รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำปี 2558

Page 1


12

รายงานประจำ�ปี 2557


รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)


2

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

สารบัญ • สารจากประธานกรรมการ • ผลงานที่ภาคภูมิใจปี 2558 • รางวัลด้านความยั่งยืนปี 2558 • ข้อมูลองค์กร • วิสัยทัศน์เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน • พันธกิจต่อผู้มีส่วนได้เสียขององค์กรปี 2559

SUSTAINABLE POLICY ความยั่งยืนระดับนโยบาย

3 4 5 6 8 9

10

• หลักธรรมาภิบาล • การต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น • การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน • LPN กับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน • 10 ห่วงโซ่คุณค่า LPN • ตารางประเด็นสำ�คัญด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน • แนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมกับ กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย • เป้าหมายเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน • กลยุทธ์เพื่อความยั่งยืน

IN PROCESS

ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมในกระบวนการ • การดำ�เนินธุรกิจที่ให้ความสำ�คัญกับ การบริหารจัดการและทุนมนุษย์ • การออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม • การกำ�หนดผลตอบแทนและการเติบโต ขององค์กรให้เหมาะสม • การตลาดที่เป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง • การบริหารจัดการผลกระทบที่มีผลต่อ สิ่งแวดล้อมและสังคมในกระบวนการก่อสร้าง • การดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิต ของผู้อยู่อาศัยในโครงการหลังส่งมอบ

12 13 14 16 20 24 26 28 32

OUT PROCESS

ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมนอกกระบวนการ

• กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของบริษัท • กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของชมรม ลุมพินีอาสา

AS PROCESS

ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมอิงกระบวนการ

• สถาบันแอล.พี.เอ็น. • กิจการเพื่อสังคม : SOCIAL ENTERPRISE

110 111 114

116 117 126

33 34 50 58 64 76 96

• • • •

นวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน ข้อมูลพนักงาน การจัดทำ�รายงาน GRI INDEX

134 140 145 150


3

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

สารจากประธานกรรมการ (G4-1) นับตั้งแต่บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ได้เริ่มดำ�เนินธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์เมื่อปีพ.ศ. 2532 บริษัทให้ความสำ�คัญต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม และได้นำ� หลักแห่งการสร้างสมดุลของการดำ�เนินงานหรือ Balanced Scorecard มาเป็นหัวใจของการ ดำ�เนินงาน ซึง่ แนวคิดดังกล่าวได้ถกู พัฒนามาอย่างต่อเนือ่ ง จนมาเป็นแนวทางของความยัง่ ยืน ตามหลักการ Triple Bottom Line ในปัจจุบัน ด้วยการคำ�นึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการดำ�เนิน ธุรกิจ ทั้งมิติทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม สู่กลยุทธ์เพื่อความยั่งยืน 6 GREEN LPN ซึ่งบริษัทเชื่อมั่นว่าจะสร้างการเติบโตให้กับองค์กร ควบคู่ไปกับการแสดงความรับผิดชอบต่อ ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ดังนั้น แม้ในปี 2558 ที่ภาวะธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของประเทศอยู่ ในช่วงชะลอตัว อันเนื่องมาจากสถานการณ์ทางเศรษฐกิจทั้งมหภาคและจุลภาค บริษัทยังคง สามารถผลักดันให้ผลการดำ�เนินงานเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้ ด้วยความร่วมมือร่วมใจ จากผู้บริหาร พนักงาน และปิยมิตรที่แข็งแกร่งของบริษัท ตลอด 26 ปีของการดำ�เนินงาน บริษัทในฐานะผู้น�ำ ด้านการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยในกลุ่ม เป้าหมายระดับกลางถึงกลาง-ล่างภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี” ตระหนักดีว่า โครงการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบโดยตรงต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม แผนการ ดำ�เนินธุรกิจของบริษทั จึงได้ก�ำ หนดแนวทางในการดำ�เนินงานทีค่ รอบคลุมและเพิม่ ความเข้มข้น ในทุกกระบวนการดำ�เนินงาน โดยรวมถึงการบริหารจัดการภายในองค์กรและทุนมนุษย์อีกด้วย จากความมุ่งมั่นดังกล่าว ส่งผลให้บริษัทได้รับ 5 รางวัลด้านความยั่งยืน ได้แก่

• • • • •

รางวัล ESG 100 Certificate (Environment, Social and Governance) จากสถาบัน ไทยพัฒน์ ในฐานะที่เป็น 1 ใน 100 บริษัทจดทะเบียนที่มีความโดดเด่นในการดำ�เนิน ธุรกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล รางวัลการลงทุนในกิจการเพื่อสังคม (SET Social Enterprise Investment Awards) จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รางวัลด้านบริษทั จดทะเบียนทีล่ งทุนได้อย่างยัง่ ยืน (Thailand Sustainability Investment : THSI) จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รางวัล 5 ตราสัญลักษณ์ดา้ นการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี จากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (กลต.) และสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) รางวัล Recognition จากการประกาศรางวัลรายงานความยั่งยืนประจำ �ปี 2558 (Sustainability Report Award 2015)

นอกจากนัน้ จากการทีบ่ ริษทั ได้ประกาศเจตนารมณ์เข้าเป็นแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านทุจริต ในปีนี้ บริษทั ได้ก�ำ หนดนโยบายประเมินความเสีย่ งจากการทุจริตคอรัปชัน่ การสื่อสารและฝึกอบรม การดำ�เนินงานตามนโยบาย และการทบทวนความเหมาะสม โดยตั้ง เป้าหมายไว้ที่การยื่นขอการรับรอง (ระดับ 4 : Certified) เพื่อให้ความเชื่อมั่นอย่างเป็นอิสระ จากหน่วยงานภายนอก ทั้งหมดนี้ ถือเป็นความภาคภูมิใจของผู้บริหารและพนักงานทั้งองค์กร รวมทั้งยังเป็นคำ�มั่น สัญญาของบริษัทที่จะดำ�เนินกิจการบนความรอบคอบ โปร่งใส เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล บริษัทจึงใคร่ขอขอบคุณผู้บริหาร พนักงาน ปิยมิตร และผู้เกี่ยวข้องทุกท่าน ที่มีส่วนร่วม ในการสร้างคุณค่า ความร่วมมือร่วมใจจากท่านจะเป็นพลังขับเคลื่อนที่ยิ่งใหญ่ที่จะช่วย รักษาไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อมที่ดีและสังคมคุณภาพ นำ�มาซึ่งการเติบโตให้กับบริษัทและผู้มีส่วน ได้เสียทุกกลุ่มตลอดไป

(อมรศักดิ์ นพรัมภา) ประธานกรรมการบริษัท


4

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

ผลงานที่ภาคภูมิใจปี 2558 (G4-1) เช�งคุณคา 3P

6G

8S

ลงทุนใน “กองทุนสุนทาน”

10P

รวมกับสถาบันไทยพัฒน และ 5 บจ.

สูตรความยั่งยืน 3-6-8-10 ไดแก 3P, 6 GREEN LPN, 8 กลุมผูมีสวนไดเสีย และ 10 กระบวนการ เพ�่อเปน แนวทางในการดำเนินธุรกิจของ ทุกสวนงาน

5 รางวัล ดานความยั่งยืน สรางงานแก สตร�ดอยโอกาส

อบรม หลักสูตร CMTC

229

สรางโอกาสใน การมีบานหลังแรก ผานโครงการบานสานฝน สะสมทั้งสิ�น

รวมทั้งสิ�น

เพ�่อสรางผูจัดการชุมชน รวมทั้งสิ�น

เพ�่อนำดอกผลจากการลงทุนไปสนับสนุนกิจการเพ�่อสังคม (Social Enterprise)

คน

ครอบครัว

NPS ป 58

= 44%

419

1,200 ความผูกพัน ตอองคกร ของพนักงานเฉลี่ย

= 64%

ครอบครัว

จำนวนโครงการ ออกแบบภายใตมาตรฐาน

Signature Green Project = 2

จำนวน ชุมชนตนแบบ สะสมทั้งสิ�น

27 ชุมชน

(28 นิติบุคคลอาคารชุด)

ดูแลบร�หารชุมชน จำนวน 116 ชุมชน 106,400 ครอบครัว กวา 187,200 คน รวมพ�้นที่ที่ดูแล 5,925,000 ตร.ม.

(G4-EN27)

เช�งเง�นตรา

รายไดรวม

กำไรสุทธิ

ลานบาท

ลานบาท

29%

สงมอบ โครงการ

เปดขาย โครงการ

16,673.64

ปนผล

ใหแกผูถือหุน 0.90* สตางค

2,413.40

ทั้งสิ�น 7 โครงการ

* รออนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนประจำป 2559

เติบโต

ทั้งสิ�น 4 โครงการ


5

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

รางวัลด้านความยั่งยืนปี 2558 (G4-1)

บริษัทได้รับการจัดอันดับให้เป็นบริษัทที่มีการกำ�กับดูแลกิจการในระดับดีเลิศ (ระดับ 5 ตราสัญลักษณ์) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) บริษัทได้รับรางวัล “บริษัทจดทะเบียนด้านการสนับสนุนกิจการเพื่อสังคมยอดเยี่ยม (SET Social Enterprise Investment Awards)” จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษทั เป็น 1 ใน 51 บริษทั จดทะเบียนทีม่ รี ายชือ่ หุน้ ยัง่ ยืน (Thailand Sustainability Investment : THSI) จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัทได้รับรางวัลด้านองค์กรแห่งความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG 100) จากสถาบันไทยพัฒน์ บริษทั ได้รบั รางวัล Recognition จากการประกาศรางวัลรายงานความยัง่ ยืนประจำ�ปี 2558 (Sustainability Report Awards 2015) จากสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย


6

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

ข้อมูลองค์กร (G4-3, 5, 6) บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประเภทอาคารชุดพักอาศัยในประเทศไทย สำ�นักงานใหญ่ ที่ตั้ง 1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 วันที่จดทะเบียน : วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2532 ทุนจดทะเบียน : 1,475,698,768 บาท

บริษัทในเครือ (G4-17)

บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ให้บริการบริหารจัดการชุมชนแบบครบวงจร

บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด ให้บริการบริหารงานก่อสร้างโครงสร้าง

บริษัท พรสันติ จำ�กัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในรูปแบบอื่นๆ นอกเหนือจากอาคารชุดพักอาศัย

บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด ให้บริการงานบริการด้านต่างๆ ในชุมชน


7

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

LPN WAY : วิถีองค์กรขับเคลื่อนสู่ความยั่งยืน (G4-56)

วิถีแอล.พี.เอ็น. ประกอบด้วยคุณค่า 2 เสาหลัก คือ “การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง” และ “การยอมรับนับถือผู้มีส่วนได้เสีย” โดยมีองค์ประกอบค่านิยม 7 ประการ คือ “CLASSIC” ซึ่งเป็น แนวทางบูรณาการในการดำ�เนินธุรกิจที่ทุกองคาพยพของบริษัท ยึดถือและนำ�ไปปฏิบัติ ซึ่งพัฒนาไปเป็นค่านิยมองค์กร (Corporate Values) และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เกิดเป็นวิถีแอล.พี.เอ็น. (LPN Way) โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้การดำ�เนินงานในทุกภาคส่วนบรรลุ เป้าหมาย ทัง้ เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ และขับเคลือ่ นองค์กรไปสู่ “การพัฒนาและเติบโตอย่างยั่งยืน”

CLASSIC

(Core Competency) สมรรถนะหลักองค์กร

COST WITH QUALITY

บริหารต้นทุนพร้อมคุณภาพ

CORPORATE VALUES ค่านิยมองค์กร

LATERAL THINKING CONTINUOUS DEVELOPMENT การพัฒนา อย่างต่อเนื่อง

คิดนอกกรอบ

ALLIANCE ปิยมิตร

SPEED WITH QUALITY

LPN WAY

รวดเร็ว

วิถีแอล.พี.เอ็น.

SERVICE MINDED RESPECT FOR STAKEHOLDERS การยอมรับนับถือ ผู้มีส่วนได้เสีย

ใจบริการ

INTEGRITY จริยธรรม

COLLABORATION ความร่วมมือร่วมใจ


8

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

วิสัยทัศน์เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน บริษทั ได้ก�ำ หนดวิสัยทัศน์เพื่อเป็นแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัททุกรอบ 3 ปี เพื่อนำ�ไปสู่เป้าหมายการเติบโตอย่างยั่งยืน โดยคำ�นึงถึง ความสมดุลของผลตอบแทนทัง้ เชิงปริมาณและคุณภาพต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ อีกทัง้ ยังคำ�นึงถึงความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคมด้วย การดำ�เนินงานภายใต้หลักธรรมาภิบาล รวมถึงการกำ�หนดพันธกิจในแต่ละปี เพือ่ ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลง และขับเคลือ่ น ด้วยวิถแี อล.พี.เอ็น. (LPN Way) ทีห่ ล่อหลอมมาจากประสบการณ์ในการดำ�เนินธุรกิจ ดังนี้

วิสัยทัศน์ปี 2557 - 2559

คงไว้ซง่ึ สถานะผูน้ �ำ ในการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัย ในกลุ่มเป้าหมายระดับกลางถึงกลาง-ล่าง ภายใต้แนวทาง “ชุมชนน่าอยู่” ด้วยการดำ�เนินการตามวิถี “องค์กรคุณค่า” เพือ่ การพัฒนาและเติบโตอย่างยัง่ ยืน

วิสัยทัศน์ในช่วงที่ผ่านมาของบริษัท ปี 2545 - 2547

ปี 2548 - 2550

ปี 2551 - 2553

ปี 2554 - 2556

ผู้นำ�ด้านการพัฒนาอาคารชุด พักอาศัย สำ�หรับกลุม่ เป้าหมาย ระดับกลางถึงกลาง-ล่าง

ดำ�รงไว้ซึ่งความเป็นผู้นำ�ตลาด และเพิ่มพูนประสิทธิภาพด้วย การพัฒนาอาคารชุดพักอาศัย แบบบูรณาการ เพือ่ การสร้างสรรค์ ชุมชนคุณภาพ

มุ่ง มั่น ดำ � เนิ น การในการรั ก ษา ภาวะผูน้ �ำ ด้านการพัฒนาอาคาร ชุดพักอาศัย ด้วยการสร้างสรรค์ คุณค่าแบบบูรณาการ เพือ่ พัฒนา คุณภาพชีวติ ทีเ่ หมาะสมและพึง พอใจของผู้ อ ยู่ อาศั ย ในชุมชน โดยที่ยั ง คงไว้ ซึ่ ง ผลตอบแทน ต่อผู้ถือหุ้นและผู้มี ส่ ว นได้ เ สี ย อย่ า งยั่ ง ยื น ภายใต้ ห ลั ก การ ธรรมาภิบาล

เป็นผูน้ �ำ ในการพัฒนาทีพ่ กั อาศัย ในเมืองด้วยการสร้างสรรค์และ ส่งมอบคุณค่าแบบบูรณาการแก่ ผู้มี ส่ ว นได้ เ สี ย ในการดำ � เนิ น งาน เพื่อนำ�ไปสูก่ ารพัฒนาและ การเติบโตอย่างยัง่ ยืน

ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย ชุมชนน่าอยู่ส�ำ หรับคนทุกวัย คือ ชุมชนลุมพินที ี่ผู้อยู่อาศัยทุกวัยอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ุ ภาพชีวติ สิง่ แวดล้อมและสังคมที่ดี โดยมีองค์ประกอบทีเ่ หมาะสม มีคณ รวมทั้งจิตสำ�นึกของการอยูร่ ว่ มกัน ดูแลห่วงใยและแบ่งปัน

องค์กรคุณค่า องค์กรที่ได้มีการพัฒนาคุณค่าแบบบูรณาการ ในการดำ�เนินงานทุกภาคส่วน เพื่อส่งมอบให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งสิ่งแวดล้อมและสังคม


9

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

พันธกิจต่อผู้มีส่วนได้เสียขององค์กรปี 2559 (G4-24)

ลูกค้า

ผู้ถือหุ้น

สร้างโอกาสในการมีบ้านหลังแรก ในราคาทีส่ ามารถเป็นเจ้าของได้ และส่งมอบคุณค่าผลิตภัณฑ์และ คุณค่าบริการ รวมทั้งบริหาร ประสบการณ์ เพือ่ ให้เกิดความเชือ่ มั่น ในแบรนด์ “ลุมพินี”

สร้างการเติบโตอย่างเหมาะสม เพื่อผลตอบแทนอย่างยั่งยืน ภายใต้การบริหารความเสี่ยง และหลักการธรรมาภิบาล

สิ่งแวดล้อมและสังคม

ส่งเสริมและมีส่วนร่วมในจิตสำ�นึก รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ทั้งภายในกระบวนการ นอกกระบวนการ และอิงกระบวนการ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ปิยมิตรทางธุรกิจ

ผู้อยู่อาศัย

สร้างความเป็นหนึ่งเดียว ภายใต้วัฒนธรรมห่วงใยและแบ่งปัน และเติบโตร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ในผลตอบแทนที่เหมาะสม

สร้างสรรค์และส่งมอบ “ชุมชนน่าอยู่” ที่จะนำ�ไปสู่ ความสุขที่แท้จริงของการอยู่อาศัย ของคนทุกวัย

แรงงานก่อสร้าง

ร่วมดูแลคุณภาพชีวิต ความปลอดภัย และชีวอนามัย ผ่านการสนับสนุนการดำ�เนินงาน ของปิยมิตรและการจัดกิจกรรม

พนักงาน

เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความรู้ ความสามารถ คุณธรรม และความสัมพันธ์ เพื่อความสุข ความผูกพัน ความก้าวหน้ามั่นคง ผ่านวิถีแอล.พี.เอ็น. และสถาบันแอล.พี.เอ็น. ภายใต้วฒ ั นธรรมห่วงใย และแบ่งปันของ “องค์กรแห่งคุณค่า”

บ้านข้างเคียง

รับผิดชอบ เยียวยา และดูแล ผลกระทบจากการดำ�เนินงาน รวมทั้งสร้างการมีส่วนร่วม และสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน


10

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

1

ความยั่งยืน ระดับนโยบาย SUSTAINABLE POLICY

P.16 P.20 P.24 P.26 P.28

LPN กับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน 10 ห่วงโซ่คุณค่า LPN ตารางประเด็นสำ�คัญด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน แนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมกับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย เป้าหมายเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน


11

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ความยั่งยืนระดับนโยบาย หลักคิดในด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ถูกรวบรวมและกลั่นกรองเป็นองค์ความรู้ภายในองค์กร รวมทั้งเป็นแนวทางที่ทุกภาคส่วนปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งแนวคิดต่างๆ เหล่านี้จะเป็นพื้นฐานที่สำ�คัญและมั่นคง เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนองค์กรในการกำ�หนดกลยุทธ์องค์กรและ กลยุทธ์ปฏิบัติการ นโยบายองค์กร

ระดับกลยุทธ์

ระดับปฏิบัติการ

พื้นฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืนบนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง บริษัทดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบและเป็นธรรม โดยการสร้างสมดุลระหว่างผลตอบแทนแก่ผู้มีส่วนได้เสียที่ เกี่ยวข้อง รวมทั้งให้ความสำ�คัญกับกระบวนการดำ�เนินงานภายใน เพื่อให้องค์กรมีความแข็งแกร่ง ควบคู่ไปกับการพัฒนาบุคลากร ภายหลัง จากการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 บริษทั มุง่ เน้นการพัฒนาโครงการทีส่ อดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กรและสภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ทัง้ ยังรักษา การเติบโตให้เป็นไปอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ยังได้น�ำ เอาหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว มาปรับใช้เป็น แนวทางการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท

3 ห่วง ได้แก่ 1. ความพอประมาณ

ความรู้

1

2

มีเหตุผล

อัตราการเติบโตที่เหมาะสม โดยมุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากร ภายใน (In-house) ผลกำ�ไรที่พอประมาณ ไม่เอารัดเอาเปรียบ และไม่เบียดเบียน ลูกค้าและสังคม คำ�นึงถึงผลกระทบจากกระบวนการดำ�เนินธุรกิจทุกมิติ

3

สร้าง ภูมิคุ้มกัน

พอประมาณ

2. ความมีเหตุผล

พัฒนาที่พักอาศัยสำ�หรับกลุ่มเป้าหมายรายได้ระดับกลางถึง กลาง-ล่าง คำ�นึงถึงคุณภาพชีวติ ของผูอ้ ยูอ่ าศัยด้วยแนวคิด “ชุมชนน่าอยู”่ สร้างความสมดุลของผลตอบแทนของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม 3. การสร้างภูมิคุ้มกัน

คุณธรรม

ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาบุคลากร กำ�หนดกลยุทธ์ทเ่ี หมาะสมกับทุกสภาวะของธุรกิจ ให้ความสำ�คัญกับการบริหารความเสีย่ ง

2 เงื่อนไข ได้แก่ 1. ความรู้

2. คุณธรรม

กำ�หนดให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และแบ่งปันองค์ความรู้ โดยมี กำ�หนดให้ “คุณธรรม” เป็นหนึ่งในค่านิยมองค์กร (Corporate Value) สถาบันแอล.พี.เอ็น. เป็นแกนกลางในการขับเคลื่อน เพื่อนำ�ไปสู่การเป็นบรรษัทภิบาล


12

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

หลักธรรมาภิบาล (G4-56) หลักธรรมาภิบาล คือ หลักการปกครอง การบริหารจัดการ ควบคุมดูแลกิจการต่างๆ ด้วยความรับผิดชอบ ให้เป็นไปตามครรลองธรรม ซึ่งธรรมที่ใช้ในการบริหารงานนี้ มีความหมายรวมถึง ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และความถูกต้องชอบธรรมที่พึงประพฤติปฏิบัติ เช่น ความโปร่งใสตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจากองค์กรภายนอก เป็นต้น โดยหลักธรรมาภิบาล เป็นหลักการที่นำ�มาใช้ บริหารงานในปัจจุบนั อย่างแพร่หลาย เพือ่ สร้างและส่งเสริมองค์กรให้มศี กั ยภาพและประสิทธิภาพ นอกจากนัน้ ยังสร้างศรัทธาและเชื่อมั่นใน องค์กรนั้นๆ อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

การบริหารความเสี่ยง (G4-2) การบริหารจัดการความเสีย่ งให้อยู่ในระดับทีค่ วบคุมได้ในทุกมิติ และคำ�นึงถึงผูม้ สี ว่ นได้เสีย ที่มีความสำ�คัญต่อการเติบโตของธุรกิจทุกภาคส่วน เพื่อประโยชน์ ในระยะยาวทั้งใน ปัจจุบนั และอนาคต กำ�หนดกรอบของการตอบแทนตามสถานการณ์ของการแข่งขันและ ผลประกอบการ และลดความเสีย่ งด้วยการสำ�รองเงินทุนเพือ่ รักษาสภาพคล่องของบริษทั

ปรัชญา 20 Miles March การก้าวเดินอย่างต่อเนือ่ ง คือ หนึง่ ในวิถปี ฏิบตั ขิ องบริษทั ทีจ่ ะไม่หยุดทีจ่ ะก้าวไปข้างหน้า โดยรักษาระยะ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน ไม่ว่าช่วงเวลานั้นจะมีอุปสรรคหรือเป็น ช่วงเวลาแห่งโอกาส ดั่งหลักปรัชญา 20 Miles March ที่เน้นการก้าวเดินอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัทได้นำ�หลักการดังกล่าวมากำ�หนดเป้าหมายการเติบโตและการพัฒนาอย่าง ชัดเจนในทุกหน่วยงานและในทุกกระบวนการของการทำ�งาน เพื่อให้สามารถวัดผลได้ และปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง

โดยทั้งหมดของการเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัทนั้น จะมีพื้นฐานของความพอเพียง ความสมดุล และการบริหารความเสี่ยง เน้นการพัฒนา องค์ความรู้ เพิ่มประสิทธิภาพการดำ�เนินงานและความสามารถของบุคลากรภายในองค์กร และสร้างความเป็นหนึ่งเดียวกับปิยมิตรอย่างที่ ได้ท�ำ มาอย่างต่อเนื่องตลอดการดำ�เนินงานของบริษัท


13

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

การต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น (G4-SO4) ในฐานะผู้พัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐหลายส่วนงาน บริษัทมี นโยบายในการต่อต้านการคอรัปชั่นโดยกำ�หนดให้การดำ�เนินงานทุกกระบวนการอยู่ ในขอบเขตของกฎหมายอย่างเคร่งครัด และได้บรรจุเรื่องความเสี่ยงต่อระบบราชการ (Compliance Risk) เข้าเป็นส่วนหนึ่งของแผนธุรกิจ และมีการติดตามธุรกรรมกับทาง ราชการอย่างสมํา่ เสมอ นอกจากนัน้ ยังได้ก�ำ หนดให้บคุ ลากรทุกคนปฏิบตั ติ ามกฎหมาย จรรณยาบรรณของบริษัท (Code of Conduct) และนโยบายต่อต้านคอรัปชัน่ อย่าง เคร่งครัด เพือ่ สร้างความรับผิดชอบและคุณธรรม รวมทั้งกำ�หนดให้คุณธรรม (Integrity) เป็นค่านิยมหลักของบุคลากรอีกด้วย โดยบุคลากรทุกคนต้องได้รับทราบแนวทางปฏิบตั ิ ด้านการต่อต้านการคอรัปชัน่ และการอบรมเรือ่ งค่านิยมองค์กรดังกล่าว

แนวทางในการติดตามและประเมินผลการปฎิบัติ ตามนโยบายการต่อต้านทุจริตคอรัปชั่น บริษัทมีวิธีการเพื่อให้พนักงานในองค์กรร่วมกันปฎิบัติตามนโยบายการต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น โดยใช้วิธีการหลายช่องทางด้วยกัน เช่น การอบรมให้ความรู้แก่พนักงานทุกระดับและบรรจุเป็นหลักสูตรของการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ โดยทุกครั้งจะต้องมีการทดสอบความรู้ จริงหลังจากการอบรม นอกจากนั้น บริษัทได้มีการประเมินผลการดำ�เนินงานที่เกี่ยวข้อง ประเมินความเสี่ยงด้านการคอรัปชั่น และทบทวน มาตรการต่อต้านการคอรัปชั่นอย่างสม่�ำ เสมอ โดยมีการสื่อสารไปยังผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันเหตุการณ์ทุจริต ที่อาจเกิดขึ้นภายในองค์กร ทั้งนี้ นโยบายต่อต้านคอรัปชั่นกำ�หนดให้พนักงานทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบเพื่อให้กระบวนการดำ�เนินงานเป็น ไปตามมาตรการต่อต้านการคอรัปชั่น และได้พัฒนาเครื่องมือช่วยลดโอกาสในการเกิดคอรัปชั่น ผ่านการประกาศโดยเปิดเผยให้ทุกคนใน องค์กรได้รับรู้ และการจัดช่องทางในการร้องเรียนเมื่อพบเห็นการกระทำ�ทุจริต หรือการกระทำ�ผิดต่อระเบียบข้อบังคับ

การประเมินความเสี่ยงด้านการทุจริต บริษทั กำ�หนดให้มกี ารประเมินความเสีย่ งด้านการทุจริตของทุกฝ่าย โดยมีขน้ั ตอนดังต่อไปนี้ 1. การประเมินความเสี่ยงและการรายงานผล : โดยการกำ�หนดให้ทุกฝ่ายในองค์กรร่วมกันประเมินความเสี่ยงในฝ่ายของตนเอง ไตรมาส ละ 1 ครัง้ หลังจากนัน้ ให้รวบรวมและนำ�เสนอความเสีย่ งต่อคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งเพือ่ พิจารณา 2. การจัดการความเสี่ยง : คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งจะร่วมกันประเมิน วิเคราะห์ และจัดลำ�ดับความรุนแรงของความเสี่ยง เพือ่ กำ�หนด แนวทางและกลยุทธ์ในการจัดการความเสี่ยง และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาและให้ ความเห็นชอบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 3. การสือ่ สาร : จัดให้มกี ารสือ่ สารเรือ่ งการจัดการความเสีย่ ง เพือ่ ให้ทกุ ฝ่ายได้รบั ทราบและปฎิบตั ิในทุกกรณี


14

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน จากการที่บริษัทได้เผชิญวิกฤติทางเศรษฐกิจในปี 2540 และสามารถผ่านพ้นสถานการณ์มาได้นั้น นอกจากจะสร้างตัวตนและค่านิยมของ องค์กรที่ได้จากประสบการณ์ในช่วงดังกล่าว ยังนับเป็นจุดเริ่มต้นของการดำ�เนินงานด้วยการให้ความสำ�คัญกับการเติบโตอย่างยั่งยืนควบคู่ ไปกับการบริหารความเสี่ยง ซึ่งเป็นหัวใจสำ�คัญที่ทุกภาคส่วนต่างยึดถือและนำ�มาปฏิบัติ รวมทั้งได้สร้างความแข็งแกร่งให้แก่ห่วงโซ่อุปทาน ของบริษัท ความร่วมมือร่วมใจในยามที่ประสบปัญหา ได้พัฒนาความสัมพันธ์จาก “คู่ค้า” สู่การเป็น “พันธมิตร” ที่พร้อมที่จะดูแลเกื้อกูลกัน ความเชื่อมั่นและไว้เนื้อเชื่อใจ ส่งเสริมให้เกิดความผูกพัน และได้พัฒนามาเป็น “ปิยมิตร” โดยกำ�หนดหลักการในการพัฒนาและเติบโตร่วม กัน จนมาเป็น “LPN Team” ในปัจจุบัน จากความสัมพันธ์ที่มีมากว่า 20 ปี ทำ�ให้การทำ�งานร่วมกันระหว่างบริษัทและ “LPN Team” นั้น เสมือนหนึ่งเป็นทีมงานเดียวกัน การทำ�งานที่เปรียบเสมือนเป็นส่วนหนึ่งของกันและกันนี้เอง ทำ�ให้ทุกกระบวนการทำ�งานตลอดแนวห่วงโซ่อุปทานของบริษัท เกิดความ ร่วมมือร่วมใจระหว่างกัน เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายสูงสุดในการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานขององค์กร ซึ่งก็คือการพัฒนา รับผิดชอบและเติบโต ไปด้วยกัน

กระบวนการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานของบริษัท มีดังนี้

SS ASSE

ME

NT

GE

C

IMP

LE

MUNICATE COM

MEASU RE MUNICATE OM

COMMIT

ENG

A

1. กำ�หนดเป้าหมายในการทำ�งานร่วมกันในแต่ละปี โดยภายหลัง จากที่มีการทำ�แผนธุรกิจของบริษัท จะมีการประชุมร่วมกับ ผู้บริหารระดับสูงของ LPN Team กว่า 30 บริษทั เพื่อรับทราบ และวางแผนการทำ�งานร่วมกัน เพือ่ ให้บรรลุตามความคาดหวัง ของการดำ�เนินงานในปีนั้นๆ 2. ระบุและพิจารณาผลกระทบที่อาจเกิดจากการทำ�งานร่วมกัน เพื่อวางแผนป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น 3. สร้างการมีสว่ นร่วมของแต่ละองค์กรในการพัฒนาโครงการนัน้ ๆ 4 ปฏิบัติตามแผนงานที่กำ�หนดไว้ 5. จัดให้มีการประชุมรายเดือน เพื่อติดตามงาน ประเมินผลและ วิเคราะห์ปัญหาร่วมกัน เพื่อปรับปรุงการดำ�เนินงาน หรือปรับ แผนการดำ�เนินงานตามความเหมาะสมและสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจเปลี่ยนแปลงไป อันจะนำ�ไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำ�งานตลอดห่วงโซ่อุปทาน

นอกจากนี้ ตลอดระยะเวลาการดำ�เนินงาน จะมีการสือ่ สารและรายงานข้อมูลผ่านช่องทางการสือ่ สารแบบสองทาง (Two-Way Communication) ระหว่างบุคลากรของบริษัทและบุคลากรของ LPN Team ผ่านช่องทาง Whatsapp อย่างสม่�ำ เสมอ ส่งผลให้ทุกหน่วยงานหรือทุกองค์กรที่มี ส่วนร่วมสามารถแสดงความเห็นร่วมกันและเกิดการเรียนรู้ ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทำ�งาน


15

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

การพัฒนาและฝึกอบรม LPN Team การแบ่งปันและถ่ายทอดองค์ความรู้ทั้งในด้านการทำ�งานและการ บริหารจัดการองค์กร ถือเป็นอีกหนึ่งแผนงานของบริษัทที่จะช่วย ให้เกิดการเติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืนกับ LPN Team จึงเป็น ที่มาของการจัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้แก่บุคลากรของ LPN Team ผ่านการจัดอบรม สัมมนา และดูงาน โดยสถาบัน แอล.พี.เอ็น. และวิทยากรภายในของบริษัท รวมทั้งได้สนับสนุนให้ LPN Team คิดค้นนวัตกรรมที่จะช่วยปรับปรุงการดำ�เนินงาน ตาม กลยุทธ์ Q-C-S-E-S+P ซึง่ ได้จดั ประกวดขึน้ อย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 โดยในปี 2558 นี้ มีการส่งนวัตกรรมในการก่อสร้างเข้าประกวด ทั้งสิ้น 11 นวัตกรรม

ความเสี่ยงด้านห่วงโซ่อุปทาน (G4-EN33) การกำ�หนดเป้าหมายการเติบโตยังคงต้องพิจารณาความเสี่ยงและ ความเป็นไปได้ร่วมกับ LPN Team เนื่องจากบางบริษัทอาจจะยัง มีศักยภาพไม่เพียงพอที่จะดำ�เนินงานได้ตามเป้าหมายที่บริษัท กำ�หนด อีกทั้งการมีห่วงโซ่อุปทานที่สมบูรณ์แบบ ทำ�ให้ต้องมีการ ชี้แจงและสื่อสารกันตลอด ทั้งระหว่างบริษัทและ LPN Team และ ระหว่าง LPN Team ด้วยกันเอง เพื่อให้มีทิศทางและแนวทาง เดียวกัน นอกจากนั้น จากการที่ปัจจุบันสังคมมีความตื่นตัวต่อ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ทำ�ให้บริษัทอาจเสื่อมเสียชื่อเสียงจาก การดำ�เนินงานของ LPN Team ในฐานะผู้ว่าจ้าง บริษัทจึงได้ ถ่ายทอดแนวคิดและแนวทางการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบ ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อสร้างจิตสำ�นึกและการมีส่วนร่วม จาก LPN Team รวมทัง้ ได้รว่ มกันกำ�หนดมาตรฐานการดำ�เนินงาน ทัง้ ในด้านการออกแบบและการบริหารโครงการ และมีหน่วยงาน คอยตรวจสอบ ดูแลและปรับปรุงการทำ�งานอย่างใกล้ชิด

LPN ได้จัดประกวด นวัตกรรมที่ช่วยปรับปรุง การดำ�เนินงาน ร่วมกับ LPN Team ตามกลยุทธ์ Q-C-S-E-S+P


16

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

LPN กับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน

SUSTAINABLE DEVELOPMENT 8S

CUSTOMERS

SHAREHOLDERS

TAKEHOLDERS 8 S

6G REEN LPN 6G

STAFF MARKETING MANAGEMENT

LABORS FINANCIAL MANAGEMENT

PROFIT ECONOMY

3P ENTERPRISE

TRIPLE

PEOPLE SOCIETY

SUPPLY CHAIN

BOTTOM LINE

PLANET

CONSTRUCTION PROCESS

ENVIRONMENT

NEIGHBORS บร�หารชุมชน

COMMUNITY MANAGEMENT

RESIDENTS

DESIGN CONCEPT

ENVIRONMENT


17

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

PROFIT

ECONOMY

3P PEOPLE SOCIETY

TRIPLE BOTTOM LINE

PLANET

ENVIRONMENT

บริษัทนําหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Triple Bottom Line) ที่ให้ความสําคัญกับ 3 องค์ประกอบสุดท้าย ด้านเศรษฐกิจ สังคมและ สิ่งแวดล้อม เป็นแนวทางในการกําหนดเป้าหมายการดําเนินงาน ภายใต้กลยุทธ์ 6 GREEN LPN ที่รับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้น กับผู้มีส่วนได้เสียทั้ง 8 กลุ่ม ใน 10 กระบวนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อรักษาสมดุลและสร้างการเติบโตที่มั่นคง โดยกําหนดเป้าหมาย สุดท้ายของการดําเนินธุรกิจทั้ง 3 องค์ประกอบ ดังนี้

PROFIT

PEOPLE SOCIETY

ENVIRONMENT

เป้ า หมายในเชิ ง เศรษฐกิ จ ที่ สำ � คั ญ ของ บริษัทคือการสร้างสมดุลของผลตอบแทน หรือกำ�ไรในการดำ�เนินงานที่พอประมาณ และต่อเนื่อง บนพื้นฐานของการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี มีความรับผิดชอบในการ ประกอบกิจการด้วยความโปร่งใสและเปิดเผย บริหารความเสีย่ งในระดับทีเ่ หมาะสม รวมถึง คำ�นึงถึงการแบ่งปันผลตอบแทนไปสู่ผู้มี ส่วนได้เสียทุกกลุ่ม

บริษัทคำ�นึงอยู่เสมอว่า ธุรกิจนั้นจะเติบโต ได้ด้วยพื้นฐานของสังคมที่ดี มีคุณภาพ มีความปลอดภัย การรับผิดชอบต่อสังคม ของบริษัทจึงไม่ได้จำ�กัดอยู่เฉพาะบุคลากร ภายในเท่านัน้ แต่ยงั คำ�นึงถึงสังคมภายนอก คู่ค้า ลูกค้า และผู้พักอาศัยในโครงการ รวมถึงชุมชนข้างเคียง (เพือ่ นบ้าน) แรงงาน ก่อสร้าง ตลอดจนสภาพสังคมโดยรวมของ ประเทศ

ในฐานะผูป้ ระกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทีม่ บี ทบาทและสร้างผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ในหลายมิติ บริษทั จึงให้ความสำ�คัญต่อการ รับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม ด้วยการลดผลกระทบ จากการพั ฒ นาโครงการในกระบวนการ (In Process) ตั้งแต่กระบวนการออกแบบ และกระบวนการก่ อ สร้ า ง รวมทั ้ งดูแล สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวติ ของผูอ้ ยูอ่ าศัย ในชุมชนและชุมชนข้างเคียงภายหลังการ ส่งมอบ

ECONOMY

PLANET


18

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

6G

6 GREEN LPN ตลอดระยะเวลากว่า 26 ปีของการดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างจริงจัง ในทุกกระบวนการ ก่อให้เกิดการพัฒนาแนวคิด 6 GREEN LPN ที่กลั่นกรองจากประสบการณ์การพัฒนา อสังหาริมทรัพย์และการบริหารชุมชน เพื่อเป็นหลักปฏิบัติในการสร้างสมดุลอย่างยั่งยืนแก่ผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุม่ ปัจจุบนั แนวคิด 6 GREEN LPN ครอบคลุมความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคมทัง้ หมด 6 ประการ ได้แก่

1

2

3 DESIGN CONCEPT

ENTERPRISE

FINANCIAL MANAGEMENT

Green Enterprise

Green Design Concept

Green Financial Management

การดำ�เนินธุรกิจที่ให้ความสำ�คัญกับ การบริหารจัดการและทุนมนุษย์

การออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

การกำ�หนดผลตอบแทนและการเติบโต ขององค์กรให้เหมาะสม

4

5

6 บร�หารชุมชน

MARKETING MANAGEMENT

CONSTRUCTION PROCESS

COMMUNITY MANAGEMENT

Green Marketing Management

Green Construction Process

Green Community Management

การตลาดทีเ่ ป็นธรรมกับผูบ้ ริโภคและคูแ่ ข่ง

การบริหารจัดการผลกระทบที่มีผลต่อ สิ่งแวดล้อมและสังคมในกระบวนการ ก่อสร้าง

การดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิต ของผู้อยู่อาศัยในโครงการหลังส่งมอบ


19

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

8S

8 STAKEHOLDERS

(G4-25)

บริษัทสามารถระบุกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหลัก (First Tier) ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานในกระบวนการต่างๆ โดยพิจารณาจากการประเมินระดับความเกี่ยวข้องของผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งในด้านความสำ�คัญที่มีผลต่อบริษัท และการดำ�เนินงาน และผลกระทบที่ได้รับจากการดำ�เนินงานของบริษัท เพื่อให้สามารถระบุความสำ�คัญ วางกลยุทธ์ ในการสร้างการมีส่วนร่วม และกำ�หนดกรอบการดำ�เนินงานเพื่อลดผลกระทบที่มคี วามสำ�คัญแก่ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย โดยกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียหลักขององค์กร แบ่งออกเป็น 8 กลุม่ ดังนี้

1

2

3

ผู้ถือหุ้น

พนักงาน

ลูกค้า

LPN TEAM

หมายถึง ผู้ถือหุ้นของบริษัท ทั้งในฐานะบริษัท กองทุน และ บุคคล ที่ได้รับผลตอบแทนจาก การดำ�เนินงาน ซึง่ ให้ความสำ�คัญ กับการกำ�กับดูแลกิจการตาม หลักธรรมาภิบาล และความ รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและ สังคม

หมายถึง ผู้ที่ทำ�งานให้แก่ บริษัท ช่วยขับเคลื่อนให้ การดำ�เนินงานของบริษัท ก้าวไปข้างหน้าอย่างยั่งยืน โดยหมายรวมถึงพนักงาน ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ปฏิบัติการจนถึงระดับบริหาร

หมายถึง ผู้ที่ให้ความสนใจ ห้องชุดของบริษัทและได้ ดำ�เนินการจองซื้อและชำ�ระเงิน ค่าผ่อนดาวน์ ซึ่งในอนาคต เมื่อโครงการพัฒนาเสร็จ สมบูรณ์ ลูกค้าจะพัฒนาไปสู่ การเป็นผู้อยู่อาศัย

หมายถึง คู่ค้าหรือปิยมิตร ผู้เข้ามามีส่วนร่วมใน กระบวนการออกแบบ วางผังโครงการ และการก่อสร้าง ของบริษัท เสมือนหนึ่งเป็น พนักงาน In-house ของบริษัท เพื่อให้การบริหารโครงการเป็น ไปตามเป้าหมายที่ได้วางไว้

5

6

7

4

8

บ้านข้างเคียง

ผู้อยู่อาศัย

แรงงานก่อสร้าง

สิ่งแวดล้อม

หมายถึง ผู้ที่อยู่อาศัยในพื้นที่ ติดหรือใกล้กับโครงการที่กำ�ลัง ดำ�เนินงานก่อสร้างของบริษัท ซึ่งได้รับผลกระทบตั้งแต่เริ่ม พัฒนาโครงการ จนถึงผลกระทบ จากการอยู่อาศัยภายหลัง การส่งมอบโครงการ

หมายถึง ผู้ที่อยู่อาศัยใน โครงการที่ได้ส่งมอบแล้วของ บริษัท ไม่ว่าจะในฐานะลูกค้าที่ ซื้อห้องชุดในโครงการ หรือผู้ที่ เช่าพักอาศัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของชุมชนที่บริษัทให้การดูแล

หมายถึง แรงงานของ LPN Team (ปิยมิตร) ที่รับจ้าง ทำ�งานก่อสร้างโครงการให้ บริษัท ทั้งแรงงานที่มีสัญชาติ ไทยและแรงงานต่างด้าว

หมายถึง องค์ประกอบของ ความยั่งยืนที่เป็นพื้นฐาน ในการประกอบกิจการ ซึ่งธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ส่งผล กระทบโดยตรง บริษัทจึงมุ่ง เน้นการดูแลและลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมโดยรอบบริเวณ โครงการเป็นสำ�คัญ


20

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

10 PROCESSES

10P 10 ห่วงโซ่คุณค่า LPN

(G4-12)

1

2

การเลือกทำเล

การซ�้อที่ดิน

LPN องคกรคุณคา

พนักงาน

ผูบร�หาร

9

10

การเขาพักอาศัย

การบร�หารชุมชน

FBLES+P นิติบุคคล

ผูอยูอาศัย

รปภ. บร�หารชุมชน

แมบาน

ชุมชนนาอยู


21

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

4 การออกแบบโครงการ

การบร�หารจัดการทางการเง�น

EIA APPROVED

หนวยงานราชการ

ผูออกแบบ

ลูกคา ผูถือหุน

5 การบร�หาร การตลาด

6 การบร�หาร ประสบการณ ลูกคา

8 การสงมอบหองชุด

ลูกคา

7 การบร�หารโครงการ

LPN TEAM

SAFETY FIRST

คนงานกอสราง

บานขางเคียง


22

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

10 PROCESSES

10P 10 ห่วงโซ่คุณค่า LPN ไม่เพียงแต่ตั้งปณิธานในการเป็น “องค์กรคุณค่า” ที่ให้ความสำ�คัญกับการ บริหารจัดการและทุนมนุษย์ บริษัทยังคำ�นึงถึงความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ เสียทุกกลุ่มในทุกกระบวนการดำ�เนินงาน ซึ่งโดยทั่วไป ความรับผิดชอบของ บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มักจะสิ้นสุดที่การส่งมอบผลิตภัณฑ์หรือห้อง ชุดแก่ลูกค้า แต่ในทางกลับกัน บริษัทเล็งเห็นถึงความสำ�คัญของการดูแล คุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยในโครงการ ซึ่งไว้วางใจในการเลือกซื้อห้องชุด ภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี” จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาแนวคิดการบริการ หลังการขาย “ชุมชนน่าอยู่” ที่ต่อยอดการบริหารอาคารสู่การบริหารชุมชน มากว่า 20 ปี ทำ�ให้ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องของบริษัท ในกระบวนการดำ�เนินธุรกิจนั้น เริ่มตั้งแต่ระดับนโยบายในการบริหาร จัดการภายในองค์กรไปจนถึง 10 กระบวนการหลักในการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ของบริษัท อันได้แก่

2

การซื้อที่ดิน

ผู้บริหารจะตัดสินใจซื้อที่ดินโดยพิจารณา จากประสบการณ์และวิสัยทัศน์ รวมทั้ง ข้อมูลของสำ�นักวิจัยและพัฒนา (R&D) และฝ่ายการตลาด (Marketing) ที่ศึกษา อุปสงค์ อุปทาน และความเป็นไปได้ใน การพัฒนาโครงการ (Feasibility) เพื่อให้โครงการเหมาะสมสอดคล้องกับ กลยุทธ์องค์กรและตามความต้องการ ของลูกค้า

3

การออกแบบ โครงการ

1

การเลือกทำ�เล

วางแนวคิดและผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับ การพัฒนาโดยมีแนวคิด 2 รูปแบบ ได้แก่ โครงการนำ�ร่อง (Pilot Project) คือ การ พัฒนาโครงการในทำ�เลใหม่ๆ ที่ยังไม่มี คู่แข่ง หรือทำ�เล Blue Ocean Location และโครงการต่อเนือ่ ง (Expanded Project) คือการขยายการพัฒนาโครงการในทำ�เล ที่ประสบความสำ�เร็จ แต่ยังคงมีความ ต้องการที่พักอาศัยอยู่

4

การบริหารจัดการ ทางการเงิน

DESIGN CONCEPT

FINANCIAL MANAGEMENT

ออกแบบและวางผังโครงการตาม LPN Green Standard Checklist ซึง่ บริษทั พัฒนาขึน้ ให้สอดคล้องกับ มาตรฐานอาคารเขียว (Green Building) ของสหรัฐอเมริกา (LEED-The Leadership in Energy and Environment Design) โดยพิจารณาผลกระทบในทุกด้าน ต่อผู้มีส่วนได้เสีย

เริ่มตั้งแต่การกำ�หนดการเติบโตและ ผลตอบแทนของผูม้ สี ว่ นได้เสียให้สอดคล้อง กับเป้าหมายองค์กร (Business Plan) ในแต่ละปี จัดทำ�ต้นทุนการก่อสร้างและ กำ�ไรรายโครงการให้เหมาะสม (Profit and Loss) และจัดทำ�งบการเงินทีถ่ กู ต้อง และเชื่อถือได้ โดยทุกขั้นตอนเน้นที่ ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ไม่มีวาระ ซ่อนเร้น และมีการบริหารความเสี่ยง ทางการเงินอย่างสม่ำ�เสมอ


23

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

5

การให้ความสำ�คัญ กับลูกค้า

6

การบริหาร ประสบการณ์ลกู ค้า

MARKETING MANAGEMENT

ยึดหลัก “Customer Centric” หรือการ ให้ความสำ�คัญกับลูกค้า ด้วยนโยบายใน การสร้างบ้านหลังแรกให้แก่ผู้ที่ยังไม่มี บ้าน เป็นการคืนกำ�ไรให้แก่ลูกค้าและ สังคม นอกจากนั้น ยังให้ความสำ�คัญ กับการเคารพสิทธิของผู้บริโภค และ การดำ�เนินงานตามสัญญาที่ให้ไว้กับลูกค้า

8

การส่งมอบห้องชุด

7

การบริหาร โครงการ

CONSTRUCTION PROCESS

ความเชื่อมั่นในแบรนด์เป็นหัวใจสำ�คัญ ในการบริหารประสบการณ์ลูกค้า โดย ในทุกจุดสัมผัส (Touch Point) จะมีการ กำ�หนดมาตรฐานการบริการ รวมถึง เปิดให้มีช่องทางสื่อสารต่างๆ ที่ลูกค้า สามารถสะท้อนความคิดเห็นกลับมายัง บริษัทได้ เพื่อรับฟังและปรับปรุงบริการ

9

การเข้าพักอาศัย

การก่อสร้างถือเป็นกระบวนการที่สร้าง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม มากที่สุด ผู้ประกอบการจึงควรมีความ รับผิดชอบ เพือ่ ลดความรุนแรงของปัญหา ทีอ่ าจเกิดขึน้ จึงเป็นทีม่ าของกลยุทธ์การ บริหารโครงการ Q-C-S-E-S+P ของ บริษัท เพื่อให้เกิดมาตรฐานในการ ดำ�เนินงานร่วมกันของทุกภาคส่วน

10

การบริหารชุมชน

บร�หารชุมชน

COMMUNITY MANAGEMENT

การตรวจคุณภาพมาตรฐานของห้องชุด และพื้นที่ส่วนกลางก่อนการส่งมอบ เพื่อ “ชุมชนน่าอยู่” ที่สมบูรณ์แบบ มีความปลอดภัยและอุปกรณ์ต่างๆ ที่ พร้อมใช้งาน นอกจากนั้น ยังให้บริการ ลูกค้าในการโอนกรรมสิทธิ์ เพื่ออำ�นวย ความสะดวก

การอยู่อาศัยร่วมกันของคนหมู่มาก จำ�เป็นต้องมีข้อตกลงและกฎระเบียบ ร่วมกัน เพื่อความเป็นระเบียบ และก่อนการเข้าพักอาศัย บริษัทได้มี การสื่อสารและทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับ นโยบายและทิศทางในการบริหารชุมชน ของบริษัท ตามแนวทาง “ชุมชนน่าอยู่” กับผู้อยู่อาศัยในชุมชน เพื่อให้เกิด การยอมรับและอยู่อาศัยร่วมกันอย่าง มีความสุข

กลยุทธ์หลักที่สำ�คัญขององค์กร คือ การดูแลคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัย ภายใต้กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” ซึ่งไม่เพียงดูแลบริหารอาคาร แต่ยังให้ ความสำ�คัญกับการดูแลคุณภาพชีวิต สังคม สิง่ แวดล้อมทีด่ ี และสร้างวัฒนธรรม การอยู่อาศัย “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน”


24

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

ตารางประเด็นสำ�คัญด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน (G4-19) PROFIT ผู้ถือหุ้น GREEN ENTERPRISE

• พัฒนาอย่างยั่งยืน • ธรรมาภิบาลและการบริหาร ความเสี่ยง • ต่อต้านการทุจริต • คืนกำ�ไรสู่สังคมด้วยการ สนับสนุน “กิจการเพื่อสังคม”

PEOPLE LPN TEAM

• พัฒนาและเติบโตไปด้วยกัน • เป็นหนึ่งเดียว (ONE LPN) • ผลตอบแทนที่เหมาะสม • บริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน

พนักงาน • ค่านิยมองค์กร • องค์กรน่าอยู่ • องค์กรแห่งการเรียนรู้และเติบโต • ความสมดุลระหว่างการทำ�งาน และชีวิต

• กำ�ไรและเติบโตอย่างเหมาะสม • งบการเงินที่ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ • วินัยทางการเงิน • สื่อสารรายงานผลประกอบการ อย่างสม่ำ�เสมอ • กระจายงบประมาณจาก ผลประกอบการให้กบั ทุกภาคส่วน อย่างสมดุลและเหมาะสม • การบริหารประสบการณ์ลกู ค้า • ราคาทีส่ ามารถเป็นเจ้าของได้ • การโฆษณาเชิงสร้างสรรค์ ไม่มวี าระซ่อนเร้น และไม่ โจมตีคแู่ ข่ง • การบริหารความพึงพอใจและ ข้อร้องเรียน

GREEN MARKETING MANAGEMENT

GREEN CONSTRUCTION MANAGEMENT GREEN COMMUNITY MANAGEMENT CESR ACTIVITIES FROM CORPORATE ESR TO COMMUNITY ESR • สร้างความสุขในการทำ�งาน • ยกระดับการศึกษา เพื่อสร้าง โอกาสเติบโตในอาชีพการงาน

SOCIAL ENTERPRISE LPN ACADEMY

• บ้านที่สามารถเป็นเจ้าของได้

• การเลือกทำ�เลเชิงกลยุทธ์ • การเพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ ด้วยสิ่งอำ�นวยความสะดวก ภายในโครงการ

GREEN DESIGN CONCEPT

GREEN FINANCIAL MANAGEMENT

ลูกค้า

• ถ่ายทอดและแบ่งปันองค์ความรู้ แก่บุคลากรของปิยมิตร เพื่อ พัฒนาและเติบโตไปด้วยกัน

• พัฒนาความรู้ความสามารถของ พนักงานให้ทันต่อการเติบโตของ ธุรกิจตามวิถีแอล.พี.เอ็น.


