกระแสโลก คือประมาณร้อยละ 10-15% ด้วยเหตุนี้บริษัทจะหันไปเน้น กลุ่มลูกค้าที่ต้องการคุณภาพเสียงชั้นดี และเป็นผู้ที่ชื่นชอบในศิลปินอย่างแท้จริงโดยจะเน้นการออกแบบของสินค้า Physical ให้อยู่ในรูปแบบ การสะสม มากขึ้น นอกจากนี้ยังได้เพิ่มช่องทางการจำ�หน่ายสินค้าเพลงในรูปแบบ physical ผ่านทางร้านค้า 0nline (www.shopping8000.com) เพื่อให้ลูกค้า สามารถสั่งซื้อสินค้าได้สะดวกยิ่งขึ้น ในส่วนของปัญหาจากการละเมิดลิขสิทธิ์ที่ยังคงมีอยู่ค่อนข้างสูงนั้น ทางบริษัทได้ทำ�การแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยการเพิ่มจำ�นวน / ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในช่องทางรายได้อื่นจากธุรกิจเพลงให้มากขึ้น อาทิ เช่น ธุรกิจโชว์บิซ ธุรกิจบริหารศิลปิน และการทำ� subscription base ทั้ง physical product และ digital product ที่ถูกต้องตามกฎหมายให้มากขึ้น ในส่วนธุรกิจต่างประเทศ บริษัทได้มีการเพิ่มช่องทางการจำ�หน่ายสินค้าเพลงของบริษัทไปยังต่างประเทศได้มากขึ้น อาทิ: 1. การส่งออกสินค้าเพลงในรูปแบบซีดี วีซีดี และดีวีดีไปจำ�หน่ายยังต่างประเทศ เช่น ประเทศออสเตรเลีย เป็นต้น 2. Digital Content บริษัทได้มีการจำ�หน่ายสินค้าเพลงในรูปแบบดิจิตอล ผ่าน2 ช่องทาง คือ ผ่านทาง iTune และ ผ่านทาง telecom operator ของประเทศต่างๆ เช่น จงหัวเทเลคอม ในประเทศไต้หวัน เป็นต้น และมีแผนงานที่จะขยายไปยังประเทศอื่นที่มีศักยภาพคล้ายคลึงกัน 3. Rights Management คือ การขายลิขสิทธิ์ทำ�นองเพลงของบริษัทเพื่อนำ�ไปใส่เนื้อเพลงภาษาอื่นเพิ่มขึ้น 4. Show business บริษัทจะเน้นการทำ� showbiz ในต่างประเทศ ในรูปแบบ touring ให้มากขึ้น และในขณะเดียวกันบริษัทก็จะมีการร่วมมือกับ พันธมิตรในต่างประเทศในการนำ�เข้า show และ concert จากต่างประเทศเพิ่มขึ้นอีกด้วย

037


ข้อมูลทั่วไป และลักษณะการประกอบธุรกิจ

ธุรกิจสื่อ

ภาพรวมของการใช้งบโฆษณาผ่านสือ่ ทุกประเภทในปี 2553 เทียบกับปี 2552 ปรับตัวเพิม่ ขึน้ จาก 90,341 ล้านบาท เป็น 101,032 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.83 เนื่องจากเศรษฐกิจทั้งในไทยและต่างประเทศเริ่มฟื้นตัว ปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้น ตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของปี 2552 ความเชื่อมั่น ของผูบ้ ริโภคมีมากขึน้ ทำ�ให้ผบู้ ริโภคจับจ่ายใช้สอยเพิม่ ขึน้ ลูกค้าเริม่ กลับมาใช้งบสือ่ สารการตลาดและโฆษณา และส่วนหนึง่ น่าจะมาจากราคาค่าโฆษณา ในสือ่ บางประเภทมีการปรับราคาเพิม่ ขึน้ จึงส่งผลให้อตุ สาหกรรมสือ่ โฆษณาในปี 2553 มีการฟืน้ ตัวตัง้ แต่ชว่ งต้นปีเป็นต้นมา สือ่ ทีม่ กี ารขยายตัวเพิม่ ขึน้ สูงสุด คือ สื่อ In Store มีอัตราเติบโตร้อยละ 36.75 รองลงมาคือ สื่อ Transit มีอัตราเติบโตร้อยละ 27.78 ส่วนสื่อโทรทัศน์ยังคงเป็นสื่อหลักของ อุตสาหกรรมที่ลูกค้ามีความต้องการใช้สูง และมีสัดส่วนของมูลค่าโฆษณาสูงสุดเช่นเดิม มีอัตราการเติบโตที่ 15% ส่วนสื่อวิทยุและสื่อ Outdoor ตัวเลข การใช้งบโฆษณาลดลงเล็กน้อย อยู่ที่ระดับ 1% และ 3% ตามลำ�ดับ ตัวเลขการใช้งบโฆษณาผ่านสื่อประเภทต่างๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 พบว่า สื่อโทรทัศน์ยังคงเป็นสื่อที่ได้รับความนิยมสูงสุด มีส่วนแบ่งการตลาดอยู่ประมาณร้อยละ 60.15 รองลงมาเป็นสื่อหนังสือพิมพ์ร้อยละ 14.85 สื่อวิทยุร้อยละ 6.05 สือ่ โรงภาพยนตร์รอ้ ยละ 5.92 สือ่ นิตยสารร้อยละ 5.60 สือ่ กลางแจ้งและสือ่ อืน่ ๆ ร้อยละ 7.44 (ทีม่ า: บริษทั นีลเส็น มีเดีย รีเสิรช์ (ประเทศไทย) จำ�กัด) สัดส่วนค่าใช้จ่ายโฆษณาในสื่อต่างๆ ในปี 2553 มูลค่าค่าใช้จ่ายโฆษณาทุกสื่อในปี 2553 เท่ากับ 101,032 ล้านบาท มูลค่าค่าใช้จ่ายโฆษณาในสื่อต่างๆ (ล้านบาท) 2543

6%

2544

15%

2545 2546

6%

2547

60%

6% 4% 3%

2548 2549 2550 2551 2552

100,000

90,000

80,000

70,000

60,000

50,000

40,000

Í×่¹æ

2553 30,000

Ê×่Í¡Åҧᨌ§

¹ÔµÂÊÒÃ

20,000

˹ѧÊ×;ÔÁ¾

10,000

âçÀҾ¹µÃ

ÇÔ·ÂØ

0

â·Ã·Ñȹ

ทัง้ นี้ การประกอบธุรกิจของกลุม่ บริษทั แบ่งออกเป็น 5 ธุรกิจ ตามประเภทของสือ่ ได้แก่ ธุรกิจวิทยุ ธุรกิจโทรทัศน์ ธุรกิจโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม ธุรกิจสิง่ พิมพ์ และธุรกิจสร้างสรรค์และบริหารงานกิจกรรม โดยมีรายละเอียดดังนี้

ธุรกิจวิทยุ

การผลิตรายการวิทยุเพื่อออกอากาศผ่านสถานีวิทยุกระจายเสียง โดยการเข้าร่วมประมูลเวลาจัดรายการวิทยุในระบบเอฟเอ็มจากสถานีวิทยุต่างๆ เพื่อ นำ�มาประกอบธุรกิจในเชิงพาณิชย์ โดยในปี 2553 กลุ่มบริษัทมีรายการวิทยุของกลุ่มบริษัททั้งสิ้น 4 สถานี โดยแยกได้ดังนี้

038


สถานีวิทยุ

วัน / เวลาออกอากาศ/ รัศมีครอบคลุม

ลักษณะรายการ

กลุ่มเป้าหมาย

สัมปทาน

รายการวิทยุเพื่อสิ่งแวดล้อม รายการแรก F.M. 106.5 MHz. ทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง / Green Wave กรุงเทพฯ ปริมณฑล เพชรบุรี และรายการเดียวในประเทศไทยทีเ่ ปิดเพลง ประจวบคีรีขันธ์ ในสไตล์ Easy Listening ที่เพราะที่สุด หลากหลายที่สุด จากทุกยุคทุกสมัย และ ได้รบั ความนิยมเป็นอันดับหนึง่ ยาวนานทีส่ ดุ

กลุ่มคนทำ�งานทั้งชายและหญิง คณะกรรมการ อายุ 30 ปีขึ้นไป ที่มีฐานะ กิจการโทรคมนาคม มั่นคงและกำ�ลังซื้อสูงเป็นคนที่ แห่งชาติ มีมุมมองทันสมัยเชิงสร้างสรรค์ มีความคิด ใส่ใจ ห่วงใยสิ่ง แวดล้อม และเรื่องรอบๆตัว

F.M. 94.0 MHz. ทุกวัน ตลอด 24 ชม. กรุงเทพฯ ปริมณฑล อ่างทอง EFM กาญจนบุรี ชลบุรี (บางส่วน) และราชบุรี

คลืน่ บันเทิงอันดับ 1 คลืน่ แรก และคลืน่ เดียว ในประเทศไทย ที่เป็น Talk of The Town อย่างแท้จริง กับข่าวในวงการบันเทิงทีเ่ ร็วกว่า ลึกกว่า

วัยรุ่นและคนทำ�งาน ทุกเพศ สถานีวิทยุ อายุระหว่าง 18-35 ปี ที่ชื่น กองทัพบก ชอบความทันสมัย และติดตาม ข่าวคราว ความเคลื่อนไหว (Trend) ในแวดวงบันเทิงต่างๆ

F.M. 91.5 MHz. ทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง / กรุงเทพฯ ปริมณฑล อยุธยา Hot FM สระบุรี ชลบุรี

รายการวิทยุยอดนิยมของวัยรุ่น และ วัยรุ่นทั้งชายและหญิง อายุ คนรุ่นใหม่ที่ชอบความทันสมัย แปลกใหม่ ระหว่าง 15 -25 ปี สนุกสนาน ไม่จำ�เจ

F.M. 89.0 MHz. ทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง / กรุงเทพฯ ปริมณฑล Chill FM ชลบุรี

รายการวิทยุที่เปิดเพลงเพราะ ฟังสบาย ในสไตล์ Chill Listening เพลงสบาย มีสไตล์ ที่เป็น Trend ใหม่ ทันสมัย ไม่เหมือน รายการเพลง Easy Listening ทั่วไป ที่เปิดเพลงซ้ำ�ๆ เหมือนๆกัน

สถานีวิทยุ ยานเกราะ

กลุม่ หนุม่ สาวออฟฟิศคนทำ�งาน สถานีวิทยุ รุ่นใหม่ ทันสมัย ทั้งชายและ ยานเกราะ หญิง อายุระหว่าง 25 ปี ถึง 34 ปี มีรสนิยมการฟังเพลงที่ Trendy ไม่เหมือนใคร

นอกจากนีย้ งั มีความบันเทิงทีห่ ลากหลายบน Internet ในรูปแบบ Multimedia Contents ทัง้ ภาพ เสียง เต็มรูปแบบ โดยทีผ่ ชู้ มสามารถอัพเดทความบันเทิง ต่างๆทั้งหมดของเอไทม์มีเดีย ซึ่งมีทั้ง Live Radio ฟัง 4 คลื่นวิทยุแบบสดผ่าน Internet รวมทั้งยังมี Content อีกมากมายจาก 7 เว็บไซต์ของ เอไทม์มีเดีย ซึ่งประกอบด้วย

www.atimemedia.com www.greenwave.fm

www.chill89.fm www.hot915.fm www.green-channel.tv www.atimetraveller.com

www.efm.fm

ในปี 2554 สังคมออนไลน์หรือ Social Network ได้เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้เกิดกลุ่มคนที่ชื่นชอบและรักเสียงเพลงรวมเป็นหนึ่งเดียวใน ครอบครัวเอไทม์ และยังจะรู้ถึงความเคลื่อนไหวอัพเดทข่าวสารต่างๆก่อนใคร รวมทั้งในส่วนของผู้ฟังก็จะมีพื้นที่ส่วนตัวเพื่อให้มาทักทาย Comment มา Share ความสุขและร่วมสนุกกิจกรรม ในอนาคตยังเพิ่มความสะดวกให้กับผู้ใช้มากขึ้น ด้วยการพัฒนา Application เพื่อให้ได้ติดตามข่าวสาร Content ต่างๆ รวมทั้งอัพเดทชาร์ตจากคลื่นวิทยุเอไทม์ได้อย่างง่ายดายบนมือถือ

สภาวะการตลาดของสือ่ วิทยุ

ในปี 2553 การแข่งขันในธุรกิจวิทยุยงั คงรุนแรงเช่นเดียวกับในปี 2552 โดยเป็นเรือ่ งของการแข่งขันกันแย่งชิงส่วนแบ่งตลาด แย่งชิงกลุม่ ผูฟ้ งั และ การแย่งชิงงบโฆษณาจากกลุ่มลูกค้าผู้ซื้อสื่อเช่นเดียวกับปีที่ผ่านมา เนื่องจากพฤติกรรมการซื้อสื่อของลูกค้าในปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงไป จากเดิมที่เคย ซื้อสื่อโฆษณาระยะยาวก็เปลี่ยนมาเป็นซื้อในระยะสั้น คือ จากการเซ็นสัญญายาวทั้งปีก็ลดลงเหลือ 6 เดือน 3 เดือน หรือซื้อเพียงไตรมาสละ 1 เดือน หรือซื้อแบบเดือนต่อเดือน ผู้ประกอบการจึงต้องใช้กลยุทธ์ทางการตลาดทุกรูปแบบเพื่อดึงดูดกลุ่มลูกค้าและกลุ่มคนฟังให้ได้มากที่สุด ส่วนในเรื่องการ เปลี่ยนแปลงคลื่นบนหน้าปัดวิทยุนั้น มีคลื่นวิทยุ 2 คลื่นของผู้ประกอบการรายเก่า 2 ราย ได้ปิดตัวลงในช่วงปลายปีที่ผ่านมา โดยในขณะเดียวกันก็มี ผู้ประกอบการรายใหม่ได้สัมปทานคลื่นที่ปิดตัว 2 คลื่นนี้ไป และเปิดตัวคลื่นวิทยุใหม่ 2 คลื่นขึ้นมาแทน

039


คูแ่ ข่งในธุรกิจ

รายการวิทยุที่มีกลุ่มเป้าหมายใกล้เคียงกับรายการของกลุ่มบริษัท มีดังนี้

รายการวิทยุของ กลุ่มบริษัท

กลุ่มเป้าหมาย

รายการวิทยุของคู่แข่ง

กลุ่มคนทำ�งานทั้งชายและหญิงอายุ 35 ปีขึ้นไป

F.M. 106.5 MHz. Green Wave

F.M. 90.0 MHz. รวมมิตร เรดิโอ* F.M. 93.0 MHz. Cool Fahrenheit F.M. 103.5 MHz. FM ONE

วัยรุ่นและคนทำ�งานอายุระหว่าง 18-30 ปีที่ชื่นชอบ ความทันสมัย และติดตามข่าวคราวความเคลื่อนไหว (Trend) ในแวดวงบันเทิงต่างๆ

F.M. 94.0 MHz. EFM

F.M. 93.0 MHz. Cool Fahrenheit F.M. 95.5 MHz. Virgin Hitz F.M. 97.5 MHz. SEED

วัยรุ่นทั้งชายและหญิง อายุระหว่าง 15 ปี ถึง 24 ปี

F.M. 91.5 MHz. Hot FM

F.M.98.0 MHz. Pynk FM** F.M. 97.5 MHz. SEED FM F.M. 95.5 MHz. Virgin Hitz

กลุ่มคนทำ�งานทั้งชายและหญิง อายุระหว่าง 25 ปี ถึง 34 ปี

F.M. 89.0 MHz. Chill FM

F.M. 90.0 MHz. รวมมิตร เรดิโอ* F.M. 103.5 MHz. FM ONE F.M. 93.0 MHz. Cool Fahrenheit

ตลาดโฆษณาของสือ่ วิทยุ

จากการศึกษาของบริษทั นีลเส็น มีเดีย รีเสิรช์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ภาพรวมของการใช้งบโฆษณาผ่านสือ่ ทุกประเภทในปี 2553 เทียบกับปี 2552 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 90,341 ล้านบาท เป็น 101,032 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.83 ในขณะที่การโฆษณาประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อวิทยุชะลอ ตัวอย่างต่อเนื่องตลอดปี 2552 และกลับขึ้นมาขยายตัวเพิ่มขึ้นในช่วงไตรมาสแรกของปี 2553 แล้วกลับชะลอตัวลงไปอีกในไตรมาสที่ 2 และ 3 เนื่องจากเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศ จากนั้นจึงเริ่มกลับมาขยายตัวอีกครั้งในไตรมาสที่ 4 แต่โดยรวมทั้งปีก็ยังถือว่างบโฆษณาใน สื่อวิทยุหดตัวลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปี 2552 คือ หดตัวลงเพียง 1% แม้ว่าเจ้าของสินค้าตัดจะลดงบโฆษณาในสื่อวิทยุในช่วงที่สภาพเศรษฐกิจชะลอตัว และหันไปโฆษณาประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อดิจิตอล ซึ่งมีราคาถูกกว่าและสามารถเข้าถึงผู้บริโภคได้ง่าย หรือหันไปลงโฆษณาในสื่อใหม่อย่าง เคเบิลทีวีและ โทรทัศน์ผา่ นดาวเทียมแทนสือ่ วิทยุ เพราะมีราคาใกล้เคียงกัน แต่สามารถเห็นทัง้ ภาพและเสียง และเข้าถึงกลุม่ เป้าหมายได้โดยตรง แต่สอื่ วิทยุกย็ งั คงถือเป็นสือ่ หลักของคนกรุงเทพฯที่มีประสิทธิภาพ สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างทั่วถึงและหลากหลาย และมีราคาไม่สูงจนเกินไปเมื่อเทียบกับสื่ออื่นๆ ใน ปีนี้สื่อวิทยุยังคงเป็นสื่อที่มีความนิยมเป็นอันดับ 3 รองจากสื่อโทรทัศน์และหนังสือพิมพ์ โดยที่ บริษัท นีลเส็น มีเดีย รีเสิร์ช (ประเทศไทย) จำ�กัด ได้ ทำ�การศึกษาและเปรียบเทียบตัวเลขการใช้งบโฆษณาผ่านสื่อประเภทต่างๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 พบว่างบโฆษณาของสื่อวิทยุ มีส่วนแบ่งการ ตลาดอยู่ประมาณร้อยละ 6.05 โดยลดลงจาก 6,168 ล้านบาท เหลือ 6,114 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 1 มูลค่าค่าใช้จ่ายโฆษณาในสื่อวิทยุ (ล้านบาท) 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 7,000

6,000

5,000

4,000

3,000

2,000

1,000

0

ที่มา: บริษัท นีลเส็น มีเดีย รีเสิร์ช (ประเทศไทย) จำ�กัด จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้ว่าธุรกิจวิทยุมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2544 จนถึงปี 2547 และชะลอตัวลงในปี 2548 แล้วมา ขยายตัวเพิม่ ขึน้ เล็กน้อยในปี 2549 และกลับมาชะลอตัวลงในปี 2550 และกลับมาขยายตัวเพิม่ ขึน้ ในปี 2551 แล้วกลับมาชะลอตัวลงอีกครัง้ ในปี 2552 และชะลอตัวต่อเนื่องมาถึงในปี 2553 อย่างไรก็ตามการผลิตสร้างสรรค์ผลงานและการผลิตรายการยังคงต้องมุ่งเน้นการตอบสนองความต้องการของ ลูกค้ามากขึ้น เนื่องจากงบประมาณของลูกค้าในการโฆษณาที่มีอยู่อย่างจำ�กัดทำ�ให้ต้องแข่งขันกันด้วยฝีมือ การสร้างสรรค์ผลงานที่เน้นคุณภาพมากขึ้น และที่สำ�คัญต้องสร้างความพึงพอใจและความคุ้มค่าให้กับลูกค้ามากที่สุด ในส่วนธุรกิจของบริษัทฯซึ่งถือเป็นผู้ประกอบการที่ผลิตรายการผ่านสื่อนั้น ต้องมุ่งเน้นผลิตผลงานที่มีคุณภาพเช่นกันเพราะอำ�นาจการซื้อเป็นของลูกค้า ซึ่งพฤติกรรมการเลือกซื้อของลูกค้านั้น จะเลือกเฉพาะรายการที่ติดอันดับ ยอดนิยมเป็นอันดับต้นๆ และเลือกซื้อรายการที่ให้ความคุ้มค่าจากการโฆษณาและประชาสัมพันธ์มากที่สุด จากปัจจัยดังกล่าวทำ�ให้การเข้าสู่ธุรกิจสื่อของ ผู้ประกอบการรายใหม่ และการที่จะให้ผู้ประกอบการรายใหม่คงอยู่ในธุรกิจนี้ได้ยาวนานเป็นสิ่งที่กระทำ�ได้ยากในปัจจุบัน *FM 90 MHz. รวมมิตร เรดิโอ ดำ�เนินการโดย บ. P.D. Radio เริ่มออกอากาศในเดือน พ.ย.53 **Pynk 98 FM ดำ�เนินการโดย บ. P.D. Radio เริ่มออกอากาศในเดือน พ.ย.53 040


ข้อมูลทั่วไป และลักษณะการประกอบธุรกิจ

แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน

การแข่งขันของธุรกิจสื่อวิทยุในอนาคตยังคงมีแนวโน้มที่จะรุนแรงไม่ต่างจากปีที่ผ่านๆมา แต่เปลี่ยนประเด็นหลักจากเดิมที่เป็นเรื่องของการแย่งชิง สัมปทานคลื่นในช่วงปลายปีที่เป็นช่วงของการต่ออายุสัมปทาน มาเป็นเรื่องของการแข่งขันแย่งชิงส่วนแบ่งตลาด เนื่องมาจากปัญหาเศรษฐกิจถดถอย ทั้งภายในประเทศและทั่วโลก ทำ�ให้เจ้าของสินค้าต่างๆต้องประหยัดค่าใช้จ่าย ด้วยการปรับลดงบโฆษณาลง และเลือกใช้สื่อโฆษณาที่สามารถเข้าถึง ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด ทำ�ให้ผู้ประกอบการใช้กลยุทธ์ทางการตลาดทุกรูปแบบในการสร้างแบรนด์ของแต่ละสถานีให้แข็งแกร่ง และต้องพยายาม รักษาฐานผูฟ้ งั เดิม และขยายฐานผูฟ้ งั ให้เพิม่ ขึน้ และเน้นจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดทีน่ า่ สนใจ เพือ่ เข้าถึงกลุม่ ผูฟ้ งั เป้าหมาย และตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าให้ได้มากที่สุด ซึ่งจะช่วยให้เจ้าของสินค้าหันมาซื้อช่วงเวลาโฆษณาในคลื่นวิทยุมากขึ้น นอกจากนี้ผู้ประกอบการวิทยุจะต้องพัฒนาและควบคุม การทำ�งานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และต้องมีความคล่องตัวในการปรับใช้กลยุทธ์ต่างๆ เพื่อรับมือกับสถานการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น จึงจะสามารถครอง ส่วนแบ่งตลาดได้อย่างมั่นคง

ธุรกิจโทรทัศน์

คือ การผลิตและรับจ้างผลิตรายการเพื่อออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ดังต่อไปนี้

สถานี

ผู้ประกอบการ

ใบอนุญาต

ช่อง 3

บจก. บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์

ได้รับสัมปทาน

ช่อง 5

กองทัพบก

เจ้าของสัมปทาน

ช่อง 7

บจก. กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ

ได้รับสัมปทาน

ช่อง 9

บริษัท อสมท จำ�กัด (มหาชน)

เจ้าของสัมปทาน

ประเภทรายการโทรทัศน์ของกลุ่มบริษัทในปี 2553

13%

29%

16%

ประเภทรายการ

จำ�นวนรายการ

ละคร และ ซิทคอม

12

วาไรตี้

9

รายการวัยรุ่น

4

รายการเพลง

5

เกมส์โชว์

1

รวมทั้งสิ้น

31

3%

39% ÅФÃáÅЫԷ¤ÍÁ ÃÒ¡ÒÃà¾Å§

แผนภาพที่ 1 แบ่งสัดส่วนรายการตามจำ�นวนรายการ

ÇÒäõÕ้ à¡ÁÊ âªÇ

ÃÒ¡ÒÃÇÑÂÃØ‹¹

041


042


ข้อมูลทั่วไป และลักษณะการประกอบธุรกิจ

ในปี พ.ศ. 2553 กลุ่มบริษัทมีรายการโทรทัศน์ทั้งสิ้น 31 รายการ โดยสามารถแบ่งประเภทของรายการโทรทัศน์ได้ ดังนี้ ประเภทรายการ

สถานี โทรทัศน์

วัน / เวลาออกอากาศ

ดำ�เนินการผลิต

เป็นต่อ เฮง เฮง เฮง ผู้กองเจ้าเสน่ห์ ละครหลังข่าว เซน...สื่อรักสื่อวิญญาณ ละคร rerun บางรักซอย 9 บ้านนี้มีรัก นัดกับนัด ช๊อคโกแลต 5 ฤดู เนื้อคู่อยากรู้ว่าใคร สายลับเดอะซีรี่ย์

ช่อง 3 ช่อง 3 ช่อง 3 ช่อง 5 ช่อง 5 ช่อง 5 ช่อง 9 ช่อง 9 ช่อง 9 ช่อง 9 ช่อง 9 ช่อง 9

พฤหัสบดี 23.00 – 24.00 น เสาร์ 10.15-11.00 น. อาทิตย์ 10.15 – 11.00 น. จันทร์-พฤหัส 20.20-21.25 น. ศุกร์ 20.20 – 21.25 น. จันทร์-ศุกร์ 10.45 - 11.35 น. เสาร์ 18.00 – 19.00 น. อาทิตย์ 18.00 – 19.00 น. อาทิตย์ 17.00 – 18.00 น. เสาร์ 20.40 – 21.30 น. จันทร์ 22.25 – 23.30 น. เสาร์-อาทิตย์ 20.40 – 21.30 น.

ซีเนริโอ เอ็กแซ็กท์ ซีเนริโอ เอ็กแซ็กท์ &ซีเนริโอ เอ็กแซ็กท์ เอ็กแซ็กท์ &ซีเนริโอ เอ็กแซ็กท์ ซีเนริโอ ซีเนริโอ จีเอ็มเอ็ม ทีวี GTH GTH

เรื่องของเรื่อง บางกอก สเตชั่น Wow ดารา Sister Day Sea Lover ที่นี่ หมอชิต The Star 6 The Hunt ขนส่งสาย 9

ช่อง 5 ช่อง 5 ช่อง 5 ช่อง 5 ช่อง 5 ช่อง 7 ช่อง 9 ช่อง 9 ช่อง 9

จันทร์ 21.25 – 22.05 น. พุธ 22.25 – 23.30 น. เสาร์-อาทิตย์ 17.30 – 18.00 น. เสาร์ 14.45 – 15.35 น. วันหยุดนักขัตฤกษ์ 12.30 -13.10 น. อาทิตย์ 22.25 -23.55 น เสาร์-อาทิตย์ 21.30 – 23.30 น. เสาร์ 10.30 – 11.10 น. อาทิตย์ 14.00 – 15.00 น.

เอ็กแซ็กท์ เอ็กแซ็กท์ &ซีเนริโอ ซีเนริโอ จีเอ็มเอ็ม ทีวี จีเอ็มเอ็ม ทีวี ดีทอล์ค เอ็กแซ็กท์ จีเอ็มเอ็ม ทีวี จีเอ็มเอ็ม ทีวี

รายการวัยรุ่น

OIC Five Live Wake Club รถโรงเรียน

ช่อง 5 ช่อง 5 ช่อง 5 ช่อง 5

จันทร์-ศุกร์ 12.30-13.10 น. จันทร์-ศุกร์ 00.30-01.25 น. อาทิตย์ 10.45 – 11.35 น. อาทิตย์ 12.50 – 13.45 น.

จีเอ็มเอ็ม ทีวี จีเอ็มเอ็ม ทีวี จีเอ็มเอ็ม ทีวี จีเอ็มเอ็ม ทีวี

รายการเพลง

คลื่นแทรก คลื่นแซบ คลื่นแทรก คลื่นแซบ สุดสัปดาห์ แมลงมัน e-เม้าท์ ฮัลโหลวันหยุด

ช่อง 5 ช่อง 5 ช่อง 5 ช่อง 7 ช่อง 7

จันทร์-ศุกร์ 01.05 - 02.00 น. เสาร์-อาทิตย์ 01.55 – 02.20 น. จันทร์ 00.30 – 01.25 น. ศุกร์ 01.00 - 01.00 น. วันหยุดนักขัตฤกษ์ 10.00 -11.00 น.

จีเอ็มเอ็ม ทีวี จีเอ็มเอ็ม ทีวี จีเอ็มเอ็ม ทีวี จีเอ็มเอ็ม ทีวี จีเอ็มเอ็ม ทีวี

เกมวัดดวง

ช่อง 5

เสาร์ 12.55-13.50 น.

จีเอ็มเอ็ม ทีวี

ละคร/ซิทคอม

วาไรตี้

เกมส์โชว์

ชื่อรายการ

043


ข้อมูลทั่วไป และลักษณะการประกอบธุรกิจ

รายละเอียดรูปแบบของแต่ละรายการ ประเภทรายการ

รูปแบบ

กลุ่มผู้ชมเป้าหมาย

ละคร/ ซิทคอม

เป็นรายการโทรทัศน์ท่กี ลุ่มธุรกิจโทรทัศน์มีความถนัดในด้านการผลิต และมีการนำ�เสนอผลงานให้กับทางสถานีโทรทัศน์อย่างต่อเนื่อง โดย ในปีที่ผ่านมารายการประเภทละครของกลุ่มธุรกิจโทรทัศน์ได้รับ การตอบรับจากผู้ชมติดอันดับแนวหน้า ทั้งในส่วนของละครหลังข่าว ละครตลกจบในตอน (Sit Com) ซึ่งกลุ่มบริษัทถือว่าเป็นผู้นำ�ใน การนำ�เสนอละครในรูปแบบนี้ และได้รับความนิยมสูงสุดอย่าง ต่อเนื่อง รวมถึงละครวัยรุ่นแนวสร้างสรรค์อีกด้วย

ครอบครัว ทุกเพศ ทุกวัย

รายการวาไรตี้

เป็นรายการทีม่ กี ลุม่ เป้าหมายทีช่ ดั เจน ทัง้ ยังมีการนำ�เสนอความบันเทิง ในรูปแบบที่หลากหลาย รายงานกระแสความนิยม ความคิด นำ�ความทันสมัยให้กบั ผูช้ ม รวมถึงนำ�เสนอเรือ่ งราวเหตุการณ์ปจั จุบนั โดยมีการสอดแทรกเนือ้ หา สาระ เชิงสร้างสรรค์ ให้กบั กลุม่ เป้าหมาย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังเป็นการรวบรวมเอาศักยภาพของ การเป็นองค์กรใหญ่ที่ครอบคลุมสื่อบันเทิงครบวงจรมาก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุด รวมถึงรายการรูปแบบเรียลลิตี้โชว์ เพื่อเกาะกระแส ความสนใจของตลาดกลุ่ ม ผู้ บ ริ โ ภคหลั ก ของบริ ษั ท ที่ ต้ อ งการ ความแปลกใหม่ทแ่ี สดงให้เห็นถึงความสามารถของผูร้ ว่ มรายการ เช่น การประกวดร้องเพลง เป็นต้น

วัยรุ่นชายหญิงทั่วประเทศ และสำ�หรับครอบครัว ทุกเพศ ทุกวัย

รายการวัยรุ่น

เป็นรายการทีม่ กี ลุม่ เป้าหมายทีช่ ดั เจน ทัง้ ยังมีการนำ�เสนอความบันเทิง ในรูปแบบที่หลากหลาย สร้างกระแสนิยม นำ�ความทันสมัยให้กับ ผู้ชมกลุ่มวัยรุ่น โดยมีการสอดแทรกเนื้อหา สาระ เชิงสร้างสรรค์ ให้กับกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการหาศิลปิน หน้าใหม่ให้กับวงการด้วย

วัยรุ่นชายหญิงทั่วประเทศ

รายการเพลง

การนำ�เสนอในรูปแบบของมิวสิควีดีโอหรือภาพคอนเสิร์ตของศิลปิน หลากหลาย โดยมีวัตถุประสงค์ในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ผลงาน ของกลุ่มบริษัทที่มีการผลิตผลงานออกมาในขณะนั้นให้เป็นที่รู้จัก

วัยรุ่นชายและหญิง อายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป / นักเรียน นักศึกษา / แม่บา้ น

รายการเกมส์โชว์

เป็นประเภทรายการโทรทัศน์ทไ่ี ด้รบั ความนิยมจากผูช้ มอย่างต่อเนือ่ ง เนื่องจากรูปแบบการดำ�เนินรายการที่สนุกสนานสอดแทรกสาระและ ความบันเทิงครบครัน มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว แตกต่างจากคู่แข่งใน ตลาด อาทิ ให้ผู้ชมได้เข้ามามีส่วนร่วม มีแขกรับเชิญในรายการที่มี ชื่อเสียง ประกอบกับการนำ�เสนอรายการที่มีส่วนในการสร้างสรรค์ สังคมและส่งเสริมวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงาม ทำ�ให้รายการ ของกลุม่ บริษทั เป็นรายการทีไ่ ด้รบั ความนิยมครองใจผูช้ มมาโดยตลอด

ครอบครัว ทุกเพศ ทุกวัย

สภาวะตลาดของสื่อโทรทัศน์

จำ�นวน รายการ 12

9

4

5

1

ในปี 2553 ทีผ่ า่ นมา สถานการณ์ทางการเมือง, เศรษฐกิจ, สังคม ของไทยนัน้ เกิดแต่ความไม่แน่นอน โดยเฉพาะสถานการณ์ความรุนแรงทางการเมือง ที่เริ่มขึ้นตั้งแต่ต้นปีจนเกิดเหตุรุนแรงขึ้นในเดือนพฤษภาคม 2553 ทำ�ให้เกิดความไม่น่าไว้วางใจในทางเศรษฐกิจ การลงทุนจากต่างประเทศหยุดชะงัก ลงในตลอดครึง่ ปีแรกของ 2553 ต่อมาในช่วงครึง่ ปีหลังของปี 2553 ถึงแม้วา่ สถานการณ์ทางการเมืองของประเทศจะอยูใ่ นสภาวะทีค่ งที่ และมีความแน่นอน มากขึน้ แต่ความไม่ไว้วางใจต่างๆ ยังคงมีอยู่ ซึง่ ทำ�ให้การใช้จา่ ยของผูบ้ ริโภคยังคงมีความระมัดระวังมากขึน้ แต่มผี ลกระทบต่อการโฆษณาประชาสัมพันธ์ เพียงเล็กน้อย อัตราการใช้สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ ในทุกสื่อนั้น สื่อโทรทัศน์ยังคงเป็นสื่อหลักที่ใช้การโฆษณาประชาสัมพันธ์มากที่สุด จากการศึกษาของบริษัท นีสสัน มีเดีย รีเสิรช์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ได้เปรียบเทียบตัวเลขการใช้งบโฆษณาผ่านสือ่ ประเภทต่างๆ พบว่าสือ่ โทรทัศน์ยงั คงเป็นสือ่ ทีไ่ ด้รบั ความนิยมสูงสุด โดยมีส่วนแบ่งการตลาดอยู่ประมาณร้อยละ 60 ในปี 2553 และเมื่อเปรียบเทียบปี 2552 กับปี 2553 แล้วพบว่างบประมาณการใช้สื่อโฆษณา ในสื่อโทรทัศน์เพิ่มขึ้นจาก 52,935 ล้านบาท เป็น 60,766 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 ปัจจุบันมีสถานีโทรทัศน์ หรือสถานีโทรทัศน์แบบพื้นฐาน (Free TV) รวม 6 สถานี ได้แก่ ช่อง 3, 5, 7, 9, เอ็นบีที, และทีวีไทย ทุกสถานีมีรายได้ จากการขายโฆษณา และให้ผู้ประกอบการเช่าเวลาเพื่อผลิตรายการ สถานีโทรทัศน์ทุกสถานีฯ มุ่งเน้นที่การพัฒนาคุณภาพของรายการโทรทัศน์ให้น่าสนใจมาก ขึ้นเพื่อให้รายการเป็นที่นิยมในหมู่ผู้ชมให้มากที่สุดโดย เฉพาะช่วงเวลา Prime time อาทิ รายการข่าว และละครหลังข่าว ในส่วนของบริษัทผู้ผลิตรายการต่างๆ ก็แข่งขันกันในแง่ของคุณภาพของรายการเพื่อ ช่วงชิงการเช่าเวลาออกอากาศกับสถานีโทรทัศน์ช่องต่างๆ ทั้งนี้ ในการเช่าเวลาเพื่อผลิตรายการ ทางสถานีฯ จะพิจารณาจากรายการที่มีคุณภาพ มีรูปแบบการนำ�เสนอน่าสนใจ สอดคล้องกับนโยบายของ สถานีโทรทัศน์ และมีโอกาสที่จะได้รับความนิยม หรือมี Rating สูง ซึ่งจะส่งผลต่อความต้องการโฆษณาของสินค้าและบริการในการเลือกลงโฆษณใน รายการดังกล่าว เนื่องจากสื่อโฆษณาโทรทัศน์ Free TV ยังคงเป็นสื่อที่มีการแข่งขันสูงเพื่อช่วงชิงงบโฆษณาในตลาดอย่างต่อเนื่อง บริษัทผู้ผลิตรายการจึงต้องคิดสร้างสรรค์รูปแบบรายการให้มีความแปลกใหม่ มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว มีความพร้อมในการปรับเปลี่ยนและพัฒนา รายการให้มีคุณภาพเป็นที่นิยมอยู่ตลอดเวลา และที่สำ�คัญ คือ จะต้องตอบสนองความต้องการของสถานีโทรทัศน์ทั้งในเรื่องความนิยมของผู้ชมและ นโยบายของสถานีโทรทัศน์นั้น 044


มูลค่าค่าใช้จ่ายโฆษณาในสื่อโทรทัศน์ (ล้านบาท) 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 7,000

6,000

5,000

4,000

3,000

2,000

1,000

0

ที่มา: บริษัท นีลเส็น มีเดีย รีเสิร์ช (ประเทศไทย) จำ�กัด

คู่แข่ง

คู่แข่งขันในธุรกิจสื่อโทรทัศน์ ในปัจจุบันมีบริษัทที่ประกอบธุรกิจผลิตและรับจ้างผลิตรายการโทรทัศน์ ประเภทต่างๆเพิม่ ขึน้ มากรายทัง้ ทีม่ รี ปู แบบ การผลิตรายการทีใ่ กล้เคียงกันและคิดรูปแบบในการผลิตทีส่ ร้างความแตกต่างออกไป ประกอบด้วยบริษทั ย่อยของทางเจ้าของสถานีทเ่ี ป็นเอกชน หรือผูผ้ ลิต รายการอิสระ เช่น บริษทั โพลีพลัส เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำ�กัด, บริษทั บรอดคาสไทย เทเลวิชน่ั จำ�กัด, บริษทั บอนด์ จำ�กัด, บริษทั มีเดีย อ๊อฟ มีเดีย จำ�กัด (มหาชน), บริษัท เจเอสแอล จำ�กัด, บริษัท ทีวี ธันเดอร์ จำ�กัด และ บริษัท เวิร์กพ้อยท์ จำ�กัด (มหาชน) ผู้ผลิตรายการอิสระบางรายจะดำ�เนินการผลิต รายการให้แก่สถานีใดสถานีหนึ่งเท่านั้นแต่มีน้อยรายรวมทั้งกลุ่มบริษัทที่สามารถผลิตรายการให้แก่สถานีทุกช่องรวมถึงสถานีโทรทัศน์ฟรีทีวีที่มีช่อง ทางออกอากาศผ่านดาวเทียมเพิม่ อีกช่องทางหนึง่ อาทิ ช่อง TGN ของ สถานีวทิ ยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 และช่อง MCOT 1, 2, 3 ของบริษทั อสมท จำ�กัด (มหาชน)

แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน

สำ�หรับปี 2554 คาดว่าธุรกิจน่าโทรทัศน์จะเติบโตต่อเนื่องจากปีก่อน และยังคงมีสัดส่วนเม็ดเงินโฆษณาสูงที่สุด แต่ขนาดของสัดส่วนต่อเม็ดเงินรวม อาจลดลงเนื่องจากมีสื่อใหม่เข้ามาแย่งชิงส่วนแบ่งตลาด ประเด็นที่ต้องจับตามองต่อไป คือ คู่แข่งของสื่อโทรทัศน์ที่กำ�ลังมาแรงทั้งสื่อเคเบิลทีวี และ สื่อโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม เนื่องจากมีกลุ่มลูกค้าเป้าหมายใกล้เคียงกัน ซึ่งคาดว่าจะเติบโตสูงในปีนี้ โดย ได้รับอานิสงส์จากข้อจำ�กัดของเวลาโฆษณาใน ฟรีทวี ซี ง่ึ ถูกควบคุมให้ไม่เกิน 240 นาทีตอ่ วัน ทัง้ นีจ้ ากแนวโน้มการโฆษณาทีเ่ พิม่ ขึน้ จึงนำ�ไปสูภ่ าวะการแข่งขันเพือ่ ช่วงชิงส่วนแบ่งตลาดเพิม่ ขึน้ ตามไปด้วย ดังนั้นสื่อที่สามารถปรับตัวทางธุรกิจแสดงให้เห็นความคุ้มค่าและความสามารถในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ดีก็จะมีโอกาสเติบโตเหนือคู่แข่งได้ในที่สุด และถ้าดูจากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศไทย และการอัดฉีดงบลงทุนในระบบสาธารณูปโภคต่างๆ ของภาครัฐถูกมองว่าทิศทางอุตสาหกรรม โฆษณาทั้งสื่อหลัก และดิจิทัล มีเดีย ในปี 2554 ยังเติบโตได้ในอัตรา 5 - 10% ด้วยมูลค่า1.1แสนล้านบาท โดยการเติบโตในสื่อหลักยังคงเป็นโทรทัศน์ที่ สามารถสื่อสารกับผู้บริโภคในวงกว้าง แต่ด้วยข้อจำ�กัดด้าน “เวลา” โฆษณา จะทำ�ให้เม็ดเงินโฆษณาไหลไปยังสื่อเคเบิลทีวี และโทรทัศน์ดาวเทียมที่มี ฐานผูช้ มเพิม่ ขึน้ อีกทัง้ ยังเป็นสือ่ ทีม่ รี าคาโฆษณาไม่สงู เหมือนฟรีทวี แี ละสือ่ สารกับผูช้ มเฉพาะกลุม่ ได้ดี จึงเป็นอีกทางเลือกในการใช้พน้ื ทีโ่ ฆษณาของสินค้า ทั้งรายใหญ่ ที่ต้องการใช้สื่อใหม่ และรายเล็ก ที่มีงบประมาณจำ�กัด

ธุรกิจโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม

ธุรกิจโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม จัดว่าเป็นธุรกิจใหม่ของกลุม่ บริษทั ฯ ซึง่ เป็นธุรกิจทีม่ ตี น้ ทุนไม่สงู มากนักเมือ่ เทียบกับในอดีตทีผ่ า่ นมา เนือ่ งจากรัศมีของ สัญญาณดาวเทียมสามารถส่งสัญญาณออกอากาศได้ครอบคลุมหลายพืน้ ทีท่ ง้ั ในและต่างประเทศ โดยผูล้ งทุนไม่ตอ้ งเสียเวลาติดตัง้ เสาส่งสัญญาณ เพียงพัฒนา เนื้อหาหรือรายการที่ออกอากาศ และขอใบอนุญาตส่งสัญญาณโทรทัศน์ ก็สามารถให้บริการได้ ปัจจุบัน ทางกลุ่มบริษัทฯ ได้ผลิตรายการเพื่อออกอากาศ ผ่านดาวเทียมไทยคม รวม 6 ช่อง ดังต่อไปนี้

045


ช่องแกรมมี่

กลุ่มเป้าหมาย

ออกอากาศครั้งแรก

เพลงไทยลูกทุ่งทันสมัย

ทุกเพศทุกวัย

ตุลาคม 2551

Bang Channel

รายการวาไรตี้ ตามไลฟ์สไตล์วัยรุ่น

พรีทีน, วัยรุ่น

กุมภาพันธ์ 2552

Green Channel

รายการวาไรตี้ทอล์ค รายการเพลงร่วมสมัย และคอนเสิร์ตที่หาดูได้ยาก และรายการ ตามไลฟ์สไตล์คนทำ�งาน

คนทำ�งาน, วัยรุ่น

มีนาคม 2552

Acts Channel

ละคร ซิทคอม วาไรตี้บันเทิง

ทุกเพศทุกวัย

เมษายน 2552

คนทั่วไป และวัยทำ�งานที่มี ความสนใจเรื่องเกี่ยวกับการเงิน และการลงทุน

ตุลาคม 2552

ทุกเพศทุกวัย

ตุลาคม 2553

Fan TV

update 10-11-2009

Money Channel*

ประเภทรายการ

รายการเกี่ยวการเงิน การลงทุน

Saranair Channel** วาไรตี้ คอมเมดี้

* ร่วมถือหุ้นกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในสัดส่วน 50% ผ่านบริษัท แฟมมิลี่ โนฮาว จำ�กัด ** ร่วมถือหุ้นกับบริษัท ลักษ์ 666 ในสัดส่วน 25% ผ่านบริษัท ลักษ์ แซทเทิลไลท์ จำ�กัด

สภาวะตลาดของสื่อโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม

หลังจากการประกาศใช้ พ.ร.บ.การประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551 ตั้งแต่วันที่ 5 มีนาคม 2551 เป็นต้นมา ภาพรวม ของธุรกิจเคเบิ้ลทีวี และโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมมีการตื่นตัวยิ่งขึ้นเพราะพ.ร.บ.ดังกล่าว ได้อนุญาตให้ดำ�เนินการได้อย่างถูกต้องมีกฎหมายรองรับและ สามารถสร้างรายได้จากโฆษณา ได้ไม่เกินชั่วโมงละ 6 นาที ด้วยเหตุนี้ทำ�ให้ธุรกิจ Cable TV และ Satellite TV เป็นธุรกิจที่น่าจับตามองในการเป็น ทางเลือกใหม่ของสื่อโทรทัศน์ที่มีฐานผู้ชม Cable TV และ Satellite TV มากกว่า 10 ล้านครัวเรือนทั่วประเทศ คิดเป็นสัดส่วนมากกว่า 50% ของผู้ชม ทีวีทั่วประเทศ (ข้อมูล CASBAA : Cable & Satellite Broadcasting Association of Asia : Dec. 2010) ประกอบกับการเติบโตอย่างก้าวกระโดดของ เทคโนโลยี ทั้งภาคส่งสัญญาณ และภาครับชม ที่มีความง่าย และราคาถูกลงอย่างมาก รวมทั้งจำ�นวนช่องรายการที่มากกว่าฟรีทีวี ทำ�ให้เกิดการขยายตัว ของผูช้ มโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียมและเคเบิล้ ทีวเี พิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา จึงมีบริษทั ผูผ้ ลิตคอนเท้นท์รายใหญ่ให้ความสนใจ และเริม่ เข้า สูธ่ รุ กิจโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียมอย่างต่อเนือ่ ง และให้ความสำ�คัญกับคุณภาพและรูปแบบการนำ�เสนอทีแ่ ตกต่าง จึงทำ�ให้ชอ่ งรายการทางโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม กลายเป็นช่องทางเลือกใหม่ในการรับชม สอดคล้องกับแนวโน้มของพฤติกรรมการดูทวี ใี นปัจจุบนั ทีเ่ ปลีย่ นเป็นการชมทีวแี บบตอบโจทย์ความต้องการเฉพาะ ของไลฟ์สไตล์ และชมแบบต่อเนือ่ ง ( STAY TUNE ) ซึง่ แตกต่างจากพฤติกรรมการชมฟรีทวี อี ย่างสิน้ เชิง จากสถานการณ์ดงั กล่าว ทำ�ให้สนิ ค้าและบริการ ทั้งจากลูกค้าตรงและเอเจนซี่ ให้ความสนใจใช้สื่อโฆษณาในช่องรายการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมมากขึ้นเรื่อยๆ จากปริมาณของผู้ชมที่มากขึ้น และสามารถ เข้าถึงกลุม่ เป้าหมายตาม segmentation ของสินค้าทีเ่ ลือกเฉพาะตรงกับกลุม่ ผูช้ มรายการของช่องรายการโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียมได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีก ทั้งอัตราค่าโฆษณาของโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมยังถูกกว่าอัตราโฆษณาในฟรีทีวีอีกหลายเท่าตัว ด้วยเหตุนี้ดีกรีการแข่งขันในธุรกิจ satellite & cable tv จึงเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากมีผู้ประกอบการที่เริ่มสนใจธุรกิจนี้หลายราย และเป็นธุรกิจที่มีศักยภาพในการชิงส่วนแบ่งเม็ดเงินโฆษณาจากฟรีทีวี โดย ประมาณการว่าจะมีส่วนแบ่ง 10% จากมูลค่ารวม 50,000 ล้านบาทของเม็ดเงินโฆษณารวมในสื่อโทรทัศน์ ภายในปี 2554

คู่แข่งในธุรกิจ

เดิมธุรกิจ satellite tv และ cable tv เป็นธุรกิจที่ถูกตีกรอบด้านงบประมาณการลงทุนจากปัจจัยของสภาพและขนาดของตลาด ที่จำ�กัดในกลุ่มเฉพาะ แต่ปัจจุบัน ด้วยศักยภาพของตลาดที่เปิดกว้างจนเกิดการแข่งขันอย่างเข้มข้นจากผู้ผลิตที่เข้าสู่อุตสาหกรรมมากขึ้น ทำ�ให้ธุรกิจนี้กลายเป็นเวทีของผู้ผลิต ทีม่ คี วามพร้อมทุกด้าน ไม่วา่ จะเป็น เนือ้ หา บุคลากร รวมทัง้ กลยุทธ์การนำ�เสนอ ทีจ่ ะเข้าถึงความต้องการของผูช้ ม ซึง่ ผูผ้ ลิตทีถ่ อื เป็นคูแ่ ข่งของ ช่องแกรมมี่ ซึ่งเป็นผู้นำ�ช่องรายการด้านความบันเทิง แยกตามประเภทช่องรายการมีดังนี้

046


ข้อมูลทั่วไป และลักษณะการประกอบธุรกิจ

ช่องแกรมมี่

ประเภทรายการ

รายการคู่แข่ง

บริษัทผู้ผลิต

Fan TV

เพลงไทยลูกทุ่ง

ไทยไชยโย Hit Station สบายดีทีวี

บจก. ไลฟ์ ทีวี บจก. ช้างไทย บมจ. อาร์เอส

Bang Channel

ไลฟ์สไตล์วัยรุ่น

POP You Channel

บจก. ไลฟ์ ทีวี บมจ. อาร์เอส

Green Channel

วาไรตีท้ อล์ค / ไลฟ์สไตล์คนทำ�งาน

-

-

Acts Channel

ละคร ซิทคอม

Media Channel

บมจ. มีเดีย ออฟ มีเดีย

Money Channel

รายการเกี่ยวการเงิน การลงทุน

-

-

Saranair Channel**

วาไรตี้ คอมเมดี้

-

-

แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน

ตัง้ แต่ปี 2551 เป็นต้นมา สือ่ โทรทัศน์ผา่ นดาวเทียมมีแนวโน้มการเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง และยังมีทศิ ทางการเติบโตทีด่ ใี นปี 2554 ทีค่ าดว่าครัวเรือนไทย จะมีจำ�นวน 20.9 ล้านครัวเรือน และมีจำ�นวนครัวเรือนที่รับสัญญาณทีวี โดยไม่ใช้เสาอากาศก้างปลาประมาณ 12.2 ล้านครัวเรือน ซึ่งคาดว่าภายใน ปี 2556 จำ�นวนผู้ชมรายการจากฟรีทีวี และโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม จะมีสัดส่วนเท่ากัน อีกทั้งมองว่าในปี 2558 ครัวเรือนไทยจะมีจำ�นวน 24.8 ล้าน ครัวเรือน และ 98.58% หรือเกือบ 100% จะรับชมรายการจากจานดาวเทียมและเคเบิลทีว ี หรือเลิกใช้เสาอากาศก้างปลา นอกจากนีโ้ ทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม ยังได้รับความสนใจจากลูกค้าและเอเยนซีในการลงโฆษณาเพิ่มขึ้น ซึ่งประมาณการว่า ในปี 2554 งบโฆษณาซึ่งจะมีสัดส่วน 10% ของงบโฆษณาผ่าน ฟรีทีวีมูลค่า 5 หมื่นล้านบาท ปัจจุบันมีช่องโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมของผู้ประกอบการไทยกว่า 150 ช่อง และมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่องในปีหน้า คาดว่าจะมีช่องโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเปิดใหม่อีกไม่ต่ำ�กว่า 30 ช่อง และมีเม็ดเงินลงทุนรวมประมาณ 2,000-3,000 ล้านบาท ดังนั้นเป้าหมาย ของกลุ่มบริษัทฯ คือการเป็นผู้นำ�ของธุรกิจ Satellite TV ทั้งในด้านการผลิตรายการที่ได้รับความนิยมสูงสุด (rating) ในแต่ละกลุ่มเป้าหมายของแต่ละ ประเภทรายการ และสามารถสร้างผลประกอบการให้ถึงจุดคุ้มทุน (payback) ภายในสองปี และมีศักยภาพในการทำ�กำ�ไรผันแปรตามสัดส่วนของฐาน ผู้ชมที่ปรับเปลี่ยบนพฤติกรรมจากการชมฟรีทีวี มาชมช่องรายการผ่านจานดาวเทียมและเคเบิลทีวี มากขึ้นอย่างมีนัยสำ�คัญในช่วง 1-2 ปีนับจากนี้

047


ข้อมูลทั่วไป และลักษณะการประกอบธุรกิจ

ธุรกิจสิ่งพิมพ์

คือ การผลิตนิตยสารรายเดือนและรายปักษ์ ซึ่งเป็นนิตยสารแฟชั่น นิตยสารสำ�หรับผู้หญิง นิตยสารสำ�หรับผู้ชาย นิตยสารบันเทิง และเป็นผู้ผลิตและ จำ�หน่ายหนังสือเล่ม (Pocket Book) ปัจจุบันมีนิตยสารของกลุ่มบริษัททั้งสิ้น 5 เล่ม เป็นนิตยสารไทย 2 เล่ม และเป็นนิตยสารที่ซื้อลิขสิทธิ์มาจาก ต่างประเทศอีก 3 เล่ม โดยนิตยสารแต่ละเล่มมีลักษณะเฉพาะที่ต่างกันดังนี้

นิตยสาร / รูปแบบสิ่งพิมพ์ อิมเมจ (Image)

048

ลักษณะของเนื้อหา

กลุ่มเป้าหมาย

แฟชั่น ความงาม สาระและบันเทิงที่โดดเด่นด้วยภาพทันสมัย

ไม่จำ�กัดเพศหรืออายุของกลุ่มผู้อ่าน ทุกเพศ ทุกวัย ตั้งแต่นักเรียน นักศึกษา และคนทำ�งาน

มาดาม ฟิกาโร (Madame Figaro)

