LPN : Annual Report 2009

Page 1

LPN ¡Ñºà»‡ÒËÁÒ¢ͧ¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ ´ŒÇÂá¹Ç·Ò§¡ÒôÓà¹Ô¹¸ØáԨ ·ÕèÂÖ´ËÅÑ¡¡ÒÃÊÌҧ¤ÇÒÁÊÁ´ØÅã¹·Ø¡ÁÔμÔ ¤Çº¤Ù‹¡ÑºËÅÑ¡¸ÃÃÁÒÀÔºÒÅ à¾×èÍ¡ÒÃàμÔºâμÍ‹ҧÂÑè§Â×¹áÅÐÁդسÀÒ¾


LPN ¡Ñºà»‡ÒËÁÒ¢ͧ¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ การดำเนินธุรกิจของบริษัทไดกำหนดแนวทางการดำเนินธุรกิจที่มีคุณภาพและยั่งยืน โดยใชแนวทางการสรางความสมดุลของผลตอบแทน เชิงปริมาณและคุณภาพตอผูมีสวนไดเสียทุกกลุม รวมถึงความรับผิดชอบตอผลกระทบที่บริษัทมีธุรกรรมเกี่ยวของภายใตจริยธรรมและคุณธรรมใน การดำเนินงาน และเพื่อใหทุกสวนงานที่เกี่ยวของมีทิศทางในการดำเนินงานที่ชัดเจน บริษัทจึงไดกำหนดวิสัยทัศนที่ครอบคลุม เปนไปตามแนวทาง และเปาหมายของธุรกิจอยางชัดเจน และกำหนดพันธกิจทีต่ อบสนองตอวิสยั ทัศนอยางชัดเจน เพือ่ ใหเกิดผลสำเร็จของงานไมวา ในเชิงปริมาณหรือคุณภาพ และจากประสบการณทผ่ี า นพนวิกฤติเศรษฐกิจในป 2540 บริษทั ไดกำหนดเครือ่ งมือเพือ่ เปนแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพของบุคลากร ในรูปแบบของคุณสมบัติ หรือสมรรถนะหลักขององคกร (Core Competency) โดยมีองคประกอบที่ไดจากการพัฒนาและปรับปรุงจากประสบการณใน ชวงวิกฤติ ภายใตชื่อ “CLASSIC” ซึ่งตอมาไดปรับเปลี่ยนมาเปน “คานิยมขององคกร” (Core Value) ที่แฝงอยูในจิตวิญญาณของบุคลากรทุกระดับ ในบริษัท เพื่อเปนแนวทางรวมกันในการที่จะนำบริษัทไปสูเปาหมายของการดำเนินงานที่มีประสิทธิผล มั่นคง และยั่งยืน วิสัยทัศน มุงมั่นดำเนินการในการรักษาภาวะผูนำดานพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยดวยการสรางสรรคคุณคาแบบบูรณาการ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่เหมาะสมและพึงพอใจของผูอยูอาศัยในชุมชน โดยที่ยังคงไวซึ่งผลตอบแทนตอผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียอยางยั่งยืน ภายใตหลักการธรรมาภิบาล พันธกิจ ผูมีสวนไดสวนเสีย

: รักษาความเปนผูนำการตลาดในกลุมเปาหมาย เพื่อการเติบโตอยางมั่นคง นำมาซึ่งผลกำไรที่ตอเนื่องและเหมาะสมภายใต หลักธรรมาภิบาล

ลูกคา / ผูอยูอาศัย

: สงเสริมเพิ่มพูน คุณคาของสินคา บริการและประสิทธิภาพการบริหารชุมชน เพื่อความสุขที่แทจริงของการอยูอาศัย อันนำไปสูความเชื่อมั่นและศรัทธาในตรา “ลุมพินี”

พนักงาน

: สงเสริมคานิยมองคกร เพื่อนำไปสูความสุข ความกาวหนา ความมั่นคงของพนักงาน ภายใตองคกรคุณภาพ

ปยมิตรทางธุรกิจ

: รักษาไวซึ่งความเปนหนึ่งเดียวกับกลุมปยมิตร เพื่อบรรลุเปาหมายการเติบโตอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืนรวมกัน

สังคม

: เสริมสรางความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน รวมกับทุกๆ ภาคสวนในการสรางสรรคชุมชนนาอยู

คานิยมองคกร C - L - A - S - S - I - C C L A S S I C

(Collaboration) (Lateral Thinking) (Alliances) (Speed) (Service Minded) (Integrity) (Cost Awareness)

2

-

รวมมือรวมใจ คิดนอกกรอบ ปยมิตร รวดเร็ว ใจบริการ คุณธรรม บริหารตนทุน

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


“CLASSIC” คานิยมขององคกร Collaboration ความรวมมือรวมใจ ความหมาย การรวมมืออยางเปนหนึ่งเดียวกันของบุคลากร เพื่อใหเกิดความรวมใจในการทำงานหรือกิจกรรมของบริษัทดวยจิตสำนึกที่พรอม ชวยเหลือ เอื้ออาทร เขาใจในบทบาทของกันและกัน เพื่อมุงสูเปาหมายเดียวกัน Lateral Thinking คิดนอกกรอบ ความหมาย การคิดใหมที่แตกตางจากเดิม โดยไมกังวลถึงอุปสรรค เพื่อปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนาและสรางสรรคอยางตอเนื่อง เพื่อนำไป ปฏิบัติและวัดผลไดจริง อันจะสงผลใหบริษัทกาวหนาอยางไมหยุดยั้ง Alliances ปยมิตร ความหมาย การใหความสำคัญกับพันธมิตรทางธุรกิจอันยาวนานโดยการเกื้อหนุนกันและกัน รวมทุกข รวมสุข ทำงานเสมือนหนึ่งเปนองคกร เดียวกัน เพื่อบรรลุความสำเร็จรวมกัน Speed รวดเร็ว ความหมาย มุงมั่น ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนากระบวนการทำงาน โดยการคิดเร็ว ทำเร็ว ใสใจรายละเอียด คิดนอกกรอบ เพื่อใหงานเสร็จ กอนกำหนดหรือเร็วกวาเดิม จนล้ำหนาผูอื่น ซึ่งมีผลดีตอบริษัททั้งทางตรงและทางออม Service Minded ใจรักบริการ ความหมาย การใหบริการตอลูกคาดวยการดูแลเอาใจใส พรอมการแสดงออกอยางกระตือรือรน ใหบริการ อยางเกินความคาดหมาย เต็มใจ ไมเลือกปฏิบตั ิ ทันทวงที ดวยรอยยิ้ม เพื่อสรางความสุขและความประทับใจ Integrity คุณธรรม ความหมาย การดำเนินการใดๆดวยความซือ่ สัตย ไมเอาเปรียบผูอ น่ื รับผิดชอบตอคำพูดและการกระทำของตนเอง และกอใหเกิดคุณคาตอบริษทั Cost Awareness บริหารตนทุน ความหมาย การตระหนักถึง การบริหารตนทุนทุกสวนงาน อยางรอบคอบ ภายใตการคำนึงถึงประสิทธิภาพของการดำเนินงาน ภายใตจติ สำนึก ของการเปนเจาของ

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

3



ÊÒèҡ»Ãиҹ¡ÃÃÁ¡Òà เรียน ทานผูถือหุน จากวิกฤติสถาบันการเงินขนาดใหญในสหรัฐอเมริกาเมือ่ ป 2551 ทีส่ ง ผลกระทบไปทัว่ โลกและยังคงตอเนือ่ งมาถึงป 2552 จนหลายฝายประเมินวา อาจรุนแรงถึงขัน้ เกิดวิกฤติเศรษฐกิจขึน้ อีกรอบนัน้ สำหรับบริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ในป 2552 ทีผ่ า นมา เราบริหารงานดวย ความรอบคอบระมัดระวัง บนหลักการที่ใหความสำคัญกับทุกมิติ ดานการดำเนินงาน เพื่อสรางการเติบโตแบบยั่งยืนควบคูไปกับการเปลี่ยนแปลงวิธีคิด และกระบวนการในการดำเนินงานทีส่ รางความแตกตางใหเกิดขึน้ อยางตอเนือ่ ง ทัง้ ผลิตภัณฑและบริการ เพือ่ กอใหเกิดความเชือ่ มัน่ ของลูกคาทีม่ ตี อ แบรนด ”ลุมพิน”ี อันนำไปสูก ารบอกตอ สงผลใหบริษทั มีผลประกอบการทีเ่ ติบโตขึน้ เกินกวาเปาหมายทีต่ ง้ั ไว โดยทีย่ งั คงรักษาไวซง่ึ ผลประโยชนของผูม สี ว นไดเสีย ทุกกลุมภายใตหลักธรรมาภิบาล ที่มุงบริหารงานดวยความโปรงใส อันเปนหัวใจสำคัญที่บริษัทยึดมั่นมาโดยตลอด การที่บริษัทไดรับการจัดอันดับใหเปน บริษัทที่มีการกำกับดูแลกิจการในระดับดีมากติดตอกันเปนปที่ 6 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) โดยเฉพาะในหมวดการใหความ สำคัญกับสิทธิของผูถือหุน การเปดเผยขอมูล และความโปรงใส ที่ไดรับการประเมินระดับดีเลิศ จึงนับเปนเครื่องยืนยันประสิทธิผลในการดำเนินงานของ บริษัท ในขณะที่บริษัทมุงมั่นที่จะรักษามาตรฐานการดำเนินงานและผลกำไร เพื่อสรางผลตอบแทนที่เหมาะสมตอผูมีสวนไดเสียทุกกลุม บริษัทยังคงให ความสำคัญกับการรับผิดชอบตอสิง่ แวดลอมและสังคมควบคูก นั ไป ซึง่ ขยายผลตอเนือ่ งในทุกปนบั ตัง้ แตวนั กอตัง้ บริษทั โดยเริม่ จากการพัฒนาทีพ่ กั อาศัย ทีม่ คี ณุ ภาพใหกบั กลุม เปาหมายระดับกลาง-บนถึงกลาง-ลาง พรอมจุดประกายใหเกิดวัฒนธรรมทีด่ ใี นการอยูอ าศัยรวมกันเพือ่ สราง “ชุมชนนาอยู” การสราง ความมีสวนรวมที่กอใหเกิดจิตสาธารณะจากทุกสวนที่เกี่ยวของ เพื่อรวมพัฒนาสิ่งแวดลอมและสังคมในชุมชน รวมถึงชุมชนรอบขาง และการแบงปนสู สังคมโดยรวมเพื่อสรางรอยยิ้มและความสุขแกสมาชิกในสังคมวงกวาง การพัฒนาโครงการพักอาศัยที่ตอบสนองตอความตองการของคนกลุมใหญควบคู ไปกับการพัฒนาคุณภาพชีวติ สิง่ แวดลอม และสังคม รวมทัง้ วัฒนธรรมอันดีงามในชุมชน จะเปนสวนชวยใหการดำเนินธุรกิจของบริษทั เติบโตอยางมัน่ คง และยั่งยืน ในป 2553 นี้ แมจะมีความผันผวนโดยรอบดาน ความตองการที่อยูอาศัยที่มีคุณภาพก็ยังคงเปนปจจัยหลักในการดำรงชีวิต โดยเฉพาะในกลุม เปาหมายระดับกลาง-บนถึงกลาง-ลาง ที่เปนกลุมเปาหมายของบริษัทมาโดยตลอดนั้น นาจะสงผลใหบริษัทบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว อยางไรก็ตามธุรกิจ อสังหาริมทรัพยยงั คงมีปจ จัยเสีย่ งหลายประการ ทัง้ จากการแขงขัน ตนทุนทีม่ แี นวโนมสูงขึน้ ความผันผวนทางเศรษฐกิจและการเมือง ในป 2553 นี้ บริษทั จึงยังคงยึดหลักการของความสมดุลในการบริหารงานและผลประกอบการยังคงเติบโตอยางตอเนื่อง ซึ่งในปนี้เปนปสุดทายของวิสัยทัศนในระยะที่ 3 ที่ มุงเนนการพัฒนาในเชิงคุณภาพ รวมทั้งรักษาความเชื่อมั่นและศรัทธาในแบรนดที่ไดรับการยอมรับและกลาวถึงอยางมาก อันจะนำไปสูการบอกตอ ประสบการณที่ดีเพื่อให “ลุมพินี” เปนชื่อที่อยูในใจของผูที่ตองการ “บาน” หลังแรกเปนของตนเอง สมกับเจตนารมณในการดำเนินธุรกิจของเรา ตลอด 2 ทศวรรษ 2 วิกฤติการณทผ่ี า นมาของ LPN ไมเพียงสรางประสบการณทแ่ี ข็งแกรงบนเสนทางการดำเนินธุรกิจอสังหาริมทรัพย แตยงั เปน อีกบทของการเรียนรูที่จะแบงปนความสุขใหกับผูอื่น ซึ่งไดสรางความสุขอันยิ่งใหญกลับมายังใจของผูให ในนามของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ผมขอขอบคุณตอความมีสวนรวมอันยิ่งใหญนั้น ทั้งจากลูกคา คูคา พนักงาน ผูบริหารและคณะกรรมการของบริษัท และที่สำคัญยิ่ง คือ ทานผูถือหุนทุกทาน ที่ไดรวมกันสรางและแบงปนใหความสุขเหลานั้นสงตอถึงกันไดโดยไมมีวันสิ้นสุด

ปกรณ ทวีสิน ประธานกรรมการ

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

5


ÃÒ§ҹ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ·μ‹ÍÃÒ§ҹ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹

คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวมของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) บริษัทยอย สารสนเทศ ทางการเงินที่ปรากฏในแบบรายงาน 56-1 และรายงานประจำป ทั้งนี้งบการเงินดังกลาวจัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยใชนโยบาย บัญชีทเ่ี หมาะสม และถือปฏิบตั อิ ยางสม่ำเสมอ โดยใชดลุ ยพินจิ อยางระมัดระวัง และประมาณการทีด่ ที ส่ี ดุ ในการจัดทำ รวมทัง้ ไดมกี ารเปดเผยขอมูลสำคัญ อยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสำคัญในดานความถูกตองและโปรงใสของงบการเงิน โดยจัดใหมีระบบควบคุมภายในที่เหมาะสม และมี ประสิทธิภาพ จัดใหมีการเปดเผยขอมูลที่สำคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน พรอมทั้งคำอธิบายและการวิเคราะห เพื่อใหความมั่นใจวา การบันทึกขอมูลทางบัญชีมีความถูกตองครบถวนเพื่อประโยชนสูงสุดของผูถือหุน และนักลงทุนในการใชงบการเงิน ในการนี้คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบดวยกรรมการอิสระ จำนวน 3 ทาน โดยมีกรรมการตรวจสอบ จำนวน 2 ทาน ที่มีความรูและประสบการณในดานบัญชี-การเงิน ทำหนาที่สอบทานนโยบายการบัญชี และคุณภาพของรายงานทางการเงิน และระบบ การควบคุมภายใน ซึ่งความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งแสดงไวในแบบรายงาน 56-1 และรายงานประจำปแลว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นวา ระบบควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยูในระดับที่นาพอใจ และสามารถสรางความเชื่อมั่นอยางมี เหตุผลตอความเชื่อถือไดของงบการเงินของบริษัท และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ปกรณ ทวีสิน ประธานกรรมการ

6

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


ÍÕ¡¡ŒÒÇ‹ҧ à¾×èÍ¡ÒÃàμÔºâμÍ‹ҧÂÑè§Â×¹ ÀÒÂãμŒÊÀÒÇзÕè¼Ñ¹¼Ç¹ LPN ÍÒÈÑ»ÃÐʺ¡Òó ¤ÇÒÁÃÐÁÑ´ÃÐÇѧ áÅСÒúÃÔËÒäÇÒÁàÊÕè§ ·Õè·ÓãËŒàμÔºâμ¢Öé¹ÍÕ¡¢Ñé¹ Í‹ҧá¢ç§á¡Ã‹§


ÊÃØ»¢ŒÍÁÙÅ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹

หนวย : ลานบาท

2552

2551

2550

2549

2548

สินทรัพย สินทรัพยรวม ทีด่ นิ และตนทุนโครงการระหวางกอสราง สินคาคงเหลือ ทีด่ นิ และตนทุนโครงการรอการพัฒนา สินทรัพยใหเชาสุทธิ

8,088.04 2,902.87 2,004.06 541.66 685.63

8,846.49 3,781.48 1,403.97 681.92 709.99

7,175.76 4,532.36 501.64 660.72 678.53

5,969.80 3,485.15 276.16 837.75 617.67

4,523.70 2,408.16 124.73 819.59 314.14

หนีส้ นิ และสวนของผูถ อื หุน เงินกูย มื ระยะสัน้ เงินกูย มื ระยะยาว หนีส้ นิ รวม หุน ทีอ่ อกและเรียกชำระแลว สวนของผูถ อื หุน

761.49 259.00 2,819.13 1,468.17 5,268.91

2,063.69 530.67 4,362.02 1,474.59 4,484.48

1,202.01 501.00 3,348.80 1,475.70 3,826.96

1,033.89 230.00 2,657.43 1,475.70 3,312.37

234.97 340.00 1,532.26 1,475.70 2,991.44

ผลการดำเนินงาน รายไดจากการขาย รายไดรวม ตนทุนขาย กำไรขัน้ ตนจากการขาย กำไร (ขาดทุน) สุทธิ

8,267.99 8,592.45 5,678.21 2,589.79 1,358.69

7,018.71 7,303.69 4,826.17 2,192.54 1,205.44

6,574.22 6,823.77 4,294.89 2,279.33 927.74

4,747.84 5,020.49 3,213.88 1,533.96 765.23

3,346.45 3,582.63 2,159.64 1,186.81 588.38

3.59 0.93 15.81 27.86 16.05 **

3.04 0.82 16.50 29.01 15.05 0.4115

2.59 0.63 13.60 25.99 14.11 0.32

2.24 0.52 15.24 24.28 14.58 0.26

2.20 0.43 16.42 22.14 13.17 0.22

อัตราสวนทางการเงิน * มูลคาตามบัญชีตอ หุน * กำไรสุทธิตอ หุน ขัน้ พืน้ ฐาน กำไรสุทธิตอ หุน ปรับลด อัตรากำไรสุทธิตอ รายไดรวม อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถ อื หุน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม เงินปนผลตอหุน

* คิดจากจำนวนหุน ถัวเฉลีย่ ** รอผลการอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมใหญสามัญผูถ อื หุน ประจำป 2553 หมายเหตุ :

8

1) เปนขอมูลจากงบการเงินรวม 2) ป 2547 ไดเปลีย่ นแปลงมูลคาตอหุน จาก 10.0 บาท เปน 1.0 บาท

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


งบดุล 8,846.49 8,088.04 7,175.76 5,969.80 4,523.70

5,268.91 4,484.48 3,826.96 3,312.37 2,991.44

4,362.02 3,348.80 2,657.43

2,819.13

1,532.26

หนวย : ลานบาท

หนวย : ลานบาท

หนวย : ลานบาท

2548 2549 2550 2551 2552

2548 2549 2550 2551 2552

2548 2549 2550 2551 2552

สินทรัพยรวม

หนี้สินรวม

สวนของผูถือหุน

งบกำไรขาดทุน 8,592.45

8,267.99

7,303.69 6,823.77

7,018.71 6,574.22

32

24

588

.38 765 .23 927 .74 1,2 05. 4 1,3 4 58. 69

31.

32.

31.

46 35.

3,582.63

3,346.45

31 34. 67

5,020.49

4,747.84

หนวย : ลานบาท

หนวย : ลานบาท

หนวย : %

หนวย : ลานบาท

2548 2549 2550 2551 2552

2548 2549 2550 2551 2552

2548 2549 2550 2551 2552

2548 2549 2550 2551 2552

รายไดจากการขาย

รายไดรวม

กำไรขั้นตน

กำไร (ขาดทุน) สุทธิ

86 27.

7 14. 58 14. 11 15. 05 16. 05

13. 1

หนวย : ลานบาท

2548 2549 2550 2551 2552

2548 2549 2550 2551 2552

2548 2549 2550 2551 2552

มูลคาตามบัญชีตอหุน

กำไรสุทธิตอหุนขั้นพื้นฐาน

อัตราผลตอบแทนตอสวน ของผูถือหุน

อัตราผลตอบแทน จากสินทรัพยรวม

หนวย : ลานบาท

2 0.2 6 0.3 2 0.4 11

หนวย : ลานบาท

2548 2549 2550 2551 2552

0.2

หนวย : ลานบาท

5

0.4 3 0.5 2 0.6 3 0.8 2 0.9

3

2.2

22.

0 2.2 4 2.5

14 24. 28 25. 99 29.

