LPN : รายงานประจำปี 2555

Page 1


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

“ลุมพินี” บ้านหลังใหญ่ หัวใจเดียวกัน ณ ชุมชนแห่งนี้ มีแต่ความรู้สึกดีๆ ให้ คอยห่วงใยดูแลและแบ่งปัน เป็นบ้านหลังใหญ่ของหัวใจหลายๆ ดวง ไม่ว่าจะอีกกี่ทศวรรษก็จะมีพื้นที่ความสุขที่มากพอ…

ความสุขสำ�หรับผู้ร่วมปณิธาน ที่พร้อมจะตั้งมั่นในการพัฒนาบ้านหลังนี้อย่างต่อเนื่องไม่หยุดยั้ง

ความสุขสำ�หรับทุกครอบครัวลุมพินี ที่พร้อมจะแบ่งปันให้เพื่อนบ้านด้วยรอยยิ้ม

ความสุขสำ�หรับสังคมและสิ่งแวดล้อม ที่จะได้รับการดูแลให้อยู่คู่กับบ้านของเราตลอดไป

ความสุขสำ�หรับเหล่าปิยมิตร ที่จะเติบโตเคียงข้างกันและก้าวไปพร้อมกันอย่างมั่นคง

ความสุขสำ�หรับลูกทีมที่เป็นกำ�ลังสำ�คัญ ที่จะคอยเติมเต็มคุณภาพชีวิตดีๆ ให้ทุกคนในบ้านหลังนี้ด้วยหัวใจ

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

1


รายงานประจำ�ปี 2555

สารบัญ บทที่ 1 รากฐานแห่งความสุขที่แท้จริง

• เป้าหมาย เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน • LPN Values • แนวทางปฏิบัติในการดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • สารจากประธานกรรมการบริษัท • รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริษัทต่อรายงานทางการเงิน

บทที่ 6 ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล

4 6 8 10 12

บทที่ 2 แก่นแท้แห่งความสุขที่ยั่งยืน

• ทฤษฎีแห่งความยั่งยืน • LPN กับความสุขที่ยั่งยืนทางเศรษฐกิจ • LPN กับความสุขที่ยั่งยืนทางสังคม • LPN กับความสุขที่ยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม

14 16 20 28

บทที่ 3 ชุมชนน่าอยู่ ความสุขของการอยู่อาศัย

• พัฒนาการคอนโดมิเนียม แบรนด์ และชุมชนน่าอยู่ • กว่า 80 โครงการคุณภาพภายใต้ “ชุมชนน่าอยู่” • การพัฒนานวัตกรรมบนพื้นฐานของการวิจัย และพัฒนา

48 50 54

บทที่ 4 สั่งสมความสุขสู่อนาคตที่สดใส

• ประวัติบริษัท • รางวัลที่ได้รับ • โครงสร้างองค์กร • คณะกรรมการบริษัท • การลงทุน • โครงสร้างเงินทุน • รายได้ของกิจการ

64 70 72 74 89 92 98

บทที่ 5 อีกก้าวแห่งความสุขที่มั่นคง

• สถานการณ์อสังหาริมทรัพย์ปี 2555 และภาวะการแข่งขัน • ปัจจัยความเสี่ยง • แนวทางการดำ�เนินงานปี 2556

102 106 110

2 HERE IS HOME, HERE IS LPN

• รายงานคณะกรรมการตรวจสอบประจำ�ปี 2555 • รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง • รายงานของคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน • การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างการจัดการ • โครงสร้างการจัดการ • จรรยาบรรณทางธุรกิจ • การควบคุมภายใน • รายการระหว่างกัน • ข้อพิพาททางกฎหมาย

114 116 118 120 126 156 162 164 170

บทที่ 7 รายงานด้านการเงิน

• คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ • นโยบายบัญชี • รายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต และงบแสดงฐานะการเงิน • ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี

172 176 180 220

บทที่ 8 ภาคผนวก

• ข้อมูลทั่วไป • การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์ • ข้อมูลโครงการ • ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ • การกู้ยืมเงินของบริษัท • ที่อยู่โครงการ • แผนที่ตั้งโครงการ

222 224 232 236 239 240 243


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

บทที่ 1 รากฐานแห่งความสุขที่แท้จริง ส่งมอบทุกความสุขของการอยู่อาศัย ด้วยการพัฒนาอย่างสร้างสรรค์ ภายใต้วัฒนธรรมองค์กร เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน

บ้านหลังใหญ่ หัวใจเดียวกัน WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

3


รายงานประจำ�ปี 2555

เป้าหมาย เพือ่ การเติบโตอย่างยัง่ ยืน บริษัทได้กำ�หนดวิสัยทัศน์เพื่อเป็นแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัททุกรอบ 3 ปี เพื่อนำ�ไปสู่เป้าหมายการเติบโตอย่าง ยั่งยืน โดยคำ�นึงถึงความสมดุลของผลตอบแทนทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม อีกทั้งยังคำ�นึงถึงความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ด้วยการดำ�เนินงานภายใต้หลักธรรมาภิบาล รวมถึงการกำ�หนดพันธกิจในแต่ละปีเพื่อให้ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ซี่งขับเคลื่อนด้วยสมรรถนะหลักของพนักงานในองค์กร (Core Competency) ที่ หล่อหลอมมาจากประสบการณ์ในการเผชิญวิกฤติเศรษฐกิจเมือ่ ปี 2540 โดยในปัจจุบนั บริษทั ได้พฒ ั นาสมรรถนะหลักดังกล่าว ให้กลายมาเป็นค่านิยมองค์กร (Corporate Values) ที่แฝงอยู่ในจิตวิญญาณของบุคลากรทุกระดับ

วิสัยทัศน์ ปี 2545-2547

ผู้นำ�ด้านการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัย สำ�หรับกลุ่มเป้าหมายระดับกลางถึงกลาง-ล่าง

วิสัยทัศน์ ปี 2548-2550

ดำ�รงไว้ซึ่งความเป็นผู้นำ�ตลาด และเพิ่มพูนประสิทธิภาพ ด้วยการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยแบบบูรณาการ เพื่อการสร้างสรรค์ชุมชนคุณภาพ

วิสัยทัศน์ ปี 2551-2553

มุ่งมั่นดำ�เนินการในการรักษาภาวะผู้นำ� ด้านการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัย ด้วยการสร้างสรรค์คุณค่าแบบบูรณาการ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เหมาะสม และพึงพอใจของผู้อยู่อาศัยในชุมชน โดยที่ยังคงไว้ซึ่งผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียอย่างยั่งยืน ภายใต้หลักการธรรมาภิบาล

วิสยั ทัศน์ ปี 2554-2556

เป็นผูน้ �ำ ในการพัฒนา ทีพ ่ กั อาศัยในเมือง ด้วยการสร้างสรรค์ และส่งมอบคุณค่าแบบบูรณาการ แก่ผมู้ สี ว่ นได้เสียในการดำ�เนินงาน เพือ่ นำ�ไปสูก่ ารพัฒนาและการเติบโตอย่างยัง่ ยืน

4 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

พันธกิจขององค์กร ปี 2556 ผู้มีส่วนได้เสีย

สร้างผลตอบแทนที่เหมาะสม เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน ภายใต้หลักการธรรมาภิบาล

ลูกค้า / ผู้อยู่อาศัย

สร้างสรรค์และส่งมอบ “ชุมชนเมือง (Township)” พร้อมคุณค่า ผลิตภัณฑ์และบริการของ “ชุมชนน่าอยู่”

สังคมและสิ่งแวดล้อม

ส่งเสริมและมีสว่ นร่วมในการสร้างจิตสำ�นึกรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมกับทุกภาคส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ปิยมิตรทางธุรกิจ

สร้างความเป็นหนึ่งเดียว ภายใต้วัฒนธรรม “ห่วงใยและแบ่งปัน” ร่วมพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ผลตอบแทน ที่เหมาะสมและเติบโตร่วมกัน

พนักงาน

เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความรู้ ความสามารถ และคุณธรรม เพื่อความสุข ความผูกพัน ความก้าวหน้ามั่นคง ภายใต้วัฒนธรรม “ห่วงใยและแบ่งปัน” มุ่งสู่ “องค์กรแห่งคุณค่า”

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

5


รายงานประจำ�ปี 2555

LPN Values LPN Values คือ คุณค่าในการดำ�เนินธุรกิจที่ทุกองคาพยพของบริษัทยึดถือและนำ�ไปปฏิบัติ ซึ่งพัฒนามาจากสมรรถนะหลัก ของบุคลากร (Core Competency) ในองค์กร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การดำ�เนินงานในทุกภาคส่วนบรรลุเป้าหมายทั้งเชิง คุณภาพและเชิงปริมาณ และเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน Core Competency (C-L-A-S-S-I-C) สู่ Corporate Values (LPN Values) C- Collaboration ความร่วมมือร่วมใจ

A – Alliance ปิยมิตร

หมายถึง : การดำ�เนินงานที่ร่วมกันรับผิดชอบ และช่วย เหลือซึ่งกันและกันให้บรรลุเป้าหมายหลักขององค์กร ด้วยการแบ่งปันข้อมูล มุมมอง และข้อคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์

หมายถึง : การปฏิบตั ติ อ่ พันธมิตรธุรกิจทีท่ �ำ งานร่วมกัน มายาวนานและไว้วางใจได้ ด้วยการร่วมมือสนับสนุน และพัฒนาการทำ�งาน เสมือนหนึ่งเป็นองค์กรเดียวกัน นำ�ไปสู่เป้าหมายร่วมกันทั้ง 2 ฝ่าย

“Collaboration to One LPN” ความร่วมมือร่วมใจ พัฒนาไปสู่ LPN หนึ่งเดียว

“Alliance to LPN TEAM” ปิยมิตร พัฒนาไปสู่ LPN Team

จากจิตสำ�นึกของความร่วมมือร่วมใจของพนักงานทุก ส่วนงานและทุกระดับ รวมไปถึงบริษัทในเครือ นำ�ไปสู่ ความเป็นหนึง่ เดียวขององค์กรทัง้ หมด (One LPN) โดย ไม่แยกแยะว่าเป็นหน่วยงานหรือบริษัทใดบริษัทหนึ่ง

จากการปฏิบัติต่อพันธมิตรธุรกิจของบริษัท นำ�ไปสู่ แนวคิดในการพัฒนาพันธมิตรเสมือนหนึง่ เป็นพนักงาน ในองค์กร (In House) ที่ให้ความไว้วางใจและจงรักภักดี ต่อบริษัท (Trust & Loyalty) และพร้อมที่จะก้าวไปสู่ อนาคตที่มั่นคงและยั่งยืน

L - Lateral Thinking คิดนอกกรอบ

S – Speed รวดเร็ว

หมายถึง : การคิดค้น พัฒนา เปลี่ยนแปลง แนวทาง กลยุทธ์ ในการดำ�เนินงาน หรือกระบวนการใหม่ที่แตก ต่างไปจากเดิม โดยมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มคุณค่าให้กับ ผลิตภัณฑ์และบริการ

หมายถึง : การดำ�เนินงานและรับผิดชอบต่อปัญหา ในการทำ�งาน ทั้งด้านผลิตภัณฑ์และบริการด้วยความ รวดเร็ว โดยต้องคำ�นึงถึงผลเชิงคุณภาพด้วย

“Lateral Thinking to Dynamic” คิดนอกกรอบ พัฒนาไปสู่ ความยืดหยุ่นและพร้อมเปลี่ยนแปลง ในปัจจุบนั โลกธุรกิจเปลีย่ นแปลงและแข่งขันกันอย่างต่อ เนื่องและเข้มข้น โดยเฉพาะธุรกิจภาคอสังหาริมทรัพย์ การคิดนอกกรอบของพนักงาน จะส่งผลให้เกิดการปรับ ตัวและมีความยืดหยุ่นในการดำ�เนินงาน (Dynamic & Flexibility) เพื่อสอดรับกับกลยุทธ์การดำ�เนินงานของ องค์กรที่สามารถปรับเปลี่ยนและยืดหยุ่นได้ตลอดเวลา

6 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

S–Service Minded ใจรักบริการ

C – Cost with Quality บริหารต้นทุนพร้อมคุณภาพ

หมายถึง : การดูแล เอาใจใส่ลูกค้าทุกกลุ่มตลอดเวลา จากมุมมองของลูกค้าด้วยความกระตือรือร้น เต็มใจ เพื่อเพิ่มคุณค่าของการให้บริการอย่างครบวงจร

หมายถึง : การบริหารงานพัฒนาโครงการโดยมุง่ เน้นการ ลดต้นทุนทั้งทางตรงและต้นทุนแฝง รวมทั้งลดค่าใช้ จ่ายส่วนเกินในทุกส่วนงาน โดยไม่กระทบต่อเป้าหมาย และคุณภาพที่กำ�หนดไว้

“Service Minded & Speed to Customer Centric” ใจบริการและความรวดเร็ว พัฒนาไปสู่ การยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เป็นธุรกิจที่ขายผลิตภัณฑ์พร้อม บริการ บริษัทจึงพัฒนาแนวคิดของการให้บริการเพื่อ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ภายใต้ความเชื่อที่ ว่าการให้บริการทีด่ ไี ม่ได้สนิ้ สุดแค่การส่งมอบผลิตภัณฑ์ ที่มีคุณภาพ แต่รวมถึงการบริการหลังการเข้าอยู่อาศัย ซึ่งได้ก่อให้เกิดนิยาม “ชุมชนน่าอยู่” ที่ให้ความสำ�คัญ กับลูกค้าทุกระดับ ในทุกมิติของการบริการ I – Integrity คุณธรรม

“Cost with Quality to Cost Leadership” บริหารต้นทุนพร้อมคุณภาพ พัฒนาไปสู่ ผู้นำ�ด้านการบริหารต้นทุน การบริหารต้นทุนและค่าใช้จ่ายเป็นจุดแข็งที่สำ�คัญของ บริษัท โดยเฉพาะการบริหารต้นทุนด้านผลิตภัณฑ์ (Product Cost) ซึ่งถือเป็นกลยุทธ์ขององค์กรที่ตอบ สนองความต้องการของลูกค้าระดับกลางถึงกลาง-ล่าง ให้สามารถซือ้ อสังหาริมทรัพย์ได้ในราคาที่ไม่สงู จนเกิน ไป (Affordable Price) โดยบริษทั ประสบความสำ�เร็จกับ ตลาดระดับนี้เป็นอย่างมาก ซึ่งความสำ�เร็จดังกล่าวเกิด จากการพัฒนาการดำ�เนินงานทีม่ งุ่ เน้นการบริหารต้นทุน ควบคู่ไปกับการควบคุมคุณภาพ

หมายถึง : การปฏิบัติตนต่อองค์กรและผู้เกี่ยวข้องด้วย ความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ โปร่งใส และมีศีลธรรม ทั้ง ต่อหน้าและลับหลัง “Integrity to Corporate Governance” คุณธรรม นำ�ไปสู่ องค์กรธรรมาภิบาล ในโลกที่องค์กรธุรกิจมีการแข่งขันอย่างรุนแรงและมี ความเสีย่ งสูง หลักธรรมาภิบาลถือเป็นสิง่ จำ�เป็นสำ�หรับ องค์กรในการดำ�เนินงาน โดยเฉพาะองค์กรมหาชน เพือ่ ให้เกิดความโปร่งใส ซือ่ สัตย์สจุ ริต ไม่เอารัดเอาเปรียบ ที่ ผ่านมาบริษทั ได้ปลูกฝังให้พนักงานทุกคนมีคณ ุ ธรรมใน การดำ�เนินชีวติ และการทำ�งาน ซึง่ ส่งผลให้บริษทั ดำ�เนิน งานด้วยหลักธรรมาภิบาลมาโดยตลอด WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

7


รายงานประจำ�ปี 2555

แนวทางปฏิบัติในการดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการดำ�เนินธุรกิจของ LPN สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (3 ห่วง 2 เงือ่ นไข) ซึง่ อธิบายได้ดงั นี้

• 3 ห่วง ได้แก่

1.ความพอประมาณ

• อัตราการเติบโตทีเ่ หมาะสม โดยมุง่ เน้นการพัฒนาบุคลากร ภายใน (In house) • ผลกำ � ไรที่ พ อประมาณ ไม่ เ อารั ด เอาเปรี ย บ และไม่ เบียดเบียนลูกค้าและสังคม • คำ�นึงถึงผลกระทบจากการดำ�เนินธุรกิจทุกมิติ

2. ความมีเหตุผล

• พัฒนาที่พักอาศัยสำ�หรับกลุ่มเป้าหมายรายได้ระดับกลาง ถึงกลาง-ล่าง • คำ�นึงถึงคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยด้วยแนวคิด “ชุมชน น่าอยู”่ • สร้างความสมดุลของผลตอบแทนของผูเ้ กีย่ วข้อง

3. การสร้างภูมิคุ้มกัน • ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาบุคลากร • กำ�หนดกลยุทธ์ที่เหมาะสมทุกสภาวะของธุรกิจ

• 2 เงื่อนไข ได้แก่ 1. ความรู้

กำ�หนดให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ และแบ่งปันความรู้ โดย มีสถาบัน แอล.พี.เอ็น. เป็นแกนกลางในการขับเคลื่อน

2. คุณธรรม

กำ�หนดให้ “คุณธรรม” เป็นหนึ่งในค่านิยมองค์กร เพื่อนำ�ไป สู่บรรษัทภิบาล

บริษทั ได้ยดึ หลักการดังกล่าวเป็นแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจมาโดยตลอด จนได้รบั การยอมรับอย่างกว้างขวางจากผูเ้ กีย่ วข้อง และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม และเพื่อให้เกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ในปีนี้ทางบริษัทได้พิจารณาเพิ่มเติมแนวทางปฏิบัติในการ ดำ�เนินงาน บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดังนี้

1.การบริหารจัดการองค์กร

2. การบริหารจัดการบุคลากร

• ดำ�เนินงานให้เกิดผลกำ�ไรทีเ่ หมาะสม พอประมาณ ไม่หวัง ผลกำ�ไรระยะสั้น โดยไม่เอารัดเอาเปรียบ ไม่เบียดเบียน ผู้หนึ่งผู้ใดไม่ว่าจะเป็นลูกค้า คู่ค้า หรือคู่แข่ง

• กำ�หนดผลตอบแทนและสวัสดิการทีส่ อดคล้องกับประสิทธิภาพ และประสิทธิผล • มุ่งเน้นด้านความสมดุลของชีวิตและการทำ�งาน • รักษาและพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง • กำ�หนดให้เป็น “องค์กรแห่งการเรียนรู้” และประสบการณ์ • คัดเลือกและวางแผนผู้สืบทอดและพัฒนาอย่างเหมาะสม

• กำ�หนดกลยุทธ์ในการดำ�เนินงานในแนวทางยืดหยุน่ สามารถ รับการเปลีย่ นแปลงของสภาวะธุรกิจ ไม่วา่ จะเป็นช่วงขาขึน้ หรือขาลง อีกทั้งยังติดตามผลประเมินสถานการณ์อย่าง ต่อเนื่องและสมํ่าเสมอ

3. การสร้างความสมดุลของผลประโยชน์ผู้มีส่วนได้เสีย • จัดสรรผลประโยชน์ให้กับผู้มีส่วนได้เสีย อันได้แก่ ผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า และคู่ค้าทางธุรกิจ อย่างสมดุลและเหมาะสม • ดูแลรับผิดชอบต่อสังคม ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและรับผลกระทบจากการพัฒนา ตั้งแต่ช่วงการออกแบบ การดำ�เนินงานก่อสร้าง (ฝุ่น เสียง ที่ส่งผลกระทบต่อบ้านข้างเคียง) โดยเฉพาะคุณภาพชีวิตของสังคม ในชุมชนหลังการส่งมอบ (ชุมชนน่าอยู่) โดย ได้กำ�หนดงบประมาณในการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม • ตัง้ งบประมาณในการดูแลสิง่ แวดล้อมที่ได้รบั ผลกระทบจากการพัฒนา รวมทัง้ การนำ�แนวคิดของอาคารเขียว (Green Building) มากำ�หนดเป็นแนวทางการพัฒนาโครงการด้วยแนวคิด LPN Green

8 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

4. การพัฒนานวัตกรรม

8. การบริหารความเสีย่ ง

• กำ�หนด “ความยืดหยุน่ ” (Dynamic) เป็นค่านิยมของบริษทั ซึ่งส่งผลให้บริษัทได้คิดค้นนวัตกรรมในการดำ�เนินงานมา อย่างต่อเนื่อง โดยการกระตุ้นให้พนักงานในทุกสายงาน ได้คิดค้นนวัตกรรมในสายงานของตนเอง

• บริษทั ได้มกี ารกำ�หนดกลยุทธ์การบริหารจัดการความเสีย่ ง โดยคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง อันประกอบด้วย กรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง กับการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั โดยมีการประเมิน ติดตาม วิเคราะห์กลยุทธ์และผลอย่างสมํ่าเสมอ ซึ่งส่งผลให้บริษัท สามารถปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ ได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ สถานการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ได้ตลอดเวลา

5. การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล • กำ�หนดกลยุทธ์ในการดำ�เนินงานที่สำ�คัญ คือการตระหนัก ถึงการบริหารต้นทุนรวมถึงค่าใช้จ่าย เนื่องจากผลิตภัณฑ์ ของบริษัทเป็นผลิตภัณฑ์ที่มุ่งสู่กลุ่มเป้าหมายที่มีรายได้ ระดับกลางถึงกลาง-ล่าง ซึ่งต้องคำ�นึงถึงต้นทุนและค่าใช้ จ่ายที่ส่งผลกระทบต่อราคาขายเป็นสำ�คัญ

9. การแบ่งปัน • สร้างจิตสำ�นึกของการแบ่งปันให้กับทุกมิติที่เกี่ยวข้องโดย เฉพาะในชุมชนทีท่ างบริษทั บริหารจัดการ ซึง่ เป็นการสร้าง ความสุขจากวัฒนธรรมห่วงใยและแบ่งปัน

• ควบคุม ดูแล การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดย เริ่มตั้งแต่กระบวนการออกแบบจนถึงกระบวนการดำ�เนิน การก่อสร้างและการดำ�เนินงานในทุกส่วน

• บริษัทเชื่อว่าการแบ่งปันที่มีคุณภาพและไม่ต้องลงทุน คือ การแบ่งปันองค์ความรูใ้ ห้กบั ทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องไม่วา่ จะเป็น พนักงาน ลูกค้า ปิยมิตร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและสร้าง จิตสำ�นึกของการแบ่งปันไปสู่ทุกมิติในสังคม

6. การพัฒนาเทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์และบริการ • เปิดรับเทคโนโลยีใหม่ในโลกาภิวัฒน์ เพื่อนำ�มาพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบริการ การวางรูปแบบการดำ�เนินงานให้มี ความยืดหยุน่ เหมาะสมกับการปรับเข้าหาเทคโนโลยีใหม่ๆ

10. การสร้างวัฒนธรรมและคุณค่า • กำ�หนด C-L-A-S-S-I-C (คลาสสิก) เป็นสมรรถนะหลัก ของพนักงานทั้งองค์กร (Core Competency) และพัฒนา มาเป็นค่านิยมองค์กรซึ่งก่อให้เกิดคุณค่า (Corporate Value) ซึง่ ถือว่าเป็นวัฒนธรรมขององค์กรทีท่ กุ ส่วนงานนำ� ไปปฏิบัติ อีกทั้งยังกระจายไปสู่ปิยมิตรที่ดำ�เนินงานเคียงคู่ กับบริษัทมาโดยตลอด

7. การขยายและเติบโตอย่างสมํา่ เสมอ ค่อยเป็นค่อยไป

• ตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา บริษัทมีการเติบโตด้าน ผลประกอบการอย่างค่อยเป็นค่อยไปและสมํา่ เสมอ ไม่ว่า จะอยู่ในสถานการณ์ที่แปรเปลี่ยน โดยคำ�นึงถึงการเติบโต พร้อมกันของผูม้ สี ว่ นได้เสีย ไม่วา่ จะเป็นพนักงานในบริษทั หรือพันธมิตรที่ทำ�งานร่วมกันมากับบริษัทเป็นระยะเวลา ยาวนาน

C

L

A

S

C - Collaboration L - Lateral Thinking A - Alliance S - Speed S - Service Minded I - Integrity C - Cost with Quality

S

I

C

ความร่วมมือร่วมใจ คิดนอกกรอบ ปิยมิตร รวดเร็ว ใจรักบริการ คุณธรรม บริหารต้นทุนพร้อมคุณภาพ

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

9


รายงานประจำ�ปี 2555

สารจากประธานกรรมการ

จากจุดเริ่มต้นที่เป็นเพียงบริษัทผู้พัฒนาอาคารชุดพักอาศัย จนถึงปัจจุบัน บริษัทได้พัฒนาบทบาทเป็นผู้สร้างสรรค์คุณค่า ทั้งด้านผลิตภัณฑ์และบริการ เพื่อส่งมอบบ้านหลังแรก ในราคาที่สามารถเป็นเจ้าของได้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย ควบคู่ไปกับการบริหารชุมชน ด้วยแนวคิด “ชุมชนน่าอยู่” ที่เพาะด้วยเมล็ดพันธุ์ของวัฒนธรรมการห่วงใยและแบ่งปัน ที่บริษัทมุ่งหวังจะให้เติบโตและงอกงามในทุกครอบครัว

10 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

เรียนท่านผู้ถือหุ้นที่เคารพทุกท่าน ตลอดระยะเวลา 23 ปีของการดำ�เนินงาน บริษัทได้ดำ�เนิน ธุ ร กิ จ ตามวิ สั ย ทั ศ น์ ที่ มี การปรั บ เปลี่ ย นให้ ส อดคล้ อ งกั บ สถานการณ์อย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการให้ความสำ�คัญ กับการดูแลสิ่งแวดล้อมและสังคมมาโดยตลอด ภายใต้การ ปฏิบัติงานด้วยความร่วมมือของทุกฝ่ายงาน ที่สอดประสาน กับความร่วมใจของปิยมิตรของบริษทั ทำ�ให้ในปี 2555 บริษทั มีผลประกอบการทีเ่ ติบโตสูงกว่าเป้าหมายในหลายด้าน รวม ถึงการได้รบั การตอบรับเป็นอย่างดีจากการเปิดโครงการใหม่ ในจังหวัดชลบุรี ซึง่ ความสำ�เร็จดังกล่าว มิใช่เป็นเพียงเครือ่ ง ยืนยันศักยภาพในการปฏิบตั งิ านอันจะนำ�ไปสูก่ ารเติบโตอย่าง ยั่งยืนเท่านั้น แต่ยังเป็นสัญญาณความพร้อมที่จะพัฒนา โครงการขนาดใหญ่ของบริษัทในปี 2556 ให้เป็น “ชุมชน เมืองน่าอยู่” ที่จะตอบสนองความต้องการที่อยู่อาศัยให้กับ ประชาชนได้มากยิ่งขึ้น ด้วยการทำ�งานที่ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล ส่งผลให้บริษัท ได้รับการจัดอันดับให้เป็นบริษัทที่มีการกำ�กับดูแลกิจการ ในระดับดีเลิศ (5 ตราสัญลักษณ์) ติดต่อกันเป็นปีที่ 3 จาก สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลัก ทรัพย์ และสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ในปี 2555 นี้ โครงการลุมพินี วิลล์ แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด ยัง ได้รับรางวัลเกียรติคุณอสังหาริมทรัพย์ดีเด่น ประเภทที่อยู่ อาศัยราคาย่อมเยา จาก ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง และบริษัทยังได้รับผลการประเมิน คุณภาพในระดับดีเลิศในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปี 2555 จากสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย ซึ่งรางวัลทั้งหมด ดังกล่าว ล้วนเป็นกำ�ลังใจสำ�คัญและเป็นเครือ่ งยืนยันถึงหลัก การดำ�เนินงานที่ให้ความสำ�คัญกับความรอบคอบ โปร่งใส

และตรวจสอบได้ รวมถึงความตั้งใจในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการ เพื่อให้ “ลุมพินี” เป็นแบรนด์คุณภาพและเป็นที่ ไว้วางใจของผู้บริโภคตลอดไป จากจุดเริ่มต้นที่เป็นเพียงบริษัทผู้พัฒนาอาคารชุดพักอาศัย จนถึงปัจจุบนั บริษทั ได้พฒ ั นาบทบาทเป็นผูส้ ร้างสรรค์คณ ุ ค่า ทั้งด้านผลิตภัณฑ์และบริการ เพื่อส่งมอบบ้านหลังแรกใน ราคาที่สามารถเป็นเจ้าของได้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย ควบคู่ไป กับการบริหารชุมชนด้วยแนวคิด “ชุมชนน่าอยู่” ที่เพาะด้วย เมล็ดพันธุ์ของวัฒนธรรมการห่วงใยและแบ่งปัน ที่บริษัทมุ่ง หวังจะให้เติบโตและงอกงามในทุกครอบครัว ซึ่งหนทางสู่ การเติบโตของบริษัทจะประสบความสำ�เร็จไปไม่ได้ หากไม่ ได้รับความร่วมแรงร่วมใจเป็นอย่างดีจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุก ฝ่าย ผมจึงใคร่ขอขอบคุณผู้บริหาร พนักงาน และปิยมิตร ทุกท่าน สำ�หรับความทุ่มเทปฏิบัติงานตลอดปี 2555 ท่าน ผู้ถือหุ้นและลูกค้า สำ�หรับความเชื่อมั่นที่มีให้กับบริษัทเสมอ มา รวมถึงสถาบันการเงิน สื่อมวลชน และหน่วยงานทั้งภาค รัฐและเอกชน ทีม่ สี ว่ นสนับสนุนการดำ�เนินงานของบริษทั มา โดยตลอด ทุกท่านล้วนมีสว่ นสำ�คัญในการสร้างคุณภาพชีวติ และความสุขที่แท้จริงของการอยู่อาศัยให้กับสังคม “ลุมพินี” อันจะนำ�ไปสู่การแบ่งปันความสำ�เร็จแก่ท่านผู้ถือหุ้นและผู้มี ส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่างเป็นธรรมและยั่งยืนในที่สุด

(ปกรณ์ ทวีสิน) ประธานกรรมการบริษัท

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

11


รายงานประจำ�ปี 2555

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเป็นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินรวมของ บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ตลอดจนสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในแบบรายงาน 56-1 และรายงานประจำ�ปี ทั้งนี้งบการเงินดังกล่าวจัดทำ�ขึ้นตาม มาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป โดยใช้นโยบายบัญชีทเี่ หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ย่างสม�่ำ เสมอ โดยใช้ดลุ ยพินจิ อย่างระมัดระวัง และประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทำ� รวมทั้งได้มีการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสำ�คัญในด้านความถูกต้องและโปร่งใสของงบการเงิน โดยจัดให้มีระบบควบคุมภายใน ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ จัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน พร้อมทั้ง คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ เพื่อให้ความมั่นใจว่าการบันทึกข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วน เพื่อประโยชน์สูงสุดของ ผู้ถือหุ้นและนักลงทุนในการใช้งบการเงิน ในการนีค้ ณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำ�นวน  4 ท่าน โดยมีกรรมการ ตรวจสอบจำ�นวน 3 ท่าน ที่มีความรู้และประสบการณ์ในด้านบัญชี-การเงิน ทำ�หน้าที่สอบทานนโยบายการบัญชีและคุณภาพ ของรายงานทางการเงิน และระบบการควบคุมภายใน ซึง่ ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกีย่ วกับเรือ่ งนีป้ รากฏในรายงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งแสดงไว้ในแบบรายงาน 56-1 และรายงานประจำ�ปีแล้ว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจและสามารถสร้างความ เชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลต่อความเชื่อถือได้ของงบการเงินของบริษัท และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555

(ปกรณ์ ทวีสิน) ประธานกรรมการบริษัท

12 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

บทที่ 2 แก่นแท้แห่งความสุขที่ยั่งยืน เสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการสร้างจิตสำ�นึก รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

บ้านหลังใหญ่ หัวใจเดียวกัน WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

13


รายงานประจำ�ปี 2555

ทฤษฎีแห่งความยัง่ ยืน

การประกอบธุรกิจ เป้าหมาย คือ การให้ธุรกิจเติบโต อย่างมั่นคงและนำ�เอาหลักความยั่งยืนมาประยุกต์ใช้ โดยการรักษาสมดุลขององค์ประกอบทั้งสาม PROFIT PEOPLE PLANET สร้างผลกำ�ไร ที่เป็นไปตามความต้องการของตลาด ไม่เบียดเบียนคู่แข่งและไม่กระทำ�การใดๆ ให้เกิดผลกระทบ ในทางลบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

14 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ในสภาวะธุรกิจปัจจุบันที่มีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง ผู้ประกอบการมักคำ�นึงถึงเฉพาะผลตอบแทนระยะสั้นของกิจการเป็น สำ�คัญ เมื่อเกิดสภาวะวิกฤติในช่วงใดช่วงหนึ่ง องค์กรหรือธุรกิจนั้นมักไม่สามารถฝ่าฟันวิกฤติไปได้ ต้องล้มหายตายจาก ไปเป็นส่วนใหญ่ จึงได้เกิดทฤษฎีแห่งความยั่งยืนขึ้น เพื่อเป็นแนวทางให้ธุรกิจดำ�เนินไปได้อย่างมั่นคง และที่สำ�คัญที่สุดคือ ความยั่งยืนของธุรกิจไม่ว่าจะประสบวิกฤติทางเศรษฐกิจใดๆ จะมีหลักการว่า การทำ�ธุรกิจไม่ควรคำ�นึงถึงผลประกอบการทาง เศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว แต่ควรคำ�นึงถึงผลกระทบจากการดำ�เนินธุรกิจนัน้ ๆ ทีม่ ตี อ่ “สังคม” และการนำ�เอาทรัพยากรมาใช้ให้ เกิดประโยชน์ต่อ “สังคม” อีกด้วย ขณะเดียวกัน “สังคม” ก็ต้องบริโภคทรัพยากรอย่างระมัดระวัง ไม่ให้มากจน “สิ่งแวดล้อม” ไม่สามารถรักษาความสมดุลเอาไว้ได้ ซึ่งสรุปได้ว่า การประกอบธุรกิจ เป้าหมาย คือ การให้ธุรกิจเติบโตอย่างมั่นคงและนำ� เอาหลักความยั่งยืนมาประยุกต์ใช้ โดยการรักษาสมดุลขององค์ประกอบทั้งสาม การสร้างผลกำ�ไรที่เกิดขึ้น ต้องเป็นไปตาม อุปทานที่แท้จริงของตลาด ไม่เบียดเบียนลูกค้าหรือคู่แข่ง ในขณะเดียวกันธุรกิจต้องมีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย และ ไม่กระทำ�การใดๆ ให้เกิดผลกระทบในทางลบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัทได้นำ�เอาหลักความยั่งยืนมาใช้อย่างครบถ้วน โดยได้กำ�หนดรูปแบบของการทำ�ธุรกิจให้เกิดสมดุลของสามองค์ประกอบ เป้าหมายสุดท้ายของธุรกิจ (Triple Bottom Line) อันได้แก่

Profit (เศรษฐกิจ) เป้าหมายของบริษทั คือ ผลตอบแทนหรือกำ�ไรในการดำ�เนินงานทีต่ อ่ เนือ่ งและพอ ประมาณ บนพืน้ ฐานของการคำ�นึงถึงการแบ่งปันผลตอบแทนไปสูผ่ มู้ สี ว่ นได้เสีย อันได้แก่ ผูถ้ อื หุน้ พนักงาน ลูกค้า คูค่ า้ รวมทัง้ สังคมและสิง่ แวดล้อม ยกตัวอย่าง เช่น ผลิตภัณฑ์ของบริษทั จะกำ�หนดราคาขายให้ลกู ค้าถูกกว่าราคาตลาดประมาณ 10% ซึ่งส่วนนี้ถือว่าเป็นการคืนกำ�ไรให้กับลูกค้า

People (สังคม) บริษัทคำ�นึงอยู่เสมอว่า ความสำ�เร็จของธุรกิจ ส่วนสำ�คัญอยู่ที่ประสิทธิภาพ ของบุคลากร การดูแลและพัฒนาบุคลากร และผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะจิตสำ�นึก ด้านจริยธรรมเป็นแนวทางทีบ่ ริษทั ให้ความสำ�คัญและมีการอบรมพัฒนามาโดย ตลอด การให้ความสำ�คัญกับบุคลากรดังกล่าว ไม่จำ�กัดเฉพาะบุคลากรภายใน บริษทั เท่านัน้ ยังคำ�นึงถึงบุคลากรขององค์กรทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั รวม ถึงลูกค้าหรือเจ้าของร่วมที่พักอาศัยอยู่ในโครงการของบริษัทอีกด้วย

Planet (สิง่ แวดล้อม) ในที่นี้ หมายถึง สังคมและสิ่งแวดล้อม การดำ�เนินธุรกิจของบริษัทในฐานะ ผู้ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มีบทบาทและผลกระทบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมในหลายด้าน บริษัทจึงให้ความสำ�คัญต่อการลดผลกระทบ ในกระบวนการ (In process) ของการพัฒนาโครงการ รวมไปถึงการ พัฒนาโครงสร้างและสังคมของผู้อยู่อาศัยหลังการส่งมอบ โดยกำ�หนด เป็นกลยุทธ์ของการดำ�เนินงานทั้งส่วนของการบริหารโครงการ (Project Management) และการบริหารชุมชน (Community Management) จะเห็นได้ว่า บริษัทได้นำ�หลักแนวคิดแห่งความยั่งยืนมาเป็นแนวทางในการดำ�เนินงานมาโดยตลอด ซึ่งปรากฏอยู่ในแผน ธุรกิจภายใต้วิสัยทัศน์ของบริษัทที่ไม่ได้คำ�นึงถึงประสิทธิผลเชิงผลประกอบการเท่านั้น แต่ยังให้ความสำ�คัญกับประสิทธิผล เชิงคุณภาพอีกด้วย

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

15


รายงานประจำ�ปี 2555

PROFIT LPN กับความสุขที่ยั่งยืนทางเศรษฐกิจ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ผู้ดำ�เนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยมุ่งเน้น (Focus) การพัฒนา อาคารชุดพักอาศัยสำ�หรับกลุม่ เป้าหมายทีม่ รี ายได้ระดับกลางถึงกลาง-ล่างในราคาทีเ่ หมาะสม (Affordable Price) โดยยึดหลัก การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (Sustainable Development) ภายใต้กรอบการบริหารความเสี่ยง ความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและ สังคมบนหลักธรรมาภิบาล โดยในปี 2555 ผลประกอบการของบริษัทเป็นไปตามแผนงาน ถึงแม้จะมีความเสี่ยงทางด้าน ผลประกอบการ เนื่องจากมีโครงการที่ก่อสร้างแล้วเสร็จและส่งมอบในช่วง 2 เดือนสุดท้าย จำ�นวน 5 โครงการ มูลค่ารวมกว่า 11,750 ล้านบาท หรือประมาณร้อยละ 80 ของมูลค่าโครงการทีก่ อ่ สร้างแล้วเสร็จและส่งมอบให้แก่ลกู ค้าทัง้ ปี 2555 โดยบริษทั สามารถส่งมอบห้องชุดและโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่ลูกค้าในช่วงเวลาดังกล่าวได้สูงถึงเกือบ 7,000 ล้านบาท หรือมากกว่าร้อยละ 50 ของรายได้รวมทั้งปี อันเนื่องจากความเชื่อมั่นของลูกค้าที่มีต่อแบรนด์ “ลุมพินี” และความร่วมมือร่วมใจของพนักงานทั้ง องค์กร โดยทั้งปีบริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้รวมทั้งสิ้น 13,414.63 ล้านบาท โดยยังรักษาอัตรากำ�ไรขั้นต้นให้อยู่ในระดับ ร้อยละ 30 แม้จะมีผลกระทบทางด้านต้นทุนอันเนื่องมาจากการปรับขึ้นค่าแรงขั้นตํ่าตามนโยบายภาครัฐ จากผลการดำ�เนิน การของบริษทั ทีเ่ ติบโตมาอย่างต่อเนือ่ งและสมํา่ เสมอ บริษทั จึงได้รบั คัดเลือกให้เป็น 1 ใน 18 บริษทั ทีม่ สี ทิ ธิได้รบั รางวัลบริษทั จดทะเบียนด้านผลการดำ�เนินงานยอดเยีย่ ม (Best Company Performance Award) ในกลุม่ บริษทั ทีม่ มี ลู ค่าหลักทรัพย์สงู กว่า 10,000 ล้านบาท จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อีกทัง้ ยังได้รบั การจัดอันดับจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ให้เป็นบริษัทที่มีการกำ�กับดูแลกิจการในระดับดีเลิศ (ระดับ 5 ตราสัญลักษณ์) ติดต่อกันเป็นปีที่ 3 ตลอดปี 2555 บริษัทได้เปิดตัวโครงการใหม่รวมทั้งสิ้น 8 โครงการ โดยมีมูลค่ารวมประมาณ 16,300 ล้านบาท โดยบริษัท มีส่วนแบ่งการตลาดราวร้อยละ 15 จากโครงการอาคารชุดพักอาศัยเปิดตัวใหม่ในกรุงเทพและปริมณฑลทั้งหมดประมาณ 63,000 หน่วย พร้อมทัง้ บริษทั ได้ขยายทำ�เลการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยในต่างจังหวัดเพิม่ ขึน้ อีก 1 ทำ�เล อันได้แก่ โครงการ ลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุรี-สุขุมวิท ซึ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่มีจำ�นวนหน่วยมากกว่า 4,000 หน่วย ปัจจุบันโครงการดัง กล่าวมียอดขายแล้วกว่าร้อยละ 95 จากความสำ�เร็จในการเปิดตัวโครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุร-ี สุขมุ วิท บริษทั ได้น�ำ แนวทางของการพัฒนาโครงการดังกล่าวมาเป็นต้นแบบและต่อยอดในการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ตอ่ ไปในอนาคต และบริษทั ครองส่วนแบ่งการตลาดประมาณร้อยละ 22 จากโครงการอาคารชุดพักอาศัยสร้างเสร็จและจดทะเบียนในปี 2555 จำ�นวนรวม ประมาณ 45,000 หน่วย โดยโครงการลุมพินี วิลล์ แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด ที่แล้วเสร็จในช่วงปลายปีได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ อสังหาริมทรัพย์ดีเด่น ประเภทอาคารชุดราคาย่อมเยาจาก ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี

จากผลการดำ�เนินการของบริษัท ที่เติบโตมาอย่างต่อเนื่องและสมํ่าเสมอ บริษัทจึงได้รับคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 18 บริษัท ที่มีสิทธิได้รับรางวัลบริษัทจดทะเบียน ด้านผลการดำ�เนินงานยอดเยี่ยม (Best Company Performance Award) ในกลุ่มบริษัทที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ สูงกว่า 10,000 ล้านบาท จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

16 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

สำ�หรับฐานะการเงินของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทและ บริษัทย่อยมีสินทรัพย์รวม 15,903.94 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 45 จาก ปีก่อนหน้า เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เพิม่ ขึน้ 872.67 ล้านบาท จากการโอนกรรมสิทธิห์ อ้ งชุด การจัดหาเงินเพือ่ รองรับการพัฒนาโครงการตามแผนงาน และการรับเงินปันผลและขายเงิน ลงทุนของบริษทั ร่วม ทีด่ นิ และต้นทุนโครงการระหว่างการก่อสร้างเพิม่ ขึน้ 1,678.29 ล้านบาท สินค้าคงเหลือเพิม่ ขึน้ 1,815.21 ล้านบาท จากโครงการ ทีแ่ ล้วเสร็จในช่วงปลายปี 2555 โดยสินค้าคงเหลือดังกล่าวจะโอนกรรมสิทธิ์ และส่งมอบให้แก่ลกู ค้าในช่วงต้นปี 2556 สำ�หรับหนีส้ นิ รวมของบริษทั เพิม่ ขึ้น 3,074.91 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 125 อันเนื่องมาจากเงินกู้ยืมจาก สถาบันการเงินเพือ่ นำ�มาใช้พฒ ั นาโครงการตามแผนงานเพิม่ ขึน้ 1,505.22 ล้านบาท เจ้าหนี้การค้าโดยเฉพาะเจ้าหนี้ค่าก่อสร้างและเงินประกันผล งานเพิ่มขึ้น 488.23 ล้านบาท และค่างวดจากเงินดาวน์ของลูกค้าเพิ่มขึ้น 220.47 ล้านบาท ทำ�ให้บริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินที่มีดอกเบี้ยต่อส่วนของ ผู้ถือหุ้น 0.34:1 และมีหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น 0.66:1 เมือ่ พิจารณางบกระแสเงินสด ณ 31 ธันวาคม 2555 บริษทั มีเงินสดคงเหลือ เพิ่มขึ้น 872.67 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 295 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งกระแสเงินสดดังกล่าวเพียงพอต่อการดำ�เนินกิจการ จากกระแสตื่นตัวเรื่องการพักอาศัยในอาคารชุด การปรับขึ้นเงินเดือน สำ�หรับผู้จบการศึกษาระดับปริญญาตรีและการกระตุ้นกำ�ลังซื้อภายใน ประเทศผ่านทางมาตรการต่างๆ ของภาครัฐ รวมถึงอัตราดอกเบี้ยที่มี แนวโน้มทรงตัวอยู่ในระดับตํ่า จะส่งผลดีต่อภาคอสังหาริมทรัพย์โดยรวม โดยเฉพาะตลาดอาคารชุดพักอาศัยในระดับราคาที่ไม่สูงมาก บริษัทจึง กำ�หนดแนวทางในการดำ�เนินงานสำ�หรับปี 2556 ดังนี้ 1. กำ�หนดอัตราการเติบโตของรายได้จากการขายมากกว่าร้อยละ 20 โดย มีเป้าหมายรายได้จากการขายทัง้ ปีประมาณ 15,200 ล้านบาท 2. กำ�หนดอัตราการเติบโตของยอดขายมากกว่าร้อยละ 5 โดยมีเป้าหมาย ยอดขายทั้งปีประมาณ 20,000 ล้านบาท 3. กำ�หนดเป้าหมายการเปิดตัวโครงการใหม่มูลค่ารวมประมาณ 20,000 ล้านบาท โดยบริษทั มีแผนในการขยายทำ�เลในการพัฒนาไปยังจังหวัด ที่มีศักยภาพเพิ่มขึ้น 4. เพิ่มความเข้มข้นในการบริหารต้นทุนทางตรงและต้นทุนทางอ้อม เพื่อ รองรับกับการเพิ่มขึ้นของค่าแรงขั้นตํ่าตามนโยบายของรัฐบาล 5. พัฒนา “ชุมชนเมืองน่าอยู”่ ในกรุงเทพและปริมณฑล ซึง่ เป็นการต่อยอด จากโครงการต้นแบบโครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุร-ี สุขมุ วิท 6. พัฒนา “สถาบัน แอล.พี.เอ็น.” ให้เป็นแกนกลางในการพัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับการขยายตัวของบริษัท ภายใต้หลักการ “การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน” ซึง่ ยังคงเป็นแนวทางทีบ่ ริษทั ยึดถือในการดำ�เนินธุรกิจ มาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการบริหารความเสี่ยง ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม การคำ�นึงถึงผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ รวมถึงความมุง่ มัน่ ในการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้างสรรค์ และส่งมอบคุณค่าแบบบูรณาการแก่ลกู ค้ากลุม่ เป้าหมาย จะส่งผลให้ธรุ กิจของบริษทั ยังคงเติบโต อย่างต่อเนื่องภายใต้หลักธรรมาภิบาล

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

17


รายงานประจำ�ปี 2555

สรุปข้อมูลทางการเงิน หน่วย : ล้านบาท 2555

2554

2553

2552

2551

สินทรัพย์

สินทรัพย์รวม ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง สินค้าคงเหลือ ที่ดินและต้นทุนโครงการรอการพัฒนา สินทรัพย์ให้เช่าสุทธิ

13,903.94 8,148.74 2,750.18 896.73 406.26

9,593.07 6,473.45 934.97 799.80 386.45

10,381.36 4,483.41 2,811.96 922.78 336.06

8,098.87 2,901.84 2,048.31 541.66 685.63

8,846.49 3,781.48 1,403.97 681.92 709.99

1,836.64 992.00 5,539.45 1,475.70 8,364.49

600.24 0.10 2,464.54 1,475.70 7,128.53

890.86 862.65 4,299.54 1,475.70 6,081.82

761.49 259.00 2,846.95 1,467.55 5,251.91

2,063.69 530.67 4,362.02 1,475.70 4,484.48

13,482.52 12,950.32 8,741.53 4,208.79 2,216.79

12,444.52 12,034.78 8,031.88 4,002.90 1,917.26

10,018.12 9,676.23 6,357.44 3,318.79 1,636.97

9,050.73 8,730.11 6,001.77 2,728.34 1,501.90

7,303.69 7,018.71 4,826.17 2,192.54 1,205.44

5.67 1.50 16.53 28.62 18.87 **

4.83 1.30 15.50 26.90 19.99 0.65

4.12 1.11 16.34 28.89 17.72 0.56

3.58 1.02 16.59 30.85 17.73 0.50

3.04 0.82 16.50 29.01 15.05 0.4115

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น เงินกู้ยืมระยะสั้น เงินกู้ยืมระยะยาว หนี้สินรวม หุ้นที่ออกและเรียกชำ�ระแล้ว ส่วนของผู้ถือหุ้น ผลการดำ�เนินงาน รายได้รวม รายได้จากการขาย ต้นทุนขาย กำ�ไรขั้นต้นจากการขาย กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ อัตราส่วนทางการเงิน * มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท/หุ้น) * กำ�ไรสุทธิต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท/หุ้น) อัตรากำ�ไรสุทธิต่อรายได้รวม (%) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (%) เงินปันผลต่อหุ้น (บาท/หุ้น)

* คิดจากจำ�นวนหุ้นถัวเฉลี่ย ** รอผลการอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2556 หมายเหตุ : - เป็นข้อมูลจากงบการเงินรวม - รายได้รวม ในปี 2554 และ 2555 รวมส่วนแบ่งกำ�ไรจากการลงทุนในบริษัทร่วม

18 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

งบดุล • สินทรัพย์รวม

หน่วย : ล้านบาท

• หนี้สินรวม

• ส่วนของผู้ถือหุ้น

2551 : 8,846.49 2552 : 8,098.87 2553 : 10,381.36 2553 : 9,593.07 2554 10,381.36

2551 : 4,362.02 2552 : 2,846.95 2553 : 4,299.54 2553 : 2,464.54 2554 4,299.54

2551 : 4,484.48 2552 : 5,251.91 2553 : 6,081.82 2553 : 7,128.53 2554 6,081.82

2555 : 13,903.94

2555 : 5,539.45

2555 : 8,364.49

งบกำ�ไรขาดทุน • รายได้รวม

• รายได้จากการขาย

13,500

หน่วย : ล้านบาท

• กำ�ไรขั้นต้นจากการขาย

• กำ�ไรสุทธิ

13,500 5,000

10,000

10,000

2,000

4,000 3,000

1,000

1,000

2551 2552 2553 2554 2555

1,000

0

2551 2552 2553 2554 2555

2551 2552 2553 2554 2555

0

2,216.79

1,917.26

1,636.97

1,501.90

1,205.44

4,208.79

4,002.90

3,318.79

1,000

2,728.34

2,000

2,192.54

12,950.32

12,034.78

9,676.23

8,730.11

7,018.71

13,482.52

12,444.52

10,018.12

9,050.73

5,000

7,303.69

5,000

2551 2552 2553 2554 2555

อัตราส่วนทางการเงิน

หน่วย : บาท

• มูลค่า ตามบัญชีต่อหุ้น

• กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น ขั้นพื้นฐาน

• เงินปันผลต่อหุ้น

• อัตราผลตอบแทน • อัตราผลตอบแทน ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (%) จากสินทรัพย์รวม (%)

6

2

0.7

30

0.6

5 1.5 4

20

0

2551 2552 2553 2554 2555

0 2551 2552 2553 2554 2555

18.87

19.99

17.72

5

17.73

28.62

26.90

28.89

30.85

**

0.65

0.56

0.50

0.4115

1.50

1.30

1.11

1.02

0 2551 2552 2553 2554 2555

0.1

29.01

10

0.2

0.5

0.82

5.67

4.83

4.12

3.58

3.04

2551 2552 2553 2554 2555

10

0.3

15.05

1

2

0

15

0.5 0.4

3

1

20

0 2551 2552 2553 2554 2555

** รอผลการอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมใหญ่สามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2556 หมายเหตุ : งบการเงินปี 2552 เป็นตัวเลขก่อนปรับตามมาตรฐานบัญชีใหม่

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

19


รายงานประจำ�ปี 2555

PEOPLE LPN กับความสุขที่ยั่งยืนทางสังคม

LPN ตระหนักและให้ความสำ�คัญ ในหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยเน้นความโปร่งใสของการดำ�เนินธุรกิจ เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้มีส่วนได้เสีย โดยปฏิบัติต่อทุกภาคส่วน อย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม

20 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ผูถ้ อื หุน้ (Shareholder) ผู้ถอื หุน้ ของบริษทั คือ นักลงทุนทีค่ าดหวังในผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมจากการ ลงทุนระยะยาวในบริษัทที่มีฐานะการเงินที่ม่นั คง มีอัตราการเติบโตสมํ่าเสมอ ดำ�เนินธุรกิจตามหลักธรรมาภิบาล ซึ่งก่อนการตัดสินใจใดๆ ผู้ลงทุนต้อง มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ และมีความเชื่อมั่นต่อองค์กรนั้นๆ บริษัทใน ฐานะองค์กรมหาชน จึงมีหน้าที่สร้างและรักษาความเชื่อมั่นของผู้ถือหุ้นด้วย การทำ�ธุรกิจที่โปร่งใส เปิดเผย รับผิดชอบ โดยยึดหลักความยั่งยืนในการ ประกอบธุรกิจ

หลักความยั่งยืนกับความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น ผลตอบแทนในการลงทุนที่ “เหมาะสม” คือ สิ่งที่บริษัทให้ความสำ�คัญตาม หลักการเติบโตอย่างยั่งยืน ซึ่งไม่ได้เน้นแต่การให้ผลกำ�ไรสูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น เพียงอย่างเดียว แต่ยังคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสียรายอื่นที่มีความสำ�คัญต่อการ เติบโตของธุรกิจเช่นกัน นอกจากนั้น บริษัทยังมีหลักในการเปิดเผยข้อมูล เกีย่ วกับธุรกิจด้วยความจริงใจและโปร่งใส ทัง้ ผูล้ งทุนทัว่ ไป นักลงทุนประเภท สถาบัน รวมถึงกองทุนต่างๆ เช่น กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ กองทุนบำ�เหน็จ บำ�นาญ เป็นต้น การดำ�เนินธุรกิจของบริษัทให้เจริญก้าวหน้าจึงไม่ได้เป็นเพียงแค่หลักการประกอบธุรกิจทั่วไป แต่เป็นความรับผิดชอบต่อ ผู้ถือหุ้น โดยมีเป้าหมายสำ�คัญในการสร้างผลกำ�ไรให้เติบโตอย่างต่อเนื่องและมั่นคง มีการจัดการและควบคุมความเสี่ยง อย่างรัดกุม นอกจากนั้นยังขยายผลความรับผิดชอบไปยังผู้มีส่วนได้เสียและยังครอบคลุมไปถึงความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมอีกด้วย

หลักการเปิดเผยข้อมูลอย่างแท้จริงตามหลักธรรมาภิบาล บริษทั ตระหนักและให้ความสำ�คัญในหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี โดยเน้นความโปร่งใสของการดำ�เนินธุรกิจ เพือ่ เพิม่ ความเชือ่ มัน่ แก่ผถู้ อื หุน้ นักลงทุน และผูม้ สี ว่ นได้เสีย โดยปฏิบตั ติ อ่ ทุกภาคส่วนอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม เปิดเผยข้อมูลด้วยความโปร่งใสตาม ข้อบังคับเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูล รวมไปถึงการเปิดเผยข้อมูลอืน่ ๆ ที่ไม่ได้เป็นข้อบังคับตามกฎหมายต่อตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย โดยถือเป็นความรับผิดชอบและหน้าที่ต่อสังคม เพื่อประโยชน์ในระยะยาวสำ�หรับผูล้ งทุนทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

21


รายงานประจำ�ปี 2555

ลูกค้า (Customer) ตามปกติเมื่อกล่าวถึง “ลูกค้า” โดยทั่วไปมักจะหมายถึงผู้ซื้อผลิตภัณฑ์หรือบริการของธุรกิจนั้นๆ ซึ่งความรับผิดชอบของ ผู้ประกอบการที่มีต่อลูกค้าจะเกิดขึ้นต่อเมื่อมีธุรกรรมแลกเปลี่ยนทางการค้าขึ้น แต่ความหมายของ “ลูกค้า” ตามแนวคิดของ บริษัทนั้น เริ่มตั้งแต่ผู้ที่สนใจในผลิตภัณฑ์ ผู้ที่ซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อพักอาศัย ผู้ซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อการลงทุน และสุดท้ายคือ ผู้ที่ เช่าพักอาศัย ซึ่งทุกกลุ่มล้วนถือเป็น “ลูกค้า” ที่บริษัทต้องให้การดูแลทั้งสิ้น ขอบเขตของการดูแลลูกค้าของบริษัทแบ่งเป็น 2 ระยะ ได้แก่ การดูแลลูกค้าก่อนการส่งมอบ ตั้งแต่สนใจชมโครงการ ทำ�สัญญาซื้อขาย อยู่ระหว่างการผ่อนชำ�ระเงินดาวน์ และการดูแลลูกค้าหลังการส่งมอบผลิตภัณฑ์

การดูแลลูกค้าก่อนการส่งมอบ

ขอบเขตของการบริการลูกค้าก่อนการส่งมอบของบริษทั ครอบคลุมกระบวนการปฏิสมั พันธ์กบั ลูกค้า ตัง้ แต่สนใจเข้าชมโครงการ จองซือ้ ทำ�สัญญาจะซือ้ จะขาย อยูร่ ะหว่างการผ่อนชำ�ระเงินดาวน์ ไปจนถึงการรับมอบผลิตภัณฑ์ บริษทั ได้จดั ตัง้ สายงานบริหาร ความสัมพันธ์ลกู ค้า (Customer Relation Management) ซึง่ ต่อมาได้พฒ ั นาเป็นสายงานบริหารประสบการณ์ลกู ค้า (Customer Experience Management) เพื่อรับผิดชอบในการบริหารประสบการณ์ลูกค้าผ่านจุดสัมผัส (Touch Point) ทุกจุด เพื่อสร้าง ประสบการณ์ที่ดี นอกจากนั้นบริษัทได้กำ�หนดกลยุทธ์ในการสร้างความเชื่อมั่น ความผูกพัน ไปจนถึงความจงรักภักดี ด้วย แนวคิดในการส่งมอบคุณค่าของผลิตภัณฑ์และบริการให้กับลูกค้าทุกกลุ่ม

• คุณค่าของผลิตภัณฑ์

ผลิตภัณฑ์ของบริษัท หมายถึง อสังหาริมทรัพย์ที่บริษัท พัฒนา ในรูปแบบของโครงการทั้งแนวสูงและแนวราบ เพื่อ ประโยชน์ในการอยูอ่ าศัยและการพาณิชย์ กลยุทธ์ระยะสัน้ และ ระยะกลางของบริษทั จะมุง่ เน้นพัฒนา “ผลิตภัณฑ์” ในรูปแบบ ของอาคารชุดพักอาศัยทีต่ อบสนองต่อลูกค้ากลุม่ เป้าหมายที่ มีรายได้ระดับกลางถึงกลาง-ล่างเป็นส่วนใหญ่ บริ ษั ท ให้ ความสำ � คั ญ กั บ กลยุ ท ธ์ ก ารส่ ง มอบคุ ณ ค่ า ของ ผลิตภัณฑ์ให้กบั ลูกค้า โดยเริม่ ต้นตัง้ แต่กระบวนการออกแบบ การดำ�เนินงานก่อสร้างไปจนถึงการส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้กับ ลูกค้า ซึ่งแต่ละกระบวนการได้มีแนวคิดรวมถึงนวัตกรรม ที่ มุ่งเน้นในการเพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์ ในทุกกระบวนการ อันได้แก่

1) กระบวนการออกแบบ

จากกลยุทธ์ทมี่ งุ่ เน้นไปทีก่ ลุม่ เป้าหมายทีม่ รี ะดับรายได้กลาง ถึงกลาง-ล่าง ราคาของ “ผลิตภัณฑ์” จึงมีความสำ�คัญต่อกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายกลุ่มนี้ ซึ่งเกี่ยวข้องกับต้นทุนของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะ “ห้องชุด” ที่จะส่งมอบให้กับลูกค้า ต้องเป็นห้อง ชุดทีม่ รี าคาทีล่ กู ค้าสามารถซือ้ ได้ (Affordable House) บริษทั จึงได้ออกแบบและพัฒนาห้องชุดตามแนวคิด “LPN Design” ให้มขี นาดเล็กลง แต่ยงั คงไว้ซงึ่ ประโยชน์ใช้สอยตามเดิม โดย ในปัจจุบันห้องชุดขนาด 21 ตารางเมตร ราคาขายประมาณ 5-6 แสนบาทของบริษทั เป็นทีย่ อมรับของกลุม่ เป้าหมายและ ประสบความสำ�เร็จด้านการตลาดอย่างสูง

22 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

2) กระบวนการก่อสร้าง

กระบวนการก่อสร้าง นับเป็นกระบวนการดำ�เนินงานในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมมากที่สุด ตั้งแต่งานเสาเข็มไปจนถึงการส่งมอบโครงการ การก่อสร้างจะมีผลกระทบกับทุกมิติที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นลูกค้า ผู้รับเหมา ก่อสร้าง ผู้อยู่อาศัยในชุมชนข้างเคียง คนงานก่อสร้าง รวมไปถึงสภาวะแวดล้อมในระหว่างการก่อสร้าง บริษัทจึงกำ�หนด กลยุทธ์ Q-C-S-E-S เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของทุกส่วนงาน รวมถึงผู้รับเหมาก่อสร้างให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน โดยมี รายละเอียดดังนี้ • Quality คุณภาพงานก่อสร้าง หน่วยงานก่อสร้างต้องมีความเป็นระเบียบ ผลิตภัณฑ์ของบริษัทต้องมีคุณภาพที่เป็นไปตามความคาดหวังของลูกค้า • Cost ต้นทุนค่าก่อสร้าง ฝ่ายงานบริหารงานก่อสร้างต้องควบคุมต้นทุนการก่อสร้างให้รัดกุม โดยเฉพาะต้นทุนแฝง (Indirect Cost) รวมทั้ง ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างและการดำ�เนินงาน • Speed ความรวดเร็ว ฝ่ายงานบริหารงานก่อสร้างต้องควบคุมการก่อสร้างและกระบวนการทำ�งานให้รวดเร็วกว่าระยะเวลาที่กำ�หนดไว้ เพือ่ เป็น การลดต้นทุนและลดความเสีย่ งของลูกค้า ตลอดจนระยะเวลาทีส่ ง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคมโดยรอบทีส่ น้ั ลง • Environment สิ่งแวดล้อม ทุกกระบวนการก่อสร้าง ต้องตระหนักถึงผลกระทบต่อชุมชนข้างเคียง เพือ่ ไม่กอ่ ให้เกิดความเสียหายต่อสภาพแวดล้อม อีกทั้งยังเข้าไปดูแลสภาพแวดล้อมของบ้านพักคนงานให้มสี ขุ อนามัยและคุณภาพชีวติ ทีเ่ หมาะสม • Safety ความปลอดภัย บริษัทกำ�หนดระเบียบข้อบังคับในการทำ�งานให้คนงานและผู้เกี่ยวข้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด โดยมีเจ้าหน้าที่คอย ดูแลด้านความปลอดภัย (จป.) เฉพาะทุกหน่วยงาน อีกทั้งยังอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยให้กับคนงานอย่าง สมํ่าเสมอ

• คุณค่าของการบริการ

บริษัทได้กำ�หนดกลยุทธ์ในการให้บริการผ่านจุดสัมผัส (Touch Point) ทุกจุด เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีในด้านการบริการแก่ ลูกค้า เริ่มตั้งแต่พนักงาน พนักงานขาย ฝ่ายก่อสร้าง ฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ ฝ่ายการเงิน รวมทั้งพนักงานรักษาความปลอดภัย และแม่บ้าน ซึ่งถือว่าเป็น Touch Point ที่สำ�คัญ โดยบริษัทได้จัดให้มีการอบรมและพัฒนาจิตสำ�นึกในการบริการ (Service Minded) ให้กับจุดสัมผัส (Touch Point) ทุกจุดอย่างเข้มข้นและสมํ่าเสมอ

การดูแลลูกค้าหลังการส่งมอบ

หลังจากทีล่ กู ค้ารับมอบผลิตภัณฑ์หอ้ งชุดทีส่ ง่ มอบจากบริษทั และเข้า มาอยู่อาศัย การเข้ามาบริหารอาคารและชุมชนให้อยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุข ถือเป็นอีกหนึง่ คุณค่าของการบริการทีส่ �ำ คัญทีบ่ ริษทั มอบให้ กับลูกค้า กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” ได้ถูกพัฒนาเพื่อสานต่อคุณค่าของ การบริการให้กบั ลูกค้า ภายใต้นยิ ามของ “ชุมชนน่าอยู”่ คือ ชุมชนที่ ผูพ้ กั อาศัยอยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสุข โดยมีองค์ประกอบทีเ่ หมาะสม มีคุณภาพชีวิต มีรายได้ มีสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ดี รวมทั้งสืบสาน วัฒนธรรมอันดีงามของสังคมไทย

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

23


รายงานประจำ�ปี 2555

จากประสบการณ์การบริหารอาคารและชุมชนมาเป็นระยะเวลานาน บริษทั ได้น�ำ ข้อมูลด้านพฤติกรรมและวิถชี วี ติ ของผูอ้ ยู่อาศัย ในอาคารชุด มาพัฒนาจนเป็นแนวทางการบริหารชุมชน F-B-L-E-S-P เพื่อนำ�ไปสู่ “ชุมชนน่าอยู่” อันก่อให้เกิด “ความสุขที่แท้จริงของการอยู่อาศัย” ซึ่งประกอบด้วย

แนวทางการบริหารชุมชน F-B-L-E-S-P Facility Management : การบริหารจัดการทรัพย์ส่วนกลาง Budget Management : การบริหารจัดการงบประมาณ Life Quality Management : การบริหารจัดการคุณภาพชีวติ Environment Management : การบริหารจัดการสภาพแวดล้อม Security Management : การบริหารจัดการระบบความปลอดภัย People Management : การบริหารจัดการศักยภาพของบุคลากร จากการส่งมอบคุณค่าของผลิตภัณฑ์และบริการของบริษัทให้กับลูกค้า ส่งผลให้เกิดความเชื่อมั่นในแบรนด์ “ลุมพินี” และ พัฒนาไปสู่ความจงรักภักดี (Brand Loyalty) ซึ่งก่อให้เกิดการบอกต่อ อันเป็นองค์ประกอบหนึ่งของการพัฒนาการอย่างยั่งยืน

24 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ปิยมิตร (Strategic Alliance) ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เป็นธุรกิจทีต่ อ้ งอาศัยเครือข่ายของผูป้ ระกอบการด้านต่างๆ เข้ามามีสว่ นร่วมในหลายมิติ เพือ่ ให้โครงการ ประสบความสำ�เร็จ ถึงแม้ว่าบริษัทจะเป็นองค์กรขนาดใหญ่ที่มีความมั่นคงทางธุรกิจ แต่เครือข่ายของผู้ประกอบการที่เข้า มาสนับสนุนถือเป็นกลไกขับเคลือ่ นสำ�คัญในการประกอบธุรกิจของบริษทั ทัง้ บริษทั สถาปนิก วิศวกร ทีป่ รึกษา บริษทั ผูร้ บั เหมา ก่อสร้าง บริษัทค้าวัสดุก่อสร้าง ผู้ประกอบธุรกิจขนส่ง บริษัทรักษาความปลอดภัย เป็นต้น ผู้ประกอบการเหล่านี้ผูกพันกับบริษัทมานาน หลายบริษัทฟันฝ่าวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 มาด้วยกัน ทำ�ให้มิตรภาพและ ความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกันเกิดขึ้นอย่างแนบแน่น ซึ่งความสัมพันธ์ดังกล่าวเป็นสิ่งที่บริษัทให้คุณค่าและความสำ�คัญเป็น อย่างมาก เพราะความสัมพันธ์ดงั กล่าวไม่สามารถจะเกิดขึน้ ได้ในช่วงเวลาอันสัน้ แต่เกิดขึน้ จากความไว้วางใจและความจริงใจ ที่มอบให้กันมานาน ผู้ประกอบการเหล่านี้คือ “ปิยมิตร” ซึ่งประกอบด้วย LPN Team ดูแลรับผิดชอบด้านการก่อสร้าง และ Lumpini Team ที่ดูแลรับผิดชอบในการบริหารชุมชนของบริษัทในบางโครงการ ถึงแม้ว่าปิยมิตรทั้งสองกลุ่มนี้จะไม่ได้เป็น บุคลากรที่อยู่ในองค์กร แต่บริษัทให้ความสำ�คัญและความใส่ใจต่อความก้าวหน้าและการเติบโตเสมือนเป็นหนึ่งเดียวกัน

• หลักความยั่งยืนกับการทำ�งานร่วมกับปิยมิตร

จากความสัมพันธ์และมิตรภาพที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัทและปิยมิตร นำ�ไปสู่การพัฒนาหลักความยั่งยืนกับการทำ�งานร่วมกับ ปิยมิตร กล่าวคือ การดำ�เนินธุรกิจร่วมกันหรือทำ�ข้อตกลงใดๆ จะต้องเป็นไปโดยไม่เอารัดเอาเปรียบหรือคำ�นึงถึงแต่ผลกำ�ไรของ บริษัท การดำ�เนินธุรกิจร่วมกันต้องอยู่บนพื้นฐานของความเป็นธรรม เพื่อส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพให้กับลูกค้าในราคาที่ เหมาะสม การดำ�เนินธุรกิจร่วมกับปิยมิตร บริษทั ยึดหลักการสองประการคือ “การเติบโตไปร่วมกัน” และ “ความเป็นหนึง่ เดียว”

• หลักการเติบโตร่วมกัน

การเติบโตอย่างมั่นคงของบริษัทจะเกิดขึ้นได้นั้น ส่วนหนึ่งมาจากการสนับสนุนอย่างมีประสิทธิภาพของปิยมิตรที่มีความ สามารถดำ�เนินธุรกิจได้อย่างมั่นคง บริษัทเล็งเห็นถึงความสัมพันธ์ดังกล่าว จึงได้ให้การสนับสนุนปิยมิตรในการพัฒนาองค์กร อย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ในด้านการพัฒนาระบบ การทำ�งาน การประกอบธุรกิจ และศักยภาพของพนักงาน เสมือนเป็นการส่งผ่านคุณค่า องค์กร องค์ความรู้ต่างๆ ของบริษัทไปสู่ปิยมิตร ตัวอย่างที่ชัดเจนของหลักการดังกล่าว คือ นอกเหนือจากการที่บริษัทแลก เปลีย่ นแนวคิดการทำ�งานร่วมกับปิยมิตรแล้ว บริษทั ยังมีนโยบายส่งเสริมให้ปยิ มิตรมีการเติบโตทางธุรกิจในสัดส่วนที่ใกล้เคียง กับบริษัท เป็นต้น

• หลักของความเป็นหนึ่งเดียว

บริษัทยึดหลักการปฏิบัติต่อปิยมิตรเสมือนหนึ่งเป็นพนักงานของ บริษัท ไม่ว่าจะเป็นการดูแลถึงปัญหาด้านการเงิน การให้คำ�ปรึกษา ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาบุคลากร รวมไปถึงการเปิดโอกาสให้มี การสื่อสารถึงกันระหว่างบริษัทและปิยมิตรอย่างสมํ่าเสมอ รับฟัง ซึ่งกันและกันอย่างแท้จริงเปรียบเสมือน “เพื่อนแท้” ในการทำ�งาน ที่ให้เกียรติซึ่งกันและกัน จากหลักของความเติบโตร่วมกันและความเป็นหนึ่งเดียว ทำ�ให้

การดำ�เนินงานด้านผลิตภัณฑ์ของบริษทั มีคณุ ภาพและต้นทุนทีต่ าํ่ ซึง่ เป็นไปตามแนวคิดหลักของบริษัทที่กำ�หนดกลยุทธ์ขององค์กรในรูป แบบผู้นำ�ทางต้นทุน (Cost Leadership) ทั้งนี้ ส่วนที่สำ�คัญเกิดจาก “ปิยมิตร” ของบริษัทนั่นเอง ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งในคุณค่าขององค์กรที่ ช่วยให้แนวคิดของการพัฒนาอย่างยั่งยืนเป็นรูปธรรมมากขึ้น

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

25


รายงานประจำ�ปี 2555

พนักงาน (Staff) ในการดำ�เนินธุรกิจจำ�เป็นต้องมีวิสัยทัศน์และเป้าหมายซึ่งมาจากผู้บริหารระดับสูง แต่วิสัยทัศน์และเป้าหมายขององค์กรจะ สัมฤทธิ์ผลได้นั้น ส่วนที่สำ�คัญที่สุดที่เป็นกลไกขับเคลื่อนองค์กร คือ พนักงาน ซึ่งถือว่าเป็นจิตวิญญาณของบริษัทในปัจจุบัน การที่บริษัทมีผลการดำ�เนินงานที่เป็นทีย่ อมรับจากทุกภาคส่วนได้นน้ั ส่วนหนึง่ เกิดจากความร่วมมือร่วมใจของพนักงานทุกคน โดยเฉพาะในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 ที่บริษัทสามารถผ่านพ้นวิกฤติช่วงนั้นมาได้ ด้วยความร่วมมือร่วมใจและทุ่มเทของ พนักงานทั้งบริษัท ดังนั้น พนักงานคือทรัพยากรอันมีคุณค่ามากที่สุดของบริษัท การบริหารจัดการพนักงานจึงถือเป็นภารกิจที่สำ�คัญของทุกสาย งาน ไม่เฉพาะสายงานบริหารบุคลากรเท่านั้น ซึ่งบริษัทได้ยึดหลักในการบริหารบุคลากร เพื่อให้เป็นองค์กรแห่งคุณค่า (Value Organization) อันประกอบด้วย

การที่บริษัทมีผลการดำ�เนินงานที่เป็นที่ยอมรับ จากทุกภาคส่วนได้นั้น ส่วนหนึ่งเกิดจากความร่วมมือร่วมใจ และความทุ่มเทของพนักงานทุกคน ดังนั้น พนักงานคือทรัพยากรอันมีคุณค่ามากที่สุด ซึ่งบริษัทให้ความสำ�คัญแก่การบริหารจัดการบุคลากร เพื่อให้บริษัทเป็นองค์กรแห่งคุณค่า (Value Organization)

26 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

• การกำ�หนดคุณสมบัติหรือสมรรถนะหลัก (Core Competency) ของพนักงาน

เพื่อใช้เป็นบรรทัดฐานของพนักงาน ที่จะช่วยขับเคลื่อนองค์กรให้บรรลุสู่วิสัยทัศน์และเป้าหมาย ซึ่งสมรรถนะหลักดังกล่าว พัฒนามาเป็นคุณค่าและวัฒนธรรมขององค์กร พร้อมทั้งพัฒนาพนักงานในทุกระดับ ไม่วา่ จะเป็นทัศนคติ ทักษะ และความรู้ ของพนักงานเอง (A.S.K. - Attitude Skill Knowledge)

• การสร้างโอกาสให้พนักงานได้บริหารจัดการองค์ความรู้ ผ่านการอบรมอย่างสมํ่าเสมอ

ร่วมวิเคราะห์ แบ่งปันความรู้และประสบการณ์จากกรณีศึกษาต่างๆ ที่นำ�มาเป็นตัวอย่าง (Case Study) เพื่อพัฒนาไปสู่องค์กร แห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)

• การเติบโตก้าวหน้าในสายงาน (Career Path)

บริษทั มีนโยบายสนับสนุนให้พนักงานมีโอกาสเติบโต ก้าวหน้าในหน้าทีก่ ารงาน และกำ�หนดให้ผบู้ ริหารระดับสูงของบริษทั ควร เป็นพนักงานทีม่ พี ฒ ั นาการและเติบโตขึน้ มาตามลำ�ดับ ซึง่ มีตวั อย่างของพนักงานหลายคน ทีเ่ ติบโตก้าวหน้าจากพนักงานระดับ ล่างจนเป็นพนักงานระดับบริหารในปัจจุบัน

• ความสมดุลระหว่างงานและชีวติ ครอบครัว (Work Life Balance)

เพือ่ ให้พนักงานได้รจู้ กั การแบ่งเวลาให้กบั ครอบครัวหรือตัวเอง โดยไม่หมกมุน่ และทุม่ เทให้กบั การทำ�งานมากจนเกินควร ด้วย การกำ�หนดเวลาทำ�งานต่อสัปดาห์ให้เหมาะสม และยังกำ�หนดให้พนักงานทุกส่วนงานต้องหยุดพักร้อนประจำ�ปีตามที่ได้รบั สิทธิ

• ส่งเสริมให้พนักงานพัฒนานวัตกรรม (Innovation)

ในกระบวนการทำ�งานด้านต่างๆ เพื่อเพิ่มพูนคุณค่าของผลิตภัณฑ์และบริการ อีกทั้งยังเป็นการสนับสนุนวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ ในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท

หลักความยัง่ ยืนกับแนวทางการบริหารจัดการพนักงาน เป็นที่ยอมรับว่า องค์กรทีผ่ า่ นวิกฤติและก้าวไปสูอ่ งค์กรแห่งคุณภาพจนมีลกั ษณะความเป็นสถาบัน ซึง่ นอกจากจะสืบสานคุณค่า และวัฒนธรรมขององค์กรได้อย่างต่อเนือ่ งแล้ว ยังสามารถปรับตัวตามกระแสเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ได้เป็นอย่างดี ทัง้ นี้ เกิด จากศักยภาพ คุณค่าของพนักงาน และการปลูกฝังในความเชื่อถึงคุณค่าดังกล่าว รวมทั้งยังส่งต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะมี ส่วนช่วยให้ความยั่งยืนขององค์กรเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

27


รายงานประจำ�ปี 2555

PLANET LPN กับความสุขที่ยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มีผลกระทบโดยตรงต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างสูง โดยเฉพาะโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ขนาดใหญ่ จะเห็นได้ว่าอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีคุณภาพมักสร้างปัญหาให้กับสิ่งแวดล้อมและสังคมเป็นอย่างมาก บริษัทจึงให้ ความสำ�คัญกับความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมและสังคม จึงได้กำ�หนดความรับผิดชอบไว้ในแผนธุรกิจของบริษัท ไม่ว่าจะเป็น ความรับผิดชอบในกระบวนการ (In Process) หรือนอกกระบวนการ (After Process) พร้อมปลูกจิตสำ�นึกด้านความรับผิด ชอบให้กับบุคลากรทุกสายงาน และขยายต่อไปยังผู้พักอาศัยในชุมชน “ลุมพินี” ทั้งยังกำ�หนดแนวทาง Corporate Social Responsibility to Community Social Responsibility และได้ตั้งงบประมาณในการดำ�เนินการสู่เป้าหมายให้เป็นสัดส่วนต่อ ยอดขายของบริษัทอีกด้วย แนวทางการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมเพื่อความยั่งยืนของบริษัท มุ่งเน้นส่งเสริมจิตสำ�นึก ความรับผิดชอบทีเ่ ริม่ ต้นจากตนเอง ซึง่ หมายถึง ภายในองค์กรและภายในชุมชนทีบ่ ริษทั พัฒนา แล้วจึงขยายสูส่ งั คมภายนอก โดยต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม เช่น บุคลากร ลูกค้า คู่ค้า ดังคำ�ที่ว่า “สิ่งแวดล้อมและสังคม ทีด่ ี ต้องเริ่มต้นจากตัวเราก่อน เมื่อเราพร้อมจึงขยายออกไปสู่ชุมชนที่เราพัฒนาและบริหาร และสุดท้ายจึงขยายไปสู่ชุมชน รอบข้าง” แนวคิดดังกล่าวจึงส่งผลไปสูแ่ นวทางการปฏิบตั ขิ องทุกส่วนงานในองค์กร และเป็นทีม่ าของนโยบายการบริหารจัดการ ชุมชนที่บริษัทมุ่งพัฒนาให้ทุกโครงการเป็น “ชุมชนน่าอยู่” เพื่อเป็นตัวอย่างให้ผู้ประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์รายอื่น

ความรับผิดชอบ ต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม ในกระบวนการ (In Process) ประกอบด้วย 1. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและสังคม ภายในองค์กร ได้แก่ 1.1 จัดให้มีสภาพแวดล้อมและบรรยากาศในการทำ�งานที่ เหมาะสม มีสุขอนามัยที่ดีให้แก่บุคลากร และส่งเสริม บรรยากาศในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความรู้ เพื่อนำ�ไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 1.2 ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของบุคลากร โดยสนับสนุนให้มี ความสมดุลทั้งในชีวิตและงาน (Work Life Balance) พร้อมปลูกฝังวิธกี ารทำ�งานภายใต้วฒ ั นธรรมและค่านิยม องค์กร (Core Values) อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ยังจัด ให้มกี จิ กรรมภายในเพือ่ สร้างความสัมพันธ์ทด่ี รี ว่ มกัน ตัง้ แต่ ระดับบริหารไปจนถึงบุคลากรในทุกส่วน และสนับสนุน ให้เกิดการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ด้านสิ่งแวดล้อม และสังคม เพื่อส่งเสริมและปลูกฝังจิตสำ�นึกในการทำ� ความดี

28 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

2. แนวคิดในช่วงเริ่มต้นการพัฒนาโครงการ ได้แก่ 2.1 การเลือกทำ�เลเชิงกลยุทธ์ โดยพิจารณาเลือกทำ�เลทีม่ คี วามหนาแน่นสูงริมถนนสายหลัก และอยู่ใกล้สง่ิ อำ�นวยความสะดวกในด้านต่างๆ ในการพัฒนาโครงการเพือ่ ลดผลกระทบ ต่อสิง่ แวดล้อมอันเนือ่ งมาจากการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ อีกทั้งทำ�เลทีต่ ง้ั โครงการ ยังต้องใกล้กับระบบขนส่งมวลชนและทางด่วน ซึ่งเป็นการช่วยลดปริมาณการจราจร และการใช้พลังงานโดยตรง 2.2 การออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้แนวคิด “LPN Green” บริษทั ให้ความสำ�คัญในการออกแบบ และวางผังโครงการเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้แนวคิด “LPN Green” ที่ สอดคล้องกับมาตรฐานอาคารเขียว (Green Building) ของสหรัฐอเมริกา (LEED The Leadership in Energy and Environmental Design)

3. กลยุทธ์ด้านการตลาด บริษัทได้กำ�หนดกลยุทธ์การตลาดที่สอดคล้องกับนโยบายของบริษัทที่ต้องการสร้างบ้านหลังแรกให้กับกลุ่มเป้าหมายระดับ กลางถึงกลาง-ล่าง ภายใต้การบริหารชุมชนที่มุ่งเน้นการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่ผู้อยู่อาศัย รวมถึงได้นำ�เสนอผลิตภัณฑ์ ให้กับลูกค้าด้วยความโปร่งใส ชัดเจน เงื่อนไขการซื้อขายที่เป็นธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบ และไม่มีวาระซ่อนเร้น รวมทั้งการ ปฏิบัติต่อคู่แข่งทางธุรกิจอย่างเป็นธรรม ไม่โจมตี หรือเอาเปรียบการแข่งขัน ซึ่งได้พัฒนามาเป็นการแข่งขันกับตนเอง

4. การดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในช่วงระหว่างการก่อสร้าง บริษัทได้ให้ความสำ�คัญกับชุมชนรอบโครงการเป็นกรณีพิเศษ เนื่องจากได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการของบริษัท โดยตรง โดยบริษัทจัดให้มีทีมงานของผู้บริหารระดับสูงเข้าเยี่ยมเยียนและสอบถามถึงผลกระทบอย่างต่อเนื่อง พร้อมพัฒนา กระบวนการในการก่อสร้างเพื่อป้องกันและลดผลกระทบที่อาจมีต่อชุมชนรอบข้าง โดยได้กำ�หนดเป็นบทบาทและหน้าที่ของ สายงานบริหารงานก่อสร้าง ตามกลยุทธ์ Q-C-S-E-S ได้แก่ 4.1 การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ (Quality) บริษทั ให้ความสำ�คัญกับการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานตามความคาดหวังของลูกค้า ทัง้ พืน้ ทีส่ ว่ นกลางและ ห้องชุดที่ส่งมอบ ซึ่งนอกจากการเลือกใช้วัสดุที่มีคุณภาพในการก่อสร้างแล้ว หน่วยงานก่อสร้างต้องมีระเบียบและได้ มาตรฐาน เพื่อช่วยลดผลกระทบอันเกิดจากการก่อสร้างอีกทางหนึ่ง 4.2 การควบคุมและบริหารต้นทุน (Cost) บริษัทมีการควบคุมต้นทุนการก่อสร้างให้รัดกุม เพื่อให้สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ในราคาที่ลูกค้าสามารถเป็นเจ้าของได้ (Affordable House) ทั้งต้นทุนทางตรงและต้นทุนแฝง เช่น ค่าวัสดุ ค่าแรง ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างและดำ�เนินงาน 4.3 ความรวดเร็วในการส่งมอบ (Speed) นอกจากการบริหารต้นทุนการก่อสร้างแล้ว การควบคุมการก่อสร้างและกระบวนการทำ�งานให้รวดเร็วกว่าทีก่ �ำ หนด เพื่อลด ระยะเวลาของการเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม อีกทั้งยังเป็นการช่วยลดต้นทุนการก่อสร้าง และลดความเสี่ยง ของลูกค้า 4.4 ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม (Environment) บริษทั ให้ความสำ�คัญกับผลกระทบทางสิง่ แวดล้อมในระหว่างก่อสร้างโครงการ ทัง้ ในบริเวณก่อสร้าง บริเวณข้างเคียง รวม ถึงบ้านพักคนงาน โดยกำ�หนดให้มีการปฏิบัติตามแนวทางลดผลกระทบในรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด โดยตัง้ แต่ซอ้ื ทีด่ นิ บริษทั จะส่งทีมงานผูบ้ ริหารระดับสูงเข้าไปให้ขอ้ มูลกับชุมชนรอบข้างและหน่วยงานราชการทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ สร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งบ้านหรืออาคารที่มีพื้นที่ติดกับโครงการ ซึ่งได้รับผล กระทบโดยตรงทัง้ ทางด้านเสียง ฝุน่ ละออง การจราจร จากการดำ�เนินการก่อสร้างโครงการ ด้วยการป้องกันในทุกรูปแบบ การดูแลความสะอาดของล้อรถขนส่งวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้างขณะออกจากหน่วยงานก่อสร้าง เพื่อลดฝุ่นละอองอันเกิดจาก เศษดิน การควบคุมการก่อสร้างให้เป็นไปตามที่ออกแบบและเป็นไปตามเวลาที่กำ�หนดหรือเร็วกว่า การรายงานผลการ ปฏิบตั ติ ามมาตรการป้องกันและลดผลกระทบจากการก่อสร้าง โดยกิจกรรมทั้งหมดนี้บริษัทจัดให้มเี จ้าหน้าทีร่ ะดับสูงของ บริษทั คอยดูแลและติดตามอย่างใกล้ชิดเพื่อให้เกิดประสิทธิผล และในระหว่างขั้นตอนการก่อสร้างบริษัทได้จัดให้มีทีม เจ้าหน้าทีแ่ ละผู้ชำ�นาญการเข้าทำ�การสำ�รวจ โดยการจัดทำ�แบบสอบถามเพื่อติดตามและตรวจสอบผลกระทบจากการ ก่อสร้างโครงการ พร้อมทั้งอธิบายถึงรายละเอียดของการดำ�เนินโครงการอีกชั้นหนึ่ง

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

29


รายงานประจำ�ปี 2555

นอกจากนั้น บริษัทจัดให้มีการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับชุมชนเมือง เพื่อทดแทนและคืนสภาพแวดล้อมที่ดีให้กับชุมชน รวมทั้ง สร้างความสัมพันธ์อันดีกับชุมชนโดยรอบโครงการ โดยมุ่งหวังให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา เพื่อให้เกิดความร่วม มืออย่างยั่งยืน โดยในปี 2555 บริษัทสนับสนุนงบประมาณเพื่อดำ�เนินการปรับปรุงพื้นที่สีเขียว ซึ่งอยู่ในบริเวณที่บริษัทพัฒนา โครงการทั้งหมด 5 แห่ง คือ 1) ชุมชนแหลมทองพัฒนา บริเวณโครงการลุมพินี วิลล์ พัฒนาการ-เพชรบุรีตัดใหม่ 2) ศูนย์ดูแลเด็กเล็กของชุมชนกอไผ่ 12 บริเวณโครงการลุมพินี พาร์คบีช จอมเทียน 3) สำ�นักงานเขตบางเขน บริเวณโครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า ซึ่งได้รับผลกระทบจากนํ้าท่วมเมื่อปีที่ผ่านมา และอยู่ระหว่างดำ�เนินการปรับปรุง 4) เกาะกลางถนนรามอินทรา บริเวณโครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า 5) พื้นที่สาธารณะติดวัดสร้อยทอง บริเวณโครงการลุมพินี วิลล์ พิบูลสงคราม-ริเวอร์วิว ซึ่งอยู่ในระหว่าง การออกแบบพื้นที่ 4.5 ความปลอดภัยของผู้เกี่ยวข้องและคนงาน (Safety) บริษทั ได้ก�ำ หนดมาตรฐานการปฏิบตั งิ านทีเ่ ข้มงวดในด้านความปลอดภัยและจัดให้มเี จ้าหน้าทีท่ ร่ี บั ผิดชอบให้ค�ำ แนะนำ�ทาง ด้านความปลอดภัยโดยตรง เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น เช่น การหลีกเลี่ยงไม่ให้คนงานสัมผัสกับสิง่ ทีเ่ ป็นอันตราย การใช้อปุ กรณ์ปอ้ งกันในขณะปฏิบตั งิ าน นอกจากนี้ ยังให้ความสำ�คัญด้านอาชีวอนามัย โดยจัดเตรียมทีอ่ ยูอ่ าศัยทีม่ สี ภาพ แวดล้อมทีม่ คี วามเหมาะสมของบ้านพักคนงาน รวมไปถึงการคำ�นึงถึงคุณภาพชีวติ ของทุกคนในครอบครัวคนงานก่อสร้าง และการสร้างเสริมสุขภาพโดยกำ�หนดให้มกี ารออกกำ�ลังกายในทุกเช้า นอกจากนั้น บริษัทยังจัดกิจกรรมเพื่อดูแลและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับคนงานก่อสร้างที่ทำ�งานในโครงการต่างๆ เช่น กิจกรรม 5 ส บ้านพักคนงานก่อสร้าง เพื่อดูแลสิ่งแวดล้อมภายในบ้านพักคนงานให้เหมาะสมตามหลักสุขาภิบาล กิจกรรมตรวจสุขภาพ ได้แก่ ตรวจสารเสพติด ตรวจปอด ตรวจฟัน กิจกรรมอบรมปฐมพยาบาลเบื้องต้น กิจกรรม ซ้อมดับเพลิง กิจกรรมขวดเก่าเท่ากับไข่ (ขยะแลกไข่) การจัดเลี้ยงอาหารและกิจกรรมตัดผมฟรี โดยในปี 2555 ได้จัด กิจกรรมใน 6 โครงการ คือ ลุมพินี วิลล์ พัฒนาการ-เพชรบุรตี ดั ใหม่ ลุมพินี เมกะซิต้ี บางนา ลุมพินี ทาวน์ เรสซิเดนซ์ ลาดพร้าว สเตชั่น ลุมพินี ทาวน์ เพลส รัชโยธิน-เสนาฯ ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า และลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 60/2

LPN ให้ความสำ�คัญด้านคุณภาพชีวิตที่ดี ให้กับคนงานก่อสร้างที่ทำ�งานในโครงการต่างๆ มีการจัดกิจกรรมตรวจสุขภาพ ตรวจสารเสพติด ตรวจปอด ตรวจฟัน การจัดเลี้ยงอาหารและกิจกรรมตัดผมฟรี

30 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

5. การบริหารชุมชนภายหลังการส่งมอบ บริษัทกำ�หนดบทบาทและหน้าทีข่ องสายงานบริหารชุมชนตามแนวทาง F-B-L-E-S-P ทีไ่ ด้ศกึ ษาพัฒนามาจากประสบการณ์ การบริหารชุมชนมาเป็นระยะเวลานาน เพื่อส่งมอบคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และสังคมที่ดี ภายใต้กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” ให้แก่สมาชิก “ลุมพินี” กว่า 120,000 คน จากกว่า 80 โครงการ ซึ่งไม่เพียงแต่ดูแลรักษาอุปกรณ์และทรัพย์สินต่างๆ ให้เกิดความพร้อมและความปลอดภัยในการใช้งานเท่านั้น แต่ยังให้ความสำ�คัญกับการสร้างความสุขและสังคมที่ดี ที่มีความ อบอุ่น ปลอดภัย และใส่ใจสิ่งแวดล้อมภายในโครงการอย่างจริงจังและสมํ่าเสมอ ได้แก่ 5.1 การบริหารจัดการทรัพย์ส่วนกลาง (Facility Management) การดูแลบริหารระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอำ�นวยความสะดวกในโครงการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและเหมาะสมต่อ การพักอาศัย 5.2 การบริหารจัดการงบประมาณ (Budget Management) การบริหารเงินกองทุนและงบประมาณนิตบิ คุ คลฯ ให้มเี สถียรภาพและเพิม่ พูน เพือ่ ความมัน่ คงในฐานะทางการเงินของ ชุมชน รวมถึงการจัดทำ�รายงานทางการเงินอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ 5.3 การบริหารจัดการคุณภาพชีวิต (Life Quality Management) การส่งเสริมให้สมาชิกปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบของชุมชน เพือ่ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยภายในชุมชน และการจัดกิจกรรม สร้างความสัมพันธ์ภายในครอบครัวและระหว่างสมาชิก “ลุมพินี” และสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และการทำ�กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม 5.4 การบริหารจัดการสภาพแวดล้อม (Environment Management) การดูแลและเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในโครงการ รวมถึงรณรงค์การบริหารจัดการด้านขยะ การบำ�บัดนํ้าเสีย การประหยัด พลังงาน โดยนำ�แนวคิด Green Clean Lean เป็นแนวทางในการประชาสัมพันธ์ ให้ผู้อยู่อาศัยดำ�เนินการอย่างจริงจัง เช่น การคัดแยกขยะ เพื่อนำ�ขยะเข้าสู่กระบวนการ Recycle หรือการนำ�นํ้าจากบ่อบำ�บัดนํ้าเสียกลับมารดนํ้าต้นไม้ การใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก การลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคาร เป็นต้น 5.5 การบริหารจัดการระบบความปลอดภัย (Security Management) จัดให้มหี น่วยงานด้านรักษาความปลอดภัยเพือ่ บริหารจัดการความปลอดภัยภายในโครงการ ภายใต้การทำ�งานทีม่ มี าตรฐาน และสร้างเครือข่ายความมีส่วนร่วมจากทั้งภายในชุมชนและประสานงานกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อความ ปลอดภัยสูงสุดของผู้อยู่อาศัยภายในชุมชนเป็นสำ�คัญ 5.6 การบริหารจัดการศักยภาพของบุคลากร (People Management) บุคลากรถือเป็นกลไกสำ�คัญในการบริหารจัดการชุมชน บริษัทจึงให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาศักยภาพบุคลากรควบคู่ไป กับการดูแลคุณภาพชีวิต เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของลูกค้าและสมาชิกที่เกี่ยวข้อง

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

31


รายงานประจำ�ปี 2555

ความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคมนอกกระบวนการ (After Process) ประกอบด้วย บริษัทได้กำ�หนดแนวทางในการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมนอกกระบวนการ (After Process) ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการจัดกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ชุมชน “ลุมพินี” หรือชุมชนข้างเคียง รวมถึงภายในองค์กร เพื่อสร้างจิตสำ�นึกทางด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมให้ขยายไปในวงกว้าง โดยวางกรอบว่ากิจกรรมส่วนใหญ่ ควรเป็นกิจกรรมที่สามารถดำ�เนินการอย่างต่อเนื่องได้ เพื่อผลในระยะยาว สำ�หรับกิจกรรมที่ดำ�เนินการแบ่งออกได้ดังนี้ 1. กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการแบ่งปัน 2. กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการดูแลห่วงใย 3. กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมและอยู่ร่วมกัน

1. กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการแบ่งปัน 1.1 กิจกรรมรับบริจาคโลหิต ในปี 2555 บริษทั จัดกิจกรรมรับบริจาคโลหิตทัง้ สิน้ 6 โครงการ ได้แก่ โครงการลุมพินี ทาวเวอร์ กลุม่ โครงการลุมพินี สุขมุ วิท 77 กลุม่ โครงการ พี.เอส.ที. กลุม่ โครงการลุมพินี รามอินทรา-หลักสี่ โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทรเดชา-รามคำ�แหง และโครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-นวมินทร์ โดยจัดกิจกรรมรับบริจาคทุก 3 เดือน รวมทัง้ ปี 24 ครัง้ ได้รบั บริจาคปริมาณโลหิตทัง้ สิน้ 2,984 ยูนติ คิดเป็นปริมาณโลหิต 1,044,400.00 ซี.ซี. นำ�ไปช่วยเหลือผูป้ ว่ ยได้ประมาณ 11,936 คน (คำ�นวณจากปริมาณโลหิต 350-450 ซี.ซี.ต่อ 1 ยูนติ นำ�ไปช่วยชีวติ ผูป้ ว่ ยได้ 4 คน) ปริมาณโลหิตที่ได้รบั บริจาค ตาม ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ปริมาณโลหิตที่ได้รับบริจาคในปี 2555 หน่วยรับบริจาค

ปริมาณ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. โลหิตรวม (ยูนิต)

