รายงานประจำป 2559 บร�ษัท ไออาร พีซี จำกัด (มหาชน)
มุ งสู เป าหมายที่ท าทาย และยืนหยัดได อย างยั�งยืน
สารบัญ สารจากประธานกรรมการ จุดเด นการดำเนินงาน ข อมูลสำคัญทางการเง�น ว�สัยทัศน พันธกิจ ค านิยม
04 06 07 08
ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบร�ษัท โครงสร างองค กร คณะผู บร�หาร รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ การควบคุมภายใน สารประธานกรรมการสรรหาและกำหนดค าตอบแทน สารประธานกรรมการบร�หารความเสี่ยง สารประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี รายงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี
10 22 23 35 37 39 40 41 42
โครงสร างการจัดการ โครงสร างการจัดการ ข อมูลทั�วไป
70 99
โครงสร างธุรกิจ โครงสร างธุรกิจและการถือหุ น ลักษณะการประกอบธุรกิจ แผนภูมิกระบวนการผลิต การประกอบธุรกิจของแต ละสายผลิตภัณฑ ภาวะตลาดและแนวโน มอุตสาหกรรม โครงสร างรายได รายการระหว างกัน
105 106 108 110 116 126 127
รายงานผลการดำเนินธุรกิจ และการว�เคราะห ของฝ ายจัดการ สารจากกรรมการผู จัดการใหญ รายงานผลการดำเนินงาน ป 2559 โครงการ EVEREST การบร�หารทรัพยากรบุคคล การว�จัยและพัฒนาเพื่อความเป นเลิศ คำอธ�บายและการว�เคราะห ของฝ ายจัดการ ความรับผิดชอบขององค กร และการจัดการอย างยั�งยืน การดำเนินธุรกิจด วยความรับผิดชอบต อสังคม การลงทุนในกิจการเพื่อสังคม การจัดการด านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง� แวดล อม การบร�หารจัดการอย างยั�งยืน
132 136 154 156 161 165
178 198 202 211
พัฒนาการทีส่ ำคัญและรางวัลแห งความสำเร็จ ป 2559 216 ภาคผนวก การปฏิบัติตามเกณฑ การกำกับดูแลกิจการที่ดี การปฏิบัติตามเกณฑ ความรับผิดชอบต อสังคม
224 244
“…การจะพัฒนาทุกสิ�งทุกอย างให เจร�ญขึ้นนั�นจะต องสร างและเสร�มขึ้นจากพื้นฐานเดิมที่มีอยู ก อนทั�งสิ�น ถ าพื้นฐานไม ดีหร�อคลอนแคลนบกพร องแล ว ที่จะเพิ�มเติมเสร�มต อให เจร�ญดีขึ้นไปอีกนั�น ยากที่จะทำได จ�งควรเข าใจให แจ งชัดว า นอกจากจะมุ งสร างความเจร�ญแล ว ยังจะต องพยายามรักษาพื้นฐานให มั�นคง ไม บกพร อง พร อม ๆ กันไปด วย…” พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในพิธ�พระราชทานปร�ญญาบัตรแก นิสิตจุฬาลงกรณ มหาว�ทยาลัย ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ มหาว�ทยาลัย เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๒๓
ขอตามรอยพระยุคลบาท เพื่อสนองพระราชปณิธาน สู การพัฒนาอย างยั�งยืน ด วยสำนึกในพระมหากรุณาธ�คุณเป นล นพ นอันหาที่สุดมิได ข าพระพุทธเจ า คณะกรรมการ ผู บร�หาร และพนักงาน บร�ษัท ไออาร พีซี จำกัด (มหาชน)
สารจากประธานกรรมการ
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ปี 2559 นั บ เป็ น ปี แ ห่ ง ความสู ญ เสี ย อั น ยิ่ ง ใหญ่ ข อง ประชาชนชาวไทย จากการสวรรคตของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ในวันที่ 13 ตุลาคม 2559 คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน บริษัทไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ทุกคน ได้ถวายความ จงรักภักดีและความอาลัยถึงพระองค์ท่าน และดำ�เนิน กิ จ กรรมที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ ส่ ว นรวมหลายกิ จ กรรม ในชื่อ “ไออาร์พีซี ร่วมใจถวายอาลัยแด่พระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช และร่ ว มกิ จ กรรม ทำ � ดี ถ วายพ่ อ ” เพื่ อ น้ อ มรำ � ลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ อันหาทีส่ ดุ มิได้ พร้อมตัง้ มัน่ ทีจ่ ะสืบสานพระราชปณิธาน และ น้อมนำ�แนวทางตามพระราชดำ�ริมาใช้ในการดำ�เนินธุรกิจ ให้ส มดังเจตนารมณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ผู้ทรงเป็นที่รักยิ่ง
04
สำ�หรับ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ปี 2559 เป็นอีกปีหนึง่ ที่บริษัทประสบความสำ�เร็จต่อเนื่องจากปี 2558 มีกำ�ไรสุทธิ จำ�นวน 9,721 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.4 จากปี 2558 ที่มีกำ�ไรสุทธิ 9,402 ล้านบาท โครงการ EVEREST ซึ่ง เป็นโครงการตามกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพ ในทุกด้าน ที่ต้องใช้ความร่วมมือของพนักงานทั้งองค์กร และดำ�เนินการร่วมกับที่ปรึกษาจากบริษัทชั้นนำ�ระดับโลก ต่อเนือ่ งมาจากปี 2558 สามารถทำ�กำ�ไรได้ถงึ 2,311 ล้านบาท เป็นนิมิตหมายอันดีว่าขึ้นศักราชใหม่ ปีที่ 11 ของบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) บริษัทฯ ได้เดินทางเติบโต มาถึงจุดที่สามารถทำ�กำ�ไรได้ต่อเนื่อง และมีพัฒนาการ ที่ก้าวกระโดดในเรื่องสำ�คัญ ทั้ง ประสิทธิภาพการผลิต การตลาด นวัตกรรมและการวิจยั พัฒนา การสร้างมูลค่าเพิม่ การสร้างสมองค์ความรู้ และการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้การสนับสนุนการดำ�เนินงาน ของฝ่ายจัดการอย่างเต็มที่ เพือ่ ให้งานสำ�เร็จลุลว่ งบนพืน้ ฐาน ของความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น สังคมและผู้มีส่วนได้เสีย ความโปร่งใส และการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ในส่วนของ วัฒนธรรมองค์กร จากการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พร้อมไปกับ การมองหาช่องว่างที่ยังสามารถพัฒนาต่อไปได้อีก บริษัทฯ ได้ ป ระกาศใช้ ค่ า นิ ย มองค์ ก รใหม่ ที่ เ รี ย กว่ า i SPIRIT ในปี 2558 และเมื่อปลายปี 2559 ได้เริ่มสร้าง DNA ใหม่ ในตั ว พนั ก งานแต่ ล ะคนเพื่ อ ปิ ด ช่ อ งว่ า งของพฤติ ก รรม อันอาจเป็นอุปสรรคต่อการทำ�งานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เป็นการสร้างความแข็งแกร่งจากภายใน อันจะนำ�พาบริษัทฯ ไปสู่เป้าหมายตามวิสัยทัศน์ได้ คณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการชุดย่อยได้ปฏิบตั หิ น้าที่ ตามบทบาทและความรับผิดชอบของกรรมการอย่างเต็มที่ กรรมการทุกท่านได้ใช้ศักยภาพ ประสบการณ์ ความรู้ และความชำ�นาญของแต่ละท่าน ที่มีความหลากหลาย เพี ย งพอ และครบถ้ ว น ในการร่ ว มกั น กำ � หนดทิ ศ ทาง กลยุทธ์ และการพิจารณาตัดสินประเด็นทางธุรกิจต่างๆ ของบริษัทฯ อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ความสำ�คัญ
ต่ อ การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี ธ รรมาภิ บ าล และต่ อ ต้ า น การทุจริตติดสินบน เพื่อให้บริษัทฯ มีการเติบโตอย่างยั่งยืน เป็ น บริ ษั ท มหาชนที่ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย จัดอยู่ใน SET Sustainability Investment หลักทรัพย์ เพื่อการลงทุนอย่างยั่งยืน ตั้งแต่เริ่มการจัดอันดับในปี 2558 ต่อเนื่องถึง 2559 และได้รับรางวัลชมเชยองค์กรโปร่งใส ประจำ�ปี 2559 จากสำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือ ป.ป.ช. นอกจากนั้น ยั ง สนั บ สนุ น นโยบายภาครั ฐ และให้ ค วามร่ ว มมื อ ในการดำ�เนินงานเพื่อประเทศชาติ อาทิ โครงการประชารัฐ การช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย และการสร้างนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกผสมยางธรรมชาติ 35 % เพื่อให้ ยางธรรมชาติ ส ามารถใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ห ลากหลาย เป็นประโยชน์กับเกษตรกรมากขึ้น เป็นต้น ในนามของคณะกรรมการบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผมขอขอบคุ ณ ทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ ใ ห้ ค วามเชื่ อ มั่ น สนั บ สนุ น ตลอดจนให้ความร่วมมืออย่างดียิ่งกับบริษัทฯ มาโดยตลอด ทั้งท่านผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า หน่วยราชการ นักวิชาการ สถาบันการเงิน ชุมชน ตลอดจนผูบ้ ริหารและพนักงานบริษทั ฯ และบริษัทในเครือทุกคน ที่ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่อย่างเข้มแข็ง จนเป็นผลให้บริษทั ฯ ประสบความสำ�เร็จ อย่างงดงามอีกปีหนึง่ ผมมีความเชื่อมั่นว่าจากการเตรียมความพร้อม และการ เร่งพัฒนาอย่างจริงจังต่อเนื่องในทุกมิติ ได้ทำ�ให้ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) เติบโตพัฒนาไปอย่างถูกทิศทาง และยืนหยัดได้อย่างแข็งแกร่งทัง้ ในด้านธุรกิจ สุขภาพองค์กร ธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบต่อสังคม และความเป็นพลเมือง ทีด่ ขี องโลก และจากนี้ไปธุรกิจของบริษทั ฯ จะพุง่ ทะยานอย่าง ไม่หยุดยั้ง และสะท้อนกลับมาเป็นมูลค่าเพิ่มให้ผู้ถือหุ้น ผลตอบแทนต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย และประเทศชาติได้อย่างแน่นอน
นายเทว�นทร วงศ วานิช ประธานกรรมการบร�ษัท
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
05
จุดเด่นการดำ�เนินงาน
รายได จากการขายสุทธ�
การจัดจำหน าย
ผลิตภัณฑ ป โตรเลียม
ผลิตภัณฑ ป โตรเคมี (หน วย : ล านบาท)
168,349
ผลิตภัณฑ ป โตรเลียม ผลิตภัณฑ ป โตรเคมี อื่นๆ
67% 31% 2%
168,349
58% 42%
ในประเทศ ต างประเทศ
113,152
น�ำมันดีเซล น�ำมันเบนซิน น�ำมันเตา น�ำมันหล อลื่นพื้นฐาน และยางมะตอย อื่นๆ
รายได จากการขายสุทธ� 300,000
(หน วย : ล านบาท)
199,595
150,000
168,349
สไตร�นิคส โพลิออล
14% 57% 27% 2%
(หน วย : ล านบาท)
9,402
9,721
2558
2559
6,000 3,000 0
100,000
- 3,000
50,000
- 6,000
0
2557
2558
สินทรัพย รวม
162,798
163,174
(5,235)
2559
(หน วย : ล านบาท)
200,000
172,378
2557
หนี้สินรวม 100,000
(หน วย : ล านบาท)
94,894
87,296
91,373
2558
2559
75,000
100,000
50,000
50,000
25,000 0
0
2557
06
อะโรเมติกส โอเลฟ นส และโพลิโอเลฟ นส
กำไรสุทธ�
9,000
250,000
150,000
57% 12% 6% 13% 12%
12,000
272,968
200,000
52,115
2558
2559
2557
ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน (หน วย : ล านบาท)
2557
2558
2559
44,142 162,798 46,829 94,894 67,904 20,475 20,434
35,984 163,174 36,210 87,296 75,878 20,475 20,434
39,848 172,378 52,429 91,373 81,005 20,475 20,434
281,589 272,968 287,930 (6,341) (1,402) (5,235)
214,172 199,595 197,913 16,258 17,033 9,402
185,041 168,349 164,900 20,140 17,430 9,721
N/A N/A N/A N/A 0.94 0.87 N/A 0.08 3.32 (0.26)
7.95% 4.39% 5.77% 13.09% 0.99 0.66 48% 0.22 3.71 0.46
9.42% 5.25% 5.79% 12.41% 0.76 0.75 48% (5) 0.23 3.96 0.48
ฐานะการเง�น สินทรัพย หมุนเว�ยน สินทรัพย รวม หนี้สินหมุนเว�ยน รวมหนี้สิน ส วนของผู ถือหุ น ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล ว
ผลการดำเนินงาน รายได จากการขาย (1) รายได จากการขายสุทธ� (2) ต นทุนขาย กำไรขั�นต น EBITDA (3) กำไร (ขาดทุน) สุทธ�
อัตราส วนทางการเง�น อัตราส วน EBITDA ต อรายได จากการขาย อัตรากำไรสุทธ�ต อรายได จากการขาย อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย อัตราผลตอบแทนต อผู ถือหุ น อัตราส วนสภาพคล อง (เท า) อัตราส วนหนี้สินสุทธ�ต อส วนของผู ถือหุ น (เท า) (4) อัตราการจ ายเง�นป นผล เง�นป นผลจ ายต อหุ น (บาท) มูลค าตามบัญชีต อหุ น (บาท) กำไรสุทธ�ต อหุ น (บาท)
หมายเหตุ : (1) รายได จากการขาย ประกอบด วย ธุรกิจป โตรเลียม, ธุรกิจป โตรเคมี, ธุรกิจไฟฟ าและสาธารณูปโภค, ค าบร�การถังบรรจุผลิตภัณฑ ค าบร�การท าเร�อ และอื่นๆ (2) รายได จากการขายสุทธ� ประกอบด วย ธุรกิจป โตรเลียม (ไม รวมค าภาษีสรรพสามิต), ธุรกิจป โตรเคมี และ ธุรกิจไฟฟ าและสาธารณูปโภค (3) EBITDA หมายถึง กำไรก อนหักดอกเบี้ย ภาษีเง�นได ค าเสื่อมราคาและค าตัดจำหน าย (4) หนี้สินสุทธ� หมายถึง หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หัก เง�นสดและเง�นลงทุนชั�วคราว (5) มติที่ประชุมคณะกรรมการบร�ษัทฯ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ 2560 อนุมัติเสนอให จ ายเง�นป นผลสำหรับผลการดำเนินงานป 2559 ในอัตราหุ นละ 0.23 บาทต อหุ น ทั�งนี้ การอนุมัติเสนอให จ ายเง�นป นผลดังกล าวจะนำเสนอต อที่ประชุมสามัญผู ถือหุ นป 2560 เพื่อพิจารณาอนุมัติต อไป
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
07
ว�สัยทัศน บร�ษัทป โตรเคมีชั�นนำของเอเชีย ภายในป 2563 Leading Integrated Petrochemical Complex in Asia by 2020
พันธกิจ
ค านิยม
08
ความเป นเลิศด านการผลิต Operational Excellence องค กรแห งความเป นเลิศ High Performance Organization ความรับผิดชอบต อชุมชน สังคม และสิ�งแวดล อม Corporate Social Responsibility
การสร างมูลค าเพิ�มแก ผลิตภัณฑ Value Creation นวัตกรรมและการสร างธุรกิจใหม Innovation & Creation of New Business
เราคือบร�ษัท บร�ษัทคือเรา Individual Ownership สร างพลังร วมอันยิ�งใหญ Synergy ร วมมุ งสู ความเป นเลิศ Performance Excellence ร วมสร างนวัตกรรม Innovation
ร วมรับผิดชอบต อสังคม Responsibility for Society ร วมสร างพลังความดี Integrity & Ethics ร วมสร างความเชื่อมั�น Trust & Respect
BOARD RESPONSIBILITY
ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
คณะกรรมการบร�ษัท โครงสร างองค กร คณะผู บร�หาร รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ การควบคุมภายใน สารประธานกรรมการสรรหาและกำหนดค าตอบแทน สารประธานกรรมการบร�หารความเสี่ยง สารประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี รายงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
09
คณะกรรมการบริษัท
แถวยืน :
แถวนั�ง :
10
นายทรงภพ พลจันทร
นายอนุสรณ แสงนิ�มนวล
นางสาวร�น่ วดี สุวรรณมงคล พลเอก สสิน ทองภักดี
กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ
กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ กำกับดูแลกิจการที่ดี
กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ
นายเจษฎา พรหมจาต
นายเทว�นทร วงศ วานิช
กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ
ประธานกรรมการ
นายประมวล จันทร พงษ
กรรมการอิสระ/ กรรมการอิสระ/ กรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี กรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี
นายเอกนิติ นิตทิ ณ ั ฑ ประภาศ
นายชาญศิลป ตร�นุชกร
พลเอก เทพพงศ ทิพยจันทร
นายสมนึก บำรุงสาลี
นายชวลิต พันธ ทอง
กรรมการ/ กรรมการบร�หารความเสี่ยง
กรรมการ/ กรรมการบร�หารความเสี่ยง
กรรมการอิสระ
กรรมการ/ กรรมการสรรหา และกำหนดค าตอบแทน
กรรมการ/ กรรมการสรรหา และกำหนดค าตอบแทน
นายณัฐชาติ จารุจ�นดา
นายสุกฤตย สุรบถโสภณ
นายวุฒิสาร ตันไชย
กรรมการ/ ประธานกรรมการ บร�หารความเสี่ยง
กรรมการ/ กรรมการบร�หารความเสี่ยง/ กรรมการผู จัดการใหญ / เลขานุการคณะกรรมการบร�ษัทฯ
กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการสรรหา และกำหนดค าตอบแทน
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
11
คณะกรรมการบริษัท
นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานกรรมการ/กรรมการผูม้ อี �ำ นาจลงนามผูกพันบริษทั ตามที่กำ�หนดในหนังสือรับรอง อายุ 58 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2558
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) เกียรตินยิ มอันดับหนึง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท วิศวกรรมเคมี, Rice University สหรัฐอเมริกา • ปริญญาโท วิศวกรรมปิโตรเลียม, University of Houston สหรัฐอเมริกา • หลักสูตร Senior Executive Program (SEP) รุ่นที่ 7 สถาบันศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Program for Global Leadership (PGL), Class 3, Harvard Business School, USA • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 6 สถาบันวิทยาการ ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุน่ ที่ 22 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 3 สถาบันวิทยาการพลังงาน • หลักสูตรประกาศนียบัตรชัน้ สูงการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยสำ�หรับผู้บริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 10 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรการกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหาร ระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน (PDI) รุ่นที่ 7 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุน่ ที่ 21/2545 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) รุน่ ที่ 6/2552 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุน่ ที่ 13/2554 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) รุน่ ที่ 15/2558 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC : 900 หุ้น คิดเป็น 0.00% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี
12
ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • ก.ย. 2557 - ก.ย. 2558 ประธานกรรมการ บริษทั อสมท จำ�กัด (มหาชน) • พ.ค. 2555 - ก.ย. 2558 ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร/ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ปตท. สำ�รวจและผลิต ปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • ม.ค. 2553 - เม.ย. 2555 ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงิน บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2553 - เม.ย. 2555 กรรมการ บริษทั ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2552 - มี.ค. 2554 ประธานกรรมการ บริษทั พีทที ี ไอซีที โซลูชน่ั ส์ จำ�กัด ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ต.ค. 2558 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • ก.ย. 2558 - ปัจจุบนั ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร/ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • ก.ย. 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ/เลขานุการคณะกรรมการ บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • พ.ย. 2552 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั ปตท. สำ�รวจและผลิต ปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ก.ค. 2558 - ปัจจุบนั กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ • ก.ค. 2557 - ปัจจุบนั กรรมการ Board of Trustee สมาคมจัดการ ธุรกิจแห่งประเทศไทย (TMA) • พ.ย. 2557 - ปัจจุบนั กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการพัฒนา ขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ (กพข.) • พ.ย. 2557 - ปัจจุบนั ทีป่ รึกษากิตติมศักดิ์ คณะกรรมาธิการพลังงาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
นายทรงภพ พลจันทร์
นายวุฒิสาร ตันไชย
กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ
กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
อายุ 62 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2556
อายุ 58 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2558
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิทยาศาสตรบัณฑิต (ธรณีวิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • Ph.D. (Petroleum Geology), Royal Holloway and Bedford New College, University of London, UK • หลักสูตรนักบริหารการยุติธรรมทางปกครองระดับสูง (บยป.) รุ่นที่ 3 วิทยาลัยยุติธรรมการปกครอง • หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุน่ ที่ 2 สถาบันวิทยาการพลังงาน • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 50 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • Advanced Executive Program, Kellogg School of Management, Northwestern University, USA • ASEAN Executive Program, New York, USA • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (นบส.1) รุน่ ที่ 42 สำ�นักงาน ก.พ. • หลักสูตร Finance for Non-Finance Directors Program (FND) รุ่นที่ 9/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 23/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มหาวิทยาลัยขอนแก่น • พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) (พบ.ม.) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) • Master of Policy Science (M.P.S.) International Program, Saitama University, Japan • ประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตรวุฒิบัตรการกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการ และผูบ้ ริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน (PDI) รุน่ ที่ 1 สถาบันพระปกเกล้า สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุน้ IRPC : - หุน้ คิดเป็น -% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • ต.ค. 2557 - เม.ย. 2558 กรรมการบริหารความเสีย่ ง บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2556 - เม.ย. 2558 ประธานกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • 2555 กรรมการตรวจสอบ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2552 - เม.ย. 2558 กรรมการอิสระ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • มิ.ย. 2558 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ธ.ค. 2557 - ปัจจุบนั เลขาธิการ สถาบันพระปกเกล้า • ปัจจุบนั ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญ 2558 • ปัจจุบนั กรรมการสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา • ปัจจุบนั กรรมการ คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ • ปัจจุบนั อนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ • ปัจจุบนั กรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐาน • ปัจจุบนั กรรมการสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุน้ IRPC : - หุน้ คิดเป็น -% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • เม.ย. 2556 - เม.ย. 2559 กรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • ก.ค. 2557 - ก.ย. 2557 ผูต้ รวจราชการกระทรวงพลังงาน • 2553 - 2557 อธิบดีกรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ก.ย. 2559 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • มิ.ย. 2558 - ปัจจุบนั กรรมการตรวจสอบ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2557 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2556 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่มี
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
13
นายอนุสรณ์ แสงนิ่มนวล กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี อายุ 62 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2559
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • Ph.D. (Chemical Engineering), Monash University, Melbourne, Australia • M.Eng. (Environmental Engineering), Asian Institute of Technology (AIT) • วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมีวศิ วกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 20 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 10 สถาบันวิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ประกาศนียบัตรขัน้ สูงการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน (ปรม.) รุน่ ที่ 5 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน่ ที่ 62/2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 40/2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Finance for Non-Finance Director (FND) รุ่นที่ 22/2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร DCP Refresher Course (DCP RE) รุน่ ที่ 1/2551 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุน้ IRPC : - หุน้ คิดเป็น -% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • 2556 - 2559 กรรมการ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำ�กัด • 2557 - 2558 สมาชิกสภาปฏิรปู แห่งชาติ • 2557 - 2558 กรรมการ บริษทั ล็อกซเล่ย์ จำ�กัด (มหาชน) • 2556 - 2558 ทีป่ รึกษาอาวุโส บริษทั บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2548 - 2555 กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2554 - 2555 ประธานกรรมการ บริษทั บางจากโซลาร์เอนเนอร์ย่ี จำ�กัด
14
• 2554 - 2555 • 2551 - 2555 • 2551 - 2554 • 2551 - 2554 • 2550 - 2554
ประธานกรรมการ บริษทั อุบล ไบโอเอทานอล จำ�กัด ประธานกรรมการ บริษทั บางจากไบโอฟูเอล จำ�กัด ประธาน องค์กรธุรกิจเพื่อการพัฒนา อย่างยั่งยืน (TBCSD) กรรมการ สภาธุรกิจตลาดทุนไทย กรรมการ สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย
ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ก.ย. 2559 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ ี บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • ส.ค. 2559 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • 2559 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการ บรรษัทภิบาล/กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • 2559 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั บี.กริม เพาเวอร์ จำ�กัด (มหาชน) • 2557 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ บริษทั พฤกษา เรียลเอสเตท จำ�กัด (มหาชน) • 2557 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั ขนส่ง จำ�กัด • 2556 - ปัจจุบนั กรรมการ สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
นายณัฐชาติ จารุจินดา
พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์
กรรมการ/ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง/กรรมการ ผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัทตามที่กำ�หนด ในหนังสือรับรอง
กรรมการอิสระ
อายุ 61 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 29 เมษายน 2559
อายุ 58 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2559
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • Program for Global Leadership (PGL), Harvard Business School, USA • Oxford Energy Seminar, UK • Break Through Program for Senior Executives (BPSE), IMD Institute, Switzerland • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 20 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 15 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 3 สถาบันวิทยาการพลังงาน • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน่ ที่ 129/2553 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC : - หุ้น คิดเป็น -% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • พ.ค. 2557 - เม.ย. 2559 ประธานกรรมการ บริษทั พีทที ี เอ็นเนอร์ย่ี รีซอร์สเซส จำ�กัด • 2556 - เม.ย. 2559 กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) • 2556 - พ.ย. 2558 กรรมการ บริษัท ปตท. สำ�รวจและผลิต ปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2556 - 2558 ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้น และก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • 2554 - 2556 ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2554 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลยุทธ์ องค์กร บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • เม.ย. 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ/ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่มี
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 18/2518 • โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 29/2520 • รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 54/2554 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุน้ IRPC : - หุน้ คิดเป็น -% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • ส.ค. 2557 - พ.ย. 2559 กรรมการ การประปาส่วนภูมภิ าค • ต.ค. 2558 - ก.ย. 2559 แม่ทพั ภาคที่ 1 กองทัพภาคที่ 1 • 2557 แม่ทพั น้อยที่ 1 กองทัพภาคที่ 1 • 2556 รองแม่ทพั ภาคที่ 1 กองทัพภาคที่ 1 • 2554 ผูบ้ ญ ั ชาการกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ก.ย. 2559 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ต.ค. 2559 - ปัจจุบนั ผูช้ ว่ ยผูบ้ ญ ั ชาการทหารบก
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
15
พลเอก สสิน ทองภักดี
นายประมวล จันทร์พงษ์
กรรมการอิสระ/ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี
กรรมการอิสระ/ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี
อายุ 58 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2557
อายุ 61 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2557
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • โรงเรียนเตรียมทหาร • โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า • หลักสูตรหลักประจำ� ชุดที่ 68/2532 โรงเรียนเสนาธิการทหารบก • หลักสูตรเสนาธิการทหาร รุ่นที่ 40/2541 วิทยาลัยเสนาธิการทหาร • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 24/2554 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรชั้นนายพัน เหล่า ม. รุ่นที่ 7/87 FT.KNOX, KY ประเทศสหรัฐอเมริกา • หลักสูตรนายทหารซ่อมบำ�รุง FT.KNOX, KY ประเทศสหรัฐอเมริกา • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า (ไฟฟ้ากำ�ลัง) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล • ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • Certificate of Rational Use of Energy สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) • สามัญวิศวกร สฟก. 1094 • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ เอกชน และการเมือง (วปม.) รุ่นที่ 6 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (ผูน้ �ำ วิสยั ทัศน์ รุน่ ที่ 45) วิทยาลัยนักบริหาร สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำ�นักงาน ก.พ. • หลักสูตรนักบริหารด้านพลังงานระดับสูง รุ่นที่ 2 กระทรวงพลังงาน • หลักสูตรการบริหารงานสำ�หรับนักบริหารระดับกลาง กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุน้ IRPC : - หุน้ คิดเป็น -% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • 2559 รองเสนาธิการทหารบก • 2555 เจ้ากรมยุทธการทหารบก ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ต.ค. 2557 - ปัจจุบนั กรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • ก.ย. 2557 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ต.ค. 2559 - ปัจจุบนั เสนาธิการทหารบก กองทัพบก
16
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุน้ IRPC : - หุน้ คิดเป็น -% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • ก.ค. 2557 - ก.ย. 2559 ผูต้ รวจราชการกระทรวงพลังงาน • 2556 - 2557 อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรกั ษ์พลังงาน ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ต.ค. 2559 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2557 - ปัจจุบนั กรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2557 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่มี
นายสมนึก บำ�รุงสาลี
นายชวลิต พันธ์ทอง
กรรมการ/ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
กรรมการ/กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน/ กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัทตามที่กำ�หนด ในหนังสือรับรอง
อายุ 59 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2557
อายุ 60 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • การจัดการภาครัฐและภาคเอกชนมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • หลักสูตรนักบริหารด้านพลังงานระดับสูง (นบส.) รุน่ ที่ 2/2551 สำ�นักงานปลัดกระทรวงพลังงาน • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (นบส.) รุ่นที่ 65/2552 สำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง 2 (นบส.) รุ่นที่ 5/2556 สำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 5/2557 สถาบันวิทยาการพลังงาน • หลักสูตรนักบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 20/2558 วิทยาลัยการยุติธรรม สำ�นักงานศาลยุติธรรม • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำ�หรับ นักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุน่ ที่ 16/2555 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่นที่ 229/2559 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุน้ IRPC : - หุน้ คิดเป็น -%
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเครือ่ งกล) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ปริญญาโท MBA, Central Missouri State University, USA • หลักสูตร Senior Executive Program (SEP) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • PTT: GE Executive Leadership Program, GE Croton Ville, USA • Nida: Wharton Executive Leadership Program 2009, The Wharton School, University of Pennsylvania, USA • หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง (วตท.) รุน่ ที่ 18 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุน่ ที่ 177/2556 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC : - หุ้น คิดเป็น -% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • 2556 - พ.ย. 2558 ประธานกรรมการ บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำ�กัด • 2556 - 2558 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจน้ำ�มัน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • 2555 - พ.ย. 2558 ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. ธุรกิจค้าปลีก จำ�กัด • 2555 - พ.ย. 2558 ประธานกรรมการ บริษทั ปตท. บริหารธุรกิจค้าปลีก จำ�กัด • 2554 - 2556 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ การตลาดขายปลีก บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2554 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ การตลาดพาณิชย์และต่างประเทศ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • เม.ย. 2559 - ปัจจุบัน กรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด • ต.ค. 2559 - ปัจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2558 - ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน และบริหารความยั่งยืน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • ธ.ค. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่มี
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • ก.ค. 2557 - ก.ย. 2559 ผูต้ รวจราชการกระทรวงพลังงาน • 2556 - 2557 อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน • 2554 - 2556 รองอธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน • 2549 - 2554 ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักความปลอดภัย ธุรกิจน้�ำ มัน กรมธุรกิจพลังงาน ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • เม.ย. 2559 - ปัจจุบนั กรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2557 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ต.ค. 2559 - ปัจจุบนั รองปลัดกระทรวงพลังงาน
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
17
นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร กรรมการ/กรรมการบริหารความเสี่ยง/กรรมการผู้มี อำ�นาจลงนามผูกพันบริษัทตามที่กำ�หนดในหนังสือรับรอง อายุ 56 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2558
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ระดับผู้บริหาร รุ่นที่ 1 กรมกิจการพลเรือนทหารบก • วิทยาลัยการทัพอากาศ (วทอ.) รุ่นที่ 35/2549 • หลักสูตร Senior Executive Program (SEP) รุ่นที่ 20 สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • PTT Executive Leadership, General Electric, GE, New York, USA • Advance Senior Executive Program (ASEP-5) รุ่นที่ 5/2553, KELLOGG & SASIN, Chicago, USA • หลักสูตร Leadership Excellence through Awareness and Practice (LEAP) สถาบัน INSEAD ประเทศสิงคโปร์ และประเทศฝรั่งเศส • หลักสูตร Leadership Development Program III (LDP 3) รุ่นที่ 1/2557 สถาบัน PLLI บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 57/2557 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 7/2558 สถาบันวิทยาการพลังงาน • รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น ปี 2558 โดยสมาคมเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารเศรฐกิจสาธารณะ สำ�หรับนักบริหารระดับสูง (ปศส.) รุน่ ที่ 10 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่นที่ 85/2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) รุ่นที่ 12/2554 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 93/2554 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Charted Director Class (CDC) รุ่นที่ 11/2558 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุน้ IRPC : - หุน้ คิดเป็น -% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • ต.ค. 2558 - ธ.ค. 2558 รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน่ บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2558 - ต.ค. 2558 กรรมการ บริษทั ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)
18
• ต.ค. 2557 - ก.ย. 2558 รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กลยุทธ์องค์กร บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2557 - ธ.ค. 2558 ประธานกรรมการ บริษทั ปตท. กรีน เอ็นเนอร์ย่ี (ประเทศไทย) จำ�กัด • มี.ค. 2556 - ก.ย. 2557 รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายพาณิชยกิจและการตลาด บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • พ.ย. 2555 - ก.ย. 2557 กรรมการ บริษทั พีทที ี โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติง้ จำ�กัด • มิ.ย. 2555 - ก.ย. 2557 กรรมการ บริษทั อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จำ�กัด (มหาชน) • มิ.ย. 2555 - ก.ย. 2557 กรรมการ บริษทั พีทที ี โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จำ�กัด • ก.พ. 2555 - ก.ย. 2557 กรรมการ บริษทั ระยองอะเซททีลนี จำ�กัด • ธ.ค. 2554 - มิ.ย. 2557 กรรมการ บริษทั เทคโนโลยี ไออาร์พซี ี จำ�กัด • พ.ย. 2554 - ก.ย. 2557 กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี โพลีออล จำ�กัด • พ.ย. 2554 - ส.ค. 2557 ประธานกรรมการ บริษทั รักษ์ปา่ สัก จำ�กัด • ต.ค. 2554 - ก.พ. 2556 รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กลุม่ ธุรกิจท่าเรือและ บริหารจัดการทรัพย์สนิ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • เม.ย. 2559 - ปัจจุบนั กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจ ปิโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • พ.ย. 2558 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั พีทที ี โพลิเมอร์ มาร์เก็ตติง้ จำ�กัด • พ.ย. 2558 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั พีทที ี โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จำ�กัด
นายเจษฎา พรหมจาต กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ อายุ 55 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2559
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตรนักบริหารยุทธศาสตร์การป้องกันและปราบปราม การทุจริตระดับสูง (นยปส.) รุน่ ที่ 1/2553 สถาบันการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ • หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP) รุ่นที่ 9/2555 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • ประกาศนียบัตรชัน้ สูงการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน (ปรม.) รุ่นที่ 12/2556 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรการกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหาร ระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน (PDI) รุ่นที่ 14 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Company Secretary Program (CSP) รุน่ ที่ 7/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน่ ที่ 45/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Ethical Leadership Program (ELP) รุ่นที่ 5/2559 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC : 25,000 หุ้น (ตนเอง 5,000 หุน้ คิดเป็น 0.00002%) (คูส่ มรส 20,000 หุน้ คิดเป็น 0.00010%) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • เม.ย. 2558 - พ.ค. 2559 กรรมการตรวจสอบและ ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ • ก.ย. 2557 - พ.ค. 2559 กรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั ชูไก จำ�กัด (มหาชน) • ก.ย. 2557 - พ.ค. 2559 กรรมการ บริษัท เดอะเครนเซอร์วิส จำ�กัด • ก.ย. 2557 - พ.ค. 2559 กรรมการ บริษทั เดอะเครนแหลมฉบัง จำ�กัด • ก.ย. 2557 - พ.ค. 2559 กรรมการ บริษัท เดอะเครนระยอง จำ�กัด • ก.ย. 2557 - พ.ค. 2559 กรรมการ บริษัท เดอะเครนเฮฟวี่ลิฟท์ จำ�กัด • 2551 - 2558 กรรมการ บริษทั ดีแลนด์ ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด • 2557 รองประธานกรรมการ บริษัท ซี๊ด เอ็มคอท จำ�กัด • 2556 - 2557 รองกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ และปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าเจ้าหน้าที่ ด้านการเงิน (CFO) บริษัท อสมท จำ�กัด (มหาชน)
• 2551 - 2557 • 2552 - 2556
• 2554 - 2555
กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ บริษัท ชูไก จำ�กัด (มหาชน) หัวหน้าเจ้าหน้าทีด่ า้ นการเงิน (CFO) บริษทั อสมท จำ�กัด (มหาชน) (เทียบเท่ารองกรรมการ ผู้อำ�นวยการใหญ่) กรรมการ บริษัท ทรูวิชั่น จำ�กัด (มหาชน)
ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ก.ย. 2559 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • มี.ค. 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • มิ.ย. 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ชูไก จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • พ.ย. 2559 - ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย • ธ.ค. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ ธนาคารออมสิน
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
19
นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล
นายเอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ
กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ
กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง
อายุ 52 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2559
อายุ 45 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A) University of California at Berkeley, USA • นิติศาสตรมหาบัณฑิต (L.L.M.) Harvard Law School, Cambridge, Massachusetts, USA • เนติบณ ั ฑิตไทย (นบท.) สำ�นักอบรมกฎหมายแห่งเนติบณ ั ฑิตยสภา • หลักสูตรผูบ้ ริหารกระบวนการยุตธิ รรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุน่ ที่ 15 วิทยาลัยการยุตธิ รรม สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการ ศาลยุติธรรม สำ�นักงานศาลยุติธรรม • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 25 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรนักบริหารยุทธศาสตร์การป้องกันและปราบปราม การทุจริตระดับสูง (นยปส.) รุ่นที่ 5 สำ�นักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ • หลักสูตรการเสริมสร้างสังคมสันติสขุ รุน่ ที่ 2 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่นที่ 127/2553 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุน้ IRPC : - หุน้ คิดเป็น -% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • เศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาโท Economics/Policy Economics, University of Illinois at Urbana-Champaign, USA • ปริญญาเอก Economics/Macroeconomics and International Finance, Claremont Graduate University, USA • หลักสูตรประกาศนียบัตรชัน้ สูงการบริหารงานภาครัฐและ กฎหมายมหาชน (ปรม.) รุ่นที่ 9/2554 วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน่ ที่ 93/2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI) รุ่นที่ 4/2558 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Role of the Nomination and Governance Committee (RNG) รุ่นที่ 8/2559 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC : - หุ้น คิดเป็น -% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง ไม่มี • พ.ย. 2557 - ก.ย. 2558 ทีป่ รึกษาด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง สำ�นักงานเศรษฐกิจการคลัง • 2555 - 2557 อธิบดีกรมคุมประพฤติ กระทรวงยุตธิ รรม กระทรวงการคลัง • 2555 ผูต้ รวจราชการกระทรวงยุตธิ รรม/ • พ.ย. 2555 - พ.ย. 2557 รองผูอ้ �ำ นวยการ รองโฆษกกระทรวงยุตธิ รรม สำ�นักงานเศรษฐกิจการคลัง • 2552 - 2554 รองผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักงานกิจการยุตธิ รรม กระทรวงการคลัง กระทรวงยุตธิ รรม • ก.ย. 2553 - พ.ย. 2555 อัครราชทูต (ฝ่ายเศรษฐกิจการคลัง) ตำ�แหน่งปัจจุบัน ประจำ�สหราชอาณาจักรและยุโรป การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น ตำ�แหน่งปัจจุบัน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น • เม.ย. 2559 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • มี.ค. 2559 - ปัจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ • ก.พ. 2559 - ปัจจุบนั กรรมการ/อนุกรรมการกลัน่ กรอง/ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ประธานอนุกรรมการทีป่ รึกษากฎหมาย • พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) สหกรณ์การเกษตร • พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการสรรหาค่าตอบแทน • ก.ค. 2558 - ปัจจุบนั กรรมการผูท้ รงคุณวุฒ/ิ ประธานกรรมการ และบรรษัทภิบาล ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ธนารักษ์พฒ ั นาสินทรัพย์ จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ • 2557 - ปัจจุบนั อธิบดีกรมบังคับคดี กระทรวงยุตธิ รรม บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ปัจจุบนั กรรมการ มูลนิธอิ ศั นี พลจันทร • ต.ค. 2558 - ปัจจุบัน ผู้อํานวยการสํานักงานคณะกรรมการ • ปัจจุบนั กรรมการ มูลนิธคิ นไทยพลัดถิน่ นโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง • ปัจจุบนั กรรมการ มูลนิธสิ ง่ เสริมนักกฎหมายธุรกิจ • พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ • ปัจจุบนั กรรมการ มูลนิธสิ ตรีเพือ่ สันติภาพ บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จํากัด
20
นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ กรรมการ/กรรมการบริหารความเส่ยี ง/กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่/ เลขานุการคณะกรรมการบริษทั /กรรมการผูม้ อี าํ นาจลงนาม ผูกพันบริษทั ตามท่กี าํ หนดในหนังสือรับรอง อายุ 58 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเม่ือวันที่ 1 ตุลาคม 2556
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP) รุ่นท่ี 3/2552 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 16/2556 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 26/2556 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นท่ี 6/2558 สถาบันวิทยาการพลังงาน • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สําหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นท่ี 15/2555 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 132/2553 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่นที่ 38/2555 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control & Risk Management (MIR) รุ่นที่ 12/2555 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุน้ IRPC : 8,000,000 หุน้ คิดเป็น 0.03915% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • ส.ค. 2557 - ก.ค. 2559 ประธานกรรมการ บริษทั ไทย เอบีเอส จำ�กัด • พ.ย. 2556 - มิ.ย. 2558 กรรมการ บริษทั พีทที ี โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติง้ จำ�กัด • ม.ค. 2555 - ต.ค. 2556 กรรมการ บริษทั พีทที ี อินเตอร์เนชัน่ แนล จำ�กัด • ต.ค. 2554 - ก.ย. 2556 กรรมการ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)
• ม.ค. 2553 - ก.ย. 2556 รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน่ บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • มี.ค. 2552 - ต.ค. 2556 กรรมการ บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ต.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ/กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่/ เลขานุการคณะกรรมการบริษัท บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2556 - ปัจจุบนั รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สังกัดประธานเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ าร กลุม่ ธุรกิจปิโตรเลียมขัน้ ปลาย บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ม.ค. 2559 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั พีทที ี เอนเนอร์ย่ี โซลูชน่ั ส์ จำ�กัด • มี.ค. 2558 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั เทคโนโลยีไออาร์พซี ี จำ�กัด • ก.พ. 2558 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี พีซซี ี จำ�กัด • ส.ค. 2557 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั น้�ำ มัน ไออาร์พซี ี จำ�กัด • ส.ค. 2557 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี โพลีออล จำ�กัด • พ.ย. 2556 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด • พ.ย. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
21
โครงสร างองค กร ณ วันที่ 1 มกราคม 2560
ผู ถือหุ น
คณะกรรมการบร�ษัท คณะกรรมการ กำกับดูแลกิจการที่ดี
คณะกรรมการ บร�หารความเสี่ยง
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
คณะกรรมการสรรหา และกำหนดค าตอบแทน
กรรมการผู จัดการใหญ ฝ ายปฏิบัติการว�จัย และพัฒนาวัสดุและเคมีภัณฑ
สำนักตรวจสอบภายใน
ศูนย ว�จัยผลิตภัณฑ นวัตกรรม
ฝ ายปฏิบัติการว�จัย และพัฒนาโพลิเมอร ฝ ายปฏิบัติการว�จัย และพัฒนาผลิตภัณฑ ครบวงจร ฝ ายศูนย ว�เคราะห และห องปฏิบัติการ
ฝ ายกฎหมาย
สำนักกิจการองค กร
กลุ มธุรกิจป โตรเคมี และการกลั�น สายงานปฏิบัติการการผลิต • • • • • •
ฝ ายโพลีโอเลฟ นส ฝ ายสไตร�นิคส และอะโรเมติกส ฝ ายโอเลฟ นส ฝ ายโรงกลั�น ฝ ายน�ำมันหล อลื่นพื้นฐาน ฝ ายอาร ดีซีซี
สายพาณิชยกิจ และการตลาด • • • • • • •
ฝ ายขายธุรกิจป โตรเคมี ฝ ายการตลาดธุรกิจป โตรเคมี ฝ ายธุรกิจป โตรเลียม ฝ ายธุรกิจท าเร�อและทรัพย สิน ฝ ายวางแผนการผลิต ฝ ายบร�หารแผนการผลิต ฝ ายจัดหาและค าวัตถุดิบ
สายงานว�ศวกรรมและบำรุงรักษา • • • •
ฝ ายตรวจสอบและความเชื่อมั�นโรงงาน ฝ ายบำรุงรักษาโรงงาน 1 ฝ ายบำรุงรักษาโรงงาน 2 ฝ ายว�ศวกรรม
สายงานสนับสนุนปฏิบัติการการผลิต • • • • • •
ฝ ายบร�หารคลังและจัดส งผลิตภัณฑ ฝ ายโรงไฟฟ า ฝ ายแท งค ฟาร ม ฝ ายปฏิบัติการท าเร�อ ฝ ายเทคโนโลยี ฝ ายปฏิบัติการที่เป นเลิศและบร�หารคุณภาพองค กร
ฝ ายบร�หารเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร พีซี ฝ ายบร�หารความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ�งแวดล อม
22
สำนักบร�หารความยั�งยืน
สายบัญชี และการเง�น • • • • •
ฝ ายบร�หารเง�น ฝ ายการเง�นและนักลงทุนสัมพันธ ฝ ายบัญชีบร�หารและงบประมาณ ฝ ายบัญชี ฝ ายจัดซื้อจัดหา
สายงานทรัพยากรบุคคล • ฝ ายจัดการทรัพยากรบุคคลและธุรการ • ฝ ายส งเสร�มทรัพยากรบุคคล • ฝ ายพัฒนาองค กร สายงานแผนธุรกิจองค กร • ฝ ายแผนและบร�หารกลยุทธ • ฝ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ สายงานพัฒนาธุรกิจ • ฝ ายพัฒนาธุรกิจป โตรเคมี และผลิตภัณฑ คุณสมบัติพิเศษ • ฝ ายพัฒนาธุรกิจป โตรเลียม และพลังงาน โครงการ EVEREST
คณะผู้บริหาร
นายพงศ ประพันธ ฐ�ตทว�วัฒน
นายสุกฤตย สุรบถโสภณ
นางรัชดาภรณ ราชเทว�นทร
นายสมเกียรติ เลิศฤทธ�์ภูวดล
รองกรรมการผู จัดการใหญ กลุ มธุรกิจป โตรเคมีและการกลั�น
กรรมการผู จัดการใหญ
รองกรรมการผู จัดการใหญ สายบัญชีและการเง�น
รองกรรมการผู จัดการใหญ สายพาณิชยกิจและการตลาด
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
23
24
นางสาววนิดา อุทัยสมนภา
นายศิร�เมธ ลี้ภากรณ
นายชลอ ภานุตระกูล
ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สายงานแผนธุรกิจองค กร
ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ ผู อำนวยการ โครงการ EVEREST
ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สายงานพัฒนาธุรกิจ
นายประเวศ อัศวดากร
นายธรรมศักดิ์ ป ญโญวัฒน กลู
นางสาวมนว�ภา จูภิบาล
ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ ศูนย ว�จัยผลิตภัณฑ นวัตกรรม
ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ ปฏิบัติหน าที่ผู จัดการสำนักตรวจสอบภายใน
ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สำนักกิจการองค กร/ เลขานุการบร�ษัท
นายวรวุฒิ ศิวะเพ็ชรานาถ
นายว�รวัฒน ศร�นรดิษฐ เลิศ
นายว�ชติ นิตยานนท
ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สายงานปฏิบัติการผลิต
ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สายงานว�ศวกรรมและบำรุงรักษา
ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สายงานสนับสนุนปฏิบัติการผลิต
นายโพธ�วฒ ั น เผ าพงศ ชว ง
นางสาวอรพินท เกตุรัตนกุล
นายไกรสิทธ�์ อนุกูลอุทัยวงศ
นายทฤษฎี วัฒนางกูร
ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สังกัดกรรมการผู จัดการใหญ / กรรมการผู จัดการ บร�ษัท เทคโนโลยี ไออาร พีซี จำกัด
ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สำนักบร�หารความยั�งยืน
ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สายงานทรัพยากรบุคคล
ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สายงานสนับสนุนปฏิบัติการผลิต (เกษียณอายุวันที่ 31 ธันวาคม 2559)
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
25
คณะผู้บริหาร ณ วันที่ 1 มกราคม 2560
นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ
นายพงศ์ประพันธ์ ฐิตทวีวัฒน์
กรรมการผู้จัดการใหญ่
รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กลุม่ ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน่
อายุ 58 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556
อายุ 58 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558
(รายละเอียดในประวัติกรรมการบริษัท หน้า 23)
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) มหาวิทยาลัยขอนแก่น • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ผู้บริหารระดับสูงในยุคโลกาภิวัฒน์ สถาบันวิจัยนโยบาย เศรษฐกิจการคลัง ปี 2552 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC :
364,478 หุ้น คิดเป็น 0.00178%
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการการกลั่น บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2557 - 2558 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการการกลั่น บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2556 - 2557 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารจัดการทรัพย์สิน/ รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานท่าเรือ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • มิ.ย. 2556 - ธ.ค. 2556 กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด • 2554 - 2556 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ 4 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2554 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ 3 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ม.ค. 2559 - ปัจจุบนั รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กลุม่ ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน่ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • มี.ค. 2559 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด • ม.ค. 2559 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด
26
นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล
นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์
รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายพาณิชยกิจและการตลาด
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน
อายุ 54 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558
อายุ 58 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2558
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเอเชียน • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 111/2557 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 224/2559 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC : 311,480 หุ้น (ตนเอง 295,580 หุน้ คิดเป็น 0.00145%)
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • ศิลปศาสตรบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย • PTT Group Leadership Development Program III, PLLI • หลักสูตร NIDA-Wharton Executive Leadership Program, The Wharton School University of Pennsylvania • หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP) รุ่นที่ 4/2552 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน่ ที่ 111/2557 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Corporate Governance for Executive รุน่ ที่ 1/2557 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Successful Formulation and Execution of Strategy รุน่ ที่ 21/2557 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน่ ที่ 204/2558 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC : 82,000 หุ้น (ตนเอง 22,000 หุน้ คิดเป็น 0.00011%)
(คูส่ มรส 15,900 หุน้ คิดเป็น 0.00008%)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • ม.ค. 2559 - ธ.ค. 2559 รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ก.พ. 2555 - ก.ค. 2559 กรรมการ บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด • ต.ค. 2555 - เม.ย. 2558 กรรมการ บริษทั ทีพไี อ อินเตอร์เน็ต พอร์ทลั จำ�กัด • 2554 - 2558 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2554 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวางแผนจัดหาและค้าวัตถุดิบ/ รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักวิจัยและพัฒนา บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายพาณิชยกิจและการตลาด บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ม.ค. 2559 - ปัจจุบนั รักษาการกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั น้�ำ มัน ไออาร์พซี ี จำ�กัด • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน รักษาการกรรมการผู้จัดการ บริษทั ไออาร์พซี ี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด • ก.พ. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี พีซซี ี จำ�กัด • ธ.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด • ธ.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จำ�กัด (มหาชน) • ก.พ. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด
(คูส่ มรส 60,000 หุน้ คิดเป็น 0.00029%)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • ธ.ค. 2558 - ก.ค. 2559 กรรมการ บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด • 2553 - ต.ค. 2558 รองกรรมการผู้จัดการสายบริหาร บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จำ�กัด ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • เม.ย. 2559 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี พีซซี ี จำ�กัด • ธ.ค. 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั น้�ำ มัน ไออาร์พซี ี จำ�กัด • ธ.ค. 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี โพลีออล จำ�กัด • ธ.ค. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จำ�กัด (มหาชน) • พ.ย. 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด • พ.ย. 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
27
นายวิชิต นิตยานนท์
นายวรวุฒิ ศิวะเพ็ชรานาถ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานสนับสนุนปฏิบัติการผลิต
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการผลิต
อายุ 57 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558
อายุ 53 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ทั่วไป) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 91/2554 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) รุ่นที่ 12/2554 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD)
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC : 333,394 หุ้น คิดเป็น 0.00163% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • 2555 - 2559 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานปฏิบตั กิ ารปิโตรเคมี บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • ธ.ค. 2555 - ก.ค. 2559 รักษาการกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไทย เอบีเอส จำ�กัด • ก.พ. 2555 - ก.ค. 2559 กรรมการ บริษทั ไทย เอบีเอส จำ�กัด • 2553 - 2555 กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไออาร์พซี ี โพลีออล จำ�กัด ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ม.ค. 2560 - ปัจจุบนั ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานสนับสนุนปฏิบตั กิ ารผลิต บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ม.ค. 2559 - ปัจจุบนั รักษาการกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไออาร์พซี ี โพลีออล จำ�กัด • ธ.ค. 2557 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี เอแอนด์ แอล จำ�กัด • ก.พ. 2555 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั น้�ำ มัน ไออาร์พซี ี จำ�กัด • ก.พ. 2555 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี โพลีออล จำ�กัด • ก.พ. 2555 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั อุตสาหกรรมโพลียรู เี ทนไทย จำ�กัด
28
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC : 179,351 หุ้น คิดเป็น 0.00088% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • 2557 - 2559 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานเทคโนโลยี และปฏิบัติการที่เป็นเลิศ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2554 - 2557 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ 2 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2554 รักษาการผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานปฏิบัติการ 2 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ม.ค. 2560 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการผลิต บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่มี
นายวีรวัฒน์ ศรีนรดิษฐ์เลิศ
นายทฤษฎี วัฒนางกูร
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวิศวกรรมและบำ�รุงรักษา
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานสนับสนุนปฏิบัติการผลิต
อายุ 54 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558
(เกษียณอายุวันที่ 31 ธันวาคม 2559) อายุ 60 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุน้ IRPC : 10,579 หุน้ คิดเป็น 0.00005% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • 2554 - 2555 ผูจ้ ดั การฝ่ายคอมเพล็กซ์ และฝ่ายศูนย์วเิ คราะห์ และห้องปฏิบตั กิ าร บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2554 ผูจ้ ดั การฝ่ายคอมเพล็กซ์ 1 บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • 2555 - ปัจจุบนั ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานวิศวกรรมและบำ�รุงรักษา บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่มี
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุน้ IRPC : 355,866 หุน้ คิดเป็น 0.00174% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • 2556 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานปฏิบตั กิ าร 4 บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • 2555 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานท่าเรือ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • 2557 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานสนับสนุนปฏิบัติการผลิต บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่มี
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
29
นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์
นางสาววนิดา อุทัยสมนภา
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้อำ�นวยการ โครงการ EVEREST
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานแผนธุรกิจองค์กร
อายุ 49 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558
อายุ 50 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา • หลักสูตร PTT Leadership Development Program (LDP II), Harvard Business School • หลักสูตร GE Leadership Development Program • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน่ ที่ 205/2558 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD)
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • บริหารธุรกิจบัณฑิต (การเงิน) (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การเงินและการตลาด) National University, San Diego, USA • Leadership/The 7 HABITS of Highly Effective People, PacRim/FranklinCovey • PTT HBS Leadership Development Program, Class 1, Harvard Business School, India & China • Refinery Economics, Solomon Associates, Singapore • IRPC Middle Management Leadership Development สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) Program Wave, Class 1 จำ�นวนหุ้น IRPC : 143,154 หุ้น • Advance Price Risk Management, Invincible Energy, (ตนเอง 113,292 หุน้ คิดเป็น 0.00055%) Singapore (คูส่ มรส 29,862 หุน้ คิดเป็น 0.00015%) • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ไม่มี จำ�นวนหุ้น IRPC : 210,440 หุ้น คิดเป็น 0.00103% ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ก.พ. 2558 - ก.พ. 2559 เลขานุการคณะกรรมการ ไม่มี บริหารความเสีย่ ง ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • 2557 - 2558 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ต.ค. 2557- 2558 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานวางแผนจัดหาและค้าวัตถุดิบ สายงานแผนธุรกิจองค์กร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • 2556 - 2557 รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ก.ค. 2556 - ก.ย. 2557 รักษาการผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานวางแผนจัดหาและค้าวัตถุดิบ/ สายงานแผนธุรกิจองค์กร รักษาการผูจ้ ดั การฝ่ายจัดหาและค้าวัตถุดบิ / บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) รักษาการผูจ้ ดั การส่วนบริหารความเสีย่ ง ราคา บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2556 ผูจ้ ดั การฝ่ายพัฒนาธุรกิจการกลัน่ • 2555 2556 ผู ้จัดการฝ่ายจัดหาและค้าวัตถุดิบ/รักษา และธุรกิจเกีย่ วเนือ่ ง การผู ้จัดการส่วนบริหารความเสี่ยงราคา บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2554 - 2555 ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการผลิต ตำ�แหน่งปัจจุบัน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น • 2553 2554 ผู ้จัดการส่วนน้ำ�มันดิบ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และวัตถุดิบปิโตรเลียม • ม.ค. 2559 - ปัจจุบนั ผูอ้ �ำ นวยการ โครงการ EVEREST บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ม.ค. 2557 - ปัจจุบนั รักษาการผูจ้ ดั การใหญ่ • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานแผนธุรกิจองค์กร บริษทั ไออาร์พซี ี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ก.ย. 2557 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด • ก.พ. 2559 - ปัจจุบัน เลขานุการ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง • ก.พ. 2555 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) บริษทั น้�ำ มัน ไออาร์พซี ี จำ�กัด การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่มี
30
นายชลอ ภาณุตระกูล
นายประเวศ อัศวดากร
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ศูนย์วิจัยผลิตภัณฑ์นวัตกรรม
อายุ 58 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558
อายุ 58 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการ) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรไทยกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รุ่นที่ 4/2556 วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร “ภูมิพลังแผ่นดิน” สำ�หรับผู้บริหารระดับสูง รุน่ ที่ 3/2557 ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia • หลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมั่นคงชั้นสูง รุ่นที่ 4 สมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) ในพระบรมราชูปถัมภ์ • หลักสูตร Direct Certificate Program รุน่ ที่ 61/2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • Advance Security Management Program (ASMP) Class 4, The Association National Defense College of Thailand under the Royal Patronage of His Majesty the King
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (อุตสาหกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยโตเกียว • วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (พลังงานเคมี) มหาวิทยาลัยโตเกียว • หลักสูตรพัฒนาผู้บริหารระดับสูง Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia • หลักสูตร Project Investment & Feasibility Studies, The Asia Business Forum • หลักสูตร Leadership Development, DDI • Executive Development Program 2010 มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจและการคลัง • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 98/2555 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC : - หุ้น คิดเป็น -% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • 2555 - 2557 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สำ�นักวิจยั และพัฒนา บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2555 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานท่าเรือ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • 2557 - ปัจจุบนั ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC : 278,600 หุ้น (ตนเอง 253,600 หุน้ คิดเป็น 0.00124%) (คูส่ มรส 25,000 หุน้ คิดเป็น 0.00012%) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • 2552 - 2557 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • 2557 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ศูนย์วิจัยผลิตภัณฑ์นวัตกรรม บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่มี
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
31
32
นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ์
นายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กูล
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานทรัพยากรบุคคล
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่ผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบภายใน
อายุ 55 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558
อายุ 50 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • รัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC : 1 หุ้น คิดเป็น 0.00000%
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิทยาศาสตรบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • หลักสูตรพัฒนาผู้บริหารระดับสูง Mini MBA คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตร The Manager รุ่นที่ 47 สถาบันการบริหารและจิตวิทยา • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC : - หุ้น คิดเป็น -%
ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • ต.ค. 2555 - เม.ย. 2558 กรรมการ บริษทั ทีพไี อ อินเตอร์เน็ต พอร์ทลั จำ�กัด ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • 2554 - ปัจจุบนั ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานทรัพยากรบุคคล บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • 2558 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษทั เทคโนโลยี ไออาร์พซี ี จำ�กัด
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • 2557 - 2558 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชี บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2556 - 2557 รักษาการผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานบัญชี บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2556 ผู้จัดการฝ่ายบัญชีบริหาร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • 2559 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่ผู้จัดการ สำ�นักตรวจสอบภายใน/ เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท เทคโนโลยี ไออาร์พีซี จำ�กัด • 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ระยอง อะเซททีลีน จำ�กัด
นางสาวอรพินท์ เกตุรัตนกุล
นายโพธิวัฒน์ เผ่าพงศ์ช่วง
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักบริหารความยั่งยืน
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดกรรมการผู้จัดการใหญ่/ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เทคโนโลยี ไออาร์พีซี จำ�กัด
อายุ 57 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558
อายุ 55 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย • วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมผังเมือง) มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตร Leadership Great Leaders, Great Teams, Great Results By PacRim • Management Accounting for Non-Financial Executives สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ • Air Emission Abatement Technology for Petroleum & Petrochemical industry, The Overseas Human Resources and Industry Development Association (HIDA) • Change Acceleration Process, GE • PTT Group VP Leadership Development Program บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • Executive Development Program 2010 มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เครื่องกล) มหาวิทยาลัยขอนแก่น • วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ • รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) • บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต (การพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม และทรัพยากรมนุษย์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ใบอนุญาตการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ประเภทสามัญ-เครื่องกล (สก) สภาวิศวกร • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุน้ IRPC : 92,721 หุน้ คิดเป็น 0.00045% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • 2555 - 2557 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • 2551 - 2555 ผูจ้ ดั การฝ่ายคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • 2557 - ปัจจุบนั ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สำ�นักบริหารความยัง่ ยืน บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่มี
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC : 64,320 หุ้น คิดเป็น 0.00031% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • 2554 - 2557 รักษาการผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สำ�นักบริหารเขตประกอบการ อุตสาหกรรม บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2554 ผู้จัดการฝ่ายกิจการเพื่อสังคม บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ • 2557 - ปัจจุบัน สังกัดกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรรมการผู้จัดการ • 2557 - ปัจจุบัน บริษัท เทคโนโลยี ไออาร์พีซี จำ�กัด
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
33
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ นางสาวมนวิภา จูภิบาล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กร/ เลขานุการบริษัท อายุ 58 ปี ได้รับแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558 และดำ�รงตำ�แหน่งเลขานุการบริษัท เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2555
คุณวุฒิทางการศึกษา/ประวัติอบรม • ครุศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษและธุรกิจ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การสื่อสารทางการเมือง) วิทยาลัยสื่อสารทางการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก • หลักสูตรผู้ปฏิบัติงานเลขานุการบริษัท Fundamental Practice for Corporate Secretary สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย (TLCA) • หลักสูตรพื้นฐานกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับ บริษัทจดทะเบียน สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย (TLCA) • CGR workshop: Enhancing Good Corporate based on CGR Scorecard • หลักสูตร CSR Thailand Conference: CSR Roadmap for ASEAN • หลักสูตร London Global Convention on Corporate Governance and Sustainability ปี 2554 และปี 2557 • หลักสูตร Thailand’s 5th National Conference on Collective Action Against Corruption (CAC) • หลักสูตร Company Secretary Program (CSP) รุ่นที่ 40/2554 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 164/2555 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program Update (DPCU) รุ่นที่ 3/2558 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG) รุ่นที่ 24/2558 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia • หลักสูตร Anti-Corruption in Practice (ACPC) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Corporate Governance for Executives (CGE) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • การบรรยาย Tone of the Top Series “Clean Business Engagement with Public Sector” สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • การบรรยาย How can Corporate Directors Help Nurture Social Enterprise สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • การบรรยาย CG Forum สุจริต ระมัดระวัง เกราะคุ้มกัน กรรมการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • การบรรยาย Tone at the Top Series “Operating Tranperancy Business in Asia” สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
34
• การบรรยาย Managing Conflict in the Boardroom สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • การบรรยาย “ทุจริตในองค์กร ภัยมืดที่ป้องกันและควบคุมได้” CG Forum ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • สัมมนา National Dialogue on Business and Human Life (GCNT) • สัมมนาหลักสูตร Sustainable Brand 2016 สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) จำ�นวนหุ้น IRPC : - หุ้น คิดเป็น -% ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ไม่มี ประสบการณ์ทำ�งานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง • 2557 - 2558 รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กร บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2555 - เม.ย. 2558 กรรมการ บริษทั ทีพไี อ อินเตอร์เน็ตพอร์ทลั จำ�กัด • ก.พ. 2555 - มี.ค. 2558 กรรมการ บริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด • 2554 - 2557 ผูจ้ ดั การสำ�นักกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และเลขานุการบริษทั / รักษาการผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานกิจการองค์กร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2554 ผู้จัดการฝ่ายงานกำ�กับ และสื่อสารองค์กรและเลขานุการบริษัท บริษทั ปตท. อะโรเมติกส์และการกลัน่ จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งปัจจุบัน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่เป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • 2558 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2556 - ปัจจุบัน เลขานุการคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2555 - ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท/เลขานุการ คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2554 - ปัจจุบัน เลขานุการคณะกรรมการจัดการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในกิจการที่ไม่ใช่ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท เทคโนโลยี ไออาร์พีซี จำ�กัด
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิและ มีประสบการณ์สูงในด้านธุรกิจพลังงาน ด้านบัญชีการเงิน และด้านกฎหมาย โดย ณ ปัจจุบันมีนายทรงภพ พลจันทร์ เป็น ประธานกรรมการตรวจสอบ นายเจษฎา พรหมจาต และนางสาวรืน่ วดี สุวรรณมงคล เป็นกรรมการตรวจสอบ ในระหว่างปี 2559 มีการเปลี่ยนแปลงประธานกรรมการตรวจสอบ เนื่องจาก นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ ได้ครบวาระตามเกณฑ์อายุไม่เกิน 70 ปี ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2559 และที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 8/2559 วันที่ 26 สิงหาคม 2559 ได้มีมติแต่งตั้งนายทรงภพ พลจันทร์ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ และตามกฎบัตรของคณะกรรมการ ตรวจสอบ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ซึง่ สอดคล้องกับประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และสำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) โดยมีนโยบายเน้นการปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการดำ�เนินธุรกิจ รวมทั้งสอบทานให้บริษัทฯ มีระบบ การควบคุมภายในและระบบการตรวจสอบภายในที่เพียงพอ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในปี 2559 มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบทั้งสิ้น 12 ครั้ง โดยได้มีการหารือร่วมกับผู้บริหาร ผู้ตรวจสอบภายใน และ ผูส้ อบบัญชีในวาระทีเ่ กีย่ วข้อง นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มผี บู้ ริหารเข้าร่วมประชุม 1 ครั้ง ซึ่งสามารถสรุปสาระสำ�คัญในการปฏิบัติหน้าที่ได้ ดังนี้ 1. สอบทานรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานข้อมูลที่สำ�คัญของงบการเงินรายไตรมาสและ งบการเงินประจำ�ปี 2559 โดยได้รับคำ�ชี้แจงจากผู้สอบบัญชีและผู้บริหารในสายบัญชีและการเงิน จนเป็นที่พอใจว่าการจัดทำ� งบการเงินของบริษัทฯ รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นไปตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินของไทย (Thai Financial Reporting Standards : TFRS) ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ระหว่างประเทศ (International Financial Reporting Standards : IFRS) ซึ่งผู้สอบบัญชีได้ให้การรับรองแล้วโดยไม่มีเงื่อนไข รวมทั้งได้ประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วม เพื่อรับฟังความเห็นในการตรวจสอบงบการเงินและระบบ การควบคุมภายในที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินอย่างอิสระ ซึ่งผู้สอบบัญชีไม่พบข้อสังเกตที่มีนัยสำ�คัญและ ไม่พบพฤติการณ์อันควรสงสัยเกี่ยวกับการกระทำ�ที่ไม่ถูกต้องของฝ่ายจัดการ 2. สอบทานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบมุ่งเน้นการดำ�เนินธุรกิจอย่างมีจรรยาบรรณ โดยได้สอบทาน รายการระหว่างกันที่บริษัทฯ มีการดำ�เนินการกับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันมิให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เป็นไปตาม ธรรมเนียมปฏิบตั ทิ างการค้า และเกิดประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ เป็นสำ�คัญ รวมทัง้ การสอบทานกระบวนการร้องเรียนและแจ้ง เบาะแสการทุจริตของบริษัทฯ เพื่อให้สอดคล้องตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ตลอดจนดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลอย่าง ครบถ้วนตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้สนับสนุนการเป็นสมาชิก แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC) ขององค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน (ประเทศไทย) 3. สอบทานการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายจัดการได้ให้ความสำ�คัญกับการบริหารความเสี่ยง มีการประเมินปัจจัยเสี่ยงทั้งภายในและภายนอก โอกาสที่จะเกิด ผลกระทบ และจัดทำ�แผนการจัดการความเสี่ยง เพื่อป้องกัน หรือลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อการดำ�เนินธุรกิจให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ รวมถึงกำ�หนดตัวชี้วัดความเสี่ยงที่สำ�คัญ (Key Risk Indicator : KRI) เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยต่างๆ และกำ�หนดมาตรการเพิ่มเติมสำ�หรับตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพและทันเวลา คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อกำ�กับดูแลการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ รวมทั้งบริษัทฯ ได้รายงานความก้าวหน้าการบริหารความเสี่ยงต่อ คณะกรรมการบริษัทฯอย่างสม่ำ�เสมอ นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยง จากรายงานผลการบริหารความเสี่ยง ผลการตรวจสอบของหน่วยงานตรวจสอบภายในและผู้สอบบัญชี ซึ่งทำ�ให้เชื่อได้ ว่าบริษัทฯ มีการบริหารความเสี่ยงที่สนับสนุนให้ความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
35
4. สอบทานระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ประจำ�ปี 2559 เพื่อ ให้มั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำ�เนินงานของบริษัทฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถบรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าหมายทีก่ �ำ หนดไว้ ทัง้ นี้ หน่วยงานตรวจสอบภายในจัดให้มกี ารประเมินการควบคุมภายใน โดยให้ผบู้ ริหารประเมินการควบคุมภายใน โดยใช้แบบประเมินตนเองของหน่วยงานผู้รับตรวจ (Control Self-Assessment : CSA) และแบบประเมินความเพียงพอของระบบ การควบคุมภายในตามกรอบแนวทางปฏิบตั ดิ า้ นการควบคุมภายในของ COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) ซึง่ ผลการประเมินพบว่า บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในทีด่ แี ละเพียงพอกับการดำ�เนินธุรกิจ ทำ�ให้สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งผลการประเมินได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ 5. สอบทานและกำ�กับดูแลการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานให้บริษัทฯ มีหน่วยงานตรวจสอบภายใน ที่มีความเป็นอิสระและมีหน้าที่รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ โดยกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานตรวจสอบภายในให้มีประสิทธิผล มีการปฏิบัติงานตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบที่ได้อนุมัติไว้ พิจารณาประเด็นจากการตรวจสอบและให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ ต่อการเพิม่ ประสิทธิภาพของระบบการตรวจสอบภายใน รวมทัง้ ติดตามผลการตรวจสอบอย่างสม่�ำ เสมอ นอกจากนี้ ได้สนับสนุนให้ด�ำ เนิน โครงการระบบสารสนเทศเพื่อการตรวจติดตามอย่างต่อเนื่อง (Continuous Control Monitoring and Auditing System : CCMS) โดยเป็นการใช้ระบบเข้ามาช่วยในการกลั่นกรองและตรวจติดตามความผิดปกติที่เกิดกับกระบวนการจัดซื้อจัดหาของบริษัทฯ ซึ่งจะช่วย ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องและหน่วยงานตรวจสอบภายในทราบถึงสิ่งผิดปกติที่เกิดขึ้นเพื่อดำ�เนินการแก้ไขได้ทันที 6. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและกำ�กับให้บริษัทฯ ดำ�เนินกิจการต่างๆ ให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กฎหมายเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและ สิง่ แวดล้อม รวมถึงกฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ฯ อย่างเคร่งครัด ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบพบว่าบริษทั ฯ ได้ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องข้างต้น 7. พิจารณาปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ โดยระบุเพิม่ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการถอดถอนผูส้ อบบัญชี ในกรณีทเ่ี ห็นว่าไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้ หรือละเลยไม่ปฏิบตั หิ น้าที่ หรือปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยมิชอบ ซึง่ กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบฉบับปรับปรุงดังกล่าวได้รบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครั้งที่ 3/2559 วันที่ 15 มีนาคม 2559 8. พิจารณาแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีประจำ�ปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าทีพ่ จิ ารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง้ และเสนอค่าตอบแทน รวมถึงเสนอถอดถอนผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ เพื่อให้ได้ผู้สอบบัญชีที่มีความเป็นอิสระ โดยพิจารณาจากคุณสมบัติ ความสามารถ และผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา เมื่อเห็นว่ามีความเหมาะสมแล้วจึงมีมติเห็นชอบในการแต่งตั้ง บริษัท ไพร้ซวอเตอร์ เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาก่อนนำ�เสนอขออนุมัติผู้ถือหุ้นต่อไป โดยสรุปในปี 2559 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นอิสระด้วยความระมัดระวัง รอบคอบ ได้ให้ข้อคิดเห็นและ คำ�แนะนำ�ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ เพื่อให้ความเชื่อมั่นว่ารายงานทางการเงินของบริษัทฯ มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ บริษัทฯ มีการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี การดำ�เนินธุรกิจถูกต้องตามกฎหมาย ตลอดจนมีระบบการบริหารความเสี่ยงและระบบการควบคุมภายใน ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อให้บริษัทฯ ได้รับผลประโยชน์สูงสุดและมีการเติบโตอย่างยั่งยืน
(นายทรงภพ พลจันทร์) ประธานกรรมการตรวจสอบ
36
การควบคุมภายใน
สรุปความเห็นของคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1/2560 วันที่ 24 มกราคม 2560 โดยมีกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุมด้วย คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ โดยการซักถามข้อมูลจากฝ่ายบริหารและสำ�นักตรวจสอบภายใน รวมทัง้ พิจารณาแบบประเมินทีฝ่ า่ ยบริหารจัดทำ�แล้ว สรุปได้วา่ จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ ในด้านต่างๆ 5 องค์ประกอบ คือ การควบคุมภายในองค์กร การประเมินความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติงาน ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้อมูล และระบบ การติดตาม คณะกรรมการเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ มีความเพียงพอและเหมาะสม โดยบริษทั ฯ ได้จัดให้มีบุคลากร อย่างเพียงพอทีจ่ ะดำ�เนินการตามระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ มีระบบควบคุมภายในในเรือ่ งการติดตาม ควบคุม ดูแลการดำ�เนินงาน ของบริษัทย่อยให้สามารถป้องกันทรัพย์สินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย จากการที่กรรมการหรือผู้บริหารนำ�ไปใช้โดยมิชอบหรือ โดยไม่มอี �ำ นาจ รวมถึงการทำ�ธุรกรรมกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งและบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันอย่างเพียงพอแล้ว สำ�หรับการควบคุมภายใน ในหัวข้ออื่น คณะกรรมการเห็นว่า บริษัทฯ มีการควบคุมภายในที่เพียงพอแล้วเช่นกัน ทัง้ นี้ ในปี 2559 ทีผ่ า่ นมา คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้เห็นว่า บริษทั ฯ มีการบริหารจัดการระบบการควบคุมภายในให้เป็นไปตามกรอบการควบคุม COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) ในสาระสำ�คัญตามองค์ประกอบ การควบคุมภายใน 5 ด้าน ดังนี้
1. การควบคุมภายในองค์กร (Control Environment)
คณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหาร สนับสนุนวัฒนธรรมองค์กรที่มุ่งเน้นการมีจรรยาบรรณในการดำ�เนินงานและกำ�กับดูแล การดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามวิสัยทัศน์และพันธกิจ มีสภาพแวดล้อมของการควบคุมภายในที่ดีและเหมาะสม ดังนี้ • คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร ทำ�หน้าทีก่ �ำ กับดูแลการดำ�เนินธุรกิจโดยรวม ให้ความเห็นต่อทิศทางกลยุทธ์ ของบริษัทฯ สำ�หรับใช้เป็นแนวทางจัดทำ�แผนธุรกิจและแผนปฏิบัติงาน พร้อมทั้งติดตามผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ และผลการ ปฏิบัติงานของคณะกรรมการเฉพาะเรื่องอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อให้มั่นใจว่าการดำ�เนินงานของบริษัทฯ จะบรรลุเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ • คณะกรรมการบริษทั ฯ และผูบ้ ริหาร ได้ก�ำ หนดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี นโยบายการกำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบ นโยบายการควบคุมภายใน และแนวปฏิบัติในการต่อต้านการทุจริตและคอร์รัปชันเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัตงิ าน โดยกำ�หนดให้บุคลากรทุกคนมีหน้าที่ความรับผิดชอบ ในการควบคุมภายใน ทั้งนี้บริษัทฯ ได้สื่อสารและประชาสัมพันธ์นโยบายดังกล่าวแก่ผู้บริหารและพนักงานทุกคนอย่างสม่ำ�เสมอ • บริษทั ฯ ได้มกี ารทบทวนและปรับปรุงคูม่ อื การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี โดยบรรจุนโยบายการต่อต้านการคอร์รปั ชันและมาตรการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน รวมถึงแนวทางการตัดสินใจที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณธุรกิจของบริษัทฯ และการปฏิบัติ ต่อผู้มีส่วนได้เสีย • บริษัทฯ กำ�หนดโครงสร้างองค์กรในลักษณะกลุ่มธุรกิจและสายงาน เพื่อให้การบริหารจัดการของบริษัทฯ มีประสิทธิภาพและ ดำ�เนินงานไปในทิศทางเดียวกันทั้งกลุ่มบริษัท มีการแบ่งแยกหน้าที่ในส่วนงานที่สำ�คัญเพื่อให้เกิดการถ่วงดุลระหว่างกัน • บริษัทฯ กำ�หนดคุณสมบัติของบุคลากรแต่ละตำ�แหน่ง เพื่อเป็นเกณฑ์ในการสรรหาและพัฒนาบุคลากร กำ�หนดแผนสืบทอด ตำ�แหน่งงานที่สำ�คัญ พร้อมทั้งกำ�หนดกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างมีมาตรฐานและเป็นระบบ เพื่อพิจารณาให้รางวัล อย่างเป็นธรรมและสร้างแรงจูงใจต่อบุคลากรในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
คณะกรรมการบริษทั ฯ และผูบ้ ริหาร ให้ความสำ�คัญในการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ในการนำ�พาองค์กรสูเ่ ป้าหมายทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว จึงจัดให้มีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) แต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัทฯ และจัดให้มีคณะกรรมการขับเคลื่อนการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Steering Committee: RMSC) แต่งตั้งโดยกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ เพือ่ กำ�กับดูแลการบริหารจัดการความเสีย่ งของบริษทั ฯ ให้เป็นไปอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ รวมถึงการนำ�การบริหาร ความเสี่ยงไปปฏิบัติอย่างจริงจัง เพื่อให้มั่นใจในการบรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัทฯ โดยมีแนวทางบริหารจัดการ ดังนี้ • บริษทั ฯ กำ�หนดกรอบการบริหารความเสีย่ งทัว่ ทัง้ องค์กรตามกรอบมาตรฐาน ISO31000-Risk Management และ COSO Enterprise Risk Management และกำ�หนดนโยบายการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ เป็นแนวทางบริหารจัดการความเสีย่ งทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อการบรรลุ วัตถุประสงค์ของบริษัทฯ • บริษทั ฯ บริหารจัดการความเสีย่ งทัว่ ทัง้ องค์กร โดยคำ�นึงถึงการเปลีย่ นแปลงทัง้ ปัจจัยภายในและภายนอก รวมถึงโอกาสทีจ่ ะเกิดทุจริต และคอร์รัปชัน พร้อมทั้งกำ�หนดแนวทางจัดการความเสี่ยง เพื่อให้ความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ มีกระบวนการทบทวนความเสี่ยง และติดตามการดำ�เนินงานตามแผนจัดการความเสี่ยงเป็นประจำ�ทุกเดือน โดยถือเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของทุกหน่วยงานในการ บริหารและจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ • บริษัทฯ ได้นำ�ระบบตัวชี้วัดความเสี่ยงที่สำ�คัญ (Key Risk Indicator: KRI) มาใช้เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยต่างๆ และ กำ�หนดมาตรการเพิ่มเติมสำ�หรับตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพและทันเวลา รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
37
3. การควบคุมการปฏิบัติงาน (Control Activities) บริษัทฯ ได้กำ�หนดกิจกรรมการควบคุมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งช่วยลดความเสี่ยงที่จะไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัทฯ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ดังนี้ • บริษัทฯ กำ�หนดกิจกรรมควบคุมโดยคำ�นึงถึงหลักการควบคุมภายในที่ดี อาทิ มีการแบ่งแยกหน้าที่ มีนโยบายและแนวปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องกับการทำ�รายการที่มีหรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การทำ�ธุรกรรมที่มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และเป็นธรรม การอนุมัติธุรกรรมโดยคำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ เป็นต้น • บริษทั ฯ กำ�หนดกระบวนการควบคุมด้านความปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึง่ เป็นไปตามมาตรฐาน ISO27001-Information Security Management เพื่อสร้างความมั่นใจถึงความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศบริษัทฯ • บริษัทฯ จัดทำ�ระเบียบ นโยบาย ข้อกำ�หนด และคู่มือการปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษร โดยกำ�หนดขอบเขตอำ�นาจ หน้าที่ของ ผู้บริหารและพนักงานแต่ละระดับ และขั้นตอนการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และมีการสอบทาน การปฏิบัติงานให้เป็นไปตามระเบียบ นโยบาย ข้อกำ�หนด และคู่มือการปฏิบัติงานต่างๆ อย่างสม่ำ�เสมอ • บริษัทฯ พัฒนาระบบ CCMS (Continuous Control Monitoring System) สำ�หรับกระบวนงานจัดซื้อจัดจ้างและการจ่าย ชำ�ระเงิน เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการติดตามและตรวจสอบความผิดปรกติของการจัดซื้อจัดจ้างและการจ่ายชำ�ระเงินได้อย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับหลักการแบ่งแยกหน้าที่ที่ดี
4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล (Information & Communication) บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญในคุณภาพของสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งเป็นส่วนสำ�คัญที่สนับสนุนให้การควบคุมภายในสามารถดำ�เนินการ อย่างมีประสิทธิผล โดยมีแนวทางบริหารจัดการสารสนเทศและการสื่อสาร ดังนี้ • บริษัทฯ กำ�หนดชั้นความลับของข้อมูล แนวทางการจัดเก็บเอกสารสำ�คัญและเอกสารควบคุม รวมถึงข้อมูลประกอบการปฏิบัติงาน ทั้งจากภายในและภายนอก เพื่อให้มั่นใจว่าสารสนเทศที่สำ�คัญและเกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ มีความถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอต่อการปฏิบัติงานและทันต่อการใช้งาน • บริษัทฯ มีการสื่อสารต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร พนักงาน และผู้มีส่วนได้เสียอย่างเหมาะสม โดยสาระสำ�คัญที่เกี่ยวกับ ผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ และเอกสารการประชุมได้จัดส่งให้คณะกรรมการบริษัทฯ ล่วงหน้าก่อนการประชุม เพื่อให้คณะกรรมการ บริษัทฯ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลก่อนตัดสินใจอย่างเพียงพอ • บริษัทฯ จัดช่องทางสำ�หรับการสื่อสารภายในองค์กรหลายช่องทาง ประกอบด้วย การสื่อสารจากผู้บริหารระดับสูงถึงพนักงาน ผ่านกิจกรรม Town Hall การสื่อสารผ่าน Intranet ขององค์กร และการสื่อสารผ่าน Electronic mail • บริษัทฯ จัดช่องทางสำ�หรับการสื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสียภายนอกหลายช่องทาง เช่น Website, Electronic mail, Facebook ของบริษัทฯ อีกทั้งยังมีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง เพื่อเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญแก่ผู้มีส่วนได้เสียอย่างสม่ำ�เสมอ • บริษัทฯ จัดช่องทางรับเรื่องร้องเรียนและกำ�หนดแนวทางการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียน (Whistleblower System) อย่างชัดเจน เพือ่ ให้พนักงานและบุคคลภายนอกเชือ่ มัน่ ได้วา่ เรือ่ งร้องเรียนจะได้รบั การพิจารณาอย่างโปร่งใส สุจริต ยุตธิ รรม และเป็นความลับภายใน เวลาอันเหมาะสม
5. ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) บริษัทฯ มีกระบวนการติดตามและประเมินความเพียงพอของการควบคุมภายใน พร้อมทั้งกำ�หนดแนวทางพัฒนาปรับปรุง เพื่อให้มั่นใจได้ว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนี้ • บริษัทฯ ประเมินการควบคุมภายในระดับองค์กรและประเมินการควบคุมภายในระดับกระบวนการ ผ่านกระบวนการประเมิน การควบคุมภายในโดยผู้ปฏิบัติงานเอง (Control Self-Assessment) เป็นประจำ�ทุกปี โดยมีหน่วยงานการควบคุมภายในสอบทานความ เพียงพอและเหมาะสมของการประเมินดังกล่าว พร้อมทั้งให้คำ�แนะนำ�ในการกำ�หนดแนวทางปรับปรุงแก้ไข หากพบข้อบกพร่องของ การควบคุมภายใน นอกจากนี้ บริษัทฯ จัดให้มีกระบวนการรายงานข้อบกพร่องที่พบต่อผู้บริหารได้รับทราบอย่างทันท่วงที รวมถึง กระบวนการติดตามเพื่อให้มั่นใจว่า การปรับปรุงแก้ไขได้ดำ�เนินการอย่างมีประสิทธิผลและแล้วเสร็จตามที่กำ�หนดไว้ • หน่วยงานตรวจสอบภายในซึ่งเป็นหน่วยงานอิสระขึ้นตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ได้สอบทานและประเมินประสิทธิผลของการ ควบคุมภายในของกิจกรรมต่างๆ ตามแผนตรวจสอบที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งแผนการตรวจสอบเป็นไปตาม ทิศทางกลยุทธ์ของบริษัทฯ และความเสี่ยงที่สำ�คัญที่ส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินงาน พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการควบคุมภายใน โดยสื่อสารให้ผู้บริหารรับทราบเพื่อดำ�เนินการแก้ไขปรับปรุง และรายงานผลการตรวจสอบและ ผลการติดตามความคืบหน้าของการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องจนแล้วเสร็จต่อคณะกรรมการตรวจสอบ
(นายเทวินทร์ วงศ์วานิช) ประธานกรรมการ
38
สารประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
เรียนท่านผู้ถือหุ้น ในปี 2559 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 3 ท่าน ได้แก่ (1) นายวุฒิสาร ตันไชย กรรมการอิสระ ทำ�หน้าที่ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน (2) นายสมนึก บำ�รุงสาลี กรรมการ และ (3) นาย ชวลิต พันธ์ทอง กรรมการ ทำ�หน้าที่กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีการประชุมรวมทั้งสิ้นจำ�นวน 5 ครั้ง คณะ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ อย่างครบถ้วน โปร่งใส และดำ�เนินงานด้วยความตระหนักถึงการเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้น ซึ่งต้องคำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นและผู้มี ส่วนได้เสียอื่นๆ อย่างเป็นธรรมเสมอมา คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ได้พัฒนาแนวทางการดำ�เนินงานในปี 2559 ให้รัดกุม ครบถ้วน และใช้ข้อมูล ประกอบการพิจารณาที่หลากหลายในทุกมิติมากขึ้น ทั้งในภารกิจของการสรรหาบุคลากรเพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท และ การกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ โดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้แสดงแนวคิด กระบวนการพิจารณา ข้อคิดเห็น และข้อมูลหลักฐานอ้างอิงประกอบการนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ได้อย่างชัดเจน เป็น รูปธรรม ส่งผลให้คณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาเห็นชอบวาระต่าง ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนเสนอ ดังจดหมายข่าวที่นำ�เสนอต่อผู้ถือหุ้นผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตลอดทั้งปี สำ�หรับการสรรหาบุคลากรเพือ่ แต่งตัง้ เป็นกรรมการบริษทั นัน้ นอกเหนือจากการสรรหาด้วยกระบวนการและเกณฑ์การพิจารณาทีก่ �ำ หนด ไว้ในกฎบัตรอย่างครบถ้วน ดังปรากฏในหมวดโครงสร้างการจัดการหน้า 80 แล้ว คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนยังได้ พิจารณาโดยละเอียดถึงความสามารถของบุคลากรทีต่ อบสนองต่อกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษทั ฯ การเป็นผูท้ มี่ ปี ระสบการณ์และได้รบั การ ยอมรับในเรือ่ งธรรมาภิบาลอย่างเด่นชัด พิจารณาจากผลการทำ�งานและบทบาทในอดีตทีส่ ามารถสร้างความเชือ่ มัน่ ให้ผทู้ มี่ สี ว่ นได้เสีย และการมีคณ ุ สมบัตเิ ป็น Director Pool ของกระทรวงการคลัง รวมถึงการสรรหากรรมการทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ป็นกรรมการอิสระเพือ่ ให้องค์ คณะของกรรมการบริษทั ฯ มีสดั ส่วนจำ�นวนกรรมการอิสระทีเ่ หมาะสม เป็นต้น ท่านผูถ้ อื หุน้ จะเห็นได้วา่ ในปี 2559 คณะกรรมการ บริษทั ฯ ทุกท่านได้ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างเต็มความสามารถและได้ชว่ ยกันกำ�กับดูแลจนบริษทั ฯ ประสบความสำ�เร็จตามเป้าประสงค์ ทั้งด้านผลประกอบการและการเป็นองค์กรที่มีความโปร่งใสและความยั่งยืน ในภารกิจการพิจารณาองค์ประกอบและเป้าหมายการปฏิบตั งิ านของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของ กรรมการผู้จัดการใหญ่ประจำ�ปี 2559 และค่าตอบแทนกรรมการผู้จัดการใหญ่ประจำ�ปี 2560 เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้ใช้ปจั จัยในการพิจารณารอบด้านด้วยความเป็นธรรม ในการ กำ�หนดองค์ประกอบและสรุปประเมินผล ทั้งจากผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ เป้าหมายขององค์กร (Corporate KPI) ปัจจัย สนับสนุนการเติบโตอย่างยั่งยืน ภาพลักษณ์ขององค์กร และความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน ด้วยการปฏิบัติที่โปร่งใสและ สร้างประโยชน์อย่างแท้จริง เป็นต้น การพิจารณาค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ฯ และกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้น�ำ เสนออัตรา ค่าตอบแทนเดิมซึ่งผู้ถือหุ้นกำ�หนดไว้ตั้งแต่ปี 2549 และยังไม่มีการเสนอเปลี่ยนแปลงจนถึงปัจจุบัน รวมถึงการเสนอโบนัส กรรมการก็ได้มีการพิจารณาอย่างรอบคอบ โดยเปรียบเทียบกับอัตราร้อยละของผลกำ�ไรที่ผู้ถือหุ้นอนุมัติไว้ในอดีต ควบคู่กับ อัตราการเสนอจ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนเงินปันผล (Dividend Yield) และผลประเมินการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งในปี 2559 มีผลประเมินสูงกว่าปี 2558 ในปี 2560 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีแผนงานและแนวทางที่จะพัฒนาการดำ�เนินงานและการประเมิน ผลสำ�เร็จของงานที่ชัดเจนยิ่งขึ้น คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะยึดมั่นในการปฏิบัติหน้าที่อย่างโปร่งใส เต็ม ประสิทธิภาพ เพื่อสร้างความเป็นธรรมและประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นทุกท่าน อันจะส่งผลถึงการพัฒนาและความ เจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืนของบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตลอดไป
(นายวุฒิสาร ตันไชย)
ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
39
สารประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ได้ตระหนักและให้ความสำ�คัญเป็นอย่างยิ่งต่อการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กรอย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้มีส่วนได้เสีย ในการบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำ�หนด รวมถึง ป้องกันและลดความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้น ภายใต้สภาพแวดล้อมและความไม่แน่นอนในการดำ�เนินธุรกิจ โดยคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการกำ�หนดนโยบาย แนวทางการบริหาร ความเสี่ยง กำ�กับดูแลการดำ�เนินงานด้านการบริหารความเสี่ยงองค์กร รวมถึงให้ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อให้ความเสี่ยงลดลง อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ โดยมี นายณัฐชาติ จารุจินดา เป็นประธานฯ นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร นายเอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ และ นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ เป็นกรรมการ ซึ่งคณะกรรมการดังกล่าวเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ด้านการบริหารความเสี่ยง โดยตลอดปี 2559 ที่ผ่านมา ได้มีการประชุมรวม 5 ครั้ง สรุปผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง ดังนี้ 1. กำ�กับดูแล และพิจารณาการบริหารความเสี่ยงองค์กร ซึ่งประกอบด้วย การระบุ วิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง การกำ�หนดมาตรการจัดการความเสี่ยง พร้อมทั้งติดตามและสอบทานผลการบริหารความเสี่ยง เป็นประจำ�ทุก ไตรมาส เพื่อบริหารจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และบรรลุเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ 2. ให้ขอ้ เสนอแนะแนวทางการบริหารความเสีย่ งองค์กร ต่อคณะกรรมการขับเคลือ่ นการบริหารความเสีย่ ง และคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงด้านห่วงโช่อุปทานและการเงิน เพื่อนำ�ไปดำ�เนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. พิจารณาและให้ความเห็น สำ�หรับรายการความเสี่ยงระดับองค์กรประจำ�ปี 2560 ก่อนการนำ�เสนอขอความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริษัทฯ โดยพิจารณารายการความเสี่ยงให้มีความสอดคล้องกับทิศทางการดำ�เนินธุรกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย ขององค์กรและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป 4. สอบทานกฏบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยเพิ่มบทบาทหน้าที่ในการพิจารณากลั่นกรองโครงการลงทุนที่มี นัยสำ�คัญของบริษัทฯ 5. สอบทานตัวชีว้ ดั ผลการดำ�เนินงานระดับองค์กรประจำ�ปี 2560 (Corporate KPI) ก่อนนำ�เข้าพิจารณาอนุมตั ติ อ่ คณะกรรมการ บริษัทฯ 6. รายงานผลการดำ�เนินงานของคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งให้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้รบั ทราบเป็นประจำ�ทุกไตรมาส ทั้งนี้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเป็นระบบ รอบคอบ และครบถ้วน เต็มกำ�ลังความ รู้ความสามารถ ด้วยความเป็นอิสระและสอดคล้องกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อประโยชน์ต่อบริษัทฯ ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วน ได้เสียอื่นๆ อย่างเหมาะสม
(นายณัฐชาติ จารุจินดา)
ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง
40
สารประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ พิจารณาเสนอแนวปฏิบตั ดิ า้ นการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ให้คณะกรรมการบริษทั ฯ และกำ�กับดูแล ติดตามให้ฝา่ ยจัดการมีการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ เป็น องค์กรโปร่งใสตรวจสอบได้ สร้างความเชือ่ มัน่ และไว้วางใจให้แก่ผมู้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ รวมทัง้ ช่วยส่งเสริมภารกิจและแนวทางการ ปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ฯ ให้เป็นแบบอย่างทีด่ ที ง้ั ในเรือ่ งการกำ�กับกิจการทีด่ ี และการต่อต้านคอร์รปั ชันทุจริตติดสินบน ในปี 2559 คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ได้ก�ำ กับดูแลให้บริษทั ฯ มีการดำ�เนินการตามแผนงานการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ประจำ� ปี 2559 อย่างครบถ้วน อันเป็นเส้นทางเดิน (Roadmap) สูเ่ ป้าหมายระยะยาวทีบ่ ริษทั ฯ วางไว้ในการเป็นบรรษัทพลเมืองโลกทีด่ ี (Good Corporate Citizenship) โดยมีรายละเอียดในรายงานการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ หี น้า 42 สรุปแนวทางการพัฒนาทีส่ �ำ คัญ ดังนี้ 1. การดูแลรักษาสิทธิผถู้ อื หุน้ และการปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียม โดยการเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยเสนอวาระการ ประชุมและรายชือ่ บุคคลเพือ่ พิจารณาแต่งตัง้ เป็นกรรมการบริษทั ฯ ล่วงหน้า 2. การวางแผน การกำ�หนดกลยุทธ์ และกำ�หนดนโยบายการดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบอย่างโปร่งใสตรวจสอบได้ โดยบริษทั ฯ ได้รบั รางวัลชมเชยองค์กรโปร่งใสประจำ�ปี 2559 จากสำ�นักคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 3. การอบรมเพือ่ พัฒนาความรู้ ความเข้าใจด้านการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ แี ก่กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน อาทิ การอบรม เรือ่ งการต่อต้านคอร์รปั ชันในหัวข้อ การใช้ดลุ ยพินจิ ในการทำ�งานภายใต้จริยธรรม เป็นต้น 4. การดำ�เนินโครงการ และกิจกรรมเสริมสร้างจริยธรรมในการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหารและพนักงานตามแนวนโยบายของคณะ กรรมการบริษทั ฯ ทีส่ ง่ ต่อไปยังกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เพือ่ ปฏิบตั ใิ นทิศทางเดียวกัน (Tone at the Top) เช่น โครงการ IRPC CG DAY 5. การปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพระบบการควบคุมและตรวจสอบการดำ�เนินกิจการให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการ ทีด่ ี โดยการใช้แนวทาง GRC ประสานงานระหว่าง Governance Risk และ Compliance เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด 6. การประเมินความเสีย่ งด้านการทุจริตคอร์รปั ชัน (Corruption Risk) และการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ (Compliance Risk) พร้อม กับกำ�หนดนโยบายการป้องกันการทุจริตติดสินบน เพือ่ ประกาศใช้ทง้ั องค์กรและบริษทั ในเครือ 7. การสร้างเครือข่ายต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชันตลอดห่วงโซ่อปุ ทาน ทัง้ ลูกค้า คูค่ า้ และบริษทั ในเครือ (IRPC Anti-Corruption Network) 8. การสร้างเครือข่าย หรือ แนวร่วมกับองค์กรธุรกิจและกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียในการดำ�เนินบทบาทสมาชิกประชาคมโลกที่ดี อาทิ UN Global Compact Network Thailand (GCNT) 9. การสร้างการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย และดำ�เนินการอย่างเป็นธรรมเพื่อตอบสนองความต้องการและคาดหวังของ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ บริษทั ฯ ได้ด�ำ เนินการดังกล่าวข้างต้นเป็นไปตามแผนและบรรลุผลตามเป้าหมายทีว่ างไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังปรากฏตาม ผลสำ�รวจ การประเมินผล การได้รบั การยอมรับและได้รบั รางวัลจากสถาบันชัน้ นำ�ทัง้ ในและต่างประเทศ ในระดับสูงสุด อาทิ Corporate Governance Report of Thai Listed companies (CGR) ในระดับสูงสุด 5 ตราสัญลักษณ์จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั ไทย รางวัล SET Sustainability Awards 2016 ระดับดีเด่นจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย Certificate of ESG 100 Company โดยสถาบันไทยพัฒน์ และการเป็นสมาชิก Dow Jones Sustainability Index กลุม่ Oil & Gas Refining and Maketing 3 ปีตอ่ เนือ่ ง เป็นต้น ถึงแม้ปจั จุบนั บริษทั ฯ จะได้รบั การยอมรับว่ามีระบบการกำ�กับดูแลทีด่ ที ม่ี มี าตรฐานในระดับสากลและมีการดำ�เนินงานด้านการกำ�กับ ดูแลกิจการทีด่ อี ย่างเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพในระดับหนึง่ แล้วก็ตาม คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ยี งั คงมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาต่อไปเพือ่ ให้องค์กรมีการปฏิบตั ทิ เ่ี ข้มข้นขึน้ เรือ่ ยๆ จนถึงขัน้ เป็นแบบอย่างทีด่ ี (Role Model) ของการดำ�เนินธุรกิจ ตามแนวทางการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน อันจะช่วยสนับสนุนทัง้ มาตรฐานบรรษัทภิบาลของตลาดทุนไทย การเจริญเติบโตของบริษทั ฯ การได้รบั ความเชือ่ มัน่ จากผูถ้ อื หุน้ นักลงทุนและผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ การเป็นหลักทรัพย์ทเ่ี รียกว่าหุน้ ยัง่ ยืนของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ซึง่ เป็นดัชนีวดั ทีป่ ระกอบการตัดสินใจของนักลงทุน รวมไปถึงการเจริญก้าวหน้าในทิศทางและเป้าหมายของ การเป็นพลเมืองดีของโลกครบทุกมิตใิ นอนาคตอันใกล้น้ี (นายอนุสรณ์ แสงนิ่มนวล)
ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
41
รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี
บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญและปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี ที่มีมาตรฐานสากลและสอดคล้องกับนโยบาย ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหลักเกณฑ์ ASEAN Corporate Governance Scorecard (ASEAN CG Scorecard) อย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้บริษัทฯ ได้รับผล การประเมินและรางวัลเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ทั้งระดับประเทศและต่างประเทศ โดยแยกเป็นหมวดเพื่อ ความชัดเจน ดังนี้ ด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 1. ได้รับรางวัลชมเชยองค์กรโปร่งใส ประจำ�ปี 2559 จาก สำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ (ป.ป.ช.)