9 3.0

4

01

3.5

9

อัตราสวนทางการเงิน

** หนวย : ลานบาท 2548 2549 2550 2551 2552

เงินปนผลตอหุน

** รอผลการอนุมัติจากที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจำป 2553

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

9


§º¡ÒÃà§Ô¹ÃÇÁ / §º´ØÅÃÇÁ »‚ 2552 งบการเงินรวมป 2552 การขาย (ลานบาท) รายการ รายได ตนทุน กำไรขั้นตน (%)

รายไดรวม (ลานบาท) 2551

2552

7,223.29 8,513.27 เพิ่มขึ้นจากป 2551

17.9%

2551 7,018.71 4,826.17 2,192.54 31.2

กำไรตอหุน (บาท)

ธุรกิจใหเชาและบริการ (ลานบาท) รายการ รายได ตนทุน กำไรขั้นตน (%)

2551 61.12 40.56 20.56 33.6

2552 62.03 41.04 20.99 33.8

ธุรกิจรับจางบริหารจัดการ (ลานบาท) รายการ รายได ตนทุน กำไรขั้นตน (%)

2551 143.46 124.50 18.96 13.2

2551 0.82 เพิ่มขึ้นจากป 2551

2552 8,267.99 5,678.21 2,589.78 31.3

2552 183.25 121.01 62.24 34.0

2552 0.93 13.4%

กำไรขั้นตน (ลานบาท)

กำไรสุทธิ (ลานบาท)

2551 2,232.07

2552 2,673.02

2551 1,205.44

2552 1,358.69

30.9%

31.4%

16.7% เพิ่มขึ้นจากป 2551

16.0%

คาใชจาย/และดอกเบี้ย (ไมรวมภาษี) (ลานบาท) 2551 612.75

2552 804.79

8.5%

9.5%

รายไดอื่น (ลานบาท) รายการ รายได (%)

2551 80.41 1.1

2552 79.18 0.9

งบดุลรวมป 2552

สินทรัพย

หนี้สินรวมและสวนของผูถือหุน

สินทรัพยรวม 8,088.04 ลานบาท

สินทรัพยอื่น 6,768.84 ลานบาท

เงินสด 1,319.20 ลานบาท

หนี้สินรวม (34.86%) 2,819.13 ลานบาท หนี้สินที่มี ดอกเบี้ย 1,024.64 ลานบาท (36.3%)

สวนของผูถือหุน (65.14%) 5,268.91 ลานบาท

หนี้สินที่ ไมมีดอกเบี้ย 1,794.49 ลานบาท (63.7%)

สวนของ ผูถือหุน

อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน 0.54 : 1 อัตราสวนหนี้ที่มีดอกเบี้ยตอสวนของผูถือหุน 0.19 : 1

เงินสดสุทธิ = 294.56 ลานบาท 10

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

12.7%


ÊÃØ»ÀÒ¾ÃÇÁ¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ã¹»‚ 2552 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท (จำกัด มหาชน) ดำเนินธุรกิจดานการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยภายใตแบรนด “ลุมพินี” สำหรับผูมีรายได ระดับกลาง-บนถึงกลาง-ลาง ซึ่งตองการที่พักอาศัยที่มีคุณภาพภายในเมือง โดยยึดหลักความสมดุลของการดำเนินงานในทุกมิติควบคูไปกับหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาล ป 2552 ที่ผานมา นับเปนปที่มีปจจัยเสี่ยงรอบดาน โดยเฉพาะจากวิกฤติสถาบันการเงินขนาดใหญในสหรัฐอเมริกา รวมถึงสถานการณการเมือง ภายในประเทศ แมในชวงปลายปเหตุการณตางๆ ดูจะคลี่คลายลงแตยังคงมีความเปราะบาง รวมถึงราคาน้ำมันที่คอยๆ ปรับตัวสูงขึ้นจนนาวิตกถึงผล กระทบทีม่ ตี อ ราคาวัสดุกอ สราง ในชวงปลายปผปู ระกอบการรายเล็กและรายกลางทีเ่ ฝารอดูสถานการณเริม่ ทยอยเปดตัวโครงการกันอยางตอเนือ่ งหลังจาก ชะลอการพัฒนามาไดระยะหนึง่ สวนผูป ระกอบการรายใหญทไ่ี ดเปรียบในเรือ่ งของเงินทุน ความเชือ่ มัน่ และแบรนด ตางประสบความสำเร็จดานยอดขาย และการเปดตัวโครงการใหมตั้งแตชวงตนป อันเนื่องมาจากความตองการที่พักอาศัยที่ยังคงมีอยูอยางตอเนื่องในขณะที่อุปทานลดลงอยางเห็นไดชัด เชน เดียวกับผลประกอบการของบริษทั ในดานตางๆ ทีย่ งั คงเติบโตอยางตอเนือ่ งทัง้ ดานยอดขาย ยอดรับรูร ายได ควบคูก บั การดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล โดยบริษทั ไดรบั การจัดอันดับจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ใหเปนบริษทั ทีม่ กี ารกำกับดูแลกิจการในระดับดีมาก 4 ตราสัญลักษณ เปนปท่ี 6 ติดตอกัน นอกจากนัน้ ผลิตภัณฑของบริษทั อันไดแกหอ งชุดขนาด 26 ตร.ม.ยังไดรบั การจัดอันดับใหเปนผลิตภัณฑยอดเยีย่ มประจำป 2552 จาก สื่อหนังสือพิมพฉบับหนึ่งดวย การดำเนินงานของบริษทั ในป 2552 สูงกวาเปาหมายทีว่ างไวอนั เนือ่ งมาจากการเรงโอนกรรมสิทธิข์ องลูกคาในชวงปลายปเพือ่ รักษาสิทธิประโยชน ทางดานภาษีที่สิ้นสุดลง แมอยูในชวงเศรษฐกิจขาลงและมีความเสี่ยงสูงโดยเฉพาะสภาพคลองและความเชื่อมั่นของตลาด บริษัทไดเปดตัวโครงการตลอด ชวงปที่ผานมา โดยโครงการแรกไดแก โครงการลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ ในชวงเดือนกุมภาพันธ ดวยการนำแปลงที่ดินในมือมาพัฒนาเพื่อลด ความเสีย่ งและดูและทิศทางของตลาด ซึง่ ไดรบั การตอบรับทีด่ ใี นระดับหนึง่ และบริษทั สามารถดำเนินการกอสรางแลวเสร็จและสงมอบใหแกลกู คาในเดือน พฤศจิกายนกอนกำหนดสงมอบหลายเดือน แสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพ คุณภาพ และความรวดเร็วในการกอสรางจากการดำเนินงานของผูรับเหมาที่ เปนพันธมิตรของบริษทั หลังจากมีการประเมินสถานการณอยางรอบคอบ บริษทั จึงตัดสินใจเปดตัวโครงการถัดมาในชวงไตรมาส 2 ไดแก โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-นวมินทร ที่เปนอาคารสูงโครงการแรกภายใตแบรนด “ลุมพินี คอนโดทาวน” โดยมีการพัฒนาผลิตภัณฑใหมเพื่อรองรับภาวะ ตลาดในขณะนั้น ไดแก หองชุด 1 หองนอนขนาด 25 ตร.ม. หลังจากนั้นบริษัทไดเปดตัวโครงการลุมพินี วิลล ราษฎรบูรณะ-ริเวอรวิว ในชวงไตรมาส 3 และในไตรมาส 4 บริษัทไดเปดตัวอีก 2 โครงการ ไดแก โครงการลุมพินี พารค ปนเกลา ที่เปนแบรนดเฉพาะกิจ ซึ่งภายในพื้นที่โครงการถูกออกแบบ ใหเปนสวนพักผอนและลานกิจกรรมภายใตชื่อ “สวนรวมใจ” ในเนื้อที่กวา 4 ไร ซึ่งบริษัทมีการดำเนินการกอสรางใหแลวเสร็จกอนการเปดตัวโครงการ นับเปนอีกหนึ่งนวัตกรรมและคุณคาของผลิตภัณฑ (Product Value) ที่บริษัทพัฒนาอยางตอเนื่องเพื่อสงมอบใหแกลูกคา สำหรับอีกหนึ่งโครงการ ไดแก โครงการลุมพินี วิลล ลาดพราว-โชคชัย 4 โดยทั้งสองโครงการสามารถสรางยอดขายใหแกบริษัทเปนจำนวนถึง 4,000 ลานบาท สำหรับมิติทางดาน ลูกคานั้น บริษัทไดยกระดับการบริหารลูกคาจากการสรางความสัมพันธเปนการสรางประสบการณ โดยการสรางมาตรฐานการบริการครอบคลุมในทุกจุด สัมผัสซึ่งบริษัทถือเปนสวนหนึ่งของคุณคาการบริการ (Service Value) อันนำไปสูความเชื่อมั่นที่มีตอแบรนด “ลุมพินี” และเพื่อเปนการสื่อสารแบรนด ออกไปในวงกวาง ในปที่ผานมาบริษัทไดจางที่ปรึกษาที่มีประสบการณในการบริหารแบรนดเปนผูวางแผนการสื่อสารแบรนดขององคกรใหอยูในทิศทาง เดียวกัน เพือ่ ใหเกิดเอกภาพและมีผลเปนรูปธรรมโดยเฉพาะกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” ทีเ่ ปนเรือ่ งในเชิงนามธรรมและสัมผัสไดยากสำหรับบุคคลทัว่ ไป สำหรับ ระยะแรกของการสื่อสารจะมุงเนนเรื่องของการมีสวนรวม (Togetherness) ภายใตโครงการชื่อ 30 Happy Days โดยบริษัทไดรวมกับที่ปรึกษาเชิญ 4 ศิลปนเขาพักอาศัยในโครงการที่บริษัทพัฒนาและบริหารจัดการเปนเวลา 1 เดือน เพื่อสัมผัสความสุขที่เกิดขึ้นในชุมชนและถายทอดเรื่องราวออกเปน ผลงานในดานตางๆ ผานทางเว็บไซด www.30happydays.com อีกทัง้ ยังเชิญชวนใหผพู กั อาศัยในชุมชนสะทอนเรือ่ งราวความสุขผานทาง “Door Hanging” ซึ่งไดผลเกินคาด โดยมีเรื่องราวความสุขเกือบ 2,000 ชิ้นสงกลับมายังบริษัท ชวยสรางกำลังใจใหกับผูปฏิบัติงาน โดยเฉพาะพนักงานรักษาความสะอาด และพนักงานรักษาความปลอดภัยซึ่งไดรับคำชมเชยเปนอันมาก ในป 2552 นี้ บริษัทครองสวนแบงการตลาดประมาณรอยละ 20 จากอาคารชุดพักอาศัยที่กอสรางแลวเสร็จและจดทะเบียนในกรุงเทพและ ปริมณฑล โดยมีอาคารชุดพักอาศัยจดทะเบียนทั้งสิ้นประมาณ 33,300 หนวย จาก 116 โครงการ เติบโตจากป 2551 ประมาณรอยละ 28 สำหรับบริษัท มีอาคารชุดพักอาศัยที่กอสรางแลวเสร็จและจดทะเบียนทั้งสิ้นประมาณ 6,300 หนวย จาก 7 โครงการ และมีการเปดตัวโครงการทั้งสิ้น 5 โครงการ คิดเปนจำนวนหนวยรวมประมาณ 7,840 หนวย หรือคิดเปนรอยละ 32 ของโครงการอาคารชุดพักอาศัยที่เปดตัวใหมในกรุงเทพและปริมณฑลในชวงปที่ ผานมา ดานผลประกอบการ บริษทั บริษทั ยอย และบริษทั รวมมีรายไดรวม 8,513.27 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากป 2551 ทีม่ รี ายไดรวม 7,223.29 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 17.85 จากการรับรูรายไดจาก 7 โครงการที่กอสรางแลวเสร็จในป 2552 และบางสวนมาจากโครงการที่แลวเสร็จในปกอนหนา โดย อัตรากำไรขั้นตนจากการขายปรับตัวเพิ่มขึ้นจากรอยละ 31.24 เปนรอยละ 31.32 โดยเปนอัตรากำไรสุทธิรอยละ 15.81 สำหรับรายไดจากธุรกิจใหเชา และบริการรวมทั้งธุรกิจใหบริการทางดานการบริหารจัดการเพิ่มขึ้นจากป 2551 รอยละ 19.89 จึงนับไดวาบริษัทยังคงรักษาอัตราการเติบโตอยาง ตอเนื่องแมอยูในชวงของเศรษฐกิจขาลงและมีปจจัยเสี่ยงรอบดาน

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

11


สำหรับฐานะการเงินของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีสินทรัพยรวม 8,088.04 ลานบาท ลดลงจาก 8,846.49 ลานบาท ในป 2551 หรือลดลงรอยละ 8.57 มาจากการลดลงของสินทรัพยหมุนเวียนในสวนของรายการมูลคางานเสร็จยังไมเรียกเก็บ 185.95 ลานบาท ที่ดินและ ตนทุนโครงการระหวางพัฒนา 878.61 ลานบาท สำหรับหนี้สินรวมของบริษัทลดลงจาก 4,362.02 ลานบาท ในป 2551 เหลือเพียง 2,819.13 ลานบาท ในป 2552 ซึง่ ลดลง 1,542.89 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 35.37 เนือ่ งจากบริษทั มีการชำระคืนเงินกูท ง้ั ระยะสัน้ และระยะยาวจำนวน 1,573.87 ลานบาท จากการที่บริษัทกอสรางโครงการแลวเสร็จและโอนกรรมสิทธิ์ใหแกลูกคา ดานงบกระแสเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีเงินสด รายการเทียบเทาเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราวรวม 1,319.20 ลานบาท เมื่อ นำหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่มีอยูจำนวน 1,024.31 ลานบาทมาหักออก ทำใหบริษัทมีสภาพคลองสวนเกินอยู 294.89 ลานบาท ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความ แข็งแกรงทางการเงินของบริษัท โดยอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนลดลงจาก 0.97 เทาเปน 0.54 เทา และมีหนี้สินที่มดี อกเบี้ยตอสวนของผูถือหุน ลดลงจาก 0.58 เทาเปน 0.19 เทา ตามลำดับ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติโครงการซื้อหุนคืน (Treasury Stocks) เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2551 โดยมีระยะเวลาของโครงการตั้งแต วันที่ 24 ตุลาคม 2551 ถึงวันที่ 23 เมษายน 2552 ณ วันที่ 15 มกราคม 2552 บริษทั ซือ้ หุน คืนมาจำนวนทัง้ สิน้ 8,146,300 หุน รวมมูลคา 17,841,189 บาท คิดเปนรอยละ 0.552 ของจำนวนหุนที่ชำระแลวทั้งหมดในราคาเฉลี่ยหุนละ 2.19 บาท และบริษัทไดขายหุนซื้อคืนจำนวนดังกลาวระหวางวันที่ 3-11 ธันวาคม 2552 ในราคาเฉลี่ยหุนละ 7.01 บาท คิดเปนจำนวนเงินรวม 57,103,415 บาท ซึ่งบริษัทไดกำไรจากการขายหุนซื้อคืนเปนจำนวนเงินทั้ง สิ้น 39,262,226 บาท เพื่อรองรับกับเศรษฐกิจในชวงขาลง บริษัทยังคงจำกัดการเพิ่มจำนวนของบุคลากรดวยการปรับปรุงกระบวนการภายใน (Reprocess) อยาง เขมขน โดยดำเนินการตอเนื่องตลอดป สงผลใหแผนงานตางๆ ของบริษัทบรรลุเปาหมายหรือเกินกวาเปาหมายภายใตจำนวนบุคลากรที่จำกัด ดานความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคมที่บริษัทไดมีการดำเนินงานมาอยางตอเนื่องทั้งในกระบวนการ (In Process) และนอกกระบวนการ (Out Process) รวมถึงกิจกรรมทางสังคมในดานตางๆ ไดแก กิจกรรมบริจาคโลหิต การเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวทัง้ ภายในโครงการหรือชุมชนโดยรอบ การคัดแยก ขยะ กิจกรรมรณรงคปดไฟ 1 ชั่วโมง กิจกรรมรณรงคลดการใชถุงพลาสติก ทุกกิจกรรมมุงเนนเริ่มตนจากภายในองคกรแลวจึงขยายไปยังสวนตางๆ นับ เปนการสรางสรรคสิ่งแวดลอมและชุมชนที่มีคุณภาพโดยบริษัทยังคงเพิ่มความเขมขนอยูตลอดเวลา สำหรับป 2553 จากการคาดการณของหลายฝายประกอบกับขอมูลภายในของบริษัทที่แสดงใหเห็นถึงการฟนตัวในระบบเศรษฐกิจ ในขณะเดียว กันหลายสวนยังคงมีความเปราะบางและมีความเสี่ยง ทั้งทิศทางของราคาน้ำมันที่สงผลตอราคาวัสดุและภาวะเงินเฟอ ความเขมงวดของสถาบันการเงิน การแขงขันที่มีแนวโนมทวีความรุนแรงขึ้น สถานการณทางการเมืองที่ยังคุกรุน รวมถึงการไมตออายุมาตรการกระตุนธุรกิจอสังหาริมทรัพยที่อาจสงผล ใหตลาดมีความคึกคักระยะสั้นๆ ในเดือนมีนาคม แตหลังจากนั้นอาจคลายตัวลงบางในชวงตนไตรมาส 2 คณะกรรมการบริษัทไดกำหนดทิศทางในการ ดำเนินธุรกิจในป 2553 ใหเติบโตแบบระมัดระวังควบคูไปกับการบริหารความเสี่ยงและการติดตามสถานการณอยางใกลชิด โดยไดกำหนดอัตราการเติบโต ของบริษทั ในอัตรารอยละ 20 สำหรับการรับรูร ายไดซง่ึ คาดวาในปนบ้ี ริษทั จะมีรายไดจากการขายประมาณ 9,600 ลานบาท จากโครงการทีแ่ ลวเสร็จจำนวน 6 โครงการ ไดแก โครงการลุมพินี วิลล บางแค โครงการลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-นวมินทร โครงการลุมพินี คอนโดทาวน บางแค โครงการลุมพินี วิลล ราษฎรบูรณะ-ริเวอรวิว และทายสุดโครงการลุมพินี วิลล ลาดพราว-โชคชัย 4 ซึ่งเปดขาย ในเดือนพฤศจิกายนที่ผานมา โดยทั้ง 6 โครงการมีมูลคารวมประมาณ 7,730 ลานบาท และเมื่อสิ้นป 2552 บริษัทมียอดขายรอรับรูรายไดประมาณ 10,500 ลานบาท เปนยอดขายรอรับรูรายไดสำหรับป 2553 จำนวน 7,200 ลานบาท บริษัทวางเปาหมายที่จะระบายสินคาคงเหลือทั้งหมดที่มีอยู ประมาณเกือบ 2,000 ลานบาทภายในไตรมาส 3 ของปนี้ดวยการเพิ่มกิจกรรมและคาใชจายทางการตลาดอยางตอเนื่อง ในสวนของอัตราการปฏิเสธ สินเชื่อจากธนาคารที่หลายฝายกังวล ทางบริษัทไดจัดตั้งหนวยงานที่รับผิดชอบดูแลและบริหารเครดิตของลูกคา โดยรวมมือกับทางธนาคารอยางใกลชิด เพื่อลดอัตราการปฏิเสธสินเชื่อจากธนาคาร ซึ่งในป 2552 ลูกคาของบริษัทถูกปฏิเสธสินเชื่อประมาณรอยละ 10-12 สวนแผนการเปดโครงการใหม บริษทั มีแผนทีจ่ ะเปดตัวโครงการใหมประมาณ 6-8 โครงการ คิดเปนมูลคารวมประมาณ 13,000-15,000 ลานบาท โดยกำหนดเปาหมายยอดขายประมาณ 13,000 ลานบาท หรือมีอัตราการเติบโตที่ประมาณรอยละ 30 จากยอดขายประมาณ 10,800 ลานบาท ในป 2552 เพื่อรับรูรายไดในป 2553 และป 2554 โดยบริษัทไดดำเนินการซื้อที่ดินแลวจำนวน 2 แปลง ไดแก โครงการลุมพินี เพลส รัชโยธิน และโครงการ ลุมพินี เพลส พระราม 4-กลวยน้ำไท ที่มีกำหนดการเปดตัวพรอมกันในวันที่ 20 มีนาคม 2553 สวนที่ดินแปลงอื่นอยูระหวางการพิจารณาเพื่อเปด โครงการในชวงครึ่งปแรกอีก 2-3 แปลงเพื่อเปนรายไดของป 2555 บริษัทเชื่อวาธุรกิจที่บริษัทดำเนินการอยูสอดคลองกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในเรื่องของความพอประมาณ โดยการกำหนดอัตราการ เติบโตและกำไรขั้นตนที่เหมาะสม ภูมิคุมกันคือการบริหารความเสี่ยง และความมีเหตุมีผล อันไดแก การสรางที่พักอาศัยที่มีคุณภาพภายในเมือง ซึ่ง เปนหนึ่งในปจจัยสี่อันเปนความจำเปนขั้นพื้นฐานของการดำรงชีวิต ประกอบกับกลุมลูกคาเปาหมายของบริษัทเปนกลุมที่ตองการที่อยูอาศัยที่มีคุณภาพ อยางแทจริง ภายใตการคำนึงถึงความสมดุลในทุกมิติดวยความระมัดระวังโดยอาศัยขอมูลทั้งภายในและภายนอก ประกอบกับประสบการณในการเผชิญ วิกฤติที่ผานมา แนวทางการบริหารจัดการที่คำนึงถึงความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคม การคำนึงถึงความเทาเทียมของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ดวยหลักการเปดเผย โปรงใส และตรวจสอบได เปนปจจัยที่เอื้อใหบริษัทยังสามารถดำเนินธุรกิจในป 2553 ใหเปนไปตามเปาหมายที่กำหนดไวไดอยาง แนนอน

12

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


¼ÙŒÊÌҧºŒÒ¹à»‚›ÂÁÊØ¢ ãËŒ¡Ñº¤¹àÁ×ͧ μÅÍ´ 20 »‚ ¡Ç‹Ò 50 â¤Ã§¡Òà LPN ä´ŒÊÌҧ “ºŒÒ¹” ãËŒ¤¹àÁ×ͧ ¨¹¡ÅÒÂ໚¹áºÃ¹´ ·ÕèÍÂÙ‹ã¹ã¨ ¢Í§¡Ç‹Ò 33,000 ¤Ãͺ¤ÃÑÇ à»š¹»ÃÐʺ¡Òó áË‹§¤ÇÒÁÊØ¢·Õ誋ÇÂàÊÃÔÁàμÔÁá싧 ãËŒáºÃ¹´ “ÅØÁ¾Ô¹Õ” Áդس¤‹ÒáÅÐ໚¹·ÕèÂÍÁÃѺ


¡Ç‹Ò 50 â¤Ã§¡ÒäسÀÒ¾¢Í§ LPN ลุมพินี ทาวเวอร

แอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร

ลุมพินี เพลส

พี.เอส.ที. ซิตโ้ิ ฮม

ลุมพินี เพลส สาทร

ลุมพินี เซ็นเตอร ลาดพราว 111

ลุมพินี เพลส พระราม 3-เจริญกรุง

ลุมพินี เพลส พระราม 3 - ริเวอรววิ

14

ลุมพินี วิลล พระแมมารี-สาทร

ลุมพินี เพลส พระราม 4-สาทร

ลุมพินี เซ็นเตอร สุขมุ วิท 77

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

แอล.พี.เอ็น. มินิ ออฟฟศ

พี.เอส.ที มิน.ิ ออฟฟศ

พี.เอส.ที.คอนโดวิลล ทาวเวอร 1,2

สีพ่ ระยา ริเวอรววิ

บานลุมพินี บางบัวทอง

บานลุมพินี 2 บางบัวทอง

ลุมพินี เซ็นเตอร แฮปปแ ลนด

ลุมพินี เพลส สวนพลู-สาทร

ลุมพินี เรสซิเดนซ สาทร

ลุมพินี เพลส นราธิวาส 24

ลุมพินี เพลส นราธิวาสราชนครินทร

ลุมพินี สวีท สุขมุ วิท 41

ลุมพินี วิลล พหล-สุทธิสาร

ลุมพินี เซ็นเตอร นวมินทร

ลุมพินี วิลล สุขมุ วิท 77

ลุมพินี เพลส ปน เกลา


ลุมพินี เพลส ปน เกลา 2

ลุมพินี วิลล ศูนยวฒั นธรรม

ลุมพินี เพลส พหล-สะพานควาย

ลุมพินี เพลส รัชดา-ทาพระ

ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจาพระยา

ลุมพินี วิลล รามอินทรา-หลักสี่

ลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-หลักสี่

ลุมพินี คอนโดทาวน บางแค ลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-นวมินทร