ลุมพินี ทาวเวอร์

280

301

284

290

1,155

ลุมพินี สุขมุ วิท 77

67

75

113

109

364

77

พี.เอส.ที 97

ลุมพินี รามอินทรา-หลักสี่

347

171

376

185

119 105

84 170

101

92 84

74

ลุมพินี รามอินทรา-นวมินทร์

99

101 93

ลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทรเดชา-รามคำ�แหง

รวม

77

161

397

159

409 94

67

101 204

399

220

354

376 326

195

2,984

จากการจัดกิจกรรมรับบริจาคโลหิตมาอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้หน่วยรับบริจาคโลหิตในกลุ่มอาคารพี.เอส.ที. ซิตี้โฮม อาคาร พลาซ่าอโศก และกลุ่มโครงการสุขุมวิท 77 มีปริมาณโลหิตที่ได้จากการบริจาคถึง 1,000 ยูนิต ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย จึงได้มอบประกาศเกียรติคุณจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ แก่ หน่วยรับบริจาคโลหิตทั้งสามหน่วย เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2555

32 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

1.2 โครงการ “แล้งนี้ไม่แล้งนํ้าใจ ด้วยการให้โลหิต” บริษทั สนับสนุนโครงการ “แล้งนีไ้ ม่แล้งนํา้ ใจ ด้วยการให้โลหิต” ซึง่ เป็นโครงการทีร่ ณรงค์ให้ประชาชนบริจาคโลหิตสำ�รอง ไว้ในช่วงวันหยุดเทศกาลสงกรานต์ ซึง่ เป็นช่วงวันหยุดยาวทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุบอ่ ยครัง้ จึงมีความต้องการใช้เลือดสำ�หรับผูป้ ว่ ย เป็นปริมาณมากๆ โดยจัดกิจกรรมขึน้ ระหว่างวันที่ 7-16 เมษายน 2555 ทีศ่ นู ย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย โดย นางสาวสมศรี เตชะไกรศรี รองกรรมการผู้จัดการ และคณะกรรมการนิติบุคคลอาคารชุดโครงการต่างๆ รวม 38 ท่าน เข้าร่วมพิธีเปิด ในวันเสาร์ที่ 7 เมษายน 2555 พร้อมบริจาคโลหิตและร่วมเป็นอาสาสมัครบำ�เพ็ญประโยชน์

นางสาวสมศรี เตชะไกรศรี รองกรรมการผู้จัดการ บมจ.แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ เปิด โครงการ ร่วมกับ พญ.สร้อยสอางค์ พิกลุ สด ผูอ้ �ำ นวยการศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภา กาชาดไทย และคุณประภาส ทองสุข ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำ�กัด (มหาชน)

ปริมาณโลหิตที่ได้จากการจัดกิจกรรมระหว่างวันที่ 7-16 เมษายน 2555 ณ ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ได้ปริมาณโลหิตจำ�นวน 13,080 ยูนิต ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาปกติที่ไม่มีการจัดกิจกรรม พบว่าในช่วงการจัด กิจกรรมมีปริมาณโลหิตเพิ่มขึ้นกว่า 50% และเมื่อเปรียบเทียบกับการจัดกิจกรรมปีที่แล้ว พบว่าการจัดกิจกรรมในปีนม้ี ี ปริมาณโลหิตเพิม่ ขึน้ 20.02%

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

33


รายงานประจำ�ปี 2555

1.3 โครงการบริจาครถรับบริจาคโลหิตเคลื่อนที่ บริษทั บริจาครถรับบริจาคโลหิตเคลือ่ นที่ 8 เตียง 1 คัน เนื่องในโอกาสครบรอบ 23 ปีของการก่อตั้งบริษทั เพือ่ ใช้ในการรับบริจาคโลหิตเคลือ่ นทีต่ ามสถานทีต่ า่ งๆ ในเขตกรุงเทพฯ ของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภา กาชาดไทย ซึ่งอยู่ระหว่างการจัดสร้าง เพื่อทูลเกล้าฯ ถวายเนือ่ งในมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ 1.4 รับพระราชทานเกียรติบัตรจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชทาน เกียรติบตั ร และของทีร่ ะลึกแก่บคุ คล องค์กร ทีส่ นับสนุนการดำ�เนินงาน ของมูลนิธเิ ด็กอ่อนในสลัมฯ โดยนางสาวสมศรี เตชะไกรศรี เข้าเฝ้ารับ เสด็จและรับพระราชทานเกียรติบตั ร เมือ่ วันที่ 10 กรกฎาคม 2555 จาก การทีบ่ ริษทั ร่วมสนับสนุนงบประมาณในการตกแต่งอาคารหลังใหม่ของ มูลนิธิเด็กอ่อนในสลัม ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้า กัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ซอยเสือใหญ่อทุ ศิ ) ที่ อยู่ใกล้เคียงกับโครงการลุมพินี เพลส รัชโยธิน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนพฤศจิกายน 2553 ซึง่ มูลนิธฯิ ก่อสร้างอาคารหลังใหม่แล้วเสร็จ แต่ไม่มงี บประมาณในการตกแต่ง บริษัทจึงได้สนับสนุนงบประมาณ และจัดซือ้ อุปกรณ์การเรียนการสอนสำ�หรับเด็กทีจ่ �ำ เป็น เพือ่ ให้มลู นิธฯิ สามารถเปิดดำ�เนินการได้อย่างสมบูรณ์

34 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

1.5 โครงการมอบคอมพิวเตอร์ เพือ่ ใช้ในการศึกษา บริษทั บริจาคเครือ่ งคอมพิวเตอร์ใช้แล้วทีย่ งั มีสภาพดีให้กับโรงเรียนที่ยังขาดแคลน โดยได้ประสานงานไปยังโรงเรียนต่างๆ เพือ่ ส่งมอบ พร้อมทั้งสนับสนุนงบประมาณในการขนส่งและติดตัง้ โดยมีโรงเรียนที่ได้รบั มอบเครือ่ งคอมพิวเตอร์ทง้ั หมด ตามตารางที่ 2 ตารางที่ 2 โรงเรียนที่ได้รับมอบเครื่องคอมพิวเตอร์ โรงเรียน

จังหวัด

เครือข่าย TK Park บ้านมอแดง บ้านสร้างใหญ่ บ้านโนนสายหนองหว้า วัดบางน้อยใน รวม

กำ�แพงเพชร ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ นครปฐม

จำ�นวน (เครื่อง) 10 10 20 10 15 65

1.6 กิจกรรมสร้างฝัน ปันสุข แด่นอ้ งๆ จังหวัดสระแก้ว บริษทั สนับสนุนกิจกรรม “สร้างฝัน ปันสุข” ซึง่ กลุม่ Dream Team Lumpini ทีเ่ กิดจากการรวมตัวกันของสมาชิกในโครงการ ลุมพินแี ละทีมงานของมูลนิธริ ว่ มกตัญญูจดั ขึน้ เพือ่ รับบริจาคปัจจัยและสิ่งของเครื่องใช้จากเจ้าของร่วม และผู้พักอาศัยใน โครงการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือโรงเรียนและนักเรียนทีข่ าดแคลนอุปกรณ์การศึกษาและชุดนักเรียน ในจังหวัดสระแก้ว พร้อม กันนี้ บริษัทมอบเงินจำ�นวน 50,000 บาท เพื่อใช้ในการซ่อมแซมโรงเรียนทั้ง 4 แห่ง เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2555

1.7 กิจกรรมทำ�บุญทอดกฐินสามัคคี เพือ่ สมทบทุนสร้างศาลาอเนกประสงค์ วัดทองบน วัดทองบนเป็นศาสนสถานทีต่ ง้ั อยูต่ ดิ กับโครงการลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไชด์-พระราม 3 ซึง่ ทางบริษทั ดำ�เนินการพัฒนาและ ปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่กอ่ นการก่อสร้างจนกระทั่งโครงการแล้วเสร็จในปี 2555 โดยทางวัดทองบนมีโครงการที่จะจัด กิจกรรมทำ�บุญทอดกฐินสามัคคีเพือ่ สมทบทุนสร้างศาลาเอนกประสงค์ ทางบริษทั จึงขอเป็นเจ้าภาพในการดำ�เนินการดังกล่าว พร้อมทัง้ ร่วมระดมเงินเพือ่ ร่วมทำ�บุญเป็นจำ�นวนเงินทัง้ สิน้ 814,063 บาท

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

35


รายงานประจำ�ปี 2555

2. กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการดูแล ห่วงใย 2.1 กิจกรรมดูแล ปรับปรุง และเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ปรับปรุงพืน้ ทีส่ เี ขียวในโครงการทีท่ รุดโทรมและพืน้ ทีบ่ ริเวณใกล้เคียงให้คงสภาพทีส่ วยงาม ในปี 2555 บริษทั ได้เข้าดำ�เนินการปรับปรุงพืน้ ทีส่ เี ขียว 3 โครงการ คือ โครงการลุมพินี วิลล์ บางแค โครงการลุมพินี วิลล์ สุขมุ วิท 77 และโครงการลุมพินี เซ็นเตอร์ สุขุมวิท 77 นอกจากนั้น ยังได้เพิ่มพื้นที่สีเขียวแนวตั้งและปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณแยก สาทร โดยมีรายละเอียดดังนี้ ปรับปรุงพืน้ ทีส่ เี ขียวบริเวณหน้าโครงการลุมพินี วิลล์ บางแค เนือ่ งจากเหตุการณ์นา้ํ ท่วมปลายปี 2554 ทำ�ให้พน้ื ทีบ่ ริเวณหน้าโครงการลุมพินี วิลล์ บางแค ซึ่งเป็นพื้นที่ของบริษทั ได้รับความเสียหาย ทั้งรั้ว กำ�แพง และพื้นที่สีเขียว ทางฝ่ายสังคมและสิ่งแวดล้อม จึงจัดหาผู้รับเหมาเข้าดำ�เนิน การซ่อมแซมและปรับปรุงให้กลับเข้าสู่สภาพปกติ

ภาพรั้วด้านหน้าโครงการลุมพินี วิลล์ บางแค ที่ทรุดตัว

ภาพรั้วด้านหน้าโครงการลุมพินี วิลล์ บางแค ที่ซ่อมแซมเรียบร้อยแล้ว

ปรับปรุงพืน้ ทีส่ เี ขียวโครงการลุมพินี วิลล์ สุขมุ วิท 77 บริษทั ดำ�เนินการปรับปรุงพืน้ ทีส่ เี ขียวรอบสนามเด็กเล่น ซ่อมแซมศาลาท่านํา้ ทีช่ �ำ รุด และทำ�กำ�แพงกันดินไหล พร้อม ถมดินปรับพื้นที่แนวริมคลองด้านหลังโครงการที่มีการทรุดตัวของดิน

ภาพพื้นที่ริมคลองที่มีการทำ�กำ�แพงกันดินไหล และถมดินปรับพื้นที่ พร้อมปูหญ้ามาเลเซีย

ปรับปรุงพืน้ ทีส่ เี ขียวโครงการลุมพินี เซ็นเตอร์ สุขมุ วิท 77 บริษัทดำ�เนินการปรับปรุงพื้นที่สีเขียวบริเวณข้างศาลาท่าน้าํ ให้เป็นพืน้ ที่โล่ง เพือ่ หลีกเลีย่ งการเป็นแหล่งมัว่ สุม่ และที่อยู่ อาศัยของสัตว์ร้าย รวมทั้งทำ�กำ�แพงกันดินไหล พร้อมถม ดินปรับพื้นที่แนวริมคลองด้านหลังโครงการที่มีการทรุดตัว ของดิน

36 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวแนวตัง้ และปรับปรุงภูมทิ ศั น์บริเวณหน้าอาคาร Q House ถนนสาทร โดยโครงการนี้ เริ่มดำ�เนินการตั้งแต่ปลายปี 2554 แต่ติดปัญหานํ้าท่วม ทำ�ให้การดำ�เนินงานล่าช้า โดยเมื่อเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ได้ดำ�เนินการแล้วเสร็จ และทำ�หนังสือส่งมอบให้สำ�นักงานเขตสาทรดูแล 2.2 กิจกรรมดูแลสภาพแวดล้อมด้านจัดการขยะ กิจกรรมส่งเสริมการคัดแยกขยะภายในชุมชนลุมพินี มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการคัดแยกขยะที่มีประสิทธิภาพในชุมชน และลดปัญหาเรื่องขยะ ในปี 2555 บริษัทจัด กิจกรรมรณรงค์ “กิจกรรมคัดแยกขยะ ลดโลกร้อน” ต่อเนื่องจากปี 2554 ในอีก 5 โครงการ ได้แก่โครงการลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา (A, B) โครงการลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา (C, D) โครงการลุมพินี เพลส รัชโยธิน โครงการลุมพินี พาร์ค ปิ่นเกล้า และโครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ รัตนาธิเบศร์ โดยการดำ�เนินงานเริ่มตั้งแต่การนำ�เสนอต่อคณะกรรมการนิติบุคคลฯ เตรียมผลิตชุดรองรับขยะรีไซเคิล และสื่อ ประชาสัมพันธ์เพื่อรณรงค์ และดำ�เนินการจัดกิจกรรมรณรงค์คัดแยกขยะ กิจกรรมคัดแยกขยะรีไซเคิล สามารถแสดงให้ เจ้าของร่วมเห็นถึงมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ (ผลจากการขายที่เป็นเงิน) และคุณค่าทางสิ่งแวดล้อม (พื้นที่การฝังกลบขยะ ที่ลดลง) โดยกิจกรรมดังกล่าวมีรายละเอียด ดังนี้ กิจกรรมคัดแยกขยะ ลดโลกร้อน ทีโ่ ครงการลุมพินี พาร์ค ปิน่ เกล้า จัดขึ้นในวันที่ 13 พฤษภาคม 2555 โดยมีคณะกรรมการนิติบุคคลของโครงการเข้ามาร่วมเปิดงาน ในงานมีกิจกรรม ให้ผู้พักอาศัยนำ�วัสดุเหลือใช้ ได้แก่ แก้ว กระดาษ ขวดพลาสติก กระป๋องอะลูมิเนียม มาร่วมคัดแยกที่ถังคัดแยก ขยะรีไซเคิล รับของทีร่ ะลึกและร่วมเล่นเกมสร้างสรรค์สง่ิ แวดล้อม 8 เกม ซึง่ ผลของการจัดกิจกรรมคัดแยกขยะประเภท รีไซเคิลในโครงการ ตั้งแต่เริ่มกิจกรรมเดือนพฤษภาคมถึงธันวาคม สามารถนำ�ขยะเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลได้ 1,217.90 กิโลกรัม และเกิดรายได้จากการขายขยะเป็นเงินรวม 5,041 บาท โดยรายได้ทง้ั หมดนำ�เข้าบัญชีนติ บิ คุ คลฯ กิจกรรมคัดแยกขยะ ลดโลกร้อน ทีโ่ ครงการลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา จัดขึ้นในวันที่ 23 มิถุนายน 2555 ที่โครงการลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา (A, B) และ (C, D) เพียง 1 วัน โดย สามารถนำ�ขยะเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิล และทำ�ให้เกิดคุณค่าทางสิ่งแวดล้อม คือสามารถลดพื้นที่ในการฝังกลบ ขยะได้ 359.7 ตารางนิ้ว ผลของการจัดกิจกรรมคัดแยกขยะประเภทรีไซเคิลในโครงการลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา (A, B) ตั้งแต่เริ่ม กิจกรรมเดือนพฤษภาคมถึงกันยายน 2555 สามารถนำ�ขยะเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลได้ 2,295 กิโลกรัม และเกิด รายได้จากการขายขยะเป็นเงินรวม 9,889 บาท โดยรายได้ทั้งหมดนำ�เข้าบัญชีนิติบุคคลฯ กิจกรรมคัดแยกขยะ สามารถทำ�ให้เจ้าของร่วม เห็นคุณค่าของขยะ และรู้ประโยชน์ของการรีไซเคิล

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

37


รายงานประจำ�ปี 2555

ผลของการจัดกิจกรรมคัดแยกขยะประเภทรีไซเคิลในโครงการลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา (C, D) ตัง้ แต่เริม่ กิจกรรม เดือนพฤษภาคม ถึงกันยายน 2555 สามารถนำ�ขยะเข้าสูก่ ระบวนการรีไซเคิลได้ 2,954 กิโลกรัม และเกิดรายได้จากการ ขายขยะเป็นเงินรวม 10,874 บาท โดยรายได้ทง้ั หมดนำ�เข้าบัญชีนติ บิ คุ คลฯ

กิจกรรมคัดแยกขยะ ลดโลกร้อน ทีโ่ ครงการลุมพินี เพลส รัชโยธิน จัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2555 ที่โครงการลุมพินี เพลส รัชโยธิน โดยมีกิจกรรมให้ผู้พักอาศัยเข้าร่วมได้ 2 อย่าง คือ ขยะแลกของ และขยะแลกเงิน 1. ขยะแลกของ คือ ให้ผู้พักอาศัยนำ�วัสดุเหลือใช้ ได้แก่ แก้ว กระดาษ ขวดพลาสติก กระป๋องอะลูมิเนียม มาร่วม คัดแยกที่ถังคัดแยกขยะรีไซเคิลบริเวณงาน เพื่อแลกรับของที่ระลึก ซึ่งรายได้จากการขาย นำ�ไปสนับสนุนกิจกรรม ของชุมชนในครั้งต่อไป 2. ขยะแลกเงิน คือ ผูพ้ กั อาศัยสามารถนำ�วัสดุเหลือใช้มาขายกับบูธของวงษ์พานิชย์ ซึง่ เป็นบริษทั รับซือ้ ขยะครบวงจร ได้โดยตรง ซึง่ มีผพู้ กั อาศัยนำ�วัสดุเหลือใช้มาขาย และมี 2 รายนำ�รายได้มอบให้นิติฯ

ผู้พักอาศัยนำ�วัสดุเหลือใช้ ได้แก่ แก้ว กระดาษ ขวดพลาสติก กระป๋องอะลูมิเนียม มาร่วมคัดแยกที่ถังคัดแยกขยะรีไซเคิลบริเวณงาน (รายได้จากการขาย นำ�ไปสนับสนุนกิจกรรมของชุมชน)

ประชาสัมพันธ์กิจกรรม ผู้พักอาศัยนำ�วัสดุเหลือใช้มาขายกับวงษ์พาณิชย์

38 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

กิจกรรมคัดแยกขยะ ลดโลกร้อน ทีโ่ ครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ รัตนาธิเบศร์ จัดขึน้ ในวันที่ 23 กันยายน 2555 ที่โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ รัตนาธิเบศร์ ผลของการจัดกิจกรรม 1 วัน สามารถ นำ�ขยะเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลได้และทำ�ให้เกิดคุณค่าทางสิ่งแวดล้อม คือสามารถลดพื้นที่ในการฝังกลบขยะได้ 1,501 ตารางนิ้ว โดยรายได้จากการขายขยะ คณะกรรมการให้นำ�เข้าบัญชีนิติบุคคลฯ

บูธเกมส์คัดแยกขยะในงานส่งมอบชุมชนน่าอยู่ ที่โครงการลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง

มอบชุดรองรับของเสียอันตราย บริ ษั ท ส่ ง มอบชุ ด รองรั บ ของ เสียอันตราย จำ�นวน 2 ชุด ให้ กับสำ�นักงานเขตบางกะปิ เพือ่ ทีท่ างสำ�นักงานเขตฯ จะได้นำ� ไปใช้เป็นตัวอย่างประกอบการ ประชาสัมพันธ์ ให้กับหน่วยงาน หรือองค์กรเอกชนอื่นๆ

2.3 กิจกรรมดูแลและส่งเสริมการศึกษาในชุมชนลุมพินี โครงการพัฒนาห้องสมุดมีชวี ติ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาห้องสมุดในชุมชนลุมพินี ให้เป็นห้องสมุดที่มีชีวิต ส่งเสริมให้เกิดการใช้ห้องสมุดมากขึ้น รวมทั้งส่งเสริมให้ห้องสมุดเป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ทั้งด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยดำ�เนินงาน 2 ด้าน คือ 1) ปรับปรุงห้องสมุดทางด้านกายภาพ โดยปรับปรุงรูปแบบภายในห้องสมุดให้สวยงามดึงดูดให้ผู้พักอาศัยเข้ามาใช้ มากขึ้น ทั้งการเพิ่มมุมสำ�หรับเด็ก มุมคอมพิวเตอร์ที่ลงโปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้จากอุทยานการเรียนรู้ TK Park และเพิม่ หนังสือและการจัดหมวดหมูห่ นังสือ ซึง่ การดำ�เนินการปรับปรุงจะคัดเลือกตามศักยภาพ และลักษณะของพืน้ ที่ เนือ่ งจากแต่ละโครงการมีลกั ษณะ ขนาด และช่วงอายุของประชากรทีพ่ กั อาศัยในโครงการทีแ่ ตกต่างกัน โดยปี 2555 ได้ มีการปรับปรุงใน 5 โครงการ คือ โครงการลุมพินี เพลส รัชโยธิน โครงการลุมพินี เพลส พระราม 4-กล้วยนํา้ ไท โครงการลุมพินี พาร์ค ปิน่ เกล้า โครงการลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา (A, B) และโครงการลุมพินี เพลส พระราม 9รัชดา (C, D)

ห้องสมุดมีชีวิตโครงการลุมพินี เพลส รัชโยธิน

มุมคอมพิวเตอร์โครงการลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

39


รายงานประจำ�ปี 2555

ห้องสมุดมีชีวิตโครงการลุมพินี พาร์ค ปิ่นเกล้า

LPN พัฒนาห้องสมุดในชุมชนลุมพินี ให้เป็นห้องสมุดที่เต็มไปด้วย ชีวิตชีวา เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัวชาวลุมพินีมีกิจกรรมร่วมกัน ทั้งยังช่วยปลูกฝังเรื่องการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข 2) ส่งเสริมการเรียนรู้ เพือ่ กระตุน้ ให้เกิดการใช้หอ้ งสมุด จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และกิจกรรมทีส่ ง่ เสริมการเรียนรู้ อืน่ ๆ รวมถึงเป็นพืน้ ทีพ่ บปะสังสรรค์เสริมสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างผูพ้ กั อาศัย ผ่านกิจกรรม “เปิดโลกห้องสมุด สู่ การเรียนรู”้ ซึง่ ในปี 2555 จัดกิจกรรมขึน้ 11 โครงการ มีรายละเอียดดังนี้ กิจกรรมเปิดตัวห้องสมุดมีชีวิตที่โครงการลุมพินี เพลส รัชโยธิน จัดขึ้นในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2555 ที่โครงการลุมพินี เพลส รัชโยธิน โดยในวันดังกล่าวได้จัดงานเปิดบ้านอิ่มบุญ อุ่นไอรัก พร้อมกับการเปิดตัวห้องสมุดมีชีวิต โดยนายจรัญ เกษร กรรมการผู้จัดการ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด คณะกรรมการเจ้าของร่วม และเจ้าของร่วมกว่า 50 คน ร่วมพิธเี ปิดตัวห้องสมุดอย่างเป็นทางการ มีกิจกรรมสอนทำ�หุ่นมือ และการแสดงละครนิทานหุ่นมือโดยผู้เข้าร่วมกิจกรรม

กิจกรรมในวันเปิดตัวห้องสมุดมีชีวิต เริ่มด้วยกิจกรรมสันทนาการ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ทำ�ความรู้จักกัน หลังจากนั้นได้แบ่งกลุ่มเพื่อประดิษฐ์หุ่นถุงเท้า เพื่อออกมาแสดง “ละครนิทานหุ่นมือ”

กิจกรรมละครนิทานแสงเงา และประดิษฐ์ของเล่นหุ่นเงาจากแกนกระดาษทิชชู จัดใน 2 โครงการ คือ พี.เอส.ที. ซิตี้โฮม และลุมพินี เพลส รัชโยธิน

40 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

กิจกรรม Rally หนอนหนังสือ ที่โครงการลุมพินี สุขุมวิท 77

กิจกรรมมหัศจรรย์สีสันจากธรรมชาติ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้หลักการทางวิทยาศาสตร์ และศิลปะ สอนให้เด็กๆ ได้เรียนรูก้ ารทำ�สีจากพืชผักต่างๆ เช่น สีมว่ งจากดอกอัญชัน สีเขียวจากใบเตย สีสม้ จากแครอท สีมว่ ง จากกะหลา่ํ ปลี เป็นต้น เรียนรูห้ ลักการเปลี่ยนแปลงความเป็น กรด-ด่าง (pH) ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสีได้ จากนั้น นำ�สีไปต่อยอดด้วยกิจกรรมศิลปะ คือการนำ�สีไปผสมกับแป้ง และดินสอพองใช้วาดภาพ ซึง่ เด็กๆ ได้เรียนรูห้ ลักการเรื่องแม่สี สามารถผสมสีได้ด้วยตนเอง แล้วนำ�กลับไปวาดภาพ แล้วนำ� กลับบ้านเป็นของที่ระลึก กิจกรรมไขความลับมหัศจรรย์ธรรมชาติ เป็นกิจกรรมที่เด็กๆ ได้ใช้ประสาทสัมผัสด้านต่างๆ เพื่อคาดคะเนหรือตั้งสมมุติฐานว่ามีอะไรอยู่ในกล่องปริศนา และ ออกไปค้นหาส่วนต่างๆ ของวัตถุที่อยู่ในกล่อง โดยเด็กๆ จะต้องใช้ข้อมูลที่ได้จากการใช้ประสาทสัมผัสในฐานที่ผ่าน มาเป็นตัวช่วยในการตามหาชิน้ ส่วนของคำ�ตอบ ซึง่ ชิน้ ส่วนทีต่ อ้ งตามหาประกอบด้วย 3 ส่วนคือ เปลือก เม็ด และส่วน อืน่ ๆ ของพืช ได้แก่ เปลือกข้าวโพด เปลือกกล้วย เปลือกส้ม เป็นต้น หลังจากนัน้ จะให้ความรูเ้ รือ่ งการเจริญเติบโต ของข้าวโพดตามช่วงระยะเวลาต่างๆ ประโยชน์ของข้าวโพด เช่น การนำ�ไปประกอบเป็นอาหารนานาชนิด และ สรรพคุณของข้าวโพด และมีการสาธิตการทำ�ข้าวโพดคลุกเนยเพือ่ เป็นของว่างยามบ่าย ทั้งกิจกรรมมหัศจรรย์สีสันจากธรรมชาติและกิจกรรมไขความลับมหัศจรรย์ธรรมชาติจัดขึ้นใน 4 โครงการ คือ โครงการลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 44 โครงการลุมพินี สุขุมวิท 77 โครงการลุมพินี เพลส วอเตอร์คลิฟ และโครงการ ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจ้าพระยา 2.4 กิจกรรมดูแลและช่วยเหลือชุมชนข้างเคียงและชุมชนอืน่ ๆ สร้างมุมสันทนาการเด็กให้กับสำ�นักงานเขตห้วยขวาง บริษทั สนับสนุนงบประมาณและสร้างมุมสันทนาการเด็ก ที่สำ�นักงานเขตห้วยขวาง เพื่อมีพื้นที่สันทนาการและอ่านหนังสือสำ�หรับเด็กๆ ที่ผู้ปกครองมาติดต่องานกับ สำ�นักงานเขต โดยมุมดังกล่าวตัง้ อยู่ในบริเวณพืน้ ทีช่ น้ั 1 ของอาคารสำ�นักงาน ซึ่ง แต่ละวันมีผู้มาใช้บริการสำ�นักงานเขตจำ�นวนมาก โครงการมอบอาหารสมอง ปลอบขวัญน้องผู้ประสบอุทกภัย บริษัทสนับสนุนเงินบริจาคจำ�นวน 200,000 บาท แก่โครงการ “มอบอาหารสมอง ปลอบขวัญน้องผู้ประสบอุทกภัย” ซึ่งเป็นโครงการร่วมกับมูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก บริษัท แปลน ฟอร์ คิดส์ จำ�กัด สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส สำ�นักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน บริษัท สตาร์บัคส์ คอฟฟี่ จำ�กัด และบริษัท ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน) เพื่อ จัดซื้อหนังสือให้กับโรงเรียนที่ได้รับผลกระทบจากนํ้าท่วม ทั้งหมด 40 โรงเรียน เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2555 โดยนาย จรัญ เกษร กรรมการผู้จัดการ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด เป็นตัวแทนส่งมอบให้กับโรงเรียน ต่างๆ ที่อุทยานการเรียนรู้ TK Park ชั้น 8 ศูนย์การค้าเซ็นทรัล เวิลด์

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

41


รายงานประจำ�ปี 2555

โครงการมอบเครื่องใช้สำ�นักงานให้กับโรงเรียนภักดีวิทยา บริษทั มอบเครือ่ งใช้ส�ำ นักงานแก่โรงเรียนภักดีวทิ ยา ซึง่ ตัง้ อยูต่ ดิ กับโครงการลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 77 (2) โดย นายสมพงษ์ ขวัญอำ�ไพพันธุ์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ เป็นตัวแทนส่งมอบเครื่องใช้สำ�นักงานต่างๆ ได้แก่ โต๊ะทำ�งาน เก้าอี้ ตู้เอกสาร โซฟา เครื่องปรับอากาศ แทนของเดิมที่ค่อนข้างทรุดโทรม รวมถึงหนังสือ สำ�หรับห้องสมุดของโรงเรียน พร้อมเยี่ยมชมโรงเรียน โดยมีอาจารย์พรรณทิพย์ วัชโรทยาน ผู้อำ�นวยการโรงเรียน เป็นผู้รับมอบ 2.5 กิจกรรมด้านแรงงาน นอกจากการให้ความสำ�คัญต่อความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมแล้วนัน้ บริษทั ยังให้ความสำ�คัญต่อความรับผิดชอบต่อสังคมใน ด้านแรงงานทัง้ ทางตรงและทางอ้อม รวมทัง้ ด้านการดำ�เนินกิจการอย่างเป็นธรรม โดยผ่านบริษทั ในเครือและกลุม่ พันธมิตรที่ ให้บริการกับบริษัท โดยเฉพาะงานก่อสร้างอาคาร งานให้บริการด้านความปลอดภัย เป็นต้น ซึ่งบริษัทได้กำ�หนดนโยบาย ในการดำ�เนินงานไว้ ดังนี้ ด้านแรงงานทางตรง อันเนื่องจากบริษัทในเครือ คือ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ได้ดำ�เนินธุรกิจด้านการให้บริการ รักษาความสะอาดภายในโครงการที่บริษัทรับบริหารจัดการชุมชน จึงได้แบ่งกลุม่ พนักงานของบริษทั และบริษัทในเครือ ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 พนักงานประจำ� บริษัทให้ความสำ�คัญกับการบริหารบุคลากรและได้กำ�หนดไว้ในพันธกิจและแผนภูมิกลยุทธ์ โดยตั้งเป้าหมายที่จะ พัฒนาให้เป็นองค์กรคุณภาพ กลุ่มที่ 2 พนักงานรายวัน โดยส่วนใหญ่จะเป็นพนักงานหญิงที่มาหางานรับจ้างในกรุงเทพมหานคร ไม่มีโอกาสที่จะแข่งขันในตลาดแรงงาน เนื่องจากขาดความรู้และทักษะ บริษัทจึงกำ�หนดให้บริษัทในเครือดำ�เนินธุรกิจเสริมด้านบริการความสะอาดในชุมชน ที่รับบริหารจัดการ โดยว่าจ้างแรงงานหญิงที่ถูกเอาเปรียบด้านแรงงานให้เข้าทำ�งานกับบริษัทในเครือ พร้อมฝึก อบรมให้ได้รับความรู้และทักษะ ทั้งด้านการงาน การดำ�รงชีพ และแนวคิดในการดำ�เนินชีวิตให้กับพนักงานกลุ่ม นี้ ซึ่งปัจจุบันมีจำ�นวนกว่า 800 คน และนโยบายสำ�คัญที่ทางบริษัทกำ�หนดให้เป็นแนวทางของการบริหารธุรกิจนี้ คือ ให้นำ�เอาผลกำ�ไรจากการดำ�เนินงานมอบคืนให้กับพนักงานรายวันทั้งหมดในรูปแบบของค่าแรง (สูงกว่าค่าแรงขั้นตํ่า 10%) รวมถึงสวัสดิการ การศึกษาเพิม่ เติม ไม่วา่ จะเป็นของพนักงานหรือของบุตรหลานทีม่ ปี ญั หาด้านค่าใช้จ่าย พร้อม สนับสนุนให้ครอบครัวของพนักงานเหล่านี้มีคุณภาพชีวิตและอนาคตที่ดีต่อไป ด้านแรงงานทางอ้อม ผลิตภัณฑ์ของบริษัทเป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องว่าจ้างกลุ่มบริษัทภายนอก (ผู้รับเหมาก่อสร้าง) เป็นผู้ดำ�เนินการก่อสร้าง อาคารที่บริษัทได้พัฒนาขึน้ ซึง่ กลุม่ บริษทั ดังกล่าว หากดำ�เนินธุรกิจร่วมกับบริษทั มาเป็นระยะเวลานานจนพัฒนาความ สัมพันธ์เป็นรูปแบบของ “ปิยมิตร” (พันธมิตรที่มีความสัมพันธ์อันยาวนานและผ่านช่วงวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 ร่วมกัน) บริษัทจึงสามารถกำ�หนดแนวทางการบริหารงานก่อสร้าง รวมถึงการฝึกอบรมคนงานให้กับบริษัทปิยมิตรได้ อย่างเต็มที่ ทั้งกำ�หนดการบริหารแรงงานให้เป็นไปตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะการเพิ่มคุณภาพชีวิตของ คนงาน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสุขภาพ สวัสดิการ ความปลอดภัยในการทำ�งาน สภาพแวดล้อมของบริเวณก่อสร้าง อีกทั้ง ยังเข้าไปดูแลสภาพแวดล้อมของบ้านพักคนงาน กำ�หนดระเบียบวินัยของคนงาน โดยเฉพาะเรื่องการหลีกเลี่ยงการ พนันและยาเสพติด

42 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ด้านดำ�เนินกิจการอย่างเป็นธรรม การดูแลส่วนที่เกี่ยวข้องและมีสว่ นได้สว่ นเสียของบริษทั อย่างสมดุลและเป็นธรรมนัน้ กลยุทธ์หลักของบริษทั ไม่ว่าจะเป็น วิสัยทัศน์ พันธกิจ หรือแผนภูมิกลยุทธ์หลัก ได้พัฒนาจากแนวทาง Balance Scorecard ซึ่งเป็นแนวทางที่สร้าง ความสมดุลและเป็นธรรมของผลประโยชน์และผลตอบแทนกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดังนี้ ผลตอบแทนต่อลูกค้า บริษัทได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ในราคาที่ลูกค้าสามารถเป็นเจ้าของได้ (Affordable Price) โดยเฉพาะลูกค้าในกลุ่มรายได้ ระดับกลางถึงกลาง-ล่าง และยังมีแผนกลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับลูกค้าที่พักอาศัยในชุมชน ผลตอบแทนต่อบริษัทคู่ค้า บริษัทได้ดำ�เนินธุรกิจกับบริษัทคู่ค้า (พันธมิตร) มายาวนาน โดยเฉพาะกลุ่มบริษัทที่ผ่านช่วงวิกฤติเศรษฐกิจมาด้วยกัน จนพัฒนาเป็นปิยมิตรที่เปรียบเสมือนหนึ่งเป็นองค์กรในเครือที่มีการพัฒนาและเติบโตไปพร้อมกัน และกำ�หนดผล ตอบแทนให้อยู่ในแนวทาง Win Win ผลตอบแทนต่อพนักงาน บริษัทได้ให้ความสำ�คัญต่อการบริหารบุคลากร ไม่ว่าจะเป็นการบริหารและพัฒนา โดยกำ�หนดให้เป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้ ความก้าวหน้าในการงาน ซึง่ ผูบ้ ริหารระดับสูงส่วนใหญ่จะมาจากบุคลากรภายในทีเ่ ติบโตมาจากผูบ้ ริหารระดับ กลาง อีกทัง้ ยังให้ความสำ�คัญต่อการสร้างความสมดุลของชีวติ และการทำ�งาน (Work-Life Balance) สำ�หรับค่าตอบแทน ของพนักงานได้กำ�หนดนโยบายผลตอบแทนปลายปี (โบนัส) ของพนักงาน เป็นสัดส่วนต่อยอดขายขององค์กร ซึ่ง เป็นการกระตุ้นให้พนักงานทุกคนมีส่วนร่วมและรับผิดชอบในผลประกอบการขององค์กร

3. กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมและอยู่ร่วมกัน 3.1 กิจกรรมวันผูบ้ ริจาคโลหิตโลก 2555 บริษัทสนับสนุนการจัดกิจกรรมวันผู้บริจาคโลหิตโลก 2555 (World Blood Donor Day 2012) ที่ศูนย์บริการโลหิตแห่ง ชาติร่วมกับคณะกรรมการจัดหาและส่งเสริมผู้ให้โลหิตแห่ง สภากาชาดไทยจัดขึ้น เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2555 โดยจัด ทำ�เสื้อยืด เพื่อมอบให้กับผู้บริจาคโลหิต โดยกิจกรรมดังกล่าว มีวตั ถุประสงค์เพื่อขอบคุณผู้บริจาคโลหิต ซึง่ ในงานมีกจิ กรรม นางสาวสมศรี เตชะไกรศรี เป็นตัวแทนรับมอบประกาศเกียรติคุณ บริจาคโลหิต ดวงตา อวัยวะ การแสดงของศิลปินดารา ผู้สนับสนุนการจัดกิจกรรมวันผู้บริจาคโลหิตโลก 2555 จากแพทย์หญิงสร้อยสอางค์ พิกุลสด และการมอบเสื้อยืดที่มีคำ�ขวัญวันผู้บริจาคโลหิตโลกให้กับ ผู อ ้ � ำ นวยการศู นย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ผู้บริจาคโลหิต 3.2 กิจกรรมรับบริจาคปฏิทนิ ตัง้ โต๊ะ (เก่า) ปี 2 บริษัทร่วมกับ บริษัท เบรนน์แท็ก อินกรี-เดียส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) จัดกิจกรรมรับบริจาคปฏิทินเก่าตั้งโต๊ะ เพื่อมอบให้กับมูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์ เพื่อนำ�ไปทำ�เป็นบัตรคำ�อักษรเบรลล์ สื่อ การเรียนการสอนให้กับบ้านเด็กตาบอดพิการซํ้าซ้อนพญาไท โดยขยายการรับบริจาคไปยังพนักงานที่ทำ�งาน ในอาคาร ลุมพินี ทาวเวอร์ และได้ผลตอบรับอย่างดี 3.3 กิจกรรม Earth Hour 2012 บริษทั มอบเงินจำ�นวน 250,000 บาท แก่กองทุนสัตว์ปา่ โลกสากล สำ�นักงานประเทศไทย (WWF Thailand) เพือ่ สนับสนุน กิจกรรม Earth Hour 2012 ซึง่ กรุงเทพมหานครเป็นเจ้าภาพหลัก โดยนายสรรค์ สุขขุ าวดี ทีป่ รึกษาอาวุโส ร่วมงานแถลง ข่าวกิจกรรม “ปิดไฟ 1 ชัว่ โมง เพือ่ ลดโลกร้อน” ในวันที่ 14 มีนาคม 2555 ณ ศูนย์สรรพสินค้าเซ็นทรัล เวิลด์ โดยมีนายวัลลภ สุวรรณดี รองผูว้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานในงาน

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

43


รายงานประจำ�ปี 2555

3.4 กิจกรรมรณรงค์ปดิ ไฟ 1 ชัว่ โมง เพือ่ ลดโลกร้อน (Earth Hour 2012) บริษัทรณรงค์เชิญชวนผู้พักอาศัยในโครงการร่วมแสดง พลังเพือ่ แก้ไขภาวะโลกร้อน ด้วยการปิดไฟดวงที่ไม่จำ�เป็น เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ภายใต้แคมเปญ “ปิดไฟให้โลกได้พัก สักงีบ” เมือ่ วันที่ 31 มีนาคม 2555 เวลา 20.30 - 21.30 น. พร้อมกับอีก 135 ประเทศทั่วโลก โดยสมาชิกครอบครัว ลุมพินี เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวกว่า 70 โครงการ ทำ�ให้ลด การใช้ไฟฟ้าได้ถงึ 4,688 กิโลวัตต์ คิดเป็นเงิน 16,408 บาท 3.5 กิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมการสร้างอาชีพ กิจกรรมเสือ้ เก่าแปลงร่าง เป็นกิจกรรมทีน่ �ำ เสือ้ ผ้าเก่าที่ไม่ใช้แล้ว มาทำ�เป็นกระเป๋าผ้า เพือ่ เป็นการลดปริมาณขยะโดยการนำ�เสือ้ เก่ากลับมาใช้ ใหม่ให้เกิดประโยชน์ (Reuse) ซึง่ ได้จดั กิจกรรมใน 3 โครงการ คือ โครงการลุมพินี พาร์ค ปิน่ เกล้า โครงการลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา และโครงการลุมพินี วิลล์ ลาดพร้าว–โชคชัย 4 มีคณะกรรมการ และเจ้าของร่วมให้ความสนใจ เข้าร่วมโครงการเป็นอย่างดี

กิจกรรมฝึกอาชีพ (สอนเพ้นท์เล็บ กระเป๋าผ้า งานประดิษฐ์) จัดกิจกรรม ใน 2 โครงการ คือ โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทรเดชา-รามคำ�แหง และโครงการลุมพินี เพลส พระราม 4-กล้วยนา้ํ ไท ได้รบั ความสนใจจากเจ้าของร่วมเป็นอย่างมาก

3.6 กิจกรรมทีร่ ว่ มกับชุมชน “ลุมพิน”ี นอกจากการส่งมอบบ้านที่มีคุณภาพให้แก่ผู้อยู่อาศัย บริษัทยังให้ความสำ�คัญกับการส่งมอบคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่สมาชิก ชุมชน “ลุมพินี” ตามพันธกิจที่ต้องการสร้างสรรค์ พร้อมส่งมอบคุณค่าของสินค้าและบริการ อันก่อให้เกิดชุมชนคุณภาพ ภายใต้วัฒนธรรม “ห่วงใยและแบ่งปัน” เพื่อนำ�ไปสู่ “ชุมชนน่าอยู่” โดยผ่านกิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นซึ่งประกอบด้วย 1. กิจกรรมหลัก ได้แก่ การจัดประชุมใหญ่สามัญเจ้าของร่วมประจำ�ปี การจัดกิจกรรมซ้อมหนีไฟ รวมทั้งการรณรงค์ให้ สมาชิกร่วมเป็นอาสาสมัครชุมชนในโครงการ Fire Team เป็นต้น 2. กิจกรรมสานสัมพันธ์ ได้แก่ การจัดกิจกรรมให้ผู้ที่เข้าอยู่อาศัยใหม่ได้ทำ�ความรู้จักกัน ร่วมพูดคุย ให้ข้อแนะนำ�หรือข้อ เสนอแนะสำ�หรับการอยู่อาศัย การจัดปาร์ตี้ในสวน งานปีใหม่ รวมทั้งกิจกรรมนอกสถานที่ เช่น ท่องเที่ยวเพื่อสร้างความ สุขและความสัมพันธ์อันดี 3. กิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ดีของสมาชิก ได้แก่ การจัดมหกรรมกีฬาประชาคมลุมพินี ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดต่อเนื่อง มาตั้งแต่ปี 2553 กิจกรรมเดิน-วิ่งเฉลิมพระเกียรติ ในวาระต่างๆ การจัดกิจกรรมแข่งขันกีฬาภายในชุมชนและกิจกรรม ออกกำ�ลังกายประเภทต่างๆ เช่น แอโรบิค โยคะ เป็นต้น

44 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

4. กิจกรรมด้านวัฒนธรรม ได้แก่ การจัดงานในเทศกาลต่างๆ เช่น วันขึน้ ปีใหม่ วันสงกรานต์ วันครอบครัว วันลอยกระทง การจัดทำ�บุญประจำ�ปีและทำ�บุญวันพระ เพื่อร่วมสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมอันดีของไทยและความ เป็นสิริมงคลแก่ผู้อยู่อาศัย นอกจากนี้ บริษัทยังจัดให้มีธรรมะเดลิเวอรี่ ในหัวข้อ “ชุมชนน่าอยู่ คนในชุมชนควรปฏิบัติ อย่างไร” เพื่อส่งเสริมการอยู่อาศัยที่ดีร่วมกัน

5. กิจกรรมเพื่อการแบ่งปัน เช่น การร่วมบริจาคเงินและสิ่งของเพื่อช่วยเหลือชุมชนและประชาชนที่ขาดแคลน เพื่อมอบ แก่มูลนิธิและการกุศลต่างๆ รวมทั้งการรณรงค์ให้สมาชิกโครงการร่วมบริจาคโลหิตอย่างต่อเนื่องทุก 3 เดือน นอกจากนั้น สมาชิกในโครงการยังได้รวมตัวกันจัดตั้งชมรมเพื่อทำ�กิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยปัจจุบันมีทั้งสิ้น 5 ชมรม และ 1 กลุ่ม ได้แก่ ชมรม “ชุมชนน่าอยู่ ลุมพินีสัมพันธ์” ชมรม “รวมพลคนใจดี ลุมพินีอาสา” ชมรม “ลุมพินี ฅนอาสา บดินทรเดชา-รามคำ�แหง” ชมรม “ลุมพินี เดิน-วิง่ เพือ่ สุขภาพ” ชมรม “ปันนํา้ ใจ ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-นวมินทร์” และกลุ่ม Dream Team Lumpini ซึ่งได้ดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ตลอดปี 2555 ที่ผ่านมา ได้แก่

สรุปกิจกรรมชมรมลุมพินีอาสา 2555 ลำ�ดับ

ชมรม

วันที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

ชุมชนน่าอยู่ ลุมพินสี มั พันธ์

18 มี.ค. 55 7 ก.ค. 55 7 ต.ค. 55 ลุมพินี ฅนอาสา บดินทรเดชา-รามคำ�แหง 26 ก.พ. 55 1 ก.ค. 55 3 พ.ย. 55 รวมพลคนใจดี ลุมพินอี าสา 18 ก.พ. 55 17 พ.ย. 55 ลุมพินี เดิน-วิง่ เพือ่ สุขภาพ 12 ก.พ. 55 12 ส.ค. 55 ปันนา้ํ ใจ ลุมพินี คอนโดทาวน์ 23 ส.ค. 55 รามอินทรา-นวมินทร์ 14 ก.ค. 55 Dream Team Lumpini 26 พ.ค. 55 13 ต.ค. 55 กิจกรรมทีท่ �ำ ร่วมกัน 14 ก.ค. 55 28 ต.ค. 55

รวมผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น

กิจกรรม ช่วยเหลือเด็กกำ�พร้าและผูพ้ กิ าร รักษ์โลกปลูกป่าชายเลน รักษ์นา้ํ รักษ์ปา่ รักษ์แผ่นดิน อาสาคืนโรงเรียนให้นอ้ ง ปลูกป่าชายเลน รักษ์เต่า รักทะเลไทย ปันนา้ํ ใจให้รว้ั ของชาติ ปล่อยหอยตลับ...กลับสูท่ ะเล เดิน - วิง่ กรุงเทพมาราธอน เดิน - วิง่ วันแม่แห่งชาติ ปันนา้ํ ใจให้นอ้ งๆ ประชาบดี กฐินสามัคคี พิษณุโลก สร้างฝัน ปันสุข แด่นอ้ งๆ รวมใจ รวมฝัน ร่วมกันบูรณะวัด จากห้องคุณ สูห่ อ้ งน้อง ทำ�บุญปล่อยปลา ปลูกป่า รักษ์โลก

จำ�นวนผู้เข้าร่วม (คน) 145 178 178 67 82 149 51 88 120 200 40 45 90 122 12 241

1,808

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

45


รายงานประจำ�ปี 2555

การจัดกิจกรรมชุมชน 2555 ประเภทของกิจกรรม การแบ่งปัน

รวมจำ�นวน 72 (โครงการ) รวมจำ�นวน 72 (ครัง้ )

สัมพันธภาพ

เพื่อสิ่งแวดล้อม แยกขยะ / ลดพลังงาน วันสำ�คัญ บริจาคสิ่งของ บริจาคโลหิต ชมรมลุมพินีอาสา ท่องเที่ยว บันเทิง Party ตลาดนัดชุมชน ศิลปะ งานประดิษฐ์ สุขภาพ และกีฬา แอโรบิค และโยคะ รวม รวม (แอโรบิค และ โยคะ)

Coffee Corner วัฒนธรรม / ศาสนา ธรรมะเดลิเวอร์รี่

ซ้อมหนีไฟ ทำ�บุญอาคาร

ประชุมใหญ่

การมีส่วนร่วม

72

46

9

72

3

13

11

19

72

28

72

19

62

63

72

7

14

72

72

47

43

9

152

3

11

4

15

82

13

16

13

34

32

54

4

72

667 765

องค์กรธุรกิจเพือ่ สังคม (Social Enterprise) ปัจจุบัน ปัญหาการกดขี่ทางแรงงาน โดยเฉพาะแรงงานสตรียังเป็นปัญหาที่ภาครัฐและเอกชนจำ�เป็นต้องร่วมกันรับผิดชอบ ในการแก้ไขปัญหาการกดขี่ทางแรงงานโดยเฉพาะแรงงานสตรีด้อยโอกาส ซึ่งเกิดจากการขาดการศึกษา ไม่สามารถอ่าน ออกเขียนได้ จึงเป็นช่องทางให้ผู้ประกอบการบางรายเอารัดเอาเปรียบค่าจ้างแรงงาน หรือบางรายมีปัญหาทางครอบครัว ถูกสามีทอดทิ้งและต้องรับผิดชอบดูแลบุตร จึงไม่มีทางเลือก ต้องทำ�งานในองค์กรที่เอาเปรียบและกดขี่แรงงาน ทำ�ให้สภาพ ครอบครัวมีปัญหา ทั้งการพนัน ยาเสพติด ซึ่งเป็นปัญหาทางสังคมมาโดยตลอด บริษัทประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งเป็นธุรกิจที่ต้องอาศัยธุรกิจที่เกี่ยวข้องหลายด้าน โดยเฉพาะธุรกิจบริการ จึงได้ จัดตั้งหน่วยงานบริการรักษาความสะอาดให้กับชุมชนที่บริษัทบริหารขึ้น ซึ่งมีแนวทางที่เปิดโอกาสให้สตรีด้อยโอกาสใน สังคมมาอบรมวิชาชีพ โดยมุ่งเน้นวิชาชีพบริการทำ�ความสะอาด และจัดสรรงานทำ�ความสะอาดในชุมชน “ลุมพินี” ทั้งหมด ให้กับพนักงาน รวมทั้งการมุ่งเน้นทางด้านการเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับสตรีด้อยโอกาสและครอบครัว ให้สามารถดำ�รงชีวิตอยู่ ในสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรีและมีความสุข โดยปฏิบัติต่อพนักงานในสายงานนี้เทียบเท่ากับพนักงานของบริษัทในสายงานอื่นๆ และจ่ายค่าแรงสูงกว่าค่าแรงขั้นตํ่า 10% มีสวัสดิการและโบนัส รวมทั้งมีการส่งเสริมให้ได้รับโอกาสทางการศึกษา ทั้งของ ตัวเองและบุตรหลาน ด้วยงบประมาณของบริษัทอีกด้วย ปัจจุบันมีพนักงานในสายงานกว่า 800 คน ซึ่งทางบริษัทตั้ง KPI สำ�หรับสายงานนี้ส่วนหนึ่งเป็นดัชนีตัวชี้วัดที่มุ่งเป้าไปที่การ บริหารความสุขของพนักงาน ซึ่งประสบความสำ�เร็จอย่างสูงมากจากการสำ�รวจความพึงพอใจของงานบริการความสะอาด ของชุมชน และการยกระดับคุณภาพชีวิตและความสุขของพนักงานเอง บริษทั ได้ศกึ ษาแนวคิด “องค์กรธุรกิจเพือ่ สังคม (Social Enterprise)” เพือ่ ต่อยอดแนวทางของการดำ�เนินงานของสายงานนี้ และได้รบั นโยบายจาก คณะกรรมการ ให้ดำ�เนินงานปรับสถานะของสายงานให้เป็นบริษัท จึงได้ จัดตั้ง บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด ขึ้นใน ปี 2554 เพื่อแยกการบริหารและพร้อมที่จะรองรับเป้าหมายสู่การเป็น องค์กรธุรกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) ซึ่งจะต่อยอดการอบรมและ ขยายงานด้านบริการเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างผลตอบแทนเชิงผลประกอบการ และเชิงคุณภาพชีวิตที่ดีของพนักงาน และสามารถนำ�ผลกำ�ไรคืนให้กับ สังคมในรูปแบบที่กำ�หนดในอนาคต

46 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

บทที่ 3 ชุมชนน่าอยู่ ความสุขของการอยู่อาศัย สร้างสรรค์และส่งมอบคุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการ เพิ่มพูนความสุขในการอยู่อาศัย ภายใต้วัฒนธรรม “ห่วงใยและแบ่งปัน”

บ้านหลังใหญ่ หัวใจเดียวกัน WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

47


รายงานประจำ�ปี 2555

พัฒนาการคอนโดมิเนียม แบรนด์ และชุมชนน่าอยู่

จุดเริม่ ต้นของ City Condo แบรนด์ “ลุมพินี เพลส” ได้รบั การยอมรับอย่างกว้างขวางด้าน ทีอ่ ยูอ่ าศัยในเมืองทีม่ คี ณุ ภาพ

จุดเริ่มต้นของ “LPN” มาจากโครงการ ”ลุมพินี ทาวเวอร์” บนถนนพระราม 4

พัฒนา “ลุมพินี เซ็นเตอร์” สำ�หรับกลุ่มเป้าหมาย ระดับกลาง-ล่าง

เพิ่มศักยภาพ ในการพัฒนา

เปิดกรอบการพัฒนา จากคอนโดสู่ชุมชนเมือง ขนาดย่อม

ทัง้ ยังพัฒนา “ลุมพินี วิลล์” ให้เป็นแบรนด์ สำ�หรับ กลุม่ เป้าหมายระดับกลาง และ “ลุมพินี สวีท” เพือ่ กลุม่ เป้าหมายระดับกลาง-บน

5 โครงการ

7 โครงการ

18 โครงการ

25 โครงการ

32 โครงการ

2532-2539

2540-2542

2543-2546

2547

2548

1,800 ยูนิต

2,900 ยูนิต

7,000 ยูนิต

จุดเริ่มต้นของ “LPN”

ช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ ปี 2540 ริเริ่มซิตี้คอนโด และมุ่งเน้นพัฒนาอาคาร LPN เข้าสูก่ ระบวนการ ชุดพักอาศัยเป็นหลัก ปรับโครงสร้างหนี้ หากแต่คงพัฒนาโครงการ อย่างต่อเนือ่ ง

ช่วงเริ่มแรกของการดำ�เนิน งาน การพัฒนา โครงการ ของบริษัทเป็นไปในหลาก หลายผลิตภัณฑ์ ทัง้ อาคารชุด สำ�นักงาน อาคารชุดพัก อาศัย ทาวน์เฮ้าส์ และมินิ ออฟฟิศ นอกจากนี้ ยังได้ ก่อตั้งบริษัท ลุมพินี พรอพ เพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ขึ้นในปี 2535 เพื่อให้บริการ หลังการส่งมอบโดยคำ�นึงถึง ความเป็นอยู่ของผู้พักอาศัย ในโครงการ ความสำ�เร็จจาก การพัฒนาโครงการนำ�ไปสู่ การจดทะเบียนเข้าตลาด หลักทรัพย์ ในปี 2537 และ ช่วงเริ่มแรกนี้ บริษัทยังไม่ ให้ความสำ�คัญกับการสร้าง แบรนด์

ช่วงวิกฤตเศรษฐกิจครัง้ ใหญ่ ของประเทศ การลอยตัวค่า เงินบาท และการปิดตัวลง ของ 56 สถาบันการเงิน ส่งผลให้บริษัท มีภาระหนี้ กว่า 3 พันล้านบาท และ จำ�เป็นต้องเข้าสู่กระบวนการ ปรับโครงสร้างหนี้ครั้งใหญ่ กับสถาบันการเงิน อย่างไรก็ตาม LPN ยังคง ดำ�เนินการพัฒนาโครงการ อาคารชุดพักอาศัย และมี กิจกรรมทางการตลาดอย่าง ต่อเนื่อง

มุ่งเน้นพัฒนาเฉพาะอาคารชุดพัก อาศัย เนือ่ งจากเล็งเห็นศักยภาพ และความต้องการของตลาด จึงได้ ริเ่ ริม่ พัฒนาซิตค้ี อนโดความสูงไม่เกิน 9 ชัน้ ซึ่งเน้นการขาย ก่อสร้าง และโอนกรรมสิทธิ์ภายใน 1 ปี โดยเริม่ ทีโ่ ครงการลุมพินี เพลส สาทร เป็นแห่งแรก รวมถึงห้องชุด LPN Design ขนาด 30 และ 60 ตร.ม. ที่ได้รบั การยอมรับด้าน ประโยชน์ใช้สอยสูงสุด (Small Size Full Function) นอกจากนี้ยังร่วมจัดตั้งบริษัท แกรนด์ ยูนติ ้ี ดีเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด เพือ่ พัฒนาอาคารสร้างค้างในช่วง วิกฤตให้เสร็จสมบูรณ์ ลดปัญหา อาคารสร้างค้างในกรุงเทพมหานคร และสร้างสถิตปิ ดิ การขาย “ลุมพินี สวีท สุขมุ วิท 41” หมดภายใน 3 ชั่วโมง

48 HERE IS HOME, HERE IS LPN

9,200 ยูนิต

11,700 ยูนิต

กลับมา พัฒนาอาคารสูงอีกครั้ง (Medium Rise Condominium)

พัฒนาชุมชนเมืองขนาดย่อม (Small Size Township) สำ�หรับกลุ่มเป้าหมายกลาง-ล่าง และริเริ่มกลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” ที่มุ่งเน้นการดูแลคุณภาพชีวิต ของผู้พักอาศัยในโครงการ

กลับมาพัฒนาโครงการในความสูง ประมาณ 20 ชั้น โดยยังคงจุดแข็ง ในเรื่องความเร็ว (Speed) ในการ พัฒนาโครงการให้แล้วเสร็จ ภายใน 1 ปี และการดูแลบริหารอาคาร ภายหลังการส่งมอบด้วยกลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่”

ด้วยความเชื่อมั่นของตลาด จึงริเริ่มการพัฒนาโครงการทีม่ ี ขนาดใหญ่ขน้ึ เป็น 5 เท่าของ ซิตี้คอนโด ซึ่งพรั่งพร้อมด้วย สิ่งอำ�นวยความสะดวกที่จำ�เป็น สำ�หรับการใช้ชีวิตในเมือง ในรูปแบบ “ชุมชนเมืองขนาดย่อม” ภายใต้การบริหารแบบครบวงจร โดยมีลุมพินี วิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม เป็นโครงการนำ�ร่อง และการให้ ความสำ�คัญกับการบริหารจัดการ ชุมชนที่มีขนาดใหญ่เป็นพิเศษ


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

สือ่ สารแบรนด์ ภายใต้แคมเปญแรก “Happiness of Togetherness” และเคมเปญทีส่ อง “Happiness of Caring & Sharing” อย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ภายในองค์กร ชุมชน ทีบ่ ริษทั พัฒนาขึน้ และ สาธารณะ เพือ่ สร้างการรับรู้ และตอกยํา้ ความแข็งแกร่งของ แบรนด์ “ลุมพิน”ี ทีแ่ ตกต่าง และให้ความสำ�คัญกับการสร้าง คุณภาพชีวติ ทีด่ ี ทัง้ ยังพัฒนา แบรนด์ “ลุมพินี พาร์ค” เพือ่ สังคมคุณภาพ

ขยายทำ�เลการพัฒนา ไปสู่ต่างจังหวัด ได้แก่ พัทยา และชลบุรี และพัฒนา แบรนด์ใหม่ “ลุมพินี พาร์คบีช” และ “ลุมพินี เมกะซิตี้” ตามวิสัยทัศน์ของบริษัทในการ พัฒนาที่อยู่อาศัยในเมือง เพื่อส่งมอบคุณค่าของ ผลิตภัณฑ์และบริการ สู่ผู้พักอาศัย

ต่อยอด Small Size Township สู่การพัฒนาแบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” เพื่อรองรับความต้องการ บ้านหลังแรกของคนเมือง

ค้นหาตัวตนและวางแผนสื่อสาร แบรนด์ อย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น นอกจากนี้ยังได้ปรับเปลี่ยน ตราสัญลักษณ์องค์กร ตราสัญลักษณ์ชุมชนน่าอยู่ และกลุ่มผลิตภัณฑ์ทั้งหมด และ มีแผนสื่อสารแบรนด์อย่างต่อเนื่อง

36 โครงการ

44 โครงการ

61 โครงการ

79 โครงการ

2549

2550-2551

2552-2553

2554-2555

16,000 ยูนิต

27,000 ยูนิต

40,000 ยูนิต

57,000 ยูนิต

การพัฒนาแบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” เพื่อตอบสนองความต้องการ ที่อยู่อาศัยของคนเมือง

ค้นหาตัวตนของแบรนด์ “ลุมพินี” เพื่อกำ�หนดกลยุทธ์และ พัฒนาแบรนด์ให้อยู่ในใจคนเมือง ที่พร้อมเติบโตอย่างมั่นคง ยั่งยืน

พัฒนาแบรนด์ “ลุมพินี พาร์ค” เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี และ “ชุมชนน่าอยู่” ของ คนเมืองด้วย “สวนรวมใจ”

พัฒนาแบรนด์ “ลุมพินี พาร์คบีช” เพื่อ แนะนำ�คุณภาพชีวิตที่ดีแด่คนพัทยา และแบรนด์ “ลุมพินี เมกะซิตี้” ที่เจาะกลุ่มเป้าหมายคนทำ�งาน พร้อม นำ�แบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” ขยายชุมชนน่าอยู่ไปสู่เมืองชลบุรี

พัฒนาแบรนด์ใหม่ “ลุมพินี คอนโด ทาวน์” เพื่อรองรับความต้องการที่อยู่ อาศัยของกลุ่มเป้าหมายระดับกลางล่าง ที่มีขนาดใหญ่ โดยแบรนด์ดังกล่าว ถือเป็นเรือธงในการพัฒนาโครงการ ขนาดใหญ่ของบริษัทมาจนถึงปัจจุบัน ทั้งยังเพิ่มความเข้มข้นของการพัฒนา “ชุมชนน่าอยู่” เพื่อกลุ่มเป้าหมายดัง กล่าว

บริษัทได้วิเคราะห์และศึกษาความ เป็นตัวตนของแบรนด์ โดยกำ�หนด เป้าหมายการรับรู้ถึงแก่นแท้และตัวตน ของแบรนด์อย่างชัดเจน รวมทั้งศึกษาการสื่อความหมาย และตราสัญลักษณ์ของแบรนด์ “ลุมพินี” ซึ่งเป็นที่มาของกลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” ที่กำ�หนดนิยามว่าคือ “ความสุขที่แท้ จริงของการอยู่อาศัย”

พัฒนาโครงการขยายใหญ่ภายใต้ แบรนด์ใหม่ “ลุมพินี พาร์ค” เพื่อสร้าง คุณภาพชีวิตที่ดี ที่นอกจากอยู่ในทำ�เล ที่สอดรับกับความต้องการ ยังได้เพิ่ม คุณค่าด้วยสวนขนาดใหญ่ ภายใต้ชื่อ “สวนรวมใจ” เพื่อให้ผู้อยู่อาศัยได้มี สถานที่ที่จะสามารถทำ�กิจกรรมร่วมกัน ซี่งสอดรับกับแนวคิดของการสร้าง “ชุมชนน่าอยู่”

พัฒนาแบรนด์ “ลุมพินี พาร์คบีช” เพื่อ แนะนำ�คุณภาพชีวิตที่ดีแด่คนพัทยา และแบรนด์ “ลุมพินี เมกะซิตี้” ที่เจาะ กลุ่มเป้าหมายคนทำ�งาน พร้อมนำ� แบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” ขยายชุมชนน่าอยู่ไปสู่เมืองชลบุรี เป็นครั้งแรกที่บริษัทพัฒนาคอนโด พักตากอากาศ ภายใต้แบรนด์ใหม่ “ลุมพินี พาร์คบีช” ทีผ่ สมผสานระหว่าง บรรยากาศของสวนรวมใจและความมี ชีวิตชีวาของชายทะเลริมหาดจอมเทียน พัทยา นอกจากนี้ ยังพัฒนา “ลุมพินี เมกะซิตี้” เพื่อเป็นต้นแบบของโครงการ ขนาดใหญ่ ในลักษณะอาคารสูง และ นำ�แบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” เพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่ชาวชลบุรี

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

49


รายงานประจำ�ปี 2555

กว่า 80 โครงการคุณภาพภายใต้ “ชุมชนน่าอยู่”

ลุมพินี ทาวเวอร์

แอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร์

ลุมพินี เพลส

แอล.พี.เอ็น. มินิ ออฟฟิศ

พี.เอส.ที. คอนโดวิลล์

พี.เอส.ที. มินิ ออฟฟิศ

สี่พระยา ริเวอร์วิว

พี.เอส.ที. ซิตี้โฮม

บ้านลุมพินี บางบัวทอง

บ้านลุมพินี 2 บางบัวทอง

ลุมพินี เพลส สาทร

ลุมพินี เซ็นเตอร์ แฮปปี้แลนด์

ลุมพินี เซ็นเตอร์ ลาดพร้าว 111

ลุมพินี เพลส สวนพลู-สาทร

ลุมพินี เพลส พระราม 4-สาทร

ลุมพินี เรสซิเดนซ์ สาทร

ลุมพินี เพลส นราธิวาส 24

ลุมพินี เพลส พระราม 3-เจริญกรุง

ลุมพินี วิลล์ พระแม่มารี-สาทร

ลุมพินี เพลส นราธิวาสราชนครินทร์

50 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ลุมพินี สวีท สุขุมวิท 41

ลุมพินี เพลส พระราม 3-ริเวอร์วิว

ลุมพินี เซ็นเตอร์ สุขุมวิท 77

ลุมพินี วิลล์ พหล-สุทธิสาร

ลุมพินี เซ็นเตอร์ นวมินทร์

ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 77

ลุมพินี เพลส ปิ่นเกล้า

ลุมพินี วิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม

ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจ้าพระยา

ลุมพินี เพลส พหล-สะพานควาย

ลุมพินี เพลส รัชดา-ท่าพระ

ลุมพินี เพลส ปิ่นเกล้า (2)

ลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 44

ลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทรเดชา-รามคำ�แหง

ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-หลักสี่

ลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่

ลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร

ลุมพินี สวีท ปิ่นเกล้า

ลุมพินี คอนโดทาวน์ รัตนาธิเบศร์

ลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 26

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

51


รายงานประจำ�ปี 2555

ลุมพินี พระราม 8

ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา

ลุมพินี วิลล์ บางแค

ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่

ลุมพินี คอนโดทาวน์ บางแค

ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-นวมินทร์

ลุมพินี พาร์ค ปิ่นเกล้า

ลุมพินี เพลส พระราม 4-กล้วยน้ำ�ไท

ลุมพินี เพลส รัชโยธิน

ลุมพินี วิลล์ ลาดพร้าว-โชคชัย 4

ลุมพินี วิลล์ ราษฎร์บูรณะ-ริเวอร์วิว

ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3

ลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง

ลุมพินี คอนโดทาวน์ นิด้า-เสรีไทย

ลุมพินี คอนโดทาวน์ นิด้า-เสรีไทย (2)

ลุมพินี วิลล์ พิบูลสงคราม-ริเวอร์วิว

ลุมพินี วิลล์ แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด

ลุมพินี วิลล์ พัฒนาการ-เพชรบุรีตัดใหม่

ลุมพินี คอนโดทาวน์ พัทยาเหนือ-สุขุมวิท

ลุมพินี พาร์คบีช จอมเทียน

52 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ลุมพินี เมกะซิตี้ บางนา

ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า

ลุมพินี วิลล์ นาเกลือ-วงศ์อมาตย์

ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 109-แบริ่ง

ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 77 (2)

ลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์-งามวงศ์วาน

ลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร (2)

ลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 60/2

ลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุรี-สุขุมวิท

ลุมพินี ทาวน์ เพลส รัชโยธิน-เสนาฯ

ลุมพินี ทาวน์ เรสซิเดนซ์ ลาดพร้าว-สเตชั่น

ลุมพินี เพลส วอเตอร์คลิฟ

ลุมพินี ทาวน์โฮม รัชดา-พระราม 3

ลุมพินี สวีท รัชดา-พระราม 3

ลุมพินี เฮอริเทจ ทองหล่อ

ลุมพินี พาร์ควิว อโศก

ลุมพินี วิภาวดี

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

53


รายงานประจำ�ปี 2555

การพัฒนานวัตกรรม บนพื้นฐานของการวิจัยและพัฒนา บริษัทให้ความสำ�คัญกับการพัฒนานวัตกรรมของธุรกิจอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะนวัตกรรมของกระบวนการในการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ (Process Innovation) ซึ่งส่งเสริมคุณค่าให้ผลิตภัณฑ์และบริการขององค์กรมาอย่างต่อเนื่อง โดยได้กำ�หนด ขอบเขตของนวัตกรรมของบริษัทไว้ ดังนี้ 1. นวัตกรรมควรสนับสนุนวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ 2. นวัตกรรมต้องเป็นการเน้นคุณค่าของผลิตภัณฑ์และบริการ เมื่อปี 2538 บริษัทได้จัดตั้งฝ่ายวิจัยและพัฒนาขึ้น ซึ่งประกอบด้วยบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในหลาก หลายสาขาวิชาชีพที่ขึ้นตรงต่อกรรมการผู้จัดการ เป็นผู้รับผิดชอบงานด้านการวิจัยและพัฒนาของบริษัท

การวิจัย การวิจัยของบริษัทจะครอบคลุมตลอดทั้งกระบวนการในการดำ�เนินงาน เริ่มตั้งแต่การวิจัยเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลประกอบการ ตัดสินใจสำ�หรับคณะผู้บริหาร โดยครอบคลุมตั้งแต่ข้อมูลในระดับมหภาค เช่น สภาวะโดยรวมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และความต้องการของตลาด ข้อมูลสำ�หรับการพัฒนาโครงการในแต่ละโครงการ เช่น ทำ�เลทีเ่ หมาะสมในการพัฒนา ระดับราคา ที่เหมาะสม ตลอดจนข้อมูลความต้องการของลูกค้า เพื่อใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมผู้บริโภคมากที่สุด การ วิจัยเพื่อค้นหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ อันเกิดจากความเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อม สังคม พฤติกรรมผู้บริโภค รองรับการ ขยายตัวของบริษัทในอนาคต รวมถึงการวิจัยเพื่อพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพในการดำ�เนินการของบริษัท เพื่อตอบสนอง ต่อความพึงพอใจของลูกค้า คุณค่าของผลิตภัณฑ์และบริการ รวมถึงการพัฒนากระบวนการของบริษัท (Reprocess) เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการดำ�เนินงาน ลดต้นทุนการก่อสร้าง และเพิ่มความรวดเร็วในการดำ�เนินการในด้านต่างๆ โดยในช่วงระยะ 2-3 ปีที่ผ่านมา บริษัทได้ส่งเสริม สนับสนุน ให้ทุกสายงานคิดค้นนวัตกรรม ทั้งด้านผลิตภัณฑ์และบริการ ซึ่ง ครอบคลุมตลอดทัง้ กระบวนการพัฒนาและออกแบบโครงการ การตลาดและการสือ่ สารแบรนด์ กระบวนการก่อสร้าง กระบวนการ โอนกรรมสิทธิ์อาคารชุด และกระบวนการบริหารชุมชน

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของบริษัท มุ่งเน้นในการเพิ่มคุณค่า โดยต้องตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค และต้องคงไว้ซึ่ง ความได้เปรียบในการแข่งขัน อันนำ�ไปสู่ความเชื่อมั่นที่มีต่อแบรนด์ “ลุมพินี” ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา บริษัทได้มีพัฒนาการ ที่สำ�คัญในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จนถือได้ว่าห้องชุดของบริษัทเป็นต้นแบบของการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยภายในเมือง ที่มีการนำ�ไปพัฒนาต่อในหลายผู้ประกอบการ เนื่องจากตอบสนองความต้องการของผู้พักอาศัยได้อย่างครบถ้วน

54 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

กระบวนการพัฒนาและออกแบบโครงการ กระบวนการพัฒนาและออกแบบโครงการที่สำ�คัญของบริษัท ประกอบด้วย การพัฒนาห้องชุดในรูปแบบ “LPN Design” ที่ ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง รวมถึงแนวคิดในการพัฒนาโครงการ “LPN Green” ภายใต้มาตรฐาน LEED และ Mixed Target Development ที่เป็นการพัฒนาโครงการที่ผสมผสานกลุ่มเป้าหมายวัยทำ�งานและวัยเกษียณเข้าไว้ด้วยกัน

LPN Design แนวคิด “LPN Design” เริม่ ตัง้ แต่หอ้ งชุดแบบสตูดโิ อขนาด 30 ตร.ม. และห้องชุดแบบ 2 ห้องนอนขนาด 60 ตร.ม. ที่สร้าง มาตรฐานใหม่ของการอยู่อาศัยในอาคารชุด เนื่องจากสอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบไทยๆ และง่ายต่อการบำ�รุงรักษา จวบจน ปัจจุบันผลิตภัณฑ์หลักของบริษัทได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงมาโดยลำ�ดับ โดยห้องชุดแบบ 1 ห้องนอนขนาด 26 ตร.ม. แม้มีขนาดที่เล็กแต่สามารถตอบสนองต่อวิถีชีวิตและความต้องการ ในขณะที่ยังคงรักษาระดับราคาขายให้ตอบสนองต่อ กลุ่มเป้าหมายได้เป็นอย่างดี แม้ในภาวะที่ต้นทุนขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนห้องชุดแบบ 26 ตร.ม. ของบริษัทได้รับ ยกย่องให้เป็น “Product of the year” ประจำ�ปี 2552 จากหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่ง นวัตกรรมล่าสุดคือการออกแบบห้องชุด ขนาด 21 ตร.ม. เพื่อตอบสนองการใช้ชีวิตในห้องชุดขนาดเล็กได้ครบถ้วนสมบูรณ์แบบ โดยเริม่ ที่โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุรี-สุขุมวิท เป็นแห่งแรก

ปัจจุบันผลิตภัณฑ์หลักของบริษัทได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงมาตามลำ�ดับ โดยห้องชุดแบบ 1 ห้องนอนขนาด 26 ตร.ม. แม้มีขนาดที่เล็กแต่สามารถตอบสนอง ต่อวิถีชีวิตและความต้องการ จนทำ�ให้ห้องชุดแบบ 26 ตร.ม. นี้ ได้รับการยกย่องให้เป็น “Product of the year” ประจำ�ปี 2552 จากหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่ง

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

55


รายงานประจำ�ปี 2555

LPN Green นอกเหนือจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว บริษทั ยังได้ให้ความสำ�คัญต่อผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม อันเนือ่ งมาจากการพัฒนาโครงการ จึงได้ก�ำ หนดแนวทางการออกแบบและพัฒนาโครงการภายใต้แนวคิด “LPN Green” ซึง่ ประกอบด้วย Green Design, Green Marketing, Green Construction Process และ Green Community Management โดย ได้มกี ารนำ�เสนอออกสูส่ าธารณะชน และได้รบั การตอบรับเป็นอย่างดีในด้านยอดขาย อย่างไรก็ตาม แนวคิด “LPN Green” ซึง่ เป็นมาตรฐานสากลที่ได้สอ่ื ออกไปสูส่ งั คมและผูบ้ ริโภค แม้จะเป็นสิง่ ทีบ่ ริษทั กำ�หนดขึน้ แต่กม็ คี วามสอดคล้องกับมาตรฐานของ “อาคารเขียว” หรือ “Green Building” โดยในขณะนี้ได้มคี วามพยายามร่วมกันจากหลายสถาบันวิชาชีพในประเทศ ทีจ่ ะจัดตัง้ “สถาบันอาคารเขียว” ขึน้ โดยอยู่ในระหว่างการกำ�หนดแนวทาง มาตรฐาน และระบบประเมินอาคารเขียว ด้วยการหยิบยกและ ปรับปรุงจากมาตรฐานอาคารเขียวของหลายๆ ประเทศ เพือ่ ให้สอดคล้องกับปัจจัย เงือ่ นไข รวมทัง้ สภาวะต่างๆ ของประเทศไทย

การพัฒนาโครงการภายใต้แนวคิด LPN Green กับมาตรฐาน LEED

พัฒนาพื้นที่ให้เกิดความยั่งยืน (Sustainable Site Development)

การใช้นํ้าอย่างมีประสิทธิภาพ (Water Efficiency)

การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (Energy Efficiency)

เลือกที่ตั้งโครงการในบริเวณที่มีความ หนาแน่นสูง เพื่อลดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมและความครบครันของสิ่ง อำ�นวยความสะดวกในบริเวณใกล้เคียง

ใช้สุขภัณฑ์ประหยัดนํ้าเพื่อการใช้นํ้าที่มี ประสิทธิภาพ โดยสุขภัณฑ์บางประเภท เช่น โถสุขภัณฑ์แบบ Dual Flush ซึ่งสามารถลดการใช้นํ้าลงถึงร้อยละ 50

ออกแบบห้องชุดให้มีกันสาดและ ระเบียง เพื่อลดปริมาณความร้อนที่มา กับแสงแดดที่ส่งผ่านเข้ามาภายในห้อง ชุดโดยตรง

ตั้งอยู่บนถนนใหญ่ที่มีการคมนาคม สะดวก ใกล้ทางด่วน และระบบขนส่ง มวลชน เพื่อลดผลกระทบทางด้านการ จราจร และสนับสนุนให้ผู้อยู่อาศัยหันมา ใช้ระบบขนส่งมวลชนมากขึ้น ด้วยการ จัดระบบขนส่งมวลชนภายในโครงการ (Shuttle Bus) เชื่อมต่อกับระบบขนส่ง มวลชนสาธารณะ

รณรงค์ให้ผู้อยู่อาศัยอาบนํ้าด้วยฝักบัว แทนอ่างอาบนํ้าที่ใช้นํ้าในปริมาณมาก ในการอาบแต่ละครั้ง เพื่อลดปริมาณ การใช้นํ้าโดยตรง

ออกแบบระบบแสงสว่างและระบบปรับ อากาศให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสม ต่อการใช้งาน เพื่อลดปริมาณการใช้ พลังงานไฟฟ้า

นำ�นํ้าเสียที่ผ่านการบำ�บัดมารดนํ้า ต้นไม้ภายในโครงการ ซึ่งเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพของการใช้นํ้า และยังเป็นการลดการระบายนํ้าจาก โครงการลงสู่ระบบระบายนํ้าสาธารณะ

ใช้พลังงานทดแทน เช่น พลังงานแสง อาทิตย์สำ�หรับดวงโคมแสงสว่างใน บริเวณสวน

ชดเชยพื้นที่โล่งเดิมด้วยพื้นที่สีเขียว และภูมิทัศน์ ในโครงการ

ติดตั้งระบบการรดนํ้าต้นไม้ที่มี ประสิทธิภาพ เช่น ระบบนํ้าหยด เพื่อลดการสูญเสียนํ้า

56 HERE IS HOME, HERE IS LPN

ในช่วงบริหารโครงการภายหลังการ ส่งมอบ ได้มีการบรรจุบทบาทและ หน้าที่ให้แก่ฝ่ายบริหารชุมชนในการ บริหาร การใช้พลังงานภายในอาคาร ให้เกิดประสิทธิภาพ โดยคำ�นึงถึงความ ประหยัดและความปลอดภัยควบคู่กัน ไป


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

การใช้วัสดุและทรัพยากรอย่าง ประหยัดและเหมาะสม (Material and Resources)

สร้างสิ่งแวดล้อมภายในอาคารที่มี คุณภาพกับผู้อยู่อาศัย (Indoor Environment Quality)

นวัตกรรมจากการออกแบบ (Innovation In Design)

เลือกใช้วัสดุทดแทนที่พิสูจน์แล้ว ว่ามีความปลอดภัยและเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม แทนที่วัสดุที่มาจาก ธรรมชาติ เพื่อลดการทำ�ลาย สภาวะแวดล้อมลง เช่น การใช้พื้นไม้ ลามิเนตแทนการใช้พื้นปาเกต์ไม้จริง

โดยเน้นประสิทธิภาพการบริหารชุมชน ที่ยั่งยืนด้วยกลยุทธ์ F-B-L-E-S-P ได้แก่ การบริหารระบบสาธารณูปโภค และสิ่งอำ�นวยความสะดวกภายใน โครงการ การบริหารการเงินและงบ ประมาณ การเสริมสร้างวินัยและ วัฒนธรรมในการอยู่อาศัยร่วมกัน การ รักษาสภาพแวดล้อมภายในชุมชน รวม ทั้งการใช้พลังงานอย่างเหมาะสม การ บริหารระบบรักษาความปลอดภัยและ มาตรการในด้านต่างๆ อย่างเข้มข้น และการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่ เกี่ยวข้องในงานบริหารชุมชน

วางผังอาคารและโครงการให้สอดคล้อง กับสภาพแวดล้อม โดยพึ่งพาแสงและ ลมจากธรรมชาติ

ออกแบบให้มิติต่างๆ ของอาคาร สอดคล้องกับมิติของวัสดุที่ใช้ใน การก่อสร้าง เพื่อความคุ้มค่าในเชิง เศรษฐกิจ และลดเศษวัสดุ ซึ่งเป็นขยะ ที่ต้องนำ�ทิ้งกลับสู่สภาพแวดล้อม ผนังกั้นห้องภายในห้องชุดใช้กระจก ลายผ้าแทนผนังทึบ เพื่อรับแสงสว่าง จากธรรมชาติ และยังคงมีความเป็น ส่วนตัวควบคู่กันไป กระจกภายนอกด้านทิศตะวันตก เลือก ใช้กระจก Insulated Glass เพื่อลด ความร้อนที่มาพร้อมกับแสงแดดใน ช่วงบ่ายซึ่งเป็นช่วงที่อุณหภูมิสูงที่สุด ในรอบวัน ออกแบบให้มี Green Wall ในส่วน ผนังของที่จอดรถยนต์ เพื่อลดก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์และความร้อนเข้าสู่ ส่วนพักอาศัยและบริเวณโดยรอบ บริหารจัดการขยะ โดยกำ�หนดให้มีการ คัดแยกขยะและการจัดเก็บอย่างเหมาะสม ทั้งในช่วงของการก่อสร้างและภายหลัง เมื่อมีผู้เข้าพักอาศัยแล้ว

วางผังและออกแบบช่องเปิดของห้อง ชุด อันได้แก่ ประตูและหน้าต่างที่ สอดคล้องกับการอยู่อาศัย ร่นระยะเวลาการก่อสร้างด้วยระบบ Semi Prefabrication System

จะเห็นได้ว่า แนวทาง “LPN Green” นั้น ไม่ได้เป็นเพียงเครื่องมือทางการตลาด (Marketing Tools) เพื่อวัตถุประสงค์ ทางด้านการขายเพียงอย่างเดียว แต่รูปแบบรวมทั้งส่วนประกอบต่างๆ ของโครงการ ยังสอดคล้องกับมาตรฐานอาคารเขียวของ LEED ได้เกือบสมบูรณ์ ซึ่งเน้นยํ้าถึงจิตสำ�นึกของ “ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม” (CESR) ได้อย่างชัดเจน แต่ทั้งนี้ ต้องพิจารณาความเหมาะสม และความเป็นไปได้ในมิติอื่นควบคู่กันไปด้วย เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

57


รายงานประจำ�ปี 2555

การตลาดและการสื่อสารแบรนด์ ในช่วงแรกของการดำ�เนินงานด้านการตลาด บริษัทไม่ได้มุ่งเน้นเรื่องการสื่อสารผ่านสื่อมวลชน (Mass Media) ซึ่งมีค่าใช้จ่าย ที่สูงมาก หากแต่เลือกใช้สื่อทางการตลาดที่มีประสิทธิภาพ และเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้โดยตรง โดยเฉพาะกลุ่มลูกค้าเดิมใน โครงการต่างๆ ของบริษัทที่มีมากกว่า 57,000 ราย และกำ�หนดเป็นนโยบายหลักของบริษัทในการบริหารจัดการชุมชนที่มุ่ง พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้เข้าอยู่อาศัยในโครงการเป็นสำ�คัญ ผลจากการบริหารจัดการชุมชนที่มีประสิทธิภาพ ทำ�ให้เกิด การบอกต่อ (Word of Mouth) จากลูกค้ากลุ่มเดิมไปยังลูกค้ากลุ่มใหม่ๆ มากขึ้น ซึ่งเป็นการตลาดที่ไม่มีค่าใช้จ่าย ต่อมา ในปี 2551 บริษัทได้ร่วมกับบริษัทที่ปรึกษาด้านการสื่อสารแบรนด์ วางแผนการพัฒนาและการสือ่ สาร แบรนด์ “ลุมพินี” ออกสู่วงกว้าง โดยกำ�หนดเป้าหมายการรับรู้ถึงแก่นแท้ความเป็นตัวตนของแบรนด์อย่างชัดเจน จากผลการศึกษาจึงเป็นที่มา ของนิยามว่าคือ “ความสุขทีแ่ ท้จริงของการอยูอ่ าศัย” (Real Pleasure of Living) และเพือ่ ให้เกิดความชัดเจนของตราสัญลักษณ์ ของบริษัทและการบอกถึงความเป็นตัวตนของแบรนด์ “ลุมพินี” บริษัทจึงได้ปรับปรุงและพัฒนาตราสัญลักษณ์ของบริษัท รวมถึงตราสัญลักษณ์ “ชุมชนน่าอยู่” ใหม่ ดังนี้

ตราสัญลักษณ์องค์กรเดิม

ตราสัญลักษณ์องค์กรใหม่ (เริ่มใช้ตั้งแต่ปี 2551)

ตราสัญลักษณ์ชุมชนน่าอยู่เดิม

ตราสัญลักษณ์ชุมชนน่าอยู่ใหม่ (เริ่มใช้ตั้งแต่ปี 2551)

ในปี 2552 บริษัทได้ริเริ่มนวัตกรรมด้านการตลาด โดยจัดให้มีแคมเปญ “30happydays” เพื่อสื่อสารกลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” ด้วยการเชิญ 4 หนุ่มสาวคนรุ่นใหม่ให้ทดลองใช้ชีวิตในชุมชน “ลุมพินี” เพื่อพิสูจน์ความจริงที่ว่า “เขาว่ากันว่า...อยู่ที่นี่แล้ว มีความสุข” ถ่ายทอดผ่านเว็บไซต์ www.30happydays.com ซึ่งเป็นสื่อที่มีค่าใช้จ่ายตํ่าแต่มีประสิทธิภาพในการเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งยังได้เพิ่มช่องทางการสื่อสารผ่านเครือข่ายทางสังคม เช่น ทวิตเตอร์ เฟซบุ๊ก ปรากฏว่าได้รับความ สนใจจากกลุ่มเป้าหมายคนรุ่นใหม่เป็นจำ�นวนมาก เป็นการขยายการรับรู้ สร้างความเข้าใจ และสร้างความเชื่อมั่นในแบรนด์ “ลุมพินี” ได้เป็นอย่างดี ในปี 2553 บริษทั จึงมีนโยบายทีจ่ ะสร้างการรับรูแ้ ละความเชือ่ มัน่ ในแบรนด์อย่างต่อเนือ่ ง ด้วยการนำ�เรือ่ งจริงของบุคคล 4 คน ในสังคม “ลุมพิน”ี ถ่ายทอดเป็นหนังสัน้ ภายใต้แคมเปญ “Happiness of Caring” ผ่านสือ่ ออนไลน์ www.HappinessOfCaring.com ซึ่งผลงานของทั้งสองแคมเปญยังได้รับรางวัล Certificate of Excellence 2010 ในหมวด Interactive and Digital Media (Web-site Design) จาก Bangkok Art Directors Association (BAD Award) อีกด้วย

58 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

และในปี 2554 บริษัทยังคงสื่อสาร ถ่ายทอดคุณค่าของแบรนด์ผ่านสื่อต่างๆ รวมถึงสื่อออนไลน์ที่เข้าถึงไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่ เช่น Facebook ClubLumpini ซึง่ ในช่วงวิกฤติอทุ กภัยครัง้ ใหญ่ในปีทผี่ า่ นมา บริษทั ได้ใช้สอื่ ดังกล่าวในการสือ่ สารกับสมาชิกใน ชุมชนต่างๆ เพือ่ แจ้งข่าวสารข้อมูล รวมถึงแผนการรับมือกับวิกฤติดงั กล่าวของบริษทั รวมถึงการระดมความช่วยเหลือในด้าน ต่างๆ ซึ่งได้สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของชุมชน ความเข้าใจที่ดี และลดความกังวลใจของชุมชนและสังคมภายนอก ได้อย่างมาก นอกจากนี้ ในปี 2555 ที่ผ่านมา บริษัทยังได้ให้ความสำ�คัญกับการถ่ายทอดคุณค่าของแบรนด์ผ่านคุณค่าของ สินค้าและบริการ ซึ่งจะเป็นการพัฒนาที่มั่นคงและยั่งยืนสืบไป

กระบวนการก่อสร้าง

กระบวนการก่อสร้างของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เป็นกระบวนการที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม หากผู้ประกอบการหรือผู้รับเหมาไม่มี จิตสำ�นึกต่อความรับผิดชอบในการดำ�เนินงาน ไม่ว่าจะเป็นฝุ่น เสียง ความปลอดภัย สุขอนามัยของบริเวณก่อสร้าง รวมทั้ง คุณภาพชีวติ ของคนงาน บริษทั ได้เพิม่ ความรับผิดชอบของผูร้ บั เหมาโครงการทุกส่วนงาน ในเรือ่ งของการดูแลสภาพแวดล้อม ในโครงการและข้างเคียง การดูแลความปลอดภัยในบริเวณก่อสร้าง รวมทั้งคุณภาพชีวิตของคนงานก่อสร้าง โดยได้บรรจุอยู่ ในกลยุทธ์การดำ�เนินงานของสายงานก่อสร้าง (Q-C-S-E-S) ในกระบวนการก่อสร้าง บริษัทได้คิดค้นระบบการก่อสร้าง Semi Prefabrication โดยเป็นการผสมผสานระหว่างระบบผนัง สำ�เร็จรูปภายนอกตัวอาคารกับระบบก่ออิฐฉาบปูนผนังภายในอาคาร ซึ่งเป็นการลดระยะเวลาในการก่อสร้างและปัญหาแตก ร้าวของผนังหลังการส่งมอบ นอกจากนั้น บริษัทยังส่งเสริมให้ช่างรับเหมาทุกระดับให้คิดค้นระบบหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้าง รวมทั้งกระบวนการที่ เป็นการเพิม่ คุณค่าของงานก่อสร้าง โดยจัดประกวดนวัตกรรมของฝ่ายก่อสร้างและผูร้ บั เหมา เพือ่ กระตุน้ ให้ทกุ ฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง สร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรม ซึ่งสามารถส่งผลให้เกิดนวัตกรรมของงานก่อสร้างทุกๆ ปี

การพัฒนาการบริการ

ความเป็นตัวตนของบริษัท (Identity) นอกจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคแล้ว การบริการถือเป็นอีกหนึง่ องค์ประกอบทีส่ ร้างความแตกต่างให้เกิดแก่แบรนด์ “ลุมพิน”ี อันได้แก่ กระบวนการขาย กระบวนการ โอนกรรมสิทธิอ์ าคารชุด และการบริหารชุมชน จนเป็นทีย่ อมรับและบอกต่ออย่างกว้างขวาง พัฒนาการของ “การบริหารชุมชน” ของบริษทั ดำ�เนินการโดยบริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ซึง่ ก่อตัง้ มาแล้วกว่า 20 ปี รับผิดชอบบริหารชุมชน ให้แก่โครงการภายใต้การพัฒนาของบริษัททั้งหมด โดยมีเป้าหมายหลักคือการสร้าง “ชุมชนน่าอยู่” ที่ผู้อยู่อาศัยอยู่ร่วมกัน อย่างมีความสุข โดยมีองค์ประกอบที่เหมาะสม มีคุณภาพชีวิตภายใต้สังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งวัฒนธรรมอันดีงาม

กระบวนการขาย

จากความเชือ่ มัน่ ทีผ่ บู้ ริโภคมีตอ่ แบรนด์ “ลุมพิน”ี ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ของบริษทั เป็นทีต่ อ้ งการของตลาดอย่างมาก บางโครงการ ลูกค้าจำ�เป็นต้องเข้าคิวเพื่อจองซื้อในวันเปิดขายก่อนหลายชั่วโมง ซึ่งสร้างความลำ�บากอย่างสูงให้กับลูกค้า สายงานตลาด และขาย จึงได้คิดค้นระบบการออก Tag และจับสลาก เพื่ออำ�นวยความสะดวกให้กับลูกค้า และเป็นการสร้างสรรค์คุณค่าของ การบริการลูกค้าอย่างชัดเจน

กระบวนการโอนกรรมสิทธิ์อาคารชุด

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของบริษัทมุ่งเน้นที่อาคารชุดระดับกลางถึงกลาง-ล่าง ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความต้องการที่พักอาศัยสูง ทำ�ให้ จำ�นวนผลิตภัณฑ์ของบริษทั ทีต่ อบสนองต่อลูกค้าเพิม่ ขึน้ ทุกปี โดยปีทผ่ี า่ นมา บริษทั ได้สง่ มอบห้องชุดให้ลกู ค้ากว่า 10,000 ยูนติ ประกอบกับการส่งมอบไม่ได้เป็นไปอย่างสมาํ่ เสมอทุกเดือน สายงานทีร่ บั ผิดชอบการโอนจึงได้ปรับกระบวนการโอนกรรมสิทธิ์ ซึง่ เกีย่ วข้องกับหลายฝ่าย ไม่วา่ จะเป็นสายงานภายในบริษทั กับผูเ้ กีย่ วข้องภายนอก ทัง้ ลูกค้า ธนาคาร และหน่วยงานราชการ ให้มีความสะดวก รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ทำ�ให้สามารถโอนกรรมสิทธิ์ได้ถึง 550 ยูนิต ใน 1 วันทำ�การ ถือเป็นนวัตกรรมทาง กระบวนการ และเป็นการเพิ่มประสิทธิผลของธุรกิจเป็นอย่างสูง

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

59


รายงานประจำ�ปี 2555

กระบวนการบริหารชุมชน

การรับผิดชอบต่อลูกค้าสำ�หรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ผูป้ ระกอบการส่วนใหญ่ถอื ว่า การส่งมอบห้องชุดให้กบั ลูกค้าเป็นการหยุด ความรับผิดชอบของธุรกิจ ซึ่งนโยบายบริษัทเห็นว่า ความรับผิดชอบของธุรกิจ ผู้ประกอบการไม่เพียงแต่เข้าไปดูแลอาคาร หรือสิ่งปลูกสร้างที่ตนเองได้พัฒนาขึ้นมา แต่ยังเข้าไปดูแลคุณภาพชีวิตและสังคมของลูกค้าที่พักอาศัยในโครงการ รวมทั้ง สิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นส่วนที่สำ�คัญมากที่สุดในการอยู่อาศัย จึงเป็นที่มาของกลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” ซึ่งถือว่าเป็นนวัตกรรมทาง บริการที่โดดเด่น และสร้างความไว้วางใจของลูกค้าทีม่ ตี อ่ บริษทั ซึง่ ได้มกี ารพัฒนาต่อยอดขององค์ประกอบส่วนอืน่ ๆ เพิ่มเติม ตลอดมา ไม่วา่ จะเป็น “สวนรวมใจ” “ห้องสมุดมีชวี ติ ” ซึง่ เป็นนวัตกรรมทางผลิตภัณฑ์ทส่ี ง่ เสริมให้ “ชุมชนน่าอยู”่ บรรลุเป้าหมาย ตามเจตนารมณ์ของบริษัท การบริหารชุมชนให้เกิดความสุขอย่างแท้จริงนั้น เป็นการพัฒนาการบริหารจากมุมมองของสายงานบริหารชุมชนของบริษัท ซึ่งอาจไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการหรือนวัตกรรมที่แท้จริงของผู้อยู่อาศัย เพื่อเป็นการสื่อสารและแบ่งปันแนวคิด บริษทั จึงจัดเสวนาระหว่างผูบ้ ริหารกับประธานกรรมการนิตบิ คุ คลทุกนิตเิ ป็นประจำ�ทุกปี เพือ่ เป็นการปรับแนวคิดและทำ�ความ เข้าใจในเจตนารมณ์ของทัง้ สองฝ่าย ซึง่ ถือว่าเป็นนวัตกรรมเชิงบริการทีส่ ง่ ผลให้บริษทั สามารถปรับปรุงและพัฒนากระบวนการ บริหารชุมชนให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของผู้อยู่อาศัยอย่างแท้จริง

“ชุมชนน่าอยู่” กลยุทธ์ในการขับเคลื่อนแบรนด์ “ลุมพินี”