2. ได้รบั ผลการประเมินโครงการสำ�รวจการกำ�กับดูแลกิจการ บริษทั จดทะเบียนไทย (CGR) ประจำ�ปี 2559 ระดับ “ดีเลิศ” (5 ตราสัญลักษณ์) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ติดต่อกันเป็นปีที่ 8 ซึ่งในปี 2559 สถาบัน IOD ได้ ปรับปรุงเกณฑ์การประเมินให้มีความเข้มข้นยิ่งขึ้น โดยให้ สอดคล้องกับมาตรฐาน ASEAN CG Scorecard 3. ได้รบั ผลการประเมินโครงการประเมินคุณภาพการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 บริษัทฯ ได้รับคะแนนประเมิน เต็ม 100 คะแนน จากสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย 4. ได้รับรางวัล Best CEO “IAA Awards for Listed Companies 2015/2016” กลุ่มทรัพยากรจากสมาคมนัก วิเคราะห์การลงทุน (IAA: Investment Analysts Association) 5. ได้รบั รางวัลบริษทั จดทะเบียนด้านนักลงทุนสัมพันธ์ดเี ด่น (Best Investor Relations Awards) จากตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย 6. ได้รับรางวัลบริษัทยอดเยี่ยมด้านนักลงทุนสัมพันธ์ “Corporate Governance Asia Recognition Awards 2016: Best Investor Relations by Company” จากนิตยสาร Corporate Governance Asia ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 จากการ เปิดเผยข้อมูลกับนักลงทุนอย่างโปร่งใสและเป็นธรรมกับผู้มี ส่วนได้เสีย อันเป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 7. ได้รับรางวัล The Winner of the “Golden Peacock Global Award for Excellence in Corporate Governance 2016” จากสถาบัน Institute of Directors (IOD) ประเทศ อินเดีย เป็นครั้งที่ 4 ในฐานะที่บริษัทฯ มีกลไกการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีที่โดดเด่น
42
ด้านการบริหารอย่างยั่งยืน 1. ได้รบั การจัดอันดับเป็นสมาชิกของ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) ประเภท DJSI Emerging Market ในกลุ่ม อุตสาหกรรมประเภท Oil & Gas Refining and Marketing ประจำ�ปี 2016 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3
2. ได้รบั รางวัลบริษทั จดทะเบียนด้านความยัง่ ยืนดีเด่น SET Sustainability Awards 2016 จากตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย 3. ได้รบั รางวัลองค์กรลงทุนหรือสนับสนุนความยัง่ ยืนของไทย ประจำ�ปี 2559 (Thailand Sustainable Investment 2016) เพือ่ ประกาศเกียรติคณ ุ และยกย่องบริษทั จดทะเบียนทีม่ คี วาม โดดเด่นในการดำ�เนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืนและสนับสนุนกิจการเพือ่ สังคมให้เป็นแบบอย่าง จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4. ได้ รั บ รางวั ล รายงานความยั่ ง ยื น ประจำ � ปี 2559 (SET Sustainability Report Award 2016) ระดับดีเด่น จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ด้านการต่อต้านคอร์รัปชัน • ได้รบั การรับรองการเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาค เอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC) เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2557 ซึ่งเป็นการรับรอง ว่าบริษัทฯ มีนโยบายและแนวปฏิบัติป้องกันการทุจริต ภายในองค์กรครบถ้วน และตามเกณฑ์ที่ CAC กำ�หนด ให้มีการต่ออายุสมาชิกทุก 3 ปี ปัจจุบันอยู่ในระหว่าง รอการพิจารณาเอกสารเพื่อรับการรับรองการต่ออายุสมาชิก CAC โดยได้ยื่นเอกสารตามเกณฑ์ใหม่ทั้งหมดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2559
รางวัลบริษัทจดทะเบียนด้านความยั่งยืน ดีเด่น จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET Sustainability Awards 2016)
ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 1. ได้รับประกาศนียบัตร “Certificate of ESG 100 Company” กลุ่มทรัพยากร (Resources) ประจำ�ปี 2559 จากสถาบันไทยพัฒน์ ในฐานะทีใ่ ห้ความสำ�คัญกับการดำ�เนิน ธุรกิจโดยคำ�นึงถึงสิ่งแวดล้อมสังคม และธรรมาภิบาล (Environmental Social and Governance: ESG) หรือทีเ่ รียกว่า กลุ่มหลักทรัพย์ ESG100 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2
2. ได้รับโล่ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี เป็นรางวัลจากผลงาน กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของ รัฐวิสาหกิจและสถานประกอบการ (EIT-CSR Awards) จาก วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย พิจารณาโดยคณะกรรมการ สิทธิและจรรยาบรรณ 3. ได้รับรางวัล Asia Responsible Entrepreneurship Awards 2016 (AREA Awards 2016) ด้าน Social Empowerment จากโครงการลำ�ไทรโยงโมเดล (Sustainable Drought Solving) จัดโดย Enterprise Asia องค์กรอิสระที่ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพทางธุรกิจ 4. ได้รับรางวัล Golden Peacock Global Award for Corporate Social Responsibility 2016 จากสถาบัน Institute of Directors (IOD) ประเทศอินเดีย
นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทฯ มีเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมให้บริษัทฯ เป็นองค์กรทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการดำ�เนินธุรกิจ การกำ�กับดูแล กิจการและการบริหารจัดการที่ดีเลิศ โดยมุ่งเน้นการสร้าง ประโยชน์สูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น และคำ�นึงถึงผู้ที่มีส่วนได้เสีย โดยรวม มีคณ ุ ธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ ปราศจากการคอร์รปั ชัน
มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ จึงได้กำ�หนดเป็นนโยบายด้าน การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ ให้คณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และ พนักงานของบริษทั ฯ ยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ าน ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษทั ฯ มุง่ มัน่ ทีจ่ ะใช้หลักสำ�คัญในการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ทั้ง 6 ประการ “CREATE” คือ Creation of Long Term Value, Responsibility, Equitable Treatment, Accountability, Transparency, Ethics เป็น แนวทางในการปฏิบัติงานของบริษัทฯ 2. คณะกรรมการบริษทั ฯ ต้องปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความทุม่ เท และรับผิดชอบ มีความเป็นอิสระและมีการจัดแบ่งบทบาทหน้าที่ ระหว่างประธานกรรมการบริษทั ฯ และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ออกจากกันอย่างชัดเจน 3. คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้กำ�หนดวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ นโยบาย และแผนงานทีส่ �ำ คัญของบริษทั ฯ และมีการทบทวน เป็นประจำ�ปีทกุ ปี โดยพิจารณาถึงปัจจัยเสีย่ งและวางแนวทาง การบริหารจัดการทีม่ คี วามเหมาะสม รวมทัง้ ต้องดำ�เนินการ เพื่อให้มั่นใจว่าระบบบัญชี รายงานทางการเงิน และการสอบ บัญชี มีความน่าเชื่อถือ 4. คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้กำ�หนดนโยบายต่อต้าน คอร์รัปชันและกลไกสำ�คัญที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันการทุจริต ในการปฏิบตั งิ าน และเป็นหลักปฏิบตั ขิ องบริษทั ฯ ให้เกิดเป็น วัฒนธรรมทีด่ ขี ององค์กร รวมทัง้ ป้องกันปัญหาความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ และการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกันให้เกิด ความเป็นธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
43
5. คณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นผูน้ �ำ ในเรือ่ งจริยธรรม เป็นตัวอย่าง ในการปฏิบตั งิ านตามแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ 6. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ อาจแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ ชุดย่อยขึ้นตามความเหมาะสม เพื่อช่วยพิจารณากลั่นกรอง งานที่มีความสำ�คัญอย่างรอบคอบ 7. คณะกรรมการบริษทั ฯ ต้องจัดให้มกี ารประเมินผลตนเอง และคณะกรรมการชุดย่อยรายปี เพื่อใช้เป็นกรอบในการ ตรวจสอบและปรับปรุงพัฒนาการปฏิบตั หิ น้าที่ รวมทัง้ ให้มกี าร ประเมินโดยบุคคลภายนอกตามช่วงเวลาทีเ่ หมาะสม อย่างน้อย ทุก 3 ปี 8. คณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นผูพ้ จิ ารณากำ�หนดจรรยาบรรณ ของบริษทั ฯ เพือ่ ให้คณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน รวมถึง ลูกจ้างทุกคน ใช้เป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบตั คิ วบคูไ่ ป กับข้อบังคับและระเบียบของบริษัทฯ
ผู้ถือหุ้นสามารถใช้สิทธิอย่างเต็มที่ในการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 ดังนี้
9. คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องจัดให้มีนโยบายการเปิดเผย สารสนเทศเพือ่ ให้มกี ารเปิดเผยสารสนเทศของบริษทั ฯ ทัง้ ใน เรื่องทางการเงินและที่ไม่ใช่เรื่องทางการเงินอย่างเพียงพอ เชื่อถือได้ และทันเวลา เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย ของบริษัทฯ ได้รับสารสนเทศอย่างเท่าเทียมกัน มีหน่วยงาน สื่อสารองค์กรและหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์รับผิดชอบ ในเรื่องการให้ข้อมูลกับประชาชนทั่วไปและนักลงทุน
• บริษัทฯ เปิดเผยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 2/2559 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2559 ซึ่งมีมติกำ�หนดวัน Record Date เป็นวันอังคารที่ 23 กุมภาพันธ์ 2559 และให้ รวบรวมรายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ ตามมาตรา 225 ของ พ.ร.บ. หลักทรัพย์ฯ โดยวิธีปิดสมุดทะเบียนในวันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ 2559 เพื่อ สิทธิการเข้าร่วมประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 และ สิทธิรบั เงินปันผลโดยกำ�หนดวันประชุมในวันศุกร์ที่ 1 เมษายน 2559 เวลา 09.30 น. ณ ห้องบางกอก คอนเวนชันเซ็นเตอร์ ชั้น 22 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชัน เซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ เลขที่ 999/99 ถนนพระราม 1 เขตปทุมวัน กรุงเทพ 10330 ผ่านระบบเผยแพร่ข้อมูลของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นับแต่วันที่มีมติกำ�หนด วันประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559
10. ผู้ถือหุ้นบริษัทฯ จะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน มีสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ และมีช่องทางในการ สื่อสารกับบริษัทฯ ที่เหมาะสม 11. คณะกรรมการบริษัทฯ มีนโยบายและให้มีการจัดทำ� แผนสืบทอดตำ�แหน่ง เพื่อให้มีระบบการคัดสรรบุคลากรที่ จะเข้ามารับผิดชอบในตำ�แหน่งบริหารทีส่ �ำ คัญทุกระดับอย่าง เหมาะสม และมีกระบวนการสรรหาที่โปร่งใส เป็นธรรม บริษทั ฯ เชือ่ มัน่ ว่าระบบและกระบวนการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี มีความโปร่งใส มีมาตรฐานชัดเจน จะช่วยยกระดับความ เชื่อมั่นให้กับผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย โดยในปี 2559 บริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามหลักการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดี โดยยึดตามเกณฑ์ Corporate Governance Report of Thai Listed Companies (CGR) ปี 2559 ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและ Asean CG Scorecard ซึง่ ประกอบด้วย 5 หมวดหลัก อย่างเคร่งครัด ดังนี้
1. สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ มีนโยบายในการสนับสนุน ส่งเสริม และอำ�นวย ความสะดวกในการใช้สิทธิของผู้ถือหุ้น โดยมุ่งสร้างความ มัน่ ใจว่าสิทธิของผูถ้ อื หุน้ จะได้รบั การคุม้ ครองอย่างครบถ้วน ตามกฎหมายอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน โดยให้ความ สำ�คัญในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารทีถ่ กู ต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และโปร่งใสแก่ผู้ถือหุ้น
44
ก่อนวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น • บริษัทฯ ให้สิทธิผู้ถือหุ้นส่วนน้อยทุกรายที่ถือหุ้นรวมกัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 สามารถเสนอวาระการประชุมผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2559 และเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการพิจารณา เป็นกรรมการบริษทั ฯ ล่วงหน้าระหว่างวันที่ 25 กันยายน 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ทั้งนี้ การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2559 ไม่มีผู้ถือหุ้นรายใดเสนอวาระการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นหรือเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการพิจารณา เป็นกรรมการบริษัทฯ ในขณะที่บริษัทฯ ได้เปิดโอกาสให้ ผู้ถือหุ้นเสนอวาระและรายชื่อบุคคลเข้ารับการพิจารณาเป็น กรรมการตัง้ แต่วนั ที่ 20 กันยายน 2559 ถึง 31 มกราคม 2560 เพื่อพิจารณาในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2560
• บริษัทฯ จัดทำ�หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นฉบับสมบูรณ์ พร้อมทั้งเอกสารประกอบการประชุม ขั้นตอนการมอบฉันทะ เอกสารสำ�คัญที่ใช้ในการเข้าร่วมประชุม และการมอบฉันทะ ที่สะดวกไม่ยุ่งยากต่อการเข้าร่วมประชุม แผนที่การเดินทาง มาเข้าร่วมประชุม เบอร์โทรศัพท์ติดต่อสอบถามเพื่อเข้าร่วม ประชุมได้อย่างสะดวกทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษไว้บน เว็บไซต์บริษัทฯ www.irpc.co.th ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2559 เป็นการล่วงหน้า 30 วัน ก่อนวันประชุม โดยบริษัทฯ ได้มอบหมายให้บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (TSD) เป็นผู้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่ผู้ถือหุ้น ล่วงหน้าทางไปรษณีย์ในวันที่ 11 มีนาคม 2559 เป็นการ ล่วงหน้า 21 วัน ก่อนวันประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับเอกสาร ล่วงหน้าก่อนวันประชุม เพื่อมีเวลาศึกษาข้อมูลก่อนวัน ประชุมอย่างเพียงพอ รวมทั้งได้ประกาศลงหนังสือพิมพ์ รายวันทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หนังสือพิมพ์ ข่าวหุน้ และหนังสือพิมพ์ Bangkok Post) เป็นเวลาติดต่อกัน 3 วัน ก่อนวันประชุม และสื่อสารประชาสัมพันธ์รายละเอียด การประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2559 ผ่านวารสารสำ�หรับ
ผู้ถือหุ้น IRPC Newsletter ฉบับที่ 18/2016 ซึ่งจัดส่งให้ ผู้ถือหุ้นทุกรายพร้อมกับชุดเอกสารนัดประชุม • คุณภาพของหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้ กำ�หนดรายละเอียดวาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นเรือ่ งๆ อย่าง ชัดเจน รวม 8 วาระ (ไม่มวี าระรับรองรายงานการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 เนื่องจากบริษัทฯ ได้จัดส่งรายงาน การประชุมเป็นหนังสือไปยังผูถ้ อื หุน้ ทุกรายในวันที่ 22 เมษายน 2558 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2558 ให้ผู้ถือหุ้นได้ตรวจทาน ความถูกต้องครบถ้วน รวมถึงคัดค้านหรือขอแก้ไขรายงาน การประชุมและเมื่อครบกำ�หนดไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดคัดค้าน หรือขอแก้ไขรายงานดังกล่าวจึงถือว่ารับรองแล้ว) มีการระบุ เหตุผลและความเห็นของคณะกรรมการในแต่ละวาระ ดังนี้ - วาระรับทราบรายงานผลการดำ�เนินงานในรอบปี 2558 และพิจารณาอนุมตั งิ บการเงินของบริษทั ฯ ประจำ�ปี 2558 โดยผ่านการตรวจสอบและรับรองโดยไม่มีเงื่อนไขจาก ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต - วาระพิจารณาอนุมัติการจ่ายเงินปันผลสำ�หรับผลการ ดำ�เนินงานปี 2558 บริษัทฯ เปิดเผยนโยบายการจ่าย เงินปันผล และสามารถคงสัดส่วนสภาพคล่องทางการเงิน ในระดั บ ที่ เ หมาะสมกั บ การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ โดยระบุ ประเภทและที่มาของกำ�ไรสะสมที่นำ�มาจ่ายปันผลอย่าง ละเอียด อัตราเงินปันผลที่เสนอจ่าย กำ�หนดวันจ่าย เงินปันผลพร้อมเหตุผลและข้อมูลประกอบการพิจารณา ไว้อย่างชัดเจน รายละเอียดอยู่ในหนังสือเชิญประชุม สามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2559 หน้า 2
- วาระพิจารณาเลือกตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ออก ตามวาระ บริษทั ฯ ให้ขอ้ มูลกรรมการอย่างครบถ้วน ได้แก่ ชื่อ-นามสกุล อายุ ประวัติ การศึกษา ประสบการณ์การ ทำ�งาน จำ�นวนบริษทั และระยะเวลาทีด่ �ำ รงตำ�แหน่งกรรมการ ของแต่ละคน ที่จะเสนอแต่งตั้งไว้อย่างละเอียด เพื่อให้ ผูถ้ ือหุน้ มีขอ้ มูลประกอบการพิจารณาเลือกตัง้ กรรมการ ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม รายละเอียดอยู่ในหนังสือเชิญ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 17-26 - วาระพิจารณากำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการประจำ�ปี 2559 บริษัทฯ นำ�เสนอนโยบายในการกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการ ได้แก่ ค่าตอบแทนรายเดือน ค่าเบี้ยประชุม รายครั้ง โบนัสกรรมการ นอกเหนือจากนี้ บริษัทฯ ไม่มี การให้ค่าตอบแทนอื่นหรือการให้สิทธิประโยชน์อื่นใด รายละเอียดอยู่ในหนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2559 หน้า 6-7 - วาระพิจารณาแต่งตัง้ และกำ�หนดค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชี ประจำ�ปี 2559 ระบุรายละเอียดข้อมูลเกีย่ วกับผูส้ อบบัญชี ได้แก่ ชื่อผู้สอบบัญชี บริษัทที่สังกัด ประสบการณ์ ความสามารถของผู้สอบบัญชี รวมทั้งประเด็นเกี่ยวกับ ความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี ค่าบริการสอบบัญชีและ ค่าใช้จา่ ยอืน่ ทีไ่ ม่ใช่คา่ สอบบัญชี และการให้บริการอืน่ ของ ผูส้ อบบัญชีไว้อย่างครบถ้วนและชัดเจน รายละเอียดอยูใ่ น หนังสือเชิญประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2559 หน้า 7-8 - วาระพิจารณาอนุมัติการรับโอนกิจการทั้งหมดจาก บริษทั ไทย เอบีเอส จำ�กัด ซึง่ เป็นธุรกิจในกลุม่ อุตสาหกรรม ปิโตรเคมีเช่นเดียวกับบริษทั ฯ มีความเหมาะสมทีจ่ ะควบรวม กิจการโดยวิธกี ารโอนกิจการทัง้ หมดทัง้ ทรัพย์สนิ หนีส้ นิ รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
45
และพนักงานกลับมาที่บริษัทฯ โดยจะทำ�ให้โครงสร้าง และต้นทุนการบริหารจัดการในบริษทั ไทย เอบีเอส จำ�กัด ลดลง ทำ�ให้สามารถแข่งขันในตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการควบรวมกิจการด้วยวิธีการโอนกิจการทั้งหมด จะได้รับยกเว้นภาระภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับการโอน กิจการทัง้ หมด อาทิ ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ภาษีมลู ค่าเพิม่ ภาษีธุรกิจเฉพาะ ทั้งนี้ เป็นไปตามประมวลรัษฎากร มาตรา 74(1)(ค) และหลังจากที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติ การดำ�เนินการดังกล่าว บริษัทฯ ได้ดำ�เนินการตามมติ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจนแล้วเสร็จและแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบ ผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2559 วันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น • บริษทั ฯ จัดให้มกี ารประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2559 ในวันศุกร์ที่ 1 เมษายน 2559 เวลา 9.30 น. ณ ห้องบางกอก คอนเวนชันเซ็นเตอร์ ชั้น 22 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และ บางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ เลขที่ 999/99 ถนนพระรามที่ 1 เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 ภายใต้ แนวคิดการประชุมสีเขียว “Green Meeting” รักษาระดับ มาตรฐานที่บริษัทฯ ได้รับการรับรองจากองค์กรธุรกิจเพื่อ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (TBCSD) และสถาบันสิง่ แวดล้อมไทย (สสท.) ต่อเนื่องเป็นปี 4
46
• บริษทั ฯ จัดเตรียมสถานทีซ่ งึ่ ผูถ้ อื หุน้ สามารถเดินทางได้ สะดวก โดยผูถ้ อื หุน้ สามารถเดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะ ทั้งรถไฟฟ้าและรถประจำ�ทาง มีที่จอดรถอย่างเพียงพอ มีการรักษาความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ และจัดเตรียม เจ้าหน้าที่ต้อนรับ เจ้าหน้าที่ลงทะเบียนที่เหมาะสม โดยจัด ให้มจี ดุ ลงทะเบียนอย่างเพียงพอ และเปิดให้ผถู้ อื หุน้ สามารถ ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้ลว่ งหน้าก่อนเวลาประชุมมากกว่า 2 ชั่วโมง ซึ่งได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้าในหนังสือ นัดประชุม โดยใช้ระบบบาร์โค้ดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความ ถูกต้อง และความรวดเร็ว และมีการจัดเตรียมอากรแสตมป์ เพือ่ อำ�นวยความสะดวกแก่ผถู้ อื หุน้ ในการมอบฉันทะเพือ่ ความ สมบูรณ์ของเอกสารตามกฎหมาย และในบริเวณใกล้ห้อง ประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ ได้จดั บอร์ดนิทรรศการเกีย่ วกับ แผนงานและการดำ�เนินงานที่สำ�คัญของบริษัทฯ ต่างๆ อาทิ โครงการ EVEREST เพื่อให้ผู้ถือหุ้นรับทราบถึงกลยุทธ์และ แผนการพัฒนาองค์กรสูค่ วามเป็นเลิศและเติบโตอย่างยัง่ ยืน ช่วยสร้างความเชือ่ มัน่ และความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับบริษทั ฯ ให้ผู้ถือหุ้น รวมถึงการแนะนำ�สินค้าที่ผลิตจากผลิตภัณฑ์ เม็ดพลาสติกรักโลก IRPC Innovation Product Bazaar เพื่อเป็นช่องทางให้ผู้ผลิตที่เป็นลูกค้าของบริษัทฯ พบกับ ผูบ้ ริโภคโดยตรง เช่น กระเป๋าเดินทางจากผลิตภัณฑ์ Green ABS ทีใ่ ช้ยางพาราธรรมชาติเป็นส่วนประกอบในเม็ดพลาสติก หรือกล่องพลาสติกที่ใช้สีธรรมชาติจากผักผลไม้มาผสม ใช้เป็นผลิตภัณฑ์บรรจุอาหารที่มีความปลอดภัยสูง เป็นต้น
• ก่อนเข้าสูว่ าระการประชุมประธานทีป่ ระชุมได้แจ้งทีป่ ระชุม รับทราบวิธีการออกเสียงลงคะแนนและการนับคะแนนอย่าง ชัดเจน โดยบริษัทฯ มีการออกหุ้นประเภทเดียว (One Class of Share) สิทธิออกเสียงหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง • ในวาระการแต่งตั้งกรรมการ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น ลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ กรรมการเป็นรายบุคคล โดยเสนอชือ่ กรรมการให้ผู้ถือหุ้นลงคะแนนทีละคน และตามแนวปฏิบัติ ที่ดีของบริษัทฯ กรรมการผู้มีส่วนได้เสียจะออกจากห้อง ประชุมในวาระนัน้ มีกรรมการทีม่ สี ว่ นได้เสียรวม 4 ราย ได้แก่ นายประมวล จันทร์พงษ์ นายชวลิต พันธ์ทอง นายทรงภพ พลจันทร์ และนายธรัมพ์ ชาลีจันทร์ ได้ออกจากห้องประชุม ระหว่างพิจารณาจนเสร็จสิ้นการลงมติในวาระนี้
• บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญต่อการประชุมผู้ถือหุ้น ดังนั้น การประชุมจึงเริม่ ขึน้ ตามเวลาทีก่ �ำ หนด โดยประธานกรรมการ บริษัทฯ ได้ทำ�หน้าที่ประธานที่ประชุม มีประธานกรรมการ ชุดย่อยทุกชุด กรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ พร้อมทัง้ ผูบ้ ริหารระดับสูงและเลขานุการบริษทั ฯ เข้าร่วมประชุม (มีการ บันทึกรายละเอียดทัง้ หมดไว้ในรายงานการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ และเปิดเผยรายงานฯ บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ) กรรมการที่ เข้าร่วมประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2559 รวม 15 ท่าน จากกรรมการทั้งหมด 15 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 100 • บริษทั ฯ จัดให้มที ปี่ รึกษากฎหมายทีเ่ ป็นอิสระ จากบริษทั วีระวงศ์ ชินวัฒน์ และเพียงพนอ จำ�กัด (นางสาวเพียงพนอ บุญกล่ำ� และคณะ) เพื่อทำ�หน้าที่สร้างความมั่นใจให้ผู้ถือหุ้น ว่า การประชุมผู้ถือหุ้นเป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย และสนับสนุนข้อมูลด้านกฎหมายหากมีผู้ถือหุ้นสอบถาม และผูส้ อบบัญชีทเี่ ข้าร่วมประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2559 คือ นายวิเชียร กิ่งมนตรี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3977 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอส จำ�กัด (PWC) และบริษทั ฯ เปิดโอกาสให้มผี ตู้ รวจสอบการนับคะแนนเสียงใน การประชุมผูถ้ อื หุน้ ซึง่ ทำ�หน้าทีส่ งั เกตการณ์และเป็นคนกลาง ในการตรวจนับคะแนน ได้แก่ นางสาวรัชดา คลองโปร่ง อาสาสมัครจากผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุม และมีผู้แทนจาก สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยเข้าร่วมสังเกตการณ์ด้วย
• ระหว่างการประชุม ประธานทีป่ ระชุมได้เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ทุกรายมีสทิ ธิอย่างเท่าเทียมกันในการซักถาม หรือเสนอความ คิดเห็นในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ โดยจัดสรรเวลาอย่างเพียงพอและ ให้กรรมการที่เกี่ยวข้องชี้แจงและให้ข้อมูลต่างๆ แก่ผู้ถือหุ้น เข้าใจจนสิน้ ข้อสงสัย และให้มกี ารบันทึกประเด็นคำ�ถาม คำ�ตอบ ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็นไว้ในรายงานการประชุมเพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ทีไ่ ม่ได้เข้าประชุมได้รบั ทราบ บริษทั ฯ จัดให้มกี ารลงคะแนนเสียง ดูแลให้มีการเก็บบัตรลงคะแนนจากผู้ถือหุ้น และตรวจสอบ ผลของมติและการบันทึกผลคะแนนจากบัตรลงคะแนนโดยใช้ ระบบ Barcode ประมวลผลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความ รวดเร็ว มีการแจ้งมติทปี่ ระชุมทุกวาระอย่างชัดเจนพร้อมราย ละเอียดจำ�นวนเสียงที่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยหรืองดออก เสียงในทุกวาระและแสดงผลบนจอโปรเจ็คเตอร์เพือ่ ความชัดเจน • ประธานได้ดำ�เนินการประชุมตามลำ�ดับวาระที่แจ้งไว้ใน หนังสือเชิญประชุมอย่างเคร่งครัด และไม่มกี ารเพิม่ วาระอืน่ ๆ นอกเหนือจากที่ระบุในหนังสือเชิญประชุม หลังการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น • บริษัทฯ เปิดเผยมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 ในแต่ละวาระทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษบนเว็บไซต์ บริษัทฯ และผ่านระบบ SET Portal ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยในวันประชุม (1 เมษายน 2559) หลังจาก เสร็จสิ้นการประชุม
• คุณภาพของรายงานการประชุม บริษัทฯ บันทึกรายงาน การประชุมอย่างครบถ้วน ได้แก่ เนื้อหาการประชุม รายชื่อ กรรมการและผู้บริหารระดับสูงที่เข้าประชุม ข้อซักถามของ ผู้ถือหุ้นรวมทั้งการชี้แจงของกรรมการและผู้บริหารต่อ ข้อซักถามนัน้ ๆ และมติทปี่ ระชุมและผลคะแนนในแต่ละวาระ พร้อมทัง้ รายละเอียดคะแนนเสียงทีเ่ ห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และ งดออกเสียงในทุกวาระที่ต้องมีการลงคะแนนเสียง
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
47
• บริษทั ฯ เปิดเผยรายงานการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2559 บนเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ บนเว็บไซต์บริษทั ฯ ในวันที่ 12 เมษายน 2559 (12 วัน หลังวัน ประชุม) และจัดทำ�วารสารสำ�หรับผูถ้ อื หุน้ IRPC Newsletter ฉบับพิเศษ ที่ 20/2016 ซึง่ จัดส่งให้ผถู้ อื หุน้ ทุกรายทางไปรษณีย์ วันที่ 20 เมษายน 2559 โดยระบุให้ผู้ถือหุ้นที่ต้องการแก้ไข หรือโต้แย้งส่งกลับมายังเลขานุการบริษัทฯ ภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2559 เมื่อสิ้นสุดเวลาที่กำ�หนด ไม่มีผู้ถือหุ้น รายใดขอแก้ไขถือว่าเป็นการรับรองรายงานการประชุม
2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษทั ฯ ยึดหลักการปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน และเป็นธรรมโดยไม่เลือกปฏิบัติ โดยบริษัทฯ มีการปฏิบัติ ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีอย่างเคร่งครัด สรุปการ ดำ�เนินการในปี 2559 ดังนี้ • บริษัทฯ มีการออกหุ้นเพียงหนึ่งประเภทเท่านั้น (One Class of Share) • บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยโดยผู้ถือหุ้น รายเดียวหรือหลายรายถือหุ้นรวมกันขั้นต่ำ�ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 4 ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงของบริษัทฯ เสนอ วาระการประชุมผู้ถือหุ้น และเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการ พิจารณาเป็นกรรมการบริษัทฯ ล่วงหน้าตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน - 31 ธันวาคม 2558 โดยบริษัทฯ เปิดเผยหลัก เกณฑ์และระบุขนั้ ตอนทีช่ ดั เจนบนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ พร้อมทัง้ แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย • บริษัทฯ เผยแพร่เอกสารการประชุมทางเว็บไซต์ทั้ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษเป็ น การล่ ว งหน้ า ก่ อ นวั น ประชุม 30 วัน และจัดส่งเอกสารทางไปรษณีย์ให้ผู้ถือหุ้น ล่วงหน้าก่อนวันประชุม 21 วัน (11 มีนาคม 2559) • บริษทั ฯ อำ�นวยความสะดวกในกรณีทผี่ ถู้ อื หุน้ ไม่สามารถ เข้าร่วมประชุมได้ โดยการส่งหนังสือมอบฉันทะทัง้ แบบ ก. และ แบบ ข. ไปพร้อมกับหนังสือเชิญประชุม ซึ่งได้ระบุถึงเอกสาร และหลักฐาน รวมทั้งคำ�แนะนำ� ขั้นตอนในการมอบฉันทะ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถจัดเตรียมได้อย่างถูกต้องและไม่ เกิดปัญหาในการเข้าร่วมประชุมของผู้รับมอบฉันทะ ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะให้บุคคลอื่นเข้าร่วมประชุม และออกเสียงลงคะแนนแทนตนแบบ 1 หุ้น ต่อ 1 เสียง โดยกรอกเอกสารหนังสือมอบฉันทะตามแนวทางที่อธิบาย ไว้ในรายละเอียด วิธีการมอบฉันทะที่บริษัทฯ จัดส่งให้พร้อม กับหนังสือเชิญประชุม ซึ่งไม่ได้กำ�หนดเงื่อนไขที่ยุ่งยากต่อ การมอบฉันทะให้ผอู้ นื่ เข้าร่วมประชุมแทน นอกจากนี้ ผูถ้ อื หุน้ สามารถดาวน์โหลดหนังสือมอบฉันทะแบบ ก. แบบ ข. และแบบ ค. ได้จากเว็บไซต์บริษัทฯ ทั้งนี้บริษัทฯ เสนอชื่อ กรรมการอิสระที่ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียในการประชุมเป็น ทางเลือกในการมอบฉันทะของผู้ถือหุ้น จำ�นวน 3 ท่าน
48
ได้แก่ 1) นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ 2) นายวุฒิสาร ตันไชย 3) นายวัชรกิติ วัชโรทัย • บริษัทฯ จัดให้มีนโยบายและแจ้งช่วงเวลางดซื้อขาย หลักทรัพย์ก่อนการประกาศแจ้งข่าวงบการเงิน 45 วัน และ หลังประกาศอย่างน้อย 2 วัน ให้กรรมการและผู้บริหารตาม เกณฑ์ ก.ล.ต. ทราบ ซึ่งมีการประพฤติปฏิบัติอย่างเคร่งครัด • บริษัทฯ จัดให้มีนโยบายและแนวทางการเก็บรักษา และป้องกันการใช้ข้อมูลภายในที่เป็นลายลักษณ์อักษร และ มีการแจ้งแนวทางดังกล่าวให้พนักงานในองค์กรถือปฏิบัติ และกำ�หนดให้กรรมการและผู้บริหารที่มีหน้าที่รายงาน การถือครองหลักทรัพย์ตามกฎหมาย จัดส่งรายงานดังกล่าว ให้กรรมการรับทราบเป็นประจำ� โดยในปีที่ 2559 กรรมการ และผู้บริหารของบริษัทฯ ไม่มีการถูกกล่าวโทษหรือตักเตือน โดย ตลท. ในเรื่องการซื้อขายหุ้นโดยใช้ข้อมูลภายใน • บริษัทฯ จัดทำ�รายงานการถือครองหลักทรัพย์บริษัทฯ ของกรรมการและผู้บริหาร และกำ�หนดให้กรรมการและ ผู้บริหารรับผิดชอบในการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อกำ�หนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ อย่างถูกต้องครบถ้วน และได้นำ�เสนอรายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ทราบเป็นประจำ�ทุกเดือน บริษทั ฯ ไม่เคยได้รบั การเตือนในเรือ่ ง ดังกล่าวจากหน่วยงานกำ�กับดูแล ในปี 2559 คณะกรรมการ บริษทั ฯ ถือครองหลักทรัพย์บริษทั ฯ รวมกันไม่เกินกว่าร้อยละ 25 ของหุน้ ทีอ่ อกและชำ�ระแล้วโดยถือหุน้ รวมกันร้อยละ 0.05115 (ณ 31 ธันวาคม 2559) ตามเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย • เมื่อมีการเปลี่ยนหรือเข้ารับตำ�แหน่งใหม่ใดๆ ของ กรรมการบริษทั ฯ ได้น�ำ เสนอข้อมูลการเปลีย่ นแปลงให้ ก.ล.ต. ทราบเพื่อให้ข้อมูลกรรมการเป็นปัจจุบันเสมอ • คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติทำ�รายการที่เกี่ยวโยง กั น รายการระหว่ า งกั น โดยคำ � นึ ง ถึ ง ประโยชน์ สู ง สุ ด ของบริษัทฯ โดยรายการดังกล่าวที่มิใช่ธุรกิจปกติและ มีการจัดซื้อจัดจ้างเปรียบเทียบกับบริษัทอื่น คณะกรรมการ ตรวจสอบจะกลั่นกรองขั้นหนึ่งก่อนนำ�เสนอคณะกรรมการ บริษทั ฯ พิจารณาเพือ่ ความโปร่งใสและเป็นธรรมต่อทุกฝ่ายที่ เกีย่ วข้อง และมีการรายงาน/เปิดเผยรายการดังกล่าวตามข้อ กำ�หนดของ ตลท. อย่างโปร่งใสในรายงานทางการเงินประจำ�ปี • บริษทั ฯ ไม่มกี ารให้ความช่วยเหลือทางการเงินกับบริษทั ที่ไม่ใช่บริษัทย่อย โครงสร้างการถือหุ้น ไม่มีการถือหุ้นไขว้ ในกลุ่มบริษัทฯ และไม่มีการซื้อหุ้นบริษัทฯ คืน • บริษัทฯ กำ�หนดให้ผู้บริหารและพนักงานทุกคนของ บริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ จัดทำ�รายงานการเปิดเผยรายการ ที่อาจเป็นผลประโยชน์ที่ขัดกันกับผลประโยชน์ของบริษัทฯ ผ่านระบบในรูปแบบ On-Line เป็นปีที่ 2 นอกเหนือจากการ
รายงานของกรรมการและผูบ้ ริหารตามเกณฑ์ที่ ก.ล.ต. กำ�หนด เพือ่ เป็นการปลูกฝังจิตสำ�นึกการปฏิบตั งิ านด้วยความโปร่งใส ป้องกันการทุจริต และนำ�เสนอรายงานผลต่อคณะกรรมการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีเพื่อทราบ
3. การคำ�นึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม โดยได้กำ�หนดนโยบายและแนวทางการปฏิบัติต่อผู้มีส่วน ได้เสียกลุ่มต่างๆ อย่างชัดเจนในคู่มือการกำ�กับกิจการที่ดี ของบริษัทฯ และเป็นส่วนหนึ่งของแผนกลยุทธ์ในการดำ�เนิน ธุรกิจองค์กร ทั้งนี้บริษัทฯ มีการกำ�หนด KPI เพื่อให้มีการ ประเมินผลและวัดผลได้อย่างชัดเจน โดยผู้มีส่วนได้เสียจะ ได้รบั ความคุม้ ครองอย่างเป็นธรรม ไม่วา่ จะเป็นผูม้ สี ว่ นได้เสีย ภายใน อันได้แก่ พนักงาน ผู้บริหาร ของบริษัทฯ และบริษัท ในเครือหรือผู้มีส่วนได้เสียภายนอก
แนวทางการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย มีดังนี้ ผู้ถือหุ้น/นักลงทุน บริษัทฯ มุ่งมั่นให้มีการดำ�เนินธุรกิจซึ่งมีผลการดำ�เนินงาน ที่ดี มีการเจริญเติบโตอย่างมั่นคง มีความสามารถในการ แข่งขัน โดยคำ�นึงถึงสภาวะความเสีย่ งทีม่ นี ยั สำ�คัญต่อธุรกิจใน ปัจจุบนั และอนาคต เพือ่ ให้เกิดการเพิม่ มูลค่าให้แก่ผถู้ อื หุน้ ใน ระยะยาว บริษัทฯ มีหน้าที่ในการดำ�เนินงาน เปิดเผยข้อมูล ให้เกิดความโปร่งใสเป็นธรรม รวมทัง้ เสริมสร้างความสัมพันธ์ อันดี และมุ่งเน้นการสื่อสารกับผู้ถือหุ้น/นักลงทุน ผ่าน ช่องทางและกิจกรรมต่างๆ ที่หลากหลาย อาทิ • การสื่อสารผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ สื่อ On-Line กิจกรรมกับผู้มีส่วนได้เสียและช่องทางประชาสัมพันธ์อื่นๆ เช่น การส่งจดหมายข่าวถึงผู้ถือหุ้น (Newsletter) เพื่อแจ้ง ผลการดำ�เนินงานและกิจกรรมทีส่ �ำ คัญของบริษทั ฯ ต่อผูถ้ อื หุน้ อย่างสม่ำ�เสมอทุกไตรมาส • จัดกิจกรรมพบนักลงทุนและนักวิเคราะห์ทั้งในประเทศ และต่างประเทศเป็นประจำ� (รายละเอียดในหมวดการ เปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส หน้า 55) • จัดกิจกรรมโครงการผูถ้ อื หุน้ เยีย่ มชมกิจการของบริษทั ฯ ที่จังหวัดระยอง ในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2559 • จัดกิจกรรมร่วมกับผู้ถือหุ้นในการสร้างจิตสำ�นึกและ การเสริมสร้างความปลอดภัยบนท้องถนน โดยสนับสนุน กรวยยางจราจรซึง่ ผลิตจากเม็ดพลาสติกของ IRPC แบรนด์ Polimaxx ผสมยางพาราจากธรรมชาติในสัดส่วนร้อยละ 65 : 35 ให้แก่กองบังคับการตำ�รวจภูธร จังหวัดระยอง เพื่อใช้ในงานจราจรทั่วพื้นที่ระยองตามความเหมาะสม จำ�นวน 500 อัน
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
49
• จัดกิจกรรมให้ความรูน้ กั ลงทุนโดยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บรรยายเจาะหุ้นกลุ่มปิโตรเคมีและสถานการณ์น้ำ�มัน เมื่อ วันที่ 8-10 มกราคม 2559 ณ จังหวัดภูเก็ต • การสื่ อ สารให้ ข่ า วกั บ สื่ อ มวลชนเพื่ อ เปิ ด เผยข้ อ มู ล ต่อสาธารณชนผ่านสื่อในรูปแบบต่าง ๆ ตลอดปี • บริษัทฯ จัดทำ�รายงานแบบบูรณาการ (Integrated Report) ตามแนวทาง < IR > ซึ่งเป็นแนวคิดการนำ�เสนอเน้น เรื่องการปฏิบัติและความรับผิดชอบต่อ Stakeholders เป็น รายงานที่อ่านง่าย เหมาะกับการสื่อสารถึงกลุ่มเป้ายหมาย ในวงกว้าง และนำ�เสนอบน Website ของบริษัทฯ ลูกค้า/ผู้บริโภค บริษทั ฯ ถือว่าความพึงพอใจสูงสุดและความเชือ่ มัน่ ของลูกค้า ที่มีต่อบริษัทฯ เป็นสิ่งสำ�คัญอย่างยิ่ง บริษัทฯ จึงมุ่งมั่นที่จะ นำ�เสนอผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ความปลอดภัย โดยคิดค้น นวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นเลิศและเป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล บริษัทฯ มีการเปิด เผยข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ไม่ มี ก ารปกปิ ด บิ ด เบื อ นข้ อ เท็ จ จริ ง และจั ด ให้ มี ร ะบบ การควบคุมดูแลการปฏิบัติตามข้อตกลงที่ให้ไว้กับลูกค้า อย่างเคร่งครัด ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เอาใจใส่ลูกค้า อย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการติดต่อและจัดการ ฐานข้อมูลต่าง ๆ ตลอดทางตั้งแต่เริ่มต้นการซื้อขาย ชำ�ระค่าสินค้า การติดตามสถานะการซื้อจนส่งมอบสินค้า และมีหน่วยงานให้ค�ำ ปรึกษา แนะนำ� แก้ไขปัญหาทางเทคนิค และมีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ทด่ี กี บั ลูกค้าอาทิ
• บริษัทฯ ออกบูธจำ�หน่ายสินค้าด้านพลังงาน อุปกรณ์ พลาสติกจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีในงานตลาดคลองผดุง กรุงเกษม “เพลินพลังงาน งานวิจัยขายได้” ซึ่งกระทรวง พลังงานร่วมกับสำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เป็น
50
เจ้าภาพจัดขึน้ ตัง้ แต่วนั ที่ 5 - 27 มีนาคม 2559 เพือ่ ยกระดับ องค์ความรู้ นวัตกรรม เทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์ด้านพลังงาน และงานวิจัย ให้ประชาชน เลือกซื้อได้ทั้งอาหารสมองและ ของกินของใช้สินค้าชุมชนราคาถูกกว่าท้องตลาด • บริษัทฯ พร้อมตัวแทนจำ�หน่ายปิโตรเคมีในประเทศ เข้า ร่วมแสดงสินค้านวัตกรรมด้านพลาสติกและยางทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ใน โลก (K Fair 2016) ณ ประเทศเยอรมนี ระหว่างวันที่ 21 -28 ตุลาคม 2559 เพือ่ นำ�เสนอนวัตกรรมและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ของบริษัทฯ เข้าสู่วงการอุตสาหกรรมธุรกิจปิโตรเคมี • บริษัทฯ จัดสัมมนาการต่อต้านคอร์รัปชันภายใต้ชื่องาน “IRPC Anti-Corruption Network” วันที่ 27 กรกฎาคม 2559 ให้แก่พนักงาน ลูกค้า และคู่ค้าของบริษัทฯ โดยได้รับเกียรติ จาก คุณกุลเวช เจนวัฒนวิทย์ (ที่ปรึกษาโครงการแนวร่วม ปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต) วิทยากร ผูท้ รงคุณวุฒจิ ากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย มาบรรยายเกี่ยวกับคำ�นิยามของคำ�ว่า “คอร์รัปชัน” ปัญหา คอร์รัปชันส่งผลต่อประเทศอย่างไร CAC คืออะไร และ ขัน้ ตอนในการประกาศเจตนารมณ์และการขอเข้ารับรองสมาชิก CAC และยังมีกิจกรรมระหว่างพนักงาน ลูกค้า และคู่ค้าใน การกล่าวคำ�ปฏิญาณตนต่อต้านคอร์รปั ชันร่วมกัน นอกจากนี้ หลังการสัมมนาการต่อต้านคอร์รัปชัน บริษัทฯ ยังให้ คำ�แนะนำ� สนับสนุน และติดตามความคืบหน้าของลูกค้าและ คูค่ า้ ทีส่ นใจยืน่ ใบสมัครประกาศเจตนารมณ์และขอเข้ารับรอง สมาชิก • บริษัทฯ อำ�นวยความสะดวกในการประสานงานกับ ทางสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ซึ่งปัจจุบัน มีบริษัทที่เขียนใบสมัครเพื่อประกาศเจตนารมณ์และขอเข้า รับรองสมาชิก CAC จำ�นวน 25 บริษัท บริษัทฯ มีแผนงาน ในการให้คำ�แนะนำ� ปรึกษา ช่วยเหลือลูกค้า/คู่ค้า ดังกล่าว ในการประเมินตนเองเพือ่ ให้ได้รบั การรับรองสมาชิก CAC ต่อไป คู่ค้า บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ อ่ คูค่ า้ ทุกรายด้วยความเสมอภาคและยุตธิ รรม ตามกรอบการแข่งขันทางการค้าทีส่ จุ ริต โปร่งใส โดยคำ�นึงถึง ผลประโยชน์รว่ มกัน พัฒนาและรักษาสัมพันธภาพทีย่ งั่ ยืนกับ คูค่ า้ และสร้างความเชือ่ ถือซึง่ กันและกัน บริษทั ฯ ยึดถือปฏิบตั ิ ตามระเบียบการจัดซือ้ จัดจ้าง ซึง่ มีการกำ�หนดขัน้ ตอนและวิธี ปฏิบตั ไิ ว้อย่างชัดเจน และกำ�หนดนโยบายความเป็นเลิศด้าน การจัดซื้อ (Procurement Excellence) ภายใต้โครงการ EVEREST ซึ่งที่ปรึกษาได้นำ�การปฏิบัติที่มีประสิทธิผล มากที่สุดของโลกมาพัฒนาใช้ในองค์กร การปฏิบัติต่อคู่ค้า ตามกฎหมายและเงื่อนไขสัญญาด้วยการจัดซื้อจัดหาตาม มาตรฐานที่ยอมรับกันในอุตสาหกรรมชั้นนำ� การต่อต้าน คอร์รัปชัน การป้องกันการฟอกเงิน โดยมีการขึ้นทะเบียน คู่ค้า Approved Vender, Manufacture, Contractor List และการจัดซื้อจัดหาที่มีประสิทธิภาพ ตรวจสอบได้ และ
ระบบ Procurement Web Portal ซึ่งเป็นช่องทางในการ ติดต่อสื่อสารข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อ จัดหา เช่น ประกาศประกวดราคา e-Sourcing (RFP, RFQ), Evaluation (AVL, ACL) ซึ่งจะทำ�ให้คู่ค้าได้รับความสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้มากขึ้นในทุกขั้นตอน และมีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ทดี่ กี บั คูค่ า้ อาทิ • บริษทั ฯ ได้เชิญคูค่ า้ มาร่วมกิจกรรม PTT Group CG Day 2016 ที่จัดขึ้นโดย 6 บริษัทจดทะเบียนในกลุ่ม ปตท. เมื่อ วันที่ 18 สิงหาคม 2559 เพื่อขยายผลและเสริมสร้างการ กำ�กับดูแลกิจการทีด่ ใี ห้เกิดความสมบูรณ์ตลอดห่วงโซ่อปุ ทาน และร่วมกันต่อต้านคอร์รัปชันไปสู่กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย • บริษัทฯ จัดสัมมนาการต่อต้านคอร์รัปชันภายใต้ชื่องาน “IRPC Anti-Corruption Network” วันที่ 27 กรกฎาคม 2559 ให้แก่พนักงาน ลูกค้า และคู่ค้าของบริษัทฯ • บริ ษั ท ฯ มี น โยบายงดรั บ ของขวั ญ ในช่ ว งเทศกาล ปีใหม่หรือโอกาสอืน่ ใดจากกลุม่ คูค่ า้ รวมทัง้ งดการให้ของขวัญ กับกลุ่มดังกล่าวเช่นกัน เพื่อสอดคล้องและเป็นไปตาม หลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละนโยบายการต่ อ ต้ า น คอร์รัปชันของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ มีจดหมายแจ้งให้คู่ค้า ทุกรายทราบถึงนโยบายของบริษัทฯ คู่แข่ง บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจตามหลักจรรยาบรรณและจริยธรรม ว่าด้วยความสัมพันธ์กบั คูแ่ ข่ง โดยมีระบบการควบคุมดูแลมิ ให้ มีการดำ�เนินการใดๆ เพื่อให้ได้มาหรือใช้ข้อมูลความลับ ทางการค้าของคู่แข่ง โดยวิธีการที่ผิดกฎหมาย และไม่ ทำ�ลายชือ่ เสียงของคูแ่ ข่งหรือกล่าวหาในทางร้ายโดยปราศจาก มูลความจริง
เจ้าหนี้ บริษัทฯ กำ�หนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับเจ้าหนี้ โดยเฉพาะเรือ่ งเงือ่ นไขค้�ำ ประกัน การบริหารเงินทุน และกรณี ที่เกิดการผิดนัดชำ�ระหนี้ไว้อย่างชัดเจน โดยไม่ให้มีการ ผิ ด นั ด ชำ � ระหนี้ ร วมถึ ง การปฏิ บั ติ ต ามเงื่ อ นไขที่ เ จ้ า หนี้ กำ�หนดอย่างเคร่งครัด พนักงาน บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญต่อพนักงานทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่คำ�นึงถึงเพศ สัญชาติ เชื้อชาติ ศาสนา หรือความเชื่อ พนักงานเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อนองค์กรให้ประสบ ความสำ�เร็จในการดำ�เนินธุรกิจ บริษทั ฯ จึงส่งเสริมการพัฒนา ทักษะและความสามารถในการทำ�งานของพนักงานอย่าง ต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายของความเป็นเลิศด้านทรัพยากร บุคคล (HR Excellence) ภายใต้โครงการ EVEREST เพื่อให้ศักยภาพของพนักงานมีมาตรฐานเทียบเคียงกับ บริษัทชั้นนำ�อื่นๆ ในอุตสาหกรรมเดียวกัน บริษัทฯ กำ�หนด ค่าตอบแทนและสวัสดิการทีเ่ หมาะสมและเป็นธรรม เพือ่ รักษา
การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2559 บริษัทฯ เปิดโอกาส ให้ผู้ผลิตที่เป็นลูกค้าโดยตรงของ IRPC แนะนำ�สินค้าที่ผลิตจาก ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกรักโลก รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
51
พนักงานทีม่ คี ณ ุ ภาพไว้กบั องค์กรในระยะยาว สร้างวัฒนธรรม และบรรยากาศในการทำ�งานที่ดี ให้ความสำ�คัญกับสิทธิ ความปลอดภัยและสุขอนามัยในสถานทีท่ �ำ งานและอุปกรณ์ใน การทำ�งาน และเคารพสิทธิสว่ นบุคคลของพนักงาน โดยบริษทั ฯ มีวิธีการพัฒนาที่หลากหลาย อาทิ • บริษทั ฯ ปลูกฝังค่านิยมองค์กร i SPIRIT ซึง่ เริม่ ดำ�เนินการ เมื่อปี 2558 เป็นค่านิยมใหม่ขององค์กร เพื่อให้พนักงานใช้ เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน เพื่อขับเคลื่อนส่วนงานต่างๆ ให้ไปสู่เป้าหมายที่กำ�หนด • บริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างการพัฒนา DNA ใหม่ให้พนักงานภายใต้ โครงการ EVEREST โดยมุง่ หวังว่าองค์กรจะข้ามอุปสรรคและ ขับเคลื่อนไปได้อย่างมั่นคง ยั่งยืนภายใต้ DNA ใหม่ ได้แก่ (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8)
ทำ�งานร่วมกับหน่วยงานอื่นเพื่อผลลัพธ์ที่ดีกว่า ทำ�งานเสมือนเป็นเจ้าของ เน้นผลลัพธ์ หาทางแก้ไข ท้าทายการทำ�งานเดิมทุกวัน ช่วยเหลือ สนับสนุน รางวัลขึ้นกับผลงาน รักษาสัญญา
• บริษัทฯ สำ�รวจความผูกพันของพนักงานที่มีต่อองค์กร อย่างสม่ำ�เสมอปีละ 1 ครั้ง โดยผลสำ�รวจดังกล่าวจะ ถูกนำ�มากำ�หนดแผนงานร่วมกันทั้งองค์กร ในการที่จะเพิ่ม ระดับความผูกพันของพนักงานต่อองค์กรให้มากยิ่งขึ้นผ่าน
52
กิจกรรม แผนงานที่ดำ�เนินการอย่างต่อเนื่อง และบรรจุเป็น ส่วนหนึ่งของตัวชี้วัดผลงานของผู้บริหาร • การจัดทำ�ระบบผลการปฏิบตั งิ าน (PMS) บริษทั ฯ จัดทำ� ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานโดยใช้ ตัวชี้วัด KPI เพื่อความเป็นธรรมและสามารถอธิบายได้ใน การวัดผล กำ�หนดโครงสร้างเงินเดือนเทียบได้กบั อุตสาหกรรม เดียวกันให้สามารถรักษาบุคลากรไว้กบั บริษทั ฯ มีการกำ�หนด หลักเกณฑ์การพิจารณาเลื่อนตำ�แหน่งพนักงานตามผลงาน อย่างเป็นธรรม อธิบายได้ และได้ด�ำ เนินการออกแบบกำ�หนด ความรู้ความสามารถที่จำ�เป็นในตำ�แหน่งงาน เพื่อใช้เป็น กรอบในการจัดหลักสูตรอบรมพัฒนาพนักงานให้มคี ณ ุ สมบัติ ตรงตามตำ�แหน่งงานนั้น • การพัฒนาความรู้ความสามารถ - กำ�หนดนโยบายและแนวปฏิบัติในการบริหารทรัพยากร บุคคลผ่าน “คู่มือนโยบายและแนวปฏิบัติในการบริหาร ทรัพยากรบุคคล” อย่างเป็นระบบและเป็นลายลักษณ์ อักษรเพื่อสื่อสารถ่ายทอดให้พนักงานได้รับทราบและ เข้าใจถึงนโยบาย หลักเกณฑ์ และระเบียบปฏิบัติ รวมถึงสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ของพนักงาน - กำ�หนดนโยบายการอบรมและพัฒนาให้แก่พนักงานผ่าน “คูม่ อื การอบรมพัฒนา” เพือ่ เป็นเครือ่ งมือและแนวทางใน การบริหารจัดการพัฒนา โดยบริษทั ฯ กำ�หนดหลักเกณฑ์ และมาตรฐานหลักสูตรการฝึกอบรมภาคบังคับ (Training Needs) สำ�หรับผูบ้ ริหารและพนักงาน 4 หมวดหลักใหญ่ ๆ
- กรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหาร และพนักงาน ร่วม กิจกรรมวันเกษียณอายุจัดขึ้นเป็นประจำ�ทุกปีเพื่อเป็น เกียรติและให้กำ�ลังใจพนักงานที่ปฏิบัติอย่างทุ่มเทและ เสียสละให้กบั บริษทั ฯ และปลูกฝังวัฒนธรรมการทำ�งาน เพื่อให้ยึดเป็นแบบอย่างที่ดี • ค่าตอบแทนและสวัสดิการของพนักงาน - กำ�หนดนโยบายค่าตอบแทนพนักงานทีเ่ ป็นธรรมสอดคล้อง กับผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ทั้งในระยะสั้นและ ในระยะยาว โดยมีการตกลงกันในการกำ�หนดตัวชีว้ ดั ระดับ องค์กรและในแต่ละหน่วยงานและรายบุคคลตัง้ แต่ตน้ ปี และประเมินผลการปฏิบตั งิ านตาม KPI & Competency ของพนักงาน และกำ�หนดการจ่ายโบนัสผูบ้ ริหารระดับสูง ตามผลงานที่ทำ�ได้ (Variation Bonus) ได้แก่ Management, Safety & Environment, Quality & Productivity และ Technical รวมถึงการอบรม จริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ และการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชันตามนโยบายของบริษัทฯ นอกจากนี้ มีการ จัดทำ�แผนพัฒนารายบุคคล (IDP) ระหว่างพนักงาน ร่วมกับผู้บังคับบัญชาเพื่อสร้างแรงจูงใจในการพัฒนา ตนเอง การวางแผน/การกำ � หนดการเติ บ โตตาม สายอาชีพที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยบริษัทฯ ได้ก�ำ หนดเป้าหมายจำ�นวนชัว่ โมงการฝึกอบรมเฉลีย่ ของ พนักงานต่อปีในแต่ละระดับตำ�แหน่งงาน ซึ่งได้มีการ เปิดเผยสถิติดังกล่าวไว้ในรายงานความยั่งยืน • การสื่อสารและกิจกรรมพนักงาน - กิ จ กรรม “กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ พ บพนั ก งาน” เป็นประจำ�รายไตรมาสและเมื่อมีเหตุการณ์สำ�คัญ ที่ต้องการสื่อสารโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสื่อสารผล การดำ�เนินงาน นโยบาย ทิศทางของบริษัทฯ ให้ พนักงานทราบ เปิดโอกาสให้ซักถามแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น โดยจัดในลักษณะการบรรยายในห้องประชุมมี VDO Conference ไปทุกพื้นที่เพื่อการสื่อสารสองทาง พร้อมทั้งถ่ายทอดสดทางอินทราเน็ต - กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ให้ความสำ�คัญดูแลสิทธิประโยชน์ พนักงาน พร้อมทั้งเป็นประธานคณะกรรมการลูกจ้าง เพื่อประสิทธิภาพ ความรวดเร็ว เป็นที่ยอมรับกันทั้ง ฝ่ายนายจ้างและลูกจ้าง เป็นการแก้ไขปัญหาได้อย่าง รวดเร็ว และสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของสหภาพแรงงาน พนักงานของบริษัทฯ ทั้ง 8 สหภาพ ที่มีอยู่
- ปรับปรุงโครงสร้างสวัสดิการต่าง ๆ เช่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าเช่าบ้าน และค่าต่างจังหวัด เพือ่ รักษาพนักงานคุณภาพ ไว้กับองค์กร เสริมสร้างและยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดี ของพนักงานบริษัทฯ - จัดให้มีกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพพนักงาน เป็นการแสดง ถึงการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมของบริษัทฯ ในการดูแล พนักงานในระยะยาว โดยบริษัทฯ จ่ายสมทบในอัตรา ที่สูงกว่ากฎหมาย และเป็นอัตราก้าวหน้าตามอายุงาน เปิดโอกาสให้เลือกแผนการลงทุนโดยให้ขอ้ มูลจนเข้าใจ ก่อนเลือก เพื่อประโยชน์สูงสุดและยืดหยุ่นได้ตาม เหมาะสมกับเป้าหมายการออมของพนักงานแต่ละราย และอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจแก่พนักงาน ในการ วางแผนการออมและการลงทุนที่มีประสิทธิภาพและ เหมาะสมกับเป้าหมายของพนักงาน - จัดโครงการมอบของทีร่ ะลึกตามอายุงานให้กบั พนักงาน ที่ทำ�งานครบ 10 ปี 20 ปี และ 30 ปี - รณรงค์ ส่งเสริม และสร้างจิตสำ�นึกในหมู่พนักงาน ให้เคารพลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา โดยรณรงค์ ให้พนักงานปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 และได้จัดทำ�นโยบายว่าด้วยกำ�หนดหลักเกณฑ์การใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายของบริษัทฯ และ แนวปฏิบตั ทิ ดี่ เี พีอ่ มิให้พนักงานใช้โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ ผิดกฎหมาย รวมทัง้ มีการทบทวนมาตรการแจ้งให้ปฏิบตั ิ และตรวจสอบเป็นระยะๆ เพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิ ของผู้อื่น - หน่วยงานภายในที่เกี่ยวข้อง เคารพเงื่อนไขการตรวจ ติดตามการปฏิบัติตามสิทธิบัตรที่บริษัทฯ มีอยู่ รวม ทั้งดูแลรักษาสิทธิทรัพย์สินทางปัญญาที่มีอยู่ให้บริษัทฯ ได้รับประโยชน์สูงสุด
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
53
ชุมชนและสังคม บริษัทฯ ทำ�หน้าที่ในฐานะพลเมืองที่ดี ตระหนักในการเป็น ส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคม ซึ่งมีหน้าที่ความรับผิดชอบใน การช่วยเหลือชุมชนและสังคม สนับสนุนกิจกรรมสาธารณ ประโยชน์ ตลอดจนพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่าง ยั่งยืน สรุปกิจกรรมการพัฒนาด้านชุมชนและสังคมที่สำ�คัญ ทั้งด้านสาธารณสุข การศึกษา ศาสนาวัฒนธรรม พัฒนา คุณภาพชีวิต อาทิ
• บริษัทฯ ได้ร่วมมือกับชุมชนโดยรอบทั้ง 76 ชุมชน ภายในรัศมี 5 กิโลเมตร จัดตั้ง “โครงการกองทุนส่งเสริมสุข ภาพชุมชน” รอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมฯ เพื่อใช้เป็น เครื่องมือในการดูแลด้านสุขภาพของคนในชุมชนได้อย่าง มีประสิทธิภาพและเป็นหลักประกันให้ประชาชน จัดทำ� โครงการด้านสุขภาพตัง้ แต่การส่งเสริม การป้องกัน การรักษา และฟื้นฟูสุขภาพของประชาชนทั้ง 76 ชุมชน • บริษทั ฯ สนับสนุนโครงการด้านสุขอนามัยต่างๆ ในพืน้ ที่ รอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซีอย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการตรวจสุขภาพและเฝ้าระวังโรคของประชาชน (GIS) โครงการคลินกิ แพทย์เคลือ่ นที่ โครงการคลินกิ ปันน้�ำ ใจ ไออาร์พีซี โครงการน้ำ�ดื่มเพื่อชุมชน โครงการกีฬาเยาวชน โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ผู้มีส่วนได้เสีย เป็นต้น • บริษทั ฯ ขอรับรองมาตรฐานโครงการส่งเสริมอุตสาหกรรม ให้มีความรับผิดชอบต่อสังคมและอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืน
54
ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม “CSR-DIW Continuous 2016” จำ�นวน 16 ทะเบียนโรงงาน โดยบริษัทฯ ผ่าน การรับรองทั้ง 16 ทะเบียนโรงงาน • บริษัทฯ จัดทำ� “วารสารชุมชนสานสัมพันธ์” เป็นสื่อ ในการประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร เพื่อสร้างการรับรู้ สร้าง ความมั่นใจให้แก่ชุมชนและสังคมว่าองค์กรได้ดำ�เนินธุรกิจ ควบคู่กับการดูแลรับผิดชอบชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม • บริษัทฯ ร่วมกับมูลนิธิขาเทียม ในสมเด็จพระศรีนคริน ทราบรมราชชนนี และจังหวัดระยอง ออกหน่วยเพือ่ ทำ�ขาเทียม พระราชทาน ถวายเป็นพระราชกุศลในวโรกาสการจัดงาน ฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี และงานเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาส พระราชพิธมี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม 2559 ให้กับผู้พิการในจังหวัดระยองและพื้นที่ใกล้เคียง ในระหว่างวันที่ 9-15 กรกฎาคม 2559 ณ สมาคมสโมสร ไออาร์พีซี สปอร์ต คอมเพล็กซ์ จังหวัดระยอง ซึ่งในครั้งนี้ มีผพู้ กิ ารลงทะเบียนเพือ่ เข้ารับการทำ�ขาเทียมจำ�นวน 220 คน และจัดทำ�ขาเทียมให้แก่ผู้พิการได้จำ�นวนทั้งสิ้น 191 ขา • บริษัทฯ จัดงาน “ไออาร์พีซี สืบสานตำ�นานมอญ พระประแดง” ในวันที่ 25 เมษายน 2559 ณ วัดทรงธรรม วรวิหาร อำ�เภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดย มุ่งอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงาม และสร้างความ สัมพันธ์กับชุมชนรอบบริเวณคลังน้ำ�มันพระประแดง
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ บริษทั ฯ ทำ�หน้าทีใ่ นฐานะพลเมืองทีด่ ี มีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ต่อสิง่ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงความปลอดภัย โดยบริษัทฯ ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เป็นต้นแบบด้าน การประกอบการอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จากสถาบันสิง่ แวดล้อม อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สรุปกิจกรรม และการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงความปลอดภัยที่สำ�คัญ อาทิ
• บริษัทฯ ได้รับการรับรองเป็นโรงงานอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ (Eco Factory) จำ�นวนรวม 11 โรงงาน • บริษทั ฯ สนับสนุน “โครงการทางเชือ่ มใต้รม่ ไม้เมืองโบราณ ศรีมโหสถ” ร่วมกับสำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในการปลูกต้นไม้ (เฟื่องฟ้า) ริมสองฝัง่ ถนนทีน่ �ำ ไปสูเ่ มืองโบราณศรีมโหสถ ตำ�บลโคกปีบ อำ�เภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว สร้างความร่มรื่นรองรับเส้นทางขี่จักรยาน เพื่อส่งเสริม คุณภาพชีวิตชุมชนและส่งเสริมการท่องเที่ยวในรูปแบบ ที่เป็นมิตรต่อชุมชน • บริษทั ฯ สนับสนุนโครงการ “ลำ�ไทรโยงโมเดล” โดยดำ�เนิน การโครงการเดินท่อ (PE) ระยะทาง 1.2 กิโลเมตร เพือ่ สูบน้�ำ จากลำ�รางสาธารณะของหมู่บ้านหนองยาง ตำ�บลไทรโยง อำ�เภอนางรอง จังหวัดบุรรี มั ย์ มายังอ่างน้�ำ สำ�รองทีก่ รมป่าไม้ ขุดไว้บริเวณป่าชุมชนดอนโจร โดยใช้เครื่องสูบน้ำ�ระบบ พลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อให้ชุมชนมีน้ำ�สำ�รองไว้ใช้ในฤดูแล้ง • บริษทั ฯ กำ�หนดมาตรการเฝ้าระวังด้านสิง่ แวดล้อมตลอด 24 ชั่วโมง โดยการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ระดับเสียง คุณภาพน้ำ�ในแหล่งน้ำ�ธรรมชาติ และหลีกเลี่ยงกระบวนการ ผลิตที่ทำ�ให้เกิดเสียงในช่วงเวลากลางคืน จัดให้มีหน่วย แพทย์เคลื่อนที่พิเศษ เพิ่มเติมมาตรการรับเรื่องร้องเรียน กรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน 24 ชั่วโมง
4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทฯ มีนโยบายเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศทางการเงินและ ไม่ใช่ทางการเงินอย่างครบถ้วน เพียงพอ เชื่อถือได้อย่าง สม่ำ�เสมอและทันเวลา โดยเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ ผ่าน แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) รายงาน ประจำ�ปี (Annual Report) เว็บไซต์ของบริษทั ฯ ทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ และสื่อมวลชนต่างๆ บริษัทฯ จัดให้มี หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์เพื่อเป็นตัวแทนประสานงาน ระหว่างบริษัทฯ กับผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และ ผูเ้ กีย่ วข้อง ในปี 2559 บริษทั ฯ ดำ�เนินการเปิดเผยข้อมูล ดังนี้
• บริษทั ฯ จัดทำ�รายงานเกีย่ วกับข้อมูลของบริษทั ตามเกณฑ์ ของสำ�นักงานกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) อาทิ - การจัดทำ�รายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการและ ผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. - รายงานข่าวข้อมูลที่สำ�คัญและงบการเงินผ่านช่องทาง ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - จัดทำ�รายงานประจำ�ปี 2558 ที่แสดงงบการเงินและ ข้อมูลสาระสำ�คัญของการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ซึ่ง งบการเงิ น ของบริ ษั ท ฯ ได้ รั บ การรั บ รองโดยไม่ มี เงื่อนไขจากผู้สอบบัญชีและไม่เคยมีประวัติการถูกสั่ง ให้แก้ไขงบการเงินจาก ก.ล.ต. และ ตลท. - การเปิดเผยข้อมูลธุรกรรมหรือข้อตกลงระหว่างผูถ้ อื หุน้ ที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อผู้ถือหุ้นรายอื่นหรือ ต่อบริษัทฯ • บริษัทฯ จัดทำ�รายงานตามเกณฑ์มาตรฐานสากล - จัดทำ�รายงานความยั่งยืนประจำ�ปี 2558 (Corporate Sustainability Report 2015) เพื่อสื่อสารแนวทาง การบริหารจัดการและผลการดำ�เนินงานด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม โดยใช้ Sustainability Reporting Guidelines ของ Global Reporting Initiative รุ่นที่ 4 (GRI G.4) เพื่อให้การเปิดเผยข้อมูลเป็นไป ตามมาตรฐานสากลและประเมินความสมบูรณ์ของ เนือ้ หา สอดคล้อง Accordance ทีร่ ะดับ Core ซึง่ ได้จดั ให้ มีการสอบทานข้อมูลในรายงานโดยบุคคล/สถาบันภายนอก เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ โดยได้จัดส่งให้ผู้ถือหุ้นพร้อม รายงานประจำ�ปี และได้เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ - จัดทำ�รายงาน Communication on Progress (CoP) ต่อ UN Global Compact ในฐานะที่เป็นบริษัทภาคี สมาชิก และมีพนั ธะสัญญาในการดำ�เนินงานและรายงาน ผลการดำ�เนินงานตามแนวทางของ UN Global Compact ซึ่งบริษัทฯ ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ปี 2554 โดยในปี 2559 ได้ยกระดับการรายงานเป็นระดับ GC Advanced Level เป็นปีที่ 3 ซึ่งนับเป็นระดับสูงสุด ของการรายงาน โดยส่งรายงานในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ไปยังเว็บไซต์ของ UN Global Compact (www. unglobalcompact.org) และเผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ ของบริษัทฯ
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
55
คำ�ชี้แจงพร้อมกัน ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง ถือเป็น Green Meeting ซึ่งนักวิเคราะห์ได้ข้อมูลครบถ้วน โปร่งใส โดยในปี 2559 มีการจัดการประชุมทางโทรศัพท์ Conference Call จำ�นวน 7 ครั้ง • การเปิ ด เผยข้ อ มู ล โดยตรงกั บ ผู้ ถื อ หุ้ น นั ก ลงทุ น นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และนักข่าว สือ่ มวลชน โดยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่และผู้บริหารในกิจกรรมพบปะผู้มีส่วนได้เสีย กลุ่มต่าง ๆ ตลอดปี อาทิ
- จัดทำ�รายงาน Integrated Report ประจำ�ปี 2558 ตามแนวทาง < IR > และเผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ • บริษทั ฯ เปิดเผยสารสนเทศทีส่ �ำ คัญผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ www.irpc.co.th เพื่อนำ�เสนอข้อมูลที่ทันเหตุการณ์เกี่ยวกับ บริษัทฯ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ได้แก่ วิสัยทัศน์ ลักษณะการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ งบการเงิน เอกสารข่าว (Press Release) โครงสร้างการถือหุ้น โครงสร้างองค์กร โครงสร้างกลุ่มธุรกิจ ข้อมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการและ ผู้บริหาร ข้อมูลด้านนักลงทุนสัมพันธ์ หนังสือรับรองบริษัท ข้อบังคับบริษัท หนังสือบริคณห์สนธิ รายงานประจำ�ปี (เปิดเผยภายใน 120 วัน นับตัง้ แต่สนิ้ สุดรอบปีบญ ั ชี) รายงาน แบบบูรณาการ (Integrated Report) หนังสือนัดประชุม ผู้ถือหุ้น (สามารถดาวน์โหลดได้) เอกสารเกี่ยวกับการ ประชุมผู้ถือหุ้น งบการเงิน แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) เอกสารนำ�เสนอในการประชุม นักวิเคราะห์ หลักทรัพย์ (Analyst Meeting) นโยบายด้านการกำ�กับ ดูแลกิจการทีด่ ี กิจกรรมและสารสนเทศอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วกับธุรกิจ ความรับผิดชอบขององค์กร การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย และ การดำ�เนินงานเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน • บริษัทฯ สื่อสารผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ กิจกรรม กับผู้มีส่วนได้เสียและช่องทางประชาสัมพันธ์อื่น ๆ เช่น การ ส่งจดหมายข่าวถึงผู้ถือหุ้น (Newsletter) เพื่อแจ้งผลการ ดำ�เนินงานและกิจกรรมทีส่ �ำ คัญของบริษทั ฯ ต่อผูถ้ อื หุน้ อย่าง สม่ำ�เสมอทุกไตรมาส • บริษัทฯ สื่อสารผ่าน Line Group กับนักวิเคราะห์ หลักทรัพย์ในกรณีมเี หตุการณ์ส�ำ คัญ เป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการสื่อสารอีกหนึ่งช่องทาง • บริษทั ฯ จัดการประชุมทางโทรศัพท์ (Conference Call) กับนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ หลังการเปิดเผยงบการเงินประจำ� ปี 2559 ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยเปิดโอกาส ให้นักวิเคราะห์ 50 รายโทรศัพท์เข้ามาสอบถามและรับฟัง
56
- การนำ�เสนอข้อมูลต่อนักลงทุนภายในประเทศ 7 ครั้ง และต่างประเทศ 4 ครั้ง - การประชุมนักวิเคราะห์ (Analyst Meeting) จำ�นวน 4 ครัง้ - การนำ�เสนอข้อมูลในงานบริษัทจดทะเบียนพบผู้ลงทุน (Opportunity Day) จำ�นวน 5 ครั้ง - การเข้าพบเพื่อประชุมที่บริษัทฯ (Company Visit) จำ�นวน 34 ครั้ง - การพบสื่อมวลชน/การแถลงข่าว/Press Release จำ�นวน 17 ครั้ง - การสือ่ สารผ่านวารสาร “IRPC Newsletter” จำ�นวน 4 ครัง้ • บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญกับการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร แก่สื่อมวลชน เพื่อสื่อสารต่อไปยังสาธารณชนได้อย่างทั่วถึง ถูกต้อง เช่น การจัดแถลงข่าว การให้สมั ภาษณ์ การจัดส่งข่าว และภาพข่าวกิจกรรมของบริษทั ฯ ให้แก่สอื่ มวลชน นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและ สร้างการมีส่วนร่วม โดยการจัดงานสัมมนา หรือร่วมในงาน ปาฐกถาทางวิชาการต่าง ๆ เพือ่ เผยแพร่วสิ ยั ทัศน์และพันธกิจ นโยบายการดำ�เนินงาน ตลอดจนแนวโน้มสถานการณ์ ความ ก้าวหน้าของโครงการลงทุน จรรยาบรรณธุรกิจ และความรับ ผิดชอบต่อสังคมของบริษัทฯ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการทำ�ข่าว ของสื่อมวลชน • การงดเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผลประกอบการของ บริษทั ฯ ต่อนักลงทุนและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ รวมถึงบริษทั ฯ ไม่รับนัดหรือให้ข้อมูลแก่นักวิเคราะห์เป็นเวลา 7 วัน ก่อน ที่บริษัทฯ จะรายงานผลประกอบการต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้ นักลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลบริษัทฯ เพิ่มเติมได้ทาง เว็บไซต์ของบริษัทฯ www.irpc.co.th หรือติดต่อสอบถาม โดยตรงได้ที่หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษัทฯ โทรศัพท์ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ โทรสาร
: : :
0 2649 7380 ir@irpc.co.th 0 2649 7379
5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการ ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 15 คน เป็น ไปตามเจตนารมณ์ของผู้ถือหุ้นที่ระบุไว้ในข้อบังคับบริษัทฯ
โดยคณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน เป็นผู้พิจารณาสรรหากรรมการ ตามกรอบทีก่ �ำ หนดกันไว้ลว่ งหน้า โดยไม่มกี ารแบ่งแยกกีดกัน อันเนื่องมาจากความแตกต่างด้านเพศ เชื้อชาติ ศาสนา เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ เห็นชอบและนำ�เสนอ รายละเอียดข้อมูลประวัติกรรมการต่อผู้ถือหุ้นพิจารณา ลงมติ แ ต่ ง ตั้ ง ในการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ � ปี รวมทั้งกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการในรูปแบบและอัตราที่ เหมาะสมเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาเพื่อนำ�เสนอ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นอนุมัติเช่นกัน คณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน ได้พิจารณากำ�หนดโครงสร้าง คณะกรรมการ ให้มีคุณสมบัติที่หลากหลาย (Board Matrix) มีสดั ส่วนกรรมการทีม่ คี วามเป็นอิสระทีเ่ หมาะสม เพียงพอตาม นิยามที่ ตลท. กำ�หนด เพื่อเอื้อประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้า ทีใ่ ห้แก่บริษทั ฯ อย่างมีประสิทธิภาพในอุตสาหกรรมปิโตรเลียม และปิโตรเคมีขนาดใหญ่และมีการแข่งขันสูง
การปฏิบตั งิ านตามระยะเวลาทีเ่ หมาะสมในแต่ละลักษณะงาน โดยมีการทบทวนแผนกลยุทธ์เป็นประจำ�ปีทุกปี
ในปี 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ มีการประชุมรวม 12 ครั้ง สัดส่วนกรรมการบริษัทฯ ทั้งคณะเข้าร่วมประชุมร้อยละ 97 และกรรมการบริษทั ฯ แต่ละคนเข้าประชุมมากกว่าร้อยละ 75 (รายละเอียดการเข้าประชุมของกรรมการรายบุคคล หน้า 83) โดยกรรมการได้ร่วมกันพิจารณาแนวโน้มอุตสาหกรรม ความสามารถ สมรรถนะ ความเสี่ยงทางธุรกิจ โอกาสและ ข้อจำ�กัดขององค์กร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ดำ�เนินการ ถ่ายทอด สื่อความทิศทางและแนวนโยบายที่สำ�คัญไปสู่ ผู้ บ ริ ห าร เพื่ อ จั ด ทำ � สรุ ป แผนกลยุ ท ธ์ ใ นแต่ ล ะงานที่ ม า สนับสนุนวิสัยทัศน์องค์กร คณะกรรมการบริษัทฯ กำ�หนดให้ มีการประชุม STS เพือ่ ประเมินความเสีย่ งทางธุรกิจทัง้ ทีเ่ ป็น ผลกระทบทีเ่ ป็นตัวเงินและความสามารถในการประกอบธุรกิจ ชือ่ เสียง ภาพลักษณ์ของบริษทั ฯ เพือ่ นำ�มากำ�หนดแผนกลยุทธ์ 5 ปี แผนธุรกิจและงบประมาณ พันธกิจหลัก ประจำ�ปี 2559 พร้อมกับกำ�หนดตัวชี้วัดสำ�คัญ (KPI) เพื่อใช้ในการวัดผล ความสำ�เร็จ และกำ�หนดรูปแบบการกำ�กับหรือการรายงาน
(1) การคัดสรรและแต่งตั้งกรรมการ รายละเอียดในสาร ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน หน้า 39 (2) การพัฒนาคณะกรรมการอย่างต่อเนื่อง รายละเอียดใน การพัฒนาความรู้ หน้า 60 (3) การใช้เวลากับเรื่องกลยุทธ์ (4) การทบทวนนโยบาย (5) การจัดระบบการประชุม
คณะผูจ้ ดั การกองทุนในประเทศ พร้อมด้วยบริษทั หลักทรัพย์ ยูโอบี เคย์เฮียน (ประเทศไทย) จำ�กัด (UOBKH) เข้าเยีย่ มชมโรงงาน
คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มกี ารปรับปรุงการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ตามข้อแนะนำ�ของ IOD ตามเกณฑ์ CGR มาเป็นระยะๆ ดังนี้ • กำ�หนดจำ�นวนบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยที่กรรมการแต่ละคนจะดำ�รงตำ�แหน่งได้ไม่เกิน 5 แห่ง • กำ�หนดนโยบายจำ�กัดจำ�นวนปีในการดำ�รงตำ�แหน่งของ กรรมการและกรรมการอิสระไว้ไม่เกิน 9 ปี (3 วาระ) • การกำ�หนดให้มกี ารประเมินการปฏิบตั งิ านของกรรมการ โดยผู้ประเมินอิสระซึ่งเป็นบุคคลภายนอกทุก 3 ปี โดยมี การประเมินในปี 2558 สำ�หรับปี 2559 และ 2560 เป็นการ พัฒนา ปรับปรุงตามผลการประเมินและกำ�หนดการประเมิน ครั้งต่อไปในปี 2561 ประเด็นที่มีการปรับปรุง ได้แก่
• ทบทวนและพั ฒ นาแบบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน คณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย ให้สอดคล้องกับ แนวทางการประเมินของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในปี 2559 ได้เพิ่มการประเมินการปฏิบัติงานของเลขานุการ บริษทั และทีมงาน และการประเมินกรรมการท่านอืน่ แบบไขว้ จากเดิม 1 ท่าน เป็น 2 ท่าน ต่อกรรมการ 1 ท่าน • การเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยเสนอวาระการประชุม และเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ รับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการ
• จัดทำ�คูม่ อื การปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ (Corporate Compliance Handbook) ทีค่ รอบคลุม 8 เรือ่ ง สำ�คัญ ประกอบด้วย1) การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
57
ที่เกี่ยวข้อง 2) การแข่งขันอย่างเป็นธรรมและการต่อต้าน การผูกขาดทางการค้า 3) การต่อต้านการทุจริตการให้หรือ รับสินบน 4) การเคารพและปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน 5) การคุม้ ครองทรัพย์สนิ ทางปัญญา 6) การต่อต้านการฟอกเงิน 7) การจัดการทรัพย์สนิ และข้อมูลของบริษทั 8) ความรับผิดชอบ ต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัย โครงสร้างคณะกรรมการและวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง รายละเอียดองค์ประกอบและคุณสมบัติของคณะกรรมการ บริษัทฯ อยู่ในหมวดโครงสร้างการจัดการ หน้า 72-74 ขอบเขตหน้าท่ีของคณะกรรมการ รายละเอียดขอบเขตหน้าที่ของคณะกรรมการ อยู่ในหมวด โครงสร้างการจัดการ หน้า 75-77 การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ รายละเอียดการสรรหาและแต่งต้ังกรรมการ อยู่ในหมวด โครงสร้างการจัดการ หน้า 80 การแยกตาํ แหน่งประธานกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ รายละเอียดอยู่ในหมวดโครงสร้างการจัดการ หน้า 77 ขอบเขตหน้าท่ขี องประธานกรรมการ รายละเอียดอยู่ในหมวดโครงสร้างการจัดการ หน้า 77 คณะกรรมการชุดย่อย รายละเอียดโครงสร้างคณะกรรมการชุดย่อย อยู่ในหมวด โครงสร้างการจัดการ หน้า 78-82 การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อย มีการ ประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นประจําทุกปี เพื่อใช้เป็นกรอบ ในการตรวจสอบการปฏิบัติงานว่าระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา มีการปฏิบัติงานครบถ้วน เหมาะสมตามขอบเขตอํานาจ หน้าที่ และเป็นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีหรือไม่ อย่างไร และใช้ผลประเมินเพ่ือการพัฒนาในปีต่อไป โดยใน ปี 2559 นอกจากการประเมินตนเองและการประเมินแบบไขว้ แล้ว ยังเพ่มิ การประเมินแบบไขว้เ้ ป็น 1 ท่าน ต่อ 2 ท่าน สําหรับ การประเมินกรรมการโดยผู้ประเมินอิสระ (Independent Assessment) ตามมาตรฐาน Asean CG Scorecard จะ มีการประเมินทุก 3 ปี ครบกำ�หนดการประเมินครั้งต่อไปใน ปี 2561 การประเมินผลการปฏิบัติงานประจำ�ปี บริษัทฯ ได้จัดทำ�แบบประเมินการปฏิบัติงานของคณะ กรรมการบริษัทฯ และกรรมการชุดย่อย สรุปผลการประเมิน ในภาพรวม ดังนี้ 1. ผลการประเมินการปฏิบัติงานโดยคณะกรรมการ บริษัทฯ ทั้งคณะ ประจำ�ปี 2559 คะแนนเฉลี่ย 95.32% (ปี 2558 มีคะแนนเฉลี่ย 95.28%)
58
หัวข้อประเมิน
คะแนน
• โครงสร้างของคณะกรรมการ และ คุณสมบัติของคณะกรรมการ
96.70%
• บทบาทและความรับผิดชอบของ คณะกรรมการในการกำ�หนดนโยบายธุรกิจ
93.66%
• แนวปฏิบัติของคณะกรรมการ
94.33%
• การประชุมคณะกรรมการ
96.58%
และมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากกรรมการบริษัทฯ ว่า “เพื่อ ประสิทธิภาพในการบริหารธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีความซับซ้อน กรรมการบริษัทฯ ควรพัฒนาตนเองโดยการเพิ่มพูนความรู้ ที่สำ�คัญ เช่น ด้านการเงินและบัญชี ให้สามารถกำ�หนดวิสัย ทัศน์ กำ�หนดทิศทางธุรกิจภายใต้สภาวะการและหลักเกณฑ์ที่ เปลีย่ นไปตามการแข่งขันทีร่ นุ แรงและรวดเร็วในอุตสาหกรรม ปิโตรเคมีขององค์กร” 2. ผลการประเมินรายบุคคล - การปฏิบัติงานตนเอง ประจำ�ปี 2559 คะแนนเฉลี่ย 97.29 % (ปี 2558 มีคะแนนเฉลี่ย 95.97%) - การปฏิบัติงานกรรมการท่านอื่น (แบบไขว้) ประจำ�ปี 2559 คะแนนเฉลี่ย 98.20 % (ปี 2558 มีคะแนนเฉลี่ย 89.15%) หัวข้อประเมิน
• คุณสมบัติกรรมการ • ความรับผิดชอบต่อการ ตัดสินใจและการกระทำ� ของตนเอง สามารถ อธิบายการตัดสินใจได้ • ความรับผิดชอบต่อ การปฏิบัติหน้าทีด่ ว้ ย ขีดความสามารถและ ประสิทธิภาพที่เพียงพอ • การปฏิบัติต่อผู้มีส่วน ได้เสียอย่างเท่าเทียม เป็นธรรมและสามารถ มีคำ�อธิบายได้ • มีความโปร่งใสในการ ดำ�เนินงานที่สามารถ ตรวจสอบได้ และมี การเปิดเผยข้อมูล • การมีวิสัยทัศน์ในการ สร้างมูลค่าเพิม่ แก่ กิจการในระยะยาว • การมีจริยธรรม/ จรรยาบรรณในการ ประกอบธุรกิจ
คะแนนประเมิน ตนเอง
คะแนนประเมิน แบบไขว้
97.71% 99.56%
98% 98.45%
92.71%
98.34%
97.33%
98.98%
97.67%
99%
97.62%
96.45%
98.44%
98.23%
3. การประเมินการปฏิบัติงานคณะกรรมการตรวจสอบ 3.1 การประเมินการปฏิบตั งิ านคณะกรรมการตรวจสอบโดย ประธานกรรมการ ประจำ�ปี 2559 คะแนนเฉลี่ย 100 % (ปี 2558 มีคะแนนเฉลี่ย 100%) หัวข้อประเมิน
คะแนน
3.3 การประเมินการปฏิบตั งิ านคณะกรรมการตรวจสอบราย บุคคลประจำ�ปี 2559 คะแนนเฉลี่ย 88.39% (ปี 2558 มีคะแนนเฉลี่ย 91.95%) หัวข้อประเมิน
คะแนน
• ความรู้เกี่ยวกับธุรกิจ
75%
• ความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่
100%
• ความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติหน้าที่
83.33%
• การสอบทานงบการเงิน
100%
• อำ�นาจและหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
91.67%
• การพิจารณารายการเกี่ยวโยงกัน
100%
• การสอบทานระบบการควบคุมภายใน
100%
• การสอบทานให้บริษทั มีการ ประเมินความเสีย่ ง
100%
• การสอบทานให้มีการปฏิบัติตาม เกณฑ์ของ ก.ล.ต. และ ตลท.
100%
• การปฏิบัติงานอื่นๆ ตาม ที่ได้รับมอบหมาย
100%
• การรายงานผลการปฏิบัติงานต่อ คณะกรรมการอย่างสม่ำ�เสมอ
100%
3.2 การประเมินการปฏิบัติงานคณะกรรมการตรวจสอบทั้ง คณะประจำ�ปี 2559 คะแนนเฉลี่ย 99.31% (ปี 2558 มี คะแนนเฉลี่ย 99.44%) หัวข้อประเมิน
• ความเป็นอิสระเที่ยงธรรม
100%
• ความเข้าใจหน้าที่และความรับผิดชอบ
94.05%
• การปฏิบัติงานและการประชุม
86.11%
4. ผลการประเมินการปฏิบัติงานคณะกรรมการชุดย่อย ประจำ�ปี 2559 - คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คะแนน เฉลี่ย 95.35% (ปี 2558 มีคะแนนเฉลี่ย 92.15%) - คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี คะแนนเฉลีย่ 97.30% (ปี 2558 มีคะแนนเฉลี่ย 98.96%) - คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ประจำ�ปี 2559 คะแนน เฉลี่ย 99.27 % (ปี 2558 มีคะแนนเฉลี่ย 99.44%) หัวข้อประเมิน
คะแนน
คณะ คณะ คณะ กรรมการ กรรมการ กรรมการ สรรหา กำ�กับ บริหาร และกำ�หนด ดูแลกิจการ ความเสี ่ยง ค่าตอบแทน ที่ดี
• โครงสร้างและองค์ประกอบของ คณะกรรมการตรวจสอบ
100%
โครงสร้างของ คณะกรรมการ
95.56% 97.78%
100%
• บทบาทและความรับผิดชอบ
100%
นโยบายคณะกรรมการ
96.67% 94.29%
100%
• ความสัมพันธ์กับผู้ตรวจสอบ ภายในและผู้สอบบัญชี
100%
แนวปฏิบัติของ คณะกรรมการ
95.83% 97.14% 98.33%
• ความสัมพันธ์กับฝ่ายบริหาร
95.83%
การจัดเตรียมและ ดำ�เนินการประชุม
93.33%
• การรายงาน
100%
• การควบคุมคุณภาพ
100%
100% 98.75%
การประเมินผลงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ การประเมินผลปฏิบัติงานและกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ได้กำ�หนดภายใต้หลักเกณฑ์ที่ชัดเจน โปร่งใส สะท้อนผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นรูปธรรม เป็นธรรม และ เหมาะสมกับภาระหน้าทีร่ บั ผิดชอบ โดยมีขนั้ ตอน รายละเอียด การดำ�เนินการในปี 2559 ในโครงสร้างการจัดการ หน้า 91
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
59
การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ เพื่อให้กรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่มีความรู้ความเข้าใจ ข้อมูลธุรกิจของบริษัทฯ และบทบาทความรับผิดชอบของ กรรมการบริษัท ตามกฎหมายและเกณฑ์มาตรฐานสากล ด้านการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ในปี 2559 บริษทั ฯ จัดให้มกี าร ปฐมนิเทศกรรมการให้แก่กรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่ ทุกรายทันที ก่อนการเข้าประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ แรก โดยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็นผูส้ รุปรายงานด้วยตัวเองทุกครัง้ และได้ส่งมอบเอกสารข้อมูลองค์กร ระเบียบข้อบังคับ และ คู่มือการดำ�เนินงานก่อนเพื่อศึกษา กรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่ในปี 2559 ได้แก่ 1. นายเจษฎา พรหมจาต กรรมการอิสระ 2. นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล กรรมการอิสระ 3. นายณัฐชาติ จารุจินดา กรรมการ 4. นายอนุสรณ์ แสงนิ่มนวล กรรมการอิสระ 5. พลเอกเทพพงศ์ ทิพยจันทร์ กรรมการอิสระ รายละเอียดการปฐมนิเทศ ประกอบด้วย 1. กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่จดั การบรรยายสรุปข้อมูลบริษทั ฯ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ นโยบาย โครงสร้างองค์กร ภาพรวม การดำ�เนินธุรกิจ ผลการดำ�เนินงาน และข้อมูลอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ เสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับธุรกิจให้แก่กรรมการใหม่ ใช้เวลาอย่างน้อย 1 ชัว่ โมง และเปิดโอกาสให้ซกั ถามในเวลา ที่ไม่จำ�กัด 2. เลขานุการบริษัทฯ จัดเตรียมคู่มือกรรมการและเอกสาร สําหรับกรรมการใหม่ ประกอบด้วย คู่มือกรรมการบริษัท จดทะเบียน เล่ม 1-เล่ม 3 (Director’s Handbook) คู่มือ การกาํ กับดูแลกิจการท่ดี ี (Corporate Governance Handbook) จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ (Code of Conduct) หนังสือ รับรอง วัตถุประสงค์ และข้อบังคับบริษทั ฯ รายชือ่ คณะกรรมการ หน้าท่ีคณะกรรมการชุดย่อย รายงานการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจําปี 2556-2559 รายงานการประชุมคณะกรรม การบริษัทฯ ย้อนหลัง (ปี 2556-2559) แบบแสดงรายการ ข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) รายงานประจําปี 2558 รายงาน ความย่ั ง ยื น ปี 2558 หลั ก สู ต รการอบรมของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และกําหนด การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ประจําปี 2559-2560 การพัฒนาความรู้ บริษัทฯ สนับสนุนให้กรรมการและผู้บริหารเข้าร่วมสัมมนา หลักสูตรท่ีเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ทั้งด้านการ บริหารธุรกิจ/อุตสาหกรรม และการดําเนินบทบาทหน้าท่ี ความรับผิดชอบของกรรมการ ซ่ึงกรรมการทุกท่านได้เข้า รับการอบรมหลักสูตรพ้นื ฐานการปฏิบตั หิ น้าทีก่ รรมการแล้ว (รายละเอียดในประวัตกิ รรมการ หน้า 12 - 21) อย่างไรก็ตาม
60
เลขานุการบริษัทฯ ได้ประสานงานกับกรรมการเพื่อจัดเวลา เข้าอบรมหลักสูตรใหม่ๆ ของ IOD ตามเวลาที่เหมาะสม ต่อไป โดยในปี 2559 • กรรมการบริ ษั ท ฯ เข้ า รั บ การฝึ ก อบรมกั บ สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) 3 ท่าน คือ นายสมนึก บำ�รุงสาลี ในหลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 229 นายเจษฎา พรหมจาต หลักสูตร Ethical Leadership Program (ELP) รุ่นที่ 5 และนาย เอกนิติ นิตทิ ณ ั ฑ์ประกาศ หลักสูตร Role of the Nomination and Governance Committee (RNG) รุ่นที่ 8 • กรรมการบริษัทฯ 9 ท่าน (นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายทรงภพ พลจันทร์ นายสมนึก บำ�รุงสาลี นายเจษฎา พรหมจาต นายณัฐชาติ จารุจนิ ดา นายอนุสรณ์ แสงนิม่ นวล นายชวลิต พันธ์ทอง นายชาญศิลป์ ตรีนชุ กร และนายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ) เข้ารับฟังการบรรยาย “Anti Corruption: Leadership Role of the Board” โดย Mr.Ronald E. Berenbeim ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ที่ห้องประชุมคณะกรรมการบริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการบริษัทฯ 3 ท่าน (นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร และนายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ) และเลขานุการบริษัท (นางสาวมนวิภา จูภิบาล) ได้รับฟัง การบรรยายยุทธศาสตร์การต่อต้านคอร์รัปชันของชาติ จาก ที่ปรึกษาประธานกรรมการสำ�นักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ที่ห้องประชุม คณะกรรมการบริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • เลขานุการบริษทั เข้าอบรมในหลักสูตร Anti-Corruption in Practice (ACPC) และ Corporate Governance for Executives (CGE) ของ IOD และหลักสูตร Sustainable Brand 2016 • บริษัทฯ ได้เชิญ Dr.Jeff Brown, President ของ FGE (Fact Global Energy) ประเทศ Singapore มาบรรยายให้ ผู้บริหารเพื่อทราบถึงสถานการณ์น้ำ�มันและสถานการณ์ของ อุตสาหกรรมปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ รวมทั้งศักยภาพ และโอกาสที่ประเทศไทยและบริษัทฯ จะใช้ประโยชน์ได้ • กรรมการบริษัทฯ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหาร รับฟังการบรรยายเรือ่ งการปฏิบตั ติ ามแนวทางของ CAC จาก คุณกุลเวช เจนวัฒนวิทย์ (ที่ปรึกษาโครงการแนวร่วมปฏิบัติ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริตของ IOD) • ผู้ บ ริ ห ารและผู้ ป ฏิ บั ติ ง านสำ � นั ก กิ จ การองค์ ก รเข้ า อบรมหลักสูตร Company Reporting Program (CRP), Fundamentals for Corporate Secretaries, Sustainable Brands 2016, English Business Writing for Com.Minutes of Meeting, Advance Grammar Writing Styles and Editing, Sasin: Business English Courses Business English for Communication เพื่อพัฒนาความรู้และนำ�มา
แลกเปลี่ยนเพื่อพัฒนาปรับปรุงงานรวมทั้งเป้นข้อมูลสำ�หรับ ผู้บริหารต่อไป • บริษัทฯ ได้เชิญคุณขนิษฐนันท์ อภิหรรษากร วิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิจากสำ�นักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน มาบรรยาย ให้ผู้บริหารและพนักงานในงาน IRPC CG DAY 2016 ใน หัวข้อ “การใช้ดุลยพินิจในการทำ�งานภายใต้จริยธรรม” • ผูบ้ ริหารเข้าร่วมการสัมมนา/ประชุม/ฟังบรรยาย เกีย่ วกับ การต่อต้านคอร์รปั ชันและการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ที งั้ ทีจ่ ดั โดย IOD ตลท. หรือสถาบันการศึกษาต่างๆ ต่อเนื่องตลอดทั้งปี การสรรหาผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีหน้าทีส่ รรหา บุคคลที่มีคุณวุฒิความรู้ ความสามารถที่เหมาะสมจะดำ�รง ตำ�แหน่งผู้บริหารระดับสูงสุด คือกรรมการผู้จัดการใหญ่ นำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา โดยจะต้องเป็น ผู้มปี ระสบการณ์ ความรู้ และความเข้าใจในธุรกิจปิโตรเลียม และปิโตรเคมีเป็นอย่างดี มีภาพลักษณ์ที่ดี มีภาวะผู้นำ�และ ประพฤติตนตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี การสรรหา ผู้บริหารระดับสูง (รองกรรมการผู้จัดการใหญ่) และการปรับ โครงสร้างองค์กรจะต้องได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ แผนการสืบทอดตำ�แหน่ง คณะกรรมการบริษัทฯ ดูแลให้มีการจัดทำ�แผนการบริหาร ทรัพยากรบุคคลและระบบการคัดสรรบุคลากรที่จะเข้ามา รับผิดชอบในตำ�แหน่งงานบริหารที่สำ�คัญทุกระดับอย่างมี ประสิทธิภาพ สร้างแผนการฝึกอบรมทักษะและความรู้ เพิ่ ม เติ ม วางแผนพั ฒ นาสายอาชี พ ตามโครงการ HR Excellence โดยบริษัทฯ ได้จัดทำ�แผนการสืบทอด ตำ�แหน่งสำ�หรับกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารระดับสูง และผู้บริหารระดับกลาง เพื่อสร้างผู้สืบทอดตำ�แหน่งงาน อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้สามารถรับมือได้ทันกับทุก
สถานการณ์ ทั้งในด้านวิชาการ การบริหารจัดการ และภาวะ ผู้นำ� มีการอบรม “Leadership Greatness” และ 7 Habits สำ�หรับผู้บริหาร การโยกย้ายหมุนเวียนหน้าที่รับผิดชอบเพื่อ เรียนรู้งาน หลักที่สำ�คัญในการดำ�เนินธุรกิจ ควบคู่ไปกับการ เรียนรู้ในการทำ�งานจริง การกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ บริษัทย่อยและ บริษัทร่วม • โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้อนุมัติโครงสร้างการจัดการ ของบริษทั ฯ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่ามีประสิทธิภาพเพียงพอและเหมาะ สมสำ�หรับการบริหารบริษัทฯ ภายใต้การนำ�ของกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ในปี 2559 มีการอนุมัติโครงสร้างองค์กรใหม่ ที่กระชับ ลดลำ�ดับชั้นการบริหาร เพื่อมิให้เกิดความซ้ำ�ซ้อน เหมาะกับภาระหน้าที่และธุรกิจของบริษัทฯ ดังรายละเอียด ในผังโครงสร้างองค์กร หน้า 22 • กลไกการกำ�กับดูแล นอกจากการสรรหากรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และผูบ้ ริหารระดับ สูงแล้ว คณะกรรมการบริษัทฯ มีแนวทางในการกำ�กับดูแล กิจการของบริษัทฯ บริษัทย่อย รวม 6 บริษัท และบริษัทร่วม รวม 5 บริษทั (รายละเอียดโครงสร้างการถือหุน้ หน้า 105) ดังนี้ การไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการหรือตำ�แหน่งอื่นใดในบริษัท หรือองค์กรอืน่ ของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ จะต้องได้รบั ความ เห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหารระดับสูงของ บริษัทฯ หากจะไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการหรือตำ�แหน่งอื่น ใดในบริษัทหรือองค์กรอื่น จะต้องได้รับความเห็นชอบจาก กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ผูแ้ ทนของบริษทั ฯ ทีจ่ ะไปดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการหรือผู้บริหารของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม จะต้อง ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ ก่อน
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
61
• บทบาทในฐานะผู้ถือหุ้นบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ผู้แทนบริษัทฯ ใช้สิทธิออกเสียงลงมติในการประชุมผู้ถือหุ้น โดยเป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และ ภายใต้กรอบอำ�นาจทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ บริษัทฯ • กลไกการบริหารงานบริษัทย่อยและบริษัทร่วม การบริหารจัดการธุรกิจมีความสอดคล้องกับนโยบายหลัก ของบริษัทฯ และต้องเป็นไปตามราคาตลาดอย่างเป็นธรรม สำ�หรับรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน รวมทัง้ การรายงานความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ต้องเป็นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี การบริหารงานในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม จะมีผแู้ ทนซึง่ เป็น ผู้บริหารของบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) เป็นผู้บริหาร ของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมทุกบริษทั ฯ การตัดสินใจในเรือ่ ง ธุรกิจที่สำ�คัญจะต้องได้รับการพิจารณาเห็นชอบจากคณะ กรรมการจัดการของบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ก่อน นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทฯ มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของกำ�ไรสุทธิประจำ�ปี หลังหักภาษีและทุนสำ�รองต่าง ๆ ทุกประเภท ตามข้อบังคับของบริษทั ฯ และตามกฎหมายแล้ว ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับแผนการลงทุน ความจำ�เป็น และความเหมาะสมอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการ ของบริษัทฯ เห็นสมควร ที่ประชุมผู้ถือหุ้นในปี 2559 อนุมัติ จ่ายเงินปันผลตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ เสนอ 0.22 บาท ต่อหุ้น จากผลการดำ�เนินงานปี 2558 การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน คณะกรรมการบริษทั ฯ กำ�หนดนโยบายการเปิดเผยสารสนเทศ และแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการรักษาความลับไว้ในคู่มือการ กำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี โดยให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน
พึงระมัดระวังในการรักษาความลับของบริษัทฯ รวมทั้งการ ใช้ข้อมูลภายในและการให้ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ ต่อบุคคล ภายนอก โดยมีการจัดระบบรักษาความลับของบริษทั ฯ กำ�หนด ชั้นความลับและจำ�กัดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลบริษัทฯ มี นโยบายห้ามใช้ข้อมูลภายในที่มีสาระสำ�คัญของบริษัทฯ ซึ่ง ยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชน ไปในแนวทางที่เอื้อประโยชน์ ต่อตนเองหรือผู้อื่น อันรวมถึงการซื้อขายหลักทรัพย์บริษัทฯ ความขัดแย้งหรือข้อพิพาทที่สำ�คัญกับผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ไม่มีข้อพิพาทใดๆ ที่มีนัยสำ�คัญกับผู้มีส่วนได้เสีย ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี บริษทั ฯ ว่าจ้าง “บริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด” เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ซึ่งได้รับความเห็นชอบ จากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 เป็นผู้สอบบัญชี ที่มีความเป็นอิสระ มีความน่าเชื่อถือและไม่มีความสัมพันธ์ และ/หรือมีส่วนได้เสียกับบริษัทฯ บริษัทย่อย กรรมการ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ค่าสอบบัญชี (Audit fee) ที่จ่ายให้กับผู้สอบบัญชีหรือบริษัท สอบบัญชี จำ�นวน 3,100,000 บาท ไม่รวมค่าบริการอื่น (Non-audit fee) ซึ่งเป็นค่าตรวจสอบการใช้สิทธิประโยชน์ บัตรส่งเสริมการลงทุน ค่าจ้างทีป่ รึกษาทางภาษีและกฎหมาย สำ�หรับโครงการควบรวมบริษัทย่อย และโครงการ Transfer Price รวมจำ�นวนเงินทั้งสิ้น 2,305,300 บาท
บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี (Corporate Citizenship) บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ทีจ่ ะเป็นส่วนหนึง่ ในการดำ�เนินบทบาทพลเมือง โลกทีด่ ี โดยการผลักดันองค์กรและผูม้ สี ว่ นได้เสียทีเ่ กีย่ วข้อง ให้ร่วมกันดำ�เนินธุรกิจโดยยึดหลักการของ UN Global compact ที่ประกอบด้วยหลักสำ�คัญ 4 ประการ ได้แก่ 1. สิทธิมนุษยชน 2. แรงงาน 3. สิ่งแวดล้อม 4. การต่อต้าน ทุจริต และการมุ่งสู่เป้าหมาย SDGs 17 ด้านสิทธิมนุษยชน • บริษทั ฯ ร่วมเป็นกลุม่ ผูร้ เิ ริม่ จัดตัง้ UN Global Compact Network Thailand เพื่อสร้างเครือข่ายในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้รวม 15 องค์กรชั้นนำ� ของประเทศไทย เพื่อสนับสนุน การดำ�เนินงานตามหลัก Global Goals 17 ข้อ ของสหประชาชาติ โดยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ด�ำ รงตำ�แหน่ง Board of Founder ของ UN Global Network Thailand ซึ่งในกลุ่มดังกล่าวมี การจัดสัมมนาและประชุมหารือกันเป็นระยะอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้างความรู้ความเข้าใจที่กว้างขวางมากขึ้นในเรื่องของมิติ ความยัง่ ยืน ความรับผิดชอบขององค์กร และความรับผิดชอบ ประเทศ รวมทั้งมีการทำ�งานร่วมกับภาครัฐ อาทิ สำ�นักงาน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงการต่างประเทศ และภาคประชาสังคม (PPP Public-Private-Partner)
62
• บริษทั ฯ ดำ�เนินโครงการทีต่ อบสนอง SDGs 17 ข้อ อาทิ ข้อ 3 Good Health and Well-Being ข้อ 4 Quality Education ข้อ 5 Gender Equality ข้อ 6 Clean Water and Sanitation ข้อ 10 Reduced Inequalities ข้อ 11 Sustainable cities and communities ข้อ 12 Responsible Consumption and Production ข้อ 13 Climate Action ข้อ 15 Life on Land ข้อ 16 Peace and Justice Strong Institutions และข้อ 17 Partnerships for the Goals รายละเอียดในหมวดความรับผิดชอบต่อสังคม หน้า 178 • บริษทั ฯ ร่วมโครงการกับสถาบันไทยพัฒน์ ส่งเสริมสิทธิเด็ก ตามแนวทาง Children’s Right ของ UNICEF ในการอบรม ผูบ้ ริหารและพนักงานตัง้ แต่ปี 2558 ถึง 2559 เพือ่ ทราบแนว ปฏิบตั ทิ ี่ถกู ต้องในการส่งเสริมสิทธิเด็กและทราบหลักปฏิบตั ิ ทางธุรกิจ (Children’s Rights and Business Principles) ที่กล่าวว่า ทุกองค์กรสามารถมีส่วนในการดูแลเด็กผ่านทาง ความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการธุรกิจของตน และ ได้ผนวกเรือ่ งดังกล่าวไว้ในกลยุทธ์ดา้ นการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดีขององค์กร บริษัทฯ ได้ร่วมกับมูลนิธิขาเทียมทำ�ขาเทียม ให้เด็กชาวเขาเผ่ากระเหรี่ยงที่อำ�เภออุ้มผาง จังหวัดตาก ซึ่ง อยู่นอกระบบการรักษาพยาบาลของรัฐได้รับขาเทียม
• บริษัทฯ ดำ�เนินโครงการพัฒนาโอกาสของผู้พิการใน โครงการขาเทียม From Bench To Community ดำ�เนินการ มาตัง้ แต่ปี 2554 และจากการจัดโครงการออกหน่วยขาเทียม ถวายเป็นพระราชกุศลครั้งใหญ่ ที่จังหวัดระยองในปี 2559 เป็นผลให้เกิดมาตรฐานใหม่ของการออกหน่วยทุกครั้งของ มูลนิธิขาเทียมฯ ที่เอื้อประโยชน์ต่อผู้พิการและช่างทำ�กาย อุปกรณ์ ซึ่งช่างส่วนใหญ่ก็เป็นผู้พิการเพิ่มขึ้น • บริษัทฯ ได้จัดงบประมาณเพื่อการส่งเสริมอาชีพของผู้ พิการ โดยดำ�เนินงานผ่านทางมูลนิธนิ วัตกรรม จำ�นวน 20 ราย และมูลนิธิพระมหาไถ่ จำ�นวน 26 ราย ด้านแรงงาน บริษทั ฯ มีนโยบายเสริมสร้างความเป็นธรรมและคุม้ ครองการ ใช้แรงงานโดยถูกต้องตามกฎหมายกับพนักงาน แรงงานคูค่ า้ แรงงานผูร้ บั เหมา และลูกค้า ตลอดห่วงโซ่อปุ ทาน และเคารพ สิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล โดยไม่กีดกันแบ่งแยกอันเนื่องมา จากความแตกต่างทางเพศ อายุ การศึกษา ศาสนา เชื้อชาติ • บริษัทฯ กำ�หนดหลักเกณฑ์ ขั้นตอน วิธีการที่มีความ เป็นธรรมในการสรรหา การประเมิน การเลื่อนระดับ โอกาส ความก้าวหน้าในงานและการพัฒนา รวมทัง้ ฝึกอบรมพนักงาน
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
63
เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตให้พนักงานและครอบครัว และส่งผ่าน ไปยังชุมชนรอบข้างพนักงาน • บริษทั ฯ ให้การสนับสนุนกิจกรรมสร้างสรรค์และเปิดรับฟัง ความคิดเห็นของกลุ่มสหภาพแรงงาน 8 สหภาพ • บริษัทฯ กำ�หนดนโยบายการจัดหาแรงงานจ้างเหมา จากผู้ประกอบการที่ปฏิบัติ/คุ้มครองการใช้แรงงานถูกต้อง ตามกฎหมายและเป็นธรรม คำ�นึงถึงความปลอดภัยในสถาน ประกอบการ ด้านการต่อต้านทุจริต • บริษัทฯ ได้รับการรับรองการเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Thailand’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC) เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2557 และได้ จัดทำ�แผนงานบริหารความเสี่ยงการต่อต้านทุจริตระยะสั้น และระยะยาวเพือ่ ยกระดับ และต่ออายุสมาชิกภายในปี 2560 • บริษทั ฯ ทำ�การประเมินความเสีย่ งด้านการทุจริตคอร์รปั ชัน ตามแนวทางทีแ่ นวร่วม CAC กำ�หนดและมีการประเมินในทุกๆ 3 ปี ซึง่ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งพิจารณาแล้วว่า บริษทั ฯ มีระบบควบคุมและตรวจสอบภายในอย่างมีประสิทธิภาพ เพียงพอ จึงไม่มีความเสี่ยงในด้านนี้อย่างมีนัยสำ�คัญ • บริษทั ฯ สร้างเครือข่ายการต่อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชัน ดำ�เนินการให้บริษัทในเครือกำ�หนดให้มีนโยบายและแนว ปฏิบัติในการต่อต้านคอร์รปั ชันให้สอดคล้องกับนโยบายของ บริษัทฯ และชักชวนให้ผู้มีส่วนได้เสีย เช่น กลุ่มคู่ค้าเข้ามา เป็นแนวร่วมในการปฏิบัติ CAC
64
• บริษทั ฯ จัดอบรมผูบ้ ริหารและพนักงาน เพือ่ ให้ความรูเ้ กีย่ ว กับนโยบายและแนวปฏิบตั ใิ นการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน ของบริษทั ฯ และจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ โดยจัดให้อยูใ่ น แผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล ดำ�เนินการแล้วจำ�นวน 3,620 คน คิดเป็นร้อยละ 69 ของพนักงานทั้งหมด • บริษทั ฯ ร่วมแสดงพลังต้านคอร์รปั ชัน ประจำ�ปี 2559 จัดขึน้ โดยองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน (ประเทศไทย) ร่วมกับภาคี เครือข่ายภายใต้แนวคิด “กรรมสนองโกง” โดยมีผบู้ ริหารและ พนักงานกลุ่ม ปตท. จำ�นวน 500 คน เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ของการ “เปิดไฟไล่โกง” เพือ่ แสดงเจตนารมณ์ตอ่ ต้านคอร์รปั ชัน ณ บริเวณท้องสนามหลวง แสดงถึงความร่วมมือระหว่างภาค รัฐและภาคเอกชนทีเ่ ข้มแข็ง ซึง่ ถือว่าเป็นปัจจัยและรากฐานที่ สำ�คัญในการพัฒนาประเทศในทุกด้าน เพื่อที่จะเติบโตอย่าง แข็งแกร่ง เท่าเทียม และเป็นทีย่ อมรับจากนานาอารยประเทศ • บริษทั ฯ ร่วมกับกลุม่ ปตท. ขยายผลความร่วมมือของกลุม่ ปตท. ออกไปสูผ่ มู้ สี ว่ นได้เสีย ในเรือ่ งการต่อต้านคอร์รปั ชันทุก รูปแบบด้วยการเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ และรณรงค์ สร้างจิตสำ�นึก กระตุน้ ให้มกี ารดำ�เนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส และจัดให้มีมาตรการป้องกันที่เคร่งครัด • บริษัทฯ มุ่งเน้นความโปร่งใส เสริมสร้างจริยธรรมและ แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ในการดำ�เนินธุรกิจ พร้อม กับสื่อสารสร้างค่านิยมองค์กร (Core Value: i SPIRIT : Integrity) กับพนักงานอย่างสม่�ำ เสมอ เพือ่ ให้มคี วามรูค้ วาม เข้าใจตรงกันและปลูกจิตสำ�นึกจนเป็นวัฒนธรรมองค์กร อาทิ
- บริษัทฯ จัดกิจกรรม IRPC CG DAY 2016: The Code To Victory เพือ่ ส่งเสริมจริยธรรมในการปฏิบตั งิ านโดยมี คุณสุกฤตย์ สุรบถโสภณ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เป็นประธาน รวมทัง้ ได้ให้นโยบายและแนวทางในการทำ�งานอย่างโปร่งใส พร้อมประสิทธิภาพ ซึ่งภายในกิจกรรมมีการบรรยายใน หัวข้อ “การใช้ดุลยพินิจในการทำ�งานภายใต้จริยธรรม” และกิจกรรมประกวดแนวคิดเพือ่ ส่งเสริมจริยธรรมพนักงาน ในหัวข้อ “เสริมสร้างจริยธรรมในการปฏิบัติงาน เพื่อ มุ่งสู่ความสำ�เร็จ” จำ�นวน 12 ทีม โดยกิจกรรมในครั้งนี้
มุง่ หวังให้เกิดถ่ายทอดมุมมองผ่านตัวแทนพนักงานจาก หน่วยงานต่าง ๆ ในเรื่องหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพือ่ ให้เห็นเป็นภาพทีช่ ดั เจนยิง่ ขึน้ และรณรงค์ให้พนักงาน ตระหนักถึงความสำ�คัญและประโยชน์ของการปฏิบตั งิ าน ภายใต้หลักจริยธรรมและจรรยาบรรณที่คณะกรรมการ บริษัทฯ กำ�หนดไว้ในคู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หรือ CG Code of Conduct (พนักงานให้ความสนใจ ร่วมงานเป็นจำ�นวนมากถึง 1,398 คน คิดเป็นร้อยละ 26 เป้าหมายร้อยละ 20)
CG DAY 2016
CG THE CODE TO VICTORY
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
65
- บริษัทฯ จัดสัมมนาการต่อต้านคอร์รัปชันภายใต้ชื่อ งาน “CAC Anti-Corruption Network” วันที่ 27 กรกฎาคม 2559 ให้แก่พนักงาน ลูกค้า และคู่ค้าของ บริษัทฯ (พนักงาน ลูกค้า และคู่ค้าให้ความสนใจร่วม สัมมนาเป็นจำ�นวน 153 คน เป้าหมาย 100 คน) • บริษัทฯ กำ�หนดนโยบายการรับ-ให้ของขวัญ การเลี้ยง หรือประโยชน์อนื่ ใด (No Gift Policy) และนโยบายการต่อต้าน ทุจริตและให้สินบน เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน บริษัทฯ และบริษัทในเครือถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด โดยเป็น ส่วนหนึ่งที่สนับสนุนนโยบายการต่อต้านคอร์รัปชัน นโยบาย การรับ-ให้ ของขวัญ การเลี้ยงหรือประโยชน์อื่นใด (No Gift Policy) ของบริษัทฯ เน้นให้บุคลากรของบริษัทฯ ต้องยึด มั่น ถือมั่นว่าจะไม่รับ-ให้สินบน หรือผลประโยชน์อื่นใดแก่ บุคลากรของบริษัท หรือบุคคลภายนอก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เจ้าหน้าที่ของรัฐ หากพิสูจน์ได้ว่ามีการดำ�เนินการดังกล่าว ถือว่าบุคลากรของบริษทั ฯ มีความผิดทัง้ ตามระเบียบบริษทั ฯ และตามกฎหมาย โดยบริษัทฯ ได้สื่อสารนโยบาย No Gift Policy ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท www.irpc.co.th สำ�หรับนโยบายการต่อต้านทุจริตและให้สินบนนั้น คณะ กรรมการบริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดให้ใช้บงั คับกับกรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และบุคลากรที่มีความเกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ดังนี้ 1. ผู้บริหารและพนักงาน ต้องปฏิบัติงานตามระเบียบ ข้อ กำ�หนด ข้อบังคับ แนวปฏิบัติต่างๆ ของบริษัท รวมทั้งพรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญ มาตรา 123/5 ว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต (ฉบับที3่ ) พ.ศ. 2558 เพือ่ ให้งานบรรลุ เป้าหมายโดยปราศจากการทุจริต ติดสินบน
66
2. การเสนอ การให้ การจ่าย การสัญญาว่าจะให้ การสัญญา ว่าจะจ่าย การยอมรับข้อเรียกร้อง การให้อำ�นาจในการจ่าย ซึ่งเงิน ของขวัญ สิ่งของ สิทธิ ทรัพย์สินใดๆ หรือประโยชน์ อื่นๆ หรือรูปแบบอื่นใดที่คล้ายคลึง ซึ่งรวมถึงการจ่ายเพื่อ ช่วยอำ�นวยความสะดวกต่างๆ ทีก่ ระทำ�ไปเพือ่ หรือในนามของ บริษัทฯ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ให้ได้มาซึ่งความได้เปรียบ ที่พิเศษที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เหมาะสม ให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือเอกชน เพื่อโน้มน้าวจูงใจให้กระทำ�การ ไม่กระทำ�การ หรือประวิงการกระทำ�อันมิชอบด้วยหน้าทีห่ รือฝ่าฝืนกฎหมาย ถือเป็นข้อห้ามโดยเด็ดขาด 3. ผู้บริหาร และพนักงาน ต้องให้ความสำ�คัญกับระบบการ ควบคุมภายในทีไ่ ด้มาตรฐานตามสายอาชีพทีเ่ ป็นสากล เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าการปฏิบตั งิ านและผลทีไ่ ด้รบั ถูกต้อง โปร่งใสตาม ที่ควร 4. ผู้บริหาร พนักงาน และบุคคลใดที่กระทำ�การเพื่อหรือ ในนามบริษัทฯ ทำ�การละเมิดหลักการ หรือไม่ปฏิบัติตาม นโยบายนี้ จะได้รบั การพิจารณาลงโทษทางวินยั ตามระเบียบ บริษัทฯ และ/หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 5. บริษทั ฯ ต้องจัดให้มรี ะบบการตรวจสอบภายใน เรือ่ งการ ให้และรับสินบนของทุกหน่วยงานอย่างสม่ำ�เสมอ 6. บริษัทฯ ต้องจัดให้มีการบริหารความเสี่ยง การให้และ รับสินบนอย่างมีประสิทธิภาพ และดำ�เนินการอย่างต่อเนื่อง • สำ�นักตรวจสอบภายในมีการจัดทำ�แผนตรวจสอบภายใน ระยะยาว 5 ปี และแผนดำ�เนินการประจำ�ปี เพือ่ ให้เกิดความครบ ถ้วนและมีประสิทธิภาพตามลำ�ดับความสำ�คัญและผลกระทบ
ของงาน และยังจัดให้มีการนำ�ร่องในการทำ� Self Audit Project เพื่อสร้างจิตสำ�นึกพนักงานในการปฏิบัติงานตาม กระบวนการที่กำ�หนด คณะกรรมการตรวจสอบได้จัดพิธี มอบรางวัล “เพชรน้ำ�หนึ่ง (Diamond Award)” ประจำ� ปี 2559 เป็นกิจกรรมที่จัดต่อเนื่องมา 6 ปี ตั้งแต่ปี 2554 โดยมีวตั ถุประสงค์ในการยกย่องหน่วยงานทีม่ กี ารกำ�กับดูแล การควบคุมภายใน และการให้ความร่วมมือในการตรวจ สอบดีเด่น มีความโปร่งใส ซึ่งเป็นการส่งเสริมระบบควบคุม ภายในและการตรวจสอบภายในให้เกิดประสิทธิภาพต่อองค์กร อันเป็นรากฐานทีส่ �ำ คัญของการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี หน่วยงาน ทีไ่ ด้รางวัลชนะเลิศเพชรน้�ำ หนึง่ ในปี 2559 คือ แผนกผลิตดีซซี ี ฝ่ายโรงกลั่น • คณะกรรมการบริษัทฯ กำ�หนดนโยบายการแจ้งเบาะแส การกระทำ�ผิด (Whistleblowing Policy) โดยจัดให้มี ช่องทางในการแจ้งเบาะแสและรับข้อร้องเรียนสำ�หรับผู้ร้อง เรียนภายในและภายนอกองค์กร เกี่ยวกับการกระทำ�ใดๆ ที่ผิดกฎหมาย ผิดจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ หรือ มีพฤติกรรมที่อาจส่อไปทางการทุจริต ประพฤติมิชอบ ของบุคคลในองค์กรทุกระดับ ตัง้ แต่กรรมการบริษทั ฯ ผูบ้ ริหาร พนักงานบริษัทฯ และบริษัทในเครือและผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้งมีขั้นตอนการตรวจ สอบและแก้ไขที่ชัดเจน เป็นกลาง และโปร่งใส มีมาตรการ คุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสและพยานที่เกี่ยวข้อง ช่องทางการแจ้งเบาะแสและข้อร้องเรียน - ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : auditor@irpc.co.th - ทางจดหมายธรรมดา : ประธานกรรมการตรวจสอบ บริ ษั ท ไออาร์ พี ซี จำ �กั ด (มหาชน) เลขที่ 555/2 ศูนย์เอนเนอร์ยคี่ อมเพล็กซ์ อาคารบี ชัน้ 6 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 - ทางตู้ไปรษณีย์ : ตู้ ปณ. 35 ปณฝ. อาคารซันทาวเวอร์ กรุงเทพฯ 10900 • ขั้นตอนการตรวจสอบเบาะแสและข้อร้องเรียน เริ่มจาก หน่วยงานตรวจสอบภายใน ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบดูแลขั้นตอน การดำ�เนินการและติดตามผล พร้อมกับรวบรวมข้อมูลการ กระทำ�ผิดหรือละเมิดจรรยาบรรณบริษัทฯ เพื่อรายงานตรง ต่อคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทฯ เป็น ประจำ�รายเดือนและรายไตรมาสตามลำ�ดับ ในการปฏิบัติ หน่วยงานตรวจสอบภายในจะพิจารณาว่า เรื่องที่ร้องเรียนมีมูลหรือไม่ หากเป็นพนักงานจะนำ�เสนอต่อ กรรมการผู้จัดการใหญ่พิจารณาสั่งการกับผู้รับผิดชอบให้มี การดำ�เนินการอย่างต่อเนื่อง กรณีที่เป็นการปฏิบัติที่ผิดต่อ หลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และจรรยาบรรณในการดำ�เนิน ธุรกิจบริษทั ฯ จะพิจารณาและตัง้ คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง ในลำ�ดับต่อไป หากมีความผิดพิจารณาลงโทษตามระเบียบ บริษทั ฯ หากเป็นกรรมการบริษทั หรือกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กรรมการตรวจสอบจะเป็นผู้พิจารณาดำ�เนินการ
• ในปี 2559 ไออาร์พซี ี ได้รบั ข้อร้องเรียนทัง้ หมด 39 เรือ่ ง จัดเป็นกรณีทไี่ ม่สอดคล้องกับหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ แี ละ จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ 37 เรื่อง และข้อเสนอแนะ 2 เรือ่ ง สามารถสรุปผลและปิดข้อร้องเรียนได้ทงั้ สิน้ 32 เรือ่ ง ส่วนข้อร้องเรียนทั้งหมด 7 เรื่อง อยู่ระหว่างการดำ�เนินการ โดยพบว่าเป็นเรื่องที่ไม่มีมูลเพียงพอสำ�หรับการตรวจสอบ ความถูกต้อง 21 เรื่อง การปฏิบัติที่ไม่สอดคล้องกับระเบียบ บริษทั ฯ 13 เรือ่ ง และพฤติกรรมการปฏิบตั งิ านทีไ่ ม่เหมาะสม 5 เรื่อง โดยบริษัทฯ ได้พิจารณาบทลงโทษในแต่ละกรณีตาม ระเบียบบริษทั ฯ อย่างเป็นธรรมและโปร่งใส ทัง้ นี้ ไม่พบข้อร้อง เรียนทีเ่ ป็นการปฏิบตั ทิ ผี่ ดิ ต่อนโยบายต่อต้านคอร์รปั ชันหรือ เรือ่ งการทุจริตและไม่พบมูลค่าความเสียหายทีเ่ ป็นสาระสำ�คัญ ข้อร้องเรียนทัง้ หมดตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยสำ�นักตรวจสอบ ภายในและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนมีการรายงานผล ต่อคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการจัดการ และผู้ที่ เกี่ยวข้องตามขั้นตอนการบริหารจัดการข้อร้องเรียน ตาม ระยะเวลาที่บริษัทฯกำ�หนด ด้านสิ่งแวดล้อม บริษทั ฯ มีนโยบายการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพลดการ ปลดปล่อยของเสีย อันก่อให้เกิดมลพิษกับสิ่งแวดล้อมและมี การปฏิบัติตามเงื่อนไข EIA อย่างเคร่งครัดมีการปลูกต้นไม้ แนวกันชน เพื่อเป็นแนวเขตป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อม ระหว่างเขตประกอบการฯ กับชุมชนและดำ�เนินการให้เขต ประกอบการฯ และโรงงานอุตสาหกรรมในเขตประกอบการฯ เป็นอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ สามารถอยูร่ ว่ มกับชุมชนท้องถิน่ ได้ โดยพยายามลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้เหลือน้อยที่สุด • บริษัทฯ ดำ�เนินโครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้เศรษฐกิจพันธุ์ดี ดำ�เนินการในพืน้ ทีป่ า่ ดอนโจร ตำ�บลลำ�ไทรโยง อำ�เภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ (รายละเอียดการดำ�เนินงานอยูใ่ นรายงานด้านการบริหารจัดการ เพื่อความยั่งยืน หน้า 211 และ แนวทางการปฏิบัติต่อผู้มี ส่วนได้เสียหมวดสิง่ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติหน้า 55) ทิศทางการดำ�เนินงานด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ บริษัทฯ ในปี 2560 1. ความรับผิดชอบของกรรมการ 1.1 คณะกรรมการบริษัทฯให้ความสำ�คัญกับบทบาทหน้าที่ ของคณะกรรมการ ในการชี้แนะทิศทางการดำ�เนินงาน ของ บริษัทฯ การกำ�กับดูแลเพื่อความมั่นคงยั่งยืน สนับสนุนฝ่าย จัดการในการแก้ไขปัญหาอุปสรรค และติดตามดูแลการทำ�งาน ของฝ่ายจัดการ คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความรับผิดชอบตาม หน้าที่ (Accountability) ทีม่ ตี อ่ บริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ อย่างเข้ม แข็ง และใช้ความรู้ ความสามารถในการพิจารณาเรื่องต่างๆ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ โดยตัง้ มั่นอยูบ่ นความ โปร่งใส ถูกต้อง และข้อมูลที่เพียงพอในการตัดสินใจ รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
67
ยกตัวอย่างเช่น คณะกรรมการบริษัทฯ มีความมุ่งมั่นให้การ ดำ�เนินการถอนสภาพทางและลำ�รางสาธารณประโยชน์ ในพืน้ ที่ ของบริษัทฯ ตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 8 สำ�หรับ 3 ตำ�บลในจังหวัดระยอง ประกอบด้วย ตำ�บลเชิงเนิน ตำ�บล ตะพง และตำ�บลบ้านแลง มีความคืบหน้าและแล้วเสร็จตาม ขั้นตอน ซึ่งเป็นไปตามเจตนารมณ์ที่บริษัทฯ ต้องการด้วยวิธี และกระบวนการที่กฎหมายกำ�หนดให้ทำ�ได้ แต่เนื่องจาก การดำ�เนินงานตามมาตรา 8 นั้น มีขั้นตอนค่อนข้างมาก และใช้ระยะเวลานาน บริษัทฯ จึงได้ดำ�เนินการเช่าที่ดินที่เป็น ทางและลำ�รางสาธารณประโยชน์ดังกล่าวตามประมวล กฎหมายที่ดินมาตรา 9 แล้วเสร็จ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2559 1.2 เพื่อให้การปฏิบัติภารกิจกรรมการเข้มข้น และเป็น ประโยชน์ต่อบริษัทฯ มากขึ้น ในปี 2559 คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงได้มีการปรับปรุงกฎบัตรโดยเพิ่มเรื่อง “กลั่นกรองและให้คำ�แนะนำ�ต่อการบริหารความเสี่ยงของ โครงการลงทุน ทีม่ คี วามซับซ้อนเชิงเทคนิคสูง มีภาระผูกพัน ระยะยาว และเป็นความเสีย่ งทีม่ นี ยั สำ�คัญ“ และคณะกรรมการ ตรวจสอบได้ปรับปรุงกฎบัตรในข้อ “พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำ�หน้าที่เป็น ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดัง กล่าว รวมถึงเสนอถอดถอนผู้สอบบัญชี ในกรณีที่เห็นว่าไม่ สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้ หรือละเลยไม่ปฏิบตั หิ น้าที่ หรือปฏิบตั ิ หน้าที่โดยมิชอบ รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดย ไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ” 1.3 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ศึกษากฎหมายหลักทรัพย์ ฉบับใหม่ประกาศใช้เมื่อ 12 ธันวาคม 2559 เพื่อเตรียม ความพร้อมในการปฏิบัติของกรรมการให้ถูกต้อง และ บริษทั ฯ ได้เผยแพร่และแนะนำ�ข้อปฏิบตั ติ าม พรบ. หลักทรัพย์ ใหม่ ให้ผู้บริหารทุกระดับเพื่อทำ�ความเข้าใจ ป้องกันการ กระทำ�ผิด และมีแนวปฏิบัติใ นทางเดียวกันโดยเฉพาะ ในเรื่องการรักษาความลับ การใช้ข้อมูลภายใน การระมัด ระวังในการเปิดเผยข้อมูล และการให้สัมภาษณ์ โดยประกาศ แนวทางที่ ทำ�ได้ (Do) และที่ทำ�ไม่ได้ (Don’t) เพื่อทราบและ เข้าใจอย่างชัดเจน 1.4 การปฏิบัติในช่วงการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ หาก เป็นการประชุมในวาระที่ประธานกรรมการ มีส่วนได้เสีย ประธานฯ จะออกจากห้ อ งประชุ ม และให้กรรมการอิสระ 1 ท่าน เป็นประธานฯ ในที่ประชุมแทน และในการพิจารณา วาระประชุมทุกวาระ ฝ่ายเลขานุการบริษัท จะระบุรายชื่อ กรรมการที่อาจมีส่วนได้เสียในแต่ละวาระ พร้อมให้ข้อมูล เสริมว่า การพิจารณาในวาระนั้นได้แสดงถึงบทบาทในการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีของกรรมการ ที่เด่นชัดในข้อใด เช่น การพิจารณากำ�หนดแผนกลยุทธ์ของบริษัทฯ สนับสนุน Creation of long term value การสร้างมูลค่าเพิ่มใน ระยะยาว เป็นต้น
68
2. การปฏิบัติของบริษัทฯ
2.1 คณะกรรมการบริษัทฯได้อนุมัติแผนปฏิบัติการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ประจำ�ปี 2560 ในการประชุม ครัง้ ที่ 1/2560 เมือ่ วันที่ 24 มกราคม 2560 ตามข้อเสนอของ คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ประกอบด้วยการดำ�เนิน งาน 4 เรื่อง ได้แก่ 1. การดำ�เนินงานที่สอดคล้องกับ กฎหมาย กฎระเบียบและนโยบายกรรมการบริษัทฯ 2. การ ดำ�เนินงานตามกลยุทธ์เพือ่ ส่งเสริมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี การต่อต้านคอร์รัปชันและทุจริตติดสินบน 3. ธรรมาภิบาล สิ่งแวดล้อม และ 4. โครงการความรับผิดชอบต่อสังคม แผนปฏิบัติการในปี 2560 ที่เพิ่มขึ้นจากปี 2559 อย่างมี นัยสำ�คัญก็คือ การประเมินความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์ ( Compliance ) การวางระบบ Compliance เพื่อ มุง่ สู่เป้าหมาย Zero Non Compliance ในทุกระดับของการ ปฏิบัติ การประเมินความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ระบบของบริษัทฯ สามารถป้องกันการถูกโจมตีใน รูปแบบต่างๆ ได้อย่างมั่นคง โดยกำ�หนดให้ IT Security: Zero Cyber Attacked (IT System Failure) เป็นตัวชี้วัด โดยเป้าหมายของของปี 2560 ต้องเท่ากับ 0 ครั้ง มุ่งเน้นให้บริษัทฯ ดำ�เนินงานด้วยการมีส่วนร่วมของผู้มี ส่วนได้เสียที่หลากหลายมากขึ้น นอกเหนือจากผู้ถือหุ้น พร้อมเปิดรับฟังแนวคิด ความต้องการ และข้อเสนอแนะของ ผู้มีส่วนได้เสียในวงกว้างและทั่วถึง (inclusive) เพื่อกำ�หนด ทิศทางได้แม่นยำ� อันจะทำ�ให้สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มต่อ ผู้มีส่วนได้เสียได้อย่างแท้จริง ให้การสนับสนุนการลงทุนในโครงการเพื่อสังคม ซึ่งในปี 2560 จะมีการดำ�เนินงานเพิ่มขึ้นอีก 1 โครงการ และให้มี การประเมินผลตอบแทนในโครงการเพือ่ สังคมด้วยการจัดทำ� SROI นอกจากนั้น พบว่า การดำ�เนินโครงการของบริษัทฯ ในปี 2559 สอดคล้องกับทิศทางความรับผิดชอบต่อสังคม ในปี 2560 ที่สถาบันไทยพัฒน์นำ�เสนอทั้ง 6 ทิศทางได้แก่ เที่ยงธรรม (INTEGRITY) ทั่วถึง (INCLUSIVE) เท่าเทียม (EQUALITY) ท้องถิ่น (LOCAL) ท่องเที่ยว (TOURISTM) ทดแทน (RENEWABLE) ดังรายละเอียดโครงการที่ปรากฎ ในหน้า 186-199 ซึง่ บริษทั ฯจะต่อยอดดำ�เนินการในโครงการ ดังกล่าวต่อไปในปี 2560 และมีเป้าหมายเพือ่ การพัฒนาอย่าง ยั่งยืนตามแนวทาง Sustainable Development Goals บริษัทฯ ให้คำ�มั่นว่า จะนำ�พาธุรกิจให้ก้าวไปสู่ความเจริญ เติบโตอย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน ด้วยพลังความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และที่สำ�คัญยิ่งคือ จริยธรรมและจรรยาบรรณ ในการดำ�เนินธุรกิจที่มีอยู่ในตัวกรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานของบริษัทฯ ทุกคน
โครงสร้างการจัดการ
คณะกรรมการบร�ษัทฯ
คณะกรรมการบร�ษัทฯ กำหนดว�สัยทัศน ให ไออาร พีซี ก าวไปสู การเป นบร�ษัทป โตรเคมี ชั�นนำของเอเชียภายในป 2563 กำหนดแผนกลยุทธ ทง�ั ระยะสัน� และระยะยาว เพื่อให มั�นใจว าบร�ษัทฯ จะสามารถเติบโตไป ตามทิศทางที่วางไว
ประกอบด วยกรรมการ 15 คน มีหน าที่จัดการกำกับดูแลกิจการ ทัง้ ปวงของบร�ษทั ฯ ให เป นไปตามนโยบาย แนวทาง และเป าหมาย ที่เป นประโยชน สูงสุดแก ผู ถือหุ น โดยคำนึงถึงประโยชน ของผู มี ส วนได เสียทุกฝ ายอย างเป นธรรม มีความรับผิดชอบต อสังคม ภายใต ก รอบจร�ยธรรมทีด่ ี และแนวปฏิบตั ทิ ม่ี ง ุ สูก ารเป นพลเมือง ดีของโลก
รายงาน
แต งตั�ง
คณะกรรมการชุดย อย
ผู ถือหุ น
บร�ษัทฯ ดำเนินธุรกิจด วยความเป นธรรม เพือ่ ประโยชน สงู สุดแก ผถ ู อื หุน โดยคำนึงถึง การเติบโตอย างยั่งยืนและให ผลตอบแทน ที่เหมาะสมอย างต อเนื่อง ผู ถือหุ นแต งตั้ง กรรมการบร� ษ ั ท ฯ ในการประชุ ม สามั ญ ผู ถือหุ น ที่ประชุมผู ถือหุ นรับทราบผลการ ดำเนินงานประจำป ของบร�ษทั ฯ และพิจารณา วาระประชุมตามกฎหมาย รวมถึงการอนุมตั ิ งบการเง�นและค าตอบแทนกรรมการบร�ษทั ฯ
70
คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการสรรหาและกำหนดค าตอบแทน
แต งตั้งโดยคณะกรรมการบร�ษัทฯ อย างน อย 3 คน ทำหน าที่ตรวจสอบงบการเง�นและให แนวทางในการตรวจสอบภายในโดยมีกรรมการ อย างน อย 1 คน มีความรู และประสบการณ เพียงพอในการสอบทานความน าเช�่อถือของ งบการเง�น
แต งตัง้ โดยคณะกรรมการบร�ษทั ฯ อย างน อย 3 คน ทำหน าทีค่ ดั เลือกบุคคล ทีค่ วรได รบั การเสนอช�อ่ เป นกรรมการบร�ษทั ฯ กรรมการ ชุดย อยและกรรมการผูจ ดั การใหญ รวมทัง้ กำหนดค าตอบแทนอย างเป นธรรม
กรรมการอิสระ เป นกรรมการที่มีความเป นอิสระจากผู ถือหุ น รายใหญ หร�อกลุ มของผู ถือหุ นรายใหญ และ ผูบ ร�หารของบร�ษทั ฯ มีหน าทีแ่ สดงความเห็น อย างเสร�ตามภารกิจทีไ่ ด รบั มอบหมายในการ ปกป องผลประโยชน ของผู ถือหุ นและผู มีส วน ได เสียทุกฝ ายอย างเท าเทียมกัน ณ สิน้ ป 2559 มีจำนวนกรรมการอิสระ 8 คน กรณีทป่ี ระธาน กรรมการมิใช กรรมการอิสระอาจตั้งประธาน กรรมการอิสระเพื่อทำหน าที่ในการประชุม บางวาระหร�อบางโอกาสเช นการประชุมเฉพาะ กรรมการอิสระ
ประธานกรรมการ คณะกรรมการบร�ษทั ฯ เลือกกรรมการ 1 คน เป น ประธานกรรมการ ทำหน าทีส่ นับสนุนและส งเสร�ม ให คณะกรรมการบร�ษทั ฯ ปฏิบตั หิ น าทีอ่ ย างเต็ม ความสามารถ ตามขอบเขตความรับผิดชอบ พร อ มดู แ ลและติ ด ตามการบร� ห ารงานของ คณะกรรมการบร�ษทั ฯ และคณะกรรมการชุดย อย ให มีประสิทธ�ภาพบรรลุตามวัตถุประสงค
กรรมการผู จัดการใหญ แต งตั้งโดย คณะกรรมการบร�ษัทฯ
ฝ ายบร�หาร บร�หารงานในความรับผิดชอบตาม นโยบายและเป าหมายที่กรรมการ ผู จัดการใหญ มอบหมาย
คณะกรรมการจัดการ
คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี
คณะกรรมการบร�หารความเสี่ยง
แต งตั้งโดยคณะกรรมการบร�ษัทฯ อย างน อย 3 คน ทำหน าทีพ่ จิ ารณา เสนอแนวปฏิบตั แิ ละ ให คำแนะนำด านการกำกับดูแลกิจการทีด่ ตี อ คณะกรรมการบร�ษัทฯ และกำกับดูแลการ ดำเนินงานด านการกำกับดูแลกิจการทีด่ ใี ห เป น ไปอย างมีประสิทธ�ภาพ
แต งตัง้ โดยคณะกรรมการบร�ษทั ฯ อย างน อย 3 คน ทำหน าที ่กำหนดนโยบายการบร�หาร ความเสีย่ ง แผนการจัดการความเสีย่ ง และ กระบวนการบร�หารความเสีย่ งทัว่ ทัง้ องค กร
บร� ห ารจั ด การให เ กิ ด ระบบการ ทำงานที่เป นไปในทิศทางเดียวกัน พิ จ ารณาประเด็ น สำคั ญ ต อ การ ดำเนินธุรกิจและกลั่นกรองวาระ เพื่อนำเสนอคณะกรรมการบร�ษัทฯ พิจารณาอนุมัติ ประกอบด วย กรรมการผู จัดการใหญ รองกรรมการผู จัดการใหญ ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ ทุกสายงาน
กรรมการผู จัดการใหญ แต งตัง้ และกำกับดูแลโดยคณะกรรมการ บร�ษัทฯ ทำหน าที่บร�หารจัดการงานของ บร�ษทั ฯ ให เป นไปตามวัตถุประสงค นโยบาย และกลยุ ท ธ ท ี ่ ค ณะกรรมการบร� ษ ั ท ฯ กำหนดไว และรายงานผลอย างถูกต อง โปร งใส
เลขานุการบร�ษัท แต งตั้งโดย คณะกรรมการบร�ษัทฯ
เลขานุการบร�ษัท ทำหน าทีเ่ ลขานุการบร�ษทั ตามพระราชบัญญัติ หลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และตามที่คณะกรรมการกำกับตลาดทุน กำหนด
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
71
ผู ถือหุ น
คณะกรรมการบร�ษัทฯ
กรรมการผู จัดการใหญ (ฝ ายจัดการ)
โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการ หรือ โครงสร้างองค์กร บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วย ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ บริษัทฯ และฝ่ายจัดการ โดยมีกรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นผู้บริหารสูงสุดของฝ่ายจัดการ คณะกรรมการบริษัทฯ มีความรับผิดชอบตามหน้าที่ต่อผู้ถือหุ้น และฝ่ายจัดการ มีความรับผิดชอบตามหน้าที่ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ โดยได้มีการนำ�หลักการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพและ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีมาใช้ในการกำ�หนดโครงสร้าง การจัดการของบริษัทฯ โดยคำ�นึงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทฯ และฝ่ายจัดการ เพื่อสร้าง
72
ความสามารถในการแข่งขัน นำ�ไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน และเพิม่ มูลค่าให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ในระยะยาว รวมถึงการคำ�นึงถึง ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน ในระบบกำ�กับดูแลกิจการ ผู้ถือหุ้นจะเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อเป็นตัวแทนในการบริหารกิจการ คณะกรรมการ บริษัทฯ จะทำ�หน้าที่กำ�หนดวิสัยทัศน์ ทิศทาง นโยบาย และ กลยุทธ์ และมอบหมายให้ฝ่ายจัดการนำ�ไปดำ�เนินการให้ สำ�เร็จตามเป้าหมาย พร้อมติดตามดูแลให้การดำ�เนินงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อให้ผู้ถือ หุ้นได้รับผลตอบแทนที่คุ้มค่ากับเงินลงทุน
คณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบ ด้วยกรรมการจำ�นวน 15 คน ซึ่งเป็นจำ�นวนที่เหมาะสมกับ ขนาดและประเภทธุรกิจของบริษัทฯ แบ่งประเภทได้ดังนี้ • กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 14 คน (ร้อยละ 93.34 ของ กรรมการทั้งคณะ) • กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 1 คน (กรรมการผู้จัดการใหญ่) • กรรมการที่มีคุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระ 8 คน (ร้อยละ 53.33 ของกรรมการทั้งคณะ) • กรรมการที่เป็นเพศหญิง 1 คน
รายชื่อคณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วย ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
รายชื่อกรรมการ
ตำ�แหน่งในคณะกรรมการบริษัทฯ และกรรมการชุดย่อย ณ 31 ธันวาคม 2559 นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานกรรมการ นายวุฒิสาร ตันไชย กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน นายณัฐชาติ จารุจินดา กรรมการ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง นายทรงภพ พลจันทร์ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ นายอนุสรณ์ แสงนิ่มนวล กรรมการอิสระ ประธานกรรมการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง นายชวลิต พันธ์ทอง กรรมการ กรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน นายประมวล จันทร์พงษ์ กรรมการอิสระ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี นายสมนึก บำ�รุงสาลี กรรมการ กรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน พลเอก สสิน ทองภักดี กรรมการอิสระ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ กรรมการอิสระ นายเอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง นายเจษฎา พรหมจาต กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง/ (กรรมการที่เป็นผู้บริหาร) กรรมการผู้จัดการใหญ่/ เลขานุการคณะกรรมการบริษทั ฯ