นิตยสารสำ�หรับผู้หญิงที่มีความสนใจในแฟชั่น ชื่นชอบในศิลปะ ที่สวยงาม มอบความบันเทิงและสาระให้แก่ผู้หญิงที่มีรสนิยมและ การศึกษาสูง

ผู้หญิงวัยทำ�งานอายุ 25-35 ปีที่ค่อนข้าง มีระดับ มีรสนิยม และการศึกษาสูง

เฮอร์ เวิลด์ (Her World)

แฟชั่น ความงาม สาระและบันเทิง วิถีการดำ�เนินชีวิตของสาว สมัยใหม่ที่ใช้เวลาอย่างมีประโยชน์เพื่อพัฒนาและปรับปรุงตนเอง และเตรียมพร้อมที่จะเผชิญโลกใหม่ ในวัยที่มากขึ้น

ผู้หญิงที่เป็นนักศึกษา ไปจนถึงวัยเริ่มต้นทำ�งาน อายุ 18-28 ปี

แมกซิม (Maxim)

เรื่องราวการใช้ชีวิตและรูปแบบการดำ�เนินชีวิตของผู้ชายยุคใหม่ ที่มีความเป็นตัวของตัวเอง ประกอบไปด้วยสาระและบันเทิง การ แต่งกาย ความเป็นอยู่ เทคโนโลยี และสุขภาพ

ผูช้ ายทันสมัย วัย 18-40 ปี ทีส่ นใจความเป็นไป ของสังคม แฟชั่น บันเทิง และเทคโนโลยีใหม่ๆ และมีความเป็นตัวของตัวเอง

อิน แมกกาซีน (In Magazine)

เน้นความรักดารา บทสัมภาษณ์เชิงลึก และสไตล์ของดาราที่นำ�ไป ดัดแปลงใช้กับสาวไทยทั่วไปได้ มองโลกในแง่ดี และ exclusive

ผู้หญิงวัยมหาวิทยาลัยถึงวัยทำ�งาน คนเมือง วัย 18-29 ปี มีรายได้ระดับกลางถึงสูง

หนังสือเล่ม (Pocket Book)

เป็นเรื่อง Fiction, Non-Fiction, Style และ Self Esteem ทำ�ให้ คนอ่านมองเห็นคุณค่าในตัวเอง นอกจากนี้ ยังมี J Book ที่เป็น วรรณกรรมแปลร่วมสมัยของประเทศญี่ปุ่นอีกด้วย

ผู้หญิง อายุ 17-35 ปี ที่มีความสนใจเรื่องราว ที่ทันสมัย พร้อมรับความคิดที่แตกต่าง


สภาวะตลาดของสือ่ สิง่ พิมพ์

สภาพการตลาดนิตยสารในปีที่ผ่านมาพบว่ายังคงมีการแข่งขันที่สูงมากอยู่ ส่งผลให้มีการปิดตัวลงของนิตยสารอยู่หลายฉบับ ทั้งนี้เนื่องจากสภาพ ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจและการเมืองในช่วงครึง่ ปีแรก ส่งผลให้ผบู้ ริโภคระมัดระวังในการใช้จา่ ยมากขึน้ แม้วา่ ในครึง่ ปีหลัง งบการใช้จา่ ยในสือ่ สิง่ พิมพ์ จะเริ่มดีขึ้น แต่ถ้าดูภาพรวมทั้งปีสภาพการตลาดนิตยสารก็ยังไม่ค่อยดีนัก รายได้จากการขายนิตยสารต่ำ�ลง ขณะเดียวกันต้นทุนการผลิตก็สูงขึ้น อีกทั้ง งบประมาณที่ใช้จ่ายสำ�หรับสื่อนิตยสารก็ลดลง จากการสำ�รวจของ บริษัท นีลเส็น มีเดีย รีเสิร์ช (ประเทศไทย) พบว่าในปี 2553 สื่อทางนิตยสารมี ส่วนแบ่งการตลาดอยู่ประมาณร้อยละ 5.60 ของสื่อทุกประเภท และเริ่มแสดงตัวเลขที่เป็นขาขึ้นในปี 2553 นี้ งบโฆษณาผ่านสื่อนิตยสารมีการเติบโต เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.22 เมื่อเทียบกับปีก่อน โดยคิดเป็นเม็ดเงินโฆษณาทั้งสิ้นประมาณ 5,655 ล้านบาท จาก 5,426 ล้านบาทในปีที่ผ่านมา ทำ�ให้รายได้ เฉลี่ยต่อปี 2553 ของนิตยสารเริ่มกลับมาดีขึ้น สำ�หรับหนังสือเล่ม มองว่าปี 2554 น่าจะยังเติบโตได้ประมาณ 5% ตามภาวะอุตสาหกรรม1 แม้คนจะมีความระมัดระวังในการเลือกซื้อมากกว่าเดิม โดยการเลือกจะมาจากคุณภาพของหนังสือและความน่าเชือ่ ถือของสำ�นักพิมพ์ เพราะคนอ่านจะเลือกสำ�นักพิมพ์ทต่ี ดิ อันดับต้นๆในใจคนอ่าน เพราะ ไม่ตอ้ ง เสีย่ งอ่านงานไร้คณ ุ ภาพ เพราะฉะนัน้ แบรนด์ทแ่ี ข็งแรงและอยูใ่ นอันดับต้นๆ ของหนังสือแต่ละประเภทเท่านัน้ ถึงจะอยูไ่ ด้ ในตลาดผูป้ ระกอบการของหนังสือ เล่มสามารถแบ่งออกเป็น 3 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ได้แก่ กลุ่มอมรินทร์ ซึ่งครอบคลุมตลาดส่วนใหญ่ และแบ่งเป็นสำ�นักพิมพ์ต่างๆ ตามประเภทหนังสือ ที่ชัดเจน เช่น สำ�นักพิมพ์อมรินทร์ สำ�นักพิมพ์แพรวสุดสัปดาห์ สำ�นักพิมพ์คลีนิคบ้านและสวน สำ�นักพิมพ์อรุณ เป็นต้น กลุ่มนานมีบุคส์ กลุ่มเนชั่น และ กลุ่มมติชน ในส่วนของกลุ่มจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีสำ�นักพิมพ์บลิส พับลิชชิ่ง ถือเป็นสำ�นักพิมพ์ขนาดกลางที่มีความชัดเจนในการประกอบธุรกิจ และมุ่งเน้น ตลาดทีม่ โี อกาสและยังไม่มสี �ำ นักพิมพ์ใดครองตลาดอยู่ ทีเ่ หลือคือ สำ�นักพิมพ์ขนาดเล็กอืน่ ๆ โดยทีแ่ นวโน้มการอ่านหนังสือไม่ปรากฎเด่นชัดนัก ส่วนใหญ่ เป็นลักษณะไปตามกระแสนิยม ในขณะที่สำ�นักพิมพ์บลิส พับลิชชิ่ง ซึ่งเป็นสำ�นักพิมพ์ขนาดกลาง มีความสามารถในการแข่งขันอยู่ในระดับที่น่าพอใจ เนื่องจากมีกลุ่มเป้าหมาย ในเซ็กเมนต์ที่ชัดเจนมาก และเป็นที่หนึ่งในเซ็กเมนต์ตลอดมา ทั้งตลาดหนังสือแปล และนิยายแปลรักโรแมนติกคอมเมอดี้สำ�หรับผู้หญิง ส่วนหนังสือ J-Book คู่แข่งมีเพียง 1-2 รายเท่านั้น อย่างไรก็ตาม นิยายแปลรักโรแมนติกคอมเมอดี้สำ�หรับผู้หญิง เริ่มมีการแข่งขันมากขึ้นทั้งจากนักเขียนไทย หรือ หนังสือแปลเกาหลี ทำ�ให้สำ�นักพิมพ์บลิส พับลิชชิ่ง จะต้องเปิดกลุ่มตลาดใหม่โดยเน้นความหลากหลายของแนวหนังสือ โดยเน้นแนวสืบสวน โรแมนติก หรือแฟนตาซี ซึ่งจะมีภาพเป็นองค์ประกอบมากขึ้น และสิ่งที่ต้องทำ�ในช่วงเศรษฐกิจไม่ดี คือ การรักษาลูกค้าเก่า โดยการทำ� Customer Relationship Management (CRM) อย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2553 ได้เน้นการทำ� CRM ในเชิงภูมิศาสตร์ (Geography) มากขึ้น เช่น การลงพื้นที่ในหัวเมืองใหญ่ๆ ในต่างจังหวัด อย่างจังหวัดเชียงใหม่ และในปี 2554 ได้ขยายไปยังจังหวัดขอนแก่น ทำ�ให้ทราบความต้องการของลูกค้าชัดเจนขึน้ ซึง่ ทำ�ให้สามารถรักษา ฐานลูกค้าและระดับยอดขายได้อย่างน่าพอใจ แผนภาพแสดงมูลค่าค่าใช้จ่ายโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ (ล้านบาท) 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 7,000

6,000

5,000

4,000

3,000

2,000

1,000

0

ที่มา: บริษัท นีลเส็น มีเดีย รีเสิร์ช (ประเทศไทย)

แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน

คาดการณ์วา่ ในปี 2554 ภาวะตลาดนิตยสารมีแนวโน้มทีด่ ขี น้ึ เนือ่ งจากเศรษฐกิจและการเมืองมีเสถียรภาพมากขึน้ จากปีทผ่ี า่ นมา แม้วา่ ภาวะการแข่งขัน ในตลาดนิตยสารจะยังคงมีการแข่งขันที่รุนแรงทั้งในส่วนของคอนเทนต์ รูปแบบ การกำ�หนดวันวางแผง รวมถึงพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปตาม กระแสดิจิทัลที่เริ่มเข้ามามากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการอ่านนิตยสาร และหนังสือเล่มผ่านทางเว็บไซต์ หรือเครื่องมือใหม่ๆ (devices) ที่เราเรียกกันว่า iPad, e-book ซึ่งตอนนี้หลายสำ�นักพิมพ์ก็ให้ความสนใจช่องทางนี้ รวมถึงหัวหนังสือในเครือจีเอ็มเอ็มแกรมมี่ อย่าง Maxim ก็เพิ่งได้มีการเปิดตัว Maxim e-gazine ไปเมื่อเดือนตุลาคม 2552 โดยผู้อ่านสามารถเข้าไปดาว์นโหลด อ่านได้ทางเว็บไซต์ www.thaiegazine.com และะได้รับการตอบรับอย่างดี จากลูกค้าที่ซื้อโฆษณา และลูกค้าที่ชอบอ่านหนังสือ Maxim ในรูปแบบใหม่นี้ โดยคาดว่าในอนาคตยอดผู้ใช้อินเตอร์เน็ต จะมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และใน ปลายปี 2553 ทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ ได้เปิดตัวนิตยสารในเครือ จีเอ็มเอ็มแกรมมี่ ผ่านทาง iPad อีกด้วย ซึง่ ถือเป็นการขยายช่องทางการจำ�หน่ายให้หลากหลาย และครอบคลุมมากขึ้น สำ�หรับคนรุ่นใหม่ที่มีชีวิตผูกพันอยู่กับเทคโนโลยี นอกจากนี้ ในปี 2554 ทางบริษัทฯ ยังมีนโยบายที่จะซื้อลิขสิทธิ์นิตยสารจาก ต่างประเทศอีก 1 ไทเทิล ซึ่งเป็นนิตยสารเฉพาะกลุ่ม และสิ่งสำ�คัญในปีนี้ของบริษัทฯ คือการรักษาฐานลูกค้าเก่าให้มั่นคง และหาโอกาสเพิ่มลูกค้าใหม่ จากช่องทางการจำ�หน่ายที่หลากหลายขึ้น เพื่อให้เข้ากับไลฟ์สไตล์ของกลุ่มคนอ่านที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

1 หมายเหตุ

ข้อมูลจากสมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จำ�หน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย 049


ธุรกิจสร้างสรรค์และบริหารงานกิจกรรม

ธุรกิจสร้างสรรค์และบริหารงานกิจกรรม (Event Creation & Management) เป็นธุรกิจที่ให้บริการด้านการจัดงานกิจกรรมแบบครบวงจร ตั้งแต่การเสนอ แนวความคิด จัดหาผู้รับเหมาในงานด้านต่างๆ และติดต่อประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถผลิตและบริหารงานให้สอดคล้อง ตรงตาม ความต้องการและจุดมุง่ หมายของลูกค้า โดยมีบริษทั อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ในเครือ เป็นผูด้ แู ลและดำ�เนินธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกัน ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1. กลุม่ บริการสร้างสรรค์และบริหารงานด้านการสือ่ สารทางการตลาด โดยให้บริการด้านความคิดสร้างสรรค์ และพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาด เพือ่ ให้สามารถสือ่ สารทางการตลาดได้อย่างครบวงจรตามทีล่ กู ค้าต้องการ ทัง้ งานกิจกรรมทางการตลาด (Event Marketing) งานด้านโฆษณาและประชาสัมพันธ์ 2. กลุม่ บริการด้านการผลิตและให้เช่า ทำ�หน้าทีใ่ นการผลิตและจัดหาอุปกรณ์ส�ำ หรับจัดกิจกรรม จัดเตรียมระบบแสง เสียง เทคนิคพิเศษ การจัดสร้างเวที นิทรรศการ บริการให้เช่าอุปกรณ์กล้องและเครือ่ งมือตัดต่อภาพและเสียง งานออกแบบและผลิตฉาก สำ�หรับรายการโทรทัศน์ รวมถึงการจัดเตรียมการแสดง และนำ�เข้าการแสดงพิเศษสำ�หรับงานกิจกรรมทางการตลาดต่างๆ เพื่อสร้างความน่าสนใจให้กับกิจกรรมนั้นๆมากยิ่งขึ้น โดยร่วมมือกับบริษัทที่เป็น พันธมิตรในต่างประเทศทั่วโลก ผลงานหลากหลายรูปแบบของกลุ่มธุรกิจสร้างสรรค์และบริหารงานกิจกรรม ได้สร้างนวัตกรรมใหม่ให้แก่ภาคธุรกิจ ทั้งในแง่ของความคิดสร้างสรรค์ และเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง โดยผลงานที่เกิดขึ้น ได้รับการกล่าวถึงในวงกว้าง รวมทั้งเป็นบริษัทที่ได้รับรางวัลจากทั้งในประเทศและต่างประเทศมากที่สุด ในวงการธุรกิจเดียวกัน

ลักษณะลูกค้าและกลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย

กลุ่มลูกค้าเป้าหมายแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มดังต่อไปนี้ 1. กลุม่ ธุรกิจเอกชน เป็นกลุม่ เป้าหมาย และลูกค้าหลัก โดยลูกค้ากลุม่ นีม้ คี วามต้องการทีจ่ ะเข้าถึงผูบ้ ริโภคให้ได้มากทีส่ ดุ บริการหลักทีใ่ ช้สว่ นใหญ่ เป็นกิจกรรมทางการตลาด (Event Marketing) และการเสริมสร้างภาพลักษณ์ของตราสินค้า (Brand Activation) อาทิการเปิดตัวสินค้าหรือบริการ การส่งเสริม การขาย การจัดเลี้ยงให้กับตัวแทนจำ�หน่าย เป็นต้น ลูกค้าในกลุ่มนี้มีทั้งผู้ประกอบการข้ามชาติ เช่น ยูนิลีเวอร์ แอมเวย์ เชฟโรเลต และผู้ประกอบการใน ประเทศที่ส่วนใหญ่เป็นบริษัท และกลุ่มบริษัทเอกชนขนาดใหญ่ เช่น บมจ.ปตท. เครือซิเมนต์ไทย บจก. ไทยประกันชีวิต บจก. ดับเบิลเอ และ บจก. โคคา-โคล่า(ประเทศไทย) เป็นต้น ซึ่งบริษัทเหล่านี้ต้องการบริษัทที่มีความน่าเชื่อถือจากผลงานที่ผ่านมา และมีความสามารถทั้งในด้านความคิด สร้างสรรค์ที่แปลกใหม่ และสามารถผลิตงาน ทำ�ให้เกิดขึ้นจริงได้ตามรูปแบบที่ต้องการ 2. หน่วยงานของรัฐ ลูกค้ากลุ่มนี้มีความต้องการจัดกิจกรรมเพื่อสื่อสารกับประชาชน ซึ่งอาจจะเป็นการจัดกิจกรรมในรูปของงานนิทรรศการหรือ กิจกรรมพิเศษต่างๆ หรือเป็นกิจกรรมการประชุม สัมมนาระดับนานาชาติ ตัวอย่างของลูกค้ากลุ่มนี้ได้แก่ กระทรวงพลังงาน กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สำ�นักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ เป็นต้น ซึ่งหน่วยงานเหล่านี้ ต้องการบริษัท ทีส่ ามารถให้บริการได้ครบวงจร ทัง้ ในด้านการจัดกิจกรรมต่างๆ และด้านการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ซึง่ กลุม่ บริษทั อินเด็กซ์ ก็สามารถให้บริการได้อย่างครบถ้วน

สภาวะตลาดของธุรกิจสร้างสรรค์และบริหารงานกิจกรรม

ในธุรกิจการบริหารกิจกรรมนั้นถึงแม้จะมีผู้ประกอบการจำ�นวนมากถึง 200 บริษัท โดยส่วนใหญ่เป็นบริษัทขนาดเล็กมีพนักงานไม่เกิน 20 คน และ บริษัทที่มีพนักงานไม่เกิน 50คน มีอยู่เพียง 25 บริษัท สำ�หรับบริษัทที่มีพนักงานเกินกว่า 50 คน ก็มีไม่ถึง 10 บริษัท ดังนั้นโดยภาพรวมของตลาด การแข่งขันในธุรกิจนีจ้ งึ มีการแบ่งกลุม่ เป้าหมายทางการตลาดตามขนาดของบริษทั อย่างชัดเจน และเมือ่ มองถึงบริษทั ทีส่ ามารถให้บริการได้อย่างครบวงจร ทั้งในส่วนของการสร้างสรรค์และผลิตงาน รวมถึงการให้เช่าอุปกรณ์ต่างๆ ก็มีเพียงกลุ่มบริษัท อินเด็กซ์ เท่านั้น ที่สามารถให้บริการได้อย่างครบวงจร จึงถือว่าการแข่งขันยังไม่รุนแรงมากนัก

แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน

อุตสาหกรรมการจัดกิจกรรมการตลาดมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง เพราะปัจจุบนั การจัดกิจกรรมทางการตลาดมิได้จ�ำ กัดเพียงแค่ในภาคธุรกิจเอกชน เท่านั้น แต่ยังได้ขยายตัวไปในภาครัฐอีกด้วย โดยในหลายหน่วยงานราชการ ได้มีการใช้การจัดกิจกรรมต่างๆมากขึ้น เพื่อเป็นเครื่องมือในการเผยแพร่ ข้อมูลให้แก่ประชาชน รวมทัง้ เพือ่ สนับสนุนงาน นโยบายต่างๆของภาครัฐ และสืบเนือ่ งมาจากสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบนั ธุรกิจภาคเอกชนมีความต้องการ ใช้สื่อหรือกิจกรรมทางการตลาดที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายให้ได้มากที่สุด เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและความคุ้มค่าในการใช้งบประมาณทางการตลาด นอกจากนั้นแนวโน้มการใช้กิจกรรมทางการตลาดยังเพิ่มขึ้น ทั้งในด้านของความถี่และขนาดของกิจกรรมอีกด้วย ในด้านการแข่งขันนั้นบริษัทที่มีขนาด องค์กรขนาดใหญ่และมีชอ่ื เสียงจะมีโอกาสในการรับงานมากกว่าบริษทั ขนาดกลางและเล็ก ซึง่ ในตลาดมีบริษทั ทีม่ ขี นาดใหญ่ทม่ี ยี อดขายเกินกว่าเจ็ดร้อยล้าน เพียงแค่สามบริษัท ทำ�ให้การแข่งขันในธุรกิจนี้ไม่รุนแรงมาก

050


ข้อมูลทั่วไป และลักษณะการประกอบธุรกิจ

ธุรกิจภาพยนตร์

ธุรกิจภาพยนตร์เป็นธุรกิจที่ทำ�รายได้ให้บริษัทเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 3-5 โดยธุรกิจนี้เป็นธุรกิจที่ใช้เงินลงทุนค่อนข้างสูง และใช้เวลาวางแผนและ ดำ�เนินการผลิตประมาณ 8 เดือน ถึง 1 ปีครึ่ง แล้วแต่ Project ของภาพยนตร์ว่าเป็นขนาดใด

ช่องทางในการขาย / รายได้ของภาพยนตร์ ได้แก่ 1. รายได้จากการเข้าฉายในโรงภาพยนตร์ในระบบส่วนแบ่งจากบัตรเข้าชมภาพยนตร์ในเขต กรุงเทพฯ โดยมีส่วนแบ่งระหว่างบริษัท และโรงภาพยนตร์ ที่ร้อยละ 50 2. รายได้การขายสิทธิ์ให้กับสายหนังในต่างจังหวัด 3. รายได้จากการขายสิทธิ์ให้แก่ผู้ประกอบการธุรกิจที่เกี่ยวกับ Home Entertainment ที่จะนำ�ไปผลิตเป็นวีซีดี และดีวีดี 4. รายได้จากการขายสิทธิ์ในการแพร่ภาพทางเคเบิ้ลทีวี 5. รายได้จากการขายสิทธิ์ให้สถานีโทรทัศน์ฟรีทีวี 6. รายได้จากการขายสิทธิ์ให้บริษัทในต่างประเทศ 7. รายได้จากการขายสปอนเซอร์จากสินค้าต่างๆ ตลอดระยะเวลา 6 ปีที่ผ่านมา บจก. จีทีเอช ซึ่งเป็นบริษัทในเครือมีเป้าหมายที่จะผลิตภาพยนตร์ที่มีคุณภาพโดยมีแผนที่จะผลิตภาพยนตร์ออกมาสู่ ตลาดอย่างต่อเนื่องโดยเฉลี่ยที่ประมาณ 4 – 5 เรื่องต่อปี โดยมีลักษณะเนื้อหาแตกต่างกันออกไป อาทิเช่น ภาพยนตร์ตลก ภาพยนตร์รัก ภาพยนตร์ โรแมนติกคอมมาดี้ และภาพยนตร์สยองขวัญ(Horror) โดยบริษัทมีความพร้อมในด้านของบุคคลากร และทีมงานที่มีความชำ�นาญและมีการทำ� research ตลาด และกลุม่ ผูช้ มภาพยนตร์ ก่อนทีล่ งทุนใน Project ใหม่ ๆ เสมอ ซึง่ เป็นปัจจัยสำ�คัญทีท่ �ำ ให้ภาพยนตร์ของบริษทั สามรถนำ�มาเสนอความแปลกใหม่ และได้รับความนิยมจากผู้ชมภาพยนตร์ด้วยดีตลอดมา ในปี 2553 ตลาดภาพยนตร์ในประเทศไทยมีมลู ค่าประมาณ 3,400 ล้านบาท (โดยมาจาก รายได้จาก Box Office เท่านัน้ ) ลดลงร้อยละ 5 เมือ่ เทียบ กับปี 2552 โดยภาพยนตร์ต่างประเทศมีส่วนแบ่งตลาดประมาณร้อยละ 66 และ ภาพยนตร์ไทยประมาณร้อยละ 34 ภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี 2553 มีจำ�นวน 57 เรื่อง ทำ�รายได้รวม(เฉพาะ Box Office ) จำ�นวน 1,154 ล้านบาท ในส่วนของ บจก. จีทีเอช มี ภาพยนตร์ออกฉายทั้งหมด 3 เรื่อง โดยทำ�รายได้รวม (เฉพาะ Box Office) จำ�นวน 181 ล้านบาท โดยลดลงร้อยละ 44 เมื่อเทียบกับปี 2552 เนื่องจาก มีจำ�นวนภาพยนตร์ที่ออกฉายลดลงกว่าปีก่อนจำ�นวน 1 เรื่อง และเกิดภาวะความไม่แน่นอนทางการเมืองในขณะที่ภาพยนตร์เรื่อง บ้านฉัน...ตลกไว้ก่อน พ่อสอนไว้ เข้าฉายในเดือนมีนาคม 2553 เนื่องจากเป็นช่วงจังหวะเดียวกันกับที่มีการเริ่มชุมนุมใหญ่ของกลุ่ม นปช และการชุมนุมดังกล่าวได้ยืดเยื้อมา จนถึงเดือนพฤษภาคม 2553 ในปี 2553 กลุม่ บริษทั ได้น�ำ ภาพยนตร์ออกสูส่ ายตาผูช้ มทัง้ สิน้ 3 เรือ่ ง ได้แก่ บ้านฉัน...ตลกไว้กอ่ นพ่อสอนไว้ กวน มึน โฮ และ กระดึบ๊ โดยผลงาน ของบริษัทได้รับการตอบสนองจากผู้ชมเป็นอย่างดี และได้พิสูจน์ถึงคุณภาพผลงาน โดยภาพยนตร์เรื่อง กวน มึน โฮ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ทำ�รายได้ Box Office สูงสุดในปี 2553 โดยทำ�รายได้รวมที่ 126.30 ล้านบาท กลยุทธ์ทางการตลาดที่บริษัทใช้ ได้แก่ กลยุทธ์ด้านงานประชาสัมพันธ์ในการที่จะโปรโมทภาพยนตร์ให้เข้าถึงกลุ่มผู้ชมภาพยนตร์ที่ตั้งเป้าหมายไว้ได้ ทัว่ ถึง ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการดึงดูดให้กลุม่ เป้าหมายเข้ามาชมภาพยนตร์ ซึง่ ถือเป็นกลยุทธ์การตลาดของภาพยนตร์ โดยสิง่ ทีบ่ ริษทั ทำ� คือเน้นการวางงบประมาณ ในการประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ให้เหมาะสม การเลือกใช้สื่อในการโปรโมทให้ถูกต้องกับกลุ่มเป้าหมาย และการประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ก่อนนำ�ออกฉาย ถือว่ามีความจำ�เป็น และสำ�คัญอย่างมากสำ�หรับธุรกิจภาพยนตร์ในปัจจุบัน เพื่อให้ผู้ชมภาพยนตร์รับรู้ได้ว่าภาพยนตร์กำ�ลังจะออกฉายแล้ว และการทำ� การโปรโมทในรูปแบบใหม่ๆ ก็ถือว่ามีความสำ�คัญมาก

แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรม และการแข่งขัน

ผู้ประกอบการหลักในธุรกิจภาพยนตร์ ซึ่งได้สร้างผลงานภาพยนตร์ออกมาต่อเนื่องได้แก่ สหมงคลฟิล์ม จีทีเอช เอ็ม39 พระนครฟิล์ม ไฟว์สตาร์ และเอ็ม พิกเจอร์ สำ�หรับในปี สำ�หรับในปี 2554 นั้น คาดการณ์ว่ามูลค่าตลาดรวมของภาพยนตร์ในประเทศ ไทยจะมีมูลค่าไม่ต่ำ�กว่า 4,000 ล้านบาท จากการที่จะ มีภาพยนตร์ตา่ งประเทศฟอร์มใหญ่ ซึง่ เป็น product ทีแ่ ข็งแรง และมีความน่าสนใจเข้ามาฉายยังประเทศไทยจำ�นวนหลายเรือ่ ง นอกนัน้ จะมี ภาพยนตร์ไทย ฟอร์มใหญ่ คือ นเรศวรภาค 3 และ นเรศวรภาค 4 ซึ่งจะเข้าฉายในปี 2554 อีกด้วย ในส่วนของบจก.จีทเี อช คาดว่าจะเติบโตขึน้ ทีป่ ระมาณร้อยละ10-15 ตามทีไ่ ด้ตง้ั เป้าหมาย ไว้โดยมีแผนทีจ่ ะนำ�ภาพยนตร์ออกฉาย จำ�นวน 5 เรือ่ ง โดยกลุ่มลูกค้าที่เป็นกลุ่มเป้าหมายของบริษัท คือ กลุ่มลูกค้าที่ชื่นชอบการชมภาพยนตร์ที่มีอายุระหว่าง 15 – 30 ปี เป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก 051


ปัจจัยความเสี่ยง ปัจจัยความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจของบริษัทและบริษัทในเครือ (“กลุ่มบริษัท”) ที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อผลตอบแทน จากการลงทุน ของผู้ลงทุนอย่างมีนัยสำ�คัญ

ความเสีย่ งจากการดำ�เนินงาน 1. การพัฒนาเนื้อหาและบริการใหม่ๆควบคู่ไปกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยี เนือ่ งจากปัจจุบนั เทคโนโลยีมกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ซึง่ มีผลกระทบต่อความต้องการเนือ้ หา (Content) และบริการต่างๆของผูบ้ ริโภค ในรูปแบบ ที่แตกต่างออกไปจากเดิมผ่านทางความก้าวหน้าของเทคโนโลยี เช่นโทรศัพท์เคลื่อนที่, อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ส่งผลให้เนื้อหาและบริการด้านบันเทิงมี การพัฒนาไปเป็นรูปแบบและช่องทางใหม่ๆอยู่ตลอดเวลา ด้วยเหตุผลนี้บริษัทได้จัดตั้งหน่วยงานที่ให้บริการด้านดิจิตอลคอนเท้นท์ขึ้นในปี 2547 ซึ่งทำ� หน้าที่พัฒนาบริการใหม่ๆเพื่อรองรับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น บริการเสียงเพลงระหว่างรอสาย, เวปไซต์ gmember ซึ่งเป็นการรวมสังคมเพลง และให้บริการเพลงออนไลน์, บริการดาว์นโหลดเพลงทั้งแบบเพลงเดียว การดาว์นโหลดทั้งอัลบั้ม และ การร่วมมือกับบริษัทเจ้าของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อให้บริการต่างๆ ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค ทั้งนี้บริษัทมีหน่วยงาน Library ที่ทำ�การแปลงรูปแบบของคอนเท้นท์หลากหลายของบริษัทให้อยู่ในรูปแบบดิจิตอล และจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบเพื่อง่ายต่อการนำ�ไปใช้งาน และนำ�ไป พัฒนาเป็นรูปแบบใหม่ๆในอนาคต ตามทิศทางการพัฒนาของเทคโนโลยี 2. การละเมิดลิขสิทธิ์ ปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์เป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่ออุตสาหกรรมเพลงและธุรกิจภาพยนตร์ทั่วโลก สำ�หรับกลุ่มบริษัท ในแต่ละปีบริษัทประสบกับปัญหา จากการถูกลักลอบนำ�ผลงานเพลงไปทำ�การดัดแปลงเลียนแบบ แล้วนำ�ออกจำ�หน่ายในราคาถูกเป็นจำ�นวนมาก และยังมีปญ ั หาการละเมิดสิทธิทม่ี กี ารพัฒนา ไปพร้อมกับเทคโนโลยี เช่นการนำ�ผลงานของบริษัทไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้าผ่านอินเตอร์เน็ต ทำ�ให้กลุ่มบริษัทต้องเสียโอกาสจากการดำ�เนินธุรกิจเป็น จำ�นวนเงินที่สูงในแต่ละปี อย่างไรก็ตามที่ผ่านมาภาครัฐได้มีการดำ�เนินมาตรการต่างๆเพื่อป้องกันและปราบปรามปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์อย่างจริงจังมากขึ้น รวมถึงมาตรการ เบ็ดเสร็จที่ครอบคลุมตั้งแต่การควบคุมการนำ�เข้าเครื่องจักรที่สามารถใช้ในการผลิตสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ การควบคุมการผลิต จนถึงการควบคุมขั้นตอน การจัดจำ�หน่าย และยังได้มีการเพิ่มบทลงโทษผู้กระทำ�ผิด ตลอดจนการให้รางวัลนำ�จับแก่เจ้าหน้าที่ตำ�รวจ หรือผู้ที่ทำ�การชี้เบาะแสแหล่งผลิต แหล่งขาย หรือแหล่งเก็บสินค้าละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย นอกจากนี้ เพื่อเป็นการกระตุ้นการซื้อสินค้าอย่างถูกกฎหมาย กลุ่มบริษัทได้พัฒนาช่องทางขายเพลงผ่านอินเตอร์เน็ตเพื่อเพิ่มความสะดวกในการ เลือกซื้อเพลงอย่างต่อเนื่อง และในส่วนของธุรกิจภาพยนตร์ ทางบริษัทได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากโรงภาพยนตร์ในการออกมาตรการต่างๆ เพื่อลด การลักลอบบันทึกภาพยนตร์อย่างผิดกฎหมาย ซึ่งบริษัทคาดว่าจากความร่วมมืออย่างจริงจังระหว่างภาครัฐ และเอกชนอย่างต่อเนื่องจะทำ�ให้สินค้า ละเมิดลิขสิทธิ์ลดลง ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมบันเทิงโดยรวมต่อไปในอนาคต 3. การต่ออายุสัมปทาน/สัญญาเช่า เนื่องจาก บริษัทฯและบริษัทย่อย เป็นผู้ผลิตรายการวิทยุและรายการโทรทัศน์โดยเช่าเวลาจากสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์เพื่อออกอากาศรายการ ซึ่งเป็นปกติธุรกิจที่ผู้เช่าจะได้รับสัญญาเช่าเป็นระยะสั้น โดยอายุสัญญาการเช่าคลื่นวิทยุอยู่ระหว่าง 1-3 ปี และอายุการเช่าเวลาเพื่อผลิตรายการโทรทัศน์ อยู่ระหว่าง 2-12 เดือน ซึ่งเป็นข้อจำ�กัดในการขยายธุรกิจและทำ�ให้มีความเสี่ยงในการต่ออายุสัมปทานและสัญญาเช่าจากหน่วยงานที่มีอำ�นาจในการ จัดสรรคลื่นวิทยุและโทรทัศน์ และถ้าหากบริษัทฯไม่ได้รับการต่ออายุสัมปทาน จะส่งผลกระทบต่อความต่อเนื่องของการออกอากาศรายการวิทยุและ รายการโทรทัศน์จากการที่ต้องสรรหาสัมปทานใหม่ รวมถึงความเสี่ยงจากการปรับเปลี่ยนเงื่อนไขของสัญญา ไม่ว่าจะเป็นค่าสัมปทาน / ค่าเช่าเวลา หรือ รูปแบบการจ่ายค่าเช่า รวมถึงสัดส่วนเวลาโฆษณาและเวลาออกอากาศด้วย ซึ่งจะมีผลกระทบต่อรายได้หลักของกลุ่มบริษัทฯ แต่อย่างไรก็ตามเจ้าของ สถานีจะพิจารณาการให้เช่าสถานีจากรูปแบบของรายการที่จะนำ�เสนอ ความนิยมของรายการและความสามารถในการชำ�ระค่าสัมปทาน / ค่าเช่าเวลา ดั้งนั้นด้วยศักยภาพและความพร้อมของกลุ่มบริษัททางด้านเทคโนโลยีการผลิต เงินทุน และบุคลากร ประกอบกับผลงานที่มีคุณภาพในระดับแนวหน้า และการเป็นที่ยอมรับจากกลุ่มผู้ฟังและผู้ชมเป็นวงกว้าง การมีบุคลากรที่มีความชำ�นาญและประสบการณ์ รวมทั้งการรักษาความสัมพันธ์อันดีกับเจ้าของ สถานี ทำ�ให้บริษัทฯลดความเสี่ยงในการที่จะไม่ได้รับการต่ออายุสัมปทานและสัญญาเช่า 4. ความเสี่ยงจากการทำ�ธุรกิจภาพยนตร์ ธุรกิจภาพยนตร์เป็นธุรกิจทีใ่ ช้เงินลงทุนต่อเรือ่ งค่อนข้างสูงคือประมาณ 20-25 ล้านบาท และอาจจะสูงถึง 50 ล้านบาท ถ้าเป็นภาพยนตร์ฟอร์มใหญ่ โดย ความเสี่ยงที่เกิดจากการทำ�ธุรกิจ ภาพยนตร์อาจแบ่งแยกได้ดังนี้ 1. การเลือก Project ที่ไม่ตรงกับรสนิยมของผู้ชมภาพยนตร์ เนื่องจากธุรกิจภาพยนตร์เป็นธุรกิจที่ต้องการความแปลกใหม่อยู่เสมอ ซึ่งการนำ�เสนอ ความแปลกใหม่ที่มากเกินไปอาจไม่ตรงกับรสนิยมของผู้ชมภาพยนตร์ได้ ซึ่งผลที่ตามมาก็คืออาจทำ�ให้รายได้ไม่ได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ 2. คู่แข่งในช่วงเวลาของการนำ�ภาพยนตร์เข้าไปฉายในโรงภาพยนตร์ (คู่แข่งนี้หมายรวมถึงทั้งภาพยนตร์ไทยและภาพยนตร์ต่างประเทศที่เข้าฉาย ในขณะเดียวกัน) เพราะถ้าหนังของคู่แข่งได้รับความนิยมมากกว่า ก็อาจส่งผลกระทบต่อรายได้ของภาพยนตร์ของบริษัทได้ 3. การใช้เงินลงทุนไม่เหมาะสม คือแล้วต้นทุนของภาพยนตร์มากกว่าที่บริษัทตั้งเป้าหมายไว้ 4. การที่มีการละเมิดลิขสิทธิ์ของภาพยนตร์ ได้แก่การลักลอบถ่ายหนังในโรงภาพยนตร์ และนำ�ไป copy ขาย และการนำ�ดีวีดี หรือ วีซีดีของแท้ของ ภาพยนตร์ออกไปคัดลอก และนำ�ไปจำ�หน่ายอย่างผิดกฎหมาย ซึ่งการกระทำ�การละเมิดลิขสิทธ์ต่างๆเหล่านี้ ทำ�ให้ช่องทางรายได้จากการขาย วีซดี ี หรือ ดีวดี ขี องภาพยนตร์ลดลง ซึง่ จะส่งผลให้รายได้จากการขายลิขสิทธิห์ นังของบริษทั ไปยังผูผ้ ลิตและจำ�หน่ายวีซดี ี และดีวดี ี ลดลงตามไปด้วย 5. การเข้าสู่ธุรกิจของผู้ประกอบการรายใหม่ จากการทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัตอิ งค์กรจัดสรรคลืน่ ความถีแ่ ละกำ�กับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2553 และพระราชบัญญัติดังกล่าวได้ประกาศลงราชกิจจานุเบกษาแล้ว โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม 2553 ซึง่ พระราชบัญญัตฉิ บับนีจ้ ะเปิดโอกาสให้บริษทั เอกชนสามารถขออนุญาตประกอบกิจการทางด้านวิทยุ โทรทัศน์ได้ ดังนัน้ หากการคัดเลือก กสทช. เสร็จสิน้ ลง จะทำ�ให้เกิดผูป้ ระกอบการธุรกิจวิทยุ โทรทัศน์เพิม่ ขึน้ ซึง่ การทีม่ ผี ปู้ ระกอบการเพิม่ ขึน้ ในอุตสาหกรรมทีเ่ ริม่ เข้าสูภ่ าวะอิม่ ตัวทีม่ กี ารแข่งขันรุนแรงอยูแ่ ล้วนี้ อาจส่งผลกระทบต่อผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯได้อย่างมีนัยสำ�คัญ อย่างไรก็ตามสำ�หรับผลของการเปิดเสรีของกิจการวิทยุและโทรทัศน์ บริษัทฯ คาดว่าระยะเวลาของสัมปทานที่ยาวขึ้นจะเป็นตัวกำ�หนดศักยภาพของผู้ประกอบการที่มีความพร้อมทางด้านเงินทุนและเทคโนโลยีที่ทันสมัยจะสามารถ ชิงความได้เปรียบทางด้านการแข่งขันเพือ่ พิจารณาในเชิงการลงทุนของผูป้ ระกอบการ ทำ�ให้ผปู้ ระกอบการสามารถกำ�หนดกลยุทธ์ทางธุรกิจชัดเจนมากขึน้

052


ปัจจัยความเสี่ยง

บนพื้นฐานของระยะเวลาของสัมปทานที่ยาวขึ้น แต่อย่างไรก็ตามด้วยประสบการณ์ในการบริหารที่มีประสิทธิภาพและฐานลูกค้าที่มั่นคงของบริษัทฯ ประกอบกับความพร้อมทางด้านสือ่ เงินทุน ทีมงานและบุคลากร ทำ�ให้บริษทั ฯ สามารถดำ�เนินธุรกิจได้อย่างมัน่ คง และมีศกั ยภาพในการพัฒนาเปลีย่ นแปลง ไปตามสถานการณ์ได้ อนึ่ง ตามบทเฉพาะกาลของพระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551 ซึ่งใช้บังคับแล้ว กำ�หนดให้ในขณะที่ การคัดเลือก กสช. (กสทช. ตาม พรบ.องค์กรจัดสรรคลื่นฯ พ.ศ.2553) ยังไม่แล้วเสร็จ ให้ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ตาม พระราชบัญญัตอิ งค์กรจัดสรรคลืน่ ความถีแ่ ละกำ�กับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็นการชัว่ คราว โดยให้มอี �ำ นาจหน้าทีด่ �ำ เนินการเพือ่ ให้ผปู้ ระกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงชุมชน และกิจการทีไ่ ม่ใช้คลืน่ ความถี่ (กิจการโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม/เคเบิล ทีว)ี ยืน่ ขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการบริการชุมชน และกิจการทีไ่ ม่ใช้คลืน่ ความถีเ่ ป็นการชัว่ คราวมีอายุใบอนุญาตไม่เกินหนึง่ ปี โดยขณะนีท้ างกทช.เองก็ได้ ตั้งคณะอนุกรรมการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ทำ�หน้าที่ร่างกฎเกณฑ์ หรือระเบียบต่างๆ เกี่ยวกับการออกใบอนุญาตชั่วคราวตาบทเฉพาะกาล เสนอต่อกทช. โดยขณะนี้มีประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติที่แล้วเสร็จและใช้บังคับแล้ว คือ หลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตประกอบ กิจการบริการชุมชนชั่วคราว(วิทยุกระจายเสียงชุมชน)และประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาต ประกอบกิจการที่ไม่ใช้คลื่นความถี่ชั่วคราว (กิจการโทรทัศน์ที่มีการบอกรับสมาชิก) ส่วนกิจการประเภทโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ขณะนี้อยู่ระหว่างดำ�เนิน การร่างหลักเกณฑ์ ซึ่งเมื่อดำ�เนินการแล้วเสร็จจะเปิดโอกาสให้บริษัทฯ สามารถยื่นขอใบอนุญาตประกอบกิจการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมชั่วคราวได้ 6. กระแสความนิยมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลง ความเสี่ยงในการผลิตคอนเทนต์ไม่ว่าจะเป็นเพลง ภาพยนตร์ และรายการวิทยุ รายการโทรทัศน์ และสื่อสิ่งพิมพ์ คือ การเปลี่ยนแปลงรสนิยมและ ความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อคอนเทนต์นั้นๆ ปัจจุบันด้วยกระแสและรสนิยมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและ ตามช่วงอายุของผู้บริโภค จึงเป็น ปัจจัยหลักที่จะกระทบต่อความนิยมของคอนเทนต์ต่างๆ อย่างไรก็ตาม เพือ่ ความแม่นยำ�ในการผลิตคอนเทนต์ตา่ งๆ บริษทั ฯได้ท�ำ การวิจยั และพัฒนารูปแบบและเนือ้ หาของรายการให้สอดคล้องต่อความสนใจ ของผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง โดยกลุ่มบริษัทมีวัตถุประสงค์ชัดเจนในการผลิตและพัฒนาคอนเทนต์ให้ตรงกับรสนิยมและกระแสความนิยมของผู้บริโภคที่มี อยู่หลายกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น และทำ�การสำ�รวจความนิยมของผู้บริโภคต่างๆ เช่น การสำ�รวจยอดขายเทปในแต่อัลบั้มเพื่อปรับยอดผลิตและยอดการ วางขาย การให้บริการ Download เพลงผ่านทาง website และ โทรศัพท์มือถือ หรือการสำ�รวจ เรตติ้งของรายการวิทยุ/โทรทัศน์หรือสิ่งพิมพ์ของกลุ่ม บริษัท เพื่อพัฒนารูปแบบและเนื้อหาให้สอดคล้องต่อความสนใจของทั้งกลุ่มผู้บริโภคและกลุ่มลูกค้าสื่อโฆษณาอยู่ตลอดเวลา นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้มีสื่อกลางแจ้งและการจัดกิจกรรมทางการตลาดแบบ below-the-line marketing ซึ่งได้รับความนิยมมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้บริษัทมีความยืดหยุ่นในการดำ�เนินงานสูงขึ้น เนื่องจาก บริษัทฯ มีสื่อที่ครบวงจรทั้งสื่อแบบ Above-the-line และ Below-the-line 7. การย้ายค่ายหรือการเปลี่ยนต้นสังกัดของศิลปินหรือโปรดิวเซอร์ ในการประกอบธุรกิจเพลง บุคลากรไม่ว่าจะเป็นศิลปินหรือทีมงานสนับสนุนต่างๆ นับเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำ�คัญและมีผลต่อการดำ�เนินงานของ กลุม่ บริษทั ซึง่ ในการย้ายค่ายหรือย้ายสังกัดของศิลปินหรือทีมงานสนับสนุนจะทำ�ให้บริษทั ต้องสูญเสียทรัพยากรด้านบุคคลทีม่ คี า่ ไป ส่งผลให้บริษทั ต้องใช้ เวลาในการสร้างศิลปินหรือทีมงานสนับสนุนใหม่ขึ้นมาทดแทน อย่างไรก็ตามบริษัทได้ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาและส่งเสริมบุคลากรให้มีความเข้าใจทางธุรกิจและมีส่วนร่วมในการดำ�เนินงานให้มากที่สุด สำ�หรับศิลปินบริษัทมีหน่วยงานดูแลศิลปิน ซึ่งจะจัดหางานต่างๆ ทั้งงานเพลงและงานอื่นๆเช่น งานนักแสดง พิธีกร นายแบบ/นางแบบ ให้ตลอด ระยะเวลาที่เป็นศิลปินในสังกัด นอกจากนี้บริษัทยังให้ความสำ�คัญกับการคัดเลือกและพัฒนาศิลปินใหม่ๆ โดยในปัจจุบันกลุ่มบริษัทมีศิลปินจำ�นวนมาก ครอบคลุมกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย 8. ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงบุคลากร บุคลากรเบือ้ งหลังในการผลิตรายการวิทยุ รายการโทรทัศน์ และสือ่ สิง่ พิมพ์ กลุม่ บริษทั ไม่วา่ จะเป็นผูด้ �ำ เนินรายการ ผูผ้ ลิตรายการ กองบรรณาธิการ หรือทีมงานสนับสนุนต่างๆ นับว่าเป็นปัจจัยสำ�คัญอีกปัจจัยหนึง่ ในการส่งเสริมความสำ�เร็จของกลุม่ บริษทั ทัง้ นี้ กลุม่ บริษทั ได้ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนา และส่งเสริมบุคลากรให้มีส่วนร่วมในการดำ�เนินงาน และจากอดีตที่ผ่านมาอัตราหมุนเวียนของบุคลากรในตำ�แหน่งที่สำ�คัญอยู่ในระดับที่ต่ำ�มาก ซึ่งสะท้อน ถึงความภักดี (loyalty) ของบุคลากรที่มีต่อองค์กร รวมถึงความเชื่อมั่นในศักยภาพขององค์กรอีกด้วย 9. ความเสี่ยงทางการบริหาร และการจัดการ การบริหารการจัดการกรณีมีผู้ถือหุ้นรายใหญ่มากกว่าร้อยละ 50 ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2553 ซึ่งเป็นวันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นล่าสุด กลุ่ม ตระกูลดำ�รงชัยธรรม ถือหุ้นในบริษัทร้อยละ 54.87 ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัท จึงทำ�ให้กลุ่มดำ�รงชัยธรรมสามารถควบคุมมติที่ ประชุมผู้ถือหุ้นได้เกือบทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นเรื่องการแต่งตั้งกรรมการ หรือการขอมติในเรื่องอื่นที่ต้องใช้เสียงส่วนใหญ่ของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ยกเว้นเรื่อง ที่กฎหมายหรือข้อบังคับบริษัทกำ�หนดให้ต้องได้รับเสียง 3 ใน 4 ของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ดั้งนั้นผู้ถือหุ้นรายอื่นจึงอาจไม่สามารถรวบรวมคะแนนเสียงเพื่อ ตรวจสอบ และถ่วงดุลในการพิจารณาเรื่องที่ผู้ถือหุ้นรายใหญ่เสนอได้ อย่างไรก็ดีบริษัทได้ปฏิบัติตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์ฯเรื่องหลักเกณฑ์ใน การทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน ซึ่งระบุชัดเจนว่าผู้ถือหุ้นที่มีส่วนได้เสียไม่มีสิทธิออกเสียงในรายการดังกล่าว ซึ่งสามารถปกป้องผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ส่วนน้อยได้ อย่างไรก็ตาม แม้ว่ากลุ่มดำ�รงชัยธรรมจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่และมีคะแนนเสียงข้างมาก แต่กลุ่มดำ�รงชัยธรรมก็มีเจตนารมณ์ที่จะทำ�ให้บริษัทมีความ ชัดเจนในการบริหารงานให้เป็นไปอย่างอิสระและโปร่งใส ซึ่งผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ ดังจะเห็นได้จากโครงสร้างการจัดการของบริษัทฯ ซึ่งประกอบ ด้วยคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย ทั้งหมด 5 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะอนุกรรมการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ ซึ่งคณะกรรมการแต่ละชุดประกอบ ด้วยบุคคลที่มีความรู้ความสามารถและมีการกำ�หนดขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน

053


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ โครงสร้างการถือหุ้น

1. หลักทรัพย์ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษทั มีทนุ จดทะเบียนจำ�นวน 530,556,100 บาท (บริษทั จดทะเบียนเพิม่ ทุน เมือ่ วันที่ 10 ตุลาคม 2551) โดยแบ่งเป็น หุ้นสามัญจำ�นวน 530,556,100 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท และมีทุนที่เรียกชำ�ระแล้วจำ�นวน 530,264,947 บาท 2. ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 2.1) รายชื่อกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ณ วันปิดสมุดทะเบียนล่าสุด วันที่ 27 สิงหาคม 2553 เป็นดังนี้ ลำ�ดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

จำ�นวนหุ้น 290,978,030 44,902,300 27,086,700 22,500,200

ผู้ถือหุ้น นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม* CHASE NOMINEES LIMITED 42 นายทวีฉัตร จุฬางกูร STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY FOR SWITZERLAND บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด** STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY FOR AUSTRALIA นายณัฐพล จุฬางกูร นายถกลเกียรติ วีรวรรณ นายเกรียงไกร กาญจนะโภคิน รวมผู้ถือหุ้นรายใหญ่

สัดส่วน (%) 54.87% 8.47% 5.11% 4.24%

19,989,917 14,469,000 13,306,129

3.77% 2.73% 2.51%

5,600,000 5,775,700 2,869,000 447,476,976

1.06% 1.09% 0.54% 84.39%

* กลุ่มนายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ประกอบด้วย นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรมถือหุ้น 285,095,430 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 53.76) และบริษัท เกิดฟ้า จำ�กัด ถือหุ้น 5,882,600 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 1.11) ** อย่างไรก็ตาม บริษัทมีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (ลำ�ดับที่ 5) ที่ถือผ่านบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด จำ�นวน 19,989,917 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 3.77 ของทุน ที่เรียกชำ�ระแล้ว ประกอบด้วยรายชื่อผู้ถือหุ้น ดังนี้ ลำ�ดับ 1. 2. 3.

