รายงานประจำป รายงานประจำ
Welcome to Optimal Financial Solutions กาวที่มุงมั่นสูความสำเร็จที่ยั่งยืน
2556
สารบัญ บทนำ� เส้นทางเเห่งการเติบโตอย่างยั่งยืน........................................................................................................................................................................................................................................................... 008 วิสัยทัศน์ พันธกิจ................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 010 รางวัลเเห่งความสำ�เร็จ........................................................................................................................................................................................................................................................................................ 011 ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ............................................................................................................................................................................................................................................................................... 012 สารจากคณะกรรมการธนาคาร................................................................................................................................................................................................................................................................... 015 คณะกรรมการธนาคาร....................................................................................................................................................................................................................................................................................... 018 คณะกรรมการบริหาร.......................................................................................................................................................................................................................................................................................... 020 กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ความเป็นมาของกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร............................................................................................................................................................................................................... 022 การประกอบธุรกิจ................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 025 ปัจจัยความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยง....................................................................................................................................................................................................................................... 043 ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน........................................................................................................................................................................................................................................................... 054 รายงานความรับผิดชอบต่อสังคม สามารถอ่านได้จากรายงานแบบ 56-1 ประจำ�ปี 2556 ทาง www.kiatnakinphatra.com หัวข้อนักลงทุนสัมพันธ์ เรื่อง เอกสารเผยแพร่ แบบ 56-1 หรือในรายงานความรับผิดชอบต่อสังคมของกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ประจำ�ปี 2556
การกำ�กับดูเเลกิจการ การกำ�กับดูเเลกิจการ........................................................................................................................................................................................................................................................................................... 067 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ............................................................................................................................................................................................................................................................. 089 รายงานคณะกรรมการสรรหาเเละกำ�หนดค่าตอบเเทน............................................................................................................................................................................................................. 091 รายงานคณะกรรมการกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ0������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������������ 092 ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น......................................................................................................................................................................................................................................................................... 093 โครงสร้างการจัดการ........................................................................................................................................................................................................................................................................................... 098 การควบคุมภายใน.................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 106 ปัจจัยอื่นที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจลงทุน...................................................................................................................................................................................................................... 111 รายงานทางการเงิน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน......................................................................................................................................................................... 113 รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต....................................................................................................................................................................................................................................................... 114 งบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน.................................................................................................................................................................................................................................. 115 ข้อมูลอื่น ประวัติคณะกรรมการ และผู้บริหาร......................................................................................................................................................................................................................................................... 215 การดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการและผู้บริหารในธนาคาร บริษัทย่อย บริษัทร่วม และ บริษัทที่เกี่ยวข้อง2���������������������������������������������������������������������������������� 231 ข้อมูลทั่วไป.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 233 สาขาธนาคาร................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ 237
เราพร้อมและมุ่งมั่น แสวงหาทางเลือก ทางการเงินและการลงทุนที่ดีที่สุดเพื่อคุณ
เรานำ�ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ยาวนาน ทั้งในตลาดเงินและตลาดทุน สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และบริการ เพื่อตอบรับทุกความต้องการของคุณ
เรามุ่งมั่นแสวงหาคำ�ตอบสำ�หรับอนาคต สนับสนุนความฝัน สร้างสรรค์โอกาส เพื่อประโยชน์สูงสุด สำ�หรับลูกค้า ชุมชนและสังคม
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
008
เส้นทางเเห่งการเติบโตอย่างยั่งยืน
2514
2516
2525
ก่อตั้งบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ เกียรตินาคิน จำ�กัด โดยนายเกียรติ วัธนเวคิน ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มต้น 10 ล้านบาท
ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ เงินทุนและหลักทรัพย์
เข้าเป็นบริษัทสมาชิกหมายเลข 19 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
2541
2547
2548
เป็นหนึ่งในสองบริษัทที่ได้รับอนุมัติ จากกระทรวงการคลังให้กลับมา ดำ�เนินกิจการ
ได้รับการปรับอันดับเครดิต จาก “BBB+” เป็น “A-” โดย บริษัท ทริสเรทติ้ง จำ�กัด
ตุลาคม 2548 ได้รับความเห็นชอบ จากกระทรวงการคลังให้ดำ�เนินการจัดตั้ง ธนาคารพาณิชย์ในชื่อ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) 3
2555
2556
กันยายน 2555 ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ร่วมกิจการกับ บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) แล้วเสร็จ ซึ่งรวมเรียกว่า “กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร” มุ่งดำ�เนินธุรกิจหลักสองด้านที่มีความเชี่ยวชาญ คือ ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ และธุรกิจตลาดทุน เพื่อสนับสนุนความเป็นเลิศในทุกธุรกิจหลัก และสามารถให้บริการ ทางการเงินแก่ลูกค้าได้อย่างดีที่สุด
ธนาคารเกียรตินาคิน เป็นธนาคารพาณิชย์ เต็มรูปแบบที่มุ่งเน้นการดำ�เนินธุรกิจด้านการเงิน เเละการลงทุนที่ธนาคารมีความเชี่ยวชาญ และนำ�เสนอผลิตภัณฑ์บริการที่ดีมีคุณภาพ ซึ่งธนาคารพร้อมเป็นส่วนหนึ่งของการสนับสนุน ความสำ�เร็จของลูกค้า
11
รายงานประจำ�ปี 2556
009
2531
2536
2540
เข้าเป็นบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ เกียรตินาคิน จำ�กัด แปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน จำ�กัด
ระงับกิจการชั่วคราวจากวิกฤตเศรษฐกิจ (พร้อมกับสถาบันการเงินอีก 57 แห่ง)
2550
2551
2554
เป็น 1 ใน 10 บริษัทที่ได้รับรางวัล บริษัทจดทะเบียนยอดเยี่ยม ด้านการดูแลผู้ถือหุ้นจาก บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด
เป็น 1 ใน 22 บริษัทที่ได้รับคะแนนอยู่ในระดับ “ดีเลิศ” (ห้าดาว) จากผลการสำ�รวจ การกำ�กับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
ได้รับการปรับอันดับเครดิตจาก “A-” แนวโน้มอันดับเครดิต “คงที่” เป็น “A-” แนวโน้มอันดับ “POSITIVE” หรือ “บวก” โดย บริษัท ทริสเรทติ้ง จำ�กัด
ปัจจุบัน
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ก้าวสู่ความเป็นผู้นำ� ที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ทั้งในธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ตลาดเงิน และตลาดทุนของไทย
010
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
วิสัยทัศน์ ธนาคารเพื่อความสำ�เร็จของลูกค้า และประโยชน์ที่ยั่งยืนต่อสังคม พันธกิจ 1. ให้บริการอย่างเชี่ยวชาญ และครบครัน พร้อมส่งเสริมศักยภาพของลูกค้าเพื่อความสำ�เร็จที่ยั่งยืน 2. ดำ�เนินการด้วยหลักบรรษัทภิบาลโดยคำ�นึงถึง ผลที่ผู้ถือหุ้น พนักงาน และสังคมจะได้รับ
รายงานประจำ�ปี 2556
011
ระดับ ระดับ
แนวโนมอันดับเครดิต “POSITIVE” คงอันดับความน�าเชื่อถือ โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จำกัด
รางวัล
100 คะแนนเต็ม (ตอเน�อ� งเปนปท่ี 7) จากการประเมินคุณภาพการประชุม สามัญผูถ อื หุน ประจำป 2550 - 2556 (Annual General Meeting : AGM) โดยสมาคมสงเสริมผูลงทุนไทยและสำนักงานคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.)
ดานการรายงานบรรษัทภิบาล (Corporate Governance Report) ที่สามารถรักษาความโดดเดน และมีความเปนเลิศอยางตอเน��อง 4 ป (ป 2553-2556) จากพิธมี อบรางวัล SET Award 2556 โดยตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย และวารสารการเงินธนาคาร
รางวัล
รางวัล
จากการประเมินคุณภาพการประชุมสามัญผูถือหุน คะแนนเต็ม 100 ตอเน�อ� งกัน 4 ปซอ น (ป 2552 - 2555) โดยสมาคมสงเสริมผูล งทุนไทย ภายใตโครงการอาสาพิทักษสิทธิ์ ซึ�งไดรับความรวมมือจากสำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) และ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
2013 Country Awards - Best Private Bank, Best Equity House, Best Investment Bank 2013 Country Awards - Best IPO in Asia BTSGIF Infrastructure Fund USD 1.4 billion 2013 Country Awards - Best Thailand Deal Bank of TokyoMitsubishi UFJ USD 5.6 billion offer for Bank of Ayudhya PCL 2012 Country Awards - Best Private Bank, Best Investment Bank, Best Equity House 2011 Country Awards - Best Investment Bank, Best Equity House
2013 IFR Asia - Asia Equity Issue of the Year (BTSGIF IPO) 2013 IFR Asia - Thailand Equity Issue of the Year (BTSGIF IPO)
ดานความรับผิดชอบตอสังคมดีเดน (Outstanding Corporate Social Responsibility Award) ในกลุมบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ที่มีมูลคาหลักทรัพยตามราคาตลาดสูงกวา 10,000 ลานบาท ตอเน��องเปนปที่ 2 (ป 2555-2556) จากพิธีมอบรางวัล SET Award 2556 โดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และวารสาร การเงินธนาคาร
2013 Triple A Country Award - Best Investment Bank, Best Equity House, Best Deal - The Bank of Tokyo-Mitsubishi UFJ Limited's USD 5.6 bn offer for Bank of Ayudhya PCL 2012 Triple A Regional Deal Award - Best Secondary-PTTEP 2011 Triple A Country Award - Best Investment Bank 2010 Triple A Country Award - Best Investment Bank 2009 Triple A Country Award - Best Merger and Acquisition House 2008 Triple A Country Award - Best Equity House, Best Merger and Acquisition House
2012 Securities Analysts Award - Best Research House of the year (Institutional Clients), Best Finance Analyst (Institutional Clients), Best Resources Analyst (Institutional Clients), Property and Construction Materials Analyst (Institutional Clients), Agro & Food Analyst (Institutional Clients), Services Analyst (Institutional Clients) 2011 Securities Analysts Award - Best Research House of the year (Institutional Clients), Medium & Small Capitalization Analyst, Best Telecommunications Analyst
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
012
ข้อมูลทางการเงินที่สำ�คัญ งบการเงิน ณ สิ้นปี ฐานะการเงิน เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ เงินให้สินเชื่อ (หักรายได้รอตัดบัญชี) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและค่าเผื่อจากการปรับโครงสร้างหนี้ สินทรัพย์รวม เงินรับฝาก ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม หนี้สินรวม ส่วนของเจ้าของ - ส่วนของธนาคาร ผลการดำ�เนินงาน รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ กำ�ไรจากการขายทรัพย์สินรอการขาย รายได้จากการดำ�เนินงานรวม ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงาน หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและขาดทุนจากการด้อยค่า กำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนภาษีเงินได้ กำ�ไรสุทธิ - ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ อัตราส่วนทางการเงิน ผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นเฉลี่ย ผลตอบแทนจากสินทรัพย์เฉลี่ย ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยจากเงินให้สินเชื่อ เงินให้กู้ต่อเงินฝากและเงินกู้ยืม อัตราส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อเงินให้กู้ยืมรวม อัตราส่วนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ อัตราส่วนค่าใช้จ่ายต่อรายได้ อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง จำ�นวนสาขาและพนักงาน สาขา พนักงาน ข้อมูลหุ้น KKP ราคาหุ้น - สูงสุด (บาท) - ต่ำ�สุด (บาท) - ปิด (บาท) - เฉลี่ย (บาท) จำ�นวนหุ้น ณ สิ้นปี (พันหุ้น) มูลค่าตลาด (Market Capitalization) (ล้านบาท) กำ�ไรต่อหุ้น - ขั้นพื้นฐาน (บาท) - ปรับลด (บาท) P/E (เท่า) P/BV (เท่า) มูลค่าสุทธิตามบัญชีต่อหุ้น (บาท) เงินปันผลต่อหุ้น (บาท) อัตราการจ่ายเงินปันผล (ร้อยละ) อัตราเงินปันผลตอบแทน (ร้อยละ) อันดับความน่าเชื่อถือ โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จำ�กัด อันดับเครดิตองค์กร แนวโน้มอันดับเครดิต
ปี 2554 “ปรับปรุงใหม่”
ปี 2555 “ปรับปรุงใหม่”
(หน่วย : ล้านบาท) ปี 2556
5,292 135,303 (5,120) 189,996 69,040 86,013 165,731 23,885
4,726 168,388 (6,172) 233,013 153,027 29,123 199,815 32,898
3,885 190,189 (7,275) 249,109 145,996 42,569 213,965 34,944
6,476 1,419 1,245 9,530 4,831 1,278 3,421 2,273
7,113 2,281 1,224 11,518 5,929 1,555 4,033 3,391
9.9 1.4 4.3 87.6 3.5 108.4 51.3 15.4
12.3 1.6 3.9 92.8 3.3 109.8 51.1 14.7
8,347 4,357 (55) 14,211 6,579 2,240 5,391 4,418 (ร้อยละ) 13.0 1.8 4.0 101.2 3.8 100.0 47.4 13.7
72 3,664
87 3,860
87 3,940
39.50 25.75 32.00 33.27 634,329 20,299 3.59 3.57 7.61 0.91 38.3 2.40 53.3 7.50
50.00 30.00 48.50 39.00 832,831 40,392 4.88 4.85 13.44 1.21 39.9 2.40 58.9 4.95
71.25 36.00 37.25 52.87 838,833 31,247 5.29 5.25 7.01 0.92 42.2 2.65* 50.0 7.11
APositve
APositve
APositve
* เงินปันผลจ่ายประจำ�ปี 2556 ในอัตราหุ้นละ 2.65 บาท โดยธนาคารได้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลอัตราหุ้นละ 1.00 บาท เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2556 และจะขอเสนอที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2557 ในวันที่ 24 เมษายน 2557 เพื่อพิจารณาอนุมัติการ จ่ายเงินปันผลส่วนที่เหลืออีก 1.65 บาทต่อหุ้น
รายงานประจำ�ปี 2556
013
สินทรัพย
300,000 250,000
233,013
200,000 189,996
3.0 249,109
2.5 2.0
1.8
150,000
1.5
1.6 1.4
100,000
1.0
50,000
0.5
0
2554
2555
สินทรัพยรวม (ลานบาท) ผลตอบแทนจากสินทรัพยเฉลี่ย (รอยละ)
2556
เงินใหสินเชื่อ
200,000
190,189 168,388
150,000 135,303
100,000
4.3 3.9
4.0
50,000
0
2554
2555
2556
0.0
สาขาและพนักงาน
4,000 3,500
87
72 3,664
3,860
87 3,940
2,000
2,273
1,500
9.9
0
6.0
6,000
5.0
5,000
4.0
4,000
3.0
3,000
2.0
2,000
1.0
1,000
0.0
0
90 80 70
30 20 10 จำนวนพนักงาน จำนวนสาขา
10.0 5.0
2554
2555
2556
คุณภาพสินทรัพย
0.0
10.0 7,283
5,628
8.0 6.0
4,742
4.0 3.8
3.5
3.3
2554
2555
2.0
2556
0.0
หน�้ที่ไมกอใหเกิดรายไดรวม (ลานบาท) อัตราสวนหน�้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอเงินใหกูยืมรวม (รอยละ)
40
2556
13.0
500
7,000
2,000
2555
12.3
1,000
7.0
50
2554
15.0
2,500
8,000
2,500
500 0
3,391
3,000
8.0
60
1,000
20.0
3,500
กำไรสุทธิ (ลานบาท) ผลตอบแทนตอผูถือหุนเฉลี่ย (รอยละ)
3,000
1,500
25.0 4,418
4,000
เงินใหสินเชื่อ (หักรายไดรอตัดบัญชี) (ลานบาท) สวนตางอัตตราดอกเบี้ยจากเงินใหสินเชื่อ
4,500
กำไรสุทธิ
4,500
0
30,000
เงินกองทุน
25,000
27,391
20,000 15,000
25.0 28,177
20.0
22,285 15.4
15.0 14.7
13.7
10.0
10,000
5.0
5,000 0
2554
2555
2556
เงินกองทุนตามกฎหมาย (ลานบาท) อัตราสวนเงินกองทุนตอสินทรัพยเสี่ยง (รอยละ)
0.0
014
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
รายงานประจำ�ปี 2556
015
สารจากคณะกรรมการธนาคาร
“กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร” (“กลุ่มธุรกิจฯ”) เกิดขึ้น จากการร่วมกิจการระหว่าง ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) ด้วยเล็งเห็นถึงโอกาสทางธุรกิจ ที่สามารถพัฒนาเพิ่มขึ้นได้จากการร่วมกิจการ เป็นการผนึกศักยภาพในการดำ�เนินธุรกิจและรวม จุดแข็งของทั้งสองฝ่าย เพื่อพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถในการทำ�ธุรกิจเพื่อรองรับการเจริญเติบโต อย่างต่อเนื่องในทุกภาคส่วนของเศรษฐกิจมหภาคของประเทศไทย รวมถึงเพื่อตอบสนองพัฒนาการ ของตลาดทุนทีม่ อี ยูอ่ ย่างต่อเนือ่ ง โดยมุง่ เน้นผสมผสานความเชีย่ วชาญและการพัฒนาผลิตภัณฑ์และ บริการที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่หลากหลาย สร้างสมดุลของรายได้ดอกเบี้ยและรายได้ ค่าธรรมเนียมของกลุม่ ธุรกิจฯ ตามวิสยั ทัศน์ทย่ี ดึ เป็นแนวทางมาตลอด คือ การเป็น Specialized Bank ที่โดดเด่นด้วยแนวทางการทำ�ธุรกิจในแบบฉบับของตัวเองที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญสูง
016
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
การร่วมกิจการเป็นผลสำ�เร็จตั้งแต่วันที่ 12 กันยายน 2555 และตลอดปีที่ผ่านมา กลุ่มธุรกิจฯ ได้เดินทัพเต็มกำ�ลัง ด้วยเล็งเห็นว่าตลาด การเงินของประเทศไทยในปัจจุบันค่อนข้างมีเสถียรภาพ แต่ต้นทุนระบบเศรษฐกิจยังอยู่ในระดับสูง การบริการทางการเงินยังไม่ครอบคลุม ทั่วถึงทุกภาคส่วน และผลิตภัณฑ์ทางการเงินยังขาดความหลากหลาย ทำ�ให้การบริหารความเสี่ยงของระบบมีข้อจำ�กัด ดังนั้น กลุ่มธุรกิจฯ จึงมุ่งสร้างผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินเพื่อเติมเต็มธุรกิจทั้งตลาดเงินและตลาดทุน รวมถึงขยายการดูแลลูกค้าให้ครอบคลุมทุกกลุ่ม รวมถึงปรับโครงสร้างการจัดการ ยกระดับมาตรฐานการกำ�กับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจ และปรับปรุงนโยบายต่างๆ ให้ครอบคลุม รวมทั้งเพิ่มความเข้มงวดในกระบวนการทำ�งานให้เหมาะสมกับธุรกิจ 2 กลุ่มหลัก คือ ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ และธุรกิจตลาดทุน การเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญในปี 2556 ที่ผ่านมา อาทิเช่น 1) การปรับโครงสร้างองค์กร ปรับเปลี่ยนโยกย้ายและเพิ่มเติมผู้บริหารระดับสูง หลายตำ�แหน่ง เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการทำ�ธุรกิจ รวมทั้งสรรหาเพิ่มเติมบุคลากรที่มีศักยภาพ ความรู้และความสามารถ อีกหลาย ตำ�แหน่ง 2) การจัดตั้งหน่วยงานเพิ่มเติม 2 หน่วยงานในส่วนของธุรกิจธนาคารพาณิชย์ เพื่อเสริมประสิทธิภาพในการให้บริการลูกค้า คือ สายตลาดการเงิน (Financial Markets) และสายสินเชือ่ บรรษัท (Corporate Banking) ให้บริการฐานลูกค้าในกลุม่ บริษทั จดทะเบียนขนาดใหญ่ ซึง่ เป็นลูกค้าของธุรกิจตลาดทุนทีภ่ ทั รดูแลอยูแ่ ล้ว 3) การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินและการลงทุนให้ครบถ้วนตามความต้องการ ของลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย อาทิเช่น ตราสารหนี้ ตราสารอนุพันธ์ และ Structured Products และได้ออกผลิตภัณฑ์สินเชื่อเช่าซื้อ “แจ่มแจ๋ว” ในช่วงปลายปี ซึ่งเป็นนวัตกรรมสินเชื่อที่สร้างความยืดหยุ่นและสอดคล้องกับกระแสเงินสดของลูกค้า ทั้งนี้ การทำ�ธุรกิจเป็นการร่วมมือด้าน การให้บริการทางการเงินและการลงทุนให้กับลูกค้าอย่างเต็มรูปแบบ ทั้งผ่านธนาคาร และผ่านหน่วยงานต่างๆ ในกลุ่มธุรกิจฯ เช่น Phatra Wealth Management, Phatra Edge, KKTRADE, และ Phatra Asset ซึ่งมีการประสานงานกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธ์การดำ�เนินงานและทิศทางธุรกิจ และเพื่อสื่อถึงองค์ประกอบทางธุรกิจที่หลากหลาย ภายใต้กลุ่มธุรกิจฯ จึงได้เปลี่ยนชื่อตัวย่อการซื้อขายหลักทรัพย์ใหม่เป็น “KKP” ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2556 เป็นต้นไป โดยยังคงชื่อ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) เป็นชื่อบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยเช่นเดิม ขณะที่ยังคง Brand Capital ของแต่ละธุรกิจไว้ และแยกใช้ช่อื ในแต่ละธุรกิจเช่นเดิม เพียงแต่เปลี่ยนชื่อบริษัทหลักทรัพย์ เกียรตินาคิน จำ�กัด เป็น “บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด” เพื่อให้ สอดคล้องกับทิศทางกลยุทธ์การทำ�ธุรกิจที่มุ่งเน้นการให้บริการซื้อขายหลักทรัพย์ online มากขึ้น และเปลี่ยน ชื่อบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เกียรตินาคิน จำ�กัด เป็น “บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด”
ผลจากการรวมธุรกิจถือว่ามีประโยชน์อย่างชัดเจน ที่เห็นเป็นรูปธรรมและประสบความสำ�เร็จมาก คือ ด้านการขยายฐานลูกค้าจากการ ร่วมมือกันระหว่างธนาคารทีม่ ฐี านลูกเงินฝาก และภัทรทีบ่ ริหารความมัง่ คัง่ ให้ลกู ค้าทัง้ การลงทุนหุน้ กองทุนรวม และตราสารหนี้ ทำ�ให้กลุม่ ลูกค้าได้รับบริการทางการเงินที่ครบถ้วนมากยิ่งขึ้น และสะท้อนให้เห็นในผลประกอบการของกลุ่มธุรกิจฯ ที่มีเสถียรภาพในการหารายได้ที่ มีความหลากหลายมากขึ้น มีความสมดุลระหว่างรายได้ดอกเบี้ยและรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ โดยสัดส่วนของรายได้ที่มิใช่ดอกเบี้ย สูงที่สุดในอุตสาหกรรมอยู่ที่ร้อยละ 45 ซึ่งเกิดจากโครงสร้างการทำ�ธุรกิจที่เป็น Specialized Commercial Bank and Investment Banking ของกลุ่ม โดยในปี 2556 กลุ่มธุรกิจฯ มีกำ�ไรสุทธิจำ�นวน 4,418 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.3 ประกอบด้วยกำ�ไรจากธุรกิจธนาคาร พาณิชย์จำ�นวน 2,618 ล้านบาท และธุรกิจตลาดทุนจำ�นวน 1,800 ล้านบาท หากพิจารณาจากรายได้สุทธิ แบ่งเป็นของธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ร้อยละ 73 และธุรกิจตลาดทุนร้อยละ 27
รายงานประจำ�ปี 2556
017
เศรษฐกิจในปี 2557 มีแนวโน้มชะลอตัวลง ดังนั้น กลุ่มธุรกิจฯ ยังคงให้ความสำ�คัญกับการเติบโตอย่างระมัดระวังและมีคุณภาพจาก ธุรกิจที่มีศักยภาพและเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ และไม่ต้องพึ่งพาเครือข่ายทางกายภาพซึ่งเป็นข้อจำ�กัดของธนาคาร รวมถึงให้ความ สำ�คัญกับการบริหารความเสีย่ งอย่างรัดกุมมากขึน้ นอกจากนี้ ยังคงมุง่ มัน่ พัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ปรับเปลีย่ นการทำ�ธุรกิจให้เป็นธนาคารที่ มีมติ ทิ หี่ ลากหลาย ทัง้ ด้านบุคลากร โดยจะเพิม่ บุคลากรทีม่ คี วามสามารถเข้ามาร่วมงาน ควบคูก่ บั พัฒนาพนักงานในองค์กรให้เชีย่ วชาญและ ชำ�นาญการมากขึน้ ด้านเครือข่ายหรือสาขาของธนาคาร จะมุง่ เน้นกลยุทธ์รปู แบบสาขาทีม่ คี วามแตกต่างออกไปด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบนั จะ เป็นตัวช่วยให้การบริการลูกค้าทำ�ด้วยวิธีการทีห่ ลากหลายมากขึน้ และการหาพันธมิตรทางธุรกิจในการให้บริการทางการเงิน รวมทั้งพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินให้ครบถ้วน และหลากหลาย ครอบคลุมกลุ่มลูกค้าเป้าหมายอย่างทั่วถึง อย่างไรก็ดี การดำ�เนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน ต้องควบคูก่ บั การยึดมัน่ ในหลักบรรษัทภิบาล หรือ Corporate Governance ซึง่ ตลอดระยะเวลา กว่า 40 ปี ของการดำ�เนินธุรกิจ กลุ่มธุรกิจฯ ได้ให้ความสำ�คัญถึงความรับผิดชอบที่พึงมีต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายภายใต้กรอบจริยธรรมทาง วิชาชีพ และข้อพึงปฏิบตั ิในการทำ�งาน และได้ยดึ ถือเป็นแนวทางในการบริหารองค์กรและคำ�นึงถึงผลประโยชน์สงู สุดของผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ น ได้เสีย ซึ่งผลจากศักยภาพและการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล ตลอดจนการดำ�เนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบต่อสังคมมาอย่างต่อเนื่อง ยาวนาน ได้ส่งเสริมให้กลุ่มธุรกิจฯ เป็นที่ยอมรับจากหน่วยงานกำ�กับดูแลและสื่อชั้นนำ�ทั้งในและนอกประเทศมาโดยตลอด กลุม่ ธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรจึงขอขอบคุณท่านผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า และพันธมิตรทางธุรกิจ ที่ได้ให้ความเชือ่ มัน่ และให้ความสนับสนุน การดำ�เนินงาน อย่างดียงิ่ เสมอมา และขอขอบคุณคณะผูบ้ ริหารและพนักงานทุกท่าน ทีไ่ ด้ทมุ่ เท ร่วมแรงร่วมใจปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้ธนาคารเกียรตินาคิน และธุรกิจในกลุ่มธุรกิจฯ เป็น “ธนาคารเพื่อความสำ�เร็จของลูกค้า และประโยชน์ที่ยั่งยืนต่อสังคม” ได้อย่างแท้จริง
นายสุพล วัธนเวคิน ประธานกรรมการ
นายบรรยง พงษ์พานิช ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
018
คณะกรรมการธนาคาร
- นายสุพล วัธนเวคิน -
- นายพิชัย ดัชณาภิรมย์ -
- รศ.มานพ พงศทัต -
- นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล -
- นายประวิทย์ วรุตบางกูร -
- ดร.อนุมงคล ศิริเวทิน -
ประธานกรรมการ
กรรมการอิสระ
กรรมการอิสระ
กรรมการอิสระ
กรรมการอิสระ
กรรมการอิสระ
รายงานประจำ�ปี 2556
019
- นายพงษ์เทพ ผลอนันต์ -
- นายธานินทร์ จิระสุนทร -
- นายสุรพล กุลศิริ -
- นายสุวิทย์ มาไพศาลสิน -
- นายบรรยง พงษ์พานิช -
- นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์ -
- นายกฤติยา วีรบุรุษ -
- นางสาวฐิตินันท์ วัธนเวคิน -
- นายประชา ชำ�นาญกิจโกศล -
กรรมการอิสระ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
020
คณะกรรมการบริหาร
- นายบรรยง พงษ์พานิช -
- นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์ -
- นายกฤติยา วีรบุรุษ -
- นางสาวฐิตินันท์ วัธนเวคิน -
- นายประชา ชำ�นาญกิจโกศล -
- นายสุวิทย์ มาไพศาลสิน -
ประธานกรรมการบริหาร
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
กรรมการ
รายงานประจำ�ปี 2556
021
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
022
ความเป็นมาของกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ประวัติความเป็นมา
เริ่มต้นในปี 2514 “บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ เกียรตินาคิน จำ�กัด” ได้จดั ตัง้ ขึน้ ด้วยทุนจดทะเบียนเริม่ ต้น 10 ล้านบาท ประกอบ ธุรกิจเงินทุนและหลักทรัพย์ และได้เข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในปี 2531 ก่อนที่จะจดทะเบียน แปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนในปี 2536 ซึ่งต่อมาได้แยกธุรกิจ เงินทุนและธุรกิจหลักทรัพย์ออกจากกันในปี 2542 การดำ�เนินธุรกิจได้ผา่ นประสบการณ์ทง้ั ช่วงแห่งความรุง่ โรจน์ของ ธุรกิจการเงิน ไปจนถึงเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจครัง้ สำ�คัญของประเทศ หลายต่อหลายครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 ซึ่ง ส่งผลให้ถกู ระงับกิจการชัว่ คราว พร้อมกับสถาบันการเงินอีก 57 แห่ง อย่างไรก็ดี ด้วยการดำ�เนินธุรกิจอย่างระมัดระวังและรอบคอบ ควบคูก่ บั การสนับสนุนจากพันธมิตรทีเ่ ข้มแข็ง อาทิ ผูถ้ อื หุน้ ลูกค้า ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ทีท่ มุ่ เททำ�งานอย่างเต็มที่ ทำ�ให้บริษทั เงินทุน เกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) เป็น 1 ใน 2 สถาบันการเงินที่ได้รับ อนุมัติจากกระทรวงการคลังให้กลับมาดำ�เนินกิจการได้อีกครั้ง ในปี 2541 และสามารถรอดพ้นจากวิกฤตที่เกิดขึ้น และเติบโตขึ้น เป็นลำ�ดับ จนกระทัง่ ได้รบั อนุญาตให้ยกระดับจากบริษทั เงินทุนเป็น “ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)” (“ธนาคาร”) และเริ่มดำ�เนิน ธุรกิจธนาคารพาณิชย์เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2548 เมื่ อวั น ที่ 12 กรกฎาคม 2554 ธนาคารได้ซื้อ หุ้น บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุน นครหลวงไทย จำ�กัด จากกองทุน บำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ (“กบข.”) ในสัดส่วนร้อยละ 60.0 และ ได้ ดำ � เนิ น การเปลี่ ย นชื่ อ เป็ น บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น เกียรตินาคิน จำ�กัด (“บลจ.เกียรตินาคิน”) ด้ วยสภาวะแวดล้ อ มด้านการแข่งขัน ภาคการเงิน ธนาคาร และการเปิดเสรีทางการเงิน ธนาคารได้ประกาศร่วมกิจการและร่วม บริหารงานกับบริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) (“ทุนภัทร”) เมื่อ ปลายปี 2554 เพื่อขยายขอบเขตการดำ�เนินธุรกิจร่วมกัน และ สนับสนุนความเป็นเลิศในทุกธุรกิจหลักของธนาคารและทุนภัทร โดย มุ่งเน้นผสมผสานความเชีย่ วชาญในธุรกิจธนาคารพาณิชย์และธุรกิจ ตลาดทุนเข้าด้วยกัน ซึ่งการร่วมกิจการเป็นผลสำ�เร็จเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2555 หลังจากธนาคารสามารถซือ้ หลักทรัพย์ของทุนภัทร จากผูถ้ อื หุน้ ของทุนภัทรได้รอ้ ยละ 99.93 ของหุน้ ทัง้ หมดของทุนภัทร ตามอัตราส่วนการแลกเปลี่ยนหุ้น (Swap Ratio) 1 หุ้นสามัญของ ทุนภัทรต่อ 0.9135 หุน้ สามัญของธนาคาร ตามแผนการร่วมกิจการ ที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 นอกจากนี้ เมือ่ วันที่ 28 กันยายน 2555 ธนาคารได้เพิม่ สัดส่วน การถือหุ้นใน บลจ.เกียรตินาคิน เป็นร้อยละ 99.9 และได้ดำ�เนิน การโอนหุ้นทั้งหมดในบลจ.เกียรตินาคิน และบริษัทหลักทรัพย์ เกียรตินาคิน จำ�กัด (“บล.เกียรตินาคิน”) ให้กับทุนภัทรเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2555 และวันที่ 2 มกราคม 2556 ตามลำ�ดับ และเกิดเป็น
“กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร” (“กลุ่มธุรกิจฯ”) ให้บริการ ธุรกิจธนาคารพาณิชย์และธุรกิจตลาดทุน โดยภายหลังจากนัน้ บลจ. เกี ย รติ นาคิ น และบล.เกี ย รติ นาคิ น ได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ เป็ น บริ ษั ท หลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด (“บลจ.ภัทร”) และบริษัท หลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด (“บล.เคเคเทรด”) ตามลำ�ดับ กลยุทธ์ขององค์กร
สำ�หรับกลยุทธ์ระยะยาว ธนาคารจะมุ่งเน้นดำ�เนินธุรกิจที่มี ความเชีย่ วชาญ และมีความสามารถในการแข่งขัน ผ่านการพัฒนา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท างการเงิ น และการลงทุ น ที่ ห ลากหลายตอบสนอง ความต้องการของกลุ่มลูกค้าได้อย่างครบถ้วน ด้วยการสร้างสรรค์ นวั ต กรรมใหม่ ท างธุ ร กิ จ ตลอดจนสานต่ อ ประโยชน์ ร่ ว มกั น (Synergies) ภายในกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร รวมทั้ง ขยายธุรกิจใหม่เพิม่ เติม เพือ่ ช่วยเพิม่ ศักยภาพในการประกอบธุรกิจ ธนาคารพาณิชย์อย่างเต็มรูปแบบ ธนาคารมีแผนพัฒนาช่องทางการให้บริการทีห่ ลากหลาย เพือ่ เพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ และตอบสนองกับความต้องการ ที่แตกต่างกันได้ดีย่ิงขึ้น นอกจากนี้ ธนาคารยังมุ่งเน้นการพัฒนา ประสิทธิภาพการทำ�งานอย่างรอบด้าน ทั้งในด้านระบบการทำ�งาน การบริหารความเสี่ยง ตลอดจนการควบคุมตรวจสอบที่รัดกุม โดย ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร การพัฒนาระบบ สารสนเทศ และการส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กร ซึ่งเป็นรากฐาน ทีส่ �ำ คัญในการพัฒนาธุรกิจ โดยธนาคารมีนโยบายมุง่ เน้นการพัฒนา องค์กรใน 5 ด้านที่สำ�คัญ ได้แก่ 1) ความคล่องตัว (Flexible) เป็นองค์กรที่มีความคล่องตัวสูง ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้หลากหลายรูปแบบ 2) ความเร็ว (Speed) เป็นองค์กรที่สามารถให้บริการลูกค้าได้ อย่างสะดวกรวดเร็ว ด้วยกระบวนการตัดสินใจทีก่ ระชับฉับไว 3) นวัตกรรม (Innovation) เป็นองค์กรทีม่ นี วัตกรรม โดยปรับปรุง กระบวนการทำ�งาน และผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับแนวโน้ม ของตลาดอย่างสมํ่าเสมอ 4) คุณภาพ (Quality) เป็นองค์กรที่มีการใช้ทรัพยากรทุกด้าน อย่างคุม้ ค่า ทัง้ ทรัพยากรบุคคล เงินทุน และระบบสารสนเทศ 5) ประสิทธิภาพ (Efficiency) เป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยควบคุมต้นทุนในการดำ�เนินงานให้อยู่ในระดับทีส่ ามารถ แข่งขันได้เป็นอย่างดี การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สำ�คัญ
ปี 2554 ธนาคารได้ซอ้ื หุน้ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน นครหลวงไทย จำ�กัด จากกองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ (“กบข.”) เมือ่ วันที่ 12 กรกฎาคม 2554 ในสัดส่วนร้อยละ 60.0 และได้ด�ำ เนินการเปลีย่ นชือ่
รายงานประจำ�ปี 2556
เป็น “บลจ.เกียรตินาคิน” เพือ่ จะนำ�ไปสูก่ ารประสานความเชีย่ วชาญ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการทีต่ อบสนองความต้องการกลุม่ ลูกค้าบุคคลที่มีสินทรัพย์สูงของธนาคาร ต่อมาในวันที่ 9 ธันวาคม 2554 ธนาคารได้ประกาศร่วมกิจการ และร่วมบริหารงานกับทุนภัทร เพื่อช่วยเพิ่มขีดความสามารถการ แข่งขันในธุรกิจธนบดีธนกิจ ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจวานิชธนกิจ ให้กับกลุ่มธนาคารได้อย่างรวดเร็วและเป็นรูปธรรม และยังเป็นการ เสริมสร้างศักยภาพ รวมถึงเพิ่มโอกาสในการขยายขอบเขตการทำ� ธุรกิจไปยังแขนงใหม่ได้ในอนาคต ปี 2555 • การร่วมกิจการและร่วมบริหารงานกับทุนภัทร เป็นผล สำ�เร็จ ตามที่ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 ได้มีมติอนุมัติการร่วมกิจการระหว่างธนาคาร กับทุนภัทรตามแผนการร่วมกิจการ ธนาคารได้ทำ�คำ�เสนอซื้อ หลักทรัพย์ทั้งหมดของทุนภัทรจากผู้ถือหุ้นทุกรายของทุนภัทร ระหว่างวันที่ 7 สิงหาคม -11 กันยายน 2555 (รวม 25 วันทำ�การ) เพื่ อ การเพิ ก ถอนหุ้ น ของทุ น ภั ท รออกจากการเป็ น หลั ก ทรั พ ย์ จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย (“ตลาด หลักทรัพย์ฯ”) ในอัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นเท่ากับหุ้นสามัญของ ทุนภัทร 1 หุ้น ต่อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของธนาคาร 0.9135 หุ้น ภายใต้เงื่อนไขว่าเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการทำ�คำ�เสนอซื้อหลักทรัพย์ จำ�นวนผู้ถือหุ้นของทุนภัทรที่ตอบรับคำ�เสนอซื้อหลักทรัพย์จะต้อง มีจ�ำ นวนรวมกันแล้วไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 75 ของจำ�นวนหุน้ ทีจ่ �ำ หน่าย ได้แล้วทั้งหมดของทุนภัทร และในกรณีที่ผลตอบรับคำ�เสนอซื้อ ที่ ได้มีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 90 ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้ แล้วทั้งหมดของทุนภัทร ธนาคารจะดำ�เนินการโอนหุ้นทั้งหมดใน บล.เกียรตินาคินที่ราคาเท่ากับมูลค่าตามบัญชี และโอนหุ้นใน บลจ.เกียรตินาคิน ที่ราคาเท่ากับต้นทุน ให้กับทุนภัทร การร่วมกิจการระหว่างธนาคารและทุนภัทรเป็นผลสำ�เร็จ เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2555 โดยเมื่อสิ้นสุดการทำ�คำ�เสนอซื้อ มีผู้ถือหุ้นของทุนภัทรร้อยละ 99.93 ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้ แล้วทั้งหมดของทุนภัทรตอบรับคำ�เสนอซื้อหลักทรัพย์ ส่งผลให้ ธนาคารมีหุ้นสามัญเพิ่มขึ้น 191,979,745 หุ้น โดยหุ้นเพิ่มทุนได้ เริ่มซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ ในวันที่ 25 กันยายน 2555 ซึ่ ง เป็ นวั น เดี ย วกั บ ที่ หุ้ น ของทุ น ภั ท รเพิ ก ถอนออกจากตลาด หลักทรัพย์ฯ นอกจากนี้ ธนาคารได้ดำ�เนินการซื้อหุ้น บลจ.เกียรตินาคิน ในสัดส่วนร้อยละ 40 ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมด จาก กบข. ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการธนาคาร ครั้งที่ 7/2555 เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2555 โดยได้ชำ�ระราคา 63 ล้านบาท และ
023
รับโอนหุ้นเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2555 จำ�นวน 4.8 ล้านหุ้น และเกิดค่าความนิยม 19 ล้านบาท การซื้อหุ้นครั้งนี้ ส่งผลให้ ธนาคารถือหุ้นใน บลจ.เกียรตินาคิน ทั้งสิ้นร้อยละ 99.9 และ ต่อมาในวันที่ 28 ธันวาคม 2555 ธนาคารได้ดำ�เนินการโอนหุ้นของ บลจ.เกียรตินาคิน และในวันที่ 2 มกราคม 2556 ธนาคารได้โอนหุ้น ของบล.เกียรตินาคิน ให้กับทุนภัทร ตามแผนการร่วมกิจการ ปี 2556 • การกำ�กับดูแลกิจการ และการบริหารงาน ภายหลังการร่วมกิจการ โครงสร้างการบริหารจัดการธุรกิจ ของธนาคารและทุนภัทร จะมุ่งเน้นการดำ�เนินธุรกิจร่วมกันทั้ง ในส่วนของธุรกิจธนาคารพาณิชย์ และธุรกิจตลาดทุน ทั้งที่เป็นการ ดำ�เนินการอยู่ในปัจจุบนั และธุรกิจใหม่ โดยใช้ศกั ยภาพเชิงบวกของ ทั้งสององค์กรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร โดยรวม คณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่
ประธานธุรกิจธนาคารพาณิชย์
ประธานธุรกิจตลาดทุน
โครงสร้างการกำ�กับดูแลกิจการและการบริหารงาน ประกอบด้วย • คณะกรรมการธนาคาร มีจำ�นวน 15 ท่าน ทำ�หน้าที่เป็น ผู้กำ�หนดกรอบนโยบายและแผนกลยุทธ์ ในการดำ�เนินธุรกิจของ ธนาคาร และบริษัทภายใต้การกำ�กับดูแล • คณะกรรมการบริหาร (Executive Committee) รับผิดชอบ ในการกำ�หนดนโยบาย แผนกลยุทธ์ และเป้าหมายการปฏิบัติงาน รวมทั้งกำ�หนดแผนธุรกิจ งบประมาณประจำ�ปีของธนาคาร และ บริษัทภายใต้การกำ�กับดูแล เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการของ ธนาคาร • ผูบ้ ริหารของกลุม่ ธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ประกอบด้วย 1) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) ทำ�หน้าที่ตามที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริหาร โดยอำ�นาจหน้าทีน่ น้ั รวมถึงการกำ�หนดรายละเอียดแผนธุรกิจ รวมทั้งกำ�กับ ดูแลการบริหารงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธาน ธุรกิจ ผู้บริหารของธนาคารและบริษัทภายใต้การกำ�กับ ดูแลในกลุม่ ธุรกิจฯ เพือ่ ให้บรรลุผลตามนโยบาย เป้าหมาย ทางการเงิน แผนธุรกิจ และงบประมาณประจำ�ปี
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
024
2) กรรมการผู้จัดการใหญ่ ดูแลการดำ�เนินธุรกิจในภาพรวม ของทั้งธุรกิจธนาคารพาณิชย์ และธุรกิจตลาดทุน 3) ประธานธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ดูแลการดำ�เนินธุรกิจ ธนาคารพาณิชย์ 4) ประธานธุรกิจตลาดทุน ดูแลการดำ�เนินธุรกิจตลาดทุน ได้แก่ ทุนภัทร รวมทั้งบริษัทหลักทรัพย์ และบริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุนภายใต้กลุ่มธุรกิจฯ • การปรับภาพลักษณ์ของกลุ่มธุรกิจฯ บล.เกียรตินาคิน ได้เปลี่ยนชื่อเป็น บล.เคเคเทรด เพื่อ สะท้อนถึงรูปแบบการดำ�เนินธุรกิจทีม่ งุ่ เน้นให้บริการด้านการซือ้ ขาย หลักทรัพย์แก่ลูกค้าประเภทบุคคลรายย่อย ซึ่งแตกต่างจากรูปแบบ ของบริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) (“บล.ภัทร”) ที่มุ่งเน้น ให้บริการธุรกิจหลักทรัพย์อย่างครบวงจรแก่ลูกค้าประเภทสถาบัน และประเภทบุคคลที่มีสินทรัพย์สูง บลจ.เกียรตินาคิน ได้เปลี่ยนชื่อเป็น บลจ.ภัทร เพื่อให้ สอดคล้องกับโครงสร้างรูปแบบการจัดการของธุรกิจตลาดทุนภายใน กลุ่มธุรกิจฯ ทั้ ง นี้ ธนาคารได้ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ภ าพลั ก ษณ์ ใ หม่ ข อง กลุ่มธุรกิจฯ อย่างเป็นทางการ รวมทั้งเปลี่ยนตัวย่อ (Ticker) การซื้อขายหลักทรัพย์ของธนาคารจาก “KK” เป็น “KKP” มีผล วันที่ 1 สิงหาคม 2556 เป็นต้นไป • การขยายธุรกิจใหม่ และปรับโครงสร้างองค์กร ธนาคารได้จดั ตัง้ ธุรกิจใหม่ 2 ธุรกิจ ได้แก่ ตลาดการเงิน และ สินเชื่อบรรษัท เพื่อช่วยเพิ่มศักยภาพในการประกอบธุรกิจธนาคาร อย่างเต็มรูปแบบ โดยธุรกิจตลาดการเงินมีหน้าที่พัฒนาผลิตภัณฑ์
การเงิน ทั้งตราสารหนี้ ตราสารอนุพันธ์ และอัตราแลกเปลี่ยน เพื่อเสนอบริการที่หลากหลายให้แก่กลุ่มลูกค้าของทั้งธนาคาร และ ธุรกิจตลาดทุน ในขณะทีส่ ายสินเชือ่ บรรษัทมีหน้าที่ให้บริการสินเชือ่ รวมทั้งบริการด้านการเงินอื่นๆ แก่กลุ่มลูกค้าบริษัทขนาดใหญ่ที่มี ความมั่นคงสูง ทั้งนี้ เพื่อสร้างผลกำ�ไรเพิ่มเติมจากเงินทุนของ ธนาคาร รวมทัง้ ยังช่วยกระจายความเสีย่ งของธนาคารจากการพึง่ พา ธุรกิจหลักเดิมของธนาคาร นอกจากนี้ ธนาคารได้ปรับโครงสร้างองค์กร โดยจัดตั้งสาย พัฒนาระบบงาน ช่องทางขาย และผลิตภัณฑ์ และสายวิเคราะห์ และตรวจสอบเครดิต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสนับสนุนธุรกิจ และการตรวจสอบคุณภาพสินเชื่ออย่างเป็นระบบ โครงสร้างกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มธุรกิจฯ ธนาคารเกียรตินาคินเป็นบริษทั แม่ของกลุม่ ธุรกิจ ประกอบธุรกิจ ธนาคารพาณิชย์ และมีบริษัทย่อย ได้แก่ ทุนภัทร ประกอบธุรกิจ ถือหุน้ ในบริษทั อืน่ (Holding Company) และดำ�เนินธุรกิจลงทุน โดย ทุนภัทรมีบริษทั ย่อยให้บริการธุรกิจหลักทรัพย์ ได้แก่ บล.ภัทร และ บล.เคเคเทรด รวมทั้งมี บลจ.ภัทร ให้บริการธุรกิจจัดการกองทุน นอกจากนี้ บริษัทย่อยยังประกอบด้วย บริษัท สำ�นักกฎหมาย เอราวัณ จำ�กัด ให้บริการด้านกฎหมายแก่บริษัทในกลุ่มธนาคาร และธนาคารยั ง ถื อ หน่ ว ยลงทุ น ของกองทุ น รวมที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ แก้ไขปัญหาระบบสถาบันการเงิน จำ�นวน 8 กอง โดยมีโครงสร้าง การถือหุ้น ดังนี้
99.9% 99.9%
สำนักกฎหมาย เอราวัณ
99.9%
(1)
กองทุนรวม(1)
99.9%
99.9%
กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 1 (99.95%), กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 2 (99.59%), กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 3 (99.97%), กองทุนรวมไทย รีสตรัคเจอริ่ง (98.91%), กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ พร็อพเพอร์ตี้ 1 (99.52%), กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ พร็อพเพอร์ตี้ 3 (98.77%), กองทุนรวม บางกอก แคปปิตอล (95.72%) และ กองทุนรวมแกมม่า แคปปิตอล (94.03%)
รายงานประจำ�ปี 2556
025
การประกอบธุรกิจ ภาพรวมการประกอบธุรกิจ
ภายหลังการร่วมกิจการระหว่างธนาคารและทุนภัทรเป็นผล สำ�เร็จ กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร แบ่งการดำ�เนินธุรกิจ ออกเป็น 4 ธุรกิจ ได้แก่ 1) ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ 2) ธุรกิจตลาดทุน 3) ธุรกิจธนบดีธนกิจ และ 4) ธุรกิจบริหารสินทรัพย์
โครงสร้างรายของได้ธนาคารและบริษัทย่อย
ผลการดำ�เนินงานของทุนภัทรและ บล.ภัทร ได้รวมในงบ การเงินรวม ตั้งแต่วันที่ 12 กันยายน 2555 เป็นต้นไป โครงสร้าง รายได้ ข องธนาคารและบริ ษั ท ย่ อ ยตามงบการเงิ น รวมสำ � หรั บ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้
ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ รายได้ดอกเบี้ย 11,296 118.5 14,452 125.5 15,809 111.2 ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 4,821 50.6 7,339 63.7 7,462 52.5 รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ 6,476 68.0 7,113 61.8 8,347 58.7 รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ 1,573 16.5 2,573 22.3 4,838 34.0 ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ 1,071 11.2 1,429 12.4 1,598 11.2 ธุรกิจตลาดทุน 450 4.7 1,035 9.0 3,034 21.3 อื่นๆ 52 0.5 108 0.9 206 1.4 ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ 154 1.6 292 2.5 481 3.4 รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ 1,419 14.9 2,281 19.8 4,357 30.7 กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิจากธุรกรรมเพือ่ ค้าและปริวรรตเงินตราต่างประเทศ (12) (0.1) 226 2.0 443 3.1 กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิจากเงินลงทุน 180 1.9 443 3.8 637 4.5 กำ�ไร (ขาดทุน) จากการขายทรัพย์สินรอการขาย 1,245 13.1 1,224 10.6 (55) (0.4) รายได้จากเงินปันผล 55 0.6 23 0.2 206 1.4 รายได้จากการดำ�เนินงานอื่นๆ 167 1.8 209 1.8 276 1.9 รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน 9,530 100.0 11,518 100.0 14,211 100.0
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
026
ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ
ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ แบ่งออกเป็น 1. สินเชื่อรายย่อย ดำ�เนินการโดยสายธนาคารรายย่อยของธนาคาร เน้นการให้ บริการทางการเงินแก่ลูกค้ารายย่อยที่เป็นบุคคลธรรมดา โดยมี ผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินที่สำ�คัญ ดังนี้ 1.1 สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ ธนาคารให้บริการสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ทุกประเภท ทั้งรถใหม่ และใช้แล้ว ซึ่งรวมถึงรถยนต์นั่ง รถยนต์อเนกประสงค์ รถยนต์ เชิงพาณิชย์ แก่บคุ คล หรือนิตบิ คุ คล ทีต่ อ้ งการซือ้ รถยนต์มาใช้งาน โดยทัว่ ไป ผูเ้ ช่าซือ้ จะชำ�ระเงินดาวน์สว่ นหนึง่ และผ่อนชำ�ระค่างวด เป็นจำ�นวนเท่าๆ กัน ตลอดอายุสัญญาเช่าซื้อ และ/หรือธนาคารมี กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สนิ ตามกฎหมายจนกว่าผูเ้ ช่าซือ้ จะผ่อนชำ�ระเงิน กู้ครบถ้วน ระยะเวลาการเช่าซื้อ 12-84 เดือน และมีอัตราดอกเบี้ย คงที่ตามอัตราตลาด ณ วันที่ทำ�สัญญา นอกจากนี้ ธนาคารยังให้บริการด้านอืน่ ๆ เกีย่ วกับรถยนต์ เช่น บริการต่อภาษีรถยนต์ประจำ�ปี บริการด้านการขอใบอนุญาตเกีย่ วกับ รถยนต์ บริการด้านการทำ�ประกันภัย และภาษีรถยนต์อกี ด้วย ซึง่ ให้ บริการครอบคลุมพื้นที่ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด สินเชือ่ เช่าซือ้ รถยนต์มกี ารเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 70.2 ของสินเชื่อรวม โดยมีอัตราการเติบโตของเงินให้ สินเชื่อร้อยละ 9.8 จาก 122,093 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เป็น 134,019 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีสัดส่วน การให้สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ใหม่ต่อรถยนต์ใช้แล้วเฉลี่ยร้อยละ 53 ต่อร้อยละ 47 ในปี 2556 และแบ่งสัดส่วนสินเชือ่ เช่าซือ้ ตามภูมภิ าค และประเภทของรถ ได้ดังนี้ กรุงเทพฯ รอยละ 25
ตางจังหวัด รอยละ 75
รถตู/รถบรรทุก รอยละ 15
รถเกง รอยละ 36
รถกระบะ รอยละ 49
ธนาคารยั ง คงมุ่ ง เน้ น ที่ จ ะขยายธุ ร กิ จ สิ น เชื่ อ เช่ า ซื้ อ อย่ า ง ต่ อ เนื่ อ งต่ อ ไป โดยให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การบริ การที่ ร วดเร็ ว มี ประสิ ท ธิ ภ าพ และเน้ น ควบคุ ม คุ ณ ภาพของสิ น เชื่ อ ให้ อ ยู่ ใ น ระดับที่ดีสำ�หรับการกำ�หนดอัตราดอกเบี้ยการให้กู้ยืมจะอยู่ ใน ระดับเดียวกับอัตราตลาดและสอดคล้องกับระยะเวลาการผ่อน ชำ�ระ 1.2 สินเชื่อบุคคล สิ น เชื่ อ บุ ค คล เป็ น สิ น เชื่ อ อเนกประสงค์ เ พื่ อ ช่ ว ยเสริ ม สภาพคล่องให้แก่ลูกค้าเช่าซื้อรถยนต์ที่มีประวัติการผ่อนชำ�ระที่ดี วงเงินสูงสุด 5 เท่าของรายได้ ผ่อนชำ�ระนานสูงสุดถึง 48 เดือน โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ สินเชื่อ Term Loan คือ สินเชื่อ อเนกประสงค์ทไี่ ม่ตอ้ งใช้หลักทรัพย์ หรือ บุคคลคาํ้ ประกัน ทำ�สัญญา ผ่อนชำ�ระคืนให้แก่ธนาคารเป็นจำ�นวนเงินแต่ละงวดตามระยะเวลาที่ กำ�หนด เพื่อช่วยเสริมสภาพคล่อง และสินเชื่อ Revolving Loan ผูข้ อกูจ้ ะได้รบั เป็นวงเงินสินเชือ่ พร้อมบัตรกดเงินสด KK Cash Card ซึ่งเบิกถอนเป็นเงินสดได้ด้วยการใช้บัตรทำ�รายการเบิกถอนผ่าน เครื่อง ATM Pool โดยมีเงื่อนไขชำ�ระคืนขั้นตํ่าแต่ละงวดตามที่ ธนาคารกำ�หนด 1.3 สินเชื่อเคหะ สิ น เชื่ อ เคหะ เป็ น บริ ก ารสิ น เชื่ อ เพื่ อ ที่ อ ยู่ อ าศั ย โดยมี วัตถุประสงค์หลักเพือ่ ซือ้ ทีด่ นิ และสิง่ ปลูกสร้าง โดยธนาคารได้ขยาย พื้นที่การให้บริการจากเดิมเฉพาะในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล และจังหวัดชลบุรี ไปยังทั่วประเทศ นอกจากนี้ ธนาคารได้ลงนาม บันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย (บตท.) ในการจัดสินเชือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยดอกเบีย้ คงที่ ซึง่ บตท. ได้ทยอย จัดซื้อสินเชื่อที่อยู่อาศัยจากธนาคาร ทั้งนี้ ธนาคารและบตท. ได้ดำ�เนินการตามโครงการร่วมมือกับ ผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์ ในการออกผลิตภัณฑ์สินเชื่อที่อยู่ อาศัยสำ�หรับลูกค้าโครงการฯ โดยในปี 2555 ธนาคารได้โอนขาย สินเชื่อเคหะให้บตท. รวมทั้งสิ้น 1,003 ล้านบาท 1.4 สินเชื่อ Micro SMEs สินเชื่อ Micro SMEs เป็นสินเชื่อที่ ให้แก่ลูกค้าบุคคลหรือ นิติบุคคลที่ประกอบธุรกิจขนาดเล็ก ทั้งภาคบริการ ค้าส่ง และ ค้าปลีก และมีวงเงินหลากหลายรูปแบบ อาทิ วงเงินเพื่อเป็น ทุนหมุนเวียนในการประกอบธุรกิจ วงเงิน O/D วงเงินเพื่อขยาย กิจการ โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ สินเชื่อแบบไม่มีหลักทรัพย์ คํ้าประกัน และสินเชื่อแบบมีหลักทรัพย์คํ้าประกัน 1.5 บริการเงินฝาก ธนาคารให้บริการด้านเงินฝากกับกลุ่มลูกค้าทั้งประเภทบุคคล ธรรมดาและนิตบิ คุ คล โดยจำ�แนกเป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ เงินฝาก กระแสรายวัน เงินฝากออมทรัพย์ และเงินฝากประจำ� โดยเน้นการ ให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่ากับลูกค้า อีกทั้งยังมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์
รายงานประจำ�ปี 2556
และการให้บริการอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองความต้องการและ เพิ่มระดับความพึงพอใจของลูกค้า 1.6 สินเชื่อรถเพื่อเงินสด (Car Cash) สินเชื่อรถเพื่อเงินสด ให้บริการวงเงินสินเชื่อประเภท Term loan แก่ผู้ถือกรรมสิทธิ์รถยนต์ที่ปลอดภาระหนี้ และนำ�มาเป็น หลั ก ทรั พ ย์ คํ้ า ประกั น กั บ ทางธนาคาร โดยโอนเปลี่ ย นชื่ อ ผู้ ถื อ กรรมสิทธิ์เป็นธนาคาร โดยกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย คือ กลุ่มลูกค้าเคย จัดเช่าซื้อกับธนาคาร และกลุ่มลูกค้าภายนอกทั่วไป 1.7 บริการประกันภัยและบริการประกันชีวติ (Bancassurance) ธนาคารให้บริการเป็นนายหน้าประกันภัยทั้งประกันชีวิต และ ประกันวินาศภัย โดยร่วมมือกับกลุม่ พันธมิตร หรือ บริษทั ประกันภัย ชั้นนำ�ที่มีชื่อเสียง ในการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการประกันภัย ประเภทต่างๆ ให้แก่ลูกค้าสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ของธนาคาร ได้แก่ ประกันภัยรถยนต์ทุกประเภท และประกันชีวิต (Car Shield) แบบ คุ้มครองวงเงินสินเชื่อรถยนต์ กรณีผู้เช่าซื้อรถยนต์เสียชีวิต 1.8 การประมูลรถยนต์ ธนาคารจั ด ให้ มี การประมู ล รถยนต์ ใ ช้ แ ล้ ว จากลู ก ค้ า ของ ธนาคาร ที่ศูนย์ประมูลรถยนต์ของธนาคาร ซึ่งมี 2 แห่ง คือ ถนน บางนา-ตราด กม. 8 และจังหวัดอุดรธานี ทุกเดือน ศู น ย์ ป ระมู ล รถยนต์ของธนาคารได้รับ การรับ รองคุณภาพ ตามมาตรฐานสากล ISO 9001:2008 เป็นแห่งแรกในประเทศไทย ในปี 2554 เนื่องจากเป็นศูนย์ประมูลที่ ให้บริการครบวงจรและ มีมาตรฐานสำ�หรับผู้ประกอบการรถใช้แล้ว และเป็นทางเลือก สำ�หรับประชาชนทั่วไป 2. สินเชื่อธุรกิจ สินเชื่อธุรกิจ ณ สิ้นปี 2556 มียอดสินเชื่อคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 25.9 ของสินเชื่อรวม ซึ่งประกอบด้วยสินเชื่อ 2 ประเภท หลัก คือ สินเชือ่ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ซึง่ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 15.0 และสินเชื่อธุรกิจเอสเอ็มอี มีสัดส่วนร้อยละ 11.0 ของสินเชื่อรวม รายละเอียดของสินเชื่อประเภทต่างๆ มีดังนี้ 2.1 สินเชื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ธนาคารให้บริการสินเชือ่ สำ�หรับผูป้ ระกอบการอสังหาริมทรัพย์ หรือผูป้ ระกอบการพัฒนาโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัย รายกลางและรายเล็ก ทัง้ ในกรุงเทพฯ และส่วนภูมภิ าค โดยมีทมี งานให้บริการสินเชือ่ ครบ วงจร รวมถึงผู้เชี่ยวชาญในสาขาอาชีพต่างๆ ที่พร้อมให้คำ�ปรึกษา คำ�แนะนำ� ด้านวิศวกรรมงานก่อสร้าง ด้านสถาปนิกการออกแบบ ข้อมูลวิจัยและพัฒนา ข้อกฎหมายต่างๆ นอกจากนี้ ยังมีเครือข่าย ให้การสนับสนุน ทั้งด้านการตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์ และการบริหารโครงการ เพื่อช่วยเพิ่มศักยภาพในการทำ�ธุรกิจของ ลูกค้า สินเชื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เป็นสินเชื่อประเภท Project Finance ทีม่ วี ตั ถุประสงค์ในการพัฒนาโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยทีช่ ดั เจน
027
ธนาคารมุ่งเน้นความสะดวกให้แก่ลูกค้า โดยมีขั้นตอนการอนุมัติ ที่รวดเร็ว ให้วงเงินตรงตามความต้องการของผู้ประกอบการ และ กำ�หนดรูปแบบการผ่อนชำ�ระให้สอดคล้องกับรายได้ของลูกค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 สินเชื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์มี จำ�นวน 28,537 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 39.6 จากสิ้นปี 2555 แบ่ ง เป็ น โครงการที่ อ ยู่ อ าศั ย แนวราบร้ อ ยละ 74 โครงการ คอนโดมิเนียมร้อยละ 24 และอื่นๆ ร้อยละ 2 2.2 สินเชื่อธุรกิจเอสเอ็มอี สินเชื่อที่ให้แก่กลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ ยานยนต์ และธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เป็นหลัก ธนาคารมีสนิ เชือ่ ธุรกิจ เอสเอ็มอี ณ สิ้นปี 2556 จำ�นวน 20,897 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.8 จากสิ้นปี 2555 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 2.2.1 สินเชื่อธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ สินเชือ่ ทีใ่ ห้แก่ ลูกค้าผูป้ ระกอบธุรกิจอพาร์ทเม้นท์ให้เช่า รวมถึงเซอร์วสิ -อพาร์ทเม้นท์ อาคารทีอ่ ยูอ่ าศัยรวมเพือ่ เช่า และหอพัก ทัง้ ทีเ่ ป็นโครงการใหม่ และปรับปรุงโครงการเดิม โดย ธนาคารมีสถาปนิก วิศวกร ดูแลให้ค�ำ ปรึกษาเรือ่ งแบบก่อสร้าง และการก่อสร้างหอพัก หรืออพาร์ทเม้นท์ให้ได้มาตรฐาน กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย คือ ผู้ประกอบการที่มีที่ดินของ ตนเองอยู่ในทำ�เลเป้าหมายต้องการสร้างที่พักอาศัยให้เช่า กลุ่ ม ผู้ ป ระกอบการที่ มี ห อพั ก หรื อ อพาร์ ท เม้ น ท์ ที่ เ ปิ ด ดำ � เนิ น การแล้ ว และที่ ต้ อ งการเงิ น กู้ เ พื่ อ นำ � ไปใช้ ข ยาย ธุรกิจหรือเพือ่ ก่อสร้าง ปรับปรุง ห้องพัก หรืออพาร์ทเม้นท์ เพิม่ เติม 2.2.2 สินเชื่อธุรกิจขนส่ง (Logistics) บริการสินเชื่อให้กับกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจขนส่ง เช่น กลุ่มบรรทุกปูนซีเมนต์ กลุ่มบรรทุกนํ้ามัน กลุ่มขนส่ง ตู้ ค อนเทนเนอร์ เ พื่ อ การนำ � เข้ า และส่ ง ออก กลุ่ ม ขนส่ ง ยานยนต์และอะไหล่ เป็นต้น โดยมีบริการวงเงินสินเชื่อ ประเภทต่างๆ เช่น วงเงินเช่าซื้อรถบรรทุกสิบล้อ รถบรรทุก หกล้อ รถหัวลาก หางพ่วงจำ�นวนตั้งแต่ 2 คันขึ้นไป วงเงิน กู้เพื่อซื้อที่ดิน ก่อสร้างอาคาร เพื่อใช้ในธุรกิจขนส่ง และ วงเงินทุนหมุนเวียนเพื่อใช้ในกิจการขนส่ง รวมทั้งวงเงิน เช่าซื้อสำ�หรับผู้ประกอบการธุรกิจรถตู้ เป็นต้น 2.2.3 สินเชื่อธุรกิจฟลอร์แพลน (Floor Plan) บริการสินเชื่อให้กับผู้ประกอบการตัวแทนจำ�หน่าย รถยนต์ใหม่ และเต็นท์รถมือสอง เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียน ในธุรกิจรถยนต์ ได้แก่ วงเงินสินเชื่อหมุนเวียน วงเงินกู้ (Long Term Loan) รวมถึง หนังสือคํ้าประกัน (LG) และเงิน เบิกเกินบัญชี และวงเงินกู้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะ สนับสนุนให้ผู้ประกอบการสามารถดำ�เนินธุรกิจและขยาย ธุรกิจได้ในระยะยาว
028
2.2.4 สินเชื่อธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มุ่งเน้นการสนับสนุนสินเชื่อในธุรกิจโรงพิมพ์ และ ธุรกิจบรรจุภัณฑ์ ทั้งประเภทกระดาษ และพลาสติก เช่น สินเชื่อเพื่อขยายโรงงาน เพื่อซื้อเครื่องจักรเพื่อใช้ในธุรกิจ วงเงินหมุนเวียนที่มีหลักประกันสำ�หรับใช้ในธุรกิจ วงเงิน ชำ�ระหนี้ (Refinance) และสินเชื่อเพื่อการนำ�เข้า 2.2.5 สินเชื่อธุรกิจทั่วไป บริ ก ารสิ น เชื่ อ สนั บ สนุ น ในธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อุตสาหกรรมการก่อสร้าง เพื่อซื้อเครื่องจักรสำ�หรับการ ก่อสร้าง วงเงินสินเชือ่ หมุนเวียน วงเงินกู้ (Long Term Loan) วงเงินชำ�ระหนี้ (Refinance) สำ�หรับการสร้างโรงงานและ การผลิตวัสดุเพื่อการก่อสร้าง 3. สินเชื่อบรรษัท ดำ�เนินการโดยสายสินเชื่อบรรษัทที่จัดตั้งขึ้นในช่วงครึ่งหลัง ของปี 2556 ภายหลังการร่วมกิจการกับทุนภัทร โดยมีวตั ถุประสงค์ ในการสานต่อประโยชน์ร่วม (Synergies) ที่เกิดจากการร่วมกิจการ ของกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร โดยอิงประโยชน์จากความ สัมพันธ์ทางธุรกิจที่ทีมงานของบล.ภัทร มีอยู่กับกลุ่มลูกค้าบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และบริษัทขนาดใหญ่อื่นๆ ที่ ทีมงานของบล.ภัทร ให้บริการด้านวานิชธนกิจ ที่ปรึกษาการเงิน การระดมทุนผ่านการเสนอขายหลักทรัพย์ประเภทต่างๆ และบริการ ด้านการเงินและการลงทุนอื่น ร่วมกับความเชี่ยวชาญของธนาคาร ในการศึกษาวิเคราะห์ พิจารณาสินเชื่อ และเครือข่ายของธนาคาร โดยมีเป้าหมายที่จะสร้างธุรกิจอีกแขนงหนึ่งและเป็นการกระจาย ความเสี่ยงและการกระจุกตัวของธุรกิจและสินเชื่อรวมของธนาคาร ไม่ให้กระจุกตัวอยู่เฉพาะสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์และอสังหาริมทรัพย์ เท่านั้น สายสินเชือ่ บรรษัทจะรับผิดชอบงานบริการสินเชือ่ ให้แก่บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และบริษัทที่ยังมิได้จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ฯ ในทุกอุตสาหกรรมภายใต้กรอบนโยบายสินเชื่อ ของธนาคาร ทั้งนี้ ไม่รวมกลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจสิ่งพิมพ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ ธุรกิจขนส่ง และธุรกิจฟลอร์แพลน ซึง่ ดูแลโดยสาย สินเชื่อธุรกิจ กลุ่มธุรกิจฯ มีเป้าหมายที่จะให้บริการด้านการเงินครอบคลุม ทั้งในมิติของกลุ่มลูกค้าและผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่สอดคล้องกับ ความต้องการของลูกค้าและเหมาะสมกับจุดแข็งในการให้บริการ ของกลุม่ ธุรกิจฯ โดยสายสินเชือ่ บรรษัทจะมุง่ เน้นบริการด้านสินเชือ่ แก่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ รวมถึงบริษัทลูกและ บริษัทในเครือ บริษัทขนาดใหญ่ที่ยังไม่ได้จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ฯ รวมถึงบริษัทข้ามชาติและบริษัทลูกหรือสาขา (Multi National Company) ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์และบริการสินเชื่อบรรษัท อาทิ สินเชื่อเงินทุนหมุนเวียนเพื่อเสริมสภาพคล่อง (Working
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
Capital) สินเชื่อสำ�หรับโครงการขนาดใหญ่ (Project Finance) การจั ด หาเงิ น กู้ ร่ ว ม (Syndicated Loan) สิ น เชื่ อ เพื่ อ การ ลงทุนขยายงาน รวมตลอดถึงสินเชื่อรูปแบบต่างๆ ที่พัฒนาขึ้น ตามนวัตกรรมทางการเงินของตลาดเงินและตลาดทุน สายสินเชื่อบรรษัทจะดำ�เนินธุรกิจในรูปแบบที่มีทีมงานขนาด เหมาะสม เน้นการประสานงานกับทีมงานของบล.ภัทร สายตลาด การเงิน และสายงานอื่นๆ เพื่อการให้บริการการเงินที่หลากหลาย แก่กลุ่มลูกค้า มุ่งสร้างความรู้ความเข้าใจเชิงกว้างและเชิงลึกใน ธุรกิจของลูกค้าเป้าหมาย รวมถึงตลาดการเงินและตลาดทุน เพื่อ ทำ�การศึกษาวิเคราะห์ คัดเลือกลูกค้าเป้าหมายและผลิตภัณฑ์ การเงินที่เหมาะสม โดยมีเป้าหมายระยะกลางที่จะดำ�เนินการจน สามารถสร้างขนาดธุรกิจที่เหมาะสมกับธนาคาร เพื่อการเติบโต ของสินทรัพย์และรายได้ ทั้งยังเป็นการกระจายโครงสร้างรายได้ และความเสี่ยงโดยเฉพาะความเสี่ยงด้านกลยุทธ์และการกระจุกตัว ของสินเชื่อของธนาคาร 4. ตลาดการเงิน ดำ�เนินการโดยสายตลาดการเงิน ซึ่งเป็นสายงานใหม่ที่จัด ตั้งขึ้นในไตรมาส 1 ปี 2556 มีหน้าที่ให้บริการลูกค้ารวมถึงให้คำ� ปรึกษาในการทำ�ธุรกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับผลิตภัณฑ์ทางการเงินต่างๆ เช่น ธุรกรรมเงินตราต่างประเทศ ธุรกรรมตราสารหนี้ และตราสาร อนุพันธ์ เพื่อช่วยบริหารความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยนและอัตรา ดอกเบี้ยให้กับลูกค้า ทั้งนี้ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ทางการเงินต่างๆ ใน ประเทศไทยมีการแข่งขันกันสูง ทั้งจากธนาคารพาณิชย์ไทย สาขา ธนาคารต่างประเทศ และสถาบันการเงินอื่นๆ ในภูมิภาคที่เข้ามา ดำ�เนินธุรกิจในประเทศไทย ในปีที่ผ่านมาธนาคารได้เพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขัน ด้วยการจัดหาบุคลากรที่มีทักษะในการ บริหารจัดการผลิตภัณฑ์ทางการเงิน เพิ่มศักยภาพด้านเทคโนโลยี และปรับปรุงระบบการทำ�งาน ซึง่ ทำ�ให้ธนาคารมีความสามารถเพียง พอที่จะแข่งขันกับธนาคารพาณิชย์ไทยอื่นๆ ได้ในปัจจุบัน ธุรกิจตลาดทุน ดำ�เนินการโดยบริษทั ย่อยของธนาคาร ได้แก่ ทุนภัทร บล.ภัทร บล.เคเคเทรด (บริษัทได้เปลี่ยนชื่อจาก บล.เกียรตินาคิน ในเดือน สิงหาคม 2556) และ บลจ.ภัทร (เปลี่ยนชื่อจาก บลจ.เกียรตินาคิน ในเดือนสิงหาคม 2556) โดยแบ่งธุรกิจหลักออกเป็น 4 ประเภทดังนี้ 1. ธุรกิจนายหน้า (Agency Business) บล.ภัทร และ บล.เคเคเทรด ให้บริการเป็นนายหน้าซื้อขาย หลั ก ทรั พ ย์ แ ละสั ญ ญาซื้ อ ขายล่ ว งหน้ า ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาด หลักทรัพย์ฯ ตลาด mai และตลาดอนุพันธ์ โดย บล.ภัทร และ บล.เคเคเทรด เป็นสมาชิกตลาดหลักทรัพย์ฯ หมายเลข 6 และ หมายเลข 19 ตามลำ�ดับ
รายงานประจำ�ปี 2556
บล.ภัทร ให้บริการเป็นนายหน้าซือ้ ขายหลักทรัพย์และตราสาร อนุพันธ์แก่ลูกค้าสถาบันทั้งในประเทศและต่างประเทศ และลูกค้า บุคคลรายใหญ่ (High Net Worth Individual) ในขณะที่ บล.เคเคเทรด ให้บริการแก่ลูกค้าบุคคลทั่วไป ในปี 2556 บล.ภัทร มีส่วนแบ่งการตลาดในการเป็นนายหน้า ซื้อขายหลักทรัพย์ ในอันดับที่ 9 หรือคิดเป็นส่วนแบ่งการตลาด ร้อยละ 4.39 ของมูลค่ารวมการซื้อขายหลักทรัพย์ (ไม่รวมบัญชี ซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท) ของตลาดหลักทรัพย์ฯ ในรอบปีบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บล.ภัทร มี รายได้คา่ ธรรมเนียมการเป็นนายหน้าซือ้ ขายหลักทรัพย์เป็นจำ�นวน 1,380 ล้านบาท และมีสัดส่วนรายได้ค่านายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ จากลูกค้าประเภทสถาบันและลูกค้าบุคคลรายใหญ่ประมาณร้อยละ 57.6 และร้อยละ 42.4 ตามลำ�ดับ รายได้ ค่ า นายหน้ า ซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ จากลู ก ค้ า ประเภท สถาบันของบล.ภัทร ร้อยละ 51.8 มาจากลูกค้าสถาบันต่างประเทศ รายได้จากเมอร์รลิ ลินช์ คิดเป็นร้อยละ 95.5 ของรายได้คา่ นายหน้า ซื้อขายหลักทรัพย์จากลูกค้าประเภทสถาบันต่างประเทศทั้งหมด ซึ่งเป็นไปตามข้อตกลงความร่วมมือทางธุรกิจระหว่างบล.ภัทร และเมอร์ริล ลินช์ โดยเมอร์ริล ลินช์ จะดำ�เนินการส่งคำ�สั่งซื้อขาย หลักทรัพย์ประเภททุน (Equity Securities) ที่จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อบัญชีของตนอย่างน้อยร้อยละ 80.0 ผ่าน บล.ภัทร และเมอร์ริล ลินช์ จะชำ�ระค่าธรรมเนียมในการเป็น นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ของบล.ภัทร ในอัตราตามที่ตกลงกัน ในสัญญา ในส่วนของคำ�สั่งซื้อขายหลักทรัพย์ของเมอร์ริล ลินช์ เพื่อ บัญชีลูกค้ารายใหญ่ (Qualifying Clients) เมอร์ริล ลินช์ จะดำ�เนิน การอย่างสมเหตุสมผล (Reasonable Endeavors) ภายใต้เงื่อนไข ของการซื้อขายในราคาที่ดีที่สุด (Best Execution) เพื่อให้คำ�สั่ง ซื้อขายหลักทรัพย์ของเมอร์ริล ลินช์ เพื่อบัญชีลูกค้ารายใหญ่ ของตนเองทั้งหมดดำ�เนินการผ่าน บล.ภัทร เช่นกัน รวมทั้งชำ�ระ ค่าธรรมเนียมนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ ให้แก่บล.ภัทร ในอัตรา ร้ อ ยละ 60.0 ของค่ า ธรรมเนี ย มในการเป็ น นายหน้ า ซื้ อ ขาย หลักทรัพย์ของเมอร์ริล ลินช์ เพื่อบัญชีลูกค้ารายใหญ่ของตน ทั้งหมดผ่านทางบล.ภัทร ตามรายละเอียดที่ระบุไว้ในสัญญา ดังนั้น เมอร์รลิ ลินช์ จึงเป็นลูกค้าประเภทสถาบันต่างประเทศรายใหญ่ทสี่ ดุ ของบล.ภัทร (ทั้งในส่วนของการซื้อขายหลักทรัพย์เพื่อบัญชีของ ตนเองและตามคำ�สั่งของลูกค้าของตน) ทั้งนี้ หากบล.ภัทร มีความ ประสงค์ที่จะให้บริการนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์แก่ลูกค้าประเภท สถาบันการเงินต่างประเทศ (International Investment Bank or Financial Institution) หรือสถาบันทีป่ ระกอบธุรกิจแข่งขันกับเมอร์รลิ ลินช์ บล.ภัทร ต้องได้รับความยินยอมจากเมอร์ริล ลินช์ ในกรณีที่ จะให้บริการแก่ลูกค้าดังกล่าวโดยตรง
029
ลูกค้าประเภทสถาบันในประเทศของบล.ภัทร ได้แก่ บริษัท หลักทรัพย์จดั การกองทุน กองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ กองทุนส่วนบุคคล กองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ สำ�นักงานประกันสังคม บริษัท ประกันชีวิต และบริษัทประกันภัย โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บล.ภัทร มีลูกค้าประเภทสถาบันในประเทศจำ�นวน 44 รายที่ ทำ�การซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านบล.ภัทร อย่างน้อย 1 ครั้งในรอบ ระยะเวลา 1 ปี บล.ภั ท ร ให้ บ ริ การนายหน้ า ซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ แ ก่ ลู ก ค้ า บุคคลรายใหญ่ผ่านเจ้าหน้าที่การตลาด (Financial Consultant) และผู้ช่วยเจ้าหน้าที่การตลาด ซึ่งเป็นผู้ที่ ได้รับการขึ้นทะเบียน กับสำ�นักงาน ก.ล.ต. ให้สามารถทำ�หน้าที่เป็นผู้แนะนำ�การลงทุน ทั้งในหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน ตราสารหนี้ ตราสารอนุพันธ์ หรือหน่วยลงทุน ณ สิ้นปี 2556 บล.ภัทร มีสินทรัพย์ที่อยู่ภายใต้ การให้คำ�แนะนำ�การลงทุนของลูกค้าบุคคลรายใหญ่มูลค่ารวม 217,938 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 181,988 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2555 โดย ณ สิ้นปี 2556 บล.ภัทร มีบัญชีลูกค้าบุคคลทั้งสิ้น 9,290 บัญชี และมีบัญชีลูกค้าบุคคลที่ซื้อขายต่อเนื่องอย่างน้อย 1 ครั้ง ในรอบระยะเวลา 1 ปี จำ�นวน 4,656 บัญชี รายละเอียดตาม ตารางแสดงรายละเอี ย ดของมู ล ค่ า การซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ใ น ตลาดหลักทรัพย์ฯ รายได้คา่ ธรรมเนียมนายหน้าซือ้ ขายหลักทรัพย์ และส่วนแบ่งการตลาดของบล.ภัทร สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 นอกจากนี้ บล.ภัทร ยังได้เริ่มให้บริการวางแผนการเงินและ การลงทุนส่วนบุคคลแก่ลูกค้าบุคคลที่มีเงินลงทุนตั้งแต่ 2 - 30 ล้านบาท (Mass Affluent) ผ่านเจ้าหน้าที่การตลาด (Investment Advisor) ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนกับสำ�นักงาน ก.ล.ต. ให้ สามารถทำ�หน้าที่เป็นผู้แนะนำ�การลงทุนทั้งในหลักทรัพย์ประเภท ตราสารทุน และหน่วยลงทุน ณ สิ้นปี 2556 บล.ภัทร มีสินทรัพย์ที่ อยู่ภายใต้การให้คำ�แนะนำ�การลงทุนมูลค่ารวม 2,640 ล้านบาท มีบัญชีลูกค้าบุคคลทั้งสิ้น 311 บัญชี ในการให้บริการนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์แก่ลูกค้า บล.ภัทร ได้ใช้จุดเด่นในด้านงานวิจัยเพื่อสร้างความแตกต่างจากบริษัท หลักทรัพย์อื่นๆ โดยสายงานวิจัยของ บล.ภัทร ทำ�หน้าที่วิเคราะห์ เศรษฐกิจมหภาคและตราสารทุน รวมทัง้ ให้ค�ำ แนะนำ�ด้านการลงทุน ในหลักทรัพย์ของบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ แก่ลกู ค้า ของทั้ง บล.ภัทร และลูกค้าของเมอร์ริล ลินช์ ภายใต้สัญญาความร่วมมือด้านงานวิจัยระหว่างบล.ภัทร กับ เมอร์ริล ลินช์ นักวิเคราะห์ของ บล.ภัทร จะทำ�งานวิจัยที่เกี่ยวกับ ประเทศไทยในด้านเศรษฐกิจและการเมือง กลยุทธ์การลงทุน ตลอดจนบทวิเคราะห์หลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ฯ โดยเมอร์ริล ลินช์ จะนำ�บทวิจัยดังกล่าวเผยแพร่แก่ ลูกค้าของเมอร์ริล ลินช์ ในต่างประเทศภายใต้ชื่อของเมอร์ริล ลินช์
030
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
ตารางแสดงรายละเอียดของมูลค่าการซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ฯ รายได้ค่าธรรมเนียมนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ และส่วนแบ่งการตลาดของบล.ภัทร สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ลูกค้าสถาบัน ลูกค้าสถาบัน ลูกค้าบุคคล ในประเทศ ต่างประเทศ รายใหญ่ มูลค่ารวมการซื้อขายหลักทรัพย์ของ บล. ภัทร (ล้านบาท) 203,492.42 447,269.29 293,629.07 9.65(2) 8.58(3) 2.09 ส่วนแบ่งการตลาด(1) (ร้อยละ) รายได้ค่าธรรมเนียมนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ (ล้านบาท) 383.25 412.13 584.57 สัดส่วนค่าธรรมเนียมนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ (ร้อยละ) 27.77 29.87 42.36 ที่มา : ตลาดหลักทรัพย์ฯ และข้อมูล บล.ภัทร หมายเหตุ 1. ส่วนแบ่งการตลาดคำ�นวณจากมูลค่ารวมการซื้อขายหลักทรัพย์ของลูกค้าแต่ละประเภทของ บล.ภัทร หารด้วยมูลค่ารวมการซื้อขายหลักทรัพย์ ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ของลูกค้าประเภทนั้นๆ ตามที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ประกาศในแต่ละปีที่เกี่ยวข้อง 2. ส่วนแบ่งการตลาดของลูกค้าสถาบันในประเทศคำ�นวณจากมูลค่ารวมการซื้อขายหลักทรัพย์ของลูกค้าสถาบันในประเทศ หารด้วยมูลค่ารวมการ ซื้อขายหลักทรัพย์ของลูกค้าสถาบันในประเทศที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ประกาศหลังหักออกด้วยมูลค่ารวมการซื้อขายของบัญชีซื้อขายเพื่อบริษัท หลักทรัพย์ (Proprietary Account) 3. ส่วนแบ่งการตลาดของลูกค้าสถาบันต่างประเทศคำ�นวณจากมูลค่ารวมการซื้อขายหลักทรัพย์ของลูกค้าสถาบันต่างประเทศ หารด้วยมูลค่ารวม การซื้อขายหลักทรัพย์ของลูกค้าสถาบันต่างประเทศที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ประกาศหลังหักออกด้วยมูลค่ารวมการซื้อขายของลูกค้าทั่วไปที่เป็นชาว ต่างประเทศ
ขณะที่ บล.ภัทร จะเป็นผู้เผยแพร่งานวิจัยชิ้นเดียวกันแก่ลูกค้าของ บล.ภัทร ในประเทศไทย สำ � หรั บ การเป็ น นายหน้ า ซื้ อ ขายสั ญ ญาซื้ อ ขายล่ ว งหน้ า บล.ภั ท ร ได้ รั บ ใบอนุ ญ าตเพื่ อ ประกอบธุ ร กิ จ การเป็ น ตั ว แทน ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าจากสำ�นักงาน ก.ล.ต. รวมทั้งได้เข้า เป็นสมาชิกประเภทตัวแทนซือ้ ขายสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้ากับตลาด อนุพันธ์ และบริษัท สำ�นักหักบัญชี (ประเทศไทย) จำ�กัด โดยใน ปี 2556 บล.ภัทร มีรายได้ค่านายหน้าจากการเป็นตัวแทนซื้อขาย สัญญาซือ้ ขายล่วงหน้าจำ�นวน 75 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จาก 66 ล้านบาท ในปี 2555 และมีสว่ นแบ่งการตลาดในตลาดอนุพนั ธ์ (วัดตามจำ�นวน สัญญาที่ซื้อขาย) ในปี 2556 เท่ากับร้อยละ 9.16 นอกจากนี้ บล.ภัทร ยังได้ให้บริการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ (Securities Borrowing and Lending) ซึ่งได้รับ ใบอนุญ าต จากคณะกรรมการ ก.ล.ต. ให้ประกอบธุรกิจการยืมและให้ยืม หลักทรัพย์ (Principal) ทัง้ นี้ กลุม่ ลูกค้าของ บล.ภัทร ซึง่ เป็นผูใ้ ห้ยมื และ ผู้ยืมหลักทรัพย์ ประกอบด้วยลูกค้าประเภทสถาบัน ลูกค้าบุคคล รายใหญ่ และฝ่ายค้าหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของ บล.ภัทร โดย บล.ภัทร ทำ�หน้าที่เป็นคู่สัญญากับผู้ยืมและผู้ให้ยืม หลักทรัพย์ เป็นการให้บริการตามความประสงค์ของลูกค้า โดย ธุรกรรมการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์นี้มีส่วนช่วยพัฒนากลยุทธ์ ใน การลงทุนและเป็นการเสนอทางเลือกใหม่ให้กับนักลงทุน บล.เคเคเทรด ให้บริการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์แก่ ลูกค้าประเภทบุคคลทั่วไป ทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ทั้งประเภท บัญชีเงินสดและบัญชีมาร์จิ้น โดยลูกค้าสามารถใช้บริการซื้อขาย หลักทรัพย์ผ่านเจ้าหน้าที่ผู้แนะนำ�การลงทุน หรือส่งคำ�สั่งซื้อขาย ด้วยตนเองผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
ในปี 2556 บล.เคเคเทรด มีส่วนแบ่งการตลาดในการเป็น นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ในอันดับที่ 25 หรือคิดเป็นส่วนแบ่งการ ตลาดร้อยละ 1.30 ของมูลค่ารวมการซื้อขายหลักทรัพย์ของตลาด หลักทรัพย์ฯ ในรอบปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 บล.เคเคเทรด มีรายได้ค่านายหน้าจากการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์จำ�นวน 574 ล้านบาท และรายได้ค่านายหน้าจากการเป็นตัวแทนสัญญา ซื้อขายล่วงหน้าจำ�นวน 47 ล้านบาท 2. ธุรกิจวานิชธนกิจ (Investment Banking Business) บล.ภัทร ประกอบธุรกิจวานิชธนกิจ โดยให้บริการเป็นทีป่ รึกษา ทางการเงินและการจัดจำ�หน่ายหลักทรัพย์ บล.ภัทร เป็นหนึง่ ในผูน้ �ำ ในธุรกิจวานิชธนกิจ โดยได้ท�ำ หน้าที่ในการเป็นทีป่ รึกษาทางการเงิน และเป็นผู้จัดการการจัดจำ�หน่ายหลักทรัพย์ให้แก่หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และบริษัทชั้นนำ�ต่างๆ ของประเทศ ตัวอย่างผลงานที่ผ่านมาของ บล.ภัทร ได้แก่ การจัดจำ�หน่าย หลักทรัพย์ให้แก่ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) บริษทั การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ปตท. สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่าเทสโก้ โลตัส รีเทล โกรท บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท โรงกลัน่ นาํ้ มันระยอง จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ไทยเบฟเวอเรจ จำ�กัด (มหาชน) และกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชน ทางราง บีทีเอสโกรท เป็นต้น ในปี 2556 บล.ภัทร สามารถช่วยให้ลูกค้าสามารถระดมทุน ผ่านตลาดหลักทรัพย์ฯ เป็นมูลค่ารวมทั้งสิ้น 82,469 ล้านบาท โดย สามารถแบ่งประเภทการเสนอขายหลักทรัพย์ได้เป็น 2 ประเภท คือ
รายงานประจำ�ปี 2556
031
1. การเสนอขายหลักทรัพย์ให้แก่ประชาชนทั่วไป 2 รายการ มูลค่าของรายการ (ล้านบาท) กองทุนรวมโครงสร้างพืน้ ฐานระบบขนส่ง การเสนอขายหน่วยลงทุนเป็นครั้ง 62,510 • มวลชนทางราง บีทีเอสโกรท (BTSGIF) แรกต่อประชาชนทั่วไป • • บริษัท เอ็ม เค เรสโตรองค์ กรุ๊ป จำ�กัด การเสนอขายหุน้ สามัญเป็นครัง้ แรก 9,107 (มหาชน) (MK) ต่อประชาชนทั่วไป ชื่อผู้รับบริการ
รายละเอียดของโครงการ
ความสำ�เร็จในการดำ�เนินการ เป็น IPO ของกองทุนรวมโครงสร้าง พื้นฐานกองแรก เป็น IPO ที่มีมูลค่าของรายการสูงสุด ของประเทศไทย ได้รับรางวัล Finance Asia 2013 Country Awards - Best IPO in Asia -
2. การเสนอขายหุ้นสามัญแบบข้ามคืนให้แก่ผู้ลงทุนในวงจำ�กัด 1 รายการ มูลค่าของรายการ (ล้านบาท) บริษทั เซ็นทรัลพัฒนา จำ�กัด (มหาชน) การเสนอขายหุ้นสามัญในวงจำ�กัด 10,852 ชื่อผู้รับบริการ
รายละเอียดของโครงการ
นอกจากนี้ บล.ภัทร ยังเป็นผู้ที่มีบทบาทสำ�คัญในการเป็นที่ ปรึกษาทางการเงินให้กบั บริษทั ต่างๆ ในการควบรวมกิจการ การหา ผูร้ ว่ มทุนและพันธมิตรทางธุรกิจ การปรับโครงสร้างกิจการ และการ ให้บริการและคำ�แนะนำ�ตราสารทางการเงินต่างๆ โดยในปี 2556
ความสำ�เร็จในการดำ�เนินการ -
บล.ภัทร ได้ท�ำ หน้าทีเ่ ป็นทีป่ รึกษาทางการเงินในการการทำ�ธุรกรรม ซือ้ ขายสินทรัพย์และกิจการ หลายรายการ ซึง่ รวมถึงการเข้าซือ้ กิจการ ของธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) โดย Bank of Tokyo Mitsubishi UFJ ทีไ่ ด้รบั รางวัลจากองค์กรต่างประเทศทัง้ หมดสองรางวัล
มูลค่าของรายการ ความสำ�เร็จในการดำ�เนินการ (ล้านบาท) Bank of Tokyo - Mitsubishi UFJ Limited การเข้าซื้อกิจการของธนาคารกรุง 170,575 • ได้รับรางวัล Triple A 2013 Country ศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) Awards - Best Deal • ได้รับรางวัล Finance Asia 2013 Country Awards - Best Thailand Deal บริษัท สยามแม็คโคร จำ�กัด (มหาชน) ที่ ป รึ ก ษาทางการเงิ น อิ ส ระให้ 185,031 กั บ บริ ษั ท สยามแม็ ค โคร จำ � กั ด (มหาชน) ในการเข้าซื้อกิจการโดย บริษัท ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน) ชื่อผู้รับบริการ
รายละเอียดของโครงการ
032
ในปี 2556 มีการดำ�เนินการเข้าซือ้ และ/หรือควบรวมกิจการโดย บริษัทขนาดใหญ่หลายธุรกรรมเช่นการเข้าซื้อกิจการของธนาคาร กรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) โดย Bank of Tokyo-Mitsubishi UFJ ที่ บล.ภัทร ได้ทำ�หน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงิน และการเข้าซื้อ กิจการของ บริษัท สยามแม็คโคร จำ�กัด (มหาชน) โดย บริษัท ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน) ที่ บล.ภัทร ทำ�หน้าที่เป็นที่ปรึกษาทางการ เงินอิสระให้แก่ บริษัท สยามแม็คโคร จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปี 2557 นี้ บล.ภัทร จะดำ�เนินการเพื่อเน้นการเพิ่ม รายได้คา่ ธรรมเนียมในการเป็นทีป่ รึกษาทางการเงินในธุรกรรมการ ควบรวมกิจการ และการระดมทุนของบริษัทในประเทศผ่านตลาด หลักทรัพย์ฯ ในขณะเดียวกัน บล.ภัทร จะทำ�การตลาดในเชิงรุก มากขึ้น เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้าใหม่ รวมถึงบริษัทขนาดกลาง ซึ่งเดิมไม่ได้เป็นกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย โดยการเสนอผลิตภัณฑ์ที่ เฉพาะเจาะจงและเหมาะสมต่อลูกค้าแต่ละราย บล.ภัทร จะมุ่งเน้น ให้เห็นถึงประโยชน์ของการเข้าถึงช่องทางการระดมทุนโดยผ่าน ตลาดทุ น และยั ง คงมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะแนะนำ � ผลิ ต พั น ธ์ ท างการเงิ น รูปแบบใหม่ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ลูกค้า เช่น กองทุน รวมโครงสร้ า งพื้ น ฐานกองทุ น รวมอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ และหุ้ น กู้ อนุพันธ์ โดย บล.ภัทร จะประสานงานกับธนาคารเกียรตินาคิน พันธมิตรทางธุรกิจต่างๆ และผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ในการนำ�เสนอ ผลิตภัณฑ์สำ�หรับลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่ (Wholesale Banking) ที่ครบวงจรและหาโอกาสในการขยายธุรกิจให้กับลูกค้า ซึ่งรวมถึง โอกาสในการเข้าซื้อหรือควบรวมกิจการทั้งในและต่างประเทศ 3. ธุรกิจการลงทุน (Investment Business) แบ่งออกเป็น 3 ประเภทดังนี้ 3.1 การลงทุนระยะปานกลางและระยะยาว ดำ�เนินการโดยฝ่ายลงทุน (Direct Investment Department) ของทุ น ภั ท ร ภายใต้ กำ � กั บ ดู แ ลของคณะกรรมการการลงทุ น (Investment Committee) ของธนาคาร โดยคณะกรรมการการ ลงทุนจะพิจารณาอนุมัติการเข้าลงทุนหรือจำ�หน่ายเงินลงทุนใน แต่ละคราวและพิจารณาอัตราผลตอบแทนและระดับความเสี่ยงที่ เหมาะสม ฝ่ายลงทุนสามารถลงทุนได้ในหลักทรัพย์ประเภททุน หรือกึ่งทุน ทั้งในและนอกตลาดหลักทรัพย์ฯ รวมถึงการลงทุน ทั้งในและต่างประเทศ โดยมีระยะเวลาการลงทุนเฉลี่ยระหว่าง 3-5 ปี ทั้งนี้ ฝ่ายลงทุนจะลงทุนในหลักทรัพย์ที่เชื่อว่ามีราคาตํ่า กว่ามูลค่าทางปัจจัยพื้นฐานที่ควรจะเป็น (Undervalued Stock) ซึ่ง กิจการดังกล่าวจะต้องมีผบู้ ริหารทีม่ คี วามสามารถ มีโครงสร้างทาง ธุรกิจ (Business Model) ที่ดี มีโอกาสที่จะเติบโตทางธุรกิจ และมี ศักยภาพในการสร้างผลตอบแทนต่อทุนที่ดี (Return on Invested Capital) นอกจากนี้ กิจการดังกล่าวจะต้องมีความสามารถใน การแข่งขันที่ยั่งยืน (Sustainable Competitive Advantage) ใน การพิจารณาการลงทุนฝ่ายลงทุนจะทำ�การเข้าเยี่ยมชมกิจการ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
(Company Visit) การสัมภาษณ์ผู้บริหาร การวิเคราะห์สภาวะ อุตสาหกรรม การวิเคราะห์มูลค่าพื้นฐานของหลักทรัพย์ การศึกษา ระบบการควบคุมภายในและระบบธรรมาภิบาลของบริษัทที่จะเข้า ลงทุน และความเสีย่ งในการลงทุน เป็นต้น ทัง้ นี้ เพือ่ ให้แน่ใจว่าการ ลงทุนดังกล่าวสามารถให้ผลตอบแทนที่ดีในความเสี่ยงที่เหมาะสม ในการบริหารความเสี่ยง ฝ่ายลงทุนของทุนภัทรมีนโยบาย วิเคราะห์การลงทุน ทั้งในด้านโอกาสในการสร้างผลตอบแทนและ ความเสี่ยงจากการลงทุน โดยจะกำ�หนดและจัดเตรียมข้อเสนอการ ลงทุน ซึ่งจะรวมถึงการกำ�หนดระยะเวลา เงื่อนไข และแนวทาง ในการจำ�หน่ายเงินลงทุน โดยที่คณะกรรมการการลงทุนจะต้อง พิจารณาอนุมัติข้อเสนอการลงทุนก่อนการลงทุนทุกครั้ง ซึ่งจะ แตกต่างกันตามแต่ละกรณี และเมื่อลงทุนแล้ว คณะกรรมการ การลงทุนจะมอบหมายให้ฝ่ายบริหารความเสี่ยงติดตามการลงทุน เป็นรายวันภายใต้กรอบการบริหารความเสีย่ งทีก่ �ำ หนด โดยกำ�หนด ให้มีการแจ้งหรือเรียกประชุมคณะกรรมการการลงทุนเพื่อทบทวน การลงทุนทุกครัง้ ทีร่ าคาตลาดของหลักทรัพย์ทลี่ งทุนเกิดผลขาดทุน ถึงระดับที่กำ�หนดไว้ หรือมีการเปลี่ยนแปลงในการถือครองการ ลงทุนที่ทำ�ให้เกิดความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของการลงทุนที่มาก เกินกำ�หนด (Concentration Risk) รวมทั้งมีการประเมินความ เสี่ยงของเงินลงทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของราคาหลักทรัพย์ (Market Risk) เป็นระยะ นอกจากนี้ ฝ่ายลงทุนของทุนภัทรจะคอย ติดตามผลการดำ�เนินงานของบริษัทที่ได้เข้าลงทุน เพื่อตรวจสอบ และประเมินการลงทุนอยู่เสมอ และอาจใช้เครื่องมือทางการเงิน ต่างๆ เช่น ตราสารอนุพนั ธ์ ในการป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุน ได้ โดยการตัดสินใจในการใช้เครื่องมือทางการเงินต่างๆ จะอยู่ใน กรอบการพิจารณาของคณะกรรมการการลงทุน ทั้งนี้ ทุนภัทรได้ให้ความสำ�คัญเป็นอย่างมากในเรื่องความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflicts of Interest) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้ข้อมูลภายใน เพื่อมิให้เกิดความได้เปรียบหรือเสียเปรียบ ในการลงทุนของทุนภัทร และการลงทุนของลูกค้าของ บล.ภัทร ดังนั้น ฝ่ายลงทุนของทุนภัทรจึงเป็นเสมือนนักลงทุนทั่วไปที่เป็น ลูกค้าคนหนึ่งของบล.ภัทร และไม่มีสิทธิได้รับข้อมูลหรือบทวิจัยที่ แตกต่างจากลูกค้ารายอื่นของบล.ภัทร นอกจากนี้ ยังมีการกำ�หนด นโยบายในการกำ�กับดูแลการใช้ขอ้ มูลภายใน การซือ้ ขายหลักทรัพย์ ของพนักงาน และ Chinese Wall ระหว่างสองบริษัท เพื่อให้เกิด ความโปร่งใส ภายใต้ธรรมาภิบาลที่ดี และขจัดปัญหาใดๆ ทางด้าน ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจมีขึ้นในอนาคต สำ�หรับปี 2556 คณะกรรมการบริษัททุนภัทรได้กำ�หนดวงเงิน ในการลงทุนเพิม่ สุทธิในปี 2556 เป็นจำ�นวนไม่เกิน 1,200 ล้านบาท ทั้งนี้ นโยบายดังกล่าวอาจปรับเปลี่ยนไปตามแผนการดำ�เนินธุรกิจ ของกลุ่มธุรกิจตลาดทุน และสภาวะตลาดทุน ณ สิ้นปี 2556 ฝ่าย ลงทุนของทุนภัทรมีเงินลงทุนในหลักทรัพย์คงเหลือมูลค่า 1,597
รายงานประจำ�ปี 2556
ล้านบาท มีผลตอบแทนจากการลงทุนจำ�นวน 47 ล้านบาท ซึ่ง ประกอบด้วยรายได้จากเงินปันผล 62 ล้านบาท กำ�ไรจากการซื้อ ขายหลักทรัพย์ (Realized Gain) จำ�นวน 559 ล้านบาท และมี การเปลี่ยนแปลงของกำ�ไรที่ยังไม่เกิดขึ้น (Change in Unrealized Gain) เป็นรายการขาดทุน 574 ล้านบาท 3.2 การค้าหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ดำ�เนินการโดยฝ่ายค้าหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (Equity & Derivatives Trading Department) ของ บล.ภัทร ปัจจุบนั มีกลยุทธ์การลงทุน 3 ประเภท ได้แก่ 3.2.1 Arbitrage Trade เป็นการลงทุนระยะสั้นไม่เกิน 1 ปี ในหลักทรัพย์ประเภททุน (Equity) และกึ่งทุน (Equity-Link) ในตลาดหลักทรัพย์ฯ และตลาด อนุพันธ์ อันได้แก่ หลักทรัพย์ที่มีรายชื่ออยู่ในดัชนี SET100 หรือ หลักทรัพย์ที่มีมูลค่าตลาดตั้งแต่ 3,000 ล้านบาทขึ้นไป สัญญา ซื้อขายล่วงหน้าและออปชั่น (รวมถึงหลักทรัพย์อ้างอิงของสัญญา ซื้อขายล่วงหน้าและออปชั่นนั้นๆ) และ ETF ภายใต้หลักการ ลงทุนแบบ Market Neutral มุ่งเน้นการหากำ�ไรจากผลต่างของ ราคาหลักทรัพย์อ้างอิงและตราสารอนุพันธ์ของหลักทรัพย์นั้น รวมถึงหลักทรัพย์หรือตราสารอนุพนั ธ์ทมี่ หี ลักทรัพย์อา้ งอิงเดียวกัน ภายใต้กรอบการลงทุนและความเสี่ยงที่อนุมัติโดยคณะกรรมการ การลงทุนของธนาคารและคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้ ได้ผลตอบแทนในอัตราตามที่คณะกรรมการการลงทุนกำ�หนด โดย จะทำ�การซื้อและขายหลักทรัพย์และ/หรือตราสารอนุพันธ์ เพื่อลด ความเสี่ยงด้านราคาของตลาดโดยรวมที่อาจเกิดขึ้น 3.2.2 System Trade เป็นการลงทุนระยะสั้นไม่เกิน 1 ปีในหลักทรัพย์ประเภททุน (Equity) และกึ่งทุน (Equity-Link) ในตลาดหลักทรัพย์ฯ และตลาด อนุพันธ์ อันได้แก่ หลักทรัพย์ที่มีรายชื่ออยู่ในดัชนี SET100 หรือ หลักทรัพย์ที่มีมูลค่าตลาดตั้งแต่ 3,000 ล้านบาทขึ้นไป สัญญา ซื้อขายล่วงหน้าและออปชั่น (รวมถึงหลักทรัพย์อ้างอิงของสัญญา ซื้อขายล่วงหน้าและออปชั่นนั้นๆ) และ ETF โดยอาศัยข้อมูลจาก การศึกษาแบบจำ�ลองและทดสอบความสัมพันธ์ดา้ นราคาหรือข้อมูล ทางสถิติของตราสารที่จะลงทุน เพื่อหาลักษณะและโอกาสในการ สร้างผลกำ�ไรจากความแตกต่างหรือพฤติกรรมการเปลีย่ นแปลงของ ราคา โดยฝ่ายค้าหลักทรัพย์และสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้าจะทำ�การซือ้ และ/หรือขายหลักทรัพย์และ/หรือตราสารอนุพันธ์อย่างเป็นระบบ ตามแบบจำ�ลองทางคณิตศาสตร์ 3.2.3 Financial Product and Service เป็นการเสนอขายและให้บริการเกี่ยวกับตราสารทางการเงิน ซึ่ ง ตราสารทางการเงิ น ที่ ฝ่ า ยค้ า หลั ก ทรั พ ย์ แ ละสั ญ ญาซื้ อ ขาย ล่วงหน้าได้ท�ำ การออกและเสนอขายในปัจจุบนั ได้แก่ หุน้ กูอ้ นุพนั ธ์ ใบสำ�คัญแสดงสิทธิอนุพนั ธ์ และสัญญาอนุพนั ธ์ทซี่ อื้ ขายนอกตลาด
033
หลักทรัพย์ฯ (OTC Derivatives) โดยหุ้นกู้อนุพันธ์เป็นตราสารหนี้ ระยะสั้นที่ผลตอบแทนของตราสารจะอ้างอิงกับหลักทรัพย์อ้างอิง ตามรายละเอี ย ดที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นสั ญ ญา ส่ ว นใบสำ � คั ญ แสดงสิ ท ธิ อนุ พั น ธ์ เ ป็ น ตราสารที่ ฝ่ า ยค้ า หลั ก ทรั พ ย์ แ ละสั ญ ญาซื้ อ ขาย ล่ ว งหน้ า นำ � ขึ้ น ทะเบี ย นเพื่ อ ซื้ อ ขายผ่ า นระบบของตลาด หลั ก ทรั พ ย์ ฯ โดยมี ทั้ ง ประเภทใบสำ � คั ญ แสดงสิ ท ธิ อ นุ พั น ธ์ ที่ ใ ห้ สิ ท ธิ ซื้ อ และใบสำ � คั ญ แสดงสิ ท ธิ อ นุ พั น ธ์ ที่ ใ ห้ สิ ท ธิ ข าย และสั ญ ญาอนุ พั น ธ์ ที่ ซื้ อ ขายนอกตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ (OTC Derivatives) เป็นสัญญาอนุพันธ์ที่เป็นการเข้าทำ�สัญญาระหว่าง คู่ ค้ า ที่ กำ � หนดให้ มี ก ารให้ ผ ลตอบแทนอ้ า งอิ ง กั บ หลั ก ทรั พ ย์ อ้างอิงตามรายละเอียดที่ระบุไว้ในสัญญา ในการออกและเสนอ ขายตราสารดั ง กล่ า ว ฝ่ า ยค้ า หลั ก ทรั พ ย์ แ ละสั ญ ญาซื้ อ ขาย ล่ ว งหน้ า จะเป็ น ผู้ ป ระเมิ น และกำ � หนดราคาเสนอซื้ อ และ/หรื อ ราคาเสนอขาย โดยอ้างอิงกับปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้ ผลตอบแทนในอัตราที่เหมาะสม ในการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ กำ�หนดนโยบายเกีย่ วกับการจำ�กัดปริมาณการลงทุนตามสภาพคล่อง ของหลักทรัพย์ทลี่ งทุน กำ�หนดเพดานมูลค่าความเสีย่ ง (VaR Limit) และเพดานสำ�หรับผลขาดทุนสะสม และมอบหมายให้ฝ่ายบริหาร ความเสี่ยง บล.ภัทร ติดตามการลงทุนและจัดทำ�รายงานเป็น รายวันเพื่อส่งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ หากมูลค่าการลงทุนหรือค่า ความเสี่ยงใดมีค่าเกินกว่าวงเงินหรือกรอบความเสี่ยงที่ได้กำ�หนด ไว้ ฝ่ายค้าหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าจะต้องลดฐานะ การลงทุนดังกล่าวให้ลงมาอยู่ภายใต้วงเงินหรือกรอบความเสี่ยงที่ กำ�หนดภายในเวลาที่กำ�หนดไว้ สำ � หรั บ ปี 2556 ฝ่ า ยค้ า หลั ก ทรั พ ย์ แ ละสั ญ ญาซื้ อ ขาย ล่วงหน้ามีวงเงินสดสูงสุดสำ�หรับการลงทุนที่ได้รับการอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัท บล.ภัทร เป็นจำ�นวนไม่เกิน 5,000 ล้านบาท และคณะกรรมการการลงทุนได้กำ�หนดวงเงินสูงสุดภายในกรอบ ที่คณะกรรมการบริษัท บล.ภัทร ได้อนุมัติไว้ โดยแบ่งประเภท ตามกลยุทธ์การลงทุน 3 กลุม่ คือ 1) ไม่เกิน 5,000 ล้านบาท สำ�หรับ การลงทุนโดยใช้กลยุทธ์ Arbitrage Trade (สามารถโยกวงเงินจาก การลงทุนโดยใช้กลยุทธ์อื่นมาได้เนื่องจากการลงทุนโดยใช้กลยุทธ์ Arbitrage Trade มีความเสี่ยงตํ่ากว่า) 2) ไม่เกิน 300 ล้านบาท สำ�หรับการลงทุนโดยใช้กลยุทธ์ System Trade และ 3) ไม่เกิน 2,000 ล้านบาท สำ�หรับกลยุทธ์ Financial Product and Service (ไม่นับรวมมูลค่าหุ้นกู้อนุพันธ์ที่เสนอขายได้) ณ สิ้ น ปี 2556 ฝ่ า ยค้ า หลั ก ทรั พ ย์ แ ละสั ญ ญาซื้ อ ขาย ล่ ว งหน้ า มี มู ล ค่ า เงิ น ลงทุ น สุ ท ธิ ค งเหลื อ เป็ น จำ � นวน 4,205 ล้านบาท มียอดมูลค่าหุ้นกู้อนุพันธ์คงค้างสุทธิเป็นจำ�นวน 1,509 ล้านบาท รวมเป็นมูลค่าเงินสดที่ใช้สำ�หรับการลงทุนเป็นจำ�นวน 2,696 ล้านบาท
034
3.3 การลงทุนระยะสัน้ โดยใช้กลยุทธ์เฮดจ์ฟนั ด์ (Hedge Fund) ดำ�เนินการโดยฝ่ายเฮดจ์ฟันด์ของ บล.ภัทร เป็นการลงทุน ในหลักทรัพย์ประเภททุนและตราสารอนุพันธ์ โดยอาศัยกลยุทธ์ การลงทุนอย่างเป็นระบบ (Systematic Strategy) การวิเคราะห์ เชิงปริมาณ (Quantitative) และการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม มีระยะเวลาในการลงทุนสั้นไม่เกิน 1 ปี โดยมุ่งหมายให้ได้ผล ตอบแทนจากการลงทุนในอัตราตามทีค่ ณะกรรมการการลงทุนของ ธนาคารกำ�หนด ในการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กำ�หนดให้มีการติดตามสอบทานสัดส่วนการลงทุน มูลค่าความ เสี่ยงของพอร์ตลงทุน และผลการดำ�เนินงานในทางสถิติ จำ�กัด ปริมาณการลงทุนตามสภาพคล่องของหลักทรัพย์ทลี่ งทุน จำ�กัดผล ขาดทุนว่าเมือ่ มีผลขาดทุนสะสมเกินมูลค่าทีค่ ณะกรรมการการลงทุน ของธนาคารกำ�หนด ฝ่ายเฮดจ์ฟันด์จะหยุดทำ�การซื้อขายและเข้า รายงานกับคณะกรรมการการลงทุนของธนาคาร เพื่อพิจารณาการ ลงทุนในขั้นต่อไป โดยฝ่ายบริหารความเสี่ยง บล.ภัทร ทำ�หน้าที่ ติดตามและรายงานให้ฝ่ายจัดการทราบเป็นรายวัน สำ�หรับปี 2556 ฝ่ายเฮดจ์ฟันด์มีวงเงินสำ�หรับลงทุนที่ได้รับ การอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท บล.ภัทร จำ�นวนวงเงินเริ่ม ต้นไม่เกิน 4,460 ล้านบาท โดย ณ สิ้นปี 2556 ฝ่ายเฮดจ์ฟันด์มี มูลค่าทรัพย์สินสุทธิรวมเป็นจำ�นวน 3,417 ล้านบาท 3.4 ธุรกิจจัดการลงทุน (Asset Management Business) ดำ�เนินการโดย 2 หน่วยงาน ได้แก่ ฝ่ายกองทุนส่วนบุคคลของ บล.ภัทร และบลจ.ภัทร บล.ภัทร ได้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการ กองทุ น ส่ ว นบุ ค คล โดยกลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมายของ บล.ภั ท ร สำ�หรับธุรกิจจัดการกองทุนส่วนบุคคลครอบคลุมทั้งบุคคลธรรมดา นิติบุคคล ทั้งชาวไทยและต่างประเทศ โดยปัจจุบนั มุง่ เน้นการลงทุน ในประเทศเป็นหลัก ธุรกิจจัดการกองทุนส่วนบุคคลเป็นการให้บริการด้านการ บริหารทรัพย์สินตามที่ ได้รับมอบหมายจากลูกค้า โดยนโยบาย การลงทุนสามารถกำ�หนดให้เป็นไปตามความต้องการของลูกค้า แต่ละราย เพื่อให้สอดคล้องกับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ โดยผู้จัดการ กองทุนจะตัดสินใจลงทุนเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากหลักทรัพย์ ตามนโยบายและข้อตกลงที่ลูกค้าให้ไว้ ทั้งนี้ ผลตอบแทนจาก การให้บริการอยู่ในรูปค่าธรรมเนียมตามที่ได้ตกลงกันไว้ในสัญญา จัดการกองทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บล.ภัทร มีกองทุนส่วนบุคคล ภายใต้ การจัดการรวม 108 กองทุน มูลค่าทรัพย์สินสุทธิรวม 4,414 ล้านบาท บล.ภัทร คำ�นึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของลูกค้าเป็นสำ�คัญ จึง ให้ความสำ�คัญเป็นอย่างมากในเรื่องความขัดแย้งทางผลประโยชน์
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
และการควบคุมข้อมูลภายใน เพื่อมิ ให้เกิดความได้เปรียบหรือ เสียเปรียบในการลงทุนของบริษัท การลงทุนของลูกค้า และการ จัดการกองทุนส่วนบุคคลเพื่อลูกค้า บล.ภัทร ถือว่าฝ่ายกองทุน ส่วนบุคคลเป็นเสมือนนักลงทุนทั่วไปที่เป็นลูกค้าคนหนึ่ง ซึ่งทำ�ให้ ฝ่ายกองทุนส่วนบุคคลสามารถพิจารณาเลือกทำ�ธุรกรรมในการ ซื้อขายหลักทรัพย์กับบริษัทหลักทรัพย์อื่นได้ รวมถึงการใช้บท วิเคราะห์วิจัยจากบริษัทหลักทรัพย์หรือหน่วยงานอื่นใดนอกเหนือ จากบล.ภัทร ได้อย่างอิสระ อีกทั้งยังมีการทำ�การศึกษาวิเคราะห์ การลงทุนด้วยตัวเองโดยส่วนงานวิเคราะห์การลงทุนของฝ่ายกองทุน ส่วนบุคคล โดยการออกสัมภาษณ์ผู้บริหาร เยี่ยมชมกิจการ หรือ หน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้ได้มาซึ่งมุมมองการลงทุนที่เป็นประโยชน์ ต่อลูกค้ามากที่สุด บลจ.ภัทร ประกอบธุรกิจจัดการกองทุนทุกประเภท ภายใต้ ใบอนุญ าตประกอบกิจ การจัดการกองทุนรวม และใบอนุ ญ าต ประกอบธุรกิจจัดการกองทุนส่วนบุคคล ให้บริการด้านการจัดการ ลงทุนแก่ลูกค้าบุคคลทั่วไปหรือลูกค้าองค์กร นิติบุคคลที่สนใจการ ลงทุนในกองทุนรวม กองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ หรือกองทุนส่วนบุคคล ทีผ่ า่ นมา บลจ.ภัทร มุง่ เน้นการจัดการกองทุนรวมและกองทุน อสังหาริมทรัพย์เป็นหลัก โดย ณ สิ้นปี 2556 บลจ.ภัทร มีมูลค่า ทรัพย์สินสุทธิภายใต้การบริหารจัดการรวม 24,725 ล้านบาท ประกอบด้วยกองทุนทั้งหมด 26 กองทุน ธุรกิจธนบดีธนกิจ ให้บริการด้านการบริหารจัดการทางการเงิน การให้คำ�ปรึกษา ด้านการลงทุน รวมถึงการเป็นตัวแทนขายและรับซือ้ คืนหน่วยลงทุน เพือ่ ตอบสนองความต้องการแก่กลุม่ ลูกค้าบุคคลสินทรัพย์สงู (High Net Worth Individual) ธนาคารได้ ร วบรวมผลิ ต ภั ณ ฑ์ ด้ า นเงิ น ฝากและการลงทุ น ที่หลากหลาย เพื่อนำ�เสนอให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์เงินฝากของธนาคารเอง และผลิตภัณฑ์ดา้ น การลงทุน ประกอบด้วย กองทุนรวมทุกประเภท ได้แก่ ตราสารทุน ตราสารหนี้ สินค้าโภคภัณฑ์ ตราสารอนุพนั ธ์ และ อสังหาริมทรัพย์ และผลิตภัณฑ์ประกันชีวิต ทั้งแบบสะสมทรัพย์ บำ�นาญ คุ้มครอง ชีวิต นอกจากนี้ ยังมีบริการ E-Banking บริการด้านที่ปรึกษา ทางการเงิน และบริการด้านธุรกรรมทางการเงิน ธนาคารเกียรตินาคินเป็นตัวแทนจำ�หน่ายกองทุนรวมของ บริษัทจัดการกองทุนต่างๆ และเป็นพันธมิตรกับบริษัทประกันชีวิต ให้บริการผลิตภัณฑ์ประกันชีวิต (Bancassurance) ธุรกิจบริหารสินทรัพย์ ดำ�เนินการโดยธนาคารและกองทุนรวม 8 กอง ซึ่งเป็นบริษัท ย่อยที่ธนาคารถือหน่วยลงทุน ธนาคารได้เริ่มทำ�ธุรกิจบริหารหนี้ใน
รายงานประจำ�ปี 2556
035
ปี 2542 จากการประมูลสิทธิเรียกร้องที่เกิดจากการประกอบธุรกิจ ของสถาบันการเงินมาจากองค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการ เงิน (ปรส.) และระหว่างปี 2546 - 2549 ธนาคารได้ประมูลหนี้จาก กรมบังคับคดี ซึง่ เป็นหนีท้ อี่ ยู่ในกระบวนการทางกฎหมาย และในปี 2553 ธนาคารได้ซอื้ หน่วยลงทุนของกองทุนรวมแกมม่า แคปปิตอล และกองทุนรวมบางกอก แคปปิตอล ซึ่งมีลักษณะการดำ�เนินธุรกิจ เช่นเดียวกับกองทุนรวมอื่นๆ ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของธนาคาร ธุรกิจบริหารสินทรัพย์ ประกอบด้วย ฝ่ายจัดการหนี้ ฝ่าย สนับสนุนการบริหารหนี้ ทำ�หน้าที่ดูแลและเจรจาปรับโครงสร้างหนี้ และฝ่ายบริหารทรัพย์สนิ รอขายรับผิดชอบการขายทรัพย์สนิ รอขาย โดยมีรายละเอียดทรัพย์รอขายใน www.kkasset.com ให้กับลูกค้า ผู้สนใจค้นหาทรัพย์สินตามประเภทของทรัพย์สิน ทำ�เล พื้นที่ หรือ ช่วงราคาได้ตามต้องการ การตลาดและภาวะการแข่งขัน
ช่องทางการให้บริการ กลุ่มธุรกิจมีช่องทางการให้บริการโดยตรงผ่าน 4 บริษัท คือ ธนาคาร บล.ภัทร บล.เคเคเทรด และบลจ.ภัทร นอกจากนี้ ยังมี ตัวแทนจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินบางประเภท โดย มีรายละเอียดดังนี้ 1. ธนาคารเกียรตินาคิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ธนาคารมีสาขารวมทัง้ สิน้ 87 สาขา (รวมสำ�นักงานใหญ่) โดยเน้นเปิดสาขาในกรุงเทพฯ และปริมณฑล เป็นส่วนใหญ่ เพื่อรองรับธุรกรรมเงินฝาก และยังคงเพิ่มสาขาใน ต่างจังหวัดเพือ่ รองรับการเติบโตของสินเชือ่ ให้ครอบคลุมกลุม่ ลูกค้า เป้าหมาย ควบคู่กับการขยายฐานลูกค้าเงินฝากไปยังต่างจังหวัด ทั้งนี้ จำ�นวนสาขาของธนาคารแบ่งตามภูมิภาค เป็นดังนี้ ภาค กรุงเทพฯ และปริมณฑล กลาง ตะวันออก ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต้ เหนือ รวม
จำ�นวนสาขา 34 10 7 16 8 12 87
นอกจากนี้ ธนาคารยังมีศนู ย์ประมูลรถยนต์ 2 แห่ง ได้แก่ ศูนย์ ประมูลรถยนต์ ถนนบางนา-ตราด กม.8 และจังหวัดอุดรธานี เพื่อ สามารถรองรับการประมูลรถได้อย่างทั่วถึงทุกภูมิภาค นอกจากนี้ สายเครือข่ายการขายและการบริการของธนาคาร ทำ�หน้าที่กำ�หนด ออกแบบ พัฒนาช่องทางบริการ และสร้าง เครือข่ายการขายให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ครอบคลุม
การบริการผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ เสมือนเป็นธนาคารส่วน ตัวตลอด 24 ชั่วโมงให้แก่ลูกค้า ได้แก่ บริการ เคเค เอทีเอ็ม (KK ATM service) ลูกค้าสามารถใช้บริการได้ที่เครื่อง ATM ของ ทุกธนาคารในเครือข่าย ATM POOL ทัว่ ประเทศ บริการธนาคารทาง อินเทอร์เน็ต (KK E-Banking Service) ลูกค้าสามารถทำ�ธุรกรรม ออนไลน์พื้นฐาน บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือ (KK Alert Service) เป็นบริการแจ้งเตือนธุรกรรมทางการเงินผ่านระบบ SMS ไปยังโทรศัพท์มือถือของลูกค้า ธนาคารยังมีศูนย์บริการลูกค้า (KK Contact Center) โทร. 0-2680-3333 คอยให้บริการต่างๆ ผ่านระบบโทรศัพท์ ตอบรั บ อั ต โนมั ติ ทุ กวั น การสอบถามข้ อ มู ล ผ่ า นเว็ บ ไซต์ ข อง ธนาคาร (www.kiatnakin.co.th) 2. บล.ภัทร ให้บริการผ่านสำ�นักงานใหญ่ ที่อาคารสำ�นักงานเมืองไทยภัทร 1 252/6 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 0-2305-9000 3. บล.เคเคเทรด (เดิมชื่อ บล.เกียรตินาคิน) ให้บริการผ่านสำ�นักงานใหญ่ที่ ชัน้ 7 อาคารอัมรินทร์ทาวเวอร์ และสำ�นักงานสาขาอีก 11 แห่ง นอกจากนี้ ลูกค้าสามารถติดต่อ ฝ่ายบริการลูกค้า โทร. 0-2680-2888 ทั้งนี้ สาขา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีดังนี้ ภาค กรุงเทพฯ และ ปริมณฑล ต่างจังหวัด
จำ�นวน สาขา 4 อโศก บางนา นนทบุรี 8
ขอนแก่น เชียงใหม่ ระยอง ชลบุรี พิษณุโลก สมุทรสาคร หาดใหญ่ นครศรีธรรมราช
4. บลจ.ภัทร (เดิมชื่อ บลจ.เกียรตินาคิน) มีช่องทางการจัดจำ�หน่ายกองทุนต่างๆ ผ่านสำ�นักงานใหญ่ ตั้งอยู่ชั้น 25 อาคารเมืองไทย-ภัทร คอมเพล็กซ์ ทาวน์เวอร์ บี 252/122 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 0-2305- 9800 และดำ�เนินการผ่านตัวแทนสนับสนุน การขายและรับซือ้ คืนหน่วยลงทุน เช่น ธนาคารพาณิชย์ และบริษทั หลักทรัพย์ ตามทีร่ ะบุไว้ในหนังสือชีช้ วน เพือ่ กระจายฐานลูกค้าและ เพิ่มช่องทางการเข้าถึงลูกค้าได้กว้างขวางยิ่งขึ้น สภาวะตลาดและการแข่งขัน 1. ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ระบบธนาคารพาณิชย์ของไทย ประกอบด้วย ธนาคารพาณิชย์ จำ � นวน 14 แห่ ง เป็ น ธนาคารพาณิ ช ย์ ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาด
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
036
ตารางแสดงสินทรัพย์ เงินฝาก และเงินให้สินเชื่อสุทธิ ณ สิ้นปี 2556 ของระบบธนาคารพาณิชย์ไทย ลำ�ดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.