25

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

PEOPLE แรงงานก่อสร้าง

บ้านข้างเคียง

• การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ตามพฤติกรรมและวิถีชีวิต (Behaviour & Lifestyle)

สิ่งแวดล้อม • ให้ความสำ�คัญกับการ รับผิดชอบต่อผลกระทบ สิ่งแวดล้อมในกระบวนการ ผลิตและบริการ

• การออกแบบอาคารที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมตาม มาตรฐาน LPN Green Standard Checklist • การใช้วัสดุและทรัพยากร อย่างประหยัดและเหมาะสม

• การรับผิดชอบ เยียวยา และดูแล ผลกระทบจากการก่อสร้าง • การร่วมพัฒนาและปรับปรุง สภาพแวดล้อม และสาธารณูปโภค ของชุมชนโดยรอบ

• การลดผลกระทบจากการ ก่อสร้าง ตามมาตรฐาน LPN Green Standard Checklist

IN P ROC ES S

• การพิจารณาผลกระทบ จากการออกแบบ

• การบริหารประสบการณ์ลกู ค้า • การรับประกันคุณภาพห้องชุด • การบริหารความพึงพอใจและ ข้อร้องเรียน

• ส่งมอบคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ผ่าน การบริหารชุมชนภายใต้ กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยูส่ �ำ หรับ คนทุกวัย” • สือ่ สารแนวคิด “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน” และสร้างเครือข่ายจิต อาสา เช่น กิจกรรมบริจาคโลหิต • สร้างการมีสว่ นร่วมของ ผูพ้ กั อาศัยในชุมชนลุมพินี ด้วย การสนับสนุนการจัดกิจกรรม เพือ่ สิง่ แวดล้อมและสังคม ของชมรมลุมพินอี าสา

• บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมใน ชุมชนผ่านกิจกรรมตามแนวคิด GREEN CLEAN LEAN

OUT PR OCE SS

• ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ของแรงงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง • คุณภาพชีวิตและสุขอนามัยของ แรงงานก่อสร้าง • ค่าจ้างแรงงานที่เป็นธรรม

AS PR OCESS

ผูอ้ ยูอ่ าศัย

PLANET


26

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

แนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมกับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย (G4-26, 27) ผู้มีส่วนได้เสีย ผู้ถือหุ้น

ประเด็นสำ�คัญทั่วไป

ประเด็นสำ�คัญเฉพาะ

• กำ�ไรและการเติบโตที่เหมาะสม • การบริหารความเสี่ยง • ธรรมาภิบาล

• สร้างการเติบโตและผลกำ�ไรอย่างเหมาะสม • รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม • สร้างความสมดุลของผลตอบแทนแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม • ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล • บริหารจัดการความเสี่ยง • ต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น • เคารพในสิทธิของผู้ถือหุ้น • ดำ�เนินนโยบาย 6 GREEN LPN เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

• สมดุลของผลตอบแทน • พัฒนาและเติบโตไปด้วยกัน

• สร้างความเป็นหนึ่งเดียว • กำ�หนดแผนธุรกิจร่วมกัน • แบ่งปันองค์ความรู้ • ให้การสนับสนุนในการพัฒนาองค์กร • ส่งต่อจิตสำ�นึกในการรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม

• สมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวิต • การเรียนรู้และเติบโต • ความสุขในการทำ�งาน • ค่านิยมองค์กร

• สร้างสมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวิต • การเรียนรู้และเติบโตในหน้าที่การงาน • องค์กรน่าอยู่ • สมรรถนะหลักไปสู่ค่านิยมองค์กร • ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม • ความเท่าเทียมและสิทธิขั้นพื้นฐาน

• ความเชื่อมั่นในแบรนด์ • คุณค่าผลิตภัณฑ์ • สิทธิผู้บริโภค • การบริหารความพึงพอใจ • บ้านที่สามารถหาซื้อได้

• บ้านที่สามารถเป็นเจ้าของได้ • คุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการ • สร้างความพึงพอใจและบริหารข้อร้องเรียน • เคารพในสิทธิของผู้บริโภค • ราคาที่เป็นธรรม

• การสร้างการมีส่วนร่วม • คุณค่าผลิตภัณฑ์ • คุณค่าการบริการ - ชุมชนน่าอยู่ • สิทธิผู้บริโภค • การบริหารความพึงพอใจ

• คุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการ • สร้างความพึงพอใจและบริหารข้อร้องเรียน • เคารพในสิทธิของผู้บริโภค • สร้างวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกัน ดูแลห่วงใยและแบ่งปันกัน • สร้างการมีส่วนร่วมในกิจกรรม CESR • ส่งเสริมการเรียนรู้แก่เยาวชนที่อยู่อาศัยในโครงการ • เปิดโอกาสให้ชุมชนร่วมกำ�หนดแนวทางการบริหารจัดการ

สิ่งแวดล้อมและสังคม

• ความรับผิดชอบ • การลดผลกระทบในกระบวนการ นอกกระบวนการ และอิงกระบวนการ

• การลดผลกระทบจากการก่อสร้าง • การร่วมรณรงค์คัดแยกขยะในชุมชนที่บริหารจัดการ • ส่งเสริมการประหยัดพลังงาน • การบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า • การออกแบบโครงการเพื่อความยั่งยืน • สร้างจิตสำ�นึก CESR แก่ชุมชนที่บริหารจัดการ • สร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดีแก่สตรีด้อยโอกาส • แบ่งปันองค์ความรู้องค์กรสู่ภายนอกผ่านสถาบันแอล.พี.เอ็น.

แรงงานก่อสร้าง

• ความปลอดภัย • การดูแลคุณภาพชีวิตคนงานก่อสร้าง

• ความปลอดภัยในการทำ�งาน • ดูแลคุณภาพชีวิต ทั้งบ้านพักคนงานและสุขอนามัย • สิทธิและค่าตอบแทนขั้นพื้นฐาน • การปฏิบัติอย่างเท่าเทียม

• การลดผลกระทบในกระบวนการก่อสร้าง • การสร้างความสัมพันธ์

• การป้องกันเสียง ฝุ่น และผลกระทบจากการก่อสร้าง • การรับฟังข้อเสนอแนะและแนวทางการทำ�งาน • การปฏิบัติตามรายงานวิเคราะห์ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม • การออกแบบที่คำ�นึงถึงความยั่งยืนของพื้นที่

LPN TEAM

พนักงาน

ลูกค้า

ผู้อยู่อาศัย

บ้านข้างเคียง


27

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

วิธีการสร้างการมีส่วนร่วม

ความถี่ในการดำ�เนินการ

• รายงานประจำ�ปี และรายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน • การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น • จดหมายข่าวผู้ถือหุ้น • เยี่ยมชมโครงการ • การพบปะนักวิเคราะห์ • การพบปะนักลงทุนและผู้จัดการกองทุน • การรายงานความคืบหน้าโครงการ

รายปี รายปี รายไตรมาส รายปี รายไตรมาส เป็นประจำ� เป็นประจำ�

• การประชุมปิยมิตร • การอบรมและแบ่งปันความรู้ • กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์

รายเดือน รายเดือน รายไตรมาส

• การประเมินความสุขในการทำ�งาน • สถาบันแอล.พี.เอ็น. • กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วม • ทีมงานพนักงานสัมพันธ์ • การประเมินผลการปฏิบัติงาน • เว็บไซต์ และอีเมล์ภายใน • การแบ่งปันความรู้จากผู้บริหาร • คณะกรรมการสวัสดิการ • Whatsapp

รายไตรมาส เป็นประจำ� เป็นประจำ� เฉพาะกิจ รายครี่งปี เป็นประจำ� เป็นประจำ� เฉพาะกิจ รายวัน

• การประชุมใหญ่สามัญเจ้าของร่วม • Mobile App • Call Center • กิจกรรมต่างๆ • การสำ�รวจความพึงพอใจ • Lumpini Family Day • เสวนากรรมการนิติฯ • Touch Point • การบริหารประสบการณ์ลูกค้า • การวิจัยทางการตลาด • www.lpn.co.th

รายปี เป็นประจำ� รายวัน เฉพาะกิจ เป็นประจำ� รายปี รายปี เป็นประจำ� เป็นประจำ� เป็นประจำ� เป็นประจำ�

• 6 GREEN LPN • LPN Green Signature Project • QCSES+P

เป็นประจำ� เฉพาะกิจ เป็นประจำ�

• QCSES+P • กิจกรรมดูแลคุณภาพชีวิต • ตรวจสุขภาพ

รายวัน เฉพาะกิจ รายปี

• ประชาพิจารณ์ • เยี่ยมเยียน พบปะ พูดคุย • เพิ่มพื้นที่สีเขียว • ปรับปรุงพื้นที่ • การออกแบบที่ค�ำ นึงถึงความยั่งยืนของพื้นที่ • กล่องรับเรื่องร้องเรียน

เฉพาะกิจ รายวัน เป็นประจำ� เป็นประจำ� เป็นประจำ� รายสัปดาห์


28

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

เป้าหมายเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน

เพื่อให้การดำ�เนินงานของทุกภาคส่วนในองค์กรมีทิศทางที่มุ่งสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน บริษัท ได้กำ�หนดวิสัยทัศน์ ไว้เป็นแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจมากว่า 15 ปี โดยได้เพิ่มความเข้มข้น และเป้าหมายการเติบโตที่เหมาะสมในแต่ละรอบวิสัยทัศน์ เพื่อให้เกิดการพัฒนาและขับเคลื่อน องค์กร รวมทั้งได้กำ�หนดแผนธุรกิจขององค์กร (Business Plan) หรือเป้าหมายระยะสั้นใน แต่ละปี ทั้งในเชิงคุณค่าและเชิงเงินตราให้สอดคล้องกับพันธกิจที่มีต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม เพื่อสร้างสมดุลของผลตอบแทน ส่งมอบคุณค่าจากการดำ�เนินงาน และรับผิดชอบต่อผลกระทบ ทางด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม ปัจจุบัน บริษัทดำ�เนินธุรกิจตามกรอบวิสัยทัศน์รอบที่ 5 ซึ่งเป็น วิสัยทัศน์รอบที่ 2 ของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ในช่วงปลายปี 2558 องค์การสหประชาชาติได้ประกาศเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก (United Nation Sustainable Development Goals-UNSDGs) ในการประชุมสมัชชา สหประชาชาติสมัยสามัญครั้งที่ 70 ประกอบด้วยเป้าประสงค์ (Goals) 17 ข้อ ครอบคลุมการ พัฒนาและสร้างสมดุลที่ยั่งยืนใน 3 มิติ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยมีกรอบ ระยะเวลาการดำ�เนินงาน 15 ปี เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายของ UNSDGs ร่วมกัน บริษัทใน ฐานะองค์กรเอกชน ได้นำ�แนวทางและเป้าหมายดังกล่าวมาปรับใช้ให้สอดคล้องกับนโยบาย และกลยุทธ์ขององค์กร และได้กำ�หนดเป็นเป้าหมายระยะยาว ที่มุ่งเน้นดำ�เนินงานตามกลยุทธ์ เพื่อความยั่งยืน 6 GREEN LPN ในปัจจุบัน อันได้แก่


29

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

1 NO POVERTY

2 ZERO HUNGER

HEALTH 3 GOOD 4 QUALITY AND WELL-BEING EDUCATION

5 GENDER

WATER 6 CLEAN AND SANITATION

7 AFFORDABLE AND CLEAN

WORK 8 DECENT AND ECONOMIC

HEALTH 10 QUALITY 9 GOOD AND WELL-BEING EDUCATION

11 SUSTAINABLE CITIES AND

12 RESPONSIBLE CONSUMPTION

13 CLIMATE ACTION

15 LIFE ON LAND 14 LIFE BELOW WATER

ENERGY

GROWTH

COMMUNITIES

AND PRODUCTION

JUSTICE 16 PEACE, 17 PARTNERSHIPA FOR THE GOALS AND STRONG INSTITUTIONS

เป้าหมายที่ 1

เป้าหมายที่ 11

No Poverty ขจัดความยากจนในทุกรูปแบบ

Sustainable Cities and Communities สร้างเมืองและชุมชนที่ยั่งยืน

เป้าหมายที่ 3

เป้าหมายที่ 12

Good Health and Well-Being

Responsible Consumption and Production

สร้างสุขภาวะและส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีของทุกวัย

ผลิตและบริโภคอย่างยั่งยืน

เป้าหมายที่ 6

เป้าหมายที่ 13

Clean Water and Sanitation

Climate Action

จัดการนํ้าอย่างยั่งยืน

ลดการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ

เป้าหมายที่ 8

Decent Work and Economic Growth เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสร้างงานที่ยั่งยืน


30

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

มิติการดำ�เนินงาน

เป้าหมายระยะยาวปี 2570

1

6 GREEN LPN GREEN ENTERPRISE

NO POVERTY

ขจัดความยากจน ในทุกรูปแบบ

PROFIT

WORK 8 DECENT AND ECONOMIC GROWTH

เจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ และสร้างงานทีย่ ง่ั ยืน

HEALTH 3 GOOD AND WELL-BEING

สร้างสุขภาวะและ ส่งเสริมความเป็นอยู่ ทีด่ ขี องทุกวัย

GREEN FINANCIAL MANAGEMENT

GREEN MARKETING MANAGEMENT

WATER 6 CLEAN 11 SUSTAINABLE CITIES AND AND SANITATION

COMMUNITIES

PEOPLE จัดการนํา้ อย่างยัง่ ยืน

สร้างเมือง และชุมชนทีย่ ง่ั ยืน

WATER 6 CLEAN AND SANITATION

จัดการนา้ํ อย่างยัง่ ยืน

12 RESPONSIBLE CONSUMPTION PLANET

AND PRODUCTION

ผลิตและบริโภค อย่างยัง่ ยืน

GREEN COMMUNITY MANAGEMENT

GREEN DESIGN CONCEPT

13 CLIMATE ACTION GREEN CONSTRUCTION MANAGEMENT ลดการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ


31

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

เป้าหมายระยะกลางปี 2562

เป้าหมายปี 2559

• ได้รับการรับรองการดำ�เนินงาน ด้านการต่อต้านการคอรัปชั่น ระดับ 4 • สร้างงาน คุณภาพชีวิต และศักดิ์ศรี ของสตรีด้อยโอกาส ด้วยการสนับสนุน การดำ�เนินงานของ “กิจการเพื่อสังคม”

เพิ่มโอกาส ในการทำ�งานแก่ สตรีด้อยโอกาส

ความผูกพัน ของพนักงาน ต่อองค์กร

• กำ�หนดผลตอบแทนและการเติบโต ของกำ�ไรทุกบริษัทในเครืออย่างเหมาะสม

การเติบโต ของรายได้ และยอดขาย

กำ�ไรขั้นต้น

ความสุข ของพนักงาน ผ่าน 6 ปัจจัย องค์กรน่าอยู่

ความสุขในการ ทำ�งานของพนักงาน บริการชุมชน

≥ 10% ≥ 67% ≥ 80% ≥ 80% ≥ 10% ≥ 30%

• พัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์และ บริการตามแนวคิด “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย” • สร้างโอกาสในการมีบ้านหลังแรก แก่กลุ่มผู้มีรายได้น้อย

• พัฒนาชุมชนเมืองต้นแบบตามกลยุทธ์ F-B-L-E-S+P • สร้างวัฒนธรรมการอยู่อาศัยในชุมชน ลุมพินี “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน”

• พัฒนา BIM เพื่อใช้ในการพิจารณา โครงการทุกโครงการ • ออกแบบตาม LPN Green Standard Checklist ได้ทุกโครงการ

• บริหารโครงการตาม LPN Green Standard Checklist ได้ทุกโครงการ

ชุมชนเก่าที่ปรับปรุงพื้นที่ ข้อร้องเรียนจาก ส่วนกลางตามเกณฑ์ ความบกพร่อง “ชุมชนน่าอยู่ส�ำ หรับ จุดสัมผัสลดลง คนทุกวัย”

≥ 10%

ความพึงพอใจ ต่อผลิตภัณฑ์

≥ 50% ≥ 90% = 100 ยูนิต

จำ�นวนชุมชนต้นแบบที่ ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณภาพ

ความพึงพอใจ ของเจ้าของร่วมใน การบริหารชุมชน

จำ�นวนชุมชน ที่คุณภาพนํ้าทิ้ง ไม่ผ่านเกณฑ์

= 100%

≥ 85% = 0

ความพึงพอใจ ต่อผลิตภัณฑ์

จำ�นวนโครงการใหม่ ที่พัฒนาภายใต้แนวคิด Signature Green Project

จำ�นวนห้องชุด ที่เข้าร่วมโครงการ บ้านสานฝัน

≥ 85%

=2

ทุกโครงการ บริหารโครงการตาม Green Standard Checklist ได้

จำ�นวนครั้งการ เกิดอุบัติเหตุ ร้ายแรง ในโครงการ

จำ�นวนครั้งที่ถูก เพื่อนบ้านข้างเคียง ร้องเรียนจนผู้บริหาร ต้องเข้าไปแก้ ไข

≥ 80%

=0

=0


32

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

กลยุทธ์เพื่อความยั่งยืน ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มผี ลกระทบโดยตรงต่อสิง่ แวดล้อมและสังคมอย่างสูง โดยเฉพาะโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ จะเห็น ได้ว่าอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีคุณภาพมักสร้างปัญหาให้กับสิ่งแวดล้อมและสังคมเป็นอย่างมาก บริษทั จึงให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินธุรกิจโดย คำ�นึงถึงความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคมและได้ก�ำ หนดไว้ในแผนธุรกิจของบริษทั เพือ่ นำ�ไปสูค่ วามยัง่ ยืนทีแ่ ท้จริง ซึง่ ไม่เพียงแต่ความ รับผิดชอบในกระบวนการ (In Process) ตามแนวทาง 6 GREEN LPN แต่รวมถึงความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคมนอกกระบวนการ (Out Process) ในรูปแบบของกิจกรรม เพื่อสร้างวัฒนธรรม “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน” รวมทั้งการปลูกจิตสำ�นึกด้านความรับผิดชอบให้กบั บุคลากรทุกสายงาน พร้อมส่งต่อไปยังผูพ้ กั อาศัยในชุมชน “ลุมพิน”ี ตามแนวคิด From Corporate Environmental & Social Responsibility to Community Environmental & Social Responsibility และได้ตั้งงบประมาณในการดำ�เนินการสู่เป้าหมายให้เป็นสัดส่วนต่อยอดขายของ บริษัทอีกด้วย นอกจากนัน้ บริษทั ได้จดั ตัง้ องค์กรแยกจากการดำ�เนินธุรกิจหลัก แต่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการบางส่วนของธุรกิจ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ช่วยเหลือสังคม และไม่มงุ่ หวังผลกำ�ไรจากการประกอบกิจการ นับเป็นความรับผิดชอบอิงกระบวนการ (As Process) ได้แก่ สถาบันแอล.พี.เอ็น. และบริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด ซึ่งเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาบุคลากรและแบ่งปันองค์ความรู้แก่สาธารณะ และพัฒนาคุณภาพชีวติ แก่สตรีดอ้ ยโอกาส ตามลำ�ดับ

ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของบริษัท แบ่งตามรูปแบบการดำ�เนินงาน ออกเป็น 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1. ในกระบวนการ (In Process)

คือ ความรับผิดชอบจากผลกระทบและสร้างคุณค่าจากการดำ�เนินธุรกิจขององค์กรที่มีต่อผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งสิ่งแวดล้อมและสังคม ในกระบวนการดำ�เนินงานทุกกระบวนการขององค์กร 2. นอกกระบวนการ (Out Process)

คือ การมีส่วนร่วมและสนับสนุนกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานขององค์กร 3. อิงกระบวนการ (As Process)

คือ การสนับสนุนและดำ�เนินกิจกรรมเพือ่ สิง่ แวดล้อมและสังคมที่ไม่มอี ยู่ในการดำ�เนินธุรกิจหลักขององค์กร แต่มสี ว่ นเกีย่ วข้องกับกระบวนการ บางส่วนของธุรกิจ

Out Process

In Process GREEN Enterprise

GREEN Design Concept

LPN Academy

As Process

GREEN Financial Management

GREEN Marketing Management

Social Enterprise

GREEN Construction Process

GREEN Community Management

Togetherness Care and Share From Corporate ESR to Community ESR


33

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

2

ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมในกระบวนการ IN PROCESS

P.34 P.50 P.58 P.64 P.76 P.96

การดำ�เนินธุรกิจที่ให้ความสำ�คัญกับการบริหารจัดการและทุนมนุษย์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม การกำ�หนดผลตอบแทนและการเติบโตขององค์กรให้เหมาะสม การตลาดที่เป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง การบริหารจัดการผลกระทบที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในกระบวนการก่อสร้าง การดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยในโครงการหลังส่งมอบ


34

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

G1

Enterprise

การดำ�เนินธุรกิจที่ให้ความสำ�คัญ กับการบริหารจัดการและทุนมนุษย์ คือ การดำ�เนินธุรกิจที่ให้ความสำ�คัญกับ การบริหารจัดการและทุนมนุษย์ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้น ของการดำ�เนินงานในกระบวนการตามหลัก 6 GREEN LPN ที่ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนา อย่างยั่งยืนด้วยการกำ�หนดนโยบายระดับองค์กร (Corporate Policy) ที่มุ่งสู่ “องค์กรคุณค่า” โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1. การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน (Management) 2. การจัดการทุนมนุษย์ (Human Capital)


35

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ENTERPRISE

1. การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน (Management) 1. การเติบโตและการสร้างผลกำ�ไรอย่างเหมาะสม

6. การบริหารด้วยหลักธรรมาภิบาล

ตามที่ ไ ด้ ก ล่ า วไปข้ า งต้ น ถึ ง แนวคิ ด ของความยั่ ง ยื น ในระดั บ นโยบายองค์กร บริษทั ได้พฒ ั นาแนวทางและแผนกลยุทธ์การบริหาร ด้วยการกำ�หนดเป้าหมายการเติบโตและการสร้างผลกำ�ไรอย่าง เหมาะสม ผลตอบแทนที่ต่อเนื่องและมั่งคง

จากแนวคิดพื้นฐานด้านความรับผิดชอบในการประกอบธุรกิจ นำ�มา สู่หลักการปฏิบัติเพื่อความยั่งยืน ที่คำ�นึงถึงคุณธรรม ความโปร่งใส และตรวจสอบได้ ไม่เอารัดเอาเปรียบหรือคำ�นึงถึงแต่ผลกำ�ไรของ บริษัท

2. จิตสำ�นึกและความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม

7. การบริหารความเสี่ยงและห่วงโซ่อุปทาน

บริษัทรับผิดชอบต่อผลกระทบทีเ่ กิดจากการดำ�เนินงาน และส่งเสริม การมีจิตสำ�นึกและความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ด้วย การปฏิบัติอย่างจริงจัง ตั้งแต่การเสริมสร้างคุณธรรมในองค์กรให้ แก่พนักงาน และการสนับสนุนการมีส่วนร่วมผ่านการดำ�เนินงาน และกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม

การบริหารจัดการความเสี่ยงให้อยู่ ในระดับที่ควบคุมได้ในทุกมิติ และคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสียที่มีความสำ�คัญต่อการเติบโตของธุรกิจ ทุกภาคส่วน เพื่อประโยชน์ ในระยะยาวทั้งในปัจจุบันและอนาคต กำ�หนดกรอบของการตอบแทนตามสถานการณ์ของการแข่งขัน และผลประกอบการ และลดความเสี่ยงด้วยการสำ�รองเงินทุนเพื่อ รักษาสภาพคล่องของบริษัท

3. บ้านที่สามารถเป็นเจ้าของได้

ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ความใส่ใจต่อสังคมและส่งเสริมความ พอเพียง นำ�มาสู่นโยบายของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของบริษัท ที่ต้องการสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยในราคาทีเ่ หมาะสม ควบคูไ่ ปกับการสร้าง คุณภาพชีวิตที่ดีสำ�หรับทุกคน 4. การพัฒนานวัตกรรม เพื่อเพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการ

เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันที่ยั่งยืน และเพิ่มคุณค่าของ ผลิตภัณฑ์และบริการ บริษทั ส่งเสริมนวัตกรรมทัง้ ในระดับกลยุทธ์ องค์กรและระดับปฏิบัติการมาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้น ยัง กำ�หนดให้ “คิดนอกกรอบ” เป็นสมรรถนะหลัก เพือ่ ประสิทธิภาพ ในการดำ�เนินงานและกระตุ้นให้พนักงานพัฒนานวัตกรรมในการ ทำ�งานอยูเ่ สมอ 5. การสร้างความสมดุลของผลตอบแทนแก่ผมู้ สี ว่ นได้เสีย

บริษัทมองการเติบโตระยะยาวเป็นสำ�คัญภายใต้หลักธรรมาภิบาล และหลักความยัง่ ยืน จึงดำ�เนินนโยบายในการสร้างผลตอบแทนใน รูปแบบต่างๆ แก่ผู้มีส่วนได้เสียทั้งหมดอย่างสมดุลและเหมาะสม

8. การต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ

บริษทั ต่อต้านการทุจริตในทุกรูปแบบ ไม่วา่ จะเป็นการทุจริตภายในหรือ ภายนอก ซึ่งการปฏิบัติในการต่อต้านการทุจริต ได้แก่ การกำ�หนด แนวทางปฏิบัติงานที่รัดกุมเพื่อลดความเสี่ยง การสื่อสารให้บุคลากร เห็นความสำ�คัญ การกำ�หนดให้คุณธรรมเป็นค่านิยมขององค์กร การประกาศเจตนารมณ์ ในการต่อต้านการคอรัปชั่น การปฏิบตั ติ าม กฎหมายและการชำ�ระภาษีอย่างถูกต้อง ครบถ้วน 9. การแบ่งปันคืนสู่สังคม

บริษัทร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสังคมที่ดี ด้วยการสนับสนุนการ ดำ�เนินงานของ “กิจการเพือ่ สังคม” ในรูปแบบของแบ่งปันโอกาสใน การสร้างงาน รายได้และศักดิศ์ รีแก่สตรีดอ้ ยโอกาส พร้อมๆ ไปกับการ สร้างวัฒนธรรม “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน” ให้เกิดขึน้ ในทุกมิตทิ บ่ี ริษทั เกีย่ วข้อง รวมทัง้ แบ่งปันองค์ความรู้ที่กลั่นกรองจากประสบการณ์การ ทำ�งาน เพื่อเป็นวิทยาทานแก่สังคม 10. การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

กำ�หนดกลยุทธ์ทส่ี �ำ คัญในการดำ�เนินงาน คือ การบริหารต้นทุน เพือ่ ลด ค่าใช้จ่ายและควบคุมดูแลการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดใน ทุกกระบวนการดำ�เนินงาน เนือ่ งจากต้นทุนและค่าใช้จา่ ยจะส่งผลกระทบ โดยตรงต่อการกำ�หนดราคาขาย รวมทัง้ สนับสนุนให้ผมู้ สี ว่ นเกีย่ วข้องทัง้ คูค่ า้ พนักงาน และผู้อยู่อาศัยในชุมชนร่วมกันลดการใช้ทรัพยากร


36

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

2. การจัดการทุนมนุษย์ (Human Capital) 1. ค่านิยมองค์กร (Corporate Value)

บริษทั ให้ความสำ�คัญกับการสร้างบุคลากรเพื่อต่อยอดความสำ�เร็จของธุรกิจ วิถีแอล.พี.เอ็น. หรือ LPN Way จึง ได้รับการพัฒนาขึ้นจากสมรรถนะหลักของบุคลากร หรือ Core Competency เพื่อเป็นหลักปฏิบัติที่จะส่งเสริม และก่อให้เกิดความยั่งยืนในการบริหารจัดการบุคลากรแบบบูรณาการ เพื่อสร้างเอกลักษณ์ขององค์กร และเป็น บรรทัดฐานในการทำ�งาน ซึ่งวิถีแอล.พี.เอ็น. นี้ ประกอบด้วยคุณค่า 2 เสาหลัก คือ “การพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง” และ “การยอมรับนับถือผูม้ สี ว่ นได้เสีย” โดยมีองค์ประกอบค่านิยม 7 ประการ ที่บริษัทให้นิยามว่า “C-L-A-S-S-I-C” อันได้แก่

การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

C L A S S I C

Cost with Quality คือ การตระหนักถึงความสำ�คัญของการใช้ทรัพยากรด้วยความระมัดระวังและรอบคอบ และบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ ควบคู่กับการคำ�นึงถึงคุณภาพเป็นเป้าหมายสำ�คัญ โดยมุ่งเน้นการ บริหารจัดการต้นทุนทั้งต้นทุนตรง และต้นทุนทางอ้อม รวมทั้งค่าใช้จ่ายส่วนเกินในทุกส่วนงานอย่างต่อเนื่อง Lateral Thinking คือ การคิดนอกกรอบ การคิดทีแ่ ตกต่าง ทีช่ ว่ ยให้บรรลุจดุ ประสงค์และแก้ปญ ั หาต่างๆ

ด้วยความยืดหยุน่ และด้วยกระบวนการทีแ่ ตกต่างจากเดิม โดยไม่กงั วลถึงอุปสรรค พร้อมปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนา และสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง สามารถนำ�ไปปฏิบัติและวัดผลได้จริง โดยมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มคุณค่า ผลิตภัณฑ์และบริการ และเพื่อความก้าวหน้าขององค์กร Alliance คือ การปฏิบัติต่อคู่ค้าทางธุรกิจที่ทำ�งานร่วมกันมายาวนานดั่งมิตรแท้ นับถือคุณค่าของความดี

ความไว้วางใจและเป็นธรรมซึ่งกันและกัน ร่วมมือ เกื้อหนุนและพัฒนาการทำ�งานอย่างต่อเนื่องเสมือนหนึ่งเป็น องค์กรเดียวกัน เพื่อบรรลุความสำ�เร็จร่วมกัน Speed with Quality คือ มุ่งมั่นทำ�งานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายก่อนกำ�หนดโดยคงไว้ซึ่งคุณภาพ รวมถึง ปรับปรุงกระบวนการทำ�งานอยู่เสมอ เพื่อค้นหากระบวนการที่ร่นเวลาและเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งานอย่าง ต่อเนื่อง

การยอมรับนับถือผู้มีส่วนได้เสีย Service Minded คือ การให้บริการด้วยใจ ดูแลเอาใจใส่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มตลอดเวลา พยายามมองใน

มุมมองของผู้อื่นและแสดงออกอย่างกระตือรือร้น ให้บริการอย่างครบวงจรด้วยความเต็มใจและเกินความ คาดหมายเพื่อเพิ่มคุณค่าการบริการและความประทับใจ Integrity คือ การปฏิบัติตนต่อองค์กรและทำ�ธุรกิจกับผู้เกี่ยวข้องด้วยความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ โปร่งใส

ไม่เอาเปรียบและมีศีลธรรม

Collaboration คือ การรวมพลังเป็นหนึ่งเดียวกัน ร่วมมือร่วมใจในการทำ�งาน ร่วมกันรับผิดชอบ ช่วยเหลือ

ซึง่ กันและกัน มีจิตอาสาและจิตสำ�นึกของการแบ่งปันและเอื้ออาทร เพื่อขับเคลื่อนองค์กรไปสู่เป้าหมาย เดียวกัน


37

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

Core Competency

Corporate Value

with Quality C - Cost บริหารต้นทุนพร้อมคุณภาพ

Cost Leadership ผู้นำ�ด้านต้นทุน

Thinking L - Lateral คิดนอกกรอบ

Dynamic ความยืดหยุ่น

A - Alliance ปิยมิตร

LPN TEAM แอล.พี.เอ็น. ทีม

with Quality S - Speed รวดเร็ว Minded S - Service ใจรักบริการ

Customer Centric ลูกค้าเป็นศูนย์กลาง

I - Integrity คุณธรรม

Corporate Governance ธรรมาภิบาล

C - Collaboration ความร่วมมือร่วมใจ

ONE LPN หนึ่งเดียว แอล.พี.เอ็น.

2. องค์กรน่าอยู่ (Vibrant Organization)

หลักคิดพืน้ ฐานของการจัดการทุนมนุษย์ของบริษทั คือ การสร้างความสุขผ่าน 6 ปัจจัยทีน่ �ำ ไปสูค่ วามสุขทีแ่ ท้จริงของ การทำ�งาน (Real Pleasure of Working) โดยเน้นการพัฒนาบุคลากรให้มคี ณุ ภาพอย่างต่อเนือ่ ง ส่งเสริมบรรยากาศ ในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความรู้ เพื่อนำ�ไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ พร้อมปลูกฝังวิธีการทำ�งาน ภายใต้วัฒนธรรมและวิถีแอล.พี.เอ็น. (LPN Way) ตามแนวทางการสร้าง “องค์กรน่าอยู่”


38

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

LPN ให้ความสำ�คัญกับการดูแล และพัฒนาบุคลากร ให้มคี วามรู้ ความสามารถ ด้วยความมุง่ มัน่ ในการก้าวไปสู่ “องค์กรคุณค่า”


39

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

6 ปัจจัย “องค์กรน่าอยู่”

1. บุคลากร

2. งาน

3. ที่ท�ำ งาน

รักษาและพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง สร้างความสุขในที่ทำ�งาน ด้วยการจัด กิจกรรมภายใน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ ที่ดีร่วมกัน ตั้งแต่ระดับบริหารไปจนถึง บุคลากรในทุกส่วน และสนับสนุน ให้เกิดการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ทั้งกิจกรรมทั่วไปในองค์กรและกิจกรรม เพือ่ สิง่ แวดล้อมและสังคมภายนอกองค์กร

ส่งเสริมการปรับปรุงการทำ�งาน อย่างต่อเนื่อง เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ของกระบวนการทำ�งาน และผลักดัน การคิดนอกกรอบของบุคลากร เพื่อพัฒนาไปสู่การสร้างนวัตกรรม เชิงกระบวนการ

ดูแลสถานที่ทำ�งานให้เหมาะสมกับ การทำ�งาน ทั้งสภาพแวดล้อมและ บรรยากาศในการทำ�งาน มีสุขอนามัย ที่ดี มีความปลอดภัยให้แก่บุคลากร

4. ผลตอบแทน

5. โอกาสในหน้าที่การงาน

6. ความภูมิใจในองค์กร

กำ�หนดผลตอบแทนที่สอดคล้องกับ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ ทำ�งาน และจัดหาสวัสดิการให้ตาม ความเหมาะสมอย่างเป็นธรรมและ เท่าเทียม ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของ บุคลากร โดยสนับสนุนให้มีความสมดุล ทั้งในชีวิตและงาน (Work-Life Balance)

ให้โอกาสในความก้าวหน้าและกำ�หนด เส้นทางการเติบโตให้แก่บุคลากร ในทุกระดับ ด้วยความเท่าเทียมและ เป็นธรรม ไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิง รวมทั้งส่งเสริมความสามารถด้วยการ อบรมและฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง

สร้างชื่อเสียงของบริษัท ด้วยหลักธรรมาภิบาล เคารพสิทธิ มนุษยชน และดำ�เนินงานอย่าง โปร่งใส ให้เป็นที่ประจักษ์สู่สังคม เพื่อความภาคภูมิใจแก่บุคลากร ที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในองค์กร

3. องค์กรแห่งการเรียนรูแ้ ละเติบโต (Learning & Growth)

ด้วยความมุ่งมั่นพัฒนาองค์กรไปสู่ความยั่งยืน บริษัทจึงได้จัดตั้งสถาบันแอล.พี.เอ็น. หรือ LPN Academy เพื่อ ทำ�หน้าที่ในการพัฒนาบุคลากรให้เติบโตทันต่อการขยายตัวของธุรกิจ ถ่ายทอดคุณค่าและวัฒนธรรมองค์กรตาม วิถีแอล.พี.เอ็น. หรือ LPN Way ผ่านการอบรมและหลักสูตรให้แก่บุคลากรภายในองค์กร โดยมีเป้าหมายที่จะ ถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ภายนอกในอนาคต 4. ความสมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวติ (Work-Life Balance)

บริษัทดูแลคุณภาพชีวิตและการทำ�งานของพนักงาน ส่งเสริมให้รู้จักการแบ่งเวลาให้กับตนเองและครอบครัว ไม่หมกมุ่นและทุม่ เทให้กบั การทำ�งานมากจนเกินควร โดยกำ�หนดเวลาทำ�งานต่อสัปดาห์ให้เหมาะสม และกำ�หนด ให้พนักงานทุกส่วนงานต้องหยุดพักร้อนประจำ�ปีตามที่ได้รบั สิทธิ


40

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

GREEN Enterprise

G1

ผลการดำ�เนินงานการดำ�เนินธุรกิจที่ให้ความสำ�คัญ กับการบริหารจัดการและทุนมนุษย์ • การส่งเสริมค่านิยมองค์กร ในส่วนของการสนับสนุนให้พนักงานมีความรู้ความเข้าใจในคุณค่าองค์กร และกระตุ้นให้เกิดการนำ�ไปใช้ อย่างต่อเนื่อง บริษัทดำ�เนินงานทบทวนเนื้อหาความรู้ตลอดกระบวนการทำ�งานตลอดทั้งปี เพื่อให้สามารถ นำ�ไปใช้ได้จริง พร้อมทั้งวัดผลอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดเป็นพฤติกรรมมาตรฐานของพนักงานทุกคน โดยในปี 2558 บริษัทจัดอบรมและกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ 1. การอบรมพนักงานใหม่ในหลักสูตรปฐมนิเทศ เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในค่านิยมองค์กร โดย จัดเป็นประจำ�เดือนละ 1 รุ่น ระยะเวลาอบรมรุ่นละ 3 วัน มีพนักงานที่เข้ารับการอบรมทั้งสิ้น 11 รุ่น จำ�นวนทั้งสิ้น 218 คน 2. การพัฒนาสื่อเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจผ่านคู่มือวิถีแอล.พี.เอ็น. คู่มือจดบันทึกพฤติกรรมดี ตามค่านิยมองค์กร 3. การเข้าเยี่ยมและทบทวนค่านิยมองค์กร ณ จุดปฏิบัติงาน เช่น ที่สำ�นักงานขาย เป็นต้น 4. การประเมินความรู้และความเข้าใจของพนักงานทุกคนในองค์กรผ่านระบบออนไลน์ เพื่อให้พนักงาน ที่กระจายอยู่ตามหน่วยงานหรือโครงการต่างๆ สามารถเข้ารับการประเมินผลได้ 5. การจัดกิจกรรมส่งเสริมพฤติกรรมดีตามค่านิยมองค์กร และตามวิถีแอล.พี.เอ็น. 6. การส่งเสริมความต่อเนื่องในการปฏิบัติตามค่านิยมผ่านการให้คะแนนสะสม 7. การจัดกิจกรรมร่วมชื่นชมผู้มีพฤติกรรมดีตามวิถีแอล.พี.เอ็น. ซึ่งมีจำ�นวนพนักงานที่ได้รับคำ�ชื่นชม ทั้งสิ้น 258 คน (เม.ษ.- ธ.ค. 2558)

ผลการประเมินความคิดเห็นและความพึงพอใจระดับความสุขในการทำ�งาน ทัง้ 6 ปัจจัย

1) สัดส่วนพนักงานเข้าร่วมประเมิน (จำ�นวนคนเฉลี่ย) 100% 80% 60% 40% 20% 0

70%

สัดส่วนการเข้าร่วมประเมินของพนักงานเพิ่มขึน้ +16% จากปี 2557 เมือ่ กรรมการบริหาร ได้มอบเป็นนโยบายให้แต่ละฝ่าย

86%

เพิ่มขึ้น

+16% 2557

2558

สัดส่วนพนักงาน เข้าประเมิน

ต้องตั้งเป้าหมายของฝ่าย ทำ�ให้แต่ละฝ่ายให้ความสนใจในการดูแล และกระตุน้ ให้พนักงานในฝ่ายเข้าร่วมในการประเมินเพิม่ ขึน้ ปี 2557 มีพนักงานเข้าประเมินเฉลีย่ 967 คนต่อครัง้ ปี 2558 มีพนักงานเข้าประเมินเฉลีย่ 1,254 คนต่อครัง้


41

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

2) % ความสุขในการทำ�งานเฉลี่ย 100% 80% 60% 40% 20% 0

75%

77%

2557

2558

คะแนนเฉลีย่ ที่ได้ในปี 2558 สูงกว่าปี 2557 = +2%

เพิ่มขึ้น

+2% ความสุขในการทำ�งาน

ปี 2558 พนักงานสะท้อน คะแนนความสุขในการทำ�งานเพิ่มสูงขึ้น จากปี 2557 ซึ่งผลคะแนนจากหลายฝ่ายมีผลคะแนนเพิ่มขึ้น อย่าง ชัดเจน แม้หลายฝ่ายจะมีคะแนนความสุขไม่ถึงเป้าหมาย (PI) ใน Q4 ที่ได้ตั้งไว้ในตอนแรก แต่มีอัตราการเพิ่มขึ้นทั้งในระดับฝ่าย และในระดับองค์กร

3) % ความผูกพันต่อองค์กร (Engagement) 100% 80% 60% 40% 20% 0

ประเมินในปีแรก = 64% 64%

2557

2558

64%

ปี 2558 คะแนนเฉลี่ยทั้งปี ของความผูกพันต่อองค์กรระหว่าง พนักงานและองค์กร

ความผูกผันต่อองค์กร

• องค์กรน่าอยู่ บริษัทมีการวัดผลเพื่อประเมินความคิดเห็นและความพึงพอใจระดับความสุขในการทำ�งาน ทั้ง 6 ปัจจัย ของ พนักงานเป็นระยะ เพื่อนำ�ผลที่ได้และข้อคิดเห็นจากพนักงานในประเด็นต่างๆ มาปรับปรุงต่อไป โดยใน ปี 2558 มีการประเมิน 3 ครั้ง และพบว่าระดับความพึงพอใจเฉลี่ยเพิ่มสูงขึ้นกว่าปี 2557 ที่ผ่านมา และใน ปีนี้ บริษัทได้เพิ่มการประเมินความผูกพันต่อองค์กรเพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการดูแลพัฒนาบุคลากรเชิงลึก ให้มากขึ้นอีกด้วย 6 ปัจจัยในการทำ�งาน (Real Pleasure of Working)

1. บุคลากร : การดูแลและจัดการให้บคุ ลากรมีความสุขในทีท่ �ำ งาน ด้วยการจัดกิจกรรมภายในเพือ่ สร้างความ สัมพันธ์ทด่ี รี ว่ มกันตั้งแต่ระดับบริหารไปจนถึงบุคลากรในทุกส่วน และสนับสนุนให้เกิดการมีสว่ นร่วมใน กิจกรรมต่างๆ ทัง้ กิจกรรมทัว่ ไปในองค์กรและกิจกรรมเพือ่ สิง่ แวดล้อมและสังคมภายนอกองค์กร 2. งาน : ส่งเสริมการปรับปรุงการทำ�งานอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการทำ�งาน และผลักดันการคิดนอกกรอบของบุคลากร เพื่อพัฒนาไปสู่การสร้างนวัตกรรมเชิงกระบวนการ 3. ทีท่ �ำ งาน : ดูแลสถานทีท่ �ำ งานให้เหมาะสมกับการทำ�งาน ทัง้ สภาพแวดล้อมและบรรยากาศในการทำ�งาน มีสขุ อนามัยทีด่ ี ความปลอดภัยให้แก่บคุ ลากร 4. ผลตอบแทน : จัดหาสวัสดิการและค่าตอบแทนให้ตามความเหมาะสมอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียม ส่ง เสริมคุณภาพชีวิตของบุคลากร โดยสนับสนุนให้มีความสมดุลทั้งในชีวิตและงาน (Work-Life Balance) 5. โอกาสในหน้าที่การงาน : ให้โอกาสในความก้าวหน้าและกำ�หนดเส้นทางการเติบโตให้แก่บุคลากรใน ทุกระดับ ด้วยความเท่าเทียม ไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิง รวมทั้งส่งเสริมความสามารถด้วยการอบรม และฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง 6. ความภูมิใจในองค์กร : สร้างชื่อเสียงของบริษัทด้วยหลักธรรมาภิบาล เคารพสิทธิมนุษยชนและ ดำ�เนินงานอย่างโปร่งใส ให้เป็นที่ประจักษ์สู่สังคม เพื่อความภาคภูมิแก่บุคลากรที่ได้เป็นส่วนหนึ่ง ขององค์กร


42

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

ผลการประเมินความสุขพนักงานใน “6 ปัจจัย องค์กรน่าอยู”่ ปี 2558

ปัจจัยที่ทำ�การวัดผล

งาน (Work)

สถานที่ (Place)

องค์กร (Corporate)

ผลตอบแทน (Revenue)

โอกาส (Opportunity)

คน (People)

คะแนนความสุข

คะแนนความสุข

คะแนนความสุข

คะแนนความสุข

คะแนนความสุข

คะแนนความสุข

74% 76% 83% 73% 77% 79%

นอกจากนี้ ในปี 2558 บริษัทได้มุ่งเน้นความสำ�คัญในการปรับแนวคิดเพื่อเสริมสร้างองค์กรน่าอยู่ให้เป็นรูปธรรมชัดเจนมากขึ้นในหลายส่วน ได้แก่

• การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม บริษัทให้ความสำ�คัญกับการสร้างองค์กรให้ก้าวไปสู่การเป็น “องค์กรน่าอยู่” โดยให้ความสำ�คัญกับบุคลากรทุกคนและตระหนักว่าบุคลากร เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของบริษัท ที่จะสามารถขับเคลื่อนองค์กรไปสู่ความยั่งยืนได้ ซึ่งนอกเหนือจากการดูแลและพัฒนาศักยภาพ และความสามารถของบุคลากรทุกระดับแล้ว บริษัทยังส่งเสริมวัฒนธรรมและสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำ�งาน ปรับปรุงสภาพแวดล้อม ให้มีความปลอดภัยต่อชีวิต สุขภาพ และทรัพย์สินของบุคลากร และมีสวัสดิการต่างๆ เช่น การประกันสุขภาพแก่บุคลากร การตรวจ สุขภาพประจำ�ปี กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ สวัสดิการกู้ยืม เป็นต้น นอกจากนั้น ยังได้จัดสรรสวัสดิการให้กับบุคลากรที่สมรส หรือคลอดบุตร ทั้งชายและหญิงอย่างเต็มที่ตามที่กฎหมายกำ�หนดและส่งเสริม กิจกรรมต่างๆ สำ�หรับบุคลากรและครอบครัว เช่น กิจกรรมวันครอบครัว การเดินทางไปพักผ่อนร่วมกัน การมอบทุนการศึกษาแก่บุตร ของบุคลากร เป็นต้น