กรรมการผู้มีอำ�นาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ กรรมการผู้มีอำ�นาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ ตามหนังสือ รับรองของบริษัทฯ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559 ประกอบด้วย กรรมการ 5 คน ได้แก่ (1) นายเทวินทร์ วงศ์วานิช (2) นาย ชาญศิลป์ ตรีนชุ กร (3) นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ (4) นายณัฐชาติ จารุจินดา (5) นายชวลิต พันธ์ทอง โดยกรรมการสองในห้า คนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสำ�คัญของบริษัทฯ องค์ประกอบและคุณสมบัติของคณะกรรมการบริษัทฯ 1. คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน 2. มีกรรมการอิสระไม่นอ้ ยกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทัง้ หมด และต้องมีจำ�นวนกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 3 คน 3. กรรมการต้องมีอายุไม่เกิน 70 ปีบริบูรณ์ 4. วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการ และกรรมการ อิสระของบริษทั ฯ คราวละ 3 ปี โดยสามารถดำ�รงตำ�แหน่งได้ ไม่เกิน 3 วาระติดต่อกัน (9 ปี)
วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการบริษัทฯ 20 ตุลาคม 2558 19 มิถุนายน 2558 29 เมษายน 2559 5 เมษายน 2556 27 สิงหาคม 2559 20 ตุลาคม 2558 17 พฤศจิกายน 2558 1 เมษายน 2557 9 เมษายน 2557 1 กันยายน 2557 1 กันยายน 2559 17 พฤศจิกายน 2558 16 มีนาคม 2559 1 เมษายน 2559 1 ตุลาคม 2556
5. การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยของกรรมการบริษัทฯ รวมกันไม่เกิน 5 บริษัท 6. เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ เพื่อผสมผสานความรู้ ความสามารถที่ จำ � เป็ น ควรประกอบด้ ว ยผู้ ที่ มี ค วามรู้ ด้านธุรกิจปิโตรเลียมหรือปิโตรเคมี อย่างน้อย 3 คน ผู้มี ความรูด้ า้ นกฎหมายอย่างน้อย 1 คน และผูม้ คี วามรูด้ า้ นบัญชี และการเงินอย่างน้อย 1 คน ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามนโยบาย และเกณฑ์การสรรหาและแต่งตัง้ ทีจ่ ะพิจารณาถึงพืน้ ฐานทาง การศึกษา ประสบการณ์บริหารจัดการในด้านนั้น และความ สำ�เร็จเป็นทีย่ อมรับในธุรกิจทีม่ ขี นาดเทียบเคียงได้กบั บริษทั ฯ 7. มีคุณสมบัติครบถ้วนและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม พระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัด พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน กฎระเบียบของคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ กฎระเบียบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อบังคับบริษัทฯ หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ และข้อกำ�หนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงไม่มีลักษณะที่แสดง ถึงการขาดความเหมาะสมทีจ่ ะได้รบั ความไว้วางใจให้บริหาร จัดการกิจการของบริษัทฯ รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
73
8. มีคุณสมบัติครบถ้วนและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2554 เรื่องการแต่งตั้ง ข้าราชการระดับสูง หรือบุคคลดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ในรัฐวิสาหกิจ และ/หรือนิติบุคคลที่รัฐวิสาหกิจเป็นผู้ถือหุ้น หลายแห่ง 9. มีคุณลักษณะ และภาพลักษณ์ที่สนับสนุนและส่งเสริม การดำ�เนินงานด้านการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ เี พือ่ สร้างคุณค่า ให้แก่บริษัทฯ อาทิ คุณธรรม จริยธรรม ความเป็นอิสระ กล้าแสดงความคิดเห็น มีความคิดสร้างสรรค์ ปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความระมัดระวังและความซื่อสัตย์ (Duty of Care and Duty of Loyalty) ทุม่ เท อุทศิ เวลา และเป็นทีย่ อมรับของสังคม 10. หากเคยดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทฯ พิจารณาจาก การปฏิบตั งิ านในฐานะกรรมการอย่างเต็มความสามารถ และ การให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการที่มีความเป็นอิสระจาก ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือกลุม่ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ และผูบ้ ริหาร ของบริษัทฯ มีอำ�นาจหน้าที่แสดงความเห็นอย่างเสรีตาม ภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ในการปกป้องผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ ทุกรายและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน ปัจจุบัน บริษทั ฯ มีกรรมการอิสระ 8 คน จากกรรมการทัง้ คณะ 15 คน ซึ่งมากกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งคณะ บริษัทฯ กำ�หนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระท่ี่เข้มกว่า ข้อกำ�หนดตามประกาศของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ดังนี้ 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจำ�นวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง ทัง้ หมดของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ให้นับรวม การถือหุน้ ของผูท้ เี่ กีย่ วข้องของกรรมการอิสระรายนัน้ ๆ ด้วย (ตามข้อกำ�หนดไม่เกินร้อยละ 1) 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจำ� หรือผูม้ อี �ำ นาจควบคุม ของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อย ลำ�ดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอำ�นาจควบคุม ของบริษทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสองปี ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึง กรณีที่กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษาของ ส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุม ของบริษัทฯ 3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือโดย การจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็น บิดา มารดา คูส่ มรส พีน่ อ้ ง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตรของกรรมการ รายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือ บุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย
74
4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัท ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็น ผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั หรือผูม้ อี �ำ นาจควบคุมของผูท้ มี่ คี วามสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่ จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี ความสั ม พั น ธ์ ท างธุ ร กิ จ ตามวรรคหนึ่ ง รวมถึ ง การทำ � รายการทางการค้าที่กระทำ�เป็นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกีย่ วกับสินทรัพย์ หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กู้ยืม ค้ำ�ประกัน การให้สินทรัพย์เป็น หลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นทำ�นองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้บริษัทฯ หรือคู่สัญญา มีภาระหนี้ที่ต้องชำ�ระ ต่ออีกฝ่ายหนึ่งตั้งแต่ร้อยละสามของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิ ของบริษัทฯ หรือตั้งแต่ยี่สิบล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จำ�นวนใด จะต่ำ�กว่า ทั้งนี้ การคำ�นวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไปตาม วิธกี ารคำ�นวณมูลค่าของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ตามประกาศ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทำ� รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันโดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ ดังกล่าว ให้นบั รวมภาระหนีท้ เี่ กิดขึน้ ในระหว่างหนึง่ ปีกอ่ นวัน ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำ นาจควบคุม ของบริษทั ฯ และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี �ำ นาจควบคุม หรือ หุ้นส่วนของสำ�นักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจาก การมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึง การให้บริการเป็นทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปี จากบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพ นั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสองปี 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทน ของกรรมการของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่ง เป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการ แข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หรือไม่ เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วน ร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจำ�
หรือถือหุ้นเกินร้อยละหนึ่งของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง ทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย 9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ�ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่าง เป็นอิสระเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ทัง้ นี้ หากมีกรรมการอิสระพ้นจากตำ�แหน่ง บริษทั ฯ จะพิจารณา สรรหาผูท้ มี่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมและมีคณ ุ สมบัตเิ ป็นกรรมการ อิสระมาทดแทนเป็นอันดับแรก รวมทัง้ รักษาจำ�นวนกรรมการ อิสระให้ครบถ้วนตามเกณฑ์ของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน และหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี อย่างไรก็ตาม กรรมการ คนอื่นๆ หากต่อมามีคุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระได้ตาม ที่กำ�หนดเมื่อใด กรรมการคนนั้นๆ ก็มีฐานะเป็นกรรมการ อิสระของบริษัทฯ โดยทันที การแต่งตั้งและการพ้นจากตำ�แหน่งกรรมการบริษัทฯ บริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดเกีย่ วกับการแต่งตัง้ และการพ้นจากตำ�แหน่ง กรรมการบริษัทฯ สรุปได้ดังนี้ การแต่งตั้งกรรมการบริษัทฯ 1. ผูถ้ อื หุน้ เป็นผูม้ อี �ำ นาจเลือกตัง้ กรรมการบริษทั ฯ โดยคณะ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน จะทำ�หน้าทีค่ ดั เลือก บุคคลทีส่ มควรได้รบั การเสนอชือ่ เป็นกรรมการบริษทั ฯ และนำ� เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ให้ความเห็นชอบนำ�เสนอ ต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาอนุมตั ิ โดยมีหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี้ (1) ผูถ้ อื หุน้ คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับ หนึง่ หุน้ ต่อหนึง่ เสียง (2) การเลือกตั้งกรรมการ จะลงคะแนนเสียงเลือกตั้งเป็น รายบุคคล หรือเป็นครั้งเดียวเต็มตามจำ�นวนกรรมการ ทั้งหมดที่จะต้องเลือกตั้งในคราวนั้นก็ได้ ทั้งนี้ ตามแต่ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะเห็นสมควร โดยในการออกเสียงลง คะแนน ไม่วา่ จะเป็นการเลือกตัง้ เป็นรายบุคคล หรือเป็น คณะบุคคล แต่ละคนทีผ่ ถู้ อื หุน้ ออกเสียงเลือกตัง้ จะได้รบั คะแนนเสียงจากผู้ถือหุ้นตามจำ�นวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นนั้นมี อยู่ทั้งหมดตาม (1) โดยผู้ถือหุ้นดังกล่าวจะแบ่งคะแนน เสียงให้แก่ผู้หนึ่งผู้ใดมากหรือน้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำ�ดับลงมา เป็น ผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ เป็นกรรมการ เท่ากับจำ�นวนกรรมการ ทีจ่ ะพึงมีหรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ได้รบั การเลือกตัง้ ในลำ�ดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากัน เกินจำ�นวนกรรมการทีจ่ ะพึงมี หรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ให้ผเู้ ป็นประธานในทีป่ ระชุมนัน้ เป็นผูอ้ อกเสียงชีข้ าด 2. ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธาน กรรมการ และคณะกรรมการสามารถพิจารณาเลือกกรรมการ คนหนึง่ หรือหลายคนเป็นรองประธานกรรมการได้ เพือ่ ปฏิบตั ิ หน้าที่ตามข้อบังคับบริษัทฯ และตามที่ประธานกรรมการ มอบหมาย (ปัจจุบนั ไม่มกี ารแต่งตัง้ รองประธานกรรมการบริษทั ฯ)
3. ให้คณะกรรมการเลือกตัง้ กรรมการคนหนึง่ เป็นกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ และทำ�หน้าที่เลขานุการคณะกรรมการ 4. ในกรณีทตี่ �ำ แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอนื่ นอกจาก ถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลซึ่งมี คุณสมบัติครบถ้วนและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการทีว่ า่ งลงจะเหลือน้อยกว่าสองเดือน บุคคลซึง่ เป็นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยูใ่ นตำ�แหน่งกรรมการ ได้เพียงเท่าวาระทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการทีต่ นแทน มติของ คณะกรรมการในการเลือกตั้งกรรมการแทนนี้ ต้องประกอบ ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำ�นวนกรรมการ ที่ยังเหลืออยู่ 5. กรณีทตี่ �ำ แหน่งกรรมการว่างลงจนเหลือน้อยกว่าจำ�นวน ทีจ่ ะเป็นองค์ประชุม ให้กรรมการทีเ่ หลืออยูก่ ระทำ�การในนาม ของคณะกรรมการได้แต่เฉพาะการจัดให้มกี ารประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ เลือกตัง้ กรรมการแทนตำ�แหน่งทีว่ า่ งทัง้ หมดเท่านัน้ โดย ให้กระทำ�ภายหนึ่งเดือนนับแต่วันที่จำ�นวนกรรมการว่างลง เหลือน้อยกว่าจำ�นวนที่จะเป็นองค์ประชุม และบุคคลซึ่งเข้า เป็นกรรมการแทนจะอยูใ่ นตำ�แหน่งได้เพียงเท่าวาระทีย่ งั เหลือ อยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน 6. กรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ใหม่ ควรได้รบั ฟังการบรรยาย สรุปเกี่ยวกับข้อมูลที่จำ�เป็น และเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติ หน้าที่กรรมการ ภายในเวลาสามเดือนนับจากวันที่ได้รับการ แต่งตั้ง การพ้นจากตำ�แหน่งกรรมการบริษัทฯ 1. ครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง 3 ปี (กรรมการซึ่งพ้นจาก ตำ�แหน่งตามวาระ จะเลือกเข้ารับตำ�แหน่งอีกก็ได้) 2. นอกจากการพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระแล้ว กรรมการ จะพ้นจากตำ�แหน่งเมื่อตาย หรือ ลาออก หรือขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามที่กฎหมายกำ�หนด หรือที่ประชุม ผู้ถือหุ้นลงมติให้ออก หรือศาลมีคำ�สั่งให้ออก 3. กรรมการคนใดจะลาออกจากตำ�แหน่ง ให้ยื่นใบลาออก ต่อบริษทั ฯ การลาออกมีผลนับแต่วนั ทีใ่ บลาออกไปถึง บริษทั ฯ หน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ มีหน้าที่จัดการกิจการของบริษัทฯ ทั้ง ปวงด้วยความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต (Duty of Care and Duty of Loyalty) มีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น เกี่ยวกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ และกำ�กับดูแลให้ การบริหารจัดการเป็นไปตามนโยบาย แนวทางและเป้าหมาย ทีจ่ ะก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ผถู้ อื หุน้ อยูใ่ นกรอบของการ มีจริยธรรมที่ดี และคำ�นึงถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสีย ทุกฝ่าย ดังนี้ รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
75
การประชุมเพื่อกำ�หนดและทบทวน วิสัยทัศน์ ทิศทางกลยุทธ์ และแผนธุรกิจของบริษัท
1. กำ�หนดวิสัยทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ของบริษัทฯ ทีส่ นับสนุนการเจริญเติบโตอย่างยัง่ ยืน ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยร่วมกันแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ ให้ความสำ�คัญในการแสวงหาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการ กำ�หนดทิศทางดังกล่าว รวมถึงมีการพิจารณาประเด็น ความเสีย่ ง ที่อาจจะเกิดขึ้น เพื่อให้มั่นใจได้ว่าผู้บริหารจะสามารถ นำ�วิสัยทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ ที่กำ�หนดขึ้นไปปฏิบัติให้ เกิดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ทบทวนและให้ความเห็นชอบกลยุทธ์และนโยบายทีส่ �ำ คัญ รวมถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมายทางการเงิน และแผนงานต่างๆ ของบริษัทฯ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง พร้อมทั้งติดตามให้มี การปฏิบัติตามแผนงานที่กำ�หนดไว้ ตามทิศทางและกลยุทธ์ ขององค์กรอย่างสม่ำ�เสมอ 3. จัดให้มรี ะบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบ บัญชีทมี่ คี วามน่าเชือ่ ถือ รวมทัง้ ดูแลให้มกี ระบวนการประเมิน ความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบ ภายในที่มีประสิทธิภาพเเละประสิทธิผล 4. จัดให้มีการพิจารณาปัจจัยเสี่ยงสำ�คัญที่อาจเกิดขึ้น และกำ�หนดแนวทางบริหารจัดการความเสี่ยงดังกล่าวอย่าง ครอบคลุม ดูแลให้มีระบบหรือกระบวนการที่มีประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึงการแสวงหาโอกาส ทางธุรกิจที่อาจจะเกิดขึ้นจากความเสี่ยงดังกล่าว 5. สอดส่องดูแลและจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ทอี่ าจจะเกิดขึน้ รวมถึงรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ให้ ความสำ�คัญในการพิจารณาธุรกรรมหลักทีม่ คี วามสำ�คัญ โดย มุ่งเน้นให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย โดยรวม 6. จัดให้มีระบบ หรือกลไกการจ่ายค่าตอบแทนผู้บริหาร ระดับสูงของบริษัทฯ ที่มีความเหมาะสม เพื่อก่อให้เกิดแรง จูงใจทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
76
7. กำ�หนดการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษทั อืน่ ของกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ บริษทั ฯ ส่วนผูบ้ ริหารระดับสูงจะต้องได้รบั ความเห็นชอบจาก กรรมการผู้จัดการใหญ่ ทั้งนี้ ไม่รวมถึงการแต่งตั้งกรรมการ ของบริษทั ในเครือ หรือบริษทั ร่วมทุนตามจำ�นวนสัดส่วนการ ถือหุ้นตามข้อตกลงในสัญญาระหว่างผู้ถือหุ้น ซึ่งกำ�หนดให้ เป็นอำ�นาจของคณะกรรมการบริษัทฯ 8. จัดให้มีการประเมินผลงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ อย่างสม่ำ�เสมอ และกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการผู้จัดการ ใหญ่ให้สอดคล้องกับผลการดำ�เนินงาน เพื่อให้เกิดแรงจูงใจ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว 9. จัดให้มชี อ่ งทางในการสือ่ สารกับผูถ้ อื หุน้ แต่ละกลุม่ อย่าง เหมาะสมและมีการประเมินผลในด้านการเปิดเผยข้อมูล เพื่อให้มน่ั ใจว่ามีความถูกต้องชัดเจน โปร่งใส น่าเชือ่ ถือ และ มีมาตรฐานสูง 10. เป็นผูน้ �ำ และเป็นแบบอย่างในการปฏิบตั งิ านทีด่ ี สอดคล้อง กับแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และแนวทางความ รับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทฯ
11. สนับสนุนให้บริษทั ฯ มีการดำ�เนินงานเพือ่ ต่อต้านการทุจริต คอร์รปั ชันทุกรูปแบบ เพือ่ ส่งเสริมหลักธรรมาภิบาลของบริษทั ฯ 12. แต่งตั้งเลขานุการบริษัท โดยบุคคลที่มคี ุณสมบัติเหมาะ สมตามที่กฎหมายกำ�หนด เพื่อรับผิดชอบหน้าที่เลขานุการ บริษัทตามที่กำ�หนดไว้ในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ อำ�นาจหน้าที่และการอนุมัติของคณะกรรรมการบริษัทฯ 1. กำ�หนดวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ แผนธุรกิจระยะสั้น ระยะยาว และนโยบายทีส่ �ำ คัญ เช่น นโยบายการการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี นโยบายการบริหารความเสีย่ ง นโยบายการต่อต้านคอร์รปั ชัน นโยบายการเปิดเผยสารสนเทศ 2. อนุมัติหลักเกณฑ์การเงิน การลงทุน และทิศทางการ ลงทุนของบริษัทฯ รวมถึงเป้าหมายทางการเงิน แผนงาน และงบประมาณประจำ�ปี 3. อนุมัติการขอซื้อขอจ้างในส่วนที่เกินวงเงินอนุมัติของ กรรมการผู้จัดการใหญ่ 4. อนุมัติการดำ�เนินงานที่สำ�คัญๆ ของบริษัทฯ ภายใต้ ข้อกำ�หนดของกฎหมาย กรอบวัตถุประสงค์ ข้อบังคับบริษทั ฯ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น รวมถึงติดตามดูแลให้ฝ่ายจัดการ ดำ�เนินงานตามนโยบายและแผนงานที่กำ�หนดไว้ อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล 5. อนุมตั กิ ารทำ�รายการตามหลักเกณฑ์ของพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์ฯ และกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง เช่น รายการที่ เกี่ยวโยงกัน การได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ 6. อนุมัติการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผู้ถือหุ้น และ วงเงินปรับค่าตอบแทนประจำ�ปีของพนักงาน 7. อนุมัติองค์ประกอบเป้าหมายในการปฏิบัติงาน ผลการ ปฏิบัติงาน และกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการผู้จัดการใหญ่ 8. อนุมัติการไปดำ�รงตำ�แหน่งในองค์กรอื่นของกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ 9. อนุมัติรายชื่อผู้บริหารเพื่อไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ของบริษัทย่อย หรือบริษัทร่วมทุน ตามข้อตกลงในสัญญา หรือตามสัดส่วนการถือหุ้น นอกจากนี้ การดำ�เนินการของคณะกรรมการบริษทั ฯ ในเรือ่ ง สำ�คัญ ทีต่ อ้ งได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยคะแนนเสียง ไม่นอ้ ยกว่าสามในสี่ (3/4) ของจำ�นวนเสียงทัง้ หมดของผูถ้ อื หุน้ ซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน มีดังต่อไปนี้
1) การขายหรือโอนกิจการของบริษทั ฯ ทัง้ หมดหรือบางส่วน ที่สำ�คัญให้แก่บุคคลอื่น 2) การซือ้ หรือรับโอนกิจการของบริษทั อืน่ หรือบริษทั เอกชน มาเป็นของบริษัทฯ 3) การทำ� แก้ไข หรือการเลิกสัญญาเกี่ยวกับการให้เช่า กิจการของบริษัทฯ ทั้งหมดหรือบางส่วนที่สำ�คัญ 4) การมอบหมายให้บุคคลอื่นเข้าจัดการธุรกิจของบริษัทฯ 5) การรวมกิจการกับบุคคลอื่น โดยมีวัตถุประสงค์จะแบ่ง กำ�ไร ขาดทุนกัน 6) การแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิหรือข้อบังคับ 7) การเพิ่มทุนหรือลดทุนของบริษัทฯ หรือการออกหุ้นกู้ 8) การควบบริษัทหรือเลิกบริษัท อำ�นาจหน้าที่ของประธานกรรมการ เพื่อให้อำ�นาจหน้าที่ในเรื่องการกำ�หนดนโยบาย และการ บริหารงานของบริ ษ ั ท ฯ สามารถแบ่ ง แยกจากกั น ได้ อ ย่ า ง ชั ด เจน รวมถึงเพือ่ ให้บทบาทในการเป็นผูน้ �ำ คณะกรรมการบ ริษทั ฯ และการกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของฝ่ายบริหาร เป็น ไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้มกี ารกำ�หนดให้ประธานกรรมกา รบริษทั ฯ และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เป็นคนละบุคคลกัน โดย ประธานกรรมการบริษัทฯ มีอำ�นาจหน้าที่ ดังนี้ 1. เรียกประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นประธานการ ประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ และการประชุมผูถ้ อื หุน้ ตลอดจนมี บทบาทในการกำ�หนดระเบียบวาระการประชุมร่วมกับกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ 2. อนุมตั เิ รือ่ งทีจ่ ะบรรจุเป็นวาระการประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ ร่วมกับกรรมการผู้จัดการใหญ่ 3. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และการประชุม ผู้ ถือหุ้น และควบคุมการประชุมให้มีประสิทธิภาพ เป็นไปตาม ระเบียบข้อบังคับบริษทั ฯ สนับสนุนและเปิดโอกาสให้กรรมการ ได้รบั ทราบข้อมูลอย่างเพียงพอ และสามารถแสดงความเห็น ได้อย่างเป็นอิสระ 4. สนับสนุนและส่งเสริมให้คณะกรรมการบริษัทฯ ปฏิบัติ หน้าทีอ่ ย่างเต็มความสามารถตามขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ความ รับผิดชอบ และหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และสนับสนุน การปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ 5. ดูแล ติดตาม การบริหารงานของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อยอื่นๆ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ กำ�หนดไว้ 6. ลงคะแนนเสียงชีข้ าดในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ในกรณีที่คะแนนเสียงทั้งสองฝ่ายเท่ากัน
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
77
คณะกรรมการชุดย่อย เพ่ือให้เป็นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการท่ีดี คณะกรรม การบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย 4 คณะเพื่อ พิจารณากล่นั กรองการดําเนินงานท่สี าํ คัญเป็นการเฉพาะเรือ่ ง ให้เป็นไปอย่างรอบคอบและมีประสิทธิภาพ โครงสร้างของ คณะกรรมการชุดย่อย มีดังต่อไปน้ี
1
2
3
1. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ แต่งตัง้ จากกรรมการบริษทั ฯ อย่าง น้อย 3 คน ซึ่งเป็นกรรมการอิสระของบริษัทฯ โดยต้องมี คุณสมบัตคิ วามเป็นกรรมการอิสระตามประกาศคณะกรรมการ กำ�กับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ ต้องมีกรรมการอย่างน้อย 1 คนเป็นผูม้ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์ เพียงพอทีจ่ ะสามารถทำ�หน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ่ ถือ ของงบการเงิน โดยมีรายชื่อดังนี้ 1) นายทรงภพ พลจันทร์ (กรรมการอิสระ) 2) นางสาวร่ืนวดี สุวรรณมงคล (กรรมการอิสระ) 3) นายเจษฎา พรหมจาต (กรรมการอิสระ) ผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบภายใน และเลขานุการคณะ กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้แต่งตั้งผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบ ภายใน เพือ่ ทำ�หน้าทีต่ รวจสอบการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ ให้ เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ และระบบควบคุมภายใน ที่ วางไว้ รวมถึงการรับข้อร้องเรียนจากบุคคลภายนอกและ ภายในบริษัทฯ โดยผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบภายใน จะมี ความเป็นอิสระและรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้แต่งตัง้ ผูจ้ ดั การสำ�นักตรวจสอบ ภายใน เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ เพือ่ ทำ�หน้าที่ ช่วยเหลือการดำ�เนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบเกีย่ วกับ การจัดประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ การนัดหมายประชุม การจัดเตรียมวาระ การส่งเอกสารประกอบการประชุม และ การบันทึกรายงานการประชุม โดยพิจารณาจากบุคคลที่มี ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน นายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กูล ดำ�รงตำ�แหน่ง ผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบภายใน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 – ปัจจุบัน และดำ�รงตำ�แหน่ง เลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 – ปัจจุบนั (ข้อมูลประวัตนิ ายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กลู ปรากฏ ในประวัติผู้บริหาร หน้า 32)
78
วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. กรรมการตรวจสอบมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งตามระยะ เวลาการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทฯ 2. กรรมการตรวจสอบที่พ้นจากตำ�แหน่งตามวาระ อาจได้ รับการแต่งตัง้ ให้ด�ำ รงตำ�แหน่งใหม่ได้อกี ตามทีค่ ณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาเห็นสมควร 3. กรรมการตรวจสอบพ้นจากตำ�แหน่งในกรณีใดกรณีหนึง่ ซึ่งบริษัทฯ จะต้องชี้แจงสาเหตุให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ ทราบ ดังต่อไปนี้ • พ้นจากการเป็นกรรมการของบริษัทฯ • ขาดคุณสมบัติการเป็นกรรมการตรวจสอบ • ลาออก • ตาย • ผู้ถือหุ้นมีมติให้ถอดถอนโดยกระบวนการตามกฎหมาย 4. ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบว่างลงเพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาแต่งตัง้ กรรมการอืน่ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ป็นกรรมการตรวจ สอบรายใหม่ให้ครบถ้วนภายในระยะเวลา 3 เดือน นับแต่วัน ที่มีจำ�นวนกรรมการตรวจสอบไม่ครบ อำ�นาจและหน้าที่ 1) สอบทานให้บริษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินตามมาตรฐา การบัญชีที่กำ�หนดโดยกฎหมายอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2) สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และสอบทานประสิทธิผลและ ความเพียงพอของกระบวนการบริหารความเสี่ยง
3) สอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฏมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของบริษัทฯ 4) พิจารณารายการเกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำ�หนด ของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าว สมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ 5) พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็น อิสระเพื่อทำ�หน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ เสนอเลิกจ้าง และเสนอค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี รวมทั้งเข้าร่วมประชุม ร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วย อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง 6) พิจารณาขอบเขตการตรวจสอบและแผนการตรวจสอบ ของผู้ตรวจสอบบัญชีและสำ�นักตรวจสอบภายใน ให้มีความ สัมพันธ์และเกื้อกูลกันและลดความซ้ำ�ซ้อนในส่วนที่เกี่ยวกับ การตรวจสอบด้านการเงิน 7) ให้ความเห็นชอบแผนการตรวจสอบ รวมทั้งให้ความ เห็นประกอบการพิจารณางบประมาณและอัตรากำ�ลังของ สำ�นักตรวจสอบภายใน
8) พิจารณา แต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้างผูจ้ ดั การสำ�นักตรวจสอบ ภายใน รวมทัง้ พิจารณาความเป็นอิสระของสำ�นักตรวจสอภายใน 9) สอบทานความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมภายในและ การบริหารความเสี่ยง 10) จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผย ไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้อง ลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 11) มีอำ�นาจในการเข้าถึงข้อมูลของการตรวจสอบ และ สอบสวนผู้ที่เกี่ยวข้องภายใต้ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยปฏิบตั ติ ามระเบียบของบริษทั ฯ 12) ในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบ หรือมีขอ้ สงสัยว่ามีรายการหรือการกระทำ�ซึง่ อาจมีผลกระทบ อย่างมีนัยสำ�คัญต่อฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานของ บริษทั ฯ ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขอย่างทันเวลา ได้แก่ (1) รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (2) การทุจริตหรือมีสงิ่ ผิดปกติหรือมีความบกพร่องทีส่ �ำ คัญ ในระบบควบคุมภายใน (3) การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง กับธุรกิจของบริษัทฯ หากคณะกรรมการบริษัทฯ หรือผู้บริหารไม่ดำ�เนินการให้มี การปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาทีเ่ หมาะสมโดยไม่มเี หตุอนั ควร คณะกรรมการตรวจสอบจะต้องรายงานว่า มีรายการหรือการ กระทำ�ทีฝ่ ่าฝืนกฎหมายดังกล่าวต่อสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยทันทีเมื่อได้รับทราบข้อมูลดังกล่าว 13) ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
1
2
3
2. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน แต่งตั้งจาก กรรมการบริษัทฯ อย่างน้อย 3 คน และอย่างน้อย 1 คนเป็น กรรมการอิสระของบริษัทฯ โดยมีรายชื่อดังนี้ 1) นายวุฒิสาร ตันไชย (กรรมการอิสระ) ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2) นายสมนึก บำ�รุงสาลี กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 3) นายชวลิต พันธ์ทอง กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
นางสาวมนวิภา จูภิบาล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กร และเลขานุการบริษัท ปฏิบัติหน้าที่ เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน 1. กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีวาระการดำ�รง ตำ�แหน่งตามระยะเวลาการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทฯ 2. กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนทีพ่ น้ จากตำ�แหน่ง ตามวาระ อาจได้รับการแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ได้อีก ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาเห็นสมควร อำ�นาจและหน้าที่ 1) พิจารณาโครงสร้างและคุณสมบัติของกรรมการบริษัทฯ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ 2) พิจารณาหลักเกณฑ์ แนวทาง และวิธกี ารสรรหากรรมการ บริษทั ฯ กรรมการชุดย่อย และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เพือ่ ให้ เป็นไปตามกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ 3) พิจารณาคัดสรรบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอชื่อเป็น กรรมการบริษทั ฯ ทัง้ ในกรณีทมี่ ตี �ำ แหน่งว่างลง หรือครบวาระ การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ เพือ่ เสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ (แล้วแต่กรณี) 4) พิจารณาสรรหากรรมการบริษทั ฯ ทีส่ มควรได้รบั การแต่งตัง้ เป็นคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ อนุมตั ิ 5) พิจารณาคัดสรรบุคคลที่สมควรดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่อย่างรอบคอบและเหมาะสม เกิดประโยชน์สงู สุด ต่อบริษทั ฯ และนำ�เสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาอนุมตั ิ 6) พิจารณากำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ฯ และกรรมการ ผู้จัดการใหญ่อย่างโปร่งใส เป็นธรรม และสมเหตุสมผล โดย ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทฯ จะต้องนำ�เสนอคณะกรรมการ บริษัทฯ เเละที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ สำ�หรับค่า ตอบแทนกรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการบริษัทฯ จะ เป็นผู้พิจารณาอนุมัติ 7) พิจารณากำ�หนดหลักเกณฑ์ กระบวนการประเมินผล และ เป้าหมายการปฏิบตั งิ านของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ นำ�เสนอ คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ 8) พิจารณาประเมินผลการปฏิบตั งิ านประจำ�ปีของกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ เพื่อกำ�หนดอัตราการปรับเงินเดือน โบนัส หรือผลประโยชน์ตอบแทนในรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับ สถานการณ์และธุรกิจของบริษัทฯ นำ�เสนอคณะกรรมการ บริษัทฯ อนุมัติ 9) ปฏิบตั งิ านอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
79
การสรรหากรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน เพือ่ พิจารณาคัดเลือก กลัน่ กรองบุคคลที่ มีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสมและสมควรได้รบั การเสนอชือ่ เป็นกรรม การบริษทั ฯ เพือ่ นำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ หรือผูถ้ อื หุน้ พิจารณาแต่งตั้ง (แล้วแต่กรณี) โดยมีขั้นตอนการสรรหาที่ ชัดเจนและโปร่งใส ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้พิจารณา ตามแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ใี นเรือ่ งการปฏิบตั ติ อ่ ผู้ ถือหุน้ อย่างเท่าเทียมกัน จึงได้เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อย รายเดียวหรือหลายราย ซึง่ ถือหุน้ รวมกันไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 4 ของจำ�นวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ สามารถเสนอ ชื่อบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมเข้ารับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการบริษัทฯ ได้เป็นการล่วงหน้าสำ�หรับการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีด้วย การสรรหาผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนเป็นผูพ้ จิ ารณาเสนอชือ่ กรรมการต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่ การสรรหา ผู้บริหาร ระดับรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการ บริษทั ฯ ได้มอบอำ�นาจให้กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็นผูพ้ จิ ารณา แต่งตั้งบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่ เหมาะสมทีจ่ ะดำ�รงตำ�แหน่งผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ รวมถึงไม่มี ลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ขั้นตอนการพิจารณาสรรหากรรมการ เมื่อคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ได้รับราย ชื่อบุคคลที่ถูกเสนอชื่อเป็นกรรมการบริษัทฯ จากผู้ถือหุ้น ตามเกณฑ์ที่กำ�หนด และ/หรือได้สรรหาบุคคลที่เห็นควรเป็น กรรมการบริษัทฯ แล้ว คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่า ตอบแทนจะพิจารณาคัดกรองตามคุณสมบัตทิ คี่ ณะกรรมการ บริษัทฯ กำ�หนด และตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1) พิจารณาความเหมาะสมของความรู้ ประสบการณ์ ความ สามารถเฉพาะด้านทีเ่ ป็นประโยชน์กบั บริษทั ฯ ความสอดคล้อง กับทิศทางการดำ�เนินธุรกิจ เป้าหมายและแผนกลยุทธ์ของบ ริ ษั ท ฯ ทั ้ ง ระยะสั ้ นและระยะยาว 2) พิจารณาความหลากหลายทัง้ เพศ อายุ ความชำ�นาญ ทักษะ และประสบการณ์ (Board Skill Matrix / Board Diversity) ความรู้ความสามารถทั้งทางด้านวิชาการ (Hard Skill) และ ด้านปัจจัยสนับสนุนความยั่งยืน (Soft Skill) เพื่อให้ได้มา ซึ่งกรรมการที่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสนับสนุนให้องค์ประกอบคณะกรรมการบริษัทฯ ทั้งคณะ มีความครบถ้วนสมบูรณ์ ทั้งในมิติความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และมิตคิ วามหลากหลายทีเ่ อือ้ ประโยชน์ให้การ ทำ�งานมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยใช้ขอ้ มูลกรรมการทีม่ รี ายชือ่ ในบัญชีรายชือ่ กรรมการรัฐวิสาหกิจ (Director Pool) ประกอบ การพิจารณาด้วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีกรรมการที่มีรายชื่อใน Director Pool รวม 13 คน
80
3) พิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติตามกฎหมาย ข้อกำ�หนด ของหน่วยงานกำ�กับดูแล ข้อบังคับบริษัทฯ และคู่มือการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ โดยใช้แบบสำ�รวจ 4 แบบ ได้แก่ 1. คุณสมบัตขิ องกรรมการบริษทั ฯ และ/หรือกรรมการ อิสระ 2.คุณสมบัติของกรรมการที่เสนอแต่งตั้ง 3. Board Skill Matrix/ Board Diversity 4. ตารางแสดงระยะเวลา ครบวาระดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการแต่ละท่าน 4) พิจารณาการอุทศิ เวลาของกรรมการ (กรณีกรรมการเดิม) จำ�นวนบริษัทจดทะเบียนที่กรรมการแต่ละคนดำ�รงตำ�แหน่ง และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2554 เรื่องการ แต่งตัง้ ข้าราชการระดับสูงหรือบุคคลดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ในรัฐวิสาหกิจหลายแห่ง 5) กรณีการเสนอแต่งตัง้ กรรมการอิสระ พิจารณาความเป็น อิสระตามหลักเกณฑ์ที่สำ�นักงาน ก.ล.ต.กำ�หนด และหลัก เกณฑ์คุณสมบัติกรรมการอิสระของบริษัทฯ ตลอดจนความ จำ�เป็นในการสรรหากรรมการอิสระเพิ่มเติม 6) พิจารณาวาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการ / กรรมการ อิสระ โดยมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี และสามารถ ได้รับการเลือกตั้งได้ต่อเนื่องไม่เกิน 3 วาระติดต่อกัน (9 ปี) 7) ทาบทามบุคคลที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับเกณฑ์ที่ กำ�หนด เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบุคคลดังกล่าวมีความยินดีทจี่ ะมารับ ตำ�แหน่งกรรมการของบริษัทฯ หากได้รับการแต่งตั้ง 8) เสนอรายชื่อบุคคลที่ได้พิจารณาคัดกรองตามเกณฑ์ ข้างต้นแล้ว พร้อมคุณสมบัติและเหตุผลในการคัดเลือก ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบเพื่อ นำ�เสนอผู้ถือหุ้นอนุมัติ หรือคณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ แต่งตั้งได้ในกรณีเป็นการแต่งตั้งกรรมการเพื่อทดแทน ตำ�แหน่งที่ว่างหรือมีกรรมการลาออกระหว่างปี ซึ่งเป็นไป ตามที่กำ�หนดไว้ในข้อบังคับบริษัทฯ และ พระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจำ�กัด สำ�หรับกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน จะพิจารณาความรู้ความสามารถที่เหมาะสม องค์ประกอบของกรรมการชุดย่อยทั้งคณะ และเกณฑ์การ ดำ�รงตำ�แหน่ง อาทิ Board Skill Matrix/Board Diversity คุ ณ สมบั ติ ค วามเป็ น อิ ส ระของกรรมการ และนำ � เสนอ คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ 3. คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี แต่งตั้งจากกรรมการ บริษัทฯ อย่างน้อย 3 คน และอย่างน้อย 1 คน เป็นกรรมการ อิสระ เพือ่ ทำ�หน้าทีพ่ จิ ารณาเสนอแนวปฏิบตั แิ ละให้ค�ำ แนะนำ� ด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และกำ�กับดูแลการดำ�เนินงาน โดยมีรายชื่อดังนี้
6) ประเมินผลการปฏิบัติงานประจำ�ปีของคณะกรรมการ บริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อการปรับปรุงพัฒนา 7) รายงานผลการปฏิบัติงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ 8) ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ นื่ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย 1
2
3
1) นายอนุสรณ์ แสงนิ่มนวล (กรรมการอิสระ) ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 2) พลเอกสสิน ทองภักดี (กรรมการอิสระ) กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 3) นายประมวล จันทร์พงษ์ (กรรมการอิสระ) กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี นางสาวมนวิภา จูภิบาล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กรและเลขานุการบริษัท ปฏิบัติหน้าที่ เลขานุการคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี 1. กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ตามระยะเวลาการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทฯ 2. กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีที่พ้นจากตำ�แหน่งตาม วาระ อาจได้รับการแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ได้อีกตาม ที่คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาเห็นสมควร อำ�นาจและหน้าที่ 1) เสนอแนวปฏิบัติและให้คำ�แนะนำ�ด้านการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีต่อคณะกรรมการบริษัทฯ 2) ทบทวนหลักการและแนวปฏิบตั ดิ า้ นการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี โดยเปรียบเทียบกับมาตรฐานสากล และเสนอแนะต่อคณะกรรม การบริษัทฯ เพื่อพิจารณาปรับปรุงให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง 3) กำ�กับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัทฯ และฝ่ายจัดการ เพื่อให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 4) กำ�กับดูแลการปฏิบัติงานตามนโยบาย และแผนปฏิบัติ งานด้านกำ�กับดูแลกิจการที่ดีประจำ�ปีของบริษัท ตามที่คณะ กรรมการบริษทั ฯ อนุมตั ติ ามข้อเสนอของคณะกรรมการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี 5) กำ�กับดูแลการดำ�เนินการตามนโยบายการป้องกันการทุจริต คอร์รปั ชัน นโยบายด้านการบริหารจัดการความยัง่ ยืน นโยบาย ด้านการดูแลสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม รวมถึงนโยบาย อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้าน GRC (Good Governance, Risk Management and Compliance Management) เพือ่ ให้เป็น ไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับธุรกิจของบริษัทฯ
1
2
3
4
4. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง แต่งตัง้ จากกรรมการบริษทั ฯ อย่างน้อย 3 คน ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญในธุรกิจปิโตรเลียมหรือ ปิโตรเคมี โดยมีอ�ำ นาจหน้าทีก่ �ำ หนดนโยบายการบริหารความ เสี่ยง แผนการจัดการความเสี่ยง และกระบวนการบริหาร ความเสีย่ งทัว่ ทัง้ องค์กรให้สอดคล้องกับแผนธุรกิจ และแผน กลยุทธ์ของบริษัทฯ โดยมีรายชื่อ ดังนี้ 1) 2) 3) 4)
นายณัฐชาติ จารุจินดา ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร กรรมการบริหารความเสี่ยง นายเอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ กรรมการบริหารความเสี่ยง นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ กรรมการบริหารความเสี่ยง นางสาววนิดา อุทยั สมนภา ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานแผนธุรกิจองค์กร ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. กรรมการบริหารความเสีย่ งมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งตาม ระยะเวลาการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทฯ 2. กรรมการบริหารความเสีย่ งทีพ่ น้ จากตำ�แหน่ง อาจได้รบั การแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ได้อีก ตามที่คณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาเห็นสมควร อำ�นาจและหน้าที่ 1) กำ�หนดนโยบายและเสนอแนะแนวทางให้การบริหาร ความเสี่ยงต่างๆ ที่เกี่ยวกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
81
82
2) กำ�หนดเเผนจัดการความเสี่ยงเเละกระบวนการบริหาร ความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร 3) พิจารณาหลักการเครื่องมือทางการเงินสัญญาอนุพันธ์ เช่น สัญญา ซื้อ/ขายสินค้าล่วงหน้า สัญญากำ�หนดส่วนต่าง ราคาในการลดความเสี่ยงบริษัทฯ 4) พัฒนาระบบการจัดการบริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กรให้มี ประสิทธิภาพ 5) ติดตามเเละประเมินผลการปฏิบัติตามกรอบการบริหาร ความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร 6) รายงานการกำ�กับผลการประเมินความเสี่ยง และการ ดำ�เนินงานเพือ่ ลดความเสีย่ งต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ ทราบ เป็นประจำ� ในกรณีทมี่ เี รือ่ งสำ�คัญซึง่ กระทบต่อบริษทั ฯ อย่างมี นัยสำ�คัญต้องรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณา โดยเร็วที่สุด 7) สนับสนุนผู้บริหารความเสี่ยง (Risk Manager) ในการ ดำ�เนินงาน การประเมินปัจจัยหลักในการบริหารความเสี่ยง อย่างต่อเนือ่ ง ให้สอดคล้องกับแผนธุรกิจ (Corporate Plan) และทัดเทียมกับบริษัทชั้นนำ� 8) กลัน่ กรองและให้ค�ำ แนะนำ�ต่อการบริหารความเสีย่ งของ โครงการลงทุน ทีม่ คี วามซับซ้อนเชิงเทคนิคสูง มีภาระผูกพัน ระยะยาว และเป็นความเสี่ยงที่มีนัยสำ�คัญ 9) ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ นื่ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงในระดับฝ่ายจัดการ นอกจากคณะกรรมการชุดย่อยในระดับกรรมการบริษทั ฯ แล้ว บริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งในระดับฝ่าย จัดการ และคณะทำ�งาน เพือ่ ติดตามดูแลการบริหารความเสีย่ ง และระบบควบคุมภายในทัง้ องค์กรให้มปี ระสิทธิภาพ ได้แก่ 1. คณะกรรมการขับเคลื่อนการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Steering Committee : RMSC) 2. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงด้านห่วงโซ่อุปทานและ ด้านการเงิน (Hedging Committee) 3. ผู้จัดการความเสี่ยง (Risk Manager) มีหน้าที่รับผิดชอบ ในการจัดการบริหารความเสี่ยงในภาพรวมของหน่วยงาน 4. ผู้รับผิดชอบความเสี่ยง (Risk Owner) มีหน้าที่ในการ บริหารจัดการความเสี่ยง กำ�หนดแผนบริหารความเสี่ยง 5. ผู้ประสานงานการบริหาร (Risk Agent) มีหน้าที่ประสาน ให้หน่วยงาน หรือโครงการ ร่วมกันดำ�เนินการจัดทำ�แผน บริหารความเสี่ยง และรายงานความคืบหน้า หรือผลการ บริหารความเสี่ยงต่อผู้จัดการฝ่าย หรือ ผู้จัดการโครงการ เพือ่ ให้มั่นใจว่ามีการบริหารความเสี่ยงที่ตอบสนองต่อความ เสี่ยงระดับหน่วยงานอย่างเหมาะสมและเพียงพอ 6.คณะทำ�งานกำ�กับกฎเกณฑ์และใบอนุญาต (Compliance working team) มีหน้าที่บริหารความเสี่ยงเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของบริษัทฯ และรายงานผลการปฏิบัติ งานให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทราบ รวมถึงให้
คำ�ปรึกษาประเด็นปัญหาด้านการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ การ รวบรวมกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจของ บริษัทฯ การจัดทำ�ระบบแจ้งเตือน ระบบสนับสนุนการปฏิบัติ งานเพือ่ บริหารความเสีย่ งเกีย่ วด้านการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด การประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดการประชุมไว้ลว่ งหน้าตลอด ปี โดยประชุมเดือนละ 1 ครั้ง ในวันอังคารสัปดาห์ที่สามของ เดือน และอาจมีการประชุมวาระพิเศษเพิ่มเติมตามความ เหมาะสม ประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นผู้ร่วมกันกำ�หนดวาระการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และพิจารณาเรื่องที่จะบรรจุเป็นวาระการประชุม โดยได้เปิด โอกาสให้กรรมการบริษัทฯ แต่ละคนสามารถเสนอเรื่องเพื่อ เข้ารับการพิจารณาเป็นวาระการประชุมได้ โดยมีเลขานุการ บริษัททำ�หน้าที่จัดเตรียมการประชุมให้เป็นไปด้วยความ เรียบร้อยและเอื้อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ อาทิ การให้คำ�แนะนำ�และข้อมูลด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับบริษัทฯ ที่เกี่ยวข้อง การจัดส่งหนังสือเชิญประชุม ระเบียบวาระการประชุมทีม่ รี ายละเอียดครบถ้วนและเพียงพอ ต่อการตัดสินใจของกรรมการ (ล่วงหน้าก่อนการประชุม 7 วัน เพือ่ ให้กรรมการมีเวลาเพียงพอในการศึกษาก่อนการประชุม) ในการประชุมทุกครั้ง เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี กรรมการที่เข้าข่ายมีความเกี่ยวข้อง หรือมี ส่วนได้สว่ นเสียในแต่ละวาระการประชุม จะไม่เข้าร่วมประชุม หรืองดออกเสียงในวาระนั้นๆ โดยประธานกรรมการจะเปิด โอกาสให้กรรมการแต่ละคนได้เสนอความคิดเห็นอย่างเป็น อิสระ และให้มีการชี้แจงข้อซักถามในทุกประเด็นก่อนที่จะ ลงมติ โดยคะแนนเสียงข้างมากหรือมติพิเศษ (แล้วแต่กรณี ตามที่ข้อบังคับบริษัทฯ กำ�หนด) และในการลงมติต้องมี กรรมการอยู่ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของกรรมการทั้งหมด โดย จะมีการบันทึกไว้ในรายงานการประชุม รวมถึงข้อคิดเห็น และ ข้อสังเกตของกรรมการไว้อย่างชัดเจน และจะนำ�เสนอทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษัทฯ รับรองในการประชุมครั้งถัดไป โดย รายงานการประชุมทีไ่ ด้รบั การรับรองแล้วพร้อมเอกสารประกอบ วาระการประชุม จะถูกจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบในรูปแบบ อิเลคทรอนิกส์ เพือ่ สะดวกต่อการสืบค้นอ้างอิง และมีล�ำ ดับชัน้ ความลับของการเข้าถึงเอกสาร ในปี 2559 มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ รวม 12 ครั้ง มีการประชุมคณะกรรมการอิสระ 2 ครัง้ และมีการประชุมคณะ กรรมการโดยไม่มผี บู้ ริหารเข้าประชุมด้วย 1 ครัง้ รวมถึงมีการ ประชุมเพื่อกำ�หนด และทบทวน วิสัยทัศน์ ทิศทาง กลยุทธ์ และแผนธุรกิจขององค์กรเป็นวาระพิเศษ 1 ครั้ง สัดส่วนกรรมการบริษัทฯ ทั้งคณะที่เข้าประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ ในปี 2559 เฉลี่ยเท่ากับ ร้อยละ 97 (มากกว่าร้อยละ 80) และกรรมการบริษัทฯ แต่ละคนมีสัดส่วนเข้าร่วมประชุม เท่ากับ ร้อยละ 75- 100 รายละเอียดตามตารางการเข้าร่วม ประชุมฯ ดังนี้
การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ ในปี 2559
รายชื่อ คณะกรรมการบริษัทฯ
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20.
นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายวุฒิสาร ตันไชย นายณัฐชาติ จารุจินดา (1) นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร นายชวลิต พันธ์ทอง นายทรงภพ พลจันทร์ นายประมวล จันทร์พงษ์ นายสมนึก บำ�รุงสาลี นายอนุสรณ์ แสงนิ่มนวล (2) พลเอก สสิน ทองภักดี พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ (3) นายเอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ นายเจษฎา พรหมจาต (4) นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล (5) นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ (6) นายวัชรกิติ วัชโรทัย (7) นายสรัญ รังคสิริ (8) นายธรัมพ์ ชาลีจันทร์ (9) นายประสิทธิ์ สืบชนะ (10)
คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัทฯ บริหาร ตรวจสอบ กำ�กับดูแล สรรหาและ อิสระ บริษัทฯ ความเสี่ยง กิจการที่ดี กำ�หนด โดยไม่มี ค่าตอบแทน ผู้บริหาร
(จำ�นวน 15 คน) (จำ�นวน 4 คน) (จำ�นวน 3 คน) (จำ�นวน 3 คน) (จำ�นวน 3 คน)
จำ�นวน การประชุม ทั้งปี 12 ครั้ง
จำ�นวน การประชุม ทั้งปี 5 ครั้ง
จำ�นวน การประชุม ทั้งปี 12 ครั้ง
จำ�นวน การประชุม ทั้งปี 7 ครั้ง
จำ�นวน การประชุม ทั้งปี 5 ครั้ง
จำ�นวน การประชุม 2 ครั้ง
จำ�นวน การประชุม 1 ครั้ง
12/12 12/12 8/8 12/12 12/12 12/12 12/12 12/12 4/4 9/12 3/4 12/12 9/9 8/9 12/12 8/8 7/7 3/3 3/3 -
4/4 4/4 4/4 5/5 1/1 -
12/12 4/4 5/8 8/8 3/3 -
7/7 3/3 6/7 4/4 -
5/5 2/2 3/3 2/2 3/3 -
2/2 2/2 1/1 1/1 2/2 1/1 1/1 1/2 1/1 1/1 -
1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 -
หมายเหตุ: 1. นายณัฐชาติ จารุจินดา ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2559 มีผลวันที่ 29 เมษายน 2559 2. นายอนุสรณ์ แสงนิ่มนวล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 8/2559 มีผลวันที่ 27 สิงหาคม 2559 3. พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 8/2559 มีผลวันที่ 1 กันยายน 2559 4. นายเจษฎา พรหมจาต ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 3/2559 มีผลวันที่ 16 มีนาคม 2559 5. นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 มีผลวันที่ 1 เมษายน 2559 6. นายเชิดพงษ์ สิรวิ ชิ ช์ อายุครบ 70 ปี บริบรู ณ์ (ตามหลักกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ กรรมการมีอายุไม่เกิน 70 ปี บริบรู ณ์) โดยมีผลวันที่ 1 กันยายน 2559 7. นายวัชรกิติ วัชโรทัย ลาออกจากกรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 25 กรกฎาคม 2559 8. นายสรัญ รังคสิริ ลาออกจากกรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 4 เมษายน 2559 9. นายธรัมพ์ ชาลีจันทร์ ครบวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 วันที่ 1 เมษายน 2559 10. นายประสิทธิ์ สืบชนะ ลาออกจากกรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 4 มกราคม 2559
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
83
ฝ่ายจัดการ โครงสร้างของฝ่ายจัดการบริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) มีกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็นผูบ้ ริหารสูงสุดรับผิดชอบในการ บริหารงานตามนโยบายและเป้าหมายทีไ่ ด้รบั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทฯ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และเมื่อการ เปลีย่ นแปลงโครงสร้างฝ่ายจัดการอย่างมีนยั สําคัญ กรรมการ ผู้จัดการใหญ่จะนําเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา อนุมตั ิ โดยในปี 2559 ไม่มกี ารปรับโครงสร้างอย่างมีนยั สาํ คัญ ยกเว้นการโยกย้ายปรับเปลี่ยนภายในสายงาน ประกอบด้วย หน่วยงานระดับรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ 3 หน่วยงาน และระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ 11 หน่วยงาน ตามโครงสร้างองค์กร หน้า 22 และรายช่ือและประวัติ ผู้บริหารปรากฎในหน้า 23-34 กรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มอบหมายให้กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ในฐานะหัวหน้าของฝ่ายจัดการ เป็นผู้มีอำ�นาจหน้าที่ในการ บริหารจัดการงานของบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ข้อ บังคับ และนโยบายทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ กำ�หนดไว้ โดยมี การกำ�หนดขอบเขตอำ�นาจไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษรอย่างชัดเจน รวมถึงมีการจัดทำ�ระเบียบบริษัทฯ ในการดำ�เนินงานด้าน ต่างๆ เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงาน ทราบและยึดถือปฏิบัติ ปัจจุบันนายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2556 หน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการใหญ่ 1) บริหารกิจการของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และนโยบาย ของคณะกรรมการบริษัทฯ
2) บังคับบัญชาผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษัทฯ ทุกตำ�แหน่ง กำ�หนดระเบียบข้อบังคับในการทำ�งาน บรรจุ แต่งตัง้ กำ�หนดอัตราเงินเดือน ค่าจ้างหรือสวัสดิการ โยกย้าย ถอดถอน ปลด หรือปรับเลือ่ นขัน้ เลือ่ นเงินเดือน เลือ่ นตำ�แหน่ง และการลงโทษทางวินยั ต่างๆ ภายใต้กรอบนโยบายของคณะ กรรมการบริษัทฯ 3) ปฏิบตั งิ านตามแผนนโยบาย แผนกลยุทธ์ แผนธุรกิจ วิสยั ทัศน์ และพันธกิจของบริษัทฯ ตามแนวทางที่ได้รับอนุมัติจากคณะ กรรมการบริษัทฯ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิด ประโยชน์สูงสุด 4) อนุมตั งิ บประมาณการลงทุน การพัสดุ การจัดซือ้ จัดจ้าง รวมถึงค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ภายใต้แผน ธุรกิจและงบประมาณประจำ�ปีที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรม การบริษัทฯ
84
5) บริหารกระแสเงินสด การลงทุน งบประมาณ แผนและ กระบวนการบริหารความเสีย่ ง ภายใต้แนวทางและกรอบอำ�นาจ ที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างครอบคุลม และมีประสิทธิภาพ 6) พิจารณาผลประกอบการของบริษัทฯ และนำ�เสนอการ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาล เงินปันผลประจำ�ปี เพื่อขออนุมัติ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ หรือผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) 7) ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของบริษทั ฯ และรายงานความ ก้าวหน้าตามแผนงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นประจำ� ทุกไตรมาส 8) เป็นผู้นำ�และเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตามหลัก จริยธรรม และจรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท ฯ 9) เป็นผูน้ �ำ และเป็นแบบอย่างทีด่ เี พือ่ สนับสนุน และกระตุน้ ให้พนักงานมีการปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กร มีการตัดสิน ใจในทิศทางที่เหมาะสม มีการสื่อสารเพื่อสร้างความเชื่อมั่น และภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม มี ความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน และการให้ความสำ�คัญ กับเรื่องความปลอดภัย และอาชีวอนามัย เป็นต้น 10) ดำ�เนินการให้บริษัทฯ มีการปฏิบัติตามแนวทางการต่อ ต้านคอร์รัปชันและทุจริตติดสินบน 11) ดำ�เนินการให้บริษัทฯ มีการปฏิบัติตามเป้าหมายความ ยั่งยืน Sustain Development Goals (SDGs) เพื่อมุ่งสู่ การเป็นองค์กรที่เป็นพลเมืองดีของโลก (Good Corporate Citizenship) 12) ดำ�เนินการใดๆ เพือ่ สนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ฯ ตามอำ�นาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ
ผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ผู้บริหารของบริษัทฯ มีจำ�นวน 17 คน โดยมีรายชื่อ ดังนี้ รายชื่อ
ตำ�แหน่ง
1. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ
กรรมการผู้จัดการใหญ่
2. นายพงศ์ประพันธ์ ฐิตทวีวัฒน์
4. นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น และรักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการการกลั่น รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายพาณิชยกิจและการตลาด และรักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน
5. นายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กูล
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่ผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบภายใน
6. นายประเวศ อัศวดากร
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ศูนย์วิจัยผลิตภัณฑ์นวัตกรรม
7. นางสาวมนวิภา จูภิบาล
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กร/เลขานุการบริษัท
8. นางสาวอรพินท์ เกตุรัตนกุล
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักบริหารความยั่งยืน
9. นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้อำ�นวยการโครงการ EVEREST
3. นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล
10. นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ์
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานทรัพยากรบุคคล
11. นางสาววนิดา อุทัยสมนภา
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานแผนธุรกิจองค์กร
12. นายชลอ ภาณุตระกูล
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ
13. นายวีรวัฒน์ ศรีนรดิษฐ์เลิศ
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวิศวกรรมและบำ�รุงรักษา
14. นายทฤษฎี วัฒนางกูร
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานสนับสนุนปฏิบัติการผลิต
(1)
15. นายวรวุฒิ ศิวะเพ็ชรานาถ 16. นายวิชิต นิตยานนท์
(2)
(3)
17. นายโพธิวัฒน์ เผ่าพงศ์ช่วง
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานเทคโนโลยีและปฏิบัติการที่เป็นเลิศ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการปิโตรเคมี ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดกรรมการผู้จัดการใหญ่
หมายเหตุ 1. นายทฤษฎี วัฒนางกูร เกษียณอายุ ณ 31 ธันวาคม 2559 2. นายวรวุฒิ ศิวะเพ็ชรานาถ ดำ�รงตำ�แหน่งผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการผลิต ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 3. นายวิชิต นิตยานนท์ ดำ�รงตำ�แหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานสนับสนุนปฏิบัติการผลิต ณ วันที่ 1 มกราคม 2560
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
85
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหาร 1) นำ�นโยบายและเป้าหมายจากกรรมการผู้จัดการใหญ่ไป ยึดถือปฏิบัติ 2) กำ�หนดแผนกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ และเป้าหมายสำ�คัญ ของสายงานทีส่ อดคล้องกับวิสยั ทัศน์และพันธกิจขององค์กร เพื่อดำ�เนินการและใช้เป็นแนวปฏิบัติของผู้ใต้บังคับบัญชา 3) รับผิดชอบการบริหารงานให้ประสบความสำ�เร็จตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และแผนกลยุทธ์ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ภายใต้ขอบเขตการบริหารจัดการตามโครงสร้างองค์กร ตาม ภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4) แนะนำ� สนับสนุน ช่วยเหลือ และแก้ไขปัญหาให้กบั ทีมงาน สร้างแรงจูงใจ และสภาพแวดล้อมที่ดีในการทำ�งาน เพื่อให้ ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาสามารถปฏิบตั งิ านได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 5) สนับสนุนผูใ้ ต้บงั คับบัญชาให้มกี ารพัฒนาเพือ่ การเรียนรู้ และเติบโต และสามารถดึงศักยภาพออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดทั้งต่อตัวเองและองค์กร 6) สนับสนุนการเติบโตอย่างยัง่ ยืนของบริษทั ฯ ภายใต้หลัก การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี การเป็นบรรษัทภิบาล และเป็นองค์กร ที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม คณะกรรมการจัดการ (Management Committee)
86
เพื่อให้การบริหารงานของบริษัทฯ ดำ�เนินไปอย่างมีระบบ มี ประสิทธิภาพ และเสริมสร้างความเชือ่ มโยงและการประสานงาน ที่ดีในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทร่วมทุนและบริษัท ในเครือ กรรมการผู้จัดการใหญ่จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการ จัดการ ประกอบด้วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ทุกสายงาน โดยมีผชู้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กร และ เลขานุการบริษัท ทำ�หน้าที่เลขานุการคณะกรรมการจัดการ คณะกรรมการจัดการ กำ�หนดการประชุมล่วงหน้าตลอดปี โดยประชุมสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทุกวันจันทร์ของสัปดาห์ โดย ในปี 2559 มีการประชุมรวม 48 ครั้ง หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการจัดการ คณะกรรมการจัดการ มีหน้าที่ปรึกษาหารือและพิจารณา ร่วมกันเพื่อการตัดสินใจประเด็นที่สำ�คัญต่อกลยุทธ์ ทิศทาง การดำ�เนินธุรกิจ แผนการดำ�เนินงาน ผลการดำ�เนินงาน แผนการลงทุน งบประมาณ แนวทางการบริหารทรัพยากร บุคคล และการจัดสรรทรัพยากรให้แก่บริษัทฯ หรือบริษัท ในเครือ การบริหารจัดการให้เกิดระบบการทำ�งานที่เป็น ไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งนำ�เสนอข้อมูลต่อกรรมการ ผู้จัดการใหญ่เพื่อการตัดสินใจ ดังนี้ • พิจารณากลั่นกรองการบริหารการลงทุน การจัดสรร งบประมาณเพือ่ การลงทุน และสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจ ของ บริษัทฯ และบริษัทในเครือ
• พิจารณากลั่นกรองเรื่องสำ�คัญทางธุรกิจที่นำ�เสนอคณะ กรรมการบริษัทฯ อนุมัติ • พิจารณาแนวทางการดำ�เนินงานที่สำ�คัญของบริษัทฯ บนพื้นฐานข้อมูลที่นำ�เสนออย่างถูกต้อง ครบถ้วน • รับทราบรายงานสถานการณ์บริษทั ฯ สถานการณ์ประเทศ และสถานการณ์โลก ที่มีผลต่อธุรกิจ • พิจารณาและรับทราบความคืบหน้าการดำ�เนินงานตาม กลยุทธ์ที่สำ�คัญของบริษัทฯ • พิจารณาให้ความเห็นชอบงบประมาณลงทุนที่สำ�คัญ ภายใต้อำ�นาจการอนุมัติของกรรมการผู้จัดการใหญ่ • พิจารณานโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล สร้างกลไก การบริหารจัดการระบบทรัพยากรบุคคล • พิจารณากลั่นกรองการบริหารความเสี่ยงในการดำ�เนิน ธุรกิจ • พิจารณาการดำ�เนินงานด้าน สิ่งแวดล้อม สังคม และ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (ESG) • พิจารณาการดำ�เนินงานด้านความปลอดภัย และเสนอ แนะแนวทางแก้ปัญหา เพื่อสร้างความตระหนักและพัฒนา ร่วมกัน เช่น ข้อร้องเรียนหรืออุบัติการณ์ เป็นต้น • ติดตามความก้าวหน้า และผลการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ และบริษัทในเครือ พร้อมให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ • นำ�เสนอข้อมูลอื่นๆ ของสายงาน และ/หรือที่เกี่ยวข้อง เพือ่ ให้มขี อ้ มูลเพียงพอต่อการพิจารณาตัดสินใจของกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ หรือผู้บริหารอื่นๆอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนัน้ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ยงั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการ และคณะทำ�งานย่อยอื่นๆ อีก ตามความเหมาะสมกับแผน กลยุทธ์ของบริษัทฯ เพื่อทำ�หน้าที่บริหารจัดการ ดำ�เนินงาน หรือกลั่นกรองการดำ�เนินงาน ตามภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบ หมาย อาทิ คณะกรรมการบริหารจัดการกลุ่มโรงงานระยอง (RMM) ทำ�หน้าทีบ่ ริหารจัดการ และบูรณาการงานในภาพรวม ทัง้ หมดของกลุม่ โรงงานระยอง ให้สอดรับกับวิสยั ทัศน์ พันธกิจ มีความพร้อมทีจ่ ะก้าวสูค่ วามสำ�เร็จตามเป้าหมายของบริษทั ฯ คณะกรรมการบริหารจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม มีหน้าที่ บริหารจัดการด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม และความรับผิดชอบ ต่อสังคมของกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ให้สอดคล้องกับนโยบาย คุณภาพ ความมัน่ คง ความปลอดภัย อาชีวอนามัยสิง่ แวดล้อม และการจัดการพลังงาน (QSSHE) ของบริษัทฯ และมี การประชุมคณะผูบ้ ริหารระดับผูจ้ ดั การฝ่ายขึน้ ไป (VP Meeting) กำ�หนดล่วงหน้าเดือนละ 1 ครั้ง ทุกวันศุกร์สุดท้ายของเดือน เพือ่ ให้ผบู้ ริหารรับทราบผลการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ ในด้าน ต่างๆ และพิจารณาหารือในประเด็นธุรกิจ ประเด็นพนักงาน และอืน่ ๆ ร่วมกัน กรณีทมี่ ปี ระเด็นสำ�คัญจะนำ�ไปพิจารณาใน ที่ประชุมคณะกรรมการจัดการ (MC Meeting) ต่อไป
สำ�หรับ CEO Townhall ซึ่งเป็นการประชุมของกรรมการ ผู้จดั การใหญ่กับพนักงานทุกคนพร้อมกันทุกพืน้ ทีผ่ ่าน VDO Conference กำ�หนดจัดอย่างน้อยทุกไตรมาส ในปี 2559 มี การจัดประชุมจำ�นวน 4 ครั้ง เลขานุการบริษัท (Company Secretary) เพือ่ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ฉบับแก้ไขเพิม่ เติม พ.ศ.2551 และหลักการกำ�กับ ดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั จดทะเบียน คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ มีมติแต่งตัง้ นางสาวมนวิภา จูภบิ าล ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ ใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กร เป็นเลขานุการบริษัท ทั้งนี้ตั้งแต่ วันที่ 24 มกราคม 2555 เพื่อทำ�หน้าที่ตามพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และตามที่คณะ กรรมการกำ�กับตลาดทุนประกาศกำ�หนด หน้าที่และความรับผิดชอบหลักของเลขานุการบริษัท • ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และ ความซื่อสัตย์สุจริต • ให้คำ�แนะนำ�เบื้องต้นแก่กรรมการเกี่ยวกับข้อกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของบริษัทฯ และติดตามให้มี การปฏิบัติตามอย่างถูกต้องและสม่ำ�เสมอ รวมถึงรายงาน การเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสำ�คัญแก่คณะกรรมการบริษัทฯ • จัดการประชุมผูถ้ อื หุน้ และประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับของบริษทั ฯ และข้อพึงปฏิบตั ิ ต่างๆ • บันทึกรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และการประชุมคณะ กรรมการบริษัทฯ รวมทั้งติดตามให้มีการปฏิบัติตามมติ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นและที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ • ดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลและรายงานสารสนเทศ ต่อ หน่วยงานกำ�กับดูแลบริษทั ฯ ตามระเบียบและข้อกำ�หนดของ หน่วยงานราชการ • จัดทำ�และเก็บรักษาเอกสารสำ�คัญของบริษัทฯ ทะเบียน กรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ รายงาน การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ รายงานประจำ�ปีของ บริษัทฯ หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น รายงานการประชุมผู้ถือ หุ้น รายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการและ ผูบ้ ริหาร และดำ�เนินการอืน่ ๆตามทีค่ ณะกรรมการกำ�กับตลาด ทุน และกฎหมายที่เกี่ยวข้องประกาศกำ�หนด • จัดทำ�ข้อมูลและรายงานทีเ่ กีย่ วข้องกับคณะกรรมการบริษทั ฯ และการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อการรับรองการเป็นสมาชิก หรือการเป็นพลเมืองดี (Good Corporate Citizenship) การ ปฏิบัติตามมาตรฐานที่ดีทั้งในระดับประเทศและระดับสากล • รับผิดชอบงานต่อต้านคอร์รปั ชันตามนโยบายและมาตรการ ปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการบริษัทฯ กำ�หนด • ศึกษาข้อมูลและองค์ความรู้ หรือวิธปี ฏิบตั ทิ ดี่ ี ทีเ่ กีย่ วข้อง กับงานเลขานุการบริษัท และการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ทั้งใน
ประเทศและระดับสากล เพือ่ พิจารณาปรับใช้ให้เหมาะกับบริษทั ฯ รวมทั้งต้องมีการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และเข้ารับการ อบรมสัมมนาเพื่อให้ทันต่อสถานการณ์การเปลีย่ นแปลงของ กฎระเบียบ และแนวทางการบริหารจัดการทีด่ ี ทีม่ กี ารพัฒนา ให้เข้มข้นขึ้นตลอดเวลา • จัดให้มกี ารสือ่ สารการดำ�เนินการด้านการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดีสู่ผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ ตามช่องทางประชาสัมพันธ์ ต่างๆ ทั้ง One Way และ Two Way Communication อาทิ นักลงทุน ผู้ถือหุ้น สื่อมวลชน ประชาชนทั่วไป ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งเลขานุการบริษัท นางสาวมนวิภา จูภิบาล ดำ�รงตำ�แหน่งเลขานุการบริษัท (ตั้งแต่วันที่ 24 มกราคม 2555 – ปัจจุบัน) (ข้อมูลประวัตินางสาวมนวิภา จูภิบาล ปรากฎในประวัติผู้บริหาร หน้า 34) การบูรณาการระบบ GRC บริษัทฯ ได้พัฒนาระบบการกำ�กับองค์กรเพื่อก้าวไปสู่หลัก การปฏิบตั งิ านทีด่ ตี ามแนวทางการเติบโตอย่างยัง่ ยืน ซึง่ เป็น การนำ�แนวคิดการบริหารจัดการสมัยใหม่ตามมาตรฐาน GRC โดยนำ�องค์ประกอบ 3 ด้าน คือ Good Governance, Risk Management and Compliance Management อันมีความ สัมพันธ์และมีความเกี่ยวข้องกัน มาปฏิบัติร่วมกันในรูปแบบ ของการทำ�งานเป็นทีม มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนข้อมูล ซึ่งกันและกัน เปิดกว้างทางความคิดในการปรับปรุงองค์กร จากข้อมูลทัง้ ของพนักงานและผูบ้ ริหาร มีการจัดอบรมสัมมนา เพื่อปูพื้นฐานความรู้ความเข้าใจในด้าน Compliance และมี เป้าหมายสำ�คัญที่ชี้วัดความสำ�เร็จของงานคือ ประสิทธิผล (Effectiveness) และความยัง่ ยืน (Sustainability) ขององค์กร การบูรณาการ GRC อย่างเป็นระบบ จะช่วยเพิ่มศักยภาพ การเติบโตขององค์กรให้ยั่งยืนได้อย่างดียิ่งขึ้น ประกอบด้วย • Governance งานกำ�กับดูแลกิจการที่ดี-บริหารจัดการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเติบโตอย่างยั่งยืน พร้อม ขับเคลื่อนนโยบายด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (CG) การ ต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน (Anti-corruption) ไปสู่การเป็น บรรษัทภิบาล และการเป็นพลเมืองที่ดีของโลก (Good Corporate Citizenship) สามารถสร้างประโยชน์และตอบสนอง ความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายได้อย่างเป็นธรรม ปัจจุบัน นางเบญจา แสงสูงเนิน ดำ�รงตำ�แหน่งผู้จัดการ ส่วนงานกำ�กับองค์กร สังกัดสำ�นักกิจการองค์กร • Risk Management งานบริหารความเสีย่ ง-บริหารจัดการ และติดตามความเสี่ยงเพื่อให้สามารถดำ�เนินงานตามแผน กลยุทธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจุบัน นายชาญยุทธ์ ผู้ล้ำ�เลิศ ดำ�รงตำ�แหน่งผู้จัดการส่วน งานบริหารความเสี่ยง สังกัดสายงานแผนและธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
87
• Compliance งานกำ�กับดูแลการปฏิบัติงาน-ดูแลการ ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎ ระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินธุรกิจ ของบริษทั ฯ เพือ่ สร้างวัฒนธรรมด้านการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎ ระเบียบให้กลมกลืนเข้ากับกระบวนการทำ�งานของทั้ง องค์กร ก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างแท้จริง ปั จ จุ บั น นายธวั ช ชั ย ชั ย ปราโมทย์ ดำ � รงตำ � แหน่ ง ผูจ้ ดั การส่วนงานเลขานุการบริษทั และกำ�กับกฎเกณฑ์ และ เป็น หัวหน้างานกำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ านของบริษทั ฯ (Compliance Manager) การกำ�กับการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎระเบียบของบริษทั นอกเหนือจากงานกำ�กับดูแลกิจการทีด่ แี ละงานบริหารความ เสีย่ ง ซึง่ ได้ด�ำ เนินการมาอย่างเป็นระบบตัง้ แต่เริม่ ตัง้ บริษทั ฯ ในปี 2549 แล้ว คณะกรรมการบริษัทฯ ยังได้ให้ความสำ�คัญ อย่างยิง่ กับการบริหารจัดการด้าน Compliance เพือ่ ให้บริษทั ฯ ประสบความสำ�เร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ ทั้งได้รับความเชื่อ ถือ ความไว้วางใจจากผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสีย จึงได้ก�ำ หนด นโยบายการกำ�กับการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของ บริษทั ฯ และกลุม่ ไออาร์พซี ี และจัดให้มหี น่วยงานซึง่ รับผิดชอบ งานกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ (Compliance) และงาน เลขานุการบริษัท รวมเรียกว่า ส่วนงานเลขานุการบริษัทและ กำ�กับกฎเกณฑ์ (Corporate Compliance and Secretary Division) มีหน้าทีส่ ร้างระบบการดำ�เนินงานด้าน Compliance และผลักดันนโยบายด้าน Compliance ขององค์กรให้มีการ ดำ�เนินการอย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงดูแลการปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์ของบริษทั ฯ ให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักกฎหมาย และหลักธรรมาภิบาล และรายงานผลการปฏิบัติงาน การ ติดตามข้อมูลให้คณะกรรมการรับทราบ นโยบายการกำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) และกลุ่ม บริษัทไออาร์พีซี มีดังนี้ 1. การปฎิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ต้อง เคารพและปฏิบัติตามหลักกฎหมาย กฎ ระเบียบต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจอย่างเคร่งครัด เพื่อให้การ ดำ�เนินธุรกิจเป็นไปด้วยความราบรืน่ และถูกต้องตามกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง และดำ�รงไว้ซึ่งความรับผิดชอบต่อ สังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและสุขอนามัย ของผูม้ สี ว่ นได้เสีย อันเป็นพืน้ ฐานของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน 2. การแข่งขันอย่างเป็นธรรมและการต่อต้านการผูกขาด ทางการค้า กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ต้อง ปฏิบัติตามกฎหมายการป้องกันการผูกขาด หรือกฎหมาย การแข่งขันทางการค้า และสนับสนุนการแข่งขันทางการค้า อย่างเสรีและเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติหรือ เอาเปรียบผู้อื่น
88
3. การต่อต้านการทุจริต การให้หรือรับสินบน กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ต้อง ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชัน (Corruption) และการให้หรือรับสินบน (Bribery) กับเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศ หรือ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาคเอกชน 4. การเคารพและปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ต้อง เคารพและปฏิบัติตามหลักกฎหมายเรื่องแรงงานและสิทธิ มนุษยชน และเคารพสิทธิแรงงาน สิทธิสตรี สิทธิเด็ก และ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ รวมถึงเสรีภาพและความเสมอภาค ของบุคคลทีไ่ ด้รบั การรับรองหรือคุม้ ครองทัง้ โดยกฎหมายไทย และกฎหมายระหว่างประเทศ 5. การคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ต้อง ปกป้องและคุ้มครองรักษาทรัพย์สินทางปัญญาที่บริษัท ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) และ/หรือ กลุม่ บริษทั ไออาร์พซี เี ป็น เจ้าของ ให้พ้นจากการถูกละเมิดหรือถูกนำ�ไปใช้โดยไม่ได้รับ อนุญาต อีกทัง้ เคารพและไม่ลว่ งละเมิดในทรัพย์สนิ ทางปัญญา ของผู้อื่น รวมทั้งส่งเสริมให้ผู้บริหารและพนักงานมีการคิด สร้างสรรค์ผลงานทางทรัพย์สนิ ทางปัญญาเพือ่ ประโยชน์ของ บริษัทฯ และเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม 6. การป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และต่อต้าน การสนับสนุนการเงิน แก่กระบวนการก่อการร้าย กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ต้องมี ความระมัดระวังมิให้ตกเป็นเครือ่ งมือของกระบวนการฟอกเงิน หรือสนับสนุนทางการเงินแก่กระบวนการก่อการร้าย โดยให้ ความสำ�คัญกับการสอดส่องดูแลและให้เบาะแสแก่เจ้าหน้าที่ หากมีการกระทำ�ที่ไม่เป็นไปตามกฎหมาย รวมทั้งให้มีการ บันทึกรายการและข้อเท็จจริงทางการเงินหรือทรัพย์สนิ ต่างๆ ให้ถูกต้องเป็นไปตามที่กฎหมายไทยและกฎหมายระหว่าง ประเทศกำ�หนด 7. การจัดการทรัพย์สนิ การรักษา และการใช้ขอ้ มูลของ บริษัทอย่างถูกต้อง กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ต้อง เก็บรักษาข้อมูลและทรัพย์สนิ ด้วยมาตรฐานการบริหารจัดการ ที่ดแี ละถูกต้องตามที่กฎหมายกำ�หนด เพื่อให้มั่นใจว่าข้อมูล และทรัพย์สินต่างๆ จะถูกใช้งานเพื่อประโยชน์สูงสุด มีการ ป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายหรือถูกนำ�ไปใช้เพื่อประโยชน์ ส่วนตัวหรือเพือ่ บุคคลอืน่ อย่างไม่ถกู ต้อง รวมถึงจะปฏิบตั ติ าม หลักการรักษาความลับของข้อมูลโดยยึดถือหลักกฎหมาย และจริยธรรมทางธุรกิจที่จะไม่นำ�ข้อมูลของบริษัท ลูกค้า คู่ค้า หรือข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่น ไปเปิดเผยหรือใช้เพื่อ
แสวงหาประโยชน์อย่างอืน่ อันนอกเหนือไปจากทีไ่ ด้รบั อนุญาต หรือนอกเหนือไปจากทีไ่ ด้เข้าไปมีความสัมพันธ์ทถี่ กู ต้องตาม กฎหมายต่อกัน ทัง้ กฎหมายไทยและกฎหมายระหว่างประเทศ 8. ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความ ปลอดภัย กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ต้อง ดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และสิ่ง แวดล้อม คำ�นึงถึงสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน และผู้มีส่วนได้เสีย รวมถึงจัดให้มีโครงการต่างๆ เพื่อ ปลูกฝังจิตสำ�นึกให้กับพนักงาน ผู้บริหาร และผู้เกี่ยวข้องใน เรื่องดังกล่าวอย่างสม่ำ�เสมอ เพือ่ ให้นโยบาย Compliance มีความเป็นรูปธรรมและบังเกิด ผลอย่างแท้จริง กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ได้ประกาศใช้นโยบาย การกำ�กับการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทในกลุ่มไออาร์พีซี เมื่อ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 ให้ผู้บริหารและพนักงานยึดถือ เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ในปี 2559 บริษัทฯ ได้มีการสอบทานและวิเคราะห์ การ กำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ในปัจจุบัน เทียบกับกรอบ การกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ตามแนวปฏิบัติสากลที่ดี (Best Practice) เพื่อการปรับปรุงให้เหมาะสมกับโครงสร้าง การบริหารงาน และการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท โดยมีความ ก้าวหน้าในการดำ�เนินงาน ดังนี้ (1) การแต่งตั้งคณะทำ�งานกำ�กับกฎเกณฑ์และใบอนุญาต ซึ่งประกอบด้วย ฝ่ายกฎหมาย ฝ่ายบริหารความเสี่ยง และ ส่วนงานเลขานุการบริษัทและกำ�กับกฎเกณฑ์ เพื่อร่วมกัน ผลักดันภารกิจด้าน Compliance และบูรณาการให้เป็นไป ตามแนวทาง G R C (Integrated Governance, Risk and Compliance) (2) การแต่งตัง้ คณะทำ�งานเพือ่ การติดต่อกับหน่วยงานภาครัฐ ด้านพลังงาน (Energy Steering Committee) ซึง่ ประกอบด้วย หน่วยงานภายในต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการติดต่อประสานงาน การเปิดเผยข้อมูลด้านการใช้ การจำ�หน่ายพลังงานของ บริษัทฯ ต่อหน่วยงานกำ�กับดูแล เพื่อบริหารความเสี่ยงด้าน ความผิดพลาดของข้อมูล และการละเมิดต่อกฎหมาย (3) การจัดทำ�ระบบควบคุมด้านกฎหมาย (Legal Risk Management) เพื่อการบริหารจัดการการดำ�เนินงานด้าน กฎหมาย กฎเกณฑ์ต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ ระบบ ควบคุมด้านสัญญา ระบบแจ้งเตือนการต่ออายุใบอนุญาต ระบบควบคุมหนังสือมอบอำ�นาจ และระบบควบคุมเอกสาร กรรมสิทธิ์ที่ดิน (4) การประชุม PTT Group’s Compliance Networking เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและหารือแนวปฏิบัติร่วมกันใน กลุ่ม ปตท. ไตรมาสละ 1 ครั้ง
(5) การจัดจ้างบริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮ้าส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด เป็นที่ปรึกษาด้าน Compliance เพื่อให้คำ�แนะนำ� ในช่วงเริ่มต้นของ การวางกรอบการกำ�กับการปฏิบัติงาน (Compliance Framework ) ของบริษัทฯ ให้ถูกทิศทาง เป็น ไปตามแนวปฏิบตั ทิ ดี่ แี ละเป็นมาตรฐานสากล พร้อมเสริมสร้าง ความรูค้ วามเข้าใจให้แก่ผบู้ ริหาร และพนักงานให้สามารถนำ� ไปปฏิบัติได้จริง (6) การจัดทำ�เอกสารคู่มือการกำ�กับการปฏิบัติงานให้เป็น ไปตามกฎเกณฑ์ โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 : คู่มือแนวทางการปฏิบัติตามนโยบายการกำ�กับ การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพื่อสร้างการรับรู้และเข้าใจให้กับ ผู้บริหารและพนักงาน และตระหนักถึงความสำ�คัญของการ ดำ�เนินงานด้าน Compliance ดำ�เนินการแล้วเสร็จในปี 2559 ส่วนที่ 2 : คู่มือการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของบริษัทฯ ซึ่งจะ ต้องรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องและหาจุดบกพร่อง (Gap Analysis) มาวิเคราะห์กอ่ นจัดทำ�เป็นคูม่ อื การปฏิบตั ิ กำ�หนด แล้วเสร็จภายในปี 2560 เพือ่ เป็นแนวทางให้พนักงานได้น�ำ ไป ใช้ในการปฏิบตั งิ านตามภาระหน้าทีอ่ ย่างถูกต้องมีมาตรฐาน และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน โดยจะครอบคลุมถึงเรื่อง โครงสร้าง บทบาทหน้าที่ กระบวนการในการดำ�เนินงาน และ การรายงาน ของหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์กรตามแนวทาง การบริหารความเสี่ยงโดยกระบวนการป้องกัน 3 ชั้น (Three Lines of Defense) ชัน้ แรก (1st Line) คือหน่วยงานผูเ้ ผชิญกับความเสีย่ งโดยตรง หรือ User ต่างๆ ชั้นที่สอง (2nd Line) คือ หน่วยงานกำ�กับดูแลการปฏิบัติงาน อาทิ หน่วยงาน Compliance หน่วยงานกฎหมาย หน่วยงาน กำ�กับองค์กร หน่วยงานควบคุมภายใน และหน่วยงานบริหาร ความเสี่ยง มีหน้าที่ช่วยเหลือสนับสนุนให้หน่วยงานชั้นแรก บริหารจัดการความเสี่ยงที่เผชิญอยู่อย่างมีประสิทธิภาพและ เป็นไปตามนโยบายของบริษัทฯ และชั้นที่สาม (3rd Line) ได้แก่ สำ�นักงานตรวจสอบภายใน ทำ�หน้าทีต่ รวจสอบการปฏิบตั งิ านและประเมินความเพียงพอ ของระบบควบคุมภายในต่างๆ ของบริษัทฯ รวมถึงการรับ เรื่องร้องเรียนต่างๆ (Whistle Blowing)
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
89
ค่าตอบแทน ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน เพื่อพิจารณาหลักเกณฑ์และรูปแบบ การกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการ ชุดย่อย เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ โดยมีแนวทางการ พิจารณาค่าตอบแทน ดังนี้ 1. กำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1.ค่า ตอบแทนรายเดือน และ 2.เบี้ยประชุมรายครั้ง (ไม่มีค่า ตอบแทนในรูปแบบอื่น ทั้งที่เป็นตัวเงินและที่ไม่ใช่ตัวเงิน) 2. กำ�หนดค่าตอบแทนโดยคำ�นึงถึงหน้าที่ความรับผิดชอบ ความเหมาะสมและสอดคล้องกับผลการปฏิบัติงาน ผลการ ดำ�เนินงานของบริษัทฯ โดยพิจารณาเปรียบเทียบกับแนว ปฏิบัติของบริษัทอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกันซึ่งมีขนาดของ ธุรกิจใกล้เคียงกัน ความเสี่ยงในการดำ�เนินธุรกิจ ความ สามารถในการจูงใจให้กรรมการที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับ ความจำ�เป็นของบริษทั ฯ เข้ามาเป็นกรรมการบริษทั ฯ ได้ รวม ทั้งใช้ข้อมูลการสำ�รวจค่าตอบแทนกรรมการของสมาคมส่ง เสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย และตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ประกอบการพิจารณา ทั้งนี้ จากรายงานการสำ�รวจค่าตอบแทนกรรมการประจำ� ปี 2559 โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2559 พบว่า อัตราค่าตอบแทน คณะกรรมการ
กรรมการของบริษัทฯ สำ�หรับปี 2559 เทียบเคียงได้กับค่า มัธยฐาน (Median) ของบริษัทในกลุ่มทรัพยากร (พลังงาน และสาธารณูปโภค) 3. กำ�หนดค่าตอบแทนโดยพิจารณาขอบเขตหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายของกรรมการ และกรรมการชุดย่อย 4. ตำ�แหน่งประธานกรรมการบริษทั ฯ และประธานกรรมการ ชุดย่อย ให้ได้รับอัตราค่าตอบแทนเพิ่มเติมจากอัตราค่า ตอบแทนของกรรมการ ประมาณร้อยละ 30 5. คณะกรรมการชุดย่อย ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ ดี กำ�หนดให้ได้รับค่าตอบแทนเฉพาะค่าเบี้ยประชุมรายครั้ง ตามจำ�นวนครั้งที่เข้าประชุมจริง 6. ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการ ชุดย่อย จะต้องได้รับอนุมัติโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยบริษัทฯ ได้นำ�เสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2559 และที่ประชุมสามัญ ผูถ้ อื หุน้ มีมติอนุมตั คิ า่ ตอบแทนคณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะ กรรมการชุดย่อย ในอัตราเท่ากับค่าตอบแทนปี 2558 ดังนี้ 1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการ ชุดย่อย ปี 2559 (ที่ประชุมผู้ถือหุ้นได้อนุมัติให้ใช้อัตราค่า ตอบแทนเดิม มาตั้งแต่ปี 2549)
ค่าตอบแทนรายเดือน/คน
เบี้ยประชุมต่อครั้ง/คน
1. คณะกรรมการบริษัทฯ ประธานกรรมการ 60,000 บาท 60,000 บาท กรรมการ 45,000 บาท 45,000 บาท 2. คณะกรรมการชุดย่อย ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และกรรมการชุดย่อยอื่นที่อาจมีการแต่งตั้งขึ้นในอนาคต ประธานกรรมการ ไม่มี 60,000 บาท กรรมการ ไม่มี 45,000 บาท
โบนัส คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ได้พิจารณา กำ�หนดค่าตอบแทนในส่วนที่เป็นโบนัสกรรมการ โดยอ้างอิง กับผลประกอบการของบริษัทฯ โดยที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2559 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2559 ได้มีมติอนุมัติ โบนัสกรรมการสำ�หรับผลการดำ�เนินงานปี 2558 จำ�นวน
90
28 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 0.30 ของกำ�ไรสุทธิปี 2558 โดยให้จัดสรรจ่ายกรรมการแต่ละท่านตามจำ�นวนครั้งที่เข้า ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ และประธานกรรมการบริษัทฯ จะได้รบั ในอัตราทีม่ ากกว่ากรรมการ ประมาณร้อยละ 30 ดังมี รายละเอียดการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการทุกท่านตามตาราง
ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทฯ ประจำ�ปี 2559
(หน่วย : บาท)
เบี้ยประชุม เบี้ยประชุม โบนัส รวม คณะกรรมการ คณะกรรมการ (ผลประกอบการ บริษัทฯ ชุดย่อย ปี 2558) (1) 720,000 720,000 449,383 1,889,383 1. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช 2. นายวุฒิสาร ตันไชย 540,000 540,000 300,000 1,555,556 2,935,556 3. นายณัฐชาติ จารุจินดา (2) 363,000 360,000 240,000 963,000 4. นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร 540,000 540,000 180,000 345,679 1,605,679 5. นายชวลิต พันธ์ทอง 540,000 540,000 90,000 172,840 1,342,840 6. นายทรงภพ พลจันทร์ 540,000 540,000 735,000 2,074,074 3,889,074 7. นายประมวล จันทร์พงษ์ 540,000 540,000 315,000 2,074,074 3,469,074 8. นายสมนึก บำ�รุงสาลี 540,000 540,000 90,000 2,074,074 3,244,074 9. นายอนุสรณ์ แสงนิ่มนวล (3) 187,258 180,000 180,000 547,258 10. พลเอก สสิน ทองภักดี 540,000 405,000 270,000 1,382,716 2,597,716 11. พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ (4) 180,000 135,000 315,000 12. นายเอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ 540,000 540,000 180,000 172,840 1,432,840 13. นายเจษฎา พรหมจาต (5) 428,226 405,000 180,000 1,013,226 14. นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล (6) 405,000 360,000 225,000 990,000 15. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ 540,000 540,000 225,000 2,074,074 3,379,074 360,000 360,000 480,000 2,074,074 3,274,074 16. นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ (7) 17. นายวัชรกิติ วัชโรทัย (8) 304,839 315,000 240,000 2,074,074 2,933,913 18. นายสรัญ รังคสิริ (9) 139,500 135,000 195,000 2,074,074 2,543,574 19. นายธรัมพ์ ชาลีจันทร์ (10) 136,500 135,000 135,000 2,074,074 2,480,574 20. นายประสิทธิ์ สืบชนะ (11) 4,355 1,901,235 1,905,590 รวม 8,088,678 7,830,000 4,260,000 22,572,839 42,751,517 หมายเหตุ: (นอกเหนือจากค่าตอบแทนตามตารางข้างต้น บริษัทฯ ไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนหรือสวัสดิการในรูปแบบอื่นให้แก่กรรมการ) 1. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ได้ส่งค่าตอบแทนกรรมการให้กับ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขสัญญาจ้างกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2. นายณัฐชาติ จารุจินดา ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 4/2559 มีผลวันที่ 29 เมษายน 2559 3. นายอนุสรณ์ แสงนิ่มนวล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 8/2559 มีผลวันที่ 27 สิงหาคม 2559 4. พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 8/2559 มีผลวันที่ 1 กันยายน 2559 5. นายเจษฎา พรหมจาต ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 3/2559 มีผลวันที่ 16 มีนาคม 2559 6. นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 มีผลวันที่ 1 เมษายน 2559 7. นายเชิดพงษ์ สิรวิ ชิ ช์ อายุครบ 70 ปี บริบรู ณ์ (ตามหลักกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ กรรมการมีอายุไม่เกิน 70 ปี บริบรู ณ์) โดยมีผลวันที่ 1 กันยายน 2559 8. นายวัชรกิติ วัชโรทัย ลาออกจากกรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 25 กรกฎาคม 2559 9. นายสรัญ รังคสิริ ลาออกจากกรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 4 เมษายน 2559 10. นายธรัมพ์ ชาลีจันทร์ ครบวาระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 วันที่ 1 เมษายน 2559 11. นายประสิทธิ์ สืบชนะ ลาออกจากกรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 4 มกราคม 2559
รายชื่อ
ค่าตอบแทน
ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทนกรรมการผู้จัดการใหญ่ ได้ถูกกำ�หนดภายใต้ หลักเกณฑ์ที่ชัดเจน โปร่งใส เป็นธรรม และสมเหตุสมผล โดยคำ�นึงถึงหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ และผลการดำ�เนินงานของ บริษัทฯ โดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เป็นผู้พิจารณาและนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ การพิจารณาค่าตอบแทนกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ มีการดำ�เนิน งานอย่างเป็นขั้นตอน ดังนี้ 1. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เสนอ องค์ประกอบและเกณฑ์ในการพิจารณา ต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ ในช่วงเดือนมกราคม หรือกุมภาพันธ์ของปี 2. คณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาอนุมตั ิ และแจ้งกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ รับทราบเป้าหมายและหลักเกณฑ์การประเมิน 3. ในช่วงปลายปี คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน จะพิจารณาสรุปผลการปฏิบัติงานกรรมการผู้จัดการใหญ่
ตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทฯ ได้อนุมัติไว้แล้ว รวม ถึงพิจารณาผลการปฏิบัติงานตลอดทั้งปี โดยคำ�นึงถึง องค์ประกอบและปัจจัยอื่นๆในภาพรวมด้วย ทั้งสถานการณ์ ธุรกิจของบริษัทฯ ความท้าทายในการปฏิบัติงาน และวิธีการ รับมือกับปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ประกอบการพิจารณาประเมินผลด้วย 4. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน นำ�เสนอ ผลการประเมินต่อคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ ผลการปฏิบตั งิ าน และอัตราการปรับค่าตอบแทนประจำ�ปีของ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ในช่วงเดือนธันวาคมของปี ในปี 2559 คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้อนุมตั เิ กณฑ์การประเมิน ผลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ ในการประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2559 ซึ่งเกณฑ์การประเมินดังกล่าวได้ถูกกำ�หนดให้มี เป้าหมายที่ท้าทาย และครอบคลุมผลการดำ�เนินงานทั้งด้าน ที่เป็นตัวเงิน และไม่ใช่ตัวเงิน และความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม ซึง่ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่รบั หลักเกณฑ์ รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
91
ดังกล่าว และใช้ศักยภาพในการบริหารธุรกิจและองค์กรให้ ดำ�เนินไปได้ตามเป้าหมาย โดยองค์ประกอบในการประเมิน แบ่งเป็นสองส่วน คือ Corporate KPI และปัจจัยสนับสนุน การเติบโตอย่างโปร่งใสและยัง่ ยืนของบริษทั ฯ ซึง่ จะครอบคลุม ถึงความสามารถในการนำ�องค์กร และการแก้ปัญหาที่มีผล กระทบต่อองค์กรและผู้มีส่วนได้เสีย อย่างฉับไวในทิศทางที่ ถูกต้องและประสบความสำ�เร็จ ความสำ�เร็จในการนำ�องค์กร ของกรรมการผู้จัดการใหญ่ปรากฎในรายงานผลการดำ�เนิน งานของบริษัท หน้า 136 - 153 บริษทั ฯ มีการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหารทุกระดับ เป็นประจำ�ทุกปี โดยกำ�หนดนโยบายการประเมินผลการปฏิบตั ิ งานภายใต้ระบบ PMS (Performance Management System) ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยในการประเมินผลงาน 2 ด้าน คือ
(1) ตัวชีว้ ดั ผลงานหลัก (Key Performance Indicators : KPIs) เป็นภารกิจสำ�คัญทีไ่ ด้รบั การถ่ายทอดจากบริษทั ฯ ในแต่ละปี สอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กร ผลการดำ�เนินงานของ บริษทั ฯ และผลการปฏิบตั งิ านด้านการเงิน ซึง่ สอดคล้อง กับภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้บริหาร และ (2) สมรรถนะในการทำ�งาน (Competency) เป็นเครื่อง มือสำ�หรับประเมินความสามารถของผู้ปฏิบัติงานเชิง พฤติกรรม ซึ่งกำ�หนดให้ผู้บริหารและพนักงานทุกคน แสดงออกในขณะปฏิบัติหน้าที่ ทั้งนี้ เพื่อให้การดำ�เนิน งานของบริษทั ฯ บรรลุเป้าหมายอย่างมีคณ ุ ภาพและยัง่ ยืน ในปี 2559 มีผู้บริหารระดับสูงตามเกณฑ์สำ�นักงาน ก.ล.ต. จำ�นวน 17 ราย ได้รับค่าตอบแทนจากบริษัทฯ ในรูปแบบ เงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ รวมทัง้ สิ้นเป็นเงิน 112.39 ล้านบาท รายละเอียดดังตาราง (หน่วย : ล้านบาท)
ลักษณะค่าตอบแทน ค่าตอบแทน เงินเดือน โบนัส ค่าตอบแทนอื่น กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ รวม
92
ปี 2558 (20 ราย)
ปี 2559 (17 ราย) 86.27 35.41
76.57 28.87
5.88 127.56
6.95 112.39
ตารางแสดงการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการและผู้บริหารที่ดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทย่อย/บริษัทร่วม/บริษัทที่เกี่ยวข้อง (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559)
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายวุฒิสาร ตันไชย นายณัฐชาติ จารุจินดา นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร นายชวลิต พันธ์ทอง นายทรงภพ พลจันทร์ นายประมวล จันทร์พงษ์ นายสมนึก บำ�รุงสาลี นายอนุสรณ์ แสงนิ่มนวล พลเอก สสิน ทองภักดี พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์ นายเอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ นายเจษฎา พรหมจาต นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ นายพงศ์ประพันธ์ ฐิตทวีวัฒน์ นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์ นายธรรมศักด์ิ ปัญโญวัฒน์กูล นางสาวมนวิภา จูภิบาล นายประเวศ อัศวดากร นายโพธิวัฒน์ เผ่าพงศ์ช่วง นางสาวอรพินท์ เกตุรัตนกุล นางสาววนิดา อุทัยสมนภา นายวิชิต นิตยานนท์ นายวีรวัฒน์ ศรีนรดิษฐ์เลิศ นายทฤษฎี วัฒนางกูร นายวรวุฒิ ศิวะเพ็ชรานาถ นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ์ นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์ นายชลอ ภานุตระกูล
X / / / / / / / / / / / / / /, // // // // // // // // // // // // // // // // //
บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั ไออาร์พซี ี พีซซี ี จำ�กัด
บริษทั ไออาร์พซี ี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด
บริษทั อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จำ�กัด (มหาชน)
บริษทั พีทที ี เอนเนอร์ย่ี โซลูชน่ั ส์ จำ�กัด
บริษทั รักษ์ปา่ สัก จำ�กัด
บริษัทร่วม/บริษัทที่เกี่ยวข้อง
บริษทั ไออาร์พซี ี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด
บริษทั เทคโนโลยี ไออาร์พซี ี จำ�กัด
บริษทั น้ำ�มัน ไออาร์พซี ี จำ�กัด
บริษทั ไทย เอ บี เอส จำ�กัด
รายชื่อ
บริษทั ไออาร์พซี ี โพลีออล จำ�กัด
ลำ�ดับ
บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทย่อย
/,// // //
X
X
X
/
/ /
/ /
/
/
X
/ /
X / / /
/
/ / /
/ /
X
//
/ /
//
/ /
/
/ /
/
/
/
หมายเหตุ: X = ประธานกรรมการ / = กรรมการ // = ผู้บริหาร รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
93
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่อย (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559) 1. บริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด
4. บริษัท ไออาร์พีซี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด
รายชื่อกรรมการบริษัท
ตำ�แหน่ง
รายชื่อกรรมการบริษัท
ตำ�แหน่ง
1 นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ
ประธานกรรมการ
1 นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ
ประธานกรรมการ
2 นายสมหมาย โค้วคชาภรณ์
กรรมการ
2 นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์
กรรมการ
3 นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์
กรรมการ
3 นายพงศ์ประพันธ์ ฐิตทวีวัฒน์ กรรมการ
4 นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์
กรรมการ
4 นายโทชิโร โคจิมะ
กรรมการ
5 นายเฉลิมชัย สมบูรณ์ปกรณ์ กรรมการ
5 นายอิเดะยุกิ โทกิมะซะ
กรรมการ
6 นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล รักษาการกรรมการผู้จัดการ
6 นายทาคายูกิ มาโนะ
กรรมการ
7 นายฮิโรชิ โอสุโบะ
กรรมการ
8 นายเฉลิมชัย สมบูรณ์ปกรณ์ กรรมการ 9 นายวิชิต นิตยานนท์
2. บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด
รายชื่อกรรมการบริษัท
ตำ�แหน่ง
1 นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ
ประธานกรรมการ
2 นายสมหมาย โค้วคชาภรณ์
กรรมการ
3 นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์
กรรมการ
4 นายประเวศ อัศวดากร
กรรมการ
5 นายวิชิต นิตยานนท์
รักษาการกรรมการผู้จัดการ
3. บริษัท ไทย เอ บี เอส จำ�กัด (โอนย้ายกิจการให้บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) เมือ่ วันที่ 1 สิงหาคม 2559)
รายชื่อกรรมการบริษัท
94
กรรมการ
10 นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล รักษาการกรรมการผูจ้ ดั การ 5. บริษัท เทคโนโลยี ไออาร์พีซี จำ�กัด
รายชื่อกรรมการบริษัท
ตำ�แหน่ง
1 นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ
ประธานกรรมการ
2 นายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กุล กรรมการ 3 นางสาวมนวิภา จูภิบาล
กรรมการ
4 นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ์
กรรมการ
5 นายปรีชา โภคะวัฒน์
กรรมการ
6 นายโพธิวัฒน์ เผ่าพงศ์ช่วง
กรรมการผู้จัดการ
ตำ�แหน่ง
1 นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ
ประธานกรรมการ
2 นายสมหมาย โค้วคชาภรณ์
กรรมการ
3 นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์
กรรมการ
6. บริษัท รักษ์ป่าสัก จำ�กัด (บริษัท น้ำ�มันทีพีไอ (2001) จำ�กัด)
รายชื่อกรรมการบริษัท
ตำ�แหน่ง
1 นายวีรชัย อริยพรพิรุณ
กรรมการ
4 นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล กรรมการ
2 นายเฉลิมชัย สมบูรณ์ปกรณ์
กรรมการ
5 นายวรวุฒิ ศิวะเพ็ชรานาถ
กรรมการ
3 นายทรงกลด เจริญพร
กรรมการ
6 นายวิชิต นิตยานนท์
รักษาการกรรมการผู้จัดการ
4 นายสมบูรณ์ สาตสิน
กรรมการผู้จัดการ
การถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีดังนี้ ณ 31 ธ.ค. 58 สัดส่วนการถือหุ้น/ จำ�นวนหุ้น
ณ 31 ธ.ค. 59 สัดส่วนการถือหุ้น/ จำ�นวนหุ้น
จำ�นวนหุ้นเพิ่ม (ลด) ระหว่างปี
0.00000% 900 ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง
1 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
0.00000% 900 ไม่มี ไม่มี
นายวุฒิสาร ตันไชย 2 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
N/A
ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง
3 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
N/A N/A
ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร 4 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
นายชวลิต พันธ์ทอง 5 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง
นายทรงภพ พลจันทร์ 6 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
นายประมวล จันทร์พงษ์ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
นายสมนึก บำ�รุงสาลี 8 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
นายอนุสรณ์ แสงนิ่มนวล
N/A
ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง
คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
N/A N/A
ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
พลเอก สสิน ทองภักดี 10 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
พลเอก เทพพงศ์ ทิพยจันทร์
N/A
ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง
คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
N/A N/A
ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
ลำ�ดับที่
รายชื่อ
นายเทวินทร์ วงศ์วานิช
นายณัฐชาติ จารุจินดา
7
9
11
หมายเหตุ
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
กรรมการแต่งตั้งใหม่ ตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน 2559
ไม่เปลี่ยนแปลง
กรรมการแต่งตั้งใหม่ ตั้งแต่วันที่ 27 สิงหาคม 2559
กรรมการแต่งตั้งใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2559
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
95
ณ 31 ธ.ค. 58 สัดส่วนการถือหุ้น/ จำ�นวนหุ้น
ณ 31 ธ.ค. 59 สัดส่วนการถือหุ้น/ จำ�นวนหุ้น
จำ�นวนหุ้นเพิ่ม (ลด) ระหว่างปี
นายเอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
นายเจษฎา พรหมจาต
N/A
ไม่เปลี่ยนแปลง
คู่สมรส
N/A
บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
N/A
0.00002% 5,000 0.00010% 20,000 ไม่มี
N/A N/A N/A
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
0.03426% 7,000,000 ไม่มี ไม่มี
0.03915% 8,000,000 ไม่มี ไม่มี
ลำ�ดับที่
12
13
รายชื่อ
นางสาวรืน่ วดี สุวรรณมงคล 14 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ 15 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ไม่เปลี่ยนแปลง
หมายเหตุ
กรรมการแต่งตั้งใหม่ ตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2559
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
กรรมการแต่งตั้งใหม่ ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2559
0.00489% 1,000,000 ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
กรรมการครบวาระ/ลาออกระหว่างปี นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์
ไม่มี
N/A
ไม่เปลี่ยนแปลง
16 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ไม่มี ไม่มี
N/A N/A
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
นายวัชรกิติ วัชโรทัย
N/A
ไม่เปลี่ยนแปลง
17 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
0.00127% 260,250 ไม่มี ไม่มี
N/A N/A
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
นายสรัญ รังคสิริ
ไม่มี
N/A
ไม่เปลี่ยนแปลง
18 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ไม่มี ไม่มี
N/A N/A
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่มี
N/A
ไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่มี ไม่มี
N/A N/A
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
นายประสิทธิ์ สืบชนะ
ไม่มี
N/A
ไม่เปลี่ยนแปลง
คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ไม่มี ไม่มี
N/A N/A
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
นายธรัมพ์ ชาลีจันทร์ 19 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
20
กรรมการมีอายุครบ 70 ปีบริบรู ณ์ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 กันยายน 2559
กรรมการลาออก ตัง้ แต่วนั ที่ 25 กรกฎาคม 2559
กรรมการลาออก ตั้งแต่วันที่ 4 เมษายน 2559
กรรมการครบวาระ ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2559
กรรมการลาออก ตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม 2559
หมายเหตุ : N/A หมายถึง ไม่มีข้อมูล เนื่องจากกรรมการ ได้รับการแต่งตั้ง ลาออก หรือครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ระหว่างปี 2559
96
การถือครองหลักทรัพย์ของผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ณ 31 ธ.ค. 58 สัดส่วนการถือหุ้น/จำ�นวนหุ้น
ณ 31 ธ.ค. 59 สัดส่วนการถือหุ้น/จำ�นวนหุ้น
จำ�นวนหุ้นเพิ่ม (ลด) ระหว่างปี
0.03426% 7,000,000 ไม่มี ไม่มี
0.03915% 8,000,000 ไม่มี ไม่มี
0.00489% 1,000,000 ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
0.00129% 264,478 ไม่มี ไม่มี
0.00178% 364,478 ไม่มี ไม่มี
0.00049% 100,000 ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
0.00145% 295,580 0.00008% 15,900 ไม่มี
0.00145% 295,580 0.00008% 15,900 ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง
0.00011% 22,000 0.00029% 60,000 ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง
บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
0.00011% 22,000 0.00029% 60,000 ไม่มี
นายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กูล 5 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
0.00060% 123,600 0.00012% 25,000 ไม่มี
0.00124% 253,600 0.00012% 25,000 ไม่มี
0.00064% 130,000 ไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
0.00045% 92,721 ไม่มี ไม่มี
0.00045% 92,721 ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง
0.00031% 63,292 0.00015% 29,862 ไม่มี
0.00055% 113,292 0.00015% 29,862 ไม่มี
0.00024% 50,000
0.00000% 1 ไม่มี ไม่มี
0.00000% 1 ไม่มี ไม่มี
ลำ�ดับที่
รายชื่อ
นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ 1 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายพงศ์ประพันธ์ ฐิตทวีวฒ ั น์ 2 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล 3 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์ 4 คู่สมรส
นายประเวศ อัศวดากร 6 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นางสาวมนวิภา จูภิบาล 7 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นางสาวอรพินท์ เกตุรัตนกุล 8 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์ 9 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ์ 10 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
97
ณ 31 ธ.ค. 58 สัดส่วนการถือหุ้น/จำ�นวนหุ้น
ณ 31 ธ.ค. 59 สัดส่วนการถือหุ้น/จำ�นวนหุ้น
จำ�นวนหุ้นเพิ่ม (ลด) ระหว่างปี
0.00103% 210,440 ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง
11 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
0.00103% 210,440 ไม่มี ไม่มี
นายชลอ ภาณุตระกูล 12 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
0.00005% 10,579 ไม่มี ไม่มี
0.00005% 10,579 ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง
0.00174% 355,866 ไม่มี ไม่มี
0.00174% 355,866 ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง
0.00063% 129,351 ไม่มี ไม่มี
0.00088% 179,351 ไม่มี ไม่มี
0.00024% 50,000 ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
0.00163% 333,394 ไม่มี ไม่มี
0.00163% 333,394 ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง
0.00031% 64,320 ไม่มี ไม่มี
0.00031% 64,320 ไม่มี ไม่มี
ไม่เปลี่ยนแปลง
ลำ�ดับที่
รายชื่อ
นางสาววนิดา อุทัยสมนภา
นายวีรวัฒน์ ศรีนรดิษฐ์เลิศ 13 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายทฤษฎี วัฒนางกูร 14 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายวรวุฒิ ศิวะเพ็ชรานาถ 15 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายวิชิต นิตยานนท์ 16 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายโพธิวัฒน์ เผ่าพงศ์ช่วง 17 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ในปี 2559 และในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา กรรมการและผู้บริหาร ของบริษัทฯ ไม่มีการกระทำ�ความผิดตามพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หรือพระราช บัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 และไม่มีความ ผิดในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) การกระทำ�การโดยไม่สุจริต หรือประมาทเลินเล่ออย่าง ร้ายแรง
98
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
ไม่เปลี่ยนแปลง ไม่เปลี่ยนแปลง
(2) การเปิดเผย หรือเผยแพร่ขอ้ มูล หรือข้อความอันเป็นเท็จ ทีอ่ าจทำ�ให้ส�ำ คัญผิด หรือปกปิดข้อความจริงทีค่ วรบอก ให้แจ้งในสาระสำ�คัญซึง่ อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจ ของผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง (3) การกระทำ�อันไม่เป็นธรรมหรือการเอาเปรียบผู้ลงทุนใน การซือ้ ขายหลักทรัพย์หรือสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้า หรือมี หรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทำ�ดังกล่าว
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อบริษัท ชื่อย่อหลักทรัพย์ เลขทะเบียนบริษัท ประเภทธุรกิจ กลุ่มอุตสาหกรรม หมวดธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชําระแล้ว ที่ตั้งบริษัท
เว็บไซต์
บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) IRPC 0107537002567 ธุรกิจการกลั่นและปิโตรเคมี ทรัพยากร พลังงานและสาธารณูปโภค 20,475,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจํานวน 20,475,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท 20,434,419,246 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจํานวน 20,434,419,246 หุ้น มูลค่าท่ีตราไว้หุ้นละ 1 บาท สํานักงานใหญ่และโรงงาน เลขที่ 299 หมู่ 5 ถนนสุขุมวิท ตําบลเชิงเนิน อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21000 โทรศัพท์ 0 3861 1333 โทรสาร 0 3861 2813 สํานักงานกรุงเทพฯ เลขที่ 555/2 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารบี ชั้น 6 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2649 7000 โทรสาร 0 2649 7001 www.irpc.co.th
บุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2229 2800 โทรสาร 0 2359 1259
ผู้สอบบัญชี
นายวิเชียร กิ่งมนตรี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3977 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด 179/74-80 อาคารบางกอก ซิตี้ทาวเวอร์ ชั้น 15 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0 2344 1000 โทรสาร 0 2286 5050
นายทะเบียนหุ้นกู้ สกุลเงินบาท
ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) 3000 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2299 1111 รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
99
โครงสร้างผู้ถือหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้น 10 อันดับแรกของบริษัทฯ ณ วันปิดสมุดทะเบียน วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2559 มีดังนี้ รายชื่อผู้ถือหุ้น 1. บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2. ธนาคารออมสิน 3. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด 4. CHASE NOMINEES LIMITED 5. สำ�นักงานประกันสังคม 6. STATE STREET BANK EUROPE LIMITED 7. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY 8. HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD 9. EAST FOURTEEN LIMITED-DIMENSIONAL EMER MKTS VALUE FD 10. PEOPLE’S BANK OF CHINA หมายเหตุ: (1) บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ในฐานะเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ มีสว่ นในการกำ�หนดนโยบายการจัดการและการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีกรรมการที่เป็นกรรมการหรือผู้บริหารของบริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 4 คน จากจำ�นวนกรรมการของบริษทั ฯ ทัง้ หมด 15 คน (2) บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จำ�กัด เป็นบริษทั ย่อยของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ทีป่ ระกอบธุรกิจโดยการออกตราสาร Non-Voting Depository Receipt (NVDR) ซึง่ เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อขายให้ผู้ลงทุน และนำ�เงินที่ได้จากการขาย NVDR ไปลงทุนใน หลักทรัพย์อา้ งอิงไทยทีเ่ ป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ โดย ผูล้ งทุนทีถ่ อื NVDR จะได้รบั สิทธิประโยชน์ทางการเงิน เช่น เงินปันผล
(ร้อยละ)
จํานวนหุ้น 7,869,694,600 1,950,000,000 1,260,737,305 447,554,222 244,289,400 240,709,119 195,853,496 157,639,760 125,897,100
สัดส่วนการถือหุ้น 38.51 9.54 6.17 2.19 1.20 1.18 0.96 0.77 0.62
123,047,900
0.60
สิทธิในการจองซื้อหุ้นเพิ่มทุน เสมือนผู้ถือหุ้นของบริษัทจดทะเบียน แต่ไม่มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ สามารถทราบข้อมูล นักลงทุนในบริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จำ�กัด ได้ในเว็บไซต์ www.set.or.th (3)
บริษัทฯ ไม่มีข้อตกลงระหว่างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (Shareholding Agreement) ในเรื่องที่มีผลกระทบต่อการบริหารงานของบริษัทฯ
(4)
ผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ป็นชาวต่างชาติสามารถถือครองหุน้ ของบริษทั ฯ รวมกันได้ไม่เกิน ร้อยละ 49 ของจำ�นวนหุน้ ทีอ่ อกและชำ�ระแล้ว ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2559 หุน้ ของบริษทั ฯ ทีถ่ อื ครองโดยชาวต่างชาติมจี �ำ นวนร้อยละ 12.50 ของ จำ�นวนหุน้ ทัง้ หมด และมีผถู้ อื หุน้ สามัญรายย่อย (Free float) จำ�นวน 47,472 ราย คิดเป็นร้อยละ 51.60
นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) บริษัทฯ มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของกําไรสุทธิประจําปี หลังหักภาษีและทุนสํารองต่างๆ ทุกประเภทตามข้อบังคับของบริษัทฯ และตามกฎหมายแล้ว ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับแผนการลงทุน ความจําเป็น และความเหมาะสมอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการของบริษัทฯ เห็นสมควร บริษัทย่อย บริษัทย่อยแต่ละแห่งจะพิจารณาการจ่ายปันผลเป็นกรณีๆ โดยพิจารณาจากกระแสเงินสดคงเหลือและ/หรือกําไรสุทธิเทียบกับ งบลงทุนของบริษัทย่อยนั้นๆ และได้ตั้งสํารองตามกฎหมายแล้ว หรือกรณีอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทย่อยเห็นสมควร
100
นิติบุคคลที่บริษัทฯ ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ลําดับ 1
2
บริษัท บริษัท น้ํามัน ไออาร์พีซี จํากัด ทีอ่ ยู่ : 555/2 อาคารศูนย์เอนเนอร์ยค่ี อมเพล็กซ์ อาคารบี ชัน้ 7 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2646 6666 โทรสาร 0 2646 6677/6688 ประเภทธุรกิจ : จําหน่ายผลิตภัณฑ์น้ํามัน บริษัท รักษ์ป่าสัก จํากัด ที่อยู่ : 555/2 อาคารศูนย์เอนเนอร์ยค่ี อมเพล็กซ์ อาคารบี ชัน้ 7 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2646 6666 โทรสาร 0 2646 6677/6688 ประเภทธุรกิจ : บริการขนส่งทางทะเล
สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ)
ทุนชําระแล้ว (ล้านบาท)
99.99
2,000
99.99
30
99.99
300
99.99
750
59.98
10
49.99
10
หมายเหตุ : บริษัทย่อยของบริษัท น้ํามัน ไออาร์พีซี จํากัด
3
4
5
6
บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จํากัด ที่อยู่ : 555/2 อาคารศูนย์เอนเนอร์ยค่ี อมเพล็กซ์ อาคารบี ชัน้ 7 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2646 6700 โทรสาร 0 2646 6702 ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจําหน่ายโพลีออล บริษัท เทคโนโลยี ไออาร์พีซี จำ�กัด ที่อยู่ : 309 หมู่ที่ 5 ถนนสุขุมวิท ตำ�บลเชิงเนิน อำ�เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง โทรศัพท์ 0 3889 9130-2 โทรสาร 0 3889 9130-2 ต่อ 301 ประเภทธุรกิจ : โรงเรียนอาชีวะ บริษัท ไออาร์พีซี เอแอนด์แอล จํากัด ที่อยู่ : 555/2 อาคารศูนย์เอนเนอร์ยค่ี อมเพล็กซ์ อาคารบี ชัน้ 9 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2649 7511 โทรสาร 0 2649 7550 ประเภทธุรกิจ : จําหน่ายเม็ดพลาสติก บริษัท ไออาร์พีซี พีซีซี จำ�กัด ที่อยู่ : 555/2 อาคารศูนย์เอนเนอร์ยค่ี อมเพล็กซ์ อาคารบี ชัน้ 7 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2646 6700 โทรสาร 0 2646 6702 ประเภทธุรกิจ : จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีกลุ่มโพลียูริเทน หมายเหตุ : กิจการร่วมค้าของบริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
101
ลําดับ 7
8
9
10
บริษัท
(ร้อยละ)
ทุนชําระแล้ว (ล้านบาท)
บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด ที่อยู่ : 299 หมู่ 5 ตำ�บลเชิงเนิน อำ�เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง โทรศัพท์ 0 3861 1333 โทรสาร 0 3861 2813 ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าและไอน้ำ�
48.99
2,866
บริษัท อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จำ�กัด (มหาชน) ที่อยู่ : 98 อาคารสาทรสแควร์ ออฟฟิศทาวเวอร์ ชั้นที่ 18 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2206 9300 ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี
25.00
10,739
บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จำ�กัด ที่อยู่ : 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 4-5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2140 2000 ประเภทธุรกิจ : ที่ปรึกษาทางวิศวกรรม
20.00
150
บริษัท ระยองอะเซททีลีน จำ�กัด ที่อยู่ : 2/3 หมู่ที่ 14 ถนนบางนา-ตราด กม. 6.5 ตำ�บลบางแก้ว อำ�เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ 0 2338 6100 โทรสาร 0 3862 1602 ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายแก๊สอะเซทิลีน
13.04
115
หมายเหตุ : แสดงเฉพาะบริษัทที่มีการดำ�เนินงาน
102
สัดส่วนการถือหุ้น
โครงสร้างธุรกิจและการถือหุ้น บร�ษัท ไออาร พีซี จำกัด (มหาชน)
ธุรกิจป โตรเลียม ผลิตและจำหน ายผลิตภัณฑ น�ำมัน
-
แนฟทา น�ำมันเบนซ�น น�ำมันดีเซล น�ำมันเตา น�ำมันหล อลื่นพื้นฐาน ยางมะตอย
99.99%
บจ. น�ำมัน ไออาร พีซี
ธุรกิจป โตรเคมี ผลิตและจำหน ายผลิตภัณฑ ป โตรเคมี
-
โอเลฟ นส อะโรเมติกส โพลิโอเลฟ นส สไตร�นิคส
99.99%
(จำหน ายผลิตภัณฑ น�ำมัน)
99.99% บจ. รักษ ป าสัก
บจ. ไออาร พีซี โพลีออล*
ธุรกิจสนับสนุนอืน่ ๆ - ธุรกิจไฟฟ าและสาธารณูปโภค - ธุรกิจท าเร�อและถังเก็บผลิตภัณฑ - ธุรกิจบร�หารจัดการทรัพย สิน
99.99%
49.99%
50% PCC Rokita SA
(บร�การขนส งทางทะเล)
48.99%
บจ. ไออาร พีซี พีซีซี
51% บมจ. โกลบอล เพาเวอร ซ�นเนอร ย่ี
บจ. ไออาร พีซี คลีน พาวเวอร (ผลิตและจำหน ายไฟฟ าและไอน�ำ)
(จำหน ายผลิตภัณฑ ป โตรเคมี กลุ มโพลิยูร�เทน)
59.98%
บจ. เทคโนโลยี ไออาร พีซี (โรงเร�ยนอาช�วะ)
(ผลิตและจำหน ายโพลิออล)
40% บมจ. ปตท.