ธนาคารพาณิชย์
กรุงเทพ กรุงไทย ไทยพาณิชย์ กสิกรไทย กรุงศรีอยุธยา ธนชาต ทหารไทย ยูโอบี ทิสโก้ ซีไอเอ็มบี ไทย สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดไทย เกียรตินาคิน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ไอซีบีซี (ไทย) รวม รวมธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ 4 แห่ง รวมธนาคารพาณิชย์ขนาดกลาง 3 แห่ง รวมธนาคารพาณิชย์ขนาดเล็ก 7 แห่ง
สินทรัพย์ เงินฝาก เงินให้สินเชื่อสุทธิ ส่วนแบ่งตลาด ส่วนแบ่งตลาด ส่วนแบ่งตลาด (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) 2,502,750 17.7 1,871,061 18.3 1,615,612 17.0 2,502,231 17.7 1,884,262 18.4 1,654,526 17.4 2,383,608 16.9 1,820,728 17.8 1,669,018 17.6 2,092,060 14.8 1,532,588 15.0 1,380,089 14.5 1,074,348 7.6 768,390 7.5 801,552 8.4 992,290 7.0 722,262 7.1 728,985 7.7 765,345 5.4 529,664 5.2 467,357 4.9 408,027 2.9 234,868 2.3 248,001 2.6 342,030 2.4 265,548 2.6 275,052 2.9 278,362 2.0 152,273 1.5 163,751 1.7 254,833 1.8 103,361 1.0 99,420 1.0 234,295 1.7 146,125 1.4 184,720 1.9 148,719 1.1 109,948 1.1 102,216 1.1 148,128 1.0 83,734 0.8 102,730 1.1 14,127,027 100.0 10,224,812 100.0 9,493,027 100.0 9,480,648 67.1 7,108,639 69.5 6,319,245 66.6 2,831,983 20.0 2,020,316 19.8 1,997,893 21.0 1,814,395 12.8 1,095,857 10.7 1,175,889 12.4
ที่มา : รายการย่อแสดงสินทรัพย์และหนี้สิน (ธ.พ. 1.1) ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2556
หลักทรัพย์ฯ จำ�นวน 11 แห่ง โดยสามารถจัดอันดับตามขนาดของ สินทรัพย์ เงินฝาก และเงินให้สินเชื่อสุทธิ ตามรายงานย่อแสดง ทรัพย์สินและหนี้สิน (ธ.พ.1.1) ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2556 ได้ ดังตารางแสดงสินทรัพย์ เงินฝาก และเงินให้สินเชื่อสุทธิ ณ สิ้นปี 2556 ของระบบธนาคารพาณิชย์ไทย ปี 2556 ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ยังคงเติบโตต่อเนื่องสอดคล้อง กับการขยายตัวของเศรษฐกิจทีช่ ะลอตัวลงอยูท่ ปี่ ระมาณร้อยละ 3.0 ในปี 2556 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 6.5 ในปี 2555 ตามการ บริโภคที่ชะลอตัวลงมาก เนื่องจากการเร่งการบริโภคในปีก่อนหน้า ประกอบกับภาระหนี้สินภาคครัวเรือนและค่าครองชีพสูงขึ้น เช่น เดียวกับการลงทุนภาคเอกชนที่อ่อนตัวลง ภาคการส่งออกหดตัว จากการฟื้นตัวของอุปสงค์และราคาสินค้าในตลาดโลกยังคงเปราะ บาง รวมถึงการลงทุนภาครัฐไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ และ ยังมีสถานการณ์ความไม่สงบทางการเมือง โดยความต้องการ สินเชื่อในปี 2556 ได้รับแรงหนุนจากความต้องการของสินเชื่อ ของทุกกลุม่ ลูกค้า ทัง้ กลุม่ ธุรกิจขนาดใหญ่ ผูป้ ระกอบการเอสเอ็มอี
รวมถึ ง ลู ก ค้ า รายย่ อ ย ส่ ง ผลให้ ป ริ ม าณสิ น เชื่ อ สุ ท ธิ มี จำ � นวน 9,493,027 ล้านบาท เติบโตร้อยละ 10.5 จากสิน้ ปี 2555 ทีม่ จี �ำ นวน 8,591,427 ล้านบาท ในส่วนของเงินฝากมีจำ�นวน 10,224,812 ล้านบาท เติบโต ร้อยละ 9.8 เมื่อเทียบกับสิ้นปี 2555 ที่มีจำ�นวน 9,315,057 ล้านบาท ขณะที่ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม (ซึ่งรวมตั๋วแลกเงิน เป็นองค์ประกอบ) มีจำ�นวน 808,849 ล้านบาท เติบโตร้อยละ 1.2 เมื่อเทียบกับสิ้นปี 2555 ที่มีจำ�นวน 799,259 ล้านบาท ดังนั้น เมื่อรวมเงินฝากกับตราสารหนี้ท่ีออกและเงินกู้ยืมมีจำ�นวน ทั้งสิ้น 11.0 ล้านล้านบาท เติบโตร้อยละ 9.3 เมื่อเที ยบกั บ สิ้นปี 2555 ทั้งนี้ ในปี 2556 ธนาคารพาณิชย์ระดมทุนด้วย ตัว๋ เงินฝาก (Bill of Exchange: B/E) ลดลง เป็นผลจากมาตรการจาก ภาครัฐทั้งจาก 1) การเรียกเก็บเงินนำ�ส่งจากธนาคารพาณิชย์เพื่อ ชำ�ระหนี้กองทุนฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน และสถาบัน คุ้มครองเงินฝากรวมในอัตราร้อยละ 0.47 ของฐานเงินฝากรวมถึง ตั๋วเงินฝาก (Bill of Exchange: B/E) 2) การกำ�กับดูแลการออกตั๋ว
รายงานประจำ�ปี 2556
B/E ที่เข้มงวดขึ้น เช่นเดียวกับการระดมทุนผ่านการออกหุ้นกู้ที่ ปริมาณการออกหุ้นกู้ของธนาคารพาณิชย์อยู่ที่ 1.6 แสนล้านบาท ลดลงจาก 1.8 แสนล้านบาท ในปี 2555 หากพิจารณาสภาพคล่อง ของธนาคารพาณิชย์ในปี 2556 เทียบกับปี 2555 พบว่าอัตราส่วน สิ น เชื่ อรวมต่ อ เงิ น ฝากและตราสารหนี้ที่อ อกและเงินกู้ยืมอยู่ที่ ร้อยละ 86.0 ใกล้เคียงกับร้อยละ 88.3 ณ สิ้นปี 2555 ในส่วนของอัตราดอกเบี้ยในระบบธนาคารพาณิชย์ อัตรา ดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ค่อนข้างทรงตัวตั้งแต่เดือนธันวาคม 2555 จนถึงปลายเดือนพฤษภาคม 2556 ก่อนปรับตัวลงภาย หลังธปท. ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงร้อยละ 0.25 มาอยู่ที่ ร้อยละ 2.50 และลดลงเหลือร้อยละ 2.25 ในไตรมาส 4 ปี 2556 เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศ ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก 3 เดือนเฉลี่ยของธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ 4 แห่ง ปรับลดลงจาก ร้อยละ 1.84 ณ สิ้นปี 2555 เป็นร้อยละ 1.76 ณ สิ้นปี 2556 และ อัตราดอกเบีย้ เงินกูล้ กู ค้ารายใหญ่ชนั้ ดี (MLR) ของธนาคารพาณิชย์ ขนาดใหญ่ 4 แห่ง ปรับลดลงจากร้อยละ 7.00 ณ สิ้นปี 2555 เป็น ร้อยละ 6.84 ณ สิ้นปี 2556 แนวโน้มธุรกิจธนาคารพาณิชย์ แนวโน้มการขยายตัวทางธุรกิจหลักของธนาคารพาณิชย์อย่าง สินเชื่อและเงินฝากใน ปี 2557 คงจะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยเสี่ยง ไม่ ว่าจะเป็นสถานการณ์ทางเศรษฐกิจโลก ความผันผวนของกระแส เงินทุนเคลื่อนย้าย เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มอ่อนแอ เสถียรภาพ ทางการเมืองในประเทศ รายได้และความเชื่อมั่นของผู้บริโภค ลดลง แนวโน้มการเร่งขึน้ ของค่าครองชีพ ความเชือ่ มัน่ ในการลงทุน ของภาคเอกชน ตลอดจนการฟื้นตัวของการอุปโภคบริโภคในภาค ครัวเรือน ซึ่งเชื่อมโยงกับความต้องการสินเชื่อของแต่ละภาคส่วน รวมถึงความต้องการระดมเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ การขยายตัวของสินเชื่อในปี 2557 น่าจะชะลอตัวลงด้วย หลากหลายปัจจัยเสีย่ งดังกล่าวข้างต้น แต่ธนาคารพาณิชย์นา่ จะยัง คงขยายสินเชื่อได้อย่างต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากแนวโน้ม การขยายตัวภาคส่งออกไทยที่ปรับตัวดีขึ้นเนื่องจากได้รับอานิสงส์ จากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ทำ�ให้มีความต้องการสินเชื่อจาก ฝั่งผู้ประกอบการทั้งรายใหญ่และเอสเอ็มอี โดยเฉพาะสินเชื่อเพื่อ ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ (Trade Finance) และสินเชื่อเพื่อเงิน ทุนหมุนเวียน (Working Capital) ขณะที่ความต้องการสินเชื่อของลูกค้ารายย่อยอาจชะลอตัวลง เพราะฐานที่สูงในปีก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม ความต้องการสินเชื่อ รายย่อยบางประเภทน่าจะยังเติบโตได้ต่อเนื่อง อาทิ ความต้องการ สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่รูปแบบของครอบครัว เดี่ยวมากขึ้น และความต้องการสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ ส่วนสินเชื่อ บั ต รเครดิ ต และสิ น เชื่ อ ส่ ว นบุ ค คลมี แ นวโน้ ม เติ บ โตได้ ต ามการ จับจ่ายใช้สอยในชีวิตประจำ�วันของครัวเรือน
037
นอกจากนี้ ยังมีปัจจัยเสี่ยงที่ธนาคารพาณิชย์ต้องเผชิญใน ปี 2557 คือ สถานการณ์การเมืองที่ยืดเยื้อเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม 2556 ต่อเนื่องถึงช่วงไตรมาสแรกของปี 2557 และยังไม่สามารถ หาข้อยุตริ ว่ มกันได้ ซึง่ จะมีผลต่อการออกมาตรการทางการคลังเพือ่ กระตุ้นเศรษฐกิจทำ�ได้ยากลำ�บาก รวมถึงผลกระทบต่อความมั่นคง ของภาคธุรกิจและครัวเรือน จนส่งผลต่อบรรยากาศการลงทุนและ การบริโภคในประเทศ ซึ่งอาจกดดันให้ความต้องการสินเชื่อชะลอ ตัวลงจนกว่าจะมีความชัดเจนทางการเมืองในประเทศ สำ�หรับประเด็นที่ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดในปี 2557 คือ คุณภาพสินทรัพย์ ในระบบธนาคารพาณิชย์ ดังนั้น การขยายตัว ของสินเชื่อในปี 2557 คงเต็มไปด้วยความระมัดระวังและธนาคาร พาณิชย์เพิ่มความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อในทุกแขนง ทั้ง จากภาคธุรกิจที่รอสัญญาณการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจและอุปสงค์ใน ประเทศจากภาคครัวเรือน ซึ่งมีภาระหนี้ครัวเรือนในระดับสูงและมี การเร่งเบิกใช้สินเชื่อไปแล้วในช่วงก่อนหน้า 2. ธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์ ยอดจำ � หน่ า ยรถยนต์ ใ นประเทศปี 2556 มี จำ � นวนสู ง ถึ ง 1,330,678 คัน ลดลงร้อยละ 7.2 จากสิน้ ปี 2556 เนือ่ งจากมาตรการ กระตุน้ เศรษฐกิจของรัฐบาล “นโยบายการคืนเงินสำ�หรับรถยนต์คนั แรก” ได้สิ้นสุดลงเมื่อปลายปี 2555 แต่ยังมีการส่งมอบรถต่อเนื่อง มาในปี 2556 ขณะที่กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาดโดยการแนะนำ� รถยนต์รุ่นใหม่ออกสู่ตลาดของผู้ผลิตรถยนต์ยังคงมีอยู่ต่อเนื่อง ดังนั้น สถาบันการเงินต่างๆ จึงได้ออกแคมเปญมาสนับสนุนการ ขายให้กับตัวแทนจำ�หน่ายรถยนต์ ส่งผลให้การแข่งขันด้านอัตรา ดอกเบี้ยยังคงรุนแรงต่อเนื่อง สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ในปี 2556 เติบโตในอัตราที่ชะลอตัวลง ซึง่ เป็นผลจากมาตรการรถคันแรกทีก่ ระตุน้ ความต้องการของตลาด ไปค่อนข้างมาก นอกจากนั้น ยังมีผลกระทบต่อราคาตลาดรถยนต์ ใช้แล้ว ที่ปรับตัวลดลงถึงร้อยละ 20-30 รวมถึงราคารถยึดที่นำ�ไป ขายทอดตลาดก็ลดลงตามไปด้วย และอัตราการขายรถยึดก็ชะลอตัว ลง ในส่วนของสินเชือ่ เช่าซือ้ รถใช้แล้วประสบปัญหาการระบายขาย รถออกยาก ทำ�ให้สินเชื่อผู้ประกอบการเต็นท์รถ หรือ สินเชื่อธุรกิจ ฟลอร์แพลนไม่หมุนเวียน ทำ�ให้ธนาคารติดตามคุณภาพของสินเชือ่ และระมัดระวังในการปล่อยสินเชื่อให้กับลูกค้ากลุ่มนี้ ธนาคารพาณิช ย์ที่เป็นผู้นำ�ตลาดสินเชื่อเช่าซื้อรายใหญ่ มี จำ�นวน 5 ราย ได้แก่ ธนาคารธนชาต ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคาร ไทยพาณิชย์ ธนาคารทิสโก้ และธนาคารเกียรตินาคิน โดยยอด สินเชื่อเช่าซื้อคงค้างของผู้ให้บริการสินเชื่อเช่าซื้อ 7 ราย ณ สิ้นปี 2556 มีจำ�นวน 1,458,971 ล้านบาท (หมายเหตุ : ยอดสินเชื่อเช่า ซื้อของบริษัทโตโยต้าลีสซิ่ง จำ�กัด เป็นยอด ณ สิ้นงวดบัญชีประจำ� ปี สิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2555 และ 2556) โดยส่วนแบ่งตลาดตาม ยอดสินเชื่อเช่าซื้อคงค้าง ณ สิ้นปี 2555 และสิ้นปี 2556 เป็นดังนี้
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
038
ปี 2555
ปี 2556
ในปี 2556 ธนาคารให้ความสำ�คัญเรื่องการบริการและความ สัมพันธ์ที่ดีกับคู่ค้า/ลูกค้า โดยเน้นการเป็นที่ 1 ในตลาดกลุ่มที่ ธนาคารมีความชำ�นาญ และแข่งขันได้ ผลิตภัณฑ์หลักจะเป็น สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์และนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ประกันภัย รถยนต์ ประกันสินเชื่อ สินเชื่อส่วนบุคคล และสินเชื่ออื่นๆ โดยนำ� เสนอผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมในแต่ละกลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการเช่าซื้อ รถยนต์กับธนาคาร นอกจากนี้ การทำ�ตลาดส่วนใหญ่จะทำ�ผ่านผู้ จำ�หน่ายรถยนต์ทงั้ ใหม่และเก่า โดยทีม่ คี คู่ า้ รถใหม่จ�ำ นวนประมาณ 1,000 ราย และรถเก่า 3,000 ราย แนวโน้มธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์ในปี 2557 แนวโน้มสินเชื่อเช่าซื้อในระบบธนาคารพาณิชย์ ในปี 2557 น่าจะเติบโตลดลง จากการคาดการณ์ยอดขายรถยนต์ ใหม่ภายใน ประเทศที่ลดลงมาอยู่ที่ 960,000 คัน ลดลงจาก 1.3 ล้านคัน ใน ปี 2556 อย่างไรก็ดี อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ยังทรงตัวอยู่ในระดับตํ่า ตามแนวโน้มอัตราดอกเบี้ยนโยบายจะช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจและ ผ่อนคลายภาระหนี้ลงได้ระดับหนึ่ง น่าจะส่งผลให้ระดับหนี้ที่ไม่ก่อ ให้เกิดรายได้มแี นวโน้มลดลงได้ สำ�หรับสินเชือ่ เช่าซือ้ รถยนต์ใช้แล้ว ยังมีโอกาสเติบโตได้ อันเป็นผลจากราคารถยนต์ใช้แล้วทีป่ รับตัวลด ลงมากในปี 2556 ประกอบกับภาวะอัตราดอกเบี้ยยังอยู่ในระดับตํ่า
อย่างไรก็ตาม จากสภาพเศรษฐกิจที่มีอัตราการเจริญเติบโต ลดลง และราคารถมือหนึ่งที่ลดลงในบางรุ่นน่าจะเป็นผลให้ผู้ให้ บริการสินเชือ่ เช่าซือ้ คงปรับกลยุทธ์จดั รายการส่งเสริมการขายของ ค่ายรถยนต์ต่างๆ มากขึ้น ขณะเดียวกันต้องมีการติดตามคุณภาพ สินเชื่ออย่างใกล้ชิด เพื่อควบคุมปริมาณหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) 3. ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ จากการสำ�รวจของศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย บจก. เอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟแฟร์ส ณ สิน้ ปี 2556 พบว่ามีโครงการอสังหาริมทรัพย์ทเี่ ปิดใหม่ทงั้ หมด 417 โครงการ ใกล้เคียงกับปี 2555 (419 โครงการ) ประกอบด้วยจำ�นวน หน่วยขายทั้งหมด 131,645 หน่วย มากกว่าปี 2555 ที่มีหน่วย ขาย 103,481 หน่วย ถึงร้อยละ 27 โดยในจำ�นวนหน่วยทั้งหมด ที่เสนอขายนี้เป็นห้องชุดถึงร้อยละ 64 หรือ 84,250 หน่วย รองลง มา คือ ทาวน์เฮ้าส์ 28,047 หน่วย หรือประมาณร้อยละ 21 อันดับ ที่ 3 ได้แก่บ้านเดี่ยวจำ�นวน 12,789 หน่วย โดยมีสัดส่วนร้อยละ 9.7 ส่วนที่เหลือเป็นบ้านแฝดและอาคารพาณิชย์ในสัดส่วนร้อยละ 5.3 เท่ากัน มูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่เปิดใหม่ทั้งหมดปี 2556 มีจำ�นวน 385,447 ล้านบาท (ปี 2555 มูลค่า 304,629 ล้านบาท) ทั้งนี้ ประมาณร้อยละ 49 หรือ 232,261 ล้านบาท เป็นห้องชุด และ ทาวน์เฮ้าส์ จำ�นวน 114,189 ล้านบาท หรือประมาณร้อยละ 24 ของทัง้ หมด และอันดับสาม คือ บ้านเดีย่ วมี 97,395 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 20.6 ของทั้งหมด ซึ่งมูลค่าการเปิดตัวโครงการในปี 2556 นี้มากกว่าปี 2555 ประมาณ 80,000 ล้าน แสดงถึงการเติบโตของ มูลค่าธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และเกิดการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของ ลำ�ดับมูลค่า คือ ในปี 2556 ทาวน์เฮ้าส์มีมูลค่าสูงเป็นอันดับสอง รองจากบ้านเดี่ยว ซึ่งเป็นผลมาจากมูลค่าที่ดินที่สูงขึ้น ในปี 2556 มีที่อยู่อาศัยที่สามารถขายได้ทั้งหมด 116,481 หน่วย ซึ่งมากกว่าจำ�นวนหน่วยที่ขายได้ ณ ปี 2555 ที่จำ�นวน 107,412 หน่วย แสดงให้เห็นว่าภาวะการขายค่อนข้างดีถึงแม้ สถานการณ์ทางการเมืองจะมีผลทำ�ให้เศรษฐกิจภาคอสังหาริมทรัพย์ ชะลอตัวในลงไปบ้างไปช่วงไตรมาส 4 อย่างไรก็ตาม จำ�นวน หน่วยที่ขายได้ในปี 2556 นั้น ไม่ใช่เฉพาะหน่วยที่เปิดใหม่ในปี 2556 แต่หมายถึงหน่วยที่เปิดตัวมาก่อนหน้านี้ด้วย โดย ณ สิ้นปี 2556 ยังมีหน่วยขายคงเหลือ 144,098 หน่วย แบ่งเป็นห้องชุดร้อยละ 35 หรือ 51,260 หน่วย รองลงมาเป็นทาวน์เฮ้าส์ร้อยละ 30 หรือ 44,639 หน่วย บ้านเดี่ยวประมาณร้อยละ 25 หรือ 37,361 หน่วย นอกจากนั้นยังมีบ้านแฝดและอาคารพาณิชย์ที่ยังเหลือขาย 10,838 หน่วย สำ�หรับสภาพการแข่งขันของสถาบันการเงินในการให้สินเชื่อ ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ และสิ น เชื่ อ ธุ ร กิ จ เอสเอ็ ม อี ในช่ ว งปี ที่
รายงานประจำ�ปี 2556
ผ่านมามีการแข่งขันที่ค่อนข้างสูง โดยส่วนใหญ่มุ่งเน้นในเรื่อง การแข่งขันทั้งในด้านเงื่อนไขวงเงินสินเชื่อ และอัตราดอกเบี้ย ซึ่ ง แตกต่ า งจากธนาคารเกี ย รติ นาคิ น ที่ มุ่ ง เน้ น จุ ด แข็ ง ในด้ า น บริการและความเชี่ยวชาญ ความยืดหยุ่นของสินเชื่อและบริการ ที่ตรงกับความต้องการของแต่ละธุรกิจ คู่แข่งหลักในการให้สินเชื่อ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ซึ่งต้องแข่งขันทั้งด้านเงื่อนไขวงเงิน อัตราดอกเบี้ยและการให้ บริการ การทำ�การตลาดในปี 2556 ที่ผ่านมา สายสินเชื่อธุรกิจมุ่งเน้น การทำ�การตลาดเฉพาะกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ภายใต้ ชื่อ KK BIZ ผ่าน Campaign Driving Your Business โดยเจาะกลุ่มลูกค้าใน ระดับ GRADE B ขึน้ ไปเป็นหลัก ตามพืน้ ทีเ่ ป้าหมายและกลุม่ ลูกค้า เป้าหมายของแต่ละสินเชือ่ ธุรกิจ ซึง่ ในปี 2556 ทีผ่ า่ นมาสายสินเชือ่ ธุรกิจมุ่งเน้นที่จะขยายตลาดไปสู่กลุ่มลูกค้าที่เป็นเป้าหมายใหม่ใน พื้นที่ต่างจังหวัดตามทิศทางของ Urbanization โดยจังหวัดที่เป็น เป้าหมายหลัก คือ เชียงใหม่ ขอนแก่น ชลบุรี ภูเก็ต สงขลา ฯลฯ ผ่านทางกิจกรรมสัมพันธ์ร่วมกับพันธมิตรธุรกิจ จัด Road Show ไปยังกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของแต่ละสินเชื่อธุรกิจ ในด้ า นการทำ � ตลาดแข่ ง ขั น กั บ คู่ แ ข่ ง ในตลาดในภาพรวม สินเชื่อธุรกิจยังคงเน้นจุดแข็งในด้านความเชี่ยวชาญในธุรกิจที่ให้ สินเชือ่ เจาะตลาด Niche Market ทีส่ นิ เชือ่ ธุรกิจสามารถสร้าง Value ให้กบั ลูกค้าเป้าหมายได้มากกว่าคูแ่ ข่งในตลาด โดยสินเชือ่ ธุรกิจทัง้ 5 ผลิตภัณฑ์ ไม่มีการพึ่งพิงลูกค้าหรือผู้จัดจำ�หน่ายรายใดรายหนึ่ง เกินร้อยละ 30 ของรายได้รวม แนวโน้มสถานการณ์ที่อยู่อาศัยปี 2557 แนวโน้มการเปิดโครงการใหม่ในปี 2557 คาดว่าจะชะลอตัวลง จากปี 2556 ทั้งในด้านจำ�นวนหน่วยขายและมูลค่าโครงการ โดย ผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์รายใหญ่มีการปรับแผนลดการเปิด โครงการลงโดยเฉพาะในกลุ่มตลาดคอนโดมิเนียมในปี 2557 อาจ ชะลอความร้อนแรงลงเนื่องจากในช่วงปี 2556 มีการเปิดโครงการ ในตลาดคอนโดมิเนียมจำ�นวนมากในพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ และต่างจังหวัด เช่น ชลบุรี เชียงใหม่ ขอนแก่น ภูเก็ต ฯลฯ ด้ า นภาพรวมของอุ ป ทานคงเหลื อ ของตลาดที่ อ ยู่ อ าศั ย ณ สิ้นปี 2556 มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.8 จาก 128,934 หน่วย ในปี 2555 เป็น 144,098 หน่วย ในปี 2556 ตลาดที่เหลือขายมาก ทีส่ ดุ คือ ตลาดคอนโดมิเนียมทีเ่ หลือขาย 51,260 หน่วย ในปี 2556 เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.5 จากปี 2555 ที่มียอดเหลือขายอยู่ 40,853 หน่วย ราคาขายเฉลี่ยลดลงเล็กน้อยเพียงร้อยละ 3.0 เนื่องจากมี การพัฒนาสินค้าในระดับราคาปานกลางถึงต่่ำ�มากขึ้นโดยเฉพาะ คอนโดมิเนียมในระดับราคาตํ่ากว่า 1 ล้านบาท และระดับราคา 1-2 ล้านบาท ในแนวรถไฟฟ้าใหม่ที่กำ�ลังก่อสร้าง ในด้านที่อยู่อาศัย
039
แนวราบยังมีโอกาสในการขยายตัวได้ดีแม้ว่าจะไม่เท่ากับปี 2556 ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล คาดว่าจะมีการปรับสัดส่วนเพิ่ม มากขึ้นโดยเฉพาะในกลุ่มทาวน์เฮ้าส์ ส่วนตลาดแนวราบในต่าง จังหวัดผู้ประกอบการรายใหญ่ยังคงกระจายการลงทุนไปพื้นที่ต่าง จังหวัดอยู่เพื่อรองรับการเปิด AEC ในปี 2558 โดยเฉพาะจังหวัดที่ มีเขตพืน้ ทีต่ ดิ ต่อกับชายแดน เช่น อุบลราชธานี อุดรธานี ขอนแก่น นครราชสีมา เชียงใหม่ เชียงราย สงขลา ฯลฯ อย่างไรก็ดี ปัจจัยลบที่อาจฉุดรั้งการขยายตัวของตลาดที่อยู่ อาศัย คือ ภาพรวมเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มอ่อนแอ ปัญหาทางด้าน การเมือง รายได้ของผู้บริโภคในอนาคตและแผนการลงทุนของ ภาครัฐที่ล่าช้า ภาระหนี้สินภาคครัวเรื่อนที่เพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งปัจจัย สำ�คัญ คือ ต้นทุนในการพัฒนาโครงการที่เพิ่มขึ้นทั้งต้นทุนที่ดิน วัสดุก่อสร้าง และต้นทุนแรงงานที่เพิ่มขึ้น ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงที่ จะทำ�ให้ตลาดที่อยู่อาศัยในปี 2557 ชะลอตัว แต่ด้วยแนวโน้มของ Urbanization รวมทั้งการลงทุนและการค้าในพื้นที่ชายแดนยังเป็น ปัจจัยบวกทีจ่ ะทำ�ให้ตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยในต่างจังหวัดชะลอตัวน้อยกว่า ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล 4. ธุรกิจตลาดทุน สภาวะตลาดทุนในปี 2556 ในช่วงครึ่งปีแรก บรรยากาศการ ลงทุนมีความคล้ายคลึงกับภาพรวมในปี 2555 โดยมีเม็ดเงินจาก นักลงทุนต่างชาติ จากนโยบายผ่อนคลายทางการเงิน (QE3) ประกอบกับสภาวะเศรษฐกิจในประเทศที่ได้รับอานิสงส์เป็นอย่าง มากจากนโยบายการกระตุ้นการใช้จ่าย และความคาดหวังต่อ นโยบายการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของรัฐ ดัชนี SET ได้แตะ ระดับสูงสุดของปีที่ 1,649.77 จุด เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.5 จากปี 2555 อย่างไรก็ตาม ทิศทางของตลาดในครึ่งปีหลังได้มีการเปลี่ยนแปลง อย่างชัดเจน อันเนื่องมาจากความกังวลในการปรับลดวงเงิน QE3 ที่จะเกิดขึ้น ส่งผลให้เงินทุนไหลออกจากตลาดเกิดใหม่ที่เคยได้รับ ประโยชน์จากมาตรการดังกล่าว ซึง่ ส่งผลให้คา่ เงินอ่อนตัว นอกจาก นี้การส่งออกของประเทศที่ยังคงซบเซา และไม่มีมาตรการการกระ ตุ้นการใช้จ่ายเพิ่มเติมจากภาครัฐ ทำ�ให้ความเชื่อมั่นต่อเศรษฐกิจ ภายในประเทศเริม่ มีผลกระทบต่อตลาดทุน ในช่วงปลายปี สัญญาณ การปรับลดตัวเลข GDP ในครึง่ ปีหลัง และประมาณการของปี 2557 รวมถึงความร้อนแรงของการเมืองภายในประเทศได้เพิ่มขึ้น ส่งผล ให้สิ้นปี 2556 ดัชนี SET ปรับตัวลดลงร้อยละ 25.4 จากจุดสูงสุด ของปี รวมทั้งปีดัชนี SET ปิดระดับที่ 1,298.71 จุด ลดลงร้อยละ 6.7 ซึ่งเป็นรอบปีแรกที่ตลาดทุนให้ผลตอบแทนติดลบ ตั้งแต่เกิด วิกฤตการณ์การเงินโลกในปี 2551 มูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยต่อวันบนกระดาน SET และ mai อยู่ที่ 50,329 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 55.8 จากปี 2555 ปัจจัยหลักมา จากสภาวะของตลาดที่กล่าวไว้ข้างต้น บวกกับการเพิ่มขึ้นของการ เสนอขายหุน้ ใหม่แก่ประชาชนทัว่ ไปเป็นครัง้ แรก (IPO) โดยรายการ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
040
ตารางแสดงภาวะตลาดหลักทรัพย์ฯ และตลาด mai มูลค่าการซือ้ ขายหลักทรัพย์และส่วนแบ่งการตลาดของ บล.ภัทร และ บล.เคเคเทรด
มูลค่าการซื้อขายหลักทรัพย์เฉลี่ยต่อวันของตลาดหลักทรัพย์ฯ และตลาด mai (ล้านบาท) สัดส่วนการซื้อขายของตลาดหลักทรัพย์ฯ และตลาด mai แยกตามกลุ่มนักลงทุน - นักลงทุนต่างประเทศ (ร้อยละ) - นักลงทุนสถาบันในประเทศ (ร้อยละ) - นักลงทุนในประเทศ (ร้อยละ) - บัญชีบริษัทหลักทรัพย์ (ร้อยละ) มูลค่าการซื้อขายหลักทรัพย์รวมของ บล.ภัทร เฉลี่ยต่อวัน (ล้านบาท) ส่วนแบ่งการตลาดของ บล.ภัทร (ไม่รวมบัญชีบริษัทหลักทรัพย์) (ร้อยละ) - ส่วนแบ่งการตลาด-กลุ่มลูกค้าสถาบันต่างประเทศ (ร้อยละ) - ส่วนแบ่งการตลาด-กลุ่มลูกค้าสถาบันในประเทศ (ร้อยละ) - ส่วนแบ่งการตลาด-กลุ่มลูกค้าบุคคล (High Net Worth Client) (ร้อยละ) อันดับที่ มูลค่าการซื้อขายหลักทรัพย์รวมของ บล.เคเคเทรด เฉลี่ยต่อวัน (ล้านบาท) ส่วนแบ่งการตลาดของ บล.เคเคเทรด (รวมบัญชีบริษัทหลักทรัพย์) (ร้อยละ) อันดับที่
ปี 2555 32,304.35
ปี 2556 50,329.26
24.24 7.78 54.98 13.00 3,062.62 4.25 7.71 10.28 1.97 9 823.41 1.47 23
21.74 8.55 57.11 12.61 5,460.22 4.38 8.58 9.65 2.09 9 1,140.44 1.30 25
ที่มา : ตลาดหลักทรัพย์ฯ และข้อมูล บล.ภัทร และ บล.เคเคเทรด
IPO เพิ่มขึ้นจาก 24 หลักทรัพย์ในปี 2555 เป็น 38 หลักทรัพย์ใน ปี 2556 เป็นปัจจัยสนับสนุนการซื้อขายที่มากขึ้น ธุรกิจนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า การแข่งขันในธุรกิจนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ยังคงอยู่ ใน ระดับสูง สืบเนื่องจากการเปิดเสรีการคิดค่าธรรมเนียมนายหน้าซื้อ ขายหลักทรัพย์ตั้งแต่ต้นปี 2553 รวมถึงมีจำ�นวนบริษัทหลักทรัพย์ ที่เป็นสมาชิกตลาดหลักทรัพย์ฯ ซึ่งให้บริการที่คล้ายคลึงกันถึง 38 บริษทั บริษทั หลักทรัพย์สว่ นใหญ่จงึ เน้นการแข่งขันทีค่ ณุ ภาพในการ ให้บริการ ข้อมูลการวิเคราะห์หลักทรัพย์ที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของตลาด รวมถึงความสามารถในการจัดสรรหุ้นใหม่ที่เสนอขาย ให้แก่ลูกค้า ตลาดอนุพันธ์มีการพัฒนาและเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2556 ทางตลาดอนุพนั ธ์ได้ออกสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้าทีอ่ า้ งอิงราคา หุ้นเพิ่มขึ้นอีก 20 ตัว จาก 50 ตัว เป็น 70 ตัว พร้อมทั้งปรับเปลี่ยน วิธีการคำ�นวณสถานะจำ�กัดของ Single stock futures จากเดิมที่ จำ�กัดไว้ที่ 20,000 สัญญาต่อซีรยี่ ์ ให้อา้ งอิงกับราคาและมูลค่าตลาด ของหุ้นอ้างอิง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวข้างต้น ส่งผลให้ปริมาณ การซื้อขายบนตลาดอนุพันธ์เพิ่มขึ้นจาก 10 ล้านสัญญา ในปี 2555 เป็นมากกว่า 16 ล้านสัญญา ในปี 2556 ในขณะเดียวกันปริมาณ
การซื้อขายของ Gold futures ลดลงอย่างมีนัยยะสำ�คัญ ปริมาณ การซื้อขายของ 50 Baht Gold ลดลงร้อยละ 47 ปีต่อปี และปริมาณ การซือ้ ขายของ 10 Baht Gold ลดลงร้อยละ 36 ในช่วงเวลาเดียวกัน ในส่วนของ SET50 Index Futures ปริมาณการซื้อขายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 41 ปีต่อปี โดยได้รับอานิสงส์จากความผันผวนของตลาด โดยรวม สำ�หรับตลาดอนุพันธ์ บล.ภัทร เน้นการแข่งขันที่คุณภาพการ ให้บริการ ข้อมูลบทวิเคราะห์ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีที่ช่วยให้การ ทำ�ธุรกรรมในตลาดอนุพันธ์มีประสิทธิภาพสูงขึ้น และมีค่าใช้จ่าย ตํ่าลง เช่น เทคโนโลยีการส่งคำ�สั่งซื้อขายแบบความถี่สูง (High Frequency Trading) เป็นต้น ธุรกิจวานิชธนกิจ บล.ภัทร เป็นผูจ้ ดั จำ�หน่ายและรับประกันการจัดจำ�หน่ายในการ เสนอขายหุ้นสามัญต่อประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรกของ BTSGIF และ MK รวมเป็นมูลค่าทั้งสิ้น 62,510 ล้านบาท และ 9,107 ล้านบาท นอกจากการระดมทุนของบริษัทจดทะเบียนดังกล่าว ยังมีการระดมทุนจากการเสนอขายหุ้นสามัญแบบข้ามคืนของ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำ�กัด (มหาชน) ซึ่ง บล.ภัทร เป็น ผู้จัดการการจำ�หน่าย คิดเป็นมูลค่ารวมทั้งสิ้น 10,852 ล้านบาท
รายงานประจำ�ปี 2556
041
ตารางแสดงภาวะตลาดอนุพันธ์ จำ�นวนการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของตลาด (สัญญา) จำ�นวนการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของ บล.ภัทร (สัญญา) มูลค่าการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของ บล.ภัทร (ล้านบาท) ส่วนแบ่งการตลาดของ บล.ภัทร (ร้อยละ)
ปี 2555 10,457,928 1,420,220 457,270.76 6.79
ปี 2556 16,664,126 3,054,255 690,840.80 9.16
ที่มา : ตลาดหลักทรัพย์ฯ
บล.ภัทร ได้ร่วมเป็นที่ปรึกษาทางการเงินหลายรายการ เช่น Bank of Tokyo-Mitsubishi UFJ เข้าซื้อ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) และ บริษัท ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน) เข้าซื้อ บริษัท สยามแม็คโคร จำ�กัด (มหาชน) บล.ภัทร ประสบความสำ�เร็จอย่างสูงในปี 2556 เริ่มจาก รายการการเสนอขายหลักทรัพย์ตอ่ ประชาชนทัว่ ไปเป็นครัง้ แรกของ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน BTSGIF มูลค่ารวมทั้งสิ้น 62,510 ล้านบาท ในเดือนเมษายน ซึ่งความเชื่อมั่นของนักลงทุนได้ปรับ ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ขนึ้ สูงสุดที่ 1,643.4 จุด ในวันที่ 20 พฤษภาคม โดยในครึ่งหลังของปี ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ ได้มีการปรับตัวลดลง เนือ่ งจากความกังวลทีเ่ กีย่ วเนือ่ งจากมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ โดยรัฐบาลสหรัฐฯ (QE tapering) และ ความขัดแย้งทางการเมือง ในประเทศ ส่งผลให้ดัชนี SET ลดลงตํ่ากว่า 1,300 จุด ในช่วงสิ้นปี 2556 อย่างไรก็ตาม บล.ภัทร ได้ช่วยทำ�ธุรกรรมที่สำ�คัญได้อีก หนึ่งรายการคือธุรกรรมที่ Bank of Tokyo-Mitsubishi UFJ เข้าซื้อ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) คิดเป็นมูลค่ารวม ทั้งสิ้น 170,575 ล้านบาท ในปี 2556 บล.ภัทร ได้นำ�ผลิตภัณท์ใหม่ เสนอขายแก่ลกู ค้า เช่น การเสนอขายหลักทรัพย์ตอ่ ประชาชนทัว่ ไป เป็นครั้งแรกของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน บริษัทหลักทรัพย์หลายแห่ง ยังคงให้ความสำ�คัญกับธุรกิจ วานิชธนกิจ ซึ่งมีเป้าหมายที่จะเพิ่มรายได้ และสนับสนุนธุรกิจ การซื้อขายหลักทรัพย์ ณ วันที่ 7 มกราคม 2557 มีบริษัทที่ได้ รับอนุญาตโดยสำ�นักงาน ก.ล.ต. ในการให้คำ�ปรึกษาทางการ เงินทั้งหมด 74 บริษัท และมีบริษัทได้รับอนุญาต ผู้จัดจำ�หน่าย หลักทรัพย์ โดยสำ�นักงาน ก.ล.ต. ทั้งหมด 40 บริษัทการประสบ ความสำ�เร็จในธุรกิจวานิชธนกิจในส่วนใหญ่จะขึน้ อยูก่ บั ประสบการณ์ และความชำ�นาญของที่ปรึกษา ความคิดริเริ่มผลิตภัณท์ ใหม่ๆ ที่จะตอบสนองความต้องการของลูกค้า และการมีความสัมพันธ์ที่ เข้มแข็งกับลูกค้า ธุรกิจจัดการลงทุน ในปี 2556 มีบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมภายใต้การ กำ�กับดูแลของสำ�นักงาน ก.ล.ต. จำ�นวนทัง้ สิน้ 23 แห่ง และมีมลู ค่า
ทรัพย์สินสุทธิรวมกันจำ�นวนทั้งสิ้น 3,075,956 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 17.65 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2555 ที่มีมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ อยู่ที่ 2,614,403 ล้านบาท จากข้อมูลของสมาคมบริษัทจัดการ ลงทุนพบว่ามูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวมมีแนวโน้มเติบโต เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่ อ พิ จารณามู ล ค่ า ทรั พ ย์ สิ น แยกตามประเภทกองทุ น นั้ น ณ สิ้นปี 2556 กองทุนรวมตราสารหนี้มีสัดส่วนมากที่สุดโดยมี มูลค่าทรัพย์สินรวม 1,694,388 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 55.08 ของกองทุนทั้งหมด รองลงมาคือ กองทุนรวม ตราสารทุนซึ่งมีมูลค่า 712,572 ล้านบาท หรือร้อยละ 23.2 สำ�หรับ กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) และกองทุนรวมหุ้นระยะยาว (LTF) เติบโตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยกองทุนรวม RMF มีมูลค่า 136,856 ล้านบาท และกองทุนรวม LTF มีมูลค่า 213,913 ล้านบาท นอกจากนี้ ในปี 2556 มีการจัดตั้งกองทุนประเภท Infrastructure ขึ้นอีก 3 กองทุนรวมมูลค่า 128,469 ล้านบาท สำ�หรับ บลจ.ภัทร มีมูลค่าทรัพย์สินภายใต้การบริหารจัดการ ในปี 2556 จำ�นวนทั้งสิ้น 24,725 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2555 จำ�นวน 261 ล้านบาท และมีกองทุนภายใต้การบริหารจัดการทั้งสิ้น จำ�นวน 26 กองทุน ทั้งนี้ บลจ.ภัทร เน้นการบริหารจัดการกองทุน 2 ประเภท ได้แก่ กองทุนรวม โดยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 32.2 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิภายใต้การบริหารจัดการ และกองทุน อสังหาริมทรัพย์ โดยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 67.8 ของมูลค่าทรัพย์สนิ สุทธิภายใต้การบริหารจัดการ นอกจากนี้ ในปี 2556 บลจ.ภัทร ได้มีการจัดตั้งกองทุนรวม จำ�นวนทั้งสิ้น 7 กองทุน ประกอบด้วย กองทุนรวมตราสารหนี้ ซึ่ง มีนโยบายลงทุนในตราสารหนี้ภาครัฐและภาคเอกชนทั้งในประเทศ และต่างประเทศ แบบมีก�ำ หนดอายุโครงการจำ�นวนทัง้ สิน้ 6 กองทุน และกองทุนรวมพร็อพเพอร์ตี้ ดิวิเดนด์ จำ�นวน 1 กองทุน จากการเติบโตของตลาดธุรกิจจัดการลงทุนซึง่ มีมลู ค่าทรัพย์สนิ สุทธิเติบโต ดังนั้นปัจจัยในการแข่งขันในธุรกิจจัดการลงทุนจะให้ ความสำ�คัญกับความเชี่ยวชาญของผู้จัดการกองทุน โดยมีทีมงาน จัดการกองทุนที่มีประสบการณ์เป็นที่ยอมรับในวงการธุรกิจจัดการ
042
กองทุน รวมถึงมีทีมงานที่มีคุณภาพและมีทีมที่ปรึกษาซึ่งมีความ ชำ�นาญ นอกจากนี้ ยังให้ความสำ�คัญกับความสะดวกในด้านการให้ บริการในการซือ้ ขายหน่วยลงทุนผ่านตัวแทนสนับสนุนการขายทีพ่ ร้อม ให้คำ�แนะนำ�การลงทุน และให้บริการด้านกองทุนอย่างมีคุณภาพ ธุรกิจการจัดการกองทุนส่วนบุคคลมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง และมีการแข่งขันค่อนข้างสูง โดยมีจำ�นวนกองทุน ณ เดือน
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
พฤศจิ ก ายน 2556 จำ � นวนทั้ ง สิ้ น 2,437 กองทุ น เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 22.4 จากสิ้ น ปี 2555 คิ ด เป็ น มู ล ค่ า ทรั พ ย์ สิ น สุ ท ธิ 407,759 ล้านบาท เพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 26.6 จากสิ้นปี 2555 ทั้งนี้ บล.ภัทร ได้หยุดรับลูกค้าธุรกิจจัดการกองทุนส่วนบุคคลใหม่ โดยลูกค้าได้ลงนามสัญญาแต่งตั้งให้ บลจ.ภัทร เป็นผู้ดำ�เนินงาน บริหารกองทุนส่วนบุคคลตั้งแต่ต้นปี 2557 เป็นต้นไป
รายงานประจำ�ปี 2556
043
ปัจจัยความเสี่ยงและบริหารความเสี่ยง ภายหลังการร่วมกิจการระหว่างธนาคารเกียรตินาคิน และบริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) เป็นผลสำ�เร็จเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2555 ทำ�ให้โครงสร้างธุรกิจเปลี่ยนแปลงไป และเกิดเป็น “กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร” (หรือ “กลุ่มธุรกิจฯ”) โดยมีธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจ ประกอบธุรกิจ ธนาคารพาณิชย์ ภายใต้การดูแลของประธานธุรกิจธนาคารพาณิชย์ และมีบริษัทย่อย ได้แก่ บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) (หรือ “ทุนภัทร”) ประกอบธุรกิจถือหุน้ ในบริษทั อืน่ (Holding Company) และดำ�เนินธุรกิจส่วนตลาดทุน ภายใต้การดูแลของประธานธุรกิจตลาดทุน โดยทุนภัทร มีบริษัทย่อย ได้แก่ บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด (ชื่อเดิม บริษัทหลักทรัพย์ เกียรตินาคิน จำ�กัด) และ บริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุน ภัทร จำ�กัด (ชื่อเดิม บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เกียรตินาคิน จำ�กัด) ภาพรวมการบริหารความเสี่ยง
ในการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ย่อมมีความเสี่ยงต่างๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินงานของ กลุม่ ธุรกิจฯ ทัง้ ทีเ่ กิดจากภายในและภายนอก อาทิ การเปลีย่ นแปลง ของเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม สภาวะแวดล้อม หรือกระบวนการการ ดำ�เนินธุรกรรม ซึ่งความเสี่ยงต่างๆ ดังกล่าว สามารถจัดกลุ่มได้ เป็นความเสี่ยงหลัก 5 ด้านตามนิยามของธนาคารแห่งประเทศไทย ได้แก่ ความเสี่ยงด้านเครดิต (Credit Risk) ความเสี่ยงด้านตลาด (Market Risk) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk) และความเสี่ยงด้าน กลยุทธ์ (Strategic Risk) กลุ่มธุรกิจฯ ได้จัดให้มีกระบวนการในการ บริหารความเสี่ยง ได้แก่ การระบุความเสี่ยง การวัดและประเมิน ความเสี่ ย ง การติดตามความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง โดยมีคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง (Risk Management Committee : RMC) ทำ�หน้าที่ทบทวนและเสนอแนะนโยบาย และกรอบการบริหารความเสี่ยง และมีสายบริหารความเสี่ยง และ หน่วยงานบริหารความเสี่ยงของบริษัทย่อย ทำ�หน้าที่กำ�กับและ สนับสนุนการบริหารความเสี่ยงของกลุ่มธุรกิจฯ ซึ่งหน่วยงาน ดังกล่าวเป็นหน่วยงานอิสระจากสายธุรกิจทีม่ ธี รุ กรรม หรือกิจกรรม ทีเ่ กีย่ วข้องกับความเสี่ยง ในปี 2556 กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรมีการปรับปรุง โครงสร้างสายงานบริหารความเสี่ยงเพื่อให้สอดคล้องกับโครงสร้าง การดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มธุรกิจ อาทิ แยกฝ่ายบริหารความเสี่ยง ด้านตลาดออกจากฝ่ายบริหารความเสี่ยงด้านตลาดและสภาพ คล่อง (เดิม) เพื่อรองรับปริมาณธุรกรรมในบัญชีเพื่อค้า (Trading Book) ที่คาดว่าจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต เพิ่มเติมทีมทบทวน คุณภาพสินเชื่อ และทีมความเสี่ยงคู่ค้าสถาบันการเงิน ภายใต้ฝ่าย บริหารความเสี่ยงด้านเครดิต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งาน และทำ�ให้การบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตมีความครบถ้วนมาก ขึ้น เพิ่มทีมบริหารความเสี่ยงแบบจำ�ลอง ภายใต้ฝ่ายสนับสนุน งานบริหารความเสี่ยง เพื่อกำ�กับและสนับสนุนการบริหารความ
เสี่ยงแบบจำ�ลอง (Risk Model Validation) ของกลุ่มธุรกิจฯ รวมถึง การจั ด ตั้ ง คณะอนุ กรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นปฏิ บั ติ การ (Operational Risk Sub-Committee) และคณะอนุกรรมการ เตรียมความพร้อมผลิตภัณฑ์และกระบวนการทำ�งานใหม่ (New Product & Process Review Sub-Committee) ขึ้นเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหารความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ าร เป็นต้น นโยบายการบริหารความเสี่ยงและแนวทางการบริหารความเสี่ยง
นโยบายหลักในการบริหารความเสี่ยงของกลุ่มธุรกิจฯ คือ การบริหารความเสี่ยงให้ครอบคลุมทั้งองค์กร โดยมุ่งเน้นให้แต่ละ สายธุรกิจและหน่วยธุรกิจมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการเข้าใจ ความเสีย่ งและบริหารความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ จากหน่วยงานของตนเอง ให้อยู่ภายใต้กรอบและนโยบายการบริหารความเสี่ยงรวมของกลุ่ม ธุรกิจ ทัง้ นี้ สายบริหารความเสีย่ งจะทำ�หน้าที่ในการกำ�กับ ดูแล และ สอบทาน ความเพียงพอของกลไกการบริหารและควบคุมความเสีย่ ง ของแต่ละสายธุรกิจและหน่วยธุรกิจ นอกจากนี้ แต่ละสายธุรกิจ จะถูกจัดสรรเงินกองทุนเพื่อใช้ในการรองรับความเสี่ยงของธุรกิจ โดยวัดจากความเสีย่ งต่างๆ ของธุรกรรม ประกอบกับความเสียหาย ที่เกิดขึ้นจากธุรกิจนั้นด้วย กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรได้จัดให้มีการฝึกอบรม และให้ความรู้ด้านการบริหารความเสี่ยงแก่บุคลากรของธนาคาร และกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ฯ เพื่ อ ให้ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจในการบริ ห าร ความเสีย่ ง และกระตุน้ ให้เกิดการมีสว่ นร่วมรับผิดชอบต่อการบริหาร ความเสี่ยงขององค์กร นอกจากนี้ ยังจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูล การบริหารความเสี่ยงและเงินกองทุนต่อสาธารณะอย่างสมํ่าเสมอ อีกด้วย โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง
บทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ สายงาน และฝ่ายงานที่เกี่ยวข้องในการบริหารความเสี่ยง มีดังนี้
044
• คณะกรรมการธนาคาร มีหน้าหลักในการกำ�กับดูแลให้คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ของธนาคารและบริษทั ย่อย มีการกำ�หนดนโยบาย กระบวนการ และ การควบคุมทางด้านการบริหารความเสี่ยงประเภทต่างๆ ที่เกิดขึ้น โดยครอบคลุมความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ด้านเครดิต ด้านตลาด ด้านสภาพคล่องและด้านปฏิบัติการ • คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีบทบาทสำ�คัญในการกำ�หนดนโยบายการบริหารความเสี่ยง ทบทวนความเพียงพอของนโยบายและระบบการบริหารความเสีย่ ง ของกลุม่ ธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร เพือ่ นำ�เสนอคณะกรรมการ ธนาคารพิจารณา ตลอดจนดูแลและติดตามปริมาณความเสี่ยง ให้อยู่ในระดับทีเ่ หมาะสมสอดคล้องกับระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ (Risk Appetite) โดยมีเป้าหมาย คือ การบริหารความเสี่ยง ต่างๆ ให้อยู่ภายในขอบเขตที่กำ�หนดและดำ�เนินธุรกิจให้ได้อัตรา ผลตอบแทนที่เหมาะสม • สายบริหารความเสี่ยง มี ห น้ า ที่ อ อกแบบและพั ฒ นาเครื่ อ งมื อ และกระบวนการ การบริหารความเสี่ยงที่สำ�คัญ รวมทั้งประสานงานให้มีการนำ�ไป ประยุกต์ใช้ในสายธุรกิจและหน่วยงานต่างๆ ของกลุ่มธุรกิจการเงิน เกียรตินาคินภัทร รวมทั้งวิเคราะห์ ติดตาม ควบคุม และจัดทำ� รายงานฐานะความเสี่ยงในภาพรวมของกลุ่มธุรกิจฯ เพื่อควบคุม ความเสี่ยงให้อยู่ภายใต้ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ • สายตรวจสอบภายใน มีหน้าที่ตรวจสอบและสอบทานการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้มีการปฏิบัติตามนโยบาย หลักเกณฑ์ ระเบียบ และกระบวนการการบริหารความเสี่ยงที่กำ�หนด ทดสอบและ ประเมินประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งคุณภาพ ของการปฏิบัติงานภายในองค์กร เพื่อดำ�เนินการการปรับปรุง กระบวนการปฏิบัติงานเพื่อควบคุมและลดความเสี่ยงที่สำ�คัญ • ฝ่ายบริหารทุน มีหน้าที่รับผิดชอบในการวางแผน ติดตาม และควบคุมฐานะ เงินกองทุนของกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรให้เหมาะสมกับ ฐานะและกิจกรรมทางการเงินของกลุ่มธุรกิจ โดยมีกระบวนการ ประเมินความเพียงพอของเงินกองทุน (Internal Capital Adequacy Assessment Process - ICAAP) ทีเ่ หมาะสม และรองรับความเสีย่ ง ที่มีนัยสำ�คัญครบทุกด้าน ทั้งภายใต้ภาวะปกติ และภาวะวิกฤต รวมถึงมีความสอดคล้องตามแนวทางการกำ�กับดูแลเงินกองทุนโดย ทางการ (Pillar 2) ของธนาคารแห่งประเทศไทย
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• ฝ่ายงานเจ้าของความเสี่ยง (Risk Owner) ได้แก่ เจ้าของผลิตภัณฑ์/ฝ่ายงาน/สาขา/หน่วยงานต่างๆ ของกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร มีหน้าที่รับผิดชอบในการ บริหารจัดการความเสี่ยงด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์และ บริการของหน่วยงานตนเอง กระบวนการทำ�งาน และระบบงานต่างๆ ที่ ใ ช้ ใ นการปฏิ บั ติ ง านของหน่ ว ยงานตนเองให้ อ ยู่ ภายใต้ ร ะดั บ ความเสี่ ย งที่ ย อมรั บ ได้ และสอดคล้ อ งกั บ นโยบาย ระเบี ย บ กระบวนการการบริหารความเสี่ยง ซึ่งรวมถึงการระบุ ประเมิน ติดตาม ควบคุม และรายงานความเสี่ยง การพัฒนาเพื่อส่งเสริมการบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการธนาคารได้มีมติอนุมัติโครงการยกระดับการ บริหารความเสีย่ ง (Risk Road Map) เพือ่ เป็นแนวทางในการบริหาร ความเสี่ยงระยะยาว ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ 1) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการเก็บข้อมูล 2) การพัฒนาเครื่องมือวิเคราะห์ความเสี่ยงและเงินกองทุน โดยมีระยะเวลาโครงการ 5 ปี และมีเป้าหมายเพื่อยกระดับ การบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นเครดิ ต ตามมาตรฐานการดำ � รงเงิ น กองทุ น โดยวิ ธี แ บบจำ � ลองภายใน (Internal Rating Based Approach - IRB) กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรได้พัฒนากระบวนการ บริหารความเสี่ยงที่มีการประเมินความเพียงพอของเงินกองทุน ตามกระบวนการ ICAAP ในหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลเงินกองทุน ตาม Basel II Pillar 2 โดยกระบวนการดังกล่าวเป็นการบริหาร ความเสีย่ งทีค่ รอบคลุมถึงความเสีย่ งทีก่ ลุม่ ธุรกิจการเงินเกียรตินาคิน ภัทรเห็นว่ามีนัยสำ�คัญ กระบวนการดังกล่าวจะทำ�ให้กลุ่มธุรกิจฯ ทราบว่ามีเงินกองทุนเพียงพอรองรับความเสี่ยงต่างๆ รวมถึง รองรับการขยายตัวของธุรกิจในอนาคตหรือไม่ กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรยังได้พิจารณาความเสี่ยง ภายใต้ภาวะวิกฤตต่างๆ ซึ่งเป็นการประเมินความเสี่ยงภายใต้ การจำ�ลองสถานการณ์ที่ไม่ปกติอันมีผลกระทบต่อฐานะการเงิน และความเพียงพอของเงินกองทุน พร้อมกับจัดทำ�แผนรองรับ ในแต่ ล ะความเสี่ ย งและความเพี ย งพอของเงิ น กองทุ น ภายใต้ สถานการณ์ดังกล่าว นอกจากนี้ นโยบาย กระบวนการ ตลอดจน ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องได้ถกู จัดทำ�เป็นลายลักษณ์ อักษร และผ่านการพิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการธนาคาร นอกจากนี้ ในการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตของธนาคาร ธนาคารได้นำ�การคำ�นวณการกันสำ�รองแบบ Collective Approach มาใช้ในการกันเงินสำ�รองสำ�หรับสินเชือ่ เช่าซือ้ โดยคงเงินกันสำ�รอง ส่วนเพิม่ ไว้จนกว่าสินเชือ่ จะหมดอายุ สำ�หรับเงินกันสำ�รองสินเชือ่ ที่ หมดอายุแล้ว ธนาคารพิจารณากันเงินบางส่วนเป็นเงินสำ�รองทัว่ ไป อีกทัง้ ธนาคารมีแผนทีจ่ ะใช้การจัดอันดับเครดิตจากสถาบันจัดอันดับ
รายงานประจำ�ปี 2556
เครดิตภายนอกตามทีธ่ นาคารแห่งประเทศไทยอนุญาตมาใช้ภายใน ไตรมาส 1 ปี 2557 การบริหารความเสี่ยงด้านต่างๆ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรมีการบริหารความเสี่ยง ที่ ส อดคล้ อ งกั บ แนวทางของธนาคารแห่งประเทศไทยโดยแบ่ง ความเสี่ยงหลักออกเป็น 5 ด้าน ดังนี้ 1. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ คือความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเมื่อมีการกำ�หนดแผนกลยุทธ์แต่การ ปฏิบตั ติ ามแผนเป็นไปอย่างไม่เหมาะสมหรือเกิดความไม่สอดคล้อง ระหว่างกลยุทธ์ นโยบาย เป้าหมาย โครงสร้างองค์กร การแข่งขัน และทรั พ ยากรขององค์ กร ซึ่ ง อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ รายได้ แ ละ เงินกองทุนของกลุม่ ธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรอย่างมีนยั สำ�คัญ อันเป็นผลจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอก เพื่อลดโอกาสและผลกระทบจากความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ให้อยู่ ภายใต้กรอบความเสี่ยงที่ยอมรับได้ กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคิน ภัทรได้กำ�หนดแนวทางการบริหารความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ของ ธนาคาร โดยเริ่มต้นจากการมีองค์ประกอบสำ�คัญในการบริหาร ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ กล่าวคือ การระบุความเสี่ยง การประเมิน ความเสี่ยง การติดตามและรายงานความเสี่ยง และการควบคุม ความเสี่ยง ซึ่งธนาคารจะระบุและประเมินความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ในสองมุมมอง คือ ความเสี่ยงที่จะไม่สามารถบรรลุเป้าหมายที่ กำ�หนดไว้ และความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในกระบวนการจัดทำ�กลยุทธ์ และแผนประจำ�ปี เมื่อพบความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ที่สำ�คัญ ธนาคาร จะดำ�เนินการลดความเสี่ยงดังกล่าว พร้อมทั้งมีการติดตามและ รายงานต่อคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องและผู้บริหารระดับสูง เพื่อ พิจารณาแนวทางแก้ไข สำ � หรั บ การบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นกลยุ ท ธ์ ข องบริ ษั ท ย่ อ ย ภายใต้ ก ลุ่ ม ธุ ร กิ จ การเงิ น เกี ย รติ นาคิ น ภั ท รนั้ น จะดำ � เนิ น การ ตามแนวทางที่ได้กำ�หนดไว้ในนโยบายการบริหารความเสี่ยงด้าน กลยุทธ์ของกลุม่ ธุรกิจฯ โดยนโยบายฉบับดังกล่าวจะครอบคลุมถึง การบริหารความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ของแต่ละบริษทั ภายใต้กลุม่ ธุรกิจ การเงินเกียรตินาคินภัทร และการบริหารความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ใน ภาพรวมของกลุ่มธุรกิจฯ ปัจจัยความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรมีความเสี่ยงหลักด้าน กลยุทธ์ดังต่อไปนี้ 1.1 ความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจ ความเสีย่ งจากเศรษฐกิจในปี 2557 สามารถแบ่งออกได้ เป็น 2 ประเด็นหลัก อันได้แก่ ความเสี่ยงจากเศรษฐกิจโลกและ ความเสี่ยงจากเศรษฐกิจไทย สำ�หรับความเสี่ยงจากเศรษฐกิจโลก นั้น ได้แก่ ความเสี่ยงเชิงนโยบายเศรษฐกิจของประเทศชั้นนำ�ของ
045
โลก เช่น (1) ประเด็นการลดทอนมาตรการอัดฉีดสภาพคล่องของ ธนาคารกลางสหรัฐฯ ซึ่งหากเกิดขึ้นจริง อาจทำ�ให้นักลงทุนดึงเงิน ออกจากประเทศตลาดเกิดใหม่รวมทัง้ ประเทศไทย ทำ�ให้คา่ เงินบาท อ่อนค่าลง และทำ�ให้ดอกเบี้ยพันธบัตรปรับขึ้น และทำ�ให้สภาพ คล่องทางการเงินของประเทศไทยตึงตัวขึ้น (2) ประเด็นด้าน การเมืองของสหรัฐอเมริกาที่อาจกระทบต่อเศรษฐกิจ โดยหาก ภาคการเมืองสหรัฐอเมริกาไม่สามารถตกลงประเด็นเกี่ยวกับการ ต่อเพดานหนีส้ าธารณะในต้นปี 2558 ได้ อาจทำ�ให้สหรัฐอเมริกา ผิดนัดชำ�ระหนี้ มีผลต่อความเชื่อมั่นและความผันผวนในตลาด การเงินได้ และ (3) แนวโน้มการเปลีย่ นแปลงนโยบายของรัฐบาล จีนที่อาจคุมเข้มจนทำ�ให้เศรษฐกิจชะลอตัวอย่างรุนแรง และเป็น ความเสี่ยงต่อภาคการส่งออกและเศรษฐกิจไทยได้ ส่วนความเสี่ยงจากเศรษฐกิจไทย มีความเสี่ยง 3 ประการ หลัก คือ 1) ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองที่หากยืดเยื้อรุนแรง จะกระทบความเชื่อมั่นของผู้บริโภค นักธุรกิจ รวมถึงนักท่องเที่ยว ทำ�ให้การบริโภค การลงทุนภาคเอกชนและการท่องเที่ยวชะลอตัว ยิ่งขึ้น 2) แนวโน้มนโยบายการเงินในเชิงพฤตินัยที่ตึงตัว อันเป็น ผลจากการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยมีแนวโน้มคงอัตราดอกเบี้ย นโยบายไว้ที่ระดับปัจจุบันต่อไป เพื่อรักษาส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย ระหว่างในและต่างประเทศในช่วงที่เงินทุนเคลื่อนย้า ยผั น ผวน ในขณะเดียวกัน ทิศทางเงินเฟ้อในปัจจุบันมีทิศทางทรงตัวใน ระดับตํ่า จะทำ�ให้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงสูงขึ้น และกดดันการ บริโภคและลงทุนในระยะต่อไป และ 3) นโยบายการคลังทีอ่ าจตึงตัว จากการที่ภาครัฐที่มีแผนการทำ�งบประมาณสมดุลในระยะกลาง ขณะที่โครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานที่อาจล่าช้า จะยิ่งทำ�ให้การ ใช้จ่ายภาคการคลังหดตัวลง และเป็นปัจจัยฉุดรั้งการขยายตัวของ เศรษฐกิจในระยะต่อไป เพื่อบริหารความเสี่ยงดังกล่าวให้อยู่ภายใต้กรอบความ เสี่ยงที่ยอมรับได้ กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรจึงมุ่งเน้นการ ผู กรวมการบริ ห ารความเสี่ ย งเข้ า ไปในกระบวนการทำ � ธุ ร กิ จ ทุกขั้นตอน มีกระบวนการเพื่อช่วยให้กลุ่มธุรกิจฯ ปรับตัวได้ทันต่อ สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น มีการประเมินสถานการณ์อย่าง สมํา่ เสมอ รวมถึงการทดสอบภาวะวิกฤต (Stress Test) และเตรียม แผนรองรับสำ�หรับวิกฤตการณ์ที่อาจเกิดขึ้น 1.2 ความเสี่ยงจากความเพียงพอของเงินกองทุน (ICAAP) • หลักเกณฑ์การดำ�รงเงินกองทุนตาม Basel III จากวิกฤตการเงินโลกและปัญหาของสถาบันการเงินที่ เกิดขึ้นในหลายประเทศในช่วงปี 2550-2551 ที่ผ่านมา ประกอบ กับสถาบันการเงินมีการดำ�เนินธุรกิจ ที่มีความซับซ้อนมากขึ้ น ชี้ให้เห็นถึงความจำ�เป็นในการทบทวนแนวคิดการกำ�กับดูแลระบบ การเงิน ซึง่ ส่วนหนึง่ คือการปรับปรุงหลักเกณฑ์การดำ�รงเงินกองทุน ภายใต้หลักเกณฑ์ Basel III เพื่อให้สถาบันการเงินมีเงินกองทุนที่มี
046
คุณภาพดีขนึ้ และปริมาณสูงขึน้ สามารถรองรับความเสียหายทีอ่ าจ เกิดขึ้นทั้งในภาวะปกติ และภาวะวิกฤตได้ ภายใต้หลักเกณฑ์ Basel III ที่มีผลบังคับใช้ในระดับ เฉพาะธนาคารเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2556 และระดับกลุ่มธุรกิจ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2557 นั้น ได้มีการปรับปรุงแนวทางการดำ�รง เงินกองทุนทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ เพื่อให้ธนาคารพาณิชย์ มีความมัน่ คงและแข็งแกร่งมากขึน้ กล่าวคือ ในเชิงคุณภาพกำ�หนด ให้องค์ประกอบเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ตอ้ งเป็นเงินกองทุน ที่มีคุณภาพดีที่สุดเป็นหลัก คือ เงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของ เจ้าของ (Common Equity Tier 1: CET1) ซึ่งประกอบด้วยหุ้น สามัญและกำ�ไรสะสมเป็นหลัก เพื่อให้เงินกองทุนที่แท้จริงที่ต้อง ใช้รองรับความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น มาจากส่วนของผู้ถือหุ้นใน ปริมาณที่มากเพียงพอและเป็นองค์ประกอบหลักของเงินกองทุน โดยรวม รวมถึงยังได้ปรับปรุงคุณสมบัติของตราสารทางการเงินที่ สามารถนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ให้มีลักษณะคล้าย ทุนมากขึ้น สำ�หรับในส่วนของเชิงปริมาณนั้น กำ�หนดให้เพิ่ม อัตราส่วนเงินกองทุนชัน้ ที่ 1 จากเดิมกำ�หนดว่าต้องไม่ตาํ่ กว่าร้อยละ 4.25 เปลี่ยนเป็นไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 6.00 แทน และได้เพิ่มเติม อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของไว้ต้องไม่ตํ่า กว่าร้อยละ 4.50 โดยได้คงอัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้นไว้ที่ไม่ตํ่า กว่าร้อยละ 8.50 นอกจากนี้ ได้ปรับปรุงวิธีการคำ�นวณสินทรัพย์ เสี่ยงด้านเครดิตของธุรกรรมที่มีความซับซ้อนให้สามารถสะท้อน ความเสี่ยงได้ดียิ่งขึ้นด้วย • ความเพียงพอของเงินกองทุน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรได้ให้ความสำ�คัญ กั บ กระบวนการประเมิ น ความเพี ย งพอของเงิ น กองทุ น เป็ น อย่างมาก เพื่อให้มั่นใจว่ากลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร จะมีกลยุทธ์ ในการรักษาระดับเงินกองทุนให้สูงกว่าเป้าหมายการ ดำ�รงเงินกองทุนที่กำ�หนดไว้ พร้อมทั้งมีวิธีการหรือเครื่องมือ ที่จะช่วยเสริมสร้างและประเมินความเพียงพอของเงินกองทุน อย่างเหมาะสม ซึ่งเพียงพอที่จะรองรับความเสี่ยงต่างๆ จากการ ดำ�เนินธุรกิจของกลุม่ ธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรทัง้ ในภาวะปกติ และภาวะวิกฤต กระบวนการประเมินความเพียงพอของเงินกองทุนเป็น การประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์กร เพื่อให้ เกิดความสอดคล้องระหว่างผลการดำ�เนินงานของกลุ่มธุรกิจการ เงินเกียรตินาคินภัทร กับเป้าหมาย กลยุทธ์ แผนธุรกิจ และความ เสี่ยงที่ยอมรับได้ตามที่คณะกรรมการธนาคารกำ�หนดไว้ โดยมีการ กำ�หนดเป้าหมายการดำ�รงเงินกองทุน และมีการทบทวนเป้าหมาย การดำ�รงเงินกองทุนดังกล่าวตามความเหมาะสมอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ หรือทันทีทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงทีม่ ผี ลกระทบอย่างมีนยั สำ�คัญ ต่อระดับเงินกองทุน
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
ในปี 2556 ที่ผ่านมา สำ�หรับในระดับธนาคาร การดำ�รง เงินกองทุนตามเกณฑ์ Basel III ธนาคารได้มีการดำ�รงเงินกองทุน โดยใช้วิธี Standardised Approach (SA) สำ�หรับความเสี่ยงด้าน เครดิต และวิธี Basic Indicator Approach (BIA) สำ�หรับความเสี่ยง ด้านปฏิบตั กิ าร ในขณะทีร่ ะดับกลุม่ ธุรกิจ การคำ�นวณความเพียงพอ ของเงินกองทุนยังคงใช้ตามหลักเกณฑ์ Basel II โดยได้ดำ�รงเงิน กองทุนตามวิธี Standardised Approach (SA) สำ�หรับความเสี่ยง ด้านเครดิต และวิธี Basic Indicator Approach (BIA) สำ�หรับความ เสี่ยงด้านปฏิบัติการ โดยทั้ ง ระดั บ ธนาคารและระดั บ กลุ่ ม ธุ ร กิ จ นั้ น ยั ง ไม่ต้องดำ�รงเงินกองทุนสำ�หรับความเสี่ยงด้านอื่นๆ อันเนื่องจาก ปริมาณธุรกรรมยังไม่ถึงระดับที่มีนัยสำ�คัญตามเกณฑ์ที่ธนาคาร แห่ ง ประเทศไทยกำ � หนด อย่ า งไรก็ ต าม กลุ่ ม ธุ ร กิ จ การเงิ น เกียรตินาคินภัทรมีนโยบายที่จะดำ�รงระดับเงินกองทุนส่วนเพิ่ม ตามระดับของข้อความความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite Statement) ซึ่งจะอยู่ในระดับที่สูงกว่าเกณฑ์ขั้นตํ่าของธนาคาร แห่งประเทศไทยค่อนข้างมาก เพือ่ ให้เพียงพอทีจ่ ะรองรับความเสีย่ ง ด้านอื่นๆ ที่กลุ่มธุรกิจฯ ต้องเผชิญ ตามหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแล โดยทางการ (Pillar 2) นอกเหนือจากความเสี่ยงตามหลักเกณฑ์ การดำ�รงเงินกองทุนขั้นตํ่า (Pillar 1) ของธนาคารแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ในปี 2557 กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรต้องเริ่ม ดำ�รงเงินกองทุนตามหลักเกณฑ์ Basel III และรวมถึงการดำ�รง เงินกองทุนสำ�หรับความเสี่ยงด้านตลาดตามหลักเกณฑ์ที่ธนาคาร แห่งประเทศไทยกำ�หนด ธนาคารมีการขยายตัวทางธุรกิจอย่างต่อเนื่องทั้งการ ขยายตัวของสินเชื่อและรายได้ในช่วงปี 2556 ส่งผลให้ความเสี่ยง ทั้งทางด้านเครดิต และด้านปฏิบัติการเพิ่มสูงขึ้น โดยที่ธนาคาร มีเงินกองทุนทั้งสิ้นเพิ่มขึ้นสุทธิ 787 ล้านบาท มาอยู่ที่ 28,177 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจากกำ�ไรจากการดำ�เนินงานภายหลัง การจัดสรรเงินปันผล รวมถึงการใช้สิทธิ ESOP-W2 ในระหว่างปี นอกจากนี้ เงินกองทุนของธนาคารมีสดั ส่วนของ CET1 เป็นสัดส่วน ที่สูงถึงร้อยละ 95.9 ของเงินกองทุนทั้งสิ้น แสดงให้เห็นถึงคุณภาพ และความเพียงพอของระดับเงินกองทุนที่จะรองรับการขยายตัว ทางธุรกิจ รวมถึงความเสี่ยงต่างๆ ภายใต้หลักเกณฑ์ Basel III อย่างไรก็ตาม ความเสีย่ งของธนาคารทีเ่ พิม่ ขึน้ ในปีทผี่ า่ นมามีระดับ มากกว่าการเพิ่มขึ้นของเงินกองทุน จึงส่งผลให้ระดับเงินกองทุน ต่อสินทรัพย์เสี่ยง (BIS Ratio) ของธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ลดลงร้อยละ 1.03 จากสิ้นปี 2555 มาอยู่ที่ร้อยละ 13.66 ซึ่ง ยังคงสูงกว่าอัตราขัน้ ตํา่ ของธนาคารแห่งประเทศไทยทีร่ อ้ ยละ 8.50 ภายใต้โครงการยกระดับการบริหารความเสีย่ ง กลุม่ ธุรกิจ การเงินเกียรตินาคินภัทรมีแผนเตรียมความพร้อมที่จะดำ�รงเงิน กองทุนโดยใช้วิธี Internal Rating Based Approach (IRB) สำ�หรับ
รายงานประจำ�ปี 2556
047
ตารางแสดงอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง (เฉพาะธนาคาร) Basel II Basel III อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง (ร้อยละ) 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม อัตราขั้นตํ่า 31 ธันวาคม อัตราขั้นตํ่า 2554 2555 ตามกฎหมาย 2556 ตามกฎหมาย เงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของ 13.10 4.50 เงินกองทุนชั้นที่ 1 14.70 14.01 4.25 13.10 6.00 เงินกองทุนทั้งสิ้น 15.40 14.69 8.50 13.66 8.50 ความเสี่ยงด้านเครดิต และ Standardised Approach (SA-OR) สำ � หรั บ ความเสี่ ย งด้านปฏิบัติการในอนาคต ซึ่งวิธีดังกล่าวจะ สามารถสะท้อนระดับความเสี่ยงขององค์กรได้ดีมากขึ้นกว่าวิธีการ คำ�นวณในปัจจุบัน และกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรจะ ได้ประโยชน์จากความต้องการเงินกองทุนด้านสินเชื่อรายย่อย ที่อยู่ ในระดับตํ่ากว่าเกณฑ์ ในปัจจุบัน ซึ่งจะส่งผลให้กลุ่มธุรกิจฯ มี เ งิ น กองทุ น ส่ ว นเกิ น เพิ่ ม สู ง ขึ้ น ลดความเสี่ ย งในเรื่ อ งความ เพียงพอของเงินกองทุน นอกจากการดำ�รงเงินกองทุนตามกฎหมาย ปัจจุบัน กลุ่ ม ธุ ร กิ จ การเงิ น เกี ย รติ น าคิ น ภั ท รอยู่ ร ะหว่ า งการพั ฒ นา กระบวนการประเมิ น ระดั บ ความเสี่ ย งตามเงิ น กองทุ น ทาง เศรษฐศาสตร์ (Economic Capital) ซึ่งเป็นการประเมินระดับ ความเพี ย งพอของเงิ น กองทุ น สำ � หรั บ รองรั บ ความเสี่ ย งต่ า งๆ ในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ของกลุ่ ม ธุ ร กิ จ การเงิ น เกี ย รติ นาคิ น ภั ท ร โดยเป็นกระบวนการประเมินความเสี่ยงและความเพียงพอของ เงิ น กองทุ น ที่ จั ด ทำ � ขึ้ น จากแบบจำ � ลองภายใน เพื่ อ ใช้ ใ นการ ประเมิ น ระดั บ ความเสี่ ย งและความเพี ย งพอของเงิ น กองทุ น ตามวิธีการดังกล่าวในอนาคตควบคู่ไปกับการดำ�รงเงินกองทุน ตามกฎหมาย • นโยบายการดำ�รงเงินกองทุน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรมีนโยบายการดำ�รง เงินกองทุนที่เพียงพอรองรับความเสี่ยงด้านต่างๆ ที่เผชิญ รวมถึง การขยายตัวทางธุรกิจในอนาคต โดยเป้าหมายการดำ�รงเงินกองทุน และระดับเงินกองทุนขั้นตํ่าที่ต้องดำ�รงได้ถูกกำ�หนดเอาไว้แล้วใน ข้อความความเสี่ยงที่ยอมรับได้ของกลุ่มธุรกิจฯ ที่ได้รับการอนุมัติ จากคณะกรรมการธนาคาร ทัง้ นี้ เป้าหมายการดำ�รงเงินกองทุนและ ระดับเงินกองทุนขัน้ ตํา่ ทีก่ ลุม่ ธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรกำ�หนด ขึ้นได้สะท้อนถึงวัตถุประสงค์หลักต่างๆ ดังนี้ • มีการดำ�รงเงินกองทุนสูงกว่าเกณฑ์การดำ�รงเงิน กองทุนขั้นตํ่าที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนดใน อัตราร้อยละ 8.50 ของสินทรัพย์เสี่ยงตามเกณฑ์ การดำ�รงเงินกองทุนขั้นตํ่า เพื่อป้องกันความเสี่ยง
ที่ มี นั ย สำ � คั ญ อื่ น ซึ่ ง ไม่ ร วมอยู่ ใ นเกณฑ์ การดำ � รง เงินกองทุนขั้นตํ่าภายใต้เกณฑ์การดำ�รงเงินกองทุน ขั้นตํ่า • ดำ�รงเงินกองทุนให้สอดคล้องกับระดับความเสี่ยงที่ ยอมรับได้ และระดับของความเบีย่ งเบนจากความเสีย่ ง ที่ย อมรับได้ (Risk Tolerance) ซึ่งกำ � หนดโดย คณะกรรมการธนาคาร • คำ�นึงถึงระดับเงินกองทุนภายใต้ภาวะวิกฤต และ ต้องมีแผนรองรับการรักษาระดับเงินกองทุนภายใต้ ภาวะวิกฤต ไม่ให้ตํ่าไปกว่าเกณฑ์ที่กำ�หนด • ดำ � รงเงิ น กองทุ น ให้ เ พี ย งพอกั บ ความเสี่ ย งที่ มี นั ย สำ � คั ญ ตามเกณฑ์ การกำ � กั บ ดู แ ลโดยทางการ ที่กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรเผชิญอยู่ • คำ�นึงถึงผลกระทบที่มีต่อผู้ถือหุ้นในการดำ�รงเงิน กองทุน เพื่อให้กระบวนการในการประเมินเงินกองทุนมีความ สมบูรณ์ยิ่งขึ้น กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรได้มีการ • พั ฒ นาระบบประเมิ น ความเสี่ ย งที่ มี นั ย สำ � คั ญ ที่ ส ามารถประเมิ น ได้ โ ดยใช้ วิ ธี เ ชิ ง ปริ ม าณ ได้แก่ ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงด้านตลาด ความเสี่ ย งด้ า นปฏิ บั ติ ก าร ความเสี่ ย งจากการ กระจุ ก ตั ว ด้ า นเครดิ ต และความเสี่ ย งด้ า นอั ต รา ดอกเบีย้ ในบัญชีเพือ่ การธนาคาร ทัง้ ภายใต้ภาวะปกติ และภาวะวิกฤต • พัฒนาเกณฑ์ ในการดำ�รงเงินกองทุนที่เชื่อมโยงกับ ระดับความเสี่ยงที่มีนัยสำ�คัญแต่ละประเภทดังกล่าว ข้างต้น ในแต่ละประเภทธุรกิจของกลุ่มธุรกิจการเงิน เกียรตินาคินภัทร • มีแผนรองรับ เพือ่ รักษาระดับเงินกองทุนภายใต้ภาวะ วิกฤตไม่ให้ตํ่ากว่าเกณฑ์ที่กำ�หนด • พัฒนาระบบประเมินผลงานของธุรกิจแต่ละประเภท โดยคำ � นึ ง ถึ ง ต้ น ทุ น ในการดำ � รงเงิ น กองทุ น และ
048
สามารถแสดงผลตอบแทนที่ผู้ถือหุ้นได้รับจากธุรกิจ แต่ละประเภท • พัฒนากระบวนการประเมินความเสี่ยงและความ เพียงพอของเงินกองทุนโดยวิธีระดับเงินกองทุนทาง เศรษฐศาสตร์ 1.3 ความเสี่ยงที่รายได้ค่าธรรมเนียมจากการเป็นนายหน้า ซื้อขายหลักทรัพย์อาจลดลงอย่างมีนัยสำ�คัญหากเกิด ความผันผวนขึ้นกับภาวะเศรษฐกิจ การเมือง สภาวะ ตลาดเงินและตลาดทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ หลังจากการร่วมกิจการระหว่างธนาคารเกียรตินาคิน และบริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) ทำ�ให้รายได้ค่าธรรมเนียมจาก การเป็นนายหน้าซือ้ ขายหลักทรัพย์เป็นรายได้หลักของกลุม่ ธุรกิจฯ ซึ่งรายได้ดังกล่าวจะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับความผันผวนของ ภาวะเศรษฐกิจและการเมือง ดังนั้นหากเกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า หรือความไม่แน่นอนทางการเมืองขึ้น จะส่งผลกระทบต่อปริมาณ การซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อ ปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านกลุ่มธุรกิจฯ รวมถึงต่อรายได้ จากค่าธรรมเนียมการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรมีนโยบายในการทำ� ธุรกิจที่มีความชำ�นาญเฉพาะด้าน โดยมุ่งเน้นธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจบริหารหนี้ และธุรกิจตลาดทุน เพื่อให้ เกิดความชำ�นาญและความสามารถแข่งขันในธุรกิจนั้นๆ และด้วย กลยุทธ์ดังกล่าว กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรจึงมีมาตรการ ควบคุมความเสี่ยงหลัก โดยจัดให้มีเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง ในระดั บ สู ง เพี ย งพอต่ อ ผลกระทบจากการกระจุ ก ตั ว ของธุ ร กิ จ และรองรับการผันผวนของรายได้ในอนาคต ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ธนาคารดำ�รงเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงในอัตราร้อยละ 13.66 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทยที่กำ�หนดไว้ ร้อยละ 8.50 โดยธนาคารมีเงินกองทุนทั้งสิ้นจำ�นวน 28,177 ล้านบาท ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งของเงินกองทุนในการ รองรับความเสีย่ งด้านต่างๆ รวมถึงการขยายตัวทางธุรกิจในอนาคต ทั้งนี้ การบริหารความเสี่ยงด้านกลยุทธ์อยู่ภายใต้การ ดูแลของคณะกรรมการธนาคาร และคณะกรรมการบริหาร โดยใน ส่วนของกระบวนการกำ�หนดและทบทวนแผนกลยุทธ์ รวมถึงการ ติดตามผลการดำ�เนินงานของกลุ่มธุรกิจฯ อยู่ภายใต้การดูแลของ ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์และธุรกิจ ซึ่งมีหน้าที่นำ�เสนอแผนกลยุทธ์ต่อ คณะกรรมการบริหาร เพือ่ ร่วมพิจารณากลัน่ กรองความเหมาะสมใน ประเด็นต่างๆ จากนั้นจึงนำ�แผนกลยุทธ์ที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว พร้อมทั้งกรอบงบประมาณที่จัดทำ�โดยฝ่ายวิเคราะห์การเงินและ งบประมาณ เสนอต่อคณะกรรมการธนาคารเพื่อพิจารณาอนุมัติ ที่ผ่านมา กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรได้มีการ ติดตามผลการดำ�เนินงานเปรียบเทียบกับแผนการดำ�เนินงานและ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
งบประมาณ และการวัดผลในระดับต่างๆ โดยวิเคราะห์ผลการดำ�เนิน งานเปรียบเทียบกับเป้าหมาย เพื่อหาสาเหตุและแนวทางการแก้ไข รวมถึงการติดตามผลการดำ�เนินการแก้ไขดังกล่าว ที่เหมาะสมกับ ลักษณะธุรกิจและปริมาณธุรกรรมของกลุ่มธุรกิจฯ อย่างไรก็ตาม แม้ว่ากลุ่มธุรกิจฯ จะมีกระบวนการการ บริหารความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น กลุม่ ธุรกิจฯ ไม่อาจรับรองได้วา่ จะไม่มคี วามเสียหายจากความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ เกิดขึน้ เนือ่ งจากความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจ ความรุนแรงของ ปัญหาทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์ต่างๆ ของทางการ ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มธุรกิจฯ และหากภาวะความ ผันผวนดังกล่าวมีมากเกินกว่าที่กลุ่มธุรกิจฯ ได้คาดการณ์เอาไว้ อาจส่งผลกระทบต่อกำ�ไรของกลุ่มธุรกิจฯ อย่างมีนัยสำ�คัญได้ เช่นกัน 2. ความเสี่ยงด้านเครดิต คือ ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเมื่อคู่สัญญาหรือผู้กู้ยืมไม่สามารถ ปฏิ บั ติ ต ามเงื่ อ นไขและข้ อ ตกลงในสั ญ ญา ทำ � ให้ ไ ม่ ส ามารถ ชำ�ระหนี้ที่มีต่อกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรเมื่อครบกำ�หนด ได้หรือจงใจไม่ปฏิบัติตามสัญญาที่จะชำ�ระหนี้ ให้กับกลุ่มธุรกิจฯ หากเกิ ด เหตุ ก ารณ์ ดั ง กล่ า วขึ้ น โดยมี ห ลั ก ประกั น คุ้ ม ครองไม่ เพี ย งพอ จะส่ ง ผลกระทบต่ อ กำ � ไรสุ ท ธิ แ ละเงิ น กองทุ น ของ กลุ่มธุรกิจฯ อย่างมีนัยสำ�คัญ กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร จึงพัฒนากระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านเครดิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สะท้อนความเสี่ยงภายใต้การจัดการที่เหมาะสม กล่าวคือ การปรับปรุงนโยบายสินเชื่อ ธนาคารมุ่งเน้นการปรับปรุง นโยบายสินเชื่อหลัก นโยบายสินเชื่อธุรกิจ นโยบายสินเชื่อรายย่อย ให้มีความรัดกุมเพียงพอ และเหมาะสมต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน อีกทั้งเพิ่มในส่วนของนโยบายสินเชื่อคู่ค้า นโยบายความเสี่ยงของ ประเทศคู่ค้าสัญญา เพื่อรองรับแผนการขยายธุรกิจธนาคารไปยัง กลุ่มลูกค้าสถาบันการเงินและลูกค้าบรรษัท ภายหลังการควบรวม กิจการกับทุนภัทร การจัดทำ�เครื่องมือช่วยในการพิจารณาและอนุมัติเครดิต ธนาคารมุง่ เน้นการพัฒนาและปรับปรุงเครือ่ งมือช่วยในการพิจารณา และอนุมตั เิ ครดิตอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีการนำ�เครือ่ งมืออนุมตั เิ ครดิต (Credit Scoring) มาใช้ เพื่อให้ธนาคารสามารถประเมินความเสี่ยง และคัดเลือกกลุม่ ลูกค้าได้ตรงตามเป้าหมายและกลยุทธ์ของธนาคาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การบริหารพอร์ตโฟลิโอ ธนาคารมุ่งเน้นการให้สินเชื่อใน ธุรกิจที่ธนาคารมีความเชี่ยวชาญ และบริหารจัดการพอร์ตโฟลิโอ เพื่อให้ได้ผลตอบแทนสูงสุดภายใต้ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ผ่าน การติดตามสถานะพอร์ตในรูปแบบของการจัดทำ�ข้อมูลสารสนเทศ ที่เป็นระบบ การวิเคราะห์ ในเชิงลึกเพื่อหาประเด็นความเสี่ยง
รายงานประจำ�ปี 2556
049
พร้อมแนวทางแก้ไข อีกทั้งกำ�หนดเพดานความเสี่ยงด้านการ กระจุกตัวสินเชือ่ เพือ่ ลดผลกระทบทีเ่ กิดจากความเสียหายจากความ ผันผวนของผลประกอบการของกลุม่ ธุรกิจฯ อาทิเช่น การกระจุกตัว ระดับลูกหนี้รายใหญ่ต่อราย (Single Lending Limit) การกระจุกตัว ของลูกหนี้รายใหญ่ (Large Borrower Concentration) ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ มีจำ�นวนทั้งสิ้น 7,276 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.8 ของสินเชื่อรวม โดยรายละเอียดของหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้จำ�แนกตามประเภท สินเชื่อ เป็นดังตารางแสดงสินเชื่อประเภทต่างๆ อั ต ราส่ ว นหนี้ ที่ ไ ม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด รายได้ ต่ อ สิ น เชื่ อ รวมอยู่ ที่ ร้ อ ยละ 3.8 เพิ่ ม ขึ้ น จากสิ้ น ปี 2555 เป็ น ผลจากหนี้ ที่ ไ ม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด รายได้ ข องสิ น เชื่ อ เช่ า ซื้ อ รถยนต์ ป รั บ ตั ว สู ง ขึ้ น อั น เป็ น ผลจากมาตรการรถคันแรกที่ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อ ตลาดเช่ า ซื้ อ ในแง่ ข องคุ ณ ภาพหนี้ อี ก ทั้ ง ราคารถมื อ สองที่ ลดลงยังมีผลต่อการขาดทุนรถยึดให้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างไร ก็ ดี ธ นาคารคาดว่ า ผลกระทบดั ง กล่ า วจะกลั บ เข้ า สู่ ภ าวะปกติ ในปี 2557 ยอดสำ�รองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและค่าเผื่อการปรับมูลค่า จากการปรับโครงสร้างหนี้มีจำ�นวน 7,266 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 100.0 ของหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้รวม โดยแบ่งเป็นค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญเฉพาะรายจำ�นวน 3,395 ล้านบาท และค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญทั่วไปจำ�นวน 3,870 ล้านบาท ทั้งนี้ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2556 ธนาคารได้นำ�วิธี Collective Approach มาใช้
ในการกั น เงิ น สำ � รองตามเกณฑ์ สำ � หรั บ สิ น เชื่ อ เช่ า ซื้ อ รายย่ อ ย ส่งผลให้อัตราส่วนสำ�รองทั้งสิ้นต่อสำ�รองตามเกณฑ์เท่ากับร้อยละ 186.7 ณ สิ้นปี 2556 อนึ่ ง สำ � หรั บ ทิ ศ ทางปี 2557 ยั ง คงมี ปั จ จั ย เสี่ ย งซึ่ ง อาจ ส่งผลกระทบต่อพอร์ตสินเชื่อของกลุ่มธุรกิจฯ กล่าวคือ • สถานการณ์ทางการเมืองที่ยืดเยื้อ และภาวะเศรษฐกิจ ที่ชะลอตัว ซึ่งส่งผลกระทบต่อความสามารถในการชำ�ระหนี้ โดย เฉพาะสินเชื่อภาคครัวเรือน เช่น สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ และสินเชื่อ ส่วนบุคคล ทำ�ให้คุณภาพหนี้อาจมีแนวโน้มด้อยลง • ผลกระทบจากนโยบายรถคันแรก ซึ่งเป็นการดึงอุปสงค์ ในอนาคตมาใช้ อาจผลให้ตลาดเช่าซื้อรถยนต์ ในปี 2557 เข้าสู่ ภาวะชะลอตัว และกระทบโดยตรงต่อสภาพคล่อง หรือความสามารถ ในการชำ�ระหนี้ของกลุ่มลูกค้าตัวแทนจำ�หน่ายรถยนต์ (ดีลเลอร์) รวมถึ ง ผู้ ป ระกอบการรถมื อ สอง ทำ � ให้ คุ ณ ภาพหนี้ มี แ นวโน้ ม ด้อยลง อีกทั้ง นโยบายดังกล่าวยังส่งผลต่อสัดส่วนหนี้สินครัวเรือน ที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย • ความเสี่ยงอันเกิดจากการกระจุกตัวในพอร์ตสินเชื่อจาก ลูกหนี้บางภาคอุตสาหกรรม ซึ่งเมื่อได้รับผลกระทบจากภาวะ เศรษฐกิจจะมีผลต่อคุณภาพหนี้โดยรวมของพอร์ตสินเชื่ออย่างมี นัยสำ�คัญ เช่น ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งอาจเผชิญกับปัญหาผู้ซื้อ ชะลอการโอนซื้ อ บ้ า น เพื่ อ รอดู ค วามชั ด เจนของสถานการณ์ การเมือง กลุ่มลูกหนี้ชาวนาหรือเกษตรกรที่ได้รับผลจากโครงการ รับจำ�นำ�ข้าว หรือราคายางที่ตกตํ่า
ตารางแสดงสินเชื่อประเภทต่างๆ ประเภทของสินเชื่อ สินเชื่อรายย่อย สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ สินเชื่อบุคคล สินเชื่อ Micro SMEs สินเชื่อเคหะ สินเชื่อธุรกิจ สินเชื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ สินเชื่อธุรกิจเอสเอ็มอี สินเชื่อสายบริหารหนี้ สินเชื่ออื่น รวม
31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2556 จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) 2,345 41.7 1.8 3,231 46.3 2.3 1,936 34.4 1.6 2,762 39.8 2.1 62 1.1 1.8 112 1.3 3.1 112 2 6.6 143 2.0 8.7 236 4.2 46.6 213 3.2 48.2 2,584 45.9 6.6 3,290 48.5 6.7 1,955 34.7 9.6 2,379 34.6 8.3 629 11.2 3.3 911 13.9 4.4 692 12.3 53.1 756 5.1 74.2 6 0.1 1.1 6 0.1 1.0 5,628 100.0 3.3 7,283 100.0 3.8
050
หากปัจจัยทางการเมืองทวีความตึงเครียดและลุกลามไปจน เกิดความรุนแรง อาจส่งผลกระทบในด้านลบต่อภาวะเศรษฐกิจ ของประเทศ ซึ่งเหตุดังกล่าวเป็นปัจจัยที่อยู่นอกเหนือการควบคุม ของธนาคาร และอาจส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อคุณภาพหนี้ พอร์ตสินเชื่อโดยรวมของกลุ่มธุรกิจฯ 3. ความเสี่ยงด้านตลาด คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของราคา ได้แก่ อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน และราคาของตราสารทั้งใน ตลาดเงินและตลาดทุน รวมถึงความผันผวนของราคาตราสารทัง้ ใน ตลาดเงินและตลาดทุนอันจะมีผลต่อราคาตราสารอนุพันธ์ ที่มี ต่อฐานะของธนาคารทั้งในบัญชีเพื่อค้าและบัญชีเพื่อการธนาคาร และก่อให้เกิดผลกระทบในทางลบต่อรายได้และเงินกองทุนของ ธนาคาร ธนาคารตระหนักถึงความสำ�คัญของการบริหารความเสี่ยง ด้านตลาด เนือ่ งจากการเปลีย่ นแปลงของราคาเป็นปัจจัยภายนอกที่ อยู่เหนือการควบคุมของธนาคาร ดังนั้น ธนาคารจึงได้วางแนวทาง ในการบริหารความเสี่ยงด้านตลาดเพื่อให้มีการบริหารที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ โดยการบริหารจัดการความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ ให้อยู่ ในระดับความเสี่ยงที่ธนาคารยอมรับได้และสอดคล้องกับนโยบาย ความเสี่ยงโดยรวมของธนาคาร ทั้งนี้ ธนาคารได้จัดให้มีนโยบาย การบริหารความเสี่ยงด้านตลาดและมีการทบทวนอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะ ปริมาณ และความ ซับซ้อนของธุรกรรมทางการเงิน และสอดคล้องกับสถานการณ์ ตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้ ธนาคารได้มีการกำ�หนดตัว ชี้วัดความเสี่ยง รวมถึงกำ�หนดเพดานความเสี่ยง เพื่อใช้ประเมิน ติดตามและ ควบคุมฐานะความเสี่ยงด้านตลาดให้อยู่ภายใต้ระดับ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ธนาคารพิจารณาความเสี่ยงด้านตลาด โดยแบ่งโครงสร้าง การบริหารความเสี่ยงออกเป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่ การบริหาร ความเสีย่ งด้านตลาดในบัญชีเพือ่ การธนาคาร (Banking Book) และ การบริหารความเสี่ยงด้านตลาดในบัญชีเพื่อค้า (Trading Book) การบริหารความเสี่ยงด้านตลาดสำ�หรับธุรกรรมในบัญชีเพื่อ การธนาคาร (Banking Book) เพื่อลดผลกระทบจากความผันผวน ของอัตราดอกเบีย้ นัน้ ธนาคารมีการบริหารความเสีย่ งความแตกต่าง ของโครงสร้างสินทรัพย์และหนี้สินทั้งในงบแสดงฐานะการเงินและ นอกงบแสดงฐานะการเงินที่มีความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลง ของอัตราดอกเบีย้ โดยธนาคารได้ก�ำ หนดให้มกี ารประเมินผลกระทบ ต่อรายได้ดอกเบี้ยรับสุทธิ (Earning Perspective) และประเมิน ผลกระทบต่อมูลค่าทางเศรษฐกิจของส่วนของผู้ถือหุ้น (Economic Value Perspective) อย่างสมํ่าเสมอผ่าน Re-pricing Gap ทั้งภาย ใต้สถานการณ์ปกติและภายใต้สถานการณ์จำ�ลองวิกฤต