ลุมพินี พารค ปน เกลา

ลุมพินี คอนโดทาวน รัตนาธิเบศร

ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา

ลุมพินี เพลส พระราม 4-กลวยน้ำไท

ลุมพินี เพลส รัชโยธิน

ลุมพินี วิลล รามคำแหง 44

ลุมพินี คอนโดทาวน บดินทรเดชารามคำแหง

ลุมพินี วิลล ประชาชืน่ -พงษเพชร

ลุมพินี สวีท ปน เกลา

ลุมพินี วิลล รามคำแหง 26

ลุมพินี พระราม 8

ลุมพินี วิลล บางแค

ลุมพินี วิลล ลาดพราว-โชคชัย 4

ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่

ลุมพินี วิลล ราษฏรบรู ณะ-ริเวอรววิ

โครงการรวมทุนในบริษทั แกรนด ยูนติ ้ี ดิเวลลอปเมนท จำกัด ลุมพินี เพลส วอเตอรคลิฟ

ลุมพินี ทาวนโฮม รัชดา-พระราม 3

ลุมพินี สวีท รัชดา-พระราม 3

แกรนด เฮอริเทจ ทองหลอ

แกรนด พารควิว อโศก

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

พารควิว วิภาวดี

15


¾Ñ²¹Ò¡Òä͹â´ÁÔà¹ÕÂÁ áºÃ¹´ áÅЪØÁª¹¹‹ÒÍÂÙ‹

พัฒนาแบรนด “ลุมพินี เซ็นเตอร” สำหรับ กลุม เปาหมายระดับกลาง-ลาง

แบรนด “ลุมพินี เพลส” ไดรับการยอมรับ อยางกวางขวางดานที่อยูอาศัยในเมืองที่มี คุณภาพ

ทั้งยังพัฒนา “ลุมพินี วิลล” ใหเปนแบรนด สำหรับกลุมเปาหมายระดับกลาง

32 โครงการ 11,700 ยูนิต 30,000 คน

และ “ลุมพินี สวีท” เพื่อกลุมเปาหมายระดับ กลาง-บน

จุดเริม่ ตนของแบรนด “ลุมพิน”ี มาจาก โครงการ “ลุมพินี ทาวเวอร” บนถนนพระราม 4

25 โครงการ 9,200 ยูนิต 23,000 คน 17 โครงการ 7,000 ยูนิต 17,000 คน

7 โครงการ 3,000 ยูนิต 7,000 คน

2532-2541

2542-2546

2547

2548

จุดเริ่มตนแบรนด “ลุมพินี” พรอมการพัฒนา “ชุมชนนาอยู”

ริเริ่มซิตี้คอนโด

การพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยความสูง ขนาดกลาง (Medium Rise Condominium)

การพัฒนาชุมชนเมืองขนาดยอม (Small Size Township)

กลับมาพัฒนาโครงการในความสูง ประมาณ 20 ชัน้ โดยชูจดุ แข็งในเรือ่ ง ของการขายเร็ว สรางเร็ว และโอนเร็ว เชนกัน ซึ่งเปนผลจากการพัฒนา อยางตอเนือ่ งในทุกกระบวนการ

ดวยเห็นศักยภาพของตลาด จึงริเริม่ การพัฒนาโครงการทีม่ ขี นาดใหญขน้ึ เปน 5 เทาของซิตค้ ี อนโด ซึง่ พรัง่ พรอม ดวยสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเปน สำหรับการใชชวี ติ ในเมือง ในรูปแบบ “ชุมชนเมืองขนาดยอม”ภายใตการ บริหารแบบครบวงจร โดยมีลุมพินี วิลล ศูนยวัฒนธรรม เปนโครงการ นำรองและการใหความสำคัญกับการ บริหารจัดการชุมชนที่มีขนาดใหญ เปนพิเศษ

ชวงเริม่ แรกของการดำเนินงาน การพัฒนา โครงการของบริษัทเปนไปในหลากหลาย ผลิตภัณฑ ทัง้ อาคารชุดสำนักงาน อาคาร ชุดพักอาศัย ทาวนเฮาสและมินิออฟฟศ นอกจากนีย้ งั ไดกอ ตัง้ บริษทั ลุมพินี พรอพเพอรต้ี มาเนจเมนท จำกัด ขึน้ ในป 2535 เพือ่ ใหบริการดานการบริหารจัดการชุมชน อยางครบวงจร ซึ่งถือเปนจุดกำเนิดของ ความเปนตัวตน (Identity) และกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” ที่ทำใหแบรนด “ลุมพินี” แข็งแกรงมาจนถึงปจจุบัน

16

มุง เนนการพัฒนาเฉพาะอาคารชุดพัก อาศัยทีเ่ ปนจุดแข็งของบริษทั และยังได พัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพยใหกาว ไปอีกขัน้ ดวยการพัฒนาโครงการลุมพินี เพลส สาทร คอนโดในเมืองทีข่ ายกอสราง และโอนกรรมสิทธิภ์ ายใน 1 ป ซึง่ เปน ตนแบบของ “ซิตี้คอนโด” มาจนถึง ปจจุบัน รวมถึงการออกแบบหองชุด LPN Design ขนาด 30 และ 60 ตร.ม. ทีไ่ ดรบั การยอมรับดานประโยชนใชสอย สูงสุด

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


พัฒนาแบรนด “ลุมพินี คอนโดทาวน” เพื่อ รองรับความตองการบานหลังแรกของคนเมือง อันเปนพัฒนาการที่ตอยอดมาจากแบรนด ลุมพินี เซ็นเตอร และ Small Size Township

คนหาตัวตนและวางแผนสื่อสารแบรนดอยาง เปนรูปธรรมมากขึน้ นอกจากนี้ ยังไดปรับเปลีย่ น ตราสัญญลักษณองคกร ตราสัญญลักษณชุมชน นาอยู และกลุมผลิตภัณฑทั้งหมดและมีแผนสื่อ สารแบรนดอยางตอเนื่อง

สื่อสารแบรนดภายใตแคมเปญแรก “Happiness of Togetherness” ทัง้ สำหรับสังคมภายในองคกร ชุมชน ทุกโครงการทีพ่ ฒั นาขึน้ และสาธารณะ เพือ่ สรางการรับรู ความจงรักภักดี และ ตอกย้ำความแข็งแกรงของแบรนด “ลุมพิน”ี ทีแ่ ตกตาง และใหความสำคัญ กับการสรางคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยัง พัฒนาแบรนดเฉพาะกิจ “ลุมพินี พารค” เพื่อสังคมคุณภาพ 52 โครงการ 33,500 ยูนิต 100,000 คน

44 โครงการ 27,000 ยูนิต 68,000 คน 36 โครงการ 16,000 ยูนิต 40,000 คน

2549

2550-2551

2552

การพัฒนาแบรนด “ลุมพินี คอนโดทาวน” เพื่อตอบสนองความตองการที่อยูอาศัย ของคนเมือง

คนหาตัวตนของแบรนด “ลุมพินี” เพื่อกำหนดกลยุทธและพัฒนาแบรนดใหอยู ในใจคนเมืองที่พรอมเติบโตอยางมั่นคง ยั่งยืน

พัฒนาแบรนดเฉพาะกิจ “ลุมพินี พารค” เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดและ “ชุมชนนาอยู” ของคนเมือง

พัฒนาแบรนดใหม “ลุมพินี คอนโดทาวน” เพื่อรองรับความตองการที่อยูอาศัยของ กลุม เปาหมายระดับกลาง-ลางทีม่ ขี นาดใหญ โดยแบรนดดังกลาวถือเปนเรือธงในการ พัฒนาโครงการของบริษทั มาจนถึงปจจุบนั ทัง้ ยังเพิม่ ความเขมขนของพัฒนา “ชุมชน นาอยู” เพื่อกลุมเปาหมายดังกลาว

บริษทั ไดวเิ คราะหและศึกษาความเปนตัวตน ของแบรนด โดยกำหนดเปาหมายการรับรู ถึงแกนแเทและตัวตนของแบรนดอยาง ชัดเจน รวมทั้งศึกษาการสื่อความหมาย และตราสัญลักษณของแบรนด “ลุมพินี” ซึ่งเปนที่มาของกลยุทธ “ชุม ชนนาอยู” ที่กำหนดนิ ย ามวาคือ “ความสุขทีแ่ ทจริง ของการอยูอาศัย”

พัฒนาแบรนดเฉพาะกิจ “ลุมพินี พารค” เพื่อตอบสนองคุณภาพชีวิตที่ดี ที่นอกจาก อยูใ นทำเลทีส่ อดรับกับความตองการ ยังได เพิ่มคุณคาดวยสวนขนาดใหญภายใตชื่อ “สวนรวมใจ” เพื่อใหลูกคาไดมีสถานที่ที่จะ สามารถทำกิจกรรมรวมกัน ซึ่งสอดรับกับ แนวคิดของการสราง“ชุมชนนาอยู”

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

17


¡ÒúÃÔËÒÃμÃÒ¼ÅÔμÀѳ± ËÃ×ÍáºÃ¹´ “ÅØÁ¾Ô¹Õ” ตราผลิตภัณฑหรือแบรนดซง่ึ เปนทรัพยสนิ ทีไ่ มมตี วั ตน (Intangible Asset) ทีท่ กุ บริษทั ใหความสำคัญ มุง มัน่ ทีจ่ ะสราง รักษา และสือ่ สารใหเขาถึง กลุมเปาหมาย ทามกลางสภาวะการแขงขันที่ทวีความรุนแรง แบรนดที่ประสบความสำเร็จสวนใหญมีตัวตนที่แตกตางอยางชัดเจน (Identity) โดยแบรนด เหลานั้นมักมีพันธะสัญญาตอผูบริโภคในการสงมอบผลิตภัณฑหรือบริการที่เหนือความคาดหมายโดยมี “วัฒนธรรมหรือคานิยมองคกร” เปนแรงผลักดัน ในการสรางคุณคา และจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจเปนเครื่องกำกับ การทุมงบประมาณในการโฆษณาประชาสัมพันธเพื่อสรางการรับรูในระยะสั้นเพื่อ หวังผลเพียงยอดขายโดยขาดสำนึกรับผิดชอบ อาจไมบรรลุผลในยุคของสังคมขาวสารและเทคโนโลยีอินเตอรเน็ตที่ผูบริโภคมีความรูความเขาใจ และ ตระหนักในสิทธิ บริษัทไดเล็งเห็นความสำคัญในขอนี้จึงกำหนดแนวทางในการสรางและบริหารแบรนดที่มาจากการลงมือปฏิบัติจนเกิดการรับรูและ ความเชื่อมั่น กอเปนความผูกพันและการบอกตอ บริษัทหลีกเลี่ยงที่จะใชงบประมาณจำนวนมากในการโฆษณาประชาสัมพันธเพื่อสรางการรับรูโดย ปราศจากปจจัยพื้นฐาน อีกทั้งยังกำหนด “คานิยมองคกร” ที่รองรับแนวทางในการบริหารตราผลิตภัณฑหรือแบรนดใหแข็งแกรง ตลอดระยะเวลากวา 20 ปของการดำเนินงาน ปจจัยที่สงผลใหบริษัทเติบโตอยางยั่งยืนคือ ความเชื่อมั่นที่ผูบริโภคมีตอแบรนด “ลุมพินี” ซึ่งนอกจาก คุณคาผลิตภัณฑ อันเกิดจาก ทำเลที่มีศักยภาพ หองชุดที่ออกแบบภายใตแนวคิด LPN Design สวนประกอบโครงการในดานตางๆ ยัง รวมถึงคุณคาของการบริการที่บริษัทไดพัฒนามาโดยลำดับ ทั้งการบริหารประสบการณลูกคาและการบริการหลังการขายอันไดแก การบริหารชุมชน ภายใตกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” ยังเปนสวนสำคัญที่ชวยสรางความแตกตางและเปนจุดแข็งที่ทำใหแบรนดของบริษัทไดรับการบอกตอและเปนที่ยอมรับ อยางกวางขวาง “ชุมชนนาอยู” กลยุทธในการขับเคลื่อนแบรนด “ลุมพินี” จากปณิธานที่บริษัทมุงมั่นในการสรางสรรคและสงมอบความสุขที่แทจริงของการอยูอาศัยใหกับสมาชิกทุกคนในครอบครัว “ลุมพินี” เพื่อนำไปสู “ชุมชนที่ผูอยูอาศัยจะสามารถอยูรวมกันอยางมีความสุข โดยมีองคประกอบที่เหมาะสม มีคุณภาพชีวิตภายใตสังคมและสิ่งแวดลอม รวมทัง้ วัฒนธรรม อันดีงาม” ซึ่งบริษัทไดกำหนดกลยุทธในการบริหารจัดการชุมชนที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งมีหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงไดแก บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด บริษทั ในเครือทีบ่ ริษทั ไดจดั ตัง้ ขึน้ ตัง้ แตป 2535 เพือ่ ใหการบริการดานบริหารจัดการชุมชนทีค่ รบวงจร ภายใตแนวทางการดำเนินงาน ที่พัฒนามาเปนลำดับไดแก F-B-L-E-S ที่ประกอบไปดวย (1) การบริหารทรัพยสวนกลาง (Facility Management) การบริหารทรัพยสวนกลาง หนึ่งในองคประกอบสำคัญของชุมชน เปนหนาที่หลักของการบริหารจัดการชุมชน ทั้งนี้ ฝายบริหารจัดการมี หนาทีใ่ นการดูแลทรัพยสว นกลางใหมปี ระสิทธิภาพสูงสุด โดยเฉพาะสวนประกอบทีส่ ำคัญของอาคารชุด อันไดแก ระบบวิศวกรรมและระบบความปลอดภัย ของอาคาร ซึ่งเปนหนาที่ของฝายงานบำรุงรักษา ที่ตองบำรุงรักษาในเชิงปองกันเพื่อใหมั่นใจไดวาระบบตางๆ ทำงานเปนปกติ เกิดความสะดวกสบาย และปลอดภัย และอาจเกี่ยวพันโดยตรงกับชีวิตและทรัพยสินของเจาของรวม หรือผูอยูอาศัยทั้งหมด หรือระบบบำบัดน้ำเสีย ซึ่งสงผลตอสภาพแวดลอม โดยตรง (2) การบริหารงบประมาณ (Budgeting Management) การบริหารงบประมาณ นิตบิ คุ คลอาคารชุด เปนการบริหารงบประมาณทีไ่ มมวี ตั ถุประสงคในการแสวงหากำไร แตเปนการบริหารงบประมาณ ใหเปนไปตามนโยบายที่ไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมใหญสามัญเจาของรวม และบริหารเงินกองทุนใหมีเสถียรภาพและเพิ่มพูน เพื่อความมั่นคงในฐานะ ทางการเงินของชุมชน โดยยังคงรักษาไวซึ่งประสิทธิภาพของอาคารและคุณภาพชีวิตของเจาของรวม หรือผูอยูอาศัยทั้งหมดภายในชุมชน ประกอบ การจัดทำรายงานการเงินที่งายตอความเขาใจ เนนความโปรงใสและตรวจสอบได (3) การบริหารคุณภาพชีวติ (Life Quality Management) สำหรับการบริหารจัดการชุมชน นอกเหนือจากการบริหารทรัพยสวนกลางและการบริหารงบประมาณแลว คุณภาพชีวิตของเจาของรวม ถือวาเปนสิ่งสำคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน ไมวาจะเปนเรื่อง ความสะอาด การรักษากฎระเบียบ ขอบังคับของอาคารชุด เพื่อการมีวินัยในการอยูอาศัย รวมกันและความเปนระเบียบเรียบรอยภายในชุมชน รวมทั้งกิจกรรมตางๆ ที่เสริมสรางวัฒนธรรมอันดีงามของไทย ซึ่งกิจกรรมดังกลาวขางตนสงผล ใหเจาของรวมหรือผูพักอาศัยในชุมชนเกิดความสัมพันธที่ดีรวมกัน โดยการสรางความรวมมือรวมใจทั้งผูอยูอาศัยภายในชุมชนที่บริษัทพัฒนากับผู อยูอาศัยในบริเวณโดยรอบ หากกิจกรรมใดที่เห็นวาเปนประโยชนและเปนวัฒนธรรมอันดีงาม บริษัทจะใหการสนับสนุนหรือจัดใหมีการเขารวม กิจกรรมอยางเต็มที่ กิจกรรมตางๆ ประกอบดวย - กิจกรรมหลัก เชน การจัดประชุมใหญสามัญเจาของรวมประจำป การจัดกิจกรรมซอมหนีไฟ รวมทั้งการรณรงคใหสมาชิกรวมเปนอาสา สมัครชุมชนในโครงการ Fire Team เปนตน - กิจกรรมสานสัมพันธ ไดแก การจัดใหมีการแลกเปลี่ยนประสบการณการอยูอาศัยรวมกับผูบริหารและสมาชิกในโครงการ อันจะนำไปสูแนว ทางในการปรับปรุงและพัฒนาเพื่อใหเกิดความสุขจากการอยูอาศัยในสังคมใหญรวมกัน รวมทั้งการจัดกิจกรรมสำหรับผูที่สนใจงานดานศิลปะ หรือดนตรี การจัดงานวันครอบครัวเพื่อเปดโอกาสใหผูอยูอาศัยจากหลากหลายครอบครัวไดมีโอกาสพบปะ พูดคุย ทำความรูจัก และแลก เปลี่ยนความคิดเห็นระหวางกัน - กิจกรรมเพือ่ สงเสริมอาชีพและรายได ไดแก การจัดใหมตี ลาดนัดชุมชนภายในโครงการ เชน กิจกรรม “LPN รวมพลคนคอนโด สูภัยเศรษฐกิจ” ซึ่งจัดขึ้นที่โครงการลุมพินี คอนโดทาวน บดินทรเดชา-รามคำแหง เพื่อเแลกเปลี่ยน ซื้อขายสินคา รวมถึงเปนสื่อกลางในการรับสมัครงาน และการสอนอาชีพ เปนตน นอกจากนีย้ งั จัดใหมตี ลาดนัดชุมชนใน 3 โครงการ ไดแก โครงการลุมพินี วิลล ศูนยวฒั นธรรม ลุมพินี สุขมุ วิท 77 และกลุมอาคารพี.เอส.ที. ซึ่งไดรับการตอบรับที่ดีจากสมาชิก

18

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


- กิจกรรมเพือ่ สงเสริมสุขภาพทีด่ ขี องสมาชิก ไดแก การตรวจสุขภาพจากโรงพยาบาลชั้นนำ การจัดกิจกรรมแอโรบิค โยคะ วิ่งมาราธอน เชน กิจกรรมวิง่ มาราธอนเฉลิมพระเกียรติเนือ่ งในวันแมแหงชาติ และกิจกรรม “Lumpini Community Game” ซึ่งเปนการแขงขันกีฬารวมกันในหมู สมาชิกจากกวา 50 โครงการ ทีบ่ ริษทั ไดรเิ ริม่ ขึน้ เปนครัง้ แรกในป 2552 ทีผ่ า นมา - กิจกรรมดานวัฒนธรรม ไดแก การทำบุญอาคาร การจัดงานในเทศกาลตางๆ เชน วันขึน้ ปใหม วันสงกรานต วันลอยกระทง วันครอบครัว เปนตน - กิจกรรมดานศาสนา ไดแก การทำบุญ ฟงธรรม นั่งสมาธิ การจัดกิจกรรมทำบุญ 9 วัด และการทองเที่ยวเชิงพุทธ เปนตน - กิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอม เชน การรณรงคใหสมาชิกในโครงการรวมบริจาคโลหิตอยางตอเนื่องทุก 3 เดือน การจัดกิจกรรมวันเด็กให กับนองๆ โรงเรียนเศรษฐบุตรอุปถัมภทเ่ี ปนเพือ่ นบานขางเคียงโครงการลุมพินี วิลล ลาดพราว-โชคชัย 4 การรณรงคใหความชวยเหลือแกชมุ ชน โรงแกวยานพระราม 3 ที่ประสบเหตุเพลิงไหม และการทำบุญเลี้ยงเด็กกำพรา สถานสงเคราะหเด็กชาย บานบางละมุง สวนการดำเนินงาน ดานสิ่งแวดลอม ไดแก การที่สมาชิกไดรว มเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวภายในโครงการ เปนตน (4) การบริหารสิง่ แวดลอม (Environment Management) การใหความสำคัญตอสิง่ แวดลอมเปนหนาทีห่ นึง่ ทีบ่ ริษทั ใหความสำคัญอยางยิง่ โดยมุง เนนสิง่ แวดลอมทีม่ ผี ลกระทบตอเจาของรวมและสังคม โดยรอบบริเวณโครงการโดยยึดหลัก Green Clean Lean เปนสำคัญ อาทิ การบำบัดน้ำเสียใหไดคณุ ภาพตามเกณฑทห่ี นวยงานราชการกำหนด และนำกลับ มาใชใหมสำหรับรดน้ำตนไมในโครงการ การจัดการขยะโดยการคัดแยกขยะออกเปนสวนเพื่อใหงายตอการกำจัด หรือนำกลับไปเขากระบวนการ Rcycle การอนุรักษพลังงาน การบำรุงรักษาดูแลพื้นที่สีเขียวหรือการปลูกตนไมทดแทนใหแกสังคมโดยรวมทั้งในบริเวณ และนอกบริเวณอาคารชุดเพื่อเสริมสราง พื้นที่สีเขียวใหกับชุมชนและกรุงเทพมหานคร เปนการยกมาตรฐานคุณภาพชีวิตของคนเมืองใหดีขึ้น เพื่อเปนการตอกย้ำถึงความสำคัญของการบริหาร สิ่งแวดลอมบริษัทไดจัดตั้งหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรง ใหทำหนาที่สงเสริมและสรางจิตสำนึก รวมทั้งจัดกิจกรรมเพื่อดูแลสิ่งแวดลอมที่ไดรับ ผลกระทบจากการพัฒนาโครงการทัง้ อยูใ นระหวางการกอสรางหรือภายหลังการกอสราง (5) การบริหารระบบความปลอดภัย (Security Management) บริษทั ใหความสำคัญและเขมงวดกับการบริหารระบบความปลอดภัยเปนอยางสูง โดยมีหนวยงานดานรักษาความปลอดภัยทีบ่ ริษทั ไดจดั ตัง้ ขึน้ เพือ่ บริหารจัดการความปลอดภัยภายในโครงการ ภายใตกลยุทธในการทำงานเพือ่ รักษามาตรฐานของระบบรักษาความปลอดภัยทัง้ เจาหนาทีท่ ป่ี ฏิบตั งิ าน และอุปกรณ เชน กลองโทรทัศนวงจรปด ระบบเตือนภัย และระบบสือ่ สาร รวมถึงการสรางเครือขายความมีสว นรวมจากทัง้ ภายในชุมชนและหนวยราชการ ทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ ความปลอดภัยสูงสุดของสมาชิกภายในชุมชนเปนสำคัญ

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

19


การสือ่ สารแบรนด ในป 2551 บริษทั ไดรว มกับบริษทั ทีป่ รึกษาดานการสือ่ สารแบรนด วางแผนการพัฒนาและการสือ่ สารแบรนด “ลุมพิน”ี ออกสูว งกวาง โดยกำหนด เปาหมายการรับรูถึงแกนแทความเปนตัวตนของแบรนดอยางชัดเจน จากผลการศึกษาจึงเปนที่มาของนิยามวาคือ “ความสุขที่แทจริงของการอยูอาศัย” (Real Pleasure of Living) และเพือ่ ใหเกิดความชัดเจนของตราสัญลักษณของบริษทั และการบอกถึงความเปนตัวตนของแบรนด “ลุมพิน”ี บริษทั จึงไดปรับปรุงและ พัฒนาตราสัญลักษณของบริษัท รวมถึงตราสัญลักษณ “ชุมชนนาอยู” ใหม ดังนี้