จำ�นวนหุ้น 4,771,000 2,917,000 12,301,917 19,989,917

ผู้ถือหุ้น NORTRUST NOMINEES LTD. HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD ผู้ถือหุ้นรายย่อยอื่น รวม

สัดส่วน (%) 0.90% 0.55% 2.32% 3.77%

ข้อมูลจาก: http://www.set.or.th/set/companyholder.do?symbol=GRAMMY-R&language=en&country=US ทัง้ นี้ ณ วันที่ 30 มีนาคม 2553 (ซึง่ เป็นวันปิดสมุดทะเบียนล่าสุด ทีบ่ ริษทั ใช้ในการจัดทำ�แบบรายงานการกระจายหุน้ ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) บริษัทมีจำ�นวนผู้ถือหุ้นรายย่อย (Free float) จำ�นวน 2,746 ราย คิดเป็นร้อยละ 29.13 ของหุ้นที่ออกจำ�หน่ายแล้วทั้งหมด การกระจายการถือหุ้นตามสัญชาติ การกระจายการถือหุ้น ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2553 ซึ่งเป็นวันปิดสมุดทะเบียนล่าสุดของบริษัทฯ ดังนี้ ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น สัญชาติไทย ผู้ถือหุ้น สัญชาติต่างด้าว รวม

รวมทั้งหมด จำ�นวน จำ�นวนหุ้น�

%

จำ�นวน 14

นิติบุคคล จำ�นวนหุ้น�

%

29,337,717 5.53

บุคคลธรรมดา จำ�นวน จำ�นวนหุ้น�

2,594

408,318,561 77.00

2,580

59

121,946,386 23.00

41

121,892,586 22.99

18

2,653

530,264,947 100.00

55

151,230,303 28.52

2,598

%

378,980,844 71.47 53,800

0.01

379,034,644 71.48

2.2) รายชื่อกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่โดยพฤติการณ์ มีอิทธิพลต่อการกำ�หนดนโยบายการจัดการ หรือการดำ�เนินงานของบริษัทอย่างมีนัยสำ�คัญ ได้แก่ กลุ่มนายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม 3. นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทฯ และบริษัทในเครือ มีนโยบายจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของกำ�ไรของกลุ่มบริษัทหลังจากหักภาษีเงินได้ นิติบุคคลและสำ�รองตามกฎหมาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับภาวะเศรษฐกิจและการดำ�เนินงานในอนาคตเป็นสำ�คัญ 054


การจัดการ

1. โครงสร้างการจัดการ ปัจจุบัน โครงสร้างการจัดการของบริษัทประกอบด้วยคณะกรรมการบริษัท และกรรมการชุดย่อยอีก 5 ชุด ซึ่งแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการ กำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ และผู้บริหารของบริษัทฯ (ตามคำ�นิยามของสำ�นักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) รายละเอียด โครงสร้าง ดังนี้ (ณ วันที่ 1 มีนาคม 2554)

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· àŢҹءÒúÃÔÉÑ·

ม.ล.กรกสิวัฒน เกษมศรี ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒõÃǨÊͺ

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÃÃËÒ áÅСÓ˹´¤‹ÒµÍºá·¹

»Ãиҹ¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒÃËÇÁ (CO-CEO)

½†ÒµÃǨÊͺÀÒÂã¹

˹‹Ç¸ØáԨ (BUSINESS UNIT)

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒáӡѺ´ÙáÅ ¡Ô¨¡ÒÃáÅШÃÔ¸ÃÃÁ¸ØáԨ

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒÃ

¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ºÃÔËÒäÇÒÁàÊÕ่§

นางสาวบุษบา ดาวเรือง และนางสายทิพย มนตรีกุล ณ อยุธยา

¤³Ð͹ءÃÃÁ¡Òà ºÃÔËÒäÇÒÁàÊÕ่§

ÊÒ§ҹ¡ÒõÅÒ´ áÅоѲ¹Ò¸ØáԨ

ÊÒ§ҹʹѺʹعÍ×่¹æ

ÊÒ§ҹʹѺʹع¡ÅÒ§

ÊÒ§ҹºÑÞªÕ¡ÒÃà§Ô¹ áÅйѡŧ·Ø¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸

¸ØáԨÇÔ·ÂØ

¡®ËÁÒÂ

¡ÒõÅÒ´

¡ÅØ‹ÁºÑÞªÕ

Corporate PR & Public Affairs

¸ØáԨ´Ô¨ÔµÍÅ

¸ØáԨâ·Ã·Ñȹ

·ÃѾÂҡúؤ¤Å

¾Ñ²¹Ò¸ØáԨ

ºÃÔËÒáÒÃà§Ô¹

ÊÌҧÊÃä

¸ØáԨÃѺ¨Ñ´¡Ô¨¡ÃÃÁ áÅФ͹àÊÔà µ

¸ØáԨâ·Ã·Ñȹ ¼‹Ò¹´ÒÇà·ÕÂÁ

à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È

Ê×่ÍÊÒà ÀÒ¾Åѡɳ ͧ¤ ¡Ã

¹Ñ¡Å§·Ø¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸

ʹѺʹعÍ×่¹æ

¸ØáԨÊ×่ÍÊÔ่§¾ÔÁ¾

¸ØáÒèѴ«×้Í

¸ØáԨÊÌҧÊÃä áÅкÃÔËÒáԨ¡ÃÃÁ ·Ò§¡ÒõÅÒ´

¾Ñ²¹ÒÃкºáÅÐ ÃÐàºÕº¤ÓÊÑ่§

¸ØáԨà¾Å§ áÅкÃÔËÒÃÈÔÅ» ¹

¸ØáԨÀҾ¹µÃ ¸ØáԨÍ×่¹

(ก) คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการของบริษทั ประกอบด้วยบุคคลผูท้ รงคุณวุฒิ จำ�นวนรวม 12 ท่าน ประกอบด้วย กรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร จำ�นวน 8 ท่าน และกรรมการอิสระที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร จำ�นวน 4 ท่าน (คิดเป็นร้อยละ 33.33) โดยมีรองกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส สายงาน ธุรกิจเพลง ทำ�หน้าที่ เลขานุการบริษทั ซึง่ ในแต่ละปีกรรมการบริษทั ต้องหมุนเวียนออกจากตำ�แหน่งเป็นจำ�นวน 1 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการบริษทั ทัง้ หมด โดยมีรายชื่อและวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ดังแสดงตามตารางด้านล่าง ในปี 2553 ที่ผ่านมา คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมตามวาระปกติ จำ�นวน 4 ครั้ง และมีการประชุมวาระพิเศษจำ�นวน 1 ครั้ง รวมเป็น 5 ครั้ง โดยการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษัทแต่ละท่าน ในปี 2553 สรุปได้ดังนี้ รายชื่อ

ตำ�แหน่ง

วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง

การเข้า ร่วมประชุม (ครั้ง) 5/5

1. นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม

กรรมการ / ประธานกรรมการ

เม.ย. 2550 – วันประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2554

2. นายไชย ณ ศิลวันต์

กรรมการอิสระ

เม.ย. 2553 – วันประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2556

4/5

3. นายเดช บุลสุข

กรรมการอิสระ

เม.ย. 2553 – วันประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2556

5/5

4. นายวีระวงค์ จิตต์มิตรภาพ

กรรมการอิสระ

เม.ย. 2553 – วันประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2556

4/5

5. นางสาวสุวภา เจริญยิ่ง \1

กรรมการอิสระ

ส.ค. 2553 – วันประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2555

1/1

055


รายชื่อ

ตำ�แหน่ง

วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง

การเข้า ร่วมประชุม (ครั้ง) 5/5

6. นางสาวบุษบา ดาวเรือง

กรรมการ / รองประธานกรรมการ

เม.ย. 2553 – วันประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2556

7. นางสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา

กรรมการ

เม.ย. 2552 – วันประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2555

3/5

8. นายกริช ทอมมัส

กรรมการ / ทำ�หน้าที่เลขานุการ บริษัท (ตั้งแต่ 13 พ.ย. 2553 24 ก.พ. 2554)

เม.ย. 2551 – วันประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2554

5/5

9. นายถกลเกียรติ วีรวรรณ

กรรมการ

เม.ย. 2552 – วันประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2555

3/5

10. นายเกรียงกานต์ กาญจนะโภคิน

กรรมการ

เม.ย. 2552 – วันประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2554

4/5

11. นายสถาพร พานิชรักษาพงศ์

กรรมการ

เม.ย. 2552 – วันประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2554

5/5

12. นางสาวสุวิมล จึงโชติกะพิศิฐ \2

กรรมการ

พ.ย. 2553 – วันประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2555

-N/A-

นายวาณิช จรุงกิจอนันต์ \1

กรรมการอิสระ

ถึงแก่กรรมเมื่อ 16 พ.ค. 2553

0/3

นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม \2

กรรมการ / เลขานุการบริษัท

เม.ย. 2552 – 11 พ.ย. 2553

4/4

ม.ล.กรกสิวัฒน์ เกษมศรี \3

เลขานุการบริษัท

มีผลวันที่ 25 ก.พ. 2554

หมายเหตุ : ข้อมูลเพิ่มเติม และการเปลี่ยนแปลงข้อมูลกรรมการบริษัทระหว่างปี 2553 1) นางสาวสุวภา เจริญยิง่ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการอิสระ จากมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 4/2553 โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 11 สิงหาคม 2553 (เข้าดำ�รงตำ�แหน่งระหว่างปี) ทั้งนี้ เพื่อทดแทนตำ�แหน่งและวาระของ นายวาณิช จรุงกิจอนันต์ ที่ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2553 2) นางสาวสุวิมล จึงโชติกะพิศิฐ ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท จากมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2553 โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 (เข้าดำ�รงตำ�แหน่งระหว่างปี) ทั้งนี้ เพื่อทดแทนตำ�แหน่งและวาระของ นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม ที่ลาออกจากตำ�แหน่ง กรรมการบริษัท ก่อนครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน 2553 3) ม.ล. กรกสิวัฒน์ เกษมศรี ได้รับแต่งตั้งเป็น เลขานุการบริษัท จากมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2554 โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 ทัง้ นี้ เพือ่ ทดแทน นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม ทีล่ าออกจากตำ�แหน่ง เลขานุการบริษทั ซึง่ มีผลตัง้ แต่วนั ที่ 11 พฤศจิกายน 2553 ทั้งนี้ การประชุมคณะกรรมการบริษัท ได้มีการจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษรและมีรายละเอียดชัดเจน โดยจัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่าน การรับรองจากคณะกรรมการบริษัทอย่างครบถ้วน พร้อมให้คณะกรรมการบริษัท และผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบได้ กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามแทนบริษัท นางสาวบุษบา ดาวเรือง หรือนางสาวสุวิมล จึงโชติกะพิศิฐ ลงลายมือชื่อร่วมกับ นางสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา หรือนายกริช ทอมมัส หรือ นายถกลเกียรติ วีรวรรณ หรือนายเกรียงกานต์ กาญจนะโภคิน หรือนายสถาพร พานิชรักษาพงศ์ รวมเป็นสองคน และประทับตราสำ�คัญของบริษัท ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ปฏิบัติหน้าที่โดยใช้ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ให้เป็นประโยชน์ต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และ ข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท 2. มีหน้าที่กำ�หนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ และให้ความเห็นชอบกลยุทธ์ นโยบาย แผนธุรกิจ และงบประมาณ และกำ�กับควบคุมดูแลให้ฝ่ายจัดการดำ�เนิน การให้เป็นไปตามนโยบายทีก่ �ำ หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพือ่ เพิม่ มูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กจิ การและความมัง่ คัง่ สูงสุดให้แก่ผถู้ อื หุน้ 3. พิจารณากำ�หนดและแบ่งแยก บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย และฝ่ายบริหาร อย่างชัดเจนโดย กำ�หนดอำ�นาจดำ�เนินการไว้อย่างชัดเจน ในระเบียบอำ�นาจอนุมัติและดำ�เนินการของบริษัท 4. พิจารณาอนุมัติหรือให้ความเห็นชอบต่อรายการที่มีสาระสำ�คัญ เช่นโครงการลงทุนใหม่ การได้มาและจำ�หน่ายไปซึ่งทรัพย์สิน เป็นต้น โดยให้เป็นไป ตามกฎระเบียบข้อบังคับของสำ�นักงานกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และตามระเบียบอำ�นาจอนุมัติ และดำ�เนินการของบริษัท 5. พิจารณาอนุมัติหรือให้ความเห็นชอบต่อรายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของบริษัทและบริษัทย่อย โดยให้เป็นไปตามกฎระเบียบข้อบังคับของสำ�นักงานกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และตามระเบียบ อำ�นาจอนุมัติและดำ�เนินการของบริษัท 6. จัดให้มีระบบบัญชี และการรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีที่เชื่อถือได้ 7. จัดให้มีระบบการควบคุมภายในและระบบการบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอและมีประสิทธิผล ทั้งนี้ให้มีหน่วยงานตรวจสอบภายในเป็นผู้สอบทาน การปฏิบัติงานตามระบบดังกล่าว และประสานงานกับคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับความเสี่ยงที่สำ�คัญ 056


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

8. มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ มีความสนใจในกิจการของบริษัทที่ตนเองเป็นกรรมการอย่างแท้จริง และมีความตั้งใจที่จะ ดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง 9. จะต้องมีความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ โดยสม่�ำ เสมอ ดำ�เนินงานโดยรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ มีการเปิดเผยข้อมูลต่อผูล้ งทุนอย่างถูกต้องครบถ้วน มีมาตรฐานและโปร่งใส 10. รับผิดชอบต่อผลประกอบการและการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร โดยให้มีความตั้งใจและความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน 11. รับผิดชอบต่อรายงานทางการเงิน โดยจัดทำ�รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงินในรายงานประจำ�ปีควบคู่กับ รายงานของผู้สอบบัญชี นิยามกรรมการอิสะของบริษัท ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาอนุมัติแก้ไขคุณสมบัติกรรมการอิสระให้เป็นไปตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ สำ�นักงาน ก.ล.ต. กำ�หนด ทั้งนี้กรรมการอิสระของบริษัท มีคุณสมบัติครบถ้วน และมีความเป็นอิสระตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงาน ก.ล.ต. กำ�หนด กล่าวคือ 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของทุนชำ�ระแล้วของบริษทั บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ทั้งนี้ให้นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย 2. เป็นกรรมการที่ไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน รวมทั้งไม่เป็นลูกจ้าง พนักงาน หรือที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ� หรือให้บริการด้านวิชาชีพ เช่น ผูส้ อบบัญชี ทนายความ เป็นต้น หรือเป็นผูม้ อี �ำ นาจควบคุมของบริษทั บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง นิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ หรือเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 3. เป็นกรรมการที่ไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งในด้านการเงิน และการบริหารงาน รวมทั้งไม่มีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจ เช่น เป็นลูกค้า ผู้จัดหาวัตถุดิบ เจ้าหนี้/ลูกหนี้การค้า เจ้าหนี้/ลูกหนี้เงินให้กู้ยืม ของบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทที่เกี่ยวข้อง นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท อย่างมีสาระสำ�คัญ ทั้งนี้ ต้องไม่เป็นกรรมการตามข้อ 2 และ ข้อ 3 ในระยะเวลา 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ เว้นแต่คณะกรรมการบริษัท ได้พจิ ารณาอย่างรอบคอบแล้วเห็นว่า การเคยมีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียนัน้ จะไม่มผี ลกระทบต่อการปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละการให้ความเห็นทีเ่ ป็นอิสระ 4. เป็นกรรมการทีไ่ ม่มคี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียน และไม่เป็นผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง หรือญาติสนิทของผูบ้ ริหาร หรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทที่เกี่ยวข้อง หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 5. เป็นกรรมการที่ไม่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเป็นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกรรมการบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้อง กับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 6. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทให้ตัดสินใจในการดำ�เนินกิจการของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับ เดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง 7. สามารถปฏิบัติหน้าที่และแสดงความเห็น หรือรายงานผลการปฏิบัติงานได้อย่างเป็นอิสระตามหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของผู้บริหารหรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทและบริษัทย่อย รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องหรือญาติสนิท ของบุคคลดังกล่าว 8. ไม่เป็นกรรมการของบริษัทใหญ่ บริษัทย่อย และบริษัทย่อยในลำ�ดับเดียวกัน การเข้าอบรมของกรรมการบริษัท นอกจากนี้ บริษัทเล็งเห็นถึงความสำ�คัญของการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และสนับสนุนให้กรรมการบริษัทเข้าอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มพูน ความรู้ในการปฏิบัติหน้าที่ โดยกรรมการบริษัทจำ�นวน 6 ท่าน จากทั้งหมดจำ�นวน 12 ท่าน ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรที่จัดโดย สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors : IOD) ได้แก่ นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม (ในช่วงเวลาที่ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการบริษัทของบริษัท) ได้ผ่านการอบรมหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) หลักสูตร Role of Compensation Committee (RCC) หลักสูตร D&O Insurance: Mitigating Directors Liabilities Risk / Special Seminar และหลักสูตร Company Secretary Program (CSP) นายเดช บุลสุข ได้ผ่านการอบรม หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) นายวีระวงค์ จิตต์มิตรภาพ ได้ผ่านการอบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) นางสาวสุวภา เจริญยิ่ง ได้ผ่านการอบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) หลักสูตร Finance for Non Finance Director หลักสูตร DCP Refresher และหลักสูตร Successful Formulation & Execution for Strategy นายเกรียงกานต์ กาญจนะโภคินได้ผ่านการอบรมหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) และหลักสูตร Financial Statement for Directors และนางสาวสุวม ิ ล จึงโชติกะพิศฐิ ได้ผา่ นการอบรมหลักสูตร Director Certification Program (DCP) อย่างไรก็ตาม บริษัทจะยังคงสนับสนุนให้กรรมการบริษัทและเลขานุการบริษัท (คนใหม่) เข้าอบรมหลักสูตรที่ เกีย่ วข้อง ทีจ่ ดั อบรมโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น สมาคมบริษทั จดทะเบียน สมาคมส่งเสริมผูล้ งทุนไทย เป็นต้น เพื่อเพิ่มพูนความรู้ในการปฏิบัติหน้าที่ต่อไป เลขานุการบริษัท ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2551 เมือ่ วันที่ 31 กรกฎาคม 2551 มีมติอนุมตั แิ ต่งตัง้ นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม รองกรรมการผูอ้ �ำ นวยการอาวุโส สายงานสนับสนุนกลางและพัฒนาธุรกิจ (Chief Operating Officer) เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง เลขานุการบริษัท (Company Secretary) โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม 2551 ซึ่งบุคคลดังกล่าว เป็นบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิ มีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ และเป็นผู้มีความรับผิดชอบที่จะ ปฏิบัติหน้าที่ เลขานุการบริษัทได้ ทั้งนี้ เพื่อให้การดำ�เนินงานของบริษัทเป็นไปตามกฎหมาย และหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของกลุ่มบริษัท ขอบเขตหน้าที่ของเลขานุการบริษัท 1. เป็นเลขานุการของคณะกรรมการบริษัท ในการประสานงานเพื่อให้การจัดประชุมกรรมการบริษัท และการจัดประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท เป็นไปตาม หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและสอดคล้องกับกฎระเบียบ ข้อบังคับของบริษัท แนวปฏิบัติที่ดี และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น พ.ร.บ.หลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ พ.ร.บ. บริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 เป็นต้น 2. ดูแลเรื่องการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ของบริษัท เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำ�หนดกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และหน่วยงานกำ�กับดูแลอื่นที่เกี่ยวข้อง 3. ให้คำ�ปรึกษาเบื้องต้นแก่คณะกรรมการบริษัท และผู้บริหารองค์กร ในส่วนที่จะต้องปฏิบัติตามข้อบังคับบริษัท กฎและระเบียบของคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงหน้าที่การติดตามกฎเกณฑ์ใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับบริษัท

057


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

4. จัดทำ�และเก็บรักษาเอกสารสำ�คัญต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการบริษัท รายงานการประชุมคณะ กรรมการบริษัท และรายงานประจำ�ปีของบริษัท หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และรายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดย กรรมการและผู้บริหาร เป็นต้น 5. ดูแลกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการ เพื่อให้กรรมการสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อบริษัท 6. ประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผู้ถือหุ้น 7. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย นอกจากนี้ บริษัทได้เล็งเห็นความสำ�คัญของหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี จึงส่งเสริมให้นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม ผู้ปฏิบัติหน้าที่ เลขานุการบริษัท เข้ารับการอบรมหลักสูตร เลขานุการบริษัท (Company Secreatary Program) ที่จัดโดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors : IOD) เมื่อปี 2551 รุ่นที่ 28 อย่างไรก็ตาม ในระหว่างปี 2553 นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม ได้ลาออกจากตำ�แหน่งเลขานุการบริษัท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน 2553 ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2553 จึงมี มติอนุมัติมอบหมายให้ นายกริช ทอมมัส กรรมการบริษัท ทำ�หน้าที่ เลขานุการบริษัท ไปจนกว่าบริษัทจะสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเข้าดำ�รง ตำ�แหน่งดังกล่าวได้ โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 เป็นต้นไป (ข) คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ประกอบด้วยบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นกรรมการอิสระของบริษัท และมีคุณสมบัติ ครบถ้วนตามตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสำ�นักงาน ก.ล.ต. กำ�หนด จำ�นวน 4 ท่าน โดยมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี ซึ่งมีผู้อำ�นวยการฝ่ายตรวจสอบภายใน ทำ�หน้าที่เป็น เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ ในปี 2553 ที่ผ่านมา คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมตามวาระปกติ จำ�นวน 4 ครั้ง และมีการประชุมวาระพิเศษจำ�นวน 1 ครั้ง รวมเป็น 5 ครั้ง ซึ่งมีรายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง และการเข้าร่วมประชุมของแต่ละท่าน เป็นดังนี้

1. นายไชย ณ ศิลวันต์ \1

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

10 มิ.ย. 2553 – 9 มิ.ย. 2556

การเข้า ร่วมประชุม (ครั้ง) 4/5

2. นายเดช บุลสุข

กรรมการตรวจสอบ

10 มิ.ย. 2553 – 9 มิ.ย. 2556

5/5

3. นายวีระวงค์ จิตต์มิตรภาพ

กรรมการตรวจสอบ

10 มิ.ย. 2553 – 9 มิ.ย. 2556

4/5

4. นางสาวสุวภา เจริญยิ่ง \1-2

กรรมการตรวจสอบ

11 ส.ค. 2553 – 26 เม.ย. 2555

1/1

นายวาณิช จรุงกิจอนันต์ \2

กรรมการตรวจสอบ

ถึงแก่กรรมเมื่อ 16 พ.ค. 2553

0/3

นายวิชัย สันทัดอนุวัตร

เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

รายชื่อ

ตำ�แหน่ง

วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง

หมายเหตุ: ข้อมูลเพิ่มเติม และการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระหว่างปี 2553 1) กรรมการตรวจสอบ จำ�นวน 2 ท่านได้แก่ นายไชย ณ ศิลวันต์ และนางสาวสุวภา เจริญยิ่ง เป็นกรรมการตรวจสอบที่มีความรู้ และประสบการณ์ เพียงพอที่จะทำ�หน้าที่ในการสอบทานงบการเงินได้ 2) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2553 มีมติอนุมัติแต่งตั้งนางสาวสุวภา เจริญยิ่ง กรรมการอิสระ เป็นกรรมการตรวจสอบ โดยให้มีผลเมื่อ วันที่ 11 สิงหาคม 2553 (เข้าดำ�รงตำ�แหน่งระหว่างปี) เพื่อทดแทนตำ�แหน่งและวาระของนายวาณิช จรุงกิจอนันต์ ที่ถึงแก่กรรมเมื่อ วันที่ 16 พฤษภาคม 2553 ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติงาน ด้วยความรู้ ความสามารถ ตามขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายตามกฎบัตร คณะกรรมการตรวจสอบ และสอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติที่ดีของคณะกรรมการตรวจสอบ ได้มีการจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษรและจัดเก็บ รายงานการประชุมที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการตรวจสอบอย่างครบถ้วน พร้อมให้คณะกรรมการตรวจสอบ และผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบได้ โดยใน ปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประชุมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วม 1 ครั้ง คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาอนุมัติแก้ไขกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ให้เป็นไปตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ สำ�นักงาน ก.ล.ต. กำ�หนด ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินที่ถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อถือได้และเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) ระบบการบริหารความเสี่ยง และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่ เพียงพอ เหมาะสมและมีประสิทธิผล 3. สอบทานให้มีการปฏิบัติตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และจริยธรรมธุรกิจ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิผล 4. สอบทานให้บริษทั ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั 5. พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีของบริษัท และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัท 6. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยง ให้เป็นไปตามกฎหมาย และข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อให้มั่นใจว่า สมเหตุผล และเป็นประโยชน์ต่อบริษัท 7. กำ�กับดูแลการปฏิบัติงานของหน่วยงานตรวจสอบภายในในระดับนโยบาย และการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน โดยพิจารณาให้ความเห็นชอบ กฎบัตร ความเป็นอิสระ รวมทั้งขอบเขตและแผนการตรวจสอบ ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน 8. พิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน รวมถึงพิจารณาให้ความเห็นชอบการประเมินผลการปฏิบัติงานและ การพิจารณาผลตอบแทนของพนักงานหน่วยงานตรวจสอบภายใน ที่ประเมินโดยประธานกรรมการบริหาร

058


9. พิจารณาและสอบทานผลการตรวจสอบและข้อเสนอแนะของทั้งผู้สอบบัญชี และหน่วยงานตรวจสอบภายใน รวมทั้งติดตามเพื่อให้มั่นใจว่า ฝ่ายบริหารมีการดำ�เนินการต่อข้อเสนอแนะดังกล่าวอย่างเพียงพอ มีประสิทธิภาพ และภายในเวลาที่เหมาะสม 10. คณะกรรมการตรวจสอบสามารถเชิญผู้บริหาร หรือพนักงานของบริษัทที่เกี่ยวข้องมารายงาน หรือนำ�เสนอข้อมูล ร่วมประชุม หรือจัดส่งเอกสารตาม ที่เห็นว่าเกี่ยวข้องและจำ�เป็น 11. ในกรณีที่จำ�เป็นคณะกรรมการตรวจสอบสามารถขอคำ�ปรึกษาจากที่ปรึกษาภายนอก หรือผู้เชี่ยวชาญทางวิชาชีพเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตรวจสอบ โดยบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งนี้ตามระเบียบของบริษัท 12. ทบทวนและแก้ไขกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยปีละครั้งหรือตามความจำ�เป็นเพื่อให้ทันสมัยและเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมขององค์กร และนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 13. จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษทั ซึง่ รายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 14. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ กระประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ ได้มีการพิจารณา และประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee Self-Assessment) สำ�หรับปี 2553 โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติงาน ด้วยความรู้ ความสามารถ ตามขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายตามกฎบัตร คณะกรรมการตรวจสอบ และสอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติที่ดีของคณะกรรมการตรวจสอบ นอกจากนี้ได้สรุปภารกิจการกำ�กับดูแลกิจการและความเห็น จากการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ (รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ) สำ�หรับปี 2553 ต่อคณะกรรมการบริษทั ในการประชุมคณะกรรมการ บริษัทครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่หน่วยงานกำ�กับดูแลมีการกำ�หนดหลักการเพิ่มเติมเกี่ยวกำ�กับดูแล กิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบจะได้มีการพิจารณาทบทวนและนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาปรับปรุงตามความเหมาะสมต่อไป (ค) คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการบริหารของบริษัท ประกอบด้วยบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิ มีความรู้ความสามารถในแต่ละธุรกิจ จำ�นวนรวม 14 ท่าน ทั้งนี้ ในปี 2553 ที่ผ่านมา คณะกรรมการบริหาร มีการประชุมทั้งสิ้น 12 ครั้ง (ประชุมเดือนละครั้ง) ซึ่งมีรายชื่อคณะกรรมการบริหาร และ การเข้าร่วมประชุมในปี 2553 ของแต่ละท่านดังนี้

1. นางสาวบุษบา ดาวเรือง

ประธานกรรมการบริหารร่วม

การเข้า ร่วมประชุม (ครั้ง) 12/12

2. นางสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา

ประธานกรรมการบริหารร่วม

8/12

3. นายกิตติศักดิ์ ช่วงอรุณ

กรรมการบริหาร

11/12

4. นายกริช ทอมมัส

กรรมการบริหาร

11/12

5. นายวิเชียร ฤกษ์ไพศาล

กรรมการบริหาร

8/12

6. นายสันติสุข จงมั่นคง

กรรมการบริหาร

10/12

7. นายสุวัฒน์ ดำ�รงชัยธรรม

กรรมการบริหาร

11/12

8. นายถกลเกียรติ วีรวรรณ

กรรมการบริหาร

5/12

9. นายคำ�รณ ปราโมช ณ อยุธยา

กรรมการบริหาร

10/12

10. นายยงศักดิ์ เอกปรัชญาสกุล

กรรมการบริหาร

12/12

11. นายสถาพร พานิชรักษาพงศ์

กรรมการบริหาร

12/12

12. นายเกรียงกานต์ กาญจนะโภคิน

กรรมการบริหาร

8/12

13. นายวิเชฐ ตันติวานิช \1

กรรมการบริหาร

1/1

14. นายสิริชัย ตันติพงศ์อนันต์ \2 นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม \3

กรรมการบริหาร

12/12

กรรมการบริหาร / เลขานุการฯ

8/11

รายชื่อ

ตำ�แหน่ง

หมายเหตุ: ข้อมูลเพิ่มเติม และการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระหว่างปี 2553 1) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2553 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2553 มีมติอนุมัติแต่งตั้ง นายวิเชฐ ตันติวานิช เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการบริหาร (เข้าดำ�รงตำ�แหน่งระหว่างปี) โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 2) นายสิริชัย ตันติพงศ์อนันต์ ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการบริหาร และการเป็นพนักงานบริษัท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 3) นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการบริหารและเลขานุการคณะกรรมการบริหาร (ออกระหว่างปี) โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2553 059


ทั้งนี้ การประชุมได้มีการจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร และมีรายละเอียดชัดเจน โดยจัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการรับรองจาก คณะกรรมการบริหารอย่างครบถ้วน พร้อมให้คณะกรรมการบริหาร และผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบได้ ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. กำ�หนดกลยุทธ์ทางธุรกิจ นโยบาย แผนธุรกิจและงบประมาณของบริษัทฯ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ 2. มีอำ�นาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบในการตัดสินใจ และสั่งการ ภายใต้ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ให้ เป็นไปตามระเบียบอำ�นาจอนุมัติและดำ�เนินการที่ได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท 3. ปฏิบัติงานและดำ�เนินกิจการให้เป็นไปตามนโยบายและทิศทางการดำ�เนินงานของคณะกรรมการบริษัท 4. มอบหมาย ติดตาม และกำ�กับดูแลฝ่ายบริหาร ภายใต้การกำ�กับดูแลของประธานกรรมการบริหาร โดยปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท 5. ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายในแต่ละช่วงเวลาจากคณะกรรมการบริษัท 6. ปฏิบัติตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นและมติคณะกรรมการบริษัทโดยชอบด้วยกฎหมาย ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริตและระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของ บริษัท และต้องเป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัท 7. ในการไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการทีบ่ ริษทั อืน่ ของประธานกรรมการบริหารและผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน จำ�กัด พ.ศ. 2535 ทัง้ นี้ ขอบเขตของอำ�นาจหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมายข้างต้น จะต้องไม่มลี กั ษณะเป็นการให้อ�ำ นาจทีท่ �ำ ให้คณะกรรมการบริหารและประธานกรรมการบริหาร สามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใด (ตามที่คณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์ หรือ กลต. ประกาศกำ�หนด) กับบริษัทหรือบริษัทย่อย ทั้งนี้ให้เป็นไปตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเรื่องหลักเกณฑ์ วิธีการ และการเปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน และเรื่องการได้มาและจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ (ง) คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนของบริษทั ประกอบด้วยบุคคลผูท้ รงคุณวุฒิ จำ�นวน 3 ท่าน ประกอบด้วย ประธานกรรมการบริษัท ทำ�หน้าที่เป็นประธานฯ และกรรมการอิสระจำ�นวน 2 ท่าน ทำ�หน้าที่เป็นกรรมการฯ (คิดเป็นร้อยละ 66.67) ทั้งนี้ ในปี 2553 ที่ผ่านมา มีการประชุมทั้งสิ้น 3 ครั้ง ซึ่งมีรายชื่อคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และการเข้าร่วมประชุมในปี 2553 ของแต่ละท่านดังนี้ รายชื่อ

ตำ�แหน่ง

การเข้า ร่วมประชุม (ครั้ง) 3/3

1. นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม

ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

2. นายไชย ณ ศิลวันต์

กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

3/3

3. นายเดช บุลสุข

กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

3/3

นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม \1

กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

1/3

ม.ล.กรกสิวัฒน์ เกษมศรี \2

เลขานุการคณะกรรมการฯ (มีผลวันที่ 25 ก.พ. 2554)

หมายเหตุ: ข้อมูลเพิ่มเติม และการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระหว่างปี 2553 1) นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม ลาออกจากตำ�แหน่ง กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 11 พฤศจิกายน 2553 (ออกระหว่างปี) 2) ม.ล. กรกสิวัฒน์ เกษมศรี ได้รับแต่งตั้งเป็น เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน จากมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2554 โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 ทั้งนี้ การประชุมได้มีการจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร และมีรายละเอียดชัดเจน โดยจัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการรับรองอย่าง ครบถ้วน พร้อมให้คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบได้ ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน • การสรรหา 1. กำ�หนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหากรรมการบริษัท และกรรมการชุดย่อย โดยพิจารณาความเหมาะสมของจำ�นวน โครงสร้าง และองค์ประกอบของคณะกรรมการ กำ�หนดคุณสมบัติของกรรมการ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทและหรือเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุม ผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี 2. พิจารณาสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลที่เหมาะสม ให้ดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการบริษัท ที่หมดวาระและหรือมีตำ�แหน่งว่างลง 3. ปฏิบัติการอื่นใดที่เกี่ยวกับการสรรหาตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 4. ประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานกรรมการบริหาร เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทให้ความเห็นชอบ • การกำ�หนดค่าตอบแทน 1. จัดทำ�หลักเกณฑ์และนโยบายในการกำ�หนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท และหรือเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี 2. กำ�หนดค่าตอบแทนที่จำ�เป็นและเหมาะสมทั้งที่เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงินของคณะกรรมการบริษัท เป็นรายบุคคลในแต่ละปี โดยพิจารณา ความเหมาะสมกับภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ ผลงาน และเปรียบเทียบกับบริษัทในธุรกิจที่คล้ายคลึงกัน และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจาก กรรมการ เพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาเห็นชอบและนำ�เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่ออนุมัติ 3. รับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัท และมีหน้าที่ให้คำ�ชี้แจง ตอบคำ�ถามเกี่ยวกับค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทในที่ประชุมผู้ถือหุ้น 4. รายงานนโยบาย หลักการ/เหตุผล ของการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ โดยเปิดเผยไว้ใน แบบแสดงข้อมูลประจำ�ปี (56-1) และรายงานประจำ�ปี 5. ปฏิบัติการอื่นใดที่เกี่ยวกับการกำ�หนดค่าตอบแทนตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายกำ�หนดกลยุทธ์ทางธุรกิจ นโยบาย แผนธุรกิจและ งบประมาณของบริษัทฯ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ 060


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

(จ) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ประกอบด้วยบุคคลผูท้ รงคุณวุฒจิ �ำ นวน 8 ท่าน โดยมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง คราวละ 3 ปี ทั้งนี้ในปี 2553 ที่ผ่านมา มีการประชุมจำ�นวน 1 ครั้ง ซึ่งมีรายชื่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และการเข้าร่วมประชุมในปี 2553 ของแต่ละท่านดังนี้

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

การเข้า ร่วมประชุม (ครั้ง) 1/1

2. นางสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา

กรรมการบริหารความเสี่ยง

1/1

3. นายกิตติศักดิ์ ช่วงอรุณ

กรรมการบริหารความเสี่ยง

1/1

4. นายสถาพร พานิชรักษาพงศ์

กรรมการบริหารความเสี่ยง

1/1

5. นายสิริชัย ตันติพงศ์อนันต์ \1

กรรมการบริหารความเสี่ยง

1/1

6. นางมณฑนา ถาวรานนท์

กรรมการบริหารความเสี่ยง

1/1

7. นายวิชัย สันทัดอนุวัตร

กรรมการบริหารความเสี่ยง

0/1

กรรมการบริหารความเสี่ยงและเลขานุการ

1/1

กรรมการบริหารความเสี่ยง

0/1

รายชื่อ 1. นางสาวบุษบา ดาวเรือง

8. นางสาวสุเนตรา แสงรัตนกูล นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม \2

ตำ�แหน่ง

หมายเหตุ: ข้อมูลเพิ่มเติม และการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระหว่างปี 2553 1) นายสิริชัย ตันติพงศ์อนันต์ ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 2) นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยง (ออกระหว่างปี) โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน 2553 อย่างไรก็ตาม ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 1/2554 เมือ่ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 ได้มมี ติอนุมตั ทิ บทวนและแต่งตัง้ คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงก่อนครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ดังนั้น รายนามคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (ชุดใหม่) ประกอบด้วยบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิจำ�นวน 10 ท่าน ซึ่งมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี (ตั้งแต่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 – 24 กุมภาพันธ์ 2557) รายนามดังนี้ รายชื่อ 1. นางสาวบุษบา ดาวเรือง

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

2. นางสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา

กรรมการบริหารความเสี่ยง

3. นายกริช ทอมมัส

กรรมการบริหารความเสี่ยง

4. นายสุวัฒน์ ดำ�รงชัยธรรม

กรรมการบริหารความเสี่ยง

5. นายวิเชฐ ตันติวานิช

กรรมการบริหารความเสี่ยง

6. ม.ล.กรกสิวัฒน์ เกษมศรี

กรรมการบริหารความเสี่ยง

7. นายวุฒิ อัศวเสริมเจริญ

กรรมการบริหารความเสี่ยง

8. นายชาญชัย พันธุ์โสภา

กรรมการบริหารความเสี่ยง

9. นายสถาพร พานิชรักษาพงศ์

กรรมการบริหารความเสี่ยง

10. นายเดียว วรตั้งตระกูล

กรรมการบริหารความเสี่ยง

นางสาวสุเนตรา แสงรัตนกูล

เลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

061


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. สอบทาน และนำ�เสนอ นโยบาย และกรอบการบริหารความเสี่ยง ให้แก่คณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2. สอบทาน และให้ความเห็นชอบความเสี่ยงที่ยอมรับได้ นำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทเพื่อรับทราบ 3. กำ�กับดูแลการพัฒนา และการปฏิบัติตาม นโยบาย และกรอบการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้กลุ่มบริษัทฯ มีระบบบริหารความเสี่ยง ที่มีประสิทธิภาพทั่วทั้งองค์กร และมีการปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่อง 4. สอบทานรายงานการบริหารความเสี่ยง เพื่อติดตามความเสี่ยงที่มีสาระสำ�คัญ และดำ�เนินการ เพื่อให้มั่นใจว่าองค์กรมีการจัดการความเสี่ยงอย่าง เพียงพอ และเหมาะสม 5. ประสานงานกับคณะกรรมการตรวจสอบเกีย่ วกับความเสีย่ งทีส่ �ำ คัญ และมีหน่วยงานตรวจสอบภายในเป็นผูส้ อบทานเพือ่ ให้มน่ั ใจว่าบริษทั มีระบบ การควบคุมภายในที่เหมาะสมต่อการจัดการความเสี่ยง รวมทั้งการนำ�ระบบการบริหารความเสี่ยงมาปรับใช้อย่างเหมาะสม และมีการปฏิบัติ ทั่วทั้งองค์กร 6. รายงานคณะกรรมการบริษัทบริษัท เกี่ยวกับความเสี่ยง และการจัดการความเสี่ยงที่สำ�คัญอย่างสม่ำ�เสมอ 7. ให้คำ�แนะนำ� และคำ�ปรึกษากับคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง (Sub Risk Management Committee) และ/หรือหน่วยงาน และ/หรือคณะ ทำ�งานทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารความเสีย่ ง รวมทัง้ พิจารณาแนวทางทีเ่ หมาะสมและการแก้ไขข้อมูลต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับการพัฒนาการบริหารความเสีย่ ง 8. แต่งตั้งอนุกรรมการ และ/หรือบุคลากรเพิ่มเติม หรือทดแทนในคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง และ/หรือหน่วยงาน และ/หรือคณะทำ�งานที่ เกีย่ วข้องกับการบริหารความเสีย่ งตามความเหมาะสม รวมทัง้ กำ�หนดบทบาทหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ เพือ่ ประโยชน์ในการดำ�เนินงานตามวัตถุประสงค์ 9. ปฏิบัติการอื่นใดที่เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงตามที่คณะกรรมการบริษัทบริษัทมอบหมาย (ฉ) คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ ประกอบด้วยบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิ จำ�นวน 10 ท่าน ดังนี้ รายชื่อ 1. นายสิริชัย ตันติพงศ์อนันต์ \1

ตำ�แหน่ง กรรมการฯ และเลขานุการคณะกรรมการฯ

2. นายประเสริฐ ศิริจงมีชัย

กรรมการฯ

3. นางสาวจิตรลดา เฮงยศมาก

กรรมการฯ

4. นางสมศรี พฤทธิพันธุ์

กรรมการฯ

5. นางมณฑนา ถาวรานนท์

กรรมการฯ

6. นางสาวสุเนตรา แสงรัตนกูล

กรรมการฯ

7. นายวิชัย สันทัดอนุวัตร

กรรมการฯ

8. นางสาวนภาพร อุชชิน

กรรมการฯ

9. นายอภิวิชญ์ อัศวศรีวรกุล

กรรมการฯ

10. นางสาวดวงกมล เพ็ชร์เลิศ นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม \2

กรรมการฯ ประธานคณะกรรมการฯ

หมายเหตุ: ข้อมูลเพิ่มเติม และการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระหว่างปี 2553 1) นายสิริชัย ตันติพงศ์อนันต์ ลาออกจากตำ�แหน่ง กรรมการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 2) นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม ลาออกจากตำ�แหน่ง ประธานคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ (ออกระหว่างปี) โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2553 อย่างไรก็ตาม ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 ได้มีมติอนุมัติทบทวนและแต่งตั้งคณะกรรมการกำ�กับ ดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ (ชุดใหม่) ประกอบด้วยบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิจำ�นวน 11 ท่าน รายนามดังนี้ รายชื่อ 1. นายวิเชฐ ตันติวานิช

062

ตำ�แหน่ง ประธานคณะกรรมการฯ

2. ม.ล. กรกสิวัฒน์ เกษมศรี

กรรมการฯ

3. นายวุฒิ อัศวเสริมเจริญ

กรรมการฯ

4. นายชาญชัย พันธุ์โสภา

กรรมการฯ


รายชื่อ

ตำ�แหน่ง

5. นางสาวประภาวดี ธานีรนานนท์

กรรมการฯ

6. นางสาวจิตรลดา เฮงยศมาก

กรรมการฯ

7. นางมณฑนา ถาวรานนท์

กรรมการฯ

8. นางสาวสุเนตรา แสงรัตนกูล

กรรมการฯ และเลขานุการคณะกรรมการฯ

9. นายวิชัย สันทัดอนุวัตร

กรรมการฯ

10. นายอภิวิชญ์ อัศวศรีวรกุล

กรรมการฯ

11. นางสาวดวงกมล เพ็ชร์เลิศ

กรรมการฯ

ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ 1. เพือ่ นำ�เสนอแนวนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี (Corporate Governance Policy) และจริยธรรม และข้อพึงปฏิบตั ใิ นการทำ�งาน (Code of Ethics) ของกลุ่มบริษัทฯ ต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2. ติดตามและกำ�กับดูแลเพือ่ ให้มน่ั ใจว่า กลุม่ บริษทั ฯ มีการปฏิบตั ติ ามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และจริยธรรมธุรกิจฯ ทีก่ ลุม่ บริษทั ฯ กำ�หนด 3. พิจารณาทบทวนเกี่ยวกับนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และจริยธรรมธุรกิจฯ ของกลุ่มบริษัทฯ อย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทาง ปฏิบตั ขิ องสากล และ/หรือข้อเสนอแนะของสถาบัน และ/หรือหน่วยงานทางการทีเ่ กีย่ วข้อง และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 4. พิจารณานำ�เสนอข้อพึงปฏิบัติที่ดี (Code of Best Practices) ต่อคณะกรรมการบริษัท และ/หรือคณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ ของกลุ่มบริษัทฯ 5. ส่งเสริมการเผยแพร่วัฒนธรรมในการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีให้เป็นที่เข้าใจทั่วทุกระดับ และมีผลในแนวทางปฏิบัติ 6. พิจารณาแต่งตั้งและกำ�หนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของ คณะทำ�งานชุดย่อยเพื่อทำ�หน้าที่สนับสนุนงานการกำ�กับดูแลกิจการและ จริยธรรมธุรกิจฯ ได้ตามความเหมาะสม 7. ปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย (ช) คณะผู้บริหารของบริษัท (ตามคำ�นิยามของสำ�นักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะผูบ้ ริหารของบริษทั (“ผูบ้ ริหาร” ในทีน่ ห้ี มายถึง ผูด้ �ำ รงตำ�แหน่งระดับบริหารสีร่ ายแรกนับต่อจากประธานกรรมการ บริหารร่วม (CO-CEO) ลงมา รวมถึงผูซ้ ง่ึ ดำ�รงตำ�แหน่งเทียบเท่ากับผูด้ �ำ รงตำ�แหน่งระดับบริหารรายทีส่ ท่ี กุ ราย และให้หมายความรวมถึงผูด้ �ำ รงตำ�แหน่ง ระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงิน หรือเทียบเท่า CFO) ประกอบด้วยบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิ จำ�นวน 9 ท่าน ดังนี้ รายชื่อ

ตำ�แหน่ง

1. นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม \1

ประธานที่ปรึกษาบริษัท

2. นางสาวบุษบา ดาวเรือง

ประธานกรรมการบริหารร่วม และ
รองกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส สายงานสร้างสรรค์

3. นางสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา

ประธานกรรมการบริหารร่วม

4. นายกิตติศักดิ์ ช่วงอรุณ

รองกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส ประจำ�สำ�นักประธานกรรมการบริหาร

5. นายกริช ทอมมัส

รองกรรมการผูอ้ �ำ นวยการอาวุโส สายงานธุรกิจเพลง, กรรมการผูจ้ ดั การ สังกัดแกรมมี่ โกลด์

6. นายวิเชียร ฤกษ์ไพศาล

กรรมการผู้จัดการ สายงานธุรกิจเพลง สังกัดจีนี่ เรคคอร์ด

7. นายสันติสุข จงมั่นคง

กรรมการผู้จัดการ สายงาน GMM Live

8. นายสุวัฒน์ ดำ�รงชัยธรรม

กรรมการผู้จัดการ สายงาน Digital Business

9. นายสิริชัย ตันติพงศ์อนันต์ \2

รองกรรมการผู้อำ�นวยการสายงานบัญชีการเงินและนักลงทุนสัมพันธ์

นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม \3

รองกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส สายงานสนับสนุนกลางและพัฒนาธุรกิจ

หมายเหตุ : ข้อมูลเพิ่มเติม และการเปลี่ยนแปลงข้อมูลระหว่างปี 2553 1) นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ได้รับการแต่งตั้งเป็น ประธานที่ปรึกษาบริษัทฯ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2551 เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2551 ทั้งนี้ หน้าที่ความรับผิดชอบของประธานที่ปรึกษาบริษัท จะมุ่งเน้นในการกำ�หนดกลยุทธ์ และให้คำ�แนะนำ� สรรหา โดยครอบคลุมงาน 3 ด้าน ได้แก่ การบริหารธุรกิจ การจัดการด้านลงทุน และงานบริหารส่วนกลาง ภายใต้โครงสร้างการจัดการ โดยประธาน ที่ปรึกษาบริษัทจะรายงานตรงต่อคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ไม่ได้เป็นผู้บริหารตามคำ�นิยามของสำ�นักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ แต่เป็นผู้ที่สามารถล่วงรู้ และกำ�หนดนโยบายบริษัทด้วย จึงเปิดเผยในส่วนนี้ 2) นายสิริชัย ตันติพงศ์อนันต์ ลาออกจากตำ�แหน่งรองกรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานบัญชีการเงินและนักลงทุนสัมพันธ์ โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2554 3) นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม ลาออกจากตำ�แหน่งรองกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส สายงานสนับสนุนกลางและพัฒนาธุรกิจ โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ 1 ธันวาคม 2553 (ลาออกระหว่างปี) 063


โดยรายละเอียดของกรรมการและผู้บริหารทุกท่าน ปรากฏในประวัติกรรมการ และคณะผู้บริหารหน้า 150 ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และอำ�นาจดำ�เนินการของประธานกรรมการบริหารร่วม (CO-CEO) ประธานกรรมการบริหารร่วม มีอ�ำ นาจและหน้าทีเ่ กีย่ วกับการบริหารบริษทั และบริษทั ในเครือ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย และจะต้องบริหาร บริษัทตามแผนงานหรืองบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทอย่างเคร่งครัด ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริตและระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของ บริษัทและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย อำ�นาจหน้าที่ของประธานกรรมการบริหารร่วมให้รวมถึงเรื่องหรือกิจการต่างๆ ดังต่อไปนี้ด้วย 1. บริหารกิจการของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และข้อบังคับ ตลอดจนระเบียบอำ�นาจอนุมัติและดำ�เนินการของบริษัทและบริษัทในเครือ (ซึ่ง ครอบคลุมการบริหารจัดการในด้านต่างๆ) มติของทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั รวมทัง้ ให้มอี �ำ นาจบังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้างของบริษทั และบริษทั ในเครือ โดยประธานกรรมการบริหารร่วมต้องรับผิดชอบและรายงานผลการปฏิบัติงานต่อคณะกรรมการบริษัท 2. ดำ�เนินการให้มีการจัดทำ�และส่งมอบนโยบายทางการบริหารงาน รวมถึงแผนงานและงบประมาณ ต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อขออนุมัติ และมีหน้าที่ รายงานความก้าวหน้าตามแผนและงบประมาณที่ได้รับอนุมัติดังกล่าวต่อคณะกรรมการในทุกๆ 3 เดือน 3. ว่าจ้าง บรรจุ แต่งตัง้ โยกย้าย เลือ่ นตำ�แหน่ง เลิกจ้าง ลงโทษทางวินยั พนักงานและลูกจ้าง ทัง้ นีไ้ ม่รวมถึงพนักงานหรือลูกจ้าง ซึง่ คณะกรรมการบริษทั หรือระเบียบอำ�นาจอนุมัติฯ กำ�หนดให้เป็นอำ�นาจของคณะกรรมการบริษัท 4. กำ�หนดเงือ่ นไขในการทำ�งานของพนักงานและลูกจ้าง ออกคำ�สัง่ ระเบียบปฏิบตั ิ หรือประกาศกำ�หนดวิธกี ารบริหารงานและการดำ�เนินกิจการของบริษทั ฯ โดยไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบของบริษัทฯ และมติคณะกรรมการบริษัท หรือกฎหมายแรงงาน หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 5. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ทั้งนี้ภายใต้ วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติของที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท อนึ่ง การใช้อำ�นาจของประธานกรรมการบริหารร่วมดังกล่าวข้างต้นไม่สามารถกระทำ�ได้ หากประธานกรรมการบริหารร่วมมีส่วนได้เสียหรืออาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะใดๆ ในการใช้อำ�นาจดังกล่าวกับบริษัทหรือบริษัทในเครือ เว้นแต่ได้รับมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทที่มี กรรมการอิสระเข้าร่วมประชุมด้วยเท่านั้น รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ (GRAMMY) ของกรรมการและผู้บริหาร ทัง้ นี้ บริษทั ได้มกี ารรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ (GRAMMY) แก่ทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั เป็นประจำ�ทุก 6 เดือน โดยสรุปการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริหาร และผูบ้ ริหารของบริษทั (ตามคำ�นิยามของสำ�นักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ) ซึ่งรวมถึงจำ�นวนหลักทรัพย์ที่ถือครองของผู้เกี่ยวข้องตามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เปรียบเทียบปี 2552 แสดงได้ดังนี้ รายชื่อ

ตำ�แหน่ง

สัดส่วน การถือหุ้น

1. นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม 2. นายไชย ณ ศิลวันต์ 3. นายเดช บุลสุข 4. นายวีระวงค์ จิตต์มิตรภาพ 5. นางสาวสุวภา เจริญยิ่ง 6. นางสาวบุษบา ดาวเรือง 7. นางสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา 8. นายกริช ทอมมัส 9. นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม 10. นางสาวสุวิมล จึงโชติกะพิศิฐ 11. นายถกลเกียรติ วีรวรรณ 12. นายเกรียงกานต์ กาญจนะโภคิน 13. นายสถาพร พานิชรักษาพงศ์ 14. นายกิตติศักดิ์ ช่วงอรุณ 15. นายวิเชียร ฤกษ์ไพศาล 16. นายสันติสุข จงมั่นคง 17. นายสุวัฒน์ ดำ�รงชัยธรรม 18. นายคำ�รณ ปราโมช ณ อยุธยา 19. นายยงศักดิ์ เอกปรัชญาสกุล 20. นายสิริชัย ตันติพงศ์อนันต์ 21. นายวิเชฐ ตันติวานิช

A A A A A A,B,C A,B,C A,B,C A,B,C A A,B A,B A,B B,C B,C B,C B,C B B B,C B

54.22% 0.25% 0.28% 0.00% 0.25% 1.09% 0.35% 0.04% 0.37% 0.08% 0.28% -

จำ�นวนหลักทรัพย์ GRAMMY ที่ถือครอง (หุ้น) ณ 31 ธ.ค. 53 ณ 31 ธ.ค. 52 เพิ่ม / (ลด) 287,523,030 1,300,000 1,500,200 100 1,320,000 5,775,700 1,866,200 200,000 1,960,400 400,100 1,500,200 -

ความหมายตำ�แหน่ง : ตำ�แหน่ง A หมายถึง กรรมการบริษัท ตำ�แหน่ง B มหายถึง กรรมการบริหาร ตำ�แหน่ง C มหายถึง ผู้บริหารของบริษัทฯ (ตามคำ�นิยามของสำ�นักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์)

064

285,095,430 1,300,000 1,500,200 100 1,320,000 5,775,700 1,866,200 200,000 1,960,400 540,100 1,500,200 -

2,427,600 (140,000) -


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

2. การสรรหากรรมการและผู้บริหาร วิธีการคัดเลือกบุคคลที่จะแต่งตั้งเป็นกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีหน้าที่กำ�หนดหลักเกณฑ์ และนโยบายในการสรรหากรรมการบริษัท และกรรมการชุดย่อย กำ�หนด คุณสมบัตขิ องกรรมการ และพิจารณาสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลทีเ่ หมาะสม ให้ด�ำ รงตำ�แหน่ง กรรมการบริษทั ทีห่ มดวาระและหรือมีต�ำ แหน่งว่างลง เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท และหรือ เสนอขออนุมัติต่อที่ประชุม ผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี นอกจากนี้ ข้อบังคับของบริษัทได้กำ�หนดให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการบริษัทโดยวิธีการดังต่อไปนี้ 1. ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจำ�นวนหุ้นที่ตนถือ 2. ผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงทัง้ หมดตามข้อ 1 เลือกตัง้ บุคคลเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผใู้ ดมากน้อย เพียงใดไม่ได้ 3. บุคคลทีไ่ ด้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลำ�ดับลงมาเป็นผูท้ ไ่ี ด้รบั การเลือกตัง้ เป็นกรรมการเท่ากับจำ�นวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำ�ดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินกว่าจำ�นวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นให้ ประธานที่ประชุมเป็นผู้ชี้ขาด วิธีการสรรหาผู้บริหารของบริษัท ตามระเบียบอำ�นาจอนุมัติและดำ�เนินการของบริษัทกำ�หนดไว้ดังนี้ 1. การแต่งตั้งประธานกรรมการบริหาร ต้องนำ�เสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 2. การแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูง ตั้งแต่ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการขึ้นไป เป็นอำ�นาจอนุมัติโดยประธานกรรมการบริหาร 3. การแต่งตั้งผู้บริหารระดับต่ำ�กว่าผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ เป็นอำ�นาจอนุมัติโดยรองกรรมการผู้อำ�นวยการ 3. ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท กรรมการบริหาร และผู้บริหารของบริษัท 1) ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน (ก) กรรมการบริษัท และกรรมการตรวจสอบ ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินของคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยค่าเบี้ยประชุมและบำ�เหน็จประจำ�ปีของกรรมการ ซึ่งแปรตามผลการดำ�เนินงานของ บริษัทในแต่ละปี โดยการจัดสรรค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทขึ้นอยู่กับสัดส่วนการเข้าร่วมประชุมของกรรมการของแต่ละท่าน และประธานกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน จะเป็นผู้พิจารณาการจัดสรร (ตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น) โดยค่าตอบแทนประจำ�ปี 2553 สำ�หรับกรรมการบริษัทจำ�นวน 12 ท่าน และค่าตอบแทนสำ�หรับกรรมการตรวจสอบจำ�นวน 4 ท่าน เป็นจำ�นวนเงินรวมทั้งสิ้น 5,740,000 บาท รายละเอียดดังนี้ รายชื่อกรรมการ /ตำ�แหน่ง 1. นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ประธานกรรมการ 2. นายไชย ณ ศิลวันต์ กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการตรวจสอบ 3. นายเดช บุลสุข กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ 4. นายวีระวงค์ จิตต์มิตรภาพ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ 5. นางสาวสุวภา เจริญยิ่ง \1 กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ 6. นางสาวบุษบา ดาวเรือง กรรมการ 7. นางสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา กรรมการ 8. นายกริช ทอมมัส กรรมการ 9. นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม \2 กรรมการ 10. นายถกลเกียรติ วีรวรรณ กรรมการ 11. นายเกรียงกานต์ กาญจนะโภคิน กรรมการ 12. นายสถาพร พานิชรักษาพงศ์ กรรมการ รวม

ค่าเบี้ยประชุม กรรมการ ที่จ่ายในปี 2553

ค่าบำ�แหน็จ คณะกรรมการ ประจำ�ปี 2553

ค่าตอบแทน คณะกรรมการ ตรวจสอบ

รวมค่าตอบแทน ประจำ�ปี 2553 (บาท/ปี)