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
ในปี 2557 ธนาคารอาจต้องเผชิญกับภาวะความผันผวน ของอัตราดอกเบี้ยที่ค่อนข้างสูง อันเกิดจากหลายสาเหตุทั้งปัจจัย ภายในและปัจจัยภายนอกประเทศต่อเนื่องมาจากปี 2556 ได้แก่ ภาวะตลาดเงินโลกที่ผันผวน จากความไม่ชัดเจนของช่วงเวลาใน มาตรการ QE Tapering และปัญหาหนีส้ าธารณะของรัฐบาลสหรัฐฯ ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลให้เกิดเงินทุนเคลื่อนย้าย ค่าเงินขาด เสถียรภาพ รวมถึงภาวะการแข่งขันการระดมเงินฝากในประเทศ ที่อยู่ในระดับสูง อย่างไรก็ตาม ธนาคารตระหนักเสมอถึงความสำ�คัญของความ ผันผวนของอัตราดอกเบี้ยที่อาจเกิดขึ้นได้เสมอ ซึ่งจะส่งผลกระทบ โดยตรงต่อรายได้ดอกเบีย้ สุทธิและมูลค่าทางเศรษฐกิจของธนาคาร ธนาคารได้มอบหมายให้คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน เป็นผู้กำ�กับดูแลผลกระทบดังกล่าว โดยใช้หลักการปรับอายุและ ระยะเวลาในการปรับอัตราดอกเบี้ยด้านหนี้สินให้สอดคล้องกับด้าน สินทรัพย์ โดยเฉพาะความเสีย่ งในเรือ่ งของอายุเฉลีย่ ของหนีส้ นิ ของ ธนาคารที่สั้นลง ถือเป็นปัจจัยเสี่ยงสำ�คัญที่ธนาคารตระหนักถึงและ คอยติดตามควบคุมอย่างใกล้ชิด อนึ่ง ตามโครงสร้างของสินทรัพย์และหนี้สินของธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 หากอัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 จะส่งผลให้ธนาคารมีรายได้ดอกเบี้ยสุทธิลดลงร้อยละ 5.29 ของประมาณการรายได้ดอกเบี้ยสุทธิ ในอีก 1 ปีข้างหน้า และ ส่งผลกระทบต่อมูลค่าทางเศรษฐกิจของธนาคารร้อยละ 7.31 ของ เงินกองทุนทั้งสิ้นของธนาคาร ซึ่งยังคงอยู่ภายใต้ระดับความเสี่ยง ที่ธนาคารยอมรับได้ สำ�หรับการบริหารความเสี่ยงด้านตลาดในบัญชีเพื่อการค้า (Trading Book) ในปี 2556 ธนาคารได้มีการทำ�ธุรกรรมที่เกี่ยวข้อง กับผลิตภัณฑ์ทางการเงินประเภทต่างๆ ในบัญชีเพื่อการค้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ การซื้อขายตราสารหนี้ การทำ�ธุรกรรมสัญญาสวอปอัตรา ดอกเบี้ย (Interest Rate Swaps) การซื้อขายเงินตราต่างประเทศ (FX spot) และการทำ�อนุพนั ธ์อตั ราแลกเปลีย่ น/เงินตราต่างประเทศ (FX derivatives) ทั้งนี้ เพื่อเป็นการให้บริการที่ครบถ้วนต่อลูกค้า ของกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ธนาคารตระหนักถึงความเสี่ยงด้านตลาดที่เพิ่มขึ้นจากการ ทำ � ธุ ร กรรมประเภทดั ง กล่ า วในสภาวะตลาดปั จ จุ บั น ที่ มี ค วาม ผันผวนสูง ซึง่ มีสาเหตุมาจากปัจจัยทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ ที่ธนาคารไม่สามารถควบคุมได้ ไม่เพียงส่งผลต่อความผันผวน ของอัตราดอกเบีย้ เท่านัน้ แต่ยงั ส่งผลต่อปัจจัยความเสีย่ งความเสีย่ ง อืน่ ๆ ด้วย อาทิ อัตราแลกเปลีย่ น ส่วนชดเชยความเสีย่ งของตราสาร หนีเ้ อกชน และสภาพคล่อง ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อฐานะในบัญชีเพือ่ การค้า ด้วยเหตุนี้ ธนาคารจึงได้มีการกำ�หนดระดับความเสี่ยงของ การทำ�ธุรกรรมในบัญชีเพือ่ การค้าให้อยู่ในระดับทีธ่ นาคารยอมรับได้ และสอดคล้องกับนโยบายความเสี่ยงโดยรวมของธนาคาร อีกทั้ง
รายงานประจำ�ปี 2556
ธนาคารได้มีการพัฒนากระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านตลาดที่ ครอบคลุมและเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่การระบุความเสี่ยง การวัดความเสี่ยง ไปจนถึงการควบคุมและติดตามความเสี่ยง ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมแต่ละประเภทในบัญชีเพื่อการค้า ซึ่ ง กระบวนการบริ ห ารความเสี่ ย งดั ง กล่ า วครอบคลุ ม ถึ ง ปั จ จั ย ความเสี่ยงด้านตลาดที่สำ�คัญและเกี่ยวข้อง อาทิ ความเสี่ยงที่ เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน เส้นอัตราผลตอบแทน และสภาพคล่อง เป็นต้น นอกจากนี้ ธนาคารยังได้มีการจัดตั้งฝ่ายบริหารความเสี่ยง ด้านตลาดเพือ่ ทำ�หน้าทีเ่ ป็นหน่วยงานหลักในการบริหารความเสีย่ ง ด้านตลาดสำ�หรับการทำ�ธุรกรรมในบัญชีเพื่อการค้า รวมถึงทำ� หน้าที่ในการติดตามการทำ�ธุรกรรม และควบคุมความเสีย่ งในบัญชี เพื่อค้าเป็นรายวัน โดยใช้เครื่องมือวัดความเสี่ยงต่างๆ ที่เป็น มาตรฐานสากล อาทิ ความเสียหายสูงสุดที่สามารถเกิดขึ้นได้ที่ ระดับความเชื่อมั่นที่กำ�หนดไว้ (Value at Risk : VaR) และการ เปลีย่ นแปลงของมูลค่าการลงทุนเมือ่ ปัจจัยความเสีย่ งเปลีย่ นแปลง ไป 1 หน่วย (PV01) เป็นต้น เพื่อให้ทันต่อสภาวะตลาดและ สถานการณ์ที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ฝ่ายบริหารความเสี่ยงด้านตลาดจะ รายงานให้กบั หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทราบหากความเสีย่ งในบัญชีเพือ่ การค้าเกินกว่าระดับที่ยอมรับได้ หรือมีเหตุการณ์ผิดปกติเกิดขึ้น สำ�หรับการบริหารความเสี่ยงด้านตลาดในธุรกิจตลาดทุน ทีผ่ า่ นมาเป็นการลงทุนในหุน้ สามัญในตลาดหลักทรัพย์ และสัญญา ซื้อขายล่วงหน้าในตลาดซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งโดยส่วนใหญ่ของ กลยุทธ์การลงทุนเป็นการลงทุนที่มีความเสี่ยงด้านตลาดตํ่า โดยมี การป้องกันความเสี่ยงด้านตลาดเพื่อลดความเสี่ยงของกลยุทธ์การ ลงทุนต่างๆ อย่างไรก็ดี กลุ่มธุรกิจฯ ตระหนักถึงความเสี่ยงอันเกิดจาก การลงทุ น ในกลยุ ท ธ์ เ หล่ า นี้ กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ฯ จึ ง กำ � หนดให้ ร ะดั บ ความเสี่ยงของการลงทุนอยู่ภายใต้ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ฝ่าย บริหารความเสี่ยงของธุรกิจตลาดทุนทำ�หน้าที่กำ�หนดค่าเพดาน ความเสี่ยงต่างๆ ที่เป็นมาตรฐาน อาทิ ความเสียหายสูงสุดที่ สามารถเกิดขึ้นได้ที่ระดับความเชื่อมั่นที่กำ�หนดไว้ (Value of Risk : VaR) ฐานะสูงสุดที่ถือไว้ได้โดยกำ�หนดตามปริมาณการ ซื้ อ ขายต่ อวั น เป็ น ต้ น ทั้ ง นี้ ฝ่ า ยบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นตลาด ของธุรกิจตลาดทุนจะรายงานให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ หากความเสี่ ย งในบั ญ ชี เ พื่ อ การค้ า เกิ น กว่ า ระดั บ ที่ ย อมรั บ ได้ หรือมีเหตุการณ์ผิดปกติเกิดขึ้น ในส่ ว นของความเสี่ ย งจากการด้ อ ยค่ า ของทรั พ ย์ สิ น รอการขาย เพื่ อ เป็น การลดผลกระทบจากความเสี่ย งจากการ ด้ อ ยค่ า ของทรั พ ย์ สิ น รอการขาย ธนาคารได้ มี การดำ � เนิ น การ โดยกำ�หนดนโยบายต่างๆ เช่น การประเมินและทบทวนราคา ทรั พ ย์ สิ น อย่ า งสมํ่ า เสมอ การบั น ทึ ก บั ญ ชี มู ล ค่ า ทรั พ ย์ สิ น รอ
051
การขายด้ ว ยมู ล ค่ า ที่ ตํ่ า กว่ า ระหว่ า งมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมและต้ น ทุ น การได้มาซึ่งทรัพย์ และการบันทึกการด้อยค่าตามระยะเวลาการ ถือครองทรัพย์ นอกจากนี้ ราคาตลาดของอสังหาริมทรัพย์มี ผลกระทบต่อฐานะและผลการดำ�เนินงาน แม้ว่าผลการขายในอดีต มีระดับใกล้เคียงกับราคาประเมิน แต่ธนาคารยังคงนโยบายในการ บันทึกบัญชี โดยใช้การตั้งสำ�รองค่าเผื่อการลดมูลค่าแบบขั้นบันได ตามระยะเวลาที่ถือครองอย่างเข้มงวด โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ทรัพย์สินรอการขายตามบัญชีมีมูลค่า 4.1 พันล้านบาท ในขณะที่ราคาประเมินอยู่ที่ระดับ 9.2 พันล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 223.2 ของราคาตามบัญชี อย่างไรก็ตาม กลุ่มธุรกิจฯ ไม่อาจรับรองได้ว่าจะไม่เกิดความ เสียหายจากความเสี่ยงด้านตลาด หากเกิดภาวะความผันผวน ของราคาตลาดที่ สู ง เกิ น กว่ า การคาดการณ์ ข องกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ฯ อย่างมีนยั สำ�คัญ ก็อาจส่งผลกระทบในทางลบต่อผลการดำ�เนินงาน และต่อมูลค่าทางเศรษฐกิจของกลุ่มธุรกิจได้เช่นกัน 4. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการที่ธนาคารไม่สามารถปฏิบัติ ตามภาระผูกพันในการชำ�ระเงินได้เมื่อครบกำ�หนด เนื่องจากไม่ สามารถเปลี่ยนสินทรัพย์เป็นเงินสดหรือไม่สามารถจัดหาเงินได้ อย่างเพียงพอตามความต้องการภายในระยะเวลาที่กำ�หนดหรือ สามารถจัดหาเงินทุนได้แต่ด้วยต้นทุนสูง ซึ่งอาจก่อให้เกิดผล กระทบต่อรายได้และเงินกองทุนของธนาคาร การบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องนั้น ธนาคารแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการดูแลด้านสภาพคล่อง (Money Desk SubCommittee) เพื่อทำ�หน้าที่วิเคราะห์และติดตามกระแสเงินไหลเข้า (Cash Inflow) และกระแสเงินไหลออก (Cash Outflow) ของธนาคาร รวมถึงหามาตรการดูแลสภาพคล่องของธนาคารอย่ า งใกล้ ชิ ด เพือ่ ให้เป็นไปตามกรอบความเสีย่ งทีธ่ นาคารกำ�หนดไว้ โดยจัดให้มี การประชุมเป็นประจำ�สมํ่าเสมอ อย่างน้อยในทุกๆ 2 สัปดาห์ ภายใต้การกำ�กับดูแลของคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนีส้ นิ (Assets and Liabilities Management Committee - ALCO) โดยมีฝ่ายบริหารเงินทำ�หน้าที่หลักในการดำ�เนินนโยบายในการ บริหารสภาพคล่องของธนาคาร เพื่อควบคุมระดับสภาพคล่อง ของธนาคารให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ เ หมาะสม อี ก ทั้ ง ยั ง มี ส ายบริ ห าร ความเสีย่ งเฝ้าติดตามและควบคุมฐานะความเสีย่ งด้านสภาพคล่อง และมี การรายงานต่ อ คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง (Risk Management Committee - RMC) และคณะกรรมการธนาคาร เป็นประจำ� นอกจากนั้ น แล้ ว ธนาคารยั ง ได้ มี การกำ � หนดนโยบายและ กระบวนการบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ งที่ ส อดคล้ อ ง กั บ กลยุ ท ธ์ โ ดยรวมของธนาคารและเป็ น ไปตามแนวทางการ
052
บริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องของสถาบันการเงินของธนาคาร แห่งประเทศไทย โดยมีนโยบายหลักในเรื่องต่างๆ ดังนี้ • การดำ�รงสินทรัพย์สภาพคล่องไม่ตํ่ากว่าเกณฑ์ที่ธนาคาร แห่งประเทศไทยกำ�หนด และรักษาให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม • การควบคุ ม ส่ ว นต่ า งของอายุ ห นี้ สิ น และทรั พ ย์ สิ น ให้ อ ยู่ ในระดับที่ยอมรับได้ • การกระจายตัวของประเภทหนี้สิน • การขยายฐานเงินฝาก โดยคำ�นึงถึงการกระจุกตัวของลูกค้า เงินฝากและระยะเวลาครบกำ�หนด • มาตรการดำ�รงสภาพคล่องสำ�รองไว้กรณีฉุกเฉิน • ผลกระทบจากหลั ก เกณฑ์ ข องการทางด้ า นความเสี่ ย ง สภาพคล่องตามเกณฑ์ Basel III ในปี 2556 มี เ หตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อ สภาพคล่องใน ตลาดการเงินภายในประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะ ภาวะตลาดเงินโลกทีผ่ นั ผวน จากความไม่ชดั เจนเรือ่ งช่วงเวลาของ การลดทอนมาตรการอัดฉีดสภาพคล่องของธนาคารกลางสหรัฐฯ และปัญหาหนี้สาธารณะของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นปัจจัย หลั ก ที่ ส่ ง ผลให้ เ กิ ด เงิ น ทุ น เคลื่ อ นย้ า ย ค่ า เงิ น ขาดเสถี ย รภาพ ตลอดจนอั ต ราดอกเบี้ ย ตลาดเงิ น และอั ต ราผลตอบแทนตลาด พันธบัตรเคลือ่ นไหวผันผวน รวมถึงภาวการณ์แข่งขันระดมเงินฝาก ในประเทศที่ยังคงอยู่ในระดับสูง โดยปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ดังกล่าวน่า จะยังคงส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องในระบบการเงินภายในประเทศ อย่างต่อเนื่องจนถึงปี 2557 อย่างไรก็ตาม ด้วยธนาคารจัดเป็น ธนาคารขนาดเล็กจึงได้ตระหนักถึงความเสี่ยงด้านสภาพคล่องที่ ธนาคารจะต้ อ งเผชิ ญ อยู่ เ สมอ เพื่ อ ป้ อ งกั น ผลกระทบด้ า น สภาพคล่องที่อาจเกิดขึ้นกับธนาคารจากปัจจัยเสี่ยงต่างๆ เหล่านั้น ธนาคารจึ ง ได้ มี การพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง เครื่ อ งมื อ เพื่ อ ติ ด ตาม ฐานะความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ งให้ ค รอบคลุ ม ในทุ ก มุ ม มอง ความเสี่ยงอย่างสมํ่าเสมอ ได้แก่ การประมาณการกระแสเงินสด และสภาพคล่อง (Cash flow / Liquidity Projection) การวิเคราะห์ อัตราส่วนทางการเงิน (Liquidity Ratio) การจัดทำ�และวิเคราะห์ Liquidity Gap ทั้งแบบตามระยะเวลาคงเหลือก่อนครบกำ�หนด สัญญา (Contractual Maturity) และแบบการปรับพฤติกรรม (Behavioral Maturity) เพื่อให้สะท้อนถึงพฤติกรรมจริง และทำ�การ ประเมินความเสี่ยง ทั้งในภาวะปกติและในภาวะวิกฤต เพื่อให้มั่นใจ ได้วา่ ธนาคารสามารถทีจ่ ะบริหารสภาพคล่องได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีการกำ�หนดเพดานหรือตัวบ่งชี้ความเสี่ยงสูงสุดที่ธนาคาร ยอมรับได้ เช่น เพดานความเสีย่ งเพือ่ กำ�หนดระดับความเหลือ่ มลํา้ ของอายุสัญญาระหว่างสินทรัพย์และนี้สิน (Maturity Mismatch Limit) เพดานความเสี่ยงการกระจุกตัวของลูกค้าเงินฝากรายใหญ่ 100 รายแรก (Top 100 Large Depositors Limit) เพดานความเสีย่ ง การดำ � รงสิ น ทรั พ ย์ ส ภาพคล่ อ งให้ เ พี ย งพอภายใต้ ส ถานการณ์
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
วิกฤต เป็นต้น ทั้งนี้ อัตราส่วนทางการเงินด้านสภาพคล่องที่สำ�คัญ ณ สิ้น เดือนธันวาคม 2556 เป็นดังนี้ • อั ต ราส่ ว นสิ น ทรั พ ย์ ส ภาพคล่ อ ง (Liquid Assets to Deposits & BE) เท่ากับร้อยละ 14.85 • อัตราส่วนสินเชื่อต่อเงินฝากและตั๋วแลกเงิน (Loans to Deposits & BE) เท่ากับร้อยละ 98.80 อีกทั้งธนาคารยังมีการทดสอบภาวะวิกฤตด้านสภาพคล่อง เป็นประจำ�ทุกไตรมาส โดยทำ�การประเมินผลกระทบในกรณีวิกฤต สภาพคล่อง 3 ระดับด้วยกัน คือ กรณีวิกฤตสภาพคล่องที่เกิดขึ้น เฉพาะกับธนาคาร (Bank Specific Liquidity Crisis) กรณีเกิด วิกฤตด้านสภาพคล่องทั้งระบบ (Market-Wide Liquidity Crisis) และกรณี เ กิ ด วิ ก ฤตด้ า นสภาพคล่ อ งพร้ อ มกั น ทั้ ง ธนาคารและ ระบบ (Combination Liquidity Crisis) เพื่อนำ�ผลที่ได้มาใช้ในการ เตรียมการและกำ�หนดกลยุทธ์ส�ำ หรับรองรับผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ กับธนาคาร และมีการจัดทำ�แผนรองรับเหตุฉกุ เฉินด้านสภาพคล่อง (Contingency Liquidity Plan) โดยกำ�หนดบทบาท หน้าที่และ ความรับผิดชอบของผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนมี การซักซ้อมการดำ�เนินการตามแผนดังกล่าวเป็นประจำ�ทุกปี นอกจากนี้ ธนาคารได้ มี ก ารจั ด ทำ � นโยบายการบริ ห าร ความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ งที่ ค รอบคลุ ม ทั้ ง กลุ่ ม ธุ ร กิ จ การเงิ น เกียรตินาคินภัทร เพื่อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การกำ�กับแบบ รวมกลุ่ ม ที่ ธ นาคารแห่ ง ประเทศไทยกำ � หนด โดยนโยบายดั ง กล่าวครอบคลุมถึงการติดตาม และการควบคุมความเสี่ยงด้าน สภาพคล่องของแต่ละบริษัทภายใต้กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคิน ภัทรทีส่ อดคล้องและอยูภ่ ายใต้กรอบนโยบายความเสีย่ งและแนวทาง การบริหารจัดการของกลุ่มธุรกิจ ฯ รวมถึงนโยบายการให้ เ งิ น ช่ ว ยเหลื อ การสนั บ สนุ น สภาพคล่ อ งให้ กั บ บริ ษั ท ต่ า งๆ ใน กลุ่มธุรกิจฯ โดยกำ�หนดให้บริษัทภายใต้กลุ่มธุรกิจฯ ต้องนำ�เสนอ รายงานฐานะความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ งต่ อ คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนี้สิน ของธนาคารในฐานะบริษทั แม่เป็นประจำ� เพือ่ สามารถติดตามแก้ไข ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ก่อนที่จะเกิดความเสียหายร้ายแรงขึ้น อย่างไรก็ตาม กลุ่มธุรกิจฯ ไม่อาจรับรองได้ว่า การดำ�รง สิ น ทรั พ ย์ ส ภาพคล่ อ งของกลุ่ ม ธุ ร กิ จ การเงิ น นั้ น จะเพี ย งพอต่ อ การดำ�เนินกิจการได้ในทุกสถานการณ์วิกฤต โดยเฉพาะหากปัจจัย เสีย่ งด้านสภาพคล่องต่างๆ เปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็วและรุนแรง กว่าที่กลุ่มธุรกิจฯ คาดการณ์เอาไว้ 5. ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ คือ ความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดความเสียหายต่างๆ อันเนือ่ งมาจากการ ขาดการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีหรือขาดธรรมาภิบาลในองค์กร การ ขาดการควบคุมที่ดี โดยอาจเกี่ยวข้องกับกระบวนการปฏิบัติงาน
รายงานประจำ�ปี 2556
ภายใน ความไม่เพียงพอหรือความบกพร่องของกระบวนการภายใน บุคลากร และระบบงาน หรือจากเหตุการณ์ภายนอก ซึง่ ส่งผลกระทบ ต่อรายได้และเงินกองทุนของธนาคารและบริษทั ในกลุม่ ธุรกิจฯ โดย สามารถแบ่งออกเป็น 7 ประเภทเหตุการณ์ ได้แก่ (1) การทุจริต ภายใน (2) การทุจริตภายนอก (3) การจ้างงานและความปลอดภัย ของสถานที่ปฏิบัติงาน (4) การปฏิบัติไม่เหมาะสมเกี่ยวกับลูกค้า ผลิตภัณฑ์และวิธีปฏิบัติในการดำ�เนินธุรกิจ (5) ความปลอดภัยของ ทรัพย์สนิ (6) การขัดข้องหรือการหยุดชะงักของระบบงานและระบบ คอมพิวเตอร์ และ (7) การปฏิบัติงานผิดพลาด เพื่อให้กลุ่มธุรกิจฯ มีระบบการบริหารและควบคุมความเสี่ยง ด้านปฏิบัติการที่เหมาะสม กลุ่มธุรกิจฯ ได้จัดทำ�นโยบายเรื่อง การบริหารความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ าร และระเบียบ เรือ่ งการรายงาน ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational Risk) โดยกำ�หนดให้ หน่วยงานต่างๆ มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการความเสี่ยง ด้ า นปฏิ บั ติ การที่ มี ใ นกระบวนการทำ � งานและระบบงานต่ า งๆ ที่ใช้ในการปฏิบัติงานของหน่วยงานตนเอง ผ่านกระบวนการระบุ ประเมิน ติดตามและควบคุม และการรายงานความเสี่ยงให้อยู่ ภายใต้ ร ะดั บ ความเสี่ ย งที่ ย อมรั บ ได้ โดยสรุ ป สาระสำ � คั ญ ของ การบริหารจัดการ ดังนี้ (1) การทบทวนและประเมินความเสี่ยง รวมถึงการกำ�หนด แผนปรับลดความเสี่ยง (Mitigation Plan) ให้อยู่ภายใต้ระดับ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ผ่านเครื่องมือ RCSA (Risk Control Self Assessment) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการ หรือปัจจัยเสี่ยง ที่มีนัยสำ�คัญ และสอดคล้องตามรอบระยะเวลาที่กำ�หนดโดยสาย บริหารความเสี่ยง (2) การรายงานความเสียหายด้านปฏิบัติการ (Loss Data) ทั้ ง ความเสี ย หายที่ เ ป็ น ตั ว เงิ น ความเสี ย หายที่ ไ ม่ เ ป็ น ตั ว เงิ น (กระทบชื่อเสียง เวลา กฎระเบียบภายในและภายนอก) รวมทั้ง ความเสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ้ น แต่ ส ามารถป้ อ งกั น ความเสี ย หายไว้ ไ ด้ (Near-Misses) ตามข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา และ วิ เ คราะห์ ห าสาเหตุ รวมถึ ง หาแนวทางป้ อ งกั น ความเสี ย หาย อาจเกิดขึ้นในอนาคต (3) กำ�หนดและติดตามดัชนีชี้วัดความเสี่ยงตามข้อเท็จจริง ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา (Key Risk Indicator) เพื่อเป็นสัญญาณ เตือนภัยล่วงหน้า (Early Warning) และกำ�หนดแนวทางป้องกัน ความเสี่ยงไม่ให้เกินกว่าระดับที่ยอมรับได้ ทั้งนี้ สำ�หรับสถานการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติ และความ ไม่สงบทางการเมือง กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรได้กำ�หนด ให้หน่วยงานต่างๆ ที่มีธุรกรรมงานที่สำ�คัญ (Critical Activities) ดำ�เนินการจัดทำ�แผนการบริหารความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ (Business Continuity Plan) เพื่อลดความเสี่ยงในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน โดยกำ�หนดให้มคี ณะทำ�งานการบริหารความต่อเนือ่ งทางธุรกิจและ แผนรองรับการดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (BCM/BCP) ทำ�หน้าที่ ในการเป็นศูนย์กลางในการผลักดันในการจัดทำ�และทดสอบแผน การบริหารความต่อเนื่องของธุรกิจฯ ในภาวะวิกฤต รวมทั้งติดตาม
053
สถานการณ์ สื่อสารทั้งภายใน และหน่วยงานภายนอก และรายงาน ต่อผู้บริหารระดับสูงเพื่อการตัดสินใจที่สำ�คัญ สำ�หรับปี 2556 ธนาคารได้ให้ความสำ�คัญกับการบริหาร ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ทั้งที่มาจากกระบวนการออกผลิตภัณฑ์ ใหม่ การปรับเปลี่ยนกระบวนการ และความเสี่ยงต่างๆ ที่เกิดขึ้น จากกระบวนการทำ�งานในปัจจุบัน ให้มีความเหมาะสม และรัดกุม โดยสรุปสาระของการดำ�เนินการดังนี้ 1. จัดทำ�หลักเกณฑ์เรื่องกระบวนการออกผลิตภัณฑ์ และ การปรั บ เปลี่ ย นกระบวนการทำ � งานของกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ฯ และของ ธนาคาร ซึ่งอนุมัติโดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ ให้การออกผลิตภัณฑ์ บริการและการเปลีย่ นแปลง กระบวนการเป็นไปด้วยความรอบคอบ สอดคล้องตามกลยุทธ์ของ กลุ่มธุรกิจฯ และมีการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม 2. จัดตั้งคณะอนุกรรมการเตรียมความพร้อมผลิตภัณฑ์และ กระบวนการทำ�งานใหม่ (NPPRC) เพือ่ ช่วยพิจารณากลัน่ กรองการ ดำ�เนินงานต่างๆ สำ�หรับการออกผลิตภัณฑ์ และการปรับเปลี่ยน กระบวนการทีม่ นี ยั สำ�คัญ ให้เป็นไปด้วยความรอบคอบ และสามารถ ดำ�เนินการได้ภายในระยะเวลาที่กำ�หนด 3. จัดตั้งคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (ORC) โดยมุ่งเน้นให้เกิดการบริหารจัดการที่เหมาะสมสำ�หรับ ความเสีย่ งด้านปฏิบัตกิ ารทัง้ ทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบัน และความเสียหาย ที่เกิดขึ้นในอดีต ปัจจุบนั ธนาคารอยูร่ ะหว่างการดำ�เนินโครงการพัฒนาระบบการ บริหารความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ าร (Operational Risk Management System Enhancement Project) เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภาพใน ควบคุม และตอบสนองต่อความเสี่ยงและเหตุการณ์ความเสียหาย ได้เหมาะสมและทันเวลา และยกระดับกระบวนการบริหารและ จัดการความเสี่ยงตามมาตรฐานสากล อนึ่ ง ในปี 2557 ธนาคารอาจต้ อ งเผชิ ญ กั บ สถานการณ์ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ และความไม่สงบทางการเมืองต่อเนื่องมา จากปี 2556 กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรจึงได้กำ�หนดให้ หน่วยงานต่างๆ ที่มีธุรกรรมงานที่สำ�คัญ (Critical Activities) ดำ�เนินการจัดทำ�แผนการบริหารความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ (Business Continuity Plan) เพื่อลดความเสี่ยงในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน โดยกำ�หนดให้มีคณะทำ�งาน BCM/BCP ทำ�หน้าที่ ในการเป็น ศูนย์กลางในการผลักดันในการเกิดการจัดทำ�และทดสอบแผนฯ ในภาวะวิกฤต รวมทั้งติดตามสถานการณ์ สื่อสารทั้งภายใน และ หน่วยงานภายนอก และรายงานต่อผูบ้ ริหารระดับสูงในการตัดสินใจ ที่สำ�คัญ แม้ว่าธนาคารจะมีความพยายามในการวางมาตรการการ ควบคุมและป้องกันความเสีย่ งด้านปฏิบตั กิ าร อาทิเช่น ด้านนโยบาย หลักเกณฑ์ เครือ่ งมือ กระบวนการ บุคลากร อย่างรัดกุมตามทีไ่ ด้กล่าว มาแล้วข้างต้น อย่างไรก็ตาม อาจเกิดเหตุการณ์ที่ ไม่คาดคิด ที่มีผลทำ�ให้ปัจจัยเสี่ยงเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งอาจส่งผล กระทบต่อลูกค้าหรือชื่อเสียงกับกลุ่มธุรกิจฯ ได้
054
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการเป็นการอธิบายการเปลีย่ นแปลงทีส่ ำ�คัญในงบการเงินรวมทีต่ รวจสอบแล้ว โดยเป็นการเปรียบเทียบผลการดำ�เนินงานรวม และฐานะการเงินรวมสำ�หรับงวดปี 2556 กับงวดปี 2555 ภาพรวมการดำ�เนินธุรกิจในปี 2556
ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ธนาคารยังคงขยายสินเชื่ออย่างต่อเนื่อง โดยเน้นสินเชื่อ เช่าซื้อรถยนต์ ใช้แล้วและสินเชื่อเอสเอ็มอีโดยเฉพาะสินเชื่อธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ ในต่างจังหวัดที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ดี แต่ ด้ ว ยปั ญ หาคุ ณ ภาพสิ น เชื่ อ ที่ ท ยอยเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จึงเป็นการเติบโตอย่างระมัดระวังทั้งในส่วนของสินเชื่อเช่าซื้อ รถยนต์และสินเชื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ประกอบกับติดตามภาวะ เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมยานยนต์และอสังหาริมทรัพย์อย่าง ใกล้ชิด ส่งผลให้สินเชื่อรวมในปี 2556 ขยายตัวร้อยละ 12.9 จากสิ้นปี 2555 หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้รวมต่อสินเชื่อรวม ณ สิ้นปี 2556 เท่ากับร้อยละ 3.8 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 3.3 ณ สิ้นปี 2555 เป็น ผลจากสินเชื่อเช่าซื้อมีหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้เท่ากับร้อยละ 2.1 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.6 โดยธนาคารมีอัตราส่วนสำ�รองทั้งสิ้นต่อ สำ�รองตามเกณฑ์เท่ากับร้อยละ 186.7 เทียบกับร้อยละ 140.0 ณ สิ้นปี 2555 เป็นผลจากธนาคารได้ใช้วิธี Collective Approach ในการกั น เงิ น สำ � รองตามเกณฑ์ สำ � หรั บ สิ น เชื่ อ เช่ า ซื้ อ รายย่ อ ย ตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน 2556 นอกจากนี้ ธนาคารได้ตั้งสำ�รอง ทั่วไปจำ�นวน 805 ล้านบาท เพื่อรองรับความผันผวนทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ดี จากสถานการณ์ราคารถยนต์มือสองที่ราคาลดตํ่า ลงร้อยละ 20 - 25 เมื่อเทียบกับปี 2554 และปี 2555 และคุณภาพ สินเชือ่ เช่าซือ้ ลดลงตัง้ แต่ตน้ ปี 2556 ดังนัน้ ในการบริหารจัดการและ ควบคุมปริมาณหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ของสินเชื่อเช่าซื้อ จึงเกิด การขาดทุนจากการขายรถยึดต่อเนือ่ งในปีนจี้ �ำ นวน 1,135 ล้านบาท ด้านเงินฝาก ธนาคารได้ปรับลดอัตราดอกเบีย้ เงินฝากออมทรัพย์ (Smart Saving) ลง 25 bps ตั้งแต่ปลายไตรมาส 1/2556 และได้ ออกโปรโมชั่นเงินฝากประจำ�ในระยะเวลาต่างๆ กันอย่างต่อเนื่อง สำ�หรับเงินกู้ยืม ธนาคารได้ออกหุ้นกู้ระยะสั้นอายุไม่เกิน 270 วัน มูลค่า 15,905 ล้านบาท และหุ้นกู้ระยะยาวมูลค่า 8,160 ล้านบาท ประกอบกับระดับอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ทรงตัวต่อเนื่องตั้งแต่ เดื อ นธั นวาคม 2555 จนถึ ง ปลายเดื อ นพฤษภาคม 2556 ที่ร้อยละ 2.75 ก่อนจะปรับลดลง 25 bps เป็นร้อยละ 2.50 และ ลดลงเหลือร้อยละ 2.25 ในไตรมาส 4/2556 ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ย จ่ายเท่ากับร้อยละ 3.9 และส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยเงินให้สินเชื่อ เท่ากับร้อยละ 4.0 ธุรกิจบริหารหนี้ ธนาคารขายทรัพย์รอการขายได้จำ�นวน 2,777 ล้านบาท และมีก�ำ ไรจากการขายทรัพย์รอขายจำ�นวน 1,081 ล้านบาท
ธุรกิจตลาดทุน ภาวะตลาดทุนในปี 2556 ได้รับผลกระทบจากการไหลออก ของเม็ดเงินลงทุนต่างชาติ จากข่าวการปรับลดวงเงินมาตรการ ผ่อนคลายเชิงนโยบาย (QE หรือ Quantitative Easing) ของ ธนาคารกลางสหรัฐฯ นักลงทุนมีความกังวลต่อความไม่แน่นอน ทางการเมืองของไทย และเศรษฐกิจไทยมีการขยายตัวตํ่ากว่าที่ คาดการณ์ โดย ณ สิ้นปี 2556 ดัชนี SET Index ปิดที่ 1,298.71 จุด ลดลงร้อยละ 6.7 จากสิ้นปี 2555 มูลค่าซื้อขายเฉลี่ยต่อวัน (SET และ mai) ในปี 2556 เท่ากับ 50,329 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 32,304 ล้านบาท ในปี 2555 โดย บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) (บล.ภัทร) และบริษัท หลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด (บล.เคเคเทรด) มีส่วนแบ่งตลาด (SET และ mai ไม่รวมบัญชีซอื้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ) ทีร่ อ้ ยละ 4.39 และร้อยละ 1.30 ตามลำ�ดับ หากพิจารณาส่วนแบ่งตลาด รวมจะเท่ า กั บ ร้ อ ยละ 5.69 เป็ น อั น ดั บ 4 จากจำ � นวนบริ ษั ท หลักทรัพย์ทั้งหมด 33 แห่ง ในปี 2556 บล.ภัทร ได้ทำ�ธุรกรรมด้านวานิชธนกิจใหญ่ๆ หลายรายการ เช่น การเสนอขายกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ระบบขนส่งมวลชนทางรางบีทีเอสโกรท (BTSGIF) และหุ้นเพิ่ม ทุนบริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) แก่ประชาชน ทั่วไปครั้งแรก โดยบล.เคเคเทรด ได้เป็นผู้ร่วมจัดจำ�หน่ายและรับ ประกันการจำ�หน่ายหุ้นดังกล่าวด้วย นอกจากนี้ บล.ภัทร ยังเป็น ที่ปรึกษาทางการเงินให้กับ The Bank of Tokyo - Mitsubishi UFJ, Ltd. (“BTMU”) ในการทำ�คำ�เสนอซื้อหุ้นสามัญทั้งหมดของ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) ผลการดำ�เนินงานงวดปี 2556 เปรียบเทียบกับงวดปี 2555 ซึ่งรวม ผลประกอบการของทุนภัทรและบล.ภัทร จำ�นวน 111 วัน ตั้งแต่ วันที่ 12 กันยายน 2555 เป็นต้นไป ธนาคารและบริษัทย่อยมีกำ�ไรสุทธิ 4,418 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 30.3 เป็นกำ�ไรสุทธิของธุรกิจตลาดทุน ซึ่งดำ�เนินการ โดยบริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) (ทุนภัทร) และบริษัทย่อย ได้ แ ก่ บล.ภั ท ร บล.เคเคเทรด และบริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การ กองทุ น ภั ท ร จำ � กั ด (บลจ.ภั ท ร) จำ � นวน 1,800 ล้ า นบาท หากพิ จ ารณากำ � ไรเบ็ ด เสร็ จ รวมจะเท่ า กั บ 3,879 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 14.9 เป็ น กำ � ไรเบ็ ด เสร็ จ ของธุ ร กิ จ ตลาดทุ น จำ�นวน 1,338 ล้านบาท โดยกำ�ไรเบ็ดเสร็จรวมได้รวมขาดทุน จากการวัดมูลค่าหลักทรัพย์เผื่อขายอันเป็นผลจากความผันผวน ของตลาดทุน
รายงานประจำ�ปี 2556
055
ผลการดำ�เนินงานรวมของธนาคารและบริษัทย่อย เป้าหมายต่างๆ (ร้อยละ)
ผลการดำ�เนินงาน เป้าหมาย ปี 2556 ปี 2556 ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส 1/2556 2/2556 3/2556 4/2556
อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย (ROAE) กำ�ไรสุทธิส่วนของธนาคารต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย 13.0-15.0 กำ�ไรเบ็ดเสร็จส่วนของธนาคารต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย อัตราการเติบโตของเงินให้สินเชื่อ 19.0 ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย 3.7 หนีท้ ่ไี ม่กอ่ ให้เกิดรายได้ตอ่ สินเชือ่ รวม (ไม่รวมรายการระหว่างธนาคาร) 3.0-3.5 อัตราส่วนการตั้งสำ�รองต่อหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้รวม >100 รายได้จากการดำ�เนินงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.4 โดยรายได้ ดอกเบีย้ สุทธิเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 17.4 เป็นผลจากรายได้ดอกเบีย้ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 9.4 จากเงินให้สินเชื่อ ขณะที่ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ 1.7 โดยเพิ่มในส่ว นของเงิน ฝากที่มีการแข่ง ขันอย่าง ต่อเนื่อง โดยเฉพาะเงินฝากประจำ�ระยะเวลาต่างๆ กัน ขณะที่ ค่าใช้จา่ ยดอกเบีย้ ในส่วนของตราสารหนีแ้ ละหุน้ กูล้ ดลง เป็นผลจาก หุน้ กูท้ คี่ รบกำ�หนดไถ่ถอน ประกอบกับระดับอัตราดอกเบีย้ นโยบาย ที่ทรงตัวต่อเนื่องตั้งแต่เดือนธันวาคม 2555 จนถึงปลายเดือน พฤษภาคม 2556 ที่ร้อยละ 2.75 ก่อนจะปรับลดลง 25 bps เป็น ร้อยละ 2.50 และลดลงเหลือร้อยละ 2.25 ในไตรมาส 4/2556 รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 91.1 ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นจากรายได้จากธุรกิจตลาดทุน อันเป็นผล จากการรวมกิจการกับทุนภัทรเป็นผลสำ�เร็จ และได้รวมผลการ ดำ�เนินงานของทุนภัทร และบล.ภัทร ทั้งปี 2556 เทียบกับปี 2555 ที่รวมผลการดำ�เนินงานของทุนภัทร และบล.ภัทร เพียง 111 วัน ตั้งแต่วันที่ 12 กันยายน 2555 เป็นต้นไป โดยรายได้ค่านายหน้า ซื้อขายหลักทรัพย์เพิ่มขึ้นมากจากการรวมผลการดำ�เนินงานของ บล.ภัทร และมูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยต่อวันในตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่เพิ่มขึ้นอย่างมากในปี 2556 เทียบกับปีก่อนหน้า ประกอบกับ บล.เคเคเทรด และบล.ภัทร ยังคงรักษาระดับส่วนแบ่งตลาดไว้ได้ และรายได้จากธุรกิจวานิชธนกิจจำ�นวน 773 ล้านบาท มาจากการ เสนอขายกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท (BTSGIF) และหุ้นเพิ่มทุนบริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) แก่ประชาชนทั่วไปครั้งแรก และจากการเป็น ที่ปรึกษาทางการเงินให้กับ The Bank of Tokyo - Mitsubishi UFJ, Ltd. (“BTMU”) ในการทำ�คำ�เสนอซื้อหุ้นสามัญทั้งหมดของธนาคาร กรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) เป็นหลัก
13.0 11.4 12.9 4.0 3.8 100.0
13.9 14.7 4.3 3.9 3.2 114.8
14.6 9.1 3.5 4.2 3.5 111.3
11.7 10.0 2.4 3.9 3.5 110.2
12.0 11.9 2.1 3.8 3.8 100.0
นอกจากนี้ กำ�ไรสุทธิจากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรตเงินตรา ต่างประเทศมีจำ�นวน 443 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 96.0 กำ�ไร สุทธิจากเงินลงทุนจำ�นวน 637 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 43.6 และ รายได้จากเงินปันผลจำ�นวน 206 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 811.3 เป็นผลจากธุรกิจการลงทุนของทุนภัทร และบล.ภัทร ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.0 จากการรวม ค่าใช้จ่ายการดำ�เนินงานของทุนภัทร และบล.ภัทร เต็มปี ในปี 2556 ขณะที่ในปี 2555 ได้รวมค่าใช้จ่ายของทุนภัทรและ บล.ภัทร เพี ย ง 111 วั น โดยเป็ น การเพิ่ ม ขึ้ น ของค่ า ใช้ จ่ า ยพนั ก งาน ร้อยละ 32.8 และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคารสถานที่และอุปกรณ์ ร้อยละ 9.7 โดยอัตราส่วนค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานต่อรายได้ สุทธิรวม (cost-to-income ratio) ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 47.4 เทียบกับปี 2555 ที่ร้อยละ 51.1 หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและขาดทุนจากการด้อยค่าจำ�นวน 2,240 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 44.1 โดยธนาคารได้ตั้งสำ�รองหนี้ สูญและหนี้สงสัยจะสูญจำ�นวน 1,681 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 4.2 เป็นผลจากธนาคารได้ใช้วิธี Collective Approach ในการกันเงิน สำ�รองตามเกณฑ์สำ�หรับสินเชื่อเช่าซื้อรายย่อย และตั้งสำ�รองหนี้ สงสัยจะสูญเป็นการทั่วไปจำ�นวน 805 ล้านบาท เพื่อรองรับความ ผันผวนทางเศรษฐกิจ ทำ�ให้อัตราส่วนการตั้งสำ�รองต่อหนี้ที่ไม่ก่อ ให้ เ กิ ด รายได้ เ ท่ า กั บ ร้ อ ยละ 100.0 เที ย บกั บ ร้ อ ยละ 109.8 ณ สิ้นปี 2555 กำ � ไรต่ อ หุ้ น ขั้ น พื้ น ฐาน และกำ � ไรต่ อ หุ้ น ปรั บ ลดเท่ า กั บ 5.29 บาทต่อหุ้น และ 5.25 บาทต่อหุ้น ตามลำ�ดับ โดยมีอัตรา ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย (ROAE) อัตราผลตอบแทน ต่อผูถ้ อื หุน้ ต้นงวด (ROE) และอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์เฉลีย่ (ROAA) ดังนี้
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
056
ส่วนของธนาคาร กำ�ไรสุทธิ (ล้านบาท) ROAE (ร้อยละ) ROE (ร้อยละ) ROAA (ร้อยละ) กำ�ไรเบ็ดเสร็จ (ล้านบาท) ROAE (ร้อยละ) ROE (ร้อยละ) ROAA (ร้อยละ)
ปี 2554 2,273 9.9 10.4 1.4 2,192 9.6 10.0 1.3
ปี 2555 3,391 12.3 13.5 1.6 3,375 12.2 13.4 1.6
ปี 2556 4,418 13.0 13.4 1.8 3,879 11.4 11.8 1.6
ไตรมาส 1/2556 ไตรมาส 2/2556 ไตรมาส 3/2556 ไตรมาส 4/2556 1,162 1,237 990 1,029 13.9 14.6 11.7 12.0 14.1 14.5 11.7 12.2 1.9 2.0 1.6 1.7 1,236 777 846 1,021 14.7 9.1 10.0 11.9 15.0 9.1 10.0 12.1 2.1 1.2 1.3 1.6
ผลการดำ�เนินงานปี 2556 งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
สำ�หรับงวดปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม (พันบาท) รายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิจากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรตเงินตราต่างประเทศ กำ�ไรสุทธิจากเงินลงทุน กำ�ไร(ขาดทุน)จากการขายทรัพย์สินรอการขาย รายได้จากเงินปันผล รายได้จากการดำ�เนินงานอื่นๆ รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคารสถานที่และอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร ขาดทุนจากการปรับมูลค่าทรัพย์สินรอการขาย (โอนกลับ) อื่นๆ รวมค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่นๆ
งบการเงินรวม เปลี่ยนแปลง 2555 2556 จำ�นวนเงิน ร้อยละ 14,451,703 15,808,672 1,356,969 9.4 7,338,953 7,461,695 122,742 1.7 7,112,750 8,346,977 1,234,227 17.4 2,572,765 4,838,173 2,265,408 88.1 292,147 480,966 188,819 64.6 2,280,618 4,357,207 2,076,589 91.1 225,865 442,681 216,816 96.0 443,304 636,768 193,464 43.6 1,223,813 (54,709) (1,278,522) -104.5 22,567 205,659 183,092 811.3 208,714 275,973 67,259 32.2 11,517,631 14,210,556 2,692,925 23.4 3,034,642 4,030,520 995,878 32.8 18,967 18,333 (634) -3.3 1,026,197 1,125,825 99,628 9.7 288,136 347,337 59,201 20.5 85,987 (299,224) (385,211) -448.0 1,475,500 1,356,692 (118,808) -8.1 5,929,429 6,579,483 650,054 11.0
รายงานประจำ�ปี 2556
057
งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ)
สำ�หรับงวดปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม (พันบาท) หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า กำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำ�ไรสุทธิ การแบ่งปันกำ�ไรสุทธิ ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม การแบ่งปันกำ�ไรเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม กำ�ไรต่อหุ้นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท) กำ�ไรต่อหุ้นปรับลด (บาท) รายได้ดอกเบี้ย จำ�นวน 15,809 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.4 จากปีก่อน เป็นผลจากรายได้จากสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์และ สัญญาเช่าทางการเงินจำ�นวน 9,834 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.6 ตามการเติ บ โตของสิ น เชื่ อ เช่ า ซื้ อ รถยนต์ ร้ อ ยละ 9.8 จากสิ้ น ปี 2555 รายได้ ด อกเบี้ ย จากเงิ น ให้ สิ น เชื่ อ จำ � นวน 4,314 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 19.2 จากการเติบโตของสินเชื่อ ธุรกิจที่ร้อยละ 25.8 จากสิ้นปี 2555 งวดปี สิ้นสุดวันที่ (ล้านบาท) รายได้ดอกเบี้ย เงินให้สินเชื่อ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เช่าซื้อและสัญญาเช่าการเงิน เงินลงทุน เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง
งบการเงินรวม เปลี่ยนแปลง 2555 2556 จำ�นวนเงิน ร้อยละ 1,554,971 2,240,155 685,184 44.1 4,033,231 5,390,918 1,357,687 33.7 605,446 951,043 345,597 57.1 3,427,785 4,439,875 1,012,090 29.5 3,391,287 36,498
4,418,191 21,684
1,026,904 (14,814)
30.3 -40.6
3,375,257 38,619
3,878,818 23,427
503,561 (15,192)
14.9 -39.3
4.88 4.85
5.29 5.25
รายได้จากเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องจำ�นวน 557 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 37.2 ซึ่งรายได้ในส่วนนี้ขึ้นอยู่กับความสำ�เร็จในการ เจรจาหนี้และการดำ�เนินการตามขั้นตอนทางกฎหมาย ขณะที่ รายได้จากเงินลงทุนลดลงร้อยละ 17.0 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเงินลงทุน ในตราสารหนี้ และรายได้จากรายการระหว่างธนาคารและตลาด เงินลดลงร้อยละ 49.3 เป็นไปตามภาวะอัตราดอกเบี้ยในตลาดเงิน และปริมาณสภาพคล่องของธนาคาร งบการเงินรวม เปลี่ยนแปลง 31 ธ.ค. 55 31 ธ.ค. 56 ล้านบาท ร้อยละ 14,452 15,809 1,357 9.4 3,620 4,314 694 19.2 645 327 (318) (49.3) 8,365 9,834 1,469 17.6 935 777 (159) (17.0) 886 557 (330) (37.2)
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
058
ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย จำ�นวน 7,462 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.7 จากค่าใช้จา่ ยดอกเบีย้ ในส่วนของเงินรับฝาก ขณะที่ในส่วนของ ตราสารหนี้และเงินกู้ยืมลดลงร้อยละ 51.7 เนื่องจากครบกำ�หนด ไถ่ถอน และธนาคารได้หยุดออกตั๋วแลกเงินสำ�หรับลูกค้าเงินฝาก บุคคล นอกจากนี้ อัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ทรงตัวต่อเนื่องตั้งแต่ เดือนธันวาคม 2555 จนถึงปลายเดือนพฤษภาคม 2556 ที่ร้อยละ 2.75 ก่อนจะปรับลดลง 25 bps เป็นร้อยละ 2.50 และลดลงเหลือ ร้อยละ 2.25 ในไตรมาส 4/2556 ทำ�ให้อัตราดอกเบี้ยเงินฝากใน ตลาดยังไม่ได้ปรับลดลง และธนาคารพาณิชย์ ได้มีการระดมเงิน ฝากโดยการออกโปรโมชัน่ เงินฝากประจำ�พิเศษในระยะเวลาการฝาก ต่างๆ กัน เพื่อรองรับการเติบโตของสินเชื่อ งวดปี สิ้นสุดวันที่ (ล้านบาท) ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม ค่าธรรมเนียมในการกู้ยืมเงิน เงินนำ�ส่ง FIDF และ DPA รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ จำ�นวน 8,347 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.4 ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยเท่ากับร้อยละ 4.0 โดยอัตราดอกเบี้ย จ่ายเท่ากับร้อยละ 3.9 ลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 4.0 ในปีก่อน และอัตราดอกเบี้ยรับจากเงินให้สินเชื่อเท่ากับร้อยละ 7.9 คงที่จาก ปีก่อนหน้า ทั้งนี้ ในไตรมาส 2/2556 ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยเท่ากับ ร้อยละ 4.2 ซึ่งสูงกว่าปกติ เนื่องจากธนาคารได้รับชำ�ระหนี้สินเชื่อ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นลูกหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ส่งผลให้ อัตราดอกเบี้ยรับของเงินให้สินเชื่อสูงกว่าปกติ (ร้อยละ) อัตราดอกเบี้ยรับของเงินให้สินเชื่อ อัตราดอกเบี้ยจ่าย ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย
รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ จำ�นวน 4,357 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 91.1 จากรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ จำ�นวน 4,838 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 88.1 ประกอบด้วย 1) รายได้ ค่าธรรมเนียมและบริการธุรกิจธนาคารพาณิชย์จำ�นวน 1,804 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.3 ประกอบด้วยค่านายหน้าขาย ประกันจำ�นวน 973 ล้านบาท เป็นรายได้หลัก 2) รายได้จากธุรกิจ ตลาดทุน ได้แก่ รายได้ค่านายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ 2,159 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากรายได้ของบล.ภัทร ซึ่งเป็นไปตามภาวะ การลงทุนในตลาดทุน รายได้จากธุรกิจวานิชธนกิจจากการเป็นที่ ปรึกษาทางการเงินและการจัดจำ�หน่ายหลักทรัพย์รวมจำ�นวน 773 ล้านบาท รายได้จากธุรกิจกองทุนส่วนบุคคลจำ�นวน 83 ล้านบาท งบการเงินรวม เปลี่ยนแปลง 31 ธ.ค. 55 31 ธ.ค. 56 ล้านบาท ร้อยละ 7,339 7,462 123 1.7 3,850 5,208 1,358 35.3 199 121 (78) (39.3) 2,599 1,255 (1,344) (51.7) 9 3 (6) (67.5) 683 875 192 28.1 ตามการขยายตัวของสินทรัพย์ภายใต้การดูแล และรายได้คา่ ธรรมเนียม ธุรกิจจัดการกองทุนดำ�เนินการโดยบลจ.ภัทร จำ�นวน 78 ล้านบาท ขณะที่มีค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการจำ�นวน 481 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 64.6 โดยส่วนใหญ่เป็นค่าธรรมเนียมจ่ายในส่วน ของธุรกิจหลักทรัพย์ รายได้จากการดำ�เนินงานรวม จำ�นวน 14,211 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.4 เป็นผลจากรายได้ดอกเบี้ยสุทธิและรายได้ ค่าธรรมเนียมและบริการที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวข้างต้น รวมถึงกำ�ไร สุทธิจากเงินลงทุนจำ�นวน 637 ล้านบาท รายได้จากเงินปันผล
ไตรมาสของปี 2555 ไตรมาสของปี 2556 ปี ปี ปี 2554 1/55 2/55 3/55 2555 2555 1/56 2/56 3/56 4/56 2556 7.8 7.3 8.4 7.8 7.9 7.9 7.9 8.1 7.8 7.6 7.9 3.5 3.8 4.0 4.0 4.0 4.0 4.0 3.8 3.8 3.8 3.9 4.3 3.5 4.4 3.7 3.9 3.9 3.9 4.2 3.9 3.8 4.0
รายงานประจำ�ปี 2556
จำ�นวน 206 ล้านบาท และกำ�ไรสุทธิจากธุรกรรมเพือ่ ค้าและปริวรรต เงินตราต่างประเทศจำ�นวน 443 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่มาจาก ธุรกิจลงทุนของทุนภัทร และบล.ภัทร ซึ่งประกอบด้วย การค้า หลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า การลงทุนระยะสั้นโดยใช้ กลยุทธ์เฮดจ์ฟันด์ และธุรกิจลงทุน (Direct Investment) ในปี 2556 ธนาคารบันทึกขาดทุนจากการขายทรัพย์สิน รอการขายจำ�นวน 55 ล้านบาท เกิดจากขาดทุนจากการขายรถยึด จำ�นวน 1,135 ล้านบาท ขณะที่มีกำ�ไรจากการขายทรัพย์สินรอขาย ที่มีจำ�นวน 1,081 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่นๆ จำ�นวน 6,579 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.0 โดยส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับพนักงาน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอุปกรณ์และสถานที่เพิ่ม ขึ้นร้อยละ 32.8 และ 9.7 ตามลำ�ดับ เป็นผลจากการร่วมกิจการกับ ทุนภัทร ทั้งนี้ อัตราส่วนค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานต่อรายได้สุทธิ รวมเท่ากับร้อยละ 47.4 เทียบกับร้อยละ 51.1 ในปี 2555 หนีส้ ญู และหนีส้ งสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า จำ�นวน 2,240 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 44.1 ประกอบด้วยการตั้งสำ�รอง สำ�หรับหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญจำ�นวน 1,681 ล้านบาท ลด ลงร้อยละ 4.2 ทั้งนี้ เป็นการตั้งตามเกณฑ์คุณภาพตาม NPL ที่เพิ่มขึ้น โดยธนาคารได้นำ�วิธี Collective Approach มาใช้ในการ กันเงินสำ�รองตามเกณฑ์สำ�หรับสินเชื่อเช่าซื้อรายย่อย และการตั้ง สำ�รองทั่วไปจำ�นวน 805 ล้านบาท เพื่อรองรับความผันผวนทาง เศรษฐกิจ ภาษีเงินได้นิติบุคคล จำ�นวน 951 ล้านบาท คิดเป็นอัตรา ภาษีเงินได้ร้อยละ 17.6 ของกำ�ไรก่อนภาษีเงินได้ โดยในปี 2556 อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลลดลงจากร้อยละ 23 ในปี 2555 มาเป็น ร้อยละ 20 ของกำ�ไรสุทธิในปี 2556 รวมทั้งรายได้จากการขาย ทรัพย์สินรอการขายในส่วนของกองทุนรวม 8 กองทุนที่ธนาคาร ถือหน่วยลงทุนได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ ฐานะการเงินของธนาคารและบริษัทย่อย
สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 จำ�นวน 249,109 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 16,096 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.9 จากสิ้นปี 2555 โดยเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ และลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ (หักรายได้ รอตัดบัญชี) มีจำ�นวน 190,803 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.9 จาก สิ้นปี 2555 ที่มีจำ�นวน 168,994 ล้านบาท ตามการขยายตัวของ เงินให้สินเชื่อเช่าซื้อและสินเชื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เป็นส่วนใหญ่ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าจำ�นวน 10,207 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 111.8 จากธุรกิจนายหน้าซือ้ ขายหลักทรัพย์ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิเพิ่มขึ้นร้อยละ 29.3 เป็นไปตามการบริหารจัดการสภาพคล่องให้เหมาะสมกับภาวะตลาด
059
และอั ต ราดอกเบี้ ย ขณะที่ เ งิ น ลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย์ สุ ท ธิ เ ท่ า กั บ 26,970 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 28.3 จากเงินลงทุนในพันธบัตร รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจของธนาคาร เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ จำ�นวน 3,885 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 17.8 เป็นไปตามการบริหาร จัดการเจรจาหนีอ้ ย่างต่อเนือ่ ง และทรัพย์สนิ รอการขายสุทธิจ�ำ นวน 4,103 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 17.6 (รายละเอียดในตารางแสดง สินทรัพย์) ปริมาณหนี้ท่ีไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ของธนาคารและ บริษทั ย่อยมีจ�ำ นวน 7,283 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.8 ของสินเชือ่ รวม เพิ่มขึ้นจาก 5,628 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.3 ของสินเชื่อรวม ณ สิ้นปี 2555 โดยมีอัตราส่วนการตั้งสำ�รองต่อหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิด รายได้ร้อยละ 100.0 เทียบกับสิ้นปี 2555 ที่ร้อยละ 109.8 หนี้สินรวม มีจำ�นวน 213,965 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.1 จากสิ้นปี 2555 โดยเป็นเงินรับฝากจำ�นวน 145,996 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 4.6 ประกอบด้วย เงินฝากประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้น ระยะเวลาร้อยละ 83.0 และเงินฝากกระแสรายวันและเงินฝาก ออมทรัพย์สดั ส่วนร้อยละ 16.7 ของเงินฝากทัง้ หมด เทียบกับสัดส่วน ณ สิ้นปี 2555 ที่ร้อยละ 83.2 และ 16.8 ตามลำ�ดับ เป็นผลจากการ ทยอยปรับลดสัดส่วนตั๋วแลกเงิน (BE) ลง และเปลี่ยนเป็นเงินฝาก ประเภทจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลาแทน ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืมมีจำ�นวน 42,569 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 46.2 ประกอบด้วยหุ้นกู้จำ�นวน 35,744 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 110.3 ธนาคารได้ออกหุ้นกู้ระยะสั้นอายุไม่เกิน 270 วัน มูลค่า 15,905 ล้านบาท และหุ้นกู้ระยะยาวมูลค่า 8,160 ล้านบาท ขณะที่ตั๋วแลกเงินมีจำ�นวน 6,825 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 43.7 ซึง่ ตัว๋ แลกเงินเป็นผลิตภัณฑ์ทเี่ สนอขายให้กบั นักลงทุนสถาบัน สั ด ส่ ว นเงิ น ฝากกระแสรายวั น และเงิ น ฝากออมทรั พ ย์ ต่ อ หนี้สินที่มีดอกเบี้ยรวมเท่ากับร้อยละ 12.5 เทียบกับร้อยละ 13.7 ณ สิ้นปี 2555 และอัตราส่วนเงินให้สินเชื่อต่อเงินฝากและเงิน กู้ยืมเท่ากับร้อยละ 101.2 เทียบกับร้อยละ 92.8 ณ สิ้นปี 2555 (รายละเอียดในตารางแสดงหนี้สิน) ส่วนของผู้ถือหุ้น (ส่วนของธนาคาร) จำ�นวน 34,944 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.2 โดยมีทุนจดทะเบียนและชำ�ระแล้ว ณ สิ้นปี 2556 เท่ากับ 8,388 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7 จากการใช้ สิทธิ ESOP-W2 ในระหว่างปี และส่วนเกินมูลค่าหุ้นเท่ากับ 9,204 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 กำ�ไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรมีจำ�นวน 15,919 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.2 นอกจากนี้ ธนาคารได้ จ่ายเงินปันผลประจำ�ปี 2555 ส่วนที่เหลือในอัตราหุ้นละ 1.40 บาท เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2556 และจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลปี 2556 ในอัตราหุ้นละ 1.00 บาท ให้แก่ผู้ถือหุ้นของธนาคารในวันที่ 27 กันยายน 2556
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
060
ตารางแสดงสินทรัพย์ สินทรัพย์ (พันบาท) เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์สุทธิ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับสุทธิ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ หัก รายได้รอตัดบัญชี หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หัก ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับสุทธิ ทรัพย์สินรอการขายสุทธิ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นสุทธิ ค่าความนิยม สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชี สินทรัพย์อื่นสุทธิ รวมสินทรัพย์
งบการเงินรวม เปลี่ยนแปลง 31 ธ.ค. 55 31 ธ.ค. 56 จำ�นวนเงิน ร้อยละ 1,392,284 1,230,769 (161,515) -11.6 7,525,276 9,728,606 2,203,330 29.3 87,585 373,561 285,976 326.5 37,623,838 26,970,711 (10,653,127) -28.3 4,726,345 3,884,705 (841,640) -17.8 77,746 57,300 (20,446) -26.3 190,260,441 606,437 1,010,596 191,877,474 (21,872,843) (6,143,902) (27,789) 163,832,940 4,979,625 1,369,832 325,486 3,085,290 618,666 4,818,085 756,716 1,792,966 233,012,680
213,404,498 614,483 1,250,012 215,268,993 (23,215,481) (7,251,648) (23,415) 184,778,449 4,102,669 1,223,427 425,028 3,085,607 720,745 10,207,069 460,995 1,859,483 249,109,124
23,144,057 8,046 239,416 23,391,519 1,342,638 1,107,746 4,374 20,945,509 (876,956) (146,405) 99,542 317 102,079 5,388,984 (295,721) 66,517 16,096,444
12.2 1.3 23.7 12.2 6.1 18.0 -15.7 12.8 -17.6 -10.7 30.6 0.0 16.5 111.8 -39.1 3.7 6.9
รายงานประจำ�ปี 2556
061
ตารางแสดงหนี้สิน หนี้สิน (พันบาท) เงินรับฝาก กระแสรายวัน ออมทรัพย์ จ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา บัตรเงินฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หนี้สินตราสารอนุพันธ์ ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม หุ้นกู้ ตั๋วแลกเงิน ประมาณการหนี้สิน หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เจ้าหนี้สำ�นักหักบัญชี เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ดอกเบี้ยค้างจ่าย เจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้กรมบังคับคดี ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่าย หนี้สินอื่น รวมหนี้สิน
งบการเงินรวม 31 ธ.ค. 55 31 ธ.ค. 56 153,027,238 145,996,498 206,153 191,045 25,541,035 24,140,160 127,280,050 121,234,615 0 430,679 5,468,407 6,656,021 374,595 414,296 7,931 634,115 29,123,336 42,569,029 16,999,360 35,744,113 12,123,975 6,824,915 327,599 374,709 163,329 126,893 149,364 1,050,733 4,757,450 8,886,919 834,779 1,059,165 1,962,853 1,910,219 575,380 575,380 376,285 526,922 2,666,576 3,183,804 199,815,122 213,964,703
เปลี่ยนแปลง จำ�นวนเงิน ร้อยละ (7,030,740) -4.6 (15,108) -7.3 (1,400,875) -5.5 (6,045,435) -4.7 (430,679) 1,187,614 21.7 39,701 10.6 626,184 7,895.4 13,445,693 46.2 18,744,753 110.3 (5299,060) -43.7 47,110 14.4 (36,436) -22.3 901,369 603.5 4,129,469 86.8 224,386 26.9 (52,634) -2.7 0.0 150,637 40.0 517,228 19.4 14,149,581 7.1
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
062
อัตราเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เป็นดังนี้ งบการเงินเฉพาะธนาคาร อัตราส่วนเงินกองทุนตามกฎหมาย รวมกำ�ไรถึงครึ่งปีแรกปี 2556 (ร้อยละ) เงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของต่อสินทรัพย์เสี่ยง เงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยง เงินกองทุนชั้นที่ 2 ต่อสินทรัพย์เสี่ยง เงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยง
Basel II อัตราขั้นตํ่า 31 ธ.ค. 55 ตามข้อกำ�หนด ของ ธปท. 14.01 4.25 0.68 14.69 8.50
Basel III อัตราขั้นตํ่า 31 ธ.ค. 56 ตามข้อกำ�หนด ของ ธปท. 13.10 4.50 13.10 6.00 0.56 13.66 8.50
หากรวมกำ�ไรถึงสิ้นปี 2556 เงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงเท่ากับร้อยละ 14.76 และเงินกองทุนชั้นที่ 1 เท่ากับร้อยละ 14.21 ผลการใช้สิทธิตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของธนาคาร ที่จัดสรรให้กรรมการ และ/หรือ พนักงานของธนาคารและ บริษัทย่อย (ESOP-W2) ในอัตราส่วนใบสำ�คัญแสดงสิทธิ : หุ้นสามัญ เท่ากับ 1:1 ราคาใช้สิทธิ 29.27 บาทต่อหน่วย มีดังนี้ ครั้งที่
วันกำ�หนดใช้สิทธิ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
30 ก.ย. 2554 30 ธ.ค. 2554 30 มี.ค. 2555 29 มิ.ย. 2555 28 ก.ย. 2555 28 ธ.ค. 2555 30 มี.ค. 2556 30 มิ.ย. 2556 30 ก.ย. 2556 2 ม.ค. 2557
จำ�นวนผู้ขอใช้สิทธิ จำ�นวนหุ้นสามัญที่ได้ ทุนจดทะเบียน วันที่เริ่มซื้อขายหุ้นเพิ่มทุน (ราย) จากการใช้สิทธิ (หุ้น) เรียกชำ�ระแล้ว (บาท) 6,343,288,640 31 319,400 6,346,482,640 11 ม.ค. 2555 143 1,921,050 6,365,693,140 11 เม.ย. 2555 30 234,900 6,368,042,140 10 ก.ค. 2555 239 4,047,900 8,328,318,590 11 ต.ค. 2555 70 846,400 8,336,782,590 11 ม.ค. 2556 81 1,231,800 8,349,100,590 10 เม.ย. 2556 24 918,600 8,358,286,590 9 ก.ค. 2556 169 3,004,450 8,388,331,090 9 ต.ค. 2556 20 154,350 8,389,874,590 10 ม.ค. 2557
ทั้งนี้ ใบสำ�คัญแสดงสิทธิคงเหลือจำ�นวน 13,211,150 หน่วย โดยกำ�หนดการใช้สิทธิครั้งสุดท้ายวันที่ 30 มิถุนายน 2558
รายงานประจำ�ปี 2556
063
สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ ใหม่ต่อยอดจำ�หน่ายรถยนต์สำ�หรับปี 2556 ธนาคารได้ปรับโครงสร้างองค์กรหลังการร่วมกิจการกับทุน เท่ากับร้อยละ 4.0 และมีหนี้ที่ ไม่ก่อให้เกิดรายได้ร้อยละ 2.1 ภัทร โดยแบ่งธุรกิจออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.6 ณ สิ้นปี 2555 (Commercial Banking Business) และธุรกิจตลาดทุน (Capital สินเชื่อเคหะ ลดลงจากสิ้นปี 2555 เนื่องจากธนาคารไม่ได้ Market Business) ปล่อยสินเชื่อเคหะและบันทึกสินเชื่อตรง แต่ได้เข้าร่วมโครงการ การจัดซื้อสินเชื่อที่อยู่อาศัยกับบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ (บตท.) โดย บตท. จะรับซื้อสินเชื่อเคหะดังกล่าวของธนาคาร เพื่อ ประกอบด้วย สินเชื่อรายย่อย สินเชื่อธุรกิจ และสินเชื่อสาย ไปบริหารจัดการต่อไป บริหารหนี้ ดังตารางแสดงสินเชื่อ • สินเชือ่ ธุรกิจ ประกอบด้วย สินเชือ่ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และ • สินเชื่อรายย่อย มีจำ�นวน 139,737 ล้านบาท ขยายตัว สินเชื่อธุรกิจเอสเอ็มอี โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ร้อยละ 9.4 จากสิ้นปี 2555 ประกอบด้วย สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ สินเชื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ จำ�นวน 28,537 ล้านบาท สินเชื่อบุคคล สินเชื่อ Micro SMEs และสินเชื่อเคหะ โดยมี เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 39.6 เป็นผลจากการขยายสินเชือ่ ไปยังต่างจังหวัดที่ รายละเอียด ดังนี้ มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจทีด่ ี โดยธนาคารยังคงให้ความสำ�คัญกับ สินเชือ่ เช่าซือ้ รถยนต์ มีมลู ค่า 134,019 ล้านบาท เติบโตร้อยละ การช่วยเหลือและแก้ปัญหาของลูกค้าสินเชื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 9.8 จากสิ้นปี 2555 สำ�หรับยอดสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ใหม่และรถ เพื่อลดหนี้ที่ ไม่ก่อให้เกิดรายได้ลง โดยระดับหนี้ที่ ไม่ก่อให้เกิด มือสองทีอ่ นุมตั ิใหม่ในปี 2556 มีจ�ำ นวน 54,697 ล้านบาท (ไตรมาส รายได้อยู่ที่ร้อยละ 8.3 ของยอดสินเชื่อรวมลดลงจากร้อยละ 9.6 1/2556 เท่ากับ 14,360 ล้านบาท ไตรมาส 2/2556 เท่ากับ 13,373 ณ สิ้นปี 2555 ล้านบาท และไตรมาส 3 เท่ากับ 13,946 ล้านบาท และไตรมาส 4 สินเชื่อธุรกิจเอสเอ็มอี จำ�นวน 20,897 ล้านบาท เติบโต เท่ากับ 13,019 ล้านบาท) โดยสัดส่วนสินเชื่อเช่าซื้อรถใหม่ต่อ ร้อยละ 10.8 ประกอบด้วย สินเชื่อธุรกิจ อพาร์ทเม้นท์ ธุรกิจฟลอร์ รถใช้แล้วเท่ากับ 53:47 แพลน ธุรกิจขนส่ง ธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ โดยมีระดับหนี้ ยอดจำ�หน่ายรถยนต์ ใหม่รวมทุกประเภทของ ปี 2556 ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้อยู่ที่ร้อยละ 4.4 ของยอดสินเชื่อรวม เพิ่มขึ้น มีจำ�นวนทั้งสิ้น 1,330,678 คัน ลดลงร้อยละ 7.2 เมื่อเทียบ จากร้อยละ 3.3 ณ สิ้นปี 2555 โดยเพิ่มขึ้นในส่วนของธุรกิจ กับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน โดยธนาคารมีอัตราส่วนการให้ ฟลอร์แพลน ตารางแสดงสินเชื่อ
การดำ�เนินงานของกลุ่มธุรกิจฯ
สินเชื่อ สินเชื่อรายย่อย สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ สินเชื่อบุคคล สินเชื่อ Micro SMEs สินเชื่อเคหะ สินเชื่อธุรกิจ สินเชื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ สินเชื่อธุรกิจเอสเอ็มอี สินเชื่อสายบริหารหนี้ สินเชื่ออื่น รวมเงินให้สินเชื่อและลูกหนี้
31 ธันวาคม 2555 30 ธันวาคม 2556 เปลี่ยนแปลง จำ�นวนเงิน สัดส่วน จำ�นวนเงิน สัดส่วน (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 127,780 75.6 139,737 73.2 9.4 122,093 72.2 134,019 70.2 9.8 3,490 2.1 3,620 1.9 3.7 1,692 1.0 1,655 0.9 (2.1) 505 0.3 443 0.2 (12.3) 39,306 23.3 49,434 25.9 25.8 20,446 12.1 28,537 15.0 39.6 18,860 11.2 20,897 11.0 10.8 1,302 0.8 1,019 0.5 (21.8) 606 0.4 614 0.3 1.3 168,994 100.0 190,803 100.0 12.9
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
064
• ธุรกิจบริหารหนี้ เป็นการบริหารเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องและบริการทรัพย์สนิ รอการขาย ประกอบด้วย เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิจำ�นวน 3,885 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 17.8 จากสิ้นปี 2555 สินเชื่อเพื่อ ธุรกิจทัว่ ไปทีเ่ กิดขึน้ ก่อนวิกฤตเศรษฐกิจ และเงินลงทุนในสิทธิเรียก ร้องที่ปรับโครงสร้างหนี้แล้วมีจำ�นวน 1,019 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 21.8 และทรัพย์สินรอการขายสุทธิจำ�นวน 4,013 ล้านบาท ลดลง ร้อยละ 17.6 หนี้ ที่ ไ ม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด รายได้ จำ � แนกตามประเภทสิ น เชื่ อ มี รายละเอียดดังตารางแสดงหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ อัตราส่วนหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อสินเชื่อรวมอยู่ที่ร้อยละ 3.8 เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2555 เป็นผลจากหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ของสินเชือ่ เช่าซือ้ รถยนต์ใช้แล้วปรับตัวสูงขึน้ ขณะทีธ่ นาคารยังคง เน้นการติดตามและบริหารจัดการสินเชื่อด้อยคุณภาพอย่างใกล้ชิด ยอดสำ�รองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและค่าเผื่อการปรับมูลค่า จากการปรับโครงสร้างหนี้มีจำ�นวน 7,275 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 100.0 ของหนีท้ ี่ไม่กอ่ ให้เกิดรายได้รวม โดยแบ่งเป็นค่าเผือ่ หนีส้ งสัย จะสูญเฉพาะรายจำ�นวน 6,024 ล้าบาท และค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ทั่วไปจำ�นวน 1,228 ล้านบาท ทั้งนี้ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2556 ธนาคารได้นำ�วิธี Collective Approach มาใช้ในการกันเงินสำ�รอง ตามเกณฑ์สำ�หรับสินเชื่อเช่าซื้อรายย่อย ส่งผลให้อัตราส่วนสำ�รอง ทั้งสิ้นต่อสำ�รองตามเกณฑ์เท่ากับร้อยละ 186.7
ธุรกิจตลาดทุน ประกอบด้วย ธุรกิจนายหน้า ธุรกิจวานิชธนกิจ ธุรกิจการลงทุน และธุรกิจจัดการกองทุน โดยมีรายละเอียดดังนี้ • ธุรกิจนายหน้า (Brokerage Business) บล.ภั ท ร ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ บ ริ ก ารเป็ น นายหน้ า ซื้ อ ขาย หลักทรัพย์ และตราสารอนุพันธ์แก่ลูกค้าประเภทสถาบันทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ รวมถึงกลุ่มลูกค้าบุคคลรายใหญ่ภายใต้ บริการ Private Wealth Management ซึง่ ในกลุม่ นีบ้ ริษทั ให้บริการเป็น นายหน้าซื้อขายหน่วยลงทุนอีกด้วย สำ�หรับปี 2556 บล.ภัทร มีส่วนแบ่งตลาด/1 ร้อยละ 4.39 เป็นอันดับที่ 9 จากจำ�นวน บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ ทั้ ง หมด 33 แห่ ง และบล.ภั ท ร มี ร ายได้ ค่านายหน้า 1,538 ล้านบาท ประกอบด้วย รายได้ค่านายหน้าจาก การซื้อขายหลักทรัพย์จำ�นวน 1,380 ล้านบาท รายได้ค่านายหน้า จากการซื้ อ ขายตราสารอนุ พั น ธ์ 75 ล้ า นบาท และรายได้ ค่านายหน้าอื่นรวม 83 ล้านบาท บล.เคเคเทรด ให้บริการนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ และ ตราสารอนุพันธ์แก่ลูกค้าบุคคลรายย่อย มีส่วนแบ่งตลาด/1 ในปี 2556 ร้อยละ 1.30 เป็นอันดับที่ 25 จากจำ�นวนบริษัทหลักทรัพย์ ทั้งหมด 33 แห่ง โดยบล.เคเคเทรด มีรายได้ค่านายหน้า 621 ล้านบาท ประกอบด้วย รายได้ค่านายหน้าจากซื้อขายหลักทรัพย์ จำ�นวน 574 ล้านบาท รายได้คา่ นายหน้าจากซือ้ ขายตราสารอนุพนั ธ์ 47 ล้านบาท
ตารางแสดงหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ประเภทของสินเชื่อ สินเชื่อรายย่อย สินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ สินเชื่อบุคคล สินเชื่อ Micro SMEs สินเชื่อเคหะ สินเชื่อธุรกิจ สินเชื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ สินเชื่อธุรกิจเอสเอ็มอี สินเชื่อสายบริหารหนี้ สินเชื่ออื่น รวม /1
31 ธันวาคม 2555 31 ธันวาคม 2556 จำ�นวนเงิน สัดส่วน ร้อยละของ จำ�นวนเงิน สัดส่วน ร้อยละของ (ล้านบาท) (ร้อยละ) สินเชื่อ (ล้านบาท) (ร้อยละ) สินเชื่อ 2,345 41.7 1.8 3,231 44.4 2.3 1,936 34.4 1.6 2,762 37.9 2.1 62 1.1 1.8 112 1.5 3.1 112 2.0 6.6 143 2.0 8.7 236 4.2 46.6 213 2.9 48.2 2,584 45.9 6.6 3,290 45.2 6.7 1,955 34.7 9.6 2,379 32.7 8.3 629 11.2 3.3 911 12.5 4.4 692 12.3 53.1 755 10.4 74.2 6 0.1 1.1 6 0.1 1.0 5,628 100.0 3.3 7,283 100.0 3.8
รวม SET และ mai ไม่รวมบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท (Proprietary trading)
รายงานประจำ�ปี 2556
• ธุรกิจวานิชธนกิจ (Investment Banking Business) บล.ภัทร ประกอบธุรกิจวานิชธนกิจ ให้บริการเป็นที่ปรึกษา ทางการเงินและการจัดจำ�หน่ายหลักทรัพย์ ในปี 2556 บล.ภัทร มีรายได้รวมจำ�นวน 773 ล้านบาท ประกอบด้วย รายได้การจัด จำ�หน่ายหลักทรัพย์ 427 ล้านบาท รายได้จากการเป็นตัวแทนใน การรับซื้อหลักทรัพย์ (Tender Offer Agent) จำ�นวน 252 ล้านบาท รายได้ที่ปรึกษาทางการเงิน 83 ล้าน และอื่นๆ 11 ล้านบาท • ธุรกิจการลงทุน (Investment Business) ธุ ร กิ จ การลงทุ น ของบริ ษั ท อยู่ ภายใต้ การดำ � เนิ น งาน 3 หน่วยงานหลัก โดยทุนภัทรจะเป็นผู้ประกอบการลงทุนโดยตรง ภายใต้การดูแลของ ฝ่ายลงทุน (Direct Investment) ซึ่งรับผิด ชอบการลงทุนระยะปานกลางและระยะยาว ส่วนบล.ภัทรดูแลการ ลงทุนระยะสั้นโดย 2 หน่วยงานคือ 1) ฝ่ายค้าหลักทรัพย์และสัญญา ซื้อขายล่วงหน้า (Equity and Derivatives Trading) เน้นลงทุนใน หลักทรัพย์ประเภททุน (Equity) และกึ่งทุน (Equity-Linked Securities) ในตลาดหลักทรัพย์ฯ และตลาดอนุพันธ์ เป็นการลงทุนระยะ สัน้ ไม่เกิน 1 ปี โดยเน้นกลยุทธ์ดา้ นการหากำ�ไรส่วนต่าง (Arbitrage) รวมถึงการเป็นผูอ้ อกและเสนอขายผลิตภัณฑ์ทางการเงิน (Financial Products) ตัวอย่างเช่น หุ้นกู้อนุพันธ์ ใบสำ�คัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ เป็นต้น และ 2) ฝ่ายเฮดจ์ฟันด์ (Hedge Fund) เน้นการลงทุนใน หลักทรัพย์ประเภทตราสารทุนและตราสารอนุพันธ์ระยะสั้นไม่เกิน 1 ปี โดยเน้นกลยุทธ์การลงทุนที่ผลตอบแทนไม่ผันแปรตรงกับ ทิศทางการเคลื่อนไหวของตลาด (Market Neutral) โดยอาศัย การลงทุนอย่างมีระบบ (Systematic) ประกอบกับการประมวลข้อมูล เชิงสถิติเป็นเครื่องช่วยในการลงทุน
/2
065
ในช่วงไตรมาส 1/2556 ต่อไตรมาส 2/2556 ดัชนีตลาด หลั ก ทรั พ ย์ มี ก ารปรั บ สู ง ขึ้ น มาก และหลั ง จากนั้ น ได้ ป รั บ ตั ว ลดลงอย่างรุนแรงตลอดช่วงครึ่งหลังของปี ส่งผลให้รายได้จากการ ลงทุนโดยตรงของฝ่ายลงทุนมีเพียง 47 ล้านบาท สำ�หรับในส่วน ของธุรกิจเฮดจ์ฟันด์เป็นปีที่โมเดลทำ�กำ�ไรได้น้อยกว่าที่คาดหวัง โดยมีรายได้ในปี 2556 เพียง 102 ล้านบาท/2 อย่างไรก็ตามการ ที่ตลาดหลักทรัพย์มีความผันผวน (Volatility) ค่อนข้างมากในปี ทีผ่ า่ นมาส่งผลดีท�ำ ให้ฝา่ ยค้าหลักทรัพย์และสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้า สามารถทำ�รายได้มากถึง 514 ล้านบาท/2 นอกจากนี้บริษัทยังมี รายได้จากการลงทุนอื่นในส่วนของการบริหารเงินทุนและสภาพ คล่องของบริษทั ทำ�ให้ในปี 2556 บริษทั และบริษทั ย่อยมีรายได้รวม จากธุรกิจลงทุนจำ�นวน 803 ล้านบาท • ธุรกิจจัดการกองทุน (Asset Management Business) บลจ.ภัทร ให้บริการธุรกิจจัดการกองทุนสำ�หรับนักลงทุน ทั่วไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บลจ.ภัทร มีทรัพย์สินภายใต้การ จัดการจำ�นวน 24,725 ล้านบาท มีจ�ำ นวนกองทุนภายใต้การบริหาร รวม 26 กองทุน แบ่งเป็นกองทุนรวม (Mutual Fund) 22 กอง และ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ 4 กอง โดยมีสว่ นแบ่งการตลาดร้อยละ 0.80 จากจำ�นวนกองทุนรวมทัง้ หมด 1,456 กองทุน มูลค่าทรัพย์สนิ รวม 3,075,956 ล้านบาท ภายใต้บริษัทจัดการกองทุนทั้งหมด 22 บริษทั สำ�หรับปี 2556 บลจ.ภัทร มีรายได้คา่ ธรรมเนียมธุรกิจจัดการ กองทุนจำ�นวน 78 ล้านบาท นอกจากนี้ บล.ภัทร ได้เริ่มดำ�เนินธุรกิจกองทุนส่วนบุคคล ตั้งแต่เดือนเมษายน 2555 โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มี มูลค่าทรัพย์สินสุทธิภายใต้การบริหารทั้งสิ้น 4,414 ล้านบาท คิดเป็นส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 1.03
รายได้กอ่ นหักต้นทุนการป้องกันความเสีย่ ง เมือ่ หักต้นทุนดังกล่าวแล้วจะมีรายได้ 61 ล้านบาท สำ�หรับฝ่ายเฮดจ์ฟนั ด์ และ 432 ล้านบาท สำ�หรับฝ่ายค้าหลักทรัพย์ และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
066
อันดับความน่าเชื่อถือ
จากการจัดอันดับเครดิต โดย บริษัท ทริสเรทติ้ง จำ�กัด ล่าสุด เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2556 บริษัท ทริสเรทติ้ง จำ�กัด ได้ยืนยัน อันดับเครดิตองค์กร และตราสารหนี้ของธนาคารเกียรตินาคิน
คงเดิมที่ระดับ “A-” พร้อมทั้งกำ�หนดอันดับเครดิตตราสารหนี้ คงเดิมที่ระดับ “A-” เช่นกัน และยังคงแนวโน้มอันดับเครดิตเป็น “บวก” หรือ “Positive”
ผลการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จำ�กัด ผลอันดับเครดิต อันดับเครดิตองค์กร อันดับเครดิตตราสารหนี้ KK127A: หุ้นกู้ไม่มีประกัน 2,493 ล้านบาท ไถ่ถอนปี 2555 KK120A: หุ้นกู้ไม่มีประกัน 2,000 ล้านบาท ไถ่ถอนปี 2555 KK142A: หุ้นกู้ไม่มีประกัน 2,905 ล้านบาท ไถ่ถอนปี 2557 KK144A: หุ้นกู้ไม่มีประกัน 2,485 ล้านบาท ไถ่ถอนปี 2557 KK14OA: หุ้นกู้ไม่มีประกัน 2,000 ล้านบาท ไถ่ถอนปี 2557 KK165A: หุ้นกู้ไม่มีประกัน 3,500 ล้านบาท ไถ่ถอนปี 2559 KK168A: หุ้นกู้ไม่มีประกัน 1,500 ล้านบาท ไถ่ถอนปี 2559 KK16DA: หุ้นกู้ไม่มีประกัน 975 ล้านบาท ไถ่ถอนปี 2559 KK187A: หุ้นกู้ไม่มีประกัน 240 ล้านบาท ไถ่ถอนปี 2561 KK18DA: หุ้นกู้ไม่มีประกัน 625 ล้านบาท ไถ่ถอนปี 2561 KK18DB: หุ้นกู้ไม่มีประกัน 10 ล้านบาท ไถ่ถอนปี 2561 หุ้นกู้ไม่มีประกันในวงเงินไม่เกิน 10,000 ล้านบาท ไถ่ถอนภายในปี 2563 แนวโน้มอันดับเครดิต หมายเหตุ : อ้างอิงจาก บริษัท ทริสเรทติ้ง จำ�กัด
30 พ.ย. 2554 14 ก.พ. 2555 14 มี.ค. 2556 21 ส.ค. 2556 AAAAAAAPositive
AAAAAAPositive
AAAAAAAPositive
AAAAAAAAAAPositive
รายงานประจำ�ปี 2556
067
การกำ�กับดูแลกิจการ โครงสร้างกรรมการ
การบริหารงานธนาคารมีการแบ่งโครงสร้างกรรมการธนาคารเป็น 6 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการกำ�กับการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง และคณะกรรมการ บริหาร รายละเอียดของคณะกรรมการแต่ละชุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25556 มีดังนี้ คณะกรรมการ ธนาคาร
คณะกรรมการสรรหา และกำหนดคาตอบแทน
คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการบริหาร ทรัพยสินและหนี้สิน (ALCO)
คณะกรรมการสินเชื่อ รายใหญและทรัพย รอขายรายใหญ
คณะกรรมการ บริหาร
คณะกรรมการการลงทุน
ประธานเจาหนาที่บริหาร
คณะกรรมการบริหาร ทรัพยากรบุคคล
ประธานเจาหนาที่ กำกับดูแลกิจการ
กรรมการผูจัดการใหญ
สายกลยุทธ
สายบริหาร ความเสีย่ ง
สายตรวจสอบ ภายใน
สำนักผูบ ริหาร
ประธานธุรกิจ ธนาคารพาณิชย คณะกรรมการ อำนวยการธุรกิจ ธนาคารพาณิชย
คณะกรรมการกำกับและ ปฏิบัติตามกฏเกณฑ และกำกับกิจการ
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
สายกำกับดูแล การปฏิบตั งิ าน
ประธานธุรกิจ ตลาดทุน คณะกรรมการ ดานปฏิบัติการ ชุดอื่นๆ
คณะกรรมการ อำนวยการ ธุรกิจตลาดทุน
คณะกรรมการ ดานปฏิบัติการ ชุดอื่นๆ
กลุมงาน ลูกคาบุคคล
กลุมงาน ลูกคาธุรกิจ
กลุมงาน ธุรกิจเฉพาะ
กลุมงาน สนับสนุน
กลุมงาน ลูกคาบุคคล
กลุมงาน ลูกคาสถาบัน
กลุมงานลงทุน
สายเครือขาย การขาย และบริการ
สายสินเชือ่ ธุรกิจ
สายบริหารหน�้
สายปฏิบตั กิ าร
สายงานลูกคา บุคคล
สายงานหลักทรัพย สถาบัน
สายงานลงทุน และคาหลักทรัพย
สำนักผูบ ริหารธุรกิจ ตลาดทุน
ฝายสือ่ สารองคกร ธุรกิจตลาดทุน
สายธนบดีธนกิจ
สายสินเชือ่ บรรษัท
สายตลาดการเงิน
สายบริหาร ทรัพยากรบุคคล
ฝายทีป่ รึกษา การลงทุน สวนบุคคล
สายงานวานิชธนกิจ และตลาดสารทุน
ฝายคาหลักทรัพย และสัญญาซือ้ ขาย ลวงหนา
ฝายการเงิน และบัญชี
ฝายกำกับดูแล การปฏิบตั งิ านและ ตรวจสอบภายใน
สายเทคโนโลยี สารสนเทศ
ฝายวางแผน การเงิน ลูกคาบุคคล
สายงานวิจยั
ฝายเฮดจฟน ด
ฝายบริหาร สำนักงาน
ฝายปฏิบตั กิ าร
สายการเงินและ งบประมาณ
บลจ. เคเคเทรด จก.
ฝายลงทุน
ฝายบริหาร ความเสีย่ ง
ฝายเทคโนโลยี
สายพัฒนาระบบงาน ชองทางขาย และผลิตภัณฑ
สายงานบริหาร เงินลงทุน
สายวิเคราะห และตรวจสอบ เครดิต
ฝายกองทุน สวนบุคคล
สำนักกฏหมาย เอราวัณ
บลจ. ภัทร จก.