ตราสัญลักษณองคกร

ตราสัญลักษณชมุ ชนนาอยู

สำหรับในป 2552 เพือ่ การสือ่ สารออกไปในวงกวางใหบคุ คลทัว่ ไปไดรบั ทราบ อันจะเปนการขยายการรับรูแ ละการจดจำ บริษทั จึงไดจดั ใหมแี คมเปญ การสือ่ สารกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” ผานสือ่ และชองทางใหมๆ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เขาถึงกลุม เปาหมายโดยตรงและมีคา ใชจา ยต่ำอันไดแก เว็บไซต โดยบริษัท ไดจดั ทำเว็บไซต www.30happydays.com ขึน้ มาเปนการเฉพาะ รวมถึงการสือ่ สารผานเครือขายทางสังคม (Social Network) เชน ทวิตเตอร (Twitter) หรือเฟซบุก (Face Book) โดยไดเชิญศิลปนรุนใหมจาก 4 สาขารวมรับประสบการณความสุขจากการอยูอาศัยโครงการตางๆ ภายใตแบรนด “ลุมพินี” ในชวงเดือนตุลาคมที่ผานมาเปนเวลา 30 วัน และถายทอดประสบการณและเหตุการณนาประทับใจผานเว็บไซตดังกลาวเพื่อคงไวซึ่งความเชื่อมั่น และ ความเขาใจที่ดีที่มีตอแบรนด “ลุมพินี” นอกจากนี้ ยังจัดใหมีกิจกรรมสื่อสารภายในระหวางกลุมสมาชิกและพนักงานภายในองคกร เพื่อรวมถายทอดประสบการณความประทับใจจาก การรวมเปนสวนหนึง่ ในสมาชิก “ลุมพิน”ี และเปนทีม่ าของวลีทว่ี า “ความสุขนัน้ สงตอถึงกันได” ซึง่ นับเปนความรูส กึ แทจริงจากการรวมเปนสวนหนึง่ ในชุมชน “ลุมพิน”ี

20

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


¡ÒÃÇÔ¨ÑÂáÅоѲ¹Ò บริษัทไดตระหนักถึงความสำคัญของการวิจัยและพัฒนา โดยไดจัดตั้งฝายวิจัยและพัฒนาซึ่งประกอบดวยบุคลากรที่มีความรู ความสามารถ ประสบการณในหลากหลายสาขาวิชาชีพที่ขึ้นตรงตอกรรมการผูจัดการ โดยการวิจัยครอบคลุมตลอดทั้งกระบวนการในการดำเนินการของบริษัท เริ่มตั้ง แตการเลือกทำเลในการพัฒนา แนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑและบริการ การลดตนทุน โดยบริษัทไดกำหนดบทบาทและหนาที่ของฝายวิจัยและพัฒนา ไวดังนี้ การวิจยั 1. การวิจยั เพือ่ ใหไดมาซึง่ ขอมูลในการตัดสินใจสำหรับคณะผูบ ริหารโดยครอบคลุมตัง้ แตขอ มูลในระดับมหภาค เชน สภาวะโดยรวมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สภาวะการแขงขัน อุปสงค อุปทาน และความตองการของตลาด ขอมูลสำหรับการพัฒนาโครงการในแตละโครงการ เชน ทำเลทีเ่ หมาะสม ในการพัฒนา ระดับราคาที่เหมาะสมในแตละทำเล ตลอดจนขอมูลความตองการของลูกคา เพื่อใชพัฒนาผลิตภัณฑใหสอดคลองกับพฤติกรรมผูบริโภค มากที่สุด 2. การวิจัยเพื่อพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพในการดำเนินการของบริษัท โดยมีจุดมุงหมายเพื่อตอบสนองตอความพึงพอใจของลูกคา คุณคา ของผลิตภัณฑและบริการ รวมถึงการพัฒนากระบวนการของบริษัท (Reprocess) เพื่อลดตนทุน ความสูญเสีย และเพิ่มความรวดเร็วในการดำเนินการ ในดานตางๆ 3. การวิจยั เพือ่ คนหาโอกาสทางธุรกิจใหมๆ อันเกิดจากความเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดลอม สังคม โครงสรางประชากร พฤติกรรมผูบริโภค เพื่อรองรับตอการขยายตัวของบริษัทในอนาคต การพัฒนา การพัฒนาผลิตภัณฑ หัวใจของการวิจัยคือการนำขอมูลที่ไดมาพัฒนาทั้งผลิตภัณฑและบริการที่มีคุณคา ตอบสนองตอความตองการของผูบริโภค โดยยังคงไวซึ่งความ ไดเปรียบทางการแขงขัน อันนำไปสูค วามเชือ่ มัน่ ทีม่ ตี อ แบรนด “ลุมพิน”ี ตลอดระยะเวลาทีผ่ า นมา บริษทั ไดมพี ฒั นาการทีส่ ำคัญในดานการพัฒนาผลิตภัณฑ จนถือไดวาหองชุดของบริษัทเปนตนแบบของการพัฒนาอาคารชุดอาศัยภายในเมืองที่มีการนำไปพัฒนาตอในหลายๆ ผูประกอบการ เนื่องจากตอบ สนองความตองการของผูอาศัยไดอยางครบถวนภายใตชื่อ “LPN Design” เริ่มตั้งแตหองชุดแบบสตูดิโอขนาด 30 ตร.ม. และหองชุดแบบ 2 หองนอน ขนาด 60 ตร.ม. ที่สรางมาตรฐานใหมของการอยูอาศัยในอาคารชุด เนื่องจากสอดคลองกับวิถีชีวิตแบบไทยๆ และงายตอการบำรุงรักษา จวบจนปจจุบนั ผลิตภัณฑหลักของบริษทั ไดมกี ารปรับปรุงเปลีย่ นแปลงมาโดยลำดับ ลาสุด หองชุดแบบ 1 หองนอนขนาด 26 ตร.ม. แมมีขนาดที่เล็กแตสามารถตอบ สนองตอวิถีชีวิตและความตองการ ในขณะที่ยังคงรักษาระดับราคาขายใหตอบสนองตอกลุมเปาหมายไดเปนอยางดีแมในภาวะที่ตนทุนขยับตัวสูงขึ้น อยางตอเนื่อง จนหองชุดแบบ 26 ตร.ม. ของบริษัทไดรับยกยองใหเปน “Product of the year” ประจำป 2552 จากหนังสือพิมพฉบับหนึ่ง การพัฒนาการบริการ ความเปนตัวตนของบริษัท (Identity) นอกจากการพัฒนาผลิตภัณฑเพื่อตอบสนองตอความตองการของผูบริโภคแลว การบริการถือเปนอีกหนึ่ง องคประกอบที่สรางความแตกตางใหเกิดแกแบรนด “ลุมพินี” โดยเฉพาะการบริการหลังการขาย อันไดแก “การบริหารชุมชน” จนเปนที่ยอมรับและบอก ตออยางกวางขวาง พัฒนาการของ “การบริหารชุมชน” ของบริษัท ดำเนินการโดยบริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด ซึ่งกอตั้งมาแลว กวา 15 ป รับผิดชอบบริหารชุมชนใหแกโครงการภายใตการพัฒนาของบริษัททั้งหมด โดยมีบทบาทหลัก 5 ดาน ที่ไดมีการพัฒนามาโดยตลอด ไดแก F (Facility) - การบริหารทรัพยสว นกลาง B (Budget) - การบริหารงบประมาณ L (Life Quality) - การบริหารคุณภาพชีวติ E (Environment) - การบริหารสิ่งแวดลอม S (Security) - การบริหารความปลอดภัย โดยมีเปาหมายหลักคือการสราง “ชุมชนนาอยู” ที่ผูอยูอาศัยอยูรวมกันอยางมี ความสุข โดยมีองคประกอบที่เหมาะสม มีคุณภาพชีวิตภายใตสังคมและสิ่งแวดลอม รวมทั้งวัฒนธรรมอันดีงาม มาตรฐาน LEED กับการพัฒนาผลิตภัณฑของบริษทั ภายใตแนวคิด “LPN Green” นอกเหนือจากการพัฒนาผลิตภัณฑและบริการดังที่ไดกลาวมาขางตนแลว บริษัทยังไดใหความสำคัญตอผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอันเนื่องมาจาก การพัฒนาโครงการ จึงไดกำหนดแนวทางการออกแบบและพัฒนาโครงการภายใตแนวคิด “LPN Green” ซึง่ ประกอบดวย Green Design, Green Material & Equipment, Green Energy และ Green Community Management ซึง่ มีการนำเสนอออกสูส าธารณะชนแลวโดยไดรบั การตอบรับเปนอยางดีในดาน ยอดขาย อยางไรก็ตามแนวคิด “LPN Green” ที่ไดสื่อออกไปสูสังคมและผูบริโภคถูกตั้งคำถามวาเปนแนวคิดที่เปนไปตามมาตรฐานของ “อาคารเขียว” หรือ “Green Building” แลวหรือไม ซึ่งในขณะนี้ไดมีความพยายามจากสถาบันวิชาชีพในดานตางๆ ไดรวมกันจัดตั้ง “สถาบันอาคารเขียว” ขึ้นและอยูใน ระหวางการกำหนดแนวทาง มาตรฐาน และระบบประเมินอาคารเขียวขึน้ โดยไดมกี ารหยิบยกและปรับปรุงจากมาตรฐานอาคารเขียวของหลายๆ ประเทศ เพื่อใหสอดคลองกับปจจัย เงื่อนไขรวมทั้งสภาวะตางๆ ของประเทศไทย LPN Green กับมาตรฐานอาคารเขียวของ LEED 1. พัฒนาพืน้ ทีใ่ หเกิดความยัง่ ยืน (Sustainable Site Development) - เลือกทีต่ ง้ั โครงการในบริเวณทีม่ คี วามหนาแนนสูง เพือ่ ลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมและความครบครันของสิง่ อำนวยความสะดวกในบริเวณใกลเคียง ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

21


- ตั้งอยูบนถนนใหญที่มีการคมนาคมสะดวก ใกลทางดวนและระบบขนสงมวลชนเพื่อลดผลกระทบทางดานการจราจร และสนับสนุนใหผูอยู อาศัยหันมาใชระบบขนสงมวลชนมากขึ้นดวยการจัดระบบขนสงมวลชนภายในโครงการ (Shuttle Bus) เชื่อมตอกับระบบขนสงมวลชนสาธารณะ - ชดเชยพื้นที่โลงเดิมดวยพื้นที่สีเขียวและภูมิทัศนในโครงการ 2. การใชน้ำอยางมีประสิทธิภาพ (Water Effi f iciency) - ใชสุขภัณฑประหยัดน้ำเพื่อการใชน้ำที่มีประสิทธิภาพ โดยสุขภัณฑบางประเภทเชน โถสุขภัณฑแบบ Dual Flush สามารถลดการใชน้ำลง ถึงรอยละ 50 - นำน้ำเสียที่ผานการบำบัดมารดน้ำตนไมภายในโครงการซึ่งเปนการเพิ่มประสิทธิภาพของการใชน้ำและยังเปนการลดการระบายน้ำจาก โครงการลงสูระบบระบายน้ำสาธารณะ - ติดตั้งระบบการรดน้ำตนไมที่มีประสิทธิภาพ เชน ระบบน้ำหยดเพื่อลดการสูญเสียน้ำ - รณรงคใหผูอยูอาศัยอาบน้ำดวยฝกบัวแทนอางอาบน้ำที่ใชน้ำในปริมาณมากในการอาบแตละครั้งเพื่อลดปริมาณการใชน้ำโดยตรง 3. การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ (Energy Effi f iciency) - ออกแบบหองชุดใหมีกันสาดและระเบียง เพื่อลดปริมาณความรอนที่มากับแสงแดดที่สงผานเขามาภายในหองชุดโดยตรง - ออกแบบระบบแสงสวางและระบบปรับอากาศใหมีประสิทธิภาพและเหมาะสมตอการใชงาน เพื่อลดปริมาณการใชพลังงานไฟฟา - ใชพลังงานทดแทนเชน พลังงานแสงอาทิตยสำหรับดวงโคมแสงสวางในบริเวณสวน - ในชวงบริหารโครงการภายหลังการสงมอบ ไดมีการบรรจุบทบาทและหนาที่ใหแกฝายบริหารชุมชนในการบริหารการใชพลังงานภายใน อาคารใหเกิดประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงความประหยัดและความปลอดภัยควบคูกันไป 4. การใชวสั ดุและทรัพยากรอยางประหยัดและเหมาะสม (Material and Resources) - เลือกใชวัสดุทดแทนที่พิสูจนแลววามีความปลอดภัยและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม แทนที่วัสดุที่มาจากธรรมชาติเพื่อลดการทำลายสภาวะ แวดลอมลง เชน การใชพื้นไมลามิเนตแทนการใชพื้นปาเกตไมจริง - ออกแบบใหมิติตางๆ ของอาคารสอดคลองกับมิติของวัสดุที่ใชในการกอสรางเพื่อความคุมคาในเชิงเศรษฐกิจ และลดเศษวัสดุซึ่งเปนขยะที่ ตองนำทิ้งกลับสูสภาพแวดลอม - ผนังกั้นหองภายในหองชุดใชกระจกลายผาแทนผนังทึบ เพื่อรับแสงสวางจากธรรมชาติและยังคงมีความเปนสวนตัวควบคูกันไป - กระจกภายนอกดานทิศตะวันตกเลือกใชกระจก Insulated Glass เพื่อลดความรอนที่มาพรอมกับแสงแดดในชวงบายซึ่งเปนชวงที่อุณหภูมิ สูงที่สุดในรอบวัน - ออกแบบใหมี Green Wall ในสวนผนังของทีจ่ อดรถยนต เพือ่ ลดกาซคารบอนไดออกไซดและความรอนเขาสูส ว นพักอาศัยและบริเวณโดยรอบ - บริหารจัดการขยะโดยกำหนดใหมีการคัดแยกขยะและการจัดเก็บอยางเหมาะสม ทั้งในชวงของการกอสรางและชวงภายหลังเมื่อมีผูเขาพัก อาศัยแลว 5. สรางสิ่งแวดลอมภายในอาคารที่มีคุณภาพกับผูอยูอาศัย (Indoor Environment Quality) - เนนประสิทธิภาพการบริหารชุมชนที่ยั่งยืนดวยกลยุทธ F-B-L-E-S 1) Facility Management บริหารระบบสาธารณูปโภคและสิง่ อำนวยความสะดวกภายในโครงการใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและเหมาะสมตอ การพักอาศัย 2) Budgeting Management บริหารการเงินและงบประมาณอยางโปรงใสโดยคำนึงถึงประโยชนสูงสุดและความเสี่ยงควบคูกันไป 3) Life Quality Management เสริมสรางวินยั และวัฒนธรรมในการอยูอ าศัยรวมกัน การใสใจซึง่ กันและกัน การแบงปน เพือ่ นำไปสูค ณุ ภาพ ชีวิตที่ดีในชุมชน 4) Environment Management รักษาสภาพแวดลอมภายในชุมชน รวมทัง้ การใชพลังงานอยางเหมาะสมโดยยังคำนึงถึงความปลอดภัยและ ความประหยัด 5) Security Management บริหารระบบรักษาความปลอดภัยและมาตรการในดานตางๆ อยางเขมขนเพือ่ ใหมปี ระสิทธิภาพสูงสุด โดยเริ่มตั้ง แตการออกแบบวางผังโครงการ การจัดการและออกแบบอุปกรณและระบบรักษาความปลอดภัย รวมถึงความเขมงวดตอบุคลากรทาง ดานความปลอดภัย 6. นวัตกรรมจากการออกแบบ (Innovation In Design) - วางผังอาคารและโครงการใหสอดคลองกับสภาพแวดลอม โดยพึ่งพาแสงและลมจากธรรมชาติ - วางผังและออกแบบชองเปดของหองชุดอันไดแก ประตูและหนาตางที่สอดคลองกับการอยูอาศัย - รนระยะเวลาการกอสรางดวยระบบ Semi Precast Concrete System จะเห็นไดวา แนวทาง “LPN Green” นัน้ ไมไดเปนเพียงเครือ่ งมือทางการตลาด (Marketing Tools) เพือ่ วัตถุประสงคทางดานการขายเพียงอยางเดียว แตรูปแบบรวมทั้งสวนประกอบตางๆ ของโครงการยังสอดคลองกับมาตรฐานอาคารเขียวของ LEED ไดเกือบสมบูรณ ซึ่งเนนย้ำถึงจิตสำนึกของ ความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคม (CESR) ไดอยางชัดเจน แตทั้งนี้ตองพิจารณาความเหมาะสมและความเปนไปไดในมิติอื่นควบคูกันไปดวย เพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน

22

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


¹Í¡¨Ò¡¡ÒÃÊÌҧÃÍÂÂÔéÁ·Õèໂ›ÂÁÊØ¢ãËŒ¡ÑºÊÁÒªÔ¡ ¡Ç‹Ò 1áʹ¤¹áÅŒÇ àÃÒàª×èÍÇ‹Ò´ŒÇ¾Åѧ¢Í§¾Ç¡àÃÒ áÅÐÊÁÒªÔ¡ã¹â¤Ã§¡Òà “ÅØÁ¾Ô¹Õ” ·Ø¡¤¹ ¨ÐÊÒÁÒöἋ¢ÂÒÂǧÃͺáË‹§¤ÇÒÁÊØ¢ áÅÐÃÍÂÂÔéÁ·Õè¡ÇŒÒ§¢Öé¹ÊÙ‹Êѧ¤Á à¾×èÍÊѧ¤ÁãËÞ‹·ÕèÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢ ¾ÃÑ觾ÌÍÁ´ŒÇ¤سÀÒ¾ªÕÇÔμ·Õè´Õ


¾Ñ²¹Ò¡ÒôŒÒ¹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁáÅÐÊѧ¤Á

2532-2538 เริม่ กอตัง้ บริษทั พรอมดำเนินกิจกรรมดาน CESR

2539 จุดกำเนิดกิจกรรมบริจาคโลหิต

ชวงเริม่ ตนธุรกิจ นอกจากการพัฒนาโครงการ ตางๆ บริษทั ยังไดใหความสำคัญกับการดำเนิน กิจกรรมดานสิ่งแวดลอมและสังคมควบคูกัน ไป ทั้งในกิจกรรมที่ไดริเริ่มขึ้นภายในชุมชน เชน การจัดกิจกรรมวันทำความสะอาดโลกใน โครงการลุมพินี ทาวเวอร และ พี.เอส.ที. คอนโดวิ ล ล และการใหค วามชว ยเหลื อ ประชาขนทีไ่ ดรบั ความเดือดรอนจากภัยน้ำทวม กรุงเทพฯ ครั้งใหญ เปนตน

บริษัทรวมกับสภากาชาดไทย จัดกิจกรรมรับ บริจาคโลหิตขึน้ เปนครัง้ แรกในโครงการลุมพินี ทาวเวอร ในวโรกาสทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจา อยูห ัวทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปี ซึ่งถือเปนจุดเริ่มตนของกิจกรรมดังกลาวมา จนถึงปจจุบนั นอกจากนี้ ยังไดใหความสำคัญ กับการสนับสนุนการศึกษาของบุตรคนงาน กอสรางที่อาศัยอยูภายในหนวยงานกอสราง อีกดวย

24

2540-2543 วิกฤติเศรษฐกิจ และการปรับตัวเพือ่ ความอยูร อด วิ ก ฤติ เ ศรษฐกิ จ ที่เกิดขึ้นทั่วโลก รวมถึง ประเทศไทย นอกจากการปรับตัวเพื่อความ อยูรอดของธุรกิจ บริษัทยังคงดำเนินกิจกรรม ดานสิ่งแวดลอมและสังคมอยางตอเนื่อง โดย เฉพาะกิจกรรมบริจาคโลหิต ซึ่งนอกจากการ จั ด กิ จ กรรมอยางตอเนื ่ อ งทุ ก 3 เดื อ นใน โครงการลุมพินี ทาวเวอร แลว ยังไดขยาย กิจกรรมไปยังโครงการอื่นๆ เชน โครงการ พี.เอส.ที. ยานพระราม 3 อีกดวย นอกจากนี้ ยังไดจดั ตัง้ ฝายบริการความสะอาด เมือ่ ป 2543 เพื ่ อ สรา งงานและรายไดใหก ั บ สตรีผูดอย โอกาสในสังคม ใหมีงานที่มั่นคง มีสวัสดิการ และคุณภาพชีวิตที่ดี โดยปจจุบัน มีสมาชิก ทั ้ ง หมดกวา 600 คน ซึ ่ ง ดำเนิ น งานใน โครงการตางๆ ที่บริษัทไดพัฒนาขึ้น

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

2544-2548 พลิกฟน ธุรกิจ พรอมดำเนินงานดาน CESR อยางชัดเจนและเปนรูปธรรม ธุรกิจเริ่มฟนตั ว บริ ษ ั ท พรอมที่จะดำเนิน นโยบายดานสิ่งแวดลอมและสังคมอยางเปน รูปธรรมมากขึ้น โดยเฉพาะในชวงครบรอบ การดำเนินงาน 15 ป ระหวางป 2546-2547 บริ ษ ั ท ไดดำเนินกิจกรรม “15 ปี ที่ ผู ก พั น” ทีน่ อกจากจะเปนประโยชนตอ ลูกคา พนักงาน และคูค า แลว ยังใหความความสำคัญกับกิจกรรม เพื่อสังคม ไดแก • การมอบทุนการศึกษาใหกบั นักศึกษาปริญญา ตรีและปริญญาโท คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • การมอบเงินบริจาคแกสภากาชาดไทยเพื่อ จัดซื้ออุปกรณในเครื่องฟอกไต เพื่อใหความ ชวยเหลือผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะสุดทาย • รวมกับสมาคมไลออนสแหงประเทศไทยรวม จัดสรางสนามเทนนิสเฉลิมพระเกียรติ กรุงเทพ 1 (ฉลองราชสมบัตคิ รบ 60 ป) ภายในสวนลุมพินี เพื่อสาธารณประโยชน • สนับสนุนการจัดคอนเสิรต การกุศลของตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย นอกจากนี้ ยังได ริเริ่มกิจกรรม “โลกสุดมัน เติมฝนใหนอง” แกเด็กดอยโอกาส ในป 2547 และดำเนิ น งานตอเนือ่ งมาจนถึงปจจุบนั รวมถึงไดใหความ ชวยเหลือแกผูประสบภัยสึนามิอีกดวย