37% บจ. นิปปอน เอ แอนด แอล
20% บมจ. พีทที ี โกลบอล เคมิคอล
5% อื่นๆ
20% บมจ. ไทยออยล
บจ. ไออาร พีซี เอ แอนด แอล (จำหน ายเม็ดพลาสติก)
20.00%
บจ. พีทีที เอนเนอร ยี่ โซลูชั�นส (ที่ปร�กษาทางว�ศวกรรม)
74% บจ. อูเบะ อินดัสตร�ส ลิมเิ ต็ด
25.00%
1% อื่นๆ
บมจ. อูเบะ เคมิคอลส (เอเชีย)
(ผลิตและจำหน ายผลิตภัณฑ ป โตรเคมี)
หมายเหตุ : *บร�ษทั ฯ ได จำหน ายหุน บร�ษทั ไออาร พซี � โพลีออล จำกัด ร อยละ 25 ให แก PCC ROKITA SPOLKA AKCYJNA ประเทศโปแลนด เมือ่ วันที่ 31 มกราคม 2560 : แสดงเฉพาะบร�ษทั ทีม่ กี ารดำเนินงาน รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
105
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
ภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) เป็นผู้ดำ�เนินธุรกิจปิโตรเคมีครบวงจรแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โรงกลั่นน้ำ�มัน และโรงงานปิโตรเคมีของบริษัทฯ ตั้งอยู่ที่จังหวัดระยอง ซึ่งเป็นเขตประกอบการอุตสาหกรรมภายใต้การจัดการของบริษัทฯ พร้อมสาธารณูปโภคพืน้ ฐานทีส่ นับสนุนการดำ�เนินธุรกิจทัง้ ท่าเรือน้�ำ ลึก คลังน้�ำ มัน และโรงไฟฟ้า
ธุรกิจปิโตรเลียม
ธุรกิจปิโตรเคมี
บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจกลั่นน้ำ�มัน โดยโรงกลั่นน้ำ�มันของบริษัทฯ มีก�ำ ลังการผลิตรวม 215,000 บาร์เรลต่อวัน ประกอบด้วย ADU 1 และ ADU 2 กำ�ลังการผลิต 65,000 และ 150,000 บาร์เรลต่อวัน ตามลำ�ดับ จัดอยู่ในอันดับ 3 ของกำ�ลังการกลั่นน้ำ�มันใน ประเทศ สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมได้หลากหลายชนิด ประกอบด้วย
บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นต้น ได้แก่ โอเลฟินส์ และอะโรเมติกส์ โดยมีกำ�ลังการผลิต 1,221,000 และ 367,000 ตันต่อปี ตามลำ�ดับ ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบสำ�หรับโรงงานปิโตรเคมี ขั้นปลาย ประกอบด้วย เม็ดพลาสติก กลุ่มโพลิโอเลฟินส์ (HDPE, PP) กำ�ลังการผลิต 615,000 ตันต่อปี และเม็ดพลาสติก กลุ่มสไตรีนิคส์ (ABS, SAN, EPS, PS) กำ�ลังการผลิต 334,000 ตันต่อปี เพื่อจำ�หน่ายให้กับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมพลาสติก สำ�เร็จรูปชนิดต่างๆ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศภายใต้แบรนด์ POLIMAXX
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) แนฟทา น้ำ�มันเบนซิน ดีเซล และ น้ำ�มันเตา นอกจากนี้ บริษัทฯ มีโรงงานผลิตน้ำ�มันหล่อลื่น พื้นฐาน (Lube Base Oil Group I) กำ�ลังการผลิต 320,000 ตั น ต่ อ ปี และยางมะตอยขนาดกำ � ลั ง การผลิ ต 600,000 ตันต่อปี ซึ่งมีกำ�ลังการผลิตสูงสุดภายในประเทศ นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังเป็นผู้ผลิตวัตถุดิบในการผลิตยางล้อรถ และยางสังเคราะห์ (Rubber Process Oil) ที่เป็นที่ยอมรับ และรับรองด้านคุณภาพในระดับสากลภายใต้แบรนด์ Terramaxx อีกด้วย
106
นอกจากนี้ ธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเคมี ยั ง มุ่ ง เน้ น การก้ า วไปข้ า งหน้ า ปรั บ ตั ว ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การเปลี่ ย นแปลงของโลก พั ฒ นา ความเป็ น อยู่ ที่ ดี ขึ้ น ของมนุ ษ ย์ และเพิ่ ม ความสามารถใน การแข่งขันสู่สากล ด้วยการคิดค้นและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ นวัตกรรมของบริษัทฯ จากการวิจัยทั้งในกลุ่มสไตรีนิคส์ ได้แก่ Green ABS, ABS Powder, Impact modifier-MBS, Antidripping Additive, Anti-Bacteria และกลุ่มโพลิโอเลฟินส์ ได้แก่ UHMW-PE, Polyolefins Catalyst, Baby Bottle Polypropylene, Antimicrobial Compound เป็นต้น
ธุรกิจสนับสนุนอื่น ๆ ธุรกิจไฟฟ้าและสาธารณูปโภค บริษัทฯ ให้บริการสาธารณูปโภคพื้นฐานและระบบสาธารณูปการ ต่างๆ โดยทำ�การผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้�ำ อุตสาหกรรม ระบบ ลม และให้บริการระบบบำ�บัดน้�ำ เสียให้กบั ลูกค้าอุตสาหกรรมและ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต รวมถึงการบริการทางธุรกิจอืน่ ๆ เพือ่ สนับสนุน การประกอบธุรกิจอย่างเต็มรูปแบบ โดยมีปริมาณเพียงพอและมี คุณภาพตามมาตรฐานเช่นเดียวกับนิคมอุตสาหกรรมทัว่ ไป รวมถึง การคำ�นึงถึงการอยูร่ ว่ มกันอย่างยัง่ ยืนเคียงคูช่ มุ ชนสังคม และสิง่ แวดล้อม โดยบริษทั ฯ ได้ท�ำ การผลิตจำ�หน่าย และให้บริการระบบ สาธารณูปโภคต่างๆ ได้แก่ 1. ระบบไฟฟ้า (Electrical) 2. ระบบ ไอน้ำ� (Steam) 3. ระบบน้ำ� (Filtered Water, Demineralized Water, Cooling Water, Raw Water, Fire Fighting Water) 4. ระบบลม (Nitrogen, Instrument Air, Plant Air) 5. ระบบ กำ�จัดน้ำ�เสีย (Waste Water Treatment)
ธุรกิจท่าเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์ • ธุรกิจท่าเรือและคลังน้ำ�มัน เป็นธุรกิจการให้บริการท่าเทียบเรือ เพื่อขนถ่ายสินค้าทั้งภายในและต่างประเทศ รวมถึงให้บริการ ถังเก็บผลิตภัณฑ์ ตั้งอยู่ในเขตภาคตะวันออกที่อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง มีความพร้อมทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐานและ สิ่งอำ�นวยความสะดวกที่ทันสมัย เป็นไปตามมาตรฐานสากล ธุรกิจท่าเรือและคลังน้ำ�มัน ประกอบด้วย - ท่าเรือคอนเทนเนอร์และสินค้าทัว่ ไป หรือ Bulk & Container Terminal (BCT) ตัวท่ามีความยาว 900 เมตร และความกว้าง 44 เมตร ประกอบด้วยท่าเทียบเรือ 6 ท่า สามารถรับเรือลำ�เลียง ได้ตั้งแต่ขนาด 800-150,000 ตัน ให้บริการขนถ่ายสินค้าทั่วไป เช่น เหล็ก กะลาปาล์ม ถ่านหิน สินแร่ เป็นต้น โดยปัจจุบันมี ปริมาณสินค้าผ่านท่ากว่า 2 ล้านตันต่อปี - ท่าเรือปิโตรเคมีและปิโตรเลียมเหลว หรือ Liquid & Chemical Terminal (LCT) ตัวท่ามีความยาวประมาณ 1,623 เมตร ประกอบด้วยท่าเทียบเรือขนาดใหญ่ 6 ท่า สามารถรองรับ เรือได้ตั้งแต่ขนาด 1,000-250,000 ตัน ให้บริการขนถ่ายสินค้า ปิโตรเคมีและปิโตรเลียมเหลวและก๊าซ มีปริมาณสินค้าผ่านท่า 15 ล้านตันต่อปี และรองรับเรือมากกว่า 2,000 ลำ�ต่อปี • บริการถังเก็บผลิตภัณฑ์ บริษัทฯ มีถังเก็บผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมและปิโตรเคมีเหลวกว่า 300 ถัง สามารถรองรับ การจัดเก็บผลิตภัณฑ์ได้ถงึ 2.9 ล้านตัน เพือ่ รองรับการจัดจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์น้ำ�มันของบริษัทฯ และให้บริการแก่บุคคลภายนอก
บริ ษั ท ฯ มี ที ม งานที่ มี ป ระสบการณ์ แ ละมี ร ะบบการจั ด การ ที่มีประสิทธิภาพ ทำ�ให้การบริการมีความเป็นมาตรฐานสากล โดยมีคลังน้�ำ มัน 4 แห่ง กระจายไปตามภูมภิ าค ได้แก่ คลังน้�ำ มัน ระยอง คลังน้ำ�มันพระประแดง คลังน้ำ�มันอยุธยา และคลัง น้ำ�มันชุมพร นอกจากนี้ คลังน้ำ�มันแต่ละแห่งยังมีท่าเทียบ เรื อ เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารขนถ่ายสิ น ค้ าซึ่ ง จะช่ ว ยให้ ก ารดำ � เนิ น งาน และการกระจายสินค้ามีประสิทธิภาพช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และระยะเวลาในการขนส่ง
ธุรกิจบริหารจัดการทรัพย์สิน ธุรกิจบริหารจัดการทีด่ นิ ทีม่ ศี กั ยภาพซึง่ มีทงั้ ทีต่ งั้ อยูใ่ นจังหวัดระยองและ จังหวัดอืน่ ๆ รวมทัง้ สิน้ ประมาณ 12,000 ไร่ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนา พืน้ ทีใ่ ห้เป็นโครงการเชิงนิเวศ ทัง้ นิคมอุตสาหกรรม เขตประกอบการ อุตสาหกรรม และที่ดินที่มีศักยภาพ ซึ่งโครงการเพียบพร้อมไป ด้วยระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานและระบบสาธารณูปการต่างๆ ที่สามารถรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมายได้อย่างสมบูรณ์ ปัจจุบัน บริษัทฯ ได้รับอนุมัติให้ร่วมดำ�เนินการกับการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (กนอ.) ในการพัฒนาพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม ระยอง (บ้านค่าย) สำ�หรับให้บริการแก่นักลงทุนที่สนใจทั้งไทย และต่างชาติ พร้อมรองรับโครงการต่างๆ ของบริษัทฯ และลูกค้า จากภายนอก ประกอบด้วย 1. โครงการเขตประกอบการอุตสาหกรรม: เขตประกอบการ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ไออาร์พีซี อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง 2. โครงการนิคมอุตสาหกรรม: นิคมอุตสาหกรรมระยอง (บ้านค่าย) อำ�เภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง 3. ท่ี ดิน ที่ มี ศั ก ยภาพ: ที่ ดิ น แปลงใหญ่ ที่ มี ศั ก ยภาพใน การพัฒนาในพืน้ ทีอ่ �ำ เภอจะนะ จังหวัดสงขลา และทีด่ นิ อืน่ ๆ ในพื้นที่จังหวัดระยอง จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลำ�พูน ตลอดจนการให้บริการ IRPC Solution Provider ที่สามารถ รองรับอุตสาหกรรมอย่างเต็มรูปแบบ ให้บริการสนับสนุนกิจการ ของนักลงทุนทีม่ าลงทุนในเขตประกอบการอุตสาหกรรม ไออาร์พซี ี ด้วยความเชี่ยวชาญและความเป็นมืออาชีพ เพื่อให้กิจการของ นักลงทุนเติบโตไปพร้อมๆ กับบริษัทฯ การให้บริการประกอบไป ด้วย บริการงานบำ�รุงรักษา บริการงานวิศวกรรม บริการด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร บริการงานทดสอบและ วิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ บริการงานสอบเทียบอุปกรณ์และ เครื่องมือวัด บริการงานด้านโลหะวิทยา บริการด้านโลจิสติกส์ และคลังสินค้า บริการชั่งน้ำ�หนักรถขนส่ง และบริการฝึกอบรม ตามมาตรฐานความปลอดภัย อีกทั้งบริษัทฯ ยังมีความได้เปรียบ จากตำ�แหน่งที่ตั้งของโครงการซึ่งอยู่ภายในเขตประกอบการของ บริษัทฯ เอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความได้เปรียบในด้านของความ สะดวกสบายและความรวดเร็วในการให้บริการ
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
107
แผนภูมิกระบวนการผลิต
น�ำมันดิบ
โรงกลั�นน�ำมัน
215 KBD
โพรพิลีน 132 KTA
โรงงาน DCC ADU 1 65 KBD
โรงงาน RDCC (UHV) เอทิลีนร�ชแก ส
โพรพิลีน 320 KTA
เอทิลีน 73 KTA เอทิลีน 320 KTA
ADU 2 150 KBD
โพรพิลีน 280 KTA
แนฟทา
โรงงาน โอเลฟ นส
บิวทาไดอีน 56 KTA
ไพโรไลซ�ส แก สโซลีน ร�ฟอร เมท
อะเซทิลีน 6 KTA
โรงงาน อะโรเมติกส
โทลูอีน 132 KTA มิกซ ไซลีน 121 KTA
เบนซ�น 114 KTA LS ATB HS ATB
ลองเรสซ�ดิว
ก าซ ธรรมชาติ ถ านหิน
โรงงาน น�ำมันหล อลื่น พื้นฐาน
โรงไฟฟ า
ป โตรเลียม
108
EBSM 260 KTA
VGO
ป โตรเคมี
220 MW 108 MW
สไตร�นโมโนเมอร 260 KTA
โพรพิลีน ออกไซด
อะคร�โล ไนไตรล 27 KTA
ผลิตภัณฑ เพื่อจําหน าย
การนำไปใช
ก าซหุงต ม น�ำมันเบนซิน น�ำมันดีเซล น�ำมันเตา
เช้ือเพลิง
PP 475 KTA
PP
ถุงใสบรรจุอาหาร ขวดน�ำผลไม
HDPE 140 KTA
HDPE
ท อน�ำ ถุงหิ�วบรรจุสินค า เชือก แห อวน
Acetylene Black 4 KTA
Acetylene Black
ถ านไฟฉาย ยางรถยนต
โพลิออล 25 KTA
โพลิออล
โฟมทําพื้นรองเท า เฟอร นิเจอร
โทลูอีน
สารละลายและวัตถุดิบ โรงงานป โตรเคมี
มิกซ ไซลีน
สารละลายและวัตถุดิบ โรงงานป โตรเคมี
ABS/SAN 179 KTA
ABS/SAN
ของเด็กเล น เคร�่องใช ไฟฟ า ชิน� ส วนยานยนต เคร�อ่ งใช ในครัวเร�อน
PS 125 KTA
PS
ตลับซีดี ตลับเทป เคร�่องใช ไฟฟ า
EPS 30 KTA
EPS
โฟมกันกระแทก ฉนวนกันความร อน
น�ำมันหล อลื่นพื้นฐาน 320 KTA
น�ำมันหล อลื่นเคร�่องยนต
TDAE 50 KTA
ส วนผสมในยางรถยนต
ยางมะตอย 600 KTA
ผิวถนน
บจ.ไออาร พีซ� โพลีออล
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
109
การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์
ลักษณะของผลิตภัณฑ์ บริษัทฯ และบริษัทย่อยเป็นผู้ผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม 1. ผลิตภัณฑ์น้ำ�มันเชื้อเพลิง • น้ำ�มันเบนซิน (Gasoline) คือ น้ำ�มันเชื้อเพลิงสำ�หรับ เครื่องยนต์เบนซิน แบ่งโดยค่าอ๊อกเทนซึง่ เป็นตัวเลขทีแ่ สดง คุณสมบัติต้านทานการน๊อคของเครื่องยนต์ตามข้อกำ�หนด ของรัฐ น้ำ�มันเบนซินของบริษัทฯ แบ่งออกเป็นน้ำ�มันเบนซิน ไร้สารตะกั่ว ULG91 น้ำ�มันแก๊สโซฮอล์ GSH95, GSH91 และ Gasohol Base ซึง่ เป็นเบนซินพืน้ ฐานสำ�หรับนำ�ไปผลิต เป็น Gasohol และ E20 • น้ำ�มันดีเซลหมุนเร็ว (Diesel) ใช้เป็นเชื้อเพลิงสำ�หรับ เครือ่ งยนต์ดเี ซลหมุนเร็วทีใ่ ช้ในอุตสาหกรรมและยานพาหนะ เช่น รถยนต์ รถบรรทุก เรือประมง เรือโดยสาร รถแทรกเตอร์ ปัจจุบันได้มีการผสมไบโอดีเซลในสัดส่วนร้อยละ 5-7 ตาม นโยบายของรัฐบาลเพื่อส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน
PTTGC ร อยละ 15
IRPC ร อยละ 17
ESSO ร อยละ12
สัดส วน กำลังการกลัน� ของโรงกลัน� ในประเทศไทย ป 2559
1,093
BCP ร อยละ 9
ยอดผลิตรวม
KBD
SPRC ร อยละ 16
110
2. ผลิตภัณฑ์น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน • น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน (Lube Base Oil) คือ ผลิตภัณฑ์ น้ำ�มันที่ได้จากผลิตภัณฑ์ส่วนหนักจากหอกลั่น ซึ่งนำ�ไปผลิต เป็นน้�ำ มันหล่อลืน่ เกรดต่างๆ ปัจจุบนั บริษทั ฯ เป็นผูผ้ ลิตน้�ำ มัน หล่อลื่นพื้นฐานหลายเกรด ตามลักษณะและความเหมาะสม ในการนำ�ไปใช้งาน ดังนี้ - 150 SN ใช้เป็นวัตถุดิบผลิตน้ำ�มันหล่อลื่นสำ�หรับ อุตสาหกรรมการผลิต เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรมขนส่ง เป็นต้น - 500 SN ใช้เป็นวัตถุดิบสำ�หรับอุตสาหกรรมน้ำ�มัน หล่อลื่นสำ�หรับรถยนต์เกือบทุกประเภท - 150 BS ใช้ในอุตสาหกรรมและเครื่องจักรที่มีแรง เสียดทานมาก เช่น เครือ่ งยนต์รถบรรทุก รถไฟ เครือ่ ง เรือเดินทะเล เป็นต้น นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้คดิ ค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมใน กลุม่ น้�ำ มันหล่อลืน่ พืน้ ฐาน ได้แก่ น้�ำ มันยาง TDAE (Treated Distillate Aromatic Extract) และ RAE (Residue Aromatic Extract) ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบสำ�หรับผลิตยางรถยนต์ โดยลด ปริมาณ Polycyclic Aromatic Hydrocarbon (PAHs) ซึ่ง เป็นสารก่อมะเร็ง เพื่อเพิ่มความปลอดภัยต่อผู้บริโภค 3. ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่น ๆ
TOP ร อยละ 31
*IRPC มีสัดส่วนกำ�ลังการกลั่นเป็นลำ�ดับที่ 2 ของโรงกลั่นในประเทศไทย ที่มา: กรมธุรกิจพลังงาน ข้อมูลเดือนมกราคม-ธันวาคม 2559
• น้�ำ มันเตา (Fuel Oil) เป็นผลิตภัณฑ์น�้ำ มันทีไ่ ด้จากส่วนทีม่ ี จุดเดือดสูงของน้�ำ มันดิบ ใช้ประโยชน์มากในงานอุตสาหกรรม การคมนาคมขนส่ง และใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า • ก๊าซปิโตรเลียมเหลวหรือก๊าซหุงต้ม (LPG) คือ สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอน ก๊าซโปรเพน และก๊าซบิวเทน ส่วนใหญ่น�ำ ไปใช้ ในงานหุงต้มในครัวเรือน อีกทั้งยังสามารถนำ�ไปใช้ในงาน อุตสาหกรรมต่างๆ นอกจากนี้ ยังใช้เป็นเชื้อเพลิงสำ�หรับ เครื่องยนต์เบนซินได้
• แนฟทา (Naphtha) คือ ผลิตภัณฑ์น้ำ�มันส่วนเบาที่ได้ จากกระบวนการกลั่นน้ำ�มันดิบ ใช้เป็นวัตถุดิบหลักสำ�หรับ โรงงานปิโตรเคมี • ยางมะตอย (Asphalt) คือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน หลายชนิดและสารอินทรีย์อื่นๆ ซึ่งรวมเรียกว่า บิทูเมน มีลกั ษณะเป็นของเหลวข้นและหนืด และเป็นผลิตภัณฑ์สว่ นที่ หนักที่สุดที่ได้จากกระบวนการกลั่นน้ำ�มันดิบ ใช้สำ�หรับ ทำ�ถนน วัสดุกันซึม
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 1. โอเลฟินส์ โอเลฟินส์ ประกอบด้วย เอทิลีน โพรพิลีน และบิวทาไดอีน ใช้ เป็นวัตถุดิบสำ�หรับผลิตเม็ดพลาสติกชนิดต่างๆ ได้แก่ เม็ด พลาสติกชนิดโพลิเอทิลนี (PE) และโพลิโพรพิลนี (PP) บริษทั ฯ มีก�ำ ลังการผลิตโอเลฟินส์ 1,221,000 ตันต่อปี ประกอบด้วย เอทิลีน 433,000 ตันต่อปี โพรพิลีน 732,000 ตันต่อปี และ บิวทาไดอีน 56,000 ตันต่อปี โอเลฟินส์ที่บริษัทฯ ผลิตได้ ส่วนใหญ่ใช้เป็นวัตถุดิบสำ�หรับโรงงานในกลุ่มบริษัทฯ นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์พลอยได้จากโรงงานโอเลฟินส์ ได้แก่ อะเซทิลนี แบล็ค (Acetylene Black) มีลกั ษณะเป็นผงละเอียด สีด�ำ มีคณ ุ สมบัตเิ ด่นในเรือ่ งความบริสทุ ธิแ์ ละการนำ�ไฟฟ้าสูง นิยมนำ�ไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตถ่านไฟฉาย ผลิตภัณฑ์ โพลิเมอร์และยาง ปัจจุบันบริษัทฯ มีกำ�ลังการผลิตอะเซทิลีน แบล็ค 4,000 ตันต่อปี 2. อะโรเมติกส์ ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์หรือ BTX ประกอบด้วย เบนซีน (Benzene) โทลูอนี (Toluene) ไซลีน (Xylene) ใช้เป็นวัตถุดบิ สำ�หรับผลิตเม็ดพลาสติกกลุ่มสไตรีนิคส์ ปัจจุบันบริษัทฯ มี กำ�ลังการผลิตอะโรเมติกส์ 367,000 ตันต่อปี อะโรเมติกส์ที่ ผลิตได้ใช้เป็นวัตถุดบิ สำ�หรับโรงงานในเครือของบริษทั ฯ และ จำ�หน่ายให้บุคคลภายนอก 3. โพลิเมอร์ บริษัทฯ และบริษัทย่อยเป็นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์หรือ เม็ดพลาสติกภายใต้เครื่องหมายการค้า “POLIMAXX” ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกจัดเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นปลาย ซึ่งอุตสาหกรรมต่อเนื่องสามารถนำ�ไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ พลาสติกสำ�เร็จรูปชนิดต่างๆ ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกของ
บริษัทฯ ประกอบด้วยเม็ดพลาสติกกลุ่มโพลิโอเลฟินส์ (Polyolefins) ได้แก่ HDPE, PP และกลุม่ สไตรีนคิ ส์ (Styrenics) ได้แก่ ABS, PS, EPS เม็ดพลาสติกที่ผลิตได้จะมีคุณสมบัติ ที่แตกต่างกันตามลักษณะของการนำ�ไปใช้งาน ดังนี้ 3.1 เม็ดพลาสติกโพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูง (High Density Polyethylene-HDPE) เม็ดพลาสติกชนิด HDPE ของบริษัทฯ เป็นเม็ดพลาสติก โพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูงที่มีการผสมสีภายใน สายการผลิต (in-line compound) ในรูปแบบสีด�ำ เหมาะสำ�หรับ การนำ�ไปใช้ในการขึน้ รูป ได้แก่ งานผลิตท่อ (Pipe Extrusion) HDPE ในรูปของท่อ มีลักษณะที่เหมาะสมต่องานผลิตท่อน้ำ� ประปา ท่อร้อยสายไฟฟ้า ซึ่งมีคุณสมบัติเชิงกลที่ทนแรงดึง ทนแรงกระแทก มีความยืดหยุน่ สูง และทนต่อสภาพแวดล้อม 3.2 เม็ดพลาสติกชนิดโพลิโพรพิลนี (Polypropylene-PP) เม็ดพลาสติก PP ของบริษทั ฯ เป็นเม็ดพลาสติกทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ใกล้เคียงกับเม็ดพลาสติกชนิด HDPE และ LDPE จึงสามารถ ใช้ทดแทนกันได้ในระดับหนึง่ แต่ PP สามารถทนความร้อนได้ สูงกว่า HDPE ที่มีความเหนียว แข็งแกร่ง ทนต่อแรงอัดและ แรงกระแทก ไม่สกึ กร่อนง่าย ทนต่อสารเคมี เป็นฉนวนไฟฟ้า ที่ดี ปัจจุบันมีการนำ�เม็ดพลาสติกชนิด PP ไปใช้ในการผลิต ในรูปแบบต่างๆ ดังนี้ • งานแผ่นฟิล์ม (Film) ใช้ในการผลิตแผ่นพลาสติกที่ ต้องการความใสเพือ่ ใช้เป็นถุงพลาสติกประเภทถุงร้อน ฟิลม์ ห่อของทั่วไปหรือบรรจุอาหาร เป็นต้น • งานในรูปของเส้นใย/เส้นเทป (Filament/Yarn) ใช้ ในงานทอกระสอบสาน ถุงหอม ถุงกระเทียม ผ้าใบสาน ส่วน เส้นใยกลม (Filament) มี 2 ลักษณะ คือ Mono-Filament (เส้นใยเดี่ยว) ใช้ในงานทำ�เชือกที่ต้องการรับแรงมากๆ เช่น เชือกใยยักษ์ หรือ Multi-Filament (เส้นใยกลุ่ม) ใช้ในงาน สายเข็มขัดและสายกระเป๋า รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
111
• งานฉีดเข้าแบบ (Injection Molding) เหมาะสำ�หรับการ ผลิตเครื่องใช้ในบ้าน เครื่องครัว ชิ้นส่วนรถยนต์ ชิ้นส่วน เครื่องใช้ไฟฟ้า เปลือกแบตเตอรี่ ถังบรรจุสี และเฟอร์นิเจอร์ กลางแจ้ง เป็นต้น • งานเป่าเข้าแบบ (Blow Molding) มีคุณสมบัติในการ ผลิตบรรจุภัณฑ์ใสที่ให้ผิวแข็ง ทนต่อกรดและด่าง มีความ สะอาดปลอดภัยสูง เหมาะแก่การใช้เป็นขวดบรรจุอาหารหรือ ขวดบรรจุเครื่องสำ�อาง เป็นต้น • งานรีดเป็นแผ่น (Sheet Extrusion) ได้รบั ความนิยม มากขึ้น เนื่องจาก PP ให้การทรงรูปชิ้นงานที่ดี สามารถ recycle ได้ และราคาไม่สูงมากนัก ซึ่งงานที่ใช้ PP sheet มี ตั้งแต่งานแฟ้มเอกสารต่างๆ งาน vacuum forming ได้แก่ งาน packaging เช่น ถ้วยน้ำ�หรือถาดใส่ของต่างๆ เป็นต้น 3.3 เม็ดพลาสติกชนิด Acrylonitrile-ButadieneStyrene (ABS) ABS ของบริษัทฯ เป็นเม็ดพลาสติกที่มีคุณสมบัติเด่นใน การทนแรงกระแทกได้ดี (High Impact Strength) มีความ มันเงาทีผ่ วิ (High Gloss) ทนความร้อน (High Heat) แข็งแกร่ง (High Stiffness and High Rigidity) และทนต่อสารเคมีได้ดี (High Chemical Resistance) นิยมนำ�ไปใช้ในงานต่อไปนี้ • งานฉีดเข้าแบบ (Injection Molding) คือการนำ� เม็ดพลาสติกไปฉีดเข้าแบบเพื่อให้ได้ชิ้นงานตามต้องการ เหมาะสำ�หรับการนำ�ไปใช้งานต่างๆ ได้แก่ - เครือ่ งใช้ไฟฟ้า ได้แก่ ชิน้ งานส่วนประกอบหม้อหุงข้าว เตารีด โทรศัพท์ พัดลม แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ และ โทรทัศน์ เนื่องจาก ABS มีคุณสมบัติเด่นคือทนต่อ ความร้อนสูง มีความมันเงา สามารถชุบโลหะได้ดี มี อัตราการไหลสูง และมีการหน่วงเหนีย่ วการติดไฟทีด่ ี
112
- ชิ้นส่วนยานยนต์ ได้แก่ กระจกมองข้าง กล่องเก็บ สัมภาระ แผงหน้าปัดรถยนต์ และชิน้ ส่วนรถจักรยานยนต์ ได้แก่ แผงหน้าปัด หน้ากาก บังโคลน หมวกกันน็อก เนือ่ งจาก ABS มีคณ ุ สมบัตดิ า้ นความแข็งแรงทนทาน ทนความร้อน และทนต่อแรงกระแทกได้ดี มีการเกาะ ติดของสีทดี่ ี ทนต่อตัวทำ�ละลายจำ�พวกทินเนอร์ และ ให้ความมันเงา - เครื่องใช้ในครัวเรือน ได้แก่ ชิ้นส่วนเครื่องเรือน สุขภัณฑ์ ด้วย ABS มีคุณสมบัติที่มีความมันเงาสูง ทนแรงกระแทก สามารถชุบโลหะ และทนต่อสารเคมี ได้ดี - ของเด็กเล่น เนื่องจากเม็ดพลาสติกชนิด ABS มี คุณสมบัติทนต่อการแตกหัก หากแตกหักก็จะไม่เกิด เหลีย่ มคม (Sharp Point) ทีเ่ ป็นอันตรายต่อเด็ก รวมถึง มีความมันเงาสูงและให้สีที่สดใส • งานรีด (Extrusion) โดยการนำ�เม็ดพลาสติกไปรีดเป็นแผ่น แล้วจึงนำ�ไปขึน้ รูปด้วยวิธสี ญ ุ ญากาศ เช่น ผนังตูเ้ ย็น เป็นต้น 3.4 เม็ดพลาสติกชนิด Acrylonitrile Styrene (SAN) SAN หรือ AS ของบริษัทฯ เป็นเม็ดพลาสติกที่ให้คุณสมบัติ ความใส ความแข็ง ความแกร่ง ความเหนียว การทนความ ร้อน และทนสารเคมีได้ดีกว่า PS จึงนิยมนำ�ไปใช้ในงานฉีด (Injection Molding) ได้แก่ • ชิ้นส่วนยานยนต์ เช่น เลนส์ไฟหน้า ไฟท้าย ไฟเลี้ยว ในบางส่วน โดยนำ�มาแทน PMMA เนื่องจากมีราคาถูกกว่า • เครือ่ งใช้ภายในบ้าน เช่น สุขภัณฑ์ ไฟแช็ก ภาชนะใส่ของ ซึง่ ได้รับความนิยมใช้มากเนื่องจากมีคุณสมบัติเฉพาะตัวที่ดี
• เครือ่ งใช้ไฟฟ้า ได้แก่ ใบพัดพัดลม หน้ากากแอร์ เครือ่ งปัน่ น้�ำ ผลไม้ เนือ่ งจากมีคณ ุ สมบัตใิ ห้ความมันเงา ความคงรูปสูง การทนความร้อนและสารเคมีได้ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ทนต่อแรงเฉือนได้ดี 3.5 เม็ดพลาสติกชนิด Polystyrene (PS) PS ของบริษทั ฯ สามารถแบ่งตามคุณสมบัตไิ ด้เป็น 2 ประเภท คือ • GPPS (General Purpose Polystyrene) คือเม็ดพลาสติก PS ทีใ่ ห้ความใสมาก มีความแข็งและความ สามารถในการขึน้ รูปเป็นชิน้ งานง่ายโดยไม่ตอ้ งอบเม็ดก่อนแต่ มีข้อเสียคือทนแรงกระแทกได้น้อย (Low Impact Strength) จึงนิยมใช้กับชิ้นงานที่เน้นความใสมากๆ และต้องการความ ทรงรูปสูง ตัวอย่างเช่น ตลับเทป ตลับซีดี เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องใช้ในครัวเรือน เป็นต้น • HIPS (High Impact Polystyrene) คือเม็ดพลาสติก PS ที่สามารถทนแรงกระแทกได้มากกว่า GPPS เนื่องจากมีการพัฒนาโดยใส่ Butadiene แต่จะ สูญเสียคุณสมบัติด้านความใส อย่างไรก็ตาม จากการที่ ราคาเม็ดพลาสติก HIPS ต่ำ�กว่าราคาเม็ดพลาสติก ABS ค่อนข้างมาก จึงถูกใช้ทดแทนเม็ดพลาสติก ABS ในงาน ที่ต้องการลดต้นทุนแต่จะให้ความเงาและการทรงรูปที่ ด้อยกว่าเม็ดพลาสติกทั้ง 2 ประเภท เหมาะสำ�หรับการ นำ�ไปใช้ในการผลิตขึ้นรูปต่างๆ ดังนี้ - งาน Injection Molding ตลับเทป ตลับวิดีโอ ตลับ ซีดี และเครื่องใช้ในครัวเรือน เป็นต้น - งาน Sheet & Film Extrusion ได้แก่ ถ้วยไอศครีม ฟิล์มที่ใช้ในการห่อดอกไม้ เป็นต้น
3.6 เม็ดพลาสติกชนิด Expandable Polystyrene (EPS) EPS ของบริษัทฯ มีลักษณะเป็นเม็ดกลมๆ สีขาว ซึ่งใช้ สไตรีนมอนอเมอร์เป็นวัตถุดิบหลัก และใช้แก๊สเพนเทน (Pentane) เป็ น สารทำ � ให้ พ องตั ว (Blowing Agent) ซึง่ บริษทั ฯ ใช้ในกระบวนการผลิตโดยจะไม่มกี ารใช้สาร CFC ซึ่งทำ�ลายชั้นบรรยากาศโอโซน เม็ดพลาสติก EPS สามารถ นำ�ไปใช้งาน ดังนี้ - งาน Packaging ได้แก่ โฟมใช้กันกระแทกในงาน บรรจุภัณฑ์ของเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เป็นต้น - งาน Block ได้แก่ ฉนวนกันความร้อนในห้องเย็น สำ�หรับงานประมง งานก่อสร้าง และงานประดิษฐ์ ตกแต่ง เป็นต้น 4. โพลิออล ผลิตภัณฑ์โพลิออล ได้แก่ โพลิเอสเทอร์ และโพลิอีเทอร์ โพลิออล (Polyether Polyol) เป็นวัตถุดิบสำ�หรับผลิต โพลิยูรีเทน ซึ่งนำ�ไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ เช่น โฟม ที่ใช้ในการทำ�เฟอร์นิเจอร์ โฟมที่ใช้เป็นฉนวนกันการถ่ายเท ความร้ อ นในอุ ต สาหกรรมก่ อ สร้ า งอาคารและอุ ป กรณ์ ทำ�ความเย็นต่างๆ และโฟมสังเคราะห์ซึ่งใช้ทำ�พื้นรองเท้า โดยใช้ Propylene Oxide ซึ่งนำ�เข้าจากต่างประเทศเป็น วัตถุดิบหลัก ผลิตภัณฑ์โพลิออลดำ�เนินการผลิตและจำ�หน่ายโดยบริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทฯ ย่อยในสัดส่วน ร้อยละ 99.99 มีก�ำ ลังการผลิต 25,000 ตันต่อปี โดยมีโรงงาน ตั้งอยู่ในเขตประกอบการอุตสาหกรรมเดียวกับไออาร์พีซี ที่จังหวัดระยอง
สายผลิตภัณฑ ป โตรเลียมและป โตรเคมี สายผลิตภัณฑ ป โตรเลียม
สายผลิตภัณฑ ป โตรเคมี
น�ำมันเชื้อเพลิง
โอเลฟ นส
น�ำมันเบนซิน น�ำมันดีเซลหมุนเร็ว น�ำมันเตา ก าซป โตรเลียมเหลว
น�ำมันหล อลื่นพื้นฐาน น�ำมันหล อลื่นพื้นฐาน ลองเรสซิดิว
ป โตรเลียมอื่น ๆ แนฟทา ยางมะตอย
เอทิลีน โพรพิลีน บิวทาไดอีน อะเซทิลีนแบล็ค
โพลิออล โพลิเอสเทอร โพลิอีเทอร โพลิออล
อะโรเมติกส
โพลิเมอร
เบนซีน โทลูอีน โซลีน
เม็ดพลาสติกโพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน สูง (HDPE) เม็ดพลาสติกชนิดโพลิโพรพิลีน (PP) เม็ดพลาสติกชนิด Acrylonitrile-Butadiene-Styrene (ABS) เม็ดพลาสติกชนิด Acrylonitrile Styrene (SAN) เม็ดพลาสติกชนิด Polystyrene (PS) เม็ดพลาสติกชนิด Expandable Polystyrene (EPS)
ผลิตภัณฑ พิเศษ / นวัตกรรม กลุ มสไตร�นิคส กลุ มโพลิโอเลฟ นส Green ABS Ultra High Molecular Weight Polyethylene Anti-dripping Additive Baby Bottle Polyethylene Anti-bacteria Agent Antimicrobial Compound ABS Powder Marine Pipe Natural Coloring and Additive Carrier System Wood Plastic Composite
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
113
5. กลุ่มผลิตภัณฑ์พิเศษหรือผลิตภัณฑ์นวัตกรรม บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญกับการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยการพัฒนาองค์ความรู้ภายใน (Self-Development) เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้าที่หลากหลายและภาวะ เศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ตลอดจนสามารถ ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของลูกค้าได้ อย่างสูงสุด รวมถึงใส่ใจต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม 5.1 ผลิตภัณฑ์กลุ่มสไตรีนิคส์ ประกอบด้วย • Green ABS เป็นผลิตภัณฑ์ที่บริษัทฯ สามารถผลิตได้ เป็นรายแรกในโลกและได้จดลิขสิทธิ์กระบวนการผลิตเป็น ที่เรียบร้อยแล้ว โดยการนำ�เอายางธรรมชาติมาทดแทน การใช้ยางสังเคราะห์ในการผลิตเม็ดพลาสติก ABS ซึ่ง นวัตกรรมนี้สามารถนำ�ไปเป็นโครงการช่วยเหลือเกษตรกร และลดการนำ�เข้า อีกทั้งยังเป็นไปตามโครงการกลไกพัฒนา ที่สะอาดด้วย • Anti–dripping Additive เป็นสารเติมแต่งสำ�หรับ โพลิเมอร์ทมี่ คี ณ ุ สมบัตชิ ว่ ยป้องกันการหยดตัวของโพลิเมอร์ เมื่อติดไฟ ซึ่งบริษัทฯ ได้พัฒนาขึ้นด้วยนาโนเทคโนโลยี ทำ�ให้สามารถกระจายตัวได้ดีในโพลิเมอร์ อีกทั้งยังสามารถ จัดเก็บได้ที่อุณหภูมิห้อง ซึ่งช่วยลดต้นทุนในด้านการเก็บ รั ก ษาและการจั ด ส่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เหมาะสำ � หรั บ การเติ ม โพลิเมอร์หลากหลายชนิดที่ต้องการเพิ่มคุณสมบัติเกี่ยวกับ การหน่วงไฟตามมาตรฐาน UL-94 (V.0) ปัจจุบันบริษัทฯ ได้นำ�สารเติมแต่งนี้ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก ABSFlame Retardant Grade ให้มีคุณสมบัติดียิ่งขึ้นด้วย
• Anti–bacteria Agent เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ทใี่ ช้เทคโนโลยี การผลิตระดับนาโน มีคณ ุ สมบัตใิ นการยับยัง้ การเจริญเติบโต และกำ�จัดเชื้อแบคทีเรียได้เป็นอย่างดี สามารถนำ�ไปใช้เป็น สารเติมแต่ง (Additive) ในเม็ดพลาสติกหลากหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น ABS, PS หรือ PP เพื่อเพิ่มคุณสมบัติด้านการ ยับยั้งเชื้อแบคทีเรียในผลิตภัณฑ์โดยไม่ส่งผลต่อคุณสมบัติ เดิมของเม็ดพลาสติก • ABS Powder เป็นผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ชนิด ABS ใน รูปแบบผง เหมาะสำ�หรับผู้ผลิตที่ต้องการคุณสมบัติการ กระจายตัวของโพลิเมอร์ทดี่ กี ว่าการใช้เม็ดพลาสติกแบบเดิม สามารถนำ�ไปใช้กับเม็ดพลาสติก PVC, PC หรือ PC/ABS ซึ่งจะช่วยเพิ่มคุณสมบัติในด้านการทนต่อแรงกระแทกและ ทนต่อความร้อน
ผลิตภัณฑ นวัตกรรมจากไออาร พีซี
เพื่อการสร างสรรค ผลิตภัณฑ ปลายทางที่ช วยยกระดับคุณภาพชีว�ต เป นมิตรต อสิ�งแวดล อม และปลอดภัยต อผู บร�โภค
114
เป นมิตรต อสิ�งแวดล อม
คุณภาพชีว�ต
Green ABS เม็ดพลาสติกที่นำยางธรรมชาติมาใช ทดแทนยางสั ง เคราะห นั บ เป น หนึ ่ ง ในนวั ต กรรม ตามโครงการกลไกพั ฒ นาที ่ ส ะอาดและส ง เสร� ม เกษตรกรไทย Wood Plastic Composite เม็ดพลาสติกผสม ผงไม คุณภาพที่ยังคงคุณสมบัติเด นของพลาสติก และไม เพื่อทนแทนวัสดุจากธรรมชาติ ช วยลดและ ส งเสร�มการใช ทรัพยากรอย างคุ มค า
Anti-bacteria Agent สารเติมแต งในเม็ดพลาสติกที่มีคุณสมบัติ ยับยัง� และกำจัดเชือ้ แบคทีเร�ยได เป นอย างดี โดยไม สง ผลต อคุณสมบัติ ของเม็ดพลาสติก Baby Bottle Polypropylene นวัตกรรมใหม ของเม็ดพลาสติก ที่ ไม มีสารก อมะเร็ง จ�งมั�นใจว าปลอดภัยสำหรับเด็ก เพื่อคุณภาพ ชีว�ตที่ดีขึ้นของผู บร�โภค Antimicrobial compound ผลิตภัณฑ ที่มีคุณสมบัติยับยั�งเชื้อ จุลินทร�ย โดยเฉพาะแบคทีเร�ย เหมาะสำหรับอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ อาหารและการแพทย Natural Coloring เม็ดพลาสติกที่มีส วนผสมของสีที่สกัดจาก ธรรมชาติ ช วยลดป ญหาสารพิษและสารโลหะตกค า งจากการใช สีสังเคราะห
5.2 ผลิตภัณฑ์กลุ่มโพลิโอเลฟินส์ ประกอบด้วย • Ultra High Molecular Weight Polyethylene (UHMW-PE) มีลักษณะเป็นผงสีขาว ขุ่น ทึบแสง มีความ หนาแน่นของโมเลกุลสูงกว่าโพลิเอทิลีนทั่วไปถึง 10 เท่า สามารถนำ�ไปขึ้นรูปได้หลายวิธี เช่น Compression, RAM Extrusion, Gel Spinning เป็นต้น โดยมีอุณหภูมิในการ ใช้งานตั้งแต่ -200 ถึง 200 องศาเซลเซียส ด้วยคุณสมบัติ ที่ดีกว่าข้อต่อและเฟืองเหล็ก เหมาะสำ�หรับงานหลากหลาย ประเภททีต่ อ้ งการความเหนียว แข็งแรง ทนทานต่อการเสียดสี และการกัดกร่อนของสารเคมี • Baby Bottle Polypropylene เป็นทางเลือกใหม่ของ เม็ดพลาสติกที่ได้รับการพัฒนาคุณลักษณะให้โดดเด่นและ ขึ้นรูปง่ายยิ่งขึ้นทั้งแบบฉีดและแบบเป่า ด้วยคุณสมบัติ การทนความร้อนเกินกว่า 100 องศาเซลเซียส ทรงรูปดี มีความใสพิเศษ และมีอัตราการหดตัวต่ำ� ไม่มีสารก่อมะเร็ง จึงมั่นใจได้ว่าปลอดภัยสำ�หรับเด็ก • Antimicrobial compound คือผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม โพลิโอเลฟินส์ที่ได้เพิ่มคุณสมบัติดา้ นการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื้อแบคทีเรีย โดยไม่ส่งผลต่อ คุ ณ สมบั ติ ข องเม็ ด พลาสติ ก ซึ่ ง นั บ เป็ น การยกระดั บ คุณภาพชีวิตในปัจจุบันให้มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น และ ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ สำ�หรับอาหารและในวงการแพทย์ รวมทัง้ เครือ่ งใช้ในครัวเรือน
• Marine Pipe คอมพาวด์สตู รพิเศษทีม่ คี ณ ุ สมบัตปิ อ้ งกัน หอยเจาะท่อ ซึ่งทำ�ลายท่อโพลิเอทิลีนในพื้นที่บริเวณชายฝั่ง ทะเลและพื้นที่น้ำ�กร่อย • Natural Coloring and Additive Carrier System ประกอบด้วย - Natural Coloring เป็นเม็ดพลาสติกทีม่ สี ว่ นผสมของ สีที่สกัดจากธรรมชาติเพื่อลดการใช้สีสังเคราะห์จาก ปิโตรเคมี เช่น สีเขียวจากผักโขม (Spinach) สีน�้ำ ตาล จากคาราเมล (Caramel) เป็นต้น สามารถลดปัญหา เรื่องสารพิษและสารโลหะหนักตกค้าง โดยเฉพาะใน ด้านความคงตัวของสีทไี่ ม่มคี วามแตกต่างจากการใช้ สีสังเคราะห์ - Master Batch Carrier เป็นผลิตภัณฑ์ HDPE รูป แบบใหม่ที่มีลักษณะเป็นผงละเอียดสีขาว ทำ�ให้ สามารถรวมตัวกับผงสีและสารเติมแต่งได้เป็นอย่างดี และมีค่าดัชนีการไหลที่สูงถึง 33 กรัม ต่อ 10 นาที ด้วยคุณสมบัตเิ ด่นดังกล่าว ทำ�ให้การกระจายตัวของ ผงสีและสารเติมแต่งต่างๆ มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ - Wood Plastic Composite บริษัทฯ ได้ตระหนัก ถึงคุณค่าของการอนุรักษ์ธรรมชาติ จึงได้นำ�ผงไม้ คุณภาพมาผสมลงในกระบวนการผลิตเม็ดพลาสติก ประเภทต่างๆ แล้วนำ�ไปขึน้ รูปด้วยกระบวนการขึน้ รูป ของพลาสติกเพือ่ ให้ได้วสั ดุชนิดใหม่ทยี่ งั คงคุณสมบัติ เด่นของพลาสติกและไม้ และสามารถทดแทนเพือ่ ลด และส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
รายชื่อผู้ผลิตและกําลังการผลิตเม็ดพลาสติกในประเทศ ปี 2559 ผลิตภัณฑ์ HDPE
PP
ABS EPS
PS
บริษัท บมจ. ไออาร์พีซี บจ. ไทยโพลีเอททีลีน บมจ. บางกอกโพลีเอททีลีน จำ�กัด บมจ. พีทีที โกลบอล เคมีคอล รวม บมจ. ไออาร์พีซี บจ. เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ บจ. ไทยโพลีโพรพีลีน รวม บมจ. ไออาร์พีซี บจ. อินนิออส เอบีเอส (ประเทศไทย) รวม บมจ. ไออาร์พีซี บจ. หมิงตี้ เคมีคอล รวม บมจ. ไออาร์พีซี บจ. สยามโพลีสไตรีน บจ. ไทยสไตรีนิคส์ รวม
(หน่วย: พันตันต่อปี)
กำ�ลังการผลิต 140 960 500 300 1,900 475 810 720 2,005 179 95 274 30 30 60 125 150 90 365
ร้อยละ 7 51 26 16 100 24 40 36 100 65 35 100 50 50 100 34 41 25 100 รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
115
ภาวะตลาดและแนวโน้มอุตสาหกรรม
บริษัทฯ เน้นการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ สร้างความหลากหลายด้วยการพัฒนา และวิจัยความต้องการตลาดร่วมกับลูกค้า รวมทั้ง การเป็นผู้ผลิตที่มีต้นทุนต่ำ�จากการดำ�เนินธุรกิจปิโตรเคมีครบวงจร มีระบบสนับสนุนการผลิตที่เพียบพร้อมสร้างความได้เปรียบในด้านต้นทุน ให้สามารถแข่งขันได้แม้ในภาวะที่ราคาผลิตภัณฑ์ผันผวน
1. การตลาดและภาวะการแข่งขันของ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ภาวะตลาดน้ํามันดิบและน้ํามันสำ�เร็จรูป ภาพรวมการใช้พลังงานในปี 2559 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.8 เมือ่ เทียบ กับปี 2558 สอดคล้องกับอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ของไทย (GDP) ทัง้ ปีทขี่ ยายตัวร้อยละ 3.2 จากเศรษฐกิจไทย ปรับตัวดีขึ้น อันเป็นผลจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของ รัฐบาล โดยการลงทุนภาครัฐที่ขยายตัวสูง การใช้จ่ายภาค ครัวเรือนและภาครัฐขยายตัวอย่างต่อเนื่อง การส่งออก สินค้าและบริการที่มีแนวโน้มขยายตัว รวมทั้งการลงทุน ภาคเอกชนปรับตัวดีขึ้นโดยเฉพาะธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ การท่องเที่ยวและบริการ ในปี 2559 ประเทศไทยมีการนําเข้าพลังงานคิดเป็นมูลค่า กว่า 7 แสนล้านบาท โดยมีการนําเข้าน้�ำ มันดิบมากทีส่ ดุ ทัง้ นี้ ราคาน้�ำ มันดิบดูไบเฉลีย่ ในตลาดโลกอยูท่ ี่ 41.3 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับลดลงจากปี 2558 ที่ระดับ 50.9 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ซึง่ ปัจจัยหลักนัน้ มาจากปริมาณน้�ำ มันดิบ ทีล่ น้ ตลาดตลอดทัง้ ปี โดยเฉพาะในช่วงต้นปีราคาปรับลดลง อย่างหนัก เพราะผู้ผลิตทั้งในและนอกกลุ่มโอเปกต่างก็ ยืนกรานทีจ่ ะไม่ปรับลดกำ�ลังการผลิต และเดินหน้าผลิตน้�ำ มันดิบ ในระดับที่สูงต่อเนื่อง เพื่อรักษาส่วนแบ่งทางการตลาด และกดดันผู้ผลิตน้ำ�มันดิบจากชั้นหินดินดาน (Shale oil) ในประเทศสหรัฐอเมริกา ตลอดจนอิรักที่ปรับเพิ่มกำ�ลังการ ผลิตประมาณ 4 แสนบาร์เรลต่อวัน เนือ่ งจากปัญหาสงคราม คลีค่ ลายลง รวมถึงอิหร่านทีก่ ลับมาผลิตเพิม่ ขึน้ ประมาณ 7 แสน บาร์เรลต่อวัน หลังได้รบั การยกเลิกมาตรการคว่�ำ บาตรเมือ่ วันที่ 16 มกราคม 2559
116
สำ�หรับน้ำ�มันสำ�เร็จรูปในปี 2559 การผลิตภายในประเทศ มีปริมาณรวมทัง้ สิน้ 61,696 ล้านลิตร เฉลีย่ วันละ 169 ล้านลิตร หรือ 1.06 ล้านบาร์เรลต่อวัน ปริมาณลดลงจากปีกอ่ นร้อยละ 3 ส่วนการนำ�เข้าจากต่างประเทศมีปริมาณรวมทั้งสิ้น 3,452 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 9.5 ล้านลิตร หรือ 0.06 ล้านบาร์เรล ต่อวัน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 5 ทั้งนี้ การนำ�เข้ารวม โปรเพนและบิวเทนเพื่อการผสมเป็นแอลพีจี และรวมเบนซิน พื้นฐานเพื่อการผลิตแก๊สโซฮอล์ จำ�นวน 1,500 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 4.0 ล้านลิตร เนื่องจากในปี 2559 มีโรงกลั่น ปิดซ่อมบำ�รุงประจำ�ปีมากกว่าเมื่อเทียบกับปี 2558 จึงทำ�ให้ การนำ�เข้าน้ำ�มันดิบลดลงและต้องนำ�เข้าน้ำ�มันสำ�เร็จรูป เพิ่มขึ้นและการส่งออกลดลง เมื่ อ เปรี ย บเที ย บการใช้ น้ำ � มั น สำ � เร็ จ รู ป มี ก ารใช้ เ พิ่ ม ขึ้ น ร้อยละ 2 เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2558 โดยมีการใช้เบนซินเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 10 เฉลีย่ อยูท่ ี่ 28.8 ล้านลิตรต่อวัน ซึง่ เป็นการเพิม่ ขึน้ ของน้ำ�มันกลุ่มเบนซินเกือบทุกชนิดยกเว้นน้ำ�มันเบนซิน 95 เนือ่ งจากปริมาณการใช้ทเี่ พิม่ ขึน้ ซึง่ เป็นผลจากราคาขายปลีก น้ำ�มันที่ปรับตัวลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยปรับตัวลดลงเฉลีย่ 3-4 บาทต่อลิตร ตามราคาตลาดโลก จึงส่งผลให้ประชาชนหันมาใช้รถยนต์สว่ นบุคคลในการเดินทาง เพิ่มมากขึ้น การใช้น้ำ�มันดีเซลหมุนเร็วในปี 2559 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี ก่อนร้อยละ 4 เฉลีย่ อยูท่ ี่ 60.4 ล้านลิตรต่อวัน เนือ่ งจากปริมาณ การใช้ที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นผลจากราคาขายปลีกน้ำ�มันที่ปรับตัว ลดลงเมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยปรับตัวลดลง 1.80 บาทต่อลิตร ประกอบกับปริมาณรถยนต์ที่ใช้น้ำ�มัน ดีเซลเป็นเชื้อเพลิงมีปริมาณเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.1 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน
การใช้ LPG ในปี 2559 ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2558 ร้อยละ 9 เฉลีย่ อยูท่ ี่ 16.3 ล้านกิโลกรัมต่อวัน โดยเป็นการลดลงของ การใช้ภาคขนส่งและภาคปิโตรเคมี โดยภาคปิโตรเคมีลดลง ร้อยละ 15.6 เฉลี่ยอยู่ที่ 4.92 ล้านกิโลกรัมต่อวัน ภาคขนส่ง ลดลงร้อยละ 15.4 เฉลี่ยอยู่ที่ 4.0 ล้านกิโลกรัมต่อวัน ส่วน ภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้นเล็กน้อยร้อยละ 0.4 เฉลี่ยอยู่ที่ 5.74 ล้านกิโลกรัมต่อวัน และภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 เฉลี่ยอยู่ที่ 1.65 ล้านกิโลกรัมต่อวัน ผู้ประกอบการหลักในอุตสาหกรรมน้ำ�มันในประเทศที่สำ�คัญ ประกอบด้วย บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เชลล์ แห่งประเทศไทย จำ�กัด บริษัท เชฟรอนประเทศไทยสำ�รวจและผลิต จำ�กัด และอื่นๆ โดย ส่วนแบ่งการตลาดในประเทศ มีดังนี้ บริษัท
ส่วนแบ่งตลาดในประเทศ (ร้อยละ) 39 11 11 9 7 4 19
ปตท. เอสโซ่ บางจาก เชลล์ เชฟรอน ไออาร์พีซี ผู้ค้ารายย่อยอื่น ๆ
ที่มา: กรมธุรกิจพลังงาน ข้อมูลเดือน มกราคม-ธันวาคม 2559
สถานการณ์ราคาปี 2559 สถานการณ์ราคาน้�ำ มันดิบในปี 2559 เคลือ่ นไหวอยูใ่ นกรอบ 22-55 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และมีราคาเฉลี่ยทั้งปี อยู่ที่ 41.27 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับลดลงจากราคา เฉลี่ยในปี 2558 เนื่องจากตลาดยังคงประสบปัญหาอุปทาน ล้นตลาด โดยมีสว่ นเกินถึงประมาณ 2 ล้านบาร์เรลต่อวัน จาก การที่ผู้ผลิตกลุ่มโอเปกเพิ่มกำ�ลังการผลิต ในขณะที่อุปสงค์ น้ำ�มันดิบเติบโตประมาณ 1.3 ล้านบาร์เรลต่อวัน ซึ่งยังไม่ เพียงพอที่จะทำ�ให้ตลาดเข้าสู่สมดุลได้ อย่างไรก็ตาม ในช่วงปลายปี 2559 ความร่วมมือปรับลดกำ�ลัง การผลิตจากผลการเจรจาระหว่างกลุ่มโอเปกในวันที่ 30 พฤศจิกายน และกลุม่ นอกโอเปกในวันที่ 10 ธันวาคม โดยผูผ้ ลิต ในกลุม่ โอเปกจะปรับลดกำ�ลังผลิตลงราว 1.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากระดับการผลิตเดือนตุลาคม 2559 และผู้ผลิตนอกกลุ่ม โอเปกจะปรับลด 558,000 บาร์เรลต่อวัน มีผลบังคับใช้ใน เดือนมกราคม 2560 เป็นระยะเวลา 6 เดือน ส่งผลให้อปุ ทาน น้ำ�มันดิบโลกปรับลดลงราว 1.8 ล้านบาร์เรลต่อวัน ช่วย สนับสนุนราคาปรับตัวเพิ่มขึ้น แนวโน้มปี 2560 ภาพรวมของตลาดน้�ำ มันดิบในปี 2560 คาดว่าจะเคลือ่ นไหว ในกรอบ 50-55 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากอุปสงค์น�้ำ มัน สำ�เร็จรูปของโลกที่ขยายตัวต่อเนื่องอยู่ที่ 1.3 ล้านบาร์เรล ต่อวัน อีกทั้งการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกที่เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับอุปทานน้ำ�มันดิบโลกที่คาดว่าจะปรับเพิ่มขึ้น
กราฟแสดงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาน้ำ�มันดิบในตลาดโลก ราคาน�ำมันดิบ Dubai ($/bbl) 70
Dtd Brent โอเปกตกลง ลดการผลิตมาอยู ที่ 32.5-33.0 ล านบาร เรลต อวัน
60
Dubai
โอเปกได ข อสรุป ลดการผลิต 1.2 ล านบาร เรลต อวัน
50
40
ยกเลิกคว่ำบาตร ทางเศรษฐกิจอิหร าน
30
20 ม.ค. 59
ผู ผลิตนอกกลุ ม โอเปกได ข อสรุป ลดการผลิต 0.558 ล านบาร เรลต อวัน การประชุมเมืองโดฮา ของโอเปก เพื่อคงกำลัง การผลิตล มเหลว
ก.พ. 59
ที่มา : Patts & Reuters
มี.ค. 59
เม.ย. 59
พ.ค. 59
มิ.ย. 59
ก.ค. 59
ส.ค. 59
ก.ย. 59
ต.ค. 59
พ.ย. 59
ธ.ค. 59
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
117
น้อยกว่าอุปสงค์ เนื่องจากได้รับแรงหนุนจากความร่วมมือ ระหว่างผูผ้ ลิตกลุม่ โอเปกทีจ่ ะปรับลดปริมาณการผลิตรวมกัน ราว 1.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน อย่างไรก็ตาม ตลาดยังคงเผชิญ กับความเสี่ยงกับการปรับเพิ่มขึ้นของปริมาณการผลิตของ ไนจีเรียและลิเบีย อีกทั้งข้อตกลงการปรับลดกำ�ลังการผลิต ครัง้ นีม้ ผี ลบังคับใช้เพียง 6 เดือน และอาจไม่มกี ารยืดระยะเวลา การปรับลดกำ�ลังการผลิต ทำ�ให้มีความเป็นไปได้สูงที่ผู้ผลิต กลุ่มโอเปกจะปรับเพิ่มปริมาณการผลิตในช่วงครึ่งปีหลัง ของปี 2560 อีกทั้งปริมาณน้ำ�มันดิบคงคลังสหรัฐฯ ที่ยัง คงอยู่ในระดับสูงและการผลิตน้ำ�มันดิบสหรัฐฯ ที่มีแนวโน้ม ปรับเพิ่มขึ้นกดดันราคาต่อเนื่อง นอกจากนี้ เศรษฐกิจโลกยังเผชิญกับความผันผวนและความ ไม่แน่นอนจากการที่สหราชอาณาจักรลงประชามติถอนตัว ออกจากสหภาพยุโรป (Brexit) และธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ซึ่งสร้างความผันผวนให้กับ ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และกดดันราคาน้ำ�มันดิบ ลักษณะของลูกค้า และช่องทางการจัดจำ�หน่าย บริษัทฯ เน้นการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์น้ำ�มันให้ได้ มาตรฐานตามทีก่ ระทรวงพาณิชย์ก�ำ หนด อีกทัง้ ยังเน้นการขาย ผ่านช่องทางทีก่ �ำ ไรสูงสุด โดยกำ�หนดราคาน้�ำ มันให้เหมาะสม สอดคล้องกับสถานการณ์ของตลาด และการร่วมมือกับบริษทั ในเครือเพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดในการวางกลยุทธ์การขาย
118
ลักษณะของลูกค้า และช่องทางการจำ�หน่าย แบ่งได้ดังนี้ • การจำ�หน่ายให้ผคู้ า้ ขายตรง อุตสาหกรรม (Industry) เช่น บริษทั รถและเรือขนส่งสินค้าและรถโดยสาร กิจการประเภท ก่อสร้าง และอื่นๆ รวมทั้งการขายให้บริษัทในเครือด้วย • การจำ�หน่ายให้ลกู ค้าขายส่ง (Wholesales/Jobber) ทัง้ รายเล็กและรายใหญ่ เพือ่ ไปจำ�หน่ายต่อให้กบั ผูค้ า้ ขายตรง และขายปลีก • การจำ�หน่ายให้ผู้ค้ามาตรา 7 เป็นการจำ�หน่ายให้กับ บริษทั ผูค้ า้ น้�ำ มันทัง้ ขนาดใหญ่และปานกลาง ซึง่ มีคลังน้�ำ มัน เป็นของตนเอง และนำ�น้ำ�มันเหล่านี้ไปจัดจำ�หน่ายต่อผ่าน ระบบเครือข่ายและช่องทางการจำ�หน่ายของบริษัทเหล่านั้น ไปสู่ผู้บริโภคน้ำ�มันปลายทางอีกทอดหนึ่ง • การส่งออก (Export) ให้กับผู้ค้าน้ำ�มันในต่างประเทศ แบ่งเป็นการขายทางเรือโดยมีตลาดหลักในเขตภูมภิ าคเอเชีย เช่น สิงคโปร์ กัมพูชา และเวียดนาม และการส่งออกทางรถ โดยมีตลาดหลักในประเทศแถบอินโดจีน เช่น กัมพูชา ลาว และพม่า ในปี 2559 บริษทั ฯ มียอดส่งออกรวมคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 34 ของยอดการจำ�หน่ายทั้งหมด • Bunker เป็นการจำ�หน่ายน้�ำ มันดีเซล หรือ Automotive DieselOil (ADO) ให้กับเรือที่มาใช้บริการท่าเทียบเรือ ของบริษัทฯ • Fishery เป็นการจำ�หน่ายน้ำ�มันให้กับสมาคมประมง ในน่านน้ำ� เป็นน้ำ�มันดีเซลสีเขียว โดยบริษัทฯ มีส่วนการ ตลาดอยู่ที่ร้อยละ 50
กราฟแสดงราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี เหร�ยญสหรัฐฯ ต อตัน 2,500 2,000 1,500 1,000 500
Naphtha MOPJ
HDPE Film
GPPS
ธ.ค. 59
ต.ค. 59
พ.ย. 59
ส.ค. 59
ก.ย. 59
มิ.ย. 59 ก.ค. 59
พ.ค. 59
มี.ค. 59
PP Film
เม.ย. 59
ม.ค. 59
ก.พ. 59
ต.ค. 58
พ.ย. 58 ธ.ค. 58
ส.ค. 58
ก.ย. 58
มิ.ย. 58
ก.ค. 58
พ.ค. 58
มี.ค. 58
เม.ย. 58
ม.ค. 58
ก.พ. 58
0
ABS
ที่มา : ICIS
กลยุทธ์การแข่งขัน นอกจากกลยุทธ์ด้านราคา ซึ่งบริษัทฯ เน้นการปรับราคา ที่สามารถแข่งขันได้เพื่อรักษาส่วนแบ่งตลาด รวมทั้งเพิ่ม จำ�นวนลูกค้าและปริมาณการจำ�หน่าย โดยรักษาระดับค่าการ ตลาดให้อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสมแล้ว บริษทั ยังให้ความสำ�คัญ กับกลยุทธ์ด้านการบริการที่บริษัทฯ อำ�นวยความสะดวกให้ กับลูกค้าในเรื่องต่างๆ ดังนี้ • คลังน้ำ�มัน บริษัทฯ มีคลังน้ำ�มันจำ�นวน 5 แห่ง เพื่อ บริการลูกค้าทัว่ ทุกภูมิภาคและสำ�หรับคลังระยองเปิดบริการ ตลอด 24 ชัว่ โมง และได้เพิม่ จุดจำ�หน่ายน้�ำ มันทีค่ ลัง ไออาร์พซี ี แม่กลอง จังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อเพิ่มการบริการลูกค้า ในเขตภาคตะวันตกและภาคใต้ตอนบน • การขนส่ง บริษัทฯ มีบริการรถขนส่งน้ำ�มันเพื่อจัดส่งให้ ลูกค้าทั่วประเทศ รวมทั้งเรือและท่าเทียบเรือ เพื่อตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าที่ต้องการรับน้ำ�มันทางเรือ
• บุคลากร มีผแู้ ทนขาย เจ้าหน้าทีป่ ระสานงานขาย รวมทัง้ แผนกบริการงานขายไว้บริการลูกค้า และห้องออกตั๋วที่คอย รับการสั่งซื้อน้ำ�มันจากลูกค้าโดยผ่านระบบ SAP ซึ่งเป็น ระบบการจัดการฐานข้อมูลทีเ่ ชือ่ มโยงกัน โดยสามารถปรับปรุง ข้อมูลแบบ On-line และ Real Time ให้มคี วามถูกต้อง แม่นยำ� และเป็นมาตรฐานเดียวกัน เพิม่ ประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน และลดขั้นตอนที่ซ้ำ�ซ้อน และเป็นฐานข้อมูลที่สนับสนุน ในการวิเคราะห์ ตัดสินใจ และบริหารงานสำ�หรับผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ และหลังนำ�ระบบ IRON หรือ IRPC Oil On Net ระบบบริหารการจัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่รวมศักยภาพของระบบ บริหาร Supply Chain ของบริษัทฯ เข้ากับระบบ Total Business Solution ซึง่ บริษทั ฯ พัฒนาขึน้ และสามารถตอบสนอง ความต้องการในการทำ�ธุรกรรมของลูกค้าและเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการดำ�เนินธุรกิจ ในขณะเดียวกันบริษัทฯ ยังคงดำ�เนิน การพัฒนาระบบเพื่อรองรับการใช้งานใน Phase ต่างๆ เพื่อรองรับการขายในช่องทางขายส่วนอื่นต่อไป • การตรวจสอบคุณภาพ บริษัทฯ มีเจ้าหน้าที่เทคนิคไว้ คอยบริการให้ความรู้และแก้ปัญหา รวมทั้งออกไปตรวจเช็ค คุณภาพตามสถานีบริการ คลังน้ำ�มัน เพื่อสร้างความมั่นใจ ด้านคุณภาพให้กับลูกค้า
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
119
2. การตลาดและภาวะการแข่งขันของ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ภาวะการแข่งขันในผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี อุตสาหกรรมปิโตรเคมีในปี 2559 มูลค่าการส่งออกและ นำ�เข้าโดยรวมมีอัตราการเปลี่ยนแปลงลดลงร้อยละ 10.17 และ 8.81 ตามลำ�ดับ ซึง่ เกิดจากความผันผวนของระดับราคา น้�ำ มันดิบทีอ่ ยูใ่ นช่วงขาลง ซึง่ เป็นวัตถุดบิ หลักของอุตสาหกรรม ปิโตรเคมี รวมถึงการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกที่ยังคงมี ความเปราะบาง โดยเฉพาะภาวะเศรษฐกิจของประเทศที่ เป็นตลาดส่งออกหลักของไทย ได้แก่ ประเทศจีน สหรัฐฯ กลุ่มสหภาพยุโรป และประเทศญี่ปุ่น สำ�หรับเศรษฐกิจไทยในปี 2559 สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (ธันวาคม 2559) คาดว่าอัตราการ เติบโตทางเศรษฐกิจของไทย (GDP) ในปี 2559 จะขยายตัวร้อยละ 3.2 เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ที่ขยายตัวร้อยละ 2.8 ในขณะที่อัตรา เงินเฟ้อเฉลี่ยทั้งปีอยู่ที่ร้อยละ 0.2 โดยมีปัจจัยสำ�คัญที่ กระทบต่อสภาวะเศรษฐกิจในปี 2559 คือ การฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจ โลกที่เป็นไปอย่างช้าๆ ปัญหาความไม่แน่นอนทางการเมือง และนโยบายเศรษฐกิจใหม่ของประเทศสหรัฐอเมริกา ปัญหาการ ออกจากสมาชิกสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักรทีอ่ าจส่งผล ต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของยุโรป ปัญหาภาคการเงิน ในยุโรปและจีน ซึ่งอาจมีผลต่อการส่งออกสินค้าของไทย และจากปัจจัยภายในประเทศโดยเฉพาะผลกระทบของการ จัดระเบียบทัวร์ศนู ย์เหรียญ ซึง่ อาจทำ�ให้จ�ำ นวนนักท่องเทีย่ วจีน น้อยกว่าประมาณการเดิม ซึ่งเป็นนัยสำ�คัญต่อเศรษฐกิจไทย อนึ่ง ในปี 2559 การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศที่ สำ�คัญส่วนใหญ่ยงั คงขยายตัว โดยเฉพาะเศรษฐกิจของประเทศ สหรัฐอเมริกา กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) คาดว่า GDP จะขยายตัวร้อยละ 1.6 ขยายตัวลดลงเมือ่ เทียบกับปี 2558 และปัญหาการว่างงานคาดว่าจะลดลง อย่างต่อเนือ่ ง สำ�หรับ เศรษฐกิจสหภาพยุโรปขยายตัวร้อยละ 1.6 เท่ากับไตรมาสที่ ผ่านมาแต่ยังคงมีปัญหาอัตราการว่างงานที่อยู่ในระดับสูง นอกจากนี้ ยังคงมีความกังวลในเรื่อง Brexit ที่อาจส่งผล ต่อเศรษฐกิจสหภาพยุโรป สำ�หรับเศรษฐกิจเอเชียในปี 2559 IMF คาดการณ์ว่าทั้งปี เศรษฐกิจจะขยายตัวร้อยละ 5.4 เป็นการขยายตัวในระดับเดียวกัน กับปี 2558 เศรษฐกิจเอเชียขยายตัวได้ค่อนข้างต่ำ�ในช่วง ครึ่งปีแรกของปี 2559 แต่มีแนวโน้มค่อยๆ ปรับตัวดีขึ้นจาก การทยอยฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก รวมถึงนโยบายกระตุ้น เศรษฐกิจและนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายของรัฐบาล ในแต่ละประเทศ อย่างไรก็ตาม หลายประเทศยังต้องเผชิญ กับความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เศรษฐกิจจีนในไตรมาส 3 ปี 2559 ขยายตัวร้อยละ 6.7 เท่ากับไตรมาสก่อนหน้า โดยได้รับแรงสนับสนุนการใช้
120
จ่ายของรัฐบาลที่เพิ่มขึ้นภายใต้มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ และการบริโภคภาคเอกชนที่ยังขยายตัวในเกณฑ์ดี อัตรา เงินเฟ้ออยูท่ ร่ี อ้ ยละ 1.7 อย่างไรก็ตาม เงินหยวนยังคงอ่อนค่า ลงสอดคล้องกับการลดลงอย่างช้าๆ ของทุนสำ�รองระหว่าง ประเทศ เศรษฐกิจญี่ปุ่น ขยายตัวร้อยละ 0.9 มากกว่าการขยายตัว ร้อยละ 0.6 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยได้รับปัจจัยสนับสนุน จากการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศทั้งการใช้จ่าย และการลงทุนภาครัฐภายใต้มาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจมูลค่า 28 ล้านล้านเยน ในขณะที่การใช้จ่ายและการลงทุนของภาค เอกชนยังมีแนวโน้มฟื้นตัวอย่างช้าๆ และเงินเยนที่ยังคง แข็งค่าอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้แรงกดดันจากภาวะเงินฝืด ยังคงอยู่ในเกณฑ์สูง โดยอัตราเงินเฟ้อติดลบที่ร้อยละ 0.6 นอกจากนี้ เศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชียอืน่ ๆ ส่วนใหญ่ปรับตัว ดีขึ้นตามการส่งออกไปยังประเทศคู่ค้าหลักที่มีแนวโน้ม ปรับตัวดีขึ้นโดยเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NIEs) สามารถฟื้นตัวได้อย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะเศรษฐกิจ ไต้หวันและฮ่องกงที่ขยายตัวเร่งขึ้นจากร้อยละ 0.7 และ ร้อยละ 1.7 ในไตรมาสที่ 2 เป็นร้อยละ 2.1 และร้อยละ 1.9 ในไตรมาสที่ 3 ตามลำ�ดับ ขณะที่เศรษฐกิจเกาหลีใต้และ เศรษฐกิจสิงคโปร์ขยายตัวร้อยละ 2.7 และร้อยละ 0.6 ชะลอลงจากร้อยละ 3.3 และร้อยละ 2.0 ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากการหดตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ในปี 2559 ค่าเงินบาทที่อ่อนค่าลงมาถึง 36 บาท ต่อเหรียญสหรัฐฯ แม้จะอ่อนค่าเมื่อเทียบกับเงิน เหรียญสหรัฐฯ แต่กลับช่วยทำ�ให้ผู้ส่งออกมีสภาพคล่อง เมื่อแลกเป็นเงินบาทได้มากขึ้น อย่างไรก็ตามหากเปรียบ เที ย บค่ า เงิ น บาทกั บ คู่ ค้ า คู่ แ ข่ ง ทั่ ว โลกแล้ ว เงิ น บาทยั ง แข็งค่าขึ้น รวมถึงแข็งค่าเมื่อเทียบกับเงินสกุลเพื่อนบ้าน ในบางช่วงที่เงินบาทแข็งค่าเกินไปเมื่อเทียบกับคู่ค้าคู่แข่ง อาจจะไม่เอื้อต่อการเติบโตของเศรษฐกิจไทย ราคาโมโนเมอร์และเม็ดพลาสติกในปี 2559 ปรับตัวตาม ทิศทางและความผันผวนของราคาวัตถุดิบ คือ น้ำ�มันดิบ และนาฟทา โดยสถานการณ์ราคาเม็ดพลาสติกช่วง ปี 2559 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2558 พบว่า ราคาโพลิโพรพิลีน ปรับลดลงจากปีก่อนร้อยละ 11 เฉลี่ยอยู่ที่ 1,047 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อตัน ราคาโพลิเอทิลนี ชนิดความหนาแน่นสูง (HDPE) ปรับลดลงจากปีกอ่ นร้อยละ 9 เฉลีย่ อยูท่ ี่ 1,132 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ราคาโพลิสไตรีนปรับลดลงร้อยละ 5 เฉลีย่ อยูท่ ี่ 1,182 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน และราคาเอบีเอสปรับลดลงร้อยละ 11 เฉลีย่ อยูท่ ี่ 1,326 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน สำ�หรับราคาโมโนเมอร์ พบว่า ราคาเอทิลีนลดลงร้อยละ 6 เฉลี่ยอยู่ที่ 1,041 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อตัน ราคาโพรพิลีนปรับลดลงร้อยละ 11 เฉลี่ย อยู่ที่ 700 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน และราคาสไตรีนโมโนเมอร์ ปรับลดลงร้อยละ 6 เฉลี่ยอยู่ที่ 1,050 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน
แนวโน้มการขยายตัวของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีไทยปี 2560 การขยายตัวของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีไทยทัง้ ปี 2560 คาดว่า จะปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ตามการคาดการณ์ การขยายตัวของ GDP และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง โดยอัตรา การขยายตัวของ GDP ปี 2560 ตามคาดการณ์ของสำ�นักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คาดว่าจะ ขยายตัวร้อยละ 3.0-4.0 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการปรับ ตัวดีขึ้นแต่เป็นไปอย่างช้าๆ ของภาคการส่งออกซึ่งจะช่วย ให้ ก ารผลิ ต ภาคอุ ต สาหกรรมและการลงทุ น ภาคเอกชน ฟืน้ ตัวดีขนึ้ จากการฟืน้ ตัวและขยายตัวเร่งขึน้ ของการผลิตภาค การเกษตร และจากการลงทุนภาครัฐที่ขยายตัวในเกณฑ์สูง อย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ นี้ คาดว่ามูลค่าการส่งออกสินค้าจะขยายตัว ร้อยละ 2.4 และอัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ในช่วงร้อยละ 1.0-2.0 ทั้งนี้ การลงทุนของภาครัฐจะทําให้ความต้องการวัตถุดิบ เม็ดพลาสติกมีเพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้อุตสาหกรรมปิโตรเคมี เกิดการขยายตัวตามไปด้วย ในปี 2560 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ IMF ปรับ คาดการณ์อัตราการขยายตัวเศรษฐกิจโลกอยู่ที่ร้อยละ 3.4 เทียบกับปี 2559 ทีร่ อ้ ยละ 3.1 (ทีม่ า: IMF, World Economic Outlook, ตุลาคม 2559) จากการฟื้นตัวของประเทศ เศรษฐกิจเกิดใหม่เป็นหลัก อาทิ อินเดีย จีน และ Asean-5 (ไทย อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์ มาเลเซีย และเวียดนาม) ทีเ่ ติบโต เฉลี่ยร้อยละ 6.3 อย่างไรก็ตาม ความผันผวนยังคงมีอยู่ในปี 2560 เริม่ จากประเด็นความไม่แน่นอนทางการเมืองในยุโรป ที่มากกว่าครึง่ หนึ่งของประเทศทัง้ หมดจะมีการเลือกตัง้ ใหม่ เช่น ประเทศฝรัง่ เศสจะมีการเลือกตัง้ ประธานาธิบดี และการ เลือกตัง้ ทัว่ ไปของประเทศเยอรมนีในไตรมาส 3 ปี 2560 ขณะ ที่ประเทศอิตาลีีเพิ่งผ่านพ้นการลงประชามติไม่รับร่างแก้ไข รัฐธรรมนูญและอาจเป็นการจุดชนวนให้อิตาลีโหวตแยกตัว จากสหภาพยุโรป หรือที่เรียกว่า Italexit เหมือนที่ประเทศ อังกฤษเคยปฏิบัติมา
ได้รับผลกระทบจากประเด็นกีดกันทางการค้าค่อนข้างจำ�กัด เนื่องจากมีการส่งออกไปประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นสัดส่วน ที่ค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ หรือ GDP ส่วนผลกระทบกับการค้าของประเทศไทยนั้น ผลกระทบต่อการส่งออกจะเป็นไปในทางอ้อม จากการ ทีป่ ระเทศสหรัฐอเมริกาจะตัง้ กำ�แพงภาษีกบั จีน ซึง่ จะกระทบ สินค้าที่อยู่ในห่วงโซ่อุปทานที่ไทยส่งไปจีน และจีนส่งต่อไป ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยสินค้าดังกล่าวเป็นประเภทวัตถุดบิ และสินค้าขั้นกลาง ได้แก่ เคมีภัณฑ์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และสิ่งทอ เป็นหลัก คาดการณ์มูลค่าส่งออกจะลดลงร้อยละ 0.6 หรือ 49,000 ล้านบาท สำ�หรับประเทศไทย ในปี 2560 ภาครัฐให้ความสําคัญกับ การขับเคลื่อนโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานที่สําคัญของ ภาครัฐโดยเฉพาะโครงการลงทุนขนาดใหญ่และการสานต่อ ด้านการพัฒนาพืน้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษตามแนวชายแดนในรูป แบบคลัสเตอร์ โดยความรับผิดชอบของกระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือ BOI ได้จดั แบ่ง ปิโตรเคมีเป็น “คลัสเตอร์อตุ สาหกรรมปิโตรเคมีและเคมีภณ ั ฑ์ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” ประกอบด้วย จังหวัดชลบุรีและ ระยอง โดยมีกิจการผลิตเคมีภัณฑ์หรือโพลิเมอร์ที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม การผลิตผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษ Specialty Polymers หรือ Specialty Chemicals และการผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ กระดาษเคลือบพลาสติกชีวภาพ ซึ่งการสร้างคลัสเตอร์นี้ สามารถสนับสนุนการฟื้นตัวและการขยายตัวของการลงทุน
สำ�หรับประเทศสหรัฐอเมริกา สิง่ ทีต่ อ้ งติดตามคือเรือ่ งนโยบาย เศรษฐกิจของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ทีค่ อ่ นข้างแตกต่าง จากรัฐบาลเดิม (พรรคเดโมแครต) ในหลายเรือ่ ง อาทิ เรือ่ งการ ลดภาษีเงินได้บคุ คล ลดความสำ�คัญของการค้าระหว่างประเทศ กับจีนและเม็กซิโก รวมทัง้ ยังกีดกันแรงงานต่างด้าว ดังนัน้ ผลก ระทบจึงเป็นประเด็นทีส่ �ำ คัญทีอ่ าจทำ�ให้เกิดความผันผวนใน ตลาดการเงินเพิม่ ขึน้ ไม่วา่ จะเป็นการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐฯ ที่ส่งผลให้ค่าเงินประเทศต่างๆ อ่อนค่าในเชิงเปรียบเทียบ รวมทั้งอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ มีแนวโน้ม สูงขึ้นหลังนักลงทุนเทขายสินทรัพย์ความเสี่ยงต่ำ� มาลงทุน ในสินทรัพย์เสี่ยงอย่างหุ้นของสหรัฐฯ ขณะที่ในแง่ของ เศรษฐกิจคู่ค้าอย่างจีนและญี่ปุ่น อาจจะได้รับผลกระทบ จากการทีป่ ระธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ เน้นกระตุน้ เศรษฐกิจ ภายในประเทศเป็นหลัก อย่างไรก็ดี ประเทศทางฝัง่ เอเชียถือว่า รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
121
ภาคเอกชนให้ขยายตัวได้มากขึน้ อนึง่ อุตสาหกรรมปิโตรเคมี ยังต้องเน้นแนวโน้มทีเ่ ป็นนวัตกรรมมากขึน้ ต้องมุง่ เน้นความ สำ�คัญของการสร้างแบรนด์สินค้าไทย และพัฒนาเทคโนโลยี วิจัย และพัฒนาร่วมกันกับผู้ประกอบการทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ในปี 2560 คาดว่าอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ในประเทศจะมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นตามการคาดการณ์ การขยายตัวของ GDP และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง โดย สำ�นักงานเศรษฐกิจและการคลังได้ประมาณการแนวโน้ม การขยายตัวของมูลค่าการส่งออกและการนำ�เข้าร้อยละ 1.8 และ 4.0 ตามลำ�ดับ (ที่มา: ข่าวกระทรวงการคลัง ฉบับที่ 147/2559 วันที่ 28 ตุลาคม 2559) ประกอบกับมีการปรับตัว ของระดับราคาน้ำ�มันดิบ สภาวะเศรษฐกิจการค้าในภูมิภาค และสภาวะเศรษฐกิจโลกมีการขยายตัวของอุตสาหกรรม ต่อเนื่องและอุตสาหกรรมปลายทาง ได้แก่ อุตสาหกรรม พลาสติก เป็นต้น อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมปิโตรเคมียังมีข้อจำ�กัดคือ การอ่อนค่าของสกุลเงินหลักๆ ของประเทศคูค่ า้ เช่น เงินยูโร เงินเยน และเงินหยวนที่มีแนวโน้มอ่อนค่าลงตามนโยบาย เศรษฐกิจและการเงินของจีน ซึ่งการอ่อนค่าของเงินเหล่านี้ เป็นข้อจำ�กัดต่อการขยายตัวของปริมาณการส่งออกและ เป็นปัจจัยกดดันต่อการฟื้นตัวของราคาสินค้าในตลาดโลก กลยุทธ์การแข่งขัน กลยุทธ์ราคา เนือ่ งจากผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์หรือเม็ดพลาสติกเป็นสินค้าทีม่ ี ความเคลือ่ นไหวของราคาค่อนข้างสูงตามปัจจัยหลายประการ โดยเฉพาะปัจจัยด้านต้นทุนวัตถุดบิ ตัง้ แต่น�้ำ มันดิบ แนฟทา และโมโนเมอร์ รวมถึงปัจจัยด้านอุปสงค์และอุปทานทั้ง ตลาดในประเทศและตลาดโลก ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีนโยบาย
122
กำ�หนดราคาโดยพิจารณาตามปัจจัยดังกล่าว โดยใช้ราคา อ้างอิงจาก ICIS CFR South East Asia เป็นพื้นฐาน ประกอบกับปัจจัยภายใน อาทิ สินค้าคงคลัง และต้นทุน การผลิ ต เพื่ อ ให้ ส ามารถแข่ ง ขั น ได้ ทั้ ง ในประเทศและ ต่างประเทศ โดยเน้นการเป็นผู้ผลิตที่มีต้นทุนต่ำ�จากการที่ บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจทางด้านผลิตปิโตรเคมีแบบครบวงจร รวมถึงมีระบบสนับสนุนการผลิต เช่น คลังเก็บวัตถุดิบ ท่าเรือน้ำ�ลึก อย่างเพียบพร้อม ทำ�ให้บริษัทฯ มีความได้ เปรียบในด้านต้นทุน จึงสามารถแข่งขันได้ในภาวะที่ราคา ผลิตภัณฑ์ในตลาดตกต่ำ� คุณภาพสินค้า จากการทีบ่ ริษทั ฯ เป็นผูบ้ กุ เบิกอุตสาหกรรมปิโตรเคมีรายแรก ของประเทศ มีประสบการณ์ในการพัฒนาและวิจยั ความต้องการ สินค้าร่วมกับลูกค้าอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง เป็นระยะเวลา ยาวนาน รวมทั้งผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกทุกประเภทของ บริษัทฯ ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO9001 จึงส่งผลให้ บริษทั ฯ มีศกั ยภาพอย่างสูงในการสร้างความมัน่ ใจให้แก่ลกู ค้า ในด้านคุณภาพสินค้าทีไ่ ด้มาตรฐานสากล รวมถึงการจัดหาและ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกใหม่ๆ ทีส่ ามารถตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าทัง้ ในประเทศและต่างประเทศได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ บริษัทฯ สามารถผลิตเม็ดพลาสติกทั้งที่ เป็นเกรด Natural, Color Compounds และ Composites ซึ่งเป็นเม็ดพลาสติกผสมสีและเติมสารเสริมแรงต่างๆ ด้วย จุดเด่นของเม็ดพลาสติกดังกล่าว จึงทำ�ให้บริษัทฯ สามารถ ตอบสนองความต้องการใช้งานเฉพาะด้านของลูกค้า เช่น งานผลิตชิน้ ส่วนเครือ่ งใช้ไฟฟ้า และชิน้ ส่วนยานยนต์ เป็นต้น โดยโรงงาน Compounding และ Composites ดังกล่าว ตั้งอยู่ภายในบริเวณเดียวกันกับโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก อื่นๆ และอยู่ภายใต้การจัดการของกลุ่มไออาร์พีซี จึงทำ�ให้มี ความสะดวกและมีความคล่องตัวในการตอบรับคำ�สัง่ ซือ้ แบบ
เฉพาะเจาะจง (Tailor Made) ของลูกค้า อีกทั้งบริษัทฯ ยังมี แผนกบริการด้านเทคนิค ซึง่ สามารถให้ค�ำ แนะนำ�ในการเลือก ใช้เม็ดพลาสติกทีเ่ หมาะสมก่อนการขาย และให้ค�ำ ปรึกษาและ ร่วมแก้ไขปัญหากับลูกค้าหลังการขายอีกด้วย อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ยังคำ�นึงถึงการดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดยกำ�หนดนโยบายการรักษา สิง่ แวดล้อมและความปลอดภัยของพนักงานและชุมชนอย่าง เป็นรูปธรรมในทุกๆ ผลิตภัณฑ์ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้รบั การรับรอง มาตรฐาน ISO14001 และ มอก.18001 ในเม็ดพลาสติกทุกชนิด และโรงงานผลิตเอทิลนี เม็ดพลาสติกโพลิเอทิลนี เม็ดพลาสติก โพลิโพรพิลนี และเม็ดพลาสติกโพลิสไตรีน ยังได้รบั มาตรฐาน ความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม [Standard for Corporate Social Responsibility (CSR-DIW)] จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ปัจจุบันกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี มีกำ�ลังการผลิตเม็ดพลาสติก กว่า 9 แสนตันต่อปี ประกอบด้วยเม็ดพลาสติกหลากหลาย ประเภท ได้แก่ HDPE, PP, EPS, PS, ABS และ SAN ทำ�ให้การเสนอผลิตภัณฑ์ให้กับลูกค้าได้รับความสะดวกและ ยืดหยุ่นมากขึ้น เนื่องจากเม็ดพลาสติกบางประเภทสามารถ ทดแทนกันได้ในบางตลาด เช่น HDPE สามารถทดแทน PP ได้ในงานฉีดเครือ่ งใช้ภายในครัวเรือน งานถุงสาน ผ้าใบสาน เป็นต้น ดังนั้นการเลือกใช้เม็ดพลาสติกขึ้นกับปัจจัยหลาย ประการ เช่น คุณสมบัตขิ องเม็ดพลาสติกแต่ละประเภท ราคา และอุปทานในตลาด การเป็นผูผ้ ลิตเม็ดพลาสติกทีห่ ลากหลาย นับเป็นการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ โดยบริษัทฯ และตัวแทน จำ�หน่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ สามารถเสนอขาย เม็ดพลาสติกได้หลากหลาย สามารถลดต้นทุนการขาย เฉลี่ยต่อหน่วยได้อีกด้วย
กลยุทธ์การบริการงานขาย ในปี 2559 บริษทั ฯ ได้จดั กิจกรรมการส่งเสริมการขายต่อยอด จากปีก่อนๆ อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการร่วมออกงานแสดงสินค้า บริษัทฯ ร่วมกับคู่ค้า บริษัท บลูไล้ท์ อุตสาหกรรม จำ�กัด และบริษัท นิว อะไรวา จำ�กัด นำ�กระเป๋าเดินทาง “CAGGIONI” และอุปกรณ์ของใช้ ภายในบ้าน “QUALY” ที่ผลิตจากนวัตกรรมเม็ดพลาสติก ผสมยางพารา จัดจำ�หน่ายในงาน “เพลินพลังงาน งานวิจัย ขายได้” ซึ่งจัดขึ้นโดยกระทรวงพลังงาน และสำ�นักงาน คณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ ระหว่างวันที่ 6-27 มีนาคม 2559 ที่ตลาดคลองผดุงกรุงเกษม ข้างทำ�เนียบรัฐบาล โดยได้รับ เกียรติจากพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา พร้อมคณะรัฐมนตรี และคุณเทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานกรรมการบริษทั เข้าเยีย่ ม ชมบูธ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2559 ทั้งยังได้รับความสนใจ จากประชาชนเป็นจำ�นวนมาก นอกจากนี้ บริษัทฯ ร่วมจัดแสดงสินค้าในงาน Thailand Industry Expo 2016 “มหกรรมซื้อของไทย ใช้ของดี” โดย กระทรวงอุตสาหกรรม ระหว่างวันที่ 26-31 กรกฎาคม 2559 ณ อาคารชาเลนเจอร์ 1-3 ศูนย์การแสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี และได้นำ�เสนอผลิตภัณฑ์ที่แสดงถึง ศักยภาพในฐานะผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการกลั่นและ ปิโตรเคมีของคนไทยทีป่ ระสบความสำ�เร็จอย่างสูงกับนวัตกรรม พลาสติกเชิงสร้างสรรค์เพื่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งสอดรับกับแนวคิดของการจัดงาน TI EXPO 2016 “เสริม ศักยภาพอุตสาหกรรมไทย ความท้าทายสูอ่ นาคต” ได้เป็นอย่างดี ผลิตภัณฑ์ทนี่ �ำ เสนอได้แก่ ผลิตภัณฑ์ Green ABS เม็ดพลาสติก ทีน่ �ำ ยางพาราจากธรรมชาติมาใช้ทดแทนการใช้ยางสังเคราะห์ เป็นรายแรกของโลก Natural Color Plastic เม็ดพลาสติก ทีน่ �ำ สีสกัดจากธรรมชาติมาใช้ในการผลิต และ Wood Plastic พลาสติกที่นำ�เศษไม้เหลือใช้จากอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ ของเล่นไม้ ฯลฯ มาบดละเอียดผสมลงในกระบวนการผลิต
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
123
เม็ดพลาสติก ซึง่ ช่วยทำ�ให้การใช้ทรัพยากรไม้ธรรมชาติมกี ารใช้ อย่างคุม้ ค่าและเกิดประโยขน์สงู สุดไม่เหลือเป็นเศษต้องทิง้ ไป อนึ่ง เม็ดพลาสติก Green ABS เป็นผลิตภัณฑ์ท่ีนำ�เอา ยางธรรมชาติทดแทนยางสังเคราะห์ มาผสมในเม็ดพลาสติก ABS ประมาณร้อยละ 10-40 ของปริมาณยางที่ใช้ จึงทำ�ให้ มีคุณสมบัติแข็งแรง ทนทาน ทนแรงเสียดสี เหนียว และ ยืดหยุ่นได้มากกว่าเม็ดพลาสติกทั่วไป โดยบริษัทฯ ถือเป็น ผู้ผลิตแรกรายของโลก ด้วยนโยบายหลักของบริษัทฯ ที่มุ่ง เน้นการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษที่มีคุณสมบัติ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตอบสนองความต้องการของลูกค้า และช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์
สำ�หรับ POLIMAXX Wood Plastic Composite เป็น หนึ่งในกลุ่มนวัตกรรมผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมของบริษัทฯ ที่คิดค้นและพัฒนาขึ้นจากความ ตระหนักในคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ โดยนำ�เอาผงไม้ คุณภาพมาผสมกับพลาสติก PP, PE และ SAN ในร้อยละ 20 เพื่อดึงเอาจุดเด่นของพลาสติกมาผสมผสานกับความเป็น ธรรมชาติของเนือ้ ไม้ ให้มคี วามแข็งแรงทนทาน ไม่แตกหักง่าย ช่วยให้กระบวนการขึ้นรูปชิ้นงานง่ายขึ้น มีน้ำ�หนักเบา และ มีความยืดหยุ่นตัวสูง และสามารถนำ�กลับมาใช้ใหม่หรือ recycle ได้ ลักษณะของลูกค้า ลูกค้ากลุ่มเม็ดพลาสติกของบริษัทฯ ส่วนใหญ่เป็นตัวแทน จำ�หน่าย (Agent) โดยบริษัทฯ ไม่มีการขายสินค้าให้ลูกค้า รายใดรายหนึง่ เกินร้อยละ 30 ของยอดขาย และไม่มขี อ้ ผูกพัน ว่าจะขายให้ลูกค้ารายใดรายหนึ่งเกินกว่าร้อยละ 30 ของ ยอดขายในอนาคต ดังนั้น บริษัทฯ จึงไม่มีความเสี่ยงในการ พึ่งพาลูกค้ารายหนึ่งรายใดเป็นพิเศษ การจำ�หน่าย และช่องทางการจัดจำ�หน่าย การจำ�หน่ายในประเทศ
124
ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกเป็นวัตถุดิบพื้นฐานที่สำ�คัญของ การผลิตสินค้าอุปโภคโดยรวมของประเทศ บริษัทฯ จึง มี นโยบายเน้ นการขายในประเทศ ในปี 2559 ยอดขาย ร้อยละ 55 เป็นยอดขายในประเทศ ซึ่งปรับเพิ่มขึ้นตาม อุปสงค์ของลูกค้าภายในประเทศ เพือ่ สนับสนุนการขับเคลือ่ น ยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจของประเทศและผูป้ ระกอบการ โดย บริษัทฯ ได้ขายผ่านตัวแทนจำ�หน่ายที่มีความชำ�นาญและมี ความพร้อมให้บริการถึง 21 บริษัทฯ มีสัญญาการแต่งตั้ง ผูแ้ ทนจำ�หน่าย และตัวแทนจำ�หน่ายส่วนใหญ่มคี วามสัมพันธ์ ทางธุรกิจมาเป็นเวลานานกว่า 30 ปี และจากการที่บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีครบวงจรและมีผลิตภัณฑ์ที่
หลากหลายจึงส่งผลให้ตัวแทนจำ�หน่ายสามารถประหยัด ค่าใช้จ่ายในด้านค่าการตลาดและการบริหารจัดการ ทำ�ให้ ความสัมพันธ์ทางธุรกิจระหว่างบริษัทฯ กับตัวแทนจำ�หน่าย มีความมั่นคงยิ่งขึ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการขายตรงให้ กับลูกค้าทีม่ คี วามน่าเชือ่ ถือ โดยพิจารณาถึงความพร้อมและ ความสามารถในการชำ�ระเงินด้วย การส่งออก ในปี 2559 บริษัทฯ มียอดขายต่างประเทศของผลิตภัณฑ์ เม็ดพลาสติกจากการขายผ่านตัวแทนการค้าในต่างประเทศ ซึ่งมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางธุรกิจกับบริษัทฯ เป็นระยะ เวลายาวนาน โดยกลยุทธ์ทางการตลาดของบริษัทฯ จะเน้น จุดแข็งด้านคุณภาพและความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ การบริการด้านเทคนิค และการให้คำ�ปรึกษาด้านพัฒนา ผลิตภัณฑ์ โดยตัวแทนเหล่านี้มีเครือข่ายใกล้ชิดกับผู้ใช้ ปลายทางอย่างกว้างขวางในตลาดหลักที่มีปริมาณการใช้ เม็ดพลาสติกสูงได้แก่ จีน อินโดนีเซีย ตุรกี เวียดนาม และ ออสเตรเลีย เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ขยายตลาด ส่งออกไปยังภูมิภาคอื่น เช่น แอฟริกา ยุโรป สหรัฐฯ เอเชีย ตะวันออกกลาง และออสเตรเลีย เป็นต้น ปัจจุบันบริษัทฯ สามารถขายเม็ดพลาสติกไปยังประเทศต่างๆ ได้มากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก
3. การตลาดและภาวะการแข่งขัน ธุรกิจไฟฟ้าและสาธารณูปโภค แนวโน้มธุรกิจไฟฟ้ามีโอกาสขยายตัวต่อเนือ่ ง ตามทีม่ นี โยบาย จากภาครัฐสำ�หรับโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor Development) เป็นฐาน การผลิตอุตสาหกรรมหลักของประเทศ โดยเฉพาะอุตสาหกรรม ปิโตรเคมี พลังงาน และยานยนต์ ส่งผลให้ความต้องการ ใช้ไฟฟ้าเพิม่ มากขึน้ อีกทัง้ บริษทั ฯ ยังมีสญ ั ญาจำ�หน่ายไฟฟ้า กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิต ปริมาณพลังไฟฟ้า 45 เมกะวัตต์ ซึง่ การ ทีบ่ ริษทั ฯ มีธรุ กิจผลิตไฟฟ้า ส่งผลให้สนับสนุนการเจริญเติบโต ของโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกดังกล่าว
4. การตลาดและภาวะการแข่งขัน ธุรกิจท่าเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์ ในปี 2559 ธุรกิจท่าเรือและคลังน้�ำ มันมีรายได้กว่า 770 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2558 คิดเป็นร้อยละ 5 โดยมีสัดส่วนรายได้ ในธุรกิจท่าเรือ (Port Services) คิดเป็นร้อยละ 50 และธุรกิจ ถังเก็บผลิตภัณฑ์ (Tank Services) ร้อยละ 50 ในส่วน ของธุรกิจท่าเรือ (Port Services) มีปริมาณสินค้าเทกอง ผ่านท่า 2 ล้านตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 1 จากปี 2558 จาก การขยายการบริ ก ารให้ มี ลั ก ษณะครบวงจร (Total Service Solution) และสำ�หรับธุรกิจถังเก็บผลิตภัณฑ์ (Tank Services) มีปริมาณสินค้าผ่านท่อกว่า 527,000 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 19 จากปี 2558 จากการขยายการให้บริการ ถังเก็บผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เช่น ผลิตภัณฑ์เอทานอล เป็นต้น แนวโน้มของธุรกิจท่าเรือ จากแนวโน้ ม เศรษฐกิ จ ไทยในปี 2560 ซึ่ ง สำ � นั ก งาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คาดการณ์วา่ จะมีการขยายตัวร้อยละ 3.0-4.0 โดยมีการลงทุน ในโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่หลายโครงการจากภาครัฐ เป็นปัจจัยหนึ่งในการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โครงการดังกล่าวส่งผลให้อุตสาหกรรมเหล็กซึ่งเป็นกลุ่ม ลูกค้าหลักในกลุม่ ธุรกิจสินค้าเทกองทัว่ ไป เพิม่ กำ�ลังการผลิต
ถือเป็นปัจจัยสำ�คัญที่สนับสนุนให้ธุรกิจท่าเรือมีปริมาณการ นำ�เข้าและส่งออกผ่านท่าเรือเพิ่มสูงขึ้น บริษัทฯ มีกลยุทธ์การขยายฐานลูกค้าใหม่และสร้างรายได้ เพิ่มจากกลุ่มลูกค้าหลักในกลุ่มธุรกิจสินค้าเทกองทั่วไป เช่น สินแร่ เหล็ก แกรนิต ทราย เป็นต้น โดยขยายการบริการให้มี ลักษณะครบวงจร (Total Service Solution) เพือ่ สร้างมูลค่า เพิ่มให้แก่ธุรกิจท่าเรือ แนวโน้มของธุรกิจถังเก็บผลิตภัณฑ์ จากแนวโน้มการขยายตัวทางเศรษฐกิจไทยในปี 2560 และ แนวโน้มการขยายตัวของกลุม่ อุตสาหกรรมเคมี ถือเป็นโอกาส ที่ธุรกิจให้บริการถังเก็บผลิตภัณฑ์จะมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น จากผู้ใช้บริการถังรายใหม่ๆ และ/หรือการบริการถังเก็บใน ผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ๆ ซึ่งปัจจุบันได้มีโครงการ PTT Group Logistics Masterplan (GLM) ของบริษัทในกลุ่ม ปตท. ซึ่งจะเป็นความร่วมมือในการบูรณาการด้านโลจิสติกส์ของ กลุม่ ปตท. โดยคลังน้�ำ มันระยอง คลังน้�ำ มันพระประแดง คลัง น้�ำ มันอยุธยา และคลังน้�ำ มันชุมพร เพือ่ ให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งสอดคล้องกับกลยุทธ์ของบริษัทฯ ที่ต้องการใช้ทรัพย์สินที่ มีอยู่ให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสุด
5. การตลาดและภาวะการแข่งขัน ธุรกิจบริหารจัดการทรัพย์สิน บริษัทฯ มีแผนที่จะพัฒนาพื้นที่ให้เป็นโครงการเชิงนิเวศ ทั้งหมด ทั้งนิคมอุตสาหกรรม เขตประกอบการอุตสาหกรรม และที่ดินที่มีศักยภาพ เพื่อรองรับโครงการขยายธุรกิจของ นักลงทุนและโครงการร่วมทุนกับนักลงทุน ให้สอดคล้องกับ โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก หรือ Eastern Economics Corridor Development (EEC) เป็นพืน้ ทีย่ ทุ ธศาสตร์ การลงทุน รองรับด้วยความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐาน เป็นพื้นที่นำ�ร่องการพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษของประเทศ ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างก้าวกระโดด เพื่อการ ลงทุนที่เชื่อมโยงกับประเทศในกลุ่มอาเซียน โดยมีหนังสือ ชี้ชวนผ่านหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ชี้ชวนให้นักลงทุน ต่างชาติสนใจเข้าร่วมโครงการพัฒนาร่วมทุนกับบริษัทฯ รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
125
โครงสร้างรายได้
ดำ�เนินการโดย/ สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯ
ธุรกิจ 1. ธุรกิจปิโตรเลียม
บมจ. ไออาร์พีซี, บจ. น้ำ�มันไออาร์พีซี (99.99%)
2. ธุรกิจปิโตรเคมี
บมจ. ไออาร์พีซี, บจ. ไทยเอบีเอส (99.99%)(1) บจ. ไออาร์พีซี โพลีออล (99.99%)
3. ธุรกิจอื่นๆ (2)
บมจ. ไออาร์พีซี
รวมรายได้จากการขายสุทธิ ส่วนแบ่งกำ�ไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและ
2557 ล้านบาท
2558
สัดส่วน
ล้านบาท
สัดส่วน
75% 143,295
72% 113,152
67%
63,853
24%
53,111
27%
52,115
31%
3,458
1%
3,189
1%
3,082
2%
100% 168,349
100%
205,657
272,968
ล้านบาท
2559
สัดส่วน
100% 199,595
(139)
(184)
125
61% : 39%
63% : 37%
58% : 42%
ส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า สัดส่วนรายได้จากการขาย ในประเทศ : ต่างประเทศ
หมายเหตุ : (1) บริษัทฯ ได้รับโอนธุรกิจทั้งหมดจาก บจ.ไทยเอบีเอส เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2559 และบจ.ไทยเอบีเอส ได้จดทะเบียนเลิกกิจการแล้วในวันเดียวกัน (2) ธุรกิจอื่นๆ ประกอบด้วย รายได้จากค่าไฟฟ้า และสาธารณูปโภค
126
รายการระหว่างกัน รายการระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้อง สำ�หรับรอบปีบัญชี 2559 บริษัทฯ มีรายการทางธุรกิจที่สำ�คัญกับบริษัทฯ หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน โดยการเป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่และ/หรือมีกรรมการร่วมกัน รายการระหว่างกันได้กำ�หนดขึ้นโดยใช้ราคาตลาดหรือราคาที่ตกลงกันตามสัญญา ในราคาและเงื่อนไขที่ยุติธรมหากไม่มีราคาตลาดรองรับ โดยความสัมพันธ์กับบริษัทต่างๆ และรายการที่เกี่ยวข้องกัน มีรายละเอียด ดังนี้ ชื่อบริษัทและ ลักษณะความสัมพันธ์ บมจ. ปตท. (PTT) ลักษณะความสัมพันธ์ : - เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ โดยถือหุ้น 38.51% - มีกรรมการร่วมกัน คือ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช - มีผู้บริหารของ ปตท. เป็นกรรมการของบริษัทฯ คือ นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร นายชวลิต พันธ์ทอง นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล (PTTGC) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 48.89%
รายการ
ปี 2559 ปี 2558 (ล้านบาท)
(ล้านบาท)
ลักษณะเงื่อนไขของรายการ
18,100 19,806 บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์น้ำ�มันเชื้อเพลิงให้ PTT 108,594 128,922 บริษัทฯ ซื้อน้ำ�มันดิบและก๊าซธรรมชาติจาก PTT 20 บริษัทฯ รับค่าสินไหมทดแทนจากการขนส่งสินค้า 8 และรายได้ค่าบุคลากรจาก PTT 50 บริษัทฯ จ่ายค่าจ้างบุคลากรให้กับ PTT 43 - ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร 866 1,175 - ลูกหนี้การค้า 16,653 22,758 - เจ้าหนี้การค้า 13 1 - ลูกหนี้อื่น 4 2 - เจ้าหนี้อื่น - ขายสินค้า - ซื้อสินค้า - รายได้อื่น
- ขายสินค้า - ซื้อสินค้า - รายได้อื่น - ค่าใช้จา่ ยในการขาย และบริหาร - ลูกหนี้การค้า - เจ้าหนี้การค้า
9,591 13,317 1
14,531 20,055 1 1