ตราผลิตภัณฑ์หรือแบรนด์ เป็นทรัพย์สินที่ไม่มีตัวตน (Intangible Asset) ที่ทุกบริษัทให้ความสำ�คัญมุ่งมั่นที่จะสร้าง รักษา และสื่อสารให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ท่ามกลางสภาวะการแข่งขันที่ทวีความรุนแรง แบรนด์ที่ประสบความสำ�เร็จส่วนใหญ่มีตัว ตนที่แตกต่างอย่างชัดเจน (Identity) โดยแบรนด์เหล่านั้นมักมีพันธสัญญาต่อผู้บริโภคในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ เหนือความคาดหมาย โดยมี “วัฒนธรรมหรือค่านิยมองค์กร” เป็นแรงผลักดันในการสร้างคุณค่า และจริยธรรมในการดำ�เนิน ธุรกิจเป็นเครือ่ งกำ�กับ การทุม่ งบประมาณในการโฆษณาประชาสัมพันธ์เพือ่ สร้างการรับรูใ้ นระยะสัน้ เพือ่ หวังผลเพียงยอดขาย โดยขาดสำ�นึกรับผิดชอบอาจไม่บรรลุผลในยุคของสังคมข่าวสาร เนื่องจากผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในสิทธิ ซึ่งบริษัทได้เล็งเห็นความสำ�คัญในข้อนี้ จึงกำ�หนดแนวทางในการสร้างและบริหารแบรนด์ที่มาจากการลงมือปฏิบัติจนเกิด การรับรู้และความเชื่อมั่น ก่อเป็นความผูกพันและการบอกต่อ บริษัทหลีกเลี่ยงที่จะใช้งบประมาณจำ�นวนมากในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์เพือ่ สร้างการรับรูโ้ ดยปราศจากปัจจัยพืน้ ฐาน อีกทัง้ ยังกำ�หนด “ค่านิยมองค์กร” ทีร่ องรับแนวทางในการบริหาร ตราผลิตภัณฑ์หรือแบรนด์ให้แข็งแกร่ง จากปณิธานทีบ่ ริษทั มุง่ มัน่ ในการสร้างสรรค์และส่งมอบ “ความสุขทีแ่ ท้จริงของการอยูอ่ าศัย” (Real Pleasure of Living) ให้กบั สมาชิกทุกคนในครอบครัว “ลุมพินี” เพื่อนำ�ไปสู่ “ชุมชนที่ผู้อยู่อาศัยจะสามารถอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยมีองค์ประกอบ ทีเ่ หมาะสม มีคณ ุ ภาพชีวติ ภายใต้สงั คมและสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ วัฒนธรรมอันดีงาม” ซึง่ บริษทั ได้ก�ำ หนดกลยุทธ์ในการบริหาร จัดการชุมชนที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งมีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงได้แก่ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด บริษัทในเครือที่บริษัทได้จัดตั้งขึ้นตั้งแต่ปี 2535 เพื่อให้การบริการด้านบริหารจัดการชุมชนที่ครบวงจร ภายใต้แนวทางการ ดำ�เนินงานที่พัฒนามาเป็นลำ�ดับได้แก่ F-B-L-E-S-P ที่ประกอบไปด้วย

60 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

การบริหารจัดการทรัพย์ส่วนกลาง (Facility Management)

Facility Management Budget Management Life Quality Management Environment Management Security Management People Management

การบริหารทรัพย์ส่วนกลาง หนึ่งในองค์ประกอบสำ�คัญของ ชุมชน เป็นหน้าที่หลักของการบริหารจัดการชุมชน ทั้งนี้ ฝ่ายบริหารชุมชนมีหน้าที่ในการดูแลทรัพย์ส่วนกลางให้คง ประสิทธิภาพสำ�หรับการใช้งาน ทั้งทรัพย์ส่วนกลางที่เป็น งานสถาปัตยกรรม สิ่งอำ�นวยความสะดวก และงานระบบ อาคารต่างๆ เช่น ลิฟต์ เครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบสุขาภิบาล เป็นต้น ซึ่งเป็นหน้าที่ของฝ่ายงานบำ�รุง รักษา ที่ต้องบำ�รุงรักษาในเชิงป้องกันเพื่อให้มั่นใจได้ว่า ทุกส่วนประกอบของอาคารทำ�งานเป็นปกติ เกิดความสะดวก สบายและปลอดภัย และอาจเกี่ยวพันโดยตรงกับชีวิตและ ทรัพย์สินของเจ้าของร่วม หรือผู้อยู่อาศัยทั้งหมด ส่งผลต่อ สภาพแวดล้อมโดยตรง เช่น ระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย

การบริหารจัดการงบประมาณ (Budget Management)

การบริหารจัดการคุณภาพชีวิต (Life Quality Management)

การบริหารงบประมาณนิติบุคคลอาคารชุด เป็นการบริหาร งบประมาณที่ ไม่มีวัตถุประสงค์ ในการแสวงหากำ�ไร แต่ เป็นการบริหารงบประมาณให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้รบั การ อนุมัติจากที่ประชุมใหญ่สามัญเจ้าของร่วม และบริหารเงิน กองทุนให้มเี สถียรภาพและเพิม่ พูน เพือ่ ความมัน่ คงในฐานะ ทางการเงินของชุมชน โดยยังคงรักษาไว้ซึ่งประสิทธิภาพ ของอาคารและคุณภาพชีวิตของเจ้าของร่วม หรือผู้อยู่ อาศัยทั้งหมดภายในชุมชน ประกอบการจัดทำ�รายงานการ เงินที่ง่ายต่อความเข้าใจ เน้นความโปร่งใสและตรวจสอบได้ นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารชุมชนมีหน้าที่ในการบริหารทรัพย์สนิ ส่วนกลางที่ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมใหญ่เจ้าของร่วมให้เกิด รายได้เพิ่มเติม ซึ่งจะเป็นการช่วยลดภาระในการเพิ่มค่าใช้ จ่ายส่วนกลางของนิติหรือช่วยเพิ่มเงินกองทุนให้พอกพูน ขึ้นทุกปี

สำ�หรับการบริหารจัดการชุมชน นอกเหนือจากการบริหาร ทรัพย์ส่วนกลางและการบริหารงบประมาณแล้ว คุณภาพ ชีวิตของเจ้าของร่วมถือว่าเป็นสิ่งสำ�คัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่า กัน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความสะอาด การรักษากฎระเบียบ ข้อบังคับของอาคารชุด เพื่อการมีวินัยในการอยู่อาศัยร่วม กันและความเป็นระเบียบเรียบร้อยภายในชุมชน รวมทั้ง กิจกรรมต่างๆ ที่เสริมสร้างวัฒนธรรมอันดีงามของสังคม ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวข้างต้นส่งผลให้เจ้าของร่วมหรือผู้พัก อาศัยในชุมชนเกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และขยายการ สร้างความร่วมมือร่วมใจของผูอ้ ยูอ่ าศัยภายในชุมชนทีบ่ ริษทั พัฒนาไปยังผู้อยู่อาศัยในบริเวณโดยรอบ ทั้งหมดนี้ หาก กิจกรรมใดทีเ่ ห็นว่าเป็นประโยชน์และเป็นวัฒนธรรมอันดีงาม บริษัทจะให้การสนับสนุนงบประมาณตามความเหมาะสม

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

61


รายงานประจำ�ปี 2555

การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (Environment Management)

การบริหารจัดการระบบความปลอดภัย (Security Management)

การให้ความสำ�คัญต่อสิ่งแวดล้อมเป็นหน้าที่หนึ่งที่บริษัทให้ ความสำ�คัญอย่างยิ่ง โดยมุ่งเน้นสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบ ต่อผูอ้ ยูอ่ าศัยและสังคมโดยรอบบริเวณโครงการโดยยึดหลัก Green Clean Lean เป็นสำ�คัญ อาทิ การบำ�บัดน้ำ�เสียให้ได้ คุณภาพตามเกณฑ์ที่หน่วยงานราชการกำ�หนดแล้วนำ�กลับ มาใช้ใหม่ส�ำ หรับรดน�้ำ ต้นไม้ในโครงการ การจัดการขยะโดย การคัดแยกขยะออกเป็นส่วนเพื่อให้ง่ายต่อการกำ�จัด หรือ นำ�กลับไปเข้ากระบวนการ Recycle การอนุรักษ์พลังงาน การบำ�รุงรักษาดูแลพื้นที่สเี ขียว หรือการปลูกต้นไม้ทดแทน ให้แก่สังคมโดยรวมทั้งในและนอกชุมชนลุมพินี เพื่อเสริม สร้างพื้นที่สีเขียวให้กับสังคมโดยรวม เป็นการยกมาตรฐาน คุณภาพชีวิตของคนเมืองให้ดีขึ้น

บริษทั ให้ความสำ�คัญและเข้มงวดกับการบริหารจัดการระบบ ความปลอดภัยเป็นอย่างสูง โดยมีหน่วยงานด้านรักษา ความปลอดภัยที่บริษัทได้จัดตั้งขึ้นเพื่อบริหารจัดการความ ปลอดภัยภายในชุมชน ภายใต้กลยุทธ์ ในการทำ�งานเพื่อ รักษามาตรฐานของระบบรักษาความปลอดภัยทั้งเจ้าหน้าที่ ทีป่ ฏิบตั งิ านและอุปกรณ์ เช่น กล้องโทรทัศน์วงจรปิด ระบบ เตือนภัย และระบบสื่อสาร รวมถึงการสร้างเครือข่ายความ มีสว่ นร่วมจากทัง้ ภายในชุมชนและหน่วยราชการทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ความปลอดภัยสูงสุดของสมาชิกภายในชุมชนเป็นสำ�คัญ

เพือ่ เป็นการตอกย�ำ้ ถึงความสำ�คัญของการบริหารสิง่ แวดล้อม บริษทั ได้จดั ตัง้ หน่วยงานทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบโดยตรง ให้ท�ำ หน้าทีส่ ง่ เสริมและสร้างจิตสำ�นึก รวมทัง้ จัดกิจกรรมเพือ่ ดูแล สิง่ แวดล้อมที่ได้รบั ผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ ทัง้ อยู่ ในระหว่างการก่อสร้างและภายหลังการก่อสร้าง

บริษัทให้ความสำ�คัญกับการบริหารจัดการคุณภาพชีวิตและ พัฒนาศักยภาพของบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องทุกส่วน ไม่วา่ จะเป็น พนักงานหรือเจ้าหน้าทีท่ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้องในงานบริหารชุมชน การบริหารจัดการพื้นที่ส่วนกลาง การให้บริการเจ้าของร่วม เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของลูกค้าและสมาชิกที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ยังมุ่งเน้นการทำ�งานเป็นทีม ตามหน้าที่และ ความรับผิดชอบในทุกด้าน เจ้าหน้าที่ที่มีศกั ยภาพจะมีสว่ น สนั บ สนุนและส่งเสริม ส่งผลให้ F-B-L-E-S มีคุณภาพ ไปด้วย และยังกำ�หนดแนวทางทีจ่ ะเพิม่ ความรูแ้ ละความเข้าใจ ในการบริหารชุมชนของคณะกรรมการนิติบุคคลโดยเฉพาะ ประธานกรรมการนิตบิ คุ คล ซึง่ ถือว่ามีบทบาทในการบริหาร จัดการชุมชนอย่างสูง

62 HERE IS HOME, HERE IS LPN

การบริหารจัดการศักยภาพของบุคลากร (People Management)


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

บทที่ 4 สั่งสมความสุขสู่อนาคตที่สดใส เสริมสร้างความรู้ ความสามารถ และ คุณธรรม เพื่อพัฒนาสู่องค์กรแห่งคุณค่าอย่างเต็มภาคภูมิ

บ้านหลังใหญ่ หัวใจเดียวกัน WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

63


รายงานประจำ�ปี 2555

ประวัติบริษัท บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สำ�คัญในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจ และการบริหารงานนับจากวันจัดตั้ง บริษัทสรุปได้ดังนี้ ปี 2532 • บริษัทถือกำ�เนิดขึ้นจากบุคคลหลากหลายสาขาอาชีพที่มีความมุ่งมั่นร่วมกันในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่มี

คุณภาพให้แก่สังคมไทย โดยก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2532 ด้วยทุนจดทะเบียน 50 ล้านบาทและเริ่มต้น พัฒนาโครงการ “ลุมพินี ทาวเวอร์” อาคารชุดสำ�นักงานสูง 38 ชั้นแห่งแรกบนถนนพระราม 4 ซึ่งเป็นที่ตั้งของ สำ�นักงานใหญ่จนถึงปัจจุบัน

ปี 2533 • นอกจากการพัฒนาโครงการแล้วระยะแรกของการดำ�เนินงาน ยังเป็นช่วงเวลาของการขยายการลงทุน และการ

พัฒนาการให้บริการภายใต้การดำ�เนินงานของบริษทั และบริษทั ในเครือ โดยบริษทั ได้ลงทุนในบริษทั พรสันติ จำ�กัด เป็นจำ�นวนเงิน 10 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนการลงทุนร้อยละ 20 ของทุนชำ�ระแล้ว 50 ล้านบาท เพื่อพัฒนา โครงการพี.เอส.ที.คอนโดวิลล์ มูลค่าโครงการประมาณ 3,600 ล้านบาท ปี 2535 • จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ด้วยทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท โดยบริษัท

เป็นผู้ถือหุ้นร้อยละ 99.88 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้บริการด้านธุรกิจบริหารอสังหาริมทรัพย์ โดยเฉพาะการ บริหารอาคารแก่นิติบุคคลอาคารชุดของโครงการต่างๆ ที่บริษัทและบริษัทย่อยพัฒนาขึ้น เป็นการให้บริการหลัง การขายและสร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพชีวิตของลูกค้าที่ซื้อผลิตภัณฑ์ของบริษัท ถือเป็นนโยบายในการสร้าง ความแตกต่างและเป็นจุดแข็งในการแข่งขัน

ปี 2536 • เพิ่มการลงทุนในบริษัท พรสันติ จำ�กัด เป็นร้อยละ 99.99 ของทุนชำ�ระแล้ว 200 ล้านบาท มูลค่าที่ตราไว้

หุ้นละ 1,000 บาท

ปี 2537 • ภายในระยะเวลา 5 ปีของการดำ�เนินงานบริษัทได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน

2537 ทะเบียนเลขที่ บมจ.477 โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้รับบริษัทเข้าเป็นบริษัท จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ ใช้ชื่อหลักทรัพย์ว่า “LPN” และได้ออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำ�นวน 9.2 ล้านหุ้น เพื่อจัดสรรให้แก่ ประชาชนทั่วไป โดยมีมูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท และราคาเสนอขายต่อหุ้น 64 บาท ซึ่งต่อมาได้เพิ่มทุนเป็น 460 ล้านบาท เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2537 • ร่วมลงทุนในบริษัท Elec & Eltek (Guangzhou) Real Estate Development Ltd. ซึ่งเป็นบริษัทพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ในประเทศฮ่องกงเป็นจำ�นวนเงิน 12,720,000 บาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10 ของทุนชำ�ระแล้ว

ปี 2539 • ร่วมลงทุนในบริษทั เอ็น.ที.เอ็น.คอนกรีต จำ�กัด ซึง่ ประกอบธุรกิจประเภทวัสดุกอ่ สร้างเป็นจำ�นวนเงิน 10,200,000 บาท

หรือ 1,020,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 51 ของทุนจดทะเบียนหรือมูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท

• บริษัทลงนามในสัญญากู้เงินตราต่างประเทศกับธนาคารชั้นนำ� 5 แห่งของประเทศสิงคโปร์ เป็นยอดเงินรวม 20,000,000 เหรียญ อายุสัญญา 3 ปี ในอัตราดอกเบี้ย SIBOR +1.20 เพื่อนำ�มาใช้พัฒนาโครงการ แอล.พี.เอ็น. สุขุมวิท ทาวเวอร์

64 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ปี 2540 • บริษทั ประสบปัญหาจากวิกฤติเศรษฐกิจและผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ น อีกทัง้ สถาบันการเงินหยุดการสนับสนุน

เงินกู้เพื่อการก่อสร้าง ในขณะที่บริษัทมีโครงการที่อยู่ระหว่างก่อสร้างถึง 3 โครงการ รวมถึงลูกค้าหยุดการผ่อน ชำ�ระ ทำ�ให้ขณะนัน้ บริษทั มีหนีส้ นิ เกินกว่าจะชำ�ระได้ บริษทั จึงจำ�เป็นต้องหยุดการจ่ายดอกเบีย้ กับสถาบันการเงิน รวมถึงปรับเปลี่ยนแผนการก่อสร้าง โดยมุ่งดำ�เนินงานเฉพาะในโครงการที่ใกล้แล้วเสร็จด้วยการสนับสนุนที่ดียิ่ง จากปิยมิตรของบริษัท • ขยายงานบริการของบริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด เนื่องจากเล็งเห็นช่องว่างของตลาดในช่วง ภาวะซบเซาทางเศรษฐกิจ และเพื่อเป็นการรักษาบุคลากรจึงได้ขยายส่วนงานบริการต่างๆ ขึ้น เพื่อรองรับความ ต้องการของตลาด เช่น งานบริการระบบรักษาความปลอดภัย งานบริการรักษาความสะอาด งานซ่อมบำ�รุงระบบ ปรับอากาศ เป็นต้น • ปรับโครงสร้างองค์กรและพัฒนาประสิทธิภาพของบุคลากร เพื่อให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจ นอกจากนี้ นายจำ�ลอง รัตนกุลเสรีเริงฤทธิ์ ได้ขอลาออกจากประธานกรรมการบริษัทเนื่องจากปัญหาสุขภาพ และ นายพงส์ สารสิน ขอลาออกจากกรรมการบริษทั เนือ่ งจากภารกิจในขณะนัน้ ทำ�ให้ไม่สามารถให้เวลาได้เต็มที่ คณะ กรรมการบริษัทจึงได้เรียนเชิญ นายโมรา บุณยผล เข้าดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการบริษัทแทน

ปี 2541 • ถอนการลงทุนใน Elec & Eltek (Guangzhou) Real Estate Development Ltd. เนื่องจากมีการชะลอโครงการตาม

แผนการพัฒนา ประกอบกับสภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว ทำ�ให้บริษัทขาดสภาพคล่อง การถอนการลงทุนในครั้งนี้ มีผลทำ�ให้บริษัทกำ�ไรในส่วนอัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 3,390,000 บาท

ปี 2542 • เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2542 บริษัทได้แต่งตั้งบริษัท คาเธ่ย์ แอสเซท แมเนจเมนท์ จำ�กัด เป็นที่ปรึกษาในการ

ปรับปรุงโครงสร้างหนี้และการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท โดยร่วมกันกำ�หนดแนวทางในการเจรจาปรับปรุง โครงสร้างหนี้กับเจ้าหนี้ทุกราย รวมถึงการวางแผนงานเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท

• ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ได้จดั ให้มกี ารประชุมวิสามัญ ผูถ้ อื หุน้ ครั้งที่ 1/2542 เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2542 ณ ห้องประชุมใหญ่ของบริษัท เพื่อพิจารณาเรื่องการเพิ่มทุน จดทะเบียนของบริษัท จากเดิม 460 ล้านบาท เป็น 3,983 ล้านบาท โดยการออกหุ้นใหม่เป็นหุ้นสามัญ เพื่อการ เพิ่มทุนจำ�นวน 352,300,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท รวมจำ�นวน 3,523 ล้านบาท • ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2542 มีมติเป็นเอกฉันท์ให้บริษทั ขายเงินลงทุนในหุน้ ของ บริษัท เอ็น.ที.เอ็น.คอนกรีต จำ�กัด ในมูลค่าหุ้นละ 0.01 สืบเนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจซบเซาในขณะนั้น ทำ�ให้ บริษัท เอ็น.ที.เอ็น.คอนกรีต จำ�กัด ซึ่งดำ�เนินธุรกิจการค้าวัสดุก่อสร้างต้องประสบภาวะขาดทุน และส่วนของผู้ถือ หุ้นติดลบ อีกทั้งบริษัท เอ็น.ที.เอ็น.คอนกรีต จำ�กัด ไม่สามารถสนับสนุนการดำ�เนินงานของบริษัทได้ • บริ ษั ท สามารถเจรจาปรั บ ปรุ ง โครงสร้ า งหนี้ กั บ เจ้ า หนี้ ส ถาบั น การเงิ น ในปี 2542 คิ ด เป็ นมู ล หนี้ ทั้ ง สิ้ น 3,132,610,000 บาท และสามารถสรุปแนวทางการปรับปรุงโครงสร้างหนีส้ ว่ นทีเ่ หลือในมูลหนีป้ ระมาณ 170 ล้าน บาทเรียบร้อยในเดือนกุมภาพันธ์ 2543 จึงถือได้ว่าบริษัทสามารถทำ�การปรับปรุงโครงสร้างหนี้ได้ทั้งหมดในมูล หนี้รวมทั้งสิ้น 3,305,930,000 บา

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

65


รายงานประจำ�ปี 2555

ปี 2544 • บริษัทริเริ่มการพัฒนาซิตี้คอนโดในเมือง ในขณะที่ผู้ประกอบการรายอื่นต่างชะลอการพัฒนาโครงการใหม่

โดยเริ่มที่โครงการลุมพินี เพลส สาทร เป็นแห่งแรก และได้รับการตอบรับอย่างดี จนเป็นต้นแบบของการพัฒนา ซิตี้คอนโดของผู้ประกอบการอื่นๆ ในระยะต่อมา • เดือนพฤศจิกายน 2544 บริษัทได้ตกลงทำ�สัญญาร่วมทุนกับบริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท แสนสิริ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัท เยาววงศ์ จำ�กัด โดยได้จัดตั้งบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด ขึ้น เพื่อพัฒนาโครงการวอเตอร์คลิฟ ซึ่งเป็นโครงการอาคารชุดพักอาศัยสร้างค้างบนถนนรัชดา-พระราม 3 ที่หยุด ดำ�เนินการตั้งแต่ปี 2540 เนื่องจากวิกฤติเศรษฐกิจ โดยบริษัทร่วมทุนดังกล่าวได้เข้าฟื้นฟูและพัฒนาโครงการใหม่ ภายใต้ชื่อ “ลุมพินี เพลส วอเตอร์คลิฟ” โดยมีบริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด เป็นผู้รับผิดชอบ ด้านการบริหารการขายและการตลาด การบริหารงานก่อสร้าง รวมถึงการเจรจากับ กลุ่มผู้ซื้อเดิม

ปี 2545 • บริษทั ชำ�ระหนีค้ นื ตามแผนปรับปรุงโครงสร้างหนี้ได้ทงั้ หมด กลายเป็นบริษทั ที่ “ไม่มหี นีส้ นิ หากแต่มบี คุ ลากร ซึง่

บริษัทรักษาไว้และได้รับการหล่อหลอมในช่วงวิกฤติให้กลายเป็นทรัพย์สินที่มีคุณภาพและดำ�รงตัวตนความเป็น LPN จนถึงปัจจุบัน” • ซิตคี้ อนโดทุกโครงการของบริษทั ประสบความสำ�เร็จอย่างสูง นอกจากนีบ้ ริษทั ยังได้รว่ มทุนกับปิยมิตร เพือ่ พัฒนา อาคารที่ยังสร้างค้างไว้จนเสร็จสมบูรณ์ • อนุมัติการลดทุนจดทะเบียนจาก 3,983 ล้านบาท เป็น 460 ล้านบาท โดยเป็นการลดส่วนของหุ้นที่ยังไม่ได้ นำ�ออกจำ�หน่าย และเพิ่มทุนจดทะเบียน จำ�นวน 750 ล้านบาท คิดเป็นทุนจดทะเบียนรวม 1,210 ล้านบาท พร้อมกับการแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิให้สมบูรณ์สอดคล้องกัน • เพิ่มทุนจำ�นวน 750 ล้านบาท โดยเป็นการออกหุ้นสามัญ 75 ล้านหุ้น แบ่งเป็น (1) 27,600,000 หุ้น สำ�หรับผู้ถือหุ้นเดิม ในสัดส่วน 5 หุ้นเดิมมีสิทธิซื้อ 3 หุ้นใหม่ (2) 29,900,000 หุ้น สำ�หรับการใช้สิทธิแปลงใบสำ�คัญแสดงสิทธิเป็นหุ้นสามัญ โดยใบสำ�คัญแสดงสิทธิจำ�นวน 29,900,000 หน่วย แบ่งเป็น ก. ใบสำ�คัญแสดงสิทธิจำ�นวน 27,600,000 หน่วย จัดสรรแก่ผู้ถือหุ้นเดิมที่ใช้สิทธิจองซื้อหุ้นสามัญ เพิ่มทุน ในอัตราส่วน 1 หุ้นใหม่ต่อ 1 หน่วยใบสำ�คัญแสดงสิทธิ ข. ใบสำ�คัญแสดงสิทธิจ�ำ นวน 2,300,000 หน่วย จัดสรรแก่กรรมการและพนักงานบริษทั จำ�นวนไม่เกิน 35 ราย (3) 17,500,000 หุ้น สำ�หรับการแปลงหนี้เป็นทุนของธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) (4) บริษทั ได้แต่งตัง้ บริษทั ยูไนเต็ด แอ็ดไวเซอร์รี่ เซอร์วสิ จำ�กัด เป็นทีป่ รึกษาในการเพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั

ปี 2547 • จากความสำ�เร็จของบริษัทในการพัฒนาที่พักอาศัย โดยเฉพาะซิตี้คอนโดใจกลางเมืองในระดับราคาล้านบาทต้นๆ

ทำ�ให้บริษัทได้รับการยอมรับให้เป็นผู้นำ�ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทอาคารชุดพักอาศัยระดับกลาง

• ที่ประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2547 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2547 มีมติให้เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ้น ที่ตราไว้จากเดิมหุ้นละ 10 บาท เป็นหุ้นละ 1 บาท ทำ�ให้จำ�นวนหุ้นของบริษัทเพิ่มขึ้นจากเดิม121 ล้านหุ้น เป็น 1,210 ล้านหุ้น นอกจากนี้ยังได้อนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนจำ�นวน 276,706,550 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท รวมเป็นทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 1,486,706,550 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 1,486,706,550 หุ้น มูลค่า หุ้นละ 1 บาท

• บริษัทเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทแกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด จากร้อยละ 25 เป็นร้อยละ 33.33

66 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ปี 2549 • ที่ประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2549 ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2549 มีมติอนุมัติลดทุนจดทะเบียน

จาก 1,486,706,550 บาท เป็น 1,475,698,768 บาท โดยตัดหุ้นสามัญส่วนที่เหลือจากการสำ�รองไว้ เพื่อรองรับ การใช้สิทธิในการแปลงใบสำ�คัญแสดงสิทธิจำ�นวน 11,007,782 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาทและอนุมัติแก้ไขหนังสือ บริคณห์สนธิ ข้อ 4 ของบริษัท เพื่อให้สอดคล้องกับการลดทุนจดทะเบียน

ปี 2544 บริษัทริเริ่มการพัฒนาซิตี้คอนโดในเมือง ในขณะที่ผู้ประกอบการ รายอื่นต่างชะลอการพัฒนาโครงการใหม่ โดยเริ่มที่โครงการลุมพินี เพลส สาทร เป็นแห่งแรก และได้รับการตอบรับอย่างดี จนเป็นต้นแบบของการพัฒนา ซิตี้คอนโดของผู้ประกอบการอื่นๆ ในระยะต่อมา ปี 2550 • บริษัทได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการร่วมลงทุนในบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด โดยลดสัดส่วน

การถือหุ้นลงจากเดิมร้อยละ 33.33 เป็นร้อยละ 20 ของทุนจดทะเบียน และได้จัดตั้งบริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด ขึ้น เพื่อประกอบธุรกิจให้บริการด้านการบริหารงานก่อสร้าง

ปี 2551 • เนือ่ งจากวิกฤติสนิ เชือ่ อสังหาริมทรัพย์ดอ้ ยคุณภาพ (Subprime) ทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศสหรัฐอเมริกาและสถานการณ์

ทางการเมืองของประเทศไทยในช่วงปลายปี 2551 มีผลกระทบต่อตลาดเงินในประเทศ และก่อให้เกิดความผันผวน ในตลาดหลักทรัพย์ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ได้สง่ เสริมให้บริษทั จดทะเบียน จั ด โครงการซื้ อ หุ้ น คื น (Treasury Stocks) เพื่ อ สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ แ ก่ นั ก ลงทุ น ดั ง นั้ น ที่ ป ระชุ ม คณะ กรรมการบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ครั้งที่ 6/2551 เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2551 จึงได้มมี ติอนุมตั โิ ครงการซือ้ หุน้ คืน เนือ่ งจากราคาหุน้ ในตลาดช่วงนัน้ ตํา่ กว่าปัจจัยพืน้ ฐานของบริษทั โดยกำ�หนด วงเงินที่จะใช้ในการซื้อคืนเป็นจำ�นวนเงิน 200 ล้านบาท โดยมีจำ�นวนหุ้น ที่จะซื้อคืนประมาณ 62 ล้านหุ้น คิดเป็น ร้อยละ 4.20 ของหุ้นที่จำ�หน่ายแล้วทั้งหมด คือ1,475,698,768 หุ้น และเป็นการซื้อเฉพาะในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยเท่านั้น โดยมีระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 24 ตุลาคม 2551 ถึงวันที่ 23 เมษายน 2552

ปี 2552 • ตามมติคณะกรรมการบริษัทที่ให้จัดทำ�โครงการซื้อหุ้นคืน (Treasury Stocks) เมื่อปี 2551 นั้น บริษัทได้ซื้อ

หุ้นคืนจำ�นวนทั้งสิ้น 8,146,300 หุ้น ในราคาเฉลี่ย 2.19 บาทต่อหุ้น คิดเป็นจำ�นวนเงินทั้งสิ้น 17,841,198 บาท และได้ขายหุ้นซื้อคืนจำ�นวนดังกล่าวระหว่างวันที่ 3-11 ธันวาคม 2552 ในราคาเฉลี่ย 7.01 บาทต่อหุ้น คิดเป็น จำ�นวนเงินรวม 57,103,415 บาท ซึ่งบริษัทได้กำ�ไรจากการขายหุ้นซื้อคืนเป็นจำ�นวนเงินทั้งสิ้น 39,262,226 บาท

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

67


รายงานประจำ�ปี 2555

ปี 2553 • บริษทั ได้เริม่ ใช้มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 เรือ่ งรายได้ (ปรับปรุง 2552) และมาตรฐานการบัญชีฉบับทีป่ ระกาศใหม่

ฉบับที่ 19 เรื่องผลประโยชน์พนักงาน ก่อนที่มาตรฐานบัญชีดังกล่าวให้ถือปฏิบัติได้มีการแสดง อยู่ในงบการเงิน ปี 2553 และ 2552 เรียบร้อยแล้ว โดยการใช้มาตรฐานบัญชีดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อ การดำ�เนินงานหรือ ผลประกอบการของบริษัทในทุกมิติ การบัญชีดังกล่าวมีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2554 มี 22 ฉบับ และ 1 มกราคม 2556 อีก 2 ฉบับ

ปี 2554 • บริษัทได้แยกฝ่ายรักษาความสะอาดออกมาจากบริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด และจัดตั้งเป็น

บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด ขึ้น เพื่อประกอบธุรกิจให้บริการด้านรักษาความสะอาด เพื่อสร้างอาชีพ รายได้ และคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่สตรีด้อยโอกาสด้วยทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท โดยมี เป้าหมายระยะยาวของบริษัทดังกล่าวให้ดำ�เนินงานในลักษณะขององค์กรเพื่อสังคม (Social Enterprise)

• เพิ่มการลงทุนในบริษัท พรสันติ จำ�กัด จาก 195,000,000 ล้านบาท เป็น 350,000,000 ล้านบาท

• ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 6/2554 เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2554 กำ�หนดให้บริษัทมีนโยบายในการจ่าย เงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 50 ของกำ�ไรสุทธิจากงบการเงินรวม

ปี 2554 บริษัทได้แยกฝ่ายรักษาความสะอาดออกมาจาก บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด และจัดตั้งเป็นบริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด ขึ้น เพื่อให้บริการ ด้านรักษาความสะอาด เพื่อสร้างอาชีพ รายได้ และคุณภาพชีวิตให้กับสตรีด้อยโอกาส

68 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ปี 2555 • ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2555 นายธีรชัย ปัญจทรัพย์ กรรมการบริษัท

ได้แจ้งความประสงค์ ไม่ขอดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ดังนั้น กรรมการบริษัทจึงมีจำ�นวนทั้งสิ้น 13 คน นับตั้งแต่วันที่ 29 มีนาคม 2555 เป็นต้นไป • ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2555 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2555 ได้มีมติตั้งคณะอนุกรรมการกำ�กับ ดูแลกิจการด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยแต่งตั้ง นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ เป็นประธาน อนุกรรมการ • ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 9/2555 เมือ่ วันที่ 14 ธันวาคม 2555 ได้มมี ติเปลีย่ น “คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน” เป็น “คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล” โดยให้มีผลนับตั้งแต่ วันที่ 14 ธันวาคม 2555 เป็นต้นไป โดยองค์คณะของคณะกรรมการยังคงเป็นชุดเดิม

• บริษทั ได้ขอถอนตัวจากการเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด โดยการขายหุ้นสามัญ ให้แก่บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำ�กัด (มหาชน)

• บริษทั พรสันติ จำ�กัด เริม่ มีโครงการทีพ่ ฒ ั นาแล้วเสร็จเป็นปีแรก คือ โครงการลุมพินี ทาวน์ เพลส รัชโยธิน-เสนาฯ และโครงการลุมพินี ทาวน์ เรสซิเดนซ์ ลาดพร้าว-สเตชั่น

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

69


รายงานประจำ�ปี 2555

รางวัลที่ได้รับ ปี 2548 • บริษัทได้รับการจัดอันดับหลักทรัพย์ให้อยู่ในดัชนี SET Index 100 ตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมือ่ วันที่ 18 เมษายน 2548 ซึง่ เป็นดัชนีที่ใช้วดั ระดับราคาของหลักทรัพย์ เพือ่ สนับสนุนให้เกิดการกระจายการลงทุนไปสู่ บริษทั ขนาดกลางมากยิง่ ขึน้ โดยใช้เกณฑ์ดา้ นขนาดสภาพคล่อง การกระจายหุน้ และมีมลู ค่าตามราคาตลาดเฉลีย่ ต่อวันใน ตลาดหลักทรัพย์สูงสุดย้อนหลัง 12 เดือน และเป็นบริษัทที่จดทะเบียนไม่น้อยกว่า 6 เดือน รวมทั้งมีสัดส่วนการกระจาย ให้ผู้ถอื หุ้นรายย่อย (Free-float) มากกว่าร้อยละ 20 • โครงการพี.เอส.ที. ซิตี้โฮม อาคารชุดพักอาศัยสูง 29 ชัน้ ของบริษทั ชนะการประกวดลำ�ดับที่ 3 ในโครงการแมกไม้มงิ่ เมือง ระดับหน้าบ้านน่ามอง ประเภทร่มรื่นพรรณพฤกษาอาคารใหญ่ ณ สำ�นักงานเขตยานนาวา ซึ่งเป็นนโยบายในการ ให้ความสำ�คัญกับการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีให้เกิดขึ้นในโครงการต่างๆ • บริษัทได้รับการจัดอันดับให้เป็น 1 ใน 93 บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ที่ได้รับการประเมินผลการดำ�เนินงาน ด้านการกำ�กับดูแลกิจการดีเด่นในกลุ่ม Top Quartile จากการประเมินโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และเป็นการจัดอันดับในกลุ่ม Top Quartile เป็นปีที่ 3 ติดต่อกัน ปี 2549 • บริษัทได้รับการจัดอันดับจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ให้เป็นบริษัทที่มีการกำ�กับดูแลกิจการ ในระดับ 4 ตราสัญลักษณ์ จากการดำ�เนินงานตามหลักธรรมาภิบาลทีม่ งุ่ เน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อผูล้ งทุน ผูถ้ อื หุน้ และ บุคคลทัว่ ไปอย่างโปร่งใสมาตลอด โดยมีคะแนนเฉลี่ย 80-89 จากคะแนนเต็ม 100 โดยนับเป็นปีที่ 4 ที่บริษัทได้รับ การสำ�รวจด้านการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี โดยมีบรรษัทภิบาลแห่งชาติรบั รองในฐานะเป็นบริษทั จดทะเบียนหลักทรัพย์ใน อันดับดีมาก • บริษัทได้รับประกาศเกียรติคุณจาก คุณภัทรียา เบญจพลชัย กรรมการผู้จัดการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยใน โอกาสที่บริษัทติด 1 ใน 3 ของบริษัทที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล SET Awards 2006 ประเภท Best Performance ในหมวด Property & Construction ซึง่ เป็นผลมาจากการดำ�เนินงาน ทีม่ งุ่ สร้างการเติบโตทีย่ งั่ ยืนและสร้างผลตอบแทน ทีด่ ีให้แก่ผถู้ อื หุน้ โดยเกณฑ์การตัดสินรางวัลพิจารณาจากฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน รวมถึงการปฏิบตั ติ ามข้อ กำ�หนดเรื่องการเปิดเผยข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสภาพคล่องของหลักทรัพย์ ปี 2551 • บริษัทได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณจากสำ�นักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สำ�นักนายกรัฐมนตรี (สคบ.) ใน ฐานะ “ผู้ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่ดีประจำ�ปี 2550-2551” ซึ่งเป็นโครงการที่สำ�นักงานคณะกรรมการผู้บริโภคได้ จัดขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ประกอบธุรกิจมีจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม • นิตยสาร Forbes Asia ฉบับเดือนกันยายน 2551 ได้คัดเลือกให้บริษัทเป็น 1 ใน “200 Best Under A Billion” ซึ่งทำ�การ สำ�รวจบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก จำ�นวน 24,155 แห่ง ที่มีรายได้ต่ำ�กว่า 1,000.00 ล้านเหรียญสหรัฐ และมีผลการดำ�เนินงานโดดเด่นอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีบริษทั ไทยได้รบั รางวัลดังกล่าวเพียง 7 บริษทั เท่านัน้ • บริษัทได้รับการจัดอันดับจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ให้เป็นบริษัทที่มีการกำ�กับดูแลกิจการ ในระดับ 4 ตราสัญลักษณ์เป็นปีที่ 5 ติดต่อกันจากการดำ�เนินงานตามหลักธรรมาภิบาลที่มุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อ นักลงทุน ผู้ถือหุ้น และบุคคลทั่วไปอย่างโปร่งใสมาโดยตลอด ปี 2552 • บริษัทได้รับการจัดอันดับจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ให้เป็นบริษัทที่มีการกำ�กับดูแลกิจการ ในระดับ 4 ตราสัญลักษณ์เป็นปีที่ 6 ติดต่อกันจากการดำ�เนินงานตามหลักธรรมาภิบาลที่มุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อ นักลงทุน ผู้ถือหุ้น และบุคคลทั่วไปอย่างโปร่งใสมาโดยตลอด ปี 2553 • บริษัทได้รับการจัดอันดับจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ให้เป็นบริษัทที่มีการกำ�กับดูแลกิจการ ในระดับดีเลิศ (ระดับ 5 ตราสัญลักษณ์) จากการดำ�เนินงานตามหลักธรรมาภิบาลที่มุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อ นักลงทุน ผู้ถือหุ้น และบุคคลทั่วไปอย่างโปร่งใสมาโดยตลอด • บริษัทได้รบั รางวัลประกาศเกียรติคุณเป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน จากสำ�นักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สำ�นักนายก รัฐมนตรี (สคบ.) ในฐานะ “ผู้ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่ดีประจำ�ปี 2552-2553” ซึ่งเป็นโครงการที่สำ�นักงาน คณะกรรมการผู้บริโภคจัดขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ประกอบธุรกิจมีจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม • นายทิฆมั พร เปล่งศรีสขุ ประธานกรรมการบริหารและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ได้รบั การเสนอชือ่ เข้าชิง Set Awards 2010 ในสาขา Best CEO Awards จากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

70 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

• แคมเปญการสื่อสารการตลาดของบริษัทได้แก่ “30 Happydays” และ “Happiness of Caring” ได้รับรางวัล Certificate of Excellence 2010 ในหมวด Interactive and Digital Media (Web-site Design) จาก Bangkok Art Directors Association (BAD Award)

ปี 2554

• บริษัทได้รับการจัดอันดับจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ให้เป็นบริษัทที่มีการกำ�กับดูแลกิจการ ในระดับดีเลิศ (ระดับ 5 ตราสัญลักษณ์) ติดต่อกันเป็นปีที่ 2 จากการประเมินตามเกณฑ์ใหม่ ด้วยการดำ�เนินงานตาม หลักธรรมาภิบาลที่มุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อนักลงทุน ผู้ถือหุ้น และบุคคลทั่วไปอย่างโปร่งใสมาโดยตลอด • บริษัทได้รับรางวัล Thailand Most Innovative Companies 2011: In Search of Sustainable Innovation ซึ่งเป็น รางวัลทีแ่ ต่ละบริษทั ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยต้องผ่านกระบวนการคัดเลือกพิจารณาจากผลการประเมิน โดย นักธุรกิจในแต่ละอุตสาหกรรม ประกอบผลการตัดสินใจโดยผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อคัดเลือกบริษัทที่มีนวัตกรรมโดดเด่นที่สุด จากบริษัทที่จดทะเบียนทั้งหมด โดยบริษัทเป็น 1 ใน 5 บริษัทในกลุ่ม Non-service ที่ได้รับรางวัลนี้ ซึ่งจัดขึ้นโดย คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ • หลักทรัพย์ของบริษัท (LPN) ได้รับคัดเลือกให้อยู่ในกลุ่ม SET High Dividend 30 Index (SET HD) ด้วยหลักเกณฑ์ จากการที่หลักทรัพย์ของบริษัทอยู่ในกลุ่ม SET 100 Index มีการจ่ายเงินปันผลอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี และมี อัตราส่วนการจ่ายปันผลต่อกำ�ไรสุทธิ (Dividend Payout Ratio) ไม่เกินร้อยละ 85 ในแต่ละปี ย้อนหลัง 3 ปี นอกจากนีห้ ลัก ทรัพย์ของบริษัทจะต้องไม่มีเหตุใดเหตุหนึ่งดังต่อไปนี้คือ เป็นหลักทรัพย์ที่เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนตามข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ เป็นหลักทรัพย์ที่จะเพิกถอนตัวเองออกในระยะเวลาอันใกล้ และอยู่ในระหว่างถูกสั่งพักการซื้อขาย (SP) เป็นระยะเวลานาน • บริษัทได้รับผลการประเมินคุณภาพในระดับดีเยี่ยมในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปี 2554 จากสมาคมส่งเสริม ผู้ลงทุนไทย

ปี 2555

• บริษัทได้รับการจัดอันดับจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ให้เป็นบริษัทที่มีการกำ�กับดูแลกิจการ ในระดับดีเลิศ (ระดับ 5 ตราสัญลักษณ์) ติดต่อกันเป็นปีที่ 3 จากการประเมินตามเกณฑ์ใหม่ ด้วยการดำ�เนินงานตาม หลักธรรมาภิบาลที่มุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อนักลงทุน ผู้ถือหุ้น และบุคคลทั่วไปอย่างโปร่งใสมาโดยตลอด • บริษัทได้รับการคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 18 บริษัทที่มีสิทธิได้รับรางวัล บริษัทจดทะเบียนด้านผลการดำ�เนินงานยอดเยี่ยม (Best Company Performance Award) ในกลุม่ บริษทั ทีม่ มี ลู ค่าหลักทรัพย์สงู กว่า 10,000 ล้านบาท จากตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย • บริษัทได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณอสังหาริมทรัพย์ดีเด่น ประเภทอาคารชุดราคาย่อมเยา จาก ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง โดยโครงการลุมพินี วิลล์ แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด ได้รับคัดเลือกจากทำ�เลที่ตั้ง วัสดุ รูปแบบอาคาร การจัดสภาพแวดล้อม และราคาที่เหมาะสม • บริษัทในฐานะผู้บริหารจัดการโครงการ ลุมพินี เพลส รัชโยธิน และ โครงการ ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา ได้รับ รางวัลประกาศเกียรติคุณจากสำ�นักการโยธา กรุงเทพมหานคร ให้เป็นอาคารที่มีความโดดเด่นด้านการบริหารจัดการ ความปลอดภัยที่ดี “อาคารปลอดภัย อุ่นใจทั้งเมือง” • บริษัทได้รับการประเมินคุณภาพในระดับดีเลิศในการจัดการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปี 2555 จากสมาคมส่งเสริม ผู้ลงทุนไทย โดยได้คะแนนเต็ม 100 คะแนน

Thailand’s Most Innovative Companies 2011

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

71


รายงานประจำ�ปี 2555

โครงสร้างองค์กร คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะอนุกรรมการ ด้านความรับผิดชอบ ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม

สำ�นักงานตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการบริหาร

กรรมการผู้จัดการ บมจ. แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์

กรรมการผู้จัดการ บจ.พรสันติ

สายงานพัฒนาธุรกิจ

สายงานพัฒนาธุรกิจ

สายงานบริหารงานขาย

สายงานบริหารงานขาย

สายงานบริหารแบรนด์ และการตลาด

สายงานบริหารการตลาด

สายงานบริหารการเงิน และบัญชี สายงานอำ�นวยการ สำ�นักทรัพยากรมนุษย์ โครงการพิเศษ

72 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง

สถาบัน แอล.พี.เอ็น.

กรรมการผู้จัดการ บจ.ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส สายงานบริหารงานก่อสร้าง

กรรมการผู้จัดการ บจ.ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ สายงานพัฒนา การบริหารชุมชน

กรรมการผู้จัดการ บจ.ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ สายงานบริหารความสะอาด

สายงานบริหารชุมชน สายงานสนับสนุน การบริหารชุมชน สายงานบริหารทรัพย์สิน สายงานบริหาร งานบำ�รุงรักษา สายงานอำ�นวยการชุมชน

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

73


รายงานประจำ�ปี 2555

คณะกรรมการบริษัท

นายปกรณ์ ทวีสิน อายุ : 73 ปี ตำ�แหน่ง : ประธานกรรมการบริษัท และ กรรมการอิสระ

การศึกษา • The Chartered Institute of Bankers, London • ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่น 311)

ประวัติการอบรม • Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 0/2000) และ Certification of Attendance of Role of the Chairman Program (RCP 16/2007) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์การทำ�งานย้อนหลัง 5 ปี จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน : • ประธานกรรมการบริษัท และ กรรมการอิสระ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท คอลเกต-ปาล์มโอลีฟ (ประเทศไทย) จำ�กัด • ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ บริษทั โรงแรม รอยัลออคิด (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท ศกรกมล จำ�กัด • ประธานกรรมการ บริษัท คสุคนธ์ จำ�กัด ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) : ไม่มี

74 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ศาสตราจารย์ศิริ เกวลินสฤษดิ์ อายุ : 83 ปี ตำ�แหน่ง : รองประธานกรรมการบริษัท และ กรรมการอิสระ

การศึกษา : • ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขานิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • เนติบัณฑิตไทย สำ�นักอบรมกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา • นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่น 25)

ประวัติการอบรม : • หลักสูตรการศึกษาอบรมด้านการพัฒนาสาขาการถือครองและการบริหารงานที่ดิน มหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ • Director Accreditation Program (DAP 25/2004), Finance for Non-Finance Directors (FND 14/2004) และ Audit Committee Program (ACP 7/2005) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์การทำ�งานย้อนหลัง 5 ปี จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน : • รองประธานกรรมการบริษัท และ กรรมการอิสระ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการร่างกฎหมาย กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม • กรรมการร่างกฎหมายคณะที่ 7 สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา • กรรมการผูท้ รงคุณวุฒขิ องคณะกรรมการจัดทีด่ นิ แห่งชาติ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม • ทีป่ รึกษาคณะกรรมการส่งเสริมความปลอดภัยฯ สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำ�งาน • ที่ปรึกษากรรมการประเมินทุนทรัพย์ สมาคมประเมินทุนทรัพย์ • ที่ปรึกษาคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน กรมที่ดิน • กรรมการที่ปรึกษาในคณะกรรมการปรับปรุงและพัฒนากฎหมายของกรมที่ดิน กรมที่ดิน ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) : ไม่มี

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

75


รายงานประจำ�ปี 2555

นายทวีชัย จิตตสรณชัย อายุ : 74 ปี ตำ�แหน่ง : รองประธานกรรมการบริษัท กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และ กรรมการอิสระ

การศึกษา : • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี Tianjin, University, Tianjin, China

ประวัติการอบรม : • Director Accreditation Program (DAP 26/2004) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์การทำ�งานย้อนหลัง 5 ปี จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน : • รองประธานกรรมการบริษัท กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และ กรรมการอิสระ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท บริษัท อรทัย อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) : ไม่มี

76 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

นายอมรศักดิ์ นพรัมภา อายุ : 67 ปี ตำ�แหน่ง : กรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และ กรรมการอิสระ

การศึกษา :

• เนติบัณฑิตอังกฤษ สำ�นัก Lincoln’s Inn, London • เนติบัณฑิตไทย สำ�นักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา • นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. 399)

ประวัติการอบรม :

• Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 30/2003), Audit Committee Program (ACP 23/2008) และ Role of Compensation Committee (RCC 9/2009) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) • หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง รุ่นที่ 31 • หลักสูตรนักบริหารชั้นสูง รุ่นที่ 7

ประสบการณ์การทำ�งานย้อนหลัง 5 ปี จนถึงปัจจุบัน

ปัจจุบัน : • กรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และ กรรมการอิสระ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท อาร์ ซี แอล จำ�กัด (มหาชน) • ประธานคณะกรรมการจริยธรรม กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม • ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) 2551 - 2552 : • กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร และ กรรมการสรรหากำ�หนดค่าตอบแทนและพัฒนาบุคลากร บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) 2550 - 2552 : • ประธานกรรมการบริษัท บริษัท สยามเรียลตี้แอนด์เซอร์วิส จำ�กัด • ที่ปรึกษาอาวุโส ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) • ประธานกรรมการบริษัท บริษัทหลักทรัพย์กรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) 2546 - 2550 : • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำ�กัด (มหาชน) ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) : ไม่มี

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

77


รายงานประจำ�ปี 2555

นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ อายุ : 68 ปี ตำ�แหน่ง : กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และ กรรมการอิสระ

การศึกษา : • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการเงินและการบัญชี มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา • บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • พาณิชยศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประวัติการอบรม : • Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 20/2002), Audit Committee Program (ACP 8/2005), Monitoring the Internal Audit Function (MIA 1/2007), Chartered Director Class (CDC 3/2008), Role of Compensation Committee (RCC 9/2009) Monitoring the System of Internal Control & Risk Management (MIR 12/2012) และ Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE 14/2012) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • Capital Market Academy (CMA 4/2007) จากสถาบันวิทยาลัยการตลาดทุน

ประสบการณ์การทำ�งานย้อนหลัง 5 ปี จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน : • กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และ กรรมการอิสระ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท อาร์ ซี แอล จำ�กัด (มหาชน) ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) : ร้อยละ 0.02

78 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล อายุ : 56 ปี ตำ�แหน่ง : กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และ กรรมการอิสระ

การศึกษา : • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบัญชี University of Illinois, U.S.A. • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารทั่วไป Ohio University, U.S.A. • พาณิชยศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประวัติการอบรม : • Director Accreditation Program (DAP 63/2007), Director Certification Program (DCP 91/2007) และ Role of Compensation Committee (RCC 15/2012) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์การทำ�งานย้อนหลัง 5 ปี จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน : • กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และ กรรมการอิสระ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) • ผู้อำ�นวยการฝ่ายบัญชี บริษัท อาร์ ซี แอล จำ�กัด (มหาชน) ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) : ไม่มี

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

79


รายงานประจำ�ปี 2555

นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ อายุ : 68 ปี ตำ�แหน่ง : กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และ กรรมการอิสระ

การศึกษา : • Bachelor of Commerce (Accounting) University of New South Wales, Australia • นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • Diploma, Management Course, IMD, Lausanne, Switzerland

ประวัติการอบรม : • Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 36/2003) และ Audit Committee Program (ACP 7/2005) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD)

ประสบการณ์การทำ�งานย้อนหลัง 5 ปี จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน : • กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และกรรมการอิสระ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และ กรรมการอิสระ บริษัท ไทยวาฟูดโปรดักส์ จำ�กัด (มหาชน) • ประธานกรรมการตรวจสอบและบริหารความเสี่ยง และกรรมการอิสระ บริษัท ลากูน่า รีสอร์ท แอนด์ โฮเต็ล จำ�กัด (มหาชน) • ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ บริษัท บางกอกแร้นช์ จำ�กัด (มหาชน) ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (รวมคู่สมรส) (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) : ร้อยละ 0.17

80 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

นายธีรชัย ปัญจทรัพย์ อายุ 74 ปี ตำ�แหน่ง : กรรมการบริษัท

การศึกษา : • มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนดาราสมุทร ชลบุรี

ประวัติการอบรม : • Director Accreditation Program (DAP 26/2004) และ Finance for Non-Finance Directors (FND 14/2004) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์การทำ�งานย้อนหลัง 5 ปี จนถึงปัจจุบัน • 2532 - 2555 : กรรมการบริษัท บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (รวมคู่สมรส) (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) : ไม่มี *ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2555 นายธีรชัย ปัญจทรัพย์ ได้แจ้งความประสงค์ที่จะไม่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท โดยมีผลนับตั้งแต่วันที่ 29 มีนาคม 2555 เป็นต้นไป

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

81


รายงานประจำ�ปี 2555

นางจงจิตต์ ฐปนางกูร อายุ : 66 ปี ตำ�แหน่ง : กรรมการบริษัท

การศึกษา : • เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง

ประวัติการอบรม : • Certificate English of Proficiency AUA Language Institute, Diamond Grading Gemological Institute of America, Director Accreditation Program (DAP 4/2003) และ Finance for Non-Finance Directors (FND 14/2004) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์การทำ�งานย้อนหลัง 5 ปี จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน : • กรรมการบริษัท บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท บริษัท บูรพากอล์ฟ แอนด์ คันทรีคลับ จำ�กัด ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) : ร้อยละ 0.27 * นางยุพา เตชะไกรศรี นางจงจิตต์ ฐปนางกูร และนายคัมภีร์ จองธุระกิจ มีความสัมพันธ์เป็นพี่น้อง

82 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข อายุ : 63 ปี ตำ�แหน่ง : กรรมการบริษัท ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง

การศึกษา : • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการอบรม : • Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 23/2002) และ Finance for Non-Finance Directors (FND 4 /2003) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์การทำ�งานย้อนหลัง 5 ปี จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน : • กรรมการบริษัท ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท บริษัท พรสันติ จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) : ร้อยละ 0.68

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

83


รายงานประจำ�ปี 2555

นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ อายุ : 63 ปี ตำ�แหน่ง : กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และ กรรมการบริหารความเสี่ยง

การศึกษา : • สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการอบรม : • Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 27/2003), Finance for Non-Finance Directors (FND 4/2003) และ Audit Committee Program (ACP 21/2008) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์การทำ�งานย้อนหลัง 5 ปี จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน : • กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และ กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท บริษัท พรสันติ จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด • ที่ปรึกษา บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด 2550 – 2553 : • กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ บริษัท หลักทรัพย์ เมอร์ชั่น พาร์ทเนอร์ จำ�กัด (มหาชน) ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) : ร้อยละ 0.54

84 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

นางยุพา เตชะไกรศรี อายุ : 62 ปี ตำ�แหน่ง : กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร และ กรรมการบริหารความเสี่ยง

การศึกษา : • เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • ประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขาบัญชี Accounting Advance of Pitman Examination Institute

ประวัติการอบรม : • Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 32/2003) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์การทำ�งานย้อนหลัง 5 ปี จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน : • กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร และ กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท บริษัท พรสันติ จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท ศรีสำ�อางซัพพลายเออร์ จำ�กัด • กรรมการบริษัท และกรรมการบริหาร บริษัท ที.กรุงไทยอุตสาหกรรม จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท เอส.เอส.เอ. อุตสาหกรรม จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท ศรีสำ�อางค์ ซัพพลายเออร์ จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท โรงงานศรีสำ�อางค์ จำ�กัด ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) : ร้อยละ 1.76 * นางยุพา เตชะไกรศรี นางจงจิตต์ ฐปนางกูร และนายคัมภีร์ จองธุระกิจ มีความสัมพันธ์เป็นพี่น้อง

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

85


รายงานประจำ�ปี 2555

นายคัมภีร์ จองธุระกิจ อายุ : 58 ปี ตำ�แหน่ง : กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร และ กรรมการบริหารความเสี่ยง

การศึกษา : • บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

ประวัติการอบรม : • Director Accreditation Program (DAP 4/2003) และ Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 48/2004) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์การทำ�งานย้อนหลัง 5 ปี จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน : • กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร และ กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท บริษัท พรสันติ จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท ที.กรุงไทยอุตสาหกรรม จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท บริษัท เอส.เอส.เอ. อุตสาหกรรม จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท ศรีสำ�อางค์ ซัพพลายเออร์ จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท โรงงานศรีสำ�อางค์ จำ�กัด • ประธานกิตติมศักดิ์กลุ่มอุตสาหกรรมรองเท้า สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) : ร้อยละ 1.26 * นางยุพา เตชะไกรศรี นางจงจิตต์ ฐปนางกูร และนายคัมภีร์ จองธุระกิจ มีความสัมพันธ์เป็นพี่น้อง

86 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

นายโอภาส ศรีพยัคฆ์ อายุ : 50 ปี ตำ�แหน่ง : กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง และ กรรมการผู้จัดการ

การศึกษา : • สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร • Mini M.B.A. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประวัติการอบรม : • Finance for Non-Finance Directors (FND 24/2005) และ Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 71/2006) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์การทำ�งานย้อนหลัง 5 ปี จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน : • กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง และ กรรมการผู้จัดการ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด 2548 : • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) : ไม่มี

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

87


รายงานประจำ�ปี 2555

นางสาวสมศรี เตชะไกรศรี อายุ : 51 ปี ตำ�แหน่ง : รองกรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการบริหารความเสีย่ ง และ เลขานุการบริษัท

การศึกษา : • นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • Mini M.B.A. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประวัติการอบรม : • หลักสูตรพื้นฐานสำ�หรับผู้ปฏิบัติงานเลขานุการบริษัท จากสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

ประสบการณ์การทำ�งานย้อนหลัง 5 ปี จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน : • รองกรรมการผู้จัดการ และ เลขานุการบริษัท บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการผู้จัดการ บริษัท พรสันติ จำ�กัด • กรรมการบริษัท บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา : ไม่มี สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) : ไม่มี

88 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

การลงทุน นโยบายการแบ่งการดำ�เนินงานและการลงทุนของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม บริษัทมีนโยบายการแบ่งการดำ�เนินงานของบริษัทในกลุ่มตามลักษณะการลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ดังนี้

บริษัทย่อย บริษัทได้มีการลงทุนในบริษัทย่อยจำ�นวน 4 บริษัท โดยบริษัทถือหุ้นมากกว่าร้อยละ 99 และแบ่งลักษณะของการประกอบ ธุรกิจ ดังนี้ 1. บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด ดำ�เนินธุรกิจให้บริการบริหารงานก่อสร้างแบบครบวงจรให้แก่โครงการที่พัฒนาโดยบริษัทและบริษัทย่อย บริษัทร่วม 2. บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ดำ�เนินธุรกิจให้บริการบริหารชุมชนแบบครบวงจรให้แก่โครงการที่พัฒนาโดยบริษัทและบริษัทย่อย บริษัทร่วม 3. บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด ดำ�เนินธุรกิจการให้บริการด้านรักษาความสะอาด โดยมีเป้าหมายที่จะพัฒนาไปสู่องค์กรธุรกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) เพือ่ สร้างอาชีพให้แก่สตรีที่ดอ้ ยโอกาส ซึง่ เป็นหนึง่ ในการดำ�เนินงานทีร่ ับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 4. บริษัท พรสันติ จำ�กัด ดำ�เนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่มิใช่โครงการอาคารชุดพักอาศัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกระจายความเสี่ยงในการ ลงทุน และเพื่อช่วยเพิ่มศักยภาพในการพัฒนาของบริษัทสำ�หรับแปลงที่ดินเปล่าที่ไม่เหมาะสมที่จะพัฒนาเป็นอาคาร ชุดพักอาศัย

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

89


รายงานประจำ�ปี 2555

บริษัทร่วม บริษัทมีบริษัทร่วมเพียง 1 บริษัท โดยบริษัทถือหุ้นร้อยละ 20 คือ บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด ซึ่งดำ�เนินธุรกิจ ทางด้านพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยมีการร่วมลงทุนมาตัง้ แต่ชว่ งหลังวิกฤติเศรษฐกิจในปี 2540 เพือ่ พัฒนาโครงการสร้างค้าง ในกรุงเทพมหานครที่มีอยู่เป็นจำ�นวนมากในขณะนั้น จวบจนปัจจุบัน บริษัทมีพัฒนาการในทุกด้านและมีเป้าหมายในโครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท ดังนี้ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในรูปแบบอาคารชุดพักอาศัย วันก่อตั้งบริษัท ชนิดของหุ้น จำ�นวนหุ้น ชำ�ระแล้ว มูลค่าหุ้นละ ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว

21 มิถุนายน 2532 หุ้นสามัญ 1,475,698,768 หุ้น 1,475,698,768 หุ้น 1.00 บาท 1,475,698,768 บาท 1,475,698,768 บาท

บริษัทย่อย

บริษัทร่วม บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด *

บริษัท พรสันติ จำ�กัด ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในรูปแบบอื่นๆ นอกเหนือจากอาคารชุดพักอาศัย วันก่อตั้งบริษัท ชนิดของหุ้น จำ�นวนหุ้น มูลค่าหุ้นละ ทุนจดทะเบียน สัดส่วนการลงทุน

ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ วันก่อตั้งบริษัท ชนิดของหุ้น จำ�นวนหุ้น มูลค่าหุ้นละ ทุนจดทะเบียน สัดส่วนการลงทุน

14 พฤษภาคม 2533 หุ้นสามัญ 3,500,000 หุ้น 100.00 บาท 350.00 ล้านบาท ร้อยละ 99.99

บริษัทย่อย

7 กันยายน 2544 หุ้นสามัญ 6,000,000 หุ้น 10.00 บาท 600.00 ล้านบาท ร้อยละ 20.00

บริษัทย่อย

บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด ธุรกิจให้บริการ

บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์แบบครบวงจร

วันก่อตั้งบริษัท ชนิดของหุ้น จำ�นวนหุ้น มูลค่าหุ้นละ ทุนจดทะเบียน สัดส่วนการลงทุน

11 ธันวาคม 2550 หุ้นสามัญ 10,000 หุ้น 100.00 บาท 1.00 ล้านบาท ร้อยละ 99.93

บริษัทย่อย

บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ธุรกิจให้บริการ

บริหารจัดการชุมชนแบบครบวงจร

วันก่อตั้งบริษัท ชนิดของหุ้น จำ�นวนหุ้น มูลค่าหุ้นละ ทุนจดทะเบียน สัดส่วนการลงทุน

2 เมษายน 2535 หุ้นสามัญ 10,000 หุ้น 100.00 บาท 1.00 ล้านบาท ร้อยละ 99.88

บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด ธุรกิจให้บริการ

ด้านรักษาความสะอาด

วันก่อตั้งบริษัท ชนิดของหุ้น จำ�นวนหุ้น มูลค่าหุ้นละ ทุนจดทะเบียน สัดส่วนการลงทุน

28 มีนาคม 2554 หุ้นสามัญ 10,000 หุ้น 100.00 บาท 1.00 ล้านบาท ร้อยละ 99.95

* บริษัทขายหุ้นสามัญของบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ ให้แก่บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำ�กัด (มหาชน) ในปี 2555

90 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

เป้าประสงค์ (Goal) ของบริษัทย่อย บริษัท

เป้าประสงค์

บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด

เพิ่มความแข็งแกร่งในการบริหารโครงการแบบบูรณาการให้กับ LPN โดยการร่วมมือกับปิยมิตรที่จะสร้างความมั่นใจในการพัฒนาโครงการ เพือ่ บรรลุเป้าหมายงบประมาณและระยะเวลา รวมทัง้ คุณค่าของ LPN บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด รักษาชื่อเสียงและคุณค่าของโครงการภายใต้การพัฒนาของ LPN และชุมชนผู้อยู่อาศัยด้วยทีมงานบริหารชุมชนมืออาชีพ บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด เป็นองค์กรให้การฝึกอบรมและสร้างงานให้สตรีด้อยโอกาส เพื่อยก ระดับการดำ�รงชีวิตและศักดิ์ศรีที่ดีภายใต้การพัฒนาโครงการชุมชน น่าอยู่ของ LPN บริษัท พรสันติ จำ�กัด เพิ่มช่องทางการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยที่ยังดำ�รงไว้ซึ่งผล ตอบแทนและคุณค่าที่พึงพอใจให้กับ LPN

โครงสร้างเงินทุนของบริษัท บริษัท บริษัทย่อย 1. บจก.พรสันติ 2. บจก.ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ 3. บจก.ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส 4. บจก.ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์

ทุน ชำ�ระแล้ว (ล้านบาท)

วันที่ได้มา

350.00 1.00 1.00 1.00

30 ก.ย. 2536 25 มี.ค. 2535 14 พ.ย. 2550 28 มี.ค. 2554

สัดส่วน มูลค่าเงินลงทุน การถือหุ้น ตามวิธีส่วนได้เสีย (ร้อยละ) (ล้านบาท)

99.99 99.88 99.93 99.95

-

มูลค่าต้นทุน เงินลงทุน (ล้านบาท)

361.612 0.9988 0.9993 0.9995

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

91


รายงานประจำ�ปี 2555

โครงสร้างเงินทุน หลักทรัพย์ของบริษัท

บริษัทมีทุนจดทะเบียนรวมทั้งสิ้น 1,475,698,768 บาท ชำ�ระเต็มจำ�นวนคิดเป็นทุนชำ�ระแล้ว 1,475,698,768 บาท โดยเป็น หุ้นสามัญทั้งหมด 1,475,698,768 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1.- บาท (หนึ่งบาทถ้วน)

ผู้ถือหุ้น

บริษัทได้รวบรวมรายชื่อผู้ถือหุ้น ณ วันกำ�หนดรายชื่อผู้ถือหุ้น (Record Date) 23 สิงหาคม 2555 ตามมาตรา 225 ของ พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยวิธีการปิดสมุดทะเบียนในวันที่ 24 สิงหาคม 2555 บริษัทมีผู้ถือหุ้น 10 อันดับแรก โดยแบ่งตามกลุ่มต่างๆ ดังนี้

รายชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ 10 อันดับแรก ลำ�ดับ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายชื่อผู้ถือหุ้น

Thai NDVR Co.,Ltd. Chase Nominees Limited 28 นายสุเมธ เตชะไกรศรี Norbax Inc.,13 Mr. Kenneth Rudy Kamon State Street Bank Europe Limited Somers (U.K.) Limited State Street Bank and Trust Company Chase Nominees Limited 1 Nortrust Nominees (Thailand) รวม 10 อันดับแรก

จำ�นวนหุ้นที่ถือครอง (ล้านหุ้น)

คิดเป็นร้อยละ

441.21 90.53 63.28 56.21 37.71 36.98 36.42 32.32 30.51 28.01

29.90 6.13 4.29 3.81 2.56 2.51 2.47 2.19 2.07 1.90

853.17

57.81

จำ�นวนหุ้นที่ถือครอง (ล้านหุ้น)

คิดเป็นร้อยละ

63.28 26.04 18.61 13.12 12.00 10.00 10.00 8.00 4.00 4.00

4.29 1.76 1.26 0.89 0.81 0.68 0.68 0.54 0.27 0.27

169.05

11.46

รายชื่อผู้ถือหุ้นรายย่อย 10 อันดับแรก ลำ�ดับ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายชื่อผู้ถือหุ้น

นายสุเมธ เตชะไกรศรี นางยุพา เตชะไกรศรี นายคัมภีร์ จองธุระกิจ นายบาห์รัทบูซัน กวาตรา มิสซังโรมันคาทอลิก นายศิริชัย เจริญศักดิ์วัฒนา นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ นางจงจิตต์ ฐปนางกูร นายสมพล ปัญจทรัพย์ รวม 10 อันดับแรก

92 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

รายชื่อผู้ถือหุ้นประเภทสถาบันไทย 10 อันดับแรก ลำ�ดับ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

จำ�นวนหุ้นที่ถือครอง (ล้านหุ้น)

คิดเป็นร้อยละ

กรุงศรีหุ้นระยะยาวปันผล กรุงศรีหุ้นปันผล อเบอร์ดีนหุ้นระยะยาว อเบอร์ดีนโกรท กรุงศรีหุ้นระยะยาวปันผล 70/30 พนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิต (ไอเอ็นจี) กรุงศรีหุ้นปันผลเพื่อการเลี้ยงชีพ สำ�นักงานประกันสังคม (2 กรณี) เค 70:30 หุ้นระยะยาวปันผล อเบอร์ดีนสมาร์ทแคปปิตอล เพื่อการเลี้ยงชีพ

36.98 13.14 11.72 10.23 7.54 6.44 6.33 5.87 5.78 4.79

2.51 0.89 0.79 0.69 0.51 0.44 0.43 0.40 0.39 0.32

รวม 10 อันดับแรก

108.82

7.37

จำ�นวนหุ้นที่ถือครอง (ล้านหุ้น)

คิดเป็นร้อยละ

90.53 56.21 37.71 36.98 36.42 32.32 30.51 28.01 23.41 22.87

6.13 3.81 2.56 2.51 2.47 2.19 2.07 1.90 1.59 1.55

394.97

26.76

รายชื่อผู้ถือหุ้น

รายชื่อผู้ถือหุ้นต่างชาติ 10 อันดับแรก ลำ�ดับ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายชื่อผู้ถือหุ้น

Chase Nominees Limited 28 Norbax Inc.,13 Mr. Kenneth Rudy Kamon State Street Bank Europe Limited Somers (U.K.) Limited State Street Bank and Trust Company Chase Nominees Limited 1 Nortrust Nominees (Thailand) The Bank of New York Mellon HSBC (Singapore) Nominees รวม 10 อันดับแรก

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

93


รายงานประจำ�ปี 2555

อนึ่ง สำ�หรับการถือครองหุ้นของกรรมการบริษัทซึ่งนับรวมถึงการถือครองหุ้นของคู่สมรสและผู้บริหาร 4 รายแรก นับต่อจาก กรรมการผู้จัดการ โดยรวมถึงผู้จัดการฝ่ายบัญชีและผู้จัดการฝ่ายการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีรายละเอียด ดังนี้ ลำ�ดับ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

ชื่อ – สกุล

นายปกรณ์ ทวีสิน ศาสตราจารย์ศิริ เกวลินสฤษดิ์ นายทวีชัย จิตตสรณชัย นายอมรศักดิ์ นพรัมภา นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ นางทัศนีย์ สุริยาภิวัฒน์ (คู่สมรส) นายธีรชัย ปัญจทรัพย์ นางจงจิตต์ ฐปนางกูร นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ นางยุพา เตชะไกรศรี นายคัมภีร์ จองธุระกิจ นายโอภาส ศรีพยัคฆ์ นางสาวสมศรี เตชะไกรศรี นายสมบัติ กิตติโภคิรัตน์ นางนพวรรณ กฤษณะราช นายรุ่งโรจน์ ปิลกศิริ นายไตรรัตน์ บุญนันทกุล นางสาวสุภรณ์ ว่องไวไพโรจน์ นางสาวมณีรัตน์ เชี่ยวชาญศิลป์ นางรุ่งทิพย์ ปิยธีรวงศ์ นางปิ่นรัตน์ เฉลิมลาภอัสดร

ตำ�แหน่ง

จำ�นวนหุ้นที่ถือครอง

ประธานกรรมการบริษัท รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการฝ่ายบัญชี ผู้จัดการฝ่ายบัญชี ผู้จัดการฝ่ายการเงิน ผู้จัดการฝ่ายการเงิน

300,000 300,000 700,000 4,000,000 10,000,000 8,000,000 26,040,499 18,606,570 -

รวม

94 HERE IS HOME, HERE IS LPN

67,947,069


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

นโยบายการจ่ายเงินปันผล โดยมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 6/2554 เมือ่ วันที่ 15 ธันวาคม 2554 กำ�หนดให้บริษทั มีนโยบายในการจ่ายเงินปันผล ให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 50 ของกำ�ไรสุทธิจากงบการเงินรวม โดยในปี 2555 บริษัทมีกำ�ไรสุทธิตามงบการเงินรวมเป็นเงิน 2,216,793,075.44 บาท (สองพันสองร้อยสิบหกล้านเจ็ดแสน เก้าหมื่นสามพันเจ็ดสิบห้าบาทสี่สิบสี่สตางค์) คิดเป็นกำ�ไรสุทธิต่อหุ้น 1.50 บาท (หนึ่งบาทห้าสิบสตางค์) และคณะกรรมการ บริษัทมีมติในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 ให้นำ�เสนอผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณา อนุมัติจำ�นวนเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 0.76 บาท (เจ็ดสิบหกสตางค์) ในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2556 ซึ่งจะจัดให้ มีขึ้น ณ วันที่ 28 มีนาคม 2556 ทั้งนี้บริษัทได้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลสำ�หรับผลการดำ�เนินงานงวด 6 เดือนสิ้นสุดไตรมาส 2/2555 ในอัตราหุ้นละ 0.23 บาท (ยี่สิบสามสตางค์) โดยจ่ายเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2555 ทั้งนี้รายละเอียดการจ่ายเงินปันผล ของบริษัทตั้งแต่ปี 2537 จนถึงปี 2555 มีดังนี้ ปี พ.ศ.

กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น (บาท)

2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555

4.98 5.14 3.81 2.01 0.50 0.41 0.43 0.52 0.62 0.80 0.95 1.11 1.30 1.50

เงินปันผลจ่าย (บาท/หุ้น)

อัตรา (%)

2.50 2.75 1.00 1.00 0.25 0.20 0.22 0.26 0.32 0.4115 0.50 0.56 0.65 0.76

50.20 53.50 26.25 49.75 50.00 48.78 51.16 50.00 51.61 51.44 52.63 50.45 50.00 50.67

เงินปันผลจ่ายระหว่างกาล

0.08 0.10 0.14 0.16 0.18 0.21 0.23

หมายเหตุ : 1. บริษัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผล ดังนี้ 1.1 ปี 2537-2549 บริษัทจ่ายเงินปันผลจากกำ�ไรสุทธิจากงบการเงินรวม 1.2 ปี 2550-2553 บริษัทจ่ายเงินปันผลจากกำ�ไรสุทธิจากงบการเงินเฉพาะกิจการ 1.3 ปี 2554 เป็นต้นไป บริษัทจ่ายเงินปันผลจากกำ�ไรสุทธิจากงบการเงินรวม 2. ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2547 ลงวันที่ 7 เมษายน 2547 อนุมัติการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นจาก เดิมที่ตราไว้หุ้นละ 10.- บาท เป็นหุ้นละ 1.- บาท สำ�หรับการรับเงินปันผลจากผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2546 จึงรับตาม มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1.- บาท ตามที่ได้จดทะเบียนเปลี่ยนแปลง

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

95


รายงานประจำ�ปี 2555

นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย บริษัทย่อยมีนโยบายในการจ่ายเงินปันผลให้แก่บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ไปใน ทิศทางเดียวกับบริษัท โดยจะต้องสอดคล้องกับผลประกอบการและกระแสเงินสด

การลงทุนซื้อที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการใหม่ ในปี 2555 บริษัทได้ซื้อที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการใหม่จำ�นวน 12 แปลง คิดเป็นเนื้อที่รวม 252 ไร่ 3 งาน 59 ตารางวา มีมูลค่า รวม 3,351.35 ล้านบาท โดยได้ดำ�เนินการพัฒนาโครงการแล้วจำ�นวน 4 แปลง ได้แก่ 1. ลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์-งามวงศ์วาน 2. ลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร 2 3. ลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 60/2 4. ลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุรี-สุขุมวิท โดยที่ดิน 8 แปลง เป็นที่ดินสำ�หรับพัฒนาโครงการใหม่ในปี 2556

ตารางสรุปการซื้อที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการใหม่ปี 2555 โครงการ

วันที่โอน กรรมสิทธิ์

ขนาด (ตร.ว.)

1. ลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์-งามวงศ์วาน

23 เม.ย. 55

5,877

69,000

407.23

452.51

2. ลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร 2

17 พ.ค. 55

4,930

75,000

366.95

374.20

3. ลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 60/2

29 มิ.ย. 55

3,266

64,500

210.65

212.28

4. ลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุรี-สุขุมวิท

16 พ.ค. 55

15,252

15,000

229.46

261.40

1. ลุมพินี วิลล์ ศรีนครินทร์-บางนา

5 เม.ย. 55

1,760

41,000

72.00

-

2. ลุมพินี เพลส ศรีนครินทร์-พัฒนาการ

10 พ.ค. 55

2,993

90,000

269.37

419.02

3. ลุมพินี พาร์คบีช ชะอำ�

11 ก.ย. 55

1,348

74,200

100.00

-

4. ลุมพินี คอนโดทาวน์ ลาดกระบัง-อ่อนนุช 21 พ.ย. 55

4,740

33,500

158.79

-

5. ลุมพินี ชะอำ�

27 พ.ย. 55

9,686

34,000

328.92

-

6. ลุมพินี คอนโดทาวน์ รังสิต คลอง 1

7 ธ.ค. 55

40,000

14,250

570.00

-

7. ลุมพินี เพลส สุขสวัสดิ์-พระราม 2

20 ธ.ค. 55

4,403

62,000

272.98

-

8. ลุมพินี เพลส ยูด-ี โพศรี

7 ม.ค. 56

6,904

53,000

365.00

-

พัฒนาปี

2555

2556

รวมปี 2555

96 HERE IS HOME, HERE IS LPN

ราคา มูลค่ารวม ราคาประเมิน (บาท / ตรว.) (ล้านบาท) (ล้านบาท)

3,351.35


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทมีนโยบายเพื่อลดความเสี่ยงจากข้อกำ�หนดทางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยก่อนที่บริษัทจะซื้อที่ดิน บริษัทมีหน่วยงาน และกระบวนการในการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ (Feasibility Study) ทั้งทางด้านการตลาด การก่อสร้าง การออกแบบ ข้อกำ�หนดทางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งทางด้านการเงิน โดยเมื่อพิจารณาแล้วเห็นว่าเหมาะสมและมีความ เป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการตามแนวทางและกลยุทธ์ของบริษัท บริษัทจึงจะดำ�เนินการซื้อที่ดิน ทั้งนี้บริษัทมีนโยบายไม่ สะสมที่ดิน เพื่อโอกาสในการพัฒนาในระยะยาว ทั้งนี้บริษัทมีหลักปฏิบัติว่า ที่ดินทุกแปลงที่บริษัทจัดซื้อ บริษัทได้ว่าจ้างให้ผู้ประเมินอิสระดำ�เนินการประเมินราคา เพื่อให้เกิด ความโปร่งใสและเป็นการสอบทานความเหมาะสมของราคาที่ดินอีกทางหนึ่ง อีกทั้งบริษัทยังได้รายงานข้อสนเทศของการจัด ซื้อที่ดินทุกแปลงต่อตลาดหลักทรัพย์ เพื่อให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล โดยที่ดินทุกแปลงที่บริษัทจัดซื้อมีความเหมาะสม ตามกลยุทธ์ของบริษัท ทั้งขนาด ราคา และทำ�เลที่ตั้ง (Strategic Location)

LPN มีหลักปฏิบัติว่า ที่ดินทุกแปลงที่บริษัทจัดซื้อ บริษัทได้ว่าจ้างให้ผู้ประเมินอิสระ ดำ�เนินการ ประเมินราคา เพื่อให้เกิดความโปร่งใส และเป็นการสอบทานความเหมาะสม ของราคาที่ดินอีกทางหนึ่ง อีกทั้งบริษัทยังได้รายงานข้อสนเทศ ของการจัดซื้อที่ดินทุกแปลง ต่อตลาดหลักทรัพย์ เพื่อให้เป็นไปตาม หลักธรรมาภิบาล

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

97


รายงานประจำ�ปี 2555

รายได้ของกิจการ ตารางแสดงรายได้แยกตามประเภทธุรกิจหลักของบริษัทและบริษัทย่อย รายได้จำ�แนกตามลักษณะผลิตภัณฑ์ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย โครงการอาคารชุดพักอาศัย รวมรายได้จากการขาย อัตราการเติบโต ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อเช่า โครงการอาคารสำ�นักงาน โครงการอาคารชุดพักอาศัย รวมรายได้จากการเช่า อัตราการเติบโต รายได้จากการบริหาร อัตราการเติบโต กำ�ไรจากส่วนได้เสียเงินลงทุน ในบริษัทร่วม * รายได้อื่นๆ ** ยอดรวมรายได้ทั้งหมด อัตราการเติบโต

รายได้ ปี 2555

รายได้ ปี 2554

หน่วย : ล้านบาท รายได้ ปี 2553

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

12,950.32 12,950.32

96.05 96.05 7.61

12,034.78 12,034.78

96.71 96.71 24.37

9,676.23 9,676.23

96.31 96.31 10.84

7.11 33.06 40.17

0.05 0.25 0.30 (2.00) 2.48 29.05

6.56 34.43 40.99

0.05 0.28 0.33 (8.52) 2.09 18.16

3.93 40.88 44.81

0.04 0.41 0.45 (27.76) 2.19 19.85

334.88 67.89 89.25 13,482.51

0.50 0.66 100.00 8.34

259.50 72.88 36.36 12,444.51

0.59 0.29 100.00 23.86

219.62 29.12 77.46 10,047.24

0.29 0.77 100.00 10.96

* เริ่มทำ�งบการเงินรวมในปี 2536 ** รายได้อื่นๆ ประกอบด้วย ค่าโอนสิทธิเปลี่ยนมือ, รายได้ยึดจองยึดสัญญา, ค่าเปลี่ยนแปลงสัญญา, ดอกเบี้ยรับ, ค่านายหน้า, ค่าที่จอดรถ และอื่น ๆ

98 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

หน่วย : ล้านบาท

ตารางแสดงรายได้แยกตามประเภทธุรกิจหลักของบริษัท รายได้จำ�แนกตามลักษณะผลิตภัณฑ์

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย โครงการอาคารชุดพักอาศัย รวมรายได้จากการขาย อัตราการเติบโต ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อเช่า โครงการอาคารสำ�นักงาน โครงการอาคารชุดพักอาศัย รวมรายได้จากการเช่า อัตราการเติบโต รายได้จากการบริหาร เงินปันผลรับ อัตราการเติบโต รายได้อื่นๆ ** ยอดรวมรายได้ทั้งหมด อัตราการเติบโต

รายได้ ปี 2555

รายได้ ปี 2554

รายได้ ปี 2553

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

12,279.29 12,279.29

97.70 97.70 2.21

12,014.29 12,014.29

98.71 98.71 25.09

9,604.84 9,604.84

97.44 97.44 10.18

12.02 31.62 43.64

0.10 0.25 0.35 2.18 1.17 0.78 100.00 3.27

9.64 33.07 42.71

0.08 0.27 0.35 (0.02) 0.66 0.28 100.00 23.48

4.12 38.60 42.72

0.04 0.39 0.43 (26.20) 1.35 0.78 100.00 10.38

147.60 98.38 12,568.91

80.20 34.01 12,171.21

132.70 76.59 9,856.85

** รายได้อื่นๆ ประกอบด้วย ค่าโอนสิทธิเปลี่ยนมือ, รายได้ยึดจองยึดสัญญา, ค่าเปลี่ยนแปลงสัญญา, ดอกเบี้ยรับ, ค่านายหน้า, ค่าที่จอดรถ และอื่นๆ

โครงสร้างรายได้ของกิจการ ตารางแสดงโครงสร้างรายได้ของกิจการที่บริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 20 ขึ้นไป (สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555, 2544 และ 2553) ดำ�เนินการโดย

ลักษณะธุรกิจ

บริษทั แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั พรสันติ จำ�กัด

พัฒนา อสังหาริมทรัพย์

บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี มาเนจเมนท์ จำ�กัด บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำ�กัด

พัฒนา อสังหาริมทรัพย์ (ทีม่ ิใช่อาคารชุด พักอาศัย) บริการด้าน การบริหาร ชุมชน บริการด้าน การบริหาร งานก่อสร้าง

ร้อยละ รายได้ ปี 2555 การถือหุ้น ของบริษัท ล้านบาท ร้อยละ 12,406.74 92.02

รายได้ ปี 2554 ล้านบาท ร้อยละ 12.087.45 97.13

รายได้ ปี 2553 ล้านบาท ร้อยละ 9,737.68 96.92

99.99

669.29

4.96

22.10

0.18

60.00

0.60

99.88

224.80

1.67

199.69

1.60

220.34

2.19

99.93

1.74

0.01

1.55

0.01

0.10

-

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

99


รายงานประจำ�ปี 2555

ตารางแสดงโครงสร้างรายได้ของกิจการที่บริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 20 ขึ้นไป (สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555, 2554 และ 2553) ดำ�เนินการโดย

ลักษณะธุรกิจ

บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด บริษทั แกรนด์ ยูนติ ้ี ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด

บริการด้าน รักษา ความสะอาด พัฒนา อสังหาริมทรัพย์

ร้อยละ รายได้ ปี 2555 การถือหุ้น ของบริษัท ล้านบาท ร้อยละ 99.95 112.05 0.83 20.00

67.89

รายได้ ปี 2554 ล้านบาท 60.84

ร้อยละ 0.49

ล้านบาท -

ร้อยละ -

72.88

0.59

29.12

0.29

12,444.51

100.00

10,047.24

100.00

0.51

13,482.51 100.00

รายได้ ปี 2553

* เป็นข้อมูลจากงบการเงินรวมโดยจำ�แนกรายบริษัท ตารางแสดงรายละเอียดเงินค้างชำ�ระสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เงินค้างชำ�ระสะสม ลูกหนี้ที่ขอผ่อนชำ�ระ จำ�นวนราย

ล้านบาท

โครงการลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3

4

2.477

โครงการลุมพินี วิลล์ พัฒนาการ-เพชรบุรีตัดใหม่

2

0.128

6

2.605

รวม

100 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

บทที่ 5 อีกก้าวแห่งความสุขที่มั่นคง เพิ่มพูนศักยภาพการดำ�เนินงาน ต่อยอดคุณค่าด้วยนวัตกรรม ดำ�รงไว้ซึ่งความเป็นผู้นำ�ในการส่งมอบความสุข

บ้านหลังใหญ่ หัวใจเดียวกัน WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

101


รายงานประจำ�ปี 2555

สถานการณ์อสังหาริมทรัพย์ปี 2555 และภาวะการแข่งขัน ในปี 2555 เป็นปีที่ตลาดอาคารชุดพักอาศัยกลับมาคึกคักอีกครั้งอันเนื่องมาจากภาวะนํ้าท่วม ในปี 2554 ที่ส่งผลต่อความ เชื่อมั่นต่อโครงการแนวราบของผู้บริโภค โดยภาวะนํ้าท่วมดังกล่าวก่อให้เกิดความต้องการอาคารชุดพักอาศัยสำ�หรับเป็น บ้านหลังที่ 2 ทั้งในกรุงเทพและต่างจังหวัดเพิ่มขึ้นอีกทางหนึ่งด้วย อย่างไรก็ตามภาวะนํ้าท่วมดังกล่าวก่อให้เกิดความเสีย หายต่อภาคการผลิตของประเทศเป็นอย่างมาก รวมถึงภาวะการขาดแคลนแรงงานอันเนื่องจากความต้องการในการฟื้นฟู สิ่งก่อสร้างต่างๆ เกือบทั่วประเทศ และการเร่งฟื้นฟูโครงการต่างๆ ของผู้ประกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เอง ส่งผล ให้โครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างในปีที่ผ่านมาล่าช้ากว่าแผนงานที่กำ�หนดไว้เป็นจำ�นวนมาก ซึ่งภาวะการขาดแคลน แรงงานดังกล่าวส่งผลกระทบต่อบริษัทเพียงเล็กน้อย อันเนื่องมาจากการบริหารจัดการร่วมกับปิยมิตรทางการก่อสร้าง แม้ภาวะนํ้าท่วมในปี 2554 จะสร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจให้กับประเทศอย่างใหญ่หลวง ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน ประเทศมีอัตราขยายตัวเพียงร้อยละ 0.1 (ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย) อย่างไรก็ตามเศรษฐกิจไทยได้รับแรงกระตุ้น จากนโยบายภาครัฐ ทั้งโครงการฟื้นฟูภาคการผลิตที่รับความเสียหายจากภาวะนํ้าท่วม นโยบายการปรับเพิ่มเงินเดือนและ ค่าจ้าง เพื่อกระตุ้นการบริโภคภายในประเทศ นโยบายบ้านหลังแรกและรถคันแรกส่งผลให้เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว โดยธนาคารแห่งประเทศไทยคาดการณ์ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศมีการขยายตัวในอัตราร้อยละ 5.0-6.0 แม้จะประสบภาวการณ์ชะลอตัวของภาคการส่งออก ในปี 2555 มีอาคารชุดเปิดตัวใหม่จำ�นวนทั้งสิ้นประมาณ 63,500 หน่วย เพิ่มขึ้นร้อยละ 40 จากปีก่อนหน้า โดยโครงการ อาคารชุดพักอาศัยยังคงครองส่วนแบ่งตลาดสูงสุดในอัตราร้อยละ 60 สำ�หรับตลาดที่พักอาศัยโดยรวม ซึ่งปรับตัวสูงขึ้น จากปี 2554 โดยโครงการที่ดำ�เนินการโดยบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ครองส่วนแบ่งการตลาดสูงถึงร้อยละ 65 ตารางเปรียบเทียบโครงการที่พักอาศัยเปิดตัวใหม่ระหว่างปี 2551-2555 ประเภท

ปี 2555

ปี 2554

ปี 2553

ปี 2552

ปี 2551

อาคารชุด แนวราบ

60% 40%

50% 50%

58% 42%

42% 58%

29% 71%

ที่มา : ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) AREA

ในด้านระดับราคาของโครงการอาคารชุดพักอาศัยเปิดตัวใหม่ปี 2555 อาคารชุดพักอาศัยซึ่งมีราคาขายต่อหน่วยในระดับ กลาง โดยมีราคาขายต่อหน่วยเฉลี่ย 1-2 ล้านบาท ยังคงเป็นตลาดหลักของผู้ประกอบการ โดยมีการพัฒนาออกมาอย่าง ต่อเนื่อง โดยมีสัดส่วนประมาณอัตราร้อยละ 54 รองลงมาได้แก่ อาคารชุดพักอาศัยที่มีราคาขายเฉลี่ยต่อหน่วย 2-3 ล้าน บาท 3-5 ล้านบาท น้อยกว่า 1 ล้านบาท และมากกว่า 5 ล้านบาท ในสัดส่วนร้อยละ 22 12 6 และ 6 ตามลำ�ดับ จาก จำ�นวนโครงการอาคารชุดพักอาศัยเปิดตัวใหม่ทั้งหมด 141 โครงการ ตารางเปรียบเทียบโครงการที่พักอาศัยเปิดตัวใหม่ระหว่างปี 2551-2555 ราคาขาย

ปี 2555

ปี 2554

ปี 2553

ปี 2552

ปี 2551

ระดับบน (มากกว่า 3 ล้านบาท)

18%

14%

16%

26%

19%

ระดับกลาง (1-3 ล้านบาท)

76%

69%

72%

64%

70%

ระดับล่าง (ตํ่ากว่า 1 ล้านบาท)

6%

17%

12%

10%

11%

ที่มา : ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และ AREA หมายเหตุ : ไม่รวมการเคหะแห่งชาติ และไม่รวมต่างจังหวัด

102 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

จำ�นวนคู่แข่งขันโดยประมาณขนาดของบริษัทเมื่อเทียบกับคู่แข่งขัน

จากข้อมูลที่ทางฝ่ายวิจัยและพัฒนาของบริษัทได้ทำ�การรวบรวม ณ สิ้นปี 2555 มีผู้ประกอบการที่พัฒนาโครงการอาคารชุด พักอาศัยรวมทั้งสิ้น 85 ราย เพิ่มขึ้นจากปี 2554 22 ราย โดยในปีที่ผ่านมามีโครงการเปิดตัวใหม่รวม 140 โครงการ คิดเป็น จำ�นวนหน่วยที่พัฒนาทั้งหมดประมาณ 63,000 หน่วย โดยแบ่งเป็นผู้ประกอบการที่พัฒนาอาคารชุดพักอาศัยในระดับบน (มากกว่า 3 ล้านบาท) 42 ราย มีจำ�นวนหน่วยที่พัฒนาประมาณร้อยละ 18 อาคารชุดพักอาศัยในราคาระดับกลาง (1-3 ล้าน บาท) มีจำ�นวนผู้ประกอบการทั้งสิ้น 90 ราย เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า 47 ราย มีจำ�นวนหน่วยที่พัฒนาประมาณร้อยละ 76 ส่วน ที่เหลือเป็นอาคารชุดพักอาศัยในราคาระดับกลาง-ล่าง (น้อยกว่า 1 ล้านบาท) มีจำ�นวนทั้งสิ้น 9 ราย โดยมีจำ�นวนหน่วยที่ พัฒนาทั้งสิ้นประมาณร้อยละ 6 สำ�หรับบริษัทครองส่วนแบ่งการตลาดอาคารชุดพักอาศัยเปิดตัวใหม่ประมาณร้อยละ 15 จาก จำ�นวนอาคารชุดพักอาศัยที่เปิดตัวในกรุงเทพฯ และปริมณฑลรวมทั้งสิ้น 9,100 หน่วยจาก 6 โครงการ

โครงการอาคารชุดพักอาศัยเปิดตัวใหม่ 45,106 หนวย 62,800 หนวย (103 โครงการ) (140 โครงการ)

80,000

32%

60,000

30%

40,000

19%

16% 20,000 0

40%

9,738

3,471

ป 2549 LPN

3,747

ป 2550 Others

ป 2551

15%

11%

11%

9%

20% 10%

7,840

7,723

8,607

9,063

ป 2552

ป 2553

ป 2554

ป 2555

0%

LPN’s Share

ตารางเปรียบเทียบโครงการอาคารชุดพักอาศัยเปิดตัวใหม่ระหว่างปี 2551-2555 จำ�นวนหน่วยที่เปิดตัว

ปี 2555

ปี 2554

ปี 2553

ปี 2552

ปี 2551

ในกรุงเทพและปริมณฑล

62,860

45,106

68,651

24,523

32,982

แอล.พี.เอ็น

9,063

8,607

7,723

7,840

3,747

ส่วนแบ่งการตลาด LPN

15%

19%

11%

32%

11%

ที่มา : ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และ AREA หมายเหตุ : ไม่รวมการเคหะแห่งชาติ

สำ�หรับอาคารชุดสร้างเสร็จและจดทะเบียนในปี 2555 มีจำ�นวนหน่วยรวมทั้งสิ้นประมาณ 44,100 หน่วย โดยบริษัทครอง ส่วนแบ่งการตลาดในสัดส่วนร้อยละ 22 คิดเป็นจำ�นวนหน่วยรวมทั้งสิ้น 9,600 หน่วย หากแบ่งตามระดับราคาอาคารชุด พักอาศัยที่สร้างเสร็จและจดทะเบียนในราคาระดับบน ซึ่งมีราคาขายเฉลี่ยต่อหน่วยตั้งแต่ 3 ล้านบาทขึ้นไป มีจำ�นวน รวมทั้งสิ้น 8,100 หน่วย หรือคิดเป็นร้อยละ 18 ของอาคารชุดพักอาศัยสร้างเสร็จและจดทะเบียน สำ�หรับอาคารชุดพักอาศัย สร้างเสร็จและจดทะเบียนในราคาระดับกลาง โดยมีราคาขายเฉลี่ยต่อหน่วย 1-3 ล้านบาท มีจำ�นวนทั้งสิ้นประมาณ 30,650 หน่วย หรือคิดเป็นร้อยละ 70 ของอาคารชุดพักอาศัยสร้างเสร็จและจดทะเบียน ส่วนอาคารชุดสร้างเสร็จและจดทะเบียน ในระดับราคาล่าง โดยมีราคาเฉลี่ยต่อหน่วยตํ่ากว่า 1 ล้านบาท มีจำ�นวนหน่วยรวมทั้งสิ้น 5,400 หน่วย หรือคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 12 ของอาคารชุดพักอาศัย

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

103


รายงานประจำ�ปี 2555

ตารางเปรียบเทียบโครงการอาคารชุดพักอาศัยจดทะเบียนระหว่างปี 2551-2555 จำ�นวนหน่วยที่จดทะเบียน

ปี 2555

ปี 2554

ปี 2553

ปี 2552

ปี 2551

ในกรุงเทพและปริมณฑล

44,157

29,494

38,374

33,309

26,124

แอล.พี.เอ็น

9,613

7,290

6,144

6,281

8,009

ส่วนแบ่งการตลาด LPN

22%

25%

16%

20%

31%

ที่มา : ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และ AREA หมายเหตุ : ไม่รวมการเคหะแห่งชาติ

สรุปสภาวะธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ปี 2555 สำ�หรับปี 2555 เป็นปีที่ผู้ประกอบการต้องเผชิญกับปัญหาทั้งระยะสั้นและระยะยาว เริ่มตั้งแต่การฟื้นฟูโครงการและความ เชื่อมั่นของผู้บริโภคที่ได้รับผลกระทบจากมหาอุทกภัย ปัญหาขาดแคลนแรงงานและผู้รับเหมาก่อสร้าง การปรับตัวของ ต้นทุนอันเนื่องมาจากการปรับขึ้นเงินเดือนและค่าแรงขั้นตํ่าตามนโยบายภาครัฐ อย่างไรก็ตามจากความมุ่งมั่นของภาครัฐ ในการแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ รวมถึงนโยบายกระตุ้นกำ�ลังซื้อภายในประเทศ และประสบการณ์ ในการเผชิญวิกฤตของ ผู้ประกอบการไทย ส่งผลให้สถานการณ์ต่างๆ เริ่มคลี่คลายและกลับเข้าสู่สภาวะปกติ โดยธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มี แนวโน้มของการขยายตัวอย่างต่อเนื่องในปีที่ผ่านมา เมื่อพิจารณาเฉพาะตลาดอาคารชุดพักอาศัยในปี 2555 มีอัตราการขยายตัวที่สูง โดยขยายตัวประมาณร้อยละ 40 เมื่อเทียบ กับปีก่อนหน้า โดยเฉพาะบริเวณแนวรถไฟฟ้าทั้งในปัจจุบันและอนาคต รวมถึงตลาดอาคารชุดพักอาศัยในจังหวัดที่เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวก็ได้รับผลตอบรับที่ดีเช่นกัน จากการขยายตัวดังกล่าวส่งผลให้เกิดสภาวะขาดแคลนทั้งแรงงานและผู้รับเหมา รวมถึงภาวะต้นทุนที่ปรับตัวสูงขึ้น ล้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงของการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยทั้งสิ้น ในส่วนผลการดำ�เนินงานของบริษัทในปี 2555 บริษัทเปิดตัวอาคารชุดพักอาศัยทั้งสิ้น 8 โครงการ จำ�นวนประมาณ 15,000 หน่วย ทั้งในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และต่างจังหวัด โดยมียอดขายคิดเป็นมูลค่าประมาณ 19,000 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 34 จากปีก่อนหน้า ส่วนยอดขายรอโอน (Backlog) บริษัทมียอดขายรอโอนทั้งสิ้น 17,500 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นยอดขายรอโอน สำ�หรับปี 2556 จำ�นวน 12,500 ล้านบาท และ 5,000 ล้านบาท สำ�หรับปี 2557