2549 กิจกรรมเฉลิมฉลองเนือ่ งในวโรกาส การครองสิรริ าชสมบัตคิ รบ 60 ป ของในหลวง ทั่วประเทศรวมเฉลิมฉลองในวโรกาสการครองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ป ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั บริษทั ไดรว มกับ ลูกคา พนักงาน คูคา และหนวยงานราชการ รวมจัดกิจกรรม เฉลิมฉลองในวโรกาสดังกลาว ไดแก • รวมปลูกปาชายเลน ณ แหลมผักเบี้ย จ.เพชรบุรี โครงการ ในพระราชดำริ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว • จัดทำพอกเก็ตบุค “9 คน 9 ความดี เพื่อพอ” เพื่อเผยแพร บุคคลตนแบบผูม พี ระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เปนแรงบันดาล ใจในการทำความดี • เริ่มกิ จ กรรม “พฤหัส นัดทำดี” เพื่อเชิ ญ ชวนลู ก คาและ ประชาชนทั่วไปที่สนใจ เขารวมสวดมนตและฟงคำสอนจาก พระสงฆ วัดสุทัศนเทพวราราม ที่อาคารลุมพินี ทาวเวอร และจัดตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน • สนับสนุนกิจกรรมบวชสามเณร โรงเรียนวัดใต ชุมชนขางเคียง โครงการลุมพินี สุขุมวิท 77 • จัดคอนเสิรตเพื่อสิ่งแวดลอมรวมกับสถาบันสิ่งแวดลอมไทย เพื่อนำเงินรายไดไปใชในโครงการอนุรักษพันธุกรรมไมทองถิ่น และเกษตรปลอดสารพิษแบบผสมผสานของโรงเรียนเพชรถนอม โครงการในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี นอกจากนี้ ยังรวมกับสำนักงานเขตหวยขวาง ปรับพืน้ ทีใ่ ตทาง พิเศษฉลองรัช (เอกมัย-รามอินทรา) ถนนเพชรบุรตี ดั ใหม ขนาด 1.5 ไร ที่รกรางและลอแหลมตอภัยอาชญากรรมของผูสัญจร ไปมาบริเวณสถานีรถไฟคลองตันใหเปน “สวนสุขภาพหวยขวาง” ที่มีความปลอดภัยและสามารถใชเปนสถานที่พักผอนหยอนใจ เปนสถานที่ออกกำลังกายของชุมชน

2550 วิสยั ทัศนเชิงคุณภาพปแรก กอตัง้ หนวยงานทีร่ บั ผิดชอบโดยตรง พรอมนโยบายทีช่ ดั เจนดาน CESR

2551-2552 เพิม่ ความเขมขนของการดำเนินงาน ภายใตกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” พรอมสรางเครือขายความมีสว นรวม

เริ่มวิสัยทัศนเชิงคุณภาพ ที่บรรจุความรับผิดชอบดานสิ่ง แวดลอมและสังคมไวในกลยุทธของบริษัท พรอมกอตั้งหนวย งานที่บริหารจัดการกิจกรรมดังกลาวอยางเปนรูปธรรมและ ชัดเจน โดยเริ่มตั้งแตองคกรภายในสูภายนอก ไดแก • การจัดกิจกรรม “กาวความดี” เพื่อปลูกจิตสำนึกดานความ รับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคมของผูบริหารและพนักงาน • รวมสนับสนุนการจัดกิจกรรมวันเด็ก โรงเรียนวัดใต ชุมชน ขางเคียงโครงการลุมพินี สุขุมวิท 77 • ในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 80 ป ของพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว บริษัทไดจัดกิจกรรม “กาวความดี เพื่อ พอแหงแผนดิน” ไดแก กิจกรรมใสบาตรความดี ฉายภาพยนตร สั้น “เกิด 5 ธันวา” และนิทรรศการ “กษัตริยนักพัฒนา” และ กิจกรรมจำหนายพันธุไม เพื่อนำรายไดชวยเหลือพระสงฆใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต • สนับสนุนโครงการ “พ.ศ.พอเพียง” เพื่อรวมเผยแพรหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว • จัดกิจกรรมประกวดตกแตงหองชุดรวมกับนิตยสาร Room เพือ่ เปดเวทีความคิดสรางสรรคใหนสิ ติ นักศึกษา ซึง่ ไดดำเนิน งานตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน

ดำเนินนโยบายตอเนือ่ งตามวิสยั ทัศนและกลยุทธทเ่ี กีย่ วของกับ ความรับผิดชอบตอสิง่ แวดลอมและสังคม พรอมสรางเครือขาย ความมีสวนรวมของลูกคา พนักงาน คูคา ภายใตโครงการ “From Cesr Coporate to Cesr Community” อาทิเชน ดานสิ่งแวดลอมและพลังงาน • การสรางความสัมพันธและการสำรวจชุมชนขางเคียง • การดูแลสภาพแวดลอมของชุมชนขางเคียงและภายในโครง การที่อยูระหวางกอสราง รวมถึงสุขอนามัยที่ดีของคนงาน กอสรางและครอบครัว • การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชนที่พัฒนา และชุมชนรอบขาง รวมถึงการปรับปรุงภูมิทัศนแกบริเวณตางๆ รอบโครงการ • อนุรกั ษพลังงาน และรณรงคใหสมาชิกในโครงการตางๆ รวม อนุรักษพลังงานและปดไฟดวงที่ไมจำเปนลง • การคัดแยกขยะทุกประเภท โดยความรวมมือกับหนวยงาน รัฐและสมาชิกในโครงการ • การจัดกิจกรรม Say No Plastic เพื่อลดการใชถุงพลาสติก ดานสังคม • การสรางบานดิน ใหผูไรบานที่ จ.ชัยภูมิ • การขยายกิจกรรมบริจาคโลหิตไปยังโครงการที่บริษัทได พัฒนาขึ้น

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

25


กวา 50 โครงการในชุมชน “ลุมพินี” แข็งแรงและเติบโตอยางยั่งยืน ไมเพียงดวยการบริหารจัดการภายใตกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” แตหากเกิดจาก ใจของสมาชิกทุกคนที่พรอมรวมสรางวัฒนธรรมที่ดีจากการอยูอาศัยรวมกัน ทามกลางสภาพความเปนอยูในปจจุบันที่ระยะหางของผูคนไดเพิ่มมากขึ้น วิถีชีวิตและวัฒนธรรมการอยูอาศัยที่ผันแปรตาม ทวาสมาชิกกวา 1 แสนคนในชุมชน “ลุมพินี” ตางหลอมรวมใจเปนหนึ่ง ภายใตวัฒนธรรมอันดี ที่ซึ่ง ความอบอุน ความสุข และมิตรภาพยังคงหอมอวลอยูเฉกเชนในอดีต และเมื่อสังคมภายในชุมชนเปนสังคมที่แข็งแกรง มีความสุข และพึ่งพาตนเองไดแลว การสรางความมีสวนรวมเพื่อสงตอและแบงปนความสุข เหลานั้นไปยังสังคมที่กวางขึ้นจึงเปนเปาหมายสำคัญตอไป โดยเริ่มจากจุดเล็กๆ คือ ชุมชนรอบขาง เพื่อนบานในแตละโครงการที่บริษัทไดพัฒนาขึ้น แลวจึงขยายวงรอบใหกวางขึน้ เรือ่ ยๆ สูส งั คม ซึง่ เปนทีม่ าของการดำเนินกิจกรรมดานความรับผิดชอบตอสิง่ แวดลอมและสังคมของบริษทั ซึง่ มีพน้ื ฐานมาจาก การทำความดี และแนวรวมในการทำความดีนั้นก็ไดแก ลูกคา พนักงาน คูคา และปยะมิตร และทุกครั้งของการรวมพลัง สิ่งดีๆ ไดเกิดขึ้นจากใจทุกดวง ที่พรอมจะแบงปน

“คนเราถาพอใจในความตองการ ก็มีความโลภนอย เมื่อมีความโลภนอยก็เบียดเบียนคนอื่นนอย ถาทุกประเทศมีความคิดวาทำอะไรตองพอเพียง หมายความวาพอประมาณ ไมสุดโตง ไมโลภอยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานแกคณะบุคคลที่เขาเฝา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 4 ธันวาคม 2541

นอกจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวจะทรงเปนตนแบบของการทำความดีของพสกนิกรแลว แนวคิดดานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระองค ยังเปนแนวคิดสำคัญที่บริษัทไดนำมาใชเปนหลักสำคัญในการดำเนินธุรกิจที่สอดคลองกับหลักการดังกลาว เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนสืบตอไป

26

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


á¹Ç·Ò§¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍºμ‹ÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁáÅÐÊѧ¤Á ความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคม ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยโดยเฉพาะอสังหาริมทรัพยทเ่ี ปนโครงการขนาดใหญ เปนธุรกิจทีม่ ผี ลกระทบโดยตรงตอสิง่ แวดลอมและสังคมอยางสูง จะเห็นไดวาอสังหาริมทรัพยที่สงมอบจากผูประกอบการที่ไมมีคุณภาพมักสรางปญหาใหกับสิ่งแวดลอมและสังคมเปนอยางมาก บริษัทจึงไดกำหนดแนว ทางในการดำเนินธุรกิจภายใตหลักของการสรางความสมดุลในการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพในทุกมิติเพื่อนำไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน (Sustainable Development) ไมวาจะเปนมิติทางดานการเงิน ทางดานลูกคา ทางดานกระบวนการภายใน ทางดานบุคลากร รวมทั้งมิติทางดานความ รับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคมที่บริษัทไดยกระดับความสำคัญขึ้นเปนอีกมิติหนึ่งในแผนภูมิกลยุทธ รวมทั้งไดกำหนดแนวทางและเปาหมายในการ ดำเนินการ เพื่อการสงมอบที่พักอาศัยที่มีคุณภาพและจิตวิญญาณของความเปนบานที่อบอุน ปลอดภัย แวดลอมดวยสิ่งแวดลอมและสังคมที่ดีใหแกลูกคา บริษทั ไดกำหนดแนวทางการดำเนินงานดานความรับผิดชอบตอสิง่ แวดลอมไว 2 สวน ไดแก ในกระบวนการ (In Process) และนอกกระบวนการ (Out Process) โดยจิตสำนึกความรับผิดชอบนัน้ เปนการเริม่ ตนจากตนเอง ซึง่ หมายถึงภายในองคกรและภายในชุมชนทีบ่ ริษทั พัฒนา แลวจึงขยายสูส งั คม ภายนอก โดยตองอาศัยความมีสวนรวมจากผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุม เชน พนักงาน ลูกคา คูคา ดังคำที่วา “สิ่งแวดลอมและสังคมที่ดี ตองเริ่มตนจาก ตัวเรากอน เมือ่ เราพรอมจึงขยายออกไปสูช มุ ชนทีเ่ ราพัฒนาและบริหาร และสุดทายจึงขยายไปสูช มุ ชนรอบขาง” แนวคิดดังกลาวจึงสงผลไปสูแ นวทางการ ปฏิบัติของทุกสวนในองคกร และเปนที่มาของนโยบายการบริหารจัดการชุมชนที่บริษัทมุงพัฒนาใหทุกโครงการเปน “ชุมชนนาอยู” เพื่อเปนตัวอยางใหผู ประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพยรายอื่น ความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคมในกระบวนการ (In Process) ประกอบดวย การบริหารจัดการสิ่งแวดลอมและสังคมภายในองคกร ไดแก - การจัดใหมสี ภาพแวดลอมและบรรยากาศในการทำงานทีเ่ หมาะสมและมีสขุ อนามัยทีด่ ใี หแกพนักงาน ทัง้ ยังสงเสริมบรรยากาศในการแลกเปลีย่ น ประสบการณและความรู เพื่อนำไปสูการเปนองคกรแหงการเรียนรู - นโยบายการบริหารบุคลากรของบริษัทที่สงเสริมคุณภาพชีวิตโดยสนับสนุนใหพนักงานมีความสมดุลทั้งในชีวิตและงาน (Work Life Balance) พรอมกันนีย้ งั ไดปลูกฝงวิธกี ารทำงานภายใตวฒั นธรรมและคานิยมองคกร (Core Values) ซึง่ ไดรบั การถายทอดจากรุน สูร นุ อยางตอเนือ่ ง นอกจากนี้ ยังจัด ใหมกี จิ กรรมภายในเพือ่ สรางความสัมพันธทด่ี รี ว มกันตัง้ แตคณะกรรมการบริษทั ไปจนถึงพนักงานในทุกสวน เพือ่ ลดชองวางระหวางกัน และการสนับสนุน ใหเกิดความมีสวนรวมของพนักงานในกิจกรรมตางๆ ทั้งทางดานสิ่งแวดลอมและสังคม เพื่อสงเสริมและปลูกฝงจิตสำนึกในการทำความดี โดยริเริ่ม โครงการ “กาวความดี” มาตัง้ แตปลายป 2549 โดยมีแรงบันดาลใจมาจากพระราชกรณียกิจเพือ่ ประโยชนสขุ ของประชาชนของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั แนวคิดในชวงเริ่มตนการพัฒนาโครงการ ไดแก - การเลือกทำเลเชิงกลยุทธ โดยพิจารณาเลือกทำเลที่มีความหนาแนนสูงริมถนนสายหลัก และอยูใกลสิ่งอำนวยความสะดวกในดานตางๆ ในการ พัฒนาโครงการเพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอันเนื่องมาจากการพัฒนาโครงการขนาดใหญ อีกทั้งทำเลที่ตั้งโครงการยังตองใกลกับระบบขนสงมวลชน และทางดวน ซึ่งเปนการชวยลดปริมาณการจราจรและการใชพลังงานโดยตรง - การออกแบบผลิตภัณฑภายใตแนวคิด “LPN Green” ทีน่ อกเหนือจากการเลือกทำเลเชิงกลยุทธแลว บริษทั ยังใหความสำคัญในการออกแบบและ วางผังโครงการเพือ่ ลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมภายใตแนวคิด “LPN Green” ทีส่ อดคลองกับมาตรฐานอาคารเขียว (Green Building) ของสหรัฐอเมริกา (LEED - The Leadership in Energy and Environmental Design) กลยุทธดานการตลาด บริษัทไดกำหนดกลยุทธการตลาดที่สอดคลองกับนโยบายของบริษัทที่ตองการสรางบานหลังแรกใหกับกลุมเปาหมายระดับกลาง-บนถึงกลาง-ลาง ภายใตการบริหารชุมชนที่มุงเนนการสรางคุณภาพชีวิตที่ดีใหแกผูอยูอาศัย การดำเนินงานดานความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคมในชวงระหวางการกอสราง บริษัทไดใหความสำคัญกับชุมชนรอบโครงการเปนกรณีพิเศษ เนื่องจากไดรับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการของบริษัทโดยตรง โดยบริษัทจัด ใหมีทีมงานของผูบริหารระดับสูงเขาเยี่ยมเยียนและสอบถามถึงผลกระทบอยางตอเนื่อง พรอมพัฒนากระบวนการในการกอสรางเพื่อปองกันและลด ผลกระทบที่อาจมีตอชุมชนรอบขาง โดยไดกำหนดเปนบทบาทและหนาที่สายงานบริหารงานกอสราง ไดแก - การตระหนักถึงความสำคัญดานสิ่งแวดลอม (Environment Concern) โดยตั้งแตภายหลังการซื้อที่ดิน บริษัทจะสงทีมงานผูบริหารระดับสูงเขา ไปใหขอมูลกับชุมชนรอบขางและหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ เพื่อสรางความเขาใจและความสัมพันธที่ดี โดยเฉพาะอยางยิ่งบานที่มีพื้นที่ที่อยูติดกับ โครงการที่ไดรับผลกระทบโดยตรงจากการดำเนินโครงการ นอกจากนี้บริษัทไดกำหนดไวในแผนงานของสายงานบริหารงานกอสรางที่ตองใหความสำคัญ กับการดำเนินงานดานสิ่งแวดลอมและสังคมภายในโครงการในระหวางกอสรางรวมถึงบานพักคนงานควบคูกันไป โดยกำหนดใหมีการปฏิบัติตามแนวทาง ลดผลกระทบในรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมอยางเครงครัด เริ่มตั้งแตการดูแลผลกระทบตออาคารหรือชุมชนขางเคียง ทั้งทางดานเสียง ฝุนละออง การจราจร ดวยการปองกันในทุกรูปแบบ การดูแลความสะอาดของลอรถขนสงวัสดุอุปกรณกอสรางขณะออกจากหนวยงานกอสราง เพื่อลดฝุนละออง

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

27


อันเกิดจากเศษดิน การควบคุมการกอสรางใหเปนไปตามทีอ่ อกแบบและเปนไปตามเวลาทีก่ ำหนด การรายงานผลการปฏิบตั ติ ามมาตรการปองกันและลดผล กระทบจากการกอสราง โดยกิจกรรมทั้งหมดนี้บริษัทจัดใหมีเจาหนาที่ระดับสูงของบริษัทคอยดูแลและติดตามอยางใกลชิดเพื่อใหเกิดประสิทธิผล และใน ระหวางขั้นตอนการกอสรางบริษัทไดจัดใหมีทีมเจาหนาที่และผูชำนาญการเขาทำการสำรวจ โดยการจัดทำแบบสอบถามเพื่อติดตามและตรวจสอบผล กระทบจากการกอสรางโครงการ พรอมทั้งอธิบายถึงรายละเอียดของการดำเนินโครงการอีกชั้นหนึ่ง - การดำเนินงานดานความปลอดภัยของผูเกี่ยวของและคนงาน (Safety) ซึ่งเปนกลุมที่มีความเสี่ยงตออุบัติเหตุและการเสียชีวิตจากการปฏิบัติ งานสูง โดยบริษัทไดกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานที่เขมงวดในดานความปลอดภัยและการจัดใหมีเจาหนาที่ที่รับผิดชอบ(จป. เจาหนาที่ความปลอดภัย) ใหคำแนะนำทางดานความปลอดภัยโดยตรงเพื่อปองกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น เชน การหลีกเลี่ยงไมใหคนงานสัมผัสกับสิ่งที่เปนอันตราย การใชอุปกรณ ปองกันในขณะปฏิบตั งิ าน ฯลฯ นอกจากนี้ ยังใหความสำคัญดานชีวอนามัยโดยจัดเตรียมทีอ่ ยูอ าศัยทีม่ สี ภาพแวดลอมทีม่ คี วามเหมาะสมของบานพักคนงาน รวมไปถึงการคำนึงถึงคุณภาพชีวิตของทุกคนในครอบครัวคนงานกอสราง และการสรางเสริมสุขภาพโดยกำหนดใหมีการออกกำลังกายในทุกเชา การบริหารชุมชนภายหลังการสงมอบ ภายหลังการสงมอบโครงการและหองชุดใหกับลูกคาแลว บริษัทไดกำหนดใหเปนบทบาทและหนาที่ของสายงานบริหารชุมชนของบริษัท ในการ บริหารจัดการชุมชนใหมีคุณภาพชีวิต สิ่งแวดลอม และสังคมที่ดี ใหแกสมาชิกในสังคม “ลุมพินี” กวา 1 แสนคนจากกวา 50 โครงการ ภายใตกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” ของบริษทั ซึง่ ไมเพียงเปนการบำรุงดูแลรักษาใหอปุ กรณและทรัพยสนิ ตางๆ เกิดความพรอมและความปลอดภัยในการใชงานเทานัน้ แตยงั ใหความสำคัญกับการสรางความสุขและสังคมที่ดี ที่มีความอบอุน ปลอดภัย และใหความสำคัญกับสิ่งแวดลอมภายในโครงการอยางจริงจังและ สม่ำเสมอ ไดแก - การสรางคุณภาพชีวิต (Life Quality Management) โดยสงเสริมใหสมาชิกรวมกันปฏิบัติตามกฎระเบียบของชุมชน เพื่อการมีวินัยในการอยู อาศัยรวมกันและเพื่อความเปนระเบียบเรียบรอยภายในชุมชน นอกจากนี้ ยังสงเสริมใหมีกิจกรรมเพื่อสรางความสัมพันธที่ดีรวมกันภายในครอบครัวและ ระหวางกลุมสมาชิก “ลุมพินี” ทั้งยังสนับสนุนใหมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและการรวมในกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดลอมและสังคม ทั้งภายในโครงการ และขยายไปสูสังคมภายนอกอีกดวย โดยผานเครือขายสังคมภายใน เพื่อวัฒนธรรมการอยูอาศัยที่แบงปน และเกื้อกูลกันภายในสังคม เชน การรวมเพิ่ม พื้นที่สีเขียวภายในโครงการ การรวมในกิจกรรมบริจาคสิ่งของเพื่อชวยเหลือผูดอยโอกาสหรือผูประสบภัย หรือแมแตการกำหนดนโยบายรวมกันระหวาง คณะกรรมการเจาของรวมในโครงการตางๆ กับผูบ ริหารของบริษทั เพือ่ พัฒนา “ชุมชนนาอยู” อยางยัง่ ยืน การจัดกิจกรรม “วันครอบครัว” ภายในโครงการ หรือการรวมในกิจกรรมตามวัฒนธรรมและประเพณีทด่ี งี ามตางๆ นอกจากนี้ บริษทั ยังมุง สรางความเขาใจทีด่ ดี า นการอยูอ าศัยรวมกัน ทีต่ อ งการความหวงใย เอื้ออาทร การแบงปน และความมีน้ำใจ เพื่อนำมาซึ่งมิตรภาพและความสุขที่แทจริงของการอยูอาศัย - การบริหารจัดการสภาพแวดลอม (Environment Management) ทัง้ การเพิม่ และดูแลพืน้ ทีส่ เี ขียวภายในโครงการ รวมถึงการรักษาความสะอาด การบริหารจัดการดานขยะ การบำบัดน้ำเสีย การประหยัดพลังงาน นอกจากนี้ ยังไดนำแนวคิด Green Clean Lean มาปรับใชเปนแนวทางในการ ประชาสัมพันธ พรอมรณรงคใหผอู ยูอ าศัยในชุมชนรวมดำเนินการอยางจริงจัง ตัวอยางเชน การรณรงคใหผอู ยูอ าศัยรวมคัดแยกขยะ เพือ่ นำขยะบางสวน เขากระบวนการ Recycle หรือนำกลับมาใชใหม หรือการนำน้ำจากบอบำบัดกลับมารดน้ำตนไม การรณรงคใหใชถุงผาแทนถุงพลาสติก การลดการใช พลังงานไฟฟาในอาคารตามแนวทางการอนุรักษพลังงาน เปนตน - การบริหารระบบความปลอดภัย (Security System Management) โดยมีหนวยงานดานรักษาความปลอดภัยที่บริษัทไดจัดตั้งขึ้นเพื่อบริหาร จัดการความปลอดภัยภายในโครงการ ภายใตการทำงานที่มีมาตรฐาน และสรางเครือขายความมีสวนรวมจากทั้งภายในชุมชนและประสานงานกับหนวย งานราชการที่เกี่ยวของ เพื่อความปลอดภัยสูงสุดของสมาชิกภายในชุมชนเปนสำคัญ ทั้งนี้ บริษัทยังไดใหความสำคัญกับการปรับปรุงสภาพอาคารและสิ่งแวดลอมของอาคารชุดพักอาศัยที่บริษัทพัฒนามามากกวา 10 ป ในรูปของ การทาสีอาคาร การเพิ่มพื้นที่สีเขียว และการปรับปรุงสภาพแวดลอมที่เกี่ยวของกับคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัยในโครงการตางๆ ไดแก อาคารลุมพินี ทาวเวอร ลุมพินี เซ็นเตอร แฮปปแลนด พี.เอส.ที. คอนโดวิลล และพี.เอส.ที. ซิตี้โฮม เปนตน ความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคมนอกกระบวนการ (Out Process) ประกอบดวย กิจกรรมทางดานสังคม ไดแก - การสรางงานใหกลุม สตรีผดู อ ยโอกาส ซึง่ เริม่ ขึน้ เมือ่ ป 2543 ในขณะนัน้ ประเทศไทยยังอยูใ นชวงทีเ่ ศรษฐกิจโดยรวมไดรบั ผลกระทบตอเนือ่ งจาก ภาวะวิกฤติป 2540 สงผลใหแรงงานสตรีดอ ยโอกาสจำนวนมากไมมอี าชีพและรายได ซึง่ กอใหเกิดปญหาครอบครัวและปญหาสังคมตามมา บริษทั เล็งเห็น ถึงปญหาสำคัญในขอนี้ ประกอบกับบริษัทอยูในธุรกิจอสังหาริมทรัพยซึ่งนอกจากพัฒนาโครงการแลว ยังใหความสำคัญกับการบริหารชุมชน บริษัทจึงได จัดตัง้ ฝายบริหารความสะอาดขึน้ เพือ่ เปดโอกาสใหแรงงานสตรีดอ ยโอกาสทีไ่ มมอี าชีพเขามารับการอบรมใหเปนสวนหนึง่ ของเจาหนาทีร่ กั ษาความสะอาด ในโครงการตางๆ โดยใหคา ตอบแทนทีเ่ หมาะสมอันไดแก คาจางในอัตราซึง่ สูงกวาคาจางขัน้ ต่ำ ประกันสังคม เครือ่ งแบบในการปฏิบิ ตั งิ าน การประกันชีวติ ทุนการศึกษาบุตร เงินชวยเหลือและสวัสดิการตางๆ การเพิม่ พูนความรูก ารศึกษาและคุณวุฒทิ างการศึกษา เพือ่ เสริมความมัน่ คงใหกบั ชีวติ และครอบครัว พรอมการใหรางวัลทั้งดานการทำความดีและการพัฒนาคุณภาพงาน โดยปจจุบันฝายรักษาความสะอาดมีพนักงานจำนวนทั้งสิ้นกวา 600 คน จากวันที่ กอตั้งซึ่งมีจำนวนเพียง 84 คน โดยจำนวนพนักงานจะเพิ่มขึ้นถึงปละกวา 100 คน ตามจำนวนโครงการที่บริษัทไดพัฒนาเพิ่มขึ้น