1,397 1,481
1,024 1,668
บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์น้ำ�มันเชื้อเพลิงให้ PTTGC บริษทั ฯ ซือ้ ผลิตภัณฑ์น�ำ้ มันเชือ้ เพลิงจาก PTTGC บริษัทฯ ให้บริการด้านการวิจัยกับ PTTGC บริษัทฯ จ่ายค่าจ้างบุคลากรให้ PTTGC
- ขายสินค้า
95
- ซื้อสินค้า - รายได้เงินปันผล - ลูกหนี้การค้า - เจ้าหนี้การค้า
56 8 2
994 บริษทั ฯ ให้บริการเช่าถังน้�ำ มันและขายน้�ำ มันดิบให้ TOP 910 บริษัทฯ ซื้อน้ำ�มันดิบจาก TOP 25 บริษัทฯ รับเงินปันผลจากหุ้น TOP 8 -
บมจ. ไทยลู้บเบส (TLB) - ขายสินค้า ลักษณะความสัมพันธ์ : - ซื้อสินค้า บมจ. ไทยออยล์ ถือหุ้น 99.99% - ลูกหนี้การค้า
280 4 37
226 บริษทั ฯ ขายผลิตภัณฑ์สารสกัดอะโรเมติกส์ให้ TLB 10 บริษทั ฯ ซือ้ ผลิตภัณฑ์น�ำ้ มันหล่อลืน่ พืน้ ฐานจาก TLB 19
บจ. ไทยพาราไซลีน (TPX) - ขายสินค้า ลักษณะความสัมพันธ์ : - ซื้อสินค้า บมจ. ไทยออยล์ ถือหุ้น 99.99% - เจ้าหนี้การค้า
824 21
23 บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ให้ TPX 1,218 บริษัทฯ ซื้อผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์จาก TPX 51
14 2
21 บริษัทฯ ให้บริการท่าเทียบเรือกับ TOM 1
บมจ. ไทยออยล์ (TOP) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 49.10%
- รายได้จากการบริการ บจ. ไทยออยล์มารีน (TOM) - ลูกหนีก้ ารค้า ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ไทยออยล์ ถือหุ้น 99.99% บจ. ท็อป โซลเว้นท์ (TS) ลักษณะความสัมพันธ์ : บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์ ถือหุ้น 99.99%
- ขายสินค้า - ซื้อสินค้า - ลูกหนี้การค้า - เจ้าหนี้การค้า
1,217 82 100 8
1,332 บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ให้กับ TS 75 บริษัทฯ ซื้อผลิตภัณฑ์โซลเว้นท์จาก TS 66 8 รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
127
ชื่อบริษัทและ ลักษณะความสัมพันธ์ บจ. ท็อป โซลเว้นท์ (เวียดนาม) ลักษณะความสัมพันธ์ : บจ. ท็อป โซลเว้นท์ ถือหุน้ 99.99% บจ. ศักดิไชยสิทธิ (SAKC) ลักษณะความสัมพันธ์ : บจ. ท็อปโซลเว้นท์ ถือหุน้ 80.52% บจ.พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ (PTTES) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 40.00% บมจ. ไออาร์พีซี ถือหุ้น 20.00% - มีกรรมการร่วมกัน คือ นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ บจ. พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ (PTTPL) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 50.00% - มีกรรมการร่วมกัน คือ นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร บจ. พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง (PTTPM) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 50.00% - มีกรรมการร่วมกัน คือ นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร บจ. โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง ดีเอ็มซีซี (PMDMCC) ลักษณะความสัมพันธ์ : บจ. พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง ถือหุ้น 99.99% บจ. เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ (EnCo) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 50.00% PTT International Trading Pte. Ltd. (PTTT) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 99.99%
รายการ
(ล้านบาท)
(ล้านบาท)
ลักษณะเงื่อนไขของรายการ
- ขายสินค้า
735
- ลูกหนี้การค้า - ขายสินค้า - ลูกหนี้การค้า
40 251 8
674 บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ให้กับ บจ. ท็อป โซลเว้นท์ (เวียดนาม) 53 364 บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ให้กับ SAKC 20
- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร - เจ้าหนี้อื่น
139
82 บริษัทฯ จ่ายค่าบริการด้านเทคนิคให้กับ PTTES
1
-
- รายได้อื่น - ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร
2
1 บริษัทฯ รับรายได้ค่าบุคลากรจาก PTTPL 2 บริษัทฯ จ่ายค่าบริการขนส่งให้ PTTPL
119 บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ให้ PTTPM 800 บริษัทฯ ซื้อผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์จาก PTTPM 5 51
- ขายสินค้า - ซื้อสินค้า - ลูกหนี้การค้า - เจ้าหนี้การค้า
161 623 8 53
- ขายสินค้า - ลูกหนี้การค้า
20 10
- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร - เจ้าหนี้อื่น
94
- ขายสินค้า - ซื้อสินค้า - ค่าใช้จ่ายจากสัญญา ซือ้ ขายน้�ำ มันล่วงหน้า - ลูกหนี้การค้า - เจ้าหนี้อื่น - ซื้อสินค้า
8,734 669 115
11,024 บริษทั ฯ ขายผลิตภัณฑ์น�ำ้ มันเชือ้ เพลิงให้กบั PTTT 928 บริษัทฯ ซื้อผลิตภัณฑ์น้ำ�มันเชื้อเพลิงจาก PTTT 282 ค่าใช้จา่ ยจากสัญญาซือ้ ขายน้�ำ มันล่วงหน้ากับ PTTT
438 192 1,158
572 63 1,206 บจ. ไทยเอบีเอส ซื้อผลิตภัณฑ์อะคริโลไนไตรล์ (เอเอ็น) จาก PTTAC 1 บริษัทฯ ให้บริการด้าน IT กับ PTTAC 85 1 บริษัทฯ ให้บริการฝึกอบรมกับ HMC GC
บจ. พีทีที อาซาฮี เคมิคอล (PTTAC) - รายได้อื่น ลักษณะความสัมพันธ์ : - เจ้าหนี้การค้า บมจ. ปตท. ถือหุ้น 48.50% บจ. เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ (HMC) - รายได้อื่น ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 41.44%
128
ปี 2559 ปี 2558
1
122 1
4 บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ให้ PMDMCC 2
90 บริษัทฯ เช่าอาคารสานักงานจาก EnCo 1
ชื่อบริษัทและ ลักษณะความสัมพันธ์ บมจ. ทิพยประกันภัย (TIP) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 13.33% บจ.พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล (PTTTANK) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 99.99% บจ. บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ (BSA) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 99.99% บจ. สปอร์ต เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ (SSA) ลักษณะความสัมพันธ์ : บจ. บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ ถือหุ้น 99.99% - มีผู้บริหารของบริษัทฯ เป็นกรรมการ คือ นายโพธิวัฒน์ เผ่าพงศ์ช่วง บจ. พีทที ี ไอซีที โซลูชน่ั ส์ (PTTICT) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 40.00% บมจ. ปตท. ถือหุ้น 20.00% บจ. ไทยสไตรีนิคส์ (TSCL) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 99.99% บจ. พีทีที ฟีนอล (PPCL) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 99.99% บจ. ทีโอซี ไกลคอล (TOCGC) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 99.99% บจ. เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส (NPC S&E) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 99.99% บจ. พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง (PTTME) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 60.00%
รายการ - รายได้อื่น - ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร - รายได้อื่น - ลูกหนี้อื่น - รายได้อื่น - ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร - เจ้าหนี้อื่น - ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร
- รายได้อื่น
ปี 2559 ปี 2558 (ล้านบาท)
513 3 1 3 229 1 5
1
(ล้านบาท)
ลักษณะเงื่อนไขของรายการ
1,313 บริษัทฯ รับค่าสินไหมทดแทนจาก TIP 844 บริษัทฯ ชำ�ระค่าเบี้ยประกันอาคาร เบี้ยประกัน สุขภาพและอุบัติเหตุให้ TIP 2 บริษัทฯ รับรายได้ค่าบุคลากรจาก PTTTANK 1 4 บจ. น้ำ�มัน ไออาร์พีซี รับรายได้ค่าบริหารร้านค้า จาก BSA 248 บริษัทฯ จ่ายค่าจ้างบุคลากรให้กับ BSA 6 5 บริษัทฯ สนับสนุนค่าโฆษณาประชาสัมพันธ์ ทีมฟุตบอล ปตท. ระยอง ให้ SSA
35
- บริษัทฯ รับรายได้จากการพัฒนาโปรแกรมให้กับ PTTICT 36 บริษัทฯ จ่ายค่าบริการด้าน IT ให้ PTTICT
2 198 24
1 199 บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ให้กับ TSCL 7
- ขายสินค้า
-
1 บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ให้กับ PPCL
- ซื้อสินค้า
34
- เจ้าหนี้การค้า
10
36 บจ. ไออาร์พีซี โพลีออล ซื้อผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี จาก TOCGC 6
- ซื้อสินค้า - ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร
2
1 บริษัทฯ ซื้อชุดและอุปกรณ์นิรภัยจาก NPC S&E 2 บริษัทฯ จ่ายค่าเช่าอุปกรณ์นิรภัยให้ NPC S&E
- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร - เจ้าหนี้อื่น
8
- บริษัทฯ จ่ายค่าออกแบบวิศวกรรมให้ PTTME
- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร - เจ้าหนี้อื่น - ขายสินค้า - ลูกหนี้การค้า
10
-
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
129
ชื่อบริษัทและ รายการ ลักษณะความสัมพันธ์ บจ. ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ - ขายสินค้า (IRPC-CP) - ซื้อสินค้า ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี - รายได้อื่น ถือหุ้น 51.00% บมจ. ไออาร์พีซี ถือหุ้น 48.99% - ลูกหนี้การค้า - เจ้าหนี้การค้า - มีผู้บริหารของบริษัทฯ - เจ้าหนี้อื่น เป็นกรรมการ คือ นายพงศ์ประพันธ์ ฐิตทวีวัฒน์ นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์ นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์ - ซื้อสินค้า บมจ. วีนิไทย (VNT) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 24.98% - ซื้อสินค้า บจ. ไทยโอลีโอเคมี (TOL)* ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 99.99% บมจ. โกลบอลกรีน เคมิคอล (GGC)* - ซื้อสินค้า - เจ้าหนี้การค้า ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 99.99%
ปี 2559 ปี 2558 (ล้านบาท)
76 2,055 4 28 250 184
-
(ล้านบาท)
ลักษณะเงื่อนไขของรายการ
64 บริษัทฯ ขายกระแสไฟฟ้าและน้ำ� รวมทั้งให้บริการ ด้านวิศวกรกับ IRPC-CP 257 บริษัทฯ ซื้อไอน้ำ�และกระแสไฟฟ้าจาก IRPC-CP 10 บริษัทฯ รับรายได้จากค่าบริการส่วนกลางจาก IRPC-CP 20 286 106
23 บริษัทฯ ซื้อโซเดียมไฮดรอกไซด์จาก VNT
42
266 บริษัทฯ ซื้อผลิตภัณฑ์น้ำ�มันเชื้อเพลิงจาก TOL
275 13
- บริษัทฯ ซื้อผลิตภัณฑ์น้ำ�มันเชื้อเพลิงจาก GGC -
หมายเหตุ: * ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2559 บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จำ�กัด ได้จดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชนจำ�กัด และเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท โกลบอลกรีน เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)
130
นโยบายและความจำ�เป็นของรายการระหว่างกัน การทำ�รายการระหว่างกันทีส่ �ำ คัญต้องได้รบั การพิจารณาและ อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ทัง้ นี้ บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ดำ�เนินธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน่ ครบวงจร ซึง่ เป็นกลุม่ ธุรกิจ ประเภทเดียวกับบริษัทในเครือ ปตท. จึงทำ�ให้เกิดธุรกรรม ระหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ ปตท. ซึง่ เป็นการทำ�ธุรกิจ ตามปกติ โดยรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นได้แก่ การซื้อขาย ผลิตภัณฑ์น้ำ�มันและการบริการเกี่ยวเนื่อง รวมถึงการทำ� ธุรกรรมต่างๆ ซึง่ สนับสนุนธุรกิจปกติ เป็นการทำ�รายการทีม่ ี ราคาและเงื่อนไข ไม่แตกต่างกับการทำ�รายการกับบุคคล ภายนอก ปราศจากการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่่างกัน ทั้งนี้ บริษทั ฯ ได้พจิ ารณารายการระหว่างกันอย่างรอบคอบ อย่างมี เหตุผล และเป็นอิสระโดยคำ�นึงถึงประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ มาตรการเกี่ยวกับรายการระหว่างกัน บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนดของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยทีเ่ กีย่ วกับรายการระหว่างกัน โดยคณะกรรมการ บริษทั ฯ ได้พจิ ารณารายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อย่างเหมาะสม เพือ่ ให้เกิดความเชือ่ มัน่ ว่า การทำ�รายการเป็นไป อย่างเป็นธรรม โปร่งใส และสมเหตุสมผล โดยกรรมการ พนักงาน หรือบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องทีม่ ผี ลประโยชน์ขดั แย้ง จะไม่ สามารถอยู่ในที่ประชุมและออกเสียงในวาระนั้นได้
นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังทำ�หน้าทีเ่ ป็นผูส้ อบทาน รายการระหว่างกันของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยกับบุคคลหรือบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันเป็นประจำ�ทุกไตรมาส เพือ่ ขจัดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ นโยบายการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต รายการระหว่างกันของบริษัทฯ ในอนาคต จะเป็นรายการที่ ดำ�เนินการทางธุรกิจตามปกติ โดยบริษทั ฯ ยึดถือความเหมาะ สมในเงือ่ นไขและราคาทีเ่ ป็นธรรมเป็นหลัก เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ และ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกฝ่ายได้รบั การดูแลผลประโยชน์อย่างเป็น ธรรมตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และปฏิบัติตาม ข้อกำ�หนดของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเกีย่ ว กับรายการระหว่างกันอย่างเคร่งครัด ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณารายการระหว่างกัน และให้ ความเห็นว่า รายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ เป็นรายการทางการค้า อันเป็นธุรกิจปกติทวั่ ไป มีความสมเหตุสมผล และการกำ�หนดราคา ได้อา้ งอิงตามราคาตลาดทีเ่ หมาะสม ซึง่ เป็นราคาและเงือ่ นไข ทีไ่ ม่แตกต่างกับการทำ�รายการกับบุคคลภายนอก ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ได้ถือปฏิบัติตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และตาม ข้อกำ�หนดของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
สารจากกรรมการผู้จัดการใหญ่
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ได้กำ�หนด วิสัยทัศน์ของบริษัทฯ เพื่อมุ่งสู่การเป็นบริษัทปิโตรเคมีชั้น นำ�ของเอเชียภายในปี 2563 หรือ Leading Integrated Petrochemical Complex In Asia by 2020 โดยมีการบริหาร จัดการอย่างโปร่งใส พร้อมด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ในปี 2559 บริษัทฯ ได้ดำ�เนินการตามวิสัยทัศน์ นโยบาย ทิศทาง และกลยุทธ์ที่คณะกรรมการบริษัทฯ กำ�หนดไว้ได้ อย่างครบถ้วน มีผลประกอบการตามเป้าหมาย โดยมีผล กำ�ไรสุทธิ 9,721 ล้านบาทมากกว่า ปี 2558 ร้อยละ 3.4 เป็น กำ�ไรจากโครงการ Everest ยุทธศาสตร์สำ�คัญซึ่งสามารถ สร้างผลประโยชน์ได้ทั้งสิ้น จำ�นวน 2,311 ล้านบาท ในการ ดำ�เนินโครงการดังกล่าว จำ�เป็นต้องสร้างความเข้าใจใน เป้าหมายขององค์กรและปลูกฝังค่านิยม i SPIRIT ให้พนักงาน ทุกคน นอกจากนั้นภายในระยะเวลาโครงการ 3 ปี บริษัทฯ ยังตั้งเป้าหมายที่จะสร้างกำ�ไรเพิ่มจากโครงการ EVEREST ถึงหนึ่งหมื่นล้านบาทต่อปี ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทายมากและต้อง อาศัยการร่วมแรง ร่วมใจของพนักงานทั้งองค์กรขับเคลื่อน โครงการให้ประสบความสำ�เร็จ ปัจจุบัน บริษัทฯ ได้พัฒนา ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้สมบูรณ์ขึ้นในทุกมิติ เพื่อ ก้าวสู่การเป็น “HR Excellence” ตามมาตรฐานสากล ควบคู่ไปกับการปลูกฝังคุณสมบัติที่จำ�เป็นอันเป็นปัจจัยของ ความสำ�เร็จให้อยู่ในตัวพนักงานแต่ละคน IRPC New DNA จึงเป็นอีกหนึง่ เครือ่ งมือทีบ่ ริษทั ฯ นำ�มาใช้ตงั้ แต่ปลายปี 2559 เพือ่ เพิม่ ศักยภาพ ปิดจุดบกพร่อง และเตรียมความพร้อมของ พนักงานทุกคนเพือ่ มุง่ สูร่ ะบบการทำ�งานทีเ่ ป็นเลิศในทุกๆ ด้าน
132
ด้วยแนวคิดและพฤติกรรมที่เน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มและ ประสิทธิผล อันจะเป็นกำ�ลังสำ�คัญในการผลักดันโครงการให้ประสบ ความสำ�เร็จตามพันธสัญญาทีต่ กลงกันไว้ทงั้ องค์กรว่า เราจะ “มุ่งสู่เป้าหมายที่ท้าทายแลยืนหยัดได้อย่างยั่งยืน” ต่อไป โครงการเพิม่ มูลค่าเพือ่ ผลิตภัณฑ์สะอาด หรือ UHV โครงการ สุดท้ายและใหญ่ทสี่ ดุ ในกลุม่ ยุทธศาสตร์ฟนี กิ ซ์ ด้วยเงินลงทุน กว่า 34,000 ล้านบาท ก่อสร้างแล้วเสร็จและดำ�เนินการผลิต เชิงพาณิชย์ในช่วงปลายปี 2559 โครงการนี้จะเพิ่มศักยภาพ การแข่งขันในสายผลิตภัณฑ์โพรพิลีนของบริษัทฯ ด้วยกำ�ลัง การผลิตที่เพิ่มขึ้นราว 320,000 ตันต่อปี ส่วนโครงการขยาย กำ�ลังการผลิตโพลิโพรพิลีนจะแล้วเสร็จในช่วงกลางปี 2560 ซึ่งจะทำ�ให้บริษัทฯ มีกำ�ลังการผลิตเพิ่มขึ้นอีก 300,000 ตัน ต่อปี รวมเป็น 775,000 ตันต่อปี ถึงแม้วา่ ในปี 2560 บริษทั ฯ จะมีการหยุดซ่อมบำ�รุงใหญ่ตามแผนประมาณ 1-2 เดือนใน ช่วงไตรมาสที่ 1 แต่ดว้ ยโครงการขยายกำ�ลังการผลิตและเพิม่ ประสิทธิภาพต่างๆ ทำ�ให้บริษทั ฯ เชือ่ มัน่ ว่าจะสามารถทำ�กำ�ไร ในปี 2560 ได้ไม่นอ้ ยกว่าปี 2559 และคาดว่าปี 2561 จะเป็น ปีที่บริษัทฯ มีผลประกอบการโดดเด่นอย่างมีนัยสำ�คัญ จาก ความสำ�เร็จของโครงการต่างๆ ทีท่ �ำ มาอย่างต่อเนือ่ งในช่วง หลายปีทผี่ า่ นมานี้ เริม่ จากโครงการฟีนกิ ซ์ สูโ่ ครงการเดลต้า และตามมาด้วยโครงการ EVEREST ในปัจจุบัน
บริษทั ฯ ประสบความสำ�เร็จได้อย่างยัง่ ยืน ในปี 2559 บริษทั ฯ ได้รับการรับรองเป็นสมาชิก Down Jones Sustainability Index (DJSI) ในหมวด Oil & Gas Refining and Marketing ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 ได้รับรางวัลดีเด่น SET Sustainability Awards จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และรางวัล ชมเชยองค์กรโปร่งใส ประจำ�ปี 2559 (NACC Integrity Awards) จากสำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ หรือ ป.ป.ช. นับเป็น 3 รางวัลแห่งคุณธรรม และเป็นดัชนีบ่งชี้ถึงการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัทฯ ที่นำ�ความภาคภูมิใจมาสู่ทุกคนในองค์กร ในโอกาสนี้ ผมใคร่ขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ บริษัทฯ ลูกค้า คู่ค้า สถาบันการเงิน ชุมชน สื่อมวลชน และ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ที่มีส่วนช่วยผลักดัน เชื่อมั่นและ ให้ความไว้วางใจต่อบริษทั ฯ มาอย่างต่อเนือ่ ง และขอขอบคุณ พนักงาน ไออาร์พีซี ที่ร่วมมือกันดำ�เนินงานจนสำ�เร็จลุล่วง ไปได้ตามเป้าหมาย ผมและคณะผู้บริหารขอให้คำ�มั่นว่าจะ นำ�พาพนักงานไออาร์พซี ี สานต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ฯ ตามวิสัยทัศน์และพันธกิจที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้องค์กร เติบโต ก้าวหน้าอย่างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนต่อไปในอนาคต
อย่างไรก็ตาม การก้าวไปสู่เป้าหมายของบริษัทฯ ในการเป็น บริษทั ปิโตรเคมีชนั้ นำ�ของเอเชียภายในปี 2563 จะไม่ยงั่ ยืนหาก บริษัทฯ มุ่งพัฒนาเพื่อเพิ่มผลกำ�ไรแต่เพียงอย่างเดียว จึงมี ความจำ�เป็นอย่างยิง่ ทีบ่ ริษทั ฯ จะต้องพัฒนาองค์กรให้มคี ณ ุ ธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม และเคารพสิทธิมนุษยชน ซึ่งจะเป็นรากฐานสำ�คัญที่จะทำ�ให้
นายสุกฤตย สุรบถโสภณ
กรรมการผู จัดการใหญ
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
133
โครงการ UHV โครงการเพิ�มศักยภาพการแข งขัน ในสายผลิตภัณฑ โพรพิลีนด วยงบประมาณลงทุนกว า 34,000 ล านบาท
เพื่อปรับปรุงคุณภาพน�ำมันหนักที่มีมูลค าต่ำให เป นผลิตภัณฑ มูลค าสูง ซึ่งจะได ผลิตภัณฑ ได แก ผลิตภัณฑ หลัก: โพรพิลีน แนฟทาหนัก ผลิตภัณฑ รอง: เอทิลีน บิวเทน โพรเพนส วนประกอบน�ำมันดีเซล แนฟทาเบา ไฮโดรเจน กำมะถัน ก าซเชือ้ เพลิงและน�ำมันข น โครงการฯ ได แล วเสร็จและเร�ม� เดินเคร�อ่ งเชิงพาณิชย ในเดือนกรกฎาคม 2559
หากเดินเคร�่องเต็มกำลังจะสามารถเพิ�มปร�มาณผลิตโพรพิลีน
320,000 ตันต อป
134
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
135
รายงานผลการดำ�เนินงานปี 2559
บริษัทฯ มุ่งสร้างความเติบโตทางธุรกิจ เพื่อผลตอบแทนที่คุ้มค่าแก่ผู้ถือหุ้น ภายใต้การคำ�นึงถึงการสร้างความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม รวมถึงการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและการบริหารความเสี่ยง อันจะนำ�ไปสู่การเป็นบรรษัทชั้นนำ�ที่เติบโตอย่างยั่งยืนต่อไป
บริษัทฯ ได้กำ�หนดวิสัยทัศน์ การก้าวไปสู่การเป็นบริษัท ปิโตรเคมีชั้นนำ�ของเอเชียภายในปี 2563 หรือ Leading Integrated Petrochemical Complex in Asia by 2020 สรุปการดำ�เนินงานในด้านต่าง ๆ ทีส่ �ำ คัญประจำ�ปี 2559 ดังนี้
1. ด้านเศรษฐกิจ บริษัทฯ มุ่งเน้นสร้างความแข็งแกร่งให้กับธุรกิจหลักและ ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เพื่อให้สามารถดำ�เนินธุรกิจและสร้าง ผลกำ�ไร ภายใต้สภาวะการแข่งขันในโลกธุรกิจที่ทวีความ รุนแรงจากความกดดันของปัจจัยภายนอกต่างๆ ไม่วา่ จะเป็น ภาวะน้�ำ มันดิบล้นตลาดทีส่ ง่ ผลให้ราคาน้�ำ มันดิบดูไบลดต่�ำ ลง แตะระดับ 23 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ณ เดือนมกราคม 2559 และขยับตัวสูงขึ้นจากปริมาณสินค้าคงคลังของ สหรัฐอเมริกาที่ลดต่ำ�ลง แม้การปรับลดปริมาณการผลิต ของกลุ่ ม โอเปกในเดื อ นพฤศจิ ก ายนจะส่ ง ผลให้ ร าคา น้ำ�มันดิบดูไบเริ่มปรับตัวสูงขึ้น แต่ด้วยอุปทานส่วนเกิน ที่มีประมาณ 1 ล้านบาร์เรลต่อวัน ยังคงกดดันราคา จาก ปัจจัยดังกล่าวมีผลให้ราคาน้ำ�มันดิบดูไบเฉลี่ยทั้งปี 2559 อยู่ที่ระดับ 44 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล นอกจากนี้ อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (GDP) ของโลก ทีข่ ยายตัวร้อยละ 3.1 ซึง่ ต่�ำ กว่าทีป่ ระมาณการไว้ ประกอบกับ เศรษฐกิจของประเทศทีย่ งั คงมีความไม่แน่นอน การเลือกตัง้
136
ประธานาธิบดีของประเทศสหรัฐอเมริกาทีม่ ผี ลต่อทิศทางและ นโยบายที่จะมีต่อประเทศต่างๆ ทั่วโลก ความกังวลจากการ ประกาศออกจากกลุ่มยูโรโซนของประเทศอังกฤษ และอื่นๆ ยังคงเป็นปัจจัยลบทีส่ ง่ ผลต่อระบบเศรษฐกิจโลก อย่างไรก็ตาม อั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ของประเทศไทย ทั้งปี 2559 ขยายตัวร้อยละ 3.2 (ธนาคารแห่งประเทศไทย, มกราคม 2560) ปรับเพิ่มขึ้นจากประมาณการเดิมที่ร้อยละ 3.0 เป็นผลมาจากการบริโภคที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากมาตรการ กระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลและรายได้เกษตรกรทีป่ รับตัวสูงขึน้ แม้การลงทุนภาคเอกชนยังคงขับเคลื่อนได้ช้า แต่การลงทุน ของภาครัฐมีการเติบโตสูงขึ้น ขณะที่การส่งออกสินค้า และบริการพลิกกลับมาขยายตัวเพิม่ ขึน้ อย่างมาก โดยเฉพาะ ภาคการท่องเทีย่ วทีเ่ ป็นตัวผลักดันหลักมีทศิ ทางทีด่ ขี นึ้ อย่าง ต่อเนื่อง สรุปการดำ�เนินงานด้านเศรษฐกิจทีส่ �ำ คัญประจำ�ปี 2559 ดังนี้ 1.1 การดำ�เนินงานการผลิต บริษัทฯ มีเป้าหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและ รักษาระดับต้นทุนให้สามารถแข่งขันได้ ด้วยกระบวนการผลิตที่ ต่อเนื่อง มีเสถียรภาพ และสามารถลดระยะเวลาที่ใช้ใน การซ่อมบำ�รุง การบริหารการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
การวางแผนการผลิตที่มีความยืดหยุ่นตอบสนองความ ต้องการของตลาด มุง่ การบริหารงานทีเ่ ป็นเลิศเพือ่ เพิม่ ผลิตผล ทางการผลิต โดยคำ�นึงถึงสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม โดยรอบเขตประกอบการฯ รวมทั้งปลูกฝังวัฒนธรรมความ ปลอดภัยซึ่งเป็นปัจจัยที่สำ�คัญของการปฏิบัติงานให้กับ พนักงานทุกคนอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2559 บริษัทฯ นำ�น้ำ�มันดิบเข้าสู่กระบวนการกลั่นทั้งสิ้น 67 ล้านบาร์เรล คิดเป็นระดับการกลั่นเฉลี่ย 183,000 บาร์เรลต่อวัน สูงขึ้น กว่าปี 2558 ประมาณ 0.5 ล้านบาร์เรลต่อปี สรุปการดำ�เนินงานการผลิตที่สำ�คัญ ดังนี้ 1.1.1 การปรับปรุงกระบวนการผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพ เครื่องจักรอุปกรณ์ของกลุ่มโรงงาน ทั้งหมด 138 โครงการ อาทิ โครงการ Increase the Gas oil Draw, Furnaces Coil Replacement ETP-Apply High Emissivity Coating on Furnace Refractory เพือ่ ให้การควบคุมกระบวนการผลิต แม่นยำ� และเที่ยงตรง ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตามสัดส่วน ทีต่ อ้ งการ รวมทัง้ ช่วยลดการใช้พลังงานในกระบวนการผลิต ซึง่ สามารถสร้างผลกำ�ไรในระยะยาวประมาณ 1,300 ล้านบาท ต่อปี โครงการ Fire Protection System เพื่อเฝ้าระวัง และเพิ่มความเชื่อมั่นด้านเสถียรภาพและความปลอดภัย ในโรงงาน เป็นต้น 1.1.2 การเพิม่ เสถียรภาพทางการผลิต บริษทั ฯ ได้มกี ารดำ�เนิน โครงการ Zero Unplanned Shutdown Program และ Turnaround and Shutdown Management เพือ่ ให้สายการผลิต ของโรงงานมีความน่าเชื่อถือและความพร้อมในการผลิต ซึ่งส่งผลให้โรงงานสามารถผลิตได้ตามแผนและป้องกัน ผลกระทบที่เกิดจากการหยุดผลิตโดยไม่มีแผนล่วงหน้า (Unplanned Shutdown) โดยมีการดำ�เนินงานย่อย อาทิ โครงการ Inspection Roadmap และ Plant Health Check เพื่อตรวจสอบความแข็งแรงของอุปกรณ์ เครื่องจักร และเครือ่ งมือวัดต่างๆ โครงการ Asset Integrity Assessment (AIA) เพื่ อ ประเมิ น ระบบท่ อ และเครื่ อ งจั ก รรั บ แรงดั น ในสภาวะที่จะต้องเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการใช้งาน โครงการ Total Asset Integrity Management System (TAIMS) เพือ่ พัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบติดตามเฝ้าระวัง และบริหาร จัดการอุปกรณ์ เครื่องจักร และเครื่องจักรกลทุกประเภท ของทุกโรงงาน โครงการ Alarm Management เพื่อ ปรับปรุงระบบสัญญาณเตือนของระบบควบคุมการผลิต และ โครงการ MA Expert เพื่อพัฒนาบุคลากรที่รับผิดชอบ งานบำ�รุงรักษา ทัง้ ทางด้านเครือ่ งกล ไฟฟ้า และเครือ่ งมือวัด ให้มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ และประสบการณ์ในการบำ�รุง
บริษัทฯ ดำ�เนินโครงการปรับปรุงและเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มโรงงานทั้งสิ้น 138 โครงการ รวมทั้งลดการใช้พลังงาน ในกระบวนการผลิต ซึ่งสามารถสร้างผลกำ�ไร ในระยะยาวประมาณ 1,300 ล้านบาทต่อปี
รักษาที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและสม่ำ�เสมอ ส่งผลให้ปี 2559 บรฺิษัทฯ มีเสถียรภาพในการผลิตโดยมีค่า Plant Reliability อยู่ที่ร้อยละ 99.62 ซึ่งเป็นค่าที่สูงกว่าเป้าหมายที่ร้อยละ 99.50 และสูงกว่าปี 2558 ทีร่ อ้ ยละ 98.85 อีกทัง้ จำ�นวนครัง้ ของ การหยุดผลิตโดยไม่มีแผนล่วงหน้าลดลงกว่าปี 2558 ร้อยละ 70 และมีโรงงานทีไ่ ม่เกิดการหยุดผลิตโดยไม่มแี ผนล่วงหน้า จำ�นวนทัง้ สิน้ 10 โรงงาน ซึง่ มากขึน้ กว่าปี 2558 ที่ 7 โรงงาน 1.1.3 การบริหารจัดการพลังงาน บริษัทฯ สามารถบริหาร จัดการพลังงานอย่างเป็นระบบ โดยการดำ�เนินโครงการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน เพิ่มสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติเพื่อทดแทนน้ำ�มันเตาที่ใช้ในกระบวนการผลิต นำ�ซอฟต์แวร์มาใช้ในการบริหารจัดการ ปรับปรุงกระบวนการ ภายในเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต รวมทั้ง มี ก ารควบคุ ม และติ ด ตามผลอย่ า งสม่ำ � เสมอ ทำ � ให้ สามารถควบคุมสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่สูญเสียจาก กระบวนการผลิต และลดการปล่อยมลภาวะสู่บรรยากาศ โดยจะเห็นได้จากค่าดัชนีการใช้พลังงาน หรือ Energy Intensity Index (EII) ลดลงได้ตามเป้าหมายที่ร้อยละ 93.89 คิดเป็นพลังงานที่ลดลงจำ�นวน 1.7 ล้านกิกะจูล หรือ เป็นมูลค่าที่ประหยัดได้ประมาณ 700 ล้านบาท 1.1.4 ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย บริษัทฯ มุ่งเน้นให้ พนักงานและบุคลากรทุกคนปฏิบตั งิ านบนพืน้ ฐานของการให้ ความสำ�คัญด้านความปลอดภัยอย่างสม่�ำ เสมอ มีการกำ�หนด เป้าหมายให้องค์กรปลอดอุบตั เิ หตุ (Zero Accident) และ ปราศจากเหตุการณ์ฉกุ เฉิน (Zero Emergency Case) ส่งเสริม การสร้างจิตสำ�นึก ความตระหนัก และสร้างวัฒนธรรม การทำ�งานอย่างปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง ผ่านการดำ�เนิน โครงการต่างๆ อาทิ โครงการ Goal Zero Accident เพื่อ กระตุ้นเตือนพนักงานทุกระดับในทุกพื้นที่ให้คำ�นึงถึงความ
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
137
ปลอดภัยในการทำ�งานเป็นหลัก โครงการ Safety Excellence เพื่อปลูกจิตสำ�นึกด้านความปลอดภัย ส่งเสริมความเป็น ผู้นำ� ด้ า นความปลอดภั ย และฝึ ก ให้ รู้จัก การช่ ว ยเหลื อ ตักเตือน ซึง่ กันและกันโครงการ Safety Network and Sharing เพื่อสร้างเครือข่ายด้านความปลอดภัยของบริษัทในกลุม่ ปตท. โครงการ Integrated Database Management System หรือ IdMS-PhaseII เพื่อวิเคราะห์อุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น ในโรงงานทุกประเภทและจัดเก็บเป็นฐานข้อมูล หาสาเหตุ ที่แท้จริงของปัญหาและจัดทำ�แนวทางป้องกันหรือแก้ไข ไม่ให้เกิดซ้�ำ ในอนาคต นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมีระบบการจัดการ ความปลอดภัยในกระบวนการผลิต (Process Safety Management: PSM) และการประเมินความเสีย่ งด้านความ ปลอดภัยรายโรงงานทุกปี ตามมาตรฐาน TIS/OHSAS 18001 เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความปลอดภั ย ในทุ ก ขั้ น ตอนของ กระบวนการผลิต ส่งผลให้สามารถรักษาสถิติด้านความ ปลอดภัยได้ในระดับที่ดีเยี่ยม โดยมีอัตราการเกิดอุบัติเหตุ ถึงขั้นรักษาทางการแพทย์ต่อ 1 ล้านชั่วโมงทำ�งาน (Total Reportable Injury Rate: TRIR ที่ 0.58 1.1.5 การบริหารงานด้วยความเป็นเลิศ มุง่ เน้นการเพิม่ ผลิตผล คุณภาพการดำ�เนินงาน และความร่วมมือกับบริษัทในกลุ่ม ปตท. และบริษัทชั้นนำ�อื่น ๆ • การร่วมกับบริษัทในกลุ่ม ปตท. นำ�ระบบปฏิบัติการที่ เป็นเลิศ (Operational Excellence Management System: OEMS) มาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตเพิม่ เสถียรภาพและความเชือ่ มัน่ ของโรงงาน บริหาร จัดการพลังงาน สร้างระบบและกระบวนการด้าน ความปลอดภัย รวมถึงระบบประเมินผลการปฏิบตั งิ าน • การร่วมลงนามในสัญญา “Auctioneer Agreement” กับบริษัท ฮิลโก้ โกลบอล เอเชีย จำ�กัด เพื่อบริหาร จัดการเครื่องจักร อุปกรณ์ที่มิได้มีการใช้งานให้เกิด ประโยชน์สงู สุด โดยคาดว่าจะสร้างรายได้ให้กบั บริษทั ฯ ประมาณ 200 ล้านบาท • การร่วมลงนามในสัญญา “Spent Caustic Treatment Unit for RDCC Plant” กับบริษัท พลัสเอ๊กซโพลเรชั่น จำ�กัด ให้เป็นผูอ้ อกแบบก่อสร้างและติดตัง้ เครือ่ งจักร อุปกรณ์ท่ีมีเทคโนโลยีทันสมัยในการบำ�บัด Spent Caustic ซึ่งเป็นของเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิต ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม ลดปริมาณของเสียและค่าใช้จ่ายใน การดำ � เนิ น การขนส่ ง ไปบำ � บั ด ภายนอก ส่ ง ผลให้ การบริหารจัดการโรงงาน RDCC มีประสิทธิภาพสูงสุด 1.1.6 รางวัลแห่งคุณภาพและความสำ�เร็จต่างๆ ดังนี้ • รางวัล “อุตสาหกรรมดีเด่น ประจำ�ปี 2559 (The Prime Minister’s Industry)” โดยโรงงานแปรสภาพ คอนเดนเสทเรสซิดวิ (ADU1) ได้รบั รางวัลอุตสาหกรรม
138
ดีเด่นประเภทการเพิ่มผลผลิต และโรงงานบีทีเอ็กซ์ (BTX) ได้รับรางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นประเภทการ จัดการพลังงาน • รางวัล “TPM Excellence Award 2015, Category A” (Petroleum Plant) จากสถาบัน Japan Institute of Plant Maintenance: JIPM ซึ่งเป็นรางวัลที่มอบ ให้แก่องค์กรทัว่ โลกทีป่ ระสบความสำ�เร็จในการใช้ระบบ ควบคุมและจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตองค์กรโดยรวม (Total Productive Maintenance and Management) • รางวัล QCC Thailand Quality Prize 2016 จำ�นวน 5 รางวัล ได้แก่ รางวัลระดับ Diamond 1 รางวัล Golden 2 รางวัล และระดับ Silver 2 รางวัล 1.2 การดำ�เนินงานโครงการเชิงกลยุทธ์ที่สำ�คัญ เพื่อการเติบโตทางธุรกิจ บริษัทฯ มีเป้าหมายการเติบโตอย่างก้าวกระโดด เพื่อความ เป็นผูน้ �ำ ทางธุรกิจด้วย Return on Invested Capital (ROIC) ทีร่ อ้ ยละ 14 ให้ได้ภายในปี 2563 บริษทั ฯ จึงดำ�เนินการสร้าง ความร่วมมือและลงทุนในโครงการใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับ กลยุทธ์ของบริษทั ฯ รวมถึงกฎระเบียบ ข้อบังคับทางกฎหมาย และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป สรุปการดำ�เนินงานโครงการเชิงกลยุทธ์ที่สำ�คัญ ดังนี้ 1.2.1 โครงการ EVEREST โครงการมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างผลกำ�ไรส่วนเพิ่มจากการ ดำ�เนินธุรกิจทั่วทั้งองค์กร โดยร่วมกับบริษัทที่ปรึกษาชั้นนำ� ระดับโลกในการสนับสนุนและผลักดันให้บริษัทฯ มีแนวทาง เพิ่มประสิทธิภาพการดำ�เนินงาน และสร้างความแข็งแกร่ง ของสุขภาพองค์กรเพื่อให้มั่นใจได้ว่าบริษัทฯ จะรักษาระดับ ขีดความสามารถในการทำ�กำ�ไรได้อย่างยั่งยืน ซึ่ งครอบคลุม ทัง้ ด้านการผลิต (Operations Area) ด้านการตลาดและการขาย (Commercial Area) ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement Area) ด้านการบริหารจัดการภาพรวมองค์กร (Corporate Area) และด้านการพัฒนาสุขภาพองค์กร (Organization Health) โดยในปี 2559 สามารถสร้างผลประโยชน์ได้ ทั้งสิ้น 2,311 ล้านบาท มีรายละเอียด ดังนี้
• ด้านการผลิต (Operations Area) มุง่ เน้นการดำ�เนินงาน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ 1) การปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของเครื่ อ งจั ก ร (Unit Operation and Energy) โดยการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต ลดการใช้พลังงานหรือเปลี่ยนไปใช้พลังงาน ชนิดอื่นที่มีต้นทุนต่ำ�กว่า ลดการสูญเสียจากกระบวน การผลิตให้สามารถนำ�กลับมาใช้ได้ใหม่ 2) การปรับปรุงกระบวนการซ่อมบำ�รุงเพือ่ เพิม่ เสถียรภาพ การผลิต (Maintenance and Reliability) โดยการลด
ความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดการหยุดผลิตโดยไม่มแี ผนล่วงหน้า ปรับปรุงกระบวนการให้มั่นใจว่าได้ดำ�เนินการไปตาม แผนงานที่กำ�หนดไว้ 3) การปรับปรุงเครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนผลิตให้มี ประสิทธิภาพสูงและแม่นยำ�มากขึน้ (Integrate Supply Chain) โดยการปรับปรุงเครื่องมือที่ใช้ในการวางแผน ผลิตให้มีประสิทธิภาพสูงและแม่นยำ�มากขึ้น รวมทั้ง นำ�เครือ่ งมือ/ระบบใหม่ ๆ ทีไ่ ด้รบั การยอมรับจากบริษทั ชั้นนำ� อาทิ PIMS-AO, PPIMS, Orion & Polymer Schedule มาใช้เพื่อวางแผนการจัดซื้อน้ำ�มันดิบได้ ตามที่บริษัทฯ ต้องการ สร้างโอกาสในการทำ�กำ�ไร ส่วนเพิ่มจากกระบวนการผลิต นอกจากนี้ ยังมีการดำ�เนินโครงการ Model Plant เพื่อ ปรับปรุงกระบวนการและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำ�งาน ให้สามารถทำ�งานได้มากขึ้นเมื่อเทียบกับในอดีต ควบคู่ ไปกับการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมของพนักงาน ให้มุ่งเน้นการเพิ่มผลิตผล มีกระบวนการเฝ้าระวังและ การปฏิ บั ติ ง านที่ ต อบสนองการดำ � เนิ น การผลิ ต อย่ า ง รวดเร็ว รวมถึงการบริหารทีมงานให้ทำ�งานร่วมกันอย่าง มีประสิทธิภาพ โดยในปี 2559 สามารถสร้างผลประโยชน์ ได้ทั้งสิ้น 1,091 ล้านบาท • ด้านการขายและการตลาด (Commercial Area) มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพในการดำ�เนินงานเชิงพาณิชย์ สร้างกำ�ไรส่วนเพิ่มจากการดำ�เนินงานปกติ โดยการกำ�หนด ราคาขายผลิตภัณฑ์ การปรับปรุงช่องทางการจัดจำ�หน่าย การปรั บ สั ด ส่ ว นผสมของลู ก ค้ า เพื่ อ ผลตอบแทนสู ง สุ ด การทบทวนเงื่อนไขของสัญญาเพื่อปรับราคาให้เหมาะสม การแสวงหาตลาดใหม่ รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพของ ทีมงานให้มีความมุ่งมั่นที่จะแสวงหาแนวทางสร้างผลกำ�ไร ด้วยการระดมสมองเพือ่ สร้างโครงการใหม่ สร้างจิตสำ�นึกถึง ความเป็นเจ้าของ เพิม่ ทักษะในการแก้ปญ ั หา การประสานงาน ระหว่ า งหน่ ว ยงานและทำ � ร่ ว มกั น เป็ น ที ม เพื่ อ ให้ บ รรลุ เป้าหมายที่กำ�หนด ตลอดจนการสร้างซอฟต์์แวร์ที่ทันสมัย ภายใต้ชื่อ Athena เพื่อวิเคราะห์ผลตอบแทนการขายสินค้า แต่ละชนิดให้กับลูกค้าแต่ละราย โดยในปี 2559 สามารถ สร้างผลประโยชน์ได้ทั้งสิ้น 778 ล้านบาท • ด้านการจัดซือ้ จัดจ้าง (Procurement Area) มุง่ เน้น การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการชิ้นส่วนอุปกรณ์ และสินค้าคงค้าง การจัดซือ้ จัดหาวัตถุดบิ สารเคมีและอุปกรณ์ ต่างๆ และการจัดจ้างงานบริการเชิงกลยุทธ์ รวมถึงสร้าง เสริมสมรรถนะแก่บคุ ลากรจัดซือ้ ให้มที ศั นคติและประสิทธิภาพ ในการปฏิบตั งิ านเชิงกลยุทธ์ เพือ่ เพิม่ อำ�นาจการต่อรอง โดย คำ�นึงถึงจริยธรรม ความโปร่งใส และความเป็นธรรม ในการดำ�เนินงานอย่างชัดเจน และนำ�เครื่องมือใหม่ ๆ ที่ได้ มาตรฐานสากลมาใช้ อาทิ e-Auction, e-Catalog, e-Buyer
ยกระดับไปสูก่ ารเป็น Digital Procurement ส่งผลให้บริษทั ฯ สามารถลดค่าใช้จ่ายลงได้ 277 ล้านบาท ในปี 2559 • ด้านการบริหารจัดการภาพรวมองค์กร (Corporate Area) มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาพ รวมองค์กรโดยการพัฒนาความเป็นเลิศในทุกสายงาน อาทิ การจัดหาทุนแบบใหม่ ส่งผลให้ประหยัดดอกเบี้ยได้มากขึ้น การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม จากการขายหุ้ น บริ ษั ท ไทยออยล์ การประหยัดงบประมาณ ด้วยระบบ Budget Excellence การสร้างมูลค่าเพิม่ จากการให้บริการท่าเรือครบวงจร เป็นต้น โดยในปี 2559 สามารถสร้ า งผลประโยชน์ ไ ด้ ทั้ ง สิ้ น 165 ล้านบาท • ด้านการพัฒนาสุขภาพองค์กร (Organization Health) มุง่ เน้นการพัฒนาองค์กรและศักยภาพบุคลากรเพือ่ ให้องค์กร สามารถรักษาระดับขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยัง่ ยืน โดยการพัฒนาบุคลากรด้วย Recovery Transformation Service (RTS) Academy และ Lead Program การพัฒนา พนักงานที่ได้เข้าร่วมโครงการ (Young Leader) การพัฒนา ศักยภาพเฉพาะด้านการบริหารจัดการองค์ความรู้ การบริหาร การเปลี่ยนแปลง การสื่อความและสร้างขวัญกำ�ลังใจให้ผู้ที่ ทุ่มเทกับการทำ�งาน รวมถึงการพัฒนาระบบงานต่างๆ เช่น ระบบการบริหารผลการปฏิบตั งิ านระบบการพัฒนาศักยภาพ การสร้างค่านิยม i SPIRIT ในหมู่พนักงาน และระบบบริหาร ความก้าวหน้าของพนักงาน โดยในปี 2559 ผลการประเมิน ดัชนีชวี้ ดั สุขภาพองค์กร (Organization Health Index: OHI) อยู่ที่ระดับคะแนน 70 สูงขึ้นกว่าปีก่อน ในปัจจุบัน มีแผนดำ�เนินโครงการย่อย (Initiatives) ที่อยู่ ระหว่างการคัดกรองความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ เหล่านี้ให้เกิดมูลค่าเพิ่มอย่างเป็นรูปธรรมแล้วกว่า 800 โครงการ มูลค่ารวมกว่า 10,000 ล้านบาท 1.2.2 โครงการเพิ่มมูลค่าเพื่อผลิตภัณฑ์สะอาด (Upstream Project for Hygiene and Value Added Products: UHV) โครงการมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและ สร้างการเติบโตอย่างยัง่ ยืน เพือ่ ปรับปรุงคุณภาพน้�ำ มันหนัก ทีม่ มี ลู ค่าต่�ำ ให้เป็นผลิตภัณฑ์มลู ค่าสูง ซึง่ จะได้ผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ โพรพิลีน (Propylene) และแนฟทาหนัก (Heavy Naphtha) ผลิตภัณฑ์รอง ได้แก่ เอทิลีน (Ethylene) บิวเทน (Butanes) โพรเพน (Propane) ส่วนประกอบน้ำ�มันดีเซล (LCO) แนฟทาเบา (Light Naphtha) ไฮโดรเจน (Hydrogen) กำ�มะถัน (Sulfur) ก๊าซเชื้อเพลิง (Fuel Gas) และน้ำ�มันข้น (CLO) โครงการได้เริ่มดำ�เนินการก่อสร้างในเดือนตุลาคม 2555 และเริม่ เดินเครือ่ งเชิงพาณิชย์ในเดือนกรกฎาคม 2559 และรองรับการทดสอบเดินเครือ่ งจักรทัง้ 2 ครัง้ ในช่วงเดือน กันยายน-ธันวาคม 2559 เสร็จสิ้นไปแล้ว โดยอยู่ระหว่าง การรับรองผลการทดสอบเดินเครื่องจักรแบบมีเงื่อนไข หรือข้อตกลงพิเศษร่วมกัน (Plant Acceptant Certificate รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
139
โครงการปรับปรุงสายการผลิตโพลิโพรพิลนี (PPE)
with exception or Special Agreement are settled) ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในเดือนมกราคม 2560 ปี 2559 สามารถสร้างกำ�ไรขัน้ ต้นจากการผลิตได้ประมาณ 800 ล้านบาท และหากเดินเครื่องเต็มกำ�ลังการผลิตจะสามารถ เพิม่ ปริมาณการผลิตโพรพิลนี ได้เป็นจำ�นวน 320,000 ตันต่อปี ซึ่งจะใช้เป็นวัตถุดิบสำ�หรับโครงการขยายกำ�ลังการผลิต โพลิโพรพิลีนเพื่อเสริมสร้างศักยภาพสายผลิตโพลิโพรพิลีน ซึ่งสามารถสร้างรายได้กว่า 2,000 ล้านบาทต่อปี 1.2.3 โครงการขยายกำ�ลังการผลิตโพลิโพรพิลีน (Fully Integrated Polypropylene) โครงการมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ปรับปรุงและขยายกำ�ลังการผลิต เม็ดพลาสติกโพลิโพรพิลีนจำ�นวน 300,000 ตันต่อปี โดยใช้ งบประมาณการลงทุน 236 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพือ่ เสริมสร้าง ความแข็งแกร่งในธุรกิจหลักของบริษัทฯ ด้วยกำ�ลังการผลิต รวม 775,000 ตันต่อปี อีกทัง้ ยังเพิม่ ขีดความสามารถในการ แข่งขันด้วยการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ เพื่อตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าในปัจจุบัน พร้อมรองรับการเติบโต ของตลาดในประเทศและกลุม่ AEC โดยเฉพาะในอุตสาหกรรม ที่มีการเติบโตสูง ได้แก่ อุตสาหกรรมรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และบรรจุภณ ั ฑ์อาหาร โดยโครงการประกอบด้วย 2 โครงการย่อย ดังนี้
140
โครงการขยายกำ�ลังการผลิตโพลิโพรพิลีน PPE และ PPC เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่ง ให้ธุรกิจหลักของบริษัทฯ ด้วยกำ�ลังการผลิต 775,000 ตันต่อปี โดยจะสามารถรับรู้รายได้ ภายในปี 2560
• โครงการปรับปรุงสายการผลิตโพลิโพรพิลีน (PP Expansion: PPE) โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตของ บริษทั Novolen จากทีป่ จั จุบนั มีก�ำ ลังการผลิตอยู่ 475,000 ตันต่อปี โดยจะลงทุนติดตั้งเครื่องจักรและอุปกรณ์ เพิ่มเติมเพื่อขยายกำ�ลังการผลิตเพิ่มขึ้นอีก 160,000 ตันต่อปี ส่งผลให้มีกำ�ลังการผลิตรวมเป็น 635,000 ตันต่อปี • โครงการขยายกำ�ลังการผลิตเม็ดพลาสติกโพลิโพรพิลนี คอมพาวด์และโพลิโพรพิลนี เกรดพิเศษ (PP Compounding: PPC) กำ�ลังการผลิต 140,000 ตันต่อปี โดยใช้ เทคโนโลยีการผลิตขัน้ ตอนเดียว (In-line Compound)
โครงการปรับปรุงสายการผลิตเม็ดพลาสติกโพลิโพรพิลนี คอมพาวด์ และโพลิโพรพิลนี เกรดพิเศษ (PPC)
ที่มีประสิทธิภาพสูงจากบริษัท Japan Polypropylene Corporation (JPP) ซึ่งเป็นผู้ผลิตโพรพิลีนคอมพาวด์ ทีม่ สี ว่ นแบ่งการตลาดเป็นอันดับที่ 1 ของประเทศญีป่ นุ่ ที่ผลิตให้กับค่ายรถยนต์ชั้นนำ� เช่น โตโยต้า มิตซูบิชิ ฮอนด้า และนิสสัน เป็นต้น โดยกระบวนการผลิตนี้ จะช่วยลดขั้นตอนการผลิตลง สามารถสร้างความได้ เปรียบด้านต้นทุนการผลิตที่ต่ำ�ลงกว่าเดิม บริษัทฯ ได้ร่วมลงนามสัญญาว่าจ้างก่อสร้างทั้ง 2 โครงการ กับบริษัท Sinopec Engineering Group (SEG) และ Sinopec Engineering Incorporation (SEI) และเริม่ ดำ�เนินงาน ก่อสร้างในเดือนพฤษภาคม 2558 โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จ และสามารถรับรู้รายได้ภายในไตรมาส 3 ของปี 2560 1.2.4 โครงการร่วมลงทุนระหว่างบริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด (IRPCP) จำ�กัด และบริษัท PCC Rokita SA (PCCR) โครงการมีวัตถุประสงค์เพื่อขยายความร่วมมือด้านการผลิต และการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์โพลิยรู เิ ทนทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ สูง (High Value Added Product) ให้กบั อุตสาหกรรมก่อสร้างยานยนต์ และเฟอร์นิเจอร์ โดยมุ่งเน้นขยายตลาดทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ เจาะตลาดกลุ่ม AEC ที่มีอัตราการเติบโตสูง เพือ่ สร้างโอกาสเติบโตทางธุรกิจอย่างรวดเร็ว สอดคล้องกับ กลยุทธ์ของบริษัทฯ ทั้งนี้บริษัท PCC Rokita SA (PCCR) ประเทศโปแลนด์ เป็นบริษัทที่มีประสบการณ์อันยาวนาน ในธุรกิจโพลิยูริเทน มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย และประสบความ
สำ�เร็จเป็นอย่างมาก โดยมีฐานการผลิตและกลุ่มลูกค้า อยู่ในหลายประเทศในเขตเศรษฐกิจยูโระ ในวันที่ 21 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ ร่วมลงนามสัญญา ซือ้ ขายหุน้ และสัญญาระหว่างผูถ้ อื หุน้ กับบริษทั PCC Rokita SA (PCCR) เพื่อขายหุ้นในบริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด (IRPCP) ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 99.99 ให้กับบริษัท PCC Rokita SA (PCCR) ประเทศโปแลนด์ ในสัดส่วนร้อยละ 25 คิดเป็นมูลค่าประมาณ 80 ล้านบาท คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำ�หนดเป้าหมาย และแผนกลยุทธ์ ระยะยาว 5 ปีของบริษทั ฯ เพือ่ ให้มกี ารเติบโตทางธุรกิจอย่าง มั่นคงและยั่งยืน และให้มีการพิจารณาทบทวนแผนกลยุทธ์ เป็นประจำ�ทุกปี เพือ่ ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ ที่เปลี่ยนไป ในปี 2558 มีการกำ�หนดแผนกลยุทธ์ในแนวคิด Strengthening Core Business สำ�หรับปี 2559 เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2559 คณะกรรมการ บริษทั ฯ ได้พจิ ารณาทบทวนแผนกลยุทธ์ปี 2559-2563 ในแนวคิด Beyond Everest อันประกอบด้วย Operational Excellence, Commercial Excellence, Finance Excellence, RD Excellence, HR Excellence, BD Excellence, EVEREST, IA Excellence, SD Excellence, IRPCT Excellence, และ CG&CSR Excellence และได้กำ�หนดทิศทางกลยุทธ์ของ องค์กรในภาพรวมไปถึงปี 2568 รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
141
ทิศทางดำเนินธุรกิจเชิงกลยุทธ Performance Highlight 2016
โครงการ EVEREST
UHV Project
ยุทธศาสตร สำคัญในการยกระดับศักยภาพองค กร เพื่อนำพา บร�ษัทฯ บรรลุเป าหมายอัตราผลตอบแทนการลงทุน (ROIC) มากกว าร อยละ 14 สู ระดับ Top Quartile ภายในป 2563 โดยในป 2559 โครงการ EVEREST สามารถสร างผลประโยชน รวมกว า 2,311 ล านบาท
สามารถเพิม่ กำลังการกลัน่ ได เต็มประสิทธ�ภาพ และเพิม่ ปร� ม าณการผลิ ต โพรพิ ล ี น เป น 320,000 ตั น ต อ ป คาดว าจะช วยเพิ่มกำไรขั้นต นของบร�ษัทฯ ได กว า 2,000 ล านบาท โดยในป 2559 โครงการ UHV ได สร างกำไรขัน้ ต น จากการผลิตประมาณ 800 ล านบาท
บร�ษัทป โตรเคมีชั�นนำของเอเชีย ภายในป 2563 Operational Efficiency Improvement Asset Utilization Enhancement Product and Service Improvement Capacity and Products Expansion โครงการที่ดำเนินการแล วเสร็จ ได แก • CHP I: ผลิตกระแสไฟฟ า 220 ล านหน วย ต อชั่วโมง และไอน้ำ 420 ตันต อชั่วโมง • PRP: กำลังการผลิตโพรพิลนี 100,000 ตันต อป • EURO IV: ผลิตน้ำมันเบนซ�น 15 KBD น้ำมันดีเซล 10 KBD และ Jet 15 KBD • TDAE: กำลังการผลิต TDAE 28,000 ตันต อป และ 150BS เป น 25,000 ตันต อป • EBSM: กำลังการผลิต EBSM 60,000 ตันต อป และ ABS/SAN 60,000 ตันต อป • Lube Blending: กำลังการผสม น้ำมันหล อลื่น 60 ล านลิตรต อป
2010
142
Margin Improvement
• การปฏิบัติการที่เป นเลิศด านการผลิต • การปฏิบัติการที่เป นเลิศด านการตลาด • การปฏิบัติการที่เป นเลิศ ด านการจัดซ�้อจัดจ าง • การปฏิบัติการที่เป นเลิศ ด านการบร�หารทรัพยากรบุคคล
2014
โครงการ DELTA สามารถสร างผลประโยชน รวมกว า 134 ล านเหร�ยญสหรัฐฯ
BIG
รายได เพิ�มขึ้น 5% EBITDA เพิ�มขึ้น 10%
IRPCP & PCCR
PPE/PPC Project PPE Project : โครงการปรับปรุงสายการผลิต โพลิโพรพิลนี (Polypropylene Expansion: PPE) เพือ่ ขยายกำลังการผลิตเม็ดพลาสติกโพลิโพรพิลนี เพิม่ ข�น้ เป น 635,000 ตันต อป คาดว าจะแล วเสร็จ และสามารถรับรู รายได ภายในไตรมาส 3 ของป 2560 PPC Project : โครงการขยายกำลังการผลิต เม็ ด พลาสติ ก โพลิ โ พรพิ ล ี น คอมพาวด แ ละ โพลิ โ พรพิ ล ี น เกรดพิ เ ศษ (Polypropylene Compound and Specialties: PPC) เพิม่ ข�น้ อีก 140,000 ตันต อป คาดว าจะแล วเสร็จและสามารถ รับรู รายได ภายในไตรมาส 3 ของป 2560
โครงการร วมทุนระหว างบร�ษัท ไออาร พีซ� โพลีออล จำกัด (IRPCP) และบร�ษัท PCC Rokita SA (PCCR) เพื่อขยายความร วมมือด านการผลิตและการจำหน าย ผลิตภัณฑ โพลิยูร�เทนที่มีมูลค าเพิ่มสูง
LONG
Fully Integrated PP
• สร างศักยภาพ • พัฒนากระบวนการทำงาน • สร างวัฒนธรรมองค กร
2016
อัตราผลตอบแทนการลงทุนระดับชั�นนำ (1st Quartile) ในธุรกิจป โตรเลียม และป โตรเคมีของเอเซีย
สมาชิกดัชนีความยั�งยืน DJSI Emerging Markets Universe
Incremental Margin Organization Health
โครงการ UHV แล วเสร็จ และเดินเคร�่องพาณิชย ในไตรมาส 3 ของป 2559 สามารถเพิ�มกำลังการผลิต โพรพิลีนเป น 320,000 ตันต อป
STRONG
2017
• PPE: เพิ่มกำลังการผลิต โพลิโพรพิลีนอีก 160,000 ตันต อป • PPC: ขยายกำลังการผลิต โพลิโพรพิลีนคอมพาวด 140,000 ตันต อปี
ROIC 14%
2020
INDIVIDUAL OWNERSHIP เราคือบร�ษัท บร�ษัทคือเรา SYNERGY สร างพลังร วมอันยิ�งใหญ PERFORMANCE EXCELLENCE ร วมมุ งสู ความเป นเลิศ INNOVATION ร วมสร างนวัตกรรม RESPONSIBILITY FOR SOCIETY ร วมรับผิดชอบต อสังคม INTEGRITY & ETHICS ร วมสร างพลังความดี TRUST & RESPECT ร วมสร างความเชื่อมั�น
บร�ษทั ฯ มีวส� ยั ทัศน ในการก าวไปเป น “บร�ษทั ป โตรเคมีชี น�ั นำของเอเชีย ภายในป 2563” หร�อ “Leading Integrated Petrochemical Complex in Asia by 2020” โดยสร างผลกำไรที่เพิ�มสูงขึ้นจากการดำเนินธุรกิจและโครงการใหม ๆ ซึ่งส งผลให ผลตอบแทนจากการลงทุนเป นร อยละ 14 เข าสู ระดับ Top Quartile Performance ของกลุ มธุรกิจป โตรเคมีภายในป 2563 รวมทั�งสามารถแข งขันและรักษาระดับทางธุรกิจได อย างยั�งยืน ควบคู กับการดูแลสังคม ชุมชน และสิ�งแวดล อม จากว�สัยทัศน และเป าหมายดังกล าว บร�ษัทฯ ได ดำเนินโครงการสำคัญเชิงกลยุทธ ตั�งแต อดีต จนถึงป จจุบัน รวมไปถึงการวางแผนโครงการสำคัญในอนาคต เพื่อให มั�นใจว าบร�ษัทฯ จะสามารถบรรลุว�สัยทัศน ที่กำหนดไว รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
143
1.3 การดำ�เนินงานทางธุรกิจ บริษัทฯ มีเป้าหมายในการสร้างการเติบโตของกำ�ไร โดย กำ�หนดกำ�ไรก่อนหักค่าเสือ่ มราคา ภาษี และดอกเบีย้ (EBITDA) ให้เติบโตในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 10 จากการดำ�เนินงานของ 3 ธุรกิจ ได้แก่ ธุรกิจปิโตรเลียม ธุรกิจปิโตรเคมี และธุรกิจ สนับสนุนอืน่ ๆ (ประกอบไปด้วยธุรกิจไฟฟ้าและสาธารณูปโภค ธุรกิจท่าเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์ และธุรกิจบริหารจัดการ ทรัพย์สิน) โดยผลการดำ�เนินงานในปี 2559 บริษัทฯ มีกำ�ไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสื่อม และค่าจัดจำ�หน่าย (EBITDA) จำ�นวน 17,430 ล้านบาท เทียบกับปี 2558 ที่ 17,033 ล้านบาท เพิ่มขึ้นกว่า 400 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.3 และมีกำ�ไรสุทธิ (Net Profit) อยู่ที่ 9,721 ล้านบาท เทียบกับปี 2558 ที่ 9,402 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 319 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.4 จากการดำ�เนินโครงการ เพิ่มประสิทธิภาพต่างๆ ของบริษัทฯ สรุปการดำ�เนินงานทางธุรกิจที่สำ�คัญ ดังนี้ 1.3.1 ธุรกิจปิโตรเลียม บริษัทฯ มีเป้าหมายในการรักษาฐานลูกค้าภายในประเทศ และขยายการส่งออกผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมไปยังประเทศ กลุม่ อินโดจีน ทีย่ งั มีความต้องการสูง โดยในปี 2559 ธุรกิจ ปิโตรเลียมมีรายได้จากการขายจำ�นวน 113,152 ล้านบาท เป็นสัดส่วนรายได้ภายในประเทศร้อยละ 57 และจากการ ส่งออกร้อยละ 43 มีก�ำ ไรขัน้ ต้นจากการผลิตตามราคาตลาด จำ�นวน 11,616 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 18.5 เมื่อเทียบกับ ปี 2558 ที่ 14,246 ล้านบาท เนือ่ งจากส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ ในกลุ่มน้ำ�มันดีเซลและยางมะตอยที่ปรับลดลง โดยในปีท่ี ผ่านมาบริษทั ฯ ได้มกี ารดำ�เนินกลยุทธ์ทส่ี �ำ คัญ ดังนี้
กลยุทธ์ด้านราคา ดำ�เนินการขายผ่านช่องทางที่กำ�ไรสูงสุด โดยกำ�หนดราคาน้�ำ มันให้เหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ ของตลาด ประสานความร่วมมือกับบริษทั ในเครือเพือ่ ให้เกิด ประโยชน์สูงสุดในการวางกลยุทธ์การขาย เน้นการปรับ ราคาที่สามารถแข่ ง ขั น ได้ เ พื่ อ รั ก ษาส่ ว นแบ่ ง ตลาดเพิ่ ม จำ�นวนลูกค้าและปริมาณการจำ�หน่าย โดยรักษาระดับค่า การตลาดให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม รวมทั้งพัฒนาเครื่องมือ ในการวิเคราะห์ราคาซึ่งนำ�ไปสู่การพัฒนากลยุทธ์การขาย แบบใหม่ กลยุทธ์ดา้ นคุณภาพผลิตภัณฑ์ มุง่ เน้นการควบคุมคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์น้ำ�มันให้ได้มาตรฐานตามที่กระทรวงพาณิชย์ กำ�หนดและปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์กลุ่มน้ำ�มัน หล่อลื่นให้ได้มูลค่าเพิ่ม
144
กลยุทธ์ดา้ นการบริการ เสริมสร้างคุณภาพการบริการต่างๆ ได้แก่ มีคลังน้ำ�มันจำ�นวน 5 แห่ง เพื่อให้บริการลูกค้า ทั่วทุกภูมิภาค และเปิดบริการตลอด 24 ชั่วโมง สำ�หรับคลัง ระยอง รวมทั้งเพิ่มจุดจำ�หน่ายน้ำ�มันที่คลังแม่กลอง จังหวัด สมุทรสงคราม เพือ่ เพิม่ การบริการลูกค้าในเขตภาคตะวันตก และภาคใต้ตอนบน มีการบริการขนส่งน้ำ�มันทางรถ ทางเรือ และท่าเทียบเรือ เพื่อจัดส่งให้ลูกค้าทั่วประเทศ มีการบริการ การขายโดยจัดให้มีบุคลากรที่เป็นผู้แทนขาย เจ้าหน้าที่ ประสานงานขาย รวมถึงแผนกบริการงานขายไว้บริการลูกค้า และห้องออกตั๋วที่คอยรับการสั่งซื้อน้ำ�มันจากลูกค้าโดยผ่าน ระบบ SAP ซึง่ เป็นระบบการจัดการฐานข้อมูลให้เชือ่ มโยงกัน และสามารถแสดงข้อมูลแบบ On-line และ Real Time ทีม่ คี วามถูกต้องแม่นยำ�เพือ่ ใช้เป็นฐานข้อมูลในการวิเคราะห์ ตัดสินใจ และบริหารงานสำ�หรับผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน ทุกระดับ อีกทั้งการพัฒนาระบบ IRPC Oil On Net (IRON) เป็นระบบบริหารการจัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมทาง อิเล็กทรอนิกส์ทรี่ วมศักยภาพของระบบบริหารห่วงโซ่อปุ ทาน เข้ากับระบบ Total Business Solution เพือ่ ตอบสนองความ ต้องการในการทำ�ธุรกรรมของลูกค้า เพิ่มประสิทธิภาพใน การดำ�เนินธุรกิจ และยังคงพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับ การขายในช่องทางอื่นต่อไป มีบริการตรวจสอบคุณภาพ โดยจัดให้มีเจ้าหน้าที่เทคนิคเป็นผู้ให้ความรู้และแก้ไขปัญหา รวมทั้งให้บริการตรวจเช็คคุณภาพตามสถานีบริการคลัง น้ำ�มัน เพื่อสร้างความมั่นใจด้านคุณภาพให้กับลูกค้า สรุปการดำ�เนินงานของธุรกิจปิโตรเลียมที่สำ�คัญ ดังนี้ • ร่วมลงนามสัญญาระยะยาวกับบริษทั Darby Trading Inc. เพื่อขยายตลาด Slack Wax ในประเทศอเมริกาและ ยุโรป โดยทำ�การต่อสัญญามูลค่ากว่า 120 ล้านบาท • ร่วมลงนามในสัญญา “Krungsri e-Payment Service” กับธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับการซือ้
สินค้าปิโตรเลียมผ่านระบบ IRON ซึ่งเป็นบริการรับ ชำ�ระเงินจากลูกค้าโดยผ่านระบบ e-Payment ทีส่ ามารถ ทำ�รายการและทราบผลทันที ช่วยเพิ่มช่องทางและ ทางเลือกสำ�หรับลูกค้า สนับสนุนบริการงานขาย • ร่วมเสวนาในงาน The Annual Petroleum Outlook Forum 2016 เพื่อเปิดมุมมองแผนยุทธศาสตร์ด้าน พลังงาน และร่วมวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ�มันในการ บรรยายและแลกเปลี่ยนข้อมูลทิศทาง และแนวโน้ม สถานการณ์ราคาน้ำ�มันในปี 2560 ของกลุ่ม ปตท. 1.3.2 ธุรกิจปิโตรเคมี บริษัทฯ มีเป้าหมายในการสร้างผลกำ�ไรส่วนเพิ่ม จึงมุ่งเน้น การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิจัยพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษ กำ�หนดสัดส่วนการขาย ผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษที่ร้อยละ 60 ภายในปี 2563 โดยในปี 2559 ธุรกิจปิโตรเคมีมีรายได้จากการขายจำ�นวน 52,115 ล้านบาท เป็นสัดส่วนรายได้ภายในประเทศร้อยละ 56 และรายได้จากการส่งออกร้อยละ 44 มีกำ�ไรขั้นต้นจาก การผลิตตามราคาตลาดจำ�นวน 16,869 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,449 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปี 2558 ที่ 15,420 ล้านบาท นอกจากนี้ การขายผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษในปี 2559 เพิ่มขึ้น เป็นร้อยละ 43 จากร้อยละ 40 ในปี 2558 โดยการดำ�เนิน กลยุทธ์ที่สำ�คัญ ดังนี้
กลยุทธ์ด้านราคา โดยพิจารณากำ�หนดราคาจากปัจจัย พื้นฐานต่างๆ ที่มีผลกระทบ อาทิ ต้นทุนวัตถุดิบ อุปสงค์ อุปทานของตลาดในประเทศและตลาดโลก ปริมาณสินค้า คงคลัง มุ่งเน้นการเป็นผู้ผลิตที่มีต้นทุนต่ำ�จากการดำ�เนิน ธุรกิจปิโตรเคมีครบวงจร ซึ่งมีระบบสนับสนุนการผลิตอย่าง ครบครัน ทำ�ให้มีความได้เปรียบทางด้านต้นทุน สามารถ แข่งขันได้ในภาวะที่ราคาผลิตภัณฑ์ในตลาดตกต่ำ� กลยุทธ์คณ ุ ภาพผลิตภัณฑ์ ด้วยประสบการณ์ในการพัฒนา สินค้าร่วมกับลูกค้าอย่างต่อเนื่อง จึงทำ�ให้บริษัทฯ สามารถ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าทัง้ ภายในและต่างประเทศ นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกทุกประเภทยังได้รับ การรับรองมาตรฐาน ISO9001 ISO14001 และ มอก. 18001 ซึ่งสะท้อนถึงนโยบายการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย ความปลอดภัยของพนักงานและชุมชนอย่าง เป็นรูปธรรม
กลยุทธ์บริหารงานขาย บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมส่งเสริม งานขายอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และ ร่วมงานแสดงสินค้าต่างๆรวมถึงอำ�นวยความสะดวกให้กับ
ธุรกิจปิโตรเคมี มีกำ�ไรขั้นต้นจากการผลิต ตามราคาตลาด 16,869 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ปีก่อน 1,449 ล้านบาท โดยมีการขายผลิตภัณฑ์ เกรดพิเศษยังเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 43
ลูกค้า เพิ่มความคล่องตัวในการตอบรับคำ�สั่งซื้อแบบ เฉพาะเจาะจง (Tailor Made) และมีแผนกบริการด้าน เทคนิคให้บริการคำ�แนะนำ�ในการเลือกใช้เม็ดพลาสติก ที่เหมาะสมก่อนการขาย และให้คำ�ปรึกษา/ร่วมแก้ไขปัญหา กับลูกค้าหลังการขายอีกด้วย สรุปการดำ�เนินงานของธุรกิจปิโตรเคมีที่สำ�คัญ ดังนี้ • ร่วมกับบริษทั คูค่ า้ ออกบูธนำ�สินค้าทีผ่ ลิตจากเม็ดพลาสติก ภายใต้ตราสินค้า POLIMAXX เข้ามาจำ�หน่ายในงาน “เพลินพลังงาน งานวิจัยขายได้” จัดโดยกระทรวง พลังงาน • ร่วมกับสมาคมผู้สื่อข่าวเศรษฐกิจ จัดงาน “สัมมนา เจาะหุ้นปิโตรเคมีแบบ Exclusive” โดยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ให้เกียรติบรรยายในหัวข้อ “ไขความลับ ธุรกิจปิโตรเคมี”
กลยุ ท ธ์ ค วามหลากหลายของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ด้ ว ยกำ � ลั ง การผลิตเม็ดพลาสติกกว่า 900,000 ตันต่อปี จึงสามารถ ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี รวมทั้ง การเสนอผลิตภัณฑ์มคี วามยืดหยุน่ ช่วยเพิม่ โอกาสทางธุรกิจ และลดต้นทุนการขายเฉลีย่ ต่อหน่วยในการทำ�ตลาดได้อกี ด้วย
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
145
1.3.3 ธุรกิจสนับสนุนอื่น ๆ (ก) ธุรกิจไฟฟ้าและสาธารณูปโภค
บริษทั ฯ มีเป้าหมายให้บริการระบบสาธารณูปโภคทีม่ คี ณ ุ ภาพ อย่างครบวงจร เพื่อรองรับความต้องการของอุตสาหกรรม เป้าหมาย และสนับสนุนการประกอบธุรกิจอย่างเต็มรูปแบบ โดยคำ�นึงถึงชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมให้สามารถอยู่ ร่วมกันได้อย่างยั่งยืน ประกอบไปด้วย การผลิตและจำ�หน่าย ไฟฟ้า ไอน้ำ� น้ำ�ใช้ในอุตสาหกรรม ระบบลม และระบบบำ�บัด น้ำ�เสีย ให้กับลูกค้าอุตสาหกรรมและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย รวมถึงการบริการทางธุรกิจอืน่ ๆ โดยในปี 2559 มีรายได้ทั้งสิ้น 3,502 ล้านบาท สรุ ป การดำ � เนิ น งานของธุ ร กิ จ ไฟฟ้ า และสาธารณู ป โภค ที่สำ�คัญ ดังนี้ • การสร้างรายได้เพิ่มจากกลุ่มลูกค้าหลักและขยายฐาน ลูกค้าใหม่ทเี่ ข้ามาลงทุนในเขตประกอบการอุตสาหกรรม ไออาร์พีซี และบริหารจัดการด้านการให้บริการไฟฟ้า และระบบสาธารณูปโภค เพื่อสนับสนุนนักลงทุนที่เข้า มาลงทุนในเขตประกอบการฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ • การให้บริการเพื่อสนับสนุนโครงการและกิจการของ นักลงทุนทีม่ าลงทุนในเขตประกอบการฯ ในด้านต่างๆ (IRPC Solution Provider) ได้แก่ งานบำ�รุงรักษาโรงงาน และเครื่องจักร งานวางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ งานทดสอบและวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ งานศูนย์ มาตรวิทยา งานจัดเก็บสินค้าในคลังสินค้า งานชั่ง น้ำ�หนักรถพ่วง และงานฝึกอบรมด้านความปลอดภัย ตามกฎหมาย เป็นต้น โดยในปี 2559 มีรายได้ทั้งสิ้น 49 ล้านบาท (ข) ธุรกิจท่าเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์ บริษทั ฯ มีเป้าหมายพัฒนาคุณภาพการให้บริการท่าเทียบเรือ เพื่ อ ขนถ่ า ยสิ น ค้ า และถั ง เก็ บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการที่ ห ลากหลายของลู ก ค้ า ด้วยบุคลากรที่มีประสบการณ์และระบบการบริหารจัดการ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ยกระดับการบริการให้มคี วามเป็นมาตรฐาน สากล มี ค วามปลอดภั ย และเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยในปี 2559 มีรายได้ทั้งสิ้น 770 ล้านบาท สรุปการดำ�เนินงานของธุรกิจท่าเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์ ที่สำ�คัญ ดังนี้ • การขยายฐานลูกค้าใหม่และสร้างรายได้เพิ่มจากกลุ่ม ลูกค้าหลักในธุรกิจสินค้าเทกองทั่วไป ขยายการบริการ ให้มีลักษณะครบวงจร เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ธุรกิจ ท่าเรือ โดยเพิม่ การให้บริการแรงงานขนถ่ายสินค้า การ ดำ�เนินการด้านศุลกากร ตลอดจนให้บริการรถขนส่ง สินค้าจากท่าเรือจนถึงสถานประกอบการของลูกค้า
146
ในปี 2559 มีปริมาณสินค้าเทกองผ่านท่ากว่า 2 ล้านตัน และมีรายได้เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 20 จากปี 2558 • การขยายการให้บริการถังเก็บน้ำ�มันดิบ กับ บมจ. ไทยออยล์ โดยมีอายุสญ ั ญา 2 ปี ระหว่างตุลาคม 2559 กันยายน 2561 มูลค่าสัญญา 189 ล้านบาท และขยาย การให้บริการถังเก็บผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ เอทานอล มีปริมาณสินค้าผ่านท่อกว่า 527,000 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 19 จากปี 2558 • การให้บริการระบบ IRPC Intelligent Tank Service (iTank) บริ ก ารออนไลน์ เ พื่ อ เรี ย กดู สั ญ ญาการใช้ บริการส่งคำ�สั่งรับ-จ่ายผลิตภัณฑ์ ติดตามสถานะ ผลิตภัณฑ์คงคลัง ตรวจสอบค่าบริการและประวัติ การชำ�ระเงินรวมถึงเรียกดูรายงานในรูปแบบต่างๆ ได้ตลอด 24 ชั่วโมง (ค) ธุรกิจบริหารจัดการทรัพย์สิน บริษัทฯ มีเป้าหมายบริหารจัดการ ศึกษา และพัฒนาที่ดิน ซึ่งมีทั้งที่ตั้งอยู่ในจังหวัดระยองและจังหวัดอื่นๆ ให้เป็น โครงการเชิงนิเวศ ทั้งนิคมอุตสาหกรรม เขตประกอบการ อุตสาหกรรม และที่ดินที่มีศักยภาพ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้ กับทรัพย์สนิ รวมทัง้ ดำ�เนินงานรังวัด สอบเขต โอนกรรมสิทธิ์ และจัดสรรสาธารณูปโภคให้กับลูกค้าในเขตประกอบการฯ โดยในปี 2559 มีรายได้จากการให้เช่าที่ดินและค่าส่วนกลาง จำ � นวน 36 ล้ า นบาท จากพื้ น ที่ ใ นเขตประกอบการฯ จำ�นวน 122 ไร่ และที่ดินอื่นๆ จำ�นวน 7 ไร่ สรุ ป การดำ � เนิ น งานของธุ ร กิ จ บริ ห ารจั ด การทรั พ ย์ สิ น ที่สำ�คัญ ดังนี้ • พื้นที่เขตประกอบการไออาร์พีซี: การพัฒนาที่ดิน ภายใต้แนวคิดอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Concept) เพื่อให้สามารถเติบโตและพัฒนาได้อย่าง ยั่ ง ยื น โดยได้ รั บ การคั ด เลื อ กจากกรมโรงงาน อุตสาหกรรมให้เป็น 1 ใน 5 เขตประกอบการอุตสาหกรรม นำ�ร่องของประเทศไทย ที่เป็นต้นแบบของการพัฒนา สู่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ • พื้นที่บ้านค่าย: การศึกษาเชิงลึกในการลงทุนพัฒนา นิคม-อุตสาหกรรมระยอง (บ้านค่าย) สำ�หรับให้บริการ นักลงทุนอุตสาหกรรมตามกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย ทั้งชาวไทยและต่างชาติ พร้อมรองรับโครงการต่างๆ ของบริษทั ฯ และลูกค้าจากภายนอก โดยร่วมกับการนิคม อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) • พื้นที่บ้านยายดา-เนินสำ�ลี: การศึกษาโครงการจัดสรร ที่ดินและบ้านเพื่อเป็นที่อยู่อาศัย จำ�นวน 2 โครงการ ในจังหวัดระยอง และวิเคราะห์ผลจากการสำ�รวจ ความต้องการโครงการดังกล่าว เพื่อจัดเตรียมแผน การลงทุน
• พืน้ ที่จะนะ: การศึกษาที่ดิน อำ�เภอจะนะ จังหวัดสงขลา จำ�นวน 2,000 ไร่ เพื่อเตรียมที่ดินให้พร้อมสำ�หรับ รองรับการขยายตัวภาคอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม ตามนโยบายการพัฒนาโครงการท่าเรือสงขลา 2 ของ ภาครัฐ 1.4 การดำ�เนินงานนวัตกรรมและการวิจัยพัฒนา บริษัทฯ มีเป้าหมายพัฒนาการเติบโตของธุรกิจควบคู่กันไป ด้วยการนำ�แนวคิดการสร้างคุณค่าร่วมอย่างยั่งยืนมาใช้ใน การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษหรือผลิตภัณฑ์ที่มี มูลค่าเพิ่ม โดยกำ�หนดงบประมาณลงทุนเพื่อการวิจัยพัฒนา ร้อยละ 2-3 ของรายได้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีที่เกี่ยวข้องใน การดำ�เนินกิจกรรมการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งเพิ่มบุคลากร ด้านวิจัยในระดับปริญญาเอกให้มีสัดส่วนนักวิจัยเป็นร้อยละ 8 ของบุคลากรทั้งหมด ภายใต้การดำ�เนินกลยุทธ์นวัตกรรม และการพัฒนา 3 ด้าน ได้แก่ 1) การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ โดยการขยายเข้าสู่ตลาดผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษที่มีคุณภาพ สูงขึ้น ควบคู่ไปกับการบริหารจัดการต้นทุนการผลิต 2) การพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์เพื่อขยายสู่ธุรกิจใหม่ที่ สอดรับการแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต 3) การสร้างกระบวนการ/เครื่องมือที่เหมาะสม และยกระดับ ทรัพยากรบุคคลด้านการวิจยั และพัฒนานวัตกรรม นอกจากนี้ ยังมีกระบวนการพิจารณากลั่นกรองงานวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยี (Innovation Process) ทีเ่ ป็นมาตรฐาน เพือ่ คัดสรร จัดการ และใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยที่มีศักยภาพใน การพัฒนา การสนับสนุนแนวคิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มี รูปแบบแตกต่างจากผลิตภัณฑ์เดิม และสร้างความร่วมมือ ในการวิจัยกับสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัย บริษัทเอกชนทั้งใน และต่างประเทศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการวิจัยในการใช้วัสดุจาก ธรรมชาติและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติพิเศษ เพื่อสร้างมูลค่าเชิงพาณิชย์ ในปี 2559 บริษัทฯ มีกำ�ไร ขั้นต้นจากการผลิตผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษกลุ่มใหม่ประมาณ 800 ล้านบาท สรุปการดำ�เนินงานนวัตกรรมและการวิจยั พัฒนาทีส่ �ำ คัญ ดังนี้ 1.4.1 Styrene Vulcanized Natural Rubber (S-VNR) ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกที่มียางธรรมชาติเป็นส่วนประกอบ ร้อยละ 35 ได้ถูกพัฒนาขึ้นในเดือนมีนาคม 2559 โดยมี คุณสมบัตทิ โี่ ดดเด่นในการทนแรงกระแทกได้สงู (Super High Impact Strength) จึงสามารถนำ�ไปใช้ผลิตเป็นพลาสติก วิศวกรรมที่ต้องการค่าการทนทานต่อแรงกระแทกที่สูง ตัวอย่างการนำ�ไปใช้งาน เช่น กรวยจราจร เสาล้มลุก และ แผงกั้นถนน ในปี 2559 ได้นำ�ไปขึ้นรูปเป็นกรวยจราจร จากยางธรรมชาติ และได้รับการยอมรับจากลูกค้า โดยมี การผลิตเชิงพาณิชย์เป็นจำ�นวนรวม 14.7 ตัน
1.4.2 High Density Polyethylene (HDPE) POLIMAXX P901OR ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ พลิ เ อทิ ลี น ความหนาแน่ น สู ง เกรดท่ อ สี ส้ ม ที่พัฒนาขึ้นเพื่อผลิตท่อความดันสำ�หรับแก๊สโดยเฉพาะ มีคุณสมบัติทนความดันได้ในระดับสูง ปลอดภัยต่อการใช้ งานขนส่งแก๊สมากกว่าท่อสีดำ�แบบปกติ ซึ่งเป็นที่ต้องการ สำ�หรับทุกตลาดทั่วโลก และได้รับการรับรองจากมาตรฐาน การผลิตท่อความดันที่ยอมรับในระดับสากล 1.4.3 Green Thermoplastic Vulcanizes (Green TPVs) การเพิ่มมูลค่าของเม็ดพลาสติกโพลิโพรพิลีน (PP) ซึ่งเป็น หนึง่ ในผลิตภัณฑ์หลักของบริษทั ฯ ร่วมกับยางธรรมชาติจนได้ ผลิตภัณฑ์ใหม่ในกลุม่ โพลิโอเลฟินส์ทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม มีคุณสมบัติพิเศษซึ่งมีข้อได้เปรียบเชิงเศรษฐศาสตร์กว่า แบบเดิม สามารถพัฒนาต่อยอดเพือ่ นำ�มาใช้งานในอุตสาหกรรม ยานยนต์ ก่อสร้าง ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ได้ 1.4.4 Green ABS Wood Composite NRG350VC2 ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก ABS ที่ต่อยอดจากผลิตภัณฑ์ Green ABS มีส่วนประกอบเป็นยางธรรมชาติผสมขี้เลื่อย ซึ่งมีคุณสมบัติทนทาน รองรับแรงกระแทกได้ดี ยืดหยุ่น มากกว่าเม็ดพลาสติกธรรมดา และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยในปี 2559 บริษัทฯ ได้ร่วมกับบริษัท นิว อาไรวา จำ�กัด ผูผ้ ลิตสินค้าตกแต่งบ้านและรายการของขวัญ ภายใต้แบรนด์ “Qualy” พัฒนาผลิตภัณฑ์อุปกรณ์และของตกแต่งบ้าน เพื่อส่งออกไปยังประเทศฝรั่งเศสและเยอรมัน 1.4.5 กิจกรรมสำ�คัญในด้านนวัตกรรมและการวิจัย พัฒนา • ร่วมจัดแสดงสินค้าในงาน Thailand Industry Expo
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
147
2016 “มหกรรมซื้อของไทย ใช้ของดี” โดยกระทรวง อุตสาหกรรม นำ�เสนอผลิตภัณฑ์ที่แสดงถึงศักยภาพ ในฐานะผู้ ป ระกอบการอุ ต สาหกรรมการกลั่ น และ ปิโตรเคมีของไทย ที่ประสบความสำ�เร็จอย่างสูงกับ นวัตกรรมพลาสติกเชิงสร้างสรรค์เพื่อสิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตที่ดี ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ Green ABS, Natural Color Plastic และ Wood Plastic • ร่วมสนับสนุนการจัดงานนวัตกรรมแห่งชาติประจำ�ปี 2559 (National Innovation Day 2016) โดยสำ�นักงาน นวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยบริษทั ฯ ร่วมสนับสนุนและให้ความสำ�คัญกับผูค้ ดิ ค้น พัฒนาผลงานนวัตกรรมที่ส่งผลดีต่อเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศ กระตุน้ ให้สงั คมไทยเกิดความตืน่ ตัว ด้านนวัตกรรม และสร้างสรรค์นวัตกรรมให้เกิดขึ้น แก่ประเทศ • ร่วมงานประชุมเทคโนโลยีปโิ ตรเลียมนานาชาติ ครัง้ ที่ 10 (The 10th Edition of the International Petroleum Technology Conference: IPTC) มีวัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนให้เกิดความก้าวหน้าด้านความรู้ทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการสำ�รวจ การพัฒนา การผลิตปิโตรเลียม และกระบวนการ แปรรูปของน้ำ�มันและก๊าซ โดยนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมที่บริษัทฯ นำ�มาร่วมจัดแสดง ได้แก่ TDAE/ RAE และ Slack Wax 1.5 การดำ�เนินงานเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัทฯ มีเป้าหมายปรับปรุงและพัฒนางานด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานและ เครือข่ายเพือ่ รองรับการขยายงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้มกี ารบริหารจัดการทีด่ ตี ามมาตรฐานสากล การรักษาความ ปลอดภัยขั้นสูง การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีกับทุกส่วนงาน โดยได้มีการขยายและปรับปรุงระบบงานหลัก Enterprise Resource Planning (ERP) เพื่อให้สอดคล้องกับการ ดำ�เนินกิจการบริษัทในเครือ เพื่อช่วยการบริหารภายใน และ ลดต้นทุนการดำ�เนินงาน การพัฒนาระบบ Continuous Control Monitoring and Auditing System (CCMS) เครื่องมือติดตาม/ตรวจสอบการดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยอัตโนมัติ เพือ่ ความมีประสิทธิผลของระบบควบคุมภายใน ก่อให้เกิดธรรมาภิบาลทั่วทั้งองค์กร การพัฒนามาตรฐาน ความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศและได้รับการรับรอง มาตรฐาน ISO/IEC 27001: 2013 Infrastructure (Data Center, Core Network and Virtualization System) ที่มีมาตรฐานความปลอดภัยสารสนเทศระดับสากล นอกจากนี้ ยังได้เข้าร่วมโครงการ “สานพลังประชารัฐ ยกระดับ คุณภาพวิชาชีพอาชีวศึกษา (Competitive Workforce)” ในการพัฒนาระบบและฐานข้อมูลของอุปสงค์และอุปทาน
148
ของแรงงานวิชาชีพ (Database of Demand and Supply) ทัง้ ภาครัฐและเอกชน อีกทัง้ ได้รบั รางวัล Thailand ICT Excellence Award 2016 ประเภทโครงการพัฒนากระบวนการหลักภายใน องค์กร (Core Process Improvement Project) จาก โครงการ Athena-Achieving Pricing Excellence ซอฟต์แวร์ ที่ช่วยในการวิเคราะห์ราคาและส่งเสริมงานด้านพาณิชยกิจ เพือ่ สนับสนุนองค์กรทีม่ คี วามเป็นเลิศด้านการบริหารจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถนำ�ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.6 การดำ�เนินงานทางการเงิน บริษัทฯ มีเป้าหมายในการบริหารสภาพคล่องทางการเงิน อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการจัดหาเงินทุนด้วยต้นทุนทาง การเงินที่เหมาะสม สามารถรองรับการดำ�เนินงานและ โครงการลงทุนต่างๆ ของบริษัทฯ รวมถึงเปิดเผยข้อมูลต่อ นักวิเคราะห์ นักลงทุน สถาบันการเงินอย่างเพียงพอและ สม่ำ�เสมอ สรุปการดำ�เนินงานทางการเงินที่สำ�คัญ ดังนี้ 1.6.1 การจัดหาวงเงินกู้ระยะยาวสกุลเงินบาทจากสถาบัน การเงินในประเทศ จำ�นวน 20,000 ล้านบาท ระยะเวลา 8 ปี เพื่ อ ใช้ สำ � หรั บ โครงการลงทุนและการจ่ายคืนเงินกู้และ หุน้ กูท้ จ่ี ะครบกำ�หนดชำ�ระ 1.6.2 การจัดหาวงเงินกู้ระยะสั้น ได้แก่ • การจัดทำ�สัญญาเงินกูย้ มื เงินระหว่างบริษทั ฯ กับ ปตท. เพื่อบริหารจัดการสภาพคล่องทางการเงินระหว่าง บริษัทในกลุ่ม ปตท. ให้มีประสิทธิภาพ โดยปรับเพิ่ม วงเงินกูจ้ �ำ นวน 10,000 ล้านบาท และวงเงินให้กจู้ �ำ นวน 1,500 ล้านบาท • การต่ออายุสญ ั ญาวงเงินกูร้ ะยะสัน้ สกุลเงินบาท จำ�นวน 3,620 ล้านบาท และเปลีย่ นแปลงประเภทวงเงินสินเชือ่ Uncommitted Line จากสถาบันการเงินในประเทศ เป็นวงเงินสินเชือ่ Committed Line จำ�นวน 380 ล้านบาท รวมทั้งสิ้น 4,000 ล้านบาท ระยะเวลา 5 ปี • การปรับลดวงเงินสินเชื่อที่ไม่สามารถยกเลิกได้ หรือ Committed Line สำ�หรับ Domestic Letter of Credit (DLC) เป็นจำ�นวน 12,000 ล้านบาท เนื่องจากการ ลดระยะเวลาชำ�ระค่าน้ำ�มันดิบกับ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) เป็น 60 วัน เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ราคาน้ำ�มันดิบที่ปรับตัวลดลง 1.6.3 การจัดกิจกรรมสำ�หรับผู้ถือหุ้นและนักลงทุน • การจัดประชุมกับนักลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ผู้จัดการกองทุนทั้งในและต่างประเทศอย่างสม่ำ�เสมอ เพือ่ ให้ขอ้ มูล ทิศทาง และนโยบายการดำ�เนินงานธุรกิจ ของบริษทั ฯ โดยในปี 2559 ได้จดั ประชุมกับนักวิเคราะห์
หลักทรัพย์ (Analyst Meeting) ทุกไตรมาส รวม 4 ครัง้ จัดประชุมและให้ขอ้ มูลกับนักลงทุนทัง้ ในและต่างประเทศ (Roadshow) 11 ครัง้ และจัดประชุมร่วมกับผูบ้ ริหารของ บริษทั ฯ ตามการนัดหมายของนักลงทุนและนักวิเคราะห์ (Company Visit) 41 ครั้ง • การจัดกิจกรรมเยี่ยมชมโรงงาน (Plant Visit) นำ� คณะผู้จัดการกองทุนในประเทศต่างๆ พร้อมด้วย บริษัทหลักทรัพย์ ยูโอบี เคย์เฮียน (ประเทศไทย) จำ�กัด (UOBKH) เข้าเยี่ยมชมโรงงาน และชี้แจงถึงนโยบาย การลงทุน ความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ได้แก่ โครงการ UHV โครงการ Fully Integrated Polypropylene โครงการ Everest ตลอดจนโครงการลงทุนอื่นๆ ในอนาคต รวมจำ�นวน 2 ครั้ง • การจัดกิจกรรมร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพือ่ เผยแพร่ขอ้ มูลของบริษทั ฯ ในงาน SET in the City ซึ่งจัดเป็นประจำ�ทุกปี และกิจกรรม Opportunity Day โดยตลาดหลักทรัพย์ฯ จัดเป็นประจำ�ทุกไตรมาส 1.7 การดำ�เนินงานกฎหมาย บริษัทฯ มีเป้าหมายในการดำ�เนินงานและได้รับประโยชน์จาก การบริหารงานด้านกฎหมาย ทัง้ งานนิตกิ รรมสัญญา งานด้าน คดีความ และงานรัฐกิจสัมพันธ์ สรุปการดำ�เนินงานกฎหมายที่สำ�คัญ ดังนี้ บริษัทฯ ได้ยื่นคำ�ให้การต่อศาลปกครองระยองเพื่อต่อสู้คดี กรณี นายน้อย ใจตั้ง กับพวกรวม 92 คน ยื่นฟ้องสำ�นักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะ กรรมการชำ�นาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิง่ แวดล้อมด้านอุตสาหกรรมและระบบสาธาณูปโภค และศาลได้ เรียกให้\บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ผูป้ ระกอบการโครงการ นิคมอุตสาหกรรมระยอง (บ้านค่าย) เข้ามาเป็นผู้ถูกฟ้องคดีที่ 3 เนื่องจากเป็นผู้ที่อาจได้รับผลกระทบจากคำ�สั่งศาล ซึ่งภาย หลังจากทีศ่ าลส่งคำ�ให้การของบริษทั ฯ ให้ผฟู้ อ้ งคดีทงั้ 92 คน ผูฟ้ อ้ งคดีไม่ได้ยนื่ คำ�คัดค้านคำ�ให้การของบริษทั ฯ ภายในระยะ เวลาทีศ่ าลกำ�หนดและไม่ได้แจ้งว่าประสงค์จะดำ�เนินคดีตอ่ ไป ศาลปกครองระยองจึงได้มีคำ�สั่งให้จำ�หน่ายคดีออกเสียจาก
สารบบความ และคดีเป็นอันถึงที่สุด บริษัทฯ ได้ยื่นฟ้องบริษัท ก็อปปิ้ง ลันเตา ไบรด์ จำ�กัด กับพวกรวม 3 คน ข้อหาละเมิดและเรียกร้องค่าเสียหาย ต่อมาคู่ความทุกฝ่ายสามารถตกลงกันได้ บริษัทฯ ได้รับ ค่าเสียหายจำ�นวน 9 ล้านบาท และคดีเป็นอันถึงที่สุด 1.8 การดำ�เนินงานบริหารทรัพยากรบุคคล บริษัทฯ มีเป้าหมายที่จะเป็นองค์กรสุขภาพดีควบคู่ไปกับ การมี บุ ค ลากรที่ มี ศั ก ยภาพและแรงจู ง ใจในการทำ � งาน จึงมุ่งแสวงหาและคัดเลือกบุคลากรที่มีความสามารถและ มีคุณธรรมเข้ามาปฎิบัติงานดำ�รงรักษาบุคลากรที่เก่งและ ดีให้สามารถอยู่กับบริษัทฯ ได้นานอย่างมีปกติสุข และพัฒนา ศักยภาพของบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เพิม่ ขีดความ สามารถในการขับเคลือ่ นธุรกิจรองรับกับสถานการณ์ทางธุรกิจ ที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นรากฐานไปสู่ความสำ�เร็จที่ยั่งยืน สรุปการดำ�เนินงานบริหารทรัพยากรบุคคลที่สำ�คัญดังนี้ 1.8.1 การปรับโครงสร้างองค์กรให้มีประสิทธิภาพสอดรับกับ วิสยั ทัศน์และกลยุทธ์การเติบโตของบริษทั ฯ ปรับปรุงคำ�อธิบาย ลักษณะงานและหน้าที่ความรับผิดชอบงานให้มีความชัดเจน ลดความซ้ำ�ซ้อน ในการดำ�เนินงาน 1.8.2 การจัดสรรกำ�ลังคน กำ�หนดนโยบายและแนวทางใน การบริหารจัดการอัตรากำ�ลังคน ให้สอดคล้องกับภารกิจของ หน่วยงาน รวมทัง้ เตรียมความพร้อมในการสรรหาและคัดเลือก บุคลากรทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมและมีประสบการณ์ โดยมุง่ ให้ เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร 1.8.3 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและสร้างกระบวนการเรียนรู้ มุ่งเน้นการพัฒนาทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาความรู้เฉพาะสายอาชีพ/ทางเทคนิค การพัฒนา ความเป็นผู้นำ� โดยจัดทำ�คู่มือการเรียนรู้และพัฒนาบุคลากร เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติและส่งเสริมการพัฒนา ให้บรรลุเป้าหมาย รวมทั้งดำ�เนินโครงการพัฒนาทักษะ การบริหารงานบุคคลของผูบ้ ริหาร ประกอบด้วย การแก้ปญ ั หา การบริหารทีมงาน และการสือ่ สารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังกำ�หนดหัวหน้างานและพนักงานร่วมกันจัดทำ�แผนพัฒนา รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
149
พนักงานรายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) เพื่อให้เหมาะสมต่อความจำ�เป็นในการพัฒนาพนักงานเป็น รายบุคคลอีกด้วย
Expert จากงาน PTT Group Excellence Award 2016 เพื่อสนับสนุนการสร้างค่านิยม วัฒนธรรมองค์กร และ การจัดการองค์ความรู้ของกลุ่ม ปตท.