65,000

920,000

-

985,000

52,000

368,000

200,000

620,000

65,000

460,000

150,000

675,000

52,000

368,000

150,000

570,000

13,000

92,000

30,000

135,000

15,000

460,000

-

475,000

9,000

276,000

-

285,000

15,000

460,000

-

475,000

12,000

368,000

-

380,000

9,000

276,000

-

285,000

12,000

368,000

-

380,000

15,000

460,000

-

475,000

334,000

4,876,000

530,000

5,740,000

หมายเหตุ : ข้อมูลเพิ่มเติม และการเปลี่ยนแปลงข้อมูลกรรมการบริษัทระหว่างปี 2553 1) นางสาวสุวภา เจริญยิง่ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการอิสระ จากมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 4/2553โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 11 สิงหาคม 2553 (เข้าดำ�รงตำ�แหน่งระหว่างปี) ทั้งนี้ เพื่อทดแทนตำ�แหน่งและวาระของ นายวาณิช จรุงกิจอนันต์ ที่ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2553 2) นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการบริษัท ก่อนครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง มีผลตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน 2553 065


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

(ข) กรรมการบริหาร และผู้บริหารของบริษัท กรรมการบริหาร : บริษัทไม่ได้กำ�หนดต่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินจาการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริหาร ผู้บริหารของบริษัท\1 (ตามคำ�นิยามของสำ�นัก ก.ล.ต.): ในปี 2553 มีค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินของผู้บริหารของบริษัท ในรูปของเงินเดือน โบนัส และค่าตอบแทนอื่นๆ เช่นรถยนตร์ประจำ�ตำ�แหน่ง เงินเพิ่มพิเศษแทน รถยนตร์ประจำ�ตำ�แหน่ง และโทรศัพท์มือถือ ของผู้บริหารจำ�นวน 9 ท่าน (ไม่รวมประธานที่ปรึกษาบริษัทฯ) รวมจำ�นวนทั้งสิ้น 93.68 ล้านบาท 2) ค่าตอบแทนอื่น ไม่มี

การกำ�กับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริษัท มีเจตนารมณ์ที่จะดำ�เนินธุรกิจภายใต้หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีตามหลักการการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยส่งเสริมให้บริษัทจดทะเบียนปฏิบัติ เพื่อเสริมสร้างองค์กรให้มีระบบบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ และเป็นพื้นฐานให้บริษัทมีการเติบโตอย่างยั่งยืน โดยบริษัทมีแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการ ดังนี้ 1. นโยบายเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัท ยึดมั่นในการดำ�เนินธุรกิจภายใต้หลักจริยธรรมและแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีควบคู่ไปกับการมีความรับผิดชอบต่อ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) จนกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กร โดยบูรณาการกับวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ และเป้าหมายขององค์กร เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย รวมทั้งนำ�ไปสู่การสร้างความเจริญก้าวหน้าในเชิงธุรกิจ ที่ก้าวไปพร้อมกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและส่งเสริมการศึกษา การกีฬา ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อมในปี 2548 คณะกรรมการบริษัท ได้ริเริ่ม และกำ�หนดให้มกี ารจัดทำ�นโยบายกำ�กับดูแลกิจการ ซึง่ แสดงถึงแนวทางในการกำ�กับดูแลกิจการและบทบาทหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั โดยมีมติอนุมตั ิ ให้ประกาศใช้นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ (Corporate Governance Policy) ทีไ่ ด้จดั ทำ�ขึน้ ดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2548 เป็นต้นมานโยบาย การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทแบ่งเป็น 8 หมวดดังนี้ หมวดที่ 1 คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย หมวดที่ 2 สิทธิของผู้ถือหุ้นและการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน หมวดที่ 3 บทบาทต่อผู้มีส่วนได้เสีย หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส หมวดที่ 5 นโยบายเกี่ยวกับการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน หมวดที่ 6 การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน หมวดที่ 7 การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง หมวดที่ 8 จริยธรรมธุรกิจ คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายให้พนักงานนำ�หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และสร้างเป็นวัฒนธรรมองค์กร ดังนัน้ บริษทั ฯ ได้จดั ทำ�นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ฉี บับพกพา ทีม่ เี นือ้ หากระชับ และเข้าใจง่าย รวมทัง้ เผยแพร่ผา่ นเว็บไซต์ภายในองค์กร (Intranet) และบนเว็บไซต์ของบริษัท (http://www.gmmgrammy.com) ทั้งนี้เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน สามารถใช้เป็นหลักในการปฏิบัติ หน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ โปร่งใส ซื่อสัตย์ และมีจริยธรรม ทั้งต่อตนเอง องค์กร ผู้ถือหุ้น สังคมสิ่งแวดล้อม และผู้มีส่วนได้เสียอื่น คณะกรรมการบริษทั กำ�หนดให้มกี ารทบทวน เพิม่ เติม ปรับปรุง และแก้ไขนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ ให้มคี วามเป็นปัจจุบนั เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ขององค์กร และสอดคล้องกับแนวทางของหน่วยงานกำ�กับดูแลต่างๆ ที่กำ�หนดขึ้นเพิ่มเติม เพื่อเป็นการยกระดับแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการให้เป็นไป ตามมาตรฐานสากล และให้บริษัทฯ กำ�หนดมาตรการที่ชัดเจนในการตรวจติดตาม เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นว่า มีการปฏิบัติตามนโยบายการกำ�กับดูแล กิจการที่กำ�หนดขึ้นอย่างเคร่งครัด โดยในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 ได้พิจารณาทบทวนและอนุมัติให้มีการแก้ไขปรับปรุง นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทที่ถือปฏิบัติอยู่ในบางประเด็น เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางที่หน่วยงานกำ�กับดูแลกำ�หนดขึ้น โดยสามารถสรุป ประเด็นสำ�คัญที่มีการแก้ไขปรับปรุง ได้ดังนี้ หมวดที่ 1 คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย 1. ในการไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการที่บริษัทอื่นของประธานกรรมการบริหารและผู้บริหารระดับสูงของบริษัท ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติบริษัท มหาชน จำ�กัด พ.ศ. 2535 หมวดที่ 2 สิทธิของผู้ถือหุ้นและการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 1. บริษัทมีการใช้บัตรลงคะแนนเสียงในวาระที่ต้องใช้มติพิเศษจากผู้ถือหุ้น เช่น การเพิ่มทุน การแก้ไขข้อบังคับบริษัท หรือการแก้ไขวัตถุประสงค์ ของบริษัท เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ในกรณีมีข้อโต้แย้งในภายหลัง 2. กำ�หนดเงื่อนไขใหม่สำ�หรับการมอบฉันทะในการประชุมผู้ถือหุ้น ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ฉบับที่ 5 ปี 2550 (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2550) 3. พัฒนาระบบและแนวทางปฏิบตั เิ พือ่ เป็นการเพิม่ ช่องทางให้แก่ผถู้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสีย ในการแจ้งข้อมูลต่างๆผ่านทางไปรษณียห์ รือทางเว็บไซต์ ของบริษัท หรือที่อี-เมล์ auditcommittee@gmmgrammy.com ไปยังคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเป็นกรรมการอิสระ ในเรื่องเกี่ยวกับข้อร้องเรียน การกระทำ�ผิดกฎหมายหรือ คู่มือจริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติในการทำ�งานของกลุ่มบริษัท หรือข้อสงสัยในรายงานทางการเงิน หรือระบบ การควบคุมภายใน เพื่อดำ�เนินการตามขั้นตอนและนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทต่อไป ทั้งนี้สามารถติดต่อกับคณะกรรมการตรวจสอบได้ ตั้งแต่เดือนมกราคม ปี 2551 เป็นต้นมา โดยเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นผู้รับผิดชอบในการสรุปประเด็นต่างๆ และนำ�เสนอต่อ คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อดำ�เนินตามขั้นตอนต่อไป 4. พัฒนาระบบและแนวทางปฏิบตั ใิ นการทีจ่ ะทำ�ให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อย สามารถมีสว่ นร่วมในการเสนอวาระการประชุมล่วงหน้า และเสนอรายชือ่ บุคคล ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ผ่านเว็บไซต์ของบริษทั ฯ (http://www.gmmgrammy.com) ภายใต้หวั ข้อ “การกำ�กับดูแลกิจการ” เรือ่ ง "การติดต่อกับคณะกรรมการตรวจสอบ" ทั้งนี้เริ่มตั้งแต่การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2553 หมวดที่ 5 นโยบายเกี่ยวกับการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน 1. เลขานุการบริษทั ทำ�การสรุปรายงานการมีสว่ นได้เสียของกรรมการ ผูบ้ ริหารและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องของบริษทั รวมถึงรายการทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง ให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทรับทราบ เป็นประจำ�ทุก 6 เดือน 1 "ผู้บริหาร" ในที่นี้หมายถึง ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งระดับบริหารสี่รายแรกนับต่อจากประธานกรรมการบริหารร่วม (CO-CEO) ลงมารวมถึงผู้ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งเทียบเท่าผู้ดำ�รงตำ�แหน่ง

ระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย และให้หมายความรวมถึงผู้ดำ�รงตำ�แหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงิน หรือเทียบเท่า CFO 066


หมวดที่ 6 การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน 1. ฝ่ายบริหารจัดให้มีการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหารของบริษัทเป็นประจำ�ทุก 6 เดือน ต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทเพื่อรับทราบ โดยคณะกรรมการบริษัทกำ�หนดให้มีการทบทวนนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ เป็นประจำ�ทุก 2 ปี หรือเมื่อมีความเหมาะสม ทั้งนี้ เพือ่ ให้มคี วามเป็นปัจจุบนั และมีความเหมาะสมกับภาวะการณ์รวมทัง้ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจทีอ่ าจเปลีย่ นแปลงไปและสอดคล้องกับแนวทางทีต่ ลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยหรือหน่วยงานกำ�กับดูแลต่างๆ ได้กำ�หนดขึ้นเพิ่มเติม ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัท กำ�หนดให้มีการติดตามความก้าวหน้าในการกำ�กับดูแลให้บริษัทฯ มีการดำ�เนินการภายใต้นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดีที่กำ�หนดขึ้นอย่างจริงจัง รวมทั้งมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในปี 2553 คณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาทบทวนนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการของบริษทั ฯ แล้ว และเห็นว่า ยังคงมีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท และสอดคล้องกับแนวทางของหน่วยงานกำ�กับดูแลกำ�หนด อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการบริษัท ส่งเสริมให้มีการทบทวน อย่างสม่ำ�เสมอ จากการทีบ่ ริษทั ฯ ยึดมัน่ ในการนำ�แนวทางการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี (Good Corporate Governance) มาใช้ในการบริหารงานและดำ�เนินงานของบริษทั ฯ อย่างต่อเนื่องและได้มีการพัฒนาการกำ�กับดูแลกิจการมาโดยตลอด เป็นผลให้บริษัทฯ ได้รับผลการประเมินจากองค์กรต่างๆ สรุปได้ดังนี้ การประเมินการกำ�กับดูแลกิจการ จากการประเมินการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies) ซึ่งประเมินผลโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) โดยการสนับสนุนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงาน ก.ล.ต. ผลการประเมินการกำ�กับดูแลกิจการของบริษทั ฯ ในปี 2551 ถึงปี 2553 อยูใ่ นระดับ “ดีมาก” (Very Good) โดยผลคะแนนเฉลีย่ โดยรวม ในปี 2553 มีดงั นี้ SET 100 Index SET 50 Index บริษัทจดทะเบียนโดยรวม บริษัทฯ 86% 89% 80% 85% การประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น จากการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี (“AGM Checklist”) ซึ่งประเมินโดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย (Thai Investors Association) ผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2551 ถึงปี 2553 มีดังนี้ ปี 2553

ปี 2552

ปี 2551

ผลการประเมิน

ดีเยี่ยม

ดีเยี่ยม สมควรเป็นตัวอย่าง

ดีเยี่ยม

ช่วงคะแนน

98.75

100

105.5

คะแนนเต็ม

100

100

110 100 บวกโบนัส 10 คะแนน

อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ยังคงมีความมุ่งมั่นพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ในการส่งเสริม สนับสนุนกระบวนการของการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ โดยบริษัท ฯ เชื่อมั่นว่า การที่บริษัทฯ ยึดมั่นในระบบและกระบวนการของการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี จะส่งเสริมให้บริษัทฯ เจริญเติบโต ก้าวหน้าด้วย ความมั่นคงตลอดไป บริษัทฯ ได้มีการแต่งตั้งคณะทำ�งานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และคณะทำ�งานจริยธรรมธุรกิจ ตั้งแต่ปี 2547 เพื่อทำ�หน้าที่ส่งเสริมให้บริษัทฯ และ บริษัทย่อย มีระบบการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและยึดถือปฏิบัติอย่างจริงจัง ซึ่งจะเป็นการเพิ่มความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน พันธมิตรทางการค้าและ ผูท้ เ่ี กีย่ วข้องทุกฝ่าย อย่างไรก็ตาม ในปี 2552 บริษทั ฯ ได้มกี ารแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ (คณะกรรมการกำ�กับดูแล กิจการและจริยธรรมธุรกิจ) ขึ้น ในการปฏิบัติหน้าที่แทนคณะทำ�งานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และคณะทำ�งานจริยธรรมธุรกิจ เพื่อให้เป็นการบูรณาการ การปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น ทั้งนี้มีรายชื่อและขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการ และจริยธรรมธุรกิจ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ตามรายละเอียดที่ปรากฏในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” หน้า 62-63 2. ภาวะผู้นำ� คณะกรรมการบริษัท มีความมุ่งมั่นที่จะนำ�พาบริษัทให้เจริญก้าวหน้า และมีการเติบโตที่มั่นคง เพื่อสร้างผลตอบแทนที่เหมาะสมแก่ผู้ลงทุนโดยรวม คณะกรรมการบริษทั ได้ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรู้ ความสามารถ ความชำ�นาญ ความมุง่ มัน่ และความระมัดระวัง รวมถึงมีการประยุกต์ใช้ความรู้ ความสามารถ และทักษะในการจัดการ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด โดยยึดถือตามกฎหมาย หลักเกณฑ์และข้อพึงปฏิบตั ทิ ด่ี เี กีย่ วกับการดำ�เนินธุรกิจ และคำ�นึงถึงผลประโยชน์ ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย คณะกรรมการบริษัทได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร เป็นผู้รับผิดชอบการบริหารงานประจำ�ของบริษัท และได้พิจารณากำ�หนดบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ชัดเจนระหว่าง คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการชุดย่อยและฝ่ายจัดการ โดยคณะกรรมการบริษัท เป็น ผู้กำ�หนดวิสัยทัศน์ และภารกิจของบริษัทและให้ความเห็นชอบ กลยุทธ์ นโยบาย แผนธุรกิจ และงบประมาณ ที่นำ�เสนอโดยฝ่ายบริหาร และจัดให้มีกลไก ในการกำ�กับดูแล ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายและนโยบายที่กำ�หนดไว้ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น ขณะเดียวกันก็คำ�นึงถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย 3. วิสัยทัศน์และภารกิจ คณะกรรมการบริษัท ได้กำ�หนดวิสัยทัศน์ และภารกิจของกลุ่มบริษัท เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงานมีจุดมุ่งหมายไปในทิศทางเดียวกัน และเผยแพร่ให้ ทราบทั่วกันผ่าน เว็บไซต์ภายในองค์กร (Intranet) และบนเว็บไซต์ของบริษัท (http://www.gmmgrammy.com) วิสัยทัศน์ ภารกิจ

เป็นผู้นำ�ในการสร้างสรรค์และผลิตผลงานด้านบันเทิงทุกรูปแบบ ควบคู่ไปกับทุกพัฒนาการของสื่อและเทคโนโลยี เพื่อมอบคุณค่าชีวิต ที่ดีและความสุขแบบไร้ขีดจำ�กัด สร้างสรรค์ ผลงานที่เป็นเลิศให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เสริมสร้าง ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ส่งเสริม บุคลากรให้รักและเชี่ยวชาญในงานที่ทำ�และมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
 สนับสนุน กิจกรรมอันเป็นประโยชน์และรับผิดชอบต่อสังคม 067


4. จริยธรรมธุรกิจ นอกจากบริษทั จะดำ�เนินธุรกิจภายใต้แนวทางการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ควบคูไ่ ปกับการใส่ใจรักษาสังคมและสิง่ เเวดล้อมแล้ว บริษทั ยังยึดมัน่ ในการดำ�เนิน ธุรกิจภายใต้หลักจริยธรรมและยึดถือปฏิบัติตามกฎหมาย มาตรฐานและข้อปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการดำ�เนินธุรกิจและการเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน ต่อต้าน การทุจริตและห้ามจ่ายสินบนเพือ่ ผลประโยชน์ทางธุรกิจของบริษทั ไม่แสวงหาผลประโยชน์ใส่ตนและผูเ้ กีย่ วข้อง โดยนำ�สารสนเทศภายในทีย่ งั ไม่ได้เปิดเผย หรือที่เป็นความลับไปใช้ หรือนำ�ไปเปิดเผยกับบุคคลภายนอก หรือกระทำ�การอันก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษทั สนับสนุน และส่งเสริมกิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ สังคม สิง่ แวดล้อม วัฒนธรรม และประเพณีอนั ดีงามอย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้ ส่งเสริม พัฒนา เคารพ และไม่ลว่ งละเมิดการสร้างสรรค์งานอันเป็นทรัพย์สนิ ทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ ตลอดจนประเมินคุณค่างานดังกล่าวอย่างเป็นธรรม ไม่เกีย่ วข้องกับการละเมิด สิทธิมนุษยชน โดยไม่กีดกัน หรือไม่ให้สิทธิพิเศษ หรือเลือกปฏิบัติต่อผู้หนึ่งผู้ใด โดยในปี 2548 คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติจริยธรรมธุรกิจ (Code of Ethics ) และข้อพึงปฏิบัติในการทำ�งานของกลุ่มบริษัท สำ�หรับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน โดยเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ภายในองค์กร (Intranet) และบนเว็บไซต์ของบริษัท (http://www.gmmgrammy.com) และมีนโยบาย ให้มีการทบทวนและปรับปรุงอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อให้เป็นไปตามแนวทางที่หน่วยงานกำ�กับดูแลกำ�หนดและเหมาะสมกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท คู่มือจริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติในการทำ�งานของกลุ่มบริษัท ประกอบด้วย หมวดที่ 1 วิสัยทัศน์และภารกิจของบริษัทฯ หมวดที่ 2 จริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ หมวดที่ 3 ข้อพึงปฏิบัติของบริษัทฯ ต่อผู้ถือหุ้น ต่อลูกค้า ต่อคู่ค้า และ / หรือ เจ้าหนี้ ต่อคู่แข่งทางการค้า ต่อพนักงาน ต่อสังคมส่วนรวม หมวดที่ 4 ข้อพึงปฏิบัติของพนักงานต่อบริษัทฯ หมวดที่ 5 การติดตามดูแลให้มีการปฏิบัติ โดยในการติดตามดูแลให้มีการปฏิบัติตาม นั้น บริษัทฯ กำ�หนดให้เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกคนที่จะต้อง รับทราบ ทำ�ความเข้าใจ และปฏิบตั ติ ามนโยบายและข้อปฏิบตั ติ ามทีก่ �ำ หนดไว้ใน คูม่ อื จริยธรรมธุรกิจฯ นีอ้ ย่างเคร่งครัดผูบ้ ริหารทุกระดับในองค์กร จะต้อง ดูแลรับผิดชอบและถือเป็นเรื่องสำ�คัญที่จะดำ�เนินการให้พนักงานภายใต้สายบังคับบัญชาของตนทราบ เข้าใจ และถือปฏิบัติตาม คู่มือจริยธรรมธุรกิจและ ข้อพึงปฏิบัติในการทำ�งานของกลุ่มบริษัท อย่างจริงจัง บริษัทฯ ไม่พึงปรารถนาที่จะให้การกระทำ�ใดๆ ที่ผิดกฎหมาย ขัดกับหลักจริยธรรมที่ดีเกิดขึ้น หากกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานผู้ใดกระทำ�ผิด จริยธรรมที่กำ�หนดไว้ บริษัทฯ จะพิจารณาดำ�เนินการตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้บริษัทฯ ได้จัดให้มีหน่วยงานรับข้อร้องเรียน เพื่อรวบรวมข้อมูลใน การแก้ไขปัญหาด้วย เช่น ส่งข้อร้องเรียน การกระทำ�ผิดกฎหมายหรือ คู่มือจริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติในการทำ�งานของกลุ่มบริษัท หรือข้อสงสัย ในรายงานทางการเงิน หรือระบบการควบคุมภายใน ไปยังคณะกรรมการตรวจสอบซึง่ เป็นกรรมการอิสระ ที่ อี-เมล์ auditcommittee@gmmgrammy.com เพื่อดำ�เนินการตามขั้นตอนและนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทต่อไป โดยในปี 2553 ไม่มีข้อร้องเรียนหรือข้อสงสัย ที่ส่งเข้ามายัง auditcommittee@gmmgrammy.com 5. สิทธิของผู้ถือหุ้นและการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษทั มีนโยบายถือปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน โดยดำ�เนินการต่างๆ เพือ่ คุม้ ครองสิทธิของผูถ้ อื หุน้ และอำ�นวยความสะดวกแก่ผถู้ อื หุน้ ในการใช้สิทธิในเรื่องต่างๆ ที่ตนเองสมควรได้รับ โดยผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิและความเท่าเทียมกัน ในด้านต่างๆ ดังนี้ สิทธิของผู้ถือหุ้น 1. สิทธิในการรับทราบข่าวสารข้อมูล ผลการดำ�เนินงาน นโยบายการบริหารงาน อย่างถูกต้อง สม่ำ�เสมอ และทันเวลา 2. สิทธิในการรับเงินปันผลและ/หรือผลประโยชน์ใดๆ จากบริษัท และ/หรือการรับซื้อหุ้นคืนโดยบริษัท อย่างเท่าเทียมกัน 3. สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น แสดงความเห็น ให้ข้อเสนอแนะ และร่วมพิจารณาตัดสินในการเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญต่างๆ เช่น การแก้ไข ข้อบังคับบริษัทฯ การแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัท การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี เป็นต้น 4. สิทธิในการรับทราบข้อมูลและ/หรืออนุมัติการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกันที่มีสาระสำ�คัญ 5. สิทธิอื่นใดของผู้ถือหุ้นตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด การจัดการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ตระหนักถึงความสำ�คัญของการจัดการประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี (Annual General Meeting : AGM) และ การประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น โดยส่งเสริมให้มีการจัดการประชุมผู้ถือหุ้น ที่คำ�นึงถึงสิทธิของผู้ถือหุ้นตามแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยได้กำ�หนด ให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปีละ1 ครั้ง ภายในเวลาไม่เกิน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชี และในกรณีที่มีความจำ�เป็นเร่งด่วนต้องเสนอวาระเป็น กรณีพิเศษซึ่งเป็นเรื่องที่กระทบหรือเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น หรือเกี่ยวข้องกับเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ กฎหมาย ที่ใช้บังคับที่ต้องได้รับ การอนุมัติจากผู้ถือหุ้นแล้ว บริษัทจะเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเป็นกรณีไป ในปี 2553 บริษทั ฯได้จดั ให้มกี ารประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ในวันที่ 26 เมษายน 2553 เวลา 14.00 น. ณ ห้องประชุม ชัน้ 21 อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส เลขที่ 50 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร มีกรรมการเข้าร่วมประชุม รวม 9 ท่าน ประกอบด้วย ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหารร่วม ประธานกรรมการชุดย่อยทุกคณะ รวมทั้งมีผู้บริหารระดับสูงทางด้านสายงานบัญชีและการเงิน และ ฝ่ายกฎหมาย โดยมีผู้สอบบัญชีทำ�หน้าที่เป็นคนกลางในการตรวจสอบและการลงคะแนนเสียง ("Inspector") กรณีมีข้อโต้แย้งตลอดการประชุม ซึ่ง ประธานในทีป่ ระชุมฯได้มอบหมายให้เลขานุการบริษทั ดำ�เนินการประชุมอย่างครบถ้วนตามทีก่ ฎหมายกำ�หนด และผลการประชุมมีมติอนุมตั ใิ นทุกวาระ อนึง่ ในปี 2553 ไม่มกี ารเรียกประชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ การส่งหนังสือเชิญประชุมล่วงหน้า บริษัทฯ ได้มอบหมายให้ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ซึ่งเป็นนายทะเบียนหลักทรัพย์ของบริษัทฯ เป็นผู้ดำ�เนินการจัดส่ง หนังสือเชิญประชุมทีม่ รี ายละเอียดวาระการประชุม / ข้อมูลประกอบทีส่ �ำ คัญและจำ�เป็นสำ�หรับการตัดสินใจ / ความเห็นของคณะกรรมการบริษทั ประกอบเหตุผล และความจำ�เป็น ผลกระทบทัง้ ด้านบวกและลบในแต่ละวาระ/ รายงานการประชุมทีผ่ า่ นมามีรายละเอียดครบถ้วน / รายงานประจำ�ปี (ในรูปแบบ CD-ROM) และสรุปข้อมูลทางการเงินจากรายงานประจำ�ปี (ในแบบรูปเล่ม) (แยกเล่ม) / ประวัตขิ องบุคคลทีไ่ ด้รบั การเสนอชือ่ ให้เข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ / หนังสือ มอบฉันทะ จำ�นวน 3 แบบ (แบบ ก, แบบ ข และ แบบ ค) ตามประกาศของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่องกำ�หนดแบบหนังสือมอบฉันทะ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2550 (ขอแนะนำ�ให้ใช้แบบ ข) และระบุวธิ กี ารใช้ไว้ชดั เจน / ข้อมูลกรรมการอิสระประกอบการมอบฉันทะ / ข้อบังคับบริษทั เฉพาะส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง กับการประชุมผูถ้ อื หุน้ / เอกสารและหลักฐานทีจ่ ะต้องแสดงก่อนเข้าร่วมประชุม และเงือ่ นไขในการลงคะแนนเสียง / แบบฟอร์มการลงทะเบียนทีม่ บี าร์โค้ด และแผนทีต่ ง้ั บริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) เป็นต้น โดยบริษทั ได้จดั ส่งหนังสือนัดประชุมให้ผถู้ อื หุน้ ล่วงหน้าอย่างน้อย 21 วันก่อนวันประชุม และบริษัทฯได้เผยแพร่ข้อมูลทั้งหมดดังกล่าว (ไม่รวมรายงานประจำ�ปี) ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ (http://www.gmmgrammy.com) ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ ล่วงหน้ามากกว่า 30 วันก่อนวันประชุม ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิได้ทราบถึงเรื่องที่จะมีการพิจารณาในที่ประชุมผู้ถือหุ้น พร้อมทั้งได้รับ ข้อมูลประกอบการตัดสินใจล่วงหน้าก่อนการประชุม โดยสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยสะดวก รวดเร็ว และมีเวลาอย่างเพียงพอในการศึกษาข้อมูลประกอบ การประชุมและการตัดสินใจในการเข่าร่วมประชุม และ/หรือใช้สิทธิออกเสียง ก่อนได้รับข้อมูลในรูปแบบเอกสารจากบริษัท นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ลงประกาศหนังสือพิมพ์แจ้งกำ�หนดวัน เวลา สถานที่และวาระการประชุมทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ก่อนวันประชุมอย่าง น้อย 3 วันติดต่อกัน กรณีที่ผู้ถือหุ้นประสงค์จะมอบฉันทะให้ผู้อื่นมาประชุมแทน สามารถเลือกมอบฉันทะให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือกรรมการอิสระของ บริษัทฯเข้าร่วมประชุมลงคะแนนเสียงแทนได้ ทั้งนี้ให้สอดคล้องกับรูปแบบและเงื่อนไขที่กำ�หนดโดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ และหน่วย งานกำ�กับดูแลต่างๆ 068


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

การอำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้น ในการจัดการประชุมผู้ถือหุ้นฯ บริษัทฯ ได้อำ�นวยความสะดวกให้กับผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันทุกราย ด้วยการจัดให้มีเจ้าหน้าที่คอยดูแล ต้อนรับให้ ความสะดวกอย่างเพียงพอ ดูแลรักษาความปลอดภัย และแผนรับมือกรณีเกิดเหตุฉกุ เฉิน การเปิดบริการรับลงทะเบียนล่วงหน้า การจัดเจ้าหน้าทีต่ รวจสอบ เอกสารผู้เข้าร่วมการประชุม การเปิดรับลงทะเบียนก่อนเวลาประชุม 1 ชั่วโมงครึ่ง มีการใช้ระบบ Barcode ในการลงทะเบียนเพื่อความสะดวกรวดเร็ว และ การจัดให้มีการเลี้ยงรับรองสำ�หรับผู้ถือหุ้นที่มาร่วมประชุมด้วย นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นทุกรายควรมีสิทธิเท่าเทียมกันในการใช้สิทธิของตนในฐานะผู้ถือหุ้น ดังนั้น บริษัทอำ�นวยความสะดวกให้กับผู้ถือหุ้นโดยการจัดทำ� เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการประชุมเป็นภาษาอังกฤษเพื่ออำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้นต่างชาติ การดำ�เนินการประชุมผู้ถือหุ้น ก่อนเริม่ การประชุมผูถ้ อื หุน้ แต่ละครัง้ ประธานกรรมการบริหารร่วมซึง่ เป็นประธานในทีป่ ระชุมจะแนะนำ�คณะกรรมการบริษทั คณะผูบ้ ริหาร และผูส้ อบบัญชี ของบริษทั ซึง่ ทำ�หน้าทีเ่ ป็นคนกลาง (Inspector) ให้ทป่ี ระชุมรับทราบ และมอบหมายให้เลขานุการบริษทั เป็นผูด้ �ำ เนินการประชุม โดยแจ้งองค์ประชุมซึง่ ประกอบด้วย จำ�นวนผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง จำ�นวนผูร้ บั มอบฉันทะประชุมแทนผูถ้ อื หุน้ และจำ�นวนผูถ้ อื หุน้ ทีม่ อบฉันทะให้กรรมการอิสระเป็นผูร้ บั มอบฉันทะ มีการชี้แจงวิธีการลงคะแนนเสียงในแต่ละระเบียบวาระ และการนับคะแนนเสียงเป็นมติผู้ถือหุ้น ตามข้อบังคับของบริษัท และพระราชบัญญัติบริษัท มหาชนจำ�กัด มาตรา 107 (1) โดยให้นบั หุน้ หนึง่ เป็นเสียงหนึง่ ถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในทีป่ ระชุมออกเสียงเพิม่ ขึน้ อีกหนึง่ เป็นเสียงชีข้ าด รวมทัง้ การออกเสียงกรณีมาประชุมด้วยตนเองหรือกรณีมอบฉันทะให้ผู้อื่นมาประชุมแทน เป็นต้น และแนวทางการใช้บัตรลงคะแนน ในการประชุมสามัญ/วิสามัญผูถ้ อื หุน้ แต่ละครัง้ เลขานุการบริษทั ฯ จะดำ�เนินการประชุมผูถ้ อื หุน้ ตามลำ�ดับวาระทีไ่ ด้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุม ไม่มกี ารเพิม่ วาระอื่นๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้ในหนังสือเชิญประชุม ทั้งนี้เพื่อความเป็นธรรมต่อผู้ถือหุ้นที่ไม่ได้เข้าร่วมประชุม วาระการประชุมผู้ถือหุ้นที่สำ�คัญ ได้แก่ • การรายงานผลการดำ�เนินงาน : บริษัทฯ ได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับผลประกอบการของบริษัทฯ เกี่ยวกับกำ�ไร รายได้ ค่าใช้จ่าย และสรุปผล การดำ�เนินงาน • การพิจารณาและอนุมัติงบดุลและงบกำ�ไรขาดทุน : บริษัทฯ นำ�เสนองบดุลและงบกำ�ไรขาดทุนสำ�หรับปี สิ้นสุด ณ รอบปีบัญชีของบริษัท และ ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน ที่ผ่านการตรวจสอบและลงนามรับรองจากผู้สอบบัญชี • การแต่งตั้งกรรมการ : บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถเลือกกรรมการเป็นรายบุคคล โดยมีการระบุชื่อกรรมการที่จะเสนอแต่งตั้งในที่ประชุม ผูถ้ อื หุน้ พร้อมแนบประวัตยิ อ่ ของกรรมการแต่ละท่านทีจ่ ะเสนอแต่งตัง้ ซึง่ ได้แก่ ประวัตกิ ารศึกษา ประวัตกิ ารทำ�งาน จำ�นวนบริษทั ทีด่ �ำ รงตำ�แหน่งกรรมการ หลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหา ประเภทของกรรมการที่เสนอ เช่น กรรมการหรือกรรมการอิสระ สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท ข้อพิพาททางกฎหมาย และในกรณี เป็นการเสนอชือ่ กรรมการเดิมกลับเข้าดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ จะระบุประวัตกิ ารเข้าร่วมประชุมในปีทผี่ า่ นมา และระยะเวลาทีด่ �ำ รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษทั นีด้ ว้ ย และเปิดโอกาสให้เสนอชื่อกรรมการล่วงหน้า ทั้งนี้ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิเลือกกรรมการที่ต้องการได้อย่างแท้จริง • การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี : บริษัทฯ ได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับชื่อผู้สอบบัญชี บริษัทที่สังกัด ประสบการณ์ความสามารถของผู้สอบบัญชี เหตุผล ของการคัดเลือกผู้สอบบัญชี คุณภาพของการปฏิบัติงานในช่วงปีที่ผ่านมา และความสัมพันธ์ หรือการมีส่วนได้เสียกับบริษัทฯ บริษัทในเครือ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) และค่าบริการทั้งค่าสอบบัญชีและค่าบริการอื่น (ถ้ามี) ของผู้สอบบัญชีไว้ให้ชัดเจน • การจัดสรรกำ�ไร : บริษัทฯ ได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับการจัดสรรกำ�ไรและเงินทุนสำ�รอง นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท อัตราเงินปันผล ที่เสนอจ่ายซึ่งเป็นไปตามนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทฯ พร้อมเหตุผลและข้อมูลประกอบวันปิดสมุดทะเบียนเพื่อกำ�หนดสิทธิในการรับเงิน ปันผล และกำ�หนดวันจ่ายเงินปันผล ในกรณีที่เสนอให้งดจ่ายเงินปันผล จะระบุเหตุผลและข้อมูลประกอบการพิจารณาให้ชัดเจนด้วยเช่นกัน • ค่าตอบแทนกรรมการ : บริษทั ฯ ได้ให้รายละเอียดหลักเกณฑ์และจำ�นวนเงินค่าตอบแทนทีเ่ สนอ ซึง่ เป็นไปตามนโยบายและเงือ่ นไขของค่าตอบแทน กรรมการ ที่ได้ผ่านการพิจารณากลั่นกรอง โดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าผลตอบแทน เมือ่ มีการให้ขอ้ มูลตามระเบียบวาระแล้ว ประธานฯจะเปิดโอกาสให้ผเู้ ข้าร่วมประชุมทุกรายแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ถามคำ�ถามในแต่ละวาระ และให้เวลาอภิปรายอย่างเหมาะสมเพียงพอ จากนั้นประธานฯ และผู้บริหารจะตอบข้อซักถามอย่างชัดเจน ตรงประเด็น และให้ความสำ�คัญกับทุกคำ�ถาม อย่างไรก็ตามในการตอบคำ�ถามคณะกรรมการบริษัท ได้ยึดถือความเท่าเทียมของการให้ข้อมูลสารสนเทศเป็นสำ�คัญ แล้วจึงให้ที่ประชุมออกเสียงลงมติใน วาระนั้นๆ สำ�หรับวาระการเลือกตั้งกรรมการ เพื่อส่งเสริมระบบการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ประธานฯ จะดำ�เนินการให้ผู้ถือหุ้นลงมติแต่งตั้งกรรมการเป็น รายบุคคล ทั้งนี้เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิเลือกกรรมการที่ต้องการได้อย่างแท้จริง อนึ่งในการประชุมทุกครั้งจะมีสรุปคะแนนเสียงที่ลงมติในแต่ละวาระที่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสียง และระบุชื่อและจำ�นวนหุ้นของผู้ที่ไม่มี สิทธิออกเสียงในแต่ละวาระ(ถ้ามี) และจดบันทึกรายงานการประชุมอย่างถูกต้องครบถ้วน ซึ่งรวมระยะเวลาที่ใช้ในการประชุมผู้ถือหุ้นแต่ละครั้งประมาณ 1-2 ชั่วโมง ทั้งนี้ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปี 2553 ได้กำ�หนดการประชุมเวลา 14.00 น. โดยเริ่มรับลงทะเบียนเวลา 12.30 น. และเลิก ประชุมประมาณ 15.45 น. การดำ�เนินการหลังการประชุมผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษทั มอบหมายให้เลขานุการบริษทั จัดทำ�รายงานการประชุมให้ครบถ้วน ถูกต้อง โดยประกอบด้วยรายละเอียดในเรือ่ งต่างๆ ดังต่อไปนี้ • รายชื่อกรรมการและกรรมการชุดย่อยที่เข้าร่วมประชุม • แจ้งองค์ประชุมซึง่ ประกอบด้วย จำ�นวนผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง จำ�นวนผูร้ บั มอบฉันทะประชุมแทนผูถ้ อื หุน้ และจำ�นวนผูถ้ อื หุน้ ทีม่ อบ ฉันทะให้กรรมการอิสระเป็นผู้รับมอบฉันทะ • วิธีการลงคะแนนเสียงในแต่ละวาระ และการนับคะแนนเสียงเป็นมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนเริ่มการประชุม และแนวทางการใช้บัตรลงคะแนน • ข้อซักถามทีส่ �ำ คัญของผูถ้ อื หุน้ หรือการเสนอความคิดเห็นในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ในแต่ละวาระและการบันทึกประเด็นคำ�ถาม คำ�ตอบ การชีแ้ จงโดยสรุป ไว้ในรายงานการประชุมเพื่อให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่ได้เข้าประชุมได้รับทราบ • คะแนนเสียงทีล่ งมติในแต่ละวาระทีเ่ ห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสียง และระบุชอ่ื และจำ�นวนหุน้ ของผูท้ ไ่ี ม่มสี ทิ ธิออกเสียงในแต่ละวาระ(ถ้ามี) โดยจัดส่งให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ และคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ภายในกำ�หนด 14 วัน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ โดยไม่จำ�เป็นต้องรอ ให้ถึงการประชุมครั้งต่อไป อีกทั้งมีระบบการจัดเก็บรายงานการประชุมที่ดี ที่สามารถตรวจสอบและอ้างอิงได้ รวมถึงเผยแพร่รายงาน วีดีทัศน์ ภาพ และ เสียงของการประชุมบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ (http://www.gmmgrammy.com) เพื่อให้ผู้ถือหุ้นที่สนใจสามารถรับชมย้อนหลัง การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน คณะกรรมการบริษัท ตระหนักถึงการดูแลให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน และเป็นธรรม แม้ว่าผู้ถือหุ้นแต่ละรายจะถือหุ้นใน จำ�นวนที่ไม่เท่ากัน มีสิทธิออกเสียงไม่เท่ากัน (ตามจำ�นวนหุ้นที่ถือ) บริษัทจะปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่คำ�นึงถึงเพศ อายุ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา ความเชื่อ ความคิดเห็นทางการเมือง หรือความพิการ และแม้ผู้ถือหุ้นจะไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยเหตุไม่สะดวกประการใด ผู้ถือหุ้น ย่อมมีสิทธิมอบฉันทะให้บุคคลอื่นเข้าร่วมประชุมแทนได้ รวมทั้งคำ�นึงถึงข้อพึงปฏิบัติที่ดีในการจัดประชุมผู้ถือหุ้น ตามแนวทางที่สำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยประกาศกำ�หนด โดยในนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัท กำ�หนดหลักปฏิบัติไว้ดังนี้ 1. ไม่ละเมิดสิทธิตามกฎหมายของผู้ถือหุ้น 2. ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 3. ไม่จ�ำ กัดโอกาสการศึกษาข้อมูลของบริษทั เช่น ในหนังสือเชิญประชุมผูถ้ อื หุน้ จะระบุวนั เวลา และสถานทีป่ ระชุม สรุปความเห็นของคณะกรรมการ บริษัท พร้อมคำ�ชี้แจงหรือเหตุผล ความจำ�เป็น และผลกระทบด้านบวกและลบที่ครบถ้วนเพียงพอ ในแต่ละวาระอย่างชัดเจน 069


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

4. ไม่จำ�กัดโอกาสการเข้าร่วมประชุม โดยอำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้นทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน และมีการกำ�หนดให้มีการจัดประชุมใน วัน เวลา และสถานที่ประชุม โดยส่งหนังสือเชิญประชุมล่วงหน้า และระบุเอกสารที่ต้องใช้แสดงตัวในการเข้าร่วมประชุม และแนบหนังสือมอบฉันทะที่มี ผู้รับมอบฉันทะอย่างน้อย 1 คน เป็นกรรมการอิสระ แทนผู้ถือหุ้นที่ไม่สะดวกเข้าประชุม 5. วิธีการเข้าประชุมผู้ถือหุ้นไม่ยุ่งยากหรือมีค่าใช้จ่ายมากเกินไป 6. ผู้ถือหุ้นมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเสียงตามลำ�ดับวาระที่เสนอ โดยมีการแจ้งวิธีการลงคะแนนและนับคะแนนให้ผู้ถือหุ้นทราบก่อนลงคะแนน และ สำ�หรับวาระแต่งตั้งหรือถอดถอนให้ลงคะแนนเสียงกรรมการเป็นรายคน โดยไม่เพิ่มเติมวาระอื่นๆที่ไม่ได้ระบุไว้ในหนังสือเชิญประชุม เพื่อขอ อนุมัติในที่ประชุม 7. มีการจัดสรรเวลาในการประชุมอย่างเหมาะสม โดยประธานที่ประชุมมีหน้าที่จัดสรรเวลาให้อย่างเหมาะสม 8. เปิดโอกาสและส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นซักถามและแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมอย่างเท่าเทียมกัน 9. ในการประชุมผู้ถือหุ้นให้ กรรมการทุกคนโดยเฉพาะประธานกรรมการ และประธานคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ เข้าร่วมประชุม เพื่อตอบคำ�ถามต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นทุกคราวไป ยกเว้นมีเหตุจำ�เป็น 10. จัดทำ�รายงานการประชุมให้มีสาระสำ�คัญเกี่ยวกับ รายชื่อกรรมการและกรรมการชุดย่อยที่เข้าร่วมประชุม ประเด็นข้อซักถาม การชี้แจงโดยสรุป คะแนนเสียงทีล่ งมติในแต่ละวาระทีเ่ ห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสียง และระบุชอ่ื และจำ�นวนหุน้ ของผูท้ ไ่ี ม่มสี ทิ ธิออกเสียงในแต่ละวาระ(ถ้ามี) การเสนอวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นล่วงหน้าและเสนอชื่อบุคคลเพื่อดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ได้มอบหมายให้เลขานุการบริษัทฯ ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นรับทราบ ผ่านทางช่องทางตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและเว็บไซต์ นักลงทุนสัมพันธ์ (http://www.gmmgrammy.com) ให้ผู้ถือหุ้นสามารถเสนอเพิ่มวาระการประชุม (แบบเสนอวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นล่วงหน้า), รายชื่อบุคคลเพื่อเข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ(แบบเสนอชื่อเพื่อดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท) และส่งคำ�ถามเป็นการล่วงหน้าได้ สำ�หรับการประชุมผูถ้ อื หุน้ ปี 2553 บริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดช่วงเวลารับเรือ่ งระหว่างวันที่ 18 ธันวาคม 2552 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2553 โดยผ่านช่องทางโดยตรง กับเลขานุการบริษทั ฯ หรือหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ หรือผ่านทางเว็บไซต์บริษทั ฯ ซึง่ ได้เปิดเผยหลักเกณฑ์ในการพิจารณาบนเว็บไซต์นกั ลงทุนสัมพันธ์ ของบริษัท ทั้งนี้เลขานุการบริษัทฯ จะเสนอชื่อบุคคลตามที่ผู้ถือหุ้นเสนอให้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนเพื่อพิจารณาคุณสมบัติ และ นำ�เสนอคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบอีกครั้งหนึ่ง ทั้งนี้หากคณะกรรมการบริษัท ให้ความเห็นชอบและเห็นว่าเหมาะสม บริษัทฯ จะบรรจุวาระและชื่อบุคคลดังกล่าวในวาระการประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป สำ�หรับบุคคลทีไ่ ม่ผา่ นความเห็นชอบจากคณะกรรมการ บริษทั ฯ จะแจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบพร้อมทัง้ ชีแ้ จงเหตุผลผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็ปไซต์ของบริษัท (http://www.gmmgrammy.com) ภายใต้หัวข้อ “ข้อมูลนักลงทุน” รวมทั้งแจ้งที่ประชุมผู้ถือหุ้นอีกครั้งในวันประชุม โดยระหว่างวันที่ 18 ธันวาคม 2552 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2553 ไม่มผี ถู้ อื หุน้ ท่านใดเสนอวาระการประชุม หรือเสนอรายชือ่ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมใน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ มายังบริษัทฯ การมอบฉันทะให้ผู้อื่นเข้าร่วมประชุมแทน เพือ่ รักษาสิทธิส�ำ หรับผูถ้ อื หุน้ ทีไ่ ม่สะดวกเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญผูถ้ อื หุน้ ด้วยตนเอง คณะกรรมการบริษทั เสนอรายชือ่ ของกรรมการอิสระอย่างน้อย จำ�นวน 1 ท่าน เพือ่ เป็นทางเลือกในการมอบฉันทะให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ในหนังสือมอบฉันทะเพือ่ ใช้สทิ ธิในการเข้าร่วมประชุม และออกเสียงลงคะแนนในแต่วาระ โดยในการประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2553 คณะกรรมการบริษัท เสนอรายชื่อของกรรมการอิสระจำ�นวน 4 ท่าน และมีผู้ถือหุ้นจำ�นวน 15 ราย จำ�นวนหุ้นที่ถือรวม 13,449,573 หุ้น มอบฉันทะให้นายไชย ณ ศิลวันต์ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ เป็นตัวแทนผู้ถือหุ้น ในการเข้าร่วมประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทนผู้ถือหุ้น การเข้าถึงข้อมูลของบริษัท บริษัทฯไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป็นพิเศษ ผู้ถือหุ้นทุกท่านมีสิทธิเข้าถึงข้อมูลของบริษัทฯ ที่สามารถเปิดเผยอย่างเท่าเทียมกัน รวม ทั้งจะได้รับการปฏิบัติอย่างเหมาะสม และได้รับข้อมูลเพียงพอได้ผ่านช่องทางติดต่อต่างๆ ดังนี้
 โทรศัพท์ : 0-2669-9000 ทางไปรษณีย์ : บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) เลขที่ 50 อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส ชั้น 40 ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 Website : http://www.gmmgrammy.com สำ�นักเลขานุการบริษัท : cs@gmmgrammy.com หรือ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) เลขที่ 50 อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส ชั้น 40 ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ : ir@gmmgrammy.com โทร 0-2669-9952 และ 02-669-9734 โทรสาร 0-2669-9737 การติดต่อกับคณะกรรมการตรวจสอบ : auditcommittee@gmmgrammy.com หรือ คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) เลขที่ 50 อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 6. บทบาทต่อผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทได้ให้ความสำ�คัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นผู้มีส่วนได้เสียภายในหรือผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ซึ่งรวมถึงผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า คูค่ า้ และ/หรือเจ้าหนี้ คูแ่ ข่งทางการค้า สังคมส่วนรวมและสิง่ แวดล้อม โดยบริษทั ได้ก�ำ หนดแนวทางปฏิบตั สิ �ำ หรับกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ไว้ใน คู่มือจริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติในการทำ�งานของกลุ่มบริษัท เพื่อให้เกิดความโปร่งใส และเป็นธรรมต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ โดยที่คู่มือจริยธรรม ธุรกิจฯ ได้ผ่านมติการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2548 พร้อมทั้งสื่อสารให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนเพื่อ รับทราบทำ�ความเข้าใจและยึดถือปฏิบัติอย่างทั่วถึงแล้ว โดยเผยแพร่ให้ทราบทั่วกันผ่านเว็บไซต์ภายในองค์กร (Intranet) และบนเว็บไซต์ของบริษัท (http://www.gmmgrammy.com) โดยสรุปข้อพึงปฏิบัติที่สำ�คัญได้ดังนี้ 070

ต่อผู้ถือหุ้น บริษัทฯ มุ่งมั่นในการเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้น ด้วยการบริหารงานด้วยความรู้ ความสามารถ ความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส และเป็นธรรม เพื่อ ให้บริษัทฯ มีความเจริญก้าวหน้า มั่นคง และให้ความสำ�คัญกับการสร้างมูลค่าของบริษัทในระยะยาว ผู้ถือหุ้นได้รับตอบแทนที่ยั่งยืนจากการทำ�งาน ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนรายงานสถานะและผลการดำ�เนินงาน รวมทั้งข้อมูลสารสนเทศของบริษัทฯ ให้ผู้ถือหุ้นทุกรายทราบอย่าง สม่ำ�เสมอ โปร่งใส ทันเวลา เชื่อถือได้ และครบถ้วนตามความเป็นจริง โดยมีข้อมูลสนับสนุนที่มีเหตุผลอย่างเพียงพอ ต่อลูกค้า บริษัทฯ เน้นการดำ�เนินธุรกิจอย่างถูกต้อง เป็นธรรม และสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าด้วยสินค้าและ/หรือบริการที่ดีมีคุณภาพ ในราคาที่เหมาะสม โดยพนักงานที่มีคุณภาพ ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย รวมถึงให้ความสำ�คัญในการรักษาสารสนเทศที่เป็นความลับ ของลูกค้าอย่างจริงจังและสม่ำ�เสมอ เว้นแต่เป็นข้อมูลที่ต้องเปิดเผยต่อบุคคลภายนอกตามกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และจัดระบบการบริการลูกค้า รวมถึงเปิดโอกาสให้ลูกค้าสามารถร้องเรียน พร้อมทั้งดำ�เนินการแก้ไข และ / หรือตอบสนองความต้องการของลูกค้าตามความเหมาะสม