104 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

แนวโน้มภาวะธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ปี 2556 สำ�หรับปี 2556 อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจจากการคาดการณ์ของหน่วยงานภาครัฐซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ มี อัตราการเติบโตใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา โดยมีอัตราการเติบโตระหว่างร้อยละ 4.5 ถึง 5.5 จากการกระตุ้นการบริโภคภายใน ประเทศ และการลงทุนในโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐเป็นสำ�คัญ ด้วยปัจจัยดังกล่าวน่าจะส่งผลให้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยเฉพาะที่อยู่อาศัยซึ่งเป็น 1 ในปัจจัย 4 ยังคงเติบโตและขยายตัวอย่างต่อเนื่องทั้งในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และต่างจังหวัด ที่มีความเจริญสูงหรือเป็นศูนย์กลางของภูมิภาค หรือเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยม ควบคู่ไปกับการขยายตัวของ ต้นทุนจะเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ผู้ประกอบการต้องให้ความสำ�คัญ อันเนื่องมาจากการปรับขึ้นของค่าแรงขั้นตํ่าทั่วประเทศ ตามนโยบายยกระดับรายได้ของภาครัฐ รวมถึงการขาดแคลนทั้งแรงงานไร้ฝีมือ แรงงานฝีมือ และผู้รับเหมาที่มีความ เชี่ยวชาญในการสร้างอาคารสูงที่ส่งผลต่อตลาดในภาพรวมและอาจกระทบกับผู้บริโภค เนื่องจากอาจมีความล่าช้าในการ ก่อสร้างและส่งมอบ รวมถึงกฎหมายผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครเดิมครบกำ�หนดการขยายอายุในเดือนพฤษภาคมนี้ ทาง กรุงเทพมหานครเตรียมการที่จะประกาศใช้กฎหมายผังเมืองฉบับใหม่ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงในสาระสำ�คัญเป็นอย่างมาก รวมถึงความชัดเจนในการตีความและบังคับใช้อาจส่งผลให้ในช่วงครึ่งปีแรกมีการชะลอตัวของการพัฒนาโครงการขนาด ใหญ่ในเขตกรุงเทพมหานคร สำ�หรับบริษัทเองได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของเรื่องดังกล่าว โดยได้จัดตั้งทีมงานเฉพาะกิจ จากหลายหน่วยงานเพื่อศึกษาผลกระทบและการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง จากปัจจัยดังกล่าวข้างต้น บริษัทจึงเชื่อว่าตลาดอาคารชุดพักอาศัยในปี 2556 จะยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัท คาดว่าจะมีโครงการอาคารชุดพักอาศัยเปิดตัวใหม่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลประมาณ 70,000 หน่วย และจากข้อมูลที่ รวบรวมโดยฝ่ายวิจัยและพัฒนาของบริษัท คาดว่าจะมีอาคารชุดสร้างเสร็จและจดทะเบียนทั้งสิ้นประมาณ 50,000 หน่วย สำ�หรับบริษัทจะมีโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จและจดทะเบียนจำ�นวน 6 โครงการ จำ�นวนประมาณ 14,000 หน่วย

บริษัทเชื่อว่าตลาดอาคารชุดพักอาศัยในปี 2556 จะยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัทคาดว่า จะมีโครงการอาคารชุดพักอาศัยเปิดตัวใหม่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลประมาณ 70,000 หน่วย สำ�หรับ LPN เราก็ยังดำ�เนินการสร้างสรรค์ผลงาน อย่างต่อเนื่อง และในปี 2556 จะมีโครงการก่อสร้าง แล้วเสร็จและจดทะเบียนจำ�นวน 6 โครงการคุณภาพ จำ�นวนประมาณ 14,000 หน่วย

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

105


รายงานประจำ�ปี 2555

ปัจจัยความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทได้มอบหมายให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงซึ่งประกอบด้วย กรรมการบริหารและกรรมการ ผู้จัดการของบริษัทและบริษัทย่อย เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยงในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทให้อยู่ใน เกณฑ์ที่ยอมรับได้และสอดคล้องกับสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง การกำ�หนดความเสี่ยงและการบริหาร ความเสี่ยงทั้งหมดจะต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท โดยกำ�หนดให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงต้องมี การประชุมและรายงานผลของการบริหารความเสี่ยงต่อคณะกรรมการบริษัทอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง การบริหารความ เสี่ยงของบริษัทประกอบด้วยขั้นตอนหลัก ดังนี้ 1. กำ�หนดนโยบายและแนวทางในการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ให้ทกุ ส่วนในองค์กรเข้าใจและมีการบริหารความเสีย่ งในทิศทางเดียวกัน พร้อมทั้งกำ�หนดระดับของความเสี่ยงที่บริษัทยอมรับได้หรือความสูญเสียที่จะยอมรับได้ 2. การประเมิน บริหารและจัดการความเสี่ยง รวมทั้งการติดตามผลอย่างสมํ่าเสมอ ด้วยเครื่องมือการจัดการที่เหมาะสม เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพครอบคลุมความเสี่ยงและผลทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้น พร้อมทั้งหาวิธีในการบริหารจัดการหรือลดความเสี่ยงให้อยู่ ในเกณฑ์ที่บริษัทยอมรับได้ 3. การรายงานผลการบริหารความเสี่ยงต่อคณะกรรมการบริษัท โดยมีการรายงานเป็นประจำ�ทุกไตรมาส และหากมีความเสี่ยงใหม่ เกิดขึ้นโดยมิได้คาดการณ์ ไว้ และมีแนวโน้มจะกระทบกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทอย่างรุนแรง คณะกรรมการบริษัทอาจต้อง ทบทวนแผนธุรกิจและเป้าหมายใหม่ทั้งหมด เพื่อให้การดำ�เนินธุรกิจของบริษัทยังคงดำ�เนินต่อไปได้อย่างมั่นคงและปลอดภัย สำ�หรับปี 2556 บริษัทกำ�หนดความเสี่ยงและแนวทางในการบริหารจัดการโดยแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้

1) ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) สำ�หรับปี 2556 นี้ บริษัทยังคงประเมินความเสี่ยงทางการเงินอยู่ในระดับสูง อันเนื่องมาจากวิกฤติทางการเงินของภาค พื้นยุโรปที่ยังคงมีปัญหาอย่างต่อเนื่องแม้จะปรับตัวในทางที่ดีขึ้น ประกอบกับปรากฏการณ์การไหลเข้าของเงินทุน เพื่อ หาประโยชน์จากส่วนต่างดอกเบี้ยหรือการนำ�เงินเข้าลงทุนในโครงการอสังหาริมทรัพย์จนอาจนำ�ไปสู่สภาวะฟองสบู่ อย่างไรก็ตามจากมาตราต่างๆ ของภาครัฐที่คอยติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ผนวกกับความเข้มงวดของสถาบันการเงิน น่าจะช่วยให้สถานการณ์ต่างๆ คลี่คลายลง แต่ยังคงต้องติดตามอย่างใกล้ชิด โดยบริษัทได้กำ�หนดแนวทางในการบริหาร จัดการความเสี่ยงด้านการเงินไว้ดังนี้ ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง

วิกฤติทางการเงินของภาคพื้นยุโรป สูง • ระมัดระวังการบริหารกระแสเงินสดของบริษัทให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม โดยคำ�นึงถึงต้นทุนจาก ภาระดอกเบี้ยควบคู่กันไป โดยบริษัทกำ�หนดให้มีกระแสเงินสดที่ไม่มีภาระผูกพันเป็นจำ�นวนไม่ ตํ่ากว่า 500 ล้านบาท เพื่อให้เพียงพอต่อการดำ�เนินงาน • พิจารณาเพิม่ ช่องทางการเงินให้มคี วามหลากหลาย เพือ่ ไม่ผกู พันกับสถาบันการเงินเท่านัน้ อันจะ ทำ�ให้การบริหารการเงินของบริษทั มีความคล่องตัวมากขึ้น

ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง

อัตราการปฏิเสธสินเชื่อรายย่อย สูง • บริหารสถาบันการเงินที่ร่วมกับบริษัทให้มีทิศทางและเป้าหมายที่สอดคล้องกัน โดยคำ�นึงถึง ประโยชน์ของลูกค้าของบริษัทที่มีรายได้ระดับกลางถึงกลาง-ล่างเป็นหลัก เพื่อบรรลุเป้าหมายใน การลดอัตราการปฏิเสธสินเชื่อตามแนวทางและกลยุทธ์ของบริษัทในภาพรวมทั้งสินเชื่อโครงการ และสินเชื่อรายย่อย อันก่อให้เกิดประโยชน์แก่ทุกฝ่าย • เพิ่มช่องทางในการบริหารสินเชื่อให้มีความหลากหลายและเหมาะสมกับลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย

106 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

2) ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) จากการที่บริษัทกำ�หนดทิศทางในการดำ�เนินธุรกิจ โดยการใช้กลยุทธ์แบบมุ่งเน้นเฉพาะการพัฒนาโครงการอาคารชุด พักอาศัย สำ�หรับกลุ่มเป้าหมายที่มีรายได้ระดับกลางถึงกลาง-ล่างเป็นหลัก ด้วยการดำ�เนินงานโดยบุคลากรภายใน นับเป็น โอกาสทางธุรกิจที่ส่งผลให้ธุรกิจของบริษัทเติบโตตามลำ�ดับแบบค่อยเป็นค่อยไป แต่ในขณะเดียวกันกลยุทธ์ดังกล่าวก็มี ความเสี่ยงควบคู่กันไป บริษัทอาจประสบปัญหาในการดำ�เนินธุรกิจโดยเฉพาะยอดขายและรายได้ โดยบริษัทประเมิน ความเสี่ยงทางกลยุทธ์อยู่ในระดับสูง และกำ�หนดแนวทางในการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ดังนี้ ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง

• • • •

สภาวะการแข่งขันของกลุ่มเป้าหมายในตลาด สูง ปรับลดต้นทุนและค่าใช้จา่ ยในการดำ�เนินงานด้านการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการในการทำ�งาน อย่างต่อเนือ่ งทัว่ ทัง้ องค์กร โดยเฉพาะกระบวนการหลักในการดำ�เนินธุรกิจ รวมถึงปิยมิตรทางการ ก่อสร้าง ซึ่งเป็นหัวใจหลักในการบริหารจัดการต้นทุนทั้งทางตรงและทางอ้อม เพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์และบริการที่ส่งมอบแก่ลูกค้าด้วยการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนทำ�ให้ ผลิตภัณฑ์และบริการของบริษัทแตกต่างจากคู่แข่งทั้งทางด้านคุณภาพและราคา เพิ่มกลยุทธ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อลดผลกระทบและความเสียหาย ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในวงกว้าง จนทำ�ให้ผู้บริโภคปฏิเสธที่จะเลือกใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการ ของบริษัท พัฒนาโครงการชุมชนเมือง อันหมายถึง การพัฒนาโครงการอาคารชุดพักอาศัยขนาดใหญ่ที่มี จำ�นวนหน่วยมากกว่าปกติหลายเท่าตัว เพือ่ ความได้เปรียบในด้านของต้นทุน (Economy of Scale) ในทำ�เลที่มีความหนาแน่นสูงในราคาที่เหมาะสมสำ�หรับกลุ่มเป้าหมายที่มีรายได้ในระดับกลางถึง กลาง-ล่าง (Affordable Price) ที่ต้องการมีที่พักอาศัยที่มีคุณภาพพร้อมการบริการหลังการขาย เป็นของตนเอง

ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง

มุ่งเน้นลูกค้าเฉพาะกลุ่ม สูง • ขยายการพัฒนาโครงการที่มิใช่อาคารชุด (Non-Condo) โดยบริษัทย่อย • เพิ่มการพัฒนาโครงการในต่างจังหวัดที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจสูงหรือเป็นศูนย์กลางของ ภูมิภาคหรือการคมนาคมขนส่ง อีกทั้งยังคงมีความต้องการที่พักอาศัยที่มีคุณภาพในราคาที่ เหมาะสมภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี” หรือการขยายการพัฒนาไปยังจังหวัดที่เป็นจุดหมายปลาย ทางของการท่องเที่ยว โดยการพัฒนาโครงการในลักษณะคอนโดพักตากอากาศ เพื่อรองรับความ ต้องการของคนกรุงเทพฯ ที่รู้จักแบรนด์ “ลุมพินี” เป็นอย่างดี

ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง

การดำ�เนินงานโดยบุคลากรภายใน สูง • พิจารณาการดำ�เนินงานด้วยการว่าจ้างหน่วยงานภายนอก (Outsource) เพื่อลดข้อจำ�กัดในการ เติบโตของบริษัท อีกทั้งยังเป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายคงที่ อันเกิดจากการเพิ่มจำ�นวนบุคลากรตาม การขยายตัวของธุรกิจอีกทางหนึ่ง • พัฒนาประสิทธิภาพของบุคลากรของหน่วยงานภายนอก (Outsource) ที่ร่วมงานกับบริษัทให้มี สมรรถนะเท่าเทียมกับบุคลากรของบริษัทภายใต้ “วัฒนธรรมขององค์กร” (Core Values) • พิจารณาความเหมาะสมของอัตราการเติบโตของผลประกอบการให้อยู่ในระดับที่สามารถควบคุม และจัดการได้ โดยคำ�นึงถึงความสมดุลในทุกมิติของการดำ�เนินการ

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

107


รายงานประจำ�ปี 2555

3) ความเสี่ยงด้านการดำ�เนินงาน (Operation Risk) ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและการแข่งขันที่มีแนวโน้มอยู่ตลอดเวลา ประกอบกับการเพิ่มขึ้นของ ต้นทุน ประสิทธิภาพของการดำ�เนินงานมีส่วนสำ�คัญในการผลักดันให้บริษัทยังคงสามารถรักษาอัตราการเติบโตของผล กำ�ไรได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งพนักงานส่วนหน้าและพนักงานในส่วนสนับสนุนต่างก็มีส่วนสำ�คัญในการบรรลุเป้าหมายของ บริษัท บริษัทจึงเพิ่มความเข้มข้นในการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านการดำ�เนินงาน ซึ่งมีผลกระทบอยู่ในระดับสูง ดังนี้ ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง

ผลกระทบจากนโยบายการปรับขึ้นค่าแรงขั้นตํ่าและเงินเดือนพนักงาน สูง • เพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรในการดำ�เนินงานด้วยการพัฒนาฝึกอบรม เพิ่มพูนทักษะในด้าน ต่างๆ ที่จำ�เป็นต่อการปฏิบัติงาน โดยยังคำ�นึงถึงความสมดุลระหว่างชีวิตและงาน • เพิ่มความเข้มข้นในการลดต้นทุนแฝงอันเกิดจากกระบวนการออกแบบทั้งงานสถาปัตยกรรม งานโครงสร้าง และงานระบบต่างๆ • เจรจากับปิยมิตรทางการก่อสร้างเพือ่ หาทางลดและกระจายผลกระทบอันเกิดจากการเพิม่ ขึน้ ของ ต้นทุน โดยทุกฝ่ายยังคงสามารถบรรลุเป้าหมายร่วมกัน

ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง

การสรรหาพัฒนาบุคลากรไม่ทันต่อการเติบโตขององค์กร สูง พิจารณาการว่าจ้างหน่วยงานภายนอกองค์กร (Outsource) ที่มีคุณสมบัติที่เหมะสม สามารถ ปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ได้ตามมาตรฐานของบริษัท เพื่อยังคงรักษาคุณภาพของการบริการให้เป็นไป ตามมาตรฐานที่ยอมรับขององค์กร เพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารบุคลากรให้มีคุณภาพและจำ�นวนที่เหมาะสม และเพียงพอต่อ ความจำ�เป็นในแต่ละสายงาน จัดตั้ง “สถาบัน แอล.พี.เอ็น.” เพื่อเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาและฝึกอบรมให้แก่บุคลากรของ บริษัทและบริษัทย่อย พิจารณาการขยายตัวขององค์กรให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม โดยคำ�นึงถึงความสมดุลในทุกมิติของ การดำ�เนินงาน

• • • •

ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง

ความตื่นตัวต่อผลกระทบที่มีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของธุรกิจ สูง • เพิ่มความเข้มข้นของกลยุทธ์ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยสร้างจิตสำ�นึกของ พนักงานทั่วทั้งองค์กร รวมถึงปิยมิตรทางการก่อสร้างพร้อมทั้งปฏิบัติตามแนวทางลดผลกระทบ จากการพัฒนาโครงการที่ได้รับอนุมัติอย่างเคร่งครัด • บริหารความสัมพันธ์กับชุมชนโดยรอบระหว่างการก่อสร้างและหลังส่งมอบ โดยจัดตั้งทีมงาน เฉพาะที่ประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงของบริษัทเข้าเยี่ยมเยือนชุมชนโดยรอบอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อรับฟังข้อร้องเรียนต่างๆ เพื่อนำ�กลับมาแก้ไข ปรับปรุง มาตรการในการป้องกันและลด ผลกระทบอย่างทันท่วงที

108 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

4) ความเสี่ยงด้านกฎระเบียบ (Compliance Risk) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มักจะถูกกระทบจากการเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์หรือการตีความและบังคับใช้กฎหมาย ในบาง ครั้งอาจรุนแรงถึงขั้นโครงการถูกระงับการก่อสร้าง ถูกสั่งให้รื้อถอน หรือไม่พิจารณาเห็นชอบออกใบอนุญาตการก่อสร้าง ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวง บริษัทจึงกำ�หนดให้ความเสี่ยงด้านกฎระเบียบเป็นความเสี่ยงที่หากเกิดขึ้นแล้วมี ผลกระทบสูงต่อการดำ�เนินธุรกิจ โดยบริษัทได้กำ�หนดการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านกฎหมายไว้ ดังนี้ี ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง

กฎระเบียบที่ไม่ชัดเจนของภาครัฐ สูง • พิจารณาข้อกฎหมายอย่างละเอียดก่อนซื้อที่ดิน พร้อมทั้งจัดตั้งคณะทำ�งานจากหลากหลาย หน่วยงาน เพื่อรับผิดชอบในการจัดเตรียมข้อมูลที่สำ�คัญในการตัดสินใจซื้อที่ดินแต่ละแปลงให้ รวดเร็วและทันกำ�หนดเวลา • พิจารณาเปิดขายโครงการหลังจากได้รับอนุมัติจากหน่วยงานท้องถิ่นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

5) ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ (Natural Disaster Risk) มหาอุทกภัยเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเหนือความคาดหมายของสังคมและส่งผลเสียหายรุนแรงและเป็นวงกว้าง และมีแนว โน้มว่าโอกาสเกิดจะมีมากเพิ่มขึ้นทุกปีตามภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก บริษัทจึงกำ�หนดให้ความเสี่ยง จากมหาอุทกภัย หากเกิดขึ้นแล้วมีผลกระทบสูง และได้กำ�หนดแนวทางในการบริหารความเสี่ยง ดังนี้ ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง

ความเชื่อมั่นของลูกค้าและผู้พักอาศัยในชุมชนต่อสถานการณ์นํ้าท่วม สูง • เตรียมความพร้อมในการดำ�เนินการป้องกันภัยธรรมชาติในชุมชน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นใน มาตรการรับมือต่อสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งในปีที่ผ่านมาไม่มีภัยธรรมชาติเกิดขึ้น

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

109


รายงานประจำ�ปี 2555

แนวทางในการดำ�เนินงานของบริษัทปี 2555 จากนโยบายการกระตุ้นการบริโภคภายในประเทศ การปรับขึ้นเงินเดือนสำ�หรับผู้จบการศึกษาระดับปริญญาตรี การ ลงทุนในโครงการพื้นฐาน รวมถึงอัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มทรงตัวอยู่ในระดับตํ่า ล้วนส่งผลดีต่อภาคอสังหาริมทรัพย์ โดยรวม โดยเฉพาะตลาดอาคารชุดพักอาศัยในระดับราคาที่ไม่สูงมาก (Affordable Price) ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก ของบริษัท อย่างไรก็ตามสถานการณ์วิกฤติทางการเงินของภาคพื้นยุโรปที่ยังคงมีปัญหาอย่างต่อเนื่อง แม้จะปรับตัวในทางที่ ดีขึ้น ประกอบกับปรากฏการณ์การไหลเข้าของเงินทุนเพื่อหาประโยชน์จากส่วนต่างดอกเบี้ย หรือการนำ�เงินเข้าลงทุนใน โครงการอสังหาริมทรัพย์จนอาจนำ�ไปสู่ภาวะฟองสบู่ รวมถึงการปรับขึ้นของต้นทุนตามการปรับตัวขึ้นของค่าแรงขั้นตํ่า ยัง คงเป็นปัจจัยที่บริษัทต้องดำ�เนินธุรกิจอย่างระมัดระวัง บริษัทจึงได้กำ�หนดแนวทางในการดำ�เนินงานสำ�หรับปี 2556 ดังนี้ 1. กำ�หนดอัตราการเติบโตของรายได้จากการขายมากกว่าร้อยละ 20 โดยมีเป้าหมายรายได้จากการขายทั้งปีประมาณ 15,200 ล้านบาท 2. กำ�หนดอัตราการเติบโตของยอดขายมากกว่าร้อยละ 5 โดยมีเป้าหมายยอดขายทั้งปีประมาณ 20,000 ล้านบาท 3. กำ�หนดเป้าหมายการเปิดตัวโครงการใหม่มูลค่ารวมประมาณ 20,000 ล้านบาท โดยบริษัทมีแผนในการขยายทำ�เลในการพัฒนา ไปยังจังหวัดที่มีศักยภาพเพิ่มขึ้น 4. เพิ่มความเข้มข้นในการบริหารต้นทุนทางตรงและต้นทุนทางอ้อม เพื่อรองรับกับการเพิ่มขึ้นของค่าแรงขั้นตํ่าตามนโยบายของ รัฐบาล 5. พัฒนา “ชุมชนเมืองน่าอยู่” ในกรุงเทพและปริมณฑล ซึ่งเป็นการต่อยอดจากโครงการต้นแบบโครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุรี-สุขุมวิท 6. พัฒนา “สถาบัน แอล.พี.เอ็น.” ให้เป็นแกนกลางในการพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับการขยายตัวของบริษัท

ภายใต้หลักการ “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” ซึ่งยังคงเป็นแนวทางที่บริษัทยึดถือในการดำ�เนินธุรกิจมาอย่างต่อเนื่อง รวมถึง การบริหารความเสี่ยง ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม การคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม รวมถึงความมุ่งมั่น ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างสรรค์และส่งมอบคุณค่าแบบบูรณาการแก่ลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย จะส่งผลให้ธุรกิจของ บริษัทยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่องภายใต้หลักธรรมาภิบาล

110 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

แผนภูมิกลยุทธ์ปี 2556 คุณค่าต่อผู้ถือหุ้น เติบโตอย่างยั่งยืน พัฒนาชุมชนเมือง

การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

ผลตอบแทนที่เหมาะสม

คุณค่าต่อลูกค้าและผู้อยู่อาศัย ความเชื่อมั่นในแบรนด์ คุณค่าของผลิตภัณฑ์

การบริหารประสบการณ์ลูกค้า

คุณค่าต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

ในกระบวนการ

คุณค่าของบริการ

นอกกระบวนการ

ความรับผิดชอบ คุณค่าต่อปิยมิตรทางธุรกิจ ความเป็นน้ำ�หนึ่งใจเดียวกัน ผลตอบแทนที่เหมาะสม

การบริหารจัดการ ความสัมพันธ์

พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

การดำ�เนินงานของส่วนหน้า

คุณค่าของการดำ�เนินงาน ภายใน

การดำ�เนินงาน ของส่วนสนับสนุน

หน่วยงานภายนอก สถาบัน แอล.พี.เอ็น. วิถี แอล.พี.เอ็น.

ประสิทธิผล

หน่วยงานภายนอก

คุณค่าต่อพนักงาน

โอกาสเติบโตในตำ�แหน่งหน้าที่

องค์กรแห่งคุณค่า

การสร้างสมดุลชีวิต และการทำ�งาน

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

111


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

บทที่ 6 ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล เพื่อดำ�รงไว้ซึ่งผลตอบแทนอย่างยั่งยืน

บ้านหลังใหญ่ หัวใจเดียวกัน WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

113


รายงานประจำ�ปี 2555

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำ�ปี 2555 คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จำ�นวน 4 คน ซึ่ง เป็นผู้ทรงคุณวุฒิและมีประสบการณ์ด้านการเงิน กฎหมาย และ ทักษะการบริหารองค์กรจากภาครัฐและภาคเอกชน โดยมีนาย อมรศักดิ์ นพรัมภา เป็นประธานกรรมการ นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล และนายวุฒพิ ล สุรยิ าภิวฒ ั น์ เป็นกรรมการ ในปี 2555 มีการประชุมรวม 4 ครั้ง และคณะกรรมการตรวจสอบ เข้าประชุมครบ 100% โดยได้หารือร่วมกับผูส้ อบบัญชี ฝ่ายบริหาร และหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน ในวาระที่เกี่ยวข้อง สรุปการ ปฏิบัติหน้าที่ที่เป็นสาระสำ�คัญตามกฎบัตร ดังนี้ 1) การสอบทานรายงานงบการเงินรายไตรมาส และประจำ�ปี 2555 ของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และ งบการเงินรวม ร่วมกับฝ่ายบริหาร และหัวหน้าหน่วยตรวจสอบ ภายใน โดยได้เชิญผู้สอบบัญชีร่วมประชุมทุกครั้ง คณะกรรมการ ตรวจสอบได้สอบถามผู้สอบบัญชีในเรื่องความถูกต้อง ครบถ้วน ของงบการเงิน และการตั้งข้อสังเกต ที่มีผลกระทบต่องบการเงิน รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วนเพียงพอ เพื่อให้ มั่นใจได้ว่า เป็นงบการเงินที่ได้ปฏิบัติตามข้อกำ�หนดกฎหมาย และมาตรฐานบัญชี ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ว่ามีความ ถูกต้องเชื่อถือได้และทันเวลา เพื่อให้เป็นประโยชน์กับนักลงทุน หรือผูใ้ ช้งบการเงิน นอกจากนีค้ ณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณา ขอบเขต แนวทางการสอบบัญชี และแผนประจำ�ปีของผูส้ อบบัญชี จึงให้ความเห็นชอบในงบการเงินดังกล่าว 2) การสอบทานการบริหารความเสี่ยง คณะอนุกรรมการบริหาร ความเสี่ยง มีแนวทางบริหารความเสี่ยงที่ชัดเจนเกี่ยวกับปัจจัย ภายใน เช่น มีการดำ�เนินการอย่างละเอียดรอบคอบ เรื่องความ เสี่ยงด้านการเงิน ด้านกลยุทธ์ และด้านการดำ�เนินงาน และปัจจัย ภายนอก เช่น ความเสีย่ งด้านกฎระเบียบราชการ และด้านนโยบาย ภาครัฐ โดยคณะกรรมการตรวจสอบ มีการประชุมร่วมกับคณะ อนุกรรมการบริหารความเสี่ยงอย่างสม่ำ�เสมอทุกไตรมาส พร้อม ตั้งข้อสังเกต เพื่อเพิ่มเติมข้อมูลในเชิงวิเคราะห์ให้ครอบคลุมทุก มิติ 3) การสอบทานระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจ สอบพิจารณาทบทวนระบบการควบคุมภายใน ร่วมกับหัวหน้า หน่วยตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีเป็นรายไตรมาส โดย เน้นเรื่องการป้องกันและการแก้ไขไปในคราวเดียวกัน เพื่อลด ข้อบกพร่องเกี่ยวกับการดำ�เนินงาน ลดความสิ้นเปลืองในการใช้ ทรัพย์สิน การรั่วไหล หรือการทุจริตด้านบุคลากร และลดข้อผิด พลาดการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ในปีนี้เจ้าหน้าที่ทุก ระดับภายในองค์กรให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามวัฒนธรรม องค์กร เช่น การให้ความร่วมมือร่วมใจในทุกกิจกรรมที่จัดขึ้น มี การคิดเชิงสร้างสรรค์ และนอกกรอบเดิมของขั้นตอนการปฏิบัติ งานอย่างหลากหลาย รักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับคู่ค้า โดยเฉพาะ กลุ่มปิยมิตร มีใจให้บริการอย่างต่อเนื่อง มีขั้นตอนงานที่กระชับ

114 HERE IS HOME, HERE IS LPN

เวลา และคาดหวังผลได้เร็วกว่าแผน เน้นความซือ่ สัตย์ และการใช้ ต้นทุนอย่างสอดคล้องกับระดับของคุณภาพสินค้าและบริการ โดย สำ�นักทรัพยากรมนุษย์เป็นผู้ดำ�เนินการส่งเสริม ประเมินผล และ สรุปผลนำ�เสนอคณะกรรมการบริหาร นอกจากนี้คณะกรรมการ ตรวจสอบ ได้ให้ความสำ�คัญกับระบบควบคุมภายในอย่างจริงจัง โดยพิจารณาและติดตามผลจากรายงานการตรวจสอบภายในเป็น รายไตรมาส เพื่อให้มีการพัฒนาการทำ�งานของทุกระบบให้ได้ ผลเลิศ 4) การสอบทานการกำ�กับกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบได้ ทบทวนการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท และการปฏิบัติงานของทุก หน่วยงาน ให้สร้างจิตสำ�นึกเรื่องคุณธรรม และการปฏิบัติตามข้อ กำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตามข้อกฎหมาย ที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ผ่านทาง รายงานงบการเงิน และรายงานการตรวจสอบภายในทุกไตรมาส โดยเน้นเรื่องรายการระหว่างกันของบริษัทในเครือ ที่ควรต้อง ดำ�เนินการตามเงือ่ นไขทางธุรกิจปกติ สมเหตุสมผล โปร่งใส ตรวจ สอบได้ทุกรายการ เพื่อให้เกิดการกำ�กับกิจการที่ดี 5) การกำ�กับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงานตรวจสอบภายในประจำ�ปี ได้เน้นให้สุ่มสอบทาน เกี่ยวกับรายการในงบการเงินมากขึ้น ได้พิจารณาผลการปฏิบัติตามแผนที่กำ�หนดไว้ และรายงานการ สอบทานทุกฉบับเป็นรายไตรมาส และให้ติดตามการแก้ไขโดย เร็วในประเด็นที่สำ�คัญ เพื่อให้มีการควบคุมภายในอย่างเพียงพอ ให้ความเห็นชอบในการปรับปรุงคู่มือปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ดัชนีชี้วัดผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งการสอบทานงบประมาณ ประจำ�ปี แผนการฝึกอบรม การหมุนเวียนและการสรรหาบุคลากร ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน 6) การพิจารณาแต่งตั้งผู้สอบบัญชีประจำ�ปี 2556 คณะกรรมการ ตรวจสอบได้พิจารณาเห็นชอบให้ บริษัท สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชัน่ แนล จำ�กัด เป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ประจำ�ปี 2556 ได้นำ�เสนอคณะ กรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา และขออนุมัติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2556 ต่อไป ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ (นายอมรศักดิ์ นพรัมภา) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ วันที่ 30 มกราคม 2556


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

รายงานความรับผิดชอบการกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความสำ�คัญด้านการกำ�กับดูแลกิจการ และได้ทบทวนการจัดทำ�ธุรกิจขององค์กร โดยเน้น เรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืน และการดำ�เนินธุรกิจควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Environment and Social Responsibility – CESR) ในปีนี้ (2555) จึงได้พบเห็นบทบาทของการมุ่งเน้นด้าน Green Concept อย่างต่อเนื่องในทุก ระบบงาน ตั้งแต่ขั้นตอนการผลิต จนถึงการส่งมอบ อีกทั้งเกิดนวัตกรรมมากมายเกี่ยวกับตัวสินค้า และงานด้านบริการ เพื่อ ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงยุคโลกาภิวัตน์ และให้สอดคล้องกับวิถี “รักษ์สีเขียว” อย่างสม่ำ�เสมอ นอกจากนั้น ได้มุ่งเน้นที่จะ พัฒนาทรัพยากรบุคคล คือบุคลากร (พนักงาน) ที่เป็นองค์ประกอบสำ�คัญในการขับเคลื่อนธุรกิจขององค์กร มีการดำ�ริที่จะ ก่อตัง้ “สถาบัน แอล.พี.เอ็น. (LPN Academy)” เพือ่ ส่งเสริมองค์กรในการสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขันอย่างต่อเนือ่ ง จึง ได้กำ�หนดให้บรรจุเป็นแผนพัฒนาบุคลากรประจำ�ปี 2556 และให้เริม่ ดำ�เนินการอย่างเป็นรูปธรรมตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2556

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

115


รายงานประจำ�ปี 2555

รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ค​ ณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้รับการแต่งตั้งโดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย กรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการของบริษัทและบริษัทย่อย จำ�นวนรวม 8 คน ประกอบด้วย ​1. ​นายทิฆัมพร เ​ปล่งศรีสุข ​ ประธานกรรมการบริหาร ​ 2. ​นายพิเชษฐ ​ศุภกิจจานุสันติ์​ กรรมการบริหาร ​ 3. ​นางยุพา เ​ตชะไกรศรี​ กรรมการบริหาร ​ 4. ​นายคัมภีร์ ​จองธุระกิจ​ กรรมการบริหาร ​5. ​นายโอภาส ​ศรีพยัคฆ์​ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ​ 6. ​นายจรัญ​เกษร ​ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ​ 7. ​นายปราโมทย์ ​ชัยพูล ​กรรมการผู้จัดการ บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ จำ�กัด ​ 8. ​นางสาวสมศรี​เตชะไกรศรี​ กรรมการผู้จัดการ บริษัท พรสันติ จำ�กัด ค​ ณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบตามกฎบัตร ซึง่ คณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาให้ความเห็นชอบ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 ​ ในปี 2555 คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีการประชุมรวมทัง้ สิน้ 4 ครัง้ โดยเป็นการทบทวนและประเมินความเสีย่ ง รวมทั้ง การบริหารจัดการความเสี่ยงที่มีแนวโน้มจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อองค์กร และรายงานให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบเป็น ประจำ�ทุกไตรมาส โดยสรุปสาระสำ�คัญดังนี้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้สรุปและประเมินความเสี่ยงที่อาจมีผลกระทบต่อองค์กรในปี 2555 ดังนี้

ความเสี่ยงด้านการเงิน 1.

ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการ

วิกฤติทางการเงินของภาคพื้นยุโรป สูง ​ได้ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชดิ และดำ�เนินการตามแผนธุรกิจทีว่ างไว้ สำ�หรับช่องทางทางการ เงิน ทางคณะกรรมการมีความเห็นว่า ปัจจุบันการบริหารการเงินยังอยู่ในการควบคุม จึงได้เลื่อน การทำ� Rating ออกไปชั่วคราว

2.

ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการ

อัตราการปฏิเสธสินเชื่อรายย่อย สูง เพิ่มช่องทางของการปล่อยสินเชื่อ โดยขยายฐานของสถาบันการเงิน และทำ�งานร่วมกันอย่าง ใกล้ชิดกับสถาบันการเงิน อัตราการปฏิเสธสินเชื่อรายย่อยอยู่ที่ประมาณ 5% ซึ่งอยู่ในสภาวะที่ยอมรับได้

ผล

ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ 1.

ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการ

สภาวะการแข่งขันของกลุ่มเป้าหมายในตลาด สูง ได้ดำ�เนินงานตามแผนธุรกิจ

2.

ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการ ผล

มุ่งเน้นลูกค้าเฉพาะกลุ่ม สูง พัฒนาโครงการแนวราบ 3 โครงการ และพัฒนาโครงการที่พัทยาและชลบุรีอีก 4 โครงการ ได้รับการตอบรับจากตลาดอย่างดี

116 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

3.

ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการ

การดำ�เนินงานโดยบุคลากรภายใน สูง เพิ่มจำ�นวนและประสิทธิภาพของ Outsource ตามแผนธุรกิจ ทำ�ให้สามารถลดการขยายตัวของ จำ�นวนพนักงานในองค์กรลงได้

ความเสี่ยงจากการดำ�เนินงาน 1.

ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการ

ผลกระทบจากนโยบายการปรับขึ้นค่าแรงขั้นตํ่าและเงินเดือนพนักงาน สูง ควบคุมต้นทุนและค่าใช้จ่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำ�ให้ผลประกอบการเป็นไปตามเป้าหมาย

2.

ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการ

การสรรหาและพัฒนาบุคลากรไม่ทันต่อการเติบโตขององค์กร สูง ใช้ Outsource มาช่วยดำ�เนินการในกิจการรอง และปรับแผนการพัฒนาบุคลากรใหม่ในปี 2556

3.

ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการ

การตื่นตัวต่อผลกระทบที่มีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของธุรกิจ สูง มีการต่อต้านการพัฒนาโครงการในบางทำ�เล และได้ดำ�เนินการตามกลยุทธ์ทวี่ างไว้ ทำ�ให้สามารถ คลี่คลายปัญหาที่เกิดขึ้นได้ทุกโครงการ

ความเสี่ยงด้านกฎระเบียบราชการ 1.

ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการ

ก​ ฎระเบียบที่ไม่ชัดเจนของการอนุมัติรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม สูง ประสานงานกับผูท้ ำ�รายงานและได้ชแี้ จ้งต่อทางราชการเพือ่ ลดระยะเวลาอนุมตั ิ แต่กย็ งั เป็นปัญหา ที่จะต้องปรับกำ�หนดการเปิดตัวขายโครงการ หลังจากที่ได้อนุมัติจากทางราชการ

ความเสี่ยงด้านภัยธรรมชาติ 1.

ปัจจัยเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง การจัดการ

ความเชื่อมั่นของลูกค้าและผู้พักอาศัยในชุมชนต่อสถานการณ์นํ้าท่วม สูง ​ดำ�เนินการป้องกันภัยธรรมชาติในชุมชน ซึ่งในปี 2555 ไม่มีเกิดภัยธรรมชาติขึ้น

ในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งตลอดปี 2555 นัน้ คณะกรรมการได้ศกึ ษาข้อมูล และจัดการความเสีย่ ง ตามแผนธุรกิจที่วางไว้อย่างระเอียดรอบคอบ โดยสามารถบริหารจัดการความเสี่ยงได้ตามแนวทางที่วางไว้ ซึ่งส่งผลให้การ ดำ�เนินงานขององค์กรในปี 2555 เป็นไปตามเป้าหมาย

(ทิฆัมพร เปล่งศรีสุข) ประธานกรรมการบริหารความสี่ยง 14 กุมภาพันธ์ 2556

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

117


รายงานประจำ�ปี 2555

รายงานของคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนได้รับการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัทตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 เป็นต้นมา มีบทบาทหน้าที่คือ

ด้านการสรรหา

1. เสนอหลักเกณฑ์และแนวทางในการคัดเลือกกรรมการบริษัท อนุกรรมการชุดต่างๆ และผู้บริหารระดับสูง 2. ดำ�เนินการสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมให้ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท อนุกรรมการชุด ต่างๆ และผู้บริหารระดับสูง ต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา 3. เสนอหลักเกณฑ์และแนวทางประเมินผลงานของกรรมการบริษัท และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ด้านการพิจารณาค่าตอบแทน

1. เสนอหลักเกณฑ์และแนวทางการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการบริษัท อนุกรรมการชุดต่างๆ ผู้บริหารระดับสูง และพนักงานของบริษัท 2. พิจารณาการปรับปรุงนโยบาย และโครงสร้างการบริหารค่าตอบแทนของกรรมการบริษัท อนุกรรมการชุดต่างๆ ผู้บริหารระดับสูง และพนักงานของบริษัทให้สอดคล้องกับสภาวะของตลาดแรงงานในขณะนั้น เพื่อนำ�เสนอต่อ คณะกรรมการ

โดยกำ�หนดให้มสี ดั ส่วนของกรรมการอิสระมากกว่าครึง่ หนึง่ ของกรรมการทัง้ คณะซึง่ มีจำ�นวนรวมทัง้ สิน้ 7 คน มีวาระการดำ�รง ตำ�แหน่งคราวละ 2 ปี ในปี 2555 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีจำ�นวนกรรมการรวม 7 คน ประกอบด้วย 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ 2. นายทวีชัย จิตตสรณชัย รองประธานกรรมการบริษัท และ กรรมการอิสระ 3. นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ 4. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ 5. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ กรรมการอิสระ 6. นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 7. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ กรรมการบริหาร โดยมีนายอมรศักดิ์ นพรัมภา เป็นประธานคณะกรรมการ ในปี 2555 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 3 ครั้ง โดยได้มีการพิจารณาเรื่องต่างๆ ตามบทบาทหน้าที่ เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทดังนี้ 1. การประเมินผลกรรมการประจำ�ปี คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนได้จัดให้มีแบบประเมินกรรมการตั้งแต่ปี 2552 ซึ่งประกอบด้วยแบบ ประเมินตนเองของกรรมการรายบุคคล โดยให้มีทั้งการประเมินตนเองและการประเมินโดยกรรมการท่านอื่น (ประเมิน แบบไขว้) จำ�นวน 3 ราย แบบประเมินคณะกรรมการและแบบประเมินผู้บริหารระดับสูง มีการวิเคราะห์ผลการประเมิน และนำ�เสนอรายงานสรุปผลการประเมินต่อคณะกรรมการบริษัท ในปี 2555 ได้มีการปรับปรุงแบบประเมินผู้บริหารระดับสูงโดยนำ�แบบประเมินผลงานของ CEO ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยมาปรับใช้ในส่วนของหัวข้อประเมินซึ่งมีรายละเอียดเพิ่มขึ้น เพื่อให้เกิดความชัดเจนและเกิดความ เข้าใจที่ถูกต้องตรงกันตามวัตถุประสงค์และความรับผิดชอบของกรรมการอย่างเป็นรูปธรรม ผลการประเมินโดย ภาพรวม ถือว่ากรรมการมีการพัฒนาประสิทธิภาพตามบทบาทหน้าที่ดีขึ้นเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาโดยได้นำ�เสนอ บทวิเคราะห์เป็นรายงานจำ�นวน 1 ฉบับ ให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณา

118 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

2. ค่าตอบแทนกรรมการ ได้มีการวางแนวทางที่จะพิจารณาทบทวนอัตราค่าตอบแทนกรรมการทุกรอบ 3 ปี โดยจะพิจารณาจากข้อมูลภายใน องค์กร ผลประกอบการของบริษทั และจากรายงานการสำ�รวจค่าตอบแทนกรรมการของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประกอบการพิจารณา 3. การพิจารณาบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล ตามที่คณะกรรมการบริษัทเห็นชอบให้มีคณะกรรมการเพื่อรับผิดชอบดูแลเรื่องบรรษัทภิบาลขึ้นในปี 2555 และให้รวม ไว้ในคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนโดยให้เรียกชื่อใหม่ว่า คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และ บรรษัทภิบาล โดยได้พิจารณานำ�เสนอร่างบทบาทหน้าที่เป็นกฎบัตรฉบับใหม่ซึ่งแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความ รับผิดชอบของงานสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาลให้ชัดเจน 4. การพิจารณาเรื่องอื่นๆ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนได้ทำ�การพิจารณากลั่นกรองเรื่องต่างๆ ตามบทบาทหน้าที่เพื่อเสนอ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติตามระเบียบวาระการประชุมในแต่ละไตรมาส ดังนี้ - พิจารณาการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล และการจ่ายรางวัลการทำ�งานกลางปีแก่พนักงาน - พิจารณาการจ่ายรางวัลการทำ�งานของพนักงานประจำ�ปี - พิจารณาการจ่ายค่าตอบแทนพนักงานประจำ�ปี - พิจารณาบำ�เหน็จประจำ�ปี และค่าจ้างบริหารของกรรมการบริหารประจำ�ปี - พิจารณารายชื่อและคุณสมบัติกรรมการเพื่อทดแทนตำ�แหน่งที่ว่างลงตามวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนทุกท่านให้ความสำ�คัญกับการเข้าร่วมประชุม และนำ�เสนอความคิดเห็นและ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อพัฒนาการของค่าตอบแทนสำ�หรับผู้เกี่ยวข้องทุกกลุ่มเพื่อสร้างความเป็นธรรมและเหมาะสม ในการปฏิบตั หิ น้าที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนตลอดปี 2555 ได้ใช้ความรอบคอบ การศึกษาข้อมูล เพิม่ เติมในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องอย่างรอบด้าน ส่งเสริมการแสดงความคิดเห็นของกรรมการแต่ละท่านอย่างเป็นอิสระและสร้างสรรค์ ทัง้ นี้ เพือ่ วางมาตรฐานและกำ�หนดเป็นแบบแผนและหลักปฏิบตั ิให้เกิดความชัดเจน โปร่งใส เป็นธรรม ตามแนวทางการกำ�กับ ดูแลกิจการทีด่ แี ละตรวจสอบขัน้ ตอนปฏิบตั ไิ ด้ สามารถเป็นเครือ่ งมือให้คณะกรรมการบริษทั ใช้ในการพิจารณาเรือ่ งทีม่ อบหมาย ให้คณะกรรมการชุดย่อยดำ�เนินการได้อย่างเชื่อมั่นและไว้วางใจ

(อมรศักดิ์ นพรัมภา) ประธานกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล วันที่ 24 มกราคม 2556

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

119


รายงานประจำ�ปี 2555

การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างการจัดการ ปี 2537

บริษัทได้จดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์ เป็นบริษัทมหาชน เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2537 ซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ 16 ท่าน ได้แก่ 1. นายจำ�ลอง รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ ประธานกรรมการ 2. นายพงส์ สารสิน รองประธานกรรมการ 3. นายปกรณ์ ทวีสิน รองประธานกรรมการ 4. นายทวีชัย จิตตสรณชัย ประธานกรรมการบริหาร 5. นายศิริ เกวลินสฤษดิ์ กรรมการอิสระ 6. นายโมรา บุณยผล กรรมการอิสระ 7. นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ กรรมการอิสระ 8. นายธีรชัย ปัญจทรัพย์ กรรมการ 9. นางจงจิตต์ ฐปนางกูร กรรมการ 10. นายศิริชัย เจริญศักดิ์วัฒนา กรรมการ 11. นายชาลล์ส เย กวอง ลี กรรมการ 12. นายสมเกียรติ ตั้งถาวร กรรมการ 13. ผศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์ กรรมการอิสระ 14. นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข กรรมการผู้จัดการ 15. นางยุพา เตชะไกรศรี กรรมการ รองกรรมการผู้จัดการ 16. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ กรรมการ รองกรรมการผู้จัดการ

ปี 2540

นายจำ�ลอง รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ ขอลาออกจากประธานกรรมการ เนื่องจากปัญหาสุขภาพ และนายพงส์ สารสิน ขอลาออก จากกรรมการ เนื่องจากภารกิจในขณะนั้นทำ�ให้ไม่สามารถให้เวลาได้เต็มที่ คณะกรรมการจึงได้เรียนเชิญนายโมรา บุณยผล เข้าดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการแทน

ปี 2541

นายปกรณ์ ทวีสิน ขอลาออกจากกรรมการอิสระ เนื่องจากภาวะทางเศรษฐกิจมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์กบั บริษทั นายสมชาย ภคภาสน์ววิ ฒ ั น์ ขอลาออกจากกรรมการอิสระ เนือ่ งจากภารกิจทีเ่ พิม่ มากขึน้ คณะกรรมการ จึงได้เรียนเชิญนายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ เข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการและกรรมการอิสระของบริษัท

ปี 2543

เพือ่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในการกำ�กับดูแลกิจการ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2543 มีมติเป็นเอกฉันท์แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งได้กำ�หนดขอบเขต อำ�นาจ หน้าที่ และ ความรับผิดชอบ โดยมีรายนามคณะกรรมการตรวจสอบ ดังนี้ 1. ศาสตราจารย์ศิริ เกวลินสฤษดิ์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ กรรมการตรวจสอบ 4. นางนวนุช จินตพิทักษ์ เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

120 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ปี 2544

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท มีมติเป็นเอกฉันท์พิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบชุดเดิม ซึ่งครบวาระการทำ�งาน 2 ปี ให้เข้าดำ�รงตำ�แหน่งอีกวาระหนึ่ง

ปี 2545

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั มีมติให้เสนอทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ แต่งตัง้ นายปกรณ์ ทวีสนิ ให้ดำ�รงตำ�แหน่งรองประธานกรรมการ ของบริษัท

ปี 2547

บริษทั ส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการได้เข้ารับการอบรมในหลักสูตรต่างๆ ของสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีกรรมการเข้าอบรมในหัวข้อต่างๆดังนี้ 1. Director Certification Program 2. Board Performance Evaluation 3. Finance for Non-Finance Directors 4. Director Accreditation Program 5. CEO Performance Evaluation 6. New COSO Enterprise Risk Management

ปี 2548 • • •

ศาสตราจารย์โมรา บุณยผล ประธานกรรมการบริษัท ได้ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2548 และที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2548 ได้มีมติแต่งตั้ง นายปกรณ์ ทวีสิน ให้ดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการบริษัท โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 11 สิงหาคม 2548 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทมีมติแต่งตั้งนายอมรศักดิ์ นพรัมภา ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 22 ธันวาคม 2548 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทมีมติแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบชุดเดิมให้ดำ�รงตำ�แหน่งอีกวาระหนึ่งระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2549 ถึงวันที่ 30 เมษายน 2551 โดยคณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วย 1. ศาสตราจารย์ศิริ เกวลินสฤษดิ์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ กรรมการตรวจสอบ 4. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา กรรมการตรวจสอบ

ปี 2549 • • •

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 2/2549 มีมติแต่งตั้งนายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข ให้ดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการ บริหาร แทนนายทวีชัย จิตตสรณชัย ที่ขอลาออก โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2549 แต่งตั้งศาสตราจารย์ศิริ เกวลินสฤษดิ์ และนายทวีชัย จิตตสรณชัย ให้ดำ�รงตำ�แหน่งรองประธานกรรมการ โดยมีผล ตั้งแต่วันที่ 25 เมษายน 2549 แต่งตั้งนายวีระศักดิ์ วหาวิศาล ให้ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 25 เมษายน 2549 แต่งตั้งนายอมรศักดิ์ นพรัมภา และนายวีระศักดิ์ วหาวิศาล ให้ดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการตรวจสอบ ตามลำ�ดับ แทนศาสตราจารย์ศิริ เกวลินสฤษดิ์ และนายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ ที่ขอลาออก โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 25 เมษายน 2549 และมีกำ�หนดวาระถึงวันที่ 30 เมษายน 2551 โดยคณะกรรมการตรวจสอบจำ�นวน 3 ท่าน มีรายนามดังต่อไปนี้ 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบ • แต่งตั้งนายโอภาส ศรีพยัคฆ์ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 25 เมษายน 2549

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

121


รายงานประจำ�ปี 2555

ปี 2550 • • •

• •

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 5/2550 เมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2550 ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน เพื่อพิจารณาค่าตอบแทนของคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานในองค์กร บริษัทได้จัดการประชุมผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2550 ในวันที่ 26 เมษายน 2550 และเป็นครั้งแรกที่บริษัทได้เชิญผู้ถือหุ้นไป เยี่ยมชมโครงการลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจ้าพระยา หลังจากเสร็จสิ้นการประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นเข้าใจการ ดำ�เนินธุรกิจของบริษัท รวมถึงแนวทางในการพัฒนาและบริหารโครงการของบริษัท ซึ่งได้รับการตอบรับอย่างดียิ่ง บริษัทยังคงนโยบายในการส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะกรรมการได้เข้ารับการอบรมในหลักสูตรต่างๆ ของสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีกรรมการเข้าอบรมในหัวข้อต่างๆ ดังนี้ 1. Director Certification Program 2. Director Accreditation Program 3. Role of the Chairman Program บริษัทได้จัดให้มีการปฐมนิเทศกรรมการใหม่ โดยนำ�เสนอภาพรวมของการดำ�เนินธุรกิจ วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ ความเสี่ยง และการบริหารความเสี่ยง รวมไปถึงกฎระเบียบต่างๆ นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ และมีการส่งมอบ จรรยาบรรณของกรรมการ รวมทั้งได้พาไปเยี่ยมชมโครงการของบริษัท เพื่อให้เกิดความเข้าใจการดำ�เนินธุรกิจใน เชิงลึกอีกด้วย บริษัทจัดให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการเพื่อการปรับปรุงการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ในด้านต่างๆ ได้แก่ 1. ความพร้อมของกรรมการ 2. การกำ�หนดกลยุทธ์และวางแผนธุรกิจ (Strategy Setting and Policy Making) 3. การจัดการความเสี่ยงและการควบคุมภายใน (Risk Management and Internal Control) 4. การดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest) 5. การติดตามรายงานทางการเงินและการดำ�เนินการ (Financial Reporting) 6. การประชุมคณะกรรมการ 7. อื่นๆ ได้แก่ การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ การพิจารณาค่าตอบแทน การประเมินผลงานกรรมการผู้จัดการ

ปี 2551

• ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2551 วันที่ 24 เมษายน 2551 มีมติดังต่อไปนี้คือ 1. แต่งตั้งกรรมการบริษัทเพื่อดำ�รงตำ�แหน่งต่างๆ ดังมีรายนามต่อไปนี้ 1) นายปกรณ์ ทวีสิน ประธานกรรมการบริษัท 2) ศาสตราจารย์ ศิริ เกวลินสฤษดิ์ รองประธานกรรมการบริษัท 3) นายอมรศักดิ์ นพรัมภา กรรมการบริษัท 4) นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข ประธานกรรมการบริหารและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2. แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง 2 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2551 ถึงวันที่ 30 เมษายน 2553 ดังมีรายนามต่อไปนี้ 1) นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2) นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ กรรมการตรวจสอบ 3) นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบ

122 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

• ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 7/2551 วันที่ 6 พฤศจิกายน 2551 มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน จำ�นวน 7 คน ดังมีรายนามต่อไปนี้ 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 2. นายทวีชัย จิตตสรณชัย 3. นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ 4. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล 5. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ 6. นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข 7. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์

ปี 2552

• ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2552 มีมติแต่งตั้ง 1. นายทวีชัย จิตตสรณชัย รองประธานกรรมการบริษัท และ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 2. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 3. นางยุพา เตชะไกรศรี กรรมการบริหาร 4. นายโอภาส ศรีพยัคฆ์ กรรมการบริหาร และ กรรมการผู้จัดการ • เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2552 กรรมการบริษัท ได้แก่ นายอมรศักดิ์ นพรัมภา และนายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ ได้เข้าร่วม อบรมหลักสูตร Role of Compensation Committee (RCC 9/2009) ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 7/2552 วันที่ 17 ธันวาคม 2552 มีมติให้ดำ�เนินโครงการประเมินผลกรรมการบริษทั ประจำ�ปี 2552 โดยแบ่งเป็น 1. ประเมินผลกรรมการบริษัททั้งคณะ 2. ประเมินผลกรรมการบริษัทรายบุคคล 3. ประเมินประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO)

ปี 2553

• ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี ซึง่ จัดขึน้ เมือ่ วันที่ 8 เมษายน 2553 มีมติแต่งตัง้ กรรมการซึง่ ครบกำ�หนดออกตามวาระ ให้กลับดำ�รงตำ�แหน่งตามเดิม ดังมีรายนามต่อไปนี้ 1. นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 2. นางจงจิตต์ ฐปนางกูร กรรมการบริษัท 3. นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร และ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 4. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร และ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 5. นายคัมภีร์ จองธุระกิจ กรรมการบริษัท และ กรรมการบริหาร

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

123


รายงานประจำ�ปี 2555

ปี 2554

• ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี ซึง่ จัดขึน้ เมือ่ วันที่ 31 มีนาคม 2554 มีมติแต่งตัง้ กรรมการซึง่ ครบกำ�หนดออกตามวาระให้ กลับดำ�รงตำ�แหน่งตามเดิม ดังมีรายนามต่อไปนี้ 1. นายปกรณ์ ทวีสิน กรรมการบริษัท ประธานกรรมการบริษัท และ กรรมการอิสระ 2. ศาสตราจารย์ศิริ เกวลินสฤษดิ์ กรรมการบริษัท รองประธานกรรมการบริษัท และ กรรมการอิสระ 3. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา กรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และ กรรมการอิสระ 4. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และ กรรมการอิสระ 5. นางยุพา เตชะไกรศรี กรรมการบริษัท และ กรรมการบริหาร

ปี 2555 • • • •

ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2555 เมือ่ วันที่ 29 มีนาคม 2555 นายธีรชัย ปัญจทรัพย์ กรรมการบริษทั ได้แจ้งความ ประสงค์ไม่ขอดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษทั ดังนัน้ กรรมการบริษทั จึงมีจำ�นวนทัง้ สิน้ 13 คน นับตัง้ แต่วนั ที่ 29 มีนาคม 2555 เป็นต้นมา บริษัทได้ขอถอนตัวจากการเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด โดยการขายหุ้นสามัญ ให้แก่ บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำ�กัด (มหาชน) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2555 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2555 ได้มีมติตั้งคณะอนุกรรมการกำ�กับดูแล กิจการด้านความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม โดยแต่งตัง้ นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสนั ติ์ เป็นประธานอนุกรรมการ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 9/2555 เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2555 ได้มีมติเปลี่ยนชื่อ “คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน” เป็น “คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล” โดยให้มีผลนับตั้งแต่วันที่ 14 ธันวาคม 2555 เป็นต้นไป โดยองค์คณะของคณะกรรมการยังคงเป็นชุดเดิม

124 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

การเข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการบริษัท นอกจากคณะกรรมการบริษัทจะปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบตามที่กำ�หนดไว้ในโครงสร้างการจัดการ โดยยึดหลัก การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว คณะกรรมการบริษัทยังเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของบริษัทดังนี้คือ 1. การเยี่ยมชมโครงการ ทัง้ โครงการทีเ่ ริม่ กิจกรรมงานขาย โครงการระหว่างการก่อสร้าง และโครงการทีก่ อ่ สร้างแล้วเสร็จ เพื่อรับทราบแนวทางและกลยุทธ์ในการพัฒนาและบริหารโครงการของบริษัท รวมถึงให้ข้อคิดเห็นและคำ�แนะนำ�แก่ เจ้าหน้าทีท่ ปี่ ฏิบตั งิ าน อันเป็นผลทำ�ให้ขวัญ กำ�ลังใจ และความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานและคณะกรรมการบริษทั เพิม่ มากขึ้นตามลำ�ดับ โดยในปี 2555 คณะกรรมการบริษัทได้เข้าเยี่ยมชมโครงการต่างๆ ดังนี้ - วันที่ 15 มีนาคม 2555 เยี่ยมชมโครงการลุมพินี ทาวน์ เพลส รัชโยธิน-เสนาฯ ลุมพินี เมกะซิตี้ บางนา และ ลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง - วันที่ 20 ธันวาคม 2555 เยี่ยมชมโครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า ลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์-งามวงศ์วาน และ ลุมพินี วิลล์ แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด 2. การร่วมเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้แก่พนักงาน (Executive Sharing) คณะกรรมการของบริษัทได้ร่วมเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ต่างๆ ในการทำ�งานให้แก่พนักงาน เพื่อต่อยอด องค์ความรูข้ ององค์กร ให้เกิดการนำ�ไปใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ซึง่ หัวข้อในการถ่ายทอด ความรู้อาจเป็นงานเฉพาะด้านหรือข้อคิดเพื่อการทำ�งานที่มีความสุข ดังนี้ - วันที่ 29 สิงหาคม 2555 ศาสตราจารย์ศิริ เกวลินสฤษดิ์ “ประสบการณ์ในชีวิตการทำ�งานของศาสตราจารย์ศิริ” - วันที่ 12 กันยายน 2555 นายมณเฑียร วีโรทัย “กับดักแห่งความเคยชิน” - วันที่ 19 กันยายน 2555 นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ “เป็นไทด้วยหุ้น” - วันที่ 7 พฤศจิกายน 2555 นายวุฒพิ ล สุรยิ าภิวฒ ั น์ “ประสบการณ์การทำ�งานในองค์กรข้ามชาติอายุกว่า 100 ปี” - วันที่ 12 ธันวาคม 2555 นายอุดม สงวนวงษ์ทอง “ประสบการณ์ในชีวิตการทำ�งานกับการเรียนรู้” 3. การเข้าร่วมในกิจกรรมภายในบริษัท เช่น งานวันครอบครัวเนื่องในเทศกาลสงกรานต์ พิธีสักการบูชา ร.6 เนื่อง ในวันครบรอบการดำ�เนินงานของบริษัท หรือ งานวันปีใหม่ของบริษัท เป็นต้น

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

125


รายงานประจำ�ปี 2555

โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการในส่วนคณะกรรมการของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ประกอบด้วยคณะกรรมการทั้งหมดจำ�นวน 6 คณะ ได้แก่ 1. คณะกรรมการบริษัท 2. คณะกรรมการตรวจสอบ 3. คณะกรรมการบริหาร 4. คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล 5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 6. คณะอนุกรรมการกำ�กับดูแลกิจการด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ณ วันที่ 28 มีนาคม 2555 มีจำ�นวนทั้งสิ้น 14 คน แต่ในวันที่ 29 มีนาคม 2555 ซึง่ เป็นวันประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2555 นายธีรชัย ปัญจทรัพย์ กรรมการบริษทั ได้แจ้งความประสงค์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ ว่า ไม่มีความประสงค์จะดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทอีกต่อไป โดยมีผลนับตั้งแต่วันที่ 29 มีนาคม 2555 ดังนั้นตั้งแต่วันที่ 29 มีนาคม 2555 บริษัทมีกรรมการจำ�นวนทั้งสิ้น 13 คน ตามหนังสือรับรองการจดทะเบียนของกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท โดยมีรายนามดังนี้ 1. นายปกรณ์ ทวีสิน ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ 2. ศาสตราจารย์ศิริ เกวลินสฤษดิ์ รองประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ 3. นายทวีชัย จิตตสรณชัย รองประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ 4. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา กรรมการ และ กรรมการอิสระ 5. นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ กรรมการ และ กรรมการอิสระ 6. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการ และ กรรมการอิสระ 7. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ กรรมการ และ กรรมการอิสระ 8. นางจงจิตต์ ฐปนางกูร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 9. นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 10. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 11. นางยุพา เตชะไกรศรี กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 12. นายคัมภีร์ จองธุระกิจ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 13. นายโอภาส ศรีพยัคฆ์ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร และ กรรมการผู้จัดการ โดยมี นางสาวสมศรี เตชะไกรศรี เป็นเลขานุการบริษัท

องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัท

เพื่อให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance) และให้มีการถ่วงดุลกันระหว่างกรรมการอิสระ กรรมการที่ ไม่เป็นผู้บริหาร และกรรมการที่เป็นผู้บริหาร องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัทจึงประกอบด้วย กรรมการอิสระจำ�นวน 7 คน (คิด เป็นร้อยละ 53.8) กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารจำ�นวน 1 คน (คิดเป็นร้อยละ 7.7) และกรรมการที่เป็นผู้บริหารจำ�นวน 5 คน (คิดเป็น ร้อยละ 38.5) โดยมีกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัท ได้แก่ “นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข หรือ นางยุพา เตชะไกรศรี หรือนาย พิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ หรือนายคัมภีร์ จองธุระกิจ หรือนายโอภาส ศรีพยัคฆ์ กรรมการสองในห้าคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกัน และ ประทับตราสำ�คัญของบริษัท”

นิยามของกรรมการอิสระ

ตามข้อกำ�หนดของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนที่กำ�หนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระให้ต้องสามารถดูแลผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ได้อย่างเท่าเทียมกันและไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ นอกจากนั้นยังมีเวลาเพียงพอในการปฏิบัติหน้าที่กรรมการและ สามารถเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัทได้อย่างสม่ำ�เสมอ และสามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระ ทั้งนี้ คุณสมบัติของกรรมการอิสระทั้ง 7 คนของบริษัท เป็นไปตามคุณสมบัติของกรรมการอิสระตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการ กำ�กับตลาดทุน ดังนี้

126 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

1. 2. 3. 4.

ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่มีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยให้นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย ไม่เป็นกรรมการหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมในการบริหารงาน ไม่เป็นพนักงาน ลูกจ้าง หรือที่ปรึกษาที่ได้รับ เงินเดือนประจำ� ไม่เป็นผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่มีความขัดแย้งกัน ทั้งใน ปัจจุบันและช่วง 2 (สอง) ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง ไม่เป็นกรรมการที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง หรือบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตรของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือบุคคลที่ จะได้รับการเสนอชื่อเป็นผู้บริหาร หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม ไม่เป็นกรรมการที่มีผลประโยชน์ หรือมีส่วนได้เสีย ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ทั้งในด้านความสัมพันธ์ในลักษณะ ของการให้บริการทางวิชาชีพ ความสัมพันธ์ทางธุรกิจและการบริหารงานของบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท

ลักษณะความสัมพันธ์ตามวรรคหนึ่ง หมายถึง (1) ความสัมพันธ์ในลักษณะของการให้บริการทางวิชาชีพ ได้แก่ ผู้สอบบัญชี ผู้ให้บริการทางวิชาชีพอื่น เช่น ที่ปรึกษา กฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน ผู้ประเมินราคาทรัพย์สิน เป็นต้น โดยมีระดับนัยสำ�คัญที่เข้าข่ายไม่อิสระ ดังนี้ - กรณีผู้สอบบัญชี ห้ามทุกกรณี - กรณีเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพอื่น : ได้รับค่าบริการมูลค่ารายการเกิน 2 ล้านบาทต่อปี (2) ความสัมพันธ์ทางธุรกิจ โดยกำ�หนดครอบคลุมรายการทางธุรกิจทุกประเภท ได้แก่ รายการทีเ่ ป็นธุรกรรมปกติ รายการ เช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกีย่ วกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือรายการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับ หรือให้กู้ยืม ค้ำ�ประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อ่ืนทำ�นองเดียวกัน โดยมีระดับนัยสำ�คัญที่เข้าข่ายไม่อิสระ ดังนี้ - มู ล ค่ า รายการมากกว่ า หรื อ เท่ า กั บ 20 ล้ า นบาท หรื อ มากกว่ า หรื อ เท่ า กั บ 3% ของ NTA ของบริ ษั ท แล้วแต่จำ�นวนใดจะต่ำ�กว่า ทั้งนี้ในการพิจารณามูลค่ารายการให้รวมรายการที่เกิดขึ้นในระหว่าง 1 (หนึ่ง) ปี ก่อนวันที่มีการทำ�รายการในครั้งนี้ด้วย 5. 6. 7. 8.

เป็นกรรมการที่มีความเป็นอิส ระในการปฏิ บั ติห น้ า ที่ แ ละแสดงความคิ ดเห็ น หรื อ รายงานผลการปฏิ บั ติง านตาม หน้าที่ที่ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทได้โดยอิสระ โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมหรือเป็นตัวแทนของ ผู้บริหาร หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็น ผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ�ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระได้ กรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติตามที่กำ�หนดไว้ในข้อ 1-7 อาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทให้ตัดสินใจ ในการดำ�เนินกิจการของบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสินใจใน รูปแบบองค์คณะ (Collective Decision) ได้

หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท

บริษทั ได้กำ�หนดหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โดยยึดหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี องตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และนโยบายเรือ่ งข้อพึงปฏิบตั ทิ ดี่ สี ำ�หรับกรรมการบริษทั จดทะเบียนของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ดังต่อไปนี้ 1. ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ระมัดระวัง และมีความรับผิดชอบอย่างสมำ�่ เสมอ และดำ�เนินการโดยการรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน 2. กำ�หนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบาย เพื่อกำ�กับทิศทางการดำ�เนินงานของบริษัท และควบคุมดูแลให้ฝ่ายบริหาร ดำ�เนินงานตามนโยบายทีก่ ำ�หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพือ่ เพิม่ มูลค่าทีเ่ หมาะสมให้แก่บริษทั และผูถ้ อื หุน้ อย่างมั่นคงและยั่งยืน 3. ต้องจัดให้มกี ารเปิดเผยข้อมูลต่อผูถ้ อื หุน้ ผูล้ งทุน และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุม่ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และทันเวลา 4. จัดให้มีระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิภาพ 5. จัดให้มีการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพและมีการติดตามผลอย่างสม่ำ�เสมอ 6. จัดให้มีการกำ�กับดูแลให้มีการดำ�เนินงานตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและมีการติดตามผลอย่างสม่ำ�เสมอ

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

127


รายงานประจำ�ปี 2555

7. จัดให้มีเลขานุการบริษัท เพื่อช่วยดูแลกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการและช่วยให้คณะกรรมการบริษัทปฏิบัติให้ เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้อง 8. จัดให้มรี ะเบียบจรรยาบรรณทางธุรกิจของกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน เพือ่ เป็นมาตรฐานการปฏิบตั งิ านภายในบริษทั 9. คณะกรรมการสามารถแสวงหาความเห็นทางวิชาชีพที่เกี่ยวกับการดำ�เนินธุรกิจด้วยการว่าจ้างที่ปรึกษาภายนอก ด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัท 10. กำ�หนด วัน เวลา สถานที่จัดประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งกำ�หนดระเบียบวาระการประชุมผู้ถือหุ้น วันปิดสมุดทะเบียนพัก การโอนหุ้น และพิจารณาสรุปผลการดำ�เนินงานเสนอต่อผู้ถือหุ้น ในปี 2555 คณะกรรมการบริษัทได้มีการประชุมร่วมกันตามที่กำ�หนดไว้ล่วงหน้าจำ�นวน 9 ครั้ง และมีการประชุมที่เป็นรูปแบบของการ เยี่ยมชมโครงการของบริษัทจำ�นวน 2 ครั้ง รวมคณะกรรมการบริษัทได้มีการประชุมทั้งสิ้น 10 ครั้ง และเข้าร่วมในการประชุมผู้ถือหุ้น จำ�นวน 1 ครั้ง โดยมีรายละเอียดดังนี้ ประชุมครั้งที่

วัน/เดือน/ปี

สาระสำ�คัญของการประชุม

1 2

17 กุมภาพันธ์ 2555 15 มีนาคม 2555

3

29 มีนาคม

พิจารณางบการเงินประจำ�ปี 2554 และวาระที่เกี่ยวข้อง พิจารณาเปลี่ยนแปลงระเบียบวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 และกรรมการบริษัทเยี่ยมชมโครงการ ครั้งที่ 1 ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 และประชุมกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาแต่งตั้งกรรมการบริษัทดำ�รงตำ�แหน่งต่างๆ ในคณะกรรมการชุดต่างๆ

4 5 6 7 8 9

2555

3 พฤษภาคม 2555 9 สิงหาคม 2555 23 28 1 12 14

สิงหาคม กันยายน พฤศจิกายน ธันวาคม ธันวาคม

2555 2555 2555 2555 2555

พิจารณาอนุมัติงบการเงินประจำ�ไตรมาสที่ 1/2555 พิจารณาอนุมัติงบการเงินประจำ�ไตรมาสที่ 2/2555 และแจ้งมติการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล พิจารณาเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท รับทราบสรุปผลการประชุมคณะกรรมการที่ไม่ใช่ผู้บริหาร พิจารณาอนุมัติงบการเงินประจำ�ไตรมาสที่ 3/2555 กรรมการบริษัทเยี่ยมชมโครงการ ครั้งที่ 2 พิจารณาผลการดำ�เนินงานปี 2555 และแผนธุรกิจปี 2556

การแต่งตั้งและถอดถอนคณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล มีหน้าทีส่ รรหาบุคคลเพือ่ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษทั โดยการสรรหาบุคคลทีม่ ี คุณสมบัติเหมาะสม อันได้แก่ คุณวุฒิ ประสบการณ์ ความชำ�นาญในวิชาชีพ มีภาวะผู้นำ� วิสัยทัศน์กว้างไกล มีคุณธรรมและจริยธรรม มีประวัตกิ ารทำ�งานที่โปร่งใส มีความสามารถในการแสดงความเห็นอย่างเป็นอิสระ โดยคณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัท ภิบาลจะนำ�เสนอบุคคลที่เหมาะสมต่อที่ประชุมคณะกรรมบริษัท เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนจะนำ�เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณาแต่งตั้งหรือเลือกตั้ง และในกรณีที่ตำ�แหน่งกรรมการบริษัทว่างลง โดยมิใช่เป็นการออกตามวาระ คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาลอาจพิจารณาสรรหาบุคคลทีเ่ หมาะสมเสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาแต่งตัง้ บุคคล เข้าเป็นกรรมการบริษัทในตำ�แหน่งที่ว่างลงได้ตามข้อบังคับของบริษัท อนึ่ง วาระการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทเป็นไปตามข้อบังคับของบริษัทหมวดที่ 3 ว่าด้วยคณะกรรมการข้อ 11 กำ�หนดให้ที่ประชุม ผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการบริษัทตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ “ในการประชุมสามัญประจำ�ปีทุกครั้งให้คณะกรรมการออกจากตำ�แหน่งจำ�นวนหนึ่งในสามเป็นอัตรา ถ้าจำ�นวนกรรมการที่จะแบ่งออก ให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำ�นวนใกล้ทสี่ ดุ กับส่วนหนึง่ ในสาม กรรมการทีจ่ ะต้องออกจากตำ�แหน่งในปีแรกและปีทสี่ องภาย หลังจดทะเบียนบริษัทนั้นให้ใช้วิธีจับสลากกัน ส่วนปีหลังๆ ต่อไป ให้กรรมการคนที่อยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากตำ�แหน่ง หากมีผู้อยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุดมากกว่าจำ�นวนที่ต้องออกให้ใช้วิธีจับสลากกันระหว่างผู้ที่อยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุดนั้น กรรมการผู้ออก ไปนั้นอาจได้รับเลือกตั้งใหม่ได้”

128 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วย กรรมการบริษทั ทีม่ คี ณ ุ สมบัตขิ องกรรมการอิสระครบถ้วนตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ซึง่ ทุกคนมีความเป็นอิสระและมีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วน ตามทีส่ ำ�นักงานคณะกรรมการหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) กำ�หนด โดยมีหน้าที่ ความรับผิดชอบ และมีบทบาทการปฏิบัติงานในฐานะที่เป็นองค์กร อิสระที่ให้การสนับสนุนคณะกรรมการบริษทั ในการดูแลกำ�กับกิจการให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ขจัดปัญหาความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ สอบทานข้อมูลทางการเงินทีเ่ สนอต่อทีส่ าธารณชนและผูถ้ อื หุน้ สอบทานระบบการควบคุมภายใน รวมถึงกระบวนการ ตรวจสอบภายใน และการสื่อสารกับผู้สอบบัญชีของบริษัท ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับการปฏิบัติตามหมวด 3/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ดังนั้นที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2553 จึงได้มีมติพิจารณาเปลี่ยนแปลงหน้าที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบให้มีความเข้มข้นขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับประกาศของตลาดหลักทรัพย์ เรื่องคุณสมบัติ และขอบเขตการดำ�เนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ พ.ศ. 2551 คณะกรรมการตรวจสอบ มีรายนามดังต่อไปนี้ 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ (เป็นกรรมการผู้มีความรู้ทางบัญชีและการเงิน) 3. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล (เป็นกรรมการผู้มีความรู้ทางบัญชีและการเงิน) 4. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ (เป็นกรรมการผู้มีความรู้ทางบัญชีและการเงิน) โดยมี นางสาวปวีณ์ริสา วสิษฐ์ตระกูล เป็นเลขานุการ ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมร่วมกันอย่างสม่ำ�เสมอ และมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท โดยในปี 2555 มีการ ประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบรวมทั้งหมด 4 ครั้ง โดยมีรายละเอียดดังนี้ ประชุมครั้งที่

1 2 3 4

วัน/เดือน/ปี

9 26 26 25

กุมภาพันธ์ เมษายน กรกฎาคม ตุลาคม

สาระสำ�คัญของการประชุม

2555 2555 2555 2555

พิจารณาให้ความเห็นชอบงบการเงินประจำ�ปี 2554 พิจารณาให้ความเห็นชอบรับรองงบการเงินไตรมาส 1/2555 พิจารณาให้ความเห็นชอบรับรองงบการเงินไตรมาส 2/2555 พิจารณาให้ความเห็นชอบรับรองงบการเงินไตรมาส 3/2555

กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ 1. องค์ประกอบและคุณสมบัติ

1.1 คณะกรรมการตรวจสอบต้องมีจำ�นวนไม่น้อยกว่า 3 ท่าน 1.2 คณะกรรมการตรวจสอบต้องมีทกั ษะความชำ�นาญทีเ่ หมาะสมตามภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมาย กรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 ท่าน ต้องมีความรูค้ วามเข้าใจหรือมีประสบการณ์ดา้ นการบัญชีหรือการเงิน และมีความรูต้ อ่ เนือ่ งเกีย่ วกับเหตุทมี่ ตี อ่ การเปลีย่ นแปลง ของรายงานทางการเงิน 1.3 เป็นกรรมการในคณะกรรมการบริษทั แต่ตอ้ งไม่มสี ว่ นร่วมในการบริหารงานในบริษทั บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 1.4 ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของทุนชำ�ระแล้วของบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือบริษัทที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ให้นับรวมหุ้นที่ถือ โดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย 1.5 เป็นกรรมการที่ไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียส่วนตน ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมทั้งในด้านการเงินและการบริหารงาน ของบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท รวมถึงไม่มีผลประโยชน์ หรือส่วนได้เสียในลักษณะ ธุรกรรมใดๆ ของบริษัทในเวลา 1 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ 1.6 เป็นผูท้ สี่ ามารถปฏิบตั หิ น้าทีแ่ ละแสดงความเห็น หรือรายงานผลการปฏิบตั งิ านตามหน้าทีท่ ี่ได้รบั มอบหมายได้อย่างเป็นอิสระ โดยไม่อยูภ่ ายใต้การควบคุมของผูบ้ ริหาร หรือผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั รวมทัง้ ผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง หรือญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว 1.7 สามารถอุทิศเวลาอย่างเพียงพอในการดำ�เนินหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

129


รายงานประจำ�ปี 2555

2. การแต่งตั้ง วาระการปฏิบัติงาน และการพ้นจากตำ�แหน่ง

2.1 การแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ - คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้แต่งตั้งกรรมการอิสระของบริษัทเป็นกรรมการตรวจสอบ - เมื่อกรรมการตรวจสอบครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง หรือมีเหตุที่กรรมการตรวจสอบไม่สามารถอยู่ได้จนครบวาระ และมีผล ให้จำ�นวนสมาชิกน้อยกว่า 3 ท่าน คณะกรรมการบริษัทจะแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบทดแทนให้ครบถ้วนภายใน 3 เดือน นับแต่วันที่จำ�นวนสมาชิกไม่ครบถ้วน เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการดำ�เนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 2.2 ประธานกรรมการตรวจสอบ - คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้คัดเลือกสมาชิกคณะกรรมการตรวจสอบ 1 ท่าน ให้ดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการตรวจสอบ - ประธานกรรมการตรวจสอบเป็นผูน้ ำ�ในการประชุมให้เป็นไปในแนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี เป็นบุคคลที่ให้ความมัน่ ใจในความมีประสิทธิผล โดยรวมของคณะกรรมการตรวจสอบ 2.3 เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ - ผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบภายในของบริษัท ทำ�หน้าที่เลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบ - เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบทำ�หน้าที่สนับสนุนการดำ�เนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับการกำ�หนด แผนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ นัดหมายประชุม จัดเตรียมวาระการประชุมตามที่ประธานกรรมการ ตรวจสอบสั่งการ นำ�ส่งเอกสารประกอบการประชุม และบันทึกรายงานการประชุม 2.4 วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง - กรรมการตรวจสอบมีวาระการปฏิบัติงานตามวาระของการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท 2.5 การพ้นจากตำ�แหน่ง 2.5.1 กรรมการตรวจสอบพ้นจากตำ�แหน่งเมื่อ 1) ตาย 2) ลาออก 3) คณะกรรมการบริษัทมีมติให้ออก 2.5.2 ในกรณีกรรมการตรวจสอบลาออกก่อนครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ควรแจ้งเป็นหนังสือต่อบริษัทล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือน พร้อมเหตุผล เพื่อคณะกรรมการบริษัทจะได้พิจารณาแต่งตั้งกรรมการทดแทนบุคคลที่ลาออก โดยบริษัท จะแจ้งเรื่องการลาออกพร้อมส่งสำ�เนาหนังสือลาออกให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ ทราบ 2.5.3 ในกรณีกรรมการตรวจสอบถูกถอดถอนก่อนครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง บริษัทจะแจ้งการถูกถอดถอนพร้อมสาเหตุ ให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ ทราบ

3. หน้าที่และความรับผิดชอบ

คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ดังนี้ 3.1 สอบทานกระบวนการตรวจสอบระบบการควบคุมภายใน และกระบวนการในการจัดทำ�รายงานทางการเงิน 3.2 พิจารณาและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีรับอนุญาต รวมถึงพิจารณาเสนอค่าตอบแทน 3.3 สอบทานกระบวนการในการดูแลให้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบาย กฎ ระเบียบข้อบังคับ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนมติของ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท 3.4 ให้คำ�แนะนำ�ฝ่ายบริหารในการปรับปรุงกระบวนการทำ�งานหรือระบบงาน เพื่อลดความเสี่ยงในเรื่องต่างๆ และเพื่อให้มีระบบ การทำ�งานที่มีประสิทธิภาพ 3.5 ให้คำ�แนะนำ�ในการกำ�หนดนโยบายด้านการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี รวมทัง้ ติดตาม ประเมิน และรายงานการปฏิบตั ติ ามแนวทาง การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 3.6 กำ�หนดขอบเขตในการตรวจสอบภายใน และพิจารณารายงานผลการตรวจของสำ�นักตรวจสอบภายใน 3.7 พิจารณาและให้ความเห็นต่อคณะกรรมการบริษทั ในการแต่งตัง้ โยกย้าย ถอดถอน กำ�หนดค่าตอบแทนและการพิจารณาความดี ความชอบของเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ 3.8 จัดหาทีป่ รึกษาจากภายนอก เพือ่ ให้คำ�แนะนำ�หรือช่วยเหลือการปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษทั 3.9 ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย และคณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบ

4. การประชุม

4.1 จำ�นวนครั้งการประชุม 4.1.1 คณะกรรมการตรวจสอบต้องประชุมร่วมกันอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง

130 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

4.1.2 ประธานกรรมการตรวจสอบจะเรียกประชุมคณะกรรมการตรวจสอบเป็นพิเศษได้ หากมีการร้องขอจากกรรมการตรวจสอบ ผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบภายใน ผู้สอบบัญชี หรือประธานกรรมการบริษัท ให้พิจารณาประเด็นปัญหาที่จำ�เป็นต้อง หารือร่วมกัน หรือเมื่อประธานกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร 4.2 ผู้เข้าร่วมประชุม 4.2.1 การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจำ�นวนกรรมการตรวจสอบทัง้ หมด จึงจะเป็นองค์ประชุม โดยประธานกรรมการตรวจสอบเป็นประธานในที่ประชุม 4.2.2 คณะกรรมการตรวจสอบอาจเชิญผู้บริหารของบริษัทหรือผู้สอบบัญชีเข้าร่วมประชุมด้วยในเรื่องที่เกี่ยวข้อง 4.2.3 คณะกรรมการตรวจสอบอาจเชิญผูเ้ ชีย่ วชาญหรือนักกฎหมายจากภายนอกเข้าร่วมประชุมตามความจำ�เป็นและเหมาะสม 4.3 การลงคะแนนเสียง 4.3.1 มติที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการตรวจสอบคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นเป็นเสียงชี้ขาด 4.3.2 กรรมการตรวจสอบทีม่ สี ว่ นได้สว่ นเสียใดๆ ในเรือ่ งทีพ่ จิ ารณา ให้งดแสดงความเห็นและงดออกเสียงลงคะแนนในเรือ่ งนัน้ ๆ 4.4 บันทึกรายงานการประชุม ให้เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้บันทึกรายงานการประชุม

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบริหารได้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ โดยคณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารจำ�นวน 4 คน และเป็นผูบ้ ริหาร ระดับสูงของบริษัทจำ�นวน 1 คน โดยคัดเลือกจากบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ มีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบและ มีความเข้าใจลักษณะงานการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทเป็นอย่างดี มีหน้าที่ในการดูแลบริหารจัดการกิจการของบริษัทให้สอดคล้องกับ นโยบายของคณะกรรมการบริษัท โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของบริษัทเสมอ คณะกรรมการบริหาร มีรายนามดังต่อไปนี้ 1. นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข ประธานกรรมการบริหาร 2. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ 3. นางยุพา เตชะไกรศรี 4. นายคัมภีร์ จองธุระกิจ 5. นายโอภาส ศรีพยัคฆ์ ในปี 2555 มีการประชุมที่คณะกรรมการบริหารกำ�หนดไว้ล่วงหน้าจำ�นวน 12 ครั้ง โดยมีรายละเอียดดังนี้ ประชุมครั้งที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

วัน/เดือน/ปี

10 มกราคม 14 กุมภาพันธ์ 6 มีนาคม 3 เมษายน 8 พฤษภาคม 5 มิถุนายน 3 กรกฎาคม 7 สิงหาคม 4 กันยายน 4 ตุลาคม 6 พฤศจิกายน 6 ธันวาคม

สาระสำ�คัญของการประชุม

2555 2555 2555 2555 2555 2555 2555 2555 2555 2555 2555 2555

สาระของการประชุมเป็นไปตามหน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการบริหาร เช่น - พิจารณาอนุมัติทางด้านนิติกรรมต่างๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท - กำ�หนดแนวทางในการดำ�เนินการในเรื่องต่างๆ ตามแผนธุรกิจประจำ�ปี ที่คณะกรรมการบริษัทอนุมัติ - ติดตามผลการดำ�เนินงานของฝ่ายบริหาร พร้อมให้คำ�แนะนำ�และแนวทาง ในการจัดการ

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

131


รายงานประจำ�ปี 2555

หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร

1. กำ�กับดูแลการจัดการ และการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท 2. วางแผนงานและกำ�หนดกลยุทธ์ในการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั และบริษทั ย่อยให้เป็นไปตามวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และนโยบาย ที่ทางคณะกรรมการบริษัทกำ�หนด 3. ควบคุมการบริหารจัดการให้บรรลุผลตามแผนงานที่ได้กำ�หนดไว้ 4. พิจารณากำ�หนดทิศทางการลงทุนและการขยายฐานธุรกิจ 5. พิจารณาและบริหารงบประมาณตามที่ได้รับอนุมัติหลักเกณฑ์จากคณะกรรมการบริษัท 6. พิจารณาและอนุมัติการลงทุนในโครงการหรือกิจกรรมที่ไม่อยู่ในแผนงานที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทในวงเงิน ไม่เกิน 10,000,000 บาท (สิบล้านบาท) ต่อครั้ง 7. ได้รับมอบอำ�นาจจากคณะกรรมการบริษัทในการกระทำ�ทางด้านนิติกรรมและเอกสาร ซึ่งเป็นธุรกรรมปกติในการดำ�เนิน ธุรกิจดังต่อไปนี้ 7.1 การจดทะเบียน ซื้อ-ขายที่ดิน ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง สิ่งปลูกสร้าง และห้องชุด 7.2 การจดทะเบียนและการเช่า-ให้เช่าที่ดิน ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง สิ่งปลูกสร้าง และห้องชุด 7.3 การจดทะเบียนจำ�นอง การรับจำ�นอง การขึน้ เงินจำ�นอง การจดทะเบียนไถ่ถอนจำ�นอง การจดทะเบียนปลอดจำ�นอง ที่ดิน ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง สิ่งปลูกสร้างและห้องชุด 7.4 การขอรังวัดที่ดิน การขอออกโฉนดที่ดิน การขอแบ่งแยกและการรวมที่ดิน การขออนุญาตจัดสรรที่ดิน 7.5 การจดทะเบียนภารจำ�ยอมเป็นภารยทรัพย์และสามยทรัพย์ของที่ดิน 7.6 การจดทะเบียนอาคารชุด การจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด การแต่งตั้งผู้จัดการนิติบุคคลอาคารชุด การเลือกตั้ง/ การแต่งตั้งกรรมการนิติบุคคลอาคารชุด 7.7 การทำ�สัญญากู้เงิน สัญญาต่างๆ กับธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงิน รวมทั้งการเปิดบัญชีเงินฝาก 7.8 การประชุมเจ้าของร่วมนิติบุคคลอาคารชุดและการแต่งตั้งตัวแทนเข้าร่วมประชุมและการเข้าสมัครรับเลือกตั้งเป็น กรรมการนิตบิ คุ คลอาคารชุดในฐานะเจ้าของร่วม รวมทัง้ การประชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ย่อย บริษทั ร่วมและบริษทั ย่อย 7.9 มีอำ�นาจมอบหมายให้บุคคลอื่นกระทำ�การแทนรวมถึงนิติกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกรรมของบริษัทตามข้อ 7.1-7.8 8. ให้คำ�ปรึกษา และ/หรือ แนะนำ�การบริหารจัดการแก่ผู้บริหารระดับสูง 9. พิจารณา และ/หรือ กำ�หนดบุคคลในการดำ�รงตำ�แหน่งผู้บริหารระดับสูงของบริษัทและบริษัทย่อย 10. พิจารณาเรื่องอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 9/2555 เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2555 ได้มีมติเปลี่ยนชื่อ “คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่า ตอบแทน” เป็น “คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล” โดยให้มีผลนับตั้งแต่วันที่ 14 ธันวาคม 2555 เป็นต้นไป โดย องค์คณะของคณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล เป็นชุดเดียวกับคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. ด้านการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีหน้าที่พิจารณาคัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอชื่อรับเลือกตั้ง เป็นกรรมการบริษัท กรรมการอิสระ อนุกรรมการชุดต่างๆ กรรมการบริหาร และการพิจารณาค่าตอบแทนสำ�หรับ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริหาร อนุกรรมการชุดต่างๆ ผูบ้ ริหารระดับสูง และพนักงาน โดยให้มกี ารกำ�หนดวิธกี าร สรรหาและวิธีการกำ�หนดค่าตอบแทนอย่างมีหลักเกณฑ์และโปร่งใส เพื่อเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้น และ/หรือที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท แล้วแต่กรณี เพื่อพิจารณาต่อไป 2. ด้านบรรษัทภิบาล โดยมีหน้าที่ช่วยคณะกรรมการบริษัทรับผิดชอบเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลบริษัทและบริษัทในเครือ ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และให้สอดคล้องกับหลักการและวัฒนธรรมองค์กรที่บริษัทกำ�หนดไว้ ตลอดจน ข้อกำ�หนด ข้อบังคับ ระเบียบ กฎกระทรวง และกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ทัง้ นี้ คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาลได้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ โดยคณะกรรมการบริษทั มีจำ�นวนทัง้ หมด 7 คน ประกอบ ด้วย กรรมการอิสระจำ�นวน 5 คน และกรรมการบริหารจำ�นวน 2 คน เพื่อให้เกิดการถ่วงดุล โดยมีหน้าที่สำ�คัญเพื่อแบ่งเบาภาระของ คณะกรรมการบริษัทและผู้ถือหุ้น มีรายนามดังต่อไปนี้ 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ 2. นายทวีชัย จิตตสรณชัย กรรมการอิสระ 3. นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ กรรมการอิสระ 4. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการอิสระ 5. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ กรรมการอิสระ

132 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

6. นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 7. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร โดยมีนางสาวสมศรี เตชะไกรศรี เป็นเลขานุการ ในปี 2555 คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาลได้มีการประชุมร่วมกันจำ�นวน 3 ครั้ง โดยมีรายละเอียดดังนี้ ประชุมครั้งที่

วัน/เดือน/ปี

สาระสำ�คัญของการประชุม

1

13 กุมภาพันธ์ 2555

2

30 กรกฎาคม 2555

3

11 ธันวาคม 2555

พิจารณาสรุปผลการประเมินกรรมการปี 2554 และพิจารณาเลือกกรรมการ แทนกรรมการที่ว่าง เพื่อนำ�เสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 พิจารณาการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลและโบนัสกลางปีของพนักงานเพื่อนำ�เสนอ ให้ที่ประชุมกรรมการบริษัท พิจารณาเกี่ยวกับค่าตอบแทนพนักงาน บำ�เหน็จกรรมการ ค่าตอบแทนกรรมการบริษัทในปี 2556

กฎบัตรคณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล

1. องค์ประกอบและคุณสมบัติ

2. วาระการดำ�รงตำ�แหน่งและค่าตอบแทน

3. หน้าที่และความรับผิดชอบ

1.1 1.2 1.3 1.4

คณะกรรมการเป็นผู้พิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล ซึ่งประกอบด้วย กรรมการบริษัทจำ�นวนไม่เกิน 7 คน คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล ควรมาจากกรรมการอิสระเป็นส่วนใหญ่ ถ้ามีกรรมการ ที่เป็นผู้บริหาร ก็ให้เป็นส่วนน้อยของจำ�นวนกรรมการทั้งคณะ ให้คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล เลือกกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล ที่เป็นกรรมการอิสระจำ�นวน 1 คน เพื่อดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล ให้คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล พิจารณาแต่งตั้งบุคคลเพื่อทำ�หน้าที่เลขานุการคณะ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล และรายงานให้คณะกรรมการทราบ

2.1 กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล มีวาระดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 2 (สอง) ปี 2.2 นอกจากการพ้นตำ�แหน่งตามวาระแล้ว กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล อาจพ้นจากตำ�แหน่งเมือ่ 1) ตาย 2) ลาออก 3) ขาดคุณสมบัตหิ รือมีลกั ษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยบริษทั มหาชนจำ�กัด และ/หรือตามพ.ร.บ.หลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และ/หรือตามที่สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำ�หนด 4) คณะกรรมการมีมติให้ออก 2.3 กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล คนใดจะลาออกจากตำ�แหน่ง ให้ยน่ื ใบลาออกต่อประธานคณะกรรมการ 2.4 ในกรณีที่ตำ�แหน่งกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล ว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออก ตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการบริษัทคนใดคนหนึ่งดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และ บรรษัทภิบาล เพือ่ ทดแทนตำ�แหน่งทีว่ า่ ง โดยผูไ้ ด้รบั การแต่งตัง้ จะมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งเพียงเท่าวาระทีเ่ หลืออยู่ ของกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล 2.5 กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล ซึ่งพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งให้กลับ เข้าดำ�รงตำ�แหน่งต่อไปได้ 2.6 กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล จะได้รบั ค่าตอบแทนเพียงใดให้เป็นไปตามทีท่ ปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ กำ�หนด 3.1 ด้านการสรรหา 3.1.1 เสนอหลักเกณฑ์และแนวทางในการคัดเลือกกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดย่อย และผูบ้ ริหารระดับสูงใน ตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการ

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

133


รายงานประจำ�ปี 2555

3.1.2 ดำ�เนินการสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมให้ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย และผู้บริหารระดับสูงในตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณา 3.1.3 เสนอหลักเกณฑ์และแนวทางประเมินผลงานของกรรมการบริษัท และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 3.1.4 เรื่องอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ 3.2 ด้านค่าตอบแทน 3.2.1 เสนอหลักเกณฑ์และแนวทางการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดย่อย ผูบ้ ริหารระดับสูง ในตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการ และพนักงานของบริษัท 3.2.2 พิจารณาการปรับปรุงนโยบายและโครงสร้างการบริหารค่าตอบแทนของกรรมการบริษทั คณะกรรมการชุดย่อย ผู้บริหารระดับสูงในตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการ และพนักงานของบริษัท ให้สอดคล้องกับสภาวะของ ตลาดแรงงานในขณะนั้น เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ 3.2.3 เรื่องอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ 3.3 ด้านบรรษัทภิบาล 3.3.1 กำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ (Corporate Governance Policy) เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาอนุมัติ โดยจัดทำ�เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติที่ดี 3.3.2 พิจารณาและกำ�หนดจรรยาบรรณทางธุรกิจ (Code of Business Conduct) และจรรยาบรรณทาง ธุรกิจของพนักงาน (Code of Conduct) โดยจัดทำ�เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติที่ดี 3.3.3 พิจารณา ทบทวน และปรับปรุงนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ จรรยาบรรณทางธุรกิจ และจรรยาบรรณ ทางธุรกิจของพนักงาน เพือ่ ให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิบตั ติ ามมาตรฐานสากล ตลอดจนหลักเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 3.3.4 เรื่องอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ

4. การประชุม

4.1 4.2 4.3

คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล จะต้องจัดให้มีหรือเรียกประชุมอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง ในการประชุมคณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล จะต้องมีกรรมการเข้าร่วมในการประชุม แต่ละครั้งเกินกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด และในการประชุมแต่ละครั้งกรรมการอิสระจะต้องมี จำ�นวนที่มากกว่าจึงจะครบเป็นองค์ประชุม มติที่ประชุมของคณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล จะถือตามเสียงข้างมากของกรรมการที่มา ประชุมและครบองค์ประชุม ทั้งนี้กรรมการผู้มีส่วนได้เสียในเรื่องใดจะต้องไม่เข้าร่วมในการพิจารณาหรือลงมติ เกี่ยวกับเรื่องนั้น

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีจำ�นวน 8 คน โดยมีรายนามดังต่อไปนี้ 1. นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข ประธานกรรมการ 2. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ 3. นางยุพา เตชะไกรศรี 4. นายคัมภีร์ จองธุระกิจ 5. นายโอภาส ศรีพยัคฆ์ 6. นายปราโมทย์ ชัยพูล 7. นายจรัญ เกษร 8. นางสาวสมศรี เตชะไกรศรี ในปี 2555 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้มีการประชุมร่วมกันจำ�นวน 4 ครั้ง โดยมีรายละเอียดดังนี้ ประชุมครั้งที่

วัน/เดือน/ปี

1 2 3 4

13 มีนาคม 2555 12 มิถุนายน 2555 11 กันยายน 2555 7 ธันวาคม 2555

สาระสำ�คัญของการประชุม

พิจารณาความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยง เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทพิจารณา

134 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

กฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

1. องค์ประกอบ

2. วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง

3. อำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบ

4. การประชุม

5. การรายงานผลการปฏิบัติงาน

คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ประกอบด้วย บุคคลทีด่ ำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริหารของบริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และบุคคลที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด และบริษัท พรสันติ จำ�กัด โดยมีประธานคณะกรรมการบริหารของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ดำ�รง ตำ�แหน่งประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

2.1 2.2 2.3

3.1 3.2 3.3 3.4 3.5

4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6

คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งเท่าวาระการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริหารหรือกรรมการผูจ้ ดั การ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง พ้นจากตำ�แหน่งเมื่อ 1) ตาย 2) ลาออก 3) พ้นจากตำ�แหน่งของกรรมการบริหารหรือกรรมการผู้จัดการ 4) คณะกรรมการบริษัทมีมติให้ออก การลาออกจากตำ�แหน่ง มีผลต่อเมื่อได้ยื่นใบลาต่อประธานคณะกรรมการบริษัท

ศึกษา ทบทวน และประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้งแนวโน้มของผลกระทบที่อาจมีต่อองค์กร รวมตลอดถึง ความเสี่ยงภายในและภายนอกของบริษัท และบริษัทย่อย กำ�หนดนโยบายการบริหารความเสี่ยงเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท กำ�หนดกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับนโยบายบริหารความเสี่ยงและทิศทางธุรกิจของบริษัท และบริษัทย่อย ทบทวนความเพียงพอของนโยบาย ติดตามและประเมินผลระบบบริหารความเสี่ยงของบริษัท และบริษัทย่อย เรื่องอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งจะต้องจัดให้มกี ารประชุมไตรมาสละ 1 ครัง้ หรือตามสถานการณ์และความจำ�เป็น ในการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงจะต้องมีกรรมการเข้าร่วมการประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวน กรรมการทั้งหมด จึงจะครบเป็นองค์ประชุม มติที่ประชุมของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง จะถือตามเสียงข้างมากของกรรมการที่มาประชุม ในกรณีทปี่ ระธานคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งไม่อยู่ในทีป่ ระชุม หรือไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าที่ได้ ให้กรรมการทีม่ า ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่ง เป็นประธานในที่ประชุมแทน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งอาจเชิญฝ่ายจัดการหรือผูท้ เี่ กีย่ วข้องเข้าร่วมประชุม และให้ขอ้ มูลหรือเอกสารในส่วน ที่เกี่ยวข้องได้ ผู้จัดการสำ�นักกรรมการทำ�หน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบต่อการ เตรียมความพร้อมสำ�หรับการประชุม การนัดหมาย การจัดเตรียมเอกสารประกอบการประชุม การจัดทำ�รายงาน การประชุม และอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีหน้าทีร่ ายงานการปฏิบตั หิ น้าทีต่ อ่ คณะกรรมการบริษทั โดยสม่ำ�เสมอและจัดทำ�รายงาน การทำ�หน้าที่ในรอบปีที่ผ่านมาต่อผู้ถือหุ้นในรายงานประจำ�ปี โดยเปิดเผยรายละเอียดดังนี้ 1. จำ�นวนครั้งที่ประชุม 2. จำ�นวนครั้งที่กรรมการบริหารความเสี่ยงเข้าร่วมประชุม 3. ผลการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตรที่กำ�หนดไว้

คณะอนุกรรมการกำ�กับดูแลกิจการด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2555 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2555 ได้มีมติตั้งคณะอนุกรรมการกำ�กับดูแลกิจการด้าน ความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม โดยแต่งตัง้ นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสนั ติ์ เป็นประธานอนุกรรมการ และทีป่ ระชุมคณะกรรมการ บริษัทครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 ได้มีมติอนุมัติกฎบัตรคณะอนุกรรมการกำ�กับดูแลกิจการด้านความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อมและสังคม

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

135


รายงานประจำ�ปี 2555

ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการกำ�กับดูแลกิจการด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม มีจำ�นวน 10 คน โดยเป็นบุคคลที่ได้รับการ แต่งตั้งจากบริษัท บริษัทย่อย และบริษัทคู่ค้า (ซึ่งเป็นกลุ่มบริษัทภายใต้ชื่อว่า LPN Team) ดังมีรายนามดังต่อไปนี้ 1. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ ประธานอนุกรรมการ 2. นายรุ่งโรจน์ ปิลกศิริ อนุกรรมการ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) 3. นายไพศาล เลิศบรรธนาวงศ์ อนุกรรมการ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด 4. นายแสงชัย เหลืองจุฑามาส อนุกรรมการ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด 5. นายพิเชฐ จุฬาจันทร์ อนุกรรมการ บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด 6. นายวรพจน์ รัชตะปิติ อนุกรรมการ บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด 7. นางปิยะนุช นาวีนวคุณ อนุกรรมการ บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด 8. นายเอกรัฐ ทับทิม อนุกรรมการ บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด 9. นางสาวรติกร ไทรงาม อนุกรรมการ LPN Team 10. นางสาวกุลธีรา สิรินิธิกร อนุกรรมการ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และ เลขานุการ

กฎบัตรคณะอนุกรรมการกำ�กับดูแลกิจการด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยมีสาระสำ�คัญ ดังนี้

1. ภารกิจ

2. องค์ประกอบและคุณสมบัติ

3. วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง

4. หน้าที่และความรับผิดชอบ

5. การประชุม

คณะกรรมการบริษทั เป็นผูพ้ จิ ารณาแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการกำ�กับดูแลกิจการด้านความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม เพื่อกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทและบริษัทย่อยด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยมุ่งเน้นที่ผล กระทบต่อผู้มีส่วนได้เสีย 2.1 คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้พิจารณาแต่งตั้งคณะอนุกรรมการซึ่งประกอบด้วยกรรมการบริหาร 1 คน ดำ�รงตำ�แหน่ง ประธานอนุกรรมการ 2.2 ให้ประธานอนุกรรมการเป็นผู้คัดเลือกคณะอนุกรรมการ 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5

ประธานอนุกรรมการและคณะอนุกรรมการ มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 2 (สอง) ปี นอกจากการพ้นตำ�แหน่งตามวาระแล้ว ประธานอนุกรรมการและคณะอนุกรรมการ อาจพ้นจากตำ�แหน่ง เมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (3) คณะอนุกรรมการมีมติให้ออก อนุกรรมการคนใดจะลาออกจากตำ�แหน่งให้ยื่นใบลาออกต่อประธานอนุกรรมการ ในกรณีที่ตำ�แหน่งอนุกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้ประธานอนุกรรมการเป็น ผู้คัดเลือกและแต่งตั้ง เพื่อทดแทนตำ�แหน่งที่ว่าง โดยผู้ได้รับการแต่งตั้งจะมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งเพียงเท่าวาระที่ เหลือของอนุกรรมการ อนุกรรมการซึ่งพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระอาจได้รับการแต่งตั้งให้กลับเข้าดำ�รงตำ�แหน่งต่อไปได้

4.1 พิจารณาและให้ความเห็นชอบนโยบายและกรอบกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัท และบริษัทย่อย 4.2 พิจารณาทรัพยากรและงบประมาณสำ�หรับโครงการและกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 5.1 5.2 5.3 5.4

คณะอนุกรรมการจะต้องจัดให้มีหรือเรียกประชุมตามที่เห็นสมควร ในการประชุมคณะอนุกรรมการ จะต้องมีอนุกรรมการเข้าร่วมในการประชุมแต่ละครัง้ อย่างน้อย 5 คน จึงจะครบเป็น องค์ประชุม มติที่ประชุมของอนุกรรมการจะถือตามเสียงข้างมากของอนุกรรมการที่มาประชุมและครบองค์ประชุม ทั้งนี้ อนุกรรมการผู้มีส่วนได้เสียในเรื่องใดจะต้องไม่เข้าร่วมในการพิจารณาหรือลงมติเกี่ยวกับเรื่องนั้น ประธานอนุกรรมการเป็นผู้พิจารณาแต่งตั้งเลขานุการคณะอนุกรรมการตามที่เห็นสมควร

136 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

6. การรายงาน

คณะอนุกรรมการรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัทและรายงานผลการดำ�เนินงาน (ถ้ามี) ในการประชุมคณะกรรมการ บริษัททุกครั้ง

รายงานการเข้าร่วมประชุมของกรรมการสำ�หรับคณะกรรมการชุดต่างๆ ในปี 2555 มีการประชุมของคณะกรรมการชุดต่างๆ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

1. คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริษทั กำ�หนดให้มกี ารประชุมร่วมกันอย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครัง้ โดยในปี 2555 คณะกรรมการบริษทั มีการ ประชุมร่วมกันจำ�นวน 9 ครั้ง และการประชุมในรูปแบบของการเยี่ยมชมโครงการจำ�นวน 2 ครั้ง รวมเป็นการประชุม กรรมการบริษัท 10 ครั้ง และการเข้าร่วมประชุมในการประชุมผู้ถือหุ้นจำ�นวน 1 ครั้ง ดังต่อไปนี้ รายชื่อคณะกรรมการ

1 2 3

นายปกรณ์ ทวีสิน ศาสตราจารย์ศิริ เกวลินสฤษดิ์ นายทวีชัย จิตตสรณชัย

10 10 9

1 1 1

4

นายอมรศักดิ์

10

1

5

นายเทพ

9

1

6

นายวีระศักดิ์

10

1

7

นายวุฒิพล

9

1

8 9

นางจงจิตต์ นายทิฆัมพร

10

1

10

1

10 11

นางยุพา นายพิเชษฐ

10 10

1 1

10 10

1 1

12 นายคัมภีร์ 13 นายโอภาส

ตำ�แหน่ง

จำ�นวนครั้ง ประชุมผู้ถือหุ้น ในการ เข้าร่วมประชุม (จำ�นวน 1 ครั้ง)

ลำ�ดับ

ประธานกรรมการบริษัท และ กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการบริษทั และ กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการบริษทั กรรมการอิสระ และ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ นพรัมภา และ ประธานกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และ บรรษัทภิบาล รุ่งธนาภิรมย์ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล สุริยาภิวัฒน์ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล ฐปนางกูร กรรมการบริษัท ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าที่ เปล่งศรีสุข บริหาร และ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล เตชะไกรศรี** กรรมการบริหาร ศุภกิจจานุสันติ์ กรรมการบริหาร และ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล จองธุระกิจ กรรมการบริหาร ศรีพยัคฆ์ กรรมการบริหาร และ กรรมการผู้จัดการ

หมายเหตุ : 1. ระยะเวลาการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการบริษัทในรายงานฉบับนี้ นับคำ�นวณจากวันที่บริษัทได้แปรสภาพเป็น บริษัทมหาชนและจดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2537 2. นายธีรชัย ปัญจทรัพย์ กรรมการบริษัท ได้แจ้งความประสงค์ต่อผู้ถือหุ้นในวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 วันที่ 29 มีนาคม 2555 ว่าไม่มีความประสงค์ที่จะดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทอีกต่อไป โดยให้มีผลนับตั้งแต่วันที่ 29 มีนาคม 2555 เป็นต้นไป

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

137


รายงานประจำ�ปี 2555

2. คณะกรรมการตรวจสอบ

ในปี 2555 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 4 ครั้ง ซึ่งเป็นการประชุมที่กำ�หนดไว้ล่วงหน้า โดยมี คณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุมดังต่อไปนี้ ลำ�ดับ

1 2 3 4

นพรัมภา สุริยาภิวัฒน์ รุ่งธนาภิรมย์ วหาวิศาล

จำ�นวนครั้งในการเข้าร่วมประชุม

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

4 4 4 4

ในปี 2555 คณะกรรมการบริหารมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 12 ครั้ง ซึ่งเป็นการประชุมที่กำ�หนดไว้ล่วงหน้า โดยมีคณะกรรมการ บริหารเข้าร่วมประชุมดังต่อไปนี้

1 2 3 4 5

นายอมรศักดิ์ นายวุฒิพล นายเทพ นายวีระศักดิ์

ตำ�แหน่ง

3. คณะกรรมการบริหาร

ลำ�ดับ

รายชื่อคณะกรรมการ

รายชื่อคณะกรรมการ

นายทิฆัมพร นายพิเชษฐ นางยุพา นายคัมภีร์ นายโอภาส

เปล่งศรีสุข ศุภกิจจานุสันติ์ เตชะไกรศรี จองธุระกิจ ศรีพยัคฆ์

ตำ�แหน่ง

จำ�นวนครั้งในการเข้าร่วมประชุม

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

12 11 11 12 12

4. คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล

ในปี 2555 คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาลมีการประชุมทั้งสิ้น 3 ครั้ง ซึ่งเป็นการประชุมที่กำ�หนดไว้ ล่วงหน้า โดยมีคณะกรรมการเข้าร่วมประชุมดังต่อไปนี้ ลำ�ดับ

1 2 3 4 5 6 7

รายชื่อคณะกรรมการ

นายอมรศักดิ์ นายทวีชัย นายเทพ นายวีระศักดิ์ นายวุฒิพล นายทิฆัมพร นายพิเชษฐ

นพรัมภา จิตตสรณชัย รุ่งธนาภิรมย์ วหาวิศาล สุริยาภิวัฒน์ เปล่งศรีสุข ศุภกิจจานุสันติ์

ตำ�แหน่ง

จำ�นวนครั้งในการเข้าร่วมประชุม

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

3 3 3 3 3 3 3

138 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

ในปี 2555 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีการประชุมทั้งสิ้น 4 ครั้ง ซึ่งเป็นการประชุมที่กำ�หนดไว้ล่วงหน้า โดยมี คณะกรรมการ เข้าร่วมประชุมดังต่อไปนี้ ลำ�ดับ

1 2 3 4 5 6 7 8

รายชื่อคณะกรรมการ

นายทิฆัมพร นายพิเชษฐ นางยุพา นายคัมภีร์ นายโอภาส นายปราโมทย์ นายจรัญ นางสาวสมศรี

เปล่งศรีสุข ศุภกิจจานุสันติ์ เตชะไกรศรี จองธุระกิจ ศรีพยัคฆ์ ชัยพูล เกษร เตชะไกรศรี

ตำ�แหน่ง

จำ�นวนครั้งในการเข้าร่วมประชุม

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

4 4 4 4 4 4 4 4

ทัง้ นี้ เพือ่ ให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ในปี 2555 มีการประชุมคณะกรรมการที่ไม่เป็นผูบ้ ริหารจำ�นวน 1 ครั้ง โดยมีคณะ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารร่วมประชุมกันอย่างพร้อมเพรียง

การสรรหากรรมการและผู้บริหารระดับสูง วิธีการสรรหาบุคคลที่จะแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท

คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล มีหน้าที่สรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเพื่อดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท โดยการ สรรหาบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตทิ มี่ คี วามเหมาะสมในทุกด้าน ทัง้ คุณวุฒิ ประสบการณ์ ความชำ�นาญในวิชาชีพ มีภาวะผูน้ ำ� วิสยั ทัศน์กว้างไกล มีคุณธรรมและจริยธรรม มีประวัติการทำ�งานที่โปร่งใส สามารถแสดงความเห็นอย่างอิสระ รวมถึงผลการปฏิบัติงานในฐานะกรรมการ บริษัทในช่วงที่ผ่านมา โดยเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบร่วมกันก่อนที่จะนำ�เสนอต่อที่ประชุม ผูถ้ อื หุน้ เว้นแต่กรณีทตี่ ำ�แหน่งกรรมการบริษทั ว่างลง โดยมิใช่วา่ งลงตามวาระ อาจพิจารณาสรรหาบุคคลทีเ่ หมาะสมเสนอต่อทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษัท เพื่อแต่งตั้งบุคคลเข้าเป็นกรรมการในตำ�แหน่งที่ว่างลงได้ตามข้อบังคับบริษัท

วิธีการสรรหาบุคคลที่จะแต่งตั้งเป็นผู้บริหารระดับสูง

สำ�หรับผู้บริหารของบริษัทในระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไปจะพิจารณาคัดเลือกโดยกรรมการผู้จัดการ และต้องผ่านความเห็นชอบจากคณะ กรรมการบริหาร

ค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย

คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาลเป็นผูเ้ สนอหลักเกณฑ์และแนวทางการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการ คณะกรรมการ ชุดย่อยและผูบ้ ริหารและนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณา โดยเปรียบเทียบอ้างอิงจากอุตสาหกรรมเดียวกันและมีขนาดใกล้ เคียงกัน รวมทัง้ พิจารณาอัตราการขยายตัวทางธุรกิจและการเติบโตของบริษทั ควบคูก่ นั ไป โดยค่าตอบแทนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้

ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ประกอบด้วย ค่าเบี้ยประชุมและบำ�เหน็จ ดังนี้

1) ค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทประจำ�ปี 2555 ที่ได้รับตามสิทธิและผลประโยชน์ตอบแทนในการปฏิบัติหน้าที่ ได้แก่ ค่าพาหนะ ค่ารับรอง ค่าเบีย้ เลีย้ ง ค่าเบีย้ ประชุม และค่าใช้จา่ ยทีจ่ ำ�เป็น (ข้อบังคับบริษทั หมวดที่ 3 ว่าด้วยคณะกรรมการ ข้อ 18) โดยในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2555 ที่ประชุมได้มีมติอนุมัติวงเงิน ค่าตอบแทนเป็นเงินจำ�นวน 7,290,000 บาท และอนุมัติบำ�เหน็จกรรมการสำ�หรับผลการปฏิบัติงานประจำ�ปี 2554 ที่จ่ายในปี 2555 ในอัตรา 14.05 เท่าของค่าตอบแทนรายเดือน โดยมอบหมายให้คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้ใช้ดุลยพินิจ ในการพิจารณาจัดสรรค่าตอบแทน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

139


รายงานประจำ�ปี 2555

ตำ�แหน่ง

จำ�นวน ค่าตอบแทนประจำ�ปี 2555 (คน) บาท/ ปี/คน รวม (บาท)

บำ�เหน็จกรรมการสำ�หรับผลการ ปฏิบัติงานปี 2554 ที่จ่ายในปี 2555 รวม (บาท)

กรรมการ และ ประธานกรรมการบริษัท กรรมการ และ รองประธานกรรมการบริษัท กรรมการ รองประธานกรรมการบริษทั และ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล

1 1 1

1,020,000 660,000 720,000

1,020,000 660,000 720,000

1,194,845 773,135 843,420

กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และ บรรษัทภิบาล

1

930,000

930,000

1,089,418

กรรมการ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการ สรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล กรรมการ และ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล กรรมการ

3

780,000

2,340,000

2,741,115

2

360,000

720,000

843,420

4

300,000

1,200,000

1,142,174

หมายเหตุ : 1. กรรมการผู้จัดการเป็นกรรมการบริษัทและกรรมการบริหารโดยตำ�แหน่งและมีฐานะเป็นพนักงานบริษัท ดังนั้นจึงมิได้รับค่าตอบแทนรายเดือนและบำ�เหน็จกรรมการในฐานะกรรมการบริษัทและกรรมการบริหาร 2. นายธีรชัย ปัญจทรัพย์ กรรมการบริษัท ซึ่งมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการช่วงระหว่างเดือนมกราคม-มีนาคม 2555 จะได้รบั บำ�เหน็จกรรมการสำ�หรับผลการปฏิบตั งิ านปี 2555 ทีจ่ า่ ยในปี 2556 ในช่วงระยะเวลาทีด่ ำ�รงตำ�แหน่งกรรมการด้วย 2) ค่าตอบแทนของกรรมการบริหารจำ�นวน  4 ท่าน ในปี 2555 ประกอบด้วย ค่าจ้างบริหาร โบนัส รวมกันเป็นเงินทั้งสิ้น 25,872,000 บาท

ค่าตอบแทนอื่น -ไม่มี-

การกำ�กับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความสำ�คัญต่อการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เนื่องจากตระหนักดีว่า การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีสามารถเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ อันประกอบไปด้วยการบริหารงานบนพื้นฐานแห่งความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม และจริยธรรม ซึ่งเป็นปัจจัยสำ�คัญที่ส่งผลให้การดำ�เนินธุรกิจของบริษัทเป็นไปอย่างโปร่งใส มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มั่นคงและ เจริญเติบโตอย่างยั่งยืน ตลอดจนเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ทัง้ นีค้ ณะกรรมการบริษทั ประกาศใช้จรรยาบรรณทางธุรกิจของคณะกรรมการบริษทั จรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน โดยยึดแนวทาง การดำ�เนินธุรกิจที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นแบบแผนของการปฏิบัติที่ดีของกรรมการและพนักงาน เพื่อให้ มั่นใจได้ว่าการปฏิบัติงานตามภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายนั้นเป็นไปโดยถูกต้องตามแนวทางของหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และ ได้เผยแพร่ในเว็บไซต์ของบริษัทคือ www.lpn.co.th โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

นโยบายเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริษทั ตระหนักและให้ความสำ�คัญในหลักการกำ�กับการดูแลกิจการทีด่ ี โดยเน้นความโปร่งใสของการดำ�เนินธุรกิจเพือ่ เพิม่ ความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้มีส่วนได้เสีย โดยมีหลักการที่สำ�คัญดังนี้ 1. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม 2. คณะกรรมการบริษัททุ่มเท มุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรอบคอบ โปร่งใส เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และผู้มีส่วนได้เสียทั้งหมด 3. มีการกำ�หนดจรรยาบรรณทางธุรกิจของคณะกรรมการบริษทั และพนักงาน เพือ่ เป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ านให้สอดคล้อง กับหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

140 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ทั้งนี้ แนวทางของการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น

บริษัทให้ความเคารพต่อสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้นทั้งในฐานะของนักลงทุนและในฐานะเจ้าของบริษัทด้วยการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น อย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งผู้ถือหุ้นสามารถรับทราบผลการดำ�เนินงาน นโยบายการบริหารงาน หรือการเข้าทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกันอย่าง ถูกต้องครบถ้วนตามความเป็นจริงผ่านช่องทางเว็บไซต์ของบริษัทคือ www.lpn.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หรือเว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยคือ www.set.or.th ผู้ถือหุ้นสามารถมั่นใจได้ว่าสิทธิดังกล่าวได้รับการคุ้มครองและปฏิบัติด้วยดีเสมอ ยกตัวอย่างเช่น 1. บริษัทได้แต่งตั้งให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ทำ�หน้าที่เป็นนายทะเบียนหลักทรัพย์ของบริษัท เพื่ออำ�นวยความสะดวกให้กับผู้ถือหุ้นในการดำ�เนินงานเกี่ยวกับงานทะเบียนหลักทรัพย์ของบริษัท 2. สิทธิในการเข้าร่วมประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ซึง่ จัดให้มปี ลี ะ 1 ครัง้ ในวัน เวลา และสถานทีท่ เี่ หมาะสม โดยบริษทั ได้สง่ หนังสือ นัดประชุม พร้อมเอกสารข้อมูลประกอบการประชุมทีม่ รี ายละเอียดเพียงพอ ครบถ้วน แสดงรายละเอียดความเป็นมาและ ความเห็นของคณะกรรมการบริษัทในทุกวาระ มีรายละเอียดในเรื่องดังต่อไปนี้ - ข้อมูลของบุคคลที่ได้รบั การเสนอชือ่ ให้เข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการแทนกรรมการทีค่ รบกำ�หนดออกจากตำ�แหน่งตามวาระ - ข้อมูลของบุคคลที่เสนอชื่อให้เข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ - ข้อบังคับของบริษัทเฉพาะที่เกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้น - เอกสารและหลักฐานทีผ่ เู้ ข้าร่วมประชุมต้องแสดงก่อนเข้าร่วมประชุม วิธกี ารมอบฉันทะการลงทะเบียน และการออกเสียง ลงคะแนนในการประชุมผู้ถือหุ้น - แผนที่สถานที่จัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น - หนังสือมอบฉันทะแบบ ข. (แบบที่กำ�หนดรายการต่างๆ ที่จะมอบฉันทะที่ละเอียดชัดเจน ตายตัว) ทั้งนี้บริษัทได้จัดทำ� หนังสือมอบฉันทะตามแบบประกาศของกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งมี 3 แบบ คือ แบบ ก. แบบ ข. และแบบ ค. โดยให้ สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นในการเลือกหนังสือมอบฉันทะแบบใดแบบหนึ่งก็ได้ โดยสามารถ Download หนังสือมอบฉันทะจาก ทางเว็บไซต์ของบริษัท ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ถือหุ้นใช้ประกอบการพิจารณาตัดสินใจลงคะแนนในวาระต่างๆ เป็นการ ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน นอกจากนี้บริษัทได้ลงประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพ์เป็นเวลาติดต่อกัน 3 วัน และลง ประกาศล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน และด้านการลงทะเบียนเข้าประชุมเป็นไปโดยสะดวก สามารถลง ทะเบียนล่วงหน้าก่อนการประชุมไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 3. 4. 5. 6.

บริษัทได้เพิ่มช่องทางการเผยแพร่หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นและเอกสารประกอบการประชุมผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท คือ www.lpn.co.th ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเป็นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมอย่างน้อย 30 วัน เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ มีเวลา พิจารณาวาระที่สำ�คัญต่างๆ อย่างพอเพียง บริษัทมอบหมายให้บริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ซึ่งเป็นนายทะเบียนหุ้นของบริษัทเป็นผู้จัดส่ง หนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ล่วงหน้าก่อนวันประชุม 7 วัน บริษทั ให้สทิ ธิแก่ผถู้ อื หุน้ ทีเ่ ข้ามาร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ ในภายหลังที่ได้เริ่มการประชุมแล้ว โดยมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในวาระที่อยู่ระหว่างการพิจารณาและยังไม่ได้ลงมติ พร้อมนับเป็นองค์ประชุมตั้งแต่วาระที่เข้าร่วมประชุมและออกเสียงเป็นต้นไป ในการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทได้กำ�หนดให้มีขั้นตอนในการประชุมอย่างถูกต้องตามกฎหมาย และคำ�นึงถึงความสะดวก สิทธิ และความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นเป็นหลัก โดยในการลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมประชุม บริษัทได้จัดให้มีเจ้าหน้าที่ และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม เพียงพอ เพือ่ อำ�นวยความสะดวกในการตรวจสอบเอกสารของผูถ้ อื หุน้ ล่วงหน้าก่อนการประชุม มากกว่า 1 ชั่วโมง ในการประชุมผู้ถือหุ้น ก่อนเริ่มการประชุมตามวาระ ประธานกรรมการบริษัทจะกล่าวแนะนำ�คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดต่างๆ ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ทีป่ รึกษากฎหมายของบริษทั คณะผูบ้ ริหารระดับสูงทีเ่ ข้าร่วมประชุมด้วยต่อ ผู้ถือหุ้น พร้อมทั้งชี้แจงให้ผู้ถือหุ้นทราบถึงวิธีการในการลงคะแนนเสียงและสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยประธานที่ประชุมทำ� หน้าที่ควบคุมการประชุมให้เป็นไปตามลำ�ดับวาระที่แจ้งในหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น จัดสรรเวลาให้เหมาะสมเพียงพอ สำ�หรับการนำ�เสนอประเด็นต่างๆ ของแต่ละวาระ โดยไม่มีการเพิ่มวาระอื่นนอกเหนือจากที่ระบุไว้ในหนังสือนัดประชุม นอกจากนั้น บริษัทยังได้จัดให้มีบัตรลงคะแนนเสียงสำ�หรับผู้ถือหุ้นใช้ในการลงคะแนนเสียงในแต่ละวาระ และได้ตรวจนับ คะแนนเสียง พร้อมทัง้ เปิดเผยคะแนนเสียงในทุกวาระ ทัง้ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสียงด้วยความโปร่งใสและเป็น ธรรม ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็น ซักถามเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับการดำ�เนินธุรกิจ ของบริษัทและบริษัทย่อย พร้อมทั้งมีการบันทึกการประชุมอย่างถูกต้องครบถ้วน

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

141


รายงานประจำ�ปี 2555

7. บริษทั ได้เปิดเผยรายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ 10 อันดับแรกของบริษทั ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุน้ ก่อนการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปีให้ผถู้ อื หุน้ ทราบผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั คือ www.lpn.co.th ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 8. การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีทุกครั้ง ในวาระเลือกตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ออกตามวาระ บริษัทได้เปิดโอกาสให้ ผู้ถือหุ้นลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล ทั้งนี้เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิเลือกกรรมการที่ต้องการ ได้อย่างแท้จริง โดยบริษัทได้แนบรายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการแต่ละคนที่ได้รับการเสนอเข้ารับการเลือกตั้งที่มีข้อมูลที่ เพียงพอที่ผู้ถือหุ้นสามารถใช้ประกอบการพิจารณา 9. ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปีทกุ ครัง้ บริษทั ยังได้ให้สทิ ธิผถู้ อื หุน้ ในการพิจารณาอนุมตั คิ า่ ตอบแทนของคณะกรรมการ บริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย โดยบริษัทได้แนบรายละเอียดเกี่ยวกับค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทและ คณะกรรมการชุดย่อยที่มีข้อมูลที่เพียงพอที่ผู้ถือหุ้นสามารถใช้ประกอบการพิจารณา 10. ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปีทกุ ครัง้ บริษทั ได้กำ�หนดให้มวี าระการแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีและการกำ�หนดค่าตอบแทน ของผู้สอบบัญชี โดยเสนอให้ผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ ซึ่งบริษัทได้แนบรายละเอียดเกี่ยวกับผู้สอบบัญชีที่เสนอเข้ารับการ แต่งตัง้ รวมทัง้ รายละเอียดเกีย่ วกับค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชีทมี่ ขี อ้ มูลเพียงพอทีผ่ ถู้ อื หุน้ สามารถใช้ประกอบการพิจารณา 11. บริษัทได้นำ�ระบบ E-Voting ของบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด มาใช้ในการลงทะเบียนและตรวจนับ องค์ประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งการนับคะแนนในการลงมติตามวาระการประชุม 12. ในระหว่างการประชุม คณะกรรมการบริษทั ได้เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ หรือตัง้ คำ�ถามในวาระ ต่างๆ อย่างอิสระก่อนลงมติ 13. บริษัทได้ดำ�เนินการจัดทำ�รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น ภายหลังที่ประชุมผู้ถือหุ้นสิ้นสุดลงอย่างละเอียดครบถ้วนตาม ข้อเท็จจริงที่ปรากฏในการประชุมผู้ถือหุ้น โดยจัดส่งให้แก่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและกระทรวงพาณิชย์ภายใน 14 วันหลังการประชุม พร้อมทั้งเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทคือ www.lpn.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 14. การออกเสียงลงคะแนนกระทำ�โดยเปิดเผย โดยมีบตั รลงคะแนนในแต่ละวาระ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถลงคะแนนได้โดยอิสระ 15. บริษัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้นทุกรายในอัตราที่เท่าเทียมกัน 16. เพิ่มช่องทางการเผยแพร่จดหมายเชิญประชุมและเอกสารประกอบการพิจารณา รวมถึงกฎเกณฑ์การเข้าประชุมและ ข้อบังคับเกี่ยวกับการประชุมในเว็บไซต์ของบริษัท คือ www.lpn.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเป็นการล่วงหน้า ก่อนได้รับเอกสารการประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีเวลาพิจารณามากยิ่งขึ้น โดยข้อมูลดังกล่าวมีรายละเอียดอย่างเพียงพอ และครบถ้วน 17. ให้สทิ ธิผถู้ อื หุน้ ทีเ่ ข้าร่วมประชุมในภายหลังที่ได้เริม่ การประชุมแล้วในการออกเสียงลงคะแนน สำ�หรับวาระทีอ่ ยู่ในระหว่าง การพิจารณาและยังไม่มีการลงมติ โดยนับเป็นองค์ประชุมตั้งแต่วาระที่ได้เข้าร่วมประชุมและออกเสียงเป็นต้นไป 18. บริษทั ได้ดแู ลผูถ้ อื หุน้ โดยการให้รบั ทราบข้อมูล ข่าวสาร ผลการดำ�เนินงาน และนโยบายในการบริหารงานอย่างสม่ำ�เสมอ และทันเวลา โดยนอกจากการเปิดเผยข้อมูลผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว บริษทั ยังได้นำ�ข้อมูล ที่สำ�คัญ รวมทั้งข่าวสารต่างๆ ที่เป็นปัจจุบันแสดงไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทคือ www.lpn.co.th 19. เมือ่ วันที่ 27 ตุลาคม 2554 นับเป็นปีแรกทีบ่ ริษทั ได้จดั ทำ�ประกาศโดยผ่านระบบการเผยแพร่สารสนเทศของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย โดยเชิญผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอระเบียบวาระการประชุมที่สมควรได้รับการพิจารณาจากที่ประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นปี 2556 เป็นการล่วงหน้า ในระหว่างวันที่ 1-30 พฤศจิกายน 2555 โดยได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบกำ�หนดระยะ เวลาในการเสนอระเบียบวาระการประชุมโดยระบบการเผยแพร่สารสนเทศของตลาดหลักทรัพย์เมือ่ วันที่ 11 ตุลาคม 2555

หมวดที่ 2 การปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน

บริษัทดำ�เนินธุรกิจโดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบต่อสังคมและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย คณะกรรมการบริษัทปฏิบัติหน้าที่โดย คำ�นึงถึงผลประโยชน์สูงสุดสำ�หรับผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน โดยให้ความสำ�คัญและเคารพต่อสิทธิแห่งความเป็นเจ้าของของผู้ถือหุ้น โดยไม่เอื้อประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ทั้งนี้ผู้ถือหุ้นจึงสามารถมั่นใจได้ว่า สิทธิของตนจะได้รับการคุ้มครองและปฏิบัติ ด้วยดีเสมอ คณะกรรมการบริษัทมีแนวทางในการรักษาไว้ซึ่งสิทธิดังกล่าว ดังนี้ 1. บริษทั เปิดเผยข้อมูลให้ผถู้ อื หุน้ ทราบอย่างเพียงพอ ทันเวลา และทัว่ ถึงเกีย่ วกับผลการดำ�เนินงาน นโยบายการบริหารงาน ข้อมูลการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกันอย่างถูกต้องครบถ้วน รวมถึงการเผยแพร่ข้อมูลที่จำ�เป็นต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น ผ่านช่องทางเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยคือ www.set.or.th และเว็บไซต์บริษัทคือ www.lpn.co.th ทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

142 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

บริษัทจัดการประชุมผู้ถือหุ้นให้เป็นไปตามลำ�ดับวาระที่แจ้งไว้ในหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น โดยบริษัทจะไม่เพิ่มวาระการ ประชุมโดยไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า หากจะมีการเพิ่มวาระเพื่อพิจารณาเรื่องอื่นนอกเหนือจากที่กำ�หนดไว้ใน หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น จะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของผู้ถือหุ้นที่มา ประชุมและมีสิทธิออกเสียง ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกครัง้ บริษทั ได้ดำ�เนินการจัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมเอกสารข้อมูลประกอบการประชุม โดยมี รายละเอียดครบถ้วนถูกต้อง รวมทั้งความเห็นของคณะกรรมการบริษัทในแต่ละวาระอย่างเพียงพอภายในระยะเวลาที่ กฎหมายกำ�หนด อีกทั้งยังมีการเผยแพร่จดหมายเชิญประชุมผู้ถือหุ้นและเอกสารประกอบการประชุมทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษเป็นการล่วงหน้าก่อนการประชุม เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้มีเวลาในการพิจารณามากยิ่งขึ้นทางเว็บไซต์บริษัทคือ www.lpn.co.th หากผูถ้ อื หุน้ ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ บริษทั ได้จดั ส่งหนังสือมอบฉันทะตามแบบของกระทรวงพาณิชย์ไปพร้อมหนังสือ นัดประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นที่ประสงค์จะมอบฉันทะให้ผู้อื่นมาประชุมแทน โดยเลือกที่จะมอบฉันทะให้บุคคลใด บุคคลหนึ่งแทนหรือกรรมการอิสระคนใดคนหนึ่งของบริษัทเข้าร่วมประชุมแทน เพื่อเป็นการรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้นได้ บริษทั กำ�หนดให้สทิ ธิออกเสียงในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นไปตามจำ�นวนหุน้ ทีผ่ ถู้ อื หุน้ ถืออยู่ โดยหนึง่ หุน้ มีสทิ ธิเท่ากับหนึง่ เสียง บริษทั มีการดูแลเรือ่ งการใช้ขอ้ มูลภายในโดยมีนโยบายห้ามกรรมการและผูบ้ ริหารใช้ขอ้ มูลภายในทีม่ สี าระสำ�คัญของบริษทั และบริษัทย่อย ซึ่งยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้อื่น รวมถึงการซื้อขายหลักทรัพย์ของ บริษทั โดยกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทีอ่ ยู่ในหน่วยงานทีท่ ราบข้อมูลภายในจะต้องระงับการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของ บริษัทในช่วง 1 เดือนก่อนการเปิดเผยงบการเงินต่อสาธารณชน ในกรณีที่กรรมการและผู้บริหารคนใดทำ�การซื้อขาย โอนหรือรับโอนหลักทรัพย์ของบริษัทจะต้องแจ้งให้สำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ทราบทุกครั้งภายใน 3 วันทำ�การนับจากวันที่มีการเปลี่ยนแปลงและ แจ้งให้เลขานุการบริษทั ได้รบั ทราบ รวมทัง้ ได้กำ�หนดให้บรรจุวาระการรายงานการถือครองหลักทรัพย์บริษทั ของกรรมการ รวมทั้งคู่สมรส เป็นวาระประจำ�ในการประชุมคณะกรรมการบริษัททุกไตรมาส บริษัทมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในการดูแลและขจัดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ มีหน้าทีต่ ามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบเป็นผูส้ อบทานการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ให้เป็นไปตาม กฎหมาย ตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งหากที่ประชุมมีมติทำ�รายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือเข้าทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน บริษัทจะทำ�การเปิดเผยมูลค่ารายการชื่อคู่สัญญาและบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน เหตุผลความจำ�เป็น และรายละเอียดอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องในการเข้าทำ�รายการดังกล่าวอย่างถูกต้องครบถ้วน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษผ่านช่องทางเว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยคือ www.set.or.th และเว็บไซต์บริษัทคือ www.lpn.co.th

หมวดที่ 3 การคำ�นึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

บริษัทให้ความสำ�คัญต่อการคำ�นึงถึงประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ โดยดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบและเป็นธรรม ต่อผู้ มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย มุ่งมั่นในการพัฒนากิจการของบริษัทให้เจริญก้าวหน้ามั่นคงอย่างยั่งยืน สามารถสร้างผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้น อย่างเหมาะสม ปกป้องผลประโยชน์และดูแลทรัพย์สินของบริษัทเสมือนวิญญูชนพึงรักษาทรัพย์สินของตน ในการนี้บริษัทได้ดูแลสิทธิ ของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ด้วยการปฏิบัติที่ดีอย่างเท่าเทียมกันดังนี้ ผู้ถือหุ้น : บริษทั เคารพต่อสิทธิขนั้ พืน้ ฐานของผูถ้ อื หุน้ ตามทีก่ ำ�หนดไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของบริษทั โดยปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทมีกลไกที่ทำ�ให้ผู้ถือหุ้นมีความเชื่อมั่นว่าจะได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและผลตอบแทนที่ เหมาะสม การรับผลตอบแทนตามนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท มีการควบคุมการทำ�รายการระหว่างกัน มีมาตรการป้องกันการขัดแย้งทางผลประโยชน์ ป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเกี่ยวกับข่าวสารที่เป็นความลับ และห้าม กรรมการและผูบ้ ริหารทีร่ บั ทราบข้อมูลภายใน ไม่ให้นำ�ข้อมูลภายในของบริษทั ไปใช้เพือ่ ประโยชน์สว่ นตน รวมทัง้ เพือ่ การซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทโดยเฉพาะในช่วง 1 เดือนก่อนเผยแพร่งบการเงินแก่สาธารณชน ลูกค้า : บริษัทได้ให้ความสำ�คัญและรับผิดชอบต่อลูกค้าทุกรายอย่างสม่ำ�เสมอ รวมถึงเชื่อมั่นในคุณค่าของการสร้างความ พึงพอใจและความมั่นใจอย่างต่อเนื่องให้กับลูกค้า โดยมุ่งมั่นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ รับผิดชอบต่อคุณภาพและ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ตามที่ได้โฆษณาหรือสัญญาไว้ พัฒนาและปรับปรุงการให้บริการแก่ลูกค้า รักษาความลับลูกค้า ทั้งนี้บริษัทได้ให้ความสำ�คัญต่อการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี เสริมสร้างความอบอุ่นของสมาชิกในครอบครัวและสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้าด้วยกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งมีหน่วยงานที่ทำ�หน้าที่รับเรื่องร้องเรียน ของลูกค้า ได้แก่ ศูนย์รับแจ้งเหตุ ฝ่ายบริหารประสบการณ์ลูกค้า (Call Center) โทร (02) 689-6888

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

143


รายงานประจำ�ปี 2555

คู่ค้า : บริษทั ได้ปฏิบตั ติ ามข้อตกลงและเงือ่ นไขการค้าตามกรอบกติกาการแข่งขันทีส่ จุ ริต เสมอภาค และเป็นธรรม คำ�นึงถึง ประโยชน์สูงสุดของบริษัท โดยอยู่บนพื้นฐานของการได้รับผลตอบแทนที่เป็นธรรมทั้งสองฝ่าย โดยรักษาคำ�มั่นที่ให้ ไว้กับคู่ค้าอย่างเคร่งครัด รวมทั้งการเสริมสร้างสัมพันธภาพและความเข้าใจที่ดีต่อกัน หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่อาจจะ ทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ด้วยการเจรจาแก้ปัญหาบนพื้นฐานของความสัมพันธ์ทางธุรกิจ รวมถึงการ ไม่เรียกรับหรือยินยอมที่จะรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดที่อยู่นอกเหนือข้อตกลงทางการค้า คู่แข่ง : บริษทั ดำ�เนินธุรกิจโดยปฏิบตั ติ ามกรอบกติกาของการแข่งขันทางการค้าด้วยความสุจริตและเป็นธรรม โดยใช้หลักคูแ่ ข่ง ทางการค้า เชิงพันธมิตรอันเป็นการส่งเสริมซึง่ กันและกันในกรอบทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดความเสียหายทางธุรกิจและความสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา บริษัทไม่เคยมีข้อพิพาทใดๆ ในเรื่องที่เกี่ยวกับคู่แข่งทางการค้า เจ้าหนี้ : บริษัทยึดถือและปฏิบัติตามข้อตกลงเงื่อนไขทางการค้าต่อเจ้าหนี้ทางการค้าด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อสร้างความ เชือ่ มัน่ และไว้วางใจซึง่ กันและกัน ในกรณีเจ้าหนีท้ เี่ ป็นสถาบันการเงิน บริษทั ได้ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขของสัญญากูย้ มื เงิน หรือสัญญาสินเชือ่ มาโดยตลอด เพือ่ สร้างความมัน่ ใจแก่สถาบันการเงิน โดยปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขต่างๆ ตามทีร่ ะบุในสัญญา และข้อตกลงอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้เงื่อนไขที่บริษัทนำ�มาปฏิบัติและยึดถือเป็นกฎเกณฑ์ในการปฏิบัติต่อเจ้าหนี้ คือ 1. ปฏิบตั ติ ามข้อตกลงทีม่ ตี อ่ คูค่ า้ เจ้าหนีท้ กุ รายอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม โดยตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของการได้รบั ผล ตอบแทนที่เป็นธรรมทั้งสองฝ่าย 2. ละเว้นการเรียก รับ และไม่ให้ผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สุจริตทางการค้า 3. ในกรณีของการกู้เงิน บริษัทจะไม่นำ�เงินที่ได้จากการกู้ยืมไปใช้ในทางที่ขัดกับวัตถุประสงค์ ในข้อตกลง/เงื่อนไข ของการกู้ยืม พนักงาน : บริษัทให้ความสำ�คัญต่อพนักงานทุกคนและตระหนักว่าพนักงานเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของบริษัท เป็นปัจจัยแห่ง ความสำ�เร็จของการบรรลุเป้าหมายของบริษัท โดยบริษัทได้ให้การดูแลและมีการปฏิบัติที่เป็นธรรม ทั้งในด้านโอกาส ผลตอบแทน การแต่งตั้ง โยกย้าย โดยเหมาะสมกับผลการปฏิบัติงานของพนักงานแต่ละคน และผลสำ�เร็จทางธุรกิจ ของบริษัท นอกจากนั้น บริษัทได้ให้ความสำ�คัญต่อการพัฒนาศักยภาพและความสามารถของพนักงานทุกระดับ สร้างเสริมให้มี ความรู้ความสามารถในหน้าที่ และพัฒนาพนักงานที่มีศักยภาพไปสู่สภาวะผู้นำ� รวมทั้งการให้พนักงานมีส่วนร่วมใน การกำ�หนดทิศทางการดำ�เนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เสริมสร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศที่ดีในการทำ�งาน ปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้มีความปลอดภัยต่อชีวิต สุขภาพ ทรัพย์สินของพนักงาน และมีสวัสดิการต่างๆ เช่น การ ประกันสุขภาพแก่พนักงาน การตรวจสุขภาพประจำ�ปี กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ สวัสดิการกู้ยืม เงินช่วยเหลือกรณี พนักงาน หรือบิดามารดาของพนักงาน หรือคู่สมรสถึงแก่กรรม การจัดให้มีสถานที่ออกกำ�ลังกาย (Fitness) เป็นต้น บริษทั ยังคำ�นึงถึงความสมดุลของการทำ�งานและชีวติ ส่วนตัวของพนักงาน (Work-Life-Balance) การตรวจสอบความ ปลอดภัยของสถานที่ทำ�งานอย่างสม่ำ�เสมอ การจัดให้มีอุปกรณ์ด้านความปลอดภัยต่างๆ แก่พนักงาน การฝึกซ้อม อพยพหนีไฟ สิ่งแวดล้อม : บริษัทตระหนักว่า บริษัทได้เจริญเติบโตทางธุรกิจอย่างยั่งยืนและมั่นคงด้วยอาศัยสิ่งแวดล้อมและสังคม และ และสังคม สำ�นึกอยู่เสมอว่าต้องรับผิดชอบในการช่วยเหลือสังคม ต้องไม่เอาเปรียบ และพยายามที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมและ สร้างสมดุลในสังคม ทัง้ นีบ้ ริษทั ได้คนื กำ�ไรส่วนหนึง่ ให้แก่สงั คม โดยจัดงบประมาณส่วนหนึง่ จากรายได้ของบริษทั เพือ่ สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ บริษัทตระหนักว่าธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มีผลกระทบโดยตรงต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยเฉพาะ อสังหาริมทรัพย์ทเี่ ป็นโครงการขนาดใหญ่ ดังนัน้ แนวทางการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม ของบริษทั จึงมุง่ เน้นส่งเสริมจิตสำ�นึกความรับผิดชอบทีเ่ ริม่ ต้นจากตนเอง และได้กำ�หนดความรับผิดชอบไว้ในแผนธุรกิจ ของบริษัท โดยแบ่งเป็น 1. ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในกระบวนการ (In Process) ได้แก่ - การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมภายในองค์กร เช่น การจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศในการทำ�งาน การส่งเสริมคุณภาพชีวิตของบุคลากรในองค์กร เป็นต้น - แนวคิดในช่วงเริม่ ต้นของการพัฒนาโครงการ เช่น การเลือกทำ�เลเชิงกลยุทธ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ แนวคิด “LPN Green” ที่สอดคล้องกับมาตรฐานอาคารเขียว (Green Building) ของสหรัฐอเมริกา เป็นต้น

144 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

- การดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในช่วงระยะเวลาก่อสร้าง เช่น การให้ความ สำ�คัญต่อชุมชนรอบข้างของโครงการ (Environment Concern) การดำ�เนินงานด้านความปลอดภัยของ ผู้เกี่ยวข้องและคนงาน (Safety) การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนงานก่อสร้างในโครงการต่างๆ ของบริษทั การพัฒนาและเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวโดยรอบโครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างก่อสร้าง เป็นต้น - การบริหารชุมชนภายหลังการส่งมอบโครงการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างความสุขและสังคมที่ดี ที่มีความอบอุ่น ปลอดภัย และใส่ใจสิ่งแวดล้อมภายในโครงการ เช่น การสร้างคุณภาพชีวิต (Life Quality Management) การบริหารจัดการสภาพแวดล้อม (Environment Management) การบริหารระบบความ ปลอดภัย (Security System Management) 2. ความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคมนอกกระบวนการ (After Process) ซึง่ โดยส่วนใหญ่จะเป็นการสนับสนุน กิจกรรมทางสังคม กิจกรรมสาธารณกุศลต่างๆ โดยร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ชุมชนภายในโครงการ “ลุมพินี” หรือชุมชนข้างเคียง โดยแบ่งออกเป็น - กิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมการแบ่งปัน เช่น กิจกรรมรับบริจาคโลหิต กิจกรรมรับบริจาคปฏิทนิ ตัง้ โต๊ะเก่า กิจกรรม ทีเ่ ป็นโครงการมอบอาหารสมองปลอบขวัญน้องผูป้ ระสบอุทกภัย กิจกรรมทีเ่ ป็นโครงการมอบคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการศึกษา กิจกรรมทำ�บุญทอดกฐินสามัคคี เป็นต้น - กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการดูแลห่วงใย เช่น กิจกรรมที่เป็นการปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในโครงการ “ลุมพินี” กิจกรรมทางด้านการกำ�จัดขยะ กิจกรรมที่เป็นโครงการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต กิจกรรมรณรงค์ ปิดไฟ 1 ชั่วโมงเพื่อลดโลกร้อน กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการสร้างอาชีพ เป็นต้น อนึง่ คณะกรรมการบริษทั ได้ให้ความสำ�คัญต่อการมีสว่ นร่วมของผูม้ สี ว่ นได้เสียในการเสริมสร้างผลการดำ�เนินงานของบริษทั เพือ่ สร้าง ความมั่นคงยั่งยืนให้แก่บริษัท โดยการเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญที่เกี่ยวข้องในการดำ�เนินธุรกิจให้ผู้มีส่วนได้เสียได้รับทราบอย่างเพียงพอ และโปร่งใส โดยจัดให้มีช่องทางสำ�หรับผู้มีส่วนได้เสีย ผู้ถือหุ้น และนักลงทุน สามารถส่งความคิดเห็น ข้อร้องเรียน หรือข้อแนะนำ� ที่เป็นประโยชน์ และสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับบริษัทได้โดยการส่งจดหมายทางไปรษณีย์ถึง 1. ประธานกรรมการบริษัท หรือ 2. ประธานกรรมการตรวจสอบ หรือ 3. ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร หรือ 4. กรรมการผู้จัดการ ตามที่อยู่ต่อไปนี้ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) 1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 หรือ E-mail Address : director @lpn.co.th ทั้งนี้ บุคคลดังกล่าวจะดำ�เนินการรวบรวมข้อมูลเพื่อเสนอให้กรรมการบริษัทพิจารณา โดยบริษัทมีนโยบายในการคุ้มครองผู้ส่ง ความคิดเห็นหรือข้อแนะนำ�ด้วยการเก็บรักษาข้อมูลของผู้ส่งความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะไว้เป็นความลับ

หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส

บริ ษั ท มี น โยบายในการเปิ ด เผยข้ อ มู ล และสารสนเทศ อาทิ ข้ อ มู ล ทางการเงิ น ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปที่ สำ�คั ญ เกี่ ย วกั บ ธุ ร กิ จ และ ผลประกอบการของบริษัทที่ตรงกับความเป็นจริง ครบถ้วน เพียงพอ สม่ำ�เสมอ ทันเวลาอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน โดยได้เผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารต่างๆ เพื่อให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์ และผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับทราบผ่านช่องทางต่างๆ อาทิเช่น - การรายงานผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ELCID) - แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) - รายงานประจำ�ปี (แบบ 56-2) - เว็บไซต์ของบริษัทคือ www.lpn.co.th - จดหมายข่าวรายไตรมาส บริษทั ได้จดั ตัง้ แผนกนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relation) เพือ่ ให้บริการข้อมูลและข่าวสารกิจกรรมต่างๆ ของบริษทั กับผูล้ งทุน ผูถ้ อื หุน้ นักวิเคราะห์ และผู้ที่เกี่ยวข้อง ทัง้ นี้ผู้ถือหุ้นรายย่อย นักลงทุนทั่วไป และนักวิเคราะห์ที่ต้องการข้อมูลที่เกี่ยวกับบริษัท สามารถติดต่อกับเจ้าหน้าที่แผนกนักลงทุน สัมพันธ์ของบริษัทได้โดยตรง ซึ่งเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน และบริษัทเชื่อว่าในปัจจุบันผู้ถือหุ้นรายย่อยและนัก ลงทุนทั่วไปต่างให้ความสำ�คัญกับข้อมูลการลงทุนเป็นอย่างมาก โดยเจ้าหน้าที่ของบริษัทจะตั้งมั่นอยู่บนพื้นฐานของการเปิดเผย

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

145


รายงานประจำ�ปี 2555

ข้อมูลที่เท่าเทียมกัน บริษทั ได้ตระหนักและมีความรับผิดชอบต่อความเชือ่ ถือได้ของข้อมูลทางการเงิน โดยคณะกรรมการบริษทั ได้จดั ทำ� รายงานทางการเงินทีม่ ขี อ้ มูลถูกต้อง ครบถ้วน ตามมาตรฐานการบัญชีและหลักบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป รวมทัง้ การเปิดเผยสารสนเทศสำ�คัญ ทีม่ ผี ลกระทบหรืออาจมีผลกระทบต่อการเปลีย่ นแปลงในราคาหลักทรัพย์ของบริษทั ต่อการตัดสินใจลงทุน โดยการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ หน่วยงานอื่นๆ ของรัฐอย่างเคร่งครัดและติดตามแก้ไขเปลี่ยนแปลงอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อให้มั่นใจว่ากฎหมาย กฎเกณฑ์มีความทันสมัย และเป็นหลักประกันให้ผู้ถือหุ้นเชื่อมั่นในการดำ�เนินธุรกิจอย่างตรงไปตรงมา อนึ่ง ในปี 2555 กิจกรรมต่างๆ ที่แผนกนักลงทุนสัมพันธ์ได้ดำ�เนินการเพื่อให้บริการข้อมูลและข่าวสารต่างๆ มีดังต่อไปนี้ - การจัดประชุมแถลงข้อมูลผลการดำ�เนินงานรายไตรมาสให้แก่นักวิเคราะห์ (Analysts Meeting) จำ�นวน 3 ครั้ง โดยมี จำ�นวน 1 ครั้งที่บริษัทร่วมกับทางตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกิจกรรม Opportunity Day - การที่ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทได้มีการพบปะกับนักลงทุนและผู้ถือหุ้นอย่างสม่ำ�เสมอ (Company Visit) โดยผู้บริหาร ของบริษัทได้ใช้เวลาในการให้ข้อมูลในภาพรวมของการดำ�เนินงานและตอบข้อซักถามอย่างเพียงพอเป็นจำ�นวน 90 ครั้ง และมีรายงานของนักวิเคราะห์ที่วิเคราะห์ข้อมูลของบริษัทประมาณ 75 รายงาน ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และบุคคลทั่วไป สามารถสอบถามข้อมูลและซักถามข้อสงสัยต่างๆ โดยติดต่อ แผนกนักลงทุนสัมพันธ์ : นายสุริยา สุริยาภิวัฒน์ E-mail Address : IR@lpn.co.th โทรศัพท์ : (02) 285-5011

หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 1. โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย บุคคลที่มีความรู้ความสามารถและมีประสบการณ์ ในหลายสาขา เช่น วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ กฎหมาย บัญชี การเงิน เป็นต้น ซึ่งกรรมการทุกท่านผ่านการอบรมหลักสูตร กรรมการจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors Association : IOD) ทั้งนี้คณะบุคคลดังกล่าว นี้มีบทบาทสำ�คัญในการกำ�หนดนโยบายของบริษัทร่วมกับผู้บริหารระดับสูงวางแผนการดำ�เนินงานทั้งระยะสั้นและระยะยาว ตลอดจน กำ�หนดนโยบายทางการเงิน การบริหารความเสี่ยง และภาพรวมขององค์กร มีบทบาทสำ�คัญในการกำ�กับดูแล ตรวจสอบและประเมิน ผลการดำ�เนินงานของบริษัท รวมถึงผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารระดับสูงให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้อย่างเป็นอิสระ โครงสร้างคณะกรรมการของบริษัทในปี 2555 ประกอบด้วยคณะกรรมการทั้งหมดจำ�นวน 6 คณะ ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท 2. คณะกรรมการตรวจสอบ 3. คณะกรรมการบริหาร 4. คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล 5. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 6. คณะอนุกรรมการกำ�กับดูแลกิจการด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม บริษัทมีการกำ�หนดและแยกอำ�นาจของคณะกรรมการแต่ละชุดไว้อย่างชัดเจน โดยในการพิจารณาตัดสินใจในเรื่องสำ�คัญๆ จะต้องผ่าน ความเห็นชอบของคณะกรรมการแต่ละชุด ซึง่ มีหน้าทีเ่ ฉพาะเรือ่ งและเสนอเรือ่ งให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาหรือรับทราบ เพือ่ ถ่วง ดุลและสอบทานให้เกิดความโปร่งใสและเป็นธรรมต่อผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย • การแต่งตั้งและวาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการบริษัท

กรรมการบริษัทมีคุณสมบัติและประสบการณ์ตามที่บริษัทต้องการและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยกรรมการต้องมีเวลาอย่างเพียงพอ อุทิศความรู้ ความสามารถปฏิบัติหน้าที่ให้แก่บริษัท ทั้งนี้ตามข้อบังคับบริษัทข้อ 11 กำ�หนดไว้ว่า ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี กรรมการต้องออกจากตำ�แหน่งจำ�นวนหนึ่งในสาม ถ้าจำ�นวนกรรมการแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำ�นวนใกล้ที่สุดกับส่วนหนึ่งในสาม กรรมการบริษทั ได้รบั การแต่งตัง้ เลือกตัง้ และถอดถอนโดยทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งตามข้อบังคับของบริษทั และเมือ่ ครบวาระแล้วอาจได้รบั การเลือกตัง้ กลับเข้าดำ�รงตำ�แหน่งต่อไปได้อกี เว้นแต่ในกรณีทตี่ ำ�แหน่งกรรมการบริษทั ว่างลง โดยมิใช่เป็นการ ออกตามวาระ คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาลจะทำ�หน้าที่พิจารณาสรรหาบุคคลที่เหมาะสมเสนอต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท เพื่อแต่งตั้งบุคคลเข้าเป็นกรรมการในตำ�แหน่งที่ว่างลงตามข้อบังคับของบริษัท

146 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทมิได้กำ�หนดอายุกรรมการและ/หรือจำ�นวนวาระสูงสุดที่จะดำ�รงตำ�แหน่งอย่างต่อเนื่องได้ โดยเชื่อว่าอายุหรือระยะเวลาดำ�รง ตำ�แหน่งมิได้เป็นอุปสรรค หากเปรียบเทียบกับความรู้ความสามารถและประสบการณ์อันทรงคุณค่าที่แต่ละคนมี และพร้อมที่จะนำ�มา ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อบริษัท • จำ�นวนบริษัทที่กรรมการดำ�รงตำ�แหน่ง

บริษัทได้กำ�หนดนโยบายในการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทในบริษัทจดทะเบียนได้คนละไม่เกิน 5 แห่ง โดยในปัจจุบันมีกรรมการ บริษัทจำ�นวน 5 คน ที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทจดทะเบียนอื่นจำ�นวน 1 แห่ง และกรรมการบริษัทจำ�นวน 1 คน ที่ดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการบริษัทจดทะเบียนอื่นจำ�นวน 3 แห่ง โดยได้เปิดเผยรายละเอียดข้อมูลการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทอื่นของกรรมการ แต่ละคนไว้อย่างละเอียดในแบบ 56-1 และในรายงานประจำ�ปี (Annual Report) ซึ่งบริษัทมั่นใจว่า จะไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์และไม่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานหน้าที่กรรมการบริษัท โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาคณะกรรมการบริษัทได้แสดงให้ เห็นว่า คณะกรรมการบริษัทสามารถอุทิศเวลาในการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ โดยบริษัทได้รับคำ�ปรึกษา คำ�แนะนำ� และข้อ เสนอแนะที่มีประโยชน์ในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทอย่างต่อเนื่องและสม่ำ�เสมอ • คณะกรรมการชุดย่อย

คณะกรรมการบริษทั มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ให้ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ฉพาะเรือ่ งและนำ�เสนอผลให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาและรับทราบ ซึ่งคณะกรรมการชุดย่อยมีหน้าที่และความรับผิดชอบตามที่กำ�หนด

2. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ • ภาวะผู้นำ�และวิสัยทัศน์

คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้กำ�หนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบาย รวมถึงเป็นผู้กำ�กับดูแลกิจการของบริษัทให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ อันก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่บริษัทและผู้ถือหุ้น โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์ ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย มีความเป็นอิสระในการแสดงความคิดเห็น และการตัดสินใจไม่แสวงหาผลประโยชน์แก่ตนเองหรือแก่ผู้หนึ่ง ผู้ใด ไม่ดำ�เนินการใดๆ ที่เป็นการขัดแย้ง หรือเป็นการแข่งขันกับผลประโยชน์ของบริษัทหรือบริษัทย่อย คณะกรรมการบริษทั ได้กำ�หนดบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ สรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารไว้อย่างชัดเจนและเป็นลายลักษณ์อักษร นอกจากนี้ ยังจัดให้มีกลไกในการกำ�กับดูแล และติดตามการปฏิบัติงานและการควบคุมฝ่ายบริหารในช่วงเวลาที่จำ�เป็นและเหมาะสม คณะกรรมการบริษทั ให้ความสำ�คัญต่อรายงานทางการเงินทีต่ อ้ งสะท้อนให้เห็นถึงผลการดำ�เนินงานอย่างแท้จริง มีการประเมิน กำ�หนด และวางมาตรฐานในการบริหาร ป้องกัน และจัดการความเสีย่ งให้อยู่ในระดับทีเ่ หมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลภายใต้หลัก การถ่วงดุลอำ�นาจ และสามารถตรวจสอบได้ โดยคณะกรรมการบริษัทมีความมุ่งมั่นในการพัฒนา เพื่อให้ธุรกิจของบริษัทมีความเจริญ ก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืน สามารถสร้างผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้นได้อย่างเหมาะสม • การแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ

บริษทั มีการกำ�หนดและแยกอำ�นาจของคณะกรรมการบริษทั และฝ่ายจัดการในระดับต่างๆ ไว้อย่างชัดเจน โดยในการพิจารณาและตัดสิน ใจในเรือ่ งทีส่ ำ�คัญๆ จะต้องผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย เพือ่ ถ่วงดุลและสอบทานให้เกิดความ โปร่งใสและเป็นธรรมต่อผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย • การรวมหรือแยกตำ�แหน่ง

บริษัทมีนโยบายในการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบของประธานกรรมการบริษัทและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (Chief Executive Officer : CEO) โดยจะต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์และคุณสมบัติที่เหมาะสม และต้องไม่เป็นบุคคลเดียวกัน เพื่อให้มีการถ่วงดุลอำ�นาจโดยการแยกหน้าที่การกำ�กับดูแลและบริหารงานออกจากกัน

• ประธานกรรมการบริษัท

เป็ น กรรมการอิ ส ระและไม่ เ ป็ น ผู้บ ริ ห าร รวมทั้ง ไม่ เ ป็ น บุ ค คลเดี ย วกั บ ประธานเจ้ า หน้ า ที่บ ริ ห ารหรื อ ดำ�รงตำ�แหน่ ง ในคณะกรรมการชุดย่อย โดยประธานกรรมการบริษัทมีความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร มีการแบ่งแยกหน้าที่ในการกำ�หนด นโยบายการกำ�กับดูแลและการบริหารงานประจำ�ออกจากกันอย่างชัดเจน ประธานกรรมการบริษัทมีหน้าที่เป็นประธาน ในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ซึ่งเป็นผู้กำ�หนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบายที่สำ�คัญให้ฝ่ายบริหารนำ�ไปปฏิบัติ โดยกรรมการบริษัททุกคนมีความเป็นอิสระในการเสนอวาระการประชุม การแสดงความคิดเห็นต่อการดำ�เนินงานของ บริษัทในด้านต่างๆ รวมถึงพิจารณาอย่างรอบคอบในเรื่องที่อาจขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อให้มีความถูกต้อง โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

147


รายงานประจำ�ปี 2555

• ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

เป็นหัวหน้าคณะผูบ้ ริหารรับผิดชอบในการกำ�กับดูแลการบริหารงานของบริษทั ให้สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ พันธกิจและนโยบาย ของคณะกรรมการบริษทั โดยมีการบริหาร ติดตามการดำ�เนินงานของฝ่ายบริหารและฝ่ายจัดการ โดยกำ�หนดให้มกี ารประชุม ร่วมกัน เพื่อรายงานความก้าวหน้าของผลการดำ�เนินงานและผลประกอบการของบริษัทเป็นประจำ�ทุกเดือน มีการกระจาย อำ�นาจลงไปสู่ฝ่ายบริหารในการกำ�หนดหน้าที่ ความรับผิดชอบและวงเงินอนุมัติ • การประชุมคณะกรรมการบริษัท

การเข้าร่วมประชุมและการมีกจิ กรรมร่วมกันกับบริษทั ถือว่าเป็นหน้าทีส่ ำ�คัญของกรรมการบริษทั เพือ่ รับทราบและร่วมกันตัดสินใจใน การดำ�เนินธุรกิจ โดยบริษทั มีการกำ�หนดวันและเวลาประชุมของคณะกรรมการบริษทั ไว้ลว่ งหน้าตลอดปี โดยกำ�หนดให้มกี ารประชุมร่วม กันอย่างน้อยปีละ 6 ครั้ง และอาจมีการประชุมวาระพิเศษเพิ่มเติมตามความจำ�เป็น แต่ละครั้งจะมีการกำ�หนดวาระประชุมที่ชัดเจน มี การนำ�ส่งเอกสารล่วงหน้าก่อนวันประชุมอย่างน้อย 7 วัน เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทได้มีเวลาในการพิจารณาศึกษาข้อมูลอย่างเพียง พอก่อนเข้าร่วมประชุม ทั้งนี้ บริษัทได้กำ�หนดให้มีการประชุมกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร (Non-Executive Directors) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารมีโอกาสที่จะได้ประชุมระหว่างกันเอง เพื่อพิจารณาเกี่ยวกับประเด็นปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการ ที่อยู่ในความสนใจ โดยไม่มีฝ่ายบริหารหรือฝ่ายจัดการเข้าร่วมด้วย ประธานกรรมการบริษทั และประธานกรรมการบริหารร่วมกันกำ�หนดวาระการประชุมและพิจารณาเรือ่ งเข้าวาระการประชุมคณะกรรมการ บริษทั และในการประชุมได้เปิดโอกาสให้กรรมการทุกคนสามารถเสนอเรือ่ งต่างๆ เพือ่ เข้ารับการพิจารณาเป็นวาระการประชุมได้ ตลอด จนสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ ทั้งนี้ในการลงมติในที่ประชุมให้ถือมติของเสียงมาก โดยให้กรรมการคนหนึ่งมีหนึ่งเสียง กรรมการทีม่ สี ว่ นได้เสียจะไม่เข้าร่วมประชุมหรือสละสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรือ่ งนัน้ การประชุมแต่ละครัง้ ใช้เวลาประมาณ 4-5 ชัว่ โมง • เลขานุการบริษัท

คณะกรรมการบริษทั ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของบทบาทและหน้าทีข่ องเลขานุการบริษทั ซึง่ มีสว่ นช่วยสนับสนุนการดำ�เนินงานของ บริษัทให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ปฏิบัติถูกต้องตามหลักเกณฑ์และข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้ง นางสาวสมศรี เตชะไกรศรี รอง กรรมการผู้จัดการ ดำ�รงตำ�แหน่งเลขานุการบริษัท ทำ�หน้าที่ประสานงานระหว่างกรรมการบริษัทและฝ่ายจัดการดูแลและประสานงาน ด้านกฎหมาย กฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ดำ�เนินการตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี พร้อมปฏิบัติตามข้อบังคับและ ประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งการติดตาม ผลการปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการบริษัทและมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วย

การประเมินตนเองของกรรมการบริษัทและการประเมินประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (Chief Executive Officer : CEO)

ประธานกรรมการบริษัทให้ความสำ�คัญต่อการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร โดยมี วัตถุประสงค์ในการนำ�ผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทในด้านต่างๆ โดยคณะ กรรมการบริษัทได้มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาลเป็นผู้ดำ�เนินการ คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาลดำ�เนินการให้มีการประเมินตนเองของกรรมการ โดยแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ประเภทที่ 1 การประเมินผลคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) โดยประเมินในด้านต่างๆ คือ - ความโดดเด่นในความรู้ความสามารถ (Core Competency) - ความเป็นอิสระ (Independence) - ความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจ (Preparedness) - ความเอาใจใส่ต่อหน้าที่และความรับผิดชอบ (Practice as a Director) - การปฏิบัติหน้าที่ในคณะกรรมการ (Committee Activities) - ความมุ่งมั่นในการพัฒนาองค์กร (Development of Organization) ประเภทที่ 2 การประเมินผลกรรมการเป็นรายบุคคล (ประเมินกรรมการท่านอื่น) โดยประเมินในด้านต่างๆ คือ - ความโดดเด่นในความรู้ความสามารถ (Core Competency) - ความเป็นอิสระ (Independence) - ความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจ (Preparedness) - ความเอาใจใส่ต่อหน้าที่และความรับผิดชอบ (Practice as a Director) - การปฏิบัติหน้าที่ในคณะกรรมการ (Committee Activities) - ความมุ่งมั่นในการพัฒนาองค์กร (Development of Organization)

148 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ประเภทที่ 3

การประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะ โดยประเมินในด้านต่างๆ คือ - โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ - บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ - การประชุมคณะกรรมการ - การทำ�หน้าที่ของกรรมการ - ความสัมพันธ์ฝ่ายจัดการ - การพัฒนาตนเองของคณะกรรมการและการพัฒนาผู้บริหาร

ทั้งนี้ ขั้นตอนการประเมินเริ่มต้นประมาณเดือนธันวาคม โดยมีเลขานุการคณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาล ทำ�หน้าที่จัดส่งแบบประเมินให้กรรมการแต่ละคนประเมินตนเองโดยอิสระ หลังจากนั้นเลขานุการคณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาลทำ�การรวบรวมแบบประเมินผล เพื่อจัดทำ�รายงานสรุป ประมวลผลการประเมิน และนำ�เสนอต่อที่ประชุมคณะ กรรมการบริษัท ครั้งที่ 1 ของปีถัดไป อนึ่ง ผลการประเมินผลปฏิบัติงานคณะกรรมการบริษัทในปี 2555 ได้นำ�เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1/2556 เมื่อ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 ภาพรวมของการประเมินตนเองของกรรมการบริษัท ลำ�ดับ

1 2 3 4 5 6

หัวข้อประเมิน

ความโดดเด่นในความรู้ความสามารถ (Core Competency) ความเป็นอิสระ (Independence) ความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจ (Preparedness) ความเอาใจใส่ต่อหน้าที่และความรับผิดชอบ (Practice as a Director) การปฏิบัติหน้าที่ในคณะกรรมการ (Committee Activities) ความมุ่งมั่นในการพัฒนาองค์กร (Development of Organization) ภาพรวมเฉลี่ย

ผลประเมิน (ร้อยละ)

82.69 78.85 81.25 91.48 87.61 87.09 84.83

ภาพรวมการประเมินผลกรรมการรายบุคคล (ประเมินกรรมการคนอื่น) ลำ�ดับ

1 2 3 4 5 6

หัวข้อประเมิน

ความโดดเด่นในความรู้ความสามารถ (Core Competency) ความเป็นอิสระ (Independence) ความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจ (Preparedness) ความเอาใจใส่ต่อหน้าที่และความรับผิดชอบ (Practice as a Director) การปฏิบัติหน้าที่ในคณะกรรมการ (Committee Activities) ความมุ่งมั่นในการพัฒนาองค์กร (Development of Organization) ภาพรวมเฉลี่ย

ผลประเมิน (ร้อยละ)

88.25 89.90 89.26 92.95 94.16 88.83 90.56

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

149


รายงานประจำ�ปี 2555

ภาพรวมของการประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะ เป็นดังนี้ ลำ�ดับ

1 2 3 4 5 6

หัวข้อประเมิน

โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการ การทำ�หน้าที่ของกรรมการ ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ การพัฒนาตนเองของกรรมการ และการพัฒนาผู้บริหาร ภาพรวมเฉลี่ย

ผลประเมิน (ร้อยละ)

98.61 96.91 97.92 97.62 96.67 93.98 96.95

นอกจากนั้นคณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และบรรษัทภิบาลได้ให้คณะกรรมการบริษัททำ�การประเมินประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (CEO) โดยประเมินในด้านต่างๆ คือ ความเป็นผู้นำ� การกำ�หนดกลยุทธ์ การปฏิบัติตามกลยุทธ์ การวางแผนและผลปฏิบัติทางการเงิน ความสัมพันธ์กับคณะกรรมการ ความสัมพันธ์กับภายนอก การบริหารงานและความสัมพันธ์กับบุคลากร การสืบทอดตำ�แหน่ง ความรู้ ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ คุณลักษณะส่วนตัว โดยเป็นการปรับปรุงจากตัวอย่างแบบประเมินผลงานของ CEO ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ภาพรวมผลการประเมินผลประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ลำ�ดับ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

หัวข้อประเมิน

ความเป็นผู้นำ� การกำ�หนดกลยุทธ์ การปฏิบัติตามกลยุทธ์ การวางแผนและผลปฏิบัติทางการเงิน ความสัมพันธ์กับคณะกรรมการ ความสัมพันธ์กับภายนอก การบริหารงานและความสัมพันธ์กับบุคลากร การสืบทอดตำ�แหน่ง ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ คุณลักษณะส่วนตัว ภาพรวมเฉลี่ย

การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร

ผลประเมิน (ร้อยละ)

98.75 96.25 97.50 96.25 98.75 97.50 98.33 87.50 99.38 98.33 96.85

คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารให้ความสำ�คัญต่อการเข้าร่วมสัมมนาหลักสูตรที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ โดยเล็งเห็น ประโยชน์ของการศึกษาอบรม โดยเข้าร่วมรับการอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ตามที่สำ�นักงานคณะกรรมการหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) กำ�หนดให้กรรมการของบริษัทจดทะเบียนต้องผ่านการ อบรมอย่างน้อยหนึ่งหลักสูตร ได้แก่ Director Accreditation Program (DAP) และ Director Certification Program (DCP) นอกจากหลักสูตรที่กำ�หนดแล้ว คณะกรรมการบริษัทยังให้ความสำ�คัญในการเข้าร่วมรับการอบรมหลักสูตรอื่นๆ ของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) อาทิ หลักสูตร Role of Compensation Committee (RCC) หลักสูตร Company Secretary ของสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างศักยภาพความเป็นผู้นำ�ที่เป็นมืออาชีพ มีความรู้ ความเข้าใจ ในบทบาทหน้าที่อย่างแท้จริง และเป็นต้นแบบในการขับเคลื่อนองค์กรเพื่อนำ�ไปสู่การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยมีรายละเอียดดังนี้

150 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ลำ�ดับ

รายชื่อ

1

นายปกรณ์

ทวีสิน

2

ศาสตราจารย์ศิริ เกวลินสฤษดิ์

3

นายทวีชัย

จิตตสรณชัย

4

นายอมรศักดิ์

นพรัมภา

5

นายเทพ

รุ่งธนาภิรมย์

6

นายวีระศักดิ์

วหาวิศาล

หลักสูตรที่เข้ารับการอบรม

- Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 0/2000) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Certification of Attendance of Role of the Chairman Program (RCP 16/2007) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - หลักสูตรการศึกษาอบรมด้านการพัฒนาสาขาการถือครองและการบริหารงาน ที่ดิน มหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ - Director Accreditation Program (DAP 25/2004) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Finance for Non-Finance Directors รุ่นที่ 14/2004 จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Audit Committee Program (ACP 7/2005) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Director Accreditation Program (DAP 26/2004) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 30/2003) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Audit Committee Program (ACP 23/2008) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Role of Compensation Committee (RCC 9/2009) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง รุ่นที่ 31 - หลักสูตรนักบริหารชั้นสูง รุ่นที่ 7 - วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร วปรอ. รุ่น 399 - Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 20/2002) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Audit Committee Program (ACP 8/2005) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Monitoring the Internal Audit Function (MIA 1/2007) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Capital Market Academy (CMA 4/2007) จากสถาบันวิทยาการตลาดทุน - Chartered Director Class (CDC 3/2008) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Role of Compensation Committee (RCC 9/2009) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Monitoring the System of Internal Control & Risk Management (MIR 12/2012) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE 14/2012) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Director Accreditation Program (DAP 63/2007) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Director Certification Program (DCP 91/2007) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Role of Compensation Committee (RCC 15/2012) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

151


รายงานประจำ�ปี 2555

ลำ�ดับ

รายชื่อ

7

นายวุฒิพล

8

นางจงจิตต์

9

นายทิฆัมพร

10

นายพิเชษฐ

11

นางยุพา

12

นายคัมภีร์

13

นายโอภาส

หลักสูตรที่เข้ารับการอบรม

สุริยาภิวัฒน์

- Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 36/2003) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Audit Committee Program (ACP 7/2005) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ฐปนางกูร - Director Accreditation Program (DAP 4/2003) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Finance for Non-Finance Directors (FND 14/2004) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย เปล่งศรีสุข - Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 23/2002) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Finance for Non-Finance Directors (FND 4/2003) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ศุภกิจจานุสันติ์ - Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 27/2003) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Finance for Non-Finance Directors (FND 4/2003) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Audit Committee Program (ACP 21/2007) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย เตชะไกรศรี - Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 32/2003) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย จองธุระกิจ - Director Accreditation Program (DAP 4/2003) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 48/2004) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ศรีพยัคฆ์ - Certification of Completion of Directors Certification Program (DCP 71/2006) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Finance for Non-Finance Directors (FND 24/2005) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

ทั้งนี้ในปี 2555 กรรมการจำ�นวน 2 คน ได้เข้าร่วมในการอบรมและการสัมมนาในหลักสูตรต่างๆ ดังนี้ ลำ�ดับ

รายชื่อ

1

นายเทพ

รุ่งธนาภิรมย์

2

นายวีระศักดิ์

วหาวิศาล

หลักสูตรที่เข้ารับการอบรม

- Monitoring the System of Internal Control & Risk Management (MIR 12/2012) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE 14/2012) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Role of Compensation Committee (RCC 15/2012) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

152 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ปฐมนิเทศกรรมการใหม่

ในกรณีมีกรรมการเข้าใหม่ บริษัทได้กำ�หนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่กรรมการบริษัท เพื่อให้ กรรมการเข้ารับตำ�แหน่งสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ทันที โดยมีเลขานุการบริษัทเป็นผู้ประสานงานในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. ประสานงานในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทในด้านกฎหมายและอื่นๆ เช่น ข้อบังคับบริษัท วัตถุประสงค์บริษัท โครงสร้าง องค์กร จรรยาบรรณทางธุรกิจของคณะกรรมการบริษัท เป็นต้น 2. จัดให้มีการพบปะกับประธานกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย และผู้บริหารของบริษัทเพื่อรับ ทราบข้อมูลเกี่ยวกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน

บริษัทได้ระบุข้อกำ�หนดเกี่ยวกับขอบเขตการเปิดเผยข้อมูลภายในให้แก่บุคคลนอกไว้ในจรรยาบรรณทางธุรกิจทั้งของกรรมการบริหาร และพนักงานในส่วนของจรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน บริษัทจัดทำ�ไว้ในคู่มือพนักงาน ซึ่งจะมอบให้แก่พนักงานเมื่อแรกเข้า ทำ�งาน และเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าพนักงานได้ปฏิบัติตามข้อกำ�หนดอย่างถูกต้อง บริษัทได้กำ�หนดให้ผู้บังคับบัญชาและฝ่ายบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ดูแลการใช้ข้อมูลของพนักงานในเบื้องต้น สำ�หรับการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 บริษัทกำ�หนดให้กรรมการทุกท่าน มีหน้าที่แจ้งเรื่องการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของบริษัททันที โดยผ่านทางแผนกนักลงทุนสัมพันธ์ สังกัดสำ�นักกรรมการ เพือ่ จัดทำ�รายงานส่งให้สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงการจัดทำ�บันทึกการเปลีย่ นแปลงและสรุป จำ�นวนหลักทรัพย์ของคณะกรรมการเป็นรายบุคคล เพื่อนำ�เสนอให้แก่คณะกรรมการบริษัททราบในการประชุมทุกครั้ง บริษัทมีการวางระบบข้อมูลของบริษัท โดยกำ�หนดลำ�ดับความสำ�คัญและอำ�นาจของผู้ที่สามารถพิจารณาตรวจสอบแก้ไขข้อมูลเป็น ลำ�ดับขั้นตอนที่ชัดเจน โดยมีฝ่ายสารสนเทศที่ทำ�หน้าที่ดูแลตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้องอยู่เสมอ นอกจากนั้นยังมีฝ่ายตรวจสอบ ภายในคอยสุ่มตรวจอยู่เป็นระยะๆ อีกชั้นหนึ่งด้วย

นโยบายการต่อต้านคอรัปชั่น

คอรัปชัน่ ในทีน่ ี้ หมายถึง การทำ�ธุรกรรมอำ�พรางที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและจริยธรรม ส่วนใหญ่มกั หมายถึง ธุรกรรมระหว่างผูป้ ระกอบ การกับหน่วยงานราชการ เพื่อประโยชน์ของผู้ประกอบการในทางตรงและทางอ้อม ประเทศไทยถูกจัดอันดับของปัญหาคอรัปชั่นอยู่ ในระดับต้นๆ ของโลก ทั้งนี้เกิดจากจิตสำ�นึกของการประกอบธุรกิจด้วยจริยธรรมของผู้ประกอบการและจิตสำ�นึกด้านจริยธรรมของ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ซึ่งส่งผลเสียให้กับการเติบโตทางระบบเศรษฐกิจและภาพลักษณ์ของประเทศอย่างสูงในนโยบายของผู้ประกอบการ อสังหาริมทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐหลายส่วนงาน บริษัทเองได้มีนโยบายในการต่อต้านการคอรัปชั่น โดยกำ�หนดให้การดำ�เนินงาน ทุกกระบวนการอยู่ในขอบเขตของกฎหมายอย่างเคร่งครัด เพื่อหลีกเลี่ยงการเจรจาต่อรอง ไม่ว่าในกระบวนการขออนุญาตปลูกสร้าง ระหว่างก่อสร้างหรือกระบวนการโอนกรรมสิทธิ์ หรือแม้กระทั่งรายละเอียดปลีกย่อยที่เกี่ยวเนื่องกับเจ้าหน้าที่ภาครัฐ ซึ่งถ้าเกิดกรณี ผิดพลาดเพราะความประมาท รู้เท่าไม่ถึงการณ์ ก็ให้รับบทลงโทษจากภาครัฐ โดยไม่ต้องมีการวิ่งเต้นเพื่อให้พ้นผิด อีกทั้งยังมีคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยง ซึ่งบรรจุเรื่องความเสี่ยงต่อกฎระเบียบราชการ (Compliance Risk) เข้าเป็นส่วนหนึ่งของแผนธุรกิจและ มีการติดตามธุรกรรมกับทางหน่วยราชการอย่างใกล้ชิดและสม่ำ�เสมอ

นโยบายทางด้านทรัพย์สินทางปัญญา

บริษัทมีนโยบายชัดเจนที่จะไม่กระทำ�การใดๆ ที่จะเป็นการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา ไม่ว่าจะเป็นทางด้านลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร หรือ เครื่องหมายการค้า โดยบริษัทมีแนวทางในการดำ�เนินการที่ชัดเจน เช่น ทางด้านลิขสิทธิ์ บริษัทมีการกำ�หนดนโยบายในการใช้ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศของบริษทั และบริษทั ย่อย โดยมีการตรวจสอบการใช้งานระบบโปรแกรมซอฟต์แวร์ตา่ งๆ ในการทำ�งานของพนักงาน เพื่อป้องกันการใช้ซอฟต์แวร์ที่ละเมิดลิขสิทธิ์หรือที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทำ�งาน เป็นต้น

นโยบายทางด้านสิทธิมนุษยชน

บริษัทมีนโยบายชัดเจนทางด้านสิทธิมนุษยชน โดยกำ�หนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษรในจรรยาบรรณทางธุรกิจในการปฏิบัติต่อพนักงาน ของบริษัท บริษัทย่อย และบริษัทคู่ค้าทุกคนด้วยความเป็นธรรมโดยไม่เลือกปฏิบัติ เนื่องจากเชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ เพศ อายุ พื้น ฐานการศึกษา การให้สิทธิเท่าเทียมต่อคนพิการ รวมตลอดถึงไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคลทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ทั้งนี้ พนักงานของบริษัทและบริษัทย่อยต้องปฏิบัติต่อกันและปฏิบัติต่อบุคคลอื่นด้วยความเคารพและให้เกียรติซึ่งกันและกัน รวมทั้งปฏิบัติ ตนอย่างเหมาะสมกับหน้าที่การงาน ตามระเบียบข้อบังคับของบริษัทและขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดี โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ภาพลักษณ์ของบริษัท

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

153


รายงานประจำ�ปี 2555

จรรยาบรรณทางธุรกิจ

คณะกรรมการบริษัทจัดให้มีจรรยาบรรณทางธุรกิจของคณะกรรมการบริษัทและของพนักงาน เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติให้สอดคล้องกับ หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อประโยชน์ต่อบริษัท ผู้ถือหุ้น กรรมการ พนักงาน และผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ

ด้านบุคลากร

บุคลากร คือ ทรัพยากรอันมีคุณค่ามากที่สุดของบริษัท การบริหารจัดการบุคลากรจึงถือเป็นภารกิจที่สำ�คัญของทุกสายงาน ไม่เฉพาะสายงานบริหารบุคลากรเท่านัน้ ซึง่ บริษทั ได้ยดึ หลักในการบริหารบุคลากร เพือ่ ให้เป็นองค์กรแห่งคุณค่า (Value Organization) ด้วยการพัฒนาองค์ความรู้ให้กับบุคลากรทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาทัศนคติ ทักษะ และความรู้ของพนักงานเอง (A.S.K.) โดย การจัดอบรมอย่างสม่ำ�เสมอและนำ�กรณีศึกษามาเป็นตัวอย่าง (Case Study) ให้พนักงานร่วมวิเคราะห์ และแบ่งปันองค์ความรู้และ ประสบการณ์แก่กัน อันได้แก่ แผนพัฒนาสายงานบริหารชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาความรู้ ทักษะที่ตอบสนองกลยุทธ์ F-B-L-E-S-P โดยมีหลักสูตรต่าง ๆ คือ 1. Community Management Training Course 2. การบริหารงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ 3. การบริการและมาตรฐานการทำ�งานเพื่อสร้างความประทับใจ 4. การเจรจาต่อรองที่มีประสิทธิภาพ 5. การบริหารทีมงาน 6. การบริหารการประชุม 7. Executive Sharing @ Vibrant Community Meeting 8. การจัด Knowledge Sharing แผนพัฒนาสายงานบริหารงานก่อสร้าง มุง่ เน้นการแบ่งปันความรู้ ทักษะทีต่ อบสนองกลยุทธ์ Q-C-S-E-S โดยจัด Knowledge Sharing ทุกเดือน เพือ่ ให้ทมี งานร่วมแลกเปลีย่ นประสบการณ์การทำ�งาน ทัง้ ด้านความสำ�เร็จ (Success Story) และบทเรียนจากความผิดพลาด (Lesson Learnt) ทีเ่ กิดขึน้ ในงาน เพือ่ ร่วมวางแนวทางการทำ�งานทีเ่ ป็นมาตรฐานเดียวกันและต่อยอดองค์ความรูต้ า่ งๆ ให้เป็นระบบยิง่ ขึ้น อีกทั้ง ยังได้จัด Executive Sharing โดยเชิญผู้บริหารระดับสูงร่วมแบ่งปันความรู้ที่มีคุณค่าให้แก่ทีมงานบริหารโครงการของบริษัท และ LPN Team (ปิยมิตร) การจัดดูงาน เป็นต้น แผนพัฒนาสายงานบริหารงานขาย มุ่งเน้นการแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์การทำ�งาน โดยจัด Knowledge Sharing เพื่อให้ทีมงาน ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำ�งาน ทั้งด้านความสำ�เร็จ (Success Story) และบทเรียนจากความผิดพลาด (Lesson Learnt) ที่ เกิดขึ้นในงาน รวมทั้งยังมีการทดสอบความรู้ในงานขาย การจัดอบรมหลักสูตร CRM เพื่อสร้างความประทับใจในงานขาย การขาย อย่างที่ปรึกษา ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์ เป็นต้น Training Center ศูนย์กลางการเรียนรูข้ ององค์กร บริษทั จัดเตรียมศูนย์ฝกึ อบรมให้มบี รรยากาศแห่งการเรียนรู้ ซึง่ พร้อมไปด้วยอุปกรณ์ เครื่องมือที่จำ�เป็นในการฝึกอบรมบุคลากร รวมทั้งยังมีห้องทำ�งานจำ�ลอง (Simulator Room) เพื่อให้บุคลากรได้ฝึกทักษะและการใช้ อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในงาน ซึ่งจะช่วยให้มีความมั่นใจในการปฏิบัติงานมากยิ่งขึ้น สถาบัน แอล.พี.เอ็น. (LPN Academy) การพัฒนาทรัพยากรบุคคล เป็นกลยุทธ์ที่สำ�คัญอย่างยิ่งของบริษัท ในการสร้างความได้เปรียบ เชิงการแข่งขัน บริษัทจึงได้จัดตั้ง “สถาบัน แอล.พี.เอ็น. (LPN Academy)” ขึ้นในปี 2555 โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ คือ 1. เพื่อพัฒนาบุคลากรให้เติบโตทันต่อการขยายตัวของธุรกิจ 2. เพื่อถ่ายทอดคุณค่าและวัฒนธรรมองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เพือ่ มุง่ เน้นพัฒนาหลักสูตรเฉพาะ ทีอ่ งค์กรได้พฒ ั นาขึน้ มาเป็นกลยุทธ์ของบริษทั และมุง่ ฝึกอบรมเพือ่ รักษาจุดแข็งทีแ่ ตกต่าง ในการแข่งขันอย่างต่อเนื่อง และพัฒนาจุดแข็งให้เป็นคุณค่าถ่ายทอดสู่สังคม วิสัยทัศน์ของสถาบันแอล.พี.เอ็น.

“สร้างและพัฒนาคนคุณภาพที่พร้อมปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ เพื่อสร้างสรรค์และส่งมอบคุณค่า LPN แบบบูรณาการให้แก่ลูกค้าและ สังคมอย่างยั่งยืน”

พันธกิจของสถาบันแอล.พี.เอ็น.

1. เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ด้วยการถ่ายทอดวิถี แอล.พี.เอ็น. (LPN Way) หลักการดำ�เนินธุรกิจแบบ LPN (LPN Business Practice) และคุณค่า LPN อย่างต่อเนื่อง

154 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

2. เสริมสร้างสมรรถนะหลัก (Core Competency) ตามค่านิยมขององค์กร “CLASSIC” เพื่อให้องค์กรและบุคลากรสามารถ พัฒนาและเติบโตอย่างยั่งยืน 3. เสริมสร้างสมรรถนะหลักของบุคลากร (Individual Competency) ในระดับผู้บังคับบัญชาให้มีภาวะผู้นำ�และปฏิบัติงาน อย่างเป็นมืออาชีพ (Professional) ตามแนวทาง (Attitude, Skills, Knowledge) และมุ่งเน้นกลยุทธ์การสร้างสมรรถนะ ของพนักงานให้มีความแตกต่างที่เหนือกว่าคู่แข่ง ในด้านคุณภาพการบริหารและบริการชุมชน รวมทั้งมุ่งเน้นการพัฒนา พนักงานกลุ่มที่มีศักยภาพ (Potential Successor and Talent) อย่างเป็นระบบ 4. เป็นหน่วยศูนย์กลางทีเ่ ชือ่ มต่อกับองค์กรธุรกิจและหน่วยงานพัฒนาบุคลากรทัง้ ของภาครัฐและเอกชน เพือ่ ส่งมอบคุณค่า งานบริการและถ่ายทอดองค์ความรูส้ สู่ งั คม รวมทัง้ การพัฒนาโอกาสและคุณภาพชีวติ ตลอดจนความก้าวหน้าให้แก่พนักงาน กลุ่มบริการชุมชนของบริษัทและสตรีด้อยโอกาส ตามนโยบายการคืนกำ�ไรสู่สังคม ด้วยวัฒนธรรมการเป็น “องค์กรแห่ง การเรียนรู้” มุ่งสู่ “องค์กรแห่งคุณค่า” เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) ทั้งนี้ สถาบันแอล.พี.เอ็น.จะดำ�เนินงานพัฒนาบุคลากรของบริษัท ตามแผนพัฒนาบุคลากรประจำ�ปี 2556 อย่างมีประสิทธิภาพและ เป็นระบบต่อไป

จำ�นวนบุคลากร

โครงสร้างการบริหารด้านบุคลากรของบริษทั และบริษทั ในเครือเป็นแบบรวมศูนย์ เพือ่ ให้มคี วามเป็นเอกภาพและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ภายใต้การกำ�กับดูแลของประธานกรรมการบริหารและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บุคลากรของทั้งบริษัทและบริษัทในเครือสามารถ ถ่ายโอนภาระความรับผิดชอบ เพื่อการเติบโตก้าวหน้าได้ตลอดเวลา ในปี 2555 บริษัทและบริษัทย่อย มีบุคลากรจำ�นวนทั้งสิ้น 1,981 คน โดยแยกตามสายงานดังนี้ - สายงานพัฒนาธุรกิจ 43 คน - สายงานบริหารแบรนด์และการตลาด 25 คน - สายงานบัญชีและการเงิน 80 คน - สายงานบริหารงานขาย 75 คน - สายงานบริหารชุมชน 269 คน - สายงานบริหารงานก่อสร้าง 105 คน - สายงานอำ�นวยการ 38 คน - สำ�นักตรวจสอบภายใน 6 คน - สำ�นักทรัพยากรมนุษย์ 20 คน - สายงานสนับสนุนงานบริหารชุมชน 70 คน - สายงานบัญชีและการเงิน นิติบุคคล 41 คน - สายงานบำ�รุงรักษานิติบุคคล 164 คน - สายงานพัฒนาธุรกิจ บริษัท พรสันติ จำ�กัด (บริษัทย่อย) 14 คน - บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด 1,031 คน รวม 1,981 คน บริษัทมีการจ่ายค่าตอบแทนในรูปแบบโบนัสประจำ�ปีตามผลการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นการตอบแทนความทุ่มเทความร่วมมือร่วมใจของ บุคลากรทุกคนที่ช่วยผลักดันให้การดำ�เนินธุรกิจของบริษัทบรรลุเป้าหมาย ดังนี้ 1. ค่าตอบแทน (เงินเดือน ค่าตอบแทนพิเศษ ครองชีพ โบนัส) 555,003,602.00 บาท 2. สวัสดิการ เงินกองทุน 37,608,555.00 บาท 3. การอบรมพัฒนา 7,736,488.49 บาท รวม 600,348,645.49 บาท

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

155


รายงานประจำ�ปี 2555

จรรยาบรรณทางธุรกิจ จรรยาบรรณทางธุรกิจของคณะกรรมการ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) จรรยาบรรณของคณะกรรมการฉบับนี้ จัดทำ�ขึน้ โดยมีจดุ ประสงค์ เพื่อให้กรรมการของบริษัทยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติตน เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งเป็นไป ตามเจตนารมณ์และหลักการ รวมถึงมาตรฐานด้านจริยธรรม เพื่อประโยชน์ต่อบริษัท ผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า และผู้มีส่วน ได้เสียอื่นๆ คณะกรรมการของบริษัทถือเป็นผู้กำ�หนดนโยบายในการบริหาร องค์กร และวางหลักการกำ�กับดูแลกิจการ เพื่อให้การดำ�เนิน กิจการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงค์ของ วิสัยทัศน์และพันธกิจ เพื่อให้บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ได้รับความเชื่อมั่นในมาตรฐานการดำ�เนินธุรกิจ จากผู้ถือหุ้น นักลงทุน และสาธารณชนทั่วไป ส่งผลให้กรรมการ ของบริษัททุกท่านจะต้องปฏิบัติตามข้อบัญญัติและเจตนารมณ์ ของกฎหมาย ด้วยความรอบคอบและเอาใจใส่ รวมถึงการปฏิบตั ิ ตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีต่อพนักงาน เพื่อรักษาชื่อเสียงและ ภาพพจน์ที่ดีของบริษัทที่สั่งสมมาให้คงอยู่ตลอดไป

จรรยาบรรณทางธุรกิจ มีดังต่อไปนี้ 1. ความซื่อสัตย์ ยุติธรรม และคุณธรรม

ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ยึดมั่นต่อความจริง และ ไม่เลือกปฏิบัติจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ ศาสนา เพศ สถานภาพสมรส หรือความไร้สมรรถภาพทางร่างกาย ยึดมั่นต่อความจริง และจะไม่ทำ�ให้เกิดความเข้าใจผิด ทั้งโดย ทางตรงและทางอ้อม จะไม่พูดหรือกระทำ�การอันเป็นเท็จ และ จะไม่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดโดยละเว้นการพูด หรือการปฏิบัติ

2. ความเป็นอิสระ

ตัดสินใจและปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเป็นอิสระ โดยจะไม่ให้ผล ประโยชน์ส่วนตัว ผลตอบแทน ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินหรือไม่ เป็นตัวเงินมาอยูเ่ หนือความเป็นอิสระในการใช้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นความ จริง ครบถ้วน มีเหตุผลในการปฏิบัติหน้าที่

3. การดำ�เนินธุรกรรมส่วนตัว และการรักษาความลับ

การดำ�เนินธุรกรรมส่วนตัว หรือธุรกิจอื่นๆ ของกรรมการ จะต้อง แยกออกจากการดำ�เนินกิจการของบริษทั ในฐานะกรรมการบริษทั ไม่ใช้ชื่อบริษัทในการดำ�เนินธุรกรรมส่วนตัวหรือธุรกิจอื่นๆ และ ไม่เกี่ยวข้องในกิจการ ซึ่งจะนำ�ความเสื่อมเสียมาสู่บริษัท รวม

156 HERE IS HOME, HERE IS LPN

ถึงไม่เปิดเผยข้อมูลที่เป็นความลับของลูกค้า พนักงาน และ การดำ�เนินงานของบริษัทต่อบุคคลที่สาม เว้นแต่จะได้รับความ ยินยอมจากบริษัท อีกทั้งจะไม่ ใช้ข้อมูลที่ ได้รับในฐานะเป็น กรรมการไปในทางที่ไม่ถูกต้อง

4. การเปิดเผยเรื่องผลประโยชน์

ต้องเปิดเผยผลประโยชน์จากธุรกิจส่วนตัวหรือธุรกิจอื่นๆ รวม ทั้งเรื่องใดๆ ที่เป็นความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรืออาจนำ�ไป สู่ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้บริษัททราบ การดำ�เนินการใดๆ กับบริษัท จะต้องอยู่ในระดับที่เหมาะสม เพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้น หรือ ถูกเข้าใจว่าเกิดขึ้น

5. การยึดถือปฏิบัติตามกฎหมาย

ยึดถือปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ และข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้อง กับการดำ�เนินธุรกิจ และจะไม่ใช้ช่องว่างของกฎหมาย ข้อบังคับ ข้อกำ�หนด เพื่อประโยชน์ของบริษัทหรือประโยชน์ส่วนตนโดย มิชอบ

6. การให้โอกาสผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

รักษาสิทธิประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ ตามหน้าทีท่ ี่ได้รบั ความไว้วางใจ และคำ�นึงถึงสิทธิประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ กับบริษัท

การปฏิบัติหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ 1. หน้าที่ต่อบริษัท

1.1 อุ ทิ ศ เวลาให้ บ ริ ษั ท อย่ า งเต็ ม ที่ ใ นการปฏิ บั ติ ภารกิ จ ในฐานะกรรมการบริษัท ตามแนวทางการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี และจรรยาบรรณทางธุรกิจของบริษัท 1.2 ใช้ดุลยพินิจที่เป็นอิสระในการกำ�กับดูแลกิจการ 1.3 มีความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ คำ�นึงถึงสิทธิประโยชน์ของ ผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ โดยยึดถือหลักจรรยาบรรณ และ ปฏิบัติตามกฎหมาย 1.4 สรรหาผู้บริหารระดับสูงที่มีศักยภาพ สามารถอุทิศ ตนเพื่อประโยชน์ของบริษัทได้อย่างเต็มที่ 1.5 ดู แ ลให้ ฝ่ า ยบริ ห ารรายงานเรื่ อ งที่ สำ�คั ญ ของบริ ษั ท เพื่อให้การดำ�เนินกิจการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 1.6 แจ้งให้บริษทั ทราบเป็นลายลักษณ์อกั ษร กรณีทกี่ รรมการ ไปเป็นกรรมการที่ปรึกษาในบริษัท องค์กร หรือสมาคม อื่นใด การดำ�เนินการดังกล่าวจะต้องไม่ขัดต่อประโยชน์ ของบริษัท และการประกอบหน้าที่โดยตรง หรือเข้าไป


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

เป็นผู้ถือหุ้นในกิจการใดๆ ซึ่งอาจมีผลประโยชน์หรือก่อ ให้เกิดความขัดแย้งทางธุรกิจต่อบริษัท

2. หน้าที่ต่อผู้ถือหุ้น

2.1 กำ�กั บ ดู แ ลเพื่ อ ให้ เ ป็ น ที่ มั่ น ใจได้ ว่ า บริ ษั ท มี ส ถานะ ทางการเงิน การบริหาร และการจัดการที่เหมาะสม เพื่อก่อให้เกิดผลตอบแทนที่เหมาะสมต่อผู้ถือหุ้น 2.2 กำ�กับดูแลเพื่อให้เป็นที่มั่นใจได้ว่า บริษัทได้เปิดเผย ข้อมูลที่มีสาระสำ�คัญครบถ้วนถูกต้อง เป็นความจริง ทันเวลา มีมาตรฐาน และโปร่งใสแก่ผู้ถือหุ้นอย่าง เท่าเทียมกัน 2.3 กำ�กั บ ดู แ ลเพื่ อ ให้ เ ป็ น ที่ มั่ น ใจได้ ว่ า บริ ษั ท ให้ ความ สำ�คั ญ และเคารพต่ อ สิ ท ธิ ข องผู้ ถื อ หุ้ น ทุ กรายอย่ า ง เสมอภาค และเท่าเทียมกัน 2.4 กำ�กับดูแลเพื่อให้เป็นที่มั่นใจได้ว่า บริษัทให้คำ�ชี้แจง รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ผลการดำ�เนิ น งานและสถานะ ทางการเงินของบริษทั เป็นไปตามหลักเกณฑ์การเปิดเผย ข้อมูล 2.5 กำ�กั บ ดู แ ลเพื่ อ ให้ เ ป็ น ที่ มั่ น ใจได้ ว่ า บริ ษั ท ให้ ความ สำ�คัญต่อข้อเสนอแนะต่างๆ ของผู้ถือหุ้น และนำ�ข้อ เสนอแนะทีด่ ไี ปปฏิบตั ิให้เกิดประโยชน์ตอ่ การดำ�เนินงาน

3. หน้าที่ต่อพนักงาน

3.1 ปฏิ บั ติ ต่ อ พนั ก งานทุ ก คนด้ ว ยความเป็ น ธรรมโดย ไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้ใดผู้หนึ่งเนื่องจากความแตกต่าง ในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ เพศ อายุ พื้นฐาน การศึกษา หรือความชอบพอส่วนตัว 3.2 พึงรับฟังความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของพนักงาน และพิจารณานำ�ไปใช้ในทางที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัท 3.3 ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคลทั้งทางตรงและ ทางอ้อม

4. หน้าที่ต่อผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ

4.1 กำ�กั บ ดู แ ลเพื่ อ ให้ เ ป็ น ที่ มั่ น ใจได้ ว่ า บริ ษั ท ได้ ป ฏิ บั ติ ตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 4.2 กำ�กั บ ดู แ ลเพื่ อ ให้ เ ป็ น ที่ มั่ น ใจได้ ว่ า บริ ษั ท ให้ ความ สำ�คั ญ ต่ อ ผลกระทบที่ จ ะเกิ ด แก่ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย อื่ น ๆ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม

ความรอบคอบในการปฏิบัติหน้าที่

1. เข้ า ประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ทุ ก ครั้ ง ในกรณี ที่ มี ความจำ�เป็ น ที่ ไ ม่ ส ามารถเข้ า ร่ ว มประชุ ม ได้ จะแจ้ ง ให้ บริษัททราบล่วงหน้า 2. หาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อ ธุรกิจของบริษัท

3. ศึ ก ษาถึ ง ข้ อ กฎหมาย กฎระเบี ย บ หรื อ ข้ อ กำ�หนดที่ เกี่ ย วข้ อ งที่ มี ผ ลต่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นฐานะกรรมการ ของบริษัท 4. ใช้ เ วลาอย่ า งเพี ย งพอในการพิ จ ารณาข้ อ มู ล เป็ น การ ล่วงหน้าด้วยความรอบคอบ 5. พิจารณาและให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระ กรณีที่กรรมการ ท่านใดไม่เห็นด้วยกับมติของที่ประชุม กรรมการท่านนั้น สามารถกำ�หนดให้มีการบันทึกความเห็นแย้งไว้ในรายงาน การประชุมคณะกรรมการบริษัท 6. ส่งเสริมให้มีการสื่อสารระหว่างคณะกรรมการและผู้สอบ บัญชีรับอนุญาต เพื่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่าการปฏิบัติ งานของผู้ ส อบบั ญ ชี รั บ อนุ ญ าตเป็ น ไปอย่ า งมี อิ ส ระและ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพ โดยได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากฝ่ า ยบริ ห าร และฝ่ายตรวจสอบภายใน 7. ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นฐานะกรรมการให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย กฎระเบี ย บ ข้ อ กำ�หนด ข้ อ บั ง คั บ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมถึ ง มาตรฐานธุรกิจและจริยธรรม 8. ในกรณีมีข้อสงสัยใดๆ คณะกรรมการสามารถขอข้อมูล เพิ่ ม เติ ม หรื อ คำ�ชี้ แ จงจากฝ่ า ยบริ ห าร หรื อ ที่ ป รึ ก ษา ของบริษัท 9. ไม่ ก ระทำ�การใดๆ ที่ อ าจเป็ น ข้ อ ครหาในเรื่ อ งความ ซื่อสัตย์สุจริตและเที่ยงธรรม โดยหลีกเลี่ยงทั้งโดยตนเอง และครอบครั ว ในการเรี ย กรั บ หรื อ ยิ น ยอมจะรั บ เงิ น สิ่งของ หรือประโยชน์อื่นใดจากผู้เกี่ยวข้องทางธุรกิจของ บริษัท เช่น ลูกค้า ผู้รับเหมา พ่อค้า เป็นต้น เว้นแต่ใน โอกาส หรื อ เทศกาลอั น เป็ น ประเพณี นิ ย ม ทั้ ง นี้ จ ะต้ อ ง ไม่มีราคามากจนเกินสมควรหรือเกินกว่าปกติวิสัย

ความขัดแย้งของผลประโยชน์

1. ไม่ใช้อำ�นาจหน้าที่ในตำ�แหน่งกรรมการเพื่อแสวงประโยชน์ ส่วนตนหรือของผู้ใกล้ชิด ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม 2. แจ้งให้บริษัททราบโดยไม่ชักช้า เมื่อมีเหตุดังนี้ 2.1 การตอบรั บ เชิ ญ เป็ น กรรมการ หรื อ ที่ ป รึ ก ษาของ บริษัทอื่น 2.2 กรรมการและบุคคลในครอบครัวมีส่วนร่วม หรือเป็น ผู้ถือหุ้นในกิจการใดๆ ซึ่งอาจมีผลประโยชน์ หรือเกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัท 2.3 มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงหรือโดยอ้อมในสัญญาใดๆ ที่ทำ�กับบริษัท โดยต้องระบุลักษณะของสัญญา ชื่อ ของคู่สัญญา และส่วนได้เสียในสัญญา 2.4 เข้ า ถื อ หลั ก ทรั พ ย์ ห รื อ หุ้ น กู้ ข องบริ ษั ท หรื อ บริ ษั ท ในเครื อ โดยจะต้ อ งระบุ จำ�นวนหลั ก ทรั พ ย์ รวมทั้ง การเปลี่ยนแปลง 3. หาทางหลี ก เลี่ ย งไม่ ใ ห้ มี ความขั ด แย้ ง ของผลประโยชน์ เกิดขึ้น หากมีกรณีเกิดความขัดแย้งขึ้น กรรมการจะต้อง พิ จ ารณาว่ า จะของดเว้ น จากการร่ ว มอภิ ป รายให้ ความ

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

157


รายงานประจำ�ปี 2555

เห็นหรืองดการออกเสียงลงคะแนนในวาระดังกล่าว หรือ ไม่เข้าร่วมประชุมในวาระดังกล่าว หรือขอไม่รับเอกสาร วาระการประชุมที่เกี่ยวข้อง หรือขอลาออกจากตำ�แหน่ง กรรมการ หากความขัดแย้งนั้นถือเป็นเรื่องสำ�คัญ 4. กรรมการที่เป็นผู้บริหารจะต้องใช้ความระมัดระวังอย่างยิ่ง ต่ อ ความขั ด แย้ ง ของผลประโยชน์ ที่ อาจเกิ ด ขึ้ น ระหว่ า ง ทำ�งานในฐานะของฝ่ายบริหาร และการดำ�เนินงานในฐานะที่ เป็นกรรมการซึ่งได้รับความไว้วางใจจากผู้ถือหุ้น 5. กรรมการไม่ ควรเกี่ ย วข้ อ งในการซื้ อ ขายหุ้ น ของบริ ษั ท เพื่อการลงทุนระยะสั้น

การใช้ข้อมูลของบริษัท 1. ไม่ใช้ขอ้ มูลทีไ่ ด้รบั ในฐานะกรรมการบริษทั ไปในทางทีม่ ชิ อบ 2. ไม่ เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล ต่ า งๆ เช่ น ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ความลั บ ทาง ธุรกิจ หรือข้อมูลที่มีผลกระทบต่อการทำ�ธุรกิจต่อบุคคล ภายนอก 3. ไม่ ซื้ อ หรื อ ขายหุ้ น ในขณะที่ มี ข้ อ มู ล ซึ่ ง ถ้ า เปิ ด เผยต่ อ สาธารณชนจะมีผลกระทบต่อราคาหุ้น 4. รักษาข้อมูลความลับของบริษัท ระมัดระวังมิ ให้เอกสาร หรือข่าวสารอันเป็นความลับของบริษัทรั่วไหล หรือตกไป ถึงผูท้ ไ่ี ม่เกีย่ วข้อง อันอาจเป็นเหตุให้บริษทั เกิดความเสียหาย 5. ไม่ใช้ขอ้ มูลภายในเพือ่ ประโยชน์สว่ นตัวหรือผูอ้ นื่ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งข้อมูลนั้นเป็นสาระสำ�คัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคา ของหลักทรัพย์ที่ยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณะ 6. จะต้ อ งไม่ แ จ้ ง ข้ อ มู ล ซึ่ ง อาจมี ผ ลกระทบต่ อ ราคาหุ้ น ของ บริษัทซึ่งยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชน ซึ่งข้อมูลเหล่านั้น จะรวมถึง 6.1 การคาดการณ์ผลกำ�ไร 6.2 การออกหลักทรัพย์ใหม่ 6.3 การกู้ยืม 6.4 การครอบงำ�กิจการที่อาจจะเกิดขึ้น 6.5 การเปลี่ยนแปลงการประกอบการที่สำ�คัญ 6.6 โครงการลงทุนใหม่ 6.7 ปัญหาเกี่ยวกับสภาพคล่อง

จรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัท ที่ ดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ า นการพั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ โดยมี ความ รับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ ตั้งแต่ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า คู่สัญญา พนักงาน ตลอดจนความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและ สังคม ซึ่งพนักงานของบริษัททุกคนจะต้องมีส่วนช่วยผลักดันให้ บริษัทบรรลุเป้าหมายของวิสัยทัศน์ตามที่บริษัทกำ�หนดไว้

158 HERE IS HOME, HERE IS LPN

บริษัทมีความมุ่งมั่นที่จะให้พนักงานทุกคนของบริษัทตระหนัก ถึงความรับผิดชอบจากการได้รับความไว้วางใจในการประกอบ ธุรกิจ ซึ่งในการดำ�เนินธุรกิจไปสู่ความสำ�เร็จ ความมั่นคง ยั่งยืน และเป็นที่ได้รับความเชื่อถือจากลูกค้า ผู้ถือหุ้น และประชาชน โดยทั่วไป บริษัทได้กำ�หนดจรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน เพื่อเป็นหลักในการประพฤติปฏิบัติของพนักงาน จรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงานฉบับนี้กำ�หนดขึ้น เพื่อ เป็นมาตรฐานเบื้องต้นสำ�หรับพนักงานในการปฏิบัติตนอย่างมี จรรยาบรรณ เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการเตือนพนักงานให้ มีความระมัดระวัง และป้องกันไม่ให้พนักงานกระทำ�การใดๆ ที่ เป็นการละเมิดกฎระเบียบ ข้อบังคับ ที่นำ�ความเสื่อมเสียมาสู่ ชื่อเสียงของบริษัท บริษัทมอบหมายให้ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ เป็นผู้มีหน้าที่ตรวจ สอบการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน โดยให้ผู้ บังคับบัญชาแต่ละฝ่ายร่วมดูแลให้พนักงานปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนด ที่บัญญัติไว้ด้วย

จรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน มีดังต่อไปนี้ 1. ขอบเขตของจรรยาบรรณ

จรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงานฉบับนี้ ใช้บังคับสำ�หรับ พนักงานบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด บริษัท พรสันติ จำ�กัด และบริษทั ในเครืออืน่ ๆ โดยหมายความถึง พนักงานประจำ� พนักงานชั่วคราว พนักงานภายใต้สัญญาพิเศษ ผู้ร่วมสัญญา และพนักงานของบริษัทที่ ได้รับการว่าจ้าง ซึ่งจะต้องปฏิบัติ ตามจรรยาบรรณด้วยความเข้าใจ ยอมรับ ศรัทธา ระมัดระวัง และหลีกเลี่ยง มิให้มีการประพฤติผิดจรรยาบรรณ ในกรณีที่ พนักงานมีข้อสงสัยสามารถสอบถามได้ทั้งผู้บังคับบัญชาหรือ ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์

2. การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย และการรักษากฎระเบียบของบริษทั

พนักงานทุกคนมีความรับผิดชอบทีจ่ ะทำ�ความคุน้ เคย และปฏิบตั ิ ตามจรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน ตลอดจนนโยบายอื่นๆ ของบริษัทที่ออกมาเพิ่มเติมภายหลัง 2.1 กฎหมายและกฎระเบียบของบริษัท - พนักงานจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎระเบียบ ของบริษัทอย่างถูกต้องและครบถ้วน - การฝ่าฝืนหรือการขอให้ผอู้ นื่ ฝ่าฝืนกฎหมาย มติผถู้ อื หุ้น มติคณะกรรมการ นโยบาย ข้อบังคับ ระเบียบ คำ�สั่งของบริษัท หรือนโยบายของบริษัท โดยอ้างว่า เป็นการกระทำ�เพื่อเพิ่มผลกำ�ไรให้แก่บริษัท หรือ เหตุผลอื่นใดมิใช่เหตุผลพึงจะรับฟัง - พนั ก งานจะต้ อ งปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องตนด้ ว ยความ ซื่อสัตย์สุจริต โดยคำ�นึงถึงประโยชน์อันชอบธรรม


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ของบริษัท ถึงแม้จะมีช่องว่างของข้อบังคับ ระเบียบ และคำ�สั่งของบริษัทก็ตาม - พนักงานจะต้องรายงานการฝ่าฝืน หรือพฤติกรรม ที่ น่ า สงสั ย ต่ อ การฝ่ า ฝื น นโยบายของบริ ษั ท โดย ทั น ที และให้ ค วามร่ ว มมื อ ในการสอบสวนหา สาเหตุของการฝ่าฝืนดังกล่าว - พนักงานจะต้องแสดงออกซึ่งความเป็นผู้นำ� และ ความระมัดระวังที่จะทำ�ให้เกิดการประพฤติปฏิบัติ ตามนโยบายของบริษัท หรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2.2 กฎหมายเกี่ยวกับหลักทรัพย์ และการเปิดเผยข้อมูล ภายใน - พนักงานจะปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และกฎหมายที่ เกี่ยวข้องโดยเคร่งครัด ซึ่งรวมถึงการเปิดเผยข้อมูล ต่อผู้ถือหุ้น หรือต่อสาธารณะโดยเท่าเทียมกัน - การที่พนักงานใช้ข้อมูลภายในที่ยังไม่เปิดเผยต่อ สาธารณะหรือต่อผู้ถือหุ้นทั่วไป เพื่อประโยชน์ ใน การซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ เ ป็ น การส่ ว นตน ถื อ ว่ า เป็นการกระทำ�ที่ผิดจรรยาบรรณ - การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ธุ ร กิ จ และ ราคาหุ้น จะต้องได้รับความเห็นชอบจากกรรมการ ผู้ จั ด การ โดยกรรมการผู้ จั ด การจะเป็ น ผู้ ดำ�เนิ น การหรือ มอบหมายให้ผู้ใดผู้หนึ่งเป็ น ผู้ รั บ ผิ ดชอบ การเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว ผู้บริหารพึงแสดงความยึดมั่นต่อจรรยาบรรณทางธุรกิจของ พนั ก งาน โดยส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณและ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี รวมทั้งถ่ายทอดนโยบายวิธีปฏิบัติ ตลอดจนรั บ ฟั ง ความเห็ น อย่ า งเปิ ด กว้ า งเกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ตามจรรยาบรรณ พนักงานที่ฝ่าฝืนจรรยาบรรณ หรือนโยบาย ของบริษัท หรือยินยอมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาฝ่าฝืนจรรยาบรรณ จะถูกพิจารณาลงโทษทางวินัย ซึ่งรวมถึงการเลิกจ้าง การให้ ชดใช้ค่าเสียหาย การดำ�เนินคดีที่มีโทษทางแพ่ง หรือโทษทาง อาญาตามแต่กรณี

3. ความเชื่อถือได้ของข้อมูล

ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น เจ้าหนี้ และหน่วยงานกำ�กับดูแลต่างๆ ต้อง อาศั ย ความถู ก ต้ อ งของข้ อ มู ล ของบริ ษั ท ในการติ ด ตามการ ดำ�เนินงานของบริษัทเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ดังนั้นบริษัท จึงไว้วางใจว่าพนักงานทุกคนจะร่วมมือกันในการจัดทำ�ข้อมูล ให้ถูกต้อง โดยบันทึกข้อมูลและจัดทำ�รายงานอย่างถูกต้องและ ทันการณ์ รวบรวมรายการทางบัญชีต่างๆ ทุกรายการ ไม่ว่า จะมีปริมาณมากหรือน้อย ข้อมูลทุกประเภทของบริษัทต้องการ บรรทัดฐานของความถูกต้อง แม่นยำ� และความโปร่งใส ไม่ว่า จะเป็นการส่งข้อมูลส่วนบุคคลให้ฝา่ ยทรัพยากรมนุษย์ การจัดทำ� รายงานค่าใช้จ่าย การบันทึกเวลาทำ�งาน การบันทึกข้อมูลลูกค้า

การบันทึกรายได้ การบันทึกรายการทางการเงินและรายการต่างๆ การบันทึกข้อมูลด้านการลงทุนหรือข้อมูลโดยรวมของบริษัท ทั้งนี้การบันทึกและการจัดทำ�รายงานที่ผิดพลาดหรือบิดเบือน ถือเป็นการฝ่าฝืนจรรยาบรรณ

4. การรักษาความลับของข้อมูล

พนักงานจะต้องไม่เปิดเผยข้อมูลของบริษัทที่ยังมิได้มีการเปิด เผยต่อสาธารณะ ยกเว้นในกรณีทเี่ ป็นไปตามกฎหมาย หรือได้รบั การอนุมตั จิ ากผูบ้ ริหารระดับสูง การรักษาความลับของข้อมูลนัน้ รวมถึงข้อมูลของลูกค้า ผลิตภัณฑ์ บริการ แผนงาน กลยุทธ์ วิธี การดำ�เนินการ และระบบงาน พนักงานจะต้องไม่นำ�ข้อมูลที่ได้ รับทราบหรือจัดทำ�ขึน้ จากหน้าทีก่ ารงานของบริษทั ไปใช้ในทาง ที่ก่อให้เกิดผลประโยชน์ส่วนตนหรือผู้อื่น การรักษาความลับของข้อมูลนี้ ให้รวมถึงข้อมูลส่วนบุคคลของ พนักงาน ข้อมูลเกี่ยวกับรายได้และผลประโยชน์และข้อมูล ทางการแพทย์ด้วย ข้อมูลดังกล่าวจะสามารถเผยแพร่ให้บุคคล ภายในหรือภายนอกบริษัทได้ เมื่อเป็นความรับผิดชอบโดยตรง และมีความจำ�เป็นอย่างยิ่งเท่านั้น พนักงานที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง กับข้อมูลส่วนบุคคลนี้ต้องปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าว โดยใช้ ความระมัดระวังอย่างยิ่ง และพึงรักษาความลับอย่างเคร่งครัด

5. การสื่อสาร

บริษัทยึดมั่นต่อการประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์และเปิดเผย การสื่อสารทั้งภายในและภายนอกองค์กรจะต้องถูกต้อง เที่ยง ตรง ตรงไปตรงมา และมีการใช้ช่องทางในการสื่อสารที่เหมาะ สมในแต่ละสถานการณ์ ห้ามการสื่อสาร การตีพิมพ์ประกาศทั้ง ภายในและภายนอกองค์กร ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสารด้วยวาจา หรือลายลักษณ์อักษรที่ไม่เป็นจริง บิดเบือน ประสงค์ร้าย หรือ ทำ�ลายชื่อเสียงของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ในการสื่อสารทุกครั้ง ต้องใช้ภาษาและนํ้าเสียงที่สุภาพ และไม่ทำ�ให้ภาพลักษณ์หรือ ชื่อเสียงของบริษัทต้องเสื่อมเสีย

6. การใช้ข้อมูลภายในเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์

ห้ามพนักงานซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั โดยทีพ่ นักงานรูข้ อ้ มูล ในฐานะพนักงานและเป็นข้อมูลทีย่ งั ไม่เปิดเผยต่อสาธารณะ รวม ทัง้ ห้ามแนะนำ�บุคคลอืน่ ซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ทีพ่ นักงาน มีข้อมูลภายใน

7. การคุกคาม

บริษัทยึดมั่นในการสร้างบรรยากาศที่ดี ในการทำ�งานให้เกิด ประสิทธิภาพและปราศจากการคุกคามใดๆ บริษัทจะทำ�การ สืบหาข้อเท็จจริงอย่างจริงจัง เมือ่ ได้รบั รายงานถึงเหตุการณ์หรือ พฤติกรรมใดที่ขัดต่อแนวปฏิบัตินี้ และหากเป็นจริง จะส่งผลต่อ การลงโทษทางวินัยรูปแบบต่างๆ ของการคุกคาม ได้แก่ 1. การคุกคามทางวาจา เช่น บิดเบือน ใส่ความ หรือ ทำ�ให้เสื่อมเสียชื่อเสียง 2. การคุ ก คามทางกาย เช่ น การข่ ม ขู่ การทำ�ร้ า ย ร่างกาย ขู่จะทำ�ร้ายร่างกาย

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

159


รายงานประจำ�ปี 2555

3. 4.

การคุ ก คามที่ ม องเห็ น ได้ เช่ น การสื่ อ ข้ อ ความ ก้าวร้าว การแสดงอากัปกิริยา หรือรูปภาพที่ก่อให้ เกิดความขุ่นเคือง การคุกคามทางเพศ เช่น การเกี้ยวพาราสี การร้องขอ ผลประโยชน์ หรื อ การล่ ว งละเมิ ด ทางเพศด้ ว ยกาย หรือวาจา

8. การพนัน เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และสิ่งเสพติด

ห้ามพนักงานครอบครอง ซื้อ ขาย ขนย้าย ดื่ม หรือใช้เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ยาเสพติด หรือสารควบคุม (ยกเว้นยาตามใบสัง่ ของ แพทย์) ในขณะอยู่ในทีท่ ำ�งาน หรือในระหว่างทำ�ธุรกิจของบริษทั ทัง้ นีอ้ าจอนุญาตให้พนักงานดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในปริมาณที่ เหมาะสมในสถานทีท่ ำ�งานได้ เฉพาะในงานเลีย้ งสังสรรค์หรือใน โอกาสอื่นๆ โดยต้องได้รับอนุญาตจากผู้บริหารระดับสูง ห้ามพนักงานเล่นการพนันทุกประเภทในระหว่างเวลาทำ�งาน หรือในพื้นที่ของบริษัท

9. การให้และรับของกำ�นัล การเลี้ยงรับรอง

บริษทั มุง่ มัน่ ในการสร้างความสัมพันธ์ทมี่ นั่ คงและยัง่ ยืนกับลูกค้า ผู้ถือหุ้น คู่ค้า และผู้ทำ�ธุรกิจร่วมกับบริษัท คุณธรรม และชื่อ เสียงที่ดีของบริษัท ย่อมเป็นรากฐานสำ�คัญสำ�หรับการสร้าง สัมพันธ์ดังกล่าว พนักงานต้องไม่รับของกำ�นัลจากบุคคลอื่น ไม่เรียกร้องหรือรับ สินบน สิ่งล่อใจ เงินให้กู้ยืม หรือการได้รับการปฏิบัติเป็นพิเศษ ที่อาจมีผลต่อการตัดสินใจทางธุรกิจของพนักงานในนามบริษัท การแลกเปลีย่ นของกำ�นัล หรือการเลีย้ งตอบแทนตามธรรมเนียม สามารถทำ�ได้ตามความเหมาะสม เพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ และเป็นการรักษาสัมพันธภาพทางธุรกิจ การรับของขวัญที่ไม่ใช่ ตัวเงิน อาจจะรับได้ในโอกาสที่เป็นพิธีการหรือตามธรรมเนียม อย่างไรก็ตามพนักงานควรหลีกเลี่ยงการเลี้ยงรับรอง หรือการ แลกเปลีย่ นของกำ�นัลทีม่ มี ลู ค่าสูง หรือมีความถีเ่ กินสมควร หรือ เป็นกรณีที่อาจทำ�ให้เกิดภาพลักษณ์ของการเกื้อหนุน หรือการมี พันธะต่อกัน เมื่อไม่แน่ใจถึงความเหมาะสมในการรับของกำ�นัล การบริการ ผลประโยชน์ หรือการแสดงนํ้าใจใดๆ ควรขอรับคำ�ปรึกษาจาก ผู้บังคับบัญชา

10. การทำ�งานอื่นหรือกิจกรรมภายนอก

พนักงานบริษัทต้องไม่เป็นพนักงานบริษัทอื่น หรือทำ�กิจกรรม ภายนอกอืน่ ๆ ที่ไม่เกีย่ วข้องกับบริษทั ในระหว่างการเป็นพนักงาน บริษัท หรือระหว่างการปฏิบัติหน้าที่

160 HERE IS HOME, HERE IS LPN

การปฏิบัติหน้าที่และความรับผิดชอบของ พนักงาน 1. หน้าที่ต่อบริษัท

- รักษาชื่อเสียงและเกียรติภูมิของบริษัท - มีความซื่อสัตย์สุจริต - ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต ามกฎระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ และวิ นั ย ของบริษัท - มีทศั นคติทด่ี แี ละมีความภาคภูมิใจ ไม่กล่าวร้ายต่อบริษทั - แจ้งเหตุการณ์ที่อาจมีผลกระทบต่อบริษัท การปฏิบัติ โดยมิชอบ หรือผิดกฎหมาย ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในเรื่อง ดังกล่าวของบริษัท เพื่อดำ�เนินการป้องกันและแก้ไข - ใช้ทรัพย์สินของบริษัทให้เกิดประโยชน์สูงสุด - ปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ รอบคอบ รวดเร็ว ขยันหมั่นเพียร ถูกต้องสมเหตุสมผล โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์ ของบริษัทเป็นสำ�คัญ - ประพฤติตนเป็นคนตรงต่อเวลา และใช้เวลาปฏิบัติงานให้ เป็นประโยชน์ต่อบริษัทอย่างเต็มที่ - งดออกเสียงหรือลงมติในการประชุม กรณีที่เข้าข่ายอัน อาจก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ - ให้ความร่วมมือและปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีของบริษัท

2. หน้าที่ต่อลูกค้า

- ปฏิบตั ติ อ่ ลูกค้าด้วยความสุภาพ ให้บริการอย่างรวดเร็วถูก ต้อง และด้วยความเสมอภาค - รักษาความลับและข้อมูลของลูกค้าอย่างเคร่งครัด - ประพฤติตนให้เป็นที่เชื่อถือของลูกค้า - ละเว้นการรับทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นใด ซึ่งมีมูลค่า เกินปกติวิสัยที่วิญญูชนจะให้กันโดยเสน่หาจากลูกค้า หากได้รับ ไว้แล้วและทราบภายหลังว่าทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดที่ได้ รับไว้มีมูลค่าเกินปกติวิสัย ให้รายงานผู้บังคับบัญชาทราบโดย เร็วเพื่อดำ�เนินการตามสมควรแก่กรณี - หลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่อาจทำ�ให้เกิดความขัดแย้งทางผล ประโยชน์กับลูกค้า

3. หน้าที่ต่อผู้ถือหุ้น

- มุ่งมั่นที่จะสร้างความเจริญเติบโตบนศักยภาพหรือขีด ความสามารถทีแ่ ท้จริง เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ได้รบั ผลตอบแทนทีย่ งั่ ยืน จากการทำ�งานที่มีประสิทธิภาพ และผลประกอบการที่ดีของ บริษัท - เคารพสิทธิของผู้ถือหุ้นในการได้รับข้อมูลที่จำ�เป็น เพื่อ ประเมินบริษัทโดยเท่าเทียมกันและจะเปิดเผยผลประกอบการ ฐานะการเงิน พร้อมข้อมูลสนับสนุนทีถ่ กู ต้องตามความจริง ตาม ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำ�หนด


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

- ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันในการประชุม ผู้ถือหุ้น

4. หน้าที่ต่อผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงาน

- ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือในการทำ�งานซึง่ กันและกัน - ให้ความเคารพ นับถือผู้บังคับบัญชา - ให้ความใส่ใจดูแลทุกข์สขุ และมีเมตตาธรรมต่อผูใ้ ต้บงั คับ บัญชา - ให้ความรู้และถ่ายทอดประสบการณ์ ในการทำ�งานให้แก่ ผู้ร่วมงาน - หลีกเลี่ยงการรับของขวัญ ของกำ�นัลอันมีมูลค่าสูงจาก ผู้ร่วมงานและผู้ใต้บังคับบัญชา - ไม่นำ�เรื่องส่วนตัวหรือข้อมูลของผู้ร่วมงานไปวิพากษ์ วิจารณ์ในทางเสื่อมเสีย - ปฏิบตั ติ อ่ ผูบ้ งั คับบัญชาและเพือ่ นร่วมงานด้วยความสุภาพ มีนํ้าใจ และมนุษย์สัมพันธ์อันดี - ละเว้นการนำ�ผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน - มีทศั นคติทดี่ ี ไม่กล่าวร้ายต่อผูบ้ งั คับบัญชาหรือเพือ่ นร่วม งาน โดยปราศจากความจริง และไม่เป็นธรรม

5. หน้าที่ต่อตนเอง

- เป็นผูม้ ศี ลี ธรรมอันดี และประพฤติตนให้เหมาะสม ละเว้น อบายมุขและการพนันทุกประเภท - มีสัจจะต่อตนเองและผู้อื่น - พัฒนาความรอบรูแ้ ละความสามารถ เพือ่ เพิม่ ทักษะในการ ปฏิบัติงานอยู่เสมอ - ใช้วชิ าชีพในการปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์ ไม่แสวงหา ผลประโยชน์โดยมิชอบ - งดเว้นการใช้ทรัพย์สิน อุปกรณ์ และเวลาปฏิบัติงานของ บริษัทเพื่อประโยชน์ส่วนตน - งดเว้นการนำ�ตำ�แหน่งหน้าทีแ่ ละความเกีย่ วข้องกับบริษทั ของตนไปแสดงออก เพื่อผลประโยชน์ทางการเมือง หรือเพื่อ สนับสนุนพรรคการเมืองใดๆ

4. ในกรณีที่พนักงานหรือบุคคลในครอบครัวเข้าไปมีส่วนร่วม หรือเป็นผู้ถือหุ้นในกิจการใดๆ ซึ่งอาจมีผลประโยชน์ หรือก่อให้ เกิดความขัดแย้งทางธุรกิจต่อบริษัท จะต้องแจ้งให้กรรมการ ผู้จัดการทราบเป็นลายลักษณ์อักษร 5. พนักงานต้องไม่กู้ยืมเงินจากคู่ค้าที่บริษัทดำ�เนินธุรกิจด้วย ยกเว้นสถาบันการเงิน เนื่องจากมีอิทธิพลต่อการปฏิบัติหน้าที่ ในฐานะตัวแทนบริษัท 6. ห้ามพนักงานจ่ายเงินหรือมอบทรัพย์สนิ ของบริษทั แก่ผใู้ ด โดย ไม่ได้รับอนุมัติจากผู้มีอำ�นาจ

การใช้ข้อมูลของบริษัท 1. พนั ก งานที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายเท่ า นั้ น ที่ มี สิ ท ธิ เ ข้ า ถึ ง แฟ้ ม ข้อมูล ไม่ว่าจะเก็บในรูปของแฟ้มข้อมูล คอมพิวเตอร์ หรือใน รูปแบบอื่นๆ 2. ห้ า มพนั ก งานที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ มอบหมายเข้ า ดู ข้ อ มู ล ทำ�ซํ้ า เผยแพร่ ลบทิง้ ทำ�ลาย หรือเปลีย่ นแปลงข้อมูล เปลีย่ นรหัสผ่าน หรือกระทำ�การอื่นใดที่ทำ�ให้เกิดความเสียหาย บริษัทจะตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบที่ เกี่ยวข้อง โดยให้อยู่ในความดูแลของฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ และ หัวหน้าสายงาน เพือ่ ให้แน่ใจว่ามีการปฏิบตั ทิ ถี่ กู ต้อง การทบทวน และปรับปรุงจรรยาบรรณจะกระทำ�ตามความเหมาะสมกับสภาพ แวดล้อมทางธุรกิจ

ความขัดแย้งของผลประโยชน์ 1. พนักงานต้องหลีกเลีย่ งการขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์สว่ นตัว และผลประโยชน์ของบริษทั ในการติดต่อกับคูค่ า้ และบุคคลอืน่ ใด 2. ระหว่างปฏิบัติงานให้บริษัท และหลังจากพ้นสภาพการปฏิบัติ งานแล้ว พนักงานจะต้องไม่เปิดเผยข้อมูลที่ถือว่าเป็นความลับ ของบริษัท เพื่อประโยชน์แก่ผู้ใดทั้งสิ้น 3. การทีพ่ นักงานไปเป็นกรรมการหรือทีป่ รึกษาในบริษทั องค์กร หรือสมาคมทางธุรกิจอื่น จะต้องไม่ขัดต่อประโยชน์ และการ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ โ ดยตรง รวมทั้ ง ต้ อ งได้ รั บ การอนุ มั ติ จากคณะ กรรมการบริษัทก่อน

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

161


รายงานประจำ�ปี 2555

การควบคุมภายใน คณะกรรมการบริษัทจัดให้มีระบบควบคุมภายในที่เพียงพอ และเหมาะสมกับการดำ�เนินกิจการ เพือ่ ลดหรือป้องกันความ เสี่ยงต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินของ บริษัท ซึ่งประกอบไปด้วย องค์กรและสภาพแวดล้อม คณะกรรมการบริ ษั ทมีการกำ�หนดเป้าหมายทางธุร กิจ ที่ ชัดเจนและสามารถวัดผลได้ โดยคำ�นึงถึงสมรรถนะและ ความสามารถในการแข่งขันขององค์กร มีการจัดทำ�แผน ธุรกิจประจำ�ปี โดยมีการทบทวนเป้าหมายการปฏิบัติงาน แล้วว่า การตั้งเป้าหมายได้ดำ�เนินการอย่างรอบคอบและ ในการกำ�หนดนโยบายและแผนธุรกิจของบริษัท บริษัทยัง ได้กำ�หนดโดยคำ�นึงถึงความเป็นธรรมที่มีต่อคู่ค้า เพื่อผล ประโยชน์ของบริษทั ในระยะยาว บริษทั ใช้ Key Performance Indicator (KPI’s) เป็นเครื่องมือในการพิจารณาผลตอบแทน ของพนักงาน บริษัทได้ทำ�การจัดโครงสร้างธุรกิจตามประเภทการดำ�เนิน ธุรกิจ เพื่อความชัดเจนและประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน รวมทั้งมีการจัดโครงสร้างอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการ บริษัท คณะกรรมการบริหาร ผู้บริหาร และพนักงานเป็น ลายลักษณ์อักษร บริษัทกำ�หนดเเนวทางการดำ�เนินธุรกิจ โดยใช้แนวทางการ สร้างสมดุลทุกมิติ (Balanced Scorecard) ซึ่งสอดคล้อง กับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทฤษฏีความยั่งยืน รวม ถึงกำ�หนดให้มีจรรยาบรรณธุรกิจของคณะกรรมการบริษัท และจรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงานเป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และ พนักงานพึงปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัดด้วยความซือ่ สัตย์สจุ ริตและ โปร่งใส นอกจากนี้ในการพัฒนาบุคคลากร บริษัทกำ�หนดค่านิยม องค์กรเป็นลายลักษณ์อกั ษร ภายใต้วถิ ี “Classic” เพือ่ ใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาบุคลากรทุกสายงาน

162 HERE IS HOME, HERE IS LPN

การบริหารความเสี่ยง บริษทั มีการบริหารความเสีย่ งอย่างเป็นระบบ โดยการวิเคราะห์ และประเมินปัจจัยเสี่ยงทั้งที่มาจากภายนอกและภายใน ซึง่ อาจจะมีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจเสมอ บริษัทได้จัดตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยมติที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 และกำ�หนดกฎบัตรคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ ย งเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร ทั้ ง นี้ ห น้ า ที่ สำ�คั ญ ของ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คือ การสอดส่องดูแล กระบวนการบริ ห ารความเสี่ ย งโดยรวมให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ เหมาะสม เพื่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่า บริษัทมีการบริหาร ความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลครอบคลุม ความเสีย่ งทุกด้านขององค์กร ติดตามและรายงานผลให้คณะ กรรมการบริษัทได้รับทราบ โดยคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งจะมี การประชุ ม ซึ่ ง กำ�หนดไว้เป็นการล่วงหน้าอย่างน้อยไตรมาสละหนึง่ ครัง้ และ รายงานการดำ�เนินงานให้คณะกรรมการบริษัทได้รับทราบ อย่างน้อยไตรมาสละหนึ่งครั้งเช่นกัน การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร บริษัทมีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างคณะ กรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร และผู้บริหารระดับ สูงอย่างชัดเจน มีการกำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ ตลอดจนความ รับผิดชอบของผูบ้ ริหารและผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคน มีการกำ�หนด อำ�นาจอนุมัติ และวงเงินอนุมัติของฝ่ายบริหารแต่ละระดับ ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร มีคณะกรรมการบริหารเป็นผู้ตรวจ สอบทบทวน และติดตามผลปฏิบัติงานของทุกฝ่าย มีคณะ กรรมการตรวจสอบซึ่งทำ�หน้าที่ในการสอบทานและตรวจ สอบงบการเงิน ประเมินการควบคุมภายใน มีคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงทำ�หน้าที่ในการประเมินและบริหารความ เสี่ยงของบริษัท นอกจากนี้บริษัทยังได้มีการกำ�หนดนโยบาย วิธีการปฏิบัติ งาน และกิจกรรมเพื่อควบคุม ซึ่งจะทำ�ให้ฝ่ายบริหารรวมถึง พนักงานตระหนักถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น และเพิ่มความ


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ระมัดระวังในการปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานให้ สำ�เร็จตามวัตถุประสงค์ อาทิเช่น 1. ด้ า นการบริ ห าร บริ ษั ท มี ก ารกำ�หนดวิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และเป้ า หมายของบริ ษั ท และย่ อ ยเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรและสื่ อ สารให้ บุ ค ลากรทุ ก คนใน บริษัท ได้เข้าใจ เพื่อ ให้การดำ�เนินการบรรลุตาม วัตถุประสงค์ และได้มีการวางแผนงาน การจัดสรร งบประมาณ และอัตรากำ�ลัง โดยได้มีการกำ�หนด กระบวนการทำ�งาน มีการติดตามและประเมินผล เพือ่ ให้ บุ ค ลากรปฏิ บั ติ ง านอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผล ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ 2. ด้านบัญชี-การเงิน มีระเบียบเกีย่ วกับการรับ-จ่ายเงิน ฝากธนาคาร เงินสำ�รองค่าใช้จ่าย โดยมีการบันทึก บัญชีอย่างถูกต้องครบถ้วนและสม่ำ�เสมอ 3. ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง บริษัทมีระเบียบในการจัดซื้อ จัดจ้าง มีการกำ�หนดหน้าที่ความรับผิดชอบ เช่น อำ�นาจการอนุมัติ การตรวจรับ การควบคุม การเก็บ รักษา เป็นต้น 4. ดา้ นการบริหารทรัพยากรมนุษย์ บริษทั มีกระบวนการ สรรหาเพื่อให้ได้บุคคลากรที่มีความรู้ความสามารถ ตามทีก่ ำ�หนด มีระบบค่าตอบแทนทีเ่ หมาะสมและเป็น ธรรม มี การจั ด โครงสร้ า งองค์ กรแต่ ล ะส่ ว นงาน กำ�หนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบและระบบติดตามผลไว้ ชัดเจน มีระบบการให้ข้อมูล และการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพเพียงพอ

ระบบบริหารต้นทุน ระบบพัฒนาและบริหารทรัพยากรบุคคล ระบบสื่อสารภายในองค์กรทุกระบบจะเชื่อมโยงทั่วถึงกัน ทั้งองค์กร ซึ่งทำ�ให้สามารถควบคุม และป้องกันปัญหา จากความผิดพลาด มีการประเมินและติดตามเพื่อให้ระบบ มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับนโยบายของบริษัท จึงได้ ข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้องตรงกัน เชื่อถือได้ และรวดเร็ว ช่วยให้ฝ่ายบริหารได้รับรู้ข้อมูลตรงเวลา และสามารถใช้เพื่อ ประกอบการตัดสินใจได้ทันเหตุการณ์ บริษัทมีมาตรการป้องกันความปลอดภัยสำ�หรับฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ และระบบฐานข้อมูล โดยมีโปรแกรมไฟร์วอลล์ ป้องกันการบุกรุก โปรแกรมป้องกันไวรัส มีการจัดทำ�สัญญา บำ�รุงรักษาเครือ่ งเซิรฟ์ เวอร์ ตลอดจนระบบการสำ�รองข้อมูล ที่มีประสิทธิภาพและการแยกจัดเก็บไว้ในที่ที่ปลอดภัย ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริษัทมอบหมายให้คณะกรรมการบริหารเป็น ผูต้ ดิ ตามและควบคุมการปฏิบตั งิ านของฝ่ายบริหารอย่างใกล้ ชิด โดยมีการประชุมร่วมกันอย่างสม่ำ�เสมอทุกสัปดาห์ และ จัดให้มีการรายงานผลการดำ�เนินงานตามแผนธุรกิจที่ได้รับ อนุมัติจากคณะกรรมการบริษัททุกไตรมาส เพื่อให้ทราบถึง ความแตกต่างจากเป้าหมายทีก่ ำ�หนดไว้ และกำ�หนดแนวทาง การแก้ไข เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ บริษทั มีการติดตามประเมินผลการควบคุมภายในและประเมิน คุณภาพการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง และส่วนหนึ่งเป็น กระบวนการปฏิบตั งิ านตามปกติของฝ่ายบริหารและฝ่ายงาน ที่เกี่ยวข้อง

ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล บริษัทมีการสื่อสารข้อมูลไปยังคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้ ได้ข้อมูลที่มีคุณภาพและเพียงพอต่อการตัดสินใจ โดยคณะ กรรมการบริษทั จะได้รบั เอกสารประกอบการประชุมอย่างน้อย ภายในระยะเวลาขั้นต่ำ�ตามกฎหมายกำ�หนด และในรายงาน การประชุมคณะกรรมการบริษัทจะมีบันทึกข้อซักถามความ เห็น หรือข้อสังเกตของกรรมการที่สามารถตรวจสอบได้ บริษัทจัดให้มีระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อ สนับสนุนการปฏิบัติงานภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการพัฒนาระบบสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง โดยมีฝ่าย เทคโนโลยีสารสนเทศ รวบรวม วิเคราะห์ และตรวจสอบให้มี ความถูกต้องสมบูรณ์ และเป็นปัจจุบันในรูปแบบที่เข้าใจง่าย เหมาะแก่การใช้งาน โดยคำ�นึงถึงการจัดเก็บทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มี ก ารสำ�รองข้ อ มู ล ที่ สำ�คั ญ และจั ด เก็ บ ในที่ ที่ ป ลอดภั ย มีรายงานต่างๆ เช่น ระบบการขาย ระบบบัญชี-การเงิน

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

163


รายงานประจำ�ปี 2555

รายการระหว่างกัน ในปี 2555 มีรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นกับบริษัทย่อย และบริษัทร่วม ที่ได้ทำ�การซื้อขาย หรือตกลงว่าจ้างกัน โดยใช้เงื่อนไข และราคาตลาดเช่นเดียวกับที่ทำ�กับบุคคลภายนอก ณ ขณะนั้นๆ สรุป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ดังนี้คือ รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัท กับ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ได้แก่ รายการ 1. การส่งเสริมและรักษาความนิยมแบรนด์ (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 2. ค่าบริหารจัดการฐานลูกค้า (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 3. ค่านายหน้าจากการจัดหาผูเ้ ช่า รวม 4 โครงการ 4. ค่าบริหารและจัดเก็บรายได้ทจ่ี อดรถ 4.1 การบริหารและจัดการ อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ร้อยละ 80 และอาคารแอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร์ ร้อยละ 20 4.2 การจัดเก็บรายได้ค่าที่จอดรถ รวม 2 โครงการ 5. ค่าบริหารชุมชนต่อโครงการ รวม 9 โครงการ ได้แก่ 5.1 ลุมพินี คอนโดทาวน์ นิด้า-เสรีไทย (ม.ค. 2555 - ก.พ. 2555) 5.2 ลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง (ม.ค. 2555 - เม.ย. 2555) 5.3 ลุมพินี คอนโดทาวน์ นิด้า-เสรีไทย 2 (เม.ย. 2555 - ก.ค. 2555) 5.4 ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3 (ส.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 5.5 ลุมพินี วิลล์ พิบูลสงคราม-ริเวอร์วิว (ส.ค. 2555 - ต.ค. 2555) 5.6 ลุมพินี วิลล์ แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด (15 พ.ย. 2555 - ธ.ค. 2555) 5.7 ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า (ธ.ค. 2555) 5.8 ลุมพินี คอนโดทาวน์ พัทยาเหนือ-สุขุมวิท (ก.ย. 2555 - ธ.ค. 2555) 5.9 ลุมพินี วิลล์ พัฒนาการ-เพชรบุรีตัดใหม่ (ส.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 6. การบริการจดทะเบียน/วางระบบอาคารชุด 6.1 การบริการจดทะเบียนอาคารชุด 6.1.1. ลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง 6.1.2. ลุมพินี คอนโดทาวน์ นิด้า-เสรีไทย 2 6.1.3. ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3 6.1.4. ลุมพินี วิลล์ พัฒนาการ-เพชรบุรีตัดใหม่ 6.1.5. ลุมพินี วิลล์ พิบูลสงคราม-ริเวอร์วิว 6.1.6. ลุมพินี วิลล์ แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด 6.1.7. ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า 6.1.8. ลุมพินี คอนโดทาวน์ พัทยาเหนือ-สุขุมวิท 6.2 การบริการวางระบบอาคารชุด 6.2.1. ลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง 6.2.2. ลุมพินี คอนโดทาวน์ นิด้า-เสรีไทย 2 6.2.3. ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3

164 HERE IS HOME, HERE IS LPN

จำ�นวนเงินตามสัญญา 7,970,000 / เดือน 5,480,000 / เดือน ค่าเช่า 1 เดือน / สัญญาเช่า 1 ปี 72,000.00 บาท / เดือน 3% ของยอดรายได้ 150,000.00 บาท / เดือน 260,000.00 บาท / เดือน 150,000.00 บาท / เดือน 300,000.00 บาท / เดือน 350,000.00 บาท / เดือน 400,000.00 บาท / เดือน 220,000.00 บาท / เดือน 140,000.00 บาท / เดือน 175,000.00 บาท / เดือน

150,000.00 บาท 150,000.00 บาท 150,000.00 บาท 150,000.00 บาท 150,000.00 บาท 150,000.00 บาท 150,000.00 บาท 150,000.00 บาท 200,000.00 บาท 200,000.00 บาท 200,000.00 บาท


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

รายการ 6.2.4. ลุมพินี วิลล์ พัฒนาการ-เพชรบุรีตัดใหม่ 6.2.5. ลุมพินี วิลล์ พิบูลสงคราม-ริเวอร์วิว 6.2.6. ลุมพินี วิลล์ แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด 6.2.7. ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า 6.2.8. ลุมพินี คอนโดทาวน์ พัทยาเหนือ-สุขุมวิท 7. ค่าบริหารจัดการห้องชุดเพื่อการพาณิชย์ภายในโครงการอาคารชุดพักอาศัย (เหมาจ่าย) 8. ค่าบริหารห้องเช่า (ห้องพักอาศัย หรือ สำ�นักงาน) รวม 5 โครงการ ได้แก่ อาคารแอล.พี.เอ็น.ทาวเวอร์ อาคารลุมพินี ทาว์เวอร์ ลุมพินี เซ็นเตอร์ แฮปปี้แลนด์ อาคาร E ลุมพินี วิลล์ พระแม่มารี-สาทร สี่พระยา ริเวอร์วิว 9. ค่านายหน้าจากการขายห้องชุด รวม 6 โครงการ 10. ค่าเช่าและบริการสำ�นักงาน อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชัน้ 36 โซน D (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) ค่าเช่าและบริการสำ�นักงาน อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชัน้ 28 โซน E,F (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 11. ค่าเช่า Shop รวม 3 โครงการ 11.1 ลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทร์เดชา-รามคำ�แหง (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 11.2 ลุมพินี เพลส พระราม 9 - รัชดา (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 11.3 ลุมพินี พาร์ค ปิ่นเกล้า (ส.ค. 2555 - ธ.ค. 2555)

จำ�นวนเงินตามสัญญา 200,000.00 บาท 200,000.00 บาท 200,000.00 บาท 200,000.00 บาท 200,000.00 บาท 168,000.00 / เดือน 10% ของค่าเช่ารายเดือน 2% ของมูลค่าขาย 10,000.00 บาท / เดือน 251,586.00 บาท / เดือน 93,834.00 บาท 205,002.00 บาท 97,860.00 บาท

รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัท กับ บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด ได้แก่ รายการ 1. การบริหารงานก่อสร้างโครงการ รวม 18 โครงการ 2. การบริหารงานโครงการ (ดำ�เนินงานซ่อม) (เหมาจ่าย) 3. ค่าเช่าและบริการสำ�นักงาน อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชัน้ 36 โซน E,F (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 4. ค่าเช่าและบริการสำ�นักงาน อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชัน้ 28 โซน C (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555)

จำ�นวนเงินตามสัญญา 119,243,284.05 บาท / 18 โครงการ 911,214.95 บาท / เดือน 5,000.00 บาท / เดือน 89,780.00 บาท / เดือน

รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัท กับ บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด ได้แก่ รายการ 1. ค่าเช่าสำ�นักงาน อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชัน้ 36 (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 2. ค่าเช่า,ค่าบริการสำ�นักงาน อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชัน้ 28 โซน D (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 3. ค่าบริการรักษาความสะอาด 3.1 ห้องสัมมนาชั้น 11 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 3.2 สำ�นักงาน ชั้น 36 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 3.3 ลานจอดรถ อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ (ม.ค. 2555- ธ.ค. 2555)

จำ�นวนเงินตามสัญญา 300.00 บาท / เดือน 18,090.00 บาท / เดือน 14,000.00 บาท / เดือน 56,000.00 บาท / เดือน 28,000.00 บาท / เดือน

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

165


รายงานประจำ�ปี 2555

รายการ 3.4 ลานจอดรถ อาคารแอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร์ (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 3.5 ศูนย์ฝึกอบรม ซิตี้โฮม (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 3.6 สำ�นักงานก่อสร้าง สำ�นักงานขาย สำ�นักงานนิติฯ และ สำ�นักงานฝ่ายบริการลูกค้า (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 4. ค่าบริการพนักงานต้อนรับ (ฝ่ายขาย ส่วนงานนิตฯิ ) 5. ค่าส่งเสริมและรักษาความนิยมแบรนด์ (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555)

จำ�นวนเงินตามสัญญา 14,000.00 บาท / เดือน 14,000.00 บาท / เดือน ตามงวดทีป่ ฏิบตั งิ านจริง ตามงวดทีป่ ฏิบตั งิ านจริง 1,990,000 / เดือน

รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัท กับ บริษัท พรสันติ จำ�กัด ได้แก่ รายการ 1. ค่าเช่า,ค่าบริการสำ�นักงาน และค่าสาธารณูปโภค (อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชัน้ 36 โซน C ) (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 2. ค่าเช่าศูนย์ฝกึ อบรมซิต้โี ฮม (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 3. ดอกเบีย้ ค่าตัว๋ สัญญาใช้เงิน (Promissory Notes) - อัตราดอกเบี้ย 4.30% - 4.76%

จำ�นวนเงินตามสัญญา 1,500.00 บาท / เดือน 370,000.00 บาท / เดือน 4,463,072.76 บาท

รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัท พรสันติ จำ�กัด กับ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ได้แก่ รายการ 1. ค่าบริหารห้องเช่า รวม 3 โครงการ 2. ค่านายหน้าจากการจัดหาผูเ้ ช่า รวม 3 โครงการ

จำ�นวนเงินตามสัญญา 10% ของค่าเช่า / เดือน / ห้อง ค่าเช่า 1 เดือน / สัญญาเช่า 1 ปี ค่าเช่า 0.50 เดือน เมือ่ ต่อสัญญาเช่า

รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัท พรสันติ จำ�กัด กับ บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด ได้แก่ รายการ 1. การบริหารงานก่อสร้างโครงการ 2 โครงการ ได้แก่ 1.1 ลุมพินี ทาวน์ เรสซิเดนซ์ ลาดพร้าว สเตชั่น 1.2 ลุมพินี ทาวน์ เพลส รัชโยธิน-เสนาฯ

จำ�นวนเงินตามสัญญา 175,000 บาท / เดือน 179,000 บาท / เดือน

รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัท พรสันติ กับ บริษัทลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด ได้แก่ รายการ 1. ค่าบริการรักษาความสะอาด สำ�นักงานขาย 1.1 ลุมพินี ทาวน์ เรสซิเดนซ์ ลาดพร้าว สเตชั่น 1.2 ลุมพินี ทาวน์ เพลส รัชโยธิน-เสนาฯ 2. ค่าบริการรักษาความสะอาด สำ�นักงานก่อสร้าง 2.1 ลุมพินี ทาวน์ เรสซิเดนซ์ ลาดพร้าว สเตชั่น 2.2 ลุมพินี ทาวน์ เพลส รัชโยธิน-เสนาฯ

166 HERE IS HOME, HERE IS LPN

จำ�นวนเงินตามสัญญา ตามงวดการปฏิบตั งิ านจริง ตามงวดการปฏิบตั งิ านจริง ตามงวดการปฏิบตั งิ านจริง ตามงวดการปฏิบตั งิ านจริง


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด กับ บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด ได้แก่ รายการ จำ�นวนเงินตามสัญญา 1. ค่าบริการรักษาความสะอาด (อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชัน้ 28 โซน C ) (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555)

14,000.00 บาท / เดือน

รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด กับ บริษัท แกรนด์ ยูลิฟวิ่ง จำ�กัด ได้แก่ รายการ 1. ค่าบริการรักษาความสะอาด-สำ�นักงานขาย-ยู ดีไลท์ จตุจกั ร (ม.ค. 2555 - มี.ค. 2555) 2. ค่าบริการรักษาความสะอาด-สำ�นักงานก่อสร้าง-ยู ดีไลท์ จตุจกั ร (ม.ค. 2555 - มี.ค. 2555)

จำ�นวนเงินตามสัญญา 12,500.00 บาท / เดือน 12,500.00 บาท / เดือน

รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด กับ บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด ได้แก่ รายการ 1. ค่าบริการรักษาความสะอาด - สำ�นักงานขาย รวม 6 โครงการ 1. ยู ดีไลท์ 2 บางซื่อ (ต.ค. 2555 - พ.ย. 2555) 2. ยู ดีไลท์ อ่อนนุช (ม.ค. 2555 - ก.ย. 2555) 3. ยู ดีไลท์ พัฒนาการ (ม.ค. 2555 - พ.ย. 2555) 4. ยู ดีไลท์ ประชาชื่น (ม.ค. 2555 - ต.ค. 2555) 5. คอนโด ยู หัวหมาก (เม.ย. 2555 - ก.ค. 2555) 6. คอนโด ยู รัชโยธิน (ส.ค. 2555 - พ.ย. 2555) - ห้องชุด รวม 3 โครงการ 1. ยู ดีไลท์ 2 - บางซื่อ (ก.ย. 2555 - พ.ย. 2555) 2. ยู ดีไลท์ - อ่อนนุช (เม.ย. 2555 - ก.ค. 2555) 3. คอนโด ยู หัวหมาก (ส.ค. 2555 - ก.ย. 2555) - สำ�นักงานก่อสร้าง-ยู ดีไลท์ อ่อนนุช (พ.ค. 2555 - พ.ค. 2555) 2. ค่าบริการพนักงานต้อนรับ 1. ยู ดีไลท์ 2 บางซื่อ (ต.ค. 2555 - พ.ย. 2555) 2. ยู ดีไลท์ อ่อนนุช (พ.ค. 2555 - ก.ค. 2555)

จำ�นวนเงินตามสัญญา

15,500.00 บาท / เดือน 15,500.00 บาท / เดือน 15,500.00 บาท / เดือน 15,500.00 บาท / เดือน ตามงวดการปฏิบตั งิ านจริง ตามงวดการปฏิบตั งิ านจริง ตามงวดการปฏิบตั งิ านจริง ตามงวดการปฏิบตั งิ านจริง ตามงวดการปฏิบตั งิ านจริง 15,500.00 บาท / เดือน ตามงวดการปฏิบตั งิ านจริง ตามงวดการปฏิบตั งิ านจริง

รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด กับ บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด ได้แก่ รายการ 1. ค่ารักษาความสะอาด 1.1 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชั้น 28 โซน E,F (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 1.2 สำ�นักงานขายฝ่ายธุรกิจนายหน้า รวม 5 โครงการ 1.2.1 ลุมพินี พาร์ค ปิ่นเกล้า (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 1.2.2 ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจ้าพระยา (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555)

จำ�นวนเงินตามสัญญา 14,000.00 บาท / เดือน 15,500.00 บาท / เดือน 15,500.00 บาท / เดือน

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

167


รายงานประจำ�ปี 2555

รายการ

จำ�นวนเงินตามสัญญา

1.2.3 ลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทรเดชา-รามคำ�แหง (ม.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 1.2.4 ลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง (ก.ค. 2555 - 15 ก.ย. 2555) 1.2.5 ลุมพินี วิลล์ ราษฎร์บูรณะ-ริเวอร์วิว (ม.ค. 2555 - ส.ค. 2555) 1.3 ห้องชุด 1 โครงการ - สวางคนิเวศ (ต.ค. 2555 - ธ.ค. 2555) 2. ค่าบริการรักษาความปลอดภัย - สวางคนิเวศ

15,500.00 บาท / เดือน 15,500.00 บาท / เดือน 15,500.00 บาท / เดือน 30,000.00 บาท / เดือน 44,000.00 บาท / เดือน

รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นระหว่างบริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด กับ บริษัท แกรนด์ ยูลิฟวิ่ง จำ�กัด ได้แก่ รายการ

จำ�นวนเงินตามสัญญา

1. ค่าบริการวางระบบอาคารชุด - ยู ดีไลท์ อ่อนนุช 2. ค่าบริหารชุมชน 2 โครงการ 2.1 ยู ดีไลท์ อ่อนนุช (มี.ค. 2555 - ก.ค. 2555) 2.2 ยู ดีไลท์ 2 บางซื่อ (ก.ย. 2555 - พ.ย. 2555)

150,000.00 บาท 275,000.00 บาท / เดือน 275,000.00 บาท / เดือน

การกู้ยืมระหว่างกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ผู้ให้กู้ บมจ. แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท์

ผู้กู้

ลักษณะการกู้ยืม

จำ�นวนเงิน (ล้านบาท)

อัตราดอกเบี้ย ต่อปี (ร้อยละ)

บริษทั พรสันติ จำ�กัด

ตัว๋ สัญญาใช้เงิน

110,258,600.00

4.55

168 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

รายการระหว่างกันกับบุคคลที่มีผลประโยชน์ร่วม บริษทั มีนโยบายสนับสนุนให้พนักงานและผูเ้ กีย่ วข้องมีทพ่ี กั เป็นของตนเองโดยให้สว่ นลดเป็นสวัสดิการ สำ�หรับพนักงานทีจ่ องซื้อ ห้องชุดในโครงการต่างๆ ของบริษัท โดยกำ�หนดหลักการดังนี้ 1. เป็นการซื้อ-ขายในนามพนักงานและมีวัตถุประสงค์เพื่อการพักอาศัยเท่านั้น 2. ให้ส่วนลดเมื่อโอนกรรมสิทธิ์ห้องชุด ในส่วนลดจะมีการแจ้งประกาศให้ทราบทั่วกันทั้งบริษัทเป็นรายโครงการ 3. สิทธิประโยชน์อื่นๆ ใช้หลักการเดียวกับลูกค้าทั่วไปทุกประการ ลุมพินี เพลส รัชโยธิน ชื่อ

ยูนิต

1. อรุณรัตน์ สินค้าเจริญ

B-0524

จำ�นวน ห้องชุด 1

รวม

ราคาขายรวม

ส่วนลดเมื่อโอน

หมายเหตุ

2,060,000.00

179,000.00

โอน พ.ค. 2555

2,060,000.00

179,000.00

ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3 1. สมพงษ์ ขวัญอำ�ไพพันธุ์

D-1823

จำ�นวน ห้องชุด 1

2. สมศรี เตชะไกรศรี

B-1912S

1

ชื่อ

ยูนิต

ราคาขายรวม

ส่วนลดเมื่อโอน

หมายเหตุ

2,144,000.00

47,088.00

โอน ก.ย. 2555

2,060,000.00

288,094.00

โอน ก.ย. 2555

4,204,000.00

335,182.00

ราคาขายรวม

ส่วนลดเมื่อโอน

หมายเหตุ

1,320,000.00

311,000.00

โอน ก.ค. 2555

1,320,000.00

311,000.00

ราคาขายรวม

ส่วนลดเมื่อโอน

หมายเหตุ

2,140,000.00

-

ยังไม่โอน

2,140,000.00

-

จำ�นวน ห้องชุด

ราคาขายรวม

ส่วนลดเมื่อโอน

หมายเหตุ

3

5,206,000.00

-

ยังไม่โอน

5,206,000.00

-

รวม

ลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง ชื่อ

ยูนิต

1. อรุณรัตน์ สินค้าเจริญ

A-1103

จำ�นวน ห้องชุด 1

รวม

ลุมพินี เมกะซิตี้-บางนา ชื่อ

ยูนิต

1. จรัญ เกษร

D-0940,D-0941

จำ�นวน ห้องชุด 2

รวม

ลุมพินี วิลล์ นาเกลือ-วงศ์อมาตย์ ชื่อ 1. พรทิพย์ ชัยพูล รวม

ยูนิต A-1425, C-1507, C-1508

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

169


รายงานประจำ�ปี 2555

ลุมพินี พาร์คบีช จอมเทียน ชื่อ 1. พรทิพย์ ชัยพูล

ยูนิต A-1519

จำ�นวน ห้องชุด 1

รวม

ราคาขายรวม

ส่วนลดเมื่อโอน

หมายเหตุ

3,520,000.00

-

ยังไม่โอน

3,520,000.00

-

ราคาขายรวม

ส่วนลดเมื่อโอน

หมายเหตุ

1,050,000.00

-

ยังไม่โอน

1,050,000.00

-

ราคาขายรวม

ส่วนลดเมื่อโอน

หมายเหตุ

2,616,000.00

-

ยังไม่โอน

ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 77 (2) ชื่อ 1. เผ่าไท สินค้าเจริญ

ยูนิต B2-0904

จำ�นวน ห้องชุด 1

รวม

ลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์-งามวงศ์วาน ชื่อ 1. วิภา ศรีพยัคฆ์

จำ�นวน ห้องชุด B-1422, B-1423 2 ยูนิต

2. สมศรี เตชะไกรศรี

B-2222

1

2,696,000.00

-

ยังไม่โอน

2. ไตรรัตน์ บุญนันทกุล

C-1523, E-0913

2

2,496,000.00

-

ยังไม่โอน

7,808,000.00

-

รวม

ข้อพิพาททางกฎหมาย บริษทั ไม่มขี อ้ พิพาททางกฎหมายในลักษณะคดีทบี่ ริษทั จะมีผลกระทบทางด้านลบต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั อย่างมีนยั สำ�คัญ

170 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

บทที่ 7 รายงานด้านการเงิน สร้างผลประกอบการที่เหมาะสม เพื่อการเติบโตร่วมกันอย่างยั่งยืน

บ้านหลังใหญ่ หัวใจเดียวกัน WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

171


รายงานประจำ�ปี 2555

คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ ผลการดำ�เนินงานของบริษัทโดยรวม บ​ ริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งดำ�เนินธุรกิจพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยภายใต้แนวทางการพัฒนา อย่างยัง่ ยืน ความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม และการบริหารความเสีย่ งควบคูก่ นั ไป โดยในปี 2555 นีบ้ ริษทั มีโครงการ ทีแ่ ล้วเสร็จทัง้ สิน้ รวม 9 โครงการ มูลค่ารวมประมาณ 14,600 ล้านบาท โดยมีรายได้รวมในครึง่ ปีแรก 3,036.34 ล้านบาท และ 9,242.95 ล้านบาท สำ�หรับครึ่งปีหลัง จาก 3 และ 6 โครงการตามลำ�ดับ โดยเฉพาะในช่วง 2 เดือนสุดท้ายของปี 2555 บริษัท ได้ส่งมอบห้องชุดและโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่ลูกค้ามีมูลค่าเกือบ 7,000 ล้านบาท หรือกว่าร้อยละ 50 ของรายได้จากการขายใน ปี 2555 อันเนื่องจากการชะลอการเปิดตัวโครงการในช่วงที่มีความเสี่ยงทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง แต่ด้วยประสิทธิภาพ ของการดำ�เนินงาน ทั้งความรวดเร็วในการก่อสร้างภายใต้การควบคุมคุณภาพอย่างเคร่งครัด การโอนกรรมสิทธิ์ อีกทั้งความ เชื่อมั่นของลูกค้าที่มีต่อแบรนด์ “ลุมพินี” บริษัทจึงคงบรรลุเป้าหมายตามที่กำ�หนดไว้ พร้อมทั้งรักษาอัตรากำ�ไรขั้นต้นให้อยู่ ในระดับร้อยละ 30 แม้จะมีผลกระทบทางด้านต้นทุนอันเกิดจากค่าแรงขั้นตํ่าที่ปรับขึ้นตามนโยบายของภาครัฐ ป​ ี 2555 บริษทั บริษทั ย่อย และบริษทั ร่วมมีรายได้รวม 13,482.52 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปี 2554 ที่มีรายได้ รวม 12,444.52 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.43 โดยมาจากโครงการที่บริษัทก่อสร้างแล้วเสร็จและรับรู้รายได้ ได้แก่ โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ นิดา้ -เสรีไทย โครงการลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ นิด้า-เสรีไทย 2 โครงการลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3 โครงการลุมพินี วิลล์ พิบูลสงคราม-ริเวอร์วิว โครงการลุมพินี วิลล์ พัฒนาการเพชรบุรีตัดใหม่ โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ พัทยาเหนือ-สุขุมวิท โครงการลุมพินี วิลล์ แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด และโครงการ ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า และบางส่วนมาจากโครงการทีแ่ ล้วเสร็จในปีกอ่ นหน้า โดยอัตราส่วนกำ�ไรขัน้ ต้น จากการขายปรับตัวลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 33.26 ในปี 2554 เป็นร้อยละ 32.50 สำ�หรับรายได้จากธุรกิจให้เช่าและบริการ และธุรกิจให้บริการบริหารจัดการเพิ่มขึ้นจากปี 2554 ร้อยละ 24.82 รายการ

ยอดขาย

(ยูนิต) (ล้านบาท) (ยูนิต) 1. รับรู้ 2. รายได้จากการขาย (ล้านบาท) (ล้านบาท) 3. ต้นทุนขาย (ร้อยละ) 4. กำ�ไรขั้นต้น

ปี 2555 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 3,898 4,465 2,667 4,221 4,862.99 6,136.38 3,768.04 3,973.69 1,897 949 1,584 4,962 2,068.59 1,020.85 3,011.98 6,848.89 1,466.76 686.78 1,961.69 4,626.30 29.09 32.72 34.87 32.45

172 HERE IS HOME, HERE IS LPN

ปี 2554 รวมไตรมาส 1-4 15,251 18,741.10 9,392 12,950.32 8,741.53 32.50

11,448 14,247.24 8,093 12,034.78 8,031.88 33.26


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ฐานะการเงิน สำ�หรับฐานะการเงินของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีสินทรัพย์รวม 13,903.94 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 9,593.07 ล้านบาท ในปี 2554 เนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์หมุนเวียนในส่วนของสินค้าคงเหลือ 1,815.21 ล้านบาท ที่ดิน และต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง 1,675.29 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทมีสินค้าที่รอการโอนกรรมสิทธิ์ในไตรมาส 1 ของปี 2556 และมีการซื้อที่ดิน 7 แปลง เพื่อรอเปิดโครงการในปี 2556 รวมถึงการเพิ่มขึ้นของเงินสด 872.67 ล้านบาท เหลือจาก การโอนกรรมสิทธิ์จำ�นวนมากในช่วงปลายปี สำ�หรับหนี้สินรวมของบริษัท เพิ่มขึ้นจาก 2,464.54 ล้านบาทในปี 2554 เป็น 5,539.45 ล้านบาท ในปี 2555 ซึง่ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 124.77 จากการเบิกเงินกูท้ ัง้ ระยะสัน้ และระยะยาวจำ�นวน 2,228.30 ล้านบาท เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่ายจำ�นวน 705.82 ล้านบาท ซึ่งบริษัทยังคงมีสภาพคล่องเพียงพอสำ�หรับใช้ในการดำ�เนินกิจการ

โครงสร้างเงินทุน ในส่วนโครงสร้างเงินทุนของบริษัทในปี 2555 บริษัทมีหนี้สินในอัตราร้อยละ 39.84 และส่วนของผู้ถือหุ้นในอัตราร้อยละ 60.16 สะท้อนให้เห็นถึงความมั่นคงของฐานะการเงินของบริษัท ที่โครงสร้างเงินทุนมาจากส่วนของผู้ถือหุ้นมากกว่าหนี้สิน โดยมีอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อทุนเพิ่มขึ้นจาก 0.35 เท่า ในปี 2554 เป็น 0.66 เท่า เนื่องจากบริษัทมีการกู้เงินเพื่อพัฒนา โครงการอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ค่าเฉลี่ยหนี้สินต่อทุนของหมวดบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ในหมวดพัฒนา อสังหาริมทรัพย์จำ�นวน 12 บริษัทของไตรมาส 3/2555 เท่ากับ 1.43 เท่า ข้อมูลเปรียบเทียบระหว่างผลประกอบการงบการเงินรวมของบริษัทกับค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม ณ ไตรมาส 3/2555 รายการ

1. ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร / รายได้รวม (%) 2. ดอกเบี้ยจ่าย / รายได้รวม (%) 3. กำ�ไรสุทธิ / รายได้รวม (%) 4. อัตราส่วนหนี้สิน / ทุน (เท่า) 5. อัตราผลตอบแทน / สินทรัพย์รวม (%) 6. อัตราผลตอบแทน / ทุน (%)

ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม

บมจ. แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์

19.65 1.76 13.40 1.43 3.91 8.87

13.67 0.09 15.35 1.07 6.64 13.78

หมายเหตุ : ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมคำ�นวณจาก 12 บริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ได้แก่ บริษัท อารียา พรอพเพอร์ตี้ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เอเชี่ยน พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ลลิล พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท แลนด์แอนด์เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท มั่นคงเคหะการ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั โนเบิล ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ปริญสิริ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั พฤกษา เรียลเอสเตท จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท แสนสิริ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ศุภาลัย จำ�กัด (มหาชน)

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

173


รายงานประจำ�ปี 2555

สภาพคล่องและความสามารถในการทำ�กำ�ไร อ​ ัตรากำ�ไรสุทธิต่อรายได้รวมของบริษัท ในปี 2555 เท่ากับร้อยละ 16.53 สูงกว่าปี 2554 ที่เท่ากับร้อยละ 15.50 เป็นผล จากการปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากอัตราร้อยละ 30 เหลือร้อยละ 23 เ​มื่อพิจารณางบกระแสเงินสด ณ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทมีเงินสดคงเหลือและเงินลงทุนระยะสั้นจำ�นวน 1,167.63 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งมี 294.96 ล้านบาท หรือร้อยละ 295.86 เนื่องจากบริษัทมีเงินรับในช่วงปลายปีเป็น จำ�นวนมากที่ยังไม่สามารถชำ�ระหนี้ได้เพราะยังไม่ถึงกำ�หนด

การเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญและแนวโน้มในอนาคต ต​ ามที่บริษัทได้ดำ�เนินงานตามแผนการพัฒนาโครงการมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่กระบวนการบริหารงานขาย การก่อสร้าง การ ส่งมอบห้องชุด และการโอนกรรมสิทธิ์ที่เป็นไปตามเป้าหมาย ส่งผลให้บริษัทมีสภาพคล่อง สร้างการเติบโตอย่างต่อเนื่อง และมั่นคง ซึ่งตั้งแต่ปี 2555-ปัจจุบัน บริษัทมีโครงการที่อยู่ภายใต้การพัฒนาทั้งสิ้น จำ�นวน 16 โครงการ คิดเป็น 36,013 ยูนิต มูลค่ารวม 37,420.00 ล้านบาท โดยในปลายปี 2555 บริษัทได้มีการลงทุนซื้อที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการในปี 2556 อีก 7 โครงการ ได้แก่ โครงการลุมพินี พาร์คบีช ชะอำ� โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ อ่อนนุช-ลาดกระบัง โครงการลุมพินี เพลส สุขสวัสดิ์-พระราม 2 โครงการลุมพินี เพลส ศรีนครินทร์-หัวหมาก สเตชั่น โครงการลุมพินี เพลส ยูดี-โพศรี โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า 2 และ โครงการลุมพินี ทาวน์ชิป รังสิต-คลอง 1 ขณะเดียวกัน ณ สิ้นปี 2555 บริษัท จะมียอดขายที่รอรับรู้รายได้จำ�นวน 17,581.66 ล้านบาท โดยจะเป็นยอดขายที่รอรับรู้รายได้ในปี 2556 จำ�นวน 12,309.70 ล้านบาท โครงการ

จำ�นวน (ยูนิต)

มูลค่า (ล้านบาท)

กำ�หนดแล้วเสร็จ

742 1,127 1,846 2,929 956 4,101 1,326

940.00 1,200.00 4,200.00 3,300.00 1,100.00 2,600.00 1,850.00

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ไตรมาส 4

13,027

15,190.00

1. ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 109-แบริ่ง 2. ลุมพินี เมกะซิตี้ บางนา (A,E) 3. ลุมพินี พาร์คบีช จอมเทียน 4. ลุมพินี เมกะซิตี้ บางนา (B,C,D) 5. ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 77 (2) 6. ลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุรี-สุขุมวิท 7. ลุมพินี วิลล์ นาเกลือ-วงศ์อมาตย์ (A,B) รวม

174 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ด้วยประสิทธิภาพของการดำ�เนินงาน ทั้งความรวดเร็วในการก่อสร้าง ภายใต้การควบคุมคุณภาพอย่างเคร่งครัด การโอนกรรมสิทธิ์ อีกทั้งความเชื่อมั่นของ ลูกค้าที่มีต่อแบรนด์ “ลุมพินี” บริษัทจึงคงบรรลุเป้าหมายตามที่กำ�หนดไว้ พร้อมทั้งรักษาอัตรากำ�ไรขั้นต้น ให้อยู่ในระดับร้อยละ 30

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

175


รายงานประจำ�ปี 2555

นโยบายบัญชี 1. การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย

1.1 รายได้จากการขายอาคารชุดและบ้านพร้อมที่ดิน รับรู้เป็นรายได้เมื่อได้โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เป็นสาระ สำ�คัญของความเป็นเจ้าของห้องชุดให้กับผู้ซื้อแล้วโดยกิจการไม่เกี่ยวข้องในการบริหาร หรือควบคุมห้องชุดที่ขายไป แล้วทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งมูลค่าที่รับรู้รายได้ และต้นทุนที่เกิดขึ้นเนื่องมาจากรายการนั้น สามารถวัดมูลค่าได้อย่าง น่าเชื่อถือ 1.2 รายได้ค่าเช่าและบริการที่เกี่ยวข้องในอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน จะรับรู้เป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้าง 1.3 รายได้จากการให้บริการจะรับรู้เป็นรายได้เมื่อการให้บริการเสร็จสิ้นลง 1.4 รายได้อื่นและค่าใช้จ่ายรับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง 1.5 บริษัทคำ�นวณต้นทุนจากการขายบ้านพร้อมที่ดินและอาคารชุดพักอาศัย ตามเกณฑ์พื้นที่และตามเกณฑ์ราคาขาย

2. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายรวมถึง เงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนในตั๋วแลกเงินที่ถึงกำ�หนดจ่ายคืนในระยะเวลา ไม่เกิน  3 เดือน และไม่มีข้อจำ�กัดในการเบิกใช้

3. เงินลงทุนชั่วคราว

เงินลงทุนในตัว๋ แลกเงินทีอ่ อกโดยสถาบันการเงินทีม่ อี ายุคงเหลือเกินกว่า 3 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี หรือทีม่ วี นั ทีถ่ งึ กำ�หนดภายใน 3 เดือน แต่มีความตั้งใจจะถือต่อไปในรูปแบบเดิม ซึ่งแสดงด้วยราคาทุน

4. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

บริษัทบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดยประมาณจากลูกหนี้ที่คาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้ และอาศัยประสบการณ์ในการเก็บหนี้ที่ผ่านมา เป็นเกณฑ์

5. ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง

ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง แสดงด้วยราคาทุนโดยวิธีเฉพาะเจาะจง หรือมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ แล้วแต่อย่างใด จะต่ำ�กว่า ราคาทุนประกอบด้วย ที่ดิน ค่าพัฒนาที่ดิน ค่าก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับโครงการและดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่ เกี่ยวข้อง ซึ่งจะหยุดบันทึกดอกเบี้ยจ่ายเข้ามาเป็นต้นทุน เมื่องานก่อสร้างแล้วเสร็จหรือโครงการหยุดพัฒนา

6. สินค้าคงเหลือ

สินค้าคงเหลือ ประกอบด้วย อาคารห้องชุดและบ้านพร้อมที่ดินที่สร้างเสร็จในส่วนที่ยังไม่ได้โอนกรรมสิทธิ์ให้ผู้ซื้อ บริษัทแสดงไว้ใน ราคาทุนโดยวิธีเฉพาะเจาะจงหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำ�กว่า

7. เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม

- เงินลงทุนในบริษัทร่วมในงบการเงินรวม แสดงไว้โดยวิธีส่วนได้เสีย (Equity Method) - เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการ แสดงไว้โดยวิธีราคาทุน (Cost Method) หักด้วย ค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี)

8. ที่ดินและต้นทุนโครงการรอการพัฒนา

หมายถึงที่ดินและต้นทุนโครงการที่ถือไว้เพื่อพัฒนาโครงการในอนาคต โดยแสดงตามราคาทุนหักด้วยค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ราคา ทุนประกอบด้วย ค่าที่ดินและค่าใช้จ่ายอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินและต้นทุนโครงการ รวมถึงต้นทุนการกู้ยืมที่เกี่ยวข้องที่เกิด ขึ้นในระหว่างการพัฒนาและหยุดรวมต้นทุนกู้ยืมเมื่อหยุดการพัฒนา

9. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน/ค่าเสื่อมราคา

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ซึ่งหมายถึง อสังหาริมทรัพย์ที่ถือครองเพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่าหรือจากการเพิ่มขึ้นของ มูลค่าของสินทรัพย์หรือทั้งสองอย่าง ซึ่งแสดงไว้ในราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ราคาทุนได้รวมต้นทุน ประมาณการเบื้องต้นสำ�หรับการรื้อถอน การขนย้าย และการบูรณะสถานที่ตั้งของสินทรัพย์ซึ่งเป็นภาระผูกพันของกิจการ และกิจการ

176 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

จะทบทวนอายุการให้ประโยชน์มูลค่าคงเหลือ และวิธีการคิดค่าเสื่อมราคาอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้นรอบบัญชี ค่าเสื่อมราคาคำ�นวณโดยวิธี เส้นตรงในอัตราดังนี้ จำ�นวนปี

อาคารสำ�นักงาน และ ลานจอดรถ ค่าตกแต่ง และ เครื่องใช้สำ�นักงาน เครื่องคอมพิวเตอร์

40 10 5

10. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์/ค่าเสื่อมราคา

- ที่ดิน แสดงไว้ในราคาทุน - อาคารและอุปกรณ์ แสดงไว้ในราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) - ราคาทุนได้รวมต้นทุนประมาณการเบื้องต้นสำ�หรับการรื้อถอน การขนย้าย และการบูรณะสถานที่ตั้งของสินทรัพย์ซึ่ง เป็นภาระผูกพันของกิจการ และกิจการจะทบทวนอายุการให้ประโยชน์มลู ค่าคงเหลือ และวิธกี ารคิดค่าเสือ่ มราคาอย่างน้อยทีส่ ดุ ทุกสิ้นรอบบัญชี - ค่าเสื่อมราคาคำ�นวณโดยวิธีเส้นตรงในอัตราดังนี้ จำ�นวนปี

อาคารสำ�นักงาน ค่าตกแต่ง และ เครื่องใช้สำ�นักงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ และ งานพัฒนาระบบโปรแกรม ยานพาหนะ

40 10 5 5

11. การด้อยค่าของสินทรัพย์

บริษัทพิจารณาการด้อยค่าของสินทรัพย์ประเภทอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินลงทุน ที่ดินและต้นทุนโครงการรอการพัฒนาและ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนต่างๆ เมื่อมีข้อบ่งชี้ว่า สินทรัพย์จะเกิดการด้อยค่า โดยพิจารณาจากมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์หากมี ราคาต่ำ�กว่าราคาตามบัญชี ถือว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่า ซึ่งจะรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าดังกล่าวในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และบริษัทจะบันทึกกลับรายการจากการด้อยค่า ต่อเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าการด้อยค่านั้นไม่มีอยู่อีกต่อไปหรือยังมีอยู่แต่เป็นไปในทางที่ลดลง มูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืนของสินทรัพย์ หมายถึง ราคาขายสุทธิหรือมูลค่าจากการใช้สนิ ทรัพย์ แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่าและจะประมาณ จากสินทรัพย์แต่ละรายการ หรือหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดแล้วแต่กรณี

12. สินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน

บริษัทบันทึกสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงินเป็นสินทรัพย์และหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน ด้วยจำ�นวนเท่ากับราคายุติธรรมของ สินทรัพย์ที่เช่า ณ วันเริ่มต้นของสัญญาเช่า ดอกเบี้ยจ่ายตามสัญญาจะถูกบันทึกตามงวดต่างๆ ตลอดอายุสัญญาเช่าตามยอดคงเหลือ ของหนี้สินตามสัญญาเช่าในแต่ละงวด

13. ภาษีเงินได้นิติบุคคล

บริษทั และบริษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลทีต่ อ้ งจ่ายในแต่ละปีเป็นค่าใช้จา่ ยทัง้ หมดในงวดนัน้ และคำ�นวณภาษีเงินได้ตามทีก่ �ำ หนด ไว้ในประมวลรัษฎากร โดยคำ�นวณจากรายได้ตามวิธีอัตราร้อยละของงานที่ทำ�เสร็จ

14. ประมาณการทางบัญชี

ในการจัดทำ�งบการเงินตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ฝ่ายบริหารต้องใช้การประมาณการรายการบัญชีบางรายการซึง่ มีผลกระทบต่อ จำ�นวนเงินที่แสดงในงบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน ด้วยเหตุนี้ผลที่เกิดขึ้นจริงในภายหลังจึงอาจแตกต่างไปจากจำ�นวน ที่ประมาณไว้

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

177


รายงานประจำ�ปี 2555

ประมาณการและข้อสมมติฐานที่อาจมีความเสี่ยงต่อการปรับปรุงบัญชีในปีถัดไปต่อมูลค่าสินทรัพย์ยกไป ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการ เงินได้แก่ สำ�รองผลประโยชน์ของพนักงาน เป็นมูลค่าทีป่ ระมาณการโดยผูเ้ ชีย่ วชาญตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย และผูบ้ ริหารให้การ รับรองการประมาณการในเรือ่ งนีค้ อ่ นข้างมีความไม่แน่นอน อันเนือ่ งมาจากลักษณะของโครงการทีม่ รี ะยะเวลายาว (หมายเหตุ 3.17.2) การประมาณการในเรื่องอื่น ๆ ได้ถูกเปิดเผยในแต่ละส่วนที่เกี่ยวข้องของหมายเหตุประกอบงบการเงินนี้

15. ประมาณการหนี้สิน

บริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สินเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ของการเกิดภาระผูกพันในปัจจุบัน ตามกฎหมายหรือจากการ อนุมานอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ในอดีต ภาระผูกพันดังกล่าวคาดว่าจะส่งผลให้สูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ เพื่อจ่ายชำ�ระ ภาระผูกพันและจำ�นวนที่ต้องจ่ายสามารถประมาณการได้อย่างน่าเชื่อถือ หากบริษัทคาดว่าจะได้รับคืนรายจ่ายชำ�ระ ไปตามประมาณการหนี้สินทั้งหมดหรือบางส่วนอย่างแน่นอน บริษัทจะรับรู้รายจ่ายได้รับคืนเป็นสินทรัพย์แยกต่างหากแต่ต้องไม่เกิน จำ�นวนประมาณการหนี้สินที่เกี่ยวข้อง

16. กำ�ไรต่อหุ้น

กำ�ไรต่อหุน้ ทีแ่ สดงไว้ในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเป็นกำ�ไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน คำ�นวณโดยการหารกำ�ไรหรือขาดทุนสำ�หรับปีดว้ ยจำ�นวน หุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักที่ถือโดยผู้ถือหุ้นในระหว่างงวด

17. กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ และ ผลประโยชน์ของพนักงาน 17.1 กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพพนักงาน บริษทั จัดให้มกี องทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ ซึง่ เป็นลักษณะของแผนการจ่ายสมทบตามที่ได้ก�ำ หนดการจ่ายสมทบไว้แล้ว สินทรัพย์ ของกองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพได้แยกออกไปจากสินทรัพย์ของบริษทั และได้รบั การบริหารโดยผูจ้ ดั การกองทุนภายนอก กองทุน สำ�รองเลี้ยงชีพดังกล่าวได้รับเงินสะสมเข้ากองทุนจากพนักงานและเงินสมทบจากบริษัท เงินจ่ายสมทบกองทุนสำ�รอง เลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้น 17.2 ผลประโยชน์ของพนักงาน บริษัทและบริษัทย่อยจัดให้มีผลประโยชน์ของพนักงาน หลังการเลิกจ้างเพื่อจ่ายให้แก่พนักงานเป็นไปตามกฎหมาย แรงงานไทย มูลค่าปัจจุบนั ของหนีส้ นิ ผลประโยชน์พนักงาน ได้ถกู รับรูร้ ายการในงบแสดงฐานะการเงินโดยการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยโดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) ภายใต้ สมมติฐานเกี่ยวกับเหตุการณ์ ในอนาคตที่บริษัทกำ�หนดขึ้นอย่างเหมาะสม สมมติฐานที่ใช้ในการประเมินค่าใช้จ่ายผล ประโยชน์ของพนักงานสุทธิประจำ�ปี ได้รวมถึงอัตราส่วนลดอัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือนพนักงาน และอัตราการ เปลีย่ นแปลงในจำ�นวนพนักงาน การเปลีย่ นแปลงในอัตราเหล่านีม้ ผี ลต่อประมาณการค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องกับผลประโยชน์ ของพนักงานสุทธิในทุกปี บริษัทและบริษัทย่อยได้มีการทบทวนอัตราส่วนลดที่เหมาะสม ซึ่งสะท้อนถึงอัตราดอกเบี้ยที่ ควรนำ�มาใช้ในการคำ�นวณมูลค่าปัจจุบันสุทธิของกระแสเงินสดจ่ายในอนาคตที่คาดว่าจะต้องจ่ายให้กับพนักงานในการ ประเมินอัตราส่วนลดที่เหมาะสม บริษัทและบริษัทย่อยจะพิจารณาจากอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งจ่ายใน สกุลเงินที่ได้รับประโยชน์สมมติฐานทางสถิติที่สำ�คัญที่ใช้ในการคำ�นวณสรุปไว้ดังนี้

178 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 และ 2554 ร้อยละ 4.7 ต่อปี

อัตราคิดลด อัตราการเปลี่ยนแปลงในจำ�นวน พนักงาน อัตราการตาย

ผันแปรตามอายุพนักงานและแบ่งตามประเภทพนักงานประจำ�และพนักงานรายวัน อัตราตามตารางมรณะไทยปี 2540 แยกเกณฑ์ตามเพศชายและเพศหญิง

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

179


รายงานประจำ�ปี 2555

180 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

181


รายงานประจำ�ปี 2555

ภายใต้หลักการ “การพัฒนาอย่างยั่งยืน” ซึ่งยังคงเป็นแนวทางที่บริษัทยึดถือในการดำ�เนินธุรกิจ มาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการบริหารความเสี่ยง ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม การคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม รวมถึงความมุ่งมั่น ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างสรรค์ และส่งมอบคุณค่าแบบบูรณาการแก่ลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย จะส่งผลให้ธุรกิจของบริษัทยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง ภายใต้หลักธรรมาภิบาล

182 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

งบการเงิน บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 งบแสดงฐานะการเงิน งบการเงินรวม (บาท)

หมายเหตุ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ น่ื ทีด่ นิ และต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง สินค้าคงเหลือ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม ทีด่ นิ และต้นทุนโครงการรอการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ ภาษีถกู หัก ณ ทีจ่ า่ ย อืน่ ๆ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

2555

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2555

2554

3.2 1,167,630,005.64 294,958,777.43 854,893,878.25 216,019,143.02 4 221,986,386.94 198,223,172.53 112,592,665.22 155,718,977.62 3.5, 5.1 8,148,739,591.66 6,473,445,031.76 7,890,713,936.58 6,198,313,285.98 3.6, 6 2,750,178,418.58 934,969,785.47 2,635,962,201.24 934,969,785.47 12,288,534,402.82 7,901,596,767.19 11,494,162,681.29 7,505,021,192.09 3.7, 7.3 3.8, 5.2 3.9, 8 3.10, 9

896,733,997.85 406,255,759.16 237,900,098.73

211,188,823.14 799,796,579.70 386,453,617.33 236,825,605.64

364,609,645.79 896,733,997.85 465,055,656.05 92,202,434.62

486,331,584.11 799,796,579.70 447,184,022.49 84,687,424.68

22,756,581.70 23,549,603.11 14,749,840.96 14,749,840.96 51,761,421.82 33,662,480.29 33,333,671.57 26,474,632.71 1,615,407,859.26 1,691,476,709.21 1,866,685,246.84 1,859,224,084.65 13,903,942,262.08 9,593,073,476.40 13,360,847,928.13 9,364,245,276.74

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนีส้ นิ หมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จาก สถาบันการเงิน 10 เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ น่ื 11 เงินกูย้ มื และหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน ทีถ่ งึ กำ�หนดชำ�ระภายใน 1 ปี 12 ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลค้างจ่าย รวมหนีส้ นิ หมุนเวียน หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน 3.12, 13 เงินกูย้ มื ระยะยาว 14 ประมาณการหนีส้ นิ ผลประโยชน์พนักงาน 3.17.2 หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียนอืน่ เงินมัดจำ�ค่าเช่าและบริการ อืน่ ๆ รวมหนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน รวมหนีส้ นิ

1,113,387,854.91 384,838,278.61 1,003,129,254.91 374,838,278.61 2,093,279,199.02 1,387,459,283.37 1,980,891,990.81 1,357,902,803.62 723,254,391.91 215,396,788.66 723,089,464.27 215,249,111.96 470,672,698.14 347,771,391.04 442,581,600.29 331,673,465.83 4,400,594,143.98 2,335,465,741.68 4,149,692,310.28 2,279,663,660.02 16,189,087.12 992,000,000.00 103,853,217.00

10,721,233.00 100,000.00 91,685,031.00

15,981,109.72 992,000,000.00 39,643,720.00

10,538,865.56 100,000.00 34,998,955.00

7,181,579.29 6,800,037.74 6,859,208.72 6,477,667.17 19,635,966.93 19,771,708.90 19,229,946.93 19,416,288.90 1,138,859,850.34 129,078,010.64 1,073,713,985.37 71,531,776.63 5,539,453,994.32 2,464,543,752.32 5,223,406,295.65 2,351,195,436.65

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

183


รายงานประจำ�ปี 2555

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) งบการเงินรวม (บาท)

หมายเหตุ หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ทุนเรือนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ จำ�นวน 1,475,698,768 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1.00 บาท ทุนทีอ่ อกและเรียกชำ�ระแล้ว หุน้ สามัญ จำ�นวน 1,475,698,768 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1.00 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุน้ ส่วนเกินมูลค่าหุน้ ทุนซือ้ คืน กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว สำ�รองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร รวมส่วนของบริษทั ใหญ่ ส่วนทีเ่ ป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มี อำ�นาจควบคุม รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมหนีส้ นิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้

2555

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2555

2554

1,475,698,768.00 1,475,698,768.00 1,475,698,768.00 1,475,698,768.00 1,475,698,768.00 1,475,698,768.00 1,475,698,768.00 1,475,698,768.00 441,807,166.00 441,807,166.00 441,807,166.00 441,807,166.00 39,061,748.24 39,061,748.24 39,061,748.24 39,061,748.24 19

148,000,000.00 148,000,000.00 148,000,000.00 148,000,000.00 6,259,820,527.44 5,023,930,332.56 6,032,873,950.24 4,908,482,157.85 8,364,388,209.68 7,128,498,014.80 8,137,441,632.48 7,013,049,840.09 100,058.08