1.8.4 การพัฒนาภาวะผู้นำ� มุ่งเน้นการเสริมสร้างศักยภาพ และพัฒนาบทบาทความเป็นผูน้ �ำ ของผูบ้ ริหารและพนักงานใน กลุ่ม Talent & Successor เพื่อดำ�รงรักษาบุคลากรเหล่านี้ ให้อยูก่ บั องค์กรในระยะยาว โดยดำ�เนินโครงการ Leadership Development Program (LDP) อย่างต่อเนือ่ ง จัดการสัมมนา “Leadership Greatness: Leading Organization Change” สำ�หรับผู้บริหารระดับสูง จัดอบรมหลักสูตร “7 Habits of Highly Effective People” สำ�หรับผู้บริหารระดับกลางและ ระดับสูง รวมทั้งการประเมิน 180 องศา สำ�หรับผู้บริหาร เพื่อ เป็นแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำ�และการบริหารงานให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น
• ร่วมกับวิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พีซี และบริษัทในกลุ่ม ปตท. ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ “โครงการ พัฒนากำ�ลังคนด้านอาชีวศึกษาขั้นสูง กลุ่มปิโตรเคมี และเทคนิคพลังงาน หรือ iPEC” เพื่อยกระดับวิทยาลัย เทคโนโลยีไออาร์พซี ี เป็นฐานในการพัฒนาศักยภาพคน ด้านอาชีวศึกษา โดยได้เปิดสาขาวิชาด้านปิโตรเคมี และพลังงาน 3 สาขา ได้แก่ สาขาปิโตรเคมี (PETROACE: Advance Competency in Petrochemical Engineering) สาขาเทคนิคพลังงาน (ENERGY-ACE: Advance Competency in Energy Engineering) และสาขาเคมีอุตสาหกรรม (CHEM-ACE: Advance Competency in Chemistry Engineering) โดยมีแผน รับสมัครนักศึกษาทุนในโครงการปีละ 75 ทุน และมีแผน เริ่มเปิดการเรียนการสอนในปี 2560
1.8.5 การบริหารความก้าวหน้าในสายอาชีพ มีการทบทวน กลุ่มความชำ�นาญ (Capability Cluster) กลุ่มความชำ�นาญ ย่อย (Sub Cluster) และคณะกรรมการกลุ่มความชำ�นาญ ในสายอาชีพ (Capability Cluster Committee: CCC) ให้ สอดคล้องกับโครงสร้างองค์กร จัดทำ� Career Experience ของตำ�แหน่ง และจัดให้มกี ารประเมินความคาดหวังในศักยภาพ ของพนักงาน (Current Estimated Potential: CEP) เพื่อให้ พนักงานใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองให้พร้อมกับ การเติบโตในอนาคต 1.8.6 การประเมินผลการปฏิบัติงานและระบบค่าตอบแทน มี การกำ�หนดตัวชีว้ ดั ผลการดำ�เนินงานหลักและเป้าหมายประจำ� ปี (KPI) ของหน่วยงานอย่างเหมาะสมผ่านการพิจารณาร่วมกัน สร้างระบบการติดตามและประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพโดย กำ�หนดให้มกี ารประเมินตนเอง หารือร่วมกับหัวหน้าระหว่างปี และปลายปี รวมทัง้ จัดให้มกี ารเปรียบเทียบผลการปฏิบตั งิ าน ของแต่ละสายงาน (Round Table) เพื่อให้การพิจารณาปรับ เงินเดือนประจำ�ปีมีความเหมาะสมและเป็นธรรม ในส่วนของ ค่าตอบแทนและสวัสดิการ บริษทั ฯ มีการทบทวนให้สอดคล้อง กับกฎหมาย เทียบเคียงกับกลุ่มธุรกิจ และคำ�นึงถึงคุณภาพ ชีวิตที่ดีของพนักงานอย่างสม่ำ�เสมอ 1.8.7 การปลูกฝังค่านิยมองค์กร i SPIRIT กำ�หนดแบบแผน ในการปฏิบัติของพนักงานให้สอดคล้องตามค่านิยมองค์กร โดยเชือ่ มโยงกับการประเมินพฤติกรรมในการทำ�งานของพนักงาน 1.8.8 การบริหารแรงงานสัมพันธ์ จัดให้มีการอบรมหลักสูตร “การเสริมสร้างแรงงานสัมพันธ์ที่ดีภายในองค์กร” จำ�นวน 4 รุ่น และจัดอบรมหลักสูตร “การบริหารจัดการองค์กร ด้านแรงงานโดยปราศจากข้อขัดแย้ง” จำ�นวน 1 รุ่น จัดให้มี การปรึกษาหารือระหว่างบริษัทฯ และสหภาพแรงงานเป็น ประจำ�ทุกเดือน และจัดประชุมคณะกรรมการลูกจ้างทุก 2 เดือน 1.8.9 กิจกรรมอื่นๆ ที่สำ�คัญ ได้แก่ • รับรางวัล ประเภท Value Realization ต่อเนื่องเป็น ปีที่ 2 รวมทัง้ รางวัล The Best Learner และ The Best
150
• จัดกิจกรรมกีฬาสีประจำ�ปี 2559 ภายใต้ชอื่ “The Power T Game 2016” เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง พนักงานและผูบ้ ริหารในการทีจ่ ะร่วมกันก้าวไปถึงจุดหมาย และนำ�องค์กรไปสู่ความเป็นหนึ่งด้วยค่านิยม i SPIRIT
2. ด้านสังคม บริษัทฯ มุ่งมั่นดำ�เนินธุรกิจโดยให้ความสำ�คัญอย่างยิ่ง ในเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งปลูกฝังให้พนักงานมีจิตอาสาและจิตสำ�นึกในเรื่อง การดำ�เนินธุรกิจบนพื้นฐานของความรับผิดชอบ โปร่งใส และเอื้อประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่างเป็นธรรม เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและความเจริญของสังคมให้ดีขึ้น เสมอมา โดยมีเป้าหมายสูงในการสร้างคุณค่าร่วมและเติบโต ไปพร้อมกับสังคมไทย รวมทั้งเป็นองค์กรพลเมืองดีของโลก ตามเป้าหมาย SDGs 17 นอกจากนั้นยังให้ความสำ�คัญ กับการส่งเสริมการลงทุนในกิจการเพื่อสังคม และดำ�เนิน โครงการเพื่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่องมาตลอดจนได้รับรางวัลด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมทั้งในประเทศและต่างประเทศ รายละเอียดโครงการสำ�คัญและรางวัลทีไ่ ด้รบั ในปี 2559 อยูใ่ น รายงานความรับผิดชอบต่อสังคม(หน้า 180-196) และรายงาน การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (หน้า 42)
3. ด้านสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ มุ่งเน้นให้ความสำ�คัญกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ได้มีการนำ�ระบบมาตรฐานสากลมาประยุกต์ใช้เพื่อปรับปรุง ประสิทธิภาพกระบวนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ อย่างต่อเนือ่ ง เน้นหลักการดำ�เนินงานทีใ่ ส่ใจต่อสิง่ แวดล้อม บริหารการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด ลดมลภาวะ อนุรกั ษ์พลังงาน และจัดการก๊าซเรือนกระจกอย่าง มีประสิทธิภาพ มุ่งสู่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco-Industrial)
โดยใช้แนวทางพัฒนาของกระทรวงอุตสาหกรรมควบคูไ่ ปกับ การสร้างสภาพแวดล้อมทีด่ แี ละปลอดภัยให้ชมุ ชน ทัง้ ยังปลูกฝัง จิตสำ�นึกและวัฒนธรรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ในการปฏิบัติงานสำ�หรับผู้ปฏิบัติงานของบริษัทฯ อีกด้วย สรุปการดำ�เนินงานด้านสิ่งแวดล้อมที่สำ�คัญ ดังนี้ 3.1 การลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดยใช้ ก๊าซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิงทดแทนน้�ำ มันเตาทีใ่ ช้ในกระบวน การผลิตโรงงานปิโตรเคมีขั้นกลาง และโรงกลั่นน้ำ�มัน หล่อลื่นพื้นฐาน 3.2 การลดปริมาณการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และ ฝุ่นละอองได้อย่างต่อเนื่อง และลดการปล่อยก๊าซไนโตรเจน ไดออกไซด์ได้ 860 ตันต่อปี จากการใช้เชื้อเพลิงและติดตั้ง อุปกรณ์เผาไหม้ที่สะอาด รวมถึงการผลิตไอน้ำ�และไฟฟ้า โดยใช้ก๊าซธรรมชาติ 3.3 การจัดการสารอินทรียร์ ะเหยง่าย หรือ Volatile Organic Compounds (VOCs) ในเขตประกอบการฯ มีการตรวจวัด การรั่วซึมของอุปกรณ์ต่างๆ ในกระบวนการผลิต ด้วย เทคโนโลยีที่ทันสมัย เช่น เครื่องมือตรวจวัดแบบอัตโนมัติ กล้องตรวจจับ และเครื่องตรวจวัดชนิดพกพา การปรับปรุง ในพื้นที่โรงงานที่เกี่ยวข้องแบบเชิงรุก การติดตั้งระบบเก็บ ตัวอย่างจากกระบวนการผลิตเป็นระบบปิด รวมถึงแผนงาน ปรับปรุงในอนาคต ซึง่ จะส่งผลให้ลดการระบายของสารอินทรีย์ ระเหยง่ายได้กว่า 60 ตันต่อปี โดยโครงการเริม่ ตัง้ แต่ปี 2559 และจะดำ�เนินการแล้วเสร็จประมาณไตรมาส 2 ของปี 2560 3.4 การจัดทำ�ทำ�เนียบการปลดปล่อยและเคลือ่ นย้ายมลพิษ (Pollutant Release and Transfer Registers: PRTR) รายงาน ข้อมูลสถานประกอบการ ปริมาณการปลดปล่อยเคลื่อนย้าย มลสารหรือของเสียสู่อากาศ ดิน น้ำ� ในพื้นที่จังหวัดระยอง ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม 3.5 การปลูกต้นไม้ร อบเขตประกอบการอุต สาหกรรม (Protection Strip) เพิ่มเติม 84 ไร่ จำ�นวน 101,120 ต้น พื้ น ที่ ร วม 732 ไร่ ซึ่ ง สามารถช่ ว ยดู ด ซั บ ปริ มาณก๊ าซ
คาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นจำ�นวน 910 ตัน คิดเป็นปริมาณ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีดูดซับได้ทั้งหมดประมาณ 3,700 ตันต่อปี เทียบกับปี 2558 สามารถดูดซับได้เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 32 3.6 การสร้างระบบบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมแบบมีสว่ นร่วม สำ�หรับการพัฒนาโครงการต่างๆ ในพื้นที่เขตประกอบการฯ ประกอบด้วยตัวแทนภาคประชาชน ภาครัฐ ผู้ทรงคุณวุฒิ และบริษัทฯ 3.7 ได้รับการรับรองเป็นโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ หรือ Eco Factory ตามมาตรฐานการรับรองโรงงานที่มี การประกอบกิจการด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและ สังคม ตามกรอบการพัฒนาสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จากกระทรวงอุตสาหกรรม จำ�นวนทั้งสิ้น 11 โรงงาน และ ได้เข้าร่วมพิธลี งนามข้อตกลงความร่วมมือของอุตสาหกรรม เชิงนิเวศให้เทียบเท่าอุตสาหกรรมสีเขียวระดับ 4 3.8 ได้รบั ใบรับรองฉลากลดคาร์บอนผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก โพลิโพรพิลีนและเม็ดพลาสติกโพลิสไตรีนจากองค์กรธุรกิจ เพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ในฐานะทีเ่ ป็นองค์กรทีด่ �ำ เนินธุรกิจ ควบคู่ไปกับการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
4. ด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ มุ่งเน้นการปรับปรุงพัฒนาการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง ตามแนวทางมาตรฐานสากล หลักเกณฑ์ ASEAN Corporation Governance Scorecard (ASEAN CG Scorecard) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อให้เป็นองค์กรโปร่งใสตรวจสอบได้ สร้างความเชื่อมั่น และไว้วางใจให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ในปี 2559 บริษัทฯ ได้รณรงค์ส่งเสริมการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดีอย่างสม่ำ�เสมอ โดยคณะกรรมการฯ ได้วางแผน กำ�หนด กลยุทธ์ และนโยบายต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้บริษัทฯ พัฒนา และยกระดับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ให้เข้มข้นขึ้นสู่ระดับ สากล สู่เป้าหมายระยะยาวที่บริษัทฯ วางไว้ในการเป็น บรรษัทพลเมืองโลกที่ดี (Good Corporate Citizenship) ส่งผลให้บริษัทฯ ได้รับการยอมรับว่ามีระบบการกำ�กับดูแล ที่ดีที่มีมาตรฐานในระดับสากล และได้รับผลการประเมิน และ รางวัลเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีทั้งระดับประเทศและ ต่างประเทศ อาทิ การเป็นสมาชิก Dow Jones Sustainability Index กลุม่ Oil & Gas Refining and Marketing 3 ปีตอ่ เนือ่ ง รางวัล SET Sustainability Awards 2016 ระดับดีเด่นจาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รางวัลองค์กรลงทุนหรือ สนับสนุนความยั่งยืนของไทย ประจำ�ปี 2559 (Thailand Sustainable Investment 2016) Certificate of ESG 100 Company โดยสถาบันไทยพัฒน์ รางวัล The Winner of the “Golden Peacock Global Award for Excellence in Corporate Governance 2016” จากสถาบัน Institute of Directors (IOD) ประเทศอินเดีย เป็นต้น
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
151
นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมุ่งเน้นการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีแก่ กรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงาน อาทิ การอบรมเรื่องการต่อต้านคอร์รัปชันในหัวข้อ การใช้ดุลยพินิจในการทำ�งานภายใต้จริยธรรม จัดกิจกรรม เสริมสร้างจริยธรรมในการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหารและพนักงาน เช่น IRPC CG DAY และเน้นแนวทางการสร้างเครือข่าย หรือ แนวร่วมกับองค์กรธุรกิจต่างๆ อาทิ การเป็นผู้ร่วม ก่อตั้งเครือข่ายประชาคมโลก UNGC ประเทศไทย: UNGC Network Thailand (GCNT) เป็นต้น (รายละเอียดการดำ�เนินงานด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ปรากฎใน รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 42-68)
5. ด้านการบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ มุ่งเน้นการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร โดย กำ�หนดเป็นนโยบายเพื่อให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานทุกระดับ นำ�ไปปฏิบัติอย่างเคร่งครัด โดยบริษัทฯ ได้จัดตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Steering Committee) ซึ่งมีกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่เป็นประธาน และคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management Committee) ซึ่งมีคณะกรรมการ ที่ ไ ด้ รั บ คั ด เลื อ กและแต่ ง ตั้ ง จากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ อย่างน้อย 3 ท่าน ทำ�หน้าที่กำ�หนดนโยบาย กำ�กับดูแลการ บริ ห ารความเสี่ ย งขององค์ ก ร เพื่ อ ลดให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ ยอมรับได้ สร้างความเชื่อมั่นต่อผู้มีส่วนได้เสียในการบรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่กำ�หนดไว้ รวมทั้งส่งเสริมและปลูกฝัง วัฒนธรรมในการบริหารความเสี่ยงให้ผู้บริหารและพนักงาน มีความตระหนัก มีความรู้และความเข้าใจในการนำ�กรอบ และมาตรฐานที่กำ�หนดไว้ไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ สรุปการดำ�เนินงานด้านการบริหารความเสี่ยงที่สำ�คัญ ดังนี้ 5.1 ความเสี่ยงจากการผันผวนของราคาวัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์ (Price Volatility Risk) จากแนวโน้มราคาน้ำ�มันดิบยังคงผันผวนอย่างมาก ภาวะ เศรษฐกิจที่ชะลอตัวของโลก รวมถึงเหตุการณ์ความไม่สงบ และการก่อการร้ายในหลายพื้นที่ แนวทางการลดความเสีย่ ง: บริษทั ฯ ดำ�เนินความร่วมมือกับ บริษัทในกลุ่ม ปตท. อย่างต่อเนื่องเพื่อลดต้นทุนจากการใช้ น้ำ�มันดิบจากแหล่งในประเทศมากขึ้น การบริหารจัดการ สิ น ค้ า คงคลั ง ให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ เ หมาะสม การปรั บ ปรุ ง เครือ่ งมือในการบริหารการผลิต การเพิม่ ประสิทธิภาพในการ วางแผนการซื้อวัตถุดิบ การผลิตและการขายผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ บริษัทฯ มีกรอบนโยบายในการทำ�สัญญาซื้อขาย ตราสารอนุพนั ธ์โดยมีการกำ�หนดเป้าหมายของราคา ปริมาณ และระยะเวลาในการดำ�เนินการบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม และสอดคล้ อ งกั บ แผนธุ ร กิ จ ภายใต้ ก ารกำ � กั บ ดู แ ลของ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงด้านห่วงโซ่อุปทานและ ด้านการเงิน (Hedging Committee) และคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) 5.2 ความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน (Foreign Currency Exchange Risk)
152
ส่งผลต่อรายได้ ต้นทุนวัตถุดิบ และเงินกู้เพื่อใช้ลงทุนใน โครงการต่างๆ เป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ แนวทางการลดความเสี่ยง: บริษัทฯ มีแนวทางการบริหาร ความเสี่ยงโดยจัดสัดส่วนเงินกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ ให้สอดคล้องกับโครงสร้างรายได้ของบริษทั ฯ รวมถึงการบริหาร จัดการสัดส่วนและเงือ่ นไขการจัดซือ้ น้�ำ มันดิบ เช่น การชำ�ระเงิน ค่าน้ำ�มันดิบจากการใช้เงินเหรียญสหรัฐฯ มาเป็นเงินบาท ซึง่ จะช่วยลดความผันผวน หรือการขายสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ ล่วงหน้าเพื่อรองรับการชำ�ระค่าใช้จ่ายที่เป็นสกุลเงินบาท 5.3 ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operation Risk) จากกระบวนการผลิต หรือกระบวนการสนับสนุนการผลิต โดยอาจส่งผลกระทบต่อทรัพย์สิน บุคลากร และสูญเสีย โอกาสในการสร้างรายได้ โดยบริษทั ฯ มีแนวทางในการบริหาร ความเสี่ยงที่สำ�คัญ ดังนี้ 5.3.1 ความไม่พร้อมในการผลิตของโรงงานหรือการหยุด ชะงักของการผลิตโดยไม่ได้วางแผนล่วงหน้า (Plant Reliability Risk) จากการที่หน่วยผลิตมีอายุการใช้งานมายาวนานและ ดำ�เนินการผลิตอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้เครื่องจักรและอุปกรณ์ เสื่อมสภาพหากไม่ได้รับการบำ�รุงรักษาที่ดีเพียงพอ แนวทางการลดความเสีย่ ง: บริษทั ฯ ดำ�เนินมาตรการในการ บริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง จากโครงการปรับปรุง และ พัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องจักรและอุปกรณ์โดย มีโครงการย่อย เช่น โครงการเพิ่มเสถียรภาพการผลิตเพื่อ ไม่ให้เกิดการหยุดการผลิตโดยไม่ได้วางแผนล่วงหน้า (Zero Unplanned Shutdown) การตรวจสอบสภาพของเครือ่ งจักร และอุ ป กรณ์ ข องโรงงานอย่ า งทั่ ว ถึ ง ในจุ ด เสี่ ย งต่ า งๆ การวางแผนและบริหารจัดการการซ่อมบำ�รุงใหญ่ของโรงงาน (Turnaround Management) ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยการประสานงานอย่างใกล้ชิดกับผู้รับเหมา รวมถึงการ ดำ�เนินงานตามโครงการบริหารจัดการระบบปฏิบัติการที่ เป็นเลิศ (Operational Excellence Management System) 5.3.2 ความไม่ปลอดภัยต่อชีวติ ของพนักงาน ผูร้ บั เหมา และผู้รับจ้างจากภายนอก (Safety Risk) ซึ่งมักเกิดจาก ความประมาท การไม่ตระหนักถึงความปลอดภัย หรือความรู้ ของผู้ปฏิบัติงานไม่เพียงพอ แนวทางการลดความเสี่ยง: บริษัทฯ ดำ�เนินการส่งเสริม วัฒนธรรมด้านความปลอดภัยโดยกำ�หนดเป็นนโยบาย และ ดำ�เนินการในกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการบริหารจัดการ กระบวนการด้านความปลอดภัยให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล (Process Safety Management) โครงการ Safety Excellence โดยอบรมให้ความรูแ้ ละสร้างความตระหนักด้านความปลอดภัย ให้กับพนักงานทุกระดับ ผู้รับเหมาและ ผู้รับจ้าง โครงการ พัฒนา Outsource Safety Man โครงการควบคุมผูร้ บั เหมา ให้ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบความปลอดภัย นอกจากนี้ ได้มกี าร จัดตัง้ ทีมงานตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามระเบียบความปลอดภัย อย่างเข้มงวด และในกรณีที่เกิดเหตุแล้ว บริษัทฯ จะจัดตั้ง คณะกรรมการสอบสวน เพื่อหาสาเหตุ จัดทำ�เป็นองค์ความ รูแ้ ละถ่ายทอดให้กบั พนักงาน เพือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดเหตุซ�้ำ อีก
5.3.3 การดำ�เนินโครงการลงทุน (Capital Projects Risk) ในโครงการขยายกำ�ลังการผลิตโพลิโพรพิลนี เพือ่ สร้างมูลค่า เพิ่มให้บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตรายใหญ่อันดับ 1 ในประเทศ แนวทางการลดความเสี่ยง: บริษัทฯ บรรจุโครงการลงทุน สำ�คัญเข้าเป็นความเสี่ยงระดับองค์กร เพื่อติดตามความ คืบหน้าในการดำ�เนินงานอย่างใกล้ชดิ และแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ได้อย่างทันท่วงที และให้มนั่ ใจว่าการดำ�เนินโครงการสามารถ บรรลุเป้าหมายในทุกมิติ ได้แก่ ระยะเวลาการดำ�เนินโครงการ การบริหารงบประมาณ คุณภาพของโครงการ ความปลอดภัย และความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ และชุมชนอย่างต่อเนือ่ ง 5.3.4 ความเสีย่ งด้านสิง่ แวดล้อมและชุมชน (Environmental and Community Risk) จากที่หน่วยผลิตของบริษัทฯ ตั้งอยู่ใกล้แหล่งชุมชน หากไม่มีระบบการควบคุมที่ดีอาจ ส่งผลกระทบต่อชุมชนใกล้เคียงได้ แนวทางการลดความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม: บริษัทฯ มุ่งเน้นการดำ�เนินกิจการภายใต้กฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ ด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม มาตรฐานระบบจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย มอก./OHSAS 18001 และ มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 อย่าง เคร่งครัด การบริหารจัดการเพื่อลดสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) การตรวจเฝ้าระวังในจุดเสี่ยงต่างๆ โดยดำ�เนินการ ในเชิงรุก แม้จะมีค่าต่ำ�กว่ามาตรฐาน รวมถึงการมีทมี งาน ที่ส ามารถเข้ า ไปวิ เ คราะห์ แ ละแก้ ไ ขได้ ทัน ที ห ากพบค่ า การตรวจวัดที่สูงขึ้นผิดปกติ และการร่วมมือกับกรมโรงงาน อุตสาหกรรมในการพัฒนาเป็นเขตประกอบการเชิงนิเวศ แนวทางการลดความเสีย่ งด้านชุมชนและสังคม: บริษทั ฯ ดำ�เนินการเพือ่ สร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์อนั ดีอย่าง ต่อเนื่องสม่ำ�เสมอ เช่น การสร้างและบูรณะสาธารณูปโภค ต่างๆ การสนับสนุนผูป้ ระกอบการท้องถิน่ การให้ทนุ การศึกษา การสร้างความเข้าใจในการดำ�เนินกิจการของบริษัทฯ โดยมี โครงการเปิดบ้านสานสัมพันธ์ (Open House) การดำ�เนินงาน ศูนย์ประสานงานภาคสนามเพือ่ ลงพืน้ ทีใ่ นกิจกรรมของชุมชน ตลอดจนการร่วมซ้อมแผนฉุกเฉินกับชุมชนและหน่วยงานภาครัฐ 5.4 ความเสี่ยงในการพัฒนาศักยภาพองค์กร (Organizational Capability Risk) จากการบริหารงานและการปฏิบัติงานของพนักงานที่ต้อง พัฒนาและปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับทิศทางกลยุทธ์และ สถานการณ์ทางธุรกิจในปัจจุบัน แนวทางการลดความเสี่ยง: บริษัทฯ ดำ�เนินการเพื่อเสริม สร้างความแข็งแกร่งและความเป็นเลิศด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคลและพัฒนาขีดความสามารถขององค์กร ได้แก่ การพัฒนาศักยภาพของพนักงาน การพัฒนาระบบบริหาร ผลการปฏิบัติงาน ระบบการบริหารความก้าวหน้าในอาชีพ รวมถึงการปรับปรุงโครงสร้างขององค์กรให้สามารถแข่งขันได้ 5.5 ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ฉุกเฉินและภาวะวิกฤต ที่อาจส่งผลกระทบต่อความสามารถในการดำ�เนินธุรกิจ อย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Risk)
จากภั ย คุ ก คามหลายประเภทที่ อ าจส่ ง ผลกระทบทำ � ให้ ธุรกิจเกิดการหยุดชะงักได้ เพื่อช่วยลดความสูญเสีย ปกป้อง ภาพลักษณ์ชื่อเสียง และกิจกรรมสำ�คัญทางธุรกิจ แนวทางการลดความเสี่ยง: บริษัทฯ ได้นำ�มาตรฐานและ ระบบการบริหารความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ Business Continuity Management (BCM) มาใช้ โดยมีการจัดทำ�แผนความต่อเนือ่ ง ทางธุรกิจ Business Continuity Plan (BCP) อย่างเต็มรูปแบบ รวมถึงดำ�เนินการซ้อมแผน โดยนำ�มาตรฐานสากล ISO 22301 มาใช้เป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมเพือ่ รองรับ วิกฤตการณ์ต่างๆ 5.6 ความเสี่ยงใหม่ ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต (Emerging Risk) ใน 3-5 ปีขา้ งหน้า จากการเมือง เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม กฎหมาย เทคโนโลยี และอื่นๆ ได้แก่ 5.6.1 ความเสี่ยงจากการกำ�หนดเขตการค้าเสรีและ กฎระเบียบทางการค้าทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป เช่น Trans-Pacific Partnership (TPP) บริษัทฯ อาจสูญเสียโอกาสทางธุรกิจ และตลาดการค้าที่มีอยู่ในปัจจุบัน แนวทางการลดความเสี่ยง: บริษัทฯ ติดตามข้อมูลและ วิเคราะห์ถึงความเป็นไปได้ของการเกิดเขตการค้าเสรีและ กฎระเบียบใหม่ที่จะเกิดขึ้นอย่างใกล้ชิด ศึกษาผลกระทบ ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ต่ ล ะชนิ ด ที่ ผ ลิ ต และจำ � หน่ า ยรวมทั้ ง พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องและเป็นไปตามกฎระเบียบ ที่เปลี่ยนแปลงไป และสนับสนุนการวิจัยผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 5.6.2 ความเสีย่ งจากการลดลงของก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย (Natural Gas Risk) บริษัทฯ อาจได้รับผลกระทบจาก การขาดสาธารณูปโภคในสายการผลิต ทำ�ให้ต้องลดกำ�ลัง การผลิตหรือหยุดสายการผลิต แนวทางการลดความเสีย่ ง: บริษัทฯ ร่วมมือกับกลุ่ม ปตท. ในการวางแผนจัดสรรก๊าซธรรมชาติในกรณีเกิดการขาดแคลน รวมถึงจัดทำ�แผนการนำ�เข้าก๊าซธรรมชาติจากต่างประเทศ โดยมีหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทำ�การศึกษาแนวทางลดผลกระทบ จากต้นทุนที่อาจเพิ่มขึ้นต่อไป
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
153
โครงการ EVEREST
โครงการ EVEREST เป็นโครงการตามกลยุทธ์ของบริษทั ฯ เพือ่ ขับเคลือ่ นให้บริษทั ฯ บรรลุวสิ ยั ทัศน์ “บริษทั ปิโตรเคมีชนั้ นำ�ของ เอเชีย ภายในปี 2563” โดยโครงการ EVEREST คือยุทธศาสตร์ สำ�คัญในการยกระดับศักยภาพขององค์กร ผนวกกับการพัฒนา องค์กรและบุคลากร ด้วยการนำ�ระบบงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) จากที่ปรึกษาชั้นนำ�ระดับโลก มาใช้กับบริษัทฯ โครงการฯ เริ่มดำ�เนินการตั้งแต่ปลายปี 2558 เริ่มต้นด้วย การประเมินและวิเคราะห์หาแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพ กระบวนการทำ�งาน ปรับปรุงกระบวนการผลิตและการบริหาร จัดการองค์กร เพื่อนำ�มากำ�หนดยุทธศาสตร์์และแผนงาน โดยโครงการครอบคลุมการดำ�เนินงานใน 5 ด้านหลัก ได้แก่ การผลิต (Operation) การตลาดและการขาย (Commercial) การจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement) การบริหารจัดการด้าน ภาพรวมองค์กร (Corporate) และการพัฒนาสุขภาพองค์กร (Organization Health) ด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการ จัดการด้านงานบุคคลในทุกมิติ กระตุ้นให้เกิดการพัฒนา ตนเอง รวมถึงการสร้างกระบวนการทางความคิด (Mindset) ค่านิยมองค์กร (Core Value) และวัฒนธรรมองค์กร ซึง่ จะทำ� ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มศักยภาพและเป็นไป ในทิศทางเดียวกัน
ในปัจจุบัน โครงการฯ มีแผนงาน (Initiatives) รวมกว่า 800 แผนงาน ในปี 2559 โครงการฯ สามารถสร้างกำ�ไร ส่วนเพิ่ม (EBIT) ให้กับบริษัทฯ จำ�นวน 2,311 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 68 ของค่าเป้าหมายทีไ่ ด้ตงั้ ไว้ที่ 3,416 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ณ สิน้ เดือนธันวาคม 2559 โครงการฯ สามารถ บรรลุแผนงานที่จะส่งผลต่อการสร้างกำ�ไรส่วนเพิ่ม (EBIT) จำ�นวน 5,827 ล้านบาทต่อปี ซึ่งจะส่งผลต่อ EBIT ในปี 2560 เต็มปี ทัง้ นี้ โครงการ EVEREST ได้ตงั้ ประมาณการเป้าหมายกำ�ไร ส่วนเพิม่ (EBIT) ที่ 6,765 ล้านบาท ในปี 2560 และจะสามารถ สร้างผลกำ�ไรส่วนเพิม่ (EBIT) อย่างเต็มศักยภาพทีร่ ะดับ 10,500 ล้านบาท ในปี 2561 ประกอบกับเป้าหมายพัฒนาสุขภาพองค์กร (Organization Health Index) เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ Top Quartile ที่ระดับ > 74 คะแนน ตามที่ได้กำ�หนดไว้ในแผนงาน ซึ่งจะ ส่งผลให้บริษทั ฯ สามารถบรรลุเป้าหมายอัตราส่วนผลตอบแทน ต่อการลงทุน (ROIC) มากกว่าร้อยละ 14 สูร่ ะดับ Top Quartile ภายในปี 2563 เพือ่ ให้ศกั ยภาพในการทำ�กำ�ไรส่วนเพิม่ ดำ�รง ไว้อย่างยั่งยืน
2016
BASECAMP
154
CAMP 1 (19,500 ft)
HEIGHT
2020
2019
2018
(29,029 ft)
EBITDA 29,029 MTHB
CAMP 4 (26,300 ft)
CAMP 3 (23,500 ft)
CAMP 2
2017
(21,000 ft)
ผลการดำเนินงานป 2559
ผลการดำเนินงาน
เป าหมาย ป 2559
1,091
2,083
778
549
การจัดซื้อจัดจ าง (Procurement area)
277
399
การบร�หารจัดการด านภาพรวมองค กร (Corporate area)
165
385
2,311
3,416
70
≥74
ด านประสิทธ�ภาพ (Performance) การผลิต (Operations area)
(ล านบาท)
(ล านบาท)
เพิ่มประสิทธ�ภาพจากผลิตภัณฑ น้ำมันดิบและเพิ่มผลตอบแทนโดยการปรับหน วยผลิต เพิ่มประสิทธ�ภาพการใช พลังงาน และปรับปรุงประสิทธ�ภาพของการบำรุงรักษา รวมทั้ง ลดการสูญเสียจากการดำเนินงาน เพิ่มประสิทธ�ภาพในเร�่องระยะเวลาและค าใช จ ายของการหยุดดำเนินงานของหน วยกลั่น ป โตรเลียม เพื่อทำการตรวจสอบและบำรุงรักษาอุปกรณ
การตลาดและการขาย (Commercial area) เพิ่มการสร างมูลค าการค าจากการกลั่นป โตรเลียมและผลิตภัณฑ ป โตรเคมี เพิ่มประสิทธ�ภาพการจัดซ�้อจัดจ างอุปกรณ ที่มีจำนวนมาก รวมทั้งสินค าที่มีค าใช จ ายสูง พัฒนาข�ดความสามารถในการรักษาประสิทธ�ภาพในการบร�หารค าใช จ ายของบร�ษัทฯ
รวม ด านสุขภาพองค กร (Organization Health) การพัฒนาสุขภาพองค กร (Organization Health Index) พัฒนาศักยภาพบุคลากรทั่วทั้งองค กร โดยมีเป าหมาย 1st Quartile (OHI Score) > 74 คะแนน
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
155
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
บริษทั ฯ ดำ�เนินงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้อง กับแผนกลยุทธ์องค์กร มุ่งพัฒนาศักยภาพของพนักงานใน ทุกระดับและทุกสายงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อเสริมสร้างความ สามารถของทรัพยากรบุคคลให้เตรียมรับมือกับความท้าทาย ที่มาพร้อมกับโอกาสในการเติบโตทางธุรกิจ โดยกำ�หนด วิสยั ทัศน์ของงานทรัพยากรบุคคล มุง่ สร้างให้เกิดความเป็นเลิศ ในการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยสร้างสุขภาพองค์กรที่มี ความสามารถและแรงจูงใจพนักงาน (Healthy Organization with Capable and Motivated Staffs) เพื่อเป็นการ เพิ่มขีดความสามารถในการขับเคลื่อนธุรกิจของบริษัทฯ และเป็นการวางรากฐานการดำ�เนินธุรกิจทีย่ งั่ ยืนให้แก่องค์กร ในปี 2559 บริษัทฯ ได้กำ�หนดยุทธศาสตร์ในการบริหาร ทรัพยากรบุคคลและนโยบายในการพัฒนาพนักงาน โดยมี พันธกิจ 4 ด้าน ได้แก่
1. ด้านโครงสร้างองค์กร (Effective Organization Structure)
156
มีการสานต่อการทบทวนโครงสร้างองค์กรแต่ละหน่วยงาน ที่เริ่มขึ้นในปี 2558 เช่น ปรับโครงสร้างการบริหารจัดการ หน่วยงานวิจัยผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับ กลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจ โดยปรับปรุงคำ�อธิบาย ลักษณะงาน ใบพรรณนาหน้าที่งาน (Job Description) และหน้าที่ความ รับผิดชอบของหน่วยงาน (Functional Description) ให้มี ความชัดเจนมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ลดความซ้�ำ ซ้อนในการดำ�เนินงาน และเพิม่ ประสิทธิภาพในการสรรหาบุคลากรทีม่ คี ณ ุ สมบัตแิ ละ ประสบการณ์ที่สอดคล้องกับงาน เพื่อพัฒนาศักยภาพของ บุคลากรแต่ละธุรกิจให้สามารถได้รบั การพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง และด้าน Work Force Management ไออาร์พีซี มีอัตรา กำ�ลังคนปัจจุบันมากกว่า 5,000 คน บริษัทฯ มีนโยบาย และแนวทางในการบริหารจัดการอัตรากำ�ลังคนให้สอดคล้อง
กับภารกิจของหน่วยงานซึ่งกำ�หนดให้มีความกระชับยิ่งขึ้น เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร ในภาระกิจทีเ่ พิม่ ขึน้ หากสามารถจัดสรรพนักงานเดิมให้ท�ำ งาน เพิม่ ขึน้ ได้กใ็ ห้ด�ำ เนินการซึง่ เป็นประโยชน์ตอ่ ทัง้ องค์กรและต่อ พนักงาน เป็นการเสริมสร้างศักยภาพในงานใหม่ๆ เพือ่ เติบโต ต่อไป และมีการเตรียมความพร้อมการสรรหาพนักงานใหม่ สำ�หรับหน่วยงานทีม่ คี วามต้องการกำ�ลังคนเพิม่ เช่น กลุม่ งาน Operation อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ด้านระบบบริหารทรัพยากรบุคคล 2.1 ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System) ประกอบด้วย การกำ�หนดเป้าหมายประจำ�ปี (KPI) ของแต่ละ หน่วยงานอย่างมีเหตุผลและผ่านการพิจารณาร่วมกันหลาย ฝ่าย ในลักษณะของการประชุมหารือและสรุปร่วมกัน (Workshop) มีการประเมินตนเองการติดตามผลการปฏิบัติงานกลางปี และปลายปี มีการพูดคุยหารือกันระหว่างหัวหน้างานกับ พนักงานอย่างสม่ำ�เสมออย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง (One on One Dialogue) ซึง่ เป็นไปตามแนวทางของทีป่ รึกษาโครงการ Everest ทำ�ให้เกิดความเข้าใจตรงกัน มุ่งเน้นการพัฒนา ระบบและเครือ่ งมือทีส่ ะท้อนความเป็นจริงอย่างเป็นธรรม และ จัดให้มขี นั้ ตอนเปรียบเทียบผลการปฏิบตั งิ านของแต่ละสายงาน (Round Table) ทัง้ นี้ ผลการประเมินจะนำ�ไปใช้ประกอบในการ พิจารณาผลตอบแทนประจำ�ปี เช่น การปรับขึน้ เงินเดือนประจำ�ปี ตามนโยบายค่าตอบแทนและผลประกอบการของบริษัทฯ 2.2 ระบบค่าตอบแทนและสวัสดิการ (Compensation) บริษทั ฯ มีนโยบายทบทวนการบริหารค่าตอบแทนและสวัสดิการ แก่พนักงานอย่างครบถ้วนตามกฎหมาย และเทียบเคียงกับ กลุ่มธุรกิจเดียวกันและแข่งขันได้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้
Leading Integrated Petrochemical Complex in Asia by 2020
HR Excellence ‘Healthy Organization with Capable and Motivated Staffs’ Effective Organization Structure • Review role & responsibility • Work Force Management
Employee Enablement
Leadership Development
IRPC Core Value
• PMS • Compensation • Career Management • Learning&Development • Competencies • Recruitment and Selection • HRIS
• Focus on Core function • Business Driven Role • Change management skill • People development skill • Role model
• Embed new core value "i SPIRIT" for new IRPC culture sustainability • New DNA
Change management Change / Communication / Consultation Process / HRIS Attitude / Accountability / Competency HR internal capability People manager’s role & responsibilities Employee Engagement / Talent Retention
GE CCL/SASIN/NIDA-Wharton/EDP • Management Development (TMA)
Strategic (PG 13 ขึ้นไป) Managerial (PG 9-12) P MLeaDding ) Supervisory (L ange (PG 7-8) Ch r o is ent v r e Supelopmm Operational DevPrognrgaTeam) (PG 3-6) t i d n a e e (L m p o l eve am ) ior D ogr Self Jun Preading
EX-LDP Executive Leadership Development Program
&
ess
sin
Bu
(Leading Business)
&
Tec hn ica
l
hip
ers
ent
F T unc แต ล echnic tional ะกล al C & ุ มมีค our วามช se ำนาญ
m op vel
De
2.4 ระบบการเรียนและพัฒนาบุคลากร (Learning & Developmen) บริษัทฯ มีนโยบายให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาผู้บริหาร และพนักงานตามกรอบการพัฒนาบุคลากรของบริษัทฯ มีการทบทวนหลักสูตรมาตรฐานของตำ�แหน่ง (Training Roadmap) ที่จำ�เป็นในการฝึกอบรม โดยได้จัดทำ� “คู่มือ การเรียนรู้และพัฒนาบุคลากร” ซึ่งอธิบายถึงกรอบการ
GLDP Group Leadership Development Program
d Lea
2.3 ความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Management) เป็นระบบสำ�คัญในการวางทิศทางและเป้าหมายด้านการพัฒนา และเตรียมความพร้อมของบุคลากรให้สอดรับกับทิศทาง การเจริญเติบโตของบริษัทฯ ในระยะยาว บริษัทฯ ได้พัฒนา ระบบการบริหารสายอาชีพให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยได้ มีการทบทวนกลุ่มความชำ�นาญ (Capability Cluster) และ จัดทำ�กลุ่มความชำ�นาญย่อย (Sub Cluster) รวมทั้งคณะ กรรมการกลุม่ ความชำ�นาญในสายอาชีพ (Capability Cluster Committee: CCC) ให้เป็นปัจจุบันตามโครงสร้างองค์กร ที่เปลี่ยนแปลงไป และมีการจัดทำ� คุณสมบัติตามตำ�แหน่ง งานและประสบการณ์ (Career Experience) จัดทำ�การ ประเมินความคาดหวังในศักยภาพ (Current Estimated Potential: CEP) ทุกคน ซึ่งเป็นบริษัทเดียวในกลุ่ม ปตท. ที่ใช้แนวทางที่เป็นหนึ่งในการเตรียมความพร้อมเพื่อการ เติบโตของพนักงาน เพื่อใช้เป็นแนวทางการพัฒนาความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ให้มีความพร้อมตรงตาม คุณสมบัติของตำ�แหน่งงาน และสามารถสร้างความเติบโต ไปพร้อมกับองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
พัฒนาบุคลากรของบริษัทฯ ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ Fundamental Development, Functional & Technical Training, Leadership & Business Development ให้พนักงานและผู้บริหารใช้ เป็นแนวทางในการปฏิบัติ และส่งเสริมการพัฒนาให้บรรลุ เป้าหมายในการพัฒนาความรู้ ทักษะ และศักยภาพทุกด้าน ของพนักงานให้มีความพร้อม และเป็นฟันเฟืองที่สำ�คัญใน การผลักดันให้การทำ�งานบรรลุเป้าหมาย ดังรูป
on al
พนักงานมีคุณภาพชีวิตในการทำ�งานที่ดี จูงใจให้พนักงาน ปฏิบัติงานเต็มความสามารถ
Fun cti
MEANS
Resource, System
Initiatives
WAYS
END
Objectives
HR Vision & Strategy 2016 - 2020
(L
Fundamental Development IRPC Corporate Culture (i SPIRIT) - Corporate Governance (CG) Common Course
QSHE: Quality, Safety, Health, Environment English: Listening, Reading, Writing, Speaking
Specialized
SAP/ERP ON THE JOB TRAINING (OJT) : Specific (PM,IM)
Self Development
E-Learning/E-Book/IRPC Intranet (web)/Internet/KM
IRPC Orientation Program
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
157
โครงการพัฒนาภาวะผูน้ �ำ ผูบ้ ริหารระดับกลาง (Middle Management Leadership Program: MLDP) รุ่นที่ 7 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผู้บริหารระดับกลาง ให้มีความเข้าใจในบทบาทการดูแลและพัฒนาศักยภาพของพนักงานภายใต้ การดูแล ให้เกิดการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีความรับผิดชอบและ มีประสิทธิภาพโดยผู้เข้าร่วมโครงการจะมีโอกาสดำ�เนินโครงการที่ช่วยพัฒนา กระบวนการทำ�งาน การบริหารจัดการ และพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการสร้างนวัตกรรมเพื่อต่อยอดทางธุรกิจผ่านการศึกษา เรียนรู้ ดูงาน และ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกันในปี 2559 มีพนักงานเข้าร่วมโครงการ 72 คน และตั้งแต่เริ่มโครงการจนปัจจุบันมีพนักงานเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 440 คน ด้วยงบประมาณการอบรม 5.34 ล้านบาท สามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม จากการลดค่าใช้จ่ายและสร้างรายได้ 14.93 ล้านบาทต่อปี
นอกจากนัน้ ยังมีโครงการพัฒนาทักษะในการบริหารงานบุคคล ของผูบ้ ริหารด้วยโครงการพัฒนาภาวะผูน้ �ำ ตามหลักสูตรของ McKinsey (Lead Program) ที่ประกอบด้วยการแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบ (Problem Solving), การบริหารจัดการทีมงาน (Team Management) และการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ (Communication) เพือ่ สร้างองค์กรให้มปี ระสิทธิภาพสูง ตลอด จนพัฒนาระบบเพือ่ ให้หวั หน้างานและพนักงานร่วมกันจัดทำ� แผนพัฒนาพนักงานรายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) โดยมีการสือ่ สารระหว่างหัวหน้างานและพนักงาน ในการสรรหาแนวทางการพัฒนาตามแนวทาง 70:20:10 (Experience: Coaching: Formal Learning) ให้เหมาะสม ต่อความจำ�เป็นของพนักงานรายบุคคลอีกด้วย 2.5 ด้านการพัฒนาสมรรถนะพนักงาน (Competency) ได้ออกแบบสมรรถนะทางเทคนิค (Technical Competency) เพื่อเป็นกรอบการพัฒนาพนักงานให้มีความรู้ ทักษะ ความ ชำ�นาญ และประสบการณ์ในสายอาชีพต่างๆ รวมทั้งมีการ ทบทวนสมรรถนะผู้นำ� (Leadership Competency) เพื่อจะ นำ�ไปประเมินสมรรถนะด้านผู้นำ�และเสริมสร้างทักษะด้าน การบริหาร ทัง้ ในมุมมองด้านการเป็นผูน้ �ำ และด้านธุรกิจต่อไป
ด้านทรัพยากรบุคคล การพัฒนาศักยภาพพนักงาน และ การรักษาบุคลากรให้อยู่กับองค์กรในระยะยาว นอกจากนี้ ยังพัฒนาผู้บริหารทุกระดับให้มีความเข้าใจและแนวคิด ทีถ่ กู ต้องในการบริหารงานในเชิง “บทบาท” เพือ่ ผูบ้ ริหารนำ�ไป ปรับใช้ในการบริหารงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น โครงการพัฒนาผู้บริหารระดับกลาง (MLDP) สัมมนา “LEADERSHIP GREATNESS: Leading Organization Change” ระดับผู้จัดการ และหลักสูตร 7 Habits of Highly Effective People สำ�หรับผู้บริหารระดับผู้จัดการส่วนขึ้นไป เป็นต้น นอกจากนัน้ ยัง รวมทัง้ มีการประเมินภาวะผูน้ �ำ ระดับ บริหารในรูปแบบ 180 องศา เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนา ด้านความเป็นผู้นำ�ของผู้บริหารให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อีกด้วย
4. ด้านค่านิยมองค์กร i SPIRIT บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะปลูกฝังค่านิยมองค์กร i SPIRIT ซึ่งเริ่มประกาศใช้ในปี 2558 โดยกำ�หนดพฤติกรรมการ ทำ�งานหรือแบบแผนในการปฏิบัติของพนักงาน ให้มีความ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในองค์กร ตามค่านิยมองค์กร i SPIRIT ซึ่งจะช่วยให้องค์กรสร้างพลังขับเคลื่อนไปสู่ เป้าหมายตามวิสัยทัศน์ที่กำ�หนดไว้ นอกจากนี้ ได้ดำ�เนิน การเชื่อมโยงค่านิยมเข้ากับระบบการบริหารและพัฒนา
สัมมนา “LEADERSHIP GREATNESS: Leading Organization Change” ระดับ VP ในปี 2559 มีจ�ำ นวนผูเ้ ข้าอบรม 21 คน
3. ด้านการพัฒนาความเป็นผู้นำ� (Leadership Development) บริษัทฯ ตระหนักดีว่า ความสำ�เร็จขององค์กรเริ่มต้นจาก ความสามารถในการสรรหาและการรั ก ษาบุ ค ลากรที่ มี ศักยภาพไว้กับองค์กร บริษัทฯ จึงมุ่งมั่นในการเสริมสร้าง ศักยภาพของพนักงานโดยเฉพาะกลุ่ม ที่มีศักยภาพสูง (Talent & Successor) โดยมีแนวทางการบริหารจัดการ
158
อบรมหลักสูตร 7 Habits of Highly Effective People ระดับ DM-VP ในปี 2559 มีจ�ำ นวนผูเ้ ข้ารับการอบรม 20 คนต่อรุน่ รวมผูเ้ ข้าอบรม 100 คน
ทรัพยากรบุคคล อาทิ ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน ประจำ�ปี โดยประเมินพฤติกรรมในการทำ�งาน (Behavior) เพื่อนำ�ค่านิยมไปสู่การปฏิบัติงานที่เห็นได้ชัด ทั้งในผู้บริหาร และพนั ก งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและยั่ ง ยื น ตลอดปี 2559 พนักงานสายงานบริหารทรัพยากรบุคคลได้มโี ครงการลงพืน้ ที่ตามหน่วยงานต่างๆ เพื่อสื่อสารประชาสัมพันธ์กิจกรรม สนับสนุนค่านิยมองค์กรในแต่ละมิตใิ ห้พนักงานมีความเข้าใจ และสามารถแสดงพฤติกรรมที่องค์กรคาดหวังได้ตลอดไป
5. การประเมินผลงานด้านทรัพยากรบุคคล บริษัทฯ ได้วิเคราะห์ผลสำ�รวจดัชนีชี้วัดสุขภาพองค์กร โดยวัดความพร้อมขององค์กรใน 3 ด้าน และ 9 ปัจจัย ดังนี้ ปัจจัยที่แสดงออกถึงความพร้อมขององค์กรทั้ง 9 ปัจจัย มี องค์ประกอบดังนี้ 2015 Rosults
1. เป้าหมายขององค์กร (Direction) 2. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่การงาน (Accountability) 3. การประสานงานและการกำ�กับดูแลที่ดี (Coordination and Control) 4. การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม (External Orientation) 5. ความเป็นผู้นำ� (Leadership) 6. การเรียนรูแ้ ละสร้างนวัตกรรม (Innovation and Learning) 7. ประสิทธิภาพและขีดความสามารถขององค์กร (Capabilities) 8. แรงจูงใจ (Motivation) 9. วัฒนธรรมและค่านิยมองค์กร (Culture and Climate)
2016 Rosults (Pulso CheckX
69
701
Direction Direction 77 % Accountability 79%
External Orientation 62%
Direction
Accountability 78%
Coordination & control 60% Leadership 68%
Capabilities 79%
Innovation and Learning 68% Motivation 62%
Culture & Climate 70%
ความพร้อมขององค์กร 3 ด้าน ประกอบด้วย 1. ความสอดคล้องของเป้าหมายองค์กร บรรยากาศใน การทำ�งาน และวัฒนธรรมองค์กร 2. วิธีการดำ�เนินการภายในที่แข็งแกร่ง 3. ความสามารถในการรับรู้ความเปลี่ยนแปลงของ สภาวะแวดล้อม และสามารถสร้างประโยชน์จาก การเปลี่ยนแปลงได้ ในปี 2559 บริษัทฯ ได้เน้นการปรับปรุงการดำ�เนิน งานใน 3 ด้าน ได้แก่ Accountability, Performance Management (Coordination & Control) และ People Capability ได้มีการพัฒนากระบวนการเกี่ยวกับ Performance Management ใหม่ และเพิ่มขั้นตอน ที่สำ�คัญ เช่น Value tree KPI cascading, KPI Challenging, Performance Review (Feedback & Coaching) และการทำ� Performance Round Table
External Orientation
Coordination & control 69% Leadership
Capabilities 81%
Innovation and Learning
Motivation Culture & Climate
เพื่อ Evaluate & Grading และในช่วงปลายปี 2559 บริษทั ฯ ได้ด�ำ เนินการสำ�รวจสุขภาพองค์กรพบว่าปัจจัย ทีด่ �ำ เนินการพัฒนาทัง้ 3 ปัจจัยดังกล่าวมีคะแนนสูงขึน้ ตามที่คาดหมาย ผลดัชนีชี้วัดสุขภาพองค์กรที่ร้อยละ 70 ในปี 2559 ซึ่งสูงกว่าปี 2558 ที่อยู่ที่ร้อยละ 69 โดยพบว่า เมือ่ ทำ�การเปรียบเทียบกับบริษทั ชัน้ นำ�ระดับ สากลทั้งในและต่างประเทศ ปัจจัย Coordination & Control และ Accountability อยู่ในระดับ Top Quartile ซึง่ เป็นการสะท้อนถึงระบบการบริหารผลการ ปฏิบัติงาน (Performance Management System) และ Accountability ที่มีความทัดเทียมกับบริษัทชั้น นำ�ทั่วโลก ในขณะที่ปัจจัย Capability ยังคงอยู่ใน 3rd quartile ซึง่ บริษทั ฯ ได้ปรับปรุงพัฒนาระบบการบริหาร สมรรถนะ (Competency Management) ตลอดจนระบบ การเรียนรู้และพัฒนาบุคลากร (Learning & Development) รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
159
บริษัทฯ มุ่งมั่นดำ�เนินโครงการเพื่อสร้างความเป็นเลิศด้าน การบริหารทรัพยากรบุคคล โดยมีเป้าหมายดัชนีชวี้ ดั สุขภาพ องค์กรที่สูงขึ้นเป็นร้อยละ 73 ภายในปี 2561 นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้สำ�รวจความผูกพันของพนักงาน ต่อองค์กรด้วยปัจจัย 6 ด้านคือ Leadership (ภาวะผู้นำ�) Performance (การทำ�ให้บรรลุผลสำ�เร็จของงาน) Brand (การสร้างแบรนด์องค์กร) The Work (ปัจจัยเกี่ยวกับงานที่ ทำ�) The Basic (ปัจจัยพืน้ ฐานทีอ่ งค์กรมีให้กบั พนักงาน) The Company Practice (การปฏิบตั ขิ ององค์กรต่อพนักงาน) ผ่าน ตัวชี้วัด Say (การที่พนักงานพูดถึงองค์กร ต่อเพื่อนร่วมงาน
ผู้ที่อาจมาร่วมงานกับองค์กรในอนาคตและลูกค้าในทางที่ดี) Stay (การทีพ่ นักงานมีความปรารถนามุง่ มัน่ ทีจ่ ะทำ�งาน ร่วม ทุกข์ร่วมสุขกับองค์กร) Strive (การที่พนักงานมีความยินดี ที่จะทุ่มเท และทำ�งานเกินสิ่งที่องค์กรคาดหวังเพื่อให้ธุรกิจ ประสบความสำ�เร็จ) ซึ่งจากการสำ�รวจจากพนักงานจำ�นวน 3,672คน พบว่าคะแนนความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร เท่ากับ 77% ซึง่ อยูใ่ นระดับ Top Quartile เมือ่ เทียบกับบริษทั ชั้นนำ�ระดับโลก เหล่านี้เป็นการสะท้อนให้เห็นว่า การบริหาร บุคลากรของบริษทั ฯ มีความเป็นสากล สะท้อนให้เห็นศักยภาพ ของบริษัทฯ ในการเติบโต มีความสามารถและได้เปรียบเชิง การแข่งขันที่ยั่งยืน โดยบริษัทฯ จะยังคงมุ่งมั่นที่จะบริหาร บุคลากร อันเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่งอย่างต่อเนื่องต่อไป
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความผูกพันของพนักงาน •
การรับรู้ระดับความผูกพันในองค์กร ไม่สำ�คัญเท่ากับวิธีการที่ • จะทำ�ให้ความผูกพันดังกล่าวเพิ่มมากขึน้ ซึง่ ถือเป็นส่วนสำ�คัญ ของแนวคิดความผูกพันของเอออน ฮิววิท Engagement Drivers
Engagement Outcomes Brand
Leadership Brand
The Performance Work Experience
Company Practices
สิ่งที่เป็นส่วนสำ�คัญของแนวคิด คือการทราบถึงระดับความพึง พอใจในแต่ละปัจจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียงลำ�ดับความ สำ�คัญของแต่ละปัจจัยที่ต้องปรับปรุง โดยเชื่อมโยงกับผลกระ ทบที่มีต่อความผูกพัน และท้ายที่สุดจะเชื่อมโยงไปถึงผลลัพธ์ ทางธุรกิจขององค์กร
The Work The Basics
The Basics Company Practices • ความปลอดภัย • การสื่อสาร • ความหลากหลายและการ • ความสมดุลระหว าง งานและชีว�ตส วนตัว รวมกลุ ม • โครงสร างพื้นฐานขององค กร • การจัดการคนเก งและบุคลากร
Say
Leadership • ผู บร�หารระดับสูง Performance • โอกาสทางสายอาชีพ • การเร�ยนรู และการพัฒนา • การบร�หารผลการปฏิบัติงาน • หัวหน างานโดยตรง • การให รางวัลและการชมเชย The Work • การให ความร วมมือภายใน องค กร • การมอบอำนาจ/ อิสระในการทำงาน • ตัวงาน
Business Outcome Talent Retention Absenteeism Wellness
การจัดการคนเก ง • รักษาคนเก ง • ลดการขาดงาน • มีสุขภาพที่ดี
Operational Productivity Safety
ปฏิบัติการ • มีผลิตผล • มีความปลอดภัย
Customer Satisfaction NPS Retention
ลูกค า • มีความพึงพอใจ • มีความซื่อสัตย ต อ แบรนด • รักษาลูกค าไว ได
Financial Revenue/States growth Op. income/margin Total shareholder return
ด านการเง�น • มีการเติบโตด าน รายได /การขาย • TSR ที่ได รับ
Stay
Strive
ภาพรวมของผลการศึกษาความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร
Engage-O-Meter คะแนนความผูกพัน ณ ป จจุบัน เพื่อตั�งเป าหมายในอนาคตโดยพื้นฐานโมเดลผูกพันของ เอออน ผลการสำรวจพนักงานมีคะแนนความพึงพอใจ 77 % (3,672 คน จาก 4,773 คน) Driver
Botton Quartile
Moderate Zone
Current 77%
Engagement Distribution
160
Current
เมื่อมีโอกาส ข าพเจาจะบอกให ผู อื่นฟ งถึงเร�่องดีๆ ของการทำงานในองค กรนี้
78%
ข าพเจ าไม ลังเลที่จะแนะนำให เพื่อนที่กำลังมองหางานมาสมัครงานที่องค กร
77%
Stay
ข าพเจ าต องคิดหนัก หากจะลาออกจากองค กร
81%
ข าพเจ าแทบจะไม เคยคิดลาออกจากองค กรเพื่อไปทำงานที่อื่น
71%
Strive
องค กรทำให ข าพเจ ารู สึกว าอยากทำงานให ดีที่สุดในทุกวัน
73%
องค กรสร างแรงจูงใจให ข าพเจ าทำผลงานให ดีกว าการทำงานตามหน าที่ปกติ
62%
Say Top Quartile
Questions
การวิจัยและพัฒนาเพื่อความเป็นเลิศ
Advanced Materials Champion
Transformation IRPC R&D to beEXCELLENT and be CHAMPION of Advanced Materials
2015
Today
• Spend < 0.2% of revenue on R&D • 0.27 resource / product • 5% PhDs in R&D • Few Patents • <10% sales from new product • Ave CM for new product is 10-15%
ve
Mo c i g e
t
Stra
Increase Investment on R&D Resource Improve Rate of New Product Introduction • 30 new products from roadmap • >20% CM • Contribute 20% revenue
• Increase manpower from 81 to 169 • Invest in pilot scale facilities • Setup research excellence centers • Hire specialists for novel / niche research areas
Imbibe Culture of Innovation & Change
2025
• Consider autonomizing R&D function • Simplify process enabling innovation • Standardize definitions of novelty / specialty product • Link new product KPIs to all functions • Strengthen IP management
• Spend 2-3% of revenue in R&D • 4-5 R&D personnel per new product • Hire 30-50% PhDs in R&D team • File >10 patents per million USD spend • Get 15-25% of sales from New Products • At a 20-25% margin (10-15% premium) Source: F&S Benchmarking
การวิจัยและพัฒนาที่เป็นเลิศ (R&D Excellence) เป็นหนึ่ง ในกลยุทธ์ที่สำ�คัญของบริษัท สำ�หรับในปี 2559 ที่ผ่านมา เป็นการเน้นการดำ�เนินงานตามแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์และ เทคโนโลยี 10 ปี (10 Years R&D Product and Technology Roadmap) โดยมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรของ ศูนย์วิจัยผลิตภัณฑ์นวัตกรรม ให้สอดรับกับกลยุทธ์ที่วางไว้ โดยมีการแบ่งหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบออกเป็น งานบริหาร กลยุทธ์วจิ ยั และนวัตกรรม งานวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ และงานวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มมี ลู ค่าเพิม่ ซึง่ มีสดั ส่วน ของบุคลากรวิจัยแบ่งเป็น 10 : 20 : 70 และมีรายละเอียด ของงานต่างๆ ดังนี้ 1. งานบริหารกลยุทธ์วจิ ยั และนวัตกรรม (R&D Strategy & Open Innovation Management) ทำ�หน้าที่จัดทำ�แผนการ พัฒนาผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี (R&D Product & Technology Roadmap) และบริหารกลยุทธ์วิจัยและนวัตกรรมให้เป็นไป ตามเป้าหมาย รวมถึงการแสวงหาโอกาสใหม่ทางธุรกิจจาก การลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีผ่านกลไก Open Innovation โดยเน้นการส่งเสริมความร่วมมือทางการวิจัย และพัฒนากับสถาบันการศึกษาและหน่วยงานวิจยั ชัน้ นำ� เช่น สถาบันวิทยสิรเิ มธี ( VISTEC) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นต้น อีกทัง้ ยังสร้างความ
ร่วมมือกับศูนย์เพาะบ่มเทคโนโลยีทมี่ ศี กั ยภาพในระดับสากล ในการลงทุนใน Technology Startup Company ในปี 2559 บริษัทฯ ได้ให้ความสำ�คัญในการบริหารจัดการทรัพย์สินทาง ปัญญา โดยได้รับการจดทะเบียนสิทธิบัตรเพิ่มถึง 7 ฉบับ เป็นการเพิ่ม Intangible Asset ให้กับบริษัทฯ นอกจากนี้ ในส่วนของการเพิ่มขีดความสามารถของการนำ�ผลิตภัณฑ์ ใหม่ออกสู่ตลาด มีการนำ�โปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบจำ�ลอง ต่างๆ (Simulation Program) มาใช้ประโยชน์ในการ Scale up ผลิตภัณฑ์จากงานวิจัยในห้องทดลอง เป็นระดับงานวิจัย ต้นแบบ (Prototype) รวมถึงงานวิจัยโรงงานต้นแบบ 2. งานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ มีส่วนส่งเสริม งานวิ จั ย พั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมของกระบวน การผลิตและผลิตภัณฑ์ใหม่สำ�หรับอนาคต ของบริษัทฯ เป็น หลักสำ�คัญ โดยแสวงหาความร่วมมือการทำ�งานวิจัยและ พัฒนาร่วมกับสถาบันชั้นนำ�ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก ประเทศในแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ระยะกลางและยาวทีส่ ร้างขึน้ ภายใต้บริบทของ Mega Trend เราได้เปิดศักราชใหม่ของ การร่วมงานวิจยั กับองค์กรภายนอกต่างๆ (Open Innovation and Collaboration) จำ�นวน 11 โครงการ ซึ่งคาดหวังว่า จะช่วยให้สามารถบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่มีอยู่ในตลาดและกำ�ลังจะออกสู่ตลาดในอนาคต รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
161
3. งานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่ม เน้นการส่ง เสริมความร่วมมือ Cross Functional เช่นกับ ฝ่ายการตลาด ฝ่ายการผลิต ฝ่ายวิศวกรรม และฝ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวม ถึงการเพิ่มจำ�นวนนักวิจัย การพัฒนาขีดความสามารถของ นักวิจัย และการเพิ่มอุปกรณ์เครื่องมือการวิจัย ช่วยให้บริษัท สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้ตรงกับความต้องการของตลาด และรวดเร็วทันต่อความต้องการ เพือ่ ให้ได้ผลิตภัณฑ์ทมี่ ตี น้ ทุน ทีส่ ามารถแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความได้เปรียบเชิง แข่งขันสูง และเสริมศักยภาพงานวิจัยพัฒนาด้วยการพัฒนา ร่วมกับลูกค้า เพื่อให้งานวิจัยสำ�เร็จและสามารถผลิตออกสู่ ตลาดได้อย่างมีประสิทธิผล
162
จากแผนดังกล่าว จึงได้มีการเพิ่มบุคลากรด้านวิจัยในระดับ ปริญญาโทและปริญญาเอก สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถึง 20% เข้ามา เพือ่ การสนับสนุนกิจกรรมด้านวิจยั และพัฒนา อย่างต่อเนื่อง สำ�หรับงานวิจัยและพัฒนาตามแผนพัฒนา ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี 10 ปี
ผลิตภัณฑ์ ใหม่ในรอบปี 2559 บริษัทฯ ตระหนักถึงความสำ�คัญของการวิจัยและพัฒนา และกำ�หนดให้ R&D Excellence เป็นกลยุทธ์สำ�คัญเพื่อ การเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัทฯ กอรปกับความจำ�เป็น ที่ประเทศไทยจำ�เป็นต้องมีการวิจัยและพัฒนาเพื่อลดภาระ
การพึง่ พาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้เล็งเห็นถึง ความต้องการของการใช้วสั ดุทมี่ สี มบัตพิ เิ ศษทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ สูง จึงได้มกี ารวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษทีม่ คี ณ ุ สมบัติ เฉพาะ เหมาะสำ�หรับงานในอุตสาหกรรมต่างๆ เพือ่ ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า ดังเช่น 1. ผลิตภัณฑ์โพลิยูรีเทนโฟมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ได้ให้ความสำ�คัญอย่างยิ่งในเรื่องสิ่งแวดล้อม จึงได้ ทุ่มเทงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์โพลิยูรีเทนสูตรสำ�เร็จ ผสมสารทำ�ให้โฟมพองตัว (Blowing Agent) ชนิดใหม่ทไี่ ม่มี ส่วนผสมของสารไฮโดรคลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (Hydro Chloro Fluoro Carbon, HCFC) เป็นส่วนประกอบ เพิ่มความเป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีคุณสมบัติที่เหมาะสม สามารถ นำ�ไปใช้ในกระบวนการขึน้ รูปเป็นโฟมโพลิยรู เี ทนชนิดแข็งทีม่ ี คุณสมบัตกิ ารเป็นฉนวน (Insulator) ดีเยีย่ ม เหมาะสำ�หรับเป็น ฉนวนผนังอาคารต่างๆ ใช้งานง่าย ไม่กัดกร่อนเครื่องจักร โดยสารที่ทำ�ให้โฟมพองตัวชนิดใหม่นี้จะช่วยลดการทำ�ลาย ชัน้ บรรยากาศ เนือ่ งจากมีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษด้าน Zero Ozone Depletion Potential (ODP) และ Low Global Warming Potential (GWP) เป็นการสนับสนุนตามนโยบายของ ภาคอุตสาหกรรม โดยสารไฮโดรคลอโรฟลูโอโรคาร์บอน จะถู ก ห้ า มใช้ ใ นประเทศไทยและประเทศในแถบเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ในระยะเวลาอันใกล้ 2. GPPS เป็นพลาสติกชนิดเทอร์โมพลาสติกที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากมีคุณสมบัติเด่นในด้านความใส ได้รับความนิยม ในการนำ�มาใช้งานหลากหลายรูปแบบ ทัง้ เครือ่ งใช้ภายในบ้าน ของเด็กเล่น อุปกรณ์ไฟฟ้า อุปกรณ์ทางการแพทย์ บรรจุภณ ั ฑ์ อาหาร ซึง่ มีจดุ เด่นทีส่ ามารถมองเห็นอาหารทีบ่ รรจุอยูภ่ ายใน ได้อย่างชัดเจน GPPS เกรดใหม่ GP112 ซึ่งเป็นอีกหนึ่ง ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมทีม่ คี วามพิเศษนอกเหนือจากคุณสมบัติ ข้างต้น โดยการออกแบบโมเลกุลให้มีการกระจายตัวของ น้ำ�หนักโมเลกุลเป็นแบบแคบพิเศษ (Narrow Molecular weight Distribution) มีความสามารถในการไหลและ คุณสมบัติเชิงกลสูง มีเสถียรภาพต่อความร้อนสูงในระหว่าง การนำ�เม็ดพลาสติกไปขึ้นรูปในกระบวนการขึ้นรูปแผ่นชีท และระบบอัดขึ้นรูป (Sheet with inline thermoforming) ส่งผลให้สามารถขึ้นรูปได้อย่างรวดเร็ว (High productivity) แต่ใช้พลังงานน้อยลง ทำ�ให้ต้นทุนในการขึ้นรูปต่ำ�ลงและ ยังช่วยลดภาวะโลกร้อนอีกด้วย GP112 มีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสม ที่ใช้ทำ�บรรจุภัณฑ์อาหาร เช่น แก้วน้ำ�ต่างๆ ถ้วยไอศครีม บรรจุภณ ั ฑ์เบเกอรี่ บรรจุภณ ั ฑ์ผลไม้สด-แห้ง บรรจุภณ ั ฑ์ขนม ต่างๆ เป็นต้น
พื้นระบบ Post-Tension สำ�หรับงานก่อสร้าง
3. ผลิตภัณฑ์โพลิโพรพิลีนคอมโพสิต เกรด IWSR001X F041X เป็นพลาสติกเสริมแรงด้วยใยแก้ว (glass-reinforced plastic, GRP) เป็นวัสดุทมี่ คี วามแข็งแรงสูง สามารถทนการกัดกร่อน ของสารเคมีได้ดี น้�ำ หนักเบา มีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษให้สามารถทน ต่อสภาวะแวดล้อมและอุณหภูมิได้สูงถึง 150 ํC ที่ระยะเวลา 1,000 ชัว่ โมง โดยทีว่ สั ดุยงั คงสมบัตเิ ชิงกลทีด่ ี นอกจากนี้ ยังมี การพัฒนาเพือ่ ให้เป็นวัสดุ Low Gas Emission Reinforcement Polypropylene สำ�หรับอุตสาหกรรมยานยนต์ เนือ่ งจากปัจจุบนั ในแถบประเทศยุโรปและอเมริกาได้มีการกำ�หนดให้รถยนต์ มีการปลดปล่อย CO2 ออกสูบ่ รรยากาศได้ในปริมาณทีก่ �ำ หนด 4. ผลิตภัณฑ์โพลิโพรพิลนี คอมโพสิตเกรด 1111NRXGA6 เป็นการพัฒนาต่อยอดจากพลาสติกชนิดเสริมแรงด้วยใยแก้ว (glass-reinforced plastic, GRP) ให้สามารถทนทานต่อ การดัดงอเป็นอย่างดี และเพิ่มประสิทธิภาพความทนทาน ต่ อ แรงกระแทกได้ สู ง ขึ้ น โดยวั ส ดุ ค อมโพสิ ต ชนิ ด นี้ ไ ด้ ออกแบบมาให้มีเหมาะสมกับการใช้งานภายนอก (Outdoor application) ซึง่ สามารถทนต่อสภาพอากาศ ความชืน้ สารเคมี และการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ เหมาะสำ�หรับขึ้นรูป โดยเทคนิคการฉีดเข้าแม่พิมพ์ วัสดุชนิดดังกล่าวได้ถูกนำ�ไป ใช้งานด้าน Construction Material โดยสามารถใช้งานได้ ทั้งแบบบนพื้นดินและใต้ดิน ซึ่งตอบโจทย์การใช้งานของ ลูกค้าได้ตรงจุดและมีประสิทธิภาพสูง 5. Dust-Free & UV Resistant Polypropylene Block-copolymer ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการใช้งานในงานฉีด ขึน้ รูป (Injection Molding) ประกอบด้วย 2 เกรด ได้แก่ 2348NC (MFI 10) และ 2548SC (MFI 30) เพื่อให้ครอบคลุมความ ต้องการใช้งานที่หลากหลาย โดยผลิตภัณฑ์ถูกออกแบบ ให้มคี า่ surface resistivity = 1011 ohm/sq. สามารถป้องกัน การเกิดไฟฟ้าสถิตซึ่งเป็นต้นเหตุของการสะสมฝุ่นละออง บนพื้นผิวของผลิตภัณฑ์ รวมถึงคุณสมบัติการทนต่อรังสี UV ช่วยยืดอายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์ ช่วยเพิ่มมูลค่าของ สินค้า และดึงดูดผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
163
มอบกรวยยางจราจรผสมยางธรรมชาติ 35% ให้กองบังคับการตำ�รวจภูธร จังหวัดระยอง ในโอกาสผู้ถือหุ้นเยี่ยมชมโรงงาน และสำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี
6. Styrene Vulcanized Natural Rubber (S-VNR) บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตเม็ดพลาสติกแบบครบวงจร ซึ่งมีการ ผลิต HIPS (High Impact Polystyrene) และ ABS โดย ในการผลิตเม็ดพลาสติก HIPS และ ABS มีการใช้ยาง สังเคราะห์เป็นส่วนหนึ่งของวัตถุดิบ ซึ่งบริษัทฯ มุ่งมั่นที่ จะพัฒนากระบวนการผลิตให้เป็นมิตรแก่สิ่งแวดล้อม และ ตอบแทนแก่สังคมหรือชุมชนรอบข้างของโรงงาน จึงได้ พัฒนากระบวนการผลิตเม็ดพลาสติกให้สามารถนำ�ยาง ธรรมชาติมาทดแทนยางสังเคราะห์ในกระบวนการผลิตเม็ด พลาสติก HIPS และ ABS ได้ตามมาตรฐานที่กำ�หนด จากห้องทดลองสู่การขายเชิงพาณิชย์ SVNR Powder ซึ่ ง มี ย างธรรมชาติ เ ป็ น ส่ ว นประกอบ ร้อยละ 50 ได้ถูกคิดค้นขึ้นโดยนักวิจัยไออาร์พีซี ในเดือน มกราคม 2559 หลังจากนั้นผลิตภัณฑ์นวัตกรรม SVNR Product ซึง่ มียางธรรมชาติเป็นส่วนประกอบร้อยละ 35 ได้ถกู พัฒนาขึ้นในเดือนมีนาคม 2559 ต่อมาได้มีการนำ�ไปฉีด ขึ้นรูปเป็น Prototype กรวยจราจรจากยางธรรมชาติ และ ได้รับการยอมรับจากลูกค้า
164
ผลิตภัณฑ์นวัตกรรม SVNR Product ได้มีการผลิตที่ Plant ในเชิงพาณิชย์ครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2559 บริษัทฯ ได้เล็งเห็นถึงปัญหายางพาราไทยที่เกิดขึ้นจึงได้ทำ� การศึกษางานวิจยั เรือ่ ง Green Thermoplastic Vulcanizates (Green TPVs) นอกจากนี้ ยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของ Polypropylene (PP) ซึ่งเป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์หลักของ บริษทั ฯ ร่วมกับยางธรรมชาติ (Natural rubber, NR) ด้วยการ ผสม PP และ NR ผ่านกระบวนการ Dynamic vulcanization จนได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ในกลุ่ม Polyolefins ที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมที่มีสมบัติเป็นยางแต่สามารถผ่านกระบวนการ แปรรูปของ Thermoplastic ได้ ซึ่งมีความสะดวกและมี ข้อได้เปรียบเชิงเศรษฐศาสตร์เหนือการแปรรูปยางด้วย กระบวนการแบบเดิม จากคุณสมบัติเชิงกลที่ดีของ Green TPVs ซึง่ เทียบเท่ากับ Thermoplastic vulcanizates (TPVs) ที่ใช้ในตลาดปัจจุบัน ทำ�ให้สามารถพัฒนานำ� Green TPVs มาใช้งานในอุตสาหกรรม Automotive, Building & Construction, mold goods และ Electrical & Electronic ทดแทน TPVs ได้
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
บทสรุปผู้บริหาร สรุปงบกำ�ไรขาดทุนรวม
หน่วย
2559
ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท USD/bbl ล้านบาท USD/bbl ล้านบาท ล้านบาท
รายได้จากการขาย [1] รายได้จากการขายสุทธิ [2] กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตตามราคาตลาด (Market GIM) กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตทางบัญชี (Accounting GIM) EBITDA กำ�ไรสุทธิ
2558
เปลี่ยนแปลง
185,041
214,172
(14%)
168,349
199,595
(16%)
31,033
32,156
(3%)
13.04
13.99
(7%)
30,457
28,741
6%
12.80
12.50
2%
17,430
17,033
2%
9,721
9,402
3%
หมายเหตุ : [1] รายได้จากการขาย ประกอบด้วยรายได้จาก (1) ธุรกิจปิโตรเลียม (2) ธุรกิจปิโตรเคมี (3) ธุรกิจไฟฟ้าและสาธาณูปโภค (4) ค่าบริการถังบรรจุผลิตภัณฑ์ ค่าบริการท่าเรือ และอื่นๆ [2] รายได้จากการขายสุทธิ ประกอบด้วยรายได้จาก (1) ธุรกิจปิโตรเลียม (ไม่รวมภาษีสรรพสามิต) (2) ธุรกิจปิโตรเคมี (3) ธุรกิจไฟฟ้าและสาธาณูปโภค
(หน วย : ล านบาท)
ร อยละ -16 ร อยละ
ร อยละ 31
2
ร อยละ 27
2559
ร อยละ
1
2558
รายได จากการขายสุทธ�
รายได จากการขายสุทธ�
168,349
199,595 ร อยละ 67
ธุรกิจป โตรเลียม
ในปี 2559 บริษทั ฯ มีรายได้จากการขายสุทธิจ�ำ นวน 168,349 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 16 ส่วนใหญ่เป็นผลจากราคาขาย ที่ปรับตัวลดลงตามทิศทางของราคาน้ำ�มันดิบ โดยมีการ ใช้ก�ำ ลังการกลัน่ น้�ำ มันอยูท่ ปี่ ระมาณ 183,000 บาร์เรลต่อวัน (คิดเป็นอัตราการใช้กำ�ลังการผลิตร้อยละ 85) เนื่องจาก
ร อยละ 72
ธุรกิจป โตรเคมี
อื่นๆ
หน่วยผลิต RDCC (ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ UHV) เริ่ม ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ในครึง่ หลังของปี 2559 อยูร่ ะหว่างการ ปรับปรุงกระบวนการผลิต ยังไม่สามารถเดินเครือ่ งได้เต็มกำ�ลัง การผลิตตามที่ออกแบบไว้ ส่งผลให้ระดับการกลั่นน้ำ�มัน อยู่ในระดับเดียวกับปี 2558
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
165
ขณะที่ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์กับวัตถุดิบโดยเฉลี่ยปรับตัว ลดลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยส่วนต่างราคาของกลุ่ม ปิโตรเลียมลดลงเนือ่ งจากปัจจัยด้านอุปทานทีล่ น้ ตลาด ส่วน อุปสงค์ของกลุ่มปิโตรเคมีอ่อนตัวลงตามภาวะเศรษฐกิจ ที่ชะลอตัว อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้ดำ�เนินโครงการเพิ่ม ประสิทธิภาพ สร้างผลประโยชน์ส่วนเพิ่ม และพัฒนาสุขภาพ องค์กรภายใต้โครงการ EVEREST ส่งผลให้กำ�ไรขั้นต้นจาก การผลิตตามราคาตลาด (Market GIM) ลดลงเพียงร้อยละ 3 กล่าวคือ มี Market GIM เป็นจำ�นวน 31,033 ล้านบาท หรือ คิดเป็น 13.04 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล บริษัทฯ เริ่มบันทึกค่าเสื่อมราคาและต้นทุนทางการเงิน ที่เกิดจากโครงการ UHV เนื่องจากได้เริ่มดำ�เนินการผลิต เชิงพาณิชย์เมื่อเดือนกรกฎาคม 2559 สำ�หรับรายการที่ ไม่ได้เกิดขึ้นประจำ� (Non-recurring items) ในปี 2559 ส่วนใหญ่ ได้แก่ ผลประโยชน์ทางภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล 1,449 ล้านบาท ซึ่งเป็นการบันทึกผลประโยชน์ทางภาษีเงินได้จาก การขาดทุนทางภาษีคงเหลือในรอบระยะเวลาบัญชีงวดก่อน และการตัดจำ�หน่ายเงินลงทุนในบริษทั ย่อยทีไ่ ม่ได้ด�ำ เนินงาน 2 แห่ง ขณะที่ปี 2558 มีรายได้จากค่าสินไหมทดแทนและ กำ�ไรจากการกลับรายการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของบริษัท ย่อยรวม 4,128 ล้านบาท ส่งผลให้ผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ในปี 2559 ใกล้เคียง กับปี 2558 กล่าวคือ มีกำ�ไรก่อนดอกเบี้ย ภาษี และค่าเสื่อม ราคา (EBITDA) จำ�นวน 17,430 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 และมีกำ�ไรสุทธิ 9,721 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 เหตุการณ์สำ�คัญในปี 2559 • บริษทั ฯ ได้รบั โอนกิจการทัง้ หมดจากบริษทั ไทย เอบีเอส จำ�กัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ในสัดส่วนร้อยละ 99.99 เพือ่ บริหารจัดการโครงสร้างภายในองค์กร เมือ่ วันที่ 1 สิงหาคม 2559 และบริษทั ไทย เอบีเอส จำ�กัด ได้ด�ำ เนินการจดทะเบียน เลิกกิจการกับกระทรวงพาณิชย์แล้วในวันเดียวกัน • บริษทั ระยอง แท้งค์ เทอร์มนิ ลั จำ�กัด และบริษทั ไออาร์พซี ี พลังงาน จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ในสัดส่วน ร้อยละ 99.99 ได้จดทะเบียนชำ�ระบัญชีแล้วเสร็จ เมือ่ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559 และวันที่ 30 กันยายน 2559 ตามลำ�ดับ บริ ษั ท ฯ จึ ง ได้ ก ลั บ รายการค่ า เผื่ อ การด้ อ ยค่ า และตั ด จำ�หน่ายเงินลงทุน และได้บันทึกรายการสินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี (Deferred Tax Asset : DTA) จากการตัดจำ�หน่าย เงินลงทุนดังกล่าว
ผลการดำ�เนินงานและฐานะการเงิน 1. ผลการดำ�เนินงาน 1.1 กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียม 1.1.1 สถานการณ์ตลาดน้ำ�มัน
ราคาน้ํามันดิบดูไบ (หน่วย : เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล) 70 60 50 40 30 20 59 59 59 58 58 58 58 58 59 59 ม.ค. มี.ค. มิ.ย. ส.ค. พ.ย. ก.พ. เม.ย. ก.ค. ต.ค. ธ.ค.
สถานการณ์ราคาน้�ำ มันดิบในปี 2559 เคลือ่ นไหวอยูใ่ นกรอบ 22-55 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และมีราคาเฉลี่ยทั้งปีอยู่ที่ 41.27 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับลดลงจากราคาเฉลี่ย ในปี 2558 ซึง่ อยูท่ ี่ 50.91 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เนือ่ งจาก ตลาดยังคงประสบปัญหาอุปทานล้นตลาดจากผูผ้ ลิตในกลุม่ โอเปกและรัสเซียทีค่ งระดับการผลิตและแรงกดดันจากอุปทาน ส่วนเกินจากอิหร่าน โดยมีส่วนเกินประมาณ 2 ล้านบาร์เรล ต่อวัน จากการทีผ่ ผู้ ลิตกลุม่ โอเปกเพิม่ กำ�ลังการผลิตประมาณ 1.0 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากระดับการผลิตในปี 2558 ในขณะที่ อุปสงค์น�้ำ มันดิบเติบโตประมาณ 1.3 ล้านบาร์เรลต่อวัน ซึง่ ยัง ไม่เพียงพอทีจ่ ะทำ�ให้ตลาดเข้าสูส่ มดุลได้ อย่างไรก็ตาม ในช่วง ปลายปี 2559 ผลการเจรจาระหว่างกลุ่มโอเปกในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 และกลุ่มนอกโอเปกในวันที่ 10 ธันวาคม 2559 สำ � หรั บ ความร่ ว มมื อ ที่ จ ะปรั บ ลดกำ � ลั ง การผลิ ต ได้ข้อสรุปว่า ผู้ผลิตในกลุ่มโอเปกและผู้ผลิตนอกกลุ่มโอเปก จะปรับลดกำ�ลังผลิตลงราว 1.2 และ 0.6 ล้านบาร์เรลต่อวัน ตามลำ�ดับ จากระดับการผลิตเดือนตุลาคม 2559 โดยมี ผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนมกราคม 2560 เป็นระยะเวลา 6 เดือน ส่งผลให้อุปทานน้ำ�มันดิบโลกปรับลดลงราว 1.8 ล้านบาร์เรล และเป็นปัจจัยหลักที่เป็นแรงช่วยสนับสนุน ด้านราคา โดยในไตรมาส 4/2559 ราคาน้ำ�มันดิบดูไบเพิ่มขึ้นถึงระดับ สูงสุดที่ 54.20 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในช่วงกลางเดือน ธันวาคม จากสัญญาณความร่วมมือการปรับลดกำ�ลังการผลิต ของผู้ผลิตในกลุม่ โอเปกและนอกโอเปก ประกอบกับปริมาณ น้ำ�มันดิบคงคลังสหรัฐฯ ทีม่ แี นวโน้มปรับตัวลดลงและความ ต้องการใช้น้ำ�มันเพื่อทำ�ความร้อนในช่วงฤดูหนาว
166
1.1.2 อัตราการใช้กำ�ลังการผลิต ปิโตรเลียม
2559
น้ำ�มันดิบนำ�เข้ากลั่น ล้านบาร์เรล พันบาร์เรลต่อวัน อัตราการใช้กำ�ลังการผลิต โรงกลั่นน้ำ�มัน โรงงาน RDCC โรงน้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน
ปริมาณการกลั่นรวมในปี 2559 อยู่ที่ 67.03 ล้านบาร์เรล คิดเป็น 183 พันบาร์เรลต่อวัน โดยมีอตั ราการใช้ก�ำ ลังการผลิต อยูท่ รี่ อ้ ยละ 85 ซึง่ อยูใ่ นระดับเดียวกับปี 2558 สำ�หรับโรงงาน RDCC มีอัตราการผลิตอยู่ที่ร้อยละ 43 เนื่องจาก RDCC เริม่ ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์เมือ่ เดือนกรกฎาคม 2559 (โรงงาน RDCC หรือ โครงการ UHV ประกอบด้วยหน่วยผลิต หลัก 2 หน่วย คือ RDCC และ HYVAHL ซึ่งเริ่มผลิต เชิงพาณิชย์ตั้งแต่กลางเดือนกรกฎาคม 2559 และต้นเดือน
2558
เปลี่ยนแปลง
67.03 183
66.62 183
1% 0%
85% 43% 93%
85% 0% 103%
0% 43% (10%)
สิงหาคม 2559 ตามลำ�ดับ) โดยหน่วยกำ�จัดกำ�มะถันของ วัตถุดบิ หรือหน่วยผลิต HYVAHL อยูร่ ะหว่างเชือ่ มโยงการผลิต และปรับปรุงการผลิตระหว่างโรงงาน RDCC กับหน่วยผลิต HYVAHL ในปี 2559 โรงงานผลิตน้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐานมี ปริมาณการผลิต 6.8 ล้านบาร์เรล คิดเป็นอัตราการผลิตอยูท่ ี่ ร้อยละ 93 ลดลงร้อยละ 10 เทียบกับปี 2558 ที่มีปริมาณ ผลิต 7.5 ล้านบาร์เรล หรืออัตราการผลิตอยู่ที่ร้อยละ 103 เนือ่ งจากอุปสงค์ทปี่ รับลดลงเนือ่ งจากการชะลองานสร้างถนน
1.1.3 ปริมาณและมูลค่าขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ผลิตภัณฑ์ น้ำ�มันเชื้อเพลิง น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน รวม
ปริมาณการขาย (ล้านบาร์เรล) 2559 2558 51.98 54.00 7.22 8.09 59.19 62.09
กลุม่ ธุรกิจปิโตรเลียมมีรายได้จากการขายสุทธิส�ำ หรับปี 2559 จำ�นวน 113,152 ล้านบาท ลดลง 30,143 ล้านบาท หรือ คิดเป็นร้อยละ 21 เมื่อเทียบกับปี 2558 โดยมีสาเหตุหลัก มาจากราคาเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์ที่ปรับลดลงร้อยละ 16
มูลค่าการขาย (ล้านบาท) 2559 2558 98,348 122,279 14,804 21,016 113,152 143,295
ตามราคาน้�ำ มันดิบทีป่ รับลดลง และปริมาณการขายรวมลดลง จาก 62.09 ล้านบาร์เรลในปี 2558 เป็น 59.19 ล้านบาร์เรล หรือปรับลดลงร้อยละ 5 ปริมาณขายที่ลดลงส่วนใหญ่เป็น กลุ่มน้ำ�มันเตา กลุ่มดีเซล และกลุ่มน้ำ�มันหล่อลื่น
1.1.4 สัดส่วนมูลค่าขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ผลิตภัณฑ์ น้ำ�มันเชื้อเพลิง น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน รวม
2559 ในประเทศ 59% 48% 57%
สำ�หรับปี 2559 เทียบกับปี 2558 สัดส่วนการขายในประเทศ ลดลงจากร้อยละ 62 ในปี 2558 เป็นร้อยละ 57 ในปี 2559 ปรับลดลงร้อยละ 5 ส่วนใหญ่จากกลุ่มน้ำ�มันเตาและกลุ่ม
2558 ต่างประเทศ 41% 52% 43%
ในประเทศ 65% 39% 62%
ต่างประเทศ 35% 61% 38%
แนฟทา เนื่องจากนำ�ไปเป็นวัตถุดิบให้กับหน่วย HYVAHL ของโรงงาน RDCC ทั้งนี้การขายส่งออกส่วนใหญ่เป็น การขายไปสิงคโปร์ มาเลเซีย และกัมพูชา รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
167
1.1.5 ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ราคาเฉลี่ย
2559
น้ำ�มันดิบดูไบ (เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล) น้ำ�มันเชื้อเพลิง (เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล) แนฟทา – น้ำ�มันดิบดูไบ ULG95 – น้ำ�มันดิบดูไบ Gas Oil 0.05%S – น้ำ�มันดิบดูไบ FO 180 3.5%S – น้ำ�มันดิบดูไบ น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน (เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน) 500SN - FO 180 3.5%S 150BS - FO 180 3.5%S Asphalt - FO 180 3.5%S
ส่วนต่างราคากลุม่ น้�ำ มันเชือ้ เพลิงกับราคาน้�ำ มันดิบดูไบ • Naphtha Spread ลดลง ส่วนต่างราคาแนฟทากับราคา น้�ำ มันดิบดูไบลดลงอยูท่ ี่ 1.3 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ลดลง ร้อยละ 24 เนื่องจากอุปทานที่อยู่ในระดับสูง อีกทั้งมีกำ�ลัง การผลิตจากอินเดียและตะวันออกกลางทีเ่ พิม่ ขึน้ ประกอบกับ ปริมาณการส่งออกจากยุโรปออกสู่ตลาดเอเชียมากขึ้น • ULG95 Spread ลดลง ส่วนต่างราคาน้ำ�มันเบนซิน (ULG95) กับราคาน้ำ�มันดิบดูไบอยู่ที่ 14.9 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ลดลงร้อยละ 19 จากแรงกดดันของภาวะอุปทาน ทีล่ น้ ตลาดในภูมภิ าคเอเชีย และมีก�ำ ลังการผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ จาก อิหร่าน อีกทั้งปริมาณการส่งออกที่เพิ่มขึ้นจากประเทศจีน อย่างไรก็ตาม ราคาน้ำ�มันเบนซินที่อยู่ระดับต่ำ� สามารถ กระตุ้นให้ผู้ขับขี่รถยนต์มีการใช้น้ำ�มันเบนซินในปริมาณที่ เพิ่มมากขึ้น ช่วยพยุงราคา • Gas Oil Spread ลดลง ส่วนต่างราคาน้ำ�มันดีเซลกับ ราคาน้�ำ มันดิบดูไบอยูท่ ี่ 10.8 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ลดลง ร้อยละ 21 เนือ่ งจากอุปทานทีเ่ พิม่ ขึน้ จากตะวันออกกลางและ จีน อีกทั้งปริมาณน้ำ�มันดีเซลคงคลังทั่วโลกที่อยู่ในระดับสูง กดดันราคาอย่างต่อเนื่อง • Fuel Oil Spread คงที่ ส่วนต่างราคาน้ำ�มันเตา กับราคาน้ำ�มันดิบอยู่ที่ -5.0 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับปี 2558 ส่วนต่างราคากลุ่มน้ำ�มันหล่อลื่นกับราคาน้ำ�มันเตา • 500 SN Spread ลดลง ส่วนต่างราคากลุ่มผลิตภัณฑ์ น้�ำ มันหล่อลืน่ (500 SN) กับราคาน้�ำ มันเตาอยูท่ ี่ 417 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อตัน ลดลงร้อยละ 5 เนื่องจากภาวะการแข่งขัน ในเรือ่ งราคาโดยมีการส่งออกจากยุโรปสูต่ ลาดเอเชียในราคา ที่ต่ำ�เพื่อระบายสินค้าคงเหลือ
168
2558
เปลี่ยนแปลง
41.27
50.91
(19%)
1.30 14.90 10.80 (5.0)
1.70 18.30 13.70 (5.0)
(24%) (19%) (21%) 0%
417 737 (50)
438 777 55
(5%) (5%) (191%)
• Asphalt Spread ลดลง ส่วนต่างราคายางมะตอยกับ ราคาน้ำ�มันเตาอยู่ที่ -50 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน เมื่อเทียบ กับปี 2558 อยูท่ ี่ 55 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ลดลงร้อยละ 191 เนื่องจากอุปสงค์ที่ปรับลดลงจากสภาวะเศรษฐกิจในเอเชีย โดยเฉพาะจากประเทศจีนทีป่ รับลดงบประมาณสร้างถนนใหม่ 1.1.6 กำ�ไรขั้นต้นจากการกลั่น (Gross Refinery Margin) สำ�หรับปี 2559 กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตตามราคาตลาด (Market GRM) อยู่ที่ 11,616 ล้านบาท หรือ 4.88 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ลดลง 2,630 ล้านบาท หรือ 1.32 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เมื่อเทียบกับปี 2558 โดยมีสาเหตุหลัก มาจากส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ทปี่ รับลดลงโดยเฉพาะน้�ำ มัน ดีเซลและยางมะตอย ล านบาท USD/bbl
ล านบาท USD/bbl
6,340 5,276 11,616
8,989 5,257 14,246
10,395 11,616 (1,221)
2.66 2.22 4.88
4.37
11,887
3.91 น�ำมันเชื้อเพลิง 2.29 น�ำมันหล อลื่นพื้นฐาน 6.20 Market GRM
5.17
Accounting GRM
4.88
14,246
6.20
กำไร/(ขาดทุน) จากสต อคน�ำมันสุทธ�
(0.51)
(2,359)
(1.03)
Market GRM
2559
2558
บริษัทฯ มีขาดทุนจากสต๊อคน้ำ�มันสุทธิ 1,221 ล้านบาท หรือ -0.51 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ประกอบด้วยกำ�ไรจาก สต๊อคน้ำ�มัน 2,251 ล้านบาท หรือ +0.95 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และกำ�ไรจากการกลับรายการค่าเผื่อการลดลง ของสินค้าคงเหลือ (LCM) 149 ล้านบาท หรือ +0.06 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล โดยมีขาดทุนจาก Oil Hedging 3,621 ล้านบาท หรือ -1.52 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล
1.2 กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี 1.2.1 สถานการณ์ตลาดปิโตรเคมี
สถานการณ์ตลาดกลุ่มโอเลฟินส์ในปี 2559 ปรับตัวลดลง เล็กน้อย เนือ่ งจากการขยายตัวของอุปสงค์ปรับตัวลดลงตาม ภาวะการเติบโตที่ชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ตลาดยังได้รบั ปัจจัยสนับสนุนจากราคาน้�ำ มันดิบ ที่ยังอยู่ต่ำ�กว่าระดับ 50 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ส่งผลให้ โครงการส่วนขยายกำ�ลังการผลิตของกลุ่มโอเลฟินส์ที่มา จากเทคโนโลยีของ CTO/MTO จากประเทศจีนชะลอออกไป และทำ�ให้อุปทานส่วนเพิ่มในปี 2559 ยังอยู่ในระดับที่ไม่สูง มากตามที่ตลาดคาดการณ์ไว้
สำ�หรับสถานการณ์ตลาดกลุ่มสไตรีนิคส์อยู่ในทิศทางที่ดี และเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจาก ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์กลุ่มสไตรีนิคส์ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่ม AEC มากกว่าอุปทานส่วนเพิ่ม อย่างไร ก็ตาม เมื่อเทียบกับปี 2558 อยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำ�กว่า เป็นผล จากในปี 2558 สถานการณ์ตลาดอยู่ในภาวะที่ดีอย่างมาก เนื่องจากราคาน้ำ�มันดิบโลกอยู่ในแนวโน้มขาลงและราคา มีความผันผวน ซึง่ ส่งผลให้ราคาขายผลิตภัณฑ์ปรับลงช้ากว่า วัตถุดิบ ทำ�ให้ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ปรับสูงขึ้น
1.2.2 กำ�ลังการผลิตปิโตรเคมี ปิโตรเลียม
2559
อัตราการใช้กำ�ลังการผลิต กลุ่มโอเลฟินส์ กลุ่มอะโรเมติกส์และสไตรีนิคส์
2558 90% 91%
เปลี่ยนแปลง 90% 91%
0% 0%
ในปี 2559 อัตราการผลิตของผลิตภัณฑ์กลุม่ โอเลฟินส์ กลุม่ อะโรเมติกส์ และสไตรีนคิ ส์ อยูท่ รี่ อ้ ยละ 90 และร้อยละ 91 ตามลำ�ดับ เท่ากับอัตราการผลิตในปี 2558 หรือคิดเป็น 1.3 ล้านตัน 1.2.3 ปริมาณและมูลค่าขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ผลิตภัณฑ์ กลุ่มโอเลฟินส์ กลุ่มอะโรเมติกส์และสไตรีนิคส์ รวม
ปริมาณการขาย (พันตัน) 2559 2558 857 791 677 634 1,534 1,424
มูลค่าการขาย (ล้านบาท) 2559 2558 29,780 30,794 22,335 22,317 52,115 53,111
กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีมีรายได้จากการขายสุทธิจำ�นวน 52,115 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน จำ�นวน 996 ล้านบาท หรือร้อยละ 2 เนื่องจากราคาเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์ปรับลดลงร้อยละ 10 ตามราคาวัตถุดิบที่ลดลง ในขณะที่มีปริมาณการขายรวมเพิ่มขึ้นจาก 1,424 พันตัน เป็น 1,534 พันตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8 โดยรายได้ส่วนใหญ่มาจากกลุ่มผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์คิดเป็นร้อยละ 57 1.2.4 สัดส่วนมูลค่าขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีี ผลิตภัณฑ์ กลุ่มโอเลฟินส์ กลุ่มอะโรเมติกส์และสไตรีนิคส์ รวม
2559 ในประเทศ 64% 46% 56%
2558 ต่างประเทศ 36% 54% 44%
ในประเทศ 67% 46% 58%
ต่างประเทศ 33% 54% 42%
สัดส่วนการขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีในประเทศและส่งออกในอัตรา 56:44 ตามลำ�ดับ โดยที่สัดส่วนการขายในประเทศลดลง ร้อยละ 2 เมื่อเทียบกับปี 2558 โดยกลุ่มโอเลฟินส์เป็นการขายลดลงจากผลิตภัณฑ์ HDPE ทั้งนี้การขายส่งออกที่เพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่เป็นการขายโพรพิลีนที่ผลิตได้จากโรงงาน RDCC รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
169
1.2.5 ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี
ส่วนต่างระหว่างราคาผลิตภัณฑ์และวัตถุดิบแยกตามผลิตภัณฑ์ที่สำ�คัญ มีดังนี้ ราคาเฉลี่ย
(เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน)
2559
แนฟทา โอเลฟินส์ เอทิลีน - แนฟทา HDPE - เอทีลีน HDPE - แนฟทา โพรพิลีน - แนฟทา PP - โพรพิลีน PP - แนฟทา อะโรเมติกส์ เบนซิน - แนฟทา โทลูอีน - แนฟทา มิกซ์ ไซลีน - แนฟทา สไตรีนิคส์ SM - แนฟทา ABS - แนฟทา ABS - SM PS (GPPS) - แนฟทา PS (GPPS) - SM
ส่วนต่างราคากลุ่มผลิตภัณฑ์โพลิโอเลฟินส์ (HDPE/PP) กับราคาแนฟทา • HDPE Spread ลดลง ส่วนต่างราคา HDPE กับแนฟทา อยู่ที่ 848 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ลดลงร้อยละ 3 เนื่องจาก ราคาผลิตภัณฑ์ HDPE ปรับลดลงจากอุปสงค์ที่อ่อนตัว โดยปรับลดลงมากกว่าราคา Naphtha และ Ethylene ทีป่ รับลงตามราคาน้�ำ มันดิบ ทำ�ให้มี spread ต่�ำ กว่าปีทผี่ า่ นมา • PP Spread ลดลง ส่วนต่างราคา PP กับแนฟทาอยู่ที่ 656 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ลดลงร้อยละ 2 เนื่องจากราคา ผลิตภัณฑ์ PP ที่ปรับลดลงจากอุปสงค์ที่อ่อนตัว ส่วนต่างของราคากลุม่ อะโรเมติกส์ (โทลูอนี และมิกซ์ไซลีน) กับราคาแนฟทา • TOL Spread เพิ่มขึ้น ส่วนต่างราคาโทลูอีนกับแนฟทา อยู่ที่ 194 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 14 เนื่องจาก ในระหว่างปีเกิดอุปทานในสิงคโปร์ตึงตัวจากการหยุดผลิต กะทันหัน และเนื่องจากราคา Gasoline ปรับสูงขึ้น มีผลให้ ความต้องการ Toluene สำ�หรับผลิต Gasoline เพิ่มสูงขึ้น
170
2558
เปลี่ยนแปลง
398
491
(19%)
639 209 848 306 350 656
613 261 874 283 384 667
4% (20%) (3%) 8% (9%) (2%)
245 194 250
194 170 210
26% 14% 19%
666 957 291 817 151
610 973 363 776 166
9% (2%) (20%) 5% (9%)
• MX Spread เพิม่ ขึน้ ส่วนต่างราคามิกซ์ไซลีนกับแนฟทา อยู่ที่ 250 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 19 เนื่องจาก ราคาพาราไซลีนทรงตัวอยูใ่ นระดับสูง จึงมีผลทำ�ให้ผลิตภัณฑ์ มิกซ์ไซลีนซึ่งเป็นวัตถุดิบของพาราไซลีนมีราคาทรงตัว ในขณะที่แนฟทาซึ่งเป็นวัตถุดิบปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่ ว นต่ า งกลุ่ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ พลิ ส ไตรี นิ ค ส์ (ABS/PS) กับราคาแนฟทา • ABS Spread ลดลง ส่วนต่างราคา ABS กับแนฟทา อยู่ที่ 957 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ลดลงร้อยละ 2 เนื่องจาก อุปทานส่วนเกินจากประเทศจีนและอุปสงค์ที่ยังเบาบาง จึงทำ�ให้ราคาผลิตภัณฑ์ปรับตัวลดลง • PS Spread เพิ่มขึ้น ส่วนต่างราคา PS กับแนฟทาอยู่ ที่ 817 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 เนื่องจาก ราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี เ สถี ย รภาพจากแรงสนั บ สนุ น จาก ความต้องการของกลุ่ม AEC ที่เปิดเขตการค้าเสรี
1.2.6 กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตตามราคาตลาด (Product to Feed: PTF) ในปี 2559 บริษทั ฯ มีก�ำ ไรขัน้ ต้นจากการผลิตตามราคาตลาด (Market PTF) ของกลุม่ ธุรกิจปิโตรเคมีอยูท่ ี่ 16,869 ล้านบาท หรือ 7.09 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิม่ ขึน้ 1,449 ล้านบาท หรือ 0.38 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เมื่อเทียบกับปี 2558 ซึ่งมีสาเหตุจากบริษัทฯ สามารถทำ�กำ�ไรส่วนเพิ่มได้จาก การบริหารจัดการตามโครงการ Everest แม้ว่าส่วนต่าง กลุ่มปิโตรเคมีโดยรวมอ่อนตัวลงจากปีก่อน บริษัทฯ มีกำ�ไร จากสต๊อคน้�ำ มันสุทธิ 646 ล้านบาท หรือ +0.27 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล แบ่งเป็นกำ�ไรจากสต๊อคน้�ำ มัน 505 ล้านบาท หรือ +0.21 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และมีกำ�ไรจากการกลับ รายการค่าเผื่อการลดลงของสินค้า (LCM) 141 ล้านบาท หรือ +0.06 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ส่งผลให้บริษัทฯ
มีกำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตทางบัญชี (Accounting PTF) จำ�นวน 17,515 ล้านบาท หรือ 7.36 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิม่ ขึน้ จากปี 2558 จำ�นวน 3,151 ล้านบาท หรือ 1.11 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ล านบาท USD/bbl
ล านบาท USD/bbl
12,026
5.06
10,903
4.74
4,843
2.03
4,517
1.97
16,869
7.09
15,420
6.71
17,515 646
16,869
14,363
7.36 0.27
7.09
2559
6.25
กลุ มโอเลฟ นส กลุ มอะโรเมติกส และสไตร�นิคส Market PTF Accounting PTF
15,420
6.71
กำไร/(ขาดทุน) จากสต อคน�ำมันสุทธ�
(1,057)
(0.46)
Market PTF
2558
1.3 ผลการดำ�เนินงานของกลุ่มธุรกิจสาธารณูปโภค 1.3.1 กำ�ลังการผลิตและรายได้จากการขาย 2559 อัตราการใช้กำ�ลังการผลิต ไฟฟ้า ไอน้ำ� รายได้จากการขาย (ล้านบาท) ไฟฟ้า ไอน้ำ� อื่น ๆ รวม
ปี 2559 มีอตั ราการผลิตไฟฟ้าเช่นเดียวกับปี 2558 เป็นอัตรา ร้อยละ 75 บริษทั ฯ มีรายได้จากการขายอยูท่ ี่ 3,082 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 3 เมื่อเทียบกับปี 2558 เนื่องจากราคาขาย
2558
เปลี่ยนแปลง
75% 73%
75% 75%
0% (2%)
1,822 1,059 201 3,082
1,924 1,107 158 3,189
(5%) (4%) 27% (3%)
ต่อหน่วยลดลงตามราคาวัตถุดบิ ทีป่ รับลดลง ในขณะทีป่ ริมาณ ขายปรับเพิ่มขึ้นเนื่องจากในปี 2558 กลุ่มลูกค้าที่ตั้งอยู่ใน นิคมอุตสาหกรรมไออาร์พีซีหยุดโรงงานผลิต
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
171
1.4 ผลการดำ�เนินงานรวม ผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อยสำ�หรับปี 2559 งบกำ�ไรขาดทุนรวม
ล้านบาท 2559
2558
2559
2558
อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ย
35.47
34.40
ปริมาณน้ำ�มันดิบนำ�เข้ากลั่น (ล้านบาร์เรล)
67.03
66.62
ราคาน้ำ�มันดิบถัวเฉลี่ย (เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล) (1)
44.22
53.32
รายได้จากการขาย
185,041
214,172
77.83
93.46
รายได้จากการขายสุทธิ
168,349
199,595
70.81
86.86
(137,316)
(167,439)
(57.77)
(72.87)
31,033
32,156
13.04
13.99
2,755
(5,208)
1.16
(2.27)
290
2,969
0.12
1.29
กำ�ไร/(ขาดทุน) จากการบริหารความเสี่ยงน้ำ�มัน
(3,621)
(1,176)
(1.52)
(0.51)
กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตทางบัญชี
30,457
28,741
12.80
12.50
1,301
2,643
0.55
1.15
ค่าใช้จ่ายในการขาย
(1,198)
(1,207)
(0.50)
(0.53)
กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตทางบัญชี และรายได้อื่น ๆ
30,560
30,177
12.85
13.12
(13,130)
(13,144)
(5.52)
(5.72)
กำ�ไรก่อนดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ และค่าเสื่อมราคา (EBITDA)
17,430
17,033
7.33
7.40
ค่าเสื่อมราคา
(6,249)
(5,457)
(2.63)
(2.37)
กำ�ไรก่อนดอกเบี้ยและภาษีเงินได้ (EBIT)
11,181
11,576
4.70
5.03
ต้นทุนทางการเงินสุทธิ
(1,481)
(1,162)
(0.62)
(0.51)
104
(1,288)
0.04
(0.56)
3
18
-
0.01
184
(157)
0.07
(0.07)
43
2,782
0.02
1.21
10,034
11,769
4.21
5.11
(282)
(2,346)
(0.12)
(1.02)
(31)
(21)
(0.01)
(0.01)
9,721
9,402
4.08
4.08
ต้นทุนวัตถุดิบตามราคาตลาด กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตตามราคาตลาด กำ�ไร/(ขาดทุน) จากสต๊อคน้ำ�มันสุทธิ ค่าเผื่อการลดลงของสินค้าคงเหลือ
รายได้อื่นๆ (2)
ค่าใช้จ่ายดำ�เนินงาน
กำ�ไร/(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน กำ�ไร/(ขาดทุน) จากการด้อยค่าและจำ�หน่ายทรัพย์สิน กำ�ไร/(ขาดทุน) จากการลงทุน ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ กำ�ไร/(ขาดทุน) สุทธิก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้นิติบุคคล กำ�ไร/(ขาดทุน) ในส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม กำ�ไร/(ขาดทุน) สุทธิ
หมายเหตุ: (1)ราคาตลาดถัวเฉลี่ยของน้ำ�มันดิบรวมซึ่งใช้ในกระบวนการผลิต (2)ประกอบด้วย รายได้จากการขายที่ดิน ค่าบริการท่าเรือและถังบรรจุผลิตภัณฑ์ และอื่นๆ
172
เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล
1.4.1 กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตตามราคาตลาด (Market Gross Integrated Margin) Market GIM
GRM
ล านบาท 40,000 31,033 35,000 2,548 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 -
PTF
ไฟฟ าและสาธารณูปโภค
32,156
16,869
เหร�ยญสหรัฐฯ ต อบาร เรล 50
2,490
40
15,420
30
13.04 1.07 7.09
11,616
13.99 14,246
4.88
2559
1.08 6.71 6.20
2558
20
1.4.5 ค่าเสื่อมราคา
10
ค่าเสื่อมราคาเพิ่มขึ้น 792 ล้านบาท ส่วนใหญ่เนื่องมาจาก โรงงาน RDCC ทีแ่ ล้วเสร็จและเริม่ ผลิตในเชิงพาณิชย์ (COD) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2559
-