สายสินเชือ่ ลูกคา ประกอบการ
กลุมงาน สนับสนุน
ฝายทรัพยากรบุคคล ธุรกิจตลาดทุน
068
1. คณะกรรมการธนาคาร ในฐานะตัวแทนของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการธนาคารมีบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบในการดำ�เนินกิจการของธนาคารให้ มีความมั่นคง มีผลตอบแทนที่ดี ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และพึง หลี ก เลี่ ย งปั ญ หาในเรื่ อ งความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ โดยมี ขอบเขตอำ�นาจและหน้าที่ ดังนี้ (1) กำ�หนดทิศทางและเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ในภาพรวมของ ธนาคารรวมทั้งพิจารณาอนุมัตินโยบายและทิศทางการดำ�เนินงาน ของธนาคารที่เสนอโดยคณะกรรมการบริหาร และกำ�กับควบคุม ดูแลฝ่ายจัดการโดยผ่านคณะกรรมการบริหารให้ดำ�เนินการให้ เป็นไปตามนโยบายที่ได้รับการอนุมัติไว้อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล เพื่อระวังรักษาผลประโยชน์ของธนาคารและผู้ถือหุ้น รวมถึ ง กำ � หนดและอนุ มั ติ น โยบายต่ า งๆ ตามที่ ก ฎหมายหรื อ หน่วยงานทางการที่กำ�กับดูแลกำ�หนด (2) จั ด ให้ มี บ ทบั ญ ญั ติ เ กี่ ย วกั บ จรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ จริยธรรมทางธุรกิจ จริยธรรมของกรรมการ ผูม้ อี �ำ นาจในการจัดการ และพนักงาน เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติภายในองค์กร (3) กำ�กับดูแลให้คณะกรรมการย่อยชุดอื่นๆ ดำ�เนินการให้ ฝ่ายจัดการกำ�หนดและจัดทำ�ระบบการกำ�กับดูแลกิจการธนาคารที่ จำ�เป็นทั้งตามที่กฎหมายกำ�หนดและที่จำ�เป็นตามลักษณะของการ ประกอบการ พิจารณาอนุมัติระบบการกำ�กับดูแล ตลอดจนติดตาม ประสิทธิผลของระบบกำ�กับดูแลเพื่อให้คำ�แนะนำ�ในการปรับปรุง (4) ดูแลให้คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งของธนาคารมีการ กำ�หนดนโยบายกระบวนการ และการควบคุมทางด้านการบริหาร ความเสี่ยงประเภทต่างๆ โดยอย่างน้อยที่สุดจะต้องครอบคลุมถึง ความเสี่ยงทางด้านสินเชื่อ การตลาดและการลงทุน สภาพคล่อง การปฏิบัติการ ชื่อเสียง กฎหมาย และกลยุทธ์ ทั้งนี้คณะกรรมการ ต้องทำ�หน้าที่อนุมัตินโยบายดังกล่าว รวมทั้งทบทวนกลยุทธ์การ ปฏิบัติงานจริงและนโยบายในเรื่องดังกล่าวอย่างสมํ่าเสมอ (5) ดำ�เนินการให้ธนาคารมีระบบการควบคุมภายในและการ ตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิภาพ (6) จั ด ให้ มี การถ่ ว งดุ ล อำ � นาจของฝ่ า ยจั ด การและ/หรื อ ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ใ ห้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ เ หมาะสมโดยให้ ค วามสำ � คั ญ ต่อสัดส่วนหรือจำ�นวนของกรรมการอิสระในคณะกรรมการของ ธนาคารด้วย (7) พิจารณาแต่งตัง้ และกำ�หนดบทบาทหน้าทีค่ ณะกรรมการ ชุดย่อยอื่นๆ ตามความเหมาะสมของธนาคาร เพื่อช่วยดูแลการ บริหารให้เป็นไปตามนโยบายทีก่ �ำ หนด เช่น คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง และคณะกรรมการบริหาร เป็นต้น (8) ดูแลให้ฝ่ายจัดการบอกกล่าวเรื่องที่สำ�คัญของธนาคาร ต่อคณะกรรมการ และมีกระบวนการในการจัดส่งข้อมูลเพื่อให้
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
คณะกรรมการได้รับข้อมูลอย่างเพียงพอที่จะทำ�ให้สามารถปฏิบัติ ตามอำ�นาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบได้อย่างสมบูรณ์ (9) ให้ความเห็นชอบรายงานทางการเงินประจำ�ปีที่ผ่านการ ตรวจสอบจากผู้สอบบัญชี และการสอบทานของคณะกรรมการ บริหาร และคณะกรรมการตรวจสอบแล้ว เพื่อขอการรับรองจากที่ ประชุมผูถ้ อื หุน้ และรับทราบความเห็นจากผูส้ อบบัญชี (Management Letter) พร้อมความเห็นจากคณะกรรมการบริหาร (10) พิจารณาแต่งตั้งและกำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ของผู้บริหาร ตั้งแต่ระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ขึ้นไป (11) ดูแลให้ธนาคารกำ�หนดนโยบายเกีย่ วกับการให้สนิ เชือ่ และ การลงทุนแก่บุคคลที่เกี่ยวข้องกับธนาคาร (12) พิ จารณาให้ ค วามเห็ น ชอบข้ อ เสนอของฝ่ า ยจั ด การ โดยผ่ า นคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยอื่ น ๆ ในการกำ � หนดอำ � นาจใน การอนุมัติวงเงินสินเชื่อ ลงทุน ก่อภาระผูกพัน หรือทำ�ธุรกรรม ที่มีลักษณะคล้ายการให้สินเชื่อ รวมทั้งการจัดซื้อ และค่าใช้จ่าย เพื่อการบริหารงาน เพื่อประโยชน์ของธนาคารภายใต้กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง (13) กำ�หนดให้กรรมการต้องเข้าร่วมประชุมอย่างน้อยทีส่ ดุ กึง่ หนึ่งของจำ�นวนครั้งของการประชุมที่จัดขึ้นในแต่ละปี นอกจากนี้คณะกรรมการธนาคารอาจแสวงหาความเห็นทาง วิชาชีพจากทีป่ รึกษาภายนอกเกีย่ วกับการดำ�เนินกิจการของธนาคาร ได้ด้วยค่าใช้จ่ายของธนาคาร คณะกรรมการธนาคารมีการประชุมอย่างน้อย 3 เดือนครั้ง องค์ ป ระชุ ม ประกอบด้ ว ยกรรมการไม่ น้ อ ยกว่ า สองในสามของ จำ�นวนกรรมการทั้งหมด และมติที่ประชุมใช้เสียงข้างมากของ กรรมการที่เข้าประชุม ทั้งนี้ประธานกรรมการไม่มีสิทธิออกเสียง ชี้ขาด คณะกรรมการธนาคารประกอบด้วยกรรมการทั้งสิ้น 15 คน แบ่งเป็นกรรมการอิสระ 6 คน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 3 คน กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 6 คน ดังนี้ 1. นายสุพล วัธนเวคิน ประธานกรรมการ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 2. นายพิชัย ดัชณาภิรมย์ กรรมการ กรรมการอิสระ 3. รศ.มานพ พงศทัต กรรมการ กรรมการอิสระ 4. นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล กรรมการ กรรมการอิสระ 5. นายประวิทย์ วรุตบางกูร กรรมการ กรรมการอิสระ 6. ดร.อนุมงคล ศิริเวทิน กรรมการ กรรมการอิสระ
รายงานประจำ�ปี 2556
7. นายพงษ์เทพ ผลอนันต์ กรรมการ กรรมการอิสระ 8. นายธานินทร์ จิระสุนทร กรรมการ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 9. นายสุรพล กุลศิริ* กรรมการ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 10. นายสุวิทย์ มาไพศาลสิน* กรรมการ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 11. นายบรรยง พงษ์พานิช* กรรมการ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 12. นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์* กรรมการ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 13. นายกฤติยา วีรบุรุษ กรรมการ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 14. นางสาวฐิตินันท์ วัธนเวคิน* กรรมการ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 15. นายประชา ชำ�นาญกิจโกศล กรรมการ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 16. นางสาวพรทิพย์ ชูพระคุณ เลขานุการบริษัท
หมายเหตุ * กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันธนาคาร
2. คณะกรรมการตรวจสอบ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่คณะกรรมการธนาคารมอบหมาย มี องค์ประกอบคณะกรรมการและขอบเขตอำ�นาจและหน้าที่ ดังนี้ (1) สอบทานให้ธนาคารมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง และเพียงพอ (2) สอบทานให้ธนาคารมีระบบการควบคุมภายใน (Internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal audit) ที่ เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของ หน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการ พิจารณาแต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน (3) พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง้ บุคคลซึง่ มีความเป็นอิสระ เพื่อทำ�หน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของธนาคาร และเสนอค่าตอบแทน ของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มี ฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (4) พิ จารณาการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ของธนาคาร รายการที่ เกีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็น ไปตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งกฎหมายที่ เกีย่ วข้องกับธุรกิจของธนาคาร ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าว สมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อธนาคาร
069
(5) กำ�หนดหน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบตลอดจนการ เปลี่ยนแปลงในองค์ประกอบรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสำ�คัญ ต่อการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบไว้อย่างชัดเจนเป็น ลายลักษณ์อักษรตามที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ และต้อง เปิดเผยให้ผู้ถือหุ้นทราบในรายงานประจำ�ปีของธนาคาร (6) จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผย ไว้ในรายงานประจำ�ปีของธนาคาร ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนาม โดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูล อย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ความเห็นเกีย่ วกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นทีเ่ ชือ่ ถือ ได้ของรายงานทางการเงินของธนาคาร (ข) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุม ภายในของธนาคาร (ค) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจ ของธนาคาร (ง) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี (จ) ความเห็ น เกี่ ย วกั บ รายการที่ อาจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ (ฉ) จำ�นวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และ การเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (ช) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการ ตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) (ซ) รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควร ทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการธนาคาร (7) รายงานต่อคณะกรรมการเพื่อดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไข ภายในเวลาที่ ค ณะกรรมการตรวจสอบเห็ น สมควรในกรณี ที่ คณะกรรมการตรวจสอบพบหรือมีขอ้ สงสัยว่ามีรายการหรือการกระทำ� ดังต่อไปนี้ (ก) รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (ข) การทุจริต หรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร่อง ที่สำ�คัญในระบบควบคุมภายใน (ค) การฝ่ า ฝื น กฎหมายว่ า ด้ ว ยธุ ร กิ จ สถาบั น การเงิ น กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของ ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย หรื อ กฎหมายอื่ น ที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของธนาคารและหลักทรัพย์ และ กฎหมายอื่นๆ หากคณะกรรมการหรือผู้บริหารไม่ ดำ�เนินการให้มีการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาตาม
070
ที่คณะกรรมการตรวจสอบกำ�หนด คณะกรรมการ ตรวจสอบจะต้ อ งเปิ ด เผยการกระทำ � ดั ง กล่ า วไว้ ในรายงานประจำ � ปี และรายงานต่ อ ธนาคาร แห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (8) คณะกรรมการตรวจสอบมี อำ � นาจในการตรวจสอบ และสอบสวนผู้ที่เกี่ยวข้อง และเรื่องที่เกี่ยวข้องภายในขอบเขต ของอำ � นาจและหน้ า ที่ คณะกรรมการตรวจสอบต้ อ งมี อำ � นาจ ในการว่ า จ้ า ง หรื อ นำ � เอาผู้ เ ชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นมาช่ ว ยงาน ตรวจสอบและสอบสวนได้ตามที่คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณา ว่าเหมาะสม (9) เมื่ อมี ค วามจำ�เป็น คณะกรรมการตรวจสอบอาจเชิญ ฝ่ายจัดการ หรือผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมและให้ข้อมูลในส่วนที่ เกี่ยวข้องได้ (10) ประสานงานกับคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้ มีการปฏิบตั งิ านเป็นไปตามกรอบนโยบายการบริหารความเสีย่ งของ ธนาคาร (11) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการมอบหมายด้วย ความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมอย่างน้อย 3 เดือนครั้ง องค์ประชุมประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวน กรรมการทั้งหมด มติที่ประชุมใช้เสียงข้างมากของกรรมการที่ เข้าประชุม โดยคณะกรรมการตรวจสอบของธนาคารมีประธาน กรรมการและกรรมการทุกคนเป็นกรรมการอิสระ องค์ประกอบคณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วยกรรมการ อิสระทั้งหมดจำ�นวน 4 คน ดังนี้ 1. นายพิชัย ดัชณาภิรมย์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล กรรมการ 3. นายประวิทย์ วรุตบางกูร กรรมการ 4. ดร.อนุมงคล ศิริเวทิน กรรมการ ดร.ณรงค์ ปรีดานันท์ เลขานุการ นายพิชัย ดัชณาภิรมย์ ประธานกรรมการตรวจสอบ เป็นผู้มี และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถทำ�หน้าที่ในการสอบทาน ความน่าเชื่อถือของงบการเงิน โดยมีคุณวุฒิการศึกษา ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเป็นผู้สอบบัญชีรับ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 2421 (รายละเอียดประวัติและประสบการณ์ ปรากฎตามประวัติคณะกรรมการและผู้บริหาร) 3. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่คณะกรรมการธนาคารมอบหมาย มี องค์ประกอบคณะกรรมการ และขอบเขตอำ�นาจและหน้าที่ ดังนี้ (1) กำ�หนด นโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการในการสรรหา กรรมการและผูม้ อี �ำ นาจในการจัดการของธนาคาร ตัง้ แต่ระดับผูช้ ว่ ย กรรมการผู้จัดการใหญ่ข้ึนไป เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการธนาคาร รวมทั้งคัดเลือกและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ กรรมการชุดย่อยที่ได้รบั มอบหมายอำ�นาจ หน้าที่และความรับผิดชอบโดยตรงจากคณะกรรมการธนาคารและ ผู้มีอำ�นาจในการจัดการของธนาคาร เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ ธนาคาร (2) ดูแลให้คณะกรรมการธนาคารมีขนาดและองค์ประกอบ ที่เหมาะสมกับองค์กร รวมถึงมีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปโดยคณะกรรมการธนาคารจะต้อง ประกอบด้วยบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ ในด้านต่างๆ (3) เปิดเผยนโยบายการสรรหา และรายละเอียดของกระบวนการ สรรหาในรายงานประจำ�ปีของธนาคาร (4) ดูแลให้กรรมการ และผู้มีอำ�นาจในการจัดการได้รับ ผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมกับหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ โดยกรรมการ ที่ได้รบั มอบหมายให้มหี น้าทีแ่ ละความรับผิดชอบเพิม่ ขึน้ ควรได้รบั ค่ า ตอบแทนที่ เ หมาะสมกั บ หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายนั้น (5) พิ จารณากำ � หนดค่ า ตอบแทนและผลประโยชน์ อื่ น ที่ ให้แก่กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และประธานธุรกิจหรือ เทียบเท่า เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการธนาคาร และกำ�หนดนโยบาย การจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นที่ให้แก่ผู้บริหารระดับสูง อื่ น ๆ ตำ � แหน่ ง ระดั บ ผู้ ช่ ว ยกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ขึ้ น ไป เพื่ อ เป็นแนวทางในการพิจารณาค่าตอบแทนและผลประโยชน์ โดย คณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคลกลุ่ม (6) กำ�หนดแนวทางการประเมินผลงานของกรรมการ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร และประธานธุรกิจหรือเทียบเท่า เพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการธนาคาร เพื่อเป็นแนวทางในการพิจารณาประเมิน ผลงานโดยคณะกรรมการธนาคาร และกำ�หนดแนวทางการประเมิน ผลงานของผู้บริหารระดับสูงอื่นๆ ตำ�แหน่งระดับผู้ช่วยกรรมการ ผู้ จั ด การใหญ่ ขึ้ น ไป เพื่ อ เป็ น แนวทางในการพิ จ ารณาโดย คณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคลกลุ่ม เพื่อพิจารณาปรับ ผลตอบแทนประจำ � ปี โ ดยคำ � นึ ง ถึ ง หน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบและ ความเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข้ อ งรวมถึ ง ความสำ � คั ญ กั บ การเพิ่ ม มู ล ค่ า
รายงานประจำ�ปี 2556
ของส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น ในระยะยาวประกอบการพิ จารณาในการ ประเมินผล (7) เปิดเผยนโยบายเกี่ยวกับการกำ�หนดค่าตอบแทน และ เปิดเผยค่าตอบแทนในรูปแบบต่างๆ รวมถึงการจัดทำ�รายงาน การกำ�หนดค่าตอบแทน และความเห็นของคณะกรรมการกำ�หนด ค่าตอบแทนไว้ในรายงานประจำ�ปี (8) กำ � กั บ ดู แ ลให้ มี ก ารวางแผนและดำ � เนิ น การสรรหา ผูส้ บื ทอดตำ�แหน่ง ตั้งแต่ระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ขึ้นไป ต่อคณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนมีการประชุม อย่างน้อยปีละ 2 ครัง้ องค์ประชุมประกอบด้วยกรรมการไม่นอ้ ยกว่า กึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด และมติที่ประชุมใช้เสียง ข้างมากของกรรมการที่เข้าประชุม องค์ประกอบคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการอิสระทั้งหมดจำ�นวน 4 คน ดังนี้ 1. รศ.มานพ พงศทัต ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2. นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล กรรมการ 3. ดร.อนุมงคล ศิริเวทิน กรรมการ 4. นายประวิทย์ วรุตบางกูร กรรมการ นายวิธพล เจาะจิตต์ เลขานุการ 4. คณะกรรมการกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ ปฏิ บั ติ งานตามหน้าที่ที่คณะกรรมการธนาคารมอบหมาย มี อ งค์ ป ระกอบคณะกรรมการ และขอบเขตอำ� นาจและหน้ า ที่ ดังนี้ (1) กำ � กั บ ดู แ ลให้ ธ นาคารและกลุ่ ม ธุ ร กิ จ การเงิ น มี การ ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับมาตรฐานแนวปฏิบัติ ที่ บั ง คั บ ใช้ กั บ ธุ ร กรรมต่ า งๆ รวมถึ ง ประเพณี ที่ ถื อ ปฏิ บั ติ ใ น ตลาด มาตรฐานในวิชาชีพ บทบัญญัติเกี่ยวกับการกับดูแลที่ดี ตามหลักธรรมาภิบาล และนโยบายด้านการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ (Compliance Policy) โดยผ่านหน่วยงานกำ�กับการปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์ (2) กำ�หนดให้มรี ะบบการกำ�กับดูแลการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ (Compliance) และการกำ�กับดูแลกิจการ (Good Governance) ที่มีประสิทธิภาพ และมีความเป็นอิสระ (3) อนุมัติแผนงานกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ประจำ�ปี (Annual Compliance Plan) ของหน่วยงานกำ�กับการปฏิบัติตาม
071
กฎเกณฑ์ และติดตามการปฏิบตั งิ านของหน่วยงานกำ�กับการปฏิบตั ิ ตามกฎเกณฑ์ให้มกี ารดำ�เนินการตามแผนงานประจำ�ปีเป็นไปอย่าง ครบถ้วนและบรรลุผลที่กำ�หนดไว้ (4) พิจารณาให้ความเห็นต่อรายงานการกำ�กับการปฏิบัติ ตามกฎเกณฑ์ประจำ�ปี (Annual Compliance Report) เพื่อรายงาน ให้คณะกรรมการธนาคารทราบ ก่อนนำ�ส่งหน่วยงานทางการทีก่ �ำ กับ ดูแลภายในระยะเวลาที่กำ�หนด (5) พิจารณากำ�หนดข้อพึงปฏิบัติที่ดีสำ�หรับคณะกรรมการ ธนาคารหรือคณะกรรมการชุดย่อย รวมถึงผู้บริหารและพนักงาน บทบัญญัตเิ กีย่ วกับจรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจของธนาคารและ บริษัทในกลุ่มธุรกิจการเงิน (6) พิจารณาให้ความเห็นชอบการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย และประเมินผลงานหัวหน้าหน่วยงานการกำ�กับการปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์ คณะกรรมการกำ�กับการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ มีการประชุมอย่างน้อย 3 เดือนครั้ง องค์ประชุมประกอบด้วย กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด และมติ ที่ประชุมใช้เสียงข้างมากของกรรมการที่เข้าประชุม องค์ประกอบคณะกรรมการกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ และกำ�กับกิจการ ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 4 คน โดยประธาน กรรมการเป็นกรรมการอิสระ ดังนี้ 1. นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล ประธานกรรมการกำ�กับการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์และกำ�กับ กิจการ* 2. นายประวิทย์ วรุตบางกูร กรรมการ* 3. นายธานินทร์ จิระสุนทร กรรมการ 4. นางภัทรพร มิลินทสูต กรรมการ นายอภิชาติ จงสงวนประดับ เลขานุการ หมายเหตุ * กรรมการอิสระ
5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่คณะกรรมการธนาคารมอบหมาย มี องค์ประกอบคณะกรรมการ และขอบเขตอำ�นาจและหน้าที่ดังนี้ (1) กำ�หนดนโยบายเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการธนาคารเพื่อ พิจารณาในเรือ่ งของการบริหารความเสีย่ งโดยรวมของธนาคารและ บริษทั ในกลุม่ ธุรกิจการเงิน ซึง่ ต้องครอบคลุมถึงความเสีย่ งประเภท ต่างๆ ที่สำ�คัญ เช่น ความเสี่ยงด้านเครดิต ความเสี่ยงจากตลาด ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ และความ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
072
เสี่ยงที่มีผลกระทบต่อชื่อเสียงของธนาคารและบริษัทในกลุ่มธุรกิจ การเงิน เป็นต้น (2) วางกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหารความเสีย่ ง ของธนาคาร ให้สามารถประเมิน ติดตามผล และกำ�กับดูแลปริมาณ ความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม รวมถึงกำ�หนดหลักเกณฑ์ใน การกันสำ�รองสำ�หรับสินทรัพย์จัดชั้น (3) ทบทวนความเพียงพอของนโยบายและระบบการบริหาร ความเสี่ยง โดยรวมถึงความมีประสิทธิผลของระบบและการปฏิบัติ ตามนโยบายที่กำ�หนด (4) รายงานผลการปฏิบตั งิ านต่อคณะกรรมการธนาคารอย่าง สมํา่ เสมอ เพือ่ ให้เกิดการปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับนโยบายและ หลักเกณฑ์การบริหารความเสีย่ งทีก่ �ำ หนด และแจ้งให้คณะกรรมการ ตรวจสอบ และ/หรือคณะกรรมการกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ และกำ�กับกิจการ (Compliance & Governance Committee) เพื่อ ทราบในสิ่งที่ต้องปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและ หลักเกณฑ์บริหารความเสี่ยงที่กำ�หนด (5) พิจารณาอนุมัติหลักเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และ/หรือ เกี่ยวกับการให้สินเชื่อ การก่อภาระผูกพัน และการทำ�ธุรกรรม ที่มีลักษณะคล้ายการให้สินเชื่อ ที่สอดคล้องกับกรอบการบริหาร ความเสี่ยงที่ธนาคารและทางการกำ�หนด รวมทั้งการพิจารณา กลั่นกรองนโยบายการให้สินเชื่อ เพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการ ธนาคารต่อไป (6) กำ�กับดูแลการบริหารความเสี่ยงของธนาคารและบริษัท ในกลุ่มธุรกิจการเงิน เพื่อรายงานต่อคณะกรรมการธนาคาร ตามที่ ได้รับมอบหมาย คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งมี การประชุ ม อย่ า งน้ อ ย 3 เดือนครั้ง องค์ประชุมประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด และมติที่ประชุมใช้เสียงข้างมากของ กรรมการที่เข้าประชุม องค์ประกอบคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย กรรมการจำ�นวน 8 คน ดังนี้ 1. นายสุพล วัธนเวคิน ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง 2. นายบรรยง พงษ์พานิช กรรมการ 3. ดร.อัญญา ขันธวิทย์ กรรมการ 4. นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์ กรรมการ 5. นายกฤติยา วีรบุรุษ กรรมการ
6. นายประชา ชำ�นาญกิจโกศล กรรมการ 7. นายชวลิต จินดาวณิค กรรมการ 8. นางภัทรพร มิลินทสูต กรรมการ ดร.พบพนิต ภุมราพันธุ์ เลขานุการ 6. คณะกรรมการบริหาร ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่คณะกรรมการธนาคารมอบหมาย มี อ งค์ ป ระกอบคณะกรรมการ และขอบเขตอำ� นาจและหน้ า ที่ ดังนี้ (1) นำ�เสนอทิศทางและเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ในภาพรวมของ ธนาคารและบริษัทในกลุ่มธุรกิจการเงินเพื่อนำ�เสนอขออนุมัติต่อ คณะกรรมการธนาคาร (2) พิจารณากลั่นกรองนโยบายและแผนการดำ�เนินงานของ ธนาคารและบริษัทในกลุ่มธุรกิจการเงินตามที่ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารเสนอเพือ่ นำ�เสนอคณะกรรมการธนาคาร กำ�กับควบคุมดูแล ให้ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารดำ�เนินการให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้รบั การอนุมัติไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (3) จั ด ให้ มี บ ทบั ญ ญั ติ เ กี่ ย วกั บ จรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ จริยธรรมทางธุรกิจ จริยธรรมของกรรมการ ผูม้ อี �ำ นาจในการจัดการ และพนักงาน เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติภายในธนาคารและบริษัทใน กลุ่มธุรกิจการเงินเพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการธนาคาร (4) พิจารณาอนุมตั ริ ะเบียบการทำ�งานและการปฏิบตั งิ านของ ธนาคารและบริษัทในกลุ่มธุรกิจการเงิน (5) ติดตามการดำ�เนินกิจการของธนาคารและบริษัทในกลุ่ม ธุรกิจการเงินตามที่ธนาคารกำ�หนดไว้ เพื่อให้มั่นใจว่าประธาน เจ้าหน้าที่บริหารดำ�เนินกิจการตามกฎหมายและนโยบายที่วางไว้ (6) กำ�หนดโครงสร้างองค์กรของธนาคารและบริษัทในกลุ่ม ธุรกิจการเงิน รวมถึงมอบหมายเรื่องต่างๆ ในการดำ�เนินงานของ ธนาคาร และบริษัทในกลุ่มธุรกิจการเงินให้แก่ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ เพื่อนำ�เสนอคณะกรรมการ ธนาคาร (7) กำ�กับดูแลการปฏิบัติงานและกำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ของ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร คณะกรรมการชุดย่อย และผู้บริหารที่ได้ รับมอบหมายให้พจิ ารณาอนุมตั งิ านเฉพาะด้าน แทนคณะกรรมการ บริหารตามแผนงานที่ได้รับมอบหมาย (8) พิจารณาอนุมตั สิ นิ เชือ่ สินเชือ่ ปรับโครงสร้างหนีก้ ารขาย สินทรัพย์รอการขายรายใหญ่ และกำ�หนดราคาทรัพย์สินที่จะซื้อ
รายงานประจำ�ปี 2556
จากการขายทอดตลาดและใช้สิทธิคัดค้านตามวงเงินที่กำ�หนด รวมทั้งค่าใช้จ่ายและการดำ�เนินการเกี่ยวกับคดีความของลูกหนี้ คณะกรรมการบริหารมีการประชุมอย่างน้อย 1 เดือนครั้ง องค์ประชุมประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวน กรรมการทั้งหมด และมติที่ประชุมใช้เสียงข้างมากของกรรมการ ที่เข้าประชุม หากเสียงไม่เอกฉันท์ให้กรรมการที่เข้าประชุมมีสิทธิ เสนอเรื่องต่อคณะกรรมการธนาคารเพื่อพิจารณา โดยหากมีผู้ ใช้สิทธิ ให้ถือว่าที่ประชุมคณะกรรมการบริหารได้มีมติ ให้เสนอ คณะกรรมการธนาคารเพื่อพิจารณา กรณีใช้มติเวียน กรรมการ ทุกคนลงลายมือชื่อในเอกสารของมตินั้น องค์ประกอบคณะกรรมการบริหารประกอบด้วยกรรมการ จำ�นวน 6 คน โดยนายสุพล วัธนเวคิน เป็นที่ปรึกษา ดังนี้ 1. นายบรรยง พงษ์พานิช ประธานกรรมการบริหาร 2. นายสุวิทย์ มาไพศาลสิน กรรมการ 3. นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์ กรรมการ 4. นายกฤติยา วีรบุรุษ กรรมการ 5. นางสาวฐิตินันท์ วัธนเวคิน กรรมการ 6. นายประชา ชำ�นาญกิจโกศล กรรมการ นายชวลิต จินดาวณิค เลขานุการ นางภัทรพร มิลินทสูต ผู้ช่วยเลขานุการ 7. คณะกรรมการและอนุกรรมการ ในปี 2556 คณะกรรมการธนาคารได้พิจารณาทบทวนและ มี ม ติ ป รั บ โครงสร้ า งคณะกรรมการและอนุกรรมการคณะต่างๆ ภายใต้การกำ�กับดูแลของคณะกรรมการบริหารจำ�นวน 18 คณะ และ ภายใต้การกำ�กับดูแลของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจำ�นวน 2 คณะ และคณะกรรมการภายใต้การกำ�กับดูแลคณะกรรมการบริษทั ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 6 คณะ ดังนี้ คณะกรรมการและอนุกรรมการภายใต้การกำ�กับดูแลของคณะ กรรมการบริหาร 1) คณะกรรมการอำ�นวยการธุรกิจธนาคารพาณิชย์ มีคณะ อนุกรรมการเพื่อช่วยเหลืองานจำ�นวน 8 คณะ ดังนี้ 1) คณะอนุกรรมการเครือข่ายการขาย
073
2) คณะอนุกรรมการประสานงานด้านเงินฝาก 3) คณะอนุกรรมการพัฒนาธุรกิจและกลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ 4) คณะกรรมการเตรียมความพร้อมผลิตภัณฑ์และกระบวนการ ทำ�งานใหม่ 5) คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบงาน และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6) คณะอนุกรรมการจัดซือ้ จัดจ้างงานเทคโนโลยีสารสนเทศ 7) คณะอนุกรรมการจัดซื้อจัดจ้างทั่วไป 8) คณะอนุกรรมการจัดการทรัพย์สิน 2) คณะกรรมการสินเชื่อรายใหญ่และทรัพย์รอขายรายใหญ่ มีคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการเพือ่ ช่วยเหลืองานจำ�นวน 4 คณะ ดังนี้ 1) คณะกรรมการสินเชื่อและทรัพย์รอขาย 2) คณะอนุกรรมการสินเชื่อ 3) คณะอนุกรรมการประเมินราคาทรัพย์สิน 4) คณะอนุกรรมการทรัพย์รอขาย 3) คณะกรรมการบริหารสินทรัพย์และหนีส้ นิ มีคณะอนุกรรมการ เพื่อช่วยเหลืองานจำ�นวน 1 คณะ 1) คณะอนุกรรมการดูแลด้านสภาพคล่อง 4) คณะกรรมการการลงทุน 5) คณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะอนุกรรมการภายใต้การกำ�กับดูแลของคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงจำ�นวน 2 คณะ ดังนี้ 1) คณะอนุกรรมการพิจารณาคุณภาพสินทรัพย์ 2) คณะอนุกรรมการความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ คณะกรรมการภายใต้การกำ�กับดูแลของคณะกรรมการบริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) ได้แก่ 1) คณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคลธุรกิจตลาดทุน 2) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงธุรกิจตลาดทุน 3) คณะกรรมการอำ�นวยการธุรกิจตลาดทุน 4) คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ 5) คณะกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ 6) คณะอนุกรรมการลูกค้าบุคคล การประเมินตนเองของคณะกรรมการธนาคารและคณะกรรมการ ชุดย่อย คณะกรรมการธนาคารจัดทำ�การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของ คณะกรรมการธนาคารทั้งคณะเป็นประจำ�ทุกปี และรายงานผลการ ประเมินต่อคณะกรรมการธนาคาร ซึ่งรวมถึงการประเมินผลการ ปฏิบตั งิ านของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เพื่อให้ทราบว่าระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา มีการปฏิบัติงานครบถ้วน เหมาะสมตามขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และเป็นไปตามหลักการกำ�กับ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
074
แผนภูมิแสดงผลประเมินตนเองของคณะกรรมการธนาคารประจำ�ปี 2556 60
4.0
3.10
3.16
44.81 40.74 32.67
30
49.33
46.67
45.19
40 รอยละ
3.23
3.19
2.98
45.94
2.5 2.0
22.59
1.5
23.33 18.06
13.33
10 0
15.24 10.67
ดานโครงสรางและ คุณสมบัติของ คณะกรรมการ (10 ขอ) เห็นดวย (2)
ดานบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ (18 ขอ)
3.0
35.88
32.59
15.33
3.5
40.00
38.10
25.56
20
51.11
ดานการประชุม คณะกรรมการ (9 ขอ)
ดานการทำหนาที่ ของคณะกรรมการ (7 ขอ)
เห็นดวยคอนขางมาก (3)
ดูแลกิจการที่ดีหรือไม่อย่างไร และนำ�ผลประเมินการปฏิบัติงานมา ปรับปรุงแก้ไขในปีต่อไป ทั้งนี้เลขานุการบริษัทเป็นผู้รวบรวมและ สรุปผลให้ที่ประชุมทราบ ในปี 2556 คณะกรรมการธนาคารได้จัดให้มีการประเมินผล การปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการชุดย่อยเพิม่ ได้แก่ คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และกำ�กับ กิจการ และคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน โดย เลขานุการคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะเป็นผู้รวบรวมและสรุป ผลให้ที่ประชุมคณะกรรมการธนาคารรับทราบ แบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการธนาคาร คณะ กรรมการกำ�กับการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ และคณะ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ปรับมาจากแบบประเมิน ตนเองของศูนย์พัฒนาการกำ�กับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยปรับเนื้อหาให้เหมาะสมและ สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของคณะกรรมการแต่ละชุด หัวข้อการ ประเมินแบ่งเป็น 6 หัวข้อหลัก ประกอบด้วย 1) ด้านโครงสร้างและ คุณสมบัติของคณะกรรมการ 2) ด้านบทบาท หน้าที่ และความรับ ผิดชอบของคณะกรรมการ 3) ด้านการประชุมคณะกรรมการ 4) ด้าน การทำ�หน้าทีข่ องคณะกรรมการ 5) ด้านความสัมพันธ์กบั ฝ่ายจัดการ และ 6) ด้านการพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผูบ้ ริหาร ซึ่งแต่ละหัวข้อหลักประกอบไปด้วยหลายหัวข้อย่อยต่างๆ กัน โดย
ดานความสัมพันธ กับฝายจัดการ (5 ขอ) เห็นดวยอยางมาก (4)
คะแนน
50
3.39
3.30
52.00
1.0 0.5
ดานการพัฒนาตนเอง ของกรรมการและ การพัฒนาผูบริหาร (6 ขอ)
ภาพรวม (55 ขอ)
0.0
ระดับคะแนนเฉลี่ย
แบบประเมินของคณะกรรมการธนาคารมีจำ�นวน 55 ข้อย่อย แบบ ประเมินของคณะกรรมการกำ�กับการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์และกำ�กับ กิจการมีจำ�นวน 30 ข้อย่อย และแบบประเมินของคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนมีจำ�นวน 36 ข้อย่อย ผลการประเมินการปฏิบตั งิ านประจำ�ปี 2556 ของคณะกรรมการ ธนาคาร ผลคะแนนการประเมินโดยรวมอยู่ในระดับคะแนน 3-4 จากคะแนนสูงสุด 4 แสดงถึงระดับการเห็นด้วยค่อนข้างมากจนถึง เห็นด้วยอย่างมาก คะแนนเฉลี่ยในภาพรวมเท่ากับ 3.19 โดย มีสัดส่วนผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการธนาคารสรุป ตามแต่ ล ะหั ว ข้ อ หลั ก ดั ง แผนภู มิ แ สดงผลประเมิ น ตนเองของ คณะกรรมการธนาคารประจำ�ปี 2556 ผลประเมินการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการกำ�กับการปฏิบตั ติ าม กฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ และคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน มีผลคะแนนการประเมินโดยรวมอยู่ ในระดับ 3-4 จากคะแนนสูงสุด 4 แสดงถึงระดับการเห็นด้วยค่อนข้างมากจนถึง เห็นด้วยอย่างมาก มีคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมเท่ากับ 3.16 และ 3.02 ตามลำ�ดับ สำ � หรั บ ผลการประเมิ น การปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการ ตรวจสอบ ส่วนใหญ่เห็นว่าธนาคารมีโครงสร้าง องค์ประกอบ และ สภาพแวดล้อม เช่น มีกฎบัตร มีจำ�นวนสมาชิก และคุณสมบัติ ของสมาชิ ก ที่ เ หมาะสมเอื้ อ ต่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ และเห็ นว่ า
รายงานประจำ�ปี 2556
คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามขอบเขตหน้ า ที่ รับผิดชอบตามที่กำ�หนดในกฎบัตรแล้ว ทัง้ นี้ คณะกรรมการธนาคารได้รบั ทราบผลประเมินการปฏิบตั งิ าน ของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย และได้มอบหมาย ให้เลขานุการแต่ละคณะฯ นำ�ผลประเมินที่ได้ไปพิจารณาปรับปรุง การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ให้มปี ระสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น การสรรหากรรมการและผู้บริหาร
1. การคัดเลือกบุคคลที่ธนาคารจะแต่งตั้งเป็นกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนกำ�หนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธกี ารในการสรรหากรรมการ และผูม้ อี �ำ นาจในการ จัดการของธนาคาร ตั้งแต่ระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ขึ้นไป เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการธนาคาร รวมทั้งคัดเลือกและเสนอชื่อ บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมเพือ่ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ กรรมการ ชุดย่อยที่ได้รบั มอบหมายอำ�นาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบโดยตรง จากคณะกรรมการธนาคาร และผูม้ อี �ำ นาจในการจัดการของธนาคาร เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการธนาคาร คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะพิจารณา คัดเลือก สรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมทั้งด้านประสบการณ์ ความรู้ และความสามารถทีจ่ ะเป็นประโยชน์ตอ่ ธนาคารและสมควร ได้รบั การเสนอชือ่ เป็นกรรมการ กรรมการอิสระ หรือกรรมการตรวจสอบ ของธนาคาร เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการธนาคารหรือที่ ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาแต่งตั้งตามข้อบังคับของธนาคาร คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะรับฟังข้อ เสนอแนะของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย ซึง่ มีสทิ ธิเสนอชือ่ บุคคลทีค่ วรได้รบั การแต่งตั้งเป็นกรรมการหรือกรรมการอิสระของธนาคารด้วยผ่าน ทางเว็บไซต์ธนาคาร ซึ่งได้เผยแพร่หลักเกณฑ์และวิธีการเสนอชื่อ บุคคลเพื่อพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการบนเว็บไซต์ของธนาคาร ในการสรรหาและแต่งตัง้ บุคคลเข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระนัน้ บุคคลดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติตามประกาศของสำ�นักงานคณะ กรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และมีคุณสมบัติตามนิยามกรรมการอิสระของ ธนาคารด้วย ธนาคารมีกระบวนการสรรหาบุคคลที่จะแต่งตั้งเป็นกรรมการ คือ ผู้ถือหุ้น กรรมการ และผู้บริหารระดับสูง นำ�เสนอชื่อบุคคลที่มี คุณสมบัติเหมาะสม และประวัติโดยละเอียด เพื่อให้คณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนพิจารณาคุณสมบัติ ความเหมาะสม และผลตอบแทน แล้วนำ�เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการธนาคาร เพื่อพิจารณาเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการ ตามหลักเกณฑ์ข้อบังคับของธนาคารดังต่อไปนี้ (1) ผูถ้ อื หุน้ คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุน้ ต่อหนึง่ เสียง
075
(2) ผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนจะต้องใช้คะแนนเสียงทีม่ อี ยูท่ งั้ หมดตาม ข้อ (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่ จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนสูงสุดตามลำ�ดับลงมา เป็นผู้ได้รับ การเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำ�นวนกรรมการที่พึงมีหรือพึงเลือก ตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำ�ดับถัดลงมา มีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำ�นวนกรรมการทีพ่ งึ จะมี หรือจะพึงเลือก ตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 2. การให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเสนอระเบียบวาระการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นและเสนอชื่อบุคคลเพื่อพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการ การให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในการเสนอวาระการประชุม และเสนอชื่อบุคคลเพื่อพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการล่วงหน้าเป็น ส่วนหนึง่ ของหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ แสดงให้เห็นถึงการ ปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน และมีแนวทางชัดเจนใน การกลัน่ กรองระเบียบวาระทีเ่ สนอว่าเกีย่ วข้องกับกิจการของธนาคาร และเป็นประโยชน์ต่อธนาคารอย่างแท้จริง ธนาคารจึงได้กำ�หนด หลักเกณฑ์ให้ผู้ถือหุ้นเสนอระเบียบวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และเสนอชื่อบุคคลเพื่อพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการล่วงหน้า ผู้ถือหุ้นที่จะเสนอระเบียบวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นหรือ เสนอชื่อบุคคลเพื่อพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการ ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. เป็นผู้ถือหุ้นของธนาคารซึ่งต้องถือหุ้นอย่างน้อย 200,000 หุน้ (สองแสนหุ้น) โดยอาจเป็นผู้ถือหุ้นรายเดียว หรือหลายราย รวมกันได้ 2. ต้ อ งถื อ หุ้ น ในธนาคารตามสั ด ส่ ว นข้ า งต้ น ต่ อ เนื่ อ งมา ไม่น้อยกว่า 1 ปี และยังถือหุ้นตามสัดส่วนดังกล่าวในวันที่เสนอ ระเบียบวาระการประชุมหรือเสนอชื่อบุคคลเพื่อพิจารณาเลือกตั้ง เป็นกรรมการ 3. สามารถแสดงหลักฐานการถือหุ้น เช่น หนังสือรับรอง จากบริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ หรื อ หลั ก ฐานอื่ น จากตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย หรือบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด การกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม
ธนาคารกำ � กั บ บริ ษั ท ในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ฯ โดยคณะกรรมการ ธนาคารเป็นผู้กำ�หนดทิศทางและเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ในภาพรวม ของกลุ่มธุรกิจฯ รวมทั้งพิจารณาอนุมัตินโยบายและทิศทางการ ดำ�เนินงานของกลุ่มธุรกิจฯ ที่เสนอโดยคณะกรรมการบริหาร และ กำ � กั บ ควบคุ ม ดู แ ลฝ่ า ยจั ด การ โดยผ่ า นคณะกรรมการบริ ห าร ให้ดำ�เนินการให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้รับการอนุมัติไว้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อระวังรักษาผลประโยชน์ของ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
076
กลุ่มธุรกิจฯ และผู้ถือหุ้น รวมถึงกำ�หนดและอนุมัตินโยบายต่างๆ ตามที่กฎหมายหรือหน่วยงานทางการที่กำ�กับดูแลกำ�หนด คณะกรรมการธนาคารจะเป็นผู้กำ�หนดโครงสร้างการบริหาร จั ดการ รวมถึ งให้ค วามเห็นชอบบุคลากรที่มีคุณสมบัติเหมาะ สมที่คัดเลือกและนำ�เสนอโดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนของธนาคาร สำ�หรับตำ�แหน่งกรรมการ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่ และตำ�แหน่งผู้บริหาร ของธนาคารตัง้ แต่ระดับผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การใหญ่ขนึ้ ไป ตำ�แหน่งกรรมการ และกรรมการผู้จัดการของบริษัทในกลุ่มธุรกิจฯ คณะกรรมการธนาคารได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ ของธนาคารเป็นผู้ทำ�หน้าที่ดูแลให้ธนาคารมีระบบควบคุมภายใน (Internal Control) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล โดยมีหน่วยงาน ตรวจสอบภายในของธนาคารเป็นผู้ดูแลเรื่องระบบการตรวจสอบ ภายใน ติดตามการดำ�เนินงานการตรวจสอบภายในของหน่วยงาน ตรวจสอบภายในของธนาคารและบริษทั ในกลุม่ ธุรกิจฯ และรายงาน ต่อคณะกรรมการตรวจสอบของธนาคาร รวมทั้งมีคณะกรรมการ ของบริษัทในกลุ่มธุรกิจตลาดทุนและ/หรือคณะกรรมการตรวจสอบ ของบริษัทในกลุ่มธุรกิจตลาดทุนทำ�หน้าที่ดูแลและควบคุมบริษัท ในกลุ่มธุรกิจตลาดทุนให้ดำ�เนินงานภายใต้ระบบควบคุมภายในที่ เพียงพอและเหมาะสม โดยผ่านหน่วยงานตรวจสอบภายในของ บริ ษั ท ในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ตลาดทุ น และรายงานต่ อ คณะกรรมการ ตรวจสอบของธนาคาร การดู แลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน
เพื่อป้องกันการแสวงหาประโยชน์จากการใช้ข้อมูลภายในที่ ยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ธนาคารกำ�หนดให้กรรมการและ ผู้บริหารของธนาคารทุกคนรวมถึงคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะ และบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกรรมการและ/หรือผู้บริหาร ธนาคาร ต้องรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของ ธนาคารทีต่ นถือครองอยูภ่ ายใน 3 วันทำ�การให้ส�ำ นักคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พร้อมกับส่งสำ�เนารายงาน การเปลี่ยนแปลง (แบบ 59-2) ไปยังเลขานุการบริษัทในวันเดียวกัน เพื่อรายงานการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวให้ที่ประชุมคณะกรรมการ ธนาคารรับทราบ รวมทั้งได้มีการเปิดเผยในรายงานประจำ�ปี และมี ข้อกำ�หนดเรือ่ งความซือ่ สัตย์สจุ ริต โดยห้ามกรรมการและพนักงาน ของธนาคารทุกคนอาศัยอำ�นาจหน้าที่ หรือโอกาสในการทำ�งาน เพื่อแสวงหาประโยชน์ ใดๆ อันขัดต่อจริยธรรมและจรรยาบรรณ ทางวิ ช าชี พ ที่ ธ นาคารกำ�หนด รวมถึงระเบียบประเพณีในการ ทำ�งานหรือผลประโยชน์ของธนาคาร สายตรวจสอบภายในมีการ สอบทานการปฏิบัติในเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน และการปฏิบัติ ตามข้ อ กำ � หนดเกี่ ย วกั บ จริยธรรมทางวิชาชีพ ซึ่งหากพบผู้ใ ด ฝ่าฝืนหรือกระทำ�ความผิดจะนำ�เสนอคณะกรรมการตรวจสอบ
และคณะกรรมการธนาคารเพื่อพิจารณาความผิดตามระเบียบของ ธนาคารต่อไป ในปี 2556 ธนาคารได้ ป รั บ ปรุ ง หลั ก เกณฑ์ ก ารซื้ อ ขาย หลักทรัพย์ของผู้บริหาร พนักงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการ ลงทุนในหลักทรัพย์หรือที่สามารถเข้าถึงข้อมูลภายในที่เป็นสาระ สำ�คัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ และหลักเกณฑ์การ รายงานการมีสว่ นได้เสียของกรรมการ ผูบ้ ริหาร และบุคคลทีม่ คี วาม เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อเป็นการกำ�กับดูแลและป้องกันความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ของกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน ในการใช้ข้อมูลที่ เป็นความลับหรือข้อมูลสำ�คัญที่ไม่ควรเปิดเผยต่อสาธารณชน อัน ซึง่ ได้มาเนือ่ งจากการปฏิบตั หิ น้าทีเ่ พือ่ หาประโยชน์สว่ นตนเองหรือ เอื้อประโยชน์แก่ผู้อื่นในทางมิชอบ และเป็นการดำ�รงไว้ซึ่งความ น่าเชือ่ ถือทีล่ กู ค้า ผูร้ ว่ มงาน ผูถ้ อื หุน้ หน่วยงาน ราชการทีเ่ กีย่ วข้อง และประชาชนทัว่ ไปมีตอ่ ธนาคารและเป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี ธนาคารห้ามมิให้ผู้บริหารและพนักงานที่เกี่ยวข้อง ซื้อขาย หลักทรัพย์ของธนาคารในช่วงระหว่าง 7 วัน ก่อนวันสิ้นไตรมาส จนกระทัง่ ธนาคารได้เปิดเผยงบการเงินต่อสาธารณชนแล้วเป็นระยะ เวลาไม่น้อยกว่า 1 ช่วงการซื้อขายหลักทรัพย์ (Trading Session) ทัง้ นี้ การซือ้ ขายหุน้ ของธนาคารภายใต้หลักเกณฑ์นี้ไม่รวมถึงการใช้ สิทธิซอื้ หุน้ ของธนาคารตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ได้รบั จากธนาคาร ในฐานะผู้บริหารหรือพนักงาน นอกจากนี้ ธนาคารยังได้จัดให้มีการสื่อสารระเบียบปฏิบัติว่า ด้วยข้อมูลภายในของธนาคารแก่กรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน ทุกระดับอย่างทั่วถึงทั้งองค์กรและเป็นไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ รับทราบถึงหน้าที่และความรับผิดชอบตามที่กำ�หนดไว้ในระเบียบ ปฏิบัติดังกล่าว
ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี
ในปี 2556 ธนาคารและบริษัทย่อยได้ใช้บริการสอบบัญชีและ บริการอื่นจากบริษัทดีลอย์ ทู้ช โธมัสสุ ไชยยศ สอบบัญชี จำ�กัด ซึ่งเป็นผู้สอบบัญชีของธนาคารและบริษัทย่อย โดยมีค่าใช้จ่าย ค่าตอบแทนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ • ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (audit fee) ธนาคารและบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่ สำ�นักงานสอบบัญชีทผี่ สู้ อบบัญชีสงั กัด บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้อง กับผูส้ อบบัญชีและสำ�นักงานสอบบัญชีดงั กล่าว ในรอบปีบญั ชีทผี่ า่ น มีจำ�นวนเงินรวม 15 ล้านบาท • ค่าบริการอื่น (non-audit fee) ธนาคารและบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนของงานบริการอื่น
รายงานประจำ�ปี 2556
ได้แก่ การตรวจสอบงานพิเศษตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย การตรวจสอบธุ ร กรรมโอนเงิ น ทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ และการให้ คำ�ปรึกษาและแนะนำ�ทางการบัญชี และโครงการต่างๆ ให้แก่ สำ � นั ก งานสอบบั ญ ชีท่ีผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปีบัญชีท่ีผ่านมา มีจำ�นวนเงินรวม 10 ล้านบาท และจะต้องจ่ายในอนาคตอันเกิด จากการตกลงทีย่ งั ให้บริการ ไม่แล้วเสร็จในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามี จำ�นวนเงินรวม 52 ล้านบาท การปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีในเรื่องอื่นๆ
ก ารกำ � กั บ ดู แ ลกิจการที่ดีแ สดงให้เห็น ถึงระบบการบริหาร จัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ช่วยสร้างความ เชื่ อ มั่ น ให้ แ ก่ ทุ ก ฝ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และช่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ ธ นาคาร เติบโตอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน อีกทั้งธนาคารยังยึดมั่น ที่ จ ะพั ฒ นาการปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ให้ ดี ยิ่ ง ๆ ขึ้ น ไป รวมทั้ ง ในบางประเด็ น ที่ ธ นาคารยั ง ไม่ ไ ด้ ดำ�เนินการ เช่น • โครงสร้างคณะกรรมการต้องมีจำ�นวนไม่น้อยกว่า 5 คน และ ไม่ควรเกิน 12 คน คณะกรรมการธนาคารประกอบด้วยกรรมการ 15 คน ซึ่งเป็น ขนาดที่ เ หมาะสมกั บ การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ธนาคารพาณิ ช ย์ แ ละ ธุรกิจตลาดทุน โครงสร้างคณะกรรมการประกอบด้วยบุคคลที่มี ความรู้ ประสบการณ์และความสามารถทีเ่ พียงพอทีจ่ ะปฏิบตั หิ น้าที่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีความหลากหลายทั้งทักษะวิชาชีพ เพศ และความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เป็นต้น • คณะกรรมการควรกำ�หนดวาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการ ธนาคารไม่จำ�กัดจำ�นวนวาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการ ธนาคาร เพือ่ มิให้ธนาคารสูญเสียโอกาสในการแต่งตัง้ กรรมการซึง่ มี ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์เกีย่ วกับธนาคารและบริษทั ในกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ซึ่งเป็นปัจจัยสำ�คัญสำ�หรับ ความสำ�เร็จในการกำ�กับดูแลกิจการ • กรณีไม่ได้ประชุมคณะกรรมการทุกเดือนควรส่งรายงานผลการ ดำ�เนินงานให้คณะกรรมการแทนในเดือนที่มีการประชุม ธนาคารไม่ได้มีการประชุมคณะกรรมการธนาคารทุกเดือน แต่กำ�หนดให้มีการรายงานผลการดำ�เนินงานเป็นรายไตรมาส ยกเว้นในกรณีที่เห็นว่าในระหว่างเดือนการดำ�เนินงานของธนาคาร มีการเปลี่ยนแปลงที่เป็นนัยสำ�คัญ อย่ า งไรก็ต าม ในปี 2556 ธนาคารได้มีการประชุมคณะ กรรมการรวมทั้งสิ้น 9 ครั้ง และคณะกรรมการสามารถขอข้อมูลที่ จำ�เป็นเพิม่ เติม จากประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่
077
และประธานธุรกิจ เลขานุการบริษัท หรือผู้บริหารระดับสูงท่านอื่น ได้ ภายในขอบเขตนโยบายที่กำ�หนดไว้ เพื่อติดตามผลการดำ�เนิน งานของฝ่ายจัดการอย่างสมํ่าเสมอได้ • การประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการเป็นรายบุคคล เนื่ อ งจากการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องกรรมการ เป็นรายบุคคลอาจยังมีความคลาดเคลื่อน ธนาคารจึงประเมินผล การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการเป็นแบบทั้งคณะ รวมทั้งธนาคาร ยังไม่ได้จัดให้มีที่ปรึกษาภายนอกมาช่วยในการกำ�หนดแนวทาง และเสนอแนะประเด็ น ในการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ คณะกรรมการธนาคารอย่างน้อยทุกๆ 3 ปี ซึ่งคณะกรรมการได้ เห็นสมควรให้จัดจ้างที่ปรึกษาภายนอกมาช่วยดำ�เนินการในเรื่อง ดังกล่าวต่อไป การกำ�กับดูแลกิจการ
ค ณะกรรมการธนาคารให้ความสำ�คัญอย่างยิ่งและมีความ มุ่ ง มั่ น ที่ จ ะดำ � เนิ น การให้ ก ารกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การของธนาคาร เป็ น ไปตามหลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ที่ กำ � หนดโดย หน่ ว ยงานกำ � กั บ ดู แ ลธนาคารอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อั น เป็ น ผลให้ ธนาคารได้รับรางวัลการปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดู แลกิจการ ที่ดีหลายรางวัล ดังนี้ • ผลประเมิ น ในระดั บ “ดี เ ลิ ศ ” จากโครงการประเมิ น คุ ณ ภาพการจั ด ประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ � ปี 2556 จั ด โดย สมาคมส่ ง เสริ ม ผู้ ล งทุ น ไทย สำ � นั ก งานคณะกรรมการกำ � กั บ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย เป็นปีที่ 7 ต่อเนื่องกัน • ผลประเมินการกำ�กับดูแลกิจการในระดับ “ดีเลิศ” จาก โครงการสำ�รวจการกำ�กับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย ประจำ� ปี 2556 และได้รับตราสัญลักษณ์ 5 ดวง จัดโดยสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • รางวัลเกียรติยศแห่งความสำ�เร็จด้านการรายงานบรรษัท ภิ บ าลที่ มี ค วามเป็ น เลิ ศ ต่ อ เนื่ อ ง (SET Awards of Honor) ปี 2553 - 2556 เป็นปีที่ 4 ต่อเนื่องกัน จากงานประกาศรางวัล SET Awards ประจำ�ปี 2556 จัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วมกับวารสารการเงินธนาคาร • รางวัลบริษัทจดทะเบียน “ดีเด่น” ด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคม จากงานประกาศรางวัล SET Awards ประจำ�ปี 2556 จัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยร่วมกับวารสารการเงิน ธนาคาร (ปี 2555 - 2556 เป็นปีที่ 2 ต่อเนื่องกัน) โดยในรอบปี 2556 ที่ผ่านมา ธนาคารได้มีการปฏิบัติตาม หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีทั้ง 5 หมวด ตามแนวทางของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในแต่ละหัวข้อ ดังนี้
078
นโยบายเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการธนาคารตระหนักถึงความรับผิดชอบที่พึงมีต่อ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย จึงมุง่ มัน่ ในการดำ�เนินธุรกิจตามหลักบรรษัท ภิ บ าลมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จึ ง ได้ ท บทวนเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง หลั ก การ กำ�กับดูแลกิจการของธนาคาร และเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2556 คณะกรรมการธนาคารได้มีมติอนุมัตินโยบายเรื่องหลักการกำ�กับ ดูแลกิจการฉบับใหม่ขนึ้ เพือ่ เป็นแนวทางในการปฏิบตั แิ ละยกระดับ มาตรฐานการกำ�กับดูแลกิจการของธนาคารให้สามารถเทียบเคียง ได้กับมาตรฐานสากลมากยิ่งขึ้น โดยหลักการกำ�กับดูแลกิจการ นี้แบ่งเนื้อหาออกเป็น 5 หมวด ได้แก่ หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือ หุ้น หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน หมวด ที่ 3 บทบาทต่อผู้มีส่วนได้เสีย หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูล และความโปร่งใส หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ธนาคาร คณะกรรมการธนาคารและฝ่ายจัดการเชือ่ มัน่ ว่า การกำ�กับดูแล กิจการทีด่ จี ะทำ�ให้ธนาคารมีระบบการบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็นธรรมกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง สามารถ สร้างความน่าเชื่อถือและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้แก่ธนาคาร ภายใต้กรอบของการมีจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งเป็นการสร้างความมั่นคงและรากฐานที่แข็งแกร่งให้กับธนาคาร ในระยะยาว ดังนั้น การนำ�หลักการและแนวปฏิบัติที่กำ�หนดไว้ใน หลักการกำ�กับดูแลกิจการฉบับนี้ไปปฏิบัติจึงถือเป็นพันธกิจหนึ่ง ของคณะกรรมการธนาคาร ผู้บริหาร และพนักงานของธนาคาร เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อธนาคาร ผู้ถือหุ้น ลูกค้า ผู้มีส่วนได้เสีย และสังคมส่วนรวม โดยได้เปิดเผยรายละเอียดดังกล่าวในเว็บไซต์ ของธนาคารแล้ว (www.kiatnakinphatra.com) รวมทั้งธนาคาร ได้ สื่ อ สารและเผยแพร่ ผ่ า นระบบอิ น ทราเน็ ต ของธนาคารด้ ว ย (KK World) เพื่อให้พนักงานและผู้บริหารได้รับทราบ การปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการ ธนาคารนำ � หลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ไ ปใช้ ป ฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ผู้มีส่วนได้เสียและผู้เกี่ยวข้องในรอบปี 2556 ที่ผ่านมา ดังนี้ 1. ด้านสิทธิของผู้ถือหุ้น 1.1) การให้ขอ้ มูลแก่ผถู้ อื หุน้ ล่วงหน้าอย่างเพียงพอและทันเวลา ธนาคารกำ�หนดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นภายใน ระยะเวลาไม่เกิน 4 เดือนนับจากวันสิ้นสุดรอบบัญชีของธนาคาร และในกรณีที่มีความจำ�เป็นเร่งด่วนต้องเสนอวาระเป็นกรณีพิเศษ ที่ต้องได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นแล้ว ธนาคารจะเรียกประชุม วิสามัญผู้ถือหุ้นเป็นกรณีไป โดยในปี 2556 ธนาคารได้จัดการ ประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ขึ้ น เมื่ อวั น ที่ 25 เมษายน 2556 และ ในระหว่างปีไม่มีการเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น โดยธนาคารมีวิธี
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
ดำ�เนินการในการจัดการประชุมโดยปฏิบตั ติ ามคูม่ อื AGM Checklist ของสมาคมส่งเสริมผูล้ งทุนไทย สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย และ สำ�นักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. คือ จะมีการเผยแพร่หนังสือเชิญ ประชุม และข้อมูลประกอบการประชุมตามวาระต่างๆ ให้ผู้ถือหุ้น ทราบล่วงหน้าผ่านเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และเว็บไซต์ของธนาคาร (www.kiatnakinphatra.com) ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น 31 วัน โดยธนาคารได้มอบหมายให้บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ซึ่งเป็นนายทะเบียน หลักทรัพย์ของธนาคาร เป็นผู้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่ผู้ถือ หุ้นล่วงหน้าก่อนการประชุม 21 วัน รวมทั้งได้ทำ�การประกาศลง ในหนังสือพิมพ์รายวันทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างละ 1 ฉบับ เป็นเวลาติดต่อกัน 3 วัน ซึ่งในหนังสือเชิญประชุมมีข้อมูล ประกอบไปด้วย รายชื่อกรรมการพร้อมทั้งประวัติของกรรมการ แต่ละคน ทั้งกรรมการใหม่ที่ได้รับการเสนอชื่อ และกรรมการเดิม ที่ได้รับการเสนอชื่อโดยคณะกรรมการธนาคารให้กลับเข้ามาดำ�รง ตำ�แหน่งอีกวาระหนึ่ง รายชื่อผู้สอบบัญชีและค่าตอบแทน การจ่าย เงินปันผล โดยระบุจ�ำ นวนเงินทีจ่ า่ ย นโยบายการจ่ายเงินปันผลและ ข้อมูลเปรียบเทียบกับอัตราการจ่ายเงินปันผลในปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ ในหนังสือเชิญประชุมมีการระบุวัตถุประสงค์และเหตุผล รวมทั้ง ความเห็นของคณะกรรมการในแต่ละวาระไว้อย่างชัดเจน นอกจากนี้ ธนาคารได้จัดทำ�หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นเป็นภาษาอังกฤษทั้ง ฉบับและเผยแพร่พร้อมกับหนังสือเชิญประชุมภาษาไทย เพือ่ อำ�นวย ความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้นต่างชาติ ก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น ธนาคารได้เปิดโอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถส่ ง คำ � ถามที่ เ กี่ ย วกั บ วาระการประชุ ม ล่ ว งหน้ า ได้ตั้งแต่วันที่มีคำ�บอกกล่าวเรียกประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับ ประโยชน์สูงสุดจากการประชุมรวมทั้งเป็นการรักษาสิทธิประโยชน์ ของผู้ถือหุ้นเต็มที่ โดยผู้ถือหุ้นสามารถส่งถึงคณะกรรมการผ่าน ทางเว็บไซต์ของธนาคาร (www.kiatnakinphatra.com) หรือติดต่อ ผ่าน Email address: investor_relations@kiatnakin.co.th โดย สำ�นักเลขานุการบริษทั จะรวบรวมคำ�ถามทัง้ หมดส่งให้คณะกรรมการ ก่อนการประชุม วันประชุมผู้ถือหุ้น ธนาคารได้มีการบันทึกรายงาน การประชุมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร รวมถึงการบันทึกภาพการ ประชุมไว้เป็นวีดิทัศน์ ก่อนเริ่มการประชุม ประธานกรรมการเป็น ผู้ชี้แจงวิธีการออกเสียงลงคะแนนและวิธีการนับคะแนนในแต่ละ วาระอย่างชัดเจน รวมถึงบันทึกคำ�ถามของผูถ้ อื หุน้ และคำ�ตอบของ กรรมการ และบันทึกข้อมูลและผลของการลงมติคะแนนเสียงทีเ่ ห็น ด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสียงของแต่ละวาระ รวมทั้งไม่มีการ เพิม่ วาระอืน่ ๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้ในหนังสือนัดประชุมทีส่ ง่ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ล่วงหน้าอีกด้วย ทำ�ให้ผู้ถือหุ้นมีข้อมูลที่ครบถ้วนเพียงพอที่จะใช้ ประกอบการตัดสินใจลงคะแนนในวาระต่างๆ
รายงานประจำ�ปี 2556
ธนาคารจัดให้มีบุคลากรและเทคโนโลยีที่เหมาะสม และเพียงพอในการตรวจสอบเอกสารของผู้ถือหุ้นแต่ละรายที่จะ เข้าร่วมประชุม เพือ่ อำ�นวยความสะดวกให้ผถู้ อื หุน้ ได้ใช้สทิ ธิในการ เข้าร่วมประชุมและออกเสียงอย่างเต็มที่ ทั้งนี้ ธนาคารได้ใช้บริการ ระบบการจัดประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด และนำ�ระบบบาร์โค้ดมาใช้ในการลงทะเบียน และ ประมวลผลการนับคะแนนเสียงเช่นเดียวกับปีที่ผ่านมา เพื่ออำ�นวย ความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นและเพื่อความรวดเร็วและถูกต้อง ในปี 2556 ธนาคารได้จัดทำ�รายงานการประชุม ผู้ถือหุ้นที่มีสาระสำ�คัญครบถ้วน และได้จัดส่งรายงานการประชุม ให้แก่หน่วยงานทางการภายใน 14 วันนับแต่วันประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งได้เผยแพร่รายงานการประชุมบนเว็บไซต์ของธนาคาร (www.kiatnakinphatra.com) 1.2) การอำ�นวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิในการ เข้าร่วมประชุมและออกเสียงอย่างเต็มที่ ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปี คณะกรรมการ ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นทุกกลุ่มรวมถึงผู้ถือหุ้นสถาบันเข้าร่วมประชุม ผูถ้ อื หุน้ โดยอำ�นวยความสะดวกให้ผถู้ อื หุน้ ด้วยการจัดประชุมในวัน เวลา และสถานที่ที่ให้ความสะดวกสบายในการเดินทางแก่ผู้ถือหุ้น สำ�หรับผูถ้ อื หุน้ ที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้กส็ ามารถมอบฉันทะ ให้ผู้อื่นเข้าร่วมประชุม และซักถามในการประชุม รวมทั้งออกเสียง ลงคะแนนแทนได้ ในปี 2556 ธนาคารได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วน น้อยมีสิทธิเสนอวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อเลือกตั้ง เป็นกรรมการล่วงหน้าอย่างน้อย 3 เดือนก่อนวันสิ้นสุดรอบปีบัญชี โดยเปิดโอกาสให้เสนอตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2556 โดยได้แจ้งข่าวผ่านระบบของตลาดหลักทรัพย์ฯ และได้เผยแพร่ หลักเกณฑ์และวิธกี ารการเสนอวาระและเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เลือกตัง้ เป็นกรรมการบนเว็บไซต์ของธนาคาร (www.kiatnakinphatra.com) 1.3) การจัดสรรเวลาให้เหมาะสมและส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้น มีโอกาสแสดงความเห็น ธนาคารเปิดโอกาสและส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นได้มีโอกาส แสดงความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะ และถามคำ�ถามในเรื่องที่ เกีย่ วข้องกับธนาคารในระหว่างการประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยจัดสรรเวลา อภิปรายอย่างเหมาะสมและเพียงพอ ซึ่งกรรมการและผู้บริหารจะ ตอบข้อซักถามอย่างชัดเจน ตรงประเด็น และให้ความสำ�คัญกับ ทุกคำ�ถาม นอกจากนี้ ธนาคารยังได้บันทึกประเด็นคำ�ถามและ คำ�ตอบไว้ในรายงานการประชุมอีกด้วย 1.4) การเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นของกรรมการธนาคาร อย่างครบถ้วน ธนาคารมีนโยบายให้ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ประธานสายงานและผูบ้ ริหาร
079
ระดับสูง รวมทั้งผู้สอบบัญชีเข้าร่วมประชุมทุกครั้ง เพื่อให้ข้อมูล เพิ่มเติม และตอบข้อซักถามแก่ผู้ถือหุ้น โดยในปี 2556 ที่ผ่านมา ประธานกรรมการ ประธานกรรมการชุดย่อยทุกคณะ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ประธานสายงานและผูบ้ ริหาร ระดับ สูงสุดด้านการเงิน รวมทั้งผู้สอบบัญชีได้เข้าร่วมประชุมด้วย นอกจากนัน้ ธนาคารยังตระหนักถึงการให้ความสำ�คัญ ในสิทธิของผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ป็นไปตามกฎหมายทีก่ �ำ หนดไว้ ธนาคารยังมุง่ ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นได้รับสิทธิของตนมากยิ่งขึ้น เช่น การเปิดเผย ข้อมูลผลการดำ�เนินงาน สิทธิประโยชน์ หรือกิจกรรมที่สำ�คัญของ ธนาคาร ผ่านทางเว็บไซต์ของธนาคาร (www.kiatnakinphatra. com) เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเข้าถึงข้อมูลของธนาคารอย่างต่อเนือ่ ง ทั น เวลาเท่ า เที ย มกั น ไม่ เ ป็ น การจำ � กั ด โอกาสการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล สารสนเทศของธนาคาร 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ธนาคารตระหนั ก ถึ ง สิ ท ธิ ที่ เ ท่ า เที ย มกั น ของผู้ ถื อ หุ้ น ใน ทุกด้าน ดังนัน้ ธนาคารจึงได้ปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียม และเป็นธรรม โดยในปี 2556 ที่ผ่านมา ธนาคารได้ปฏิบัติต่อ ผู้ถือหุ้นในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ 2.1) การอำ�นวยความสะดวกให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยเสนอวาระ การประชุมล่วงหน้า ธนาคารเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยมีสิทธิเสนอ วาระการประชุ ม และ/หรื อ เสนอชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ เลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการก่อนที่ธนาคารจะส่งหนังสือเชิญประชุม สำ�หรับการ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2556 ธนาคารได้เปิดโอกาสให้ ผูถ้ อื หุน้ มีสทิ ธิเสนอวาระการประชุมและเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ เลือกตัง้ เป็นกรรมการล่วงหน้าอย่างน้อย 3 เดือนก่อนวันสิ้นสุดรอบปีบัญชี โดยเปิดโอกาสให้เสนอระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2556 โดยธนาคารได้แจ้งข่าวผ่านระบบเผยแพร่ขอ้ มูลของตลาดหลักทรัพย์ และได้ เ ผยแพร่ ห ลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี การเสนอวาระและเสนอชื่ อ บุคคลเพื่อเลือกตั้งเป็นกรรมการไว้บนเว็บไซต์ของธนาคาร (www. kiatnakinphatra.com) อย่างไรก็ตาม ไม่มีผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเสนอ ระเบียบวาระการประชุม และ/หรือ ชื่อบุคคลเพื่อเลือกตั้งเป็น กรรมการในระยะเวลาดังกล่าว นอกจากนั้นธนาคารยังเปิดโอกาส ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ลงคะแนนเสี ย งเลื อ กตั้ ง กรรมการของธนาคารเป็ น รายบุ ค คล และยั ง รวมถึ ง การให้ ผู้ ถื อ หุ้ น พิ จารณาหลั ก เกณฑ์ นโยบายของธนาคารเรือ่ งค่าตอบแทนกรรมการเป็นประจำ�ทุกปีดว้ ย 2.2) การกำ�หนดเกณฑ์พิจารณาที่ชัดเจนล่วงหน้าในการ เพิ่มวาระของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย (1) ธนาคารได้กำ�หนดหลักเกณฑ์ ให้ผู้ถือหุ้นเสนอ ระเบียบวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และเสนอชื่อบุคคลเพื่อ พิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการล่วงหน้า โดยเปิดโอกาสให้เสนอชื่อ
080
มายังคณะกรรมการธนาคารล่วงหน้าอย่างน้อย 3 เดือน ก่อนวัน สิ้นสุดรอบปีบัญชี ทั้งนี้ คุณสมบัติของผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิที่จะเสนอ ระเบียบวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น หรือเสนอชื่อบุคคลเพื่อ พิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการ มีดังต่อไปนี้ • เป็นผูถ้ อื หุน้ ของธนาคารอย่างน้อย 200,000 หุน้ (สองแสนหุ้น) โดยอาจเป็นผู้ถือหุ้นรายเดียว หรือหลายรายรวมกัน ก็ได้ ซึ่งตํ่ากว่าแนวปฏิบัติของตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่ร้อยละ 5 ของ จำ�นวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของธนาคาร • ต้องถือหุ้นในธนาคารตามสัดส่วนข้างต้นต่อ เนื่องมาไม่น้อยกว่า 1 ปี และยังถือหุ้นตามสัดส่วนดังกล่าวในวันที่ เสนอระเบียบวาระการประชุมหรือเสนอชื่อบุคคลเพื่อพิจารณา เลือกตั้งเป็นกรรมการ • สามารถแสดงหลักฐานการถือหุ้น เช่น หนังสือ รับรองจากบริษัทหลักทรัพย์ หรือหลักฐานอื่นจากตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย หรือบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (2) ผู้ถือหุ้นที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ ดังกล่าวข้างต้น สามารถเสนอระเบียบวาระการประชุม โดยกรอกแบบ ขอเสนอเรื่อง เพื่อบรรจุเป็นระเบียบวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2556 โดยจัดส่งเอกสารพร้อมหลักฐานให้ธนาคารภายใน เวลาทีก่ �ำ หนด และเพือ่ ให้การประชุมดำ�เนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ นีร้ ะเบียบวาระการประชุมทีจ่ ะได้รบั การบรรจุเป็นวาระการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นจะต้องอยู่ภายใต้ประเด็นดังต่อไปนี้ • เรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการดำ�เนินธุรกิจปกติของธนาคาร และผูถ้ อื หุน้ ได้แสดงให้เห็นถึงเหตุอนั ควรสงสัยเกีย่ วกับความผิดปกติ ของการดำ�เนินธุรกิจของธนาคาร • เรื่องที่อยู่ในวิสัยที่ธนาคารจะดำ�เนินการได้ • เรือ่ งทีไ่ ม่ขดั ต่อกฎหมาย ประกาศ ข้อบังคับของ ทางการ หรือหน่วยงานทีก่ �ำ กับดูแลการดำ�เนินงานของธนาคาร หรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือวัตถุประสงค์ข้อบังคับของธนาคาร มติที่ ประชุมผูถ้ อื หุน้ เกณฑ์การกำ�กับดูแลทีด่ ขี องธนาคาร และจริยธรรม ในการดำ�เนินธุรกิจ • เรือ่ งทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ และต่อส่วนรวม • เรื่องที่เสนอโดยผู้ถือหุ้นที่มีคุณสมบัติครบถ้วน และได้ปฏิบัติตามเกณฑ์ที่ธนาคารกำ�หนดไว้ในการเสนอระเบียบ วาระการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ และการเสนอบุคคลเพือ่ รับพิจารณา เลือกตั้งเป็นกรรมการ • เรือ่ งทีผ่ ถู้ อื หุน้ ให้ขอ้ มูลหรือหลักฐานประกอบการ เสนอครบถ้วน เพียงพอ ถูกต้อง และภายในระยะเวลาที่กำ�หนด • เรือ่ งทีค่ ณะกรรมการธนาคารพิจารณาแล้วเห็นว่า มีความจำ�เป็นจะต้องบรรจุเป็นวาระ • เรื่องที่ธนาคารไม่เคยดำ�เนินการมาก่อน และ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
คณะกรรมการธนาคารพิจารณาแล้วเห็นว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการ ดำ�เนินงานของธนาคาร • เรือ่ งทีธ่ นาคารไม่เคยพิจารณาหรือมีมติในเรือ่ ง ดังกล่าวมาก่อน คณะกรรมการธนาคารจะเป็นผู้พิจารณาความเหมาะ สมของระเบียบวาระการประชุมทีผ่ ถู้ อื หุน้ เสนอ โดยจะต้องมีลกั ษณะ เข้าข่ายตามข้อกำ�หนดข้างต้น เว้นแต่คณะกรรมการธนาคารจะ พิจารณาเป็นอย่างอื่น อีกทั้งมติของคณะกรรมการธนาคารถือเป็น ที่สุด ในกรณีที่มีการเสนอระเบียบวาระเรื่องเดียวกันจากผู้ถือหุ้น หลายราย หรือเป็นเรื่องที่อาจจะนำ�มาพิจารณาร่วมกันได้ คณะ กรรมการธนาคารอาจนำ�มารวมเป็นวาระเดียวกันได้ ซึง่ ระเบียบวาระ เรือ่ งใดทีผ่ า่ นความเห็นชอบจากคณะกรรมการธนาคารแล้ว ธนาคาร จะบรรจุเป็นระเบียบวาระการประชุมในหนังสือเชิญประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น พร้อมความเห็นของคณะกรรมการธนาคาร ส่วนเรื่อง ที่ไม่ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการธนาคาร ธนาคารจะแจ้ง ให้ผู้ถือหุ้นทราบภายหลังการประชุมคณะกรรมการธนาคารก่อน การประชุมผูถ้ อื หุน้ ผ่านทางเว็บไซต์ของธนาคาร หรือช่องทางการ เผยแพร่ข้อมูลอื่นที่เหมาะสมต่อไป นอกจากนั้น ผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหารจะไม่มีการเพิ่ม วาระการประชุมแต่อย่างใด การประชุมจะเป็นไปตามวาระที่ได้แจ้ง ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า สำ�หรับผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ ธนาคารจัดให้มหี นังสือมอบฉันทะรูปแบบทีผ่ ถู้ อื หุน้ สามารถกำ�หนด ทิศทางการลงคะแนนเสียงได้ (แบบ ข.) และยังเสนอชื่อกรรมการ อิสระเป็นทางเลือกให้ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะได้ด้วย รวมทั้ง ธนาคารสนับสนุนให้มกี ารใช้บตั รลงคะแนนเสียงสำ�หรับวาระทีส่ �ำ คัญ เช่น การทำ�รายการเกี่ยวโยง การทำ�รายการได้มาหรือจำ�หน่ายไป ซึ่งสินทรัพย์ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและตรวจสอบได้ 3. การคำ�นึงถึงบทบาทของ ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ธนาคารให้ความสำ�คัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม โดยมีนโยบายที่จะดูแลผลกระทบจากการประกอบธุรกิจให้อย่าง ครบถ้วน เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมั่นใจว่าการประกอบธุรกิจได้คำ�นึงถึง ปัจจัยด้านสิง่ แวดล้อมเพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน รวมทัง้ ผูม้ สี ว่ นได้ เสียจะได้รบั ความคุม้ ครองอย่างเป็นธรรม ไม่วา่ จะเป็นผูม้ สี ว่ นได้เสีย ภายใน อันได้แก่ พนักงาน ผูบ้ ริหารของธนาคารและบริษทั ย่อย หรือ ผูม้ สี ว่ นได้เสียภายนอก โดยหากมีธรุ กรรมทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างธนาคาร กับบุคคล และกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ธนาคารจะมีแนวทางปฏิบัติที่ ชัดเจน เป็นธรรม โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ ซึ่งธนาคารได้นำ� เสนอรายละเอียดของธุรกรรมดังกล่าวในหมายเหตุประกอบงบการ เงินของธนาคารทุกไตรมาส รวมถึงในรายงานประจำ�ปีด้วย เมื่อมกราคม 2557 คณะกรรมการธนาคารได้อนุมัตินโยบาย แนวทางการดำ�เนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบต่อสังคม เพือ่ ให้กรรมการ
รายงานประจำ�ปี 2556
ผู้บริหาร และพนักงานของธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) มีแนวทางในการปฏิบตั หิ น้าทีอ่ ย่างรับผิดชอบต่อสังคมซึง่ ครอบคลุม ประเด็นความรับผิดชอบต่อสังคม 10 ประการ ได้แก่ การกำ�กับดูแล กิจการที่ดี การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม การต่อต้านการ ทุจริตการเคารพสิทธิมนุษยชน การปฏิบตั ติ อ่ พนักงาน/แรงงานอย่าง เป็นธรรม ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค การร่วมพัฒนาชุมชนและ สังคม การจัดการสิ่งแวดล้อม นวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรม จากการดำ�เนินความรับผิดชอบต่อสังคม และการจัดทำ�รายงาน แห่งความยั่งยืน ทั้งนี้ ธนาคารคำ�นึงถึงความสำ�คัญของการสนับสนุนจากผู้มี ส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ว่ามีส่วนทำ�ให้ธนาคารสามารถสร้างความ สำ�เร็จได้ในระยะยาว ธนาคารจึงมีแนวทางปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย ในแต่ละกลุ่ม ดังนี้ • ด้านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการธนาคารถือเป็นหน้าที่ในการดูแลให้ผบู้ ริหาร และพนักงานทำ�งานด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริต มีความสำ�นึกในหน้าที่ ด้วยความรับผิดชอบต่อผลของการปฏิบตั ิ เพือ่ ทำ�ให้ผถู้ อื หุน้ มีความ เชือ่ มัน่ และยอมรับในการตัดสินใจว่า การดำ�เนินการใดๆ กระทำ�ด้วย ความเป็นธรรม และคำ�นึงถึงประโยชน์สงู สุดของผูถ้ อื หุน้ ทัง้ รายใหญ่ และรายย่อย นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นยังสามารถใช้สิทธิในการดูแลรักษา ผลประโยชน์ของตนด้วยการแสดงความเห็น ให้ข้อเสนอแนะ และ ออกเสียงลงมติร่วมตัดสินใจในการเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญต่างๆ รวมทั้งการเลือกตั้งคณะกรรมการธนาคารและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการ การจัดสรรกำ�ไรและการจ่ายเงินปันผล การแต่งตั้งผู้สอบ บัญชี และกำ�หนดค่าตอบแทนในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ โดยธนาคารต้อง เปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามความเป็นจริงถูกต้อง ครบถ้วน และ สามารถตรวจสอบได้ • ด้านลูกค้า ธนาคารดูแลและให้ความสำ�คัญกับความต้องการของ ลูกค้าเป็นอันดับหนึ่งเสมอ ด้วยความมุ่งมั่นที่จะนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ ทางการเงินและบริการที่ดีที่สุดให้แก่ลูกค้า ธนาคารจะใส่ ใจใน รายละเอียด และพร้อมรับฟังทุกปัญหาอย่างใกล้ชิด เพื่อรักษา สัมพันธภาพทีด่ ีในระยะยาว ไว้ใจได้และพร้อมเคียงข้างลูกค้า ให้การ สนับสนุนตามศักยภาพในการแข่งขันของลูกค้าเพื่อสู่ความสำ�เร็จ ดังนั้น ธนาคารจึงมีการพัฒนาระบบงานเครือข่ายสาขา และนำ� เทคโนโลยีทที่ นั สมัยมาใช้ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการให้บริการ ให้ มีความรวดเร็ว ยืดหยุน่ และตอบสนองความต้องการของลูกค้ามาก ที่สุด ตลอดจนธนาคารยังให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาบุคลากรให้ มีความพร้อมและมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับธุรกิจและความ ต้องการของลูกค้า รวมทั้งพร้อมที่จะให้คำ�ปรึกษาด้านการเงินและ การลงทุนที่เหมาะสม เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ลูกค้าทุกๆ คน
081
ในกรณีที่ลูกค้ามีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบริการ สอบถาม ข้อมูลหรือต้องการร้องเรียน หรือแจ้งเบาะแสการปฏิบัติงานที่มิ ชอบ โดยลูกค้าสามารถทีจ่ ะส่งข้อความผ่านมาทางเว็บไซต์ธนาคาร (www.kiatnakin.co.th) หรือติดต่อไปยังศูนย์รับเรื่องร้องเรียน (โทรศัพท์ 0-2680-3333) เพื่อร้องเรียนได้ทันที ทั้งนี้ ธนาคารให้ ความสำ�คัญอย่างยิง่ ต่อคำ�แนะนำ� คำ�ร้องเรียน และการแจ้งเบาะแส การทุจริต หรือการดำ�เนินการที่ไม่โปร่งใส ซึง่ จะสร้างความเสียหาย ให้แก่ธนาคาร โดยธนาคารมีกระบวนการทีจ่ ะรักษาความลับของผูส้ ง่ ข้อมูล ความคิดเห็น หรือแจ้งเบาะแสมายังธนาคาร (รายละเอียด ปรากฏตามรายงานความรับผิดชอบต่อสังคม เรือ่ งความรับผิดชอบ ต่อผู้บริโภค) • ด้านพนักงาน ธนาคารเล็งเห็นถึงความสำ�คัญของพนักงานซึ่งถือเป็น ทรัพย์สินที่มีคุณค่า จึงได้มีการพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคล ทั้งในแง่การบริหาร และพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนา ศักยภาพของพนักงานให้อยู่ในระดับมาตรฐานเมื่อเทียบกับบริษัท ชั้นนำ�อื่นๆ ในธุรกิจและเป็นกำ�ลังสำ�คัญในการพัฒนาให้ธนาคาร มีความเป็นสถาบันการเงินชั้นนำ�ที่สามารถให้บริการที่ดีแก่ลูกค้า ธนาคารกำ � หนดนโยบายการฝึ ก อบรมและพั ฒ นา ธนาคารได้ กำ�หนดนโยบายด้านผลตอบแทน โดยจัดให้มีการบริหารค่าจ้าง ค่ า ตอบแทนให้ กั บ ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานที่ เ หมาะสมสามารถ เที ย บเคี ย งและแข่ ง ขั น กั บ บริ ษั ท ชั้ น นำ � ทั่ ว ไปได้ มี การกำ � หนด ขอบเขตการปฏิบัติงานไว้อย่างชัดเจนตลอดจนมีนโยบายการ พั ฒ นาและส่ ง เสริ ม ความรู้ ค วามสามารถให้ กั บ พนั ก งานอย่ า ง ต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาทักษะและความสามารถของพนักงานให้ได้รับ ความก้าวหน้าในอาชีพ สำ�หรับนโยบายด้านสวัสดิการ ธนาคารจัดให้มีสวัสดิการ สำ�หรับพนักงาน เช่น กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพพนักงาน กองทุน ประกันสังคม การประกันสุขภาพกลุม่ การประกันชีวติ กลุม่ การประกัน อุบัติเหตุกลุ่ม การตรวจสุขภาพประจำ�ปี ห้องพยาบาลของธนาคาร ห้อง Mother Corner (ห้องสำ�หรับพนักงานที่เป็นมารดาในการ เก็บนํ้านมให้บุตร) ตลอดจนการให้ทุนการศึกษาต่อเนื่องระดับ ปริญญาตรี (Kiatnakin Responsibility Scholarships) สำ�หรับบุตร ของพนักงาน และสวัสดิการเกีย่ วกับเงินช่วยเหลือพนักงานในโอกาส ต่างๆ เป็นต้น นโยบายด้านความปลอดภัยและสุขอนามัย ธนาคาร จั ด การสภาพแวดล้ อ มในสถานที่ ป ฏิ บั ติ ง านโดยคำ � นึ ง ถึ ง ความ ปลอดภัย สุขอนามัย สิ่งแวดล้อมที่ดีเพื่อเอื้อต่อการปฏิบัติงาน ของพนักงาน และเพื่อการอำ�นวยความสะดวกแก่ลูกค้า นอกจากนี้ ธนาคารยังจัดให้มีการซ้อมหนีไฟ และระบบป้องกันภัยในอาคาร สำ�นักงาน รวมทั้งธนาคารได้ประกาศเรื่อง “แนวการปฏิบัติเพื่อ ความปลอดภัยและกรณีพบเหตุการณ์ผิดปกติ” เพื่อให้เกิดความ
082
ปลอดภัยต่ออาคารสถานที่และต่อพนักงานทุกคน และมี “ระเบียบ วิธีการปฏิบัติ เรื่องระบบความปลอดภัยสำ�นักงาน” ธนาคารยังมุ่งพัฒนาเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรและ บรรยากาศในการทำ�งานที่ดี และปฏิบัติต่อพนักงานอย่างเท่าเทียม เป็นธรรม ด้วยความเคารพในเกียรติ ศักดิ์ศรี และสิทธิส่วนบุคคล ของพนักงานทุกคน ตลอดจนมุ่งส่งเสริมและพัฒนาให้พนักงาน ได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมความรู้เพื่อเพิ่มความเชี่ยวชาญในการ ทำ�งานมากยิ่งขึ้น ธนาคารกำ�หนดนโยบายการรักษาความปลอดภัยด้านกายภาพ สถานที่ และสภาวะแวดล้อมเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อรักษาความ ปลอดภัยด้านกายภาพ สถานที่ สภาวะแวดล้อมของทรัพย์สิน สารสนเทศ และโครงสร้างพื้นฐาน ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ ป้องกัน การเสียหาย หรือการถูกเปิดเผยข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต รวม ทั้งดูแลให้พนักงานปฏิบัติตามข้อกำ�หนดของกฎหมายว่าด้วยเรื่อง การป้องกันสิทธิและทรัพย์สินทางปัญญา และประกาศเป็นแนว ปฏิบัติเกี่ยวกับการไม่ล่วงละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ ให้พนักงานทราบและถือปฏิบัติ ธนาคารยังได้กำ�หนดนโยบายและแนวปฏิบัติกรณีพบ ข้อผิดพลาดหรือปัญหาในการทำ�งาน และกรณีรบั ของขวัญ การบริการ หรือผลประโยชน์ตา่ งๆ จากบุคคลภายนอก เพือ่ ให้เกิดความชัดเจน และเข้าใจการปฏิบัติที่ตรงกัน เป็นการช่วยป้องกัน/แก้ไข ความ เสียหายหรือความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในการทำ�งานหรือการ ดำ�เนินธุรกิจ พร้อมทั้งส่งเสริมให้เกิดความโปร่งใส และบรรยากาศ ที่ดีในการทำ�งานด้วย อันแสดงถึงการมีจริยธรรมวิชาชีพในการ ปฏิบัติหน้าที่ ธนาคารได้จัดเตรียมช่องทางสำ�หรับรับฟังความคิดเห็น จากพนักงานในการร้องเรียนปัญหาการทำ�งาน การบริหารงาน และการแจ้งเบาะแสการทำ�งานที่มิชอบผ่านทางช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์ของธนาคาร (www.kiatnakin.co.th) หรือ พนักงาน สามารถส่งข้อมูลไปที่สายตรวจสอบภายในของธนาคาร หรือสาย บริหารทรัพยากรบุคคลโดยตรง นอกจากนั้น ธนาคารยังจัดให้มี กระบวนการรักษาความลับของผู้แจ้งเบาะแสการทุจริตหรือการ ดำ�เนินการใดที่ไม่โปร่งใสซึ่งจะสร้างความเสียหายให้กับธนาคาร (รายละเอียดปรากฏตามรายงานความรับผิดชอบต่อสังคม เรื่องการเคารพสิทธิมนุษยชน และการปฏิบัติต่อพนักงาน/แรงงาน อย่างเป็นธรรม) • ด้านเจ้าหนี้ ธนาคารยึ ด ถื อ แนวทางปฏิ บั ติ ต่ อ เจ้ า หนี้ ต ามเงื่ อ นไข ข้อตกลงที่ได้ท�ำ ไว้อย่างเคร่งครัดด้วยธนาคารตระหนักถึงคุณปู การ สำ � คั ญ ที่ ธ นาคารได้ รั บ ความเชื่ อ ถื อ เป็ น อย่ า งดี จากเจ้ า หนี้ แ ละ ผู้ฝากเงินในช่วงวิกฤตที่ผ่านมา (รายละเอียดปรากฏตามรายงาน ความรับผิดชอบต่อสังคมเรื่องการประกอบกิจการอย่างเป็นธรรม)
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• ด้านคู่ค้า ธนาคารตระหนักถึงความสำ�คัญของคูค่ า้ เสมอมา เนือ่ งจาก ความสำ�เร็จของธนาคารส่วนหนึง่ มาจากการได้รบั การสนับสนุนจาก คู่ค้า ซึ่งธนาคารยึดมั่นในแนวปฏิบัติตามสัญญาที่มีกับคู่ค้าอย่าง เคร่งครัด และอยูบ่ นพืน้ ฐานทีม่ งุ่ ความสำ�เร็จในการทำ�ธุรกิจร่วมกัน (รายละเอียดปรากฏตามรายงานความรับผิดชอบต่อสังคมเรือ่ งการ ประกอบกิจการอย่างเป็นธรรม) • สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ธนาคารมุ่งดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม บนหลักการทีว่ า่ การดำ�เนินความรับผิดชอบ ต่อสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อมเป็นมากกว่าการนำ�กำ�ไรมาดำ�เนิน กิจกรรมต่างๆ แต่ตอ้ งนำ�ทรัพย์สนิ ทีม่ อี ยูม่ าต่อยอดให้เกิดประโยชน์ กับสังคม สิง่ สำ�คัญอีกประการก็คอื แนวทางการดำ�เนินธุรกิจของเรา ต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยหลีกเลี่ยงการสร้างผลกระทบ เชิงลบให้มากทีส่ ดุ เพือ่ สนับสนุนวิสยั ทัศน์ของธนาคารว่า “ธนาคาร เพื่อความสำ�เร็จของลูกค้า และประโยชน์ที่ยั่งยืนต่อสังคม” ธนาคารได้รับรางวัลบริษัทจดทะเบียนดีเด่น ด้านความ รับผิดชอบต่อสังคม จากงานประกาศรางวัล SET Awards ประจำ�ปี 2556 จัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยร่วมกับวารสารการเงิน ธนาคาร (ปี 2555-2556 เป็นปีที่ 2 ต่อเนื่องกัน) และได้รับคัดเลือก เป็น 1 ใน 16 องค์กรเอกชนนำ�ร่องโครงการ “การพัฒนาพนักงาน จิตอาสา สู่การพัฒนาองค์กรและสังคมอย่างยั่งยืน” ซึ่งจัดโดย ศูนย์คุณธรรมร่วมกับสถาบันคีนันแห่งเอเชีย เพื่อสร้างวัฒนธรรม จิตอาสาให้เกิดขึ้นอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง โดยแสดงออกผ่าน พฤติกรรมของพนักงานและโครงการสาธารณประโยชน์ต่างๆ ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการพัฒนากระบวนการทำ�งาน เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการให้บริการ และเพิม่ ระดับความพึงพอใจ ให้กับผู้ใช้บริการ (CSR In Process) อาทิ การลดค่าใช้จ่ายในการ ปฏิบัติงานผ่านกระบวนการ 5 ส. การลดเวลาการตรวจสอบพื้นที่ ไกล การลดระยะเวลาปิดบัญชีเช่าซือ้ รถยนต์เพือ่ เพิม่ ความพึงพอใจ ในการบริการ การนำ�ความเชี่ยวชาญด้านการเงินของบุคลากรมา ถ่ายทอดในรูปแบบต่างๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการ ทางการเงินให้กับลูกค้า พนักงาน เยาวชน และชุมชนรอบข้าง เป็นต้น ขณะเดียวกัน ธนาคารมุง่ ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ของประเทศภายใต้โครงการ “พัฒนาคน พัฒนาชาติ กับเกียรตินาคิน” ซึ่งมีกิจกรรมหลัก 3 ด้าน คือ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาจริยธรรม และภู มิ คุ้ ม กั น สั ง คม และบรรเทาทุ ก ข์ แ ละสาธารณกุ ศ ลต่ า งๆ และได้จัดตั้งมูลนิธิธนาคารเกียรตินาคินซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียน เป็นองค์กรสาธารณประโยชน์ ในปี 2555 เพื่อสนับสนุนงานด้าน สาธารณกุศลอื่นๆ ด้วย สำ�หรับด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ธนาคารได้กำ�หนด ระเบียบวิธกี ารปฏิบตั เิ รือ่ ง “มาตรการประหยัดพลังงานของธนาคาร”
รายงานประจำ�ปี 2556
ตั้งแต่ปี 2549 และดำ�เนินโครงการ Save Energy @ Kiatnakin Bank ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน เพื่อให้มั่นใจว่าพนักงานมีการใช้ พลังงานและทรัพยากรต่างๆ อย่างเต็มประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ สูงสุด ตลอดจนเป็นการปลูกจิตสำ�นึกด้านการอนุรกั ษ์พลังงานให้กบั พนักงานและขยายผลสูค่ รอบครัวของพนักงาน นอกจากนี้ ธนาคาร จัดอบรมการคัดแยกขยะในสำ�นักงานและที่อยู่อาศัย โดยวิทยากร ผู้เชี่ยวชาญจากกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ให้แก่พนักงานจิตอาสาที่ทำ�หน้าที่ทูตพลังงาน KK แม่บ้าน และพนักงานรักษาความปลอดภัย ซึ่งเป็นแกนนำ�ในการ รณรงค์อนุรักษ์พลังงานและทรัพยากร ในส่ ว นของการบริ ห ารจั ด การสำ � นั ก งาน ธนาคารได้ ดำ�เนินการเปลี่ยนหลอดไฟจำ�นวน 6,213 หลอด ในสำ�นักงาน ที่ อาคารเค ทาวเวอร์ เป็ น หลอดผอมประหยั ด พลั ง งาน ซึ่ ง สามารถประหยัดค่าไฟในพื้นที่นี้ลงได้ร้อยละ 3.7 สำ�หรับสาขา ทั่ ว ประเทศนั้ น สายเครื อ ข่ า ยการขายและบริ การร่ ว มกั บ สาย ปฏิบัติการได้รณรงค์เชิงรุกให้ทุกสาขาใช้พลังงานไฟฟ้า นํ้าประปา และโทรศัพท์อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ธนาคารดำ�เนินมาตรการควบคุมการใช้ทรัพยากรโดย เลื อ กอุ ป กรณ์ สำ � นั ก งานและอุ ป กรณ์ อำ � นวยความสะดวกต่ า งๆ ทีส่ นับสนุนมาตรการประหยัดพลังงานและทรัพยากร เช่น การเลือก ใช้โถสุขภัณฑ์ประหยัดนํ้า การใช้ระบบควบคุมการเปิดปิดไฟฟ้า อัตโนมัติตามเวลาที่ตั้งไว้ พัฒนารูปแบบเฟอร์นิเจอร์ต่างๆ ร่วมกับ คู่ค้าให้มีการคัดสรรเฉพาะวัสดุที่ได้รับตราสัญลักษณ์ Green Label หรือพิสจู น์ได้วา่ มีกระบวนการผลิตทีส่ ร้างมลพิษตํา่ รวมทัง้ ส่งเสริม ให้สาขาทุกแห่งร่วมโครงการ “KK Clean & Green” เพื่อรักษา มาตรฐานการบริหารจัดการด้านสภาพแวดล้อมและความสะอาด และสาขาสีเขียว ธนาคารสนั บ สนุ น ให้ พ นั ก งานได้ ริ เ ริ่ ม โครงการเพื่ อ สิ่งแวดล้อมต่างๆ อาทิ โครงการ 1 เดือน 1 คน 1 ต้น: มอบ สวนสวยเพื่ อ น้ อ งโรงเรี ย นจารุ ศ รบำ � รุ ง ในจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี , ร่วมสนับสนุนโครงการ “คุณ… ช่วยได้ เพียงหยุดใช้รถเดือน ละวั น เพื่ อ บรรเทาปั ญ หาจราจร” จั ด โดยกระทรวงคมนาคม กรุ ง เทพมหานครร่ ว มกั บ จส.100 โครงการ KK กล้ า ใหม่ ร้อยดวงใจปลูกป่าชายเลน โครงการ KK ปรับโฉมโรงเรียนใหม่ มอบรอยยิ้ ม สดใสให้ น้ อ งทุ กวั น เป็ น ต้ น (รายละเอี ย ดปรากฏ ตามรายงานความรับผิดชอบต่อสังคมเรื่องการร่วมพัฒนาชุมชน และสังคมและการจัดการสิ่งแวดล้อม) ช่องทางการติดต่อ / ร้องเรียนกับคณะกรรมการอิสระ ตั้งแต่ปี 2552 เป็นต้นมา ธนาคารจัดให้มีช่องทางให้ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ สามารถติดต่อ/ร้องเรียน ต่อคณะกรรมการอิสระ ได้โดยตรงผ่านเว็บไซต์ของธนาคาร (www.kiatnakinphatra.com)
083
4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส ธนาคารให้ ค วามสำ � คั ญ ต่ อ การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ มี ค วาม ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ทั่วถึง และทันเวลา ทั้งรายงานข้อมูล ทางการเงินและข้อมูลทั่วไป เช่น งบการเงิน แบบแสดงรายการ ข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และรายงานประจำ�ปี (แบบ 56-2) รวมทั้งข้อมูลสำ�คัญที่มีผลกระทบต่อราคาหุ้นของธนาคาร จึงได้มี การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ของธนาคารที่เป็นปัจจุบันเสมอ เพื่ อ ให้ ผู้ ล งทุ น และผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ รั บ ทราบผ่ า นช่ อ งทางของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของธนาคาร (www. kiatnakinphatra.com) พร้อมทั้งมีฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) ให้บริการข้อมูลข่าวสาร และกิจกรรมต่างๆ ของธนาคาร แก่ผู้ลงทุน ผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์ และประชาชนทั่วไป โดยผู้ถือหุ้น หรือบุคคลทั่วไปสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลข่าวสารองค์กรได้ที่ • ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ โทรศัพท์ 0-2841-5925 โทรสาร 0-2841-5529 อีเมล : investor_relations@kiatnakin.co.th เว็บไซต์ : www.kiatnakinphatra.com ที่อยู่ : ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ เลขที่ 209/1 อาคารเค ทาวเวอร์ บี ชั้น 31 ถ. สุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 ธนาคารได้ดำ�เนินการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่สำ�คัญผ่าน ช่องทางต่างๆ และผ่านสื่อมวลชนอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อให้ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสีย ได้รับทราบข้อมูลข่าวสารอย่างทั่ วถึ ง ทั้ ง นี้ ในปี 2556 ผู้บริหารระดับสูงของธนาคาร รวมถึงฝ่ายนักลงทุน สั ม พั น ธ์ ไ ด้ พ บและให้ ข้ อ มู ล ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น และนั ก ลงทุ น ทั้ ง ในและ ต่างประเทศในโอกาสต่างๆ ดังนี้ รูปแบบของกิจกรรม จำ�นวนครั้ง 1. การเข้าพบสัมภาษณ์ตัวต่อตัว 43 (One-on-One Meeting) 2. การประชุมทางโทรศัพท์ (Conference Call) 8 3. การประชุมนักวิเคราะห์ (Analyst Meeting) 4 4. การเข้าร่วมประชุมนักลงทุน (Investor Conference) 4 ในประเทศ 5. การเดินทางไปพบผู้ถือหุ้นและนักลงทุน 9 (Road show) ต่างประเทศ 6. แถลงข่าวต่อสื่อมวลชน (Press Conference) 2
084
นอกจากนี้ ผู้บริหารของธนาคารตระหนักถึงความสำ�คัญ ของงานนักลงทุนสัมพันธ์ และสนับสนุนให้ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ เข้าร่วมกิจกรรมของชมรมนักลงทุนสัมพันธ์เพือ่ แลกเปลีย่ นความรู้ ประสบการณ์ แนวทางปฏิบัติ และสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง บริษัทจดทะเบียน ธนาคารยังได้จัดให้คณะกรรมการแสดงความรับผิดชอบ ต่อรายงานทางการเงินควบคูก่ บั รายงานของผูส้ อบบัญชีในรายงาน ประจำ�ปี 2556 นี้ และคณะกรรมการยังดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูล บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ รายละเอียดของนโยบาย ผลตอบแทน จำ�นวนครัง้ ของการประชุม จำ�นวนครัง้ ทีก่ รรมการเข้า ร่วมประชุมคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย รวมถึงการ เปิดเผยผลตอบแทนที่กรรมการได้รับจากบริษัทย่อย ซึ่งแสดงไว้ใน ตารางผลตอบแทนของกรรมการแล้ว 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ • โครงสร้างกรรมการ คณะกรรมการธนาคารประกอบด้วยกรรมการทั้งสิ้น 15 คน แบ่งเป็นกรรมการอิสระ 6 คน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 3 คน กรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร 6 คน เพือ่ ให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับ ดูแลกิจการทีด่ ี ธนาคารได้แต่งตัง้ กรรมการที่ไม่เป็นผูบ้ ริหารขึน้ เป็น ประธานกรรมการธนาคาร มีประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ซึง่ ไม่ได้เป็น บุคคลเดียวกัน ทำ�ให้มีการแบ่งแยกหน้าที่ในการกำ�หนดนโยบาย การกำ�กับดูแลและการบริหารงานประจำ�ออกจากกันอย่างชัดเจน มีรายละเอียดดังนี้ ประธานกรรมการ รับผิดชอบต่อคณะกรรมการของธนาคารในการดำ�เนินการ ให้กลยุทธ์ วิสัยทัศน์ และพันธกิจ มีผลในทางปฏิบัติ และผลักดัน ให้ผลการดำ�เนินงานบรรลุเป้าหมายทีค่ ณะกรรมการธนาคารกำ�หนด ไว้ โดยกำ�กับดูแลให้มีจรรยาบรรณและความโปร่งใสในการดำ�เนิน ธุรกิจและจัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล และการ บริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม ดูแลรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือ หุ้นและรักษาภาพลักษณ์ของธนาคารให้เป็นที่เชื่อถือของทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้อง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กำ�กับดูแลองค์กรให้เป็นไปตามทิศทาง วิสยั ทัศน์ พันธกิจ และแผนกลยุทธ์ที่กำ�หนด สร้างให้การดำ�เนินการขององค์กรทุกๆ ด้านมีการกำ�กับดูแลที่เหมาะสมและมีการบริหารจัดการตามหลัก บรรษัทภิบาลที่ดี โดยจัดให้มีนโยบาย วิธีปฏิบัติ หลักเกณฑ์ และ ระบบควบคุมให้การดำ�เนินงานขององค์กรมีความโปร่งใส จรรยาบรรณ และมีความชัดเจน ตลอดจนมีระบบควบคุมภายใน การกำ�กับ ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ และการบริหารความเสี่ยงที่พอเพียง เป็นไป ตามกฎหมาย และกฎระเบียบของทางการ เพื่อให้เกิดผลประโยชน์
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
สูงสุดแก่ผถู้ อื หุน้ รวมทัง้ สร้างความน่าเชือ่ ถือ และความรับผิดชอบ ต่อสังคมที่ดีขององค์กร ฝ่ายจัดการซึ่งอยู่ภายใต้การกำ�กับดูแลของประธานเจ้า หน้าที่บริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการดำ�เนินธุรกิจประจำ�วันของ ธนาคารและบริษัทในกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร คณะ กรรมการธนาคารจะไม่เข้าไปเกีย่ วข้องในภาระหน้าทีข่ องฝ่ายจัดการ หรือในการนำ�นโยบายของคณะกรรมการธนาคารไปใช้ในทางปฏิบตั ิ โดยความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการธนาคารและฝ่ายจัดการเป็น ไปในรูปแบบการทำ�งานร่วมกัน กรรมการอิสระ ธนาคารได้กำ�หนดความหมายคำ�นิยามกรรมการอิสระ ทีธ่ นาคารกำ�หนดไว้ ซึง่ เข้มงวดกว่าข้อกำ�หนดขัน้ ตํา่ ของสำ�นักงาน คณะกรรมการกำ � กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังต่อไปนี้ (1) ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจำ�นวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง ทัง้ หมดของธนาคาร บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของธนาคาร ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของ ผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย (2) ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจำ� หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของธนาคาร บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อย ลำ�ดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอำ�นาจควบคุมของ ธนาคาร เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวทัง้ ในปัจจุบนั และ ในช่วง 2 ปีทผี่ า่ นมา ทัง้ นีล้ กั ษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีที่ กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษา ของส่วนราชการ ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของธนาคาร (3) ไม่เป็นบุคคลทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดย การจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะทีเ่ ป็น บิดามารดา คูส่ มรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็น ผู้บริหารหรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของธนาคารหรือบริษัทย่อย (4) ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับธนาคาร บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มี อำ�นาจควบคุมของธนาคาร ในลักษณะทีอ่ าจเป็นการขัดขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้น ที่มีนัย หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ ธนาคาร บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของธนาคาร เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดังกล่าวทั้งในปัจจุบันและในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึง่ รวมถึงการทำ�รายการ ทางการค้าที่กระทำ�เป็นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรือให้ เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือ
รายงานประจำ�ปี 2556
การให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กู้ยืม คํา้ ประกัน การให้สนิ ทรัพย์เป็นหลักประกันหนีส้ นิ รวมถึงพฤติการณ์ อื่นทำ�นองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้ธนาคารหรือคู่สัญญามีภาระหนี้ที่ ต้องชำ�ระต่ออีกฝ่ายหนึง่ ตัง้ แต่รอ้ ยละ 3 ของสินทรัพย์ทมี่ ตี วั ตนสุทธิ ของธนาคารหรือตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จำ�นวนใดจะตํ่า กว่า ทัง้ นี้ การคำ�นวณภาระหนีด้ งั กล่าวให้เป็นไปตามวิธกี ารคำ�นวณ มูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับ ตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทำ�รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ดังกล่าว ให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นใน ระหว่าง 1 ปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน (5) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส้ อบบัญชีของธนาคาร บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำ นาจควบคุมของ ธนาคาร และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือหุ้นส่วน ของสำ�นักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของธนาคาร บริษัทใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำ นาจควบคุมของ ธนาคารสังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวทั้งใน ปัจจุบันและในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา (6) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่ง รวมถึงการให้บริการเป็นทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจากธนาคาร บริษัทใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำ นาจควบคุมของ ธนาคารและไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือหุ้นส่วน ของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมี ลักษณะดังกล่าวทั้งในปัจจุบันและในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา (7) ไม่เป็นกรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นตัวแทน ของกรรมการของธนาคาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็นผูท้ ี่ เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (8) ไม่ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการ แข่งขันที่มีนัยกับกิจการของธนาคาร หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็น หุ้นส่วนทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วน หรือเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจำ� หรือถือหุ้นเกิน ร้อยละ 1 ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของธนาคาร หรือบริษัทย่อย (9) ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ�ให้ไม่สามารถให้ความเห็น อย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของธนาคาร ภายหลังได้รับ การแต่งตั้งให้เป็นกรรมการอิสระที่มีลักษณะเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ข้อที่ 1 - 9 แล้ว กรรมการอิสระอาจได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตดั สินใจในการดำ�เนินกิจการของธนาคาร บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยลำ�ดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำ นาจ ควบคุมของธนาคาร โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (Collective Decision) ได้
085
คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการธนาคารได้ จั ด ให้ มี ค ณะกรรมการชุ ด ย่อย 5 คณะ เพื่อช่วยศึกษาและกลั่นกรองโดยเฉพาะในด้านต่างๆ คณะกรรมการชุดย่อย ประกอบด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง คณะกรรมการบริหาร และ คณะกรรมการกำ�กับการปฏิบตั ิ ตามกฎเกณฑ์ และกำ�กับกิจการ โดยมีรายละเอียดขอบเขตอำ�นาจ หน้าที่ตามที่ระบุไว้ในหัวข้อการจัดการแล้ว • บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ รายละเอียดกล่าวไว้ในหัวข้อ “โครงสร้างการจัดการ” แล้ว • วิสัยทัศน์และภารกิจองค์กรของธนาคาร คณะกรรมการธนาคารพิ จ ารณาทบทวนและอนุ มั ติ วิสยั ทัศน์ และภารกิจองค์กรอย่างสมํา่ เสมอ โดยการพิจารณาร่วมกับ คณะกรรมการบริหารเพื่อปรับให้สอดคล้องกับกลยุทธ์การดำ�เนิน ธุรกิจของธนาคารในอนาคต ณ ธันวาคม 2553 คณะกรรมการ ธนาคารได้ พิ จารณาทบทวนและอนุ มั ติ วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และ ค่านิยมขององค์กร เพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจ ของธนาคาร • จริยธรรมทางธุรกิจ กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรตระหนักถึงความ สำ�คัญของการมีชื่อเสียงที่ดี ดังนั้น การดำ�รงไว้ซึ่งความน่าเชื่อถือ ที่ลูกค้า ผู้ร่วมงาน ผู้ถือหุ้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประชาชน ทั่วไปมีต่อกลุ่มธุรกิจการเงินของเราถือเป็นหน้าที่ของกรรมการ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ และพนักงานทุกคนที่พึงปฏิบัติ พวกเราทุกคน ต้องยึดถือและปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ และนโยบายต่างๆ ที่กำ�กับหรือใช้กับธุรกิจของเรา ปฏิบัติตามมาตรฐานและดำ�เนิน ธุรกิจด้วยความมีจริยธรรม โดยยึดถือหลักของการให้บริการที่มี มาตรฐานและยึดมั่นในคุณธรรม เพราะการดำ�เนินธุรกิจของเรา อยู่บนพื้นฐานของความไว้วางใจและความเชื่อถือจากลูกค้าและ ประชาชนทั่วไป ในปี 2556 คณะกรรมการได้อนุมัติจรรยาบรรณในการ ดำ�เนินธุรกิจ (Guidelines for Business Conduct) สำ�หรับกรรมการ เจ้าหน้าที่ และพนักงานของกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร เพื่อให้กรรมการ เจ้าหน้าที่ และพนักงานของกลุ่มธุรกิจการเงิน เกียรตินาคินภัทร มีกรอบการดำ�เนินงานที่มีมาตรฐานร่วมกันและ ยึดมั่นในคุณธรรม คณะกรรมการธนาคารจึงได้อนุมัตินโยบายเรื่อง จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคิน ภัทร ซึ่งระบุหลักการสำ�คัญๆ ที่ควรยึดถือปฏิบัติในเรื่องดังต่อไปนี้ 1) ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ 2) การหาผลประโยชน์ จากธนาคาร 3) หน้าที่ในการรักษาความลับ 4) การปฏิบัติอย่าง เป็นธรรม 5) การเคารพผู้อื่น 6) การรักษาข้อมูลและทรัพย์สิน ของธนาคาร 7) การปฏิบัติตามกฎหมาย 8) การสื่อสารที่เป็น
086
ลายลักษณ์อักษรและทางอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคาร 9) หน้าที่ ในการส่งเสริมการปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณ โดยได้เปิดเผย รายละเอี ย ดดั ง กล่ า วในเว็ บ ไซต์ ข องธนาคารแล้ ว (www. kiatnakinphatra.com) รวมทั้งได้สื่อสารและเผยแพร่ผ่านระบบ อินทราเน็ตของธนาคารด้วย (KK world) เพื่อให้พนักงานและ ผู้บริหารได้รับทราบและส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติ • ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการธนาคารได้ดูแลอย่างรอบคอบเมื่อเกิด รายการที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยกำ�หนดนโยบาย และขั้นตอนการอนุมัติรายการที่เกี่ยวโยงกันไว้เป็นลายลักษณ์ อั ก ษร โดยกำ � หนดให้ กรรมการที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งงดออกเสี ย ง ลงมติในรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์และบันทึก ไว้ในรายงานการประชุมคณะกรรมการ รวมทั้งมีการปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยกำ�หนด ราคาและเงื่ อ นไขเสมื อ นทำ � รายการกั บ บุ ค คลภายนอก ซึ่ ง ได้ เปิดเผยรายละเอียดมูลค่ารายการคู่สัญญาไว้ในรายงานประจำ�ปี และแบบ 56-1 แล้ว นอกจากนี้ คณะกรรมการได้กำ�หนดเป็น นโยบายให้ กรรมการและผูบ้ ริหารของธนาคารต้องรายงานการมีสว่ นได้เสียของ ตน และบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ภายใน 30 วันทำ�การนับแต่วันที่ ได้รับการแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่ง โดยจัดส่งให้แก่เลขานุการบริษัท และเลขานุการบริษัทมีหน้าที่จัดส่งสำ�เนารายงานการมีส่วนได้เสีย ให้ประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันทำ�การนับแต่วันที่ธนาคารได้รับรายงานนั้น และรายงานให้ที่ ประชุมคณะกรรมการรับทราบทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง ในปี 2556 คณะกรรมการธนาคารได้อนุมัติหลักเกณฑ์ เรือ่ งการเปิดเผยรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และการรายงานการกระจาย หุน้ เพือ่ เป็นการปฏิบตั ติ ามเกณฑ์ของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในการเปิดเผย รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน (Connected Transaction) และการ รายงานการกระจายการถือหุ้น (Strategic Shareholders) ธนาคาร จึงกำ�หนดให้กรรมการ และ ผู้บริหาร มีหน้าที่ในการเปิดเผยข้อมูล ตามแบบรายงานที่ธนาคารกำ�หนด เพื่อความโปร่งใส ไม่ก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และเป็นประโยชน์สูงสุดแก่ธนาคาร และผู้ถือหุ้นทุกราย • ระบบการควบคุมภายในและตรวจสอบภายใน ธนาคารให้ความสำ�คัญต่อระบบการควบคุมและตรวจสอบ ภายในที่มีประสิทธิภาพ ทั้งในระดับบริหาร และระดับปฏิบัติงาน โดยมีการกำ�หนดอำ�นาจหน้าทีข่ องผูป้ ฏิบตั งิ าน และผูบ้ ริหารไว้เป็น ลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน มีการแบ่งแยกหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ควบคุม และผู้อนุมัติออกจากกัน เพื่อให้เกิดการถ่วงดุล และ ตรวจสอบระหว่างกันอย่างเหมาะสม และมีการควบคุมการใช้
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
ทรัพย์สินให้เกิดประโยชน์ รายงานทางการเงินของธนาคารที่ เปิดเผยต่อสาธารณะจัดทำ�ขึ้นตามหลักการและมาตรฐานทาง บัญชีที่บังคับใช้ในธุรกิจสถาบันการเงินภายใต้การตรวจสอบของ ผู้สอบบัญชีภายนอก โดยในปีที่ผ่านมาคณะกรรมการตรวจสอบ ได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีภายนอกรวม 4 ครั้ง เพื่อรับทราบ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะและความคิดเห็น สำ�หรับการติดตาม ปรับปรุงแก้ไข มีการสอบทานระบบการควบคุม การเสนอรายงาน ต่อผู้บริหารสายงานที่รับผิดชอบ ธนาคารมีสายตรวจสอบภายในทำ�หน้าที่ตรวจสอบ เพื่อ ให้มนั่ ใจว่าการปฏิบตั งิ านหลักและกิจกรรมทางการเงินทีส่ �ำ คัญของ ธนาคารได้ดำ�เนินการตามแนวทางที่กำ�หนดและมีประสิทธิภาพ รวมถึงการตรวจสอบให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำ�หนดที่ เกี่ยวข้องกับธนาคาร และเพื่อให้สายตรวจสอบภายในมีความอิสระ สามารถทำ�หน้าทีต่ รวจสอบและถ่วงดุลได้อย่างเต็มที่ คณะกรรมการ จึงกำ�หนดให้สายตรวจสอบภายในรายงานผลตรวจสอบโดยตรงต่อ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการธนาคาร นอกจากนี้ เพื่อให้กรรมการทุกคนได้พิจารณาทบทวน ระบบการควบคุมภายในของธนาคารให้มีความถูกต้อง รัดกุม ตามแนวทางที่กำ�หนด คณะกรรมการธนาคารจึงมีการประเมิน ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในทุกปี โดยสายตรวจ สอบภายในเป็นผู้รวบรวม สรุปผล นำ�เสนอในรายงานประจำ�ปี และเปิดเผยต่อสาธารณะ คณะกรรมการตระหนักเสมอว่า การควบคุมภายในเป็น กระบวนการที่สำ�คัญของการดำ�เนินธุรกิจของธนาคาร ทำ�ให้การ ปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการกำ�กับ การปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ เป็นผูท้ �ำ หน้าทีก่ �ำ กับดูแล ให้ธนาคารและบริษัทในกลุ่มธนาคารให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ มาตรฐานแนวปฏิบตั ทิ บี่ งั คับใช้กบั ธุรกรรมต่างๆ รวมถึงประเพณีทถี่ อื ปฏิบตั ิในตลาดมาตรฐานในวิชาชีพ บทบัญญัติ เกี่ยวกับการกับดูแลที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล และนโยบายด้าน การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ โดยผ่านหน่วยงานกำ�กับการปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์ รวมทั้งกำ�หนดให้มีระบบการกำ�กับดูแลการปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์ และการกำ�กับดูแลกิจการที่มีประสิทธิภาพ และเพื่อให้ สายกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์มีความเป็นอิสระที่จะกำ�กับ ดูแลให้ธนาคารมีระบบการบริหารความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์ทด่ี มี ปี ระสิทธิภาพเป็นไปตามมาตรฐานสากล คณะกรรมการ จึงกำ�หนดให้สายกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์รายงานผลการ ปฏิบตั งิ านโดยตรงต่อคณะกรรมการกำ�กับการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ และกำ�กับกิจการและคณะกรรมการธนาคาร • นโยบายการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการธนาคารมี ก ารกำ � กั บ ดู แ ลการบริ ห าร ความเสี่ ย งผ่ า นคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งอย่ า งใกล้ ชิ ด
รายงานประจำ�ปี 2556
โดยธนาคารมีนโยบายให้มีการบริหารความเสี่ยงให้ครอบคลุมทั้ง องค์กรของธนาคารและบริษัทในกลุ่มธุรกิจ รวมถึงมีการทบทวน ระบบหรือประเมินประสิทธิผลของการจัดการความเสี่ยงอย่าง ต่อเนื่อง คณะกรรมการยังให้ความสำ�คัญกับสัญญาณเตือนภัย ล่วงหน้าและรายการผิดปกติทั้งหลาย โดยคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงมีสายบริหารความเสี่ยงเป็นผู้ปฏิบัติตามนโยบายและ รายงานให้คณะกรรมการทราบเป็นประจำ� • การประชุมคณะกรรมการ ธนาคารมีการกำ�หนดวันประชุมและกำ�หนดวาระการ ประชุมประจำ�เป็นการล่วงหน้าในแต่ละปี และเลขานุการบริษัท จะแจ้ ง กำ � หนดวั น ประชุ ม และกำ � หนดวาระการประชุ ม ทั้ ง ปี ใ ห้ กรรมการทราบล่วงหน้าตั้งแต่ปลายปีก่อนการประชุมในปีถัดไป เพื่ อ ให้ กรรมการสามารถจั ด สรรเวลาและเข้ า ร่ ว มประชุ ม ได้ และอาจมีการประชุมคณะกรรมการเพิ่มเติมตามความเหมาะสม ได้ โดยเลขานุการบริษัทรับผิดชอบในการจัดประชุมและส่งหนังสือ เชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุม และเอกสารประกอบ การประชุมไปยังกรรมการเป็นการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วันก่อน วันประชุม เพื่อให้กรรมการมีเวลาในการพิจารณาข้อมูลอย่างเพียง พอก่อนเข้าร่วมประชุม ยกเว้นมีเหตุจำ�เป็นเร่งด่วน โดยกรรมการ แต่ละคนสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้จากเลขานุการบริษัท และมีความเป็นอิสระที่จะเสนอเรื่องเข้าสู่วาระการประชุมได้ ทั้งนี้ วาระการประชุมจะระบุอย่างชัดเจนว่า เป็นเรื่องเสนอเพื่อทราบ เพื่ออนุมัติหรือเพื่อพิจารณา และวาระติดตามผลการดำ�เนินงาน เป็นประจำ� นอกจากนั้น ประธานกรรมการได้จัดสรรเวลาการประชุม ไว้อย่างเพียงพอที่ฝ่ายจัดการจะนำ�เสนอรายงาน และมากพอที่ กรรมการจะอภิปรายปัญหาสำ�คัญอย่างรอบคอบ มีการจัดทำ� รายงานการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร และผ่านการรับรองจาก คณะกรรมการทุกครั้ง พร้อมให้คณะกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้อง สามารถตรวจสอบได้ ซึง่ ในปี 2556 ทีผ่ า่ นมา คณะกรรมการธนาคาร มีการประชุมรวม 9 ครั้ง ทั้งนี้ ประธานกรรมการยังสนับสนุนให้ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร เชิญผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุม เพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติม และสร้างความคุ้นเคยกับคณะกรรมการ และธนาคารยังเปิดโอกาส ให้คณะกรรมการสามารถขอข้อมูลทีจ่ �ำ เป็นเพิม่ เติมจากประธานเจ้า หน้าทีบ่ ริหาร กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และประธานธุรกิจ เลขานุการ บริษัท หรือผู้บริหารระดับสูงท่านอื่นได้ ภายในขอบเขตนโยบายที่ กำ�หนดไว้ ซึง่ รวมถึงการเปิดโอกาสให้กรรมการที่ไม่ได้เป็นผูบ้ ริหาร ได้มีโอกาสประชุมภายในร่วมกันเอง เพื่อเป็นการอภิปรายปัญหา เกี่ยวกับการจัดการที่อยู่ในความสนใจ โดยในปี 2556 คณะกรรมการเปิดโอกาสให้กรรมการ ที่ ไม่ได้เป็นผู้บริหารประชุมกันเองโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วม
087
