6 GREEN LPN บร�ษัท แอล.พ�.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)
รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืนประจำป 2559
THE NEXT CHAPTER OF SUSTAINABILITY
บร�บทใหมแหงความยั่งยืน
6 GREEN LPN THE NEXT CHAPTER OF SUSTAINABILITY
บริบทใหม่แห่งความยั่งยืน
รายงานการพัฒนา อย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2559 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
สารบัญ • สารจากประธานกรรมการ 3 • ผลงานที่ภาคภูมิใจปี 2559 4 • รางวัลด้านความยั่งยืนปี 2559 5 • ข้อมูลองค์กร 6 • วิสัยทัศน์เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน 7 • พันธกิจเพื่อผู้มีส่วนได้เสียปี 2559 8 • LPN WAY : วิถีองค์กรขับเคลื่อนสู่ความยั่งยืน 9 • เกี่ยวกับรายงานฉบับนี้ 10 • แนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมกับ 14 กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย SUSTAINABLE POLICY
ความยั่งยืนระดับนโยบาย • หลักธรรมาภิบาล • การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน • การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน • LPN กับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน • TRIPLE BOTTOM LINE • 6 GREEN LPN • 8 STAKEHOLDERS • 10 PROCESSES • เป้าหมายเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน • การดำ�เนินงานเพื่อความยั่งยืน IN PROCESS
ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมในกระบวนการ • การดำ�เนินธุรกิจที่ให้ความสำ�คัญกับ การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืนและทุนมนุษย์ • การกำ�หนดผลตอบแทนและการเติบโต ขององค์กรให้เหมาะสม • การออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม • การตลาดที่เป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง • การบริหารจัดการผลกระทบที่มีผลต่อ สิ่งแวดล้อมและสังคมในกระบวนการก่อสร้าง • การดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิต ของผู้พักอาศัยในโครงการหลังส่งมอบ
OUT PROCESS
ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมในกระบวนการ • กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของบริษัท • กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของชมรม ลุมพินีอาสา AS PROCESS
ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมอิงกระบวนการ
17 18 19 20 22 23 24 25 26 28 32
33 34 50 56 64 78 94
106 107 111
115
116 • สถาบันแอล.พี.เอ็น. • องค์กรธุรกิจเพือ่ สังคม : SOCIAL ENTERPRISE 126 • • • •
นวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน ข้อมูลพนักงาน SDGs INDEX GRI INDEX
133 136 143 145
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 3
สารจากประธานกรรมการ (G4-1)
ปี 2559 เป็นอีกหนึ่งปีแห่งความท้าทายในภาพรวมการดำ�เนินงาน เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ตลอดจนปัจจัยทั้งภายใน และภายนอก ส่งผลให้บริษทั มีแนวโน้มทีจ่ ะก้าวเข้าสู่ “สภาวะถดถอย” บริษทั จึงต้องติดตามสถานการณ์ตา่ งๆ อย่างใกล้ชดิ พร้อมปรับแผนการ ดำ�เนินงานให้สอดคล้องและทันกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป บนพื้นฐานของความรอบคอบ โปร่งใส และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล โดยแนวทางการดำ�เนินงานของบริษทั ในฐานะผูพ้ ฒ ั นาอาคารชุดพักอาศัยนัน้ บริษทั ได้ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนากลยุทธ์ 6 GREEN LPN อันจะเป็นหลักปฏิบตั ิในการดำ�เนินธุรกิจโดยคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม สร้างความสมดุลอย่างยั่งยืนระหว่างการเติบโตทางธุรกิจ และ การดูแลสิ่งแวดล้อมและสังคมที่เห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม จากความตั้งใจที่กล่าวมาข้างต้น ส่งผลให้บริษัทได้รับรางวัลบริษัทจดทะเบียน ด้านความยั่งยืนยอดเยี่ยม (Best Sustainability Awards 2016) จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ด้วยความโดดเด่นในการทำ� ธุรกิจตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน ในกลุ่มบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดระหว่าง 10,000-30,000 บาท รวมถึงรางวัล 5 ตราสัญลักษณ์ด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี จากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (กลต.) และสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ในปีนี้ บริษทั ยังได้ปรับปรุงเนือ้ หาและกระบวนการในการจัดทำ�รายงานให้มคี วามสมบูรณ์ ครบถ้วนมากยิ่งขึ้น โดยใช้แนวทางสากลตามมาตรฐาน GRI (Global Reporting Initiative) ซึ่งสามารถสะท้อนภาพความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคมของบริษทั ได้ในทุกมิติ ที่นอกจากจะง่ายต่อความเข้าใจแล้ว ยังสื่อให้เห็นถึงการเป็นองค์กรที่มี ประสิทธิภาพในการดำ�เนินงานได้อย่างชัดเจน จึงทำ�ให้บริษัทได้รับรางวัลรายงานความ ยั่งยืนดีเด่น ประจำ�ปี 2559 จากสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย และได้รับเกียรติบัตรแห่ง ความภาคภูมิใจจากสถาบันไทยพัฒน์ การเป็นผู้ริเริ่มจัดทำ�รายงานแห่งความยั่งยืน อิง เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน หรือ Sustainable Development Goals (SDGs) 17 ข้อ ที่ สหประชาชาติประกาศให้เป็นเป้าหมายระดับสากลอีกด้วย บนเส้นทางของการดำ�เนินธุรกิจตลอดระยะเวลา 27 ปี บริษัทมิได้มุ่งหวังเพียงแค่สร้าง การเติบโตเชิงเศรษฐกิจ แต่ยังต้องประกอบไปด้วยความรับผิดชอบและธรรมาภิบาลที่ จับต้องได้ เพือ่ ให้เส้นทางของการเป็น “องค์กรคุณค่า” อันเป็นวิสยั ทัศน์ทบี่ ริษทั ให้ความ สำ�คัญตลอดมาได้สัมฤทธิ์ผลตามเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงาน การพัฒนาอย่างยั่งยืนฉบับนี้ จะสามารถเป็นแนวทางให้กับหลายองค์กรในประเทศไทย ที่มีความตั้งใจในการสร้างธุรกิจที่ยั่งยืนและขับเคลื่อนสังคมไปพร้อมๆ กัน ในนามของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ผมจึงใคร่ขอขอบคุณ ผู้บริหาร พนักงาน ปิยมิตร และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน สำ�หรับความร่วมมือร่วมใจ และการสนับสนุนที่มีให้กับบริษัทเสมอมา บริษัทจะยึดมั่นเจตนารมณ์ที่จะรับผิดชอบใน การดำ�เนินงาน บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เพื่อการพัฒนาและเติบโตอย่างยั่งยืนตลอดไป (อมรศักดิ์ นพรัมภา) ประธานกรรมการบริษัท
4 •
6 G R E E N LP N
ผลงานที่ภาคภูมิใจปี 2559 (G4-1) เชิงคุณค่า
เชิงเงินตรา
สูตรความยั่งยืน 3-6-8-10
จำ�นวนชุมชนต้นแบบ
ได้แก่ 3P, 6 GREEN LPN 8 กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ 10 กระบวนการ เพื่อเป็นแนวทาง ในการดำ�เนินธุรกิจของทุกส่วนงาน
สะสมทั้งสิ้น ชุมชน (29 นิติบุคคลอาคารชุด)
28
รายได้รวม
14,651 ล้านบาท
เติบโต
อบรมหลักสูตร CMTC เพื่อสร้างผู้จัดการชุมชน รวมทั้งสิ้น
269
คน
ดูแลบริหารชุมชน
129
จำ�นวน ชุมชน 120,000 ครอบครัว กว่า 210,000 คน รวมพื้นที่ที่ดูแล 6,500,000 ต.ร.ม.
-12% กำ�ไรสุทธิ
2,176 ล้านบาท
ปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น NPS ปี 59
= 49%
สร้างโอกาสในการมีบ้านหลังแรก
0.90* บาท
ผ่านโครงการบ้านสานฝัน สะสมทั้งสิ้น
664
ครอบครัว
8 รางวัลด้านความยั่งยืน สร้างงานแก่สตรีด้อยโอกาส รวมทั้งสิ้น
ความผูกพันต่อองค์กร ของพนักงานเฉลี่ย
= 64%
1,800
ครอบครัว
ส่งมอบโครงการ ทั้งสิ้น
8
โครงการ
เปิดขายโครงการ ทั้งสิ้น
4
โครงการ
* รออนุมัติจากที่ประชุม ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2560
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 5
รางวัลด้านความยั่งยืนปี 2559 (G4-1)
บริษัทได้รับรางวัล “บริษัทจดทะเบียนที่มีผลการดำ�เนินงาน ดีเด่น” (Outstanding Company Performance Awards 2016) จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัทได้รับรางวัลดีเด่นจากการประกาศรางวัลรายงานความ ยัง่ ยืนประจำ�ปี 2559 (Sustainability Report Awards 2016) จากสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
บริ ษั ท ได้ รั บ การจั ด อั น ดั บ ให้ เ ป็ น บริ ษั ท ที่ มี การกำ � กั บ ดู แ ล กิจการในระดับดีเลิศ (ระดับ 5 ตราสัญลักษณ์) จากสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
บริษัทได้รับรางวัลด้านองค์กรแห่งความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG 100) จากสถาบันไทยพัฒน์ เป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน
บริษทั ได้รบั รางวัล “บริษทั จดทะเบียนด้านความยัง่ ยืนยอดเยี่ยม” (Best Sustainability Awards 2016) ในกลุม่ บริษทั จดทะเบียน ที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ระหว่าง 10,000-30,000 ล้านบาท จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัทได้รับมอบเกียรติบัตร (Recognition) ที่เป็นผู้ริเริ่มจัดทำ� รายงานแห่งความยัง่ ยืน (Sustainability Report) อิงเป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืนหรือ Sustainable Development Goals (SDGs) 17 ข้อ ที่สหประชาชาติประกาศเป็นเป้าหมายโลก จากสถาบันไทยพัฒน์
บริษัทเป็น 1 ใน 51 บริษัทจดทะเบียนที่มีรายชื่อหุ้นยั่งยืน (Thailand Sustainability Investment : THSI) เป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัทได้รับรางวัลด้านการออกแบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน ตามเกณฑ์มาตรฐานการออกแบบอาคาร “Building Energy Code” (BEC) จากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน กระทรวงพลังงาน
6 •
6 G R E E N LP N
ข้อมูลองค์กร (G4-3, 5, 6) ธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ (Developer)
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทอาคารชุดพักอาศัยในประเทศไทย สำ�นักงานใหญ่ ที่ตั้ง 1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 วันที่จดทะเบียน : วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2532 ทุนจดทะเบียน : 1,475,698,768 บาท
บริษัทในเครือ (G4-17)
บริษัท พรสันติ จำ�กัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในรูปแบบอื่นๆ นอกเหนือจากอาคารชุดพักอาศัย
ธุรกิจบริการ (Service Provider)
บริษัทในเครือ (G4-17) บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำ�กัด ให้บริการบริหารจัดการชุมชนแบบครบวงจร
บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำ�กัด ให้บริการด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ครบวงจร
บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด ให้บริการงานบริการด้านต่างๆ ในชุมชน
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 7
วิสัยทัศน์เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน คณะกรรมการบริษัทจะเป็นผู้พิจารณาอนุมัติวิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์และแผนธุรกิจของบริษัทและบริษัทย่อย ซึ่งการกำ�หนดวิสัยทัศน์จะ ดำ�เนินการใหม่ทุก 3 ปี เพื่อเป็นแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจและนำ�ไปสู่เป้าหมายการเติบโตอย่างยั่งยืน โดยคำ�นึงถึงความสมดุลของ ผลตอบแทนทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม อีกทั้งยังคำ�นึงถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมด้วยการ ดำ�เนินงานภายใต้หลักธรรมาภิบาล รวมถึงการกำ�หนดพันธกิจในแต่ละปีเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ซึ่งขับเคลื่อน ด้วยวิถแี อล.พี.เอ็น. (LPN Way) ทีห่ ล่อหลอมมาจากประสบการณ์ในการดำ�เนินธุรกิจ ดังนี้
วิสัยทัศน์ปี 2560 - 2562 “สร้างความสมดุล และบูรณาการประสิทธิภาพ ของการดำ�เนินธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และพัฒนาทีพ ่ กั อาศัย ในมิตผิ ลประกอบการ รวมถึงความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย จากการดำ�เนินงาน เพือ่ เป้าหมายการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน”
วิสัยทัศน์ในช่วงที่ผ่านมาของบริษัท ปี 2548 - 2550
ปี 2551 - 2553
ปี 2554 - 2556
ปี 2557 - 2559
ดำ�รงไว้ซึ่งความเป็นผู้นำ�ตลาด และเพิ่มพูน ประสิทธิภาพด้วย การพัฒนาอาคารชุดพักอาศัย แบบบูรณาการ เพือ่ การสร้างสรรค์ ชุมชนคุณภาพ
มุ่ง มั่น ดำ � เนิ น การในการรั ก ษา ภาวะผูน้ �ำ ด้านการพัฒนาอาคาร ชุดพักอาศัย ด้วยการสร้างสรรค์ คุณค่าแบบบูรณาการ เพือ่ พัฒนา คุณภาพชีวติ ทีเ่ หมาะสมและพึง พอใจของผู้ อ ยู่ อาศั ย ในชุมชน โดยที่ยั ง คงไว้ ซึ่ ง ผลตอบแทน ต่อผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสีย อย่ า งยั่ ง ยื น ภายใต้ ห ลั ก การ ธรรมาภิบาล
เป็นผูน้ �ำ ในการพัฒนาทีพ่ กั อาศัย ในเมืองด้วยการสร้างสรรค์และ ส่งมอบคุณค่าแบบบูรณาการ แก่ ผูม้ ีส่วนได้เสียในการดำ�เนินงาน เพื่ อ นำ � ไปสู่การพัฒนาและการ เติบโตอย่างยัง่ ยืน
คงไว้ซง่ึ สถานะผูน้ �ำ ในการพัฒนา อาคารชุ ด พั ก อาศั ย ในกลุ่ ม เป้าหมายระดับกลางถึงกลาง-ล่าง ภายใต้แนวทาง “ชุมชนน่าอยู่” ด้ ว ยการดำ � เนิ น การตามวิ ถี “องค์กรคุณค่า” เพื่อการพัฒนา และเติบโตอย่างยั่งยืน
ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย คือ ชุมชนลุมพินี ที่ผู้อยู่อาศัยทุกวัย อยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสุข โดยมี องค์ประกอบที่เหมาะสม มีคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อมและสังคมทีด่ ี รวมทัง้ จิตสำ�นึกของการร่วมใจ ห่วงใย และแบ่งปัน
องค์กรคุณค่า องค์กรที่ได้มีการพัฒนาคุณค่าแบบบูรณาการ ในการดำ�เนินงานทุกภาคส่วน เพื่อส่งมอบให้กับผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งสิ่งแวดล้อมและสังคม
8 •
6 G R E E N LP N
พันธกิจเพื่อผู้มีส่วนได้เสีย ปี 2559
SHAREHOLDERS ผูถือหุน
STAFF พนักงาน
CUSTOMERS ลูกคา
สร้างการเติบโตอย่างเหมาะสม เพื่อผลตอบแทนอย่างยั่งยืน ภายใต้การบริหารความเสี่ยง และหลักการธรรมาภิบาล
เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความรู้ ความสามารถ คุณธรรมและความสัมพันธ์ เพื่อความสุข ความผูกพัน ความก้าวหน้า มั่นคง ผ่านวิถีแอล.พี.เอ็น. และสถาบัน แอล.พี.เอ็น. ภายใต้วฒ ั นธรรมห่วงใย และแบ่งปันของ “องค์กรแห่งคุณค่า”
สร้างโอกาสในการมีบ้านหลังแรก ในราคาทีส่ ามารถเป็นเจ้าของได้ และส่งมอบคุณค่าผลิตภัณฑ์และคุณค่า บริการ รวมทั้งบริหารประสบการณ์ เพือ่ ให้เกิดความเชือ่ มั่นในแบรนด์ “ลุมพินี”
SUPPLY CHAIN คูคา
NEIGHBORS บานขางเคียง
RESIDENTS ผูอยูอาศัย
สร้างความเป็นหนึ่งเดียว ภายใต้ วัฒนธรรมร่วมใจ ห่วงใยและแบ่งปัน และเติบโตร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ในผลตอบแทนที่เหมาะสม
รับผิดชอบ เยียวยา และดูแล ผลกระทบจากการดำ�เนินงาน รวมทั้งสร้างการมีส่วนร่วม และสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน
สร้างสรรค์และส่งมอบ “ชุมชนน่าอยูส่ �ำ หรับคนทุกวัย” ทีจ่ ะนำ�ไปสู่ความสุขที่แท้จริง ของการอยู่อาศัย
LABORS แรงงาน
ENVIRONMENT สิ�งแวดลอม
ร่วมดูแลคุณภาพชีวิต ความปลอดภัย และชีวอนามัย ผ่านการสนับสนุนการดำ�เนินงานของ ปิยมิตรและการจัดกิจกรรม
ส่งเสริมและมีส่วนร่วมในจิตสำ�นึก รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ทั้งภายในกระบวนการ นอกกระบวนการ และอิงกระบวนการ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 9
LPN WAY : วิถีองค์กรขับเคลื่อนสู่ความยั่งยืน
AB
T N
ER
O
C
I
S
S
I TY UAL
COS LEADER T SH I CO P NT S
S
LL
E
EC
E
DE SP RE
E LOPM LD T T O H O S TA K E LP E N AT E R C O O P R C RA GOVERNAN TIO N Y INTEGRIT
ON
CO
VE
NT
LPN WAY
AM
E
COST WI TH Q
N
TE
D OUS EVELO U IN T A I N A B P L US
L
NC
LP
AL
IA
DY
NAMIC
ME
C
T
THINKING
A
LA
L ERA
W IT H Q U A LIT Y
L
C-L-A-S-S-I-C สมรรถนะหลักองคกร (Core Competency)
CORPORATE VALUES คานิยมองคกร
ยึดถือและนำ�ไปปฏิบัติ ซึ่งพัฒนาไปเป็นค่านิยมองค์กร (Corporate Values) และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เกิดเป็นวิถีแอล.พี.เอ็น. (LPN Way) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การดำ�เนินงานในทุกภาคส่วนบรรลุ เป้าหมาย ทัง้ เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ และขับเคลือ่ นองค์กรไปสู่ “การพัฒนาและเติบโตอย่างยั่งยืน” (Sustainable Development)
S CU STO C M E NTRI ER M ERV C IN IC DE E D SPEED
วิถแี อล.พี.เอ็น. (LPN Way) ประกอบด้วยคุณค่า 2 เสาหลัก คือ “การ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง” (Continuous Development) และ “การ ยอมรับนับถือผู้มีส่วนได้เสีย” (Respect for Stakeholders) โดยมี องค์ประกอบค่านิยม 7 ประการ คือ “C-L-A-S-S-I-C” ซึ่งเป็น แนวทางบูรณาการในการดำ�เนินธุรกิจที่ทุกองคาพยพของบริษัท
10 •
6 G R E E N LP N
เกี่ยวกับรายงานฉบับนี้ (G4-14, 23, 28, 29, 30) แนวทางการจัดทำ�รายงาน รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืนประจำ�ปี 2559 นี้ เป็นรายงานฉบับที่ 3 ของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน) ที่จัดทำ�ขึ้น เพื่อรายงานผลการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียขององค์กร รวมทั้งถ่ายทอดแนวคิดการ ดำ�เนินธุรกิจบนพื้นฐานของความยั่งยืน ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของบริษัท ด้วยแนวทางบริหารจัดการ 6 GREEN LPN โดย ข้อมูลในรายงานมีรอบการรายงานข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2559 ทั้งนี้ บริษัทได้นำ�กรอบการรายงานสากลของ Global Reporting Initiative หรือ GRI ฉบับ G4 เป็นกรอบในการรายงานข้อมูล ครอบคลุมการรายงานในแบบหลักตามหลักเกณฑ์ของการรายงาน (‘in accordance’ - Core) นอกจากนัน้ ในปีนี้บริษัทได้เพิ่มความเข้มข้นของกำ�หนดเป้าหมายด้าน ความยั่งยืนตาม “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก 17 ประการ” หรือ Sustainable Development Goals โดยได้ปรับเป้าหมายและกลยุทธ์ ขององค์กร ให้สอดคล้องกับเป้าหมายดังกล่าวมากยิง่ ขึน้ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่ารายงานฉบับนี้จะมีกระบวนการจัดทำ�ขึ้นตามกรอบของ GRI แต่การรายงานผลการดำ�เนินงาน จะรายงานตามกลยุทธ์ 6 GREEN LPN ซึง่ จะสามารถสะท้อนภาพความรับผิดชอบขององค์กรได้อย่างชัดเจน และครอบคลุมทุกกระบวนการดำ�เนินงานหลัก 10 กระบวนการ สอื่ มวลชน
แรงงา น
TEAM LPN
กรรมก ารน ติ ิฯ
ผถู อื หนุ
ข า ง เ ค
ีย ง
ผูพักอ
า ศัย
ร ราชกา งา น
บ า น
น ว ย
อ ม
ล ูก ค า
LPN’s STAKEHOLDER
สิ�งแวดล
3. จัดลำ�ดับ ความสำ�คัญ และคัดเลือกประเด็น ทีเ่ กีย่ วข้อง
อง
2. พิจารณา ประเด็นทีส่ อดคล้อง กับนโยบายและ ความเสีย่ งของบริษทั
คูคาร
การระบุประเด็นสำ�คัญด้านความยั่งยืนของบริษัทจะคำ�นึงถึงลักษณะ การดำ�เนินธุรกิจและผู้มีส่วนได้เสียเป็นหลัก เพื่อให้บรรลุผลสำ�เร็จตาม เป้าหมายขององค์กร ตอบสนองความต้องการของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย และเกิดความยั่งยืนในการดำ�เนินธุรกิจ โดยมีคณะอนุกรรมการกำ�กับ ดูแลกิจการด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม เป็นผูพ้ จิ ารณาประเด็นตามกรอบ GRI - G4 เพื่อให้ครอบคลุมทุกมิติ โดยมีขั้นตอนการประเมินประเด็น ต่างๆ ดังนี้
1. ระบุประเด็น ด้านความยัง่ ยืนผ่าน การมีสว่ นร่วมของ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย
งาน พนกั
ง คแู ข
การประเมินประเด็นสำ�คัญด้านความยั่งยืีน (G4-18)
ห
ส ัง ค ม
4. นำ�เสนอ ประเด็นสำ�คัญ ด้านความยัง่ ยืน ผ่านรายงาน
5. ประเมิน และสรุปผล
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 11
ตารางแสดงประเด็นสำ�คัญด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์กร เทียบกรอบการรายงาน GRI และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน GRI Material Aspects
LPN Sustainability Aspects
GRI Indicators
IN PROCESS
GREEN ENTERPRISE ผลเชิงเศรษฐกิจ (Economic Performance)
• บริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน • พัฒนาและเติบโตอย่างเหมาะสม • ผลตอบแทนที่เหมาะสม • คืนกำ�ไรสู่สังคมด้วยการสนับสนุน “กิจการเพื่อสังคม”
G4-EC1
การต้านทุจริต (Anti-Corruption)
• ธรรมาภิบาลและการบริหารความเสี่ยง • ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน
G4-SO4, G4-SO5
การจ้างงาน (Employment)
• ค่านิยมองค์กร • องค์กรน่าอยู่ • องค์กรแห่งการเรียนรู้และเติบโต • ความสมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวิต
G4-LA1, G4-LA2, G4-LA3
ผลิตภัณฑ์และบริการ (Products and Services)
• บ้านที่สามารถเป็นเจ้าของได้ • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามพฤติกรรมและวิถีชีวิต (Behaviour & Lifestyle) • การรับผิดชอบต่อผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในกระบวนการผลิตและบริการ
ภาพรวม (Overall) กลไกการร้องทุกข์ ด้านสิทธิมนุษยชน (Human Rights Grievance Mechanisms)
• ข้อร้องเรียนด้านสิทธิมนุษยชน
G4-HR12
กลไกการร้องทุกข์ ต่อข้อปฏิบัติด้านแรงงาน (Labor Practices Grievance Mechanisms)
• ข้อร้องเรียนด้านแรงงาน
G4-LA16
ผลตอบแทนที่เท่าเทียม ระหว่างหญิงและชาย (Equal Remuneration for Women and Men)
• องค์กรน่าอยู่
G4-LA13
อาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย (Occupational Health and Safety)
• องค์กรน่าอยู่
G4-LA13
GREEN FINANCIAL MANAGEMENT ผลเชิงเศรษฐกิจ (Economic Performance)
• กำ�ไรและเติบโตอย่างเหมาะสม • กระจายงบประมาณจากผลประกอบการให้กับ ทุกภาคส่วนอย่างสมดุลและเหมาะสม • งบการเงินที่ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ • วินัยทางการเงิน • สื่อสารรายงานผลประกอบการอย่างสม่ำ�เสมอ
G4-EC1 G4-EC1
Sustainable Development Goals (SDGs)
12 •
6 G R E E N LP N
GRI Material Aspects
LPN Sustainability Aspects
GRI Indicators
GREEN DESIGN CONCEPT พลังงาน (Energy)
• การพิจารณาผลกระทบจากการออกแบบ • การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity)
• การออกแบบอาคารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามมาตรฐาน GREEN DESIGN CONCEPT STANDARD
วัสดุ (Materials)
• การใช้วัสดุและทรัพยากรอย่างประหยัดและเหมาะสม
นํ้า (Water)
• การประหยัดน้ำ�
ขนส่ง (Transport)
• การเลือกทำ�เลเชิงกลยุทธ์ • การเพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ด้วยสิ่งอำ�นวยความสะดวก ภายในโครงการ
IN PROCESS
GREEN MARKETING MANAGEMENT กลไกการร้องทุกข์ ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Grievance Mechanisms)
• การบริหารความพึงพอใจและข้อร้องเรียน ด้านสิ่งแวดล้อม
G4-EN34, G4-EN27
การแสดงฉลากผลิตภัณฑ์ และบริการ (Product and Service Labeling)
• การบริหารความพึงพอใจและข้อร้องเรียน ด้านผลิตภัณฑ์
G4-PR5
ผลิตภัณฑ์และบริการ (Products and Services)
• การบริหารประสบการณ์ลูกค้า • ราคาที่สามารถเป็นเจ้าของได้ • การโฆษณาเชิงสร้างสรรค์ ไม่มีวาระซ่อนเร้น และไม่โจมตีคู่แข่ง • การรับประกันคุณภาพห้องชุด
GREEN CONSTRUCTION PROCESS อาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย (Occupational Health and Safety)
• ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของแรงงาน และผู้ที่เกี่ยวข้อง • คุณภาพชีวิตและสุขอนามัยของแรงงานก่อสร้าง
ชุมชนท้องถิ่น (Local Communities)
• การรับผิดชอบ เยียวยา และดูแลผลกระทบ จากการก่อสร้าง • การร่วมพัฒนาและปรับปรุงสภาพแวดล้อม และสาธารณูปโภคของชุมชนโดยรอบ
G4-SO2
ผลิตภัณฑ์และบริการ (Products and Services)
• การลดผลกระทบจากกการก่อสร้าง ตามมาตรฐาน GREEN CONSTRUCTION PROCESS STANDARD
G4-EN34
Sustainable Development Goals (SDGs)
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
GRI Material Aspects
LPN Sustainability Aspects
GRI Indicators
GREEN CONSTRUCTION PROCESS นํ้าทิ้งและของเสีย (Effluent and Waste)
• การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม • การจัดการขยะ
G4-EN22 G4-EN23
IN PROCESS
GREEN COMMUNITY MANAGEMENT ผลิตภัณฑ์และบริการ (Products and Services)
• ส่งมอบคุณภาพชีวิตที่ดี ผ่านการบริหารชุมชน ภายใต้กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย”
พลังงาน (Energy)
• การบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าในชุมชนลุมพินี
G4-EN4, G4-EN6, G4-EN7
นํ้า (Water)
• การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ�ในชุมชนลุมพินี
G4-EN8, G4-EN10
นํ้าทิ้งและของเสีย (Effluent and Waste)
• การจัดการขยะในชุมชนลุมพินี
G4-EN23
OUT PROCESS
CESR ACTIVITIES ภาพรวม (Overall)
• สื่อสารวัฒนธรรม “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน” และสร้างเครือข่ายจิตอาสา เช่น กิจกรรมบริจาคโลหิต
CORPORATE ESR TO COMMUNITY ESR ภาพรวม (Overall)
• สร้างการมีส่วนร่วมของผู้พักอาศัยในชุมชนลุมพินี ด้วยการสนับสนุนการจัดกิจกรรม เพื่อสิ่งแวดล้อม และสังคม ของชมรมลุมพินีอาสา
LPN ACADEMY
AS PROCESS
การฝึกอบรมและให้ความรู้ (Training and Education)
• ถ่ายทอดและแบ่งปันองค์ความรู้แก่บุคลากรของคู่ค้า เพื่อพัฒนาและเติบโตไปด้วยกัน • พัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงานให้ทันต่อ การเติบโตของธุรกิจตามวิถีแอล.พี.เอ็น • แบ่งปันองค์ความรู้สู่สาธารณชนและสถาบันการศึกษา ผ่านการศึกษาเยี่ยมชมดูงานและการบรรยาย
SOCIAL ENTERPRISE การปฏิบัติต่อแรงงาน และความเหมาะสมของงาน (Labor Practices and Decent Work)
• สร้างความสุขในการทำ�งาน • ยกระดับการศึกษา เพื่อสร้างโอกาสเติบโต ในอาชีพการงาน
ความหลากหลายและโอกาส แห่งความเท่าเทียม (Diversity and Equal Opportunity)
• สร้างงานและยกระดับคุณภาพชีวิตของสตรีด้อยโอกาส
G4-LA9
• 13
Sustainable Development Goals (SDGs)
14 •
6 G R E E N LP N
แนวทางการสร้างการมีส่วนร่วมกับกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย (G4-26,27) ผู้มีส่วนได้เสีย
SHAREHOLDERS ผู้ถือหุ้น
ประเด็นสำ�คัญทั่วไป • กำ�ไรและการเติบโตที่เหมาะสม • การบริหารความเสี่ยง • ธรรมาภิบาล
• สร้างการเติบโตและผลกำ�ไรอย่างเหมาะสม • รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม • สร้างความสมดุลของผลตอบแทนแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม • ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล • บริหารจัดการความเสี่ยง • ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน • เคารพในสิทธิของผู้ถือหุ้น • ดำ�เนินนโยบาย 6 GREEN LPN เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
• สมดุลของผลตอบแทน • พัฒนาและเติบโตไปด้วยกัน
• สร้างความเป็นหนึ่งเดียว • กำ�หนดแผนธุรกิจร่วมกัน • แบ่งปันองค์ความรู้ • ให้การสนับสนุนในการพัฒนาองค์กร • ส่งต่อจิตสำ�นึกในการรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
• สมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวิต • การเรียนรู้และเติบโต • ความสุขในการทำ�งาน • ค่านิยมองค์กร
• สร้างสมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวิต • การเรียนรู้และเติบโตในหน้าที่การงาน • องค์กรน่าอยู่ • สมรรถนะหลักไปสู่ค่านิยมองค์กร • ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม • ความเท่าเทียมและสิทธิขั้นพื้นฐาน
• ความเชื่อมั่นในแบรนด์ • คุณค่าผลิตภัณฑ์ • สิทธิผู้บริโภค • การบริหารความพึงพอใจ • บ้านที่สามารถหาซื้อได้
• บ้านที่สามารถเป็นเจ้าของได้ • คุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการ • สร้างความพึงพอใจและบริหารข้อร้องเรียน • เคารพในสิทธิของผู้บริโภค • ราคาที่เป็นธรรม
• การสร้างการมีส่วนร่วม • คุณค่าผลิตภัณฑ์ • คุณค่าการบริการ - ชุมชนน่าอยู่ สำ�หรับคนทุกวัย • สิทธิผู้บริโภค • การบริหารความพึงพอใจ
• คุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการ • สร้างความพึงพอใจและบริหารข้อร้องเรียน • เคารพในสิทธิของผู้บริโภค • สร้างวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกัน ร่วมใจ ห่วงใย และแบ่งปันกัน • สร้างการมีส่วนร่วมในกิจกรรม CESR • ส่งเสริมการเรียนรู้แก่เยาวชนที่อยู่อาศัยในโครงการ • เปิดโอกาสให้ชุมชนร่วมกำ�หนดแนวทางการบริหารจัดการ
• ความรับผิดชอบ • การลดผลกระทบในกระบวนการ นอกกระบวนการ และอิงกระบวนการ
• การลดผลกระทบจากการก่อสร้าง • การร่วมรณรงค์คัดแยกขยะในชุมชนที่บริหารจัดการ • ส่งเสริมการประหยัดพลังงาน • การบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า • การออกแบบโครงการเพื่อความยั่งยืน • สร้างจิตสำ�นึก CESR แก่ชุมชนที่บริหารจัดการ • สร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดีแก่สตรีด้อยโอกาส • แบ่งปันองค์ความรู้องค์กรสู่ภายนอกผ่านสถาบันแอล.พี.เอ็น.
• ความปลอดภัย • การดูแลคุณภาพชีวิตคนงานก่อสร้าง
• ความปลอดภัยในการทำ�งาน • ดูแลคุณภาพชีวิต ทั้งบ้านพักคนงานและสุขอนามัย • สิทธิและค่าตอบแทนขั้นพื้นฐาน • การปฏิบัติอย่างเท่าเทียม
• การลดผลกระทบในกระบวนการก่อสร้าง • การสร้างความสัมพันธ์
• การป้องกันเสียง ฝุ่น และผลกระทบจากการก่อสร้าง • การรับฟังข้อเสนอแนะและแนวทางการทำ�งาน • การปฏิบัติตามรายงานวิเคราะห์ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม • การออกแบบที่คำ�นึงถึงความยั่งยืนของพื้นที่
SUPPLY CHAIN คู่ค้า
STAFF พนักงาน
CUSTOMER ลูกค้า
RESIDENTS ผู้อยู่อาศัย
LABORS แรงงาน
NEIGHBORS บ้านข้างเคียง
ENVIRONMENT สิ่งแวดล้อม
ประเด็นสำ�คัญเฉพาะ
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
วิธีการสร้างการมีส่วนร่วม
ความถี่ในการดำ�เนินการ
• รายงานประจำ�ปี และรายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน • การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น • จดหมายข่าวผู้ถือหุ้น • เยี่ยมชมโครงการ • การพบปะนักวิเคราะห์ • การพบปะนักลงทุนและผู้จัดการกองทุน • การรายงานความคืบหน้าโครงการ
รายปี รายปี รายไตรมาส รายปี รายไตรมาส เป็นประจำ� เป็นประจำ�
• การประชุมปิยมิตร • การอบรมและแบ่งปันความรู้ • กิจกรรมสร้างความสัมพันธ์
รายเดือน รายเดือน รายไตรมาส
• การประเมินความสุขในการทำ�งาน • สถาบันแอล.พี.เอ็น. • กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วม • ทีมงานพนักงานสัมพันธ์ • การประเมินผลการปฏิบัติงาน • เว็บไซต์ และอีเมล์ภายใน • การแบ่งปันความรู้จากผู้บริหาร • คณะกรรมการสวัสดิการ • WhatsApp
รายไตรมาส เป็นประจำ� เป็นประจำ� เฉพาะกิจ รายครี่งปี เป็นประจำ� เป็นประจำ� เฉพาะกิจ รายวัน
• การประชุมใหญ่สามัญเจ้าของร่วม • Mobile App • Call Center • กิจกรรมต่างๆ • การสำ�รวจความพึงพอใจ • Lumpini Family Day • เสวนาประธานกรรมการนิติบุคคล • Touch Point • การบริหารประสบการณ์ลูกค้า • การวิจัยทางการตลาด • www.lpn.co.th
รายปี เป็นประจำ� รายวัน เฉพาะกิจ เป็นประจำ� รายปี รายปี เป็นประจำ� เป็นประจำ� เป็นประจำ� เป็นประจำ�
• 6 GREEN LPN • LPN Green Signature Project • QCSES+P
เป็นประจำ� เฉพาะกิจ เป็นประจำ�
• QCSES+P • กิจกรรมดูแลคุณภาพชีวิต • ตรวจสุขภาพ
รายวัน เฉพาะกิจ รายปี
• ประชาพิจารณ์ • เยี่ยมเยียน พบปะ พูดคุย • เพิ่มพื้นที่สีเขียว • ปรับปรุงพื้นที่ • การออกแบบที่คำ�นึงถึงความยั่งยืนของพื้นที่ • กล่องรับเรื่องร้องเรียน
เฉพาะกิจ รายวัน เป็นประจำ� เป็นประจำ� เป็นประจำ� รายสัปดาห์
• 15
16 •
6 G R E E N LP N
1
ความยั่งยืนระดับนโยบาย SUSTAINABLE POLICY
• 17
ความยั่งยืนระดับนโยบาย หลักคิดในด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ถูกรวบรวมและกลั่นกรองเป็นองค์ความรู้ภายในองค์กร รวมทั้งเป็นแนวทางที่ทุกภาคส่วนปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งแนวคิดต่างๆ เหล่านี้จะเป็นพื้นฐานที่สำ�คัญและมั่นคง เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนองค์กรในการกำ�หนดกลยุทธ์องค์กรและ กลยุทธ์ปฏิบัติการ นโยบายองค์กร
ระดับกลยุทธ์
ระดับปฏิบัติการ
พื้นฐานการพัฒนาอย่างยั่งยืนบนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง บริษัทดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบและเป็นธรรม โดยการสร้างสมดุลระหว่างผลตอบแทนแก่ผู้มีส่วนได้เสียที่ เกี่ยวข้อง รวมทั้งให้ความสำ�คัญกับกระบวนการดำ�เนินงานภายใน เพื่อให้องค์กรมีความแข็งแกร่ง ควบคู่ไปกับการพัฒนาบุคลากร ภายหลัง จากการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 บริษทั มุง่ เน้นการพัฒนาโครงการทีส่ อดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กรและสภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ทัง้ ยังรักษา การเติบโตให้เป็นไปอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ยังได้น�ำ เอาหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มาปรับใช้เป็นแนวทางการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท ความรู้
3 ห่วง 2 เงื่อนไข
1
พอประมาณ
2
3
สร้าง ภูมิคุ้มกัน
มีเหตุผล
• 3 ห่วง ได้แก่ 1. ความพอประมาณ
อัตราการเติบโตที่เหมาะสม ผลกำ � ไรที่พอประมาณ ไม่เอารัด เอาเปรียบ และไม่เบียดเบียนลูกค้า และสังคม คืนกำ�ไรสู่สังคม
คุณธรรม
2. ความมีเหตุผล
3. การสร้างภูมิคุ้มกัน
พั ฒ นาที่ พั ก อาศั ย สำ � หรั บ กลุ่ ม เป้ า หมายรายได้ ร ะดั บ กลาง-ล่ า ง ถึงบน คำ�นึงถึงคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัย ด้วยแนวคิด “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับ คนทุกวัย” สร้างความสมดุลของผลตอบแทน ของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม คำ�นึงถึงผลกระทบจากกระบวนการ ดำ�เนินธุรกิจทุกมิติ
ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การพั ฒ นา บุคลากร กำ � หนดกลยุ ท ธ์ ท่ีเ หมาะสมกั บ ทุ ก สภาวะของธุรกิจ ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การบริ ห าร ความเสี่ยง
• 2 เงื่อนไข ได้แก่ 1. ความรู้
2. คุณธรรม
กำ�หนดให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และแบ่งปันองค์ความรู้ โดยมีสถาบันแอล.พี.เอ็น. เป็นแกนกลางในการขับเคลื่อน
กำ�หนดให้ “คุณธรรม” เป็นหนึง่ ในค่านิยมองค์กร (Corporate Value) เพื่อนำ�ไปสู่การเป็นบรรษัทภิบาล
SUSTAINABLE POLICY
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
18 •
6 G R E E N LP N
หลักธรรมาภิบาล (G4-56)
หลักธรรมาภิบาล คือ หลักการปกครอง การบริหารจัดการ ควบคุมดูแลกิจการต่างๆ ด้วยความรับผิดชอบ ให้เป็นไปตามครรลองธรรม ซึ่งธรรมที่ใช้ในการบริหารงานนี้ มีความหมายรวมถึง ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และความถูกต้องชอบธรรมที่พึงประพฤติปฏิบัติ เช่น ความโปร่งใสตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจากองค์กรภายนอก เป็นต้น โดยหลักธรรมาภิบาล เป็นหลักการที่นำ�มาใช้ บริหารงานในปัจจุบนั อย่างแพร่หลาย เพือ่ สร้างและส่งเสริมองค์กรให้มศี กั ยภาพและประสิทธิภาพ นอกจากนัน้ ยังสร้างศรัทธาและเชื่อมั่นใน องค์กรนั้นๆ อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
การบริหารความเสี่ยง (G4-2) การบริหารจัดการความเสีย่ งให้อยู่ในระดับทีค่ วบคุมได้ในทุกมิติ และคำ�นึง ถึงผู้มีส่วนได้เสียที่มีความสำ�คัญต่อการเติบโตของธุรกิจทุกภาคส่วน เพื่อประโยชน์ ในระยะยาวทั้งในปัจจุบันและอนาคต กำ�หนดกรอบของ การตอบแทนตามสถานการณ์ของการแข่งขันและผลประกอบการ และ ลดความเสีย่ งด้วยการสำ�รองเงินทุนเพือ่ รักษาสภาพคล่องของบริษทั
ปรัชญา 20 Miles March การก้าวเดินอย่างต่อเนื่อง คือ หนึ่งในวิถีปฏิบัติของบริษัทที่จะไม่หยุด ก้าวไปข้างหน้าโดยรักษาระยะ สร้างการเติบโตสม่ำ�เสมอ และต่อเนื่อง อย่างยั่งยืน ไม่ว่าช่วงเวลานั้นจะมีอุปสรรคหรือเป็นช่วงเวลาแห่งโอกาส ดั่งหลักปรัชญา 20 Miles March ที่เน้นการก้าวเดินอย่างต่อเนื่อง โดย บริษทั ได้น�ำ หลักการดังกล่าวมากำ�หนดเป้าหมายการเติบโตและการพัฒนา อย่างชัดเจนในทุ ก หน่ ว ยงานและในทุ ก กระบวนการของการทำ � งาน เพื่อให้สามารถวัดผลได้ และปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง
โดยทั้งหมดของการเติบโตอย่างยั่งยืนของบริษัทนั้น จะมีพื้นฐานของความพอเพียง ความสมดุล และการบริหารความเสี่ยง เน้นการพัฒนา องค์ความรู้ เพิ่มประสิทธิภาพการดำ�เนินงานและความสามารถของบุคลากรภายในองค์กร และสร้างความเป็นหนึ่งเดียวกับปิยมิตรอย่างที่ ได้ทำ�มาอย่างต่อเนื่องตลอดการดำ�เนินงานของบริษัท
• 19
การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน (G4-SO4)
ในฐานะผู้พัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐหลายส่วนงาน บริษัทมีนโยบายในการต่อต้านการคอร์รัปชันโดยกำ�หนดให้การ ดำ�เนินงานทุกกระบวนการอยู่ในขอบเขตของกฎหมายอย่างเคร่งครัด และได้บรรจุเรื่องความเสี่ยงต่อระบบราชการ (Compliance Risk) เข้าเป็นส่วนหนึ่งของแผนธุรกิจ และมีการติดตามธุรกรรมกับทางราชการอย่างสมํา่ เสมอ นอกจากนัน้ ยังได้ก�ำ หนดให้บคุ ลากรทุกคนปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย จรรณยาบรรณของบริษัท (Code of Conduct) และนโยบายต่อต้านคอร์รปั ชันอย่างเคร่งครัด เพือ่ สร้างความรับผิดชอบและ คุณธรรม รวมทั้งกำ�หนดให้คุณธรรม (Integrity) เป็นค่านิยมหลักของบุคลากรอีกด้วย โดยบุคลากรทุกคนต้องได้รับทราบแนวทางปฏิบตั ิดา้ น การต่อต้านการคอร์รปั ชัน และการอบรมเรือ่ งค่านิยมองค์กรดังกล่าว
แนวทางในการติดตามและประเมินผลการปฎิบัติ ตามนโยบายการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน บริษทั มีวธิ กี ารเพือ่ ให้พนักงานในองค์กรร่วมกันปฎิบตั ติ ามนโยบายการต่อต้าน การทุจริตคอร์รัปชัน โดยใช้วิธีการหลายช่องทางด้วยกัน เช่น การอบรม ให้ความรู้แก่พนักงานทุกระดับและบรรจุเป็นหลักสูตรของการปฐมนิเทศ พนักงานใหม่ โดยทุกครั้งจะต้องมีการทดสอบความรู้จริงหลังจากการอบรม นอกจากนั้น บริษัทได้มีการประเมินผลการดำ�เนินงานที่เกี่ยวข้อง ประเมิน ความเสี่ยงด้านการคอร์รัปชัน และทบทวนมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชัน กับหน่วยราชการอย่างสม่�ำ เสมอ โดยมีการสือ่ สารไปยังผูม้ สี ว่ นได้เสียกลุม่ ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันเหตุการณ์ทุจริตที่อาจเกิดขึ้นภายในองค์กร ทั้งนี้ นโยบายต่อต้านคอร์รัปชันกำ�หนดให้พนักงานทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบเพื่อ ให้กระบวนการดำ�เนินงานเป็นไปตามมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชัน และได้ พัฒนาเครื่องมือช่วยลดโอกาสในการเกิ ด คอร์ รั ป ชั น ผ่ า นการประกาศโดย เปิดเผยให้ทุกคนในองค์กรได้รับรู้ และการจัดช่องทางในการร้องเรียนเมื่อ พบเห็นการกระทำ�ทุจริต หรือการกระทำ�ผิดต่อระเบียบข้อบังคับ
การประเมินความเสี่ยงด้านการทุจริต บริษทั กำ�หนดให้มกี ารประเมินความเสีย่ งด้านการทุจริตของทุกฝ่าย โดยมีขน้ั ตอนดังต่อไปนี้ 1. การประเมินความเสีย่ งและการรายงานผล : โดยการกำ�หนดให้ทกุ ฝ่ายในองค์กรร่วมกันประเมินความเสีย่ งในฝ่ายของตนเอง ไตรมาสละ 1 ครัง้ หลังจากนัน้ ให้รวบรวมและนำ�เสนอความเสี่ยงต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพือ่ พิจารณา 2. การจัดการความเสี่ยง : คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งจะร่วมกันประเมิน วิเคราะห์ และจัดลำ�ดับความรุนแรงของความเสี่ยง เพือ่ กำ�หนด แนวทางและกลยุทธ์ในการจัดการความเสี่ยง และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาและให้ ความเห็นชอบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 3. การสือ่ สาร : จัดให้มกี ารสือ่ สารเรือ่ งการจัดการความเสีย่ ง เพือ่ ให้ทกุ ฝ่ายได้รบั ทราบและปฎิบตั ิในทุกกรณี
SUSTAINABLE POLICY
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
20 •
6 G R E E N LP N
การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน
จากการที่บริษัทได้เผชิญวิกฤติทางเศรษฐกิจในปี 2540 และสามารถผ่านพ้นสถานการณ์มาได้นั้น นอกจากจะสร้างตัวตนและค่านิยมของ องค์กรที่ได้จากประสบการณ์ในช่วงดังกล่าว ยังนับเป็นจุดเริ่มต้นของการดำ�เนินงานด้วยการให้ความสำ�คัญกับการเติบโตอย่างยั่งยืนควบคู่ ไปกับการบริหารความเสี่ยง ซึ่งเป็นหัวใจสำ�คัญที่ทุกภาคส่วนต่างยึดถือและนำ�มาปฏิบัติ รวมทั้งได้สร้างความแข็งแกร่งให้แก่ห่วงโซ่อุปทาน ของบริษัท ความร่วมมือร่วมใจในยามที่ประสบปัญหา ได้พัฒนาความสัมพันธ์จาก “คู่ค้า” สู่การเป็น “พันธมิตร” ที่พร้อมที่จะดูแลเกื้อกูลกัน ด้วยความเชื่อมัน่ และไว้เนือ้ เชือ่ ใจ ส่งเสริมให้เกิดความผูกพัน และได้พฒ ั นามาเป็น “ปิยมิตร” โดยกำ�หนดหลักการในการพัฒนาและเติบโต ร่วมกัน จนมาเป็น “LPN TEAM” ในปัจจุบัน จากความสัมพันธ์ที่มีมากว่า 20 ปี ทำ�ให้การทำ�งานร่วมกันระหว่างบริษัทและ “LPN TEAM” นั้น เสมือนหนึ่งเป็นทีมงานเดียวกัน การทำ�งานที่เปรียบเสมือนเป็นส่วนหนึ่งของกันและกันนี้เอง ทำ�ให้ทุกกระบวนการทำ�งานตลอดแนวห่วงโซ่อุปทานของบริษัท เกิดความ ร่วมมือร่วมใจระหว่างกัน เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายสูงสุดในการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานขององค์กร ซึ่งก็คือการพัฒนา รับผิดชอบ และเติบโต ไปด้วยกัน
กระบวนการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานของบริษัท มีดังนี้
UNICA T MM O
TE
C
IM EN
G
E
PL
EM
T
EN
GA
SESS AS
E
MMUNICA CO
MEA SU RE
COMMIT
1. กำ�หนดเป้าหมายในการทำ�งานร่วมกันในแต่ละปี โดยภายหลัง จากที่มีการทำ�แผนธุรกิจของบริษัท จะมีการประชุมร่วมกับ ผู้บริหารระดับสูงของ LPN TEAM กว่า 30 บริษทั เพื่อรับทราบ และวางแผนการทำ�งานร่วมกัน เพือ่ ให้บรรลุตามความคาดหวัง ของการดำ�เนินงานในปีนั้นๆ 2. ระบุและพิจารณาผลกระทบที่อาจเกิดจากการทำ�งานร่วมกัน เพื่อวางแผนป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น 3. สร้างการมีสว่ นร่วมของแต่ละองค์กรในการพัฒนาโครงการนัน้ ๆ 4 ปฏิบัติตามแผนงานที่กำ�หนดไว้ 5. จัดให้มกี ารประชุมรายเดือน เพือ่ ติดตามงาน ประเมินผล และ วิเคราะห์ปัญหาร่วมกัน เพื่อปรับปรุงการดำ�เนินงาน หรือปรับ แผนการดำ�เนินงานตามความเหมาะสมและสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจเปลี่ยนแปลงไป อันจะนำ�ไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำ�งานตลอดห่วงโซ่อุปทาน