• ความเท่าเทียมในการจ้างงาน (G4-LA13) บริษัทยึดถือหลักด้านความเท่าเทียมทางเพศและการเคารพสิทธิมนุษยชนของกลุ่มผู้ด้อยโอกาส โดยการจ้างงานจะพิจารณาความสามารถ ของผู้สมัครเป็นหลัก โดยไม่มีการคำ�นึงถึงเรื่องเพศ (Gender) หรือรสนิยมทางเพศ (Sexual Orientation) หรือเรื่องส่วนตัวใดๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทำ�งาน โดยสถานภาพการจ้างงานจะมีทั้งการจ้างชั่วคราว (Temporary Employment) แบบสัญญาจ้างและรายวัน และจ้างถาวร (Permanent Employment) เป็นพนักงานประจำ� โดยก่อนที่จะมีการพิจารณาจ้างงานเป็นพนักงานประจำ� บริษัทกำ�หนด ให้พนักงานทุกคนทดลองงานเป็นเวลา 3 เดือน โดยจะได้รับสวัสดิการพื้นฐาน เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินชดเชยในกรณีเกิดอุบัติเหตุจาก การทำ�งานอย่างครบถ้วน นอกจากนั้น บริษัทยังมีนโยบาย หลักเกณฑ์และข้อกำ�หนดที่ชัดเจนในด้านการดูแลและบริหารจัดการทุนมนุษย์ ทั้งการสรรหา การประเมิน ผลงาน และการเลือ่ นตำ�แหน่ง รวมถึงการการพิจารณาค่าตอบแทน และผลประโยชน์อน่ื ๆ ตามประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำ�งานของ บุคคลนัน้ เป็นทีต่ ง้ั เท่านัน้ โดยไม่มเี รือ่ งเพศ หรือ ความบกพร่อง อัตราสวนเง�นเดือนและคาตอบแทน ทางร่างกายมาเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น บริษัทยังเปิดโอกาสให้ ของพนักงานชายและหญิง แก่ผู้ด้อยโอกาสได้ทำ�งานตามความสามารถ โดยไม่เลือกปฏิบัติ เทากับ และตั้งสัดส่วนในการรับเข้าทำ�งานไว้ตามที่กฎหมายกำ�หนด เพือ่ สร้างความภาคภูมิใจในตนเองของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสและสามารถ ทำ�งานหาเลี้ยงตนเองและครอบครัว (G4-LA13)

1:1


43

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

การสรรหาและบรรจุ

การประเมินผลงาน

นโยบายการสรรหาและบรรจุพนักงาน บริษทั มุง่ เน้นการสรรหาและ คัดเลือกบุคลากรทีเ่ ป็นคนดีและคนเก่งตามวิถแี อล.พี.เอ็น. โดยหลัก เกณฑ์การสรรหาและคัดเลือกพนักงานจะมุง่ เน้นพนักงานทีม่ ผี ลการ เรียนเฉลี่ยในเกณฑ์ดีและทำ�กิจกรรมจิตสาธารณะอย่างสม่ำ�เสมอ นอกจากนัน้ พนักงานจะต้องผ่านกระบวนการทดสอบความรูเ้ ฉพาะ ตำ�แหน่ง การสัมภาษณ์จากฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์และต้นสังกัด ของพนักงานโดยตรง เพื่อการคัดกรองบุคลากรที่มีใจบริการและ คุณภาพเหมาะกับตำ�แหน่งงานนัน้ ๆ

บริษัทนำ�ระบบการประเมินผลงานประจำ�ปีท่ีสามารถวัดศักยภาพ ของพนักงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นธรรม โดยเริม่ จากการ ใช้แบบฟอร์มประเมินผล PA-1 วัดผลการปฏิบตั งิ านทุกครึง่ ปี ทำ�ให้ สามารถวัดผลการปฏิบตั งิ านของพนักงานได้อย่างเป็นรูปธรรมและ ชัดเจน นอกจากนี้ ยังใช้หลัก Force Ranking และ Bell Curve ในการประเมินผลงานของพนักงานในแต่ละหน่วยงาน อีกทั้งมี การจ่ายเงินรางวัลตอบแทนการทำ�งานโดยใช้เป้าหมายการทำ�งาน (Performance Base) เป็นผลให้การจ่ายเงินรางวัลตอบแทนการ ทำ�งานมีความเป็นธรรมตามผลการปฏิบตั งิ านจริง

ป 2558

บร�ษัทรับพนักงานเขาใหม รวม

479 คน

เปนพนักงาน สัญญาประจำ

คน เปนพนักงาน สัญญาจาง

72 คน

เปนพนักงาน รายวัน

193 คน เปนนักศึกษา เขาฝกประการณ

77 คน

รวมทั้งรับนักศึกษาเขาฝกประสบการณ และนักศึกษาทว�ภาคีจากสถาบันการศึกษาตางๆ เขาฝกในแตละฝายอีกจำนวน 77 คน

การเลือ่ นและการโยกย้ายตำ�แหน่ง

บริษทั มีการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรูข้ องพนักงาน โดยการเปิด โอกาสให้พนักงานได้ปรับเปลีย่ นหน้าทีง่ าน หรือโยกย้ายตำ�แหน่ง ไม่ ว่าจะเป็นการย้ายฝ่าย ย้ายตำ�แหน่ง หรือย้ายหน่วยงาน เพือ่ ให้เกิด ความเหมาะสมกับพนักงานและองค์กรในระยะยาว อีกทัง้ ยังมีการ สร้างการเติบโตในสายงานหรือวิชาชีพให้พนักงานทัง้ ในระดับจัดการ (Generalist) และระดับวิชาชีพ (Specialist) ให้มีความก้าวหน้าใน สายงานอาชีพของตน โดยพิจารณาเลือ่ นและปรับตำ�แหน่งพนักงาน ประจำ�ปี 2558 จำ�นวนทัง้ สิน้ 274 คน คิดเป็น 25% ของพนักงาน ประจำ�ทั้งหมด 1,095 คน นอกจากนี้ ยังเปิดโอกาสให้พนักงาน ที่ท�ำ อยู่หน่วยงานเดิม 5 ปีขึ้นไป ได้แจ้งความประสงค์ในการโอน ย้ายตำ�แหน่ง ย้ายฝ่าย และย้ายหน่วยงาน ซึ่งมีพนักงานแจ้งความ ประสงค์ทง้ั สิน้ 99 คน และสำ�นักบริหารทรัพยากรมนุษย์ด�ำ เนินการ พิจารณาตามหลักเกณฑ์และสามารถโยกย้ายได้ตามความเหมาะสม ป 2558

บร�ษัทพ�จารณาเลื่อนและปรับตำแหนงใหพนักงาน รวม

274 คน

25%

คิดเปน 25% ของพนักงานประจำทั้งหมด 1,095 คน

การให้ความเคารพสิทธิมนุษยชนกลุม่ ผูด้ อ้ ยโอกาส

เพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาทักษะความรูค้ วามสามารถ และคุณภาพชีวติ ของพนักงานกลุม่ Handicap ให้มศี กั ยภาพและศักดิศ์ รีเทียบเท่ากับ พนักงานปกติทั่วไป บริษัทได้เล็งเห็นความสำ�คัญและมุง่ มัน่ ในการ ดูแลพนักงานกลุม่ นี้ให้มที กั ษะ คุณภาพชีวติ และความภาคภูมิใจใน การทำ�งานเพิม่ ขึน้ เช่น จัดการอบรมฝึกฝนด้านทักษะคอมพิวเตอร์ แบบกลุ่มพิเศษ การเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสา รวมถึงการส่งเสริม ให้พนักงานที่มีความสามารถพิเศษทางด้านกีฬาได้สามารถแสดง ความสามารถในโอกาสต่างๆ


44

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

• การดำ�เนินงานด้านการต่อต้านทุจริตของพนักงาน (G4-SO4) บริษัทได้มีการกำ�หนดนโยบายต่อต้านคอรัปชั่นในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพนักงาน รวมถึงมีการประเมินความเสี่ยงและผลการดำ�เนินงานอย่าง ต่อเนื่อง โดยมีการสื่อสารทบทวนแนวปฏิบัติในหลายช่องทาง เพื่อป้องกันเหตุการณ์ทุจริตที่อาจเกิดขึ้นภายในองค์กร นโยบายต่อต้าน คอรัปชั่นกำ�หนดให้พนักงานทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบเพื่อให้กระบวนการดำ�เนินงานเป็นไปตามมาตรการต่อต้านคอรัปชั่น และได้พัฒนา เครื่องมือช่วยลดโอกาสในการเกิดคอรัปชั่นผ่านการประกาศ โดยเปิดเผยให้ทุกคนในองค์กรได้รับรู้ และจัดช่องทางในการร้องเรียนเมื่อ พบเห็นการกระทำ�ทุจริต หรือการกระทำ�ผิดต่อระเบียบข้อบังคับ ดังนี้

ขั้นตอนแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการรองเร�ยน Whistleblower Procedure คณะกรรมการบร�ษัท รายงาน หากเห็นสมควร ผูรับขอรองเร�ยน กำหนด “มาตราการคุมครอง” ระหวางพ�จารณาและแจงให สำนักตรวจสอบภายในทราบ

จ�ดเร�่มตน

คณะกรรมการการตรวจสอบ รายงาน

สำนักตรวจสอบภายใน

รายงานสรุป

ผูรองเร�ยน

ผูรับขอรองเร�ยน พบเห็นพนักงาน กระทำผิด/ฝาฝน

- ประธานกรรมการบร�หาร (CEO) - กรรมการบร�ษัท กรรมการบร�หาร หร�อ ผูบังคับบัญชาที่ตนเองไววางใจ - คุณสัมพันธ ตั้งถาวร ผูจัดการ ฝายพัฒนาองคกร (OD)

- กฎหมาย - ขอบังคับบร�ษัท - ประพฤติไมเหมาะสม - จรรยาบรรณองคกร - หร�อไดรับความเดือดรอน เสียหายเนื่องจากได รองเร�ยนขางตน

การคุมครองตามแนวทาง Whistleblower Policy • ผูรองเร�ยนไมจำเปนตองเปดเผยช�่อของตนเอง • ขอมูลที่เกี่ยวของถือเปนความลับ • สามารถรองขอใหบร�ษัทกำหนดมาตรการ คุมครองระหวางพ�จารณาตรวจสอบได • พนักงานที่ปฏิบัติตอบุคคลอื่นดวยว�ธีการที่ ไมเปนธรรม เนื่องจากไดรองเร�ยน ถือเปน การกระทำความผิดว�นัยที่ตองไดรับโทษ • ผูที่ไดรับความเดือดรอนเสียหายจะไดรับ การบรรเทาความเสียหาย

สรุป รายงานเบื้องตน เพ�่อ CEO สั่งการ ตามความเรงดวน

แจงให ผูรองเร�ยนทราบความคืบหนา ภายใน 30 วัน (ในกรณีที่มี การเปดเผยตัวผูรองเร�ยน)

กระบวนการพ�จารณา ขอเท็จจร�งในเบื้องตน

ไมซับซอน

ดำเนินการให เสร็จภายใน 30 วัน มีเหตุจำเปนขอ CEO เพ�่อขยาย ระยะเวลาได

- ขอเท็จจร�งจากการตรวจสอบ - ว�ธีการและขั้นตอนตรวจสอบ ความเสียหายที่เกิดข�้น - ผลกระทบตอบร�ษัท - แนวทางแกปญหา - อื่นๆ ที่เกี่ยวของ เชน การลงโทษทางว�นัย

เกี่ยวของกับ หลายหนวยงาน

CEO ตั้ง “คณะทำงาน ตรวจสอบขอเท็จจร�ง”

คุณสัมพันธสรุปผลการตรวจสอบ การแก ไข หร�อการบรรเทาความเสียหายตอ CEO กรณีที่เปนเร�่องพนักงาน กระทำทุจร�ต / ผิดกฏหมาย ตอบร�ษัท

สำนักบร�หารทรัพยากรมนุษย แตงตั้ง “คณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจร�ง” เพ�่อดำเนินการสอบสวนและเสนอการลงโทษทางว�นัย


45

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

• องค์กรแห่งการเรียนรู้และเติบโต ด้วยความมุ่งมั่นพัฒนาองค์กรไปสู่ความยั่งยืน บริษัทจึงได้จัดตั้งสถาบันแอล.พี.เอ็น. หรือ LPN Academy เพื่อทำ�หน้าที่ในการพัฒนาบุคลากรให้เติบโตทันต่อการขยายตัวของธุรกิจ สามารถถ่ายทอดคุณค่าและ วัฒนธรรมองค์กรตามวิถีแอล.พี.เอ็น. หรือ LPN Way ผ่านการอบรมในหลักสูตรต่างๆ แก่บุคลากรภายใน องค์กร โดยมีเป้าหมายที่จะถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ภายนอกในอนาคต สำ�หรับผลการดำ�เนินงานด้านการ พัฒนาองค์กรสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และเติบโต สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ผลการดำ�เนินงานของ สถาบันแอล.พี.เอ็น.

% ความพอใจ ในการเรียนรู้และพัฒนา จากการประเมินความสุขในการทำ�งาน 100% 80% 60% 40% 20% 0

76%

2557

77%

2558

เพิ่มขึ้น

คะแนนเฉลีย่ ที่ได้ในปี 2558 สูงกว่าปี 2557 = +1%

+1% เรียนรูแ้ ละพัฒนา

• ความสมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวิต บริษัทดูแลคุณภาพชีวิตและการทำ�งานของพนักงาน ส่งเสริมให้รู้จักการแบ่งเวลาให้กับตนเองและครอบครัว (Work-Life Balance) ไม่หมกมุน่ และทุม่ เทให้กบั การทำ�งานมากจนเกินควร โดยกำ�หนดเวลาทำ�งานต่อสัปดาห์ ให้เหมาะสม และกำ�หนดให้พนักงานทุกส่วนงานต้องหยุดพักร้อนประจำ�ปีตามที่ได้รบั สิทธิ

% ความสมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวิต จากการประเมินความสุขในการทำ�งาน 100% 80% 60% 40% 20% 0

66%

70%

คะแนนเฉลีย่ ที่ได้ในปี 2558 สูงกว่าปี 2557 = +4%

เพิ่มขึ้น

+4% 2557

2558

ความสมดุลระหว่าง การทำ�งานและชีวติ

ปี 2558 พนักงานสะท้อน คะแนนความสมดุลของชีวติ และการทำ�งาน เพิ่มสูงขึ้นจากปี 2557


46

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

• เรื่องร้องเรียนจากพนักงานและการแก้ไข (G4-LA16) บริษัทมีนโยบายเกี่ยวกับการรับฟังข้อร้องเรียนจากพนักงานและมีแนวปฏิบัติในการรักษาความลับของผู้ให้ข้อมูล/ผู้แจ้งข้อร้องเรียนตาม กระบวนการคุ้มครองผู้ร้องเรียน ทั้งนี้ พนักงานผู้แจ้งข้อร้องเรียน หรือต้องการเสนอความคิดเห็น เพื่อให้บริษัทดำ�เนินการแก้ไขหรือ ปรับปรุงการดำ�เนินงาน สามารถแจ้งข้อเสนอแนะหรือข้อร้องเรียนผ่านช่องทางต่างๆ ได้ดังนี้ 1. แจ้งประธานกรรมการบริหารโดยตรง 2. แจ้งผ่าน Whatsapp ของประธานกรรมการบริหาร 3. ตู้ไปรษณีย์เฉพาะ ปณ. 21 4. กล่องรับข้อคิดเห็นในสำ�นักงาน (Suggestion Box) 5. แบบประเมินความผูกพันต่อองค์กร 6. ติดต่อฝ่ายพัฒนาองค์กร สำ�นักบริหารทรัพยากรมนุษย์ ในปี 2558 มีจำ�นวนเรื่องที่ได้รับการร้องเรียนจากพนักงานทั้งหมด 2 เรื่อง ทั้ง 2 กรณี เป็นเรื่องการทุจริตเกี่ยวกับเวลาการทำ�งานของ พนักงาน ซึ่งบริษัทได้ดำ�เนินการสอบหาข้อเท็จจริงอย่างเป็นธรรมตามกระบวนการสืบสวน และได้พิจารณาบทลงโทษตามวินัยและระเบียบ ปฏิบัติขององค์กร พร้อมกับได้รายงานต่อกรรมการบริหารและผู้ที่เกี่ยวข้อง (G4-SO5)

จำ�นวนเรื่องร้องเรียน ที่แจ้งผ่าน ตู้ ปณ. เข้าสู่กระบวนการ Whistleblower รวม 2 เรื่ิอง 1

0

1

1

ตู้ ป.ณ.

ติดต่อตรง

• จำ�นวนเรือ่ งร้องเรียน = 2 เรือ่ ง • จำ�นวนเรือ่ งร้องเรียนทีด่ �ำ เนินการสอบข้อเท็จจริง และพิจารณาจนสิน้ สุดแล้ว = 2 เรือ่ ง เรือ่ งทีส่ ง่ เข้ามา

ในส่วนของข้อเสนอแนะและการแสดงความคิดเห็นของพนักงานผ่านกล่องรับความคิดเห็น มีข้อคิดเห็นรวมทั้งสิ้น 62 เรื่อง ซึ่งบริษัท ได้พิจารณาและดำ�เนินการแก้ไขสำ�หรับข้อเสนอแนะที่สามารถดำ�เนินการได้ทันที และได้ประสานกับส่วนงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำ�เนินการ ส่วนข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการของพนักงาน บริษัทได้นำ�เสนอต่อคณะกรรมการสวัสดิการ เพื่อพิจารณาและดำ�เนินการตาม ความเหมาะสมต่อไป 25 20 15 10 5 0

25 15

15 6

เสนอแนะ

ร้องเรียน

เรือ่ งทีส่ ง่ เข้ามา

เสนอ ความเห็น

อืน่ ๆ


47

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

Scoop

G1

การทบทวนหลักจรรยาบรรณ ของพนักงาน (G4-SO4) Code of Conduct

บริษทั ได้จดั อบรมหลักสูตร “จรรยาบรรณทางธุรกิจและจรรยาบรรณของพนักงาน (Code of Conduct)” และจัดทำ�คูม่ อื ให้ แก่พนักงานทัง้ องค์กร เพือ่ เสริมสร้างจิตสำ�นึกและเป็นแนวทางในการปฏิบตั หิ น้าที่ ทบทวนความรับผิดชอบของพนักงาน ในทุกภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้องตามหลักธรรมาภิบาล ทัง้ ต่อตนเอง บริษทั ลูกค้า ผูถ้ อื หุน้ ผูบ้ งั คับบัญชาและเพือ่ นร่วมงาน ความขัดแย้งของผลประโยชน์ (Conflict of Interest) การใช้ขอ้ มูลของบริษทั ระเบียบและข้อบังคับเกีย่ วกับการทำ�งาน สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ รวมถึงวินยั และโทษทางวินยั เพือ่ แสดงถึงพันธะสัญญาในการน้อมรับจรรยาบรรณดังกล่าว มาเป็นแนวทางดำ�เนินงานตามอย่างเคร่งครัด หลักสูตร “จรรยาบรรณทางธุรกิจและจรรยาบรรณของพนักงาน (Code of Conduct)” ครอบคลุมเนือ้ หาในการอบรม ตาม 10 หัวข้อหลักด้านจรรยาบรรณในคูม่ อื พนักงาน รวมถึงนโยบายต่อต้านคอรัปชัน่ (Anti-Corruption Policy) และ แนวทางการปฏิบตั เิ รือ่ งกระบวนการคุม้ ครองผูร้ อ้ งเรียน (Whistleblower Policy) โดยในระหว่างการอบรมมีการนำ�เสนอ และอธิบายตามกรณีศึกษาที่ผ่านมาขององค์กรให้พนักงานตระหนักและเข้าใจ ซึ่งในปี 2558 บริษัทได้จัดอบรม ทั้งสิ้น 32 รอบ มีผู้บริหารและพนักงานที่เข้ารับการอบรมรวม 1,338 คน หรือคิดเป็น 92%

10 หัวข้อหลักด้านจรรยาบรรณของพนักงาน ประกอบด้วย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ขอบเขตการใช้บงั คับ การปฏิบตั ติ ามกฎหมายและการรักษากฎระเบียบของบริษทั ความเชือ่ ถือได้ของข้อมูล การรักษาความลับของข้อมูล การสือ่ สาร การใช้ขอ้ มูลภายในเพือ่ การซือ้ ขายหลักทรัพย์ การคุกคาม การพนัน การดืม่ แอลกอฮอล์ และสิง่ เสพติด การให้และรับของกำ�นัลและการเลีย้ งรับรอง การทำ�งานอืน่ หรือกิจกรรมภายนอก


48

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

Scoop

G1

โครงการประกวดความคิดสร้างสรรค์

“The Seeds”

Idea Suggestion

ท่ามกลางกระแสแห่งโลกปัจจุบนั ทีแ่ ข่งขันกันด้วยการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ทีจ่ ะช่วยพัฒนาศักยภาพการผลิตและเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการทำ�งาน บริษัทจึงเห็นความสำ�คัญของการส่งเสริมให้พนักงานคิดค้นนวัตกรรมทั้งในเชิงกระบวนการและในการเพิม่ คุณค่า ผลิตภัณฑ์และกระบวนการเป็นอย่างยิ่ง ด้วยตระหนักดีว่า จะเป็นเครื่องมือในการสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าและบริการ ของบริษัทผ่านบุคลากรซึ่งเป็นกลไกที่ขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่แท้จริง และมีนโยบายสนับสนุนให้พนักงาน มีสว่ นร่วมในการคิดสร้างสรรค์ เพื่อสร้างบรรยากาศในการทำ�งานเป็นทีมรวมถึงการคิดนอกกรอบมาโดยตลอด และพัฒนามา เป็นโครงการจัดประกวดความคิดสร้างสรรค์ “The Seeds : Idea Suggestion” ขึน้ เป็นครัง้ แรกในปี 2558 โดยมีวตั ถุประสงค์ ดังนี้

1 ส่งเสริมการคิดนอกกรอบ ให้กับพนักงาน กระตุน้ การสร้าง

เมล็ดพันธุ์ในการคิดสร้างสรรค์อย่าง เป็นระบบและยัง่ ยืน

2

3

สร้างบรรยากาศการทำ�งาน เป็นทีมและการคิดนอกกรอบ

เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และทักษะ

พร้อมเปิดใจรับแนวคิดใหม่และการ เปลีย่ นแปลงต่างๆ

ด้านกระบวนการคิดสร้างสรรค์ อย่างเป็นระบบให้กับพนักงานทุก ระดับ เพือ่ ให้น�ำ ไปประยุกต์ใช้ในงาน อย่างเป็นรูปธรรมและพัฒนางานได้ อย่างต่อเนื่อง

บริษัทได้เริ่มโครงการประกวด “The Seeds : Idea Suggestion” ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ และสิ้นสุดในเดือนธันวาคม โดยพนักงานสามารถเลือกหัวข้อในการพัฒนาเพื่อให้เกิดการปรับปรุงงานในหลากหลายมิติ เช่น การลดเวลา การลดต้นทุน การคิดค้นนวัตกรรม การเพิ่มคุณภาพ การเพิ่มความปลอดภัย การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร เป็นต้น โดยมีพนักงาน ร่วมส่งโครงงานเข้าประกวดทั้งสิ้น 73 โครงการ รวม 323 คน (คิดเป็น 32%) ซึ่งทุกโครงงานที่ส่งเข้าประกวดสามารถนำ�ไป ปรับใช้ในการทำ�งาน และปรับปรุงมาตรฐานการทำ�งานให้ดียิ่งขึ้น ส่งผลให้บริษัทสามารถลดค่าใช้จ่ายได้ถึงประมาณ 3,000,000 บาทต่อปี


49

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

รางวัลที่ 1 : โครงงาน “เครือ่ งทำ�ความสะอาด 5 in 1” จากฝ่ายบริหารต้นทุน รางวัลที่ 2 : โครงงาน “การสำ�รวจค่าความต้านทานดิน เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยในการปักหลักดิน” จากฝ่ายบำ�รุงรักษาและฝ่ายบริหารโครงการ รางวัลที่ 3 : โครงงาน “ช่องมองมิเตอร์ประปา” จากฝ่ายบำ�รุงรักษา

73 โครงงาน

เนนลดเวลา (Time)

คือจำนวนโครงงาน ที่พนักงาน LPN รวมสง เขาโครงการ

23

โครงงาน

รวมงบประมาณ การจัดโครงการและของรางวัล

300,000 บาท

The Seeds

32

ลดตนทุนเพ�่มรายได เพ�่มประสิทธิภาพ (Cost/Revenue) (Effective)

9

โครงงาน

คาใชจายหร�อตนทุน ที่บร�ษัทจะสามารถประหยัดไดรวมตอป มูลคา (ไมรวมคาใชจายทางออมที่สามารถลดลงได แตยังไมสามารถประเมินมูลคาได)

ประมาณ

3 ลานบาท/ป

13

โครงงาน

นวัตกรรม (Innovation)

3

โครงงาน

คาใชจายหร�อตนทุน ที่สามารถประหยัดได เฉลี่ยตอโครงงาน

42,000 บาท


50

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

G2

Design Concept

การออกแบบผลิตภัณฑ์ ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม GREEN Design Concept คือ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม บริษทั ให้ความสำ�คัญ กับการออกแบบและพัฒนาโครงการ ตั้งแต่แนวคิดการ ออกแบบผลิตภัณฑ์และวางผังโครงการเพื่อลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งแนวทางดังกล่าวเป็นแนวทางที่บริษัท พัฒนาขึ้นและสอดคล้องกับมาตรฐานอาคารเขียว (Green Building) ของสหรัฐอเมริกา (LEED - The Leadership in Energy and Environmental Design) โดย GREEN Design Concept มีองค์ประกอบ ดังนี้ 1. Strategic Location 2. LPN Green Project - LEED 3. Blue Ocean Strategy (กลยุทธ์น่านนํ้าสีคราม)


51

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

DESIGN CONCEPT

1. Strategic Location คือ การเลือกทำ�เลเชิงกลยุทธ์ ที่มีคู่แข่งน้อย แต่มีศักยภาพในการพัฒนา และอยู่ใกล้สิ่งอำ�นวยความสะดวก ระบบขนส่งมวลชนและ ทางด่วน เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากการพัฒนาโครงการ ลดปริมาณการจราจร และการใช้พลังงานทางตรงจากการ ใช้ยานพาหนะในการเดินทาง

2. LPN Green Project - LEED

คือ การกำ�หนดแนวทางการออกแบบและวางผังโครงการภายใต้ แนวคิด “LPN Green Project” ซึง่ บริษทั ได้น�ำ เสนอออกสูส่ าธารณชน และได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีในด้านยอดขาย อย่างไรก็ตาม แม้ “LPN Green Project” จะเป็นแนวคิดที่พัฒนาจากเกณฑ์ อาคารเขียวของสหรัฐ (LEED : The Leadership in Energy & Environmental Design) แต่บริษัทได้ปรับปรุงหลักเกณฑ์เพื่อให้ เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศและสภาพแวดล้อมของประเทศไทย และตอบสนองต่อการประกอบธุรกิจ โดยมีองค์ประกอบ ได้แก่ พัฒนาพื้นที่ให้เกิดความยั่งยืน (Sustainable Site Development)

คือ การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในการ พัฒนาโครงการ โดยการเลือกที่ตั้งโครงการ ในบริเวณที่มีความหนาแน่นสูง มีสิ่งอำ�นวย ความสะดวกครบครันในบริเวณใกล้เคียง ตั้ง อยู่บนถนนใหญ่ทม่ี กี ารคมนาคมสะดวก ใกล้ ทางด่วน และมีระบบขนส่งมวลชน เพื่อลด ผลกระทบด้านการจราจร และร่วมสนับสนุน ให้ ผู้ อ ยู่ อาศั ย หั น มาใช้ ร ะบบขนส่ ง มวลชน มากขึน้ ด้วยการจัดระบบขนส่งมวลชนภายใน โครงการ (Shuttle Bus) เชื่อมต่อกับระบบ ขนส่งมวลชนสาธารณะ รวมถึงชดเชยพืน้ ที่โล่ง เดิมด้วยพื้นที่สีเขียวและภูมิทัศน์ในโครงการ

การใช้นํ้าอย่างมีประสิทธิภาพ (Water Efficiency) (G4-EN10)

ได้แก่ การเลือกสุขภัณฑ์ประหยัดนํ้าเพื่อการ ใช้นํ้าที่มีประสิทธิภาพ เช่น โถสุขภัณฑ์แบบ Dual Flush ซึ่งสามารถลดการใช้นํ้าลงถึง ร้อยละ 50 รณรงค์ ให้ผู้อยู่อาศัยอาบนํ้าด้วย ฝักบัวแทนการใช้อ่างอาบนํ้า เพื่อลดปริมาณ การใช้นํ้าโดยตรง และการนำ�นํ้าเสียที่ผ่าน การบำ�บัดมารดนํ้าต้นไม้ภายในโครงการ ซึ่ง เป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพของการใช้น�ำ้ และยัง เป็นการลดการระบายน้�ำ จากโครงการลงสูร่ ะบบ ระบายน้�ำ สาธารณะ รวมทัง้ ติดตัง้ ระบบการรดน้�ำ ต้นไม้ภายในโครงการที่มีประสิทธิภาพ เช่น ระบบน้ำ�หยด เพื่อลดการสูญเสียน้ำ� การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (Energy Efficiency) (G4-EN7)

ด้ ว ยการออกแบบห้ อ งชุ ด ให้ มี กั น สาดและ ระเบี ย งเพื่ อ ลดปริ ม าณความร้ อ นที่ ม ากั บ แสงแดดที่ ส่ ง ผ่ า นเข้ า มาภายในห้ อ งชุ ด โดยตรง ออกแบบระบบแสงสว่างและระบบ ปรับอากาศให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสม ต่อการใช้งาน เพื่อลดปริมาณการใช้พลังงาน ไฟฟ้า ใช้พลังงานทดแทน เช่น พลังงานแสง อาทิตย์ส�ำ หรับดวงโคมแสงสว่างในบริเวณสวน และได้ มี ก ารบรรจุ บ ทบาทหน้ า ที่ ใ ห้ ฝ่ า ย บริหารชุมชนบริหารการใช้พลังงานภายใน อาคารให้เกิดประสิทธิภาพ โดยคำ�นึงถึงความ ประหยัดและความปลอดภัยควบคู่กันไป


52

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

การใช้วัสดุและทรัพยากรอย่าง ประหยัดและเหมาะสม (Material and Resources) (G4-EN1)

สร้างสิ่งแวดล้อมภายในอาคาร ที่มีคุณภาพกับผู้อยู่อาศัย (Indoor Environment Quality)

โดยการเลือกใช้วัสดุทดแทนที่พิสูจน์แล้วว่า มีความปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แทนวัสดุทม่ี าจากธรรมชาติ เพือ่ ลดการทำ�ลาย สภาวะแวดล้อมลง เช่น การใช้พื้นไม้ลามิเนต แทนการใช้พื้นปาร์เก้ ไม้จริง การออกแบบให้ มิตติ า่ งๆ ของอาคารสอดคล้องกับมิติของวัสดุ ที่ ใ ช้ ใ นการก่ อ สร้ า งเพื่ อ ความคุ้ ม ค่ า ในเชิ ง เศรษฐกิจ และลดเศษวัสดุซึ่งเป็นขยะที่ต้อง ทิ้งกลับสู่สภาพแวดล้อม ผนังกั้นห้องภายใน ห้องชุดใช้กระจกลายฝ้าแทนผนังทึบ เพื่อรับ แสงสว่างจากธรรมชาติ และยังคงมีความเป็น ส่วนตัวควบคู่กันไป กระจกภายนอกด้านทิศ ตะวันตก เลือกใช้กระจก Insulated Glass เพือ่ ลดความร้อนทีม่ าพร้อมกับแสงแดดในช่วงบ่าย ซึ่งเป็นช่วงที่อุณหภูมิสูงที่สุดในรอบวัน การ ออกแบบให้มี Green Wall ในส่วนผนังของที่ จอดรถยนต์ เพื่อลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และความร้อนเข้าสู่ส่วนพักอาศัยและบริเวณ โดยรอบ การบริหารจัดการขยะโดยกำ�หนดให้ มีการคัดแยกขยะและการจัดเก็บอย่างเหมาะสม ทั้งในช่วงของการก่อสร้างและช่วงภายหลัง เมื่อมีผู้เข้าพักอาศัยแล้ว

โดยเน้นประสิทธิภาพการบริหารชุมชนที่ยง่ั ยืน ด้วยกลยุทธ์ F-B-L-E-S+P ได้แก่ การบริหาร ระบบสาธารณูปโภคและสิง่ อำ�นวยความสะดวก ภายในโครงการ การบริหารการเงินและงบ ประมาณ การเสริมสร้างวินัยและวัฒนธรรมใน การอยูอ่ าศัยร่วมกัน การรักษาสภาพแวดล้อม ภายในชุมชน รวมทั้งการใช้พลังงานอย่าง เหมาะสม การบริหารระบบรักษาความปลอดภัย และมาตรการในด้านต่างๆ อย่างเข้มข้น และ การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในงานบริหารชุมชน นวัตกรรมจากการออกแบบ (Innovation In Design) (G4-EN7)

ได้แก่ การวางผังอาคารและโครงการให้สอดคล้อง กับสภาพแวดล้อม โดยพึ่งพาแสงและลมจาก ธรรมชาติ ทำ�การวางผังและออกแบบช่องเปิด ของห้องชุด ทัง้ ประตูและหน้าต่าง ให้สอดคล้อง กับการอยู่อาศัย และร่นระยะเวลาการก่อสร้าง ด้วยระบบ Semi Prefabrication System

3. Blue Ocean Strategy (กลยุทธ์น่านนํ้าสีคราม) คือ การหลีกเลี่ยงทำ�เลที่มีคู่แข่งจำ�นวนมาก ราคาที่ดินสูง เพื่อลดต้นทุนและสามารถพัฒนาโครงการทีเ่ หมาะกับกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายระดับ กลางถึงกลาง-ล่าง โดยเพิม่ คุณค่าด้วยการจัดรถรับส่งเชือ่ มต่อไปยังระบบขนส่งมวลชน การจัดให้มสี ง่ิ อำ�นวยความสะดวกทีค่ รบครันในโครงการ เช่น ร้านสะดวกซือ้ 7-11 ร้านซักรีด ร้านอาหาร และการออกแบบพื้นที่ส่วนกลางให้เหมาะกับวิถีชีวิตของผู้อยู่อาศัย เพื่อส่งเสริมการใช้พื้นที่ ส่วนกลางและสร้างชุมชนที่ดี

ออกแบบพื้นที่ส่วนกลาง ให้เหมาะกับวิถีชีวิตของ ผู้อยู่อาศัย เพื่อส่งเสริม การใช้พื้นที่ส่วนกลาง และสร้างชุมชนที่ดี


53

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

LPN คำ�นึงถึงการออกแบบ อาคารให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อม โดยพึง่ พา แสงและลมจากธรรมชาติ เพือ่ ลดการใช้พลังงาน


54

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

G2

GREEN Design Concept

ผลการดำ�เนินงานการออกแบบผลิตภัณฑ์ ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม (G4-EN27)

การออกแบบอาคาร ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ส�ำ คัญของกระบวนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งอาคารหนึ่งอาคารสามารถสร้างผลกระทบทาง สิ่งแวดล้อมได้ในหลายด้าน บริษัทจึงให้ความสำ�คัญกับการออกแบบสถาปัตยกรรมเพือ่ ความยัง่ ยืน (Sustainable Design) และเริ่มการพัฒนา โครงการตามมาตรฐานอาคารสีเขียว (LPN Green Project) ขึน้ ในปี 2551 กับโครงการ ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา ด้วยความรับผิดชอบ ต่อสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่การวางผังโครงการ การเลือกใช้วัสดุ และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า เป็นต้น ซึ่งแนวคิดดังกล่าว บริษัท พัฒนาจากประสบการณ์ ในการพัฒนาโครงการ และสอดคล้องกับมาตรฐานการออกแบบอาคารของ LEED (The Leadership in Energy & Environment Design) ซึ่งเป็นมาตรฐานอาคารเขียวระดับสากล ในปี 2557 บริษทั ได้เพิม่ ความเข้มข้นของกลยุทธ์ Green Design Concept หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม ด้วยการพัฒนาโครงการ LPN Signature Green Project จำ�นวน 2 โครงการ ซึง่ เป็นต้นแบบโครงการสีเขียวที่ให้ความสำ�คัญกับผลกระทบจาก การออกแบบโครงการอย่างเข้มข้น ได้แก่ โครงการศูนย์การค้าชุมชน มิลล์ เพลส โพศรี และโครงการลุมพินี พาร์ค นวมินทร์-ศรีบูรพา

โครงการ LPN Signature Green Project เป็นต้นแบบโครงการสีเขียวทีใ่ ห้ความสำ�คัญ กับผลกระทบจากการออกแบบโครงการ อย่างเข้มข้น โดยได้รบั การรองรับจาก มาตรฐานอาคารเขียวระดับสากล


55

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

นอกจากนั้น เพื่อลดผลกระทบจากการพัฒนาโครงการของบริษัทอย่างเป็นรูปธรรมและมีมาตรฐานในการดำ�เนินงาน ในปี 2558 บริษัทได้ จัดทำ�มาตรฐาน LPN Green Standard Checklist ขึ้น เพื่อเป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงานร่วมกับ LPN Team ทั้งในด้านการออกแบบและ บริหารโครงการ โดยในด้านการออกแบบได้ผสานแนวคิดในการพัฒนาโครงการที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของบริษัท เข้ากับมาตรฐานอาคาร เขียวของสากล ตั้งแต่เริ่มวางแนวคิดในการออกแบบอาคารและผังโครงการเบื้องต้น (Preliminary Design) โดยมาตรฐานดังกล่าวได้ถูก กำ�หนดรายละเอียดและวางเป้าหมายร่วมกันกับผู้ออกแบบ โดยมีหลักเกณฑ์ทั้งสิ้น 50 ข้อ ดังนี้

หมวดที่ 1

หมวดที่ 2 (G4-EN10)

หมวดที่ 3 (G4-EN7)

จำ�นวน 8 ข้อ

จำ�นวน 14 ข้อ

จำ�นวน 8 ข้อ

ได้แก่ การเลือกทีต่ ง้ั โครงการทีเ่ หมาะสม เพื่อลดผลกระทบด้านการจราจร และ ออกแบบให้มีพื้นที่สีเขียวมากกว่า กฎหมายกำ�หนด

ได้แก่ การเลือกใช้สุขภัณฑ์ประหยัดน้ำ� การนำ�น้�ำ ที่ผ่านการบำ�บัดแล้วมาใช้ ในโครงการ เพื่อลดการสูญเสียน้ำ� โดยเปล่าประโยชน์

ได้แก่ การออกแบบห้องชุดให้มีกันสาด และระเบียง การออกแบบระบบแสงสว่าง และระบบปรับอากาศให้เหมาะสมต่อ การใช้งาน และมีแผนลดการใช้พลังงาน

หมวดที่ 4 (G4-EN1)

หมวดที่ 5

หมวดที่ 6

จำ�นวน 2 ข้อ

จำ�นวน 6 ข้อ

ได้แก่ การเลือกใช้วสั ดุทผ่ี ลิตภายในประเทศ และเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และออกแบบให้ เกิดความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจ เพื่อลดเศษ วัสดุซง่ึ เป็นขยะทีต่ อ้ งทิง้ กลับสูส่ ภาพแวดล้อม

จำ�นวน 6 ข้อ

ได้แก่ การเลือกใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่ง ได้แก่ การเลือกใช้วัสดุในห้องชุดที่เป็นมิตร แวดล้อม ใส่ใจกับสุขภาวะของผู้อยู่อาศัย ต่อสิ่งแวดล้อม ปลอดภัยสำ�หรับผู้พักอาศัย และคำ�นึงถึงการถ่ายเทไหลเวียนของอากาศ ออกแบบให้มีช่องเปิดรับแสงธรรมชาติ บริเวณพื้นที่ส่วนกลาง

ทีต่ ง้ั และสภาพแวดล้อม

วัสดุและทรัพยากร ในการก่อสร้าง

หมวดที่ 7 (G4-EN7)

นวัตกรรมจากการออกแบบ จำ�นวน 5 ข้อ

ได้แก่ การนำ�นวัตกรรมทางการออกแบบที่ เป็นเอกลักษณ์ของบริษัทมาเป็นข้อกำ�หนด เพิ่มเติม เพื่อเพิ่มความเข้มข้นของการ ลดผลกระทบจากการออกแบบโครงการ

การประหยัดนํ้า

คุณภาพของสภาวะแวดล้อม ภายในอาคาร (ส่วนกลาง)

พลังงานและบรรยากาศ

คุณภาพของสภาวะแวดล้อม ภายในอาคาร (ภายในห้องชุด)


56

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

Scoop

G2

ลุมพินี พาร์คบีช ชะอำ�

โครงการชายทะเลสีเขียวแห่งแรกของแบรนด์ “ลุมพินี” LPN Signature Green Project

โครงการลุมพินี พาร์คบีช ชะอำ� โครงการชายทะเลแห่งแรกทีไ่ ด้รบั การพัฒนา โครงการให้เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ภายใต้ แนวทาง “LPN Signature Green Project”


57

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

โครงการ “ลุมพินี พาร์คบีช ชะอำ�” โครงการชายทะเลแห่งแรกที่ได้รับการพัฒนาคุณค่าของผลิตภัณฑ์ (Product Value) ด้วยการ ออกแบบโครงการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้แนวทาง “LPN Signature Green Project” หรื​ือต้นแบบโครงการสีเขียวที่ได้รับการ ออกแบบเป็นอาคารประหยัดพลังงานและคำ�นึงถึงสิ่งแวดล้อมในทุกกระบวนการ รวมถึงมีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ และยังคงรักษาประวัตศิ าสตร์ของพืน้ ทีด่ ว้ ยการอนุรกั ษ์ตน้ ไม้ดั้งเดิมไว้ในโครงการภายใต้บรรยากาศธรรมชาติริมทะเล โดยบริษัทได้พัฒนา คุณค่าของผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ได้แก่

• ทาสีสะท้อนความร้อนเป็นสีอ่อน (Heat Island Effect) • ติดตั้งระบบไฟอัจฉริยะในที่จอดรถ • จัดที่จอดรถพิเศษสำ�หรับรถยนต์ประเภทไฮบริด • นำ�น้ำ�ที่ผ่านการบำ�บัดแล้วมารดน้ำ�ต้นไม้ รวมถึงวางระบบน้ำ�ดับเพลิงที่ต่อสำ�รองจากสระว่ายน้ำ� • จัดให้มีพื้นที่แยกขยะเพื่อนำ�กลับไปรีไซเคิล • ใช้หลอดประหยัดไฟที่เน้นประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงาน • ใช้ถังน้�ำ สูงเพื่อลดการใช้น้ำ�ภายในโครงการและสำ�รองน้ำ�สำ�หรับดับเพลิง • รณรงค์ใช้จักรยานเพื่อลดการใช้รถยนต์ในโครงการ • เลือกพันธุ์ ไม้ที่เป็นพืชพื้นถิ่น/พืชทนแล้งของพื้นที่

โครงการลุมพินี พาร์คบีช ชะอำ� ตั้งอยู่บนหาดชะอำ� จังหวัดเพชรบุรี เนื้อที่โครงการประมาณ 15 ไร่เศษ จำ�นวนห้องชุด 413 ยูนิต มี สิ่งอำ�นวยความสะดวกครบครัน เช่น สวนรวมใจ สนามเด็กเล่น สระว่ายน้ำ� ซาวน่า สตีม ห้องออกกำ�ลังกาย ห้องกิจกรรม ห้องสมุดมีชีวิต และร้านสะดวกซื้อภายในโครงการ


58

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

G3

Financial Management

การกำ�หนดผลตอบแทนและการเติบโต ขององค์กรให้เหมาะสม

คือ การบริหารจัดการด้านการเงินโดยกำ�หนดเป้าหมาย การทำ�ธุรกิจที่มุ่งสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน มีผลกำ�ไรที่เติบโต อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม และนำ�ผลตอบแทนนั้นไปกระจาย ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มในทุกกระบวนการพัฒนาโครงการ อย่างสมดุล นับตั้งแต่การกำ�หนดนโยบายปันผลกำ�ไรสุทธิในอัตรา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 แก่ผู้ถือหุ้น การให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมกับ ผู้บริหารและพนักงาน การกำ�หนดราคาขายห้องชุดให้ถูกกว่าคู่แข่ง เพื่อคืนกำ�ไรให้กับลูกค้า รวมทั้งการกำ�หนดงบประมาณ สำ�หรับการดูแลสิ่งแวดล้อมและสังคมในกระบวนการก่อสร้าง ให้เป็นสัดส่วนตามงบประมาณโครงการ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมี การจัดทำ�งบการเงินที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ และจัดทำ�เอกสารเพื่อ สื่อสารผลประกอบการไปยังผู้ถือหุ้นในทุกไตรมาส เพื่อสร้างความเชื่อมั่น และให้ความสำ�คัญกับการมีวินัย ทางการเงินและการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน


59

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

FINANCIAL MANAGEMENT

บริษัทตระหนักถึงความสำ�คัญในความถูกต้องและโปร่งใสของงบ การเงิน จึงจัดให้มรี ะบบควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพ จั ด ให้ มี การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ สำ � คั ญ อย่ า งเพี ย งพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน พร้อมทั้งคำ�อธิบายและการวิเคราะห์ เพือ่ ให้ ความมั่นใจว่าการบันทึกข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วน เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นและนักลงทุนในการใช้งบการเงิน ตามหลักการของ Accountability Financial Statement อันได้แก่

• Accountability Financial Statement 1. ความโปร่งใส (Transparency)

4. สอบวัดได้ (Measurable)

บริษทั มีนโยบายการจัดการด้านการเงินอย่างโปร่งใสภายใต้หลักการ กำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี โดยจัดให้มรี ะบบควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมและ มีประสิทธิภาพ โดยคณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระ จำ�นวน 4 ท่าน โดยมี กรรมการตรวจสอบจำ�นวน 3 ท่าน ที่มีความรู้และประสบการณ์ใน ด้านบัญชี-การเงิน ทำ�หน้าที่สอบทานนโยบายการบัญชีและตรวจ สอบคุณภาพของรายงานทางการเงิน รวมทั้งระบบการควบคุม ภายใน ซึง่ ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบจะปรากฏในแบบ รายงาน 56-1 และรายงานประจำ�ปี

เพื่อการสร้างมาตรฐานของการตรวจสอบให้เกิดความโปร่งใส และเปิดเผย ที่จะเป็นผลต่อความยั่งยืนของบริษัท การรายงาน ทางการเงินของบริษัท จะเป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินภายใต้พระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และแสดง รายการตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าโดยกระทรวงพาณิชย์ ลงวันที่ 28 กันยายน 2554 เรื่องกำ�หนดรายการย่อที่ต้องมีใน งบการเงิน พ.ศ. 2554 และตามข้อกำ�หนดของคณะกรรมการกำ�กับ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ว่ า ด้ ว ยการจั ด ทำ � และนำ � เสนอ รายงานทางการเงิ น ภายใต้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535

2. การตรวจสอบอย่างสมํ่าเสมอ (Auditability)

คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อกำ�กับ ดูแลและตรวจสอบการดำ�เนินงาน รวมถึงสอบทานแผนการตรวจสอบ ประจำ�ปี และแผนการตรวจสอบระยะยาว โดยเน้นให้สุ่มสอบทาน เกี่ยวกับรายการในงบการเงิน โดยมีการพิจารณาผลการสอบทาน ทุกฉบับเป็นรายไตรมาส และให้ติดตามแก้ไขในประเด็นที่สำ�คัญ โดยเร็ว คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษัทมีระบบการ ตรวจสอบภายในที่เพียงพอเหมาะสมและมีประสิทธิผล รวมทั้ง สนับสนุนให้มีการพัฒนาคุณภาพงานตรวจสอบในด้านบุคลากร และการปฏิบัติงานตรวจสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลอย่าง ต่อเนื่อง 3. การเปิดเผย (Disclosure) ไม่มีวาระซ่อนเร้น (Hidden Agenda)

บริษัทเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน พร้อมทั้งคำ�อธิบายและการวิเคราะห์ เพื่อให้ความ มั่นใจว่าการบันทึกข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วน เพื่อ ประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้น และนักลงทุนในการใช้งบการเงิน โดยเฉพาะการเปิดเผยและรายงานราคาที่ดินทุกแปลงที่ได้ท�ำ การ ซื้อขายแก่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

5. มีวินัย (Discipline)

การบริหารจัดการทางการเงินของบริษัท เป็นไปอย่างมีวินัยและ ได้รับการตรวจสอบตลอดเวลา มีการควบคุมการลงทุน ไม่นำ� เงินทุนของบริษัทไปลงทุนในธุรกิจที่ไม่มีความถนัด ไม่นำ�เงิน ทุ น ไปลงทุ น ในกิ จ กรรมที่ มี ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ข อง บริษัท และการรักษาระดับทุนหมุนเวียนในบริษัทให้เพียงพอต่อ การจ่ายเงินตอบแทนการทำ�งานให้แก่พนักงานและผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งหมด 6. ความเสี่ยงทางการเงิน (Risk Management)

บริษัททำ�การลงทุนหรือดำ�เนินงานทางการเงินโดยมองความเสี่ยง เป็นสำ�คัญ ไม่ลงทุนโดยการกู้ยืมจนเกินกำ�ลัง แต่ลงทุนด้วย ทรัพยากรที่มีและองค์ความรู้เป็นหลัก รักษาระดับสัดส่วนหนี้ต่อ ทุนไม่เกิน 1 : 1 และมีการตรวจสอบจากคณะกรรมการความเสี่ยง อย่างสม่ำ�เสมอ


60

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

GREEN Financial Management (G4-EC1)

G3

ผลการดำ�เนินงานด้านการกำ�หนดผลตอบแทน และการเติบโตขององค์กรให้เหมาะสม

• 20 Miles March Growth Strategy เติบโต 30%

ล้านบาท 18,000

16,700

15,000 12,445

12,000

14,401 12,960

10,047

9,000

7,304

6,824

8,592

5,020

6,000 3,000

13,483

1,944

2,478

3,583

0 2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2003

2004

2005

2006

2007

2008

2009

2010

2011

2012

2013

2014

2015

งบดุล 2558

หน่วย : ล้านบาท

สินทรัพย์รวม

หนี้สินรวม

2554 : 2555 : 2556 : 2557 : 2558 :

2554 : 2555 : 2556 : 2557 : 2558 :

19,625.30

ส่วนของผู้ถือหุ้น

8,044.05

9,697.99 14,021.17 17,420.19 19,783.69 19,625.30

11,581.25

2,464.54 5,539.45 7,794.38 9,375.31 8,044.05

2554 : 7,233.45 2555 : 8,481.71 2556 : 9,625.80 2557 : 10,408.38 2558 : 11,581.25