31,709.28

-

-

8,364,488,267.76 7,128,529,724.08 8,137,441,632.48 7,013,049,840.09 13,903,942,262.08 9,593,073,476.40 13,360,847,928.13 9,364,245,276.74

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

184 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปี สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบการเงินรวม (บาท)

หมายเหตุ รายได้จากการขายและบริการ รายได้จากการขาย รายได้จากธุรกิจให้เช่าและบริการ รายได้จากธุรกิจรับจ้างบริหารจัดการ รวมรายได้จากการขายและบริการ ต้นทุนขายและบริการ ต้นทุนขาย ต้นทุนจากธุรกิจให้เช่าและบริการ ต้นทุนจากธุรกิจรับจ้างบริหารจัดการ รวมต้นทุนจากการขายและบริการ กำ�ไรขัน้ ต้น รายได้อน่ื ดอกเบีย้ รับ เงินปันผลรับ รายได้จากการเปลีย่ นแปลงสัญญา กำ�ไรจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์ กำ�ไรจากการจำ�หน่ายเงินลงทุนในบริษทั ร่วม อืน่ ๆ รวมรายได้อน่ื ค่าใช้จา่ ยในการขาย ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร ค่าตอบแทนผูบ้ ริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ ต้นทุนทางการเงิน ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ 3.13 กำ�ไรสำ�หรับปี กำ�ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอืน่ กำ�ไรเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี การแบ่งปันกำ�ไร ส่วนทีเ่ ป็นของบริษทั ใหญ่ ส่วนทีเ่ ป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มอี �ำ นาจ ควบคุม กำ�ไรต่อหุน้ กำ�ไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน จำ�นวนหุน้ ถัวเฉลีย่

2555

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2555

2554

12,950,319,407.50 12,034,784,623.04 12,279,288,391.89 12,014,284,623.04 40,175,318.59 40,990,587.43 43,646,396.03 42,714,235.80 334,880,666.00 259,498,789.13 13,325,375,392.09 12,335,273,999.60 12,322,934,787.92 12,056,998,858.84 (8,741,530,610.54) (22,768,860.30) (243,807,008.70) (9,008,106,479.54) 4,317,268,912.55 8,836,237.24 22,192,114.74 3,466,083.26 48,519,628.91 6,236,013.00 89,250,077.15 (794,738,542.53) (637,331,545.62) (100,130,842.78) (14,744,000.00) (10,128,023.53) 67,891,547.95 2,917,337,583.19 (700,476,158.95) 2,216,861,424.24 2,216,861,424.24

(8,031,883,011.72) (8,451,398,688.11) (8,181,962,886.02) (23,836,765.72) (24,069,040.58) (26,791,620.35) (181,675,020.46) (8,237,394,797.90) (8,475,467,728.69) (8,208,754,506.37) 4,097,879,201.70 3,847,467,059.23 3,848,244,352.47 12,456,778.40 15,000,421.53 7,684,664.51 1,219,977.91 36,361,842.35 (757,132,812.33) (618,078,509.60) (67,673,695.02) (13,942,000.00) (2,765,425.65) 72,878,487.74 2,747,527,089.19 (830,177,775.18) 1,917,349,314.01 1,917,349,314.01

9,896,431.16 147,600,000.00 21,018,384.16 3,406,945.83 58,278,061.68 5,776,694.34 245,976,517.17 (943,061,262.39) (334,014,269.26) (56,485,071.79) (14,744,000.00) (9,038,177.00) 2,736,100,795.96 (630,806,123.01) 2,105,294,672.95 2,105,294,672.95

10,847,159.21 80,204,400.00 15,000,421.53 7,684,664.51 474,733.89 114,211,379.14 (892,288,283.38) (386,862,984.88) (40,965,605.06) (13,942,000.00) (2,729,853.60) 2,625,667,004.69 (791,214,692.80) 1,834,452,311.89 1,834,452,311.89

2,216,793,075.44 1,917,262,695.84 2,105,294,672.95 1,834,452,311.89 68,348.80 86,618.17 2,216,861,424.24 1,917,349,314.01 2,105,294,672.95 1,834,452,311.89

3.16

1.50 1,475,698,768

1.30 1,475,698,768

1.43 1,475,698,768

1.24 1,475,698,768

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

185


รายงานประจำ�ปี 2555

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปี สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น หมายเหตุ

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 กำ�ไรเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี ลงทุนเพิ่ม เงินปันผลจ่ายระหว่างกาล เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ 31 ธันวาคม 2554 กำ�ไรเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี เงินปันผลจ่ายระหว่างกาล เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ 31 ธันวาคม 2555

18 18 18 18

งบการเงินรวม ส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ ส่วนเกินมูลค่าหุ้นซื้อคืน

ทุนเรือนหุ้น

1,475,698,768.00

441,807,166.00

39,061,748.24

1,475,698,768.00

441,807,166.00

39,061,748.24

1,475,698,768.00

441,807,166.00

39,061,748.24

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) หมายเหตุ

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 กำ�ไรเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี เงินปันผลจ่ายระหว่างกาล เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ 31 ธันวาคม 2554 กำ�ไรเบ็ดเสร็จรวมสำ�หรับปี เงินปันผลจ่ายระหว่างกาล เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ 31 ธันวาคม 2555

18 18 18 18

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

186 HERE IS HOME, HERE IS LPN

งบการเงินเฉพาะบริษัท ทุนเรือนหุ้น

ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ

1,475,698,768.00

441,807,166.00

1,475,698,768.00

441,807,166.00

1,475,698,768.00

441,807,166.00


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

หน่วย : บาท

สำ�รองตามกฎหมาย

ยังไม่ได้จัดสรร

รวม

148,000,000.00

3,977,231,090.84 1,917,262,695.84

6,081,798,773.08 1,917,262,695.84

(309,833,300.28) (560,730,153.84) 5,023,930,332.56 2,216,793,075.44 (337,180,958.64) (643,721,921.92) 6,259,820,527.44

(309,833,300.28) (560,730,153.84) 7,128,498,014.80 2,216,793,075.44 (337,180,958.64) (643,721,921.92) 8,364,388,209.68

148,000,000.00

148,000,000.00

ส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม

20,191.11 86,618.17 500.00 (75,600.00) 31,709.28 68,348.80 100,058.08

รวม

6,081,818,964.19 1,917,349,314.01 500.00 (309,908,900.28) (560,730,153.84) 7,128,529,724.08 2,216,861,424.24 (337,180,958.64) (643,721,921.92) 8,364,488,267.76

หน่วย : บาท

ส่วนเกินมูลค่าหุ้นซื้อคืน

สำ�รองตามกฎหมาย

ยังไม่ได้จัดสรร

39,061,748.24

148,000,000.00

39,061,748.24

148,000,000.00

39,061,748.24

148,000,000.00

3,944,593,300.08 1,834,452,311.89 (309,833,300.28) (560,730,153.84) 4,908,482,157.85 2,105,294,672.95 (337,180,958.64) (643,721,921.92) 6,032,873,950.24

รวม

6,049,160,982.32 1,834,452,311.89 (309,833,300.28) (560,730,153.84) 7,013,049,840.09 2,105,294,672.95 (337,180,958.64) (643,721,921.92) 8,137,441,632.48

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

187


รายงานประจำ�ปี 2555

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปี สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 งบกระแสเงินสด งบการเงินรวม (บาท) 2555 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับปรุงกระทบกำ�ไรสุทธิเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำ�เนินงาน ประมาณการผลประโยชน์พนักงาน ประมาณการเงินช่วยเหลือพนักงาน ในการซ่อมแซมทีอ่ ยูอ่ าศัยหลังประสบ อุทกภัยน้�ำ ท่วม ค่าเสือ่ มราคาสินทรัพย์ด�ำ เนินงาน และสินทรัพย์ลงทุน (โอนกลับ)ค่าเผือ่ การปรับลดมูลค่าสินค้า ขาดทุน(กำ�ไร)จากการจำ�หน่ายทรัพย์สนิ ขาดทุนจากการตัดจำ�หน่ายทรัพย์สนิ สูญหาย ส่วนแบ่ง(กำ�ไร)ขาดทุนจากเงินลงทุน ในบริษทั ร่วม ตามวิธสี ว่ นได้เสีย ค่าใช้จา่ ยดอกเบีย้ ขาดทุนจากการปรับลดมูลค่าภาษีถกู หัก ณ ทีจ่ า่ ย เงินปันผลรับ ขาดทุน(กำ�ไร)จากการขายเงินลงทุน กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน ก่อนการเปลีย่ นแปลงในสินทรัพย์ และหนีส้ นิ ดำ�เนินงาน สินทรัพย์จากการดำ�เนินงาน (เพิม่ ขึน้ ) ลดลง ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ น่ื ลูกหนีแ้ ละเงินให้กยู้ มื กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ทีด่ นิ และต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง สินค้าคงเหลือ ทีด่ นิ และต้นทุนโครงการรอการพัฒนา สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ สินทรัพย์จากการดำ�เนินงาน(เพิม่ ขึน้ ) ลดลง หนีส้ นิ จากการดำ�เนินงาน เพิม่ ขึน้ (ลดลง) เจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ น่ื เจ้าหนีก้ จิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียนอืน่ หนีส้ นิ จากการดำ�เนินงานเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เงินสดรับ (จ่าย) จากการดำ�เนินงาน จ่ายดอกเบีย้ รับคืนภาษีเงินได้ จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรม ดำ�เนินงาน

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2555

2554

2,917,337,583.19 2,747,527,089.19 2,736,100,795.96 2,625,667,004.69 12,168,186.00

11,333,876.00

4,644,765.00

18,300,000.00

4,308,319.00 18,300,000.00

34,756,041.42 (2,437,840.44) (3,460,918.87) 63,393.21

32,916,605.50 (724,758.72) (7,780,628.55) 2,402,889.01

28,541,079.92 (2,437,840.44) (3,450,594.76) 61,109.30

26,259,900.52 (724,758.72) (7,689,149.40) 636,896.07

(67,891,547.95) 10,128,023.53

(72,878,487.74) 2,765,425.65 9,038,177.00 58,880.59 (147,600,000.00) (58,278,061.68)

2,729,853.60

(48,519,628.91)

(80,204,400.00)

2,852,143,291.18 2,733,920,890.93 2,566,619,430.30 2,589,283,665.76 (24,212,959.50) 465,432.16 (1,523,074,186.92) (1,852,137,889.34) (96,937,418.15) (18,072,580.92) (3,513,969,602.67) 701,742,725.94 245,799.58 701,988,525.52 40,162,214.03 (152,727,015.20) 761,302.90 (577,569,493.95)

111,924,124.69 43,131,285.40 129,876,238.77 (528,722.62) (4,973.00) 116,568,844.45 (1,708,706,616.43) (1,547,989,968.88) (1,560,606,329.54) 1,836,771,884.07 (1,732,377,480.40) 1,836,742,561.35 1,667,338.67 (96,937,418.15) 1,667,338.67 (5,808,973.92) (6,859,038.86) (1,269,852.92) 235,319,034.46 (3,341,037,593.89) 522,978,800.78 (820,443,261.70) 758,219.90 (819,685,041.80) 2,149,554,883.59 (68,475,446.15) 13,927,312.73 (818,303,976.40)

628,378,722.46 (9,416,905.99) 195,199.58 619,157,016.05 (155,261,147.54) (149,421,488.00) (519,897,988.55)

(819,043,719.09) (13,726,913.74) 4,524,526.71 (828,246,106.12) 2,284,016,360.42 (68,347,091.40) 12,108,565.00 (786,926,306.22)

(689,372,992.22) 1,276,702,773.77 (824,580,624.09) 1,440,851,527.80

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

188 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปี สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 งบกระแสเงินสด (ต่อ) งบการเงินรวม (บาท) 2555 กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน เงินลงทุนในตัว๋ แลกเงิน เงินสดรับจากตัว๋ แลกเงินครบกำ�หนด เงินลงทุนในบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม รับเงินจากการขายเงินลงทุน รับเงินปันผล ซือ้ อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ซือ้ สินทรัพย์ถาวร ขายสินทรัพย์ถาวร เงินสดรับจากการขายอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมการลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน รับ(คืน)เงินเบิกเกินบัญชี รับเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน คืนเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน รับเงินกูย้ มื ระยะยาว คืนเงินกูย้ มื ระยะยาว จ่ายชำ�ระหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน รับชำ�ระค่าหุน้ เพิม่ ทุนจากส่วนได้เสียที่ไม่มี อำ�นาจควบคุม จ่ายเงินปันผล เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2554 -

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2555

2554

(20,000,000.00) 20,000,000.00 180,000,000.00 147,600,000.00 (972,617.99) (15,362,737.54) 2,055,407.92 6,599,000.00 319,919,052.39

(20,000,000.00) 20,000,000.00 (155,999,500.00) 180,000,000.00 147,600,000.00 101,184,700.00 (972,617.99) (36,692,944.37) (13,846,040.71) (61,994,132.76) 2,044,923.81 6,599,000.00 21,733,191.60 321,425,265.11 (131,768,685.53)

2,280,000.00 (36,692,944.37) (63,927,171.38) 111,214.96 21,733,191.60 (76,495,709.19)

19,290,976.30 4,294,258,600.00 (3,585,000,000.00) 4,692,346,557.95 (3,194,046,557.95) (3,821,527.70)

(101,607,573.38) 1,903,000,000.00 (2,303,000,000.00) 1,700,900,000.00 (2,351,350,000.00) (4,753,093.07)

(980,902,880.56) 1,242,125,168.04 872,671,228.21 294,958,777.43 1,167,630,005.64

500.00 (870,658,754.12) (980,902,880.56) (870,563,454.12) (2,027,468,920.57) 1,142,030,094.21 (2,037,176,297.37) (827,261,855.99) 638,874,735.23 (728,093,455.10) 1,122,220,633.42 216,019,143.02 944,112,598.12 294,958,777.43 854,893,878.25 216,019,143.02

19,290,976.30 4,112,000,000.00 (3,503,000,000.00) 4,640,300,000.00 (3,142,000,000.00) (3,658,001.53)

(111,607,573.38) 1,903,000,000.00 (2,303,000,000.00) 1,700,900,000.00 (2,351,350,000.00) (4,555,269.87)

การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินสดเพิ่มเติม ดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 21 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

189


รายงานประจำ�ปี 2555

หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษัท แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554

1. การดำ�เนินงานของบริษัท

บริษัท แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อ วันที่ 21 มิถุนายน 2537 ธุรกิจหลักของบริษทั ฯคือ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ สถานทีต่ ง้ั ของบริษทั ฯ 1168/109 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชั้น 36 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

2. หลักเกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงินและนำ�เสนองบการเงิน

2.1 เกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงิน งบการเงินนี้ได้จดั ทำ�ขึน้ ตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ภายใต้พระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และแสดง รายการตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าโดยกระทรวงพาณิชย์ ลงวันที่ 28 กันยายน 2554 เรื่อง กำ�หนดรายการ ย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2554 และตามข้อกำ�หนดของคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ว่าด้วยการจัดทำ�และนำ�เสนอรายงานทางการเงินภายใต้พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 งบการเงินของบริษทั ฯ จัดทำ�ขึน้ โดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของรายการในงบการเงิน ยกเว้นรายการที่เปิดเผยไว้ในนโยบายการบัญชีที่เกี่ยวข้อง 2.2 มาตรฐานการบัญชี/มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ 2.2.1 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีอ่ อกและปรับปรุงใหม่ ซึง่ มีผลบังคับสำ�หรับงบการ เงินที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เป็นต้นไป และยังไม่ได้มีการนำ�มาใช้สำ�หรับการจัดทำ�งบ การเงิน มีดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี

เรื่อง

วันที่มีผลบังคับใช้

ฉบับที่ 12

ภาษีเงินได้

1 มกราคม 2556

ฉบับที่ 20

การบัญชีส�ำ หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปิดเผยข้อมูล เกีย่ วกับการช่วยเหลือจากรัฐบาล

1 มกราคม 2556

ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552)

ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ นในเงินตรา ต่างประเทศ

1 มกราคม 2556

ส่วนงานดำ�เนินงาน

1 มกราคม 2556

ฉบับที่ 10

ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณีท่ไี ม่มคี วามเกีย่ วข้องอย่าง เฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดำ�เนินงาน

1 มกราคม 2556

ฉบับที่ 21

ภาษีเงินได้ - การได้รบั ประโยชน์จากสินทรัพย์ทไ่ี ม่ได้คดิ ค่าเสือ่ ม ราคาทีต่ รี าคาใหม่

1 มกราคม 2556

ฉบับที่ 25

ภาษีเงินได้ - การเปลีย่ นแปลงสถานะภาพทางภาษีของกิจการหรือ ของผูถ้ อื หุน้

1 มกราคม 2556

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 การตีความมาตรฐานการบัญชี

190 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

2.2.2 เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2556 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกมาตรฐานรายงานทางการเงินโดยลงประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา ดังนี้ การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29

เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริการ

วันที่มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 4

การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรือไม่

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 12

ข้อตกลงสัมปทานบริการ

1 มกราคม 2557

ฉบับที่ 13

โปรแกรมสิทธิพเิ ศษแก่ลกู ค้า

1 มกราคม 2557

การโอนและการรับโอนสินทรัพย์ทางการเงิน

1 มกราคม 2556

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

แนวปฏิบตั ทิ างการบัญชี

ฝ่ายบริหารของบริษัท ได้ประเมินแล้วเห็นว่าจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำ�คัญต่องบการเงิน 2.3 ในการจัดทำ�งบการเงินรวมสำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบด้วย งบการเงินของ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทใหญ่ โดยเข้าถือหุ้นในบริษัทย่อย ดังนี้ อัตราการถือหุ้น

ความสัมพันธ์

ร้อยละ

ประเภทธุรกิจ

บริษทั พรสันติ จำ�กัด

99.99

อสังหาริมทรัพย์

ผูถ้ อื หุน้ , ควบคุมโดยกรรมการ

บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี มาเนจเมนท์ จำ�กัด

99.88

ให้บริการ

ผูถ้ อื หุน้ , ควบคุมโดยกรรมการ

บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำ�กัด

99.93

ให้บริการ

ผูถ้ อื หุน้ , ควบคุมโดยกรรมการ

บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด

99.95

ให้บริการ

ผูถ้ อื หุน้ , ควบคุมโดยกรรมการ

2.4 2.5

รายการบัญชีระหว่างกัน ในการจัดทำ�งบการเงินรวม รายการบัญชีระหว่างกันที่เป็นสาระสำ�คัญได้ตัดออกในการทำ�งบการเงินรวมแล้ว งบการเงินรวมนี้จัดทำ�ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงฐานะการเงินรวม และผลการดำ�เนินงานรวมของบริษัท แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อยเท่านัน้ การใช้ขอ้ มูลตามงบการเงินรวมเพือ่ วัตถุประสงค์ อื่น อาจมีข้อจำ�กัดด้านลักษณะที่ค่อนข้างแตกต่าง กันในบรรดาบริษัทย่อยที่นำ�งบการเงินมาประกอบเป็นงบ การเงินรวม

3. สรุปนโยบายบัญชีที่สำ�คัญ

3.1 การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย 3.1.1 รายได้จากการขายอาคารชุดและบ้านพร้อมทีด่ นิ รับรูเ้ ป็นรายได้เมือ่ ได้โอนความเสีย่ งและผลตอบแทนทีเ่ ป็น สาระสำ�คัญของความ เป็นเจ้าของห้องชุดให้กบั ผูซ้ อื้ แล้วโดยกิจการไม่เกีย่ วข้องในการบริหาร หรือควบคุม ห้องชุดที่ขายไปแล้วทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งมูลค่าที่รับรู้รายได้ และ ต้นทุนที่เกิดขึ้นเนื่องมาจาก รายการนั้น สามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

191


รายงานประจำ�ปี 2555

3.2 3.3 3.4 3.5

3.6 3.7

3.8 3.9

3.1.2 รายได้ค่าเช่าและบริการที่เกี่ยวข้องในอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน จะรับรู้เป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้าง 3.1.3 รายได้จากการให้บริการจะรับรู้เป็นรายได้เมื่อการให้บริการเสร็จสิ้นลง 3.1.4 รายได้อื่นและค่าใช้จ่ายรับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง 3.1.5 บริษทั ฯ คำ�นวณต้นทุนจากการขายบ้านพร้อมทีด่ นิ และอาคารชุดพักอาศัย ตามเกณฑ์พน้ื ที่ และตามเกณฑ์ ราคาขาย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายรวมถึง เงินสด, เงินฝากธนาคารและเงินลงทุนในตั๋วแลกเงินที่ถึงกำ�หนด จ่ายคืนในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน และไม่มีข้อจำ�กัดในการเบิกใช้ เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนในตั๋วแลกเงินที่ออกโดยสถาบันการเงินที่มีอายุคงเหลือเกินกว่า 3 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี หรือที่มีวันที่ถึง กำ�หนดภายใน 3 เดือน แต่มีความตั้งใจจะถือต่อไปในรูปแบบเดิม ซึ่งแสดงด้วยราคาทุน ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ บริษทั ฯ บันทึกค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญโดยประมาณจากลูกหนีท้ คี่ าดว่าจะเก็บเงินไม่ได้ และอาศัยประสบการณ์ในการ เก็บหนี้ที่ผ่านมาเป็นเกณฑ์ ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง แสดงด้วยราคาทุนโดยวิธีเฉพาะเจาะจง หรือมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ แล้วแต่อย่างใดจะต่ำ�กว่า ราคาทุนประกอบด้วย ที่ดิน ค่าพัฒนาที่ดิน ค่าก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ โครงการและดอกเบีย้ เงินกูย้ มื ทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ จะหยุดบันทึกดอกเบีย้ จ่ายเข้ามาเป็นต้นทุน เมือ่ งานก่อสร้างแล้วเสร็จ หรือโครงการหยุดพัฒนา สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือ ประกอบด้วย อาคารห้องชุดและบ้านพร้อมที่ดินที่สร้างเสร็จในส่วนที่ยังไม่ได้โอนกรรมสิทธิ์ให้ผู้ซื้อ บริษัทฯ แสดงไว้ในราคาทุน โดยวิธีเฉพาะเจาะจงหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำ�กว่า เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม - เงินลงทุนในบริษัทร่วมในงบการเงินรวม แสดงไว้โดยวิธีส่วนได้เสีย (Equity Method) - เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการ แสดงไว้โดยวิธีราคาทุน (Cost Method) หัก ด้วยค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ที่ดินและต้นทุนโครงการรอการพัฒนา หมายถึงที่ดินและต้นทุนโครงการที่ถือไว้เพื่อพัฒนาโครงการในอนาคต โดย แสดงตามราคาทุนหักด้วยค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ราคาทุนประกอบด้วย ค่าที่ดินและค่าใช้จ่ายอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อ ให้ได้มาซึ่งที่ดินและต้นทุนโครงการ รวมถึงต้นทุนการกู้ยืมที่เกี่ยวข้องที่เกิดขึ้นในระหว่างการพัฒนาและหยุดรวม ต้นทุนกู้ยืมเมื่อหยุดการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน/ค่าเสื่อมราคา อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ซึ่งหมายถึง อสังหาริมทรัพย์ที่ถือครองเพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่าหรือจาก การเพิ่มขึ้นของมูลค่าของสินทรัพย์หรือทั้งสองอย่าง ซึ่งแสดงไว้ในราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการ ด้อยค่า (ถ้ามี) ราคาทุนได้รวมต้นทุนประมาณการเบือ้ งต้นสำ�หรับการรือ้ ถอน การขนย้ายและการบูรณะสถานทีต่ งั้ ของสินทรัพย์ซงึ่ เป็นภาระ ผูกพันของกิจการ และกิจการจะทบทวนอายุการให้ประโยชน์มูลค่าคงเหลือ และวิธีการคิดค่าเสื่อมราคา อย่างน้อยที่สุดทุกสิ้นรอบบัญชี ค่าเสื่อมราคาคำ�นวณโดยวิธีเส้นตรงในอัตราดังนี้

อาคารสำ�นักงาน และ ลานจอดรถ

จำ�นวนปี 40

ค่าตกแต่ง และ เครือ่ งใช้ส�ำ นักงาน

10

เครือ่ งคอมพิวเตอร์

5

192 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

3.10 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์/ค่าเสื่อมราคา - ที่ดิน แสดงไว้ในราคาทุน - อาคารและอุปกรณ์ แสดงไว้ในราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) - ราคาทุนได้รวมต้นทุนประมาณการเบือ้ งต้นสำ�หรับการรือ้ ถอน การขนย้ายและการบูรณะสถานทีต่ งั้ ของสินทรัพย์ ซึง่ เป็นภาระ ผูกพันของกิจการ และกิจการจะทบทวนอายุการให้ประโยชน์มลู ค่าคงเหลือ และวิธกี ารคิดค่าเสือ่ ม ราคาอย่างน้อยที่สุดทุกสิ้นรอบบัญชี - ค่าเสื่อมราคาคำ�นวณโดยวิธีเส้นตรงในอัตราดังนี้ จำ�นวนปี 40

อาคารสำ�นักงาน ค่าตกแต่ง และ เครือ่ งใช้ส�ำ นักงาน

10

เครือ่ งคอมพิวเตอร์ และ งานพัฒนาระบบโปรแกรม

5

ยานพาหนะ

5

3.11 การด้อยค่าของสินทรัพย์ บริษทั ฯ พิจารณาการด้อยค่าของสินทรัพย์ประเภทอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน เงินลงทุน ทีด่ นิ และต้นทุนโครงการ รอการพัฒนาและสินทรัพย์ไม่มีตัวตนต่าง ๆ เมื่อมีข้อบ่งชี้ว่า สินทรัพย์จะเกิดการด้อยค่า โดยพิจารณาจากมูลค่าที่ คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์หากมีราคาต่ำ�กว่าราคาตามบัญชี ถือว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่า ซึ่งจะรับรู้ผล ขาดทุนจากการด้อยค่าดังกล่าวในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และบริษัทฯจะบันทึกกลับรายการจากการด้อยค่า ต่อเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าการด้อยค่านั้นไม่มีอยู่อีกต่อไปหรือยังมีอยู่แต่เป็นไปในทางที่ลดลง มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ หมายถึง ราคาขายสุทธิหรือมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ แล้วแต่ราคาใด จะสูงกว่าและจะประมาณจากสินทรัพย์แต่ละรายการ หรือหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดแล้วแต่กรณี 3.12 สินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน บริษัทฯ บันทึกสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงินเป็นสินทรัพย์และหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน ด้วยจำ�นวนเท่ากับ ราคายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่า ณ วันเริ่มต้นของสัญญาเช่า ดอกเบี้ยจ่ายตามสัญญาจะถูกบันทึกตามงวดต่าง ๆ ตลอดอายุสัญญาเช่าตามยอดคงเหลือของหนี้สินตามสัญญาเช่าในแต่ละงวด 3.13 ภาษีเงินได้นิติบุคคล บริษัทฯ และบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ต้องจ่ายในแต่ละปี เป็นค่าใช้จ่ายทั้งหมดในงวดนั้นและคำ�นวณ ภาษีเงินได้ตามที่กำ�หนดไว้ในประมวลรัษฎากร โดยคำ�นวณจากรายได้ตามวิธีอัตราร้อยละของงานที่ทำ�เสร็จ 3.14 ประมาณการทางบัญชี ในการจัดทำ�งบการเงินตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ฝ่ายบริหารต้องใช้การประมาณการรายการบัญชีบางรายการ ซึ่งมีผลกระทบต่อจำ�นวนเงินที่แสดงในงบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน ด้วยเหตุนี้ผลที่เกิดขึ้นจริงใน ภายหลัง จึงอาจแตกต่างไปจากจำ�นวนที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานทีอ่ าจมีความเสีย่ งต่อการปรับปรุงบัญชีในปีถดั ไปต่อมูลค่าสินทรัพย์ยกไป ณ วันทีใ่ นงบ แสดงฐานะการเงินได้แก่ สำ�รองผลประโยชน์ของพนักงาน เป็นมูลค่าที่ประมาณการโดยผู้เชี่ยวชาญ ตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย และผู้บริหารให้การรับรองการประมาณการในเรื่องนี้ค่อนข้างมีความไม่แน่นอน อันเนื่องมา จากลักษณะของโครงการทีม่ รี ะยะเวลายาว (หมายเหตุ 3.17.2) การประมาณการในเรือ่ งอืน่ ๆ ได้ถกู เปิดเผยในแต่ละ ส่วนที่เกี่ยวข้องของหมายเหตุประกอบงบการเงินนี้ 3.15 ประมาณการหนี้สิน บริษัทฯ จะบันทึกประมาณการหนี้สินเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ของการเกิดภาระผูกพันในปัจจุบัน ตาม กฎหมายหรือจากการอนุมานอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ ในอดีต ภาระผูกพันดังกล่าวคาดว่าจะส่งผลให้

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

193


รายงานประจำ�ปี 2555

สูญเสียทรัพยากรทีม่ ปี ระโยชน์เชิงเศรษฐกิจ เพือ่ จ่ายชำ�ระ ภาระผูกพันและจำ�นวนทีต่ อ้ งจ่ายสามารถประมาณการได้ อย่างน่าเชื่อถือ หากบริษัทฯ คาดว่าจะได้รับคืนรายจ่ายชำ�ระไปตามประมาณการหนี้สินทั้งหมดหรือบางส่วนอย่าง แน่นอน บริษัทฯ จะรับรู้รายจ่ายได้รับคืนเป็นสินทรัพย์แยกต่างหากแต่ต้องไม่เกินจำ�นวนประมาณการหนี้สินที่ เกี่ยวข้อง 3.16 กำ�ไรต่อหุ้น กำ�ไรต่อหุ้น ที่แสดงไว้ในงบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเป็นกำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน คำ�นวณโดยการหารกำ�ไรหรือขาดทุน สำ�หรับปีด้วยจำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักที่ถือโดยผู้ถือหุ้นในระหว่างงวด 3.17 กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ และ ผลประโยชน์ของพนักงาน 3.17.1 กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพพนักงาน บริษัทฯ จัดให้มีกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ ซึ่งเป็นลักษณะของแผนการจ่ายสมทบตามที่ได้กำ�หนดการจ่าย สมทบไว้แล้ว สินทรัพย์ของกองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ ได้แยกออกไปจากสินทรัพย์ของบริษทั ฯ และได้รบั การ บริหารโดยผูจ้ ดั การกองทุนภายนอก กองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพดังกล่าวได้รบั เงินสะสมเข้ากองทุนจากพนักงาน และเงินสมทบจากบริษัทฯ เงินจ่ายสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุน เบ็ดเสร็จสำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้น 3.17.2 ผลประโยชน์ของพนักงาน บริษัทฯ และบริษัทย่อยจัดให้มีผลประโยชน์ของพนักงาน หลังการเลิกจ้างเพื่อจ่ายให้แก่พนักงานเป็นไป ตามกฎหมายแรงงานไทยมูลค่าปัจจุบนั ของหนีส้ นิ ผลประโยชน์พนักงาน ได้ถกู รับรูร้ ายการในงบแสดงฐานะ การเงินโดยการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยโดยใช้วธิ คี ดิ ลดแต่ละหน่วยทีป่ ระมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) ภายใต้สมมติฐานเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคตที่บริษัทฯ กำ�หนดขึ้น อย่างเหมาะสม สมมติฐานที่ใช้ในการประเมินค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงานสุทธิประจำ�ปี ได้รวมถึง อัตราส่วนลดอัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือนพนักงานและอัตราการเปลี่ยนแปลงในจำ�นวนพนักงาน การ เปลี่ยนแปลงในอัตราเหล่านี้มีผลต่อประมาณการค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของพนักงานสุทธิ ในทุกปี บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้มกี ารทบทวนอัตราส่วนลดทีเ่ หมาะสม ซึง่ สะท้อนถึงอัตราดอกเบีย้ ทีค่ วร นำ�มาใช้ในการคำ�นวณมูลค่าปัจจุบันสุทธิของกระแสเงินสดจ่ายในอนาคตที่คาดว่า จะต้องจ่ายให้กับ พนักงานในการประเมินอัตราส่วนลดทีเ่ หมาะสม บริษทั ฯและบริษทั ย่อยจะพิจารณาจากอัตราดอกเบีย้ ของ พันธบัตรรัฐบาล ซึ่งจ่ายในสกุลเงินที่ได้รับประโยชน์ สมมติฐานทางสถิติที่สำ�คัญที่ใช้ในการคำ�นวณสรุปไว้ดังนี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 และ 2554 อัตราคิดลด

ร้อยละ 4.7 ต่อปี

อัตราการเปลีย่ นแปลงในจำ�นวนพนักงาน

ผันแปรตามอายุพนักงานและแบ่งตามประเภทพนักงานประจำ�และ พนักงานรายวัน

อัตราการตาย

อัตราตามตารางมรณะไทยปี 2540 แยกเกณฑ์ตามเพศชาย และเพศหญิง

194 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

4. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท) 2555 2554

บบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2555 2554

4.1 ลูกหนีก้ ารค้า ลูกหนีก้ ารค้า รวมลูกหนีก้ ารค้า - สุทธิ

2,605,491.05

59,000.00

2,605,491.05

-

2,605,491.05

59,000.00

2,605,491.05

-

1,237,205.34

1,702,637.50

4,195,470.00

4,190,497.00

1,237,205.34

1,702,637.50

4,195,470.00

4,190,497.00

-

90,059,554.40

4.2 ลูกหนีก้ ารค้า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน (ดูหมายเหตุขอ้ 7.1) ลูกหนีก้ ารค้า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน รวมลูกหนีก้ ารค้า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน - สุทธิ 4.3 ลูกหนีอ้ น่ื เงินจ่ายล่วงหน้าผูร้ บั เหมา เงินมัดจำ�ค่าสินค้า

90,059,554.40

137,711,000.00 31,500,000.00 69,038,000.00 31,500,000.00

รายได้คา้ งรับ

34,907,873.14 31,290,009.04

-

-

เงินทดรองจ่าย

14,587,089.11

ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า

15,073,449.61 16,828,764.05 13,575,677.65 15,263,435.60

อืน่ ๆ

15,864,278.69 19,873,076.03

6,910,131.51 13,550,437.68

3,767,596.22

9,627,588.84 10,937,894.40

รวมลูกหนีอ้ น่ื

218,143,690.55 196,461,535.03 105,791,704.17 151,528,480.62

รวมลูกหนีก้ ารค้าและลูกหนีอ้ น่ื - สุทธิ

221,986,386.94 198,223,172.53 112,592,665.22 155,718,977.62

5. ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง และที่ดินและต้นทุนโครงการรอการพัฒนา 5.1 ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท) 2554

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

2555

ทีด่ นิ

3,953,607,986.75

3,009,035,920.82

6,962,643,907.57

ค่าก่อสร้างและออกแบบ

2,403,706,723.31

9,027,028,575.09

11,430,735,298.40

ค่าใช้จา่ ยอืน่ ในโครงการ

101,963,873.60

228,415,075.28

330,378,948.88

19,710,639.70

150,555,431.72

170,266,071.42

6,478,989,223.36

12,415,035,002.91

18,894,024,226.27

-

(10,745,284,634.61)

(10,745,284,634.61)

-

(10,745,284,634.61)

(10,745,284,634.61)

6,478,989,223.36

1,669,750,368.30

8,148,739,591.66

(5,544,191.60)

5,544,191.60

6,473,445,031.76

1,675,294,559.90

ดอกเบีย้ จ่าย รวม หัก โอนเข้าสินค้าคงเหลือ รวมส่วนที่โอนแล้ว ต้นทุนโครงการก่อนหักรายการระหว่างกัน หัก รายการระหว่างกัน ทีด่ นิ และต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง - สุทธิ

8,148,739,591.66

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

195


รายงานประจำ�ปี 2555

2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) เพิ่มขึ้น (ลดลง)

2555

ทีด่ นิ

3,704,471,044.13

2,759,007,733.35

6,463,478,777.48

ค่าก่อสร้างและออกแบบ

2,374,411,225.56

8,757,197,455.74

11,131,608,681.30

ค่าใช้จา่ ยอืน่ ในโครงการ

100,242,636.69

213,714,745.55

313,957,382.24

19,188,379.60

144,229,448.85

163,417,828.45

6,198,313,285.98

11,874,149,383.49

18,072,462,669.47

-

(10,181,748,732.89)

(10,181,748,732.89)

-

(10,181,748,732.89)

(10,181,748,732.89)

1,692,400,650.60

7,890,713,936.58

ดอกเบีย้ จ่าย รวม หัก โอนเข้าสินค้าคงเหลือ รวมส่วนที่โอนแล้ว ทีด่ นิ และต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง - สุทธิ

6,198,313,285.98

- ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษทั ฯ เหลือโครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้างจำ�นวน 20 โครงการ (เฉพาะ กิจการ 17 โครงการ) และ 16 โครงการ (เฉพาะกิจการ 14 โครงการ) ตามลำ�ดับ - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้างบางส่วนจำ�นวน 6,528.94 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ 6,363.30 ล้านบาท) และจำ�นวน 4,370.87 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ 4,232.89 ล้านบาท) ตามลำ�ดับ บริษัทฯ ได้นำ�ไปจดจำ�นองเพื่อเป็นหลักทรัพย์ค้ำ�ประกันตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบ การเงินข้อ 15 - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ได้มีการบันทึกดอกเบี้ยเข้าเป็นต้นทุนโครงการจำ�นวน 150.74 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ 144.41 ล้านบาท) และจำ�นวน 65.56 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ 65.07 ล้านบาท) ตามลำ�ดับ 5.2 ที่ดินและต้นทุนโครงการรอการพัฒนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบด้วย งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2554

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

2555

1,105,494,317.45

77,201,046.22

1,182,695,363.67

ค่าก่อสร้างและออกแบบ

77,661,540.55

14,162,180.61

91,823,721.16

ค่าใช้จา่ ยอืน่ ในโครงการ

8,474,324.11

5,574,191.32

14,048,515.43

1,191,630,182.11

96,937,418.15

1,288,567,600.26

หัก ค่าเผือ่ การด้อยค่าของสินทรัพย์

(391,833,602.41)

-

(391,833,602.41)

ทีด่ นิ และต้นทุนโครงการรอการพัฒนา

799,796,579.70

96,937,418.15

896,733,997.85

ทีด่ นิ

รวม

- -

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯ มีที่ดินและต้นทุนโครงการ จำ�นวน 1 โครงการ มูลค่า 398.72 ล้านบาท อยูร่ ะหว่างฟ้องขับไล่ผอู้ าศัยเดิม ปัจจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์ โดยศาลชัน้ ต้น พิจารณาให้บริษัทฯ ชนะคดี โดยให้ผู้อยู่อาศัยเดิมออกจากที่ดินดังกล่าว ดังนั้นบริษัทฯ จึงบันทึกเป็นที่ดินและ ต้นทุนโครงการรอการพัฒนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ที่ดินรอการพัฒนาบางส่วน จำ�นวน 249.08 ล้านบาท บริษัทฯ ได้นำ� ไปจดจำ�นองเพื่อเป็นหลักทรัพย์ค้ำ�ประกัน ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15

196 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

- ในปี 2554 บริษัทฯ ได้โอนที่ดิน และ ต้นทุนโครงการรอการพัฒนาไปเป็นที่ดิน และ ต้นทุนโครงการระหว่าง ก่อสร้าง จำ�นวน 126.86 ล้านบาท

6. สินค้าคงเหลือ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท)

อาคารชุดพักอาศัย

2555

2554

2555

2554

2,635,962,201.24

937,407,625.91

2,635,962,201.24

937,407,625.91

114,216,217.34

-

-

-

2,750,178,418.58

937,407,625.91

2,635,962,201.24

937,407,625.91

ทาวน์โฮม รวม หัก ค่าเผือ่ การลดมูลค่าสินค้า รวมสุทธิ

- -

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2,750,178,418.58

(2,437,840.44) 934,969,785.47

-

(2,437,840.44)

2,635,962,201.24

934,969,785.47

ในปี 2555 และ ในปี 2554 บริษัทฯ ได้โอนสินค้าคงเหลือ จำ�นวน 33.82 ล้านบาท และจำ�นวน 40.95 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ไปเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษทั ฯ มีการบันทึกการลดมูลค่าของสินค้าคงเหลืออาคารชุด รวมจำ�นวน 2.44 ล้านบาท ในปี 2555 ได้มีการโอนกลับปรับลดการบันทึกการลดมูลค่าของสินค้าคงเหลืออาคารชุดทั้งจำ�นวน เนื่องจากมีการ โอนกรรมสิทธิ์ในเดือนมิถุนายน 2555

7. รายการบัญชีที่เกี่ยวข้องกัน กิจการ

ลักษณะรายการ

นโยบายราคา

1. บริษทั พรสันติ จำ�กัด

- เช่าและให้เช่าอาคารสำ�นักงาน - ให้กยู้ มื เงิน

ราคาตามสัญญา ซึง่ เป็นไปตามราคาท้องตลาด ตัว๋ สัญญาใช้เงินครบกำ�หนดเมือ่ ทวงถาม อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 4.30 - 4.56 ต่อปี

2. บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี มาเนจเมนท์ จำ�กัด

ให้บริการบริหารงานขาย,บริการบริหารงาน ระบบการจัดการสินทรัพย์ให้เช่า วางระบบ - บริหารจัดการอาคารชุด ส่งเสริม - บริหารแบรนด์รวมฐานลูกค้า ยกเลิกการให้บริการบริหารงานขายเมือ่ ต้น ปี 2554

ค่าบริการเรียกเก็บตามสัญญาซึง่ เป็นไป ตามราคาท้องตลาด ค่าบริการเรียกเก็บตามสัญญาทีต่ กลงกัน

3. บริษทั แกรนด์ ยูนติ ้ี ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด และบริษทั ย่อย บริษทั แกรนด์ยู ลิฟวิง่ จำ�กัด (เป็นบริษทั ร่วมของบริษทั ) 4. บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำ�กัด 5. บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด

ได้รบั การบริการบริหารงานก่อสร้าง, งานขายและธุรกิจนายหน้าตัวแทนขายจาก บริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ให้บริการบริหารงานก่อสร้าง

ค่าบริการเรียกเก็บตามสัญญาซึง่ เป็นไป ตามราคาท้องตลาด

ให้บริการทำ�ความสะอาด ส่งเสริม - บริหารแบรนด์ ให้บริการพนักงานต้อนรับ

ค่าบริการเรียกเก็บตามสัญญาทีต่ กลงกัน ซึง่ เป็นไปตามราคาท้องตลาด ค่าบริการเรียกเก็บตามสัญญาทีต่ กลงกัน ซึง่ เป็นไปตามราคาท้องตลาด ค่าบริการเรียกเก็บตามสัญญาทีต่ กลงกัน ค่าบริการเรียกเก็บตามสัญญาทีต่ กลงกัน

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

197


รายงานประจำ�ปี 2555

7.1 ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม (บาท) บริษทั แกรนด์ ยูนติ ้ี ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด และ บริษทั ย่อยบริษทั แกรนด์ยู ลิฟวิง่ จำ�กัด (เป็นบริษทั ร่วมของบริษทั ) รวม

2554

เพิ่มขึ้น

ลดลง

2555

1,702,637.50 1,702,637.50

5,327,115.99 5,327,115.99

5,792,548.15 5,792,548.15

1,237,205.34 1,237,205.34

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) เพิ่มขึ้น ลดลง

2554 บริษทั ลุมพิน พร็อพเพอร์ต้ี มาเนจเมนท์ จำ�กัด บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจ เซอร์วสิ จำ�กัด บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด บริษทั พรสันติ จำ�กัด รวม

2555

3,444,097.00 -

5,001,487.70 1,193,150.64

4,995,487.70 1,190,150.64

3,450,097.00 3,000.00

6,400.00 740,000.00 4,190,497.00

231,316.92 8,946,565.27 15,372,520.53

237,716.92 8,944,192.27 15,367,547.53

742,373.00 4,195,470.00

7.2 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) บริษทั พรสันติ จำ�กัด รวม

2554

เพิ่มขึ้น

ลดลง

2555

-

323,000,000.00 323,000,000.00

323,000,000.00 323,000,000.00

-

7.3 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม อัตราการถือ หุ้น

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ (บาท) กิจการ (บาท) เงินปันผล (บาท) วิธีส่วนได้เสีย

วิธีราคาทุน

31 ธันวาคม 2555 บริษทั ย่อย บริษทั พรสันติ จำ�กัด

99.99

หัก ค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุน คงเหลือสุทธิ

-

473,037,237.15

-

-

(111,425,191.36)

-

-

361,612,045.79

บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี มาเนจเมนท์ จำ�กัด

99.88

-

998,800.00

บริษทั ลุมพินี โปรเจคมาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำ�กัด

99.93

-

999,300.00

บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด

99.95

-

999,500.00

198 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

7.3 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม (ต่อ) อัตราการถือ หุ้น

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ (บาท) กิจการ (บาท) เงินปันผล (บาท) วิธีส่วนได้เสีย

วิธีราคาทุน

31 ธันวาคม 2555 บริษทั ร่วม บริษทั แกรนด์ ยูนติ ้ี ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด และบริษทั ย่อย บริษทั แกรนด์ยู ลิฟวิง่ จำ�กัด (เป็นบริษทั ร่วมของบริษทั ) รวม

20.00

364,609,645.79

-

147,600,000.00 147,600,000.00

งบการเงินบริษทั ร่วมซึง่ นำ�มาบันทึกกำ�ไรส่วนได้เสีย จำ�นวน 67.89 ล้านบาท เป็นงบการเงินทีผ่ บู้ ริหารจัดทำ�ขึน้ โดย ยังไม่ผ่านการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชี ปี 2555 บริษัทขายเงินลงทุนในบริษัทร่วมทั้งจำ�นวน ในวันที่ 11 ธันวาคม 2555 และ มีกำ�ไรจากการขายเงินลงทุน จำ�นวน 48.52 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ 58.28 ล้านบาท) อัตราการถือ หุ้น

งบการเงินรวม (บาท) วิธีส่วนได้เสีย

งบการเงินเฉพาะ กิจการ (บาท) เงินปันผล (บาท) วิธีราคาทุน

31 ธันวาคม 2555 บริษทั ย่อย บริษทั พรสันติ จำ�กัด

99.99

หัก ค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุน คงเหลือสุทธิ

-

473,037,237.15

-

-

(111,425,191.36)

-

-

361,612,045.79

-

บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี มาเนจเมนท์ จำ�กัด

99.88

-

998,800.00

41,949,600.00

บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำ�กัด

99.93

-

999,300.00

35,974,800.00

บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด

99.95

-

999,500.00

-

20.00

211,188,823.14 211,188,823.14

บริษทั ร่วม บริษทั แกรนด์ ยูนติ ้ี ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด และบริษทั ย่อย บริษทั แกรนด์ยู ลิฟวิง่ จำ�กัด (เป็นบริษทั ร่วมของบริษทั ) รวม

121,721,938.32 486,331,584.11

2,280,000.00 80,204,400.00

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

199


รายงานประจำ�ปี 2555

7.4 เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2554 2,700.00

บริษทั พรสันติ จำ�กัด

เพิ่มขึ้น -

ลดลง -

2555 2,700.00

บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี มาเนจเมนท์ จำ�กัด

5,902,710.44

93,069,901.18

95,586,346.53

3,386,265.09

บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำ�กัด

9,148,560.00

24,881,186.54

33,835,186.54

194,560.00

769,695.80

31,881,920.58

29,828,381.22

2,823,235.16

15,823,666.24

149,833,008.30

159,249,914.29

6,406,760.25

บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด รวม

7.5 รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2555

2554

2555

2554

บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำ�กัด

-

-

1,137,360.00

778,240.00

บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี มาเนจเมนท์ จำ�กัด

-

-

3,535,728.00

2,132,688.00

บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด

-

-

220,680.00

147,120.00

บริษทั พรสันติ จำ�กัด

-

-

18,000.00

18,000.00

-

-

4,911,768.00

3,076,048.00

บริษทั พรสันติ จำ�กัด

-

-

4,463,072.76

426,432.88

บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด

-

-

รวม

-

-

บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำ�กัด

-

-

130,177,863.45 141,225,626.01

บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี มาเนจเมนท์ จำ�กัด

-

-

9,620,000.00 14,319,416.67

บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด

-

-

9,234,616.64

-

-

บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี มาเนจเมนท์ จำ�กัด

-

-

3,876,165.74

5,323,741.05

บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด

-

-

504,000.00

736,500.00

-

-

4,380,165.74

6,060,241.05

7.5.1 รายได้จากธุรกิจให้เช่าและบริการ

รวม 7.5.2 ดอกเบีย้ รับ

4,463,072.76

48,300.13 474,733.01

7.5.3 ต้นทุนขาย

รวม

6,834,883.33

149,032,480.09 162,379,926.01

7.5.4 ต้นทุนจากธุรกิจให้เช่าและบริการ

รวม

200 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

7.5 รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) งบการเงินรวม (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2555

2554

2555

2554

บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี มาเนจเมนท์ จำ�กัด

-

-

161,761,729.60 137,519,781.03

บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด

-

-

24,030,333.33

-

-

185,792,062.93 139,619,781.03

บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี มาเนจเมนท์ จำ�กัด

-

-

-

52,033,516.67

บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด

-

-

5,698,392.75

3,319,496.55

บริษทั พรสันติ จำ�กัด

-

-

4,440,000.00

4,440,000.00

-

-

4,153,033.33 4,153,033.33

4,650,024.18 4,650,024.18

7.5.5 ค่าใช้จา่ ยในการขาย

รวม

2,100,000.00

7.5.6 ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร

รวม 7.5.7. รายได้จากธุรกิจรับจ้างบริหารจัดการ บริษทั แกรนด์ ยูนติ ้ี ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด และบริษทั ย่อย บริษทั แกรนด์ยู ลิฟวิง่ จำ�กัด (เป็นบริษทั ร่วมของบริษทั ) รวม

10,138,392.75 59,793,013.22

-

-

8. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท) ค่าตกแต่งอาคาร อาคาร และเฟอร์นิเจอร์

ที่ดิน ราคาทุน ณ 31 ธันวาคม 2554

รวม

92,803,122.36

357,845,775.15

14,459,256.75

465,108,154.26

-

-

932,267.99

932,267.99

(886,473.74)

(4,987,422.54)

(212,404.70)

(6,086,300.98)

7,265,888.91

26,557,016.16

-

33,822,905.07

99,182,537.53

379,415,368.77

15,179,120.04

493,777,026.34

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

-

67,958,460.67

10,696,076.26

78,654,536.93

ค่าเสือ่ มราคาสำ�หรับปี

-

8,789,305.59

990,861.87

9,780,167.46

ค่าเสือ่ มราคาจำ�หน่าย / ตัดจำ�หน่าย

-

(718,112.04)

(195,325.17)

(913,437.21)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

-

76,029,654.22

11,491,612.96

87,521,267.18

ซือ้ จำ�หน่าย / ตัดจำ�หน่าย อืน่ ๆ ณ 31 ธันวาคม 2555 ค่าเสือ่ มราคาสะสม

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

201


รายงานประจำ�ปี 2555

8. อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - สุทธิ (ต่อ)

ที่ดิน มูลค่าสุทธิตามบัญชี

งบการเงินรวม (บาท) ค่าตกแต่งอาคาร อาคาร และเฟอร์นิเจอร์

รวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

99,182,537.53

303,385,714.55

3,687,507.08

406,255,759.16

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

92,803,122.36

289,887,314.48

3,763,180.49

386,453,617.33

ค่าเสือ่ มราคา สำ�หรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

14,014,982.20

ค่าเสือ่ มราคา สำ�หรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554

13,206,285.35

ที่ดิน ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

งบการเฉพาะกิจการ (บาท) อาคาร ค่าตกแต่งอาคาร และเฟอร์นิเจอร์ 18,858,605.82

521,715,875.14

-

972,617.99

972,617.99

(886,473.74)

(4,987,422.54)

(212,404.70)

(6,086,300.98)

7,265,888.91

26,557,016.16

-

33,822,905.07

100,928,716.53

429,877,561.58

19,618,819.11

550,425,097.22

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

-

66,134,856.63

8,396,996.02

74,531,852.65

ค่าเสือ่ มราคาสำ�หรับปี

-

10,053,087.14

1,697,938.59

11,751,025.73

ค่าเสือ่ มราคาจำ�หน่าย / ตัดจำ�หน่าย

-

(718,112.04)

(195,325.17)

(913,437.21)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

-

75,469,831.73

9,899,609.44

85,369,441.17

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

100,928,716.53

354,407,729.85

9,719,209.67

465,055,656.05

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

94,549,301.36

342,173,111.33

10,461,609.80

447,184,022.49

ซือ้ จำ�หน่าย / ตัดจำ�หน่าย อืน่ ๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

94,549,301.36

408,307,967.96

-

รวม

ค่าเสือ่ มราคาสะสม

มูลค่าสุทธิตามบัญชี

ค่าเสือ่ มราคา สำ�หรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555

11,440,264.12

ค่าเสือ่ มราคา สำ�หรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554

10,631,567.40

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯ ได้โอนสินค้าคงเหลือ จำ�นวน 33.82 ล้านบาท และจำ�นวน 40.95 ล้านบาท ตามลำ�ดับ มาเป็นอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน

202 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน จำ�นวน 163.76 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 153.45 ล้านบาท) และจำ�นวน 71.13 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 60.46 ล้านบาท) ตามลำ�ดับ บริษัทฯ ได้นำ�ไปจดจำ�นองเพื่อ เป็นหลักทรัพย์ค้ำ�ประกัน ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯ มีอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนที่คิดค่าเสื่อมราคาเต็มมูลค่าแล้ว แต่ยังใช้ งานอยู่ คิดเป็นมูลค่าต้นทุน เป็นจำ�นวน 7.57 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 3.54 ล้านบาท) และจำ�นวน 7.58 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 3.54 ล้านบาท) ตามลำ�ดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนมีราคามูลค่ายุติธรรม รวมเป็นจำ�นวน 738.87 ล้านบาท (เฉพาะกิจการจำ�นวน 808.77 ล้านบาท) และจำ�นวน 707.28 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 682.74 ล้านบาท) ตามลำ�ดับ

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

203


รายงานประจำ�ปี 2555

9. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบด้วย

งบการเงินรวม (บาท) ที่ดิน

อาคาร

คอมพิวเตอร์

งานระหว่างรอ การพัฒนาระบบ โปรแกรม

13,830,462.94

184,198,451.66

47,561,692.43

1,382,385.38

ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ซือ้ เพิม่

-

-

2,483,676.08

500,557.50

จำ�หน่าย / ตัดจำ�หน่าย

-

-

(3,918,573.63)

-

56,187.11

1,586,691.37

-

(32,100.00)

13,886,650.05

185,785,143.03

46,126,794.88

1,850,842.88

อืน่ ๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ค่าเสือ่ มราคาสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

-

37,632,926.83

37,294,275.28

-

ค่าเสือ่ มราคาสำ�หรับปี

-

4,640,160.81

3,816,079.01

-

ค่าเสือ่ มราคาจำ�หน่าย / ตัดจำ�หน่าย

-

310,761.61

(3,887,969.79)

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

-

42,583,849.25

37,222,384.50

-

มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

13,886,650.05

143,201,293.78

8,904,410.38

1,850,842.88

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

13,830,462.94

146,565,524.83

10,267,417.15

1,382,385.38

ค่าเสือ่ มราคา สำ�หรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ค่าเสือ่ มราคา สำ�หรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554

204 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

เครื่องตกแต่ง และ ติดตั้ง

เครื่องใช้ สำ�นักงาน

ยานพาหนะ

งานพัฒนาระบบ โปรแกรม

31,992,056.99

50,781,396.35

32,889,020.00

28,974,672.79

1,376,653.54

2,255,534.83

13,510,000.00

(318,625.12)

(1,807,137.42)

-

-

งานระหว่าง ตกแต่ง

เครื่องมือ เครื่องใช้

รวม

65,000.00

3,954,915.40

395,630,053.94

5,289,434.26

71,258.00

689,436.03

26,176,550.24

(11,550,000.00)

-

-

-

(17,594,336.17)

-

-

-

1,609,070.48

(1,708.00)

33,050,085.41

51,229,793.76

34,849,020.00

34,264,107.05

134,550.00

4,644,351.43

405,821,338.49

10,481,990.93

33,660,660.34

14,266,389.11

22,964,435.60

-

2,503,770.21

158,804,448.30

3,130,643.95

3,011,456.17

6,795,513.67

3,043,642.69

-

538,377.66

24,975,873.96

(93,868.27)

(1,436,477.33)

(10,751,528.72)

-

-

-

(15,859,082.50)

13,518,766.61

35,235,639.18

10,310,374.06

26,008,078.29

-

3,042,147.87

167,921,239.76

19,531,318.80

15,994,154.58

24,538,645.94

8,256,028.76

134,550.00

1,602,203.56

237,900,098.73

21,510,066.06

17,120,736.01

18,622,630.89

6,010,237.19

65,000.00

1,451,145.19

236,825,605.64 20,741,059.22 19,710,212.61

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

205


รายงานประจำ�ปี 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) งานระหว่างรอ การพัฒนาระบบ โปรแกรม

ที่ดิน

อาคาร

คอมพิวเตอร์

1,085,662.14

30,658,466.35

25,113,006.81

1,162,485.38 500,557.50

ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ซือ้ เพิม่ จำ�หน่าย / ตัดจำ�หน่าย

-

-

2,238,038.68

56,187.11

1,586,691.37

(1,928,878.58)

-

-

อืน่ ๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

-

(32,100.00)

1,141,849.25

32,245,157.72

25,422,166.91

1,630,942.88

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

-

6,495,313.37

17,702,718.57

-

ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปี

-

801,661.18

2,690,199.11

-

ค่าเสือ่ มราคาจำ�หน่าย / ตัดจำ�หน่าย

-

310,761.61

(1,900,556.97)

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

-

7,607,736.16

18,492,360.71

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

1,141,849.25

24,637,421.56

6,929,806.20

1,630,942.88

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

1,085,662.14

24,163,152.98

7,410,288.24

1,162,485.38

ค่าเสือ่ มราคาสะสม

มูลค่าสุทธิตามบัญชี

ค่าเสือ่ มราคา สำ�หรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ค่าเสือ่ มราคา สำ�หรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ที่ดินและอาคาร จำ�นวน 34.60 ล้านบาท และจำ�นวน 28.74 ล้านบาท ตามลำ�ดับ บริษัทฯ ได้นำ�ไปจดจำ�นองเพื่อเป็นหลักทรัพย์ค้ำ�ประกันตามที่กล่าวไว้ใน’หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯ มีสินทรัพย์ถาวรที่คิดค่าเสื่อมราคาเต็มมูลค่าแล้วแต่ยังใช้งานอยู่ คิดเป็นมูลค่า ต้นทุนจำ�นวน 73.80 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 50.86 ล้านบาท) และจำ�นวน 71.64 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 48.88 ล้านบาท) ตามลำ�ดับ

206 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

เครื่องตกแต่ง และ ติดตั้ง

เครื่องใช้สำ�นักงาน

ยานพาหนะ

งานพัฒนาระบบ โปรแกรม

รวม

22,352,505.17

40,776,069.71

32,889,020.00

24,373,589.84

178,410,805.40

1,336,303.54

1,617,711.34

13,510,000.00

5,224,484.35

24,427,095.41

(318,625.12)

(1,124,315.48)

(11,550,000.00)

-

(13,278,940.70)

-

-

-

-

(32,100.00)

23,370,183.59

41,269,465.57

34,849,020.00

29,598,074.19

189,526,860.11

8,280,207.30

25,987,074.38

14,266,389.11

20,991,677.99

93,723,380.72

2,183,137.51

2,203,556.22

6,795,513.67

2,115,986.50

16,790,054.19

(93,868.27)

(753,817.07)

(10,751,528.72)

-

(13,189,009.42)

10,369,476.54

27,436,813.53

10,310,374.06

23,107,664.49

97,324,425.49

13,000,707.05

13,832,652.04

24,538,645.94

6,490,409.70

92,202,434.62

14,072,297.87

14,788,995.33

18,622,630.89

3,381,911.85

84,687,424.68 17,100,815.80 15,628,333.12

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

207


รายงานประจำ�ปี 2555

10. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบด้วย

งบการเงินรวม (บาท) 2555 44,129,254.91

2554 24,838,278.61

2555 44,129,254.91

2554 24,838,278.61

1,069,258,600.00

360,000,000.00

959,000,000.00

350,000,000.00

1,113,387,854.91

384,838,278.61

1,003,129,254.91

374,838,278.61

เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น ค้ำ�ประกันโดยหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15

11. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2555

2554

2555

2554

เจ้าหนีก้ ารค้า

608,867,022.79

173,178,420.15

565,485,361.46

166,849,795.19

เจ้าหนีค้ า่ ทีด่ นิ

-

94,850,000.00

-

94,850,000.00

608,867,022.79

268,028,420.15

565,485,361.46

261,699,795.19

-

-

6,406,760.25

15,823,666.24

-

-

6,406,760.25

15,823,666.24

801,026,494.21 1,011,687,661.98

801,026,494.21

11.1 เจ้าหนีก้ ารค้า

รวมเจ้าหนีก้ ารค้า - สุทธิ 11.2 เจ้าหนีก้ ารค้า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้อง เจ้าหนีก้ ารค้า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้อง รวมเจ้าหนีก้ ารค้า - กิจการทีเ่ กีย่ วข้อง - สุทธิ 11.3 เจ้าหนีอ้ น่ื เงินรับล่วงหน้า

1,021,491,861.98

เงินประกันผลงาน

237,876,900.06

182,680,711.24

229,748,582.73

182,280,994.73

อืน่ ๆ

225,043,414.19

135,723,657.77

167,563,624.39

97,071,853.25

รวมเจ้าหนีอ้ น่ื

1,484,412,176.23 1,119,430,863.22 1,408,999,869.10 1,080,379,342.19

รวมเจ้าหนีก้ ารค้าและเจ้าหนีอ้ น่ื - สุทธิ

2,093,279,199.02 1,387,459,283.37 1,980,891,990.81 1,357,902,803.62

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เจ้าหนี้ค่าที่ดินเป็นหนี้ตามตั๋วสัญญาใช้เงิน ที่อาวัลโดยธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่ง

208 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

12. เงินกู้ยืมและหนี้สินระยะยาวที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายใน 1 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบด้วย

งบการเงินรวม (บาท) เงินกูย้ มื ระยะยาวทีถ่ งึ กำ�หนดชำ�ระภายใน 1 ปี หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงินทีค่ รบกำ�หนดภายใน 1 ปี รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2555 718,500,000.00

2554 212,100,000.00

2555 718,500,000.00

2554 212,100,000.00

4,754,391.91

3,296,788.66

4,589,464.27

3,149,111.96

723,254,391.91

215,396,788.66

723,089,464.27

215,249,111.96

13. หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

รายละเอียดเกี่ยวกับสินทรัพย์ที่เช่าตามสัญาเช่าการเงิน มีดังนี้ งบการเงินรวม (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2555 34,543,000.00

2554 32,583,000.00

2555 34,543,000.00

2554 32,583,000.00

1,778,336.77

1,615,047.10

1,043,836.77

932,447.10

36,321,336.77

34,198,047.10

35,586,836.77

33,515,447.10

10,545,362.80

14,705,650.35

10,225,998.53

14,334,236.82

ราคาตามบัญชี - สุทธิ 25,775,973.97 จำ�นวนขัน้ ต�ำ่ ทีต่ อ้ งจ่ายสำ�หรับสัญญาเช่าการเงินข้างต้นมี ดังนี้

19,492,396.75

25,360,838.24

19,181,210.28

ยานพาหนะ เครือ่ งถ่ายเอกสาร รวม หัก ค่าเสือ่ มราคาสะสม

งบการเงินรวม (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2555

2554

2555

6,152,933.94

4,019,618.16

5,967,039.63

3,850,939.08

เกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี

10,923,810.24

6,812,987.82

10,771,212.19

6,618,367.66

เกิน 3 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี

7,385,301.59

5,048,778.00

7,309,367.97

5,048,778.00

24,462,045.77

15,881,383.98

24,047,619.79

15,518,084.74

หัก ดอกเบีย้ จ่ายในอนาคตของสัญญาเช่าการเงิน

(3,518,566.74)

(1,863,362.32)

(3,477,045.80)

(1,830,107.22)

มูลค่าปัจจุบนั ของหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน

20,943,479.03

14,018,021.66

20,570,573.99

13,687,977.52

ภายใน 1 ปี

2554

หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงินไม่รวมดอกเบีย้ จ่ายในอนาคต มีดงั นี้ งบการเงินรวม (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2555

2554

2555

2554

20,943,479.03

14,018,021.66

20,570,573.99

13,687,977.52

หัก หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงินทีค่ รบกำ�หนดภายใน 1 ปี (4,754,391.91)

(3,296,788.66)

(4,589,464.27)

(3,149,111.96)

หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน-สุทธิ

10,721,233.00

15,981,109.72

10,538,865.56

หนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าการเงิน

16,189,087.12

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

209


รายงานประจำ�ปี 2555

14. เงินกู้ยืมระยะยาว

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท) 2555 1,710,500,000.00

เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน หัก เงินกูย้ มื ระยะยาวทีถ่ งึ กำ�หนดชำ�ระภายใน 1 ปี สุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2554 2555 212,200,000.00 1,710,500,000.00

2554 212,200,000.00

(718,500,000.00) (212,100,000.00) (718,500,000.00) (212,100,000.00) 992,000,000.00

100,000.00

992,000,000.00

100,000.00

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯ มีเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินจ่ายดอกเบี้ยในอัตราตลาดเงิน (Market Rate) และจ่ายคืนเมื่อจบโครงการเงินกู้ยืมระยะยาวค้ำ�ประกันโดยหลักทรัพย์ของบริษัท ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15

15. หลักทรัพย์ที่นำ�ไปคํ้าประกัน หมายเหตุ ทีด่ นิ และต้นทุนโครงการ ระหว่างก่อสร้างบางส่วน และทีด่ นิ รอการพัฒนาบางส่วน อสังหาเพือ่ การลงทุน ประเภททีด่ นิ และอาคารให้เช่า ทีด่ นิ และอาคารสำ�นักงาน รวม

งบการเงินรวม (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2555 2554 2555 2554 5.1, 5.2 6,778,011,776.56 4,619,952,266.78 6,612,376,044.10 4,481,970,093.68 8

163,763,483.21

71,126,692.18

153,447,875.74

60,457,590.56

9

34,603,730.90

28,736,124.54

34,603,730.90

28,736,124.54

6,976,378,990.67 4,719,815,083.50 6,800,427,650.74 4,571,163,808.78

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯ ได้นำ�ไปจดจำ�นองเพื่อเป็นหลักทรัพย์ค้ำ�ประกันเงินกู้ยืมธนาคารพาณิชย์และ สถาบันการเงิน ภายในวงเงินกู้ยืม จำ�นวน 13,491.00 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 13,269.00 ล้านบาท) และจำ�นวน 5,579.00 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 5,437.00 ล้านบาท) ตามลำ�ดับ ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 10 และ 14

16. ทุนเรือนหุ้น

ตามรายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2554 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554 ของบริษัท พรสันติ จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัท ย่อย ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้เพิ่มทุนหุ้นสามัญ จากทุนหุ้นสามัญเดิม 350,000 หุ้น เป็นทุนหุ้นสามัญ 3,500,000 หุ้น และลดมูลค่าหุ้นสามัญจากมูลค่าหุ้นสามัญเดิม หุ้นละ 1,000 บาท เป็นมูลค่าหุ้นสามัญหุ้นละ 100 บาท ซึ่งได้จดทะเบียนกับ กระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 และที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้ลดทุนจดทะเบียน จากทุนจดทะเบียนเดิม จำ�นวน 350.00 ล้านบาท เป็นทุนจดทะเบียนจำ�นวน 195.00 ล้านบาท โดยลดจำ�นวนหุ้นสามัญ จากหุ้นสามัญเดิม 3,500,000 หุ้น เป็นหุ้นสามัญ 1,950,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ซึ่งจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2554 ตามรายงานการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 2/2554 ลงวันที่ 19 พฤษภาคม 2554 ของบริษัท พรสันติ จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัท ย่อย ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ให้เพิ่มทุนจดทะเบียน จากทุนจดทะเบียนเดิม จำ�นวน 195.00 ล้านบาท เป็นทุนจดทะเบียน จำ�นวน 350.00 ล้านบาท ซึ่งได้จดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2554 และบริษัทฯได้รับชำ�ระค่าหุ้นบาง ส่วน ค่าหุ้นส่วนที่เหลือได้แสดงไว้เป็นลูกหนี้ค่าหุ้น

210 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

17. หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นภายหน้าและภาระผูกพัน

17.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ธนาคารออกหนังสือ ค้ำ�ประกันดังต่อไปนี้ 17.1.1 จากการให้ธนาคารออกหนังสือค้ำ�ประกันให้กับกรมสรรพากร จำ�นวน 17.21 ล้านบาท จากการที่บริษัทฯ และบริษัทย่อยถูกประเมินภาษีอากรของปีก่อน ๆ จำ�นวน 27.57 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 7.41 ล้านบาท) ซึง่ ผลของการอุทธรณ์ตอ่ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ของกรมสรรพากร เมือ่ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2546 ให้ลดหนี้เบี้ยปรับพร้อมเงินเพิ่ม เหลือจำ�นวน 17.21 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 2.62 ล้านบาท) แต่บริษัทฯ ยังไม่ได้บันทึกเป็นภาระหนี้สิน เนื่องจากบริษัทฯ ได้ยื่นฟ้องต่อศาลภาษีอากรซึ่งได้พิพากษาให้ บริษัทฯ ชนะคดี ต่อมากรมสรรพากรได้ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลฎีกา ซึ่งได้พิพากษาให้ย้อนสำ�นวนกลับไปที่ศาล ภาษีอากร เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2552 ศาลภาษีอากรได้มีคำ�พิพากษาให้บริษัทฯ ชำ�ระภาษีโดยลดเบี้ยปรับทั้ง จำ�นวน ปัจจุบันบริษัทฯ และกรมสรรพากรต่างยื่นอุทธรณ์ต่อศาลฎีกา และอยู่ระหว่างรอฟังคำ�พิพากษา 17.1.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯ มีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ธนาคารออกหนังสือค้ำ� ประกันให้กับหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ จำ�นวนรวม 10.25 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 6.81 ล้านบาท) และจำ�นวน 5.16 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 2.04 ล้านบาท) ตามลำ�ดับ 17.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯ มีภาระผูกพันตามสัญญากับผู้รับเหมาก่อสร้างโครงการที่จะต้อง ก่อสร้างให้เสร็จตามสัญญา คงเหลืออีกจำ�นวน 3,811.60 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 3,811.60 ล้านบาท) และ จำ�นวน 3,213.57 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 3,180.28 ล้านบาท) ตามลำ�ดับ 17.3 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่จะต้องจ่ายชำ�ระค่าที่ดินตามข้อตกลง และตามสัญญาในส่วนที่เหลืออีกจำ�นวน 853.03 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ 578.34 ล้านบาท) และ 195.35 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ 195.35 ล้านบาท) ตามลำ�ดับ 17.4 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯ มีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ธนาคารอาวัลตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อ ค้ำ�ประกันสัญญาซื้อวัตถุดิบของผู้รับเหมาก่อสร้างของบริษัท จำ�นวน 2 ราย เป็นจำ�นวน 150.44 ล้านบาท และ 143.16 ล้านบาท ตามลำ�ดับ

18. เงินปันผลจ่าย สำ�หรับปี 2555 ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2555 ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2555 อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลแก่ผู้ถือหุ้น จากผลการดำ�เนินงานสำ�หรับงวด 6 เดือนของปี 2555 ในอัตราหุน้ ละ 0.23 บาท จำ�นวน 1,475.70 ล้านหุน้ เป็นจำ�นวน 339.41 ล้านบาท หักหุ้นที่ไม่มีสิทธิได้รับเงินปันผลระหว่างกาล จำ�นวน 9.69 ล้านหุ้น ในอัตราหุ้นละ 0.23 บาท เป็นจำ�นวน 2.23 ล้าน บาท คงเหลือเงินปันผลที่ต้องจ่ายจริงจำ�นวน 337.18 ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯได้จ่ายเงินปันผลแล้วเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2555 ตามมติทปี่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2555 ลงวันที่ 29 มีนาคม 2555 อนุมตั ิให้จา่ ยเงินปันผลแก่ผถู้ อื หุน้ จากผลการดำ�เนิน งานสำ�หรับปี 2554 ในอัตราหุ้นละ 0.65 บาท จำ�นวน 1,475.70 ล้านหุ้น เป็นจำ�นวน 959.20 ล้านบาท หักหุ้นที่ไม่มีสิทธิได้ รับเงินปันผลระหว่างกาล จำ�นวน 0.30 ล้านหุ้น ในอัตราหุ้นละ 0.21 บาท เป็นจำ�นวน 0.06 ล้านบาท และหุ้นที่ไม่มีสิทธิได้ รับเงินปันผลประจำ�ปี จำ�นวน 12.69 ล้านหุ้น ในอัตราหุ้นละ 0.44 บาท เป็นจำ�นวน 5.58 ล้านบาท คงเหลือเงินปันผลที่ต้อง จ่ายจริงจำ�นวน 953.56 ล้านบาท โดยหักเงินปันผลระหว่างกาลที่จ่ายไปแล้วจำ�นวน 309.83 ล้านบาท คงเหลือเป็นเงินปันผล จ่าย จำ�นวน 643.73 ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯ ได้มีการการจ่ายเงินปันผลในวันที่ 11 เมษายน 2555 สำ�หรับปี 2554 ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2554 ลงวันที่ 4 สิงหาคม 2554 อนุมัติให้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลแก่ผู้ถือ หุ้น จากผลการดำ�เนินงานสำ�หรับงวด 6 เดือนของปี 2554 ในอัตราหุ้นละ 0.21 บาท จำ�นวน 1,475.70 ล้านหุ้น เป็นจำ�นวน 309.83 ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯ ได้จ่ายเงินปันผลแล้วเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2554

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

211


รายงานประจำ�ปี 2555

ตามมติทปี่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2554 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2554 อนุมตั ิให้จา่ ยเงินปันผลแก่ผถู้ อื หุน้ จากผลการดำ�เนิน งานสำ�หรับปี 2553 ในอัตราหุ้นละ 0.56 บาท จำ�นวน 1,475.70 ล้านหุ้น เป็นจำ�นวน 826.39 ล้านบาท หักหุ้นที่ไม่มีสิทธิได้ รับเงินปันผลระหว่างกาล จำ�นวน 0.11 ล้านหุ้น ในอัตราหุ้นละ 0.18 บาท เป็นจำ�นวน 0.02 ล้านบาท และหุ้นที่ไม่มีสิทธิได้ รับเงินปันผลประจำ�ปี จำ�นวน 0.09 ล้านหุ้น ในอัตราหุ้นละ 0.38 บาท เป็นจำ�นวน 0.03 ล้านบาท คงเหลือเงินปันผลที่ต้อง จ่ายจริงจำ�นวน 826.34 ล้านบาท โดยหักเงินปันผลระหว่างกาลที่จ่ายไปแล้วจำ�นวน 265.61 ล้านบาท คงเหลือเป็นเงินปันผล จ่าย จำ�นวน 560.73 ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯได้จ่ายเงินปันผลแล้วเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2554

19. กำ�ไรสะสม สำ�รองตามกฎหมาย - สำ�รองครบถ้วน ตามพระราชบัญญัติบริษัท มหาชน จำ�กัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯ ต้องจัดสรรกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีเป็นทุนสำ�รองตามกฎหมายไม่ น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีหลังจากหักยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำ�รองนีจ้ ะมีจ�ำ นวนไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำ�รองตามกฎหมายดังกล่าวจะนำ�ไปจ่ายเงินปันผลไม่ได้

20. เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย และจากการที่คู่สัญญาไม่ปฏิบัติตามสัญญา บริษัทฯ และบริษัทย่อยไม่มีนโยบายประกอบธุรกรรมตราสารอนุพันธ์ทางการเงินเพื่อการเก็งกำ�ไรหรือเพื่อการค้า ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยนี้เกิดขึ้นจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยในตลาดในอนาคต ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อผลการ ดำ�เนินงานและกระแสเงินสดของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ เนือ่ งจากมีเงิน ฝากกับสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมเป็นจำ�นวนมาก บริษัทฯ และบริษัทย่อยมิได้ใช้ตราสารอนุพันธ์ ทางการเงินเพื่อป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว เนื่องจากฝ่ายบริหารของบริษัทฯ และบริษัทย่อยเห็นว่าไม่มีตลาดภายในประเทศ รองรับการป้องกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากบริษัทฯ และบริษัทย่อย ไม่โอนกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ที่ขายให้กับผู้ซื้อจนกว่าจะได้รับชำ�ระมูลค่าตามสัญญาทั้งหมด ดังนั้นบริษัทฯ จึงไม่คาดว่าจะได้ รับความเสียหายที่เป็นสาระสำ�คัญจากการเก็บหนี้ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน บริษัทฯและบริษัทย่อยใช้วิธีและข้อสมมุติฐานดังต่อไปนี้ ในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน - เงินสด เงินฝากธนาคารและเงินลงทุนชั่วคราว แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณตามจำ�นวนเงินที่แสดงในงบ แสดงฐานะการเงิน - ลูกหนี้การค้าและตั๋วเงินรับที่ครบกำ�หนดชำ�ระนับตั้งแต่วันสิ้นงวดน้อยกว่า 90 วัน หรือลูกหนี้ที่ผิดนัดชำ�ระหนี้ แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณตามจำ�นวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน - เงินให้กู้ยืม แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณตามจำ�นวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน - เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่ายที่มีกำ�หนดการชำ�ระหนี้ไม่เกิน 90 วัน มูลค่ายุติธรรม โดยประมาณ แสดงตามจำ�นวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน - ดอกเบี้ยค้างจ่าย มูลค่ายุติธรรมโดยประมาณแสดงตามจำ�นวนเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน - เงินกู้ยืมระยะยาวซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ราคาตามบัญชีมีจำ�นวนเท่ากับมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณ

212 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

21. เปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับงบกระแสเงินสด

21.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย เงินสดในมือและยอดคงเหลือในธนาคาร จากรายการในงบแสดง ฐานะการเงินดังนี้ งบการเงินรวม (บาท)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2555

2554

2555

2554

1,167,630,005.64

294,958,777.43

854,893,878.25

216,019,143.02

21.2 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ปี 2555 และ 2554 บริษัทฯ ได้โอนสินค้าคงเหลืออาคารชุดไปเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน จำ�นวน 33.82 ล้านบาท และจำ�นวน 40.94 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ปี 2555 บริษัทฯ ได้โอนอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนไปเป็นที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ จำ�นวน 1.33 ล้านบาท 21.3 ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงาน ปี 2555 และ 2554 บริษัทฯ มีการบันทึกประมาณการผลประโยชน์พนักงาน จำ�นวน 12.17 ล้านบาท และ 11.33 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 4.64 ล้านบาท และ 4.31 ล้านบาท) ตามลำ�ดับ 21.4 สินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน ปี 2555 และ 2554 บริษัทฯ ได้เช่าซื้อสินทรัพย์ เป็นจำ�นวน 14.28 ล้านบาท และ 5.02 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ 14.03 ล้านบาท) โดยจ่ายชำ�ระเป็นจำ�นวนเงินรวม 3.49 ล้านบาท (เฉพาะกิจการ จำ�นวน 3.49 ล้านบาท) และ 1.25 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ส่วนที่เหลือบันทึกไว้เป็นหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินทั้งหมด

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

213


รายงานประจำ�ปี 2555

22. ข้อมูลเกี่ยวกับการดำ�เนินงานตามประเภทส่วนงานที่ดำ�เนินงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ประกอบด้วย

บริษัทใหญ่ ประเภทส่วนงานที่ดำ�เนินงาน

ธุรกิจ อสังหาฯ

ธุรกิจ ให้เช่าและ บริการ

อื่นๆ

รวม

ขาย-สุทธิ

12,279.28

43.65

-

12,322.93

ต้นทุนขาย

(8,451.40)

(24.07)

-

(8,475.47)

3,827.88

19.58

-

3,847.46

กำ�ไรขัน้ ต้น รายได้อน่ื

-

-

245.98

245.98

ค่าใช้จา่ ยในการขาย

-

-

(943.06)

(943.06)

ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร

-

-

(334.01)

(334.01)

(56.49)

(56.49)

ค่าตอบแทนผูบ้ ริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ

-

-

(14.74)

(14.74)

ต้นทุนทางการเงิน

-

-

(9.04)

(9.04)

ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม

-

-

-

-

กำ�ไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำ�ไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จสำ�หรับปี

3,827.88 3,827.88

19.58

(1,111.37)

2,736.09

-

(630.80)

(630.80)

19.58

(1,742.17)

2,105.29

465.06

92.20

557.26

การแบ่งปันกำ�ไร ส่วนทีเ่ ป็นของบริษทั ใหญ่ ส่วนทีเ่ ป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มอี �ำ นาจควบคุม สินทรัพย์ถาวร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

รายการตัดบัญชีระหว่างกัน เป็นรายได้ค่าเช่าพื้นที่, การให้บริการและดอกเบี้ยรับ รายการดังกล่าวเป็นไปตามธุรกิจปกติ ทางการค้า

214 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

หน่วย : ล้านบาท บริษัทย่อย ธุรกิจ อสังหาฯ

ธุรกิจ ให้เช่าและ บริการ

666.47

5.88

ธุรกิจ บริการและ บริหาร จัดการอาคาร 686.50

(448.34)

(3.20)

218.13

2.68

อื่นๆ

ตัดบัญชี

รวม

รวม

-

13,681.78

(356.41)

13,325.37

(244.03)

-

(9,171.04)

162.93

(9,008.11)

442.47

-

4,510.74

(193.48)

4,317.26

-

-

-

5.10

251.07

(161.82)

89.25

-

-

-

(37.47)

(980.53)

185.79

(794.74)

-

-

-

(320.02)

(654.03)

16.70

(637.33)

-

-

-

(43.65)

(100.13)

-

(100.13)

-

-

-

-

(14.74)

-

(14.74)

-

-

-

(1.11)

(10.15)

0.02

(10.13)

-

-

-

-

-

67.89

67.89

218.13 218.13

2.68 2.68

442.47 442.47

(397.14)

3,002.23

(84.90)

2,917.33

(69.67)

(700.47)

-

(700.47)

(466.81)

2,301.76

(84.90)

2,216.86 2,216.79 0.07 2,216.86

-

79.39

-

7.51

644.16

-

644.16

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

215


รายงานประจำ�ปี 2555

23. ข้อมูลเกี่ยวกับการดำ�เนินงานตามประเภทส่วนงานทางธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ประกอบด้วย

บริษัทใหญ่ ประเภทธุรกิจ

ธุรกิจ อสังหาฯ

ธุรกิจ ให้เช่าและ บริการ

อื่นๆ

รวม

ขาย-สุทธิ

12,014.28

42.71

-

12,056.99

ต้นทุนขาย

(8,181.96)

(26.79)

-

(8,208.75)

3,832.32

15.92

-

3,848.24

กำ�ไรขัน้ ต้น รายได้อน่ื

-

-

114.21

114.21

ค่าใช้จา่ ยในการขาย

-

-

(892.29)

(892.29)

ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร

-

-

(386.86)

(386.86)

ค่าตอบแทนผูบ้ ริหาร

-

-

(40.97)

(40.97)

ค่าตอบแทนกรรมการ

-

-

(13.94)

(13.94)

ต้นทุนทางการเงิน

-

-

(2.73)

(2.73)

ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม

-

-

-

-

กำ�ไร(ขาดทุน)ก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กำ�ไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จสำ�หรับปี

3,832.32 3,832.32

15.92

(1,222.58)

2,625.66

-

(791.21)

(791.21)

15.92

(2,013.79)

1,834.45

447.18

84.69

531.87

การแบ่งปันกำ�ไร ส่วนทีเ่ ป็นของบริษทั ใหญ่ ส่วนทีเ่ ป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มอี �ำ นาจควบคุม สินทรัพย์ถาวร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

รายการตัดบัญชีระหว่างกัน เป็นรายได้ค่าเช่าพื้นที่, การให้บริการและดอกเบี้ยรับ รายการดังกล่าวเป็นไปตามธุรกิจปกติ ทางการค้า

216 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

หน่วย : ล้านบาท บริษัทย่อย ธุรกิจ อสังหาฯ

ธุรกิจ ให้เช่าและ บริการ

20.50

5.79

ธุรกิจ บริการและ บริหาร จัดการอาคาร 644.95

(16.04)

(3.29)

4.46

2.50

-

-

-

ตัดบัญชี

รวม

อื่นๆ

รวม

-

12,728.23

(392.97)

12,335.26

(199.68)

-

(8,427.76)

190.37

(8,237.39)

445.27

-

4,300.47

(202.60)

4,097.87

-

2.83

117.04

(80.68)

36.36

-

-

(4.46)

(896.75)

139.62

(757.13)

-

-

-

(294.62)

(681.48)

63.40

(618.08)

-

-

-

(26.71)

(67.68)

-

(67.68)

-

-

-

-

(13.94)

-

(13.94)

-

-

-

(0.08)

(2.81)

0.05

(2.76)

-

-

-

-

-

72.88

72.88

4.46

2.50

-

-

4.46

2.50

445.27 445.27

(323.04)

2,754.85

(7.33)

2,747.52

(38.96)

(830.17)

-

(830.17)

(362.00)

1,924.68

(7.33)

1,917.35 1,917.26 0.09 1,917.35

-

81.96

-

9.45

623.28

-

623.28

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

217


รายงานประจำ�ปี 2555

24. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สำ�คัญดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

ซือ้ ทีด่ นิ และจ่ายค่าก่อสร้างระหว่างปี

2555 2554 2555 2554 12,233,016,996.54 8,021,972,414.81 11,844,791,754.48 8,023,856,175.00

การเปลีย่ นแปลงในสินค้าคงเหลือ

(3,489,048,545.56)

โอนกลับค่าเผือ่ การลดมูลค่าสินค้า

2,437,840.44

724,758.72

2,437,840.44

724,758.72

เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อน่ื ของพนักงาน

772,780,343.43

611,400,626.41

230,225,456.10

203,788,714.31

ภาษีธรุ กิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมโอน

539,530,944.47

506,993,798.14

515,404,396.54

506,250,686.14

34,756,041.42

32,916,605.50

28,541,079.92

26,259,900.52

ค่าเสือ่ มราคา

10,635,355.63 (3,390,955,225.93)

158,831,469.74

25. เงินกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ

ได้แก่ เงินทุนที่ประกอบด้วยเงินที่พนักงานออกสมทบด้วยความสมัครใจ ในอัตรา 2-4 % ของเงินเดือน และบริษัทฯ จ่ายสมทบจำ�นวนไม่เกิน 3-7% ของเงินเดือนที่พนักงานจ่ายเข้ากองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ บริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายเงิน สมทบเข้ากองทุนฯ ดังนี้ งบการเงินรวม (ล้านบาท)

เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลีย้ งชีพ

2555 11.38

2554 9.85

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้านบาท) 2555 4.14

2554 3.68

26. นโยบายการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ

ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2555 เมือ่ วันที่ 29 มีนาคม 2555 และประจำ�ปี 2554 เมือ่ วันที่ 31 มีนาคม 2554 กำ�หนด จ่ายค่าตอบแทนกรรมการบริษัทที่ปฏิบัติงานมาด้วยความอุตสาหะ จำ�นวนไม่เกิน 14.66 ล้านบาทต่อปี และ 13.94 ล้าน บาทต่อปี ตามลำ�ดับ ทั้งนี้ไม่รวมถึงค่าตอบแทนหรือสวัสดิการที่กรรมการได้รับในฐานะพนักงานหรือลูกจ้างของบริษัทฯ และการจัดสรรเงินดังกล่าวให้อยู่ในความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท และให้มีผลใช้ต่อไปทุกปีจนกว่าจะมีการ เปลี่ยนแปลง ซึ่งรายการนี้บริษัทฯ บันทึกไว้ในหมวดค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ

27. ค่าตอบแทนผู้บริหาร

ค่าตอบแทนกรรมการบริหาร ผูจ้ ดั การและผูบ้ ริหารสีร่ ายแรกรองจากผูจ้ ดั การลงมา และผูบ้ ริหารในระดับเทียบเท่ารายที่ สี่ทุกรายประกอบด้วยเงินเดือน ค่าที่ปรึกษา โบนัส เบี้ยประชุม บำ�เหน็จ ค่าน้ำ�มัน ค่าโทรศัพท์ บริษัทฯ มีค่าตอบแทน ผู้บริหารสำ�หรับงวด 1 ปี สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 จำ�นวน 100.13 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท จำ�นวน 56.48 ล้านบาท) และ จำ�นวน 67.67 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท จำ�นวน 40.70 ล้านบาท) ตามลำ�ดับ

218 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

28. การบริหารจัดการทุน

วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนทีส่ �ำ คัญของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย คือการจัดให้มซี งึ่ โครงสร้างทางการเงินทีเ่ หมาะ สมและการดำ�รงไว้ซึ่งความสามารถในการดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนสรุปได้ดังนี้ งบการเงินรวม 2555 0.66

อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อทุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 0.35

2555 0.64

2554 0.34

29. การอนุมัติงบการเงิน

งบการเงินนี้ได้รับการอนุมัติให้ออกงบการเงินจากคณะกรรมการของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

219


รายงานประจำ�ปี 2555

ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee) - ผู้สอบบัญชีของบริษัทในรอบปีที่ผ่านมามีจำ�นวนเงินรวม 1,000,000 บาท - สำ�นักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด บุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้สอบบัญชี และสำ�นักงานสอบบัญชีที่ ผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปีบัญชีที่ผ่านมามีจำ�นวนเงินรวม 580,000 บาท

ค่าบริการอื่น (Non-audit fee) - ไม่มี -

220 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

บทที่ 8 กาคผนวก

บ้านหลังใหญ่ หัวใจเดียวกัน WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

221


รายงานประจำ�ปี 2555

ข้อมูลทั่วไป บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ บริษัท : ทุนจดทะเบียน : ทุนชำ�ระแล้ว : ที่ตั้งสำ�นักงาน : เลขทะเบียนบริษัท : โทรศัพท์ : โทรสาร : Call Center : เว็บไซต์ ช่องทางติดต่อ คณะกรรมการบริษัท : แผนกนักลงทุนสัมพันธ์ :

แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทโครงการอาคารชุดพักอาศัย 1,475,698,768.00 บาท 1,475,698,768.00 บาท 1168/109 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชั้น 36 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 0107537002303 (บมจ. เลขที่ 447) (02) 285-5011-6 (02) 679-8699 (02) 689-6888 www.lpn.co.th Email address: director@lpn.co.th นายสุริยา สุริยาภิวัฒน์ (02) 285-5011, Email address: ir@lpn.co.th

บริษัทย่อย บริษัท : ทุนจดทะเบียน : ที่ตั้งสำ�นักงาน : เลขทะเบียนบริษัท : โทรศัพท์ : โทรสาร :

ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด ประกอบธุรกิจให้บริการด้านการบริหารงานก่อสร้าง 1,000,000.00 บาท (บริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.93) 1168/109 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชั้น 36 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 0105550127691 (02) 285-5011-6 (02) 679-8699

บริษัท : ทุนจดทะเบียน : ที่ตั้งสำ�นักงาน : เลขทะเบียนบริษัท : โทรศัพท์ : โทรสาร :

ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ประกอบธุรกิจให้บริการด้านการบริหารชุมชน 1,000,000.00 บาท (บริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.88) 1168/109 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชั้น 36 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 0105535058865 (02) 285-5011-6 (02) 679-8699

บริษัท : ทุนจดทะเบียน : ที่ตั้งสำ�นักงาน : เลขทะเบียนบริษัท : โทรศัพท์ : โทรสาร :

ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด ประกอบธุรกิจให้บริการด้านรักษาความสะอาด 1,000,000.00 บาท (บริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.95) 1168/109 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชั้น 36 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 0105554043592 (02) 285-5011-6 (02) 679-8699

222 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท : ทุนจดทะเบียน : ที่ตั้งสำ�นักงาน : เลขทะเบียนบริษัท : โทรศัพท์ : โทรสาร :

พรสันติ จำ�กัด ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่มิใช่โครงการอาคารชุดพักอาศัย 350,000,000.00 บาท (บริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.99) 1168/109 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชั้น 36 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 0105533054218 (เดิมเลขที่ 5421/2533) (02) 285-5011-6 (02) 679-8699

บริษัทร่วม บริษัท : ทุนจดทะเบียน : ที่ตั้งสำ�นักงาน : เลขทะเบียนบริษัท : โทรศัพท์ : โทรสาร :

แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำ�กัด ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 600,000,000.00 บาท (บริษัทถือหุ้นร้อยละ 20.00) 888/224 อาคารมหาทุน พลาซ่า ชั้น 2 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 0105544087228 (02) 100-7171 (02) 253-3863

ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท : ที่ตั้งสำ�นักงาน : เลขทะเบียนบริษัท : โทรศัพท์ : โทรสาร :

สำ�นักงานกฎหมายเสริมศักดิ์ เวชช และเพื่อน 399/365-368 อาคารโชคชัยร่วมมิตร คอนโดมิเนียม ชั้น 12 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 4760/2525 (02) 691-5541-5 (02) 691-5545

ผู้สอบบัญชี บริษัท : ที่ตั้งสำ�นักงาน : ผู้สอบบัญชี : โทรศัพท์ : โทรสาร :

สำ�นักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ 316/32 ซอยสุขุมวิท 22 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร นางสุวิมล กฤตยาเกียรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 2982 (02) 259-5300 (02) 260-1550

นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัท : ที่ตั้งสำ�นักงาน : โทรศัพท์ : โทรสาร : Call Center : เว็บไซต์ :

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร (02) 229-2800 (02) 359-1259 (02) 229-2888 www.tsd.co.th

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

223


รายงานประจำ�ปี 2555

การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์ ลักษณะผลิตภัณฑ์หรือบริการ

บริษัท บริษัทย่อย และบริษัทร่วมประกอบธุรกิจใน 2 ส่วน ทั้งการผลิตและการให้บริการที่ต่อเนื่องกันตลอดทั้งกระบวนการ ได้แก่ ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจการให้บริการด้านงานบริหารอสังหาริมทรัพย์แบบครบวงจร โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในช่วงเริม่ ต้น บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ประกอบธุรกิจด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการขายและการให้เช่าแบบครบวงจรในหลากหลายรูปแบบ โครงการที่พัฒนาขึ้นในช่วงต้นส่วนใหญ่จะ เป็นอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ตั้งอยู่ใจกลางเมือง นับตั้งแต่ช่วงวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 เป็นต้นมา บริษัทได้มีการปรับ เปลี่ยนนโยบายและกลยุทธ์ทางธุรกิจโดยมุ่งเน้นการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยสำ�หรับผู้ที่มีรายได้ระดับกลางถึงกลาง-ล่าง เป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก (Focus Strategy) โดยใช้กลยุทธ์การตลาดในการสร้างความแตกต่างทั้งด้านผลิตภัณฑ์และการบริการ (Differentiation Strategy) โดยบริษัทได้พัฒนารูปแบบอาคารชุดพักอาศัยภายใต้แนวคิด “LPN Design” ซึ่งเน้นประโยชน์ ใช้สอยที่ครบถ้วนในพื้นที่ขนาดเล็กภายในเมือง ซึ่งมีความแตกต่างจากรูปแบบผลิตภัณฑ์ทั่วไป และบริษัทยังได้พัฒนาการ บริการหลังการขายในรูปแบบของการบริหารชุมชน โดยเน้นเรือ่ งคุณภาพชีวติ ของผูอ้ ยูอ่ าศัยซึง่ เป็นกลยุทธ์ทแี่ ตกต่างและสร้าง ความเชือ่ มั่นต่อลูกค้า นอกจากนี้ ยังใช้กลยุทธ์การเป็นผู้นำ�ด้านต้นทุน (Cost Leadership Strategy) ซึ่งเป็นจุดแข็งของบริษัท มาสนับสนุนและผลักดันให้เกิดความได้เปรียบทางการแข่งขัน ในปัจจุบันบริษัทได้จำ�แนกและกำ�หนดตำ�แหน่งของผลิตภัณฑ์ เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการรับรู้ สอดคล้อง และครอบคลุม กับกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของบริษัทภายใต้ชื่อและตราสินค้าดังนี้ “ลุมพินี สวีท” และ “ลุมพินี เพลส” แบรนด์ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการที่อยู่อาศัยของคนในวัยทำ�งาน ที่เป็นผู้บริหารระดับกลาง ค่อนข้างสูง มีความสามารถในการใช้จ่ายเพื่อที่อยู่อาศัยได้เดือนละประมาณ 20,000 บาท ฐานะทางการเงินอยู่ในระดับดี และมีอำ�นาจในการใช้จ่ายเพื่อนำ�ความสุข ความสะดวกสบายมาให้กับชีวิต ทำ�เลในการพัฒนาโครงการดังกล่าวจึงอยู่ใน เขตที่มีความหนาแน่นสูง อาจอยู่ในเขตใจกลางหรือรอบศูนย์กลางธุรกิจ (CBD) สะดวกในการเดินทางด้วยระบบคมนาคม ขนาดใหญ่ ครบครันด้วยสิ่งอำ�นวยความสะดวกที่สมบูรณ์พร้อมที่จำ�เป็นต่อการใช้ชีวิตประจำ�วัน รวมถึงมีการออกแบบ ตกแต่งที่บ่งบอกถึงสถานภาพของผู้อยู่อาศัยเพื่อการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ Needs : “ความสุขที่ครบครัน ความมีสถานะในสังคม” Real Pleasure in their living : “ความสมบูรณ์ ความมีระดับ” “ลุมพินี วิลล์” แบรนด์ทถี่ กู ออกแบบและพัฒนาขึน้ เพือ่ คนในวัยทำ�งานซึง่ อาจเป็นผูบ้ ริหารระดับต้นอายุไม่เกิน 35 ปี ต้องการความสะดวก ในการเดินทางและการอยู่อาศัยที่เป็นส่วนตัว มีความสามารถในการใช้จ่ายเพื่อที่อยู่อาศัยประมาณเดือนละ 10,000 บาท มีรายได้พอใช้จ่ายในชีวิตประจำ�วัน ไม่มีภาระมากมาย เป็นคนรุ่นหนุ่มสาวที่ต้องการให้รางวัลกับชีวิต ทำ�เลที่ตั้งโครงการ จึงอยู่ในเขตที่มีความหนาแน่นสูง ใกล้แหล่งงาน ห้างสรรพสินค้า แบรนด์ “ลุมพินี วิลล์” จึงเป็นทางเลือกสำ�หรับคน รุ่นใหม่ที่ต้องการใช้ชีวิตในแบบของตนเองขณะที่ยังคงอยู่ใกล้ชิดกับครอบครัวเดิม Needs : “ให้ความสุขกับตัวเอง และคนใกล้ชิด” Real Pleasure in their living : “ต้องการให้รางวัลกับชีวิต”