นอกจากนี้ ตลอดระยะเวลาการดำ�เนินงานจะมีการสือ่ สาร และรายงานข้อมูลผ่านช่องทางการสือ่ สารแบบสองทาง (Two-Way Communication) ระหว่างบุคลากรของบริษัทและบุคลากรของ LPN TEAM ผ่านช่องทาง WhatsApp อย่างสม่ำ�เสมอ ส่งผลให้ทุกหน่วยงานหรือทุกองค์กรที่มี ส่วนร่วมสามารถแสดงความเห็นร่วมกันและเกิดการเรียนรู้ ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทำ�งาน
การพัฒนาและฝึกอบรม LPN TEAM การแบ่งปันและถ่ายทอดองค์ความรู้ทั้งในด้านการทำ�งานและการ บริหารจัดการองค์กร ถือเป็นอีกหนึ่งแผนงานของบริษัทที่จะช่วย ให้เกิดการเติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืนกับ LPN TEAM จึงเป็น ที่มาของการจัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้แก่บุคลากรของ LPN TEAM ผ่านการจัดอบรม สัมมนา และดูงาน โดยสถาบัน แอล.พี.เอ็น. และวิทยากรภายในของบริษัท รวมทั้งได้สนับสนุน ให้ LPN TEAM คิดค้นนวัตกรรมที่จะช่วยปรับปรุงการดำ�เนินงาน ตามกลยุทธ์ Q-C-S-E-S+P
ความเสี่ยงด้านห่วงโซ่อุปทาน (G4-EN33) การกำ�หนดเป้าหมายการเติบโตยังคงต้องพิจารณาความเสี่ยงและ ความเป็นไปได้ร่วมกับ LPN TEAM เนื่องจากบางบริษัทอาจจะ ยังมีศักยภาพไม่เพียงพอที่จะดำ�เนินงานได้ตามเป้าหมายที่บริษัท กำ�หนด อีกทั้งการมีห่วงโซ่อุปทานที่สมบูรณ์แบบ ทำ�ให้ต้องมีการ ชี้แจงและสื่อสารกันตลอด ทั้งระหว่างบริษัทและ LPN TEAM และ ระหว่าง LPN TEAM ด้วยกันเอง เพื่อให้มีทิศทางและแนวทาง เดียวกัน นอกจากนั้น จากการที่ปัจจุบันสังคมมีความตื่นตัวต่อ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ทำ�ให้บริษัทอาจเสื่อมเสียชื่อเสียงจาก การดำ�เนินงานของ LPN TEAM ในฐานะผู้ว่าจ้าง บริษัทจึงได้ ถ่ายทอดแนวคิดและแนวทางการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบ ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม เพื่อสร้างจิตสำ�นึกและการมีส่วนร่วม จาก LPN TEAM รวมทัง้ ได้รว่ มกันกำ�หนดมาตรฐานการดำ�เนินงาน ทัง้ ในด้านการออกแบบและการบริหารโครงการ และมีหน่วยงาน คอยตรวจสอบ ดูแล และปรับปรุงการทำ�งานอย่างใกล้ชิด
• 21
SUSTAINABLE POLICY
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
22 •
6 G R E E N LP N
LPN กับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน
3
BOTTOM LINE
6
GREEN LPN
8
STAKEHOLDERS
STAFF
GREEN ENTERPRISE PROFIT ECONOMIC
ผูถือหุน
02 การซ�้อที่ดิน
SUPPLY CHAIN
03 การออกแบบ โครงการ หารจัดการ 04 การบร� ทางการเง�น
ENVIRONMENT
สิ�งแวดลอม
PEOPLE SOCIAL CUSTOMERS
GREEN MARKETING MANAGEMENT
ลูกคา
NEIGHBORS
บานขางเคียง GREEN CONSTRUCTION PROCESS
GREEN COMMUNITY MANAGEMENT
หารการตลาด 05 การบร� และการขาย หาร 06 การบร� ประสบการณลกู คา
07 การบร�หารโครงการ 08 การสงมอบหองชุด
LABORS
แรงงาน
PLANET ENVIRONMENT
องคกรคุณคา
01 การเลือกทำเล
คูคา
GREEN DESIGN CONCEPT
PROCESSES
พนักงาน
SHAREHOLDERS
GREEN FINANCIAL MANAGEMENT
10
RESIDENTS
ผูอยูอาศัย
ยมความ 09 การเตร� พรอมกอนพักอาศัย
10 การบร�หารชุมชน
• 23
ตลอดระยะเวลากว่า 27 ปี ของการดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม อย่างจริงจังในทุกกระบวนการ ก่อให้เกิดการพัฒนาแนวคิด 6 GREEN LPN ที่กลั่นกรองจาก ประสบการณ์การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และการบริหารชุมชน เพือ่ เป็นแนวทางการบริหารจัดการ ผลกระทบกับ 8 กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียจาก 10 กระบวนการหลักของการดำ�เนินงาน
6 8
GREEN LPN เป็นแนวทางการบริหารจัดการผลกระทบที่มีต่อ ผู้มีส่วนได้เสียจาก
10
กระบวนการหลักของการดำ�เนินงาน
LPN 6-8-10 PLATFORM
TRIPLE BOTTOM LINE บริษัทนําหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Triple Bottom Line) ที่ให้ความสําคัญกับ 3 องค์ประกอบสุดท้าย ด้านเศรษฐกิจ สังคมและ สิ่งแวดล้อม เป็นแนวทางในการกําหนดเป้าหมายการดําเนินงาน ภายใต้กลยุทธ์ 6 GREEN LPN ที่รับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้น กับผู้มีส่วนได้เสียทั้ง 8 กลุ่ม ใน 10 กระบวนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อรักษาสมดุลและสร้างการเติบโตที่มั่นคง โดยกําหนดเป้าหมาย สุดท้ายของการดําเนินธุรกิจทั้ง 3 องค์ประกอบ ดังนี้
PROFIT ECONOMIC
PEOPLE SOCIAL
PLANET ENVIRONMENT
เป้าหมายในเชิงเศรษฐกิจที่สำ�คัญของ บริษทั คือการสร้างสมดุลของผลตอบแทน หรือกำ�ไรในการดำ�เนินงานที่พอประมาณ และต่อเนื่อง บนพื้นฐานของการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี มีความรับผิดชอบในการ ประกอบกิจการด้วยความโปร่งใสและ เปิดเผย บริหารความเสี่ยงในระดับ ทีเ่ หมาะสม รวมถึงคำ�นึงถึงการแบ่งปัน ผลตอบแทนไปสู่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
บริษัทคำ�นึงอยู่เสมอว่า ธุรกิจนั้นจะเติบโต ได้ด้วยพื้นฐานของสังคมที่ดี มีคุณภาพ มีความปลอดภัย การรับผิดชอบต่อสังคม ของบริษัทจึงไม่ได้จำ�กัดอยู่เฉพาะบุคลากร ภายในเท่านัน้ แต่ยงั คำ�นึงถึงสังคมภายนอก คู่ค้า ลูกค้า และผู้พักอาศัยในโครงการ รวมถึงชุมชนข้างเคียง (เพือ่ นบ้าน) แรงงาน ก่อสร้าง ตลอดจนสภาพสังคมโดยรวมของ ประเทศ
ในฐานะผูป้ ระกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทีม่ บี ทบาทและสร้างผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ในหลายมิติ บริษทั จึงให้ความสำ�คัญต่อ การรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยการ ลดผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ ในกระบวนการ (In Process) ตั้งแต่ กระบวนการออกแบบและกระบวนการ ก่อสร้าง รวมทั้ง ดูแ ลสิ่งแวดล้อมและ คุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยในชุมชน และชุมชนข้างเคียงภายหลังการส่งมอบ
SUSTAINABLE POLICY
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
24 •
6 G R E E N LP N
6 GREEN LPN ตลอดระยะเวลากว่า 27 ปีของการดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างจริงจังในทุกกระบวนการ ก่อให้เกิด การพัฒนาแนวคิด 6 GREEN LPN ที่กลั่นกรองจากประสบการณ์การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และการบริหารชุมชน เพื่อเป็นหลักปฏิบัติ ในการสร้างสมดุลอย่างยั่งยืนแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุม่ ปัจจุบนั แนวคิด 6 GREEN LPN ครอบคลุมความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม ทัง้ หมด 6 ประการ ได้แก่
GREEN ENTERPRISE
GREEN FINANCIAL MANAGEMENT
GREEN DESIGN CONCEPT
การดำ�เนินธุรกิจที่ให้ความสำ�คัญกับ การบริหารจัดการและทุนมนุษย์
การกำ�หนดผลตอบแทนและการเติบโต ขององค์กรให้เหมาะสม
การออกแบบผลิตภัณฑ์ ภายใต้ความรับผิดชอบ ต่อสิ่งแวดล้อม
GREEN MARKETING MANAGEMENT
GREEN CONSTRUCTION PROCESS
GREEN COMMUNITY MANAGEMENT
การตลาดทีเ่ ป็นธรรม กับผูบ้ ริโภคและคูแ่ ข่ง
การบริหารจัดการผลกระทบ ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ในกระบวนการก่อสร้าง
การดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิต ของผู้พักอาศัยในโครงการ หลังส่งมอบ
8 STAKEHOLDERS
• 25
(G4-25)
บริษัทสามารถระบุกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหลัก (First Tier) ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานในกระบวนการต่างๆ โดยพิจารณาจากการประเมิน ระดับความเกี่ยวข้องของผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งในด้านความสำ�คัญที่มีผลต่อบริษัทและการดำ�เนินงาน และผลกระทบที่ได้รับจากการดำ�เนินงาน ของบริษัท เพื่อให้สามารถระบุความสำ�คัญ วางกลยุทธ์ ในการสร้างการมีส่วนร่วม และกำ�หนดกรอบการดำ�เนินงานเพื่อลดผลกระทบที่ มีความสำ�คัญแก่ผมู้ สี ว่ นได้เสีย โดยกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียหลักขององค์กร แบ่งออกเป็น 8 กลุม่ ดังนี้
SHAREHOLDERS ผูถือหุน
STAFF พนักงาน
CUSTOMERS ลูกคา
SUPPLY CHAIN คูคา
หมายถึง ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ทัง้ ในฐานะบริษัท กองทุน และ บุคคล ที่ได้รับผลตอบแทนจาก การดำ�เนินงาน ซึง่ ให้ความสำ�คัญ กับการกำ�กับดูแลกิจการตาม หลักธรรมาภิบาล และความ รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและ สังคม
หมายถึง ผู้ที่ทำ�งานให้แก่ บริษัท ช่วยขับเคลื่อนให้ การดำ�เนินงานของบริษัท ก้าวไปข้างหน้าอย่างยั่งยืน โดยหมายรวมถึงพนักงาน ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ปฏิบัติการจนถึงระดับบริหาร
หมายถึง ผู้ที่ให้ความสนใจ ห้องชุดของบริษัทและได้ ดำ�เนินการจองซื้อและชำ�ระเงิน ค่าผ่อนดาวน์ ซึ่งในอนาคต เมื่อโครงการพัฒนาเสร็จ สมบูรณ์ ลูกค้าจะพัฒนาไปสู่ การเป็นผู้อยู่อาศัย
หมายถึง คู่ค้าหรือปิยมิตร ผู้เข้ามามีส่วนร่วมใน กระบวนการออกแบบ วางผังโครงการ และการก่อสร้าง ของบริษัท เสมือนหนึ่งเป็น พนักงาน In-house ของบริษัท เพื่อให้การบริหารโครงการเป็น ไปตามเป้าหมายที่ได้วางไว้
LABORS แรงงาน
ENVIRONMENT สิ�งแวดลอม
NEIGHBORS บานขางเคียง
RESIDENTS ผูอยูอาศัย
หมายถึง ผู้ที่อยู่อาศัยในพื้นที่ ติดหรือใกล้กับโครงการที่กำ�ลัง ดำ�เนินงานก่อสร้างของบริษัท ซึ่งได้รับผลกระทบตั้งแต่เริ่ม พัฒนาโครงการ จนถึงผลกระทบ จากการอยู่อาศัยภายหลัง การส่งมอบโครงการ
หมายถึง ผู้ที่อยู่อาศัยใน โครงการที่ได้ส่งมอบแล้วของ บริษัท ไม่ว่าจะในฐานะลูกค้าที่ ซื้อห้องชุดในโครงการ หรือผู้ที่ เช่าพักอาศัย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของชุมชนที่บริษัทให้การดูแล
หมายถึง แรงงานของ LPN TEAM (ปิยมิตร) ที่รับจ้าง ทำ�งานก่อสร้างโครงการให้ บริษัท ทั้งแรงงานที่มีสัญชาติ ไทยและแรงงานต่างด้าว
หมายถึง องค์ประกอบของ ความยั่งยืนที่เป็นพื้นฐาน ในการประกอบกิจการ ซึ่งธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ส่งผล กระทบโดยตรง บริษัทจึงมุ่ง เน้นการดูแลและลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมโดยรอบบริเวณ โครงการเป็นสำ�คัญ
SUSTAINABLE POLICY
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
26 •
6 G R E E N LP N
10 PROCESSES
(G4-12)
ไม่เพียงแต่ตั้งปณิธานในการเป็น “องค์กรคุณค่า” ที่ให้ความสำ�คัญกับการ บริหารจัดการและทุนมนุษย์ บริษัทยังคำ�นึงถึงความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วน ได้เสียทุกกลุ่มในทุกกระบวนการดำ�เนินงาน ซึ่งโดยทั่วไปความรับผิดชอบ ของบริษั ท พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ มั ก จะสิ้ น สุ ด ที่ การส่ ง มอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ หรือห้องชุดแก่ลูกค้า แต่ในทางกลับกัน บริษัทเล็งเห็นถึงความสำ�คัญของ การดูแลคุณภาพชีวิตของผู้พักอาศัยในโครงการ ซึ่งไว้วางใจในการเลือกซื้อ ห้องชุด ภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี” จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาแนวคิดการ บริการหลังการขาย “ชุมชนน่าอยู่” ที่ต่อยอดการบริหารอาคารสู่การบริหาร ชุมชนมากว่า 20 ปี ทำ�ให้ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง ของบริษัท ในกระบวนการดำ�เนินธุรกิจนั้น เริ่มตั้งแต่ระดับนโยบายในการ บริหารจัดการภายในองค์กรไปจนถึง 10 กระบวนการหลักในการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ของบริษัท อันได้แก่
05
06
01
การเลือกทำเล
วางแนวคิดและผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับ การพัฒนาโดยมีแนวคิด 2 รูปแบบ ได้แก่ โครงการนำ�ร่อง (Pilot Project) คือ การ พัฒนาโครงการในทำ�เลใหม่ๆ ที่ยังไม่มี คู่แข่ง หรือทำ�เล Blue Ocean Location และโครงการต่อเนือ่ ง (Expanded Project) คือการขยายการพัฒนาโครงการในทำ�เล ที่ประสบความสำ�เร็จ แต่ยังคงมีความ ต้องการที่พักอาศัยอยู่
07
การบร�หารการตลาด และการขาย
การบร�หาร ประสบการณลูกคา
การบร�หารโครงการ
ยึดหลัก “Customer Centric” หรือการ ให้ความสำ�คัญกับลูกค้า ด้วยนโยบายใน การสร้างบ้านหลังแรกให้แก่ผู้ที่ยังไม่มี บ้าน เป็นการคืนกำ�ไรให้แก่ลูกค้าและ สังคม นอกจากนั้น ยังให้ความสำ�คัญ กับการเคารพสิทธิของผู้บริโภค และ การดำ�เนินงานตามสัญญาที่ให้ไว้กับลูกค้า
ความเชื่อมั่นในแบรนด์เป็นหัวใจสำ�คัญ ในการบริหารประสบการณ์ลูกค้า โดย ในทุกจุดสัมผัส (Touch Point) จะมีการ กำ�หนดมาตรฐานการบริการ รวมถึง เปิดให้มีช่องทางสื่อสารต่างๆ ที่ลูกค้า สามารถสะท้อนความคิดเห็นกลับมายัง บริษัทได้ เพื่อรับฟังและปรับปรุงบริการ
การก่อสร้างถือเป็นกระบวนการที่สร้าง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม มากที่สุด ผู้ประกอบการจึงควรมีความ รับผิดชอบ เพือ่ ลดความรุนแรงของปัญหา ทีอ่ าจเกิดขึน้ จึงเป็นทีม่ าของกลยุทธ์การ บริหารโครงการ Q-C-S-E-S+P ของ บริษัท เพื่อให้เกิดมาตรฐานในการ ดำ�เนินงานร่วมกันของทุกภาคส่วน
02
03
• 27
04
การซื้อที่ดิน
การออกแบบโครงการ
การบร�หารจัดการ ทางการเง�น
ผู้บริหารจะตัดสินใจซื้อที่ดินโดยพิจารณา จากประสบการณ์และวิสัยทัศน์ รวมทั้ง ข้อมูลของสำ�นักวิจัย และฝ่ายการตลาด ที่ศึกษาอุปสงค์ อุปทาน และความเป็น ไปได้ในการพัฒนาโครงการ (Feasibility) เพื่อให้โครงการเหมาะสมสอดคล้องกับ กลยุทธ์องค์กรและตามความต้องการ ของลูกค้า
ออกแบบและวางผังโครงการตาม LPN Green Design Concept Standard ซึง่ บริษทั พัฒนาขึ้นให้สอดคล้องกับ มาตรฐานอาคารเขียว (Green Building) ของสหรัฐอเมริกา (LEED-The Leadership in Energy and Environment Design) โดยพิจารณาผลกระทบในทุกด้าน ต่อผู้มีส่วนได้เสีย
เริ่มตั้งแต่การกำ�หนดการเติบโตและ ผลตอบแทนของผู้มีส่วนได้เสียให้ สอดคล้องกับเป้าหมายองค์กร ในแต่ละปี จัดทำ�ต้นทุนการก่อสร้างและกำ�ไร รายโครงการให้เหมาะสม (Profit and Loss) และจัดทำ�งบการเงินทีถ่ กู ต้อง และเชื่อถือได้ โดยทุกขั้นตอนเน้นที่ ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ไม่มีวาระ ซ่อนเร้น และมีการบริหารความเสี่ยง ทางการเงินอย่างสม่ำ�เสมอ
08
09
010
การสงมอบหองชุด
การเตร�ยมความพรอม กอนพักอาศัย
การตรวจคุณภาพมาตรฐานของห้องชุด และพื้นที่ส่วนกลางก่อนการส่งมอบ เพื่อ “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย” ที่สมบูรณ์แบบ มีความปลอดภัยและ อุปกรณ์ต่างๆ ที่พร้อมใช้งาน นอกจากนั้น ยังให้บริการลูกค้าในการ โอนกรรมสิทธิ์ เพื่ออำ�นวยความสะดวก
การอยู่อาศัยร่วมกันของคนหมู่มาก จำ�เป็นต้องมีข้อตกลงและกฎระเบียบ ร่วมกัน เพื่อความเป็นระเบียบ และก่อนการเข้าพักอาศัย บริษัทได้มี การสื่อสารและทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับ นโยบายและทิศทางในการบริหารชุมชน ของบริษัท ตามแนวทาง “ชุมชนน่าอยู่ สำ�หรับคนทุกวัย” กับผู้พักอาศัยใน ชุมชน เพื่อให้เกิดการยอมรับและ อยู่อาศัยร่วมกันอย่างมีความสุข
การบร�หารชุมชน
กลยุทธ์หลักที่สำ�คัญขององค์กร คือ การดูแลคุณภาพชีวิตของผู้พักอาศัย ภายใต้กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับ คนทุกวัย” ซึ่งไม่เพียงดูแลบริหาร อาคาร แต่ยังให้ความสำ�คัญกับ การดูแลคุณภาพชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อมที่ดี และสร้างวัฒนธรรม การอยู่อาศัย “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน”
SUSTAINABLE POLICY
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
28 •
6 G R E E N LP N
เป้าหมายเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน เพื่อให้การดำ�เนินงานของทุกภาคส่วนในองค์กรมีทิศทางที่มุ่งสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน บริษัทได้กำ�หนดวิสยั ทัศน์ไว้เป็นแนวทางในการดำ�เนิน ธุรกิจมากว่า 15 ปี โดยได้เพิ่มความเข้มข้นและเป้าหมายการเติบโตที่เหมาะสมในแต่ละรอบวิสัยทัศน์ เพื่อให้เกิดการพัฒนาและขับเคลื่อน องค์กร รวมทัง้ ได้ก�ำ หนดแผนธุรกิจขององค์กร (Business Plan) หรือเป้าหมายระยะสัน้ ในแต่ละปี ทัง้ ในเชิงคุณค่าและเชิงเงินตรา ให้สอดคล้อง กับพันธกิจที่มีต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม เพื่อสร้างสมดุลของผลตอบแทน ส่งมอบคุณค่าจากการดำ�เนินงาน และรับผิดชอบต่อผลกระทบ ทางด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม ทั้งนี้ ในปี 2560 จะเป็นปีแรกของการดำ�เนินงานตามรอบวิสัยทัศน์ใหม่ขององค์กร และเป็นปีแห่งการปรับเปลี่ยน หรือ Year of Shift โดย บริษัทได้กำ�หนดเป้าหมายด้านความยั่งยืน ครอบคลุมการพัฒนาและสร้างสมดุลใน 3 มิติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างการเติบโตอย่างต่อเนื่องบนพื้นฐานของความรับผิดชอบและธรรมาภิบาล
1 NO POVERTY
2 ZERO HUNGER
HEALTH 3 GOOD 4 QUALITY AND WELL-BEING EDUCATION
5 GENDER QUALITY
WATER 6 CLEAN AND SANITATION
7 AFFORDABLE AND CLEAN
WORK 8 DECENT AND ECONOMIC
HEALTH 10 QUALITY 9 GOOD AND WELL-BEING EDUCATION
11 SUSTAINABLE CITIES AND
12 RESPONSIBLE CONSUMPTION
13 CLIMATE ACTION
15 LIFE ON LAND 14 LIFE BELOW WATER
ENERGY
GROWTH
COMMUNITIES
JUSTICE 16 PEACE, 17 PARTNERSHIPS FOR THE GOALS AND STRONG INSTITUTIONS
AND PRODUCTION
• 29
เป้าหมายด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์กร SD GOALs
1
3
4
5
6
กลยุทธ์ เพือ่ ความยัง่ ยืน
เป้าหมายด้านการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน
End poverty in all its forms everywhere
• Social Enterprise • GREEN Marketing Management
• แบ่งปันคืนสู่สังคมด้วยการสนับสนุนการดำ�เนินงานของ “วิสาหกิจเพื่อสังคม” เพื่อสร้างงาน คุณภาพชีวิต และศักดิ์ศรีของสตรีด้อยโอกาส • สร้างโอกาสในการมีบ้านหลังแรก เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับลูกค้า
Ensure healthy lives and promote well-being for all at all ages
• GREEN Enterprise • GREEN Construction Process • GREEN Community Management
• ดูแลสุขภาวะและความปลอดภัยในการทำ�งานของพนักงาน แรงงานก่อสร้าง และผู้พักอาศัยในชุมชนลุมพินี • รับผิดชอบต่อผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมและสังคม เช่น การบำ�บัด น้ำ�เสียก่อนปล่อยออก การดูแลความปลอดภัยในการทำ�งาน การจัดการขยะ ก่อนนำ�ไปกำ�จัด • พัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์และบริการ ตามแนวคิด “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย” เพื่อให้ทุกเพศ ทุกวัย อาศัยอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข
Ensure inclusive and equitable quality education and promote lifelong learning opportunities for all
• L.P.N. Academy
• อบรมพัฒนาความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ในการทำ�งานให้แก่พนักงาน ผ่านสถาบันแอล.พี.เอ็น. • ให้การศึกษากับสตรีด้อยโอกาส เพื่อไม่ให้ถูกเอารัดเอาเปรียบทางสังคม • พัฒนาวิทยากรภายใน เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และคุณค่าองค์กร • แบ่งปันประสบการณ์และความรู้ให้กับสังคม
Achieve gender equality and empower all women and girls
• GREEN Enterprise
• ไม่เลือกปฏิบัติหรือกีดกันทางเพศ • อัตราส่วนรายได้เท่าเทียมกัน
Ensure availability and sustainable management of water and sanitation for all
• GREEN Design Concept • GREEN Construction Process • GREEN Community Management
• ลดการใช้น้ำ�ด้วยสุขภัณฑ์ประหยัดน้ำ� • บำ�บัดน้ำ�เสียก่อนนำ�กลับมาใช้หรือปล่อยออกสู่สาธารณะ • รณรงค์ลดการใช้น้ำ�
SUSTAINABLE POLICY
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
30 •
6 G R E E N LP N
SD GOALs
7
8
9
10
11
Ensure access to affordable, reliable, sustainable and modern energy for all
กลยุทธ์ เพือ่ ความยัง่ ยืน • GREEN Design Concept • GREEN Community Management
เป้าหมายด้านการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน • บริหารจัดการการใช้พลังงานในโครงการ • จัดกิจกรรมลดการใช้พลังงานอย่างต่อเนื่อง • ศึกษาพลังงานทดแทน • ออกแบบอาคารให้ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้า ซึ่งเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป (Non-Reuseable)
Promote sustained, • GREEN Enterprise inclusive and • GREEN Financial sustainable economic Management growth, full and productive employment and decent work for all
• บริหารเทคโนโลยีกับแรงงาน • สร้างงาน สร้างรายได้ และสร้างกำ�ไรเชิงเศรษฐกิจจากการดำ�เนินงาน • กำ�หนดผลตอบแทนและการเติบโตของกำ�ไรทุกบริษัทในเครืออย่างเหมาะสม • ยื่นรายการขอการรับรองระดับ 4 ในโครงการการดำ�เนินงานด้านการต่อต้าน การคอร์รัปชัน
Build resilient • GREEN Enterprise infrastructure, promote inclusive and sustainable industrialization and foster innovation
• สนับสนุนนวัตกรรม ทั้งเชิงกระบวนการ เชิงผลิตภัณฑ์และบริการ และนวัตกรรม ทางรูปแบบธุรกิจ (Business Model Innovation)
Reduce inequality within and among countries
• GREEN Enterprise • GREEN Marketing Management
• ปฏิบัติกับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียม
Make cities and human settlements inclusive, safe, resilient and sustainable
• GREEN Enterprise • GREEN Community Management
• พัฒนาชุมชนเมืองต้นแบบขนาดใหญ่ตามกลยุทธ์ FBLES+P • สร้างวัฒนธรรมการอยู่อาศัยในชุมชนลุมพินี “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน”
SD GOALs
12
13
17
Ensure sustainable consumption and production patterns
กลยุทธ์ เพือ่ ความยัง่ ยืน
เป้าหมายด้านการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน
• GREEN Enterprise • GREEN Design Concept • GREEN Construction Process • GREEN Community Management
• ให้ความสำ�คัญกับสิ่งแวดล้อมในทุกกระบวนการ • สร้างจิตสำ�นึกความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมกับผู้พักอาศัยด้วยกิจกรรม Green/Clean/Lean • พัฒนาระบบ Building Information Modeling (B.I.M) เพื่อใช้ในการพิจารณา โครงการทุกโครงการ • ดำ�เนินงานตาม Green Design Concept Standard (86 ข้อ) ได้ทุกโครงการ
Take urgent action to • GREEN Design combat climate change Concept and its impacts • GREEN Construction Process
Strengthen the means of implementation and revitalize the global partnership for sustainable development
• GREEN Enterprise • Out Process Corporate ESR to Community ESR
• ออกแบบและพัฒนาโครงการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ด้วยการกำ�หนด มาตรฐาน Green Design Concept Standard (86 ข้อ) และ Green Construction Process Standard (73 ข้อ)
• กำ�หนดเป็นเป้าหมายองค์กรตามเป้าหมายสากลและร่วมสนับสนุน กิจกรรมขององค์กรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สภากาชาดไทย สสส. กรมอนามัย เป็นต้น
• 31
SUSTAINABLE POLICY
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
32 •
6 G R E E N LP N
การดำ�เนินงานเพื่อความยั่งยืน ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มีผลกระทบโดยตรงต่อ สิง่ แวดล้อมและสังคมอย่างสูง โดยเฉพาะโครงการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ จะเห็นได้วา่ อสังหาริมทรัพย์ ที่ ไม่มีคุณภาพมักสร้างปัญหาให้กับสิ่งแวดล้อมและ สังคมเป็นอย่างมาก บริษทั จึงให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนิน ธุรกิจโดยคำ�นึงถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและ สังคมและได้ก�ำ หนดไว้ในแผนธุรกิจของบริษทั เพือ่ นำ�ไป สู่ความยั่งยืนที่แท้จริง ซึ่งไม่เพียงแต่ความรับผิดชอบ ในกระบวนการ (In Process) ตามแนวทาง 6 GREEN LPN แต่รวมถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและ สังคมนอกกระบวนการ (Out Process) ในรูปแบบของ กิจกรรม เพื่อสร้างวัฒนธรรม “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน” รวมทั้งการปลูกจิตสำ�นึกด้านความรับผิดชอบให้กับ บุคลากรทุกสายงาน พร้อมส่งต่อไปยังผูพ้ กั อาศัยในชุมชน “ลุมพิน”ี ตามแนวคิด From Corporate Environmental & Social Responsibility to Community Environmental & Social Responsibility และได้ตั้งงบประมาณในการ ดำ�เนินการสู่เป้าหมายให้เป็นสัดส่วนต่อยอดขายของ บริษัทอีกด้วย นอกจากนั้น บริษัทได้จัดตั้งองค์กรแยกจากการดำ�เนิน ธุรกิจหลัก แต่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการบางส่วน ของธุรกิจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือสังคม และ ไม่มุ่งหวังผลกำ�ไรจากการประกอบกิจการ นับเป็น ความรับผิดชอบอิงกระบวนการ (As Process) ได้แก่ สถาบันแอล.พี.เอ็น. และบริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด ซึ่งเป็นศูนย์กลางในการ พัฒนาบุคลากรและแบ่งปันองค์ความรู้แก่สาธารณะ และพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่สตรีด้อยโอกาส ตามลำ�ดับ
ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของ บริษัท แบ่งตามรูปแบบการดำ�เนินงานออกเป็น 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1. ในกระบวนการ (In Process)
คือ ความรับผิดชอบจากผลกระทบ และสร้างคุณค่าจากการดำ�เนินธุรกิจของ องค์กรที่มีต่อผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งสิ่งแวดล้อมและสังคมในกระบวนการ ดำ�เนินงานทุกกระบวนการขององค์กร 2. นอกกระบวนการ (Out Process)
คือ การมีส่วนร่วมและสนับสนุนกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานขององค์กร 3. อิงกระบวนการ (As Process)
คือ การสนับสนุนและดำ�เนินกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ไม่มีอยู่ ในการดำ�เนินธุรกิจหลักขององค์กร แต่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการ บางส่วนของธุรกิจ
IN PROCESS GREEN ENTERPRISE
GREEN CONSTRUCTION PROCESS
LPN ACADEMY
GREEN FINANCIAL MANAGEMENT
6 GREEN LPN
GREEN DESIGN CONCEPT
AS PROCESS TOGETHERNESS CARE AND SHARE
GREEN MARKETING MANAGEMENT
GREEN COMMUNITY MANAGEMENT
SOCIAL ENTERPRISE
AS PROCESS FROM CORPORATE ESR TO COMMUNITY ESR
OUT PROCESS
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
2
ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมในกระบวนการ IN PROCESS
• 33
34 •
6 G R E E N LP N
GREEN ENTERPRISE กลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจที่ให้ความสำ�คัญกับการบริหารจัดการ เพื่อความยั่งยืน และการบริหารจัดการทุนมนุษย์
GREEN ENTERPRISE
1. การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน (Sustainability Management) 1. การเติบโตและการสร้างผลกำ�ไรอย่างเหมาะสม
ตามที่ได้กล่าวไปข้างต้นถึงแนวคิดของความยัง่ ยืนในระดับนโยบาย องค์กร บริษทั ได้พฒ ั นาแนวทางและแผนกลยุทธ์การบริหารด้วยการ กำ�หนดเป้าหมายการเติบโตและการสร้างผลกำ�ไรอย่างเหมาะสม ให้ผลตอบแทนที่ต่อเนื่องและมั่นคง 2. บ้านที่สามารถเป็นเจ้าของได้
บริษัทได้น้อมนำ�หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มาปรับใช้ ในการดำ�เนินธุรกิจ ที่ให้ความสำ�คัญกับการบริหาร จัดการเพื่อความยั่งยืน และการบริหารจัดการทุน มนุษย์ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการดำ�เนินงานใน กระบวนการตามหลัก 6 GREEN LPN ที่ให้ความ สำ�คัญกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนด้วยการกำ�หนด นโยบายระดับองค์กร (Corporate Policy) ที่มุ่งสู่ “องค์กรคุณค่า” โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1. การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน (Sustainability Management) 2. การบริหารจัดการทุนมนุษย์ (Human Capital Management)
ด้วยความยึดมั่นในหลักเศรษฐกิจพอเพียงที่ให้ความใส่ใจต่อสังคม นำ�มาสู่นโยบายของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของบริษัท ที่ต้องการ สร้ า งที่อยู่อาศัยในราคาที่เหมาะสมและสามารถเป็นเจ้าของได้ ควบคู่ไปกับการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับกลุ่มเป้าหมายระดับ กลางถึงกลาง-ล่าง 3. ดูแลคุณภาพชีวิตภายใต้วัฒนธรรมการอยู่อาศัยที่ดี ร่วมกัน
นอกเหนือจากการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัย บริษัทยังใส่ใจในการ ดูแลคุณภาพชีวิตให้กับทุกครอบครัว ผ่านสิ่งอำ�นวยความสะดวก ภายในโครงการ การรักษาความปลอดภัย และที่สำ�คัญที่สุดคือ การสร้างจิตสำ�นึกของการอยู่อาศัยที่ดีร่วมกัน ภายใต้วัฒนธรรม “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน” ผ่านกิจกรรมต่างๆ ภายในโครงการ 4. การสร้างความสมดุลของผลตอบแทนแก่ผมู้ สี ว่ นได้เสีย
บริษัทมองการเติบโตระยะยาวเป็นสำ�คัญภายใต้หลักธรรมาภิบาล และหลักความยัง่ ยืน จึงดำ�เนินนโยบายในการสร้างผลตอบแทนใน รูปแบบต่างๆ แก่ผมู้ สี ว่ นได้เสียทัง้ หมดอย่างสมดุลและเหมาะสม
• 35
6. การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันทุกรูปแบบ
บริษทั ต่อต้านการทุจริตในทุกรูปแบบ ไม่วา่ จะเป็นภายในหรือภายนอก ได้แก่ การกำ � หนดแนวทางปฏิบัติงานที่รัดกุมเพื่อลดความเสี่ยง การสื่อสารให้บุคลากรเห็นความสำ�คัญ การกำ�หนดให้คุณธรรมเป็น ค่านิยมขององค์กร การประกาศเจตนารมณ์ในการต่อต้านการคอร์รปั ชัน การปฏิบัติตามกฎหมายและการชำ�ระภาษีอย่างถูกต้อง ครบถ้วน 7. จิตสำ�นึกและความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
บริษัทรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดจากการดำ�เนินงาน และส่งเสริม การมีจิตสำ�นึกและความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ด้วย การปฏิบัติอย่างจริงจังตั้งแต่การเสริมสร้างคุณธรรมในองค์กรให้แก่ พนักงาน และการสนับสนุนการมีส่วนร่วมผ่านการดำ�เนินงานและ กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม 8. การแบ่งปันคืนสู่สังคม
บริษัทร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสังคมที่ดี ด้วยการจัดตั้งและ สนับสนุนการดำ�เนินงานของ “วิสาหกิจเพือ่ สังคม” ในรูปแบบของการ แบ่งปันโอกาสในการสร้างงาน รายได้ และศักดิศ์ รีแก่สตรีดอ้ ยโอกาส รวมทั้งแบ่งปันองค์ความรู้ที่กลั่นกรองจากประสบการณ์การทำ�งาน เพื่อเป็นวิทยาทานแก่สังคม
DESIGN CONCEPT
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
MARKETING MANAGEMENT CONSTRUCTION PROCESS
การบริ ห ารจั ด การความเสี่ยงให้อ ยู่ ในระดับที่ควบคุมได้ ใ นทุ ก มิ ติ กำ�หนดกรอบของการตอบแทนตามสถานการณ์ของการแข่งขันและ ผลประกอบการ ลดความเสี่ยงด้วยการสำ�รองเงินทุนเพือ่ รักษาสภาพ คล่องของบริษทั โดยตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานความรับผิดชอบในการประกอบ ธุรกิจ ที่นำ�มาสู่หลักการปฏิบัติเพื่อความยั่งยืน คำ�นึงถึงคุณธรรม ความโปร่งใส และตรวจสอบได้ ไม่เอารัดเอาเปรียบหรือคำ�นึงถึงแต่ ผลกำ�ไรของบริษทั
COMMUNITY MANAGEMENT
5. การบริหารความเสีย่ งและการดำ�เนินงานภายใต้ หลักธรรมาภิบาล
FINANCIAL MANAGEMENT
ENTERPRISE
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
36 •
6 G R E E N LP N
2. การบริหารจัดการทุนมนุษย์ (Human Capital Management) 1. กำ�หนดค่านิยมองค์กร (Corporate Value)
บริษทั ให้ความสำ�คัญกับการสร้างบุคลากรเพื่อต่อยอดความสำ�เร็จ ของธุรกิจ วิถีแอล.พี.เอ็น. หรือ LPN Way จึงได้รับการพัฒนา ขึ้นจากสมรรถนะหลักของบุคลากร หรือ Core Competency เพื่อเป็นหลักปฏิบัติที่จะส่งเสริมและก่อให้เกิดความยั่งยืนในการ บริหารจัดการบุคลากรแบบบูรณาการ เพื่อสร้างเอกลักษณ์ของ องค์กร และเป็นบรรทัดฐานในการทำ�งาน ซึ่งวิถีแอล.พี.เอ็น. นี้ ประกอบด้วยคุณค่า 2 เสาหลัก คือ “การพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง” และ “การยอมรับนับถือผู้มีส่วนได้เสีย” โดยมีองค์ประกอบค่านิยม 7 ประการ ที่บริษัทให้นิยามว่า “C-L-A-S-S-I-C” อันได้แก่ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
C L A S S I C
Cost with Quality คือ การตระหนักถึงความสำ�คัญของการใช้ทรัพยากรด้วยความระมัดระวังและรอบคอบ
และบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ ควบคู่กับการคำ�นึงถึงคุณภาพเป็นเป้าหมายสำ�คัญ โดยมุ่งเน้นการ บริหารจัดการต้นทุน ทัง้ ต้นทุนทางตรงและต้นทุนทางอ้อม รวมทัง้ ค่าใช้จา่ ยส่วนเกินในทุกส่วนงานอย่างต่อเนือ่ ง Lateral Thinking คือ การคิดนอกกรอบ การคิดทีแ่ ตกต่าง ทีช่ ว่ ยให้บรรลุจดุ ประสงค์และแก้ปญ ั หาต่างๆ ด้วย ความยืดหยุน่ และด้วยกระบวนการทีแ่ ตกต่างจากเดิม โดยไม่กงั วลถึงอุปสรรค พร้อมปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนา และสร้างสรรค์อย่างต่อเนือ่ ง สามารถนำ�ไปปฏิบตั แิ ละวัดผลได้จริง โดยมีเป้าหมายเพือ่ เพิม่ คุณค่าผลิตภัณฑ์และ บริการ และเพื่อความก้าวหน้าขององค์กร Alliance คือ การปฏิบัติต่อคู่ค้าทางธุรกิจที่ทำ�งานร่วมกันมายาวนานดั่งมิตรแท้ นับถือคุณค่าของความดี
ความไว้วางใจและเป็นธรรมซึ่งกันและกัน ร่วมมือ เกื้อหนุนและพัฒนาการทำ�งานอย่างต่อเนื่องเสมือนหนึ่งเป็น องค์กรเดียวกัน เพื่อบรรลุความสำ�เร็จร่วมกัน Speed with Quality คือ มุ่งมั่นทำ�งานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายก่อนกำ�หนดโดยคงไว้ซึ่งคุณภาพ รวมถึง
ปรับปรุงกระบวนการทำ�งานอยู่เสมอ เพื่อค้นหากระบวนการที่ร่นเวลาและเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งานอย่าง ต่อเนื่อง
การยอมรับนับถือผู้มีส่วนได้เสีย Service Minded คือ การให้บริการด้วยใจ ดูแลเอาใจใส่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มตลอดเวลา พยายามมองใน
มุมมองของผู้อื่นและแสดงออกอย่างกระตือรือร้น ให้บริการอย่างครบวงจรด้วยความเต็มใจและเกินความ คาดหมายเพื่อเพิ่มคุณค่าการบริการและความประทับใจ Integrity คือ การปฏิบัติตนต่อองค์กรและทำ�ธุรกิจกับผู้เกี่ยวข้องด้วยความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ โปร่งใส
ไม่เอาเปรียบและมีศีลธรรม
Collaboration คือ การรวมพลังเป็นหนึ่งเดียวกัน ร่วมมือร่วมใจในการทำ�งาน ร่วมกันรับผิดชอบ ช่วยเหลือ
ซึง่ กันและกัน มีจติ อาสาและจิตสำ�นึกของการแบ่งปันและเอือ้ อาทร เพือ่ ขับเคลือ่ นองค์กรไปสูเ่ ป้าหมายเดียวกัน
Dynamic ความยืดหยุ่น
A - Alliance ปิยมิตร
LPN TEAM แอล.พี.เอ็น. ทีม
Minded S - Service ใจรักบริการ
Customer Centric ลูกค้าเป็นศูนย์กลาง
COMMUNITY MANAGEMENT
with Quality S - Speed รวดเร็ว
FINANCIAL MANAGEMENT
Thinking L - Lateral คิดนอกกรอบ
DESIGN CONCEPT
Cost Leadership ผู้นำ�ด้านต้นทุน
MARKETING MANAGEMENT
with Quality C - Cost บริหารต้นทุนพร้อมคุณภาพ
ENTERPRISE
Corporate Value
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
Core Competency
• 37
CONSTRUCTION PROCESS
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
I - Integrity คุณธรรม
Corporate Governance ธรรมาภิบาล
C - Collaboration ความร่วมมือร่วมใจ
ONE LPN หนึ่งเดียว แอล.พี.เอ็น.
38 •
6 G R E E N LP N
2. สร้างความสุขผ่าน 6 ปัจจัยองค์กรน่าอยู่ (Vibrant Organization)
หลักคิดพื้นฐานของการจัดการทุนมนุษย์ของบริษัท คือ การสร้างความสุขผ่าน 6 ปัจจัยที่นำ�ไปสู่ความสุขที่แท้จริงของการทำ�งาน (Real Pleasure of Working) โดยเน้นการพัฒนาบุคลากรให้มคี ณุ ภาพอย่างต่อเนือ่ ง ส่งเสริมบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความรู้ เพื่อนำ�ไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ พร้อมปลูกฝังวิธีการทำ�งานภายใต้วัฒนธรรมและวิถีแอล.พี.เอ็น. (LPN Way) ตามแนวทางการ สร้าง “องค์กรน่าอยู่”
6 ปัจจัยองค์กรน่าอยู่
1. บุคลากร
2. งาน
3. ทีท่ �ำ งาน
รักษาและพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง สร้างความสุขในที่ทำ�งาน ด้วยการจัด กิจกรรมภายใน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ ที่ดีร่วมกัน ตั้งแต่ระดับบริหารไปจนถึง บุคลากรในทุกส่วน และสนับสนุน ให้เกิดการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ทั้งกิจกรรมทั่วไปในองค์กรและกิจกรรม เพือ่ สิง่ แวดล้อมและสังคมภายนอกองค์กร
ส่งเสริมการปรับปรุงการทำ�งาน อย่างต่อเนื่อง เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ของกระบวนการทำ�งาน และผลักดัน การคิดนอกกรอบของบุคลากร เพื่อพัฒนาไปสู่การสร้างนวัตกรรม เชิงกระบวนการ
ดูแลสถานที่ทำ�งานให้เหมาะสมกับ การทำ�งาน ทั้งสภาพแวดล้อมและ บรรยากาศในการทำ�งาน มีสุขอนามัย ที่ดี มีความปลอดภัยให้แก่บุคลากร
4. ผลตอบแทน
5. โอกาสในหน้าทีก่ ารงาน
6. ความภูมใิ จในองค์กร
กำ�หนดผลตอบแทนที่สอดคล้องกับ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ ทำ�งาน และจัดหาสวัสดิการให้ตาม ความเหมาะสมอย่างเป็นธรรมและ เท่าเทียม ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของ บุคลากร โดยสนับสนุนให้มีความสมดุล ทั้งในชีวิตและงาน (Work-Life Balance)
ให้โอกาสในความก้าวหน้าและกำ�หนด เส้นทางการเติบโตให้แก่บุคลากร ในทุกระดับ ด้วยความเท่าเทียมและ เป็นธรรม ไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิง รวมทั้งส่งเสริมความสามารถด้วยการ อบรมและฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง
สร้างชื่อเสียงของบริษัท ด้วยหลักธรรมาภิบาล เคารพสิทธิ มนุษยชน และดำ�เนินงานอย่าง โปร่งใส ให้เป็นที่ประจักษ์สู่สังคม เพื่อความภาคภูมิใจแก่บุคลากร ที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในองค์กร
• 39
DESIGN CONCEPT MARKETING MANAGEMENT COMMUNITY MANAGEMENT
CONSTRUCTION PROCESS
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
FINANCIAL MANAGEMENT
ENTERPRISE
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
3. พัฒนาบุคลากรด้วย A-S-K (Learning & Growth)
4. สร้างความสมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวิต (Work-Life Balance)
ด้วยความมุ่งมั่นพัฒนาองค์กรไปสู่ความยั่งยืน บริษัทจึงได้จัดตั้ง สถาบันแอล.พี.เอ็น. หรือ LPN Academy เพื่อทำ�หน้าที่ในการ พัฒนาความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และทัศนคติ (Attitude) ให้กบั บุคลากรในองค์กรให้เติบโตทันต่อการขยายตัวของธุรกิจ ถ่ายทอด คุณค่าและวัฒนธรรมองค์กรตามวิถีแอล.พี.เอ็น. หรือ LPN Way ผ่านการอบรมและหลักสูตรต่างๆ โดยมีเป้าหมายที่จะถ่ายทอดองค์ ความรู้สู่ภายนอกในอนาคต
บริษทั ดูแลคุณภาพชีวติ และการทำ�งานของพนักงาน ส่งเสริมให้รจู้ กั การแบ่งเวลาให้กับตนเองและครอบครัว ไม่หมกมุ่นและทุม่ เทให้ กับการทำ�งานมากจนเกินควร โดยกำ�หนดเวลาทำ�งานต่อสัปดาห์ ให้เหมาะสม และกำ�หนดให้พนักงานทุกส่วนงานต้องหยุดพักร้อน ประจำ�ปีตามที่ได้รับสิทธิ
40 •
6 G R E E N LP N
GREEN ENTERPRISE
GREEN ENTERPRISE ผลการดำ�เนินงานด้านการดำ�เนินธุรกิจที่ให้ความสำ�คัญ กับการบริหารจัดการและทุนมนุษย์ • การส่งเสริมค่านิยมองค์กร ในส่วนของการสนับสนุนให้พนักงานมีความรู้ความเข้าใจในคุณค่าองค์กร และกระตุ้นให้เกิดการนำ�ไปใช้อย่างต่อเนื่อง บริษัทดำ�เนินงาน ทบทวนเนื้อหาความรู้ตลอดกระบวนการทำ�งานผ่านคู่มือวิถีแอล.พี.เอ็น. และสื่อต่างๆ ตลอดทั้งปี เพื่อให้สามารถนำ�ไปใช้ได้จริง พร้อมทั้ง วัดผลอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดเป็นพฤติกรรมมาตรฐานของพนักงานทุกคน โดยในปี 2559 บริษัทจัดอบรมและกิจกรรมต่างๆ ดังนี้
อบรมพนักงานใหม่ในหลักสูตรปฐมนิเทศ เพื่อเสริมสร้างความ รู้ความเข้าใจในค่านิยมองค์กร โดยจัดเป็นประจำ�เดือนละ 1 รุ่น ระยะเวลาอบรมรุ่นละ 3 วัน มีพนักงานที่เข้ารับการอบรมทั้งสิ้น 12 รุ่น จำ�นวนทั้งสิ้น 322 คน ทบทวนความรูค้ วามเข้าใจในค่านิยมองค์กร เพือ่ ปรับปรุงแนวคิด การทำ�งาน ผ่านหลักสูตร LPN Way in Action ตอน Lateral Thinking โดยมีพนักงานที่เข้ารับการอบรมทั้งสิ้น 4 รุ่น จำ�นวน ทั้งสิ้น 108 คน กิจกรรม “ล่าท้าฝัน” แข่งขันความรู้ความเข้าใจในข้อมูลและ ค่านิยมองค์กร มีพนักงานเข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 250 คน
ส่งเสริมความต่อเนื่องในการปฏิบัติพฤติกรรมดีตามค่านิยม องค์กร และตามวิถีแอล.พี.เอ็น. ให้กับพนักงาน ผ่านการให้ คะแนนสะสม (C-L-A-S-S-I-C Points) จัดกิจกรรม “ร่วมชื่นชมผู้มีพฤติกรรมดีตามวิถีแอล.พี.เอ็น.” และมอบประกาศนียบัตร ซึ่งมีจำ�นวนพนักงานที่ได้รับคำ�ชื่นชม จากบุคคลภายนอกทั้งสิ้น 175 คน จัดกิจกรรมส่งเสริมค่านิยมองค์กรในการคิดสร้างสรรค์ผ่าน การประกวดนวัตกรรมโครงการ The Seeds โดยมีจำ�นวน โครงงานเข้าร่วมประกวด 124 โครงงาน
เข้าเยี่ยมและทบทวนค่านิยมองค์กร ณ จุดปฏิบัติงาน เช่น ที่สำ�นักงานขายและตามโครงการต่างๆ ประเมินความรู้และความเข้าใจของพนักงานทุกคนในองค์กร ผ่านระบบออนไลน์ โดยจัดเป็นประจำ�ปีละ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 มี จำ�นวนพนักงานเข้าร่วมประเมิน 1,405 คน และครั้งที่ 2 มี จำ�นวนพนักงานเข้าร่วมประเมิน 1,480 คน
จัดอบรมค่านิยมองค์กร ให้กับพนักงานใหม่ จำ�นวนทั้งสิ้น
322
คน
จัดกิจกรรมส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ ผ่านการประกวดนวัตกรรม ในโครงการ The Seeds จำ�นวน
124
โครงงาน
ทบทวนค่านิยมองค์กร กับพนักงานในองค์กร ผ่าน 2 กิจกรรม LPN Way in Action และ ล่าท้าฝัน จำ�นวนรวมทั้งสิ้น
358
คน
พนักงานได้รับคำ�ชื่นชม จากบุคคลภายนอก ทั้งสิ้น
175
คน
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 41
ENTERPRISE
• องค์กรน่าอยู่
การสรรหาและบรรจุ
พนักงานใหม่ ปี 2559 จำ�นวน
นโยบายการสรรหาและบรรจุพนักงาน บริษทั มุง่ เน้นการสรรหาและ คัดเลือกบุคลากรที่เป็นคนดีและคนเก่งตามวิถีแอล.พี.เอ็น. โดย หลักเกณฑ์การสรรหาและคัดเลือกพนักงานจะมุ่งเน้นพนักงานที่ มีผลการเรียนเฉลี่ยในเกณฑ์ดีและทำ�กิจกรรมจิตสาธารณะอย่าง สม่ำ�เสมอ นอกจากนั้น พนักงานจะต้องผ่านกระบวนการทดสอบ ความรู้เฉพาะตำ�แหน่ง การสัมภาษณ์จากฝ่ายบริหารทรัพยากร มนุษย์และต้นสังกัดของพนักงานโดยตรง เพือ่ การคัดกรองบุคลากร ทีม่ ีใจบริการและคุณภาพเหมาะกับตำ�แหน่งงานนัน้ ๆ โดยในปี 2559 บริษัทมีการรับพนักงานใหม่ จำ�นวน 406 คน แบ่งเป็นเพศชาย จำ�นวน 127 คน เพศหญิง จำ�นวน 279 คน และมีพนักงานลาออก จำ�นวน 369 คน แบ่งเป็นเพศชาย จำ�นวน 123 คน เพศหญิง จำ�นวน 246 คน
406
คน เพศหญิงจำ�นวน
เพศชายจำ�นวน
127
279
คน
คน
การว่าจ้างพนักงานใหม่และพนักงานที่ลาออก แบ่งตามเพศ อายุ และภูมิภาค (G4-LA1, G4-LA12) อัตราการว่าจ้างพนักงานใหม่ และพนักงานที่ลาออก แบ่งตามเพศ
อัตราการว่าจ้างพนักงานใหม่ และพนักงานที่ลาออก แบ่งตามอายุ
อัตราการว่าจ้างพนักงานใหม่ และพนักงานที่ลาออก แบ่งตามภูมิภาค
จำ�นวน (คน)
จำ�นวน (คน)
จำ�นวน (คน)
450 400 350 300 250 200 150 100 50 0
450 400 350 300 250 200 150 100 50 0
400 332
134 116
ชาย
หญิง
เพศ
344 251 183 182
7 15
<30
30-50
>50
อายุ (ปี)
450 400 350 300 250 200 150 100 50 0
เข้าใหม่
ลาออก
438 380
กทม.