หน่วย : ล้านบาท

งบกำ�ไรขาดทุน 2558

4,000

4,000

2,000

2,000

0

2554 2555 2556 2557 2558

0

3,000

1,500

1,000

2554 2555 2556 2557 2558

0

2,414.40

2,021.42

1,000

2,328.58

2,000

2,413.40

2,229.09

6,000

2,000

4,970.77

8,000

4,000

4,005.73

6,000

2,500

4,558.41

8,000

5,000

4,208.79

10,000

กำ�ไรสุทธิ

4,970.77

15,981.26

10,000

12,321.09

12,000

13,871.09

12,000

16,673.64

14,000

12,959.92

14,000

14.400.50

16,000

13,482.52

18,000

16,000

12,444.51

18,000

12,950.32

15,981.26

12,034.78

16,673.64

กำ�ไรขั้นต้นจากการขาย

2,022.17

รายได้จากการขาย

4,002.90

รายได้รวม

500

2554 2555 2556 2557 2558

0

2554 2555 2556 2557 2558


61

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

สำ�หรับการบริหารจัดการด้านการเงินเพื่อความยั่งยืน บริษัทได้ ดำ�เนินการบริหารการเงินอย่างจริงจัง ทัง้ เรือ่ งความโปร่งใส ตรวจสอบได้ การรายงานและเปิดเผยงบการเงินต่อสาธารณะอย่างต่อเนื่องก่อน รอบเวลาทีก่ �ำ หนดในฐานะทีเ่ ป็นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ และได้กำ�หนดกรอบของการบริหารจัดการทางการเงินที่ให้ความ สำ�คัญกับวินัยทางการเงิน โดยมีตัวชี้วัดหรือ Indicator เพื่อให้ ทราบสถานะและติดตามผลการดำ�เนินงานของบริษัท ทั้งยังเป็น เครื่องมือเพือ่ ควบคุมการดำ�เนินกิจการให้เป็นไปตามความเหมาะสม บริหารความเสี่ยงทางการเงิน เพื่อการเติบโตอย่างต่อเนื่องและ มั่นคง และสร้างผลกำ�ไรจากระบบงานที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งตัวชี้วัด ที่บริษัทได้ก�ำ หนดเป็นตัวหลักนั้น ได้แก่

• ตัวชี้วัดที่บริษัทกำ�หนด (Indicators) 1. อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity Ratio)

บริษัทได้กำ�หนดอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ในอัตรา 1 ต่อ 1 ถือเป็นเพดานในการบริหารการเติบโตและการดำ�เนินงาน ของบริษัท การเติบโตจะเกิดจากการกู้ในปริมาณที่สามารถชำ�ระ ดอกเบี้ยและเงินต้นคืนได้ แม้จะอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ซึ่งจากนโยบายและการปฏิบัติในข้อนี้ อาจทำ�ให้บริษทั ดูเติบโตอย่าง ไม่หวือหวา แต่กเ็ ป็นข้อบ่งชีท้ ส่ี ร้างความมัน่ ใจให้แก่ผมู้ สี ว่ นได้เสียถึง ความยัง่ ยืนและมัน่ คงของกิจการได้ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้น เป้าปี 2558 1:1

คือ สัดส่วนของกำ�ไรขั้นต้นกับยอดขายสุทธิของกิจการ อันเป็น ตัวบ่งชี้ถึงประสิทธิภาพของการประกอบกิจการในด้านการสร้าง ผลกำ�ไรและการบริหารต้นทุน โดยกิจการทีม่ อี ตั รากำ�ไรขัน้ ต้นทีด่ จี ะ แสดงถึงความสามารถในการสร้างยอดขายทีม่ ากทีส่ ดุ เมือ่ เทียบกับ ต้นทุนที่ใช้ไปในการขาย อย่างไรก็ตาม อัตรากำ�ไรขั้นต้นไม่ควร สูงจนเกินไป เพราะอาจหมายถึงการเอาเปรียบลูกค้า พนักงาน คู่ค้า รวมถึงการไม่รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ซึ่งขัด ต่อนโยบายการสร้างสมดุลของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มที่บริษัทได้ กำ�หนดไว้ บริษทั ได้ก�ำ หนดกรอบและเป้าหมายของอัตรากำ�ไรขัน้ ต้นทีเ่ หมาะสม ต่อการดำ�เนินงาน โดยมีการเปรียบเทียบกับคูแ่ ข่งในอุตสาหกรรม เพือ่ ใช้เป็นตัววัดประสิทธิภาพของการประกอบกิจการ % กำ�ไรขั้นต้น

คือ อัตราส่วนที่นำ�หนี้สินรวมหารด้วยส่วนของผู้ถือหุ้นหรือ ทุนจดทะเบียน โดยอัตราส่วนนี้จะแสดงถึงโครงสร้างเงินทุนของ กิจการว่า สินทรัพย์ของกิจการมาจากการกูย้ มื หรือมาจากทุน ซึง่ หากอัตราส่วนนีอ้ ยู่ในเกณฑ์ทส่ี งู ย่อมแสดงถึงความเสีย่ งที่กิจการจะ ไม่สามารถชำ�ระดอกเบี้ยได้ตามกำ�หนด เนื่องจากหนี้สินที่มากจะ ทำ�ให้กิจการมีภาระผูกพันที่ต้องชำ�ระดอกเบี้ยทุกงวด ไม่ว่าจะอยู่ ในสภาวการณ์กำ�ไรหรือขาดทุน แต่หากอัตราส่วนนี้อยู่ในเกณฑ์ ที่ต่ำ�ก็จะแสดงให้เห็นถึงการใช้ส่วนของผู้ถือหุ้นหรือทุนในการ ลงทุน ซึ่งจะส่งผลดีต่อการเติบโตและการแข่งขันในอุตสาหกรรม

ผลปี 2557 0.9 : 1

2. กำ�ไรขั้นต้น (Gross Profit Margin)

ผลปี 2558 0.7 : 1

ผลปี 2557 32.5 %

เป้าปี 2558 +- 30 %

ผลปี 2558 31.1 %

3. กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น (Earning per Share)

คือ สัดส่วนของกำ�ไรสุทธิจากผลการดำ�เนินงานของบริษทั ในแต่ละปี เพือ่ ที่จะนำ�ไปจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น ซึ่งจะแสดงถึงผลกำ�ไร ที่เกิดขึ้นกับการลงทุนในบริษัท โดยบริษัทจะนำ�เสนอต่อที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีเพื่อขออนุมัติการจ่ายเงินปันผลต่อไป โดย ดัชนีวัดในเรื่องนี้แสดงถึงประสิทธิภาพการดำ�เนินงานของบริษัท อย่างแท้จริง บริษัทได้กำ�หนดเป้าหมายของกำ�ไรสุทธิต่อหุ้นและการปันผล ในจำ�นวนและอัตราส่วนที่เหมาะสมแก่ผู้ถือหุ้น เพื่อการลงทุนและ ขยายตัวของธุรกิจอย่างต่อเนือ่ ง สามารถแข่งขันในอุตสาหกรรมได้ ทั้งยังสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ถือหุ้นถึงการสร้างผลตอบแทนที่ดี อย่างต่อเนื่อง เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนสืบไป % กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น ผลปี 2557 58.4 %

เป้าปี 2558 ≥ 50 %

ผลปี 2558 55.0 %


62

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

Scoop

G3

แผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ Business Continuity Plan

ในปี 2558 บริษทั ได้เปิดเผยแผนบริหารความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ (Business Continuity Plan - BCP) และนโยบายภาษีเพิม่ เติม เพือ่ สือ่ สารแนวทางการบริหารจัดการทางการเงินและสร้างความเชือ่ มัน่ แก่ผถู้ อื หุน้ ถึงการดำ�เนินงานตามนโยบายการกำ�หนดผล ตอบแทนทีเ่ หมาะสม การบริหารความเสีย่ งทางการเงิน เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและมุ่งสู่การเติบโตอย่างยั่งยืนที่แท้จริง

• แผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Plan - BCP) ด้วยเพราะไม่สามารถที่จะคาดการณ์ล่วงหน้าได้ว่าจะเผชิญความ เสีย่ งใดในอนาคต ในการบริหารจัดการธุรกิจนัน้ ต้องมีความพร้อม และต้องปรับตัวรองรับสถานการณ์ โดยบริษัทได้มีการเตรียมแผน บริหารความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ (Business Continuity Plan - BCP) โดยมีการวางแผนเป็นขั้นตอนและแบ่งเป็นระดับตามความรุนแรง ของสถานการณ์ ซึ่งเมื่อปี 2557 เนื่องจากภาวะทางการเมืองที่ยัง ไม่ชัดเจน และปัญหาเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค บริษัทได้ประเมิน ความเสีย่ งทางการเงินไว้ในระดับปานกลาง และได้มกี ารลดค่าใช้จา่ ย และสำ�รองเงินสดไว้จ�ำ นวน 1,000 ล้านบาท เพื่อมิให้กระทบกับ การดำ�เนินงานและแผนธุรกิจหากเกิดสถานการณ์ที่ ไม่คาดคิด และสามารถสร้างความต่อเนื่องได้ในภาวะวิกฤติ อย่างไรก็ตาม ในปี 2558 บริษัทได้เฝ้าระวังและลดระดับความเสี่ยงทางการเงิน และปรับแผนสำ�รองเงินสดเหลือ 800 ล้านบาท และ 500 ล้านบาท ตามลำ�ดับ โดยพิจารณาสถานการณ์และปัจจัยต่างๆ ตั้งอยู่บน พื้นฐานทางเศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอกองค์กรอย่างใกล้ชิด


63

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

AX

นโยบายภาษี Tax Policy

เนื่องจากบริษัทมีเป้าหมายในการดำ�เนินธุรกิจให้เติบโตพร้อม สร้างผลกำ�ไรอย่างต่อเนือ่ งและพอประมาณ ดังนัน้ บริษทั จึงต้องมี การบริหาร และการวางแผนภาษีอากรให้ถูกต้อง และสอดคล้อง กับกฎหมายภาษีอากรและมาตรฐานการบัญชี ทั้งนี้ เพื่อให้เกิด ผลประโยชน์ สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์กร คู่ค้า และผู้ถือหุ้นใน ด้านต้นทุนและกระแสเงินสด บริษทั ได้ก�ำ หนดแนวทางการบริหาร และการวางแผนภาษีอากรตาม รายละเอียดดังนี้ 1. เนื่ อ งจากความแตกต่ า งระหว่ า งการบั น ทึ ก บั ญ ชี ต าม มาตรฐานการบัญชีกบั ภาษีอากร ดังนัน้ จะทำ�การตรวจทาน และรายงานให้ครบถ้วนตามหลักการ ซึ่งได้มีรายละเอียด อยู่ในหมายเหตุงบการเงินทุกครั้ง เพื่อเป็นประโยชน์กับ นักลงทุน และสอบทานได้เมือ่ กรมสรรพากรเรียกตรวจ 2. มีการชำ�ระภาษีอากร และขอคืนตามสิทธิทข่ี อคืนได้ให้ตรง ตามเวลา เพื่อผลประโยชน์ที่ควรจะได้ให้กับองค์กร และ เพือ่ ความโปร่งใส 3. มีการวิเคราะห์พิจารณาทำ�ธุรกรรมต่างๆ ของบริษัท เพือ่ ป้องกันไม่ให้มผี ลกระทบกับทางภาษีอากร 4. มีการเข้าร่วมอบรม สัมมนา ติดตามข่าวสารและการ เปลี่ยนแปลงกฎระเบียบใหม่ๆ ไม่ว่าจะเป็นมาตรฐาน การบัญชี ข้อกฎหมายต่างๆ ทัง้ ของสภาวิชาชีพบัญชี ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรมสรรพากร และ องค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมตัวรับกับกฎระเบียบ ที่เปลี่ยนแปลง

• การเปิดเผยนโยบายให้ผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทได้มีการเปิดเผยนโยบายภาษีอากรในหมายเหตุประกอบ งบการเงินพร้อมทั้งคำ�อธิบาย และการวิเคราะห์ความเสี่ยง เพื่อให้ ความเชื่อมั่นว่าการบันทึกรายการในงบการเงินถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ตรวจสอบได้ ทั้งทางด้านบัญชีและภาษีอากรที่เกีย่ วข้อง รวมถึ ง ภาระผู ก พั น ทางภาษี อ ากรที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ในภายหน้ า กรณีที่มีข้อพิพาททางกฎหมายกับหน่วยงานราชการ

• การประเมินความเสี่ยงด้านต่างๆ ที่อาจ มีผลต่อภาษีอากร บริษทั มีการประเมินความเสีย่ งทางด้านภาษีอากรดังนี ้ 1. ทำ�ข้อหารือถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับทางด้านภาษีอากร เพื่อขอความชัดเจน และเป็นแนวทางในการดำ�เนินงาน และปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบได้ถกู ต้อง 2. มีการวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น จากดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่กรมสรรพากร เพื่อป้องกัน ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต สำ�หรับรายละเอียดการดำ�เนินงานด้านภาษีเพิ่มเติม สามารถอ่าน ได้ทห่ี มายเหตุประกอบงบการเงิน ในรายงานประจำ�ปี 2558


64

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

G4

Marketing Management การตลาดที่เป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง GREEN Marketing Management คือ การตลาด ที่เป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง บริษัทกำ�หนดกลยุทธ์ การตลาดให้สอดคล้องกับปณิธานในการสร้างบ้านหลังแรก ที่มีคุณภาพในราคาที่สามารถเป็นเจ้าของได้ ให้กับกลุ่ม เป้าหมายระดับกลางถึงกลาง-ล่าง เพื่อสร้างคุณภาพชีวิต และสังคมที่ดี ด้วยความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ตั้งแต่ก่อน และหลังการส่งมอบ และดำ�เนินนโยบายการตลาด ที่เป็นธรรม เคารพสิทธิของผู้บริโภครวมทั้งปฏิบัติต่อ คู่แข่งอย่างเป็นธรรม ไม่โจมตี โดยแบ่งตามกลยุทธ์ ทางการตลาด 6 ประการ (6Ps) อันได้แก่ 1. กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) 2. กลยุทธ์ด้านราคา (Price) 3. กลยุทธ์ด้านช่องทางจัดจำ�หน่าย (Place) 4. กลยุทธ์ด้านกิจกรรมส่งเสริม การขาย (Promotion) 5. กลยุทธ์ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้อง (People) 6. กลยุทธ์ด้านขั้นตอนและกระบวนการ (Process)


65

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

MARKETING MANAGEMENT

1. กลยุทธ์ดา้ นผลิตภัณฑ์ (Product)

ส่งมอบคุณค่าผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่นแตกต่าง จากคูแ่ ข่ง ทั้งห้องชุดและพื้นที่ส่วนกลาง โดยพั ฒ นารู ป แบบจากองค์ ค วามรู้ แ ละ ประสบการณ์ ในการพัฒนาโครงการและการ บริหารจัดการชุมชนตามแนวทาง “ชุมชน น่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย” เพื่อตอบสนองกับ วิถชี วี ติ ของผูอ้ ยูอ่ าศัย รวมทัง้ ควบคุมมาตรฐาน การก่อสร้างและการเลือกใช้วัสดุ เพื่อให้ได้ ผลิตภัณฑ์ห้องชุดที่เหมาะกับการใช้ชีวิต 2. กลยุทธ์ด้านราคา (Price)

ตั้งราคาผลิตภัณฑ์ตํ่ากว่าของคู่แข่งในระดับ เดียวกัน ด้วยการบริหารต้นทุน ค่าใช้จ่ายใน ทุกกระบวนการผลิต เพื่อให้ลูกค้าสามารถ เป็นเจ้าของได้ โดยกำ�หนดอัตรากำ�ไรและ วางเงื่อนไขการผ่อนดาวน์ที่เหมาะสมตาม สถานะกลุ่มเป้าหมาย พร้อมทั้งการจัดหา บริการทางการเงิน เพื่อช่วยเหลือให้ลูกค้ามี ความสะดวกในการยื่นขอสินเชื่อและสร้าง โอกาสในการมีที่อยู่อาศัยได้ง่ายขึ้น 3. กลยุทธ์ด้านช่องทาง การจัดจำ�หน่าย (Place)

ทำ�เลที่ตั้งของสำ�นักงานขายต้องตั้งอยู่หรือ อยู่ใกล้กับพื้นที่ที่จะพัฒนาโครงการ เพื่อ ความสะดวกในการเดินทางและเข้าถึงข้อมูล โครงการ รวมถึงต้องสามารถให้รายละเอียด การขายทีช่ ดั เจน ไม่มวี าระซ่อนเร้น เข้าใจง่าย ในโครงการต่างจังหวัดบางโครงการอาจมี ห้อ งตัวอย่า งให้ช มในสำ �นักงานขายกลาง ย่านธุรกิจใจกลางเมือง เพื่อความสะดวกใน การเดินทางแก่ลูกค้าที่สนใจ

4. กลยุทธ์ด้านกิจกรรมส่งเสริม การขาย (Promotion)

ทำ � การส่ ง เสริ ม การขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ กั บ ผู้บริโภคด้วยความโปร่งใส โดยคำ�นึงถึง ผลประโยชน์ของทั้ง 2 ฝ่าย มีเงื่อนไขการ ขายที่คำ�นึงถึงความสามารถด้านการเงิน ของลูกค้า โฆษณาประชาสัมพันธ์ในทาง สร้างสรรค์ ชัดเจน ไม่เอารัดเอาเปรียบ และ ไม่มวี าระซ่อนเร้น รวมทัง้ การปฏิบตั ติ อ่ คูแ่ ข่ง ทางธุรกิจอย่างเป็นธรรม ไม่โจมตี หรือ เอาเปรียบในการแข่งขัน 5. กลยุทธ์ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้อง (People)

ให้ความสำ�คัญกับความพึงพอใจของลูกค้า โดยมีการกำ�หนดมาตรฐานและอบรมในเรือ่ ง ของการบริการแก่จุดสัมผัส (Touch Point) เช่น พนักงานขาย แม่บ้าน รปภ. ตาม LPN Services Culture (S-E-R-V-I-C-E-S) อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้างประสบการณ์เชิงบวก รวมทั้ ง มี ช่ อ งทางในการรั บ ข้ อ เสนอแนะ และเรือ่ งร้องเรียน เพือ่ นำ�มาปรับปรุงการให้ บริการ 6. กลยุทธ์ด้านขั้นตอน และกระบวนการ (Process)

คำ�นึงถึงความสะดวกสบายของลูกค้าเป็น สำ�คัญ ขัน้ ตอนการจองและทำ�สัญญาจะต้อง รวดเร็ว ไม่ซับซ้อน วิธีและช่องทางการ ชำ�ระเงินทีส่ ะดวก ทำ�ได้หลายช่องทาง การยึด และคืนเงินมัดจำ� ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ และคำ � นึ ง ถึ ง ปั ญ หาและความจำ �เป็ น ของ ลูกค้าเป็นหลัก


66

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

GREEN Marketing Management

G4

ผลการดำ�เนินงานด้านการตลาดที่เป็นธรรม กับผู้บริโภคและคู่แข่ง

ทีผ่ า่ นมาบริษัทให้ความสำ�คัญกับการตลาดที่เป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง ในปีนี้บริษัทมุ่งเน้นการดูแลลูกค้าผ่านการพัฒนาการให้บริการ และสร้างความพึงพอใจ เพื่อเพิ่มความภักดี (Brand Loyalty) ของลูกค้าที่มีต่อองค์กร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเป้าหมายด้านการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนขององค์กร การบริหารประสบการณ์ลูกค้าจึงถูกกำ�หนดให้เป็นกลยุทธ์หลักในดำ�เนินงานขององค์กร ผ่านการดูแลลูกค้าที่ครอบคลุม ตั้งแต่เริ่มสนใจในผลิตภัณฑ์ ซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อพักอาศัย ซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อการลงทุน และสุดท้ายคือ ผู้ที่เช่าพักอาศัย ซึ่งทุกกลุ่มล้วนถือ เป็น “ลูกค้า” ที่บริษัทต้องให้การดูแลทั้งสิ้น ขอบเขตของการดูแลลูกค้าของบริษัทแบ่งเป็น 2 ระยะ ได้แก่ การดูแลลูกค้าก่อนการส่งมอบ ตั้งแต่สนใจชมโครงการ จองและทำ�สัญญา ผ่อนชำ�ระเงินดาวน์ จนถึงการส่งมอบผลิตภัณฑ์ และการดูแลลูกค้าหลังส่งมอบ เริ่มตั้งแต่ลูกค้า รับมอบผลิตภัณฑ์และเข้าอยู่อาศัย ภายใต้การบริหารชุมชน ตามแนวคิด “ชุมชนน่าอยู่”

• แนวทางบริการประสบการณ์ลูกค้า แนวทางการบริหารประสบการณ์ลกู ค้า (Customer Experience Management) มีขอบเขตความรับผิดชอบในการออกแบบการให้บริการลูกค้า ผ่านจุดสัมผัส (Touch Point) ทุกจุดทีพ่ บปะลูกค้าโดยตรง ทัง้ ทีเ่ ป็นคน (Human-Touch Point) และที่ไม่ใช่คน (Non-Human Touch Point) เพือ่ สร้างประสบการณ์ทด่ี แี ละสร้างความพึงพอใจ รวมทัง้ การนำ�ข้อมูลมาปรับปรุงแก้ไขและกำ�หนดมาตรฐาน เพือ่ ให้แน่ใจได้วา่ ลูกค้าจะได้รบั ประสบการณ์ทด่ี จี ากทุกจุดสัมผัส

35. พนักงานขับรถตู 34. แจวคอนโด 33. เจาหนาที่ธุรกิจนายหนา 32. เจาหนาที่ซอมหลังโอน 31. รปภ.สัมพันธ 30. แมบานนิติฯ 29. รปภ. นิติฯ 28. ชางอาคาร 27. เจาหนาที่ธุรการนิติฯ 26. ผูจัดการชุมชน 25. หองชุด 24. ทรัพยสวนกลาง 23. สิ�งอำนวยความสะดวก

1. ที่จอดรถ 2. สำนักงานขาย 3. www.lpn.co.th 4. หองตัวอยาง 5. กิจกรรมงานขาย 6. Call Center ลูกคาผูสนใจโครงการ (Prospect) 7. เจาหนาที่ขาย 8. แมบานสำนักงานขาย 9. รปภ. สำนักงานขาย

Touchpoint Wheel เจาของรวม/ผูอยูอาศัย (Resident/Co-owner)

22. เจาหนาที่ธนาคาร 21. เจาหนาที่ปยมิตร 20. เจาหนาที่กอสราง 19. เจาหนาที่บร�หารประสบการณลูกคา 18. เจาหนาที่ LPN

10. กิจกรรมงานรับมอบหองชุด

ลูกคาผอนดาวน (Customer)

11. สำนักงานโอนฯ 12. สำนักงาน นิติฯ 13. LPN Payment Card 14. ระบบติดตามคางวด 15. Mobile App.

16. เจาหนาที่โอนฯ 17. เจาหนาที่การเง�น


67

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

นอกเหนือจากการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าแล้ว บริษัทยังมีกระบวนการในการรักษาลูกค้า (Customer Retention) ผ่านช่องทางการ รับเรือ่ งร้องเรียน ซึง่ ถือเป็นโอกาสของบริษทั ทีจ่ ะรับทราบข้อบกพร่องทีเ่ กิดขึน้ ในการใช้ผลิตภัณฑ์และบริการของลูกค้า ดำ�เนินการแก้ไขปรับปรุง โดยการนำ�เรือ่ งที่ได้รบั การร้องเรียนเข้าสู่ กระบวนการบริหารจัดการเรือ่ งร้องเรียน (Complaint Management Process) เพือ่ บรรเทาความเดือด ร้อนของลูกค้า และป้องกันไม่ให้ปญั หาลุกลาม เนือ่ งจากสือ่ สังคมออนไลน์สามารถทำ�ให้ขอ้ มูลแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว จึงอาจทำ�ให้ปัญหา เล็กน้อยอาจลุกลามกลายเป็นปัญหาใหญ่โตได้ ดังนั้น ความรวดเร็วของการแก้ไขปัญหาจึงเป็นสิ่งที่พนักงานทุกคนยึดถือและปฏิบัติด้วยดี ตลอดมา โดยปัจจุบันบริษัทมีช่องทางการรับเรื่องร้องเรียนผ่าน 3 ช่องทางคือ LPN Care (Mobile App), Website และ Call Center ซึ่ง ภายหลังจากได้รับเรื่องร้องเรียนมาแล้ว จะมีกระบวนการในการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียน เพื่อให้สามารถดำ�เนินการแก้ไขข้อร้องเรียน ให้ได้ภายใน 3 วัน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความเร่งด่วนของปัญหา และแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยมีกระบวนการในการจัดการกับเรื่องร้องเรียน 8 ขั้นตอน รวมทั้งได้เก็บรวบรวมวิธีการในการแก้ไขปัญหาไว้ในรูปแบบของการบริหารจัดการความรู้ (KM : Knowledge Management) ขององค์กร เพื่อเป็นองค์ความรู้ในด้านงานบริการให้กับพนักงานในองค์กรต่อไป ซึ่งกระบวนการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนของบริษัท มีดังนี้

• กระบวนการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียน กระบวนการ

ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

1. รับเรือ่ งร้องเรียนจากช่องทางต่างๆ - LPN Care, Website, Call Center - สายตรงถึงพนักงาน - เว็บไซต์ภายนอก เช่น pantip.com - ผูบ้ ริหาร

4. ดำ�เนินการ แก้ไข และบันทึก ผลการแก้ไขในระบบและโทรแจ้ง แนวทางการแก้ปญั หากับลูกค้า 5. ฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องรายงานผลการแก้ไข กับฝ่ายบริหารประสบการณ์ลกู ค้า และผูบ้ ริหาร 6. ติดต่อลูกค้าเพือ่ สอบถามผลการแก้ไขปัญหา 7. สรุปรายงานประจำ�เดือนส่งผูบ้ ริหาร และฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง 8. จัดเก็บรายงาน พร้อมนำ�กรณีทน่ี า่ สนใจ แบ่งปันและศึกษา เพือ่ เป็นองค์ความรู้ (Knowledge Sharing)

ลูกค้า/ ผู้อยู่อาศัย

ผู้บริหาร

เริ่มต้น รับเรื่องร้องเรียน

2. ส่งต่อเรือ่ งร้องเรียนหรือโทรแจ้งฝ่าย ทีเ่ กีย่ วข้องภายใน 1 วัน และบันทึก ในระบบร้องเรียน 3. ฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องรับเรือ่ งร้องเรียน เพือ่ ติดต่อลูกค้าภายใน 1 วัน หลังจากรับเรือ่ งร้องเรียน

ฝ่ายบริหาร ประสบการณ์ ลูกค้า (CEM)

สำ�เนารายงาน เรื่องร้องเรียน

รายงานเรื่องร้องเรียน และบันทึกในระบบ รับรายงาน เรื่องร้องเรียน

สอบถาม ปัญหา

ดำ�เนินการแก้ไข

อธิบายการ แก้ปัญหา

รายงานผลการแก้ไข

รายงานผลการแก้ไข สอบถามผล การแก้ไขปัญหา รายงานเรือ่ งร้องเรียน จัดเก็บรายงาน

จบการทำ�งาน


68

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

การสำ�รวจงานบริการโดยลูกค้าสมมุติ

นอกจากการออกแบบงานบริการในทุกจุดสัมผัสเพื่อให้เป็นไป ตามมาตรฐานแล้ว บริษัทยังเพิ่มการตรวจสอบการทำ�งานของ พนักงานผ่านการสำ�รวจงานบริการโดยลูกค้าสมมุติ ซึง่ เข้าไปสำ�รวจ และประเมินผลการให้บริการ โดยจะนำ�จุดบกพร่องมาปรับปรุง การบริการและกำ�หนดเป็นมาตรฐาน เพื่อพัฒนาการบริการและ สร้างประสบการณ์ที่ดีกับลูกค้าและผู้อยู่อาศัย ซึ่งการสำ�รวจจะแบ่ง ออกเป็น 2 หัวข้อ ดังนี้

1. บุคลากร (การแต่งกาย การต้อนรับ การตอบสนอง การให้ ข้อมูล-ความรู้ บุคลิกภาพ และการติดตามผล) 2. สถานที่ (ความสะอาด ความสะดวกสบาย สภาพแวดล้อม และสถานที่ตั้ง)

• ขอบเขตการสำ�รวจงานบริการ

ขอบเขตการสำรวจงานบร�การ ตอนรับ

ที่ตั้ง แตงกาย

ติดตามผล

หองตัวอยาง และสิ�งอำนวย ความสะดวก

ความรู ความสามารถ

ที่จอดรถ และปายตางๆ

ปฏิบัติตอ ลูกคา บุคลิกภาพ

สภาพแวดลอม โดยรอบ

ความสะอาด

การบริหารลูกค้าบนสังคมออนไลน์ (Social Monitor)

จากพฤติกรรมการรับข่าวสารในปัจจุบันที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะบนสั ง คมออนไลน์ที่มีการสื่อ สารทั้งในเชิงบวกและ เชิงลบ รวมทั้งผู้ที่มีอิทธิพลบนสังคมออนไลน์ (Influencer) ที่ เป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน และมีผู้ติดตามรับ ข้อมูลข่าวสารอยู่เป็นจำ�นวนมาก ซึ่งการแสดงความคิดเห็นอาจ มีผลกระทบต่อองค์กร บริษัทเห็นความสำ�คัญของการสื่อสาร ออนไลน์จึงเพิ่มช่องทางสื่อสาร ได้แก่ Facebook และ Line ที่ได้ รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน นอกจากนั้น บริษัทได้เพิ่มการ ติ ด ตามข้ อ ร้ อ งเรี ยนและข้อ เสนอแนะจากลูกค้า และประชาชน ทั่วไปที่กล่าวถึงแบรนด์ ผลิตภัณฑ์และบริการของบริษัทบนสังคม ออนไลน์ รวมทั้งความเคลื่อนไหวต่างๆ ของชุมชน เพื่อสื่อสาร และรับฟังความคิดเห็นจากลูกค้า พร้อมนำ�ข้อมูลมาพัฒนาปรับปรุง และแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ช่องทาง Facebook ช่องทางใหม่ที่บริษัทนำ�มาสื่อสาร กับลูกค้า เพื่อเข้าถึง และรับฟังความเห็นจากลูกค้ามากขึ้น


69

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

• สรุปข้อร้องเรียนปี 2558 ในปี 2558 บริษัทไม่ได้รับข้อร้องเรียนจากลูกค้า ผู้อยู่อาศัย และผู้เกี่ยวข้องในประเด็นที่รุนแรง อย่างไรก็ตาม บริษัทได้รวบรวมและ จัดกลุ่มข้อร้องเรียนต่างๆ เพื่อใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงการดำ�เนินงานของบริษัท โดยเฉพาะกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการส่งมอบ คุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการ ทั้งนี้ บริษัทได้แบ่งกลุ่มข้อร้องเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 คุณค่าผลิตภัณฑ์ (Product Value)

กลุ่มที่ 2 คุณค่าบริการ (Service Value)

มี 2 หมวดย่อย 1. เรื่องร้องเรียนจากผลิตภัณฑ์ เช่น การเก็บงานห้องชุดไม่ เรียบร้อย นํ้ารั่ว วัสดุหรืออุปกรณ์ชำ�รุด 2. เรื่องร้องเรียนจากบ้านข้างเคียง เช่น ปัญหาเรื่องเสียงหรือ ฝุ่นที่ได้รับการร้องเรียนจากผู้ที่อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้ๆ กับ โครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง

มี 2 หมวดย่อย 1. เรื่องร้องเรียนจากการบริหารชุมชนภายใต้กลยุทธ์ F-B-L-E-S 2. เรื่องร้องเรียนจากการบริการ เช่น กิริยามารยาทของ พนักงาน คุณภาพของงานบริการ

ปริมาณการติดต่อทั้งหมด จำ�นวนเรื่องในระบบ 1,201 เรื่อง

67%

24%

เร�่องรองเร�ยน (806 เร�่อง)

ขอเสนอแนะ (284 เร�่อง)

9% 100 80 60 40 20 0

67

56 34

ม.ค.

38

45

41

82

74 51

51

86

81 51

87

41

78 39

18

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ชมเชย (111 เร�่อง)

ก.ย.

54 51 59 36

ต.ค.

ร้องเรียนปี 2557 * ปริมาณเรือ่ งร้องเรียนเฉลีย่ 68 เรือ่ งต่อเดือน

พ.ย.

55 37

ธ.ค. ร้องเรียนปี 2558


70

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

ช่องทางการติดต่อ

33% Call Center (391 เร�่อง)

45%

LPN CARE 544 (544 เร�่อง)

ตารางแสดงช่องทางการติดต่อ

ชองทาง การติดตอ

ช่องทาง

ร้องเรียน

เสนอแนะ

ชมเชย

LPN Care (Mobile App) Call Center Website

352 253 201

192 38 54

100 11

22% Website (266 เร�่อง)

เรื่องร้องเรียน แบ่งเป็น 4 หมวดหมู่ จำ�นวนเรื่องร้องเรียน จำ�นวน 806 เรื่อง

1%

5%

Environment (In/Out/As Process) 7 เร�่อง

47%

People (S-E-R-V-I-C-E-S) 381 เร�่อง

Product Value (Q-C-S-E-S) 38 เร�่อง

เร�่องรองเร�ยน จำนวน 806 เร�่อง

47% Service Value (F-B-L-E-S) 380 เร�่อง

ในปี 2558 มีจำ�นวนข้อร้องเรียนจากลูกค้าทั้งสิ้น 806 เรื่อง เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 304 เรื่อง คิดเป็น 60% และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นในอนาคต จากช่องทางสื่อสารที่สะดวก รวดเร็ว และเพิ่ม มากขึ้น หากเปรียบเทียบข้อร้องเรียนกับจำ�นวนลูกค้าปัจจุบันของบริษัท คิดเป็น 0.008% ซึง่ เป็นอัตราส่วนทีค่ อ่ นข้างน้อย แต่บริษทั ยังคงให้ความสำ�คัญกับการบริหารจัดการข้อร้องเรียน เพื่อสร้างความพึงพอใจและสร้างประสบการณ์ที่ดี ในส่วนของข้อร้องเรียนด้านการบริการ จากจุดสัมผัส (Touch Point) สูงขึน้ กว่าปี 2557 ถึง 78% เนือ่ งจากความล่าช้าในการแก้ปญั หา กริยามารยาท และความอดทนอดกลั้น ข้อร้องเรียนจากการบริหารจัดการ ตามกลยุทธ์ F-B-L-E-S มีจ�ำ นวนเพิ่มขึ้น 59% จากข้อร้องเรียนด้าน L (คุณภาพชีวิต) เช่น บุหรี่และ เสียงรบกวน


71

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

Product Defect จำ�นวน 38 เรื่อง

Product Value

ผลิตภัณฑ์ (Q-C-S-E-S)

94% Q

C

S

E

Quality

Cost

Speed

Environmental

36 เรื่อง

0 เรื่อง

0 เรื่อง

0 เรื่อง

2% S

Safety 2 เรื่อง

FBLES จำ�นวน 380 เรื่อง

Service Value

งานบริหารจัดการ (F-B-L-E-S)

34% F Facility 131 เรื่อง

1% 61% 1% L E B Life Budget Quality

5 เรื่อง

231 เรื่อง

Environmental

2 เรื่อง

11% S Security 11 เรื่อง

SERVICES จำ�นวน 381 เรื่อง

13% 13% People Value S E งานบริการ (S-E-R-V-I-C-E-S) Smile Eager 50 เรื่อง

2% V

Variety 6 เรื่อง

51 เรื่อง

8% R

Ready 29 เรื่อง

29% 26% C I Continuity Interest 110 เรื่อง

101 เรื่อง

4% 5% S E Endurance

Sincerity

16 เรื่อง

18 เรื่อง

ผลกระทบ จำ�นวน 7 เรื่อง

100% 0% Environment บ้านข้างเคียง (G4-EN34)

IN

OUT

0% AS

PROCESS

PROCESS

PROCESS

7 เรื่อง

0 เรื่อง

0 เรื่อง


72

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

• แนวทางบริหารข้อร้องเรียน 1. เพิม่ ความรวดเร็วในการตอบสนองข้อร้องเรียน จากเดิมภายใน 12 ชม. เหลือเพียง 8 ชม เพื่อให้ทันกับความต้องการของ ลูกค้า และกำ�หนดระยะเวลาแก้ไขข้อร้องเรียนในแต่ละเรื่อง ตามประเภทของข้อร้องเรียน (ภายใน 3, 5, 7 วัน) 2. พัฒนามาตรฐานการให้บริการโดยการจัดฝึกอบรมด้านการ รับมือกับปัญหาของลูกค้า ในส่วนงานที่ต้องพบปะลูกค้าเป็น ประจำ�

3. สุม่ ตรวจสอบการให้บริการผ่านลูกค้าสมมุติ เพือ่ หาจุดบกพร่อง และปรับปรุงแก้ไข ซึ่งการตรวจนั้นจะทำ�ผ่านบุคคลที่สาม ซึ่งไม่มีส่วนได้เสียกับผลสำ�รวจที่เกิดขึ้น 4. บริหารข้อร้องเรียนตามระดับความรุนแรงและผลกระทบต่อ ลูกค้า

การบริหารจัดการตามความรุนแรงของปัญหาและผลกระทบต่อลูกค้า ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คือ

กลุ่มที่ 1

กลุ่มที่ 2

กลุ่มที่ 3

กลุ่มที่ 4

ประเภท ข้อร้องเรียน

ข้อร้องเรียนที่รุนแรงมาก และมีความถี่สูง มีผลกระทบต่อบริษัท ในเวลาอันรวดเร็ว

ข้อร้องเรียนที่ รุนแรงมาก ลูกค้า ไม่พอใจถึงขั้นอาจเลิกใช้ บริการ เช่น แก้ไข ห้องชุดไม่เรียบร้อย

ข้อร้องเรียนทีม่ คี วามถีส่ งู ข้อร้องเรียนทั่วไป ก่อให้ เกิดความรำ�คาญ เช่น แต่ยังไม่ถึงขั้นเลิกใช้ บริการ เช่น กลิ่นบุหรี่ กฎระเบียบเรื่องที่จอดรถ จากห้องข้างเคียง

แนวทาง บริหารจัดการ

แก้ไขโดยทันที พร้อมทั้ง ติดตามอย่างใกล้ชิด รายงานตรงถึงผู้บริหาร ระดับสูง เพื่อหาแนวทาง และกระบวนการแก้ไข พร้อมป้องกันเหตุการณ์ ดังกล่าวลุกลาม

แก้ไขโดยทันที พร้อมทัง้ ติดตามอย่างใกล้ชิด รายงานตรงถึง ผู้บริหารระดับสูง และฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางแก้ไข และป้องกัน

รายงานผู้จัดการชุมชน เพื่อนำ�ข้อมูลต่างๆ มาหาแนวทางการ ดำ�เนินการแก้ไข พร้อมทั้งประสานงาน ขอโทษและชี้แจงลูกค้า

รายงานผู้จัดการชุมชน เพื่อดำ�เนินการปรับปรุง แก้ไข

การบริหารจัดการข้อร้องเรียนตามกลุ่มปี 2558 ระดับความรุนแรง สูง

5%

กลุ่มที่ 2 จำ�นวน 44 เรื่อง • คนงานแอบใช้พื้นที่บ้านข้างเคียง • แก้ไขซ่อมแซมห้องชุดไม่เรียบร้อย

50%

กลุ่มที่ 4 จำ�นวน 403 เรื่อง • บุหรี่ • ที่จอดรถ • กฏระเบียบการใช้พื้นที่ส่วนกลาง ตํ่า

กลุ่มที่ 1 จำ�นวน 0 เรื่อง

5% 45%

กลุ่มที่ 3 จำ�นวน 359 เรื่อง • ผิดเวลานัด ไม่แจ้งล่วงหน้า • การติดตามงานล่าช้า • ผิดพลาด เลินเล่อ

ระดับความถี่ในการร้องเรียน

สูง


73

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

• การประเมินความพึงพอใจ (G4-PR5) ในปีที่ผ่านมาบริษัทได้ทำ�การวัดความพึงพอใจจากการให้บริการ ทั้งสิ้น 9 กระบวนการ ที่ได้ให้บริการสัมผัสกับลูกค้าโดยตรง เพิ่มจากเดิม 1 กระบวนการ คือ การประเมินการให้บริการ ทำ�ความสะอาดภายในห้องชุดของ “แจ๋ว ชุมชน” ซึ่งโดยภาพรวม ความพึงพอใจจากการให้บริการของบริษัทยังคงสูงขึ้น โดยเฉพาะ ในด้านการขายและบริหารชุมชน ตามแนวทาง “ชุมชนน่าอยู่” กลยุทธ์หลักด้านการบริการที่ได้ทำ�การสำ�รวจในงานประชุมใหญ่ สามัญเจ้าของร่วมประจำ�ปี โดยในปี 2558 คะแนนความพึงพอใจ

จากการให้บริการของบริษัท เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 93 และมีระดับการ เป็นผู้สนับสนุนองค์กร (Net Promoter Score : NPS) วัดจาก 4 ส่วนงาน ได้แก่ งานโอนกรรมสิทธิ์ งานประชุมใหญ่เจ้าของร่วม กรรมการเจ้าของร่วม งานธุรกิจนายหน้า เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 44 ซึ่ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง บทพิ สู จ น์ ความสำ � เร็ จ ที่ ส นั บ สนุ น แนวทางการ ดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อผูบ้ ริโภค อันจะสร้างความเชือ่ มัน่ และเติบโตอย่างยัง่ ยืนให้แก่แบรนด์ “ลุมพิน”ี

สรุปผลความพึงพอใจและคะแนน NPS

คะแนนความพึงพอใจ เปรียบเทียบปี 2557 และปี 2558 ร้องเรียนปี 2557

100 80 60 40 20 0

%

97 97

Call Center

98 97

งานขาย

85 85

งานก่อสร้าง

92 94

งานโอน

92 93

91 91

ประชุมใหญ่ กรรมการ เจ้าของร่วม เจ้าของร่วม

ร้องเรียนปี 2558

91 93

92 92

ซ่อม หลังโอน

ธุรกิจ นายหน้า

94 STD = 85%

แจ๋วชุมชน

สรุปคะแนน NPS (ความภักดี)

60 50 40 30 20 0

ร้องเรียนปี 2557

% 44

44

49

46 45 36 36

32

Call Center

งานขาย

งานก่อสร้าง

งานโอน

ร้องเรียนปี 2558

ประชุมใหญ่ กรรมการ เจ้าของร่วม เจ้าของร่วม

ซ่อม หลังโอน

ธุรกิจ นายหน้า

แจ๋วชุมชน

ทั้งนี้ ในปี 2559 บริษัทมีเป้าหมายในการเพิ่มระดับความพึงพอใจและ NPS ด้วยการปรับเกณฑ์การชี้วัดให้สูงขึ้น เพื่อพัฒนามาตรฐานงาน บริการให้ดียิ่งขึ้นสืบไป


74

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

Scoop

G4

โครงการบ้านสานฝัน Dream House Project

โครงการ “บ้านสานฝัน” เป็นโครงการทีบ่ ริษทั เริม่ ดำ�เนินการขึน้ เมือ่ ปี 2555 เพือ่ ช่วยสานฝันให้ลกู ค้าได้มบี า้ นหลังแรกเป็นของ ตนเอง ตามนโยบายในการดำ�เนินงานของบริษทั ตลอดมา โดยบริษทั จะร่วมหาทางแก้ไขให้ลกู ค้าทีม่ ปี ระวัตกิ ารผ่อนชำ�ระเงินดาวน์ อย่างสม่ำ�เสมอ แต่ได้รับการปฏิเสธการยื่นขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน ซึ่งอาจเกิดจากการที่ลูกค้ามีภาระหนี้สูง เคยมี ประวัติการผ่อนชำ�ระล่าช้า รายได้รวมของผู้กู้หรืออายุงานไม่ผ่านเกณฑ์ของสถาบันการเงิน หรือ ไม่มีเอกสารประกอบการยื่น ขอสินเชือ่ ได้จากการมีอาชีพอิสระ บริษัทจึงได้ดำ�เนินการช่วยเหลือลูกค้ากลุ่มดังกล่าวและริเริ่มโครงการ “บ้านสานฝัน” ขึ้น เพื่อสานต่อความต้องการในการมี บ้านหลังแรก ด้วยการนำ�เครื่องมือทางการเงินเข้ามาบริหารจัดการเครดิตของลูกค้าและหาแนวทางร่วมกันในการสร้าง ความสามารถในการยื่นขอสินเชื่อ เช่น การให้ค�ำ ปรึกษาในการสร้างวินัยทางการเงินของลูกค้า การจัดเตรียมเอกสารให้ ครบถ้วนเพื่อให้ผ่านตามเกณฑ์ของสถาบันการเงิน เป็นต้น และทีส่ �ำ คัญ คือ การเปิดโอกาสให้ลกู ค้าเข้าอยูอ่ าศัยได้เลย ในขณะที่ เข้าร่วมโครงการ “บ้านสานฝัน” ซึ่งเป็นไปตามเจตนารมณ์อันดีของบริษัทในการลดภาระค่าใช้จ่ายและยกระดับคุณภาพ ชีวิตให้แก่ลูกค้า ปัจจุบัน โครงการดังกล่าวดำ�เนินงานมาแล้ว 3 ปี มีห้องชุดที่ลูกค้า ขอเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 419 ยูนิต จาก 20 โครงการ นับเป็น มูลค่าการผ่อนชำ�ระกว่า 201 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ในปี 2558 มีห้องชุดที่ลูกค้าค้างชำ�ระอยู่ประมาณ 6.4% โดยบริษัทตั้งเป้า หมายที่จะบริหารจัดการให้อยู่ในระดับไม่เกิน 5% ในปี 2559 สถานะ

ยูนิต

มูลค่า (ล้านบาท)

คิดเป็นสัดส่วน (%)

โอนแล้ว อยู่ในโครงการ ขอยกเลิกระหว่างสัญญา ค้างชำ�ระและถูกยกเลิก รวม

281 68 43 27

125.50 45.58 18.52 12.64

67.1% 16.2% 10.3% 6.4%

419

202.24

100%

2558

6.4%

2559

5%

คือห้องชุดที่ลูกค้า ค้างชำ�ระในปี 2558

คือเป้าหมายที่บริษัท ตั้งไว้ว่าให้ห้องชุดที่ ลูกค้าค้างชำ�ระ ไม่เกิน 5% ในปี 2559

ลูกคา

4 ขั้นตอนง่ายๆ เพื่อบ้านหลังแรก

LPN ผูมีสวน เกี่ยวของ

APPLICATION ใหขอมูลและเอกสาร การเขารวมโครงการ

PLAN

ปร�กษา พ�ดคุยถึงปญหา และกำหนดแผนปรับปรุง

CONTRACT

เขารวมโครงการ ติดตามผลระหวางสัญญา

FINANCE

ยื่นขอสินเช�่อ และรับโอน เปนเจาของหองชุด และ เปนสมาช�ก “ชุมชนนาอยู”


75

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

คุณจิราธิวัฒน์ บุญเติม พนักงานขับรถโดยสาร บริษัทเอกชน โครงการลุมพินี เมกะซิตี้ บางนา แทนที่จะเสียค่าเช่าไปเรื่อยๆ ก็เปลี่ยนมาผ่อนบ้านของเราเอง ครั้งแรกก็กู้ ไม่ผ่านเพราะรายได้ ไม่ถึงเกณฑ์ เกือบจะถอดใจแล้ว จนมีเจ้าหน้าที่จากโครงการ โทรมาชวน บอกให้เราเข้ามาอยู่เลย เปลี่ยนค่าเช่า มาเป็นค่าผ่อนกับโครงการ แล้วก็ได้ลดเงินต้นลงไปด้วย จนในที่สุดก็ยื่นกู้ ได้ แล้วก็มีบ้านของตัวเองครับ

คุณสีไพล สุวะศรี เจ้าของกิจการร้านเสริมสวยและขายเสื้อผ้า โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุรี-สุขุมวิท มีเพื่อนมาอยู่ที่นี่กันหลายคน ชวนๆ กันมา แต่ตอนนั้นส่วนตัวมีค่าใช้จ่ายเยอะ ทั้งเรื่องการเรียน แล้วยังมีภาระจากบัตรเครดิต ทำ�ให้ดูเหมือนว่ารายได้จากการค้าขายอาจไม่พอกับภาระ ก็เลยทำ�ให้กู้ ไม่ผ่าน พอดีมีทีมของ LPN เข้ามาแนะนำ�ให้เราปรับปรุงเอกสาร ให้โอกาสผ่อน กับโครงการไปอีกระยะหนึ่งก่อน เพื่อใช้เวลา เคลียร์ปัญหาที่มีอยู่ จนถึงปัจจุบันก็ยื่นกู้ ได้ค่ะ

คุณไอยเรศ พันธ์ดี และ คุณสุภชั ชา สำ�ราญจิตต์ อาชีพขายอาหารตอนกลางคืน โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ ชลบุรี-สุขุมวิท ที่เลือกโครงการนี้ เพราะอยู่ในราคาที่คนค้าขาย อย่างเราสามารถซื้อได้ ตั้งแต่จองซื้อก็พยายาม เดินบัญชีอยู่ตลอด จนช่วงที่มีประกาศเคอร์ฟิว ทำ�ให้รายได้ตก บัญชีไม่สวย แบงค์ก็เลยไม่ให้ผ่าน ตอนนั้นมีเจ้าหน้าที่โทรมานัด เข้าไปคุยกันไม่ถึง 10 นาที สุดท้ายก็ให้โอกาสเราผ่อนกับโครงการต่อไป เงินที่ผ่อนก็ไป ลดเงินต้นด้วย ระหว่างนั้นก็ยื่นขอสินเชื่อจนผ่าน และได้มาเป็นบ้านของตัวเองทุกวันนี้


76

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

G5

Construction Process

การบริหารจัดการผลกระทบที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมในกระบวนการก่อสร้าง กระบวนการก่อสร้างเป็นกระบวนการที่ส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมมากที่สุด ด้วยความตระหนัก ในประเด็นดังกล่าว บริษัทได้พัฒนากระบวนการดำ�เนิน งานอย่างต่อเนื่อง โดยนำ�เทคโนโลยีและนวัตกรรมมาเพิ่ม ประสิทธิภาพการทำ�งานและลดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมและสังคม นอกเหนือจากการดำ�เนินงาน ตามกลยุทธ์ Q-C-S-E-S+P ที่เป็นแนวทาง ในการบริหารจัดการโครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ให้แก่ทั้งบุคลากรของบริษัท รวมถึงปิยมิตรผู้ออกแบบ และผู้รับเหมา โดยเฉพาะการให้ความสำ�คัญกับความ รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม (Environmental Responsibility) และความปลอดภัยสำ�หรับคนงาน และผู้เกี่ยวข้อง (Safety of Workers and Participants) โดยกลยุทธ์ Q-C-S-E-S+P มีดังนี้


77

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

CONSTRUCTION PROCESS

Q

Quality of Product

การบริหารโครงการก่อ สร้า งโดยคำ � นึ ง ถึงคุณภาพผลิตภัณฑ์ เพือ่ ให้เป็นไปตาม ความคาดหวั ง ทั้ ง พื้ น ที่ ส่ ว นกลางและ ห้องชุด ซึ่งนอกจากการเลือกใช้วัสดุที่ มีคุณภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมแล้ว หน่วยงานก่อสร้างต้องมีระเบียบและได้ มาตรฐาน