ด้วยจำ�นวน 1 ครั้ง และได้รายงานผลการประชุมให้ที่ประชุม คณะกรรมการทราบ • การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการธนาคารเป็นผู้กำ�หนด และมีส่วนร่วม ในวิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจ และงบประมาณ ของธนาคาร ตลอดจนกำ�กับดูแลให้ฝ่ายบริหารดำ�เนินการให้เป็น ไปตามเป้าหมายของแผนธุรกิจ และงบประมาณที่กำ�หนดไว้อย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทั้งนี้ ธนาคารได้จัดให้มีการประชุม ถ่ายทอดแผนธุรกิจให้แก่ผู้บริหารและพนักงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อ ให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน มีการรายงานผลการดำ�เนินงานที่เกิด ขึ้นเทียบกับเป้าหมายให้พนักงานทราบเป็นรายไตรมาส รวมทั้งจัด ให้มีระบบการควบคุมภายใน การกำ�กับดูแลกิจการ และการบริหาร ความเสี่ยงที่ดี นอกจากนั้ น คณะกรรมการธนาคารทั้ ง หมดยั ง ได้ เข้ารับการอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่กรรมการ จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ธนาคาร จะมีการชี้แจงถึงขอบเขตหน้าที่ รวมถึงการให้ข้อมูลพื้นฐานของ ธนาคารเพื่อเพิ่มความเข้าใจให้กับผู้ที่จะดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ธนาคาร ในปี 2556 มีกรรมการ 4 คน ได้เข้ารับการอบรมใน หลั ก สู ต รที่ ส มาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย (IOD) จัดขึน้ ได้แก่ นายสุพล วัธนเวคิน นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล ดร.อนุมงคล ศิรเิ วทิน และนายประวิทย์ วรุตบางกูร (ธนาคารได้แสดงรายละเอียด การอบรมของกรรมการในหมวดประวัติคณะกรรมการ) • การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการที่บริษัทอื่นของกรรมการ ธนาคารเป็นธนาคารพาณิชย์ที่อยู่ภายใต้การกำ�กับดูแล ของธนาคารแห่งประเทศไทย จึงมีข้อกำ�หนดที่ชัดเจนเกี่ยวกับ การเป็นกรรมการในบริษัทอื่นของกรรมการและผู้บริหารระดับสูง ตามประกาศที่ สนส. 60/2551 ลว.3 สิงหาคม 2551 ที่กำ�หนดให้ กรรมการและผู้บริหารระดับสูงของธนาคารเป็นประธานกรรมการ กรรมการบริหาร หรือกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามอย่างใดอย่าง หนึ่ง หรือหลายอย่างในบริษัทอื่นได้ไม่เกิน 3 กลุ่มธุรกิจ โดยการ เป็นประธานกรรมการ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร หรือกรรมการผู้มี อำ�นาจลงนามในบริษัทข้างต้น หากเป็นในบริษัทที่มิใช่กลุ่มธุรกิจ ให้นบั แต่ละบริษทั เป็นหนึง่ กลุม่ ธุรกิจ ทัง้ นี้ ธนาคารได้เปิดเผยข้อมูล การดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการแต่ละคนรวมถึงกรรมการบริหาร ในรายงานประจำ�ปีหัวข้อคณะกรรมการธนาคารและคณะผู้บริหาร ก่อนที่กรรมการที่เป็นผู้บริหารของธนาคารจะเข้าดำ�รง ตำ�แหน่งกรรมการ เจ้าหน้าที่ หรือพนักงานของธุรกิจอื่น กรรมการ คนดังกล่าวจะต้องได้รบั อนุญาตจากธนาคาร และในกรณีทกี่ รรมการ ที่เป็นผู้บริหารของธนาคารจะดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการของ บริษัทอื่นที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ จะต้องได้รับอนุมัติ
088
จากคณะกรรมการบริหารของธนาคารก่อน เพื่อเป็นการป้องกัน ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้น • การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการที่บริษัทอื่นของผู้บริหาร ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และประธาน ธุรกิจหรือเทียบเท่าของธนาคารสามารถดำ�รงตำ�แหน่งประธาน กรรมการ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร หรือกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม อย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง หรื อ หลายอย่ า งในบริ ษั ท อื่ น ได้ อี ก ไม่ เ กิ น 3 กลุ่มธุรกิจ โดยการเป็นประธานกรรมการ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร หรือกรรมการผูม้ อี �ำ นาจลงนามในบริษทั ข้างต้น หากเป็นในบริษทั ที่ มิใช่กลุ่มธุรกิจ ให้นับแต่ละบริษัทเป็นหนึ่งกลุ่มธุรกิจ ก่อนที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานธุรกิจหรือเทียบเท่าของธนาคารจะเข้าดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการ เจ้าหน้าที่ หรือพนักงานของธุรกิจอืน่ ผูบ้ ริหารคนดังกล่าว จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากฝ่ายกำ�กับการปฏิบัติ ตามกฎเกณฑ์ของธนาคาร ในกรณีที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และประธานธุรกิจหรือเทียบเท่าของธนาคาร จะดำ � รงตำ � แหน่ ง เป็ น กรรมการของบริ ษั ท อื่ น ที่ จ ดทะเบี ย นใน ตลาดหลักทรัพย์ฯ จะต้องแจ้งให้คณะกรรมการบริหารทราบก่อน เพื่อเป็นการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้น • การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกรรมการ สำ�นักเลขานุการบริษัท รับผิดชอบในการจัดเตรียมเอกสารสำ�หรับกรรมการใหม่ ประกอบด้วย รายงานประจำ�ปีเล่มล่าสุด ซึง่ ประกอบด้วย พันธกิจ วิสยั ทัศน์ ค่านิยม องค์กร และรายละเอียดการดำ�เนินธุรกิจของธนาคารในรอบปี ข้อบังคับ และหนังสือบริคณห์สนธิของธนาคาร คู่มือสำ�หรับกรรมการและ ประกาศที่เกี่ยวข้อง • วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการ (1) ธนาคารกำ�หนดไว้ในข้อบังคับข้อ 18 ของธนาคารว่า ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปีทุกครั้ง จะมีการให้กรรมการ ออกจากตำ�แหน่งอย่างน้อย 1 ใน 3 ถ้าจำ�นวนกรรมการแบ่งออก เป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้กรรมการออกในจำ�นวนที่ใกล้เคียงกับหนึ่ง ในสามทีส่ ดุ และกรรมการซึง่ พ้นจากตำ�แหน่งอาจได้รบั เลือกให้กลับ เข้ามารับตำ�แหน่งได้อกี ทัง้ นีก้ ารดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการแต่ละ วาระมีอายุเฉลี่ย 3 ปี (2) ธนาคารไม่จำ�กัดจำ�นวนวาระการดำ�รงตำ�แหน่งของ กรรมการธนาคาร เพื่อมิให้ธนาคารสูญเสียโอกาสในการแต่งตั้ง กรรมการซึ่งมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์เกี่ยวกับ ธนาคารและบริษัทในกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ซึ่งเป็น ปัจจัยสำ�คัญสำ�หรับความสำ�เร็จในการกำ�กับดูแลกิจการ (3) วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของคณะกรรมการชุดย่อย 3 คณะ ได้แก่ 1) คณะกรรมการตรวจสอบ 2) คณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน และ 3) คณะกรรมการกำ�กับการปฏิบัติ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
ตามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ กำ�หนดให้วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง เท่ า กั บ ระยะเวลาการดำ � รงตำ � แหน่ ง กรรมการธนาคาร ทั้ ง นี้ ผู้บริหารที่เป็นกรรมการในคณะกรรมการกำ�กับการปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการจะมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง 3 ปี ในปี 2556 มีกรรมการชุดย่อยทีค่ รบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง 2 คน คือ 1) นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล ประธานกรรมการกำ�กับการปฏิบตั ิ ตามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2) นายประวิทย์ วรุตบางกูร กรรมการกำ�กับการปฏิบัติ ตามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ และกรรมการตรวจสอบ โดยทั้ง 2 ท่านได้รับการแต่งตั้งให้กลับเข้าดำ�รงตำ�แหน่ง ในคณะกรรมการชุดย่อยอีกวาระหนึ่ง • แผนพัฒนาเพือ่ ทดแทนตำ�แหน่งงาน (Succession Plan) คณะกรรมการธนาคารมอบหมายให้คณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทนเป็นผู้รับผิดชอบกำ�กับดูแลให้ฝ่ายจัดการ มีการกำ�หนดนโยบายการวางแผนผู้สืบทอดตำ�แหน่ง (Succession Plan) เพื่อดำ�เนินการสรรหาผู้สืบทอดตำ�แหน่งงานตั้งแต่ระดับ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ขนึ้ ไป รวมถึงประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร (CEO) และกรรมการผู้จัดการใหญ่ (President) ต่อคณะกรรมการ ธนาคาร ทั้งนี้ เพื่อให้การดำ�เนินธุรกิจของธนาคารมีความต่อเนื่อง และสอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐานของสถาบันการเงิน โดยในปี 2556 คณะกรรมการธนาคารและคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนของธนาคารได้ทบทวนและพิจารณา แผนพัฒนาเพื่อทดแทนตำ�แหน่งงานประจำ�ปี 2556 ของประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) และกรรมการผู้จัดการใหญ่ (President) และผูบ้ ริหารระดับสูง รวมทัง้ ได้ก�ำ หนดกระบวนการและเครือ่ งมือที่ เหมาะสมในการวางแผนและพัฒนาผูส้ บื ทอดตำ�แหน่ง เพือ่ ให้มนั่ ใจ ว่าธนาคารมีระบบการสรรหา คัดเลือก รักษา และพัฒนาขีดความ สามารถและเตรียมความพร้อมของบุคลากรในการดำ�รงตำ�แหน่ง งานที่มีความสำ�คัญต่อการดำ�เนินธุรกิจของธนาคารและกำ�หนด ให้มีการทบทวนแผนและความก้าวหน้าของแผนเป็นประจำ�ทุกปี (รายละเอียดเพิ่มเติมได้กล่าวไว้ใน การวางแผนสืบทอดตำ�แหน่ง) ธนาคารให้ความสำ�คัญกับการวางแผนผูส้ บื ทอดตำ�แหน่ง (Succession Plan) เป็นอย่างมาก โดยมีแนวนโยบายที่โปร่งใส มีกระบวนการและเครื่องมือที่เป็นที่ยอมรับและเหมาะสมในการ วางแผนพัฒนาผู้สืบทอดตำ�แหน่ง เพื่อให้มั่นใจว่า ธนาคารมีระบบ การสรรหา คัดเลือก รักษา และพัฒนาขีดความสามารถและเตรียม ความพร้อมของบุคลากร ในการดำ�รงตำ�แหน่งงานที่มีความสำ�คัญ ต่อการดำ�เนินธุรกิจของธนาคาร รวมทัง้ ยังกำ�หนดให้มกี ารทบทวน แผนและความก้าวหน้าของแผนเป็นประจำ�ทุกปี
รายงานประจำ�ปี 2556
089
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วย นายพิชัย ดัชณาภิรมย์ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล นายประวิทย์ วรุตบางกูร และ ดร.อนุมงคล ศิริเวทิน เป็นกรรมการตรวจสอบ และในปี 2556 คณะกรรมการ ตรวจสอบได้มีการประชุมรวม 8 ครั้ง โดยได้ดำ�เนินงานตามบทบาทหน้าที่ที่กำ�หนดไว้ในกฎบัตร สรุปดังนี้ • ในทุกไตรมาสได้ทบทวนรายงานทางการเงินโดยประชุมพิจารณาร่วมกับผู้บริหารในสายงานการเงินและงบประมาณ และ ผู้สอบบัญชี ภายนอกของธนาคารเพื่อพิจารณาข้อสังเกตต่างๆ จากการตรวจสอบ หรือสอบทานงบการเงิน และมีการประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีภายนอก โดยไม่มีผู้บริหารที่รับผิดชอบอยู่ด้วย • สอบทานระบบการควบคุมภายในและระบบความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศร่วมกับผู้ตรวจสอบภายใน เพื่อประเมินประสิทธิผล และความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน และระบบควบคุมความปลอดภัยในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณารายงานการประเมินระบบควบคุมภายในและดูแลให้มกี ารทบทวนระบบควบคุมภายในกรณีเรือ่ งทีม่ คี วามเสีย่ งในด้านความปลอดภัย ของข้อมูลเพื่อให้มีมาตรการควบคุมที่เหมาะสม และพิจารณาผลการตรวจสอบการบริหารร่วมกับผู้ตรวจสอบภายใน • คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนแม่บทสำ�หรับการตรวจสอบและแผนงานตรวจสอบภายในประจำ�ปี 2557 • สอบทานการบริหารความเสี่ยง ที่มีความเชื่อมโยงกับระบบการควบคุมภายใน เพื่อการจัดการความเสี่ยงทั่วทั้งธนาคาร โดยการสอบ ทานการบริหารความเสี่ยงผ่านการรายงานของสายงานบริหารความเสี่ยง และสายตรวจสอบภายใน โดยมีการกำ�หนดวัตถุประสงค์ ข้อบ่งชี้ ความเสี่ยง ประเมินความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง และการติดตามผลความคืบหน้าเป็นรายไตรมาส มีการกำ�หนดดัชนีชี้วัดความเสี่ยงที่ สำ�คัญ ซึง่ ถือเป็นระบบเตือนภัยล่วงหน้า มีการจัดทำ�แผนการดำ�เนินการกรณีเกิดเหตุการณ์วกิ ฤตให้เหมาะสมตามสถานการณ์ มีการกำ�หนด ความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ และ ระดับความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ รวมทัง้ มีการทบทวนความเสีย่ งให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั ตามนโยบายการ บริหารความเสี่ยงที่ธนาคารกำ�หนด และเป็นไปตามแนวทางการบริหารความเสี่ยง 5 ด้าน ได้แก่ ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ด้านเครดิต ด้าน ตลาด ด้านสภาพคล่อง และความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ธนาคาร มีการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมมีประสิทธิภาพ • ทบทวนการทำ�รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และพิจารณาการทำ�รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และการทำ�รายการระหว่างกันโดยถือหลักความโปร่งใส และการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอเป็นหลักในการปฏิบตั งิ านทีส่ อดคล้องกับนโยบายของธนาคารและเป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดี • ทบทวนระบบการกำ�กับดูแลการปฏิบัติงานตามข้อกำ�หนดกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจของธนาคารรวมถึงการปฏิบัติตาม ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค โดยประชุมร่วมกับผู้ตรวจสอบภายใน เพื่อประสานงานให้หน่วยงานที่รับผิดชอบดำ�เนินการให้ถูกต้อง • พิจารณาผลการปฏิบัติงานและความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชีภายนอกในการทำ�หน้าที่ผู้สอบบัญชีในปีที่ผ่านมา คณะกรรมการตรวจ สอบยังได้พิจารณาและเสนอแนะรายชื่อผู้สอบบัญชีภายนอกของธนาคารและกำ�หนดค่าสอบบัญชีประจำ�ปี 2557 ต่อคณะกรรมการธนาคาร เพื่อพิจารณา ในการดำ�เนินงานตามบทบาทหน้าทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบ ได้ทบทวนและพิจารณาการดำ�เนินงานหลักของธนาคารโดยพิจารณาร่วม กับผู้บริหารของธนาคารที่รับผิดชอบ ผู้ตรวจสอบภายใน และผู้ตรวจสอบภายนอก คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่ากระบวนการจัดทำ�งบการ เงินของธนาคารมีระบบการควบคุมอย่างเหมาะสมเพียงพอ และงบการเงินของธนาคารได้จัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ ถือปฏิบัติอยู่ในประเทศไทย เชื่อถือได้ ซึ่งได้นำ�ระบบการบริหารความเสี่ยง และกระบวนการตรวจสอบมาพิจารณาด้วยแล้ว
กลุ่มธุรกิจการเงิน เกียรตินาคินภัทร
090
คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอรายชื่อผู้สอบบัญชี นายชวาลา เทียนประเสริฐกิจ ทะเบียนเลขที่ 4301 หรือนายเพิ่มศักดิ์ วงศ์พัชร ปกรณ์ ทะเบียนเลขที่ 3427 หรือนายนิติ จึงนิจนิรันดร์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3809 แห่งสำ�นักงาน บริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชีของธนาคารประจำ�ปี 2557 และได้ให้ความเห็นชอบค่าสอบบัญชีประจำ�ปี 2557 ต่อคณะ กรรมการธนาคาร เพื่อเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและอนุมัติค่าสอบบัญชีต่อไป
วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2557 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ
นายพิชัย ดัชณาภิรมย์
ประธานกรรมการตรวจสอบ
รายงานประจำ�ปี 2556
091
รายงานคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ที่ประชุมคณะกรรมการธนาคาร ครั้งที่ 4/2549 เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2549 ได้มีมติเป็นเอกฉันท์แต่งตั้ง ประธาน และกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน จำ�นวนทั้งสิ้น 3 คน ดังนี้ (1) นายมานพ พงศทัต ประธาน (กรรมการอิสระ) (2) นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล กรรมการ (กรรมการอิสระ) (3) นายสุรพล กุลศิริ กรรมการ (กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร) ที่ประชุม คณะกรรมการธนาคาร ครั้งที่ 8/2555 เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2555 ได้มีมติเป็นเอกฉันท์ปรับปรุงองค์ประกอบคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน จำ�นวนทั้งสิ้น 5 คน ดังนี้ (1) นายมานพ พงศทัต ประธาน (กรรมการอิสระ) (2) นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล กรรมการ (กรรมการอิสระ) (3) นายพงษ์เทพ ผลอนันต์ กรรมการ (กรรมการอิสระ) (4) นายสุวิทย์ มาไพศาลสิน กรรมการ (กรรมการอิสระ) (5) นายสุรพล กุลศิริ กรรมการ (กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร) ที่ประชุมคณะกรรมการธนาคาร ครั้งที่ 6/2556 เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2556 ได้มีมติเป็นเอกฉันท์ปรับปรุงองค์ประกอบคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนเพื่อให้เป็นไปตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่องธรรมาภิบาลของสถาบันการเงินที่กำ�หนด องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนว่าจะต้องเป็นกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร ดังนี้ เดิม
(1) นายมานพ พงศทัต (2) นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล (3) นายพงษ์เทพ ผลอนันต์ (4) นายสุวิทย์ มาไพศาลสิน (5) นายสุรพล กุลศิร ิ
ประธาน (กรรมการอิสระ) กรรมการ (กรรมการอิสระ) กรรมการ (กรรมการอิสระ) กรรมการ (กรรมการอิสระ) กรรมการ (กรรมการที่ไม่เป็นผูบ้ ริหาร)
ใหม่
(1) นายมานพ พงศทัต ประธาน (กรรมการอิสระ) (2) นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล กรรมการ (กรรมการอิสระ) (3) นายประวิทย์ วรุตบางกูร กรรมการ (กรรมการอิสระ) (4) ดร.อนุมงคล ศิริเวทิน กรรมการ (กรรมการอิสระ)
ในรอบปี 2556 ที่ผ่านมา มีการประชุม 7 ครั้ง คณะกรรมการได้ปฏิบัติหน้าที่ตามขอบเขตที่มีอย่างเคร่งครัด มีการเสนอชื่อบุคคลที่ มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อดำ�รงตำ�แหน่งต่างๆ ในคณะกรรมการ ดูแลให้คณะกรรมการธนาคารมีขนาดและองค์ประกอบที่เหมาะสมกับการ ดำ�เนินธุรกิจขององค์กร โดยคำ�นึงถึงคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการธนาคารทีต่ อ้ งประกอบด้วยบุคคลทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถและประสบการณ์ ในด้านต่างๆ อย่างเหมาะสม กำ�หนดค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นที่ให้แก่กรรมการและผู้บริหารระดับสูงตั้งแต่ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ใหญ่ขนึ้ ไป กำ�หนดแนวทางการประเมินผลงานของกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูงตัง้ แต่ผชู้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ขนึ้ ไป เพือ่ พิจารณาปรับ ผลตอบแทนประจำ�ปีโดยคำ�นึงถึงหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบและความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้อง รวมถึงความสำ�คัญกับการเพิม่ มูลค่าของส่วนผูถ้ อื หุน้ ในระยะยาวประกอบการพิจารณาการจ่ายค่าตอบแทนและแผนสืบทอดตำ�แหน่งของผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้เปิดเผยค่าตอบแทนในรูปแบบต่างๆ รวมถึงการจัดทำ�รายงานกำ�หนดค่าตอบแทน และความเห็นของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนไว้ในรายงานประจำ�ปี 2556 แล้ว
นายมานพ พงศทัต
ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
092
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
รายงานคณะกรรมการกำ�กับการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ คณะกรรมการกำ�กับการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ ประกอบด้วยกรรมการ 4 ท่าน โดมี นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล กรรมการ อิสระ เป็นประธานคณะกรรมการกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ นายประวิทย์ วรุตบางกูร กรรมการอิสระ นายธานินทร์ จิระสุนทร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร และนางภัทรพร มิลนิ ทสูต ประธานเจ้าหน้าทีก่ �ำ กับดูแลกิจการ เป็นกรรมการ มีหน้าทีร่ ับผิดชอบ ด้านการกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของธนาคารและบริษัทในกลุ่มธุรกิจฯ ให้มีการปฏิบัติงานที่เป็นไปตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ รวม ถึงการกำ�กับดูแลเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลที่ดี สำ�หรับปี 2556 คณะกรรมการกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ มีการประชุม รวม 7 ครั้ง ซึ่งมีการดำ�เนินการที่สำ�คัญดังนี้ • พิจารณาปรับปรุงนโยบายหลักของธนาคาร ที่เกี่ยวข้องกับการกำ�กับดูแลกิจการของธนาคาร เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการธนาคาร พิจารณาอนุมัติ ได้แก่ - จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ ของกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ซึ่งได้กำ�หนดหลักการสำ�คัญเพื่อใช้ในการดำ�เนินธุรกิจ ของธนาคารและบริษทั ในกลุม่ ธุรกิจฯ เพือ่ ให้ทกุ คนถือปฏิบตั ริ ว่ มกัน โดยยึดถือแนวทางการดำ�เนินธุรกิจภายใต้กฎหมาย กฎระเบียบ และหลักธรรมาภิบาล - หลักการกำ�กับดูแลกิจการของธนาคาร ซึง่ ได้ปรับปรุงเนื้อหาเพื่อให้มีความสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการกำ�กับดูแล กิจการของบริษทั จดทะเบียนเพิม่ เติม และเป็นการยกระดับการกำ�กับดูแลกิจการของธนาคารให้สามารถเทียบเคียงได้กบั มาตรฐาน สากลมากยิ่งขึ้น - หลักการดำ�เนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบต่อสังคมของธนาคาร เพื่อกำ�หนดให้ธนาคารมีนโยบายที่ชัดเจนและครอบคลุมแนวทาง การดำ�เนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบต่อสังคมในปัจจุบนั ของธนาคาร สอดคล้องกับจรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจฯ และหลักการกำ�กับ ดูแลกิจการของธนาคาร • พิจารณาอนุมัติแผนงานกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ประจำ�ปี 2556 ของฝ่ายกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของธนาคาร • พิจารณาให้ความเห็นต่อรายงานการกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ประจำ�ปี 2555 ก่อนนำ�ส่งหน่วยงานทางการที่กำ�กับดูแล • รับทราบรายงานปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ของธนาคารและบริษทั ในกลุม่ ธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ทีน่ �ำ เสนอโดยฝ่ายกำ�กับการปฏิบตั ิ ตามกฎเกณฑ์ของธนาคารและบริษัทในกลุ่มธุรกิจฯ พร้อมให้ความเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปรับปรุงการปฏิบัติงานของธนาคารและ กลุ่มธุรกิจฯ ให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่ทางการกำ�หนด • รับทราบกฎเกณฑ์ภายในและกฎเกณฑ์ทางการที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจของธนาคารที่มีนัยสำ�คัญ ทั้งที่บังคับใช้ใหม่ และกฎเกณฑ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง และให้คำ�แนะนำ� เสนอแนะแนวทางการกำ�กับดูแลให้ธนาคารและบริษัทในกลุ่มธุรกิจฯ มีการปฏิบัติ ตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง โดยผ่านหน่วยงานกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ในปี 2556 ธนาคารได้รับรางวัลเกียรติยศที่สะท้อนให้เห็นถึงการบริหารงานของธนาคารในการยึดหลักธรรมาภิบาลและการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีดังนี้ • การประเมินคุณภาพการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปี 2556 ระดับดีเลิศ 100 คะแนนเต็ม ต่อเนื่องเป็นปีที่ 7 (ปี 2550-2556) โดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (สำ�นักงาน ก.ล.ต.) • รางวัล SET Award ด้านการรายงานบรรษัทภิบาล ต่อเนื่องเป็นปีที่ 7 (ปี 2550-2556) และ • รางวัล SET Award ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม “ดีเด่น” ในกลุม่ บริษทั จดทะเบียนทีม่ มี ลู ค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดสูงกว่า 10,000 ล้านบาท ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 (ปี 2555 - 2556) โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และวารสารการเงินธนาคาร ธนาคารเชือ่ มัน่ ว่า การดำ�เนินธุรกิจด้วยการยึดถือหลักธรรมาภิบาลและการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เป็นเครื่องมือเพื่อเพิ่มมูลค่า สร้างความ เชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสียและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย รวมถึงส่งเสริมการเติบโตอย่างยั่งยืนของธนาคาร ซึ่งธนาคารพร้อมจะยึดถือ ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องตลอดไป
นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล
ประธานกรรมการกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ
รายงานประจำ�ปี 2556
093
ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น จำ�นวนทุนจดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้ว
1) หุน้ สามัญของธนาคารจดทะเบียนซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) ภายใต้ชื่อ “KKP” โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ธนาคารมีหุ้นสามัญจำ�นวนทั้งสิ้น 838,833,109 หุ้น (มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) มีทุนจดทะเบียนและทุนเรียกชำ�ระแล้ว ดังนี้ • ทุนจดทะเบียน 8,523,372,680 บาท • ทุนชำ�ระแล้ว 8,388,331,090 บาท ตามที่ธนาคารได้ออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ESOP-W2 ให้แก่กรรมการ และ/หรือ พนักงานของธนาคารและบริษัทย่อยในปี 2553 โดยในปี 2556 มีการเปิดให้ใช้สิทธิรวม 4 ครั้ง ในวันที่ 30 ของเดือนมีนาคม มิถุนายน กันยายน และ ธันวาคม ตามลำ�ดับ (หากวัน ดังกล่าวตรงกับวันหยุดทำ�การของธนาคารให้เลื่อนเป็นวันทำ�การถัดไป) ซึ่งมีผู้ขอใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญเป็นจำ�นวนรวม 5,309,200 หุ้น (หุ้นสามัญจำ�นวน 154,350 หุ้น จะเริ่มซื้อขายวันที่10 มกราคม 2557) ซึ่งจะส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของจำ�นวนหุ้นสามัญเป็น 838,987,459 หุ้น มีทุนชำ�ระแล้ว 8,389,874,590 บาท (ณ วันที่ 7 มกราคม 2557) 2) ธนาคารไม่มีหุ้นบุริมสิทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ผู้ถือหุ้น
1) รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายชื่อผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรกของธนาคาร ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุ้นในวันที่ 13 กันยายน 2556 เพื่อกำ�หนด รายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิได้รับเงินปันผล ดังนี้ ลำ�ดับ รายชื่อผู้ถือหุ้น 1. CREDIT SUISSE AG, HONG KONG BRANCH/1 2. NORTRUST NOMINEES LIMITED-NTGS 3. นางสาวฐิตินันท์ วัธนเวคิน 4. บริษัท นํ้าตาลตะวันออก จำ�กัด /2 5. CHASE NOMINEES LIMITED 42 6. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด 7. CHASE NOMINEES LIMITED 30 8. บริษัท โชติธนวัฒน์ จำ�กัด 9. นางวรรณสมร วรรณเมธี 10. บริษัท โรงพยาบาลรามคำ�แหง จำ�กัด (มหาชน) ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ผู้ถือหุ้นอื่น ยอดรวมทุนชำ�ระแล้ว
จำ�นวนหุ้น 71,618,397 37,429,463 35,157,761 34,750,804 31,381,500 30,842,685 22,466,422 20,693,600 19,996,003 17,467,143 321,803,778 514,024,881 835,828,659
ร้อยละ
แบ่งตามสัญชาติผู้ถือหุ้น
จำ�นวนหุ้น 555,551,199 280,277,460
ร้อยละ
ผู้ถือหุ้นสัญชาติไทย ผู้ถือหุ้นสัญชาติต่างด้าว
8.57 4.48 4.21 4.16 3.75 3.69 2.69 2.48 2.39 2.09 38.50 61.50 100.00
66.47 33.53
หมายเหตุ : /1 การถือหุ้นโดย CREDIT SUISSE AG, HONG KONG BRANCH เป็นการถือหุ้นเพื่อ RPIC Pte. Ltd. /2 บริษัท นํ้าตาลตะวันออก จำ�กัด ถือหุ้นโดยคุณหญิงณัฐิกา วัธนเวคิน ร้อยละ 12.5 และนายสุขกาญจน์ วัธนเวคิน ร้อยละ 25.6 ซึ่งถือหุ้นในธนาคาร ร้อยละ 0.3 และร้อยละ 1.9 ตามลำ�ดับ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
094
2) ข้อตกลงระหว่างผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่มีผลกระทบต่อการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ และพันธะผูกพันเกี่ยวกับการออกหุ้นในอนาคต -ไม่มี การออกหลักทรัพย์อื่น
ดังนี้
1. หุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ธนาคารมีหุ้นกู้ระยะยาวและระยะสั้นคงเหลือรวมมูลค่าทั้งสิ้น 31,211.46 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด • หุ้นกู้ระยะสั้นอายุไม่เกิน 270 วัน ประเภทไม่มีประกันและไม่ด้อยสิทธิ มูลค่า 15,051.46 ล้านบาท ชื่อหุ้นกู้
KK14102A KK14114A KK14331A KK14114B KK14106A KK14109A KK14108A KK14404A KK14114C KK14113A KK14411A KK14116A KK14410A KK14121A KK14116B KK14130A KK14422A KK14123A KK14205A KK14130B KK14210A KK14212A KK14213A KK14213B KK14225A KK14227A KK14305A KK14224A KK14306A KK14313A KK14324A KK14320A
จำ�นวน วันที่ออกหุ้นกู้ (ล้านบาท) 100.00 26 มิ.ย. 56 205.00 28 มิ.ย. 56 900.00 4 ก.ค. 56 823.055 4 ก.ค. 56 50.00 4 ก.ค. 56 185.00 5 ก.ค. 56 465.00 4 ก.ค. 56 38.00 10 ก.ค. 56 112.40 11 ก.ค. 56 120.00 12 ก.ค. 56 1000.00 17 ก.ค. 56 35.00 17 ก.ค. 56 417.00 17 ก.ค. 56 100.00 19 ก.ค. 56 69.00 25 ก.ค. 56 515.00 26 ก.ค. 56 355.00 26 ก.ค. 56 180.00 26 ก.ค. 56 620.00 31 ก.ค. 56 38.00 31 ก.ค. 56 280.00 2 ส.ค. 56 910.00 7 ส.ค. 56 450.00 9 ส.ค. 56 70.00 15 ส.ค. 56 145.00 21 ส.ค. 56 51.00 28 ส.ค. 56 500.00 28 ส.ค. 56 130.00 30 ส.ค. 56 137.00 4 ก.ย. 56 124.00 11 ก.ย. 56 1100.00 18 ก.ย. 56 80.00 18 ก.ย. 56
อายุ (เดือน) 6 6 9 6 6 6 6 9 6 6 9 6 9 6 6 6 9 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6
วันครบกำ�หนด ไถ่ถอน 2 ม.ค. 57 14 ม.ค. 57 31 มี.ค. 57 14 ม.ค. 57 6 ม.ค. 57 9 ม.ค. 57 8 ม.ค. 57 4 เม.ย. 57 14 ม.ค. 57 13 ม.ค. 57 11 เม.ย. 57 16 ม.ค. 57 10 เม.ย. 57 21 ม.ค. 57 16 ม.ค. 57 30 ม.ค. 57 22 เม.ย. 57 23 ม.ค. 57 5 ก.พ. 57 30 ม.ค. 57 10 ก.พ. 57 12 ก.พ. 57 13 ก.พ. 57 13 ก.พ. 57 25 ก.พ. 57 27 ก.พ. 57 5 มี.ค. 57 24 ก.พ. 57 6 มี.ค. 57 13 มี.ค. 57 24 มี.ค. 57 20 มี.ค. 57
ยอดคงเหลือ Coupon (p.a.) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 100.00 2.90 205.00 2.90 900.00 3.00 823.055 2.90 50.00 2.93 185.00 2.90 465.00 2.90 38.00 3.00 112.40 2.90 120.00 2.90 1000.00 3.02 35.00 2.85 417.00 2.95 100.00 2.85 69.00 2.85 515.00 2.85 355.00 2.95 180.00 2.85 620.00 2.80 38.00 2.80 280.00 2.80 910.00 2.80 450.00 2.80 70.00 2.70 145.00 2.70 51.00 2.70 500.00 2.70 130.00 2.70 137.00 2.70 124.00 2.70 1100.00 3.10 80.00 2.95
รายงานประจำ�ปี 2556
ชื่อหุ้นกู้ KK14327A KK14320B KK14320C KK14507A KK14718A KK14717A KK14717B KK14718B KK14507B KK14722A KK14508A KK14508B KK14515A KK14508C KK14325A KK14625A รวม
095
จำ�นวน วันที่ออกหุ้นกู้ (ล้านบาท) 220.00 20 ก.ย. 56 43.30 20 ก.ย. 56 379.70 20 ก.ย. 56 130.00 16 ต.ค. 56 211.00 21 ต.ค. 56 625.00 24 ต.ค. 56 90.00 21 ต.ค. 56 203.00 22 ต.ค. 56 140.00 24 ต.ค. 56 300.00 25 ต.ค. 56 430.00 28 ต.ค. 56 1000.00 30 ต.ค. 56 510.00 5 พ.ย. 56 100.00 6 พ.ย. 56 185.00 24 ธ.ค. 56 180.00 24 ธ.ค. 56 15,051.46
อายุ (เดือน) 6 6 6 6.5 9 9 9 9 6 9 6 6 6 6 3 6
วันครบกำ�หนด ไถ่ถอน 27 มี.ค. 57 20 มี.ค. 57 20 มี.ค. 57 7 พ.ค. 57 18 ก.ค. 57 17 ก.ค. 57 17 ก.ค. 57 18 ก.ค. 57 7 พ.ค. 57 22 ก.ค. 57 8 พ.ค. 57 8 พ.ค. 57 15 พ.ค. 57 8 พ.ค. 57 25 มี.ค. 57 25 มิ.ย. 57
ยอดคงเหลือ Coupon (p.a.) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 220.00 2.95 43.30 2.90 379.70 2.90 130.00 3.15 211.00 3.35 625.00 3.35 90.00 3.19 203.00 3.35 140.00 3.15 300.00 3.30 430.00 3.10 1000.00 3.26 510.00 3.165 100.00 3.10 185.00 3.10 180.00 3.13 15,051.46
• หุ้นกู้ระยะยาวคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มูลค่า 19,160 ล้านบาท ชื่อหุ้นกู้ KK186A KK187A KK188A KK18DA KK16DA KK18DB KK142A KK143A KK144A KK14OA KK165A KK168A KK174A KK179A KK149A KK14OB KK154A รวม
จำ�นวน วันออกหุ้นกู้ (ล้านบาท) 650.00 1 มิ.ย. 54 240.00 22 ก.ค. 54 500.00 23 ส.ค. 54 625.00 2 ธ.ค. 54 975.00 7 ธ.ค. 54 10.00 7 ธ.ค. 54 2,905.00 24 ก.พ. 55 610.00 16 มี.ค. 55 2,485.00 19 เม.ย. 55 2,000.00 18 ต.ค. 55 3,500.00 28 พ.ค. 56 1,500.00 15 ส.ค. 56 500.00 28 ส.ค. 56 330.00 12 ก.ย. 56 380.00 12 ก.ย. 56 250.00 24 ก.ย. 56 1,700.00 3 ต.ค. 56 19,160.00
อายุ (ปี) 7 7 7 7 5 7 2 2 2 2 3 3 3 4 1 1 1.5
วันครบกำ�หนด ไถ่ถอน 1 มิ.ย. 61 22 ก.ค. 61 23 ส.ค. 61 2 ธ.ค. 61 7 ธ.ค. 59 7 ธ.ค. 61 24 ก.พ. 57 16 มี.ค. 57 19 เม.ย. 57 18 ต.ค. 57 28 พ.ค. 59 15 ส.ค. 59 5 เม.ย. 60 20 ก.ย. 60 17 ก.ย. 57 7 ต.ค. 57 3 เม.ย. 58
ยอดคงเหลือ Coupon (p.a.) (ล้านบาท) (ร้อยละ) 650.00 4.62 240.00 5.00 500.00 4.80 625.00 5.10 975.00 5.10 10.00 5.05 2,905.00 3.95 610.00 4.03 2,485.00 4.17 2,000.00 4.00 3,500.00 3.58 1,500.00 3.86 500.00 4.05 330.00 4.45 380.00 3.18 250.00 3.15 1,700.00 3.48 19,160.00
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
096
2. ใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ในปี 2556 ธนาคารคงเหลือใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุ้นสามัญของธนาคารที่เสนอให้กรรมการ และ/หรือ พนักงานของ ธนาคาร และ/หรือ กรรมการ และ/หรือ พนักงานของบริษัทย่อย (ESOP Warrant) เพียง 1 รายการ คือ ESOP Warrant รุ่นที่ 2 (ESOP-W2) ซึง่ ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2553 เมือ่ วันที่ 22 เมษายน 2553 มีมติอนุมัติให้ออกเป็นจำ�นวนไม่เกิน 26,000,000 หน่วย ในราคาเสนอขายศูนย์บาทต่อหน่วย และมีมติให้ออกหุ้น สามัญเพิ่มทุนใหม่จำ�นวน 26,000,000 หุ้น เพื่อรองรับการใช้สิทธิ ดังกล่าว
รายละเอียด วันที่ใช้สิทธิ จำ�นวนผู้ขอใช้สิทธิ (ราย) จำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ใช้สิทธิ (หน่วย) จำ�นวนหุ้นสามัญที่ได้จากการใช้สิทธิ (หุ้น) จำ�นวนคงเหลือใบสำ�คัญแสดงสิทธิ (หน่วย) จำ�นวนคงเหลือหุ้นสามัญเพื่อรองรับการใช้สิทธิ (หุ้น) จำ�นวนเงินที่ได้รับจากการใช้สิทธิ (บาท)
ESOP-W2 มีกำ�หนดการใช้สิทธิทุกวันที่ 30 ของเดือน มีนาคม มิถุนายน กันยายน ธันวาคม มีกำ�หนดการใช้สิทธิครั้งแรก วันที่ 30 กันยายน 2554 และครั้งสุดท้ายวันที่ 30 มิถุนายน 2558 โดยสามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญใหม่ในสัดส่วน 1:1 และราคาการ ใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญเท่ากับ 29.27 บาทต่อหน่วย เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2553 ธนาคารได้รายงานการ เปลี่ยนแปลงการจัดสรร ESOP-W2 ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย โดยมีการยกเลิกใบสำ�คัญแสดงสิทธิทั้งสิ้นจำ�นวน 110,000 หน่วย ส่งผลให้มจี �ำ นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ได้รบั จัดสรร คงเหลือ 25,890,000 หน่วย และมีกำ�หนดการใช้สิทธิในปี 2556 จำ�นวนทั้งสิ้น 4 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 7 1 เม.ย. 2556 81 1,231,800 1,231,800 17,288,550 17,288,550 36,054,786
การใช้สิทธิ ครั้งที่ 8 ครั้งที่ 9 ครั้งที่ 10 2 ก.ค. 2556 30 ก.ย. 2556 2 ม.ค. 2557 24 169 20 918,600 3,004,450 154,350 918,600 3,004,450 154,350 16,369,950 13,365,500 13,211,150 16,369,950 13,365,500 13,211,150 26,887,422 87,940,251.50 4,517,824.50
ผลจากการใช้สิทธิ ESOP-W2 จะทำ�ให้จำ�นวนหุ้นสามัญและทุนชำ�ระแล้วของธนาคารเปลี่ยนแปลง ดังนี้ รายละเอียด จำ�นวนหุ้นสามัญเดิมก่อนการใช้สิทธิ (หุ้น) จำ�นวนหุ้นสามัญใหม่หลังการใช้สิทธิ (หุ้น) ทุนชำ�ระแล้ว (บาท)
การใช้สิทธิ ครั้งที่ 7 ครั้งที่ 8 ครั้งที่ 9 ครั้งที่ 10 833,678,259 834,910,059 835,828,659 838,833,109 834,910,059 835,828,659 838,833,109 838,987,459 8,349,100,590 8,358,286,590 8,388,331,090 8,389,874,590
รายงานประจำ�ปี 2556
นโยบายการจ่ายเงินปันผล
ธนาคารมีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่เกินร้อยละ 60 ของกำ�ไรสุทธิในแต่ละปีจากงบการเงินรวมของธนาคาร โดยการ จ่ายเงินปันผลต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น และสามารถ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลได้เมื่อธนาคารมีกำ�ไรที่สมควรจะทำ� เช่ น นั้ น และรายงานให้ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบในการประชุ ม คราวต่อไป ในการพิจารณาจ่ายเงินปันผล ธนาคารจะคำ�นึงถึงผลประกอบการ ผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นในระยะยาว และระดับความเพียงพอของ เงินกองทุนของธนาคาร ซึง่ ครอบคลุมแผนการทำ�ธุรกิจ ความเสีย่ ง ของธุรกิจธนาคารทั้งในภาวะปกติ และภาวะวิกฤต และผลกระทบ ทั้งก่อนและหลังจ่ายเงินปันผลนั้นๆ นอกจากนี้ ธนาคารจะจ่ า ยเงิ น ปั น ผลในระดั บ ที่ ไ ม่ ทำ � ให้ อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสีย่ งในภาวะปกติ ตํา่ กว่าระดับเงิน
097
กองทุนขั้นตํ่าที่ต้องดำ�รงในภาวะปกติ ที่กำ�หนดเอาไว้ในข้อความ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite Statement) ของธนาคาร รวมทัง้ ไม่เป็นอุปสรรคต่อธนาคารในการทยอยเพิม่ ระดับเงินสำ�รอง ที่มีต่อเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ ให้มีระดับทัดเทียมกับค่าเฉลี่ย ของธนาคารพาณิชย์ ไทยในระบบ ตามนโยบายการกันเงินสำ�รอง ของธนาคาร ธนาคารไม่ได้ก�ำ หนดอัตราส่วนในการจ่ายเงินปันผลของบริษทั ย่อยให้แก่ธนาคาร อย่างไรก็ตาม การจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย จะต้องได้รับอนุมัติจากมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทนั้น และต้อง เป็นไปตามข้อบังคับของบริษัทและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยการ จ่ า ยเงิ น ปั น ผลของบริ ษั ท ย่ อ ยจะขึ้ น อยู่ กั บ ผลประกอบการและ แผนการดำ�เนินธุรกิจของแต่ละบริษัทเป็นสำ�คัญ
098
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการธนาคาร
คณะกรรมการธนาคารประกอบด้วยกรรมการทั้งสิ้น 15 คน แบ่งเป็นกรรมการอิสระ 6 คน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 3 คน กรรมการ ที่เป็นผู้บริหาร 6 คน ดังนี้ 1. นายสุพล วัธนเวคิน ประธานกรรมการ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 2. นายพิชัย ดัชณาภิรมย์ กรรมการ กรรมการอิสระ 3. รศ.มานพ พงศทัต กรรมการ กรรมการอิสระ 4. นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล กรรมการ กรรมการอิสระ 5. นายประวิทย์ วรุตบางกูร กรรมการ กรรมการอิสระ 6. ดร.อนุมงคล ศิริเวทิน กรรมการ กรรมการอิสระ 7. นายพงษ์เทพ ผลอนันต์ กรรมการ กรรมการอิสระ 8. นายธานินทร์ จิระสุนทร กรรมการ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 9. นายสุรพล กุลศิริ* กรรมการ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 10. นายสุวิทย์ มาไพศาลสิน* กรรมการ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 11. นายบรรยง พงษ์พานิช* กรรมการ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 12. นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์* กรรมการ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 13. นายกฤติยา วีรบุรุษ กรรมการ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 14. นางสาวฐิตินันท์ วัธนเวคิน* กรรมการ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 15. นายประชา ชำ�นาญกิจโกศล กรรมการ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร นางสาวพรทิพย์ ชูพระคุณ เลขานุการบริษัท หมายเหตุ * เป็นกรรมการมีอำ�นาจลงนามผูกพันธนาคาร
รายงานประจำ�ปี 2556
099
สรุปการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการธนาคาร และคณะกรรมการชุดย่อยในปี 2556 การประชุมคณะกรรมการในปี 2556 กรรมการ ตรวจสอบรวม สรรหาและ กำ�กับการ บริหารความ บริหารรวม การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ธนาคารรวม 8 ครั้ง กำ�หนดค่า ปฏิบัติตาม เสี่ยงรวม 10 16 ครั้ง รายชื่อกรรมการ ระหว่างปี 9 ครั้ง ตอบแทนรวม กฎเกณฑ์และ ครั้ง 7 ครั้ง กำ�กับกิจการ รวม 7 ครั้ง 1. นายสุพล วัธนเวคิน 9/9 10/10 16/16 เข้าประชุมคณะกรรมการบริหาร ในฐานะที่ปรึกษา 2. นายพิชัย ดัชณาภิรมย์ 9/9 8/8 3. รศ.มานพ พงศทัต 6/9 6/7 4. นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล 9/9 8/8 7/7 7/7 5. นายประวิทย์ วรุตบางกูร 9/9 8/8 1/1 7/7 25 กรกฎาคม 2556 ได้รับการ แต่งตั้งเป็นกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน 6. ดร.อนุมงคล ศิริเวทิน 8/9 8/8 1/1 25 กรกฎาคม 2556 ได้รับการ แต่งตั้งเป็นกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน 7. นายพงษ์เทพ ผลอนันต์ 8/9 6/6 25 กรกฎาคม 2556 ออกจากการ เป็นกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน 8. นายธานินทร์ จิระสุนทร 9/9 7/7 9. นายสุรพล กุลศิริ 9/9 6/6 25 กรกฎาคม 2556 ออกจากการ เป็นกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน 10. นายสุวิทย์ มาไพศาลสิน 8/9 5/6 10/11 28 มีนาคม 2556 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการบริหาร 25 กรกฎาคม 2556 ออกจากการ เป็นกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน 11. นายบรรยง พงษ์พานิช 9/9 9/10 16/16 12. นายอภินนั ท์ เกลียวปฏินนท์ 9/9 9/10 16/16 13. นายกฤติยา วีรบุรุษ 4/4 8/8 16/16 8 มีนาคม 2556 ได้รับการแต่งตั้ง เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง 18 พฤษภาคม 2556 ได้รับการ แต่งตั้งเป็นกรรมการธนาคารแทน นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐ์พงศ์ 14. นางสาวฐิตินันท์ วัธนเวคิน 8/9 16/16 15. นายประชา ชำ�นาญกิจโกศล 5/5 9/10 14/16 25 เมษายน 2556 ได้ รั บ การ แต่งตั้งเป็นกรรมการธนาคารแทน นายธวัชไชย สุทธิกิจพิศาล
หมายเหตุ : กรรมการที่ลาออกระหว่างปี 1. นายธวัชไชย สุทธิกิจพิศาล ครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการธนาคารและไม่ต่อวาระ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2556 2. นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐ์พงศ์ ลาออกจากการเป็นกรรมการธนาคาร มีผลวันที่ 1 พฤษภาคม 2556
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
100
ผู้บริหาร
ผู้บริหารมีจำ�นวน 16 คน ประกอบด้วย ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ประธาน ธุรกิจตลาดทุน และประธานสายงาน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
ชื่อ - สกุล นายบรรยง พงษ์พานิช นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์ นายกฤติยา วีรบุรุษ นางสาวฐิตินันท์ วัธนเวคิน นายประชา ชำ�นาญกิจโกศล นายชวลิต จินดาวณิค นายชัยวัฒน์ เลิศวนารินทร์ นายธวัชชัย เตชะวัฒนวรรณา นายปรีชา เตชรุ่งชัยกุล ดร.พบพนิต ภุมราพันธุ์ นางภัทรพร มิลินทสูต นายมานิตย์ วรรณวานิช นายศราวุธ จารุจินดา ดร.อนุชิต อนุชิตตานุกูล นายวรกฤต จารุวงศ์ภัค นายวิธพล เจาะจิตต์
ตำ�แหน่ง
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานธุรกิจธนาคารพาณิชย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานธุรกิจตลาดทุน ประธานสายกลยุทธ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายธนบดีธนกิจ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายบริหารหนี้ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายการเงินและงบประมาณ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายเทคโนโลยีสารสนเทศ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายสินเชื่อบรรษัท รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายตลาดการเงิน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายบริหารความเสี่ยง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานเจ้าหน้าที่กำ�กับดูแลกิจการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายเครือข่ายการขายและบริการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายสินเชื่อธุรกิจ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายพัฒนาระบบงานช่องทางขายและผลิตภัณฑ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายปฏิบัติการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายบริหารทรัพยากรบุคคล
หมายเหตุ : ลำ�ดับที่ 9 ได้รับแต่งตั้งมีผลวันที่ 6 มีนาคม 2556 ลำ�ดับที่ 11 ได้รับแต่งตั้งมีผลวันที่ 13 มิถุนายน 2556 ลำ�ดับที่ 14 ได้รับแต่งตั้งมีผลวันที่ 2 กรกฎาคม 2556 ลำ�ดับที่ 15 ได้รับแต่งตั้งมีผลวันที่ 16 มกราคม 2557 ลำ�ดับที่ 16 ได้รับแต่งตั้งมีผลวันที่ 16 มกราคม 2557 เลขานุการบริษัท
คณะกรรมการธนาคารได้แต่งตั้ง นางสาวพรทิพย์ ชูพระคุณ ให้ดำ�รงตำ�แหน่งเลขานุการบริษัท เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2553 เพื่อทำ�หน้าที่สนับสนุนงานของคณะกรรมการในด้านที่เกี่ยวข้อง กับกฎระเบียบต่างๆ การประชุมของคณะกรรมการธนาคาร และการ ประชุมผู้ถือหุ้น รวมถึงมีหน้าที่รับผิดชอบดังต่อไปนี้ 1. ให้คำ�แนะนำ�เบื้องต้นด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่คณะกรรมการธนาคารจะต้องทราบและปฏิบัติหน้าที่ในการดูแล กิจกรรมของคณะกรรมการธนาคาร 2. จัดการเรื่องการประชุมผู้ถือหุ้น การประชุมคณะกรรมการ ธนาคาร และคณะอนุกรรมการธนาคาร ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับของธนาคาร ข้อพึงปฏิบตั ทิ ด่ี ี และกฎบัตรของคณะกรรมการ แต่ละชุด รวมทั้งดูแลและติดตามให้มีการปฏิบัติตามมติที่ประชุม ผูถ้ อื หุน้ และมติคณะกรรมการธนาคาร ตลอดจนข้อกำ�หนดทางด้าน กฎหมายและกฎระเบียบอื่นที่เกี่ยวข้อง
3. จัดทำ�และเก็บรักษาทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุม ผู้ถือหุ้น รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น รายงานประจำ�ปีของธนาคาร หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการธนาคาร และรายงานการประชุม คณะกรรมการธนาคาร 4. ดำ�เนินการให้กรรมการและผูบ้ ริหารจัดทำ�รายงานการมีสว่ น ได้เสียของตนและผูท้ เี่ กีย่ วข้อง ตามข้อกำ�หนดกฎหมาย รวมทัง้ เก็บ รักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการและผู้บริหาร และส่งสำ�เนาให้ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ ตามที่กฎหมายกำ�หนด 5. ดูแลให้มกี ารเปิดเผยข้อมูล และรายงานสารสนเทศในส่วนที่ รับผิดชอบต่อหน่วยงานทีก่ �ำ กับธนาคาร ตามระเบียบและข้อกำ�หนด ของหน่วยงานทางการ 6. ดำ�เนินการเรื่องงานทะเบียนหุ้น ได้แก่ งานการจ่ายเงิน ปันผล งานจดทะเบียนเพิ่มทุน 7. ดำ�เนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนประกาศ กำ�หนด
รายงานประจำ�ปี 2556
101
ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร
ทัง้ นี้ กรรมการที่ได้รบั ค่าตอบแทนประจำ�ในฐานะผูบ้ ริหารของ ธนาคารและบริษัทในกลุ่มธุรกิจการเงินจะไม่ได้รับค่าตอบแทน รายเดือน ค่าเบี้ยประชุม และค่าบำ�เหน็จกรรมการ นอกจากนี้ ยังมีค่าตอบแทนของคณะกรรมการ ในกรณีที่ กรรมการได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ ในคณะกรรมการชุด ย่อยต่างๆ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการกำ�กับการปฏิบัติ ตามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการสินเชื่อรายใหญ่และ ทรัพย์รอขาย ซึ่งจะได้รับค่าตอบแทนเพิ่มเติมตามความเหมาะสม รายละเอียดดังนี้
1. ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ค่าตอบแทนกรรมการ หลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนแก่กรรมการ พิจารณาจาก 3 องค์ประกอบ ที่สำ�คัญ คือ • ค่าตอบแทนที่ธนาคารจ่ายให้เป็นรายเดือน ในขณะที่ด�ำ รง ตำ�แหน่งประธานกรรมการ และกรรมการในคณะกรรมการของธนาคาร • ค่าเบี้ยประชุม คือ ค่าตอบแทนที่ประธานกรรมการและ กรรมการได้ รั บ ในการเข้ า ร่ ว มประชุ ม คณะกรรมการชุ ด ต่ า งๆ ในแต่ละครั้ง จะจ่ายเป็นรายครั้งเฉพาะครั้งที่เข้าร่วมประชุม • ค่าบำ�เหน็จกรรมการ คือ ค่าตอบแทนที่ธนาคารจ่ายให้ กรรมการครัง้ เดียวต่อปี จะพิจารณาตามผลประกอบการของธนาคาร ในแต่ละปี ตารางผลตอบแทนกรรมการธนาคารปี 2556
ลำ�ดับ
รายชื่อ
คณะ คณะ คณะ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ธนาคาร ตรวจสอบ สรรหาและ กำ�หนด ค่าตอบแทน
1 นายสุพล วัธนเวคิน 1,088,000 2 นายพิชัย ดัชณาภิรมย์ 544,000 234,000 3 รศ.มานพ พงศทัต 544,000 4 นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล 544,000 151,000 5 นายประวิทย์ วรุตบางกูร 544,000 151,000 6 ดร.อนุมงคล ศิริเวทิน 544,000 151,000 7 นายพงษ์เทพ ผลอนันต์ 544,000 8 นายธานินทร์ จิระสุนทร 544,000 9 นายสุรพล กุลศิริ 544,000 10 นายสุวิทย์ มาไพศาลสิน 144,000 11 นายบรรยง พงษ์พานิช 144,000 12 นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์ 144,000 13 นายกฤติยา วีรบุรุษ/1 14 นางสาวฐิตินันท์ วัธนเวคิน 144,000 15 นายประชา ชำ�นาญกิจโกศล/2 กรรมการที่ลาออกระหว่างปี 2556 ที่ได้รับค่าตอบแทน มีดังนี้ 144,000 16 นายธวัชไชย สุทธิกิจพิศาล/3 144,000 17 นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์/4 รวม 6,304,000 687,000 /1
172,000 125,000 20,000 20,000 105,000 105,000 547,000
(หน่วย : บาท) คณะ คณะ คณะ ที่ปรึกษา ค่าบำ�เหน็จ รวมค่า กรรมการ กรรมการสิน กรรมการ คณะ ปี 2556 ตอบแทน บริหาร เชื่อรายใหญ่ กำ�กับการ กรรมการ จ่ายปี 2557 ทั้งสิ้น ความเสี่ยง และทรัพย์ ปฏิบัติตาม บริหาร รอขาย กฎเกณฑ์ และกำ�กับ กิจการ 930,000 2,200,000 1,600,000 5,818,000 800,000 1,578,000 800,000 1,516,000 204,000 800,000 1,824,000 131,000 800,000 1,646,000 800,000 1,515,000 840,000 800,000 2,289,000 131,000 800,000 1,475,000 820,000 800,000 2,269,000 144,000 144,000 144,000 144,000 930,000 1,660,000
144,000 144,000 466,000 2,200,000 8,000,000 20,794,000
ได้รับแต่งตั้งมีผลเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2556 ได้รับแต่งตั้งมีผลเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2556 /3 ครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการธนาคารและไม่ต่อวาระ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2556 /4 ลาออกจากการเป็นกรรมการธนาคาร มีผลวันที่ 1 พฤษภาคม 2556 - กรรมการที่เป็นผู้บริหารลำ�ดับที่ 10-12, 14 และ 16 ได้รับค่าตอบแทนรายเดือนสิ้นสุด ณ เมษายน 2556 กรรมการที่ได้รับค่าตอบแทนประจำ�ในฐานะผู้บริหารของ ธนาคารและบริษัทในกลุ่มธุรกิจการเงินจะไม่ได้รับค่าตอบแทนรายเดือน ค่าเบี้ยประชุม และค่าบำ�เหน็จกรรมการตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2556 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2556 /2
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
102
ธนาคารได้ก�ำ หนดนโยบายค่าตอบแทนสำ�หรับกรรมการไว้อย่าง ชัดเจนและโปร่งใส มีคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ทำ�หน้าทีท่ บทวน โดยค่าตอบแทนกรรมการอยู่ในระดับเดียวกับกลุม่ ธุรกิจเดียวกัน และอยู่ในอัตราทีส่ ามารถดูแลและรักษากรรมการทีม่ ี คุณสมบัตติ ามทีธ่ นาคารต้องการ รวมทัง้ เหมาะสมและสอดคล้องกับ ขอบเขตหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของกรรมการ คณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทนเป็นผูพ้ จิ ารณานำ�เสนอจำ�นวนค่าตอบแทน ทีเ่ หมาะสมต่อคณะกรรมการธนาคาร เพือ่ นำ�เสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุ้นพิจารณาอนุมัติเป็นประจำ�ทุกปี ค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูง สำ�หรับในปี 2556 ธนาคารจ่ายค่าตอบแทนให้คณะกรรมการ บริหารรวม 19 คน (รวมผู้อำ�นวยการอาวุโส ฝ่ายบัญชี และรวมถึง ผู้บริหารที่ลาออกและถึงแก่กรรมระหว่างปี) คิดเป็นจำ�นวนเงินรวม 133 ล้านบาท ลักษณะค่าตอบแทนกรรมการบริหารและผู้บริหาร จะอยู่ในรูปค่าตอบแทนที่เป็นเงินเดือน เงินกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ และโบนัส ซึง่ แปรผันตามผลการดำ�เนินงานของธนาคาร นอกจากนี้
ธนาคารไม่มีการเสนอเอกสารสิทธิที่จะซื้อหรือขายทรัพย์สินให้กับ ผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการได้จัดให้มีการประเมินผลประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานธุรกิจหรือเทียบเท่า เป็นประจำ�ทุกปี และใช้ผลประเมินดังกล่าวพิจารณาให้ผลตอบแทน แก่ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธาน ธุรกิจหรือเทียบเท่า โดยประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่ า ตอบแทนซึ่ ง เป็ น กรรมการอิ ส ระและเป็ น ผู้ มี อาวุ โ สสู ง สุ ด ใน คณะกรรมการธนาคารได้ สื่ อ สารผลการพิ จ ารณาให้ ป ระธาน เจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานธุรกิจหรือ เทียบเท่ารับทราบด้วย 2. ค่าตอบแทนอื่น ธนาคารมีการออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของ ธนาคารให้แก่กรรมการ และพนักงาน (ESOP-W2) โดยสามารถ แสดงจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิของคณะกรรมการและผู้บริหาร ดังนี้
การเปลี่ยนแปลงการถือหุ้นในธนาคาร และ ESOP-W2 ของคณะกรรมการ จำ�นวนหุ้นสามัญที่ถือ (หุ้น) ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
รายชื่อ
31 ธ.ค. 2555 นายสุพล วัธนเวคิน 12,426,850 นายพิชัย ดัชณาภิรมย์ 75,000 รศ.มานพ พงศทัต 25,000 นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล นายประวิทย์ วรุตบางกูร 230,000 ดร.อนุมงคล ศิริเวทิน 18,270 นายพงษ์เทพ ผลอนันต์ 8,488 นายธานินทร์ จิระสุนทร 25,000 นายสุรพล กุลศิริ นายสุวิทย์ มาไพศาลสิน 4,029,406 นายบรรยง พงษ์พานิช 2,336,246 นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์ /1 นายกฤติยา วีรบุรุษ 172 นางสาวฐิตินันท์ วัธนเวคิน 34,782,761 นายประชา ชำ�นาญกิจโกศล /2 -
30 มิ.ย. 2556 12,426,850 75,000 25,000 25,000 225,000 18,270 488 50,000 60,000 4,029,406 1,500,046 172 34,782,761 -
ESOP-W2 คือ ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ /1 ได้รับแต่งตั้งมีผลเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2556 /2 ได้รับแต่งตั้งมีผลเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2556
31 ธ.ค. 2556 13,364,350 100,000 75,000 50,000 250,000 18,270 488 75,000 60,000 5,029,406 2,000,046 550,000 172 35,345,261 -
เปลี่ยนแปลง จำ�นวน ESOP-W2 ที่ถือ (หน่วย) เปลี่ยนแปลง เพิ่มขึ้น /ลดลง เพิ่มขึ้น /ลดลง (หุ้น) (ธ.ค. 55 31 ธ.ค. 30 มิ.ย. 31 ธ.ค. (หน่วย) (ธ.ค. 55 2555 2556 2556 และ ธ.ค. 56) และ ธ.ค. 56) 937,500 1,250,000 1,250,000 12,500 (937,500) 25,000 75,000 75,000 50,000 (25,000) 50,000 75,000 75,000 25,000 (50,000) 50,000 75,000 50,000 25,000 (50,000) 20,000 75,000 50,000 25,000 (50,000) (38,000) 50,000 75,000 50,000 25,000 (50,000) 60,000 194,000 97,000 97,000 (97,000) 1,000,00 (336,200) 550,000 562,500 750,000 750,000 187,500 (562,500) 375,000 375,000 375,000 -
รายงานประจำ�ปี 2556
103
การเปลี่ยนแปลงการถือหุ้นในธนาคาร และ ESOP-W2 ของผู้บริหาร จำ�นวนหุ้นสามัญที่ถือ (หุ้น) ลำ�ดับ
รายชื่อ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
นายชวลิต จินดาวณิค นายชัยวัฒน์ เลิศวนารินทร์ นายธวัชชัย เตชะวัฒนวรรณา นายปรีชา เตชรุ่งชัยกุล /1 ดร.พบพนิต ภุมราพันธุ์ นางภัทรพร มิลินทสูต /2 นายมานิตย์ วรรณวานิช นายศราวุธ จารุจินดา ดร.อนุชิต อนุชิตตานุกูล /3 นายวรกฤต จารุวงศ์ภัค /4 นายวิธพล เจาะจิตต์ /5 นางสุรีย์ หาญพินิจศักดิ์
31 ธ.ค. 30 มิ.ย. 31 ธ.ค. 2555 2556 2556 187,500 187,500 281,250 8,000 30,000 60,000 110,000 110,000 33,250
เปลี่ยนแปลง จำ�นวน ESOP-W2 ที่ถือ (หน่วย) เปลี่ยนแปลง เพิ่มขึ้น/ลดลง เพิ่มขึ้น/ลดลง (หุ้น) (ธ.ค. 55 31 ธ.ค. 30 มิ.ย. 31 ธ.ค. (หน่วย) (ธ.ค. 55 2555 2556 2556 และ ธ.ค. 56) และ ธ.ค. 56) 93,750 187,500 187,500 93,750 (93,750) 30,000 50,000 525,000 375,000 375,000 (150,000) 33,250 46,500 46,500 23,250 (23,250)
ESOP-W2 คือ ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ /1 ได้รับแต่งตั้งมีผลวันที่ 6 มีนาคม 2556 /2 ได้รับแต่งตั้งมีผลวันที่ 13 มิถุนายน 2556 /3 ได้รับแต่งตั้งมีผลวันที่ 2 กรกฎาคม 2556 /4 ได้รับแต่งตั้งมีผลวันที่ 16 มกราคม 2557 /5 ได้รับแต่งตั้งมีผลวันที่ 16 มกราคม 2557 บุคลากร
ในปี 2556 ธนาคารได้ด�ำ เนินการปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ เพือ่ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของทุกหน่วยงานให้สอดคล้องกับ นโยบายและทิศทางของกลุม่ ธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร รวมถึง กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) บริษัท สำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน)
รวม
เพื่อเพิ่มศักยภาพในการดำ�เนินธุรกิจและเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันที่สูงขึ้นให้รองรับการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร มีพนักงาน (รวมพนักงาน Outsource) จำ�นวน 3,942 คน แบ่งออกเป็น จำ�นวนพนักงาน จำ�นวนพนักงาน (คน) ปี 2555 (คน) ปี 2556 3,120 3,137 131 130 276 291 54 43 21 42 257 299 3,860 3,942
104
ผลตอบแทนพนักงาน ธนาคารให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ ระบบคุ ณ ธรรมในการบริ ห าร ทรัพยากรบุคคล โดยเฉพาะการพิจารณาตอบแทนผลการทำ�งาน ของพนักงาน ดังนั้น จึงกำ�หนดหลักการพื้นฐานว่า การจ่ายผล ตอบแทนการทำ�งานแก่พนักงานให้เป็นไปตามผลการปฏิบัติงาน ทีแ่ ท้จริงของพนักงาน (Pay per performance) อย่างไรก็ดี ธนาคาร ตระหนักดีว่า การบริหารผลตอบแทนมิได้มีเฉพาะเรื่องการบริหาร ค่าจ้างและเงินเดือนเท่านั้น แต่รวมถึงการกำ�หนดลักษณะงาน ค่า ของงาน การวัดผลการทำ�งาน ตลอดจนการบริหารสวัสดิการและ ผลประโยชน์ ต่ า งๆ ซึ่ ง กำ � หนดให้ เ ป็ น ผลตอบแทนการทำ � งาน และการกำ�หนดระเบียบวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการจ่าย หรือการจัดให้ พนักงานได้รับผลตอบแทนจากการทำ�งานดังกล่าวอย่างถูกต้อง และเป็นธรรม กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ธนาคารได้จดั ตัง้ กองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพตามกฎกระทรวงฉบับที่ 162 (พ.ศ. 2526) เพือ่ เป็นสวัสดิการพนักงาน โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ (1) ส่งเสริมการออมเงินของสมาชิก (2) เป็นหลักประกันแก่สมาชิกและครอบครัว และได้นำ�เงินกองทุนเข้าเป็นกองทุนจดทะเบียนตามพระราช บัญญัติกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ในนาม “กองทุนสำ�รอง เลีย้ งชีพ เกียรตินาคิน และกองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ ไทยพาณิชย์มาส เตอร์ฟันด์ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว” โดยมีรายละเอียดเงินสะสมและเงิน สมทบดังนี้ จำ�นวนปีที่ทำ�งาน อัตราเงินสะสมและอัตราเงินสมทบ (ร้อยละ) น้อยกว่า 5 ปี 5 ตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป 10 เพื่อเป็นการเพิ่มทางเลือกนโยบายการลงทุนให้กับพนักงานที่ เป็นสมาชิกกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพของกลุ่ม ธนาคารเกียรตินาคิน ได้เปิดโอกาสให้พนักงานสามารถเปลีย่ นแปลง นโยบายการลงทุนได้ปีละ 2 ครั้ง ในเดือนมกราคม และกรกฎาคม ของทุกปี การดำ�เนินงานเพื่อสนับสนุนกลุ่มธุรกิจ เนื่ อ งด้ ว ยธนาคารมี การขยายธุ ร กิ จ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ดั ง นั้ น กลยุทธ์ด้านบุคลากรจึงมีความสำ�คัญเป็นอย่างยิ่งต่อการบรรลุ ผลสำ�เร็จของกลยุทธ์และเป้าหมายทางธุรกิจที่ได้ตั้งไว้ โดยมุ่งเน้น ในการสรรหาคัดเลือกบุคลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพ การพัฒนาบุคลากรให้มี ความรูค้ วามสามารถในการปฏิบตั หิ น้าที่ ความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะให้บริการ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
ทีด่ ที สี่ ดุ กับลูกค้า ตลอดจนการสร้างขวัญกำ�ลังใจของพนักงาน และ การสื่อสารภายในองค์กรอย่างทั่วถึงและรวดเร็ว 1. นโยบายด้านทรัพยากรบุคคล (1) การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร ธนาคารได้ใช้เทคโนโลยีทรี่ วดเร็วทันสมัย และใช้ชอ่ งทาง ที่ ห ลากหลายในการเข้ า ถึ ง แหล่ ง ข้ อ มู ล ของกลุ่ ม เป้ า หมายที่ เหมาะสมกับตำ�แหน่งงานที่ต้องการ ในการรับสมัครและคัดเลือก ผู้ ส มั ค รงานเพื่ อ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพในภาวะที่ มี การแข่ ง ขั น ด้ า น แรงงานคุณภาพสูง มีการพัฒนาทักษะของผู้คัดเลือกและกรรมการ ผู้สัมภาษณ์ผู้สมัครงาน นอกจากนี้ ธนาคารยังได้ให้ความสำ�คัญกับ การพัฒนาและเพิม่ เครือ่ งมือในการคัดเลือกบุคลากรให้มากขึน้ เพือ่ ใช้ในการประเมินคุณสมบัติ ทักษะ ขีดความสามารถ (Competency - based Selection) ให้เหมาะสมกับตำ�แหน่งงานและการเติบโตของ องค์กร ตลอดจนทัศนคติ จริยธรรม และความคิดสร้างสรรค์ เพื่อ ผลักดันธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน (2) การประเมินผล (People Assessment) ธนาคารมีการประเมินผลการดำ�เนินงานของพนักงาน ประจำ � ปี โดยเน้ น การประเมิ น ศั ก ยภาพในการปฏิ บั ติ ง านของ พนักงาน ตลอดจนประเมินพัฒนาการและทักษะในการขับเคลื่อน การดำ�เนินงานให้ส�ำ เร็จตามเป้าหมายและนโยบายทีก่ �ำ หนดไว้ การ ประเมินผลการดำ�เนินงานดังกล่าว เน้นความโปร่งใส เป็นธรรม ต่อพนักงานในทุกระดับ ผ่านการผสมผสานเครื่องมือประเมินผล ที่หลากหลาย อาทิ การประเมินผลตามสายบังคับบัญชา และการ ประเมินผล 360 องศา เป็นต้น เป้าหมายสำ�คัญของธนาคารในการประเมินผลการ ดำ�เนินงานของพนักงาน มิได้จำ�กัดขอบเขตเพียงการวัดผลการ ปฏิบัติงานเท่านั้น แต่มุ่งเน้นให้เป็นเครื่องมือสำ�หรับการปรับปรุง กระบวนการปฏิบัติงาน และการบริหารทรัพยากรบุคคลอย่างมี บูรณาการด้วย กล่าวคือ การประเมินผลประจำ�ปีถูกใช้เป็นกลไก สำ�คัญในการรักษาระดับมาตรฐานการปฏิบัติงานและการให้บริการ ลูกค้าและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้อย่างเป็นระบบ ในขณะเดียวกัน ผลการประเมินได้ถูกใช้เป็นข้อมูลสะท้อนกลับ (Feedback) แก่ พนักงานในมิตขิ องการพัฒนาและยกระดับศักยภาพของตนเองอย่าง ต่อเนือ่ ง มิติของโอกาสความก้าวหน้าในสายอาชีพ และแก่ธนาคาร ในการคัดกรองและรักษาพนักงานที่มีศักยภาพให้คงอยู่กับองค์กร ผ่านมาตรการเชิงรุกต่างๆ (3) ค่ า ตอบแทนและสวั ส ดิ ก ารพนั ก งาน (Employee Compensation and Benefits) ธนาคารพิจารณาผลตอบแทนพนักงานตามผลการ ปฏิบัติงาน ที่แท้จริงของพนักงานบนพื้นฐานของความถูกต้องและ เป็นธรรม โดยจำ�แนกการให้ผลตอบแทนพนักงานเป็น 3 ประเภท ได้แก่
รายงานประจำ�ปี 2556
3.1) ผลตอบแทนเป็นตัวเงิน ซึง่ เป็นผลจากการปฏิบตั งิ าน ของพนักงานและตอบแทนโดยตรง เช่น การจ่ายตามค่าของงานที่ เพิ่มขึ้น การขึ้นค่าจ้างตามผลการทำ�งานที่ดี การตอบแทนความ ทุ่มเทและมีส่วนในความสำ�เร็จทางธุรกิจ และการให้รางวัลในฐานะ ที่มีผลงานดีเด่น เป็นต้น 3.2) ผลตอบแทนที่เป็นตัวเงินแต่ตอบแทนในทางอ้อม เช่น การกำ�หนดระดับความมีอาวุโส การพิจารณาถึงความรับผิดชอบ ด้านสังคม และสวัสดิการต่างๆ อาทิ กองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพพนักงาน กองทุนประกันสังคม การประกันสุขภาพกลุ่ม การประกันชีวิตกลุ่ม การประกันอุบัติเหตุกลุ่ม การตรวจสุขภาพประจำ�ปี ห้องพยาบาล ของธนาคาร ห้อง Mother Corner (ห้องสำ�หรับพนักงานที่เป็น มารดาในการเก็บนํ้านมให้บุตร ผลตอบแทนซึ่งไม่มีค่าเป็นตัวเงิน เช่น การมอบหมายงานทีท่ า้ ทายความสามารถ อันจะเปิดโอกาสให้ พนักงานก้าวหน้าในสายอาชีพ การพัฒนาพนักงานผ่านระบบการ ฝึกอบรมและระบบอื่นๆ การส่งเสริมให้พนักงานพัฒนาศักยภาพ ของตนเองให้สูงขึ้น เป็นต้น 2. นโยบายด้านพัฒนาบุคลากร (1) การฝึกอบรม ธนาคารมีความมุง่ มัน่ ในการส่งเสริมและพัฒนาพนักงาน ทุกส่วน ตั้งแต่พนักงานทั่วไปจนถึงผู้บริหารระดับสูงได้รับการ ฝึกอบรม เพื่อเพิ่มพูนทักษะ (Skill) และความรู้ความเชี่ยวชาญ (Knowledge) ตลอดจนผลักดันการสร้างเสริมทัศนคติ (Attitude) โดยการฝึกอบรมจะเน้นที่การพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถ ของพนักงานทั้งในเรื่องของทักษะความสามารถตามตำ�แหน่งงาน (Functional Skills) ทักษะความสามารถหลักที่พนักงานทุกคนต้อง มี (Core Skills) รวมทั้ง ทักษะภาวะผู้นำ� (Leadership Skills) ซึ่ง ในปี 2556 ที่ผ่านมา ธนาคารได้จัดอบรมหลักสูตรต่างๆ ทั้งภายใน และภายนอกองค์กร โดยใช้กระบวนการพัฒนาที่หลากหลายและ เหมาะสม อาทิ การจัดสัมมนา สัมมนาเชิงปฏิบัติการ การบรรยาย e-Learning เป็นต้น รวมทั้ง เชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ ความรู้ และประสบการณ์มาให้ความรู้กับพนักงาน อันเป็นปัจจัย หนึ่งที่ทำ�ให้การฝึกอบรมมีประสิทธิภาพ
105
(2) การพัฒนาผ่านการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) สายงานต่างๆ จะมีการรวบรวม และแลกเปลีย่ นองค์ความรู้ หรือประสบการณ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับการทำ�งานอย่างสมา่ํ เสมอ และจัดเก็บ เป็นองค์ความรู้เก็บไว้บนระบบสารสนเทศภายในของธนาคาร เพื่อ ให้ง่ายต่อการสืบค้นและนำ�ไปใช้งานต่อยอดอย่างกว้างขวางจนนำ� ไปสู่การปรับปรุงหรือคิดค้นสิ่งใหม่ๆ ในแต่ละสายงาน โดยธนาคาร ได้ส่งเสริมให้มีการจัดประกวดนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ ดังกล่าวในงาน KM Day ประจำ�ปี เพื่อนำ�ไปสู่การเป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้ที่ยั่งยืน (3) การวางแผนสืบทอดตำ�แหน่ง (Succession Plan) ธนาคารยังคงดำ�เนินงานตามแผนนโยบายทดแทน ตำ�แหน่งงานและกำ�หนดแผนสืบทอดตำ�แหน่ง (Succession Plan) ของกรรมการและผู้บริหารระดับสูงอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2556 ได้เพิม่ เติมการกำ�หนดตัวผูส้ บื ทอดตำ�แหน่งสำ�หรับตำ�แหน่งทีส่ �ำ คัญ อย่างยิ่งต่อการดำ�เนินธุรกิจธนาคาร (Critical Positions) เพื่อให้ มั่นใจว่าธนาคารมีบุคลากรภายในที่มีความรู้ความสามารถที่จะ รองรับการดำ�เนินธุรกิจของธนาคารได้อย่างต่อเนื่อง 3. การสื่อสารภายในองค์กร ธนาคารมี ร ะบบการสื่ อ สารกั บ พนั ก งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง สมํา่ เสมอ และรวดเร็ว ผ่านสือ่ ทันสมัยรูปแบบต่างๆ เช่น อินทราเน็ต (KK World) การส่งข้อความสั้นถึงพนักงาน (KK SMS) การประชุม ทางไกล (KK VDO Conference) ป้ายประกาศ ของที่ระลึกใน โอกาสต่างๆ เป็นต้น เพื่อให้พนักงานได้รับทราบข่าวสารครบถ้วน ทันเหตุการณ์ทั้งภายในและภายนอกองค์กร มีโอกาสแลกเปลี่ยน ความเห็นระหว่างกัน เป็นสื่อกลางในการสร้างความเข้าใจอันดี ระหว่างผู้บริหารและพนักงาน สร้างความร่วมมือในการทำ�งาน มีบรรยากาศทีด่ ีในการทำ�งาน และสือ่ สารภาพลักษณ์ทดี่ ขี ององค์กร เพื่อสนับสนุนให้ธนาคารบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจที่วางไว้
106
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
การควบคุมภายใน สรุปภาพรวมการควบคุมภายใน
เป็นสายงานทีส่ �ำ คัญทีส่ นับสนุนให้เกิดสภาพแวดล้อมของการกำ�กับ ดูแล การควบคุมภายใน และการบริหารความเสีย่ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และมีการจัดทำ�นโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์ อักษรในธุรกรรมด้านการเงิน การจัดซื้อ และการบริหารทั่วไปที่ รัดกุมและสามารถป้องกันการทุจริตได้ ธนาคารมีการจัดทำ�นโยบาย การควบคุมด้านการจัดการบุคลากรเกี่ยวกับการสรรหาและการจัด จ้างพนักงานที่เหมาะสม การปฐมนิเทศ การฝึกอบรม และการ พัฒนาพนักงาน กำ�หนดให้มีการควบคุมดูแลการปฏิบัติงานโดย หัวหน้างาน และมีกระบวนการตรวจทานและถ่วงดุล (Check and Balance) ที่เหมาะสมของแต่ละธุรกรรมของธนาคาร
การควบคุมภายใน
2. การกำ�หนดวัตถุประสงค์ (Objective Setting) ธนาคาร โดยแต่ ล ะสายงานมี การกำ � หนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ เชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ของธนาคาร และมีการ กำ�หนดตัววัดเป้าหมายความสำ�เร็จ (Balanced Scorecard and Key Performance Indicator) อย่างชัดเจน กล่าวคือ การกำ�หนด วัตถุประสงค์เป็นไปอย่าง SMART คือ Specific มีความชัดเจนและ กำ�หนดผลตอบแทนหรือผลลัพธ์ที่พนักงานธนาคารทุกคนเข้าใจได้ Measurable สามารถวัดผลการบรรลุวตั ถุประสงค์ได้ Achievable มี ความเป็นไปได้ทจี่ ะบรรลุวตั ถุประสงค์ของธนาคารภายใต้ทรัพยากร ที่มีอยู่ ในปัจจุบัน Relevant มีความสอดคล้องกับกลยุทธ์และ เป้าหมายการดำ�เนินของธนาคาร Timeliness กำ�หนดระยะเวลาที่ จะบรรลุวัตถุประสงค์ไว้อย่างชัดเจน ทั้งนี้ การกำ�หนดวัตถุประสงค์ ดังกล่าวเป็นไปเพือ่ ให้การดำ�เนินงานมีประสิทธิภาพ สอดคล้องและ เป็นไปในทางเดียวกับพันธกิจของธนาคารและระดับความเสีย่ งของ ธนาคารที่ยอมรับได้
ธนาคารได้ให้ความสำ�คัญในนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยกำ�หนดให้ผู้บริหาร และพนักงาน ถือปฏิบัติตามแนวทาง ดังนี้ • ส่งเสริม สนับสนุน และสร้างกระบวนการเข้าถึงการควบคุม ภายใน เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีในบทบาท หน้าที่ระหว่างผู้บริหารและพนักงาน ผ่านกิจกรรมการสื่อสารของ องค์กรภายใต้การสนับสนุนของผู้บริหารระดับสูง • ส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกหน่วยงานมีกระบวนการในการ กำ�กับดูแลตนเอง การควบคุมภายในตามแนวทางการบริหารความ เสี่ยงเชิงบูรณาการ (COSO ERM) ธนาคารมีนโยบายที่จะจัดให้มีกระบวนการการกำ�กับดูแล ตนเอง การควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผล โดยคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกำ�กับ การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง และผู้บริหารจะดำ�เนินการทบทวนความมีประสิทธิภาพ ของกระบวนการทัง้ 3 ด้านอย่างสมำ�เสมอ โดยกระบวนการดังกล่าว ครอบคลุมถึง การควบคุมทางการเงิน การดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแล การปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบของทางการ โดย ได้มีการประเมินระบบการควบคุมภายในต่างๆ ตามองค์ประกอบ ของการควบคุมภายในแต่ละด้าน ได้แก่ สภาพแวดล้อมภายใน การกำ�หนดวัตถุประสงค์ การระบุเหตุการณ์ การประเมินความเสีย่ ง การตอบสนองต่อความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและ การสื่อสาร และการติดตามประเมินผล โดยธนาคารได้จัดให้มีการ พัฒนากระบวนการทั้ง 3 ด้านอย่างต่อเนื่อง เพือ่ ให้เป็นไปตามแนวทางกรอบการกำ�กับดูแลทีด่ ี การควบคุม ภายใน ตามแนวทางการการบริหารความเสี่ยงขององค์กรเชิง บูรณาการ (COSO ERM) ทั้ง 8 ด้าน ซึ่งประกอบด้วย 1. สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) ธนาคารส่งเสริมให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนใน องค์กรตระหนักถึงความจำ�เป็นของระบบการควบคุมภายใน โดยมี คณะกรรมการคอยดูแลให้มกี ารกำ�หนดเป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจที่ ชัดเจนและวัดผลได้ เพือ่ เป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ านของพนักงาน มีการจัดโครงสร้างองค์กรที่ช่วยให้ฝ่ายบริหารสามารถดำ�เนินงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ธนาคารมีข้อกำ�หนดเกี่ยวกับจรรยาบรรณ ในการดำ�เนินธุรกิจ (Business Conduct) และข้อกำ�หนดห้าม ฝ่ายบริหารและพนักงานปฏิบัติตนในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์กับองค์กรเป็นลายลักษณ์อักษร รวมทั้งบท ลงโทษหากมีการฝ่าฝืน นอกจากนัน้ ธนาคารกำ�หนดให้มสี ายตรวจ สอบภายใน สายกำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ าน และสายบริหารความเสีย่ ง
3. การระบุเหตุการณ์ (Event Identification) ธนาคารมีการระบุเหตุการณ์ภายในและภายนอกทีม่ ผี ลกระทบ ต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ การดำ�เนินธุรกิจ ของธนาคาร โดยได้มี การจัดทำ�แบบทดสอบภาวะวิกฤต (Stress Test) ทีเ่ หมาะสม มีการ ประเมินสถานการณ์ในทางลบที่อาจจะเกิดขึ้น (Stress Scenario) ประเมินขนาดของความเสียหายหรือปัญหาที่จะเกิดขึ้นภายใต้ Stress Scenario ต่างๆ และมีการเตรียมความพร้อมในการรับมือ กับความเสียหายหรือปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น โดยธนาคารได้มีการ ทบทวนและปรับปรุงกระบวนการและสถานการณ์ที่ใช้ทดสอบเป็น ระยะๆ ภายใต้กรอบนโยบายการบริหารความเสีย่ งของธนาคารแห่ง ประเทศไทย โดยสายบริหารความเสี่ยงภายใต้การกำ�กับดูแลจาก คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 4. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ธนาคารมีนโยบายการบริหารความเสี่ยง มีกระบวนการใน
รายงานประจำ�ปี 2556
การประเมินความเสี่ยงอย่างสมํ่าเสมอ ต่อเนื่อง โดยพิจารณา ปัจจัยความเสี่ยงทั้งจากภายนอกและภายใน ซึ่งอาจมีผลกระทบ ต่อการดำ�เนินธุรกิจของธนาคารอย่างมีนัยสำ�คัญ พร้อมกำ�หนด มาตรการในการติ ด ตามเหตุ ก ารณ์ ที่ เ ป็ น สาเหตุ ข องปั จ จั ย ความเสี่ ย ง และมาตรการในการลดความเสี่ ย งเหล่ า นั้ น โดย สายบริหารความเสี่ยงภายใต้การกำ�กับดูแลจากคณะกรรมการ บริ ห ารความเสี่ ย ง และสื่อ สารให้สายงานที่เกี่ยวข้อ งรับทราบ และปฏิบัติตามมาตรการบริหารความเสี่ยงที่กำ�หนด และมีการ สอบทาน และติ ด ตามผลโดยสายตรวจสอบภายใน เพื่ อ ให้ มี การปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ เป็นไปตามแผนการบริหาร ความเสี่ยงที่กำ�หนดไว้ 5. การตอบสนองต่อความเสี่ยง (Risk Response) ธนาคารโดยสายบริหารความเสีย่ ง ร่วมกับสายงานทีเ่ กีย่ วข้อง กำ�หนดวิธีการตอบสนองต่อความเสี่ยงให้อยู่ ในระดับที่ธนาคาร ยอมรับได้ โดยมีการเลือกวิธีการจัดการการตอบสนองที่เหมาะสม กับระดับความน่าจะเกิดและผลกระทบ โดยการเปรียบเทียบกับ ต้นทุนและผลประโยชน์ที่ธนาคารได้รับ รวมถึงการติดตามผล และทบทวนมาตรการในการตอบสนองต่อความเสี่ยงต่างๆ อย่าง ต่อเนื่อง สมำ�เสมอ 6. กิจกรรมการควบคุมที่ดี (Control Activities) ธนาคารมีการกำ�หนดขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และวงเงินอำ�นาจ อนุมัติของฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการชุดต่างๆ ในแต่ละระดับ ไว้อย่างชัดเจนและเป็นลายลักษณ์อักษร มีการแบ่งแยกหน้าที่และ ความรับผิดชอบในการอนุมัติ การบันทึกรายการบัญชีและข้อมูล สารสนเทศ และการดูแลจัดการทรัพย์สินออกจากกันโดยเด็ดขาด เพื่อเป็นการตรวจสอบซึ่งกันและกัน ในกรณีที่ธนาคารมีการทำ� ธุรกรรมกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง กั บ บุ ค คลดั ง กล่ า ว ธนาคารกำ � หนดมาตรการเพื่ อ การติ ด ตาม ให้การทำ�ธุรกรรมนั้นต้องผ่านขั้นตอนการอนุมัติที่กำ�หนด และใน กรณีที่ธนาคารมีเงินลงทุนในบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วม ธนาคาร มีการติดตามดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วม อย่างสมํ่าเสมอ รวมทั้งมีการกำ�หนดทิศทางให้บุคคลที่ธนาคาร แต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น กรรมการหรื อ ผู้ บ ริ ห ารในบริ ษั ท ดั ง กล่ า วถื อ ปฏิบัติ โดยมีสายกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ติดตามให้การ ดำ�เนินงานของธนาคารเป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อลด ความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจและรักษาชื่อเสียงของธนาคาร ในกรณีที่มีความผิดพลาดเกิดขึ้น จะมีการตั้งคณะกรรมการหา ข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ ป ระกอบด้ ว ยหน่ ว ยงานกลางเพื่ อ หาข้ อ เท็ จ จริ ง และแนวทางการแก้ ไ ข ปรั บ ปรุ ง การปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ ป้ อ งกั น ความผิดพลาดดังกล่าว
107
7. ระบบสารสนเทศ และการสื่อสารข้อมูล (Information & Communication) ธนาคารจัดให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่สนับสนุนการ บริหารจัดการข้อมูล และการสื่อสารภายในที่ดี ชัดเจน ทั่วถึงทั้ง องค์กร ทันเหตุการณ์ เพื่อการตัดสินใจ โดยการจัดเก็บข้อมูล เป็ น หมวดหมู่ ครบถ้ ว นในรู ป แบบที่ เ ข้ า ใจง่ า ย ธนาคารมี คณะกรรมการพั ฒ นาระบบงานและเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ที่กำ�หนดเป้าหมายในการพัฒนาระบบงาน กระบวนการทำ�งาน และเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้สอดคล้องกับเป้าหมายและนโยบาย ของธนาคาร รวมถึงการพัฒนากระบวนการการเรียนรูผ้ า่ นระบบการ จัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) เพื่อให้พนักงาน ทุกคนสามารถเข้าถึงองค์ความรู้และนำ�ไปใช้เพิ่มประสิทธิภาพใน การปฏิบตั งิ านควบคูไ่ ปกับการพัฒนาพนักงาน ให้มคี วามเชีย่ วชาญ ในธุรกิจ ที่พร้อมจะให้ความรู้ คำ�แนะนำ�แก่ลูกค้า คู่ค้าและผู้ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดตามวิสัยทัศน์และพันธกิจที่ ธนาคารกำ�หนด 8. การติดตามประเมินผล (Monitoring) ธนาคารมีกระบวนการ ขั้นตอน และเครื่องมือที่สนับสนุน ให้ผบู้ ริหารและคณะกรรมการต่างๆ สามารถติดตามการปฏิบตั งิ าน การพัฒนาประสิทธิภาพ และการประเมินผล ตามเกณฑ์มาตรฐาน มีตัวชี้วัดที่ชัดเจน (Balanced Scorecard and Key Performance Indicator) เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความมั่ น ใจว่ า ผลการปฏิ บั ติ ง าน และ ประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในยังดำ�เนินการอยู่อย่าง ต่ อ เนื่ อ ง มี ก ารปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขให้ ส อดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ ที่ เปลี่ยนแปลงไป ข้อบกพร่องต่างๆ ได้รับการแก้ไขอย่างทันท่วงที ธนาคารกำ�หนดให้มีการรายงานผลการดำ�เนินงาน การปฏิบัติงาน เปรียบเทียบเป้าหมายแผนงานเป็นรายไตรมาส เป็นรายเดือน ตาม ลำ�ดับความสำ�คัญ และผลกระทบ รวมถึงความเสียหายที่เกิดขึ้น เพื่อประเมินผล และทบทวนกระบวนการ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน และประสิทธิภาพของเครือ่ งมือบริหารความเสีย่ งที่ใช้ โดยพิจารณา และสอบทานจากรายงานผลการดำ�เนินงาน รายงานการประชุม รายงานความเสียหาย รวมถึงเรื่องร้องเรียนที่มีการดำ�เนินการ และผลการประเมินตนเองตามแบบประเมินที่หน่วยงานใช้เป็น เครื่องมือในการกำ�กับดูแลตนเองที่มีการสุ่มตรวจสอบเป็นระยะ โดยสายกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ สายบริหารความเสี่ยง และสายตรวจสอบภายใน รวมทั้งการติดตามโดยผู้ตรวจสอบ บัญชีภายนอก และคณะกรรมการธนาคารมีการประเมินความ เพียงพอของระบบการควบคุมภายในเป็นประจำ�ทุกปี เพื่อให้เกิด ความเชื่อมั่นว่าธนาคารมีระบบการควบคุมภายในอย่างเหมาะสม สามารถบรรลุเป้าหมายของธนาคารได้อย่างแน่นอน
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
108
รายงานการกำ�กับดูแลของคณะกรรมการตรวจสอบ
รายละเอียดอยู่ใน “รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ”
สรุปความเห็นของคณะกรรมการธนาคารต่อการควบคุมภายใน
คณะกรรมการธนาคารมีความเห็นว่า ธนาคารและบริษทั ย่อยมี ระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ และเหมาะสม สามารถป้องกัน ทรัพย์สนิ ของธนาคารและบริษทั ย่อย อันเกิดจากการทีก่ รรมการหรือ ผูบ้ ริหารนำ�ไปใช้โดยมิชอบหรือโดยไม่มอี �ำ นาจได้ ในรอบปีทผี่ า่ นมา ธนาคารและบริษทั ย่อยมีขอ้ บกพร่องในระดับปฏิบตั กิ ารบางประการ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ซึ่งผู้บริหารได้ให้ความสำ�คัญใน การปรับปรุงแก้ไขอย่างจริงจัง ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ไม่มีความเห็นที่แตกต่างจากคณะกรรมการธนาคาร ผู้สอบบัญชี ไม่มีข้อสังเกตที่มีนัยสำ�คัญเกี่ยวกับการควบคุมภายในประการใด นอกจากนี้ การทำ�รายการระหว่างกันของธนาคารกับบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้งของผลประโยชน์ เป็นการทำ�รายการระหว่างกัน ตามปกติธรุ กิจทัว่ ไป ซึง่ ธนาคารได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบ งบการเงินแล้ว ธนาคารมีการจัดทำ�แบบประเมินการควบคุมภายใน และแบบ ประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการทุกปี หัวหน้างานตรวจสอบภายใน
ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ครั้งที่ 1/2555 เมื่อ วันที่ 11 มกราคม 2555 ได้เห็นชอบให้รับ นายณรงค์ ปรีดานันท์ ในตำ�แหน่งผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายตรวจสอบภายใน และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการธนาคารอนุมัติแล้ว ซึ่งนายณรงค์ ปรีดานันท์ มีประสบการณ์ดา้ นการตรวจสอบภายในจากสถาบันการ เงินชั้นนำ�มากว่า 20 ปี ได้รับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติงานด้านตรวจสอบภายในอย่างเพียงพอ และมีความ เข้าใจในกิจกรรมและการดำ�เนินงานของธนาคาร จึงเห็นว่ามีความ เหมาะสมที่จะปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวได้อย่างเหมาะสม ทั้งนี้ การ พิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ โดย คุณสมบัติของผู้ดำ�รงตำ�แหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายใน รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานตรวจสอบภายใน
ดร. ณรงค์ ปรีดานันท์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายตรวจสอบภายใน คุณวุฒิทางการศึกษา วุฒิบัตร หรือประกาศนียบัตรที่เกี่ยวข้อง • ปริญญาเอก สาขาบริหารธุรกิจ University of South Australia, Australia • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการจัดการ University of Leicester, UK
• ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต สาขาการเงินและการธนาคาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วุฒิบัตร หรือประกาศนียบัตร: • CFSA (Certified Financial Service Auditor, IIA) • CCSA (Certification in Control Self Assessment, IIA) • CRISC (Certified in Risk and Information System Control, ISACA) ประสบการณ์ทำ�งาน: 2555 - ปัจจุบนั ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายตรวจสอบ ภายใน ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) 2547 - 2554 ผู้อำ�นวยการอาวุโส สายตรวจสอบ ธนาคารทหารไทย จำ�กัด (มหาชน) 2544 - 2546 ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายตรวจสอบตลาดการเงิน ธนาคารดีบีเอส ไทยทนุ จำ�กัด (มหาชน) 2540 - 2543 ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายตรวจสอบ บริษทั หลักทรัพย์ เพือ่ ธุรกิจหลักทรัพย์ จำ�กัด 2535 - 2539 ผู้จัดการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบ บริษัทเงินทุน เอกธนกิจ จำ�กัด (มหาชน) 2534 - 2535 Management Internal Control, the Chase Manhattan Bank N.A. 2530 - 2533 เจ้าหน้าที่ตรวจสอบ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) ประวัติการอบรม: • New COSO Internal Control Framework, ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย • Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • กระบวนการรับรองของโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาค เอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • First 100 Companies : Collective Active Power in Anti-corruption, สมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ บริษัทไทย (IOD) • Strategic Internal Audit and Corporate Success, Omegaworldclass • Enterprise Risk Management, Omegaworldclass • Internal Audit Briefing : Where internal audit goes next, PricewaterhouseCoopers
รายงานประจำ�ปี 2556
• • • • •
เทคโนโลยี และมาตรฐานการตรวจสอบและป้องกันการ ทุจริต ครั้งที่ 2 ชมรมตรวจสอบและป้องกันการทุจริต ร่วมกับสมาคมธนาคารไทย Final FATCA Regulations Workshop, Deloitte TFRS & IFRS Excellence, Deloitte ผู้ ส อบบั ญ ชี ที่ มี คุ ณ ภาพช่ ว ยกรรมการตรวจสอบได้ อย่างไรและจะเลือกผู้สอบบัญชีอย่างไร ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย อื่นๆ เช่น Internal Audit Workshop (London), Derivatives (DBS Bank/ Singapore), New Financial Instruments: Accounting & Taxation (Euromoney/ Hong Kong), Fun damental of Financial Derivatives, Treasury System (Australia), Bond Debenture (Euromoney), Credit Training Programme, Asset Liability Management
หัวหน้างานกำ�กับดูแลการปฏิบัติงาน
ที่ประชุมคณะกรรมการธนาคาร ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันศุกร์ที่ 31 มกราคม 2557 มีมติอนุมัติการแต่งตั้ง นายอภิชาติ จงสงวน ประดับ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นหัวหน้าฝ่ายกำ�กับการ ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ สายกำ�กับดูแลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ให้มีผล วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2557 เป็นต้นไป และธนาคารแห่งประเทศไทย พิจารณาให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งดังกล่าว นายอภิชาติ จงสงวนประดับ มีประสบการณ์ดา้ นการกำ�กับดูแล การปฏิบัติงาน การกำ�หนดนโยบายในการกำ�กับดูแลในด้านธุรกิจ หลักทรัพย์ และงานตรวจสอบภายในของสถาบันการเงิน รวมระยะ เวลา 17 ปี รวมถึงได้รับอบรมที่เกี่ยวข้อง อาทิ หลักสูตรผู้กำ�กับ ดูแลการปฏิบัติงานด้านธุรกิจการธนาคารพาณิชย์ (Compliance Officer) จัดโดย ธนาคารแห่งประเทศไทย ร่วมกับคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสมาคมธนาคารไทย ความรู้เกี่ยวกับ การกำ�กับดูแลการปฏิบัติงาน (ASCO Compliance Training Program) จัดโดยสมาคมบริษัทหลักทรัพย์ไทย รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานกำ�กับดูแลการปฏิบัติงาน
นายอภิชาติ จงสงวนประดับ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ คุณวุฒิการศึกษา : • ปริญญาตรี (บัญชีบัณฑิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท Master of Business administration with Finance Concentration, Eastern Michigan University
109
ประสบการณ์ทำ�งาน : 2554 - 2557 หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) 2553 - 2554 เจ้าหน้าที่ดูแลการปฏิบัติงาน บริษัทหลักทรัพย์เครดิต สวิส (ประเทศไทย) จำ�กัด 2547 - 2553 หัวหน้าหน่วยงานดูแลการปฏิบัติงาน บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) 2546 - 2547 เจ้าหน้าที่ดูแลการปฏิบัติงาน Merrill Lynch International Bank Limited (Merchant Bank) (Singapore Branch) 2542 - 2546 เจ้าหน้าที่ดูแลการปฏิบัติงาน บริษัทหลักทรัพย์เมอรริล ลินช์ ภัทร จำ�กัด 2540 - 2542 เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) ประวัติการอบรม : • ความรูเ้ กีย่ วกับการกำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ าน จัดโดยสมาคม บริษัทหลักทรัพย์ ไทย (ASCO Compliance Training Program) • ผู้กำ�กับดูแลการปฏิบัติงานด้านธุรกิจการธนาคารพาณิชย์ (Compliance Officer) จัดโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ร่วมกับคณะนิตศิ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสมาคม ธนาคารไทย • Fraud Risk in Financial Institutions (Best practice) จัดโดยสมาคมสถาบันการศึกษาธนาคารและการเงินไทย • กฎกระทรวงการตรวจสอบเพือ่ ทราบข้อเท็จจริงเกีย่ วกับลูกค้า พ.ศ. 2556 จัดโดยสำ�นักงานป้องกันและปราบปรามการ ฟอกเงิน - FATCA Training Workshop จัดโดย บริษัท เคพีเอ็มจี (ประเทศไทย) จำ�กัด - FATCA Training จัดโดย ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) หน้าที่ความรับผิดชอบ : 1. วางแผนกลยุทธ์ของสายงาน (แผนธุรกิจ แผนงบประมาณ แผนอัตรากำ�ลัง) ให้สอดคล้องกับทิศทางและกลยุทธ์ขององค์กร 2. กำ�หนดเป้าหมายการดำ�เนินงาน และวัตถุประสงค์ของ สายงาน ตลอดจนตัวชี้วัดผลการดำ�เนินงานกับผู้บริหาร เพื่อให้ เหมาะสมกับทิศทางขององค์กร
110
3. จัดทำ�หลักเกณฑ์ ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน กำ�กับ ดูแล ติดตาม และทำ�การประเมินผลการการปฏิบตั งิ านของสายตาม วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดผลงานที่กำ�หนด 4. กำ�หนดและอนุมัตินโยบายด้านการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ 5. พั ฒ นาระบบกำ � กั บ การปฏิ บั ติ ต ามกฎเกณฑ์ โดยสรุ ป และปรั บ ปรุ ง ฐานข้ อ มู ล กฎหมายให้ เ ป็ น ปั จ จุ บั น และเผยแพร่ คำ�สั่ง ระเบียบงาน นโยบายและคู่มือปฏิบัติงาน รวมทั้งเผยแพร่ใน Knowledge Management 6. ให้คำ�แนะนำ� คำ�ปรึกษา ตลอดจนเตรียมการจัดอบรมด้าน นโยบาย การปฏิบัติ หรือความรู้อื่นๆ ที่เกี่ยวกับกฎหมาย ข้อบังคับ และหลักเกณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะในการออกผลิตภัณฑ์ หรือธุรกรรมทางการเงินใหม่กับกรรมการ ผู้บริหาร สายงาน และ พนักงาน 7. ประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของกระบวนการ ทำ�งาน และหาแนวทางในการปรับปรุงการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ร่วมกับสายงานอื่นๆ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
8. กำ�หนดแนวทางในการบริหารจัดการการเก็บหนังสือสัญญา ที่ธนาคารทำ�กับลูกค้าทั้งหมด อันได้แก่ สัญญาเช่าซื้อ สัญญา สินเชื่อ สัญญาเงินกู้อื่นๆ เป็นต้น 9. กำ�หนดแนวทางในการสอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ และกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่กำ�กับดูแลธุรกิจสถาบันการเงิน และประเมินผล และรายงานความเสี่ยงด้านการกำ�กับดูแลที่อาจ เกิดขึ้นกับกิจการ 10. กำ�หนดแนวทางในการสอบทานการปฏิบัติตามนโยบาย ธนาคาร คำ�สั่ง หรือระเบียบงาน ตามอำ�นาจอนุมัติ และคู่มือ ปฏิบัติงาน 11. กำ�หนดแนวทางในการปรับปรุงการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ร่วมกับสายงานอื่น 12. กำ�กับดูแล และติดตามการทำ�ธุรกรรมของสายงานต่างๆ และนำ�ส่งให้ปปง. รวมถึงวิเคราะห์ และสอบสวนธุรกรรมที่น่าสงสัย และเตรียมรายงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนพิจารณาหาแนวทางแก้ไข ปัญหาร่วมกัน
รายงานประจำ�ปี 2556
111
ปัจจัยอื่นที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจลงทุน ข้อพิพาททางกฎหมาย
ณ วั น ที่ 31 ธั นวาคม 2556 ธนาคารและบริ ษั ท ย่ อ ยมี คดี ข้ อ พิ พ าทที่ ยั ง ไม่ สิ้ น สุ ด ที่ เ ป็ น ผลจากการประกอบธุ ร กิ จ ปกติ จำ � นวน 56 คดี คิดเป็น ทุน ทรัพ ย์ร วม 9,239 ล้านบาท แบ่งออกเป็น • คดีขอ้ พิพาททีอ่ ยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลชัน้ ต้นจำ�นวน 25 คดี ทุนทรัพย์รวม 173 ล้านบาท • คดีข้อพิพาทที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลสูง (ศาล อุทธรณ์และศาลฎีกา) จำ�นวน 31 คดี ทุนทรัพย์รวม 9,066 ล้านบาท โดยในจำ�นวนนี้เป็นคดีข้อพิพาทที่กองทุนรวม ซึ่งธนาคารเป็นผู้ถือหน่วยลงทุนมากกว่าร้อยละ 99.9 เป็น คู่ความ จำ�นวน 10 คดี ทุนทรัพย์รวม 8,079 ล้านบาท ซึง่ ณ ปัจจุบนั ศาลชัน้ ต้นได้พพิ ากษายกฟ้องแล้ว แต่ยงั อยู่ ระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา ทั้งนี้ ฝ่ายบริหารของธนาคารมีความเห็นว่า การถูกฟ้องคดี ข้อพิพาทตามที่กล่าวมาทั้งหมด หากพิจารณามูลค่าของข้อพิพาท ทางกฎหมาย ณ สถานะปัจจุบัน ไม่ปรากฏว่ามีผลกระทบอย่างมี นัยสำ�คัญกับการดำ�เนินงานของธนาคาร สำ�หรับข้อพิพาทกรณีที่กรมบังคับคดีเรียกให้ธนาคารชำ�ระ ค่าเสียหายเนือ่ งจากการผิดสัญญาขายทอดตลาดเป็นจำ�นวนเท่ากับ ส่วนต่างของราคาขายทรัพย์หลักประกันในการขายทอดตลาด ทรัพย์หลักประกันในคดีล้มละลายครั้งแรกกับราคาขายทรัพย์หลัก ประกันดังกล่าวในการขายทอดตลาดครั้งที่ธนาคารเป็นผู้ประมูลได้ จำ�นวน 575 ล้านบาทนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารได้ มีการบันทึกรายการเจ้าหนี้กรมบังคับคดี จำ�นวน 575 ล้านบาทไว้ ในงบการเงินแล้ว พร้อมกันนี้ธนาคารได้บันทึกส่วนแบ่งที่จะได้รับ จากการชำ�ระหนี้เข้ากองทรัพย์สินหลักประกันของลูกหนี้ในกรณี ดังกล่าว โดยการโอนกลับขาดทุนจากการด้อยค่าเงินลงทุนในสิทธิ เรียกร้องจำ�นวน 278 ล้านบาท และได้สำ�รองความเสียหายไว้ในงบ การเงินของธนาคารสำ�หรับงวดปี 2554 เรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ สถานะข้อพิพาทดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 อยู่ระหว่างการดำ�เนินการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตามมติ ของที่ประชุมคณะกรรมการเจ้าหนี้ ซึ่งลงมติเห็นชอบให้ธนาคาร ลงนามในหนังสือรับสภาพหนี้หรือหนังสือรับสภาพความรับผิดกับ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ พร้อมทั้งนำ�พันธบัตรรัฐบาล จำ�นวน 575,380,000 บาท ไปวางต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เพื่อให้ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์งดการฟ้องร้องดำ�เนินคดีเพื่อเรียกเงิน ส่วนต่าง หลังจากนั้นเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะได้วินิจฉัยว่า เงินส่วนต่างดังกล่าวจะตกแก่ธนาคารในฐานะเจ้าหนี้บุริมสิทธิผู้รับ จำ�นอง หรือต้องนำ�เงินจำ�นวนดังกล่าวเข้ากองทรัพย์สินของลูกหนี้ ผูล้ ม้ ละลาย เพือ่ แบ่งแก่เจ้าหนีท้ ศี่ าลได้อนุญาตให้ได้รบั ชำ�ระหนีต้ าม สัดส่วนต่อไป ซึ่งฝ่ายบริหารของธนาคารมีความเห็นว่า มูลค่าของ
ข้อพิพาททางกฎหมายไม่ปรากฏว่ามีผลกระทบอย่างมีนยั สำ�คัญต่อ การดำ�เนินงานของธนาคาร คดีข้อพิพาทของบริษัทย่อยที่เกิดขึ้นในปี 2554 ได้แก่ คดี ข้อพิพาทที่ บล.เคเคเทรด เป็นคู่ความถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย ร่วมกับจำ�เลยรายอื่นๆ ในคดีทุจริตเป็นจำ�นวนเงิน 223 ล้านบาท ที่ศาลชั้นต้นได้มีคำ�พิพากษายกฟ้อง บล.เคเคเทรด แล้วเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 และสถานะของคดีพิพาทในปัจจุบัน คดีอยู่ ระหว่างการพิจารณาคดีของศาลอุทธรณ์ ซึง่ ฝ่ายบริหารของธนาคาร มีความเห็นว่า มูลค่าของข้อพิพาททางกฎหมาย ณ สถานะปัจจุบนั ไม่ปรากฏว่ามีผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อการดำ�เนินงานของ ธนาคารและบริษัทย่อย ณ สิ้นปี 2556 บริษัทย่อยไม่มีคดีข้อพิทาทใดๆ เพิ่มเติม รายการระหว่างกัน
ในปี 2555 และปี 2556 ธนาคารมีการทำ�รายการระหว่างกันกับ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับธนาคาร ซึ่งเป็นรายการที่สนับสนุนการดำ�เนิน ธุรกิจปกติของธนาคาร และมีการกำ�หนดขั้นตอนการดำ�เนินการที่ เกี่ยวข้องของการทำ�รายการ ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่สำ�นักงานคณะ กรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ก�ำ หนด โดยรายการ ระหว่างกันดังกล่าว ไม่กอ่ ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และ ได้เปิดเผยอยู่ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 6.34 มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกัน ธนาคารให้ความสำ�คัญต่อการป้องกันความขัดแย้งทางผล ประโยชน์ การพิจารณาเข้าทำ�รายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ธนาคารจะพิจารณาเสมือนเป็น รายการทีก่ ระทำ�กับบุคคลภายนอก รวมทัง้ กำ�หนดให้กรรมการและ ผูบ้ ริหารทีม่ สี ว่ นได้เสียเป็นพิเศษในรายการใด จะไม่มสี ทิ ธิออกเสียง ลงคะแนนในการอนุมัติรายการดังกล่าว ทั้งนี้ ธนาคารจะเปิดเผย ข้อมูลเพื่อความโปร่งใสตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี รายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ในปี 2554 - ปี 2556 ธนาคารมีรายการระหว่างกัน ดังนี้ • รายการสินเชื่อ เงินรับฝาก และภาระผูกพัน เงินให้สินเชื่อ เงินรับฝาก และจำ�นวนเงินการก่อภาระ ผูกพันแก่กรรมการ ผู้บริหารสำ�คัญของธนาคาร บุคคลที่เกี่ยวข้อง กัน และกิจการที่กรรมการ ผู้บริหารสำ�คัญของธนาคาร และบุคคล ที่เกี่ยวข้องกันถือหุ้นรวมกันตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไปของทุนที่ชำ�ระ แล้วของกิจการ • รายการบัญชีที่มีสาระสำ�คัญ รายการบัญชีเพิ่มเติมระหว่างธนาคารกับบริษัทย่อยและ บริษัทร่วม ซึ่งธนาคารใช้ราคาตลาดในการคิดราคาระหว่างกัน
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
112
มูลค่ารายการ (ล้านบาท) ความจำ�เป็นและ ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 สมเหตุสมผลของรายการ 1. บริษัท โชติธนวัฒน์ จำ�กัด กิจการที่ผู้บริหารและ ธนาคารเช่าพืน้ ทีจ่ าก 8.9 8.9 9.7 ธนาคารจ่ายค่าเช่าและ บุคคลที่เกี่ยวข้องถือหุ้น/ บริษทั โชติธนวัฒน์ จำ�กัด ค่าบริการสำ�หรับพื้นที่ มีอำ�นาจควบคุมหรือ เพือ่ ใช้เป็นสถานทีจ่ ดั เก็บ ที่ใช้เป็นสถานที่จอด สามารถใช้อิทธิพลอย่าง รถยึดและใช้เป็นสถานที่ และประมูลรถยึดของ เป็นสาระสำ�คัญ โดยถือ ประมูลรถยึด ธนาคารที่มีความต่อ หุ้นในบริษัท โชติธนวัฒน์ เนื่องมาตั้งแต่ปี 2547 จำ�กัดร้อยละ 99.96 โดยอัตราค่าเช่าและ ค่าบริการมี เงื่อนไขที่ เทียบเคียงได้กับราคา ตลาด 2. กรรมการ/ผู้บริหาร/บุคคล กรรมการ ผู้บริหาร ของ • ดอกเบี้ยจ่าย 9.1 8.1 14.2 ธนาคารให้บริการสินเชื่อ ที่เกี่ยวข้อง ธนาคาร และบุคคลที่ • เงินรับฝาก 267.4 422.9 476.5 และการรับฝากเงิน เกี่ยวข้อง • เงินกูย้ มื 42.8 28.1 14.3 ตามอัตราดอกเบี้ยปกติ • เงินให้สินเชื่อ 94.3 134.3 ในอัตราเดียวกับลูกค้า ทั่วไป 3. กรรมการ/ผู้บริหาร กรรมการ ผู้บริหาร ของ รายได้ค่านายหน้า 1.2 1.9 19.5 บล.เคเคเทรดให้บริการ ธนาคาร ซื้อขายหลักทรัพย์ นายหน้าซื้อขาย หลักทรัพย์ โดยคิด ค่านายหน้าในอัตรา เดียวกับลูกค้าทั่วไป ชื่อบริษัท
ความสัมพันธ์
ลักษณะรายการ
หมายเหตุ : รายละเอียดเพิ่มเติมรายการระหว่างกันของธนาคารและบริษัทย่อย พิจารณาได้จากหมายเหตุประกอบงบการเงิน เรื่องรายการกับบุคคลและกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน หมายเหตุที่ 7.32 ของงบการเงินประจำ�ปี 2554 หมายเหตุที่ 7.34 ของงบการเงินสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ หมายเหตุที่ 6.34 ของงบการเงินสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556
โดยเป็นเงื่อนไขปกติของการทำ�ธุรกิจ หรือเป็นไปตามสัญญาที่ ตกลงกันไว้ นโยบายหรือแนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต ธนาคารและบริษัทย่อยไม่มีนโยบายสนับสนุนการทำ�รายการ ระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ แต่หาก มีรายการระหว่างกันเกิดขึน้ ก็จะเป็นรายการธุรกิจปกติของธนาคาร ซึง่ เป็นรายการทีม่ รี าคาหรือเงือ่ นไขไม่แตกต่างจากทีธ่ นาคารทำ�กับ
บุคคลภายนอก โดยธนาคารและบริษทั ย่อยมีการตรวจสอบรายการ ระหว่างกันเป็นประจำ�ทุกไตรมาสและจะรายงานต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบทุกครั้งที่มีรายการที่ไม่ปกติ เหตุผลที่บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งถือหุ้นในบริษัทย่อย บริษัทร่วม เกินกว่าร้อยละ 10 แทนการถือ หุ้นของบริษัทโดยตรง ธนาคารไม่มีนโยบายให้บุคคลซึ่งมีความขัดแย้งถือหุ้นใน บริษัทย่อยแทนธนาคาร
รายงานประจำ�ปี 2556
113
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของธนาคาร และงบการเงินรวมของธนาคารและ บริษัทย่อย รวมถึงสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำ�ปี งบการเงินดังกล่าวจัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ ถือปฏิบัติอยู่ในประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่่ำ�เสมอ ใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง และประมาณ การที่ดีที่สุดในการจัดทำ� รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และปฏิบัติตามข้อกำ�หนดของ ประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย งบการเงินดังกล่าวได้ผา่ นการตรวจสอบและให้ความเห็นอย่างไม่มเี งือ่ นไขจากผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตทีเ่ ป็นอิสระ จึงสะท้อนฐานะการเงินและ ผลการดำ�เนินงานในรอบปีที่ผ่านมาที่เป็นจริง โปร่งใส่ และเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้น และนักลงทุนทั่วไป คณะกรรมการได้จัดให้มีและดำ�รงไว้ซึ่งระบบบริหารความเสี่ยง ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการกำ�กับดูแลที่ เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าข้อมูลทางการเงินมีความถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอทีจ่ ะดำ�รงรักษาไว้ซงึ่ ทรัพย์สนิ ของธนาคาร ตลอดจนป้องกันมิให้เกิดความเสี่ยงจากการดำ�เนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสำ�คัญ ทัง้ นี้ คณะกรรมการธนาคารได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ เป็นผูด้ แู ลคุณภาพของรายงานทางการเงิน ระบบควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ และเหมาะสม โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกีย่ วกับเรือ่ งนีป้ รากฏในรายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำ�ปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) แล้ว คณะกรรมการมีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในโดยรวมของธนาคาร มีความเพียงพอ เหมาะสม และสามารถให้ความเชื่อมั่น อย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ของงบการเงินของธนาคาร และงบการเงินรวมของธนาคารและบริษัทย่อย สำ�หรับปีบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556
นายสุพล วัธนเวคิน
ประธานกรรมการ
นายบรรยง พงษ์พานิช
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
114
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอผู้ถือหุ้นและคณะกรรมการ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และงบการเงินเฉพาะธนาคารของธนาคาร เกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงินรวมและเฉพาะธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และงบกำ�ไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวมและเฉพาะธนาคาร งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของเจ้าของรวมและเฉพาะธนาคาร และงบกระแสเงินสดรวมและเฉพาะธนาคาร สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สำ�คัญและหมายเหตุเรื่องอื่นๆ ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่องบการเงิน
ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำ�และการนำ�เสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจำ�เป็นเพื่อให้สามารถจัดทำ�งบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี
ข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึง่ กำ�หนดให้ขา้ พเจ้าปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบตั งิ านตรวจสอบเพือ่ ให้ได้ ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจำ�นวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบ การเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญของงบการเงินไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการประเมินความเสีย่ งดังกล่าว ผูส้ อบบัญชีพจิ ารณา การควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำ�และการนำ�เสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่ เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพือ่ วัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวม ถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่จัดทำ�ขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการนำ�เสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเห็น
ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคารข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงินของธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และผลการดำ�เนินงานและกระแสเงินสดสำ�หรับ ปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
กรุงเทพมหานคร วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2557
ชวาลา เทียนประเสริฐกิจ
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 4301 บริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จำ�กัด
รายงานประจำ�ปี 2556
115
ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
หมายเหตุ
งบการเงินรวม ณ วันที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2556 2555
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร ณ วันที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2556 2555
สินทรัพย์ เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทย่อยสุทธิ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์สุทธิ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับสุทธิ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ หัก รายได้รอตัดบัญชี หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หัก ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับสุทธิ ทรัพย์สินรอการขายสุทธิ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นสุทธิ ค่าความนิยม สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชี สินทรัพย์อื่นสุทธิ รวมสินทรัพย์
6.2 6.3 6.4 6.5 6.6
1,230,769 9,728,606 373,561 26,970,711 3,884,705 57,300
1,392,284 7,525,276 87,585 37,623,838 4,726,345 77,746
1,229,487 6,255,659 291,297 18,095,077 13,968,910 1,179,317 -
1,391,033 6,204,511 81,948 27,472,291 14,737,870 1,642,641 -
213,404,498 614,483 1,250,012 215,268,993 (23,215,481) (7,251,648) (23,415) 184,778,449 4,102,669 1,223,427 425,028 3,085,607 720,745 10,207,069 460,995 1,859,483 249,109,124
190,260,441 606,437 1,010,596 191,877,474 (21,872,843) (6,143,902) (27,789) 163,832,940 4,979,625 1,369,832 325,486 3,085,290 618,666 4,818,085 756,716 1,792,966 233,012,680
215,204,498 1,254,563 216,459,061 (23,215,481) (7,245,249) (23,415) 185,974,916 4,155,546 734,211 363,811 712,351 1,334,651 234,295,233
191,110,441 1,008,073 192,118,514 (21,872,843) (6,137,503) (27,789) 164,080,379 5,203,186 885,803 279,862 594,291 1,357,664 223,931,479
6.7
6.9 6.11 6.12 6.13 6.14 6.14 6.15 6.16
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
116
ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หนี้สินตราสารอนุพันธ์ ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม ประมาณการหนี้สิน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เจ้าหนี้สำ�นักหักบัญชี เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ดอกเบี้ยค้างจ่าย เจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้กรมบังคับคดี ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่าย หนี้สินอื่น รวมหนี้สิน ส่วนของเจ้าของ ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 852,337,268 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท (31 ธันวาคม 2555 : 852,337,268 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว หุ้นสามัญ 838,833,109 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท (31 ธันวาคม 2555 : 832,831,859 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ้น องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนสำ�รองตามกฎหมาย อื่นๆ ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม รวมส่วนของเจ้าของ รวมหนี้สินและส่วนของเจ้าของ
หมายเหตุ 6.17 6.18 6.3 6.19 6.20 6.21
6.22 6.23 6.24
งบการเงินรวม ณ วันที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2556 2555
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร ณ วันที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2556 2555
145,996,498 6,656,021 414,296 634,115 42,569,029 374,709 126,893 1,050,733 8,886,919 1,059,165 1,910,219 575,380 526,922 3,183,804 213,964,703
153,027,238 5,468,407 374,595 7,931 29,123,336 327,599 163,329 149,364 4,757,450 834,779 1,962,853 575,380 376,285 2,666,576 199,815,122
146,124,737 6,745,691 414,296 252,598 40,836,370 240,343 1,069,217 1,821,473 575,380 386,167 2,487,844 200,954,116
153,531,709 5,612,752 374,595 27,458,975 214,194 855,507 1,738,562 575,380 279,815 2,238,304 192,879,793
8,523,373
8,523,373
8,523,373
8,523,373
8,388,331 9,203,653 580,178
8,328,319 9,088,009 1,121,989
8,388,331 9,203,653 184,411
8,328,319 9,088,009 295,871
852,337 380 15,919,050 34,943,929 200,492 35,144,421 249,109,124
782,332 380 13,577,141 32,898,170 299,388 33,197,558 233,012,680
852,337 380 14,712,005 33,341,117 33,341,117 234,295,233
782,332 380 12,556,775 31,051,686 31,051,686 223,931,479
6.25
6.29 6.27
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
(นายบรรยง พงษ์พานิช)
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
(นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์)
กรรมการผู้จัดการใหญ่
รายงานประจำ�ปี 2556
117
ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556
รายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิจากธุรกรรมเพื่อค้า และปริวรรตเงินตราต่างประเทศ กำ�ไรสุทธิจากเงินลงทุน กำ�ไร (ขาดทุน) จากการขายทรัพย์สินรอการขาย รายได้จากเงินปันผล รายได้จากการดำ�เนินงานอื่นๆ รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน ค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่นๆ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคารสถานที่และอุปกรณ์ ค่าภาษีอากร ขาดทุนจากการปรับมูลค่าทรัพย์สินรอการขาย (โอนกลับ) อื่นๆ รวมค่าใช้จ่ายจากการดำ�เนินงานอื่นๆ หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า กำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำ�ไรสุทธิ
หมายเหตุ 6.38 6.39
6.40 6.41 6.42 6.43
6.44 6.45 6.46
หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม 2556 2555 15,808,672 14,451,703 7,461,695 7,338,953 8,346,977 7,112,750 4,838,173 2,572,765 480,966 292,147 4,357,207 2,280,618
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 15,197,930 13,596,824 7,404,153 7,412,225 7,793,777 6,184,599 1,750,306 1,551,126 162,768 150,271 1,587,538 1,400,855
442,681 636,768 (54,709) 205,659 275,973 14,210,556
225,865 443,304 1,223,813 22,567 208,714 11,517,631
(48,945) 324,416 (634,188) 2,299,707 246,491 11,568,796
15,223 219,550 447,983 632,351 184,967 9,085,528
4,030,520 18,333 1,125,825 347,337 (299,224) 1,356,692 6,579,483 2,240,155 5,390,918 951,043 4,439,875
3,034,642 18,967 1,026,197 288,136 85,987 1,475,500 5,929,429 1,554,971 4,033,231 605,446 3,427,785
2,536,991 17,833 887,539 337,856 (285,264) 1,114,068 4,609,023 2,243,142 4,716,631 493,807 4,222,824
2,317,426 14,964 886,473 284,758 86,345 1,344,570 4,934,536 1,566,616 2,584,376 444,951 2,139,425
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
118
ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556
กำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น กำ�ไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง กำ�ไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของกำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น
หมายเหตุ 6.47
กำ�ไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสำ�หรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของกำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น รวมกำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสุทธิ กำ�ไรเบ็ดเสร็จรวม การแบ่งปันกำ�ไรสุทธิ ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม การแบ่งปันกำ�ไรเบ็ดเสร็จรวม ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม กำ�ไรต่อหุ้นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท) กำ�ไรต่อหุ้นปรับลด (บาท)
6.32 6.32
หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม 2556 2555
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555
14,240 (687,362) 137,138 (535,984)
(67,273) 81,446 (40,733) (26,560)
(19,149) (120,181) 27,870 (111,460)
(2,298) 73,644 (14,273) 57,073
(2,057) 411 (1,646) (537,630) 3,902,245
15,814 (3,163) 12,651 (13,909) 3,413,876
8,802 (1,760) 7,042 (104,418) 4,118,406
57,073 2,196,498
4,418,191 21,684
3,391,287 36,498
4,222,824 -
2,139,425 -
3,878,818 23,427
3,375,257 38,619
4,118,406 -
2,196,498 -
5.29 5.25
4.88 4.85
5.05 5.02
3.08 3.06
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
(นายบรรยง พงษ์พานิช)
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
(นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์)
กรรมการผู้จัดการใหญ่
6.28 6.27 6.25 6.29
6.28 6.27 6.25 6.29
หมายเหตุ
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 เงินปันผลจ่าย สำ�รองตามกฎหมายเพิ่มขึ้น เพิ่มทุนหุ้นสามัญ กำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม ส่วนเกินทุนจากการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมลดลง ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 เงินปันผลจ่าย สำ�รองตามกฎหมายเพิ่มขึ้น เพิ่มทุนหุ้นสามัญ กำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม ส่วนเกินทุนจากการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมลดลง ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
8,328,319 60,012 8,388,331
6,343,289 1,985,030 8,328,319
ทุนที่ออกและ ชำ�ระแล้ว
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556
9,088,009 115,644 9,203,653
989,561
12,356 1,001,917
-
231,078 (661,661) (430,583)
-
-
12,941
111,578
(98,637)
-
-
(4,097)
(4,084)
(13)
-
-
852,337
70,005
782,332 -
380
380