27 19
21 13
นนทบุรี
ปทุมธานี
20
3
สมุทร ปราการ
DESIGN CONCEPT MARKETING MANAGEMENT
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
CONSTRUCTION PROCESS
นอกจากนัน้ บริษทั ยังมีนโยบาย หลักเกณฑ์และข้อกำ�หนดทีช่ ดั เจน ในด้านการดูแลและบริหารจัดการทุนมนุษย์ ทั้งการสรรหา การ ประเมินผลงาน และการเลื่อนตำ�แหน่ง รวมถึงการพิจารณาค่า ตอบแทน และผลประโยชน์อื่นๆ โดยพิจารณาตามประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการทำ�งานของบุคคลนัน้ เป็นทีต่ ง้ั เท่านัน้ โดยไม่มี เรือ่ งเพศ หรือความบกพร่องทางร่างกายมาเกีย่ วข้อง นอกจากนัน้ บริษัทยังเปิดโอกาสให้แก่ผู้ด้อยโอกาสได้ทำ�งานตามความสามารถ โดยไม่เลือกปฏิบัติ และตั้งสัดส่วนในการรับเข้าทำ�งานไว้ตามที่ กฎหมายกำ�หนด เพื่อสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของกลุม่ ผูด้ อ้ ย โอกาส และสามารถทำ�งานหาเลี้ยงตนเองและครอบครัว
15 21
5 7
8 6
พัทยา /ชลบุรี
อุดรธานี
ชะอำ�
ภูมิภาค
COMMUNITY MANAGEMENT
บริษัทยึดถือหลักด้านความเท่าเทียมทางเพศและการเคารพสิทธิ มนุษยชน โดยการจ้างงานจะพิจารณาความสามารถของผู้สมัครเป็น หลัก โดยไม่มีการคำ�นึงถึงเรื่องเพศ (Gender) หรือรสนิยมทาง เพศ (Sexual Orientation) หรือเรื่องส่วนตัวใดๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง กับการทำ�งาน โดยสถานภาพการจ้างงานจะมีทั้งการจ้างชั่วคราว (Temporary Employment) แบบสัญญาจ้างและรายวัน และจ้าง ถาวร (Permanent Employment) เป็นพนักงานประจำ� โดยก่อน ที่จะมีการพิจารณาจ้างงานเป็นพนักงานประจำ� บริษัทกำ�หนดให้ พนักงานทุกคนทดลองงานเป็นเวลา 3 เดือน โดยจะได้รบั สวัสดิการ พื้นฐาน เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินชดเชยในกรณีเกิดอุบัติเหตุ จากการทำ�งานอย่างครบถ้วน
FINANCIAL MANAGEMENT
การจ้างงาน
42 •
6 G R E E N LP N
การประเมินผลงาน
บริษทั นำ�ระบบการประเมินผลงานประจำ�ปีทส่ี ามารถวัดประสิทธิภาพ ของพนักงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นธรรม โดยเริ่มจากการ ใช้แบบฟอร์มประเมินผล PA-1 วัดผลการปฏิบัติงานทุกไตรมาส เพื่อให้สามารถวัดผลการปฏิบัติงานของพนักงานได้อย่างเป็น รูปธรรมและชัดเจน และเปิดโอกาสให้พนักงานพัฒนาปรับปรุง การทำ�งานได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังใช้หลัก Force Ranking และ Bell Curve ในการประเมินผลงานของพนักงานใน แต่ละหน่วยงาน อีกทั้งมีการจ่ายเงินรางวัลตอบแทนการทำ�งาน โดยใช้เป้าหมายการทำ�งาน (Performance Base) เป็นผลให้การ จ่ายเงินรางวัลตอบแทนการทำ�งานมีความเป็นธรรมตามผลการ ปฏิบัติงานจริง การเลื่อนและการโยกย้ายตำ�แหน่ง
บริษทั มีการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรูข้ องพนักงาน โดยการเปิด โอกาสให้พนักงานได้ปรับเปลี่ยนหน้าที่งาน หรือโยกย้ายตำ�แหน่ง ไม่วา่ จะเป็นการย้ายฝ่าย ย้ายตำ�แหน่ง หรือย้ายหน่วยงาน เพือ่ ให้เกิด ความเหมาะสมกับพนักงานและองค์กรในระยะยาว อีกทั้งยังมีการ สร้างการเติบโตในสายงานหรือวิชาชีพให้พนักงานทัง้ ในระดับจัดการ (Generalist) และระดับวิชาชีพ (Specialist) ให้มีความก้าวหน้าใน สายงานอาชีพของตน โดยพิจารณาเลือ่ นและปรับตำ�แหน่งพนักงาน ประจำ�ปี 2559 จำ�นวนทัง้ สิน้ 181 คน คิดเป็นร้อยละ 14.35 ของ พนักงานประจำ�ทัง้ หมด 1,261 คน นอกจากนี้ ยังเปิดโอกาสให้พนักงานทีท่ �ำ อยูห่ น่วยงานเดิม 5 ปีขน้ึ ไป ได้แจ้งความประสงค์ ในการโอนย้ายตำ�แหน่ง ย้ายฝ่าย และย้าย หน่วยงาน ซึ่งพนักงานแจ้งความประสงค์ทั้งสิ้น 8 คน และสำ�นัก บริหารทรัพยากรมนุษย์ดำ�เนินการพิจารณาตามหลักเกณฑ์และ สามารถโยกย้ายได้ตามความเหมาะสม
การดูแลพนักงาน นอกจากการจ้างงานที่เป็นธรรมและเท่าเทียมแล้ว บริษัทยังให้ ความสำ�คัญกับการดูแลพนักงานทุกคน เพื่อสร้างความสุขในการ ทำ�งาน ทั้งการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้มีความปลอดภัยต่อชีวิต สุขภาพ และทรัพย์สินของบุคลากร และการจัดให้มีสวัสดิการ ประจำ�ปีและสวัสดิการพิเศษต่างๆ เช่น การประกันสุขภาพ การตรวจ สุขภาพ กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ และการส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ สำ�หรับบุคลากรและครอบครัว เช่น กิจกรรมวันครอบครัว การ เดินทางไปพักผ่อนร่วมกัน การมอบทุนการศึกษาแก่บุตรของ บุคลากร เป็นต้น นอกจากนั้น ยังได้เปิดโอกาสให้พนักงานเจรจา ต่อรองกับนายจ้างได้ ผ่านทางคณะกรรมการสวัสดิการในสถาน ประกอบการ ที่มาจากการเลือกตั้ง จำ�นวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 0.88 ของจำ�นวนพนักงานทั้งหมด มีวาระ 2 ปี ในปี 2559 คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการมีผลการ ปฏิบัติงานดังนี้ 1. การปรับวงเงินค่ารักษาพยาบาล 2. การเพิ่มทางเลือกในการใช้ค่ารักษาพยาบาล 3. การฉีดวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี 4. กิจกรรมนวดเพื่อสุขภาพสำ�หรับพนักงานทุกวันศุกร์ 5. การจัดให้มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญมาประจำ�ที่สำ�นักงานใหญ่ เพื่อให้คำ�ปรึกษาทุกวันพฤหัสบดี การลาคลอดและการกลับ เข้าทำ�งานหลังลาคลอด (G4-LA3) ปี 2559 มีพนักงานลาคลอด จำ�นวน
กลับมาทำ�งานแล้ว
การให้ความเคารพสิทธิมนุษยชนกลุ่มผู้ด้อยโอกาส
เพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาทักษะความรูค้ วามสามารถ และคุณภาพชีวติ ของพนักงานกลุม่ Handicap ให้มศี กั ยภาพและศักดิศ์ รีเทียบเท่ากับ พนักงานปกติทั่วไป บริษัทเล็งเห็นความสำ�คัญและมุ่งมั่นในการ ดูแลพนักงานกลุม่ นี้ให้มที กั ษะ คุณภาพชีวติ และความภาคภูมิใจใน การทำ�งานเพิม่ ขึน้ เช่น จัดการอบรมฝึกฝนด้านทักษะคอมพิวเตอร์ แบบกลุ่มพิเศษ การจัดกิจกรรมจิตอาสาที่เปิดโอกาสให้พนักงาน Handicap ได้เข้าร่วมกิจกรรม รวมถึงการส่งเสริมให้พนักงาน Handicap ที่มีความสามารถพิเศษได้แสดงความสามารถในโอกาส ต่างๆ
อยู่ระหว่างลา
37 คน ลาออกแล้ว
32 คน 4 คน 1 คน
พนักงานที่ลาคลอดปี 2558 จำ�นวน 24 คน ยังคงสถานะ พนักงาน 18 คน ลาออกแล้ว 6 คน อัตราการบาดเจ็บ ขาดงาน เสียชีวิตและโรคที่เกิดจากการ ทำ�งาน แบ่งตามเพศและภูมิภาค ประจำ�ปี 2559 (G4-LA6, G4-LA7) การบาดเจ็บ/ โรคที่เกิดจาก การทำ�งาน บาดเจ็บ ขาดงาน เสียชีวิต
เพศ
ภูมิภาค
ชาย
หญิง
กทม.
พัทยา
4 3 0
11 7 0
13 8 0
2 2 0
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 43
ปี 2559 พนักงานเข้ารับการตรวจสุขภาพ จำ�นวน ENTERPRISE
คน
6
12 15
8
ระดับความดัน เลือดสูง
ระดับนํ้าตาล ในเลือดสูง
59
12 10
ค่า BIM ระดับ ระดับอ้วนมาก คลอเรสเตอรอล ผิดปกติ
ค่าที่ ตรวจวัด
ผลการประเมินความผูกพันองค์กรและความสุขในการทำ�งาน ผ่าน 6 ปัจจัย ความผูกพันต่อองค์กร (Engagement) ของพนักงาน : คะแนนเฉลี่ยรวม ปี 2559
= 64% ปี 2559
64%
เท่ากับคะแนนเฉลี่ยรวมของปี 2558
ปี 2558
64%
ปี 2557
59%
ความสุขในการทำ�งานผ่าน 6 ปัจจัยหลัก (Working Pleasure) : คะแนนเฉลี่ยรวม ปี 2559
= 77% ปี 2559
77%
เท่ากับคะแนนเฉลี่ยรวมของปี 2558
ปี 2558
77%
ปี 2557
75%
DESIGN CONCEPT
55
จากผลการตรวจสุขภาพ พบว่า พนักงานที่มีระดับ ความดันสูง ระดับน้ำ�ตาลในเลือดผิดปกติ และระดับ คลอเรสเตอรอลสูง มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ ปี 2558 บริษัทจึงเชิญแพทย์วิชาชีพเข้ามาตรวจและ ให้คำ�ปรึกษาแก่พนักงานเป็นประจำ�ทุกสัปดาห์และ จัดให้พนักงานกลุ่ ม เสี่ ย งด้ า นสุ ข ภาพเข้ า พบแพทย์ เพื่อติดตามผลอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ยังมีการ จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพให้พนักงานเข้าร่วม เช่น กิจกรรมแข่งขันฟุตบอล และกิจกรรมแข่งขันความ ยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ พร้อมทั้งบรรจุเรื่องการดูแล สุขภาพในหลักสูตรปฐมนิเทศพนักงานใหม่ด้วย
MARKETING MANAGEMENT
ปี 2559
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
70 60 50 40 30 20 10 0
ปี 2558
CONSTRUCTION PROCESS
% สัดส่วนพนักงาน
FINANCIAL MANAGEMENT
ผลการตรวจสุขภาพประจำ�ปีของพนักงาน ระหว่างปี 2558 และ 2559
COMMUNITY MANAGEMENT
1,034
44 •
6 G R E E N LP N
6 ปัจจัยความสุขในการทำ�งาน
งาน (Work) คะแนนความสุข
สถานที่ (Place) คะแนนความสุข
องค์กร (Corporate) คะแนนความสุข
ผลตอบแทน (Revenue) คะแนนความสุข
โอกาส (Opportunity) คะแนนความสุข
คน (People) คะแนนความสุข
75% 77% 83% 74% 77% 79% • องค์กรแห่งการเรียนรู้และเติบโต
• ความสมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวติ
ด้วยความมุ่งมั่นพัฒนาองค์กรไปสู่ความยั่งยืน บริษัทจึงได้จัดตั้ง สถาบันแอล.พี.เอ็น. หรือ LPN Academy เพื่อทำ�หน้าที่ในการ พัฒนาบุคลากรให้เติบโตทันต่อการขยายตัวของธุรกิจ สามารถ ถ่ายทอดคุณค่าและวัฒนธรรมองค์กรตามวิถีแอล.พี.เอ็น. หรือ LPN Way ผ่านการอบรมในหลักสูตรต่างๆ แก่บุคลากรภายในองค์กร โดยมีเป้าหมายที่จะถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ภายนอกในอนาคต สำ�หรับผลการดำ�เนินงานด้านการพัฒนาองค์กรสู่การเป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้และเติบโต สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ผลการดำ�เนิน งานของสถาบันแอล.พี.เอ็น.
บริษัทดูแลคุณภาพชีวิตและการทำ�งานของพนักงาน ส่งเสริมให้ รู้จักการแบ่งเวลาให้กับตนเองและครอบครัว (Work-Life Balance) ไม่หมกมุ่นและทุ่มเทให้กับการทำ�งานมากจนเกินควร โดยกำ�หนด เวลาทำ�งานต่อสัปดาห์ให้เหมาะสม และกำ�หนดให้พนักงานทุกส่วนงาน ต้องหยุดพักร้อนประจำ�ปีตามที่ได้รับสิทธิ
% ความพอใจในการเรียนรู้และพัฒนา จากการประเมิน ความสุขในการทำ�งาน 100% 80%
% ความสมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวติ จากการประเมิน ความสุขในการทำ�งาน 100%
77%
76%
78%
80%
60%
60%
40%
40%
20%
20%
0
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
คะแนนเฉลี่ยที่ได้ในปี 2559 สูงกว่าปี 2558
= +1%
ปี 2559 พนักงานสะท้อน คะแนนความพอใจในการเรียนรู้และ พัฒนา โดยมีความสุขในการทำ�งาน เพิ่มสูงขึ้นจากปี 2558
0
66%
70%
72%
ปี 2557
ปี 2558
ปี 2559
คะแนนเฉลี่ยที่ได้ในปี 2559 สูงกว่าปี 2558
= +2%
ปี 2559 พนักงานสะท้อน คะแนนความสมดุลของชีวิต และการทำ�งานเพิ่มสูงขึ้นจากปี 2558
• 45
บริษทั มีนโยบายเกี่ยวกับการรับฟังข้อร้องเรียนจากพนักงานและมี แนวปฏิบตั ใิ นการรักษาความลับของผูใ้ ห้ขอ้ มูลหรือผูแ้ จ้งข้อร้องเรียน ตามกระบวนการคุ้มครองผู้ร้องเรียน ทั้งนี้ พนักงานผู้แจ้งข้อ ร้องเรียน หรือเสนอความคิดเห็น เพื่อให้บริษัทดำ�เนินการแก้ไข หรือปรับปรุงการดำ�เนินงาน สามารถแจ้งข้อเสนอแนะหรือข้อ ร้องเรียนผ่านช่องทางต่างๆ ได้ดงั นี้ บริษัทมีนโยบายเกี่ยวกับการ รับฟังข้อร้องเรียนจากพนักงาน เพื่อให้บริษัทดำ�เนินการแก้ ไขหรือปรับปรุง การดำ�เนินงาน โดยสามารถเสนอแนะ ผ่านแบบประเมินความผูกพันองค์กร หรือติดต่อฝ่ายพัฒนาองค์กร
1. แจ้งประธานกรรมการบริหารโดยตรง 2. แจ้งผ่าน Whatsapp ของประธานกรรมการบริหาร 3. ตู้ไปรษณีย์เฉพาะ ปณ. 21 4. กล่องรับข้อคิดเห็นในสำ�นักงาน (Suggestion Box) 5. แบบประเมินความผูกพันต่อองค์กร 6. ติดต่อฝ่ายพัฒนาองค์กร สำ�นักบริหารทรัพยากรมนุษย์ ในปี 2559 ไม่มีเรื่องร้องเรียนจากพนักงาน ทั้งเรื่องทั่วไปและ เรื่องที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน แต่มีข้อเสนอแนะและการแสดง ความคิดเห็นของพนักงานผ่านกล่องรับความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น 41 เรื่อง ซึ่งบริษัทได้พิจารณาและดำ�เนินการแก้ไข สำ�หรับ ข้อเสนอแนะที่สามารถดำ�เนินการได้ทันที และได้ประสานกับ ส่วนงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำ�เนินการ ส่วนข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้อง กับสวัสดิการของพนักงาน บริษัทได้นำ�เสนอต่อคณะกรรมการ สวัสดิการ เพื่อพิจารณาและดำ�เนินการตามความเหมาะสมต่อไป (G4-HR12)
DESIGN CONCEPT MARKETING MANAGEMENT CONSTRUCTION PROCESS
• เรือ่ งร้องเรียนจากพนักงานและการแก้ไข (G4-LA16)
COMMUNITY MANAGEMENT
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
FINANCIAL MANAGEMENT
ENTERPRISE
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
46 •
6 G R E E N LP N
HIGHLIGHT โครงการประกวดความคิดสร้างสรรค์ “The Seeds” ปี 2 Idea Suggestion การประกวดความคิดสร้างสรรค์ “The Seed: Idea Suggestion” ได้จัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ ปี 2558 จากการที่บริษัทเห็นถึงความสำ�คัญของการส่งเสริมให้พนักงานคิดค้นนวัตกรรม ทั้งในเชิงกระบวนการและในการเพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ โดยสนับสนุนให้พนักงานมีส่วนร่วม ในการสร้างสรรค์ เพื่อสร้างบรรยากาศในการทำ�งานเป็นทีม รวมถึงการคิดนอกกรอบ ซึ่งได้รับความร่วมมือจากพนักงานเป็นอย่างดี โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
1ส่งเสริมการคิดนอกกรอบให้กับพนักงาน กระตุน้ การสร้างเมล็ดพันธุ์ในการคิดสร้างสรรค์ อย่างเป็นระบบและยัง่ ยืน
2สร้างบรรยากาศการทำ�งานเป็นทีมและ การคิดนอกกรอบ พร้อมเปิดใจรับแนวคิด
ใหม่และการเปลีย่ นแปลงต่างๆ
3เพิ่มพูนความรู้และทักษะ ด้านกระบวนการ
คิดสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบให้กับพนักงาน ทุกระดับ เพือ่ ให้น�ำ ไปประยุกต์ใช้ในงานอย่างเป็น รูปธรรม และพัฒนางานได้อย่างต่อเนื่อง
ในปี 2559 บริษัทได้เปิดโอกาสให้พนักงานสามารถเลือกหัวข้อในการพัฒนาเพือ่ ให้เกิด การปรับปรุงงานในหลากหลายมิติ เช่น การลดเวลา การลดต้นทุน การคิดค้นนวัตกรรม การเพิม่ คุณภาพ การเพิม่ ความปลอดภัย การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร เป็นต้น โดยมี พนักงานส่งโครงงานเข้าร่วมประกวดทั้งสิ้น 124 โครงงาน ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 51 โครงงาน (คิดเป็นร้อยละ 70) โดยในปีนี้ทางบริษัทได้แบ่งรางวัลเป็น 2 ประเภท ซึ่งทุก โครงงานทีส่ ง่ ประกวดสามารถนำ�ไปปรับใช้ในการทำ�งาน และปรับปรุงมาตรฐานการทำ�งาน ให้ได้ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้บริษัทสามารถลดค่าใช้จ่ายได้ประมาณ 4,200,000 บาทต่อปี
รางวัล แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. รางวัลประเภทนวัตกรรม (Innovation) รางวัลที่ 1 :
โครงงานอุปกรณ์เปิดฝาบ่อและยกปั๊ม บ่อบำ�บัดแบบต่อเนื่อง รางวัลที่ 2 :
โครงงานเครื่องกรีดทำ�ความสะอาด กระจก 2 ชั้น
รางวัลที่ 3 :
โครงงานอุปกรณ์ถอดสายน้ำ�ดี 2. รางวัลประเภทปรับปรุงงาน (Reprocess) รางวัลที่ 1 :
โครงงานลดเวลาการทำ�งาน เพิ่มประสิทธิภาพ รางวัลที่ 2 :
โครงงานแค่ขยับ ก็นับแล้ว
รางวัลที่ 3 :
โครงงานสื่อสารโดนใจ ด้วย LINE@
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 47
70%
คือ % ของพนักงานที่ ร่วมส่งโครงงานประกวด The Seeds
พนักงานร่วมส่งโครงงาน เข้าประกวด เพิ่มขึ้นจากปีก่อน
51
งบประมาณ การจัดโครงการและของรางวัล
253,600
จำ�นวนโครงงานที่พนักงาน LPN ร่วมส่งเข้าโครงการ “The Seeds” ปี 2 Idea Suggestion
บาท
ค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนที่บริษัท จะสามารถประหยัดได้รวมต่อปี มูลค่าประมาณ (ไม่รวมค่าใช้จ่ายทางอ้อมที่สามารถลดลงได้ แต่ยังไม่สามารถประเมินมูลค่าได้)
4.2 ล้าน บาท/ปี ค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนที่สามารถ ประหยัดได้เฉลี่ยต่อโครงงาน
33,870
โครงงาน
บาท
124 9 9
โครงงาน
เพิ่มความปลอดภัย (Safety)
โครงงาน
นวัตกรรม (Innovation)
โครงงาน
เน้นลดเวลา (Time)
17
โครงงาน
ลดต้นทุน เพิ่มรายได้ (Cost/Revenue)
15 12
โครงงาน
เพิ่มประสิทธิภาพ (Effective)
โครงงาน
อื่นๆ (Other)
17
โครงงาน
48 •
6 G R E E N LP N
HIGHLIGHT การส่งเสริมจริยธรรมในการทำ�งาน ของพนักงาน บริษทั ให้ความสำ�คัญกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน และส่งเสริมจริยธรรมในการทำ�งานของพนักงานตามจรรยาบรรณทางธุรกิจอย่าง ต่อเนื่อง โดยบริษัทได้กำ�หนดเป็นนโยบายการกำ�กับดูแลการปฏิบัติงานตามระเบียบข้อบังคับของบริษัท และสื่อสารบทลงโทษที่ชัดเจนให้ พนักงานรับทราบ พร้อมทั้งจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) เพื่อลดการเกิดทุจริตคอร์รัปชันภายในองค์กร และยึดถือเป็นบรรทัดฐาน ในการปฏิบัติงาน ด้วยการสื่อสารและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นให้เกิดความเข้าใจ ประเมินความเสี่ยงในกลุ่มงานที่มีโอกาสกระทำ�ทุจริต หรือ ผิดต่อระเบียบข้อบังคับ รวมถึงปรับปรุงกระบวนการทำ�งานของทุกหน่วยงานในบริษัท เพื่อยื่นขอการรับรองในระดับ 4 (Certified) โครงการ แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) นอกจากนี้ ยังมีการบรรจุเรื่องการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันในหลักสูตรอบรมปฐมนิเทศพนักงานใหม่ และหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร “Community Management Training Course” (CMTC) อย่างต่อเนือ่ ง โดยพนักงานใหม่ต้องผ่านการอบรม และรับรูถ้ ึงนโยบายการต่อต้าน การทุจริตคอร์รัปชันทุกคน นอกจากนั้น ในปี 2559 บริษัทได้เพิ่มความเข้มข้นด้วยการเปิดอบรมหลักสูตร “การประกอบธุรกิจอย่างยั่งยืน” (Sustainability) โดยมี คุณอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานกรรมการบริษัท เป็นวิทยากรพิเศษ เพื่อแสดงให้บุคลากรทุกระดับเห็นถึงการตระหนักในความสำ�คัญของ การดำ�เนินงานภายใต้กรอบของจรรยาบรรณทางธุรกิจ ตั้งแต่กรรมการบริษัทจนถึงพนักงานระดับปฏิบัติการ เพื่อให้บริษัทสามารถ ดำ�เนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืน โดยเนื้อหาของหลักสูตรการอบรม แบ่งเป็น 2 ประเด็น
1ความล้มเหลว หรือความเสือ่ มโทรมขององค์กร ประกอบด้วย • ความล้มเหลวในการประกอบธุรกิจ • ความประพฤติมชิ อบของพนักงาน • ความประพฤติมชิ อบขององค์กร
2จรรยาบรรณทางธุรกิจ ประกอบด้วย • สิทธิมนุษยชน และแรงงาน • สิง่ แวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัย • การต่อต้านคอร์รปั ชัน • ของกำ�นัล และการเลีย้ งรับรอง • ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ • การดำ�เนินการทางการเมือง
• การปฏิบตั ติ อ่ ข้อมูล และทรัพย์สนิ • การเปิดเผยข้อมูล และการสือ่ สาร • การทำ�ธุรกรรมของ LPN • การแข่งขันทางการค้า • การป้องกันการฟอกเงิน • ข้อพึงปฏิบตั ขิ องกรรมการและพนักงาน
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
ทัง้ นี้ มีพนักงานเข้าร่วมอบรมหลักสูตร ทัง้ หมด จำ�นวน 308 คน อย่างไรก็ตาม ในปี 2559 นี้ บริษทั ได้เกิดกรณีการทุจริต จากพนักงานทีผ่ า่ นการสอบสวนข้อเท็จจริง แล้วทัง้ สิน้ จำ�นวน 7 กรณี คือ
ลักทรัพย์นายจ้าง
5
กรณี
ลักทรัพย์พนักงาน
1
กรณี
ทุจริตพนักงาน
1
กรณี
ทุกกรณีมีการตั้งคณะกรรมการสอบ ข้อเท็จจริง เพื่อพิจารณาลงโทษตาม ระเบียบและวินยั ของบริษทั พร้อมทัง้ ปรับปรุงกระบวนการ เพือ่ ลดโอกาส ในการเกิดซ้�ำ โดยบริษทั จะยังคงให้ความ สำ�คัญและเพิม่ ความเข้มข้นในการต่อต้าน การทุจริตคอร์รปั ชันอย่างต่อเนือ่ ง
คุณอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานกรรมการบริษัท เป็นวิทยากรพิเศษ เพื่อแสดงให้บุคลากรทุกระดับเห็นถึงการตระหนักในความสำ�คัญของ การดำ�เนินงานภายใต้กรอบของจรรยาบรรณทางธุรกิจ
• 49
50 •
6 G R E E N LP N
GREEN FINANCIAL MANAGEMENT กลยุทธ์การกำ�หนดผลตอบแทนและการเติบโตขององค์กรให้เหมาะสม • Accountability Financial Statement GREEN FINANCIAL MANAGEMENT
บริษัทตระหนักถึงความสำ�คัญในความถูกต้องและโปร่งใสของงบ การเงิน จึงจัดให้มรี ะบบควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพ จั ด ให้ มี การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ สำ � คั ญ อย่ า งเพี ย งพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน พร้อมทั้งคำ�อธิบายและการวิเคราะห์ เพือ่ ให้ ความมั่นใจว่าการบันทึกข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วน เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นและนักลงทุนในการใช้งบการเงิน ตามหลักการของ Accountability Financial Statement อันได้แก่ 1. ความโปร่งใส (Transparency)
คือ การกำ�หนดเป้าหมายการทำ�ธุรกิจที่มุ่งสู่ การเติบโตอย่างยั่งยืน มีผลกำ�ไรที่เติบโตอย่าง ต่อเนื่องและเหมาะสม และนำ�ผลตอบแทนนั้นไป กระจายต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มในทุกกระบวนการ พัฒนาโครงการอย่างสมดุล โดยการบริหารจัดการ อัตราส่วนทางการเงินและค่าใช้จ่ายของบริษัทและ บริษัทย่อยให้เหมาะสมกับเป้าหมายรายได้และ แผนธุรกิจขององค์กร นับตั้งแต่การกำ�หนดนโยบาย ปันผลกำ�ไรสุทธิในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 แก่ ผู้ถือหุ้น การให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมกับผู้บริหาร และพนักงาน การกำ�หนดราคาขายห้องชุดให้ถูกกว่า คู่แข่งเพื่อคืนกำ�ไรให้กับลูกค้า รวมทั้งการกำ�หนด งบประมาณสำ�หรับการดูแลสิ่งแวดล้อมและสังคมใน กระบวนการก่อสร้างให้เป็นสัดส่วนตามงบประมาณ โครงการ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการจัดทำ�งบการเงินที่โปร่งใส ตรวจ สอบได้ และจัดทำ�เอกสารเพื่อสื่อสารผลประกอบ การไปยังผู้ถือหุ้นในทุกไตรมาส เพื่อสร้างความ เชื่อมั่น และให้ความสำ�คัญกับการมีวินัยทางการเงิน และการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน
บริษทั มีนโยบายการจัดการด้านการเงินอย่างโปร่งใสภายใต้หลักการ กำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี โดยจัดให้มรี ะบบควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมและ มีประสิทธิภาพ โดยคณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระจำ�นวน 4 ท่าน โดยมี กรรมการตรวจสอบจำ�นวน 3 ท่าน ที่มีความรู้และประสบการณ์ใน ด้านบัญชี-การเงิน ทำ�หน้าที่สอบทานนโยบายการบัญชีและตรวจ สอบคุณภาพของรายงานทางการเงิน รวมทั้งระบบการควบคุม ภายใน ซึง่ ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบจะปรากฏในแบบ รายงาน 56-1 และรายงานประจำ�ปี 2. การตรวจสอบอย่างสมํ่าเสมอ (Auditability)
คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อกำ�กับ ดูแลและตรวจสอบการดำ�เนินงาน รวมถึงสอบทานแผนการตรวจสอบ ประจำ�ปี และแผนการตรวจสอบระยะยาว โดยเน้นให้สุ่มสอบทาน เกี่ยวกับรายการในงบการเงิน โดยมีการพิจารณาผลการสอบทาน ทุกฉบับเป็นรายไตรมาส และให้ติดตามแก้ไขในประเด็นที่สำ�คัญ โดยเร็ว คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษัทมีระบบการ ตรวจสอบภายในทีเ่ พียงพอ เหมาะสม และมีประสิทธิผล รวมทั้ง สนับสนุนให้มีการพัฒนาคุณภาพงานตรวจสอบในด้านบุคลากร และการปฏิบัติงานตรวจสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลอย่าง ต่อเนื่อง
• 51
เพื่อการสร้างมาตรฐานของการตรวจสอบให้เกิดความโปร่งใส และเปิดเผย ที่จะเป็นผลต่อความยั่งยืนของบริษัท การรายงาน ทางการเงินของบริษัท จะเป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินภายใต้พระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และแสดง รายการตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าโดยกระทรวงพาณิชย์ ลงวันที่ 28 กันยายน 2554 เรื่องกำ�หนดรายการย่อที่ต้องมีใน งบการเงิน พ.ศ. 2554 และตามข้อกำ�หนดของคณะกรรมการกำ�กับ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ว่ า ด้ ว ยการจั ด ทำ � และนำ � เสนอ รายงานทางการเงิ น ภายใต้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 5. มีวินัย (Discipline)
การบริหารจัดการทางการเงินของบริษัท เป็นไปอย่างมีวินัยและ ได้รับการตรวจสอบตลอดเวลา มีการควบคุมการลงทุน ไม่นำ� เงินทุนของบริษัทไปลงทุนในธุรกิจที่ไม่มีความถนัด ไม่นำ�เงิน ทุ น ไปลงทุ น ในกิ จ กรรมที่ มี ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ข อง บริษัท และการรักษาระดับทุนหมุนเวียนในบริษัทให้เพียงพอต่อ การจ่ายเงินตอบแทนการทำ�งานให้แก่พนักงานและผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งหมด 6. ความเสี่ยงทางการเงิน (Risk Management)
บริษัททำ�การลงทุนหรือดำ�เนินงานทางการเงินโดยมองความเสี่ยง เป็นสำ�คัญ ไม่ลงทุนโดยการกู้ยืมจนเกินกำ�ลัง แต่ลงทุนด้วย ทรัพยากรที่มีและองค์ความรู้เป็นหลัก รักษาระดับสัดส่วนหนี้ตอ่ ทุนไม่เกิน 1 : 1 และมีการตรวจสอบจากคณะกรรมการความเสี่ยง อย่างสม่ำ�เสมอ
MARKETING MANAGEMENT
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
4. สอบวัดได้ (Measurable)
CONSTRUCTION PROCESS
บริษัทเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน พร้อมทั้งคำ�อธิบายและการวิเคราะห์ เพื่อให้ความ มั่นใจว่าการบันทึกข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้องครบถ้วน เพื่อ ประโยชน์สูงสุดของผู้ ถื อ หุ้ น และนั ก ลงทุ น ในการใช้ ง บการเงิน โดยเฉพาะการเปิดเผยและรายงานราคาที่ดินทุกแปลงที่ได้ทำ�การ ซื้อขายแก่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
COMMUNITY MANAGEMENT
3. การเปิดเผย (Disclosure) ไม่มีวาระซ่อนเร้น (Hidden Agenda)
DESIGN CONCEPT
FINANCIAL MANAGEMENT
ENTERPRISE
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
52 •
6 G R E E N LP N
GREEN FINANCIAL MANAGEMENT
GREEN FINANCIAL MANAGEMENT
ผลการดำ�เนินงานด้านการกำ�หนดผลตอบแทนและการเติบโต ขององค์กรให้เหมาะสม รายการ
ปี 2559
%
มูลค่าทางเศรษฐกิจที่สร้างขึ้น รายได้ • รายได้จากการขายและบริการ • รายได้จากการลงทุนทางการเงิน • รายได้จากยอดขายสินทรัพย์ • รายได้อื่น รวมรายได้
14,601,520,851.04 6,927,704.80 2,206,004.35 39,980,838.63 14,650,635,398.82
99.7% 0.0% 0.0% 0.3% 100.0%
10,749,536,733.83 658,613,293.35 1,471,176,658.15 1,025,794,953.12 34,664,137.10 13,939,785,775.55
77.1% 4.7% 10.6% 7.4% 0.2% 100.0%
มูลค่าทางเศรษฐกิจที่แจกจ่าย • ค่าดำ�เนินงาน • ค่าจ้างและสวัสดิการพนักงาน • เงินที่ชำ�ระแก่เจ้าของเงินทุน • เงินที่ชำ�ระแก่รัฐ • การลงทุนในชุมชน รวมรายจ่ายและเงินปันผล
มูลค่าทางเศรษฐกิจสะสม
710,849,623.27
7.4%
0.3%
เง�นทีช่ ำระแกรฐั
รายไดอน่ื
0.2%
10.6%
การลงทุนในชุมชน
เง�นทีช่ ำระแกเจาของเง�นทุน มูลคาทาง เศรษฐกิจ ทีส่ รางข�น้
4.7%
99.7%
มูลคาทาง เศรษฐกิจ ทีแ่ จกจาย
คาจางและ สวัสดิการ พนักงาน
รายไดจากการ ขายและบร�การ
77.1%
คาดำเนินงาน
• 20 Miles March Growth Strategy
เติบโต -12%
ล้านบาท 18,000
16,700
15,000
12,445
12,000 9,000 6,000 3,000 0
1,944 2546 2003
2,478 2547 2004
3,583
2548 2005
5,020
2549 2006
6,824
7,304
8,592
2550 2007
2551 2008
2552 2009
13,483
14,401
14,600
12,960
10,047
2553 2010
2554 2011
2555 2012
2556 2013
2557 2014
2558 2015
2559 2016
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
% กำ�ไรขั้นต้น
บริษัทได้กำ�หนดอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไว้ในอัตรา 1 ต่อ 1 ถือเป็นเพดานในการบริหารการเติบโตและการดำ�เนินงาน ของบริษัท การเติบโตจะเกิดจากการกู้ในปริมาณที่สามารถชำ�ระ ดอกเบี้ยและเงินต้นคืนได้ แม้จะอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ซึ่งจากนโยบายและการปฏิบัติในข้อนี้ อาจทำ�ให้บริษทั ดูเติบโตอย่าง ไม่หวือหวา แต่กเ็ ป็นข้อบ่งชีท้ ส่ี ร้างความมัน่ ใจให้แก่ผมู้ สี ว่ นได้เสียถึง ความยัง่ ยืนและมัน่ คงของกิจการได้ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้น เป้าปี 2559 1:1
ผลปี 2559 0.5 : 1
ผลปี 2558 31.1 %
เป้าปี 2559 +- 30 %
ผลปี 2559 31.3 %
3. กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น (Earning per Share)
คือ สัดส่วนของกำ�ไรสุทธิจากผลการดำ�เนินงานของบริษทั ในแต่ละปี เพือ่ ที่จะนำ�ไปจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น ซึ่งจะแสดงถึงผลกำ�ไร ที่เกิดขึ้นกับการลงทุนในบริษัท โดยบริษัทจะนำ�เสนอต่อที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีเพื่อขออนุมัติการจ่ายเงินปันผลต่อไป โดย ดัชนีชี้วัดในเรื่องนี้แสดงถึงประสิทธิภาพการดำ�เนินงานของบริษัท อย่างแท้จริง บริษัทได้กำ�หนดเป้าหมายของกำ�ไรสุทธิต่อหุ้นและการปันผล ในจำ�นวนและอัตราส่วนที่เหมาะสมแก่ผู้ถือหุ้น เพื่อการลงทุนและ ขยายตัวของธุรกิจอย่างต่อเนือ่ ง สามารถแข่งขันในอุตสาหกรรมได้ ทั้งยังสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ถือหุ้นถึงการสร้างผลตอบแทนที่ดี อย่างต่อเนื่อง เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนสืบไป % กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น
ผลปี 2558 55.0 %
เป้าปี 2559 ≥ 50 %
ENTERPRISE FINANCIAL MANAGEMENT DESIGN CONCEPT COMMUNITY MANAGEMENT
คือ อัตราส่วนที่นำ�หนี้สินรวมหารด้วยส่วนของผู้ถือหุ้นหรือ ทุนจดทะเบียน โดยอัตราส่วนนี้จะแสดงถึงโครงสร้างเงินทุนของ กิจการว่า สินทรัพย์ของกิจการมาจากการกูย้ มื หรือมาจากทุน ซึง่ หากอัตราส่วนนีอ้ ยู่ในเกณฑ์ทส่ี งู ย่อมแสดงถึงความเสีย่ งที่กิจการจะ ไม่สามารถชำ�ระดอกเบี้ยได้ตามกำ�หนด เนื่องจากหนี้สินที่มากจะ ทำ�ให้กิจการมีภาระผูกพันที่ต้องชำ�ระดอกเบี้ยทุกงวด ไม่ว่าจะอยู่ ในสภาวการณ์กำ�ไรหรือขาดทุน แต่หากอัตราส่วนนี้อยู่ในเกณฑ์ ที่ต่ำ�ก็จะแสดงให้เห็นถึงการใช้ส่วนของผู้ถือหุ้นหรือทุนในการ ลงทุน ซึ่งจะส่งผลดีต่อการเติบโตและการแข่งขันในอุตสาหกรรม
ผลปี 2558 0.7 : 1
บริษทั ได้ก�ำ หนดกรอบและเป้าหมายของอัตรากำ�ไรขัน้ ต้นทีเ่ หมาะสม ต่อการดำ�เนินงาน โดยมีการเปรียบเทียบกับคูแ่ ข่งในอุตสาหกรรม เพือ่ ใช้เป็นตัววัดประสิทธิภาพของการประกอบกิจการ
MARKETING MANAGEMENT
1. อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity Ratio)
คือ สัดส่วนของกำ�ไรขั้นต้นกับยอดขายสุทธิของกิจการ อันเป็น ตัวบ่งชี้ถึงประสิทธิภาพของการประกอบกิจการในด้านการสร้าง ผลกำ�ไรและการบริหารต้นทุน โดยกิจการทีม่ อี ตั รากำ�ไรขัน้ ต้นทีด่ จี ะ แสดงถึงความสามารถในการสร้างยอดขายทีม่ ากทีส่ ดุ เมือ่ เทียบกับ ต้นทุนที่ใช้ไปในการขาย อย่างไรก็ตาม อัตรากำ�ไรขั้นต้นไม่ควร สูงจนเกินไป เพราะอาจหมายถึงการเอาเปรียบลูกค้า พนักงาน คู่ค้า รวมถึงการไม่รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ซึ่งขัด ต่อนโยบายการสร้างสมดุลของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มที่บริษัทได้ กำ�หนดไว้
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
• ตัวชี้วัดที่บริษัทกำ�หนด (Indicators)
2. กำ�ไรขั้นต้น (Gross Profit Margin)
CONSTRUCTION PROCESS
สำ�หรับการบริหารจัดการด้านการเงินเพื่อความยั่งยืน บริษัทได้ ดำ�เนินการบริหารการเงินอย่างจริงจัง ทัง้ เรือ่ งความโปร่งใส ตรวจสอบได้ การรายงานและเปิดเผยงบการเงินต่อสาธารณะอย่างต่อเนื่องก่อน รอบเวลาทีก่ �ำ หนดในฐานะทีเ่ ป็นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ และได้กำ�หนดกรอบของการบริหารจัดการทางการเงินที่ให้ความ สำ�คัญกับวินัยทางการเงิน โดยมีตัวชี้วัดหรือ Indicator เพื่อให้ ทราบสถานะและติดตามผลการดำ�เนินงานของบริษัท ทั้งยังเป็น เครื่องมือเพือ่ ควบคุมการดำ�เนินกิจการให้เป็นไปตามความเหมาะสม บริหารความเสี่ยงทางการเงิน เพื่อการเติบโตอย่างต่อเนื่องและ มั่นคง และสร้างผลกำ�ไรจากระบบงานที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งตัวชี้วัด ที่บริษัทได้กำ�หนดเป็นตัวหลักนั้น ได้แก่
• 53
ผลปี 2559 61.0 %
54 •
6 G R E E N LP N
HIGHLIGHT “ปีแห่งการปรับเปลี่ยน” เพื่อความต่อเนื่องทางธุรกิจ บริษัทมีนโยบายในการเปิดเผยแผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Plan : BCP) อย่างต่อเนื่องและโปร่งใส เพื่อสื่อสารแนวทางการบริหารจัดการทางการเงิน ที่สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้ถือหุ้นถึงการดำ�เนินงานตามนโยบายการกำ�หนดผลตอบแทน ที่เหมาะสม การบริหารความเสี่ยงทางการเงิน เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและมุ่งสู่การ เติบโตที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง ปี 2558 ต่อเนื่องมายังปี 2559 นับเป็นช่วงรอยต่อของภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว และ มีแนวโน้มถดถอยต่อเนื่องไปอีก 2-3 ปี นอกจากการบริหารจัดการความเสี่ยงตลอดระยะ เวลาการดำ�เนินงาน บริษัทยังได้เตรียมแผนบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Plan : BCP) ที่มีการวางแผนเป็นขั้นตอนและแบ่งเป็นระดับตามความรุนแรง ของสถานการณ์ ซึ่งในปี 2560 ที่ภาพรวมเศรษฐกิจยังคงไม่มีแนวโน้มฟื้นตัว บริษัทจึงกำ�หนดให้เป็น “ปีแห่งการปรับเปลี่ยน” (Year of Shift) โดยการปรับแนวทางกลยุทธ์หลักของธุรกิจ ด้วย การกำ�หนดแนวทางการดำ�เนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย ทั้ง 4 บริษัท ให้เหมาะสมกับ สภาวการณ์ปัจจุบัน และสามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้นจากบริษัทย่อยด้วยการขยายการให้ บริการสู่ภายนอก เช่น การเพิ่มกลุ่มลูกค้าเป้าหมายจากกลุ่มลูกค้าระดับกลางถึงกลาง-ล่าง เป็นกลุม่ ลูกค้าระดับกลาง-ล่างถึงบน การกำ�หนดกลยุทธ์การเปิดโครงการทั้งขนาดและ ทำ�เลเป็นกรุงเทพฯ ชั้นใน รวมทั้งการเพิ่มกลยุทธ์ทางการตลาดและปรับเปลีย่ นภาพลักษณ์ ตราผลิตภัณฑ์ (Brand Image) ให้สอดคล้องกับการปรับเปลี่ยนกลุ่มเป้าหมาย นอกจากนั้น บริษัทได้ปรับแผนงานของบริษัทย่อย ได้แก่ บริษัท พรสันติ จำ�กัด (PST) จะ มีการปรับแผนงานและเป้าหมาย เพื่อเพิ่มยอดขายและผลกำ�ไรจากโครงการแนวราบและ ศูนย์การค้าชุมชน รวมถึงพัฒนากระบวนการก่อสร้างเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านคุณภาพ ต้นทุนและเวลาส่งมอบ ในส่วนของธุรกิจบริการ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี มาเนจเมนท์ จำ�กัด (LPP) จะรับบริการบริหารชุมชนครบวงจรกับภายนอก เช่นเดียวกับ บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำ�กัด (LPS) ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงรูปแบบธุรกิจ และโครงสร้าง ผูถ้ อื หุน้ เพือ่ สร้างรายได้ กระจายฐานธุรกิจ และรองรับการก้าวไปสูบ่ ริษทั รับบริหารโครงการ ครบวงจร สำ�หรับบริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด (LPC) บริษทั ย่อยทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ตามนโยบาย CSR เพือ่ สร้างอาชีพและรายได้ให้แก่สตรีดอ้ ยโอกาส ในปี 2560 จะขยาย แผนการดำ�เนินงานในการสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มคนพิการและผู้สูงอายุ และปรับแผนธุรกิจ ไปสูว่ สิ าหกิจเพือ่ สังคมอย่างเป็นทางการ (Social Enterprise) ซึง่ ทัง้ หมดนี้ ล้วนเป็นแนวทาง การดำ�เนินงานเพื่อก้าวสู่ “บริบทใหม่แห่งความยั่งยืน”
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 55
ปี 2560 บริษทั กำ�หนดให้ เป็น “ปีแห่งการปรับเปลีย่ น” (Year of Shift) ซึง่ ทำ�ให้มี การปรับเปลีย่ นภาพลักษณ์ ตราผลิตภัณฑ์(Brand Image)
ปรับกลุ่มลูกค้าเป้าหมายจากกลุ่มลูกค้า ระดับกลางถึงกลาง-ล่าง เป็นกลุ่มลูกค้า ระดับกลาง-ล่างถึงบน เพื่อให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ปัจจุบันที่ภาพรวมเศรษฐกิจ ยังคงไม่มีแนวโน้มฟื้นตัว
56 •
6 G R E E N LP N
GREEN DESIGN CONCEPT กลยุทธ์การออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม
GREEN DESIGN CONCEPT
1. Strategic Location คือ การเลือกทำ�เลเชิงกลยุทธ์ ที่มีคู่แข่งน้อย แต่มีศักยภาพในการพัฒนา และอยู่ใกล้สิ่งอำ�นวยความสะดวก ระบบขนส่งมวลชนและทางด่วน เพื่อ ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมอันเนือ่ งมาจากการพัฒนาโครงการ ลดปริมาณ การจราจร และการใช้พลังงานทางตรงจากการใช้ยานพาหนะในการเดินทาง
2. LPN Green Project - LEED GREEN Design Concept คือ การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ภายใต้ความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม บริษทั ให้ความสำ�คัญกับการออกแบบและพัฒนา โครงการ ตั้งแต่แนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์และ วางผังโครงการเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งแนวทางดังกล่าวเป็นแนวทางที่บริษัทพัฒนาขึ้น และสอดคล้องกับมาตรฐานอาคารเขียว (Green Building) ของสหรัฐอเมริกา (LEED : The Leadership in Energy and Environmental Design) โดย GREEN Design Concept มีองค์ประกอบ ดังนี้ 1. Strategic Location 2. LPN Green Project - LEED 3. Blue Ocean Strategy (กลยุทธ์น่านนํ้าสีคราม)
คือ การกำ�หนดแนวทางการออกแบบและวางผังโครงการภายใต้แนวคิด “LPN Green Project” ซึ่งบริษัทได้นำ�เสนอออกสู่สาธารณชน และได้รับ การตอบรับเป็นอย่างดีในด้านยอดขาย อย่างไรก็ตาม แม้ “LPN Green Project” จะเป็นแนวคิดทีพ่ ฒ ั นาจากเกณฑ์อาคารเขียวของสหรัฐ (LEED) แต่บริษัทได้ปรับปรุงหลักเกณฑ์เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศและ สภาพแวดล้อมของประเทศไทย และตอบสนองต่อการประกอบธุรกิจ โดยมี องค์ประกอบ ได้แก่ พัฒนาพื้นที่ให้เกิดความยั่งยืน (Sustainable Site Development)
คือ การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในการ พัฒนาโครงการ โดยการเลือกที่ตั้งโครงการ ในบริเวณที่มีความหนาแน่นสูง มีสิ่งอำ�นวย ความสะดวกครบครันในบริเวณใกล้เคียง ตั้ง อยู่บนถนนใหญ่ที่มีการคมนาคมสะดวก ใกล้ ทางด่วน และมีระบบขนส่งมวลชน เพื่อลด ผลกระทบด้านการจราจร และร่วมสนับสนุน ให้ ผู้ พั ก อาศั ย หั น มาใช้ ร ะบบขนส่ ง มวลชน มากขึน้ ด้วยการจัดระบบขนส่งมวลชนภายใน โครงการ (Shuttle Bus) เชื่อมต่อกับระบบ ขนส่งมวลชนสาธารณะ รวมถึงชดเชยพืน้ ที่โล่ง เดิมด้วยพื้นที่สีเขียวและภูมิทัศน์ในโครงการ
การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (Energy Efficiency) (G4-EN7)