C

Cost Control and Management

S

Speed of Delivery

E

Environmental Responsibility

S

Safety of Workers and Participants

การดูแลความปลอดภัยของคนงานและ ผู้เกี่ยวข้องในระหว่างการก่อสร้าง โดย กำ�หนดมาตรฐานการปฏิบัติงานที่เข้ม งวดในด้านความปลอดภัย เพื่อป้องกัน อุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น และตรวจสอบ อุปกรณ์ก่อสร้างและตัวอาคารอยู่เสมอ รวมทั้งให้ความสำ�คัญด้านอาชีวอนามัย และคุณภาพชีวิตของแรงงาน

การควบคุมและบริหารต้นทุนให้รัดกุมอยู่ ในระดับที่ประเมินไว้ ทั้งต้นทุนทางตรง และต้นทุนทางอ้อม เช่น ค่าวัสดุ ค่าแรง ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างและดำ�เนินงาน โดยเน้ น การสร้ า งประสิ ท ธิ ภ าพของ กระบวนการทำ�งาน การควบคุมความเร็วในการก่อสร้างและ กระบวนการทำ�งานให้รวดเร็วกว่าระยะ เวลาที่กำ�หนด เพื่อช่วยลดต้นทุนของ การก่อสร้างและลดความเสี่ยงของลูกค้า ซึ่งต้องอาศัยความชำ�นาญในการทำ�งาน และความร่ ว มมื อ จากผู้ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ส่วนงาน

การรั บ ผิ ด ชอบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อลด ผลกระทบในระหว่างการก่อสร้างทั้งใน บริเวณก่อสร้างและบริเวณข้างเคียง โดย กำ�หนดให้มีการปฏิบัติตามแนวทางลด ผลกระทบในรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม อย่างเคร่งครัด

P

People Management

การบริหารจัดการผลกระทบที่เกิดขึ้นกับ ผู้มีส่วนได้เสีย อันได้แก่ การให้ความ เป็นธรรมด้านสิทธิแรงงานและคุณภาพ ชีวติ แก่แรงงานก่อสร้างทีม่ กั จะถูกมองข้าม จากผู้ประกอบการ การดูแลรับผิดชอบ ผลกระทบกั บ เพื่ อ นบ้ า นข้ า งเคี ย งที่ อ ยู่ รอบพื้นที่ก่อสร้าง การพัฒนาและเติบโต ร่ ว มกั น กั บ ปิ ย มิ ต รหรื อ คู่ ค้ า ของบริ ษั ท รวมทั้งการร่วมพัฒนาชุมชนและสภาพ แวดล้ อ มโดยรอบของโครงการที่ อ ยู่ ระหว่างการก่อสร้าง


78

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

G5

GREEN Construction Process

ผลการดำ�เนินงานด้านการบริหารจัดการผลกระทบ ที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในกระบวนการก่อสร้าง

บริษัทให้ความสำ�คัญกับการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ก่อสร้างทุกส่วน ไม่เพียงแต่เฉพาะในบริเวณก่อสร้าง แต่ยังบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านพักคนงานและชุมชนข้างเคียงที่มีพื้นที่ติดกับพื้นที่ก่อสร้าง เพื่อป้องกันและลดผลกระทบ สร้างความสัมพันธ์ที่ดี กับผู้พกั อาศัยบริเวณข้างเคียงโครงการ รวมทัง้ การปฏิบตั ติ ามมาตรการด้านความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด เพือ่ ความปลอดภัยของผูเ้ กีย่ วข้อง ควบคู่ไปกับการดูแลคุณภาพชีวิตคนงานก่อสร้าง

บร�เวณขางเคียง

บร�เวณกอสราง

บร�เวณบานพักคนงาน

• การจัดทำ�มาตรฐาน LPN Green Standard Checklist

บริเวณก่อสร้าง บริษัทให้ความสำ�คัญกับการดูแลพื้นที่ก่อสร้างทั้งฝุ่น เสียง ความ สั่นสะเทือน ทัศนียภาพ และผลกระทบอื่นๆ เช่น การทำ�ความ สะอาดล้อรถขนส่งวัสดุอุปกรณ์ก่อนออกจากหน่วยงานก่อสร้าง การพัฒนานวัตกรรมด้านการปกป้องอาคารเพื่อลดฝุ่นละอองจาก พื้นที่ก่อสร้าง เป็นต้น

ในปี 2558 บริษัทได้จัดทำ�มาตรฐาน LPN Green Standard Checklist ขึ้น เพื่อเป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงานร่วมกับ LPN Team ทั้งในด้านการออกแบบและบริหารโครงการ เพื่อป้องกัน มลภาวะและลดผลกระทบจากการพัฒนาโครงการอย่างเป็นรูปธรรม ตัง้ แต่การเตรียมการก่อสร้าง จนถึงการส่งมอบอาคาร ซึง่ มาตรฐาน ดังกล่าวได้ถูกกำ�หนดรายละเอียดและวางเป้าหมายร่วมกันกับ ผู้ออกแบบ ผู้รับเหมา และที่ปรึกษาด้านอาคารเขียว โดยมีการ ประเมินคุณภาพและตรวจสอบมาตรฐานการปฏิบัติงานทุกเดือน มาตรฐานการบริหารโครงการมีการกำ�หนดไว้ทง้ั สิน้ 7 หมวด จำ�นวน 73 ข้อ อ้างอิงมาจากกฎหมายควบคุมอาคารและข้อกำ�หนดตาม มาตรฐานสิ่งแวดล้อม โดยหมวดที่ 1-5 ครอบคลุมประเด็นการ บริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และหมวดที่ 6 และ 7 ครอบคลุม ประเด็นการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย ตามรายละเอียด ดังนี้


79

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

5. มีการรดน้�ำ เพือ่ ป้องกันฝุน่ จากการก่อสร้าง การบริหารจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อม

หมวดที่ 1 : การเตรียมงานก่อสร้าง 1. มีการจัดทำ�รัว้ กันฝุน่ สูง 6 เมตร รอบพืน้ ที่โครงการ

6. ล้างล้อและตัวรถก่อนออกนอกโครงการ

2. มีการควบคุมความเร็วของยานพาหนะ และห้ามติดเครือ่ งทิง้ ไว้

7. เทถนนคอนกรีตรอบโครงการ

3. จำ�กัดระยะเวลาการทำ�งาน

8. ขุดรางระบายน้�ำ รอบโครงการ 9. ดูแลผลกระทบของการก่อสร้างในพืน้ ทีข่ า้ งเคียง

4. ติดตัง้ สัญญาณไฟกระพริบเตือนเขตอันตรายบริเวณหน้าโครงการ


80

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

หมวดที่ 2 : งานเข็มและฐานราก 1. จัดทำ�ผังพืน้ ทีภ่ ายในโครงการ

6. ติดตัง้ ไฟฟ้าส่องสว่างตลอดแนวรัว้ ของโครงการ 7. แขนแครนไม่ให้รกุ ล้�ำ บริเวณข้างเคียง 8. จัดให้มีถังสำ�รองน้ำ�ใช้ทั่วไป

2. ติดป้ายเทศบัญญัติวิศวกรและสถาปนิกควบคุมงานบริเวณหน้า โครงการ

9. จัดทำ�ระบบป้องกันดินพัง

3. ติดตัง้ กล่องเพือ่ รับเรือ่ งราวร้องทุกข์จากผลกระทบจากการก่อสร้าง 4. ติดป้ายกฎระเบียบในพืน้ ทีก่ อ่ สร้าง 5. ติดตัง้ กล้องวงจรปิด

10. ใช้สายยางสเปรย์น�ำ้ เป็นมาตรฐานในการตัดเสาเข็ม 11. คลุมผิวดินด้วยตาข่ายเพือ่ ป้องกันการชะล้างผิวดิน

12. ตรวจสอบคุณภาพน้�ำ ทีบ่ อ่ พักน้�ำ ให้ได้คา่ มาตรฐาน 13. มีการคลุมรถเพือ่ ป้องกันฝุน่ จากการขนย้าย 14. มีการควบคุมขยะอันตรายและกำ�จัดอย่างถูกวิธี


81

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

15. มีจดุ ทิง้ ขยะทัว่ ไปอย่างเหมาะสมและพอเพียง 16. มีการจัดเก็บขยะทีน่ �ำ กลับมาใช้ใหม่ได้ 17. มีการจัดการน้�ำ เสียจากการก่อสร้าง 18. มีการตรวจสอบเศษขยะบริเวณจุดดักตะกอน 19. มีการล้างทำ�ความสะอาดพืน้ ทีก่ อ่ สร้าง 20. วัดปริมาณฝุน่ ละอองภายในอากาศให้ไม่เกินค่ามาตรฐาน 21. วัดความดังของเสียงทุกวันทำ�งาน 22. ควบคุมความดังของเสียงเฉลีย่ 24 ชัว่ โมง ให้ไม่เกิน 70 dB และค่าความดังเสียงสูงสุดต้องไม่เกิน 115 dB 23. ควบคุมแรงสัน่ สะเทือนภายในโครงการก่อสร้าง 24. หลีกเลีย่ งการทำ�งานทีท่ �ำ ให้เกิดเสียงดัง 25. จัดพืน้ ทีส่ �ำ หรับโรงเหล็กแยกออกจากวัสดุอน่ื ๆ 26. บำ�รุงรักษาอุปกรณ์ท่ใี ช้ในการทำ�งานอยูเ่ สมอ

4. มีพน้ื ทีจ่ ดั เก็บสารเคมีหลากหลายชนิด

5. มีพน้ื ทีส่ าํ หรับผสมและล้างสารเคมี 6. มีการทำ�ความสะอาดพืน้ ทีภ่ ายในอาคาร

หมวดที่ 3 : งานโครงสร้างทัว่ ไปและงานสถาปัตยกรรมหลัก 1. จัดทำ�ผ้าใบกันฝุน่ คลุมอาคารให้เท่ากับความสูงของอาคาร

7. ทำ�ผ้าใบกันฝุน่ รอบเครือ่ งส่งปูน 8. ทำ�ผ้าใบกันฝุน่ รอบไซโลปูน

2. มีการจัดเตรียมพืน้ ทีก่ องเก็บอุปกรณ์กอ่ สร้างอย่างเหมาะสม

9. มีการจัดเก็บวัสดุอปุ กรณ์งานระบบอย่างเหมาะสม 10. จัดเก็บวัสดุฉนวนอย่างถูกวิธี 11. เลือกใช้เคมีภณั ฑ์ในงานก่อสร้างทีม่ สี ารพิษระเหยง่าย ต่�ำ ตามมาตรฐาน 3. จัดให้มหี อ้ งเก็บวัสดุ และมีการดูแลอย่างเป็นระบบ


82

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

หมวดที่ 4 : งานสถาปัตยกรรมภายใน 1. มีหอ้ งตัดกระเบือ้ งและวัสดุตา่ งๆ พร้อมเครือ่ งมือป้องกันเสียง

การบริหารจัดการ ด้านความปลอดภัย

ความปลอดภัยในการก่อสร้างเป็นสิ่งสำ�คัญที่ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด โดยบริษัทจะควบคุมให้มีการปฏิบัติตามแนวทางและหลักการด้าน ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยอย่างเคร่งครัดในทุกขั้นตอนการ ก่อสร้าง ตั้งแต่ความปลอดภัยของคนงานก่อสร้างไปจนถึงบ้าน ข้างเคียงตามรายละเอียดดังนี้

หมวดที่ 6 : ความปลอดภัยและสวัสดิการภายในพืน้ ทีก่ อ่ สร้าง 2. เลือกใช้สแี ละสารเคลือบทีม่ สี ว่ นผสมของสารพิษระเหยง่ายต่�ำ 3. หุม้ ท่อลมปรับอากาศ 4. หุม้ Fan Coil Unit และ Air Handing Unit

1. จัดเจ้าหน้าทีร่ กั ษาความปลอดภัยตลอด 24 ชัว่ โมง

2. จัดอบรมความปลอดภัยให้กบั ผูป้ ฏิบตั งิ าน

หมวดที่ 5 : การเตรียมส่งมอบและเปิดใช้อาคาร 1. ระบายอากาศภายในห้องชุดก่อนส่งมอบ

3. มีจดุ ปฐมพยาบาลภายในโครงการก่อสร้าง


83

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

กิจกรรม Morning Talk เป็นกิจกรรมทีจ่ ดั ขึน้ ในตอนเช้า ก่อนเริม่ ทำ�งาน โดยจะมีการพูดคุย ประเด็นต่างๆ เกีย่ วกันการทำ�งาน ตลอดการก่อสร้าง เพือ่ สร้างความเข้าใจ และให้ความรูด้ า้ นความปลอดภัย


84

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

4. ผู้ปฏิบัติงานต้องสวมใส่เครื่องป้องกันอันตรายก่อนเข้าภายใน พื้นที่ก่อสร้าง

10. ห้ามผูท้ ่ไี ม่เกีย่ วข้องเข้าภายในพืน้ ทีก่ อ่ สร้าง

5. จัดเตรียมสายนิรภัยสำ�หรับการทำ�งานในพืน้ ทีส่ งู

11. จัดทำ�ทีแ่ ขวนสัมภาระให้กบั ผูป้ ฏิบตั งิ าน

6. ติดตัง้ อุปกรณ์ดบั เพลิงสำ�หรับงานก่อสร้าง 7. มีผงั แสดงการติดตัง้ วัสดุอปุ กรณ์ดบั เพลิงต่างๆ ชัดเจน 8. มีการเตรียมพร้อมรับมือเหตุเพลิงไหม้อยูเ่ สมอ

หมวดที่ 7 : ความปลอดภัยและสวัสดิการภายใน บ้านพักคนงานก่อสร้าง 1. ติดป้ายกฏระเบียบ และจัดระเบียบภายในพืน้ ที่ บ้านพักคนงานก่อสร้าง

9. มีเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยดูแลพืน้ ทีก่ อ่ สร้าง


85

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

2. มีการจัดเก็บข้อมูลผูป้ ฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นคนต่างชาติ

8. มีหอ้ งน้�ำ ทีถ่ กู สุขอนามัย

3. ห้ามให้มสี ารเสพติดภายในโครงการโดยเด็ดขาด

9. จัดให้มถี งั บำ�บัดน้�ำ เสียจากห้องน้�ำ คนงาน 10. มีการฝึกซ้อมหนีไฟ และการใช้อุปกรณ์ดับเพลิงต่างๆ 11. ห้ามจุดไฟภายในห้องพักโดยเด็ดขาด

4. มีการดูแลสภาพแวดล้อมและสุขอนามัยของบ้านพักคนงาน 5. เลือกใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้าที่ได้มาตรฐานและตรวจสอบการใช้ไฟฟ้า ของแต่ละห้องพัก 6. บริหารจัดการคุณภาพชีวติ ของลูกคนงานก่อสร้างทีอ่ าศัย ในบ้านพักคนงาน 7. มีการสำ�รองน้�ำ ไว้ใช้ในบ้านพักคนงาน


86

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

สำ�หรับการดำ�เนินงานตามมาตรฐาน LPN Green Standard Checklist ในปี 2558 ได้ด�ำ เนินการทัง้ สิน้ ใน 11 โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง โดยผลการตรวจติดตามการบริหารโครงการตามมาตรฐานมีดงั นี้ ตารางที่ 1 ผลการตรวจติดตามการบริหารโครงการตามมาตรฐาน LPN Green Standard Checklist โครงการ

ลุมพินี พาร์ค นวมินทร์-ศรีบูรพา ลุมพินี คอนโดทาวน์ ร่มเกล้า-สุวรรณภูมิ ลุมพินี วิลล์ อ่อนนุช-ลาดกระบัง 2 ลุมพินี ทาวน์ชิป รังสิต-คลอง 1 (เฟส 2) ลุมพินี เพลส บรมราชชนนี-ปิ่นเกล้า ลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 เดอะ ลุมพินี 24 ลุมพินี พาร์คบีช ชะอำ� ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว ลุมพินี มิกซ์ เทพารักษ์-ศรีนครินทร์ ลุมพินี เพลส พระราม 4-รัชดาภิเษก

สถานภาพ โครงการ (%)

87 60 100 52 72 18 54 30 8 เตรียมพื้นที่ ยื่นพิจารณา EIA

ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน (หน่วย : จำ�นวนข้อ) ครั้งที่ 1

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 3

ครั้งที่ 4

70 68

70 68

70 68

70 68

53 65 49 70 54 32 16 1

53 65 49 70 54 33 16 1

53 65 55 70 54 36 16 1

53 65 56 70 56 40 16 1

เสร็จสิ้นโครงการ

ตารางที่ 2 ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศปี 2558 โครงการ

ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ TSP (mg/m3)

เดอะ ลุมพินี 24 (ม.ค.-ธ.ค.) ลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์-งามวงศ์วาน (ม.ค.-มิ.ย.) ลุมพินี พาร์ค สุขสวัสดิ์-พระราม 2 (ม.ค.) ลุมพินี เพลส ศรีนครินทร์-หัวหมาก สเตชั่น (ม.ค.-มี.ค.) ลุมพินี พาร์ค พระราม 9-รัชดา (ม.ค.-มิ.ย.) ลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (มี.ค.-ธ.ค.) ลุมพินี พาร์ค นวมินทร์-ศรีบูรพา (เม.ย.-พ.ย.) ลุมพินี เพลส บรมราชชนนี-ปิ่นเกล้า (เม.ย.-ต.ค.) ลุมพินี ทาวน์ชิป รังสิต-คลอง 1 (พ.ค.-ธ.ค.) ลุมพินี คอนโดทาวน์ ร่มเกล้า-สุวรรณภูมิ (ก.ค.-ธ.ค.) ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว (พ.ย.-ธ.ค.)

0.069 - 0.266 0.077 - 0.112 0.066 0.093 - 0.164 0.59 - 0.135 0.084 - 0.307 0.055 - 0.179 0.065 - 0.159 0.084 - 0.320 0.050 - 0.165 0.111 - 0.201

ค่ามาตรฐาน

≤0.331

PM-10 (mg/m3)

SO2 (mg/m3)

NO2 (ppm)

0.040 - 0.099 <0.002 - 0.030 0.016 - 0.037 0.032 - 0.072 0.001 - 0.018 <0.001 - 0.026 0.04 0.005 0.002 0.049 - 0.094 0.001 - 0.006 <0.002 0.022 - 0.084 0.001 - 0.015 0.002 - 0.021 0.03 - 0.117 0.001 - 0.051 0.001 - 0.052 0.025 - 0.074 <0.002 0.022 - 0.034 0.001 - 0.008 <0.001 - 0.046 0.039 - 0.109 <0.002 0.018 - 0.038 0.024 - 0.072 <0.002 0.011 - 0.024 0.067 - 0.097 0.003 - 0.006 0.017 ≤0.121

≤0.301

≤0.172

CO (ppm)

THC (ppm)

1.03 - 2.31 0.9 - 2.6 0.7 1.2 - 1.4 0.7 - 0.9 0.60 - 2.20 1.07 - 2.86 0.7 - 3.0 1.31 - 1.92 1.1 - 1.27 1.1 - 1.27

3.23 - 4.64 0.5 - 0.9 0.5 0.6 - 0.7 0.3 - 0.6 0.3 - 0.7 3.23 - 4.05 0.5 - 0.7 3.65 - 3.97 0.5 - 0.7 0.5 - 0.6

≤30.03

-

มาตรฐาน : 1 คุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ. 2547 2 ค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์โดยทั่วไป ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2552 3 คุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2538

จากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ก่อสร้างทุกโครงการ

พบว่า ทุกดัชนีทต่ี รวจวัดมีคา่ อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ส่วนค่า Total Hydrocarbon (THC) ปัจจุบัน ยังไม่มีการกำ�หนด ค่ามาตรฐานเพือ่ การควบคุม


87

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ตารางที่ 3 ผลการตรวจวัดระดับเสียงปี 2558 โครงการ

ผลการตรวจวัดระดับเสียง Leq 24 hrs (dB(A))

Lmax (dB(A))

เสียงรบกวน (dB(A))

เดอะ ลุมพินี 24 (ม.ค.-ธ.ค.) ลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์-งามวงศ์วาน (ม.ค.-มิ.ย.) ลุมพินี พาร์ค สุขสวัสดิ์-พระราม 2 (ม.ค.) ลุมพินี เพลส ศรีนครินทร์-หัวหมาก สเตชั่น (ม.ค.-มี.ค.) ลุมพินี พาร์ค พระราม 9-รัชดา (ม.ค.-มิ.ย.) ลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (มี.ค.-ธ.ค.) ลุมพินี พาร์ค นวมินทร์-ศรีบูรพา (เม.ย.-พ.ย.) ลุมพินี เพลส บรมราชชนนี-ปิ่นเกล้า (เม.ย.-ต.ค.) ลุมพินี ทาวน์ชิป รังสิต-คลอง 1 (พ.ค.-ธ.ค.) ลุมพินี คอนโดทาวน์ ร่มเกล้า-สุวรรณภูมิ (ก.ค.-ธ.ค.) ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว (พ.ย.-ธ.ค.)

59.4 - 67.0 60.8 - 66.7 62 61.8 - 62.9 58.8 - 66.6 60.7 - 69.9 54.7 - 66.4 62.9 - 66.0 50.0 - 67.8 51.4 - 69.6 69.2 -69.3

92.7 - 108.5 90.9 - 105.4 95.7 92.6 - 99.6 98.2 - 99.9 93.9 - 112.1 86.1 - 109.0 89.4 - 99.5 82.1 - 108.7 78.1 - 108.1 99.3 - 112.1

6.4 - 24.3 - 9.9 9.9 9.9 9.3 - 9.9 3.9 - 16.9 6.8 - 18.1 9.9

ค่ามาตรฐาน

≤701

≤1151

≤102

มาตรฐาน : 1 ระดับเสียงโดยทั่วไป ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2540 2 ค่าระดับเสียงรบกวน ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 29 พ.ศ. 2550

จากผลการตรวจวัดระดับ เสียงในพื้นที่ก่อสร้าง ทุกโครงการ

พบว่า ระดับเสียงเฉลีย่ 24 ชัว่ โมง (Leq 24 hr) และระดับเสียงสูงสุด (Lmax) มีค่าอยู่ในเกณฑ์ มาตรฐานที่กำ�หนด ยกเว้นระดับ เสียงรบกวนสูงสุดมีค่าเกินเกณฑ์ มาตรฐานที่ 10 dB (A) ในบางโครงการ ได้แก่ โครงการ เดอะ ลุมพินี 24 โครงการ ลุมพินี พาร์ค นวมินทร์-ศรีบรู พา และโครงการลุมพินี ทาวน์ชิป รังสิต-คลอง 1

ตารางที่ 4 ผลการตรวจวัดระดับความสั่นสะเทือนปี 2558 ผลการตรวจวัดระดับความสั่นสะเทือน โครงการ

เดอะ ลุมพินี 24 (ม.ค.-ธ.ค.) ลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์-งามวงศ์วาน (ม.ค.-มิ.ย.) ลุมพินี พาร์ค สุขสวัสดิ์-พระราม 2 (ม.ค.) ลุมพินี เพลส ศรีนครินทร์-หัวหมาก สเตชั่น (ม.ค.-มี.ค.) ลุมพินี พาร์ค พระราม 9-รัชดา (ม.ค.-มิ.ย.) ลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (มี.ค.-ธ.ค.) ลุมพินี พาร์ค นวมินทร์-ศรีบูรพา (เม.ย.-พ.ย.) ลุมพินี เพลส บรมราชชนนี-ปิ่นเกล้า (เม.ย.-ต.ค.) ลุมพินี ทาวน์ชิป รังสิต-คลอง 1 (พ.ค.-ธ.ค.) ลุมพินี คอนโดทาวน์ ร่มเกล้า-สุวรรณภูมิ (ก.ค.-ธ.ค.) ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว (พ.ย.-ธ.ค.)

Transverse (mm/sec)

Vertical (mm/sec)

Longitudinal (mm/sec)

0.127 - 0.925 0.381 - 1.180 0.508 1.27 - 1.54 0.508 - 1.400 0.803 - 1.650 0.064 - 0.600 0.508 - 2.290 0.225 - 0.950 0.275 - 0.900 0.508 - 1.270

0.375 - 0.925 0.127 - 1.410 1.14 0.508 - 1.9 1.140 - 1.900 0.874 - 3.560 0.318 - 1.800 0.508 - 1.910 0.175 - 1.050 0.175 - 1.150 1.9

0.127 - 0.775 0.508 - 1.900 0.508 0.889 - 1.65 0.635 - 1.650 0.635 - 4.570 0.064 - 1.250 0.508 - 1.520 0.250 - 0.775 0.250 - 1.080 0.635 - 1.540

ค่ามาตรฐาน

มาตรฐาน : ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 37 พ.ศ. 2553 เรื่อง กำ�หนดมาตรการความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร

5.00

จากผลการตรวจวัดระดับ ความสั่นสะเทือนในพื้นที่ ก่อสร้างทุกโครงการ

พบว่า มีคา่ อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ทีก่ �ำ หนดไม่เกิน 5.00 mm/s


88

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

ตารางที่ 5 ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพนํ้าปี 2558 ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพนํ้า

โครงการ

pH -

เดอะ ลุมพินี 24 1 (ม.ค.-ธ.ค.) ลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์-งามวงศ์วาน 2 (ม.ค.-มิ.ย.) ลุมพินี พาร์ค สุขสวัสดิ์-พระราม 2 2 (ม.ค.) ลุมพินี เพลส ศรีนครินทร์-หัวหมาก สเตชั่น 2 (ม.ค.-มี.ค.) ลุมพินี พาร์ค พระราม 9-รัชดา 2 (ม.ค.-มิ.ย.) ลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 2 (มี.ค.-ธ.ค.58) ลุมพินี พาร์ค นวมินทร์-ศรีบูรพา 2 (เม.ย.-พ.ย.) ลุมพินี เพลส บรมราชชนนี-ปิ่นเกล้า 2 (เม.ย.-ต.ค.) ลุมพินี ทาวน์ชิป รังสิต-คลอง 1 2 (พ.ค.-ธ.ค.) ลุมพินี คอนโดทาวน์ ร่มเกล้า-สุวรรณภูมิ 2 (ก.ค.-ธ.ค.) ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว 2 (พ.ย.-ธ.ค.)

SS (mg/l)

6.84 - 7.77 2 - 32.5 7.3 - 7.8 14.2 - 28.2 7.5

18.6

3.80 - 7.50 18.7 - 26.5

TDS (mg/l)

BOD (mg/l)

TSS (mg/l)

G&O (mg/l)

TKN (mg/l)

Sulfide (mg/l)

(MPN/100 ml)

FCB

148 - 324 108 - 362

1 - 30 7.3 - 18

0 - 0.1 0 - 0.42

<2 - 7 2-6

0.8 - 33.0 12.4 - 25.5

<0.06 0

<1.8 - 240,000 0

272

7.5

0.37

1.6

18.4

0.086

188

0.5 - 428

0.5 - 125

0.21 - 0.42

1.3 - 3.8

18.4 - 26.5 0.032 - 0.5

48 - 125

7.2 - 7.6

21.7 - 30

156 - 431

7.2 - 18.4 0.22 - 0.42

1.8 - 6.4

12.3 - 28.3 0.067 - 0.5

74 - 250

7.3 - 7.6

12.5 - 29.5

168 - 388

7.3 - 18.4 0.08 - 0.34

2.1 - 6.9

2.4 - 20.7

0.023 - 0.7

233 - 697

7.15 - 8.05

2 - 26

202 - 420

1-7

<0.1 - 0.2

<2 - 2

1.4 - 8.6

<0.06

<1.8 - 7,900

7.2 - 7.6

8.2 - 28.2

107 - 467

7.2 - 18.8

-

0.7 - 8.2

6.69 - 8.05

2 - 28

250 - 358

2-7

<0.01

<2 - 9.8

1.5 - 9.8

<0.06

<1.8 - 3,300

202 - 412

1-3

-

<2

0.7 - 6.2

<0.06

<1.8

4.1 - 4.5

19.6 - 21.4

0.4 - 0.5

365 - 405

7.19 - 7.76 2.6 - 27.7

7.5 - 20.1 0.17 - 0.18

12.1 - 22.2 0.08 - 0.41

110 - 310

7.5

25.3 - 28.7

210 - 265

ค่ามาตรฐาน 1

5.0-9.0

≤ 40

≤ 500

≤ 30

≤ 0.5

≤ 20

≤ 35

≤ 1.0

-

ค่ามาตรฐาน 2

5.0-9.0

≤ 30

≤ 500

≤ 20

≤ 0.5

≤ 20

≤ 35

≤ 1.0

-

มาตรฐาน : 1 มาตรฐานควบคุมการระบายน้ำ�ทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด (ประเภท ข : มีห้องพักตั้งแต่ 100 ห้อง แต่ไม่ถึง 500 ห้อง) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2548 2 มาตรฐานควบคุมการระบายน้�ำ ทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด (ประเภท ข : มีห้องพักตั้งแต่ 100 ห้อง แต่ไม่ถึง 500 ห้อง) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2548

จากผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพนํ้า บริเวณบ่อพักนํ้าสุดท้ายก่อนระบายออกสู่ ท่อระบายนํ้าสาธารณะทุกโครงการ

พบว่า ทุกดัชนีทต่ี รวจวัดมีคา่ อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานทีก่ �ำ หนด ส่วนค่าแบคทีเรียกลุม่ ฟีคอลโคลิฟอร์ม (Fecal Coliform Bateria) ยังไม่มีการกำ�หนดค่ามาตรฐานเพื่อการควบคุม ตามมาตรฐานการควบคุมการระบายน้ำ�ทิ้งจากอาคารบาง ประเภทและบางขนาด (ทั้งประเภท ก และ ข) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2548 และมาตรฐานคุณภาพน้�ำ ในแหล่งน้�ำ ผิวดิน ประกาศคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2537


89

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

สรุปจำ�นวนวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างประจำ�ปี 2558 (G4-EN1)

โครงการสงมอบป 2558 คอนกร�ต 161,113 ลบ.ม.

เหล็กเสน 17,595 ตัน

ไมแบบ 850,116 ตร.ม.

ลามิเนต 206,808 ตร.ม

โพสเท็นชั่น 417,990 ตร.ม.

พร�คาสท 153,537 ตร.ม.

กระเบื้อง 287,895 ตร.ม.

ทอน้ำดี/ทอน้ำทิ�ง 914,585 ม.

สายไฟ/อุปกรณ ไฟฟา 10,535,126 ม.

ปูนทราย 385,919 ลบ.ม.

สีทาอาคาร 1,815,181 ตร.ม.

สุขภัณฑ 10,663 ชุด

ปูนฉาบ 874,365 ตร.ม.

ยิปซั่มบอรด 295,964 ตร.ม.

โคมไฟ 95,799 ชุด

พ�้นที่กอสราง 477,156 ตร.ม.

จำนวนยูนิต 10,599 หองชุด


90

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

2. กิจกรรมตรวจสุขภาพคนงานก่อสร้าง

บริเวณบ้านพักคนงาน

ในปี 2558 บริษทั มีการจัดกิจกรรมตรวจสุขภาพคนงานก่อสร้างขึน้ ที่โครงการ ลุมพินี พาร์ค นวมินทร์-ศรีบูรพา มีคนงานก่อสร้างที่ เข้ารับการตรวจสุขภาพ จำ�นวน 101 คน จาก 4 โครงการ คือ โครงการลุมพินี พาร์ค นวมินทร์-ศรีบูรพา โครงการลุมพินี วิลล์ อ่อนนุช-ลาดกระบัง 2 โครงการเดอะ ลุมพินี 24 และโครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ ร่มเกล้า-สุวรรณภูมิ โดยตรวจสุขภาพดังนี้ ตรวจ สุขภาพทัว่ ไปโดยแพทย์ เอ็กซเรย์ทรวงอก ตรวจหาความสมบูรณ์ ของโลหิต ตรวจระดับน้ำ�ตาลในเลือด ตรวจไขมันในเส้นเลือด ตรวจสมรรถภาพปอด ตรวจวัดสายตา และตรวจการทำ�งานของตับ

นอกจากมาตรฐานความปลอดภัยในบริเวณบ้านพักคนงานตามที่ ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว บริษัทยังดูแลสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ตามหลักอาชีวอนามัย โดยคำ�นึงถึงคุณภาพชีวติ ของคนงานก่อสร้าง และส่งเสริมสุขภาพคนงานด้วยการจัดกิจกรรมต่างๆ โดยแบ่ง รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนงานก่อสร้างเป็น 2 ส่วน คือ การสร้างขวัญกำ�ลังใจให้กับคนงานก่อสร้าง และการดูแล สภาพแวดล้อมของบ้านพักคนงานก่อสร้าง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

• การสร้างขวัญกำ�ลังใจให้กับ คนงานก่อสร้าง 1. กิจกรรมเลีย้ งอาหารกลางวันและตัดผมคนงานก่อสร้าง

บริษัทได้จัดกิจกรรมเลี้ยงอาหารกลางวันและตัดผมคนงานก่อสร้าง มาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เป็นขวัญกำ�ลังใจและเพือ่ ตอบแทนในน้�ำ ใจของ คนงานก่อสร้างทีต่ ง้ั ใจทำ�งานให้ส�ำ เร็จลุลว่ งไปด้วยดี โดยในปี 2558 ได้จดั กิจกรรมไปทัง้ หมด 6 โครงการ คือ โครงการเดอะ ลุมพินี 24 โครงการลุมพินี พาร์ค นวมินทร์-ศรีบรู พา โครงการลุมพินี วิลล์ อ่อนนุช-ลาดกระบัง 2 โครงการลุมพินี เพลส บรมราชชนนี-ปิน่ เกล้า โครงการลุมพินี ทาวน์ชปิ รังสิต-คลอง 1 และโครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ ร่มเกล้า-สุวรรณภูมิ

• การดูแลสภาพแวดล้อมของบ้านพัก คนงานก่อสร้าง 1. การสร้างบ้านพักคนงานก่อสร้างแบบสำ�เร็จรูป

และจัดให้มีพ้นื ที่ประกอบอาหารโดยเฉพาะสำ�หรับคนงานก่อสร้าง แยกจากส่วนพักอาศัย เพื่อป้องกันอัคคีภัย โดยเริ่มจัดทำ�เป็น โครงการแรกที่โครงการลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว

รูป พื้นที่ประกอบอาหารสำ�หรับคนงานก่อสร้างของโครงการ ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว


91

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

2. การจัดพืน้ ทีด่ แู ลสำ�หรับลูกหลานคนงานก่อสร้าง

บริษัทได้จัดเตรียมพื้นที่สำ�หรับดูแลเด็กเล็กที่เป็นลูกหลานของ คนงานก่อสร้างในช่วงเวลาทำ�งาน เพื่อความปลอดภัยและความ เป็นระเบียบเรียบร้อย โดยคนงานก่อสร้างสามารถพาลูกหลานมา ฝากเลี้ยงที่ศูนย์เลี้ยงเด็กซึ่งตั้งอยู่ภายในบริเวณบ้านพักคนงาน ก่อสร้างได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย

บริเวณข้างเคียง (G4-SO2) บริษัทจัดตั้งทีมงานผู้บริหารระดับสูงเข้าไปให้ข้อมูลกับชุมชน รอบข้างและหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจ และความสัมพันธ์ทด่ี ี โดยเฉพาะอย่างยิง่ บ้านหรืออาคารที่มีพื้นที่ ติดกับโครงการซึ่งได้รับผลกระทบโดยตรง ทั้งทางด้านเสียง ฝุ่น ละออง การจราจร ตลอดจนได้ควบคุมก่อสร้างให้เป็นไปตามที่ ออกแบบและเป็นไปตามเวลาที่กำ�หนด

• การดูแลบ้านข้างเคียง 3. การฉีดยุงและแมลงบริเวณบ้านพักคนงานก่อสร้าง

บริษทั ดำ�เนินการฉีดยุงทีเ่ ป็นพาหะนำ�โรคต่างๆ ทัง้ สิน้ ใน 4 โครงการ ได้แก่ โครงการลุมพินี ทาวน์ชิป รังสิต-คลอง 1 โครงการลุมพินี พาร์ค พระราม 9-รัชดา โครงการลุมพินี พาร์ค รัตนาธิเบศร์งามวงศ์วาน และโครงการลุมพินี เพลส บรมราชชนนี-ปิ่นเกล้า

4. การสำ�รวจและตรวจติดตามความเรียบร้อย ของบ้านพักคนงานก่อสร้าง

บริษทั ดำ�เนินการตรวจและเก็บรวบรวมข้อมูลสภาพแวดล้อมบริเวณ บ้ า นพั ก คนงานก่ อ สร้ า งในแต่ ล ะโครงการอย่ า งสม่ำ � เสมอตาม แบบฟอร์มการสำ�รวจ เพื่อรักษาสภาพแวดล้อมและดำ�เนินการ ปรับปรุงหากมีอุปกรณ์เสียหายหรือชำ�รุด

1. กำ�หนดมาตรฐานการดูแลสภาพแวดล้อมโครงการก่อสร้างและ บ้านข้างเคียง เพือ่ ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและพืน้ ทีข่ อง แต่ละโครงการ 2. แจ้งผูพ้ กั อาศัยข้างเคียงล่วงหน้า หากมีความจำ�เป็นต้องทำ�งาน ทีก่ อ่ ให้เกิดเสียงดังอย่างน้อย 3 วัน เช่น งานเสาเข็มฐานราก และจำ�กัดระยะ 3. เวลาในการทำ�งานที่เกิดเสียงดังในช่วงเวลา 08.00-19.00 น. และหลีกเลีย่ งกิจกรรมเสียงดังในช่วงวันเสาร์อาทิตย์ เพือ่ ลดการ รบกวนชุมชนข้างเคียง 4. ลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์กับบ้านข้างเคียงเพื่อสร้างความสัมพันธ์ ทีด่ แี ละรับฟังความคิดเห็นเกีย่ วกับข้อกังวลและผลกระทบทีเ่ กิด จากการก่อสร้าง 5. ติดตั้งกล่องแสดงความคิดเห็นไว้ด้านหน้าโครงการ สำ�หรับ ผู้ต้องการร้องเรียนและแสดงความคิดเห็น


92

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

• แนวทางการดูแลบ้านข้างเคียงเพื่อลดผลกระทบจากการก่อสร้าง (G4-EN34) ขั้นตอนการดำ�เนินงาน

1. สำ�รวจสภาพแวดล้อมรอบโครงการ

ก่อนเริม่ ก่อสร้าง สำ�รวจสภาพแวดล้อมโดยรอบ โครงการ จัดทำ�แผนผังบ้านข้างเคียง ระบุบา้ นเลขที่ ชือ่ เจ้าของบ้าน เบอร์โทรศัพท์ พร้อมเข้าแนะนำ�ตัว

ระยะเวลา

ฝ่ายก่อสร้าง

ก่อนเริ่มงาน เสาเข็ม

เริ่มต้น สำ�รวจสภาพแวดล้อม รวบรวมข้อมูลเบื้องต้น

2. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อบ้านข้างเคียง

เข้าพบบ้านข้างเคียง เพือ่ สร้างความสัมพันธ์ทด่ี ี และรับฟังความคิดเห็น สอบถามผลกระทบ

ก่อนเริ่มงาน เสาเข็มและ ทุกสัปดาห์

สร้างความสัมพันธ์ กับบ้านข้างเคียง

3. กำ�หนดมาตรการป้องกันมลภาวะ ที่เกิดจากโครงการ

ก่อนเริ่มงาน เสาเข็ม

กำ�หนดมาตรการ ป้องกันมลภาวะ

ขึงผ้าใบกันฝุ่น ป้องกันเสียงดัง การกวาดขยะ การสร้างบ้านพักคนงาน ฯลฯ

4. ตรวจสอบสภาพแวดล้อม และติดตาม ความคืบหน้า

ตรวจสอบ สภาพแวดล้อม บ้านข้างเคียง

ตรวจสอบสภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการอย่าง สม่�ำ เสมอ หากพบปัญหาหรือได้รบั ข้อร้องเรียนที ่ ก่อให้เกิดความเดือดร้อนกับบ้านข้างเคียง ให้รบี ดำ�เนินการแก้ไข

5. ดำ�เนินการแก้ไขปัญหา

เมือ่ มีความเดือดร้อนและความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ จากโครงการ จะต้องหาทางดำ�เนินการแก้ไขให้ คลีค่ ลายโดยทันที

ภายใน 1 วัน

ไม่พบ ปัญหา

6. รวบรวมข้อมูล

6.1 ความรูส้ กึ ของบ้านข้างเคียง 6.2 ปัญหาและแนวทางการแก้ปญั หา 6.3 สิง่ ทีค่ วรปรับปรุงและผลทีเ่ กิดขึน้ หลังจากการปรับปรุง

7. สรุปประเมินผล

ผู้รับเหมา

รวบรวมข้อมูล

ทุกเดือน สรุปประเมินผล จบการทำ�งาน

ดำ�เนินการ ตามมาตรการ

พบปัญหา

ดำ�เนินการแก้ไข


93

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

• การบริหารความสัมพันธ์กับชุมชนข้างเคียง นอกจากการดูแลผลกระทบจากการก่อสร้าง บริษัทมีนโยบายในการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนข้างเคียงด้วยการประสานงานกับผู้นำ� ชุมชนเพื่อเข้าสำ�รวจพื้นที่ส่วนกลางของชุมชน และหน่วยงานต่างๆ ที่อยู่รอบๆ โครงการ ตั้งแต่ก่อนดำ�เนินการก่อสร้างในพื้นที่ และจะ ให้ความสำ�คัญเป็นพิเศษโดยเฉพาะในพื้นที่ที่อยู่ติดกับโครงการหรือพื้นที่ที่อาจจะได้รับผลกระทบมากเป็นพิเศษ (พื้นที่อ่อนไหว) เพื่อ สอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากการก่อสร้าง ความกังวลใจเกี่ยวกับการก่อสร้าง กิจกรรมด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ชุมชนต้องการการสนับสนุน โดยบริษัทจะเข้าประสานงานดำ�เนินการให้กับชุมชน เพื่อเป็นการ สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน และช่วยลดข้อร้องเรียนที่อาจเกิดขึ้นภายหลัง ในปี 2558 บริษัทดำ�เนินการพัฒนาพื้นที่ข้างเคียงโครงการลุมพินี มิกซ์ เทพารักษ์-ศรีนครินทร์ ซึ่งอยู่ระหว่างการเริ่มการก่อสร้าง โดย ปรับปรุงพื้นที่บริเวณชุมชนซอยที่ดินทอง 6 ตามรายละเอียดดังนี้ 1. ปรับปรุงศาลาอ่านหนังสือของชุมชน

โดยการเทปูนเพือ่ ปรับพืน้ ที่ เพิม่ โต๊ะ เก้าอี้ สำ�หรับอ่านหนังสือ ติดตัง้ ชัน้ วางหนังสือ บอร์ดประชาสัมพันธ์ และตูย้ าสามัญประจำ� บ้านให้เพิม่ เติม

รูป ก่อน – หลัง ปรับปรุงศาลาอ่านหนังสือของชุมชนซอยที่ดินทอง 6

2. ปรับปรุงสนามเด็กเล่น สนามฟุตบอล ลานออกกำ�ลังกาย และเครื่องเล่นสำ�หรับเด็ก

ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนกลางในการทำ�กิจกรรมร่วมกันของชุมชน

รูป ก่อน – หลัง ปรับปรุงสนามเด็กเล่นของชุมชนซอยที่ดินทอง 6


94

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

Scoop

G5

เหตุเพลิงไหม้บ้านพักคนงาน โครงการลุมพินี ทาวน์ชิป รังสิต–คลอง 1 Emergency Management

เมื่อบ่ายวันที่ 25 กรกฎาคม 2558 ได้เกิดเหตุเพลิงไหม้บริเวณ บ้านพักคนงานของโครงการลุมพินี ทาวน์ชิป รังสิต-คลอง 1 ซึ่ง ตั้งอยู่ข้างเคียงกับพื้นที่ก่อสร้างของโครงการ เหตุเพลิงไหม้ได้ ลุกลามเป็นเวลากว่า 2 ชั่วโมง ก่อนเจ้าหน้าที่จะควบคุมเพลิงไว้ได้ และได้ปะทุขน้ึ อีกครัง้ ในช่วง 18.00 น. ก่อนจะดับลงในเวลา 19.00 น. ในทีส่ ดุ จากเหตุการณ์ดังกล่าวถึงแม้จะไม่มีผู้เสียชีวิตแต่ก็ส่งผล ให้บา้ นพักคนงาน 1,200 ห้อง เสียหายทัง้ หมด คนงาน 2,080 คน ได้รับความเดือดร้อน รวมถึงบ้านข้างเคียงเสียหาย 1 หลัง ซึ่ง เพลิ ง ได้ ไ หม้ ต้ น ไม้ ข้ า งรั้ ว และทำ � ให้ กระจกแตกร้ า วหลายบาน แต่ไม่เสียหายถึงตัวอาคาร


95

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

อย่างไรก็ตาม ด้วยการให้ความสำ�คัญกับนโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งานมาโดยตลอด ทำ�ให้ บริษัทสามารถบริหารจัดการเหตุการณ์ดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ เริ่มจากการล้อมพื้นที่ที่เกิดเพลิงไหม้โดยรอบเป็นเวลา 45 วัน และ จัดเวรยามดูแลทั้งบริเวณที่เกิดเหตุและที่พักอาศัยชั่วคราว และจัดให้มีการเยียวยาแก่ผู้ประสบภัยทั้งหมด ดังนี้

จัดสถานที่พักให้ผู้ประสบภัย พร้อมแจกเสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม

เร่งจัดทำ�บ้านพักคนงานใหม่

จัดเตรียมอาหารกล่องสำ�เร็จรูป พร้อมรับประทาน แก่ผปู้ ระสบภัย

จัดเจ้าหน้าที่เข้าพูดคุย

จัดหารถสุขาและรถสำ�รองนํ้า

ประสานงานเจ้าหน้าที่ บ้านข้างเคียงที่ได้รับ ความเสียหาย

ที่ได้รับบริจาคและผ่านการ คัดแยกแล้ว

ทุกมือ้ และน้�ำ ดืม่ ตลอดจนติดตั้ง เครื่องกรองน้ำ� เพื่อให้มีน�้ำ สะอาดใช้ อย่างเพียงพอ

เพื่อสุขลักษณะและให้มีน้ำ�ใช้อย่าง พอเพียง

จัดรถปฐมพยาบาล

เพื่อให้ผู้พักอาศัยเข้ารักษากับหน่วย แพทย์ได้สะดวกตลอด 24 ชั่วโมง

ในพื้นที่ใกล้เคียง

ในกรณีที่ผู้ประสบภัยมีปัญหาเพิ่มเติม ในด้านต่างๆ เช่น เรื่องครอบครัว ทรัพย์สิน และสภาพจิตใจ เพื่อ เตรียมการเยียวยาที่ถูกต้องเหมาะสม

นอกจากนั้น บริษัทยังได้เพิ่มความเข้มข้นให้กับแผน ฉุกเฉินในการป้องกันและระงับอัคคีภัย ซึ่งจะครอบคลุม ทุกระดับของความรุนแรงในการเกิดเหตุเพลิงไหม้ โดยมี การกำ�หนดเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน รวมถึง มีการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำ�เสมอ เช่น การ ตรวจบ้านพักคนงานและพื้นที่โดยรอบ การจัดกิจกรรม สนทนารับฟังข้อเสนอแนะในการป้องกันอัคคีภยั การอบรม เกี่ยวกับสาเหตุ การป้องกัน และการระงับอัคคีภัย ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในระยะยาว อันจะส่งผล ให้เกิดการสูญเสียน้อยที่สุด


96

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

G6

Community Management การดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิต ของผู้อยู่อาศัยในโครงการหลังส่งมอบ

ความรับผิดชอบของผูพ้ ฒ ั นาอสังหาริมทรัพย์ ไม่ควรสิน้ สุด เพียงแค่การส่งมอบ “ทีอ่ ยูอ่ าศัย” ให้แก่ลกู ค้า แต่ควรเข้ามา บริหารจัดการอาคาร (Building Management) ให้อยู่ในสภาพที่ พร้อมใช้ มีสง่ิ แวดล้อมทีด่ ี อย่างไรก็ตามบริษทั มองเห็นถึง ความสำ�คัญทีม่ ากกว่านัน้ จึงได้พฒ ั นาแนวคิดจากการบริหาร อาคาร สูก่ ารบริหารชุมชน เพือ่ สร้างวัฒนธรรมทีด่ ี สังคม ทีอ่ ยูอ่ าศัยร่วมกันอย่างมีความสุข ตลอดเวลากว่า 26 ปี บริษทั สร้างสรรค์และส่งมอบ “บ้าน” ให้กบั สมาชิก “ครอบครัวลุมพิน”ี กว่า 100,000 ครอบครัว รวม ทั้งดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตให้กับ ผู้อยู่อาศัยและชุมชนโดยรอบโครงการที่อาจได้รับ ผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ ด้วยกลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู”่ หรือ “Vibrant Community” ซึ่งไม่เพียงดูแลรักษาอุปกรณ์ และทรัพย์สินต่างๆ ให้เกิดความพร้อมและความปลอดภัย ในการใช้งานเท่านั้น แต่ยังให้ความสำ�คัญกับการสร้างความ สุขและสังคมที่ดี มีความอบอุ่น ปลอดภัย และรวมทั้งสร้าง จิตสำ�นึกของการใส่ใจสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง และสม่�ำ เสมอ ตามแนวทาง F-B-L-E-S+P ที่ได้ศึกษาพัฒนามาจากประสบการณ์ การบริหารชุมชนมาเป็นระยะเวลานาน เพื่อส่งมอบคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และสังคมที่ดี ดังนี้


97

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

E

Environment Management

S

Security & Safety Management

บร�หารชุมชน

COMMUNITY MANAGEMENT

F

Facility Management

B

Budgeting Management

L

การบริหารจัดการทรัพย์ส่วนกลาง ด้วยการ ดู แ ลทรั พ ย์ ส่ ว นกลางให้ ค งประสิ ท ธิ ภ าพ พร้อมและปลอดภัยสำ�หรับการใช้งาน ทั้ง ทรัพย์ส่วนกลางที่เป็นงานสถาปัตยกรรม สิง่ อำ�นวยความสะดวก และงานระบบอาคาร ต่างๆ เช่น ลิฟต์ เครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า ระบบ ไฟฟ้า ระบบสุขาภิบาล เป็นต้น การบริหารจัดการงบประมาณการเงินของ นิติบุคคลอาคารชุดให้เป็นไปตามนโยบาย ที่ได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่สามัญ เจ้าของร่วม และบริหารเงินกองทุนและ ทรัพย์สนิ ส่วนกลางให้มเี สถียรภาพและรายได้ เพื่ อ ความมั่ น คงทางการเงิ น ของชุ ม ชน จัดทำ�รายงานการเงินที่ง่ายต่อความเข้าใจ เน้นความโปร่งใสและตรวจสอบได้ Life Quality Management