28

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


- การจัดกิจกรรมรับบริจาคโลหิต โดยบริษทั รวมกับศูนยบริการโลหิตแหงชาติสภากาชาดไทย จัดกิจกรรมรับบริจาคโลหิตอยางตอเนือ่ งทุก 3 เดือน มาตัง้ แตป 2539 ซึง่ นับเปนเวลากวา 13 ป โดยเริม่ จากการใชพน้ื ทีบ่ ริเวณโถงทางเขาชัน้ ลางภายในอาคารลุมพินี ทาวเวอร ในการรับบริจาคทัง้ จากพนักงาน ลูกคาในโครงการ และประชาชนทั่วไปอยางตอเนื่อง แตยังมีผูปวยที่รอรับการรักษาและมีความจำเปนตองใชโลหิตในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ บริษัท จึงไดขยายกิจกรรมรับบริจาคโลหิตไปยังโครงการที่สามารถเปนศูนยกลางการรับบริจาคโลหิตทุกแหง โดยในป 2550 ไดขยายกิจกรรมไปยังโครงการ ลุมพินี พลาซา อโศก และโครงการลุมพินี สุขุมวิท 77 ในป 2551 ไดขยายกิจกรรมเพิ่มเติมไปยังโครงการ พารควิว วิภาวดี โครงการลุมพินี วิลล ศูนยวฒั นธรรม และกลุม โครงการ พี.เอส.ที. สำหรับในปทผ่ี า นมาบริษทั ไดขยายไปยังโครงการลุมพินี เพลส ปน เกลา 2 โดยในป 2552 บริษทั ไดจดั กิจกรรม บริจาคโลหิตอยางตอเนื่องตลอดทั้งป จำนวน 7 ครั้ง ใน 7 โครงการ ไดรับถุงโลหิตจากการดำเนินกิจกรรมดังกลาวตลอดทั้งปจำนวน 3,339 ยูนิต และ บริษทั ยังตัง้ เปาหมายทีจ่ ะเพิม่ จำนวนโครงการมากขึน้ ทุกป โดยมุง หวังผลักดันใหเกิดอาสาสมัครจากผูพ กั อาศัยในชุมชนเขามามีสว นรวมในการประชาสัมพันธ การจัดกิจกรรม และเปนผูส อ่ื สารถายทอดความรูเ กีย่ วกับสุขภาพใหผอู น่ื อีกดวย นอกจากนีบ้ ริษทั ยังไดนำอาสาสมัครทัง้ ทีเ่ ปนพนักงาน ลูกคา และบุคคล ภายนอก ทีไ่ ดรว มบริจาคโลหิตอยางตอเนือ่ ง เขาเยี่ยมชมศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาดไทย เพื่อรับทราบขอมูลความรูเกี่ยวกับการบริจาคโลหิต รวมถึงกระบวนการตางๆ หลังจากที่ไดรับบริจาคโลหิตมาแลว เพื่อจะไดนำขอมูลความรูเหลานี้ไปถายทอดหรือตอบขอสงสัยตางๆ ใหแกผูที่ตองการรวม บริจาคโลหิต เพื่อใหเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น

ตารางแสดงปริมมาณโลหิ าณโลหิตทีไ่ ดรบั บริจาคจากหนวยเคลือ่ นทีข่ องบริษทั แอล.พี แออล พี.เอ็น.ดีดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ระหวางป 2539-2552 หนวยงาน

ป

จำนวนครัง้ /ป ปริมาณโลหิต (ยูนติ ) ง้ /ป ลุมพินี สุขมุ วิท 77 ปริมจำนวนครั าณโลหิต (ยูนติ ) ง้ /ป ลุมพินี พลาซา อโศก ปริมจำนวนครั าณโลหิต (ยูนติ ) จำนวนครัง้ /ป พารควิว วิภาวดี ปริมาณโลหิต (ยูนติ ) จำนวนครัง้ /ป ลุมพินี วิลล ศูนยวฒั นธรรม ปริมาณโลหิต (ยูนติ ) จำนวนครัง้ /ป พี.เอส.ที ปริมาณโลหิต (ยูนติ ) จำนวนครัง้ /ป ลุมพินี เพลส ปน เกลา ปริมาณโลหิต (ยูนติ ) ลุมพินี ทาวเวอร

2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 ผลรวมทัง้ หมด 2 303

3 462

4 744

4 535

4 540

4 461

4 326

4 464

3 393

4 563

4 4 4 7 680 1,313 1,369 1,285 1 4 7 133 492 372 1 4 7 150 511 503 4 7 311 316 4 7 312 296 4 7 429 371 7 196

55 8,153 12 997 12 1,164 11 627 11 608 4 429 7 196

รวม

12,174

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

3,339

29


- การจัดทำโครงการ “ชุมชนนาอยู ชวยเหลือเกษตรกร” เปนโครงการที่เกิดขึ้นเพื่อใหความชวยเหลือเกษตรกรที่ไดรับความเดือดรอนจากราคา พืชผลเกษตรตกต่ำในฤดูการผลิตทีม่ จี ำนวนมาก โดยในป 2552 บริษทั ไดรเิ ริม่ กิจกรรมดังกลาวขึน้ โดยความรวมมือกับสำนักงานเขตคันนายาว จัดกิจกรรม “ชุมชนนาอยู กูวิกฤติ” ตอน ลิ้นจี่ชวยชาติ ณ โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-นวมินทร เพื่อใหความชวยเหลือเกษตรกรผูผลิตที่ไดรับผล กระทบจากราคาลิ้นจี่ตกต่ำ ตอเนื่องดวยการรับซื้อลำไยเพื่อมอบใหกับลูกคาในงานเปดขายโครงการลุมพินี วิลล ราษฎรบูรณะ-ริเวอรวิว ซึ่งตอมาบริษัท ไดใชแนวความคิดนี้ในการสนับสนุนพืชผลเกษตรในทุกครั้งที่มีการเปดตัวโครงการใหมหรือในกิจกรรมตางๆ ที่บริษัทจัดขึ้น เพื่อสงเสริมรายไดใหกับ เกษตรกร - โครงการ “คืนชีพใหกระดาษ” โดยกิจกรรมดังกลาวเกิดขึ้นดวยความรวมมือระหวางบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) บริษทั อีสต เอเชียติก๊ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) และโครงการเปเปอรเรนเจอร โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ รณรงคใหพนักงานในบริษทั เกิดการใชกระดาษ อยางมีประสิทธิภาพ รูคุณคา และสามารถนำกลับมาใชงานใหมไดอีก โดยไดมีการรับบริจาคกระดาษใชแลวหนาเดียวจากพนักงานมาแปรรูปเปนสมุด ทำมือ เพือ่ สงมอบใหนอ งๆ ทีข่ าดแคลน โดยมีพนักงานทัง้ 2 บริษทั เขารวมทำสมุดทำมือจากกระดาษใชแลวหนาเดียวกวา 60 คน ซึง่ ไดสมุดทำมือมากกวา 300 เลม โดยสมุดทัง้ หมดไดสง มอบใหกบั โรงเรียนพรพิทยาคม อำเภอสีคว้ิ จังหวัดนครราชสีมา ซึง่ บริษทั เชือ่ วาผลตอบรับจากกิจกรรมในครัง้ นีจ้ ะเปนจุด เริ่มตนใหพนักงานทุกคนไดตระหนักถึงการใชกระดาษอยางคุมคา - กิจกรรมอาสาปลูกหญา และมอบศูนยการเรียนรูและลานกีฬา เพื่อเปนการขยายเครือขายพันธมิตรในการชวยกันดูแลสิ่งแวดลอมและสังคม บริษทั ไดรว มมือกับบริษทั อีสต เอเชียติก๊ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) จัดทำโครงการ “หนังสือสูม อื นอง” เพือ่ สงมอบตอใหกบั มูลนิธกิ ระจกเงา โดยได รับหนังสือบริจาคกวา 2,500 เลม รวมทั้งยังไดรวมกันทำประโยชนใหกับชุมชนหลังตลาดเกามีนบุรี โดยบริษัทไดสนับสนุนงบประมาณจำนวนหนึ่งเพื่อ ปรับปรุงภูมิทัศนใหกับชุมชน ซึ่งมีผูบริหารและพนักงานจากทั้ง 2 บริษัทรวมปรับปรุงลานกีฬากลางแจงและจัดซื้อเครื่องเลนเพิ่มเติม รวมทั้งไดปรับปรุง และเพิ่มพื้นที่สีเขียวบริเวณดานหลังหองสมุดชุมชน “ชุมชนมีนบุรีอุปถัมภ” และบริจาคหนังสือมือสองเพื่อพัฒนาใหสถานที่แหงนี้เปนศูนยกลางการเรียน รูของคนไทยในชุมชนตอไป - กิจกรรมอาสาทาสีกำแพงวัดบางปะกอก ซึง่ เปนการสงเสริมและปลูกจิตสำนึกใหกบั พนักงานดานจิตอาสาในการบำเพ็ญประโยชนเพือ่ สังคมอยาง ตอเนือ่ ง ซึง่ ในป 2552 ทีผ่ า นมา บริษทั ไดเชิญชวนใหผบู ริหารและพนักงานรวมกันปรับปรุงพืน้ ทีร่ กราง รวมถึงทาสีกำแพงและรัว้ ใหกบั วัดบางปะกอก ศูนย รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนยานบางปะกอกซึง่ ตัง้ อยูใ กลกบั โครงการลุมพินี วิลล ราษฎรบรู ณะ-ริเวอรววิ สอดคลองกับแนวคิด “ชุมชนนาอยู” ของบริษทั ที่มุงดำเนินกิจกรรมที่เปนประโยชนตอสิ่งแวดลอมและสังคมทั้งภายในและพื้นที่โดยรอบโครงการ

รวมกับกรมทางหลวงมอบสะพานลอยคนขามเพื่อสาธารณประโยชน

กิจกรรมทางดานบริหารจัดการสิ่งแวดลอม ไดแก - การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชน และพื้นที่สาธารณะในชุมชนใกลเคียงกับพื้นที่กอสราง เพื่อเปนการทดแทนพื้นที่โลงที่บริษัทนำมาพัฒนาโครงการ เปนอีกนโยบายหลักทีบ่ ริษทั ไดใหความสำคัญเปนอันมาก โดยบริษทั จะหาพืน้ ทีส่ าธารณะทีอ่ ยูใ นชุมชนใกลเคียงกับพืน้ ทีก่ อ สรางโครงการกอนเปนอันดับแรก โดยมุงหวังที่จะใหเกิดการพัฒนารวมกันระหวางชุมชนเดิมที่อยูอาศัยในพื้นที่กับชุมชนใหมที่บริษัทพัฒนาขึ้น เพื่อใหเกิดความรวมมืออยางยั่งยืนตอไป โดยในป 2552 บริษัทไดพัฒนาและปรับปรุงพื้นที่สีเขียวทั้งหมด 8 โครงการ ไดแก - โครงการลุมพินี เซ็นเตอร แฮปปแลนด - โครงการลุมพินี เซ็นเตอร ลาดพราว 111 - โครงการลุมพินี วิลล พระแมมารี-สาทร - โครงการลุมพินี วิลล พหล-สุทธิสาร - โครงการลุมพินี เพลส นราธิวาสราชนครินทร - โครงการลุมพินี เพลส สวนพลู-สาทร - โครงการลุมพินี เพลส พระราม 4 - โครงการสี่พระยาริเวอรวิว

30

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


- กิจกรรม รม “คัดแยกกลอง ลดขยะ” เนือ่ งจากทกๆ งจากทุกๆ วันผผูค นทัว่ โลกตางบริโภคน้ำ นม น้ำผลไม และเครือ่ งดืม่ อืน่ ๆ วันละมากกวา 14 14,000 00 ลานลิตร และมีกลองเครือ่ งดืม่ จำนวนไมนอ ยทีถ่ กู ทิง้ ทัง้ ทีท่ กุ สวนใน “กลองเครือ่ งดืม่ ” ทัง้ กระดาษ พลาสติก และอะลูมเิ นียมฟอยล ยังสามารถนำกลับมา “รีไซเคิล” ใชประโยชนได 100% บริษัทจึงริเริ่มโครงการ “คัดแยกกลอง ลดขยะ” ในอาคารลุมพินี ทาวเวอร โดยความรวมมือระหวางบริษัท ชมรมผูผลิตกลอง เครือ่ งดืม่ และนิตบิ คุ คลอาคารชุดลุมพินี ทาวเวอร โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ กระตุน และปลูกฝงใหเกิดการคัดแยกกลองเครือ่ งดืม่ รวมถึงวิธกี ารจัดเก็บอยาง ถูกวิธี เพื่อลดปญหาปริมาณขยะ ดวยวิธีการคัดแยกขยะที่ยังสามารถนำกลับมาใชประโยชนได รวมถึงสรางจิตสำนึกในการรวมมือกันรักษาสิ่งแวดลอม โดยมีการเปดตัวโครงการไปแลวเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2552 ซึ่งภายในวันงานมีเกมสและกิจกรรมตางๆ รวมถึงการใหความรูเกี่ยวกับการคัดแยกกลอง เครื่องดื่ม และแลกของที่ระลึกสำหรับผูที่นำกลองมารวมกิจกรรม ซึ่งกิจกรรมดังกลาวไดรับความรวมมืออยางดีจากสมาชิกที่อยูในอาคารรวมทั้งยังได คัดแยกกลอง ลดขยะ เพื่อสงมอบใหแกชมรมผูผลิตกลองเครื่องดื่มนำกลับเขาสูกระบวนการรีไซเคิล โดยสามารถรวบรวมกลองเครื่องดื่มได 166 กลอง ซึ่งชวยลดคารบอนไดออกไซดไดถึง 149.4 กิโลกรัม

- โครงการ “บริจาคขยะ สรางบุญ” การรณรงคใหเกิ ด การคั ด แยกขยะอยางถูกวิธีในแตละ โครงการถือเปนอีกนโยบายหลักทีส่ ำคัญของบริษทั เพือ่ ใหเกิดการจัดการขยะแตละประเภทอยางเหมาะสม บริษทั จึงไดรเิ ริม่ โครงการ “บริจาคขยะ สรางบุญ” ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหเกิดการคัดแยกขยะประเภท ทีส่ ามารถรีไซเคิลไดออกจากขยะทัง้ หมด รวมทัง้ เปนการสำรวจขอมูลปริมาณขยะที่สามารถรีไซเคิลได ในแตละเดือนที่เกิดขึ้นจากการอยูอาศัยเทียบกับจำนวนประชากรที่พักอาศัยในโครงการ เพื่อเปนขอมูล ในการดำเนินโครงการธนาคารขยะ และพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการขยะตอไป ซึ่งหากสามารถแยก ขยะประเภทนี้ออกจากขยะอื่นๆ ไดทั้งหมดจะเปนการลดปริมาณขยะทีต่ อ งนำไปกำจัด และยังเปนการนำ วัสดุเหลือทิ้งกลับ มาหมุน เวี ยนใชประโยชนใหม ซึ่งถือเปนวิธีการสำคัญที่จะชวยลดภาวะโลกรอน ที่ทุกคนใหความสนใจในปจจุบัน ทั้งยังเปนการเพิ่มมูลคาของขยะ โดยดำเนินงานนำรองใน 4 โครงการ ไดแก โครงการลุมพินี วิลล สุขมวิท 77 โครงการลุมพินี เซ็นเตอร สุขมุ วิท 77 โครงการลุมพินี เซ็นเตอร ลาดพราว 111 และโครงการลุมพินี เซ็นเตอร แฮปปแ ลนด โดยการตัง้ ถังรับขยะรีไซเคิล 4 ประเภท คือ ขวดแกว ขวดพลาสติก กระดาษ และกระปองอะลูมิเนียม เปนเวลา 1 เดือน (เริ่ม 30 มิถุนายน 2552) โดยนำรายไดจากการขายขยะดังกลาวมอบใหกับมูลนิธิที่ใกลกับโครงการนั้นๆ - โครงการ “รณรงคการคัดแยกขยะอันตราย” โดยการจัดใหมตี รู องรับขยะอันตรายตามแบบมาตรฐาน ของกรมควบคุมมลพิษในโครงการนำรอง 9 โครงการ สำหรับรองรับขยะอันตรายทีเ่ กิดจากกิจกรรมการ อยูอาศัย ไดแก หลอดไฟ ถานไฟฉาย แบตเตอรี่ กระปองสเปรย ถานไฟฉาย เพื่อใหมีการคัดแยกขยะ ประเภทนี้อออกจากขยะประเภทอื่นๆ โดยตระหนักวาขยะอันตรายเหลานี้แมจำนวนเพียงเล็กนอย แตหากปะปนไปกับขยะประเภทอื่นๆ และไมไดรับการจัดการอยางเหมาะสม ก็อาจสงผลกระทบตอ สุขภาพของผูพักอาศัยในโครงการ และกลายเปนภาระของกรุงเทพมหานคร รวมทัง้ เปนปญหาตอสภาพ สิง่ แวดลอมดวย ซึง่ ตูร องรับขยะอันตรายดังกลาว บริษทั ไดรบั การสนับสนุนจากสำนักจัดการกากของเสีย และสารอันตราย กรมควบคุมมลพิษ และกองจัดการขยะของเสียอันตรายและสิง่ ปฏิกลู สำนักสิง่ แวดลอม กรุงเทพมหานคร โดยโครงการที่ไดรับจะตองทำการเก็บขอมูลปริมาณขยะแตละชนิดทุกเดือน เพื่อสงให หนวยงานที่สนับสนุนตอไป

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

31


- กิจกรรม “LPN รณรงคปดไฟ 1ชั​ั่วโโมง” บริ​ิษัทเชิ​ิญชวนสมาชิ​ิกใในแตละโครงการร โ วมสนั​ับสนุนกิ​ิจกรรมปดไฟ 1 ชั่วโมงเพื่อลดภาวะโลกรอน รวมกับ WWF (องคการกองทุนสัตวปา โลกสากล) ทีร่ ว มกับกรุงเทพมหานคร และ 77 มหานครทัว่ โลก ในวันเสารท่ี 28 มีนาคม 2552 เวลา 20.00 - 21.00 น. โดยผลของกิจกรรมดังกลาว สมาชิกจากกวา 50 โครงการไดเปนสวนหนึ่งในการดูแลโลกของเรา ดวยการปดไฟ 1 ชั่วโมง ชวยลดการใชไฟฟาได 3,589 กิโลวัตต ลดลงจากวันเสารที่ 21 มีนาคม 2552 ถึง 33%

- กิจกรรมรณรงค ลด งดใชถุงพลาสติก “Say No Plastic” จากปรากฏการณภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นในปจจุบัน ซึ่งเปนผลมาจากสภาวะโลกรอน ที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น พนักงานทั้งในสวนของสำนักงานและที่ประจำในแตละโครงการไดเขารวมกิจกรรม Say No Plastic เพื่อเปนการ รณรงคลดการใชถุงพลาสติก โดยกิจกรรมนี้เปนการเปดโอกาสใหพนักงานทุกคนไดมีสวนรวมและรวมเปนสวนหนึ่งในความรับผิดชอบตอสังคมและ สิ่งแวดลอม ซึ่งตลอดป 2552 สามารถรวมกันลดการใชถุงพลาสติกไดถึง 9,196 ใบ ซึ่งคิดเปนเชื้อเพลิงใชรถยนตวิ่งไดประมาณ 1,022 กิโลเมตร (เชื้อเพลิงที่ใชผลิตถุงพลาสติกจำนวน 9 ใบ สามารถเปลี่ยนเปนเชื้อเพลิงใหรถยนตวิ่งได 1 กิโลเมตร) นอกจากการรณรงคภายในสำนักงานแลว บริษทั ไดรว มกับสมาชิกในอาคารลุมพินี ทาวเวอร รณรงคลดการใชถงุ พลาสติกจากวันที่ 17 เดือนมิถนุ ายน จนถึงสิงหาคม 2552 ไดกวา 10,300 ใบ ซึ่งหากเปลี่ยนเปนเชื้อเพลิงสำหรับรถยนตจะสามารถวิ่งเปนระยะทางไดถึง 92,700 กิโลเมตร

32

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


á¹Ç·Ò§¡ÒôÓà¹Ô¹¸ØáԨ·ÕèÊÍ´¤ÅŒÍ§¡ÑºËÅÑ¡»ÃѪÞÒàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§ นับตั้งแตเริ่มกอตั้งบริษัทเปนตนมา บริษัทไดกำหนดแนวทางการดำเนินธุรกิจโดยการสรางความสมดุลระหวางผลประโยชนของทุกฝายที่ เกี่ยวของ รวมทั้งกำหนดกระบวนการเติบโตของบริษัทเปนการเติบโตจากภายในควบคูไปกับการพัฒนาบุคลากร ซึ่งหลังภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ ป 2540 เปนตนมา การเติบโตของบริษทั เปนการเติบโตดานการพัฒนาโครงการทีส่ อดคลองกับกลยุทธขององคกรและภาวะเศรษฐกิจโดยรวม อีกทัง้ ยังรักษาการเติบโตของ บริษทั ใหเปนไปอยางสม่ำเสมอ รวมถึงกำหนดกลยุทธการดำเนินธุรกิจโดยมุง เนนพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยในเขตทีม่ คี วามหนาแนนสูงสำหรับกลุม เปาหมาย ที่มีรายไดระดับกลาง-บนถึงกลาง-ลาง ซึ่งเปนกลุมเปาหมายขนาดใหญในเมือง นอกจากนั้น ยังใหความสำคัญกับการบริหารชุมชนที่บริษัทพัฒนาขึ้นให มีคุณภาพชีวิตที่เหมาะสม มีสภาพแวดลอมและสังคมที่ดี มีความสุข จากแนวทางการดำเนินธุรกิจของบริษัทจะเห็นวามีความสอดคลองกับหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่งสามารถอธิบายไดดังนี้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบดวย 3 หวง 2 เงื่อนไข 3 หวง ไดแก 1. ความพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล 3. การสรางภูมิคุมกัน