นวัตกรรมจากการออกแบบ (Innovation in Design) (G4-EN7)
ด้ ว ยการออกแบบห้ อ งชุ ด ให้ มี กั น สาดและ ระเบี ย งเพื่ อ ลดปริ ม าณความร้ อ นที่ ม ากั บ แสงแดดทีส่ ง่ ผ่านเข้ามาภายในห้องชุดโดยตรง ออกแบบระบบแสงสว่างและระบบปรับอากาศ ให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมต่อการใช้งาน ใช้พลังงานทดแทน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ สำ�หรับดวงโคมแสงสว่างในบริเวณสวน และ ได้ มี การบรรจุ บ ทบาทหน้ า ที่ ให้ฝ่ายบริหาร ชุมชน บริหารการใช้พลังงานภายในอาคาร ให้เกิดประสิทธิภาพ โดยคำ�นึงถึงความประหยัด และความปลอดภัยควบคู่กันไป
ได้แก่ การวางผังอาคารและโครงการให้สอดคล้อง กับสภาพแวดล้อม โดยพึ่งพาแสงและลมจาก ธรรมชาติ ทำ�การวางผังและออกแบบช่องเปิด ของห้องชุด ทัง้ ประตูและหน้าต่าง ให้สอดคล้อง กับการอยู่อาศัย และร่นระยะเวลาการก่อสร้าง ด้วยระบบ Semi Prefabrication System
การใช้วัสดุและทรัพยากรอย่างประหยัดและเหมาะสม (Material and Resources) (G4-EN1)
โดยการเลือกใช้วัสดุทดแทนที่พิสูจน์แล้วว่ามีความปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแทนวัสดุที่มาจากธรรมชาติ เพื่อลดการทำ�ลายสภาวะแวดล้อม เช่น การใช้พื้นไม้ลามิเนตแทนการใช้พื้นปาร์เก้ไม้จริง การออกแบบให้มิติต่างๆ ของอาคารสอดคล้องกับมิตขิ องวัสดุท่ใี ช้ในการก่อสร้างเพือ่ ความคุม้ ค่าในเชิงเศรษฐกิจ และลดเศษวัสดุซง่ึ เป็นขยะที่ต้องทิ้ง กลับสูส่ ภาพแวดล้อม ผนังกัน้ ห้องภายในห้องชุดใช้กระจกลายฝ้าแทนผนังทึบ เพือ่ รับแสงสว่างจากธรรมชาติ และยังคงมี ความเป็นส่วนตัวควบคู่กันไป กระจกภายนอกด้านทิศตะวันตก เลือกใช้กระจก Insulated Glass เพื่อลดความร้อนที่มา พร้อมกับแสงแดดในช่วงบ่ายซึ่งเป็นช่วงที่อุณหภูมิสูงที่สุดในรอบวัน การออกแบบให้มี Green Wall ในส่วนผนังของ ที่จอดรถยนต์ เพื่อลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และความร้อนเข้าสู่ส่วนพักอาศัยและบริเวณโดยรอบ การบริหารจัดการ ขยะโดยกำ�หนดให้มีการคัดแยกขยะและการจัดเก็บอย่างเหมาะสม ทั้งในช่วงของการก่อสร้างและช่วงภายหลังเมื่อ มีผู้เข้าพักอาศัยแล้ว
ENTERPRISE FINANCIAL MANAGEMENT DESIGN CONCEPT MARKETING MANAGEMENT
โดยเน้นประสิทธิภาพการบริหารชุมชนที่ยง่ั ยืน ด้วยกลยุทธ์ F-B-L-E-S+P ได้แก่ การบริหาร ระบบสาธารณูปโภคและสิง่ อำ�นวยความสะดวก ภายในโครงการ การบริ ห ารการเงินและงบ ประมาณ การเสริมสร้างวินัยและวัฒนธรรมใน การอยูอ่ าศัยร่วมกัน การรักษาสภาพแวดล้อม ภายในชุมชน รวมทั้งการใช้พลังงานอย่าง เหมาะสม การบริหารระบบรักษาความปลอดภัย และมาตรการในด้านต่างๆ อย่างเข้มข้น และ การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในงานบริหารชุมชน
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
ได้แก่ การเลือกสุขภัณฑ์ประหยัดนํ้าเพื่อการ ใช้นํ้าที่มีประสิทธิภาพ เช่น โถสุขภัณฑ์แบบ Dual Flush ซึ่งสามารถลดการใช้นํ้าลงถึง ร้อยละ 50 รณรงค์ ให้ผู้พักอาศัยอาบนํ้าด้วย ฝักบัวแทนการใช้อ่างอาบนํ้า เพื่อลดปริมาณ การใช้นํ้าโดยตรง และการนำ�นํ้าเสียที่ผ่าน การบำ�บัดมารดนํ้าต้นไม้ภายในโครงการ ซึ่ง เป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพของการใช้น�ำ้ และยัง เป็นการลดการระบายน้�ำ จากโครงการลงสูร่ ะบบ ระบายน้ำ�สาธารณะ รวมทั้งติดตั้งระบบการ รดน้�ำ ต้นไม้ภายในโครงการที่มีประสิทธิภาพ เช่น ระบบน้ำ�หยดเพื่อลดการสูญเสียน้ำ�
สร้างสิ่งแวดล้อมภายในอาคาร ที่มีคุณภาพกับผู้พักอาศัย (Indoor Environment Quality)
CONSTRUCTION PROCESS
การใช้นํ้าอย่างมีประสิทธิภาพ (Water Efficiency) (G4-EN10)
• 57
COMMUNITY MANAGEMENT
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
58 •
6 G R E E N LP N
3. Blue Ocean Strategy (กลยุทธ์นา่ นนา้ํ สีคราม) คือ การหลีกเลี่ยงทำ�เลที่มีคู่แข่งจำ�นวนมาก ราคาที่ดินสูง เพื่อลดต้นทุนและสามารถ พั ฒ นาโครงการที่ เ หมาะกั บ กลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้าหมายระดับกลางถึงกลาง-ล่าง โดยเพิม่ คุณค่าด้วยการจัดรถรับส่งเชื่อมต่อไปยัง ระบบขนส่งมวลชน การจัดให้มีสิ่งอำ�นวย ความสะดวกทีค่ รบครันในโครงการ เช่น ร้าน สะดวกซื้อ 7-Eleven ร้านซักรีด ร้านอาหาร และการออกแบบพืน้ ทีส่ ว่ นกลางให้เหมาะกับ วิถีชีวิตของผู้พักอาศัย เพื่อส่งเสริมการใช้ พื้นที่ส่วนกลางและสร้างชุมชนที่ดี
• 59
DESIGN CONCEPT MARKETING MANAGEMENT COMMUNITY MANAGEMENT
CONSTRUCTION PROCESS
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
FINANCIAL MANAGEMENT
ENTERPRISE
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
LPN คำ�นึงถึงการออกแบบ อาคารให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อม โดยพึง่ พา แสงและลมจากธรรมชาติ เพือ่ ลดการใช้พลังงาน
60 •
6 G R E E N LP N
GREEN DESIGN CONCEPT
GREEN DESIGN CONCEPT
ผลการดำ�เนินงานด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ภายใต้ ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทให้ความสำ�คัญกับการออกแบบและพัฒนาโครงการ โดยเริ่ม ตั้งแต่แนวคิดการออกแบบและวางผังโครงการเพื่อลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม และประหยัดพลังงาน ซึ่งบริษัทพั ฒ นาขึ้น จาก แนวคิ ด สถาปั ต ยกรรมเพื่อ ความยัง่ ยืน (Sustainable Design) ที่ให้ความสำ�คัญกับการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืนและลดผลกระทบ ต่อสิง่ แวดล้อมอย่างเข้มข้น อีกทัง้ ยังมุง่ เน้นการสร้างสภาพแวดล้อม ที่ดีสำ�หรับการอยูอ่ าศัย ส่งเสริมสุขภาวะและคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ตาม แนวทางการสร้าง “ชุมชนน่าอยู่ส�ำ หรับคนทุกวัย”
จากแนวคิดดังกล่าว จึงนำ�มาสู่การพัฒนามาตรฐานการออกแบบ คอนโดมิ เ นี ย มสี เ ขี ย ว หรื อ LPN Green Design Concept Standard ซึ่งพัฒนาร่วมกับมาตรฐานการก่อสร้างคอนโดมิเนียม สีเขียว หรือ LPN Green Construction Process Standard เพื่อ ป้องกันและลดผลกระทบจากการพัฒนาโครงการทีม่ ตี อ่ สิ่งแวดล้อม และสังคม ในปี 2559 บริษัทได้พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานให้มีความเข้มข้นขึ้น ตามเทคโนโลยีและความสามารถของทีมนักออกแบบ เพื่อให้ สอดรับกับปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ทวีความรุนแรง และเพื่อยกระดับ มาตรฐานการออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ภายใต้ ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สิง่ แวดล้อมจาก 7 หมวด 50 ข้อ เป็น 9 หมวด 86 ข้อ โดยเพิม่ ในเรื่องของการออกแบบเพื่อคนทุกวัย หรือ Universal Design มาเพื่ อ รองรั บ กั บ รู ป แบบการอยู่ อาศั ย ที่ กำ � ลั ง เปลี่ ย นแปลงไป ของสังคมไทย โดยมาตรฐานการออกแบบคอนโดมิเนียมสีเขียว มีหัวข้อในการพิจารณาทั้งหมด 9 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 ที่ตั้งและสภาพแวดล้อม 8 ข้อ
ได้แก่ การเลือกที่ตั้งโครงการที่เหมาะสม เพื่อ ลดผลกระทบด้านการจราจร และออกแบบให้ มีพื้นที่สีเขียวมากกว่ากฎหมายกำ�หนด หมวดที่ 2 การประหยัดนํ้า 14 ข้อ
ได้แก่ การเลือกใช้สขุ ภัณฑ์ประหยัดน้�ำ การนำ� น้ำ�ที่ผ่านการบำ�บัดแล้วมาใช้ในโครงการ เพื่อ ลดการสูญเสียน้ำ�โดยเปล่าประโยชน์ หมวดที่ 3 พลังงานและบรรยากาศ 7 ข้อ (G4-EN7) ออกแบบโครงการให้มีพื้นที่สีเขียวมากกว่า กฎหมายกำ�หนด และใส่ใจกับสุุขภาวะ ของผู้อยู่อาศัย
ได้แก่ การออกแบบห้องชุดให้มีกันสาดและ ระเบียง การออกแบบระบบแสงสว่างและระบบ ปรับอากาศให้เหมาะสมต่อการใช้งาน และมี แผนลดการใช้พลังงาน
ได้แก่ การเลือกใช้วสั ดุทเ่ี ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ใส่ใจกับสุขภาวะของผู้อยู่อาศัย และคำ�นึงถึง การไหลเวียนถ่ายเทของอากาศบริเวณพื้นที่ ส่วนกลาง
ได้แก่ การติดตั้งราวจับ อุปกรณ์เตือน และ สิ่งอำ�นวยความสะดวกต่างๆ การแยกส่วน เปียกและส่วนแห้งในห้องน้ำ�ออกจากกัน
หมวดที่ 6 คุณภาพของสภาวะแวดล้อม ภายในอาคาร (ภายในห้องชุด) 3 ข้อ
ได้แก่ การเลือกใช้วัสดุในห้องชุดที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม ปลอดภัยสำ�หรับผู้พักอาศัย ออกแบบให้มีช่องเปิดรับแสงธรรมชาติ
หมวดที่ 9 นวัตกรรมการออกแบบ 6 ข้อ
ได้แก่ การนำ�นวัตกรรมทางการออกแบบที่ เป็นเอกลักษณ์ของบริษัทมาเป็นข้อกำ�หนด เพิ่มเติม เพื่อเพิ่มความเข้มข้นของการลด ผลกระทบจากการออกแบบโครงการ
บริษัทได้นำ�มาตรฐาน LPN Green Design Concept Standard นี้ ไปใช้ในการออกแบบทุกโครงการ ยกเว้นในหมวดที่ 8 การออกแบบ เพื่อคนทุกวัย (ภายในห้องชุด) จะดำ�เนินการเมื่อได้รับการร้องขอจากเจ้าของร่วมที่มีความต้องการพิเศษ และหมวดที่ 9 นวัตกรรมการ ออกแบบ จะนำ�ไปปฏิบัติสำ�หรับโครงการที่เป็น LPN Signature Green Project
เลือกใช้วัสดุในห้องชุดที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม ปลอดภัยสำ�หรับ ผู้พักอาศัย รวมถึงออกแบบห้องชุด เพื่อคนทุกวัย มีการติดตั้งราวจับ อุปกรณ์เตือน และสิ่งอำ�นวยความสะดวก ต่างๆ มีการแยกส่วนเปียกและส่วนแห้ง ในห้องนํ้าออกจากกัน
ENTERPRISE DESIGN CONCEPT
หมวดที่ 8 การออกแบบเพือ่ คนทุกวัย (ภายในห้องชุด) 14 ข้อ
MARKETING MANAGEMENT
หมวดที่ 5 คุณภาพของสภาวะแวดล้อม ภายในอาคาร (พื้นที่ส่วนกลาง) 3 ข้อ
FINANCIAL MANAGEMENT
ได้แก่ การติ ด ตั ้ ง ราวจั บ หรื อ อุ ป กรณ์ต่างๆ การใช้ทางลาดแทนบันไดในการเปลี่ยนระดับ และการจั ด ให้ มี ที่ จ อดรถสำ � หรั บ ผู้ มี ความ ต้องการเฉพาะ IN PROCESS - 6 GREEN LPN
ได้แก่ การเลือกใช้วัสดุที่ผลิตภายในประเทศ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และออกแบบ ให้เกิดความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐกิจ เพื่อลด เศษวัสดุ ซึ่งเป็นขยะที่ต้องนำ�มาทิ้งกลับสู่ สภาพแวดล้อม
หมวดที่ 7 การออกแบบเพื่อคนทุกวัย (พื้นที่ส่วนกลาง) 28 ข้อ
CONSTRUCTION PROCESS
หมวดที่ 4 วัสดุและทรัพยากรในการก่อสร้าง 3 ข้อ
• 61
COMMUNITY MANAGEMENT
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
62 •
6 G R E E N LP N
HIGHLIGHT LPN กับการออกแบบ อาคารอนุรักษ์พลังงาน ตลอดระยะเวลากว่า 27 ปีทบ่ี ริษทั ได้พฒ ั นาอาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี” กว่า 129 โครงการ บริษัทตระหนักดีว่าเราสามารถมีส่วนสำ�คัญ ในการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนร่วมอนุรักษ์พลังงานด้วยวิธี ต่างๆ จึงได้กำ�หนดแผนจัดการพลังงานในระยะยาว เพื่อใช้ประโยชน์ทั้ง การบริหารจัดการพลังงานในโครงการเก่า และการออกแบบอาคารเพื่อ การอนุรักษ์พลังงาน ในโครงการก่อสร้างใหม่ โดยศึกษาการใช้พลังงาน ในโครงการลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง ซึ่งเป็นโครงการต้นแบบ ด้วยการ ติดตั้งระบบตรวจวัดการใช้พลังงาน (Monitoring System) เป็นเวลา 3 เดือน ผลจากการศึกษาและเก็บข้อมูลทำ�ให้บริษัทเข้าใจพฤติกรรมการใช้ พลังงานไฟฟ้าของผู้พักอาศัยเป็นอย่างดี จนสามารถนำ�ไปวิเคราะห์เพื่อ ใช้เป็นแนวทางในการลดการใช้พลังงาน ทั้งด้านนโยบาย ด้านอุปกรณ์ งานระบบไฟฟ้า และด้านการบริหารจัดการ เพื่อให้มีการจัดการพลังงาน ที่ตรงจุด สมเหตุสมผล และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมถึงการนำ� ไปใช้ออกแบบและวางผังโครงการเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดย สอดคล้องกับมาตรฐานอาคารเขียวของสหรัฐอเมริกา
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 63
และเพื่อเป็นการยืนยันถึงความมุ่งมั่นที่จะร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริม การรอนุรักษ์พลังงานอย่างจริงจัง บริษัทจึงได้ร่วมส่งแบบตรวจประเมินและ รับรองแบบอาคารเพื่ออนุรักษ์พลังงาน ตามเกณฑ์มาตรฐาน BEC (Building Energy Code) โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ซึ่งมีเกณฑ์ในการประเมิน 5 ระบบ กล่าวคือ ระบบกรอบ อาคาร ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ระบบปรับอากาศ อุปกรณ์ผลิตน้ำ�ร้อน และการ ใช้พลังงานหมุนเวียน และจากจำ�นวน 3 โครงการ 10 อาคาร ที่บริษัทร่วม ส่งแบบเข้ารับการประเมิน ผลปรากฏว่า ทุกโครงการผ่านการตรวจประเมิน แบบอาคาร โดยเป็นไปตามข้อกำ�หนดของกฎกระทรวงกำ�หนด ประเภท หรือขนาดของอาคารและมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการในการออกแบบ อาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2552 มีรายละเอียดดังนี้ 1. โครงการลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (4 อาคาร) ผ่านเกณฑ์การใช้ พลังงานรวมทุกอาคาร โดยมีการใช้พลังงานรวมต่�ำ กว่าเกณฑ์ ร้อยละ 33 2. โครงการลุมพินี วิลล์ อ่อนนุช-ลาดกระบัง (4 อาคาร) ผ่านเกณฑ์การ ใช้พลังงานรวมทุกอาคาร โดยมีค่าการใช้พลังงานรวมต่ำ�กว่าเกณฑ์ ร้อยละ 41 3. โครงการลุมพินี พาร์ค พระราม 9-รัชดา (2 อาคาร) ผ่านเกณฑ์การ ใช้พลังงานรวมทุกอาคาร โดยมีค่าการใช้พลังงานรวมต่ำ�กว่าเกณฑ์ ร้อยละ 45 จากการผ่านตรวจประเมินดังกล่าว ส่งผลให้บริษัทได้รบั โล่ประกาศเกียรติคณุ แบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน ปี 2559 จากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน ในงานมอบฉลากแบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน 2559 (BEC Awards 2016)
64 •
6 G R E E N LP N
GREEN MARKETING MANAGEMENT กลยุทธ์การตลาดที่เป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง 1. กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ (Product)
GREEN MARKETING MANAGEMENT
GREEN Marketing Management คือ การตลาด ที่เป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง บริษัทกำ�หนด กลยุทธ์การตลาดให้สอดคล้องกับปณิธานในการ สร้างบ้านหลังแรกที่มีคุณภาพในราคาที่สามารถ เป็นเจ้าของได้ ให้กับกลุ่มเป้าหมายระดับกลางถึง กลาง-ล่าง เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตและสังคมที่ดี ด้วยความรับผิดชอบต่อผู้บริโภคทั้งก่อนและหลัง การส่งมอบ และดำ�เนินนโยบายการตลาดทีเ่ ป็นธรรม เคารพสิทธิของผู้บริโภค รวมทั้งปฏิบัติต่อคู่แข่ง อย่างเป็นธรรม ไม่โจมตี โดยแบ่งตามกลยุทธ์ ทางการตลาด 6 ประการ (6Ps) อันได้แก่ 1. กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) 2. กลยุทธ์ด้านราคา (Price) 3. กลยุทธ์ด้านช่องทางจัดจำ�หน่าย (Place) 4. กลยุทธ์ด้านกิจกรรมส่งเสริม การขาย (Promotion) 5. กลยุทธ์ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้อง (People) 6. กลยุทธ์ด้านขั้นตอนและกระบวนการ (Process)
ส่งมอบคุณค่าผลิตภัณฑ์ท่โี ดดเด่นและแตกต่าง จากคู่แข่ง ทั้งห้องชุดและพื้นที่ส่วนกลาง โดย พัฒนารูปแบบจากองค์ความรู้และประสบการณ์ ในการพัฒนาโครงการ และการบริหารจัดการ ชุมชนตามแนวทาง “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคน ทุกวัย” เพือ่ ตอบสนองกับวิถชี วี ติ ของผูพ้ กั อาศัย รวมทั้งควบคุมมาตรฐานการก่อสร้างและการ เลือกใช้วัสดุ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ห้องชุดที่ เหมาะกับการใช้ชีวิต 2. กลยุทธ์ด้านราคา (Price)
ตั้งราคาผลิตภัณฑ์ตํ่ากว่าของคู่แข่งในระดับ เดียวกัน ด้วยการบริหารต้นทุน และค่าใช้จ่าย ในทุกกระบวนการผลิต เพื่อให้ลูกค้าสามารถ เป็นเจ้าของได้ โดยกำ�หนดอัตรากำ�ไรและวาง เงื่อนไขการผ่อนดาวน์ที่เหมาะสมตามสถานะ กลุ่มเป้าหมาย พร้อมทั้งจัดหาบริการทาง การเงิน เพื่อช่วยเหลือให้ลูกค้ามีความสะดวก ในการยื่นขอสินเชื่อและสร้างโอกาสในการมี ที่อยู่อาศัยได้ง่ายขึ้น 3. กลยุทธ์ด้านช่องทาง การจัดจำ�หน่าย (Place)
ทำ � เลที่ ตั้ ง ของสำ � นั ก งานขายต้ อ งตั้ ง อยู่ ห รื อ อยู่ใกล้กบั พืน้ ทีพ่ ฒ ั นาโครงการ เพือ่ ความสะดวก ในการเดิ น ทางและเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล โครงการ รวมถึงสามารถให้รายละเอียดการขายที่ชัดเจน ไม่มีวาระซ่อนเร้น เข้าใจง่าย ในโครงการ ต่างจังหวั ด บางโครงการอาจมี ห้ อ งตั ว อย่ า ง ให้ชมในสำ�นักงานขายกลางย่านธุรกิจใจกลาง เมือง เพื่อความสะดวกในการเดินทางแก่ลูกค้า ที่สนใจ
• 65
ENTERPRISE
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
6. กลยุทธ์ด้านขั้นตอน และกระบวนการ (Process)
ทำ�การส่ ง เสริ ม การขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ กับ ผู้บริโภคด้วยความโปร่งใส โดยคำ�นึงถึง ผลประโยชน์ของทั้ง 2 ฝ่าย มีเงื่อนไขการ ขายที่คำ�นึงถึงความสามารถด้านการเงิน ของลูกค้า โฆษณาประชาสัมพันธ์ ในทาง สร้างสรรค์ ชัดเจน ไม่เอารัดเอาเปรียบ และ ไม่มีวาระซ่อนเร้น รวมทั้งปฏิบัติต่อคู่แข่ง ทางธุรกิจอย่างเป็น ธรรม ไม่โจมตี หรือ เอาเปรียบในการแข่งขัน
คำ�นึงถึงความสะดวกสบายของลูกค้าเป็น สำ�คัญ ขั้นตอนการจองและทำ�สัญญาจะต้อง รวดเร็ว ไม่ซับซ้อน มีวิธีและช่องทางชำ�ระ เงินทีส่ ะดวก ทำ�ได้หลายช่องทาง การยึดและ คืนเงินมัดจำ� ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ คำ�นึงถึงปัญหาและความจำ�เป็นของลูกค้า เป็นหลัก รวมทั้งลดข้อร้องเรียนที่เกิดจาก ความคาดหวังด้วยการระบุประเด็นสำ�คัญ ไว้ในสัญญาจองซื้อ และสื่อสารสร้างความ เข้าใจกับลูกค้า
5. กลยุทธ์ด้านบุคคลที่เกี่ยวข้อง (People)
ให้ความสำ�คัญกับความพึงพอใจของลูกค้า โดยมีการกำ�หนดมาตรฐานและอบรมการ บริการทุกจุดสัมผัส (Touch Point) เช่น พนักงานขาย แม่บ้าน รปภ. ตาม LPN Service Culture (S-E-R-V-I-C-E-S) อย่าง ต่อเนื่อง เพือ่ สร้างประสบการณ์เชิงบวก และ สร้างยอดขายจากการบอกต่อ โดยมีตัวชี้วัด ความภักดีของลูกค้า (NPS) เป็นการประกัน บริการหลังการขาย รวมทั้งมีช่องทางใน การรั บ ข้ อ เสนอแนะและเรื่ อ งร้ อ งเรี ย น เพื่อนำ�มาปรับปรุงการให้บริการ
DESIGN CONCEPT MARKETING MANAGEMENT CONSTRUCTION PROCESS
4. กลยุทธ์ด้านกิจกรรมส่งเสริม การขาย (Promotion)
COMMUNITY MANAGEMENT
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
FINANCIAL MANAGEMENT
พนักงานทุกคน ให้ความสำ�คัญกับ ความพึงพอใจ ของลูกค้า โดยได้รับการอบรม ในเรื่องการบริการ
66 •
6 G R E E N LP N
GREEN MARKETING MANAGEMENT
GREEN MARKETING MANAGEMENT
ผลการดำ�เนินงานด้านการตลาดที่เป็นธรรมกับผู้บริโภคและคู่แข่ง บริษัทให้ความสำ�คัญกับลูกค้ามาเป็นอันดับแรก ดังนัน้ การบริหารประสบการณ์ลกู ค้า (Customer Experience Management) จึงถูกกำ�หนด ให้เป็นกลยุทธ์หลักในการดำ�เนินงานขององค์กร ทั้งด้านมิติเงินตราและมิติคุณค่า เพื่อความเป็นธรรมของผู้บริโภคและคู่แข่ง ในปีนี้ บริษัทมุ่งเน้นพัฒนาการดูแลลูกค้าให้ตรงตามความต้องการในแต่ละช่วงอายุของลูกค้า (Customer Life Cycle) และสร้างความพึงพอใจใน การให้บริการ เพื่อเพิ่มความภักดี (Brand Loyalty) ของลูกค้าที่มีต่อองค์กร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเป้าหมายด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน ผ่าน การดูแลลูกค้าตาม 3 ช่วงเวลา คือ
ช่วงที่ 1 : ก่อนซื้อ
ช่วงที่ 2 : ระหว่างซื้อ
ช่วงที่ 3 : หลังซื้อ
ตัง้ แต่เริม่ สนใจโครงการ ลูกค้าต้อง ได้รบั ข้อมูลทีถ่ กู ต้องตรงตามความต้องการ ไม่บดิ เบือน เพือ่ การตัดสินใจและได้รบั บริการทีป่ ระทับใจ
ลูกค้าต้องได้รบั การสือ่ สารข้อมูลความคืบ หน้าโครงการและกระบวนการดำ�เนินงาน ของบริษัท เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณค่า ผลิตภัณฑ์และบริการ และเตรียมความ พร้อมในการเข้าอยู่อาศัย ทั้งยังสื่อสาร กำ�หนดการกิจกรรมต่างๆ เช่น เซ็นสัญญาจะซื้อจะขาย ยื่นสินเชื่อ ส่งมอบห้องชุด
เริ่มตั้งแต่รับมอบผลิตภัณฑ์และ เข้าอยู่อาศัย ลูกค้าจะได้รับการดูแล คุณภาพชีวติ และความปลอดภัย ผ่านการ บริหารชุมชน ตามแนวคิด “ชุมชนน่าอยู่ สำ�หรับคนทุกวัย”
บรรยากาศระหว่างการเปิดขาย โครงการลุมพินี
• 67
ENTERPRISE
• การบริหารความพึงพอใจและข้อร้องเรียน
27. เจาหนาที่ธุรการนิติฯ 26. ผูจัดการชุมชน 25. หองชุด 24. ทรัพยสวนกลาง 23. สิ�งอำนวยความสะดวก
Touch Point Wheel เจาของรวม/ผูพักอาศัย (Resident/Co-owner)
22. เจาหนาที่ธนาคาร 21. เจาหนาที่ปยมิตร 20. เจาหนาที่กอสราง 19. เจาหนาที่บร�หารประสบการณลูกคา 18. เจาหนาที่ LPN
10. กิจกรรมงานรับมอบหองชุด
ลูกคาผอนดาวน (Customer)
11. สำนักงานโอนฯ 12. สำนักงานนิติฯ 13. LPN Payment Card 14. ระบบติดตามคางวด 15. Mobile App.
16. เจาหนาที่โอนฯ 17. เจาหนาที่การเง�น
นอกจากการให้ บ ริ การที่ ไ ด้ ม าตรฐานเพื่ อ การสร้ า งประสบการณ์ ที่ ดี ใ นทุ ก จุ ด สั ม ผั ส (Touch Point) ให้กับลูกค้าแล้ว บริษัทได้มีการวัดผลการดำ�เนินงานผ่านการประเมิน ความพึงพอใจการใช้บริการทั้งสิ้น 9 กระบวนการ 21 Touch Point ที่ได้ให้บริการสัมผัส กับลูกค้าโดยตรง ซึ่งภาพรวมความพึงพอใจจากการให้บริการของบริษัทยังคงสูงขึ้น โดยเฉพาะในด้านการขายและการบริหารชุมชนตามแนวทาง “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคน ทุกวัย” คะแนนความพึงพอใจจากการให้บริการของบริษัท เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 93 และ มีระดับการเป็นผู้สนับสนุนองค์กร (Net Promoter Score : NPS) จาก 4 กลุ่มลูกค้า ได้แก่ ผู้ใช้บริการงานโอนกรรมสิทธิ์ เจ้าของร่วมและผู้พักอาศัย กรรมการเจ้าของร่วม ผู้ใช้บริการธุรกิจนายหน้า เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 49 ผลคะแนนดังกล่าวเป็นเสียงสะท้อนจาก ลูกค้าถึงความเชื่อมั่นในแบรนด์ “ลุมพินี”
DESIGN CONCEPT MARKETING MANAGEMENT
30. แมบานนิติฯ 29. รปภ. นิติฯ 28. ชางอาคาร
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
32. เจาหนาที่ซอมหลังโอน 31. รปภ.สัมพันธ
1. ที่จอดรถ 2. สำนักงานขาย 3. www.lpn.co.th 4. หองตัวอยาง 5. กิจกรรมงานขาย 6. Call Center ลูกคาผูสนใจโครงการ (Prospect) 7. เจาหนาที่ขาย 8. แมบานสำนักงานขาย 9. รปภ. สำนักงานขาย
CONSTRUCTION PROCESS
35. พนักงานขับรถตู 34. แจวคอนโด 33. เจาหนาที่ธุรกิจนายหนา
FINANCIAL MANAGEMENT
บริษัทมีแนวทางการบริหารประสบการณ์ลูกค้า (Customer Experience Management) ด้วยการออกแบบการให้บริการลูกค้าผ่านจุดสัมผัส (Touch Point) ทุกจุดที่พบปะลูกค้าโดยตรง ทั้งที่เป็นคน (Human-Touch Point) และที่ไม่ใช่คน (Non-Human Touch Point) เพื่อสร้าง ประสบการณ์ที่ดีและสร้างความพึงพอใจ รวมทั้งมีการนำ�ข้อมูลมาปรับปรุงแก้ไขและกำ�หนดมาตรฐานอยู่เสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าลูกค้าจะได้ รับประสบการณ์ที่ดีจากทุกจุดสัมผัส
COMMUNITY MANAGEMENT
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
68 •
6 G R E E N LP N
สรุปคะแนนความพึงพอใจ (G4-PR5) 100 80 60 40 20 0
%
97 97 96
98 97 96
85 85 84
92 94 93
92 93 94
91 91 93
91 93 93
92 92 95
ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
94 92
คะแนนความพึงพอใจ จากการให้บริการ ของบริษัทเฉลี่ยอยู่ที่
Call Center
งานขาย
งานก่อสร้าง
งานโอน
ประชุมใหญ่ กรรมการ เจ้าของร่วม เจ้าของร่วม
ซ่อม หลังโอน
ธุรกิจ นายหน้า
93%
แจ๋วชุมชน
สรุปคะแนนความภักดี (NPS) 80 60 40 20 0
%
32
44 43
44 49 46
46 45
55 36 36
ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
50
คะแนนความภักดี (NPS) ของบริษัทเฉลี่ยอยู่ที่
Call Center
งานขาย
งานก่อสร้าง
งานโอน
ประชุมใหญ่ กรรมการ เจ้าของร่วม เจ้าของร่วม
ซ่อม หลังโอน
ธุรกิจ นายหน้า
49%
แจ๋วชุมชน
• สรุปคะแนนความพึงพอใจ 02
01
การซื้อที่ดิน
การเลือกทำเล
03
04
การออกแบบโครงการ
การบร�หารจัดการ ทางการเง�น
05
การบร�หาร การตลาดและการขาย
Call Center จนท.ขาย
06
การบร�หาร ประสบการณลูกคา
07
การบร�หารโครงการ
08
การสงมอบหองชุด
09
การเตร�ยมความพรอม กอนพักอาศัย
010
การบร�หารชุมชน
96% 96%
บร�หารชุมชน
รปภ. แจวลุมพ�นี กิจกรรมสงมอบ จนท. โอนกรรมสิทธิ์ จนท.กอสราง จนท.ธนาคาร ผลิตภัณฑ
คะแนนความภักดี (NPS) (ปี 58 = 44%)
49%
95% 92% 99% 96% 84%
ผจก.ชุมชน ธุรการชุมชน ชางชุมชน
96% 96% 93%
จนท. บร�การงานซอม จนท. ธุรกิจนายหนา Facility Solution
91% 92%
94% 95% 93% 87%
ความพึงพอใจในการให้บริการ (ปี 58 = 93%)
จนท.ตอนรับชุมชน 94% จนท.บร�การชุมชน 95%
93%
ในปี 2560 บริษัทตั้งเกณฑ์การชี้วัดมาตรฐานบริการที่ร้อยละ 85 เท่ากับปีที่ผ่านมา แต่มีแผนในการปรับเปลี่ยนวิธีการคำ�นวณให้เข้มข้นขึ้น รวมทั้งหาแนวทางในการเพิ่มระดับคะแนนความภักดี (NPS) เพื่อพัฒนามาตรฐานงานบริการให้ดียิ่งขึ้น
• 69
กระบวนการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนของบริษัท มีดังนี้
1. รับเรือ่ งร้องเรียนจากช่องทางต่างๆ - LPN Care, Website, Call Center - สายตรงถึงพนักงาน - เว็บไซต์ภายนอก เช่น pantip.com - ผูบ้ ริหาร
ฝ่ายบริหาร ประสบการณ์ลกู ค้า (CEM)
ลูกค้า/ ผู้อยู่อาศัย
เริ่มต้น รับเรื่องร้องเรียน
2. ส่งต่อเรือ่ งร้องเรียนหรือโทรแจ้งฝ่าย ทีเ่ กีย่ วข้องภายใน 1 วัน และบันทึก ในระบบร้องเรียน
สำ�เนารายงาน เรื่องร้องเรียน
รายงานเรื่องร้องเรียน และบันทึกในระบบ
3. ฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องรับเรือ่ งร้องเรียน เพือ่ ติดต่อลูกค้าภายใน 1 วัน หลังจากรับเรือ่ งร้องเรียน
รับรายงาน เรื่องร้องเรียน
สอบถาม ปัญหา
4. ดำ�เนินการ แก้ไข และบันทึก ผลการแก้ไขในระบบและโทรแจ้ง แนวทางการแก้ปญั หากับลูกค้า
ดำ�เนินการแก้ไข
อธิบายการ แก้ปัญหา
5. ฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องรายงานผลการแก้ไข กับฝ่ายบริหารประสบการณ์ลกู ค้า และผูบ้ ริหาร 6. ติดต่อลูกค้าเพือ่ สอบถามผลการแก้ไขปัญหา 7. สรุปรายงานประจำ�เดือนส่งผูบ้ ริหาร และฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง 8. จัดเก็บรายงาน พร้อมนำ�กรณีทน่ี า่ สนใจ แบ่งปันและศึกษา เพือ่ เป็นองค์ความรู้ (Knowledge Sharing)
ผู้บริหาร
FINANCIAL MANAGEMENT DESIGN CONCEPT CONSTRUCTION PROCESS
ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
รายงานผลการแก้ไข
รายงานผลการแก้ไข สอบถามผล การแก้ไขปัญหา รายงานเรือ่ งร้องเรียน จัดเก็บรายงาน
จบการทำ�งาน
COMMUNITY MANAGEMENT
กระบวนการ
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
ในปีนี้บริษัทมีช่องทางในการรับเรื่องร้องเรียน 4 ช่องทาง คือ LPN Mobile App, Website, Call Center และบุคลากรของบริษัท ซึ่งบุคลากร ของบริษัทเป็นช่องทางใหม่ที่เพิ่มขึ้นจากปี 2559 โดยภายหลังจากได้รับเรื่องร้องเรียนแล้ว บริษัทจะมีกระบวนการแก้ไขภายใน 5 วัน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความเร่งด่วนของปัญหา และแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยมีกระบวนการในการจัดการกับเรื่องร้องเรียน 8 ขั้นตอน รวมทั้งได้ เก็บรวบรวมวิธีการในการแก้ไขปัญหาไว้ในรูปแบบของการบริหารจัดการความรู้ (KM : Knowledge Management) เพื่อเป็นองค์ความรู้ใน ด้านงานบริการให้กับพนักงานต่อไป
ENTERPRISE
นอกเหนือจากการสร้างประสบการณ์เชิงบวกให้กับลูกค้าแล้ว บริษัทยังมีกระบวนการในการรักษาลูกค้า (Customer Retention) ผ่าน ช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน ซึ่งถือเป็นโอกาสที่จะรับทราบข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นจากการใช้ผลิตภัณฑ์และบริการ และดำ�เนินการแก้ไข ปรับปรุงได้ตรงจุด ด้วยการนำ�เรือ่ งที่ได้รบั การร้องเรียนเข้าสูก่ ระบวนการบริหารจัดการเรือ่ งร้องเรียน (Complaint Management Process) เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของลูกค้า และป้องกันไม่ให้ปัญหาลุกลาม เนื่องจากปัจจุบัน สื่อสังคมออนไลน์สามารถทำ�ให้ข้อมูล แพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว จึงอาจทำ�ให้ปัญหาเล็กน้อยกลายเป็นปัญหาใหญ่ได้ ดังนั้น ความรวดเร็วของการแก้ไขปัญหา จึงเป็นสิ่งที่ พนักงานทุกคนยึดถือและปฏิบัติด้วยดีตลอดมา
MARKETING MANAGEMENT
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
70 •
6 G R E E N LP N
• ข้อร้องเรียน 2559 ปีที่ผ่านมาบริษัทยังไม่มีข้อร้องเรียนจากผู้พักอาศัยและผู้เกี่ยวข้องที่สร้างผลกระทบต่อองค์กร บริษัทได้รวบรวมและจัดกลุ่มข้อร้องเรียน ต่างๆ เพื่อใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงการดำ�เนินงาน โดยเฉพาะกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการส่งมอบคุณค่าผลิตภัณฑ์และบริการ ทั้งนี้ บริษัทได้แบ่งกลุ่มข้อร้องเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 คุณค่าผลิตภัณฑ์ (Product Value)
กลุ่มที่ 2 คุณค่าบริการ (Service Value)
แบ่งเป็น 2 หมวดย่อย
แบ่งเป็น 2 หมวดย่อย 1. คุณคาผลิตภัณฑ (Product Value)
1. เร�่องรองเร�ยน จากผลิตภัณฑ
2. เร�่องรองเร�ยน จากบานขางเคียง
2. คุณคาบร�การ (Service Value)
1. เร�่องรองเร�ยน จากการบร�หารชุมชน
2. เร�่องรองเร�ยน จากการบร�การ
บร�หารชุมชน
• การเก็บงานหองชุด ไมเร�ยบรอย • นํ้ารั่ว • วัสดุหร�ออุปกรณชำรุด
• ปญหาเร�่องเสียงหร�อฝุน ที่ไดรับการรองเร�ยนจาก ผูที่อาศัยอยูในบร�เวณ ใกลโครงการที่อยูระหวาง การกอสราง
• เร�่องรองเร�ยนจากการ บร�หารชุมชนภายใตกลยุทธ F-B-L-E-S
• กิร�ยามารยาทของพนักงาน • คุณภาพของงานบร�การ
• สรุปข้อร้องเรียนปี 2559 ข้อร้องเรียนมีจำ�นวน 603 เรื่อง ลดลงจากปี 2558 จำ�นวน 203 เรื่อง (ร้อยละ 25) และมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง จากการที่ช่องทาง สื่อสารสะดวกมากยิ่งขึ้น ทำ�ให้การประสานงานแก้ไขปัญหารวดเร็ว หากเปรียบเทียบข้อร้องเรียนต่อจำ�นวนลูกค้า (116,297 ยูนิต) คิด เป็นร้อยละ 0.5 แต่บริษทั ยังให้ความสำ�คัญในการบริหารจัดการทุกเรือ่ ง ร้องเรียน ด้านการบริการ (Touch Point) มีข้อร้องเรียนจำ�นวน 340 เรื่อง ลดลง 41 เรื่อง (ร้อยละ 11) จากปีที่ผ่านมา ด้านการบริหาร จัดการ F-B-L-E-S มีข้อร้องเรียนจำ�นวน 235 เรือ่ ง ลดลง 145 เรือ่ ง (ร้อยละ 39) นอกจากนี้บริษัทได้รวบรวมคำ�ชมเชยและความประทับ ใจจากลูกค้าที่ได้รับประสบการณ์เชิงบวก ผ่านช่องทางของบริษัท จำ�นวน 134 เรื่อง ซึ่งสูงกว่าทุกปีที่ผ่านมา รวมทั้งยังสื่อสารชมเชย ภายในองค์กร เพือ่ ให้เป็นแบบอย่างและสร้างความภูมิใจให้แก่พนักงาน ให้รักษามาตรฐานการบริการที่ดีอย่างต่อเนื่อง
ปริมาณเรื่องติดต่อทั้งหมด จำ�นวน 870 เรื่อง
15% 870 เร�่อง
ขอเสนอแนะ (133 เร�่อง)
15% ชมเชย (134 เร�่อง)
70% เร�่องรองเร�ยน (603 เร�่อง)
• 71
ENTERPRISE
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
ช่องทางการติดต่อ
Personal 1 เร�่อง
ป 2558
ป 2559
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
352 เร�่อง 184 เร�่อง
Call Center 204 เร�่อง 253 เร�่อง 204 เร�่อง
Website 214 เร�่อง
CONSTRUCTION PROCESS
201 เร�่อง 214 เร�่อง
COMMUNITY MANAGEMENT
เรื่องร้องเรียน แบ่งเป็น 4 หมวดหมู่ จำ�นวนเรื่องร้องเรียน 603 เรื่อง
1%
People (S-E-R-V-I-C-E-S) 340 เร�่อง
L 158
4%
Environment (In/Out/As Process) 5 เร�่อง (G4-EN34)
56%
Product Value (Q-C-S-E-S) 23 เร�่อง
F 55
39%
เร�่องรองเร�ยน จำนวน 603 เร�่อง
B 1
Service Value (F-B-L-E-S) 235 เร�่อง
ที่จอดรถ ไฟฟา ประปา
1
Touch Point 5 อันดับ
2
ผจก.ชุมชน
จนท.ธุรการชุมชน
เพ�่มข�้น 14 เร�่องจากปที่แลว เร�่อง การติดตามงาน
ลดลง 24 เร�่องจากปที่แลว เร�่อง ผ�ดพลาด/เลินเลอ
81 เร�่อง
MARKETING MANAGEMENT
LPN Care 184 เร�่อง
DESIGN CONCEPT
FINANCIAL MANAGEMENT
1 เร�่อง
43 เร�่อง
3
รปภ.ชุมชน
39 เร�่อง
เพ�่มข�้น 2 เร�่องจากปที่แลว เร�่อง พ�ดจาไมสุภาพ/หวน
เก็บคา เสียงรบกวน สวนกลาง กฏระเบียบ ซ้ำ บุหร�่
4
จนท.ขาย
27 เร�่อง
เพ�่มข�้น 2 เร�่องจากปที่แลว เร�่อง ไมตามงาน ไม Response
S 17
E 4 ขยะ
คียการด ไมกั้น
5
ชางชุมชน
24 เร�่อง
เพ�่มข�้น 5 เร�่องจากปที่แลว เร�่อง ชา/ไมติดตามงาน
72 •
6 G R E E N LP N
แนวทางบริหารข้อร้องเรียน
1. เพิม่ ความรวดเร็วในการตอบสนองข้อร้องเรียน จากเดิมภายใน 8 ชม. เหลือเพียง 3 ชม. เพื่อให้ทันกับความต้องการของลูกค้า และกำ�หนดระยะเวลาแก้ไขข้อร้องเรียนในแต่ละ เรื่องตามประเภทของข้อร้องเรียน (ภายใน 3, 5, 7 วัน) 2. พัฒนามาตรฐานการให้บริการ โดยการจัดฝึกอบรมด้านการรับมือข้อร้องเรียนจาก ลูกค้าและการให้บริการ ในส่วนงานทีต่ อ้ งพบปะลูกค้าเป็นประจำ� 3. สุ่มตรวจสอบการให้บริการผ่านลูกค้าสมมุติ เพื่อหาจุดบกพร่องและปรับปรุงแก้ไข ซึ่งการตรวจนั้นจะทำ�ผ่านบุคคลที่สาม ซึ่งไม่มีส่วนได้เสียกับผลการสำ�รวจที่เกิดขึ้น 4. บริหารข้อร้องเรียนตามระดับความรุนแรงและผลกระทบต่อลูกค้า
3 Hours เพิ่มความรวดเร็ว ในการตอบสนองข้อร้องเรียน จากเดิมภายใน 8 ชั่วโมง
เหลือเพียง
3
ชั่วโมง
บร�หารจัดการขอรองเร�ยนตามกลุม (603 เร�่อง) ระดับความรุนแรง สูง
กลุม 2 รุนแรงถึงข�้นเลิกใชบร�การ - ฝนตก นํ้ารั่วซึม
จำนวน 43 เร�่อง
= 7%
กลุม 4 เร�่องรองเร�ยนทั่วไป - บุหร�่ - เสียงรบกวน - กฎระเบียบ
จำนวน 254 เร�่อง
= 42%
ต่ำ
กลุม 1 รุนแรงมากมีผลกระทบ ตอองคกร
จำนวน 0 เร�่อง
= 0%
กลุม 3 ไมรุนแรงแตความถี่สูง
- ไมตามงานให / ชา / ไม Response - จนท.ผ�ดพลาด/เลินเลอ/ไมไดมาตรฐาน
จำนวน 306 เร�่อง
ระดับความถี่
= 51% สูง
แนวทางป้องกันข้อร้องเรียน
การสื่อสารผ่าน LINE เป็นช่องทางที่แพร่หลายและได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน เพราะพฤติกรรมการรับข่าวสารทีเ่ ปลี่ยนแปลงไป ทำ�ให้เทคโนโลยีเข้ามามีสว่ นในการกระจาย ข้อมูลและตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว บริษัทจึงได้เลือกใช้เครื่องมือดังกล่าวในการสื่อสาร เพื่อลดปัญหาการขาดการติดต่อกับลูกค้าระหว่างจองซื้อ และสร้างความเชื่อมั่นในคุณค่า ผลิตภัณฑ์และบริการ แนวทางการสือ่ สารผ่าน LINE ของบริษทั คือ การให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับ โครงการ ขั้นตอนการยื่นสินเชื่อ ข้อมูลการพักอาศัย และข้อควรรู้ให้ลูกค้าได้รับทราบ ล่วงหน้า เพื่อลดข้อร้องเรียนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งยังเป็นการสื่อสาร 2 ทาง (TwoWay Communication) ซึง่ สามารถถาม-ตอบข้อมูล ข้อสงสัย แจ้งเรือ่ ง ประสานงานบริการ ต่างๆ ได้อีกช่องทางหนึ่ง จากการเริ่มสื่อสารกับลูกค้าระหว่างซื้อตั้งแต่ไตรมาส 2 ของปี 2559 นี้ มีผลทำ�ให้จำ�นวน ข้อร้องเรียนของโครงการลดลงร้อยละ 64 และลูกค้าพึงพอใจในการสือ่ สารช่องทาง LINE กว่า ร้อยละ 94 เพราะการตอบกลับที่รวดเร็วและได้รับทราบข้อมูลที่ต้องการ
ลูกค้าระหว่างซื้อ พึงพอใจในการสื่อสาร ช่องทาง LINE กว่า
94% ข้อร้องเรียน ของโครงการ ลดลง
64%
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 73
• การสำ�รวจงานบริการโดยลูกค้าสมมุติ
แตงกาย หองตัวอยาง และสิ�งอำนวย ความสะดวก
ปฏิบัติตอ ลูกคา บุคลิกภาพ
FINANCIAL MANAGEMENT CONSTRUCTION PROCESS
ความรู ความสามารถ
ที่จอดรถ และปายตางๆ
สภาพแวดลอม โดยรอบ
ความสะอาด
COMMUNITY MANAGEMENT
ติดตามผล
DESIGN CONCEPT
ที่ตั้ง
MARKETING MANAGEMENT
ตอนรับ
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
ขอบเขตการสำ �รวจงานบริการ ขอบเขตการสำรวจงานบร� การ
ENTERPRISE
นอกจากการออกแบบงานบริการในทุกจุดสัมผัสเพือ่ ให้เป็นไปตามมาตรฐานแล้ว บริษทั ยังเพิ่มการตรวจสอบการทำ�งานของพนักงานผ่านการ สำ�รวจงานบริการโดยลูกค้าสมมุติ ซึง่ เข้าไปสำ�รวจและประเมินผลการให้บริการ โดยจะนำ�จุดบกพร่องมาปรับปรุงการบริการและกำ�หนด เป็นมาตรฐาน เพื่อพัฒนาการบริการและสร้างประสบการณ์ที่ดีต่อลูกค้าและผู้พักอาศัย ซึ่งการสำ�รวจจะแบ่งออกเป็น 2 หัวข้อ ดังนี้ 1. บุคลากร (การแต่งกาย การต้อนรับ การตอบสนอง การให้ข้อมูล-ความรู้ บุคลิกภาพ และการติดตามผล) 2. สถานที่ (ความสะอาด ความสะดวกสบาย สภาพแวดล้อม และสถานที่ตั้ง)
74 •
6 G R E E N LP N
HIGHLIGHT การสื่อสารทาง LINE จากการที่บริษัทได้พบข้อบกพร่องเรื่องการสื่อสารกับลูกค้าที่ ขาดช่วงไปในระหว่างจองซื้อ เป็นสาเหตุให้ลูกค้าบางรายขาด ความเชื่อมั่นในการพัฒนาโครงการ บริษัทได้ศึกษาพฤติกรรมและ หาช่องทางการสื่อสารที่เข้าถึง เพื่อให้ลูกค้าได้รับการติดต่ออย่าง ต่อเนื่องและลดข้อร้องเรียนโครงการเปิดใหม่ ซึ่งจากข้อมูลการ สำ�รวจของบริษัท Zocial Inc. พบว่า คนไทยใช้โปรแกรมสนทนา ออนไลน์ LINE กว่า 33 ล้านคน ถือเป็นช่องทางการติดต่อสื่อสาร สองทางที่เข้าถึง มีความเป็นส่วนตัว และได้รับความนิยมสูงใน ประเทศไทย
% ของโปรแกรมออนไลน์ที่คนไทยใช้ติดต่อสื่อสาร
99% 84% 56% 41%
LINE จึงเป็นเครื่องมือที่บริษัทนำ�มาใช้ในการลดปัญหาการสือ่ สาร กับลูกค้า โดยในปัจจุบันมีกลุ่มการสื่อสารข้อมูลถึงลูกค้าทั้งสิ้น 14 กลุ่มโครงการ
ลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98
817
สมาชิก
ลุมพินี ซีวิว ชะอำ�
149
สมาชิก
ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว
492
สมาชิก
ลุมพินี สวีท เพชรบุรี-มักกะสัน
223
สมาชิก
เดอะ ลุมพินี 24
325
สมาชิก
30%
ลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (เฟส2)
71
สมาชิก
ลุมพินี มิกซ์ เทพารักษ์-ศรีนครินทร์
776
สมาชิก
ลุมพินี วิลล์ ราษฎร์บรู ณะ-ริเวอร์ววิ 2
126
สมาชิก
Here is home
372
สมาชิก
ลุมพินี วิลล์ ราชพฤกษ์-บางแวก
254
สมาชิก
ลุมพินี พาร์คบีช ชะอำ�
703
สมาชิก
LPN-Exclusive
89
สมาชิก
ลุมพินี เพลส บางนา กม.3
436
สมาชิก
ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 76แบริ่ง สเตชั่น
223
สมาชิก
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 75
แนวทางการดูแลลูกค้าบน LINE
บริษัทกำ�หนดหัวข้อสื่อสารด้วยการนำ�คำ�ถามที่พบบ่อยจากลูกค้า มาปรับปรุงรูปแบบและเนื้อหาสื่อสารให้เข้าใจได้ง่าย พร้อมสอดแทรก ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ในการอยู่อาศัย นอกจากนั้น ยังมีกิจกรรมร่วมสนุกเพื่อสร้างความสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม LINE เป็นการ สื่อสารแบบสองทาง (Two-Way Communication) โดยมีการกำ�หนดระยะเวลาในการตอบกลับลูกค้าที่ส่งคำ�ถามหรือแจ้งประสานงาน ภายใน 3 ชม. เพื่อเป็นการลดความกังวลใจของลูกค้า ตัวอย่างหัวข้อการสื่อสาร