การบริหารจัดการคุณภาพชีวติ ของผูอ้ ยูอ่ าศัย ส่งเสริมให้ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบและข้อบังคับ อาคารชุด เพื่อการอยู่อาศัยร่วมกันอย่างมี ความสุข และสร้างวัฒนธรรมการอยูอ่ าศัย “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน” สนับสนุนการมี ส่วนร่วมเพือ่ พัฒนาชุมชน รวมทัง้ จัดกิจกรรม เพื่อ สร้า งความสัมพันธ์ภายในครอบครั ว และระหว่างสมาชิก “ลุมพินี” และสืบสาน วัฒนธรรมอันดีงามของสังคม

P

การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นสิ่งที่ บริษัทให้ความสำ�คัญอย่างยิ่ง โดยยึดหลัก Green Clean Lean เป็นสำ�คัญ อาทิ การ ดูแลรักษาหรือการปลูกต้นไม้ทดแทน เพื่อ เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้ชุมชนและสังคมโดยรวม การคั ด แยกขยะเพื่ อ ให้ ง่ า ยต่ อ การกำ � จั ด หรือนำ�เข้ากระบวนการ Recycle การ บำ �บัด น้ำ�เสียให้ได้คุณภาพและการนำ�กลับ มาใช้ใหม่ในโครงการ การรณรงค์ประหยัด พลังงาน และสนับสนุนพลังงานทางเลือก การบริหารจัดการความปลอดภัย ตัง้ แต่การ ออกแบบผังโครงการ การตรวจสอบและรักษา มาตรฐานของระบบและอุปกรณ์ เช่น กล้อง โทรทัศน์วงจรปิด ระบบเตือนภัย และระบบ สือ่ สาร รวมถึงการอบรมพัฒนาบุคลากรทีท่ �ำ หน้าที่ในการรักษาความปลอดภัยอยู่เสมอ รวมทั้งการสร้างเครือข่ายความมีส่วนร่วม จากทั้ งภายในชุ ม ชนและหน่ ว ยราชการที่ เกี่ยวข้อง เพื่อความปลอดภัยสูงสุดของ สมาชิกภายในชุมชนเป็นสำ�คัญ People Management

การบริหารจัดการผู้เกี่ยวข้องในงานบริหาร ชุมชน ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายจัดการฯ คณะ กรรมการนิติบุคคล และผู้อยู่อาศัย เพื่อให้ เกิดความร่วมมือร่วมใจและความพึงพอใจ รวมทั้ ง บริ ห ารจั ด การปั ญ หาข้ อ ขั ด แย้ ง ของผู้ พั ก อาศั ย ที่ อ าจส่ ง ผลกระทบต่ อ ชุมชน โดยมุ่งเน้นที่จะพัฒนาทัศนคติและ ทักษะของบุคลากร และกำ�หนดแนวทาง การสื่อสารเพื่อเพิ่มความรู้และความเข้าใจ ในการบริ ห ารชุ ม ชนแก่ ค ณะกรรมการ นิติบุคคล โดยเฉพาะประธานกรรมการ นิติบุคคล เพื่อให้การบริหารจัดการชุมชน เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ส่งผลให้การ ดำ�เนินการตามแนวทาง F-B-L-E-S+P มี ประสิทธิภาพไปด้วย ซึ่งการสร้างชุมชนที่ ยั่งยืน จะประกอบไปด้วยองค์ประกอบของ บุคลากรดังต่อไปนี้ • บุคลากรภายใน • ผู้อยู่อาศัย • คณะกรรมการนิติบุคคล


98

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

บุคลากรภายใน ได้แก่ ผู้บริหาร

ผู้จัดการชุมชน และทีมงานฝ่ายจัดการ ที่มีบทบาทต่อการจัดการให้ชุมชนมี ความยั่งยืน ซึ่งบริษัทได้ท�ำ การพัฒนา บุคลากรผ่านการอบรมในหลักสูตรต่างๆ รวมทั้งส่งเสริมวัฒนธรรมการให้บริการ เพือ่ สร้างความไว้วางใจและความร่วมมือ เพื่อผลสัมฤทธิ์ตามกลยุทธ์การสร้าง ชุมชนน่าอยู่

G6

ผู้อยู่อาศัย ได้แก่ ผู้ที่อยู่อาศัยใน โครงการ ทั้งเจ้าของร่วมและผู้เช่า ซึ่งเป็นทั้งผู้กำ�หนดแนวทางและผู้ปฏิบัติ เพื่อให้ชุมชนมีความน่าอยู่และยั่งยืน ตามเป้าหมายร่วมกัน ผ่านกิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นโดยผ่านทางฝ่ายบริหารจัดการ เพื่อให้ผู้อยู่อาศัยมีความเข้าใจต่อการใช้ ชีวิตที่เหมาะสม ลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างสังคมที่ดี และสร้างชุมชนน่าอยู่ต่อไป

คณะกรรมการนิติบุคคล ซึ่งเป็น

ตัวแทนของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายใน โครงการ และขับเคลื่อนกระบวนการ ของการสร้างชุมชนน่าอยู่ โดยการ เสริมความรู้ให้แก่ประธานและ คณะกรรมการฯ ที่จะนำ�ไปสู่การปฏิบัติ

GREEN Community Management

ผลการดำ�เนินงานด้านการบริหารชุมชน

การบริหารจัดการคุณภาพชีวิต • การพัฒนาห้องสมุดมีชีวิตในชุมชน

บริษัทให้ความสำ�คัญกับการส่งเสริมการอ่าน การเรียนรู้ โดยการ พัฒนาห้องอเนกประสงค์ ในแต่ละชุมชนให้เป็นห้องสมุดมีชีวิต มีวตั ถุประสงค์เพื่อเป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ พื้นทีพ่ บปะสังสรรค์ และพืน้ ทีท่ �ำ กิจกรรมร่วมกัน โดยได้มกี ารบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับสำ�นักงานอุทยานการเรียนรู้ (TK Park) ในปี 2554 เพื่อร่วมกันพัฒนาและบริหารจัดการห้องสมุดในชุมชน เริ่มตั้งแต่ การอบรมให้ความรู้เรื่องการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต เทคนิคการจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และการใช้ห้องสมุดสำ�หรับเด็กและผูใ้ หญ่ ให้กับบุคลากรในสายงานบริหารชุมชน


99

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

นอกจากนั้น บริษัทได้ปรับปรุงรูปแบบภายในห้องสมุดให้สวยงาม ดึงดูดให้ผพู้ กั อาศัยเข้ามาใช้งานมากขึ้น ทัง้ การเพิม่ มุมสำ�หรับเด็ก มุมคอมพิวเตอร์ทล่ี งโปรแกรมส่งเสริมการเรียนรูจ้ ากอุทยานการเรียนรู้ (TK Park) การเพิ่มหนังสือและการจัดหมวดหมู่ รวมทั้งการจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อกระตุ้นการใช้ ห้องสมุด ผ่านกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ในปี 2558 บริษัทมีการดำ�เนินการปรับปรุงห้องสมุดในชุมชนเดิม ที่พัฒนาก่อนปี 2554 ให้เป็นห้องสมุดมีชีวิตด้วยงบประมาณของ บริษัท จำ�นวน 4 ชุมชนคือ 1) ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจ้าพระยา 2) ลุมพินี เพลส พระราม 3-ริเวอร์วิว 3) ลุมพินี เพลส นราธิวาสราชนครินทร์ 4) ลุมพินี เพลส รัชดา-ท่าพระ

ก่อน

หลัง

ตัวอย่างการปรับปรุงพื้นที่เป็นห้องสมุดมีชีวิตของ โครงการลุมพินี เพลส รัชดา-ท่าพระ

ก่อน

หลัง

ตัวอย่างการปรับปรุงพื้นที่เป็นห้องสมุดมีชีวิตของ โครงการลุมพินี เพลส พระราม 3-ริเวอร์วิว


100

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม GREEN

3

• การจัดการพื้นที่สีเขียว (Green)

ฝ่ายจัดการในทุกชุมชนของบริษัทจะทำ�หน้าที่ดูแล พืน้ ทีส่ เี ขียว เพือ่ ให้ผพู้ กั อาศัยมีสถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ ที่ร่มรื่น โดยผลจากการจัดการพื้นที่สีเขียวในชุมชน 119 ชุมชนที่บริษัทบริหารจัดการในปี 2558 มีผล การดำ�เนินงาน ดังนี้

ชุมชน พ�้นที่สีเข�ยว เพ�่มข�้น

* 1 ชุมชน พ�้นที่สีเข�ยว ลดลง

1) สภาพพื้นที่สีเขียวยังคงสภาพดี จำ�นวน 115 ชุมชน 2) พื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น จำ�นวน 3 ชุมชน 3) พื้นที่สีเขียวลดลง จำ�นวน 1 ชุมชน*

115 ชุมชน

สภาพพ�้นที่สีเข�ยว ยังคงสภาพดี

110 ชุมชน

จัดกิจกรรม ปลูก แปลง แบง ปน

*เนื่องจากผู้รับเหมาที่ดูแลพื้นที่สีเขียวในชุมชนขาดประสบการณ์ จึงได้ดำ�เนินการแก้ไขโดยการจัดหาผู้รับเหมารายใหม่ และจะปรับปรุงพื้นที่สีเขียวให้คืนสู่สภาพเดิม

กิจกรรม ปลูก แปลง แบ่ง ปัน

นอกจากการดูแลรักษาพื้นที่สีเขียวในชุมชนแล้ว บริษัทยังจัด กิจกรรม “ปลูก แปลง แบ่ง ปัน” ต่อเนื่องกันเป็นปีที่ 2 เพื่อ ให้ ผู้ พั ก อาศั ยในโครงการมี ส่ ว นร่ ว มในการเพิ่ ม พื้ น ที่ สี เ ขี ย วใน ห้องชุดและพื้นที่ส่วนกลางอีกด้วย โดยในปี 2558 มีการกำ�หนด เป้าหมายการจัดกิจกรรมจำ�นวน 105 ชุมชน ซึ่งจัดกิจกรรมได้ ทั้งหมด จำ�นวน 110 ชุมชน


101

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

CLEAN

(G4-EN23)

• การจัดการขยะในชุมชน (Clean)

บริ ษั ท ให้ ความสำ � คั ญ กั บ การจั ด ระบบการจั ด การขยะอย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดยถือเป็นนโยบายหลักที่สำ�คัญ เพื่อให้เกิด สภาพแวดล้อมที่ดีเหมาะสมต่อการอยู่อาศัย และไม่ส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม โดยเริม่ จากการพัฒนารูปแบบของถังขยะในชุมชน ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันและเพิม่ ภาชนะในการคัดแยกขยะ ในปี 2551 รวมทั้งสร้างระบบรองรับการจัดการขยะแต่ละประเภท ปัจจุบัน ในแต่ละชุมชนมีถังขยะเพื่อการคัดแยก 5 ประเภท คือ ขยะเศษ อาหาร ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และถังคัดแยกกล่อง เครื่องดื่ม

24,486.73 กิโลกรัม

คือจำนวน ขยะร�ไซเคิลทั้งหมด

17 ชุมชน

ผลการคัดแยกขยะ ร�ไซเคิลไดทั้งหมด

จาก 17 ชุมชน ที่เขารวมโครงการ คัดแยกขยะร�ไซเคิล ตั้งแตเดือน มกราคม-พฤศจ�กายน 2558

91,593.75* บาท

คือจำนวนรายไดจาก การขายขยะร�ไซเคิลทั้งหมด

*รายไดจากการขายขยะร�ไซเคิลจะนำไปใชแตกตางกันในแตละโครงการ ข�้นอยูกับมติที่ประชุมของคณะกรรมการนิติบุคคลโครงการนั้นๆ

ไม่เพียงแต่สร้างระบบรองรับการจัดการขยะแต่ละประเภทเท่านั้น บริษัทยังได้ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมและมีจิตสำ�นึกความ รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมร่วมกัน โดยมีการจัดอบรม เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยในที่พักอาศัย การจัดการของเสีย อันตราย เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่บุคลากรในสายงานบริหาร ชุมชน รวมทัง้ มีการรณรงค์ให้ความรูค้ วามเข้าใจในการคัดแยกขยะกับ ผู้พักอาศัยภายในชุมชน เพื่อให้มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ผ่านสื่อ ประชาสัมพันธ์ คู่มือ แผ่นพับ และกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง

8

ชุมชน

ผลการคัดแยกขยะ อันตรายไดทั้งหมด

จาก 8 ชุมชน ที่เขารวมโครงการ คัดแยกขยะร�ไซเคิล ตั้งแตเดือน มกราคม-พฤศจ�กายน 2558

ในปี 2558

5,208 ช�้น

คือจำนวน ขยะอันตรายทั้งหมด

บริษัทมีเป้าหมายในการตั้งถัง ขยะรีไซเคิล จำ�นวน 26 ชุมชน สามารถติดตัง้ ได้จริง จำ�นวน 27 ชุมชน


102

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

นอกจากนี้ ได้มีการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างจิตสำ�นึกการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะ โดยแบ่งกิจกรรมเป็น 2 กิจกรรม ดังนี้ 1. กิจกรรมคัดแยกขยะ

2. กิจกรรม ขอขวด แลก ข.ไข่

มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความรู้เรื่องการจัดการขยะพร้อมทั้งส่ง เสริมให้ผู้พักอาศัยคัดแยกขยะอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้เข้าร่วม กิจกรรมจะได้รับความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการคัดแยก ขยะ รวมทั้งได้รับคู่มือการจัดการขยะและวัสดุเหลือใช้ โดยในปี 2558 จัดกิจกรรมใน 10 ชุมชนเป้าหมาย

มีวัตถุประสงค์เพื่อรณรงค์ให้ผู้พักอาศัยคัดแยกขยะและเพิ่มมูลค่า ขยะ ด้วยการนำ�ขยะมาแลกไข่ ตามเงื่อนไขที่กำ�หนด โดยขยะ รีไซเคิลที่รวบรวมได้จากการจัดกิจกรรม แต่ละชุมชนจะนำ�ไปขาย และนำ�รายได้กลับมาปรับปรุงและพัฒนาชุมชน โดยในปี 2558 จัดกิจกรรมแล้วทั้งสิ้น 110 ชุมชน

บรรยากาศการจัดกิจกรรมคัดแยกขยะในโครงการ

บรรยากาศการจัดกิจกรรม ขอขวด แลก ข.ไข่

LEAN • การจัดการทรัพยากรในชุมชน (Lean)

ปัจจุบันความต้องการใช้ทรัพยากรมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของจำ�นวนประชากร ในแต่ละปีทุกชุมชนต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำ�นวน มากจากการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง ดังนั้น การลดการใช้ทรัพยากรจึงเป็นนโยบายหนึ่งในการบริหารชุมชนที่ช่วยลดต้นทุนในการ บริหารจัดการ รวมทั้งช่วยลดการใช้ทรัพยากรโดยรวมของประเทศ การจัดการทรัพยากรในชุมชนแบ่งเป็น 2 ด้าน คือ การจัดการน้ำ� และการประหยัดพลังงานไฟฟ้า 1. การจัดการนํ้าในชุมชน (G4-EN10)

ก่อนการปล่อยน้ำ�เสียออกสู่สาธารณะ จะมีการบำ�บัดและตรวจวัดคุณภาพน้ำ�อยู่เสมอ ในปัจจุบัน มีชุมชนที่มีการ ตรวจวัดคุณภาพน้�ำ ที่ผ่านการบำ�บัดแล้วจำ�นวน 92 ชุมชน ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 87 ชุมชน ไม่ผ่านเกณฑ์ 5 ชุมชน เนือ่ งจากอยู่ระหว่างการปรับปรุงระบบ และอีก 14 ชุมชน ไม่มีการตรวจคุณภาพน้ำ�ที่ผ่านการบำ�บัดแล้ว เนื่องจาก ส่งน้�ำ เสียไปบำ�บัดภายนอก โดย 50 ชุมชนที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ได้นำ�น้ำ�กลับไปใช้ประโยชน์ ในการรดน้�ำ ต้นไม้ ล้างถนน และฉีดบ่อบำ�บัด ซึ่งนับเป็นปริมาณน้�ำ ที่สามารถประหยัดไปได้ทั้งหมด 121,762.28 ลูกบาศก์เมตร

การตรวจวัดคุณภาพนํ้า รดน้ำตนไม

รวมประหยัดน้ำได

121,762.28

87

ชุมชน

จาก 92 ชุมชน

ผานเกณฑมาตรฐาน การบำบัดน้ำ

50 ชุมชน นำน้ำกลับมา ใชประโยชน

ลางถนน

ฉีดบอบำบัด

ลูกบาศกเมตร


103

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

2. การประหยัดพลังงานไฟฟ้า (G4-EN6)

บริษัทตระหนักถึงความสำ�คัญในเรื่องการ ประหยัดพลังงานไฟฟ้าเป็นอย่างยิ่ง จึงได้ ดำ�เนินการรณรงค์ ให้ชุมชนเปลี่ยนหลอดไฟ บริเวณพืน้ ทีส่ ว่ นกลาง จากหลอดฟลูออเรสเซนต์ เป็นหลอด LED โดยในปี 2558 มีชุมชน ที่ร่วมโครงการทั้งหมด 81 ชุมชน เปลี่ยน หลอดไฟฟ้าทัง้ หมด จำ�นวน 88,846 หลอด สามารถประหยัดไฟฟ้าได้ถงึ 290,467 หน่วย คิดเป็นเงิน 1,074,730 บาท

ตัวอย่างหลอดไฟ LED ที่ใช้ในโครงการ

กิจกรรม Candle Park

นอกจากนั้น บริษัทได้รณรงค์ ให้ชุมชนร่วมกันปิดไฟบริเวณส่วนกลาง (ลานจอดรถและลิฟต์) วันละ 1 ชั่วโมงครึ่ง ซึ่งมีชุมชนเข้าร่วม ทั้งสิ้น 108 ชุมชน สามารถประหยัดไฟได้ 21,443.56 กิโลวัตต์ รวมทั้งได้เชิญชวนให้ผู้พักอาศัยเข้าร่วมกิจกรรม “ปิดไฟให้โลกพัก” เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 20.30-21.30 น. มีชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม จำ�นวน 108 ชุมชน สามารถประหยัดไฟได้ 28,106 กิโลวัตต์ ซึ่ง ช่วงเวลาที่ดับไฟ มีกิจกรรมต่างๆ สำ�หรับผู้พักอาศัย เช่น ดนตรีในสวน ตลาดนัดไฟฉาย และกิจกรรม Candle Park

ปดไฟใหโลกไดพัก

รวมประหยัดไฟได

49,549.56

วันละ 1.5 ชั่วโมง

กิโลวัตต

คิดเปนเง�น

สามารถประหยัดไฟได

สวนกลางปดไฟ (ลานจอดรถและลิฟต)

108 ชุมชน

183,296.37 บาท

21,443.56 กิโลวัตต

กิจกรรม ดนตร� ในสวน

วันละ 1 ชั่วโมง

กิจกรรม ตลาดนัด ไฟฉาย

สามารถประหยัดไฟได

ผูพักอาศัย

เขาโครงการ “ปดไฟใหโลกพัก”

28,106 กิโลวัตต

ผูพักอาศัย

ไดเขารวมกิจกรรมตางๆ ในชวงดับไฟ

กิจกรรม CANDLE PARK


104

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

Scoop

G6

ชุมชนต้นแบบ

Vibrant Community Model ปัจจุบนั การอยูอ่ าศัยในอาคารชุดเป็นที่นิยมและมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง แต่ดว้ ยวิถชี วี ิตของคนเมืองที่มกั ใช้เวลาส่วนใหญ่ ไปกับการทำ�งาน ทำ�ให้รปู แบบสังคมไทยทีเ่ คยถ้อยทีถอ้ ยอาศัย มีปฏิสมั พันธ์กนั กับเพือ่ นบ้าน เป็นสิง่ ทีห่ าดูได้ยากขึน้ จึงเป็นทีม่ า ของแนวคิด “ชุมชนน่าอยู่” ที่ต้องการสร้างชุมชนที่ผู้พักอาศัยมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความห่วงใย เอื้ออาทร และพึ่งพาอาศัยกัน เป็นชุมชนทีม่ คี วามเข้มแข็ง ด้วยความร่วมมือร่วมใจกันของผูพ้ กั อาศัย จากเป็นเพียงแนวคิดและความตัง้ ใจของผูบ้ ริหาร “ชุมชนน่าอยู”่ ได้ถกู พัฒนาและต่อยอดจากประสบการณ์กว่า 20 ปี เกิดเป็น กลยุทธ์การบริหารจัดการชุมชน ตามกลยุทธ์ F-B-L-E-S+P เพื่อประสิทธิภาพในการดำ�เนินงานบริหารชุมชน และเป็น เครือ่ งมือในการสือ่ สารสร้างความเข้าใจระหว่างฝ่ายจัดการ คณะกรรมการนิติบุคคล และผู้อยู่อาศัย ต่อมาในปี 2556 บริษทั ได้มกี ารกำ�หนดเกณฑ์มาตรฐานในแต่ละด้านของการบริหารจัดการ F-B-L-E-S+P ให้เป็นรูปธรรมและมีความชัดเจน สามารถ เติบโตและอยูร่ ว่ มกันได้อย่างยัง่ ยืน จึงเป็นทีม่ าของ “ชุมชนต้นแบบ” หรือ ชุมชนทีม่ มี าตรฐานในการบริหารจัดการ “ชุมชนน่าอยู”่ อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งบรรทัดฐานของ “ชุมชนต้นแบบ” มีดังนี้

บรรทัดฐานด้านประสิทธิภาพชุมชน • เกณฑ์ด้านการบริหารจัดการ

F B L E S

การบริหารจัดการทรัพย์ส่วนกลาง Facility Management

90%

จำ�นวนห้องชุด

≥ 1,000 ยูนิต

การบริหารจัดการงบประมาณการเงิน Budgeting Management

95%

จำ�นวนผู้พักอาศัย

≥ 70%

อายุชุมชน

≥ 1 ปี

การบริหารจัดการคุณภาพชีวิต Life Quality Management

85%

การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม Environmental Management

90%

การบริหารจัดการความปลอดภัย Security and Safety Management

95%

วัดผลโดยฝ่ายควบคุมคุณภาพการบริหารชุมชน Community Quality Assurance (CQA)

• ความพึงพอใจในประสิทธิภาพชุมชน

P

บรรทัดฐานด้านกายภาพ

การบริหารจัดการผู้เกี่ยวข้อง People Management - เจ้าของร่วม - กรรมการนิติบุคคลอาคารชุด วัดผลโดยฝ่ายบริหารประสบการณ์ลูกค้า Customer Experience Management (CEM)

85%


105

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

นอกจากนัน้ บริษทั ยังส่งเสริมให้ ผูพ ้ กั อาศัยในแต่ละชุมชนมีสว่ นร่วมใน การสร้างอัตลักษณ์ทเ่ี ป็นรูปแบบเฉพาะ หรือเป้าทีต่ อ้ งการให้เป็นของแต่ละชุมชน เพือ่ สร้าง “ความสุขทีแ่ ท้จริงของการอยูอ่ าศัย” โดยปัจจุบนั มีชมุ ชนทีผ่ า่ นเกณฑ์การพิจารณา เป็นชุมชนต้นแบบทัง้ สิน้ 15 ชุมชน และบริษทั มีแผนทีจ่ ะสนับสนุนให้ทกุ ชุมชนปรับปรุงการ บริหารจัดการ เพือ่ ให้ได้มาตรฐานของชุมชน ต้นแบบ รวมทัง้ พัฒนาแนวคิดไปสูก่ ารสร้าง ต้นแบบของ “ชุมชนเมืองน่าอยู”่


106

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

Scoop

G6

กิประธานกรรมการนิ จกรรมเสวนา ติบุคคลอาคารชุด กิจกรรมเสวนาประธานกรรมการนิตบิ คุ คลอาคารชุด เป็นกิจกรรมทีบ่ ริษทั ได้รเิ ริม่ ขึน้ ตัง้ แต่ปี 2550 เพือ่ ระดมความคิดเห็น แบ่งปัน ประสบการณ์ และแลกเปลีย่ นความคิดเห็นของประธานกรรมการนิตบิ คุ คลอาคารชุด ตัวแทนของลูกค้าทีอ่ ยูอ่ าศัยในทุกโครงการ ซึ่งปัจจุบันมีจำ�นวนมากกว่า 100,000 ครอบครัว เพื่อร่วมหาแนวทางในการพัฒนาให้ชุมชนของตนเองเป็น “ชุมชนน่าอยู่” ที่ เพียบพร้อมไปด้วยสังคมทีม่ คี วามสุข มีจติ สำ�นึกของการร่วมใจ ห่วงใย และแบ่งปัน (Togetherness, Care & Share) อันเป็น วัฒนธรรมการอยู่อาศัยในรูปแบบของชุมชนลุมพินี โดยในปี 2558 ที่ผ่านมา กิจกรรมเสวนาประธานกรรมการนิติบุคคลอาคารชุด ครั้งที่ 9 จัดขึ้นภายใต้หัวข้อ “ชุมชนน่าอยู่ สำ�หรับคนทุกวัย” ซึ่งบริษัทได้รับความร่วมมือจากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ที่ร่วมแบ่งปัน ความรูใ้ นการสร้างเสริมสุขภาพ การพัฒนาคุณภาพชีวติ และสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาวะ เพื่อประธานกรรมการนิติบุคลล จะได้ร่วมกันระดมความคิดเห็นและนำ�บทสรุปไปต่อยอดให้ทุกชุมชนของ “ลุมพินี” เป็น “ชุมชนน่าอยู่ส�ำ หรับคนทุกวัย” นอกจากนี้ จะมีการประสานความร่วมมือระหว่างบริษัทกับ สสส. ในการพัฒนาขีดความสามารถและทักษะด้านการดูแลสุขภาวะ ของคนในชุมชน ให้กับผู้จัดการชุมชนโดยผ่านสถาบันแอล.พี.เอ็น. ต่อไป

ชุมชนน่าอยู่ คือ ชุมชนลุมพินี ที่ผู้อยู่อาศัยทุกวัย อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยมีองค์ประกอบทีเ่ หมาะสม มีคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และสังคมที่ดี รวมทั้ง จิตสำ�นึกของการอยู่ร่วมกัน ดูแลห่วงใย และแบ่งปัน


107

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ผลจากการเสวนา สามารถสรุปปัจจัยหลักทีน่ �ำ ไปสู่ ความสำ�เร็จของการพัฒนาชุมชนน่าอยูส่ �ำ หรับคนทุกวัย ซึง่ ประกอบด้วย • บทบาทของกรรมการนิติบุคคล ตัวแทนเจ้าของร่วม ที่มีหน้าที่ในการตรวจสอบ กำ�กับดูแล และสนับสนุน การบริหารชุมชน • ความร่วมมือของเจ้าของร่วม สมาชิกของชุมชนที่ “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน” • คุณค่าบริการที่เกิดจากประสิทธิภาพการบริหาร จัดการชุมชนของฝ่ายจัดการ ภายใต้กลยุทธ์

“ชุมชนน่าอยู่ สำ�หรับคนทุกวัย”

F B L E S+P

โดยทุกชุมชน จะมุง่ เป้าไปสูก่ ารปรับปรุง ลักษณะทางกายภาพ ของโครงการ ทัง้ ภายใน ห้องชุดและพืน้ ทีส่ ว่ นกลาง ให้เหมาะสม รวมทัง้ มีระบบ และกระบวนการพัฒนา ผ่านช่องทางการสื่อสาร และการจัดกิจกรรม ในแต่ละโครงการ


108

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

Scoop

G6

กิจกรรม วันครอบครัวลุมพินี Lumpini Family Day

เพือ่ ส่งมอบความสุขและแสดงความขอบคุณต่อสมาชิกชาวลุมพินที กุ ท่าน บริษทั จึงได้จดั กิจกรรม LPN Family Day เป็นครัง้ แรก เมือ่ ปี 2547 ณ สวนลุมพินี ทีม่ าของชือ่ แบรนด์ “ลุมพิน”ี จากกิจกรรมเล็กๆ ทีม่ ผี เู้ ข้าร่วม 3,000 คนในวันนัน้ ได้ขยายวงกว้าง ขึน้ เรือ่ ยๆ ด้วยจำ�นวนสมาชิกทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปีเป็นรวมกว่า 10,000 คน ภายใต้กิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งเดิน-วิง่ เพือ่ สุขภาพ กีฬาประชาคมลุมพินี ธรรมะในสวน และดนตรีในสวน ซึง่ ร่วมแสดงโดยนักดนตรีจากสมาชิกลุมพินี (LPN รวมใจแบนด์คลับ) และ กิจกรรมบันเทิงต่างๆ อีกมากมาย ทัง้ หนังกลางแปลง คอนเสิรต์ บูธกิจกรรมต่างๆ และไม่ลมื ทีจ่ ะแบ่งปันความสุขเหล่านัน้ ให้แก่ เด็กผูด้ อ้ ยโอกาสในมูลนิธติ า่ งๆ รวมถึงสิง่ แวดล้อมและสังคมภายนอกองค์กร และภายหลังในปี 2557 ได้เปลีย่ นชือ่ กิจกรรมเป็น Lumpini Family Day เพือ่ ให้เป็นกิจกรรมของสมาชิกลุมพินแี ละประชาชนทัว่ ไปอย่างสมบูรณ์ ซึง่ ทัง้ หมดนี้ ล้วนเกิดขึน้ ภายใต้ วัฒนธรรมการอยูอ่ าศัย “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน” ทีบ่ ริษทั ตระหนักและให้ความสำ�คัญตลอดมา


109

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

จากจุดเริ่มต้นในปี 2547 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม LPN Family Day 3,000 คน จนถึงปัจจุบันมีผู้เข้าร่วม กิจกรรมนี้กว่า 10,000 คน

Caring & Sharing

ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน


110

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

3

ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมนอกกระบวนการ OUT PROCESS

P.111 P.114

กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของบริษัท กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของชมรมลุมพินีอาสา


111

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม แนวทางการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมนอกกระบวนการของบริษัท มุ่งเน้นส่งเสริมจิตสำ�นึกความรับผิดชอบ ที่เริ่มต้นจากตนเอง ซึ่งหมายถึง ภายในองค์กรและภายในชุมชนที่บริษัทพัฒนา แล้วจึงขยายสู่สังคมภายนอก โดยต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจจากผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ทั้งบุคลากร ลูกค้า ปิยมิตร ดังคำ�ที่ว่า “สิ่งแวดล้อมและสังคมที่ดีต้องเริ่มต้นจากตัวเราก่อน เมื่อเราพร้อม จึงขยายออกไปสู่ชุมชนที่เราพัฒนาและบริหาร และสุดท้ายจึงขยายไปสู่ชุมชนรอบข้าง” (From Corporate ESR to Community ESR) แนวคิดดังกล่าวจึงเป็นที่มาของนโยบายการบริหารจัดการชุมชนที่บริษัทมุ่งพัฒนาให้ทุกโครงการเป็น “ชุมชนน่าอยู่” เพื่อเป็นตัวอย่าง ให้ผู้ประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์รายอืน่ และส่งผลไปสูแ่ นวคิดในการทำ�กิจกรรมเพือ่ สิง่ แวดล้อมและสังคม โดยกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม และสังคมนอกกระบวนการ แบ่งเป็นกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของบริษัท ที่เป็นกิจกรรมหลักและจัดต่อเนื่องทุกปี และกิจกรรม เพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของชมรมลุมพินีอาสา

กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของบริษัท 1. กิจกรรมบริจาคโลหิต กิจกรรมเพ�่อสิ�งแวดลอม และสังคมของบร�ษัท

กิจกรรมบริจาคโลหิตเป็นกิจกรรมหลักด้านสังคม ที่บริษัทร่วมกับศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ดำ�เนินงานมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2539 จนถึงปัจจุบันเป็นเวลากว่า 20 ปี โดยมีหน่วยรับบริจาคโลหิตเคลื่อนที่หน่วยแรกที่อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ต่อมาบริษัท เห็นว่า โครงการต่างๆ ที่บริษัทพัฒนาขึ้นสามารถเป็นศูนย์กลางการรับบริจาคโลหิตจาก ผู้พักอาศัยในโครงการและจากประชาชนทั่วไป จึงขยายไปสู่โครงการต่างๆ โดยบริษัทจะ เก็บข้อมูลปริมาณโลหิตและข้อมูลของผู้บริจาคโลหิตทุกครั้งที่มีการรับบริจาคโลหิต เพื่อ เป็นฐานข้อมูลในการประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมในครั้งต่อไป ด้วยความมุ่งหวังให้เกิด ฐานข้อมูลเครือข่ายผู้บริจาคโลหิตในกรณีฉุกเฉิน หากมีความต้องการโลหิตเร่งด่วน บริษัท จะส่งข้อความแจ้งผู้มีจิตอาสาทราบและไปบริจาคโลหิตได้ทันที ปัจจุบนั บริษัทมีหน่วยรับบริจาคโลหิต 6 แห่ง ได้แก่ อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ กลุม่ โครงการ ลุมพินี สุขมุ วิท 77 กลุม่ โครงการ พี.เอส.ที. กลุม่ โครงการรามอินทรา-หลักสี่ กลุม่ โครงการ รามอินทรา-นวมินทร์ และโครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทรเดชา-รามคำ�แหง โดยจะ รับบริจาคโลหิตในโครงการทุก 3 เดือน ซึง่ ในปี 2558 ได้จดั กิจกรรมทัง้ หมด 24 ครัง้ ได้รบั ปริมาณโลหิตทัง้ หมด 2,857 ยูนติ คิดเป็นปริมาณโลหิต 999,950 ซี.ซี. มากกว่าปริมาณโลหิต ที่ได้รบั บริจาคในปี 2557 จำ�นวนทัง้ สิน้ 190 ยูนติ โดยปี 2557 ได้รบั ปริมาณโลหิตทัง้ หมด 2,667 ยูนติ สามารถนำ�ไปช่วยเหลือผูป้ ว่ ยได้ประมาณ 11,428 คน (คำ�นวณจากปริมาณโลหิต 350 - 450 ซี.ซี. ต่อ 1 ยูนติ นำ�ไปช่วยชีวติ ผูป้ ว่ ยได้ 4 คน) ตามตาราง

กิจกรรมบริจาคโลหิต เป็นกิจกรรมหลัก ด้านสังคม ที่บริษัท ดำ�เนินงานมาอย่าง ต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2539 จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา กว่า 20 ปี

จำนวนครั้งที่ LPN จัด กิจกรรมบร�จาคโลหิต

24 ครั้ง

ปร�มาณโลหิต ที่ไดรับบร�จาค

999,950 ซ�.ซ�.

หร�อเทากับ 2,857 ยูนิต

จำนวนผูปวย ที่ไดรับความชวยเหลือ

11,428 คน


112

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

นอกจากนั้น บริษัทได้เพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์รับบริจาค โลหิต ด้วยการส่งข้อความสั้น (SMS) ทางโทรศัพท์มือถือ การใช้ ป้ายไวนิล และโปสเตอร์ เพื่อแจ้งวัน เวลา และสถานที่ในการรับ บริจาคโลหิต รวมถึงได้จัดทำ�ปฏิทินตารางรับบริจาคโลหิตประจำ�ปี และสร้างแรงจูงใจในการเข้าร่วมบริจาคโลหิตด้วยการมอบของที่ ระลึกให้ผู้ที่ร่วมบริจาคโลหิตครบตามจำ�นวนครั้งที่กำ�หนดด้วย

รูป ตัวอย่างของที่ระลึก สำ�หรับผู้ที่บริจาคโลหิต ครบ 4 ครั้ง ในปี 2558

2. การสร้างความสัมพันธ์กับหน่วยงานภายนอก การส่งเสริมการคัดแยกขยะ

เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการรณรงค์คัดแยกขยะ บริษทั ได้ให้การ สนับสนุนหน่วยงานราชการและองค์กรต่างๆ ทีข่ อรับถังขยะรีไซเคิล และถังขยะอันตรายตามรูปแบบทีบ่ ริษทั พัฒนาขึน้ พร้อมทั้งส่งมอบ คู่มือความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ เพื่อให้เกิดการแบ่งปันองค์ ความรู้ให้กับหน่วยงานราชการและองค์กรต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่เป็น หน่วยงานราชการที่มีโครงการของบริษัทตั้งอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ โดยในปี 2558 บริษัทสนับสนุนถังขยะรีไซเคิล จำ�นวน 27 ชุด และถังขยะอันตราย จำ�นวน 11 ชุด ให้กบั หน่วยงานราชการ 12 แห่ง รายละเอียดดังตารางต่อไปนี้ ตารางแสดงหน่วยงานราชการที่ขอรับการสนับสนุน ถังขยะรีไซเคิลและถังขยะอันตราย องค์กร / หน่วยงาน

ถังขยะรีไซเคิล (ชุด)

ถังขยะอันตราย (ชุด)

เขตบางแค เขตดุสิต เขตคันนายาว เขตวังทองหลาง เขตบางพลัด เขตบางนา เขตปทุมวัน เขตประเวศ เขตลาดกระบัง เขตสวนหลวง ศูนย์บริการสาธารณสุข 41 คลองเตย มูลนิธิพระดาบสฯ

1 1 1 1 1 3 1 5 5 5 1

1 1 1 1 1 3 1 -

1

1

รวมจำ�นวนถังขยะทั้งหมด

27

11


113

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

การพัฒนาชุมชนและหน่วยงานราชการ

ในปี 2558 บริษัทได้ปรับปรุงและพัฒนาหน่วยงานราชการ จำ�นวน 4 แห่ง ได้แก่ สำ�นักงานเขตบางแค สำ�นักงานเขตสวนหลวง สำ�นักงานเขตดุสิต และสถานีตำ�รวจนครบาลหัวหมาก ก่อน

กิจกรรมทอดผ้าป่าสามัคคี ณ วัดหนองแจง (ใกล้โครงการ ลุมพินี พาร์คบีช ชะอำ�)

บริษัทได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการทำ�นุบำ�รุงพระพุทธศาสนาด้วย การจัดกิจกรรมทอดผ้าป่าสามัคคี เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2558 ณ วัดหนองแจง อำ�เภอชะอำ� จังหวัดเพชรบุรี (ใกล้โครงการลุมพินี พาร์คบีช ชะอำ�) เพื่อร่วมสร้างศาลาการเปรียญ โดยมียอดเงิน ทำ�บุญรวมทั้งสิ้น 666,999 บาท แบ่งเป็นเงินบริจาคจากพนักงาน และปิยมิตร จำ�นวน 312,759 บาท และค่าปรับปรุงฝ้า หน้าต่าง และผ้าม่าน จำ�นวน 354,240 บาท

หลัง

จำนวนเง�นบร�จาค รวมทั้งสิ�น

พืน้ ทีข่ องสถานีต�ำ รวจนครบาลหัวหมากก่อนและหลังการปรับปรุง

3. กิจกรรมสนับสนุนการทำ�แบบสอบถาม EIA

666,999 บาท

เพือ่ จัดทำ�รายงานวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม (EIA ) ของโครงการลุมพินี เพลส พระราม 4-รัชดาภิเษก บริษัทที่ปรึกษาโครงการจึงได้ ลงพื้นที่เก็บข้อมูลแบบสอบถาม ณ อาคารสำ�นักงานทรัพย์สิน 26 ตั้งแต่เวลา 09.00 - 12.00 น. โดยมีฝ่ายบริหารสังคมและสิ่งแวดล้อมร่วม กับฝ่ายบริหารโครงการ จัดกิจกรรมตัดผมและเลี้ยงอาหาร โดยมีผู้ตอบแบบสอบถาม จำ�นวน 300 คน

งบประมาณที่ใชดำเนินการดานสิ�งแวดลอมและสังคมของบร�ษัท (G4-EN31)

งบที่ใชในการดำเนินงานดานสิ�งแวดลอม

2,528,627.12 บาท

งบที่ใชในการดำเนินงานดานสังคม

6,611,443.85 บาท สิ่งแวดล้อมและสังคมที่ดี ต้องเริ่มจากตัวเรา แล้วจึง ขยายไปสู่ชุมชนที่เราพัฒนา และสังคมในวงกว้าง


114

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

กิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ของชมรมลุมพินีอาสา กิจกรรมเพ�่อสิ�งแวดลอม และสังคมของลุมพ�นีอาสา

บริษัทส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ผู้พักอาศัยและเจ้าของร่วม จัดขึน้ ภายใต้แนวคิด “From Corporate ESR to Community ESR” จนเกิดการรวมกลุม่ และจัดตั้งชมรมขึ้น โดยเรียกกลุ่มชมรมนี้ว่า “ชมรมลุมพินีอาสา” ซึ่งในปี 2558 ชมรม ลุมพินีอาสา พนักงานและผู้พักอาศัยในชุมชนต่างๆ จัดกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม จำ�นวน 24 กิจกรรม รายละเอียดดังตาราง ชมรม

กิจกรรม

ชุมชนน่าอยู่ ลุมพินีสัมพันธ์

ลุมพินี ฅนอาสา

รวมพล คนใจดี ลุมพินีอาสา

ปันนํ้าใจ ลุมพินีฯ

ลุมพินี เดิน-วิ่ง เพื่อสุขภาพ

กิจกรรม 5 ชมรมฯ จัดร่วมกัน รวมใจ แบนด์คลับ (ชมรมดนตรี) จิตอาสาของพนักงาน

1. ขึ้นเรือรบ ล่องนาวา ปลูกป่าชายเล 2. รักน้อง โรงเรียนตชด.บ้านถ้�ำ หิน 3. เลี้ยงอาหารเด็กพิการ 1. รักษ์เต่า : รักทะเลไทย ปี 2 2. ฅนอาสา พาเลี้ยงช้าง 3. ยิงหนังสติ๊ก พิทักษ์ป่า 1. รวมพลคนใจดี พัฒนารามอินทรา ซอย 3 2. คนใจดีลุยสวน ชวนเก็บกวาดหาดแม่พิมพ์ 3. ปลูกต้นพะยูง ณ จังหวัดเพชรบุรี 1. ปลูกป่า ปล่อยปู ล่องเรือดูระบบนิเวศ 2. สานสัมพันธ์ ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-นวมินทร์ และ ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า 3. โรงเรียนโสตศึกษานครปฐม 1. ลุมพินี เดิน-วิ่ง กิจกรรมแฟมิลี่เดย์ 2. เดิน-วิ่ง เฉลิมพระเกียรติ 12 สิงหา วันแม่แห่งชาติ 58 3. BKK Marathon 1. ลุมพินี จิตอาสา พัฒนาสวนลุมพินี 2. บริจาคเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยแผ่นดินไหวที่เนปาล 3. ปลูกป่าโพธิ์ เฉลิมพระเกียรติฯ วังน้ำ�เขียว 1. โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ 2. มูลนิธิสร้างสรรค์เด็ก 1. สวางคนิเวศ สภากาชาดไทย 2. ปันจักรยาน ให้น้องมาเรียน ปี 2 (เพชรบุรี) 3. ปันจักรยาน ให้น้องมาเรียน ปี 2 (นครนายก)

รวมจำ�นวนกิจกรรม

24 กิจกรรม

ยอดเง�นบร�จาคเพ�่อสิ�งแวดลอมและสังคม จาก 5 ชมรมลุมพ�นีอาสา

854,713.00 บาท


115

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

Togetherness


116

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

4

ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมอิงกระบวนการ AS PROCESS

P.117 P.126

สถาบันแอล.พี.เอ็น. กิจการเพื่อสังคม : SOCIAL ENTERPRISE


117

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

สถาบันแอล.พี.เอ็น. ด้วยสถานการณ์การขยายตัวทางธุรกิจอย่างรวดเร็วของบริษัท ทำ�ให้ต้องเร่งสร้างและพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพและคุณภาพเป็นมืออาชีพ ดังนัน้ ความท้าทายทีเ่ กิดขึน้ คือการเพิม่ ขีดสมรรถนะพนักงานเพือ่ สร้างผลการปฏิบตั งิ านที่ได้รบั มอบหมายทัง้ ในปัจจุบนั ให้มคี ณุ ภาพและเตรียม ความพร้อมสูก่ ารเติบโตในสายอาชีพในอนาคต ซึง่ จะสามารถตอบสนองต่อนโยบายและทิศทางการดำ�เนินธุรกิจขององค์กร ดังนัน้ ผูบ้ ริหารจึงได้ จัดตัง้ “สถาบันแอล.พี.เอ็น.” (L.P.N. Academy) ขึ้นในปี พ.ศ. 2556 เพื่อบริหารจัดการการพัฒนาบุคลากรอย่างเป็นระบบ ตามวิสัยทัศน์ ของสถาบันแอล.พี.เอ็น.