ต่อคู่ค้า และ / หรือเจ้าหนี้ บริษัทมีนโยบายที่ปฏิบัติต่อเจ้าหนี้อย่างเสมอภาค โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทและตั้งอยู่บนพื้นฐานของการได้รับผลตอบแทนที่เป็น ธรรมทั้งสองฝ่าย โดยบริษัทยึดมั่นที่จะรักษาและปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อตกลงต่าง ๆ ที่มีต่อคู่ค้า และ/หรือ เจ้าหนี้ไว้อย่างเคร่งครัด ทั้งนี้ผู้บริหารและ พนักงานทุกคนจะไม่เรียก รับ หรือ ยอมรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด ที่ไม่สุจริต และในกรณีที่มีข้อมูลว่ามีการเรียก รับ หรือยอมรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด ที่ไม่สุจริตเกิดขึ้น บริษัทจะเปิดเผยข้อมูลต่อ คู่ค้า และ/หรือเจ้าหนี้เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหา โดยไม่ชักช้า ต่อคู่แข่งทางการค้า บริษัทสนับสนุนและส่งเสริมนโยบายการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรี โดยประพฤติปฏิบัติต่อคู่แข่งทางการค้า ภายใต้กรอบกติกามารยาทของ การแข่งขันที่ดี และไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็นความลับของคู่แข่งทางการค้า ด้วยวิธีที่ฉ้อฉล ไม่สุจริต หรือไม่เหมาะสม หรือขัดต่อข้อกฎหมายใดๆ รวมทั้งไม่กระทำ�โดยเจตนาเพื่อทำ�ลายชื่อเสียงของคู่แข่งทางการค้าด้วยการกล่าวหาในทางเสื่อมเสีย โดยปราศจากซึ่งข้อมูลอันอาจกล่าวอ้างได้ ต่อพนักงาน บริษัทฯ เน้นการให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาความรู้ ความสามารถและการมีจริยธรรมของพนักงานทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ให้ผลตอบแทนและ สวัสดิการแก่พนักงานอย่างเหมาะสม เป็นธรรม ตามความรู้ ความสามารถ และผลการปฏิบัติงานของพนักงานแต่ละคน ปฏิบัติต่อพนักงานตาม ข้อบังคับของกฎหมายแรงงานและสวัสดิการของพนักงาน บนพื้นฐานของความเหมาะสมและเป็นธรรมโดยไม่เลือกปฏิบัติ และปฏิบัติต่อพนักงานบน พื้นฐานของศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ให้ความเคารพต่อสิทธิหน้าที่ส่วนบุคคล และส่งเสริมให้พนักงานปฏิบัติงานภายใต้วัฒนธรรม และค่านิยม ที่ดีร่วมกัน ตลอดจนมีความสามัคคีภายในองค์กร ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของพนักงานในการกำ�หนดทิศทางการทำ�งาน และการแก้ไขปัญหาของ บริษทั นอกจากนีบ้ ริษทั ได้จดั ให้มกี ารดูแลรักษาสภาพแวดล้อมทีด่ ใี นการทำ�งานเพือ่ สุขอนามัย และมีความปลอดภัยต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของพนักงาน ต่อสังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม บริษทั ตระหนักถึงความสำ�คัญในการช่วยเหลือสังคม โดยบริษทั จะสร้างสรรค์ สนับสนุน และส่งเสริมกิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ชุมชน สังคมส่วนรวม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมและประเพณี อันดีงาม ปลูกฝังจิตสำ�นึกความรับผิดชอบต่อชุมชนสังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม ให้เกิดขึ้นในหมู่พนักงาน ทุกระดับ บริษัทยึดมั่นที่จะไม่กระทำ�การใดๆ ที่จะมีผลเสียหายต่อชื่อเสียงของประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และไม่ให้ความร่วมมือ หรือสนับสนุนบุคคลหรือองค์กรใดๆทีท่ �ำ ธุรกิจผิดกฎหมาย หรือเป็นภัยต่อสังคมและความมัน่ คงของประเทศ และจะปฏิบตั หิ รือควบคุมให้มกี ารปฏิบตั ิ อย่างเคร่งครัดตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้บริษัทจัดให้มีช่องทางให้แก่ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆในการแจ้งข้อมูลต่างๆผ่านทางไปรษณีย์ หรือทางเว็บไซต์ของบริษัท หรือที่อี-เมล์ auditcommittee@gmmgrammy.com ไปยังคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเป็นกรรมการอิสระ ในเรื่องเกี่ยวกับข้อร้องเรียน การกระทำ� ผิดกฎหมายหรือ คูม่ อื จริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบตั ใิ นการทำ�งานของกลุม่ บริษทั หรือข้อสงสัยในรายงานทางการเงิน หรือระบบการควบคุมภายใน เพือ่ ดำ�เนินการตามขัน้ ตอนและนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ต่อไป ทัง้ นีส้ ามารถติดต่อกับคณะกรรมการตรวจสอบได้ตง้ั แต่เดือนมกราคม ปี 2551 เป็นต้นมา โดยเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นผู้รับผิดชอบในการสรุปประเด็นต่างๆ และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อดำ�เนิน ตามขั้นตอนต่อไป 7. นโยบายเกี่ยวกับการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงความสำ�คัญในการดำ�เนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส และคำ�นึงถึงผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย ดังนัน้ จึงกำ�หนดไว้ใน นโยบาย การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ของบริษทั ไว้อย่างชัดเจน โดยให้การทำ�รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทุกรายการของบริษทั และบริษทั ย่อยอย่างน้อยต้องผ่านความเห็นชอบ จากฝ่ายบริหารของบริษทั และหากมีการตกลงเข้าทำ�รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันและเข้าข่ายเป็นรายการตามทีก่ �ำ หนดในข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์วา่ ด้วย การเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบตั กิ ารของบริษทั จดทะเบียนในรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และ/หรือในรายการเกีย่ วกับการได้มาหรือจำ�หน่ายไป ซึง่ สินทรัพย์ของ บริษทั จดทะเบียน บริษทั จะปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึง่ กำ�หนดให้ตอ้ งผ่านความเห็นชอบและ/หรือผ่านการอนุมตั จิ ากฝ่ายบริหาร และ/หรือที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี โดยบุคคลที่เกี่ยวโยงกันไม่มีสิทธิออกเสียง ในการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริษัทจะมีการดูแลอย่างรอบคอบเมื่อเกิดรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยกำ�หนดนโยบายและขั้นตอนการอนุมัติรายการที่เกี่ยวโยงกันไว้เป็นลายลักษณ์อักษรไว้ใน ระเบียบอำ�นาจอนุมัติและดำ�เนินการ และ/หรือขออนุมัติ จากผู้ถือหุ้นตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ รวมทั้งมีการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ โดยราคา และเงื่อนไขเสมือนทำ�รายการกับ บุคคลภายนอก (Arm’s Length Basis) โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เกี่ยวกับรายการที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และรายการที่เกี่ยวโยงกันอย่างสม่ำ�เสมอ บริษัทและบริษัทย่อยไม่มีนโยบายที่จะทำ�รายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ยกเว้นในกรณีที่บริษัทเห็นว่าจะได้รับผลตอบแทนสูงสุดซึ่งเป็นไปในราคา และเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไปที่ไม่แตกต่างจากบุคคลภายนอก ซึ่งบริษัทจะกำ�หนดให้ผ่านความเห็นชอบจากฝ่ายบริหาร และ/หรือคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้วแต่กรณี ในการทำ�รายการระหว่างกันในลักษณะที่เป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน คณะกรรมการบริษัท ได้มีการกำ�หนดแนวทางในการทำ�รายการ ระหว่างกันในลักษณะทีเ่ ป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน ไว้ใน ระเบียบอำ�นาจอนุมตั แิ ละดำ�เนินการ ทีผ่ า่ นการอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ไว้ดงั นี้ 1. ในการทำ�รายการทีเ่ ป็นการให้ หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน แก่บคุ คลทีเ่ กีย่ วโยงกันทีเ่ ป็นบุคคลธรรมดา หรือนิตบิ คุ คลทีบ่ ริษทั หรือบริษทั ย่อย ถือหุ้นในสัดส่วนที่น้อยกว่าสัดส่วนที่บุคคลที่เกี่ยวโยงกันอื่นถือหุ้นในบริษัทนั้น ให้เป็นอำ�นาจอนุมัติและดำ�เนินการของคณะกรรมการบริษัท 2. รายการระหว่างกันที่เป็นการให้ หรือรับความช่วยเหลือทางการเงินอื่น (นอกเหนือจาก ข้อ 1) ให้เป็นอำ�นาจของประธานกรรมการบริหารร่วม (ภายในวงเงิน 1,000,000 บาท) หรือคณะกรรมการบริษัท นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสำ�คัญในการป้องกันความความขัดแย้งของผลประโยชน์ จึงกำ�หนดไว้มีการจัดทำ�รายงานต่างๆ โดย สรุปได้ดังนี้ 1) การจัดทำ�รายงานเปิดเผยรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กำ�หนดให้ มีการเปิดเผยรายการระหว่างกันที่มีสาระสำ�คัญ โดยแสดงรายละเอียดบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ความสัมพันธ์ ลักษณะ ของรายการ เงื่อนไข นโยบายราคา และมูลค่าของรายการ เหตุผลความจำ�เป็น และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ ไว้ในรายงานสารสนเทศ และ/หรือ แบบแสดงรายการข้อมูล (แบบ 56-1) และรายงานประจำ�ปี (แบบ 56-2) ตามรายละเอียดทีป่ รากฏในหัวข้อ “รายการระหว่างกัน” หน้า 86 2) การจัดทำ�รายงานการการถือหลักทรัพย์ และการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของบริษัท บริษัทกำ�หนดนโยบายให้กรรมการ กรรมการบริหาร และผู้บริหาร (ตามคำ�นิยามของสำ�นักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) รวมถึงคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ รายงานการถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทฯ (GRAMMY) ทุกครั้ง และกำ�หนดให้ฝ่ายบริหารสรุปรายงาน การถือครองหลักทรัพย์ และการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ฯ ต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อรับทราบเป็นประจำ�ทุก 6 เดือน โดย ณวันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการ กรรมการบริหาร และผู้บริหารแต่ละท่าน ตามรายละเอียดที่ปรากฏใน หัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” หน้า 64 ในปี 2553 บริษัทไม่มีการปฏิบัติที่ฝ่าฝืนหรือไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การทำ�รายการระหว่างกันที่กำ�หนดโดยตลาดหลักทรัพย์ฯ และสำ�นักงานคณะ กรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 3) การจัดทำ�รายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ให้กรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง (ตามคำ�นิยามของสำ�นักงาน ก.ล.ต.และตลาดหลักทรัพย์ฯ) ต้องจัดทำ�รายงานการมีส่วนได้เสีย ของตนและจัดส่งให้กบั บริษทั และให้เลขานุการบริษทั ทำ�การสรุปรายงานการมีสว่ นได้เสียของกรรมการ ผูบ้ ริหารและบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องของบริษทั รวมถึง รายการที่มีการเปลี่ยนแปลง ให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทรับทราบ เป็นประจำ�ทุก 6 เดือน 071


8. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทให้ความสำ�คัญต่อการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท รายงานสถานะและผลการดำ�เนินงานของบริษัท รวมทั้งข้อมูลสารสนเทศให้ผู้ถือหุ้นทุก รายทราบในช่องทางต่างๆ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เชือ่ ถือได้ สม่�ำ เสมอ ทัว่ ถึง และทันเวลาโดยมีขอ้ มูลสนับสนุนทีม่ เี หตุผลอย่างเพียงพอ ข้อมูลทีส่ �ำ คัญ ได้แก่ รายงานข้อมูลทางการเงิน ผลการดำ�เนินงาน โครงสร้างการถือหุ้น ข้อมูลการถือหุ้นของกรรมการ การเปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการระหว่างกัน การรายงานการซื้อ-ขายหุ้น ถือครองหลักทรัพย์ของบริษัท การกำ�กับดูแลกิจการของบริษัท และข้อมูลทั่วไปที่อาจมีผลกระทบต่อกระบวนการตัดสินใจ ของผู้ลงทุน และผู้ที่มีส่วนได้เสียของบริษัท เป็นไปตามแนวทางหรือกฎเกณฑ์ที่กำ�หนดโดยสำ�นักงานกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งกฎหมาย มาตรฐานและข้อปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการดำ�เนินธุรกิจและการเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน โดยผ่าน ช่องทางต่างๆ เช่น • เว็บไซต์ของบริษัท • การจัดประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ (Analyst Meeting) • การแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน (Press Conference) /การจัดทำ�จดหมายข่าวที่นำ�เสนอถึงฐานะทางการเงินของบริษัท ใน รายงานประจำ�ปี ของบริษัท มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน ชัดเจน และเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์สำ�หรับผู้ ถือหุ้นในการพิจารณาตัดสินใจ เช่น โครงสร้างผู้ถือหุ้น ข้อมูลการถือหุ้นของกรรมการและผู้บริหาร ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน ลักษณะการประกอบธุรกิจและภาวะการแข่งขัน ปัจจัยความเสี่ยงในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท ประวัติของคณะกรรมการบริษัท (ทั้งกรรมการที่เป็นผู้บริหาร และกรรมการอิสระ) หลักเกณฑ์การจ่าย ค่าตอบแทนกรรมการ นโยบายและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูง การเปิดเผยค่าตอบแทนกรรมการเป็นรายบุคคล การเปิดเผย ข้อมูลการเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละท่าน และการเปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการระหว่างกัน เป็นต้น นอกจากนี้ มีการเปิดเผยข้อมูลทีท่ นั เหตุการณ์ ทีผ่ สู้ นใจสามารถเข้าถึงได้งา่ ย ใน เว็บไซต์ของบริษทั (http://www.gmmgrammy.com) ทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ โดยนำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับ ลักษณะการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท งบการเงินของบริษัท เอกสารข่าว (Press Release) ของบริษัท โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัท โครงสร้างองค์กร โครงสร้างกลุ่มธุรกิจ ข้อมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร ข้อมูลด้านนักลงทุนสัมพันธ์ รายงานประจำ�ปี (3 ปีย้อนหลัง) และ แบบ 56-1 (5 ปีย้อนหลัง) ที่สามารถดาวน์โหลดได้ และหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบที่สามารถ ดาวน์โหลดได้ รวมทั้งช่องทางในการการติดต่อฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ 9. การรวมหรือแยกตำ�แหน่ง บริษัทมีการแบ่งแยกอำ�นาจหน้าที่ โดยได้กำ�หนดอำ�นาจอนุมัติและดำ�เนินการของบริษัทและบริษัทย่อยไว้อย่างชัดเจนตามประเภทของธุรกรรม เพื่อ กระจายอำ�นาจ หน้าที่ในการตัดสินใจและสั่งการ ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และเป็นแนวทางให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงาน โดยได้จดั แบ่งไว้เป็นหมวดหมูอ่ นั ได้แก่ การบริหาร การบริหารบุคลากร การลงทุน การเงิน การผลิต และจัดซือ้ สินค้า ทรัพย์สนิ ถาวร และครุภณ ั ฑ์ ค่าใช้จา่ ย การอนุมัติรายการระหว่างกัน และระเบียบการลงนามสั่งจ่ายบัญชีธนาคาร ทั้งนี้การกำ�หนดอำ�นาจอนุมัติและดำ�เนินการให้แก่ผู้มีอำ�นาจนี้จะต้องไม่ขัดต่อ กฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และประกาศข้อกำ�หนดของสำ�นักงานกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพพย์ (กลต.) และของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) โดยบริษัทฯ ได้มีการทบทวนอย่างสม่ำ�เสมอเพื่อให้มั่นใจว่า ระเบียบฯ ยังมีความเหมาะสมและครอบคลุม กิจกรรมต่างๆ ของบริษัทฯ และ/หรือสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในปี 2553 บริษัทฯ ได้ทบทวนและปรับปรุง ระเบียบอำ�นาจอนุมัติและดำ�เนินการของบริษัท เพื่อให้เกิดความเหมาะสมยิ่งขึ้น และได้รับการ อนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2553 โดยบริษัทฯ ได้เผยแพร่ ระเบียบอำ�นาจอนุมัติและดำ�เนินการของบริษัท ฉบับที่ 1/2553 ให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อรับทราบและถือปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัท ส่งเสริมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยคณะกรรมการบริษัทกำ�หนดให้ประธานกรรมการเป็นคนละคนกับประธาน กรรมการบริหารร่วม โดยกำ�หนดการแบ่งแยกอำ�นาจหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน โดยการอนุมัติการดำ�เนินการต่างๆ เป็นไปตาม ระเบียบอำ�นาจอนุมัติและ ดำ�เนินการ ที่กำ�หนดขึ้น 10. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนกรรมการและกรรมการชุดย่อย: คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ได้กำ�หนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการกำ�หนดค่าตอบแทนของกรรมการและกรรมการชุดย่อย โดยได้กลั่นกรองและพิจารณาอย่างละเอียดถึงความเหมาะสมกับภาระหน้าที่ ขอบเขตของบทบาทและความรับผิดชอบ ความสมเหตุสมผลกับประโยชน์ ที่ได้รับจากกรรมการ รวมถึงความเหมาะสมกับประเภทธุรกิจ และการขยายตัวทางธุรกิจของบริษัท โดยได้เปรียบเทียบกับค่าตอบแทนของบริษัทอื่นที่อยู่ ในกลุม่ อุตสาหกรรมเดียวกัน เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั และเสนอขออนุมตั ติ อ่ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นประจำ�ทุกปี โดยนำ�เสนอนโยบายและหลักเกณฑ์ การให้ค่าตอบแทนและจำ�นวนเงินค่าตอบแทน สำ�หรับกรรมการแต่ละตำ�แหน่ง เพื่อประกอบการพิจารณาของผู้ถือหุ้นด้วย ค่าตอบแทนของกรรมการ: ค่าตอบแทนของกรรมการเป็นไปตามมติทไ่ี ด้รบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ โดยกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการประจำ�ปี 2553 ไม่เกินอัตราร้อยละ 1 ของกำ�ไรสุทธิของบริษทั ทัง้ นีว้ งเงินไม่เกิน 6,000,000 บาท โดยให้ขน้ึ อยูก่ บั ผลการดำ�เนินงานของบริษทั ในปี 2553 ซึง่ เท่ากับวงเงินค่าตอบแทนในปี 2552 และ ประกอบ ด้วย 2 ส่วน ดังนี้ 1) ค่าเบี้ยประชุมกรรมการ (จ่ายเฉพาะกรรมการบริษัท ที่เข้าร่วมประชุม) • เบี้ยประชุมสำ�หรับประธานกรรมการบริษัทและกรรมการอิสระ จ่ายครั้งละ 13,000 บาท/คน/ครั้ง • เบี้ยประชุมสำ�หรับกรรมการบริษัท จ่ายครั้งละ 3,000 บาท/คน/ครั้ง 2) ค่าบำ�เหน็จประจำ�ปี (จ่ายครั้งเดียว) มีหลักเกณฑ์ในการจัดสรรเหมือนกับปี 2552 ดังนี้ • ค่าบำ�เหน็จประจำ�ปี 2553 สำ�หรับกรรมการบริษัททั้งชุด หักด้วยจำ�นวนค่าเบี้ยประชุมที่จ่ายในปีนั้น และคงเหลือเป็นจำ�นวนเงินสำ�หรับ จ่ายค่าบำ�เหน็จประจำ�ปี • ในการจัดสรรค่าบำ�เหน็จประจำ�ปี ได้พจิ ารณาถึงจำ�นวนครัง้ ทีก่ รรมการบริษทั เข้าร่วมประชุม โดยจัดสรรให้ประธานกรรมการบริษทั คิดเป็น 2 เท่า ของจำ�นวนครั้งที่เข้าประชุมคณะกรรมการบริษัท ค่าตอบแทนของกรรมการตรวจสอบ: ค่าตอบแทนของกรรมการตรวจสอบเป็นไปตามมติที่ได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และได้เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อทราบด้วย โดยจัดสรรให้ประธานกรรมการตรวจสอบ 200,000 บาท และจัดสรรให้กรรมการตรวจสอบ 3 ท่านอีกท่านละ 150,000 บาท สำ�หรับคณะกรรมการชุดย่อยอื่น ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และ คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ ยังไม่มีการกำ�หนดค่าตอบแทน ค่าตอบแทนผู้บริหาร: ค่าตอบแทนผูบ้ ริหารเป็นไปตามหลักการและนโยบายทีค่ ณะกรรมการบริษทั กำ�หนด ซึง่ เชือ่ มโยงกับผลการดำ�เนินงานของบริษทั และผลการปฏิบตั งิ าน ของผู้บริหารแต่ละท่าน โดยคณะกรรมการบริษัทจะเป็นผู้พิจารณาอนุมัติค่าตอบแทนดังกล่าว โดยรายละเอียดค่าตอบแทนต่างๆ ของกรรมการ กรรมการตรวจสอบ และผูบ้ ริหาร เป็นรายบุคคล สำ�หรับปี 2553 ปรากฏอยูใ่ นหัวข้อ “ค่าตอบแทน กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร และผู้บริหารของบริษัท” หน้า 65

072


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

11. คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษัท ได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย ซึ่งประกอบด้วย กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ และผู้บริหาร ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ทเ่ี หมาะสมในการเป็นคณะกรรมการชุดย่อย เพือ่ ทำ�หน้าทีพ่ เิ ศษในพิจารณากลัน่ กรองงานด้านต่างๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้มคี วามถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม ก่อนนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ เห็นชอบ รับทราบหรือรับรองแล้วแต่กรณี ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมและสนับสนุน ให้การดำ�เนินงานโดยรวมของบริษัทฯ บรรลุตามวัตถุประสงค์และสอดคล้องกับหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัท ได้กำ�หนด คุณสมบัติ องค์ประกอบหน้าที่ความรับผิดชอบ และ/หรือวาระการดำ�รงตำ�แหน่งของคณะกรรมการชุดย่อยนั้นๆ ไว้อย่างชัดเจน และมีการทบทวนเพื่อให้ เกิดความเหมาะสมอย่างสม่ำ�เสมอ นอกจากนี้ ได้กำ�หนดให้คณะกรรมการชุดย่อยมีการรายงานผลการปฏิบัติงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท อย่างสม่ำ�เสมอ รวมถึงการรายงาน การปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบในรายงานประจำ�ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีคณะกรรมการชุดย่อยจำ�นวน 5 คณะ ซึ่งประกอบด้วย 1. คณะกรรมการตรวจสอบ 2. คณะกรรมการบริหาร 3. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 4. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 5. คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (กลุ่มบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่จำ�กัด (มหาชน)) ได้รับ การจัดตั้งครั้งแรก เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2542 ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด ประกอบด้วยบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิ ที่เป็น กรรมการอิสระทัง้ หมดของบริษทั และมีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตามตามแนวทางทีต่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ก�ำ หนด ทัง้ นีอ้ ย่างน้อย 1 ท่าน ต้องมีความรูค้ วามเข้าใจ หรือ มีประสบการณ์ทางด้านบัญชีหรือการเงิน โดยมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง คราวละ 3 ปี และมีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบรับผิดชอบในการสอบทานรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ สอบทานความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในและประสานงาน กับคณะกรรมการบริหารเสีย่ งเกีย่ วกับความเสีย่ งทีส่ �ำ คัญ สอบทานการปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนด กฎหมาย นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการและระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งและกำ�หนดค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ สอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ให้มคี วามถูกต้อง ครบถ้วน และโปร่งใส และพิจารณาอนุมตั แิ ผนงาน ผลการปฏิบตั งิ าน งบประมาณ และอัตรากำ�ลังของฝ่ายตรวจสอบภายใน โดยมีการรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อเสนอแนะที่สำ�คัญจากผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการบริษัทอย่างสม่ำ�เสมอ นอกจากนีค้ ณะกรรมการตรวจสอบ สามารถปฏิบตั หิ น้าที่ แสดงความเห็นหรือรายงานผลการปฏิบตั งิ านตามหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัท โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของผู้บริหารหรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องหรือญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว โดยมี กฎบัตร คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee Charter) ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทแล้วเป็นหลัก และมีการเผยแพร่กฎบัตรของ คณะกรรมการตรวจสอบผ่านเว็บไซต์ภายในองค์กร (Intranet) โดยในปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมตามวาระปกติ จำ�นวน 4 ครัง้ และมีการประชุมวาระพิเศษจำ�นวน 1 ครัง้ รวมเป็น 5 ครัง้ ทัง้ นี้ มีรายชือ่ และขอบเขตอำ�นาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทัง้ การเข้าร่วม ประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน ในปี 2553 ตามรายละเอียดที่ปรากฏในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” หน้า 58 นอกจากนีม้ กี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee Self-Assessment) ปะจำ�ปี 2553 ตามรายละเอียด ทีป่ รากฏในหัวข้อ “การประเมินผลงานประจำ�ปีของตนเอง” หน้า 59 รวมทัง้ มีการรายงานผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำ�ปี 2553 ตามรายละเอียดที่ปรากฏใน “รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ” หน้า 05 คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารของบริษทั ได้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยบุคคลผูท้ รงคุณวุฒิ ผูบ้ ริหารระดับสูงทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถ ประสบการณ์ในแต่ละประเภทธุรกิจไม่น้อยกว่า 5 คน เพื่อรับผิดชอบในการ กำ�หนดกลยุทธ์ทางธุรกิจ นโยบาย แผนธุรกิจและงบประมาณของบริษัทฯ รวมทั้งการบริหารงานประจำ�ของบริษัท ตัดสินใจ สั่งการภายใต้ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทและกำ�กับดูแลการ ดำ�เนินงานให้เป็นไปตามนโยบายและทิศทางที่ได้รับมอบหมาย และรายงานผลการปฏิบัติงานต่อคณะกรรมการบริษัทอย่างสม่ำ�เสมอ โดยในปี 2553 มีการประชุมคณะกรรมการบริหาร มีการประชุมทั้งสิ้น 12 ครั้ง (ประชุมเดือนละครั้ง) ทั้งนี้มีรายชื่อและขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และ ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท รวมทั้งการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริหารแต่ละท่าน ในปี 2553 ตามรายละเอียด ที่ปรากฏในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” หน้า 59 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้รับการแต่งตั้งจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2552 ประกอบด้วยประธานกรรมการ และกรรมการอิสระทีเ่ ป็นผูท้ รงคุณวุฒิ เพือ่ รับผิดชอบในการกำ�หนดหลักเกณฑ์และนโยบายในการสรรหา พิจารณาคัดเลือก และเสนอบุคคลที่เหมาะสม ให้ดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย รวมทั้งกำ�หนดค่าตอบแทนทั้งที่เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงิน ของกรรมการและกรรมการชุดย่อย เป็นรายบุคคลในแต่ละปี โดยในปี 2553 มีการประชุมคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนทัง้ สิน้ 3 ครัง้ ทัง้ นีม้ รี ายชือ่ และขอบเขตอำ�นาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนแต่ละท่านในปี 2553 ตามรายละเอียด ที่ปรากฏในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” หน้า 60 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษทั ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญในการพัฒนาระบบบริหารความเสีย่ งทีเ่ ป็นระบบขึน้ ภายในองค์กรซึง่ ถือเป็นเครือ่ งมือสำ�คัญประการหนึง่ ของการบริหารจัดการของกลุ่มบริษัทฯ โดยอาศัยหลักการพื้นฐานของการกำ�กับดูแลกิจการขององค์กรที่ดี (Good Corporate Governance) โดยมี การเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ ภารกิจและเป้าหมายขององค์กร และให้มีการกรอบการบริหารจัดการความเสี่ยงองค์กรตามแนวทางสากล (COSO Enterprise Risk Management Framework) รวมถึงส่งเสริมและผลักดันให้มกี ารบริหารความเสีย่ งทัว่ ทัง้ องค์กรและปลูกฝังให้เป็นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรมของกลุม่ บริษทั ฯ จึงได้มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ครัง้ แรกจากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 1 /2548 เมือ่ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2548 และมีการทบทวน แต่งตัง้ เพิม่ เติมตามลำ�ดับ เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึง่ ประกอบด้วย กรรมการ และผูบ้ ริหารระดับสูง ทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในอันที่จะดำ�เนินการให้บรรลุตามวัตุประสงค์ โดยได้รับมอบหมายให้ประสานงานกับผู้บริหารระดับสูงในการผลักดันให้เกิด การบริหารความเสี่ยงขึ้นภายในองค์กร ครอบคลุมความเสี่ยงทางด้านการบริหารและการจัดการ การบริหารเงิน การปฏิบัติการ ความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสิ่งแวดล้อมและความเสี่ยงสำ�คัญอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้งประสานงานกับคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับ ความเสี่ยงที่สำ�คัญ โดยมีขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบตามที่กำ�หนดไว้ใน กฎบัตรของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัท ได้อนุมัติ นโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยง ของกลุ่มบริษัทฯ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 เพื่อเป็น แนวทางในการพัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยงของกลุ่มบริษัท ทั้งนี้มีรายละเอียดในหัวข้อ “นโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยง” หน้า 62 073


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

อนึง่ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งได้มกี ารแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการบริหารความเสีย่ งขึน้ ครัง้ แรกในปี2551 และมีการทบทวนแต่งตัง้ เพิม่ เติมตามลำ�ดับ เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยผู้บริหารจากหน่วยงานหลัก ของบริษัท ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในอันที่จะดำ�เนินการเพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงบรรลุตามวัถุประสงค์ โดยมีการกำ�หนดหน้าที่และความรับผิดของคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงไว้อย่างชัดเจนและให้รายงานผลการปฏิบัติงาน ต่อคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงอย่างสม่ำ�เสมอ รวมทั้งมีการรายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงในรอบปีต่อคณะกรรมการบริษัทและเปิดเผยใน รายงานประจำ�ปี ในปี 2553 มีการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งทัง้ สิน้ 1 ครัง้ ทัง้ นีม้ รี ายชือ่ และขอบเขตอำ�นาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทตามกฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการบริหารความเสี่ยงแต่ละท่าน ในปี 2553 ตาม รายละเอียดหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” หน้า 61-62 โดยคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ได้รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะอนุกรรมการฯ สำ�หรับปี 2553 ต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2554 นอกจากนีค้ ณะกรรมการบริหารความเสีย่ งได้รายงานผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ประจำ�ปี 2553 ต่อคณะกรรมการบริษทั ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 โดยมีรายละเอียดสรุปได้ดังนี้ 1. ให้คำ�แนะนำ�และคำ�ปรึกษากับ คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง (SRC) เกี่ยวกับการพัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้บรรลุตาม นโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยงของกลุ่มบริษัท 2. เห็นชอบปัจจัยความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทฯ ที่จะเปิดเผยในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำ�ปี (แบบ 56-2) สำ�หรับปี 2553 3. พิจารณารับทราบผลการปฏิบัติงานของ คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ประจำ�ปี 2553 4. ทบทวนและแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง เพิ่มเติม 5. อนุมัติแนวทางและแผนงานในการพัฒนา ระบบการบริหารความเสี่ยงของกลุ่มบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) ประจำ�ปี 2554 6. รายงานผลการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประจำ�ปี 2553 ต่อคณะกรรมการบริษัท โดยรวมคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีความเห็นว่า ปัจจัยความเสีย่ งของกลุม่ บริษทั ฯ ทีจ่ ะเปิดเผยในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำ�ปี (แบบ 56-2) สำ�หรับปี 2553 มีความครบถ้วนและเหมาะสม นอกจากนีใ้ นปี 2553 คณะอนุกรรมการบริหารความเสีย่ ง ได้ปฏิบตั ิ หน้าที่อย่างเต็มกำ�ลังความสามารถ อย่างไรก็ตาม เห็นสมควรให้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงเพิ่มเติม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล รวมทั้งมีความเห็นว่า แนวทางและแผนงานในการพัฒนา ระบบการบริหารความเสี่ยงของกลุ่มบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) ประจำ�ปี 2554 มีความเหมาะสม ทัง้ นีเ้ พือ่ ส่งเสริมให้การพัฒนาระบบการบริหารความเสีย่ งของกลุม่ บริษทั บรรลุตามนโยบายและกรอบการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ เพือ่ ส่งเสริมให้กลุม่ บริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) มีการปฏิบตั ติ ามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี (GCG : Good Corporate Governance) มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และเพิ่มความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ซึ่งเป็นการเพิ่มมูลค่า และเป็นการส่งเสริมการเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัทฯ ต่อไป ดังนั้นคณะกรรมการบริษัทเห็นสมควรให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการ และจริยธรรมธุรกิจ ครั้งแรกเมื่อปี 2547 และมีการทบทวนแต่งตั้งตามลำ�ดับ เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งประกอบด้วย ผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารของหน่วยงานหลักของบริษัท ที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในอันที่จะดำ�เนินการให้บรรลุตาม วัถตุประสงค์ โดยมีการกำ�หนดหน้าที่และความรับผิดของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจไว้อย่างชัดเจนและให้รายงานผลการปฏิบัติ งานต่อคณะกรรมการบริษัทอย่างสม่ำ�เสมอ ทัง้ นีม้ รี ายชือ่ และขอบเขตอำ�นาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ตามรายละเอียดทีป่ รากฏในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” หน้า 62-63 โดยในปี 2553 คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ ได้มีการปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย และรายงานผลการปฏิบัติงานต่อ คณะกรรมการบริษัทอย่างสม่ำ�เสมอ 12. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะ มีประสบการณ์ในการดำ�เนินธุรกิจและมีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ ที่ต้องรับผิดชอบเป็นอย่างดี ทำ�ให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัท ส่งเสริมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยคณะกรรมการบริษัทกำ�หนดให้ประธานกรรมการเป็นคนละคนกับประธาน กรรมการบริหารร่วมและกำ�หนดการแบ่งแยกอำ�นาจหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน โดยการอนุมัติการดำ�เนินการต่างๆ เป็นไปตาม ระเบียบอำ�นาจอนุมัติและ ดำ�เนินการ ทีก่ �ำ หนดขึน้ ดังรายละเอียดในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” หน้า 55-57 การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร คณะกรรมการบริษัทจัดให้มีระบบแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริษัทและฝ่ายจัดการที่ชัดเจน กรรมการทุกคนมี ความเป็นอิสระในการแสดงความเห็นต่อการดำ�เนินงานบริษัทฯ โดยไม่ถูกครอบงำ� และรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ของบริษัทฯ ตลอดจนมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต รักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ คณะกรรมการบริษัทได้จัด ให้มจี �ำ นวนกรรมการทีเ่ หมาะสมกับขนาดของกิจการบริษทั โดยโครงสร้างคณะกรรมการบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ประกอบด้วยผูท้ รงคุณวุฒิ 12 ท่านดังนี้ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร จำ�นวน 8 ท่าน กรรมการที่เป็นอิสระ และไม่ได้เป็นผู้บริหาร จำ�นวน 4 ท่าน (คิดเป็นร้อยละ 33.33 ของกรรมการทั้งคณะ) นโยบายการไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทอื่นของกรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ อยู่ระหว่างการทบทวนนโยบายการไปดำ�รงตำ�แหน่งที่ในบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ อื่น ตามข้อแนะนำ�ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ในการประชุมผู้ถือหุ้นประจำ�ปีที่ผ่านมา คณะกรรมการบริษัท ได้เสนอแต่งตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ครบกำ�หนดออกจากตำ�แหน่งตามวาระ โดย กรรมการบริษัทต้องหมุนเวียนออกจากตำ�แหน่งเป็นจำ�นวน 1 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการบริษัททั้งหมด โดยให้กรรมการที่อยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุดเป็น ผูอ้ อกจากตำ�แหน่งก่อน กรรมการซึง่ พ้นจากตำ�แหน่งแล้วอาจได้รบั เลือกกลับเข้ารับตำ�แหน่งอีกก็ได้ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชน และข้อบังคับของบริษัท ข้อ 14 ดังนั้นปัจจุบันบริษัทฯ ยังไม่ได้กำ�หนดจำ�นวนวาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการ และเห็นว่าคณะกรรมการบริษัทเป็น บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถและมีประสบการณ์อันทรงคุณค่าต่อบริษัทฯ สามารถปฏิบัติหน้าและอุทิศเวลาให้กับบริษัทฯ ได้อย่างเต็มความสามารถ อย่างไรก็ตาม ในการเสนอแต่งตั้งกรรมการแต่ละท่านต้องได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจำ�ปี นอกจากนี้ในการไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการที่บริษัทอื่นของประธานกรรมการบริหารและผู้บริหารระดับสูงของบริษัท ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชน จำ�กัด พ.ศ. 2535 และที่ผ่านมาประธานกรรมการบริหารร่วมและผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ สามารถรับตำ�แหน่งกรรมการที่บริษัทอื่น

074


ในกลุ่มบริษัทได้ตามความจำ�เป็น ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์โดยรวมแก่บริษัทฯ และไม่ทำ�ให้มีผลกระทบต่อหน้าที่และความรับผิดชอบ โดยต้องได้ รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทหรือผู้มีอำ�นาจอนุมัติก่อน การกำ�หนดนโยบายและกำ�กับดูแล คณะกรรมการบริษัท มีบทบาทหน้าที่ในการกำ�หนดนโยบายและกำ�กับดูแลให้การดำ�เนินงานของบริษัทฯ เป็นไปตามหลักจริยธรรมและแนวทาง การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ถูกต้องตามกฎหมายและระเบียบต่างๆ ควบคู่ไปกับการใส่ใจรักษาสังคมและสิ่งเเวดล้อม โดยคณะกรรมการบริษัท ได้มีส่วนร่วม ในการกำ�หนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจของบริษัทฯ นโยบายกำ�กับดูแลกิจการ คู่มือจริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติในการทำ�งาน ของกลุ่มบริษัท นโยบายเกี่ยวกับการป้องกันความขัดแย้งของผลประโยชน์ นโยบายในการพัฒนาบุคลากร และระบบการควบคุมภายใน ทั้งนี้เพื่อเป็น แนวทางให้ฝ่ายจัดการไปกำ�หนดแนวทางปฎิบัติ และระเบียบข้อบังคับต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการ คณะกรรมการบริษัท จัดให้มีการสื่อสารกลยุทธ์ เป้าหมาย วิสัยทัศน์ ภารกิจ นโยบายกำ�กับดูแลกิจการ คู่มือจริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติใน การทำ�งานของกลุ่มบริษัท ให้กับกรรมการ/ผู้บริหาร พนักงาน ได้รับทราบและเข้าใจทั่วทั้งองค์กร ผ่านทางช่องต่างๆ เช่น ผ่านเว็บไซต์ภายในองค์กร (Intranet) และบนเว็บไซต์ของบริษัท (http://www.gmmgrammy.com) ทั้งนี้เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน สามารถใช้เป็นหลักในการ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบ โปร่งใส ซื่อสัตย์ และมีจริยธรรม ทั้งต่อตนเอง องค์กร ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียอื่น นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัท มีการกำ�กับดูแล ติดตามให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน และระบบบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอ และเหมาะสม กับลักษณะธุรกิจของบริษัทฯ กำ�หนดแนวทางในการประเมินผลการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหารและฝ่ายจัดการ ให้เป็นไปตามเป้าหมาย และแผนธุรกิจ ที่กำ�หนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และถูกต้องตามกฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ของหน่วยงานที่กำ�กับดูแล หน่วยงานทางราชการที่ เกี่ยวข้อง รวมทั้งมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้แก่กิจการ โดยในปี 2553 บริษทั ฯ ไม่มกี ารกระทำ�ทีไ่ ม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์และข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน ระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการบริษัทให้ความสำ�คัญต่อระบบการควบคุมภายใน จึงได้จัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่ครอบคลุมทั้งในด้านการเงิน การบริหาร การดำ�เนินงานให้มปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง และมุง่ เน้นให้มกี ารพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ให้เป็นไป ตามแนวทางของ COSO (The Committee of Sponsoring Organization of Treadway Organization) โดยกำ�หนดภาระหน้าที่ อำ�นาจการดำ�เนินการ ของผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหาร ไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน มีการควบคุมดูแลการใช้ทรัพย์สินของบริษัทให้เกิดประโยชน์ และมีการแบ่งแยกหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ติดตามควบคุมและการประเมินผลออกจากกัน เพื่อให้เกิดการถ่วงดุลและตรวจสอบระหว่างกันอย่างเหมาะสม นอกจากนี้บริษัทฯ ยังจัดให้ มีระบบการรายงานทางการเงินเสนอต่อสายงานที่รับผิดชอบ โดยคณะกรรมการบริษัทได้แสดงความเห็นต่อความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ของบริษัทและบริษัทย่อยไว้ในหน้า 97 การตรวจสอบภายใน บริษัทฯ มีฝ่ายตรวจสอบภายในทำ�หน้าที่ตรวจสอบระบบการควบคุมภายในเกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งให้คำ�ปรึกษา เกี่ยวกับการวางระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง การกำ�กับดูแลกิจการ และให้ข้อเสนอแนะอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อคณะกรรมการบริษัท สามารถติดตามการดำ�เนินงานของบริษทั ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมัน่ ใจว่าการปฏิบตั งิ านหลักและกิจกรรมทางการเงินทีส่ �ำ คัญของบริษทั และบริษทั ย่อย ได้ดำ�เนินการอย่างมีประสิทธิภาพตามแนวทางที่กำ�หนดและบรรลุตามนโยบายและวัตถุประสงค์ที่ฝ่ายบริหารได้กำ�หนดไว้ รวมทั้งบริษัทฯ มีการปฏิบัติ ตามกฎหมายและข้อกำ�หนดอื่นที่เกี่ยวข้องกับบริษัท อันจะนำ�ไปสู่การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานในบริษัทฯ สู่ความเป็นเลิศ โดยบริษัทฯ มุ่งผลักดัน ให้ฝ่ายตรวจสอบภายในปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานสากล และใช้กรอบการควบคุมภายในสากลตามแนว COSO Internal Control Integrated Framework ที่เชื่อมโยงกับกรอบการบริหารความเสี่ยงสากลตามแนว COSO Enterprise Risk Management Framework ดังนัน้ เพือ่ ให้ฝา่ ยตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระ สามารถทำ�หน้าทีต่ รวจสอบและถ่วงดุลได้อย่างเต็มที่ คณะกรรมการบริษทั จึงกำ�หนดให้ฝา่ ยตรวจสอบ ภายใน มีสายการรายงานและสายการบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ดำ�เนินการตรวจสอบตามแผนงานตรวจสอบประจำ�ปีที่ได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ และกำ�หนดให้มีการรายงานผลการตรวจสอบและข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการตรวจสอบและประธาน กรรมการบริหารร่วมอย่างทันเวลาและสม่ำ�เสมอ การบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความสำ�คัญกับกระบวนการบริหารความเสี่ยง ที่มีผลกระทบต่อบริษัททั้งจากปัจจัยภายในและภายนอก ให้มีความเสี่ยง ที่เหลืออยู่ในระดับที่ยอมรับได้และเหมาะสมกับสภาวะแวดล้อมต่างๆ ของลักษณะงานหรือกิจกรรมต่างๆ ของแต่ละหน่วยงาน โดยส่งเสริมให้ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับมีส่วนร่วมในกระบวนการดังกล่าว และในปี 2552 คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาอนุมัติกฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กรอบและนโยบายการบริหารความเสี่ยงของบริษัท ตามที่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเสนอ และพิจารณาแต่งตั้งคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง และกำ�หนดขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ทั้งนี้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจะประสานงานกับคณะกรรมการ ตรวจสอบ เกี่ยวกับความเสี่ยงที่สำ�คัญ และรายงานคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับความเสี่ยง และการจัดการความเสี่ยงดังกล่าว รวมทั้งมีการทบทวน นโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยงตามความจำ�เป็น และนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ นโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทได้ตระหนักถึงความสำ�คัญในการพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงที่เป็นระบบขึ้นทั่วทั้งองค์กร ดังนั้นในการประชุมคณะกรรมการ บริษัทครั้งที่ 1/2551 คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัตินโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทฯ ซึ่งมีผลตั้งแต่วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551 และเผยแพร่ผ่าน intranet ของกลุ่มบริษัท เพื่อให้ทุกคนในองค์กรตระหนักถึงความสำ�คัญ โดยสรุปได้ดังนี้ ผู้บริหารและพนักงานจะต้องตระหนักว่าในการดำ�เนินธุรกิจนั้น ไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเผชิญกับความเสี่ยงได้ โดยในการปฏิบัติงานได้มีการคำ�นึง ถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากหน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ตลอดจนความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากปัจจัยภายนอกอื่นๆ ที่จะส่งผลกระทบ ต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงตามลักษณะของการดำ�เนินธุรกิจ ดังนั้นเพื่อให้มีการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็น ระบบจึงจำ�เป็นที่จะต้องกำ�หนดความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) และระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Tolerance) เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการจัด ลำ�ดับความเสี่ยงหลัก และกำ�หนดมาตรการในการบริหารความเสี่ยงที่เบี่ยงเบนไปจากเกณฑ์หรือดัชนีชี้วัดการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำ�หนดไว้ โดยใน การจัดการกับความเสี่ยงจะต้องประเมินความสัมพันธ์ของความเสี่ยง (Risk) และผลตอบแทนที่จะได้รับ (Benefit) โดยเทคนิคและขั้นตอนต่างๆ ในกรอบ การบริหารความเสี่ยง (Risk Management Framework) จะช่วยให้ทราบถึงการระบุและประเมินความเสี่ยงที่มีอยู่และอาจเกิดขึ้นในองค์กร และสามารถ ทำ�การตัดสินใจในแนวทางที่ใช้ในการบริหารความเสี่ยง และการยอมรับความเสี่ยงในลักษณะที่สามารถควบคุมและวัดระดับได้ การบริหารความเสี่ยงเป็นความรับผิดชอบของทุกคน ตั้งแต่คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหาร ผู้บริหาร คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง และ/หรือคณะทำ�งานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพนักงานทุกระดับ ทุกคนมีความรับผิดชอบ ในการทำ�ความเข้าใจหลักการของความเสีย่ งภายใต้ขอบเขตงานทีร่ บั ผิดชอบและมีความรับผิดชอบในการตัดสินใจ เพือ่ บริหารความเสีย่ งนัน้ อย่างเหมาะสม โดยความเสี่ยงหลักที่สำ�คัญต้องถูกระบุและจัดการด้วยวิธีการบริหารความเสี่ยงอย่างครบถ้วน และกระบวนการบริหารความเสี่ยงจะต้องได้รับการพัฒนา 075


อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจว่าการบริหารความเสี่ยงที่มีอยู่สะท้อนให้เห็นแบบอย่างที่ดีในการดำ�เนินธุรกิจ เพิ่มคุณค่าให้แก่องค์กร และสอดคล้องกับ เป้าหมายและภารกิจหลักขององค์กรในแต่ละปี โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้มีบทบาทสำ�คัญในการผลักดันให้เกิด การบริหารความเสี่ยงขึ้นภายในองค์กร ทั้งนี้ต้องมีการสอบทานและปรับปรุงนโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยงอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมขององค์กรที่มี การเปลี่ยนแปลงไป โดยการเปลี่ยนแปลงใดๆต่อนโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยงจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการบริษัท ตามลำ�ดับ การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการใหม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย บริษัทฯ ได้ส่งเสริมและ อำ�นวยความสะดวกให้มีการฝึกอบรมและให้ความรู้แก่กรรมการใหม่ ทั้งในด้านการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทฯ และแนวทางการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ โดยคณะกรรมการบริษัท ได้มอบให้เลขานุการบริษัทฯ นำ�เสนอข้อมูลและบรรยายเกี่ยวกับธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น โครงสร้างทุน ผู้ถือหุ้น ผลการดำ�เนินงาน รวมทั้งกฎหมาย กฎเกณฑ์ต่างๆ ซึ่งเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์สำ�หรับการเป็นกรรมการ เช่น • ข้อบังคับบริษัท • คู่มือกรรมการบริษัทจดทะเบียน • ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท และข้อพึงปฏิบัติที่ดีสำ�หรับกรรมการบริษัท (สรุป บจ/ร 26-00) • กฎหมายที่ควรรู้เกี่ยวกับกรรมการบริษัท ซึ่งได้แก่ พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัดพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เป็นต้น • หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี สำ�หรับบริษัทจดทะเบียน • นโยบายเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการของกลุ่มบริษัท • คู่มือจริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติในการทำ�งานของกลุ่มบริษัท • รายงานประจำ�ปี และ Presentation แนะนำ�การดำ�เนินธุรกิจของบริษัท • Director Fiduciary Duty Check List • ข้อแนะนำ�การให้สารสนเทศสำ�หรับผู้บริหารบริษัทจดทะเบียน • หลักเกณฑ์ในการรายงานถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการ และการรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการและบุคคลที่เกี่ยวข้องของบริษัท รวมทั้ง ข้อกำ�หนดอื่นที่เกี่ยวข้อง • หลักสูตรการอบรมกรรมการ นอกจากนี้ บริษัทฯ อำ�นวยความสะดวกให้แก่กรรมการใหม่ในการเข้าเยี่ยมชมกิจการ เพื่อให้เข้าใจการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ ได้ดียิ่งขึ้น การพัฒนาความรู้กรรมการ บริษทั ฯ ตระหนักถึงความสำ�คัญในการพัฒนาความรูข้ องกรรมการ โดยส่งเสริมสนับสนุนและอำ�นวยความสะดวก ให้กรรมการเข้าร่วมในการฝึกอบรม ที่จัดขึ้นสำ�หรับกรรมการ รวมทั้งหลักสูตรหรือกิจกรรมสัมมนาที่เป็นการเพิ่มพูนความรู้ในการปฏิบัติงานอย่างสม่�ำ เสมอและต่อเนื่องโดยคณะกรรมการ บริษัท ได้มอบหมายให้เลขานุการบริษัทฯ เป็นผู้ประสานงานกับกรรมการเพื่อแจ้งหลักสูตรการฝึกอบรมต่างๆ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 กรรมการบริษัท 6 ท่าน และกรรมการบริหารจำ�นวน 1 ท่าน รวม 7 ท่าน ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรที่จัดโดย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors : IOD) รวม 14 หลักสูตร และกรรมการบริษัท 2 ท่าน และกรรมการบริหาร จำ�นวน 1 ท่าน รวม 3 ท่าน ได้ผ่านการอบรมหลักสูตรที่จัดโดยสถาบันอื่น รวม 7 หลักสูตร ดังนี้ หลักสูตรที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) : รายชื่อกรรมการ 1. นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม

076

ตำ�แหน่ง กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร

ชื่อหลักสูตรที่จัดโดย IOD 1. 2. 3. 4.

Company Secretary Program (CSP) (รุ่นที่ 28/2551) D&O Insurance: Mitigating Directors Liabilities Risk / Special Seminar (รุ่นที่ 3/2551) Role of Compensation Committee (RCC) (รุน่ ที่ 3/2550) Director Accreditation Program (DAP) (รุน่ ที่ 21/2547)

2. นายเดช บุลสุข

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

1. Director Accreditation Program (DAP) (รุน่ ที่ 23/2547)

3. นายวีระวงค์ จิตต์มิตรภาพ

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

1. Director Certification Program (DCP) (รุ่นที่ 0/2543)

4. นางสาวสุวภา เจริญยิ่ง

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

1. 2. 3. 4.

Successful Formulation & Execution of Strategy (รุ่นที่ 6/2553) DCP Refresher (รุ่นที่ 1/2548) Finance for Non Finance Director (รุ่นที่ 1/2546) Director Certificate Program (DCP) (Fellow Member) (รุ่นที่ 1/2543)

5. นายเกรียงกานต์ กาญจนะโภคิน

กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร

1. Financial Statement for Directors (ปี 2551) 2. Director Accreditation Program (DAP) (รุน่ ที่ 30/2547)

6. นางสาวสุวิมล จึงโชติกะพิศิฐ

กรรมการบริษัท

1. Director Certification Program (DCP) (รุ่นที่ 12/2544)

7. นายวิเชฐ ตันติวานิช

กรรมการบริหาร

1. Director Certification Program (DCP) (รุ่นที่ 2/2544)


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

หลักสูตรที่จัดโดยสถาบันอื่น : รายชื่อกรรมการ

ตำ�แหน่ง

ชื่อหลักสูตร/ชื่อสถาบันที่จัด

1. นายสุเมธ ดำ�รงชัยธรรม

กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร

1. ผู้บริหารระดับสูง (วตท.) (รุ่นที่ 8/2552) (สถาบันวิทยาการตลาดทุน (Capital Market Academy))

2. นางสาวสุวภา เจริญยิ่ง

กรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

1. 2. 3. 4.

Certified Financial Planner (CFP) (รุ่นที่ 1/2552) (สมาคมนักวางแผนการเงินไทย) TLCA Executive Development Program (EDP2) (รุ่นที่ 2/2551) (สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย) ผู้บริหารระดับสูง (วตท. 1) (รุ่นที่ 1/2548) (สถาบันวิทยาการตลาดทุน (Capital Market Academy)) Certificate in Families Business : Generation to Generation (ปี 2547)(Harvard Business School)

3. นายวิเชฐ ตันติวานิช

กรรมการบริหาร

1. 2.