จอง - เอกสารที่จะไดรับหลัง ชำระเง�นจอง - ว�ธีการชำระเง�น ผอนดาวน
ผอนดาวน
ยืน่ กู
- การรักษาเครดิตระหวาง ผอนดาวน - ความคืบหนาโครงการ - กิจกรรมลุมพ�นีมีสุข - เชิญยื่นสินเชื่อ
- เอกสารที่ใชในการ ยื่นสินเชื่อ - ดอกเบี้ยธนาคาร - นัดเซ็นสัญญา - วันตรวจรับหอง
โอน - คาใชจายวันโอน - ติดตามงานซอม
- แนะนำเจาหนาที่ นิติบุคคล - แจงเปดน้ำไฟ - การตกแตง
วันสงมอบ - กฏระเบียบ - ว�ธีการชำระ คาใชจายอื่นๆ - สันทนาการ - แจงประชุม AGM
ความรูทั่วไป วันสำคัญ เทศกาล และกิจกรรมขาวสาร
ผลการเพิ่มช่องทาง LINE ในการสื่อสาร
ภายหลังจากการใช้โปรแกรม LINE เป็นอีกหนึ่งเครื่องมือสื่อสาร ระดับความพึงพอใจของลูกค้าในการสื่อสารและตอบกลับจากบริษัท สูงถึงร้อยละ 96 เรื่องร้องเรียนในโครงการลดลงถึงร้อยละ 64 จากความสำ�เร็จในการลดช่องว่างระหว่างบริษัทและลูกค้าระหว่างจองซื้อ ด้วยช่องทางการสื่อสารดังกล่าว บริษัทมีแผนที่จะส่งมอบเครื่องมือให้ทีมงานบริหารชุมชน ใช้ในการสื่อสารภายในชุมชนหลังการเข้า อยู่อาศัยแล้วต่อไป
ลูกค้าระหว่างซื้อ พึงพอใจในการสื่อสาร ช่องทาง LINE กว่า
96%
76 •
6 G R E E N LP N
HIGHLIGHT บ้านสานฝัน โครงการ “บ้านสานฝัน” ได้เริ่มดำ�เนินการมานับตั้งแต่ปี 2555 เพื่ อ ช่ ว ยสานฝั น ให้ ลู ก ค้ า ที่ ต้ อ งการมี บ้ า นเป็ น ของตนเอง ตามนโยบายการดำ�เนินงานของบริษทั โดยการเข้าช่วยเหลือลูกค้า ที่มีประวัติการผ่อนชำ�ระเงินดาวน์อย่างสม่ำ�เสมอ แต่ถูกปฏิเสธ การยื่นขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน ซึ่งอาจเกิดจากรายได้รวม ของผู้กู้ และภาระหนี้ในปัจจุบันของลูกค้าไม่ผ่านเกณฑ์ เป็น ผู้ประกอบอาชีพอิสระไม่มหี ลักฐานแสดงรายได้ทช่ี ดั เจน หรือเคยมี ประวัติการผ่อนชำ�ระล่าช้ามาก่อน โดยบริษัทจะนำ�เครื่องมือทางการเงินเข้ามาบริหารจัดการเครดิต ของลูกค้า เช่น ให้คำ�ปรึกษาในการสร้างวินัยทางการเงิน ร่วม วางแผนจัดเตรียมเอกสารประกอบการยื่นขอสินเชื่อให้ครบถ้วน เป็นต้น และทีส่ �ำ คัญคือ การเปิดโอกาสให้ลูกค้าทีเ่ ข้าร่วมโครงการ “บ้านสานฝัน” ได้เข้าอยู่อาศัย เพื่อช่วยลดภาระค่าใช้จ่าย ใน ระหว่างการเตรียมความพร้อมเพื่อยื่นขอสินเชื่อใหม่จนประสบ ความสำ�เร็จ ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับลูกค้าได้ในที่สุด ปัจจุบันโครงการ “บ้านสานฝัน” ได้ดำ�เนินการต่อเนื่องมาเป็น ปีที่ 5 แล้ว มีห้องชุดลูกค้าที่เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 664 ยูนิต จาก 26 โครงการ นับเป็นมูลค่าการผ่อนชำ�ระกว่า 685.63 ล้านบาท โดยมีห้องชุดที่โอนแล้ว 372 ยูนิต หรือคิดเป็นร้อยละ 56.2 และมี ยอดค้างชำ�ระและถูกยกเลิกประมาณร้อยละ 4.37 เฉพาะในปี 2559 ที่ผ่านมา จากการเพิ่มความความเข้มงวดใน การปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงินหลายแห่ง อันเนื่องจาก ภาระหนี้ภาคครัวเรือนของประชาชนที่สูงขึ้น ส่งผลให้มีจำ�นวน ห้องชุดที่เข้าร่วมโครงการสูงถึง 291 ยูนิต หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็น ร้อยละ 576 (ปี 2558 มีห้องชุดที่เข้าร่วมโครงการ 43 ยูนิต) บริษัทจึงจำ�เป็นต้องเตรียมแผนการดำ�เนินงานเพื่อรองรับความ เสี่ยง โดยมีการบริหารสินเชื่อร่วมกับสถาบันการเงิน และทำ�งาน เชิงรุกกับลูกค้าที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อบริหารจัดการยอดค้าง ชำ�ระและถูกยกเลิกให้ต่ำ�กว่าร้อยละ 3 ในปี 2560 จากที่ตั้งเป้า ไว้ร้อยละ 5 ในปี 2559
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
สถานะ
1. ลูกค้าเข้าร่วมโครงการ 2. โอนกรรมสิทธิแ์ ล้ว 3. ลูกค้าขอยกเลิกระหว่างสัญญา 4. ค้างชำ�ระและถูกยกเลิก 5. ลูกค้าทีอ่ ยูร่ ะหว่างสัญญา
มูลค่า (ล้านบาท)
คิดเป็นสัดส่วน (%)
664 372 24 29 239
685.63 406.75 39.34 14.15 225.40
100.00% 56.02% 3.61% 4.37% 35.99%
56.02%
35.99% ลูกคาทีอ่ ยู ระหวางสัญญา
ยูนิต
โอนกรรมสิทธิแ์ ลว
เป้าปี 2559
ตั้งเป้าลูกค้าค้างชำ�ระไม่เกิน
5%
ลูกคาเขารวม โครงการ 664 ยูนติ
ผลปี 2559
มีห้องชุดที่ลูกค้าค้างชำ�ระ
4.37% คางชำระ และถูกยกเลิก
• 77
3.61% ลูกคาขอยกเลิก ระหวางสัญญา
1.53% เป้าปี 2560
ตั้งเป้าลูกค้าค้างชำ�ระไม่เกิน
3%
78 •
6 G R E E N LP N
GREEN CONSTRUCTION PROCESS กลยุทธ์การบริหารจัดการผลกระทบที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ในกระบวนการก่อสร้าง GREEN CONSTRUCTION PROCESS
กระบวนการก่อสร้างเป็นกระบวนการที่ส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมมากที่สุด ด้วยความตระหนัก ในประเด็นดังกล่าว บริษัทได้พัฒนากระบวนการ ดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยนำ�เทคโนโลยีและ นวัตกรรมมาเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งานและ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม นอกเหนือจาก การดำ�เนินงานตามกลยุทธ์ Q-C-S-E-S+P ที่เป็น แนวทางในการบริหารจัดการโครงการที่อยู่ระหว่างการ ก่อสร้างให้แก่ทั้งบุคลากรของบริษัท รวมถึงปิยมิตร ผู้ออกแบบ และผู้รับเหมา โดยเฉพาะการให้ ความสำ�คัญกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม (Environmental Responsibility) และความปลอดภัย สำ�หรับคนงาน และผู้เกี่ยวข้อง (Safety of Workers and Participants) โดยกลยุทธ์ Q-C-S-E-S+P มีดังนี้
LPN กำ�หนดมาตรฐานการปฏิบัติงานที่เข้มงวด ในด้านความปลอดภัย เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น และตรวจสอบอุปกรณ์ก่อสร้าง และตัวอาคารอยู่เสมอ
• 79
การบริหารโครงการก่อสร้างโดยคำ�นึงถึง คุณภาพผลิตภัณฑ์ เพื่อให้เป็นไปตามความ คาดหวังทั้งพื้นที่ส่วนกลางและห้องชุด ซึ่ง นอกจากการเลือกใช้วัสดุที่มีคุณภาพ เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมแล้ว หน่วยงานก่อสร้าง ต้องมีระเบียบและได้มาตรฐาน
C
Cost Control and Management
S
Speed of Delivery
การควบคุมและบริหารต้นทุนให้รัดกุมอยู่ ในระดับที่ประเมินไว้ ทั้งต้นทุนทางตรงและ ต้นทุนทางอ้อม เช่น ค่าวัสดุ ค่าแรง ค่า ใช้จ่ายในการก่อสร้างและดำ�เนินงาน โดย เน้นการสร้างประสิทธิภาพของกระบวนการ ทำ�งาน การควบคุ ม ความเร็ ว ในการก่ อ สร้ า งและ กระบวนการทำ�งานให้รวดเร็วกว่าระยะเวลา ที่กำ�หนด เพื่อช่วยลดต้นทุนการก่อสร้าง และลดความเสี่ยงของลูกค้า ซึ่งต้องอาศัย ความชำ�นาญในการทำ�งานและความร่วมมือ จากผู้เกี่ยวข้องทุกส่วนงาน
Environmental Responsibility
S
Safety of Workers and Participants
P
People Management
การรั บ ผิ ดชอบต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อลดผล กระทบในระหว่างการก่อสร้างทั้งในบริ เ วณ ก่อสร้างและบริเวณข้างเคียง โดยกำ�หนด ให้มีการปฏิบัติตามแนวทางลดผลกระทบใน รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด
การดู แ ลความปลอดภั ย ของคนงานและ ผูเ้ กีย่ วข้องในระหว่างการก่อสร้าง โดยกำ�หนด มาตรฐานการปฏิบัติงานที่เข้มงวดในด้าน ความปลอดภัย เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจ เกิดขึ้น และตรวจสอบอุปกรณ์ก่อสร้างและ ตัวอาคารอยูเ่ สมอ รวมทัง้ ให้ความสำ�คัญด้าน อาชีวอนามัยและคุณภาพชีวติ ของแรงงาน การบริ ห ารจั ด การผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น กับ ผู้มีส่วนได้เสีย อันได้แก่ การให้ความเป็น ธรรมด้ า นสิ ท ธิ แ รงงานและคุ ณ ภาพชีวิต แก่แรงงานก่อสร้างที่มักถูกมองข้ามจากผู้ ประกอบการ การดูแลรับผิดชอบผลกระทบ กั บ เพื่ อ นบ้ า นข้ า งเคี ย งที่ อ ยู่ ร อบพื้ น ที่ ก่อสร้าง การพัฒนาและเติบโตร่วมกันกับ ปิยมิตรหรือคู่ค้าของบริษัท รวมทั้งการร่วม พัฒนาชุมชนและสภาพแวดล้อมโดยรอบ ของโครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง
DESIGN CONCEPT MARKETING MANAGEMENT
E
CONSTRUCTION PROCESS
Quality of Product
COMMUNITY MANAGEMENT
Q
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
FINANCIAL MANAGEMENT
ENTERPRISE
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
80 •
6 G R E E N LP N
GREEN CONSTRUCTION PROCESS
GREEN CONSTRUCTION PROCESS
ผลการดำ�เนินงานการบริหารจัดการผลกระทบที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมในกระบวนการก่อสร้าง ในปีที่ผ่านมา บริษัทได้ดำ�เนินการบริหารจัดการผลกระทบที่ มีต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในกระบวนการก่อสร้างตามมาตรฐาน Green Construction Process Standard อย่างเคร่งครัด เนือ่ งจาก ตระหนั ก ดี ว่ า กระบวนการบริ ห ารโครงการนั้ น มี ผ ลกระทบต่ อ ภายนอกในหลายมิติ บริษัทจึงได้นำ�เทคโนโลยีและนวัตกรรม มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งาน ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และป้องกันปัญหาทีอ่ าจจะเกิดขึน้ กับผูอ้ ยูอ่ าศัยบริเวณข้างเคียงและ สังคมวงกว้าง ตามกลยุทธ์ Q-C-S-E-S+P โดยมีจดุ ประสงค์หลัก เพื่อตอบสนองนโยบายความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม นอกจากนั้นบริษัทยังให้ความสำ�คัญกับการสร้างความสัมพันธ์ อันดีกับผู้อยู่อาศัยโดยรอบบริเวณก่อสร้างโครงการอีกด้วย โดยใน ทุกโครงการที่บริษัทพัฒนา จะมีการจัดหน่วยเฉพาะกิจเข้าไปทำ� ความเข้าใจ นำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับโครงการที่จะเกิดขึ้น และ รับฟังปัญหาและข้อคิดจากชุมชน โดยจะมีการจัดเก็บข้อมูลอย่าง เป็นระบบ เพื่อนำ�มาวิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไข ตั้งแต่เริม่ การก่อสร้าง จนส่งมอบโครงการ สำ�หรับการดำ�เนินงานบริหารโครงการตามมาตรฐาน Green Construction Process Standard ในปี 2559 ได้ดำ�เนินการ ทัง้ สิน้ ใน 7 โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง โดยก่อนเริม่ พัฒนา โครงการ ทีมงานที่เกี่ยวข้องจะประชุมร่วมกับ LPN TEAM เพือ่ พิจารณาข้อปฏิบัติที่เหมาะสมของแต่ละโครงการ และตั้งเป้าหมาย ในการดำ�เนินงานทุกโครงการไว้ที่มากกว่าร้อยละ 80 และมีการ ตรวจติดตามตามข้อปฏิบตั ทิ ่ไี ด้ก�ำ หนดไว้
ปี 2559 บริษัทได้ดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยสำ�หรับคนงานก่อสร้างและผูเ้ กีย่ วข้อง ดังนี้ ผลการตรวจติดตามการป้องกันและลดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมจากการบริหารโครงการ ตามมาตรฐาน Green Standard Checklist 7 หมวด (จำ�นวน 73 ข้อ) โครงการ
ลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (เฟส 2)* ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์ววิ ลุมพินี มิกซ์ เทพารักษ์-ศรีนครินทร์ ลุมพินี วิลล์ สุขมุ วิท 76-แบริง่ สเตชัน่ ลุมพินี ทาวน์ชปิ รังสิต-คลอง 1 ลุมพินี คอนโดทาวน์ ร่มเกล้า-สุวรรณภูมิ เดอะ ลุมพินี 24 ลุมพินี เพลส พระราม 4-รัชดาภิเษก ลุมพินี วิลล์ ราชพฤกษ์-บางแวก
เป้าหมาย ผลการ (หน่วย : ดำ�เนิน จำ�นวนข้อ) งาน
71 71 70 71 68 73 73 70 70
54* 70 69 65 64 63 66 65 62
คิด เป็น
76% 99% 99% 92% 97% 86% 90% 93% 89%
* หมายเหตุ : โครงการลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (เฟส 2) อยูร่ ะหว่างการเริม่ งานสถาปัตย์ จึงยังไม่ได้มี การดำ�เนินงานตามมาตรฐานบางข้อ
ผลการดำ�เนินงาน เฉลี่ยตาม Green Construction Process Standard ในปี 2559 คิดเป็น
93%
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 81
ENTERPRISE
• การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง
2. ระดับเสียง
มีการตรวจวัดพารามิเตอร์ดังนี้ ระดับเสียงเฉลีย่ 24 ชัว่ โมง (Leq 24 hrs) ระดับเสียงสูงสุด (Lmax) และเสียงรบกวน
3. ความสั่นสะเทือน
มีการตรวจวัดระดับความสัน่ สะเทือนตาม แนวตัง้ (Vertical) แนวขวาง (Transverse) และแนวนอน (Longitudinal)
จากการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ พบว่า ทุกโครงการมีผลการตรวจวัดไม่เกิน ค่ามาตรฐานที่กฎหมายกำ�หนด ยกเว้น โครงการลุมพินี เพลส พระราม 4-รัชดาภิเษก มีคา่ ระดับเสียงเฉลีย่ 24 ชัว่ โมง (เดือน มกราคม) และค่าระดับเสียงรบกวน (เดือนมกราคม-พฤศจิกายน) เกินค่ามาตรฐาน เนือ่ งจากตำ�แหน่งทีต่ ิดตั้งเครือ่ งวัดเสียงอยู่ใกล้ประตูทางเข้า-ออกของโครงการ ซึง่ เป็น จุดจอดรถปัม๊ คอนกรีต (ช่วงทำ�งานเข็ม) ถือเป็นจุดตรวจวัดที่ไม่เหมาะสม จึงดำ�เนินการ แก้ไขโดยเปลีย่ นตำ�แหน่งจุดตรวจวัด โครงการลุมพินี วิลล์ ราชพฤกษ์-บางแวก มีคา่ BOD เกินค่ามาตรฐาน 1 เดือน (เดือน สิงหาคม) จึงดำ�เนินการแก้ไขโดยประสานงานกับสำ�นักงานเขตภาษีเจริญเข้ามาสูบสิง่ ปฏิกลู ไปกำ�จัด และปรับปรุงระบบบำ�บัดน้ำ�เสียจากห้องน้ำ� ห้องส้วมให้มปี ระสิทธิภาพ ไม่ให้มีสิ่งปฏิกูลมากเกินประสิทธิภาพของระบบบำ�บัดทีเ่ ตรียมไว้
DESIGN CONCEPT
มีการตรวจวัดตามพารามิเตอร์ดังนี้ กรด-ด่าง (pH) ของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids: SS) ของแข็งทัง้ หมดทีล่ ะลายน้�ำ (Total Dissolved Solids: TDS) ค่าความสกปรก ในรูปสารอินทรีย ์ (Biochemical Oxygen Demand: BOD) ของแข็งแขวนลอยทัง้ หมด (Total Suspended Solids: TSS) น้ำ�มันและไขมัน (Oil & Grease: O&G) ไนโตรเจนทั้งหมด (Total Kjeldahl Nitrogen: TKN) ค่าซัลไฟด์และปริมาณแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม (Fecal Coliform Bacteria: FCB)
MARKETING MANAGEMENT
มีการตรวจวัดคุณภาพอากาศตาม พารามิเตอร์ดังนี้ ปริมาณฝุ่นละอองรวม (Total Suspended Particulate: TSP) ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM-10) ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) และก๊าซไฮโดรคาร์บอนรวม (THC)
CONSTRUCTION PROCESS
4. คุณภาพนํ้าเสียที่ผ่านการบำ�บัดแล้ว
COMMUNITY MANAGEMENT
1. คุณภาพอากาศ
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
FINANCIAL MANAGEMENT
การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม (G4-EN22)
82 •
6 G R E E N LP N
ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ปี 2559 ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ โครงการ
ปริมาณฝุ่นรวม TSP (mg/m3)
ลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (ม.ค.-พ.ย. 2559) ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว (ม.ค.-ก.ย. 2559) ลุมพินี มิกซ์ เทพารักษ์-ศรีนครินทร์ (ม.ค.-ต.ค. 2559) ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 76-แบริ่งสเตชั่น (มิ.ย.-พ.ย. 2559) ลุมพินี ทาวน์ชิป รังสิต-คลอง 1 (ม.ค.-พ.ย. 2559) ลุมพินี คอนโดทาวน์ ร่มเกล้า-สุวรรณภูมิ (ม.ค. 2559) เดอะ ลุมพินี 24 (ม.ค. 2559) ลุมพินี เพลส พระราม 4-รัชดาภิเษก (ม.ค.-ส.ค. 2559) ลุมพินี วิลล์ ราชพฤกษ์-บางแวก (ก.ค.-พ.ย. 2559)
0.075 - 0.197 0.096 - 0.264 0.090 - 0.189 0.077 - 0.152 0.052 - 0.313 0.151 0.196 0.138 - 0.286 0.095 - 0.215
ค่ามาตรฐาน
>0.331
ค่ามาตรฐาน :
1 2 3
ฝุ่นขนาดเล็ก PM-10 (mg/m3)
ก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ SO2 (mg/m3)
0.026 - 0.109 0.003 - 0.015 0.038 - 0.094 0.003 - 0.007 0.047 - 0.087 0.003 - 0.005 0.015 - 0.075 0.003 - 0.006 0.023 - 0.112 <0.002 0.065 <0.002 0.086 <0.002 0.064 - 0.110 <0.002 - 0.003 0.044 - 0.103 <0.002 >0.121
ก๊าซไนโตรเจน ไดออกไซด์ NO2 (ppm)
ก๊าซคาร์บอน มอนอกไซด์ CO (ppm)
ก๊าซไฮโดร คาร์บอนรวม THC (ppm)
0.012 - 0.028 0.014 - 0.045 0.012 - 0.046 0.011 - 0.093 0.012 - 0.027 0.026 0.025 0.021 - 0.026 0.020 - 0.022
1.4 - 3.1 1.6 - 5.4 0.8 - 2.6 1.3 - 3.6 0.72 - 1.42 1.04 1.30 0.85 - 1.15 0.97 - 1.34
0.7 - 1.1 0.7 - 1.7 0.6 - 1.2 0.4 - 0.9 3.2 - 3.81 3.46 3.25 3.17 - 3.54 3.14 - 3.32
>0.172
>30.03
-
>0.301
คุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ. 2547 ค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์โดยทั่วไป ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2552 คุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2538
ผลการตรวจวัดระดับเสียง ปี 2559
ผลการตรวจวัดระดับความสั่นสะเทือน ปี 2559 ผลการตรวจวัดระดับเสียง
โครงการ
ลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (ม.ค.-พ.ย. 2559) ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว (ม.ค.-ก.ย. 2559) ลุมพินี มิกซ์ เทพารักษ์-ศรีนครินทร์ (ม.ค.-ต.ค. 2559) ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 76-แบริ่งสเตชั่น (มิ.ย.-พ.ย. 2559) ลุมพินี ทาวน์ชิป รังสิต-คลอง 1 (ม.ค.-พ.ย. 2559) ลุมพินี คอนโดทาวน์ ร่มเกล้า-สุวรรณภูมิ (ม.ค. 2559) เดอะ ลุมพินี 24 (ม.ค. 2559) ลุมพินี เพลส พระราม 4-รัชดาภิเษก (ม.ค.-ส.ค. 2559) ลุมพินี วิลล์ ราชพฤกษ์-บางแวก (ก.ค.-พ.ย. 2559) ค่ามาตรฐาน
Leq 24 hrs (dB(A))
Lmax (dB(A))
59.9 - 67.7
92.5 - 107.8
63.7 - 69.8
95.2 - 113.8
59.0 - 69.4
96.0 - 108.5
63.3 - 64.7
97.5 - 112.7
54.7 - 69.9
86.5 - 103.6
60.7
93.6
69.6
108.3
60.1 - 72.7*
92.7 - 108.9
58.7 - 65.1
87.1 - 99.1
>70
> 115
ค่ามาตรฐาน : ระดับเสียงโดยทั่วไป ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ. 2540 หมายเหตุ : * โครงการลุมพินี เพลส พระราม 4-รัชดาภิเษก ระดับเสียงเฉลีย่ 24 ชม. (Leq 24 hrs) มีค่าเกินมาตรฐาน 1 เดือน (ม.ค.) จากการตรวจวัด ทั้งหมด 11 เดือน (ม.ค.-พ.ย. 2559)
ผลการตรวจวัดระดับความสั่นสะเทือน โครงการ
ลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (ม.ค.-พ.ย. 2559) ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์วิว (ม.ค.-ก.ย. 2559) ลุมพินี มิกซ์ เทพารักษ์-ศรีนครินทร์ (ม.ค.-ต.ค. 2559) ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 76-แบริ่งสเตชั่น (มิ.ย.-พ.ย. 2559) ลุมพินี ทาวน์ชิป รังสิต-คลอง 1 (ม.ค.-พ.ย. 2559) ลุมพินี คอนโดทาวน์ ร่มเกล้า-สุวรรณภูมิ (ม.ค. 2559) เดอะ ลุมพินี 24 (ม.ค. 2559) ลุมพินี เพลส พระราม 4-รัชดาภิเษก (ม.ค.-ส.ค. 2559) ลุมพินี วิลล์ ราชพฤกษ์-บางแวก (ก.ค.-พ.ย. 2559) ค่ามาตรฐาน
Transverse (mm/sec)
Vertical (mm/sec)
Longitudinal (mm/sec)
0.254 - 2.67 0.508 - 2.54 0.508 - 2.94 0.254 - 2.54 0.508 - 1.90 0.381 - 4.57 0.127 - 2.03 0.381 - 3.56 0.254 - 4.57 0.762 - 2.03 0.508 - 1.14 0.508 - 1.52 0.350 - 1.15 0.25 - 1.08 0.375 - 1.03 0.25
0.575
0.325
0.625
0.825
0.725
0.508 - 1.75 0.60 - 1.83 0.50 - 1.63 0.375 - 0.90 0.20 - 0.85 0.425 - 0.95 > 5.00
ค่ามาตรฐาน : ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เรื่องการกำ�หนด มาตรฐานความสั่นสะเทือนเพื่อป้องกันผลกระทบต่ออาคาร ฉบับที่ 37 พ.ศ. 2553
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 83
ENTERPRISE
ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพนํ้า ปี 2559
TKN (mg/L)
Sulfide (mg/L)
FCB (MPN/ 100 mL)
7.0 - 7.7 7.2 - 7.8 7.5 - 7.9 7.2 - 7.8 7.03 - 8.32 7.46 8.37 7.19 - 7.98 6.78 - 7.9
16.4 - 25.9 13.9 - 26.2 14.2 - 22.8 16.2 - 20.3 2.0 - 6.0 2.0 6.0 2.0 - 11.3 4.5 - 25
283 - 388 175 - 402 282 - 412 386 - 456 156 - 308 202 224 248 - 318 140 - 222
16.6 - 19.3 15.8 - 18.8 17.4 - 18.6 17.8 - 18.5 1-6 2 2 2-4 2 - 23*
0.16 - 0.37 0.18- 0.4 0.15 - 0.32 0.25 - 0.35 <0.1 <0.1 <0.1 <0.1
4.0 - 7.1 4.2 - 8.7 4.1 - 10.2 4.2 - 4.9 <2 <2 <2 <2 <2 - 3
10.1 - 23.8 9.7 - 21.7 10.4 - 27.6 14.7 - 23.6 3.4 - 15 3.8 4.2 3.6 - 12.0 3.6 - 29.0
0.18 - 0.66 0.21 - 0.64 0.26 - 0.71 0.36 - 0.69 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06 <0.06
328 - 778 431 - 782 312 - 623 508 - 804 1.8 - 3,500 <1.8 <1.8 <1.8 - 3,500 -
ค่ามาตรฐาน1
5.0-9.0
> 30
> 500
> 20
> 0.5
> 20
> 35
> 1.0
-
ค่ามาตรฐาน2
5.0-9.0
> 40
> 500
> 30
> 0.5
> 20
> 35
> 1.0
ลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (ม.ค.-พ.ย. 2559) ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์ววิ (ม.ค.-ก.ย. 2559) ลุมพินี มิกซ์ เทพารักษ์-ศรีนครินทร์ (ม.ค.-ต.ค. 2559) ลุมพินี วิลล์ สุขมุ วิท 76-แบริง่ สเตชัน่ (มิ.ย.-พ.ย. 2559) ลุมพินี ทาวน์ชปิ รังสิต-คลอง 1 (ม.ค.-พ.ย. 2559) ลุมพินี คอนโดทาวน์ ร่มเกล้า-สุวรรณภูมิ (ม.ค. 2559) เดอะ ลุมพินี 24 (ม.ค. 2559) ลุมพินี เพลส พระราม 4-รัชดาภิเษก (ม.ค.-ส.ค. 2559) ลุมพินี วิลล์ ราชพฤกษ์-บางแวก (ก.ค.-พ.ย. 2559)
ค่ามาตรฐาน3
> 4,000
ค่ามาตรฐาน : 1 มาตรฐานควบคุมการระบายน้ำ�ทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด (ประเภท ก : มีจำ�นวนห้องพักตั้งแต่ 500 ห้องขึ้นไป) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2548 2 มาตรฐานควบคุมการระบายน้ำ�ทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด (ประเภท ข : มีห้องพักตั้งแต่ 100 ห้อง แต่ไม่ถึง 500 ห้อง) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2548 3 มาตรฐานคุณภาพน้ำ�ในแหล่งน้ำ�ผิวดิน แบ่งประเภทคุณภาพน้ำ�ตามการใช้ประโยชน์ (ประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำ�ที่ได้รับน้ำ�ทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ (1) การอุปโภคและบริโภคโดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติและผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำ�ทั่วไปก่อน (2) การเกษตร ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) หมายเหตุ : โครงการลุมพินี วิลล์ ราชพฤกษ์-บางแวก มีค่า BOD เกินมาตรฐาน 1 เดือน (ส.ค.) จากการตรวจวัดทั้งหมด 5 เดือน (ก.ค.-พ.ย.)
การจัดการขยะ (G4-EN 23) ในพืน้ ทีก่ อ่ สร้างสามารถแบ่งขยะออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. ขยะที่เกิดจากการก่อสร้าง
2. ขยะที่เกิดจากคนงาน
ส่วนใหญ่เป็นขยะทีส่ ามารถนำ�กลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น เศษไม้ เศษปูน ยิปซัม่ และเศษเหล็ก เป็นต้น ในกรณีของขยะที่มีมูลค่า เช่น เศษ เหล็ก จะทำ�การประมูลขาย
บริเวณพื้นที่ก่อสร้างทุกโครงการจะมีจดุ ทิง้ ขยะ และมีการแบ่งแยก ประเภทของถังขยะตามสีตา่ งๆ เพือ่ ให้เจ้าหน้าทีแ่ ละคนงานก่อสร้าง แยกขยะก่อนทิง้
DESIGN CONCEPT
G&O (mg/L)
MARKETING MANAGEMENT
SS (mg/L)
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
BOD (mg/L)
โครงการ
CONSTRUCTION PROCESS
TDS (mg/L)
COMMUNITY MANAGEMENT
TSS (mg/L)
FINANCIAL MANAGEMENT
ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพนํ้า pH -
84 •
6 G R E E N LP N
แผนผังการจัดการขยะในพื้นที่ก่อสร้างโครงการ
ประเภทขยะและการจัดการ
ขยะทีเ่ กิดจากการกอสราง เศษไม / เศษเหล็ก / เศษอลูมเิ นียม
เศษปูน / เศษยิปซัม่
จำหนาย
ถมที่
ขยะทีเ่ กิดจากคนงาน รวบรวมสงหนวยงานภาครัฐ นำไปกำจัดตามหลักสุขาภิบาล
จากการสำ�รวจข้อมูลปริมาณขยะ จำ�นวน 7 โครงการ คือ โครงการลุมพินี เพลส พระราม 4-รัชดาภิเษก โครงการลุมพินี วิลล์ นครอินทร์ริเวอร์วิว โครงการลุมพินี ทาวน์ชิป รังสิต-คลอง 1 โครงการลุมพินี มิกซ์ เทพารักษ์-ศรีนครินทร์ โครงการลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 76-แบริ่ง สเตชั่น โครงการลุมพินี วิลล์ ราชพฤกษ์-บางแวก และโครงการลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (เฟส 2) พบว่า ปริมาณขยะส่วนใหญ่ของ ทุกโครงการเป็นขยะทีเ่ กิดจากการก่อสร้าง ยกเว้นโครงการลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (เฟส 2) ขยะส่วนใหญ่เกิดจากคนงาน เนือ่ งจากอยูร่ ะหว่าง งานเสาเข็มและฐานราก อย่างไรก็ตาม บริษัทได้กำ�หนดให้แต่ละโครงการมีการนำ�เศษวัสดุเหลือใช้จากการก่อสร้างมาทำ�สิ่งของเครื่องใช้ ได้แก่ ชั้นวางรองเท้า ถังขยะ แผงเหล็กกั้นบริเวณที่จอดรถ และที่เขี่ยบุหรี่ เพื่อใช้ในบริเวณโครงการและบ้านพักคนงานก่อสร้าง
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 85
ENTERPRISE
การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (G4-DMA) 1. จัดอบรมการใช้ยาและปฐมพยาบาลเบื้องต้น
LPN TEAM 30 คน สำ�นักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย คนงานก่อสร้าง 71 คน ศูนย์บริการสาธารณสุข 41 คลองเตย คนงานก่อสร้าง 290 คน ศูนย์บริการสาธารณสุข 41 คลองเตย
4
คนงานก่อสร้าง 100 คน ศูนย์บริการสาธารณสุข 41 คลองเตย
สถาบันแอล.พี.เอ็น. โครงการลุมพินี ทาวน์ชปิ รังสิต-คลอง 1 โครงการลุมพินี เพลส พระราม 4-รัชดาภิเษก โครงการลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์ววิ โครงการลุมพินี วิลล์ สุขมุ วิท 76-แบริง่ สเตชัน่ โครงการลุมพินี วิลล์ ราชพฤกษ์-บางแวก
มีโครงการจัดอบรม ด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย จำ�นวน
6
ครั้ง
2. กิจกรรมออกกำ�ลังกายสำ�หรับคนงานก่อสร้าง
3. สื่อรณรงค์เรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
เป็นกิจกรรมพิเศษทีจ่ ดั ขึน้ ในช่วง Morning Talk เป็นประจำ�ก่อนเริม่ ทำ�งาน เพื่อลดความเครียดและสร้างความผ่อนคลายให้กับคนงาน ก่อสร้าง โดยใช้เวลาประมาณ 30 นาทีกอ่ นเริม่ ทำ�งาน
จัดทำ�ขึ้นเพื่อให้เกิดความเรียบร้อยและปลอดภัยในการอยู่ร่วมกัน ของคนงานก่อสร้าง นอกจากนี้ยังมีการจัดทำ�ป้ายเบอร์ โทรหน่วย กูภ้ ัย ติดตามจุดต่างๆ ในพื้นที่ก่อสร้างและบ้านพักคนงานก่อสร้าง หากเกิดเหตุฉกุ เฉินสามารถติดต่อหน่วยกูภ้ ยั ได้ทนั ที
COMMUNITY MANAGEMENT
CONSTRUCTION PROCESS
1 2 3
สถานที่อบรม
DESIGN CONCEPT
วิทยากรจาก
MARKETING MANAGEMENT
ผู้เข้าร่วมอบรม
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
ไตรมาส
FINANCIAL MANAGEMENT
เพื่อสอนวิธีการใช้ยาอย่างถูกต้องและปลอดภัยให้กับคนงานก่อสร้างและเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานก่อสร้าง และปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพืน้ ฐาน หากเกิดอุบตั เิ หตุในหน่วยงานก่อสร้าง มีโครงการที่จัดอบรมแล้วจำ�นวน 6 ครั้ง รายละเอียดดังตาราง
86 •
6 G R E E N LP N
การส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนงานก่อสร้าง (G4-DMA) 1. การสำ�รวจบ้านพักคนงานก่อสร้าง
เพือ่ ดูแลสภาพแวดล้อมและความปลอดภัยภายในบ้านพักคนงานก่อสร้าง และปรับปรุงแก้ไขกรณีเกิดสภาพที่ไม่เหมาะสมหรือไม่ปลอดภัย ต่อการอยูอ่ าศัย และใช้เป็นแนวทางนำ�ไปพัฒนาบ้านพักคนงานในอนาคต จากการสำ�รวจบ้านพักคนงานก่อสร้างทั้ง 9 โครงการ (จำ�นวน 12 ครัง้ ) พบว่าโดยรวมสภาพบ้านพักคนงานทุกแห่งมีสภาพเรียบร้อยดี บ้านพักคนงานทีส่ �ำ รวจทัง้ 9 โครงการ มีดงั นี้ 1. โครงการลุมพินี พาร์คบีช ชะอำ� 2. โครงการลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์ววิ 3. โครงการเดอะ ลุมพินี 24 4. โครงการลุมพินี ทาวน์ชปิ รังสิต-คลอง 1 (สำ�รวจ 2 ครัง้ ) 5. โครงการลุมพินี เพลส พระราม 4-รัชดาภิเษก 6. โครงการลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (เฟส 2) 7. โครงการลุมพินี มิกซ์ เทพารักษ์-ศรีนครินทร์ 8. โครงการลุมพินี วิลล์ สุขมุ วิท 76-แบริง่ สเตชัน่ 9. โครงการลุมพินี วิลล์ ราชพฤกษ์-บางแวก (สำ�รวจ 2 ครัง้ ) 2. จัดทำ�ทะเบียนคนงานก่อสร้าง
5. ตรวจสุขภาพประจำ�ปีสำ�หรับคนงานก่อสร้าง
มีการจัดทำ�บัญชีรายชือ่ คนงานที่พักอาศัยในแต่ละห้องพัก เพื่อดูแล ความเป็นอยู่ และความเรียบร้อยของคนงานก่อสร้าง หากเกิดเหตุ ฉุกเฉินสามารถช่วยเหลือได้ทนั ที
จำ�นวน 2 โครงการ คือ โครงการลุมพินี ทาวน์ชปิ รังสิต-คลอง 1 และ โครงการลุมพินี มิกซ์ เทพารักษ์-ศรีนครินทร์ โดยทีมแพทย์และ พยาบาลจากโรงพยาบาลการุญเวช ผลการตรวจสุขภาพไม่พบโรค ติดต่อร้ายแรง แต่พบว่าคนงานต่างด้าวส่วนใหญ่เป็นโรคกระเพาะ และโรคความดันโลหิตสูง
3. การสุ่มตรวจสารเสพติดของคนงานก่อสร้าง
ทำ�การสุ่มตรวจสารเสพติดแล้วทั้งหมด 7 โครงการ คือ โครงการ ลุมพินี เพลส พระราม 4-รัชดาภิเษก โครงการลุมพินี วิลล์ นครอินทร์ริเวอร์ววิ โครงการลุมพินี ทาวน์ชปิ รังสิต-คลอง 1 โครงการลุมพินี มิกซ์ เทพารักษ์-ศรีนครินทร์ โครงการเดอะ ลุมพินี 24 โครงการ ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 76-แบริ่งสเตชั่น และโครงการลุมพินี วิลล์ ราชพฤกษ์-บางแวก ไม่พบคนงานเสพสารเสพติด
6. กิจกรรมเลี้ยงอาหารกลางวันและตัดผม คนงานก่อสร้าง
จัดขึ้นเพื่อสร้างขวัญและกำ�ลังใจในการทำ�งานแก่คนงานก่อสร้าง โดยฝ่ายบริหารสังคมและสิ่งแวดล้อมร่วมกับฝ่ายประสานงานและ กิจกรรมสัมพันธ์ และ LPN TEAM จัดกิจกรรมให้กบั คนงานใน 6 โครงการ รายละเอียดดังตาราง
4. การฉีดวัคซีนสำ�หรับคนงานก่อสร้าง
ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากสถาบั น ป้ อ งกั น ควบคุ ม โรคเขตเมื อ ง (สปคม.) กระทรวงสาธารณสุข และกองควบคุมโรคติดต่อ สำ�นัก อนามัย กรุงเทพมหานคร เข้าทำ�การฉีดวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก และวัคซีนป้องกันโรคหัดและหัดเยอรมันให้กับคนงาน ก่อสร้างในโครงการ ลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (เฟส 2) และ โครงการลุมพีนี วิลล์ ราชพฤกษ์-บางแวก มีคนงานเข้ารับการฉีด วัคซีนรวมทั้งสิ้น 609 คน และมีการฉีดวัคซีนป้องกันโรคเท้าช้าง เพิ่มให้กับคนงานต่างด้าวด้วย
ไตรมาส
โครงการที่จัดกิจกรรม
จำ�นวน ผู้เข้าร่วม กิจกรรม (คน)
1 2
ลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 (เฟส 2) ลุมพินี มิกซ์ เทพารักษ์-ศรีนครินทร์ ลุมพินี วิลล์ นครอินทร์-ริเวอร์ววิ ลุมพินี เพลส พระราม 4-รัชดาภิเษก ลุมพินี วิลล์ ราชพฤกษ์-บางแวก ลุมพินี วิลล์ สุขมุ วิท 76-แบริง่ สเตชัน่
500 1,000 800 400 555 785
3 4
ENTERPRISE
• 87
สำ�รวจ ดูแล และปรับปรุง บ้านพักคนงานก่อสร้าง
สุ่มตรวจสารเสพติด ของคนงานก่อสร้าง
CONSTRUCTION PROCESS
โครงการ
ทำ�การฉีดวัคซีนป้องกันโรค คอตีบ บาดทะยัก และวัคซีน ป้องกันโรคหัดและหัดเยอรมัน ให้กับคนงานก่อสร้าง
609
คน
ตรวจสุขภาพประจำ�ปี สำ�หรับคนงานก่อสร้าง
2
โครงการ
เลี้ยงอาหารกลางวันและตัดผม คนงานก่อสร้าง จำ�นวนทั้งสิ้น
4,040
คน
COMMUNITY MANAGEMENT
7
DESIGN CONCEPT
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
โครงการ จำ�นวน 12 ครั้ง
FINANCIAL MANAGEMENT
9
MARKETING MANAGEMENT
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
88 •
6 G R E E N LP N
• การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมบริเวณข้างเคียง (G4-SO2) บริษัทจัดตั้งทีมงานผู้บริหารระดับสูงเข้าไปให้ข้อมูลกับชุมชนรอบข้างและหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจและความ สัมพันธ์ทด่ี ี โดยเฉพาะอย่างยิง่ บ้านหรืออาคารที่มีพื้นที่ติดกับโครงการซึ่งได้รับผลกระทบโดยตรง ทั้งทางด้านเสียง ฝุ่นละออง การจราจร ตลอดจนได้ควบคุมก่อสร้างให้เป็นไปตามที่ออกแบบและเป็นไปตามเวลาที่กำ�หนด
การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม (G4-EN22) 1. กำ�หนดมาตรฐานการดูแลสภาพแวดล้อมโครงการก่อสร้างและ บ้านข้างเคียง เพือ่ ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและพืน้ ทีข่ อง แต่ละโครงการ 2. แจ้งผูพ้ กั อาศัยข้างเคียงล่วงหน้า หากมีความจำ�เป็นต้องทำ�งาน ทีก่ อ่ ให้เกิดเสียงดังอย่างน้อย 3 วัน เช่น งานเสาเข็มฐานราก และจำ�กัดระยะ 3. เวลาในการทำ�งานที่เกิดเสียงดังในช่วงเวลา 08.00-19.00 น. และหลีกเลีย่ งกิจกรรมเสียงดังในช่วงวันเสาร์อาทิตย์ เพือ่ ลดการ รบกวนชุมชนข้างเคียง
4. ลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์กับบ้านข้างเคียงเพื่อสร้างความสัมพันธ์ ทีด่ แี ละรับฟังความคิดเห็นเกีย่ วกับข้อกังวลและผลกระทบทีเ่ กิด จากการก่อสร้าง 5. ติดตั้งกล่องแสดงความคิดเห็นไว้ด้านหน้าโครงการ สำ�หรับ ผู้ต้องการร้องเรียนและแสดงความคิดเห็น
การบริหารความสัมพันธ์กับชุมชนข้างเคียง นอกจากการดูแลผลกระทบจากการก่อสร้าง บริษัทมีนโยบายในการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนข้างเคียงด้วยการประสานงานกับผู้นำ� ชุมชนเพื่อเข้าสำ�รวจพื้นที่ส่วนกลางของชุมชน และหน่วยงานต่างๆ ที่อยู่รอบๆ โครงการ ตั้งแต่ก่อนดำ�เนินการก่อสร้างในพื้นที่ และจะ ให้ความสำ�คัญเป็นพิเศษโดยเฉพาะในพื้นที่ที่อยู่ติดกับโครงการหรือพื้นที่ที่อาจจะได้รับผลกระทบมากเป็นพิเศษ (พื้นที่อ่อนไหว) เพื่อ สอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากการก่อสร้าง ความกังวลใจเกี่ยวกับการก่อสร้าง กิจกรรมด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ชุมชนต้องการการสนับสนุน โดยบริษัทจะเข้าประสานงานดำ�เนินการให้กับชุมชน เพื่อเป็นการสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน และช่วยลดข้อร้องเรียนที่อาจเกิดขึ้นภายหลัง ในปี 2559 บริษัทดำ�เนินการพัฒนาพื้นที่ข้างเคียงโครงการลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 113 ซึ่งอยู่ระหว่างการเริ่มก่อสร้างโดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ปรับปรุงห้องพยาบาล
ก่อนปรับปรุง
3.ปรับปรุงห้องสมุดอาเซียน
หลังปรับปรุง
ก่อนปรับปรุง
หลังปรับปรุง
ก่อนปรับปรุง
หลังปรับปรุง
และติดตัง้ ตูย้ าสามัญประจำ�บ้านให้เพิม่ เติมภายในห้องพยาบาล
2. ปรับปรุงห้องนํา้
ก่อนปรับปรุง
หลังปรับปรุง
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 89
2. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อบ้านข้างเคียง
เข้าพบบ้านข้างเคียง เพือ่ สร้างความสัมพันธ์ทด่ี ี และรับฟังความคิดเห็น สอบถามผลกระทบ
ก่อนเริ่มงาน เสาเข็มและ ทุกสัปดาห์
สร้างความสัมพันธ์ กับบ้านข้างเคียง
3. กำ�หนดมาตรการป้องกันมลภาวะ ที่เกิดจากโครงการ
ก่อนเริ่มงาน เสาเข็ม
กำ�หนดมาตรการ ป้องกันมลภาวะ
ขึงผ้าใบกันฝุ่น ป้องกันเสียงดัง การกวาดขยะ การสร้างบ้านพักคนงาน ฯลฯ
4. ตรวจสอบสภาพแวดล้อม และติดตาม ความคืบหน้า
ตรวจสอบ สภาพแวดล้อม บ้านข้างเคียง
ตรวจสอบสภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการอย่าง สม่�ำ เสมอ หากพบปัญหาหรือได้รบั ข้อร้องเรียนที ่ ก่อให้เกิดความเดือดร้อนกับบ้านข้างเคียง ให้รบี ดำ�เนินการแก้ไข
5. ดำ�เนินการแก้ไขปัญหา
เมือ่ มีความเดือดร้อนและความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ จากโครงการ จะต้องหาทางดำ�เนินการแก้ไขให้ คลีค่ ลายโดยทันที
ภายใน 1 วัน
ไม่พบ ปัญหา
6. รวบรวมข้อมูล
6.1 ความรูส้ กึ ของบ้านข้างเคียง 6.2 ปัญหาและแนวทางการแก้ปญั หา 6.3 สิง่ ทีค่ วรปรับปรุงและผลทีเ่ กิดขึน้ หลังจากการปรับปรุง
7. สรุปประเมินผล
FINANCIAL MANAGEMENT
สำ�รวจสภาพแวดล้อม รวบรวมข้อมูลเบื้องต้น
รวบรวมข้อมูล
ทุกเดือน สรุปประเมินผล จบการทำ�งาน
ดำ�เนินการ ตามมาตรการ
พบปัญหา
ดำ�เนินการแก้ไข
DESIGN CONCEPT
เริ่มต้น
MARKETING MANAGEMENT
ก่อนเริม่ ก่อสร้าง สำ�รวจสภาพแวดล้อมโดยรอบ โครงการ จัดทำ�แผนผังบ้านข้างเคียง ระบุบา้ นเลขที่ ชือ่ เจ้าของบ้าน เบอร์โทรศัพท์ พร้อมเข้าแนะนำ�ตัว
ก่อนเริ่มงาน เสาเข็ม
ผู้รับเหมา
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
ฝ่ายก่อสร้าง
CONSTRUCTION PROCESS
1. สำ�รวจสภาพแวดล้อมรอบโครงการ
ระยะเวลา
COMMUNITY MANAGEMENT
ขั้นตอนการดำ�เนินงาน
ENTERPRISE
• แนวทางการดูแลบ้านข้างเคียงเพื่อลดผลกระทบจากการก่อสร้าง (G4-EN34)
90 •
6 G R E E N LP N
HIGHLIGHT การปรับปรุงมาตรฐาน บ้านพักคนงานก่อสร้าง จากเหตุเพลิงไหม้บ้านพักคนงานที่โครงการลุมพินี ทาวน์ชิป รังสิต-คลอง 1 เมื่อปี 2558 ที่ผ่านมา บริษัทได้ดำ�เนินการเพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยด้านอัคคีภัยในโครงการ ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างอย่างเข้มข้น และได้หาสาเหตุเพลิงไหม้เพื่อหาแนวทางป้องกัน ในระยะยาว ซึ่งพบว่าไม้เป็นเชื้อเพลิงสำ�คัญที่ทำ�ให้ไฟลุกลามอย่างรวดเร็ว บริษัทจึงได้ เปลี่ยนวัสดุในการสร้างบ้านพักคนงานใหม่ทั้งหมด โดยนำ�เหล็กซึ่งเป็นวัสดุทนไฟมาแทน โครงสร้างไม้ และใช้แผ่นเมทัลชีทมุงหลังคาและทำ�ผนังแทนแผ่นสังกะสี เพราะติดไฟได้ ยากกว่าและมีประโยชน์ในหลายๆ ด้าน เช่น
1ไม่รว่ั ซึมขณะฝนตก เนือ่ งจาก
เป็นวัสดุแผ่นยาวแบบไม่มรี อยต่อ
2มีความแข็งแรงทนทาน 3ป้องกันความร้อนได้ดี 4มีอายุและสามารถนำ�กลับมาใช้ซา้ํ ได้ มากกว่าแผ่นสังกะสี
ป้ายกฎระเบียบในการอยู่อาศัย มีทั้งหมด 3 ภาษา
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 91
นอกจากนั้น บริษัทยังปรับปรุงมาตรฐานด้านอาชีวอนามัยและสภาพ แวดล้อมต่างๆ ภายในบริเวณบ้านพักคนงาน เช่น
สร้างห้องนา้ํ แยกชายหญิง ออกจากกัน นอกจากนัน้ ในโครงการยังมีการใช้ภาษา อืน่ ๆ นอกจากภาษาไทย เพือ่ ความเข้าใจของ คนงานก่อสร้าง
ถังดับเพลิงถูกติดตั้งที่บ้านพัก คนงานก่อสร้าง และมีการตรวจสอบ อยู่เป็นประจำ� อย่างน้อย 1 ครั้ง/เดือน
สร้างห้องอาบน้ำ�และห้องน้ำ�แยกชายหญิงออกจากกัน สร้างครัวส่วนกลางและห้ามการทำ�อาหารบริเวณหน้าห้องพัก จัดให้มีแม่บ้านประจำ�ทำ�ความสะอาดพื้นที่ส่วนกลางทุกวัน ทดสอบระบบหัวรับน้�ำ ดับเพลิงเป็นประจำ� อย่างน้อย 2 ครัง้ /เดือน อบรมและแนะนำ�วิธีการใช้สายน้ำ�ดับเพลิงอย่างถูกต้องให้กับ คนงาน ตรวจสอบถังดับเพลิงเป็นประจำ� อย่างน้อย 1 ครัง้ /เดือน ติดตั้งป้ายประกาศกฎระเบียบในการอยู่อาศัย 3 ภาษา ฉีดพ่นกำ�จัดยุงและแมลงเป็นประจำ�อย่างน้อย 2 ครั้ง/เดือน ทำ�ความสะอาดและจัดเก็บขยะที่อยู่บริเวณใต้ถุนบ้านพักทุก วันหยุด เพื่อทำ�ลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง แมลง และหนู ซึ่งเป็น พาหะนำ�โรคต่างๆ นอกเหนือจากการนำ�มาตรฐานบ้านพักคนงานใหม่มาใช้ โดยนำ�ร่องที่ โครงการลุมพินี วิลล์ ราชพฤกษ์-บางแวกแล้ว บริษทั ยังคงจัดให้มกี าร สุม่ ตรวจบ้านพักคนงานอยู่เป็นประจำ� เพื่อสุขอนามัย ความปลอดภัย และป้องกันเหตุอันตรายที่อาจเกิดจากความประมาท
92 •
6 G R E E N LP N