บริษัทฯ มีกำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตตามราคาตลาด (Market GIM) จำ�นวน 31,033 ล้านบาท หรือ 13.04 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ลดลง 0.95 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล โดยมี สาเหตุหลักมาจากส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และปิโตรเคมีส่วนใหญ่ลดลง 1.4.2 กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตทางบัญชี (Accounting Gross Integrated Margin) Accounting GIM
Market GIM Stock Gain/(Loss)+LCM oil Hedging
ล านบาท 50,000 45,000 40,000 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 (5,000)
เหร�ยญสหรัฐฯ ต อบาร เรล 50 45 40 35 28,741 30 25 20 32,156 12.50 15 10 13.99 5 (2,239) (0.98) (1,176) (0.51) (5)
30,457 3,045
31,033
12.80 1.28
13.04 (3,621)
(1.52)
2559
บริ ษั ท ฯ มี ค่ า ใช้ จ่ า ยสำ � หรั บ การทำ � งานวิ จั ย และพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์ ทั้งผลิตภัณฑ์เดิมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่จะ สามารถสร้างศักยภาพในการแข่งขันให้กับบริษัทฯ จำ�นวน 335 ล้านบาท ประกอบด้วย เงินเดือนของนักวิจยั และค่าใช้จา่ ย ในการทำ�งานวิจยั ค่าจ้างผูเ้ ชีย่ วชาญจากภายนอก จำ�นวน 142 ล้านบาท และค่าใช้จา่ ยในการซือ้ เครือ่ งมือวิเคราะห์ ค่าใช้จา่ ย ด้านสาธารณูปโภคต่างๆ เพื่อส่งเสริมงานวิจัย และพัฒนา จำ�นวน 193 ล้านบาท
2558
บริษัทฯ มีกำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตทางบัญชี (Accounting GIM) อยู่ที่ 30,457 ล้านบาท หรือ 12.80 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิม่ ขึน้ 1,716 ล้านบาท หรือ 0.30 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เมือ่ เทียบกับปีกอ่ น เนือ่ งจากมีขาดทุนจากสต๊อค น้ำ�มันสุทธิลดลง 2,839 ล้านบาท หรือ 1.25 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล (ปี 2559 มีขาดทุนจากสต๊อคน้ำ�มันสุทธิ -0.24 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในขณะที่ปี 2558 มีขาดทุนจาก สต๊อคน้ำ�มันสุทธิ -1.49 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล) ในขณะ ที่มีกำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตตามราคาตลาด (Market GIM) ลดลง 1,123 ล้านบาทหรือ 0.95 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล 1.4.4 ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน ค่าใช้จา่ ยในการดำ�เนินงานมีจ�ำ นวน 13,130 ล้านบาท คิดเป็น 5.52 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ลดลงเพียงร้อยละ 0.1 โดย ส่วนใหญ่ลดลงจากค่าเบี้ยประกัน ขณะที่ค่าใช้จ่ายพนักงาน สูงขึ้นด้านค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา ในปี 2559
1.4.6 ต้นทุนทางการเงินสุทธิ ต้นทุนทางการเงินสุทธิเพิ่มขึ้น 319 ล้านบาท โดยมีสาเหตุ หลักมาจากดอกเบี้ยจ่ายที่เพิ่มขึ้น 564 ล้านบาท ซึ่งจากเดิม บั น ทึ ก เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของราคาทุ น ของสิ น ทรั พ ย์ ร ะหว่ า ง ก่ อ สร้ า งของโรงงาน RDCC ที่ แ ล้ ว เสร็ จ และเริ่ ม ผลิ ต ในเชิงพาณิชย์ (COD) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2559 และ ปี 2558 มีขาดทุนจากสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินต้นและ อัตราดอกเบี้ย (CCS) จำ�นวน 193 ล้านบาท ในขณะที่ ปี 2559 มีกำ�ไรจาก CCS 54 ล้านบาท 1.4.7 กำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยน จากค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นตั้งแต่สิ้นปี 2558 ส่งผลให้ บริษัทฯ มีกำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ส่วนใหญ่ยังไม่เกิด ขึ้นจริง จำ�นวน 104 ล้านบาท ในขณะที่ปีก่อนมีขาดทุน จากอัตราแลกเปลีย่ นทีส่ ว่ นใหญ่ยงั ไม่เกิดขึน้ 1,288 ล้านบาท 1.4.8 กำ�ไร (ขาดทุน) จากการลงทุน บริษทั ฯ มีก�ำ ไรจากการลงทุน 184 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 341 ล้านบาท โดยมีสาเหตุจากส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษทั เพิม่ ขึน้ และเงินปันผลรับเพิ่มขึ้น 1.4.9 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ กำ�ไรจากการกลับรายการค่าหนี้สงสัยจะสูญ มีจำ�นวน 43 ล้านบาท ขณะที่ปีก่อนมีกำ�ไรจากการกลับรายการหนี้สงสัย จะสูญจำ�นวน 2,782 ล้านบาท จากบริษัท ทีพไี อ อะโรเมติกส์ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นลูกหนี้ของบริษัทฯ ได้จ่ายชำ�ระเงิน คื น หนี้ สู ง กว่ า มู ล หนี้ สุ ท ธิ จ ากที่ ตั้ ง ค่ า เผื่ อ ไว้ เ ป็ น จำ � นวน 2,823 ล้านบาท 1.4.10 ภาษีเงินได้นิติบุคคล บริษทั ฯ มีคา่ ใช้จา่ ยภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล 282 ล้านบาท ลดลง 2,064 ล้านบาท ส่วนใหญ่เกิดจากการบันทึกผลประโยชน์ ทางภาษีจากขาดทุนทางภาษีคงเหลือในรอบระยะเวลา บัญชีงวดก่อนและการตัดจำ�หน่ายเงินลงทุนในบริษัท ระยอง แท้งค์ เทอร์มนิ ลั จำ�กัด และบริษทั ไออาร์พซี ี พลังงาน จำ�กัด รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
173
2. ฐานะการเงิน (หน วย : ล านบาท)
163,174 เง�นสด สินทรัพย หมุนเว�ยนอ่ืน สินทรัพย ไม หมุนเว�ยนอื่น
3,576 32,408 11,192
ท่ีดิน อาคาร และอุปกรณ
115,997
31,945
172,378 5.6 %
2,042 37,806 11,169
53,500 1,851 75,878
31 ธ.ค. 58
2.1 สินทรัพย์ ณ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวม 172,378 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ณ 31 ธันวาคม 2558 จำ�นวน 9,204 ล้านบาท เนื่องจาก
• ลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้น 1,025 ล้านบาท ส่วนใหญ่เกิดจาก ราคาผลิตภัณฑ์ที่ปรับสูงขึ้นตามทิศทางของราคาน้ำ�มันดิบ ขณะที่ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย สำ�หรับปี 2559 อยู่ที่ 18 วัน ลดลง 1 วัน จากปี 2558 • สินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น 4,477 ล้านบาท หรือร้อยละ 21 เนื่องจากปริมาณสินค้า ณ สิ้นปี 2559 เพิ่มขึ้นจาก 8.93 ล้านบาร์เรล ณ สิ้นปี 2558 เป็น 9.61 ล้านบาร์เรล ณ สิ้นปี 2559 ส่วนใหญ่เพิม่ ขึน้ จากปริมาณน้�ำ มันดิบทีบ่ ริษทั ฯ เตรียม เพื่อนำ�เข้ากลั่น โดยมีระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ยอยู่ที่ 27 วัน เพิ่มขึ้น 2 วัน จากปี 2558 • สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพิม่ ขึน้ 5,340 ล้านบาท หรือร้อยละ 4 สาเหตุหลักจากสินทรัพย์ถาวรเพิ่มขึ้น 11,298 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์จากโรงงาน RDCC งานระหว่างก่อสร้างโครงการขยายกำ�ลังการผลิตเม็ดพลาสติก โพลิโพรพิลนี (PPE) และโครงการผลิตเม็ดพลาสติกโพลิโพรพิลนี ชนิดคอมพาวด์ (PPC) และเงินลงทุนในบริษัทร่วมเพิ่มขึ้น 426 ล้านบาท ในขณะที่ลดลงจากสินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี 234 ล้านบาท และลดลงจากค่าเสื่อมราคาและ ค่าตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ถาวร 6,247 ล้านบาท
32,725
หนี้สินหมุนเว�ยนอื่น
56,445
เง�นกู ระยะยาว (รวมส วนท่ีถึงกําหนดชําระใน 1 ป )
2,203
หน้ีสินไม หมุนเว�ยนอ่ืน
81,005
ส วนของผู ถือหุ น
121,361
31 ธ.ค. 59
2.2 หนี้สิน กราฟแสดงกําหนดชําระหนี้สินระยะยาว 19,704 8,567 7,385 717 3,036
2560
(หน วย : ล านบาท)
17,986 10,946 4,998 3,413 2,535
2561
เง�นกู สกุลเง�นเหร�ยญสหรัฐฯ หุ นกู สกุลเง�นบาท
7,808 3,361 717 3,731
2562
6,885 358 10,742
>2562
เง�นกู สกุลเง�นเหร�ยญสหรัฐฯ เง�นกู สกุลเง�นบาท
หมายเหตุ : หนี้สินระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559
ณ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั ฯ มีหนีส้ นิ รวม 91,373 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ณ 31 ธันวาคม 2558 จำ�นวน 4,077 ล้านบาท เป็นผลจาก • หนี้สินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 780 ล้านบาท โดยมี สาเหตุหลักจาก - เจ้าหนีก้ ารค้าลดลง 5,949 ล้านบาท เนือ่ งจากการลดเทอม การจ่ายชำ�ระหนี้คา่ น้ำ�มันดิบระหว่างบริษัทฯ และ ปตท. จาก 90 วันเป็น 60 วัน โดยมีระยะเวลาชำ�ระหนี้เฉลี่ย ณ สิ้นปี 2559 อยู่ที่ 50 วัน เพิ่มขึ้น 3 วันจากปี 2558 - หนีส้ นิ อืน่ ๆ เพิม่ ขึน้ 6,575 ล้านบาท ประกอบด้วยเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น 5,937 ล้านบาท เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น 213 ล้านบาท เงินรับล่วงหน้าค่าสินค้าเพิม่ ขึน้ 79 ล้านบาท โบนัสค้างจ่าย เพิ่มขึ้น 63 ล้านบาท เจ้าหนี้อื่นเพิ่มขึ้น 283 ล้านบาท • เงินกูย้ มื ระยะยาวรวมส่วนทีถ่ งึ กำ�หนดชำ�ระภายในหนึง่ ปี เพิ่มขึ้น 2,945 ล้านบาท เป็น 56,445 ล้านบาท ส่วนใหญ่ เกิดจากการเบิกเงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น 6,500 ล้านบาท ในขณะที่มีการจ่ายชำ�ระคืนเงินกู้จากสถาบันการเงินและ หุ้นกู้ 3,373 ล้านบาท และมีกำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจำ�นวน 182 ล้านบาท ตามค่าเงินบาท ที่แข็งค่า ณ วันสิ้นปี
174
รายละเอียดเงินกู้ยืมระยะยาว สรุปได้ดังนี้
(หน่วย : ล้านบาท)
31 ธ.ค. 59 หุ้นกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ หุ้นกู้สกุลเงินบาท เงินกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ เงินกู้สกุลเงินบาท รวม หัก ส่วนที่ครบกำ�หนดชำ�ระภายใน 1 ปี รวมเงินกู้ยืมระยะยาวสุทธิ
สำ�หรับการบริหารด้านการเงิน บริษทั ฯ มีแนวทางทีจ่ ะจัดหาเงิน ในรูปแบบเงินกู้ระยะยาวจากสถาบันการเงินในประเทศและ/ หรือการออกหุ้นกู้ในประเทศเพื่อนำ�มาชำ�ระคืนเงินกู้ท่ีจะถึง กำ�หนดชำ�ระในปี 2560 ประมาณ 20,000 ล้านบาท โดยจะ พิจารณารูปแบบการจัดหาเงินให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ตลาดการเงินในแต่ละช่วงเวลา ปัจจุบัน บริษัทฯ ได้ลงนาม สัญญาเงินกู้ร่วม (Syndicate Loan) และสัญญากู้ยืมเงินกับ สถาบันการเงินในประเทศแล้วจำ�นวนเงิน 20,000 ล้านบาท
8,567 22,629 5,204 20,045 56,445 (19,704) 36,741
31 ธ.ค. 58 8,622 22,623 5,959 16,296 53,500 (4,265) 49,235
เปลี่ยนแปลง (55) 6 (755) 3,749 2,945 (15,439) (12,494)
2.3 ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้นรวม 81,005 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ณ 31 ธันวาคม 2558 เป็น จำ�นวน 5,127 ล้านบาท เนื่องจากมีกำ�ไรสุทธิในปี 2559 จำ�นวน 9,721 ล้านบาท และมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน เผื่อขายเพิ่มขึ้น 92 ล้านบาท ขณะที่มีการจ่ายเงินปันผล สำ�หรับผลประกอบการปี 2558 จำ�นวน 4,490 ล้านบาท และประมาณการภาระหนี้สินพนักงานเพิ่มขึ้น 207 ล้านบาท
• หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 352 ล้านบาท เกิดจาก รายการภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานที่เพิ่มขึ้น 3. งบกระแสเงินสด 1.2.2 กำ�ลังการผลิตปิโตรเคมี
(หน่วย : ล้านบาท)
2559 1. EBITDA 2. การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน 3. เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำ�เนินงาน 4. เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน 5. เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน 6. เงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น (ลดลง) 7. เงินสดยกมาต้นงวด 8. เงินสดคงเหลือสิ้นงวด
ณ 31 ธันวาคม 2559 บริษทั ฯ มีเงินสดคงเหลือจำ�นวน 2,042 ล้านบาท โดยมีกระแสเงินสดสุทธิลดลง 1,534 ล้านบาท • กระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงาน 7,224 ล้าน บาท ประกอบด้วยกำ�ไรก่อนหักค่าเสื่อมราคา ภาษี และ ดอกเบี้ยจ่าย (EBITDA) จำ�นวน 17,430 ล้านบาท ขณะที่ มีกระแสเงินสดจ่ายจากการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และ หนี้สนิ ดำ�เนินงานจำ�นวน 10,206 ล้านบาท โดยรายการหลัก
17,430 (10,206) 7,224 (10,687) 1,929 (1,534) 3,576 2,042
2558 17,033 10,807 27,840 (11,271) (15,002) 1,567 2,009 3,576
ทีม่ ผี ลทำ�ให้กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงานลดลง ได้แก่ สินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น 4,250 ล้านบาท ลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้น 965 ล้านบาท เจ้าหนี้การค้าลดลง 5,951 ล้านบาท ในขณะที่ รายการหลักที่ทำ�ให้กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน เพิม่ ขึน้ ประกอบด้วย เจ้าหนีอ้ นื่ เพิม่ ขึน้ 485 ล้านบาท เจ้าหนี้ กิจการที่เกี่ยวข้องกันเพิ่มขึ้น 213 ล้านบาท สินทรัพย์ หมุนเวียนอื่นลดลง 163 ล้านบาท เงินรับล่วงหน้าค่าสินค้า เพิ่มขึ้น 79 ล้านบาท รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
175
• กระแสเงินสดจ่ายเพื่อกิจกรรมลงทุนจำ�นวน 10,687 ล้านบาท ส่วนใหญ่เกิดจากการจ่ายเงินลงทุนในโครงการ UHV โครงการขยายกำ�ลังการผลิตเม็ดพลาสติกโพลิโพรพิลนี (PPE) โครงการผลิ ต เม็ ด พลาสติ ก โพลิ โ พรพิ ลี น ชนิ ด คอมพาวด์ (PPC) • กระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงินจำ�นวน 1,929 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นเงินสดรับจากเงินกู้ระยะยาวจำ�นวน 6,500 ล้านบาท เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะสัน้ 5,937 ล้านบาท ในขณะทีม่ เี งินสดจ่ายเพือ่ ชำ�ระคืนเงินกูร้ ะยะสัน้ และระยะยาว จำ�นวน 3,456 ล้านบาท จ่ายชำ�ระค่าดอกเบีย้ เงินกูย้ มื จำ�นวน 2,576 ล้านบาท เงินปันผลจ่าย 4,490 ล้านบาท 4. สภาพคล่องและโครงสร้างเงินทุน อัตราส่วนสภาพคล่องในปี 2559 เท่ากับ 0.76 เท่า ปรับตัว ลดลง 0.23 เท่า เมื่อเทียบกับปี 2558 ที่ 0.99 เท่า เนื่องจาก หนีส้ นิ ระยะสัน้ เพิม่ ขึน้ โดยบริษทั ฯ บริหารจัดการสภาพคล่อง ได้ อ ย่ า งเพี ย งพอต่ อ การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ และไม่ มี ปั ญ หา ด้านสภาพคล่องทางการเงิน ณ สิน้ ปี 2559 บริษทั ฯ มีอตั ราส่วนหนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ สุทธิ ต่อส่วนของผู้ถือหุ้นอยู่ที่ 0.75 เท่า ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.09 เท่า เมือ่ เทียบกับ ณ สิน้ ปี 2558 ที่ 0.66 เท่า ซึง่ เป็นผลจากการมี เงิ น กู้ ยื ม ระยะสั้ น และระยะยาวเพิ่ ม ขึ้ น ขณะที่ มี ผ ล การดำ�เนินงานปรับตัวดีขนึ้ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ สามารถชำ�ระหนีส้ นิ ได้ตามกำ�หนดและสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขการกู้ยืมเงิน ได้ครบถ้วน
แนวโน้มปี 2560 1. ธุรกิจปิโตรเลียม ในช่วงต้นปี 2560 สถานการณ์น้ำ�มันดิบโลกมีอุปทาน ส่วนเกินประมาณ 1 ล้านบาร์เรลต่อวัน ซึ่งเป็นปัจจัยที่ยัง กดดันราคาน้�ำ มันดิบ สำ�นักงานสารสนเทศด้านการพลังงาน ของสหรัฐอเมริกา (Energy Information Administration; EIA) คาดการณ์ว่าภายในปี 2560 จะมีความสมดุลของ อุปสงค์และอุปทาน เนื่องจากการประชุมโอเปกเมื่อเดือน พฤศจิ ก ายน 2559 คาดว่ า อุ ป ทานของกลุ่ ม โอเปกจะ ปรับลดกำ�ลังการผลิตลงประมาณ 1.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน และกลุ่ม Non-OPEC จะปรับลดกำ�ลังการผลิตลงประมาณ 0.6 ล้านบาร์เรลต่อวัน ในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2560 ในขณะที่อุปสงค์คาดว่าจะมีอัตราการเติบโตต่อปีประมาณ 1.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน ทำ�ให้คาดว่าจะเกิดความสมดุลของ น้ำ�มันในช่วงดังกล่าวและมีแนวโน้มที่จะฟื้นตัว อย่างไรก็ดี หากผูผ้ ลิตกลุม่ โอเปกบางประเทศเพิม่ กำ�ลังการผลิต ย่อมจะ ส่งผลให้ราคาน้ำ�มันดิบดูไบมีความผันผวน และความสมดุล ของน้ำ�มันก็จะถูกเลื่อนออกไป โดยบริษัทฯ คาดการณ์ว่า ราคาน้ำ�มันดิบดูไบในปี 2560 อยู่ระหว่าง 45-55 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล
176
2. ธุรกิจปิโตรเคมี ธุรกิจปิโตรเคมีมีแนวโน้มการเติบโตตามการฟื้นตัวของ เศรษฐกิจโลก อย่างไรก็ตาม ประเทศจีนซึ่งเป็นผู้นำ�เข้า เม็ดพลาสติกรายใหญ่ของโลก คาดว่าจะมีอัตราการเติบโต ทางเศรษฐกิจแบบชะลอตัว รวมทั้งนโยบายพึ่งพาตนเอง ทำ�ให้แนวโน้มการนำ�เข้าเม็ดพลาสติกคาดว่าจะลดลงตาม อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ด้านอุปทาน คาดว่ากำ�ลังการผลิตปิโตรเคมีกลุ่มโอเลฟินส์จะเพิ่มสูงขึ้น จากผู้ผลิตในประเทศจีน ประเภท Coal to Olefin (CTO), Methanol to Olefin (MTO) และ Propane Dehydrogenation (PDH) ในขณะที่ผู้ผลิตในประเทศแถบตะวันออกกลาง และสหรัฐอเมริกาจะมีความได้เปรียบกว่า เนื่องจากมีต้นทุน การผลิตที่ต่ำ�กว่าจากการใช้วัตถุดิบประเภทก๊าซธรรมชาติ และมีแนวโน้มผลิตเม็ดพลาสติกเพิม่ มากขึน้ ส่วนสถานการณ์ ตลาดกลุ่มสไตรีนิคส์ ในปี 2560 มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นจาก ปี 2559 จากปัจจัยบวกทางด้านราคาน้�ำ มันดิบทีย่ งั อยูร่ ะหว่าง 45-55 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบารร์เรล ผลักดันให้ความต้องการ ผลิตภัณฑ์อยูใ่ นระดับสูง ประกอบกับกำ�หนดการปิดซ่อมบำ�รุง ของกลุ่มผู้ผลิตในแถบเอเชีย ด้านอุปทานส่วนเพิ่มในกลุ่ม ของกลุ่มสไตรีนิคส์ปี 2560 ยังคงเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจาก ส่วนขยายกำ�ลังการผลิตของผู้ผลิตมีจำ�นวนจำ�กัด ขณะที่ อัตราการเติบโตทางด้านของอุปสงค์นั้นยังเพิ่มสูงขื้นตาม การขยายตัวของสินค้าอุปโภค อาทิ กลุ่มยานยนต์ และ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เติบโตตามแนวโน้มของเศรษฐกิจโลกและ การขยายตัวของเศรษฐกิจในกลุ่ม AEC ที่กำ�ลังฟื้นตัว บริษัทฯ คาดการณ์แนวโน้มส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์กลุ่ม ปิโตรเลียมจะปรับตัวดีขนึ้ เมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2559 เนือ่ งจาก อุปทานส่วนเพิ่มลดลง ประกอบกับราคาน้ำ�มันดิบที่ยังอยู่ใน ระดับต่�ำ ช่วยกระตุน้ ความต้องการใช้น�้ำ มัน ซึง่ คาดว่าส่วนต่าง ราคาผลิตภัณฑ์กลุ่มปิโตรเลียม (Market GRM) จะอยู่ใน ระดับประมาณ 4.3–5.3 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในขณะที่ แนวโน้มส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์กลุ่มปิโตรเคมีจะปรับตัว ลดลงเมือ่ เปรียบเทียบกับปี 2559 เนือ่ งจากอุปทานที่เพิม่ ขึน้ ดังกล่าวข้างต้น ซึง่ คาดว่าส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมี (Market P2F) อยู่ในระดับประมาณ 4.5-6.0 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ตามลำ�ดับ ทั้งนี้ไม่รวมผลประโยชน์ที่คาดว่า จะได้จากโครงการ UHV โครงการ PPE&PPC และโครงการ EVEREST
การดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม
178
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
179
การดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำ�หนดและทบทวนแผนกลยุทธ์องค์กรทั้งในระยะสั้น 1 ปี และระยะยาว 5 ปี (2560-2563) กลยุทธ์การ ดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมซึ่งมีการทบทวนในปี 2559 ยังคงจัดอยู่ในแผนความเป็นเลิศด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และความรับผิดชอบต่อสังคม (CG & CSR Excellence) เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนเช่นเดียวกับปี 2558 เป้าหมายคือ เป็นองค์กร พลเมืองดีของโลกที่สร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจในเรื่อง CG และ CSR ต่อผู้ที่มีส่วนได้เสีย
CG & CSR EXCELLENCE LEADING INTEGRATED PETROCHEMICAL COMPLEX IN ASIA BY 2020 “ To be good Corporate citizen with Trustworthy and Credibility in Social & Governance ”
1
2
3
4
CG
LEGAL & COMPLIANCE
CORPORATE CSR
PR & BRANDING
Leading in Good Corporate Citizenship
Legitimate Culture
Value Creation & Social Transformation
Communication Excellence for Social Trust & Wisdom
PEOPLE
: Board Responsibility Executive Empowering Employee Competency & Behaviors
SYSTEM
: Efficient & Effective Enforcement Monitoring, Auditing and Controlling Process Networking/ Sharing Internally & Externally
PRODUCT
: Policy, Standards, Code of Conduct, Corporate Regulations, Social Enterprise, Corporate Manual, Information System, Warning System
TECHNOLOGY : Digital Agency, Information Sharing Tools; Website, Intranet, Social Media Activities; Seminar, Workshop, Academy, Partnership
180
IRPC INITIATIVES FOR VALUE CREATION & SOCIAL TRANSFORMATION The Portfolio of Social Initiatives (POSI) allows companies to balance : Time to impact/Proximity to core business TIME TO IMPACT
1
2
3
2+ years
Social Enterprise (IRPCT)
Cultural Signature
KVIS - VISTEC
Co-project with MNRE
Women Rights
Children Rights Bang Ka Chao
4
<2 years
From Bench to Community
5 Cultural Signature
6 IRPC Cubic Academy Lam Sai Yong Model
1 for 9 EDU Project
Cubic Awards Adjacent Value Chain
Scholarship Surrounding Environment
Katin
SocialGiver IRPCT: Wisdom Radio
Empower Persons with Disabilities Society in General
PROXIMITY TO 0 CORE BUSINESS
ยุทธศาสตร์การดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษทั ฯ เพือ่ ยังประโยชน์สงู สุดได้อย่างยัง่ ยืน 1. กำ�หนดเกณฑ์ในการคัดเลือกโครงการเพื่อสังคม (CSR) ตามแนวทางที่ที่ปรึกษาโครงการ EVEREST เห็นด้วยว่าเป็น วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ในระดับสากล ที่สร้างความสมดุลระหว่างผลกระทบต่อสังคม ชุมชน และบริษัทฯ กับระยะ เวลาในการดำ�เนินโครงการที่จะก่อให้เกิดผลกระทบนั้นได้ เพื่อให้ยังประโยชน์สูงสุดทั้งในเรื่องการใช้งบประมาณ และการสร้าง ประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้ผู้มีส่วนได้เสีย ดังตัวอย่างการคัดเลือกโครงการ ตามตาราง 2. กำ�หนดเป้าหมายของโครงการ CSR เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นต่อสังคมและชุมชน (Value Creation & Social transformation) รายละเอียดในโครงการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมที่สำ�คัญในปี 2559 หน้า 186-196 3. ดำ�เนินการประเมินความเสีย่ งด้านคอร์รปั ชันของโครงการ CSR ซึง่ ผลการประเมินความเสีย่ งไม่อยูใ่ นระดับทีม่ นี ยั สำ�คัญ 4. กำ�หนดให้งาน CSR เป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์องค์กร ด้านการเติบโตอย่างยั่งยืน และบูรณาการเรื่องการปฏิบัติด้วย ความรับผิดชอบและคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสียอย่างเป็นธรรม ไว้ในกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษัทฯทุกด้าน 5. ให้ความรู้ ความเข้าใจ และสร้างการมีส่วนร่วมใน แนวคิด/กิจกรรม และแนวปฏิบัติที่ดีด้านความรับผิดชอบต่อสังคม กับพนักงานและผูม้ สี ว่ นได้เสียของบริษทั ฯทุกกลุม่ อย่างต่อเนือ่ ง โดยบริษทั ฯ ได้ประกาศใช้ระเบียบการจัดหาพัสดุ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ในเครือ ฉบับใหม่ มีผลตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2559 ระบุเนือ้ ความทีช่ ดั เจนถึงการดูแลสังคมและสิง่ แวดล้อม ด้วย ความรับผิดชอบตลอดห่วงโซ่อุปทานของธุรกิจ ดังนี้ ความรับผิดชอบทางสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อปฏิบัติตามนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมท่ี่บริษัทฯได้ประกาศไว้และที่อาจมีประกาศฯ เพิ่มเติมในอนาคต ในระหว่างการดำ�เนินการทางธุรกิจด้วยกัน พนักงานจะต้องปฏิบัติ ดังนี้ • ติด ต่อ ประสานงานระหว่า งผู้ค ้า กับ ฝ่า ยงานวิจ ัย และพัฒ นา และ/หรือ ฝ่า ยปฏิบ ัต ิก ารของบริษ ัท ฯ และ/หรือ สำ� นัก คุณ ภาพ ความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อมอย่างสม่�ำ เสมอในงานทีเ่ กีย่ วข้องกับคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์หรือการบริการ พร้อมกับติดตาม ประเมินผลกระทบทางสังคมและสิง่ แวดล้อม และต้องดำ�เนินการทุกวิถที าง เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ผลิตภัณฑ์และบริการนัน้ อย่างยัง่ ยืน รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
181
•
ติดต่อกับผู้ค้าท่ี่รักษาจรรยาบรรณเชิงการค้า ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทฯ อย่าง สม่ำ�เสมอ หลีกเลี่ยงผู้ค้าที่ประกอบธุรกิจโดยปราศจากจรรยาบรรณทางธุรกิจ เช่น มีการกดขี่แรงงาน มีการจัดสรร สภาพการทำ�งานไม่ดี ไม่รบั รูส้ ทิ ธิของพนักงานลูกจ้าง มีพฤติกรรมฮัว้ ประมูลโดยการรวมหัวกันกับผูค้ า้ รายอืน่ ๆ ในการ ผลัดกันประมูลได้และแบ่งกำ�ไรกัน ดำ�เนินธุรกิจทีไ่ ม่โปร่งใส เปิดเผยความลับทางการค้าของบริษทั ฯ เสนอราคาต่�ำ กว่าทุนเพือ่ ตัดราคาผู้ค้ารายอื่นอย่างไม่ยุติธรรม มีพฤติกรรมข่มขู่ ทุจริตคอร์รัปชั่น เป็นต้น
• แจ้งผูค้ า้ เพือ่ ให้ความร่วมมือ หรือร่วมกับผูค้ า้ ในการดำ�เนินกิจกรรมเพ่อื สังคมและสิง่ แวดล้อม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ในการทำ�ธุรกิจอย่างมั่นคงและยั่งยืน 6. การดำ�เนินการตามแนวทาง UN Global Compact : UNGC ซึง่ ถูกริเริม่ ขึน้ ในปี 2542 เพือ่ เชิญชวนให้เหล่าบรรดาบรรษัท พลเมืองทั้งหลายเข้าร่วมทำ�ข้อตกลงภายใต้หลักสากล 10 ประการ สำ�หรับนำ�ไปใช้ในการดำ�เนินกิจกรรมทางธุรกิจ ให้ได้ชื่อว่า เป็นบรรษัทพลเมืองที่มีความรับผิดชอบหรือ Responsible Corporate Citizen เข้าเป็นภาคีสมาชิก UNGC ตั้งแต่ปี 2554 และในปี 2559 ยังเป็นผูร้ ว่ มก่อตัง้ Global Compact Network Thailand: GCNT ซึง่ เป็นหนึง่ ในเครือข่ายทีม่ อี ยูก่ ว่า 80 ประเทศทัว่ โลก เพื่อนำ�หลักการสากล 10 ประการของ UNGC ที่ครอบคลุม 4 ด้านสำ�คัญ มาปฏิบัติด้วยความรับผิดชอบต่อพันธสัญญา ดังนี้ 6.1 ด้านสิทธิมนุษยชน หลักประการที่ 1 - สนับสนุนและเคารพในการปกป้องสิทธิมนุษยชนที่ประกาศในระดับสากล ตามขอบเขตอำ�นาจที่เอื้ออำ�นวย หลักประการที่ 2 - หมั่นตรวจตราดูแลมิให้ธุรกิจของตนเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน แรงงาน บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญกับหลักการเคารพสิทธิมนุษยชน โดยองค์กรธุรกิจ สามารถคุ้มครอง (Protect) เคารพ (Respect) และ เยียวยา (Remedy) หากเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนจากกระบวนการทางธุรกิจ สอดคล้องกับแนวทาง CSR ของบริษัทฯที่ ยึดแนวคิด ใส่ใจ ห่วงใย แบ่งปัน : Care Share Respect มาตั้งแต่ปี 2549 โดยเฉพาะการดูแลชุมชนรอบเขตประกอบการ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศไออาร์พซี ี ซึง่ เป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียสำ�คัญของบริษทั ฯ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้ให้ความคุม้ ครอง ดูแลสิทธิของพนักงาน และผูร้ บั เหมา ทัง้ การปฏิบตั ติ ามกฎหมายแรงงาน การปฏิบตั งิ านในสภาพแวดล้อมทีด่ ี การส่งเสริมสวัสดิการทีด่ ใี ห้แก่พนักงาน ตามระเบียบบริษทั ฯ มีการจัดห้องปัม๊ นมที่สะอาดและมีตแู้ ช่นมให้พนักงานทีค่ ลอดบุตร การดูแลความปลอดภัยอย่างเท่าเทียม สำ�หรับพนักงานและผูร้ บั เหมา อาทิ จัดทำ�คูม่ อื ความปลอดภัยในช่วงทีม่ กี ารซ่อมบำ�รุงโรงงาน และให้มกี ารปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัด บริษทั ฯ มีกระบวนการประเมินและกระบวนการเยียวยาเพือ่ การดูแลชุมชนและสิง่ แวดล้อมเมือ่ ได้รบั ผลกระทบจากกิจกรรมของ โรงงาน เช่น เปิดรับข้อร้องเรียน 24 ชั่วโมง และมีเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่ตรวจหาสาเหตุและแก้ไขอย่างทันท่วงที การเปิดเผยข้อมูล กิจกรรมที่อาจสร้างผลกระทบต่อชุมชนต่อสาธารณชนทั้งก่อนหน้า ระหว่างการทำ�งาน และหลังกิจกรรม เช่น ช่วงการเริ่มเดิน เครื่องจักรโครงการ UHV ในช่วงไตรมาส 2 ปี 2559 และจัดให้ชุมชนเข้ามาเยี่ยมชม จำ�นวน 7 ครั้ง เพื่อความมั่นใจหลังจาก การเริ่มเดินเครื่องตลอดปี 2559 เป็นต้น กรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้บริหารระดับสูงยังให้ความสำ�คัญในการแก้ปัญหาข้อร้องเรียน โดยกระบวนการรับข้อร้องเรียนที่มี นัยสำ�คัญทุกเรื่องจะมีอย่างน้อยหนึ่งขั้นตอนของการตรวจสอบ ที่สำ�นักตรวจสอบภายในต้องนำ�เสนอกรรมการผู้จัดการใหญ่ เพื่อรับทราบปัญหาและแนวทางแก้ไข ซึ่งมีกระบวนการดำ�เนินงานอย่างเป็นธรรมและคุ้มครองผู้ให้เบาะแสไว้ด้วย ในปี 2559 บริษัทฯ ยังเข้าร่วมกิจกรรมและร่วมสัมมนาเกี่ยวกับการส่งเสริมสิทธิสตรี และการส่งเสริมสิทธิเด็ก ที่บริษัทฯได้ร่วม ให้คำ�มั่นในการส่งเสริมสิทธิเด็กและหลักปฏิบัติทางธุรกิจซึ่งจัดโดยสถาบันไทยพัฒน์และองค์การยูนิเซฟ และได้เตรียมแผน ดำ�เนินโครงการร่วมกับ UNFPA ในปี 2560 เพื่อส่งเสริมความรู้ให้เด็กและสตรีกลุ่มเสี่ยง หรือ กลุ่มเปราะบางในเรื่องอนามัย การเจริญพันธ์ ซึง่ องค์การสหประชาชาติมวี ตั ถุประสงค์ให้เด็กทุกคนมีโอกาสเกิดมาด้วยความตัง้ ใจและความพร้อมของมารดา หรือครอบครัว และเติบโตอย่างปลอดภัย และได้เข้าร่วมการสัมมนา ฟังบรรยาย ประชุมปฏิบัติการ เกี่ยวกับหลักสิทธิมนุษยชน จากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน กระทรวงยุติธรรม สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ผู้แทนองค์กรย่อย (UN Agency) ต่างๆ ของสหประชาชาติ และผู้เชี่ยวชาญศาลรัฐธรรมนูญ เกี่ยวกับสิทธิชุมชนและสิ่งแวดล้อมตาม ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ แห่งราชอาณาจักรไทย เป็นต้น อันแสดงถึงความตั้งใจจริงของบริษัทฯ ที่จะดำ�เนินการให้เกิดประโยชน์ตามหลักการสากล ในเรื่องสิทธิมนุษยชน อย่างแท้จริง
182
6.2 ด้านแรงงาน หลักประการที่ 3 - ส่งเสริมสนับสนุนเสรีภาพในการรวมกลุม่ ของแรงงานและการรับรองสิทธิในการร่วมเจรจาต่อรองอย่างจริงจัง หลักประการที่ 4 - ขจัดการใช้แรงงานเกณฑ์และที่เป็นการบังคับในทุกรูปแบบ หลักประการที่ 5 - ยกเลิกการใช้แรงงานเด็กอย่างจริงจัง หลักประการที่ 6 - ขจัดการเลือกปฏิบัติในเรื่องการจ้างงานและการประกอบอาชีพ ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีสหภาพแรงงาน 8 สหภาพ แสดงถึงการให้เสรีภาพในการรวมกลุม่ ของแรงงานและการรับรองสิทธิในการร่วม เจรจาต่อรอง โดย กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการลูกจ้าง ซึง่ เปิดให้มกี ารหารืออย่างจริงจัง ทัง้ นี้ การ เปลีย่ นแปลงในเรือ่ งกฎระเบียบและสวัสดิการทีส่ �ำ คัญของพนักงาน ได้น�ำ มาหารือในเวทีดงั กล่าวเพือ่ การเข้าใจตรงกันและยอมรับร่วม กันด้วย นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ยังเปิดช่องทางการสือ่ สารหลายช่องทางทีเ่ ปิดกว้างสำ�หรับพนักงานเพือ่ การรับทราบ แสดงความคิดเห็น ให้ขอ้ เสนอแนะ และร้องเรียน ตัวอย่างเช่น Intranet, Teammate Blog ตู้ ปณ. 35 เป็นต้น ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ไม่มกี ารใช้แรงงานเด็ก ไม่มีการใช้แรงงานที่เป็นการบังคับ และไม่มีการเลือกปฏิบัติในเรื่องการจ้างงานและการประกอบอาชีพโดยการจ้างงานต้อง พิจารณาความเหมาะสมของสภาพการทำ�งาน ในตำ�แหน่งต่างๆ เพื่อความปลอดภัย 6.3 ด้านสิ่งแวดล้อม หลักประการที่ 7 - สนับสนุนแนวทางการระแวดระวังในการดำ�เนินงานที่อาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หลักประการที่ 8 - อาสาจัดทำ�กิจกรรมที่ส่งเสริมการยกระดับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม หลักประการที่ 9 - ส่งเสริมการพัฒนาและการเผยแพร่เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ได้ดำ�เนินการตามแนวปฏิบัติที่ดีด้านสิ่งแวดล้อมโดยยึดมาตรฐานสากล และดำ�เนินการมากกว่าที่กฎหมายกำ�หนด ดังมีรายละเอียดในรายงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม หน้า 202-215 6.4 ด้านการต้านทุจริต หลักประการที่ 10 - ดำ�เนินงานในทางต่อต้านการทุจริต รวมทั้งการกรรโชก และการให้สินบนในทุกรูปแบบ บริษัทฯ ได้รับ การรับรองเป็นสมาชิกในโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption : CAC) เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2557 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำ�หนดนโยบาย และแนวปฏิบัติต่อต้านคอร์รัปชัน นโยบายงดรับ- ให้ของขวัญ และนโยบายการต่อต้านทุจริตและให้สินบน เพื่อใช้ทั่วทั้งองค์กร และบริษทั ในเครือ และเผยแพร่ความรูค้ วามเข้าใจให้พนักงานตามช่องทางการสือ่ สารของบริษทั ฯ อย่างสม่�ำ เสมอ (รายละเอียด ในรายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 64-67) 7. การปฏิบัติตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ Sustainable Development Goals (SDGs) นอกจากการคัดเลือกโครงการเพือ่ สังคม ตามเกณฑ์ทเี่ หมาะสมแล้ว รูปแบบของโครงการยังถูกออกแบบให้สอดคล้องและตอบ สนองต่อแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ SDGs 17 ข้อ ซึ่งในปี 2559 บริษัทฯ ได้ดำ�เนินการแล้วบางส่วน ดังมีรายละเอียดตามตัวอย่างโครงการหน้า 179 และในโครงการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมทีส่ �ำ คัญในปี 2559 หน้า 186-196 โดยมีเป้าหมายดำ�เนินการให้สอดคล้องครบทุกข้อในปี 2560 ผู้นำ�จากประเทศสมาชิกองค์การสหประชาชาติจำ�นวน 193 ประเทศ รวมทั้งประเทศไทยลงมติรับรอง เป้าหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืน หรือ Sustainable Development Goals ในการประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United Nations General Assembly - UNGA) เมื่อวันศุกร์ที่ 25 กันยายน 2558 โดยใช้เป็นวาระแห่งการพัฒนาของโลกใน 15 ปีข้างหน้า (2016-2030) มี 17 เป้าหมาย ได้แก่ รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
183
เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 4 เป้าหมายที่ 5 เป้าหมายที่ 6 เป้าหมายที่ 7 เป้าหมายที่ 8 เป้าหมายที่ 9 เป้าหมายที่ 10 เป้าหมายที่ 11 เป้าหมายที่ 12 เป้าหมายที่ 13 เป้าหมายที่ 14 เป้าหมายที่ 15 เป้าหมายที่ 16 เป้าหมายที่ 17
ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุกที่ ยุติความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการ และส่งเสริมเกษตรกรรมที่ยั่งยืน สร้างหลักประกันว่าคนมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและส่งเสริมสวัสดิภาพสำ�หรับทุกคนในทุกวัย สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาทีม่ คี ณ ุ ภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียน รู้ตลอดชีวิต บรรลุความเสมอภาคระหว่างเพศและให้อำ�นาจของผู้หญิงและเด็กหญิงทุกคน สร้างหลักประกันว่าจะมีการจัดให้มีน้ำ�และสุขอนามัยสำ�หรับทุกคน และมีการบริหารจัดการที่ยั่งยืน สร้างหลักประกันว่าทุกคนเข้าถึงพลังงานสมัยใหม่ในราคาที่สามารถซื้อหาได้ เชื่อถือได้ และยั่งยืน ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจทีต่ อ่ เนือ่ ง ครอบคลุม และยัง่ ยืน การจ้างงานเต็มทีแ่ ละมีผลิตภาพ และการมีงาน ที่สมควรสำ�หรับทุกคน สร้างโครงสร้างพืน้ ฐานทีท่ คี วามทนทาน ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมทีค่ รอบคลุมและยัง่ ยืน และส่งเสริม นวัตกรรม ลดความไม่เสมอภาคภายในและระหว่างประเทศ ทำ�ให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความครอบคลุม ปลอดภัย มีภูมิต้านทาน และยั่งยืน สร้างหลักประกันให้มีรูปแบบการบริโภคและผลิตที่ยั่งยืน ปฏิบัติการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิดขึ้น อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร ทะเลและทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ปกป้อง ฟืน้ ฟู และสนับสนุนการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างยัง่ ยืน จัดการป่าไม้อย่างยัง่ ยืน ต่อสูก้ ารกลายสภาพเป็น ทะเลทราย หยุดการเสือ่ มโทรมของทีด่ นิ และฟืน้ สภาพกลับมาใหม่ และหยุดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ส่งเสริมสังคมทีส่ งบสุขและครอบคลุมเพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน ให้ทกุ คนเข้าถึงความยุตธิ รรม และสร้างสถาบัน ที่มีประสิทธิผล รับผิดรับชอบ และครอบคลุม ในทุกระดับ เสริมความเข้มแข็งให้แก่กลไกการดำ�เนินงานและฟืน้ ฟูสภาพหุน้ ส่วนความร่วมมือระดับโลกสำ�หรับการพัฒนา ที่ยั่งยืน
บริษทั ฯ จะมีการประเมินความยัง่ ยืนของกิจการ ทัง้ ด้วยดัชนีวดั DJSI ซึง่ จัดเป็นเป้าหมายระดับองค์กร โดยบริษทั ฯได้รบั การรับรองเป็น สมาชิก 3 ปีต่อเนื่อง และความคืบหน้าในเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคม การต้านทุจริต และการตอบสนองต่อเป้าหมายการ พัฒนาทีย่ งั่ ยืน ตามทีส่ ถาบันไทยพัฒน์จดั เป็นตัวบ่งชีใ้ นปี 2560 เพือ่ นำ�ผลการประเมินไปใช้เป็นข้อมูลสำ�หรับการพัฒนาปรับปรุง เพิม่ ระดับความคืบหน้าทัง้ สามด้านอย่างต่อเนือ่ ง ตลอดจนพัฒนาแนวทางในการสนับสนุนการพัฒนาความยัง่ ยืนของบริษทั ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับกรอบหรือมาตรฐานที่เป็นสากล
184
8. ผู้บริหารสูงสุดให้ความสำ�คัญกับการปฏิบัติขององค์กรด้วยความรับผิดชอบ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้มีส่วนได้เสีย และภาพลักษณ์ที่ดีของบริษัทฯ และเพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ มีการดำ�เนินงาน ตามกรอบแนวทางการนำ�เสนอข้อมูลด้านความ รับผิดชอบต่อสังคม (Guidelines for Social Responsibility และ Guidelines for CSR Report) ของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย อย่างครบถ้วน โดยได้การดำ�เนินงานที่สำ�คัญในปี 2559 มีดังนี้ 1. การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษทั ฯ ดำ�เนินงานตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ อย่างเคร่งครัดและพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง (รายละเอียดใน รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีหน้า 42-67 2. การประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรม บริษัทฯ มีคู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ และมี การทบทวนทุกปี จากที่มีการจัดพิมพ์ฉบับปรับปรุงใหม่ในปี 2558 เพื่อมอบให้บุคลากรทุกระดับยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ อย่างเคร่งครัด ในปี 2559 ได้เพิ่มเนื้อหาในเรื่องนโยบาย Compliance นโยบายการงดรับ-ให้ของขวัญ: No Gift Policy และนโยบายการต่อต้านทุจริตและให้สินบน (รายละเอียดในรายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 66) 3. การต่อต้านการทุจริต บริษัทฯ ได้การรับรองเป็นสมาชิกในโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption : CAC) เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2557 และคณะกรรมการบริษัทฯ ได้ก�ำ หนดนโยบายและแนวปฏิบตั ติ อ่ ต้านคอร์รปั ชัน นโยบายงดรับ-ให้ของขวัญ และนโยบายการต่อต้านทุจริตและให้สนิ บน เพือ่ ใช้ทวั่ ทัง้ องค์กรและบริษทั ในเครือ และเผยแพร่ความรูค้ วามเข้าใจให้พนักงานตามช่องทางการสือ่ สารของบริษทั ฯ อย่าง สม่ำ�เสมอ (รายละเอียดในรายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 66) 4. การเคารพสิทธิมนุษยชน บริษัทฯ เคารพและสนับสนุนการปกป้องสิทธิมนุษยชนที่ประกาศในระดับสากล (UN Global Compact: UNGC) ในการ ไม่เลือกปฏิบตั ดิ ว้ ยสาเหตุอนั เนือ่ งมาจากความเหมือนหรือความแตกต่าง ทัง้ ทางด้านเชือ้ ชาติ ศาสนา เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพรวมถึงเคารพสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล และคุม้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล โดยได้บรรจุเนือ้ หาไว้ในคูม่ อื การกำ�กับดูแล กิจการที่ดี ในหัวข้อ “จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ” (รายละเอียดในรายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 62) 5. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม บริษัทฯ มีการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม ยึดตามหลักสากล (UN Global Compact) โดยจัดให้มีระบบการทำ�งานที่ มุง่ เน้นความปลอดภัยและสุขอนามัยในสถานทีท่ �ำ งานอย่างเหมาะสม มีการพัฒนาศักยภาพและเพิม่ พูนทักษะของพนักงาน อย่างสม่�ำ เสมอตามโครงการวางแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) มีการใช้ระบบการประเมินผล ทีม่ ปี ระสิทธิภาพและเป็นธรรม (Performance Management System) และมีการดูแลและปรับปรุงในเรือ่ งสวัสดิการให้แก่พนักงาน ตามความเหมาะสม (รายละเอียดในรายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 63-64 และการบริหารและทรัพยากรบุคคล หน้า 156-160) 6. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค บริษัทฯ ได้วางกลยุทธ์บริหารจัดการช่องทางการจัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยคำ�นึงถึงพฤติกรรม และความต้องการของลูกค้าที่แตกต่างกัน และให้ความสำ�คัญในด้านความพึงพอใจของลูกค้า โดยมุ่งเน้นตอบสนองต่อ ความต้องการของลูกค้าทุกกลุ่มให้อยู่ในระดับสูงสุด อีกทั้งมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดการฐานข้อมูลต่างๆ ที่ สำ�คัญสำ�หรับธุรกิจแต่ละประเภท ให้พร้อมตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ระบบ IRIS (IRPC Relationship Information System) ใช้รองรับการบริหารจัดการงานลูกค้าสัมพันธ์สำ�หรับธุรกิจปิโตรเลียม โดย รวบรวมข้อมูลจากการดำ�เนินธุรกิจกับลูกค้านำ�มาเป็นฐานข้อมูลเพื่อใช้วิเคราะห์พัฒนาตอบสนองความต้องการและแก้ไข ปัญหาที่ลูกค้าร้องเรียนอย่างเป็นระบบ รวมทั้งระบบ CRM IAsset ซึ่งเริ่มใช้ในปี 2558 7. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม (รายละเอียดในรายงานความรับผิดชอบต่อสังคม หน้า 186-196)
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
185
โครงการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมที่สำ�คัญในปี 2559 มีดังนี้ ด้านพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อม
1. โครงการไออาร์พีซีลำ�ไทรโยงโมเดล
“ต่อยอดเติบโตเพื่อเป็นโมเดลตัวอย่างของภาคเอกชนช่วยแก้ปัญหาภัยแล้งให้ภาครัฐ”
บริษทั ฯ มีเจตนารมณ์ในการดำ�เนินธุรกิจบนพืน้ ฐานของความโปร่งใส โดยมุง่ เน้นการมีสว่ นร่วมทำ�ประโยชน์ให้กบั ชุมชนสังคม ให้มคี วามเป็นอยู่และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยใช้องค์ความรู้และศักยภาพขององค์กรและบุคลากรของบริษัทฯ โครงการไออาร์ พีซีลำ�ไทรโยงโมเดล เริ่มมาตั้งแต่ปี 2557 โดยร่วมกับมูลนิธิเพื่อการศึกษาและประชาสงเคราะห์ ดำ�เนินโครงการขุดลอกอ่าง เก็บน้ำ� ณ หมู่บ้านหนองยาง ตำ�บลลำ�ไทรโยง อำ�เภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ จำ�นวน 5 อ่าง ให้ความลึกเพิ่มขึ้นอีก 4 เมตร แล้วเสร็จในช่วงปลายปี ทำ�ให้เก็บน้ำ�ได้เพิ่มขึ้นประมาณ 100,000 ลูกบาศก์เมตร หรืออีกหนึ่งเท่าตัว ทำ�ให้ชุมชนสามารถใช้ ประโยชน์จากอ่างเก็บน้�ำ ดังกล่าวได้เพิม่ ขึน้ จาก 350 ครัวเรือน เป็น 440 ครัวเรือน ช่วยให้ชมุ ชนมีรายได้เพิม่ ขึน้ จากการจำ�หน่าย พืชผักสวนครัวโดยเฉลี่ย ครัวเรือนละ 30,000 บาทต่อปี
186
หลังจากโครงการแรกเสร็จสมบูรณ์ บริษัทฯ ยังคงติดตามผลอย่างต่อเนื่อง พบว่าโครงการดังกล่าวสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน ได้อย่างแท้จริง ซึ่งจะเห็นได้จากปี 2558 ขณะที่หลายพื้นของภาคตะวันออกเฉียงเหนือประสบกับปัญหาภัยแล้ง แต่หมู่บ้าน หนองยางยังคงมีน้ำ�ใช้อย่างเพียงพอ ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้สานต่อโครงการไออาร์พีซีลำ�ไทรโยงโมเดล โดยมุ่งหวังให้โครงการ นี้เป็นโครงการต้นแบบในการช่วยต้านภัยแล้งของบริษัทเอกชน ในปี 2558 พนักงานจิตอาสาได้ไปช่วยแก้ไขและปรับปรุงระบบ ประปาชุมชนของหมูบ่ า้ นหนองยางทีม่ คี วามเข้มข้นของตะกอนสูง รวมทัง้ ติดตัง้ กังหันลมกวนน้� ำ ทำ�ให้ได้น�้ำ ประปาทีม่ คี วามใส สะอาด ได้มาตรฐาน สามารถนำ�ไปใช้อุปโภคและบริโภคได้อย่างถูกสุขลักษณะ อีกทั้งให้ความรู้แก่ชุมชนในการบำ�รุงรักษาและ ซ่อมแซมระบบการทำ�น้ำ�ประปา ทำ�ให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ในปี 2559 เพื่อให้โครงการไออาร์พีซีลำ�ไทรโยงโมเดล สามารถสร้างประโยชน์ให้แก่ชุมชนในวงกว้างขึ้นโดยใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่ให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อชุมชน บริษัทฯ ได้เดินท่อส่งน้ำ�พลาสติกพีอี (ท่อ HDPE) ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ของ บริษัทฯ จากลำ�ไทรโยงซึ่งเป็นลำ�รางสาธารณะ เนื่องจากในหน้าน้ำ�หลาก น้ำ�ในลำ�รางจะไหลทิ้งไปโดยไม่ได้ทำ�ประโยชน์แต่ อย่างใด ไปยังอ่างเก็บน้ำ�ที่ทางราชการได้ขุดไว้ ณ บริเวณป่าดอนโจร หมู่บ้านหนองยาง อันเป็นพื้นที่ป่าอนุรักษ์ของชุมชน เป็นแหล่งอาหาร สมุนไพร แหล่งรายได้ และพื้นที่เรียนรู้ของเยาวชน อ่างเก็บน้ำ�ดังกล่าวมีขนาดใหญ่สามารถจุน้ำ�ได้ประมาณ 270,000 ลูกบาศก์เมตร หากต้องรอรับน้ำ�ฝนเพียงอย่างเดียว ปริมาณน้ำ�ที่กักเก็บได้จะน้อย ทำ�ให้ชุมชนสูญเสียโอกาสในการ ใช้ประโยชน์จากอ่างเก็บน้ำ�อย่างเต็มที่ โครงการดังกล่าวดำ�เนินการโดยพนักงานจิตอาสาทีม่ คี วามรูด้ า้ นวิศวกรรมออกแบบและโยธา ได้ลงพืน้ ทีส่ �ำ รวจและวางระบบการเดิน ท่อน้� ำ ระยะทาง 1.2 กิโลเมตร และติดเครือ่ งสูบน้�ำ ระบบพลังงานแสงอาทิตย์ ทำ�ให้ชมุ ชนไม่ตอ้ งรับภาระในส่วนของค่าไฟฟ้าสามารถ สูบน้�ำ ได้เฉลีย่ 5 ชัว่ โมงต่อวัน ปริมาณน้�ำ ทีไ่ หลลงอ่างเก็บน้�ำ เฉลีย่ 1,350 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ส่งผลให้ชมุ ชนสามารถใช้ประโยชน์ จากน้�ำ สำ�รองในหน้าแล้งได้เพิม่ ขึน้ จาก 3 ชุมชน เป็น 10 ชุมชน ทัว่ ถึงทัง้ ตำ�บล และได้เสริมการปลูกต้นไม้ทปี่ า่ ดอนโจรด้วยไม้ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ได้แก่ ไม้เศรษฐกิจ ไม้ใช้เป็นพลังงาน ไม้ใช้เป็นอาหาร และทีส่ �ำ คัญคือไม้เป็นประโยชน์ตอ่ การเกิดต้นน้�ำ ลำ�ธาร ด้วยความสำ�เร็จของโครงการไออาร์พีซีลำ�ไทรโยงโมเดล บริษัทฯ จึงมีแผนที่จะใช้เป็นโมเดลในพื้นที่แห้งแล้งอื่นต่อไป และจะ ดำ�เนินการให้เป็นมาตรฐานตั้งแต่การเริ่มคัดเลือกพื้นที่ โดยในปี 2560 บริษัทฯ ได้ขอความร่วมมือจากผู้ว่าราชการจังหวัด ศรีสะเกษ ในการคัดเลือกพื้นที่ในจังหวัดศรีสะเกษที่มีความพร้อมตามปัจจัยความสำ�เร็จ (Key Success factor) เป็นพื้นที่ ดำ�เนินโครงการ คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในเวลา 2 ปี สามารถสรุปการจัดการองค์ความรูแ้ ละงบประมาณในการดำ�เนินโครงการ แก้ปัญหาภัยแล้งของภาคเอกชนตามโมเดลดังกล่าวได้อย่างสมบูรณ์ และจะเผยแพร่ไว้เพื่อให้ภาครัฐหรือชุมชนนำ�ไปเป็นต้น แบบดำ�เนินการร่วมกับบริษัทเอกชน เพื่อช่วยกันพัฒนาแก้ปัญหาภัยแล้งของประเทศต่อไป 2. โครงการศูนย์ศึกษาระบบนิเวศและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวป่าชายเลนพระเจดีย์กลางน้ำ� “อนุรักษ์ป่าชายเลนผืนสุดท้ายในเมืองระยอง”
บริษทั ฯ ร่วมกับเทศบาลนครระยอง กลุม่ อนุรกั ษ์แม่น�้ำ ระยองและป่าชายเลน ดำ�เนินโครงการศูนย์ศกึ ษาระบบนิเวศป่าชายเลนพระ เจดียก์ ลางน้� ำ ณ บ้านปากน้� ำ ตำ�บลปากน้� ำ อำ�เภอเมืองนครระยอง จังหวัดระยองตัง้ แต่ปี 2556 โดยได้สนับสนุนงบประมาณใน การก่อสร้างหอชมวิวเฉลิมพระเกียรติ สะพานทางเดินศึกษาธรรมชาติ ระยะทาง 400 เมตร และสนับสนุนการอนุรกั ษ์ปา่ ชายเลน เพือ่ ให้เป็นสถานที่สำ�หรับศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศของป่าชายเลน ในปี 2559 ได้จัดทำ�โครงการ Love Lock โดยจัดพื้นที่บริเวณ หอชมวิวให้เป็นทีแ่ ขวนแม่กญ ุ แจสำ�หรับนักท่องเทีย่ ว จัดทำ�ทีน่ งั่ พร้อมพนักพิงบริเวณลานกิจกรรมใกล้หอชมวิว จัดทำ�หุน่ ไฟเบอร์ กลาสในจุดถ่ายภาพ พร้อมสะพานทาง ลงเพือ่ ไปถ่ายภาพ ซึง่ นอกจากจะช่วย ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใน จังหวัดระยองแล้ว ยังเป็นการรักษา เจตนารมย์ของโครงการนี้ไว้ให้ยั่งยืน ในเรือ่ งความตัง้ ใจอนุรกั ษ์ปา่ ชายเลน พระเจดีย์กลางน้ำ� อันเป็นป่าชายเลน ผืนสุดท้ายในเมืองระยองไว้ตลอดไป รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
187
3. โครงการทางเชื่อมใต้ร่มไม้เมืองโบราณศรีมโหสถ
“ภูมิทัศน์ที่ร่มรื่นช่วยเฝ้าระวังและสร้างจิตสำ�นึกของการอนุรักษ์เมืองโบราณศรีมโหสถ เขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมแห่งแรกไว้เป็นสมบัติของชาติ”
ในอำ�เภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี ในอดีตมีชุมชนโบราณและเมืองโบราณศรีมโหสถ ที่ปัจจุบันยังคงมีซากที่ใช้ประกอบ พิธกี รรมและศาสนกิจในอดีตปรากฏอยูท่ ตี่ �ำ บลศรีมโหสถ เมืองโบราณศรีมโหสถเป็นโบราณสถานเก่าแก่ทมี่ อี ายุมากกว่า 1,200 ปี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงได้เสนอให้ประกาศเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม โดยประกาศกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำ�หนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในบริเวณพื้นที่เมืองโบราณศรี มโหสถ อำ�เภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี พ.ศ. 2558 ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2558 และมีผล บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน 2558 เป็นต้นไป เป็นระยะเวลา 5 ปี โดยพื้นที่เมืองศรีมโหสถนับเป็นพื้นที่แหล่งศิลปกรรม แห่งแรกของประเทศ ที่ได้รับการประกาศเป็นเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม บริษทั ฯ เล็งเห็นถึงความสำ�คัญในการอนุรกั ษ์โบราณสถานดังกล่าว จึงได้สนับสนุนงบประมาณในการดำ�เนินโครงการทางเชือ่ มใต้รม่ ไม้ เมืองโบราณศรีมโหสถ เขตพืน้ ทีค่ มุ้ ครองสิง่ แวดล้อมศรีมโหสถและพืน้ ทีต่ อ่ เนือ่ ง เพือ่ ปรับปรุงภูมทิ ศั น์เส้นทางเข้าสูเ่ มืองโบราณ ศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี โดยร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำ�บลโคกปีบ และสำ�นักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (สผ.) ปลูกต้นไม้โดยเฉพาะต้นเฟือ่ งฟ้า ตลอดแนวถนนสูเ่ มืองโบราณศรีมโหสถ เป็นระยะทาง 800 เมตร เพือ่ เพิม่ พืน้ ที่ สีเขียว สร้างความร่มรืน่ รองรับเส้นทางจักรยานเพือ่ ส่งเสริมคุณภาพชีวติ ชุมชน และเป็นการเพิม่ แหล่งท่องเทีย่ วในรูปแบบทีเ่ ป็นมิตร ต่อชุมชน เริม่ ดำ�เนินการเมือ่ วันที่ 19 สิงหาคม 2559 คาดว่าต้นไม้จะเติบโตพอเป็นซุม้ อุโมงค์ได้ทงั้ หมดภายในปี 2561 บริษทั ฯ มุง่ หวังว่า นอกจากจะส่งเสริมด้านสิง่ แวดล้อมแล้ว ภูมทิ ศั น์ทรี่ ม่ รืน่ สวยงามเป็นระเบียบในพืน้ ทีใ่ กล้โบราณสถานยังจะช่วยเฝ้าระวังและ ปลุกจิตสำ�นึกของประชาชนในเรือ่ งการอนุรกั ษ์เมืองโบราณทีเ่ ป็นเขตพืน้ ทีค่ มุ้ ครองสิง่ แวดล้อมแห่งแรก ไว้เป็นสมบัตขิ องชาติสบื ไป 4. โครงการพัฒนาชุมชน สิ่งแวดล้อม และสร้างสาธารณประโยชน์รอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี “โรงงานและชุมชนรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซีเติบโตอย่างยั่งยืนไปด้วยกัน”
บริษัทฯ มุ่งเน้นและให้ความสำ�คัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชน และดำ�เนินการเพื่อตอบสนองความต้องการที่เป็นประโยชน์ ต่อส่วนรวมเสมอมา บริษัทฯ ได้ดำ�เนินโครงการก่อสร้างสิ่งที่เป็นสาธารณประโยชน์ ในพื้นที่รอบเขตประกอบการอุตสาหกรรม ไออาร์พซี ี จังหวัดระยองอย่างต่อเนือ่ ง ในปี 2559 ได้ด�ำ เนินโครงการติดตัง้ ไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณถนนสายชายทุง่ ตำ�บลบ้านแลง โครงการปรับปรุงห้องพยาบาลโรงเรียนวัดนาตาขวัญ ตำ�บลนาตาขวัญ โครงการติดตั้งระบบไฟแสงสว่างลานออกกำ�ลังกาย ตำ�บลเชิงเนิน และ โครงการปรับปรุงระบบน้ำ�ประปา ตำ�บลตะพง เป็นต้น นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังจัดกิจกรรมหัวใจอาสาพัฒนาชุมชนในทุกๆ พื้นที่โดยรอบเขตประกอบการไออาร์พีซี อาทิ กิจกรรมเด็ก ไทยวัยใสห่างไกลยาเสพติด โรงเรียนบ้านตะเกราทอง กิจกรรมปรับปรุงพัฒนาวัดตรีมิตรประดิษฐาราม กิจกรรมเก็บขยะกับ กลุ่มประมงเรือเล็ก ชายหาดท่าเรือไออาร์พีซี โครงการ โรงเรียนผู้สูงอายุหนองจอกคอนแวนต์ ตำ�บลเชิงเนิน เป็นต้น โดยมีชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมจำ�นวน 585 คน และพนักงาน 1,402 คน บริษทั มี กองทุนพัฒนาไฟฟ้า ซึง่ เป็นกองทุนเพือ่ พัฒนา ชีวติ ทีด่ ขี องชุมชนและสิง่ แวดล้อมรอบเขตประกอบการฯ โดยมีคณะกรรมการกำ�กับกิจการพลังงานเป็นผูจ้ ดั สรร เงินเพือ่ การใช้จา่ ยในแต่ละวัตถุประสงค์ของการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง เป็นผลให้เงินกลับไปสู่การพัฒนาชุมชน อย่างยั่งยืนและถาวร ในส่วนของเยาวชน บริษัทฯ มีโครงการสนับสนุนการ ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์แก่นักเรียน ตั้งแต่ปี 2552 โดย เริม่ ต้นจากให้ความรู้ สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ อุปกรณ์และ
188
แปลงปลูกผักไฮโดรโปรนิกส์ให้แก่นักเรียนตามโรงเรียนต่างๆ ในพื้นที่รอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี โดยใน ขั้นต้นมุ่งหวังให้นำ�ผักที่นักเรียนปลูกได้มาประกอบอาหารกลางวัน เพื่อเป็นการเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการและลดค่าใช้จ่ายใน การซือ้ อาหารกลางวันของนักเรียน และสามารถขยายจำ�นวนการปลูกเพือ่ นำ�ไปขายเป็นรายได้เสริมอีกทางหนึง่ ปัจจุบนั บริษทั ฯ ได้ให้ความรู้และสนับสนุนการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ไปแล้วทั้งสิ้น จำ�นวน 21 โรงเรียน นอกจากนี้ ยังได้จัดทำ�แปลงผักสาธิตไว้ ที่ศูนย์การเรียนรู้เครือข่ายชุมชนไออาร์พีซี เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไปที่สนใจ สามารถมาศึกษาและเรียนรู้การปลูกผัก ดังกล่าวเพื่อสร้างเป็นอาชีพได้ต่อไป 5. โครงการสื่อสารเพื่อความปลอดภัยของชุมชนและสิ่งแวดล้อม “รับรู้ เข้าถึง เข้าใจ พัฒนา”
บริษัทฯ ดำ�เนินโครงการหอกระจายข่าวชุมชน โดย สร้างหอกระจายข่าวไว้ในพื้นที่ 3 ตำ�บล ที่อยู่ติดรอบรั้วเขตประกอบการฯ ได้แก่ ตำ�บลตะพง ตำ�บลบ้านแลง และตำ�บลเชิงเนิน จำ�นวน 7 จุด เพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในทุกมิติ อันจะช่วยบรรเทา ข้อวิตกกังวลของชุมชน ให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และมาตรการจัดการเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉิน และเป็นช่อง ทางการสือ่ สารเพือ่ แจ้งเหตุแก่ประชาชนได้อย่างทันท่วงที โดยมีชมุ ชนทีไ่ ด้รบั ข้อมูลผ่านหอกระจายข่าวครอบคลุมกว่า 18 ชุมชน หรือประมาณ 13,800 คน บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมเปิดบ้านสานสัมพันธ์ (Open House) เป็นประจำ�ทุกปี เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย รับรู้ถึงการ ดำ�เนินธุรกิจและการจัดการด้านสิง่ แวดล้อมของบริษทั ฯ โดยในปี 2559 ได้น�ำ ผูม้ สี ว่ นได้เสียเข้าเยีย่ มชมโครงการ UHV ทัง้ หมด 15 ครั้ง จำ�นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 618 คน นอกจากนัน้ ยังมีโครงการ Public Right to know อบรมชุมชนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดระยอง โดยเฉพาะกลุม่ อาสาสมัครสาธารณสุขพืน้ ที่ (อสม.) ให้ได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง อาทิ เรื่องก๊าซที่ระบายออกทางหอเผา (Flare) ซึ่งเป็นก๊าซที่ตกค้างในกระบวนการ ผลิตอันเนื่องมาจากการหยุดผลิตฉุกเฉิน ซึ่งเป็นการระบายออกเพื่อความปลอดภัย หรือการเริ่มต้นเดินเครื่องจักร โครงการ UHV และ CHP II เรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัย หรือสารเคมีกับชีวิตประจำ�วัน เป็นต้น โดยในปี 2559 จัดการอบรม 5 รุ่น รวม 335 คน 6. โครงการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
“ผลักดันกลุ่มต้นแบบในจังหวัดระยองให้เข้มแข็งพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน”
บริษทั ฯ ได้ด�ำ เนินการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ในด้านการเพิม่ ศักยภาพด้วยการเสริมความรู้ และทักษะแก่ชมุ ชน โดยจัดโครงการ ศึกษาดูงานเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมทั้งจัดหาช่องทางในการจำ�หน่ายสินค้า และผลักดันกลุ่มต้นแบบในจังหวัดระยองให้ มีธุรกิจที่เข้มแข็งพึ่งตนเองได้ จำ�นวน 94 กลุ่ม ทำ�ให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจำ�นวน 3.9 ล้านบาท
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
189
ด้านสุขอนามัย
7. โครงการขาเทียมพระราชทาน “ความภาคภูมิใจที่นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ช่วยสร้างโอกาสในชีวิตให้ผู้พิการ”
โครงการขาเทียมพระราชทาน เป็นความภาคภูมิใจของบริษัทฯ ที่ได้ใช้นวัตกรรมเม็ดพลาสติก ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ เป็นวัตถุดิบให้มูลนิธิขาเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี จำ�นวนเฉลี่ย 20-25 ตันต่อปี เพื่อจัดทำ�ขาเทียมให้ ผู้พิการ ทุกเชื้อชาติ ศาสนา ให้กลับมามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถประกอบอาชีพ และมีความสุขในสังคมได้เท่ากับผู้ที่มี สุขภาพสมบูรณ์ทั่วไป ดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2554 ขาเทียมที่จัดทำ�ได้ทั้งหมดนับจากปี 2554 จำ�นวน 8,748 ขา จำ�นวนผู้ป่วย 7,091 คน คิดเป็นเม็ดพลาสติก 115 ตัน ในปี 2559 บริษทั ฯ ได้ด�ำ เนินโครงการออกหน่วยทำ�ขาเทียมพระราชทานครัง้ ใหญ่ โดย ร่วมกับมูลนิธขิ าเทียม ในสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี และ จังหวัดระยอง ออกหน่วยทำ�ขาเทียมพระราชทาน ในวโรกาสการจัดงานฉลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ 70 ปี และงาน
190
เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม 2559 จัดทำ�ขาเทียมให้ผพู้ กิ ารในจังหวัดระยองและจังหวัดใกล้เคียง ณ สมาคมสโมสรไออาร์พซี ี สปอร์ต คอมเพล็กซ์ จังหวัดระยองเป็นเวลา 7 วัน ระหว่างวันที่ 9-15 กรกฎาคม 2559 มีผู้พิการลงทะเบียนรับบริการจำ�นวน 220 คน สามารถ จัดทำ�ขาเทียมแล้วเสร็จทัง้ สิน้ จำ�นวน 191 ขา การออกหน่วยทำ�ขาเทียมครัง้ นี้ เป็นครัง้ แรกของการดำ�เนินการทีใ่ ช้เป็นมาตรฐาน ต่อไป 4 เรื่อง ได้แก่ 1. การจัดทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างเครื่องช่วยคนพิการระดับ 1 โดยศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน จังหวัด เชียงใหม่ และจังหวัดระยอง ซึ่งช่างเหล่านี้บางคนเป็นผู้พิการซึ่งมาทำ�งานเพื่อสังคม เมือ่ ผ่านการทดสอบจะสามารถบรรจุ เป็นข้าราชการได้ตามวุฒิ 2. การอบรมผู้พิการและญาติ เรื่องกายภาพบำ�บัดควบคู่ไปกับการดูแลตอขาและขาเทียม โดยมูลนิธิขาเทียมฯ 3. การอบรมอาชีพให้แก่ผพู้ กิ ารและญาติ โดยศูนย์พฒ ั นาฝีมอื แรงงาน จังหวัดระยอง กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน 4. เปิดโอกาสให้ประธานเครือข่ายชมรมผู้พิการจังหวัดระยองมีส่วนร่วมในการจัดงานและเสนอความเห็นต่อจังหวัดระยอง เกี่ยวกับปัญหาและความต้องการด้านแรงงานของผู้พิการเพื่อการพัฒนาต่อไป โครงการดังกล่าวได้รับรางวัล Asia Responsible Entrepreneurship Awards (AREA Awards) และใช้เป็นกรณีศึกษาสำ�หรับ การประชุม 10th International Conference on Corporate Social Responsibility 2016 จัดโดย Institute of Directors ประเทศอินเดีย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังสนับสนุนให้พนักงานร่วมทำ�กิจกรรมจิตอาสาภายใต้โครงการ IRPC กองกำ�ลังอาสา ซ่อม เสริม เติม สุข ประกอบด้วยวิศวกร และพนักงานที่มีความรู้ด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ร่วมออกหน่วยทำ�ขาเทียมกับมูลนิธิฯในพื้นที่อื่นๆ ตลอดปี ช่วยติดตั้งเครื่องมือ อุปกรณ์ และร่วมผลิตขาเทียมให้แก่ผู้ป่วย อาทิ ระหว่างวันที่ 17-23 ธันวาคม 2559 ณ องค์การ บริหารส่วนจังหวัดกระบี่ ซึ่งสามารถให้บริการแก่ผู้ป่วยจำ�นวน 108 คน ทำ�ขาเทียมทั้งสิ้นจำ�นวน 113 ขา ซึ่งเป็นทั้งขาแบบ สวยงามและขาเกษตร (สำ�หรับผู้ป่วยใส่ทำ�งานในแปลงนาหรือทำ�ไร่) ในแผนงานลำ�ดับต่อไป จะนำ�ผลิตภัณฑ์ Ultra High Molecular Weight Polyethylene (UHMW-PE) ซึ่งมีความแข็งแกร่ง ทนทานและน้ำ�หนักเบา มาพัฒนาเพื่อผลิตข้อเข่าเทียมสำ�หรับเด็กและชิ้นส่วนต่างๆ สำ�หรับขาเทียมต่อไป 8. กองทุนส่งเสริมสุขภาพชุมชนรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี “บริหารจัดการกองทุนโดยชุมชนเพื่อส่งเสริมป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสุขภาพชุมชน”
บริษัทฯ ได้จัดตั้ง คลีนิกปันน้ำ�ใจ เพื่อให้บริการด้านสาธารณสุข และตรวจรักษาพยาบาลขั้นพื้นฐานแก่ประชาชนในชุมชนที่อยู่ รอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซีและพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อให้เกิดความสะดวกปลอดภัย และไม่เสียค่าใช้จ่ายในด้าน สาธารณสุขของครอบครัว ด้วยคุณภาพการตรวจรักษาที่ดีของทีมแพทย์ พยาบาล ดำ�เนินการมาแล้ว 6 ปี โดยในปี 2559 มีประชาชนเข้ามาใช้บริการจำ�นวน 4,864 คน และปัจจุบันมียอดการทำ�บัตรสุขภาพ IRPC Card รวมทั้งหมด 8,306 ใบ นอกจากนัน้ ยังได้จดั หน่วยแพทย์เคลือ่ นทีอ่ อกให้บริการตรวจรักษาโรคทัว่ ไปแก่ประชาชนตามชุมชนต่างๆ โดยร่วมกับ โรงพยาบาล สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ กรมแพทย์ทหารเรือ เป็นประจำ�เดือนละ 1 ครัง้ โดยมีผเู้ ข้ารับบริการในปี 2559 ทัง้ สิน้ จำ�นวน 1,081 คน แม้ว่าบริษัทฯ จะมีโครงการดูแลสุขภาพชุมชนรอบเขตประกอบการฯ อย่างเต็มที่หลายโครงการซึ่งดำ�เนินการต่อเนื่องตลอด หลายปีที่ผ่านมาแล้ว ในปี 2559 บริษัทฯ ยังได้เพิ่มโครงการใหม่อีกหนึ่งโครงการที่ตรงกับความต้องการของชุมชนเช่นกัน นัน่ คือ โครงการกองทุนส่งเสริมสุขภาพชุมชนรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พซี ี โดยชุมชนเป็นผูบ้ ริหารจัดการกองทุนเอง ภายใต้ค�ำ แนะนำ�ด้านอาชีวอนามัยจากผูเ้ ชีย่ วชาญด้านสาธารณสุข และบริษทั สนับสนุนงบประมาณเงินกองทุน จำ�นวน 6 ล้านบาท ต่อเนือ่ งทุกปี โครงการกองทุนสุขภาพชุมชนรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พซี ี เป็นประโยชน์ตงั้ แต่การส่งเสริม การป้องกัน การรักษาและฟื้นฟูสุขภาพ ของประชาชนรอบเขตประกอบการฯ ได้แก่ เขตเทศบาล ตำ�บลเชิงเนิน ตำ�บลบ้านแลง ตำ�บลตะพง ตำ�บลนาตาขวัญ ตำ�บลตาขัน เทศบาลน้ำ�คอก เทศบาลทับมา และเทศบาลนครระยอง รวม 76 ชุมชน ภายในรัศมี 5 กิโลเมตร
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
191
9. โครงการน้ำ�ดื่มเพื่อชุมชน
“ใส่ใจด้วยน้ำ�ดื่มสะอาด เพื่อสุขอนามัยที่ดี”
บริษัทฯ ได้จัดทำ�โครงการน้ำ�ดื่มเพื่อชุมชน โดยแจกจ่ายน้ำ�ดื่มที่สะอาดและได้มาตรฐานให้แก่ประชาชน รอบเขตประกอบการ อุตสาหกรรมไออาร์พีซี และพื้นที่เขตเทศบาลนครระยอง อำ�เภอตะพง อำ�เภอบ้านแลง และอำ�เภอนาตาขวัญ เป็นประจำ�ทุกปี โดยในปี 2559 ได้แจกจ่ายน้ำ�ดื่มชนิดแก้ว จำ�นวน 222,576 แก้ว และน้ำ�ดื่มชนิดขวดจำ�นวน 16,920 ขวด 10. โครงการฟุตบอลยุวชน ไออาร์พีซี “พัฒนาร่างกาย จิตใจ ห่างไกลยาเสพติด”
การออกกำ�ลังกายและการเล่นกีฬาอย่างสม่ำ�เสมอเป็นกระบวนการหนึ่งที่สามารถพัฒนาคนได้ง่ายๆแต่มีประสิทธิภาพ โดย จะช่วยพัฒนาให้มีร่างกายแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และยังเป็นการรวมพลังสร้างความสมัครสมานสามัคคี ความเป็น ระเบียบวินัย รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนและเป็นแนวทางให้เยาวชนห่างไกลยาเสพติด ในปี 2559 บริษัทฯ จึงร่วมกับเทศบาลตำ�บลเชิงเนิน จัดโครงการฟุตบอลยุวชน ไออาร์พีซี โดยนำ�โค้ชผู้เชี่ยวชาญมาฝึกสอนทักษะการเล่นฟุตบอล ให้แก่เยาวชน อายุตั้งแต่ 6 - 14 ปี ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี จำ�นวน 100 คน 11. โครงการส่งเสริมอาชีพคนพิการ
“สร้างรายได้ที่นำ�ไปสู่การพึ่งพาตนเองลดภาระของสังคมและรัฐบาล”
ในปี 2559 บริษัทฯ ได้ศึกษาการดำ�เนินงานเพื่อจ้างงานผู้พิการ ร่วมกับมูลนิธิ 2 แห่ง ได้แก่ มูลนิธินวัตกรรมเพื่อสังคม ใน โครงการสร้างโรงงานผลิตน้ำ�ดื่มชุมชน ซึ่งมีการจ้างงานผู้พิการ 20 อัตรา และมูลนิธิพระมหาไถ่ในโครงการฝึกงานหลักสูตร เศรษฐกิจพอเพียง มีการจ้างงานผู้พิการ จำ�นวน 26 อัตรา เริ่มการทำ�งานในปี 2560 การจ้างงานผู้พิการนี้ นอกจากจะสร้าง รายได้ที่นำ�ไปสู่การพึ่งพาตนเองและยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้พิการและครอบครัวให้ดีขึ้นแล้ว ยังช่วยลดภาระของสังคมและ รัฐบาลในการดูแลผู้พิการอีกทางหนึ่ง อีกทั้งยังก่อให้เกิดความภาคภูมิใจ มีความสะดวกสบาย ที่ได้ทำ�งานในภูมิลำ�เนาของ ตนเองและได้อยูใ่ กล้ชดิ กับครอบครัว บริษทั ฯพิจารณาแล้วเห็นว่าแนวทางการจ้างงานนีม้ คี วามเหมาะสมกับผูพ้ กิ ารมากกว่าการ จ้างทำ�งานที่บริษัทฯ เนื่องจากบริษัทฯ เป็นธุรกิจอุตสาหกรรมปิโตรเคมีซึ่งต้องคำ�นึงถึงความปลอดภัยของพนักงานเป็นหลัก
ด้านการศึกษา 12. โครงการ KVIS & VISTEC
“สร้างนักวิจัยและผู้รู้อันยอดเยี่ยม ด้านวิชาวิทยาศาสตร์ให้เป็นสมบัติของประเทศ”
บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) เป็นหนึ่งในกลุ่มบริษัท ปตท. ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาเยาวชนซึ่งเป็นทรัพยากรมนุษย์อัน เป็นเลิศของประเทศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยจัดตั้งโรงเรียนวิทยาศาสตร์ “กำ�เนิดวิทย์” (Kamnoetvidya Science Academy-KVIS) ซึง่ เป็นชือ่ ทีไ่ ด้รบั พระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีความหมายว่า “โรงเรียน ทีเ่ ป็นแหล่งเรียนรูท้ างด้านวิทยาศาสตร์” เปิดการเรียนการสอนระดับ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 โดยจัดการศึกษาให้แก่นกั เรียนทีม่ ี ความสามารถพิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ส่วนสถาบันอุดมศึกษา นัน้ ได้รบั พระราชทานชือ่ จากสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ว่า “สถาบันวิทยสิรเิ มธี” (Vidyasirimedhi Institute of Science and Technology-VISTEC) มีความหมายว่า “สถาบันแห่งผู้รู้อันยอดเยี่ยมด้านวิชาวิทยาศาสตร์” เปิดการเรียนการสอนในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ด้านวิทยาศาสตร์ โดยทั้ง 2 สถาบัน ได้รับการออกแบบให้สามารถตอบสนองผู้มีความสามารถให้ได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ และมีเป้าหมายในการเป็น “มหาวิทยาลัยวิจยั ชัน้ นำ�” สร้างบุคลากรชัน้ ยอดและนักวิจยั ชัน้ เยีย่ มทีม่ คี วามรับผิดชอบต่อวิชาชีพ รวม ทัง้ ส่งเสริมการพัฒนางานวิจยั ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพือ่ สร้างองค์ความรูแ้ ละผลักดันขีดความสามารถทางการแข่งขัน ด้านวิทยาศาสตร์ของประเทศไทย โดยทัง้ โรงเรียนกำ�เนิดวิทย์และสถาบันวิทยสิรเิ มธี ตัง้ อยูบ่ นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 344 หลักกิโลเมตรที่ 66 ตำ�บลป่ายุบใน อำ�เภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
192
13. โครงการ IRPC Cubic Academy
“สร้างองค์กรแห่งการแบ่งปัน และสังคม แห่งการเรียนรู้ร่วมกันกับผู้มีส่วนได้เสีย”
โครงการ IRPC Cubic Academy เริ่มดำ�เนินการในปี 2558 ด้วยวัตถุประสงค์ในการพัฒนาให้เกิดองค์กรและสังคมแห่งการ เรียนรู้ อันประกอบด้วยบุคลากรทีม่ ที งั้ คุณภาพและคุณธรรม ส่ง เสริมความรูค้ วามเข้าใจและสร้างจิตสำ�นึกในด้านความรับผิด ชอบต่อสังคม และการดำ�เนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน ให้กบั พนักงาน และบุคลากรภายนอก ด้วยการจัดอบรมโดยไม่มีค่าใช้จ่ายใน สัดส่วน พนักงานร้อยละ 80 และบุคคลภายนอก ร้อยละ 20 IRPC Cubic Academy ได้พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม ขึ้นใหม่โดยมีเนื้อหาหลัก 6 หมวด ที่สนับสนุนการดำ�เนิน ธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน แบ่งเป็น 1.ธรรมาภิบาล 2.ความ รับผิดชอบต่อสังคม 3.การสื่อสารเพื่อสร้างความเชื่อมั่น 4. ธุรกิจสีเขียว 5. การส่งเสริมภาพลักษณ์ทดี่ ี และ 5. การดำ�เนิน ธุรกิจอย่างยั่งยืน การฝึกอบรม ประกอบด้วยการบรรยาย การแลกเปลีย่ นความคิดเห็น การสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร และการทำ�กิจกรรมเพือ่ สังคมร่วมกัน โดยมีวทิ ยากรทัง้ จากภายในบริษทั ฯ และผูท้ รงคุณวุฒจิ ากภายนอก การฝึกอบรมใช้เวลาประมาณ 4 เดือน มีผเู้ ข้าร่วมอบรมรวมรุน่ ละ ประมาณ 100 คน จัดอบรมทุกวันพฤหัสบดี ตัง้ แต่เวลา 13.00-17.00 น. ณ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ในปี 2558 ได้จดั อบรม จำ�นวน 2 รุน่ และในปี 2559 จัดอบรมเพิม่ อีก 2 รุน่ คือ รุน่ ที่ 3 อบรมระหว่างวันที่ 26 พฤษภาคม-8 กันยายน 2559 มีผเู้ ข้าร่วมอบรม จำ�นวน 93 คน และ รุ่นที่ 4 อบรมระหว่างวันที่ 29 กันยายน-22 ธันวาคม 2559 มีผู้เข้าร่วมอบรมทั้งสิ้น 95 คน 14. โครงการ ๑ ช่วย ๙
“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ พัฒนาคุณภาพการศึกษาแนวสร้างสรรค์”
บริษทั ฯ ร่วมดำ�เนินโครงการ ๑ ช่วย ๙ กับสำ�นักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. ต่อเนือ่ งมาตัง้ แต่ปี 2557 ซึง่ เป็นนวัตกรรมในการพัฒนาการศึกษามิตใิ หม่ทสี่ อดคล้องกับเจตนารมณ์ของบริษทั ฯ ในการดำ�เนิน ธุรกิจบนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคม โดยมีวัตถุประสงค์ของโครงการฯ 3 ประการ คือ การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้ดียิ่งขึ้น การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา ด้วยการช่วยเหลือสถานศึกษา 9 แห่ง ให้มีการพัฒนาตามแนวทางวงจรคุณภาพ และการนำ�ศักยภาพและความพร้อมของบริษัทฯ มาช่วยเหลือสถานศึกษา ให้มีการพัฒนาได้ดียิ่งขึ้น บริษัทฯ และโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ได้ออกแบบการพัฒนาร่วมกันโดยเน้นใน 4 ด้าน คือ สาระ ความรูด้ า้ นวิชาการ การส่งเสริมจริยธรรม ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของนักเรียน และ บทบาทของโรงเรียนในการพัฒนา ชุมชนและสิ่งแวดล้อม โดยจัดไว้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ของรัฐบาล มีผลการดำ�เนินงาน ดังนี้ ในปี 2557-2558 บริษทั ฯ ได้รว่ มกับชมรม Four U For You ประกอบด้วยนิสติ นักศึกษาอาสาสมัครจาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดกิจกรรมค่ายสาระความรูท้ างวิชาการ เสริมความ รู้ในด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ ภาษาอังกฤษ ให้แก่นักเรียนชั้นประถมปีที่ 4-6 จำ�นวน 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียน เทพเสนานุสรณ์ โรงเรียนฤทธิไกรศึกษา และ โรงเรียนกัลยวิทย์ ซึ่งมีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 900 คน และ กิจกรรม สอนเสริมเพื่อเตรียมความพร้อมในการสอบ O-Net ให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำ�นวน 314 คน จาก 4 โรงเรียน โดยเพิ่มโรงเรียนบีคอนเฮ้าส์ แย้มสอาด ลาดพร้าว เน้นในวิชา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โดยสอนเสริมในรูปแบบการเพิ่มพูน ศักยภาพด้านกระบวนการคิดและตีความโจทย์ข้อสอบ ในปี 2559 ได้จัดโครงการ “ส่งเสริมอัจฉริยภาพผ่านการสร้างหุ่นยนต์” ให้แก่นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบีคอน เฮาส์ แย้มสอาดลาดพร้าว เป็นซึ่งกิจกรรมรูปแบบชมรมหลังเลิกเรียน มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มเวลาและโอกาสให้แก่ผู้เรียนได้ ลงมือปฏิบตั จิ ริง มีประสบการณ์ในการคิดวิเคราะห์ มีความสามารถทำ�งานเป็นทีม และเรียนรูด้ ว้ ยตนเองอย่างมีความสุข รวมถึง พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนในด้าน: การใช้เทคโลยี ความรู้พื้นฐานยุคดิจิตอล การคิดประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ การใช้ทักษะ รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
193
ในการดำ�เนินชีวิต ความคิดและการพัฒนากรอบความคิดแบบเปิดกว้าง และการสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล โดยสอนการสร้าง หุ่นยนต์ หลักสูตร Raise Mechanic จาก Raise Genius School โดยใช้ชุดสร้างหุ่นยนต์เพื่อการศึกษา โดยเป็นการฝึกให้ ผู้เรียนใช้อุปกรณ์ จินตนาการ คิดวิเคราะห์ และถ่ายทอดจินตนาการของตนเองออกมาในรูปแบบ 3 มิติ ซึ่งเมื่อสิ้นสุดโครงการ ผู้เรียนจะมีความรู้พื้นฐานในการประดิษฐ์หุ่นยนต์สามารถประดิษฐ์หุ่นยนต์ในแบบพื้นฐานได้ โดยในเทอมแรกของปีการศึกษา 2559 จัดสอน Level 1 ให้แก่นกั เรียนจำ�นวน 30 คน ทุกวันพุธ ระหว่างวันที่ 1 มิถนุ ายน-21 กันยายน 2559 เวลา 14.20-15.30 น. และเทอมที่สอง จัดสอน Level 1 ให้แก่นักเรียน จำ�นวน 30 คน และ Level 2 ให้แก่นักเรียนที่ผ่านการเรียน ใน Level 1 มาแล้ว จำ�นวน 28 คนทุกวันพุธ ระหว่างวันที่ 9 พฤศจิกายน 2559 - 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 14.20-15.30 น. 15. โครงการศูนย์การเรียนรู้เครือข่ายชุมชนไออาร์พีซี “สอนความรู้ สร้างกิจกรรมและสานสัมพันธ์กับชุมชน”
บริษัทฯ ได้จัดตั้งและดำ�เนินการศูนย์การเรียนรู้เครือข่ายชุมชนไออาร์พีซี ณ ตำ�บลเชิงเนิน จังหวัดระยอง มาตั้งแต่ปี 2553 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างกิจกรรมและสานสัมพันธ์กับชุมชนและประชาชนทั่วไป โดยในแต่ละ เดือนจะจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อเยาวชนและประชาชนทั่วไป โดยสับ เปลี่ยนหมุนเวียนกันไป เช่น กิจกรรมมัดย้อม มัดใจ อบรมทำ�ปุ๋ยจากมูล ไส้เดือน การนวดบรรเทาอาการปวดด้วยตนเอง ศิลปะการต่อผ้า ชมรม ภาษาอังกฤษ และ ชมรมคหกรรม เป็นต้น นอกจากนี้ ยังเปิดให้บริการห้อง ประชุมสำ�หรับหน่วยงานราชการ และ ชุมชน โดยไม่คดิ ค่าใช้จา่ ย นอกจากนัน้ ยังมีการสร้างกิจกรรมสัมพันธ์ร่วมกับชุมชน ให้บริการห้องประชุม และ มีกิจกรรมวันหยุดสำ�หรับเยาวชน เช่น กิจกรรมมัดย้อม มัดใจ อบรมทำ� ปุย๋ จากมูลไส้เดือน โดยในปี 2559 มีประชาชนมาใช้บริการ จำ�นวน 34,128 คน 16. โครงการทุนการศึกษาเพื่อชุมชน
“ให้โอกาสที่ดีกว่ากับเยาวชนรอบเขตประกอบการฯ”
บริษัทฯ ได้จัดโครงการมอบทุนการศึกษาเพื่อชุมชน มา ตัง้ แต่ปี 2551 โดยมอบทุนให้กบั เด็กนักเรียนและนักศึกษา ทีเ่ รียนดี แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ตัง้ แต่ระดับประถมศึกษา จนถึงระดับปริญญาตรี โดยได้รบั ความร่วมมือจากชุมชน ในจังหวัดระยอง เป็นผูพ้ จิ ารณาคัดเลือกเยาวชนในชุมชน ของตนเองจำ�นวน 89 ชุมชน การมอบทุนการศึกษา แบ่ง เป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา/ อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ในปี 2559 ได้จดั มอบทุนเมือ่ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2559 โดยมอบทุนให้แก่นักเรียน จำ�นวน 309 ทุน เป็นเงินจำ�นวน 2,100,000 บาท 17. โครงการสานพลังประชารัฐ ยกระดับคุณภาพวิชาชีพอาชีวศึกษา “พัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษา เพื่อการพัฒนาประเทศ”
บริษัทฯได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ “สานพลังประชารัฐ ยกระดับคุณภาพวิชาชีพอาชีวศึกษา (Competitive Workforce)” ของคณะทำ�งานการยกระดับคุณภาพวิชาชีพ ซึ่งเป็นคณะทำ�งานร่วมทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม และจัดเสวนาในหัวข้อ “อาชีวะ ทางเลือกเพือ่ อนาคต ตอบโจทย์ประเทศไทย” เพือ่ เปิดมุมมองในการเรียนอาชีวศึกษาทีส่ ามารถ สร้างอนาคตให้กับตัวผู้เรียนและประเทศชาติ และยังได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือโครงการ “สถานศึกษาต้นแบบ ทวิภาคี สานพลังประชารัฐ (Excellence Model School)” โดยเป็นความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาในสังกัดสำ�นักงานคณะ กรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 46 แห่งกับ 14 องค์กรภาคเอกชนชั้นนำ�ระดับประเทศ เพื่อช่วยขับเคลื่อนการ ผลิตและการพัฒนากำ�ลังคนอาชีวศึกษาให้สอดรับกับความต้องการกำ�ลังคนของประเทศและยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
194
ด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรม 18. โครงการจัดงานสืบสานตำ�นานมอญพระประแดง
“มุ่งหวังให้สืบสานตำ�นานมอญปรากฎอยู่ในปฏิทินท่องเที่ยวของไทย”
บริษัทฯ มีแผนงานเพื่อการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนในท้อง ถิ่นรอบคลังน้ำ�มันแต่ละแห่ง โดยในปี 2559 บริษัทฯร่วมกับชุมชนชาว ไทยเชื้อสายมอญ รอบคลังน้ำ�มันในพื้นที่ อำ�เภอพระประแดง จังหวัด สมุทรปราการ จัดงาน “ไออาร์พซี ี สืบสานตำ�นานมอญพระประแดง” ขึน้ ณ วัดทรงธรรมวรวิหาร ตัง้ อยู่ ณ อำ�เภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามของชุมชนชาวมอญไม่ให้ สูญหาย ในงานมีการแสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรม วิถคี วามเป็นอยู่ อาหาร ศิลปะการแสดง และการละเล่นพืน้ บ้านของชาวมอญทีห่ าชมได้ยาก เพราะ นับวันก็จะถูกความทันสมัยและเทคโนโลยีต่างๆ กลืนหายไป แต่ทว่า ยังเป็นความโชคดีที่ชุมชนมอญพระประแดงมีความมุ่งมั่นที่จะอนุรักษ์ ฟืน้ ฟูวฒ ั นธรรมประเพณี จึงได้ให้ความร่วมมือกับบริษทั ฯ อย่างเต็มทีใ่ น การจัดงาน “ไออาร์พีซี สืบสานตำ�นานมอญพระประแดง” ครั้งแรกนี้ขึ้น และมุ่งหวังจะจัดต่อเนื่องเป็นประจำ�เพื่อให้กิจกรรมนี้ จัดอยู่ในปฏิทิน ท่องเที่ยวของไทยต่อไป นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้จัดทำ�ตู้หนังสือเพื่อส่งมอบให้กับวัดทรงธรรม วรวิหาร เพื่อใช้เก็บรวบรวมและรักษาหนังสือที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม ประเพณีของชาวมอญ รวมถึงวิทยานิพนธ์ทสี่ �ำ คัญ และในอนาคตบริษทั ฯ มีแผนที่จะช่วยรวบรวมองค์ความรู้เหล่านี้ เพื่อเผยแพร่ต่อไป 19. โครงการศูนย์การเรียนรู้เชิงประวัติศาสตร์ วัดขรัวตาเพชร “การลงทุนเพื่อชุมชน ที่ให้คุณค่าสูงทางจิตใจ”
บริษัทฯ ได้ร่วมกับกรมศิลปากร โดยสำ�นักศิลปากรที่ 3 พระนครศรีอยุธยา อนุรักษ์โบราณสถานวัดขรัวตาเพชร ซึ่งอยู่ในพื้นที่บริเวณคลังน้ำ�มันอยุธยา ตำ�บลโพธิ์เอน ของบริษัทฯ เพื่อธำ�รงไว้เป็นสมบัติของชาติ ใช้เวลาดำ�เนินการ 5 ปี แล้วเสร็จและทำ�พิธบี วงสรวงเมือ่ ปลายปี 2558 ด้วยเหตุทบี่ ริเวณดังกล่าวมีความงดงามอยูร่ มิ แม่น�้ำ ป่าสัก มีชมุ ชนเก่าแก่อยู่ ไม่ไกล เรียกว่าชุมชนบ้านอรัญญิก ที่มีความเชี่ยวชาญการตีมีด และยังคงสืบสานวิถีการดำ�รงชีวิตแบบเดิม บริษัทฯ จึงเห็นควร ให้สบื สานองค์ความรูด้ า้ นโบราณสถาน ศาสนสถาน และวิถชี วี ติ ดัง้ เดิมของชุมชนไว้ให้ประจักษ์แก่ชนรุน่ หลัง ด้วยการสร้างศูนย์ การเรียนรู้เชิงประวัติศาสตร์ ที่มีความทันสมัยในเชิงการออกแบบที่ผู้ชมสามารถเรียนรู้ได้อย่างเป็นรูปธรรม อาทิ กระบวนการ บูรณะโบราณสถาน โดยจะให้มรี ปู แบบการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม และการจัดแสดงนิทรรศการภายในทีเ่ หมาะสม สอดคล้องกับท้อง ถิ่น และวางแผนให้เป็นสถานที่ที่ทันสมัย สะดวก ชุมชนสามารถเข้ามาจำ�หน่ายสินค้าท้องถิ่น อันจะเป็นแหล่งท่องเที่ยวอีกแห่ง หนึ่งของจังหวัดอยุธยาต่อไป ณ สิ้นปี 2559 โครงการอยู่ในขั้นการออกแบบศูนย์การเรียนรู้ 20. โครงการทอดกฐินสามัคคี
“สืบสานพระพุทธศาสนา เชื่อมสัมพันธ์ชุมชน”
เพื่อเป็นการส่งเสริม และอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทยร่วมกันระหว่างชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน บริษัทฯ ได้จัดโครงการทอดกฐินสามัคคีขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกๆ ปี ในพื้นที่ที่มีโรงงานและคลังน้ำ�มันของบริษัทฯ ตั้งอยู่ ได้แก่ จังหวัด ระยอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดชุมพร และ จังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งในปี 2559 ได้จัดให้มีการ ทอดกฐิน โดยบริษัทฯเป็นเจ้าภาพ 3 วัด และร่วมเป็นเจ้าภาพ 10 วัด ใช้งบประมาณจำ�นวน 2.5 ล้านบาท รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
195
ด้านพัฒนาสังคมไทย 21. โครงการมอบกรวยยางจราจรจากเม็ดพลาสติกผสมยางธรรมชาติ 35% “ช่วยชาวสวนยางด้วยการนำ�ยางธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ ในรูปแบบใหม่”
บริษัทฯ ได้สร้างสรรค์นวัตกรรมการผลิตเม็ดพลาสติก ที่มีส่วนผสมของน้ำ�ยางธรรมชาติเป็นส่วนประกอบถึงร้อยละ 35 เรียกว่า S-VNR (Styrene Vulcanized with Natural Rubber) นำ�มาขึ้นแบบกรวยยางจราจรชนิดใหม่ เพื่อช่วยกระตุ้นให้เกิด ความต้องการใช้ยางธรรมชาติในวงกว้าง และเป็นตัวอย่างของการใช้ประโยชน์จากยางธรรมชาติในรูปแบบใหม่ๆ ในปี 2559 บริษัทฯ ได้ส่งมอบกรวยยางจราจรให้แก่สำ�นักปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี เพื่อใช้ประโยชน์ในเรื่องความปลอดภัย และอำ�นวย ความสะดวกทางการจราจรให้กับประชาชนที่เข้ามาติดต่อบริเวณพื้นที่ทำ�เนียบรัฐบาล รวมทั้งร่วมกับผู้ถือหุ้น มอบ กรวยยางให้กับกองบังคับการตำ�รวจภูธร จังหวัดระยอง เพื่อใช้ในงานจราจรทั่วพื้นที่ระยองตามความเหมาะสม ในโอกาสที่ ผู้ถือหุ้นไปเยี่ยมชมกิจการของ บริษัทฯ ที่จังหวัดระยอง 22. โครงการแบ่งปันเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคมไทยให้น่าอยู่ “ร่วมเปลี่ยนแปลงสังคมกับมูลนิธิกระจกเงา”
ผู้ร่วมโครงการอบรม IRPC Cubic Academy รุ่น 3 ร่วมกิจกรรมกับมูลนิธิกระจกเงา จัดกิจกรรมสันทนาการ และนำ�สิ่งของ เครื่องใช้ที่จำ�เป็นมอบให้กับผู้มารับบริการกว่า 100 ราย รวมทั้งบริจาคสิ่งของที่ยังใช้ประโยชน์ได้ให้มูลนิธิฯ เพื่อนำ�ไปบริจาค ให้ผู้ยากไร้ และสถานสงเคราะห์ต่างๆ ต่อไป 23. โครงการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย “ประชารัฐร่วมใจ ช่วยอุทกภัยภาคใต้”
บริษัทฯ ได้มอบเงินบริจาคร่วมกับบริษัทในกลุ่ม ปตท. เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในหลายพื้นที่ภาคใต้ ในงาน “ประชารัฐร่วมใจ ช่วยอุทกภัยภาคใต้” นอกจากนั้นได้มอบเงินบริจาคผ่านสถานีโทรทัศน์ อสมท. มูลนิธิครอบครัวข่าว 3 และ เครือเนชัน่ เพือ่ นำ�ไปช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย และสนับสนุนงบประมาณให้ชมรมชาวปักษ์ใต้ไออาร์พซี ี และพนักงานคลังน้�ำ มัน ไออาร์พีซีชุมพร เป็นตัวแทนไปมอบสิ่งของจำ�เป็นในพื้นที่ประสบอุทกภัยด้วย 24. โครงการสนับสนุนด้านการแพทย์ “เพิ่มบุคลากรทางการแพทย์ด้านการศึกษาวิจัย”
บริษทั ฯ ได้มอบเงินบริจาคให้มลู นิธริ ามาธิบดีเพือ่ สมทบทุนก่อสร้างอาคารจักรีนฤบดินทร์ เพือ่ ผลิตบุคลากรทางการแพทย์ดา้ น การศึกษาวิจัย และการบริการสำ�หรับสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ 25. โครงการเพื่อสังคมร่วมกับผู้ถือหุ้น “เพิ่มโอกาสในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย”
บริษทั ฯ ได้แจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบว่า บริษทั ฯ มอบเงินบริจาคให้มลู นิธเิ พือ่ การผ่าตัดหัวใจเด็ก ในโอกาสจัดการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ เป็นประจำ�ทุกปี ดำ�เนินการมาตั้งแต่ปี 2556
196
กิจกรรมทำ�ดีถวายพ่อ เพื่อน้อมลำ�ลึกถึง พราะมหากรุณาธิคุณ พราะบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เดือนตุลาคม 2559 • กรรมการผู้จัดการใหญ่นำ�พนักงานทั้งองค์กรกว่า 500 คนถวายอาลัยพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2559 • แสดงข้อความอาลัยผ่านเว็บไซต์ และ Facebook ของ บริษัทฯ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2559
เดือนพฤศจิกายน 2559 • ถวายอาลัยร่วมกับกระทรวงพลังงาน “รวมพลังแห่งความภักดี” เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2559 • บริษัทฯ ร่วมสนับสนุนภาครัฐ เป็นเจ้าภาพอาหารเครื่องดื่มสำ�หรับประชาชนซึ่งไปถวายสักการะ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ ท้องสนามหลวง และมอบข้าวสารให้ประชาชนผู้มาร่วมงาน จำ�นวน 500 กิโลกรัม เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน-วันที่ 2 ธันวาคม 2559 • จัดทำ�สื่อถวายอาลัยผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ และ E-Magazine ไออุ่น วารสารภายในครอบครัวไออาร์พีซี • จัดทำ�สื่อวิทยุ ถวายอาลัยและน้อมนำ�กระแสพระราชดำ�รัสไปพัฒนาองค์กรและสังคม • จัดทำ�ปฏิทิน และ ไดอารี่ประจำ�ปีพุทธศักราช 2560 ก้าวเดิน ก้าวหน้า ก้าวไกล • กรรมการผู้จัดการใหญ่ สื่อสารถึงพนักงานทั้งองค์กร ร่วมทำ�กิจกรรมทำ�ดีถวายพ่อ • ช่วยชาวนาไทยนำ�ข้าวสารมาจำ�หน่ายที่สถานีบริการน้ำ�มันไออาร์พีซี ระยอง เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 • หัวใจอาสาให้บริการอาหาร 2,500 ชุด แก่ประชาชนที่มาร่วมถวายอาลัย ณ บริเวณพระบรมหาราชวัง และบำ�เพ็ญประโยชน์ ให้ประชาชนผู้ที่เดินทางมาสักการะพระบรมศพ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2559 • จัดรถ รับ-ส่ง ชุมชน พนักงานและนำ�ผู้บริหารและพนักงานร่วมถวายสักการะพระบรมศพเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2559 • ตักบาตรพระ 89 รูป เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2559 • แปรอักษรสามมิติ โดยผู้บริหาร พนักงาน และนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พีซี เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2559 • เริ่มงานนิทรรศการภาพถ่าย ฉันเกิดในราชการที่ 9 เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2559 เดือนธันวาคม 2559 • ร่วมบริจาคโลหิตเพื่อถวายเป็นพระราชกุศล เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2559 • อุปสมบทหมู่พนักงาน จำ�นวน 99 รูป เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2559 • กรรมการผู้จัดการใหญ่ และ ผู้บริหารร่วมพระบรมราชานุสรณ์ “วันภูมพิ ลมหาราชา” ประจำ�ปี 2559 เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม 2559 • หัวใจอาสาไออาร์พีซี ปรับปรุงพัฒนาวัดธรรมสถิตและโรงเรียนธรรมสถิต เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2559 • IRPC CUBIC ACADEMY รุน่ 4 และตัวแทนรุน่ 1-3 ร่วมทำ�กิจกรรมอาสาบรรจุ “ข้าวพอเพียง” เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2559 • หัวใจอาสาไออาร์พีซี เก็บขยะชายหาดบริเวณศาลเจ้าทะเล เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2559 • หัวใจอาสาไออาร์พซี ี สร้างฝายชะลอน้�ำ ให้ชมุ ชน อำ�เภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2559 รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
197
การลงทุนในกิจการเพื่อสังคม แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 หรือการพึ่งพาตนเองตาม แนวทางพระราชดำ�รินั้น ได้เข้ามาเป็นหลักสำ�คัญในการ สร้างเศรษฐกิจทีเ่ ติบโตอย่างยัง่ ยืน ควบคูไ่ ปกับการนำ�กลไก ทางสังคมเข้ามาเป็นส่วนสำ�คัญในการผลักดันรูปแบบระบบ เศรษฐกิจแห่งอนาคต แนวคิดธุรกิจแบบ Social Enterprise: SE หรือกิจการเพื่อ สังคมนัน้ เป็นแนวคิดทีส่ อดรับกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง โดยกิจการเพื่อสังคมหมายถึงธุรกิจที่เป็นได้ทั้งประเภททีห่ า กำ�ไรและไม่หากำ�ไร ที่ยึดถือการตอบแทนประโยชน์สู่สังคม เป็นแนวทางการขับเคลือ่ นธุรกิจ มุง่ เน้นการกระจายรายได้สู่ หน่วยผลิตในกลุ่มสังคม คำ�นึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ความเป็นธรรม การเอื้อเฟื้อแบ่งปัน และการกระจายข้อมูล ข่าวสาร ความรู้และวิทยาการในมวลหมู่สมาชิก เป็นธุรกิจที่ นำ�นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ เข้ามาเป็นส่วนประกอบ ในการลดต้นทุนการผลิต และใช้ทรัพยากรการผลิตต่างๆ ให้ เกิดความคุม้ ค่ามากทีส่ ดุ กิจการเพือ่ สังคมจะมองทีค่ ณ ุ ค่าใน ตัวมนุษย์แต่ละคนมากกว่าฐานะรายได้ และคุณค่าในความ เป็นหน่วยผลิตของสังคม
บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ได้เห็นความสำ�คัญและ ให้การสนับสนุนกิจการเพื่อสังคมอย่างจริงจังทั้งในเรื่องงบ ประมาณ การบริหารจัดการ และการตั้งเป้าหมายของความ เป็นเลิศในระดับสากล เพื่อให้เป็นอีกช่องทางหนึ่งในการ ตอบแทนสู่สังคมของบริษัทฯ อันจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศ ชาติอย่างกว้างขวาง และส่งเสริมความก้าวหน้าของเยาวชน และสังคมไทยต่อไปในอนาคต โดยกิจการเพื่อสังคมของ บริษทั ฯ ทีไ่ ด้ด�ำ เนินการอยูใ่ นปัจจุบนั คือ วิทยาลัยเทคโนโลยี ไออาร์พีซี (IRPCT) และ ในปี 2560 บริษัทฯ มีแผนสนับสนุน กิจการเพื่อสังคมประเภท Start Up ซึ่งใช้นวัตกรรมและ เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นส่วนประกอบในการลดต้นทุนของ สินค้า ขณะเดียวกันสินค้าก็มีต้นทุนต่ำ�เนื่องจากได้มาจาก ผู้ผลิตที่ต้องการสนับสนุนสังคม ส่วนกำ�ไรก็แบ่งให้ผู้ซื้อได้ มีโอกาสบริจาคให้มูลนิธิต่าง ๆ ตามที่ผู้ซื้อเลือก บริษัทฯ คาดหวังว่าการสนับสนุนกิจการเพื่อสังคมดังกล่าวในส่วน ของ IRPCT จะช่วยพัฒนาการศึกษาทั้งของชุมชนและการ ศึกษาของชาติ และธุรกิจ Start Up จะสร้างประโยชน์ต่อทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (อย่างน้อย 5 ฝ่าย ได้แก่ ผู้ขายสินค้า ผู้ซื้อ เจ้าของธุรกิจ มูลนิธิ และบริษัทฯ) ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นกิจการ หรือธุรกิจเพื่อสังคมอย่างแท้จริง
คุณลักษณะของกิจการเพื่อสังคม
1.
เป้าหมายทางสังคมและสิ่งแวดล้อมไม่ใช่ผลกำ�ไรสูงสุด มีการกำ�หนดวัตถุประสงค์และ เป้าหมายทางสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ชัดเจนตั้งแต่เริ่มต้น
มีรปู แบบการดำ�เนินการทีม่ คี วามยัง่ ยืนทางการเงิน ดำ�เนินการในรูปแบบธุรกิจมีรายได้จากการขาย การผลิตสินค้า และ/หรือการให้บริการทีค่ ดิ เป็นสัดส่วนสำ�คัญ (ควรทีจ่ ะมากกว่าส่วนทีไ่ ด้รบั จากการบริจาค ระดมทุน หรือการรับทุนสนับสนุน) เพือ่ สะท้อนถึงโอกาสในเกิดความยัง่ ยืนทางการเงินของกิจการ
2.
3.