• บุคลากรคุณภาพ

มี Service Minded, Integrity และ Collaboration

We Create Passionate Professionals by LPN Values Towards Sustainable Development เราสร้างและพัฒนาบุคลากรคุณภาพ ที่พร้อมปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ เพื่อสร้างสรรค์และส่งมอบคุณค่า ของบริษัทแบบบูรณาการให้แก่ลูกค้า และสังคมอย่างยั่งยืน

• มืออาชีพ

มี Cost with Quality, Lateral Thinking, Alliance และ Speed with Quality

• Passion มีใจรักในสิ่งที่ท�ำ

ท่ามกลางสภาวะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และการแข่งขันทีม่ คี วามเข้มข้นยิง่ ขึน้ องค์กรทีจ่ ะประสบความ สำ�เร็จได้นั้น จะต้องได้รับแรงสนับสนุนจากพนักงานทุกคนที่มี ส่วนสำ�คัญอย่างยิ่งในการผลักดันให้เกิดการพัฒนาและเติบโต ได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน บริษัทจึงให้ความสำ�คัญกับการ บริหารจัดการและพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการปลูกฝังคุณค่า องค์กรตลอดจนสืบสานวัฒนธรรมองค์กรอย่างต่อเนื่อง เพราะ บุคลากรคือทรัพยากรที่มีคุณค่าที่สุด

1. การพัฒนาภาวะผูน้ �ำ ตามสมรรถนะหลัก (Leadership Competency Development) ด้วยบริษทั ได้น�ำ แนวคิดด้านการพัฒนาตามสมรรถนะ (Competency Based Development) มาใช้ใน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มากกว่า 5 ปี โดยเริ่มต้นจากการพัฒนาสมรรถนะด้านความรู้ในงาน (Functional or Professional Competency) และต่อยอดมายังการพัฒนาสมรรถนะด้าน ภาวะผู้น�ำ (Leadership Competency Development) ให้กับผู้บริหารระดับกลางถึงระดับสูง (L.8-L.13) รวม 60 คน โดยสมรรถนะด้านภาวะผู้นำ�เดิมมี 6 ตัว คือ

1. การมีวิสัยทัศน์ (Envision the Future) 2. การปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Execution) 3. การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง (Driving Change) 4. วิธีคิดเชิงนวัตกรรม (Innovation Mindset) 5. การนำ�และจูงใจผูใ้ ต้บงั คับบัญชา (Motivating & Leading People) 6. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Interpersonal Relationship)


118

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

ในปี 2558 ผู้บริหารได้เพิ่มสมรรถนะเรื่องความคิดเชิงผู้ประกอบการ (Entrepreneurship Competency) 100 80 60 40 20 0

% 81.85 82.65

75.70 77.71 77.94

76.00

1. การมีวิสัยทัศน์

2. การปฏิบัติการ เชิงกลยุทธ์

ครั้งที่ 1

ครั้งที่ 2

74.00

80.83 80.97

3. การนำ�และจูงใจ ผู้ใต้บังคับบังชา

73.25

81.48 79.68

4. ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล

71.50

78.07 74.00

5. การขับเคลื่อน การเปลี่ยนแปลง

67.25

75.54 73.80

6. วิธีคิด เชิงนวัตกรรม

ครั้งที่ 3

ผลประเมินภาวะผูน้ �ำ ครัง้ ที่ 3 ประจำ�ปี 2558 : เฉลีย่ ทัง้ 6 สมรรถนะ คิดเป็นร้อยละ 78.17 โดยมีผลประเมินดีขน้ึ กว่าผลประเมินครัง้ ที่ 1 ที่ใช้เป็นฐานการวัดผลการพัฒนา (Benchmark) เฉลีย่ ร้อยละ 73 อย่างไรก็ตามมี 3 สมรรถนะทีค่ วร ได้รบั การพัฒนาเพิม่ คือ 1. วิธคี ดิ เชิงนวัตกรรม 2. การขับเคลือ่ นการเปลีย่ นแปลง 3. การมีวสิ ยั ทัศน์ โดยสถาบันฯ จะร่วมกับผูบ้ ริหารวางแผน พัฒนาภาวะผูน้ �ำ ให้กบั ผูบ้ ริหารระดับสูง เพือ่ ขับเคลือ่ นการเปลีย่ นแปลงและสร้างการเติบโตอย่างยัง่ ยืนให้กบั องค์กรต่อไป

2. การสร้างโอกาสให้พนักงานได้รบั การพัฒนา ฝึกอบรม และบริหารจัดการองค์ความรูอ้ ย่างต่อเนือ่ ง (G4-LA10) สถาบันแอล.พี.เอ็น. ได้ร่วมกับผู้บริหารกำ�หนด “แผนการอบรมและพัฒนา” เพื่อให้พนักงาน จัดสรรเวลาในการพัฒนาตนเอง ด้วยการพัฒนาพนักงานตามสมรรถนะ (Competency Based Development) ทั้งสมรรถนะหลักขององค์กร (Core Competency - CLASSIC) อาทิ หลักสูตร ปฐมนิเทศพนักงานใหม่ หลักสูตรการให้บริการแบบ LPN SERVICES รวมถึงหลักสูตรที่มุ่งเน้น การสร้างจิตสำ�นึกด้านความโปร่งใสและคุณธรรมในการทำ�งานซึง่ สอดคล้องตาม Core Competency - Integrity และยังเป็นการตอบสนองนโยบายภาครัฐในด้านการต่อต้านทุจริต อาทิ หลักสูตร คุณธรรมจริยธรรมทางธุรกิจสำ�หรับผู้บริหาร (Integrity & Ethic for Business) ซึ่งมีจ�ำ นวนผู้ เข้าอบรมคิดเป็นร้อยละ 93 และหลักสูตรคุณธรรมจริยธรรมสำ�หรับพนักงานทุกระดับ (Integrity & Ethic for Working People) มีจ�ำ นวนผู้เข้าอบรมคิดเป็นร้อยละ 89 นอกจากนั้น สถาบันฯ ยังมุ่งเน้นการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานทุกระดับในด้านการคิด สร้างสรรค์ ซึ่งสนับสนุน Core Competency - Lateral Thinking และ Leadership Competency -Innovative Mindset โดยพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้ครอบคลุมไปถึงการนำ�ความรู้ไปประยุกต์ ใช้ภายหลังการฝึกอบรม (Transfer Training) และเริ่มนำ�สัดส่วนการเรียนรู้ 10:20:70 เพื่อ กระตุ้นให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามวัตถุประสงค์ของการจัดอบรม สถาบันฯ ได้นำ� โครงการ The Seeds: Idea Suggestion มาเป็นเครื่องมือในการกระตุ้น ส่งเสริมให้เกิดการ เรียนรู้จากการปฏิบัติ (Action Learning) ซึ่งเป็นวิธีการเรียนรู้ที่จะอำ�นวยให้เกิดการนำ�ความรู้ไป ประยุกต์ ใช้ในงานได้อย่างมีประสิทธิผล


119

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

สัดส่วนการเรียนรู้ 10 : 20 : 70 (G4-LA10) สัดส่วนการเรียนรู้ ระดับ

เป้าหมาย

10%

(Formal Training)

20%

(Learning from Others)

1-4 (พนักงานระดับปฏิบัติการ) 5-7 (ผู้บริหารระดับต้น)

เพื่อพัฒนาปรับปรุงกระบวนการ ปฏิบตั งิ านและการเป็นหัวหน้างาน / บริหารทีมงานที่มีประสิทธิผล สำ�หรับระดับ 5-7

• หลักสูตรเทคนิคการคิดสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาปรับปรุงงาน • ส่งโครงงานร่วมประกวดโครงการ The Seeds: Idea Suggestion

ประชุมกลุ่มกับเพื่อนในฝ่าย ต่างฝ่าย และหัวหน้างาน

8-9 (ผู้บริหารระดับกลาง) 10-13 (ผู้บริหารระดับสูง)

เพื่อการพัฒนาผู้น�ำ การสร้าง ผลการปฏิบัติงาน เพื่อการพัฒนาผู้น�ำ การสร้าง ผลลัพท์ทางธุรกิจ

หลักสูตร Unlocking Your Leadership Potential หลักสูตร Leadership Greatness นำ�เสนอโครงงาน

ให้คำ�แนะนำ�เพื่อพัฒนา โครงงานร่วมกับทีมงาน แบ่งปันความรู้ให้ทีมงาน

70%

(On The Job Trainging)

การนำ�โครงงานไปปฏิบัติ เก็บ ข้อมูล สรุปผลการดำ�เนินงาน

ติดตาม ให้คำ�แนะนำ� ให้ข้อมูลป้อนกลับทีมงาน สอบถาม ติดตาม สนับสนุนทีมงาน

การจัดอบรมพัฒนาพนักงานบริการชุมชน

มุง่ เน้นการพัฒนาพนักงานบริการชุมชน จำ�นวนกว่า 1,100 คน ให้ได้รบั การฝึกอบรมตาม 4 แผนกลยุทธ์ทป่ี ระกอบด้วยการอบรมวิชาชีพหลัก เพือ่ มุง่ เน้นการสร้างทัศนคติ ทักษะและความรูใ้ นงานบริการความสะอาดและงานทีเ่ กีย่ วข้องอย่างมืออาชีพ โดยมีเป้าหมายทีจ่ ะจัดสรรงานบริการ ความสะอาดในชุมชน “ลุมพิน”ี ทัง้ หมด รวมทัง้ มีการอบรมวิชาชีพเสริมและส่งเสริมการศึกษาต่อให้กบั พนักงานและครอบครัว เพือ่ เพิม่ คุณค่า และคุณภาพชีวติ ให้แก่พนักงานและครอบครัว ทำ�ให้สามารถดำ�รงชีวติ ในสังคมได้อย่างภาคภูมิ มีศกั ดิศ์ รี และมีความสุข โดยในปี 2558 สถาบัน ได้จดั อบรมหลักสูตรต่างๆ ให้กบั พนักงานบริการชุมชน ดังนี้

• แผนกลยุทธ์ที่ 1

• แผนกลยุทธ์ที่ 3

หลักสูตรการยกระดับความรู้พื้นฐาน : สนับสนุนให้พนักงานบริการ ชุมชนได้มีการศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยสนับสนุนให้เข้าเรียนต่อ กับกศน. ในระดับ ป.6-ปวส. รวมทั้งสิ้น 111 คน (สนับสนุนให้ พนักงานเข้าเรียนต่อในระดับ ป.6-ปวส. รวมทั้งสิ้น 42 คน)

หลักสูตรการเพิ่มพูนวัฒนธรรมการให้บริการ : ส่งเสริมและสร้าง ค่านิยมการให้บริการตามวัฒนธรรมการให้บริการ “SERVICES” และพัฒนาบุคลิกภาพที่ดีในการให้บริการ ผู้เข้าอบรมรวมทั้งสิ้น 100 คน

• แผนกลยุทธ์ที่ 2

• แผนกลยุทธ์ที่ 4

หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพในงาน : เพิม่ พูนความรูแ้ ละทักษะของ การเป็นหัวหน้างานที่มีประสิทธิภาพ ความรู้ในงานบริหารความ สะอาดและความปลอดภัยชุมชน ผูเ้ ข้าอบรมรวมทัง้ สิน้ 110 คน

หลักสูตรการส่งเสริมประสบการณ์วิชาชีพ : ให้ความรู้ในการเพิ่ม คุณค่าและคุณภาพชีวิต เช่น การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง การนวด แผนโบราณ ผู้เข้าอบรมรวมทั้งสิ้น 175 คน


120

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

การจัดกิจกรรมพัฒนา LPN Team ทีมงานออกแบบและก่อสร้าง (Core Competency: Alliance ตามค่านิยม CLASSIC) มุง่ เน้นการแบ่งปันความรู้และทักษะที่ตอบสนองกลยุทธ์ Q-C-S-E-S+P โดยจัดให้มี Knowledge Sharing, Executive Sharing และการจัด ดูงาน (Study tour) เพื่อให้พนักงานของบริษัทและพนักงานของปิยมิตร (LPN Team) ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำ�งาน ทั้งด้านความ สำ�เร็จ (Success Story) และบทเรียนจากความผิดพลาด (Lesson Learnt) ที่เกิดขึ้นในงาน เพื่อร่วมกันปรับปรุงวางแนวทางการทำ�งานที่ เป็นมาตรฐานเดียวกัน และสามารถต่อยอดความรู้อย่างเป็นระบบ

กิจกรรม LPN & LPN Team Sharing เพื่อเรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำ�งานร่วมกันทุกเดือน จำ�นวน 12 ครัง้ ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมรวมทัง้ สิน้ ประมาณ 75 คน / ครัง้

กิจกรรม Executive Sharing เพือ่ แบ่งปันความรูแ้ ละประสบการณ์ท�ำ งานจากผูบ้ ริหาร เช่น 7 กรอบ ความคิด 3P และ 6 Green LPN ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย การ สือ่ สารช่องทางสูก่ ารสร้างผลลัพธ์ เป็นต้น รวมผูเ้ ข้าอบรม 410 คน

การจัดอบรมความรู้ในงาน เพื่อเพิ่มพูนความรู้ในการทำ�งาน เช่น หลักสูตร Applied Mind Map for Business หลักสูตร BIM หลักสูตรโครงสร้างฐานราก หลักสูตร จป. บริหาร จป. หัวหน้างาน และหลักสูตรคณะกรรมการความ ปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน เป็นต้น ผู้เข้าอบรมรวมทั้งสิ้น 630 คน

ผลการฝึกอบรมต่อปีตอ่ พนักงานในแต่ละประเภท แยกตามเพศ (G4-LA9) ปี 2558 พนักงานในแต่ละประเภท ตามเพศ

เพศหญิง

จำ�นวนชั่วโมงการฝึกอบรม

L.11-13 L.8-10 L.5-7 L.3-4

ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง หัวหน้างานระดับต้น พนักงานระดับปฏิบัติการ

ตาราง จำ�นวนชั่วโมงทั้งหมดที่ใช้ในการฝึกอบรม ตามเพศ ระดับ

L.11-13 L.8-10 L.5-7 L.3-4

ประเภท

จำ�นวน (คน)

16 ผู้บริหารระดับสูง 70 ผู้บริหารระดับกลาง 383 หัวหน้างานระดับต้น พนักงานระดับปฏิบัติการ 811

จำ�นวนชั่วโมง จำ�นวนชั่วโมง การอมรม การอมรม (ทั้งหมด) (เฉลี่ย)

1,727.90 9,349.80 30,425.80 38,621.50

108 134 80 48

เพศชาย

ทั้งหมด

เฉลี่ย

ทั้งหมด

เฉลี่ย

801.00 4,831.30 15,365.40 25,683.00

114.43 146.40 72.14 48.19

926.90 4,518.50 15,060.40 12,938.50

102.99 122.12 88.59 46.54

ตาราง ค่าเฉลี่ยของชั่วโมงการฝึกอบรมต่อปี ต่อพนักงานตามเพศ เพศ

จำ�นวน (คน)

จำ�นวนชั่วโมง การอมรม (ทั้งหมด)

จำ�นวนชั่วโมง การอมรม (เฉลี่ย)

ชาย หญิง

494 786

33,444.30 46,680.70

67.70 59.39

รวม

1,280


121

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

เรียนรู้เพื่อสร้างคุณค่า พัฒนาอย่างบูรณาการ


122

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

สถาบันฯ ใช้กระบวนการเรียนรูร้ ว่ มกันในทุกระดับ (Knowledge Sharing) เพือ่ ร่วมกันวิเคราะห์ แบ่งปันความรูแ้ ละประสบการณ์จากกรณีศกึ ษา ต่างๆ (Case Study) อย่างกว้างขวางตลอดปี เพือ่ การปรับปรุงพัฒนาความรูแ้ ละกระบวนการบริหารงานและการบริการลูกค้าอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ นี้ จะมีการกระจายโอกาสการเรียนรูแ้ ละพัฒนาพนักงานระดับปฏิบตั กิ าร (Operation Staff) เพือ่ ให้โอกาสในการเรียนรูก้ ระจายได้ทว่ั ถึงตาม เป้าหมายขององค์กรให้มากและเข้มข้นยิ่งขึ้น

การให้ทนุ การศึกษา

E-Learning

บริษทั ให้ทนุ การศึกษา (ปี 2557-2558) ระดับปริญญาโทแก่พนักงาน จำ�นวน 3 ทุน/ปี (ทุนละ 400,000 บาท) อย่างต่อเนื่องเป็นประจำ� ทุกปี เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ รวมทั้งเสริมสร้างความรู้ และความสามารถของพนักงานให้มีโอกาสเติบโตและก้าวหน้าไป พร้อมกับองค์กร พร้อมมอบทุนแก่นิสิตปริญญาโทจากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย จำ�นวน 3 ทุน รวมเป็นเงิน 133,816 บาท เพือ่ สนับสนุนการศึกษาในการทำ�วิทยานิพนธ์ของนิสิตแต่ละคน

บริษทั ได้พฒ ั นาสือ่ การเรียนการสอนเป็นระบบ E-Learning ซึง่ เป็นระบบการศึกษาผ่านทางสื่ออิเลคทรอนิกส์ท่ีใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีและเครือข่ายของ Internet หรือ Intranet เป็นการเรียน ลักษณะ “Self Study” ซึง่ ผูเ้ รียนสามารถเลือกเวลาเข้าไปศึกษาได้ ด้วยตนเอง ในเวลาใด หรือจากสถานที่ใดก็ได้ และในปัจจุบนั มีการ พัฒนาสือ่ การอบรม (E-Learning) สามารถใช้งานได้แล้ว 10 หัวข้อ เช่น ประวัตอิ งค์กร (History of LPN) วิถแี อล.พี.เอ็น. (LPN Way) และการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (Sustainable Development) เป็นต้น

สรุปงบประมาณการพัฒนาบุคลากรปี 2558

งบประมาณ การฝกอบรมภายใน

11,865,097 บาท

งบประมาณดานการพัฒนา ฝกอบรม ป 2558

งบประมาณ การฝกอบรมภายนอก

บาท

บาท

18,665,256.25

คาใชจายอบรมเฉลี่ย ตอคนทั้งองคกร

10,176 บาท / คน

1,577,903

คาใชจายอื่นๆ

5,222,256.25 บาท

78%

43%

87%

สมรรถนะดานภาวะผูนำ และการบร�หารจัดการของ พนักงานระดับจัดการ (L.8-13)

ความรูที่เพ�่มข�้น ของผูอบรม เปร�ยบเทียบ กอนและหลัง การฝกอบรม

ความพ�งพอใจ ของพนักงานทั้งองคกร ในหัวขอการมีโอกาสเร�ยนรู และพัฒนาความรู


123

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

ทั้งนี้ ในปี 2559 จะมีการบูรณาการ (Integrate) แผนพัฒนาบุคลากรของสถาบันฯ เชื่อมต่อกับกระบวนการสรรหา การพัฒนาและเติบโต การสร้างผู้สืบทอดตำ�แหน่ง การพัฒนาพนักงานศักยภาพสูง การแต่งตั้งโยกย้าย และการประเมินผลงาน รวมทั้งการคิดค่าตอบแทน ฯลฯ เพื่อให้ระบบการบริหารงานบุคคล (HRM) มีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อมุ่งไปสู่การสร้าง “องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization)” และ “องค์กรน่าอยู่ (Vibrant Organization)” และมุ่งไปสู่การเป็น “องค์กรแห่งคุณค่า (Value Organization)” อย่างยั่งยืน อันเป็นเป้าหมาย สูงสุดขององค์กร

การแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์สสู่ าธารณชนและสถาบันการศึกษา ด้วยบริษัทมีความมุ่งมั่นพัฒนาองค์กรไปสู่ความยั่งยืน บริษัทจึงได้ จัดตั้งสถาบันแอล.พี.เอ็น. เพื่อทำ�หน้าที่ในการพัฒนาบุคลากรให้ เติบโตทันต่อการขยายตัวของธุรกิจ รวมทั้งการเปิดพื้นที่ให้สถาบัน การศึกษา หน่วยงานราชการ องค์กรเอกชนที่มีความสนใจได้ เข้ามาศึกษาแนวคิด แนวทางการพัฒนาและบริหารโครงการเพื่อ ขยายผลสู่ชุมชน โดยเป็นการแบ่งปันจากประสบการณ์การทำ�งาน โดยตรง ซึ่งในปี 2558 มีคณะเยี่ยมชมงานรวม 18 คณะ แบ่งเป็น สถาบันการศึกษา 12 แห่ง หน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ 4 แห่ง องค์กรเอกชน 2 แห่ง รวม 737 คน

สำ�หรับหัวข้อที่คณะเยี่ยมชมแสดงความจำ�นงเข้ารับฟัง แบ่งเป็น การบริหารชุมชนน่าอยู่ 15 คณะ และแนวทางการออกแบบโครงการ และการบริหารงานก่อสร้าง 3 คณะ

บรรยากาศ การแบ่งปันความรู้ สู่สาธารณะ


124

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

Scoop AS PROCESS

หลักสูตรพัฒนาผู้จัดการชุมชน Community Management Training Course

เพือ่ สร้างและพัฒนาบุคลากรให้มคี วามรู้ และทักษะในการปฏิบตั งิ านด้านการบริหารชุมชนอย่างมืออาชีพ รองรับการเติบโตของ องค์กรและตอบสนองต่อนโยบายและทิศทางการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท โดยการดำ�เนินงานของสถาบันแอล.พี.เอ็น. และ สายงานบริหารชุมชน ได้ร่วมกันพัฒนาหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการ “Community Management Training Course” หรือ หลักสูตร CMTC ขึ้น จากประสบการณ์การบริหารชุมชนมากว่า 20 ปี ทำ�ให้บริษัทมีความพร้อมในการผลิตบุคลากรที่มีศักยภาพ และมีทีมวิทยากร ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญเฉพาะ เพือ่ ฝึกอบรมพนักงานให้เติบโตสูก่ ารเป็นผูจ้ ดั การชุมชนในอนาคต ตัง้ แต่ปี 2547 - 2558 บริษัทจัดอบรม หลักสูตร CMTC แล้วทั้งสิ้น 13 รุ่น รวมจำ�นวนผู้เข้าอบรม 229 คน

กระบวนการเรียนรู้ของหลักสูตร CMTC C M T C

Selecting คัดเลือกและสัมภาษณ บุคลากรเขาอบรมตาม เกณฑที่กำหนด

70%

การเร�ยนรูจากการทำงาน (On the Job Training)

Developing

Training

อบรม / ฝกปฏิบัติ / ดูงาน

Project Assignment

On the Job Training

ฝกปฏิบัติในบทบาทของผูชวยผูจัดการชุมชน

สัดสวน การเร�ยนรู 10 : 20 : 70

10% การฝกอบรม (Training)

20%

การโคช (Coaching Feedback)


125

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

การคัดเลือกบุคลากร (Selecting) บริษัทคัดเลือกบุคลากรเข้าเรียนในหลักสูตร CMTC โดยพิจารณาจากคุณสมบัติเบื้องต้นและการสัมภาษณ์ เพื่อประเมินความพร้อมในด้านทัศนคติและวุฒิภาวะในการปฏิบตั งิ าน

สัดส่วนการเรียนรู้ 10 : 20 : 70 แบ่งเป็น

10% - การฝึกอบรม (Course Training)

การให้ความรู้ F-B-L-E-S+P เพื่อปรับฐานความรู้ให้เท่าเทียมกัน

20% - การโค้ช (Coaching Feedback) • •

การมอบหมายงาน (Job Assignment) ระหว่างการฝึกอบรม วิทยากรจะมอบหมายงาน โดยให้ผู้เข้าอบรม วิเคราะห์ปัญหาและเสนอแนวทางแก้ไข เพื่อพัฒนาชุมชนที่ตนเองปฏิบัติงาน การมอบหมายงานโครงการ (Project Assignment) การประมวลความรู้ที่ได้จากการอบรมไปใช้ใน การพัฒนาปรับปรุงการบริหารชุมชนให้มีประสิทธิภาพ

70% - การเรียนรู้จากการทำ�งาน (On the Job Training)

ผู้เข้าร่วมอบรมหลักสูตร CMTC จะต้องฝึกปฏิบัติ พร้อมรายงานผลประสิทธิภาพการทำ�งานให้คณะกรรมการ พิจารณา เพื่อประเมินผลและศักยภาพในการเป็นผู้ช่วยผู้จัดการชุมชนต่อไป

บรรยากาศ หลักสูตรอบรม CMTC ทีไ่ ด้พฒ ั นาบุคลากรสู่ การเป็นผูจ้ ดั การชุมชนแล้ว กว่า 229 คน

แผนการดำ�เนินงานในอนาคต บริษัทมีแผนพัฒนาหลักสูตร CMTC อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นหลักสูตรเฉพาะหรือ Signature Course ขององค์กร รองรับการเติบโตที่ ขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยมุ่งมั่นว่าในอนาคตจะมีความพร้อมก้าวไปสู่การแบ่งปันหลักสูตรดังกล่าวนี้สู่สาธารณะต่อไป


126

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

กิจการเพื่อสังคม : SOCIAL ENTERPRISE ปัญหาการกดขี่แรงงาน โดยเฉพาะแรงงานสตรียังเป็นปัญหาที่ ภาครัฐและเอกชนจำ�เป็นต้องร่วมกันรับผิดชอบในการแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะการกดขี่แรงงานที่เป็นสตรีด้อยโอกาส ซึ่งเกิดจากการ ขาดการศึกษา ไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ จึงเป็นช่องทางให้ ผู้ประกอบการบางรายเอารัดเอาเปรียบค่าจ้างแรงงาน หรือบางราย ทีม่ ปี ญั หาทางครอบครัว ถูกสามีทอดทิง้ และต้องรับผิดชอบดูแลบุตร จึงไม่มีทางเลือก จำ�เป็นต้องทำ�งานในองค์กรที่เอาเปรียบและกดขี่ ทำ�ให้สภาพครอบครัวมีปัญหาทั้งการพนัน ยาเสพติด ซึ่งเป็น ปัญหาทางสังคมมาโดยตลอด ในฐานะที่บริษัทประกอบธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งต้องอาศัย ธุรกิจที่เกี่ยวข้องหลายด้าน โดยเฉพาะงานบริการ จึงได้จัดตั้ง หน่วยงานบริการรักษาความสะอาดให้กับชุมชนที่บริษัทบริหารขึ้น โดยมีแนวทางเพื่อเปิดโอกาสให้สตรีด้อยโอกาสในสังคมได้อบรม

วิชาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้กับตนเอง โดยมุ่งเน้นที่บริการทำ�ความ สะอาด และจัดสรรงานทำ�ความสะอาดในชุมชน “ลุมพินี” ทั้งหมด รวมทั้งยังมุ่งเน้นการเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับสตรีด้อยโอกาสและ ครอบครัว ในปี 2554 บริษัทได้ศึกษาแนวคิด “กิจการเพื่อสังคม” (Social Enterprise) เพือ่ ต่อยอดแนวทางการดำ�เนินงานของสายงานนี้ และ ได้รบั นโยบายจากคณะกรรมการบริษทั ให้ด�ำ เนินงานปรับสถานะของ สายงานให้เป็นบริษัทจำ�กัด จึงได้จดั ตัง้ บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด (LPC) ขึ้น เพื่อแยกการบริหารและ พร้อมที่จะรองรับเป้าหมายสู่การเป็นวิสาหกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) ซึ่งจะต่อยอดการอบรมและขยายงานด้านบริการ เพิ่มขึ้นเพื่อสร้างรายได้ คุณภาพชีวิต ศักดิ์ศรี และความสุขของ พนักงาน และสามารถนำ�ผลกำ�ไรคืนให้กบั สังคมในรูปแบบที่กำ�หนด ในอนาคต ปัจจุบัน มีจำ�นวนสตรีด้อยโอกาสในบริษัทนี้มากกว่า 1,200 คน ซึง่ บริษทั ได้ตั้งดัชนีชี้วัดส่วนหนึ่งที่มุ่งเป้าไปสูก่ ารบริหาร ความสุขของพนักงาน โดยจากการสำ�รวจความพึงพอใจของงาน บริการความสะอาดของชุมชน การยกระดับคุณภาพชีวติ และความสุข ของพนักงาน พบว่าประสบความสำ�เร็จอย่างสูง

คำ�นิยามสตรีดอ้ ยโอกาส

• การศึกษาค่อนข้างต่�ำ หรือ ขาดการศึกษา • ถูกเอารัดเอาเปรียบค่าจ้างแรงงานจากผูป้ ระกอบการ • มีปญั หาทางครอบครัว ถูกสามีทง้ิ และต้องรับผิดชอบดูแลบุตร หรือ บิดา/มารดา


127

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

LPN ภูมิใจที่ได้ร่วม เป็นส่วนหนึ่งในการ สร้างความสุขให้แก่ กลุ่มสตรีด้อยโอกาส


128

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

• เป้าหมายในการดำ�เนินงานธุรกิจเพื่อสตรีด้อยโอกาส ดัชนีชี้วัด

ผล 2557

เป้าปี 2557

ผลปี 2558

% ความสุขของพนักงาน

≥ 90

94

96

% กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน

≥2

3

2

บร�หารชุมชน บร�หารชุมชน

บร�หารชุมชน

บร�หารชุมชน

บร�หารชุมชน

รายได

• รายได้ประจำ� > ค่าแรงขัน้ ตา่ํ 10% • รายได้จากอาชีพเสริม

โอกาส

• การศึกษา และฝึกอบรมทักษะ • การเติบโตในหน้าที่ • ฝึกอบรมอาชีพเสริม

ศักดิ์ศร�

ความสุข

• ONE LPN • ความภาคภูมใิ จ ในอาชีพ

• จิตอาสา • ทำ�ความดี • ทุนเรียนดี • ปลดหนีน้ อกระบบ

• ผลงานด้านการพัฒนาพนักงานตั้งแต่เริ่มโครงการถึงปัจจุบัน โครงการสงเสร�มและสนับสนุนการศึกษา คือจำนวนแมบานที่จบ การศึกษาระดับ ปวช. และ ปวส.

47 คน

คือจำนวนแมบานที่จบ การศึกษาระดับประถม และมัธยม

29 คน คือจำนวนแมบานที่จบ เร�ยนนวดแผนไทย

14 คน

การเติบโตในหนาที่

ปจจ�บันมีพนักงาน ที่ไดรับการปรับประเภท การจางงาน และเติบโต ในหนาที่การงาน ทั้งสิ�น

42 คน


129

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

• การสร้างรายได้ นอกจากการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีแล้ว บริษัทยังมุ่งเน้นการสร้างรายได้ให้แก่สตรีผู้ด้อยโอกาส จึงกำ�หนดนโยบายในการจ่ายค่าแรงที่สูงกว่าค่าแรงขั้นต่ำ� 10% มีโบนัสและสวัสดิการที่เพียงพอ และเหมาะสมต่อการดำ�เนินชีวิต ได้แก่ ค่าตำ�แหน่ง ค่าล่วงเวลา ค่าพาหนะ ค่าโทรศัพท์ การขึ้น เงินเดือนประจำ�ปี ทุนการศึกษาบุตร เงินกู้ยืม (ไม่มีดอกเบี้ย)

บร�หารชุมชน

รายได

การจ้างงานหลังเกษียณ สวัสดิการบ้านพักพนักงาน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังให้ความสำ�คัญกับ การดูแลสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตใจให้กับพนักงานบริการชุมชน เช่น การตรวจสุขภาพประจำ�ปี ประกันชีวิตกลุ่ม พนักงานมีรายไดเฉลี่ยตอวัน

บร�หารชุมชน

460 บาท*

* คาแรง / โบนัส / OT / เบี้ยขยัน

% ความสุข ของพนักงาน 100 90 0 ล้านบาท 260 240 220 200 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0

94%

92%

96%

96%

98%

96%

98%

98%

98%

97%

94%

96%

259 217 186 130 74

20

14

27

36

48

112

58

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2004

2005

2006

2007

2008

2009

2010

2011

2012

2013

2014

2015

รายได้จากค่าบริการ (ล้านบาท)

% ความสุขของพนักงาน

• การสร้างโอกาส 1. การสร้างโอกาสทางการศึกษา บร�หารชุมชน

โอกาส

บริษัทเล็งเห็นถึงความสำ�คัญในเรื่องของการศึกษา ซึ่งถือเป็นสิ่งสำ�คัญสำ�หรับทุกคน เพราะถ้ามี การศึกษาสูงเท่าไรก็ย่อมจะมีโอกาสทางสังคมสูงเท่านั้น บริษัทจึงได้จัดการศึกษาให้กับแม่บ้าน โดยแบ่งเป็น หลักสูตรการศึกษานอกระบบ (กศน.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ซึ่งใน ปี 2558 มีแม่บ้านเข้ารับการศึกษาในหลักสูตรต่างๆ ดังนี้


130

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

โครงการอ่านออกเขียนได้

หลักสูตรวิชาชีพ

โดยได้เชิญอาจารย์จากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) เขต สาทร มาสอนพนักงานให้อ่านออกเขียนได้ในช่วงเวลาพักของ พนักงาน ณ ห้องอเนกประสงค์ของโครงการต่างๆ โครงการนี้มี จำ�นวนชัว่ โมงการเรียน 25 ชัว่ โมง / คน ในปี 2558 มีพนักงานเข้ารับ การศึกษา จำ�นวน 42 คน เมื่อจบหลักสูตรมีการทดสอบผู้เข้าเรียน ผลที่ได้คือ มีผู้สอบผ่าน จำ�นวน 22 คน และผู้ที่สอบไม่ผ่าน จำ�นวน 20 คน (ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558) ทั้งนี้ อาจารย์ผู้สอนมีความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับพัฒนาการ ของผู้เข้าเรียนว่า ส่วนใหญ่ผู้ที่สอบไม่ผ่านจะเป็นผู้ที่ไม่เคยเรียน มาก่อน ส่วนผู้ที่เคยเรียนและมีพื้นฐานมาก่อนมีพัฒนาการดีขึ้น และควรได้รับการฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง

เนือ่ งจากภาครัฐมีการปฏิรปู การศึกษา ทางสถาบันการศึกษาวิทยาลัย ศิลปหัตถกรรมกรุงเทพ ต้องเสนอโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติ หลักสูตรจากกรมอาชีวศึกษาใหม่ทง้ั หมด ดังนัน้ บริษทั จึงอยูร่ ะหว่าง รอหลักสูตรเพื่อส่งพนักงานเข้าศึกษาในปี 2559 2. การสร้างโอกาสการเติบโตในหน้าที่

บริษัทสนับสนุนให้พนักงานทุกคนมีความก้าวหน้าในการทำ�งาน พนักงานบริการความสะอาดเป็นพนักงานกลุ่มหนึ่งที่บริษัทได้ให้ โอกาสเติบโตในสายวิชาชีพ โดยในปี 2558 บริษทั ได้ตง้ั เป้าหมายใน การสร้างการเติบโตในสายอาชีพให้พนักงานกลุ่มนี้เป็นจำ�นวน 15 คนขึ้นไป ตารางแสดงการเปลี่ยนแปลงตำ�แหน่งในสายอาชีพ พนักงานบริการความสะอาด

โครงการส่งเสริมการศึกษา ปี 2558 หลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) จัดการเรียนการสอนทุก วันอังคาร ณ ห้องจัสมิน ชั้น 11 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ โดย แต่ละภาคเรียนมีชั่วโมงเรียน 108 ชั่วโมง ในปี 2558 มีผู้เข้ารับ การศึกษาทั้งหมด จำ�นวน 38 คน จบการศึกษาแล้ว จำ�นวน 9 คน ลาออก/หยุดเรียน จำ�นวน 2 คน คงเหลือผู้เข้ารับการศึกษา จำ�นวน 27 คน รายละเอียดดังตาราง

ตำ�แหน่งเดิม

ตำ�แหน่งใหม่

จำ�นวนพนักงาน (คน)

พนักงานบริการความสะอาด พนักงานบริการความสะอาด พนักงานบริการความสะอาด รปภ.สัมพันธ์ รปภ.สัมพันธ์

รปภ.สัมพันธ์ พนักงานขับรถชุมชน พนักงานนิติบุคคล พนักงานนิติบุคคล พนักงานขับรถชุมชน

4 1 6 4 1

ตารางแสดงจำ�นวนผู้เรียนระดับต่างๆ ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบ (กศน.) จำ�นวนผู้เรียน (คน)

ระดับการศึกษา ศึกษา อยูเ่ ดิม

ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

4 16 3

รวมทั้งสิ้น

สมัครใหม่/ ลาออก/ เลือ่ นชัน้ หยุดเรียน

7 3 3

1 -

จบการ ศึกษา

คงเหลือ

2 5 2

9 13 4

9

26

3. การฝึกอบรมอาชีพเสริม

โครงการบริการขับรถในชุมชน บริษัทได้จัดตั้งโครงการนี้ขึ้น ในปี 2558 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อรับสมัครพนักงานบริการชุมชนที่สนใจเป็นพนักงานขับรถตู้ บริการในโครงการเพื่อสร้างรายได้เสริมในช่วงเวลาว่าง เข้าเรียน หลักสูตรการขับรถและงานบริการ ณ กรมการขนส่ง โดยมีจำ�นวน ชั่วโมงเรียน 13 ชั่วโมง/คน แบ่งเป็น ภาคทฤษฎี 4 ชั่วโมง และ ภาคปฏิบัติ 9 ชั่วโมง มีพนักงานบริการชุมชนที่ผ่านการทดสอบ และได้รับใบอนุญาตขับขี่แล้ว จำ�นวน 8 คน ทั้งนี้ อยู่ระหว่างรอ ทดสอบ จำ�นวน 4 คน โดยบริษัทเป็นผู้สนับสนุนค่าใช้จ่ายทั้งหมด


131

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

การส่งเสริมวิชาชีพอื่นๆ บริษัทสนับสนุนให้แม่บ้านและพนักงานบริการชุมชนมีอาชีพเสริม เพือ่ สร้างรายได้ในช่วงเวลาว่าง ผ่านโครงการส่งเสริมวิชาชีพ หลักสูตร การนวดแผนไทย โดยจัดขึ้น ณ ศูนย์ฝึกอบรมกรุงเทพมหานคร วัดจรรยาวาส ในวันเสาร์หรือวันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 09.00-15.00 น. โดยบริษทั สนับสนุนค่าหนังสือและวัสดุอปุ กรณ์ จำ�นวน 250 บาท/คน และค่าพาหนะในการเดินทางไปเรียน จำ�นวน 300 บาท/วัน ซึ่งใน ปี 2558 มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 2 รุ่นดังนี้ • รุน่ ที่ 1 มีผเู้ ข้าร่วมโครงการ จำ�นวน 12 คน เรียนจบหลักสูตร จำ�นวน 8 คน โดยจะได้รบั ประกาศนียบัตรในเดือนมกราคม 2559 และผูท้ เ่ี รียนไม่จบหลักสูตร จำ�นวน 4 คน ซึง่ มีสาเหตุ ดังนี้ ต้องดูแลแม่ทป่ี ว่ ย ต้องดูแลสามีทป่ี ว่ ย เรียนแล้วไม่ชอบ และขอลาออก • รุน่ ที่ 2 มีผเู้ ข้าร่วมโครงการ จำ�นวน 6 คน โดยเริ่มเรียนวันที่ 3 ตุลาคม 2558 - 31 มกราคม 2559

โดยผู้ที่จบหลักสูตรที่ 1 เริม่ ให้บริการนวดแผนไทยในกิจกรรมต่างๆ ตารางการให้บริการนวดแผนไทยในกิจกรรมต่างๆ - - - - -

กิจกรรม

ช่วงเวลาจัดกิจกรรม

งานมหกรรมบ้านและคอนโด ครั้งที่ 33 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ตลาดนัดชุมชน ณ โครงการลุมพินี เพลส สุขสวัสดิ์-พระราม 2 สุนทราภรณ์ย้อนความสุข ณ สวางคนิเวศ งานเปิดตัวโครงการ บ้านลุมพินี ทาวน์วิลล์ แจ้งวัฒนะ-ติวานนท์ กิจกรรมลอยกระทง ณ โครงการลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ ไซต์-พระราม 3

8 - 11 ตุลาคม 2558 31 ตุลาคม 2558 1 พฤศจิกายน 2558 7 - 8 พฤศจิกายน 2558 25 พฤศจิกายน 2558

• การสร้างศักดิ์ศรี บร�หารชุมชน

ศักดิ์ศร�

บริษัทปฏิบัติและให้ความสำ�คัญกับพนักงานกลุ่มนี้อย่างเท่าเทียมกันกับพนักงานในสายงานอื่นๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มีโอกาสได้รับการศึกษาทั้งของตัวเองและบุตรหลานด้วยงบประมาณของบริษัท และจะบรรจุพนักงานบริการชุมชนที่มีอายุงาน 10 ปี ขึ้นไปเป็นพนักงานประจำ� รวมถึงการมอบ รางวัลส่งเสริมการทำ�ความดี การมอบของที่ระลึกให้แก่พนักงานบริการชุมชนที่มีอายุงานครบ 10 15 และ 20 ปี และการมอบรางวัลคุณภาพงานสำ�หรับผู้ที่ได้รับการประเมิน 90% ขึ้นไป รวมถึง การจัดสวัสดิการอื่นๆ เช่น กิจกรรมวันขึ้นปีใหม่ ซึ่งทำ�ให้พนักงานมีความภาคภูมิใจในอาชีพ และมี ความรู้สึกร่วมว่าเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร

• การสร้างความสุขให้กับพนักงานบริการชุมชน บร�หารชุมชน

บร�หารชุมชน

ความสุข

การสร้างความสุขให้กับพนักงานบริการชุมชนเป็นนโยบายหนึ่งขององค์กรที่ต้องการสร้างสมดุล ระหว่างการทำ�งานและชีวิตส่วนตัว (Work-Life Balance) ให้กับพนักงานบริการชุมชน นอกจากนี้ ยังส่งเสริมให้เข้าร่วมในกิจกรรมเพื่อสังคมต่างๆ เช่น พนักงานได้ร่วมแบ่งปันในกิจกรรมเพื่อ สิ่งแวดล้อมและสังคมต่างๆ


132

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

• การดูแลและรับผิดชอบสิ่งแวดล้อมในชุมชน 1. การผลิตน้ำ�จุลินทรีย์เพื่อใช้และแบ่งปันให้แก่ชุมชน พนักงานบริการชุมชนผลิตน้ำ�หมักชีวภาพแทนการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ ผลิตจากสารเคมีเพื่อใช้ในชุมชน เช่น การทำ�น้ำ�ยาล้างจาน น้�ำ ยา ทำ�ความสะอาดพื้น และผสมน้�ำ รดต้นไม้ โดยพื้นที่ที่ใช้น้ำ�หมัก ชีวภาพในการทำ�ความสะอาด ได้แก่ ห้องน้�ำ ห้องพักขยะ ทางเดิน ส่วนกลาง ท่อน้�ำ ทิง้ และลานจอดรถ นอกจากนี้ ยังมีการแบ่งปันน้ำ� หมักชีวภาพให้ชุมชนอื่นๆ ที่ต้องการ และผู้พักอาศัยเพื่อนำ�ไปใช้ ในห้องพัก ในปี 2558 สามารถผลิตน้ำ�หมักชีวภาพได้ทั้งหมด 63,284 ลิตร เมื่อเทียบกับปี 2557 พบว่าผลิตน้ำ�หมักชีวภาพได้มากกว่าถึง 40.83% ของน้�ำ หมักชีวภาพที่ผลิตได้ทั้งหมด (ข้อมูลสะสมตั้งแต่ เดือนมกราคม-พฤศจิกายน 2558)

การทำ�นํ้าหมักชีวภาพใช้ภายในชุมชนลุมพินี

2. การทำ�จิตอาสาในพื้นที่ข้างเคียงรอบชุมชน ช่วงเวลาว่างจากการทำ�ความสะอาด พนักงานบริการชุมชนจะแบ่ง หน้าที่กันช่วยเหลือสังคมด้วยการทำ�ความสะอาดสถานที่สาธารณะ เช่น ป้ายรถเมล์ สะพานลอย สถานีต�ำ รวจ ชายหาด ชุมชนและ พืน้ ทีร่ อบโครงการ และศาสนสถานทีอ่ ยูบ่ ริเวณใกล้เคียงโครงการ ซึง่ กิจกรรมช่วยเหลือสังคมนี้จะมีการแบ่งทีมงานไปปฏิบัติหน้าที่อย่าง ชัดเจน ดังนั้น จะไม่มีผลกระทบกับงานประจำ�ที่ต้องรับผิดชอบ ในปี 2558 พนักงานบริการชุมชนทำ�กิจกรรมเพื่อสังคมบริเวณ พื้นที่สาธารณะ จำ�นวน 822 ครั้ง และบริเวณพื้นที่ศาสนสถาน จำ�นวน 84 ครั้ง

ตารางเปรียบเทียบการทำ�กิจกรรมจิตอาสาเพื่อสังคม ในเดือนมกราคม-พฤศจิกายน ของปี 2557 และ 2558 สถานที่

สาธารณะ ศาสนสถาน รวมทั้งสิ้น

ปี 2557

ปี 2558

350 60

822 84

410

906

บรรยากาศกิจกรรมทำ�ความสะอาดในพื้นที่สาธารณะ

บรรยากาศกิจกรรมช่วยเหลือสังคมในศาสนสถาน


133

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

Scoop AS PROCESS

กองทุนสุนทาน

Philanthropic Investments โครงการ “กองทุนสุนทาน” คือการใช้เม็ดเงินลงทุนในระยะยาว เพื่อหาดอกผล สำ�หรับนำ�ไปช่วยเหลือสังคมในด้านต่างๆ

บริษัทในฐานะ 1 ใน 100 องค์กรที่มีความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG100) ที่ได้รับคัดเลือกจากสถาบัน ไทยพัฒน์ ได้ร่วมเป็นหุ้นส่วนลงทุนใน “กองทุนสุนทาน” หรือ “Philanthropic Investments” ภายใต้ความร่วมมือของ 6 องค์กร ธุรกิจชั้นนำ� ได้แก่ บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ บริษัท แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ไมเนอร์ กรุ๊ป บริษัท น้�ำ ตาล ขอนแก่น จำ�กัด บริษัท นำ�สินประกันภัย จำ�กัด และ ทิสโก้ ไฟแนนเชียล กรุ๊ป โดยระดมเงินตั้งต้นกว่า 120 ล้านบาท เป็นทุน ประเดิมในโครงการ เพื่อนำ�ดอกผลจากการลงทุนในหลักทรัพย์จด ทะเบียนที่มีความโดดเด่นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environmental, Social and Governance: ESG) ไปช่วยเหลือ และพัฒนาสังคมอย่างแบบยั่งยืน โครงการ “กองทุนสุนทาน” เป็นความริเริ่มของสถาบันไทยพัฒน์ ที่ใช้เม็ดเงินลงทุนในระยะยาว เพื่อหาดอกผล สำ�หรับนำ�ไปใช้จ่าย ในการให้ความช่วยเหลือแก่สังคมในด้านต่างๆ เช่น การศึกษา การสาธารณสุข การพัฒนาอาชีพ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยที่ ทุนหรือเงินต้นยังคงอยู่ เป็นทางเลือกให้กับบริษัทจดทะเบียน มูลนิธิในสังกัดภาคเอกชน และสำ�นักงานธุรกิจครอบครัว สามารถ วางแผนการจัดสรรทุนหรือทรัพยากรสำ�หรับการให้ความช่วยเหลือ ได้อย่างต่อเนื่องจนโครงการหรือภารกิจที่ริเริ่มขึ้น เห็นผลหรือ เกิดการเปลี่ยนแปลงได้อย่างแท้จริง สำ�หรับบริษัทมีแนวคิดที่จะนำ�ดอกผลจากการลงทุนไปสนับสนุน บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด (LPC) เพื่อนำ�มาเป็นทุนในการพัฒนาสตรีด้อยโอกาสให้เป็นพนักงาน บริการชุมชน และสร้างรายได้ คุณภาพชีวิต รวมถึงยกระดับ ศักดิ์ศรีของสตรีกลุ่มนี้ ทั้งมีเป้าหมายที่จะพัฒนาให้เป็นองค์กรเพือ่ สังคม (Social Enterprise) ในอนาคต


134

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

นวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน บริษทั ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนานวัตกรรมทุกรูปแบบ รวมถึงส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศในการสร้างนวัตกรรมในทุกกระบวนการดำ�เนินงาน ด้วยการกำ�หนดให้หนึ่งในสมรรถนะหลักขององค์กร (Core Competency) คือ การคิดนอกกรอบ (Lateral Thinking) ซึ่งจะเป็นตัวขับเคลื่อน การสร้างสรรค์นวัตกรรมของผู้บริหารและพนักงาน โดยกระตุ้นให้เกิดการตระหนักและเพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์และบริการอย่างต่อเนื่อง โดยนวัตกรรมของบริษัทแบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้

1

2

3

นวัตกรรมเชิงกลยุทธ์

นวัตกรรมทางด้านผลิตภัณฑ์

นวัตกรรมเชิงกระบวนการ

ได้แก่ นวัตกรรมทีส่ นับสนุนวิสยั ทัศน์และ กลยุทธ์องค์กร เช่น ชุมชนน่าอยูส่ �ำ หรับ คนทุกวัย การพัฒนาระบบการออกแบบ และก่อสร้างโครงการด้วยเทคโนโลยี Building Information Modeling (BIM) เป็นต้น

ได้แก่ นวัตกรรมที่เพิ่มคุณค่าให้กับ ผลิตภัณฑ์และบริการของบริษัท เช่น การ ออกแบบห้องชุดในรูปแบบ LPN Design การออกแบบโครงการสีเขียว LPN Green Project ห้องสมุดมีชีวิต และสวนรวมใจ

ได้แก่ การปรับปรุงกระบวนการดำ�เนินงาน หรือการบริการ เพือ่ ตอบสนองต่อความ ต้องการของลูกค้า เช่น กระบวนการขาย กระบวนการโอนกรรมสิทธิอ์ าคารชุด การตลาดและการสือ่ สารแบรนด์ เป็นต้น

1. นวัตกรรมเชิงกลยุทธ์ ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย จากกลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู”่ ซึง่ เป็นนวัตกรรมเชิงกลยุทธ์ทเ่ี ป็นหลักในการดำ�เนินงานมากว่า 20 ปี บริษทั ได้ตอ่ ยอดคุณค่าของ “ชุมชนน่าอยู่” สู่ “ชุมชนน่าอยู่ส�ำ หรับคนทุกวัย” โดยมี ทีม่ าคือ ตัง้ แต่อดีต บริษัทได้ก�ำ หนดกลุ่มเป้าหมายด้านการตลาดคือ กลุ่มที่มีรายได้ระดับ กลางถึงกลาง-ล่าง ซึง่ เป็นคูห่ นุ่มสาวที่อยู่ในวัยทำ�งานและเริ่มแยกตัวออกจากครอบครัวของ บิดามารดา โดยกำ�หนดและเรียกกลุม่ เป้าหมายกลุม่ นีว้ า่ กลุม่ “D I N K” (Double Income No Kids) และจากการที่บริษัทได้พัฒนาโครงการและบริหารชุมชนมาเป็นเวลาเกือบ 3 ทศวรรษ ฝ่ายพัฒนาการบริหารชุมชนได้พบข้อมูลว่าลักษณะของผู้พักอาศัยมีการพัฒนา และขยายกลุ่มออกไปจากเดิม เช่น มีอายุที่เพิ่มมากขึ้น หลายครอบครัวเริ่มมีบุตร มีญาติ พ่อแม่ ผู้สูงวัย อยู่ร่วมกันเป็นครอบครัวใหญ่ สอดคล้องกับข้อมูลประชากร ที่เป็นที่ทราบ กันดีว่า ประเทศไทยกำ�ลังเริ่มเข้าสู่ยุคผู้สูงวัย บริษัทจึงพัฒนากลยุทธ์ดังกล่าวให้สมบูรณ์ และครอบคลุมคุณภาพชีวิตของคนทุกวัย โดยจะเน้นการพัฒนาทั้งห้องชุดและพื้นที่ส่วน กลางให้เหมาะกับการใช้ชวี ติ ของกลุม่ ผูส้ งู วัยทีช่ ว่ ยตัวเองได้ (Independent Elderly : IE) เป็น อันดับแรก เพื่อให้ “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย” สามารถสร้างความสุขที่แท้จริงของการ อยู่อาศัยให้เกิดกับทุกคนได้ ตามนิยาม “ชุมชนลุมพินี ที่ผู้อยู่อาศัยทุกวัยอยู่ร่วมกันอย่าง มีความสุข โดยมีองค์ประกอบทีเ่ หมาะสม มีคณ ุ ภาพชีวติ สิง่ แวดล้อม และสังคมทีด่ ี รวมทัง้ มีจติ สำ�นึกของการอยูร่ ว่ มกันดูแลห่วงใย และแบ่งปัน”


135

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

นวัตกรรมการพัฒนาระบบการออกแบบและก่อสร้างโครงการ ด้วยเทคโนโลยี Building Information Modeling (BIM) บริษทั ได้เริม่ นำ�ระบบหุน่ จำ�ลองฐานข้อมูลโครงการทีเ่ รียกว่า Building Information Modeling (BIM) เข้ามาเชือ่ มโยงกับกระบวนการออกแบบและก่อสร้างของบริษทั เพือ่ ลดความผิดพลาด ของการประเมินค่าใช้จา่ ยจากความไม่สมบูรณ์ของข้อมูล (Incomplete Data) โดย BIM เป็น เทคโนโลยีทเ่ี ชือ่ มข้อมูลตัวเลขและตัวอักษร เช่น พืน้ ทีอ่ าคาร จำ�นวนวัสดุกอ่ สร้าง ราคาวัสดุ ก่อสร้าง กับข้อมูลทีเ่ ป็นภาพ เช่น แบบก่อสร้างเอาไว้ด้วยกัน ทำ�ให้การเปลีย่ นแปลงข้อมูลใด ข้อมูลหนึ่งนั้น จะส่งผลถึงข้อมูลอีกด้านหนึ่งด้วย ในอดีตการพัฒนาโครงการจะเริ่มตั้งแต่การนำ�แบบร่างอาคารที่ได้รับการอนุมัติโดยผู้บริหาร ไป “ถอดแบบ” (Quantity Take-Off) เพื่อหาปริมาณวัสดุก่อสร้างและราคาที่ถูกต้องโดย ผูเ้ ชีย่ วชาญ ซึง่ กระบวนการดังกล่าวจะใช้เวลานานนับสัปดาห์ และอาจจะมีการแก้ไขแบบใน ขณะที่ก�ำ ลังถอดแบบอยู่ ทำ�ให้อาจเกิดความผิดพลาดของข้อมูลด้านแบบก่อสร้างและราคา เทคโนโลยี BIM สามารถลดระยะเวลาในการประมวลผลด้านปริมาณวัสดุและราคาแบบ ก้าวกระโดด โดยหากมีการพัฒนาแบบอาคารภายใต้เทคโนโลยี BIM ข้อมูลทางด้าน ปริมาณวัสดุและราคาจะถูกประมวลผลไปพร้อมกัน ลดเวลาจากการประมาณราคาจาก สัปดาห์เหลือเพียงหลักชั่วโมง ทำ�ให้บริษัทคำ�นวณต้นทุนโครงการได้อย่างแม่นยำ�และ ได้ผลการออกแบบอาคารที่เหมาะสมภายใต้เงื่อนไขทางด้านงบประมาณและคุณสมบัติ ของผลิตภัณฑ์ที่ตรงความต้องการของผู้บริโภคมากที่สุด นอกจากนี้ BIM ยังเป็นเทคโนโลยีทม่ี กี ารประมวลผลข้อมูลอาคารเป็น 3 มิติ (3-Dimensional Building Information) จากเดิมในอดีตทีเ่ ป็น 2 มิติ ดังนัน้ จึงเท่ากับเป็นการสร้างอาคารเสมือน ขึน้ มาในคอมพิวเตอร์อย่างละเอียดก่อนทีจ่ ะเริ่มการก่อสร้างจริง หากมีความผิดพลาด หรือ ความไม่ชดั เจนในแบบก่อสร้าง (Element Clash) ระบบ BIM จะสามารถตรวจจับได้ และทำ�ให้ ผูอ้ อกแบบสามารถแก้ปัญหาได้ล่วงหน้าก่อนที่ปัญหาจะเกิดขึ้นจริงในสถานที่ก่อสร้าง ซึง่ จะ เกิดค่าใช้จา่ ยมหาศาลในการแก้ไขปัญหา