HIGHLIGHT การพัฒนาระบบ Building Information Modeling (B.I.M.) เพื่อใช้ในการบริหารโครงการ นับตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้นมา บริษัทได้นำ�ระบบจำ�ลองเทคโนโลยีสารสนเทศอาคาร หรือ B.I.M. มาใช้ ในกระบวนการออกแบบและพัฒนาโครงการ เพื่อลดความผิดพลาดของการประเมินค่าใช้จ่ายจากความ ไม่สมบูรณ์ของข้อมูล โดย B.I.M. เป็นแบบจำ�ลอง 3 มิติ ที่เชื่อมข้อมูลต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน ทั้งข้อมูล เชิงกายภาพของอาคาร เช่น รูปร่าง ขนาด ระดับความสูง และชนิดของวัสดุ รวมทั้งยังสามารถแสดง ข้อมูลเชิงตัวเลขและงานระบบต่างๆ เช่น พื้นที่อาคาร จำ�นวนวัสดุก่อสร้าง ราคาค่าก่อสร้าง ได้อีกด้วย บริษัทมีความตั้งใจที่จะนำ�ระบบ B.I.M. มาใช้เพื่อสนับสนุนกระบวนการบริหารโครงการทั้งหมด โดยเป้าหมายหลัก คือ การประมาณราคาค่าก่อสร้างให้แม่นยำ�ก่อนตัง้ ราคาขาย เพือ่ ลดความเสีย่ งจาก การดำ�เนินงาน อย่างไรก็ตาม ในเชิงของความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม บริษัทสามารถ นำ�ระบบ B.I.M. มาใช้ เพื่อคำ�นวณความคุ้มค่าและลดการใช้วัสดุสิ้นเปลืองในการออกแบบ ซึ่งจะเป็น ประโยชน์ทางตรงในการลดการใช้ทรัพยากรฟุม่ เฟือยและสามารถควบคุมต้นทุนค่าก่อสร้างให้อยูภ่ ายใต้ งบประมาณทีต่ ง้ั ไว้ การนำ�เทคโนโลยี B.I.M. มาใช้นั้น จำ�เป็นต้องมีการปรับปรุงกระบวนการและระบบการทำ�งาน เพือ่ ให้ เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลร่วมกันทั้งภายในบริษัทเอง และกับบริษัทคู่ค้าหรือ LPN TEAM จึงทำ�ให้แผน ยุทธศาสตร์การทำ�งานในช่วง 1-2 ปีแรกของบริษัท มุ่งเน้นในการอบรมให้ความรูก้ บั ผูเ้ กีย่ วข้องอย่างต่อ เนื่องผ่านสถาบันแอล.พี.เอ็น. และให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาคู่มือมาตรฐานสำ�หรับการปฏิบัติงาน ด้วยระบบ B.I.M. เพื่อให้ทั้งผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ผู้ออกแบบ และผู้รับเหมา ใช้งานระบบ B.I.M. ใน การบริหารโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจุบัน บริษัทได้นำ�ระบบ B.I.M. มาใช้ในการบริหารโครงการเต็มรูปแบบ โดยทุกโครงการที่บริษัท พัฒนาในปี 2559 ได้มีการออกแบบ วางแผนงาน กำ�หนดวัสดุ และบริหารงานก่อสร้างด้วยระบบ B.I.M. ทัง้ สิน้ และได้เริม่ พัฒนาและนำ�ระบบดังกล่าวไปใช้ในการบริหารชุมชนในส่วนของการบริหารจัดการ ทรัพย์สว่ นกลาง (Facility Management) เพื่อให้การดูแลงานระบบและการบำ�รุงรักษาอาคารทำ�ได้ง่าย และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์การทำ�งานที่บริษัทได้วางไว้
LPN B.I.M. Road Map In 2013-2016
การบูรณาการ INTEGRATION
กระบวนการ PROCESS บุคลากรและเทคโนโลยี PEOPLE & TECHNOLOGY
2013
2014
2015
2016
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
ทุกโครงการทีบ่ ริษทั พัฒนาในปี 2559 ได้มกี ารออกแบบ วางแผนงาน กำ�หนด วัสดุ และบริหารงานก่อสร้าง ด้วยระบบ B.I.M. ทำ�ให้ท�ำ งานได้งา่ ย และรวดเร็วมากยิง่ ขึน้
• 93
94 •
6 G R E E N LP N
GREEN COMMUNITY MANAGEMENT กลยุทธ์การดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิตของผู้พักอาศัย ในโครงการหลังส่งมอบ GREEN COMMUNITY MANAGEMENT
ความรับผิดชอบของผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ไม่ควร สิ้นสุดเพียงแค่การส่งมอบ “ที่อยู่อาศัย” ให้แก่ลูกค้า แต่ควรเข้ามาบริหารจัดการอาคาร (Building Management) ให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้ มีสิ่งแวดล้อมที่ดี อย่างไรก็ตาม บริษัทมองเห็นถึง ความสำ�คัญที่มากกว่านั้น จึงได้พัฒนาแนวคิดจากการ บริหารอาคารสู่การบริหารชุมชน เพื่อสร้างวัฒนธรรม ที่ดี สังคม ที่อยู่อาศัยร่วมกันอย่างมีความสุข ตลอดเวลากว่า 28 ปี บริษัทสร้างสรรค์และส่งมอบ “บ้าน” ให้กับสมาชิก “ครอบครัวลุมพินี” กว่า 120,000 ครอบครัว รวมทั้งดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและคุณภาพ ชีวิตให้กับผู้อยู่อาศัยและชุมชนโดยรอบโครงการที่อาจ ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ ด้วยกลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู”่ หรือ “Vibrant Community” ซึง่ ไม่เพียง ดูแลรักษาอุปกรณ์และทรัพย์สนิ ต่างๆ ให้เกิดความพร้อม และความปลอดภัยในการใช้งานเท่านั้น แต่ยังให้ ความสำ�คัญกับการสร้างความสุขและสังคมที่ดี มี ความอบอุ่น ปลอดภัย รวมทั้งสร้างจิตสำ�นึกของ การใส่ใจสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจังและสม่ำ�เสมอ ตาม แนวทาง F-B-L-E-S+P ที่ได้ศึกษาและพัฒนาจาก ประสบการณ์การบริหารชุมชนมาเป็นระยะเวลานาน จนพัฒนาสู่ “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย” เพื่อ ส่งมอบคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และสังคมที่ดีให้กับ สมาชิกในชุมชนลุมพินี ทุกเพศ ทุกวัย ซึ่งแนวทาง F-B-L-E-S+P ประกอบด้วยการบริหารจัดการ องค์ประกอบต่างๆ ดังนี้
F
Facility Management
B
Budgeting Management
การบริหารจัดการทรัพย์ส่วนกลาง ด้วยการ ดู แ ลทรั พ ย์ ส่ ว นกลางให้ ค งประสิ ท ธิ ภ าพ พร้อมและปลอดภัยสำ�หรับการใช้งาน ทั้ง ทรัพย์ส่วนกลางที่เป็นงานสถาปัตยกรรม สิง่ อำ�นวยความสะดวก และงานระบบอาคาร ต่างๆ เช่น ลิฟต์ เครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า ระบบ ไฟฟ้า ระบบสุขาภิบาล เป็นต้น การบริหารจัดการงบประมาณการเงินของ นิติบุคคลอาคารชุดให้เป็นไปตามนโยบาย ที่ได้รับการอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่สามัญ เจ้าของร่วม และบริหารเงินกองทุนและ ทรัพย์ส่วนกลางให้มีเสถียรภาพและรายได้ เพื่ อ ความมั่ น คงทางการเงิ น ของชุ ม ชน จัดทำ�รายงานการเงินที่ง่ายต่อความเข้าใจ เน้นความโปร่งใส และตรวจสอบได้
S
การบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมเป็นสิง่ ทีบ่ ริษทั ให้ความสำ�คัญอย่างยิ่ง โดยยึดหลัก Green Clean Lean เป็นสำ�คัญ อาทิ การดูแล รักษาหรือการปลูกต้นไม้ทดแทน เพื่อเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวให้ชมุ ชนและสังคมโดยรวม การ คัดแยกขยะเพื่อให้ง่ายต่อการกำ�จัด หรือ นำ�เข้ากระบวนการรีไซเคิล การบำ�บัดน้�ำ เสีย ให้ ไ ด้ คุ ณ ภาพก่ อ นปล่ อ ยออกสู่ แ หล่ ง น้ำ � สาธารณะและการนำ � กลั บ มาใช้ ใ หม่ ใ น โครงการ การรณรงค์ประหยัดพลังงานและ สนับสนุนพลังงานทางเลือก Security & Safety Management
การบริหารจัดการความปลอดภัย ตั้งแต่ การออกแบบผังโครงการ การตรวจสอบและ รั ก ษามาตรฐานของระบบและอุ ป กรณ์ เช่น กล้องโทรทัศน์วงจรปิด ระบบสัญญาณ เตือนภัย และระบบสื่อสาร รวมถึงการอบรม พั ฒ นาบุ ค ลากรที่ ทำ � หน้ า ที่ ใ นการรั ก ษา ความปลอดภัยอยู่เสมอ รวมทั้งการสร้าง เครื อ ข่ า ยการมี ส่ ว นร่ ว มจากทั้ ง ภายใน ชุมชน และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อความปลอดภัยสูงสุดของสมาชิกภายใน ชุมชนเป็นสำ�คัญ
บุคลากรภายใน ได้แก่ ผู้บริหาร ผู้จัดการ ชุมชน และทีมงานฝ่ายจัดการฯ ทีม่ บี ทบาท ต่อการจัดการให้ชุมชนมีความยั่งยืน ซึ่ง บริ ษั ท ได้ ทำ � การพั ฒ นาบุ ค ลากรผ่ านการ อบรมในหลักสูตรต่างๆ รวมทั้ง ส่งเสริม วัฒนธรรมการให้บริการ เพื่อสร้างความ ไว้วางใจและความร่วมมือ เพื่อผลสัมฤทธิ์ ตามกลยุทธ์การสร้างชุมชนน่าอยู่ ผู้อยู่อาศัย ได้แก่ ผู้ที่อยู่อาศัยในโครงการ ทัง้ เจ้าของร่วมและผูเ้ ช่า ซึง่ เป็นทัง้ ผูก้ �ำ หนด แนวทางและผู้ปฏิบัติ เพื่อให้ชุมชนมีความ น่ า อยู่ แ ละยั่ ง ยื น ตามเป้ า หมายร่ ว มกั น ผ่านกิจกรรมต่างๆ ทีจ่ ดั ขึน้ โดยฝ่ายจัดการฯ เพือ่ ให้ผอู้ ยูอ่ าศัยมีความเข้าใจต่อการใช้ชวี ติ ที่เหมาะสม ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างสังคมที่ดี และสร้างชุมชนน่าอยู่ ต่อไป คณะกรรมการนิติบุคคลอาคารชุด ซึ่งเป็น ตั ว แทนของผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ยใน โครงการ และขับเคลื่อนกระบวนการของ การสร้างชุมชนน่าอยู่ โดยการเสริมความรู้ ให้แก่ประธานและคณะกรรมการนิติฯ ที่จะ นำ�ไปสู่การปฏิบัติ
ENTERPRISE DESIGN CONCEPT
การบริหารจัดการผู้เกี่ยวข้องในงานบริหาร ชุมชน ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายจัดการฯ คณะ กรรมการนิติบุคคลอาคารชุด และผูอ้ ยูอ่ าศัย เพื่อให้เกิ ด ความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจและความ พึงพอใจ รวมทั้งบริหารจัดการปัญหาข้อ ขัดแย้งของผู้พักอาศัยที่อาจส่งผลกระทบ ต่อชุมชน โดยมุ่งเน้นที่จะพัฒนาทัศนคติ และทักษะของบุคลากร และกำ�หนดแนวทาง การสื่อสารเพื่อเพิ่มความรู้และความเข้าใจ ในการบริหารชุมชนแก่คณะกรรมการนิติฯ โดยเฉพาะประธานกรรมการนิติฯ เพื่อให้ การบริหารจัดการชุมชนเป็นไปในแนวทาง เดียวกัน ส่งผลให้การดำ�เนินการตามแนวทาง F-B-L-E-S+P มีประสิทธิภาพไปด้วย ซึ่ง การสร้างชุมชนทีย่ ง่ั ยืน มีองค์ประกอบของ บุคลากรดังต่อไปนี้
FINANCIAL MANAGEMENT
People Management
MARKETING MANAGEMENT
E
Environment Management
การบริหารจัดการคุณภาพชีวติ ของผูอ้ ยูอ่ าศัย ส่งเสริมให้ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบและข้อบังคับ อาคารชุด เพื่อการอยู่อาศัยร่วมกันอย่างมี ความสุข และสร้างวัฒนธรรมการอยูอ่ าศัย “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน” สนับสนุนการมี ส่วนร่วมเพือ่ พัฒนาชุมชน รวมทัง้ จัดกิจกรรม เพื่อ สร้า งความสัมพันธ์ภายในครอบครั ว และระหว่างสมาชิก “ลุมพินี” และสืบสาน วัฒนธรรมอันดีงามของสังคม
P
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
Life Quality Management
CONSTRUCTION PROCESS
L
• 95
COMMUNITY MANAGEMENT
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
96 •
6 G R E E N LP N
GREEN COMMUNITY MANAGEMENT
GREEN COMMUNITY MANAGEMENT
ผลการดำ�เนินงานด้านการดูแลและบริหารจัดการคุณภาพชีวิต ของผู้พักอาศัยในโครงการหลังส่งมอบ • การบริหารจัดการคุณภาพชีวิตสำ�หรับผู้พักอาศัย (Life Quality Management) การปรับปรุงพื้นที่เพื่อการเรียนรู้
ปี 2559 บริษทั ตัง้ เป้าหมายในการปรับปรุงห้องสมุดในโครงการให้เป็นห้องสมุดมีชวี ติ สำ�หรับ คนทุกวัย เพือ่ ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ ซึง่ เป็นการสร้างคุณภาพชีวติ ทีด่ ีให้กบั ผูพ้ กั อาศัย โดยดำ�เนินการปรับปรุงด้วยงบประมาณของบริษทั ไปแล้วทัง้ สิน้ 6 โครงการ ได้แก่ ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-หลักสี่ ลุมพินี วิลล์ บางแค ลุมพินี คอนโดทาวน์ บางแค ลุมพินี วิลล์ อ่อนนุช-ลาดกระบัง และลุมพินี วิลล์ ลาดพร้าว-โชคชัย 4 นอกจากนี้ บริษทั ได้มีการสำ�รวจและศึกษาพฤติกรรมการใช้ห้องสมุดของผู้พักอาศัย และ ความต้องการด้านต่างๆ โดยใช้แบบสอบถาม เพือ่ นำ�ข้อมูลมาใช้ปรับปรุงและพัฒนาห้องสมุด ให้มีความเหมาะสมกับผูใ้ ช้งานมากที่สุด โดยทำ�การเก็บข้อมูลใน 3 โครงการ คือ ลุมพินี เพลส รัชโยธิน ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ ไซด์-พระราม 3 และลุมพินี พาร์ค ปิ่นเกล้า
ข้อเสนอแนะจากผู้ใช้บริการห้องสมุดมี ชีวิตส่วนใหญ่ คือ ควรเพิ่มจุดบริการ คอมพิวเตอร์และปลั๊กพ่วง ปรับปรุง สัญญาณ WiFi การจัดพื้นที่ให้เป็น สัดส่วน การจัดเจ้าหน้าที่ให้บริการ ยืม-คืนหนังสือให้เป็นระบบ
ผู้พักอาศัย
75.4%
เคยใช้บริการ ห้องสมุดมีชีวิต
จากผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลพบว่า ผูพ้ กั อาศัยร้อยละ 75.4 เคยใช้บริการห้องสมุดมีชวี ติ โดย กิจกรรมทีผ่ พู้ กั อาศัยทำ�ส่วนใหญ่ คือ การอ่านหนังสือ การพักผ่อน เล่นอินเตอร์เน็ต และ พบปะสังสรรค์ ตามลำ�ดับ มากกว่า
ความพึงพอใจต่อการให้บริการของห้องสมุดมีชีวิต ซึ่งแบ่งเป็น 4 ด้าน คือ การอ่าน สารสนเทศ บรรยากาศ และบุคลากร พบว่า ความพึงพอใจทุกด้านอยู่ในระดับสูงประมาณ ร้อยละ 80-95
80%
มีความพึงพอใจ ต่อการให้บริการ ของห้องสมุด
• 97
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
GREEN การจัดการพื้นที่สีเขียว
COMMUNITY MANAGEMENT
CONSTRUCTION PROCESS
บริษัทจัดกิจกรรม ปลูก แปลง แบ่งปัน เป็นประจำ�ทุกปี เพื่อ รณรงค์และส่งเสริมให้ทกุ ฝ่ายมีสว่ นร่วมในการรักษาสภาพแวดล้อม และเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชนลุมพินี โดยมีเป้าหมายในการจัด กิจกรรมทัง้ หมด 115 ชุมชน ซึ่งในปี 2559 มีชุมชนที่จัดกิจกรรม ทั้งสิน้ จำ�นวน 111 ชุมชน (คิดเป็นร้อยละ 96.5 ของเป้าหมายที่ กำ�หนดไว้) สามารถเพิ่มต้นไม้ในชุมชนได้กว่า 4,200 ต้น โดย รู ป แบบในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับความ เหมาะสมของพื้นที่แต่ละชุมชน เช่น การปลูกต้นไม้ในพื้นที่วา่ ง ของชุมชน การปลูกต้นไม้แบบสวนแนวตั้ง และการปลูกต้นไม้ใน ภาชนะต่างๆ นอกจากนี้ มีการจัดกิจกรรมรณรงค์บริโภคผักร่วมกับสำ�นักงาน กองทุนสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีนิทรรศการ ส่งเสริมการกินผัก Workshop การทำ�อาหารเมนูผัก การปลูกผัก สวนครัว และตลาดนัดสีเขียว ซึง่ จัดนำ�ร่องใน 4 โครงการ ได้แก่ ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 109-แบริ่ง ลุมพินี ทาวเวอร์ และลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ไซด์-พระราม 3
กิจกรรม ปลูก แปลง แบ่งปัน มีชุมชนเข้าร่วม กิจกรรม ปลูก แปลง แบ่งปัน 111 ชุมชน คิดเป็น
เข้าร่วมกิจกรรม จำ�นวนทั้งสิ้น
เพิ่มต้นไม้ในชุมชน ได้กว่า
ชุมชน
ต้น
111
4,200
MARKETING MANAGEMENT
• การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนลุมพินี (Environment Management)
DESIGN CONCEPT
FINANCIAL MANAGEMENT
ENTERPRISE
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
96.5% ของเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ 115 ชุมชน
98 •
6 G R E E N LP N
CLEAN การจัดการขยะในชุมชนลุมพินี (G4-EN23) บริษทั ให้ความสำ�คัญกับการจัดระบบการจัดการขยะ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยถือเป็นนโยบายหลักที่ สำ�คัญ เพือ่ ให้เกิดสภาพแวดล้อมทีด่ ี เหมาะสมต่อ การอยู่อาศัย และไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จากการเก็บข้อมูลปริมาณขยะประเภทต่างๆ ที่ เกิดขึ้นในชุมชน พบว่าขยะทีเ่ กิดขึน้ จริงในชุมชน มีปริมาณน้อยกว่าข้อมูลขยะที่ประมาณการจาก ข้อมูลอ้างอิงของภาครัฐ ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล และขยะ อันตราย ซึ่งขยะแต่ละประเภทมีระบบการจัดการ ดังนี้
5% ขยะรีไซเคิล ประเภทขยะ ในชุมชน
1. ขยะทั่วไปและเศษอาหาร มีปริมาณร้อยละ 94
ระบบการจัดการ คือ ตั้งถังรองรับประจำ�ทุกชั้น ซึ่งพนักงานบริการชุมชนจะทำ�การจัดเก็บวันละ 2 ครั้ง ในช่วงเวลา 10.00 น. และ 16.00 น. จาก นั้นทำ�การคัดแยกก่อนนำ�ไปรวมในห้องพักขยะ เพื่อให้สำ�นักงานเขตเข้ามารับไปกำ�จัด
1% ขยะอันตราย 94%
ขยะทั่วไป
2. ขยะอันตราย มีปริมาณร้อยละ 1
ระบบการจัดการ คือ ตั้งถังรองรับขยะอันตราย โดยเฉพาะ เพื่อรวบรวมและสำ�นักงานเขตจะเข้า มาจัดเก็บ 1-2 ครั้ง/เดือน และส่งให้หน่วยงาน ที่ได้รับอนุญาตในการกำ�จัดขยะอันตรายดำ�เนิน การต่อไป 3. ขยะรีไซเคิล มีปริมาณร้อยละ 5
ระบบการจัดการ คือ ตั้งถังคัดแยก โดยแบ่งออก เป็น 5 ประเภท คือ กระดาษ ขวดพลาสติกใส ขวดพลาสติกขุ่น ขวดแก้ว และกระป๋องเครื่องดื่ม ซึ่ ง ขยะที่ ได้ รั บการคั ด แยกแล้ วจะถู ก นำ �ไปขาย และนำ�เงินมาใช้ในการพัฒนาชุมชน
นอกจากนั้น บริษัทยังได้จัดกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมการคัดแยกขยะ เพื่อให้ผู้พักอาศัยในชุมชนลุมพินีมีส่วนร่วมใน การจัดการขยะ ได้แก่ กิจกรรม ขอขวด แลก ข.ไข่ และกิจกรรม ลุมพินี สดใส พร้อมใจแลกขยะ ปัจจุบันมีการจัดกิจกรรม แล้วจำ�นวน 111 ชุมชน (คิดเป็นร้อยละ 96.5 ของเป้าหมายที่กำ�หนดไว้)
• 99
LEAN การบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าในชุมชน (G4-EN8, G4-EN10, G4-EN22) ในปี 2559 ชุมชนลุมพินีมีการใช้น้ำ�ประปาเฉลี่ยเท่ากับ 496,936 ลูกบาศก์เมตร/เดือน โดยแหล่งน้ำ�ที่ใช้มาจากการประปานครหลวง และการประปาส่วนภูมิภาค ซึ่งมีรายละเอียดปริมาณการใช้น้ำ�จาก แต่ละแหล่ง ดังนี้
น้ำ�ที่ผ่านการใช้แล้วหรือน้ำ�เสียที่ปล่อยออกมามีปริมาณเฉลี่ย 397,570 ลูกบาศก์เมตร/เดือน คิดเป็นร้อยละ 80 ของปริมาณน้ำ� ทั้งหมดในชุมชน โดยน้ำ�ที่ผ่านการใช้แล้วหรือน้ำ�เสียทั้งหมดจะ ผ่านการบำ�บัดก่อนปล่อยออกสู่แหล่งน้ำ�สาธารณะ
1. การประปานครหลวง
การบำ�บัดน้ำ�เสียแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ การบำ�บัดด้วยระบบ บำ�บัดน้ำ�เสียของชุมชนลุมพินี และการบำ�บัดโดยระบบบำ�บัด กลางของกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ น้ำ�เสียที่ผ่านการบำ�บัดด้วยระบบ บำ�บัดน้ำ�เสียของชุมชนร้อยละ 11 จะถูกนำ�กลับมาใช้ภายในชุมชน เช่น นำ�ไปรดต้นไม้ ล้างพืน้ ถนน และฉีดทำ�ความสะอาดบ่อบำ�บัด น้�ำ เสีย เป็นต้น ส่วนน้�ำ เสียทีผ่ า่ นการบำ�บัดแล้วทีเ่ หลือร้อยละ 89 จะถูกปล่อยออกสู่แหล่งน้ำ�สาธารณะ
ชุมชนลุมพินีที่ใช้น้ำ�จากการประปานครหลวงทัง้ หมด 106 ชุมชน มีปริมาณการใช้น�ำ้ เฉลีย่ เท่ากับ 466,367 ลูกบาศก์เมตร/เดือน 2. การประปาส่วนภูมิภาค
ชุมชนลุมพินีที่ใช้น้ำ�จากการประปาส่วนภูมิภาคทั้งหมด 7 ชุมชน มีปริมาณการใช้น้ำ�เฉลี่ยเท่ากับ 30,569 ลูกบาศก์เมตร/เดือน
DESIGN CONCEPT MARKETING MANAGEMENT COMMUNITY MANAGEMENT
96.5%
CONSTRUCTION PROCESS
มีชุมชนเข้าร่วม กิจกรรม ขอขวด แลก ข.ไข่ และกิจกรรม ลุมพินี สดใส พร้อมใจแลกขยะ 111 ชุมชน คิดเป็น
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
FINANCIAL MANAGEMENT
ENTERPRISE
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
1 0 0 • 6 G R E E N LP N
แผนผังการบริหารจัดการนํ้าในชุมชนลุมพินี การบริหารจัดการนํ้า
นำ�กลัับมาใช้ภายในชุมชน เช่น นำ�ไปรดนํ้าต้นไม้ ล้างพื้นถนน และฉีดทำ�ความสะอาดบ่อบำ�บัดนํ้าเสีย เป็นต้น
แหล่งนํ้าที่ใช้ : การประปานครหลวง / การประปาส่วนภูมิภาค นํ้าเสียที่ปล่อยออก และเข้าสู่ระบบบำ�บัดนํ้าเสีย
นํ้าเสีย ที่ผ่านการบำ�บัดถูก นำ�กลับมาใช้ภายในชุมชน
11%
นํ้าที่ผ่านการบำ�บัด แล้วนำ�กลับมาใช้ใหม่
11%
นํ้าที่ผ่านการบำ�บัดแล้ว ปล่อยออกสู่สาธารณะ
89%
การบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้า (G4-EN4, G4-EN6) ปริมาณการใช้ไฟฟ้าในชุมชนลุมพินี แบ่งเป็น 2 ส่วนหลักๆ คือ ห้องชุดพักอาศัย มีปริมาณการใช้ไฟฟ้าร้อยละ 70 ของปริมาณ ไฟฟ้าทัง้ หมดในชุมชน ส่วนร้อยละ 30 ทีเ่ หลือเป็นปริมาณไฟฟ้าที่ ใช้ส�ำ หรับพื้นที่ส่วนกลางและงานระบบ ซึ่งแบ่งเป็นสัดส่วนได้ดังนี้ เคร�่องปรับอากาศและอื่นๆ สระวายน้ำและ เคร�่องออกกำลังกาย ระบบไฟฟาหลัก ระบบแสงสวาง
10% 10%
5%
20% 20%
15%
ระบบลิฟต
ระบบปมน้ำดี
20% ระบบบำบัดนํ้าเสีย
สัดส่วนปริมาณการใช้ ไฟฟ้าในชุมชนลุมพินี
ในปี 2559 การใช้พลังงานไฟฟ้างานระบบและพื้นที่ส่วนกลาง เท่ากับ 5,132,837 หน่วย/เดือน (5,132 เมกกะวัตต์/เดือน) คิดเป็น ค่าไฟฟ้า 18.99 ล้านบาท/เดือน หรือ 227.9 ล้านบาท/ปี แนวทางการประหยั ด พลั ง งานไฟฟ้ า ของงานระบบและพื้ น ที่ ส่วนกลาง แบ่งเป็น 3 แนวทางใหญ่ๆ ดังนี้ 1) การเปลี่ยนหลอดไฟฟ้าเป็นหลอด LED ดำ�เนินการต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2557 ปัจจุบันมีโครงการที่เปลี่ยน หลอดไฟฟ้าเป็นหลอด LED แล้วทั้งหมด 88 โครงการ สามารถ ประหยัดค่าไฟฟ้าเฉลี่ย 1,408,309.32 บาท/เดือน (ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ปี 2557-2559)
2) การบริหารจัดการระบบวิศวกรรม • ปิดเครื่องจักรส่วนกลางบางจุ ด 1 ชั ่ ว โมง ทุ กวั น เสาร์สุดท้าย ของเดือน ซึง่ ลดการใช้ไฟฟ้าได้ทง้ั หมด 37,686 หน่วย หรือสามารถ ประหยัดค่าไฟฟ้าได้ทั้งสิ้น 139,438 บาท (ข้อมูลตั้งแต่เดือน มกราคม-พฤศจิกายน 2559) • การติดตั้งระบบควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์ (Variable Speed Drive: VSD) ในเครื่องปรับอากาศ (อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ : สำ�นักงานใหญ่) ซึ่งช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้า และยืดอายุการ ใช้งานของระบบปรับอากาศ ทั้งนี้สามารถประหยัดพลังงานไฟฟ้า เฉลีย่ 40,062 หน่วย/เดือน หรือสามารถประหยัดค่าไฟฟ้าเฉลีย่ 145,387 บาท/เดือน (ข้อมูลตัง้ แต่เดือนมกราคม-พฤศจิกายน 2559) • การยกเลิกปั๊มของระบบบำ�บัดน้ำ�เสียและส่งน้ำ�เสียเข้าบำ�บัด ในระบบกลางของกรุงเทพมหานคร ซึ่งช่วยลดค่าไฟฟ้าสำ�หรับ ปั๊มของระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย และลดความเสี่ยงจากผลการตรวจวัด คุณภาพน้ำ�ทิ้งก่อนปล่อยออก • จัดทำ�โครงการศึกษาและปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ภายในโครงการคอนโดมิเนียม โดยนำ�ร่องที่โครงการลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง ด้วยการติดตั้งมิเตอร์ที่มีระบบซอฟท์แวร์จัดเก็บ และประมวลผลค่าพลังงานไฟฟ้า สามารถตรวจสอบหน่วยการ ใช้ไฟฟ้าในอาคารชุดได้แบบ Real-Time ผลการศึกษาพบว่า ช่วงเวลาที่มีการใช้ไฟฟ้าสูงสุด คือ เวลา 22.00-24.00 น. และ ช่วงเวลาที่มีการใช้ไฟฟ้าน้อยที่สุด คือ เวลา 09.00-17.30 น. ทั้งนี้ ผลที่ได้จากการศึกษาจะนำ�ไปวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าใน อาคารชุด เพือ่ จัดทำ�แผนและกลยุทธ์ในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า ต่อไป
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 1 01
13
ชุมชน
เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้พักอาศัยแข่งขัน ลดการใช้ ไฟฟ้าในห้องชุด โดยพิจารณา จากค่าไฟฟ้าที่ลดลง
มีการจัดทำ�สื่อประชาสัมพันธ์เพื่อรณรงค์ ให้เจ้าของร่วม ผู้พักอาศัย และพนักงานมี ส่วนร่วมในการประหยัดพลังงาน ผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ เช่น บอร์ดกิจกรรม และสื่อออนไลน์ เป็นต้น
มีชุมชนที่ร่วมจัดกิจกรรมทั้งหมด
65 74.79% ชุมชน
CONSTRUCTION PROCESS
สามารถลดค่าไฟฟ้าลงจากเดิมได้
COMMUNITY MANAGEMENT
ทำ�ให้ค่าไฟของห้องชุดทั้งหมดลดลงได้ 23,322.59 บาท โดยผู้ที่ชนะในกิจกรรมนี้ อาศัยอยูท่ โ่ี ครงการลุมพินี วิลล์ อ่อนนุช 46
การประหยัดค่าไฟฟ้า
เปลี่ยนหลอดไฟฟ้าเป็น LED แล้วทั้งหมด
88
โครงการ สามารถประหยัด ค่าไฟฟ้าเฉลี่ย
1,408,309.32 บาท/เดือน
DESIGN CONCEPT
มีชุมชนที่ร่วมจัดกิจกรรมทั้งหมด
• สื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์ การประหยัดพลังงาน
MARKETING MANAGEMENT
ในช่วงเวลาที่ปิดไฟพร้อมกันทั่วโลก 1 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 20.30-21.30 น.
• กิจกรรมลุมพินีร่วมใจ ประหยัดไฟให้โลกพัก # 2
IN PROCESS - 6 GREEN LPN
• กิจกรรมสวดมนต์ นั่งสมาธิ
FINANCIAL MANAGEMENT
ENTERPRISE
3) การรณรงค์ประชาสัมพันธ์และจัดกิจกรรมการประหยัดพลังงาน
ติดตั้งระบบควบคุมความเร็ว รอบมอเตอร์ในเครื่องปรับอากาศ อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ สำ�นักงานใหญ่
สามารถประหยัด ค่าไฟฟ้าเฉลี่ย
145,387 บาท/เดือน
1 02 • 6 G R E E N LP N
HIGHLIGHT “ชุมชนน่าอยู่” สู่ “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย” สังคมไทยเริ่มเปลี่ยนผ่านเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ เนื่องจากมีการเพิ่มขึ้นของจำ�นวนประชากรผู้สูงวัยอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อสภาพ สังคมโดยรวมในหลายมิติ ทัง้ การจ้างงาน การดูแลสุขภาพ และการจัดหาทีพ่ กั อาศัย สถิตดิ งั กล่าว สอดคล้องกับข้อมูลประชากรลุมพินีที่บริษัท เก็บรวบรวมมากว่า 20 ปี ที่แสดงให้เห็นถึงจำ�นวนประชากรวัยเด็กและผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นทุกปี จากเดิมที่อยู่ในช่วงวัยทำ�งานเป็นจำ�นวน มาก จึงมีการพัฒนาแนวทางบริหาร “ชุมชนน่าอยู”่ สู่ “ชุมชนน่าอยูส่ �ำ หรับคนทุกวัย” เพือ่ เตรียมพร้อมในการส่งมอบคุณภาพชีวิตที่ดี คุณค่า ผลิตภัณฑ์และบริการ ให้ครอบคลุมผูพ้ กั อาศัยในทุกกลุม่ มากขึน้ ก้าวสูก่ ารเป็นครอบครัวขยายทีม่ ที ง้ั เด็ก วัยรุน่ และผูส้ งู อายุ เพื่อสร้างความสุข ที่แท้จริงของการอยู่อาศัยให้กับชุมชน “ลุมพินี” กว่า 130,000 ครอบครัว ใน 143 โครงการ บริษทั ได้วางแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการควบคู่ กันไป โดยมีเป้าหมายในการสร้าง “ชุมชนน่าอยูส่ �ำ หรับคนทุกวัย” ให้เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม สามารถเป็นองค์ความรู้และต้นแบบให้กับผู้ประกอบ การรายอื่นๆ ในสังคมไทยต่อไปในอนาคต สัดส่วนประชากรทุกช่วงวัยของลุมพินี
85%
90
สมาชิกลุมพินีกว่า
130,000
80 70
ครอบครัว
60 50 40 30
3%
2%
10%
20
จำ�นวนโครงการ
10 0 วัยเด็ก 1-10 ป
วัยรุน 11-20 ป
วัยทำงาน 21-59 ป
วัยสูงอายุ 60 ป
143 โครงการ
• การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ในปี 2559 บริษัทมีแผนในการพัฒนาคุณค่าผลิตภัณฑ์ (Product Value) ด้านการออกแบบ เพื่อรองรับกับการใช้ชีวิตของคนทุกวัย (Universal Design) โดยดำ�เนินการศึกษาและ วิเคราะห์รูปแบบการใช้งานพื้นที่ส่วนกลางและภายในห้องชุดของโครงการที่บริษัทได้ พัฒนาเสร็จสิ้นแล้ว 5 โครงการ ซึ่งเป็น 5 ชุมชนต้นแบบที่มีมาตรฐานในการบริหารจัดการ “ชุมชนน่าอยู่” อย่างเป็นรูปธรรม ได้แก่ 1. ลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง 2. ลุมพินี พาร์ค ริเวอร์ ไซด์-พระราม 3 3. ลุมพินี เพลส พระราม4-กล้วยน้ำ�ไท 4. ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจ้าพระยา 5. ลุมพินี สวีท พระราม 8
ห้องสมุดมีชีวิต สำ�หรับคนทุกวัย
บริเวณห้องนํ้าส่วนกลาง ติดตั้ง ราวจับสแตนเลส และฝาชักโครก สองชั้นสำ�หรับเด็กและผู้ใหญ่ ใช้ร่วมกัน
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 1 03
ทั้งนี้ บริษัทได้นำ�ผลของการสำ�รวจมาพัฒนาผลิตภัณฑ์ทั้งในโครงการที่เสร็จสมบูรณ์และมีผู้พักอาศัยแล้ว และในโครงการใหม่ที่บริษัทกำ�ลัง พัฒนา สำ�หรับโครงการใหม่ บริษัทได้บรรจุเรื่องของการออกแบบสำ�หรับคนทุกวัยไว้ในมาตรฐานการออกแบบ Green Design Concept Standard ทั้งในส่วนของพื้นที่ส่วนกลางและภายในห้องชุด เพื่อให้โครงการใหม่ทุกโครงการของบริษัทมีองค์ประกอบและสภาพพื้นที่ เหมาะสม รองรับการใช้ชีวิตของคนทุกวัย โดยให้ความสำ�คัญกับกลุ่มผู้พักอาศัยวัยเด็กและผู้สูงอายุ เนื่องจากเป็นกลุ่มที่ต้องได้รับการดูแล และใส่ใจอย่างใกล้ชิด ในส่วนของโครงการที่พัฒนาเสร็จสิ้นแล้ว บริษัทได้นำ�เอาแนวคิดการออกแบบสำ�หรับคนทุกวัย (Universal Design) มาปรับปรุงพื้นที่ส่วน กลางและสภาพแวดล้อมเดิมให้รองรับการใช้งานและสามารถใช้ประโยชน์ร่วมกันได้อย่างเหมาะสม โดยเริ่มดำ�เนินการปรับปรุงที่โครงการ ลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง เป็นโครงการแรก เพื่อเป็นต้นแบบในการนำ�ไปใช้ปรับปรุงพื้นที่ภายในโครงการอื่นๆ ของบริษัท โดยใช้งบ ประมาณในการปรับปรุงทั้งสิ้น 245,190 บาท
พื้นที่ส่วนกลางสำ�หรับเด็ก ติดตั้งเบาะ โฟมกันกระแทก และชุดโต๊ะเด็กเล็ก
ติดเทปกันลื่นบริเวณพื้นทางเข้าลิฟต์ เพื่อความปลอดภัย
สระว่ายนํ้า ช่วงแรกไม่มีราวจับ
สระว่ายนํ้าหลังปรับปรุง ติดราวจับ
ทางลาดสำ�หรับผู้สูงอายุ หรือผู้พิการที่นั่งรถเข็น
การปรับปรุงพื้นที่ส่วนกลาง ในโครงการลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง ใช้งบประมาณทั้งสิ้น
245,190 บาท
การออกแบบสำ�หรับคนทุกวัย (Universal Design) เป็นแนวคิด การออกแบบเพื่อรองรับการอยู่อาศัย ของคนทุกวัย ที่ LPN นำ�มาใช้พัฒนา ในโครงการที่เป็น “ชุมชนต้นแบบ” เครื่องออกกำ�ลังกายกลางแจ้ง สำ�หรับคนทุกวัย
1 0 4 • 6 G R E E N LP N
HIGHLIGHT • การพัฒนาการบริหารชุมชน นอกเหนือจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่รองรับแนวคิดการสร้าง “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคน ทุกวัย” บริษัทยังคงให้ความสำ�คัญกับงานบริการหลังการขาย ภายใต้กลยุทธ์การบริหาร ชุมชน F-B-L-E-S+P ด้วยการร่วมมือกับหลายหน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น กรุงเทพมหานคร สำ�นักอนามัยและกรมควบคุมโรค สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) และสมาชิกครอบครัวลุมพินี ในการส่งเสริมและยกระดับคุณภาพชีวิต ของคนในชุมชนเมือง ด้วยการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการร่วมกัน ดังนี้ 1. การสร้างสุขภาวะชุมชน ร่วมกับกรุงเทพมหานคร และ สสส.
เป็นโครงการประสานความร่วมมือกัน 3 หน่วยงาน ได้แก่ กรุงเทพมหานคร สำ�นักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และบริษทั เพือ่ พัฒนาสุขภาวะของผู้พักอาศัย ในชุมชนลุมพินี ด้วยการเชื่อมโยงการทำ�งานแบบบูรณาการ ภายใต้แนวคิด “ร่วมสร้างสุข ในชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย” ผ่านการจัดการความรู้ด้านการบริหารชุมชนและพัฒนา ศักยภาพของผู้จัดการชุมชน เพื่อหาต้นแบบ (Model) ของการบริหารจัดการคุณภาพชีวิต ของผู้พักอาศัยในอาคารชุดที่สามารถสร้างสุขภาวะได้อย่างสมดุล ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ปัญญา สังคม โดยในปี 2559 ได้จัดกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน ดังนี้ การจัด Workshop “เวทีถอดประสบการณ์การบริหารจัดการชุมชนต้นแบบ” เพื่อ ร่วมถอดบทเรียนจากประสบการณ์การบริหารชุมชน และนำ�มาใช้เป็นแนวทางดำ�เนิน กิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะในอาคารชุด การจัดกิจกรรมต่างๆ ในชุมชนลุมพินี เพื่อสื่อสารและประชาสัมพันธ์ความรู้ด้าน สุขภาวะ เช่น กิจกรรมกินผัก 400 กรัม กิจกรรมตรวจสุขภาพ และการออกกำ�ลังกาย การพัฒนาศักยภาพผู้จัดการชุมชนให้สามารถขับเคลื่อนและออกแบบกิจกรรมที่จะ สร้างสุขภาวะ รวมถึงเป็นวิทยากรกระบวนการ (Facilitator) หรือผู้อำ�นวยความ สะดวกให้เกิดกิจกรรมที่เหมาะกับพฤติกรรมและความสนใจของสมาชิกทุกช่วงวัยใน ชุมชน โดยมีคณะกรรมการและผู้พักอาศัย เข้ามามีส่วนร่วมคิดสร้างสรรค์กิจกรรม และดำ�เนินการจัดงานใน 5 ชุมชนนำ�ร่อง ได้แก่ ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา ลุมพินี พาร์ค ปิ่นเกล้า ลุมพินี เมกะซิตี้ บางนา ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทราหลักสี่ และลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทรเดชา-รามคำ�แหง
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 105
2. ความร่วมมือระหว่างกันด้านสุขภาพของ LPN และกรมควบคุมโรคและ สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 13
“สุขภาพดี” ของสมาชิกในชุมชน เป็นอีกหนึง่ เป้าหมายการบริหารคุณภาพชีวติ (Life Quality Management) ตามแนวทางชุมชนน่าอยู่ จึงเกิดเป็นความร่วมมือระหว่างกันของบริษัท นิติบุคคลอาคารชุด และกรมควบคุมโรคและสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 13 ที่ได้เข้า มาดูแลสุขภาพชุมชนอย่างใกล้ชิด มีการจัดนิทรรศการให้ความรู้ และให้คำ�ปรึกษาด้าน สุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นโรคเบาหวาน โรคหัวใจ หรือการป้องกันโรคติดต่อต่างๆ และยังจัด ทีมเจ้าหน้าทีอ่ นามัยเข้ามาตรวจสุขภาพแก่ผู้พักอาศัย โดยเริ่มกิจกรรมที่โครงการ ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-ลาดปลาเค้า และมีแผนจะขยายไปยังชุมชนลุมพินี อีกหลาย ชุมชน 3. งานเสวนาประธานกรรมการนิติบุคคลอาคารชุด ครั้งที่ 10
บริษทั ได้เชิญประธานกรรมการนิตบิ คุ คลอาคารชุดกว่า 120 ชุมชน ร่วมงานเสวนาประธาน กรรมการนิตบิ คุ คลอาคารชุด ครัง้ ที่ 10 ในหัวข้อ “ชุมชนน่าอยูส่ �ำ หรับคนทุกวัย” เพือ่ เปิดพืน้ ที่ ให้ประธานกรรมการนิติบุคคลอาคารชุด และผู้เข้าร่วมเสวนาได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนแนวคิด แบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน เพื่อหาแนวทางและเตรียมความพร้อมการพัฒนาชุมชนและ การจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยต่างๆ โดยเน้นที่การพัฒนากลยุทธ์การบริหาร “ชุมชน น่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย” ใน 3 ด้าน ได้แก่ - การบริหารทรัพย์สว่ นกลาง (Facility Management) - การบริหารคุณภาพชีวติ (Life Quality Management) - การบริหารความปลอดภัย (Security Management) ภายหลังจากการเสวนา ประธานกรรมการนิติบุคคลอาคารชุดแต่ละชุมชนได้นำ�บทสรุปจาก การระดมความคิดเห็นไปทำ�งานร่วมกับคณะกรรมการนิติบุคคลอาคารชุดและฝ่ายจัดการฯ เพือ่ พัฒนาชุมชนแต่ละแห่งของลุมพินีให้น่าอยู่ เพื่อผู้พักอาศัยทุกวัยอยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุข ภายใต้วัฒนธรรม “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน”
4. การจัดตั้งชมรมเด็ก และชมรมผู้สูงอายุ
จากการสำ�รวจจำ�นวนประชากรวัยเด็กและวัยสูงอายุในชุมชนที่มีสัดส่วนเพิ่มมากขึ้นทุกปี บริษัทจึงสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มกันของสมาชิกวัยเด็กและกลุ่มสมาชิกวัยสูงอายุ เพื่อ สร้างสรรค์กิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยและสามารถทำ�ร่วมกันได้อย่างต่อเนื่อง โดยกิจกรรม ของชมรมเด็ก จะให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันของเด็กและผู้ปกครอง กิจกรรมสร้างสัมพันธ์และพัฒนาการด้านอารมณ์ ในส่วนของกิจกรรมของชมรมผู้สงู อายุจะ เน้นที่กิจกรรมด้านสุขภาพ กิจกรรมเพื่อสร้างเสริมสมรรถภาพทางร่างกาย และกิจกรรม รื่นเริงเพื่อสร้างความสุข ปัจจุบัน ทั้งสองชมรม ยังอยู่ระหว่างการจัดตั้ง แต่ในปี 2559 ที่ ผ่านมาได้ดำ�เนินกิจกรรมนำ�ร่องไปแล้วทั้งสิ้น 11 ครั้ง
1 0 6 • 6 G R E E N LP N
3
ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมนอกกระบวนการ OUT PROCESS
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 1 07
กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม แนวทางการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและ สังคมนอกกระบวนการของบริษัท มุ่งเน้นส่งเสริมจิตสำ�นึกความ รับผิดชอบที่เริ่มต้นจากตนเอง ซึ่งหมายถึง ภายในองค์กรและ ภายในชุมชนทีบ่ ริษทั พัฒนา แล้วจึงขยายสูส่ งั คมภายนอก โดยต้อง อาศัยความร่วมมือร่วมใจจากผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ทั้งบุคลากร ลูกค้า ปิยมิตร ดังคำ�ที่ว่า “สิ่งแวดล้อมและสังคมที่ดีต้องเริ่มต้น จากตัวเราก่อน เมื่อเราพร้อมจึงขยายออกไปสู่ชุมชนที่เราพัฒนา และบริหาร และสุดท้ายจึงขยายไปสู่ชุมชนรอบข้าง (From Corporate ESR to Community ESR)”
แนวคิดดังกล่าวจึงเป็นที่มาของนโยบายการบริหารจัดการชุมชนที่ บริษัทมุ่งพัฒนาให้ทุกโครงการเป็น “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย” เพื่อเป็นตัวอย่างให้ผู้ประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์รายอื่น และส่งผลไปสู่แนวคิดในการทำ�กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมนอกกระบวนการ แบ่งเป็น กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของบริษัท ที่เป็นกิจกรรมหลัก และจัดต่อเนื่องทุกปี และกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของ ชมรมลุมพินีอาสา
TOGETHERNESS CARE AND SHARE
กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมของบริษัท
- อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ (LUM-T) - โครงการลุมพินี สุขมุ วิท 77 (SK 77) - โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-นวมินทร์ (LT-RN) - โครงการลุมพินี รามอินทรา-หลักสี่ (RL) - โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทรเดชา-รามคำ�แหง (LT-BR) - โครงการพี.เอส.ที. ซิต้โี ฮม (PST) - โครงการลุมพินี เมกะซิต้ี บางนา (LM-BN) (จุดรับบริจาคโลหิตจุดใหม่ เริม่ เปิดรับบริจาคโลหิตครัง้ แรก ในเดือนกรกฎาคม 2559 ไตรมาสที่ 3)
1,200 1,000 800
2558
2559
1,092 758
600 400
249 289
200
260
290 348
342
318 348
282 299
194 0
0 LUM-T
SK77
LT-RN
RL
LT-BR
PST
LM-BN
โครงการ
ปี 2559 ได้รับบริจาคโลหิต รวมทั้งสิ้น
2,929
ปริมาตรโลหิต สูงกว่าเป้าหมาย ที่กำ�หนดไว้ถึง
ยูนิต
2.5
%
กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ของบริษัท
ปริมาณโลหิต (ยูนิต)
OUT PROCESS
ปี 2559 บริษัทตั้งเป้าหมายการจัดหาและส่งมอบโลหิต สำ�รองให้กับศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย จำ�นวน 1 ล้าน ซี.ซี. ภายใต้โครงการ “1 ล้าน ซี.ซี. ลุมพินี ร่วมใจบริจาคโลหิต” (1,000,000 c.c. Lumpini Sharing for Friends) ตลอดทั้งปีจะมีการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ผู้ท่ี สนใจร่วมบริจาคโลหิตตามจุดรับบริจาคโลหิตต่างๆ ในปีนี้ได้ รับบริจาคโลหิตรวมทั้งสิ้น 2,929 ยูนิต คิดเป็นปริมาณโลหิต ทัง้ หมด 1,025,150 ซี.ซี. สูงกว่าเป้าหมายทีก่ �ำ หนดไว้รอ้ ยละ 2.5 โดยหน่วยรับบริจาคในชุมชนลุมพินีมีทั้งหมด 7 หน่วย ดังนี้
กราฟแสดงการเปรียบเทียบปริมาณโลหิต ระหว่างปี 2558 และ 2559
กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ของชมรมลุมพินีอาสา
1. กิจกรรมบริจาคโลหิต
1 0 8 • 6 G R E E N LP N
2. การสนับสนุนโครงการ “แล้งนี้ไม่แล้งนํ้าใจ ด้วยการให้โลหิต”
โครงการ “แล้งนี้ไม่แล้งน้ำ�ใจ ด้วยการให้โลหิต” จัดขึ้นเพื่อเตรียม พร้อมรับมือกับความต้องการโลหิตที่เพิ่มสูงขึ้นในช่วงเทศกาล สงกรานต์ เนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุ โดยรณรงค์ ให้ประชาชน ตระหนักถึงความจำ�เป็นของการบริจาคโลหิตเพื่อสำ�รองให้ผู้ป่วย ในช่วงเวลาดังกล่าว ทั้งนี้บริษัทได้มอบเงินสนับสนุนแก่ศูนย์บริการ โลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ในการจัดทำ�เสื้อยืดมอบให้กับ ผู้บริจาคโลหิต เมื่อวันที่ 11-17 เมษายน 2559 ณ ศูนย์บริการ โลหิตแห่งชาติ ถนนอังรีดูนังต์ ซึ่งกิจกรรมนี้ได้รับโลหิตบริจาค ทั้งสิ้น จำ�นวน 13,156 ยูนิต
กิจกรรม “แล้งนี้ไม่แล้งนํ้าใจ ด้วยการให้โลหิต” ได้รับโลหิตบริจาคทั้งสิ้น
13,156
ยูนิต
3. การสนับสนุนกิจกรรมเพื่อสังคม (G4-EN31)
บริษัทมีนโยบายสนับสนุนการจัดกิจกรรมของชุมชนและหน่วยงาน ภาครัฐ เพื่อร่วมพัฒนาและสร้างประโยชน์ ให้กับสังคม โดยใน ปี 2559 ได้สนับสนุนการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมของชุมชนและ หน่วยงานภาครัฐ จำ�นวน 18 แห่ง ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.