Certified Financial Planner (CFP) (รุ่นที่ 1/2552) (สมาคมนักวางแผนการเงินไทย) Executive Leadership Program (ปี 2548) (NIDA - Wharton, Pennsylvania, U.S.A)

อย่างไรก็ตาม บริษัทจะยังคงสนับสนุนให้กรรมการบริษัท และ/หรือกรรมการบริหาร รวมทั้งเลขานุการบริษัท (คนใหม่) เข้าอบรมหลักสูตรหรือ เข้าร่วมกิจกรรมสัมมนาที่จัดอบรมโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย และสถาบันอื่น (เช่น สมาคมบริษัทจดทะเบียน สมาคมส่งเสริม ผู้ลงทุนไทย เป็นต้น) อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้ในการปฏิบัติงาน แผนสืบทอดตำ�แหน่ง คณะกรรมการบริษทั เห็นความสำ�คัญและให้การสนับสนุนให้มกี ารพัฒนาแผนการสืบทอดตำ�แหน่งซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ในยุทธศาตร์การวางแผนทรัพยากร มนุษย์ของบริษทั โดยการวางแผนหรือการเตรียมบุคลากรระดับบริหารทีม่ ศี กั ยภาพสูง เพือ่ ทดแทนหรือรองรับผูบ้ ริหารทีม่ กี ารเลือ่ นตำ�แหน่งหรือโอนย้าย รวมทัง้ ทดแทนตำ�แหน่งผูบ้ ริหารระดับสูงหรือผูบ้ ริหารในตำ�แหน่งสำ�คัญทีว่ า่ งลง หรือไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้ ซึง่ จะช่วยให้การดำ�เนินงานของบริษทั ฯ มีความราบรื่น ในปี 2553 บริษัทอยู่ระหว่างการศึกษาแนวทางที่เหมาะสมในพัฒนาแผนสืบทอดตำ�แหน่ง การประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั มีการกำ�หนดตารางประชุมไว้ลว่ งหน้า 1 ปี โดยมีการประชุมวาระปกติอย่างน้อยปีละ 4 ครัง้ ทัง้ นีอ้ าจมีการประชุมในวาระพิเศษ เพิ่มตามความจำ�เป็น โดยมีการกำ�หนดวาระชัดเจนล่วงหน้า และมีการแบ่งหมวดหมู่ชัดเจน เช่น เรื่องขออนุมัติ เรื่องขออนุมัติให้สัตยาบัน เรื่องขอ ความเห็นชอบ เรื่องแจ้งเพื่อทราบ และเรื่องพิจารณาติดตามผลการดำ�เนินงาน เป็นต้น ทั้งนี้บริษัทฯ มีแนวทางในการพิจารณาเรื่องที่จะนำ�เข้าวาระ การประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้แน่ใจว่าเรื่องที่สำ�คัญได้ถูกบรรจุเข้าวาระการประชุมเรียบร้อยแล้ว และกรรมการแต่ละท่านมีความเป็นอิสระที่จะ เสนอเรื่องเข้าสู่วาระการประชุม โดยเลขานุการบริษัทได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารประกอบฯ ก่อนการประชุม ล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ได้มเี วลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม ปกติการประชุมแต่ละครัง้ จะใช้เวลา 1-2 ชัว่ โมง ทั้งนี้ในการประชุมแต่ละคราวประธานที่ประชุม จะเปิดโอกาสให้กรรมการแต่ละท่านแสดงความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระ และมีการจัดสรรเวลาการประชุม อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ในกรณีที่มีกรรมการท่านใดเป็นผู้มีส่วนได้เสียอย่างมีนัยสำ�คัญในเรื่องที่กำ�ลังพิจารณา กรรมการจะแจ้งต่อที่ประชุม เพื่อรับทราบ และงดออกเสียงหรือแสดงความเห็นใดๆ ในวาระนั้นๆ โดยในปี 2553 คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมตามวาระปกติ จำ�นวน 4 ครั้ง และมีการประชุมวาระพิเศษจำ�นวน 1 ครั้ง รวมเป็น 5 ครั้ง โดย การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษัทแต่ละท่านปรากฏอยู่ในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” หน้า 55-56 ทั้งนี้ ได้มีการจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษรและมีรายละเอียดชัดเจน โดยจัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการ บริษัทอย่างครบถ้วน พร้อมให้คณะกรรมการบริษัท และผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบได้ นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายส่งเสริมให้กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบมีโอกาสที่จะประชุมระหว่างกันเองตามความจำ�เป็น เพื่อ อภิปรายปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการที่อยู่ในความสนใจโดยไม่มีฝ่ายบริหารเข้าร่วมด้วย โดยในปี 2553 คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเป็นกรรมการอิสระได้มีการประชุมร่วมกันกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วม จำ�นวน 1 ครั้ง การประเมินผลงานประจำ�ปี การประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองโดยกรรมการ: คณะกรรมการบริษัทจัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตนเอง (Board Self Assessment) เป็นประจำ�ทุกปี เพื่อใช้เป็นกรอบในการตรวจสอบ การปฏิบตั งิ านในหน้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั ฯ รวมทัง้ พิจารณาทบทวนผลงาน ปัญหาและอุปสรรคในการดำ�เนินงานระหว่างปีทผ่ี า่ นมา เพือ่ สามารถนำ� มาแก้ไขและเพิม่ ประสิทธิภาพการทำ�งาน ตัง้ แต่ปี 2550 บริษทั ฯ เริม่ ใช้แบบฟอร์มประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเองของคณะกรรมการบริษทั โดยศูนย์พฒ ั นา การกำ�กับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการกำ�กับดูแลกิจการปัจจุบัน และให้เป็นไปตาม หลักการสากลมากขึ้น ทั้งนี้ผลการประเมินแบ่งตามหัวข้อ 6 หัวข้อ ได้แก่ 1. โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการบริษัท 2. บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 3. การประชุมคณะกรรมการบริษัท 4. การทำ�หน้าที่ของกรรมการ 5. ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ 6. การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผู้บริหาร

077


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

ซึง่ เกณฑ์ในการประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเอง (Board Self Assessment) แบ่งออกเป็น 5 ระดับ กล่าวคือ 4 = มีการดำ�เนินการในเรือ่ งนัน้ ดีเยีย่ ม, 3 = มีการดำ�เนินการในเรือ่ งนัน้ อย่างดี, 2 = มีการดำ�เนินการในเรือ่ งนัน้ พอสมควร, 1 = มีการดำ�เนินการในเรือ่ งนัน้ เล็กน้อย, 0 = ไม่มกี ารดำ�เนินการในเรือ่ งนัน้ สำ�หรับปี 2553 นี้ คณะกรรมการบริษัท สรุปผลการประเมินการปฏิบัติงานตนเองโดยรวม ประจำ�ปี 2553 ได้ดังนี้ จำ�นวนคณะกรรมการบริษทั มีความเหมาะสมกับลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษทั ฯ ซึง่ คณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยบุคคลทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ และความเข้าใจธุรกิจ โดยมีกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารอย่างน้อย 1 ใน 3 ของคณะกรรมการบริษัท รวมทั้งมีการจัดตั้งคณะกรรมการ ชุดย่อยเพื่อสนับสนุนงานของคณะกรรมการบริษัท ซึ่งได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ โดยมีการแบ่งแยกหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างชัดเจน โดยกรรมการสามารถจัดสรรเวลาอย่างเพียงพอในการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีส่วนร่วมในการกำ�หนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย ตลอดจนกำ�กับดูแล และติดตามผลการดำ�เนินงานอย่างสม่ำ�เสมอ มีการกำ�หนดระดับอำ�นาจดำ�เนินการ และกระบวนการพิจารณาอนุมัติทางการเงินอย่างชัดเจน โดยกรรมการยังให้ความสำ�คัญต่อความถูกต้องของ รายงานทางการเงิน การเปิดเผยข้อมูล การดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้มีความเป็นธรรม (Arm-Length Basis) ซึ่งมีระเบียบอำ�นาจ อนุมัติและดำ�เนินการกำ�หนดไว้อย่างชัดเจน ทั้งนี้ กรรมการผู้มีส่วนได้เสียจะไม่มีสิทธิออกเสียงในรายการที่เกี่ยวโยงกันดังกล่าว นอกจากนี้คณะกรรมการ บริษัทมีความสัมพันธ์ที่ดีกับฝ่ายจัดการ และไม่ได้เข้าไปแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายจัดการ คณะกรรมการบริษัท มีการกำ�กับดูแลให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน และระบบบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอ และเหมาะสมกับลักษณะธุรกิจ ของบริษัท รวมทั้งสนับสนุนให้มีการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ และคู่มือจริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติในการทำ�งานของกลุ่มบริษัท อย่างต่อเนื่อง การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ: คณะกรรมการบริษัท กำ�หนดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee Self-Assessment) และ รายงานต่อคณะกรรมการบริษัท เป็นประจำ�ทุกปี ทั้งนี้เพื่อสอบทานการปฏิบัติงานในหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งพิจารณาทบทวนผลงาน ปัญหาและอุปสรรคในการดำ�เนินงานระหว่างปีที่ผ่านมา และสามารถนำ�มาแก้ไขและเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งาน โดยแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ จัดทำ�ขึ้นตาม กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีที่ได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2552 (มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2552) รวมทั้งแนวทางปฏิบัติที่ดีของคณะกรรมการตรวจสอบ (Best Practice Guidelines for Audit Committee) ทีจ่ ดั ทำ�โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย IOD และบริษทั ทีไ่ ด้รบั การจัดอันดับด้านการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี ในส่วนที่เหมาะสมกับบริษัท ทั้งนี้มีการประเมินแบ่งตามหัวข้อ 5 หัวข้อ ได้แก่ 1. องค์ประกอบและคุณสมบัติของคณะกรรมการตรวจสอบ 2. วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง 3. ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบ (เช่น การรายงานทางการเงิน การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การคัดเลือกเสนอแต่งตัง้ และกำ�หนดค่าผูส้ อบบัญชีของบริษทั การปฏิบตั ิ ตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง การบริหารความเสี่ยง การกำ�กับดูแลกิจการ การรายงานภารกิจของคณะกรรมการตรวจสอบ) 4. อำ�นาจในการปฏิบัติงาน 5. การประชุม ซึ่งเกณฑ์ในการประเมินผลการปฏิบัติงานตนเอง (Audit Committee Self-Assessment) แบ่งเป็น “ปฏิบัติครบถ้วนเหมาะสม” “ปฏิบัติบางส่วน” และ “ยังไม่ได้ดำ�เนินการ” สำ�หรับปี 2553 ได้มีการพิจารณา และประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee Self-Assessment) โดย ได้สรุปว่า โดยรวมคณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายอย่างครบถ้วนเหมาะสม โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติงาน ด้วยความรู้ ความสามารถ ตามขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และสอดคล้องกับ แนวทางปฏิบัติที่ดีของคณะกรรมการตรวจสอบ นอกจากนี้ได้สรุปภารกิจการกำ�กับดูแลกิจการและความเห็นจากการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ (รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ) สำ�หรับปี 2553 ต่อคณะกรรมการบริษัทในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 ตามรายละเอียดในหัวข้อ “รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ” หน้า 05 การประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานกรรมการบริหารร่วม (Co CEO Assessment): ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1/2553 ได้อนุมัติแนวทางและหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานประจำ�ปีของประธานกรรมการ บริหารร่วม (Co Chief Executive Officer) ทั้งนี้ให้เป็นไปตามแนวทางในการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และเป็นแนวทางในการกำ�หนดค่าตอบแทนของ ประธานกรรมการบริหารร่วม โดยคณะกรรมการบริษัทได้มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนเป็นผู้ประเมินผลการปฏิบัติงานของ ประธานกรรมการบริหารร่วม เป็นประจำ�ทุกปี และนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทให้ความเห็นชอบต่อไป โดยการประเมินครอบคลุม 3 หัวข้อใหญ่ ดังนี้ 1. ภาพรวมของงานด้านต่างๆ (เช่น การบริหารจัดการ วิสยั ทัศน์และความเป็นผูน้ � ำ การวางแผน การกำ�หนดกลยุทธ์องค์กร การติดต่อประสานงาน ทั้งภายในและภายนอก การจัดการทรัพยากรและกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดประโยชน์ และการควบคุม ดูแล ติดตาม และประเมินผล) 2. ความรู้ ความสามารถในการบริหารและปฏิบตั งิ าน (เช่น ภาวะผูน้ � ำ วิสยั ทัศน์ การมอบหมายงาน การติดตามงาน การติดตามงาน การแก้ปญ ั หา และการตัดสินใจ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การวางแผนและจัดระบบงาน ความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับงานในหน้าที่ ระเบียบและขั้นตอนใน การทำ�งาน การพัฒนาและปรับปรุงงาน และความสามารถในการติดต่อประสานงาน) 3. พฤติกรรม (เช่น ความตั้งใจในการทำ�งาน ความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา ความมีน้ำ�ใจ การเสียสละ และอุทิศเวลาเพื่องาน ความร่วมมือใน กิจกรรมของส่วนรวม และมนุษยสัมพันธ์) ซึ่งเกณฑ์ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานกรรมการบริหารร่วมแบ่งออกเป็น 5 ระดับ กล่าวคือ 5 = ดีเยี่ยม, 4 = ดีมาก, 3 = ดี, 2 = พอใช้, 1 = ต้องปรับปรุง โดยมีเกณฑ์การประเมินผล คิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็มในแต่ละข้อทั้งหมด 5 ระดับ ได้แก่ มากกว่า 95% = ดีเยี่ยม 90% - 95% = ดีมาก 80% - 89% = ดี 70% - 79% = พอใช้ ต่ำ�กว่า 70% = ควรปรับปรุง

078


สำ�หรับปี 2553 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้รายงานผลการปฏิบัติงานของประธานกรรมการบริหารร่วม ประจำ�ปี 2553 ต่อ คณะกรรมการบริษัท ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2553 เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2553 โดยสรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของประธานกรรมการบริหารร่วมในภาพรวม 3 หัวข้อดังกล่าวโดยเห็นว่า การดำ�เนินการของประธานกรรมการบริหารร่วม ทัง้ 2 ท่าน อยูใ่ น ระดับดีมาก (ระดับ 90% - 95%) 13. การรายงานการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย การรายงานของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั กำ�หนดให้มกี ารรายงานการปฏิบตั งิ านในรอบปีทผ่ี า่ นมา ต่อผูล้ งทุน และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย โดยสะท้อนถึงแนวคิดในการดำ�เนิน ธุรกิจภายใต้หลักจริยธรรมและแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ควบคูไ่ ปกับการใส่ใจรักษาสังคมและสิง่ แวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) จนกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กร โดยปรากฏใน “สาส์นประธานกรรมการและประธานกรรมกรรมการบริหารร่วม” หน้า 04 นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย (ซึ่งผ่านการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัท) และสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำ�ปี ให้มีการจัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและ ถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษัท ได้มีการรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน สำ�หรับปี 2553 ควบคู่กับรายงานของผู้สอบ บัญชีรับอนุญาต ไว้ในหัวข้อ "รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน" หน้า 97 โดยคณะกรรมการบริษัท ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระ เพื่อทำ�หน้าที่ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของ รายงานทางการเงินและระบบการควบคุมภายใน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกีย่ วกับเรือ่ งนีไ้ ด้ปรากฏใน “รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ” หน้า 05 นอกจากนี้ ในปี 2553 บริษัทฯ ได้มีการจัดส่งรายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาสและรายปี ภายในระยะเวลาและหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยกำ�หนด และไม่ได้รับแจ้งจากสำ�นักงานกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ให้มีการแก้ไขงบการเงินที่จัดทำ�ขึ้น การรายงานของคณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษัท ได้กำ�หนดให้คณะกรรมการชุดย่อยมีการรายงานผลการปฏิบัติงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท อย่างสม่ำ�เสมอ รวมถึง การรายงานการปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบในรายงานประจำ�ปี ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่า คณะกรรมการชุดย่อยได้มีการปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับ มอบหมาย และส่งเสริมระบบการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 14. ความสัมพันธ์กับผู้ลงทุน คณะกรรมการบริษทั ให้ความสำ�คัญต่อการเปิดเผยข้อมูลทีม่ คี วามถูกต้อง เพียงพอ โปร่งใส เชือ่ ถือได้ ทัว่ ถึงและทันเวลา ทัง้ รายงานข้อมูลทางการเงิน และข้อมูลทั่วไปที่อาจมีผลกระทบต่อกระบวนการตัดสินใจของผู้ลงทุน และผู้ที่มีส่วนได้เสียของบริษัท และเป็นไปตามแนวทางหรือกฎเกณฑ์ที่สำ�นักงาน กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด โดยบริษัทฯ มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศและข่าวสารต่างๆ ให้ ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับทราบผ่านช่องทางต่างๆ เช่น ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ELCID) ของตลาดหลักทรัพย์ (http://www.set.or.th) และ เว็บไซต์ของบริษัท (http://www.gmmgrammy.com) เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยสะดวกและรวดเร็ว เช่น ข้อมูลลักษณะการประกอบธุรกิจ งบการเงิน Press Release โครงสร้างการถือหุน้ โครงสร้างองค์กร รายงานประจำ�ปี หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น เอกสารประกอบวาระการประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งแบบฟอร์มมอบฉันทะ (Proxy Form) และข้อมูลอื่นๆ ที่จำ�เป็น ไว้ล่วงหน้าในเว็บไซต์ของบริษัทฯ (http://www.gmmgrammy.com) ก่อนการจัดส่งเอกสารไปยังผู้ถือหุ้นรับทราบ โดยมี การปรับปรุงข้อมูลที่เผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ ให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ นอกจากนี้ ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ยังมีมุมเพื่อให้นักลงทุนเข้าไป ตั้งคำ�ถามหรือรับเรื่องร้องเรียนต่างๆ ทั้งนี้ เพื่อเป็นช่องทางสื่อสารระหว่างบริษัทกับผู้ถือหุ้น นักลงทุน โดยผู้ลงทุนสามารถติดต่องานนักลงทุนสัมพันธ์ของกลุ่มบริษัทได้ที่: ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ ชั้น 40 อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส เลขที่ 50 ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 เบอร์โทร 0-2669-9952 และ 02-669-9734 เบอร์โทรสาร 0-2669-9737 E-mail Address : ir@gmmgrammy.com 15. กิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ บริษทั ฯ มีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) เพือ่ ให้บริการข้อมูล และข่าวสารกิจกรรมต่างๆ ของบริษทั กับผูล้ งทุน ผูถ้ อื หุน้ นักวิเคราะห์ และประชาชนทั่วไป โดยในปี 2553 ได้จัด/ได้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ 1. จัดให้มีการจัดการประชุมชี้แจงผลประกอบการประจำ�ไตรมาสและการลงทุนใหม่แก่นักลงทุนและนักวิเคราะห์ (Analyst Meetings) วาระปกติ จำ�นวน 4 ครัง้ โดยจัดขึน้ หลังจากทีไ่ ด้ยน่ื งบการเงินปี 2552 และงบไตรมาส 1-3 ของปี 2553 เพือ่ ให้นกั วิเคราะห์ได้พบฝ่ายบริหารของบริษทั 2. เข้าร่วมกิจกรรม Opportunity Day ทีต่ ลาดหลักทรัพย์ฯ เพือ่ ชีแ้ จงผลประกอบการประจำ�ไตรมาสและการลงทุนใหม่กบั นักลงทุนรายย่อยรวม 1 ครัง้ 3. นำ�คณะนักศึกษาหลักสูตร MBA และ BBA จาก The College of William and Mary ประเทศสหรัฐอเมริกา เข้าเยี่ยมชมกิจการ Broadcasting และ Studio tour จำ�นวน 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2553 4. นำ�นิสิต/นักศึกษา โครงการ MFC Talent Award รุ่นที่ 6 ของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จำ�กัด (มหาชน) เข้าเยี่ยมชมกิจการ Broadcasting และ Studio tour จำ�นวน 1 ครัง้ เมือ่ วันที่ 22 มกราคม 2553 5. นำ�นักลงทุนรายย่อย เข้าเยีย่ มชมการถ่ายทำ�ใน “กองละครซิทคอม เรื่อง เนื้อคู่อยากรู้ว่าใคร” จำ�นวน 1 ครั้ง 6. เข้าร่วมกิจกรรม “ Thanachart Consumption Day” กับทางบริษัทหลักทรัพย์ ธนชาติ เพื่อให้ข้อมูลของบริษัทกับนักลงทุนสถาบันในประเทศ จำ�นวน 11 บริษัท ที่โรงแรมโฟร์ซีซัน กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2553 7. ให้การต้อนรับนักวิเคราะห์ นักลงทุนสถาบันทัง้ ในประเทศและจากต่างประเทศ ทีข่ อพบเพือ่ รับทราบสถานภาพการประกอบการ (Company Visits) จำ�นวน 11 ครัง้ เผยแพร่ขา่ วประชาสัมพันธ์ (IR monthly Releases) เป็นประจำ�ทุกเดือน และมีการเผยแพร่ขา่ วประชาสัมพันธ์ (Press Release) เป็นประจำ�ทุกครั้งที่มี กิจกรรมการลงทุนหรือกิจกรรมทางธุรกิจที่สำ�คัญๆ 16. การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทฯ ได้กำ�หนดเป็นนโยบาย และขั้นตอนเป็นลายลักษณ์อักษร ในนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทเกี่ยวกับการดูแลเรื่องการใช้ข้อมูล ภายใน โดยบริษัทมีนโยบายและวิธีการในการกำ�กับดูแลผู้บริหาร ไม่ให้มีการนำ�ข้อมูลภายในของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน ทั้งกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน บริษัทฯ ได้ให้ความสำ�คัญกับระบบการเก็บรักษาและป้องกันการใช้ข้อมูลภายในของบริษัทฯ โดยได้กำ�หนดไว้ใน สัญญาจ้างแรงงาน ข้อบังคับ เกี่ยวกับการทำ�งาน นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ และ คู่มือจริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติในการทำ�งานของกลุ่มบริษัท ในการไม่ใช้ตำ�แหน่งหน้าที่ ในบริษทั ฯ หรือข้อมูลทีไ่ ด้รบั ระหว่างการปฏิบตั งิ านในบริษทั ฯ ไม่เปิดเผยหรือแสวงหาประโยชน์ในทางมิชอบหรือทำ�ให้ประโยชน์ของบริษทั ฯ ลดลงและไม่แสวงหา ผลประโยชน์ใส่ตนและผู้เกี่ยวข้อง ระมัดระวังรักษาข้อมูล ไม่ใช้ประโยชน์จากข่าวสารใดๆ หรือการนำ�สารสนเทศภายในที่ยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณะ หรือที่เป็นความลับไปใช้ หรือนำ�ไปเปิดเผยกับบุคคลภายนอก หรือกระทำ�การอันก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ นอกจากนี้บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญในการรักษาสารสนเทศที่เป็นความลับของลูกค้าอย่างจริงจัง และสม่ำ�เสมอ และไม่นำ�สารสนเทศดังกล่าวมาใช้เพื่อ ผลประโยชน์ของตนเองและผู้เกี่ยวข้อง เว้นแต่เป็นข้อมูลที่ต้องเปิดเผยต่อบุคคลภายนอกตามกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

079


ทั้งนี้บริษัทฯ จะใช้บทลงโทษสูงสุดหากพบว่าผู้บริหารหรือพนักงาน หรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้ข้อมูลภายในหรือมีความประพฤติที่ส่อไปในทางที่จะทำ�ให้ บริษัทได้รับความเสื่อมเสียและความเสียหาย โดยบริษัทฯ ได้ให้ความรู้และความเข้าใจแก่กรรมการ ผู้บริหารในระดับต่างๆ เพื่อให้ทราบถึงประกาศของคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ที่กำ�หนดให้ ผู้บริหาร (ซึ่งได้รวมถึงคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ ต่อสำ�นักงาน กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงการถือหลักทรัพย์ และให้แจ้งต่อเลขานุการบริษัทฯ ทราบทุกครั้ง เพื่อแจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบต่อไป และได้แจ้งบทลงโทษหากมีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อกำ�หนด ดังกล่าว โดยฝ่ายบริหารจัดให้มีการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการบริษัทและคณะผู้บริหารของบริษัทฯ เป็นประจำ�ทุก 6 เดือน ต่อที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อรับทราบ นอกจากนี้บริษัทฯ แจ้งให้ผู้บริหารทุกท่านทราบว่า ผู้บริหารที่ได้รับทราบข้อมูลภายในไม่ควรซื้อหรือขาย หลักทรัพย์ของบริษัทฯ ในช่วง 1 เดือน ก่อนงบการเงินเผยแพร่ต่อสาธารณชน บริษทั ฯ มีการควบคุมและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบสารสนเทศ โดยการใช้ระบบ Information System ในการควบคุม และ/หรือ ป้องกัน การเข้าถึงข้อมูลบริษทั จากบุคคลภายนอก และการกำ�หนดระดับการเข้าถึงข้อมูลของบริษทั ให้กบั พนักงานในระดับต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับความรับผิดชอบ ในกรณีที่บุคคลภายนอกที่มีส่วนร่วมในการทำ�งานเฉพาะกิจที่เกี่ยวกับข้อมูลที่ยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณะและอยู่ระหว่างการเจรจา ซึ่งงานนั้นๆ เข้าข่ายการเก็บรักษาข้อมูลภายใน อันอาจมีผลต่อความเคลื่อนไหวของราคาหลักทรัพย์ของบริษัทฯ บุคคลภายนอกเหล่านั้นจะต้องทำ�สัญญาเก็บรักษา ข้อมูลความลับ (Confidentiality Agreement) ไว้กบั บริษทั ฯ จนกว่าจะมีการเปิดเผยข้อมูลต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ ฝ่ายบริหารจะจัดทำ�รายงานให้คณะกรรมการบริษัท ทราบถึงประสิทธิผลของแนวทางการรักษาและป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเป็นประจำ�ทุกปี โดยในปี 2553 ได้มกี ารรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ว่า แนวทางการรักษาและป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในของบริษทั ฯ ยังคงมีประสิทธิผล และได้ รายงานการถือครองหลักทรัพย์ฯ ของกรรมการและผู้บริหารแต่ละท่าน ตามรายละเอียดหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” หน้า 64” 17. บุคลากร กลุม่ บริษทั มีจ�ำ นวนบุคลากรทีเ่ ป็นพนักงานประจำ�และพนักงานตามสัญญาจ้าง (ทีม่ สี ญ ั ญาจ้างทีก่ �ำ หนดระยะเวลาแน่นอน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม ดังนี้ หน่วยงาน จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ บริษัทในเครือ รวม

ปี 2553 พนักงานประจำ�

1,600 1,095 2,695

พนักงานชัว่ คราว

219 471 690

ปี 2552 รวม

1,819 1,566 3,385

พนักงานประจำ�

1,773 1,566 3,385

พนักงานชัว่ คราว

162 443 605

รวม

1,935 1,543 3,478

หมายเหตุ : พนักงานประจำ� หมายถึง พนักงานที่การตกลงจ้างงานกันแบบไม่มีกำ�หนดระยะเวลาสิ้นสุดการจ้างที่แน่นอน : พนักงานชัว่ คราว หมายถึง พนักงานทีม่ กี �ำ หนดระยะเวลาสิน้ สุดสัญญาทีแ่ น่นอน เช่น พนักงาน Contract พนักงาน Freelance เป็นต้น : บริษัทในเครือในที่นี้ไม่รวมบริษัท อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ จำ�กัด (มหาชน) กลุม่ บริษทั ให้ความสำ�คัญกับทรัพยากรบุคคลขององค์กร เนือ่ งจากเป็นปัจจัยสำ�คัญทีจ่ ะผลักดันให้การดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ฯ​ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด รวมทัง้ บรรลุตามเป้าหมายและนำ�ไปสูค่ วามสำ�เร็จร่วมกันตามวิสยั ทัศน์ (Vision) ของบริษทั ดังนัน้ คณะกรรมการบริษทั จึงมีการกำ�หนด นโยบายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารทรัพยากรบุคคลไว้ดังต่อไปนี้ 1. บริษัทฯ ถือว่าพนักงานทุกคนคือเพื่อนร่วมงานที่มีเกียรติและศักดิ์ศรี พึงได้รับการดูแลอย่างดี 2. บริษัทฯ จะจัดให้มีสภาพการจ้างงานที่ยุติธรรม และให้พนักงานมีโอกาสก้าวหน้าในบริษัทฯ อย่างเป็นธรรม 3. บริษัทฯ จะดำ�เนินการเพื่อก่อให้เกิดการทำ�งานเป็นทีม มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวในการอยู่ร่วมกัน และจะสร้างขวัญและกำ�ลังใจที่ดี ในหมู่พนักงานทุกระดับ 4. บริษัทฯ จะพัฒนาพนักงานให้มีความรู้ ความสามารถ ความชำ�นาญ ทักษะด้านการปฏิบัติงานและการจัดการเพื่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้าตาม ความเหมาะสมและต่อเนื่อง 5. บริษัทฯ จะส่งเสริมและรักษาพนักงานที่ดี ให้ปฏิบัติงานกับบริษัทฯ ให้นานที่สุด 6. บริษทั ฯ จะส่งเสริมและสนับสนุนให้พนักงานมีความมัน่ คงในสายงานอาชีพ โดยการเลือ่ นขัน้ เลือ่ นตำ�แหน่งบริษทั ฯ จะพิจารณาผูม้ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม จากภายในบริษัทฯ เป็นอันดับแรก ก่อนพิจารณาบุคคลภายนอก 7. บริษัทฯ จะพิจารณาปรับปรุงผลประโยชน์ตอบแทนในด้านต่างๆ ให้ทัดเทียมบริษัทที่ประกอบธุรกิจประเภทเดียวกัน ตามความเหมาะสมกับ ตำ�แหน่งงาน ประสบการณ์ คุณวุฒิและคุณสมบัติของพนักงาน โดยจะพิจารณาให้สอดคล้องกับผลการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ สภาวะแวดล้อม ทางเศรษฐกิจและสังคม 8. บริษัทฯ ถือว่าหน้าที่ในการบริหารงานบุคคลเป็นหน้าที่โดยตรงของผู้บังคับบัญชาตามสายงาน ฝ่ายทรัพยากรบุคคลจะเป็นผู้ให้คำ�ปรึกษาแนะนำ� ดังนั้น ผู้บังคับบัญชาควรที่จะให้การดูแลพนักงานทุกคนอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้บริษัทฯ มีการจัดทำ�ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำ�งานของบริษัทฯ เพื่อให้พนักงานของบริษัทฯ ทราบถึงข้อกำ�หนดและกฎเกณฑ์ในการทำ�งาน ผลประโยชน์และสวัสดิการซึ่งบริษัทฯ ได้จัดไว้ให้ รวมทั้งเป็นการส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างพนักงานและบริษัทฯ ในการร่วมมือกันภายใต้ข้อ บังคับเกี่ยวกับการทำ�งานฉบับนี้ ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของความเป็นธรรมและไม่ขัดแย้งกับกฎหมายแรงงาน นโยบายการพัฒนาบุคลากร คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายในการสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรในทุกระดับ โดยกำ�หนดไว้ใน คู่มือจริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติในการทำ�งาน ของกลุ่มบริษัท ทั้งนี้เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของบุคลากรในองค์กร ทั้งในด้านทักษะทั่วไป การบริหารจัดการและเทคนิควิชาชีพเฉพาะ ของแต่ละสายงาน ตลอดจนได้สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาบริษทั ฯ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ โดยได้จดั ให้มกี จิ กรรมส่งเสริมความรูแ้ ละสนับสนุนให้พนักงานเข้า รับการฝึกอบรมและสัมมนาทัง้ ภายในและภายนอกบริษทั ฯ เพือ่ ให้พนักงานได้พฒ ั นาแนวความคิดและความรูจ้ ากวิทยากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญและประสบการณ์ จากหลายสาขาอาชีพอย่างต่อเนือ่ งและนำ�ความรูท้ ไ่ี ด้มาประยุกต์ใช้ในการทำ�งานของตน นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ จัดให้มหี อ้ งหนังสือเบิกฟ้า เพือ่ อำ�นวยความสะดวก ในการค้นคว้าและศึกษาเพิม่ เติม ซึง่ เป็นการตอบสนองภารกิจ (Mission) ของบริษทั ฯ ในการเสริมสร้างให้บริษทั ฯ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ส่งเสริมให้พนักงาน มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้ต่างๆ ผ่าน G" Blog รวมทั้งเผยแพร่ข่าวสารต่างๆ และจัดกิจกรรมพนักงานสัมพันธ์ต่างๆ ผ่านเว็บไซต์ภายในองค์กร

080


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

(Intranet : ClickNews) ซึ่งเอื้อประโยชน์ต่อการประสานงานของพนักงานในกลุ่มบริษัทฯ และเตรียมบุคลากรให้มีความพร้อมรองรับการแข่งขันและ การปรับตัวทางธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานตามความรับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยความซื่อสัตย์และตั้งมั่นในคุณธรรม โดยในปี 2553 กลุ่มบริษัทฯ มีการจัดอบรมภายใน จำ�นวน 20 หลักสูตร และการอบรมภายนอกโดยสถาบันต่างๆ จำ�นวน 24 หลักสูตร นอกจากนี้พนักงานสามารถรับข้อมูลข่าวสารต่างๆ ประกาศ ระเบียบปฏิบัติ กิจกรรมต่างๆ ของกลุ่มบริษัท รวมทั้งพนักงานได้เข้าไปมีส่วนร่วมใน กิจกรรมหลากหลายที่กลุ่มบริษัทจัดขึ้นอย่างสม่ำ�เสมอ เช่น เล่นเกมส์เพื่อรับบัตรชมคอนเสิร์ต บัตรชมละครเวที ทั้งนี้ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น การสื่อสาร ผ่านระบบอินทราเน็ต (G" Blog และ ClickNews) บอร์ดประชาสัมพันธ์ วารสารภายใน เป็นต้น การกำ�หนดค่าตอบแทนและสวัสดิการแก่พนักงาน จากหนึ่งในภารกิจ ที่บริษัทกำ�หนดให้มีการ “ส่งเสริม บุคลากรให้รักและเชี่ยวชาญในงานที่ทำ�และมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น” โดยถือได้ว่า พนักงาน ของบริษัทฯ ทุกคน เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าสูงสุด เหมือนเป็นทุนมนุษย์ (Human Capital) ดังนั้นคณะกรรมการบริษัท ได้ให้กำ�หนดนโยบายและแนว ปฏิบัติเกี่ยวกับค่าตอบแทนและสวัสดิการแก่พนักงาน ดังนี้ การกำ�หนดค่าตอบแทนแก่พนักงาน บริษัทมีนโยบายในการการกำ�หนดค่าตอบแทนแก่พนักงาน ดังนี้ 1. ค่าตอบแทนที่เป็นเงินเดือนและโบนัส กลุม่ บริษทั ฯ มีนโยบายการจ่ายอัตราค่าตอบแทนพนักงาน โดยคำ�นึงถึงความเหมาะสม เป็นธรรม ตามความรู้ ความสามารถ ผลการปฏิบตั งิ านของ พนักงานแต่ละคน และสอดคล้องกับค่าเฉลีย่ ของอุตสาหกรรมเดียวกัน รวมถึงค่าตอบแทนพนักงานจะต้องเหมาะสมกับการขยายตัวทางธุรกิจ และ การเติบโตของบริษัทฯ 2. ค่าตอบแทนอื่น ซึ่งได้แก่ กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ โดยมีอัตราส่วนเงินสะสม (ที่พนักงานสะสมเข้ากองทุน) และเงินสมทบ (ที่บริษัทสมทบเข้ากองทุน) ด้วยอัตรา ที่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับอายุงานของพนักงานแต่ละคน กล่าวคือ • อายุงานน้อยกว่า 5 ปี อัตราร้อยละ 3 และ • อายุงานตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป อัตราร้อยละ 5 โดยในปี 2553 สามารถสรุปเงินเดือน โบนัส เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ของบริษัทและบริษัทในเครือ ได้ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท หน่วยงาน

ปี 2553

เงินเดือน

โบนัส

เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ

รวม

จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่

565.73

132.18

18.58

716.50

บริษัทในเครือ

516.10

125.32

18.00

659.44

1081.84

257.51

36.59

1,375.95

รวม

หมายเหตุ : บริษัทในเครือในที่นี้หมายถึงบริษัท อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ จำ�กัด (มหาชน) สวัสดิการแก่พนักงาน บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำ�งานที่ดีขึ้น โดยนอกเหนือจากการจัดให้มีสวัสดิการต่างๆ ให้กับพนักงานตามที่ กฎหมายกำ�หนดแล้ว บริษัทฯ ได้มีการปรับปรุงสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ต่างๆ ให้สอดคล้องกับธุรกิจของบริษัทฯ และจัดให้มีสวัสดิการต่างๆ เพิ่มเติม อาทิเช่น สวัสดิการค่ารักษาพยาบาล ( ผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก ทันตกรรม สายตา) ห้องพยาบาล และกิจกรรมพิเศษช่วงปิดภาคเรียนสำ�หรับบุตรพนักงาน (Plearn Kids) การประกันชีวิตและอุบัติเหตุหมู่ การตรวจสุขภาพก่อนเข้างานและการตรวจสุขภาพประจำ�ปี สวัสดิการเงินช่วยเหลือและอื่นๆ (เช่น เงินช่วยเหลืองานศพ กรณีพนักงานเสียชีวิต และกรณีบิดา มารดา บุตร หรือ คู่สมรสที่ชอบด้วยกฎหมายของพนักงานเสียชีวิต เงินช่วยเหลือกรณี พนักงานสมรส กรณีพนักงานอุปสมบท ชุดเครือ่ งแบบพนักงาน เป็นต้น) ทัง้ นีเ้ พือ่ สร้างขวัญกำ�ลังใจและเสริมสร้างความมัน่ ใจในการทำ�งานร่วมกับบริษทั ฯ อีกทั้งเป็นการแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายของพนักงานและเป็นการสร้างหลักประกันให้กับพนักงานและครอบครัวในระดับหนึ่ง โดยบริษัทฯ ได้คำ�นึงถึง ประโยชน์สูงสุดที่พนักงานจะได้รับ ทั้งนี้บริษัทฯ กำ�หนดให้มีการจัดทำ�เป็น คู่มือสวัสดิการ บริษัทฯ ได้มีการเผยแพร่ ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำ�งานของบริษัทและคู่มือสวัสดิการ ผ่านเว็บไซต์ภายในองค์กร (Intranet) เพื่อพนักงานทุกคน สามารถศึกษา ทำ�ความเข้าใจ และใช้อ้างอิงในการปฏิบัติงาน โดยบริษัทฯ ได้มีการทบทวนอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อให้เกิดความเหมาะสมแก่การดำ�เนินธุรกิจ ของบริษัทฯ บนพื้นฐานความเป็นธรรม และ/หรือ สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ ข้อกำ�หนด กฎหมายของหน่วยงานทางราชการที่เปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้มีการพัฒนาระบบ Employee Self Service (ESS) ขึ้นมาเพื่อให้พนักงานสามารถดูข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับพนักงานได้ เช่น ข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลการจ้างงาน ข้อมูลเงินได้ ประวัติการศึกษา ประสบการณ์ทำ�งาน ข้อมูลบิดา-มารดา ข้อมูลบุตร คู่สมรส ข้อมูลลดหย่อนทางภาษี Slip เงินเดือน สรุปเงินได้ประจำ�ปีพนักงาน เป็นต้น และสามารถแก้ไขข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลการลดหย่อนทางภาษีต่างๆ ได้ตลอดเวลาที่พนักงานมีการแก้ไขข้มูลดังกล่าว ในปี 2553 บริษัทฯ ได้มีการดำ�เนินการและสอบทานให้มีการปฏิบัติตามนโยบายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำ�งานของ บริษัท และแนวทางที่กำ�หนดในคู่มือสวัสดิการอย่างครบถ้วน และสม่ำ�เสมอ การละเมิดสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการบริษัท ตระหนักถึงความสำ�คัญในการเคารพสิทธิตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล ซึ่งกำ�หนดไว้ใน คู่มือจริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติใน การทำ�งานของกลุ่มบริษัท โดยบริษัทฯ ยึดมั่นในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใสและเป็นธรรม ไม่กีดกันหรือไม่ให้สิทธิพิเศษ หรือเลือกปฏิบัติต่อผู้หนึ่งผู้ใด เนื่องจากความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา และเพศ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ จะปฏิบตั ติ อ่ พนักงาน และชุมชน บนพืน้ ฐานของศักดิศ์ รีของความเป็นมนุษย์ และให้ความเคารพต่อสิทธิหน้าทีส่ ว่ นบุคคลและส่งเสริม ให้พนักงานปฏิบัติงานภายใต้วัฒนธรรมและค่านิยมที่ดีร่วมกัน พึงปฏิบัติต่อผู้ร่วมงานด้วยความสุภาพ มีน้ำ�ใจ มีมนุษย์สัมพันธ์อันดี รวมทั้งการให้เกียรติ ผู้อื่น ตลอดจนมีความสามัคคีภายในองค์กร นอกจากนี้ กำ�หนดให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนต้องเคารพต่อหลักสิทธิมนุษยชนสากล อย่าง เคร่งครัดและยึดถือเป็นหลักในการปฏิบัติงาน และไม่สนับสนุนกิจการใดๆ ก็ตามที่ละเมิดหลักสิทธิมนุษยชนสากล

081


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

การไม่ล่วงละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายเกี่ยวกับลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา อาทิ เช่น เครื่องหมายการค้าลิขสิทธิ์ สิทธิบัตรนวัตกรรมต่างๆ เป็นต้น โดยบริษทั มีนโยบายในการส่งเสริม พัฒนา และเคารพ การสร้างสรรค์งานทรัพย์สนิ ทางปัญญา ตลอดจนประเมินคุณค่างานสร้างสรรค์ดงั กล่าวอย่างเป็นธรรม นอกจากนี้บริษัทได้กำ�หนดในระเบียบข้อบังคับการทำ�งานของบริษัทฯ ห้ามมิให้พนักงานทุกคน ละเมิดลิขสิทธิ์ผู้อื่น หรือนำ�ผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้าง เป็นผลงานของตนเอง ตลอดจนร่วมปกป้องทรัพย์สิน ทางปัญญาของบริษัทฯและเคารพสิทธิทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่นโดยไม่ละเมิด หรือไม่สนับสนุน การกระทำ�ใดๆ ที่เป็นการละเมิด เช่น การทำ�ซ้ำ� คัดลอก ทำ�สำ�เนา ดัดแปลง เผยแพร่ต่อสาธารณชน การแพร่เสียง แพร่ภาพ รวมทั้งการกระทำ�ในลักษณะ อืน่ ใด ในงานอันมีลขิ สิทธิข์ องบริษทั ฯ และบุคคลอืน่ และต้องไม่ปฏิบตั ติ นอันเป็นการนำ�มาซึง่ ความเสือ่ มเสียชือ่ เสียงของบริษทั ฯ และปฏิบตั ติ นให้เป็นไปตาม กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับทรัพย์สนิ ทางปัญญา เช่น กฎหมายเกีย่ วกับเครือ่ งหมายการค้า กฎหมายเกีย่ วกับสิทธิบตั ร กฎหมายเกีย่ วกับลิขสิทธิ ์ หรือกฏหมายอืน่ ที่เกี่ยวข้อง คู่มือจริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติในการทำ�งานของกลุ่มบริษัท ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำ�งานของกลุ่มบริษัท รวมทั้งประกาศ คำ�สั่ง และ ระเบียบปฏิบตั ติ า่ งๆ ทีบ่ ริษทั ฯ กำ�หนดขึน้ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ กำ�ชับให้พนักงานทุกคนถือปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัด โดยถือเป็นความผิดร้ายแรงและหากพบการกระทำ� ความผิด บริษัทฯ จะดำ�เนินกับพนักงานผู้กระทำ�ผิดตามตามระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำ�งาน และตามกฎหมายต่อไป โดยในปี 2553 บริษทั ฯ ได้รว่ มมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทีเ่ กีย่ วข้องกับทรัพย์สนิ ทางปัญญา จัดทำ�โครงการรณรงค์ดา้ นทรัพย์สนิ ทางปัญญา “ถูก ถูกใจ ถูกกฎหมาย” เพื่อปลูกจิตสำ�นึกด้านลิขสิทธิ์ให้แก่ประชาชนผ่านกิจกรรมต่างๆ ภายใต้สโลแกน “ไม่ซื้อ ไม่ขาย ไม่ใช้ของปลอม” เพื่อกระตุ้น ให้ประชาชนตระหนักถึงผลงานทรัพย์สินทางปัญญา อันจะเป็นการลดปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ในระยะยาว และประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐและ เอกชนในการป้องกันปราบปรามการละเมิดลิขสิทธิ์และดำ�เนินคดีกับ ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ โดยในปี 2553ได้มีผู้ละเมิดลิขสิทธิ์บริษัทและบริษัทในเครือ ซึ่ง บริษัทฯ และบริษัทในเครือได้ดำ�เนินการตามกฎหมายกับผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ดังกล่าวแล้ว จำ�นวน 1515 คดี นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณองค์กรที่ประสบความสำ�เร็จในการนำ�ทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เพื่อส่งเสริม เจ้าของทรัพย์สินทางปัญญาและผู้ประกอบการ ให้มีการสร้างสรรค์ และนำ�ทรัพย์สินทางปัญญาไปพัฒนาต่อยอด การต่อต้านการทุจริตและห้ามจ่ายสินบนเพื่อผลประโยชน์ทางธุรกิจของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษทั ได้ก�ำ หนดนโยบายและแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการต่อต้านการทุจริตและการจ่ายสินบนเพือ่ ผลประโยชน์ทางธุรกิจของบริษทั ฯ ตามแนว ทางทีก่ �ำ หนดไว้ใน คูม่ อื จริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบตั ใิ นการทำ�งานของกลุม่ บริษทั ทัง้ นีเ้ พือ่ การปฏิบตั ทิ เ่ี ป็นธรรมและรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียต่างๆ กล่าวคือ บริษทั ฯ จะไม่เรียก รับ หรือ ยอมรับทรัพย์สนิ หรือประโยชน์อน่ื ใด ทีไ่ ม่สจุ ริตในการค้ากับคูค่ า้ และ/หรือ เจ้าหนี้ ในกรณีทม่ี ขี อ้ มูลว่ามีการเรียก รับ หรือยอมรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด ที่ไม่สุจริตเกิดขึ้น จะต้องเปิดเผยข้อมูลต่อคู่ค้าและ/หรือเจ้าหนี้เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหา โดยไม่ชักช้า รวมทั้ง ไม่แสวงหาข้อมูลที่เป็นความลับของคู่แข่งทางการค้า ด้วยวิธีที่ฉ้อฉล ไม่สุจริต หรือไม่เหมาะสม หรือขัดต่อข้อกฎหมายใดๆ นอกจากนี้กำ�หนดให้พนักงานทุกคนปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร รับผิดชอบ รอบคอบ ทุ่มเทกำ�ลังกายและกำ�ลังความคิดใน การงาน ห้ามเข้าไปมีส่วนร่วมในการกระทำ�หรือปกปิดการกระทำ�ใดๆ ที่อาจขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทฯ หรืออาจทำ�ให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ด้วยความยุตธิ รรม หรือเข้าไปมีสว่ นร่วมในการปกปิดการกระทำ�ใดๆ ทีผ่ ดิ กฎหมาย รวมทัง้ ไม่กระทำ�การใดๆ อันเป็นการเรียกร้อง หรือรับทรัพย์สนิ หรือ ผลประโยชน์อื่นใดจากบุคคลอื่น ที่มีหน้าที่หรือธุรกิจเกี่ยวข้องกับบริษัทฯ เว้นแต่ในโอกาสหรือเทศกาลอันเป็นประเพณีนิยมที่คนทั่วไปพึงปฏิบัติต่อกัน และไม่อาศัยตำ�แหน่งหน้าที่หรือแสวงหาประโยชน์เพื่อตนเอง และ/หรือผู้อื่นโดยมิชอบ โดยในปี 2553 บริษทั ฯ ได้มกี ารกำ�กับดูแลให้พนักงานปฏิบตั ติ ามนโยบายและแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการต่อต้านการทุจริตและการจ่ายสินบนเพือ่ ผลประโยชน์ ทางธุรกิจของบริษัทอย่างสม่ำ�เสมอเช่นเดียวกับปีก่อนๆ นโยบายเกี่ยวกับการดูแลเรื่องความปลอดภัย และสุขอนามัย คณะกรรมการบริษัทฯ ตระหนักถึงความสำ�คัญในการสร้างความปลอดภัยและสุขอนามัยควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับพนักงานทุกระดับ ส่งเสริมสุขอนามัยเพื่อคงไว้ซึ่งสภาพร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์ ตลอดจนสภาพความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงานทุกคน ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจ ทีบ่ ริษทั กำ�หนดขึน้ “ส่งเสริม บุคลากรให้รกั และเชีย่ วชาญในงานทีท่ �ำ และมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ยี ง่ิ ขึน้ ” ดังนัน้ บริษทั ฯ มีแนวทางในการดูแลเรือ่ งความปลอดภัย และสุขอนามัย ประกอบด้วย ดังนี้ 1. พัฒนา ส่งเสริม และดำ�เนินการตามแนวทางในการป้องกันอันตรายทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สินของพนักงาน รวมทั้งส่งเสริมสุขอนามัยของพนักงาน เพื่อคงไว้ซึ่งสภาพร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์ ตลอดจนสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและเหมาะสมสำ�หรับพนักงาน คู่ค้า ชุมชน และสิ่งแวดล้อม 2. ปฏิบัติตาม และกำ�กับดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อกำ�หนด ด้านความปลอดภัย สุขอนามัย และสิ่งแวดล้อม 3. ดำ�เนินการเพือ่ ให้มน่ั ใจว่าการปฏิบตั งิ านทัง้ หมด มีความปลอดภัย มีสภาพแวดล้อมในการทำ�งานทีด่ ี และเหมาะสมสำ�หรับพนักงาน คูค่ า้ และชุมชน 4. บริหารจัดการหน่วยงานต่างๆ ด้วยความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยให้ความสำ�คัญกับการป้องกัน การอนุรักษ์ทรัพยากร การนำ�ทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ และการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ 5. สนับสนุนกิจกรรมเพื่อความปลอดภัย สุขอนามัย และสิ่งแวดล้อม โดยบริษัทฯ ถือว่า เป็นความรับผิดชอบและหน้าที่ของพนักงานทุกคนในทุกระดับ ที่จะต้องปฏิบัติ ตามแนวทางข้างต้นอย่างจริงจังและสม่ำ�เสมอ ดังนั้นเพื่อเป็นการปฏิบัติตามกฏหมายความปลอดภัยในการทำ�งาน สุขอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน (พ.ศ. 2549) นับตั้งแต่ปี 2552 บริษทั ฯ ได้มกี ารจัดให้มเี จ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยระดับบริหาร (จป. บริหาร) จำ�นวน 14 คน ซึง่ เป็นตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ ของบริษทั ฯ เพือ่ ทำ�หน้าที่ ในการเสนอแผนงานโครงการด้านความปลอดภัยในการทำ�งานในหน่วยงานที่รับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุน กำ�กับ ดูแลการดำ�เนินงานเกี่ยวกับ ความปลอดภัยในการทำ�งานและติดตามให้มีการแก้ไขข้อบกพร่องเพื่อความปลอดภัยของลูกจ้างตามที่ได้รับรายงาน รวมทั้งกำ�กับ ดูแลเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการทำ�งานทุกระดับซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำ�งานระดับบริหาร พร้อมกันนี้ บริษัทฯ ได้มีการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยหัวหน้างาน (จป. หัวหน้างาน) จำ�นวน 23 คน ซึ่งเป็นตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ ของ บริษัทฯ เพื่อทำ�หน้าที่ในการกำ�กับดูแลให้ลูกจ้างในหน่วยงานที่รับผิดชอบปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือว่าด้วยความปลอดภัยในการทำ�งาน วิเคราะห์ งานในหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อค้นหาความเสี่ยงหรืออันตรายเบื้องต้น โดยอาจร่วมดำ�เนินการกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำ�งานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูงหรือระดับวิชาชีพ ตรวจสอบสภาพที่ทำ�งาน เครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยก่อนลงมือปฏิบัติงานประจำ�วัน รวมทัง้ รายงานการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรำ�คาญ เนือ่ งมาจากการทำ�งานของลูกจ้างต่อนายจ้าง และเจ้าหน้าทีท่ เ่ี กีย่ วข้อง และส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมความปลอดภัยในการทำ�งาน โดยในปี 2553 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับบริหารและเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยหัวหน้างาน ได้ดำ�เนินการตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่าง เหมาะสมและสม่ำ�เสมอ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มีการจัดอบรมเรื่อง การซ้อมอพยพหนีไฟ ให้แก่พนักงาน โดยประสานงานบริษัทเกิดฟ้า จำ�กัด (เจ้าของอาคาร) และสำ�นัก ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กองปฏิบัติการดับเพลิง 4 ในการให้พนักงานปฏิบัติการซ้อมหนีไฟเสมือนจริง เป็นประจำ�ทุกปี

082


โดยในปี 2553 มีการจัดอบรมเรื่อง การซ้อมอพยพหนีไฟ ขึ้นที่ห้อง Auditorium ชั้น 21 อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส ระหว่างวันที่ 16 และ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2553 และปฏิบตั กิ ารซ้อมหนีไฟเสมือนจริง ในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 บริเวณอาคารและหลังอาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส ระหว่างเวลา 14.00 น. – 16.00 น. การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการบริษัทเห็นความสำ�คัญของการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และการร่วมรักษ์โลก โดยพนักงานทุกคนมีหน้าที่โดยตรงในการดูแล ไม่ให้ทรัพย์สินใดๆ ของบริษัทฯ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของตน เสื่อมค่า สูญหาย หรือสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์ รวมทั้งการใช้ทรัพยากรอื่นๆ ของ บริษทั ฯ ส่วนรวม และประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ โดยบริษทั ฯ ได้จดั ทำ�เป็นแนวทางในการบริหารจัดการและรณรงค์ในหลายรูปแบบเพือ่ ให้หน่วยงานต่างๆ และพนักงานทุกคน มีจิตสำ�นึกร่วมกันในการรู้จักถึงประโยชน์ เห็นคุณค่าและการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น แนวทางในการประหยัดไฟฟ้า ประหยัดนำ� ประหยัดนำ�มัน รวมทั้งการประหยัดพลังงานอื่นๆ ในที่ทำ�งาน และใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพทั้งในที่ทำ�งานและนำ�ไปปรับใช้ในชีวิต ประจำ�วันเพื่อประโยชน์แก่สังคมและสิ่งแวดล้อมโดยรวม แนวทางที่พนักงานทุกระดับควรปฏิบัติร่วมกัน ได้แก่ แนวทางในการประหยัดไฟฟ้า เช่น ปิดสวิตช์ไฟและเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกครั้งที่เลิกใช้งาน เช่น ถ้าออกจากห้องเกิน 1 ชั่วโมง ให้ปิดเครื่องปรับอากาศทุกครั้ง หรือปิดไฟเมื่อพักเที่ยง เลือกอุปกรณ์ไฟฟ้าทีม่ ฉี ลากเบอร์ 5 ทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการประหยัดไฟ หมัน่ ทำ�ความสะอาดแผ่นกรองอากาศของเครือ่ งปรับอากาศ ตัง้ อุณหภูมเิ ครือ่ งปรับ อากาศที่ 25 องศาเซลเซียส ตรวจสอบอุดรอยรัว่ ในห้องและปิดประตูทกุ ครัง้ ก่อนใช้เครือ่ งปรับอากาศ หลีกเลีย่ งการเก็บวัสดุทไ่ี ม่จ�ำ เป็นในห้องปรับอากาศ ใช้หลอดผอมจอมประหยัด และใช้บลั สาสต์อเิ ล็กทรอนิกส์คกู่ บั หลอดผอมจอมประหยัด ใช้โคมไฟทีม่ แี ผ่นสะท้อนแสง เพือ่ ช่วยกระจายความสว่าง ติดตัง้ ไฟ เฉพาะจุดแทนการเปิดไฟทั้งห้อง ใช้สีอ่อนภายในอาคาร เพื่อทำ�ให้ห้องสว่างขึ้น ใช้แสงสว่างจากธรรมชาติให้มากที่สุด ถอดหลอดไฟออกครึ่งหนึ่งใน บริเวณที่ต้องการแสงสว่างน้อย บำ�รุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้าและระบบปรับอากาศ/ระบายอากาศอย่างสม่ำ�เสมอ ทุกๆ 3-6 เดือน เป็นต้น แนวทางในการประหยัดนำ� เช่น หมัน่ ตรวจสอบการรัว่ ไหลรัว่ ซึมของน� ำ ไม่เปิดน�ำ ทิง้ ไว้ตอนแปรงฟัน หรือถูสบู่ ใช้สบูเ่ หลวแทนสบูก่ อ้ นเวลาล้างมือเพราะจะใช้น�ำ น้อยกว่า อย่าทิง้ น�ำ ดืม่ ที่เหลือโดยเปล่าประโยชน์ รินน�ำ ให้พอดีดื่ม และใช้สุขภัณฑ์ประหยัดน� ำ เป็นต้น แนวทางในการประหยัดนำ�มัน เช่น ใช้ระบบการใช้รถร่วมกัน (Car Pool) ใช้โทรศัพท์แทนการเดินทาง โทรนัดล่วงหน้าก่อนเดินทาง ศึกษาแผนที่ในการเดินทางให้ดี หมั่นศึกษา ทางลัด จะประหยัดทั้งเวลาและนำ�มัน กำ�หนดเส้นทางและช่วงเวลาการเดินทางให้เหมาะสม ใช้โทรสารไปรษณีย์ หรืออินเตอร์เน็ตแทนการส่งเอกสาร ด้วยตัวเอง ตรวจสอบลมยางเป็นประจำ� สับเปลี่ยนยางตรวจตั้งศูนย์ล้อตามกำ�หนด ดับเครื่องทุกครั้งเมื่อต้องจอดรถนานๆ ตรวจเช็คเครื่องยนต์ สม่ำ�เสมอ ไม่บรรทุกนำ�หนักเกินพิกัด เป่าทำ�ความสะอาดและเปลี่ยนไส้กรองอากาศตามความเหมาะสม เปลี่ยนนำ�มันเครื่องและไส้กรองนำ�มันเครื่อง ตามความเหมาะสม ไม่ติดตั้งอุปกรณ์แต่งรถที่จะทำ�ให้เครื่องยนต์ทำ�งานหนักขึ้น ใช้นำ�มันที่มีค่าออกเทนเหมาะกับชนิดของรถ ไม่ควรปรับเครื่องปรับ อากาศให้เย็นเกินไป และจอดรถในที่ร่มเพื่อลดอุณหภูมิในรถ เป็นต้น แนวทางในการประหยัดพลังงานอื่นๆ ในที่ทำ�งาน เช่น ใช้กระดาษให้คุ้มทั้ง 2 หน้า ส่งผ่านข้อมูลข่าวสารต่างๆ ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขึ้นลงชั้นเดียวไม่ต้องใช้ลิฟท์ แยกประเภทขยะ ใช้ ผลิตภัณฑ์ที่สามารถนำ�กลับมาใช้ใหม่ได้ ใช้สินค้าที่บรรจุภัณฑ์สามารถผ่านกระบวนการนำ�กลับมาใช้ใหม่ได้ ใช้ซำ�ซองกระดาษสีน�ำ ตาลในการส่งเอกสาร ทั้งภายในและภายนอก โดยไม่ต้องฟอกขาว เป็นต้น โดยในปี 2553 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ดำ�เนินการและประสานงานกับพนักงานและหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้มีการปฏิบัติตามแนวทางที่กำ�หนดขึ้น รวมทั้งรณรงค์ผ่านเว็บไซต์ภายในองค์กร (Intranet) อย่างสม่ำ�เสมอเช่นเดียวกับปีก่อนๆ จากการที่กลุ่มบริษัทฯ มุ่งมั่นในการการอนุรักษ์พลังงานทั้งในระดับองค์กรและระดับประเทศ ทำ�ให้บริษัทฯ เป็น 1 ใน 3 บริษัทในกลุ่มผลิตรายการ ที่ได้เข้าร่วมโครงการ BEAT2010 หรือ Building Energy Award of Thailand ซึ่งจัดโดยสำ�นักงานนโยบายและพลังงาน กระทรวงพลังงาน โดยนำ� อาคารชั้นนำ�มาแข่งขันกันอนุรักษ์พลังงานจริง เพื่อต้องการกระตุ้นให้ประชาชนทั่วไปตื่นตัวในการอนุรักษ์พลังงานจากตัวอย่างจริงของอาคารที่เป็นที่รู้จัก และสร้างบุคลากรด้านการอนุรกั ษ์พลังงานระดับประเทศในระยะยาว โดยบริษทั ฯ มีมลู นิธสิ ถาบันประสิทธิภาพพลังงาน (ประเทศไทย) เป็นทีป่ รึกษาโครงการ บทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาชุมชน คณะกรรมการบริษทั ยึดมัน่ ในเจตนารมณ์ทจ่ี ะดำ�เนินธุรกิจภายใต้หลักจริยธรรมและแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ควบคูไ่ ปกับการมีความรับผิดชอบ ต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) จนกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กร โดยบูรณาการกับวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ และเป้าหมายขององค์กร เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย รวมทั้งนำ�ไปสู่การสร้างความเจริญก้าวหน้าในเชิงธุรกิจ ที่ก้าวไปพร้อมกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและส่งเสริมการศึกษา การกีฬา ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องตลอดไป โดยมีนโยบายใน การสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม วัฒนธรรมและประเพณี อันดีงาม สร้างสรรค์และให้การสนับสนุนกิจกรรม อันเป็นประโยชน์ ต่อชุมชนและสังคมส่วนรวม ไม่กระทำ�การใดๆ ที่จะมีผลเสียหายต่อชื่อเสียงของประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ไม่ให้ความร่วมมือหรือ สนับสนุนบุคคลหรือองค์กรใดๆ ที่ทำ�ธุรกิจผิดกฎหมาย หรือเป็นภัยต่อสังคมและความมั่นคงของประเทศ ปลูกฝังจิตสำ�นึกความรับผิดชอบต่อชุมชนและ สังคมส่วนรวมให้เกิดขึ้นในหมู่พนักงานทุกระดับ รวมทั้งปฏิบัติหรือควบคุมให้มีการปฏิบัติอย่างเคร่งครัดตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตามรายละเอียดใน คู่มือจริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติในการทำ�งานของกลุ่มบริษัท นอกจากนี้ได้ส่งเสริมให้ชุมชนโดยรอบของบริษัทฯ และชุมชนต่างๆ มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน พึ่งพาตนเองได้ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน มีคุณภาพชีวิตดี มีความสุข อยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข และสนับสนุน ส่งเสริมการจัดกิจกรรมร่วมกัน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้มีการให้ความรู้และฝึกอบรมพนักงานในเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสนับสนุนให้พนักงานเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่กลุ่มบริษัทจัดขึ้น โดยในปี 2553 กลุ่มบริษัทมีบทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคมที่สำ�คัญๆ ในด้านต่างๆ โดยเข้าไปเป็นผู้ดำ�เนินการ ผู้จัดหรือมีส่วนร่วมสนับสนุน กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการศึกษา กิจกรรมเพือ่ เด็กและเยาวชน กิจกรรมเพือ่ เด็กผูย้ ากไร้ กิจกรรมเพือ่ สังคม กิจกรรมเพือ่ สิง่ แวดล้อมและการพัฒนาชุมชน ดังนี้ โครงการสนับสนุนการศึกษา 1. มูลนิธดิ �ำ รงชัยธรรม ครบรอบ 12 ปีแห่งการสร้างโอกาสทางการศึกษาให้เด็กไทยมูลนิธดิ �ำ รงชัยธรรม ก่อตัง้ โดยนายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ประธาน กรรมการ บริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) เพือ่ เปิดโอกาสทางการศึกษาให้เด็กไทยทีข่ าดแคลนทุนทรัพย์ เรียนดี ประพฤติดี และมีความสามารถ โดยมอบทุนการศึกษาต่อเนื่องครบวงจรจนจบปริญญาตรี ต่อเนื่องทุกปีเพื่อมอบโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน ตามรายละเอียดในหัวข้อ “บทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคม” หน้า 16 083