งบการเงินรวม ส่วนของบริษัทใหญ่ องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ กำ�ไรสะสมจัดสรรแล้ว ส่วนเกิน(ตํ่า) ส่วนเกิน (ตํ่า) กว่า ภาษีเงินได้รอการ ส่วนเกินทุนจาก กว่าทุน ทุนจากการตีมูลค่า ตัดบัญชี การรวมธุรกิจภาย ส่วนเกิน จากการตีมูลค่า ยุติธรรมของเงิน เกี่ยวกับองค์ ใต้การควบคุม ทุนสำ�รองตาม มูลค่าหุ้น อื่นๆ ยุติธรรมของเงิน ลงทุนในหลักทรัพย์ ประกอบของ เดียวกัน กฎหมาย ลงทุนในสิทธิ เผื่อขาย กำ�ไร (ขาดทุน) เรียกร้อง เบ็ดเสร็จอื่น 3,715,267 1,058,873 151,510 (59,700) 722,846 380 59,486 5,372,742 (69,312) 79,568 (38,937) (13) 9,088,009 989,561 231,078 (98,637) (13) 782,332 380
ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
119
13,577,141 (2,004,631) (70,005) 4,416,545 15,919,050
11,952,624 (1,719,935) (59,486) 3,403,938 13,577,141
กำ�ไรสะสม ยังไม่ได้ จัดสรร
32,898,170 (2,004,631) 175,656 3,878,818 (4,084) 34,943,929
23,885,089 (1,719,935) 7,357,772 3,375,257 (13) 32,898,170
รวมส่วน ของ บริษัทใหญ่ 379,135
299,388
23,427 (122,323) 200,492
-
38,619 (118,366) 299,388
-
ส่วนได้เสียที่ ไม่มีอำ�นาจ ควบคุม
33,197,558 (2,004,631) 175,656 3,902,245 (4,084) (122,323) 35,144,421
24,264,224 (1,719,935) 7,357,772 3,413,876 (13) (118,366) 33,197,558
รวม
หน่วย : พันบาท
รายงานประจำ�ปี 2556
6.28 6.27 6.25 6.29
ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 เงินปันผลจ่าย สำ�รองตามกฎหมายเพิ่มขึ้น เพิ่มทุนหุ้นสามัญ กำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
(นายบรรยง พงษ์พานิช)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
6.28 6.27 6.25 6.29
หมายเหตุ
ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 เงินปันผลจ่าย สำ�รองตามกฎหมายเพิ่มขึ้น เพิ่มทุนหุ้นสามัญ กำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
-
-
-
-
8,388,331
60,012
8,328,319
8,328,319
1,985,030
6,343,289
ทุนที่ออกและ ชำ�ระแล้ว
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ (ต่อ) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556
-
-
9,203,653
115,644
9,088,009 (19,149) 131,278
150,427 (120,181) 99,235
219,416 -
27,870 (46,102)
(73,972)
งบการเงินเฉพาะธนาคาร ส่วนเกิน องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ มูลค่าหุ้น ส่วนเกิน(ตํ่า)กว่าทุนจาก ส่วนเกิน(ตํ่า)กว่าทุนจาก ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี การตีมูลค่ายุติธรรม การตีมูลค่ายุติธรรม เกี่ยวกับองค์ประกอบของ ของเงินลงทุนใน ของเงินลงทุนในหลัก กำ�ไร (ขาดทุน) สิทธิเรียกร้อง ทรัพย์เผื่อขาย เบ็ดเสร็จอื่น 3,715,267 152,725 145,772 (59,699) 5,372,742 (2,298) 73,644 (14,273) 9,088,009 150,427 219,416 (73,972)
ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
120
-
-
-
-
852,337
70,005
782,332
782,332
59,486
722,846
4,229,866 14,712,005
12,556,775 (2,004,631) (70,005)
12,196,771 (1,719,935) (59,486) 2,139,425 12,556,775
กรรมการผู้จัดการใหญ่
380
380
380
380
กำ�ไรสะสม ยังไม่ได้ จัดสรร
(นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์)
-
-
กำ�ไรสะสมจัดสรรแล้ว ทุนสำ�รองตาม อื่นๆ กฎหมาย
-
-
175,656 4,118,406 33,341,117
31,051,686 (2,004,631)
7,357,772 2,196,498 31,051,686
23,217,351 (1,719,935)
รวม
หน่วย : พันบาท
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
รายงานประจำ�ปี 2556
121
ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 หน่วย : พันบาท กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับกระทบกำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนภาษีเงินได้ เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำ�เนินงาน ค่าเสื่อมราคา รายจ่ายตัดบัญชี ส่วนลดตัดจำ�หน่ายของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้ (กำ�ไร) ขาดทุนจากการด้อยค่าเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง กำ�ไรจากการโอนเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องไปเป็นเงินให้กู้ยืม ขาดทุนที่ยังไม่เกิดจากการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ ขาดทุนจากการลดราคาเงินลงทุนในหลักทรัพย์ (โอนกลับ) ขาดทุนจากการลดราคาทรัพย์สินรอการขาย (โอนกลับ) ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์อื่น (โอนกลับ) (กำ�ไร) ขาดทุนจากการจำ�หน่ายเงินลงทุนในหลักทรัพย์ ขาดทุนจากการจำ�หน่ายลูกหนี้เงินให้สินเชื่อ กำ�ไรจากการจำ�หน่ายอุปกรณ์ ขาดทุนจากการตัดจำ�หน่ายอุปกรณ์ รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้เงินปันผล เงินสดรับดอกเบี้ย เงินสดจ่ายดอกเบี้ย เงินปันผลรับจากหุ้น เงินสดจ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายประมาณการหนี้สินเพิ่มขึ้น ภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่ายเพิ่มขึ้น (ลดลง) ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายลดลง กำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน สินทรัพย์ดำ�เนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้าและเผื่อขาย เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ เงินให้สินเชื่อและลูกหนี้ ทรัพย์สินรอการขาย ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชี สินทรัพย์อื่น
งบการเงินรวม 2556 2555
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555
5,390,918
4,033,231
4,716,631
2,584,376
370,358 105,404 (33,118) 2,485,717 3,003 47,998 (35,654) 6,672 516,646 (299,224) (10,720) (553,346) (24,436) 721 (8,346,977) (205,659) 15,581,083 (7,237,211) 204,479 (617,808) 23,862 2,404 360,669 7,735,781
350,361 110,628 (391,998) 1,754,727 1,724 (919) (6,284) 291,218 (26,336) 85,987 3,108 (323,867) 57,672 (7,199) 13,788 (7,112,750) (22,567) 14,183,297 (7,380,216) 39,896 (256,011) 16,632 (1,685) 601,390 6,013,827
280,841 83,538 (33,118) 2,485,717 3,003 50,985 (35,654) 6,672 (128,266) (285,264) 1,909 (61,685) (23,749) 630 (7,793,777) (2,299,707) 14,812,294 (7,190,345) 1,346 (491,858) 13,876 1,379 200,580 4,315,978
308,795 97,423 (393,695) 1,755,566 1,724 9,887 (6,284) 291,218 (156,541) 86,345 3,336 69,001 57,672 (5,000) 12,595 (6,184,599) (632,351) 13,324,460 (7,449,635) 19,288 (183,932) 26,956 (1,467) 343,880 3,979,018
(3,653,123) (267,681) 8,270,397 505,906 33,075 (26,999,543) 5,320,349 (5,388,984) 295,721 (273,085)
9,504,043 (997) (6,501,311) 462,983 (36,085,413) 3,584,394 (150,681) (446,779) (340,147)
(55,176) (191,055) 7,574,857 91,215 (27,615,668) 5,430,373 156,269
9,374,624 (532,702) 50,734 (36,639,606) 3,198,141 (295,089)
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
122
ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน (ต่อ) หนี้สินดำ�เนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หนี้สินตราสารอนุพันธ์ เงินกู้ยืมระยะสั้น เจ้าหนี้สำ�นักหักบัญชี เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เจ้าหนี้อื่น หนี้สินอื่น เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจ่ายเพื่อซื้อเงินลงทุนในหลักทรัพย์ระยะยาว เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในหลักทรัพย์ระยะยาว เงินสดจ่ายจากการเพิ่มทุนบริษัทย่อย เงินสดรับจากการขายบริษัทย่อย เงินสดรับจากการลดทุนของบริษัทย่อย เงินสดรับจากการรวมกิจการ เงินสดจ่ายให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเพื่อซื้อหุ้นเพิ่ม เงินปันผลรับจากบริษัทย่อย เงินสดจ่ายส่วนปรับปรุงอาคารและอุปกรณ์ เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์ เงินสดจ่ายเพื่อซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากการเพิ่มทุน เงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ เงินสดจ่ายเพื่อการไถ่ถอนหุ้นกู้ เงินปันผลจ่าย เงินปันผลจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย เงินลดทุนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อย เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวม 2556 2555
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555
(7,030,740) 1,187,614 39,701 576,179 (5,299,060) 901,369 4,129,469 (49,966) 177,633 (19,788,988)
83,987,657 248,025 142,756 (474) (56,181,846) (416,414) 857,891 406,407 112,436 5,196,357
(7,406,972) 1,132,939 39,701 202,594 (5,499,060) 85,826 (13,599) (21,751,778)
84,000,825 363,880 142,756 (56,711,846) 372,420 87,268 7,390,423
(5,228,847) 7,010,899 (228,644) 25,673 (191,834) 1,387,247
(602,940) 515,251 1,095,254 (63,038) (406,954) 7,547 (113,899) 431,221
(4,247,000) 5,994,003 715,531 47,976 (3,017) 2,298,361 (132,795) 23,749 (154,056) 4,542,752
(484,155) 155 (8,900) 156,638 823,126 (63,038) 616,428 (348,889) 5,220 (105,360) 591,225
175,656 34,841,475 (16,096,722) (2,004,631) (93,619) (27,698) 16,794,461
190,936 18,225,688 (20,296,700) (1,719,935) (3,884) (84,107) (3,688,002)
175,656 25,690,455 (6,814,000) (2,004,631) 17,047,480
190,936 21,594,700 (27,036,700) (1,719,935) (6,970,999)
(1,607,280) 2,838,049 1,230,769
1,939,576 898,473 2,838,049
(161,546) 1,391,033 1,229,487
1,010,649 380,384 1,391,033
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
(นายบรรยง พงษ์พานิช)
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
(นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์)
กรรมการผู้จัดการใหญ่
รายงานประจำ�ปี 2556
123
ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 1. ข้อมูลทั่วไป
ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) (“ธนาคาร”) เป็นบริษัทที่จดทะเบียนในราชอาณาจักรไทย โดยมีสำ�นักงานใหญ่ตั้งอยู่เลขที่ 500 อาคารอัมรินทร์ทาวเวอร์ ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์เป็นกิจกรรมหลัก ผ่านเครือข่ายสาขาในประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ธนาคารมีบริษัทย่อยและกองทุนรวม (“บริษัทย่อย”) จำ�นวน 13 แห่ง ตามลำ�ดับ ดังนี้ 1.1 บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) จดทะเบียนในประเทศไทย เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2553 โดยมีสถานประกอบการตั้งอยู่เลขที่ 252/6 อาคารสำ�นักงานเมืองไทย-ภัทร 1 ชั้น 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์หลักใน การลงทุนและถือหุ้นในบริษัทที่ดำ�เนินธุรกิจหลักทรัพย์ บริษัทเป็นบริษัทย่อยของธนาคารเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2555 (ดูหมายเหตุ ข้อ 6.5.1) 1.2 บริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) ถือหุน้ โดยบริษทั ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) จดทะเบียนในประเทศไทย เมือ่ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2515 โดยมีสถานประกอบการตั้งอยู่เลขที่ 252/6 อาคารสำ�นักงานเมืองไทย-ภัทร 1 ชั้น 6, 8-11 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อประกอบกิจการด้านธุรกิจหลักทรัพย์ บริษัทเป็นบริษัทย่อยของธนาคาร เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2555 (ดูหมายเหตุข้อ 6.5.1) 1.3 บริษทั หลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด เดิมชือ่ “บริษทั หลักทรัพย์ เกียรตินาคิน จำ�กัด” (ดูหมายเหตุขอ้ 6.5.5) จดทะเบียนในประเทศไทย เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2541 โดยมีสถานประกอบการตั้งอยู่เลขที่ 500 อาคารอัมรินทร์ทาวเออร์ ชั้น 7 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อประกอบกิจการด้านธุรกิจหลักทรัพย์ และตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม 2556 บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด ถือหุ้นโดยบริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) (ดูหมายเหตุข้อ 6.5.4) 1.4 บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด เดิมชื่อ “บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เกียรตินาคิน จำ�กัด” (ดูหมายเหตุข้อ 6.5.5) จดทะเบียนในประเทศไทย เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2547 โดยมีสถานประกอบการตั้งอยู่เลขที่ 252/122 อาคารเมืองไทย-ภัทร คอมเพล็กซ์ ชัน้ 25 ทาวเวอร์บี ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร มีวตั ถุประสงค์หลักเพือ่ ประกอบธุรกิจ จัดการกองทุนรวมและกองทุนส่วนบุคคล และตั้งแต่วันที่ 28 ธันวาคม 2555 บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด ถือหุ้น โดยบริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) (ดูหมายเหตุข้อ 6.5.2) 1.5 บริษัท สำ�นักงานกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด จดทะเบียนในประเทศไทย เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2552 โดยมีสถานประกอบการตั้งอยู่ เลขที่ 209/1 อาคารเคทาวเวอร์ (บี) ชัน้ 12 ถนนสุขมุ วิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร มีวตั ถุประสงค์หลัก เพื่อประกอบธุรกิจให้บริการและปรึกษาคดี 1.6 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 1 จดทะเบียนในประเทศไทย เมือ่ วันที่ 2 มีนาคม 2542 โดยมีสถานประกอบการตัง้ อยูท่ ี่ บริษทั หลักทรัพย์ จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชัน้ 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อลงทุนในสิทธิเรียกร้องประเภทสินเชื่อธุรกิจ(1) 1.7 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 2 จดทะเบียนในประเทศไทย เมือ่ วันที่ 27 เมษายน 2542 โดยมีสถานประกอบการตัง้ อยูท่ ี่ บริษทั หลักทรัพย์ จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชัน้ 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อลงทุนในสิทธิเรียกร้องประเภทสินเชื่อธุรกิจ(1)
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
124
1.8 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 3 จดทะเบียนในประเทศไทย เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2542 โดยมีสถานประกอบการตั้งอยู่ที่ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชัน้ 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อลงทุนในสิทธิเรียกร้องประเภทสินเชื่อพาณิชย์และสินเชื่ออื่น(1) 1.9 กองทุนรวมไทยรีสตรัคเจอริ่ง จดทะเบียนในประเทศไทย เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2542 โดยมีสถานประกอบการตั้งอยู่ที่ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชัน้ 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นกองทุนประเภทลงทุนในทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้อง 1.10 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่พร็อพเพอร์ตี้ 1 จดทะเบียนในประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2544 โดยมีสถานประกอบการตั้ง อยู่ที่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นกองทุนประเภทลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และ/หรือสิทธิเรียกร้องทีม่ อี สังหาริมทรัพย์เป็นหลักประกัน 1.11 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรีพ่ ร็อพเพอร์ตี้ 3 จดทะเบียนในประเทศไทย เมือ่ วันที่ 1 สิงหาคม 2544 โดยมีสถานประกอบการตัง้ อยูท่ ี่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขต ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นกองทุนประเภทลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และ/หรือสิทธิเรียกร้องทีม่ อี สังหาริมทรัพย์เป็นหลักประกัน 1.12 กองทุนรวมบางกอกแคปปิตอล จดทะเบียนในประเทศไทย เมือ่ วันที่ 30 เมษายน 2542 โดยมีสถานประกอบการตัง้ อยูท่ ี่ บริษทั หลัก ทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อลงทุนในสิทธิเรียกร้องประเภทลูกหนี้สินเชื่อธุรกิจ 1.13 กองทุนรวมแกมม่าแคปปิตอล จดทะเบียนในประเทศไทย เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2542 โดยมีสถานประกอบการตั้งอยู่ที่ บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อลงทุนในสิทธิเรียกร้องประเภทลูกหนี้สินเชื่อธุรกิจ (1) โดยผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 1 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 2 และ กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 3 ได้มีมติ เห็นชอบให้ทำ�การเปลี่ยนแปลงบริษัทจัดการและนายทะเบียนหน่วยลงทุนจาก บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กสิกรไทย จำ�กัด เป็น บริษัท หลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2556 เป็นต้นไป
2. เกณฑ์การเสนองบการเงินและเกณฑ์การจัดทำ�งบการเงินรวม
2.1 เกณฑ์การนำ�เสนองบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร ได้จดั ทำ�ขึน้ ตามข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ลงวันที่ 22 มกราคม 2544 เรื่องการจัดทำ�และส่งงบการเงินและรายงานเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษัทจดทะเบียน พ.ศ. 2544 โดยกำ�หนดรูปแบบการนำ�เสนองบการเงินตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่องการนำ�เสนองบการเงิน รวมทั้ง วิธีการปฏิบัติ นโยบายและการแสดงรายการตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่องการจัดทำ�และการประกาศงบการเงินของ ธนาคารพาณิชย์และบริษัทโฮลดิ้งที่เป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจการเงินลงวันที่ 3 ธันวาคม 2553 งบการเงินนี้ได้จดั ทำ�ขึน้ โดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน ยกเว้นตามที่ได้เปิดเผยในนโยบาย การบัญชี ธนาคารจัดทำ�บัญชีเป็นเงินบาทและจัดทำ�งบการเงินตามกฎหมายเป็นภาษาไทย งบการเงินนี้ จัดทำ�ขึน้ ตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินและแนวทางปฏิบัติของธนาคารแห่งประเทศไทย
รายงานประจำ�ปี 2556
125
การนำ�มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกใหม่และปรับปรุงใหม่มาถือปฏิบัติ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ธนาคารและบริษัทย่อยได้นำ�มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกใหม่และปรับปรุงใหม่มาถือ ปฏิบัติซึ่งออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีซึ่งมีผลกระทบต่องบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 ใน การจัดทำ�งบการเงินดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 ส่วนงานดำ�เนินงาน แนวปฏิบัติทางการบัญชี แนวปฏิบัติทางการบัญชี เรื่อง การโอนและรับโอนสินทรัพย์ทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกใหม่และปรับปรุงใหม่ที่ประกาศแล้วแต่ยังไม่มีผลบังคับใช้ 1) มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชี และการตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ที่มีผลบังคับใช้สำ�หรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 เป็นต้นไป มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) การนำ�เสนองบการเงิน ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) งบกระแสเงินสด ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) ภาษีเงินได้ ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) สัญญาเช่า ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) รายได้ ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) ผลประโยชน์ของพนักงาน ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555) เงินลงทุนในบริษัทร่วม ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555) ส่วนได้เสียในการร่วมค้า ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) งบการเงินระหว่างกาล ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555) การด้อยค่าของสินทรัพย์ ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555) การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) การรวมธุรกิจ ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2555) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดำ�เนินงานที่ยกเลิก ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555) ส่วนงานดำ�เนินงาน การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 สิ่งจูงใจสัญญาเช่าดำ�เนินงาน ฉบับที่ 27 การประเมินเนื้อหาของรายการที่เกี่ยวกับรูปแบบของกฎหมายตามสัญญาเช่า
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
126
ฉบับที่ 29 การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ ฉบับที่ 32 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - ต้นทุนเว็บไซต์ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ฉบับที่ 4 การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่ ฉบับที่ 5 สิทธิในส่วนได้เสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะ และการปรับปรุงสภาพแวดล้อม ฉบับที่ 7 การปรับปรุงย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจทีม่ ภี าวะเงินเฟ้อ รุนแรง ฉบับที่ 10 งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า ฉบับที่ 12 ข้อตกลงสัมปทานบริการ ฉบับที่ 13 โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า ฉบับที่ 17 การจ่ายสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ ฉบับที่ 18 การโอนสินทรัพย์จากลูกค้า 2) มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีผลบังคับใช้สำ�หรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 เป็นต้นไป มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 สัญญาประกันภัย ผู้บริหารของธนาคารและบริษัทย่อยคาดว่าจะนำ�มาตรฐานการรายงานทางการเงินข้างต้น ที่เกี่ยวข้องกับธนาคารและบริษัทย่อย มาเริ่มถือปฏิบัติกับงบการเงินของธนาคารและบริษัทย่อย เมื่อมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวมีผลบังคับใช้ และการนำ� มาตรฐานเหล่านีม้ าถือปฏิบตั จิ ะไม่มผี ลกระทบอย่างเป็นสาระสำ�คัญต่องบการเงินของธนาคารและบริษทั ย่อยในงวดทีเ่ ริม่ ถือปฏิบตั ิ
รายงานประจำ�ปี 2556
127
2.2 เกณฑ์การจัดทำ�งบการเงินรวม งบการเงินรวมได้รวมรายการบัญชีของสำ�นักงานใหญ่และสาขาธนาคารทุกแห่งและบริษัทย่อยที่ธนาคารมีอำ�นาจในการควบคุม โดยได้ตัดรายการค้าและยอดคงเหลือที่สำ�คัญระหว่างกันออกแล้ว บริษัทย่อยเหล่านี้ซึ่งเป็นนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นในประเทศไทยมีดังนี้
ลักษณะธุรกิจ
บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด บริษัทสำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 1 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 2 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 3 กองทุนรวมไทยรีสตรัคเจอริ่ง กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ พร็อพเพอร์ตี้ 1 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ พร็อพเพอร์ตี้ 3 กองทุนรวมบางกอก แคปปิตอล กองทุนรวมแกมม่า แคปปิตอล
ธุรกิจลงทุนในบริษัทอื่น ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจหลักทรัพย์ ธุรกิจจัดการกองทุน สำ�นักกฎหมาย ธุรกิจลงทุน ธุรกิจลงทุน ธุรกิจลงทุน ธุรกิจลงทุน ธุรกิจลงทุน ธุรกิจลงทุน ธุรกิจลงทุน ธุรกิจลงทุน
สัดส่วนความเป็นเจ้าของ (ร้อยละ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 2556 99.93 99.97 99.68(1) 99.94(2) 99.96(3) 99.99 99.96(3) 99.92(3) 99.93 99.93 99.95 99.95 99.59 99.59 99.97 99.97 98.91 98.91 99.52 99.52 98.77 98.77 95.72 95.72 94.03 94.03
(1)
ถือหุ้นผ่านบริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.75 ถือหุ้นผ่านบริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.97 (3) ถือหุ้นผ่านบริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.99 (2)
2.3 การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ธนาคารได้เปลี่ยนวีธีการพิจารณาค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อกลุ่มขนส่ง (Fleet) โดยพิจารณาจากการจัดชัน้ ลูกหนี้ มูลค่าหลักประกันและอัตราที่ใช้ในการตัง้ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญตามหลักเกณฑ์ทกี่ �ำ หนด โดยธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งจากเดิมธนาคารได้พิจารณากันเงินสำ�รองเป็นกลุ่มลูกหนี้ (Collective Approach) โดยพิจารณา จากผลขาดทุนจากประสบการณ์ในอดีต ซึ่งคำ�นวณจากค่าความน่าจะเป็นที่ลูกหนี้จะผิดนัดชำ�ระหนี้ (Probability of default) และ ร้อยละของความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นเมื่อลูกหนี้ผิดนัดชำ�ระหนี้ต่อยอดหนี้ (Loss given default) และปรับปรุงเพิ่มเติมด้วยการ พิจารณาค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามหลักเกณฑ์การจัดชั้นหนี้ที่กำ�หนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทยข้างต้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลง ข้างต้นนี้ไม่มีผลกระทบต่อค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
128
3. นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญ
3.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดในงบกระแสเงินสดเฉพาะธนาคารหมายถึง เงินสดในมือและรายการเงินสดระหว่างเรียกเก็บซึ่ง เป็นไปตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดในงบกระแสเงินสดรวมหมายถึง เงินสดในมือและรายการเงินสดระหว่างเรียกเก็บของธนาคาร และเงินฝากธนาคารกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารออมทรัพย์ เงินฝากประจำ�ที่มีอายุคงเหลือไม่เกิน 3 เดือนและไม่มีภาระผูกพัน ตั๋วเงินประเภทเผื่อเรียก และตั๋วเงินที่มีวันถึงกำ�หนดภายใน 3 เดือน หรือน้อยกว่าของบริษัทย่อย 3.2 เงินลงทุนในหลักทรัพย์ 3.2.1 เกณฑ์การจัดประเภทเงินลงทุน ธนาคารและบริษัทย่อยจัดประเภทเงินลงทุนที่นอกเหนือจากเงินลงทุนในบริษัทย่อย และส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้าเป็น 4 ประเภท คือ เงินลงทุนเพื่อค้า เงินลงทุนที่ถือไว้จนครบกำ�หนด เงินลงทุนเผื่อขาย และเงินลงทุนทั่วไป การจัดประเภท เป็นไปตามเป้าหมายการลงทุนทีฝ่ า่ ยบริหารต้องการเมือ่ ได้มาซึง่ เงินลงทุนนัน้ ฝ่ายบริหารกำ�หนด การจัดประเภททีเ่ หมาะสม สำ�หรับเงินลงทุน ณ เวลาที่ลงทุนและทบทวนการจัดประเภท เป็นปกติอย่างสมํ่าเสมอ เงินลงทุนที่ได้มาเพื่อเป้าหมายหลัก ในการหากำ�ไรจาก การเปลี่ยนแปลงราคาในช่วงเวลาสั้นถูกจัดประเภทเป็นเงินลงทุนเพื่อค้า เงินลงทุนที่มีระยะเวลาครบ กำ�หนด ซึง่ ผูบ้ ริหารตัง้ ใจแน่วแน่และมีความสามารถถือไว้จนครบกำ�หนดถูกจัดประเภทเป็นเงินลงทุนทีถ่ อื ไว้จนครบกำ�หนด เงินลงทุนทีจ่ ะถือไว้โดยที่ไม่ระบุชว่ งเวลาทีจ่ ะถือไว้และอาจขายเมือ่ ต้องการเสริมสภาพคล่องหรือเกิดการเปลีย่ นแปลงในอัตรา ดอกเบี้ยถูกจัดประเภทเป็นเงินลงทุนเผื่อขาย เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่มีตลาดซื้อขายถูกจัดประเภทเป็นเงินลงทุนทั่วไป 3.2.2 เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้าและเผื่อขาย ธนาคารและบริษัทย่อยแสดงเงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้าและเผื่อขายในงบแสดงฐานะการเงินด้วยมูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรมของตราสารหนี้ที่มีการซื้อขายในตลาดซื้อขายคำ�นวณโดยใช้ราคาหรืออัตราผลตอบแทนของสมาคมตลาด ตราสารหนี้ไทย ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน หากไม่มีการซื้อขาย ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน ธนาคารและ บริษทั ย่อยจะใช้ราคาหรืออัตราผลตอบแทนทีท่ �ำ การซือ้ ขายครัง้ สุดท้ายของสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยก่อนวันที่ในงบแสดง ฐานะการเงิน มูลค่ายุติธรรมของตราสารหนี้ที่ไม่มีการซื้อขายในตลาดซื้อขาย ธนาคารและบริษัทย่อยจะคำ�นวณจากอัตรา ผลตอบแทน ที่ปราศจากความเสี่ยงปรับด้วยอัตราความเสี่ยงที่เหมาะสมกับตราสารหนี้นั้น มูลค่ายุติธรรมของตราสารทุน คำ�นวณโดยใช้ราคาเสนอซือ้ สุดท้ายทีป่ ระกาศโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน มูลค่า ยุติธรรมของหน่วยลงทุน คำ�นวณโดยใช้มูลค่าตามบัญชีสุทธิ (NAV) ซึ่งประกาศโดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมที่ เป็นผู้จัดการกองทุนรวมนั้น การเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้า รับรู้เป็นรายการกำ�ไรหรือรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น ในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ การเปลีย่ นแปลงมูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขายจะแสดงเป็นรายการในส่วนของเจ้าของผ่านกำ�ไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นจนกว่าจะจำ�หน่ายหลักทรัพย์ ไป ซึ่งจะบันทึกผลกำ�ไรหรือขาดทุนจากการจำ�หน่ายเงินลงทุนดังกล่าวในกำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิจากเงินลงทุน 3.2.3 เงินลงทุนที่จะถือไว้จนครบกำ�หนด ธนาคารและบริษัทย่อยแสดงเงินลงทุนที่จะถือไว้จนครบกำ�หนดในงบแสดงฐานะการเงินด้วยวิธีราคาทุนตัดจำ�หน่ายตาม อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง
รายงานประจำ�ปี 2556
129
3.2.4 เงินลงทุนทั่วไปในหลักทรัพย์ ธนาคารและบริษัทย่อยแสดงเงินลงทุนทั่วไปในหลักทรัพย์ในงบแสดงฐานะการเงินด้วยราคาทุนปรับลดด้วยค่าเผื่อการด้อย ค่าของเงินลงทุน 3.2.5 เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริษัทย่อย แสดงในงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะธนาคารบันทึกบัญชีโดยใช้วิธีราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อการ ด้อยค่า (ถ้ามี) บริษทั ย่อย หมายถึง บริษทั ทีธ่ นาคารมีสทิ ธิออกเสียงทัง้ ทางตรงและทางอ้อมมากกว่ากึง่ หนึง่ ของสิทธิในการออกเสียงทัง้ หมด หรือมีอำ�นาจในการควบคุมนโยบายการเงินและการดำ�เนินงานของบริษัทย่อย บริษัทย่อยดังกล่าวได้ถูกนำ�มารวมในการจัด ทำ�งบการเงินรวม โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ธนาคารมีอำ�นาจในการควบคุม จนถึงวันที่อำ�นาจในการควบคุม สิ้นสุดลง ธนาคาร และบริษัทย่อยใช้วิธีซื้อสำ�หรับการบันทึกการได้มาซึ่งบริษัทย่อย ต้นทุนการได้มาซึ่งบริษัทย่อยวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์ทสี่ ง่ มอบให้ในการได้มา มูลค่าของหุน้ ทีอ่ อกให้หรือหนีส้ นิ ทีต่ อ้ งรับผิดชอบ ณ วันที่ได้มา และยังรวมถึงต้นทุน ทีส่ มั พันธ์โดยตรงกับการได้มานัน้ รายการและยอดคงเหลือระหว่างธนาคารและบริษทั ย่อย ตลอดจนกำ�ไรขาดทุนทีย่ งั ไม่เกิด ขึ้นได้ตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แล้ว เว้นแต่รายการขาดทุนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงซึ่งธนาคารและบริษัทย่อยจะไม่สามารถ ได้รับคืนต้นทุนที่เสียไป นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญของบริษัทย่อยจะเปลี่ยนแปลงเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชี ที่ธนาคารถือปฏิบัติ ในการจัดทำ�งบการเงินรวมข้อมูลเกี่ยวกับส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมได้แสดงเป็นรายการแยก ต่างหากในงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม รายชื่อของบริษัทย่อยได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 1 และข้อ 2.2 3.2.6 การด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ ธนาคารและบริษัทย่อยจะทดสอบการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ต่อเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์นั้น อาจมีการด้อยค่าเกิดขึ้น ถ้าราคาตามบัญชีของเงินลงทุนในหลักทรัพย์สูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ผลขาดทุนจากการ ด้อยค่าที่เกิดขึ้นบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จทันที 3.2.7 กำ�ไร (ขาดทุน) จากการขายเงินลงทุนในหลักทรัพย์ ธนาคารและบริษัทย่อยรับรู้รายได้ของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ เมื่อมีการจำ�หน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิ ที่ได้รบั จากการจำ�หน่ายเงินลงทุนกับราคาตามบัญชีของเงินลงทุนดังกล่าวจะถูกบันทึกเป็นรายการกำ�ไรหรือรายการขาดทุน จากการขายหลักทรัพย์ในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เมื่อมีการจำ�หน่ายเงินลงทุนเพียงบางส่วน ราคาตามบัญชีของเงินลงทุนที่จำ�หน่ายจะคำ�นวณโดยการถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก จากจำ�นวนเงินลงทุนทั้งหมดที่ลงทุนหรือถือไว้ 3.3 การวัดค่าเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง เป็นเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องประเภทสินเชื่อธุรกิจและสินเชื่อเช่าซื้อทั้งที่มีหลักประกันและไม่มี หลักประกัน ซึ่งสิทธิเรียกร้องเหล่านี้ไม่มีข้อมูลราคาตลาดซื้อขายคล่อง ดังนั้นเงินลงทุนดังกล่าวจึงแสดงในงบแสดงฐานะการเงิน ด้วยมูลค่ายุติธรรม โดยมูลค่ายุติธรรมคำ�นวณจากมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการจำ�หน่ายหลักประกัน การเปลี่ยนแปลงมูลค่าของเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องแสดงเป็นรายการแยกต่างหากในส่วนของเจ้าของและจะบันทึกในงบกำ�ไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ เมื่อธนาคารและบริษัทย่อยได้จำ�หน่ายเงินลงทุนนั้น ธนาคารและบริษทั ย่อยจะทดสอบการด้อยค่าของเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง เมือ่ มีขอ้ บ่งชีว้ า่ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องนัน้ มีการด้อย ค่าเกิดขึน้ โดยจะปรับลดราคาตามบัญชีของเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องให้เท่ากับมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน รายการขาดทุนจากการ ด้อยค่าจะบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
130
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
สำ�หรับธนาคารเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องที่มีการปรับเปลี่ยนเงื่อนไขหรือทำ�ข้อตกลงใหม่ในการชำ�ระหนี้โดยมีการทำ�สัญญาปรับ โครงสร้างหนี้ จะถูกโอนเป็นเงินให้กยู้ มื โดยเป็นไปตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยที่ สนส. 21/2555 เรือ่ ง ข้อกำ�หนดเกีย่ วกับ การบันทึกบัญชีของสถาบันการเงิน ธนาคารใช้มลู ค่ายุตธิ รรม ณ วันที่โอนเปลีย่ นประเภทในการบันทึกบัญชีและรับรูผ้ ลต่างระหว่าง ราคาตามบัญชีกบั มูลค่ายุตธิ รรม ณ วันนัน้ เป็นกำ�ไรหรือขาดทุนในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จทันทีส�ำ หรับกรณีทมี่ กี �ำ ไรจากการโอน เปลี่ยนประเภทเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องเป็นเงินให้สินเชื่อ ธนาคารจะคำ�นึงถึงความแน่นอนที่จะได้รับเงินสดในอนาคต 3.4 การวัดค่าเงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ เป็นเงินลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทย่อยซึ่งเป็นกองทุนรวมที่ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ เงินลงทุนเหล่านี้ไม่มีข้อมูลราคาตลาดซื้อขายคล่อง ดังนั้นเงินลงทุนดังกล่าวจึงแสดงในงบแสดงฐานะการเงินด้วยราคาทุนหรือ มูลค่ายุติธรรมแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า โดยมูลค่ายุติธรรมคำ�นวณจากราคาประเมินที่ต้องประเมินราคาโดยผู้ประเมินอิสระหรือ ตีราคาโดยผู้ประเมินภายในของธนาคาร ตามเกณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทยและปรับลดราคาประเมินตามระยะเวลาการถือครอง 3.5 เงินให้สินเชื่อ เงินเบิกเกินบัญชีแสดงด้วยยอดเงินต้นรวมดอกเบี้ย เงินให้สินเชื่อประเภทอื่นแสดงเฉพาะยอดเงินต้น ส่วนลดรับล่วงหน้าของเงิน ให้สินเชื่อที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้ แสดงเป็นรายการหักจากเงินให้สินเชื่อ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อและสัญญาเช่าการเงินแสดงมูลค่าตามสัญญาเช่าซื้อและสัญญาเช่าการเงินคงค้างสุทธิจากยอดคงเหลือ ของรายได้ทางการเงินที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ ซึ่งแสดงสุทธิจากค่านายหน้าจ่ายล่วงหน้าและค่าใช้จ่ายทางตรงที่เกิดขึ้นเมื่อเริ่มแรก จากการให้เช่าซื้อรอตัดบัญชี ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หมายถึง ยอดดุลสุทธิลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และลูกหนี้ธุรกิจสัญญาซื้อขาย ล่วงหน้า โดยลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์รวมถึงลูกหนี้เงินให้กู้ยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย์โดยใช้หลักทรัพย์ที่ซื้อนั้นมาวางเป็นประกันและ ลูกหนี้อื่น เช่น ลูกหนี้ซื้อหลักทรัพย์ด้วยเงินสดที่ไม่สามารถชำ�ระเงินได้ภายในระยะเวลาที่กำ�หนด และลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ที่ อยู่ระหว่างดำ�เนินคดี ประนอมหนี้หรือผ่อนชำ�ระ และสำ�หรับลูกหนี้ที่ซื้อขายหลักทรัพย์ด้วยเงินสดแสดงไว้ภายใต้รายการลูกหนี้ ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า 3.6 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ธนาคารถือปฏิบัติในการจัดชั้นหนี้และตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับเงินให้สินเชื่อ ตามข้อกำ�หนดของประกาศของธนาคาร แห่งประเทศไทย ลงวันที่ 3 สิงหาคม 2551 และตามการประเมินผลของฝ่ายบริหารเกี่ยวกับความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้น จาก ยอดเงินให้สินเชื่อที่คงค้างอยู่ ณ วันสิ้นงวด การจัดชั้นหนี้พิจารณาจากระยะเวลาที่ค้างชำ�ระและความสามารถในการชำ�ระหนี้ของ ลูกหนี้ ส่วนมูลค่าหลักประกันที่ใช้ขนึ้ อยูก่ บั ประเภทของหลักประกัน ธนาคารจัดชัน้ เงินให้สนิ เชือ่ ทัง้ หมดโดยแบ่งออกเป็น 6 ประเภท และตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญขึ้นในอัตราที่กำ�หนดสำ�หรับแต่ละประเภท ลูกหนีเ้ งินให้สนิ เชือ่ และลูกหนีเ้ ช่าซือ้ กลุม่ ขนส่ง (Fleet) ธนาคารบันทึกค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ สำ�หรับลูกหนีท้ จี่ ดั ชัน้ ตํา่ กว่ามาตรฐาน จัดชั้นสงสัย และจัดชั้นสงสัยจะสูญในอัตราร้อยละ 100 ของส่วนต่างระหว่างยอดหนี้ตามบัญชีกับมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสด ที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้หรือมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการจำ�หน่ายหลักประกัน ทั้งนี้อัตราดอกเบี้ย คิดลดและระยะเวลาที่คาดว่าจะจำ�หน่ายหลักประกันได้อ้างอิงตามหลักเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย สำ�หรับลูกหนี้ชั้นปกติ และชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษ ธนาคารบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในอัตราร้อยละ 1 และร้อยละ 2 ของมูลหนี้หลังหักหลักประกัน ลูกหนีต้ ามสัญญาเช่าซือ้ ธนาคารกันเงินสำ�รองเป็นกลุม่ ลูกหนี้ (Collective Approach) โดยพิจารณาจากผลขาดทุนจากประสบการณ์ ในอดีต ซึ่งคำ�นวณจากค่าความน่าจะเป็นที่ลูกหนี้จะผิดนัด ชำ�ระหนี้ (Probability of default) และร้อยละของความเสียหายที่อาจ
รายงานประจำ�ปี 2556
131
จะเกิดขึ้นเมื่อลูกหนี้ผิดนัดชำ�ระหนี้ต่อยอดหนี้ (Loss given default) รวมถึงธนาคารได้มีการปรับปรุงผลขาดทุนจากประสบการณ์ ในอดีตด้วยปัจจัยสำ�คัญที่บ่งชี้สภาวะเศรษฐกิจของทั้งในและต่างประเทศที่อาจมีผลกระทบต่อความสามารถในการชำ�ระหนี้ และธนาคารยังได้พิจารณาค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มเติมจากอัตราการกันเงินสำ�รองแบบกลุ่มลูกหนี้ (Collective Approach) ในบางกลุ่มของชั้นสินทรัพย์ เพื่อให้สอดคล้องกับการกันเงินสำ�รองแบบระมัดระวัง บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าโดยการ ประเมินฐานะของลูกหนี้แต่ละราย ประกอบกับการพิจารณาตามกฎเกณฑ์ ตามประกาศของสำ�นักงานคณะกรรมกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ซึ่งการประเมินนี้รวมถึงการพิจารณาความเสี่ยงและมูลค่าของหลักทรัพย์ที่ใช้ค้ำ�ประกัน บริษัทตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนีเ้ มือ่ หนีน้ นั้ มีหลักประกันไม่เพียงพอและ/หรือมีโอกาสทีล่ กู หนีจ้ ะชำ�ระเงินต้นและดอกเบีย้ คืนไม่ครบจำ�นวน ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ตั้งเพิ่มหรือลดลง ธนาคารและบริษัทย่อยบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายหรือ โอนกลับค่าใช้จ่ายในแต่ละงวดบัญชี หนี้สูญที่เกิดขึ้นในระหว่างงวดตัดเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อสามารถระบุได้ หนี้สูญที่ได้รับคืนบันทึก ลดยอดหนีส้ ูญและหนี้สงสัยจะสูญใน งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 3.7 การปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา ธนาคารถือปฏิบตั ิในการปรับโครงสร้างหนีท้ มี่ ปี ญั หาตามหลักเกณฑ์ที่ได้รบั อนุมตั จิ ากธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารบันทึกบัญชี สินทรัพย์หรือหุน้ ทุนทีร่ บั โอนมาจากการชำ�ระหนีด้ ว้ ยมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์หรือหุน้ ทุนหักด้วยประมาณการค่าใช้จา่ ยในการขาย หรือเงินลงทุนในลูกหนี้แล้วแต่มูลค่าใดจะตํ่ากว่า (รวมดอกเบี้ยที่หยุดรับรู้รายได้ ณ วันปรับปรุงโครงสร้างหนี้) ในกรณีทเี่ ป็นการปรับโครงสร้างหนีท้ ธี่ นาคารยินยอมผ่อนปรนเงือ่ นไขในการชำ�ระหนี้ ธนาคารคำ�นวณมูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุน ในลูกหนี้หลังการปรับโครงสร้างหนี้ โดยคำ�นวณจากมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคต คิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ย ขั้นตํ่าสำ�หรับเงินให้กู้ระยะยาว (MLR) ณ วันปรับโครงสร้างหนี้ ธนาคารรับรู้ส่วนสูญเสียที่เกิดจากการปรับโครงสร้างหนี้โดยการยินยอมลดเงินต้นหรือดอกเบี้ยที่บันทึกในบัญชีหลังหักเงินสำ�รอง ที่กันไว้แล้วเป็นรายการขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้ ในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เมื่อมีการปรับโครงสร้างหนี้ ธนาคารคำ�นวณมูลค่ายุติธรรมของหนี้ใหม่ โดยใช้อัตราดอกเบี้ยคิดลดดังกล่าว ณ วันที่ในงบการเงินทุกเดือนและปรับปรุงบัญชีค่า เผื่อการปรับมูลค่าเมื่อมูลค่ายุติธรรมของหนี้เปลี่ยนแปลงไป การคำ�นวณมูลค่ายุติธรรมของหนี้ใหม่ ณ วันที่ในงบการเงินทุกเดือน จะคำ�นวณตามหลักเกณฑ์ทกี่ �ำ หนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทยตามทีก่ ล่าวไว้ขา้ งต้น โดยการปรับปรุงบัญชีคา่ เผือ่ การปรับมูลค่า ต้องไม่ทำ�ให้ราคาตามบัญชีของลูกหนี้สูงกว่าเงินลงทุนในลูกหนี้ กรณีการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีการโอนสินทรัพย์หรือส่วนได้เสียของเจ้าของเพื่อชำ�ระหนี้ทั้งหมดหรือบางส่วน ธนาคารจะบันทึก สินทรัพย์หรือส่วนได้เสียที่ได้รับโอนมาด้วยมูลค่ายุติธรรมหักด้วยประมาณการค่าใช้จ่ายในการขายที่ไม่สูงกว่าเงินลงทุนในลูกหนี้ บวกดอกเบี้ยที่เจ้าหนี้มีสิทธิได้รับตามกฎหมาย กรณีซื้อเงินลงทุนในลูกหนี้และภายหลังมีการปรับโครงสร้างหนี้ ธนาคารคำ�นวณมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ปรับโครงสร้างหนี้ และ บันทึกผลต่างระหว่างราคาตามบัญชีกับมูลค่ายุติธรรมที่เป็นขาดทุน ณ วันนั้นไว้ในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสำ�หรับงวดบัญชีนั้น และโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนในลูกหนี้ที่ได้รับการปรับโครงสร้างหนี้เป็นเงินให้สินเชื่อ ตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดโดยธนาคาร แห่งประเทศไทย ค่าธรรมเนียมทางกฎหมายและค่าใช้จ่ายทางตรงอื่นที่เกิดขึ้นจากการปรับโครงสร้างหนี้ได้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
132
3.8 ทรัพย์สินรอการขาย ทรัพย์สินรอการขายประกอบด้วย ที่ดินและ/หรือสิ่งปลูกสร้าง สิทธิการเช่า คอนโดมิเนียม และรถยึดคืน ธนาคารแสดงทรัพย์สินรอการขายประเภทที่ดิน และ/หรือสิ่งปลูกสร้าง สิทธิการเช่าและคอนโดมิเนียมด้วยจำ�นวนเงินต้นคงค้าง บวกดอกเบี้ยค้างรับหรือมูลค่ายุติธรรมแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า รถยึดคืนบันทึกด้วยเงินต้นคงค้างหรือมูลค่ายุติธรรมแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า ณ วันที่ได้รับโอนมูลค่ายุติธรรมคำ�นวณจากราคา ตลาดของทรัพย์สิน (Red book) กำ�ไร (ขาดทุน) จากการจำ�หน่ายทรัพย์สินรอการขายจะรับรู้เป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเมื่อมีการจำ�หน่าย และขาดทุนจากการด้อยค่า (ถ้ามี) จะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 3.9 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ธนาคารและบริษัทย่อยแสดงที่ดินด้วยราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับสินทรัพย์ถาวรทุกประเภทยกเว้นที่ดิน คำ�นวณโดยใช้วิธีเส้นตรง เพื่อลดราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ แต่ละชนิดตามอายุการใช้งานที่ประมาณการไว้ดังต่อไปนี้
อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร อุปกรณ์ เครื่องตกแต่งและติดตั้ง ยานพาหนะ
5 ปี 20 ปี และ 30 ปี 3 - 5 ปี 3 - 5 ปี 5 ปี
รายการกำ�ไรขาดทุนจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์ กำ�หนดโดยเปรียบเทียบสิง่ ตอบแทนที่ได้รบั กับราคาตามบัญชีและรวมไว้ในงบกำ�ไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ 3.10 ค่าความนิยมที่เกิดจากการซื้อธุรกิจ ค่าความนิยมทีเ่ กิดจากการซือ้ ธุรกิจได้แก่สว่ นต่างระหว่างต้นทุนการซือ้ ธุรกิจ ณ วันทีล่ งทุนสูงกว่ามูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์สทุ ธิ ที่ระบุได้เฉพาะส่วนที่เป็นของผู้ซื้อ ธนาคารรับรู้ค่าความนิยมเป็นสินทรัพย์ ณ วันที่ซื้อกิจการในงบการเงินรวม ค่าความนิยมแสดงในราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ส่วนเกินของส่วนได้เสียในมูลค่ายุติธรรมสุทธิของสินทรัพย์สุทธิที่ระบุได้ที่สูงกว่าต้นทุนการซื้อธุรกิจ ณ วันที่ลงทุน ธนาคารรับรู้ ส่วนเกินดังกล่าวเป็นรายได้ในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จในงบการเงินรวม 3.11 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 3.11.1 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สิทธิการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะเจาะจงที่ซื้อมาบันทึกเป็นสินทรัพย์ เมื่อมีการดำ�เนินการให้โปรแกรม คอมพิวเตอร์เฉพาะเจาะจงทีน่ �ำ มาใช้งานได้ตามประสงค์ โดยจะตัดจำ�หน่ายตลอดอายุประมาณการให้ประโยชน์ทปี่ ระมาณ การภายในระยะเวลาไม่เกิน 10 ปี
รายงานประจำ�ปี 2556
133
3.11.2 ใบอนุญาตเป็นสมาชิกประเภทตัวแทนของตลาดอนุพันธ์ บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์บันทึกรายจ่ายสำ�หรับใบอนุญาตเป็นสมาชิกประเภทตัวแทนของตลาดอนุพันธ์เป็น สินทรัพย์ โดยไม่มีการตัดจำ�หน่ายและมีการทดสอบการด้อยค่าเป็นประจำ�ทุกงวดบัญชี และตั้งค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) โดยบันทึกเป็นขาดทุนจากการด้อยค่าในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 3.11.3 ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตรอตัดบัญชี บริษัทย่อยตัดจำ�หน่ายค่าธรรมเนียมใบอนุญาตรอตัดบัญชีอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ 5 ปี 3.12 ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สินจะรับรู้ในงบแสดงฐานะการเงินเมื่อธนาคารและบริษัทย่อยมีภาระหนี้สินที่เกิดขึ้นซึ่งเกิดจากเหตุการณ์ในอดีต และมีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่ทจี่ ะสูญเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจ เพือ่ จ่ายชำ�ระภาระผูกพันดังกล่าว โดยสามารถประมาณมูลค่า ภาระผูกพันได้อย่างน่าเชื่อถือ 3.13 รายการที่เกี่ยวกับเงินตราต่างประเทศ ธนาคารและบริษทั ย่อยแปลงค่ารายการทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศให้เป็นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีท่ เี่ กิดรายการ และ แปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงินให้เป็นเงินบาทโดยใช้อัตรา แลกเปลี่ยนอ้างอิงของธนาคารแห่งประเทศไทย ณ วันนั้นรายการกำ�ไรหรือรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับหรือจ่ายชำ�ระที่เป็น เงินตราต่างประเทศ และที่เกิดจากการแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินดังกล่าวได้บันทึกทันทีในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 3.14 การบัญชีสำ�หรับสัญญาเช่าระยะยาว สัญญาเช่าสินทรัพย์ซึ่งผู้เช่าเป็นผู้รับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเกือบทั้งหมด ถือเป็นสัญญาเช่าการเงิน ซึง่ จะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ทเ่ี ช่า หรือมูลค่าปัจจุบนั สุทธิของจำ�นวนเงินทีต่ อ้ งจ่ายตามสัญญาเช่า แล้วแต่มูลค่าใดจะตํ่ากว่า จำ�นวนเงินที่ต้องจ่ายดังกล่าวจะปันส่วนระหว่างหนี้สินและค่าใช้จ่ายทางการเงินเพื่อให้ได้อัตราดอกเบี้ย คงที่ต่อหนี้สินคงค้างอยู่โดยพิจารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็นหนี้สิน ระยะยาว ส่วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงิน จะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่า หรืออายุของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า สัญญาระยะยาวเพือ่ เช่าสินทรัพย์ซงึ่ ผูใ้ ห้เช่าเป็นผูร้ บั ความเสีย่ งและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของเป็นส่วนใหญ่ สัญญาเช่านัน้ ถือเป็นสัญญาเช่าดำ�เนินงาน เงินที่ต้องจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดังกล่าว (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้รับจากผู้ให้เช่า) จะบันทึกใน งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ โดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั้น ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกสัญญาเช่าดำ�เนินงานก่อนหมดอายุการเช่า เช่น เงินเพิ่มที่ต้องจ่ายให้แก่ผู้ให้เช่าจะบันทึกเป็น ค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่การยกเลิกนั้นเกิดขึ้น 3.15 รายได้ดอกเบี้ยจากเงินให้สินเชื่อและเงินรับฝาก รายได้ดอกเบี้ยจากเงินให้สินเชื่อและเงินรับฝากรับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง ยกเว้นรายได้ดอกเบี้ยจากเงินให้กู้ยืมที่ค้างชำ�ระเกินกว่า สามเดือนนับตัง้ แต่วนั ครบกำ�หนดชำ�ระซึง่ รับรูเ้ มือ่ เก็บเงินได้ ธนาคารได้บนั ทึกยกเลิกรายได้ส�ำ หรับดอกเบีย้ จากเงินให้สนิ เชือ่ และ ลูกหนี้ที่ธนาคารบันทึกบัญชีเป็นรายได้แล้วออกจากบัญชี เมื่อลูกหนี้เป็นลูกหนี้ที่ค้างชำ�ระเงินต้นหรือดอกเบี้ยเกินกว่าสามเดือน นับจากวันครบกำ�หนดชำ�ระเพื่อให้เป็นไปตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ลงวันที่ 3 สิงหาคม 2551 ธนาคารจะรับรู้ รายได้เมื่อเก็บเงินได้และจะรับรู้รายได้ตามเกณฑ์คงค้างได้ใหม่เมื่อลูกหนี้ได้ชำ�ระเงินต้นและดอกเบี้ยที่ยังคงค้างครบถ้วนแล้ว
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
134
3.16 รายได้จากการให้เช่าซื้อและสัญญาเช่าการเงิน รายได้ดอกเบี้ยจากการให้เช่าซื้อรับรู้ตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง รายได้ดอกเบี้ยจากการให้เช่าซื้อรับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง ธนาคารบันทึกยกเลิกรายได้สำ�หรับดอกเบี้ยจากการให้เช่าซื้อที่ธนาคาร บันทึกบัญชีเป็นรายได้แล้วออกจากบัญชี เมื่อลูกหนี้นั้นเป็นลูกหนี้ที่ค้างชำ�ระเงินต้นหรือดอกเบี้ยเกินกว่าสามเดือนนับจากวันครบ กำ�หนดชำ�ระเพื่อให้เป็นไปตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ลงวันที่ 3 สิงหาคม 2551 ธนาคารจะรับรู้รายได้เมื่อเก็บเงิน ได้และจะรับรู้ตามเกณฑ์คงค้างได้ใหม่เมื่อลูกหนี้ได้ชำ�ระเงินต้นและดอกเบี้ยที่ยังคงค้างครบถ้วนแล้ว ธนาคารและบริษัทย่อยรับรู้รายได้จากการให้เช่าสินทรัพย์ระยะยาวซึ่งเป็นสัญญาเช่าการเงินตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (effective interest method) ตลอดอายุของสัญญาเช่า 3.17 รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลจากเงินลงทุนในหลักทรัพย์ รายได้ดอกเบีย้ จากเงินลงทุนในหลักทรัพย์รบั รูต้ ามเกณฑ์คงค้าง ยกเว้นรายได้ดอกเบีย้ จากตราสารหนีท้ คี่ า้ งชำ�ระเกินกว่าสามเดือน นับตั้งแต่วันครบกำ�หนดชำ�ระซึ่งรับรู้เมื่อเก็บเงินได้ เงินปันผลรับรู้ ณ วันที่มีสิทธิได้รับเงินปันผล 3.18 รายได้จากเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง ธนาคารและบริษทั ย่อยรับรูร้ ายได้ดอกเบีย้ จากเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องเมือ่ รับชำ�ระหนี้ โดยคำ�นวณจากเงินลงทุนคงเหลือคูณด้วย อัตราผลตอบแทน (Yield) ที่คาดว่าจะได้รับตามสัญญาหรือตามข้อตกลงใหม่ 3.19 ค่าธรรมเนียมและบริการ ธนาคารและบริษัทย่อยรับรู้ค่าธรรมเนียมและบริการเป็นรายได้เมื่อได้ให้บริการแล้ว 3.20 การรับรู้ค่าใช้จ่าย ธนาคารและบริษัทย่อยรับรู้ค่าใช้จ่ายโดยใช้เกณฑ์คงค้าง 3.21 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 3.21.1 ภาษีเงินได้ปัจจุบัน ภาษีเงินได้ปัจจุบัน คือ จำ�นวนภาษีเงินได้ที่คาดว่าจะจ่ายให้กับหน่วยงานจัดเก็บภาษีของภาครัฐ โดยคำ�นวณจากกำ�ไร ทางภาษีตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดในกฎหมายภาษีอากร 3.21.2 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีเป็นการรับรูผ้ ลแตกต่างชัว่ คราวระหว่างมูลค่าทางบัญชีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ในงบการเงินกับ มูลค่าของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ที่ใช้ในการคำ�นวณกำ�ไรทางภาษี (ฐานภาษี) ธนาคารและบริษทั ย่อยรับรูห้ นีส้ นิ ภาษีเงินได้รอ การตัดบัญชีส�ำ หรับผลแตกต่างชัว่ คราวทุกรายการ และรับรูส้ นิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีส�ำ หรับผลแตกต่างชัว่ คราว เท่าที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่ากำ�ไรทางภาษีจะมีจำ�นวนเพียงพอที่จะนำ�ผลแตกต่างชั่วคราวนั้นมาใช้ประโยชน์ ได้ โดยมีการทบทวนมูลค่าตามบัญชี ณ วันที่ในรายงาน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะถูกปรับลดลง เมือ่ กำ�ไรทางภาษี ทีจ่ ะนำ�มาใช้ประโยชน์ลดลง การกลับรายการจะทำ�เมือ่ มีความเป็นไปได้คอ่ นข้างแน่วา่ ธนาคารและบริษทั ย่อยจะมีก�ำ ไรทาง ภาษีเพียงพอทีจ่ ะนำ�สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีบางส่วนหรือทัง้ หมดมาใช้ประโยชน์ได้ ทัง้ นีธ้ นาคารและบริษทั ย่อย ไม่ได้รับรู้สินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสำ�หรับรายการค่าความนิยม
รายงานประจำ�ปี 2556
135
ธนาคารและบริษทั ย่อยคำ�นวณมูลค่าสินทรัพย์และหนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีดว้ ยอัตราภาษีทคี่ าดว่าจะได้รบั ประโยชน์ จากสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีหรือในงวดที่คาดว่าจะจ่ายชำ�ระหนี้สินภาษี โดยใช้อัตราภาษีที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรือที่คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมีผลบังคับใช้ภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน รายการสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้ในงวดปัจจุบันจะหักกลบกันได้เมื่อธนาคารและบริษัทย่อยมีสิทธิตามกฎหมาย ในการนำ�สินทรัพย์และหนี้สินดังกล่าวมาหักกลบกันและธนาคารและบริษัทย่อยตั้งใจจะชำ�ระหนี้สินดังกล่าวด้วยยอดสุทธิ หรือตั้งใจจะรับชำ�ระสินทรัพย์และหนี้สินในเวลาเดียวกันและทั้งสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชีเกี่ยวข้องกับหน่วยงานการจัดเก็บภาษีเดียวกัน ธนาคารและบริษทั ย่อยแสดงรายการค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้หรือรายได้ภาษีเงินได้ทเี่ กีย่ วข้องกับกำ�ไรหรือขาดทุนไว้ในงบกำ�ไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายการภาษีเงินได้ในงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะบันทึกโดยตรงไปยังองค์ประกอบอื่น ของส่วนของเจ้าของ ถ้าภาษีเงินได้ที่เกิดขึ้นนั้นเกี่ยวข้องกับรายการที่ได้บันทึกโดยตรงไปยังองค์ประกอบอื่นของส่วนของ เจ้าของในงวดบัญชีเดียวกันหรือต่างงวด 3.22 กำ�ไรต่อหุ้น ธนาคารและบริษทั ย่อยคำ�นวณกำ�ไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐานโดยการหารกำ�ไรสุทธิส�ำ หรับงวด ด้วยจำ�นวนถัวเฉลีย่ ถ่วงน้�ำ หนักของจำ�นวน หุน้ สามัญทีช่ �ำ ระแล้วและออกจำ�หน่ายในระหว่างงวด อย่างไรก็ตาม ธนาคารและบริษทั ย่อยได้ค�ำ นวณกำ�ไรต่อหุน้ ลดลงอย่างเต็มที่ เพื่อการเปรียบเทียบ โดยนำ�กำ�ไรสุทธิบวกค่าใช้จ่าย (สุทธิจากภาษีเงินได้) ที่สามารถประหยัดได้ หากมีการแปลงหุ้นสามัญเทียบ เท่าปรับลดในงวดนั้นหารด้วยจำ�นวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักของจำ�นวนหุ้นสามัญ (รวมหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดทั้งสิ้น) 3.23 ผลประโยชน์ของพนักงาน เงินกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ธนาคารและบริษัทย่อยได้จัดตั้งกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพซึ่งเป็นแผนการจ่ายสมทบตามที่กำ�หนดไว้ สินทรัพย์ของกองทุนสำ�รอง เลี้ยงชีพได้แยกออกจากสินทรัพย์ของธนาคารและบริษัทย่อย และมีการบริหารโดยผู้จัดการกองทุน กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพได้รับ เงินสะสมเข้ากองทุนจากพนักงานและเงินสมทบจากธนาคารและบริษัทย่อย เงินจ่ายสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพบันทึกเป็น ค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้น ธนาคารและบริษัทย่อยและพนักงานทุกคนที่เป็นสมาชิกจ่ายเงินสมทบในอัตราเดียวกัน ดังนี้ อายุงาน อัตราสมทบ (ร้อยละ) ไม่ครบ 5 ปี 5 5 ปีขึ้นไป 8 - 10 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน เงินชดเชยตามกฎหมาย พนักงานทุกคนจะได้รับเงินชดเชยเมื่อออกจากงานตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์นี้ได้ถูกพิจารณาเป็นโครงการผลประโยชน์ที่กำ�หนดไว้ โดยมิได้จัดตั้งเป็นกองทุนตามนิยาม ของมาตรฐานฉบับที่ 19 เรื่องผลประโยชน์ของพนักงาน และแยกคำ�นวณโดยผู้เชี่ยวชาญด้านคณิตศาสตร์ประกันภัยโดยใช้วิธีคิด ลดแต่ละหน่วยที่ประมาณไว้ (The Projected Unit Credit Method) เพื่อคำ�นวณมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดของผลประโยชน์ที่ คาดว่าจะต้องจ่ายในอนาคต โดยการคำ�นวณนี้ได้ปฎิบตั ติ ามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ซึง่ รวมถึง ประมาณการเงินเดือนพนักงาน อัตราการลาออก อัตราการขึ้นเงินเดือน อัตราการตาย อัตราคิดลด อายุงาน และปัจจัยอื่นๆ
136
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
กำ�ไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยรับรู้ในรายการกำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น ธนาคารและบริษทั ย่อยรับรูภ้ าระผูกพันผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงานเป็นประมาณการหนีส้ นิ ในงบแสดงฐานะการเงินและ รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ผลประโยชน์จากวันลาพักร้อนสะสม ธนาคารและบริษทั ย่อยรับรูผ้ ลประโยชน์จากวันลาพักร้อนสะสมของพนักงานที่ได้ปฏิบตั งิ านเป็นประมาณการหนีส้ นิ ในงบแสดงฐานะ การเงิน และรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายพนักงานในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 3.24 ตราสารอนุพันธ์ รายการตราสารอนุพันธ์ทางการเงินมีวิธีการรับรู้รายการดังนี้ 3.24.1 เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์เพื่อค้าจะถูกบันทึกบัญชีในขั้นแรกด้วยมูลค่ายุติธรรม ค่าใช้จ่ายที่เกิดจาก การทำ�รายการดังกล่าวบันทึกในกำ�ไรหรือขาดทุน เมือ่ เกิดขึน้ การวัดมูลค่าใหม่ภายหลังการบันทึกครัง้ แรกใช้มลู ค่ายุตธิ รรม กำ�ไรหรือขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ให้เป็นมูลค่ายุติธรรมบันทึกในกำ�ไรหรือขาดทุนทันที 3.24.2 กลุ่มอนุพันธ์ทางการเงินเพื่อป้องกันความเสี่ยงของรายการที่รับรู้ตามเกณฑ์คงค้างบันทึกเป็นรายการนอกงบแสดงฐานะ การเงินและรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์ คงค้างในลักษณะเดียวกับรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง 3.25 การรับรู้และตัดบัญชีสินทรัพย์ของลูกค้า บริษทั ย่อยบันทึกเงินทีล่ กู ค้าวางไว้กบั บริษทั ย่อยเพือ่ การซือ้ ขายหลักทรัพย์บญั ชีเงินสดและเงินทีล่ กู ค้าวางเป็นหลักประกันเพือ่ การ ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าเป็นสินทรัพย์และหนี้สินของบริษัทย่อยเพื่อการควบคุมภายในของบริษัทย่อย และ ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงาน บริษัทย่อยได้ตัดรายการดังกล่าวออกทั้งด้านสินทรัพย์และหนี้สิน โดยจะแสดงเฉพาะสินทรัพย์ที่เป็นของบริษัท ย่อยเท่านั้น 3.26 การยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ บริษทั ย่อยบันทึกบัญชีรบั รูภ้ าระทีต่ อ้ งส่งคืนหลักทรัพย์ทยี่ มื มาซึง่ ได้น�ำ ไปขายหรือให้ยมื ต่อเป็น “เจ้าหนีธ้ รุ กิจหลักทรัพย์และสัญญา ซือ้ ขายล่วงหน้า” ในงบแสดงฐานะการเงิน และ ณ วันสิน้ งวดบริษทั ย่อยปรับปรุงบัญชีเจ้าหนีห้ นุ้ ยืม โดยคำ�นวณจากราคาเสนอขาย ล่าสุด ณ สิ้นวันทำ�การสุดท้ายของงวดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและบันทึกการเปลี่ยนแปลงมูลค่าดังกล่าวในงบกำ�ไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริษทั ย่อยบันทึกบัญชีหลักทรัพย์ซงึ่ นำ�ไปให้ลกู ค้ายืมต่อเป็น “ลูกหนีธ้ รุ กิจหลักทรัพย์และสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้า” ในงบแสดงฐานะการเงิน เงินสดที่นำ�ไปวางเป็นหลักประกันหรือรับจากคู่สัญญาบันทึกในบัญชี “ลูกหนี้ทรัพย์สินวางประกัน” หรือ “เจ้าหนี้ทรัพย์สินที่รับเป็นประกัน” และบันทึกค่าธรรมเนียมการยืมและการให้ยืมหลักทรัพย์ตามเกณฑ์คงค้าง 3.27 ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชี ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชี หมายถึง ยอดดุลสุทธิลูกหนี้สำ�นักหักบัญชีที่เกิดจากการชำ�ระราคาซื้อขายหลักทรัพย์ตราสารทุนที่ซื้อขาย ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และยอดดุลสุทธิลูกหนี้สำ�นักหักบัญชีสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งรวมถึงเงินที่ได้นำ�ไปวางเป็น ประกันกับสำ�นักหักบัญชีในการทำ�ธุรกรรมอนุพันธ์ของบริษัทย่อย 3.28 เจ้าหนี้สำ�นักหักบัญชี เจ้าหนีส้ �ำ นักหักบัญชี หมายถึง ยอดดุลสุทธิเจ้าหนีส้ �ำ นักหักบัญชีทเี่ กิดจากการชำ�ระราคาซือ้ ขายหลักทรัพย์ตราสารทุนทีซ่ อื้ ขายใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และยอดดุลสุทธิเจ้าหนี้สำ�นักหักบัญชีสำ�หรับการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของบริษัทย่อย
รายงานประจำ�ปี 2556
137
3.29 ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าหมายถึงลูกหนี้ที่ซื้อขายหลักทรัพย์ด้วยเงินสด ซึ่งเป็นบัญชีที่ลูกหนี้จะต้องชำ�ระ ราคาค่าซื้อหลักทรัพย์ให้บริษัทภายใน 3 วันทำ�การ 3.30 เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เจ้าหนีธ้ รุ กิจหลักทรัพย์และสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้า หมายถึง ภาระของบริษทั ย่อยจากการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจสัญญา ซือ้ ขายล่วงหน้าทีม่ ตี อ่ บุคคลภายนอก เช่น ยอดดุลสุทธิเจ้าหนีล้ กู ค้าซือ้ หลักทรัพย์ดว้ ยเงินสด ภาระทีต่ อ้ งส่งมอบหลักทรัพย์เนือ่ งจาก การขายชอร์ตหรือการยืมหลักทรัพย์ และภาระทีต่ อ้ งส่งคืนทรัพย์สนิ ทีบ่ ริษทั ย่อยถือไว้เพือ่ เป็นประกันการให้ยมื หลักทรัพย์ เป็นต้น 3.31 หุ้นกู้อนุพันธ์ หุน้ กูอ้ นุพนั ธ์เป็นหุน้ กูท้ บี่ ริษทั ย่อยออกและเสนอขายให้แก่ลกู ค้าหรือผูม้ คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ย่อย ซึง่ เป็นผูล้ งทุนสถาบัน หรือผูล้ งทุนรายใหญ่โดยเฉพาะเจาะจงโดยออกจำ�หน่ายภายใต้เงือ่ นไขที่ได้รบั อนุมตั จิ ากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ หุ้นกู้อนุพันธ์ดังกล่าวมีการอ้างอิงกับราคาหุ้นสามัญในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หุน้ กูด้ งั กล่าวแสดงด้วยราคาทุนทีข่ ายปรับด้วยส่วนตํา่ กว่ามูลค่าของหุน้ กูท้ ตี่ ดั จำ�หน่ายตามอัตราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้จริง ซึง่ จำ�นวนทีต่ ดั จำ�หน่ายนี้จะแสดงเป็นรายการดอกเบี้ยจ่ายในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ อนุพนั ธ์ทางการเงินแฝงแสดงภายใต้บญั ชีสนิ ทรัพย์/หนีส้ นิ อนุพนั ธ์ทางการเงินโดยแสดงด้วยมูลค่ายุตธิ รรมและรับรูก้ ารเปลีย่ นแปลง มูลค่ายุติธรรมในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ซึ่งมูลค่ายุติธรรมคำ�นวณโดยใช้เทคนิคและแบบจำ�ลองตามทฤษฎีในการประเมินมูลค่า ซึ่งตัวแปรที่ใช้ในแบบจำ�ลองได้มาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที่มีอยู่ในตลาด โดยคำ�นึงถึงข้อมูลความสัมพันธ์ของสภาพคล่อง เงินปันผล อัตราดอกเบี้ย ราคาของสินค้าอ้างอิง และการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าของสินค้าอ้างอิง 4. การบริหารความเสี่ยง
นโยบายหลักในการบริหารความเสีย่ งของธนาคารและบริษทั ย่อย คือ การบริหารความเสีย่ งให้ครอบคลุมทัง้ องค์กร เพือ่ ให้การบริหารความ เสีย่ งมีความเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ในแต่ละธุรกิจและหน่วยงานภายในจะมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบหลักในการเข้าใจความเสีย่ งและจัด ให้มกี ารบริหารจัดการความเสีย่ งอย่างเพียงพอ เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ โดยอยูภ่ ายใต้กรอบและนโยบายการบริหารความเสีย่ งรวม ของธนาคารและบริษัทย่อย สายบริหารความเสี่ยงจะทำ�หน้าที่ในการกำ�กับดูแลและสอบทานเพื่อให้แน่ใจว่าสายธุรกิจและหน่วยธุรกิจมี กลไกการบริหารและควบคุมความเสี่ยงที่เพียงพอ สินทรัพย์ทางการเงินที่สำ�คัญที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินประกอบด้วย เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุนใน หลักทรัพย์ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ และเงินให้สินเชื่อ หนี้สินทางการเงินที่สำ�คัญที่แสดงในงบแสดงฐานะ การเงินประกอบด้วย เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน และตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม ความเสี่ยงของเครื่องมือทางการเงิน (Financial instruments) ที่มีสาระสำ�คัญของธนาคารและบริษัทย่อยมีดังต่อไปนี้ 4.1 ความเสี่ยงทางด้านเครดิต (Credit risk) ความเสี่ยงด้านเครดิต คือ ความเสี่ยงจากการที่ลูกหนี้ไม่สามารถชำ�ระเงินต้นหรือดอกเบี้ยได้ตามสัญญา หรือกรณีที่คู่สัญญาไม่ ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไข หรือข้อตกลงในสัญญา ทัง้ นีค้ วามเสีย่ งด้านสินเชือ่ ครอบคลุมไปถึงผลิตภัณฑ์ทางการเงินทุกประเภท ทัง้ ธุรกรรม ที่อยู่บนงบแสดงฐานะการเงิน เช่น เงินให้กู้ยืม เงินเบิกเกินบัญชี ตั๋วเงิน ตลอดจนลูกหนี้ตามสัญญาประเภทอื่นๆ และธุรกรรมนอก งบแสดงฐานะการเงิน เช่น การซื้อขายอนุพันธ์ หนังสือคํ้าประกันประเภทต่างๆ เป็นต้น
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
138
สำ�หรับสินทรัพย์ที่แสดงไว้ในงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงทางด้านเครดิตนี้มีมูลค่าตามที่แสดงไว้ในงบแสดงฐานะการเงิน หลังจากหักสำ�รองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญแล้ว (ดูหมายเหตุข้อ 6.9) ซึ่งเป็นความเสี่ยงสูงสุดทางด้านเครดิต ธนาคารและบริษัทย่อยพิจารณาว่าไม่มคี วามเสี่ยงทีเ่ ป็นสาระสำ�คัญเกี่ยวกับการกระจุกตัวของสินเชือ่ เนือ่ งจากมีจ�ำ นวนลูกค้าหรือ คู่สัญญาเป็นจำ�นวนมากและกระจายอยู่ในหลายประเภทธุรกิจ ความเสี่ยงทางด้านเครดิตนี้สามารถเกิดขึ้นได้กับเครื่องมือทางการเงินนอกงบแสดงฐานะการเงินด้วยในกรณีที่ลูกค้าไม่สามารถ ปฏิบัติตามสัญญาได้เมื่อครบกำ�หนด ธนาคารและบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งทางด้านการให้เครดิต ในกรณีทคี่ สู่ ญั ญาไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญาของเครือ่ งมือทางการเงินนอกงบ แสดงฐานะการเงินอันได้แก่ สัญญาที่จะขยายวงเงินสินเชื่อ แสตนบายเล็ตเตอร์ออฟเครดิต และหนังสือคํ้าประกันทางการเงิน ซึ่ง ความเสีย่ งดังกล่าวจะมีคา่ เท่ากับมูลค่าตามสัญญาที่ได้ตกลงกันไว้ในเบือ้ งต้น ธนาคารและบริษทั ย่อยได้ใช้นโยบายและวิธกี ารในการ พิจารณาการให้สนิ เชือ่ ประเภทนีเ้ ช่นเดียวกับการให้สนิ เชือ่ สำ�หรับรายการใน งบแสดงฐานะการเงิน สำ�หรับสัญญาแลกเปลีย่ นอัตรา ดอกเบี้ยและสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้านั้น มูลค่าตามสัญญาไม่ได้แสดงถึงจำ�นวนความสูญเสียจากการให้สินเชื่อ ธนาคารและบริษัทย่อยควบคุมความเสี่ยงจากการให้สินเชื่อของเครื่องมือทางการเงินเหล่านี้ โดยมีขั้นตอนการอนุมัติวงเงิน และ การติดตามที่รอบคอบรัดกุม ธนาคารและบริษทั ย่อยมีนโยบายทีจ่ ะทำ�ให้แน่ใจว่าได้ให้สนิ เชือ่ ไปยังลูกค้าทีม่ ปี ระวัตสิ นิ เชือ่ อยู่ในระดับทีม่ คี วามเหมาะสม คูส่ ญั ญา ในอนุพันธ์และรายการเงินสดได้เลือกที่จะทำ�รายการกับสถาบันการเงินที่มีคุณภาพความน่าเชื่อถืออยู่ในระดับสูง และยังมีการ กำ�หนดวงเงินของธุรกรรมให้สินเชื่อกับลูกค้าหรือสถาบันการเงินอย่างเหมาะสม การกระจุกตัวของความเสี่ยงจากการผิดสัญญาของเงินให้สินเชื่อแยกตามประเภทอุตสาหกรรม สรุปได้ดังนี้
งบการเงินรวม 2556 การเกษตรและเหมืองแร่ 29,532 อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ 6,568,291 ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง 37,044,249 การสาธารณูปโภคและบริการ 766,803 เงินให้สินเชื่อที่อยู่อาศัย 456,779 เงินให้สินเชื่อเพื่อเช่าซื้อรถยนต์ 140,135,836 เงินให้สินเชื่อเพื่อสัญญาเช่าการเงิน 883,015 อื่นๆ 4,918,995 190,803,500 รวมเงินให้สินเชื่อ
2555 24,378 6,232,618 28,155,049 827,182 523,392 127,665,135 669,483 4,896,798 168,994,035
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 29,532 24,378 6,568,291 6,232,618 37,044,249 28,155,049 766,803 827,182 456,779 523,392 140,135,836 127,665,135 883,015 669,483 6,104,512 5,140,361 191,989,017 169,237,598
4.2 ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Interest rate risk and liquidity risk) การจัดหาแหล่งเงินระยะยาวเพือ่ ให้มคี วามสมดุลกับการลงทุนหรือเงินให้กรู้ ะยะยาวเป็นนโยบายพืน้ ฐานของการจัดการความเสีย่ ง ด้านสภาพคล่องของธนาคาร ในขณะเดียวกันการบริหารหนี้สินที่มีระยะเวลาที่เหมาะสมและต้นทุนตํ่าก็เป็นนโยบายพื้นฐานของ ธนาคารเช่นกัน ความสามารถ ในการจับคูด่ งั กล่าวอย่างสมบูรณ์ของทัง้ สองประการนัน้ ย่อมเป็นไปได้ยาก เนือ่ งจากธุรกรรม ทางธุรกิจ และความหลากหลายของแหล่งเงินในอัตราดอกเบี้ยที่ต่างกัน ธนาคารมีคณะกรรมการซึ่งมีการประชุมทุกสัปดาห์เพื่อดูแล ความเสี่ยงทั้งสองประการให้เกิดความสมดุลสูงสุดด้วยต้นทุนที่เหมาะสม
รายงานประจำ�ปี 2556
139
4.2.1 ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย (Interest rate risk) ความเสีย่ งด้านอัตราดอกเบีย้ เกิดจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราดอกเบีย้ อันจะมีผลให้เกิดความผันผวนต่อรายได้ดอกเบีย้ สุทธิ ในปีปจั จุบนั และในอนาคต ความเสีย่ งของอัตราดอกเบีย้ เกิดจากโครงสร้างและลักษณะของสินทรัพย์ หนีส้ นิ และส่วนของเจ้าของ สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินของธนาคาร โดยส่วนใหญ่จะได้รับผลกระทบจากการเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ยใน ท้องตลาด เงินให้สินเชื่อของธนาคารมีอตั ราดอกเบีย้ แบบคงทีแ่ ละบางส่วนมีอตั ราดอกเบีย้ แบบลอยตัว โดยอ้างอิงอัตราเงิน ให้กู้ยืมขั้นตํ่า (MLR)+ หรืออัตราเงินเบิกเกินบัญชีขั้นตํ่า (MOR)+ เป็นต้น ข้อมูลเกี่ยวกับเงินให้สินเชื่อ จำ�แนกตามหนี้ที่มี อัตราดอกเบี้ยคงที่และลอยตัวสรุปได้ดังนี้ หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 150,542,302 40,261,198 190,803,500
เงินให้สินเชื่อที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ เงินให้สินเชื่อที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว รวมเงินให้สินเชื่อ
2555 138,344,907 30,649,128 168,994,035
2556 150,542,302 41,446,715 191,989,017
2555 138,344,907 30,892,691 169,237,598
ธนาคารและบริษทั ย่อยได้สรุประยะเวลาครบกำ�หนดของการเปลีย่ นแปลงอัตราดอกเบีย้ ของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ดังนี้
สินทรัพย์ทางการเงิน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์สุทธิ เงินให้สินเชื่อ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญา ซื้อขายล่วงหน้า ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชี หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หนี้สินตราสารอนุพันธ์ ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม เจ้าหนี้สำ�นักหักบัญชี เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า
หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม 2556 0 - 3 เดือน
มากกว่า 3 - 12 เดือน
มากกว่า มากกว่า 5 ปี เงินให้สินเชื่อ 1 - 5 ปี ด้อยคุณภาพ
ไม่มีภาระ ดอกเบี้ย
6,829,963 30,077 7,608,811 50,103 52,207,889
17,342 855,747 474,028 28,252,293
8,126,909 707,590 57,300 98,075,495
2,328,959 4,991,631
2,652,984 980,545
2,898,643 9,728,606 326,142 373,561 8,050,285 26,970,711 - 3,884,705 57,300 6,295,647 190,803,500
-
-
-
-
-
67,981,783 5,376,156 66,549 16,520,848 912
72,392,670 244,775 43,622 15,347,103 -
5,459,813 1,018,401 10,691,078 -
10,000 -
-
162,232 145,996,498 16,689 6,656,021 414,296 414,296 523,944 634,115 - 42,569,029 1,049,821 1,050,733
20,899
-
-
-
-
8,866,020
10,207,069 460,995
รวม
10,207,069 460,995
8,886,919
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
140
หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม 2555 มากกว่ า มากกว่ า ให้สินเชื่อ ไม่มีภาระ 0 - 3 เดือน 3 - 12 เดือน 1 - 5 ปี มากกว่า 5 ปี เงิด้อนยคุ รวม ณภาพ ดอกเบี้ย สินทรัพย์ทางการเงิน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ 2,744,532 992,154 - 3,788,590 7,525,276 สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์สุทธิ เงินให้สินเชื่อ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญา ซื้อขายล่วงหน้า ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชี หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หนี้สินตราสารอนุพันธ์ ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม เจ้าหนี้สำ�นักหักบัญชี เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า
17,378,563 33,683 40,143,635
6,656 8,046,094 664,391 27,469,664
75,292 3,206,369 1,018,462 77,746 89,875,823
3,004,943 6,826 5,877,368
3,002,983 646,908
5,637 87,585 5,987,869 37,623,838 - 4,726,345 77,746 4,980,637 168,994,035
780
-
-
-
-
74,576,609 2,389,812
49,861,305 2,214,851
28,020,460 820,968
-
-
568,864 153,027,238 42,776 5,468,407
5,158,933 -
12,295,868 -
9,643,535 -
2,025,000 -
-
374,595 7,931 149,364
374,595 7,931 29,123,336 149,364
18,175
-
-
-
-
4,739,275
4,757,450
4,818,085 755,936
4,818,085 756,716
หน่วย : พันบาท
สินทรัพย์ทางการเงิน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ เงินให้สินเชื่อ หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หนี้สินตราสารอนุพันธ์ ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม
0 - 3 เดือน
มากกว่า 3 - 12 เดือน
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 มากกว่า มากกว่า 5 ปี เงินให้สินเชื่อ 1 - 5 ปี ด้อยคุณภาพ
4,142,388 30,077 6,810,945 51,643,406
17,342 815,337 471,727 30,002,293
8,116,709 707,590 98,075,495
2,328,959 4,991,631
980,545
2,113,271 6,255,659 243,878 291,297 23,127 18,095,077 - 1,179,317 6,295,647 191,989,017
68,110,022 5,465,826 66,549 16,520,847
72,392,670 244,775 43,622 13,614,445
5,459,813 1,018,401 10,691,078
10,000
-
162,232 146,124,737 16,689 6,745,691 414,296 414,296 142,427 252,598 - 40,836,370
ไม่มีภาระ ดอกเบี้ย
รวม
รายงานประจำ�ปี 2556
141
หน่วย : พันบาท
สินทรัพย์ทางการเงิน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ เงินให้สินเชื่อ หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม
0 - 3 เดือน
มากกว่า 3 - 12 เดือน
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2555 มากกว่า มากกว่า 5 ปี เงินให้สินเชื่อ 1 - 5 ปี ด้อยคุณภาพ
1,929,563 13,073,857 40,393,499
992,153 6,656 8,046,094 657,056 27,469,664
75,292 3,206,369 985,585 89,875,823
3,004,943 5,877,368
640,607
3,282,795 6,204,511 81,948 141,028 27,472,291 - 1,642,641 4,980,637 169,237,598
75,081,080 2,389,736 5,158,933
49,861,305 2,346,960 10,631,507
28,020,460 820,968 9,643,535
2,025,000
-
568,864 153,531,709 55,088 5,612,752 374,595 374,595 - 27,458,975
ไม่มีภาระ ดอกเบี้ย
รวม
ยอดคงเหลือถัวเฉลีย่ ของสินทรัพย์ทางการเงินทีก่ อ่ ให้เกิดรายได้ทม่ี สี าระสำ�คัญและหนีส้ นิ ทางการเงินทีม่ สี าระสำ�คัญของธนาคาร รวมทัง้ อัตราเฉลีย่ ของดอกเบีย้ และเงินปันผล สรุปได้ดงั นี้
หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือ ดอกเบี้ยและ อัตราเฉลี่ย ถัวเฉลี่ย เงินปันผล (ร้อยละ) สินทรัพย์ทางการเงินที่ก่อให้เกิดรายได้ที่มีสาระสำ�คัญ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ 12,689,799 327,153 2.58 เงินลงทุนในหลักทรัพย์ 24,183,550 776,530 3.21 เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง 3,833,797 556,556 14.52 เงินให้สินเชื่อ 182,325,258 14,148,433 7.76 223,032,404 15,808,672 7.09 หนี้สินทางการเงินที่มีสาระสำ�คัญ เงินรับฝากและรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ 160,119,379 5,329,163 3.33 ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม 35,433,599 1,254,983 3.54 195,552,978 6,584,146 3.37
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
142
หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ยอดคงเหลือ ถัวเฉลี่ย สินทรัพย์ทางการเงินที่ก่อให้เกิดรายได้ที่มีสาระสำ�คัญ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง เงินให้สินเชื่อ หนี้สินทางการเงินที่มีสาระสำ�คัญ เงินรับฝากและรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม
ดอกเบี้ยและ เงินปันผล
อัตราเฉลี่ย (ร้อยละ)
18,692,882 33,680,288 4,583,719 154,428,853 211,385,742
644,993 935,191 886,415 11,985,104 14,451,703
3.45 2.78 19.34 7.76 6.84
119,808,283 65,432,320 185,240,603
4,048,878 2,598,637 6,647,515
3.38 3.97 3.59
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือ ดอกเบี้ยและ อัตราเฉลี่ย ถัวเฉลี่ย เงินปันผล (ร้อยละ) สินทรัพย์ทางการเงินที่ก่อให้เกิดรายได้ที่มีสาระสำ�คัญ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง เงินให้สินเชื่อ หนี้สินทางการเงินที่มีสาระสำ�คัญ เงินรับฝากและรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม
10,477,501 19,658,115 1,727,324 183,485,728 215,348,668
251,836 636,210 140,478 14,169,406 15,197,930
2.40 3.24 8.13 7.72 7.06
160,219,364 33,837,532 194,056,896
5,313,924 1,205,980 6,519,904
3.32 3.56 3.36
รายงานประจำ�ปี 2556
143
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ยอดคงเหลือ ดอกเบี้ยและ อัตราเฉลี่ย ถัวเฉลี่ย เงินปันผล (ร้อยละ) สินทรัพย์ทางการเงินที่ก่อให้เกิดรายได้ที่มีสาระสำ�คัญ รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง เงินให้สินเชื่อ หนี้สินทางการเงินที่มีสาระสำ�คัญ เงินรับฝากและรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม
17,801,496 30,665,751 2,060,798 153,806,582 204,334,627
120,547,023 66,800,595 187,347,618
614,598 888,027 133,252 11,960,947 13,596,824
3.45 2.90 6.47 7.78 6.65
4,075,350 2,645,438 6,720,788
3.38 3.96 3.59
4.2.2 ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง หมายถึงความเสี่ยงจากการที่ธนาคารและบริษัทย่อยไม่สามารถจ่ายหนี้สินและภาระผูกพัน เมื่อถึงกำ�หนดเวลาเนื่องจากไม่สามารถแปลงสินทรัพย์ที่มีเป็นเงินสดได้ทันเวลาหรือไม่สามารถจัดหาแหล่งเงินทุนได้ อย่างเพียงพอ หรือในกรณีที่สามารถทำ�ได้ก็มีต้นทุนที่สูงมาก ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อรายได้และเงินทุนของธนาคาร และบริษัทย่อยทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ธนาคารและบริษัทย่อยมีนโยบายดำ�รงสินทรัพย์สภาพคล่องส่วนเกินในจำ�นวนที่เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจและเพียงพอ สำ�หรับรองรับความต้องการเงินสดเพือ่ ใช้ในธุรกิจของธนาคารและกลุม่ ธุรกิจทางการเงินของธนาคาร โดยบริหารสภาพคล่อง ทัง้ ในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณเพือ่ เป็นการกระจายความเสีย่ งให้เหมาะสม พิจารณาโครงสร้างและพฤติกรรมการฝาก/ถอน เงินของลูกค้าและภาวะการแข่งขัน เพือ่ ให้สอดคล้องกับความต้องการกระแสเงินสดในแต่ละระยะเวลาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในระดับต้นทุนที่เหมาะสม โดยอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ธนาคารใช้เครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยงด้านสภาพคล่องอาทิ การวิเคราะห์ Liquidity Gap รวมถึงการปรับ พฤติกรรม และการวิเคราะห์ Liquidity ratio นอกเหนือจากการดำ�รงสินทรัพย์สภาพคล่องตามกฎหมายตามที่ธนาคารแห่ง ประเทศไทยกำ�หนด นอกจากนี้บริษัทย่อยจัดให้มีการติดตามกระแสเงินสดเข้าและออกโดยฝ่ายบริหารเงิน เพื่อวางแผน เกี่ยวกับกระแสเงินสดประจำ�วัน มีการควบคุมขนาดธุรกรรมที่มีความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดภาระผูกพันที่ต้องชำ�ระเงินสด และพิจารณารวมถึงความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพคล่องและการดำ�รงเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิให้เป็นไป ตามข้อกำ�หนดของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ นอกจากนั้น ธนาคารยังได้มีการเตรียมความพร้อมและปรับกลยุทธ์เพื่อรองรับพระราชบัญญัติสถาบันคุ้มครองเงินฝาก และ เพือ่ เพิม่ เครือ่ งมือในการบริหารจัดการสภาพคล่องและเพิม่ ทางเลือกในการออมให้กบั ลูกค้า โดยการออกผลิตภัณฑ์ประเภท ตั๋วแลกเงินและหุ้นกู้อย่างต่อเนื่องภายใต้ วงเงินที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการธนาคาร
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
144
สินทรัพย์และหนี้สินที่มีสาระสำ�คัญ วิเคราะห์ตามระยะเวลาครบกำ�หนดของสัญญา จำ�แนกได้ดังนี้ หน่วย : พันบาท
สินทรัพย์ทางการเงิน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์สุทธิ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญา ซื้อขายล่วงหน้า ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชี ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน เงินให้สินเชื่อ รวมสินทรัพย์ทางการเงิน หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หนี้สินตราสารอนุพันธ์ ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม เจ้าหนี้สำ�นักหักบัญชี เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า รวมหนี้สินทางการเงิน
เมื่อ ทวงถาม
น้อยกว่าหรือ เท่ากับ 1 ปี
งบการเงินรวม 2556 มากกว่า มากกว่า 5 ปี 1- 5 ปี
ไม่มีระยะเวลา กำ�หนด
รวม
3,333,748 -
6,344,654 314,237 14,827,005 60,960 -
59,324 8,135,185 3,823,745 57,300
2,328,959 -
1,230,769 50,204 1,679,562 -
1,230,769 9,728,606 373,561 26,970,711 3,884,705 57,300
18,087 8,611 2,366,508 5,726,954
10,207,069 460,995 2,742,272 47,474 3,498,673 38,503,339
102,294,748 826,930 26,736,014 141,933,246
35,080,729 17,183,454 54,593,142
2,960,535
10,207,069 460,995 140,135,836 883,015 49,784,649 243,717,216
24,331,205 253,356 414,296 1,300 -
116,332,584 5,384,264 559,896 23,236,650 1,050,733
5,332,709 441,426 74,219 16,331,079 -
576,975 3,000,000 -
-
145,996,498 6,656,021 414,296 634,115 42,569,029 1,050,733
25,000,157
8,886,919 155,451,046
22,179,433
3,576,975
-
8,886,919 206,207,611
รายงานประจำ�ปี 2556
145
หน่วย : พันบาท
สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์สุทธิ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญา ซื้อขายล่วงหน้า ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชี ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน เงินให้สินเชื่อ รวมสินทรัพย์ทางการเงิน หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หนี้สินตราสารอนุพันธ์ ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม เจ้าหนี้สำ�นักหักบัญชี เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า รวมหนี้สินทางการเงิน
เมื่อ ทวงถาม
น้อยกว่าหรือ เท่ากับ 1 ปี
งบการเงินรวม 2555 มากกว่า มากกว่า 5 ปี 1- 5 ปี
ไม่มีระยะเวลา กำ�หนด
รวม
5,148,978 53,818 -
2,304,785 12,293 29,318,423 21,425 -
75,292 3,505,371 4,644,276 77,746
3,004,943 6,826 -
1,392,284 71,513 1,795,101 -
1,392,284 7,525,276 87,585 37,623,838 4,726,345 77,746
780 13,358 25,368 2,181,958 7,424,260
4,818,085 755,936 2,099,400 19,554 3,062,505 42,412,406
87,769,167 624,561 21,256,522 117,952,935
37,783,210 14,158,432 54,953,411
3,258,898
4,818,085 756,716 127,665,135 669,483 40,659,417 226,001,910
25,747,189 448,844 374,595 1,195 -
99,322,555 3,403,849 7,931 17,456,406 149,364
27,957,494 1,615,714 9,640,735 -
2,025,000 -
-
153,027,238 5,468,407 374,595 7,931 29,123,336 149,364
26,571,823
4,739,275 125,079,380
39,213,943
2,025,000
18,175 18,175
4,757,450 192,908,321
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
146
หน่วย : พันบาท
สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน เงินให้สินเชื่อ รวมสินทรัพย์ทางการเงิน หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หนี้สินตราสารอนุพันธ์ ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม รวมหนี้สินทางการเงิน
เมื่อ ทวงถาม
น้อยกว่าหรือ เท่ากับ 1 ปี
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 มากกว่า มากกว่า 5 ปี 1- 5 ปี
ไม่มีระยะเวลา กำ�หนด
รวม
2,707,267 18,087 8,611 1,802,025 4,535,990
3,548,392 231,973 7,586,281 2,742,272 47,474 5,248,673 19,405,065
59,324 8,116,709 1,179,317 102,294,748 826,930 26,736,014 139,213,042
2,328,959 35,080,729 17,183,454 54,593,142
1,229,487 63,128 1,292,615
1,229,487 6,255,659 291,297 18,095,077 1,179,317 140,135,836 883,015 50,970,166 219,039,854
24,459,444 278,477 414,296 1,300 25,153,517
116,332,584 5,448,813 178,379 21,503,992 143,463,768
5,332,709 441,426 74,219 16,331,078 22,179,432
576,975 3,000,000 3,576,975
-
146,124,737 6,745,691 414,296 252,598 40,836,370 194,373,692
หน่วย : พันบาท
สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน เงินให้สินเชื่อ รวมสินทรัพย์ทางการเงิน หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม รวมหนี้สินทางการเงิน
เมื่อ ทวงถาม
น้อยกว่าหรือ เท่ากับ 1 ปี
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2555 มากกว่า มากกว่า 5 ปี 1- 5 ปี
ไม่มีระยะเวลา กำ�หนด
รวม
3,911,725 13,358 25,368 2,425,521 6,375,972
2,292,786 6,656 20,894,555 2,099,400 19,554 3,062,505 28,375,456
75,292 3,432,955 1,642,641 87,769,167 624,561 21,256,522 114,801,138
3,004,943 37,783,210 14,158,432 54,946,585
1,391,033 139,838 1,530,871
1,391,033 6,204,511 81,948 27,472,291 1,642,641 127,665,135 669,483 40,902,980 206,030,022
26,251,660 336,078 374,595 1,195 26,963,528
99,322,555 3,660,960 15,792,045 118,775,560
27,957,494 1,615,714 9,640,735 39,213,943
2,025,000 2,025,000
-
153,531,709 5,612,752 374,595 27,458,975 186,978,031
รายงานประจำ�ปี 2556
147
4.3 ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน ความเสีย่ งด้านอัตราแลกเปลีย่ น หมายถึง ความเสียหายทีม่ ผี ลกระทบต่อรายได้ และ/หรือ มูลค่า ส่วนของเจ้าของ จากความผันผวน ของอัตราแลกเปลี่ยน อันเนื่องมาจากการทำ�ธุรกรรมหรือ มีสินทรัพย์หรือหนี้สินเป็นเงินสกุลต่างประเทศ ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนของธนาคารนั้นอยู่ในระดับที่ตํ่าเนื่องจากธนาคารมีการทำ�สัญญาซื้อขาย เงินตราต่างประเทศล่วงหน้าเพื่อป้องกันความเสี่ยงนี้ แต่สำ�หรับบริษัทย่อยยังคงมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สำ�คัญ อันเกี่ยวเนื่องจากรายได้และค่าใช้จ่าย ที่เป็นเงินตราต่างประเทศเนื่องจากบริษัทย่อยไม่ได้ทำ�สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้าเพื่อป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ธนาคารและบริษทั ย่อยมีสนิ ทรัพย์และหนีส้ นิ ทางการเงิน ทีเ่ ป็นสกุลเงินตราต่างประเทศดังนี้
สินทรัพย์ทางการเงิน ดอลลาร์สหรัฐฯ ดอลลาร์ฮ่องกง ยูโร เยน ปอนด์ กีบ หยวน หนี้สินทางการเงิน ดอลลาร์สหรัฐฯ ดอลลาร์ฮ่องกง ปอนด์
2556
งบการเงินรวม
2555
44,785,591 5,599,608 1,311,427,000 19,600 43,059,289,936 59,505
34,823,563 2,683,848 5,609,751 1,331,027,072 45,722,276,359 199,999,092
13,081,234 118,442 4,724
9,636,325 629,374 -
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 25,730,757 5,599,608 1,311,427,000 59,505
26,477,942 5,557,608 1,327,586,000 199,999,092
-
-
4.4 ความเสี่ยงด้านราคาตราสารทุน ความเสี่ยงด้านราคาตราสารทุน หมายถึง ความเสียหายที่มีผลกระทบต่อรายได้ และ/หรือ มูลค่า ส่วนของเจ้าของเนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงของราคาตราสารทุน ธนาคารมีการประเมินศักยภาพของบริษัทที่ออกตราสารและมีนโยบายซื้อ/ขายตราสารทุน เพื่อการลงทุนในระยะปานกลางจนถึง ระยะยาวเป็นหลัก ธนาคารบริหารความเสี่ยงของราคา ตราสารทุน ซึ่งมีเจตนาตั้งแต่แรกว่าจะถือครองระยะยาว โดยการติดตาม และรายงานสถานะ ความเสี่ยงด้านราคาตราสารทุน ตามราคาตลาดประจำ�วัน 4.5 ความเสี่ยงด้านสภาวะตลาด ความเสี่ยงด้านสภาวะตลาด หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของราคา ได้แก่ อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน และราคาของตราสารทั้งในตลาดเงินและตลาดทุน รวมถึงความผันผวนของราคาตราสารทั้งในตลาดเงินและตลาดทุนอันจะมีผล ต่อราคาตราสารอนุพันธ์ ที่มีต่อฐานะของธนาคารทั้งในบัญชีเพื่อค้าและบัญชีเพื่อการธนาคาร และก่อให้เกิดผลกระทบในทางลบ ต่อรายได้และเงินกองทุนของธนาคาร
148
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
ธนาคารตระหนักถึงความสำ�คัญของการบริหารความเสี่ยงด้านตลาด เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของราคาเป็นปัจจัยภายนอกที่อยู่ เหนือการควบคุมของธนาคาร ดังนั้น ธนาคารจึงได้วางแนวทางในการบริหารความเสี่ยงด้านตลาดเพื่อให้มีการบริหารที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ โดยการบริหารจัดการความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ ให้อยู่ในระดับความเสีย่ งทีธ่ นาคารยอมรับได้และสอดคล้องกับนโยบาย ความเสี่ยงโดยรวมของธนาคาร ทั้งนี้ ธนาคารได้จัดให้มีนโยบายการบริหารความเสี่ยงด้านตลาดและมีการทบทวนอย่างสมํ่าเสมอ เพือ่ ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะ ปริมาณ และความซับซ้อนของธุรกรรมทางการเงิน และสอดคล้องกับสถานการณ์ตลาด ที่เปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้ ธนาคารได้มีการกำ�หนดตัวชี้วัดความเสี่ยง รวมถึงกำ�หนดเพดานความเสี่ยง เพื่อใช้ประเมิน ติดตาม และควบคุมฐานะความเสี่ยงด้านตลาดให้อยู่ภายใต้ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ บริษัทย่อยมีความเสี่ยงด้านสภาวะตลาดที่เกิดจากความผันผวนของราคาหลักทรัพย์และราคาของตราสารอนุพันธ์ซึ่งอาจจะมีผล ทำ�ให้มูลค่าเงินลงทุนของบริษัทย่อยลดลงอย่างมีนัยสำ�คัญ อย่างไรก็ตาม บริษัทย่อยจัดให้มีการบริหารความเสี่ยงด้านตลาด โดยทำ�การวิเคราะห์ความเสี่ยง ด้านตลาดในธุรกรรมต่างๆ ของบริษัทย่อย พัฒนาเครื่องมือวัดระดับความเสี่ยง กำ�หนดเพดาน ควบคุมความเสี่ยงและมอบหมายให้ฝ่ายบริหารความเสี่ยงทำ�หน้าที่ติดตามระดับความเสี่ยง ด้านตลาดและรายงานต่อฝ่ายจัดการ อย่างสมํ่าเสมอ 4.6 มูลค่ายุติธรรม เนื่องจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่ของธนาคารและบริษัทย่อยจัดอยู่ในประเภทระยะสั้น และมีอัตราดอกเบี้ยใกล้ เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด ธนาคารและบริษัทย่อยจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินใกล้เคียงกับ มูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน วิธีการกำ�หนดมูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน ในกรณีของเครื่องมือทางการเงินที่มีการซื้อขายในตลาด มูลค่ายุตธิ รรมจะกำ�หนดจากราคาตลาดล่าสุด แต่หากไม่สามารถหาราคาตลาดทีเ่ หมาะสมได้ มูลค่ายุตธิ รรมของเครือ่ งมือทางการ เงินจะกำ�หนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม เช่น การคำ�นวณมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสด เป็นต้น
รายงานประจำ�ปี 2556
149
มูลค่ายุติธรรมสำ�หรับเครื่องมือทางการเงิน ณ วันที่ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังต่อไปนี้
สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์สุทธิ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับสุทธิ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญา ซื้อขายล่วงหน้า ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชี รวม หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หนี้สินตราสารอนุพันธ์ ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม เจ้าหนี้สำ�นักหักบัญชี เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ดอกเบี้ยค้างจ่าย รวม
ยอดคงเหลือ
2556
งบการเงินรวม มูลค่ายุติธรรม
ยอดคงเหลือ
หน่วย : พันบาท 2555
มูลค่ายุติธรรม
1,230,769 9,728,606 373,561 26,970,711 3,884,705 57,300 184,778,449
1,230,769 9,728,606 373,561 27,832,214 3,884,705 57,300 184,778,449
1,392,284 7,525,276 87,585 37,623,838 4,726,345 77,746 163,832,940
1,392,284 7,525,276 87,585 38,093,859 4,726,345 77,746 163,832,940
10,207,069 460,995 237,692,165
10,207,069 460,995 238,553,668
4,818,085 756,716 220,840,815
4,818,085 756,716 221,310,836
145,996,498 6,656,021 414,296 634,115 42,569,029 1,050,733 8,886,919 1,059,165 207,266,776
145,996,498 6,656,021 414,296 634,115 42,741,868 1,050,733 8,886,919 1,059,165 207,439,615
153,027,238 5,468,407 374,595 7,931 29,123,336 149,364 4,757,450 834,779 193,743,100
153,027,238 5,468,407 374,595 7,931 30,815,503 149,364 4,757,450 834,779 195,435,267 หน่วย : พันบาท
สินทรัพย์ทางการเงิน เงินสด รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับสุทธิ รวม หนี้สินทางการเงิน เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หนี้สินตราสารอนุพันธ์ ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม ดอกเบี้ยค้างจ่าย รวม
ยอดคงเหลือ
2556
งบการเงินเฉพาะธนาคาร มูลค่ายุติธรรม
ยอดคงเหลือ
2555
มูลค่ายุติธรรม
1,229,487 6,255,659 291,297 18,095,077 1,179,317 185,974,916 213,025,753
1,229,487 6,255,659 291,297 18,956,580 1,179,317 185,974,916 213,887,256
1,391,033 6,204,511 81,948 27,472,291 1,642,641 164,080,379 200,872,803
1,391,033 6,204,511 81,948 27,940,812 1,642,641 164,080,379 201,341,324
146,124,737 6,745,691 414,296 252,598 40,836,370 1,069,217 195,442,909
146,124,737 6,745,691 414,296 252,598 41,009,209 1,069,217 195,615,748
153,531,709 5,612,752 374,595 27,458,975 855,507 187,833,538
153,531,709 5,612,752 374,595 29,151,143 855,507 189,525,706
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
150
วิธีการและข้อสมมติฐานที่ธนาคารและบริษัทย่อยได้ใช้ในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ตามที่ได้เปิดเผย มีดังนี้ เงินสดและรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (สินทรัพย์) มูลค่ายุติธรรมของเงินสดและรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (ด้านสินทรัพย์) ถือตามจำ�นวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะ การเงิน ตราสารอนุพันธ์ มูลค่ายุติธรรมของตราสารอนุพันธ์ ใช้ราคาซื้อขายในตลาด หรือเทคนิคการประเมินมูลค่าซึ่งอ้างอิงจากราคาตลาดสำ�หรับ เครื่องมือทางการเงินที่มีลักษณะและวันครบกำ�หนดใกล้เคียงกัน หรือราคาประเมินของสถาบันที่เชื่อถือได้ โดยพิจารณาสำ�รอง เพื่อการปรับปรุงมูลค่า เพื่อให้ได้มูลค่ายุติธรรมที่เหมาะสม เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนสุทธิได้คำ�นวณตามวิธีการที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3.2 ยกเว้นหลักทรัพย์หุ้นทุน ทีม่ ิใช่หลักทรัพย์จดทะเบียนแสดงตามมูลค่าสินทรัพย์สทุ ธิ และหลักทรัพย์หนุ้ ทุนทีเ่ ป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนซึง่ ได้มาจากการปรับ โครงสร้างหนี้ และมีข้อผูกมัดในการถือครองตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้แสดงตามราคาทุน เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิถือตามจำ�นวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน เงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์สุทธิ มูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์สทุ ธิค�ำ นวณจากราคาประเมินทีต่ อ้ งประเมินราคาโดยผูป้ ระเมินอิสระหรือตีราคาโดย ผู้ประเมินภายในของธนาคาร ตามเกณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย และปรับลดราคาประเมินตามระยะเวลาการถือครอง เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับสุทธิ เงินให้สนิ เชือ่ แก่ลกู หนีแ้ ละดอกเบีย้ ค้างรับสุทธิรวมเงินให้สนิ เชือ่ ที่ไม่กอ่ ให้เกิดรายได้ โดยเงินให้สนิ เชือ่ ส่วนใหญ่เป็นอัตราดอกเบีย้ คงที่ มูลค่ายุติธรรมโดยประมาณ คือ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามบัญชี ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า มูลค่ายุติธรรมของลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าถือตามจำ�นวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชี มูลค่ายุติธรรมของลูกหนี้สำ�นักหักบัญชีถือตามจำ�นวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน เงินรับฝาก มูลค่ายุติธรรมของเงินรับฝากถือตามจำ�นวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (หนี้สิน) มูลค่ายุติธรรมของรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน (หนี้สิน) ถือตามจำ�นวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน
รายงานประจำ�ปี 2556
151
หนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถาม มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินจ่ายคืนเมื่อทวงถามถือตามจำ�นวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณจากราคาซื้อ-ขายในตลาด หรือราคาทุนตัดจำ�หน่าย เจ้าหนี้สำ�นักหักบัญชี มูลค่ายุติธรรมของเจ้าหนี้สำ�นักหักบัญชีถือตามจำ�นวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า มูลค่ายุติธรรมของเจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าถือตามจำ�นวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน ดอกเบี้ยค้างจ่าย มูลค่ายุติธรรมของดอกเบี้ยค้างจ่ายถือตามจำ�นวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน 4.7 ตราสารอนุพันธ์ ธนาคารใช้ตราสารอนุพนั ธ์เพือ่ ป้องกันความเสีย่ ง ตราสารอนุพนั ธ์ที่ใช้จะรวมถึงสัญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ และสัญญาซือ้ ขาย เงินตราล่วงหน้าในการบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนและความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ซึ่งอาจเกิดจากการผันผวนของ อัตราแลกเปลีย่ นและอัตราดอกเบีย้ เพือ่ ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า และเพือ่ การบริหารสินทรัพย์และหนีส้ นิ ของธนาคาร ธนาคารและบริษัทย่อยได้มีการควบคุมความเสี่ยงในการทำ�ธุรกรรมกับคู่สัญญาโดยการกำ�หนดและควบคุมวงเงินการทำ�ธุรกรรม เช่นเดียวกับนโยบายการให้สินเชื่อปกติ 4.8 การดำ�รงเงินกองทุน สืบเนื่องจากการปรับปรุงหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (Basel II) เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2555 ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศเรื่องหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลเงินกองทุนสำ�หรับธนาคารพาณิชย์ ใหม่โดยอ้างอิงจาก หลักเกณฑ์ Basel III ของ Basel Committee on Banking Supervision (BCBS) หลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลเงินกองทุนใหม่นี้เริ่ม ทยอยมีผลบังคับใช้เป็นช่วงเวลาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 1 มกราคม 2562 ซึ่งในระหว่างงวด 1 มกราคม 2556 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2558 อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงขั้นตํ่าคือร้อยละ 8.5 โดยมีเงื่อนไขว่าเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต้องเป็น อัตราส่วนไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 6 ของสินทรัพย์เสี่ยงทั้งสิ้น และเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของต้องเป็นอัตราส่วนไม่ตํ่ากว่า ร้อยละ 4.5 ของสินทรัพย์เสี่ยงทั้งสิ้น ภายใต้หลักเกณฑ์ Basel II อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงขั้นตํ่าคือร้อยละ 8.5 โดยมีเงื่อนไขว่าเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต้อง เป็นอัตราส่วนไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 4.25 ของสินทรัพย์เสี่ยงทั้งสิ้น ดังนั้น ธนาคารจึงจัดให้มีกระบวนการประเมินความเพียงพอของเงินกองทุนภายในให้สอดคล้องกับกระบวนการกำ�กับดูแลของ ธนาคารแห่งประเทศไทยและมีการตรวจสอบอย่างสมาํ่ เสมอเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าความต้องการเงินกองทุนของธนาคารทัง้ ในปัจจุบนั และ อนาคตสอดคล้องกับระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ของธนาคาร
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
152
ธนาคารดำ�รงเงินกองทุนทั้งสิ้นตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 เงินกองทุนทั้งสิ้นของธนาคารจำ�แนกได้ดังนี้ หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555
เงินกองทุนชั้นที่ 1 ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้น เงินสำ�รองตามกฎหมาย เงินสำ�รองทั่วไป กำ�ไรสะสมที่คงเหลือจากการจัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของและสำ�รองอื่นๆ หัก สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ค่าความนิยม รวมเงินกองทุนชั้นที่ 1 เงินกองทุนชั้นที่ 2 รวมเงินกองทุนตามกฎหมาย
8,388,331 9,203,653 852,337 380 12,423,333 (1,546) (753,729) (3,085,607) 27,027,152 1,150,113 28,177,265
8,328,319 9,088,009 782,332 380 11,607,077 (668,264) (3,009,963) 26,127,890 1,262,653 27,390,543
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 อัตราส่วนการดำ�รงเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง และเงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์ คำ�นวณ ตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นดังนี้ งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 Basel III
เงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็น ส่วนของเจ้าของต่อสินทรัพย์เสี่ยง เงินกองทุนชั้นที่ 1 ต่อสินทรัพย์เสี่ยง เงินกองทุนทั้งสิ้นต่อสินทรัพย์เสี่ยง
2555 Basel II
อัตราส่วน เงินกองทุน ของธนาคาร (ร้อยละ)
อัตราขั้นตํ่า ตามข้อกำ�หนด ของ ธปท. (ร้อยละ)
อัตราส่วน เงินกองทุน ของธนาคาร (ร้อยละ)
อัตราขั้นตํ่า ตามข้อกำ�หนด ของ ธปท. (ร้อยละ)
13.10 13.10 13.66
4.50 6.00 8.50
14.01 14.69
4.25 8.50
การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดำ�รงเงินกองทุน ตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการ ดำ�รงเงินกองทุนสำ�หรับธนาคารพาณิชย์ ช่องทางที่เปิดเผยข้อมูล : www.kiatnakin.co.th วันที่ที่เปิดเผยข้อมูล : 30 เมษายน 2557 ข้อมูล ณ วันที่ : 31 ธันวาคม 2556
รายงานประจำ�ปี 2556
153
5. ประมาณการและข้อสมมติฐาน
เพือ่ ให้การจัดทำ�งบการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ายบริหารต้องใช้การประมาณการและตัง้ ข้อสมมติฐานหลาย ประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อจำ�นวนเงินที่เกี่ยวกับรายได้ ค่าใช้จ่าย สินทรัพย์และหนี้สิน และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสินทรัพย์และหนี้สิน ที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากจำ�นวนที่ประมาณการไว้ ทั้งนี้ ฝ่ายบริหารต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการใน ส่วนที่เป็นสาระสำ�คัญ ซึ่งมีผลกระทบต่อจำ�นวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน ดังนี้ 5.1 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 5.1.1 เงินให้สินเชื่อ ธนาคารถือปฏิบัติในการจัดชั้นหนี้และตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับเงินให้สินเชื่อตามข้อกำ�หนดของประกาศของธนาคาร แห่งประเทศไทย และตามการประเมินผลของฝ่ายบริหารเกีย่ วกับความสูญเสียทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากยอดเงินให้สนิ เชือ่ ทีค่ งค้าง อยู่ ณ วันสิ้นงวด การจัดชั้นหนี้พิจารณาจากระยะเวลาที่ค้างชำ�ระและความสามารถในการชำ�ระหนี้ของลูกหนี้ ส่วนมูลค่า หลักประกันที่ใช้ขึ้นกับประเภทของหลักประกัน โดยธนาคารมีการประเมินราคาทุก 3 ปี ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ธนาคารแห่ง ประเทศไทย ธนาคารบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สำ�หรับเงินให้กู้ยืมที่จัดชั้นตํ่ากว่ามาตรฐาน จัดชั้นสงสัย และจัดชั้นสงสัย จะสูญในอัตราร้อยละ 100 สำ�หรับส่วนต่างระหว่างยอดหนีต้ ามบัญชีกบั มูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดทีค่ าดว่าจะได้รบั จาก ลูกหนี้หรือมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการจำ�หน่ายหลักประกัน ทั้งนี้อัตราดอกเบี้ยคิดลดและระยะ เวลาที่คาดว่าจะจำ�หน่ายหลักประกันได้อ้างอิงตามหลักเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย สำ�หรับลูกหนี้ชั้นปกติและชั้น กล่าวถึงเป็นพิเศษ ธนาคารบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในอัตราร้อยละ 1 และร้อยละ 2 ของมูลหนี้หลังหักหลักประกัน 5.1.2 ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อกลุ่มขนส่ง (Fleet) ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ธนาคารได้เปลี่ยนวีธีการพิจารณาค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อกลุ่ม ขนส่ง (Fleet) โดยพิจารณาจากระยะเวลาการค้างชำ�ระหนีข้ องลูกหนี้ ตามลักษณะการจัดชัน้ สินทรัพย์โดยพิจารณาจากมูลค่า หลักประกันและอัตราการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญถือตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งจากเดิม ธนาคารได้พิจารณากันเงินสำ�รองเป็นกลุ่มลูกหนี้ (Collective Approach) โดยพิจารณาจากผลขาดทุนจากประสบการณ์ใน อดีต ซึ่งคำ�นวณจากค่าความน่าจะเป็นที่ลูกหนี้จะผิดนัดชำ�ระหนี้ (Probability of default) และร้อยละของความเสียหาย ที่ อาจจะเกิดขึ้นเมื่อลูกหนี้ผิดนัดชำ�ระหนี้ต่อยอดหนี้ (Loss given default) และปรับปรุงเพิ่มเติมด้วยการพิจารณาค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญตามหลักเกณฑ์การจัดชั้นหนี้ที่กำ�หนดโดยธนาคารแห่งประเทศไทยข้างต้น 5.1.3 ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ธนาคารตัง้ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนีเ้ ช่าซือ้ โดยวิธกี นั เงินสำ�รองเป็นกลุม่ ลูกหนี้ (Collective Approach) โดยพิจารณา จากผลขาดทุนจากประสบการณ์ในอดีต ซึ่งคำ�นวณจากค่าความน่าจะเป็นที่ลูกหนี้จะผิดนัดชำ�ระหนี้ (Probability of default) และร้อยละของความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นเมื่อลูกหนี้ผิดนัดชำ�ระหนี้ต่อยอดหนี้ (Loss given default) รวมถึงธนาคารได้ มีการปรับปรุงผลขาดทุนจากประสบการณ์ในอดีตด้วยปัจจัยสำ�คัญที่บ่งชี้สภาวะเศรษฐกิจของทั้งในและต่างประเทศที่อาจมี ผลกระทบต่อความสามารถในการชำ�ระหนี้ ทั้งนี้การตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนี้เช่าซื้อโดยวิธีกันเงินสำ�รองแบบ กลุ่มลูกหนี้ (Collective Approach) เป็นไปตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดชั้นและการ กันเงินสำ�รองของสถาบันการเงิน
154
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
สำ�หรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2556 เป็นต้นไป ธนาคารได้พิจารณาค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มเติมจากอัตรา การกันเงินสำ�รองแบบกลุม่ ลูกหนี้ (Collective Approach) ในบางกลุม่ ของชัน้ สินทรัพย์ เพือ่ ให้สอดคล้องกับการกันเงินสำ�รอง แบบระมัดระวัง จากเดิมธนาคารตัง้ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนีเ้ ช่าซือ้ โดยวิธกี นั เงินสำ�รองเป็นกลุม่ ลูกหนี้ (Collective Approach) และได้มีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อเพิ่มเติม โดยพิจารณาค่าเผื่อหนี้สงสัยจะ สูญจากส่วนต่างระหว่างยอดลูกหนี้คงค้างกับมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้หรือมูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการจำ�หน่ายหลักประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย 5.1.4 ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ บริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า โดยการประเมินฐานะของลูกหนีแ้ ต่ละราย ประกอบกับการพิจารณาตามกฎเกณฑ์ตามประกาศของสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึง่ การประเมินนีร้ วมถึงการพิจารณาความเสีย่ งและมูลค่าของหลักทรัพย์ที่ใช้คาํ้ ประกัน บริษทั ย่อยตัง้ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนีเ้ มือ่ หนีน้ นั้ มีหลักประกันไม่เพียงพอและ/หรือมีโอกาสทีล่ กู หนีจ้ ะชำ�ระเงินต้น และดอกเบี้ยคืนไม่ครบจำ�นวน ทั้งนี้บริษัทย่อยจัดชั้นหนี้และตั้งสำ�รองตามรายละเอียดดังนี้ ก) มูลหนี้จัดชั้นสูญ หมายถึง 1) มูลหนีข้ องลูกหนีท้ ี่ได้ตดิ ตามทวงถามจนถึงทีส่ ดุ แล้ว แต่ไม่ได้รบั การชำ�ระหนี้ และบริษทั ย่อยได้ด�ำ เนินการจำ�หน่าย หนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ตามกฎหมายภาษีอากรแล้ว 2) มูลหนี้ที่บริษัทย่อยได้ทำ�สัญญาปลดหนี้ให้ ข) มูลหนี้จัดชั้นสงสัย หมายถึง มูลหนี้เฉพาะส่วนที่สูงเกินกว่าหลักประกันของลูกหนี้ที่เข้าลักษณะดังนี้ 1) ลูกหนี้ทั่วไป ลูกหนี้สถาบันการเงินที่มีปัญหา และลูกหนี้อื่นที่มีหลักประกันต่ำ�กว่ามูลหนี้ 2) ลูกหนี้ผ่อนชำ�ระรายที่มีงวดการชำ�ระเงินไม่เกินทุกสามเดือน ซึ่งค้างชำ�ระเงินต้นหรือดอกเบี้ยตั้งแต่สามเดือนขึ้นไป 3) ลูกหนี้ผ่อนชำ�ระรายที่มีงวดการชำ�ระเงินเกินกว่าทุกสามเดือน เว้นแต่มีหลักฐานที่ชัดเจนและมีความเป็นไปได้ ค่อนข้างแน่ที่บริษัทย่อยจะได้รับชำ�ระหนี้ทั้งหมด ค) มูลหนี้จัดชั้นตํ่ากว่ามาตรฐาน หมายถึง มูลหนี้ส่วนที่ไม่สูงเกินกว่าหลักประกันของลูกหนี้ที่เข้าลักษณะตาม ข) บริษัทย่อยตัดจำ�หน่ายลูกหนี้จัดชั้นสูญออกจากบัญชีทันทีที่พบรายการ และตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในอัตราไม่ตํ่ากว่า ร้อยละ 100 ของมูลหนี้จัดชั้นสงสัยทั้งจำ�นวน ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่ตั้งเพิ่มหรือลดลง บริษัทย่อยบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายหรือโอนกลับค่าใช้จ่ายในแต่ละงวดบัญชี 5.1.5 ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินฝากระยะยาวในสถาบันการเงิน บริษทั ย่อยจะตัง้ ค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินฝากระยะยาวในสถาบันการเงินเมือ่ ฝ่ายบริหารพบว่าสถาบันการเงินดังกล่าวประสบ ปัญหาการดำ�เนินงานต่อเนื่องและผิดนัดชำ�ระหนี้ ฝ่ายบริหารของบริษัทย่อยจำ�เป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผล ขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดจากเงินฝากระยะยาวกับสถาบันการเงินดังกล่าว โดยพิจารณาความสามารถในการชำ�ระหนี้รวมถึง แผนการปรับโครงสร้างหนี้ของสถาบันการเงินนั้น