วัดกิตติวงศ์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย โรงเรียนไชยฉิมพลีวิทยาคม ชมรมเพื่อนช่วยเพื่อนตำ�รวจแห่งชาติ มูลนิธิเด็กอ่อนในสลัม มูลนิธิคนตาบอดไทย โรงเรียนบ้านหนองบัวทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ผ้าป่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทศบาลตำ�บลหนองไม้แดง จังหวัดชลบุรี สำ�นักงานเขตสายไหม โรงเรียนอนุบาลเทศบาลด่านสำ�โรง สถานีตำ�รวจภูธรประตูน้ำ�จุฬาลงกรณ์ สำ�นักงานเขตราชเทวี สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย สำ�นักงานเขตภาษีเจริญ โรงเรียนวัดอัมพวา ศูนย์เยาวชนลุมพินี โรงเรียนวัดดาวคะนอง
จิตอาสาจากแอล.พี.เอ็น. จัดโครงการห้องสมุดเพื่อน้อง ที่โรงเรียนบ้านหนองสำ�โรง
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 109
4. การสร้างความสัมพันธ์กับหน่วยงานภายนอก (G4-DMA, G4-EN31)
การสร้างความสัมพันธ์กบั หน่วยงานภายนอก แบ่งการดำ�เนินงานเป็น 2 รูปแบบ คือ 1. การพัฒนาชุมชนและหน่วยงานราชการบริเวณโดยรอบ โครงการ และ 2. การส่งเสริมและสนับสนุนการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม การพัฒนาชุมชน / หน่วยงานราชการบริเวณโดยรอบโครงการ
บริษัทสนับสนุนการพัฒนาชุมชนและหน่วยงานราชการ รวมถึงวัด และโรงเรียนที่อยู่ใกล้เคียงกับโครงการที่บริษัทกำ�ลังพัฒนา พื้นที่ ที่บริษัทเลือกพัฒนาและปรับปรุง จะเป็นพื้นที่สาธารณะและพื้นที่ บริการประชาชนในหน่วยงานราชการที่ให้บริการประชาชนจำ�นวน มาก เพื่อให้มีสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ที่ดีขึ้น และยังเป็นการ สร้างความสัมพันธ์อันดีกับชุมชน ปี 2559 มีรายละเอียดผลการ ดำ�เนินงานดังนี้
• ปรับปรุงพื้นที่สำ�นักงานเขตสายไหม
ผลการพัฒนาชุมชน / หน่วยงานราชการ บริเวณโดยรอบโครงการ
1
วัดจันทรสุข สำ�นักงานเขตสายไหม สำ�นักงานเขตหลักสี่ สถานีตำ�รวจภูธรประตูน้ำ� จุฬาลงกรณ์
ปรับปรุงพื้นที่เรียบร้อย ปรับปรุงพื้นที่เรียบร้อย ปรับปรุงพื้นที่เรียบร้อย 1. สนับสนุนเครื่อง ปรับอากาศเพื่อติดตั้งบริเวณ ห้องบริการประชาชน 2. ปรับปรุงพื้นที่เรียบร้อย ปรับปรุงพื้นที่เรียบร้อย ปรับปรุงพื้นที่เรียบร้อย
2
3
โรงเรียนอนุบาลด่านสำ�โรง สำ�นักงานเขตภาษีเจริญ
ก่อนปรับปรุง
หลังปรับปรุง
• ปรับปรุงพื้นที่สำ�นักงานเขตหลักสี่
ก่อนปรับปรุง
หลังปรับปรุง
ส่งเสริมและสนับสนุนการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
นอกจากการดูแลสิ่งแวดล้อมและสังคมภายในองค์กรแล้ว บริษัท ยังให้การส่งเสริมและสนับสนุนการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมภายนอก องค์กรด้วยการสนับสนุนอุปกรณ์และสื่อในการคัดแยกขยะ รวมทัง้ จัดกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยในปี 2559 บริษัทสนับสนุนอุปกรณ์ให้หน่วยงานต่างๆ ดังนี้
ผลการส่งเสริมและสนับสนุนการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม กับหน่วยงานต่างๆ ผลการดำ�เนินงาน
จัดกิจกรรมส่งเสริม การคัดแยกขยะ ส่งมอบถังขยะรีไซเคิล
หน่วยงานที่ขอรับ การสนับสนุน
โรงเรียนหัวหมาก
(1 ครั้ง)
สนง.เขตพระโขนง (3 ชุด) สนง.เขตคลองเตย (5 ชุด) สนง.เขตมีนบุรี (3 ชุด) คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2 ชุด)
กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ของบริษัท
สถานะการดำ�เนินงาน
OUT PROCESS
หน่วยงาน
กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ของชมรมลุมพินีอาสา
ไตรมาสที่
1 1 0 • 6 G R E E N LP N
กิจกรรมทอดกฐินสามัคคี (G4-DMA)
เพื่อสบทบทุนสร้างอาคารปฏิบัติวิปัสสนาสมเด็จพระพุฒาจารย์ ณ วัดจันทรสุข จังหวัดปทุมธานี (ข้างเคียงโครงการลุมพินี ทาวน์ชปิ รังสิต-คลอง 1) เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2559 รวมยอดเงิน ทำ�บุญทั้งหมด 279,999 บาท
ยอดเงินทำ�บุญทั้งหมด
279,999
บาท
บรรยากาศงานทอดกฐินสามัคคี วัดจันทรสุข
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 111
2. กิจกรรมจิตอาสาในชุมชน
FROM CORPORATE ESR TO COMMUNITY ESR
1. กิจกรรมการบริจาคในชุมชนลุมพินี
เป็นกิจกรรมที่บริษัทจัดร่วมกับผู้พักอาศัย เพื่อรับบริจาคสิ่งของ และเงิน มอบให้มูลนิธิและหน่วยงานสาธารณประโยชน์ต่างๆ เช่น มูลนิธิยุวพัฒน์ (ร้านปันกัน) มูลนิธิคนตาบอด มูลนิธิบ้านนกขมิ้น มูลนิธิกระจกเงา และวัดสวนแก้ว มีชมุ ชนทีจ่ ดั กิจกรรมแล้ว จำ�นวน 117 ชุมชน
ชุมชนลุมพินี ที่จัดกิจกรรมบริจาคสิ่งของและเงิน มอบให้มูลนิธิและหน่วยงานสาธารณประโยชน์ต่างๆ จำ�นวน
117
ชุมชน
กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ของบริษัท
ชมรมลุ ม พิ น ี อาสา เป็นชมรมที่จ ัดตั้งขึ้นโดยการรวมตั ว ของ เจ้าของร่วม เพื่อทำ�กิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม ซึ่งบริษัท ได้รว่ มส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมของชมรมอย่างต่อเนื่อง ในปี 2559 มีการดำ�เนินกิจกรรมดังนี้
กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ของชมรมลุมพินีอาสา
กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ของชมรมลุมพินีอาสา
• กิจกรรมรักษ์ชุมชน จัดโดยผู้พักอาศัยโครงการลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจ้าพระยา • กิจกรรมจิตอาสาร่วมทำ�ความสะอาดวัดนิมมานรดี จัดโดย ผู้พักอาศัยโครงการลุมพินี วิลล์ บางแค • กิจกรรมบริจาคสิง่ ของและเลีย้ งอาหารเด็กกำ�พร้าวัดบางเพลิง จัดโดยผู้พักอาศัยโครงการลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 109-แบริ่ง • กิจกรรม “ปันน้ำ�ใจให้น้องผู้พิการทางสายตา” ณ โรงเรียน ธรรมมิกวิทยา จัดโดยผู้พักอาศัยโครงการลุมพินี เพลส ปิ่น เกล้า • กิจกรรม “น้องอิม่ ท้อง พีอ่ ม่ิ บุญ” ณ มูลนิธบิ า้ นนกขมิน้ จัดโดย ผู้พักอาศัยโครงการลุมพินี เพลส ศรีนครินทร์-หัวหมาก • กิจกรรมบริจาคสิง่ ของและเลีย้ งอาหารเด็ก ณ สถานสงเคราะห์ เด็กชายบ้านบางละมุง จัดโดยผู้พักอาศัยโครงการลุมพินี พาร์คบีช จอมเทียน • กิจกรรรมจิตอาสาทาสีเส้นจราจรในชุมชน จัดโดยผู้พักอาศัย โครงการพาร์ควิว วิภาวดี • กิจกรรมบริจาคสิ่งของและเลี้ยงอาหารคนชรา ณ บ้านพัก คนชราหญิง จัดโดยผู้พักอาศัยโครงการยูดีไลท์ บางซื่อ • กิจกรรมเปิดโรงทาน ณ วัดนิมมานรดี และโรงเรียนวัด นิมมานรดี จัดโดยผู้พักอาศัยโครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ บางแค • กิจกรรมบริจาคสิ่งของ ณ มูลนิธิบ้านนกขมิ้น จัดโดยผู้พัก อาศัยโครงการลุมพินี วิลล์ อ่อนนุช-พัฒนาการ • กิจกรรมทำ�ความสะอาด ณ วัดนิมมานรดี จัดโดยผูพ้ กั อาศัย โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ บางแค • กิจกรรมจิตอาสาย้อมผ้าสีดำ� จัดโดยผู้พักอาศัยโครงการ คอนโดยู รังสิต-เมืองเอก
OUT PROCESS
กิจกรรมจิตอาสาในชุมชน เป็นกิจกรรมที่ผู้พักอาศัยร่วมกันจัดขึ้น เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมในชุมชนและพื้นที่สาธารณะรอบชุมชน รวมถึงการรับบริจาคสิง่ ของและเงินเพือ่ ช่วยเหลือมูลนิธติ า่ งๆ มีการ จัดกิจกรรมทั้งหมด 12 กิจกรรม คือ
112 •
6 G R E E N LP N
3. กิจกรรม 5 ชมรมลุมพินีอาสา
บริษัทส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ผู้พักอาศัยและเจ้าของร่วมจัดขึ้น ภายใต้แนวคิด “From Corporate ESR to Community ESR” จนเกิดการรวมกลุ่มและจัดตั้งชมรมขึ้น โดยเรียกกลุ่มชมรมนี้ว่า “ชมรมลุมพินีอาสา” ซึ่งในปี 2559 ชมรม ลุมพินีอาสา ผู้พักอาศัยในชุมชนต่างๆ และพนักงาน จัดกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม จำ�นวน 8 กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรม “มอบหัวใจใส่ทะเล ปลูกป่าชายเลน งามเด่นปะการัง”
มอบสิง่ ของสนับสนุนกิจกรรมหน่วยนาวิกโยธิน ปลูกปะการัง 160 ต้น ปลูกป่าชายเลน 500 ต้น ณ อ่าวนาวิกโยธิน อำ�เภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี มีผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม จำ�นวน 185 คน
ปลูกปะการัง และ ปลูกป่าชายเลน รวม
660
ต้น
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม รวม
185
คน
กิจกรรม “ฅนอาสาถักไม้กวาดถวายวัด”
กิจกรรม “12 สิงหา ฮาล์ฟ มาราธอน 2016”
ร่วมกันถักไม้กวาดและถวายอุปกรณ์ท�ำ ไม้กวาด จำ�นวน 10 กิโลกรัม ทำ�บุญเททองหล่อพระพุทธเจ้า 3 พระองค์ (มูลค่า 5,000 บาท) และ ถวายปัจจัยบำ�รุงวัด จำ�นวน 3,000 บาท ณ วัดป่ามะไฟ จังหวัด ปราจีนบุรี มีผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม จำ�นวน 41 คน
ร่วมเดิน-วิ่งการกุศลหารายได้มอบให้กับศูนย์สิริกิต์บิ รมราชินีนาถ เพื่อโรคมะเร็งเต้านม โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำ�นวน 748 คน
ถวายอุปกรณ์ ทำ�ไม้กวาด จำ�นวน
10
กิโลกรัม
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม รวม
41
คน
กิจกรรม “ปันนํ้าใจจากลุมพินี สู่เมืองอโยธยา”
เป็นการเลี้ยงอาหารกลางวันผู้สูงอายุ บริจาคเงินและสิ่งของ ณ บ้านวาสนะเวศม์ พร้อมทั้งมอบทุนการศึกษา และร่วมกิจกรรม นันทนาการกับน้องๆ ณ บ้านเด็กกำ�พร้าวัดบางเพลิง มีผู้เข้าร่วม กิจกรรมจำ�นวน 45 คน
มอบทุนการศึกษาแก่ น้องๆ บ้านเด็กกำ�พร้า และเลี้ยงอาหารกลางวัน ผู้สูงอายุ
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม
45
คน
หารายได้มอบให้ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เพื่อโรคมะเร็งเต้านม
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม รวม
748
คน
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
กิจกรรม “รวมพลคนใจดีลุมพินีอาสา ทาสีโรงเรียนน้อง ท่องแดนพระสมุทรเจดีย์”
แบ่งกลุ่มสมาชิกทำ�กิจกรรมเป็น 2 กลุ่ม (ตามวัยและความสนใจ) ดังนี้ • กลุ่มที่ 1 ประกอบด้วย กิจกรรมการทาสีอาคารโรงเรียนบ้าน ขุนสมุทร โดยได้รับการสนับสนุนสี อุปกรณ์ทาสี และช่างทาสี จากบริษทั แฟร์ 9350 จำ�กัด (มูลค่า 34,000 บาท) การเลีย้ งอาหาร กลางวัน จัดกิจกรรมนันทนาการ พร้อมทัง้ มอบทุนการศึกษาจำ�นวน 10,009 บาท • กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วย กิจกรรมทำ�บุญไหว้พระ ณ วัดสาขลา และการทัศนศึกษาระบบนิเวศน์ป่าชายเลน ณ ป้อมพระจุล
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม รวม
158
คน
มอบทุนการศึกษา
10,009 บาท
กิจกรรม “ปันนํ้าใจสายใยรักจากพี่สู่น้อง”
ประกอบด้วย การเลี้ยงอาหารกลางวันเด็กกำ�พร้า การมอบทุนการ ศึกษา การเก็บขยะบริเวณหาดม้าน้�ำ และกิจกรรม Team Building ณ หมู่บ้านเด็กพ่อเรย์ จังหวัดชลบุรี มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำ�นวน 82 คน
เก็บขยะบริเวณหาดม้านา้ํ และเลีย้ งอาหารกลางวัน เด็กกำ�พร้า พร้อมมอบ ทุนการศึกษา
บริจาคทุนการศึกษา และเลีย้ งอาหารกลางวัน เด็กกำ�พร้าและด้อยโอกาส รวมถึงทำ�บุญไหว้พระ
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม
82
คน
OUT PROCESS
ทาสีอาคารโรงเรียน บ้านขุนสมุทร เลีย้ งอาหาร และจัดกิจกรรมนันทนาการ
ประกอบด้วย การบริจาคสิ่งของและทุนการศึกษา เพื่อถวายเป็น พระราชกุศล การยืนถวายอาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชฯ การส่งมอบของบริจาคและทุนการศึกษา การเลี้ยงอาหารกลางวันเด็กกำ�พร้าและด้อยโอกาส การทำ�บุญ ไหว้พระ และการบริจาคเงินสร้างศาลาวัด ณ โรงเรียนวัดสระแก้ว จังหวัดอ่างทอง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำ�นวน 158 คน
กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ของบริษัท
แบ่งกิจกรรมเป็น 2 ช่วงดังนี้ • ภาคเช้า จัดกิจกรรม ณ พุทธอุทยานพระพุทธเมตตาประชาไทยฯ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ วัดทิพย์สุคนธาราม กิจกรรมประกอบด้วย การตักบาตรพระสงฆ์ 48 รูป การเวียนเทียนรอบพระอุโบสถ การ ถวายหนังสือพระไตรปิฎก และปลูกต้นไม้ถวายเป็นพระราชกุศล • ภาคบ่าย จัดกิจกรรม ณ ศูนย์อนุรักษ์ช้างกาญจนบุรี (บ้าน ช.ช้างชรา) กิจกรรมประกอบด้วย การกวนและปั้นข้าวเหนียว การปลูกพืชเพื่อเป็นอาหารช้าง และการอาบน้ำ�ให้ช้าง
กิจกรรม “รักคือการแบ่งปัน เติมฝันแด่น้อง ผู้ด้อยโอกาส”
กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ของชมรมลุมพินีอาสา
กิจกรรม “อนุรกั ษ์ชา้ งไทย เทิดไท้องค์ราชินี 84 พรรษา”
• 113
1 1 4 • 6 G R E E N LP N
4. วง LPN รวมใจแบนด์คลับ
วงดนตรี LPN รวมใจแบนด์คลับ เกิดขึน้ จากการรวมตัวกันของสมาชิกในชุมชนลุมพินี ทีร่ กั ในเสียงดนตรีและมีจติ อาสาทีอ่ ยากจะแบ่งปัน ความสุขให้กับผู้อื่น ด้วยการสร้างกำ�ลังใจ และแบ่งปันข้อคิดดีๆ ผ่านเสียงเพลงและดนตรีที่มีความหมาย รวมถึงมอบทุนการศึกษาและ อุปกรณ์การเรียน ซึ่งจะเปลี่ยนสถานที่จัดกิจกรรมไปเรื่อยๆ ในปี 2559 วง LPN รวมใจแบนด์คลับจัดกิจกรรมทั้งสิ้น 2 ครั้ง ได้แก่ รายละเอียดการจัดกิจกรรมรวมใจแบนด์คลับ ประจำ�ปี 2559 ครั้งที่
สถานที่จัดกิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม
1
มูลนิธิสงเคราะห์เด็ก สภากาชาดไทย
- แสดงดนตรีให้กับน้องๆ รับชม - เกมนันทนาการ - แบ่งปันความสุขและพูดคุยเพื่อสร้าง กำ�ลังใจ - สอนเล่นเครื่องดนตรี - กิจกรรม DIY หมวกแก๊ป และ การสอนพับกระดาษโอริกามิ - มอบทุนการศึกษา อุปกรณ์การเรียน ของใช้จำ�เป็น ขนม และนม (มูลค่ารวมกว่า 15,000 บาท)
2
โรงพยาบาล รามาธิบดี
- แสดงดนตรีให้กับผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ และผู้ใช้บริการในโรงพยาบาลรับชม - แบ่งปันความสุขและพูดคุยเพื่อสร้าง กำ�ลังใจ - บริจาคเงินจำ�นวน 32,451.25 บาท เพื่อร่วมสร้าง “สถาบันการแพทย์ จักรีนฤบดินทร์” - แบ่งปันความสุข ผ่าน Facebook Condo Lumpini
มอบทุนการศึกษา อุปกรณ์การเรียน ของใช้จำ�เป็น ขนม และนม มูลค่ารวม
15,000
บาท
บริจาคเงินเพื่อร่วมสร้าง “สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์”
32,451.25
บาท
4
ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคมอิงกระบวนการ AS PROCESS
• 115
SUSTAINABLE POLICY
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
1 1 6 • 6 G R E E N LP N
สถาบันแอล.พี.เอ็น.
L.P.N. ACADEMY
LPN ACADEMY
ในปี 2559 บริษัทมีนโยบายที่มุ่งเน้นการพัฒนา สมรรถนะด้านภาวะผู้นำ�ของพนักงานระดับบริหาร และการสอนงาน (Coaching) ในระดับผู้จัดการ เพื่อสร้างผู้นำ�ที่เก่งและดี และการพัฒนาสมรรถนะ ตามลักษณะงานในส่วนของพนักงานระดับปฏิบตั กิ าร เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพ และมีความเป็น มืออาชีพ โดยเชื่อมโยงข้อมูลกับสำ�นักทรัพยากร มนุษย์อย่างเป็นระบบ ทัง้ ด้านการวางแผนการเติบโต การสร้างและสรรหาผู้สืบทอดตำ�แหน่ง การแต่งตั้ง โยกย้าย การประเมินผลงานประจำ�ปี รวมถึงการ พิจารณาค่าตอบแทน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพใน การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมถึง การสร้างและรักษาทรัพยากรที่มีค่ายิ่งต่อการนำ�พา องค์กรไปสู่การเป็น “องค์กรคุณค่า” อย่างยั่งยืน
1. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร (Competency-Based Development) สถาบันแอล.พี.เอ็น. มีภารกิจหลักในการพัฒนาสมรรถนะร่วมกับผู้บังคับ บัญชา เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรมีความกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเอง ทั้งด้านความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะหรือทัศนคติให้ได้ตามที่องค์กร คาดหวัง ซึ่งจะมีการประเมินสมรรถนะทุกปีในหลายรูปแบบ เพื่อวัด พฤติกรรมของแต่ละบุคคลที่สะท้อนสมรรถนะแต่ละด้านว่าแสดงออก มากน้อยเพียงใด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาช่องว่างและนำ�มาวางแผน พัฒนาฝึกอบรมรายบุคคล รวมทั้งยังเป็นเครื่องมือให้หัวหน้างานใช้ใน การวางแผนพัฒนาทีมงานได้อีกด้วย การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรประกอบด้วยสมรรถนะ 3 ด้าน ดังนี้
Core Competency C-L-A-S-S-I-C (7 ตัว)
Leadership Competency
Leadership (7 ตัว)
Functional Competency
สายงานบริหารชุมชน สายงานบริหารโครงการ หน่วยงานธุรกิจนายหน้า สายงานบริหารงานขาย หน่วยงานบำ�รุงรักษา
1. การพัฒนาสมรรถนะหลัก (Core Competency หรือ C-L-A-S-S-I-C)
หมายถึง การพัฒนาความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่ทุกคนในองค์กร จำ�เป็นต้องมี ผ่านการทบทวน กระตุ้นให้เกิดการนำ�ไปใช้ และวัดผล อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดพฤติกรรมที่จะช่วยสนับสนุนให้องค์กรบรรลุ เป้าหมายและภารกิจตามวิสัยทัศน์ที่องค์กรกำ�หนด
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 117
2. การพัฒนาสมรรถนะด้านความรู้ในงาน (Functional Competency)
3. การพัฒนาสมรรถนะด้านภาวะผู้นำ� (Leadership Competency)
หมายถึง การพัฒนาความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่บุคลากร แต่ละสายงานจำ�เป็นต้องมี เพื่อใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ตามลักษณะ งานให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้
หมายถึง การพัฒนาความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะด้านการ บริหารจัดการทีจ่ �ำ เป็นสำ�หรับระดับบริหารและหัวหน้างานทีม่ หี น้าที่ ในการบริหารงานและบริหารทีม
ผลการพัฒนาสมรรถนะด้านภาวะผู้นำ�
การพัฒนาสมรรถนะด้านภาวะผู้นำ� มีความสำ�คัญยิ่งประการหนึ่งต่อความสำ�เร็จขององค์กร เพราะผู้นำ�มีภาระหน้าที่และความรับผิดชอบ โดยตรงที่จะนำ�ทีม และสร้างแรงจูงใจให้ประสบความสำ�เร็จตามเป้าหมาย สถาบันแอล.พี.เอ็น. ดำ�เนินการพัฒนาสมรรถนะด้านภาวะผู้นำ�ให้ กับผู้บริหารระดับกลางถึงระดับสูง (ระดับ 8-13) ใน Competency 7 ด้านที่สำ�คัญขององค์กร คือ
ป 2558
7. ความคิดเชิง ผูประกอบการ (ตัวชี้วัดใหม ป 58)
77.22 73.30 คาเฉลี่ย
ป 2559
ในปีนี้ ผลสมรรถนะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านการนำ�และจูงใจผู้ใต้บังคับบัญชามีพัฒนาการที่ดีขึ้น เนื่องจากในปี 2558-2559 สถาบันฯ ได้เร่งพัฒนา Coaching Culture จึงทำ�ให้ผลคะแนนด้าน “บุคคล” ดีขึ้น แต่ยังต้องเร่งพัฒนาเรื่องวิธีคิดเชิงนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ด้วยการสร้างเวทีเพื่อการพัฒนาด้านนี้
AS PROCESS
ผลวิเคราะห์:
L.P.N. ACADEMY
ป 2557
6. ว�ธีคิด เชิงนวัตกรรม
SOCIAL ENTERPRISE
ป 2556
4. 5. ความสัมพันธ การขับเคลื่อน ระหวางบุคคล การเปลี่ยนแปลง
71.50 72.70
3. การนำและ จ�งใจผู ใตบังคับ บัญชา
67.25 75.54 73.80 71.79
2. การปฏิบัติ เชิงกลยุทธ
71.50 78.07 74.00 72.66
74.00 80.83 80.97 75.33
1. การมี ว�สัยทัศน
73.25 81.48 79.68 76.40
76.00 81.85 82.65 73.85
90 80 70 60 50 40 30 20 10 0
75.50 77.71 77.94 72.50
• สมรรถนะภาวะผู้นำ�
1 1 8 • 6 G R E E N LP N
2. การพัฒนาและฝึกอบรม แผนการอบรมด้านการบริหารและภาวะผู้นำ� (Managerial & Leadership Course) (G4-LA10)
บริษทั กำ�หนดแผนการพัฒนาและฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะตามระดับตำ�แหน่งของพนักงาน โดยมุ่งเน้นการพัฒนาความรู้ ทักษะ และสมรรถนะในด้านการบริหารจัดการ ทั้งงาน ทีมงาน ตัวบุคคล และการสร้างภาวะผู้นำ� เพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านภาวะผู้นำ�ให้ได้ตาม ระดับความสามารถที่องค์กรคาดหวัง โดยแบ่งหลักสูตรอบรมออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
t.
Community Mgt.
e e ntivnanc e v Pre ainte &M
Sale Mgt.
e ctiv kill Effe isory S erv Sup
ch Coa
n Mg
e t Lin Firs anager M
nctio
Functional Course
s er a nag Ma
ort Fu
t. vice Mg Ser unity m Com
Supp
Managerial & Leadership Course
de
se
e Cour
Electiv
Lea
h
oac
C r as
The Seeds #2
t.
t Mg
ec Proj
S-E-R-V-I-C-E-S
Code of Conduct Core LPN Way Course
1. หลักสูตรหลัก (Core Course)
2. หลักสูตรด้านบริหารจัดการ (Managerial Course)
มุง่ เน้นการเสริมสร้างทัศนคติที่ดีกับมาตรฐานการทำ�งานแบบ LPN เช่น วิถแี อล.พี.เอ็น. (LPN Way) จรรยาบรรณ (Code of Conduct) LPN Service Culture ความรับผิดชอบต่อสังคมและการมีสว่ น ร่วมเพือ่ การพัฒนาองค์กรสูค่ วามยัง่ ยืน เป็นต้น
มุ่งเน้นการพัฒนาความรู้ ทักษะ และสมรรถนะด้านการบริหาร จัดการ และการสอนงาน เช่น Leader as Coach, Manager as Coach และ The Seed #2 เป็นต้น โดยมีแผนการอบรมหลักสูตร ด้านบริหารจัดการ 4 ระดับ ดังนี้ • • • •
แผนการพัฒนาผู้บริหารระดับสูง (ระดับ 11-13) แผนการพัฒนาผู้บริหารระดับกลาง (ระดับ 8-10) แผนการพัฒนาหัวหน้างานระดับต้น (ระดับ 5-7) แผนการพัฒนาพนักงานระดับปฏิบัติการ (ระดับ 2-4)
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 119
แผนอบรมด้านความรู้ในงาน (Functional Course)
แผนการอบรมเพือ่ พัฒนาความรูแ้ ละทักษะตามลักษณะการทำ�งานของบริษทั มุง่ เน้นเพิม่ พูนความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะในงาน โดยวิเคราะห์ ตามจุดอ่อน จุดแข็ง ผลการดำ�เนินงานในปีที่ผ่านมา และความจำ�เป็นในวิชาชีพที่สำ�คัญและจัดทำ�เป็นแผนอบรม แยกตามประเภทงานหลัก ได้แก่ งานขาย-โอน-ธุรกิจนายหน้า งานบริหารโครงการ งานบริหารชุมชน งานบำ�รุงรักษา งานบริการชุมชน และงานสนับสนุน หลักสูตรเสริม (Elective Course)
เป็นหลักสูตรเพื่อเสริมความรู้และทักษะของพนักงานทุกสายงาน โดยพนักงานสามารถเลือกเรียนรู้ในหัวข้อต่างๆ ที่มีในหลักสูตรนี้ได้ตาม ความสนใจ เช่น หลักสูตรภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร หลักสูตร Mind Map : จับประเด็นเห็นภาพรวม และหลักสูตร Learning from Movie : บทเรียนจากหนังดัง เป็นต้น แนวทางการเรียนรู้ในสัดส่วน 70 : 20 : 10
บริษทั ได้น�ำ สัดส่วนการเรียนรู้ 70 : 20 : 10 มาปรับใช้ในการวางแผนพัฒนาและฝึกอบรมพนักงาน ที่ได้ขยายผลไปสูก่ ารใช้ประโยชน์จากสถานที่ ปฏิบตั งิ าน (On the Job Training : OJT) และการเรียนรูผ้ า่ นสังคมรอบข้าง เพือ่ การปรับปรุงและส่งเสริมการนำ�ความรูท้ ่ไี ด้จากในห้องเรียนไปสู่ สถานทีท่ �ำ งาน
หมายถึง การเรียนรู้ผ่านสังคม และคนรอบข้าง ทั้งการแลกเปลี่ยน เรียนรู้การโค้ช การเป็นพี่เลี้ยง หรือการให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�ผ่าน เครือข่ายเชิงสังคม
10% หมายถึง การเรียนรู้ในรูปแบบ การฝึกอบรม การจัด Workshop
3) การสอนงานพนักงานใหม ในที่ทำงาน (New Staff OJT) 4) การสอนงานพนักงาน ในที่ทำงาน เมื่อมีการ มอบหมายงานใหม เพ�่อเพ�่มคุณคา (Job Enrichment) หร�อ การเพ�่มปร�มาณในงาน (Job Enlargement)
การอบรม พัฒนาที่มี ประสิทธิภาพ
20% Coaching 1) L.8-13 Leader as Coach in Action 2) L.5-7 Manager as Coach in Action
10% Training 1) หลักสูตรมาตรฐานองคกร 1.1 LPN Way 1.2 RMTC 1.3 SD, CESR, CG และ LPN Green Workshop 1.4 การใหบร�การดวยใจ : SERVICES 2) หลักสูตรดานภาวะผูนำและการบร�หาร 4) กิจกรรมสงเสร�มความรู 2.1 L.8-13 : Leader as Coach 4.1 Book Briefing 2.2 L.5-7 : Manager as Coach 4.2 Knowledge Sharing 2.3 L.2-4 : The Seed Generation 2 4.3 Learning Delivery 4.4 E-Learning 3) หลักสูตรดานว�ชาชีพ 4.5 Morning Talk 3.1 งานขายโอน 4.6 Mind Map 3.2 งานบร�หารโครงการ 4.7 Learning from Movie 3.3 งานบร�หารชุมชน 3.4 งานบำรุงรักษา 5) การอบรมภายนอก 3.5 งานบร�การชุมชน 6) Business Simulation 3.6 งานธุรกิจนายหนา Mobile Technology
L.P.N. ACADEMY
20%
1) การคุยกันยามเชา (Morning Talk) 2) การแบงปนความรูหลังการอบรม (Sharing After Talk) หร�อการแบงปนความรู ประสบการณ ณ จ�ดปฏิบัติการ โดยผูบร�หาร (Knowledge of Experience Sharing)
AS PROCESS
หมายถึง การเรียนรู้ภายใน กระบวนการ ในสถานที่ทำ�งาน และการสนับสนุนต่างๆ
70% OJT
SOCIAL ENTERPRISE
70%
1 2 0 • 6 G R E E N LP N
ผลการพัฒนาและฝึกอบรม (G4-LA9)
ในปี 2559 บริษัทตั้งเป้าหมายในการสร้างโอกาสการ เรี ย นรู้ แ ละพั ฒ นาให้ พ นั ก งานจำ � นวนไม่ น้ อ ยกว่ า ร้อยละ 85 ได้รับการฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน จำ�นวนไม่น้อยกว่า 56 ชั่วโมง/คน/ปี โดยปี 2559 พนักงานมีชั่วโมงการอบรมเฉลี่ย 85 ชั่วโมง/คน แบ่ง ตามระดับและเพศของพนักงานได้ ดังนี้
พนักงานในแต่ละประเภท แยกตามเพศ
จำ�นวนชั่วโมงการฝึกอบรม - ผู้บริหารระดับสูง (L.11-13) - ผู้บริหารระดับกลาง (L.8-10) - หัวหน้างานระดับต้น (L.5-7) - พนักงานระดับปฏิบัติการ (L.2-4)
85%
L.11-13 L.8-10 L.5-7 L. 2-4
ทั้งหมด 664.90 5,310.10 17,823.60 28,967.00
ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง หัวหน้างานระดับต้น พนักงานระดับปฏิบัติการ
เพศชาย
เฉลี่ย 110.82 165.94 79.93 65.39
จำ�นวน (คน)
ประเภท
ระดับ
บริษัทตั้งเป้าหมาย ในการสร้างโอกาส การเรียนรู้และพัฒนาให้ พนักงานจำ�นวนไม่น้อยกว่า
เพศหญิง
ทั้งหมด เฉลี่ย 691.70 138.34 3,394.50 130.56 17,300.50 102.98 21,941.00 68.14
จำ�นวนชั่วโมง จำ�นวนชั่วโมง การอบรมทั้งหมด การอบรม (เฉลี่ย)
1,357 8,705 35,124 50,908
11 58 391 765
123.33 150.08 89.83 66.55
เพศ
จำ�นวน (คน)
จำ�นวนชั่วโมง การอบรมทั้งหมด
จำ�นวนชั่วโมง การอบรม (เฉลี่ย)
ชาย หญิง รวม
521 704 1,225
50,354 45,740
96.65 64.97
3. การส่งเสริมการพัฒนาวิทยากรภายในองค์กร ในปี 2559 สถาบันแอล.พี.เอ็น. มีหลักสูตรอบรมทีจ่ ดั สอนโดยวิทยากรภายใน ของบริษัทจำ�นวน 106 คน 26 หลักสูตร โดยจะเป็นหลักสูตรเพื่อนำ�มาพัฒนา ใช้ในงานของบริษัทและเป็นการทบทวนทักษะความรู้ อาทิ หลักสูตรบริหาร ชุมชน (CMTC) หลักสูตร SCAMPER : เทคนิคพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ หลักสูตร Mind Map : จับประเด็นเห็นภาพรวม หลักสูตรกฎหมายอาคารชุมชน ในงานบริหารชุมชน หลักสูตรการจัดทำ�เอกสารการเงินนิติบุคคล การใช้งาน ระบบ I-Prop ความรู้ด้านกฎหมายในงานบริหารชุมชน งานทำ�ความสะอาด ในห้องชุด (แจ๋วคอนโด) ความรู้เบื้องต้นในงานบริหารชุมชน (CM/P&M New Staff) ปฐมนิเทศพนักงานใหม่ ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อสนับสนุน งานขายโอน-บริหารชุมชน หลักสูตรพัฒนาตามสายงาน P&M และ LPN SERVICES ซึ่งเป็นหลักสูตรที่พัฒนาวิทยากรภายใน เพื่อเตรียมความพร้อม ในการสอนหลักสูตรถอดรหัสงานบริการ LPN SERVICES ในปี 2560
มีหลักสูตรอบรมทีจ่ ดั สอน โดยวิทยากรภายในบริษทั
26
หลักสูตร
โดยวิทยากรภายใน บริษัท จำ�นวนทั้งสิ้น
106
คน
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 121
4. การส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ (E-Learning) ในปี 2559 สถาบันแอล.พี.เอ็น. ได้รว่ มกับสำ�นักสารสนเทศพัฒนาเว็บไซต์ LPN Academy ขึน้ เพือ่ ใช้เป็นช่องทางในการเรียนรูอ้ กี ช่องทางหนึง่ และอำ�นวยความสะดวกแก่พนักงานในการลงทะเบียน ฝึกอบรม รวมถึงเป็นเครื่องมือในการประเมินความรู้ความเข้าใจภายหลังการอบรม นอกจากนั้น บริษทั มีแผนในการเพิม่ และพัฒนาสือ่ การเรียนรูบ้ นระบบออนไลน์ให้นา่ สนใจและเป็นประโยชน์มาก ยิง่ ขึน้ ด้วยการเพิม่ หัวข้อองค์ความรูใ้ ห้ครอบคลุม และร่วมกับหัวหน้างานในการกระตุน้ ส่งเสริมการ เรียนรูผ้ า่ นระบบออนไลน์ เพือ่ เพิม่ โอกาสในการเรียนรู้ และช่วยสนับสนุนให้พนักงานเข้าถึงแหล่ง เรียนรูไ้ ด้สะดวกขึน้ อีกด้วย
คิดเป็น
74%
เฉลี่ย 1,428 คน
5. การแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์สู่สาธารณชนและสถาบันการศึกษา บริษัทได้เปิดโอกาสให้สถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการ องค์กรเอกชนที่มีความสนใจได้เข้ามาศึกษาแนวคิด แนวทางการพัฒนาและ บริหารโครงการเพื่อขยายผลสู่ชุมชนรอบข้างและสังคม ด้วยการแบ่งปันประสบการณ์การทำ�งานโดยตรง ซึ่งในปี 2559 มีคณะเยี่ยมชมงาน รวม 16 คณะ แบ่งเป็นสถาบันการศึกษา 6 คณะ องค์กรภาครัฐ 5 คณะ เอกชนและสมาคมฯ 5 คณะ รวมบุคคลเข้ามาดูงานทั้งสิ้น 693 คน สำ�หรับหัวข้อที่คณะเยี่ยมชมงานแสดงความสนใจเข้ารับฟัง ได้แก่
693
คน
L.P.N. ACADEMY
แนวคิดในการบริหารร้านค้า และชุมชนน่าอยู่ จำ�นวน 1 คณะ
AS PROCESS
การจัดการออกแบบโครงการ และการบริหารงานก่อสร้าง จำ�นวน 4 คณะ
SOCIAL ENTERPRISE
การบริหารจัดการชุมชน และจัดการสิง่ แวดล้อม จำ�นวน 11 คณะ
มีสถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการ และ องค์กรเอกชนเข้ามา เยี่ยมชมงานทั้งสิ้น
1 2 2 • 6 G R E E N LP N
ในขณะเดียวกัน บริษทั ยังได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อต่างๆ อันจะเป็นการถ่ายทอดความรูแ้ ละประสบการณ์ในการดำ�เนินธุรกิจ แนวทางการบริหารโครงการ แนวทางการบริหารชุมชน และกลยุทธ์ความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม โดยในปีทผ่ี า่ นมา วิทยากรของ บริษทั ได้รว่ มบรรยายให้กบั สถาบันการศึกษารวม 7 ครัง้ และหน่วยงานภาครัฐและเอกชน 7 ครัง้ ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้
บรรยาย เกี่ยวกับแนวคิดใน การดำ�เนินธุรกิจ
4
ครั้ง
บรรยาย เกี่ยวกับแนวทาง การบริหารโครงการ
3
ครั้ง
บรรยาย เกีย่ วกับแนวทาง การบริหารชุมชน
3
ครั้ง
บรรยาย เกี่ยวกับการแสดงความรับผิดชอบ ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
3
ครั้ง
6. นโยบายการส่งเสริมและให้ความรู้ เกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อมและสังคมแก่พนักงาน
7. นโยบายในการให้ความรู้เกี่ยวกับการ ทุจริตคอร์รัปชัน
บริษัทดำ�เนินธุรกิจโดยคำ�นึงถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคม โดยมุ่งมั่นที่จะสร้างบุคลากรที่มีความภาคภูมิใจและ เชื่อมั่นในคุณค่าองค์กร รวมทั้งเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสรรค์ สิ่งดีๆ คืนสู่สังคม บริษัทจึงมีนโยบายที่ชัดเจนในการให้ความรู้ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสังคมแก่พนักงาน ซึ่งแผนพัฒนาและ หัวข้อในการอบรมในแต่ละปี จะถูกกำ�หนดโดยฝ่ายบริหารและ ปรับเปลี่ยนให้ทันต่อสถานการณ์บ้านเมืองในปัจจุบัน
บริ ษั ท มี น โยบายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ มาตรการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์รัปชัน โดยกำ�หนดให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของ บริษัทและบริษัทย่อยปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด และได้ดำ�เนินการ ให้ความรู้ ควบคู่ไปกับการสื่อสารกับพนักงานเกี่ยวกับการทุจริต คอร์รปั ชันในหัวข้อต่างๆ ตลอดทัง้ ปี ทัง้ ในรูปแบบของการทบทวน ความรู้ผ่านการอบรมและการสื่อสารทางบอร์ดประชาสัมพันธ์ หรือทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) ในหัวข้อต่างๆ ดังนี้
ในปี 2559 สถาบันแอล.พี.เอ็น. ได้จัดการอบรมแก่พนักงานและ ผู้บริหาร ทั้งการอบรมโดยตรงและการสอดแทรกเรื่องราวเป็น ส่วนหนึ่งของหลักสูตรอื่นๆ เช่น การอบรมด้านการบริหารจัดการ สิง่ แวดล้อม ซึง่ แต่ละครัง้ จะเปลีย่ นหัวข้อให้สอดคล้องกับผูป้ ฏิบตั งิ าน ประกอบด้วยการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมหัวข้องานรักษาพื้นที่ สีเขียว (Green) การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมหัวข้องานรักษา ความสะอาด (Clean) การอนุรักษ์พลังงาน (Lean) เป็นต้น รวม ทั้งสิ้น 80 ชั่วโมง
1. การอบรมและทบทวนจรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน 2. นโยบายต่อต้านคอร์รัปชัน (Anti-Corruption Policy) ที่ได้รับ อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 6/2557 และให้ มีผลบังคับใช้ตง้ั แต่วนั ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เป็นต้นไป 3. นโยบายการคุ้มครองผู้ร้องเรียน พยาน ผู้ให้ข้อมูล หรือแจ้ง เบาะแสเกี่ยวกับการทุจริต ผิดกฎหมาย และจรรยาบรรณ (Whistle Blower Policy) ที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2557 และให้มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เป็นต้นไป
นอกจากนั้น บริษัทยังได้กำ�หนดให้ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และสังคม เป็นกลยุทธ์ที่สำ�คัญในการบริหารโครงการร่วมกับคู่ค้า หรือ LPN TEAM ซึ่งนอกจากจะมีการประชุมรายงานผลการ ดำ �เนิ น งานด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมตาม LPN Green Standard Checklist ทุกเดือนแล้ว ผู้บริหารของ บริ ษั ท ยั ง มี ส่ ว นร่ ว มในการให้ น โยบายและให้ ค วามรู้เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมและสังคมแก่พนักงานในส่วนงานที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารโครงการและผู้บริหารและพนักงานของ LPN TEAM รวม ทั้งสิ้น 11 ครั้ง
ทั้งนี้ นอกเหนือจากนโยบายดังกล่าวข้างต้น ในปี 2559 บริษัท ยังได้กำ�หนดนโยบายที่เกี่ยวกับของกำ�นัลและการเลี้ยงรับรอง เพื่อห้ามมิให้พนักงานเรียกรับหรือยินยอมจะรับเงิน สิง่ ของ หรือ ประโยชน์อน่ื ใดจากผูท้ เ่ี กีย่ วข้องทางธุรกิจ โดยบรรจุไว้ในจรรยาบรรณ ทางธุรกิจซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคู่มือพนักงาน และเป็นส่วนหนึ่ง ของการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ทุกครั้ง
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 123
8. งบประมาณที่ใช้ในการพัฒนา ฝึกอบรม และสัมมนาต่างๆ ในปี 2559 บริษัทสนับสนุนงบประมาณสำ�หรับการดำ�เนินงานพัฒนา ฝึกอบรม และสัมมนาต่างๆ ผ่านสถาบันแอล.พี.เอ็น. เป็นเงินรวม ทั้งสิ้น 18,041,425.84 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้
บาท
% ความพึงพอใจของพนักงานที่มีต่อ หลักสูตรการอบรม
เท่ากับ
92%
% ความรู้ที่เพิ่มขึ้นของผู้อบรม เปรียบเทียบก่อนและหลังการฝึกอบรม
เท่ากับ
73.20%
14,728 บาท/คน
% สมรรถนะด้านภาวะผู้นำ�และการ บริหารจัดการของพนักงานระดับ จัดการ (ระดับ 8-13)
เท่ากับ
73.30%
L.P.N. ACADEMY
18,041,425.84
ค่าใช้จ่ายในการ อมรมภายนอก 1,559,267.91 บาท
โดยมีคา่ ใช้จา่ ยอบรมเฉลีย่ ทัง้ องค์กร เท่ากับ
AS PROCESS
ค่าใช้จ่ายอบรม ปี 2559 รวม
ค่าใช้จ่ายในการ อบรมภายใน 10,172,723.15 บาท
SOCIAL ENTERPRISE
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 6,309,434.78 บาท
1 24 • 6 G R E E N LP N
HIGHLIGHT การพัฒนาหลักสูตรเฉพาะ LPN Signature Courses พนักงานที่มีศักยภาพเป็นพลังขับเคลื่อนที่สำ�คัญขององค์กร เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน บริษัทจำ�เป็นต้องผลักดันให้พนักงานมีความพร้อม และความสามารถที่จะก้าวไปพร้อมกับองค์กรได้ สถาบันแอล.พี.เอ็น. หนึ่งในแรงผลักดันที่สร้างและพัฒนาบุคลากร จึงได้ดำ�เนินการพัฒนา หลักสูตรเฉพาะ หรือ LPN Signature Courses มากว่า 12 ปี เพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพตามวิถีแอล.พี.เอ็น. ผ่านการอบรม และเพิ่ม ทักษะในการปฏิบัติงานเฉพาะด้าน ซึ่งปัจจุบัน บริษัทมีหลักสูตร LPN Signature Courses แล้วจำ�นวน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรอบรม เชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาผู้จัดการชุมชน” และหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาหัวหน้างานบริการชุมชน” โดยทั้ง 2 หลักสูตร มีรายละเอียดดังนี้
หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร “การพัฒนาผูจ้ ดั การชุมชน” Community Management Training Course มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะใน การปฏิบัติงานด้านการบริหารชุมชนอย่างมืออาชีพ ตอบสนองต่อนโยบายและทิศทางการ ดำ�เนินธุรกิจ โดยสถาบันแอล.พี.เอ็น.ร่วมกับสายงานบริหารชุมชน พัฒนาหลักสูตรจาก ประสบการณ์การบริหารชุมชนมากว่า 20 ปี ทำ�ให้บริษัทมีความพร้อมในการผลิตบุคลากร ที่มีศักยภาพ และมีทีมวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ เพื่อฝึกอบรมพนักงานให้เติบโต สู่การเป็นผู้จัดการชุมชนในอนาคต ปัจจุบันได้จัดอบรมหลักสูตร CMTC แล้วทั้งสิ้น 14 รุ่น ตั้งแต่ปี 2547-2559 มีผู้เข้าอบรมทั้งหมด 269 คน กระบวนการเรียนรู้ของหลักสูตร CMTC
C M T C
Selecting คัดเลือกและสัมภาษณ บุคลากรเขาอบรมตาม เกณฑที่กำหนด
70%
การเร�ยนรูจากการทำงาน (On the Job Training)
Training
อบรม / ฝกปฏิบัติ / ดูงาน
Developing
Project Assignment
On the Job Training
ฝกปฏิบัติในบทบาทของผูชวยผูจัดการชุมชน
20%
สัดสวน การเร�ยนรู 70 : 20 : 10
การโคช (Coaching Feedback)
10% การฝกอบรม (Training)
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 125
การคัดเลือกบุคลากร (Selecting)
บริษทั จะทำ�การคัดเลือกบุคลากรเข้าเรียนในหลักสูตร CMTC โดยพิจารณาจากคุณสมบัตเิ บือ้ งต้น อายุงาน ผลประเมินการปฏิบตั งิ าน รวมถึง การสัมภาษณ์เพือ่ ประเมินทัศนคติและวุฒภิ าวะในการปฏิบตั งิ าน • สูตรการเรียนรู้ 70 : 20 : 10 แบ่งเป็น
70% - การฝึกปฏิบัติในงาน (On the Job Training)
ผู้เข้าร่วมอบรมหลักสูตร CMTC จะต้องฝึกปฏิบัติ พร้อมรายงานผลประสิทธิภาพการทำ�งานให้คณะกรรมการ พิจารณา เพื่อประเมินผลและศักยภาพในการเป็นผู้ช่วยผู้จัดการชุมชนต่อไป
20% - การเรียนรู้เป็นพี่เลี้ยงผ่านโค้ช (Coaching & Mentoring)
เป็นการนำ�ความรู้และทักษะจากการอบรมมาประยุกต์ใช้ โดยมีพี่เลี้ยงทำ�หน้าที่เป็นที่ปรึกษาและให้คำ�แนะนำ� ได้แก่ • การทำ�โครงการพิเศษ (F-B-L-E-S+P Project) เพื่อพัฒนาชุมชนและวิเคราะห์ปัญหาในโครงการพร้อมเสนอ แนวทางแก้ไขหลังจบการอบรมแต่ละหัวข้อ • การจัดทำ�งานโครงการ (Project Assignment) เป็นการดำ�เนินการด้วยการประมวลความรูจ้ ากทฤษฎี F-B-L-E-S+P สู่กระบวนการคิด ประยุกต์สู่การปฏิบัติและวางแนวทางแก้ไขปัญหาเชิงป้องกันได้ ผ่านการวางแผนพัฒนา ประสิทธิภาพในโครงการที่รับผิดชอบและหลังจากจบการอบรม
10% - การฝึกอบรม (Training)
มุ่งเน้นการให้ความรู้และเทคนิคการทำ�งาน เพื่อเพิ่มทักษะในการนำ�ไปปฏิบัติงานได้จริง
หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร “การพัฒนาหัวหน้างานบริการชุมชน” Service Community Management Training Course (SCMTC) จากความสำ�เร็จในการพัฒนาหลักสูตร CMTC ในข้างต้นมาแล้ว สถาบันแอล.พี.เอ็น. ได้ร่วมกับบริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด (LPC) ริเริ่มพัฒนาหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาหัวหน้างานบริการชุมชน” (Service Community Management Training Course หรือ หลักสูตร SCMTC) ขึ้น เพื่อฝึกอบรมและเตรียมบุคลากรของบริษัทให้มีความรู้ ความสามารถในงาน บริการชุมชน และเตรียมความพร้อมในการเป็นหัวหน้างานบริการชุมชนในอนาคต ปัจจุบนั ได้จดั อบรมหลักสูตร SCMTC แล้ว 1 รุน่ มีผู้เข้า อบรมทั้งหมด 22 คน ผ่านเกณฑ์การอบรมทั้งสิ้น 17 คน การคัดเลือกบุคลากร (Selecting)
บริษทั จะทำ�การคัดเลือกบุคลากรเข้าเรียนในหลักสูตร SCMTC โดยพิจารณาจากคุณสมบัตเิ บือ้ งต้น อายุงาน ผลประเมินการปฏิบตั งิ าน และการมีใจรักในงานบริการ รวมถึงการสัมภาษณ์เพือ่ ประเมิน ทัศนคติและวุฒภิ าวะในการปฏิบตั งิ าน • สูตรการเรียนรู้ 70 : 20 : 10 แบ่งเป็น
70% - การฝึกปฏิบัติในงาน (On the Job Training)
ผู้เข้าร่วมอบรมหลักสูตร SCMTC จะต้องฝึกปฏิบัติในสถานที่ทำ�งานปัจจุบัน โดยมีพี่เลี้ยงดูแลและติดตาม พร้อม รายงานผลประสิทธิภาพการทำ�งานให้สถาบันแอล.พี.เอ็น. พิจารณา เพื่อประเมินศักยภาพในการเป็นผูช้ ว่ ยหัวหน้างาน บริการชุมชนต่อไป
20% - การเรียนรู้เป็นพี่เลี้ยงผ่านโค้ช (Coaching & Mentoring)
เป็นการนำ�ความรู้และทักษะจากการอบรมมาประยุกต์ ใช้ โดยมีพี่เลี้ยง (เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ) และบัดดี้ (หัวหน้า แม่บ้าน) คอยแนะนำ� ให้ข้อมูลป้อนกลับ กระตุ้นให้นำ�ความรู้ไปใช้ในการทำ�งาน และสนับสนุนการสร้างความสัมพันธ์ ที่ดีระหว่างกัน
10% - การฝึกอบรม (Training)
มุ่งเน้นการให้ความรู้ และเทคนิคการทำ�งาน เพื่อเพิ่มทักษะในการนำ�ไปปฏิบัติงานได้จริง
1 2 6 • 6 G R E E N LP N
องค์กรธุรกิจเพื่อสังคม
SOCIAL ENTERPRISE SOCIAL ENTERPRISE
ปัญหาการกดขี่แรงงาน โดยเฉพาะแรงงานสตรียังเป็นปัญหาที่ภาครัฐและเอกชน จำ�เป็นต้องร่วมกันรับผิดชอบในการแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะการกดขี่แรงงานที่เป็น สตรีด้อยโอกาส ซึ่งเกิดจากการขาดการศึกษา ไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ จึงเป็น ช่องทางให้ผปู้ ระกอบการบางรายเอารัดเอาเปรียบค่าจ้างแรงงาน หรือบางรายที่มีปัญหา ทางครอบครัว ถูกสามีทอดทิ้งและต้องรับผิดชอบดูแลบุตร จึงไม่มีทางเลือก จำ�เป็น ต้องทำ�งานในองค์กรที่เอาเปรียบและกดขี่ ทำ�ให้สภาพครอบครัวมีปัญหาทั้งการพนัน ยาเสพติด ซึ่งเป็นปัญหาทางสังคมมาโดยตลอด ในฐานะที่บริษัทประกอบธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งต้องอาศัยธุรกิจที่เกี่ยวข้อง หลายด้าน โดยเฉพาะงานบริการ จึงได้จัดตั้งหน่วยงานบริการรักษาความสะอาดให้ กับชุมชนที่บริษัทบริหารขึ้น โดยมีแนวทางเพื่อเปิดโอกาสให้สตรีด้อยโอกาสในสังคม ได้อบรมวิชาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้กับตนเอง โดยมุ่งเน้นที่บริการทำ�ความสะอาด และ จัดสรรงานทำ�ความสะอาดในชุมชน “ลุมพิน”ี ทัง้ หมด รวมทัง้ ยังมุง่ เน้นการเพิม่ คุณภาพ ชีวิตให้กับสตรีด้อยโอกาสและครอบครัว ในปี 2554 บริษัทได้ศึกษาแนวคิด “กิจการเพื่อสังคม” (Social Enterprise) เพื่อ ต่อยอดแนวทางการดำ�เนินงานของสายงานนี้ และได้รับนโยบายจากคณะกรรมการ บริษัทให้ดำ�เนินงานปรับสถานะของสายงานให้เป็นบริษัทจำ�กัด จึงได้จัดตั้ง บริษัท ลุมพินี พร็อพเพอร์ตี้ เซอร์วิส แอนด์ แคร์ จำ�กัด (LPC) ขึ้น เพื่อแยกการบริหาร และพร้อมที่จะรองรับเป้าหมายสู่การเป็นวิสาหกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) ซึ่ง จะต่อยอดการอบรมและขยายงานด้านบริการเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างรายได้ คุณภาพชีวิต ศักดิ์ศรี และความสุขของพนักงาน และสามารถนำ�ผลกำ�ไรคืนให้กับสังคมในรูปแบบที่ กำ�หนดในอนาคต ปัจจุบันมีจำ�นวนสตรีด้อยโอกาสในบริษัทนี้มากกว่า 1,800 คน ซึ่ง บริษัทได้ตั้งดัชนีชี้วัดส่วนหนึ่งมุ่งเป้าไปสู่การบริหารความสุขของพนักงาน โดยจาก การสำ�รวจความพึงพอใจของงานบริการความสะอาดของชุมชน การยกระดับคุณภาพ ชีวิตและความสุขของพนักงาน พบว่าประสบความสำ�เร็จอย่างสูง