เป็นมิตรต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม มีกระบวนการผลิตและการดำ�เนินกิจการทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดผล กระทบต่อสุขภาวะ สังคม และสิ่งแวดล้อมในระยะยาว
ผลกำ�ไรกลับคืนสู่สังคมและเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ ผลกำ�ไรส่วนใหญ่จากการดำ�เนินงานถูก นำ�ไปขยายผลเพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กำ�หนดไว้ในข้อ 1 หรือคืนผลประโยชน์นั้นให้แก่ สังคมและชุมขชน โดยควรมีสดั ส่วนทีม่ ากกว่าส่วนทีน่ �ำ มาปันผลให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ยกเว้นในกรณีที่ ผู้ถือหุ้นส่วนใหญ่เป็นกลุ่มเป้าหมายของวัตถุประสงค์ของกิจการ
4. 5. 198
ดำ�เนินการอย่างโปร่งใส จัดทำ�ข้อมูลการดำ�เนินการอย่างเป็นระบบ และเปิดเผยต่อสาธารณะ
วิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พีซี วัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ด้านการศึกษาของชาติ 100% วิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พซี ี หรือชือ่ ย่อ IRPCT เป็นสถาบัน อาชีวศึกษาที่บริษัทฯ มีการลงทุนร้อยละ 99.9 วัตถุประสงค์ ในการก่อตัง้ คือ เป็นวิทยาลัยของชุมชน เพือ่ ตอบสนองความ ต้องการของชาวระยอง ให้มีสถานศึกษาที่ผลิตช่างฝีมือที่มี ความเชี่ยวชาญในภาคอุตสาหกรรมของประเทศ เนื่องจาก จังหวัดระยองเป็นพื้นที่ที่มีโรงงานอุตสาหกรรมจำ�นวนมาก จึงมีความต้องการแรงงานฝีมือเป็นจำ�นวนมากเช่นกัน IRPCT สังกัดคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดสอนหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2538 บริหารงานภายใต้ การสนับสนุนเชิงนโยบายจาก บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) โดยพัฒนาการเรียนการสอนแบบโรงเรียน-โรงงาน เพื่อ
มุง่ หวังให้ผทู้ สี่ �ำ เร็จการศึกษามีคณ ุ ภาพตอบสนองความต้องการ ของสถานประกอบการของจังหวัดระยอง มีนกั ศึกษาทีส่ �ำ เร็จ การศึกษาเข้าทำ�งานในสถานประกอบการมากกว่า 7,000 คน นอกเหนือจากนักศึกษาไทยแล้ว ตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้น มา วิทยาลัยได้จัดการศึกษาทั้งหลักสูตรภาคภาษาไทยและ หลักสูตร English Program เพือ่ ช่วยยกระดับการอาชีวศึกษา ของประเทศเพือ่ นบ้าน โดยมีนกั ศึกษาจากประเทศเมียนมาร์ ในโครงการ MERIT ที่ได้รับการสนับสนุนจากบริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) นักศึกษาในโครงการทุนอาชีวศึกษา สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อพระราชทาน ความช่วยเหลือในการยกระดับการศึกษาให้กบั ครูอาชีวศึกษา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และนักศึกษาราช อาณาจักรกัมพูชา และจากประเทศเวียดนามที่กำ�ลังจะเป็น ความร่วมมือในอนาคต สรุปมีนกั ศึกษาจากต่างชาติมาศึกษา ที่วิทยาลัยฯ รวมทั้งสิ้น 127 คน
นักศึกษาต่างชาติทศ่ี กึ ษา ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พซี ี รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
199
พิธลี งนามความร่วมมือโครงการพัฒนากำ�ลังคนด้านอาชีวะศึกษาขัน้ สูง กลุม่ ปิโตรเคมีและเทคนิคพลังงาน
วิสยั ทัศน์ของ IRPCT คือ “เป็นวิทยาลัยอาชีวศึกษาชัน้ นำ�ของ ประเทศในปี 2563” IRPCT ได้จัดทำ�แผนกลยุทธ์ระยะยาว (Road Map) 5 ปี เพื่อใช้เป็นทิศทางในการดำ�เนินงานของ บุคลากร โดยกำ�หนดตัวบ่งชีค้ วามสำ�เร็จหลายด้าน เช่น การ เป็นวิทยาลัยทีม่ นี กั ศึกษา 5 สัญชาติ การยกระดับมาตรฐาน การศึกษาให้เทียบเท่ามาตรฐาน Asia Pacific รวมถึงการ ปรับการจัดการศึกษาทุกหลักสูตรให้เป็น Mini English Program เพือ่ รองรับการเปิดประชาคมอาเซียน และในปีการ ศึกษา 2560 นี้ วิทยาลัยฯ ได้ดำ�เนินโครงการพัฒนากำ�ลัง คนด้านอาชีวศึกษาขัน้ สูงกลุม่ ปิโตรเคมีและเทคนิคพลังงาน โดยจะยกระดับ 3 สาขา ได้แก่ ปิโตรเคมี เทคนิคพลังงาน
และเคมีอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นหลักสูตรทวิภาคี จัดการเรียน การสอนแบบ MEP: Mini English Program โครงการดัง กล่าวจะให้ทุนการศึกษาแก่ผู้ที่ผ่านการพิจารณาคัดเลือก จากผู้สมัครทั่วประเทศไทย สาขาละ 25 ทุน รวมทั้งสิ้น 75 ทุน สอดคล้องตามแผนยุทธศาสตร์ของวิทยาลัย โดยได้รับ การสนับสนุนทุนการศึกษาจาก บมจ.ไออาร์พีซี บมจ.ปตท. บมจ.พีทีทีโกลบอลเคมิคอล บมจ.ไทยออยล์ บมจ.โกลบอล เพาเวอร์ซินเนอร์ยี่ และบริษัท บีแอลซีพีเพาเวอร์ จำ�กัด และ ในอนาคตมีแผน สร้างแหล่งเรียนรู้ด้านพลังงานแบบครบ วงจรในวิทยาลัยฯ
Road Map to be a Leading Vocational Collage English Program (EP) 2013-2019
Mini English Program (MEP)/DVT 2017-2020
MERIT Project EP 1, 2, 3, 4 (108 students)
3 Fields Upgraded Project (Petro-Chemical, Energy Technical and ChemicalIndustrial with 300 students)
Top 5 Vocational College in Thailand
Top 10 Vocational College n ASEAN
• ASEAN Standard (APCC)
• World Class Standard
• Smart e-college • All Courses are MEP • 5 Nationalities College
2025
Thai Program (TP) 2015-2016 Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn Scholarship project (20 students)
2015-2016 • Foreign Student • Myanmar • Cambodia • Lao PDR
2017 Excellent Model (MEP*/DVT**) • Industrial Chemistry • Energy Technology • Petrochemical • Foreign Student • Vietnam
Road Map ทิศทางการดำ�เนินงาน ระยะ 5 ปี
200
2018 • MEP Electrical Power • EPM Electronics
2019 • MEP Automobile • MEP Mechanical • Smart e-College • APACC standard***
2020 • MEP IT • MEP Business Computer • MEP Accountant
* MEP: Mini English Program ** DVT: Dual Vocation Training *** APACC: The Asia Pacific Accreditation and Certificate Commission
วิทยาลัยได้กำ�หนดค่านิยมร่วม iSMART ซึ่งประกอบด้วย คุณลักษณะ 6 ด้าน คือ 1) Individual Ownership เราคือ วิทยาลัย วิทยาลัย คือเรา 2) Synergy ร่วมแรงร่วมใจ 3) Moral and Ethics ยึดมัน่ ในคุณธรรมและจริยธรรม 4) Ability to learn สั่งสมความเชี่ยวชาญ 5) Responsibility ร่วมรับ ผิดชอบ และ 6) Trust and Respect เคารพให้เกียรติกัน นอกจากนี้ IRPCT ยังได้เปิดศูนย์บริการเทคโนโลยีไออาร์พซี ี ให้บริการจัดอบรมหลักสูตรทีไ่ ด้มาตรฐานแรงงานและหลักสูตร ด้านการจัดการ อาทิ ความปลอดภัยในการทำ�งานทีอ่ บั อากาศ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำ�งาน เป็นต้น ในอนาคต ศูนย์ฝึกอบรมของวิทยาลัยจะไม่ให้บริการเฉพาะนักศึกษา และผูป้ ระกอบการในระยอง แต่จะพัฒนาเป็นศูนย์ฝกึ อมรมที่ ทันสมัยรองรับหลักสูตรด้านอาชีวะ และอุตสาหกรรมในระดับ ประเทศ มีบริการห้องจัดฝึกอบรมที่ได้มาตรฐาน เพื่อรองรับ การเจริญเติบโตของจังหวัดระยอง ซึง่ ถูกประกาศให้เป็นเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตามโครงการระเบียงเศรษฐกิจภาค ตะวันออก และในปี 2560 ศูนย์บริการจะขยายธุรกิจและการ บริการเพิ่มเติม ได้แก่ ร้านกาแฟอเมซอน บริเวณด้านหน้า ของวิทยาลัย ซึ่งจะพัฒนาเป็นจุดนัดพบ ให้บริการแก่ผู้รับ เหมาและประชาชนทั่วไป ศูนย์บริการดังกล่าวได้รับความไว้ วางใจให้ใช้เป็นสถานที่สำ�หรับประชุมขับเคลื่อนการจัดการ ศึกษาแบบบูรณาการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก โดยได้ จัดไปเมือ่ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 มี พลเอกสุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานการ ประชุม พร้อมผูว้ า่ ราชการจังหวัดระยอง นายกองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดระยอง หัวหน้าส่วนราชการ ตลอดจนผู้นำ�ภาค เอกชน ร่วมด้วย
จัดการไว้ในที่ประชุมว่า เป้าหมายในการลงทุนของบริษัทฯ ในวิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พีซี คือ เพื่อประโยชน์ของการ ศึกษา 100% ปัจจุบัน วิทยาลัยฯ สามารถมีรายได้จากการ ประกอบการด้วยเช่นกัน อนึ่ง การพัฒนาวิทยาลัยฯ ตามยุทธศาสตร์ข้างต้นนั้น สอดคล้องกับทิศทางการจัดการอาชีวศึกษาตามนโยบาย ประชารัฐ ซึง่ นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ ได้รบั มอบหมายให้เป็น หัวหน้าทีมคณะทำ�งานย่อย Quick Win Project: Database of Demand and Supply ในคณะทำ�งานยกระดับคุณภาพ วิชาชีพอาชีวศึกษา ซึง่ เน้นความเชือ่ มโยง ระหว่างภาครัฐ ภาค เอกชน และภาคประชาชน ที่สนับสนุนการทำ�งานระหว่างกัน เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันอันเป็นเป้าหมายการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ
คณะกรรมการ วิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พซี ี โดย นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) เป็นประธานกรรมการ ได้ให้แนวทางการบริหาร
ตลอดระยะเวลากว่า 20 ปี วิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พีซี ยัง คงมุง่ มัน่ ทุม่ เท พัฒนาบุคลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพสูส่ งั คม พร้อมร่วม ขับเคลือ่ นประเทศไทยให้กา้ วสู่ Thailand 4.0 ต่อไปในอนาคต
การประชุมขับเคลือ่ นการจัดการศึกษาแบบบูรณาการระเบียงเศรษฐกิจ ภาคตะวันออก (พลเอกสุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน)
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
201
การบริหารจัดการด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม (QSHE)
ไออาร์พีซี กําหนดทิศทางในการดําเนินธุรกิจ เพื่อการเติบโตอย่างย่ังยืน ตลอดจนผลักดันหน่วยงานต่าง ๆ ให้ดําเนินงานตามแผนงานความย่ังยืน ของบริษัทฯ อย่างมีประสิทธิภาพด้วยวิสัยทัศน์ ในการก้าวไปสู่การเป็น บริษัทปิโตรเคมีช้ันนําของเอเชียภายในปี 2563 (Leading Integrated Petrochemical Complex In Asia by 2020)
เพื่อให้เกิดกระบวนการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Operational Excellence) และตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายใน และภายนอกองค์กร บริหารจัดการกระบวนการมีส่วนร่วม ของผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Engagement) ผ่านการ ตอบสนองข้อเสนอแนะจากผูม้ สี ว่ นได้เสีย บริษทั ฯ มีนโยบาย ในการดําเนินงานด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สิง่ แวดล้อม (QSHE) แบบบูรณาการสําหรับทุกหน่วยงาน ดังน้ี ด้านคุณภาพ บริษัทฯ มีการนำ�ระบบและเครื่องมือสากล มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานด้านระบบคุณภาพและ การเพิ่มผลผลิต ได้แก่ ระบบ ISO, TPM (Total Productive Maintenance and Management) เครื่องมือการเพิ่ม ผลผลิตต่างๆ เพือ่ ให้เกิดการปรับปรุงการผลิต การให้บริการ และการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ โดยใส่ใจความปลอดภัย และคำ�นึงถึงสิ่งแวดล้อมเพื่อการตอบสนองและสร้างความ พึงพอใจแก่ผู้มีส่วนได้เสีย โดยปัจจุบันได้มีการรวมระบบ ให้เป็นหนึง่ เดียว (One System) โดยใช้ OEMS (Operational Excellence Management System) เป็นแกนหลักในการ บริหารงาน ด้านสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ตระหนักถึงการดูแลสิ่งแวดล้อม เริม่ ตัง้ แต่การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดประโยชน์สูงสุด มุ่งเน้นการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ในเชิงรุกโดยการปรับปรุงกระบวนการผลิตที่ดียิ่งขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง สนับสนุนการใช้พลังงานสะอาดเพื่อนําไปสู่การ บริหารจัดการคุณภาพอากาศที่ดี ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม มีการควบคุมคุณภาพน้ำ� อากาศ และกากอุตสาหกรรม โดยเน้นหลักการ 3R (Reduce, Reuse, Recycle) รวมถึงการลดมลพิษจากแหล่งกําเนิดเป็นสําคัญ ตลอดจนมุง่ มัน่ ในการจัดทำ�โครงการอนุรกั ษ์พ์ ลังงาน ซึง่ เป็น ปัจจัยหลักที่จะควบคุมบริหารจัดการลดการปลดปล่อยก๊าซ
202
เรือนกระจก (GHG) และสอดคล้องกับนโยบายระดับประเทศ ที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการลดภาวะโลกร้อน อีกทั้งสนับสนุน หลักการพัฒนาสู่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ Eco Industrial เพือ่ การเติบโตและพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (Sustainable Growth and Development) ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย บริษัทฯ ให้ความ สำ�คัญต่อการส่งเสริมความปลอดภัยในทุกขัน้ ตอน โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ความปลอดภัยส่วนบุคคล ความปลอดภัยในกระบวน การผลิต และความปลอดภัยในการขนส่ง ผ่านการดำ�เนินงาน ด้วยมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล เพื่อไปสู่ เป้าหมายในการเป็นสถานประกอบการทีม่ คี วามปลอดภัยและ ปราศจากอุบตั เิ หตุจากการทำ�งาน โดยพนักงานและผูร้ บั เหมา ทุกคนมีวัฒนธรรมความปลอดภัยที่ดีทั่วทั้งองค์กร บริษัทฯ ส่งเสริมให้พนักงานและผูร้ บั เหมาทุกคนปฏิบตั งิ านบนพืน้ ฐาน ของการให้ความสำ�คัญด้านความปลอดภัยอย่างสม่ำ�เสมอ และตั้งเป้าหมายให้องค์กรปลอดอุบัติเหตุ (Zero Accident) และปราศจากเหตุการณ์ฉุกเฉิน (Zero Emergency Case) บริษทั ฯ มีการส่งเสริมการสร้างจิตสำ�นึก ความตระหนัก และ สร้างวัฒนธรรมการทำ�งานอย่างปลอดภัยมาอย่างต่อเนื่อง โดยดำ�เนินโครงการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เช่น โครงการ GOAL ZERO โครงการ Safety Excellence โครงการ Safety Network and Sharing เป็นต้น
กลยุทธ์การบริหารจัดการด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม บริษทั ฯ มีการทบทวนวิสยั ทัศน์และแผนการดำ�เนินธุรกิจอย่าง สม่ำ�เสมอ ภายใต้การดำ�เนินการที่เป็นเลิศในการปฏิบัติงาน ทุกด้านโดยมุ่งเน้นกลยุทธ์หลัก 4P (Process, Partners, People และ Professional) ได้แก่
Process มีการกำ�หนดมาตรการควบคุม ตรวจสอบ และ ลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากกระบวนการทำ�งาน ตั้งแต่ ช่วงวางแผนโครงการ ช่วงดำ�เนินงาน จนสิน้ สุดการดำ�เนินงาน มีการปรับปรุงการดำ�เนินการอย่างต่อเนื่อง ป้องกันมลพิษที่ แหล่งกำ�เนิด การจัดการพลังงาน การพัฒนากระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีการนำ�ระบบการ ปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ กลุ่ม ปตท. (PTT Group Operational Excellence Management System: OEMS) มาประยุกต์และ บูรณาการการบริหารจัดการร่วมกับระบบการจัดการ QSHE ตลอดจนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลการบริหารจัดการด้าน QSHE Partners เน้นการสร้างความแข็งแกร่งและเป็นผู้นำ�ด้าน QSHE ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและการกลั่น โดยมุ่งสร้าง เครือข่ายกับทุกภาคส่วนไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ เอกชน และ ชุมชน อาทิ ดำ�เนินโครงการอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของเขต ประกอบการฯ EIZ (Eco Industrial Zone) จัดตั้งศูนย์วิจัย และพัฒนาด้านสิง่ แวดล้อมและสร้างองค์ความรูส้ ชู่ มุ ชน และ การสร้างความสัมพันธ์กบั หน่วยงานต่างๆ ทุกภาคส่วน เพือ่ ร่วม ให้ความเห็นต่อการยกร่างและปรับปรุงกฎระเบียบด้าน QSHE People สร้างจิตสำ�นึกและวัฒนธรรมด้าน QSHE แก่ ผู้มีส่วนได้เสียทุกระดับโดยเริ่มต้นจากพนักงาน และเพิ่ม ประสิทธิภาพของกระบวนการสอนงาน (Coaching) และการ สื่อสารอย่างต่อเนื่อง สม่ำ�เสมอ เช่น การสร้างวัฒนธรรม ด้านความปลอดภัย (Behavior Based Safety: BBS) การสรุป Safety Talk และ Environment Talk การให้ความรู้ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมต่อชุมชน และการอนุรักษ์พลังงาน เป็นต้น Professional พัฒนาความเป็นมืออาชีพด้าน QSHE มุง่ สร้าง และบริหารจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management: KM) มีการแลกเปลีย่ นความรู้ ประสบการณ์ ผลการปฏิบตั งิ าน ระหว่างบริษทั (Lesson Learned & Best Practice Sharing) เพื่อมุ่งสู่การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศด้าน QSHE โดยได้รับ การยอมรับจากภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรมวงกว้างอืน่ ๆ ตลอดจนการได้รับการรับรองจากหน่วยงานภายนอก
ผู้บริหารพร้อมป้าย Goal Zero Accident ที่จะทำ�การส่งมอบพร้อมนโยบาย ให้กับแต่ละหน่วยงาน
การดำ�เนินโครงการต่าง ๆ ด้าน QSHE ที่สำ�คัญ ในปี 2559 สรุป ได้ ดังนี้ บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญต่อการจัดการระบบคุณภาพ ความ มัน่ คง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม (QSHE) เพือ่ เป็นการพัฒนาศักยภาพของพนักงานด้านความปลอดภัย บริษัทฯ จึงได้มีการจัดตั้งโครงการ ดังต่อไปนี้ ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety) โครงการ GOAL ZERO เป็นโครงการเพื่อกระตุ้นเตือนพนักงานทุกระดับในทุกพื้นที่ ให้คำ�นึงถึงความปลอดภัยในการทำ�งานเป็นหลัก โดยมี แนวทางในการปฏิบัติงาน คือ 1. ต้องสวมใส่อปุ กรณ์ปอ้ งกันภัยให้ครบถ้วนและเหมาะสม ทุกครั้งก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2. ต้องปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนหรือคูม่ อื ในการปฏิบตั งิ านทุกครัง้ 3. ต้องปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวัง ต้องไม่เร่งรีบหรือ เร่งรัดขั้นตอนของการปฏิบัติงาน 4. พิจารณาหรือประเมินความเสี่ยงที่จะมีโอกาสที่จะเกิด อันตรายอันเนื่องมาจากการปฏิบัติงานนั้นๆ ทุกครั้ง ก่อนเริ่มงาน เพื่อหาทางป้องกัน 5. ต้องดูแล บำ�รุงรักษาให้อปุ กรณ์หรือเครือ่ งจักรอยูใ่ นสภาพดี และพร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา 6. ต้องมีสติและมีความตั้งใจในการปฏิบัติงานทุกครั้ง โครงการ Safety Excellence เป็นโครงการปลูกจิตสำ�นึกด้านความปลอดภัย (Safety Awareness) ซึ่งต่อยอดจากโครงการปลูกฝังพฤติกรรม ความปลอดภัย (Behavior-Based Safety: BBS) ที่ดำ�เนินการ อยู่แล้ว โดยลักษณะของการดำ�เนินงานโครงการนี้จะกระตุ้น ให้พนักงานมีจติ สำ�นึกด้านความปลอดภัยตลอดเวลา ส่งเสริม ให้พนักงานมีความเป็นผู้นำ�ด้านความปลอดภัย (Safety Leadership) และฝึกให้พนักงานรู้จักการทำ�งานเป็นกลุ่ม (Teamwork) คือมีการช่วยเหลือ ตักเตือนซึ่งกันและกัน
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
203
โครงการ Safety Network and Sharing เป็นโครงการสร้างเครือข่ายด้านความปลอดภัยของบริษัท ในกลุ่ม ปตท. ซึ่งมุ่งเน้นการให้พนักงานในบริษัทต่างๆ ของ กลุ่ม ปตท. แลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ซึ่งกันและกัน ทั้งข้อมูล ด้านความปลอดภัยและข้อมูลด้านการปฏิบตั กิ ารทีเ่ หมาะสมที่ ในแต่ละบริษัทมีอยู่ เพื่อนำ�ไปตรวจสอบและประยุกต์ใช้ให้ เหมาะสมกับงานของหน่วยงาน เช่น วิธีการดูแลรักษา การ ซ่อมบำ�รุง การเลือกใช้หรือการควบคุมการปฏิบัติสำ�หรับ เครื่องมือ อุปกรณ์ท่ีได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามีคุณภาพและ ประสิทธิภาพดี ซึ่งสามารถป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุได้ โครงการจัดทำ�รายงานการบริหารจัดการความปลอดภัย เพื่อป้องกันอุบตั เิ หตุรา้ ยแรงในโรงงาน (Safety Report Guideline) บริษัทฯ ได้เข้าร่วมเป็น 1 ใน 6 โรงงานอุตสาหกรรม ทีเ่ ข้าร่วมการจัดทำ�รายงานการบริหารจัดการความปลอดภัย เพื่อป้องกันอุบัติเหตุร้ายแรงในโรงงาน (Safety Report Guideline) ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) เพื่อเป็น แนวทางให้ผู้บริหารโรงงานจัดทำ�รายงานการบริหารจัดการ ความปลอดภัยและป้องกันอุบัติเหตุร้ายแรงในโรงงาน ตามหลักการการควบคุมอุบัติภัยร้ายแรงของโรงงานที่มี ความเสี่ยงสูง ตลอดจนส่งเสริมให้โรงงานพัฒนาระบบ บริหารจัดการความปลอดภัยเพือ่ ป้องกันและควบคุมอุบตั ภิ ยั ร้ายแรง โดยในปี 2559 โรงงานผลิตโพรพิลีนได้ดำ�เนินการ จัดทำ�คู่มือนี้เสร็จเรียบร้อยแล้ว และอยู่ในช่วงการทดลอง ใช้งานการบริหารจัดการความปลอดภัยตามแนวทางของ กรมโรงงานอุตสาหกรรม
บริษัทฯ ร่วมเป็น 1 ใน 6 โรงงานอุตสาหกรรม ที่ดำ�เนินการจัดทำ�รายงานการบริหารจัดการ ความปลอดภัยเพื่อป้องกันอุบัติเหตุร้ายแรง ในโรงงาน (Safety Report Guideline) พร้อมจัดทำ�คู่มือการจัดการความปลอดภัย โดยเริ่มใช้ในโรงงานผลิตโพรพิลีน
204
โครงการ “ฝึกอบรมให้ความรู้ทางด้านความปลอดภัยและ อาชีวอนามัย” เป็นโครงการที่ดำ�เนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อทบทวนความรู้ และทำ�ให้พนักงานตืน่ ตัวในเรือ่ งความปลอดภัยอยูต่ ลอดเวลา ซึง่ การอบรมนีม้ กี ารดำ�เนินการใน 3 ด้าน คือ แบบห้องอบรม (Class Room) แบบเรียนผ่านทางช่องทางอินทราเน็ต (E-Learning) และแบบในพื้นที่ปฏิบัติงาน (On The Job Training) โดยมีหลักสูตรหลัก ดังนี้
การอบรมการปลูกจิตสำ�นึกด้านความปลอดภัย (Safety Awareness) เป็นโครงการหนึ่งที่ได้รับความสนใจจากพนักงานเป็นจำ�นวนมาก
1. การปลูกจิตสำ�นึกด้านความปลอดภัย (Safety Awareness) 2. การยศาสตร์ 3. โรคปอดจากการทำ�งาน 4. อันตรายจากสารเคมี 5. อันตรายจากเสียง โครงการฝึกอบรมผู้ตรวจประเมินภายในการจัดการความ ปลอดภัยกระบวนการผลิต (Process Safety Management: PSM) เพื่อทำ�หน้าที่เป็นผู้ตรวจประเมินภายใน โดยวิทยากรจาก วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ สมาคมวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต์แห่งประเทศไทย โดย มีวัตถุประสงค์โครงการเพื่อฝึกอบรมผู้ตรวจประเมินภายใน การจัดการความปลอดภัยกระบวนการผลิต (Process Safety Management: PSM) เพือ่ ทำ�หน้าทีเ่ ป็นผูต้ รวจประเมินภายใน โดยวิทยากรจากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ และสมาคมวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต์ แห่งประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ให้พนักงานมีความเข้าใจในข้อกำ�หนดของระบบ PSM และทราบมุมมองในการตรวจประเมินระบบ 2. นำ�เอามุมมองในการตรวจประเมินระบบไปประยุกต์ ประกอบการดำ�เนินการในหน่วยงานของตนในการบริหาร จัดการระบบความปลอดภัยฯ ให้สอดคล้องกับข้อกำ�หนด 3. สร้างผูต้ รวจประเมินระบบ PSM ภายในองค์กร (Internal Auditor) โครงการ “สุขภาพดี เริ่มต้นที่นี่” นอกจากการมุ่งเน้นเสริมสร้างความปลอดภัยแล้ว บริษัทฯ ยั ง เล็ ง เห็ น ถึ ง ความสำ�คั ญ ของการสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพที่ แข็งแรงของพนักงาน จึงได้ดำ�เนินโครงการเพื่อการดูแล สุขอนามัยของพนักงานในรูปแบบต่างๆ เช่น การดูแลพนักงาน ทีม่ คี า่ ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index: BMI) เกินค่ามาตรฐาน โดยดูแลและให้ความรูก้ บั พนักงานในเรือ่ งการบริโภคอาหาร ส่งเสริมให้มอี าหารเพือ่ สุขภาพจำ�หน่ายและบริการอาหารเพือ่
การตรวจวัดการรั่วระเหยจากอุปกรณ์ (Fugitive Sources) โดยเครื่องมือ แบบพกพา ร่วมกับคณะทำ�งานจังหวัดระยอง
สุขภาพฟรีให้กบั พนักงานในมือ้ กลางวัน เช่น ผักปลอดสารพิษ และน้ำ�พริก สนับสนุนให้จัดอาหารว่างระหว่างการประชุม เป็นอาหารเพือ่ สุขภาพ เช่น ผลไม้ เครือ่ งดืม่ สมุนไพร เป็นต้น รวมทั้ง สนับสนุนให้มีสถานที่ อุปกรณ์ออกกำ�ลังกายแก่ พนักงานทั้งในช่วงพักระหว่างปฏิบัติงานหรือนอกเวลางาน โครงการความปลอดภัยของกระบวนการผลิต (Process Safety) บริษัทฯ ตระหนักดีว่าอุบัติเหตุหรืออุบัติการณ์ขั้นรุนแรง ในกระบวนการผลิตจะนำ�มาซึ่งความเสียหายเป็นวงกว้าง ต่อชีวติ ทรัพย์สนิ และสิง่ แวดล้อม และมีแนวโน้มทีจ่ ะกระทบ ต่อผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ ทั้งพนักงาน ผู้รับเหมา ตลอดจน ชุมชนรอบเขตประกอบการฯ บริษัทฯ จึงบริหารจัดการ ความปลอดภัยของกระบวนการผลิตอย่างเคร่งครัด โดยมี แนวทางป้องกันการเกิดอุบัติเหตุหรืออุบัติการณ์ขั้นรุนแรง ที่เกิดจากกระบวนการผลิต เช่น การรั่วไหลของน้ำ�มันและ สารเคมี การเกิดไฟไหม้ เป็นต้น เพือ่ ให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ มีความปลอดภัย ตลอดจนธุรกิจขององค์กรยังสามารถ ดำ�เนินต่อไปได้อย่างราบรืน่ โดยประยุกต์ใช้ระบบปฏิบตั กิ าร ที่เป็นเลิศ (Operational Excellence Management System) และระบบการจัดการความปลอดภัยกระบวนการผลิต (Process Safety Management: PSM) นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัย รายโรงงานทุกปีตามมาตรฐาน TIS/OHSAS 18001 และ ทุก 5 ปี ตามกฎหมายหรือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงใน กระบวนการผลิต นอกจากนี้ ยังได้กำ�หนดแนวทางปฏิบัติ ด้ า นความปลอดภั ย ในกระบวนการผลิ ต ร่ ว มกั บ บริ ษั ท ในกลุ่ม ปตท. เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล บริษัทฯ มุ่งมั่นดําเนินงานตามระบบการบริหารกระบวนการ ด้านความปลอดภัยอย่างสม่าํ เสมอ โดยได้กาํ หนดลําดับความ สําคัญด้านความปลอดภัยของเครือ่ งจักร/อุปกรณ์ทใี่ ช้งานอยู่ เป็นเกณฑ์ในการกําหนดความเร่งด่วนของงานซ่อมบํารุง โดยเฉพาะเครือ่ งจักร/อุปกรณ์ทเี่ กีย่ วกับเรือ่ งความปลอดภัย ต่อคน เช่น อุปกรณ์ปอ้ งกันไม่ให้คนเข้าสัมผัสเครือ่ งจักรหรือ
อุปกรณ์ระบายความดันฉุกเฉิน เป็นต้น ซึง่ อุปกรณ์ประเภทนี้ ต้ อ งมี ก ารตรวจสอบสภาพการทํ า งานตามระยะเวลาที่ กําหนด (Time Base Preventive Maintenance) และหาก เครือ่ งจักร/อุปกรณ์ผดิ ปกติ ต้องได้รบั การซ่อมบํารุงก่อนและ โดยทันที (First Priority for Corrective Maintenance) ซึ่ ง ช่ ว ยให้ ห น่ ว ยงานซ่ อ มบํ า รุ ง มี ก ารวางแผนงานและ บริห ารจัดการในงานซ่อมบํารุงได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น ทั้งยังดูแลเครื่องจักร/อุปกรณ์ให้มีสภาพพร้อม ใช้ ง านได้ ดี ต ลอดเวลา เพื่ อ ลดการหยุ ด การผลิ ต อย่ า ง กะทันหัน (Unplanned Shutdown) ที่มีสาเหตุมาจาก ความเสียหายของเครื่องจักร/อุปกรณ์ ในขณะเดียวกัน บริษทั ฯ ยังได้พฒ ั นาศักยภาพของพนักงาน ด้านความปลอดภัยในกระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง โดย มุ่งเน้นการฝึกอบรมให้ความรู้กับพนักงานควบคุมการผลิต ถึงรายละเอียด หน้าที่การทํางานของชิ้นส่วนต่างๆ และการ ดูแลบํารุงรักษาเบือ้ งต้นของเครือ่ งจักร/อุปกรณ์แต่ละประเภท ตามแนวทาง Total Productivity Management หรือ TPM ซึ่งมุ่งเน้นให้พนักงานบํารุงรักษาเครื่องจักร/อุปกรณ์ ให้มีสภาพพร้อมใช้งานด้วยตนเอง ถือเป็นการปลูกฝัง ความเป็นเจ้าของและเป็นการเพิ่มพูนความรู้ให้กับพนักงาน ควบคุมการผลิต ทั้งนี้ บริษัทฯ กําหนดเป้าหมายในการจัด อบรมด้านการจัดการความปลอดภัยกระบวนการผลิต (PSM) ให้ครอบคลุมทุกโรงงานภายในปี 2559 ด้านสิ่งแวดล้อม (Environment) การจัดทําทําเนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ (Pollutant Release and Transfer Registers: PRTR) บริษัทฯ ได้เข้าร่วมเป็นโครงการนําร่องในการจัดทํารายงาน PRTR ซึง่ เป็นโครงการภาคสมัครใจทีก่ รมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ Japan International Cooperation Agency (JICA) ของรัฐบาลญี่ปุ่น ได้ร่วมจัด ทําโครงการ เป็นการจัดทํารายงานข้อมูลสถานประกอบการ ปริมาณการปลดปล่อย เคลื่อนย้ายมลสาร/ของเสียสู่อากาศ ดิน น้ํา ในพื้นที่นําร่องจังหวัดระยอง โดยได้เริ่มดําเนิน โครงการตั้งแต่ปี 2555 เป็นต้นมา การดําเนินโครงการ บริษทั ฯ ได้ดาํ เนินการอย่างต่อเนือ่ งโดยประสานความร่วมมือ กับกลุม่ ปตท. ซึง่ ในปี 2559 บริษทั ฯ ได้รายงานผล PRTR ของโรงงานกลุ่ ม ปิ โ ตรเลี ย มและกลุ่ ม ปิ โ ตรเคมี ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม และได้เดินหน้าปรับปรุงระบบการจัดการสารเคมี มลสาร ต่างๆ ภายในโรงงาน ส่งเสริมให้มีมาตรการใช้สารเคมี อย่างมีประสิทธิภาพ หาแนวทางป้องกันและลดการสูญเสีย วัตถุดิบและสารเคมีในกระบวนการผลิต ตลอดจนการ ดําเนินการมาตรการ/โครงการการลดการปลดปล่อยมลพิษ ออกสู่สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง อาทิ การสนับสนุนการใช้ เชื้อเพลิงสะอาด การหมุนเวียนนํากลับมาใช้ใหม่โครงการ 3Rs หรือโครงการปรับปรุงกระบวนการผลิตที่มีจุดระบาย รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
205
ปลดปล่อยมลสาร ดําเนินการจัดทําให้เป็นระบบปิด Close System และสามารถลดของเสียที่เกิดจากกระบวนการ ผลิตได้อีกด้วย การลดการระบายก๊าซเรือนกระจก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในปัจจุบัน นับเป็นปัญหา ที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน บริษัทฯ มีความ มุ่งมั่นที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ รวมถึงการเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ ในการใช้พลังงานในระดับ Top Quartile ภายในปี 2563 โดยบริษัทฯ มีการกําหนดทิศทางการดําเนินการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนือ่ ง พร้อมไปกับการลดปริมาณ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกสูส่ งิ่ แวดล้อม บริษทั ฯ ให้ความ สําคัญกับการบริหารจัดการด้านพลังงาน การอนุรกั ษ์พลังงาน รวมทั้งส่งเสริมการใช้ทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลสูงสุด สนองต่อนโยบายการอนุรกั ษ์และประหยัด พลังงานของภาครัฐ ที่จะทําให้ลดต้นทุนการผลิตและเกิด การอนุรักษ์พลังงานอย่างมีระบบและยั่งยืน ซึ่งเป็นการช่วย ลดภาวะโลกร้อนและมลสารทางอากาศด้วย โดยใช้หลักการ การมีสว่ นร่วมของพนักงานทุกคน นอกจากจะมีการปรับปรุง และพัฒนากระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง ในปี 2559 มีการ ดําเนินการโดยการเพิม่ สัดส่วนการใช้เชือ้ เพลิงก๊าซธรรมชาติ เพื่อทดแทนน้ํามันเตาที่ใช้ในกระบวนการผลิต การนํา ซอฟต์์แวร์มาใช้ในการบริหารจัดการเพื่อประสิทธิภาพสูงสุด ของการใช้พลังงาน ตลอดจนการปรับปรุงภายในเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต ทําให้การใช้พลังงาน ลดลงทั้งเชื้อเพลิง ไฟฟ้า และไอน้ํา ส่งผลให้ประหยัดการใช้ เชื้อเพลิงเพื่อผลิตไฟฟ้าและไอน้ําในภาพรวมของบริษัทฯ และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกสู่สิ่งแวดล้อม การสร้างป่าธรรมชาติรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรม (Protection strip) การสร้างป่าธรรมชาติรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรม ไออาร์พีซี เพื่อเป็นแนวป้องกันระหว่างเขตประกอบการฯ กับชุมชน โครงการ Protection strip เริ่มต้นในปี 2554 และ ดําเนินการต่อเนือ่ งมาจนถึงปัจจุบนั ได้ดาํ เนินการปลูกต้นไม้
ปี 2559 บริษัทฯ ดำ�เนินการปลูกต้นไม้รอบเขต ประกอบการฯ เพิ่มเติม 84 ไร่ รวมเป็นพื้นที่รวม 732 ไร่ สามารถดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ ประมาณ 3,700 ตันต่อปี
206
Grand Total Zone 1,2,3 166 Zone 4 557 Total 723 (12.69%) ป 2559 (ปลูกเพิม่ ) 84
EHIA เขตประกอบการฯ 5.695 ไร่ ต้องจัดให้มีพนื้ ที่สีเขียว และแนวกันชนไม่น้อยกว่า 692.42 ไร่ หรือ 12.16% แผนผังและแนวต้นไม้ Protection Strip โครงการการปลูกสร้างป่าเพิ่มเติม ปี 2559
แล้วทั้งหมดจํานวน 419,120 ต้น รวมถึงมีแผนดูแลบํารุง รักษาต้นไม้อย่างสม่ําเสมอในปี 2559 บริษัทฯ ได้ดําเนินการ ปลูกต้นไม้รอบเขตประกอบการฯ ต่อจากแนวเดิมซึ่งได้ปลูก ต้นไม้เพิ่มเติม 84 ไร่ จํานวน 101,120 ต้น โดยมีพื้นที่รวม 732 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 12.69 ของพื้นที่ทั้งหมด สามารถ ดู ด ซั บ ปริ ม าณก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ เ พิ่ ม ขึ้ น จํ า นวน 910 ตัน คิดเป็นปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ดูดซับได้ ทั้งหมดประมาณ 3,700 ตันต่อปี หากเทียบกับปี 2558 สามารถดูดซับได้เพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 32 ทําให้ช่วยลด ผลกระทบทางด้านอากาศ ฝุ่นละออง และเสียงต่อชุมชน โดยรอบเขตประกอบการฯ รวมทั้งการเพิ่มทัศนียภาพ ตามแบบป่าธรรมชาติอีกด้วย การจัดการสารอินทรียร์ ะเหยง่าย (VOCs) ในเขตประกอ บการฯ บริษัทฯ ให้ความสําคัญกับการบริหารจัดการคุณภาพอากาศ ให้ดียิ่งขึ้น เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนโดยรอบเขตประ กอบการฯ โดยมีการดําเนินการปรับปรุงและพัฒนากระบวน การผลิตอย่างต่อเนื่อง มีการจัดทําบัญชีปริมาณการระบาย สารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs Emission Inventory) ของ แต่ละโรงงานในเขตประกอบการฯ เพื่อการบริหารจัดการ อย่างเป็นระบบ มีการควบคุมการรั่วระเหยจากอุปกรณ์ (Fugitive Sources) โดยได้ดาํ เนินการประเมินและจัดทําบัญชี รายชื่ออุปกรณ์ต่างๆ ในพื้นที่เขตผลิตและทําการตรวจวัด ตามแผนการตรวจวัดของแต่ละโรงงาน บริษัทฯ มีการดําเนินการตรวจวัดการรั่วซึมของอุปกรณ์ ต่างๆ ในกระบวนการผลิตด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เช่น เครือ่ งมือตรวจวัดแบบอัตโนมัติ (On-line Monitoring) กล้อง ตรวจจับ (VOCs Camera) เครื่องตรวจวัดสาร VOCs ชนิด พกพา (Portable) ทําการตรวจวัดในพื้นที่และชุมชนเพื่อเป็น การเฝ้าระวัง ที่ผ่านมาได้มีโครงการพัฒนาปรับปรุง เพื่อลด สารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ในพื้นที่โรงงาน ถึงแม้ว่า การตรวจวัดในพื้นที่จะต่ํากว่าเกณฑ์มาตรฐาน เช่น โรงงาน เอทธิลเบนซีนสไตรีนโมโนเมอร์ มีการติดตั้งระบบดูดซับ
การตรวจวัดการรั่วระเหยจากอุปกรณ์ (Fugitive Sources) โดยกล้องตรวจจับ (VOCs Camera)
ด้วยระบบการบริหารจัดการคุณภาพอากาศ อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทำ�บัญชีปริมาณ การระบาย VOCs และการตรวจวัดการรั่วซึม ของอุปกรณ์ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ส่งผลให้ปี 2559 บริษัทฯ สามารถลดการ ระบาย VOCs ได้กว่า 60 ตันต่อปี ด้วยถ่านกัมมันต์บริเวณถังเก็บสารเคมีและบริเวณระบบ บำ�บัดน้ำ�เสียเบื้องต้น โครงการติดตั้งระบบเก็บตัวอย่าง จากกระบวนการผลิตเป็นระบบปิดจํานวน 22 จุด เพื่อลด VOCs Emission ที่อาจรั่วซึมออกสู่บรรยากาศขณะเก็บ ตัวอย่าง เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีแผนงานปรับปรุงใน อนาคต ได้แก่ ดำ�เนินการติดตั้งวาล์วควบคุมการระบาย (Breather Valve) และเปลี่ยนช่องระบายอากาศ (Free Vent) เป็น Breather Valve ที่ถังเก็บสารเคมี เพื่อควบคุม ความดันของระบบช่องระบายก๊าซ (Gas Vent System) และติดตั้งระบบควบคุมไอระเหย (Vapor Recovery Unit) ที่โรงงานผลิตเบนซีน โทลูอีน ไซลีน และโรงงานผลิต เอทิลีน เพื่อควบคุมและลดการระบาย VOCs โดยคาดว่า จะสามารถติดตั้งและใช้งานระบบได้ภายในปี 2560 ซึ่งจะ ส่งผลให้้ลดการระบายของสารอินทรีย์ระเหยง่ายได้กว่า 60 ตันต่อปี การบริหารจัดการข้อร้องเรียน บริ ษัท ฯ ตระหนั ก ถึ ง การอยู่ร่ว มกั น ของชุ ม ชนโรงงาน สิง่ แวดล้อม จึงได้ให้ความสําคัญในการดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม โดยใส่ใจคํานึงถึงผลกระทบสิง่ แวดล้อมทีอ่ าจเกิดขึน้ กับชุมชน อย่างจริงจังผ่านเวทีคณะกรรมการทีม่ ผี บู้ ริหารระดับสูงเป็น ประธาน (War room) และการลงพื้นที่ของผู้บริหารเพื่อเยี่ยม
เยือนพบปะชุมชนอย่างใกล้ชดิ และต่อเนือ่ ง เพือ่ ทําการพูดคุย รับทราบปัญหาและข้อกังวลใจอย่างใกล้ชดิ มีระบบการบริหาร จัดการข้อร้องเรียนและมีการสร้างระบบการบริหารจัดการ สิง่ แวดล้อมแบบมีสว่ นร่วมในการพัฒนาโครงการต่างๆ ในพืน้ ที่ เขตประกอบการฯ ผ่านทางคณะกรรมการพัฒนาศักยภาพ โครงการ และพัฒนาชุมชนและสังคมเขตประกอบการ อุตสาหกรรม บริษทั ไออาร์พซี ี จํากัด (มหาชน) อําเภอเมือง จังหวัดระยอง (คพอ.) และคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ และเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EIA/EHIA Monitoring Committee) ซึ่งประกอบไปด้วยตัวแทนภาค ประชาชน ภาครัฐ ผู้ทรงคุณวุฒิ และตัวแทนบริษัทฯ โดย คณะกรรมการจะให้ขอ้ เสนอแนะและเข้าตรวจสอบการดําเนิน โครงการและกิจกรรมภายในพืน้ ทีเ่ ขตประกอบการฯ เพื่อให้ เกิดความเชื่อมั่นในการควบคุมและลดผลกระทบจากการ ดําเนินกิจกรรมต่างๆ ของบริษัทฯ และเป็นช่องทางในการ ติดต่อสื่อสารระหว่างชุมชน ราชการ และโรงงาน ควบคุม แหล่งกําเนิดมิให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้เชิญคณะตัวแทนภาคประชาชนและ หน่วยงานราชการเข้าเยี่ยมชมโรงงานต่างๆ ผ่านโครงการ Open House เพื่อเปิดโอกาสให้ตัวแทนชุมชน ประชาชน นักศึกษา และหน่วยงานราชการเข้าเยี่ยมชมโรงงานอย่าง ใกล้ชิดและได้เห็นภาพการทํางาน การดําเนินกิจกรรมต่างๆ ของโรงงานได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพื่อความเข้าใจและคลาย ความกังวลใจ บริษัทฯ มีมาตรการเฝ้าระวัง ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ สิ่งแวดล้อม และการนําเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการบริหาร จัดการสิ่งแวดล้อม โดยดําเนินการติดตั้งระบบเฝ้าระวัง ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพสิง่ แวดล้อม และการประชาสัมพันธ์ การรายงานผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศจาก 6 สถานี ในพืน้ ทีช่ มุ ชน (แบบต่อเนือ่ ง 24 ชัว่ โมง) ให้ประชาชน ชุมชน และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องได้ทราบผ่านช่องทาง ระบบแสดงผล TV-Display ที่ติดตั้งระบบการรายงานผล การตรวจวัดคุณภาพอากาศทั้งหมด 11 จุด ครอบคลุม บริ เ วณพื้ น ที่ โ ดยรอบเขตประกอบการฯ ประชาชน ชุมชน และหน่วยงานราชการที่ต้องการ ทราบผลการ ตรวจวัดคุ ณ ภาพอากาศสามารถอ่ า นผลได้ ต ลอดเวลา มี ก ารประชาสั ม พั น ธ์ ข้ อ มู ล ข่ า วสารต่ า งๆ ของบริ ษั ท ฯ ในรูปแบบของไฟล์รูปภาพ เพื่อสร้างการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดี กับโรงงานในเขตประกอบการฯ และสร้างความมั่นใจได้ว่า บริษัทฯ มีการควบคุมกํากับดูแลสิ่งแวดล้อมไม่ให้ส่งผล กระทบต่ อ สิ่ง แวดล้ อ ม และชุ ม ชน มุ่ง มั่น พั ฒ นาการ ดําเนินงานภาคอุตสาหกรรมให้เป็นกระบวนการพัฒนา ที่ยั่งยืนสามารถอยู่ร่วมกับประชาชนชาวระยองได้อย่างมี ความสุขและคุณภาพชีวิตที่ดี พร้อมยกระดับมาตรฐาน โรงงานอุตสาหกรรมให้เป็นที่ยอมรับในระดับมาตรฐานสากล รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
207
แผนที่แสดงที่ตั้ง TV-Display ในพื้นที่โดยรอบเขตประกอบการฯ
นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้มีการลงทุนในการบริหารจัดการ คุณภาพอากาศในบรรยากาศ การควบคุมการปลดปล่อย ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) และฝุ่นละออง (TSP) จากข้อมูลสถิติในแต่ละปีพบว่า ตั้งแต่ปี 2555-2559 ทั้ง 3 ค่า มีแนวโน้มลดลงกว่าปีที่ ผ่านมาอย่างชัดเจน อันเนื่องมาจากการใช้เชื้อเพลิงและ ติดตั้งอุปกรณ์เผาไหม้ที่สะอาดและการลงทุนโครงการ TGTU และโครงการผลิ ต ไอน้ํ า และไฟฟ้ า โดยใช้ ก๊ า ซ ธรรมชาติ (CHP) ทําให้สามารถลดการปลดปล่อยก๊าซ ซั ล เฟอร์ ไ ดออกไซด์ แ ละฝุ่ น ละอองอย่ า งมี นั ย สํ า คั ญ ซึ่งในปี 2559 สามารถลดการปลดปล่อยก๊าซไนโตรเจน
การพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco-Industrial Zone) จากแผนกลยุ ท ธ์ ใ นการพั ฒ นาเป็ น เขตประกอบการ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco-Industrial Zone: EIZ) บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาให้เกิดความสมดุล ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็น ตั ว ขั บ เคลื่ อ นที่ สำ�คั ญ ของภาคอุ ต สาหกรรมไทยตาม กรอบการพั ฒ นาสู่ เ มื อ งอุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เ วศ (Eco-
โครงการปรับปรุงคุณภาพอากาศจากการเผาไหม เชื้อเพลิงของไออาร พีซี และกราฟแสดง การลดลงของก าซซัลเฟอร ไดออกไซด (S02) ที่สถานีตรวจอากาศ ทำให ป ญหาเร�่ิองกลิ�น Combustion gas ลดลง
ว�ทยาลัยเทคโนฯ IRPC บ านพักพนักงาน IRPC รพ.สต. บ านก นหนอง อบต.บ านแลง
ค ามาตรฐานเฉลี่ย 24 ชั�วโมง
2551
2552
2553
2554
2555
2556
2557
กราฟแสดงตัวแทนสถานีตรวจอากาศ ในพื้นที่ชุมชน ผลการตรวจวัดซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2 ) จากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ที่มา: ส่วนบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
208
วัดปลวกเกตุ
ปรับเปลี่ยนใช เชื้อเพลิงก าชผสม 4 ล านบาท ลดการใช น�ำมันเตาลงเฉลี่ยป ละ 68,000 ตันต อป
Value
ppb 200 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0
ออกไซด์ได้กว่า 860 ตัน เมื่อเทียบกับตัวเลขการปลดปล่อย ก่อนการปรับปรุงในปี 2557
2558
2559
Industrial Town) ซึ่งหมายถึงเมืองที่มีการเจริญเติบโต โดยมีอุตสาหกรรมเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจหลัก และ มีความสมดุลกับการพัฒนาทางสังคมและความเป็นอยู่ ของประชาชน โดยมี ผ ลกระทบต่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต และ สิ่งแวดล้อมในระดับต่ำ� นับว่าเป็นการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยในปี 2559 บริษัทฯ ได้ดำ�เนินการจนได้รับการรับรอง เป็นโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Factory) เพิ่มอีก 11 โรงงาน จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ โรงงาน แปรสภาพคอนเดนเสทเรสซิ ดิ ว โรงงานแปรสภาพ คอมบายด์แก๊สออยล์ โรงงานผลิตเม็ดพลาสติกโพลิเอทิลีน ชนิ ด ความหนาแน่ น สู ง และชนิ ด ที่ มี น้ำ� หนั ก โมเลกุ ล สู ง โรงงานผลิตเม็ดพลาสติกโพลิโพรพิลนี โรงกรองน้ำ�บ้านค่าย โรงงานทำ�เคมีภัณฑ์เบนซีน โทลูอีน ไซลีน โรงงานผลิต เม็ดพลาสติกโพลิสไตรีน และโรงงานผลิตสารเคมีโพลิออล คอมพาวด์ และได้เข้าร่วมพิธีลงนามข้อตกลงความร่วมมือ ของอุตสาหกรรมเชิงนิเวศให้เทียบเท่าอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 4 (GI 4) รางวัลด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม บริษทั ฯ ได้ดาํ เนินการโดยมุง่ เน้นความปลอดภัย อาชีวอนามัย การใส่ใจคุณภาพ และการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม พัฒนา สู่ความยั่งยืนในทุกมิติเพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธ์การ เติบโตของบริษัทฯ และได้รับการยอมรับจากผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ไม่ว่าจะเป็นลูกค้า/คู่ค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน ชุมชน และสังคม ดังจะเห็นได้จากรางวัลในด้านต่างๆ ทีไ่ ด้รบั ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่องในการพัฒนา และปรับปรุงระบบการจัดการทุกๆ ด้านให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด โดยในปี 2559 นี้ บริษัทฯ ได้รับรางวัลด้านคุณภาพ ความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม รวมหลายรางวัล อาทิ รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นด้านการเพิ่มผลผลิต (Prime Minister’s Industry Award: Productivity) จากการดําเนินงานด้านคุณภาพและการเพิม่ ผลผลิตมาอย่าง ต่อเนื่องจากผู้บริหารและพนักงานทุกระดับ โดยคํานึงถึง การใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่าและเกิดประโยชน์สงู สุดในการผลิต ทําให้โรงงานแปรสภาพคอนเดนเสทเรสซิดวิ (โรงกลัน่ น้าํ มัน 1) ได้รับรางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นด้านการเพิ่มผลผลิตจาก กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม โดยรับมอบ รางวัลจากนายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2559 รางวัล TPM Excellence Award บริษัทฯ ได้เริ่มดําเนินการโครงการบํารุงรักษาทวีผลที่ทุกคน มีสว่ นร่วม (Total Productive Maintenance & Management: TPM) เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายสูงสุด 3 ด้าน คือ Zero Accident, Zero Machine Breakdown และ Zero Defect โดยการ นําร่องในพื้นที่ของฝ่ายโรงกลั่น ฝ่ายน้ํามันหล่อลื่นพื้นฐาน
รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นด้านการเพิ่มผลผลิต (Prime Minister’s Industry Award: Productivity)
รางวัล QCC Thailand Quality Prize
สายงานปฏิบัติการการกลั่น และส่วนปิโตรเลียมแท็งค์ฟาร์ม ฝ่ายแท็งค์ฟาร์ม ตั้งแต่ปลายปี 2554 ภายใต้การบริหาร จัดการได้ครบถ้วนทั้ง 8 เสาหลัก จากการดําเนินงานที่บรรลุ ตามเป้าหมายและมีผลการตรวจประเมินผ่านตามเกณฑ์ ทําให้บริษัทฯ ได้รับรางวัล TPM Excellence, Category A จากสถาบัน JIPM (Japan Institute of Plant Maintenance) ประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2559 รางวัลกิจกรรม QCC บริษัทฯ ดําเนินสนับสนุนกิจกรรม QCC (Quality Control Circle) มาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาร่วม 20 ปี กิจกรรม ดังกล่าวดําเนินงานโดยพนักงานระดับปฏิบัติการเพื่อให้ เกิดการปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง โดยจัดให้ มีการแข่งขันภายในเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมการดําเนิน กิจกรรมดังกล่าว รวมถึงการส่งกลุ่มพนักงานที่มีผลงาน โดดเด่นเข้าสู่การแข่งขันในเวทีระดับประเทศและสากล ซึ่งบริษัทฯ ได้รับรางวัลจากกิจกรรม QCC Thailand Quality Prize ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2559 ดังต่อไปนี้
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
209
รางวัล SSHE Awards
1. รางวัล Diamond Award ประเภท Task Achieving QCC Prize จากโรงงาน Olefin 2. รางวัล Golden Award ประเภท Manufacturing QCC Prize จากโรงกลั่นน้ํามัน 2 รางวัล 3. รางวัล Golden Award ประเภท Support QCC Prize จากศูนย์ห้องวิเคราะห์และห้องปฏิบัติการ 4. รางวัล Silver Award ประเภท Junior Manufacturing QCC Prize จากโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก SAN 5. รางวัล Silver Award ประเภท Manufacturing QCC Prize จากหน่วยงานบรรจุผลิตภัณฑ์ 6. รางวัลระดับ Gold จากงาน International Quality and Productivity Convention ณ ประเทศอินโดนีเซีย โดย โรงกลั่นน้ํามัน รางวัล Responsible Care Code of Management Practices Self-Assessment on Website บริษัทฯ ได้รับรางวัลความร่วมมือในการประเมินระดับการ สัมฤทธิ์ผลตามข้อกำ�หนดแนวปฏิบัติด้านการจัดการ The Responsible Care Code of Management Practices Self-Assessment on Website เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559 ที่สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รางวัลเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทํางานดีเด่นและสถาน ประกอบกิจการต้นแบบดีเด่น ระดับประเทศประจําปี 2559 บริษัทฯ รับรางวัลเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำ�งาน ดีเด่นและสถานประกอบกิจการต้นแบบดีเด่น (ระดับประเทศ)
210
ประจําปี 2559 ในงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทํางาน แห่งชาติ ครั้งที่ 30 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2559 และวันที่ 2 กรกฎาคม 2559 Zero Accident Campaign 2016 บริษัทฯ เข้ารับรางวัล Zero Accident Campaign 2016 จากคลังน้ํามันอยุธยา โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน พลเอก ศิริชัย ดิษฐกุล เป็นผู้มอบ เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2559 รางวัล SSHE Awards บริษัทฯ รับรางวัลเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางาน ดีเด่น ประจําปี 2559 และรางวัลสถานประกอบกิจการ ดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางานระดับประเทศ ประจําปี 2559 รางวัลโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (ECO FACTORY) บริษัทฯ ได้รับรางวัลโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ECO FACTORY ทั้งสิ้น 11 โรงงาน โดยได้รับมอบรางวัลจาก ดร.อรรชกา สีบญ ุ เรือง รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2559
การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน
ไออาร์พซี ี มุง่ มัน่ ในการดำ�เนินธุรกิจเพือ่ สร้างความสมดุลระหว่าง การเติบโตทางธุรกิจ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และการสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อชุมชนและสังคม เสริมสร้างคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้น และสนับสนุนการพัฒนาทาง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ เพื่อสามารถอยู่ร่วมกับชุมชนได้ อย่างมีความสุข รวมถึงได้รับความไว้วางใจจากผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
โดยมีสำ�นักบริหารความยัง่ ยืน ทำ�หน้าทีใ่ นการบริหารจัดการ กลยุทธ์ความยัง่ ยืนขององค์กร ซึง่ ครอบคลุมด้านเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม และบรรษัทภิบาล โดยมีคณะกรรมการการดำ�เนิน ธุรกิจอย่างยั่งยืน กลุ่มไออาร์พีซี ทำ�หน้าที่กำ�หนดนโยบาย และกลยุทธ์ด้านความยั่งยืน พิจารณากลั่นกรองให้ความ เห็นแผนงานการดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืน เพื่อขออนุมัติจาก คณะกรรมการจัดการและคณะกรรมการบริษัทฯ กำ�กับดูแล ติดตาม สนับสนุน และส่งเสริมการดำ�เนินงานด้านการ พัฒนาอย่างยั่งยืนให้เป็นไปตามนโยบายและกลยุทธ์ เพื่อ ก้าวไปสู่การเป็นองค์กรที่เป็นเลิศและยั่งยืนตามวิสัยทัศน์ “บริษัทปิโตรเคมีชั้นนำ�ของเอเชีย ภายในปี 2563” บริษัทฯ ได้ให้ความสำ�คัญและเน้นย้ำ�การดำ�เนินงานเพื่อ ตอบสนองเป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืน โดย ได้มีกระบวนการประเมินประเด็นสำ�คัญต่อความยั่งยืน (Materiality Assessment) ครอบคลุมประเด็นที่ส่งผล กระทบสำ�คัญต่อบริษัทฯ และผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในปี 2559 ประเด็นสำ�คัญต่อการดำ�เนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืนของ ไออาร์พีซี ประกอบไปด้วย • อาชีวอนามัยและความปลอดภัย บริษัทฯ ส่งเสริม ความปลอดภัยในทุกขั้นตอน ทั้งความปลอดภัยส่วนบุคคล ความปลอดภัยในกระบวนการผลิต และความปลอดภัย ในการขนส่ง ผ่านการดำ�เนินงานด้วยมาตรฐานความปลอดภัย ระดับสูงเพื่อไปสู่เป้าหมายในการเป็นสถานประกอบการที่มี ความปลอดภัย ปราศจากอุบตั เิ หตุจากการทำ�งาน (Goal Zero) และส่งเสริมให้พนักงานและผู้รับเหมาทุกคนมีวัฒนธรรม ความปลอดภัยที่ดีทั่วทั้งองค์กร
• ประสิทธิภาพของเครื่องจักรและกระบวนการผลิต บริษัทฯ บริหารจัดการความปลอดภัยของกระบวนการผลิต อย่างเคร่งครัด โดยมีแนวทางป้องกันการเกิดอุบัติเหตุหรือ อุบัติการณ์ขั้นรุนแรงที่เกิดจากกระบวนการผลิต เช่น การ รัว่ ไหลของน้ำ�มันและสารเคมี การเกิดไฟไหม้ เป็นต้น เพือ่ ให้ ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มมีความปลอดภัย ตลอดจนธุรกิจของ องค์กรยังสามารถดำ�เนินต่อไปได้อย่างราบรื่น โดยประยุกต์ ใช้ระบบปฏิบัติการที่เป็นเลิศ (Operational Excellence Management System) และระบบการบริหารกระบวนการ ด้านความปลอดภัย (Process Safety Management: PSM) นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีการประเมินความเสี่ยง ด้านความปลอดภัยรายโรงงานทุกปีตามมาตรฐาน TIS/ OHSAS 18001 และทุก 5 ปี ตามกฎหมายหรือเมื่อมี การเปลีย่ นแปลงในกระบวนการผลิต นอกจากนี้ ยังได้กำ�หนด แนวทางปฏิบัติด้านความปลอดภัยในกระบวนการผลิต ร่วมกับบริษัทในกลุ่ม ปตท. เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐาน สากล • การพัฒนาบุคลากร บริษัทฯ มุ่งพัฒนาศักยภาพ ของพนักงานในทุกระดับและทุกสายอาชีพอย่างต่อเนื่อง เพื่อเสริมสร้างความสามารถของทรัพยากรบุคคลให้เตรียม รับมือกับความท้าทายที่มาพร้อมกับโอกาสในการเติบโต ทางธุรกิจ • การรักษาบุค ลากร บริษัทฯ มุ่งพัฒนาและรักษา พนักงานที่มีศักยภาพให้คงอยู่กับองค์กรด้วยการให้ความ สำ�คัญต่อการส่งเสริมให้พนักงานมีความผูกพันต่อบริษัทฯ ตลอดจนมุ่งเป็นองค์กรที่น่าอยู่ และเสริมสร้างวัฒนธรรม องค์กรผ่านการดำ�เนินกิจกรรมที่สร้างการมีส่วนร่วม โดย มุ่งหวังให้พนักงานเติบโตร่วมกับองค์กรอย่างมีความสุข รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
211
• ผลกระทบต่ อ ชุ ม ชน บริ ษั ท ฯ มี เ จตนารมณ์ ที่ จ ะ ดำ�เนินโครงการต่างๆ บนหลักการสร้างความไว้วางใจและ เชื่อมั่นของผู้มีส่วนได้เสีย (Social License & Trust) โดยจัดทำ�การประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และสุขภาพ พร้อมทั้งปฏิบัติตามแนวทางการมีส่วนร่วม ของประชาชน เพื่อให้บริษัทฯ สามารถดำ�เนินธุรกิจได้ อย่างยั่งยืนและได้รับการยอมรับจากชุมชนโดยรอบ
• การใช้ พ ลั ง งานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ บริ ษั ท ฯ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พ ลั ง งานในกระบวนการผลิ ต อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยการปรั บ ปรุ ง กระบวนการผลิ ต และ การบริหารจัดการการขนส่งขององค์กร ตลอดจนพัฒนา การดำ�เนินงานร่วมกับบริษัทในกลุ่ม ปตท. เพื่อให้สามารถ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างคุ้มค่าและลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม
• การพัฒนาสังคม บริษัทฯ มุ่งมั่นดำ�เนินธุรกิจด้วย ความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชนรอบเขตประกอบการฯ อย่างต่อเนือ่ ง โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวติ การศึกษา การส่งเสริมสุขภาพอนามัย และการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมท้องถิน่ ของชุมชน โดยมีเป้าประสงค์สูงสุดในการสร้างคุณค่าร่วม และเติบโตไปพร้อมกันกับสังคมไทย ตลอดจนได้รับการ ยอมรับและความเชื่อมั่นจากผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
• การบริหารจัดการความเสี่ยง บริษัทฯ มุ่งพัฒนาการ บริหารจัดการความเสี่ยงให้เป็นระบบ สอดคล้องกับแนว ปฏิบัติที่เป็นเลิศในระดับสากล เพื่อให้สามารถควบคุม ความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ซึ่งจะช่วยให้บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ ตลอดจนป้องกันและ บรรเทาผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างการดำ�เนินธุรกิจ อีกทั้งยังช่วยให้บริษัทฯ สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ ผู้มีส่วนได้เสียจากโอกาสทางธุรกิจในอนาคต
• มลพิษทางอากาศ บริษัทฯ บริหารจัดการมลพิษทาง อากาศเพื่อป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อนามัยของชุมชน โดยบริษัทฯ ได้ปรับปรุงประสิทธิภาพของ กระบวนการผลิตและพัฒนาแผนการดำ�เนินงานเพื่อลด ปริมาณการปล่อยมลพิษทางอากาศอย่างต่อเนือ่ ง และมีการ เฝ้าระวังโดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อลดข้อร้องเรียน อันเกิดจากกิจกรรมของบริษัทฯ • ของเสีย บริษัทฯ มุ่งพัฒนาการบริหารจัดการของเสีย ให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม โดยมีเป้าหมายของการบริหารจัดการของเสียในการลดปริมาณ การฝังกลบของเสียอันตรายให้เป็นศูนย์ภายในปี 2563 • น้ำ�เสีย บริษัทฯ ใช้วิธีการบำ�บัดน้ำ�เสียก่อนปล่อยออก สู่สิ่งแวดล้อมด้วยระบบตะกอนเร่ง (Activated Sludge) และระบบบำ�บัดน้ำ�เสียโดยใช้เยื่อเมมเบรน Ultra Filtration ซึ่งช่วยควบคุมคุณภาพน้ำ�ทิ้งให้สอดคล้องกับกฎหมายที่ เกี่ยวข้องเป็นขั้นต่ำ� • การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ บริษัทฯ ตระหนัก ถึ ง การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศซึ่ ง เป็ น ปั ญ หาใน ระดับโลกทีท่ กุ ฝ่ายต้องให้ความร่วมมือเพือ่ ลดการปลดปล่อย ก๊าซเรือนกระจกอย่างเต็มที่ โดยบริษทั ฯ ได้บริหารจัดการการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศผ่านการปรับปรุงประสิทธิภาพ ของกระบวนการผลิตและการพัฒนาผลิตภัณฑ์คาร์บอนต่ำ� และผลิตภัณฑ์ประหยัดพลังงาน • ทรัพยากรน้ำ� บริษัทฯ บริหารจัดการน้ำ�เชิงรุกเพื่อ จัดสรรน้ำ�ใช้ในการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยดำ�เนินงานร่วมกับบริษัทในกลุม่ ปตท. ทีม่ พี นื้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร อยู่ในจังหวัดระยอง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการ ขาดแคลนน้ำ� ตลอดจนติดตามสถานการณ์นำ�้ อย่างใกล้ชิด เพื่อจัดทำ�มาตรการการใช้นำ�้ ที่เหมาะสมและสามารถรองรับ การผลิตได้อย่างต่อเนื่อง โดยไม่ส่งผลกระทบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม
212
• การบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ บริษัทฯ ให้ความ สำ�คัญในการสร้างความเชื่อมั่นแก่ลูกค้าในเรื่องคุณภาพ สินค้าและบริการ และการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับ ลูกค้า ซึ่งจะช่วยให้บริษัทฯ สามารถควบคุมความเสี่ยงที่จะ ส่งผลกระทบต่อรายได้และชื่อเสียงขององค์กรภายใต้สภาวะ ธุรกิจที่มีการแข่งขันสูง อีกทั้งเป็นแนวทางสำ�คัญที่ช่วย สนับสนุนให้บริษัทฯ สามารถเดินหน้าสู่เป้าหมายขององค์กร ได้อย่างยั่งยืน • นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษ บริษทั ฯ มุง่ มัน่ วิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าที่หลากหลาย และมุ่งพัฒนาผลิตภัณฑ์ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอันจะช่วยเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ พร้ อ มทั้ ง ช่ ว ยให้ บ ริ ษั ท ฯ สามารถตอบสนองต่ อ สภาพ ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป • การบริหารจัดการคูค่ า้ บริษทั ฯ มุง่ มัน่ ในการดำ�เนินการ จัดซื้อจัดหาอย่างโปร่งใส โดยปฏิบัติกับคู่ค้าอย่างเท่าเทียม ถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน เป็นธรรม ตรวจสอบได้ และการ ดำ�เนินงานของคู่ค้านั้นต้องสอดคล้องกับจรรยาบรรณของ คู่ค้า (IRPC Supplier Code of Conduct) ซึ่งครอบคลุม ประเด็นด้านจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ สิทธิมนุษยชน สิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย • การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี บริษทั ฯ มีแนวทางการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี โดยคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้กำ�หนด นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีเพื่อให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน • การต่อต้านการทุจริต บริษัทฯ ยึดมั่นในการต่อต้าน การทุจริต โดยได้จัดโครงสร้างองค์กร กำ�หนดอำ�นาจการ อนุมัติและดำ�เนินการโดยยึดการสร้างสมดุลของอำ�นาจ ตรวจสอบ และมี แ นวทางการป้ อ งกั น และจั ด การต่ อ
เหตุการณ์ทุจริตและความขัดแย้งของผลประโยชน์ เพื่อ ให้เกิดความโปร่งใส อีกทั้งยังป้องกันการเกิดการทุจริต ที่จะเกิดขึ้นภายในองค์กรโดยคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งมีกลไกการจัดการข้อร้องเรียนอย่างเป็นระบบ • จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ บริษทั ฯ ยึดมัน่ ในการ ดำ�เนินธุรกิจตามหลักจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจทีด่ ี โปร่งใส ตรวจสอบได้ ควบคู่ไปกับการดูแลผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม อย่างสมดุล เพราะตระหนักดีว่าการดำ�เนินธุรกิจอย่างมี จริยธรรมจะนำ�ไปสูค่ วามเชือ่ มัน่ ต่อองค์กร ซึง่ จะทำ�ให้บริษทั ฯ สามารถบรรลุเป้าหมายในการดำ�เนินธุรกิจได้อย่างราบรื่น
• สิทธิมนุษยชน บริษัทฯ มุ่งมั่นส่งเสริมให้พนักงาน ทุกระดับเคารพในสิทธิมนุษยชน โดยไม่เลือกปฏิบัติด้วย สาเหตุอันเนื่องมาจากเชื้อชาติ ศาสนา เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพ รวมถึงเคารพสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล และ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล โดยรายละเอี ย ดการบริ ห ารจั ด การประเด็ น สํ า คั ญ ต่ อ ความยั่งยืนและผลการดําเนินงานได้เปิดเผยในรายงาน ความยั่งยืน (Corporate Sustainability Report) ประจํา ปี 2559
• สิทธิแรงงาน บริษัทฯ ส่งเสริมให้พนักงานใช้สิทธิใน การรวมกลุ่มผ่าน 7 สหภาพแรงงาน และจัดฝึกอบรมใน ด้านกฎหมายแรงงาน ระเบียบและแนวปฏิบัติของพนักงาน ให้กับพนักงานและสหภาพแรงงานทุกกลุ่ม ผลการประเมินประเด็นสำ�คัญต่อการดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืน (Materiality Assessment) ประจำ�ปี 2559
7
1
5
2
ความสำ�คัญต่อผู้มีส่วนได้เสีย
3
9 19
21
14
17
13
18
15
8
20 11
10
16
6
4
12 15
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21.
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ประสิทธิภาพของเครื่องจักร และกระบวนการผลิต การพัฒนาบุคลากร การรักษาบุคลากร ผลกระทบต่อชุมชน การพัฒนาสังคม มลพิษทางอากาศ ของเสีย น้ำ�เสีย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทรัพยากรน้ำ� การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการความเสี่ยง การบริหารจัดการลูกค้าสัมพันธ์ นวัตกรรม การบริหารจัดการคู่ค้า การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี การต่อต้านการทุจริต จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ สิทธิแรงงาน สิทธิมนุษยชน
ความสำ�คัญต่อไออาร์พีซี
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
213
ในปี 2559 ไออาร์พีซี ได้รับคัดเลือกเข้าเป็นสมาชิก ดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์ กลุ่มตลาดเกิดใหม่ หรือ DJSI Emerging Market ในกลุ่มอุตสาหกรรมประเภท Oil & Gas Refining and Marketing ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 ซึ่งเป็นการรับรองว่า ไออาร์พีซี เป็นหนึ่งในบริษัทชั้นนำ�ของโลก ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน สะท้อนให้เห็นถึงความมุ่งมั่น ในการดำ�เนินธุรกิจด้วย ความสมดุลทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อตอบสนองผู้มีส่วนได้เสียทุก ๆ ด้าน
บริษัทฯ ได้นำ�ประเด็นสำ�คัญดังกล่าวมาเป็นแนวทางในการ กำ�หนดกลยุทธ์ในการพัฒนาการดำ�เนินงานที่คำ�นึงถึงด้าน สิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล (Environmental Social and Governance: ESG Enhancement) ตลอดจน นำ�ประเด็นที่สำ�คัญมาเป็นกรอบในการกำ�หนดเนื้อหาใน รายงานความยัง่ ยืน เพือ่ เปิดเผยให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียรับทราบการ ดำ�เนินงานของบริษัทฯ อย่างโปร่งใส รายงานความยั่งยืนประจำ�ปี 2559 ได้จัดทำ�โดยใช้หลักการ รายงานตาม Sustainability Reporting Guidelines Version 4 (G4): Oil and Gas Sector Disclosure ของ Global Reporting Initiative (GRI) ซึง่ เป็นแนวทางการจัดทำ�รายงานความยัง่ ยืน ที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยกำ�หนดให้มีความสมบูรณ์ ของเนื้อหาสอดคล้องกับทางเลือกแบบหลัก (Core Option) โดยบริษัทฯ ได้รับรางวัลรายงานความยั่งยืนประจำ�ปี 2559 (Sustainability Report Award 2016) ระดับดีเด่น จากโครงการ ประกาศรางวัลรายงานความยัง่ ยืน ซึง่ เป็นโครงการความร่วมมือ ของ CSR Club สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย สำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และสถาบันไทยพัฒน์ โดยบริษัทฯ ได้รับรางวัลดังกล่าว ต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การ ดําเนินการผลิตให้เกิดดุลยภาพทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและ สิ่งแวดล้อม
214
โดยการให้แต่ละโรงงานมีระบบการบริหารจัดการเชิงนิเวศ ที่ดีตามกรอบแนวคิดอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Factory) ของสถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย เพื่อเป็นรากฐานในการพัฒนาไปสู่การเป็น เขตประกอบการอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Zone) ตามกรอบการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของ กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) ในปี 2559 บริษัทฯ มีโรงงานที่ได้รับการรับรองการเป็น โรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพิ่มเติมอีก 11 โรงงาน ได้แก่ โรงงานแปรสภาพคอนเดนเสทเรสซิดิว โรงงาน แปรสภาพคอมไบน์แก๊สออยล์ โรงงานผลิตเม็ดพลาสติก โพลิ เ อทิ ลี น ชนิ ด ความหนาแน่ น สู ง และชนิ ด ที่ มี น้ํ า หนั ก โมเลกุ ล สู ง โรงงานผลิ ต ก๊ า ซโพรพิ ลี น โรงงานผลิ ต อะเซทิลีนแบล็ค โรงงานผลิต เม็ดพลาสติกคอมพาวด์ โรงงานผลิ ต เม็ ด พลาสติ ก โพลิ โ พรพิ ลี น โรงกรองน้ํ า บ้านค่าย โรงงานผลิตเคมีภัณฑ์ เบนซีน โทลูอีน ไซลีน โรงงานผลิตโพลิสไตรีน และโรงงานผลิตสารเคมีโพลิออล คอมพาวด์ รวมกับโรงงานที่ได้รับการรับรองไปแล้วใน ปี 2558 ที่ผ่านมา คิดเป็นจํานวนรวมทั้งสิ้น 15 โรงงาน โดยมี เ ป้ า หมายที่ จ ะได้ รั บ การรั บ รองการเป็ น โรงงาน อุตสาหกรรมเชิงนิเวศครบทุกโรงงานภายในปี 2560
บริษัทฯ คำ�นึงถึงกระบวนการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ในองค์กร การสร้างวัฒนธรรมด้านความยั่งยืนให้เกิดขึ้นกับ พนักงานทุกคน โดยในปี 2559 สำ�นักบริหารความยั่งยืน ได้ดำ�เนินการสื่อความเรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืนให้กับ ผู้บริหารและพนักงานกลุ่มเป้าหมายจากหน่วยงานต่างๆ ในการนำ�หลักการบริหารความยั่งยืนไปผนวกเข้ากับการ ดำ�เนินงานและนำ�ไปปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมได้มากยิ่งขึ้น โดยใช้รูปแบบการสัมมนาเชิงปฏิบัติการและศึกษาดูงาน โดยมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อนำ�ไปประยุกต์ใช้ ในการดำ�เนินงาน นอกจากนี้ สำ�นักบริหารความยั่งยืน ยังได้ดำ�เนินการสื่อความเรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืนในการ อบรมหลักสูตรการเรียนรู้ IRPC Cubic Academy โดย มีพนักงานไออาร์พีซี และบุคคลภายนอกที่มีความสนใจ
เข้าร่วมอบรม ตลอดจนได้พัฒนาหลักสูตรสร้างความเข้าใจ ด้านการบริหารงานอย่างยั่งยืนในรูปแบบ E-Learning เพื่อ สื่อสารและสร้างความเข้าใจด้านความยั่งยืนแก่พนักงาน ทุกระดับ โดยสำ�นักบริหารความยั่งยืนตั้งเป้าหมายใน การสร้างการตระหนักรู้ด้านความยั่งยืนแก่พนักงานกลุ่ม เป้าหมายให้ครบทั่วทั้งองค์กรภายในปี 2563 ในด้ า นการขยายโครงการที่ มี ก ารขยายกำ�ลั ง การผลิ ต และโครงการใหม่ บริษัทฯ ได้สร้างการมีส่วนร่วมของผู้มี ส่ ว นได้ เ สี ย ผ่ า นการประชุ ม เพื่ อ รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของ ประชาชน ตลอดจนมีการสำ�รวจความพึงพอใจของชุมชน เป็นประจำ�ทุกปีและได้นำ�เสียงสะท้อนที่ได้รับมาพัฒนา ศักยภาพการดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่องต่อไป
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
215
216
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
217
218
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
219
220
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
221
222
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
223
การปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ Corporate Governance Report of Thai Listed Companies (CGR) ประจำ�ปี 2559 ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
หมวดสิทธิของผู้ถือหุ้น Rights of Shareholders A.1
บริษทั ได้ให้สทิ ธิอนื่ แก่ผถู้ อื หุน้ นอกเหนือจากสิทธิในการลงคะแนนเสียงหรือไม่ IRPC: สิทธิในการเสนอวาระการประชุมล่วงหน้าก่อนวันประชุม การเสนอ ชือ่ บุคคลเพือ่ คัดเลือกเป็นกรรมการ การเลือกตัง้ หรือถอดถอนกรรมการ การพิจารณาค่าตอบแทนกรรมการและผูส้ อบบัญชี การพิจารณาส่วนแบ่ง ในผลกำ�ไร/เงินปันผล และสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลที่เพียงพอ รวดเร็ว ครบถ้วน ให้สิทธิในการแสดงความคิดเห็น
A.2
ค่าตอบแทนกรรมการบริษัททุกรูปแบบได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นเป็น ประจำ�ทุกปีหรือไม่ IRPC: ใช่ (คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาค่าตอบแทนทุกรูปแบบ ประกอบด้วย ค่าตอบแทนรายเดือน และค่าเบี้ยประชุม โบนัสประจำ�ปี และนำ�เสนอผู้ถือหุ้นอนุมัติ)
A.3
ในการเสนอวาระค่าตอบแทนกรรมการให้ผถู้ อื หุน้ พิจารณามีการนำ�เสนอ นโยบาย วิธกี าร หลักเกณฑ์ ในการให้คา่ ตอบแทนสำ�หรับกรรมการแต่ละ ตำ�แหน่งหรือไม่ อย่างไร IRPC: มี
ระบุเฉพาะจำ�นวนตัวเลขค่าตอบแทนรวมทั้งคณะ มีนโยบายและอธิบายวิธีการจ่ายค่าตอบแทนสำ�หรับกรรมการแต่ละ ตำ�แหน่ง เช่น ค่าตอบแทนรายเดือน และ/หรือค่าเบี้ยประชุมต่อครั้ง และ/หรือโบนัส/บำ�เหน็จประจำ�ปี โดยระบุจำ�นวนค่าตอบแทน ที่ได้รับตามตำ�แหน่ง หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 6-7 รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 19-22
A.4
ในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการ บริษัทได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคลหรือไม่ IRPC: ใช่
แจกแจงผลการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการแบบรายบุคคล ระบุผลการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการแบบทั้งคณะ รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 17-19
A.5
บริษทั ได้เปิดเผยไว้ในรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ถึงการจัดให้มผี ตู้ รวจสอบ การนับคะแนนเสียงในการประชุมผู้ถือหุ้นหรือไม่ IRPC: มี
ไม่มี ผู้สังเกตการณ์ พยาน/สักขีพยาน ผู้ตรวจสอบการนับคะแนน อื่นๆ ระบุ…………… รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 2
A.6
บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอวาระการประชุม หรือส่งคำ�ถาม เกี่ยวกับบริษัทล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นได้หรือไม่ IRPC: ใช่
ให้สิทธิเสนอวาระการประชุมล่วงหน้า ให้สิทธิส่งคำ�ถามเกี่ยวกับบริษัทล่วงหน้า เว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์ฯ http://www.set.or.th/set/newsdetails. do?newsId=14742422249221&language=th&country=TH เว็บไซต์บริษัทฯ http://irpc.listedcompany.com/ newsroom/250920150813190066T.pdf
A.7
บริษัทได้เปิดเผยนโยบายในการอำ�นวยความสะดวกและส่งเสริมให้ ผู้ถือหุ้น ซึ่งรวมถึงนักลงทุนสถาบันเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นหรือไม่ IRPC: ใช่
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 48 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/ir_home_th.php
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 44
รายงานการประชุมสามัญประจำ�ปีผู้ถือหุ้นมีการระบุว่า ไม่มีสิทธิประโยชน์อื่นๆ มีสิทธิประโยชน์อื่นๆ (โปรดระบุ ……………) รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 19-22
คุณภาพของหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น
224
A.8
บริษทั ได้ก�ำ หนดวาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ ไว้เป็นเรือ่ งๆ อย่างชัดเจนหรือไม่ IRPC: ใช่
แจ้งมติคณะกรรมการบริษัทฯ เว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์ฯ หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 1-11
A.9
วาระพิจารณาแต่งตั้งกรรมการ มีการระบุชื่อพร้อมประวัติกรรมการที่ ต้องการเสนอแต่งตั้งให้ผู้ถือหุ้นทราบหรือไม่ IRPC: มี
1. ชื่อ-นามสกุล 2. อายุ 3. ประวัติการศึกษา/ประวัติการทำ�งาน 4. จำ�นวนบริษัทที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ต้องแยกเป็นหัวข้อ บริษัทจดทะเบียน และบริษัททั่วไป 5. หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหากรรมการ 6. ประเภทของกรรมการที่เสนอ เช่น กรรมการหรือกรรมการอิสระ
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล 7. ข้อมูลการเข้าร่วมประชุมในปีที่ผ่านมา (เฉพาะกรรมการเก่าที่ได้ เสนอให้เลือกตั้งเข้าดำ�รงตำ�แหน่งอีกวาระหนึ่ง) 8. วันที่ เดือนและปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการของบริษัท (เฉพาะกรรมการเก่าที่ได้เสนอให้เลือกตั้งเข้าดำ�รงตำ�แหน่ง อีกวาระหนึ่ง) หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 3-6/17-26
A.10
วาระแต่งตั้งผู้สอบบัญชี มีการระบุชื่อผู้สอบบัญชี บริษัทที่สังกัด ประวัติ หรือข้อมูลทีจ่ ะช่วยให้ผถู้ อื หุน้ พิจารณาความสามารถและความเหมาะสม ของผู้สอบบัญชี รวมทั้งค่าบริการไว้ครบถ้วนชัดเจนหรือไม่ IRPC: ใช่
ชื่อผู้สอบบัญชีและบริษัทที่สังกัด ประสบการณ์ความสามารถ รวมทั้งความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี ค่าบริการของผู้สอบบัญชี หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 7-9
A.11
ในวาระอนุมัติจ่ายเงินปันผล มีการเปิดเผยนโยบายการจ่ายเงินปันผล จำ�นวนเงินปันผลที่เสนอจ่าย พร้อมทั้งเหตุผลและข้อมูลประกอบ การพิจารณาหรือไม่ IRPC: ใช่
นโยบายการจ่ายเงินปันผล จ่ายปันผล งดจ่ายปันผล เหตุผลและข้อมูลประกอบการพิจารณา ขาดทุนสะสม จำ�นวนเงินปันผลที่เสนอ อื่นๆ ระบุ (เหตุผล/ข้อจำ�กัดในการนำ�ไปเครดิตภาษีได้หรือไม่ได้) หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 2-3
A.12
ในหนังสือนัดประชุม มีการระบุวัตถุประสงค์และเหตุผลของแต่ละวาระ ที่เสนอหรือไม่ IRPC: ใช่
หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 2-11
A.13
ในหนังสือนัดประชุม มีการระบุความเห็นของคณะกรรมการในแต่ละ วาระที่เสนอหรือไม่ IRPC: ใช่
หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 2-11
คุณภาพของรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น A.14
มี ก ารบั น ทึ ก เกี่ ย วกั บ การแจ้ ง วิ ธี ก ารลงคะแนนและนั บ คะแนนให้ ผู้ถือหุ้นทราบหรือไม่ IRPC: ใช่
แจ้งวิธีการลงคะแนนและนับคะแนนให้ผู้ถือหุ้นทราบก่อนเริ่มประชุม มีการใช้บัตรลงคะแนนเสียง รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 3
A.15
มีการเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถามและบันทึกคำ�ถามคำ�ตอบไว้หรือไม่ IRPC: ใช่
เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถาม แต่ไม่มีผู้ใดซักถาม บันทึกประเด็นคำ�ถาม-คำ�ตอบ รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 10-27
A.16
ในรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ได้มกี ารบันทึกมติทปี่ ระชุมไว้อย่างชัดเจน พร้อมทั้งคะแนนเสียงที่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสียงในทุกๆ วาระที่ต้องมีการลงคะแนนเสียงหรือไม่ IRPC: ใช่
บันทึกมติที่ประชุมไว้อย่างชัดเจน บันทึกคะแนนเสียงที่ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย งดออกเสียง และ บัตรเสียในทุกวาระ รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 15-25
A.17
ในรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นมีการบันทึกรายชื่อกรรมการที่เข้าร่วม ประชุมไว้หรือไม่ IRPC: ใช่
รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 1
A.18
บริษัทได้เปิดเผยมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นพร้อมผลการลงคะแนนเสียงใน วันถัดไปจากวันประชุมผู้ถือหุ้นหรือไม่ IRPC: เปิดเผยในวันเดียวกับวันประชุม
เว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์ฯ http://www.set.or.th/set/newsdetails. do?newsId=14594672130071&language=th&country=TH เว็บไซต์บริษัทฯ http://irpc.listedcompany.com/newsroom /010420161814250285T.pdf
A.19
ประธานกรรมการบริษทั ได้เข้าร่วมในการประชุมสามัญประจำ�ปีผถู้ อื หุน้ หรือไม่ IRPC: ใช่ (นายเทวินทร์ วงศ์วานิช)
รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 1
A.20
ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร/กรรมการผูจ้ ดั การ (ผูบ้ ริหารสูงสุด) ของบริษทั ได้เข้าร่วมในการประชุมสามัญประจำ�ปีผู้ถือหุ้นหรือไม่ IRPC: ใช่ (นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ)
รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 1
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
225
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
A.21
ประธานคณะกรรมการตรวจสอบได้เข้าร่วมในการประชุมสามัญประจำ�ปี ผู้ถือหุ้นหรือไม่ IRPC: ใช่ (นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์)
รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 1
A.22
ประธานคณะกรรมการค่าตอบแทนได้เข้าร่วมในการประชุมสามัญ ประจำ�ปีผู้ถือหุ้นหรือไม่ IRPC: ใช่ (นายวุฒิสาร ตันไชย)
รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 1
A.23
ประธานคณะกรรมการสรรหาได้เข้าร่วมในการประชุมสามัญประจำ�ปี ผู้ถือหุ้นหรือไม่ IRPC: ใช่ (นายวุฒิสาร ตันไชย)
รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 1
A.24
บริ ษั ท จั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ณ สถานที่ ที่ ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถเดิ น ทาง ไปได้ง่ายหรือไม่ IRPC: ใช่
หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 15-16 รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 4
โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทได้แสดงให้เห็นถึงการมีกลไกในการป้องกันการครอบงำ�กิจการดังต่อไปนี้หรือไม่อย่างไร
226
A.25
มีการถือหุ้นไขว้ในกลุ่มของบริษัทหรือไม่ IRPC: ไม่มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 105
A.26
มีโครงสร้างการถือหุ้นแบบปิรามิดในกลุ่มของบริษัทหรือไม่ IRPC: ไม่มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 105
A.27
คณะกรรมการของบริษัทไม่มีการถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละ 25 ของ หุ้นที่ออกแล้วของบริษัทใช่ หรือไม่ (Bonus) IRPC: ไม่มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 48 แบบ 56-1
A.28
บริษัทมีสัดส่วนของหุ้น free float เท่าใด IRPC: 51.90 (ข้อมูล ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2559)
A.29
ในการประชุมสามัญ/วิสามัญผู้ถือหุ้นแต่ละครั้งได้มี การเพิ่มวาระอื่นๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้ในหนังสือนัดประชุมให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมัติหรือไม่อย่างไร (Penalty) IRPC: ไม่มีการเพิ่มวาระอื่นๆ ที่ไม่ได้ระบุในหนังสือเชิญประชุม ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559
A.30
บริษัทได้ละเลยต่อการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ในเรื่อง การซื้อหุ้นคืนหรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มีกรณีการซื้อหุ้นคืน
A.31
บริษัทได้กีดกันหรือสร้างอุปสรรคในการเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถ ติดต่อสื่อสารระหว่างกันหรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มีการกีดกัน
A.32
บริษัทได้ละเลยต่อเปิดเผยถึงข้อตกลงระหว่างผู้ถือหุ้น (Shareholders agreement) ที่มีผลกระทบอย่างนัยสำ�คัญ ต่อบริษัทหรือผู้ถือหุ้น รายอื่นหรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่
สัดส่วน free float ณ วันปิดสมุดทะเบียนประเภท: XM ของปี 2560 มากกว่าหรือเท่ากับ 40% ระหว่าง 15% - 39% น้อยกว่า 15 % เว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์ฯ http://www.set.or.th/set/companyholder.do?symbol=IRPC &ssoPageId=6&language=th&country=TH มีการเพิ่มวาระในการประชุมสามัญ/วิสามัญผู้ถือหุ้น ไม่มีการเพิ่มวาระในการประชุมสามัญ/วิสามัญผู้ถือหุ้น หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 1-11 มีจำ�นวน 8 ระเบียบวาระ ประกอบด้วย 1) วาระเพื่อทราบ 2 วาระ 2) วาระเพื่อพิจารณา 5 วาระ 3) วาระอื่นๆ (ถ้ามี) 1 วาระ รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 1-27
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
หมวดการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน Equitable Treatment of Shareholders B.1
บริษัทให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นในการออกเสียงลงคะแนนในแบบหนึ่งหุ้นต่อ หนึ่งเสียงใช่หรือไม่ IRPC: ใช่
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 48 ข้อบังคับบริษัทฯ ข้อ 34
B.2
ในกรณีทบี่ ริษทั มีหนุ้ มากกว่าหนึง่ ประเภท (One class of Share) บริษทั ได้เปิดเผยถึงสิทธิในการออกเสียงของหุ้นแต่ละประเภทหรือไม่ IRPC: ไม่มี
มีเฉพาะหุ้นสามัญ มีหุ้นประเภทอื่น ระบุ……… รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 48
B.3
บริษัทมีกระบวนการ/ช่องทางให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยมีส่วนในการสรรหา และแต่งตั้งกรรมการหรือไม่ IRPC: ใช่
มีช่องทางให้ผู้ถือหุ้นเสนอชื่อกรรมการล่วงหน้า มีการลงคะแนนเสียงแบบ Cumulative Voting เว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์ฯ http://www.set.or.th/set/newsdetails.do?newsId= 14431382045561&language=th&country=TH เว็บไซต์บริษัทฯ http://irpc.listedcompany.com/ newsroom/250920150813190066T.pdf
B.4
บริษัทมีนโยบายป้องกันการใช้ข้อมูลภายในของบริษัท และได้เผยแพร่ ให้พนักงาน ผู้บริหาร และกรรมการบริษัททราบหรือไม่ IRPC: ใช่
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 37 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 72
B.5
ในกรณีที่มีการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกันที่เข้าข่ายจะต้องเปิดเผยข้อมูล หรือขออนุมัติจากผู้ถือหุ้นตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ก่อน การทำ�รายการ บริษทั ได้มกี ารเปิดเผยรายละเอียดและเหตุผลของการทำ� รายการให้ผู้ถือหุ้นทราบ ก่อนที่จะทำ�รายการหรือไม่อย่างไร IRPC: ใช่
B.6
บริษทั ได้เปิดเผยว่า รายการระหว่างกันได้กระทำ�อย่างยุตธิ รรม ตามราคา ตลาดและเป็นไปตามปกติธรุ กิจการค้า (Fair and at arms’ length) หรือไม่ IRPC: ใช่
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 127-130 แบบ 56-1
B.7
บริษทั มีโครงสร้างแบบกลุม่ ธุรกิจทีม่ กี ารทำ�รายการระหว่างกันในลักษณะ ที่อาจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์มากน้อยเพียงใด IRPC: บริษัทฯ และบริษัทในเครือดำ�เนินธุรกิจประเภทเดียวกับ กลุ่ม ปตท. จึงทำ�ให้เกิดธุรกรรมระหว่างบริษัทฯ และกลุ่ม ปตท. ซึ่งเป็นการทำ�ธุรกิจตามปกติ
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 127-130
B.8
บริษทั ได้อ�ำ นวยความสะดวกแก่ผถู้ อื หุน้ ทีไ่ ม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วย ตนเองโดยการส่งแบบการมอบฉันทะไปพร้อมหนังสือนัดประชุมหรือไม่ IRPC: ใช่
บริษทจัดส่งหนังสือมอบฉันทะแบบใดให้ผู้ถือหุ้น แบบ ก. แบบ ข. แบบ ค. ไม่นำ�ส่ง หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 34-41
B.9
ในหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น ได้มีการระบุถึงเอกสาร/หลักฐานที่ใช้ ในการมอบฉันทะไว้อย่างชัดเจนหรือไม่ IRPC: ใช่
หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 13-14
B.10
บริษทั มีการกำ�หนดเงือ่ นไขซึง่ ทำ�ให้ยากต่อการมอบฉันทะของผูถ้ อื หุน้ หรือไม่ IRPC: ไม่
หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 13-14
B.11
บริษทั จัดส่งหนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ล่วงหน้า (ทางไปรษณีย)์ ก่อนการประชุมเป็นเวลากี่วัน IRPC: 21 วัน
ส่งไปรษณีย์วันที่ 11 มีนาคม 2559 วันจัด AGM คือ วันที่ 1 เมษายน 2559 รวมส่งล่วงหน้า 21 วัน
B.12
บริษัทได้นำ�เสนอหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นฉบับสมบูรณ์ บนเว็บไซต์ ของบริษัทล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วันหรือไม่ IRPC: 30 วัน
เว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์ฯ http://www.set.or.th/set/newsdetails. do?newsId=14567838602781&language=th&country=TH วันที่เผยแพร่บนเว็บไซต์บริษัท 1 มีนาคม 2559 วันจัด AGM คือ วันที่ วันที่ 1 เมษายน 2559 รวมเผยแพร่บนเว็บไซต์ล่วงหน้า 30 วัน
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
227
ข้อ
หลักเกณฑ์
B.13
บริษทั ได้ก�ำ หนดวิธกี ารลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ กรรมการโดยการลงคะแนน เสียงแบบสะสม (Cumulative Voting) หรือไม่ (Bonus) IRPC: ไม่
B.14
บริษัทมีการส่งหนังสือนัดประชุมและเอกสารประกอบการประชุมเป็น ภาษาอังกฤษให้กับผู้ถือหุ้นต่างชาติหรือไม่ (Bonus) IRPC: ใช่
B.15
บริษทั มีรายการทีเ่ ป็นการให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษทั ทีไ่ ม่ใช่ บริษัทย่อยของบริษัทหรือไม่อย่างไร (Penalty) IRPC: ไม่ใช่
B.16
ในปีที่ผ่านมา เคยเกิดกรณีที่กรรมการ/ผู้บริหารของบริษัทมีการซื้อขาย หลักทรัพย์โดยใช้ข้อมูลภายในหรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มี
B.17
ในปีที่ผ่านมา บริษัทมีกรณีฝ่าฝืน/ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การทำ� รายการระหว่างกันหรือไม่อย่างไร (Penalty) IRPC: ไม่มีการฝ่าฝืน
B.18
ในปีที่ผ่านมา บริษัทมีกรณีฝ่าฝืน/ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การซื้อขาย สินทรัพย์หรือไม่อย่างไร (Penalty) IRPC: ไม่มีการฝ่าฝืน
B.19
บริษัทได้กำ�หนดนโยบายให้กรรมการและผู้บริหารระดับสูงแจ้งต่อ คณะกรรมการเกีย่ วกับการซือ้ ขายหุน้ อย่างน้อย 1 วันล่วงหน้าก่อนทำ�การ ซื้อขายหรือไม่ (Bonus) IRPC: ใช่
แหล่งข้อมูล ใช้วิธีลงคะแนนเสียงแบบ one-share one-vote ใช้วิธีลงคะแนนเสียงแบบ Cumulative Voting รายงานการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 หน้า 3 หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 เว็บไซต์บริษัทฯ ภาษาไทย : http://irpc.listedcompany.com/ newsroom/010320161809390811T.pdf ภาษาอังกฤษ : http://irpc.listedcompany.com/ newsroom/010320161809390811T. pdf
คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 77 จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ หน้า 15 รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 55 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/cg_control_manage.php
หมวดการคำ�นึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย The Role of Stakeholders
228
C.1
บริษัทได้จัดทำ�รายงานความรับผิดชอบทางสังคมหรือไม่ IRPC: มี
จัดทำ�รายงานความรับผิดชอบทางสังคม จัดทำ�รายงานความรับผิดชอบทางสังคม ตามกรอบ GRI โดยเปิดเผย GRI Index แบบ 56-1 รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 55 รายงานความยั่งยืน ปี 2559 หน้า 60
C.2
คณะกรรมการมีการกำ�หนดโยบายและแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับความปลอดภัย และสุขอนามัยในสถานทีท่ �ำ งาน รวมถึงเปิดเผยสถิตกิ ารเกิดอุบตั เิ หตุหรือ อัตราการหยุดงานหรืออัตราการเจ็บป่วยจากการทำ�งานหรือไม่ อย่างไร IRPC: มี
มีการกำ�หนดโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัย เปิดเผยสถิติการเกิดอุบัติเหตุ/อัตราการหยุดงาน/อัตราการเจ็บป่วย จากการทำ�งาน รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 202 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 81 จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ หน้า 7 รายงานความยั่งยืน หน้า 35 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/goodgovernance.php
C.3
คณะกรรมการมีการกําหนดโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับค่าตอบแทน และสวัสดิการแก่พนักงานหรือไม่ อย่างไร IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 53, 156 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 61 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 4 รายงานความยั่งยืน หน้า 42 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/cg_stakeholders.php
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
C.4
คณะกรรมการได้จัดให้มีกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับพนักงานหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 53
C.5
คณะกรรมการมีการกําหนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการพัฒนา ความรู้ศักยภาพของพนักงาน และเปิดเผยตัวเลขจํานวนชั่วโมงเฉลี่ย ของการฝึกอบรมของพนักงานต่อปีหรือไม่อย่างไร IRPC: มี
มีการกําหนดนโยบายและแนวปฏิบัติเก่ียวกับการพัฒนาความรู้ ของพนักงาน เปิดเผยตัวเลขจาํ นวนช่วั โมงเฉลีย่ ของการฝึกอบรมของพนักงานต่อปี รายงานประจําปี 2559 หน้า 52, 157-158 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 69 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 4 รายงานความยั่งยืน หน้า 42
C.6
คณะกรรมการมีการกําหนดนโยบายทีจ่ ะไม่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิ มนุษยชนหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 62-63 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 67 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 4 รายงานความยั่งยืน หน้า 28 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/corporate_human_rights.php
C.7
คณะกรรมการได้กําหนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับลูกค้าไว้หรือ ไม่อย่างไร IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 50 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 59 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 24 รายงานความยั่งยืน หน้า 53 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/cg_stakeholders.php
C.8
คณะกรรมการได้กําหนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับคู่แข่งไว้ หรือไม่อย่างไร IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 51 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 60 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 27 รายงานความยั่งยืน หน้า 90 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/cg_stakeholders.php
C.9
คณะกรรมการได้ กํ า หนดนโยบายและแนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ คู่ ค้ า โดยเฉพาะเร่ืองการคัดเลือกคู่ค้าไว้หรือไม่อย่างไร IRPC: มี
มีนโยบายและแนวปฏิบัติเก่ียวกับคู่ค้า เปิดเผยกระบวนการในการคัดเลือกคูค่ า้ รายงานประจําปี 2559 หน้า 50 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 60 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 27 รายงานความยั่งยืน หน้า 50 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/CG/policy/Procurement-Manual.pdf
C.10
คณะกรรมการได้ กํ า หนดนโยบายและแนวปฏิ บั ติ เ ก่ี ย วกั บ เจ้ า หน้ี โดยเฉพาะเรื่องเง่ือนไขค้ําประกัน การบริหารเงินทุน และกรณีที่เกิด การผิดนัดชําระหนี้ ไว้หรือไม่อย่างไร RPC: มี
มีนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับเจ้าหนี้เงินกู้ยืมของบริษัทและ มีการระบุถึง เรื่องเงื่อนไขค้ำ�ประกัน การบริหารเงินทุน กรณีที่เกิดการผิดนัดชำ�ระหนี้ รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 51 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 60 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 27 รายงานความยั่งยืน หน้า 90 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/cg_stakeholders.php
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
229
230
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
C.11
คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการไม่ล่วง ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์หรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 53 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 79 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 21 รายงานความยั่งยืน หน้า 28 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/library/09/Corporate%20 Governance_th.pdf
C.12
คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายเกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริต คอร์รปั ชันและห้ามจ่ายสินบนเพือ่ ผลประโยชน์ทางธุรกิจของบริษทั หรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 64-67 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 36-46 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 9 รายงานความยั่งยืน หน้า 26 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/CG/policy/2017-BriberyPolicy_TH.pdf
C.13
บริษัทมีกระบวนการในการประเมินความเสี่ยง จากการทุจริตคอร์รัปชัน หรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 64 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 36-46 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 9 รายงานความยั่งยืน หน้า 26 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/library/09/Corporate%20 Governance_th.pdf
C.14
บริษัทได้กําหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการกํากับดูแลและควบคมดูแลเพื่อ ป้องกันและติดตามความเสี่ยง จากการทุจริตคอร์รัปชันหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 64 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 36-46 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 9 รายงานความยั่งยืน หน้า 26 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/library/09/Corporate%20 Governance_th.pdf
C.15
บริษัทได้กําหนดแนวทางในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติ ตาม นโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 64 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 36-46 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 9 รายงานความยั่งยืน หน้า 26 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/library/09/Corporate%20 Governance_th.pdf
C.16
บริษทั ได้จดั ให้มกี ารฝึกอบรมแก่พนักงานเพือ่ ให้ความรูเ้ กีย่ วกับนโยบาย และแนวปฏิบัติในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันของบริษัทหรือไม่ IRPC: มี (มีการจัดอบรมภายในองค์กร และมีการส่งพนักงานไป อบรมกับองค์กรอื่น อาทิ IOD)
รายงานประจําปี 2559 หน้า 64 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 36-46 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 4 รายงานความยั่งยืน หน้า 26 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/library/09/Corporate%20 Governance_th.pdf
C.17
คณะกรรมการได้กําหนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับสังคมไว้หรือ ไม่อย่างไร IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 54 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 62 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 7 รายงานความยั่งยืน หน้า 48 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/sustainable.php
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
C.18
คณะกรรมการได้จัดกิจกรรมหรือเข้าไปมีส่วนร่วมสนับสนุนกิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชนหรือไม่ อย่างไร IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 54 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 62 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 7 รายงานความยั่งยืน หน้า 59 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/sustainable.php
C.19
คณะกรรมการมีการกําหนดนโยบายการดําเนินธุรกิจภายใต้มาตรฐาน สิ่งแวดล้อมหรือไม่ IRPC: มี
ISO14000, 14001 Green Label อื่นๆ ระบุ........... รายงานประจําปี 2559 หน้า 55 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 81 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 7 รายงานความยั่งยืน หน้า 68 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/sustainable.php
C.20
คณะกรรมการส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพหรือ ไม่ อย่างไร IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 67 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 83 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 7 รายงานความยั่งยืน หน้า 76 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/cg_control.php
C.21
คณะกรรมการมีการให้ความรูแ้ ละฝึกอบรมพนักงาน ในเรือ่ งสิง่ แวดล้อม หรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 203 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 69 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 7 รายงานความยั่งยืน หน้า 68 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/sustainable.php
C.22
คณะกรรมการได้จดั ให้มชี อ่ งทางทีผ่ มู้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ สามารถติดต่อ /ร้องเรียนในเร่อื งทีอ่ าจเป็นปัญหากับคณะกรรมการได้โดยตรงไว้หรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 67 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 45 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า 18 รายงานความยั่งยืน หน้า 26 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/library/09/Corporate%20 Governance_th.pdf
C.23
บริษัทได้จัดให้มีกระบวนการในการจัดการกับเรื่องที่พนักงานร้องเรียน ว่าอาจเป็นการกระทําผิดหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 67 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 45 รายงานความยั่งยืน หน้า 26 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/library/09/Corporate%20 Governance_th.pdf
C.24
บริษทั ได้กาํ หนดนโยบายหรือแนวทางในการปกป้องพนักงานหรือผูแ้ จ้ง เบาะแสในการกระทําผิดหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 67 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 46 รายงานความยั่งยืน หน้า 26 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/library/09/Corporate%20 Governance_th.pdf
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
231
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
C.25
บริษัทได้จัดให้มีช่องทางสําหรับผู้มีส่วนได้เสียในการแจ้งหรือร้องเรียน กรณีที่ถูกละเมิดสิทธิพร้อมให้ข้อมูลในการติดต่ออย่างชัดเจนหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจําปี 2559 หน้า 67 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 45 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หน้า รายงานความยั่งยืน หน้า 26 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/library/09/Corporate%20 Governance_th.pdf
C.26
บริษทั มีนโยบายค่าตอบแทนพนักงานทีส่ อดคล้องกับผลการดําเนินงาน ของบริษัททั้งในระยะสั้นและระยะยาวหรือไม่ IRPC: มี
Balanced Scorecard ESOP EJIP อื่นๆ ระบุ........ รายงานประจําปี 2559 หน้า 53 แบบ 56-1 คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี หน้า 70 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ หนา้ 4 รายงานความยั่งยืน หน้า 45 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/library/09/Corporate%20 Governance_th.pdf
C.27
มีกรณีที่บริษัทฝ่าฝืนกฎหมายด้านแรงงาน การจ้างงาน ผู้บริโภค การแข่งขันทางการค้า สิ่งแวดล้อมหรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มี
C.28
บริษัทถูกดําเนินการโดยหน่วยงานกํากับดูแลเนื่องจากไม่ได้ประกาศ ข้อมูลจากเหตุการณ์สาํ คัญภายในระยะเวลาทีท่ างการกาํ หนด (Penalty) IRPC: ไม่มี
C.29
บริษทั ได้จดั ทํารายงานแบบบูรณาการ (Integrated Report) หรือไม่ (Bonus) IRPC: มี (ปี 2558 และปี 2559)
รายงานประจําปี 2559 หน้า 56 รายงานความยั่งยืน http://www.irpc.co.th/th/pdf/library/13/AW_IRPC%20IR%20 2015_TH%20for%20IRPC_HI.pdf
หมวดการเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and Transparency) บริษัทมีการเปิดเผยโครงสร้างผู้ถือหุ้นอย่างโปร่งใสหรือไม่อย่างไร
232
D.1
มีการแจกแจงโครงสร้างผู้ถือหุ้นหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 100, 105 แบบ 56-1 เว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์ฯ http://www.set.or.th/set/companyholder.do?symbol= IRPC&ssoPageId=6&language=th&country=TH
D.2
โครงสร้างผู้ถือหุ้นที่เปิดเผยแสดงให้เห็นถึงผู้ถือหุ้นที่แท้จริงของบริษัท ได้อย่างชัดเจนหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 100, 105 แบบ 56-1 เว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์ฯ http://www.set.or.th/set/companyholder.do?symbol= IRPC&ssoPageId=6&language=th&country=TH
D.3
มีการเปิดเผยข้อมูลการถือหุน้ ของกรรมการทัง้ ทางตรงและทางอ้อมไว้หรือไม่ IRPC: มี
บริษัทเปิดเผยการถือหุ้นทางตรงอย่างเดียวหรือไม่แยกทางตรงและ ทางอ้อม บริษัทเปิดเผยการถือหุ้นแยกระหว่าง ทางตรง และทางอ้อม รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 95-96 แบบ 56-1
D.4
มีการเปิดเผยข้อมูลการถือหุน้ ของผูบ้ ริหารทัง้ ทางตรงและทางอ้อมไว้หรือไม่ IRPC: มี
บริษัทเปิดเผยการถือหุ้นทางตรงอย่างเดียวหรือไม่แยกทางตรงและ ทางอ้อม บริษัทเปิดเผยการถือหุ้นแยกระหว่าง ทางตรง และทางอ้อม รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 97-98 แบบ 56-1
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
พิจารณาคุณภาพของรายงานประจำ�ปีในหัวข้อต่อไปนี้ (ข้อ D.05 – D.21) D.5
บริษัทได้เปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีว่า ได้มีการปฏิบัติตามหลักการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีหรือไม่ อย่างไร ในกรณีที่ยังไม่ได้ปฏิบัตินั้น เป็น เพราะเหตุผลใด IRPC: มี
มีการปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ตลท. ครบถ้วน ทุกหลักการ เปิดเผยกรณีที่ยังไม่ได้ปฏิบัติตามหลักการของ ตลท. เป็นเพราะเหตุผลใด รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 42-68
D.6
วัตถุประสงค์/เป้าหมายระยะยาวของบริษัท (Corporate Objective/ Long Term Goal) IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 8
D.7
ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 136-153
D.8
ตัวชี้วัดผลการดำ�เนินงานของบริษัทที่ไม่ใช่การเงิน เช่น ส่วนแบ่งทาง การตลาด ระดับความพึงพอใจของลูกค้า เป็นต้น IRPC: มี
ตัวเลขร้อยละส่วนแบ่งทางการตลาด ตัวเลขร้อยละระดับความพึงพอใจของลูกค้า รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 116-126
D.9
ลักษณะการประกอบธุรกิจและภาวะการแข่งขัน IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 106-125
D.10
โครงสร้างกลุ่มธุรกิจ (ถ้ามี) IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 105
D.11
ความเสี่ยงหลัก (Key Risks) ในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 37-38
D.12
นโยบายการจ่ายเงินปันผล IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 62, 100
D.13
นโยบายการแจ้งเบาะแสการกระทำ�ผิด (Whistle Blowing) IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 67
D.14
ประวัติของคณะกรรมการ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 12-21 ชื่อ-สกุล อายุ ตำ�แหน่ง ประวัติการศึกษา ประสบการณ์ สัดส่วนการถือหุ้น วัน เดือน ปีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่น ต้องแยกเป็น หัวข้อของบริษัทจดทะเบียน และ บริษัทอื่นๆ ไว้อย่างชัดเจน
D.15
การระบุว่ากรรมการรายใดเป็นกรรมการอิสระ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 10-11, 73
D.16
การเปิดเผยหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 90
D.17
นโยบายและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูง IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 91
D.18
การเปิดเผยค่าตอบแทนกรรมการเป็นรายบุคคล IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 91
D.19
การเปิดเผยข้อมูลจำ�นวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 83
D.20
การเปิดเผยข้อมูลการเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละคน IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 83
D.21
การเปิดเผยข้อมูลการเข้ารับการพัฒนาและฝึกอบรมของกรรมการ แต่ละคนในปีที่ผ่านมา IRPC: มี
ไม่มีกรรมการเข้ารับการพัฒนาและฝึกอบรมในปีที่ผ่านมา เปิดเผยข้อมูลการพัฒนาและฝึกอบรมของกรรมการทุกคนในปีทผ่ี า่ นมา รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 12-22, 60 รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
233
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
D.22
บริษทั มีการเปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการระหว่างกันไว้อย่างครบถ้วนหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 127-130
D.23
บริษัทมีการกำ�หนดนโยบายให้กรรมการต้องเปิดเผย/รายงานการ ซื้อ-ขายหุ้น/ถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทให้ทราบทุกครั้ง IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 48 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 77 จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ หน้า 12
D.24
บริษัทเปิดเผยการเปลีย่ นแปลงการถือครองหุน้ บริษทั ของกรรมการและ ผู้บริหารระดับสูงโดยแสดงจำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ ต้นปี สิ้นปี และที่มีการซื้อ ขายระหว่างปี ไว้ในรายงานประจำ�ปี หรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 48
D.25
บริษัทมีการกำ�หนดนโยบายเกี่ยวกับการรายงานการมีส่วนได้เสียของ กรรมการหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 48 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 27 จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ หน้า 12
D.26
บริษัทกำ�หนดและเปิดเผยไว้ถึงนโยบายที่ว่า การทำ�รายการระหว่าง กันที่สำ�คัญต้องได้รับการพิจารณาและอนุมัติจากคณะกรรมการหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 48, 127-130 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 27 จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ หน้า 12
D.27
บริษทั ได้วา่ จ้างผูส้ อบบัญชีทมี่ คี วามเป็นอิสระและมีความน่าเชือ่ ถือหรือไม่ IRPC: มี
D.28
บริษัทเปิดเผยค่าสอบบัญชีที่จ่ายให้กับผู้สอบบัญชี หรือบริษัทสอบบัญชี ไว้ในรายงานประจำ�ปีหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 62 จำ�นวนค่าสอบบัญชี 4,130,000 บาท (สี่ล้านหนึ่งแสนสามหมื่นบาทถ้วน)
D.29
บริษัทเปิดเผยค่าบริการอื่น ๆ ที่จ่ายให้กับผู้สอบบัญชีหรือบริษัทสอบ บัญชีไว้ในรายงานประจำ�ปีหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 62 จำ�นวนค่าบริการอื่น ๆ 2,305,300 บาท (สองล้านสามแสนห้าพันสามร้อยบาทถ้วน)
D.30
งบการเงินของบริษทั ได้รบั การรับรองโดยมีเงือ่ นไขจากผูส้ อบบัญชีหรือไม่ IRPC: ไม่มี
D.31
บริษัทได้เผยแพร่รายงานประจำ�ปีภายใน 120 วัน นับตั้งแต่สิ้นสุด รอบปีบัญชีหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 62 ผู้สอบบัญชี : บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอส จำ�กัด
วันที่เผยแพร่ รายงานประจำ�ปี 2559: วันที่ 3 มีนาคม 2560 เว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์ฯ เว็บไซต์ตลาดบริษัทฯ
บริษัทได้จัดให้มีการสื่อสารข้อมูลของบริษัทผ่านช่องทางที่หลากหลายดังต่อไปนี้หรือไม่
234
D.32
รายงานประจำ�ปี IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559
D.33
รายงานผลการดำ�เนินงานรายไตรมาส IRPC: มี
เว็บไซต์ตลาดหลักทรัพย์ฯ http://www.set.or.th/set/companyprofile.do?symbol= IRPC&ssoPageId=4&language=th&country=TH เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/ir_home_th.php
D.34
เว็บไซต์ของบริษัท IRPC: มี
เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/index.php?intro=1
D.35
การพบปะกับนักวิเคราะห์ IRPC: มี
จัดงานพบปะกับนักวิเคราะห์ จำ�นวน 4 ครั้ง เข้าร่วมงาน Opportunity Day จำ�นวน 5 ครั้ง รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 56 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/ir_home_th.php
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
D.36
การแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน/การจัดทำ�จดหมายข่าว ที่นำ�เสนอถึงฐานะ ทางการเงินของบริษัท IRPC: มี
จัดงานแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนเกี่ยวกับผลประกอบการของบริษัท จำ�นวน 4 ครั้ง จัดทำ�จดหมายข่าวที่เกี่ยวกับผลประกอบการของบริษัท จำ�นวน 4 ฉบับ รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 56 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/ir_home_th.php
D.37
ในปีที่ผ่านมาบริษัทมีประวัติการส่งรายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาส และรายปีล่าช้า หรือไม่ IRPC: ไม่มี บริษัทมเีว็บไซต์ที่นําเสนอข้อมูลที่ทันเหตุการณ์เกี่ยวกับบริษัทในเรื่องเหล่านี้หรือไม่
D.38
ลักษณะการดําเนินธุรกิจของบริษัท IRPC: มี
เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/ir_home_th.php
D.39
งบการเงินของบริษัท IRPC: มี
เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/ir_home_th.php
D.40
เอกสารข่าว (Press Release) ของบริษัท IRPC: มี
เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/ir_home_th.php
D.41
โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัท IRPC: มี
เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/cg_shareholder.php
D.42
โครงสร้างองค์กร IRPC: มี
เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_organiz.php
D.43
โครงสร้างกลุ่มธุรกิจ (ถ้ามี) IRPC: มี
เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/ir_home_th.php
D.44
ข้อมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร IRPC: มี
เว็บไซต์บริษัทฯ คณะกรรมการ: http://www.irpc.co.th/th/about_board.php ผู้บริหาร: http://www.irpc.co.th/th/about_management.php
D.45
ข้อมูลด้านนักลงทุนสัมพันธ์ IRPC: มี
เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/ir_home_th.php
D.46
ข้อบังคับบริษัท IRPC: มี
เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/CG/Articles%20of%20 Association_280458_TH.pdf
D.47
รายงานประจําปีที่สามารถดาวน์โหลดได้ IRPC: มี
เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/ir_home_th.php
D.48
หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นท่ีสามารถดาวน์โหลดได้ IRPC: มี
เว็บไซต์บริษัทฯ http://irpc.listedcompany.com/newsroom/0103201618093 90811T.pdf
D.49
รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นที่สามารถดาวน์โหลดได้ IRPC: มี
เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/ir_home_th.php
D.50
จัดทำ�เว็บไซต์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ IRPC: มี
เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/ir_home_th.php
D.51
บริษทั มีการจัดตัง้ หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์หรือระบุบคุ คลและช่องทางที่ นักลงทุนสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลเกีย่ วกับบริษทั ได้โดยสะดวกหรือไม่ IRPC: มี
จัดตั้งหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ แต่งตั้งบุคคลทำ�หน้าที่นักลงทุนสัมพันธ์ ช่องทางติดต่อ โทรศัพท์ Email Fax. อื่นๆ ระบุ....... รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 56 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/ir_home_th.php รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
235
ข้อ
หลักเกณฑ์
D.52
ในปีทผี่ า่ นมา บริษทั มีประวัตกิ ารถูกสัง่ ให้แก้ไขงบการเงินโดยสำ�นักงาน ก.ล.ต.หรือไม่อย่างไร (Penalty) IRPC: ไม่มี
D.53
บริษัทได้เปิดเผยรายละเอียดค่าตอบแทนของ CEO หรือไม่ (Bonus) IRPC: มี
แหล่งข้อมูล
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 92
หมวดความรับผิดชอบของคณะกรรมการ Board Responsibilities
236
E.1
คณะกรรมการมีการจัดทำ�นโยบายกำ�กับดูแลกิจการเป็นของตนเอง หรือไม่อย่างไร IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 43-44 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 7 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/library/09/Corporate%20 Governance_th.pdf
E.2
คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีนโยบายจริยธรรมธุรกิจและ/หรือคู่มือ จรรยาบรรณสำ�หรับกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัท และเปิด เผยไว้ในรายงานประจำ�ปี หรือเว็บไซต์ของบริษัท หรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 43-44 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 48 จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ หน้า 2 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/library/09/Code_of_Conduct.pdf
E.3
บริษัทได้กำ�หนดให้กรรมการ ผู้บริหาร พนักงานปฏิบัติตามจริยธรรม ธุรกิจและ/หรือคูม่ อื จรรยาบรรณสำ�หรับกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงาน ของบริษัทหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 43-44 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 48 จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ หน้า 3 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/library/09/Code_of_Conduct.pdf
E.4
บริษัทได้กำ�หนดและเปิดเผยแนวทางการส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติตาม จริยธรรมธุรกิจและ/หรือคู่มอื จรรยาบรรณ รวมถึงติดตามการปฏิบัติดัง กล่าวหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 43-44 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 48 จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ 2 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/pdf/library/09/Code_of_Conduct.pdf
E.5
คณะกรรมการมีการกำ�หนดวิสยั ทัศน์/ภารกิจของบริษทั ไว้หรือไม่อย่างไร IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 76 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_vision.php
E.6
คณะกรรมการได้พิจารณาทบทวนวิสัยทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ของ บริษัทในรอบปีบัญชีที่ผ่านมาหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 76 แบบ 56-1
E.7
คณะกรรมการได้ตดิ ตามดูแลให้มกี ารนำ�กลยุทธ์ของบริษทั ไปปฏิบตั หิ รือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 76 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 20
E.8
คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายจำ�กัดจำ�นวนบริษัทจดทะเบียนที่ กรรมการแต่ละคนจะดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการได้ไม่เกิน 5 แห่ง ไว้ใน นโยบายกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 73 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 18
E.9
คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายจำ�กัดจำ�นวนบริษัทจดทะเบียนที่ กรรมการแต่ละคนจะดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการได้ไม่เกิน 3 แห่ง ไว้ใน นโยบายกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทหรือไม่ (Bonus) IRPC: มีการกำ�หนดนโยบายการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัท จดทะเบียนไม่เกิน 5 แห่ง
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 73 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 18
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
E.10
คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายในการไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการที่ บริษัทอื่นของกรรมการผู้จัดการหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 84 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 21
E.11
คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายจำ�กัดจำ�นวนปี ในการดำ�รงตำ�แหน่ง ของกรรมการอิสระไว้ไม่เกิน 9 ปี ไว้หรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 73 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 18
E.12
คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายจำ�กัดจำ�นวนปี ในการดำ�รงตำ�แหน่ง ของกรรมการอิสระไว้ไม่เกิน 6 ปี ไว้หรือไม่ (Bonus) IRPC: กำ�หนดไว้ไม่เกิน 9 ปี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 73 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 18
E.13
มีกรรมการอิสระในคณะกรรมการที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการมาเกิน 9 ปี หรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มี
ไม่มี มี จำ�นวน..................คน รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 73 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_board.php
E.14
บริษทั ละเลยต่อการเปิดเผยว่ากรรมการคนใดเป็นกรรมการอิสระหรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 73 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_board.php
E.15
กรรมการหรือผู้บริหารระดับสูงของบริษัทเคยเป็นพนักงานหรือหุ้นส่วน ของบริษัทสอบบัญชีภายนอกที่บริษัทใช้บริการอยู่ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา หรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่เป็น
ไม่มี มี จำ�นวน คน รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 12-34 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_management.php
E.16
ในคณะกรรมการของบริษทั มีกรรมการอิสระทีด่ �ำ รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการ ในบริษัทจดทะเบียนมากกว่า 5 แห่งหรือไม่ IRPC: ไม่มี
ไม่มี มี จำ�นวน คน รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 13-16, 19-20 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_board.php
E.17
ในคณะกรรมการของบริษทั มีกรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารทีไ่ ปดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ทีอ่ ยูน่ อกกลุม่ ธุรกิจมากกว่า 2 แห่งหรือไม่ IRPC: ไม่มี
ไม่มี มี จำ�นวน คน รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 12 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_board.php
E.18
ในคณะกรรมการของบริษทั มีกรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ้ ริหารอย่างน้อย 1 คน ที่มีประสบการณ์การทำ�งานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทหรือไม่ IRPC: มี (นายเทวินทร์ นายชาญศิลป์ นายชวลิต นายณัฐชาติ ดร.อนุสรณ์ ดร.ทรงภพ)
ไม่มี มี จำ�นวน 6 คน รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 12-21 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_board.php
E.19
ในปีทผี่ า่ นมา บริษทั มีประวัตกิ ารกระทำ�ผิดกฎระเบียบของ ก.ล.ต./ตลาด หลักทรัพย์ฯ หรือไม่อย่างไร IRPC: ไม่มี
E.20
บริษทั ได้จดั ให้มหี น่วยงานกำ�กับการปฏิบตั งิ านหรือไม่ (Compliance Unit) (Bonus) IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 88 แบบ 56-1
E.21
คณะกรรมการจัดตั้งหน่วยงานตรวจสอบภายในขึ้นเป็นหน่วยงานหนึ่ง ภายในบริษัทหรือไม่อย่างไร IRPC: มี
จัดตั้งหน่วยงานตรวจสอบภายใน จ้างบริษัทจากภายนอกมาเป็นผู้ตรวจสอบ รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 22 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_organiz.php
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
237
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
E.22
ในกรณีที่มีการจัดตั้งหน่วยงานตรวจสอบภายในหน่วยงานนี้มีสายการ รายงานไปยังคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทหรือไม่อย่างไร IRPC: มี (หน่วยงานตรวจสอบภายในมีการรายงานตรงไปยัง คณะกรรมการตรวจสอบ)
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 22 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_organiz.php
E.23
บริ ษั ท ได้ เ ปิ ด เผยชื่ อ ของหั ว หน้ า ของหน่ ว ยงานตรวจสอบภายใน (Head of Internal Audit) หากเป็นการว่าจ้างภายนอก ได้ระบุว่าใช้ บริษัทสอบบัญชีใดหรือไม่ IRPC: เปิดเผย (หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน: นายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กูล)
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 32, 78 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_management.php
การประเมินคุณภาพรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
238
E.24
การเปิดเผยจำ�นวนครัง้ ของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบในรอบปีนนั้ IRPC: มี (12 ครั้ง)
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 83
E.25
การประเมินและสอบทานระบบการควบคุมภายใน IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 78
E.26
การทำ�รายการระหว่างกัน IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 78
E.27
การพิจารณาเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 78
E.28
การสอบทานรายงานทางการเงิน IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 78
E.29
การดูแลด้านการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และนโยบาย IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 78
E.30
ข้อสรุป/ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบต่อการดำ�เนินการ ในด้านต่างๆ โดยรวม IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 78
E.31
คณะกรรมการได้กำ�หนดและเปิดเผยถึงนโยบายความหลากหลายใน โครงสร้างของคณะกรรมการ (Board Diversity) หรือไม่ เช่น ทางด้าน ทักษะวิชาชีพ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เพศ เป็นต้น IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 73-74 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 18
E.32
คณะกรรมการได้เปิดเผยหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกกรรมการใหม่หรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 80 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 18
E.33
คณะกรรมการได้เปิดเผยกระบวนการในการแต่งตัง้ กรรมการใหม่หรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 80 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 18
E.34
ในการสรรหากรรมการ ได้ก�ำ หนดคุณสมบัตขิ องกรรมการทีต่ อ้ งการสรรหา ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทหรือไม่ (Bonus) IRPC: ใช่
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 80 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 18
E.35
คณะกรรมการได้ใช้บริษทั ทีป่ รึกษา (Professional Search Firm) หรือฐาน ข้อมูลกรรมการ (Director Pool) ในการสรรหากรรมการใหม่หรือไม่ (Bonus) IRPC: ใช้ (บริษทั ใช้ฐานข้อมูลกรรมการ Director Pool ในการสรรหา กรรมการใหม่ทุกครั้ง)
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 80 แบบ 56-1
E.36
คณะกรรมการได้จัดให้มีการปฐมนิเทศกรรมการใหม่หรือไม่อย่างไร IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 60 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 19
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
E.37
คณะกรรมการมีนโยบายส่งเสริมให้กรรมการพัฒนาความรู้อย่าง ต่อเนื่องหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 60 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 49
E.38
กรรมการของบริษทั ได้เข้าร่วมในหลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั หิ น้าที่ กรรมการหรือไม่อย่างไร IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 12-21, 60 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_board.php
E.39
คณะกรรมการสนับสนุนกรรมการให้เข้าอบรมหลักสูตรหรือเข้าร่วมกิจกรรม สัมมนาที่เป็นการเพิ่มพูนความรู้ในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 12-21, 60 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_board.php
E.40
ในปีทผี่ า่ นมา คณะกรรมการได้จดั ให้มกี ารประชุมคณะกรรมการรวมกีค่ รัง้ IRPC: 12 ครั้ง
มีการประชุมคณะกรรมการ จำ�นวน 12 ครั้ง รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 57, 82 แบบ 56-1
E.41
ในปีที่ผ่านมา กรรมการของบริษัทเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ มากน้อยเพียงใด IRPC: ทั้งคณะเข้าร่วมประชุมร้อยละ 97 และกรรมการแต่ละท่าน เข้าร่วมประชุมมากกว่าร้อยละ 75
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 57, 82 แบบ 56-1
E.42
บริษัทได้กำ�หนดนโยบายเกี่ยวกับจำ�นวนองค์ประชุมขั้นต่ำ� ณ ขณะที่ คณะกรรมการจะลงมติในทีป่ ระชุมคณะกรรมการว่า ต้องมีกรรมการอยู่ ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการทั้งหมดหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 82 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 23-24
E.43
คณะกรรมการมีการกำ�หนดตารางการประชุมล่วงหน้าทุกปีหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 82 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 23
E.44
กรรมการทุกคนมีสดั ส่วนของการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ อย่างน้อย ร้อยละ 75 ของการประชุมทั้งปีหรือไม่ IRPC: มี (เข้าร่วมประชุมมากกว่าร้อยละ 75)
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 82 56-1 Form หน้า
E.45
คณะกรรมการได้รับเอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการล่วงหน้า ก่อนวันประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย 5 วันทำ�การหรือไม่ IRPC: ล่วงหน้าก่อนการประชุม 7 วัน
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 82 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 23
E.46
ในปีที่ผ่านมากรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารได้มีการประชุมระหว่างกันเอง หรือไม่อย่างไร IRPC: มีการประชุมโดยไม่มีผู้บริหาร 1 ครั้ง
ไม่มี มี จำ�นวน 1 ครั้ง รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 82 แบบ 56-1
E.47
คณะกรรมการได้จัดทำ�นโยบายบริหารความเสี่ยงหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 37-38, 75-77 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 30
E.48
คณะกรรมการได้จัดให้มีและเปิดเผยถึงระบบควบคุมภายในและระบบ บริหารความเสี่ยงหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 37-38 แบบ 56-1
E.49
คณะกรรมการได้พิจารณาระบบควบคุมภายในและระบบบริหารความ เสี่ยงของบริษัทและเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 37-38
E.50
คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานถึงความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ ความเพียงพอ ของระบบควบคุมภายในและระบบบริหารความเสี่ยงของบริษัทไว้ใน รายงานประจำ�ปี (Bonus) IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 35-36
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
239
240
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
E.51
คณะกรรมการได้เปิดเผยถึงแนวทางในการจัดการกับความเสี่ยงหลัก (Key Risk) ของบริษัทหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 35-36 แบบ 56-1
E.52
คณะกรรมการมี ก ารกำ � หนดนโยบายเกี่ ย วกั บ ความขั ด แย้ ง ของ ผลประโยชน์หรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 48-49 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 74 จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ หน้า 12
E.53
คณะกรรมการมีการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่าง คณะกรรมการและฝ่ายจัดการไว้ชัดเจนหรือไม่อย่างไร IRPC: มี
E.54
บริษัทได้เปิดเผยถึงเรื่องที่เป็นอำ�นาจอนุมัติของคณะกรรมการหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 77 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 20
E.55
คณะกรรมการมีการประเมินผลงานประจำ�ปีของทั้งคณะหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 58 แบบ 56-1
E.56
คณะกรรมการได้เปิดเผยกระบวนการในการประเมินผลงานคณะกรรมการ ทั้งคณะหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 58 แบบ 56-1
E.57
คณะกรรมการได้เปิดเผยหลักเกณฑ์การประเมินผลงานคณะกรรมการ ทั้งคณะหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 58 แบบ 56-1
E.58
คณะกรรมการได้จัดให้มีการประเมินผลงานเป็นรายบุคคลหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 58 แบบ 56-1
E.59
คณะกรรมการได้เปิดเผยกระบวนการในการประเมินผลงานกรรมการ เป็นรายบุคคลหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 58 แบบ 56-1
E.60
คณะกรรมการได้เปิดเผยหลักเกณฑ์การประเมินผลงานกรรมการเป็น รายบุคคลหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 58 แบบ 56-1
E.61
คณะกรรมการได้จัดให้มีการประเมินผลงานของคณะกรรมการชุดย่อย ทุกชุดหรือไม่ IRPC: มี
E.62
คณะกรรมการได้จัดให้มีการประเมินผลงานประจำ�ปีของผู้บริหารสูงสุด (CEO) ขององค์กรหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 59 แบบ 56-1
E.63
คณะกรรมการได้ดแู ลให้มกี ารจัดทำ�แผนสืบทอดตำ�แหน่งผูบ้ ริหารสูงสุด ขององค์กรหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 61 แบบ 56-1
E.64
คณะกรรมการได้เปิดเผยนโยบายค่าตอบแทนของ CEO ทั้งระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงตามผลการปฏิบัติงานของ CEO หรือไม่ IRPC : มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 91 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 25-26
มีการเปิดเผยแยกระหว่าง หน้าที่คณะกรรมการ หน้าที่ฝ่ายจัดการ หน้าที่CEO รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 84 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 39
บริษัทมีคณะกรรมการชุดย่อย(ระดับกรรมการ) จำ�นวน 4 ชุด 1. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2. คณะกรรมการตรวจสอบ 3. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 4. คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 59 แบบ 56-1 Form
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
E.65
คณะกรรมการได้เปิดเผยโครงสร้างค่าตอบแทนของกรรมการที่ไม่เป็น ผู้บริหารหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 91 แบบ 56-1
E.66
ผู้ถือหุ้น/คณะกรรมการได้อนุมัติค่าตอบแทนของกรรมการบริหาร/ ผู้บริหารระดับสูงหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 90-91 แบบ 56-1
E.67
คณะกรรมการมีการแต่งตั้งผู้ดำ�รงตำ�แหน่งเลขานุการบริษัทหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 87 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_management.php#nogo
E.68
เลขานุการบริษทั จบการศึกษาด้านกฎหมายหรือบัญชีหรือได้ผา่ นการอบรม ในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของเลขานุการบริษัทหรือไม่ IRPC: เลขานุการบริษัทได้ผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ หน้าที่ของเลขานุการบริษัท
E.69
ประธานกรรมการของบริษัทเป็นกรรมการอิสระหรือไม่ IRPC: ไม่เป็น แต่ได้รับการแต่งตั้งเนื่องจากเป็นผู้มีค วามรู้ ความสามารถและมีประสบการณ์ในธุรกิจปิโตรเคมีและปิโตรเลียม (ประธานกรรมการบริษัท : นายเทวินทร์ วงศ์วานิช)
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 12 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_board.php#nogo
E.70
ประธานกรรมการและผู้บริหารสูงสุดของบริษัทเป็นคนเดียวกันหรือไม่ IRPC: ไม่เป็นบุคคลเดียวกัน (ผู้บริหารสูงสุดของบริษัท : นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ)
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 12, 21 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_board.php#nogo
E.71
คณะกรรมการได้ก�ำ หนดและเปิดเผยบทบาทหน้าทีข่ องประธานกรรมการ ไว้หรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 77 แบบ 56-1 คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 24
จบการศึกษา บัญชี กฎหมาย ผ่านการอบรมหลักสูตร CSP FPCS/FCS รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 34, 87 แบบ 56-1 เว็บไซต์บริษัทฯ http://www.irpc.co.th/th/about_management.php#nogo
การแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ E.72
คณะกรรมการมีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 78 แบบ 56-1
E.73
มีการกำ�หนดหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ ไว้อย่างชัดเจนหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 78-79 แบบ 56-1
E.74
มีการเปิดเผยประวัติและคุณสมบัติของกรรมการตรวจสอบไว้ให้เป็นที่ ทราบหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 13, 19-20 แบบ 56-1
E.75
สมาชิกของคณะกรรมการตรวจสอบเป็นกรรมการอิสระทั้งหมดหรือไม่ IRPC: ใช่
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 78 แบบ 56-1
E.76
คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมอย่างน้อยปีละ 4 ครั้งหรือไม่ IRPC: มีการประชุมทั้งหมด 12 ครั้ง
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 83 แบบ 56-1
E.77
มีการเปิดเผยสถิตกิ ารเข้าประชุมคณะกรรมการตรวจสอบของกรรมการ ตรวจสอบแต่ละคนในรายงานประจำ�ปีหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 83 แบบ 56-1
E.78
คณะกรรมการตรวจสอบมีกรรมการอย่างน้อย 1 คนที่จบการศึกษา ด้านบัญชีหรือไม่ IRPC: มี (นายเจษฎา พรหมจาต)
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 19 แบบ 56-1
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
241
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
E.79
คณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทหน้าทีใ่ นการเสนอแต่งตัง้ และเลิกจ้าง ผู้สอบบัญชีภายนอกหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 78-79 แบบ 56-1
E.80
คณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทหน้าที่ในการเสนอแต่งตั้ง โยกย้าย และเลิกจ้างผู้ตรวจสอบภายในหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 78-79 แบบ 56-1
การจัดตั้งคณะกรรมการค่าตอบแทน E.81
คณะกรรมการมีการจัดตั้งคณะกรรมการค่าตอบแทนหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 79 แบบ 56-1
E.82
มีการกำ�หนดหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการค่าตอบแทน ไว้อย่างชัดเจนหรือไม่ IRPC: ใช่
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 79 แบบ 56-1
E.83
คณะกรรมการค่าตอบแทนประกอบด้วยกรรมการอิสระเป็นส่วนใหญ่ (มากกว่า 50%) หรือไม่ IRPC: ไม่ใช่
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 79 แบบ 56-1 จำ�นวนกรรมการอิสระมี 1 คนจากทั้งหมด 3 คน คิดเป็น 33.33 %
E.84
ประธานคณะกรรมการค่าตอบแทนเป็นกรรมการอิสระหรือไม่ IRPC: ใช่
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 13, 79 แบบ 56-1
E.85
คณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทนได้จดั ประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครัง้ หรือไม่ IRPC: มีการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 83 แบบ 56-1
E.86
มีการเปิดเผยสถิติการเข้าประชุมคณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน ของกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทนแต่ละคนในรายงานประจำ�ปีหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 83 แบบ 56-1
การจัดตั้งคณะกรรมการสรรหา
242
E.87
บริษัทมีการจัดตั้งคณะกรรมการสรรหาหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 79 แบบ 56-1
E.88
มีการกำ�หนดหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาไว้ อย่างชัดเจนหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 79 แบบ 56-1
E.89
คณะกรรมการสรรหาประกอบด้วยกรรมการอิสระทัง้ หมดหรือไม่ (Bonus) IRPC: ไม่ใช่
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 79 แบบ 56-1
E.90
คณะกรรมการสรรหาประกอบด้วยกรรมการอิสระเป็นส่วนใหญ่ (มากกว่า 50%) หรือไม่ IRPC: ไม่ใช่
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 79 แบบ 56-1 จำ�นวนกรรมการอิสระมี 1 คนจากทั้งหมด 3 คน คิดเป็น 33.33 %
E.91
ประธานกรรมการสรรหาเป็นกรรมการอิสระหรือไม่ IRPC: ่ใช่
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 13, 79 แบบ 56-1
E.92
คณะกรรมการสรรหาได้จัดประชุมอย่างน้อย ปีละ 2 ครั้งหรือไม่ IRPC: มีการประชุมทั้งหมด 5 ครั้ง
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 83 แบบ 56-1
E.93
มีการเปิดเผยจำ�นวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการสรรหาและการ เข้าร่วมประชุมของกรรมการสรรหาหรือไม่ IRPC: มี (จำ�นวนครั้งของการประชุม 5 ครั้ง)
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 83 แบบ 56-1
E.94
คณะกรรมการมีการจัดตัง้ CG Committee (เฉพาะระดับกรรมการ) หรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 80 แบบ 56-1
ข้อ
หลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูล
E.95
คณะกรรมการมีการจัดตั้ง Risk Management Committee หรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 81 แบบ 56-1
E.96
คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 5-12 คน หรือไม่ IRPC: ไม่ใช่
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 72-73 แบบ 56-1 จำ�นวนของกรรมการ 15 คน
E.97
คณะกรรมการมีกรรมการอิสระทีเ่ ป็นผูห้ ญิง อย่างน้อย 1 คนหรือไม่ (Bonus) IRPC: ใช่ (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล)
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 72-73 แบบ 56-1 จำ�นวนของกรรมการอิสระที่เป็นผู้หญิง 1 คน
E.98
คณะกรรมการบริษัทมีกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร เป็นจำ�นวนเท่าไร IRPC: มี 14 ท่าน (จากทั้งหมด 15 คนคิดเป็น 93.33%)
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 72-73 แบบ 56-1 จำ�นวนกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารมี 14 คน
E.99
คณะกรรมการบริษัทมีกรรมการที่เป็นกรรมการอิสระเป็นจำ�นวนเท่าไร IRPC: มี 8 ท่าน (จากทั้งหมด 15 คนคิดเป็น 53.33%)
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 72-73 แบบ 56-1 จำ�นวนกรรมการอิสระมี 8 คน
E.100 บริษัทมีการกำ�หนดนิยามความเป็นอิสระของกรรมการและเปิดเผยไว้ ให้เป็นที่ทราบหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 74 แบบ 56-1
E.101 กรรมการอิสระมีความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหารและ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริษัทหรือไม่ IRPC: ใช่
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 74 แบบ 56-1
E.102 คณะกรรมการมีการจัดทำ�รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อ รายงานทางการเงินเสนอไว้ในรายงานประจำ�ปีหรือไม่ IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 75-76 แบบ 56-1
E.103 บริษทั จัดให้มโี ครงการให้สทิ ธิแก่ผบู้ ริหารในการซือ้ หลักทรัพย์ของบริษทั โดยมี 1.ระยะเวลาในการ ใช้สทิ ธิมากกว่า 3 ปี 2.กำ�หนดราคาการใช้สทิ ธิ ที่ สูงกว่าราคาตลาด ณ ช่วงเวลาที่มีการจัดสรรสิทธิ และ 3.ไม่มีการ กระจุกตัวเกิน 5 % (Bonus/Penalty) IRPC: ไม่มี
ในการประชุม AGM/EGM ปี 2558-2559 มีการอนุมัติ ESOP JIP warrant
ไม่มี
E.104 บริษัทได้เข้าร่วมเป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน การทุจริตหรือไม่ (Bonus) IRPC: ใช่ E.105 คณะกรรมการชุดย่อยทุกชุด (เฉพาะระดับกรรมการ) ได้จดั ทำ�รายงานผล การปฏิบัติหน้าที่ของตนเองและเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปี (Bonus) IRPC: มี
รายงานประจำ�ปี 2559 หน้า 78-82 แบบ 56-1
E.106 ในรอบปีที่ผ่านมา มีกรณีการกระทำ�ผิดด้านการทุจริต (Fraud) หรือ กระทำ�ผิดจริยธรรมหรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มี E.107 มี ก รณี ที่ ก รรมการที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห ารลาออกอั น เนื่ อ งจากประเด็ น เรื่องการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทหรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มี E.108 มีกรณีเกีย่ วกับชือ่ เสียงในทางลบของบริษทั อันเนือ่ งมาจากความล้มเหลว ในการทำ�หน้าที่สอดส่องดูแลของคณะกรรมการหรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มี
รายงานประจำ�ปี 2559 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)
243
การปฏิบตั ติ ามเกณฑ์ความรับผิดชอบต่อสังคม
การปฏิบัติตามเกณฑ์ความรับผิดชอบต่อสังคม
หน้า
บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจควบคู่ไปกับการดูแลสังคมและสิ่งแวดล้อมภายใต้หลักธรรมาภิบาล และการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อนำ�ไปสู่การดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืน บริษัทฯ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ เปิดเผยผลรวมของค่าตอบแทนผู้บริหารระดับสูง บริษัทฯ เปิดเผยค่าตอบแทนพนักงานทั้งหมด
136
บริษัทฯ เปิดเผยค่าสอบบัญชีที่จ่ายให้กับผู้สอบบัญชี บริษัทฯ มีนโยบายและกลยุทธ์เกี่ยวกับความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ มีนโยบายต่อต้านทุจริตและคอร์รัปชัน บริษัทฯ มีแนวปฏิบัติในการแจ้งเบาะแส (Whistleblowing) บริษัทฯ เปิดช่องทางให้ผู้มีส่วนได้เสียสามารถรายงานต่อบุคคล/หน่วยงานที่รับผิดชอบ บริษัทฯ เข้าร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการต่อต้านคอร์รัปชัน บริษัทฯ กำ�หนดวิสัยทัศน์/นโยบายที่ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมทางธุรกิจและสังคมของบริษัทฯ บริษทั ฯ ปรับปรุงและพัฒนาต่อยอดความคิด/สินค้าหรือกระบวนการทำ�งาน จนเกิดการพัฒนาเป็น นวัตกรรมทางธุรกิจและสังคม บริษัทฯ กำ�หนดนโยบายการบริหารจัดการอย่างยั่งยืน บริษัทฯ กำ�หนดนโยบายเกี่ยวกับการจัดการและดูแลสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน บริษํทฯ ดำ�เนินการในการป้องกันและลดมลพิษ/ของเสีย บริษัทฯ ดำ�เนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก บริษัทฯ กำ�หนดนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทฯ เคารพสิทธิมนุษยชนและปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม บริษัทฯ แสดงเจตนารมณ์อย่างชัดเจนที่จะไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน บริษัทฯ มีการดำ�เนินโครงการพัฒนาศักยภาพพนักงาน บริษัทฯ สนับสนุนและช่วยเหลือให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน บริษัทฯ มีการระบุกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียที่สำ�คัญ บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียสามารถมีส่วนร่วมกับบริษัทฯ บริษัทฯ จัดทำ�รายงานเปิดเผยการดำ�เนินงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
244
80 90, 91 รายงานทางการเงิน หน้า 87 62 37, 152-153 66, 224 67 56, 67, 87 42, 64 142-143, 147 114-115, 161 136, 211 67, 150 150 151, 205-206 150-151, 206 150, 180-181 51, 63 62 52, 64, 149-150 189, 192 49-54 49-54 53, 205, 207
บร�ษัท ไออาร พีซี จำกัด (มหาชน) 555/2 ศูนย เอนเนอร ยี่คอมเพล็กซ อาคาร บี ชั�น 6 ถนนว�ภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร : 66 (0) 2649–7000, 66 (0) 2649–7777 โทรสาร : 66 (0) 2649–7001 www.irpc.co.th