ทางสายกลาง พอประมาณ

2 เงื่อนไข ไดแก 1. ความรู 2. คุณธรรม

มีภูมิคุมกัน ในตัวที่ดี

มีเหตุผล

ความรู

คุณธรรม

รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง

ซื่อสัตยสุจริต ขยันอดทน สติปญญา แบงปน นำไปสู

เศรษฐกิจ / สังคม / สิ่งแวดลอม / วัฒนธรรม สมดุล / พรอมรับตอการเปลี่ยนแปลง 3 หวง 1.ความพอประมาณ แนวทางการดำเนินธุรกิจของบริษัท ประกอบดวย - บริหารการเติบโตในอัตราที่เหมาะสม ไมเร็วและไมชาจนเกินไป โดยมุงสรางความแข็งแกรงจากภายในเพื่อใหเปนการเติบโตที่ยั่งยืนภายใตการ บริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม - กำหนดผลกำไรจากการประกอบการที่พอเหมาะ ไมเอารัดเอาเปรียบ ไมเบียดเบียนลูกคาและสังคม - คำนึงถึงผลกระทบจากการพัฒนาโครงการทั้งดานสิ่งแวดลอมและสังคม พรอมทั้งหามาตรการลดผลกระทบในทุกวิถีทางเทาที่จะทำได 2.ความมีเหตุผล - พัฒนาที่พักอาศัย สำหรับผูท่ตี องการที่พักอาศัยเปนของตนเอง - ยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัย โดยเขาไปบริหารชุมชนหลังสงมอบใหมีประสิทธิภาพสูงสุด - สรางความสมดุลของผลตอบแทนและผลประโยชนของผูที่เกี่ยวของกับการดำเนินงานทั้งหมด

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

33


3. การสรางภูมิคุมกัน - พัฒนาประสิทธิภาพของบุคลากรทั้งในดานความรู ทักษะ และวุฒิภาวะ - กำหนดกลยุทธที่เหมาะสมและครอบคลุมทุกสภาวะของธุรกิจ ไดแก กลยุทธระยะสั้น - มุงเนนพัฒนาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑและบริการมากยิ่งขึ้น - ขยายการพัฒนาโครงการไปยังทำเลใหมๆ - สรางความแตกตางของผลิตภัณฑและบริการ โดยเนนเรื่องการบริหารชุมชนภายใตแนวทาง “ชุมชนนาอยู” กลยุทธระยะกลาง - กระจายฐานลูกคา โดยเพิ่มผลิตภัณฑหรือโครงการที่ไมเปนอาคารชุด (Non-Condo) - ขยายฐานรายไดจากกลุมเปาหมายเดิม โดยเพิ่มศักยภาพและจำนวนพันธมิตร - ขยายฐานรายไดจากธุรกิจในเครือ โดยเฉพาะธุรกิจดานบริการ บริหาร รวมทั้งธุรกิจใหเชาอสังหาริมทรัพย กลยุทธระยะยาว - เพิ่มศักยภาพของบุคลากร และปรับปรุงกระบวนการภายใน - เพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารชุมชน โดยเนนที่ศักยภาพของผูจัดการชุมชน - เพิ่มคุณคาขององคกรดวยการสรางนวัตกรรมใหมๆ ดานผลิตภัณฑและบริการ 2 เงื่อนไข 1. ความรู บริษัทไดระบุไวในมิติดานบุคลากร (People Perspective) กำหนดใหบริษัทเปนองคกรแหงการเรียนรูและการแบงปนความรู โดยเริ่มจากภายใน บริษัทและขยายผลไปยังชุมชนที่บริษัทเปนผูบริหารจัดการ โดยเริ่มตนจากศูนยการเรียนรูในอาคารชุดทุกโครงการของบริษัท 2. คุณธรรม บริษัทไดกำหนดให “คุณธรรม” เปนหนึ่งในวัฒนธรรมของบริษัท และยังระบุอยูในพันธกิจของบริษัทที่มีตอผูถือหุนในเรื่องธรรมาภิบาล ซึ่งเปน เงื่อนไขที่สำคัญที่กำหนดใหทุกระดับในบริษัทยึดถือเปนแนวทางในการดำเนินงาน บริษัทไดใชแนวทางดังกลาวในการดำเนินงานมาโดยตลอด สงผลใหการดำเนินธุรกิจของบริษัทเปนไปตามเปาหมาย มีการเติบโตที่มีคุณภาพเปนที่ ยอมรับจากลูกคา รวมถึงผูที่ดำเนินธุรกิจหรือมีความเกี่ยวของกับบริษัทมาโดยตลอด ซึ่งบริษัทจะยังคงยึดถือแนวทางดังกลาวในการดำเนินธุรกิจ เพื่อการเติบโตที่มั่นคง มีคุณภาพ และยั่งยืนสืบไป

34

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


¡Ç‹Ò¨ÐÁÒ໚¹ LPN ã¹Çѹ¹Õé LPN ·Ø‹Áà· º‹Áà¾ÒÐáÅÐÊÑè§ÊÁ»ÃÐʺ¡Òó ¤ÇÒÁàªÕèÂǪÒÞ à¾×èÍÁØ‹§ÁÑ蹾Ѳ¹Ò·Ñé§ÊÔ¹¤ŒÒ áÅкÃÔ¡ÒÃÍ‹ҧμ‹Íà¹×èͧ Ê‹§¼Åãˌ䴌ÃѺ¤ÇÒÁàª×èÍÁÑè¹ áÅÐÂÍÁÃѺÍ‹ҧ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§


»ÃÐÇÑμÔºÃÔÉÑ· บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ผูพ ฒั นาอาคารชุดพักอาศัยทีม่ ปี ระวัตยิ าวนานกวา 2 ทศวรรษ ซึง่ ตลอดเวลาทีผ่ า นมานัน้ บริษทั มีพัฒนาการที่สำคัญอันเกิดจากการปรับปรุงและพัฒนาอยางตอเนื่อง รวมถึงการกำหนดวิสัยทัศนที่นำพาบริษัทไปสูเปาหมายที่ชัดเจนในแตละชวง เวลา ประสบการณขององคกรชวยใหแนวความคิดในการดำเนินธุรกิจมีความชัดเจนมากขึ้นตามลำดับ โดยยังคงไวซึ่งเจตนารมณในการพัฒนาที่พักอาศัย ที่มีคุณภาพใหกับผูอยูอาศัย โดยเฉพาะผูมีรายไดระดับกลาง-บนถึงกลาง-ลาง

ป 2535 จดทะเบียนจัดตัง้ บริษทั ลุมพินี พรอพเพอรต้ ี มาเนจเมนท จำกัด ดวยทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท โดยบริษทั เปนผูถ อื หุน รอยละ 99.88 โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อใหบริการดาน ธุรกิจบริหารอสังหาริมทรัพย โดยเฉพาะการบริหารอาคาร แกนติ บิ คุ คลอาคารชุดของโครงการตางๆ ทีบ่ ริษทั และบริษทั ยอย พัฒนาขึน้ เปนการใหบริการหลังการขายและสรางความ เชือ่ มัน่ ในคุณภาพชีวติ ของลูกคาทีซ่ อ้ื ผลิตภัณฑของบริษทั ถือเปนนโยบายในการสรางความแตกตาง และเปนจุดแข็ง ในการแขงขัน

2535

ป 2533 รว มลงทุ นใน บริษัท พรสันติ จำกั ด ซึ ่ ง เป็ น ผูพัฒนา โครงการ พี . เอส.ที . คอนโดวิ ลล เป็ น จำนวนเงิ น 10,000,000 บาท คิดเปนสัดสวนการลงทุนรอยละ 20 ของทุนชำระแลว 50,000,000 บาท โดยบริษทั เปนผูบ ริหาร โครงการดังกลาว

2533

ป 2533-2536 ขยายการลงทุนและการดำเนินธุรกิจ

ป 2536 เพิม่ การลงทุนในบริษทั พรสันติ จำกัด เปนรอยละ 99.99 ของทุนชำระแลว 200,000,000 บาท มูลคาที่ตราไวหุนละ 1,000 บาท

36

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

2539

ป 2539 รวมลงทุนในบริษทั เอ็น.ที.เอ็น. คอนกรีต จำกัด ซึง่ ประกอบ ธุรกิจประเภทวัสดุกอ สรางเปนจำนวนเงิน 10,200,000 บาท หรือ 1,020,000 หุน คิดเปนรอยละ 51 ของทุนจดทะเบียน หรือมูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท บริษัทลงนามในสัญญากูเงินตราตางประเทศกับธนาคาร ชั ้ น นำ 5 แหงของประเทศสิ ง คโปรเป็น ยอดเงิ น รวม 20,000,000 เหรียญ อายุสัญญา 3 ป ในอัตราดอกเบี้ย SIBOR+1.20% เพื่อนำมาใชพฒั นาโครงการแอล.พี.เอ็น. สุขุมวิท ทาวเวอร

2536

บริษัทถือกำเนิดขึ้นจากบุคคลหลากหลายสาขาอาชีพ ที่มีความมุงมั่นรวมกันในการพัฒนาอสังหาริมทรัพยที่มี คุณภาพใหแกสงั คมไทย โดยกอตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 21 มิถนุ ายน 2532 ดวยทุนจดทะเบียน 50 ลานบาท และเริม่ ตนพัฒนา โครงการ “ลุมพินี ทาวเวอร” อาคารชุดสำนักงานสูง 37 ชัน้ แหงแรกบนถนนพระราม 4 ซึ่งเปนที่ตั้งของสำนักงาน ใหญมาจนถึงปจจุบัน

2532

ป 2532 จุดเริ่มตนของธุรกิจ

ป 2537 ภายในระยะเวลา 5 ป ของการดำเนิ น งาน บริษัท ไดจดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษัทมหาชน เมื่อวันที่ 21 มิ ถ ุ น ายน 2537 ทะเบี ย นเลขที ่ บมจ.477 โดยตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยไดรับบริษัทเขาเปนบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ใชชอ่ื หลักทรัพยวา “LPN” และไดออกหุน สามัญเพิม่ ทุนจำนวน 9.2 ลานหุน เพือ่ จัดสรร ใหแกประชาชนทั่วไป โดยมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และราคาเสนอขายตอหุน 64 บาท ซึ่งตอมาไดเพิ่มทุนเปน 460 ลานบาท เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2537 รวมลงทุนในบริษัท Elec & Eltek (Guangzhou) Real Estate Development Ltd. ซึง่ เปนบริษทั พัฒนาอสังหาริมทรัพย ในประเทศฮองกงเปนจำนวนเงิน 12,720,000 บาท คิดเปน สัดสวนรอยละ 10 ของทุนชำระแลว

2537

ป 2537-2539 เขาสูองคกรมหาชน


History

ป 2544 เดื อ นพฤศจิ ก ายน 2544 บริ ษ ั ท ได้ ต กลงทำสั ญ ญา รวมทุนกับบริษัท ยูนิเวนเจอร จำกัด (มหาชน) บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) และบริษัท เยาววงศ จำกัด โดยไดจัดตั้งบริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด ขึ้นเพื่อพัฒนาโครงการสรางคาง คือ โครงการวอเตอรคลิฟ อาคารชุดพักอาศัยบนถนนรัชดา-พระราม 3 ทีห่ ยุดดำเนินการ ตัง้ แตป 2540 เนือ่ งจากวิกฤติเศรษฐกิจ โดยบริษทั รวมทุน ดังกลาวไดเขาฟน ฟูและพัฒนาโครงการใหมภายใต ชือ่ ลุมพินี เพลส วอเตอรคลิฟ โดย บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) เปนผูร บั ผิดชอบดานการบริหารการตลาด การขาย และบริหารงานกอสรางทั้งโครงการ รวมถึงการ เจรจากับกลุมผูซื้อเดิม

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

37

2544

ป 2540 บริษัทประสบปญหาจากวิกฤติเศรษฐกิจ และผลกระทบ จากอัตราแลกเปลี่ยน ขยายงานบริการของบริษทั ลุมพินี พรอพเพอรต้ ี มาเนจเมนท จำกัด เนือ่ งจากเล็งเห็นชองวางของตลาดในชวงของภาวะซบเซา ทางเศรษฐกิจและเพื่อเปนการรักษาบุคลากร จึงไดขยาย สวนงานบริการตางๆ ขึ้นรองรับความตองการของตลาด เชน งานบริการระบบรักษาความปลอดภัย งานบริการ รักษาความสะอาด งานซอมบำรุงระบบปรับอากาศ เปนตน ปรับโครงสรางองคกรและพัฒนาประสิทธิภาพของบุคลากร เพือ่ ใหสอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจ นายจำลอง รัตนกุลเสรีเริงฤทธิ์ ขอลาออกจากประธานกรรมการ เนื่องจากปญหาสุขภาพ และนายพงส สารสิน ขอลาออกจากกรรมการเนื่องจาก ภารกิจในขณะนัน้ ทำใหไมสามารถใหเวลาไดเต็มที่ คณะกรรมการ จึงไดเรียนเชิญนายโมรา บุณยผล เขาดำรงตำแหนงประธาน กรรมการแทน

ป 2544 บริษัทผูสรางตำนานอาคารชุด พักอาศัยใจกลางเมือง

2540

ป 2541 ถอนการลงทุ น ใน Elec & Eltek (Guangzhou) Real Estate Development Ltd. เนื่องจากโครงการตาม เปาหมายไดชะลอออกไป และประกอบกับสภาวะเศรษฐกิจ ทำใหบริษัทขาดสภาพคลอง การถอนการลงทุนในครั้งนี้ มีผลทำใหบริษัทกำไรในสวนอัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 3,390,000 บาท

2541

ป 2542 เมือ่ วันที่ 26 กรกฎาคม 2542 บริษทั ไดแตงตัง้ บริษทั คาเธย แอสเซท แมเนจเมนท จำกัด เปนทีป่ รึกษาในการปรับปรุง โครงสรางหนี้ และการเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท โดยรวมกันกำหนดแนวทางในการเจรจาปรับปรุงโครงสรางหนี้ กับเจาหนี้ทุกราย รวมถึงการวางแผนงานเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ไดจัดใหมีการประชุมวิสามัญผูถือหุนครั้ง ที่ 1/2542 เมือ่ วันที่ 4 ตุลาคม 2542 ณ หองประชุมใหญของบริษทั เพือ่ พิจารณาเรือ่ งการเพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั จากเดิม 460,000,000 บาท เปน 3,983,000,000 บาท โดยการออกหุนใหมเปนหุนสามัญ เพื่อการเพิ่มทุนจำนวน 352,300,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท รวมจำนวน 3,523,000,000 บาท ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2542 มีมติเปนเอกฉันทใหบริษัทขายเงินลงทุนในหุน ของบริษทั เอ็น.ที.เอ็น. คอนกรีต จำกัด ในมูลคาหุน ละ 0.01 สืบเนือ่ งมาจากภาวะเศรษฐกิจซบเซาในขณะนัน้ ทำใหบริษทั เอ็น.ที.เอ็น. คอนกรีต จำกัด ซึ่งดำเนินธุรกิจการคาวัสดุกอสรางตองประสบภาวะขาดทุน และสวนของผูถือหุนติดลบ อีกทั้งบริษัท เอ็น.ที.เอ็น. คอนกรีต จำกัด ไมสามารถสนับสนุนการดำเนินงานของบริษัทได บริษทั สามารถเจรจาปรับปรุงโครงสรางหนีก้ บั เจาหนีส้ ถาบันการเงินในป 2542 คิดเปนมูลหนีท้ ง้ั สิน้ 3,132,610,000 บาท และสามารถสรุปแนวทางการปรับปรุงโครงสรางหนี้สวนที่เหลือในมูลหนี้ประมาณ 170 ลานบาท เรียบรอยในเดือน กุมภาพันธ 2543 จึงถือไดวา บริษทั สามารถทำการปรับปรุงโครงสรางหนีไ้ ดทง้ั หมดในมูลหนีร้ วมทัง้ สิน้ 3,305,930,000 บาท

2542

ป 2542 ปรับโครงสรางหนี้สำเร็จพรอมดำเนินธุรกิจ


ป 2545 อนุมัติการลดทุนจดทะเบียนจาก 3,983,000,000 บาท เปน 460,000,000 บาท โดยเปนการลดสวนของหุนที่ ยังไมไดนำออกจำหนาย และเพิ่มทุนจดทะเบี ย นจำนวน 750,000,000 บาท เป็ นทุ นจดทะเบีย นรวม 1,210,000,000 บาท พรอมกับการแกไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณหสนธิใหสมบูรณสอดคลองกัน การเพิ่มทุนจำนวน 750,000,000 บาท เปนการออกหุนสามัญ 75,000,000 หุน แบงเปน - 27.6 ลานหุน สำหรับผูถือหุนเดิม ในสัดสวน 5 หุนเดิมมีสิทธิซื้อ 3 หุนใหม - 29.9 ลานหุน สำหรับการใชสิทธิแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิเปนหุนสามัญ - 17.5 ลานหุน สำหรับการแปลงหนี้เปนทุนของธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 29,900,000 หนวย แบงเปน - ใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 27,600,000 หนวย จัดสรรแกผูถือหุนเดิมที่ใชสิทธิจองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุน ในอัตราสวน 1 หุนใหมตอ 1 หนวยใบสำคัญแสดงสิทธิ - ใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 2,300,000 หนวย จัดสรรแกกรรมการและพนักงานบริษทั จำนวนไมเกิน 35 ราย บริษทั ไดแตงตัง้ บริษทั ยูไนเต็ด แอ็ดไวเซอรร่ี เซอรวสิ จำกัด เปนทีป่ รึกษาในการเพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั

2545

ป 2545 ปรับทุนจดทะเบียนเพื่อความมั่นคง ของฐานะการเงิน

38

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

ป 2549 ที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจำป 2549 ซึ่งจัดประชุม เมือ่ วันที่ 25 เมษายน 2549 มีมติอนุมตั ลิ ดทุนจดทะเบียน จาก 1,486,706,550 บาท เปน 1,475,698,768 บาท โดยตัด หุนสามัญสวนที่เหลือจากการสำรองไวเพื่อรองรับการ ใช สิ ท ธิ ใ นการแปลงใบสำคั ญ แสดงสิ ท ธิ จ ำนวน 11,007,782 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท และอนุมัติแกไข หนังสือบริคณหสนธิ ขอ 4 ของบริษัท เพื่อใหสอดคลอง กับการลดทุนจดทะเบียน

2549

ป 2547 ที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจำป 2547 ซึ่งจัดประชุม เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2547 มีมติใหเปลี่ยนแปลงมูลคาหุน ที่ตราไวจากเดิมหุนละ 10 บาท เปนหุนละ 1 บาท ทำให จำนวนหุนของบริษัทเพิ่มขึ้นจากเดิม 121,000,000 หุน เปน 1,210,000,000 หุน นอกจากนีย้ งั ไดอนุมตั กิ ารเพิม่ ทุน จดทะเบียนจำนวน 276,706,550 หุน มูลคาที่ตราไว หุน ละ 1 บาท รวมเปนทุนจดทะเบียนทัง้ สิน้ 1,486,706,550 บาท แบงเปนหุน สามัญ 1,486,706,550 หุน มูลคาหุน ละ 1 บาท บริษัทเพิ่มสัดสวนการถือหุนใน บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด จาก 25% เปน 33.33%

2547

ป 2546-2549 ปรับทุนเพื่อรองรับการกาวไปสู ความเปนมืออาชีพ


History

ป 2551 เนื่องจากวิกฤติสินเชื่ออสังหาริมทรัพยดอยคุณภาพ (Subprime) ที่เกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา และสถานการณ ทางการเมืองของประเทศไทยในชวงปลายป 2551 มีผลกระทบตอตลาดเงินในประเทศและกอใหเกิดความผันผวนใน ตลาดหลักทรัพย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ไดสงเสริมใหบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จัดโครงการซื้อหุนคืนเพื่อสรางความเชื่อมั่นใหแก นักลงทุน ดังนั้นที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 6/2551 เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2551 จึงไดมีมติอนุมัติโครงการซื้อหุนคืนเนื่องจากราคาหุนในตลาดชวงนั้นต่ำกวาปจจัยพื้นฐานของบริษัท โดยกำหนดวงเงินที่จะใชในการซื้อคืนเปนจำนวนเงิน 200.00 ลานบาท โดยมีจำนวนหุนที่จะซื้อคืน ประมาณ 62 ลานหุน คิดเปนรอยละ 4.20 ของหุนที่จำหนายแลวทั้งหมด คือ 1,475,698,768 หุน และเปนการซื้อเฉพาะในตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยเทานั้น โดยมีระยะเวลาตั้งแตวันที่ 24 ตุลาคม 2551 ถึงวันที่ 23 เมษายน 2552

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

39

2552

ป 2552 ตามมติคณะกรรมการบริษัทที่ใหจัดทำโครงการซื้อหุนคืน (Treasury Stocks) เมื่อป 2551 นั้น บริษัทไดซื้อหุนคืน จำนวนทั้งสิ้น 8,146,300 หุน ในราคาเฉลี่ย 2.19 บาท ตอหุน คิดเปนจำนวนเงินทัง้ สิน้ 17,840,397 บาท และได ขายหุน ซือ้ คืนจำนวนดังกลาวระหวางวันที่ 3-11 ธันวาคม 2552 ในราคาเฉลี่ย 7.01 บาทตอหุน คิดเปนจำนวนเงินรวม 57,103,415 บาท ซึง่ บริษทั ไดกำไรจากการขายหุน ซือ้ คืน นี้จำนวนทั้งสิ้น 39,262,226 บาท

2551

ป 2550 บริษัทไดเปลี่ยนแปลงนโยบายการรวมลงทุนในบริษัท แกรนด ยูนติ ้ี ดิเวลล็อปเมนท จำกัด โดยลดสัดสวนการถือ หุนลงจากเดิมรอยละ 33.33 เปนรอยละ 20 ของทุนจด ทะเบียนเรียกชำระแลว และไดจดั ตัง้ บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด ขึ้น เพื่อดำเนินการเรื่องการ บริหารโครงการอสังหาริมทรัพยแบบครบวงจร