คำ�นิยามสตรีด้อยโอกาส
• การศึกษาค่อนข้างตํ่า หรือขาดการศึกษา • ถูกเอารัดเอาเปรียบค่าจ้าง แรงงานจากผู้ประกอบการ • มีปัญหาทางครอบครัว ถูกสามีทิ้งและต้องรับผิดชอบ ดูแลบุตร หรือ บิดา/มารดา
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 1 27
การยกระดับคุณภาพชีวิต 1. การส่งเสริมการศึกษา
บริษทั เล็งเห็นถึงความสำ�คัญในเรือ่ งของการศึกษา จึงได้จดั กิจกรรมและการอบรมให้ความรูแ้ ก่พนักงานบริการชุมชน โดยแบ่งออกเป็น 6 ส่วน ดังนี้ 1.1 โครงการอ่านออกเขียนได้
1.4 การเพิ่มทักษะด้านคอมพิวเตอร์
เป็ น การให้ ความรู้ ขั้ น พื้ น ฐานในการอ่ า นและเขี ย นหนั ง สื อ แก่ พนักงานบริการชุมชน เนื้อหาการเรียนประกอบด้วย การรู้จัก พยัญชนะและสระ การสะกดคำ� การผสมคำ� การหัดเขียน-อ่าน และการคำ�นวณตัวเลขอย่างง่าย มีผเู้ ข้าร่วมโครงการทัง้ หมด 30 คน โดยในปี 2560 บริษัทตั้งเป้าหมายที่จะผลักดันให้พนักงานบริการ ชุมชนทุกคนอ่านออกเขียนได้
เป็นโครงการที่จัดขึ้นสำ�หรับพนักงานบริการชุมชนที่จบการศึกษา หลักสูตรระดับวิชาชีพ เพื่อนำ�ความรู้มาใช้ในการทำ�งานและเพิ่ม ประสิทธิภาพการทำ�งาน มีผู้เรียนจำ�นวน 5 คน
1.2 การศึกษานอกระบบ (กศน.) เป็นหลักสูตร 2 ปี
โครงการทวิภาคีส�ำ หรับบุตรพนักงาน เพือ่ ส่งเสริมการศึกษาให้กบั บุตร ของพนักงาน โดยให้เข้ารับการศึกษาที่วิทยาลัยเทคนิคนนทบุรี บริษทั สนับสนุนค่าใช้จา่ ยในการศึกษา (ไม่รวมค่าทีพ่ กั ) ระดับ ปวช. จำ�นวน 15,000 บาท/คน และระดับ ปวส. จำ�นวน 30,000 บาท/คน มีบุตรพนักงานบริการชุมชนเข้าร่วมโครงการจำ�นวน 3 คน มี รายละเอียดดังนี้
จัดให้มีการเรียนการสอนทุกวันอังคารที่อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ (สำ�นักงานใหญ่) ซึ่งบริษัทสนับสนุนค่าพาหนะของอาจารย์จำ�นวน 200 บาท/คน/วัน มีผู้เรียนจำ�นวน 25 คน แบ่งเป็นระดับการเรียน ดังนี้
ระดับประถมศึกษา มีผู้เรียน จำ�นวน
7
คน
ระดับมัธยมศึกษา มีผู้เรียน จำ�นวน
18
คน
1.5 โครงการทวิภาคีสำ�หรับบุตรพนักงาน
ระดับ ปวส. สาขาไฟฟ้า มีผู้เรียน
2
คน
ระดับ ปวส. สาขาบัญชี มีผู้เรียน
1
คน
1.3 การศึกษาระดับวิชาชีพ เป็นหลักสูตรเทียบโอนประสบการณ์ 2 ปี
L.P.N. ACADEMY
บร�หารชุมชน
AS PROCESS
นอกจากนี้ ในปี 2559 บริษัทยังได้มอบทุน การศึกษาแก่บุตรพนักงาน จำ�นวน 550 ทุน ทุนละ 4,000 บาท
SOCIAL ENTERPRISE
จัดให้มีการเรียนการสอนทุกวันอาทิตย์ที่สถาบันแอล.พี.เอ็น มี อาจารย์จากวิทยาลัยเทคนิคนนทบุรีเป็นผู้สอน ซึ่งบริษัทสนับสนุน ค่าใช้จ่ายสำ�หรับผู้เรียนระดับ ปวช. จำ�นวน 5,000 บาท/คน ระดับ ปวส.จำ�นวน 20,000 บาท/คน และค่าพาหนะของอาจารย์จำ�นวน 2,000 บาท/ครัง้ ในปี 2559 มีผสู้ มัครเข้ารับการศึกษาจำ�นวน 30 คน ขณะนี้อยู่ระหว่างรอรับการอนุมัติหลักสูตรจากสำ�นักงานคณะ กรรมการการอาชีวศึกษา
1 2 8 • 6 G R E E N LP N
2. การส่งเสริมวิชาชีพ
บริษทั จัดอบรมวิชาชีพเสริม เพือ่ สร้างรายได้เพิม่ เติม สำ�หรับผูท้ ส่ี นใจในช่วงเวลาว่างจากการทำ�งานประจำ�ของพนักงานบริการชุมชน โดยอบรม 3 หลักสูตร คือ 2.1 หลักสูตรนวดแผนไทย
ผู้ ที่ ส มั ค รหลั ก สู ต รนวดแผนไทยจะได้ เ ข้ า รั บ การอบรมและฝึ ก ปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอาชีพ กรุงเทพมหานคร ศูนย์สมาคมแพทย์ แผนไทย และศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งนี้ บริษัทจะจัดสรรให้ พนักงานมีโอกาสนวดแผนไทยในกิจกรรมต่างๆ เพื่อเป็นการสร้าง รายได้เสริมให้กับพนักงาน 2.2 หลักสูตรผู้ช่วยช่างชุมชน
มีผู้เข้ารับการอบรมและผ่านหลักสูตรจำ�นวน 7 คน ขณะนี้อยู่ ระหว่างรอการพิจารณาว่าจ้างเข้ารับตำ�แหน่งใหม่จากกรรมการ ผู้จัดการ บริษทั ลุมพินี พร็อพเพอร์ต้ี เซอร์วสิ แอนด์ แคร์ จำ�กัด 2.3 หลักสูตรการทำ�อาหาร
มีการจัดอบรมทั้งหมด 3 รุ่น มีผู้เข้าร่วมอบรมรวมทั้งหมด 97 คน มีรายละเอียดดังนี้ หลักสูตร
สถานที่จัดกิจกรรม
จำ�นวนผู้เข้าอบรม (คน)
การทำ�แซนวิช บริษัท ฟาร์มเฮ้าส์ จำ�กัด การทำ�ก๋วยเตี๋ยวไก่มะระ รายการชี้ช่องรวย การทำ�ขนมจีนน้ำ�ยา รายการชี้ช่องรวย
39 30 28
3. การส่งเสริมพนักงานทำ�ความดี
5. การผลิตนํ้าหมักจุลินทรีย์
บริษัทสนับสนุนและชื่นชมพนักงานบริการชุมชนที่ทำ�ความดีจาก การเก็บทรัพย์สินได้แล้วส่งคืนเจ้าของ และการช่วยเหลือผูพ้ กั อาศัย ในชุมชนลุมพินี โดยในปี 2559 มีพนักงานบริการชุมชนทำ�ความดี ทั้งสิ้นจำ�นวน 399 ครัง้
พนักงานบริการชุมชนจะผลิตน้ำ�หมักจุลินทรีย์ เพื่อใช้ภายใน ชุมชนลุมพินี เป็นการลดการใช้สารเคมีและช่วยรักษาสิง่ แวดล้อม ภายในชุมชน ปี 2559 มีการผลิตน้ำ�หมักจุลินทรีย์จำ�นวน 47,116 ลิตร
4. การช่วยเหลือสังคมด้วยกิจกรรมจิตอาสา
ช่วงเวลาว่างจากการทำ�งาน พนักงานบริการชุมชนจะแบ่งหน้าทีก่ นั เพื่อช่วยเหลือสังคม ด้วยการทำ�ความสะอาดพื้นที่สาธารณะต่างๆ ได้แก่ วัด ชุมชน สถานีตำ�รวจ และชายหาด เป็นต้น ปีที่ผ่านมา มีการร่วมมือร่วมใจกันของพนักงานบริการชุมชนทำ�กิจกรรม จิตอาสาทั้งหมด 1,404 ครั้ง
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 129
กิจกรรมสร้างความสุขแก่พนักงานบริการชุมชน การสร้างความสุขให้กบั พนักงานบริการชุมชน เป็นนโยบายหนึง่ ขององค์กรทีต่ อ้ งการสร้างสมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวติ ส่วนตัว (Work-Life Balance) โดยในปี 2559 มีการจัดกิจกรรมให้กบั พนักงานบริการชุมชนจำ�นวน 6 กิจกรรม ดังนี้ 1. กิจกรรมวันปีใหม่
6. กิจกรรมซ่อมบ้านคนดี
เพื่อมอบความสุขให้แก่พนักงานบริการ ชุมชน ซึ่งกิจกรรมประกอบด้วย การฟัง ธรรมะ การมอบประกาศนียบัตรคุณภาพ งานและคนดี ผูบ้ ริหารอวยพรปีใหม่และให้ โอวาท การมอบของที่ระลึกแก่พนักงานที่ มีอายุงานครบ 10 ปี และ 15 ปี จำ�นวน 25 คน และการแสดงบนเวที
เป็ น กิ จ กรรมช่ ว ยเหลื อ พนั ก งานบริ การ ชุมชนที่มีความประพฤติดี ให้มีความเป็น อยู่ในสภาพแวดล้อมทีด่ ี โดยคณะกรรมการ จะคั ด เลื อ กพนั ก งานที่ มี คุ ณ สมบั ติ ต าม เกณฑ์ที่กำ�หนด และมอบเงินสนับสนุนให้ กับพนักงานในการซ่อมแซมบ้านพักอาศัย จำ�นวน 30,000 บาท/คน ทัง้ นีม้ พี นักงานที่ ได้รับการซ่อมบ้านแล้วจำ�นวน 5 คน
2. การสัมมนาท่องเที่ยว ประจำ�ปี 2559
สำ�หรับหัวหน้าและรองหัวหน้าพนักงาน บริการชุมชน ซึ่งกิจกรรมประกอบด้วย การเยี่ยมชมโครงการ ลุมพินี พาร์คบีช ชะอำ� ไหว้พระ ณ วัดห้วยมงคล เข้าชม อุทยานราชภักดิ์ และกิจกรรมจิตอาสา เก็บขยะชายหาดชะอำ�
ก่อนซ่อมแซม
3. กิจกรรมตรวจสุขภาพประจำ�ปี
เป็นสวัสดิการในการดูแลพนักงานบริการ ชุมชน โดยทีมแพทย์และผู้เชี่ยวชาญจาก โรงพยาบาลหัวเฉียว มีพนักงานเข้ารับการ ตรวจสุขภาพจำ�นวน 1,576 คน 4. ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
มีผู้เข้ารับการฉีดวัคซีนจำ�นวน 1,577 คน 5. กิจกรรมลดภาระค่าใช้จ่าย ในครัวเรือน
หลังซ่อมแซม รูปตัวอย่างบ้านพักอาศัยของ พนักงานบริการชุมชนก่อนและหลัง การซ่อมแซม
คน
1,577
มีพนักงานที่ได้รับการซ่อมแซม บ้านพักอาศัยแล้ว จำ�นวน
คน
5
คน
L.P.N. ACADEMY
1,576
มีพนักงานเข้ารับ การฉีดวัดซีน จำ�นวน
SOCIAL ENTERPRISE
มีพนักงานเข้ารับ การตรวจสุขภาพ จำ�นวน
AS PROCESS
โดยการเปิดขายข้าวสารราคาถูก และมอบ น้ำ � ยาล้ า งจานให้พนักงานบริการชุมชน คนละ 1 แกลลอน
1 3 0 • 6 G R E E N LP N
HIGHLIGHT หลักสูตร “ผู้ช่วยช่างชุมชน” บริษัทเล็งเห็นถึงความสำ�คัญของการพัฒนาขีดความสามารถของพนักงานบริการ ชุมชน เพื่อเพิ่มโอกาสในการเติบโต และเพิ่มทักษะการทำ�งานในด้านอื่นๆ นอกเหนือ จากงานบริการความสะอาด บริษัทจึงได้จัดตั้งหลักสูตร “ผู้ช่วยช่างชุมชน” เพื่อพัฒนา ศักยภาพพนักงานบริการชุมชน ให้มีความรู้และทักษะในการทำ�หน้าที่เป็นผู้ช่วยช่าง ชุมชน โดยเปิดโอกาสให้พนักงานทีม่ คี ณุ สมบัตผิ ่านเกณฑ์ ได้สมัครเข้ารับการอบรมและ ทดลองปฏิบัติงาน ซึ่งหลักสูตรดังกล่าว มุ่งเน้นในการสร้างทัศนคติ ทักษะ และความรู้ เช่น หลักการทำ�งานของเครื่องจักรและระบบในอาคาร การตรวจเช็คอุปกรณ์ให้อยู่ใน สภาพพร้อมใช้งานเพื่อความปลอดภัย เป็นต้น ในปี 2559 มีพนักงานเข้าอบรมหลักสูตรดังกล่าวทั้งหมด 12 คน ผ่านการประเมินจบ หลักสูตรจำ�นวน 7 คน เนื่องจากข้อจำ�กัดในการทำ�งานเชิงลึกเฉพาะทางในด้านการ บำ�รุงรักษา ทั้งนี้ บริษัทมีแผนที่จะปรับปรุงหลักสูตรร่วมกับฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง และ กำ�หนดคุณสมบัติที่จำ�เป็นบางประการให้ผู้เข้าอบรม รวมทั้งเพิ่มความเข้มข้นของ กระบวนการเรียนรู้และจัดให้มีนายช่างชุมชนเป็นคนสอนงานและดูแลอย่างใกล้ชิด และเตรียมแผนการเติบโตในระยะยาวให้แก่ผู้ผ่านการอบรม ด้วยการจัดสรรตำ�แหน่ง ในส่วนงานบำ�รุงรักษา เพื่อสร้างโอกาสในการเติบโตและมีรายได้เพิ่มขึ้นให้กับพนักงาน ในกลุ่มนี้
พนักงานบริการชุมชนเข้าอบรม หลักสูตร “ผู้ช่วยช่างชุมชน” จำ�นวน
12
คน
ผ่านการประเมินจบหลักสูตร “ผู้ช่วยช่างชุมชน” จำ�นวน
7
คน
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 1 31
บร�หารชุมชน
คุณสมบัตผิ เู้ ข้าอบรม 1. อายุ 20-40 ปี เพศ : ชาย/หญิง 2. จบวุฒิการศึกษาตั้งแต่ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) ขึ้นไป หรือมีประสบการณ์ ในงาน LPC ไม่น้อยกว่า 2 ปี 3. สุขภาพแข็งแรง / สายตาต้อง ไม่บอดสี (อ้างอิงผลตรวจสุขภาพ ประจำ�ปีบริษัท) 4. สามารถใช้ Smart Phone และ คอมพิวเตอร์ ในการพิมพ์บันทึก งาน หรือข้อความสื่อสารได้ เตร�ยมความพรอม (ระยะเวลาการอบรมและทดลองปฏิบัติงาน 1 เดือน)
10 1. Training
20 2. Coaching
- อบรม ASK - ฝกปฏิบตั ิ
ปฎิบตั งิ านตามโครงการ ทีก่ ำหนด โดยรวมกับ ชางชุมชนเปนพ�เ่ ลีย้ ง ใหคำแนะนำ
6 วัน สอบวัดความรู - ASK
70 3. On The Job Training
ผาน
4. ปฏิบตั หิ นาที่
ผูช ว ยชางชุมชน
ปฎิบตั งิ าน ณ โครงการ ตามหนาที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ
3 สัปดาห ประเมินผลการปฏิบัติจร�งในการเตร�ยมเปนผูชวยชางชุมชน
บร�หารชุมชน
• ผูที่ผาน
: โอนยายไป LPP และลงพ�้นที่ ปฏิบัติงานใน 13 โครงการ ที่ถูกคัดเลือก • ผูที่ไมผาน : ปฏิบัติงานใน LPC เหมือนเดิม
1 3 2 • 6 G R E E N LP N
5
นวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 1 33
นวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน บริษทั ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนานวัตกรรมทุกรูปแบบ รวมถึงส่งเสริมให้เกิดบรรยากาศในการสร้างนวัตกรรมในทุกกระบวนการดำ�เนินงาน ด้วยการกำ�หนดให้หนึ่งในสมรรถนะหลักขององค์กร (Core Competency) คือ การคิดนอกกรอบ (Lateral Thinking) ซึ่งจะเป็นตัวขับเคลื่อน การสร้างสรรค์นวัตกรรมของผู้บริหารและพนักงาน โดยกระตุ้นให้เกิดการตระหนักและเพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์และบริการอย่างต่อเนื่อง โดยนวัตกรรมของบริษัทแบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้
1. นวัตกรรมเชิงกลยุทธ์
2. นวัตกรรมทางด้านผลิตภัณฑ์
3. นวัตกรรมเชิงกระบวนการ
คือ นวัตกรรมที่สนับสนุนวิสัยทัศน์และ กลยุทธ์องค์กร เช่น ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับ คนทุกวัย การปรับรูปแบบธุรกิจ
คือ นวัตกรรมทีเ่ พิม่ คุณค่าให้กบั ผลิตภัณฑ์ และบริการของบริษัท เช่น การออกแบบ ห้องชุดรูปแบบ LPN Design การออกแบบ โครงการสีเขียว LPN Green Project ห้องสมุดมีชีวิต และสวนรวมใจ
คือ การปรับปรุงกระบวนการดำ�เนินงาน หรือการบริการ เพื่อตอบสนองต่อความ ต้องการของลูกค้า เช่น กระบวนการขาย กระบวนการโอนกรรมสิทธิ์อาคารชุด การ ตลาดและการสื่อสารแบรนด์ เป็นต้น
นวัตกรรมเชิงกลยุทธ์ ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย
จากกลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู”่ นวัตกรรมเชิงกลยุทธ์ทเ่ี ป็นหลักในการดำ�เนินงานมาเป็นเวลากว่า 27 ปี บริษัทได้ต่อยอดคุณค่าของ “ชุมชนน่าอยู่” สู่ “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย” ซึ่งมี ที่มาตั้งแต่อดีตที่บริษัทได้กำ�หนดกลุ่มเป้าหมายด้านการตลาด คือ กลุ่มที่มีรายได้ระดับ กลางถึงกลาง-ล่าง เป็นคู่หนุ่มสาวที่อยู่ในวัยทำ�งานและเริ่มแยกตัวออกจากครอบครัวของ บิดามารดา โดยกำ�หนดและเรียกกลุม่ เป้าหมายนีว้ า่ กลุม่ “D I N K” (Double Income No Kids คูส่ ามีภรรยาที่ยังไม่มีบุตร) และจากการที่บริษัทได้พัฒนาโครงการและบริหารชุมชน มาเป็นเวลาเกือบ 3 ทศวรรษ ฝ่ายพัฒนาการบริหารชุมชนได้พบข้อมูลว่าลักษณะของผู้พัก อาศัยมีการพัฒนาและขยายกลุ่มออกไปจากเดิม เช่น มีอายุที่เพิ่มมากขึ้น หลายครอบครัว เริ่มมีบุตร มีญาติ พ่อแม่ ผูส้ งู วัย อยูร่ ว่ มกันเป็นครอบครัวใหญ่ สอดคล้องกับข้อมูลประชากร ซึง่ เป็นที่ทราบกันดีว่าประเทศไทยกำ�ลังเริ่มเข้าสู่ยุคคนสูงวัย บริษัทจึงพัฒนากลยุทธ์ ดังกล่าวให้สมบูรณ์และครอบคลุมคุณภาพชีวิตของคนทุกวัย โดยเน้นการพัฒนาทั้งห้องชุด และพื้นที่ส่วนกลางให้เหมาะกับการใช้ชีวิตของกลุ่มผู้สูงวัยที่ช่วยตัวเองได้ (Independent Elderly: IE) เป็นอันดับแรก เพื่อให้ “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย” สามารถสร้างความ สุขที่แท้จริงของการอยูอ่ าศัยให้เกิดกับทุกคนได้ ตามนิยาม “ชุมชนลุมพินี ทีผ่ อู้ ยูอ่ าศัยทุกวัย อยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสุข โดยมีองค์ประกอบที่เหมาะสม มีคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อมและ สังคมที่ดี รวมทั้งจิตสำ�นึกของการร่วมใจ ห่วงใย และแบ่งปัน”
1 3 4 • 6 G R E E N LP N
นวัตกรรมระดับผลิตภัณฑ์ LPN Design
บริษัทมุ่งเน้นการเพิ่มคุณค่าของผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค และ คงไว้ซง่ึ ความได้เปรียบในการแข่งขัน อันนำ�ไปสูค่ วามเชือ่ มัน่ ทีม่ ตี อ่ แบรนด์ “ลุมพิน”ี จึงพบว่า มีพัฒนาการที่สำ�คัญด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา โดยกระบวนการ พัฒนาและออกแบบโครงการทีส่ �ำ คัญของบริษทั ประกอบด้วย การพัฒนาห้องชุดในรูปแบบ “LPN Design” ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง รวมถึงแนวคิดในการพัฒนาโครงการ “LPN Green Project” ภายใต้มาตรฐาน LEED และ Mixed Target Development ทีเ่ ป็น การพัฒนาโครงการที่ผสมผสานกลุ่มเป้าหมายวัยทำ�งานและวัยเกษียณเข้าไว้ด้วยกัน แนวคิด “LPN Design” เริ่มตั้งแต่ห้องชุดแบบสตูดิโอขนาด 30 ตร.ม. และห้องชุดแบบ 2 ห้องนอนขนาด 60 ตร.ม. ที่สร้างมาตรฐานใหม่ของการอยู่อาศัยในอาคารชุด เนื่องจาก สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบไทยๆ และง่ายต่อการบำ�รุงรักษา จวบจนปัจจุบันผลิตภัณฑ์หลัก ของบริษัทได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงมาตามลำ�ดับ โดยห้องชุดแบบ 1 ห้องนอน ขนาด 26 ตร.ม. แม้มขี นาดที่เล็กแต่สามารถตอบสนองต่อวิถีชีวิตและความต้องการ ในขณะที่ ยังคงรักษาระดับราคาขายให้ตอบสนองต่อกลุ่มเป้าหมายได้เป็นอย่างดี แม้ในภาวะที่ต้นทุน ขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปี 2555 บริษัทได้ออกแบบห้องชุดขนาดเล็ก 21 ตร.ม. เพือ่ ง่าย ต่อการใช้ชีวิตของคนรุ่นใหม่ โดยเริ่มโครงการแรกที่จังหวัดชลบุรี ในปี 2559 บริษัทศึกษาพฤติกรรมเชิงลึกของผู้บริโภค และได้พัฒนา New LPN Design ขนาด 35 ตร.ม. 2 ห้องนอน 1 ห้องน้�ำ เพือ่ ตอบสนองการใช้ชวี ติ ของคนทีเ่ ริม่ สร้างครอบครัว หรือกลุ่มครอบครัวขยายได้ครบถ้วน สมบูรณ์แบบในราคาที่เหมาะสม (Affordable Price) โดยพัฒนาโครงการลุมพินี พาร์ค เพชรเกษม 98 เป็นโครงการแรก รวมทั้งได้ปรับปรุง สถาปัตยกรรมภายนอกโครงการให้มีความทันสมัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม LPN Green Project และ LPN Signature Green Project
บริ ษั ท ให้ ความสำ � คั ญ กั บ การลดผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มอั น เนื่ อ งมาจากการพั ฒ นา โครงการ จึงได้ก�ำ หนดแนวทางการออกแบบและวางผังโครงการภายใต้แนวคิด “LPN Green Project” โดยได้มีการนำ�เสนอออกสู่สาธารณชน และได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีในด้าน ยอดขาย นอกจากนั้น ยังได้พัฒนาโครงการ “LPN Signature Green Project” ซึ่ง เป็นต้นแบบโครงการสีเขียว ที่ให้ความสำ�คัญกับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างเข้มข้น อย่างไรก็ตาม ในปี 2558 ต่อเนื่องจนถึงปี 2559 บริษัทได้พัฒนามาตรฐานการออกแบบ และบริหารโครงการสีเขียวขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานของ “อาคารเขียว” หรือ “Green Building” ของ LEED ได้เกือบสมบูรณ์ เน้นย้�ำ ถึงจิตสำ�นึกของความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม และสังคม (CESR) ของบริษัทได้อย่างชัดเจน
ตัวอย่างห้อง New LPN Design ขนาด 35 ตร.ม. 2 ห้องนอน 1 ห้องนํ้า
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 1 35
นวัตกรรมเชิงกระบวนการ กระบวนการขาย
จากความเชือ่ มั่นที่ผู้บริโภคมีต่อแบรนด์ “ลุมพินี” ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทเป็นที่ต้องการของตลาดอย่างมาก บางโครงการลูกค้าจำ�เป็น ต้องเข้าคิวจองซือ้ ก่อนเวลาเปิดขายเป็นเวลาหลายชัว่ โมง ซึง่ สร้างความลำ�บากอย่างสูงให้กบั ลูกค้า สายงานตลาดและขาย จึงได้คดิ ค้นระบบ การออก Tag และจับสลาก เพื่ออำ�นวยความสะดวกให้กับลูกค้า และเป็นการสร้างสรรค์คุณค่าของงานบริการลูกค้าอย่างชัดเจน นอกจากนี้ ยังได้เพิ่มการแบ่งกลุ่มดูแลลูกค้าและดูแลแบบ Mass Customize รวมถึงเพิ่มช่องทางสื่อสารทางสื่อออนไลน์ ซึ่งผลจากการปรับปรุง กระบวนการดังกล่าว สามารถเพิ่มยอดขายและลดค่าใช้จ่ายในการขายของบริษัทได้อย่างมีนัยสำ�คัญ
1 3 6 • 6 G R E E N LP N
ข้อมูลพนักงาน (G4-10) จำ�นวนพนักงานแยกตามประเภท (G4-LA12) ประเภท
เพศ
สถานที่ทำ�งาน
สัดส่วนพนักงานตามอายุ ตํ่ากว่า 30-50 ปี 30 ปี
รวม
ศาสนา
ปทุม พัทยา สมุทร 50 ปี ขึ้นไป กทม. ชะอำ� นนทบุรี ธานี /ชลบุรี ปราการ อุดร คริสต์ พุทธ อิสลาม
หญิง
ชาย
452 226 32 8 718 57%
331 175 28 9 543 43%
783 445 401 34 60 17 1,261 479 100% 38%
331 346 48 7 732 58%
7 644 6 33 28 49 13 10 11 742 30 21 357 5 13 11 6 6 3 3 391 7 12 57 2 - 2 58 - 1 10 17 - 16 1 50 1,075 11 46 40 57 19 13 16 1,206 38 4% 85% 1% 4% 3% 5% 2% 1% 1% 96% 3%
150 1 151 67%
223 159 73 1 224 159 73 33% 100% 71%
63 1 64 29%
1 162 1 1 163 0% 73%
9 13 8 19 5 7 9 13 8 19 5 7 4% 6% 4% 8% 2% 3%
3 217 3 1 3 218 3 1% 98% 1%
9 41%
22 18 13 59% 100% 82%
4 18%
- 12 1 1 5 - 3 0% 55% 5% 5% 23% 0% 14% 0%
1 20 1 5% 90% 5%
58 4%
287 978 1,068 7 69 50 94 12 23 22% 74% 81% 1% 5% 4% 7% 1% 2%
5 1,271 11 0% 96% 1%
327 130 65 20% 100% 40% 716 3,157 844 23% 100% 27%
185 12 254 3 21 8 34 0 7 4% 57% 78% 1% 6% 2% 10% 0% 2% 350 1,963 2,572 31 150 111 204 39 50 11% 62% 81% 1% 5% 4% 6% 1% 2%
3 1% 28 1%
พนักงานประจำ�
ระดับ 1-4 ระดับ 5-7 ระดับ 8-10 ระดับ 11-14 รวม พนักงานสัญญาจ้าง
ระดับ 1-4 ระดับ 5-7 รวม พนักงานรายวัน
รวม พนักงานแม่บ้าน
รวม
พนักงานรปภ.สัมพันธ์
รวม
รวมทั้งหมด
1,301 98% 262 80% 2,441 77%
22 1,323 2% 100%
317 7 97% 2% 3,021 60 97% 2%
เพศของพนักงาน
หญิง
77%
23%
พนักงาน ประจำ�
67%
ศาสนาพุทธ
97% ศาสนาคริสต์
ประเภทของพนักงาน
57% 43%
ศาสนาของพนักงาน
ชาย
หญิง 33%
พนักงาน สัญญาจ้าง
ชาย
2%
41%
59%
พนักงาน รายวัน
98% พนักงาน แม่บ้าน
20% 80% พนักงาน รปภ.สัมพันธ์
1%
ศาสนาอิสลาม
2%
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 1 37
การว่าจ้างพนักงานใหม่และพนักงานที่ลาออก แบ่งตามเพศ อายุ และภูมิภาค (G4-LA1, G4-LA12) อัตราการว่าจ้างพนักงานใหม่ และพนักงานที่ลาออก แบ่งตามเพศ
อัตราการว่าจ้างพนักงานใหม่ และพนักงานที่ลาออก แบ่งตามอายุ
อัตราการว่าจ้างพนักงานใหม่ และพนักงานที่ลาออก แบ่งตามภูมิภาค
จำ�นวน (คน)
จำ�นวน (คน)
จำ�นวน (คน)
450 400 350 300 250 200 150 100 50 0
450 400 350 300 250 200 150 100 50 0
400 332
134 116
ชาย
เพศ
หญิง
251 183 182
7 15
<30
30-50
อายุ (ปี)
>50
ลาออก
438
450 400 350 300 250 200 150 100 50 0
344
เข้าใหม่
380
กทม.
27 19
21 13
นนทบุรี
ปทุมธานี
20
3
สมุทร ปราการ
15 21
5 7
8 6
พัทยา /ชลบุรี
อุดรธานี
ชะอำ�
ภูมิภาค
อัตราการบาดเจ็บด้วยโรคจากการทำ�งาน วันขาดงาน และการขาดงาน (G4-LA6)
IR =
จำ�นวนการบาดเจ็บ x 200,000 จำ�นวนชั่วโมงที่ทำ�งานทั้งหมด
=
15 x 200,000 52 x 42 x 3,143
= 0.44 ( 0.44 ครั้ง ต่อการทำ�งาน 200,000 ชั่วโมง)
ODR =
แรงงานที่ป่วยด้วยโรคจากการทำ�งาน จำ�นวนชั่วโมงที่ทำ�งานทั้งหมด x 200,000
=
0 x 200,000 52 x 42 x 3,143
= 0 (0 ครั้ง ต่อการทำ�งาน 200,000 ชั่วโมง)
LDR =
จำ�นวนวันขาดงานทั้งหมด x 200,000 จำ�นวนชั่วโมงที่ทำ�งานทั้งหมด
=
139 x 200,000 52 x 42 x 3,143
= 4.05 (4.05 วัน ต่อการทำ�งาน 200,000 ชั่วโมง)
วันขาดงานทั้งหมดในช่วงเวลาหนึ่ง x 200,000 วันที่มาทำ�งานในช่วงเวลาเดียวกัน
=
9,722 x 200,000 246 x 3,143
= 2,514.82 (2,514.82 วัน ต่อการทำ�งาน 200,000 ชั่วโมง)
AR =
สถิติการเกิดอุบัติเหตุ (G4-LA6) ประเภทของอุบัติเหตุ ลื่นล้ม หกล้ม ตกจากที่สูง
3 ครั้ง (20%) ถูกทับ
2 ครั้ง (13.33%) ประสบอุบัติเหตุทั้งหมด
15 คน
พื้นที่ทำ�งานที่เกิดอุบัติเหตุ ถูกชน / ถูกกระแทก
สารเคมี
3 ครั้ง (20%)
1 ครั้ง (6.67%)
ถูกเฉี่ยวชนโดยพาหนะ
อื่นๆ
0 ครั้ง
การบาดเจ็บและโรค ที่เกิดจากการทำ�งาน บาดเจ็บ ขาดงาน เสียชีวิต
6 ครั้ง (40%) เพศ
สำ�นักงานใหญ่ โครงการ ระหว่างก่อสร้าง
0 ครั้ง 15 ครั้ง
เพศของพนักงาน
ภูมิลำ�เนา
ชาย
หญิง
กทม.
พัทยา/ ชลบุรี
4 3 -
11 7 -
12 -
3 -
การจำ�แนกการบาดเจ็บตามประเภท ช่วยให้เห็นได้ชดั เจนถึงต้นเหตุของการบาดเจ็บจากสาเหตุอน่ื มากที่สุด คือ ของมีคมบาด งูกัด ถูกเพื่อนร่วมงานทำ�ร้าย (40%) และที่บริษัท แอล.พี.เอ็น. กรุ๊ป ไม่เคยมีอุบัติเหตุ ในงานที่รุนแรงจนถึงขั้นเสียชีวิต และมุ่งมั่นที่จะรักษาสถิติดังกล่าวนี้ให้คงอยู่ตลอดไป
หญิง
ชาย
11 คน 73.33%
4 คน 26.67%
1 3 8 • 6 G R E E N LP N
จำ�นวนพนักงานที่ได้รับการประเมินผลในช่วงเวลารายงาน (G4-LA11)
แนวทางการพัฒนาอื่นๆ 1) พัฒนาประเมินผล Online เพื่อให้มี การพัฒนาอย่างต่อเนื่องและ Real time 2) มีการประเมินผลโดยใช้ Individual KPI 3) มีการประเมินผลปฏิบัติงานปีละ 4 ครั้ง 4) มีการประเมินพฤติกรรม ตาม Core Value ขององค์กร 5) นำ�ผลที่ได้รับจากการประเมินผลไปใช้ใน การพัฒนา และปรับปรุง โดยร่วมกับ Academy 6) มีการ Rotation พนักงานระดับบริหาร เพื่อให้โอกาสมีความก้าวหน้า และการ เรียนรู้ 7) ฝ่ายบริหารชุมชนจะมีการ Rotation ทุก 4 ปี เพื่อให้โอกาสมีความก้าวหน้า และการเรียนรู้ รวมทั้งเพื่อความโปร่งใส ในงาน
เพศ
จำ�นวนทั้งสิ้น
ชาย หญิง รวม
716 2,441 3,157
ประเมินผลในช่วงเวลาที่รายงาน จำ�นวนที่ ได้รับการประเมิน จำ�นวนที่ยังไม่ได้ประเมิน 683 2,372 3,055
33 69 102
ประเมินผลในช่วงเวลาที่รายงาน เพศชาย
จำ�นวนทั้งสิ้น
ประเมิน ไม่ประเมิน รวม
683 33 716
%การประเมินเทียบ จากเพศชาย
%การประเมินเทียบจากจำ�นวน พนักงานทั้งหมด
95.39% 4.61% 100%
21.63% 1.05% 22.68%
ประเมินผลในช่วงเวลาที่รายงาน เพศหญิง
จำ�นวนทั้งสิ้น
%การประเมินเทียบ จากเพศหญิง
%การประเมินเทียบจากจำ�นวน พนักงานทั้งหมด
ประเมิน ไม่ประเมิน รวม
2,372 69 2,441
97.17% 2.83% 100%
75.13% 2.19% 77.32%
อัตราส่วนของเงินเดือนพื้นฐาน และค่าตอบแทน ของผู้หญิงต่อผู้ชายตามประเภทพนักงานในพื้นที่ปฏิบัติงานที่สำ�คัญ (G4-LA13) ระดับพนักงาน กลุ่มแม่บ้าน ระดับ 1-4 ระดับ 5-7 ระดับ 8-10 ระดับ 11-14 รวม
ชาย
หญิง
จำ�นวน/คน
เงินเดือน
ค่าตอบแทนอื่นๆ
จำ�นวน/คน
78 426 175 28 9 716
904,072 7,439,769 5,867,900 2,047,820 1,957,010 18,216,571
13,250 130,490 1,257,950 344,820 64,440 1,797,700
1,509 665 227 32 8 2,441
เงินเดือน 14,115,192 11,659,714 7,098,880 2,142,560 1,475,660 36,492,006
ค่าตอบแทนอื่นๆ 48,250 228,020 1,499,820 383,960 52,680 2,164,480
หมายเหตุ : - เงินเดือน หมายถึง ฐานเงินเดือนของพนักงาน/เดือน - ค่าตอบแทนอื่นๆ หมายถึง ค่าตอบแทนอื่นๆ เช่น ค่าตำ�แหน่ง, ค่า Site Manager, ค่า Internet, ค่าโทรศัพท์, ค่าน้ำ�มัน, ค่าขั้น, ค่าวิชาชีพ, ค่าภาระหน้าที่/เดือน
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 1 39
รายงานหัวข้อสรุปอัตราการลาคลอดของพนักงาน ปี 2559 (ระหว่างวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม 2559) (G4-LA3)
10.81% คือ % พนักงาน ที่อยูระหวางลา
(4 คน)
86.49%
2.7%
ลาคลอด ทั้งหมด 37 คน
คือ % พนักงาน ที่ลาคลอด แลวกลับมาทำงาน
คือ % พนักงาน ที่ลาคลอด แลวลาออก
(32 คน)
(1 คน)
สวัสดิการที่จัดหาให้พนักงานแต่ละประเภท (G4-LA2) สวัสดิการ
ประจำ�
สัญญาจ้าง
รายวัน
แม่บ้าน
รปภ. สัมพันธ์
• •
• •
•
•
•
• • • • • • • • • •
• • • • • • • • • •
• • • • • • • • • •
• • • • • • • • • •
• • • • • • • • • •
• • •
• •
• •
• • •
•
•
•
•
• • • • • • • •
• • • • • • • •
• • •
• • •
•
•
1. ประกันชีวิต • ประกันกลุ่ม - ประกันชีวิต / ประกันอุบัติเหตุ - ประกันสุขภาพ (พนักงาน)
2. การดูแลสุขภาพ • ตรวจสุขภาพประจำ�ปี • สมาชิกฟิตเนส • ชมรมด้านกีฬาประเภทต่างๆ • วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ • การจ่ายยาขั้นพื้นฐาน • ห้องพยาบาล • ห้องมุมนมแม่สำ�หรับเก็บนํ้านมแม่ระหว่างวัน • นํ้าดื่ม • ประกันสังคม • กองทุนเงินทดแทน
3. อื่นๆ • เครื่องแบบพนักงานใหม่ • เครื่องแบบประจำ�ปี • เข็มที่ระลึกอายุงาน 10, 15, 20 ปี • รางวัลทำ�ความดี ประกาศเกียรติคุณ • เรียนฟรีและส่งเสริมการศึกษา • อบรมทักษะวิชาชีพ เพื่อพัฒนาในงาน • ทุนการศึกษาบุตร • งานปีใหม่ • สวัสดิการเงินช่วยเหลือ - เยี่ยมไข้พนักงาน - เยี่ยมคลอดพนักงาน - การสมรสพนักงาน - ญาติเสียชีวิต (พนักงาน) - พนักงานเสียชีวิต • เงินกู้ • กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ • เกษียณอายุ
• • • • • • • •
1 4 0 • 6 G R E E N LP N
สวัสดิการ 4. การดูแลผู้พิการ / คุ้มครองทุพลภาพ รับคนพิการเข้าทำ�งานตามที่กฎหมายกำ�หนด และจัดสวัสดิการให้ ได้รับอย่างเทียบเท่าพนักงานอื่นๆ
5. การลาหยุดเพื่อเลี้ยงดูบุตร พนักงานหญิงสามารถลาหยุดเพื่อเลี้ยงดูบุตรได้ 90 วัน โดยได้รับค่าจ้าง 45 วันจากบริษัท และจากประกันสังคม 45 วัน
6. ระเบียบการเกษียณอายุ บริษัทกำ�หนดอายุพนักงานเกษียณอายุที่ 55 ปี และ 60 ปี พนักงานจะได้รับเงินชดเชยนอกเหนือจากที่กฎหมายกำ�หนดด้วย โดยพนักงานที่ทำ�งานตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไปได้รับเงินกรณีเกษียณอายุเป็นบำ�เหน็จในอัตราเงินเดือน เดือนสุดท้าย อายุงานที่เกิน 10 ปี ทุกๆ 1 ปีที่เพิ่มขึ้น จะได้รับเงินบำ�เหน็จ 0.5 เดือน โดยรวมกันสูงสุดไม่เกิน 12 เดือน
7. สิทธิการเป็นผู้ถือหุ้น ไม่มี
สัดส่วนพนักงานที่มีสิทธิในการร่วมเจรจาต่อรอง (G4-11) (G4-LA5) บริษทั เคารพในสิทธิและเสรีภาพในการรวมกลุม่ และเจรจาต่อรองของพนักงานและสามารถปฏิบตั ไิ ด้จริงด้วยการเปิดพืน้ ที่ให้กลุม่ พนักงานทีห่ ลากหลาย สามารถมีสว่ นร่วม เสนอแนะข้อคิดเห็น และแนวทางในการจัดสวัสดิการที่เป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารได้ โดยปัจจุบันมีคณะกรรมการสวัสดิการใน สถานประกอบกิจการทัง้ สิน้ 20 คน ในฐานะตัวแทนของพนักงานทีม่ าจากการเลือกตัง้ จากเพือ่ นพนักงานในแต่ละพื้นที่ปฏิบัติงาน และมาจากพนักงาน ทุกระดับงาน ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ตามมาตรา 96 แห่ง พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ดังนี้ 1. ร่วมหารือกับนายจ้างเพื่อจัดสวัสดิการสำ�หรับลูกจ้าง 2. เสนอแนะความเห็นแก่นายจ้างในการจัดสวัสดิการสำ�หรับลูกจ้าง 3. ตรวจตรา ควบคุม ดูแล การจัดสวัสดิการที่นายจ้างจัดให้แก่ลูกจ้าง 4. เสนอข้อคิดเห็นและแนวทางในการจัดสวัสดิการที่เป็นประโยชน์สำ�หรับลูกจ้างต่อคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน จำ�นวนกรรมการสวัสดิการฯ
ตามโครงการ
บริษัท
สัดส่วนคณะกรรมการสวัสดิการ ต่อพนักงานทั้งหมด ตามระดับงาน ตามโครงการ
จำ�นวนพนักงาน
ตามโครงการ
ตามระดับงาน
ตามระดับงาน
จำ�นวน จำ�นวน กรรมการ พนักงาน สำ�นักงาน โครงการ ปฏิบัติการ จัดการ บริหาร สำ�นักงาน โครงการ ปฏิบัติการ จัดการ บริหาร สำ�นักงาน โครงการ สวัสดิการฯ ใหญ่ ระหว่าง (1-4) (5-7) (8-14) ใหญ่ ระหว่าง (1-4) (5-7) (8-14) ใหญ่ ระหว่าง ก่อสร้าง ก่อสร้าง ก่อสร้าง
LPN PST LPP LPS LPC
7 0* 7 7 7
383 26 924 125 1699
6 0 3 3 3
1 0 4 4 4
2 0 0 2 5
5 0 6 4 2
0 0 1 1 0
253 130 231 126 15 11 17 7 151 773 703 190 49 76 40 72 58 1641 100 7
26 2 31 13 5
2.4% 0.0% 2.0% 6.1% 5.2%
รวม
28
3,157 15
13
9
17
2
526 2,631 1,091 402
77 2.9%
* เนือ่ งจากบริษทั พรสันติ จำ�กัด มีจ�ำ นวนพนักงานน้อยกว่าจำ�นวนขัน้ ต่�ำ ที่ พ.ร.บ. คุม้ ครองแรงงานกำ�หนด จึงไม่ได้สง่ ตัวแทนมาร่วมเป็นคณะกรรมการสวัสดิการฯ
0.8% 0.0% 0.5% 5.3% 0.2% 0.5%
ปฏิบัติการ (1-4)
จัดการ (5-7)
0.9% 4.0% 0.0% 0.0% 0.0% 3.2% 5.0% 5.6% 5.0% 28.6% 0.8%
บริหาร (8-14)
0.0% 0.0% 3.2% 7.7% 0.0%
4.2% 2.6%
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 1 41
การนำ�เสนอประเด็นสำ�คัญด้านความยั่งยืน (G4–17, 19, 20, 21) ขอบเขตการรายงาน ภายนอกองค์กร (G4-21) ภายในองค์กร (G4 - 20)
ประเด็น ด้านความยั่งยืน ตามกรอบ GRI-G4
ประเด็นสำ�คัญ ด้านความยั่งยืน
ผลการดำ�เนินงาน ด้านเศรษฐกิจ (Economic Performance)
กำ�ไรและการเติบโตอย่างเหมาะสม งบการเงินที่ถูกต้องโปร่งใส ตรวจสอบได้ วินัยทางการเงิน สื่อสารรายงานผลประกอบการอย่าง สมํ่าเสมอ กระจายงบประมาณจากผลประกอบการจาก ทุกภาคส่วนอย่างสมดุลและเหมาะสม พัฒนาและเติบโตไปด้วยกัน ผลตอบแทนที่เหมาะสม บริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน การใช้วัสดุและทรัพยากรอย่างประหยัด และเหมาะสม การพิจารณาผลกระทบจากการออกแบบ บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน ผ่านกิจกรรม Green, Clean, Lean
ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น
บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน ผ่านกิจกรรม Green, Clean, Lean การออกแบบอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตามมาตรฐาน LPN Green Design Concept Standard
ผู้พักอาศัย
บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน ผ่านกิจกรรม Green, Clean, Lean บ้านที่สามารถเป็นเจ้าของได้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามพฤติกรรม และวิถีชีวิต (Behavior and Lifestyle) ส่งมอบคุณภาพชีวิตที่ดีผ่านการบริหารชุมชน ภายใต้กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่สำ�หรับคนทุกวัย” การลดผลกระทบจากการก่อสร้าง ตามมาตรฐาน LPN Green Construction Process Standard
ผู้พักอาศัย
สื่อสารแนวคิด “ร่วมใจ ห่วงใย แบ่งปัน” และ สร้างเครือข่ายจิตอาสา เช่น กิจกรรม บริจาคโลหิต สร้างการมีส่วนร่วมของผู้พักอาศัยในชุมชน ลุมพินี ด้วยการสนับสนุนการจัดกิจกรรมเพือ่ สิง่ แวดล้อมและสังคมของชมรมลุมพินอี าสา ให้ความสำ�คัญกับความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อมในกระบวนการผลิตและบริการ
ผู้พักอาศัย, บุคคลภายนอก
วัสดุ (Materials) พลังงาน (Energy)
นํ้า (Water) ความหลากหลายทาง ชีวภาพ (Biodiversity) สิ่งปฏิกูลและขยะ (Effluent and Waste) ผลิตภัณฑ์และบริการ (Products and Services)
ภาพรวมทัง้ หมด (Overall)
LPN PST LPP LPS LPC LPN ACADEMY
ผู้ถือหุ้น, พนักงาน LPN TEAM ผู้ถือหุ้น, LPN TEAM LPN TEAM LPN TEAM บ้านข้างเคียง, LPN TEAM ผู้พักอาศัย
LPN TEAM
ลูกค้า ลูกค้า ผู้พักอาศัย แรงงานก่อสร้าง บ้านข้างเคียง, LPN TEAM
ผู้พักอาศัย
1 4 2 • 6 G R E E N LP N
การนำ�เสนอประเด็นสำ�คัญด้านความยั่งยืน (G4–17, 19, 20, 21) ประเด็น ด้านความยั่งยืน ตามกรอบ GRI-G4 เรื่องร้องเรียนด้าน สิ่งแวดล้อม (Environmental Grievance Mechanisms) การปฏิบัติต่อแรงงาน และความเหมาะสม ของงาน (Labor Practices and Decent Work)
ประเด็นสำ�คัญ ด้านความยั่งยืน
ขอบเขตการรายงาน ภายนอกองค์กร (G4-21) ภายในองค์กร (G4 - 20) LPN PST LPP LPS LPC LPN ACADEMY
การบริหารความพึงพอใจและข้อร้องเรียน
ลูกค้า, LPN TEAM, ผู้พักอาศัย
ค่านิยมองค์กร องค์กรน่าอยู่ องค์กรแห่งการเรียนรู้และเติบโต ความสมดุลระหว่างการทำ�งานและชีวิต การสร้างความสุขในการทำ�งาน ยกระดับการศึกษา เพื่อสร้างโอกาส เติบโตในอาชีพการงาน ค่าจ้างแรงงานที่เป็นธรรม
พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของแรงงาน และผู้ที่เกี่ยวข้อง คุณภาพชีวิตและสุขอนามัยของ แรงงานก่อสร้าง ถ่ายทอดและแบ่งปันองค์ความรู้แก่บุคลากร ของปิยมิตรเพื่อพัฒนาและเติบโตไปด้วยกัน พัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงาน ให้ทันต่อการเติบโตของธุรกิจตาม วิถีของ แอล.พี.เอ็น. แบ่งปันองค์ความรู้สู่สาธารณชนและสถาบัน การศึกษาผ่านการศึกษาเยี่ยมชมดูงานและ การบรรยาย
LPN TEAM
ความหลากหลายและ โอกาสที่เท่าเทียมกัน (Diversity and Equal Opportunity)
สร้างงานและยกระดับคุณภาพชีวิต ของสตรีด้อยโอกาส
พนักงาน
ชุมชนท้องถิ่น (Local Communities)
การรับผิดชอบเยียวยาและดูแลผลกระทบ จากการก่อสร้าง การร่วมพัฒนาและปรับปรุงสภาพแวดล้อม และสาธารณูปโภคของชุมชนโดยรอบ ธรรมาภิบาลและการบริหารความเสี่ยง ต่อต้านการทุจริต
บ้านข้างเคียง, LPN TEAM บ้านข้างเคียง, LPN TEAM, บุคคลทั่วไป ผู้ถือหุ้น, พนักงาน LPN TEAM, พนักงาน
อาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย (Occupational Health and Safety) การอบรมและ ให้ความรู้ (Training and Education)
ต่อการต่อต้านทุจริต (Anti-Corruption)
พนักงาน
LPN TEAM LPN TEAM พนักงาน บุคคลทั่วไป
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 143
SDGs INDEX SDGs
Business Theme
GRI Indicators
Page SD 35, 41
1. End poverty in all its forms everywhere
Diversity and Equal Opportunity
2. End hunger, achieve food security and improved nutrition and promote sustainable agriculture
-
3. Ensure healthy lives and promote well-being for all at all ages
Local Communities Occupational Health and Safety
G4-SO2 G4-LA5 G4-LA6
SD 88 SD 140 SD 42, 137
4. Ensure inclusive and equitable quality education and promote lifelong learning opportunities for all
Training and Education
Local Communities
G4-LA9 G4-LA10 G4-LA11 G4-SO2
SD 120 SD 118-119 SD 138 SD 88
5. Achieve gender equality and empower all women and girls
Diversity and Equal Opportunity
G4-LA12
SD 136-137
6. Ensure availability and sustainable management of water and sanitation for all
Water
G4-EN8 G4-EN10
SD 99 SD 57, 99-100
7. Ensure access to affordable, reliable, modern energy for all
Energy
G4-EN4 G4-EN6 G4-EN7
SD 100 SD 100 SD 57, 60
8. Promote sustained, inclusive and sustainable economic growth, full and productive employment and decent work for all
Economic Performance
G4-EC1
SD 50-53
Employment
G4-LA1 G4-LA2 G4-LA3
SD 137 SD 139 SD 42, 139
Occupational Health and Safety
G4-LA5 G4-LA6 G4-LA7
SD 140 SD 42, 139 SD 42, 137
Labour Practices Grievance Mechanisms Economic Performance
G4-LA16
SD 45
G4-EC1
SD 50-53
Employment
G4-LA1 G4-LA2 G4-LA3
SD 137 SD 139 SD 42, 139
Diversity and Equal Opportunity
G4-LA12
SD 136-137
9. Build resilient infrastructure, promote inclusive and sustainable industrialization and foster innovation 10. Reduce inequality within and among countries
1 4 4 â&#x20AC;˘ 6 G R E E N LP N
SDGs INDEX SDGs
Business Theme
GRI Indicators
Page
11. Make cities and human settlements inclusive, safe, resilient and sustainable
Economic Performance
G4-EC1
SD 50-53
12. Ensure sustainable consumption and production patterns
Effluent and Waste
G4-EN22 G4-EN23 G4-EN27 G4-EN1 G4-EN34
SD 81, 88, 99 SD 83, 98 SD 4, 60 SD 57 SD 89
G4-EN22 G4-EN23 G4-EN27 G4-EN1 G4-EN34
SD 81, 88, 99 SD 83, 98 SD 4, 60 SD 57 SD 89
G4-EC1
SD 50-53
Products and Services Materials Environmental Grievance Mechanisms 13. Take urgent action to combat climate change and its impacts*
Effluent and Waste
14. Conserve and sustainably use the oceans, seas and marine resources for sustainable development
-
15. Protect, restore and promote sustainable use of terrestrial ecosystems, sustainably manage forests, combat desertification, and halt and reverse land degradation and halt biodiversity loss
-
16. Promote peaceful and inclusive societies for sustainable development, provide access to justice for all and build effective, accountable and inclusive institutions at all levels
-
17. Strengthen the means of implementation and revitalize the global partnership for sustainable development
Environmental Investment
Products and Services Materials Environmental Grievance Mechanisms
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
GRI INDEX GENERAL STANDARD DISCLOSURES GENERAL Page Number STANDARD (or Link) DISCLOSURES STRATEGY AND ANALYSIS
G4-1 G4-2
NOTE
SD 3-5 SD 18
ORGANIZATIONAL PROFILE
G4-3 G4-4 G4-5 G4-6 G4-7 G4-8 G4-9 G4-10 G4-11 G4-12 G4-13 G4-14 G4-15 G4-16
SD 6 AR 239-242 SD 6 SD 6 AR 63-65 AR 243-247 AR 12-13, 205, 236-240 SD 136 SD 140 SD 26-27 AR 188-192 SD 10, 141 SD 22-23, 28
The Company is not a member of such associations or organisations.
IDENTIFIED MATERIAL ASPECTS AND BOUNDARIES
G4-17 G4-18 G4-19 G4-20 G4-21 G4-22
SD 6 SD 10, 141 SD 11-13, 141-142 SD 141-142 SD 141-142 -
G4-23
SD 10
STAKEHOLDER ENGAGEMENT
G4-24 G4-25 G4-26 G4-27
SD 8 SD 25 SD 14-15 SD 14-15
REPORT PROFILE
G4-28 G4-29 G4-30 G4-31 G4-32 G4-33
SD 10 SD 10 SD 10 SD 147 SD 145-147 -
GOVERNANCE
G4-34
AR 145-187
There are no restatements of information provided in previous reports.
External Assurance
• 145
1 4 6 â&#x20AC;¢ 6 G R E E N LP N
SPECIFIC STANDARD DISCLOSURES GENERAL Page Number STANDARD (or Link) DISCLOSURES ETHICS AND INTEGRITY
G4-56 G4-57 G4-58
G4-DMA
Identified Omission(s)
Reason(s) for Omission(s)
AR 212-216 SD 45 SD 45
SD 22-27, 32, 34-35
DISCLOSURES ON MANAGEMENT APPROACH INDICATORS BY ASPECTS CATEGORY : ECONOMIC
ECONOMIC PERFORMANCE
G4-DMA G4-EC1
SD 50 SD 50, 52 ; AR 12-13, 85-91
MATERIALS
G4-DMA G4-EN1
SD 57, 61 SD 57
ENERGY
G4-DMA G4-EN4 G4-EN6 G4-EN7
SD 57, 60, 100-101 SD 100 SD 100 SD 57, 60
WATER
G4-DMA G4-EN8 G4-EN10
SD 57, 99-100 SD 99 SD 57, 99-100
EFFLUENT AND WASTE
G4-DMA G4-EN22 G4-EN23
SD 83, 98 SD 81, 88, 99 SD 83, 98
PRODUCTS AND SERVICES
G4-DMA G4-EN27
SD 56-61 SD 4, 60
OVERALL
G4-DMA G4-EN31
SD 109 SD 108, 109
SUPPLIER ENVIRONMENTAL ASSESSMENT
G4-DMA G4-EN33
SD 20-21 SD 21
ENVIRONMENTAL GRIEVANCE MECHANISMS
G4-DMA G4-EN34
SD 88-89 SD 89
CATEGORY : ENVIRONMENTAL
Explanation for Omission(s)
External Assurance
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 1 47
SPECIFIC STANDARD DISCLOSURES GENERAL STANDARD DISCLOSURES
Page Number (or Link)
Identified Omission(s)
Reason(s) for Omission(s)
CATEGORY : SOCIAL SUB-CATEGORY: LABOR PRACTICES AND DECENT WORK EMPLOYMENT
G4-DMA G4-LA1 G4-LA2 G4-LA3
SD 36-39 SD 137 SD 139 SD 42, 139
OCCUPATIONAL HEALTH AND SAFETY
G4-DMA G4-LA5 G4-LA6 G4-LA7
SD 85, 86 SD 140 SD 42, 137 SD 42
TRAINING AND EDUCATION
G4-DMA G4-LA9 G4-LA10 G4-LA11
SD 117-125 SD 120 SD 118-119 SD 138
DIVERSITY AND EQUAL OPPORTUNITY
G4-DMA G4-LA12
SD 41-43 SD 136, 137
EQUAL REMUNERATION FOR WOMEN AND MEN
G4-DMA G4-LA13
SD 41-43 SD 138
LABOR PRACTICES GRIEVANCE MECHANISMS
G4-DMA G4-LA16
SD 46 SD 45 SUB-CATEGORY: HUMAN RIGHTS
HUMAN RIGHTS GRIEVANCE MECHANISMS
G4-HR12
SD 45 SUB-CATEGORY: SOCIETY
LOCAL COMMUNITIES
G4-DMA G4-S02
SD 110 SD 88
ANTI-CORRUPTION
G4-DMA G4-S04
SD 19, 35, 48-49 SD 19 SUB-CATEGORY: PRODUCT RESPONSIBILITY
PRODUCT AND SERVICE LABELING
G4-DMA G4-PR5
SD 64-73 SD 68
ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และบุคคลทั่วไป สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โดยติดต่อ แผนกนักลงทุนสัมพันธ์ : นายสุริยา สุริยาภิวัฒน์ Email Address : IR@lpn.co.th โทรศัพท์ : (02) 285-5011 (G4-31)
Explanation for Omission(s)
External Assurance
1 4 8 • 6 G R E E N LP N
THE NEXT CHAPTER OF SUSTAINABILITY
บริบทใหม่แห่งความยั่งยืน
บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำ�กัด (มหาชน)
• 1 49
ความสุขที่แทจร�ง ของการอยูอาศัย
บร�ษัท แอล.พ�.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพ�นี ทาวเวอร ถนนพระราม 4 แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-285-5011-6 Call center : 02-689-6888