รายงานประจำ�ปี 2556
155
5.2 การวัดมูลค่าเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องคำ�นวณจากมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการจำ�หน่ายหลัก ประกันซึ่งประเมินราคาโดยผู้ประเมินอิสระหรือตีราคาโดยผู้ประเมินภายในของธนาคาร ตามเกณฑ์ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย กำ�หนด และปรับลดด้วยอัตราผลตอบแทนร้อยละ 7 ต่อปี โดยคาดว่าจะจำ�หน่ายหลักประกันได้ภายใน 4 - 5 ปี แต่ทั้งนี้ต้องไม่ เกินมูลค่าตามสัญญาเดิม มูลค่ายุตธิ รรมดังกล่าวประมาณการขึน้ จากข้อมูลทีม่ อี ยู่ในปัจจุบนั การประมาณและการตัง้ ข้อสมมติฐาน หลายประการอาจไม่เป็นตัวแทนที่แท้จริงของจำ�นวนที่สามารถจะเรียกเก็บได้ในที่สุด เนื่องจากมีความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจซึ่ง เป็นปัจจัยสำ�คัญในการกำ�หนดมูลค่ายุติธรรม สำ�หรับบริษัทย่อยที่เป็นกองทุนรวมที่ลงทุนในสิทธิเรียกร้อง มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องที่ได้มีการปรับโครงสร้าง หนี้ คำ�นวณจากมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคต (อัตราดอกเบี้ยตามสัญญาใหม่) ส่วนที่ยังไม่มีการปรับ โครงสร้างหนี้ มูลค่ายุติธรรมคำ�นวณจากมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการจำ�หน่ายหลักประกันซึ่งประเมิน ราคาโดยผูป้ ระเมินอิสระหรือตีราคาโดยผูป้ ระเมินภายในของธนาคาร ตามเกณฑ์ทธี่ นาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนด และปรับลดด้วย อัตราผลตอบแทนร้อยละ 7 ต่อปี โดยคาดว่าจะจำ�หน่ายหลักประกันได้ในประมาณ 4 - 5 ปี แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินมูลค่าตามสัญญา สำ�หรับกองทุนรวมบางกอกแคปปิตอล และกองทุนรวมแกมม่าแคปปิตอล มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องคำ�นวณ จากมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากการจำ�หน่ายหลักประกันซึ่งประเมินราคาโดยผู้ประเมินอิสระหรือตีราคา โดยผู้ประเมินภายในของธนาคาร ตามเกณฑ์ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนดและปรับลดด้วยอัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้ รับ โดยคาดว่าจะจำ�หน่ายหลักประกันได้ภายใน 2.4 - 8.4 ปี แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินมูลค่าตามสัญญา 5.3 การวัดมูลค่าเงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ มูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ค�ำ นวณจากราคาประเมินทีป่ ระเมินราคาโดยผูป้ ระเมินอิสระหรือตีราคาโดยผูป้ ระเมิน ภายในของธนาคาร ตามเกณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย และปรับลดราคาประเมินตามระยะเวลาการถือครอง มูลค่ายุติธรรม ดังกล่าวประมาณการขึ้นจากข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน การประมาณการและการตั้งข้อสมมติฐานหลายประการอาจไม่เป็นตัวแทน ที่แท้จริงของจำ�นวนที่สามารถจะเรียกเก็บได้ในที่สุดเนื่องจากมีความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจที่เป็นปัจจัยสำ�คัญในการกำ�หนด มูลค่ายุติธรรม 5.4 การวัดมูลค่าทรัพย์สินรอการขาย มูลค่ายุติธรรมของทรัพย์สินรอการขายประเภทอสังหาริมทรัพย์ คำ�นวณจากราคาประเมินที่ประเมินราคาโดยผู้ประเมินอิสระหรือ ตีราคาโดยผู้ประเมินภายในของธนาคารทุกปี หักด้วยประมาณการค่าใช้จ่ายในการขาย และพิจารณาปรับลดราคาประเมินตาม ระยะเวลาการถือครอง ธนาคารบันทึกค่าเผื่อการด้อยค่าของรถยึดในอัตราร้อยละ 100 ของมูลค่ารถยึด สำ�หรับกองทุนรวมบางกอกแคปปิตอล และกองทุนรวมแกมม่าแคปปิตอล มูลค่ายุติธรรมของทรัพย์สินรอการขาย คำ�นวณจาก ราคาประเมินที่ประเมินราคาโดยผู้ประเมินอิสระหรือตีราคาโดยผู้ประเมินภายในของธนาคารทุกปี หักด้วยประมาณการค่าใช้จ่าย ในการขาย และปรับลดด้วยอัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ โดยคาดว่าจะจำ�หน่ายได้ภายใน 2.4 ปี 5.5 ค่าความนิยม ธนาคารจะทำ�การทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยมทุกๆ 1 ปี โดยใช้วิธีประมาณมูลค่ายุติธรรมจากการคำ�นวณมูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
156
6. ข้อมูลเพิ่มเติม
6.1 ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระแสเงินสด รายการที่ไม่เกี่ยวกับเงินสด สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม ลูกหนี้โอนทรัพย์สินเพื่อชำ�ระหนี้ โอนเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องเป็นเงินให้สินเชื่อ ส่วนเกินกว่าทุนจากการตีมูลค่ายุติธรรมของ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องเพิ่มขึ้น (ลดลง) ส่วนเกินกว่าทุนจากการตีมูลค่ายุติธรรมของ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายเพิ่มขึ้น (ลดลง) ออกหุ้นเพิ่มทุนเพื่อแลกหุ้นกับทุนภัทร (ดูหมายเหตุข้อ 6.5.1)
งบการเงินเฉพาะธนาคาร
2556 4,148,124 300,916
2555 2,106,702 35,558
2556 3,822,296 300,916
2555 1,970,622 35,558
12,356
(69,312)
(19,149)
(2,298)
(661,661)
79,568
(120,181)
73,644
-
-
-
7,166,837
6.2 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ (สินทรัพย์) รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ (สินทรัพย์) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
ในประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทยและ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินเฉพาะกิจ สถาบันการเงินอื่น รวม บวก ดอกเบี้ยค้างรับ หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมในประเทศ ต่างประเทศ เงินดอลลาร์สหรัฐฯ เงินยูโร เงินหยวน เงินสกุลอื่น รวม บวก ดอกเบี้ยค้างรับ รวมต่างประเทศ รวม
งบการเงินรวม
หน่วย : พันบาท
เมื่อทวงถาม
2556 มีระยะเวลา
รวม
เมื่อทวงถาม
2555 มีระยะเวลา
รวม
1,678,996 3,439,651 1,042,472 6,161,119 (11,000) 6,150,119
3,550,000 3,550,000 2,975 3,552,975
1,678,996 6,989,651 1,042,472 9,711,119 2,975 (11,000) 9,703,094
2,881,467 1,178,402 531,425 625,000 5,216,294 (6,250) 5,210,044
1,300,000 1,300,000 632 1,300,632
2,881,467 2,478,402 531,425 625,000 6,516,294 632 (6,250) 6,510,676
25,190 322 25,512 25,512 6,175,631
3,552,975
25,190 322 25,512 25,512 9,728,606
10,521 2,112 9,814 22,447 22,447 5,232,491
990,532 990,532 1,621 992,153 2,292,785
10,521 2,112 990,532 9,814 1,012,979 1,621 1,014,600 7,525,276
รายงานประจำ�ปี 2556
157
หน่วย : พันบาท
ในประเทศ ธนาคารแห่งประเทศไทยและ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินอื่น รวม บวก ดอกเบี้ยค้างรับ หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมในประเทศ ต่างประเทศ เงินดอลลาร์สหรัฐฯ เงินหยวน บวก ดอกเบี้ยค้างรับ รวมต่างประเทศ รวม
เมื่อทวงถาม
2556 มีระยะเวลา
1,678,996 434,271 600,000 2,713,267 (11,000) 2,702,267 95 322
-
417 2,702,684
งบการเงินเฉพาะธนาคาร รวม
เมื่อทวงถาม
2555 มีระยะเวลา
รวม
3,550,000 3,550,000 2,975 3,552,975
1,678,996 3,984,271 600,000 6,263,267 2,975 (11,000) 6,255,242
2,881,467 411,509 625,000 3,917,976 (6,250) 3,911,726
1,300,000 1,300,000 632 1,300,632
2,881,467 1,711,509 625,000 5,217,976 632 (6,250) 5,212,358
3,552,975
95 322
3,911,726
990,532 1,621 992,153 2,292,785
990,532 1,621 992,153 6,204,511
-
417 6,255,659
6.3 ตราสารอนุพันธ์ 6.3.1 ตราสารอนุพันธ์ ตราสารอนุพันธ์เพื่อค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ ประเภทความเสี่ยง อัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย ราคาตราสารทุน
รวม
2556 มูลค่ายุติธรรม สินทรัพย์ หนี้สิน 144,315 131,171 46,740 71,422 82,264 381,517 273,319 584,110
หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม จำ�นวนเงิน ตามสัญญา 8,731,397 26,289,000 2,414,217 37,434,614
2555 มูลค่ายุติธรรม สินทรัพย์ หนี้สิน 5,637 7,931 5,637 7,931
จำ�นวนเงิน ตามสัญญา 1,544,283 1,544,283 หน่วย : พันบาท
ประเภทความเสี่ยง
อัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย
รวม
2556 มูลค่ายุติธรรม สินทรัพย์ 144,315 46,740 191,055
หนี้สิน 131,171 71,422 202,593
งบการเงินเฉพาะธนาคาร จำ�นวนเงิน ตามสัญญา 8,731,397 26,289,000 35,020,397
2555
มูลค่ายุติธรรม สินทรัพย์ -
หนี้สิน -
จำ�นวนเงิน ตามสัญญา -
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
158
ตราสารอนุพันธ์เพื่อการป้องกันความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม จำ�นวนเงิน ตามสัญญา สินทรัพย์ หนี้สิน สินทรัพย์ หนี้สิน 100,242 50,005 1,518,719 81,948 100,242 50,005 1,518,719 81,948 -
ประเภทความเสี่ยง อัตราแลกเปลี่ยน รวม
จำ�นวนเงิน ตามสัญญา 2,508,429 2,508,429
6.3.2 สัดส่วนการทำ�ธุรกรรมตราสารอนุพนั ธ์แบ่งตามประเภทคูส่ ญั ญาโดยพิจารณาจากจำ�นวนเงินตามสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 อัตราส่วน (ร้อยละ) อัตราส่วน (ร้อยละ) 94 6 100 100 100
คู่สัญญา สถาบันการเงิน บุคคลภายนอก รวม
6.4 เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ 6.4.1 การจัดประเภทเงินลงทุนในหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ธนาคารและบริษัทย่อยจัดประเภทเงินลงทุนในหลักทรัพย์ ดังนี้ งบการเงินรวม
เงินลงทุนเพื่อค้า หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารทุนในความต้องการของตลาด ในประเทศ ตราสารทุนในความต้องการของตลาด ต่างประเทศ รวม เงินลงทุนเผื่อขาย หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ตราสารหนี้ภาคเอกชน ตราสารหนี้ต่างประเทศ ตราสารทุนในความต้องการของตลาด ในประเทศ ตราสารทุนในความต้องการของตลาด ต่างประเทศ รวม
2556 มูลค่ายุติธรรม
1,941,594
2555 มูลค่ายุติธรรม -
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม 1,941,594 -
-
6,402,448
4,118,191
-
8,344,042
971 4,119,162
1,941,594
15,441,845 30,182 1,506,804
29,912,667 217,374 1,507,087
14,593,369 30,182 1,506,804
25,607,992 217,374 1,507,087
1,402,438
1,642,824
11,644
128,184
215,432 18,596,701
194,587 33,474,539
16,141,999
27,460,637
-
รายงานประจำ�ปี 2556
159
หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม 2556 ราคาทุน เงินลงทุนทั่วไป ตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของ ตลาดในประเทศ หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า รวม รวมเงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ
57,235 (27,267) 29,968 26,970,711
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2555 ราคาทุน 32,258 (2,121) 30,137 37,623,838
2556 ราคาทุน
2555 ราคาทุน
13,771 (2,287) 11,484 18,095,077
13,774 (2,120) 11,654 27,472,291
6.4.2 เงินลงทุนในหลักทรัพย์ที่ธนาคารถือหุ้นไว้ตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ณ วันที่ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 เงินลงทุนในหลักทรัพย์ที่ธนาคารถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ของจำ�นวนหุ้น ที่ออกจำ�หน่ายแล้วของนิติบุคคลแยกตามประเภทธุรกิจ มีดังนี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร
บริษัทอื่น บริษัท บีทีเอ็มยู ลิซซิ่ง (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ซี เอ็ม ไอ ซี ดิเวลล๊อปเมนท์ จำ�กัด*
2556
ประเภทธุรกิจ
เงินลงทุนคงเหลือ บาท
สัดส่วนการถือหุ้น ร้อยละ
ธุรกิจเช่าการเงิน ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
3,085,200 1
10.00 80.58
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร
บริษัทอื่น บริษัท บีทีเอ็มยู ลิซซิ่ง (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ซี เอ็ม ไอ ซี ดิเวลล๊อปเมนท์ จำ�กัด* *
2555
ประเภทธุรกิจ
เงินลงทุนคงเหลือ บาท
สัดส่วนการถือหุ้น ร้อยละ
ธุรกิจเช่าการเงิน ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
3,085,200 1
10.00 80.58
งบการเงินรวมสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ไม่ได้รวมงบการเงินของบริษัท ซี เอ็ม ไอ ซี ดิเวลล๊อปเม้นท์ จำ�กัด ซึ่ง ธนาคารถือหุ้นร้อยละ 80.58 เนื่องจากธนาคารได้รับโอนหุ้นสามัญมาจากการแปลงหนี้เป็นทุนตามสัญญาปรับโครงสร้างหนี้และ ธนาคารมีความตั้งใจถือเงินลงทุนดังกล่าวเป็นการชั่วคราวและไม่มีอำ�นาจควบคุม
ธุรกิจลงทุนในบริษัทอื่น สำ�นักกฎหมาย ธุรกิจลงทุน* ธุรกิจลงทุน* ธุรกิจลงทุน* ธุรกิจลงทุน* ธุรกิจลงทุน** ธุรกิจลงทุน*** ธุรกิจลงทุน* ธุรกิจลงทุน*
ประเภทธุรกิจ
ผู้ถือหุ้นสามัญ ผู้ถือหุ้นสามัญ ผู้ถือหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน
ประเภทหลักทรัพย์ ที่ลงทุน 1,051,551 1,000 216,658 910,084 801,216 683,380 53,400 933,405 349,887 281,832
ทุนชำ�ระแล้ว/ ทุนคงเหลือ
* ลงทุนในสิทธิเรียกร้องประเภทสินเชื่อธุรกิจ ที่ประมูลจากองค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน (ปรส.) ** ลงทุนในสิทธิเรียกร้องที่มีอสังหาริมทรัพย์เป็นหลักประกัน หรืออสังหาริมทรัพย์ *** ลงทุนในสิทธิเรียกร้องหรืออสังหาริมทรัพย์ **** เงินปันผลรับสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556
บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัท สำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 1 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 2 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 3 กองทุนรวมไทยรีสตรัคเจอริ่ง กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ พร็อพเพอร์ตี้ 1 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ พร็อพเพอร์ตี้ 3 กองทุนรวมบางกอก แคปปิตอล กองทุนรวมแกมม่า แคปปิตอล
6.5 เงินลงทุนในบริษัทย่อยสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ธนาคารมีเงินลงทุนในบริษัทย่อยดังนี้
7,169,854 999 223,687 953,609 845,748 676,328 54,832 941,000 1,832,544 1,272,393 13,970,994
ราคาทุน
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 ตามวิธีราคาทุน ค่าเผื่อ ยอดสุทธิ การด้อยค่า 7,169,854 999 223,687 953,609 845,748 676,328 (2,084) 52,748 941,000 1,832,544 1,272,393 (2,084) 13,968,910 99.97 99.93 99.95 99.59 99.97 98.91 99.52 98.77 95.72 94.03
สัดส่วน การถือหุ้น ร้อยละ 296,729 1,531,489 470,143 2,298,361
เงินปันผลรับ ****
หน่วย : พันบาท
160
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
ธุรกิจลงทุนในบริษัทอื่น ธุรกิจหลักทรัพย์ สำ�นักกฎหมาย ธุรกิจลงทุน* ธุรกิจลงทุน* ธุรกิจลงทุน* ธุรกิจลงทุน* ธุรกิจลงทุน** ธุรกิจลงทุน*** ธุรกิจลงทุน* ธุรกิจลงทุน*
ประเภทธุรกิจ
ผู้ถือหุ้นสามัญ ผู้ถือหุ้นสามัญ ผู้ถือหุ้นสามัญ ผู้ถือหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน
ประเภทหลักทรัพย์ ที่ลงทุน 1,051,551 650,000 1,000 262,382 968,015 807,816 686,249 53,400 933,405 361,544 296,140
ทุนชำ�ระแล้ว/ ทุนคงเหลือ
* ลงทุนในสิทธิเรียกร้องประเภทสินเชื่อธุรกิจ ที่ประมูลจากองค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบันการเงิน (ปรส.) ** ลงทุนในสิทธิเรียกร้องที่มีอสังหาริมทรัพย์เป็นหลักประกัน หรืออสังหาริมทรัพย์ *** ลงทุนในสิทธิเรียกร้องหรืออสังหาริมทรัพย์ **** เงินปันผลรับสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555
บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด บริษัท สำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 1 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 2 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 3 กองทุนรวมไทยรีสตรัคเจอริ่ง กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ พร็อพเพอร์ตี้ 1 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ พร็อพเพอร์ตี้ 3 กองทุนรวมบางกอก แคปปิตอล กองทุนรวมแกมม่า แคปปิตอล
7,166,837 650,000 999 270,895 1,014,311 852,715 679,167 54,832 941,000 1,893,595 1,336,990 14,861,341
ราคาทุน
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2555 ตามวิธีราคาทุน ค่าเผื่อ ยอดสุทธิ การด้อยค่า 7,166,837 650,000 999 (15,429) 255,466 (102,021) 912,290 852,715 679,167 (6,021) 48,811 941,000 1,893,595 1,336,990 (123,471) 14,737,870 99.93 99.99 99.93 99.95 99.59 99.97 98.91 99.52 98.77 95.72 94.03
สัดส่วน การถือหุ้น ร้อยละ 265,200 351,228 616,428
เงินปันผลรับ ****
หน่วย : พันบาท
รายงานประจำ�ปี 2556 161
162
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
6.5.1 การรวมกิจการและการร่วมบริหารงานกับบริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารได้ประกาศการรวมกิจการและร่วมบริหารงานกับบริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) (“ทุนภัทร”) โดยคณะกรรมการ ธนาคาร และทุนภัทร มีมติเมือ่ วันที่ 9 ธันวาคม 2554 เห็นชอบให้เข้าลงนามในบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการรวมกิจการระหว่าง ธนาคารและทุนภัทรเพื่อดำ�เนินธุรกิจการเงินประกอบด้วย ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจสนับสนุนอื่นๆ ร่วมกัน ทั้งที่ดำ�เนินการอยู่ในปัจจุบัน และที่จะพัฒนาขึ้นใหม่ ได้แก่ ธุรกิจลูกค้าบุคคลรายใหญ่ ธุรกิจสินเชื่อและตราสารหนี้ สำ�หรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดใหญ่ ธุรกิจตราสารอนุพนั ธ์ ธุรกิจการลงทุน ธุรกิจบริหารจัดการกองทุน และธุรกิจหลักทรัพย์ สำ�หรับบุคคลรายย่อย ทัง้ นี้ ลักษณะการทำ�รายการเป็นการแลกหุน้ ทัง้ หมด (Share Swap) ในอัตราส่วนการแลกเปลีย่ นหุน้ (Swap Ratio) 1 หุน้ สามัญ ของทุนภัทรต่อ 0.9135 หุ้นสามัญของธนาคาร โดยธนาคารจะทำ�คำ�เสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของทุนภัทรจากผู้ถือหุ้น ทุกราย เพื่อเพิกถอนหุ้นของทุนภัทรออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Delisting Tender Offer) ภายใต้เงื่อนไขว่าเมื่อสิ้นสุดระยะเวลา การทำ�คำ�เสนอซื้อหลักทรัพย์ จำ�นวนผู้ถือหุ้นของทุนภัทรที่ตอบรับ คำ�เสนอซื้อหลักทรัพย์จะต้องมีจำ�นวนรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำ�นวนหุ้นที่จ�ำ หน่ายได้แล้วทั้งหมด และหากผล ตอบรับคำ�เสนอซือ้ มากกว่าร้อยละ 90 ธนาคารจะโอนหุน้ ทัง้ หมดในบริษทั หลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด และบริษทั หลักทรัพย์ จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด ให้กับทุนภัทร ต่อมาเมือ่ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2555 คณะกรรมการธนาคารได้มมี ติเห็นชอบให้ธนาคารเข้าลงนามในสัญญาซือ้ ขายหุน้ ระหว่าง กลุม่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของธนาคารและธนาคารกับ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของทุนภัทรและทุนภัทร เพือ่ ซือ้ หุน้ ของทุนภัทรจากกลุม่ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของทุนภัทร เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 มีมติอนุมัติการร่วมกิจการ กับทุนภัทร ตามแผนการร่วมกิจการระหว่างธนาคารกับทุนภัทร อีกทัง้ ยังมีมติอนุมตั เิ ลือกตัง้ กรรมการเพิม่ อีก 5 คน เข้าดำ�รง ตำ�แหน่งกรรมการธนาคาร เพือ่ ให้สอดคล้องกับแผนการร่วมกิจการทีต่ อ้ งอาศัยความสามารถและประสบการณ์ของผูบ้ ริหาร และพนักงานของทั้งสองกิจการเพื่อประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร ส่งผลให้ธนาคารมีกรรมการทั้งสิ้น 15 คน นอกจากนี้ธนาคาร จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 192,118,404 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท มีราคาเสนอขายหุ้นละ 32.20 บาท ให้แก่ กลุม่ บุคคลเฉพาะเจาะจง (PO Placement) ซึง่ เป็นผูถ้ อื หุน้ ของทุนภัทรเพือ่ เป็นสิง่ ตอบแทนการตอบรับคำ�เสนอซือ้ หลักทรัพย์ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2555 ธนาคารได้ยื่นคำ�เสนอซื้อหลักทรัพย์ของทุนภัทร เพื่อเพิกถอนหลักทรัพย์ของทุนภัทรออกจาก การเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์”) ต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการและผู้ถือหุ้นของทุนภัทร ตามคำ�เสนอซือ้ หลักทรัพย์ดงั กล่าว ธนาคารจะออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุนของธนาคารเพือ่ ชำ�ระเป็นค่าตอบแทนให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของ ทุนภัทรที่ตอบรับคำ�เสนอซื้อหลักทรัพย์ในอัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นที่เท่ากับ 1 หุ้นของทุนภัทรต่อ 0.9135 หุ้นของธนาคาร โดยมีระยะเวลารับซื้อ 25 วันทำ�การ เฉพาะวันทำ�การระหว่างวันที่ 7 สิงหาคม 2555 ถึงวันที่ 11 กันยายน 2555 ผลจากการทำ�คำ�เสนอซื้อหลักทรัพย์ มีผู้ถือหุ้นของทุนภัทรตอบรับคำ�เสนอซื้อคิดเป็นร้อยละ 99.93 ของหุ้นที่ออกจำ�หน่าย แล้วของทุนภัทรจำ�นวน 210,310,240 หุ้นโดยธนาคารสามารถซื้อหุ้นของทุนภัทรเป็นจำ�นวน 210,158,842 หุ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 5 บาท ส่งผลให้ธนาคารออกหุ้นสามัญเพิ่มขึ้น 191,979,745 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท และมี ส่วนเกินมูลค่าหุ้นจำ�นวน 5,247,039,575 บาท คิดเป็นทุนที่ออกและชำ�ระแล้วจำ�นวน 828,783,959 หุ้น โดยธนาคารได้ จดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2555 และหุ้นเพิ่มทุนได้เริ่มซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2555 ซึ่งเป็นวันเดียวกับที่หุ้นของทุนภัทร เพิกถอนออกจากตลาดหลักทรัพย์
รายงานประจำ�ปี 2556
163
จากเหตุการณ์เบื้องต้นส่งผลให้ทุนภัทรเป็นบริษัทย่อยของธนาคารและผลตอบรับ คำ�เสนอซื้อที่ได้มีสัดส่วนมากกว่า ร้อยละ 90 ของจำ�นวนหุน้ ทีจ่ �ำ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของทุนภัทร โดยธนาคารจะดำ�เนินการโอนหุน้ ทัง้ หมดในบริษทั หลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด ทีร่ าคาเท่ากับมูลค่าทางบัญชี และโอนหุน้ ในบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน ภัทร จำ�กัด ทีร่ าคาเท่ากับต้นทุน (ดูหมายเหตุข้อ 6.5.2 และข้อ 6.5.4) ให้กับทุนภัทรในอนาคตตามบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการร่วมกิจการระหว่างธนาคาร และทุนภัทรต่อไป ณ วันที่ 11 กันยายน 2555 มูลค่าตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมตามประมาณการที่ดีที่สุด ณ วันดังกล่าวของแต่ละรายการ ของสินทรัพย์และหนี้สินที่ระบุได้ของทุนภัทร มีดังนี้
สินทรัพย์ เงินสด เงินฝากสถาบันการเงิน สินทรัพย์ตราสารอนุพันธ์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนสุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลูกหนี้สำ�นักหักบัญชี สินทรัพย์อื่น รวม หนี้สิน เจ้าหนี้สำ�นักหักบัญชี เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หนี้สินตราสารอนุพันธ์ ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม ประมาณการหนี้สิน หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินอื่น รวม สินทรัพย์สุทธิ หัก ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทย่อย สินทรัพย์สุทธิส่วนของบริษัทใหญ่ ค่าความนิยม ออกหุ้นสามัญเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทย่อย
หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม มูลค่าตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรม สินทรัพย์ 21 1,094,444 4,637 3,836,018 416,047 26,043 21,571 4,385,053 276,570 229,304 10,289,708 475,141 3,725,879 8,399 1,362,391 87,227 124,549 340,584 6,124,170 4,165,538 (8,664) 4,156,874 3,009,963 7,166,837
ณ วันรวมกิจการ งบการเงินรวมมีค่าความนิยมที่เกิดจากการรวมกิจการ จำ�นวน 4,728 ล้านบาท โดยคิดจากส่วนต่างของ มูลค่าของสิ่งตอบแทนที่โอนให้ คือ จำ�นวนหุ้นเพิ่มทุนคูณราคาหุ้นของธนาคาร ณ วันปิดการทำ�คำ�เสนอซื้อหุ้นละ 46.50 บาท เทียบกับมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีร่ ะบุได้ ซึง่ ค่าความนิยมดังกล่าวได้มกี ารปรับลดลงให้เหลือเป็นจำ�นวน 3,010 ล้านบาท ตามที่ได้อธิบายไว้ดังต่อไปนี้
164
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ธนาคารได้มีการปรับปรุงมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนให้จากการบันทึกบัญชีเริ่มแรก สำ�หรับการซื้อเงินลงทุนในทุนภัทรตามแนวคำ�ถาม-คำ�ตอบประเด็นทางการบัญชีสำ�หรับการรวมธุรกิจโดยการแลกหุ้น โดยสภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556 เนื่องจากราคาตลาดของสิ่งตอบแทนที่โอน ณ วันที่มี การแลกหุน้ สูงกว่าราคาตลาดในช่วงทีม่ กี ารตกลงแลกหุน้ กันอย่างมีสาระสำ�คัญ ส่งผลให้ธนาคารบันทึกเงินลงทุนในงบการเงิน เฉพาะธนาคารในจำ�นวนทีส่ งู ซึง่ ส่งผลกระทบต่อค่าความนิยมในงบการเงินรวมของธนาคารสูงเกินกว่าผลผนึกจากการแลกหุน้ (Synergy) ระหว่างผูซ้ อื้ และผูถ้ กู ซือ้ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ภายหลังจากการรวมธุรกิจในจำ�นวนทีเ่ ป็นสาระสำ�คัญ โดยส่วนของค่าความนิยม ที่แสดงไว้สูงกว่าผลผนึกที่คาดว่าจะเกิดขึ้นภายหลังจากการรวมธุรกิจไม่ได้เกิดขึ้นจากการเข้าควบคุมการบริหารงานอันนำ� ไปสู่ผลผนึกที่จะเกิดขึ้นภายหลังจากการรวมธุรกิจดังกล่าว แต่เกิดขึ้นจากกลไกของการตอบสนองของตลาดทุนต่อข่าวการ แลกหุ้นระหว่างธนาคารและทุนภัทรและเป็นไปตามภาวะตลาดหลักทรัพย์ที่ราคาหุ้นเติบโตขึ้นมากในช่วงดังกล่าว ซึ่งอยู่ นอกเหนือการควบคุมของฝ่ายจัดการของธนาคาร ซึ่งตามบทสรุป (Basis of Conclusion) ของมาตรฐานการรายงานทาง การเงินระหว่างประเทศ ฉบับที่ 3 เรื่อง การรวมธุรกิจ กำ�หนดให้ผู้ซื้อ ในที่นี้คือธนาคารจะต้องใช้ความพยายามอย่าง ยิ่งยวดที่จะวัดมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนให้ โดยขจัดหรือลดการบันทึกมูลค่าส่วนเกินอันเนื่องมาจากความคลาด เคลือ่ นในการวัดมูลค่าของสิง่ ตอบแทนทีผ่ ซู้ อื้ โอนให้ นอกจากนี้ ภายใต้แนวคิดการรักษาระดับทุนทีร่ ะบุไว้ในแม่บทการบัญชี ซึ่งให้ความสำ�คัญกับการจำ�แนกความแตกต่างให้ชัดเจนระหว่างผลตอบแทนจากการลงทุนและผลที่ได้รับจากการลงทุน ซึง่ คณะกรรมการกำ�หนดมาตรฐานการบัญชีมคี วามเห็นว่า ส่วนของค่าความนิยมทีแ่ สดงไว้สงู กว่าผลผนึกทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ ภายหลังจากการรวมธุรกิจไม่เข้าข่ายผลตอบแทนจากการลงทุนและผลที่ได้รบั จากการลงทุน จากเหตุการณ์ดงั กล่าวธนาคาร ได้วัดมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่โอนให้ เพื่อลดการบันทึกมูลค่าส่วนเกินอันเนื่องมาจากความคลาดเคลื่อนในการวัด มูลค่าข้างต้น ทั้งนี้ธนาคารประเมินมูลค่ายุติธรรม โดยคำ�นึงถึงมูลค่ายุติธรรมของส่วนของเจ้าของของทุนภัทรบวกด้วย ผลผนึกจากการแลกหุ้น (Synergy) ระหว่างธนาคารและทุนภัทร ที่จะเกิดขึ้นภายหลังจากการรวมธุรกิจ และราคาตลาดของ หุ้นของธนาคารในช่วงที่มีการตกลงแลกหุ้นกันเพื่อประกอบการพิจารณามูลค่ายุติธรรม ผลของการประเมินมูลค่ายุติธรรม ดังกล่าว ทำ�ให้ธนาคารปรับลดมูลค่าเงินลงทุนและส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญในงบการเงินเฉพาะธนาคาร และค่าความนิยม และส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญในงบการเงินรวม ณ วันที่แลกหุ้นลดลงเท่ากันเป็นจำ�นวน 1,760.22 ล้านบาท ทัง้ นี้ ตามมาตรฐานบัญชีให้ทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยมทีเ่ กิดจากการรวมธุรกิจเป็นประจำ�ทุกปี ณ เวลาเดียวกันของ ทุกปี ซึง่ หากมีการด้อยค่าเกิดขึน้ จะบันทึกเป็นค่าใช้จา่ ยในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จทันที และไม่มผี ลต่อภาษีเงินได้นติ บิ คุ คล ในงบการเงินรวม นอกจากนี้ สำ�หรับงบการเงินเฉพาะธนาคาร ธนาคารแห่งประเทศไทยกำ�หนดให้น�ำ ค่าความนิยมทีแ่ ฝงอยู่ ในเงินลงทุนในทุนภัทร จากการรวมกิจการหักออกจากเงินกองทุนชั้นที่ 1 ของธนาคารตามหนังสืออนุมัติของธนาคารแห่ง ประเทศไทย เรื่อง การซื้อหรือรับโอนกิจการทุนภัทรในการจัดทำ�งบการเงินรวมสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ได้ รวมผลการดำ�เนินงานของทุนภัทรและบริษัทหลักทรัพย์ภัทร จำ�กัด (มหาชน) (“บล.ภัทร”) ตั้งแต่วันที่ 12 กันยายน 2555 เป็นต้นไป โดยในระหว่างงวดนับตั้งแต่วันที่รวมกิจการจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ทุนภัทรมีรายได้ 1,027.28 ล้านบาท และกำ�ไรสุทธิจำ�นวน 403.13 ล้านบาท ซึ่งรวมเป็นส่วนหนึ่งของผลการดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัท 6.5.2 การซื้อและขายเงินลงทุนในบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการธนาคาร ครั้งที่ 7/2555 ได้มีมติให้ธนาคารซื้อหุ้นบริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุน ภัทร จำ�กัด (“บลจ. ภัทร”) เพิ่มเติมในสัดส่วนร้อยละ 40 จากกองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ (“กบข.”) และเมื่อ วันที่ 28 กันยายน 2555 ธนาคารได้ชำ�ระราคาและรับโอนหุ้นของ บลจ.ภัทร จาก กบข. เรียบร้อยแล้ว
รายงานประจำ�ปี 2556
165
ณ วันที่ 28 กันยายน 2555 มูลค่าตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมแต่ละรายการของสินทรัพย์และหนี้สินที่ระบุได้ของบริษัท ดังกล่าว มีดังนี้
สินทรัพย์ เงินสด เงินฝากสถาบันการเงิน เงินลงทุนในหลักทรัพย์สุทธิ อุปกรณ์สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนสุทธิ สินทรัพย์อื่น รวม หนี้สิน สินทรัพย์สุทธิ ค่าความนิยม เงินสดจ่ายเพื่อซื้อหุ้น
หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม มูลค่าตามบัญชีและ มูลค่ายุติธรรมสินทรัพย์ 4 6,418 28,875 2,346 4,451 6,296 48,390 4,608 43,782 19,256 63,038
ผลต่างระหว่างมูลค่าตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมมีจำ�นวนไม่เป็นสาระสำ�คัญ เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2555 ธนาคารได้ดำ�เนินการขายหุ้นทั้งหมดในบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด (“บลจ. ภัทร”) ให้แก่ บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) (“ทุนภัทร”) เรียบร้อยแล้ว ซึ่งเป็นไปตามแผนการร่วมกิจการระหว่างธนาคาร และทุนภัทรทีก่ �ำ หนดว่าหากผลตอบรับคำ�เสนอซือ้ หลักทรัพย์ทธี่ นาคารได้ มีสดั ส่วนการถือหุน้ มากกว่าร้อยละ 90 ของจำ�นวน หุ้นที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมดของทุนภัทร ธนาคารจะดำ�เนินการโอนหุ้นทั้งหมดใน บลจ.ภัทร ที่ราคาเท่ากับต้นทุนให้กับ ทุนภัทร โดยเมื่อสิ้นสุดการทำ�คำ�เสนอซื้อหลักทรัพย์ ธนาคารถือหุ้นในทุนภัทรร้อยละ 99.93 ธนาคารจึงโอนหุ้นสามัญของ บลจ.ภัทร จำ�นวน 11,999,998 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 99.99 ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้ แล้วทั้งหมดของ บลจ.ภัทร ในราคาขายเท่ากับราคาต้นทุนของธนาคาร จำ�นวน 156,638,213.74 บาท ซึ่งภายหลังการขาย หุ้นแล้ว บลจ.ภัทร ยังคงมีสถานะเป็นบริษัทย่อยของธนาคารโดยธนาคารถือหุ้นทางอ้อมผ่านทุนภัทร 6.5.3 การลดทุนในกองทุนรวมซึ่งเป็นบริษัทย่อย เนื่องด้วยประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ที่ ทน. 22/2552 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการ กองทุนรวมเพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ที่ ทน. 10/2553 กำ�หนดว่าในกรณีทบี่ ริษทั จัดการกองทุน (“บริษทั จัดการ”) ได้มาซึง่ ทรัพย์สนิ ประเภททีก่ องทุนรวมไม่สามารถลงทุน หรือมีไว้ได้อยู่แล้วก่อนวันที่ 1 มีนาคม 2549 เนื่องจากการรับชำ�ระหนี้ด้วยทรัพย์สินอื่นจากการเรียกเอาทรัพย์จำ�นองหลุด หรือจากการซือ้ ในการขายทอดตลาด ให้บริษทั จัดการจำ�หน่ายทรัพย์สนิ ที่ได้มาดังกล่าวภายในโอกาสแรกทีส่ ามารถกระทำ�ได้ โดยต้องคำ�นึงถึงประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนเป็นสำ�คัญ แต่ต้องไม่เกินวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และกำ�หนดการลดทุน โดยชำ�ระคืนเป็นทรัพย์สินอื่นที่มิใช่เงิน ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ให้บริษัทจัดการดำ�เนินการเมื่อได้รับมติเอกฉันท์ของ ผู้ถือหน่วยลงทุนทุกรายแล้ว โดยบริษัทจัดการต้องลดจำ�นวนหน่วยลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนและโอนทรัพย์สินหรือ จัดส่งเงิน (ถ้ามี) ให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนตามที่ได้รับมติ
166
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
เนื่องจากบริษัทจัดการไม่สามารถจำ�หน่ายทรัพย์สินที่ได้มาดังกล่าวภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2553 จึงดำ�เนินการลดทุนโดย ชำ�ระคืนเป็นทรัพย์สินอื่นที่มิใช่เงิน (Pay-in-kind) แก่ธนาคารและชำ�ระคืนเป็นเงินบางส่วนแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนรายอื่น ซึ่ง ได้รับมติเอกฉันท์ของผู้ถือหน่วยลงทุนทุกรายแล้ว ในระหว่างปี 2555 ธนาคารได้รับชำ�ระคืนเป็นทรัพย์สินอื่นที่มิใช่เงินสด (Pay-in-kind) สำ�หรับการลดทุนในกองทุนรวมทั้ง 5 กอง ได้แก่ กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 2 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 3 กองทุนรวมไทยรีสตรัคเจอริ่ง กองทุนรวม บางกอก แคปปิตอล และกองทุนรวมแกมม่า แคปปิตอล รวมเป็นมูลค่าทรัพย์สินรอการขายจำ�นวน 424.68 ล้านบาท เกิดขาดทุนจากการลดทุนจำ�นวน 24.94 ล้านบาท และกำ�ไรรอรับรู้จากการลดทุนจำ�นวน 80.93 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ธนาคารจะรับรู้กำ�ไรรอรับรู้จากการลดทุนเมื่อขายทรัพย์ที่รับโอนมาได้ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ธนาคารได้รับชำ�ระคืนเป็นทรัพย์สินอื่นที่มิใช่เงินสด (Pay-in-kind) สำ�หรับ การลดทุนในกองทุนรวมทั้ง 5 กองได้แก่ กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 2 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 3 กองทุนรวมไทย รีสตรัคเจอริง่ กองทุนรวมบางกอก แคปปิตอล และกองทุนรวมแกมม่าแคปปิตอล รวมเป็นมูลค่าทรัพย์สนิ รอการขายจำ�นวน 275.17 ล้านบาท เกิดขาดทุนจากการลดทุนจำ�นวน 4.62 ล้านบาท และกำ�ไรรอรับรู้จากการลดทุนจำ�นวน 83.63 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ธนาคารจะรับรู้กำ�ไรรอรับรู้จากการลดทุนเมื่อขายทรัพย์ที่รับโอนมาได้ ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ธนาคารมีการรับโอนกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สินรอการขายที่รับโอนมาจากกองทุน อย่างไรก็ตาม ยังคงมีทรัพย์สินรอการขาย จำ�นวน 2 รายการ ราคาทุน 18.73 ล้านบาท ที่อยู่ระหว่างดำ�เนินการจดทะเบียน โอนกรรมสิทธิ์โดยตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ที่ ทน. 22/2552 เรือ่ ง หลักเกณฑ์ เงือ่ นไข และวิธกี ารจัดตัง้ และ จัดการกองทุนรวมเพือ่ แก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงินได้ก�ำ หนดว่า บริษทั จัดการจะสามารถทำ�การยืน่ คำ�ขอจดทะเบียน ลดทุนของกองทุนรวมต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ได้ภายใน 5 วันทำ�การนับแต่วันที่ ดำ�เนินการลดจำ�นวนหน่วยของผู้ถือหน่วยลงทุนและโอนทรัพย์สินหรือดำ�เนินการเฉลี่ยเงินคืนแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีชื่ออยู่ ในสมุดทะเบียนแล้วเสร็จ อย่างไรก็ตาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทจัดการได้มีการรายงานความคืบหน้าเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวกับสำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แล้ว 6.5.4 การขายเงินลงทุนในบริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2556 ธนาคารได้ดำ�เนินการขายหุ้นทั้งหมดในบริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด (“เคเคเทรด”) ให้แก่ บริษทั ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) (“ทุนภัทร”) เรียบร้อยแล้ว ซึง่ เป็นไปตามแผนการร่วมกิจการระหว่างธนาคารและทุนภัทร ที่กำ�หนดว่า หากผลตอบรับคำ�เสนอซื้อหลักทรัพย์ที่ธนาคารได้ มีสัดส่วนการถือหุ้นมากกว่าร้อยละ 90 ของจำ�นวนหุ้นที่ จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมดของทุนภัทร ธนาคารจะดำ�เนินการโอนหุ้นทั้งหมดในเคเคเทรด ที่ราคาเท่ากับมูลค่าทางบัญชีให้กับ ทุนภัทร โดยเมื่อสิ้นสุดการทำ�คำ�เสนอซื้อหลักทรัพย์ ธนาคารถือหุ้นในทุนภัทรร้อยละ 99.93 ธนาคารจึงโอนหุ้นสามัญของ เคเคเทรด จำ�นวน 64,999,993 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 99.99 ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้ แล้วทั้งหมดของ เคเคเทรด ที่ราคาขายเท่ากับมูลค่าทางบัญชีตามงบการเงินของ เคเคเทรด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ที่ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีแล้ว ซึ่งคิดเป็นมูลค่าเท่ากับ 715,531,574.84 บาท โดยภายหลังการขายหุ้นแล้ว เคเคเทรด ยังคงมีสถานะเป็นบริษัทย่อยของธนาคารโดยธนาคารถือหุ้นทางอ้อมผ่านทุนภัทร
รายงานประจำ�ปี 2556
167
6.5.5 การเปลี่ยนชื่อบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เกียรตินาคิน จำ�กัด และบริษัทหลักทรัพย์ เกียรตินาคิน จำ�กัด ตามที่ธนาคารได้ร่วมกิจการกับบริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) เป็นผลสำ�เร็จตั้งแต่เดือนกันยายน 2555 ที่ผ่านมา และเกิด เป็น “กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร” ที่ให้บริการธุรกิจธนาคารพาณิชย์และธุรกิจตลาดทุนเพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ การดำ�เนินงานและทิศทางธุรกิจใหม่ กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรได้ดำ�เนินการเปลี่ยนชื่อบริษัทในกลุ่ม 2 บริษัท คือ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เกียรตินาคิน จำ�กัด (“บลจ. เกียรตินาคิน”) เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด (“บลจ. ภัทร”) มีผลตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2556 เป็นต้นไป และบริษัทหลักทรัพย์ เกียรตินาคิน จำ�กัด (“บล. เกียรตินาคิน”) เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด (“เคเคเทรด”) มีผลตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม 2556 เป็นต้นไป 6.6 เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้องสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 รายละเอียดเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง ซึ่งประมูลจากองค์การเพื่อการปฏิรูประบบสถาบัน การเงิน (ปรส.) กรมบังคับคดี และรับซื้อจากบริษัทอื่น มีดังนี้ หน่วย : พันบาท
วันที่รับซื้อ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กลุ่มประมูลจาก ปรส. 30 กันยายน 2542 15 ธันวาคม 2542 กลุ่มที่รับซื้อ มกราคม 2552 - ธันวาคม 2556 ประมูลจากกรมบังคับคดี บริษัทย่อยที่เป็นกองทุน รวม
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 ยอดรวมของมูลหนี้คงค้าง จำ�นวนรายของลูกหนี้ ตามสัญญาเดิมและตามสัญญา ราคาทุน ที่ตกลงใหม่
มูลค่ายุติธรรม
312 158
2,209,019 427,441
240,659 9,421
142,348 10,621
3 1,282 1,755 2,991 4,746
110,687 12,281,674 15,028,821 53,074,873 68,103,694
73,158 1,253,680 1,576,918 1,873,910 3,450,828
61,096 965,252 1,179,317 2,705,388 3,884,705 หน่วย : พันบาท
วันที่รับซื้อ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กลุ่มประมูลจาก ปรส. 30 กันยายน 2542 15 ธันวาคม 2542 กลุ่มที่รับซื้อ มกราคม 2552 - ธันวาคม 2555 ประมูลจากกรมบังคับคดี บริษัทย่อยที่เป็นกองทุน รวม
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร 2555 ยอดรวมของมูลหนี้คงค้าง จำ�นวนรายของลูกหนี้ ตามสัญญาเดิมและตามสัญญา ราคาทุน ที่ตกลงใหม่
มูลค่ายุติธรรม
315 161
2,250,115 444,797
273,892 12,213
171,260 13,647
8 1,298 1,782 3,069 4,851
490,473 12,262,631 15,448,016 54,252,637 69,700,653
411,046 1,304,539 2,001,690 2,288,601 4,290,291
438,433 1,019,301 1,642,641 3,083,704 4,726,345
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
168
6.7 เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับสุทธิ 6.7.1 จำ�แนกตามประเภทสินเชื่อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555
เงินให้สินเชื่อ เงินเบิกเกินบัญชี เงินให้กู้ยืม ตั๋วเงิน ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน หัก รายได้รอตัดบัญชี รวมเงินให้สินเชื่อสุทธิจากรายได้รอตัดบัญชี บวก ดอกเบี้ยค้างรับ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และ ดอกเบี้ยค้างรับ หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1. เงินสำ�รองขั้นต่ำ�ตามเกณฑ์ ธปท. - รายสินเชื่อ (Individual Approach) - รายกลุ่ม (Collective Approach) 2. เงินสำ�รองส่วนเกิน หัก ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับ โครงสร้างหนี้ เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับสุทธิ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ เงินให้กู้ยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย์ ลูกหนี้อื่น รวมลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ บวก ดอกเบี้ยค้างรับ หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ และดอกเบี้ยค้างรับสุทธิ รวมเงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับสุทธิ
2556
งบการเงินรวม
2555
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555
896,228 48,223,169 51,690 163,240,125 993,286 (23,215,481) 190,189,017 1,246,508
813,867 39,198,622 41,765 149,455,475 750,712 (21,872,843) 168,387,598 1,008,073
896,228 50,023,169 51,690 163,240,125 993,286 (23,215,481) 191,989,017 1,254,563
813,867 40,048,622 41,765 149,455,475 750,712 (21,872,843) 169,237,598 1,008,073
191,435,525
169,395,671
193,243,580
170,245,671
(1,208,734) (2,638,163) (3,398,352)
(1,003,194) (3,362,284) (1,772,025)
(1,226,734) (2,638,163) (3,380,352)
(1,011,694) (3,362,284) (1,763,525)
(23,415) 184,166,861
(27,789) 163,230,379
(23,415) 185,974,916
(27,789) 164,080,379
608,118 6,365 614,483 3,504 (6,399) 611,588 184,778,449
600,136 6,301 606,437 2,523 (6,399) 602,561 163,832,940
185,974,916
164,080,379
รายได้ดอกเบีย้ รอตัดบัญชีของสัญญาเช่าซือ้ และสัญญาเช่าการเงินแสดงสุทธิจากค่านายหน้าและค่าใช้จา่ ยทางตรงทีเ่ กิดขึน้ เมื่อเริ่มแรกของสัญญา
รายงานประจำ�ปี 2556
169
6.7.2 จำ�แนกตามสกุลเงินและถิ่นที่อยู่ของลูกหนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 งบการเงินรวม
เงินบาท - ในประเทศ รวมเงินให้สินเชื่อ
2556 190,803,500 190,803,500
2555 168,994,035 168,994,035
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 191,989,017 169,237,598 191,989,017 169,237,598
6.7.3 จำ�แนกตามประเภทธุรกิจและการจัดชั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555
ปกติ การเกษตรและเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ เงินให้กู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัย เงินให้กู้ยืมเพื่อเช่าซื้อรถยนต์ เงินให้กู้ยืมเพื่อสัญญาเช่าการเงิน อื่นๆ รวมเงินให้สินเชื่อ ดอกเบี้ยค้างรับ รวม
25,588 5,830,439 32,092,542 713,229 202,817 121,047,000 836,336 4,414,692 165,162,643 981,899 166,144,542
กล่าวถึง เป็นพิเศษ 3,444 293,507 1,440,172 21,753 26,938 16,264,495 12,365 295,690 18,358,364 268,015 18,626,379
งบการเงินรวม 2556 ต่ำ�กว่า สงสัย มาตรฐาน 500 87,496 219,937 778,856 653,344 4,397 6,143 24,107 50,055 1,392,502 1,154,961 25,703 66,538 61,144 2,380,099 2,145,584 2,380,099 2,145,584
หน่วย : พันบาท
สงสัยจะสูญ
รวม
29,532 136,912 6,568,291 2,079,335 37,044,249 21,281 766,803 152,862 456,779 276,878 140,135,836 8,611 883,015 80,931 4,918,995 2,756,810 190,803,500 98 1,250,012 2,756,908 192,053,512 หน่วย : พันบาท
ปกติ การเกษตรและเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ เงินให้กู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัย เงินให้กู้ยืมเพื่อเช่าซื้อรถยนต์ เงินให้กู้ยืมเพื่อสัญญาเช่าการเงิน อื่นๆ รวมเงินให้สินเชื่อ ดอกเบี้ยค้างรับ รวม
23,618 5,977,149 24,152,661 775,977 215,110 112,721,911 651,543 4,431,519 148,949,488 779,955 149,729,443
กล่าวถึง เป็นพิเศษ 760 76,552 990,253 13,481 67,497 12,967,509 9,329 291,621 14,417,002 230,543 14,647,545
งบการเงินรวม 2555 ต่ำ�กว่า สงสัย มาตรฐาน 10,565 40,889 530,142 145,280 430 13,997 23,816 40,410 1,119,510 618,296 35,376 37,155 1,719,839 896,027 1,719,839 896,027
สงสัยจะสูญ
รวม
24,378 127,463 6,232,618 2,336,713 28,155,049 23,297 827,182 176,559 523,392 237,909 127,665,135 8,611 669,483 101,127 4,896,798 3,011,679 168,994,035 98 1,010,596 3,011,777 170,004,631
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
170
หน่วย : พันบาท
ปกติ การเกษตรและเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ เงินให้กู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัย เงินให้กู้ยืมเพื่อเช่าซื้อรถยนต์ เงินให้กู้ยืมเพื่อสัญญาเช่าการเงิน อื่นๆ รวมเงินให้สินเชื่อ ดอกเบี้ยค้างรับ รวม
25,588 5,830,439 32,092,542 713,229 202,817 121,047,000 836,336 5,606,510 166,354,461 986,548 167,341,009
กล่าวถึง เป็นพิเศษ 3,444 293,507 1,440,172 21,753 26,938 16,264,495 12,365 295,690 18,358,364 268,015 18,626,379
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 ตํ่ากว่า สงสัย มาตรฐาน 500 87,496 219,937 778,856 653,344 4,397 6,143 24,107 50,055 1,392,502 1,154,961 25,703 66,538 61,144 2,380,099 2,145,584 2,380,099 2,145,584
กล่าวถึง เป็นพิเศษ 760 76,552 990,253 13,481 67,497 12,967,509 9,329 291,621 14,417,002 230,543 14,647,545
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2555 ตํ่ากว่า สงสัย มาตรฐาน 10,565 40,889 530,142 145,280 430 13,997 23,816 40,410 1,119,510 618,296 35,376 37,155 1,719,839 896,027 1,719,839 896,027
สงสัยจะสูญ
รวม
29,532 136,912 6,568,291 2,079,335 37,044,249 21,281 766,803 152,862 456,779 276,878 140,135,836 8,611 883,015 74,630 6,104,512 2,750,509 191,989,017 1,254,563 2,750,509 193,243,580 หน่วย : พันบาท
ปกติ การเกษตรและเหมืองแร่ อุตสาหกรรมการผลิตและการพาณิชย์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง การสาธารณูปโภคและบริการ เงินให้กู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัย เงินให้กู้ยืมเพื่อเช่าซื้อรถยนต์ เงินให้กู้ยืมเพื่อสัญญาเช่าการเงิน อื่นๆ รวมเงินให้สินเชื่อ ดอกเบี้ยค้างรับ รวม
23,618 5,977,149 24,152,661 775,977 215,110 112,721,911 651,5 43 4,681,383 149,199,352 777,530 149,976,882
สงสัยจะสูญ
รวม
24,378 127,463 6,232,618 2,336,713 28,155,049 23,297 827,182 176,559 523,392 237,909 127,665,135 8,611 669,483 94,826 5,140,361 3,005,378 169,237,598 1,008,073 3,005,378 170,245,671
รายงานประจำ�ปี 2556
171
6.7.4 จำ�แนกตามประเภทการจัดชั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555
การจัดชั้นหนี้
ลูกหนี้ปกติ เงินให้กู้ (1) ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้ที่กล่าวถึงเป็นพิเศษ เงินให้กู้ (1) ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้จัดชั้นต่ำ�กว่ามาตรฐาน เงินให้กู้ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้จัดชั้นสงสัย เงินให้กู้ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญ เงินให้กู้ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ รวมเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญตัง้ เพิม่ สำ�หรับลูกหนีบ้ างราย สำ�รองทั่วไป รวม (1)
เงินให้สินเชื่อและ ดอกเบี้ยค้างรับ
หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม 2556 อัตราที่ใช้ใน ยอดสุทธิที่ใช้ใน การตั ้งค่าเผื่อหนี้ การตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสั ยจะสูญ สงสัยจะสูญ (ร้อยละ)
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
44,509,613 5,637,323 115,997,606
9,965,371 5,593,548 115,435,453
1.00 1.00 0.68
99,617 55,936 782,934
2,109,382 449,815 16,067,182
591,152 443,771 15,820,724
2.00 2.00 6.79
9,238 8,875 1,074,310
987,597 48,755 1,343,747
150,465 48,755 1,343,747
100.00 100.00 23.63
150,465 48,755 317,521
990,623 9,991 1,144,970
240,805 9,991 1,144,970
100.00 100.00 23.77
240,805 9,991 272,117
2,480,030 3,164 273,714 192,053,512
732,508 3,164 273,714 151,798,138
100.00 100.00 23.59
732,508 3,164 64,560 3,870,796 2,152,752 1,228,100 7,251,648
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนี้ที่มีการปรับโครงสร้างหนี้แสดงอยู่ในค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ทั้งจำ�นวน
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
172
หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม 2555
การจัดชั้นหนี้
ลูกหนี้ปกติ เงินให้กู้ (1) ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้ที่กล่าวถึงเป็นพิเศษ เงินให้กู้ (1) ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้จัดชั้นต่ำ�กว่ามาตรฐาน เงินให้กู้ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้จัดชั้นสงสัย เงินให้กู้ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญ เงินให้กู้ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ รวมเงินให้สนิ เชือ่ และดอกเบีย้ ค้างรับ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญตัง้ เพิม่ สำ�หรับ ลูกหนี้บางราย สำ�รองทั่วไป รวม (1) (2)
ค่าเผื่อหนี้ อัตราที่ใช้ใน อัตราการตั้ง สงสั เงินให้สินเชื่อ ยอดสุทธิที่ใช้ใน การตั ยจะสูญที่ รวมค่าเผื่อหนี้ ง ้ ค่ า เผื อ ่ ค่ า เผื อ ่ หนี ้ สำ � รองตาม และดอกเบี้ย การตัง้ ค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ สงสัยจะสูญ เกณฑ์ ธปท. ตั้งเพิ่ม (ลด) สงสัยจะสูญ ตามเกณฑ์ ค้างรับ หนี้สงสัยจะสูญ (ร้อยละ) (ร้อยละ) ตามเกณฑ์ ธปท. (2) ธปท. 36,462,446 8,609,993 5,255,237 5,230,311 108,011,760 107,491,600
1.00 1.00 1.00
85,016 52,303 1,074,916
1.00 1.00 1.00
-
85,016 52,303 1,074,916
1,478,049 270,953 305,229 302,173 12,864,267 12,665,337
2.00 5.62 5.62
5,411 16,991 712,162
2.00 2.00 2.00
(10,948) (458,855)
5,411 6,043 253,307
600,329 31,421 1,088,089
42,829 31,421 1,088,089
100.00 23.02 23.02
42,829 7,232 250,424
100.00 100.00 100.00
24,189 837,665
42,829 31,421 1,088,089
277,731 6,584 611,712
89,855 6,584 611,712
100.00 23.00 23.00
89,855 1,514 140,674
100.00 100.00 100.00
5,070 471,038
89,855 6,584 611,712
2,773,868 787,702 1,736 1,736 236,173 236,173 170,004,631 137,466,468
100.00 100.00 100.00
786,482 1,736 236,173 3,503,718
100.00 100.00 100.00
868,159
786,482 1,736 236,173 4,371,877
868,159
1,348,925 423,100 6,143,902
1,348,925 423,100 5,275,743
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนี้ที่มีการปรับโครงสร้างหนี้แสดงอยู่ในค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ทั้งจำ�นวน ธนาคารตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนี้เช่าซื้อ โดยวิธีกันเงินสำ�รองเป็นกลุ่มลูกหนี้ (Collective Approach) นอกจากนี้ ธ นาคารได้ มี การปรั บ ปรุ ง ค่ า เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ สำ � หรั บ ลู ก หนี้ เ ช่ า ซื้ อ เพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ประกาศของธนาคารแห่ ง ประเทศไทย โดยพิจารณาจากมูลค่าหลักประกันที่ ใช้ตามเกณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สำ�หรับลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อที่จัดชั้นตํ่ากว่ามาตรฐาน จัดชั้นสงสัย และจัดชั้นสงสัยจะสูญในอัตราร้อยละ 100 สำ�หรับส่วนต่าง ระหว่างยอดหนี้ตามบัญชีกับมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้หรือมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสด ที่คาดว่าจะได้รับจากการจำ�หน่ายหลักประกัน ทั้งนี้อัตราดอกเบี้ยคิดลดและระยะเวลาที่คาดว่าจะจำ�หน่ายหลักประกันได้อ้างอิงตาม หลัก เกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย ยกเว้นลูกหนี้ชั้นปกติและลูกหนี้ชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษธนาคารจะตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ในอัตราร้อยละ 1 และอัตราร้อยละ 2 ตามลำ�ดับ (ดูหมายเหตุข้อ 5.1.3)
รายงานประจำ�ปี 2556
173
หน่วย : พันบาท
การจัดชั้นหนี้
ลูกหนี้ปกติ เงินให้กู้ (1) ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้ที่กล่าวถึงเป็นพิเศษ เงินให้กู้ (1) ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้จัดชั้นต่ำ�กว่ามาตรฐาน เงินให้กู้ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้จัดชั้นสงสัย เงินให้กู้ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญ เงินให้กู้ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ รวมเงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญตัง้ เพิม่ สำ�หรับลูกหนีบ้ างราย สำ�รองทั่วไป รวม (1)
เงินให้สินเชื่อและ ดอกเบี้ยค้างรับ
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 อัตราที่ใช้ใน ยอดสุทธิที่ใช้ใน การตั ้งค่าเผื่อหนี้ การตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสั ยจะสูญ สงสัยจะสูญ (ร้อยละ)
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
45,706,080 5,637,323 115,997,606
10,015,371 5,593,548 115,435,453
1.00 1.00 0.68
100,117 55,936 782,934
2,109,382 449,815 16,067,182
591,152 443,771 15,820,724
2.00 2.00 6.79
9,238 8,875 1,074,310
987,597 48,755 1,343,747
150,465 48,755 1,343,747
100.00 100.00 23.63
150,465 48,755 317,521
990,623 9,991 1,144,970
240,805 9,991 1,144,970
100.00 100.00 23.77
240,805 9,991 272,117
2,473,631 3,164 273,714 193,243,580
726,109 3,164 273,714 151,841,739
100.00 100.00 23.59
726,109 3,164 64,560 3,864,897 2,152,252 1,228,100 7,245,249
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนี้ที่มีการปรับโครงสร้างหนี้แสดงอยู่ในค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ทั้งจำ�นวน
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
174
หน่วย : พันบาท การจัดชั้นหนี้
ลูกหนี้ปกติ เงินให้กู้ (1) ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้ที่กล่าวถึงเป็นพิเศษ เงินให้กู้ (1) ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้จัดชั้นต่ำ�กว่ามาตรฐาน เงินให้กู้ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้จัดชั้นสงสัย เงินให้กู้ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญ เงินให้กู้ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อขนส่ง ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ รวมเงินให้สนิ เชือ่ และดอกเบีย้ ค้างรับ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญตัง้ เพิม่ สำ�หรับ ลูกหนี้บางราย สำ�รองทั่วไป รวม (1) (2)
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2555
ค่าเผื่อหนี้ อัตราที่ใช้ใน อัตราการตั้ง สงสั เงินให้สินเชื่อ ยอดสุทธิที่ใช้ใน การตั ยจะสูญที่ รวมค่าเผื่อหนี้ ง ้ ค่ า เผื อ ่ ค่ า เผื อ ่ หนี ้ สำ � รองตาม และดอกเบี้ย การตัง้ ค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ สงสัยจะสูญ เกณฑ์ ธปท. ตั้งเพิม่ (ลด) สงสัยจะสูญ ค้างรับ หนี้สงสัยจะสูญ (ร้อยละ) ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์ (ร้อยละ) ธปท. ธปท. (2) 36,709,885 9,459,993 5,255,237 5,230,311 108,011,760 107,491,600
1.00 1.00 1.00
93,516 52,303 1,074,916
1.00 1.00 1.00
-
93,516 52,303 1,074,916
1,478,049 270,953 305,229 302,173 12,864,267 12,665,337
2.00 5.62 5.62
5,411 16,991 712,162
2.00 2.00 2.00
(10,948) (458,855)
5,411 6,043 253,307
600,329 31,421 1,088,089
42,829 31,421 1,088,089
100.00 23.02 23.02
42,829 7,232 250,424
100.00 100.00 100.00
24,189 837,665
42,829 31,421 1,088,089
277,731 6,584 611,712
89,855 6,584 611,712
100.00 23.00 23.00
89,855 1,514 140,674
100.00 100.00 100.00
5,070 471,038
89,855 6,584 611,712
2,767,469 781,303 1,736 1,736 236,173 236,173 170,245,671 138,310,069
100.00 100.00 100.00
780,083 1,736 236,173 3,505,819
100.00 100.00 100.00
868,159
780,083 1,736 236,173 4,373,978
868,159
1,340,425 423,100 6,137,503
1,340,425 423,100 5,269,344
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนี้ที่มีการปรับโครงสร้างหนี้แสดงอยู่ในค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ทั้งจำ�นวน ธนาคารตัง้ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนีเ้ ช่าซือ้ โดยวิธกี นั เงินสำ�รองเป็นกลุม่ ลูกหนี้ (Collective Approach) นอกจากนีธ้ นาคารได้ มีการปรับปรุงค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนีเ้ ช่าซือ้ เพิม่ เติมเพือ่ ให้สอดคล้องกับประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย โดยพิจารณา จากมูลค่าหลักประกันที่ใช้ตามเกณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสำ�หรับลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ ที่จัดชั้นตํ่ากว่ามาตรฐาน จัดชั้นสงสัย และจัดชั้นสงสัยจะสูญในอัตราร้อยละ 100 สำ�หรับส่วนต่างระหว่างยอดหนี้ตามบัญชีกับมูลค่า ปัจจุบนั ของกระแสเงินสดทีค่ าดว่าจะได้รบั จากลูกหนีห้ รือมูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดทีค่ าดว่าจะได้รบั จากการจำ�หน่ายหลักประกัน ทั้งนี้อัตราดอกเบี้ยคิดลดและระยะเวลาที่คาดว่าจะจำ�หน่ายหลักประกันได้อ้างอิงตามหลักเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย ยกเว้น ลูกหนี้ชั้นปกติและลูกหนี้ชั้นกล่าวถึงเป็นพิเศษธนาคารจะตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในอัตราร้อยละ 1 และอัตราร้อยละ 2 ตามลำ�ดับ (ดูหมายเหตุข้อ 5.1.3)
รายงานประจำ�ปี 2556
175
6.7.5 เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ธนาคารมีเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ ตามหลักเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย ซึง่ ประกอบด้วยเงินให้สนิ เชือ่ จัดชัน้ ตํา่ กว่ามาตรฐาน ชัน้ สงสัย และชัน้ สงสัยจะสูญ โดยรวมรายการระหว่างธนาคารและตลาด เงิน แต่ไม่รวมดอกเบี้ยค้างรับ ดังนี้ งบการเงินรวม
เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพ (ไม่รวมดอกเบี้ยค้างรับ) ร้อยละของเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพต่อเงินให้สินเชื่อ ทั้งสิ้น (รวมเงินให้สินเชื่อแก่สถาบันการเงิน) เงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพหลังหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (ไม่รวมดอกเบี้ยค้างรับ) ร้อยละของเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพหลังหัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต่อเงินให้สินเชื่อทั้งสิ้นหลังหัก ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญของเงินให้สนิ เชือ่ ด้อยคุณภาพ (รวมเงินให้สินเชื่อแก่สถาบันการเงิน) ร้อยละของเงินให้สินเชื่อด้อยคุณภาพต่อเงินให้สินเชื่อ แต่ละประเภท - เงินให้สินเชื่อ - ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ - ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 7,276,192 5,621,244
2556 7,282,493
2555 5,627,545
3.75
3.29
3.71
3.28
4,608,770
2,460,220
4,608,868
2,460,219
2.40
1.47
2.38
1.46
8.89 2.02 1.03
8.95 1.55 1.04
8.59 2.02
8.77 1.55
-
-
เงินให้สินเชื่อและดอกเบี้ยค้างรับ ที่ระงับการรับรู้รายได้ตามเกณฑ์คงค้าง มีดังนี้ หน่วย : พันบาท
เงินให้สินเชื่อและตั๋วเงินรับ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ รวมเงินให้สินเชื่อและลูกหนี้ที่ธนาคาร ระงับการรับรู้รายได้
เงินต้น 4,451,851 6,301 2,824,341 7,282,493
2556
งบการเงินรวม ดอกเบี้ยค้างรับ 98 -
เงินต้น 3,645,529 6,301 1,975,715
98
5,627,545
2555
ดอกเบี้ยค้างรับ 98 98
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
176
หน่วย : พันบาท
เงินให้สินเชื่อและตั๋วเงินรับ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ รวมเงินให้สินเชื่อและลูกหนี้ที่ธนาคาร ระงับการรับรู้รายได้
เงินต้น 4,451,851 2,824,341 7,276,192
2556
งบการเงินเฉพาะธนาคาร ดอกเบี้ยค้างรับ -
เงินต้น 3,645,529 1,975,715
-
5,621,244
2555
ดอกเบี้ยค้างรับ -
6.8 ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อและลูกหนี้ตามสัญญาเช่าทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ธนาคารและบริษัทย่อยมีลูกหนี้ภายใต้สัญญาเช่าซื้อและสัญญาเช่าการเงิน ซึ่งส่วนใหญ่เป็น สัญญาเช่าซื้อสำ�หรับรถยนต์ เครื่องจักรและอุปกรณ์เพื่อการประกอบธุรกิจ อายุของสัญญามีระยะเวลาโดยเฉลี่ยประมาณ 1 ปี ถึง 7 ปี และส่วนใหญ่คิดดอกเบี้ยในอัตราร้อยละคงที่ตามที่ระบุในสัญญา ดังนี้ หน่วย : พันบาท
ผลรวมของเงินลงทุนขั้นต้นตามสัญญาเช่า หัก รายได้ทางการเงินรอการรับรู้* มูลค่าปัจจุบันของจำ�นวนเงินขั้นตํ่าที่ลูกหนี้ ต้องจ่ายตามสัญญาเช่า หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อและสัญญาเช่าการเงินสุทธิ *
ไม่เกิน 1 ปี 47,916,957
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 จำ�นวนเงินที่ถึงกำ�หนดชำ�ระจ่ายตามสัญญา ภายใน 1-5 ปี มากกว่า 5 ปี 111,275,430 5,041,024
รวม 164,233,411 (23,214,560) 141,018,851 (3,623,135) 137,395,716
สุทธิจากค่านายหน้าและค่าใช้จ่ายทางตรงที่เกิดขึ้นเมื่อเริ่มแรกจากการให้เช่าซื้อรอตัดจ่าย หน่วย : พันบาท
ผลรวมของเงินลงทุนขั้นต้นตามสัญญาเช่า หัก รายได้ทางการเงินรอการรับรู้* มูลค่าปัจจุบันของจำ�นวนเงินขั้นตํ่าที่ลูกหนี้ ต้องจ่ายตามสัญญาเช่า หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อและสัญญาเช่าการเงินสุทธิ *
ไม่เกิน 1 ปี 42,340,185
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร 2555 จำ�นวนเงินที่ถึงกำ�หนดชำ�ระจ่ายตามสัญญา ภายใน 1-5 ปี มากกว่า 5 ปี 101,999,277 5,866,725
สุทธิจากค่านายหน้าและค่าใช้จ่ายทางตรงที่เกิดขึ้นเมื่อเริ่มแรกจากการให้เช่าซื้อรอตัดจ่าย
รวม 150,206,187 (21,871,569) 128,334,618 (3,542,796) 124,791,822
รายงานประจำ�ปี 2556
177
6.9 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม 2556
ปกติ ยอดต้นปี บวก หนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) หนี้สูญรับคืน หัก หนี้สูญตัดบัญชี ยอดปลายปี
1,975,683 (28,786) 1,946,897
กล่าวถึง เป็นพิเศษ 577,694 825,234 1,402,928
ตํ่ากว่า มาตรฐาน 1,253,411 (597,888) 655,523
สงสัย
สงสัยจะสูญ
727,658 1,186,356 214,777 1,037,093 256,058 (1,403,742) 942,435 1,075,765
สำ�รอง รวม ทั่วไป 423,100 6,143,902 805,000 2,255,430 256,058 (1,403,742) 1,228,100 7,251,648 หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม 2555 ปกติ ยอดต้นปี บวก หนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) หนี้สูญรับคืน หัก หนี้สูญตัดบัญชี ยอดปลายปี
1,719,938 255,745 1,975,683
กล่าวถึง เป็นพิเศษ 833,913 (256,219) 577,694
ตํ่ากว่า มาตรฐาน 616,353 637,058 1,253,411
สงสัย 534,981 192,677 727,658
สงสัยจะสูญ 990,987 720,086 186,708 (711,425) 1,186,356
สำ�รอง ทั่วไป 423,100 423,100
รวม 5,119,272 1,549,347 186,708 (711,425) 6,143,902 หน่วย : พันบาท
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 ปกติ ยอดต้นปี บวก หนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) หนี้สูญรับคืน หัก หนี้สูญตัดบัญชี ยอดปลายปี
1,975,683 (28,786) 1,946,897
กล่าวถึง เป็นพิเศษ 577,694 825,234 1,402,928
ตํ่ากว่า มาตรฐาน 1,253,411 (597,888) 655,523
สงสัย
สงสัยจะสูญ
727,658 1,179,957 214,776 1,037,094 256,058 (1,403,742) 942,434 1,069,367
สำ�รอง รวม ทั่วไป 423,100 6,137,503 805,000 2,255,430 256,058 (1,403,742) 1,228,100 7,245,249 หน่วย : พันบาท
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2555 ปกติ ยอดต้นปี บวก หนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) หนี้สูญรับคืน หัก หนี้สูญตัดบัญชี ยอดปลายปี
1,719,938 255,745 1,975,683
กล่าวถึง เป็นพิเศษ 833,913 (256,219) 577,694
ตํ่ากว่า มาตรฐาน 616,353 637,058 1,253,411
สงสัย 534,981 192,677 727,658
สงสัยจะสูญ 984,209 720,465 186,708 (711,425) 1,179,957
สำ�รอง ทั่วไป 423,100 423,100
รวม 5,112,494 1,549,726 186,708 (711,425) 6,137,503
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
178
6.10 การปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ธนาคารมีสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้กับลูกหนี้แยกตามระยะเวลาการค้างชำ�ระได้ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร ระยะเวลาการค้างชำ�ระ
ไม่เกิน 1 เดือน มากกว่า 1 เดือน ถึง 3 เดือน มากกว่า 3 เดือน ถึง 6 เดือน มากกว่า 6 เดือน ถึง 12 เดือน มากกว่า 12 เดือนขึ้นไป รวม
2556 จำ�นวนราย ลูกหนี้ 55 13 24 47 97 236
ยอดเงินให้ สินเชื่อคงเหลือ
มูลหนี้หลังหัก หลักประกัน
1,066 638 777 276 1,352 4,109
44 133 42 16 553 788
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 187 150 86 99 604 1,126 หน่วย : ล้านบาท
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร ระยะเวลาการค้างชำ�ระ
ไม่เกิน 1 เดือน มากกว่า 1 เดือน ถึง 3 เดือน มากกว่า 3 เดือน ถึง 6 เดือน มากกว่า 6 เดือน ถึง 12 เดือน มากกว่า 12 เดือนขึ้นไป รวม
2555 จำ�นวนราย ลูกหนี้ 63 21 17 32 108 241
ยอดเงินให้ สินเชื่อคงเหลือ 1,552 321 538 141 1,471 4,023
มูลหนี้หลังหัก หลักประกัน 113 9 9 41 610 782
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 344 44 100 58 673 1,219
ส ำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ธนาคารมีการทำ�สัญญาปรับโครงสร้างหนี้ที่มีส่วนสูญเสียกับลูกหนี้จำ�นวน 3 ราย (สำ�หรับ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 : 2 ราย) โดยมีมูลหนี้ตามบัญชีก่อนปรับโครงสร้างหนี้ 68.40 ล้านบาท (31 ธันวาคม 2555 : 8.01 ล้านบาท) ธนาคารบันทึกสูญเสียจากการปรับโครงสร้างหนี้ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 จำ�นวน 3 ล้านบาท (สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 : 1.72 ล้านบาท) ไว้เป็นส่วนหนึ่งของรายการขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้ในงบกำ�ไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ
รายงานประจำ�ปี 2556
179
หน่วย : พันบาท รูปแบบการปรับโครงสร้าง การโอนสินทรัพย์ การโอนสินทรัพย์และการเปลี่ยนแปลง เงื่อนไขการชำ�ระหนี้ รวม
จำ�นวนรายลูกหนี้ 2
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 ยอดคงเหลือตาม ชนิดของสินทรัพย์ ที่ ยอดคงเหลือตาม บัญชีก่อนการปรับ บัญชีหลังการปรับ จะรับโอนตามสัญญา โครงสร้างหนี้ (1) โครงสร้างหนี้ (1) 34.65 อพาร์ทเม้นท์
1 3
33.75 68.40
10.00 10.00
อพาร์ทเม้นท์
มูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์ 32.29 23.11
(1)
แสดงด้วยยอดคงเหลือตามบัญชี (เงินต้นรวมดอกเบี้ยค้างรับ) หน่วย : พันบาท รูปแบบการปรับโครงสร้าง
การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชำ�ระหนี้ รวม (1)
จำ�นวนรายลูกหนี้ 2 2
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร 2555 ยอดคงเหลือตาม ชนิดของสินทรัพย์ ที่ ยอดคงเหลือตาม บัญชีก่อนการปรับ บัญชีหลังการปรับ จะรับโอนตามสัญญา โครงสร้างหนี้ (1) โครงสร้างหนี้ (1) 8.01 8.01 -
มูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์ -
แสดงด้วยยอดคงเหลือตามบัญชี (เงินต้นรวมดอกเบี้ยค้างรับ)
6.11 ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ ค่าเผื่อการปรับมูลค่าจากการปรับโครงสร้างหนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
หน่วย : พันบาท งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 27,789 733 (4,374) 27,056 23,415 27,789
ยอดต้นปี เพิ่มขึ้น (ลดลง) ระหว่างปี ยอดปลายปี
6.12 ทรัพย์สินรอการขายสุทธิ ทรัพย์สินรอการขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
ทรัพย์สินรอการขาย หัก ค่าเผื่อการปรับมูลค่า ทรัพย์สินรอการขายสุทธิ
งบการเงินรวม 2556 2555 5,388,006 6,564,187 (1,285,337) (1,584,562) 4,102,669 4,979,625
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 5,404,908 6,737,813 (1,249,362) (1,534,627) 4,155,546 5,203,186
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
180
ธนาคารและบริษทั ย่อยได้รบั ทรัพย์สนิ รอการขายมาจากการโอนชำ�ระหนี้ การประมูลซือ้ จากการขายทอดตลาด และจากการบังคับ ชำ�ระหนี้
หน่วย : พันบาท
ยอดต้นปี เพิ่มขึ้น จำ�หน่าย ยอดสิ้นปี หัก ค่าเผื่อการปรับมูลค่า ทรัพย์สินรอการขายสุทธิ
อสังหาริมทรัพย์ 6,362,875 569,228 (1,721,944) 5,210,159 (1,107,500) 4,102,659
งบการเงินรวม 2556 สังหาริมทรัพย์ 201,312 3,574,940 (3,598,405) 177,847 (177,837) 10
รวม 6,564,187 4,144,168 (5,320,349) 5,388,006 (1,285,337) 4,102,669 หน่วย : พันบาท
ยอดต้นปี เพิ่มขึ้น จำ�หน่าย ยอดสิ้นปี หัก ค่าเผื่อการปรับมูลค่า ทรัพย์สินรอการขายสุทธิ
อสังหาริมทรัพย์ 7,986,768 375,813 (1,999,706) 6,362,875 (1,383,261) 4,979,614
งบการเงินรวม 2555 สังหาริมทรัพย์ 55,110 1,728,717 (1,582,515) 201,312 (201,301) 11
รวม 8,041,878 2,104,530 (3,582,221) 6,564,187 (1,584,562) 4,979,625 หน่วย : พันบาท
ยอดต้นปี เพิ่มขึ้น จำ�หน่าย ยอดสิ้นปี หัก ค่าเผื่อการปรับมูลค่า ทรัพย์สินรอการขายสุทธิ
อสังหาริมทรัพย์ 6,536,717 522,529 (1,831,969) 5,227,277 (1,071,731) 4,155,546
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 สังหาริมทรัพย์ 201,096 3,574,940 (3,598,405) 177,631 (177,631) -
รวม 6,737,813 4,097,469 (5,430,374) 5,404,908 (1,249,362) 4,155,546
รายงานประจำ�ปี 2556
181
หน่วย : พันบาท อสังหาริมทรัพย์ 7,485,756 666,587 (1,615,626) 6,536,717 (1,333,531) 5,203,186
ยอดต้นปี เพิ่มขึ้น จำ�หน่าย ยอดสิ้นปี หัก ค่าเผื่อการปรับมูลค่า ทรัพย์สินรอการขายสุทธิ
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2555 สังหาริมทรัพย์ 54,894 1,728,717 (1,582,515) 201,096 (201,096) -
รวม 7,540,650 2,395,304 (3,198,141) 6,737,813 (1,534,627) 5,203,186
รายละเอียดทรัพย์สินตามมูลค่ายุติธรรมที่ให้สิทธิลูกหนี้ซื้อคืนแสดงตามระยะเวลาคงเหลือในการใช้สิทธิซื้อคืนของลูกหนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ดังนี้ งบการเงินรวม
น้อยกว่า 2 เดือน 2 เดือน - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน แต่ไม่เกิน 24 เดือน รวม
2556 260,137 260,137
2555
5,966 147,474 302,986 456,426
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 239,049 147,474 268,209 239,049 415,683
ทรัพย์สินรอการขายประเภทอสังหาริมทรัพย์ที่แยกประเมินราคา โดยผู้ประเมินภายนอกและผู้ประเมินภายในของธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีรายละเอียด ดังนี้
อสังหาริมทรัพย์ที่ได้จากการชำ�ระหนี้ ส่วนที่ประเมินราคาโดยผู้ประเมินภายนอก ส่วนที่ประเมินราคาโดยผู้ประเมินภายใน รวม
2556
งบการเงินรวม
4,357 853 5,210
หน่วย : ล้านบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555
2555 4,868 1,495 6,363
4,417 810 5,227
5,142 1,395 6,537
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
182
6.13 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ งบการเงินรวม 2556
ราคาทุน ยอด ต้นปี ที่ดิน อาคารและส่วนปรับปรุงอาคาร อุปกรณ์ เครื่องตกแต่งและติดตั้ง ยานพาหนะ รวม
146,981 556,410 1,319,945 856,549 367,294 3,247,179
เพิ่มขึ้น
จำ�หน่าย/ โอนออก
ยอด ปลายปี
ยอด ต้นปี
26,836 136,805 36,778 46,792 247,211
146,981 (2,919) 580,327 (224,146) (60,528) 1,396,222 (949,354) (24,398) 868,929 (533,106) (59,603) 354,483 (186,685) (147,448) 3,346,942 (1,893,291)
หน่วย : พันบาท ค่าเสื่อมราคาสะสม เพิ่มขึ้น
จำ�หน่าย/ โอนออก
(34,847) (152,503) (121,433) (61,575) (370,358)
ยอด ปลายปี
-
2,139 (256,854) 58,799 (1,043,058) 20,116 (634,423) 59,080 (189,180) 140,134 (2,123,515)
ที่ดิน อาคารและ อุปกรณ์ สุทธิ 146,981 323,473 353,164 234,506 165,303 1,223,427
หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม 2555 ราคาทุน ค่าเสื่อมราคาสะสม ยอดต้นปี ยอดต้นปี จำ�หน่าย/ ยอด บริษัทย่อย จำ�หน่าย/ ยอด ยอด บริษัทย่อย เพิ่มขึ้น ยอดต้นปี เพิ่มขึ้น โอนออก ปลายปี ณ วันที่ โอนออก ปลายปี ต้นปี ณ วันที่ ลงทุน ลงทุน 94,968 52,013 146,981 -
ทีด่ นิ อาคารและส่วน ปรับปรุงอาคาร 76,552 466,627 19,943 (6,712) 556,410 (37,630) อุปกรณ์ 1,017,605 167,379 166,234 (31,273) 1,319,945 (705,698) เครือ่ งตกแต่ง และติดตัง้ 706,359 50,254 108,186 (8,250) 856,549 (367,811) ยานพาหนะ 282,531 17,194 83,051 (15,482) 367,294 (128,398) รวม 2,178,015 753,467 377,414 (61,717) 3,247,179 (1,239,537)
ค่าเสือ่ มราคาสำ�หรับปีสน้ิ สุด
วันที่ 31 ธันวาคม 2556 วันที่ 31 ธันวาคม 2555
(173,540) (12,976) (120,639) (152,787) 29,770
(224,146) (949,354)
(41,692) (128,213) 4,610 (533,106) (17,193) (56,385) 15,291 (186,685) (353,064) (350,361) 49,671 (1,893,291)
ที่ดิน ค่าเผื่อการ อาคาร และ ด้อยค่า อุปกรณ์ โอนกลับ สุทธิ -
146,981
15,944 -
348,208 370,591
323,443 180,609 15,944 1,369,832
370,358 พันบาท 350,361 พันบาท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ธนาคารและบริษัทย่อยมีอาคารและอุปกรณ์ ที่คิดค่าเสื่อมราคาทั้งจำ�นวนแล้วแต่ยังคงใช้ งานอยู่ ซึ่งมีราคาทุน จำ�นวน 1,687.81 ล้านบาท และ 984.29 ล้านบาท ตามลำ�ดับ
รายงานประจำ�ปี 2556
183
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556
ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ เครือ่ งตกแต่งและติดตัง้ ยานพาหนะ รวม
ยอด ต้นปี 94,968 76,552 916,490 731,259 330,580 2,149,849
ราคาทุน จำ�หน่าย/ ยอด ยอด เพิ่มขึ้น โอนออก ปลายปี ต้นปี 94,968 76,552 (41,407) 70,579 (29,191) 957,878 (621,256) 14,860 (230) 745,889 (437,571) 44,441 (55,280) 319,741 (163,812) 129,880 (84,701) 2,195,028 (1,264,046)
ค่าเสื่อมราคาสะสม ที่ดินอาคาร และอุ ปกรณ์ จำ�หน่าย/ ยอด เพิ่มขึ้น สุ ท ธิ โอนออก ปลายปี 94,968 (3,476) (44,883) 31,669 (110,581) 29,074 (702,763) 255,115 (109,024) 185 (546,410) 199,479 (57,760) 54,811 (166,761) 152,980 (280,841) 84,070 (1,460,817) 734,211 หน่วย : พันบาท
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2555
ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ เครือ่ งตกแต่งและติดตัง้ ยานพาหนะ รวม
ยอด ต้นปี 94,968 76,552 789,310 638,546 263,971 1,863,347
ค่าเสือ่ มราคาสำ�หรับปีสน้ิ สุด
ราคาทุน จำ�หน่าย/ ยอด เพิ่มขึ้น โอนออก ปลายปี 94,968 76,552 144,025 (16,845) 916,490 96,987 (4,274) 731,259 75,542 (8,933) 330,580 316,554 (30,052) 2,149,849
วันที่ 31 ธันวาคม 2556 วันที่ 31 ธันวาคม 2555
ยอด ต้นปี (37,630) (504,887) (320,822) (119,103) (982,442)
ค่าเสื่อมราคาสะสม ที่ดินอาคาร และอุปกรณ์ จำ � หน่ า ย/ ยอด เพิ่มขึ้น สุทธิ โอนออก ปลายปี 94,968 (3,777) (41,407) 35,145 (132,097) 15,728 (621,256) 295,234 (119,471) 2,722 (437,571) 293,688 (53,450) 8,741 (163,812) 166,768 (308,795) 27,191 (1,264,046) 885,803
280,841 พันบาท 308,795 พันบาท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ธนาคารมีอาคารและอุปกรณ์ที่คิดค่าเสื่อมราคาทั้งจำ�นวนแล้ว แต่ยังคงใช้งานอยู่ซึ่งมี ราคาทุน จำ�นวน 776.93 ล้านบาท และ 569.29 ล้านบาท ตามลำ�ดับ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
184
6.14 สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นสุทธิและค่าความนิยม 6.14.1 สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นสุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม 2556
ซอฟท์แวร์ ใบอนุญาตซือ้ ขายสัญญา ซื้อขายล่วงหน้า รวม
ราคาทุน ค่าตัดจำ�หน่ายสะสม สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ยอด จำ � หน่ า ย / ยอด ยอด จำ � หน่ า ย / ยอด เพิ่มขึ้น โอนออก ปลายปี เพิ่มขึ้น โอนออก ปลายปี อื่นสุทธิ ต้นปี ต้นปี (585,135) 419,501 812,801 193,690 (1,855) 1,004,636 (492,892) (92,243) 12,709 825,510
193,690
12,709 (7,132) (1,855) 1,017,345 (500,024)
(50) (92,293)
-
(7,182) (592,317)
5,527 425,028
หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม 2555
ราคาทุน ยอดต้นปี จำ�หน่าย/ ยอด ยอด บริษัทย่อย ยอดต้นปี เพิ่มขึ้น โอนออก ปลายปี ต้นปี ณ วันที่ ลงทุน 544,510 171,816 113,899 (17,424) 812,801 (257,534)
ค่าเสื่อมราคาสะสม ยอดต้นปี จำ�หน่าย/ ยอด บริษัทย่อย เพิ่มขึ้น โอนออก ปลายปี ณ วันที่ ลงทุน (145,891) (95,251) 5,784 (492,892)
สินทรัพย์ ไม่มีตัว ตนอื่น สุทธิ
319,909 ซอฟท์แวร์ ใบอนุญาตซือ้ ขาย สัญญาซื้อขาย 6,918 5,791 12,709 (1,462) (5,655) (15) (7,132) 5,577 ล่วงหน้า 551,428 177,607 113,899 (17,424) 825,510 (258,996) (151,546) (95,266) 5,784 (500,024) 325,486 รวม ค่าตัดจำ�หน่ายสำ�หรับปีสน้ิ สุด
วันที่ 31 ธันวาคม 2556 วันที่ 31 ธันวาคม 2555
92,293 95,266
พันบาท พันบาท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ธนาคารและบริษัทย่อยมีซอฟท์แวร์ที่คิดค่าตัดจำ�หน่ายทั้งจำ�นวนแล้ว แต่ยังคง ใช้งานอยู่ ซึ่งมีราคาทุน จำ�นวน 374.60 ล้านบาท และ 248.01 ล้านบาท ตามลำ�ดับ
รายงานประจำ�ปี 2556
185
ยอด ต้นปี 575,185 575,185
ซอฟท์แวร์ รวม
ราคาทุน �หน่าย/ เพิ่มขึ้น จำโอนออก 154,056 154,056 -
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 ค่าตัดจำ�หน่ายสะสม สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ยอด ยอด จำ � หน่ า ย/ ยอด เพิ่มขึ้น โอนออก ปลายปี อื่นสุทธิ ปลายปี ต้นปี 729,241 (295,323) (70,107) (365,430) 363,811 729,241 (295,323) (70,107) (365,430) 363,811 หน่วย : พันบาท
ยอด ต้นปี 480,338 480,338
ซอฟท์แวร์ รวม
ค่าตัดจำ�หน่ายสำ�หรับปีสน้ิ สุด
ราคาทุน �หน่าย/ เพิ่มขึ้น จำโอนออก 105,360 (10,513) 105,360 (10,513)
วันที่ 31 ธันวาคม 2556 วันที่ 31 ธันวาคม 2555
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2555 ค่าตัดจำ�หน่ายสะสม สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ยอด ยอด จำ � หน่ า ย/ ยอด เพิ่มขึ้น โอนออก ปลายปี อื่นสุทธิ ปลายปี ต้นปี 575,185 (211,782) (84,099) 558 (295,323) 279,862 575,185 (211,782) (84,099) 558 (295,323) 279,862 70,107 84,099
พันบาท พันบาท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ธนาคารมีซอฟท์แวร์ที่คิดค่าตัดจำ�หน่ายทั้งจำ�นวนแล้วแต่ยังคงใช้งานอยู่ ซึ่งมี ราคาทุน จำ�นวน 193.51 ล้านบาท และ 88.67 ล้านบาท ตามลำ�ดับ 6.14.2 ค่าความนิยม ค่าความนิยม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม 2556 ราคาทุน
ยอดต้นปี ค่าความนิยม รวม
เพิ่มขึ้น
3,085,290 3,085,290
317 317
จำ�หน่าย/ โอนออก -
ยอดปลายปี 3,085,607 3,085,607 หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม 2555 ราคาทุน ยอดต้นปี ค่าความนิยม รวม
56,071 56,071
เพิ่มขึ้น 3,029,219 3,029,219
จำ�หน่าย/ โอนออก -
ยอดปลายปี 3,085,290 3,085,290
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
186
6.15 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รวม
งบการเงินรวม 2556 2555 720,745 618,666 720,745 618,666
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 712,351 594,291 712,351 594,291
รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นในระหว่างปี มีดังนี้
ผลแตกต่างชั่วคราว ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน ค่าเผื่อการด้อยค่าของทรัพย์สินรอการขาย ประมาณการหนี้สิน รายได้รับล่วงหน้า ดอกเบี้ยรับที่หยุดรับรู้รายได้ ค่านายหน้าเช่าซื้อจ่ายล่วงหน้า ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ (กำ�ไร) ขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย (กำ�ไร) ขาดทุนที่ยังไม่เกิดจากการวัดมูลค่าเงินทุนเพื่อค้า อื่นๆ รวม
ยอดต้นปี 1 มกราคม 2556 95,238 128,717 309,392 181,163 216,791 42,618 (298,448) 3,014 (74,850) (29,194) 44,225 618,666
หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม รายการที่รับรู้ใน รายการที่รับรู้ใน กำ�ไรหรือขาดทุน กำ�ไรเบ็ดเสร็จอื่น 159,935 (21,829) (59,520) (8,576) 35,397 1,967 (28,474) (4,793) 29,194 (30,035) 73,266
-
66
28,747 28,813
ยอดปลายปี 31 ธันวาคม 2556 255,173 106,888 249,872 172,653 252,188 44,585 (326,922) (1,779) (46,103) 14,190 720,745
รายงานประจำ�ปี 2556
187
หน่วย : พันบาท
ผลแตกต่างชั่วคราว ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน ค่าเผื่อการด้อยค่าของทรัพย์สินรอการขาย ประมาณการหนี้สิน รายได้รับล่วงหน้า ดอกเบี้ยรับที่หยุดรับรู้รายได้ ค่านายหน้าเช่าซื้อจ่ายล่วงหน้า ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ กำ�ไรจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย กำ�ไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการวัดมูลค่า เงินลงทุนเพื่อค้า อื่นๆ รวม
งบการเงินรวม ยอดต้นปี ยอดยกมา ทุนภัทร รายการที่รับรู้ใน 1 มกราคม 2555 12 กันยายน 2555 กำ�ไรหรือขาดทุน 95,619 161,506 289,656 171,746 181,474 39,111 (219,546) (422) (59,700) -
9,438 668,882
รายการที่รับรู้ใน กำ�ไรเบ็ดเสร็จอื่น
ยอดปลายปี 31 ธันวาคม 2555
-
1,466 5,786 16,544 4,260 (766)
(381) (34,255) 13,950 (4,600) 35,317 3,507 (78,902) (824) -
(2,527) (14,384)
95,238 128,717 309,392 181,163 216,791 42,618 (298,448) 3,014 (74,850)
(16,043) 10,341 21,588
(13,151) 24,446 (54,893)
(16,911)
(29,194) 44,225 618,666
หน่วย : พันบาท
ผลแตกต่างชั่วคราว ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน ค่าเผื่อการด้อยค่าของทรัพย์สินรอการขาย ประมาณการหนี้สิน รายได้รับล่วงหน้า ดอกเบี้ยรับที่หยุดรับรู้รายได้ ค่านายหน้าเช่าซื้อจ่ายล่วงหน้า (กำ�ไร) ขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย อื่นๆ รวม
ยอดต้นปี 1 มกราคม 2556 93,489 127,251 306,925 159,552 216,791 42,617 (298,448) (73,972) 20,086 594,291
งบการเงินเฉพาะธนาคาร รายการที่รับรู้ใน รายการที่รับรู้ใน กำ�ไรหรือขาดทุน กำ�ไรเบ็ดเสร็จอื่น 159,935 (20,363) (57,053) 6,436 35,397 1,968 (28,474) (5,896) 91,950
-
(1,760)
27,870 26,110
ยอดปลายปี 31 ธันวาคม 2556 253,424 106,888 249,872 164,228 252,188 44,585 (326,922) (46,102) 14,190 712,351
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
188
หน่วย : พันบาท
ผลแตกต่างชั่วคราว ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน ค่าเผื่อการด้อยค่าของทรัพย์สินรอการขาย ประมาณการหนี้สิน รายได้รับล่วงหน้า ดอกเบี้ยรับที่หยุดรับรู้รายได้ ค่านายหน้าเช่าซื้อจ่ายล่วงหน้า กำ�ไรจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย อื่นๆ รวม
ยอดต้นปี 1 มกราคม 2555 93,870 161,506 289,656 164,419 181,474 39,111 (219,546) (59,699) 9,438 660,229
งบการเงินเฉพาะธนาคาร รายการที่รับรู้ใน รายการที่รับรู้ใน กำ�ไรหรือขาดทุน กำ�ไรเบ็ดเสร็จอื่น (381) (34,255) 17,269 (4,867) 35,317 3,506 (78,902) 10,648 (51,665)
ยอดปลายปี 31 ธันวาคม 2555
(14,273) (14,273)
93,489 127,251 306,925 159,552 216,791 42,617 (298,448) (73,972) 20,086 594,291
ตามพระราชกฤษฎีกาฉบับที่ 555 พ.ศ. 2555 ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตรารัษฎากร ซึ่งมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 27 ธันวาคม 2555 อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลให้ลดลงจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 23 ของกำ�ไรสุทธิ เป็นเวลา 1 รอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2555 และร้อยละ 20 ของกำ�ไรสุทธิ เป็นเวลา 2 รอบระยะเวลาบัญชีถัดมาที่เริ่ม ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 และ 2557 ธนาคารและบริษัทย่อยได้ใช้อัตราภาษีร้อยละ 20 และร้อยละ 23 ในการคำ�นวณภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ตามลำ�ดับ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของบริษทั ย่อยที่ไม่ได้รบั รูใ้ นงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดงั นี้ หน่วย : พันบาท ขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ ประมาณการหนี้สิน ขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย รวม
2556
งบการเงินรวม
9,911 426 26 10,363
2555
6,232 538 48 6,818
รายงานประจำ�ปี 2556
189
6.16 สินทรัพย์อื่นสุทธิ สินทรัพย์อื่นสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
ดอกเบี้ยและเงินปันผลค้างรับ รายได้อื่นค้างรับ* ค่าใช้จ่ายล่วงหน้าและรายจ่ายรอตัดบัญชี ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จ่ายล่วงหน้าสำ�หรับลูกหนี้เช่าซื้อ* ลูกหนี้อื่นสุทธิ* ลูกหนี้จากการจำ�หน่ายหลักทรัพย์ เงินมัดจำ� ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีซื้อรอใบกำ�กับภาษี สิทธิการเช่าจ่ายล่วงหน้า อื่นๆ* รวมสินทรัพย์อื่น
งบการเงินรวม 2556 2555 154,457 169,780 26,663 22,125 92,668 81,088 111,170 87,520 560,534 340,481 101,445 224,413 319,776 51,110 37,901 304,143 413,624 53,673 69,134 179,207 251,537 1,859,483 1,792,966
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 137,521 165,256 3,211 1,849 70,056 59,727 111,170 87,520 324,842 248,810 101,445 125,247 142,884 41,826 30,752 303,647 413,624 48,399 61,829 67,287 145,413 1,334,651 1,357,664
* ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 รายการดังกล่าวแสดงด้วยยอดสุทธิจากค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ จำ�นวนรวม 47.77 ล้านบาท และ 39.02 ล้านบาท ตามลำ�ดับ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 : จำ�นวนรวม 53.09 ล้านบาท และ 44.34 ล้าน บาท ตามลำ�ดับ)
6.17 เงินรับฝาก 6.17.1 จำ�แนกตามประเภทเงินรับฝาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555
จ่ายคืนเมื่อทวงถาม ออมทรัพย์ จ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา บัตรเงินฝาก รวม
งบการเงินรวม 2556 2555 191,045 206,153 24,140,160 25,541,035 121,234,614 127,280,050 430,679 145,996,498 153,027,238
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 275,011 654,697 24,184,433 25,596,962 121,234,614 127,280,050 430,679 146,124,737 153,531,709
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
190
6.17.2 จำ�แนกตามสกุลเงินและถิ่นที่อยู่ของผู้ฝาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555
เงินบาท รวม
ในประเทศ 145,474,685 145,474,685
2556 ต่างประเทศ 521,813 521,813
งบการเงินรวม รวม 145,996,498 145,996,498
ในประเทศ 152,563,958 152,563,958
หน่วย : พันบาท 2555 ต่างประเทศ 463,280 463,280
รวม 153,027,238 153,027,238 หน่วย : พันบาท
เงินบาท รวม
ในประเทศ 145,602,924 145,602,924
2556 ต่างประเทศ 521,813 521,813
งบการเงินเฉพาะธนาคาร รวม 146,124,737 146,124,737
ในประเทศ 153,068,429 153,068,429
2555 ต่างประเทศ 463,280 463,280
6.18 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ (หนี้สิน) รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ (หนี้สิน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
ธนาคารแห่งประเทศไทยและ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงินเฉพาะกิจ สถาบันการเงินอื่น รวม
เมื่อทวงถาม -
80 116,283 127,695 244,058
2556 มีระยะเวลา 821,148 3,000,000 2,590,815 6,411,963
งบการเงินรวม รวม 821,148 80 3,116,283 2,718,510 6,656,021
เมื่อทวงถาม -
77 116,283 207,483 323,843
รวม 153,531,709 153,531,709
หน่วย : พันบาท 2555 มีระยะเวลา 794,745 4,349,819 5,144,564
รวม 794,745 77 116,283 4,557,302 5,468,407 หน่วย : พันบาท
ธนาคารแห่งประเทศไทยและ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ สถาบันการเงินเฉพาะกิจ สถาบันการเงินอื่น รวม
เมื่อทวงถาม 116,283 162,194 278,477
2556 มีระยะเวลา 821,148 3,000,000 2,646,066 6,467,214
งบการเงินเฉพาะธนาคาร รวม 821,148 3,116,283 2,808,260 6,745,691
เมื่อทวงถาม 116,283 219,795 336,078
2555 มีระยะเวลา 794,745 4,481,929 5,276,674
รวม 794,745 116,283 4,701,724 5,612,752
รายงานประจำ�ปี 2556
191
6.19 ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม ตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ สกุลเงิน หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ ตั๋วแลกเงิน รวม
บาท บาท
อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละ) 2.25 - 5.10 2.50 - 5.10
หน่วย : พันบาท
ครบกำ�หนด 2561 2559
สกุลเงิน หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ ตั๋วแลกเงิน รวม
บาท บาท
อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละ) 2.70 - 5.10 2.50 - 5.10
ครบกำ�หนด 2561 2559
6.20 ประมาณการหนี้สิน ประมาณการหนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน หลังออกจากงาน อื่นๆ รวม
2556
งบการเงินรวม
302,108 72,601 374,709
2555 267,905 59,694 327,599
งบการเงินรวม 2556 35,944,114 6,624,915 42,569,029
2555 16,999,361 12,123,975 29,123,336
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 34,211,455 15,335,000 6,624,915 12,123,975 40,836,370 27,458,975
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 169,833 70,510 240,343
154,937 59,257 214,194
ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงานหลังออกจากงาน ธนาคารและบริษัทย่อยมีโครงการผลประโยชน์ของพนักงานหลังออกจากงานตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน ซึ่งจัดเป็น โครงการผลประโยชน์ที่กำ�หนดไว้ที่ไม่ได้จัดให้มีกองทุน
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
192
จำ�นวนค่าใช้จ่ายที่บันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จตามโครงการผลประโยชน์ที่กำ�หนดไว้สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
ต้นทุนบริการปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย (กำ�ไร) ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยที่เกิดขึ้น ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ รวม
2556
งบการเงินรวม 36,925 9,516
2555
2,057 (14,295) 34,203
30,886 6,786
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 25,138 24,733 5,748 4,994
(15,814) (13,157) 8,701
(8,802) (7,188) 14,896
-
(10,998) 18,729
การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ที่กำ�หนดไว้สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
ยอดยกมาของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ที่ กำ�หนดไว้ รับโอนระหว่างปีจากการรวมธุรกิจ ต้นทุนบริการปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย โอนย้ายภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน จากบริษัทย่อย (กำ�ไร) ขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัยที่เกิดขึ้น ผลประโยชน์จ่ายโดยโครงการ ยอดยกไปของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ ที่กำ�หนดไว้
2556 -
งบการเงินรวม
2555
267,905
171,914 87,290 30,886 6,786
36,925 9,516
-
-
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 -
154,937 25,138 5,748
-
-
136,181 24,733 4,994 27
2,057 (14,295)
(15,814) (13,157)
(8,802) (7,188)
302,108
267,905
169,833
-
(10,998) 154,937
รายงานประจำ�ปี 2556
193
ข้อสมมติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ใช้ในการคำ�นวณภาระผูกพันภายใต้โครงการผลประโยชน์ ที่กำ�หนดไว้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังต่อไปนี้ ข้อสมมติฐานทางการเงิน อัตราคิดลด การเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต อัตราการลาออกของพนักงาน เกษียณอายุ
2556
2555
ร้อยละ 3.6 - 4.4 ร้อยละ 3.0 - 18.0 ร้อยละ 0.0 - 30.0 55 ปี และ 60 ปี
ร้อยละ 3.6 - 4.0 ร้อยละ 3.0 - 18.0 ร้อยละ 0.0 - 15.0 55 ปี และ 60 ปี
6.21 หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีรายละเอียดดังนี้
หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม 2556 2555 126,893 163,329 126,893 163,329
หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รวม
รายการเคลื่อนไหวของหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นในระหว่างปี มีดังนี้
ผลแตกต่างชั่วคราว ส่วนเกินทุนจากการตีราคาเพิ่ม ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน ค่าเผื่อการด้อยค่าของทรัพย์สินรอการขาย ประมาณการหนี้สิน ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ กำ�ไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่า เงินลงทุนเผื่อขาย กำ�ไรที่ยังไม่เกิดจากการวัดมูลค่า เงินลงทุนเพื่อค้า กำ�ไรที่ยังไม่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง มูลค่าหลักทรัพย์หุ้นยืม กำ�ไรที่ยังไม่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง มูลค่าตราสารอนุพันธ์ อื่นๆ รวม
ยอดต้นปี 1 มกราคม 2556 -
หน่วย : พันบาท
งบการเงินรวม รายการที่รับรู้ใน รายการที่รับรู้ใน กำ�ไรหรือขาดทุน กำ�ไรเบ็ดเสร็จอื่น
41,141
(3,445) (1,466) (2,263) (16,231) (2,846)
(540) 122,728
-
-
(130)
(108,134)
ยอดปลายปี 31 ธันวาคม 2556 37,696 (1,466) (2,263) (16,901) (2,846) 14,594
-
5,951
-
5,951
-
60,520
-
60,520
32,175
-
32,175 (567) 126,893
-
163,329
-
72,395
(567) (108,831)
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
194
หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม ยอดยกมา ทุนภัทร รายการที่รับรู้ใน รายการที่รับรู้ใน ยอดต้นปี 1 มกราคม 2555 12 กันยายน 2555 กำ�ไรหรือขาดทุน กำ�ไรเบ็ดเสร็จอื่น
ผลแตกต่างชั่วคราว ส่วนเกินทุนจากการ ตีราคาเพิ่ม กำ�ไรจากการวัดมูลค่า เงินลงทุนเผื่อขาย ประมาณการหนี้สิน อื่นๆ รวม
-
42,189
-
-
98,156 (1,052) (14,684) 124,609
-
(251) 13,636 13,385
6.22 เจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
เจ้าหนี้ค่าเบี้ยประกันรอนำ�ส่ง เจ้าหนี้ดีลเลอร์ค้างจ่าย เจ้าหนี้อื่นรอคืนลูกค้า อื่นๆ รวม
งบการเงินรวม 2556 2555 565,217 588,709 385,182 558,888 13,762 7,500 946,058 807,756 1,910,219 1,962,853
-
รายการที่รับรู้ ในกำ�ไรสะสม
24,572 24,572
-
ยอดปลายปี 31 ธันวาคม 2555
42,189 763 763
122,728 (540) (1,048) 163,329
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 565,217 588,709 385,182 558,888 13,762 7,500 857,312 583,465 1,821,473 1,738,562
6.23 เจ้าหนี้กรมบังคับคดี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ธนาคารมีเจ้าหนี้กรมบังคับคดีจำ�นวน 575.38 ล้านบาท เนื่องจากกรมบังคับคดีเรียกเก็บ ส่วนต่างระหว่างราคาทรัพย์ในการประมูลทรัพย์ครั้งแรกและราคาทรัพย์ที่ประมูลได้ ซึ่งเป็นค่าเสียหายเนื่องจากผิดสัญญาซื้อขาย ทอดตลาดจำ�นวน 582.75 ล้านบาท จากรายงานเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ประชุมเจ้าหนี้ครั้งที่ 1 ลงวันที่ 30 มกราคม 2556 เจ้าหนี้เสียงข้างมากของยอดหนี้ที่มา ประชุมได้ลงมติให้ฟ้องคดีแพ่งกับธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) เพื่อเรียกเงินส่วนต่างจำ�นวนดังกล่าว โดยเจ้าหนี้ที่ลงมติ ให้ฟ้องซึ่งมีจำ�นวนหนี้มากที่สุดเป็นผู้รับผิดชอบค่าฤชาธรรมเนียมในการฟ้องร้อง ณ วันที่ 1 เมษายน 2556 เจ้าหนี้ที่ลงมติให้ฟ้องซึ่งมีจำ�นวนหนี้มากที่สุดได้วางเงินค่าฤชาธรรมเนียมแล้ว จำ�นวน 725,380 บาท อย่างไรก็ตาม เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในฐานะผู้เป็นโจทก์ฟ้องร้องคดีแทนเจ้าหนี้ยังไม่ได้ฟ้องร้องคดีต่อศาลแต่อย่างไร เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2556 ทางเจ้าหนี้ได้รับหมายนัดเชิญประชุมเจ้าหนี้ครั้งอื่น (ครั้งที่ 2) เรื่องการจ้างทนายนอกฟ้องคดีธนาคาร เกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ผูซ้ อื้ เดิมจากการขายทรัพย์ทอดตลาด โดยเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์นดั ประชุมในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2556
รายงานประจำ�ปี 2556
195
ตามรายงานวาระการประชุมของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ประชุมเจ้าหนีค้ รัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2556 ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้ ตามวาระ 1 ทางเจ้าหนี้รายที่ 95 (กองทุนรวมไทยรีสตรัคเจอริ่ง) เห็นว่าราคาที่บริษัท บริหารสินทรัพย์สุขุมวิท จำ�กัด ตั้งมาใน ศาลชั้นต้น 300,000 บาท หากมีอุทธรณ์หรือฎีกา ศาลละ 20,000 บาทนั้น สูงเกินไป ที่ประชุมคณะกรรมการเจ้าหนี้จึงเห็นควร ให้กองทุนรวมไทยรีสตรัคเจอริ่ง เจ้าหนี้ รายที่ 95 เป็นผู้หาทนายความ ตามวาระ 2 ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการเจ้าหนี้ว่าธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) จะนำ�พันธบัตรรัฐบาลมาวางจำ�นวน 575,380,000 บาท พร้อมทัง้ ทำ�หนังสือรับสภาพหนี/้ หรือรับสภาพความรับผิดต่อเจ้าพนักงาน พิทักษ์ทรัพย์ หากธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) สามารถปฏิบัติได้ตามเงื่อนไขดังกล่าว คณะกรรมการเจ้าหนี้เห็นควรไม่ คิดดอกเบี้ยจากเงินส่วนต่างดังกล่าวนับตั้งแต่วันผิดนัดชำ�ระหนี้จนกว่า เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรือศาลล้มละลายกลางหรือ ศาลฎีกา จะมีค�ำ สัง่ เกีย่ วกับเงินจำ�นวน ทีข่ าดจากการขายทอดตลาดทรัพย์ทธี่ นาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ยอมรับว่าเป็นหนีต้ อ่ เจ้าหนี้นั้น โดยธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ได้นำ�พันธบัตรรัฐบาลมาวางจำ�นวน 575,380,000 บาท พร้อมทั้งทำ�หนังสือ รับสภาพหนี้/หรือรับสภาพความรับผิดวางต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แล้ว เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2557 6.24 หนี้สินอื่น หนี้สินอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
โบนัสค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ค่าธรรมเนียมสินเชื่อรับล่วงหน้า รายได้อื่นรับล่วงหน้า เงินมัดจำ�และเงินประกัน บัญชีตั้งพักเงินรับจากลูกค้า เจ้าหนี้ค่าจองหุ้น อื่นๆ รวมหนี้สินอื่น
งบการเงินรวม 2556 2555 1,164,641 874,495 788,584 739,137 490,737 375,282 202,538 258,055 252,113 194,207 63,816 93,017 3,779 24,774 217,596 107,609 3,183,804 2,666,576
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 520,000 407,846 666,769 618,871 490,737 375,282 433,862 455,246 252,061 194,155 63,668 91,033 3,779 24,774 56,968 71,097 2,487,844 2,238,304
6.25 ทุนเรือนหุ้น ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติลดทุนจดทะเบียนจากเดิมจำ�นวน 6,603,288,640 บาท เป็น 6,602,188,640 บาทโดยลดจำ�นวนหุ้นที่ยังมิได้นำ�ออกจำ�หน่ายจำ�นวน 110,000 หุ้น และ เพิ่มทุนจดทะเบียนจากทุนจดทะเบียน 6,602,188,640 บาท เป็น 8,523,372,680 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 192,118,404 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ธนาคารได้จดทะเบียนการลดทุนและเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์แล้ว เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2555 และวันที่ 14 พฤษภาคม 2555 ตามลำ�ดับ ธนาคารออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุนของธนาคารเพือ่ ชำ�ระเป็นค่าตอบแทนให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของทุนภัทร ทีต่ อบรับคำ�เสนอซือ้ หลักทรัพย์ใน อัตราการแลกเปลี่ยนหุ้นที่เท่ากับ 1 หุ้นของทุนภัทรต่อ 0.9135 หุ้นของธนาคาร จำ�นวน 191,979,745 หุ้น คิดเป็นมูลค่าหุ้นสามัญ ทีเ่ พิม่ ขึน้ 1,919,797,450 บาท และส่วนเกินมูลค่าหุน้ 5,247,039,575 บาท ซึง่ ธนาคารได้ด�ำ เนินการจดทะเบียนเพิม่ ทุนทีอ่ อกและ ชำ�ระแล้วดังกล่าวต่อกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2555 ทำ�ให้ทุนที่ออกและเรียกชำ�ระแล้วเป็น 8,287,839,590 บาท ณ วันที่ดังกล่าว
196
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
ในระหว่างปี 2555 ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิได้ใช้สิทธิดังนี้ ผูถ้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิในการซือ้ หุน้ สามัญจำ�นวน 319,400 หน่วย ได้ใช้สทิ ธิในการซือ้ หุน้ สามัญของธนาคารจำ�นวน 319,400 หุน้ ซึ่งธนาคารได้ดำ�เนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนดังกล่าวต่อกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2555 ผูถ้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิในการซือ้ หุน้ สามัญจำ�นวน 1,921,050 หน่วย ได้ใช้สทิ ธิในการซือ้ หุน้ สามัญของธนาคารจำ�นวน 1,921,050 หุน้ ซึ่งธนาคารได้ดำ�เนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนดังกล่าวต่อกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2555 ผูถ้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิในการซือ้ หุน้ สามัญจำ�นวน 234,900 หน่วย ได้ใช้สทิ ธิในการซือ้ หุน้ สามัญของธนาคารจำ�นวน 234,900 หุน้ ซึ่งธนาคารได้ดำ�เนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนดังกล่าวต่อกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2555 ผูถ้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิในการซือ้ หุน้ สามัญจำ�นวน 4,047,900 หน่วย ได้ใช้สทิ ธิในการซือ้ หุน้ สามัญของธนาคารจำ�นวน 4,047,900 หุน้ ซึ่งธนาคารได้ดำ�เนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนดังกล่าวต่อกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2555 ดังนั้น ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ธนาคารมีการออกหุ้นสามัญเพื่อชำ�ระเป็นค่าตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้นของทุน ภัทรและจากการใช้สิทธิในการซื้อหุ้นของผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิ รวมทั้งหมด 198,502,995 หุ้น คิดเป็นมูลค่าหุ้นสามัญและ ส่วนเกินมูลค่าหุ้นที่เพิ่มขึ้นรวม 7,357,772,553 บาท ซึ่งทำ�ให้ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เพิ่มขึ้นเป็น 8,328,318,590 บาท ในระหว่างปี 2556 ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิได้ใช้สิทธิดังนี้ ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิในการซื้อหุ้นสามัญจำ�นวน 846,400 หน่วย ได้ใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญของธนาคารจำ�นวน 846,400 หน่วย ซึ่งธนาคารได้ดำ�เนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนดังกล่าวต่อกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2556 ผูถ้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิในการซือ้ หุน้ สามัญจำ�นวน 1,231,800 หน่วย ได้ใช้สทิ ธิในการซือ้ หุน้ สามัญของธนาคารจำ�นวน 1,231,800 หน่วย ซึ่งธนาคารได้ดำ�เนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนดังกล่าวต่อกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2556 ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิในการซื้อหุ้นสามัญจำ�นวน 918,600 หน่วย ได้ใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญของธนาคารจำ�นวน 918,600 หน่วย ซึ่งธนาคารได้ดำ�เนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนดังกล่าวต่อกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2556 ผูถ้ อื ใบสำ�คัญแสดงสิทธิในการซือ้ หุน้ สามัญจำ�นวน 3,004,450 หน่วย ได้ใช้สทิ ธิในการซือ้ หุน้ สามัญของธนาคารจำ�นวน 3,004,450 หน่วย ซึ่งธนาคารได้ดำ�เนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนดังกล่าวต่อกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2556 ดังนั้น ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ธนาคารมีการออกหุ้นสามัญจากการใช้สิทธิในการซื้อหุ้นของผู้ถือใบสำ�คัญ แสดงสิทธิ จำ�นวน 6,001,250 หุ้น คิดเป็นมูลค่าหุ้นสามัญและส่วนเกินมูลค่าหุ้นที่เพิ่มขึ้นรวม 175,656,588 บาท ซึ่งทำ�ให้ทุน ที่ออกและชำ�ระแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เพิ่มขึ้นเป็น 8,388,331,090 บาท
-
-
จำ�นวน เงิน (พันบาท)
25,890,000 25,890,000
จำ�นวน (หน่วย)
-
ราคาต่อ หน่วย
-
จำ�นวน เงิน (พันบาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
19,366,750 19,366,750
ราคาต่อ หน่วย
-
ยกเลิก (หน่วย)
-
ยกเลิก (หน่วย)
6,523,250 6,523,250
ใช้สิทธิ (หน่วย)
6,001,250 6,001,250
ใช้สิทธิ (หน่วย)
1.00 6,001,250 6,001,250
29.27
-
1.00 6,523,250 6,523,250
29.27
จำ�นวน (หน่วย)
-
จำ�นวน เงิน (พันบาท)
190,936 19,366,750 190,936 19,366,750
จำ�นวน (หน่วย)
-
ราคาต่อ หน่วย
-
จำ�นวน เงิน (พันบาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
-
ราคาต่อ หน่วย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
175,657 13,365,500 175,657 13,365,500
ลดลงระหว่างปี อั สิทธิ หุ้นสามัญ ราคาใน จำ�นวน จำ�นวน ซืต้อราการใช้ หุ น ้ สามั ญ ต่อ ออกเพิ่ม การ เงิน น ใบสำ � คั ญ แสดง ระหว่ า งปี ใช้ ส ิทธิซื้อ (พันเงิบาท) (พันบาท) สิทธิ 1 หน่วย (หุ้น) หุ้นสามัญ
-
ลดลงระหว่างปี อั สิทธิ หุ้นสามัญ ราคาใน จำ�นวน จำ�นวน ซืต้อราการใช้ การ หุ น ้ สามั ญ ต่อ ออกเพิ่ม น เงิน ระหว่างปี ใช้สิทธิซื้อ (พันเงิบาท) ใบสำ � คั ญ แสดง (พันบาท) สิทธิ 1 หน่วย (หุ้น) หุ้นสามัญ
* ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่เสนอให้แก่กรรมการและผู้บริหารของธนาคารรุ่นที่ 2 ให้มีการใช้สิทธิได้ทุกวันที่ 30 ของแต่ละสิ้นไตรมาส โดยกำ�หนดให้ใช้สิทธิครั้งแรกวันที่ 30 กันยายน 2554 และครั้งสุดท้ายวันที่ 30 มิถุนายน 2558
ใบสำ�คัญแสดงสิทธิซื้อหุ้น ที่เสนอให้ผู้บริหาร รุ่นที่ 2*
ใบสำ�คัญแสดงสิทธิซื้อหุ้น ที่เสนอให้ผู้บริหาร รุ่นที่ 2*
จำ�นวน (หน่วย)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
6.26 ใบสำ�คัญแสดงสิทธิซื้อหุ้น ใบสำ�คัญแสดงสิทธิซื้อหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
รายงานประจำ�ปี 2556 197
198
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
6.27 ทุนสำ�รองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด ธนาคารซึ่งเป็นบริษัทมหาชนต้องจัดสรรกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำ�รองไม่ น้อยกว่าร้อยละห้าของกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำ�รองนี้จะมีจำ�นวนไม่น้อยกว่าร้อยละ สิบของทุนจดทะเบียน 6.28 เงินปันผลจ่าย เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 ได้มีมติให้จ่ายเงินปันผลประจำ�ปี 2554 ในอัตราหุ้นละ 2.40 บาท ซึ่งได้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลไปแล้วในอัตราหุ้นละ 1.00 บาท เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2554 จำ�นวนเงิน 634,307,664 บาท จึงกำ�หนดจ่ายเงินปันผลอีกในอัตราหุ้นละ 1.40 บาท โดยได้มีการจ่ายเงินปันผลเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2555 เป็นจำ�นวนเงิน ทั้งสิ้น 891,169,320 บาท เมือ่ วันที่ 7 กันยายน 2555 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการธนาคารครัง้ ที่ 7/2555 ได้มมี ติให้จา่ ย เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการดำ�เนินงาน สำ�หรับงวดหกเดือน ในอัตราหุน้ ละ 1 บาท โดยได้มกี ารจ่ายเงินปันผลในวันที่ 5 ตุลาคม 2555 เป็นจำ�นวนทัง้ สิน้ 828,765,659 บาท เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2556 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2556 ได้มีมติให้จ่ายเงินปันผลประจำ�ปี 2555 ในอัตราหุ้นละ 2.40 บาท ซึ่งได้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลไปแล้วในอัตราหุ้นละ 1.00 บาท เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2555 จำ�นวนเงิน 828,765,659 บาท จึงกำ�หนดจ่ายเงินปันผลอีกในอัตราหุ้นละ 1.40 บาท โดยได้มีการจ่ายเงินปันผลเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2556 เป็นจำ�นวนเงิน ทั้งสิ้น 1,168,821,303 บาท เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2556 ที่ประชุมคณะกรรมการธนาคารครั้งที่ 7/2556 ได้มีมติให้จ่าย เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ดำ�เนินงานสำ�หรับงวดหกเดือน ในอัตราหุ้นละ 1 บาท โดยได้มีการจ่ายเงินปันผลในวันที่ 27 กันยายน 2556 เป็นจำ�นวนทั้งสิ้น 835,809,659 บาท
รายงานประจำ�ปี 2556
199
6.29 องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ส่วนเกินทุน กำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ส่วนเกินทุนจากการรวมธุรกิจภายใต้ การควบคุมเดียวกัน กำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
ส่วนเกิน (ตํ่า) กว่าทุนจากการ ตีมูลค่ายุติธรรม ของเงินลงทุน ในสิทธิเรียกร้อง 1,058,873 (69,312) 989,561
งบการเงินรวม ส่วนของบริษัทใหญ่ องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ ส่วนเกิน (ตํ่า) ภาษีเงินได้รอการตัด ส่วนเกินทุนจากการ กว่าทุนจากการ บัญชีเกี่ยวกับองค์ รวมธุรกิจภายใต้การ ตีมูลค่ายุติธรรม ประกอบของกำ ของเงินลงทุนใน (ขาดทุน) เบ็ดเสร็�จไรอื่น ควบคุมเดียวกัน หลักทรัพย์เผื่อขาย 151,510 (59,700) (13) 79,568 (38,937) 231,078 (98,637) (13)
989,561
231,078
12,356 1,001,917
(661,661) (430,583)
-
หน่วย : พันบาท
(98,637) -
111,578 12,941
(13) -
(4,084) (4,097)
หน่วย : พันบาท
ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 กำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ยอดคงเหลือต้นปี ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 กำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม ยอดคงเหลือปลายปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
งบการเงินเฉพาะธนาคาร องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ ส่วนเกิน (ตํ่า) ส่วนเกิน (ตํ่า) ภาษีเงินได้รอการตัด กว่าทุนจากการ กว่าทุนจากการ บัญชีเกี่ยวกับองค์ ตีมูลค่ายุติธรรมของ ตีมูลค่ายุติธรรมของ ประกอบของกำ เงินลงทุนในสิทธิ เงินลงทุนในหลัก (ขาดทุน) เบ็ดเสร็�จไรอื่น เรียกร้อง ทรัพย์เผื่อขาย 152,725 145,772 (59,699) (2,298) 73,644 (14,273) 150,427 219,416 (73,972) 150,427 (19,149) 131,278
219,416 (120,181) 99,235
(73,972) 27,870 (46,102)
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
200