การพัฒนาแบบอาคาร ภายใต้เทคโนโลยี BIM สิ่งที่เกิดขึ้นคือ ข้อมูลทาง ด้านปริมาณวัสดุ และราคา จะสามารถถูกประมวลผล ไปพร้อมกัน ข้อมูลที่ได้รบั นัน้ บริษัทสามารถนำ�มา ปรับปรุง เพื่อใช้ในการ พัฒนาต้นทุนอย่างแม่นยำ� และได้ผลการออกแบบ อาคารที่เหมาะสมที่สุด


136

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

2. นวัตกรรมระดับผลิตภัณฑ์ LPN Design บริษัทมุ่งเน้นการเพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค และคงไว้ซึ่ง ความได้เปรียบในการแข่งขัน อันนำ�ไปสู่ความเชื่อมั่นที่มีต่อแบรนด์ “ลุมพินี” จึงพบว่ามีพัฒนาการ ที่ส�ำ คัญด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา โดยกระบวนการพัฒนาและออกแบบ โครงการที่ส�ำ คัญของบริษัท ประกอบด้วย การพัฒนาห้องชุดในรูปแบบ “LPN Design” ที่ได้รับ การยอมรับอย่างกว้างขวาง รวมถึงแนวคิดในการพัฒนาโครงการ “LPN Green Project” ภายใต้ มาตรฐาน LEED และ Mixed Target Development ที่เป็นการพัฒนาโครงการที่ผสมผสานกลุ่ม เป้าหมายวัยทำ�งานและวัยเกษียณเข้าไว้ด้วยกัน LPN Design ได้ถูกพัฒนาขึ้นเป็นครั้งแรกในปี 2544 โดยเริ่มตั้งแต่ห้องชุดแบบสตูดิโอขนาด 30 ตร.ม. และห้องชุดแบบ 2 ห้องนอน ขนาด 60 ตร.ม. ที่สร้างมาตรฐานใหม่ของการอยู่อาศัยใน อาคารชุด เนื่องจากให้ประโยชน์ในการใช้สอยสูงสุดและง่ายต่อการบำ�รุงรักษา จนถือได้ว่าห้องชุด ของบริษัทในรูปแบบ LPN Design เป็นต้นแบบของการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยภายในเมือง ที่มีผู้ประกอบการหลายรายนำ�ไปพัฒนาต่อเนื่องจนตอบสนองความต้องการของผู้พักอาศัยได้อย่าง ครบถ้วน จวบจนปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์หลักของบริษัทได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงมาตามลำ�ดับ โดยห้องชุด แบบ 1 ห้องนอน ขนาด 26 ตร.ม. แม้มีขนาดที่เล็กแต่สามารถตอบสนองต่อวิถีชีวิตและความ ต้องการ ในขณะที่ยังคงรักษาระดับราคาขายให้ตอบสนองต่อกลุ่มเป้าหมายได้เป็นอย่างดี แม้ใน ภาวะที่ต้นทุนขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนห้องชุดแบบ 26 ตร.ม. ของบริษัทได้การรับยกย่องให้ เป็น “Product of the Year” ประจำ�ปี 2552 จากหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่ง และนวัตกรรมในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ล่าสุด คือการออกแบบห้องชุดขนาด 21 ตร.ม. เพื่อตอบสนองการใช้ชีวิตในห้องชุด ขนาดเล็กได้ครบถ้วน สมบูรณ์แบบ โดยเริ่มที่โครงการที่จังหวัดชลบุรีเป็นแห่งแรก

LPN Green Project และ LPN Signature Green Project บริษัทให้ความสำ�คัญกับการลดผลกระทบต่อสิ่ง แวดล้อมอันเนื่อ งมา จากการพัฒนาโครงการ จึงได้กำ�หนดแนวทางการออกแบบและวางผัง โครงการภายใต้แนวคิด “LPN Green Project” โดยได้มีการนำ�เสนอ ออกสู่สาธารณชน และได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีในด้านยอดขาย นอกจากนั้น ยังได้พัฒนาโครงการ “LPN Signature Green Project” ซึง่ เป็นต้นแบบโครงการสีเขียว ที่ให้ความสำ�คัญกับผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม อย่างเข้มข้น อย่างไรก็ตาม แม้แนวคิด “LPN Green Project” จะเป็นแนวคิดที่บริษัท กำ�หนดขึ้น แต่ก็มีความสอดคล้องกับมาตรฐานของ “อาคารเขียว” หรือ “Green Building” ของ LEED ได้เกือบสมบูรณ์ ซึ่งเน้นย้ำ�ถึงจิตสำ�นึก ของความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม (CESR) ของบริษัทได้ อย่างชัดเจน แต่ทั้งนี้ การพัฒนาโครงการ LPN Green Project ต้อง พิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในมิติอื่นควบคู่กันไปด้วย โดยเฉพาะต้นทุนโครงการ เพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธ์และวิสัยทัศน์ ของบริษัท


137

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

สวนรวมใจ : จากการเพิ่มคุณค่าให้ “ชุมชนน่าอยู่” สู่จิตสำ�นึกแห่งการอยู่ร่วมกันของชุมชน จากการขยายตัวของสังคมเมืองในปัจจุบัน ทำ�ให้พื้นที่สีเขียวในกรุงเทพฯ ลดน้อยลง อีกทั้งยังเป็นการยากที่ประชาชนจะสามารถอยู่อาศัย ใกล้กบั สวนสาธารณะของเมืองได้ บริษทั จึงเกิดแนวคิดทีจ่ ะพัฒนาพื้นที่สีเขียวภายในโครงการ เพื่อเพิม่ คุณค่าให้กบั ผูพ้ กั อาศัยภายในโครงการ ให้ออกมาทำ�กิจกรรมร่วมกัน มีโอกาสรูจ้ กั และพบปะกับเพือ่ นบ้านในโครงการ สวนรวมใจ ไม่ได้เป็นเพียงสวนสาธารณะของโครงการเพื่อการพักผ่อนเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังเป็นพื้นที่สำ�หรับจัดกิจกรรมในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นการออกกำ�ลังกาย การพักผ่อน กิจกรรมสันทนาการและนันทนาการ รวมถึงกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ เช่น แอโรบิค โยคะ ธรรมะ ในสวน รวมไปถึงกิจกรรมที่สร้างความสนุกสนาน เช่น งานเลี้ยงและดนตรีในสวน โดยประกอบด้วยพื้นที่ 3 ส่วน คือ

Welcome Area

พื้นที่บริเวณด้านหน้า เป็นส่วนต้อนรับ ของสวนรวมใจ

Active Area

พื้นที่สำ�หรับออกกำ�ลังกายที่ใช้การ เคลื่อนไหว การใช้งานจะถูกออกแบบ มาให้เหมาะสมกับผูใ้ ช้งานหลากหลายวัย ทั้งสนามเด็กเล่น ลานกีฬา ลานจ๊อกกิ้ง เครื่องออกกำ�ลังกายกลางแจ้งต่างๆ

Passive Area

พื้นที่สำ�หรับพักผ่อนหย่อนใจ พบปะ พูดคุย และอ่านหนังสือ

ด้วยแนวคิดของ “ชุมชนน่าอยู่” ซึ่งจะ ดำ�เนินการผ่านกิจกรรมต่างๆ ที่เป็น ประโยชน์ สวนรวมใจจะเป็นศูนย์กลาง หรือศูนย์รวมทางจิตใจของผู้อยู่อาศัย ภายในโครงการ และจะเป็นสิ่งยึดเหนี่ยว ที่ดึงสมาชิกในชุมชนให้รู้จักกัน และที่ สำ�คัญ คือเพื่อเสริมสร้างจิตสำ�นึกใน การอยูร่ ว่ มกัน ห่วงใย และแบ่งปันซึง่ กัน และกัน ภายในชุมชนของตนเองและ ชุมชนรอบข้าง


138

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

3. นวัตกรรมเชิงกระบวนการ กระบวนการขาย จากความเชือ่ มัน่ ทีผ่ บู้ ริโภคมีตอ่ แบรนด์ “ลุมพิน”ี ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ของบริษทั เป็นทีต่ อ้ งการของตลาด อย่างมาก บางโครงการลูกค้าจำ�เป็นต้องเข้าคิวจองซื้อก่อนเวลาเปิดขายเป็นเวลาหลายชั่วโมง ซึ่งสร้างความลำ�บากอย่างสูงให้กับลูกค้า สายงานตลาดและขาย จึงได้คิดค้นระบบการออก Tag และจับฉลาก เพื่ออำ�นวยความสะดวกให้กับลูกค้า และเป็นการสร้างสรรค์คุณค่าของงานบริการ ลูกค้าอย่างชัดเจน นอกจากนี้ ยังเกิดปรากฏการณ์ที่สำ�คัญด้านการขายซึ่งเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่า โครงการ “ลุมพินี” จะสามารถปิดการขายได้อย่างรวดเร็ว โดยสถิติล่าสุด คือสามารถปิดการขาย ห้องชุด 3,000 ห้อง ภายในเวลา 3 ชั่วโมงเท่านั้น ภาพบรรยากาศ การขายของ โครงการ “ลุมพินี”

กระบวนการก่อสร้าง บริษัทได้คิดค้นระบบการก่อสร้าง Semi Prefabrication ที่เป็นการผสมผสานระหว่างระบบผนัง สำ�เร็จรูปภายนอกตัวอาคารกับระบบก่ออิฐฉาบปูนผนังภายในอาคาร ซึ่งเป็นการลดระยะเวลาใน การก่อสร้างและลดปัญหาแตกร้าวของผนังหลังการส่งมอบ นอกจากนั้น บริษัทยังส่งเสริมให้ช่างรับ เหมาทุกระดับคิดค้นระบบหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้าง รวมทั้งกระบวนการที่เป็นการเพิ่มคุณค่า ของงานก่อสร้าง โดยจัดประกวดนวัตกรรมของฝ่ายบริหารโครงการและปิยมิตร (LPN Team) เพื่อ กระตุ้นให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องสร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรม ซึ่งสามารถส่งผลให้เกิดนวัตกรรมของงาน ก่อสร้างทุกๆ ปี ผนังสำ�เร็จรูป ทีใ่ ช้ส�ำ หรับ อาคารภายนอก ในระบบ Semi Prefabrication

กระบวนการโอนกรรมสิทธิ์อาคารชุด การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของบริษทั มุง่ เน้นทีอ่ าคารชุดระดับกลางถึงกลาง-ล่าง ซึง่ เป็นกลุม่ ทีม่ คี วามต้องการ ที่พักอาศัยสูง ทำ�ให้จำ�นวนผลิตภัณฑ์ของบริษัทที่ตอบสนองต่อลูกค้าเพิ่มขึ้นทุกปี ประกอบกับการ ส่งมอบไม่ได้เป็นไปอย่างสม่ำ�เสมอทุกเดือน สายงานที่รับผิดชอบการโอนจึงได้ปรับกระบวนการ โอนกรรมสิทธิ์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นสายงานภายในบริษัทกับผู้เกี่ยวข้องภายนอก ทั้งลูกค้าธนาคาร และหน่วยงานราชการ ให้มีความสะดวกรวดเร็วอยู่เสมอ ทำ�ให้สามารถสร้างสถิติ การโอนกรรมสิทธิ์ได้ถึง 550 ยูนิต ใน 1 วันทำ�การ ถือเป็นนวัตกรรมทางกระบวนการ และเป็นการ เพิ่มประสิทธิผลของธุรกิจเป็นอย่างสูง


139

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

การตลาดและการสื่อสารแบรนด์ ในช่วงแรกของการดำ�เนินงานด้านการตลาด บริษทั ไม่ได้มงุ่ เน้นเรือ่ งการสือ่ สารผ่านสือ่ มวลชน (Mass Media) ซึง่ มีคา่ ใช้จา่ ยทีส่ งู มาก หากแต่ เลือกใช้สอ่ื ทางการตลาดทีม่ ีประสิทธิภาพ และเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้โดยตรง โดยเฉพาะกลุ่มลูกค้าเดิมในโครงการต่างๆ ของบริษัท และ กำ�หนดเป็นนโยบายหลักของบริษัทในการบริหารจัดการชุมชนที่มุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้อยู่อาศัยในโครงการเป็นสำ�คัญ ผลจากการ บริหารจัดการชุมชนที่มีประสิทธิภาพ ทำ�ให้เกิดการบอกต่อ (Word of Mouth) จากลูกค้ากลุ่มเดิมไปยังลูกค้ากลุ่มใหม่ๆ โดยมีสัดส่วนสูง มากถึง 50% ซึ่งเป็นการตลาดที่ไม่มีค่าใช้จ่าย และทำ�ให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขัน

กระบวนการบริหารชุมชน ความเป็นตัวตนของบริษทั (Identity) นอกจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคแล้ว การบริการถือเป็นอีกหนึง่ องค์ประกอบที่สร้างความแตกต่างให้แก่แบรนด์ “ลุมพินี” จนเป็นที่ยอมรับและบอกต่ออย่างกว้างขวาง พัฒนาการของ “การบริหารชุมชน” ของบริษัท ดำ�เนินการโดยบริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ซึ่งก่อตั้งมาแล้ว 23 ปี รับผิดชอบบริหารชุมชนให้แก่โครงการ ภายใต้การพัฒนาของบริษัททั้งหมด

กว่า 23 ปี ทีบ่ ริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี มาเนจเมนท์ จำ�กัด ดูแล รับผิดชอบบริหารชุมชน ให้ชมุ ชนของเราเป็น “ชุมชนน่าอยู”่ จนเป็นทีย่ อมรับและบอกต่อกัน อย่างกว้างขวาง


140

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

ข้อมูลพนักงาน (G4-10) จำ�นวนพนักงานแยกตามประเภท (G4-LA12) ประเภท

เพศ ชาย

หญิง

สถานที่ทำ�งาน

สัดส่วนพนักงานตามอายุ ตํ่ากว่า 30-50 ปี 30 ปี

รวม

ศาสนา

ปทุม สมุทร พัทยา 50 ปี ขึ้นไป กทม. นนทบุรี ธานี ปราการ /ชลบุรี อุดร

ชะอำ�

พุทธ คริสต์ อิสลาม

พนักงานประจำ�

ระดับ 1-4 ระดับ 5-7 ระดับ 8-10 ระดับ 11-14 รวม

291 167 29 9 496 42%

726 435 374 207 62 33 17 8 683 1,179 58% 100%

474 51 525 45%

245 304 54 9 612 52%

7 607 19 329 8 58 8 17 42 1,011 4% 86%

29 30 3 46 8 3 685 12 29 15 14 2 8 3 3 367 3 4 - 1 3 - 60 2 - 16 - 1 44 45 5 57 11 6 1,128 17 34 4% 4% 0% 5% 1% 1% 96% 1% 3%

76 2 78 40%

191 115 3 1 194 116 60% 100%

143 143 74%

47 2 49 25%

1 130 11 5 3 24 13 5 185 3 3 1 2 1 3 - 2 132 11 5 3 24 13 6 188 3 3 1% 68% 6% 3% 2% 12% 7% 3% 97% 2% 2%

33 50%

66 61 33 50% 100% 92%

5 8%

- 33 3 22 8 - 65 1 0% 50% 5% 33% 0% 12% 0% 0% 98% 2% 0%

พนักงานสัญญาจ้าง

ระดับ 1-4 ระดับ 5-7 รวม พนักงานรายวัน

รวม พนักงานแม่บ้าน

รวม

พนักงานรปภ.สัมพันธ์

รวม

รวมทั้งหมด

23 2% 86 29% 716 24%

1,236 1,259 98% 100%

72 6%

924 263 1,023 65 52 1 92 25 1 1,239 7 13 73% 21% 81% 5% 4% 0% 7% 2% 0% 98% 1% 1%

298 136 155 7 229 21 6 - 35 7 - 292 2 4 212 71% 100% 46% 52% 2% 77% 7% 2% 0% 12% 2% 0% 98% 1% 1% 2,280 2,996 937 1,745 314 2,428 144 130 9 216 56 13 2,912 30 54 76% 100% 31% 58% 10% 81% 5% 4% 0% 7% 2% 0% 97% 1% 2%

เพศของพนักงาน

หญิง

ศาสนาของพนักงาน

ชาย

58%

42%

ศาสนาพุทธ

97% ศาสนาคริสต์

ประเภทของพนักงาน

หญิง 2%

58% 42%

60% 40%

50% 50%

พนักงาน ประจำ�

พนักงาน สัญญาจ้าง

พนักงาน รายวัน

98% พนักงาน แม่บ้าน

1%

ชาย

71%

29%

พนักงาน รปภ.สัมพันธ์

ศาสนาอิสลาม

2%


141

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

อัตราการลาออก (G4-LA1) เพศ

ประเภท

ชาย

หญิง

พนักงานประจำ� + พนักงานสัญญาจ้าง รวม 89 112 37% 63%

เพศของพนักงาน

สัดส่วนพนักงานตามอายุ รวม

ตํ่ากว่า 30 30-50 ปี 50 ปีขึ้นไป

201 100%

116 70%

81 30%

4 0%

หญิง

ชาย

63%

37%

พนักงานเริ่มงานใหม่ปี 2558 ภูมิลำ�เนา

ประเภท พนักงานประจำ� ระดับ 1-4 ระดับ 5-7 รวม

ภาคตะวันออก ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคใต้ เฉียงเหนือ

55 3 58 44%

8 3 11 8%

1 1 1%

ภูมิลำ�เนา

ประเภท

รวม

ภาคตะวันออก ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคใต้ เฉียงเหนือ

พนักงานสัญญาจ้าง ระดับ 1-4 ระดับ 5-7 รวม

24 239 - 22 24 261 18% 199%

14 1 15 22%

8 8 12%

2 2 3%

รวม

9 99 1 9 100 13% 145%

อัตราการบาดเจ็บด้วยโรคจากการทำ�งาน วันขาดงาน และการขาดงาน (G4-LA6)

IR =

จำ�นวนการบาดเจ็บ x 200,000 จำ�นวนชั่วโมงที่ทำ�งานทั้งหมด

=

10 x 200,000 52 x 42 x 2,996

= 0.31 (0.75 ครั้ง ต่อการทำ�งาน 200,000 ชั่วโมง)

ODR =

แรงงานที่ป่วยด้วยโรคจากการทำ�งาน จำ�นวนชั่วโมงที่ทำ�งานทั้งหมด x 200,000

=

0 x 200,000 52 x 42 x 2,996

=0

LDR =

จำ�นวนวันขาดงานทั้งหมด x 200,000 จำ�นวนชั่วโมงที่ทำ�งานทั้งหมด

=

104 x 200,000 52 x 42 x 2,996

= 3.18 (3.18 วัน ต่อการทำ�งาน 200,000 ชั่วโมง)

วันขาดงานทั้งหมดในช่วงเวลาหนึ่ง x 200,000 วันที่มาทำ�งานในช่วงเวลาเดียวกัน

=

5,574 x 200,000 52 x 42 x 2,996

= 170.37 (170.37 วัน ต่อการทำ�งาน 200,000 ชั่วโมง)

AR =

สถิติการเกิดอุบัติเหตุ (G4-LA6) ประเภทของอุบัติเหตุ

พื้นที่ทำ�งานที่เกิดอุบัติเหตุ

ลื่นล้ม หกล้ม ตกจากที่สูง

ถูกชน / ถูกกระแทก

สารเคมี

1 ครั้ง

2 ครั้ง

1 ครั้ง

ถูกทับ

ถูกเฉี่ยวชนโดยพาหนะ

อื่นๆ

1 ครั้ง

2 ครั้ง

3 ครั้ง

การจำ�แนกการบาดเจ็บตามประเภท ช่วยให้เห็นได้ชัดเจนถึงต้นเหตุของการบาดเจ็บ จากสาเหตุอื่น คือถูก ของมีคมบาด (ร้อยละ 30.00) และประเภทอืน่ คือเกิดจากถูกสารเคมี ถูกทับ ถูกเฉีย่ วชนโดยพาหนะ ลืน่ ล้ม และ หกล้ม ประเภทละ ร้อยละ 10 ร้อยละ 20 เกิดจากการถูกชน หรือกระแทก และที่ บริษทั แอล.พี.เอ็น. กรุป๊ ไม่เคย มีอบุ ตั เิ หตุในงานทีร่ นุ แรงจนถึงขัน้ เสียชีวติ และมุง่ มัน่ ทีจ่ ะรักษาสถิตดิ งั กล่าวนี้ให้คงอยูต่ ลอดไป

สำ�นักงานใหญ่ โครงการ ระหว่างก่อสร้าง

0 ครั้ง 10 ครั้ง

เพศของพนักงาน

หญิง

70%

ชาย

30%


142

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

จำ�นวนพนักงานที่ได้รับการประเมินผลในช่วงเวลารายงาน

แนวทางการพัฒนาอื่นๆ 1) พัฒนาประเมินผล Online เพื่อให้มี การพัฒนาอย่างต่อเนื่องและ Realtime 2) มีการประเมินผลโดยใช้ Individual KPI 3) มีการประเมินผลปฏิบัติงานปีละ 2 ครั้ง 4) มีการประเมินพฤติกรรม ตาม Core Value ขององค์กร 5) นำ�ผลที่ได้รับจากการประเมินผลไปใช้ใน การพัฒนา และปรับปรุง โดยร่วมกับ Academy 6) มีการ Rotation พนักงานระดับบริหาร เพื่อให้โอกาส มีความก้าวหน้า และการ เรียนรู้เพิ่มเติมในการเป็น Generalist 7) ฝ่ายบริหารชุมชนจะมีการ Rotation ทุก 4 ปี เพื่อให้โอกาสมีความก้าวหน้า และการเรียนรู้รวมทั้งเพื่อความโปร่งใส ในงาน

เพศ

จำ�นวนทั้งสิ้น

ชาย หญิง รวม

709 2,287 2,996

ประเมินผลในช่วงเวลาที่รายงาน จำ�นวนที่ ได้รับการประเมิน จำ�นวนที่ยังไม่ ได้ประเมิน 709 2,203 2,912

0 84 84

ประเมินผลในช่วงเวลาที่รายงาน เพศชาย

จำ�นวนทั้งสิ้น

ประเมิน ไม่ประเมิน รวม

709 0 709

%ที่ ได้รับการประเมินเทียบจาก เพศชาย

%ที่ยังไม่ ได้ประเมินเทียบจาก จำ�นวนพนักงานทั้งหมด

100% 0% 100%

23.66% 0% 23.66%

ประเมินผลในช่วงเวลาที่รายงาน เพศหญิง

จำ�นวนทั้งสิ้น

%ที่ ได้รับการประเมินเทียบจาก เพศหญิง

%ที่ยังไม่ ได้ประเมินเทียบจาก จำ�นวนพนักงานทั้งหมด

ประเมิน ไม่ประเมิน รวม

2,203 84 2,287

96.33% 3.67% 100%

73.53% 2.80% 76.34%

อัตราส่วนของเงินเดือนพื้นฐาน และค่าตอบแทน ของผู้หญิงต่อผู้ชายตามประเภทพนักงานในพื้นที่ปฏิบัติงานที่ส�ำ คัญ (G4-LA13) ระดับพนักงาน กลุ่มแม่บ้าน ระดับ 1-4 ระดับ 5-7 ระดับ 8-10 ระดับ 11-14 รวม

ชาย

หญิง

จำ�นวน/คน

เงินเดือน

ค่าตอบแทนอื่นๆ

จำ�นวน/คน

109 400 169 29 9 716

1,246,986 7,046,690 5,442,350 2,071,000 1,874,800 17,681,826

56,297 115,600 978,160 386,600 82,800 1,619,457

1,448 583 208 33 8 2,280

เงินเดือน 13,346,658 10,215,153 6,140,435 2,090,930 1,414,380 33,207,556

ค่าตอบแทนอื่นๆ 500,948 202,380 1,093,000 420,600 66,600 2,283,528

หมายเหตุ : - เงินเดือน หมายถึง ฐานเงินเดือนของพนักงาน / เดือน - ค่าตอบแทนอื่นๆ หมายถึง ค่าตอบแทนอื่นๆ เช่น ค่าตำ�แหน่ง, ค่า Site Manager, ค่า Internet, ค่าโทรศัพท์, ค่าน้ำ�มัน, ค่าขั้น, ค่าวิชาชีพ, ค่าภาระหน้าที่ / เดือน


143

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

รายงานหัวข้อสรุปอัตราการลาคลอดของพนักงาน ปี 2558 (ระหว่างวันทื่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2558) (G4-LA3)

95.83%

4.17%

ลาคลอด ทั้งหมด 24 คน

คือ % พนักงาน ที่ลาคลอด แลวกลับมาทำงาน

คือ % พนักงาน ที่ลาคลอด แลวลาออก

(23 คน)

(1 คน)

สวัสดิการที่จัดหาให้พนักงานแต่ละประเภท (G4-LA2) สวัสดิการ

ประจำ�

สัญญาจ้าง

รายวัน

แม่บ้าน

รปภ. สัมพันธ์

• •

• •

• • • • • • • • • •

• • • • • • • • • •

• • • • • • • • • •

• • • • • • • • • •

• • • • • • • • • •

• • •

• •

• •

• • •

• • • • • • • •

• • • • • • • •

• • •

• • •

1. ประกันชีวิต • ประกันกลุ่ม - ประกันชีวิต / ประกันอุบัติเหตุ - ประกันสุขภาพ (พนักงาน)

2. การดูแลสุขภาพ • ตรวจสุขภาพประจำ�ปี • สมาชิกฟิตเนส • ชมรมด้านกีฬาประเภทต่างๆ • วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ • การจ่ายยาขั้นพื้นฐาน • ห้องพยาบาล • ห้องมุมนมแม่สำ�หรับเก็บนํ้านมแม่ระหว่างวัน • นํ้าดื่ม • ประกันสังคม • กองทุนเงินทดแทน

3. อื่นๆ • เครื่องแบบพนักงานใหม่ • เครื่องแบบประจำ�ปี • เข็มที่ระลึกอายุงาน 10, 15, 20 ปี • รางวัลทำ�ความดี ประกาศเกียรติคุณ • เรียนฟรีและส่งเสริมการศึกษา • อบรมทักษะวิชาชีพ เพื่อพัฒนาในงาน • ทุนการศึกษาบุตร • งานปีใหม่ • สวัสดิการเงินช่วยเหลือ - เยี่ยมไข้พนักงาน - เยี่ยมคลอดพนักงาน - การสมรสพนักงาน - ญาติเสียชีวิต (พนักงาน) - พนักงานเสียชีวิต • เงินกู้ • กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ • เกษียณอายุ

• • • • • • • •


144

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

สวัสดิการ 4. การดูแลผู้พิการ / คุ้มครองทุพภาพ รับคนพิการเข้าทำ�งาน ตามที่กฎหมายกำ�หนด และจัดสวัสดิการให้ ได้รับอย่างเทียบเท่าพนักงานอื่นๆ

5. การลาหยุดเพื่อเลี้ยงดูบุตร พนักงานหญิงสามารถลาหยุดเพื่อเลี้ยงดูบุตรได้ 90 วัน โดยได้รับค่าจ้าง 45 วันจากบริษัท และจากประกันสังคม 45 วัน

6. ระเบียบการเกษียณอายุ บริษัทกำ�หนดอายุพนักงานเกษียณอายุที่ 55 ปี และ 60 ปี พนักงานจะได้รับเงินชดเชยนอกเหนือจากที่กฎหมายกำ�หนดด้วย โดยพนักงานที่ทำ�งานตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไปได้รับเงินกรณีเกษียณอายุเป็นบำ�เหน็จในอัตราเงินเดือน เดือนสุดท้าย อายุงานที่เกิน 10 ปี ทุกๆ 1 ปีที่เพิ่มขึ้น จะได้รับเงินบำ�เหน็จ 0.5 เดือน โดยรวมกันสูงสุดไม่เกิน 12 เดือน

7. สิทธิการเป็นผู้ถือหุ้น ไม่มี

สัดส่วนพนักงานที่มีสิทธิในการร่วมเจรจาต่อรอง (G4-11) บริษทั เคารพในสิทธิและเสรีภาพในการรวมกลุม่ และเจรจาต่อรองของพนักงานและสามารถปฏิบตั ไิ ด้จริงด้วยการเปิดพืน้ ที่ให้กลุม่ พนักงานทีห่ ลากหลาย สามารถมีสว่ นร่วม เสนอแนะข้อคิดเห็น และแนวทางในการจัดสวัสดิการที่เป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารได้ โดยปัจจุบันมีคณะกรรมการสวัสดิการใน สถานประกอบกิจการ ทัง้ สิน้ 20 คน ในฐานะตัวแทนของพนักงานทีม่ าจากการเลือกตัง้ จากเพือ่ นพนักงานในแต่ละพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ าน และมาจากพนักงานทุก ระดับงาน ซึง่ มีบทบาทหน้าทีต่ ามมาตรา 96 แห่ง พ.ร.บ. คุม้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ดังนี้ 1. ร่วมหารือกับนายจ้างเพือ่ จัดสวัสดิการสำ�หรับลูกจ้าง 2. เสนอแนะความเห็นแก่นายจ้างในการจัดสวัสดิการสำ�หรับลูกจ้าง 3. ตรวจตรา ควบคุม ดูแล การจัดสวัสดิการทีน่ ายจ้างจัดให้แก่ลกู จ้าง 4. เสนอข้อคิดเห็นและแนวทางในการจัดสวัสดิการทีเ่ ป็นประโยชน์ส�ำ หรับลูกจ้างต่อคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน จำ�นวนกรรมการสวัสดิการฯ

ตามโครงการ

บริษัท

จำ�นวนพนักงาน

ตามระดับงาน

ตามโครงการ

ตามระดับงาน

สัดส่วนคณะกรรมการสวัสดิการ ต่อพนักงานทั้งหมด ตามระดับงาน ตามโครงการ

จำ�นวน จำ�นวน กรรมการ พนักงาน สำ�นักงาน โครงการ ปฏิบัติการ จัดการ บริหาร สำ�นักงาน โครงการ ปฏิบัติการ จัดการ บริหาร สำ�นักงาน โครงการ ปฏิบัติการ จัดการ สวัสดิการฯ ใหญ่ ระหว่าง (1-4) (5-7) (8-14) ใหญ่ ระหว่าง (1-4) (5-7) (8-14) ใหญ่ ระหว่าง (1-4) (5-7) ก่อสร้าง ก่อสร้าง ก่อสร้าง

LPN PST LPP LPS LPC

5 394 0* 18 5 888 5 126 5 1,570

5 0 3 4 1

0 0 2 1 4

2 0 1 0 3

2 0 4 3 1

รวม

20

1 256 138 237 184 42 1.95 0.00 0 16 2 9 7 2 0.00 0.00 0 158 730 688 168 32 1.90 0.27 2 50 76 46 66 14 8.00 1.32 1 67 1,503 1,489 8 4 1.49 0.27

2,996 13

7

6

10 4 547 2,449 2,469 433 94

บริหาร (8-14)

รวม

0.84 1.09 0.00 0.00 0.15 2.38 0.00 4.55 0.20 12.50

2.38 0.00 0.00 14.29 25.00

1.27 0.00 0.56 3.97 0.32

2 0.29 0.24 2.31

94

0.67

* เนือ่ งจากบริษทั พรสันติ จำ�กัด มีจ�ำ นวนพนักงานน้อยกว่าจำ�นวนขัน้ ต่�ำ ที่ พ.ร.บ. คุม้ ครองแรงงานกำ�หนด จึงไม่ได้สง่ ตัวแทนมาร่วมเป็นคณะกรรมการสวัสดิการฯ


145

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

การจัดทำ�รายงาน (G4-14, 23, 28, 29, 30) แนวทางการจัดทำ�รายงาน รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558 นี้ เป็นรายงานฉบับที่ 2 ของ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ที่จัดทำ� เพื่อเผยแพร่แนวคิดและผลการดำ�เนินงานด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของ บริษัท ด้วยแนวทางที่เป็นกลยุทธ์หลักขององค์กร หรือแนวทาง 6 GREEN LPN โดยข้อมูลในรายงานมีรอบในการรายงานข้อมูลตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2558 ทั้งนี้บริษัทได้น�ำ กรอบการรายงานของ Global Reporting Initiative หรือ GRI ฉบับ G4 เป็นกรอบ ในการรายงานข้อมูล ครอบคลุมการรายงานในแบบหลักตามเกณฑ์ของการรายงาน (‘in accordance’ - Core) นอกจากนั้น ในปีนี้บริษัทได้นำ�เอาหลักสากลมาปรับใช้ให้สอดคล้อง กับเป้าหมายและกลยุทธ์ขององค์กร ทั้งในด้านของการตั้งเป้าหมาย ในการดำ�เนินงานขององค์กร ตาม “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของ โลก 17 ประการ” ขององค์การสหประชาชาติ หรือ (UNSDGs) และ การกำ�หนดมาตรฐานด้านการออกแบบและพัฒนาโครงการ Green Standard Checklist ตามแนวทางของ LEED เพื่อยกระดับและสร้าง มาตรฐานการดำ�เนินงานให้สามารถมุ่งสู่ความยั่งยืน

สอื่ มวลชน

ีย ง

า ศัย

ราชกา

ล ูก ค า

ผูพักอ

งา น

ข า ง เ ค

น ว ย

กรรมก ารน ติ ิฯ

แรงงา น

บ า น

คแู ขง

อ ม

พิจารณาประเด็นสำ�คัญ ด้านความยัง่ ยืน ทีร่ ะบุรว่ มกับนโยบาย และความเสีย่ งของบริษทั

ผถู อื หนุ

LPN’s STAKEHOLDER

สิ�งแวดล

ระบุประเด็นสำ�คัญ ด้านความยัง่ ยืนและ การมีสว่ นร่วมของ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย

คูคา

การระบุประเด็นสำ�คัญด้านความยั่งยืนของบริษัทจะคำ�นึงถึงลักษณะ การดำ�เนินธุรกิจและผู้มีส่วนได้เสียเป็นหลัก เพื่อให้บรรลุผลสำ�เร็จตาม เป้าหมายขององค์กร ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย ทุกฝ่าย และเกิดความยัง่ ยืนในการดำ�เนินธุรกิจ โดยมีคณะอนุกรรมการฯ เป็นผูพ้ จิ ารณาประเด็นตามกรอบ GRI - G4 เพือ่ ให้ครอบคลุมทุกมิติ โดยมีขั้นตอนการประเมินประเด็นต่างๆ ดังนี้

งาน พนกั

TEAM LPN

การประเมินประเด็นสำ�คัญด้านความยั่งยืีน (G4-18)

ส ัง ค ม

จัดลำ�ดับประเด็น ความสำ�คัญ ด้านความยัง่ ยืน

นำ�เสนอ ประเด็นสำ�คัญ ด้านความยัง่ ยืน


146

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

การนำ�เสนอประเด็นสำ�คัญด้านความยั่งยืน (G4–17, 19, 20, 21) ขอบเขตการรายงาน ภายนอกองค์กร (G4-21) ภายในองค์กร (G4 - 20)

ประเด็น ด้านความยั่งยืน ตามกรอบ GRI-G4

ประเด็นสำ�คัญ ด้านความยั่งยืน

ผลการดำ�เนินงาน ด้านเศรษฐกิจ (Economic Performance)

กำ�ไรและการเติบโตอย่างเหมาะสม งบการเงินที่ถูกต้องโปร่งใส ตรวจสอบได้ วินัยทางการเงิน สื่อสารรายงานผลประกอบการอย่าง สมํ่าเสมอ กระจายงบประมาณจากผลประกอบการจาก ทุกภาคส่วนอย่างสมดุลและเหมาะสม พัฒนาและเติบโตไปด้วยกัน ผลตอบแทนที่เหมาะสม บริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน การใช้วัสดุและทรัพยากรอย่างประหยัด และเหมาะสม การพิจารณาผลกระทบจากการออกแบบ บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน ผ่านกิจกรรม Green, Clean, Lean

ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น

บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน ผ่านกิจกรรม Green, Clean, Lean การออกแบบอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตามมาตรฐาน LPN Green Design Concept Standard

ผู้พักอาศัย

บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน ผ่านกิจกรรม Green, Clean, Lean บ้านที่สามารถเป็นเจ้าของได้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามพฤติกรรม และวิถีชีวิต (Behavior and Lifestyle) ส่งมอบคุณภาพชีวิตที่ดีผา่ นการบริหารชุมชน ภายใต้กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย” การลดผลกระทบจากการก่อสร้าง ตามมาตรฐาน LPN Green Construction Process Standard

ผู้พักอาศัย

วัสดุ (Materials) พลังงาน (Energy)

นํ้า (Water) ความหลากหลายทาง ชีวภาพ (Biodiversity) สิ่งปฏิกูลและขยะ (Effluent and Waste) ผลิตภัณฑ์และบริการ (Products and Services)

ภาพรวมทัง้ หมด (Overall)

LPN PST LPP LPS LPC LPN ACADEMY

สื่อสารแนวคิด “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน” และ สร้างเครือข่ายจิตอาสา เช่น กิจกรรม บริจาคโลหิต สร้างการมีส่วนร่วมของผู้พักอาศัยในชุมชน ลุมพินี ด้วยการสนับสนุนการจัดกิจกรรมเพือ่ สิง่ แวดล้อมและสังคมของชมรมลุมพินอี าสา ให้ความสำ�คัญกับความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อมในกระบวนการผลิตและบริการ

ผู้ถือหุ้น, พนักงาน LPN TEAM ผู้ถือหุ้น, LPN TEAM LPN TEAM LPN TEAM บ้านข้างเคียง, LPN TEAM ผู้พักอาศัย

LPN TEAM

ลูกค้า ลูกค้า ผู้พักอาศัย แรงงานก่อสร้าง บ้านข้างเคียง, LPN TEAM ผู้พักอาศัย, บุคคลภายนอก ผู้พักอาศัย


147

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

การนำ�เสนอประเด็นสำ�คัญด้านความยั่งยืน (G4–17, 19, 20, 21) ประเด็น ด้านความยั่งยืน ตามกรอบ GRI-G4 เรื่องร้องเรียนด้าน สิ่งแวดล้อม (Environmental Grievance Mechanisms) การปฏิบัติต่อแรงงาน และความเหมาะสม ของงาน (Labor Practices and Decent Work)

อาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย (Occupational Health and Safety) การอบรมและ ให้ความรู้ (Training and Education)

ประเด็นสำ�คัญ ด้านความยั่งยืน

ขอบเขตการรายงาน ภายนอกองค์กร (G4-21) ภายในองค์กร (G4 - 20) LPN PST LPP LPS LPC LPN ACADEMY

การบริหารความพึงพอใจและข้อร้องเรียน

ลูกค้า, LPN TEAM, ผู้พักอาศัย

ค่านิยมองค์กร องค์กรน่าอยู่ องค์กรแห่งการเรียนรู้และเติบโต ความสมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวิต การสร้างความสุขในการทำ�งาน ยกระดับการศึกษา เพื่อสร้างโอกาส เติบโตในอาชีพการงาน ค่าจ้างแรงงานที่เป็นธรรม

พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน

ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของแรงงาน และผู้ที่เกี่ยวข้อง คุณภาพชีวิตและสุขอนามัยของ แรงงานก่อสร้าง ถ่ายทอดและแบ่งปันองค์ความรู้แก่บุคลากร ของปิยมิตรเพื่อพัฒนาและเติบโตไปด้วยกัน พัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงาน ให้ทันต่อการเติบโตของธุรกิจตาม วิถีของ แอล.พี.เอ็น. แบ่งปันองค์ความรู้สู่สาธารณะชนและสถาบัน การศึกษาผ่านการศึกษาเยี่ยมชมดูงานและ การบรรยาย

LPN TEAM

พนักงาน

LPN TEAM LPN TEAM พนักงาน บุคคลทั่วไป

ความหลากหลายและ โอกาสที่เท่าเทียมกัน (Diversity and Equal Opportunity)

สร้างงานและยกระดับคุณภาพชีวิต ของสตรีด้อยโอกาส

พนักงาน

ชุมชนท้องถิ่น (Local Communities)

การรับผิดชอบเยียวยาและดูแลผลกระทบ จากการก่อสร้าง การร่วมพัฒนาและปรับปรุงสภาพแวดล้อม และสาธารณูปโภคของชุมชนโดยรอบ ธรรมาภิบาลและการบริหารความเสี่ยง ต่อต้านการทุจริต

บ้านข้างเคียง, LPN TEAM บ้านข้างเคียง, LPN TEAM, บุคคลทั่วไป ผู้ถือหุ้น, พนักงาน LPN TEAM, พนักงาน

ต่อการต่อต้านทุจริต (Anti-Corruption)


148

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

Independent Assurance Statement

To L.P.N. Development PCL on the Sustainable Development Report 2015 L.P.N. DEVELOPMENT PCL or LPN requested Thaipat Institute

(the

Foundation

for

Thailand

Rural

Reconstruction Movement under Royal Patronage) to

carried out an assurance engagement response to the Sustainable Development Report 2015 Criteria for report preparation  The Global Reporting Initiative (GRI) Sustainability Reporting Guidelines version 4, in accordance with the Guidelines using ‘Core’ option Criteria for assurance standards  The AA1000 Assurance Standard (AA1000AS 2008) Addressee The intended users of this assurance statement are the management of LPN and its associated stakeholders. Scope of Assurance The scope of this assurance engagement based on Type 1, AccountAbility Principles: evaluation of adherence to the AA1000 AccountAbility Principles and to the GRI Sustainability Reporting Guidelines version 4 in accordance with ‘Core’ option. The scope of this assurance engagement does not provide conclusions on the reliability of the performance information. Disclosures Covered The assurance engagement is based on information that is publicly disclosed on the Sustainable Development Report 2015 of LPN for the year ended 31 December 2015. Methodology We carried out Type 1 moderate assurance in accordance with AA1000AS. The Type 1 engagement requires us to report on the nature and extent of adherence to AA1000 APS. To achieve moderate level assurance we have used the criteria in AA1000AS to evaluate adherence to AA1000APS. We undertook the following procedures:

 Reviewed the policies, practices, management systems and processes and performance information to be included within the Sustainable Development Report 2015 of LPN  Analyzed information on performance provided in the Sustainable Development Report 2015 of LPN as a source of evidence to evaluate adherence to the principles and guidelines  Inquired the processes LPN undertaken to adhere to the principles of inclusivity, materiality and responsiveness  Assessed the extent to which LPN has applied the GRI Reporting Framework including the Reporting Principles  Provided observations/recommendations to LPN in accordance with the Scope of Assurance based on defined criteria Findings and Conclusions  Based on the scope of assurance using the AA1000AS (2008), we conclude that LPN has applied processes and procedures that adhere with the principles of inclusivity, materiality and responsiveness as set out in the AA1000APS (2008); and  Based on the scope of assurance using the GRI G4 Reporting Framework, we conclude that LPN has followed Reporting Principle and Standard Disclosures in a reasonable and balanced presentation of information and consideration of underlying processes for preparing the report Observations and Recommendations Nothing came to our attention which caused us to believe that the Sustainable Development Report 2015 of LPN did not adhere to the Principles. To improve future reporting of Sustainability in accordance with AA1000APS, we have made following observations: Inclusivity: The report shows engagement of stakeholders in various channels as well as brief practices to stakeholders. However, it is also recommended that clearly indicate basis for selection of stakeholders with whom to engage and respond


149

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

practices by interest and expectation stakeholders group should be included in the next reporting period.

employed 12 months after their return to work, by gender. 

Performance Disclosure on Occupational Health

Materiality: LPN shows briefly its reporting process. However, more detailed in each stage are preferred such as the way to select materiality aspects and boundaries.

and Safety should be indicated types of injury,

Responsiveness: LPN demonstrates its intensive response to the material issues that affect sustainability performance through governance structure, sustainable policy, strategies, SD actions and performances. However, to determine targets and timeline should consider S.M.A.R.T. concept (Specific, Measurable, Achievable, Relevant, and Time Bound).

contractors.

To improve future sustainability reporting in relation to GRI Reporting Framework, we have made the following suggestions: 

Performance Disclosure on Economic should state direct economic value generated and distributed on an accruals basis.

Performance Disclosure on Materials should

include weight or volume of materials used by materials type (Renewable/Non-renewable).

Performance Disclosure on Energy should include the energy reductions requirements of

sold products and services, in joules.

Performance

Disclosure

on

Water

should

include percentage of water recycled and

injury rate (IR), occupational diseases rate (ODR), lost day rate (LDR), absentee rate (AR)

and work-related fatalities for independent

Competencies and Independence Thaipat Institute is a public organization established in 1999 with its roles in researching, training, and consulting in corporate responsibility and sustainability practices. Thaipat Institute is an AA1000AS (2008) Licensed Providers granted by AccountAbility, the creator and proprietor of the AA1000 Assurance Standard. Thaipat Institute has become the first GRI Organizational Stakeholder in Thailand since 2010 and has been certified as GRI training partner in Thailand, Indonesia, Malaysia, Philippines, Vietnam, and Singapore. Our team has the relevant professional and technical competencies and experience in corporate responsibility and sustainability for several years. During FY2014, we did not provide any services that relate to the report writing process to LPN that could conflict with the independence of this work. For Thaipat Institute

reused compare with total water withdrawal. 

Performance

Disclosure

on

Effluents

and

Wastes should be indicated in total volume of

planned and unplanned water discharges, total

weight of hazardous and non-hazardous waste, by disposal methods. 

Performance

Disclosure

on

Overall

(Environment) should be indicated type of total environmental

protection

remediation

costs,

Performance

Disclosure

waste

disposal,

expenditures

emissions

prevention

and

on

and

environmental management costs. 

by

treatment,

Products

Services should be indicated quantitatively the

extent to which environmental impacts of products and services have been mitigated.

Performance Disclosure on Anti-Corruption should include numbers and percentages of higher executives, employees, and business

partners who receive communications of anti-

corruption policies and procedures. Those engagements

should

be

performed,

documented as evidence-based processes. 

and

Performance Disclosure on Employment should include total employees who returned to work

after parental leave ended who were still

By Vorranut Piantam Bangkok 2 march 2016


150

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

GRI INDEX GENERAL STANDARD DISCLOSURES GENERAL Page Number STANDARD (or Link) DISCLOSURES STRATEGY AND ANALYSIS

G4-1 G4-2

NOTE

SD 3-5, 8 SD 12 ; AR 143-144, 223-225

ORGANIZATIONAL PROFILE

G4-3 G4-4 G4-5 G4-6 G4-7 G4-8 G4-9 G4-10 G4-11 G4-12 G4-13 G4-14 G4-15 G4-16

SD 6 AR 227-230 SD 6 SD 6 AR 71-73 AR 231-235 AR 12-13 SD 140 SD 144 SD 20-23 AR 188-192 SD 145 SD 16-17, 28-29 -

The Company is not a member of such associations or organisations.

IDENTIFIED MATERIAL ASPECTS AND BOUNDARIES

G4-17 G4-18 G4-19 G4-20 G4-21 G4-22

SD 6 SD 145 SD 24-25, 146-147 SD 146-147 SD 146-147 -

G4-23

SD 144

STAKEHOLDER ENGAGEMENT

G4-24 G4-25 G4-26 G4-27

SD 9 SD 19 SD 26-27 SD 26-27

REPORT PROFILE

G4-28 G4-29 G4-30 G4-31 G4-32 G4-33

SD 145 SD 145 SD 145 SD 152 SD 150-152 SD 148-149

GOVERNANCE

G4-34

AR 194-201

There are no restatements of information provided in previous reports.

External Assurance


151

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)

SPECIFIC STANDARD DISCLOSURES GENERAL Page Number STANDARD (or Link) DISCLOSURES ETHICS AND INTEGRITY

G4-56 G4-57 G4-58

G4-DMA

Identified Omission(s)

Reason(s) for Omission(s)

SD 7, 12 ; AR 211-216 SD 46 SD 46 SD 16-23, 32, 34-35

DISCLOSURES ON MANAGEMENT APPROACH INDICATORS BY ASPECTS CATEGORY : ECONOMIC

ECONOMIC PERFORMANCE

G4-DMA G4-EC1

SD 58 SD 58, 60 ; AR 10-13, 91-97

CATEGORY : ENVIRONMENTAL

MATERIALS

G4-DMA G4-EN1

SD 52, 55 SD 52, 55, 89

ENERGY

G4-DMA G4-EN6 G4-EN7

SD 51-52, 55, 103 SD 103 SD 51-52, 55

WATER

G4-DMA G4-EN10

SD 102 SD 102

EFFLUENT AND WASTE

G4-DMA G4-EN23

SD 101 SD 101

PRODUCTS AND SERVICES

G4-DMA G4-EN27

SD 50-55 SD 4, 54

OVERALL

G4-DMA G4-EN31

SD 76-85, 111-114 SD 113

SUPPLIER ENVIRONMENTAL ASSESSMENT

G4-DMA G4-EN33

SD 14-15 SD 15

ENVIRONMENTAL GRIEVANCE MECHANISMS

G4-DMA G4-EN34

SD 91-93 SD 71, 92

CATEGORY : SOCIAL SUB-CATEGORY: LABOR PRACTICES AND DECENT WORK EMPLOYMENT

G4-DMA G4-LA1 G4-LA2 G4-LA3

SD 36-39 SD 141 SD 143-144 SD 143

Explanation for Omission(s)

External Assurance


152

รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2558

SPECIFIC STANDARD DISCLOSURES GENERAL STANDARD DISCLOSURES

Page Number (or Link)

Identified Omission(s)

Reason(s) for Omission(s)

CATEGORY : SOCIAL SUB-CATEGORY: LABOR PRACTICES AND DECENT WORK OCCUPATIONAL HEALTH AND SAFETY

G4-DMA G4-LA6

SD 39, 82 SD 141

TRAINING AND EDUCATION

G4-DMA G4-LA9 G4-LA10

SD 117-125 SD 120 SD 118-119

DIVERSITY AND EQUAL OPPORTUNITY

G4-DMA G4-LA12

SD 42-43 SD 140

EQUAL REMUNERATION FOR WOMEN AND MEN

G4-DMA G4-LA13

SD 42-43 SD 42, 142

LABOR PRACTICES GRIEVANCE MECHANISM

G4-DMA G4-LA16

SD 48 SD 46 SUB-CATEGORY: SOCIETY

LOCAL COMMUNITIES

G4-DMA G4-S02

SD 91-93, 126, 129-132 SD 91, 93-95

ANTI-CORRUPTION

G4-DMA G4-S04 G4-SO5

SD 13, 44, 47 SD 13, 44, 47 SD 46 SUB-CATEGORY: PRODUCT RESPONSIBILITY

PRODUCT AND SERVICE LABELING

G4-DMA G4-PR5

SD 64-73 SD 73

ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และบุคคลทั่วไป สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โดยติดต่อ แผนกนักลงทุนสัมพันธ์ : นายสุริยา สุริยาภิวัฒน์ Email Address : IR@lpn.co.th โทรศัพท์ : (02) 285-5011 (G4-31)

Explanation for Omission(s)

External Assurance


12

รายงานประจำ�ปี 2557



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.