2. แกรมมี่บริจาคสมทบทุนเนื่องในวันครบรอบกระทรวงพานิชย์ บริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) พร้อมด้วยศิลปิน สมทบทุนบริจาคแก่มลู นิธวิ สิ สุกรรม เพือ่ สนับสนุนทุนการศึกษาแก่บตุ รธิดา ข้าราชการ เจ้าหน้าทีก่ ระทรวงพานิชย์ เนือ่ งในวันครบรอบการก่อตัง้ 90 ปีกระทรวงพานิชย์ กัน ตามรายละเอียดในหัวข้อ “บทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคม” หน้า 16 3. จีเอ็มเอ็ม ทีวี จัดรายการ “รถโรงเรียน” พาศิลปิน กลับไปเยี่ยมโรงเรียน และมอบทุนการศึกษา บริษทั จีเอ็มเอ็ม ทีวี จำ�กัด นำ�เสนอรายการ “รถโรงเรียน” ทางสถานีวทิ ยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 โดยอาสาพาคนดัง ศิลปิน ดารา นักร้อง คืนสูเ่ หย้า กลับสูส่ ถาบันทีเ่ คยผูกพัน เล่าเรือ่ งราวทีป่ ระทับใจ พร้อมชักชวนคุณครู และรุน่ น้อง ร่วมทำ�ภารกิจสร้างสรรค์เพือ่ โรงเรียน เพือ่ สังคม หรือเพือ่ คนเก่งทีข่ าดโอกาส พร้อมมอบทุนการศึกษาสนับสนุนกิจกรรมต่างๆของแต่ละโรงเรียน โดยในปี 2553 มีการกลับไปเยีย่ มโรงเรียน 45 แห่ง และมอบทุนการศึกษาให้แต่ละสถาบัน รวมเป็นเงินทัง้ สิน้ 880,000 บาท รวมทัง้ บริจาคหนังสือและ สื่อการเรียน ให้แก่โรงเรียนที่ขาดแคลน ในปี 2553 บริษทั ในกลุม่ บริษทั ซึง่ ได้แก่ บริษทั เอ็กแซ็กท์ จำ�กัด, บริษทั จีเอ็มเอ็ม ทีว ี จำ�กัด และบริษทั จีเอ็มเอ็ม มิวสิค พับลิชชิง่ อินเตอร์เนชัน่ แนล จำ�กัด ร่วมกันบริจาคหนังสือ อุปกรณ์การเรียน อุปกรณ์กีฬา และสื่อการเรียนการสอน ให้แก่โรงเรียนที่ขาดแคลน รวม 193 โรงเรียน ในวงเงินบริจาค 8,000,000, 1,000,000 และ 1,100,000 บาท ตามลำ�ดับ รวมทั้งสิ้น 10,100,000 บาท 4. 4 คลื่นวิทยุเอ-ไทม์ มีเดีย และ Bang Channel เปิดบ้านต้อนรับคณะนักเรียน นิสิตนักศึกษา และคณะศึกษาดูงาน ในปี 2553 ที่ผ่านมา 4 คลื่นในเครือของ เอ-ไทม์ มีเดีย ได้แก่ 89 ชิล เอฟเอ็ม ฮอต 915..ซ่าโดนทีน 94 อีเอฟเอ็ม กรีนเวฟ 106.5 เอฟเอ็ม และ Bang Channel เปิดโอกาสให้คณะนักเรียน นิสิตนักศึกษา จากสถาบันต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ นักประชาสัมพันธ์รุ่นเยาว์ จาก 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และนักจัดรายการสังกัดกรมประชาสัมพันธ์ที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับเบื้องหลังการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ได้เข้าศึกษาดู งานการผลิตรายการโดยจำ�นวนคนเข้าดูงานทั้งสิ้นกว่า 1,000 คน นอกจากนี ้ ดีเจในเครือ เอ-ไทม์ยงั ได้รบั เกียรติ เชิญไปร่วมบรรยายและเป็นวิทยากรให้ความรูใ้ นหัวข้อ อาชีพนักจัดรายการวิทยุทด่ี ี เพือ่ ร่วมเล่าประสบการณ์ ความรู้ที่เป็นประโยชน์ ตามมหาวิทยาลัยและองค์กรภาครัฐและเอกชนต่างๆ อีกด้วย โครงการกิจกรรมเพื่อเด็กและเยาวชน เป็นกิจกรรมที่บริษัทสร้างสรรค์ขึ้น เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นกำ�ลังสำ�คัญของชาติให้มีแนวคิดและทัศนคติที่ดีต่อตนเอง บุคคล รอบข้าง และสังคมส่วนรวม อาทิ โครงการมอบของขวัญเพื่อน้องเนื่องในวันเด็กแห่งชาติ, กิจกรรมรณรงค์เนื่องในวันเยาวชนแห่งชาติ, กิจกรรม Bangkok Music Award, กิจกรรมยลพิพิธภัณฑ์ฯ ผ่านความรู้สึก, กิจกรรมส่งเสริมและเผยแผ่ธรรมะในสถานศึกษา, การบริจาคหนังสือเพื่อเยาวชน, กิจกรรมเลีย้ งอาหารและให้ก�ำ ลังใจเด็กด้อยโอกาส, กิจกรรมทำ�บุญเดือนเกิด เพือ่ เด็กยากไร้ ฯลฯ ตามรายละเอียดในหัวข้อ “บทบาทและความรับผิดชอบ ต่อสังคม” หน้า 16 โครงการกิจกรรมเพื่อเด็กผู้ยากไร้ 1. 10 คนดัง รวมพลังขึ้นเวที Super Star Charity Night หาเงินช่วยเด็กกำ�พร้า 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพือ่ ตอกย�ำ ว่าคนไทยยังรักกัน คลืน่ กรีนเวฟ 106.5 เอฟเอ็ม จัดคอนเสิรต์ การกุศล “Green Fan Club: Super Star Charity Night” (กรีนแฟนคลับ: ซูเปอร์สตาร์ แชริตี้ ไนท์)โดยศิลปินมากมาย และดีเจแห่งคลื่นกรีนเวฟ เมื่อวันเสาร์ที่ 29 พฤษภาคม 2553 เวลา ณ โรงละครอักษรา คิง พาวเวอร์ คอมเพล็กซ์ ซึ่งรายได้จากการจำ�หน่ายบัตรรับประทานอาหารและบัตรชมคอนเสิร์ตหลังหักค่าใช้จ่ายในงานนี้จำ�นวน 350,000 บาท ได้ส่งมอบให้กับ “โครงการใต้ฟ้าเดียวกัน” เพื่อนำ�ไปช่วยเหลือเด็กกำ�พร้าที่สูญเสียพ่อแม่และครอบครัวจากเหตุการณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. ดีเจคลื่นกรีนเวฟ 106.5 เอฟเอ็ม นำ�ทีมศิลปินขายกอดสุดอบอุ่น แลกเสื้อกันหนาวให้น้องผู้ยากไร้ได้ถึง 3,500 ตัว เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2553 ณ เซ็นทรัลพระราม 2 คลื่นกรีนเวฟ 106.5 เอฟเอ็ม จัดกิจกรรม กรีนแฟนคลับ ตอน “กอดนี้อุ่นถึงน้อง” โดยมี ศิลปินดารา และดีเจจากคลืน่ กรีนเวฟ 106.5 เอฟเอ็ม มาร่วมขายกอดการกุศล เพือ่ รับบริจาคเงินและเสือ้ กันหนาวตัวใหม่จ�ำ นวน 3,500 ตัว ช่วยเหลือ น้องผู้ยากไร้ในจังหวัดหนองคาย โครงการกิจกรรมเพื่อสังคม 1. คนบันเทิง อิ่มบุญถ้วนหน้า สร้างกุศลกับ 16 มูลนิธิ ในงาน“Green Charity Fair” คลื่นกรีนเวฟ 106.5 เอฟเอ็ม จัดงานการกุศล “Green Charity Fair” ณ ห้างเซ็นทรัลปิ่นเกล้า เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2553 โดยชวนดารา นักร้อง นักแสดง นำ�ของใช้สว่ นตัวมาประมูล เปิดบูธร้านอาหาร ขายของมือสอง ออกบูธเล่นเกมส์ หาเงินช่วยเหลือ 16 มูลนิธิ โดยได้ยอดบริจาครวมกว่า 400,000 บาท และปิดท้ายด้วยการแสดงมินิคอนเสิร์ตจากศิลปินคุณภาพ ที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซ่า ปิ่นเกล้า 2. กรีนคอนเสิร์ต หมายเลข 13 เซเว่น ดีโว่ส์ ส่งต่อพลังความรักจากผู้ชายเสียงดี 7 คน ให้กับผู้หญิงที่มีหัวใจพิเศษ 7 คน เมือ่ วันที่ 21 และ 22 สิงหาคม 2553 คลืน่ กรีนเวฟ 106.5 เอฟเอ็ม จัดคอนเสิรต์ การกุศลครัง้ ใหญ่ “กรีนคอนเสิรต์ หมายเลข 13: เซเว่น ดีโว่ส”์ ณ รอยัล พารากอนฮอลล์ ทีร่ วมศิลปินชายเจ้าของเสียงร้องคุณภาพ 7 คน (เซเว่น ดีโว่ส)์ ก้อง สหรัถ, กบ ทรงสิทธิ,์ ป๊อด โมเดิรน์ ด็อก, เบน ชลาทิศ, ป๊อบ แคลอรีส์ บลาห์ บลาห์, อ๊อฟ ปองศักดิ์ และว่าน ธนกฤต เพื่อผู้หญิงที่มีหัวใจพิเศษ 7 คน ที่อุทิศตนและต้องการความช่วยเหลือจากสังคม โดย ยอดเงินบริจาคที่มาจากการขายบัตรรอบซ้อมใหญ่ การขายของที่ระลึกจากคอนเสิร์ตบริเวณหน้างาน และจากยอดบริจาคของผู้ที่ร่วมบริจาคผ่านบัญชี ทั้งหมดมีมูลค่ารวมกันทั้งสิ้น 5,470,000 บาท 3. คนฟังกรีนเวฟพร้อมใจ ตัดผมเปลี่ยนลุค!! ส่งกำ�ลังใจให้ผู้ป่วยโรคมะเร็ง มีการจัดกิจกรรม กรีนแฟนคลับ ของ คลื่นกรีนเวฟ 106.5 เอฟเอ็ม เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2553 ณ ศูนย์การค้า เซ็นทรัลพลาซ่า พระราม 2 โดยชวนคนฟังกว่า 200 ชีวติ รวมทัง้ ดีเจ.พีอ่ อ้ ย นภาพร, ดีเจ.อัน๋ ภูวนาท, ดีเจ.เกศริน มาร่วมกันสร้างปรากฎการณ์การทำ�บุญครัง้ ใหญ่ ด้วยการตัดผม เปลี่ยนลุค “Look good feel good” โดยช่างผมมืออาชีพ เช่น คุณสมศักดิ์ ชลาชล มาร์ค ธาวิน และ โทนี่ รากแก่น เพื่อส่งต่อเส้นผมให้กับ ศูนย์ส่งเสริม คุณภาพชีวติ ผูป้ ว่ ยมะเร็ง โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ นำ�ไปผลิตวิกผมช่วยเหลือผูป้ ว่ ยโรคมะเร็ง ทีผ่ มร่วงจากการทำ�คีโมบำ�บัด หรือใครทีผ่ มยังยาวไม่ถงึ 7 นิว้ ก็สามารถมาร่วมบริจาควิกผมและเงินเข้ามูลนิธใิ นงานนีไ้ ด้เช่นกัน มีผบู้ ริจาคเส้นผมรวม 297 ราย บริจาควิกผม 31 วิก และบริจาคเงินจำ�นวน 62,588 บาท 4. Atime จัดงานระดมทุนช่วยผู้ประสบอุทกภัยใน “ให้บ้าน ให้ชีวิต” บริษทั เอ-ไทม์ มีเดีย จำ�กัด ร่วมกับ มูลนิธทิ อ่ี ยูอ่ าศัยเพือ่ มนุษยชาติประเทศไทย (HABITAT Thailand) จัดงาน “ระดมทุนช่วยผูป้ ระสบอุทกภัยใน “ให้บ้าน ให้ชีวิต” ถ่ายทอดสดผ่านทางช่องกรีนแชนแนล คลื่นวิทยุทั้ง 4 คลื่นของ เอ-ไทม์ มีเดียได้แก่ ชิล เอฟเอ็ม 89 / ฮอต 91.5 / 94 อีเอฟเอ็ม และกรีนเวฟ 106.5 เอฟเอ็ม เพือ่ ระดมเงินทุนช่วยเหลือฟืน้ ฟูและซ่อมแซมทีอ่ ยูอ่ าศัยให้กบั ผูป้ ระสบภัยอุทกภัยทัว่ ประเทศ เมือ่ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2553 ทีอ่ าคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส โดยมีศลิ ปินดาราจากหลากหลายค่ายมาร่วมกันช่วยรับโทรศัพท์ พร้อมมีโชว์พเิ ศษจากศิลปินดังมากมาย ซึง่ งานนีม้ ผี ปู้ ระสงค์ บริจาคเงินช่วยเหลือโทรเข้ามาบริจาคเป็นจำ�นวนเงินถึง 902,605 บาท

084


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

5. “ช่องแกรมมี่” ร่วมใจ “ฟื้นฟู” ผู้ประสบอุทกภัย “ภาคใต้ ช่องแกรมมี่ ร่วมกับ หาดใหญ่เคเบิล 93 พร้อมด้วย หน่วยงานภาครัฐ และ เอกชน ในอำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จัดกิจกรรม “มหกรรม รวมพลัง รวมใจ คนไทยช่วยกัน” เพือ่ เร่งฟืน้ ฟูสภาพจิตใจ ผูป้ ระสบอุกภัยในพืน้ ที่ โดยนำ�สิง่ ของสาธารณูปโภคไปมอบ พร้อมเปิดสายโทรศัพท์รบั สมทบทุนเพิม่ เติม โดยมีศิลปินและพิธีกรตัวแทนจากช่องแกรมมี่เข้าร่วมกิจกรรมกันอย่างคับคั่ง 6. ร่วมกันบริจาคโลหิต บริษทั ฯ จัดกิจกรรมเชิญชวน “บริจาคโลหิต” เพือ่ ให้พนักงานของบริษทั ร่วมกับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องค์กรต่างๆ ชุมชนในบริเวณใกล้เคียง และผู้ที่สนใจทั่วไป ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการให้ที่ยิ่งใหญ่ เป็นประจำ�ทุกปี ปีละสี่ครั้ง นอกจากนี้ คลื่นกรีนเวฟ 106.5 เอฟเอ็ม ได้มีกิจกรรมหรือ ประชาสัมพันธ์ให้กับหน่วยหน่วยงานภาครัฐและเอกชนอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อเชิญชวนผู้ฟัง ร่วมบริจาคโลหิต เมื่อมีสถานการณ์หรือความจำ�เป็นที่ต้องการ รับบริจาคเลือดเป็นจำ�นวนมาก เช่น สถานการณ์ความไม่สงบ อุบัติเหตุหรือภัยพิบัติ ภัยธรรมชาติ เป็นต้น ในปี 2553 บริษัทจัดกิจกรรม “บริจาคโลหิต” ขึ้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์, วันที่ 24 พฤษภาคม, วันที่ 23 สิงหาคม และวันที่ 23 พฤศจิกายน รวมผู้ร่วมบริจาคโลหิตทั้งหมด 901 คน โครงการกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม 1. ดีเจเต็บ - ดีเจแบม ฟื้นฟูทะเลบางแสน เที่ยว-ชม-ช้อปสุดเพลิน ในกรีนแฟนคลับ : Refresh the sea คลื่นกรีนเวฟ 106.5 เอฟเอ็ม เห็นความสำ�คัญของการร่วมมือกันตอบแทนธรรมชาติ โดยจัดกิจกรรม กรีนแฟนคลับ ตอน “รีเฟชร เดอะ ซี” (Refresh the Sea) เพือ่ เรียนรูก้ ารอนุรกั ษ์และคืนความสดใสให้ทอ้ งทะเลร่วมกันทีห่ าดบางแสน จังหวัดชลบุร ี ระหว่างวันที ่ 13-14 พฤศจิกายน 2553 โดยเริ่มต้นจากการเรียนรู้วิธีการทำ�ก้อนจุลินทรีย์จากอาจารย์ยักษ์ ประธานมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติผู้เชี่ยวชาญและคิดค้นก้อนจุลินทรีย์ขึ้นเป็นคนแรก ซึ่งมีส่วนผสมและวัตถุดิบที่ประกอบด้วย โคลนทะเล รำ� ปุ๋ยอินทรีย์ น�ำ หมักสมุนไพรชีวภาพ รสประธานหมักไร้แสง ไร้อากาศ 3 เดือนขึ้นไป และนำ� ก้อนจุลินทรีย์ที่ได้ไปโยนที่หน้าหาดบางแสน ช่วยให้ทะเลชายฝั่งของหาดบางแสนมีนำ�ที่ใสขึ้น เสร็จสิ้นภารกิจการอนุรักษ์ท้องทะเลกันไปแล้วดีเจเต็บ และดีเจแบมก็นำ�ทีมบุกไปเรียนรู้วัฒนธรรมกันต่อที่ ตลาดนำ� 4 ภาค แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่รวบรวมของดีทั้ง 4 ภาค ไว้ให้นักท่องเที่ยวได้เที่ยว ชมและช้อปปิ้งกันอย่างจุใจ 2. COCKPIT-ร่วมกับรายการคุยกัน Frank-Frank จัดกิจกรรม-รักรถ-รักษ์โลก รายการคุยกัน Frank-Frank แห่งช่อง Acts Channel ร่วมกับ COCKPIT พาศิลปินจากเดอะสตาร์ จัดกิจกรรมเพือ่ สิง่ แวดล้อม 3 พืน้ ที่ โดยร่วมกับชุมชน ในพื้นที่ในการปลูกป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสาคร, ปลูกต้นลาน ที่อุทยานแห่งชาติทับลาน จังหวัด นครราชสีมา และปลูกปะการัง ณ หาดเทียนทะเล ฐานทัพเรือสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2553 เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2553 และเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 ตามลำ�ดับ นอกจากนี้ ในปี 2553 บริษัทฯ ได้มีการรณรงค์และให้ความความรู้แก่พนักงานในเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและพลังงาน รวมทั้งข่าวสารกิจกรรม ต่างๆ ที่กลุ่มบริษัทจัดขึ้น ผ่านเว็บไซต์ภายในองค์กร (Intranet) ทั้งนี้รายละเอียดบทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคมอื่นๆ ของกลุ่มบริษัท แสดงอยู่ใน หัวข้อ “บทบาทและความรับผิดชอบต่อสังคม” หน้า 16

085


รายการระหว่างกัน 1. กลุ่มบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่มีการทำ�รายการระหว่างกันกับบริษัทฯ และบริษัทย่อย ในช่วงปี 2553 บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้มีการทำ�รายการระหว่างกันกับบริษัทและบุคคลที่เกี่ยวข้อง ที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่งมี ทั้งรายการที่เป็นไปตามปกติทางธุรกิจและรายการที่ไม่เป็นปกติทางธุรกิจของบริษัทและบริษัทย่อย โดยจำ�แนกกลุ่มธุรกิจที่มีการทำ�รายการระหว่างกัน ออกเป็น 3 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ A) กลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทฯ ประกอบไปด้วยบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) และบริษัทย่อยของบริษัทฯ รายละเอียดเกี่ยวกับบริษัทในกลุ่มบริษัทฯ

ชื่อบริษัท บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยบริษัทฯ บริษัท เอ็มจีเอ จำ�กัด บริษัท มิวสิค ก๊อปปี้ไรท์ คอลเลคชั่น จำ�กัด บริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เอ็กซ์ทรอกาไนเซอร์ จำ�กัด บริษัท อัพเพอร์ คัท จำ�กัด บริษทั จีเอ็มเอ็ม มิวสิค พับลิชชิง่ อินเตอร์เนชัน่ แนล จำ�กัด บริษทั โกลบอล มิวสิค แอนด์ มีเดีย (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท มอร์ มิวสิค จำ�กัด บริษัท อราทิสท์ แมเนจเม้นท์ จำ�กัด บริษัท จีเอ็มเอ็ม โฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท จีเอ็มเอ็ม ไท หับ จำ�กัด บริษัท ที่ฟ้า จำ�กัด บริษัท คลีน คาราโอเกะ จำ�กัด บริษัท ลักษ์มิวสิค 999 จำ�กัด บริษัท ทรี-อาร์ดี จำ�กัด บริษัท จี-แกรม จำ�กัด บริษัท จีอาร์ โวคอล สตูดิโอ จำ�กัด บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยบริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เอ-ไทม์ มีเดีย จำ�กัด บริษัท เรดิโอ คอนเซ็ป จำ�กัด บริษัท โอเพ่น เรดิโอ จำ�กัด บริษัท เอ็กแซ็กท์ จำ�กัด (อีก 49 % ถือหุ้นโดยบริษัท แมส มอนิเตอร์ จำ�กัด) บริษัท จีเอ็มเอ็ม ทีวี จำ�กัด บริษัท แมส มอนิเตอร์ จำ�กัด บริษัท ทีน ทอล์ก จำ�กัด บริษัท ดีทอล์ค จำ�กัด บริษัท บลิส พับลิชชิ่ง จำ�กัด บริษัท อิมเมจ พับลิชชิ่ง จำ�กัด บริษัท จีเอ็มเอ็ม อินเตอร์ พับลิชชิ่ง จำ�กัด บริษัท จีเอ็มเอ็ม ไทมส์ จำ�กัด บริษัท อิน พับลิชชิ่ง จำ�กัด บริษัท อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท อินเด็กซ์ อีเว้นท์ เอเจนซี่ จำ�กัด (มหาชน))

086

ประเภทของธุรกิจ ดำ�เนินธุรกิจบันเทิงครบวงจร ได้แก่การผลิตและ จัดจำ�หน่ายผลงานเพลง ทั้งที่เป็นสินค้าและรูปแบบ Digital ธุรกิจจัดเก็บค่าลิขสิทธิ์ บริหารศิลปิน การจัดคอนเสิรต์ และผลิตรายการโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม ให้เช่าเครื่องจักรและอุปกรณ์ หยุดดำ�เนินงานชั่วคราว ผลิตรายการวิทยุ หยุดดำ�เนินงานชั่วคราว หยุดดำ�เนินงานชั่วคราว จัดการเกี่ยวกับลิขสิทธิ์เพลง หยุดดำ�เนินงานชั่วคราว หยุดดำ�เนินงานชั่วคราว หยุดดำ�เนินงานชั่วคราว ลงทุนในบริษัทอื่น ผลิตภาพยนตร์และรายการโทรทัศน์ หยุดดำ�เนินงานชั่วคราว ให้บริการตู้คาราโอเกะ หยุดดำ�เนินงานชั่วคราว ให้บริการจัดหาลูกค้าผ่านทางระบบโทรศัพท์ บริหารงานศิลปิน โรงเรียนสอนดนตรี

สัดส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ฯ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553) -

100 % 100 % 99.89 % 100 % 100 % 100 % 100 % 100 % 100 % 100 % 51 % 100 % 100 % 50 % 70 % 50 % 50 %

ให้เช่าช่วงสถานีวิทยุ หยุดดำ�เนินงานชั่วคราว หยุดดำ�เนินงานชั่วคราว ผลิตรายการโทรทัศน์

100 % 100 % 100 % 51 %

ผลิตรายการโทรทัศน์ ลงทุนในบริษัทอื่น หยุดดำ�เนินงานชั่วคราว ผลิตรายการโทรทัศน์ ผลิตและจำ�หน่ายหนังสือ ผลิตและจำ�หน่ายนิตยสาร ผลิตและจำ�หน่ายนิตยสาร ผลิตและจำ�หน่ายนิตยสาร ผลิตและจำ�หน่ายนิตยสาร ให้บริการและจัดกิจกรรมทางการตลาด

100 % 100 % 100 % 100 % 100 % 70 % 70 % 70 % 70 % 50 %


รายการระหว่างกัน

ชื่อบริษัท บริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั จีเอ็มเอ็ม โฮลดิง้ จำ�กัด บริษัท จีเอ็มเอ็ม สตูดิโอ จำ�กัด บริษัท สนามหลวงการดนตรี จำ�กัด บริษัท มีฟ้า จำ�กัด บริษัท จีเอ็มเอ็ม ดิจิตอล โดเมน จำ�กัด บริษัท เมจิค ฟิล์ม จำ�กัด บริษัท แกรมมี่ พับลิชชิ่ง เฮ้าส์ จำ�กัด บริษทั โกลบอล มิวสิค แอนด์ มีเดีย (ประเทศจีน) จำ�กัด (จดทะเบียนจัดตั้งในฮ่องกง) บริษัท จีเอ็มเอ็ม ฟิตเนสคลับ จำ�กัด

ประเภทของธุรกิจ บริการงานด้านสตูดิโอ หยุดดำ�เนินการชั่วคราว โรงเรียนสอนดนตรี หยุดดำ�เนินการชั่วคราว หยุดดำ�เนินการชั่วคราว จำ�หน่ายหนังสือและสื่อการเรียนการสอน หยุดดำ�เนินงานชั่วคราว

สัดส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ฯ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553) 100 % 100 % 100 % 100 % 90.91 % 100 % 100 %

บริหารงานศูนย์ออกกำ�ลังกาย

100 %

บริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั จีเอ็มเอ็ม ดิจติ อล โดเมน จำ�กัด บริษัท ดิจิตอล อาร์มส์ จำ�กัด

ผู้ให้บริการ Digital Content

100 %

บริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั จีเอ็มเอ็ม มิวสิค พับลิชชิง่ อินเตอร์เนชัน่ แนล จำ�กัด บริษัท จีไอพี แมเนจเม้น จำ�กัด

หยุดดำ�เนินการชั่วคราว

100 %

รับจ้างออกแบบชิ้นงาน,ตัดต่อสื่อโฆษณาและ ภาพยนตร์และรับจ้างประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ หยุดดำ�เนินการชั่วคราว

100 %

ให้เช่าสตูดิโอ

50 %

รับจ้างและผลิตรายการโทรทัศน์และให้บริการจัด กิจกรรมทางการตลาด

100 %

ให้บริการบริหารการจัดงานกิจกรรมทางการตลาด

70 %

ให้บริการติดตั้งอุปกรณ์เครื่องเล่นในงานบันเทิง ให้บริการรับตกแต่งสถานที่และให้บริการอุปกรณ์ใน งานสังสรรค์และงานพิธีกรรม บริการอุปกรณ์แสง สี เสียง ในงานบันเทิง ให้บริการประชาสัมพันธ์จัดงานนิทรรศการต่างๆ ให้บริการจัดทำ�ติดตั้งและรื้อถอนแผ่นป้ายโฆษณา ให้บริการและรับออกแบบงานด้านโฆษณาและ ประชาสัมพันธ์ ให้บริการและรับออกแบบจัดสร้างฉากและเวที ให้คำ�ปรึกษาและรับออกแบบจัดสร้างและปรับปรุง Website /Flash Media

100 % 100 %

ให้บริการ และจัดกิจกรรมในตะวันออกกลาง

50 %

บริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั จีเอ็มเอ็ม ไท หับ จำ�กัด บริษัท สวัสดี ทวีสุข จำ�กัด บริษัท ฟีโนมีนา โมชั่นพิคเจอร์ส จำ�กัด บริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั เอ็กแซ็กท์ จำ�กัด บริษัท แอ็กซ์ สตูดิโอ จำ�กัด (อีก 50 % ถือหุ้นโดยบริษัท ซีเนริโอ จำ�กัด ซึ่งเป็น บริษัทร่วม) บริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั อิมเมจ พับลิชชิง่ จำ�กัด บริษัท อิมเมจ ออน แอร์ จำ�กัด บริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั เอ-ไทม์ มีเดีย จำ�กัด บริษัท เอ เจน อีเว้นท์ เอเจนซี่ จำ�กัด บริษัทย่อยที่ถือหุ้นโดยบริษัท อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชือ่ บริษทั อินเด็กซ์ อีเว้นท์ เอเจนซี่ จำ�กัด (มหาชน)) บริษัท อีเว้นท์ โซลูชั่นส์ จำ�กัด บริษัท เทรเบียง จำ�กัด บริษัท มีเดีย วิชั่น (1994) จำ�กัด บริษัท จี คอมมิวนิเคชั่นส จำ�กัด บริษัท อินสปาย อิมเมจ จำ�กัด บริษัท ไอธิ้งแอ็ด จำ�กัด บริษัท ดี ซิกซ์ตี้ ทรี จำ�กัด บริษัท อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ ออนไลน์ จำ�กัด บริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั อีเว้นท์ โซลูชน่ั ส์ จำ�กัด บริษัท แอสเพน อินเด็กซ์ อีเว้นท์ จำ�กัด (ตั้งอยู่ที่ประเทศสหรัฐอาหรับ เอมิเรต)

51 %

51 % 50 % 60 % 40 % 50 % 70 %

087


รายการระหว่างกัน

ชื่อบริษัท

ประเภทของธุรกิจ

กิจการทีค่ วบคุมร่วมกันทีล่ งทุนโดยบริษทั อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท อินเด็กซ์ อีเว้นท์ เอเจนซี่ จำ�กัด (มหาชน)) กิจการร่วมค้า ไอ ดี ทู กิจการร่วมค้า ฟาสท์ แทรค เวิลด์ เอ็กซ์โป ทัวร์

สัดส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ฯ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553)

ออกแบบก่อสร้าง และบริหารจัดการอาคารนิทรรศการไทย ธุรกิจนำ�เที่ยว

67 % 50 %

ประเภทของธุรกิจ

สัดส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ฯ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553)

B) กลุ่มบริษัทร่วม

ชื่อบริษัท บริษัทร่วมที่ถือหุ้นโดยบริษัทฯ บริษัท แฟมมิลี่ โนฮาว จำ�กัด

ผลิตรายการโทรทัศน์ และสื่อสิ่งพิมพ์

50%

บริษัทร่วมที่ถือหุ้นโดยบริษัท จีเอ็มเอ็ม มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ซีเนริโอ จำ�กัด บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ลักษ์ แซทเทิลไลท์ จำ�กัด

ผลิตรายการโทรทัศน์ และละครเวที ผลิตรายการโทรทัศน์ ผลิตรายการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม

25% 25% 25%

บริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยบริษทั จีเอ็มเอ็ม ไท หับ จำ�กัด บริษัท นาดาว บางกอก จำ�กัด

รับจ้างผลิตภาพยนตร์และให้บริการทางการตลาด

30%

บริษัทร่วมที่ถือหุ้นโดยบริษัท อินเด็กซ์ ครีเอทีฟ วิลเลจ จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท อินเด็กซ์ อีเว้นท์ เอเจนซี่ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท บลูมีเดีย คอมมิวนิเคชั่นส์ จำ�กัด

บริการออกแบบ ผลิตและจำ�หน่ายสิง่ พิมพ์ และสือ่ ต่างๆ

40%

บริษัทร่วมที่ถือหุ้นโดยบริษัท มีเดีย วิชั่น (1994) จำ�กัด บริษัท เอนคอร์ จำ�กัด

ให้บริการและจัดกิจกรรมทางการตลาด

37%

C) กลุ่มบริษัทที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทฯ โดยการมีกรรมการร่วมกัน

ชื่อบริษัท

088

ประเภทของธุรกิจ

ลักษณะความสัมพันธ์

บริษัท โฮวยู จำ�กัด

ประกอบธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่น

- นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ของบริษัทฯ เป็นกรรมการซึ่งมีอำ�นาจลงนามผูกพันของ บจก. โฮวยู - นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ของ บริษทั ฯ และเป็นผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ย่อยหลายบริษทั เป็น ผู้ถือหุ้นใหญ่ร้อยละ 46.20 ของ บจก. โฮวยู - นายไชย ณ ศิลวันต์ ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ เป็นผู้ถือหุ้นร้อยละ 4 ของบจก. โฮวยู

บริษัท โฮวยู เซ็นทรัลเวิลด์ จำ�กัด

ประกอบธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่น

- นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ของบริษัทฯ เป็นกรรมการซึ่งมีอำ�นาจลงนามผูกพันของ บจก.โฮวยู เซ็นทรัลเวิลด์ - นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ บริษัทฯ และเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยหลายบริษัท เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ทางอ้อม ร้อยละ 48.5 ของบจก. โฮวยู เซ็นทรัลเวิลด์


ชื่อบริษัท

ประเภทของธุรกิจ

ลักษณะความสัมพันธ์

บริษัท เกิดฟ้า จำ�กัด

บริการให้เช่าและบริการ

- นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ของบริษทั ฯ เป็นกรรมการซึง่ มีอ�ำ นาจลงนามผูกพันของ บจก. เกิดฟ้า - นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ บริษัทฯ และเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยหลายบริษัท เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ร้อยละ 99.99 ของบจก. เกิดฟ้า

บริษัท ร่วมฟ้า จำ�กัด

บริการให้เช่าและบริการ

- นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ของบริษัทฯ เป็นกรรมการซึ่งมีอำ�นาจลงนามผูกพันของ บจก. ร่วมฟ้า - นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ บริษัทฯ และเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยหลายบริษัท เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ร้อยละ 99.99 
ของบจก. ร่วมฟ้า

บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำ�กัด (มหาชน)

ผลิตหนังสือและวารสารเชิงวิชาการ รับ จัดจำ�หน่ายหนังสือ และดำ�เนิน งานร้าน หนังสือ ซีเอ็ดบุ๊คเซ็นเตอร์ และเครือข่าย

- นายสุวัฒน์ ดำ�รงชัยธรรม ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ของบริษัทย่อยหลายบริษัท เป็นกรรมการของ บมจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น

มูลนิธิดำ�รงชัยธรรม

ส่งเสริมและพัฒนาด้านการศึกษาและ วัฒนธรรมให้แก่เยาวชน

- นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งเป็น กรรมการของบริษัทฯ เป็นประธานกรรมการมูลนิธิฯ

บริษัท ยู สตาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด

จำ�หน่ายเครื่องสำ�อาง

- นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ บริษัทฯ และเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยหลายบริษัท เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่รอ้ ยละ 32.93 ของบริษัท ยู สตาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด

ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด จักร์ธรานุภาพ

ให้เช่าและบริการสถานที่

- นายคำ�รณ ปราโมช ณ อยุธยา ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นและ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัทย่อยเป็นหุ้นส่วน ผู้จัดการของห้างหุ้นส่วน จักร์ธรานุภาพ

บริษัท ซีซีซี บิซิเนส ดีเวลล็อปเม้นท์ จำ�กัด

บริการอบรม และสัมมนา

- นายเดช บุลสุข ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบของบริษทั ฯ เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่รอ้ ยละ 94.00 และเป็นกรรมการซึ่งมีอำ�นาจลงนามผูกพันของ บจก. ซีซีซี บิซิเนส ดีเวลล็อปเม้นท์

บริษัท เมธี 1 จำ�กัด

รับจ้างผลิต และกำ�กับละครเวที รายการทางวิทยุโทรทัศน์ แถบบันทึกภาพ แถบบันทึกเสียง

- นายถกลเกียรติ วีรวรรณ ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ของบริษัทฯ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ร้อยละ 99.95 และ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของ บจก. เมธี 1

089


2. ลักษณะของรายการระหว่างกัน บริษัทฯประกอบธุรกิจสร้างสรรค์และผลิตผลงานเพลง, จัดจำ�หน่ายสินค้าเพลง รวมถึงธุรกิจดิจิตัล, การจัดคอนเสิร์ต การบริหารศิลปิน และธุรกิจ โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม โดยมีบริษัทย่อยหลายแห่งดำ�เนินธุรกิจด้านการผลิตสื่อเพื่อสนับสนุนธุรกิจหลัก ดังนั้น บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงมีการทำ�รายการ ระหว่างกันทั้งกับกลุ่มบริษัท กลุ่มบริษัทร่วมและกลุ่มบริษัทที่เกี่ยวข้อง กับกลุ่มบริษัทฯ โดยการมีกรรมการร่วมกัน ซึ่งสามารถจำ�แนกรายการค้าได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ • รายการทีเ่ ป็นไปตามปกติทางธุรกิจ ได้แก่ รายได้จากการค่าจำ�หน่ายสินค้าเพลง ค่าลิขสิทธิ์ ค่าผลิต และจัดจำ�หน่ายภาพยนตร์ รายการค่าโฆษณา ค่าประชาสัมพันธ์ ค่าส่งเสริมการขาย ค่าส่วนแบ่งเทป ค่าบริการสตูดิโอ ค่าบริหารศิลปิน ค่าจ้างผลิต ค่าเช่าสถานีวิทยุ ค่าบริการจัดคอนเสิร์ต และค่าจัดกิจกรรมต่างๆ เป็นต้น • รายการที่ไม่เป็นไปตามปกติทางธุรกิจ ได้แก่ ค่าเช่าอาคารสำ�นักงาน การให้กู้ยืมเงินแก่บริษัทย่อย ค่าบริหารงานส่วนกลางและค่าบริการวิชาชีพ รวมถึงการซื้อขายสินทรัพย์ที่มิได้เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจโดยปกติของบริษัทฯ รายการระหว่างกันระหว่างกลุ่มบริษัทฯ กับบริษัทที่เกี่ยวข้องโดยการมีกรรมการร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจ บุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์

ลักษณะของรายการ มูลค่ารายการ ลูกหนี้การค้าคงค้าง ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

บุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์

ลักษณะของรายการ

ลักษณะความสัมพันธ์ได้แสดงไว้แล้วใน ข้อ 1 C)

2) บริษัท ยู สตาร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (จำ�หน่ายเครื่องสำ�อาง)

ลักษณะความสัมพันธ์ได้แสดงไว้แล้วใน ข้อ 1 C)

เป็นรายได้ของบริษัท ประกอบไปด้วย 1) รายได้จากการขาย Pocket Book 2) รายได้ค่าโฆษณาเครื่องสำ�อาง จำ�นวน 21.55 ล้านบาท กำ�หนดราคาโดยใช้ราคาทุน บวกอัตรากำ�ไรขั้นต้น (เป็นรายได้ของบริษัทฯ 7.18 ล้านบาท และรายได้ของบริษัทย่อย 14.37 ล้านบาท) 31 ธันวาคม 2553 จำ�นวน 20.17 ล้านบาท (เป็นลูกหนี้ของบริษัทฯ 18.04 ล้านบาท และเป็นลูกหนี้ของบริษัทย่อย 2.13 ล้านบาท) คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายได้ของบริษัทใช้ราคาทุน บวกอัตรากำ�ไรขั้นต้น เป็นไปตามปกติ ของธุรกิจ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า กำ�หนดราคาดังกล่าว มีความสมเหตุสมผลและยุติธรรม บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 1) บริษัท โฮวยู จำ�กัด (ประกอบธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่น)

ลักษณะความสัมพันธ์ได้แสดงไว้แล้วใน ข้อ 1 C)

2) บริษัท โฮวยู เซ็นทรัลเวิลด์ จำ�กัด (ประกอบธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่น)

ลักษณะความสัมพันธ์ได้แสดงไว้แล้วใน ข้อ 1 C)

3) บริษัท เกิดฟ้า จำ�กัด (ให้เช่าและบริการสถานที่)

ลักษณะความสัมพันธ์ได้แสดงไว้แล้วใน ข้อ 1 C)

4) บริษัท เมธี 1 จำ�กัด (รับจ้างผลิต ผลิตและกำ�กับละครเวที รายการ ทางวิทยุโทรทัศน์ แถบบันทึกภาพแถบบันทึกเสียง)

ลักษณะความสัมพันธ์ได้แสดงไว้แล้วใน ข้อ 1 C)

ค่าบริการจ่ายอื่นๆ ซึ่งประกอบด้วย 1) ค่าอาหารสำ�หรับเลี้ยงรับรองและจัดประชุม 2) ค่าบริการระบบสาธารณูปโภค และพื้นที่จอดรถ 3) ค่าศิลปิน ค่าครีเอทีฟ ค่าส่วนแบ่งลิขสิทธิ์

มูลค่ารายการ

จำ�นวน 46.34 ล้านบาท กำ�หนดราคาที่ตกลงร่วมกัน (เป็นค่าบริการจ่ายของบริษัทฯ 24.87 ล้านบาท และค่าบริการจ่ายของบริษัทย่อย 21.47 ล้านบาท)

เจ้าหนี้คงค้าง

31 ธันวาคม 2553 จำ�นวน 6.66 ล้านบาท (เป็นเจ้าหนี้ของบริษัทฯ 3.89 ล้านบาท และเป็นเจ้าหนี้ของบริษัทย่อย 2.77 ล้านบาท)

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

090

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 1) บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำ�กัด (มหาชน) (ผลิตหนังสือและวารสารเชิงวิชาการ รับจัด จำ�หน่ายหนังสือ และดำ�เนินงานร้านหนังสือ ซีเอ็ดบุ๊คเซ็นเตอร์ และเครือข่าย)

คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า การรับจ้างผลิต การกำ�กับละครเวที และค่าบริการจ่ายอื่นๆ ได้กำ�หนด ราคาโดยอ้างอิงราคาตลาด และราคาตามสัญญาที่อิงราคาตลาด เป็นไปตามปกติของธุรกิจ คณะกรรมการตรวจ สอบเห็นว่า กำ�หนดราคาดังกล่าว มีความสมเหตุสมผลและยุติธรรม


รายการระหว่างกัน

รายการระหว่างกันระหว่างกลุ่มบริษัทฯ กับบริษัทที่เกี่ยวข้องโดยการมีกรรมการร่วมกัน ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจ (ต่อ) บุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์

ลักษณะของรายการ เจ้าหนี้คงค้าง

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 1) มูลนิธิดำ�รงชัยธรรม (ส่งเสริม พัฒนาการศึกษา และวัฒนธรรมแก่เยาวชน) ลักษณะความสัมพันธ์ได้แสดงไว้แล้วใน ข้อ 1 C) 2) บริษัท ซีซีซี บิซิเนส ดีเวลล็อปเม้นท์ จำ�กัด (บริการอบรม และสัมมนา)

ลักษณะความสัมพันธ์ได้แสดงไว้แล้วใน ข้อ 1 C)

เจ้าหนี้การค้า ซึ่งประกอบด้วย 1) เจ้าหนี้จากการรับฝากหนังสือ เพื่อจัดส่งให้กับผู้บริจาค 2) เจ้าหนี้จากการซื้อสินค้าประเภท CD เพื่อจำ�หน่ายและขาย 31 ธันวาคม 2553 จำ�นวน 3.99 ล้านบาท (เป็นเจ้าหนี้ของบริษัทฯ 0.96 ล้านบาท และเป็นเจ้าหนี้ของบริษัทย่อย 3.03 ล้านบาท) - -

คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า การรับฝากหนังสือ เพื่อจัดส่งให้กับผู้บริจาค โดยคิดค่าดำ�เนินการ จากยอดขาย เป็นไปตามปกติธุรกิจ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า การรับฝากหนังสือ และการคิดค่าบริการ จากยอดขาย ตามเงื่อนไขดังกล่าว มีความสมเหตุสมผลและยุติธรรม คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า การซื้อแผ่น CD เพื่อจัดหน่ายและขาย โดยใช้ราคาที่ตกลกันระหว่าง ผู้ซื้อ และผู้ขาย ตามเงื่อนไขการค้าทั่วไป เป็นไปตามปกติของธุรกิจ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า กำ�หนด ราคาดังกล่าว มีความสมเหตุสมผลและยุติธรรม

รายการระหว่างกันระหว่างกลุ่มบริษัทฯ กับบริษัทร่วมซึ่งเป็นไปตามปกติทางธุรกิจ

บุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์

ลักษณะของรายการ

มูลค่ารายการ ลูกหนี้การค้าคงค้าง ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

1) บริษัท ซีเนริโอ จำ�กัด (ดำ�เนินธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน์ และละครเวที)

ลักษณะความสัมพันธ์ได้แสดงไว้แล้วใน ข้อ 1 B)

2) บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จำ�กัด (ดำ�เนินธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน์)

ลักษณะความสัมพันธ์ได้แสดงไว้แล้วใน ข้อ 1 B)

3) บริษัท เอนคอร์ จำ�กัด (ให้บริการและจัดกิจกรรมทางการตลาด)

ลักษณะความสัมพันธ์ได้แสดงไว้แล้วใน ข้อ 1 B)

4) บริษัท นาดาว บางกอก จำ�กัด (รับจ้างผลิตภาพยนตร์และให้บริการทางการตลาด)

ลักษณะความสัมพันธ์ได้แสดงไว้แล้วใน ข้อ 1 B)

5) บริษัท แฟมมิลี่ โนฮาว จำ�กัด (ผลิตรายการโทรทัศน์ และสื่อสิ่งพิมพ์)

ลักษณะความสัมพันธ์ได้แสดงไว้แล้วใน ข้อ 1 B)

1) รายได้จากการจำ�หน่ายสินค้า 2) รายได้จากการผลิตรายการโทรทัศน์ซึ่งเป็นรายได้จากการขายสื่อโฆษณารายการโทรทัศน์ 3) รายได้จากการแสดงคอนเสิร์ตและละครเวที 4) รายได้จากการบริการรับจ้างผลิต บริการจัดหาอุปกรณ์ และบริการอื่น 5) รายได้จากการให้คำ�ปรึกษาด้านการตลาด 6) รายได้อื่น จำ�นวน 35.29 ล้านบาท กำ�หนดราคาโดยใช้ต้นทุนการผลิตและการดำ�เนินงานที่เกิดขึ้นจริงบวกกำ�ไร (เป็นรายได้ของบริษัทฯ 6.43 ล้านบาท และบริษัทย่อย 28.86 ล้านบาท) 31 ธันวาคม 2553 จำ�นวน 4.61 ล้านบาท (เป็นลูกหนี้การค้าของบริษัทฯ จำ�นวน 0.54 ล้านบาท และเป็นลูกหนี้การค้าของบริษัทย่อย จำ�นวน 4.07 ล้านบาท) คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า รายได้จากการผลิตรายการโทรทัศน์ซึ่งเป็นรายได้จากการขายสื่อโฆษณา รายการโทรทัศน์ ได้กำ�หนดราคา โดยใช้ต้นทุนการผลิตและการดำ�เนินงานที่เกิดขึ้นจริงบวกกำ�ไร เป็นไปตามปกติ ทางการค้า ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า กำ�หนดราคาดังกล่าว มีความสมเหตุสมผล และยุติธรรม

091


รายการระหว่างกัน

รายการระหว่างกันระหว่างกลุ่มบริษัทฯ กับบริษัทร่วมซึ่งเป็นไปตามปกติทางธุรกิจ (ต่อ)

ลักษณะของรายการ

มูลค่ารายการ เจ้าหนี้การค้า และต้นทุนค้างจ่าย ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

ค่าบริการจ่าย ซึ่งประกอบไปด้วย 1) ต้นทุนค่าสื่อโฆษณา-สปอตโทรทัศน์และค่าอุปถัมภ์รายการ-ละคร(Sponsorship) 2) ส่วนแบ่งค่าลิขสิทธิจ์ ากการจำ�หน่ายรายการโทรทัศน์ อาทิเช่น ละคร เพลงประกอบละคร ในรูปของ เทป CD และ VCD 3) ต้นทุนมีเดีย และค่าเช่าเวลาผลิตรายการ 4) ต้นทุนการให้บริการจัดหาอุปกรณ์ ที่เกี่ยวกับระบบแสงสีเสียง และภาพ 5) ต้นทุนค่าจัดหาศิลปิน 6) ค่าผู้ดำ�เนินรายการ จำ�นวน 276.30 ล้านบาท การกำ�หนดราคาขึ้นอยู่กับคุณภาพงานและบริการที่ได้รับโดยค่าบริการใน ขั้นสุดท้ายจะขึ้นอยู่กับการเจรจาต่อรองกันระหว่างบริษัทผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการ (เป็นค่าบริการของ บริษัทฯ จำ�นวน 12.24 ล้านบาท และเป็นค่าบริการของบริษัทย่อย จำ�นวน 264.06 ล้านบาท) 31 ธันวาคม 2553 จำ�นวน 81.33 ล้านบาท (เป็นเจ้าหนี้การค้าของบริษัทฯ จำ�นวน 0.54 ล้านบาท และเป็นเจ้าหนี้การค้าของบริษัทย่อยจำ�นวน 80.79 ล้านบาท) คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ค่าบริการจ่ายข้างต้น ได้กำ�หนดราคาโดยอิงราคาตลาด และราคา ตามสัญญาทีอ่ งิ ราคาตลาด คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า กำ�หนดราคาดังกล่าว มีความสมเหตุสมผลและยุตธิ รรม

รายการระหว่างกันระหว่างบริษัทฯ และบริษัทย่อยกับกรรมการ บุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ลักษณะของรายการ

092

กรรมการและกรรมการบริหาร นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ประธานที่ปรึกษาบริษัท และประธานกรรมการบริษัท เงินทดรองจ่าย : เงินทดรองในนามกรรมการของบริษัท เพื่อใช้ในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท ซึ่งไม่มีการคิดดอกเบี้ยสำ�หรับเงินทดรองจ่ายดังกล่าว

มูลค่ารายการ

31 ธันวาคม 2553 มีจำ�นวนดังนี้ (ล้านบาท) บริษัท 4.57 บริษัทย่อย หัก ค่าเผื่อเงินทดรองค้างนาน (4.57) มูลค่ารายการคงเหลือ - หมายเหตุ: *เงินทดรองจ่ายมีลักษณะเป็นเงินสำ�รองเพื่อใช้จ่ายในการดำ�เนินการตามรายการค้าอันเป็นปกติ ของกิจการ ซึ่งบางธุรกรรมหรือโครงการต้องใช้ในวงเงินที่สูงและมีอายุเกินปีจึงอาจมีความเสี่ยงหากให้พนักงาน เป็นผู้รับผิดชอบวงเงินดังกล่าว การที่มียอดคงเหลือข้ามปี เนื่องจาก เงินทดรองบางส่วนมีการจัดการในลักษณะ คล้ายวงเงินสดย่อย ที่จะมีการเบิกชดเชยเพื่อให้เต็มวงเงินเมื่อถูกจ่ายออกไป อย่างไรก็ตาม จำ�นวนคงค้างลดลง จากปีกอ่ น ดังนัน้ ยอดเงินคงเหลือจึงดูเสมือนไม่มรี ายการเคลือ่ นไหว ณ วันทีใ่ ดวันทีห่ นึง่ ณ. วันปิดบัญชี บริษทั ฯ จะพิจารณาการบันทึกการตั้งสำ�รอง เพื่อให้สอดคล้องกับหลักความระมัดระวังตามมาตรฐานบัญชี โดยบริษัทฯ มีการควบคุมดูแลเงินทดรองและมีการทบทวนกฎระเบียบเกี่ยวกับเงินทดรอง เพื่อให้สอดคล้องกับการดำ�เนินการ ของแต่ละธุรกิจที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงไป

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า เงินทดรองที่เบิกในนามกรรมการของบริษัท ได้มีการนำ�ไปใช้ในธุรกิจของ บริษัท คณะกรรมการตรวจสอบจึงเห็นว่าการไม่คิดดอกเบี้ยสำ�หรับเงินทดรองดังกล่าว มีความสมเหตุสมผล


รายการระหว่างกันระหว่างบริษัทฯ และบริษัทย่อยกับกรรมการ (ต่อ) บุคคลที่อาจ มีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ลักษณะของรายการ มูลค่ารายการ เจ้าหนี้การค้า และต้นทุนค้างจ่าย

ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

กรรมการบริษัทและบริษัทย่อยซึ่งมีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในการแต่งเพลง เป็นพิธีกร ผู้กำ�กับรายการและเขียนบท กลุ่มบริษัทฯ จ่ายค่าลิขสิทธิ์ ค่าพิธีกร ผู้กำ�กับรายการ ค่าเขียนบทให้แก่กรรมการ จำ�นวน 0.87 ล้านบาท กำ�หนดราคาโดยคิดราคาต่อหน่วยที่ขายได้ ซึ่งอิงกับราคาตลาด และราคา ขึ้นอยู่กับคุณภาพของงานและบริการที่ได้รับ โดยค่าบริการในขั้นสุดท้ายจะขึ้นอยู่กับการเจรจาต่อรอง กันระหว่างบริษัทผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการ (เป็นค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ จำ�นวน 0.84 ล้านบาท และเป็นค่าใช้จ่ายของย่อย 0.03 ล้านบาท) 31 ธันวาคม 2553 จำ�นวน 0.71 ล้านบาท (เป็นเจ้าหนี้การค้าของบริษัทฯทั้งจำ�นวน) คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า การแต่งเพลง ให้บริการอืน่ ๆ ของกรรมการบางท่าน ซึง่ มีความเชีย่ วชาญ และ ประสบการณ์ในธุรกิจมานาน ทำ�ให้บริษทั ได้ประโยชน์ จากการทำ�งานดังกล่าว คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่าการคิด ค่าบริการการแต่งเพลง หรือให้บริการอืน่ ๆ ขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยหลายอย่าง เช่น ขอบเขต และความยากง่ายของงาน ความคิดสร้างสรรค์ ชือ่ เสียง และประสบการณ์ของผูใ้ ห้บริการ ซึง่ บริษทั ได้น�ำ ปัจจัยเหล่านีม้ ากำ�หนดค่าบริการในเบือ้ งต้น ซึง่ ค่าบริการในขัน้ สุดท้ายขึน้ อยูก่ บั การเจรจาต่อรองระหว่าง ผูใ้ ช้บริการ และผูใ้ ห้บริการ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า วิธกี ารคิดค่าตอบแทน โดยพิจารณาขอบเขต และความยากง่ายของงาน ความคิดสร้างสรรค์ ชือ่ เสียง และประสบการณ์ของ ผูใ้ ช้บริการ ซึง่ ใช้กนั โดยทัว่ ไปในธุรกิจบันเทิง มีความสมเหตุสมผล และยุตธิ รรม

รายการระหว่างกันซึ่งไม่เป็นไปตามปกติทางการค้าระหว่างกลุ่มบริษัทฯ กับบริษัทที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบริษัทฯ โดยการมีกรรมการร่วมกัน ผู้เช่า : ผู้ให้เช่า (บริษัทหรือบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง) ลักษณะความสัมพันธ์

ลักษณะของรายการระหว่างกัน

กลุ่มบริษัทฯ บริษัท เกิดฟ้า จำ�กัด 1. 2.

นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัทฯ และดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของ บริษัท เกิดฟ้า จำ�กัด ด้วย นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรมซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทฯ และเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อยหลายๆบริษัท เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท เกิดฟ้า จำ�กัด ด้วย

กลุ่มบริษัทฯเช่าอาคารสำ�นักงาน ซึ่งเป็นพื้นที่อาคารสำ�นักงานสูง 43 ชั้น ตั้งอยู่เลขที่ 50 ถนนอโศก (สุขุมวิท 21) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ จากบริษัท เกิดฟ้า จำ�กัด

ขนาดของพื้นที่เช่า

ประมาณ 30,200 ตารางเมตร ตัง้ แต่ชน้ั 2-3, 5-6, 9-14 และ 16-43 คิดเป็นร้อยละ 78 ของพืน้ ทีเ่ ช่าทัง้ หมด

ระยะเวลาการเช่า

ระยะเวลาเช่า 3 ปี (ตัง้ แต่ 1 พฤษภาคม 2553 - 30 เมษายน 2556) โดยผูเ้ ช่ามีสทิ ธิใ์ นการต่ออายุสญ ั ญาเช่า ได้อีกคราวละ 3 ปี

อัตราค่าเช่าและค่าบริการ

เพิ่มขึ้นร้อยละ 15 จากราคาเดิมรวมค่าเช่าและบริการ 304.18 ต่อตารางเมตรต่อเดือน เป็น 350 บาท ต่อตารางเมตรต่อเดือน

นโยบายการกำ�หนดราคา

เป็นไปตามเงื่อนไขของสัญญา คือต่ออายุได้คราวละ 3 ปี โดยใช้อัตราค่าเช่าและค่าบริการตามราคาตลาด ยกเว้นการต่ออายุสัญญาเช่าครั้งแรก ให้ปรับค่าเช่าและค่าบริการขึ้นได้ไม่เกินร้อยละ 15

จำ�นวนค่าเช่าจ่าย ที่กลุ่มบริษัทฯจ่ายให้แก่บริษัทฯ เกิดฟ้า จำ�กัด 
สำ�หรับปี 2553 มูลค่ารายการ ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

จำ�นวน 127.96 ล้านบาท (เป็นค่าเช่าและค่าบริการของบริษัทฯจำ�นวน 76.59 ล้านบาท และ ของบริษัทย่อยจำ�นวน 51.37 ล้านบาท) ประมาณ 408 ล้านบาท ตลอดระยะเวลาเช่า 3 ปี (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีอื่นที่เกี่ยวข้อง) คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า อัตราค่าเช่าซึ่งบริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายให้บริษัท เกิดฟ้า จำ�กัด ในอัตรา 350 - 397 บาทต่อตารางเมตรต่อเดือน เป็นอัตราค่าเช่าทีม่ คี วามเหมาะสมและยุตธิ รรม โดยอัตราค่าเช่าดังกล่าว อยูใ่ นช่วงระหว่างอัตราค่าเช่าตามราคาตลาดซึง่ อยูร่ ะหว่าง 400 – 600 บาทต่อตารางเมตรต่อเดือน ตามรายงาน การประเมินราคาของบริษทั สยามแอพเพรซัล แอนด์ เซอร์วสิ จำ�กัด ซึง่ เป็นผูป้ ระเมินราคาอิสระซึง่ ได้รบั ความเห็นชอบ จากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

093


รายการระหว่างกัน

รายการระหว่างกันซึง่ ไม่เป็นไปตามปกติทางการค้าระหว่างกลุม่ บริษทั ฯ กับบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับกลุม่ บริษทั ฯ โดยการมีกรรมการร่วมกัน (ต่อ) ผู้เช่า :

บริษัท อิมเมจ พับลิชชิ่ง จำ�กัด

ผู้ให้เช่า (บริษัทหรือบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง)

ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด จักร์ธรานุภาพ

ลักษณะความสัมพันธ์

ในฐานะผู้เช่า : นายคำ�รณ ปราโมช ณ อยุธยา เป็นกรรมการและผู้บริหารของบริษัทย่อย ในฐานะผู้ให้เช่า : นายคำ�รณ ปราโมช ณ อยุธยาเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการของห้างหุ้นส่วนจำ�กัด จักร์ธรานุภาพ

ลักษณะของรายการระหว่างกัน

บริษัท อิมเมจ พับลิชชิ่ง จำ�กัดเช่าอาคารสำ�นักงาน เลขที่ 217/7 ซอยสุขุมวิท 63 (เอกมัย) ถนนสุขุมวิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ จากห้างหุ้นส่วนจำ�กัด จักร์ธรานุภาพ

ขนาดของพื้นที่เช่า

ประมาณ 1,440 ตารางเมตร

ระยะเวลาการเช่า

3 ปี (ตั้งแต่ 1 มกราคม 2552-31 ธันวาคม 2554) โดยจะพิจารณาปรับค่าเช่าเมื่อครบ 3 ปี

อัตราค่าเช่าและค่าบริการ

อัตรา 250 บาทต่อตารางเมตรต่อเดือน หรือ 360,000 บาทต่อเดือน

นโยบายการกำ�หนดราคา

เงื่อนไขปกติและเป็นไปตามราคาตลาด

จำ�นวนค่าเช่าจ่ายทีก่ ลุม่ บริษทั ฯ จำ�นวน 4.32 ล้านบาท จ่ายให้ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด (เป็นค่าเช่าและค่าบริการของบริษัทย่อยทั้งจำ�นวน) จักร์ธรานุภาพ สำ�หรับปี 2553 มูลค่ารายการ ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า อัตราค่าเช่าซึ่งบริษัท อิมเมจ พับลิชชิ่ง จำ�กัด จ่ายให้แก่ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด จักร์ธรานุภาพในอัตรา 250 บาทต่อตารางเมตรต่อเดือนมีความสมเหตุสมผลและยุติธรรม เนื่องจากอัตรา ดังกล่าวสามารถเทียบเคียงได้กับอัตราค่าเช่าพื้นที่สำ�นักงานในบริเวณใกล้เคียงกันโดยเฉลี่ย

ผู้เช่า :

บริษัท มีฟ้า จำ�กัด

ผู้ให้เช่า (บริษัทหรือบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง)

บริษัท ร่วมฟ้า จำ�กัด

ลักษณะความสัมพันธ์ ลักษณะของรายการระหว่างกัน

ในฐานะผูเ้ ช่า : นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่และดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษทั ฯ ในฐานะผูใ้ ห้เช่า : นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม เป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่และดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษทั ร่วมฟ้า จำ�กัด บริษทั มีฟา้ จำ�กัดเช่าอาคารสำ�นักงาน เลขที่ 59/1 ซอยสุขมุ วิท 39 ถนนสุขมุ วิท เขตวัฒนา กรุงเทพฯ และทีด่ นิ โฉนด เลขที่ 4263 เลขทีด่ นิ 488 หน้าสำ�รวจ 969 แขวงคลองตัน เขตพระโขนง กรุงเทพฯ จากบริษทั ร่วมฟ้า จำ�กัด

ขนาดของพื้นที่เช่า

ประมาณ 1,336.21 ตารางเมตร และ 1 ไร่ 84 วา

ระยะเวลาการเช่า

3 ปี (ตั้งแต่ 26 สิงหาคม 2551 - 25 สิงหาคม 2554) โดยมีการต่ออายุสัญญาทุก 3 ปี และให้สิทธิผู้เช่าในการต่ออายุสัญญาเช่าได้ถึงปี 2554

อัตราค่าเช่าและค่าบริการ

กำ�หนดค่าเช่าและค่าบริการไว้ที่อัตรา 0.22 ล้านบาทต่อเดือน

นโยบายการกำ�หนดราคา

เงื่อนไขปกติและเป็นไปตามราคาตลาด

จำ�นวนค่าเช่าจ่าย ทีก่ ลุม่ บริษทั ฯ จ่ายให้แก่บริษทั ร่วมฟ้า จำ�กัด 
สำ�หรับปี 2553 มูลค่ารายการ หมายเหตุ ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ

094

12.96 ล้านบาท ตลอดระยะเวลาเช่า 3 ปี (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีอื่นที่เกี่ยวข้อง)

จำ�นวน 1.95 ล้านบาท (เป็นค่าเช่าและค่าบริการของบริษัทฯจำ�นวน 0.33 ล้านบาท และ ของบริษัทย่อยจำ�นวน 1.62 ล้านบาท) จำ�นวน 7.93 ล้านบาท ตลอดระยะเวลา 3 ปี บริษัท มีฟ้า จำ�กัด อยู่ระหว่างการหยุดดำ�เนินงาน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ค่าบริการจ่ายอื่นๆ ได้กำ�หนดราคาโดยอ้างอิงราคาตลาด และราคาตาม สัญญาที่อิงราคาตลาด คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า กำ�หนดราคาดังกล่าว มีความสมเหตุสมผลและยุติธรรม


รายงานการกำ�กับดูแลกิจการ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)

รายงานการกำ�กับดูแลกิจการ บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษทั ฯ ยึดมัน่ ในการดำ�เนินธุรกิจภายใต้หลักจริยธรรมและแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ควบคูไ่ ปกับการใส่ใจรักษาสังคมและสิง่ เเวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) จนกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กร โดยบูรณาการกับวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ และเป้าหมายขององค์กร เพื่อเพิ่ม ความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย รวมทั้งนำ�ไปสู่การสร้างความเจริญก้าวหน้าในเชิงธุรกิจ ที่ก้าวไปพร้อมกับการมีส่วนร่วมใน การพัฒนาและส่งเสริมการศึกษา สังคมและสิ่งแวดล้อม กลุ่มบริษัทฯ ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยจำ�นวน 5 ชุด ซึ่งได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ โดยในปี 2547 คณะกรรมการกำ�กับ ดูแลกิจการฯ ได้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ ดำ�เนินการต่างๆ ให้บริษทั ฯ มีการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และยึดถือปฏิบตั อิ ย่างจริงจัง โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการฯ ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 10 ท่าน อย่างไรก็ตาม ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 ได้มีมติอนุมัติทบทวนและแต่งตั้งคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมธุรกิจ (ชุดใหม่) ประกอบด้วยบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิ จำ�นวน 11 ท่าน ตามรายละเอียดที่ปรากฎในหัวข้อ "โครงสร้างการจัดการ" นับจากปี 2548 กลุม่ บริษทั ฯ ได้มกี ารประกาศใช้นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ (Corporate Governance Policy) ของกลุม่ บริษทั ฯ โดยให้ความสำ�คัญ กับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย สิทธิของผู้ถือหุ้นและการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน การคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส นโยบายการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน ระบบ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง และจริยธรรมธุรกิจ ซึ่งมีการทบทวนและปรับปรุงอย่างสม่ำ�เสมอเพื่อให้มีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และสอดคล้องกับแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยหรือหน่วยงานกำ�กับดูแลต่างๆ โดยมีการจัดทำ�เป็นนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการฉบับ พกพาที่มีเนื้อหากระชับและเข้าใจง่าย รวมทั้งเผยแพร่บนอินทราเน็ตและบนเว็บไซต์ของบริษัท นอกจากนี้ เพื่อเป็นการส่งเสริมการปฏิบัติที่เท่าเทียมกันต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย นับตั้งแต่ปี 2551 คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการฯ เสนอให้กลุม่ บริษทั ฯ จัดให้มกี ระบวนการทีจ่ ะทำ�ให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยสามารถมีสว่ นร่วมสำ�หรับการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ในการเสนอวาระการประชุมล่วงหน้า และเสนอรายชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ผ่านเว็บไซต์ของบริษัทฯ และจัดให้มีช่องทางเพิ่มเติมและกำ�หนดขั้นตอน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย สามารถแจ้งข้อมูลต่าง ๆ ผ่านคณะกรรมการตรวจสอบ ในเรื่องเกี่ยวกับข้อร้องเรียน การกระทำ�ผิดกฎหมาย หรือ จริยธรรมธุรกิจและข้อพึงปฏิบัติในการทำ�งานของกลุ่มบริษัทฯ หรือข้อสงสัยในรายงานทางการเงิน หรือระบบการควบคุมภายใน เพื่อดำ�เนินการตาม ขั้นตอนและนำ�เสนอต่อคณะกรรมการต่อไป จากการพัฒนาแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการอย่างต่อเนื่องและจริงจังเป็นผลให้ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) โดยการสนับสนุน ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประกาศผลการประเมินการกำ�กับดูแลกิจการ ของบริษัทฯ ประจำ�ปี 2549 ปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 ให้บริษัทฯ อยู่ในเกณฑ์ “ดีมาก” (โดยในปี 2550 ไม่มีการสำ�รวจบรรษัทภิบาลของ บริษัทจดทะเบียน) นอกจากนี้ในการประเมินคุณภาพการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ (AGM) ประจำ�ปี 2551 ปี 2552 และปี 2553 ซึ่งจัดทำ�โครงการโดย สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ร่วมกับสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยและสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย บริษัทฯ ได้รับผล การประเมิน ในระดับ “ดีเยี่ยม”, “ดีเยี่ยม สมควรเป็นตัวอย่าง” และ “ดีเยี่ยม” ตามลำ�ดับ กลุ่มบริษัทฯ จะยังคงยึดมั่นในการปฏิบัติตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ที่บริษัทฯ ได้กำ�หนดขึ้นและสนับสนุนให้มีการปรับปรุงและพัฒนา นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการรวมทั้งเปิดเผยผลการปฏิบัติด้านการกำ�กับดูแลกิจการอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม อันเป็นการสะท้อนถึงการบริหารจัดการ อย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส มีจริยธรรม ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ เพิม่ ความเชือ่ มัน่ ต่อผูถ้ อื หุน้ นักลงทุน และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย

(นางสาวบุษบา ดาวเรือง) ประธานกรรมการบริหารร่วม 25 กุมภาพันธ์ 2554

(นางสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา) ประธานกรรมการบริหารร่วม 25 กุมภาพันธ์ 2554 095


วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงานปี 2553

วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงานปี 2553 ภาพรวมของผลการดำ�เนินงานในปี 2553 กลุม่ บริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีรายได้รวมในปี 2553 จำ�นวน 8,812.3 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 8% จากปี 2552 ส่วนใหญ่มาจากธุรกิจสือ่ ซึง่ มีสดั ส่วนรายได้ 56% ของรายได้รวม ได้แก่ รายได้จากการผลิตรายการโทรทัศน์ที่มีละครหลังข่าว และรายการตลกจบในตอนที่ประสบความสำ�เร็จและได้รับความนิยม อย่างดีตลอดมา รายได้จากการผลิตรายการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมโดยปัจจุบันมีการผลิตรายการทั้งหมด 6 ช่อง คือ แฟนทีวี แบงชาแนล กรีนชาแนล แอ็กซ์ชาแนล สาระแนชาแนล และมันนี่ชาแนลมีรายได้เติบโตกว่าปีก่อนถึงร้อยละ 205 รายได้จากธุรกิจสร้างสรรค์และบริหารงานกิจกรรมที่มีรายได้ที่ เพิม่ ขึน้ จากการรับจ้างจัดทำ�บูธไทยแลนด์พาวิลเลีย่ นในงานเวิลด์เอ็กซ์โป 2010 ทีน่ ครเซีย่ งไฮ้ ประเทศจีน และรายได้จากการผลิตรายการวิทยุทม่ี รี ายได้ ที่เพิ่มขึ้นจากการที่มีรายได้จากโฆษณาที่มากขึ้น อย่างไรก็ตามธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์มีรายได้ลดลงตามแนวโน้มของสภาวะตลาด และรายได้จากการผลิต ภาพยนตร์มีรายได้ลดลงจากการที่มีจำ�นวนภาพยนตร์ที่ออกฉายน้อยกว่าปีก่อน จำ�นวน 1 เรื่อง โดยในปี 2553 มีภาพยนตร์ออกฉายจำ�นวน 3 เรื่อง ได้แก่ บ้านฉันตลกไว้ก่อนพ่อสอนไว้ กวนมึนโฮ และกระดึ๊บ โดยภาพยนตร์เรื่อง กวนมึนโฮ เป็นเรื่องหลักที่ประสบความสำ�เร็จและทำ�รายได้ Box Office สูงสุดของภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปีนี้ที่ 126 ล้านบาท รายได้รวมของธุรกิจเพลงมีสัดส่วนรายได้ 38% ของรายได้รวม ประกอบด้วย รายได้จากการจำ�หน่ายสินค้าเพลงและค่าลิขสิทธิ์ รายได้จากการบริหาร ศิลปิน และรายได้จากการจัดคอนเสิร์ต ลดลง 7% จากปี 2552 สาเหตุหลักสืบเนื่องจากรายได้จากการจำ�หน่ายสินค้าเพลงในรูปแบบที่เป็น Physical products ลดลง จากการทีม่ กี ารชะลอ และเลือ่ นการออกอัลบัม้ ของศิลปินใหญ่ๆ ออกไปจากเหตุการณ์จลาจลกลางเมืองในช่วงไตรมาส2 เนือ่ งจากไม่เหมาะสม ที่จะทำ�การโฆษณาประชาสัมพันธ์ในช่วงนั้น กำ�ไรสุทธิรวม 523.3 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จาก 510.8 ล้านบาทหรือ 3% ต้นทุนขายและผลิต และค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหารรวม 8,001.33 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8% เนื่องจาก บริษัทมีการขยายการดำ�เนินงานในธุรกิจที่มีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง 2 ธุรกิจคือ ธุรกิจสร้างสรรค์และบริหารงานกิจกรรมที่มี Project ใหญ่ คือ บูธไทยแลนด์พาวิลเลีย่ นในงานเวิลด์เอ็กซ์โป ทีน่ ครเซีย่ งไฮ้ ประเทศจีน ธุรกิจโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม ซึง่ ปัจจุบนั มีการผลิตรายการทัง้ หมด 6 ช่อง โครงสร้างเงินทุน กลุม่ บริษทั มีสนิ ทรัพย์รวม ณ สิน้ ปี 2553 มูลค่า 7,565 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2552 จำ�นวน 639 ล้านบาท สินทรัพย์หมุนเวียนเพิม่ ขึน้ 526 ล้านบาท จากเงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนีก้ ารค้ากิจการทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกันและรายได้คา้ งรับ ส่วนสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพิม่ ขึน้ 113 ล้านบาทจากเงินลงทุนระยะยาวอืน่ หนีส้ นิ รวมมีจ�ำ นวน 3,750 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2552 จำ�นวน 310 ล้านบาท จากเจ้าหนีก้ ารค้ากิจการทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกัน ค่าใช้จา่ ยค้างจ่ายและรายได้ รับล่วงหน้า อย่างไรก็ตามในระหว่างปีหนีเ้ งินกูจ้ ากสถาบันการเงินทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาวรวมลดลงจากปี 2552 จำ�นวน 228 ล้านบาท จึงทำ�ให้คา่ ใช้จา่ ย ทางการเงินในปีนี้ลดลงเล็กน้อย ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ในรอบปีบัญชี 2553 กลุ่มบริษัทแต่งตั้งคุณศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ของบริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชีผู้ลงนามรับรองงบ การเงินของบริษัท ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของกลุ่มบริษัท เป็นค่าตอบแทนจากการตรวจสอบบัญชี จำ�นวน 9.156 ล้านบาท และไม่มีค่าตอบแทนจาก ค่าบริการอื่น แต่อย่างใด ไม่ว่าในรอบบัญชีที่ผ่านมาหรือที่ต้องจ่ายในอนาคตอันเกิดจากการตกลงที่ยังให้บริการไม่แล้วเสร็จในรอบปีบัญชี

096


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความสำ�คัญต่อหน้าที่และความรับผิดชอบในการดูแลกิจการของกลุ่มบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ให้เป็นไปตามนโยบาย การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีที่กลุ่มบริษัทฯได้กำ�หนดขึ้น รวมทั้งกำ�กับดูแลการจัดทำ�งบการเงินและสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำ�ปี ให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญอย่าง เพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการบริษัทที่เป็นกรรมการอิสระ ทำ�หน้าที่ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบการควบคุมภายใน ให้เกิดความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลต่อความเชื่อถือได้ ของงบการเงินและสารสนเทศทางการเงิน รวมทัง้ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในในด้านต่างๆ เช่น การควบคุมดูแลรักษาทรัพย์สนิ การทำ�รายการระหว่างบริษัทกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง กับการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั เป็นต้น ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานภารกิจและการกำ�กับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำ�ปี 2553 ต่อคณะกรรมการบริษัทฯแล้ว และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏใน “รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ” ซึ่งแสดงไว้ใน รายงานประจำ�ปี หน้า 05 ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 ซึง่ มีคณะกรรมการตรวจสอบทุกท่าน ฝ่ายบริหารและฝ่ายตรวจสอบภายใน เข้าร่วม ประชุมเพื่อพิจารณาความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ประจำ�ปี 2553 ที่ฝ่ายบริหารของบริษัทกำ�หนดขึ้นตามแนวทางของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสอดคล้องกับหลักการควบคุมภายในของ COSO ในด้านต่างๆ 5 ส่วน ซึ่งได้แก่ องค์กรและสภาพแวดล้อม การบริหาร ความเสีย่ ง การควบคุมการปฏิบตั งิ านของฝ่ายบริหาร ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้อมูล และระบบการติดตามดูแลการดำ�เนินงาน โดยคณะกรรมการบริษทั มีความเห็นเช่นเดียวกับคณะกรรมการตรวจสอบกล่าวคือ งบการเงินและรายงานทางการเงินประจำ�ไตรมาสและประจำ�ปี 2553 (ซึ่งผ่านการตรวจสอบ โดยผู้สอบบัญชีของบริษัท) ของกลุ่มบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จัดทำ�ขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอถูกต้องครบ ถ้วนและเชื่อถือได้ โดยรวมกลุ่มบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีระบบการควบคุมภายในทั้งในด้านการเงินและการปฏิบัติการที่มีประสิทธิภาพเพียงพอและ เหมาะสมกับลักษณะของธุรกิจ ไม่พบข้อบกพร่องของระบบการควบคุมภายในที่จะมีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำ�คัญต่อความถูกต้อง และความน่าเชื่อถือ ของรายงานทางการเงิน รวมทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบรรลุเป้าหมายขององค์กร ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้รายงานความเห็นเกี่ยวกับ ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของกลุ่มบริษัทฯ ไว้ในหัวข้อ “การควบคุมภายใน” หน้า 075 ของรายงานประจำ�ปี อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการบริษทั ได้สง่ เสริมและสนับสนุนให้ฝา่ ยบริหารมีการพัฒนาคุณภาพของระบบการควบคุมภายใน ระบบการบริหารความเสีย่ ง และระบบการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของกลุ่มบริษัทฯ อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง รวมทั้งมีระบบการกำ�กับดูแลที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อให้ระบบดังกล่าว ดำ�เนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงค์

นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม ประธานกรรมการ

นางสาวบุษบา ดาวเรือง ประธานกรรมการบริหารร่วม

นางสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา ประธานกรรมการบริหารร่วม 097


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 งบกำ�ไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวม และ งบกระแสเงินสดรวมสำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) บริษัทย่อยและกิจการที่ควบคุมร่วมกัน และ ได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้อง และครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปซึ่งกำ�หนดให้ข้าพเจ้าต้อง วางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่น อย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ทั้งที่เป็นจำ�นวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการ ทางการเงินที่เป็นสาระสำ�คัญ ซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดทำ�ขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำ�เสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ผลการดำ�เนินงานและกระแสเงินสดสำ�หรับปีสิ้นสุด วันเดียวกันของแต่ละปีของบริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ย่อยและกิจการทีค่ วบคุมร่วมกัน และเฉพาะของบริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

ศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3844 บริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด กรุงเทพฯ: 25 กุมภาพันธ์ 2554

098


งบดุล

งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552                                           

   







 

 

 

 

 

   

   

   

   

 

 

 

 

 









       

       

       

       

    

       

       

       

       

     

     

     

     

 



099


งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552                                 

100

   

















  

  

  

  

   

   

   

   

       

       

       

       













   

   

   

   

 


งบดุล (ต่อ)

                             

   





























   

   

   

   

 

 

 

 









     

     

     

     









 







101


งบกำ�ไรขาดทุน

งบกำ�ไรขาดทุน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552                                             102

   





        

        

        

        

       

       

       

       

    

    

    

    

      

      

      

      









 

 
























 





          

             

 



       

       

          

          



  

  

       



          

     

       



          

   

       



          

   

       



          

   

       



          

   





       



          

   

งบแสดงการเปลี ้ถือหุ้น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 ่ย นแปลงส่ ว นของผู 

       



          

  

       



          

      

    

 



          

 

       



          

   

       



          

   



       



          

 



งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

103


104



        

         



 





     

     

      

       

  

     



     



     



      



      

      

      

      

 

           

31 ธันวาคม 2553 และ 2552

  

  งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่  งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)


งบกระแสเงินสด

งบกระแสเงินสด สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552                               

   













              

              

              

              

      

      

      

      



105


งบกระแสเงินสด สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552                                  

106

   





          

          

          

          

               

               

               

               


งบกระแสเงินสด (ต่อ)

                      

   





           

           

           

           









   

   

   

   



107


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ (มหาชน) บริษัทย่อย และกิจการที่ควบคุมร่วมกัน หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552 



   







     





   

                                                                                     108

            

            

















  

  

  

  

   

   

   

   


   



                           

 

                        













   

   

   

   

   

   

   

    

    

    

    

    

    

    



                                         

          

                 

                           

   

109


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

 

     

                                                                      

    110

  

        

               

  

  

  

  

  

  

       

       

       







    

    

    

    

   

   

 

 

 


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

 



                                                                              

   

     

 

 

 











































      

  

  

  

  

 

 









   

 111


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

                                   

    

                  112


หมายเหตุประกอบงบการเงิน





                                   

                                     

   



 113


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

 

   

                            





                        

 114


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

                                        

  



   

 115


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552



                  



                            



  

 116




หมายเหตุประกอบงบการเงิน

          

     

     

     

      

                



     

 117


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

      



    

                

  118

            




หมายเหตุประกอบงบการเงิน

      

               

 





      

            

   

 119


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

                

    

 



        



  

  

  120

          

  

  

         

          

          

 




                                                                                           

               

                          

                           

 121


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

 

                                          122

                                  

                                   

 

 

 

 

                    

                    

                    

                    




หมายเหตุประกอบงบการเงิน

 

                       

                                          

     

                                           

     

         



       

                       

    

 123


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

 

   



  

                       



  

124

                                            



 

                                             

               

       




หมายเหตุประกอบงบการเงิน

 



      

      

 



      



      





     

     

                

                

                               

   



 

                            



                

 

                

 

                 

 

 125


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

126


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

           



                                      



                      



   

 127


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552





     

 





                  

        

         

          

        

             



           





  

  

 

 

  

 

    

128




หมายเหตุประกอบงบการเงิน

       

         

          

       

                              

 129


130

  

 



                                                  

                                                                                                                                                 

   

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

  

  

                          

            

                       

   



          

          

          

                                  

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 131


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552



  

 



     

 



 

 

 

   

   

   

   

       

 

 

 

 

 

 





        

        





 

 







 

            



      

        

  



 



   

 

         132




หมายเหตุประกอบงบการเงิน

                        



    

 

  

 



  

            

            

 

  



  

            

            

 

 133


134



           

  



 



           



                               

     





            



            

 



หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552



           

  

 





           

 



   

           

 



หมายเหตุประกอบงบการเงิน


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

 

               

          

                                             



        

    

    

    

    

    

    













      





      

 135


136





               





                   

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552



              

  



              

  



              

   



              

  



              

 





              





หมายเหตุประกอบงบการเงิน


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

                     

       

       

                      

          

 

       

      

      

      

      









          

      

    

        

         



137


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

   

 

                                                                                                                    138

   

  









































   

   

   

   




หมายเหตุประกอบงบการเงิน

                    

         

           



            



    

                        

                        

 



139


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552





    

 



    



 

  

     



               

               

  

 140






 

                                                                                                                                               

                                                                     



               

 



 



หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

หมายเหตุประกอบงบการเงิน

141


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552



      



 

 

 

       



         

      



  

  











         



 



 

  

142



       




หมายเหตุประกอบงบการเงิน

   

       



    

    

  

  



  



   



                



    



  



    

 143


หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

      

  

 





   



     



                   

144




หมายเหตุประกอบงบการเงิน

                            

                                                                     

             

                           

             

              

      

        

        

        

  

                       

 145


หมายเหตุประกอบงบการเงิน

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2552

                



 

  



 

146




บริษัทยอย 1 บจก.จีเอ็มเอ็ม มิวสิค พับลิชชิ่ง อินเตอรเนชั่นแนล 2 บจก.ดิจิตอล อารมส 3 บจก.คลีน คาราโอเกะ 4 บจก.เอ็มจีเอ 5 บจก. จี-แกรม 6 บจก.จีเอ็มเอ็ม ไท หับ 7 บจก.สวัสดีทวีสุข 8 บจก.จีเอ็มเอ็ม สตูดิโอ 9 บจก.แกรมมี่ พับลิชชิ่ง เฮาส 10 บจก.มีฟา 11 บจก.จีอาร โวคอล สตูดิโอ 12 บจก.จีเอ็มเอ็ม ฟตเนสคลับ 13 บจก. ทรี-อารดี 14 บจก.จีเอ็มเอ็ม โฮลดิ้ง 15 บมจ.จีเอ็มเอ็ม มีเดีย 16 บจก.เอ-ไทม มีเดีย 17 บจก.เอ็กแซ็กท 18 บจก. จีเอ็มเอ็ม ทีวี 19 บจก.ดีทอลค 20 บจก.แมส มอนิเตอร 21 บจก.อิมเมจ ออน แอร 22 บจก.แอ็กซ สตูดิโอ 23 บจก.อิมเมจ พับลิชชิ่ง 24 บจก.จีเอ็มเอ็ม อินเตอร พับลิชชิ่ง 25 บจก.จีเอ็มเอ็ม ไทมส 26 บจก.บลิส พับลิชชิ่ง 27 บจก. อิน พับลิชชิ่ง 28 บมจ.อินเด็กซ ครีเอทีฟ วิลเลจ (เดิมชื่อ "อินเด็กซ อีเวนท เอเจนซี่") 29 บจก.มีเดีย วิชั่น (1994) 30 บจก.อีเวนท โซลูช่นั ส 31 บจก.แอสเพน อินเด็กซ อีเวนท 32 บจก.เทรเบียง 33 บจก.จี คอมมิวนิเคชั่นส

บริษัทใหญ บมจ.จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่

บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย ชื่อบริษัท

นิตนิติบิบุคุคคลที คลที อรหุอยละ ้นตั10้งแต่ ร้อยละ 10 ขึ้นไป ่บริษ่บัทริ ถือษหุนัทตัถื ้งแต ขึ้นไป

จัดการเกี่ยวกับลิขสิทธิ์เพลง ผูใหบริการ Digital Content จัดการเกี่ยวกับลิขสิทธิ์เพลง และธุรกิจตูคาราโอเกะ ใหเชาทรัพยสินและเครื่องจักรที่ใชในการผลิตสินคาเพลง บริหารศิลปน ผลิตและจัดจําหนายภาพยนตร ผลิตและจัดจําหนายภาพยนตร ใหบริการหองตัดตอ และอุปกรณในการตัดตอ จําหนายหนังสือและสื่อการเรียนการสอน โรงเรียนสอนดนตรี และรองเพลง โรงเรียนสอนดนตรี และรองเพลง ศูนยออกกําลังกาย รับออกแบบกลยุทธการทําตลาดและประชาสัมพันธแบบ interactive ลงทุนในบริษัทอื่น บริหารการตลาด หาชองทางการจัดจําหนายและผลิตรายการวิทยุ ใหเชาชวงสถานีวิทยุ บริหารการตลาด หาชองทางการจัดจําหนายและผลิตรายการโทรทัศน บริหารการตลาด หาชองทางการจัดจําหนายและผลิตรายการโทรทัศน บริหารการตลาด หาชองทางการจัดจําหนายและรายการโทรทัศน หยุดดําเนินงานชั่วคราว รับจางผลิตรายการโทรทัศน และจัดกิจกรรม บริการใหเชาสตูดิโอ บริหารการตลาด หาชองทางการจัดจําหนายและผลิตนิตยสาร บริหารการตลาด หาชองทางการจัดจําหนายและผลิตนิตยสาร บริหารการตลาด หาชองทางการจัดจําหนายและผลิตนิตยสาร ผลิตและจําหนายหนังสือเลม บริหารการตลาดและหาชองทางการจัดจําหนายและ ผลิตนิตยสาร ที่ปรึกษาการจัดการเกี่ยวกับการสรางสรรคและบริหารงานกิจกรรม ใหเชาอุปกรณเทคโนโลยีระบบ แสง สี เสียง ใหบริการจัดหาอุปกรณเครื่องเลนในงานบันเทิง ใหบริการและจัดกิจกรรมในตะวันออกกลาง ใหบริการรับตกแตงสถานที่ ใหบริการอุปกรณในงานสังสรรค ใหบริการประชาสัมพันธ จัดงานนิทรรศการตางๆ

ดําเนินธุรกิจบันเทิงครบวงจร ไดแกการผลิตและจัดจําหนายผลงานเพลง ทั้งที่เปนสินคาและรูปแบบ Digital ธุรกิจจัดเก็บคาลิขสิทธิ์ บริหารศิลปน และการจัดคอนเสิรต

ประเภทกิจการ

หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ

หุนสามัญ

50,000 7,000,000 2,000,000 1,200,000 100,000 30,000,000 10,000 500,000 1,650,000 450,000 50,000 4,000,000 180,000 2,500,000 200,255,500 10,000 600,000 200,000 10,000 500,000 100,000 2,000,000 1,000,000 100,000 3,100,000 425,000 500,000 172,000,000 408,910 330,000 800 290,000 50,000

530,264,947

หุนที่ออกจําหนายแลว ชนิด จํานวน

นิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป

147


148

6 บจก. แฟมมิล่ี โนฮาว 7 บจก. ลักษ แซทเทิลไลท บริษัทอื่น 1 บจก.ไดเทค ดีส โปรดักชั่น 2 บมจ.มติชน 3 บมจ.โพสต พับลิชชิง 4 บจก. คาราโอเกะ เซ็นเตอร 5 บจก. เอ-ไทม ทราเวิลเลอร 6 บมจ.ซีเอ็ดยูเคชั่น

36 บจก. ดี ซิกซต้ี ทรี 37 บจก. อินเด็กซ ครีเอทีฟ ออนไลน 38 บจก. เอ เจน อีเวนท เอเจนซี่ 39 บจก.มอร มิวสิค 40 บจก.มิวสิค กอปปไรท คอลเลคชั่น 41 บจก.สนามหลวงการดนตรี 42 บจก.ลักษมิวสิค 999 43 บจก.จีไอพี เมเนจเมนท 44 บจก.จีเอ็มเอ็ม ดิจิตอล โดเมน 45 บจก.โกลบอล มิวสิค แอนด มีเดีย (ประเทศไทย) 46 บจก. โกลบอล มิวสิค แอนด มีเดีย (ประเทศจีน) 47 บจก.เอ็กทรอกาไนเซอร 48 บจก.อราทิสท แมเนจเมนท 49 บจก.ฟโนมีนา โมชั่นพิคเจอรส 50 บจก.อัพเพอร คัท 51 บจก.ที่ฟา 52 บจก.เมจิค ฟลม 53 บจก.เรดิโอ คอนเซ็ป 54 บจก.โอเพน เรดิโอ 55 บจก.ทีน ทอลก บริษัทรวม 1 บจก.ซีเนริโอ 2 บจก. เอนคอร 3 บจก. แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) 4 บจก. บลูมีเดีย คอมมิวนิเคชั่นส 5 บจก. นาดาว บางกอก

34 บจก. อินสปาย อิมเมจ 35 บจก.ไอธิ้ง แอ็ด

ชื่อบริษัท

นิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป

หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ

ผลิตคอมแพ็คดิสก ผลิตและจําหนายหนังสือพิมพ นิตยสาร และหนังสือเลม ผลิตและจําหนายหนังสือพิมพ นิตยสาร และหนังสือเลม ผลิต จําหนาย ใหเชา ใหบริการเครื่องที่ใชในการฟง และ/หรือ ขับรองเพลง ใหบริการจัดนําเที่ยวทั้งในและตางประเทศ ผลิต จําหนาย และรับจัดจําหนายหนังสือ สิ่งพิมพ วารสาร และหนังสือเลม

หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ

หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ หุนสามัญ

10,000,000 185,349,200 500,000,000 120,000 20,000 323,921,130

2,500,000 200,000

14,000,000 1,000,000 1,100,000 50,000 20,000

30,000 50,000 30,000 500,000 20,000 200,000 200,000 500,000 500,000 500,000 1,507,500 10,000 200,000 200,000 200,000 1,000,000 22,000 200,000 1,000,000 200,000

หุนที่ออกจําหนายแลว ชนิด จํานวน หุนสามัญ 60,000 หุนสามัญ 50,000

บริหารการตลาด หาชองทางการจัดจําหนาย ผลิตรายการโทรทัศน และละครเวที จําหนายและใหบริการอุปกรณ อะไหล เครื่องมือ เครื่องใช สีเสียงและระบบภาพตางๆ ผลิต สงเสริมการขาย จัดจําหนายสินคาและบริการเกี่ยวกับความบันเทิงดานดนตรี บริการวางกลยุทธการสื่อสาร จัดหาอุปกรณและติดตั้งระบบสื่อสารภายในองคกร รับจางผลิตภาพยนตร และใหบริการจัดหานักแสดงภาพยนตร รวมถึงการฝกอบรมและบริการใหคําปรึกษา งานภาพยนตรครบวงจร ธุรกิจสื่อ ใหความรูดานเศรษฐกิจ การเงิน และการลงทุนในตลาดทุน และตลาดเงิน ผลิตรายการโทรทัศนออกอากาศและสงสัญญาณผานดาวเทียม

ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับสิ่งพิมพ การพิมพ และใหบริการออกแบบ ผลิต จําหนายปายและสื่อสงเสริมการขาย ใหบริการรับเปนที่ปรึกษาและใหคําแนะนําในการสรางสรรคงานโฆษณา ประชาสัมพันธ ถายภาพ และงาน ครีเอทีฟตางๆ บริการออกแบบ จัดสรางโครงสรางงานกิจกรรม นิทรรศการ คอนเสิรต และโชวตางๆ บริการดานการวางกลยุทธส่อื สารออนไลน ออกแบบและพัฒนาเว็บไซด ใหบริการที่ปรึกษา และบริหารการจัดงาน หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว หยุดดําเนินงานชั่วคราว

ประเภทกิจการ

นิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป


1. บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย และบริษัทรวม มีสํานักงานใหญตั้งอยู อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส เลขที่ 50 ถนนสุขุมวิท 21(อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ยกเวนบริษัทดังตอไปนี้ 1.1 บริษัท จีเอ็มเอ็ม ไท หับ จํากัด สํานักงาน : 92/11 ซอยสุขุมวิท 31 (สวัสดี) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 1.2 บริษัท สวัสดีทวีสุข จํากัด สํานักงาน : 92/11 ซอยสุขุมวิท 31 (สวัสดี) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 1.3 บริษัท ทรี-อารดี จํากัด สํานักงาน : 222 ชั้น 14-16 อาคารวรวิทย ถนนสุรวงศ แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 1.4 บริษัท อิมเมจ ออน แอร จํากัด สํานักงาน : 217/7 ซอยสุขุมวิท 63 (เอกมัย) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 1.5 บริษัท แอ็กซ สตูดิโอ จํากัด สํานักงาน : 49/107 หมูท่ี 6 ตําบลลาดสวาย อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 1.6 บริษัท อิมเมจ พับลิชชิ่ง จํากัด สํานักงาน : 217/7 ซอยสุขุมวิท 63 (เอกมัย) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 1.7 บริษัท อินเด็กซ ครีเอทีฟ วิลเลจ จํากัด (มหาชน) สํานักงาน : 545 ซอยปรีดีพนมยงค 42 ถนนสุขุมวิท 71 แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร (เดิมชื่อ "บริษัท อินเด็กซ อีเวนท เอเจนซี่ จํากัด (มหาชน)") 1.8 บริษัท มีเดีย วิช่นั (1994) จํากัด สํานักงาน : 999,999/9 หมูท่ี 2 ตําบลบางเขน อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 1.9 บริษัท อีเวนท โซลูช่นั ส จํากัด สํานักงาน : 545 ซอยปรีดีพนมยงค 42 ถนนสุขุมวิท 71 แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 1.10 บริษัท แอสเพน อินเด็กซ อีเวนท จํากัด สํานักงาน : 21994 ดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรต 1.11 บริษัท เทรเบียง จํากัด สํานักงาน : 545 ซอยปรีดีพนมยงค 42 ถนนสุขุมวิท 71 แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 1.12 บริษัท จี คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด สํานักงาน : 92/56-57 อี อาคารสาธรธานี 2 ชั้น 19 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 1.13 บริษัท อินสปาย อิมเมจ จํากัด สํานักงาน : 957/28-30 ถนนสุขุมวิท 71 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 1.14 บริษัท ไอธิ้งแอ็ด จํากัด สํานักงาน : 545 ซอยปรีดีพนมยงค 42 ถนนสุขุมวิท 71 แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 1.15 บริษัท ดี ซิกซต้ี ทรี จํากัด สํานักงาน : 555 ซอยลาดพราว 107 ถนนลาดพราว แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร 1.16 บริษัท อินเด็กซ ครีเอทีฟ ออนไลน จํากัด สํานักงาน : 545 ซอยปรีดีพนมยงค 42 ถนนสุขุมวิท 71 แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 1.17 บริษัท เอ เจน อีเวนท เอเจนซี่ จํากัด สํานักงาน : 1755/4 ซอยลาดพราว 94 (ปญจมิตร) แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร 1.18 บริษัท ลักษมิวสิค 999 จํากัด สํานักงาน : 224/31 ซอยลาดพราว 94 (ปญจมิตร) แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร 1.19 บริษัท โกลบอล มิวสิค แอนด มีเดีย (ประเทศจีน) จํากัด สํานักงาน : 6th Floor, Sunning Plaza, 10 Hysan Avenue, Causeway Bay, Hong Kong 1.20 บริษัท ฟโนมีนา โมชั่นพิคเจอรส จํากัด สํานักงาน : 14 ซอยสุวรรณมณี แขวงสามแสนนอก เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 1.21 บริษัท เอนคอร จํากัด สํานักงาน : 999,999/9 หมูท่ี 2 ตําบลบางเขน อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 1.22 บริษัท แชนแนล (วี) มิวสิค (ประเทศไทย) จํากัด สํานักงาน : 989 อาคารสยามดิสคัฟเวอรรี่ ชั้นที่ 6 หองเลขที่ 608-609 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 1.23 บริษัท บลูมีเดีย คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด สํานักงาน : 545 ซอยปรีดีพนมยงค 42 ถนนสุขุมวิท 71 แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 1.24 บริษัท นาดาว บางกอก จํากัด สํานักงาน : 104 ซอยสุขุมวิท 31 (สวัสดี) แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 1.25 บริษัท แฟมมิล่ี โนฮาว จํากัด สํานักงาน : 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 1.26 บริษัท ลักษ แซทเทิลไลท จํากัด สํานักงาน : 1525 ซอยลาดพราว 94 ถนนศรีวรา แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร 2. ที่อยูสํานักงานใหญสําหรับบริษัทอื่น มีดังนี้ 2.1 บริษัท ไดเทค ดิส โปรดักชั่น จํากัด สํานักงาน : 498 ถนนจรัญสนิทวงศ แขวงบางบําหรุ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 2.2 บริษัท มติชน จํากัด (มหาชน) สํานักงาน : 12 ถนนเทศบาลนฤมาล แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 2.3 บริษัท โพสต พับลิชชิง จํากัด (มหาชน) สํานักงาน : อาคารบางกอกโพสต 136 ถนนสุนทรโกษา แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 2.4 บริษัท คาราโอเกะ เซ็นเตอร จํากัด สํานักงาน : 21/38-39 หมู 2 ซอยวิภาวดี 60 แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 2.5 บริษัท เอ-ไทม ทราเวิลเลอร จํากัด สํานักงาน : อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส เลขที่ 50 ถนนสุขุมวิท 21(อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 2.6 บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน) สํานักงาน : อาคารเนชั่นทาวเวอร ชั้น 19 เลขที่ 1858/87-90 ถ.บางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร

นิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป

นิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป

149


150

2  (52)

1  (1)

/

 ก(ก) ก  ก(ก)  ก 5

ก

100000 (0.25%)

5

1

2552 252 25 25 25 252 25..2552 25ก..2552 255ก..2552 252ก..2552 2525 2525 25225

2552 2551 25ก..2552 255ก..2552 25502551 2512551 252550 2552550

ก



25

     2551 251

(5.22%)

 (%) (31/12/53) 25200 

กกกกก กก กก ก กก กก กก กกก กกกก กก กก ก กกก

กก ก กกก กก กกก กกก กก กก

กก



กก() กก() ก ก ()ก ก()ก ก() ก() ก() กก() ก() กก() กก()

ก ก() ก() ก() ก() กก() ก() ก()

กก()

กก()

กก()

5

กกก

ก



()

ก กกก

ก

 (ก)



คณะผู้บริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)


4  (53)

3  ()

/

กก กก(IOD) กDCP(DCP) (2543)

ก ก 

  ก  (LLM.)  ก

กก (IOD): กDAP(DAP) (23/2547)

 ก 





()

2/



กก() กก() กกก ก (()ก) ก() กก() ()ก ก() กก()

กก() กก() กก() ก ก() กก() ก() ()ก() กกก(ก กกก กก() ก() กก() กก() ก()  ก()

ก กกกกกก กกก(IOD) ก กก ก

กก/กก กก/กก P กก/กก กก

255 2544 253255 2544255 254254

255

กก/กก กก/กก กก 

กก กกก กก กก กก กก/กก กก/กก กก/กก กก กก กกก กก/กก กก กก กก  กก



5

254 2552

2545 2544 2552552 2552552 254..2552 2545ก..2552 254ก..2552 2545254 2547254 2544254 25272547

     2552 254 2545 2547

  (%) (31/12/53) 

คณะผู้บริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)

คณะผู้บริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)

151


152

6  (58)

5  (4)

/

  

   

..2553 2551 2545..2552 25462551

39

 

..2553

59

253

 ()

 

2548

 2552  2551

   C   





()

()

()





()

()

()

() ()

1

() () ()  ()  ()

5

2544

1,500,200 (0.28%)

     ..2553 2552 2544 25392544 25362539 25332536 25312533



: 1.CFP(CFP)12552 : 2.CDP(DP2) 22551: 3.(.1)12548 : 4.CF: 254:

()   (%) (31/12/53) 

 (IOD): 1.F62553 2.DCP12548 3.FFD12546 4.DCP(DCP)(F)12543

 ()    



คณะผู้บริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)

คณะผู้บริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)


153



  ก

กก (IOD): DCP(DCP)12/25

9 ก   (58) ก

8 ก (51)

7 ก  () (5) ก

/

59

ก

1,320,000 (0.25%)



()

/9

..2553 258 ..2553 ก..2553 ..2553 ..2553 255257 2525 25025 25025

255 257 25 2550 250 25512553 258259 2525 25225

     2552 255 ก..2553 ..2553 ..2553 2552 2550 2550 255 2532 2551ก..2552 2550ก..2552 2532ก..2552 2582550 2552550 

กก ก กก กก กก กก กกก กก กกก กก

กกก(ก) กก กกก(กกก) กก กกก กกก(ก) (กก)กกก() กกก(กก) กก



กก() กก() ก ก กก ก ก() ก() ก() ก()

กก() กก() กก() ก กก กก() กก() กก() กก()

กก() กก() ก กก ก ก() ก() ก ก() ก ก() ก() กก() ก() ก()

5

กก/กก กก กก กก กก กก  กก/กกก กก/กกก กก/กกก กก กก กก กก กก

  (%) (31/12/53) 

คณะผู้บริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)


154

11 กก (44)

10  (47)

/

()

(1.0)

5

ก

5775700

BostonCog.S.A.  Broadcasting Bostonnirsit.S.A.

 (%) (31/12/53) 

5/

2552 ก..2553 ..2553 2547 254 2545 2534 2545ก..2552

2552

     25471..2553 255111..2553 255111..2553 254811..2553 254711..2553 254711..2553 255213..2553 255211..2553 25411..2553 254811..2553 25522..2553 25512..2553 25502..2553 25472..2553 2548ก..2552 2547ก..2552 25432547 2543 25422543 2532542 

กก กก กก/กกก กก/กกก กก/กกก กก กก/กกก กก

กก



กก() ก กก ก กก ก() กกก ก()

กก()

กก() กก() กก() กก() กก() กก() ก() ก ก ก ก() ก() ก() ก() ก() ก() ก ก ก กก

5

กกก(กก) ก กกกกกกก กกก/กก กก/กก กกก/กกก กก กก/กกก กก กก กก ก กก กก/กกก กกก/กก กก/กกก ก ก กก ก



 Conication&atr

(.): ก(ก.)(8/2552)

  (กก) ก  (ก) ก ก  ก()   ก(ก)  กก (IOD): 1.กCoanScrtarProgra(CSP)(28/2551) 2.กD&nsrancitigatingDirctors iaiitisis/SciaSinar(3/2551) 3.กootConsationCoitt(3/2550) 4.กDirctorAccrditationProgra(DAP)(21/2547)



คณะผู้บริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)




(5)



 

  ()

25259 252550 25525

 59

(0.3%)

() 

25..2553 2532552

9

 

25 ..2553





2550..2552

25



2550

59

19000

() 

2551 2552





2552

(0.0%)



2552

200000



()

(())

() () ()

() ()

()

()

()

()



()

()

(.)

()

()

()

()





  



2.A(A)(3025)

25525

2552 2551 25



5

(A)

  

1.(2551)

59



1200 (0.35%)

 (%) (31/12/53)

 

13   () (3) 

1 

() 

 (IOD):

12    () 

/

คณะผู้บริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)

คณะผู้บริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)

155


156

 () 



 



 



()

   

5 559 575 555

 

5 55..55

79



55







59

55



55

()



()



()













()

()

() 

51

() ()



()

()

()

()

()



 

..55

5 57

...



5

() 

5



5559

 ()



5

5

5



 5



  

..55





59



(.)

15

59



(.)

1

 (%) (31/12/53)



()



1   

17  ()

(5)

1 

(5)

15 

/

คณะผู้บริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)

คณะผู้บริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)


157



(4)

2 

(52)

 (%) (31/12/53)

 

254 25422545

...

 ()

...

 ()











   

254..2552 254 254254 254254

()



()



()





()



()

()

()



().

().

()

()

()



()

()

 ()

254..2554

255..2554

254..2554

254..2554

255..2554

2552..2554



254



 

255 254







 ()



5





()(255)

255

255

2552







  

2545





() 



  .... 

/

คณะผู้บริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)


158

21  (5)

/

1.กCertiieFinanialPlanner(CFP)12552 กก 2.กEetiveeaershiProgram2548 DAWharton,Pennsylvania,U.S.A 3.ก(.1)12548 ก 4.กก(TEPCoT) 32553

:

1.กDiretorCertiiationProgram(DCP)2/2544

กก (IOD):

  (กก) ก  ก(MBA),FinaneMarketing, UniversityoartorConnetit,U.S.A



()

/

2542553 2542553 2553 2553 2553 25522553 2551 2542551 2552551 25482551 254255

2552 2552 2552 2551 2551 2548 254

     ..2553 ..2553 ..2553 ก..2553 ก..2553 ..2553 ..2553 ..2553 ..2553 

5 

กก กก() ก กก() ก กก() กกกก ก ก ก(mai) ก(.) กกก ก กกSETAars21 กกกกก(ก.) กกกกกก ก กก, กกก กกกกก(ก.) กกกก กกกกก25522554 ก กกกกก ก ก  ก ก กกกก ก กกกกกกกก กกกกก(ก.) กก กกก กก(mai) ก ก(mai) กก ก กก ()ก() กกก ก(.)  ก กกก ก ก กก กก  กกกก กก(.)  ก(ก)

  (%) (31/12/53) 

คณะผู้บริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)

คณะผู้บริหาร บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน)


บุคคลอ้างอิงอื่นๆ

บุคคลอ้างอิงอื่นๆ

บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำ�กัด (มหาชน) 50 อาคารจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 02 669-9000, โทรสาร 02 669-9737 นายทะเบียนหุ้น บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4, 6-7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 02 229-2800, โทรสาร 02 359-1259 ผู้สอบบัญชี บริษัท สำ�นักงาน เอินสท์ แอนด์ ยัง จำ�กัด ชั้นที่ 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 02 264-0777, 02 661-9190, โทรสาร 02 264-0789-90, 02 661-9192 ที่ปรึกษาทางกฎหมาย บริษัท เบเคอร์ แอนด์ แม็คเค็นซี่ จำ�กัด อาคารอับดุลราฮิม ชั้น 22-25 เลขที่ 990 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 02 636-2000 โทรสาร 02 636-2111 บริษัท วีระวงค์ ชินวัฒน์ และ เพียงพนอ จำ�กัด อาคารเมอร์คิวรี่ทาวเวอร์ ชั้น 22 เลขที่ 540 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทร (02) 264-8000 โทรสาร (02) 657-2222 สถาบันการเงินที่ติดต่อประจำ� ธนาคารกสิกรไทย จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำ�กัด (มหาชน) 159


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.