6.30 สินทรัพย์ที่มีภาระผูกพันและข้อจำ�กัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 สินทรัพย์ที่มีภาระผูกพันและข้อจำ�กัดของธนาคารแสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 6.12 และมีหลักทรัพย์รฐั บาลและรัฐวิสาหกิจซึง่ ใช้เป็นหลักประกันภาระผูกพันอืน่ กับส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจมีมลู ค่าตามบัญชี จำ�นวน 3.3 ล้านบาท และ 3.3 ล้านบาท ตามลำ�ดับ 6.31 หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในภายหน้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในภายหน้าของธนาคารและบริษัทย่อย มีดังนี้ งบการเงินรวม 2556 2555 983,698 1,303,121 5,463 46,464
อาวัลตั๋วเงิน เล็ตเตอร์ออฟเครดิต ภาระผูกพันอื่น - การค้ำ�ประกันการจำ�หน่ายตราสาร - วงเงินเบิกเกินบัญชีที่ลูกค้ายัง ไม่ได้ถอน - การค้ำ�ประกันอื่นๆ รวม
-
-
307,256 2,588,883 3,885,300
290,814 1,824,851 3,465,250
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 983,698 1,303,121 5,463 46,464 31,680
-
307,256 2,588,883 3,916,980
290,814 1,824,851 3,465,250
6.32 กำ�ไรต่อหุ้น กำ�ไรต่อหุ้นในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคารสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 คำ�นวณได้ดังนี้ งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม จำ�นวนหุ้นสามัญ กำ�ไรสำ�หรับปี ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก 2556 2555 2556 2555 (พันบาท) (พันบาท) (พันหุ้น) (พันหุ้น) กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำ�ไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะเลือกซื้อหุ้น กำ�ไรต่อหุ้นปรับลด กำ�ไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สมมติว่ามีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ
4,418,191
3,391,287
-
-
4,418,191
3,391,287
835,771
694,859
5,813
4,839
841,584
699,698
กำ�ไรต่อหุ้น 2556 (บาท)
2555 (บาท)
5.29
4.88
5.25
4.85
รายงานประจำ�ปี 2556
201
งบการเงินเฉพาะธนาคาร สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม จำ�นวนหุ้นสามัญ กำ�ไรสำ�หรับปี ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก 2556 2555 2556 2555 (พันบาท) (พันบาท) (พันหุ้น) (พันหุ้น) กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำ�ไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะเลือกซื้อหุ้น กำ�ไรต่อหุ้นปรับลด กำ�ไรสุทธิที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สมมติว่ามีการแปลงเป็นหุ้นสามัญ
4,222,824
2,139,425
-
-
4,222,824
2,139,425
835,771
694,859
5,813
4,839
841,584
699,698
กำ�ไรต่อหุ้น 2556 (บาท)
2555 (บาท)
5.05
3.08
5.02
3.06
6.33 ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพของสินทรัพย์ คุณภาพของสินทรัพย์จำ�แนกตามประเภทที่กำ�หนดโดยสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ 6.33.1 เงินลงทุนในหลักทรัพย์ ธนาคารมีเงินลงทุนในตราสารหนีก้ บั บริษทั ทีถ่ กู สัง่ ปิดกิจการ และผิดนัดชำ�ระหนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร บริษัทที่มีปัญหาผิดนัดชำ�ระดอกเบี้ย
ประเภท ของเงินลงทุน หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ
จำ�นวนราย 1
ราคาทุน 0.04 0.04
ราคาตลาด -
ค่าเผื่อ การลดราคา 0.04 0.04
ธนาคารบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนในตราสารหนี้ข้างต้น ในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จของงวดที่เกิดการ ด้อยค่า
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
202
6.33.2 เงินให้สินเชื่อ และดอกเบี้ยค้างรับ ธนาคารมีเงินให้สินเชื่อ และดอกเบี้ยค้างรับ กับบริษัทที่มีปัญหาเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน และตั้งค่า เผือ่ หนี้สงสัยจะสูญในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 จำ�นวนราย บริษัทที่มีปัญหาในการชำ�ระหนี้หรือผิดนัดชำ�ระหนี้
มูลหนี้ 67 67
หลักประกัน 3,591 3,591
7,581 7,581
ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ 1,114 1,114 หน่วย : ล้านบาท
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะธนาคาร 2555 จำ�นวนราย บริษัทที่มีปัญหาในการชำ�ระหนี้หรือผิดนัดชำ�ระหนี้
มูลหนี้ 57 57
หลักประกัน 2,932 2,932
4,946 4,946
ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ 881 881
6.34 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันกับธนาคารหมายถึง บุคคลหรือกิจการทีม่ อี �ำ นาจควบคุมธนาคาร ถูกควบคุมโดยธนาคารไม่วา่ จะเป็น โดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับธนาคาร รวมถึงบริษัทที่ทำ�หน้าที่ถือหุ้น บริษัทย่อย และกิจการ ที่เป็นบริษัทย่อยในเครือเดียวกัน นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังรวมถึง บริษัทร่วมและบุคคลซึ่งถือหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมและมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำ�คัญกับธนาคาร ผู้บริหารสำ�คัญ กรรมการหรือพนักงานของ ธนาคาร ตลอดทั้งสมาชิกในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลดังกล่าวและกิจการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลเหล่านั้น ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกันกับธนาคารแต่ละรายการ ธนาคารคำ�นึงถึงเนื้อหาของความ สัมพันธ์มากกว่ารูปแบบทางกฎหมาย ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ สนส. 6/2553 เรื่อง หลักเกณฑ์การกำ�กับแบบรวมกลุ่ม ลงวันที่ 18 มิถุนายน 2553 กำ�หนดให้ธนาคารต้องเปิดเผยนโยบายการทำ�ธุรกรรมภายในกลุ่มธุรกิจการเงิน และนโยบายบริหารความเสี่ยงที่เกิดจากการทำ� ธุรกรรมภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงินโดยธนาคารมีนโยบายที่สำ�คัญดังนี้ 1. นโยบายการทำ�ธุรกรรมระหว่างกันภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน การทำ�ธุรกรรมภายในกลุ่มธุรกิจทางการเงินต้องมีเงื่อนไขหรือข้อกำ�หนดรวมทั้งการคิดอัตราดอกเบี้ยหรือค่าบริการเช่นเดียว กับการธุรกรรมกับลูกค้าทั่วไปที่มีความเสี่ยงระดับเดียวกัน 2. นโยบายการบริหารความเสี่ยงที่เกิดจากการทำ�ธุรกรรมในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน เพือ่ ให้สอดคล้องกับการบริหารงานและการกำ�กับแบบรวมกลุม่ คณะกรรมการธนาคารจึงกำ�หนดให้คณะกรรมการบริหารความ เสี่ยงของธนาคาร ทำ�หน้าที่สนับสนุน ทั้งการนำ�นโยบายไปใช้งาน รวมถึงควบคุม ติดตาม และดูแลตรวจสอบให้หน่วยงานทั้ง ด้านธุรกิจและด้านสนับสนุนมีการปฏิบัติตามนโยบาย นอกจากนี้คณะกรรมการธนาคารจะต้องได้รับทราบถึงความเสี่ยงสำ�คัญ ของกลุ่มธุรกิจอย่างสมํ่าเสมอ
รายงานประจำ�ปี 2556
203
นอกจากนั้น คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของแต่ละบริษัทในกลุ่มธุรกิจทางการเงิน มีหน้าที่ประเมินความเสี่ยงภายใต้ นโยบายที่กำ�หนด และรายงานต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของธนาคารอย่างสม่ำ�เสมอ หรือรายงานทันทีในกรณีที่มี การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยเสี่ยงสำ�คัญหรือเกิดเหตุการณ์ที่มีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจอย่างมีนัยสำ�คัญ ร ายการต่อไปนี้เป็นรายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 6.34.1 รายได้
รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผลรับ บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด กองทุนรวมไทยรีสตรัคเจอริ่ง กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ พร็อพเพอร์ตี้ 3 กองทุนรวมบางกอก แคปปิตอล กองทุนรวมแกมม่า แคปปิตอล
หน่วย : ล้านบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555
-
รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด บริษัท สำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 1 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 2 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 3 กองทุนรวมไทยรีสตรัคเจอริ่ง กองทุนรวมบางกอก แคปปิตอล กองทุนรวมแกมม่า แคปปิตอล กำ�ไรจากเงินลงทุน บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด
1,531.49 470.14 2,372.64 4.92 2.25 7.68 4.31 5.84 0.24 0.24 0.24 0.57 1.40 2.24 29.93
-
กำ�ไร (ขาดทุน) จากการขายคืนหน่วยลงทุน กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 1 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 2 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 3 กองทุนรวมไทยรีสตรัคเจอริ่ง กองทุนรวมบางกอก แคปปิตอล กองทุนรวมแกมม่า แคปปิตอล รายได้อื่น บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด บริษัท สำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด
57.53 11.89 4.86 296.73
-
65.53
-
-
-
3.31 269.09 351.23 623.63 0.69 10.09 3.62 5.09 0.24 0.24 0.25 0.67 1.51 2.40 24.80
65.53
(38.56) (38.56)
0.77 (4.62) 2.25 6.61 35.35 16.45 56.81
(2.51) (63.92) 39.96 8.71 6.18 3.43 (8.15)
4.78
4.53 0.30 4.83
4.78
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
204
งบการเงินรวมของธนาคารสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ได้รวมรายได้ค่าธรรมเนียมการ ซื้อขายหลักทรัพย์ที่เกิดจาก ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ค่าธรรมเนียมการซื้อขายหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหารระดับผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไป จำ�นวน 0.18 ล้านบาท และ 19.50 ล้านบาท ตามลำ�ดับ (31 ธันวาคม 2555: จำ�นวน 0.15 ล้านบาทและ 1.86 ล้านบาท ตามลำ�ดับ) ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ธนาคารได้ขายทรัพย์สินราคาตามบัญชีจำ�นวน 2 บาท ให้ผู้บริหารของธนาคารในราคา 1.50 ล้านบาท ซึ่งเป็นมูลค่ายุติธรรม 6.34.2 ค่าใช้จ่าย
ดอกเบี้ยและส่วนลดจ่าย บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด บริษัท สำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 1 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 2 กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 3 กองทุนรวมไทยรีสตรัคเจอริ่ง กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ พร็อพเพอร์ตี้ 3 กองทุนรวมบางกอก แคปปิตอล กองทุนรวมแกมม่า แคปปิตอล กรรมการและผู้บริหารระดับผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไปและบุคคลที่เกี่ยวข้อง ที่มีอำ�นาจควบคุมหรือสามารถใช้อิทธิพลอย่างเป็นสาระสำ�คัญ ค่าใช้จ่ายพนักงาน บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) ค่าเช่าและบริการอาคาร บริษัท ซี เอ็ม ไอ ซี ดิเวลล๊อปเม้นท์ จำ�กัด (1) บริษัท โชติธนวัฒน์ จำ�กัด (2) บริษัท รวมวรรธนะ จำ�กัด (2) ค่าบริการอื่นๆ บริษัท สำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด บริษัท สยาม แอดมินนิสเทรทีฟ แมเนจเม้นท์ จำ�กัด (3) บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) (3)
ลักษณะความสัมพันธ์ คือ (1) ถือหุ้นจากการปรับโครงสร้างหนี้ (2) ผู้ถือหุ้นรายใหญ่เป็นกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม (3) กรรมการและผู้บริหารของธนาคารเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่
หน่วย : ล้านบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555
-
7.18 43.52
-
0.14
14.22 65.06 57.92 57.92
33.84 1.01 0.16 0.76 6.40 4.93 17.72 22.98 15.47 13.80 8.13 125.20
-
65.33 9.66 0.55 75.54
62.32 8.89 0.53 71.74
88.20 33.82 0.16 122.18
81.45 31.41 0.99 113.85
รายงานประจำ�ปี 2556
205
6.34.3 ยอดค้างชำ�ระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
เงินให้กู้ยืมแก่สถาบันการเงิน/ เงินให้สินเชื่อ บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด บริษัท ซี เอ็ม ไอ ซี ดิเวลล๊อปเม้นท์ จำ�กัด หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กรรมการและผู้บริหารระดับผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไปและบุคคลที่เกี่ยวข้อง ที่มีอำ�นาจควบคุมหรือสามารถใช้อิทธิพลอย่างเป็นสาระสำ�คัญ ลูกหนี้/สินทรัพย์อื่น/เงินปันผลค้างรับ/ดอกเบี้ยค้างรับ บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด บริษัท ซี เอ็ม ไอ ซี ดิเวลล๊อปเม้นท์ จำ�กัด เงินรับฝาก บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด บริษัท สำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด กองทุนรวมบางกอก แคปปิตอล กองทุนรวมแกมม่า แคปปิตอล กรรมการและผู้บริหารระดับผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไปและบุคคลที่เกี่ยวข้อง ที่มีอำ�นาจควบคุมหรือสามารถใช้อิทธิพลอย่างเป็นสาระสำ�คัญ เงินกู้ยืม บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด กรรมการและผู้บริหารระดับผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไปและบุคคลที่เกี่ยวข้อง ที่มีอำ�นาจควบคุมหรือสามารถใช้อิทธิพลอย่างเป็นสาระสำ�คัญ หนี้สินอื่น/ดอกเบี้ยค้างจ่าย บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด บริษัท สยาม แอดมินนิสเทรทีฟ แมเนจเม้นท์ จำ�กัด
หน่วย : ล้านบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 1,800.00 600.00 258.00 (127.18) 134.27 2,665.09 10.81 1.24 0.11 0.17 17.36 29.69 0.20 64.55 44.26 52.49 31.49 476.51 669.50 25.00
-
125.00 367.33 (112.93)
94.32 1,323.72 -
-
0.40 15.50 15.90 144.42 55.93 342.04 106.50
422.88 1,071.77 -
14.25 39.25 58.55 0.58 10.15 2.78 72.06
850.00
28.07 28.07 -
20.73 20.73
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ธนาคารมีการออกหนังสือคํา้ ประกันให้กบั ทางบริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 31.68 ล้านบาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 : ไม่มี) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 กรรมการของธนาคารเป็นผู้คํ้าประกันลูกหนี้เงินให้กู้ยืมของธนาคาร ซึ่งมียอด คงค้างจำ�นวน 0.37 ล้านบาท และ 0.77 ล้านบาท ตามลำ�ดับ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
206
6.35 ผลประโยชน์อื่นที่จ่ายแก่กรรมการและผู้มีอำ�นาจในการจัดการ ธนาคารไม่มีการจ่ายผลประโยชน์อื่นแก่กรรมการและผู้บริหารนอกเหนือจากผลประโยชน์ที่พึงจ่ายตามปกติ ซึ่งได้แก่ บำ�เหน็จ กรรมการ เงินเดือน และโบนัส (ถ้ามี) ของผู้บริหาร รวมถึงใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ได้แสดงไว้ในหมายเหตุข้อ 6.26 สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ค่าตอบแทนที่จ่ายให้ผู้บริหารสำ�คัญ มีดังนี้
ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม
งบการเงินรวม 2556 2555 366,363 270,297* 8,129 7,740 374,492 278,037
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 133,309 87,221* 3,894 4,741 137,203 91,962
* รายการทีแ่ สดงเปรียบเทียบดังกล่าวได้มกี ารปรับปรุงเพือ่ ให้เป็นไปตามประกาศของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เช่นเดียวกับการเปิดเผยข้อมูลสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556
6.36 สัญญาเช่าระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ธนาคารมีภาระผูกพันในการจ่ายค่าเช่าตามสัญญาเช่ารถยนต์ สัญญาเช่าสำ�นักงาน ค่าใช้จา่ ย เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์และการรักษาข้อมูลและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอุปกรณ์สำ�นักงาน โดยมีส่วนที่ครบกำ�หนดชำ�ระตาม ระยะเวลานับตั้งแต่วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท
งบการเงินรวม 2556 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ ค่าเช่าตามสัญญา โปรแกรมคอมพิ วเตอร์ เช่าสำ�นักงาน และอุปกรณ์สำ�นักงาน
ค่าเช่าตามสัญญา เช่ารถยนต์ ภายในหนึ่งปี ภายในปีที่สอง สามปีขึ้นไป รวม
-
1 1
156 94 106 356
-
รวม
45 4
201 99 106 406
49
หน่วย : ล้านบาท
ค่าเช่าตามสัญญา เช่ารถยนต์ ภายในหนึ่งปี ภายในปีที่สอง สามปีขึ้นไป รวม
-
1 1 2
งบการเงินรวม 2555 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ ค่าเช่าตามสัญญา โปรแกรมคอมพิ วเตอร์ เช่าสำ�นักงาน และอุปกรณ์สำ�นักงาน 162 100 113 375
44 44 4 92
รวม 207 144 118 469
รายงานประจำ�ปี 2556
207
หน่วย : ล้านบาท
ภายในหนึ่งปี ภายในปีที่สอง สามปีขึ้นไป รวม
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 44 4 48
ค่าเช่าตามสัญญา เช่าสำ�นักงาน 137 83 98 318
รวม 181 87 98 366 หน่วย : ล้านบาท
ภายในหนึ่งปี ภายในปีที่สอง สามปีขึ้นไป รวม
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2555 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 44 44 3 91
ค่าเช่าตามสัญญา เช่าสำ�นักงาน 139 87 103 329
รวม 183 131 106 420
6.37 ส่วนงานดำ�เนินงาน 6.37.1 ผลการดำ�เนินงาน ผลการดำ�เนินงานจำ�แนกตามธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ธุรกิจตลาดทุน และส่วนงานบริหารหนี้ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
หน่วย : ล้านบาท
รายได้จากลูกค้าภายนอก รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รายได้จากการดำ�เนินงานอื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน
ธุรกิจ ธนาคารพาณิชย์
งบการเงินรวม 2556
ธุรกิจ ตลาดทุน
7,740 1,552 (756)* 8,536
บริหารหนี้
รวม
34 2,800 1,262 4,096
573 5 1,000 1,578
8,347 4,357 1,506 14,210
รายได้ระหว่างส่วนงาน
1,439
38
10
1,487
ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย ค่าใช้จ่ายอื่นๆ รวมค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่นๆ หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและขาดทุนจากการด้อยค่า (โอนกลับ) กำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำ�ไรสุทธิ
343 4,003 4,346 2,302 1,888 353 1,535
112 1,788 1,900
8 325 333 (62) 1,307 146 1,161
463 6,116 6,579 2,240 5,391 951 4,440
* รายการดังกล่าวรวมขาดทุนจากการจำ�หน่ายรถยึดจำ�นวน 1,135 ล้านบาท
-
2,196 452 1,744
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
208
หน่วย : ล้านบาท
รายได้จากลูกค้าภายนอก รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รายได้จากการดำ�เนินงานอื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงาน
ธุรกิจ ธนาคารพาณิชย์
งบการเงินรวม 2555
ธุรกิจ ตลาดทุน
บริหารหนี้
รวม
6,395 1,425 429 8,249
16 851 586 1,453
701 5 1,110 1,816
7,112 2,281 2,125 11,518
รายได้ระหว่างส่วนงาน
1,149
35
79
1,263
ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย ค่าใช้จ่ายอื่นๆ รวมค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่นๆ หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญและขาดทุนจากการด้อยค่า (โอนกลับ) กำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำ�ไรสุทธิ
386 4,209 4,595 1,704 1,950 289 1,661
50 807 857 (1) 597 153 444
9 468 477 (147) 1,486 163 1,323
445 5,484 5,929 1,556 4,033 605 3,428
ธนาคารได้เปิดเผยข้อมูลส่วนงานดำ�เนินงาน ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 เรื่อง ส่วนงานดำ�เนินงาน ตามเกณฑ์ที่เสนอให้แก่ผู้มีอำ�นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดำ�เนินงานของธนาคาร เพื่อใช้ในการจัดสรรทรัพยากรให้กับ ส่วนงานและประเมินผลการปฏิบตั งิ านของส่วนงานดังกล่าว โดยธนาคารกำ�หนดส่วนงานทีร่ ายงานตามโครงสร้างองค์กร ใหม่ของกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทรและตามลักษณะการดำ�เนินธุรกิจที่แตกต่างกันในสาระสำ�คัญ ตามส่วนงาน ดำ�เนินงาน ซึ่งได้แก่ ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ธุรกิจตลาดทุน และส่วนงานบริหารหนี้ของธุรกิจธนาคารพาณิชย์ โดยมี รายละเอียดดังนี้ • ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ประกอบด้วย ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ทั้งหมดไม่รวมส่วนงานบริหารหนี้ • ธุรกิจตลาดทุน ประกอบด้วย บริษทั ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด และบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด • ส่วนงานบริหารหนี้ การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของส่วนงานดำ�เนินงานมีการวัดค่าทีเ่ ป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินไทย โดยมี การปรับบางประการให้สอดคล้องกับเกณฑ์หรือแนวปฏิบตั ิในการจัดทำ�บัญชีเพือ่ การจัดการภายในของส่วนงานดำ�เนินงาน โดยข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามแต่ละส่วนงานดังกล่าวจะเป็นจำ�นวนเงินหลังการปันส่วนค่าใช้จา่ ยส่วนกลางและรายได้ ระหว่างส่วนงาน ซึ่งการทำ�ธุรกรรมระหว่างส่วนงานรายได้ระหว่างส่วนงานถูกตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว
รายงานประจำ�ปี 2556
209
6.37.2 สินทรัพย์รวมจำ�แนกตามธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ธุรกิจตลาดทุน และส่วนงานบริหารหนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ 219,468 209,489
ธุรกิจตลาดทุน 21,442 13,657
บริหารหนี้ 8,199 9,867
หน่วย : ล้านบาท รวม 249,109 233,013
6.37.3 กระทบยอดรายการข้อมูลส่วนงานดำ�เนินงาน • กระทบยอดระหว่างผลรวมของรายได้ทุกส่วนงานที่รายงานกับรายได้รวมสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 • กระทบยอดระหว่างผลรวมของกำ�ไรของทุกส่วนงานและกำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนภาษีเงินได้สำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 • กระทบยอดระหว่างผลรวมของสินทรัพย์ของทุกส่วนงานที่รายงานกับสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ หน่วย :ล้านบาท
รายได้ ผลรวมของรายได้ของทุกส่วนงานที่รายงาน รายการตัดบัญชีรายได้ระหว่างส่วนงาน รายได้รวม กำ�ไร ผลรวมของกำ�ไรของทุกส่วนงานที่รายงาน รายการตัดบัญชีกำ�ไรระหว่างส่วนงาน กำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนภาษีเงินได้ สินทรัพย์ ผลรวมของสินทรัพย์ของทุกส่วนงานที่รายงาน รายการตัดบัญชีสินทรัพย์ระหว่างส่วนงาน สินทรัพย์รวม
2556
งบการเงินรวม
2555
15,697 (1,487) 14,210 -
-
5,391 5,391 249,109 249,109
12,781 (1,263) 11,518 -
-
4,033 4,033 233,013 233,013
ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ธนาคารไม่มีรายได้จากการทำ� ธุรกรรมกับลูกค้าบุคคลภายนอก รายใดรายหนึ่งที่มีจำ�นวนเงินตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไปของรายได้รวม ธนาคารประกอบธุรกิจในประเทศไทยเท่านั้น ดังนั้นจึงมิได้แสดงข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงานทางภูมิศาสตร์
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
210
6.38 รายได้ดอกเบี้ย รายได้ดอกเบี้ยสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินลงทุนในตราสารหนี้ เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง เงินให้สินเชื่อ การให้เช่าซื้อและสัญญาเช่าการเงิน รวม รายได้ดอกเบี้ย
งบการเงินรวม 2556 2555 327,152 644,993 776,530 935,191 556,556 886,415 4,314,261 3,619,969 9,834,173 8,365,135 15,808,672 14,451,703
6.39 ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยสำ�หรับสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ งบการเงินรวม เงินรับฝาก รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินนำ�ส่งกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบัน การเงินและสถาบันคุ้มครองเงินฝาก ตราสารหนี้ที่ออก - หุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ - อื่นๆ ค่าธรรมเนียมในการกู้ยืมเงิน อื่นๆ รวม ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 5,144,877 3,841,506 169,047 233,844
2556 5,144,736 120,872
2555 3,819,556 198,976
874,709
682,710
874,709
682,710
789,369 465,614 2,840 63,555 7,461,695
862,901 1,735,736 8,727 30,347 7,338,953
789,369 416,612 9,539
893,873 1,751,565 8,727 7,412,225
6.40 รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ - ค่านายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ - ค่านายหน้าประกัน - การรับรอง รับอาวัล และการคํ้าประกัน - อื่นๆ รวมรายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ - ค่าธรรมเนียมธุรกิจหลักทรัพย์ - อื่นๆ รวมค่าใช้จ่ายค่าธรรมเนียมและบริการ รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการสุทธิ
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 251,837 614,597 636,210 888,027 140,478 133,252 4,335,232 3,595,813 9,834,173 8,365,135 15,197,930 13,596,824
2556
งบการเงินรวม
2555
7,404,153
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555
2,418,741 972,546 62,345 1,384,541 4,838,173
849,618 928,220 34,242 760,685 2,572,765
-
-
252,085 228,881 480,966 4,357,207
56,911 235,236 292,147 2,280,618
-
-
972,546 62,399 715,361 1,750,306 162,768 162,768 1,587,538
928,220 34,242 588,664 1,551,126 150,271 150,271 1,400,855
รายงานประจำ�ปี 2556
211
6.41 กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิจากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรตเงินตราต่างประเทศ กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิจากธุรกรรมเพื่อค้าและปริวรรตเงินตราต่างประเทศ สำ�หรับสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
กำ�ไร (ขาดทุน) จากธุรกรรมเพื่อค้า และปริวรรตเงินตราต่างประเทศ - เงินตราต่างประเทศ - ตราสารหนี้ - ตราสารทุน - ตราสารอนุพันธ์ รวม
2556
งบการเงินรวม
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555
2555
9,192 (16,475) (494,043) 944,007 442,681
8,143 6,909 181,229 29,584 225,865
6.42 กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิจากเงินลงทุน กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิจากเงินลงทุน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
กำ�ไร (ขาดทุน) จากการขาย - เงินลงทุนเผื่อขาย - เงินลงทุนทั่วไป - เงินลงทุนในบริษัทย่อย รวม ขาดทุนจากการด้อยค่า (โอนกลับ) - เงินลงทุนเผื่อขาย - เงินลงทุนทั่วไป - เงินลงทุนในบริษัทย่อย รวม รวมกำ�ไรสุทธิจากเงินลงทุน
2556
-
-
งบการเงินรวม
635,120 1,812 636,932 3 (167) (164) 636,768
2555
-
-
444,283 208 444,491 156 (1,343) (1,187) 443,304
6.43 รายได้จากการดำ�เนินงานอื่นๆ รายได้จากการดำ�เนินงานอื่นๆ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ งบการเงินรวม
รายได้ค่าเบี้ยปรับ กำ�ไรจากการจำ�หน่ายทรัพย์สินถาวร รายได้อื่น รวมรายได้จากการดำ�เนินงานอื่นๆ
2556 205,325 24,861 45,787 275,973
2555 164,554 10,204 33,956 208,714
-
(7,303) (16,960) (24,682) (48,945)
-
8,370 6,853 15,223
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 79,054 1,793 122,347 203,194
112,560 155 (49,706) 63,009
3 (167) 121,386 121,222 324,416
156 (1,343) 157,728 156,541 219,550
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 204,937 164,384 23,279 8,006 18,275 12,577 246,491 184,967
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
212
6.44 ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าใช้จ่ายอื่นสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับรถยึดรอการขาย ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์รอการขาย ค่าใช้จ่ายในการเดินทางและขนส่ง ค่าโฆษณาและส่งเสริมการขาย ค่าธรรมเนียมจ่ายของกองทุน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่ายอื่น
งบการเงินรวม 2556 2555 152,813 82,775 104,574 87,482 161,171 142,810 285,342 505,890 17,684 26,053 92,429 105,979 542,679 524,511 1,356,692 1,475,500
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 152,813 82,775 104,574 87,482 134,079 128,710 256,060 488,872 70,244 94,813 396,298 461,918 1,114,068 1,344,570
6.45 หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และขาดทุนจากการด้อยค่า สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ประกอบด้วยรายการดังนี้
รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน เงินให้สินเชื่อแก่ลูกหนี้ ขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้ (กำ�ไร) ขาดทุนจากการปรับมูลค่าและการด้อยค่า เงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง กำ�ไรจากการโอนเงินลงทุน ในสิทธิเรียกร้องไปเป็นเงินให้กู้ยืม หัก หนี้สูญรับคืนเงินให้สินเชื่อและลูกหนี้ตาม สัญญาเช่าซื้อ ขาดทุนจากการด้อยค่าเงินลงทุน ในสิทธิเรียกร้อง (โอนกลับ) รวมทั้งสิ้น
2556
งบการเงินรวม
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 4,750 (11,600) 2,480,967 1,767,166 3,003 1,724
4,750 2,480,967 3,003
2555 (11,600) 1,766,327 1,724
47,998
(919)
50,985
9,887
(35,654) 2,501,064
(6,284) 1,749,248
(35,654) 2,504,051
(6,284) 1,760,893
(256,058)
(186,708)
(256,058)
(186,708)
(4,851) 2,240,155
(7,569) 1,554,971
(4,851) 2,243,142
(7,569) 1,566,616
รายงานประจำ�ปี 2556
213
6.46 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
ภาษีเงินได้สำ�หรับปีปัจจุบัน รายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ของปีก่อน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รวมค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
งบการเงินรวม 2556 2555 955,430 540,121 (3,516) (2,953) (871) 68,278 951,043 605,446
หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 588,795 396,601 (3,038) (3,315) (91,950) 51,665 493,807 444,951
การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แท้จริงสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้ งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 2556 2555 อั ต ราภาษี อั ต ราภาษี อั ต ราภาษี พันบาท (ร้อยละ) พันบาท (ร้อยละ) พันบาท (ร้อยละ) พันบาท อั(ร้ตอราภาษี ยละ) กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้ 5,390,918 4,033,231 4,716,631 2,584,376 จำ�นวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ 1,078,184 20.00 927,643 23.00 943,326 20.00 594,406 23.00 รายการปรับปรุงค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ของปีกอ่ น (3,516) (0.07) (2,953) (0.07) (3,038) (0.06) (3,315) (0.13) ผลกระทบทางภาษีของรายได้และค่าใช้จ่ายที่ ไม่ได้รับยกเว้นทางภาษี (123,625) (2.29) (319,244) (7.92) (446,481) (9.47) (146,140) (5.65) ภาษีเงินได้ตามงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 951,043 17.64 605,446 15.01 493,807 10.47 444,951 17.22
ตามพระราชกฤษฎีกาฉบับที่ 555 พ.ศ. 2555 ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตรารัษฎากร ซึ่งมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 27 ธันวาคม 2555 อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลให้ลดลงจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 23 ของกำ�ไรสุทธิ เป็นเวลา 1 รอบ ระยะเวลาบัญชีท่ีเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2555 และร้อยละ 20 ของกำ�ไรสุทธิ เป็นเวลา 2 รอบระยะเวลาบัญชีถัดมา ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 ดังนั้น ธนาคารและบริษัทย่อยจึงได้ใช้อัตราภาษีร้อยละ 20 และร้อยละ 23 ในการคำ�นวณค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคล สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 ตามลำ�ดับ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
214
6.47 ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของกำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น ภาษีเงินได้เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบของกำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้
หน่วย : พันบาท
กำ�ไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง กำ�ไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย กำ�ไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสำ�หรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน กำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น
งบการเงินรวม 2556 2555 จำ�นวนก่อน ผลประโยชน์ จำ�นวนสุทธิ จำ�นวนก่อน ผลประโยชน์ จำ�นวนสุทธิ ภาษี ภาษี จากภาษี ภาษี ภาษี จากภาษี 14,240 3,830 18,070 (67,273) 460 (66,813) (687,362) 133,308 (554,054) 81,446 (41,193) 40,253 (2,057) (675,179)
411 137,549
(1,646) (537,630)
15,814 29,987
(3,163) (43,896)
12,651 (13,909) หน่วย : พันบาท
กำ�ไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในสิทธิเรียกร้อง กำ�ไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย กำ�ไร (ขาดทุน) จากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ ประกันภัยสำ�หรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน กำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น
งบการเงินเฉพาะธนาคาร 2556 2555 จำ�นวนก่อน ผลประโยชน์ จำ�นวนสุทธิ จำ�นวนก่อน ผลประโยชน์ จำ�นวนสุทธิ ภาษี ภาษี จากภาษี ภาษี ภาษี จากภาษี (19,149) 3,830 (15,319) (2,298) 460 (1,838) (120,181) 24,040 (96,141) 73,644 (14,733) 58,911 8,802 (130,528)
(1,760) 26,110
7,042 (104,418)
71,346
(14,273)
57,073
6.48 เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ผู้ถือหุ้นใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ในการซื้อหุ้นสามัญจำ�นวน 154,350 หน่วย ได้ใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญของธนาคารจำ�นวน 154,350 หน่วย ซึ่งธนาคารได้ดำ�เนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนดังกล่าวต่อกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 7 มกราคม 2557 ทำ�ให้ หุ้นที่ออกและเรียกชำ�ระแล้วเพิ่มขึ้นอีก 1,543,500 บาท เป็น 8,389,874,590 บาท 6.49 การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้ผ่านการอนุมัติให้ออกงบการเงินจากกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามของธนาคารแล้วเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2557
รายงานประจำ�ปี 2556
215
ประวัติคณะกรรมการ และผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
นายสุพล วัธนเวคิน
อายุ :
• ประธานกรรมการ • ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง *ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการมีผลวันที่ 1 เมษายน 2516
58 ปี
คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาโท (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (นักบริหาร)) สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี (นิติศาสตรบัณฑิต) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ประวัติการอบรม
• Chairman Forum 1/2013 Meeting the AEC Challenge : Role of the Chairman สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Conflict of Interest : Fighting abusive RPT สำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ • Chairman Forum 2/2013 บทบาทของประธานกรรมการในการ ส่งเสริมจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • Financial Institutions Governance Program (FGP 2/2011) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • The 5th SEACEN / ABAC / ABA / PECC Public Private Dialogue for the Asia Pacific Region (2009), The South East Asia Central Bank Research and Training Center ประเทศมาเลเซีย • การสัมมนาเพื่อการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน ตามรายงาน (2007) Corporate Governance Report of Thai Listed Companies • Leadership, Strategic Growth and Change (2006) สถาบัน บัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Organizing and Managing Strategic Alliances for Success and Profit (2006) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • Director Certification Program (DCP 76/2006) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Director Accreditation Program (DAP 56/2006) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Orchestrating Winning Performance (2005) IMD International, Switzerland • Board & CEO Assessment (2003) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • The Role of the Chairman Program (RCP 1/2000) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
• พี่ชายของนางสาวฐิตินันท์ วัธนเวคิน สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
13,364,350 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2554 - ปัจจุบัน • 2542 - 2554 • 2550 - 2553 • 2548 - 2550
ประธานกรรมการและประธานกรรมการ บริหารความเสี่ยง ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด กรรมการ ประธานกรรมการบริ ห าร และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
• 2547 - ปัจจุบัน
กรรมการ บริษทั ดิ เอราวัณ กรุป๊ จำ�กัด (มหาชน)
• 2533 - ปัจจุบัน
ประธานกรรมการ บริษทั บีทเี อ็มยู ลีสซิง่ (ประเทศไทย) จำ�กัด
บริษัทจดทะเบียนอื่น
กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
นายพิชัย ดัชณาภิรมย์
อายุ :
• กรรมการอิสระ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 4 กรกฎาคม 2544) • ประธานกรรมการตรวจสอบ
67 ปี
คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาตรี (บัญชีบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 2421 ประวัติการอบรม
• Anti-Corruption for Executive Program (ACEP 4/2012) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Monitoring Fraud Risk Management (MFM 1/2009) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Monitoring the Internal Audit Function (MIA 4/2008) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
216
• Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR 1/2007) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Audit Committee Program (ACP 9/2005) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Director Certification Program (DCP 32/2003) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
100,000 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2550 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2548 - 2550 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • ก.ค. 2544 - ต.ค. 2548 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษทั เงินทุน เกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
• 2544 - 2555 • 2541 - 2555 • 2541 - 2555 • 2541 - 2550 • 2533 - ปัจจุบัน • 2532 - ปัจจุบัน • 2529 - ปัจจุบัน
กรรมการ บริษัท ธรรมนิติเพรส จำ�กัด กรรมการ บริษัท ฝึกอบรมและสัมมนา ธรรมนิติ จำ�กัด กรรมการ บริษทั สำ�นักพัฒนาการบริหาร ธรรมนิติ จำ�กัด กรรมการ บริษทั ธรรมนิตแิ ละทรูท จำ�กัด กรรมการ บริษัท แกรนด์ซัคเซส จำ�กัด กรรมการ บริษัท ธรรมนิติ จำ�กัด (มหาชน) กรรมการผู้จัดการ บริษัท สอบบัญชี ธรรมนิติ จำ�กัด
รศ. มานพ พงศทัต
อายุ :
• กรรมการอิสระ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 21 มิถุนายน 2547) • ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คุณวุฒิการศึกษา
72 ปี
• ปริญญาโท (Master of Regional Planning), Institute of Social Studies, The Netherlands • ปริญญาโท (Master of Architecture) Kansas State University, U.S.A. • ปริญญาตรี (สถาปัตยกรรมศาสตร-บัณฑิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประวัติการอบรม
• Role of the Nomination and Governance Committee (RNG 1/2011) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Director Certification Program (DCP 15/2011) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Role of The Compensation Committee (RCC 8/2009) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Role of the Chairman Program (RCP 17/2007) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Audit Committee Program (ACP 10/2005) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Director Accreditation Program (DAP 8/2004) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
75,000 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2549 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการสรรหาและกำ � หนด ค่าตอบแทน ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2548 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • มิ.ย. 2547 - ต.ค. 2548 กรรมการอิสระ บริษทั เงินทุน เกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) บริษัทจดทะเบียนอื่น
• 2547 - ปัจจุบัน • 2546 - ปัจจุบัน
กรรมการตรวจสอบ บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท รสา พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
• 2555 - ปัจจุบัน • 2549 - ปัจจุบัน • 2545 - ปัจจุบัน • 2535 - ปัจจุบัน
ประธานกรรมการ บริษัท วรลักษณ์ พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำ�กัด อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการ โรงเรียนอนุบาลทับแก้ว - โฮริ และเนอสเซอรี่
รายงานประจำ�ปี 2556
นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล
217
อายุ :
65 ปี
• กรรมการอิสระ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 7 เมษายน 2549) • ประธานกรรมการกำ�กับการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน *ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการมีผลวันที่ 7 เมษายน 2548 คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาโท (Marketing) Certificate Program มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี (รัฐศาสตรบัณฑิต-บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ประวัติการอบรม
• Financial Institutions Governance Program (FGP 2013) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • “The Updated COSO’s 2013 Integrated Internal Control : what the Board and Managements should do” สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • The 2nd National Director Conference 2013 “Board Leadership Evolution” สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Role of the Nomination and Governance Committee (RNG 1/2011) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Financial Institutes Reform in Thailand from Present to the Future (2010) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • Economy After the Crisis (2010) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • The Board’s Role on Fraud Prevention and Detection (2010) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR 5/2009) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Monitoring of the Quality of Financial Reporting (MFR 7/2009) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Monitoring Fraud Risk Management (MFM 1/2009) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Board and Director Performance Evaluation (R-WS workshop 2/2008) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • การสัมมนาเพื่อการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน ตามรายงาน (2007) Corporate Governance Report of Thai Listed Companies สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
• Monitoring the Internal Audit Function (MIA 1/2007) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Audit Committee Program (ACP 17/2007) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Role of the Compensation Committee (RCC 1/2006) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • DCP Refresher Course (3/2006) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • Director Certification Program (DCP 9/2001) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
50,000 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2554 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการกำ�กับการปฏิบัติตาม กฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • 2550 - ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • 2549 - ปัจจุบัน กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2549 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2548 - เม.ย. 2549 กรรมการ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 48 - ต.ค. 48 กรรมการ บริษทั เงินทุน เกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) นายประวิทย์ วรุตบางกูร
66 ปี • กรรมการอิสระ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 25 พฤศจิกายน 2553) • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ • กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน *ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการมีผลวันที่ 20 สิงหาคม 2539 คุณวุฒิการศึกษา
อายุ :
• ปริญญาโท (Master of Business Administration - Operations Research & General), University of Santa Clara, California, U.S.A.
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
218
• ปริญญาตรี (Bachelor of Science - Operations Research & Finance) Brigham Young University, Provo, Utah, U.S.A. ประวัติการอบรม
• The 2nd National Director Conference 2013 “Board Leadership Evolution”, สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Financial Institutions Governance Program (FGP 2013) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Effective Business Performance Leadership (5/2008) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Monitoring Strategy Implementation and Execution (2008) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Improving The Quality of Financial Reporting (QFR 5/2007) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Audit Committee Program (16/2007) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • DCP Refresher Course (3/2006) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • Director Certification Program (DCP 5/2001) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
250,000 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2556 - ปัจจุบัน • 2554 - ปัจจุบัน • พ.ย. 2553 - ปัจจุบัน • 2552 - 2554 • 2550 - 2554 • 2548 - 2553 • 2539 - 2548
กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการตรวจสอบและกรรมการกำ�กับ การปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการอิสระ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการตรวจสอบ บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด กรรมการ บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด กรรมการ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั เงินทุน เกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
ดร. อนุมงคล ศิริเวทิน
อายุ :
• กรรมการอิสระ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 26 เมษายน 2555) • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน
69 ปี
คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาเอก (Computer Science), University of Wisconsin at Madison, U.S.A. • ปริญญาโท (Computer Science), University of Wisconsin at Madison, U.S.A. • ปริญญาโท (Mathematics), University of Auckland, New Zealand • ปริญญาตรี (Mathematics), University of Auckland, New Zealand ประวัติการอบรม
• Monitoring the Internal Audit Function (MIA 2013) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Monitoring Fraud Risk Management (MFM 2013) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR 2013) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR 2013) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • Finance for Non-Finance Director (FND 34/2007) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Audit Committee Program (ACP 13/2006) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • The Role of the Chairman Program (RCP 12/2005) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Director Certification Program (DCP 26/2003) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
18,270 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2556 - ปัจจุบัน กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2555 กรรมการอิสระและประธานกรรมการ ตรวจสอบ บริษทั ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2556
219
• 2548 - 2555
กรรมการอิสระและประธานกรรมการ ตรวจสอบ บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน)
• 2549 - ปัจจุบัน • 2546 - 2555 • 2550 - 2553 • 2545 - 2550
ประธานกรรมการ บริษัท ซิสเท็มส์ ลิตเทิลเฮ้าส์ จำ�กัด กรรมการประเมิ น ผลงานรั ฐ วิ ส าหกิ จ กระทรวงการคลัง อธิการบดี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ประธานกรรมการและประธานกรรมการ บริหาร บริษัท กรุงไทยคอมพิวเตอร์ เซอร์วิสเซส จำ�กัด
กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
นายพงษ์เทพ ผลอนันต์
อายุ :
• กรรมการอิสระ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 26 เมษายน 2555)
59 ปี
คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาโท (สาขาการจัดการ) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท (สาขาการเงิน) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาตรี (เศรษฐศาสตรบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประวัติการอบรม
• Director Accreditation Program (DAP 36/2005) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
488 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• เม.ย. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2555 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) • 2546 - 2555 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทจดทะเบียนอื่น
• ม.ค. 2556 - ปัจจุบัน • 2545 - ปัจจุบัน • 2553 - 2554 • 2553 - 2554 • 2552 - 2553 • 2543 - 2555
ที่ปรึกษากรรมการผู้จัดการ บริษทั เมืองไทยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริษทั แอ็ดวานซ์อนิ ฟอร์เมชัน่ เทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) ที่ปรึกษากรรมการผู้จัดการ บริษทั เมืองไทยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการบริหาร ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการอิสระ บริษัท ภัทรลิสซิ่ง จำ�กัด (มหาชน) ผู้จัดการ บริษัท โรแยล ซีรามิค อุตสาหกรรม จำ�กัด (มหาชน)
• 2553 - 2555 • 2550 - ปัจจุบัน
ประธานกรรมการ บริษัท กรุงไทย ไอบีเจ ลิสซิ่ง จำ�กัด กรรมการ บริษทั เค เอส พี สแควร์ จำ�กัด
กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
นายธานินทร์ จิระสุนทร
อายุ :
• กรรมการ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 8 มกราคม 2542) • กรรมการกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และกำ�กับกิจการ
61 ปี
คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาตรี (นิติศาสตรบัณฑิต) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ประวัติการอบรม
• Role of the Nomination and Governance Committee (RNG 1/2011) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • DCP Refresher Course (5/2007) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • Director Certification Program (DCP 10/2001) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
75,000 หุ้น
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
220
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2554 - ปัจจุบัน • 2554 - ปัจจุบัน • 2552 - 2554 • 2548 - ปัจจุบัน • 2542 - 2548
กรรมการกำ�กับการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ และกำ�กับกิจการ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท สำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด กรรมการผู้จัดการ บริษัท สำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด กรรมการ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั เงินทุน เกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
นายสุรพล กุลศิริ
• กรรมการ (กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม) (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 21 มิถุนายน 2547)
อายุ :
61 ปี
คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาตรี (บริหารธุรกิจบัณฑิต - การตลาด) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ประวัติการอบรม
• Role of the Chairman Program (RCP 23/2010) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Successful Formulation and Execution of Strategy (SFE 7/2010) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Role of the Compensation Committee (RCC 3/2007) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Director Certification Program (DCP 13/2001) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
60,000 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2554 - ปัจจุบัน • ต.ค. 2548 - ปัจจุบัน
กรรมการสิ น เชื่ อ รายใหญ่ แ ละทรั พ ย์ รอขายรายใหญ่ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
• มิ.ย. 2547 - ต.ค. 2548 กรรมการ บริษทั เงินทุน เกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • 2546 - 2554 กรรมการและประธานกรรมการบริหาร บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
• 2548 - 2552 • 2548 - 2550 • 2548 - 2550
ประธานชมรมเทคโนโลยี ส ารสนเทศ สมาคมบริษัทหลักทรัพย์ กรรมการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรรมการ บริษทั เซ็ทเทรด ดอทคอม จำ�กัด
นายสุวิทย์ มาไพศาลสิน
• กรรมการ (กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม) (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 12 กันยายน 2555) • กรรมการบริหาร
อายุ :
54 ปี
คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาโท (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี (เศรษฐศาสตรบัณฑิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม
• Director Certification Program (DCP 12/2001) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Audit Committee Program (ACP 37/2011) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
5,029,406 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2557 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน • 2553 - ปัจจุบัน
ที่ปรึกษา บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด ประธานกรรมการ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน ภัทร จำ�กัด กรรมการ บริษทั ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2556
221
• 2546 - ปัจจุบัน • 2553 - 2555 • 2552 - 2555 • 2546 - 2552
กรรมการ บริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) กรรมการบริหาร บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) กรรมการบริหาร บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน)
• 2554 - 2555 • 2552 - 2555
ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท บัตรกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการอิสระ บริษัท บัตรกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน)
• 2554 - ปัจจุบัน
กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท สุธากัญจน์ จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทจดทะเบียนอื่น
กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
นายบรรยง พงษ์พานิช
อายุ :
59 ปี
• กรรมการ (กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม) (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 26 เมษายน 2555) • ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร (การแต่งตัง้ มีผลวันที่ 12 กันยายน 2555) • ประธานกรรมการบริหาร • กรรมการบริหารความเสี่ยง คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาโท (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี (เศรษฐศาสตรบัณฑิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม
• Anti-Corruption for Executive Program (ACEP 2/2012) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Director Accreditation Program (DAP 36/2005) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • The Role of the Chairman Program (RCP 5/2001) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
2,000,046 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2555 - ปัจจุบัน • 2553 - ปัจจุบัน • 2546 - ปัจจุบัน
กรรมการ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร ประธานกรรมการบริหารและกรรมการ บริหารความเสี่ยง ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน)
• 2552 - 2554 • 2547 - ปัจจุบัน • 2546 - ปัจจุบัน
กรรมการ บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการอิสระ บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบและ ประธานกรรมการสรรหาและกำ � หนด ค่าตอบแทน บริ ษั ท เมื อ งไทยประกั น ภั ย จำ � กั ด (มหาชน)
บริษัทจดทะเบียนอื่น
กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
• 2555 - ปัจจุบัน • 2554 - ปัจจุบัน • 2551 - 2554 • 2550 - ปัจจุบัน • 2545 - ปัจจุบัน • 2545 - ปัจจุบัน • 2546 - 2551
กรรมการและกรรมการบริหาร มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา ประเทศไทย (TDRI) กรรมการและกรรมการบริหาร มูลนิธิหอจดหมายเหตุ พุทธทาส อินทปัญโญ กรรมการพัฒนาตลาดทุนไทย อนุกรรมการ จั ด ทำ � แผนพั ฒ นาตลาดทุ น ไทยและ คณะทำ � งานด้ า นการปฏิ รู ป ระบบภาษี กระทรวงการคลัง กรรมการอิสระ บริษัท ทางยกระดับดอนเมือง จำ�กัด (มหาชน) กรรมการและกรรมการบริหาร มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง กรรมการสภาที่ปรึกษา สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายกสมาคมเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
222
นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์
อายุ :
• กรรมการ (กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม) (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 12 กันยายน 2555) • กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานธุรกิจธนาคารพาณิชย์ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 1 เมษายน 2556) • กรรมการบริหาร • กรรมการบริหารความเสี่ยง
44 ปี
กรรมการผูจ้ ดั การ (หัวหน้าฝ่ายวานิชธนกิจ) บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน)
• 2554 - ส.ค. 2556
กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษทั ศรีราชา คอนสตรัคชัน่ จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
นายกฤติยา วีรบุรุษ
คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาโท (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต - การเงิน) University of Maryland at College Park, U.S.A • ปริญญาตรี (พาณิชยศาสตร์และการบัญชี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม
• Directors Accreditation Program (DAP 82/2010) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
550,000 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2556 - ปัจจุบัน • 2555 - 2556 • 2555 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน • 2553 - ปัจจุบัน • 2553 - ปัจจุบัน • 2553 - 2555 • 2552 - 2555
• 2550 - 2552
กรรมการ กรรมการผู้จัดการใหญ่และ ประธานธุรกิจธนาคารพาณิชย์ กรรมการ บริหาร และกรรมการบริหารความเสี่ยง ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ ประธานธุรกิจตลาดทุนและ กรรมการผู้จัดการใหญ กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด กรรมการ บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ภั ท ร จำ�กัด กรรมการ บริษทั ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน)
อายุ :
44 ปี
• กรรมการ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 18 พฤษภาคม 2556) • ประธานธุรกิจตลาดทุน (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 1 เมษายน 2556) • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ประธานสายกลยุทธ์ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 15 ตุลาคม 2555) • กรรมการบริหาร • กรรมการบริหารความเสี่ยง คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาโท (บริหารธุรกิจ) Golden Gate University, U.S.A. • ปริญญาตรี (บริหารธุรกิจ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม
• Director Accreditation Program (DAP 1/2008) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
172 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2556 - ปัจจุบัน • 2556 - ปัจจุบัน • 2556 - ปัจจุบัน • 2556 - ปัจจุบัน
กรรมการ ประธานธุรกิจตลาดทุน และ กรรมการบริหารความเสี่ยง ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) และ บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด กรรมการ บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด
รายงานประจำ�ปี 2556
223
• 2555 - ปัจจุบัน กรรมการบริหารและประธานสายกลยุทธ์ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • ก.ย. 2555 - เม.ย. 2556 กรรมการผูจ้ ดั การ (หัวหน้าสายงานลงทุน และค้าหลักทรัพย์) บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) และ บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. - ก.ย. 2555 กรรมการ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • 2554 - ก.ย. 2555 กรรมการผู้จัดการ (หัวหน้าฝ่ายลงทุน) บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) • 2552 - 2553 กรรมการผูจ้ ดั การ (หัวหน้าสายงานลงทุน) บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) • 2551 - 2552 รองกรรมการผูจ้ ดั การ (หัวหน้าฝ่ายลงทุน) บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทจดทะเบียนอื่น
• 2551 - 2553
กรรมการ บริษทั ซีเอส ล็อกซอินโฟ จำ�กัด (มหาชน)
• 2549 - ปัจจุบัน
กรรมการ บริษทั เดอะปาล์ม ชะอำ� จำ�กัด
กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
นางสาวฐิตินันท์ วัธนเวคิน
อายุ :
56 ปี
• กรรมการ (กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม) (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 1 มกราคม 2554) • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ประธานสายธนบดีธนกิจ (การแต่งตัง้ มีผลวันที่ 1 กันยายน 2554) • กรรมการบริหาร คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาโท (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต - การจัดการ) สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี (Bachelor of Public Affairs) University of Southern California, U.S.A ประวัติการอบรม
• Financial Institutions Governance Program (FGP 5/2012) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • การวางแผนการเงิน สำ�หรับผู้บริหาร (2012) สมาคมนักวางแผน การเงินไทย
• Corporate Governance and Social Responsibility (CSR 1/2007) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 2 (2006) สถาบันวิทยาการตลาดทุน • Board Performance Evaluation (2006) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • DCP Refresher Course (1/2005) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • Directors Certification Program (DCP 1/2000) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
• น้องสาวของนายสุพล วัธนเวคิน สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
35,345,261 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2555 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน • 2554 - 2555 • 2542 - 2556 • 2548 - 2553
กรรมการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายธนบดีธนกิจ และกรรมการ บริหาร ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการ บริ ห ารความเสี่ ย ง และประธานสาย ธนบดีธนกิจ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด กรรมการบริ ห าร กรรมการบริ ห าร ความเสี่ ย ง และประธานสายธุ ร กิ จ เงินฝากและการตลาด ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
• 2549 - 2554
กรรมการ บริษทั โรงแรมชายทะเล จำ�กัด
กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
224
นายประชา ชำ�นาญกิจโกศล
อายุ :
51 ปี
• กรรมการ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 25 เมษายน 2556) • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ประธานสายบริหารหนี้ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 1 ตุลาคม 2555) • กรรมการบริหาร • กรรมการบริหารความเสี่ยง
• 2554 - 2555 • 2549 - 2554
กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการ บริหารความเสี่ยง และกรรมการสินเชื่อ รายใหญ่และทรัพย์รอขายรายใหญ่ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง และประธานสายบริหารความเสี่ยง ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาโท (Master of Business Administration - Finance) University of Texas, Arlington, U.S.A. • ปริญญาตรี (วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม
• TLCA Executive Development Program (EDP 8/2011) สมาคม บริษัทจดทะเบียนไทย • Senior Executive Program (SEP-22) (2008) สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Overview of Current Macro Economic Condition and Prudential Regulation-Impact to Thai Corporation (2007) สมาคมธนาคารไทย • Blue Ocean Strategy (2007) ศูนย์พัฒนากลยุทธ์ทางธุรกิจ • EVA : Managing for Value Creation (2006) สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Director Certification Program (DCP 75/2006) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • การบริหารความเสี่ยงแบบครบวงจร (2005) สมาคมสถาบัน การศึกษาการธนาคารและการเงินไทย สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
ไม่มี
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2556 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน
กรรมการ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสาย บริหารหนี้ กรรมการบริหารและกรรมการ บริหารความเสี่ยง ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน)
นายชวลิต จินดาวณิค
• รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ประธานสายการเงินและงบประมาณ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 23 กรกฎาคม 2550) • กรรมการบริหารความเสี่ยง
อายุ :
50 ปี
คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาโท (Master of Business Administration) Eastern Michigan University, U.S.A. • ปริญญาตรี (วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต - เครื่องกล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม
• Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR 12/2012) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR 14/2012) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Monitoring the Internal Audit Function (MIA 11/2011) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Monitoring Fraud Risk Management (MFM 6/2011) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Audit Committee Program (ACP 37/2011) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • TLCA Executive Development Program รุ่นที่ 2 (EDP 2/2008) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • Director Certification Program (DCP 76/2006) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Director Accreditation Program (DAP 21/2004) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
281,250 หุ้น
รายงานประจำ�ปี 2556
225
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2555 - ปัจจุบัน • 2550 - 2555 • 2555 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน • 2554 - ปัจจุบัน • 2554 - 2555 • 2553 - ปัจจุบัน • 2552 - ปัจจุบัน • 2552 - ปัจจุบัน
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายการเงินและงบประมาณ กรรมการบริหารความเสี่ยง ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ประธานสายการเงิ น และงบประมาณ กรรมการบริหารและกรรมการบริหาร ความเสี่ยง ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด ประธานสายกลยุทธ์และพัฒนาองค์กร ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการตรวจสอบ บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด กรรมการ บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด กรรมการ บริษัท สำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2555 - ปัจจุบัน
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายเทคโนโลยีสารสนเทศ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
• 2550 - 2554 • 2549 - 2554
ผูอ้ �ำ นวยการ สายงานเทคโนโลยี สารสนเทศ ธนาคารยูโอบี จำ�กัด (มหาชน) ผู้ พิ พ ากษาสมทบ ศาลทรั พ ย์ สิ น ทาง ปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง
กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
นายธวัชชัย เตชะวัฒนวรรณา
• รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ประธานสายสินเชื่อบรรษัท (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 28 กันยายน 2555)
อายุ :
48 ปี
คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาโท (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี (วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต - ไฟฟ้า) สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • ปริญญาตรี (นิติศาสตรบัณฑิต) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ประวัติการอบรม
นายชัยวัฒน์ เลิศวนารินทร์
• รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ประธานสายเทคโนโลยีสารสนเทศ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 20 มกราคม 2555) คุณวุฒิการศึกษา
อายุ :
54 ปี
• ปริญญาโท (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • ปริญญาตรี (วิทยาศาสตรบัณฑิต) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
ไม่มี
• Director Certification Program (DCP 98/2008) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
ไม่มี
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2555 - ปัจจุบัน
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายสินเชื่อบรรษัท ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
• 2551 - 2553 • 2549 - 2551
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารทหารไทย จำ�กัด (มหาชน) ผู้อำ�นวยการฝ่ายอาวุโส ธนาคารทหารไทย จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทจดทะเบียนอื่น
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
226
นายปรีชา เตชรุ่งชัยกุล
อายุ :
43 ปี
• รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ประธานสายตลาดการเงิน (การแต่งตัง้ มีผลวันที่ 6 มีนาคม 2556) คุณวุฒิการศึกษา
• Master of Science (Finance), University of Colorado at Denver • ปริญญาตรี (บริหารอุตสาหการ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
ไม่มี
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2555 - ปัจจุบัน • 2551 - 2555
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายบริหารความเสี่ยง ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน)
• 2548 - 2551
ผู้อำ�นวยการอาวุโส ธนาคารทหารไทย จำ�กัด (มหาชน)
บริษัทจดทะเบียนอื่น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2556 - ปัจจุบัน
บริษัทจดทะเบียนอื่น
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายตลาดการเงิน ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
• ก.ค. 2552 - ก.ย. 2554 Head of Trading ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
• รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ประธานสายบริหารความเสี่ยง (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 1 ตุลาคม 2555) คุณวุฒิการศึกษา
อายุ :
ไม่มี
50 ปี
คุณวุฒิการศึกษา
ประวัติการอบรม
51 ปี
• ปริญญาเอก (การจัดการวิศวกรรม) Missouri University of Science and Technology, U.S.A. (University of Missouri Rolla) • รายวิชาบัณฑิตศึกษา การวิจัยการดำ�เนินงาน Wichita State University, KS, U.S.A. • ปริญญาโท (การจัดการวิศวกรรม) University of Louisiana at Lafayette, USA (University of Southwestern Louisiana) • ปริญญาตรี (วิศวกรรมศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
• รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ประธานเจ้าหน้าที่กำ�กับดูแลกิจการ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 13 มิถุนายน 2556)
อายุ :
• ปริญญาโท (นิติศาสตรมหาบัณฑิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี (นิติศาสตรบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • เนติบัณฑิตไทย
• 2554 - ม.ค. 2555 Head of Markets ธนาคาร RBS สาขากรุงเทพ • ก.ค. 2543 - มิ.ย. 2552 Head of Rates Trading ธนาคาร HSBC สาขากรุงเทพ ดร. พบพนิต ภุมราพันธุ์
นางภัทรพร มิลินทสูต
• TLCA Executive Development Program สมาคมบริษัท จดทะเบียนไทย • The Advanced Senior Executive Program สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Company Secretary Program สมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริษัทไทย • ผู้ กำ � กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านด้ า นธุ ร กิ จ การธนาคารพาณิ ช ย์ (Compliance Officer) คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
ไม่มี
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2556 - ปัจจุบัน • พ.ค. 2556 - ปัจจุบัน
ประธานเจ้ า หน้ า ที่ กำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการผูจ้ ดั การและประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2556
227
• 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด • เม.ย. - ก.ย. 2555 กรรมการ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) • ก.พ. - เม.ย. 2556 รักษาการกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) • ก.พ. - เม.ย. 2556 รักษาการกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) • 2554 - ม.ค. 2556 กรรมการผูจ้ ดั การและประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) • ก.พ. 2550 - ม.ค. 2556 กรรมการผูจ้ ดั การและประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายปฏิบัติการ บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) • 2547 - ม.ค. 2550 รองกรรมการผู้จัดการ บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) นายมานิตย์ วรรณวานิช
• รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ประธานสายเครือข่ายการขายและบริการ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 4 กันยายน 2555)
อายุ :
47 ปี
• เม.ย. - ส.ค. 2555 • 2553 - เม.ย. 2555 • 2551 - 2553 • 2550 - 2551
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานธุรกิจสาขาภูมิภาค ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่ายอาวุโส ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) ผูจ้ ดั การภาค ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) ผู้จัดการเขตอาวุโส ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน)
นายศราวุธ จารุจินดา
• ปริญญาโท (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาตรี (เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
30,000 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ประธานสายเครือข่ายการขายและบริการ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
อายุ :
55 ปี
• รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ประธานสายสินเชื่อธุรกิจ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 1 ตุลาคม 2555) คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาโท (Master of Business Administration - Finance) University of Mississippi, U.S.A. • ปริญญาตรี (บัญชี) (เกียรตินยิ มอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม
• Directors Certification Program (DCP 31/2003) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
คุณวุฒิการศึกษา
• 2555 - ปัจจุบัน
บริษัทจดทะเบียนอื่น
110,000 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2555 - ปัจจุบัน • 2554 - ปัจจุบัน • 2548 - 2555
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายสินเชื่อธุรกิจ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) กรรมการผู้จัดการ บริษัท สำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด ประธานสายบริหารหนี้ กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสีย่ ง และกรรมการ สินเชือ่ รายใหญ่และทรัพย์รอขายรายใหญ่ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
228
บริษัทจดทะเบียนอื่น
• 2555 - ปัจจุบัน
กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท สหการประมูล จำ�กัด (มหาชน)
กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
• 2556 - ปัจจุบัน
กรรมการอิสระและประธานกรรมการ ตรวจสอบ บริ ษั ท อุ ต สาหกรรมไทย บรรจุภัณฑ์ จำ�กัด (มหาชน)
ดร. อนุชิต อนุชิตานุกูล
อายุ :
• รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ประธานสายพัฒนาระบบงานช่องทางขายและผลิตภัณฑ์ (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 2 กรกฎาคม 2556)
42 ปี
คุณวุฒิการศึกษา
• MBA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Ph.D. (Computer Sci) Stanford University • MSCS Stanford University • B.Eng (1st Class Hons) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม
• Directors Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • TLCA Executive Development Program สมาคมบริษัท จดทะเบียนไทย • ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ด้ า นการค้ า และการพาณิ ช ย์ (TEPCoT) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย • สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย (คปภ.) สถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง (วปส.) • Strategy and Innovation for Businesses in Asia (SIBA) สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (MIT) - วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CUMMU) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
ไม่มี
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2556 - ปัจจุบัน
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายพัฒนาระบบงาน ช่องทางขายและผลิตภัณฑ์ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
• 2553 - 2556 • 2551 • 2551
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท กรุงไทย - แอกซ่า ประกันชีวิต จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการอาวุโส ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน)
• 2552 - 2556 • 2550 - 2553 • 2550 - 2552
กรรมการ บริษทั เนชัน่ แนล ไอทีเอ็มเอ๊กซ์ จำ�กัด กรรมการ บริษทั กรุงไทยพานิช ประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท กรุงไทยคอมพิวเตอร์ เชอร์วิสเชส จำ�กัด กรรมการ บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ เคที บี (ประเทศไทย) จำ�กัด
บริษัทจดทะเบียนอื่น
กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
นายวรกฤต จารุวงศ์ภัค
อายุ :
52 ปี
• รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ประธานสายปฏิบตั กิ าร (การแต่งตัง้ มีผลวันที่ 16 มกราคม 2557) คุณวุฒิการศึกษา
• MBA สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาตรี (เศรษฐศาสตรบัณฑิต) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประวัติการอบรม
• Directors Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • Financial Institutions Governance Program (FGP) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
ไม่มี
รายงานประจำ�ปี 2556
229
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2557 - ปัจจุบัน
รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ประธานสายปฏิบตั กิ าร ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
• 2557 - ปัจจุบัน
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานสายบริหารทรัพยากรบุคคล ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
• 2553 - 2557 • 2550 - 2553 • 2546 - 2550 • 2529 - 2546 • 2526 - 2529
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่ายอาวุโส ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) ผูจ้ ดั การฝ่าย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) หัวหน้าส่วน - รองผู้จัดการฝ่าย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) IT Supervisor ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน)
• 2557 - ปัจจุบัน • 2555 - ปัจจุบัน • 2554 - 2556 • 2553 - 2556
กรรมการอิสระ บริษัท เมอร์เซอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด กรรมการ มูลนิธิสถาบันเพิ่มขีดความ สามารถทรัพยากรมนุษย์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานกรรมการ กลุ่มบริษัท MMC กรรมการผู้จัดการร่วม บริษัท เมอร์เซอร์ (ฟิลิปปินส์) จำ�กัด
• 2552 - 2556
กรรมการ บริษัท เนชั่นแนล ไอทีเอ็มเอ๊กซ์ จำ�กัด
บริษัทจดทะเบียนอื่น
กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
นายวิธพล เจาะจิตต์
• รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ • ประธานสายบริหารทรัพยากรบุคคล (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 16 มกราคม 2557) คุณวุฒิการศึกษา
อายุ :
43 ปี
• ปริญญาโท (วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี (วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นางสุรีย์ หาญพินิจศักดิ์
• Leadership Development • Banking 101 • MBTI Facilitator • Senior Manager Training • Organization Behavior • Business Process Reengineering • Facilitation Skill ไม่มี
อายุ :
• ผู้อำ�นวยการอาวุโส • หัวหน้าฝ่ายบัญชี (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 1 มกราคม 2545)
54 ปี
คุณวุฒิการศึกษา
• ปริญญาโท (บัญชีมหาบัณฑิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท (รัฐศาสตรมหาบัณฑิต - สาขาการเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ประกาศนียบัตรชัน้ สูงทางการสอบบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาตรี (บัญชีบัณฑิต) (เกียรตินิยมอันดับ 1) มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3432 สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
ประวัติการอบรม
สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
กิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน
33,250 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2548 - ปัจจุบัน
ผู้อำ�นวยการอาวุโส หัวหน้าฝ่ายบัญชี ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
230
45 ปี • เลขานุการบริษัท (การแต่งตั้งมีผลวันที่ 13 มกราคม 2553) • ผู้อำ�นวยการอาวุโส • หัวหน้าสำ�นักเลขานุการบริษัท
• Effective Minute Taking (EMT) (2/2549) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • Corporate Secretary Development Program (11/2548) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุณวุฒิการศึกษา
สัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร :
นางสาวพรทิพย์ ชูพระคุณ
อายุ :
• ปริญญาโท (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC) • ปริญญาตรี (รัฐศาสตร์-บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัติการอบรม
• ผู้ กำ � กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ง านด้ า นธุ ร กิ จ การธนาคารพาณิ ช ย์ (Compliance Officer) (7/2557) คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • หลักสูตรผู้ปฏิบัติงานเลขานุการบริษัท (FPCS) (23/2554) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • Board Reporting Program (BRP) (1/2552) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Company Secretary Program (CSP) (17/2549) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
45,751 หุ้น
ประสบการณ์ทำ�งาน กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
• 2554 - ปัจจุบัน • ม.ค. 2553 - ปัจจุบัน • 2551 - 2553
ผู้อำ�นวยการอาวุโส หัวหน้าสำ�นักเลขานุการบริษัท ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) เลขานุการบริษัท ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) ผูอ้ �ำ นวยการ สำ�นักกรรมการ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2556
231
การดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการและผู้บริหารในธนาคาร บริษัทย่อย บริษัทร่วม และ บริษัทที่เกี่ยวข้อง ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
ลำ�ดับ รายชื่อผู้บริหาร รายชื่อบริษัท
บริษัทที่เกี่ยวข้อง
บริษัทย่อย และ บริษัทร่วม
ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 25
หมายเหตุ
2
X
/
บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทสำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด บริษัท กรุงเทพธนาคม จำ�กัด / บริษัท แกรนด์ ซัคเซส จำ�กัด บริษัท เค เอส พี สแควร์ จำ�กัด บริษัท ซิสเท็มส์ ลิตเทิลเฮ้าส์ จำ�กัด บริษัท เซลเลนเนียม (ประเทศไทย) จำ�กัด / บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เดอะปาล์มชะอำ� จำ�กัด บริษัท ทางยกระดับดอนเมือง จำ�กัด (มหาชน) / บริษัท ธรรมนิติ จำ�กัด (มหาชน) X บริษัท บีทีเอ็มยูลีสซิ่ง (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท เมืองไทยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) บริษทั รสา พร็อพเพอร์ต้ี ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท โรงเรียนอนุบาลทับแก้ว - โฮริ และ เนอสเซอรี่ บริษัท สคเวอเร็ล (ประเทศไทย) จำ�กัด / บริษัท สอบบัญชีธรรมนิติ จำ�กัด บริษัท สุธากัญจน์ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั แอ็ดวานซ์อนิ ฟอร์เมชัน่ เทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) บริษัท อุตสาหกรรมไทยบรรจุภัณฑ์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท สหการประมูล จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เมอร์เซอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท วรลักษณ์ พร๊อพเพอร์ตี้ จำ�กัด (มหาชน) 3 4 รวม 1. 2.
3
4
5
6
7
8
9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27
นายสุพล วัธนเวคิน นายพิชัย ตัชณาภิรมย์ รศ.มานพ พงศทัต นายเชษฐ์ ภัทรากรกุล นายประวิทย์ วรุตบางกูร ดร.อนุมงคล ศิริเวทิน นายพงษ์เทพ ผลอนันต์ นายธานินทร์ จิระสุนทร นายสุรพล กุลศิริ นายสุวิทย์ มาไพศาลสิน นายบรรยง พงษ์พานิช นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์ นายกฤติยา วีรบุรุษ นางสาวฐิตินันท์ วัธนเวคิน นายประชา ชำ�นาญกิจโกศล นายชวลิต จินดาวณิค นายชัยวัฒน์ เลิศวนารินทร์ นายธวัชชัย เตชะวัฒนวรรณา นายปรีชา เตชรุ่งชัยกุล นายพบพนิต ภุมราพันธุ์ นางภัทรพร มิลินทสูต นายมานิตย์ วรรณวานิช นายศราวุธ จารุจินดา ดร.อนุชิต อนุชิตตานุกูล นายวรกฤต จารุวงค์ภัค นายวิธพล เจาะจิตต์ นางสุรีย์ หาญพินิจศักดิ์
1
/
/
/
/
/
/
/
/ //
/ //
/ //
/ //
/ //
/ //
//
/ X
/
/
/
/
/
X
//
//
//
//
//
//
//
/
X
X
/
/
/
/
/
/
/
/
//
//
//
/
/ X
//
/
/
/
/
/
/
/
/ / X / /
/ / /
/ X / / / / / / / X 6
1
1
2
3
2
1
6
8
5
6
3
3
6
1
/ = กรรมการ X = ประธานกรรมการ // = กรรมการบริหาร บริษัทที่เกี่ยวข้องให้หมายถึงนิยามนิติบุคคลของบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ลำ�ดับที่ 25 ได้รับการแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งประธานสายปฏิบัติการ มีผลตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม 2557 ลำ�ดับที่ 26 ได้รับการแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งประธานสายบริหารทรัพยากรบุคคล มีผลตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม 2557
1
1
1
5
1
4
1
1
2
1
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
232
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่อย รายชื่อบริษัทย่อย / รายชื่อกรรมการ 1. นายบรรยง พงษ์พานิช 2. นายสุวิทย์ มาไพศาลสิน 3. นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์ 4. ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ 5. นายอภินันท์ เกลียวปฏินนท์ 6. นางพัชนี ลิ่มอภิชาต 7. นายนรเชษฐ์ แสงรุจิ 8. นางสาวฐิตินันท์ วัธนเวคิน 9. นายประชา ชำ�นาญกิจโกศล 10. นายชวลิต จินดาวณิค 11. นางภัทรพร มิลินทสูต 12. นายกฤติยา วีรบุรุษ
บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) X / / // / // // / / / // //
บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) X / / // / // // / / / // //
หมายเหตุ 1 : สัญลักษณ์ X = ประธานกรรมการ / = กรรมการ // = กรรมการบริหาร 2. บริษัทย่อย ให้หมายถึง บริษัทย่อยที่มีนัยสำ�คัญ เช่น มีรายได้เกินกว่าร้อยละ 10 ของรายได้รวมตามงบกำ�ไรขาดทุนรวมของปีบัญชีล่าสุด
รายงานประจำ�ปี 2556
233
ข้อมูลทั่วไป บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ธนาคารเกียรตินาคิน จำ�กัด (มหาชน) (“ธนาคาร”) ชื่อภาษาอังกฤษ “KIATNAKIN BANK PUBLIC COMPANY LIMITED” ชื่อย่อ “KKP” ประกอบธุรกิจ ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ธุรกิจตลาดทุน และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องตามที่ได้รับอนุญาตไว้ใน พระราชบัญญัตธิ รุ กิจสถาบันการเงินฯ และพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ และประกาศที่เกี่ยวข้อง จำ�นวนและชนิดของหุ้น 838,833,109 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท โดยเป็นหุ้นสามัญ 838,833,109 หุ้น และหุ้นบุริมสิทธิ -0- หุ้น (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556) ทุนจดทะเบียน 8,523,372,680 บาท ทุนชำ�ระแล้ว 8,388,331,090 บาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556) ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่ เลขที่ 500 อาคารอัมรินทร์ทาวเวอร์ ชั้น 12 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 เลขทะเบียนบริษัท 0107536000986 โทรศัพท์ 0-2680-3333 โทรสาร 0-2256-9933 เว็บไซต์ www.kiatnakinphatra.com ชื่อ ที่ตั้งสำ�นักงาน หมายเลขโทรศัพท์ หมายเลขโทรสารของบุคคลอ้างอิงอื่นๆ นายทะเบียนหุ้นสามัญ บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2229-2800 โทรสาร 0-2359-1259 ผู้สอบบัญชี
นายชวาลา เทียนประเสริฐกิจ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4301 บริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จำ�กัด เลขที่ 183 อาคารรัจนาการ ชั้น 25 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2676-5700 โทรสาร 0-2676-5757
ที่ปรึกษากฎหมาย
บริษัท สำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด เลขที่ 209/1 อาคารเค ทาวเวอร์ บี ชั้น 12 ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2664-0424 โทรสาร 0-2664-0980
ที่ปรึกษา / ผู้จัดการภายใต้สัญญา ไม่มี การจัดการ
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
234
นิติบุคคลที่ธนาคารถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ธนาคารมีการลงทุนในนิติบุคคล โดยถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ของจำ�นวนหุ้นที่ออกจำ�หน่ายแล้ว ดังต่อไปนี้ ชื่อนิติบุคคล / สถานที่ตั้ง
ประเภทธุรกิจ
หุ้นสามัญที่จำ�หน่าย ได้แล้วทั้งหมด (หุ้น)
สัดส่วนความเป็นเจ้าของ (ร้อยละ)
ธุรกิจลงทุนในบริษัทอื่น
210,310,240.00
99.97
2. บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) ที่อยู่ เลขที่ 252/6 อาคารสำ�นักงานเมืองไทย-ภัทร 1 ชั้น 6, 8-11 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2275-0888, 0-2693-2000 โทรสาร 0-2275-3666
ธุรกิจหลักทรัพย์
213,500,000.00
99.94*
3. บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด ที่อยู่ เลขที่ 500 อาคารอัมรินทร์ทาวเวอร์ ชั้น 7 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2680-2222 โทรสาร 0-2680-2233
ธุรกิจหลักทรัพย์
65,000,000.00
99.96**
4. บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร จำ�กัด ที่อยู่ เลขที่ 252/122 อาคารสำ�นักงานเมืองไทย-ภัทร คอมเพล็กซ์ ชั้น 25 ทาวเวอร์บี ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2305-9800 โทรสาร 0-2305-9803
ธุรกิจจัดการกองทุน
12,000,000.00
99.96**
5. บริษัท สำ�นักกฎหมายเอราวัณ จำ�กัด ที่อยู่ เลขที่ 209/1 อาคารเคทาวเวอร์ บี ชั้น 12 ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2664-0424 โทรสาร 0-2664-0980
สำ�นักกฎหมาย
10,000.00
99.93
230,000,000.00
80.58
1. บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) ที่อยู่ เลขที่ 252/6 อาคารสำ�นักงานเมืองไทย-ภัทร 1 ชั้น 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2305-9000 โทรสาร 0-2693-2535
6. บริษัท ซี เอ็ม ไอ ซี ดิเวลล๊อปเมนท์ จำ�กัด ที่อยู่ เลขที่ 209 อาคารเคทาวเวอร์ ชั้น 10 ถนนสุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2664-1396-7 โทรสาร 0-2664-2163 *ถือหุ้นผ่านบริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.97 **ถือหุ้นผ่านบริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 99.99
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
รายงานประจำ�ปี 2556
235
ชื่อนิติบุคคล / สถานที่ตั้ง
ประเภทธุรกิจ
7. บริษัท บีทีเอ็มยู ลีสซิ่ง (ประเทศไทย) จำ�กัด ที่อยู่ เลขที่ 54 อาคารหะรินธร ชั้น 4 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0-2266-3060 โทรสาร 0-2266-3067
ธุรกิจเช่าการเงิน
8. กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 1 ที่อยู่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2659-8888 โทรสาร 0-2659-8860-1
หุ้นสามัญที่จำ�หน่าย ได้แล้วทั้งหมด (หุ้น)
สัดส่วนความเป็นเจ้าของ (ร้อยละ)
600,000.00
10.00
ธุรกิจลงทุน
21,665,778.59
99.95
9. กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 2 ที่อยู่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2659-8888 โทรสาร 0-2659-8860-1
ธุรกิจลงทุน
91,008,436.74
99.59
10. กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ 3 ที่อยู่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2659-8888 โทรสาร 0-2659-8860-1
ธุรกิจลงทุน
80,121,611.45
99.97
11. กองทุนรวมไทยรีสตรัคเจอริ่ง ที่อยู่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2659-8888 โทรสาร 0-2659-8860-1
ธุรกิจลงทุน
68,337,964.80
98.91
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
236
ชื่อนิติบุคคล / สถานที่ตั้ง
ประเภทธุรกิจ
หุ้นสามัญที่จำ�หน่าย ได้แล้วทั้งหมด (หุ้น)
สัดส่วนความเป็นเจ้าของ (ร้อยละ)
12. กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ พร็อพเพอร์ตี้ 1 ที่อยู่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2659-8888 โทรสาร 0-2659-8860-1
ธุรกิจลงทุน
5,340,031.21
99.52
13. กองทุนรวมเอเชียรีคอฟเวอรี่ พร็อพเพอร์ตี้ 3 ที่อยู่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2659-8888 โทรสาร 0-2659-8860-1
ธุรกิจลงทุน
93,340,500.29
98.77
14. กองทุนรวมบางกอก แคปปิตอล ที่อยู่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2659-8888 โทรสาร 0-2659-8860-1
ธุรกิจลงทุน
34,988,724.05
95.72
14. กองทุนรวมแกมม่า แคปปิตอล ที่อยู่ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม วรรณ จำ�กัด เลขที่ 989 อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 24 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2659-8888 โทรสาร 0-2659-8860-1
ธุรกิจลงทุน
28,183,200.56
94.03
รายงานประจำ�ปี 2556
237
สาขาธนาคารเกียรตินาคิน ติดต่อสาขาธนาคารและศูนย์ประมูลรถยนต์ผ่านศูนย์บริการลูกค้า (KK Contact Center) โทร. 0-2680-3333 สาขา กทม. และปริมณฑล เกษตร-วิภาวดี คริสตัล ดีไซน์ เซ็นเตอร์ เจริญกรุง ซีคอน บางแค เดอะมอลล์ท่าพระ เดอะมอลล์บางกะปิ ทองหล่อ นครปฐม นนทบุรี บางบอน บางใหญ่ ปทุมธานี ปิ่นเกล้า พระราม 3 พระราม 4 พหลโยธินเพลส พาราไดซ์ พาร์ค เพชรเกษม-กาญจนาภิเษก แฟชั่นไอส์แลนด์ มหานาค เมกาบางนา เยาวราช รามอินทรา วงเวียน 22 กรกฎา ศรีนครินทร์ สมุทรปราการ สมุทรสาคร สยามพารากอน สำ�นักอัมรินทร์
ที่ตั้ง 47/11 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 1448/4 ซอยลาดพร้าว 87 (จันทราสุข) แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 273/8 ถนนเจริญกรุง แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ 10100 ศูนย์การค้าซีคอน บางแค ชั้นที่ 3 เลขที่ 607 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 99 ถนนรัชดาภิเษก (ท่าพระ-ตากสิน) แขวงบุคคโล เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 3522 ถนนลาดพร้าว แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 125/19 ซอยสุขุมวิท 55 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 992/2-3 ถนนเพชรเกษม ต.ห้วยจรเข้ อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 68/30-32 หมู่ 8 ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 265 ถนนเอกชัย แขวงบางบอน เขตบางบอน กรุงเทพฯ 10150 80/155 หมู่ 6 ต.เสาธงหิน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี 11140 433, 435, 437 ถ.รังสิต-นครนายก ต.ประชาธิปัตย์ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12130 77/7-9 ถนนบรมราชชนนี แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 493/4-6 ถนนนางลิ้นจี่ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 1032/7-9 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 ห้องชุดเลขที่ 408/4 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 ศูนย์การค้าพาราไดซ์ พาร์ค ชั้นที่ 2 เลขที่ 61 ถนนศรีนครินทร์ แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 919/42-43 ถนนเพชรเกษม แขวงบางแค เขตบางแค กรุงเทพฯ 10160 587, 589, 589/7-9 ถนนรามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพฯ 10230 1082/5 อาคารโบ๊เบ๊มินิออฟฟิสทาวเวอร์ ถนนกรุงเกษม แขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ 10100 ศูนย์การค้าเมกาบางนา ชั้นที่ 1 เลขที่ 39 หมู่ 6 ต.บางแก้ว อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540 289 ถนนเยาวราช แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ 10100 43, 45, 47, 49 ถนนรามอินทรา แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ 10510 132 ถนนมิตรพันธ์ แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ 10100 903, 905 ถนนศรีนครินทร์ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 89/8-10 หมู่ 5 ต.บางเมือง อ.เมือง จ.สมุทรปราการ 10270 1400/98-101 ถนนเอกชัย ต.มหาชัย อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000 991 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 500 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
หมายเลขโทรสาร 0-2562-0017 0-2102-2312 0-2221-3148 0-2458-2826 0-2477-7162 0-2704-9110 0-2392-6662 034-271-584 0-2525-3056 0-2417-2499 0-2903-3600 0-2533-0343 0-2433-8635 0-2287-3230 0-2287-3579 0-2619-0136 0-2325-9150 0-2454-8657 0-2947-5077 0-2628-0025 0-2105-1448 0-2223-1372 0-2540-4552 0-2221-7327 0-2320-0623 0-2703-2650 034-837-212 0-2610-9669 0-2257-0849
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
238
สาขา
ที่ตั้ง 78 ตรอกกัปตันบุช (เจริญกรุง 30) แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 323 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 178, 180, 182 ถนนสุขสวัสดิ์ แขวงบางปะกอก เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140 9/3 หมู่ 7 ถนนกิ่งแก้ว ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540 209 อาคารเคทาวเวอร์ อาคารเอ ถ.สุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110
หมายเลขโทรสาร 0-2237-7884 0-2237-1952 0-2428-8798 0-2738-4773 0-2664-1454
ภาคกลาง กาญจนบุรี ชัยนาท ประจวบคีรีขันธ์ พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี ราชบุรี ลพบุรี สระบุรี สุพรรณบุรี หัวหิน
275/1-2 ถนนแสงชูโต ต.บ้านเหนือ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 78/2-5 ถนนพหลโยธิน ต.บ้านกล้วย อ.ชัยนาท จ.ชัยนาท 17000 222/2 ถนนสละชีพ ต.ประจวบคีรีขันธ์ อ.เมือง จ.ประจวบคีรีขันธ์ 77000 100 หมู่ 1 ต.ไผ่ลิง อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000 132/8-10 หมู่ 1 ต.ต้นมะม่วง อ.เมือง จ.เพชรบุรี 76000 286/25-28 ถนนศรีสุริยวงศ์ ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ราชบุรี 70000 205 หมู่ 2 ต.ท่าศาลา อ.เมือง จ.ลพบุรี 15000 568/7-9 ถนนพหลโยธิน ต.ปากเพรียว อ.เมือง จ.สระบุรี 18000 290/3-6 หมู่ 4 ต.สนามชัย อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี 72000 60/27-28 ซอยหมู่บ้านบ่อฝ้าย ต.หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ 77110
034-620-646 056-420-723 032-551-085 035-235-642 032-454-722 032-310-391 036-626-059 036-318-446 035-546-277 032-547-660
ภาคตะวันออก จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ปราจีนบุรี พัทยา ระยอง สระแก้ว
29/1-4 หมู่ 7 ต.จันทนิมิต อ.เมือง จ.จันทบุรี 22000 508, 510 ถนนฉะเชิงเทรา-บางปะกง ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา 24000 7/41 หมู่ 4 ถนนสุขุมวิท ต.ห้วยกะปิ อ.เมือง จ.ชลบุรี 20130 41/18-20 ถนนปราจีนตคาม ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี 25000 120/16-18 หมู่ 6 ต.นาเกลือ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20150 375/4-7 ถนนสุขุมวิท ต.เนินพระ อ.เมือง จ.ระยอง 21000 330 ถนนสุวรรณศร ต.สระแก้ว อ.เมือง จ.สระแก้ว 27000
039-343-615 038-516-106 038-384-950 037-217-582 038-489-162 038-808-095 037-241-993
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ปากช่อง มุกดาหาร ยโสธร
4/1-2-3 ถนนถีนานนท์ ต.กาฬสินธุ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ 46000 9/2 ถนนประชาสโมสร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 31/12-14 ถนนหฤทัย ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ชัยภูมิ 36000 952, 954, 956, 958, 960 ถนนมิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 30/23-25 ถนนธานี ต.ในเมือง อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ 31000 560 ถนนมิตรภาพ ต.ปากช่อง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา 30130 50 ถนนพิทักษ์พนมเขต ต.มุกดาหาร อ.เมือง จ.มุกดาหาร 49000 258/3-5 ถนนแจ้งสนิท ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ยโสธร 35000
043-821-652 043-337-734 044-835-677 044-256-746 044-620-510 044-279-293 042-631-171 045-720-677
สี่พระยา สีลม สุขสวัสดิ์ สุวรรณภูมิ อโศก
รายงานประจำ�ปี 2556
สาขา
239
ร้อยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร สุรินทร์ หนองคาย อุดรธานี อุบลราชธานี
ที่ตั้ง 49, 49/1-3 ถนนเทวาภิบาล ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด 45000 22/9 ถนนชุมสาย ต.กุดป่อง อ.เมือง จ.เลย 42000 151 ถนนเทพา ต.เมืองเหนือ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ 33000 1773/63 ถนนรัฐพัฒนา ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมือง จ.สกลนคร 47000 6/7 ถนนหลักเมือง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000 527-528 หมู่ 7 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.หนองคาย 43000 215/25, 215/27 ถนนอุดรดุษฎี ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000 466 ถนนสุริยาตร์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000
หมายเลขโทรสาร 043-518-163 042-830-855 045-623-112 042-733-005 044-535-031 042-460-151 042-223-242 045-209-258
ภาคใต้ กระบี่ ชุมพร ตรัง ทุ่งสง นครศรีธรรมราช ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี หาดใหญ่
254, 254/1-2 หมู่ 11 ต.กระบี่น้อย อ.เมือง จ.กระบี่ 81000 67/4-5 ถนนกรมหลวงชุมพร ต.ท่าตะเภา อ.เมือง จ.ชุมพร 86000 59/12-14 ถนนห้วยยอด ต.ทับเที่ยง อ.เมือง จ.ตรัง 92000 80/4 หมู่ 8 ถนนทุ่งสง ตำ�บลชะมาย อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช 80110 111, 111/1-4 ถ.พัฒนาการ-คูขวาง ต.คลัง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000 63/714-716 หมู่ 4 ต.วิชิต อ.เมือง จ.ภูเก็ต 83000 22/144-146, 22/163 ถนนราษฎร์อุทิศ ต.ตลาด อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี 84000 20/1 ถนนราษฎร์ยินดี ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
075-663-923 077-570-509 075-223-293 075-328-669 075-317-171 076-522-310 077-217-408 074-343-309
ภาคเหนือ กำ�แพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ นครสวรรค์ พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ ลำ�ปาง ลำ�พูน สุโขทัย
546 ถนนเจริญสุข ต.ในเมือง อ.เมือง จ.กำ�แพงเพชร 62000 102, 102/1-3 หมู่ 13 ถนนพหลโยธิน ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย 57000 33 ถนนเชียงใหม่-ลำ�ปาง ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300 1311/18-21 หมู่ 10 ต.นครสวรรค์ตก อ.เมือง จ.นครสวรรค์ 60000 68/1 ถนนดอนสนาม ต.เวียง อ.เมือง จ.พะเยา 56000 31/79-81 ถนนสระหลวง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.พิจิตร 66000 286/10 ถนนพิชัยสงคราม ต.ในเมือง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 3/48 ถนนสามัคคีชัย ต.ในเมือง อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ 67000 162 ถนนยันตรกิจโกศล ต.ในเวียง อ.เมือง จ.แพร่ 54000 142-144 ถนนไฮเวย์ลำ�ปาง-งาว ต.พระบาท อ.เมือง จ.ลำ�ปาง 52000 99 ถนนเจริญราษฎร์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ลำ�พูน 51000 186/2-3 หมู่ 7 ตำ�บลธานี อ.เมืองสุโขทัย จ.สุโขทัย 64000
055-722-871 053-719-434 053-409-625 056-313-655 054-412-762 056-651-071 055-211-687 056-712-273 054-522-178 054-317-699 053-532-659 055-610-230
ศูนย์ประมูลรถยนต์ธนาคารเกียรตินาคิน สาขา ถ.บางนา-ตราด กม. 8 จังหวัดอุดรธานี
ที่ตั้ง 43/4 หมู่ 14 ถนนบางนา-ตราด กม.8 ตำ�บลบางแก้ว อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540 225 หมู่ 4 ถนนอุดร-หนองบัวลำ�ภู ตำ�บลบ้านเลื่อม อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000
หมายเลขโทรสาร 0-2316-2730 042-304046
กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร
240
บริษัทในกลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร บริษัท บริษัท ทุนภัทร จำ�กัด (มหาชน)
ที่ตั้ง ชั้น 9 อาคารสำ�นักงานเมืองไทย-ภัทร 1 เลขที่ 252/6 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ภัทร ชั้น 25 อาคารเมืองไทย-ภัทร คอมเพล็กซ์ ทาวน์เวอร์ บี จำ�กัด เลขที่ 252/122 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จำ�กัด (มหาชน) ชั้น 6, 8 - 11อาคารสำ�นักงานเมืองไทย-ภัทร 1 เลขที่ 252/6 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 บริษัทหลักทรัพย์ เคเคเทรด จำ�กัด ชั้น 7 อาคารอัมรินทร์ทาวเออร์ เลขที่ 500 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ (Client Service) โทรศัพท์ 0-2680-2888 โทรสาร 0-2680-2889 กทม.และปริมณฑล สาขานนทบุรี ชั้น 4 อาคารเลขที่ 68/30 - 32 หมู่ 8 ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 สาขาอโศก 209 อาคารเค ทาวเวอร์ ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 สาขาบางนา 1093/56 ชั้น 11 อาคารเซ็นทรัลซิตี้บางนา ถนนบางนา-ตราด กม.3 แขวงบางนา เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 10260 สาขาต่างจังหวัด สาขาขอนแก่น 9/2 ถนนประชาสโมสร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 สาขาเชียงใหม่ 33 อาคารเกียรตินาคิน สีแ่ ยกข่วงสิงห์ ถนนเชียงใหม่-ลำ�ปาง ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300 สาขาระยอง 125/1 ถนนจันทอุดม (ระยอง-บ้านค่าย) ต.เชิงเนิน อ.เมือง จ.ระยอง 21000 สาขาชลบุรี 7/18 หมู่ที่ 4 ถนนสุขุมวิท ต.ห้วยกะปิ อ.เมือง จ.ชลบุรี 20130 สาขาพิษณุโลก 169 / 2-3-4 ถนนบรมไตรโลกนารถ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 สาขาสมุทรสาคร 1400/98-101 ถนนเอกชัย ต.มหาชัย อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000 สาขานครศรีธรรมราช สาขาหาดใหญ่
หมายเลขโทรศัพท์ หมายเลขโทรสาร 0-2305 9000 0-2693 2535 0-2305 9800
0-2305 9803
0-2305 9559
0-2305 9558
0-2680-2222
0-2680-2233
0-2527-8744
0-2965-4634
0-2680-2900
0-2680-2995
0-2745-6458-66, 0-2745-6467 0-2745-6307-9 043-337-700-10
043-337-721
053-220-751-54, 053-220-760 038-673999, 038-673900-12 038-384-931-43
053-220-763, 053-220-765 038-617490, 038-619253 038-384-794
055-243-060
055-259-455
034-837-246-64, 034-423-565, 034-427-123-5 034-837-255 ชั้น 2 ธนาคารเกียรตินาคิน เลขที่ 111, 111/1-4 ถนนพัฒนาการคู 075-432-111 075-432-359 ขวาง ต.คลัง อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช 80000 200 อาคารจุลดิศหาดใหญ่พลาซ่า ชัน้ 4 ห้อง 414 - 424 074-354-747-51 074-239-515 ถนนนิพทั ธ์อทุ ศิ 3 ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
อาคาร อัมรินทรทาวเวอร ชั้น 11 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 อาคารเค ทาวเวอร ถนนสุขุมวิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท +(66)2680-3333 โทรสาร +(66)2256-9933
500 209
www.kiatnakinphatra.com