224 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

“ลุมพินี เซ็นเตอร์” และ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” แบรนด์ทมี่ งุ่ สร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยในราคาที่ไม่สงู เพือ่ คุณภาพชีวติ ทีด่ ีให้กบั กลุม่ คนวัยเริม่ ต้นการทำ�งานทัว่ ไป ผูป้ ระกอบวิชาชีพ อิสระ มีความสามารถในการใช้จ่ายด้านที่อยู่อาศัยเดือนละ 5,000 บาท โดยทำ�เลที่ตั้งโครงการจะอยู่ในเขตรอยต่อระหว่าง ใจกลางเมืองกับเขตรอบนอกทีม่ คี วามหนาแน่นสูง ซึง่ ทำ�งานหรือพักอาศัยห่างจากทีต่ งั้ โครงการในรัศมีไม่เกิน 5 กิโลเมตร ซึง่ เป็นกลุม่ ขนาดใหญ่ทมี่ คี วามต้องการทีพ่ กั อาศัย บริษทั จึงวางตำ�แหน่งให้ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” เป็นเป้าหมายหลักหรือ “เรือธง” (Flag Ship) ของการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยของบริษัท เพื่อให้เป็นที่อยู่อาศัยหลังแรกที่มีคุณภาพและเป็นจุด เริ่มต้นของครอบครัวที่อบอุ่น สำ�หรับผู้ที่อยู่ในวัยเริ่มต้นของชีวิตครอบครัว Needs : “โอกาสในชีวิต” Real Pleasure in their living : “การเริ่มต้นที่จะทำ�ให้ชีวิตดีขึ้นและมีความสุข” “ลุมพินี พาร์ค” แบรนด์ใหม่ซึ่งเดิมตั้งใจพัฒนาให้เป็นเพียงแบรนด์เฉพาะกิจ ที่พัฒนา ขึ้นเฉพาะโครงการลุมพินี พาร์ค ปิ่นเกล้า แต่เนื่องจากได้รับการตอบ รับที่ดี บริษัทจึงพัฒนาให้เป็นแบรนด์หลักที่เพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์ อันได้แก่ สวนพักผ่อนขนาดใหญ่ภายใต้ชอื่ “สวนรวมใจ” (Community Park) เพื่อเป็นสถานที่ที่จะสามารถทำ�กิจกรรมร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็น ระหว่างครอบครัวหรือกับเพือ่ นบ้านก็ตาม นับเป็นการยกระดับคุณภาพ ชีวิตของผู้อยู่อาศัยในอาคารชุดขนาดใหญ่ “ลุมพินี พาร์คบีช” ลุมพินี พาร์คบีช แบรนด์ใหม่ที่ต่อยอดมาจากแบรนด์ “ลุมพินี พาร์ค” ที่ผสมผสานระหว่างบรรยากาศของ “สวนรวมใจ” และความมีชีวิต ชีวาของบรรยากาศชายทะเล โดยพัฒนาเป็นที่แรกที่โครงการลุมพินี พาร์คบีช จอมเทียน ริมหาดจอมเทียน พัทยา และเป็นการนำ�การ บริหารจัดการชุมชนน่าอยู่ซึ่งเป็นจุดแข็งของบริษัทนำ�เสนอแก่ผพู้ กั อาศัยในพัทยา สอดคล้องกับการบริหารจัดการเมืองน่าอยูข่ องเมืองพัทยา สำ�หรับทุกโครงการภายหลังการส่งมอบ บริษัทได้กำ�หนดนโยบายสำ�หรับการบริการหลังการขายเพื่อดูแลลูกค้าอย่างต่อเนื่อง โดยให้บริษัทย่อยคือ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด เป็นผู้รับผิดชอบงานบริหารชุมชนและงานบริการหลัง การขาย เพื่อความสมบูรณ์พร้อมของแต่ละชุมชนและช่วยรักษาหรือยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยในทุกๆ ด้าน งานบริการดังกล่าวครอบคลุมตั้งแต่ การบริหารชุมชน การบริการ ซื้อ ขาย โอน แลกเปลี่ยน จัดหาผู้เช่า การบำ�รุงรักษา อุปกรณ์และส่วนประกอบอาคาร ตลอดจนงานบริการด้านการรักษาความสะอาด รวมถึงการดูแลความเป็นอยูแ่ ละคุณภาพของ ชุมชน นอกจากนี้ ยังเพิม่ คุณค่าของการบริการโดยการดูแลสิง่ แวดล้อม และสร้างสรรค์สงั คมอันดีงามของชุมชนทีบ่ ริหารตาม กลยุทธ์ของบริษทั และจากประสิทธิภาพของการบริหารชุมชน ส่งผลให้บริษทั ได้รบั ความไว้วางใจจากเจ้าของร่วมทุกโครงการ ลงมติเลือกบริษัทย่อยให้บริหารชุมชนอย่างต่อเนื่องทุกปี ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความรับผิดชอบต่อคุณภาพชีวิตของผู้พักอาศัย ให้เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน อันเป็นผลมาจากการทุ่มเทแรงกาย แรงใจ และความมุ่งมั่นของทุกคนในองค์กร

2. ธุรกิจให้บริการด้านงานบริหารอสังหาริมทรัพย์ บริษทั ได้จดั ตัง้ บริษทั ย่อยชือ่ บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด โดยถือหุน้ ร้อยละ 99.88 ซึง่ ตัง้ แต่ปี 2540 เป็นต้น มา บริษัทได้มอบหมายให้บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด รับผิดชอบงานบริหารอสังหาริมทรัพย์ทั้งหมดใน รูปแบบของการบริการครบวงจร เริ่มตั้งแต่งานบริหารโครงการไม่ว่าจะเป็นงานบริหารการตลาด ขาย เช่า โอน บริหารงาน ก่อสร้าง รวมทัง้ การบริหารอาคารทีบ่ ริษทั ได้พฒ ั นาขึน้ ซึง่ เป็นนโยบาย “บริการหลังการขาย” ของบริษทั เพือ่ รองรับการเติบโต

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

225


รายงานประจำ�ปี 2555

ในอนาคต ในปลายปี พ.ศ. 2550 บริษัทได้จัดตั้งบริษัทย่อยขึ้นอีกแห่งหนึ่ง โดยบริษัทถือหุ้นร้อยละ 99.93 และแบ่งแยกการ ดำ�เนินการในด้านการบริหารโครงการให้อยู่ในความรับผิดชอบของบริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด เพื่อ ให้เกิดความชัดเจนและรองรับการเติบโตในอนาคต อย่างไรก็ตาม ในปี 2554 บริษัทได้ย้ายสายงานบริหารงานขายและตลาด รวมทั้งสายงานด้านการโอนกรรมสิทธิ์ มาขึ้นกับ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด 1. การบริหารงานขายและการตลาด ดำ�เนินการโดยบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด ครอบคลุมถึงการสำ�รวจข้อมูลของตลาด ความต้องการของ ผู้บริโภค วิเคราะห์คู่แข่งขัน การกำ�หนดราคาขาย วางกลยุทธ์ทางการตลาด วางแผนการขาย เตรียมเอกสารสัญญา นิตกิ รรมต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ประสานงานการติดตามเก็บค่างวด โอนกรรมสิทธิห์ อ้ งชุดและสาธารณูปโภคให้กบั ลูกค้า ซึง่ จะรายงานผลการดำ�เนินงานอย่างสม่ำ�เสมอทุกสัปดาห์ต่อผู้บริหารระดับสูง โดยทุกขั้นตอนของการดำ�เนินการ บริษัท ได้จัดทีมงานที่มีประสบการณ์ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์มาดูแลรับผิดชอบตลอดทั้งกระบวนการ 2. การบริหารงานโครงการ ดำ�เนินงานภายใต้บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด เป็นการบริหารงานด้านการพัฒนาโครงการของ บริษัทและบริษัทในเครือ โดยเริ่มตั้งแต่การเข้าปรับปรุงสภาพที่ดินภายหลังการซื้อ วางแนวทางการบริหารโครงการให้ เป็นไปตามแนวคิดเริ่มต้นทั้งทางด้านการเงิน การตลาด การขาย การก่อสร้าง ตลอดจนถึงการส่งมอบห้องชุด โดยมุ่ง เน้นการบริหารงานให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพภายใต้กลยุทธ์ “Q-C-S-E-S” อันได้แก่ 2.1 Quality ในด้านคุณภาพ จัดให้มีกระบวนการในการตรวจสอบคุณภาพก่อนส่งมอบ โดยทีมงานตรวจสอบคุณภาพอันครอบคลุมตั้งแต่การ ตรวจสอบความเรียบร้อยภายในห้องชุด จนถึงส่วนประกอบโครงการทัง้ หมด เพือ่ ให้เกิดความสมบูรณ์และปลอดภัย ในการพักอาศัย 2.2 Cost ในด้านต้นทุน จัดให้มกี ารบริหารต้นทุนทีเ่ หมาะสมตามแผนพัฒนาโครงการ โดยการกำ�หนดขัน้ ตอนการทำ�งานอย่างมีประสิทธิภาพ และใช้เทคนิคการทำ�งานทีเ่ หมาะสมร่วมกับพันธมิตร เพือ่ ควบคุมไม่ให้งบประมาณค่าก่อสร้างเกินกว่างบประมาณ ที่กำ�หนด 2.3 Schedule ในด้านระยะเวลาการก่อสร้าง จากประสบการณ์การทำ�งานอันยาวนานทีผ่ า่ นมาร่วมกับพันธมิตร ทำ�ให้บริษทั สามารถพัฒนารูปแบบและกระบวนใน การก่อสร้าง (Process Innovation) โดยการพัฒนาระบบสำ�เร็จรูปต่างๆ ทีผ่ ลิตและควบคุมคุณภาพจากโรงงานพร้อม ระบบการติดตัง้ ทีท่ �ำ ให้การก่อสร้างแล้วเสร็จก่อนกำ�หนด หรืออย่างช้าเป็นไปตามที่ให้สญั ญาไว้กบั ลูกค้าทุกโครงการ 2.4 Environment ในด้านสิ่งแวดล้อม มุง่ เน้นในการลดผลกระทบอันเกิดจากการก่อสร้างต่อสภาพแวดล้อมและชุมชนข้างเคียงให้นอ้ ยทีส่ ดุ โดยปฏิบตั ติ าม มาตรการทีป่ รากฏในรายงานผลกระทบสิง่ แวดล้อมที่ได้รบั อนุมตั จิ ากสำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด (สผ) รวมทั้งดูแลรักษาและปรับปรุงสภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการอย่างต่อเนื่อง 2.5 Safety ในด้านความปลอดภัย บริษัทได้ให้ความสำ�คัญในเรื่องของความปลอดภัยทั้งภายในและภายนอกโครงการในขณะก่อสร้าง รวมถึงชีวิต ความเป็นอยู่ของคนงานก่อสร้าง โดยจัดให้มีชีวอนามัย การให้ความรู้ในการทำ�งาน รวมถึงการดูแลสภาพที่พัก อาศัยในด้านความปลอดภัยและสุขอนามัยของคนงาน และจัดให้มีบุคลากรที่ดูแลเรื่องความปลอดภัย (จป) โดย เฉพาะ ทั้งนี้ ยังจัดให้มีหน่วยงานที่ดูแลลูกค้าภายหลังการส่งมอบห้องชุด เพื่อซ่อมแซมแก้ไขข้อบกพร่องอันเกิด จากกระบวนการก่อสร้างหรือวัตถุดิบ รวมทั้งการต่อเติมงานต่างๆ ภายในห้องชุด ปรับปรุงสภาพส่วนประกอบ โครงการตามความเหมาะสม โดยเฉพาะโครงการที่แล้วเสร็จมาสักระยะหนึ่ง เพื่อให้สภาพโดยรวมของโครงการคง ไว้ซึ่งคุณค่าและมูลค่าในระยะยาว

226 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

3. งานบริหารชุมชน งานบริหารชุมชนถือเป็นนโยบายหลักของบริษัทในการสร้างความแตกต่างทางด้านการบริการ ซึ่งเป็นกลยุทธ์ในการ สร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจในบริษัทมาโดยตลอด โดยบริษัทได้มอบหมายให้บริษัทย่อย คือ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบในการบริหารจัดการชุมชน ในการสร้างความแตกต่างทางด้าน การบริการ ซึ่งเป็นแนวทางในการสร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจในบริษัทภายใต้กลยุทธ์ “F-B-L-E-S-P” 4. งานบริหารทรัพย์สินเพื่อเช่า ปัจจุบนั บริษทั มีทรัพย์สนิ ให้เช่าอันได้แก่ ห้องชุดเพือ่ การพาณิชย์บางส่วนในโครงการอาคารชุดพักอาศัย สำ�หรับรองรับ นโยบายการบริการแบบครบวงจรภายในชุมชน (Total Solution Service) เพือ่ อำ�นวยความสะดวกในการดำ�รงชีวติ ประจำ� วันของผูอ้ ยูอ่ าศัย ซึง่ นอกจากจะสร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่โครงการแล้วยังทำ�รายได้อย่างสม�่ำ เสมอจากการเช่าให้กบั บริษทั เป็นการขยายฐานและลดจุดอ่อนทางด้านแหล่งทีม่ าของรายได้ของบริษทั ทีม่ เี ฉพาะรายได้จากการขายเพียงอย่างเดียว 5. งานบริหารพื้นที่จอดรถยนต์ งานบริหารพื้นที่จอดรถยนต์อยู่ภายใต้การดำ�เนินงานของบริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ในอาคาร สำ�นักงานขนาดใหญ่ที่มีที่จอดรถยนต์เป็นจำ�นวนมากและเป็นทรัพย์สินของบริษัท เพื่อให้บริการในเรื่องระบบบริหาร จัดการ การให้เช่า การจัดเก็บรายได้ และการบำ�รุงรักษาเพื่ออำ�นวยความสะดวกให้ลูกค้าและผู้มาติดต่อทั้งหมดให้มี ความคล่องตัว ปลอดภัย และเป็นระเบียบ 6. งานบริการความสะอาด งานบริการความสะอาดภายใต้การดำ�เนินงานของบริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด เพือ่ ให้บริการ ในเรือ่ งการดูแลรักษาความสะอาดภายในชุมชนอย่างครบวงจร รวมถึงการให้บริการในส่วนของงานต้อนรับในโครงการ

การตลาดและภาวะการแข่งขัน การตลาดของผลิตภัณฑ์และบริการ กลยุทธ์การตลาด นอกจากขีดความสามารถทางการแข่งขันแล้ว บริษัทยังได้ให้ความสำ�คัญต่อกลยุทธ์การตลาดซึ่งเป็นกลยุทธ์ย่อยในแต่ละ โครงการที่มีความแตกต่างกัน โดยเริ่มจาก - การวิจัย เพื่อกำ�หนดแนวทางและทิศทางของการพัฒนาโครงการ การกำ�หนดทำ�เล ลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย ผ่านทาง การออกสำ�รวจและเก็บรวบรวมข้อมูลรอบด้าน เพื่อให้เกิดความแม่นยำ�ในการนำ�สินค้าออกสู่ตลาด - การกำ�หนดราคาขาย ที่ไม่เพียงแต่ราคาขายของคู่แข่งในตลาดในย่านใกล้เคียงเท่านั้นที่เป็นปัจจัยพื้นฐานในการ กำ�หนดราคาขาย บริษัทยังคงให้ความสำ�คัญต่อการควบคุมต้นทุนโครงการทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งเป็นตัวแปร สำ�คัญที่ทำ�ให้บริษัทสามารถกำ�หนดราคาได้อย่างเหมาะสม ในขณะที่ยังรักษาผลตอบแทนต่อการลงทุนอยู่ในระดับ ที่กำ�หนดแม้เผชิญสภาวะการแข่งขันที่รุนแรง - การสื่อสารการตลาด บริษัทมุ่งสื่อสาร โฆษณา ประชาสัมพันธ์โดยตรงสู่กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ซึ่งกระจายอยู่บริเวณ โดยรอบโครงการ รวมทัง้ กลุม่ ลูกค้าเป้าหมายซึง่ เคยแวะเยีย่ มชมโครงการของบริษทั ด้วยป้ายโฆษณาประชาสัมพันธ์ ขนาดใหญ่ และป้ายย่อย รวมถึงไดเร็คเมลล์ ที่ให้สทิ ธิพเิ ศษเพือ่ เป็นแรงกระตุน้ ให้เกิดการจองซือ้ ในช่วงของการเปิด ขาย ซึ่งบริษัทประสบความสำ�เร็จมาโดยตลอด และยังสามารถรักษาค่าใช้จ่ายทางการตลาดให้อยู่ในระดับต่ำ�มาก โดยมีค่าใช้จ่ายทางการตลาดประมาณร้อยละ 1 ของรายได้จากการขาย - การบริหารประสบการณ์ลูกค้า โดยหน่วยงานบริหารประสบการณ์ลูกค้าร่วมกับหน่วยงานที่เป็นส่วนหน้าที่สัมผัสกับ ลูกค้าโดยตรง ออกแบบมาตรฐานของจุดสัมผัสเพื่อเป็นแนวทางในการให้บริการลูกค้าอันจะนำ�มาซึ่งประสบการณ์ อันน่าประทับใจ รวมทัง้ เป็นผูร้ บั ผิดชอบในการตอบสนองต่อข้อเสนอแนะหรือข้อร้องเรียนต่างๆ ด้วยการประสานงาน ไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงในการปรับปรุง แก้ไข เพื่อรักษาสัมพันธภาพอันดีระหว่างลูกค้าและบริษัท รวม ทั้งการจัดกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่องเพื่อสะท้อนถึงการดูแลเอาใจใส่ต่อลูกค้า สิ่งต่างๆ เหล่านี้ได้สร้างให้เกิดความ เชื่อมั่นต่อตราสินค้าจนสามารถที่จะบอกต่อได้อย่างเต็มภาคภูมิ ซึ่งสะท้อนให้เห็นได้จากยอดขายของโครงการเปิด ตัวใหม่ที่เกิดจากการแนะนำ�และบอกต่อที่มีจำ�นวนที่เพิ่มมากขึ้นในทุกปี

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

227


รายงานประจำ�ปี 2555

- ภาพลักษณ์ขององค์กร อันเกิดจากจิตสำ�นึกในความรับผิดชอบต่อลูกค้าและความมุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพสินค้าและ บริการอย่างต่อเนือ่ งสม�่ำ เสมอ ทำ�ให้ทกุ โครงการทีผ่ า่ นมาประสบความสำ�เร็จในด้านการขาย เนือ่ งด้วยลูกค้าให้ความ เชื่อมั่นต่อการดำ�เนินงานและภาพลักษณ์ขององค์กร การทำ�การตลาด บริษัทจัดให้มีการทำ�การตลาด การสื่อสารการตลาด และกิจกรรมทางการตลาด โดยเฉพาะในช่วงเปิดตัวโครงการซึ่งเป็น ช่วงที่ลูกค้าให้ความสนใจและเข้าชมโครงการสูงสุดดังนี้ - จดหมายเชื้อเชิญ (Direct Mail) ทุกครั้งที่มีการเปิดตัวโครงการ จะมีการส่งจดหมายเชื้อเชิญให้แก่ฐานลูกค้าของ บริษัท เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ และมอบสิทธิพิเศษเพื่อนำ�มาใช้เป็นส่วนลดในวันเปิดตัวโครงการ ซึ่งจะดำ�เนิน งานโดยหน่วยงานของบริษัทที่จดั ขึ้นโดยเฉพาะ โดยลูกค้าที่สนใจสามารถติดต่อเข้ามาที่ฝา่ ยขายของบริษัทหรือเข้า ชมรายละเอียดของโครงการพร้อมห้องตัวอย่างที่บริษัทจัดขึ้นตามรายละเอียดที่แจ้งไว้ในจดหมายเชื้อเชิญ - โฆษณาและประชาสัมพันธ์ จัดทำ�โฆษณาและประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ โดยมุ่งเน้นบริเวณโดยรอบโครงการ รวม ถึงภายในห้างสรรพสินค้า อินเตอร์เน็ต ข้อความสัน้ ผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นที่ แผ่นป้ายโฆษณาและนิตยสารต่างๆ เป็นต้น โดยพิจารณาเลือกสื่อที่มีประสิทธิภาพสูง และสามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย - ออกแสดงสินค้า เป็นการประชาสัมพันธ์โครงการในเชิงรุก โดยเน้นการออกบูธในห้างสรรพสินค้าย่านใกล้เคียง โครงการและย่านใจกลางธุรกิจ หรืองานมหกรรมบ้านและคอนโดซึ่งจัดต่อเนื่องทุกปี เพื่อให้ได้กลุ่มลูกค้าที่ตรงกับ กลุ่มเป้าหมายของโครงการ - อินเตอร์เน็ต เพื่อตอบสนองต่อชีวิต สังคม และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป บริษัทได้แสวงหาช่องทางการตลาดใหม่ๆ อยู่ ตลอดเวลา อินเตอร์เน็ตเป็นช่องทางการตลาดใหม่ช่องทางหนึ่งที่ปัจจุบันได้รับการยอมรับจากผู้บริโภคอย่างกว้าง ขวางว่าเป็นการสื่อสารที่เข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคโดยตรงตลอด 24 ชั่วโมง และค่าใช้จ่ายต่ำ� เมื่อเทียบกับสื่อการตลาด อื่นๆ ซึ่งบริษัทเองได้ให้ความสำ�คัญโดยพัฒนาเว็บไซต์ www.lpn.co.th ขึ้น เพื่อเป็นช่องทางให้ลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย ของบริษัทได้รับทราบข้อมูลข่าวสารและความเคลื่อนไหวของโครงการ - สิทธิพิเศษ บริษัทเสนอสิทธิพิเศษสำ�หรับลูกค้าผู้จองซื้อโครงการในช่วงเวลาเปิดตัวโครงการ เช่น ราคาพิเศษเฉพาะ ช่วงเปิดโครงการ แถมเฟอร์นิเจอร์ แถมชุดครัวหรือเครื่องปรับอากาศ เป็นต้น ลักษณะลูกค้า กลุ่มลูกค้าตามลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ 1. กลุ่มผู้ซื้อโครงการอสังหาริมทรัพย์ ลูกค้าในกลุ่มนี้จะเป็นผู้ซื้อรายย่อยทั่วไปที่มีความประสงค์ในการซื้อห้องชุดเพื่อพักอาศัยเป็นสำ�คัญ โดยในปัจจุบัน ฐานลูกค้าของบริษัทในกลุ่มนี้มีอยู่มากกว่า 100,000 ราย ส่วนหนึ่งของกลุ่มลูกค้ามาจากการแนะนำ�หรือบอกต่ออัน เกิดจากความเชือ่ มัน่ ทีม่ ตี อ่ แบรนด์ “ลุมพิน”ี (Trusted Brand) จากการรวบรวมข้อมูลของฝ่ายวิจยั และพัฒนาสามารถ แบ่งลูกค้าออกได้ตามวัตถุประสงค์และพฤติกรรมการซื้อได้ 5 กลุ่มดังนี้ 1.1 กลุ่มผู้ซื้อเพื่อเป็นบ้านหลังแรก เป็นกลุ่มที่อยู่ในช่วงเริ่มต้นของวัยทำ�งาน ที่ต้องการมีที่อยู่อาศัยที่มีคุณภาพ เป็นของตนเองในราคาที่ไม่สูงมาก 1.2 กลุ่มผู้ซื้อเพื่อเป็นบ้านหลังที่สอง เป็นกลุ่มลูกค้าที่ต้องการที่พักอาศัยในเขตศูนย์กลางธุรกิจ หรือแหล่งงานเพื่อ แก้ไขปัญหาค่าใช้จ่ายและระยะเวลาที่ต้องสูญเสียในการเดินทาง 1.3 กลุ่มผู้ซื้อเพื่อต้องการขยายครอบครัว เป็นกลุ่มลูกค้าที่ทำ�การค้า หรือมีธุรกิจอยู่ในบริเวณที่ตั้งโครงการซึ่ง ต้องการที่พักอาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน หรือเพื่อการขยายครอบครัวของบุตรหลานในอนาคต 1.4 กลุ่มผู้ซื้อเพื่อบุตรหลาน เป็นกลุ่มลูกค้าที่ซื้อเพื่อเป็นการเตรียมพร้อมสำ�หรับบุตรหลานที่จะเข้าศึกษาในสถาน ศึกษาที่มีชื่อเสียงซึ่งอยู่ไม่ห่างจากโครงการที่บริษัทพัฒนา 1.5 กลุ่มผู้ซื้อเพื่อการลงทุน เป็นกลุ่มลูกค้าที่ต้องการลงทุนในทรัพย์สินในระยะยาว ซึ่งอาจจะอยู่ในลักษณะ ของการซือ้ เพือ่ ปล่อยเช่าเนือ่ งจากโครงการต่างๆ ของบริษทั อยู่ในทำ�เลทีม่ ศี กั ยภาพ และอัตราผลตอบแทนจาก การเช่าอยู่ในระดับที่สูงกว่าอัตราดอกเบี้ย 2. กลุ่มผู้เช่าโครงการอสังหาริมทรัพย์ สำ�หรับกลุ่มผู้เช่าโครงการอสังหาริมทรัพย์แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่

228 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

2.1 ผู้เช่าเพื่อการพักอาศัย ลูกค้าในกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มของผู้บริหารระดับสูงทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ที่มีระดับรายได้ค่อนข้างสูงซึ่งต้องการที่อยู่อาศัยใกล้แหล่งงาน โดยโครงการของบริษัทสามารถรองรับความ ต้องการในส่วนนี้ได้เป็นอย่างดี 2.2 ผู้เช่าเพื่อการพาณิชย์ ลูกค้าในกลุ่มนี้คือผู้ประกอบธุรกิจด้านต่างๆ ในห้องชุดเพื่อการพาณิชย์ในโครงการของ บริษัท ซึ่งบริษัทมุ่งหวังที่จะสร้างเครือข่ายการค้าปลีกตามนโยบายการบริการแบบครบวงจร (Total Solution Services) และเป็นการขยายแหล่งที่มาของรายได้นอกเหนือรายได้จากการขาย 3. กลุ่มผู้รับบริการโครงการอสังหาริมทรัพย์ สำ�หรับกลุ่มผู้รับบริการโครงการอสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ การว่าจ้างบริหารชุมชนซึ่งดำ�เนินการโดยบริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด โดยจะรับบริหารเฉพาะชุมชนที่บริษัทพัฒนาขึ้นเท่านั้น เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดี รวมทั้งเป็นกลยุทธ์ในการสร้างความแตกต่างทางด้านการบริการ กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย บริษทั กำ�หนดกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายของบริษทั เป็นผูท้ ตี่ อ้ งการทีพ่ กั อาศัยในทำ�เลทีม่ คี วามหนาแน่น อยูไ่ ม่ไกลจากระบบขนส่ง มวลชนหรือทางด่วนซึ่งง่ายต่อการเดินทาง เพียบพร้อมด้วยสิ่งอำ�นวยความสะดวก โดยมีรายได้ระดับกลางถึงกลาง-ล่าง หรือประมาณ 15,000-50,000 บาทต่อครอบครัว มีอายุอยู่ระหว่าง 25-45 ปี ซึ่งครอบคลุมประชากรส่วนใหญ่ที่เป็นกำ�ลัง ซื้อหลัก และปัจจุบันพักอาศัยอยู่ในบ้านเช่า หอพัก อพาร์ทเมนต์ หรือพักอาศัยอยู่กับบิดามารดา โดยมีความต้องการที่ จะแยกตัวออกมาเพื่อสร้างครอบครัวใหม่ ตามวิถีชีวิตปัจจุบันของคนเมือง การจำ�หน่าย และช่องทางการจำ�หน่าย บริษัทใช้วิธีการจำ�หน่ายหรือการขายในลักษณะขายตรง โดยทีมงานขายของบริษัทซึ่งประกอบด้วยพนักงานขายหลัก ที่มี ประสบการณ์ด้านการขาย มีความรู้ความเข้าใจในผลิตภัณฑ์และบริการของบริษัทเป็นอย่างดี คอยบริการให้ข้อมูลและคำ� แนะนำ�เพือ่ ประกอบการตัดสินใจแก่ลกู ค้าในทุกโครงการ และพนักงานขายเสริม ซึง่ เป็นพนักงานของบริษทั และบริษทั ย่อยที่ ปฏิบตั หิ น้าทีป่ ระจำ�ในส่วนสนับสนุน ฝ่ายบัญชีและการเงิน ฝ่ายธุรการ เป็นต้น โดยพนักงานเหล่านีจ้ ะได้รบั การอบรมความ รู้ในด้านผลิตภัณฑ์ของบริษัทและเทคนิคการขายเบื้องต้นอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อช่วยงานขายในช่วงเปิดตัวโครงการที่จัดขึ้น ในบริเวณทีต่ งั้ โครงการร่วมกับพนักงานขายหลัก โดยการนำ�ลูกค้าเข้าเยีย่ มชมโครงการ สภาพแวดล้อมของโครงการ ห้อง ตัวอย่าง เพื่อให้ลูกค้าเห็นสถานที่จริงและผลิตภัณฑ์จริงที่บริษัทจะทำ�การส่งมอบเมื่อโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จ พร้อมให้ ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและตอบข้อซักถามในเรื่องต่างๆ นอกจากนั้นบริษัทยังให้ความสำ�คัญกับการตกแต่งสำ�นักงาน ขาย (Office Presentation) ซึ่งเป็นช่องทางการจัดจำ�หน่ายหลักของบริษัท รวมทั้งการตกแต่งห้องตัวอย่าง การตกแต่ง บริเวณโครงการ (Site Presentation) เพือ่ สร้างความประทับใจและความเชือ่ มัน่ ให้กบั ลูกค้าทีช่ มโครงการ นอกจากนัน้ บริษทั ได้จัดสร้างสำ�นักงานขายกลางในย่านศูนย์กลางธุรกิจ เพื่ออำ�นวยความสะดวกให้แก่ลูกค้าและกลุ่มเป้าหมายโดยสามารถ เยีย่ มชมห้องตัวอย่าง จองซือ้ ห้องชุด ชำ�ระค่างวด รวมถึงธุรกรรมอืน่ ๆ ได้เช่นเดียวกับสำ�นักงานขายในบริเวณทีต่ งั้ โครงการ สถานภาพและศักยภาพในการแข่งขัน ตัง้ แต่เริม่ ก่อตัง้ เป็นต้นมา บริษทั พยายามแสวงหาตลาดใหม่ๆ ทีม่ กี ารแข่งขันน้อยหรือปราศจากการแข่งขัน (Blue Ocean Strategy) อันเป็นกลยุทธ์หลักในการแข่งขันเพือ่ คงไว้ซงึ่ ผลตอบแทนจากการลงทุน และยังเป็นการกระจายฐานลูกค้าออก ไปเป็นวงกว้างเพือ่ โอกาสสำ�หรับการเติบโตในอนาคต อันได้แก่ การขยายทำ�เลของการพัฒนาจากการกระจุกตัวอยูบ่ ริเวณ โดยรอบศูนย์กลางธุรกิจไปยังบริเวณที่มีความหนาแน่นสูง ซึ่งเป็นเขตรอยต่อระหว่างเขตกรุงเทพชั้นในและเขตกรุงเทพ ชั้นกลาง ผนวกกับการขยายกลุ่มเป้าหมาย จากเดิมที่บริษัทมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่มผู้มีรายได้ระดับกลางไปสู่ผู้มีรายได้ระดับ กลาง-ล่าง ซึ่งครอบคลุมประชากรส่วนใหญ่ของกรุงเทพและปริมณฑลที่มีความต้องการที่พักอาศัยที่แท้จริง แต่ยังขาด การรองรับอย่างจริงจังจากผู้ประกอบการ นอกจากการแสวงหาตลาดใหม่ด้วยการขยายทำ�เลในการพัฒนาและการขยาย กลุ่มเป้าหมายแล้ว บริษัทยังคงเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันเพื่อรักษาส่วนแบ่งของตลาดดังนี้ 1.1 การเป็นผู้นำ�ด้านต้นทุน (Cost Leadership) อันเป็นจุดแข็งของบริษัท เริ่มตั้งแต่คณะผู้บริหารซึ่งประกอบด้วย สถาปนิกและวิศวกรทีม่ ปี ระสบการณ์และเข้าใจในเรือ่ งต้นทุนอย่างลึกซึง้ รวมถึงกลุม่ พันธมิตรทีท่ �ำ งานกับบริษทั มาเป็นระยะเวลานานจนเกิดความเข้าใจในทิศทาง และมองเห็นเป้าหมายร่วมกันในการผลักดันให้เกิด ประสิทธิภาพในด้านการก่อสร้าง ซึง่ นำ�ไปสูก่ ารพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งจนเกิดเป็นนวัตกรรม ซึง่ เป็นรูปแบบเฉพาะ ของบริษัท

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

229


รายงานประจำ�ปี 2555

1.2 การสร้างความแตกต่าง (Differentiation) เพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้า บริษัทเลือกที่จะสร้างความ แตกต่างทางผลิตภัณฑ์ (Product Differentiation) ด้วยการออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้แนวคิด “LPN Design” ซึง่ มุง่ เน้นการออกแบบให้หอ้ งชุดขนาดเล็กมีประโยชน์ใช้สอยทีต่ อบสนองต่อวิถชี วี ติ ของผูอ้ ยูอ่ าศัยได้อย่างครบ ถ้วน ต้องการการดูแลรักษาน้อย มีการระบายอากาศที่ดี ซึ่งนับเป็นนวัตกรรมสำ�หรับการออกแบบอาคารชุด พักอาศัยภายใต้การวิจัยและพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง จนเป็นต้นแบบให้หลายๆบริษัทนำ�ไปปรับใช้ และความ แตกต่างทางการบริการ (Services Differentiation) ซึ่งบริษทั ได้ให้ความสำ�คัญกับการบริการตลอดกระบวนการ เพื่อความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้าโดยเน้นที่การบริการหลังการขาย อันได้แก่ การบริหารชุมชนภายใต้กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” ที่มุ่งเน้นคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัย การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ 1. การจัดให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์และบริการ ผลิตภัณฑ์หลักของบริษัทคือโครงการอาคารชุดพักอาศัยสำ�หรับกลุ่มเป้าหมายที่มีรายได้ระดับกลางถึงกลาง-ล่าง ที่ ต้องการที่อยู่อาศัยที่มีคุณภาพในราคาที่เหมาะสม มีความปลอดภัยแวดล้อมด้วยสาธารณูปโภค และอยู่ในทำ�เลที่ใกล้ ระบบขนส่งมวลชนหรือทางด่วนเพือ่ ความคล่องตัวในการเดินทาง เพือ่ ให้สอดคล้องกับสภาพการแข่งขัน กฎหมายและ ต้นทุนที่เปลี่ยนไป บริษัทได้กำ�หนดแนวทางการพัฒนาโครงการและขั้นตอนต่างๆ ไว้ดังต่อไปนี้ 1.1 สำ�รวจความต้องการของตลาดในบริเวณต่างๆ ทั้งในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งจังหวัดที่มีความ เติบโตทางเศรษฐกิจ เพือ่ ใช้เป็นข้อมูลในการกำ�หนดทำ�เลเป้าหมายในการขยายฐานลูกค้าและพืน้ ที่ในการพัฒนา โดยมุ่งเน้นกลุ่มลูกค้าที่มีระดับรายได้กลางถึงกลาง-ล่าง โดยมีราคาขายต่อยูนิตระหว่าง 700,000-2,000,000 บาท รวมถึงการสำ�รวจภาวะตลาด คู่แข่งขัน อุปสงค์ อุปทาน สภาวะเศรษฐกิจและสังคมในช่วงเวลานั้นๆ 1.2 วิเคราะห์โครงการ วางเป้าหมายทางการตลาด พิจารณาจัดหาที่ดิน รวมทั้งวิเคราะห์ทำ�เลที่ตั้ง รูปร่าง ขนาด สภาพแวดล้อมโดยรอบ กฎระเบียบต่างๆ ของทางภาครัฐทีม่ ผี ลกระทบต่อโครงการ รวมถึงคูแ่ ข่งขัน เพือ่ กำ�หนด ลักษณะ ขนาดของโครงการ และขั้นตอนในการพัฒนา รวมถึงคุณค่าของผลิตภัณฑ์ที่ส่งมอบให้แก่ลูกค้า (Product Value) โดยพิจารณาจากผลตอบแทนการลงทุน ความสอดคล้องเหมาะสมของทำ�เลที่ตั้งและรูปแบบ ในการพัฒนาโครงการ 1.3 วางผังและออกแบบโครงการให้สอดคล้องกับผลการศึกษา โดยคัดเลือกสถาปนิกและที่ปรึกษาโครงการที่มี คุณภาพ เข้าใจในแนวทางของบริษัท เนื่องจากผู้ออกแบบทั้งสถาปนิกและวิศวกรอยู่ในส่วนของต้นน้ำ�ที่มีผล โดยตรงต่อต้นทุนโดยเฉพาะต้นทุนทางอ้อม เช่น อัตราส่วนพื้นที่ขายต่อที่ดินที่แสดงถึงประสิทธิภาพในการ ออกแบบ การควบคุมต้นทุนทางอ้อมถือว่าเป็นหนึ่งในข้อได้เปรียบของบริษัทเพื่อรักษาความสามารถในการ แข่งขัน (Cost Leadership Strategy) 1.4 จัดทำ�แผนงานการพัฒนาโครงการ วางแผนทางการเงินและจัดหาแหล่งเงินทุนสำ�หรับโครงการ (Project Financing) วางแผนการบริหารการขายและการตลาด พร้อมทั้งแผนการบริหารชุมชนภายหลังการส่งมอบ 1.5 จัดเตรียมทีมงานรวมทัง้ กำ�หนดอัตรากำ�ลังของบุคลากรเพือ่ บริหารโครงการซึง่ ดำ�เนินการโดยบริษทั ย่อย ตัง้ แต่ ทีมงานขาย ทีมงานก่อสร้าง ทีมงานโอนกรรมสิทธิ์และส่งมอบ รวมถึงทีมงานบริหารชุมชน 1.6 การบริหารงานด้านการขายและการตลาด ได้แก่ - การวางแผนการขาย อันได้แก่ การกำ�หนดราคาขาย วางแผนการชำ�ระเงินของลูกค้าพร้อมทั้งจัดหาแหล่ง เงินกูใ้ ห้กบั ลูกค้าในช่วงโอนกรรมสิทธิ์ (Housing Loan) โดยพิจารณาสถาบันการเงินที่ให้สทิ ธิประโยชน์สงู สุด แก่ลูกค้า กำ�หนดเป้าหมายการขาย รวมทั้งอบรมทีมงานขาย - การวางแผนการตลาด อันได้แก่ การวางแผนการโฆษณาประชาสัมพันธ์ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย การจัดทำ� เอกสารประกอบการขาย รวมถึงกำ�หนดการและกระบวนการในการเปิดขาย 1.7 การบริหารงานก่อสร้างโครงการ โดยมีขั้นตอนที่สำ�คัญดังนี้ - ประสานงานและให้ขอ้ มูลโครงการแก่ผทู้ เี่ กีย่ วข้องทัง้ ชุมชนทีอ่ ยู่ใกล้เคียงและหน่วยราชการ โดยเฉพาะชุมชน ในบริเวณใกล้เคียงที่อาจได้รับผลกระทบและมีความกังวลต่อการพัฒนาโครงการโดยตรง - จัดทำ�รายงานการศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อขออนุมัติจากสำ�นักนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม (สผ) และขออนุญาตปลูกสร้างจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามลำ�ดับ - วางแผนการก่อสร้างและคัดเลือกผู้รับเหมาในการดำ�เนินการก่อสร้าง โดยจำ�กัดระยะเวลาในการก่อสร้างให้ แล้วเสร็จภายใน 18 เดือน (Economy of Speed) สำ�หรับโครงการที่เป็นอาคารสูง และไม่เกิน 12 เดือน

230 HERE IS HOME, HERE IS LPN


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

สำ�หรับอาคารที่ไม่เกิน 8 ชั้น โดยนับตั้งแต่เริ่มเปิดขาย ซึ่งบริษัทได้พัฒนาระบบงานก่อสร้าง และเทคนิค ทางการก่อสร้างด้วยการนำ�ชิ้นส่วนสำ�เร็จรูปเข้ามาใช้ โดยมีบริษัทย่อยเป็นผู้บริหารและควบคุมงานก่อสร้าง ในทุกขั้นตอน ตามบทบาทและหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย - รายงานความคืบหน้าของโครงการแก่ลูกค้าอย่างสม่ำ�เสมอ 1.8 ประเมินและติดตามผลการขาย ผลตอบแทนของโครงการ โดยจัดทำ�รายงานสรุปเพือ่ เป็นข้อมูลและกรณีศกึ ษา ของบริษัทสำ�หรับโครงการต่อไป 1.9 บริหารชุมชนภายหลังการส่งมอบ ภายใต้บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ และกลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” โดยมี เป้าหมายที่การสร้างคุณภาพชีวิตที่เหมาะสม ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม 2. กำ�ลังการผลิตและปริมาณการผลิต บริษัทมิได้มีกำ�ลังการผลิตหรือปริมาณการผลิตโดยตรง แต่มีการว่าจ้างผู้รับเหมาก่อสร้างที่เป็นพันธมิตรที่มีความน่า เชื่อถือ ตลอดจนมีประสบการณ์ที่เหมาะสมกับโครงการแต่ละโครงการเป็นผู้ดำ�เนินการในการก่อสร้าง โดยมีบริษัท ย่อยเป็นผู้บริหารงานก่อสร้างและควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด และใช้วิธีการประมูลหรือสืบราคาในการกำ�หนดมูลค่างาน ก่อสร้างเพื่อให้ได้ราคาค่าก่อสร้างที่เหมาะสม โดยเป็นการจัดจ้างแบบเหมารวม ทั้งวัสดุและค่าแรงเพื่อลดความเสี่ยง ในการผันผวนของราคาวัสดุกอ่ สร้าง นอกจากนี้ บริษทั ยังมีนโยบายในการประมูลที่ไม่ผกู ติดกับผูร้ บั เหมาหลัก โดยแยก ประมูลเป็นส่วนๆ ตามลักษณะของงาน เช่น งานเสาเข็ม งานโครงสร้าง งานฝ้าเพดาน งานกระจกและอลูมิเนียม งาน ระบบไฟฟ้าและประปา เป็นต้น เพือ่ เป็นการลดความเสีย่ งและต้นทุนทางอ้อม โดยทีผ่ รู้ บั เหมาแต่ละรายจะต้องทำ�งานได้ สอดประสานกันเพือ่ ความรวดเร็วและคุณภาพของงานก่อสร้างทีต่ อ้ งส่งมอบให้แก่ลกู ค้าโดยมีผรู้ บั เหมาหลักและบริษทั ย่อยเป็นแกนกลางในการประสานงานด้านต่างๆ อีกทั้งในบางกรณีบริษัทจะดำ�เนินการสั่งซื้อวัสดุบางรายการโดยตรง เช่น ลิฟต์ ซึ่งมียอดสั่งซื้อสูงและเป็นงานที่ต้องใช้บริการจากผู้ขายโดยตรง กระบวนการทั้งหมดดังกล่าวข้างต้นดำ�เนิน การได้อย่างมีประสิทธิภาพทัง้ ในด้านต้นทุนและระยะเวลาทีเ่ หมาะสม ภายใต้กลยุทธ์กลุม่ พันธมิตรทีแ่ ข็งแกร่งและเป็น ที่ไว้วางใจของทางบริษัท ซึ่งถือเป็นหนึ่งในความได้เปรียบในการแข่งขัน 3. การจัดหาวัตถุดิบ ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้วว่า บริษทั มิได้ผลิตหรือมีก�ำ ลังการผลิตโดยตรงแต่อาศัยการจัดจ้างผูร้ บั เหมาทีเ่ ป็นพันธมิตร ที่มีความน่าเชื่อถือ ตลอดจนมีประสบการณ์ที่เหมาะสมกับโครงการแต่ละโครงการเป็นผู้ดำ�เนินการก่อสร้าง โดยการ จัดจ้างเป็นการจัดจ้างรวมทั้งวัสดุและค่าแรงเพื่อเป็นการลดความเสี่ยงในการผันผวนของราคาวัสดุก่อสร้าง บริษัทจึง ไม่มีความจำ�เป็นในการจัดหาวัสดุด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม ที่ดินสำ�หรับการพัฒนาโครงการเป็นวัตถุดิบที่สำ�คัญที่สุด ในการพัฒนาโครงการดังคำ�ที่ว่า “อสังหาริมทรัพย์คือ ทำ�เล ทำ�เล และทำ�เล” บริษัทจึงกำ�หนดปัจจัยที่ใช้เป็นเกณฑ์ใน การพิจารณาที่ดินเพื่อการพัฒนาและแนวทางในการจัดหาที่ดินดังนี้ 1.1 ทำ�เลที่ตั้งของที่ดินจะต้องอยู่ในบริเวณที่มีความหนาแน่นและตั้งอยู่ริมถนนสายหลัก มีสาธารณูปโภคครบครัน อยู่ใกล้แหล่งงานหรือแหล่งชุมชนขนาดใหญ่ ใกล้ระบบขนส่งมวลชนหรือทางด่วน โดยมีทางเข้าออกที่สะดวก ไม่อยู่ในแนวเวนคืนหรือมีปัญหาอุปสรรคจากข้อกฎหมายหรือโครงการต่างๆ ของทางภาครัฐ 1.2 ขนาดหน้ากว้างของที่ดินและรูปร่างของที่ดินต้องเหมาะสมและสอดคล้องกับ พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร เพื่อให้เกิด การใช้ประโยชน์ที่ดินได้สูงสุด นอกจากนี้ยังต้องสอดคล้องกับข้อกำ�หนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามผังเมือง 1.3 ราคาของทีด่ นิ จะต้องไม่อยู่ในเกณฑ์สงู เกินกว่าร้อยละ 30 ของต้นทุนโครงการ เพือ่ ให้บริษทั ยังคงสามารถรักษา ระดับราคาขายและผลตอบแทนในการลงทุนให้เป็นไปตามนโยบายและกลยุทธ์การแข่งขันของบริษัท 1.4 การจัดหาที่ดินโดยการลงประกาศทางสื่อหนังสือพิมพ์เพื่อติดต่อกับเจ้าของที่โดยตรง หรือผ่านทางตัวแทน นายหน้า หรือเสนอซื้อจากสถาบันการเงิน และสถาบันบริหารทรัพย์สิน (บสท) โดยบริษัทได้จัดให้มีหน่วยงาน ทีร่ บั ผิดชอบโดยตรงในการจัดหาและตรวจคุณสมบัตขิ องทีด่ นิ โดยตรง และบริษทั ได้ด�ำ เนินการแจ้งข้อสารสนเทศ ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อมีการจัดซื้อที่ดินเพื่อความโปร่งใส อีกทั้งยังมีการประเมินราคาโดยผู้ ประเมินอิสระเพื่อเป็นการตรวจสอบอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งที่ดินทุกแปลงที่บริษัทจัดซื้อมีราคาต่ำ�กว่าราคาประเมิน

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

231


รายงานประจำ�ปี 2555

ข้อมูลโครงการ ตารางแสดงรายละเอียดโครงการที่พัฒนาเสร็จสมบูรณ์ ของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) อาคารสูง ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36

โครงการ ลุมพินี ทาวเวอร์ แอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร์ ลุมพินี เพลส (ซอยไกรสีห)์ แอล.พี.เอ็น. มินอิ อฟฟิศ สีพ่ ระยา ริเวอร์ววิ ลุมพินี เซ็นเตอร์ แฮปปีแ้ ลนด์ ลุมพินี เพลส สาทร ลุมพินี เรสซิเดนซ์ สาทร ลุมพินี เซ็นเตอร์ ลาดพร้าว 111 ลุมพินี เพลส สวนพลู-สาทร ลุมพินี เพลส พระราม 4-สาทร ลุมพินี เพลส นราธิวาส 24 ลุมพินี วิลล์ พระแม่มารี-สาทร ลุมพินี เพลส พระราม 3-เจริญกรุง ลุมพินี เพลส นราธิวาสราชนครินทร์ ลุมพินี สวีท สุขมุ วิท 41 ลุมพินี เพลส พระราม 3-ริเวอร์ววิ ลุมพินี เซ็นเตอร์ สุขมุ วิท 77 ลุมพินี วิลล์ พหล-สุทธิสาร ลุมพินี เซ็นเตอร์ นวมินทร์ ลุมพินี วิลล์ สุขมุ วิท 77 ลุมพินี เพลส ปิน่ เกล้า ลุมพินี วิลล์ ศูนย์วฒ ั นธรรม ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจ้าพระยา ลุมพินี เพลส พหล-สะพานควาย ลุมพินี เพลส ปิน่ เกล้า 2 ลุมพินี เพลส รัชดา-ท่าพระ ลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 44 ลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทร์เดชา-รามคำ�แหง ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-หลักสี่ ลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่ ลุมพินี วิลล์ ประชาชืน่ -พงษ์เพชร ลุมพินี คอนโดทาวน์ รัตนาธิเบศร์ ลุมพินี สวีท ปิน่ เกล้า ลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 26 ลุมพินี เพลส พระราม 8

เนื้อที่ ความ จำ�นวน ลักษณะโครงการ โครงการ สูง (ไร่-งาน-วา) (ชั้น) (อาคาร) อาคารชุดสำ�นักงาน 2-3-33.00 38 1 อาคารชุดสำ�นักงาน 1-2-42.00 18 1 อาคารชุดพักอาศัย 1-3-26.00 19 1 อาคารสำ�นักงาน 0-0-90.00 7 1 อาคารชุดพักอาศัย 2-0-16.60 31 1 อาคารชุดพักอาศัย 12-2-26.00 7, 8 20 อาคารชุดพักอาศัย 3-2-52.60 9 4 อาคารพักอาศัย 0-1-99.00 9 1 อาคารชุดพักอาศัย 6-2-17.00 8 7 อาคารชุดพักอาศัย 2-2-22.50 9 2 อาคารชุดพักอาศัย 2-0-38.00 9 2 อาคารชุดพักอาศัย 2-0-25.00 9 2 อาคารชุดพักอาศัย 2-3-65.00 9 2 อาคารชุดพักอาศัย 2-3-79.00 9 2 อาคารชุดพักอาศัย 2-2-11.20 9 2 อาคารชุดพักอาศัย 1-2-78.00 9 2 อาคารชุดพักอาศัย 3-0-65.10 19 1 อาคารชุดพักอาศัย 6-2-30.20 9 5 อาคารชุดพักอาศัย 5-0-76.90 21 2 อาคารชุดพักอาศัย 3-2-65.70 8 3 อาคารชุดพักอาศัย 4-3-29.80 23 3 อาคารชุดพักอาศัย 3-0-33.00 22 1 อาคารชุดพักอาศัย 12-2-63.00 8 9 อาคารชุดพักอาศัย 9-0-72.00 29 3 อาคารชุดพักอาศัย 7-1-68.00 29 2 อาคารชุดพักอาศัย 3-3-83.30 26 1 อาคารชุดพักอาศัย 6-2-26.00 29, 4 3 อาคารชุดพักอาศัย 4-2-56.00 23 2 อาคารชุดพักอาศัย 32-3-28.00 8 14

มูลค่า จำ�นวน โครงการ (ยูนิต) (ล้านบาท) 113 2,118.00 76 564.00 34 408.00 1 29.00 310 1,100.00 1,765 857.00 603 726.00 37 95.00 856 663.00 281 372.00 231 405.00 190 353.00 300 457.00 312 485.00 233 481.00 159 486.00 497 1,031.00 872 898.00 861 1,408.00 442 389.00 987 1,561.00 580 1,107.00 1,324 1,956.00 1,306 3,598.00 1,093 2,237.00 651 1,138.00 898 1,650.00 827 1,304.00 3,445 3,074.00

อาคารชุดพักอาศัย

13-0-40.00

8

7

1,568

1,272.00 2550-2551

อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย

7-2-58.30 7-3-83.80 19-0-59.10 3-1-67.00 10-2-74.00 9-3-4.40

14 19 8 21 8 13

1 2 8 1 5 2

1,271 958 1,944 547 998 1,131

1,388.00 1,360.00 1,796.00 1,353.00 1,388.00 1,956.00

232 HERE IS HOME, HERE IS LPN

ระยะเวลา พัฒนา 2532-2535 2532-2535 2534-2537 2537-2537 2537-2541 2542-2545 2544-2545 2545-2546 2545-2547 2545-2546 2545-2546 2545-2546 2546-2547 2546-2547 2546-2547 2546-2547 2547-2548 2547-2548 2547-2548 2548-2549 2547-2549 2548-2549 2548-2549 2548-2550 2549-2550 2549-2550 2549-2551 2549-2551 2550-2551

2550-2551 2550-2552 2550-2552 2550-2552 2551-2552 2551-2552


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

อาคารสูง ลำ�ดับ 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59

โครงการ

อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย

เนื้อที่ ความ จำ�นวน โครงการ สูง (ไร่-งาน-วา) (ชั้น) (อาคาร) 1-3-55.90 12 1 4-1-96.30 14 1 6-0-19.00 25, 30 2 1-2-68.00 22 1 5-0-38.80 29, 31 2 6-1-51.58 25 2

อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย

7-3-94.00 3-1-29.50

8 25

4 1

795 739

702.00 2553-2553 732.00 2552-2553

อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย

7-1-70.00 5-0-95.00 3-3-5.00

18 29, 24 24

2 2 1

1,026 1,165 709

1,438.00 2552-2553 2,649.00 2552-2553 576.00 2553-2554

12-0-11.20 30 4-1-4.00 26 15-1-78.00 20 6-2-00.00 5, 8 7-1-58.00 15, 20 7-2-46.50 5, 8 14-1-42.10 3, 5, 36 3-1-41.70 27 13-2-96.80 8

2 1 4 4 4 6 7 1 7

2,702 887 1,827 598 1,032 696 2,405 768 1,489

3,793.00 1,580.00 3,217.00 472.00 927.00 590.00 5,963.00 952.00 1,761.00

ลักษณะโครงการ

ลุมพินี สวีท พระราม 8 ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา เฟส 1 ลุมพินี วิลล์ บางแค ลุมพินี วิลล์ ราษฎร์บรู ณะ-ริเวอร์ววิ ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-นวมินทร์ อาคาร A,B ลุมพินี คอนโดทาวน์ บางแค ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-นวมินทร์ อาคาร C ลุมพินี วิลล์ ลาดพร้าว-โชคชัย 4 ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา เฟส 2 ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-นวมินทร์ อาคาร D ลุมพินี พาร์ค ปิน่ เกล้า ลุมพินี เพลส พระราม 4-กล้วยน้�ำ ไท ลุมพินี เพลส รัชโยธิน ลุมพินี คอนโดทาวน์ นิดา้ -เสรีไทย ลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริง่ ลุมพินี คอนโดทาวน์ นิดา้ -เสรีไทย (2) ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3 ลุมพินี วิลล์ พิบลู สงคราม-ริเวอร์ววิ ลุมพินี วิลล์ พัฒนาการ-เพชรบุรตี ดั ใหม่ ลุมพินี วิลล์ แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด ลุมพินี คอนโดทาวน์ พัทยาเหนือ-สุขมุ วิท ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า

อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย

มูลค่า จำ�นวน โครงการ (ยูนิต) (ล้านบาท) 182 518.00 516 925.00 1,165 2,910.00 271 318.00 1,028 1,317.00 1,120 1,028.00

ระยะเวลา พัฒนา 2551-2552 2552-2552 2551-2553 2552-2553 2552-2553 2552-2553

2552-2554 2553-2554 2553-2554 2554-2555 2554-2555 2554-2555 2553-2555 2554-2555 2554-2555

อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย

6-0-75.00 7-0-66.80

32 32

2 2

1,622 1,448

1,754.00 2554-2555 1,305.00 2554-2555

อาคารชุดพักอาศัย

9-3-46.40

8

4

1,035

1,046.00 2554-2555

แนวราบ ลำ�ดับ 1 2 3

โครงการ

ลักษณะโครงการ

บ้านลุมพินี บางบัวทอง (ทาวน์เฮาส์) บ้านลุมพินี 2 บางบัวทอง (อาคารพาณิชย์) ลุมพินี เซ็นเตอร์ (อาคารพาณิชย์)

แนวราบ แนวราบ แนวราบ

เนื้อที่ ความ จำ�นวน จำ�นวน มูลค่า โครงการ สูง (อาคาร) (ยูนิต) โครงการ ระยะเวลา (ไร่-งาน-วา) (ชั้น) (ล้านบาท) พัฒนา 36-1-31.20 704 725.00 2537-2539 2-1-84.90 35 97.00 2540-2542 1-1-81.20

-

-

23

62.00

2542-2543

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

233


รายงานประจำ�ปี 2555

ตารางแสดงรายละเอียดโครงการที่พัฒนาเสร็จสมบูรณ์ของบริษัท พรสันติ จำ�กัด ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

โครงการ

เนื้อที่ ความ จำ�นวน จำ�นวน โครงการ สูง (ไร่-งาน-วา) (ชั้น) (อาคาร) (ยูนิต) 6-2-78.70 22 2 1,548 4-1-35.00 7 5 10 4-1-34.20 29 1 764 0-1-50.00 5 0-0-34.30 1 0-0-82.00 4 0-0-49.00 4 1 1 0-1-87.00 5 1 1 0-1-58.00 4 1 1 6-3-39.00 3 71 4-0-79.40 3 46

ลักษณะโครงการ

พี.เอส.ที. คอนโดวิลล์ ทาวเวอร์ 1,2 อาคารชุดพักอาศัย พี.เอส.ที. มินอิ อฟฟิศ อาคารสำ�นักงาน พี.เอส.ที. ซิต้โี ฮม อาคารชุดพักอาศัย อาคารพาณิชย์ ศูนย์วฒ ั นธรรม แนวราบ อาคารพาณิชย์ นวมินทร์ แนวราบ ทาวน์โฮม รามอินทรา-หลักสี่ แนวราบ อาคารพาณิชย์ พหล-สุทธิสาร 1 แนวราบ อาคารพาณิชย์ พหล-สุทธิสาร 2 แนวราบ โฮมออฟฟิศ ปิน่ เกล้า อาคารสำ�นักงาน ลุมพินี ทาวน์ เพลส รัชโยธิน-เสนาฯ แนวราบ ลุมพินี ทาวน์ เรสซิเดนซ์ แนวราบ ลาดพร้าว สเตชัน่

มูลค่า โครงการ (ล้านบาท) 1,944.00 131.00 1,480.00 41.00 12.00 16.46 10.00 44.00 36.00 375.00 423.00

ระยะเวลา พัฒนา 2533-2537 2535-2536 2537-2542 2550-2550 2550-2550 2551-2552 2552-2553 2552-2553 2553-2554 2554-2555 2554-2555

ตารางแสดงรายละเอียดโครงการที่ดำ�เนินการอยู่ในปัจจุบัน ของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ลำ�ดับ

โครงการ

ความคืบหน้า มูลค่า ระยะเวลา กรรมสิทธิ์ โครงการ ลักษณะ เนื้อที่โครงการ ความสูง จำ�นวน จำ�นวน โครงการ โครงการ (ไร่-งาน-วา) (ชั้น) อาคาร (ยูนิต) (ล้านบาท) พัฒนา ในที่ดนิ งาน งาน

ขาย ก่อสร้าง

1 ลุมพินี เมกะซิต้ี บางนา 2 3 4 5 6 7 8 9

อาคารชุด พักอาศัย ลุมพินี วิลล์ อาคารชุด สุขมุ วิท 109-แบริง่ พักอาศัย ลุมพินี พาร์คบีช อาคารชุด จอมเทียน พักอาศัย ลุมพินี วิลล์ อาคารชุด นาเกลือ-วงศ์อมาตย์ พักอาศัย ลุมพินี วิลล์ อาคารชุด สุขมุ วิท 77 (2) พักอาศัย ลุมพินี คอนโดทาวน์ อาคารชุด ชลบุร-ี สุขมุ วิท พักอาศัย ลุมพินี วิลล์ อาคารชุด รามคำ�แหง 60/2 พักอาศัย ลุมพินี วิลล์ อาคารชุด ประชาชืน่ -พงษ์เพชร 2 พักอาศัย ลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์ อาคารชุด -งามวงศ์วาน พักอาศัย

17-2-28.00 18, 28, 29 6-1-48.00 8

4

19-1-14.00* 30

3

1,846 4,200.00 2554-2556 แอล.พี.เอ็นฯ 80% 45%

12-3-75.00 20, 28, 30 6-2-46.00 16, 18

3

2,168 3,160.00 2554-2556 แอล.พี.เอ็นฯ 50% 12%

4

956 1,100.00 2555-2556 แอล.พี.เอ็นฯ 100% 10%

38-0-52.00

19 4,101 2,600.00 2555-2556 แอล.พี.เอ็นฯ 70%

-

3

1,212 1,450.00 2555-2557 แอล.พี.เอ็นฯ 80%

-

2

1,395 1,800.00 2555-2557 แอล.พี.เอ็นฯ 50%

-

5

2,824 4,000.00 2555-2557 แอล.พี.เอ็นฯ 85%

-

8

8-0-66.00 15, 25 12-1-30.00

32

14-2-77.00 29, 30

* เนือ้ ทีร่ วมทุกเฟส

234 HERE IS HOME, HERE IS LPN

5

4,047 3,200.00 2554-2555 แอล.พี.เอ็นฯ 60% 60% 742

940.00 2554-2555 แอล.พี.เอ็นฯ 80% 70%


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ตารางแสดงรายละเอียดโครงการที่ยังไม่ส่งมอบ ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ลำ�ดับ สร้โครงการ างเสร็จปี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

2557

2556

2555

ก่อน 2555

โครงการ ลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 60/2 ลุมพินี วิลล์ ประชาชืน่ -พงษ์เพชร 2 ลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์-งามวงศ์วาน ลุมพินี เมกะซิต้ี บางนา ลุมพินี วิลล์ สุขมุ วิท 109-แบริง่ ลุมพินี พาร์คบีช จอมเทียน ลุมพินี วิลล์ นาเกลือ-วงศ์อมาตย์ ลุมพินี วิลล์ สุขมุ วิท 77 (2) ลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุร-ี สุขมุ วิท ลุมพินี คอนโดทาวน์ นิดา้ -เสรีไทย (2) ลุมพินี วิลล์ พัฒนาการ-เพชรบุรตี ดั ใหม่ ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3 ลุมพินี คอนโดทาวน์ พัทยาเหนือ-สุขมุ วิท ลุมพินี วิลล์ พิบลู สงคราม-ริเวอร์ววิ ลุมพินี วิลล์ แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด ลุมพินี คอนโดทาวน์ ลาดปลาเค้า อืน่ ๆ

จำ�นวน (ยูนิต)

มูลค่า (ล้านบาท)

939 630 2,278 1,901 591 1,389 1,000 948 2,717 41 250 165 359 8 226 527 8 13,977

1,141.57 866.56 3,263.83 2,073.81 764.54 3,106.57 1,400.41 1,180.02 1,715.54 38.47 314.75 558.36 328.27 9.36 259.88 543.52 16.79 17,582.25

คาดว่าจะรับรู้รายได้ในปี 2556 2,073.81 764.54 3,106.57 1,400.41 1,180.02 1,715.54 38.47 314.75 558.36 328.27 9.36 259.88 543.52 16.79 12,310.29

2557 1,141.57 866.56 3,263.83 5,271.96

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

235


รายงานประจำ�ปี 2555

ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ทรัพย์สินถาวรหลัก รายการทรัพย์สิน บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน 1. ลุมพินี ทาวเวอร์ 2. แอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร์ 3. สีพ่ ระยา ริเวอร์ววิ 4. ลุมพินี เซ็นเตอร์ เฟส 4 5. ลุมพินี เพลส สาทร 6. ลุมพินี เรสซิเดนซ์ สาทร 7. ลุมพินี วิลล์ พระแม่มารี-สาทร 8. ลุมพินี วิลล์ สุขมุ วิท 77 9. ลุมพินี เพลส ปิน่ เกล้า 10. ลุมพินี เพลส ปิน่ เกล้า 2 11. ลุมพินี สวีท ปิน่ เกล้า 12. ลุมพินี พาร์ค ปิน่ เกล้า 13. ลุมพินี วิลล์ ศูนย์วฒ ั นธรรม 14. ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจ้าพระยา 15. ลุมพินี เพลส พหล-สะพานควาย 16. ลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทรเดชา-รามคำ�แหง 17. ลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 26 18. ลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่ 19. ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ 20. ลุมพินี วิลล์ ประชาชืน่ -พงษ์เพชร 21. ลุมพินี คอนโดทาวน์ รัตนาธิเบศร์ 22. ลุมพินี สวีท พระราม 8 23. ลุมพินี เพลส พระราม 8 24. ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา เฟส 1 25. ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา เฟส 2 26. ลุมพินี คอนโดทาวน์ บางแค 27. ลุมพินี วิลล์ ราษฎร์บรู ณะ-ริเวอร์ววิ 28. ลุมพินี วิลล์ ลาดพร้าว-โชคชัย 4 29. ลุมพินี เพลส รัชโยธิน 30. ลุมพินี เพลส พระราม 4-กล้วยน�ำ้ ไท 31. ลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริง่ 32. ลุมพินี คอนโดทาวน์ นิดา้ -เสรีไทย รวมอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ทรัพย์สนิ สำ�นักงาน 1. ลุมพินี ทาวเวอร์ รวมทรัพย์สนิ สำ�นักงาน

ที่ตั้งโครงการ

พื้นที่ (ตาราง เมตร)

มูลค่าตาม ราคา บัญชี ประเมิน (ล้านบาท) (ล้านบาท)

ถ. พระราม 4

5,625.56

136.42

ถ. รัชดาภิเษก ถ. โยธา ถ. แฮปปีแ้ ลนด์ สาย1 ถ. นราธิวาสราชนครินทร์ ถ. นราธิวาสราชนครินทร์ ถ. สาทร ถ. อ่อนนุช ถ. บรมราชชนนี ถ. บรมราชชนนี ถ. บรมราชชนนี ถ. บรมราชชนนี ถ. ประชาอุทศิ ถ. พระราม 3 ถ. ประดิพทั ธ์

799.56 4,409.44 49.47 184.14 2,238.55 44.92 176.81 36.95 311.13 402.37 538.61 256.56 786.63 120.52

17.03 16.38 0.66 7.05 83.50 1.83 5.37 1.73 12.39 20.85 17.17 10.20 32.22 4.68

ถ. รามคำ�แหง ถ. รามคำ�แหง ถ. รามอินทรา ถ. รามอินทรา ถ. ประชาชืน่ ถ. รัตนาธิเบศร์ ถ. อรุณอัมรินทร์ ถ. อรุณอัมรินทร์ ถ. พระราม 9 ถ. พระราม 9 ถ. บางแค ถ. ราษฎร์บรู ณะ ถ. ลาดพร้าว ถ. พหลโยธิน

601.90 239.44 25.15 194.85 35.00 252.37 132.19 181.19 255.21 217.15 72.31 235.44 163.18 28.19

16.33 6.19 1.22 7.61 1.11 7.44 5.34 5.65 9.12 7.67 2.02 7.43 4.62 1.21

ถ. พระราม 4 ถ. ลาซาล ถ. เสริไทย

173.74 50.67 153.30

ถ. พระราม 4

1,450.58

236 HERE IS HOME, HERE IS LPN

ผู้ประเมิน ราคา

ภาระ ผูกพัน

212.34 ราคาตลาด TB,BAY, BBL 39.93 ราคาตลาด TB 114.86 ราคาตลาด 1.29 ราคาตลาด 10.80 ราคาตลาด 125.36 ราคาตลาด TB 2.20 ราคาตลาด 9.23 ราคาตลาด 2.38 ราคาตลาด 20.22 ราคาตลาด 32.23 ราคาตลาด 26.40 ราคาตลาด 13.79 ราคาตลาด 45.93 ราคาตลาด 7.84 ราคาตลาด 29.78 13.17 1.40 10.72 1.91 10.42 8.00 7.81 14.04 11.94 2.89 11.30 8.32 1.76

ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด

-

7.56 1.76 5.30 465.06

11.30 ราคาตลาด 2.79 ราคาตลาด 6.92 ราคาตลาด 819.26

-

34.60 34.60

57.79 ราคาตลาด 57.79

TB,BAY


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) รายการทรัพย์สิน บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ทรัพย์สนิ เพือ่ ขาย 1. พี.เอส.ที. คอนโดวิลล์ ทาวเวอร์ 1 2. ลุมพินี เพลส พระราม 3-เจริญกรุง 3. ลุมพินี พาร์ค ปิน่ เกล้า 4. ลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทรเดชา-รามคำ�แหง 5. ลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่ 6. ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ 7. ลุมพินี สวีท พระราม 8 8. ลุมพินี เพลส พระราม 8 9. ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา เฟส 2 10. ลุมพินี คอนโดทาวน์ บางแค 11. ลุมพินี วิลล์ ราษฎร์บรู ณะ-ริเวอร์ววิ 12. ลุมพินี วิลล์ ลาดพร้าว-โชคชัย 4 13. ลุมพินี เพลส รัชโยธิน 14. ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์ พระราม 3 15. ลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริง่ 16. ลุมพินี วิลล์ พัฒนาการ-เพชรบุรตี ดั ใหม่ 17. ลุมพินี วิลล์ พิบลู สงคราม-ริเวอร์ววิ 18. ลุมพินี วิลล์ แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด 19. ลุมพินี คอนโดทาวน์ นิดา้ -เสรีไทย 2 20. ลุมพินี คอนโดทาวน์ พัทยาเหนือ-สุขมุ วิท 21. ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า รวมทรัพย์สนิ เพือ่ ขาย รายการทรัพย์สิน บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ทรัพย์สนิ อยูร่ ะหว่างการพัฒนา 1. ลุมพินี เมกะซิต้ี บางนา 2. ลุมพินี วิลล์ นาเกลือ-วงศ์อมาตย์ 3. ลุมพินี พาร์คบีช จอมเทียน 4. ลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 60/2 5. ลุมพินี วิลล์ สุขมุ วิท 109-แบริง่ 6. ลุมพินี วิลล์ สุขมุ วิท 77 (2) 7. ลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์-งามวงศ์วาน 8. ลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุร-ี สุขมุ วิท 9. ลุมพินี เพลส ศรีนครินทร์ -หัวหมากสเตชัน่ 10. ลุมพินี วิลล์ ประชาชืน่ -พงษ์เพชร (2) 11. ลุมพินี เพลส สุขสวัสดิ-์ พระราม 2 12. ลุมพินี พาร์คบีช ชะอำ� 13. ลุมพินี เพลส ยูด-ี โพศรี 14. ลุมพินี วิลล์ อ่อนนุช-ลาดกระบัง 15. ลุมพินี ชะอำ� 16. ลุมพินี ทาวน์ชปิ รังสิต-คลอง 1 รวมทรัพย์สนิ อยูร่ ะหว่างการพัฒนา

ที่ตั้งโครงการ

พื้นที่ (ตาราง เมตร)

มูลค่าตาม ราคา บัญชี ประเมิน (ล้านบาท) (ล้านบาท)

ผู้ประเมิน ราคา

ภาระ ผูกพัน

ถ. นนทรี ถ. พระราม 3 ถ. บรมราชชนนี ถ. รามคำ�แหง

81.45 60.42 110.32 49.84

2.13 2.81 3.59 1.42

2.13 3.02 5.41 2.44

ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด

-

ถ. รามอินทรา ถ. รามอินทรา ถ. อรุณอัมรินทร์ ถ. อรุณอัมรินทร์ ถ. พระราม 9 ถ. บางแค ถ. ราษฎร์บรู ณะ ถ. ลาดพร้าว ถ. พหลโยธิน ถ. พระราม 3 ถ. ลาซาล ถ. พัฒนาการ

25.38 64.07 98.73 49.93 41.23 83.35 251.88 28.61 223.45 23,909.00 174.05 14,526.49

1.23 2.65 4.17 1.64 1.48 1.89 8.32 0.89 10.65 966.45 6.08 507.28

1.40 3.52 5.98 2.16 2.27 4.01 12.09 1.57 14.49 1,820.39 9.59 922.08

ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด

-

ถ. พิบลู สงคราม ถ. แจ้งวัฒนะ ถ. เสรีไทย ถ. สุขมุ วิท

419.76 11,801.70 1,087.11 9,908.26

15.14 374.14 31.02 263.74

20.75 621.42 47.56 381.11

ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด

-

ถ. รามอินทรา-ลาดปลาเค้า 14,354.02

429.25

619.57 ราคาตลาด

-

2,635.96

4,502.95

พื้นที่ มูลค่าตาม ราคา (ไร่-งานบัญชี ประเมิน ตารางวา) (ล้านบาท) (ล้านบาท)

ผู้ประเมิน ราคา

ภาระ ผูกพัน

ถ. บางนา ถ. พัทยา-นาเกลือ ถ. พัทยา-จอมเทียน สาย 2 ถ. รามคำ�แหง ถ. สุขมุ วิท ถ. สุขมุ วิท 77 ถ. รัตนาธิเบศร์ ต. บ้านสวน อ.เมือง ถ. ศรีนครินทร์

17-2-29.00 12-3-75.40 19-1-14.00 8-0-65.90 6-1-48.00 6-1-46.00 14-2-76.70 38-0-52.00 7-1-93.00

1,951.09 559.35 1,756.44 260.64 444.25 278.49 445.38 268.06 272.64

1,951.09 559.35 1,756.44 260.64 444.25 278.49 445.38 268.06 272.64

ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด

UOB BBL KBANK SCB KTB SCB BBL BBL UOB

ถ. ประชาชืน่ ถ. สุขสวัสดิ์ ต. ชะอำ� อ.ชะอำ� ต. หมากแข้ง อ.เมือง ถ. อ่อนนุช-ลาดกระบัง ต. ชะอำ� อ.ชะอำ� ถ. รังสิต

10-1-30.00 10-3-10.30 4-1-48.00 17-0-68.70 11-3-36.00 24-0-86.00 100-0-0.00

399.60 99.72 100.77 0.14 160.02 329.84 564.28

399.60 99.72 100.77 0.14 160.02 329.84 564.28

ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด

SCB BBL BBL SCB

7,890.71

7,890.71

ที่ตั้งโครงการ

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

237


รายงานประจำ�ปี 2555

รายการทรัพย์สิน บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ ที่ตั้งโครงการ จำ�กัด (มหาชน) ทรัพย์สนิ รอการพัฒนา 1. ทีด่ นิ หน้าโครงการ ถ. ตลิง่ ชัน-สุพรรณบุรี บ้านลุมพินี บางบัวทอง 3 2. ทีด่ นิ บริเวณหน้าโครงการ ถ. นราธิวาสราชนครินทร์ ลุมพินี เพลส สาทร 3. ทีด่ นิ บริเวณหน้าโครงการ ถ. นราธิวาสราชนครินทร์ ลุมพินี เพลส สาทร 4. ทีด่ นิ บริเวณซอยสุขมุ วิท 24 ถ. สุขมุ วิท 5. ทีด่ นิ บริเวณ ถ. ศรีนครินทร์ ถ. ศรีนครินทร์ รวมทรัพย์สนิ รอการพัฒนา รวมทรัพย์สนิ ของ บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) (1) รายการทรัพย์สิน บริษัท พรสันติ จำ�กัด อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน 1. พี.เอส.ที. คอนโดวิลล์ ทาวเวอร์ 1 2. พี.เอส.ที. คอนโดวิลล์ ทาวเวอร์ 2 3. พี.เอส.ที. ซิต้โี ฮม รวมอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ทรัพย์สนิ เพือ่ ขาย 1. ลุมพินี ทาวน์ เรสซิเดนท์ ลาดพร้าว สเตชัน่ 2. ลุมพินี ทาวน์ เพลส รัชโยธิน-เสนาฯ รวมทรัพย์สนิ เพือ่ ขาย รายการทรัพย์สิน บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ทรัพย์สนิ อยูร่ ะหว่างการพัฒนา 1. ลุมพินี ทาวน์ เพลส สุขมุ วิท 62 2. ลุมพินี วิลล์ ศรีนครินทร์-แบริง่ 3. ลุมพินี ทาวน์ วิลล์ เฉลิมพระเกียรติ รวมทรัพย์สนิ อยูร่ ะหว่างการพัฒนา ทรัพย์สนิ รอการพัฒนา รวมทรัพย์สนิ รอการพัฒนา รวมทรัพย์สนิ ของ บริษทั พรสันติ จำ�กัด (2) รวมทรัพย์สนิ ของบริษทั (1) + (2)

ที่ตั้งโครงการ ถ. นนทรี ถ. นนทรี ถ. นนทรี

พื้นที่ มูลค่าตาม ราคา (ไร่-งานบัญชี ประเมิน ตารางวา) (ล้านบาท) (ล้านบาท)

ผู้ประเมิน ราคา

ภาระ ผูกพัน

7-2-38.20

165.11

165.11 ราคาตลาด

-

2-1-96.40

241.72

241.72 ราคาตลาด

TB

0-0-73.00

7.36

7.36 ราคาตลาด

-

3-2-22.50 4-1-60.50

398.72 398.72 ราคาตลาด 83.83 83.83 ราคาตลาด 896.73 896.73 11,923.07 14,167.45

SCB

พื้นที่ (ตาราง เมตร)

มูลค่าตาม ราคา บัญชี ประเมิน (ล้านบาท) (ล้านบาท)

ภาระ ผูกพัน

ผู้ประเมิน ราคา

278.45 136.71 11,637.89

0.79 4.19 74.40 79.39

3.48 ราคาตลาด 1.71 ราคาตลาด 211.90 ราคาตลาด 217.09

TB

ถ. ลาดพร้าว

216.60

47.86

74.13 ราคาตลาด

-

ถ. พหลโยธิน 30

391.20

67.34 115.20

88.58 ราคาตลาด 162.71

-

ที่ตั้งโครงการ ถ. สุขมุ วิท ถ. ศรีนครินทร์ ถ. เฉลิมพระเกียรติ

238 HERE IS HOME, HERE IS LPN

มูลค่าตาม ราคา พื้นที่ ญชี ประเมิน (ไร่-งาน-วา) (ล้าบันบาท) (ล้านบาท) 9-0-22.00 7-2-61.00 26-0-5.00

ผู้ประเมิน ราคา

ภาระ ผูกพัน

165.64 91.86 0.53 258.03

165.64 ราคาตลาด 91.86 ราคาตลาด 0.53 ราคาตลาด 258.03

KTB -

-

-

452.61 637.82 12,375.68 14,805.27


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

การกู้ยืมเงินของบริษัท (หน่วย : ล้านบาท) รายการกู้ยืม บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

ลำ�ดับ

1

สถาบัน

เงินกู้ยืม 6 สถาบันการเงิน รวม

ประเภท การกู้ยืม

วงเงิน (ล้านบาท)

ยอดคงค้าง (ล้านบาท)

สัดส่วน ร้อยละ

อัตรา ดอกเบี้ย เฉลี่ยร้อยละ

หลักประกัน

เงินกู้

13,269.00

2,669.50

20.12

4.70%

ที่ดินพร้อม สิ่งปลูกสร้าง

13,269.00

2,669.50

20.12

(หน่วย : ล้านบาท) สถาบันการเงินที่ติดต่อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

ลำ�ดับ

1

สถาบันการเงิน

จำ�นวนเงิน

เงินฝากกับสถาบันการเงิน 10 แห่ง

1,167.63

รวม

1,167.63

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

239


รายงานประจำ�ปี 2555

ที่อยู่โครงการ อาคารชุดสำ�นักงาน

ลุมพินี ทาวเวอร์

1168 ถนนพระราม 4 ทุ่งมหาเมฆ สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-677-6356-7, 02-286-9855 โทรสาร 02-286-9856

แอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร์

216 ถนนนางลิ้นจี่ ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-285-4225-6 โทรสาร 02-285-4089 อาคารชุดพักอาศัย

ลุมพินี เพลส

111 ซอยไกรสีห์ ถนนศรีบำ�เพ็ญ ทุ่งมหาเมฆ สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-671-1368-70 โทรสาร 02-249-1793

สี่พระยา ริเวอร์วิว

108 ถนนโยธา ตลาดน้อย สัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ 10100 โทร. 02-639-5002-4 โทรสาร 02-639-5004

พี.เอส.ที. คอนโดวิลล์ ทาวเวอร์ 1

118 ซอยนาคสุวรรณ ถนนนนทรี ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-681-3112-3 โทรสาร 02-681-3113

พี.เอส.ที. คอนโดวิลล์ ทาวเวอร์ 2

120 ซอยนาคสุวรรณ ถนนนนทรี ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-681-3523-5 โทรสาร 02-681-3524

พี.เอส.ที. ซิตี้โฮม

128 ซอยนาคสุวรรณ ถนนนนทรี ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-681-3501, 02-681-3505 โทรสาร 02-681-3509 อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี สวีท”

ลุมพินี เพลส พระราม 4-สาทร

164 ซอยศรีบำ�เพ็ญ ถนนพระราม 4 ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-350-2895 โทรสาร 02-350-2897

ลุมพินี เพลส นราธิวาส 24

253, 255 ถนนสาธุประดิษฐ์ ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-211-4351 โทรสาร 02-211-4375

ลุมพินี เพลส พระราม 3-เจริญกรุง

101 ถนนพระราม 3 บางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-291-8632, 02-291-9333 โทรสาร 02-291-8607

ลุมพินี เพลส นราธิวาสราชนครินทร์

471 อาคาร A ชัน้ B ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-294-6877 โทรสาร 02-294-6876

ลุมพินี เพลส พระราม 3-ริเวอร์วิว

279 ถนนพระราม 3 บางโคล่ บางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-291-9915, 02-291-9918 โทรสาร 02-291-9923

ลุมพินี เพลส ปิ่นเกล้า

28 ถนนบรมราชชนนี บางบำ�หรุ บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทร. 02-458-3111-2 โทรสาร 02-458-3113

ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจ้าพระยา

78 ถนนพระราม 3 ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-293-1111 โทรสาร 02-293-1234

ลุมพินี เพลส พหล-สะพานควาย

171 ถนนประดิพัทธ์ สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 02-279-1010-1 โทรสาร 02-279-1180

ลุมพินี สวีท สุขุมวิท 41

ลุมพินี เพลส รัชดา-ท่าพระ

ลุมพินี สวีท ปิ่นเกล้า

ลุมพินี เพลส ปิ่นเกล้า 2

ลุมพินี สวีท พระราม 8

ลุมพินี เพลส พระราม 8

28 ถนนสุขุมวิท 41 คลองตันเหนือ วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 02-261-9330 โทรสาร 02-261-9331 1 ถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้า บางยี่ขัน บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทร. 02-497-0777-8 โทรสาร 02-497-0779

18 ถนนรัชดาภิเษก (ท่าพระ-ตากสิน) บุคคโล ธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 โทร. 02-466-1144, 02-460-2250 โทรสาร 02- 466-1145 89 ถนนบรมราชชนนี อรุณอมรินทร์ บางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทร. 02-433-2551, 02-433-4444 โทรสาร 02-433-2552

1 ซอยอรุณอมรินทร์ 53 ถนนอรุณอมรินทร์ บางยี่ขัน บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทร 02-497-5000, 02-497-5100 โทรสาร 02-497-5001

3 ซอยอรุณอมรินทร์ 53 ถนนอรุณอมรินทร์ บางยี่ขัน บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทร. 02-497-5200, 5400 โทรสาร 02-497-5201

อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี เพลส”

ลุมพินี เพลส สาทร

95 ถนนพระราม 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 02-169-3998-9 โทรสาร : 02-169-3997

ลุมพินี เพลส สวนพลู-สาทร

99 ถนนพระราม 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 02-169-3755-6 โทรสาร 02-169-3754

124 ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ทุ่งวัดดอน สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร.02-287-4567 โทรสาร 02-287-4257 435 ซอยสวนพลู 8 ถนนสาทร 3 ทุ่งมหาเมฆ สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-286-1585 โทรสาร 02-286-1850

240 HERE IS HOME, HERE IS LPN

ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา เฟส 1 ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา เฟส 2 ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่

20 ถนนรามอินทรา อนุสาวรีย์ บางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 02-552-4242 โทรสาร 02-552-4646


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ลุมพินี เพลส พระราม 4-กล้วยน้ำ�ไท

ลุมพนี วิลล์ แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด

ลุมพินี เพลส รัชโยธิน

ลุมพินี วิลล์ พัฒนาการ-เพชรบุรีตัดใหม่

อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี วิลล์”

อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี เซ็นเตอร์”

ลุมพินี วิลล์ พระแม่มารี-สาทร

ลุมพินี เซ็นเตอร์ แฮปปี้แลนด์

4004 ถนนพระราม 4 พระโขนง คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทร. 02-120-0000-1 โทรสาร 02-120-0002 1484 ถนนพหลโยธิน จันทรเกษม จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-513-6100 โทรสาร 02-513-2323

88 ซอยจันทร์ 27 ถนนจันทน์ ทุ่งวัดดอน สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-212-4515 โทรสาร 02-212-4375

ลุมพินี วิลล์ พหล-สุทธิสาร

23 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 02-278-4125 โทรสาร 02-278-4128

ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 77

615 ถนนสวนหลวง 77 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทร. 02-332-3004-5 โทรสาร 02-331-7526

ลุมพินี วิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม

601 ถนนประชาอุทิศ สามเสนนอก ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 02-274-4210-2 โทรสาร 02-274-4211 ต่อ 5134

ลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 44

175 หมู่ที่ 5 ถนนแจ้งวัฒนะ ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทร. 02-183-5901 โทรสาร 02-375-5600 4 ซอยพัฒนาการ 26 ถนนพัฒนาการ สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทร.02-184-8400-1 โทรสาร 02-184-8402

อาคาร A, B, C, F, G, H 556/1, 560/1, 568/1, 432/1, 582, 580 ซอยศูนย์การค้าแฮปปี้แลนด์ 1 คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร.02-374-7270-1 โทรสาร 02-374-7270 อาคาร D 335/1 ซอยศูนย์การค้าแฮปปี้แลนด์ 1 คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-374-6301-2 โทรสาร 02-377-3072 อาคาร E 557 ซอยศูนย์การค้าแฮปปี้แลนด์ 1 คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-377-9395-6 โทรสาร 02-378-4370

ลุมพินี เซ็นเตอร์ ลาดพร้าว 111

ลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร

อาคาร A, B, C, D 58, 60, 62, 64 ซอยลาดพร้าว 111 ถนนลาดพร้าว คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-370-2698, 02-370-2530 โทรสาร 02-370-2606 อาคาร E, F,G 3041, 3033 ซอยอยู่เย็น 111 ถนนลาดพร้าว คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-374-8394-5 โทรสาร 02-374-8395

ลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 26

577 ถนนสุขุมวิท 77 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทร. 02-332-3803-4 โทรสาร 02-332-3805

11 ซอยรามคำ�แหง 44 ถนนรามคำ�แหง หัวหมาก บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-370-4444 โทรสาร 02-370-4443

ลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่

2 ถนนรามอินทรา อนุสาวรีย์ บางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 02-197-9383 โทรสาร 02-197-9090 93 หมู่ 9 ถนนประชาชื่น บางเขน อำ�เภอเมือง นนทบุรี 11000 โทร. 02-149-3000 โทรสาร 02-149-3001

ลุมพินี เซ็นเตอร์ สุขุมวิท 77 ลุมพินี เซ็นเตอร์ นวมินทร์

59/1179 ถนนกรุงเทพกรีฑา รามคำ�แหง 26 หัวหมาก บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-300-0500 โทรสาร 02-300-0504

821 ซอยศูนย์การค้าแฮปปีแ้ ลนด์ 1 คลองจัน่ บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-184-6118 โทรสาร 02-184-6248

ลุมพินี วิลล์ บางแค

อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์”

18/272 ถนนบางแค บางแค กรุงเทพฯ 10160 โทร. 02-482-7500 โทรสาร 02-482-7502

ลุมพินี วิลล์ ลาดพร้าว-โชคชัย 4

48 ซอยลาดพร้าว 51 สะพาน 2 วังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 02-196-9886-7 โทรสาร 02-196-9898

ลุมพินี วิลล์ ราษฎร์บูรณะ-ริเวอร์วิว

9 ซอยราษฎร์บูรณะ 6/1 ถนนราษฎร์บูรณะ บางปะกอก ราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140 โทร 02-490-2001-2 โทรสาร 02-490-2003

ลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทรเดชา-รามคำ�แหง

120 ซอยรามคำ�แหง 43/1 วังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 02-192-7291 โทรสาร 02-192-7292

ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-หลักสี่

4 ซอยรามอินทรา 3 อนุสาวรีย์ บางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 02-197-9222, 02-552-3222 โทรสาร 02-197-9221

ลุมพินี คอนโดทาวน์ รัตนาธิเบศร์

ลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง

141 ถนนรัตนาธิเบศร์ อำ�เภอเมือง นนทบุรี 11000 โทร. 02-149-5000 โทรสาร 02-149-5002

ลุมพินี วิลล์ พิบูลสงคราม-ริเวอร์วิว

99 ถนนบางแค บางแค กรุงเทพฯ 10160 โทร 02-482-9000-1 โทรสาร. 02-482-9002

547 ถนนลาซาล บางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 02-173-6200-1 โทรสาร 02-173-6202

ลุมพินี คอนโดทาวน์ บางแค

55 หมู่ที่ 8 สวนใหญ่ เมืองนนทบุรี นนทบุรี 11000 โทร. 02-158-5444-5 โทรสาร 02-158-5446

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

241


รายงานประจำ�ปี 2555

ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-นวมินทร์

4 ซอยรามอินทรา 3 ถนนรามอินทรา อนุสาวรีย์ บางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 02-552-3222 โทรสาร 02-197-9221

ลุมพินี คอนโดทาวน์ นิด้า-เสรีไทย

301 ถนนเสรีไทย คลองกุ่ม บึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10240 โทร.02-377-7141 โทรสาร 02-377-7142

โครงการแนวราบในนามบริษัทพรสันติ

ลุมพินี ทาวน์ เพลส รัชโยธิน-เสนาฯ

310 ซอยพหลโยธิน 30 ถนนพหลโยธิน จันทรเกษม จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 02-561-3883 โทรสาร. 02-561-3883

ลุมพินี ทาวน์ เรสซิเดนซ์ ลาดพร้าว สเตชั่น

ลุมพินี คอนโดทาวน์ นิด้า-เสรีไทย 2

22 ซอยลาดพร้าว 21 ถนนลาดพร้าว จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ10900 โทร. 02-513-8228 โทรสาร. 02-513-8228

ลุมพินี คอนโดทาวน์ พัทยาเหนือ-สุขุมวิท

หน่วยงานอื่น

304 ถนนเสรีไทย คลองกุ่ม บึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10240 โทร.02-158-5444-5 โทรสาร 02-158-5446 86 หมู่ที่ 6 นาเกลือ บางละมุง ชลบุรี 20150 โทร. 038-224-655 โทรสาร 038-224-656

ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า

93 ถนนลาดปลาเค้า อนุสาวรีย์ บางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 02-197-2700-1 โทรสาร 02-197-2702 อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี พาร์ค”

ลุมพินี พาร์ค ปิ่นเกล้า

618 ถนนบรมราชชนนี บางบำ�หรุ บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทร. 02-489-9001-2 โทรสาร 02-489-9003

ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3

4, 6, 12, 14 ถนนพระราม 3 บางโพงพาง ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร.02-164-1800-1 โทรสาร 02-164-1818 ทาวน์เฮ้าส์

บ้านลุมพินี บางบัวทอง เฟส 1, 2

222 ถนนตลิ่งชัน-บางบัวทอง บางบัวทอง นนทบุรี 11110 สำ�นักงานใหญ่ โทร. 02-285-5011-6 โทรสาร 02-285-5017 โครงการในนามบริษัทร่วมทุน

ลุมพินี เพลส วอเตอร์คลิฟ

427, 421 ถนนสาธุประดิษฐ์ ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-673-5596-7, 02-673-6360-1 โทรสาร 02-673-5595, 02-673-6362

ลุมพินี สวีท รัชดา-พระราม 3

441 ถนนรัชดาภิเษก ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-212-7909 โทรสาร 02-212-7908

ลุมพินี ทาวน์โฮม รัชดา-พระราม 3

431 ถนนสาธุประดิษฐ์ ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-211-9221 โทรสาร 02-673-5595

แกรนด์ เฮอริเทจ ทองหล่อ

21 ซอยอรรคพัฒน์ (ทองหล่อ 13) ถนนสุขุมวิท 55 คลองตันเหนือ วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 02-390-0910 โทรสาร 02-390-0911

แกรนด์ พาร์ควิว อโศก

189 ถนนสุขุมวิท 21 คลองตันเหนือ วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 02-261-3218-9 โทรสาร 02-258-0506

พาร์ควิว วิภาวดี

1 ถนนโลคัลโรด ทุ่งสีกัน ดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 โทร. 02-573-3401-3 โทรสาร 02-573-3401

242 HERE IS HOME, HERE IS LPN

สำ�นักงานขายกลาง

อยู่ในบริเวณเดียวกับโครงการลุมพินี เพลส สาทร ติดห้างแมคโคร ออฟฟิศ สาทร ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ โทร. 02-287-3388 โทรสาร 02-287-3377


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

แผนที่ตั้งโครงการ อาคารชุดสำ�นักงาน ลุมพินี ทาวเวอร์ แอล.พี.เอ็น.ทาวเวอร์

ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 77 (2) ลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร (2) ลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 60/2

อาคารชุดพักอาศัย ลุมพินี เพลส (ซอยไกรสีห์) สี่พระยา ริเวอร์วิว พี.เอส.ที. คอนโดวิลล์ พี.เอส.ที. ซิตี้โฮม

อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี เซ็นเตอร์” ลุมพินี เซ็นเตอร์ แฮปปี้แลนด์ ลุมพินี เซ็นเตอร์ ลาดพร้าว 111 ลุมพินี เซ็นเตอร์ สุขุมวิท 77 ลุมพินี เซ็นเตอร์ นวมินทร์

อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี สวีท” ลุมพินี สวีท สุขุมวิท 41 ลุมพินี สวีท ปิ่นเกล้า ลุมพินี สวีท พระราม 8

อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” ลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทร์เดชา-รามคำ�แหง ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-หลักสี่ ลุมพินี คอนโดทาวน์ รัตนาธิเบศร์ ลุมพินี คอนโดทาวน์ บางแค ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-นวมินทร์ ลุมพินี คอนโดทาวน์ นิด้า-เสรีไทย ลุมพินี คอนโดทาวน์ นิด้า-เสรีไทย (2) ลุมพินี คอนโดทาวน์ พัทยาเหนือ-สุขุมวิท ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า ลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุรี สุขุมวิท

อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี เพลส” ลุมพินี เพลส สาทร ลุมพินี เพลส สวนพลู-สาทร ลุมพินี เพลส พระราม 4-สาทร ลุมพินี เพลส นราธิวาส 24 ลุมพินี เพลส พระราม 3-เจริญกรุง ลุมพินี เพลส นราธิวาสราชนครินทร์ ลุมพินี เพลส พระราม 3-ริเวอร์วิว ลุมพินี เพลส ปิ่นเกล้า ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจ้าพระยา ลุมพินี เพลส พหล-สะพานควาย ลุมพินี เพลส รัชดา-ท่าพระ ลุมพินี เพลส ปิ่นเกล้า (2) ลุมพินี เพลส พระราม 8 ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ ลุมพินี เพลส พระราม 4-กล้วยน้ำ�ไท ลุมพินี เพลส รัชโยธิน อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี วิลล์” ลุมพินี วิลล์ พระแม่มารี-สาทร ลุมพินี วิลล์ พหล-สุทธิสาร ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 77 ลุมพินี วิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม ลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 44 ลุมพินี วิลล์ รามอิทรา-หลักสี่ ลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร ลุมพินี วิลล์ รามคำ�แหง 26 ลุมพินี วิลล์ บางแค ลุมพินี วิลล์ ลาดพร้าว-โชคชัย 4 ลุมพินี วิลล์ ราษฎร์บูรณะ-ริเวอร์วิว ลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง ลุมพินี วิลล์ พิบูลย์สงคราม-ริเวอร์วิว ลุมพินี วิลล์ แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด ลุมพินี วิลล์ พัฒนาการ-เพชรบุรีตัดใหม่ ลุมพินี วิลล์ นาเกลือ-วงศ์อมาตย์ ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 109-แบริ่ง

อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี พาร์ค” ลุมพินี พาร์ค ปิ่นเกล้า ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3 ลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์-งามวงศ์วาน อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี พาร์คบีช” ลุมพินี พาร์คบีช จอมเทียน อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี เมกะซิตี้” ลุมพินี เมกะซิตี้-บางนา ทาวน์เฮาส์ บ้านลุมพินี บางบัวทอง โครงการในนามบริษัทร่วมทุน ลุมพินี เพลส วอเตอร์คลิฟ ลุมพินี สวีท รัชดา-พระราม 3 ลุมพินี ทาวน์โฮม รัชดา-พระราม 3 แกรนด์ เฮอริเทจ ทองหล่อ แกรนด์ พาร์ควิว อโศก พาร์ควิว วิภาวดี โครงการแนวราบในนามบริษัทพรสันติ ลุมพินี ทาวน์ เพลส รัชโยธิน-เสนาฯ ลุมพินี ทาวน์ เรสซิเดนซ์ ลาดพร้าว สเตชั่น หน่วยงานอื่น สำ�นักงานขายกลาง

WHERE THE VIBRANT COMMUNITY BEGINS TOGETHER WITH CARE & SHARE

243





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.