2550

ป 2550-2552 จาก “ชุมชนนาอยู สูวิสัยทัศน ในระยะที่ 3 เพื่อการพัฒนาเชิงคุณภาพ


รางวัลที่ไดรับ ป 2548 • บริษัทไดรับการจัดอันดับหลักทรัพยอยูในดัชนี SET Index 100 ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งประกาศเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2548 ซึ่งเปนดัชนีที่ใชวัดระดับราคาของหลักทรัพยเพื่อสนับสนุนใหเกิดการกระจายการลงทุนไปสูบริษัทขนาดกลางมากยิ่งขึ้น โดยใชเกณฑดานขนาด สภาพคลอง การกระจายหุน มีมูลคาตามราคาตลาดเฉลี่ยตอวันในตลาดหลักทรัพยสูงสุดยอนหลัง 12 เดือน และเปนบริษัทที่จดทะเบียนไมนอย กวา 6 เดือน รวมทั้งมีสัดสวนการกระจายใหผูถือหุนรายยอย (Free-flflfloat) มากกวารอยละ 20 • เดือนตุลาคม 2548 โครงการพี.เอส.ที. ซิตี้โฮม อาคารชุดพักอาศัยสูง 29 ชั้นของบริษัทชนะการประกวดลำดับที่ 3 ในโครงการแมกไมมิ่งเมือง ระดับหนาบานนามอง ประเภทรมรื่นพรรณพฤกษาอาคารใหญ ณ สำนักงานเขตยานนาวา ซึ่งเปนนโยบายในการใหความสำคัญกับการสราง สิ่งแวดลอมที่ดีใหเกิดขึ้นในโครงการตางๆ • บริษัทไดรับการจัดอันดับใหบริษัทเปน 1 ใน 93 บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยในป 2548 ที่ไดรับการประเมินผลการดำเนินงานดานการ กำกับดูแลกิจการดีเดนในกลุม Top Quartile จากการประเมินโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และเปนการจัดอันดับใน กลุม Top Quartile เปนปที่ 3 ติดตอกัน • บริษัทไดรับการจัดอันดับหลักทรัพยอยูในดัชนี SET Index 100 ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งประกาศเมื่อวันที่ 18 เมษายน 2548 ซึ่งเปนดัชนีที่ใชวัดระดับราคาของหลักทรัพยเพื่อสนับสนุนใหเกิดการกระจายการลงทุนไปสูบริษัทขนาดกลางมากยิ่งขึ้น โดยใชเกณฑดานขนาด สภาพคลอง การกระจายหุน มีมูลคาตามราคาตลาดเฉลี่ยตอวันในตลาดหลักทรัพยสูงสุดยอนหลัง 12 เดือน และเปนบริษัทที่จดทะเบียนไมนอย กวา 6 เดือน รวมทั้งมีสัดสวนการกระจายใหผูถือหุนรายยอย (Free-flfloat) มากกวารอยละ 20 ป 2549 • บริษัทไดรับการจัดอันดับจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ใหเปนบริษัทที่มีการกำกับดูแลกิจการในระดับ 4 ตราสัญลักษณ ซึ่งไดดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล ที่มุงเนนการเปดเผยขอมูลตอผูลงทุน ผูถือหุน และบุคคลทั่วไปอยางโปรงใสมาตลอด โดยมีคะแนนเฉลี่ย 80-89 จากคะแนนเต็ม 100 โดยปนี้ นับเปนปที่ 4 ที่บริษัทไดรับการสำรวจดานการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมีบรรษัทภิบาลแหงชาติรับรองใน ฐานะเปนบริษัทจดทะเบียนหลักทรัพยในอันดับดีมาก • บริษัทไดรับประกาศเกียรติคุณจาก คุณภัทรียา เบญจพลชัย กรรมการผูจัดการ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยในโอกาสที่บริษัทติด 1 ใน 3 ของบริษัทที่ไดรับการเสนอชื่อเขาชิงรางวัล SET AWARDS 2006 ประเภท Best Performance ในหมวด Property & Construction ซึ่งเปน ผลมาจากการดำเนินงาน ที่มุงสรางการเติบโตที่ยั่งยืนและสรางผลตอบแทนที่ดีใหแกผูถือหุน โดยเกณฑการตัดสินรางวัลพิจารณาจากฐานะการ เงินและผลการดำเนินงาน รวมถึงการปฏิบตั ติ ามขอกำหนดเรือ่ งการเปดเผยขอมูลของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสภาพคลองของหลักทรัพย ป 2551 • บริษัทไดรับรางวัลประกาศเกียรติคุณจากสำนักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค สำนักนายกรัฐมนตรี (สคบ.) ในฐานะ “ผูประกอบธุรกิจ อสังหาริมทรัพยที่ดีประจำป 2550-2551” ซึ่งเปนโครงการที่สำนักงานคณะกรรมการผูบริโภคไดจัดขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูประกอบธุรกิจ มีจริยธรรมและความรับผิดชอบตอสังคม • นิตยสาร Forbes Asia ฉบับเดือนกันยายน 2551 ไดคัดเลือกใหบริษัทเปน 1 ใน “200 Best Under A Billion” ซึ่งทำการสำรวจบริษัทจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพยในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก จำนวน 24,155 แหง ที่มีรายไดต่ำกวา 1,000.00 ลานเหรียญสหรัฐ และมีผลการดำเนิน งานโดดเดนอยางตอเนื่อง โดยมีบริษัทไทยไดรับรางวัลดังกลาวเพียง 7 บริษัทเทานั้น • บริษัทไดรับการจัดอันดับจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยใหเปนบริษัทที่มีการกำกับดูแลกิจการในระดับ 4 ตราสัญลักษณเปนปที่ 5 ติดตอกันดวยการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลที่มุงเนนการเปดเผยขอมูลตอนักลงทุน ผูถือหุน และบุคคลทั่วไปอยางโปรงใสมาโดยตลอด ป 2552 • บริษัทไดรับการจัดอันดับจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยใหเปนบริษัทที่มีการกำกับดูแลกิจการในระดับ 4 ตราสัญลักษณเปนปที่ 6 ติดตอกันดวยการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลที่มุงเนนการเปดเผยขอมูลตอนักลงทุน ผูถือหุน และบุคคลทั่วไปอยางโปรงใสมาโดยตลอด

40

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


¡ÒÃŧ·Ø¹ โครงสรางการลงทุน

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยในรูปแบบอาคารชุดพักอาศัย วันกอตั้งบริษัท ชนิดของหุน จำนวนหุน ชำระแลว มูลคาหุนละ ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแลว

21 มิถุนายน 2532 หุนสามัญ 1,475,698,768 หุน 1,475,698,768 หุน 1.00 บาท 1,475,698,768 บาท 1,475,698,768 บาท

บริษทั รวม บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย วันกอตั้งบริษัท 7 กันยายน 2544 ชนิดของหุน หุนสามัญ จำนวนหุน 6,000,000 หุน มูลคาหุนละ 10.00 บาท ทุนจดทะเบียน 600.00 ลานบาท สัดสวนการลงทุนรอยละ 20.00

บริษทั ยอย บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด ธุรกิจใหบริการ บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพยแบบครบวงจร

บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด ธุรกิจใหบริการ บริหารจัดการชุมชนแบบครบวงจร

ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่มิใชอาคารชุดพักอาศัย

วันกอตั้งบริษัท 11 ธันวาคม 2550 ชนิดของหุน หุนสามัญ จำนวนหุน 10,000 หุน มูลคาหุนละ 100.00 บาท ทุนจดทะเบียน 1.00 ลานบาท สัดสวนการลงทุนรอยละ 99.93

วันกอตั้งบริษัท 2 เมษายน 2535 ชนิดของหุน หุนสามัญ จำนวนหุน 10,000 หุน มูลคาหุนละ 100.00 บาท ทุนจดทะเบียน 1.00 ลานบาท สัดสวนการลงทุนรอยละ 99.88

วันกอตั้งบริษัท 14 พฤษภาคม 2533 ชนิดของหุน หุนสามัญ จำนวนหุน 350,000 หุน มูลคาหุนละ 1,000.00 บาท ทุนจดทะเบียน 350.00 ลานบาท สัดสวนการลงทุนรอยละ 99.99

บริษัท พรสันติ จำกัด

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

41


เงินทุนของบริษัท หนวย : ลานบาท ชื่อบริษัท

วันที่ไดมา

ถือหุน (รอยละ)

มูลคาเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย

มูลคาตนทุน เงินลงทุน

350.00 1.00

30 ก.ย. 2536 25 มี.ค. 2535

99.99 99.88

-

206.612 0.998

1.00

14 พ.ย. 2550

99.93

-

0.993

600.00

30 พ.ย. 2544

20.00

118.31

121.72

ทุนชำระแลว

บริษัทยอย 1. บจก.พรสันติ 2. บจก.ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท 3. บจก.ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส บริษัทรวม 1. บจก.แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท

หลักทรัพยของบริษทั บริษัทมีทุนจดทะเบียน 1,475,698,768 บาท เปนทุนชำระแลว 1,475,698,768 บาท โดยแบงเปนหุนสามัญทั้งหมด 1,475,698,768 บาท มูลคาหุนละ 1.- บาท (หนึ่งบาทถวน) โดยมีประวัติการเปลี่ยนแปลงทุนนับตั้งแตเริ่มกอตั้งบริษัท ดังนี้ ทุนที่เปลี่ยนแปลง วันที่จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุน ในหนังสือบริคณหสนธิ หรือเปลีย่ นแปลง ทุนที่ชำระแลวตามแตกรณี 21 23 9 28

มิถุนายน สิงหาคม กันยายน ธันวาคม

2532 2533 2535 2536

4 พฤษภาคม 2537

จดทะเบียน ทุนที่เปลี่ยนแปลง ทุนชำระแลว เพิม่ (ลด) (ลานบาท) ทุนที่เพิ่ม (ลด) (ลานบาท) (ลานบาท) 50.00 100.00 200.00 285.00 368.00 460.00

50.00 50.00 100.00 85.00 83.00 92.00

เหตุผลการเพิ่มทุน (ลดทุน) เปนการลงทุนจดทะเบียนเพื่อเริ่มกอตั้บริษัท จัดสรรใหผูถือหุนเดิมเพื่อเปนการขยายกิจการ จัดสรรใหผูถือหุนเดิมเพื่อเปนการขยายกิจการ จัดสรรใหผถู อื หุน เดิม เพือ่ ลงทุนเพิม่ ใน บจก. พรสันติเปน 100% จัดสรรใหผูถือหุนเดิมเพื่อขยายกิจการ จัดสรรใหผูถือหุนรายยอยตามหลักเกณฑการขอเขา

สัดสวนในการ มูลคาหุนในการ เพิ่มทุน จำหนาย/ จัดสรร (ลดทุน) (บาท) 1:1 1:1 1:1 40:17 4:1

10 10 10 18.82 20

25:1 92 ลาน

10 64

จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 22 ตุลาคม

2542

15 พฤษภาคม 2545

42

3,983.00 460.00

3,523.00

เพื่อใชในการดำเนินโครงการตอเนื่อง ลดภาระหนี้สิน และสำรอง

-

-

(3,523.00)

ไวใชในการลงทุนใหมที่เกี่ยวของกับธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย ลดทุนและจำนวนหุนที่ยังไมไดนำออกจำหนายลง

-

-

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


วันที่จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุน ในหนังสือบริคณหสนธิ หรือเปลีย่ นแปลง ทุนที่ชำระแลวตามแตกรณี 16 พฤษภาคม 2545

จดทะเบียน ทุนที่เปลี่ยนแปลง ทุนชำระแลว เพิม่ (ลด) (ลานบาท) ทุนที่เพิ่ม (ลด) (ลานบาท) (ลานบาท) 1,210.00

750.00

946.82

เหตุผลการเพิ่มทุน (ลดทุน)

สัดสวนในการ มูลคาหุนในการ เพิ่มทุน จำหนาย/ จัดสรร (ลดทุน) (บาท)

เพิ่มทุนจดทะเบียน โดยออกหุนใหมเปนหุนสามัญจำนวน 75,000,000 หุน ดังนี้ - จัดสรรหุนสามัญใหมใหกับผูถือหุนเดิมตามสัดสวน 5 หุนเดิม ตอ 3 หุนสามัญใหม จำนวน 27.6 ลานหุน

5:3

10

1:1

14

1:1

10

1:1

10

-

-

- จัดสรรหุนสามัญใหมไวสำหรับรองรับใบสำคัญแสดงสิทธิ ของผูถือหุนเดิม จำนวน 27.6 ลานหุน - จัดสรรหุนสามัญใหมเพื่อรองรับการใชสิทธิของใบสำคัญ แสดงสิทธิที่จัดสรรใหแกกรรมการและพนักงาน - จัดสรรหุนสามัญใหมใหแก ธนาคารกรุงไทยตามสัญญา ปรับปรุงโครงสรางหนี้ จำนวน 17.5 ลานหุน

17 มิถุนายน 2545

1,210.00

276.00

29 มกราคม 2546

1,210.00

9.17

จากการใชสิทธิแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิ งวดวันที่ 27 มกราคม 2546

1:1

14

29 เมษายน 2546

1,210.00

0.27

จากการใชสิทธิแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิ งวดวันที่ 25 เมษายน 2546

1:1

14

30 กรกฎาคม 2546

1,210.00

1.72

จากการใชสิทธิแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิ งวดวันที่ 25 กรกฎาคม 2546

1:1

14

31 ตุลาคม 2546

1,210.00

2.61

จากการใชสิทธิแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิ งวดวันที่ 27 ตุลาคม 2546

1:1

14

29 มกราคม 2547

1,210.00

8.41

จากการใชสิทธิแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิ งวดวันที่ 26 มกราคม 2547

1:1

14

3 พฤษภาคม 2547

1,210.00

6.68

จากการใชสิทธิแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิ งวดวันที่ 26 เมษายน 2547

1:1.10497

1.267

31 พฤษภาคม 2547

1,486.00

236.70

4:1

2

1:1.10497

1.267

เพิ่มทุนจดทะเบียน โดยออกหุนใหมเปนสามัญจำนวน 276,706,550 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท ดังนี้ - จัดสรรหุนสามัญใหมใหกับผูถือหุนเดิมตามสัดสวน 4 หุนเดิม ตอ 1 หุนสามัญใหม จำนวน 236,706,550 หุน - จัดสรรหุนสามัญใหมไวสำหรับรองรับใบสำคัญแสดงสิทธิ ของผูถือหุนเดิมจำนวน 40 ลานหุน

30 กรกฎาคม 2547

1,486.00

1.05

1,191.26

จากการใชสิทธิแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิ งวดวันที่ 26 กรกฎาคม 2547

1:1.10497

1.267

4 พฤศจิกายน 2547

1,486.00

14.34

1,205.60

จากการใชสิทธิแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิ งวดวันที่ 26 ตุลาคม 2547

1:1.10497

1.267

31 มกราคม 2548

1,486.00

99.86

1,305.46

จากการใชสิทธิแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิ งวดวันที่ 25 มกราคม 2548

1:1.10497

1.267

28 มิถุนายน 2545

1,210.00

175.00

1:1

10

จากการปรับปรุงโครงสรางหนี้โดยการเขาถือหุนจำนวน 17.5 ลานหุน ของธนาคารกรุงไทย

15 พฤษภาคม 2548

1,486.00

21.55

1,327.01

จากการใชสิทธิแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิ งวดวันที่ 25 เมษายน 2548

1:1.11518

1.255

1 สิงหาคม 2548

1,486.00

15.80

1,342.81

จากการใชสิทธิแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิ งวดวันที่ 25 กรกฎาคม 2548

1:1.11518

1.255

12 ตุลาคม 2548

1,486.00

132.89

1,475.7

จากการใชสิทธิแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิ งวดวันที่ 3 ตุลาคม 2548

1:1.11518

1.255

15 พฤษภาคม 2549

1,475.00

10.30

1,475.70

ลดทุนโดยตัดหุนสามัญสวนที่เหลือจากการสำรองไวเพื่อรองรับการใช สิทธิในการแปลงใบสำคัญสิทธิ

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

43


นโยบายการลงทุนในบริษทั ยอยและบริษทั รวม บริษทั มีนโยบายการลงทุนในบริษทั ยอยและบริษทั รวมดังนี้ บริษทั ยอย บริษทั ไดมกี ารลงทุนในบริษทั ยอยจำนวน 3 บริษทั โดยบริษทั ถือหุน มากกวารอยละ 99 โดยแบงลักษณะของการประกอบธุรกิจดังนี้ 1. บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด ดำเนินธุรกิจใหบริการบริหารจัดการชุมชนแบบครบวงจรใหแกบริษัท และโครงการที่พัฒนา โดยกลุม บริษทั 2. บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด ดำเนินธุรกิจรับจาง ในดานธุรกิจใหบริการบริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพยแบบครบวงจร ใหแกบริษัท และโครงการที่พัฒนาโดยกลุม บริษทั 3. บริษัท พรสันติ จำกัด ดำเนินธุรกิจทางดานพัฒนาอสังหาริมทรัพยทุกประเภท ยกเวนโครงการอาคารชุดพักอาศัย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ กระจายความเสีย่ งในการลงทุน และเพือ่ ชวยเพิม่ ศักยภาพในการพัฒนาของบริษทั สำหรับแปลงทีด่ นิ เปลาทีไ่ มเหมาะสม ทีจ่ ะพัฒนาเปนอาคารชุดพักอาศัย บริษทั รวม บริษัทมีบริษัทรวมเพียง 1 บริษัท คือ บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด โดยบริษัทถือหุนรอยละ 20 และดำเนินธุรกิจทางดานพัฒนา อสังหาริมทรัพย โดยมีการรวมลงทุนมาตัง้ แตชว งหลังวิกฤติเศรษฐกิจในป 2540 เพือ่ พัฒนาโครงการสรางคางในกรุงเทพมหานครทีม่ อี ยูเ ปนจำนวนมากใน ขณะนัน้ จวบจนปจจุบนั บริษทั มีพฒั นาการในทุกดานและมีเปาหมายในการทำธุรกิจทีช่ ดั เจนขึน้

ผูถ อื หุน รายชื่อผูถือหุนที่ถือหุนสูงสุด 10 รายแรก พรอมทั้งจำนวนหุนที่ถือ และสัดสวนการถือหุนลาสุด ณ วันปดสมุดทะเบียนพักการโอนหุน (XO) ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552 มีดังนี้ ผูถือหุนรายใหญ 1. ไทยเอ็นวีดีอาร จำกัด 2. SOMERS (U.K.) LIMITED 3. CHASE NOMINEES LIMITED 1 4. นายสุเมธ เตชะไกรศรี 5. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY 6. MR.KENNETH RUDY KAMON 7. NORBAX INC.,13 8. MORGAN STANLEY & CO. INTERNATIONAL PLC 9. นางยุพา เตชะไกรศรี 10. นายสมพงษ ชลคดีดำรงกุล รวม

44

จำนวน (หุน)

สัดสวน (%)

357,979,922 92,405,200 90,018,903 75,914,393 73,849,800 37,010,000 33,383,100 26,583,600 26,040,499 24,073,700 837,259,117

24.26 6.26 6.10 5.14 5.00 2.51 2.26 1.80 1.76 1.63 56.74

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


อนึ่ง จำนวนหุนของกรรมการบริษัทและผูบริหาร 4 รายแรกนับตอจากกรรมการผูจัดการ โดยรวมถึงผูจัดการฝายสายงานบัญชี-การเงิน ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552 ซึ่งนับรวมการถือหุนของคูสมรส โดยมีรายละเอียดดังนี้ ชื่อ – สกุล 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20.

นายปกรณ ศาสตราจารยศิริ นายทวีชัย นายอมรศักดิ์ นายเทพ นายวีระศักดิ์ นายวุฒิพล นางทัศนีย นายธีรชัย นางประทิน นางจงจิตต นายทิฆัมพร นางยุพา นายพิเชษฐ นายคัมภีร นายโอภาส นางสาวสมศรี นายสมบัติ นายรุงโรจน นางสาวสุภรณ นางรุงทิพย นางสาวปวีณริสา

ทวีสิน เกวลินสฤษดิ์ จิตตสรณชัย นพรัมภา รุงธนาภิรมย วหาวิศาล สุริยาภิวัฒน สุริยาภิวัฒน (คูสมรส) ปญจทรัพย ปญจทรัพย (คูสมรส) ฐปนางกูร เปลงศรีสุข เตชะไกรศรี ศุภกิจจานุสันติ์ จองธุระกิจ ศรีพยัคฆ เตชะไกรศรี กิตติโภคิรัตน ปลกศิริ วองไวไพโรจน ปยธีรวงศ วสิษฐตระกูล

ตำแหนง

จำนวน (หุน)

ประธานกรรมการบริษัท รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ ผูชวยกรรมการผูจัดการ ผูจัดการฝายบัญชี ผูจัดการฝายการเงิน ผูจัดการสำนักตรวจสอบภายใน

1,000,000 375,000 300,000 1,400,000 1,375,000 2,200,000 4,000,000 10,000,000 26,040,499 8,000,000 19,106,570 73,797,069

รวม

ประวัติการจายเงินปนผล นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทมีนโยบายในการจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนในอัตราไมต่ำ กวารอยละ 50 ของกำไรสุทธิสำหรับงบการเงินเฉพาะกิจการ ในป 2552 บริษัทมีกำไรตามงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการจำนวน 1,391.07 ลานบาท มีกำไรสุทธิตอ หุน 0.95 บาท และกำหนดจายเงินปนผล ในอัตราหุนละ 0.50 บาท (หาสิบสตางค) ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทครั้งที่ 1 / 2553 เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ 2553 โดยในขณะจัดทำ แบบรายงาน 56-1 ฉบับนี้ อยูในระหวางการนำเสนอใหที่ประชุมผูถือหุน ประจำป 2553 พิจารณาอนุมัติ ทั้งนี้ บริษัทไดจายเงินปนผลระหวางกาล สำหรับผลการดำเนินงานงวด 6 เดือน สิน้ สุดไตรมาส 2/2552 ในอัตราหุน ละ 0.16 บาท (สิบหกสตางค) สำหรับหุน สามัญของบริษทั 1,475,698,768 หุน โดยหักหุนสามัญซื้อคืนตามโครงการซื้อหุนคืน จำนวน 8,146,300 หุน คงเหลือหุนสามัญที่มีสิทธิไดรับเงินปนผลระหวางกาล 1,467,552,468 หุน รวมเปนเงินทั้งสิ้น 234,808,394.88 บาท (สองรอยสามสิบสี่ลานแปดแสน แปดพันสามรอยเกาสิบสี่บาทแปดสิบแปดสตางค) โดยจายเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2552 ทั้งนี้ รายละเอียดการจายเงินปนผลของบริษัทตั้งแตป 2547 จนถึงป 2552 ดังนี้

ป พ.ศ.

อัตราการจายเงินปนผล (บาท / หุน)

2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552

2.50 2.75 1.00 1.00 2.50 0.20 0.22 0.26 0.32 0.41 0.50

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

45


การลงทุนซือ้ ทีด่ นิ เพือ่ พัฒนาโครงการใหม ในป 2552 และป 2553 บริษทั ไดซอ้ื ทีด่ นิ เพือ่ พัฒนาโครงการอยางตอเนือ่ ง โดยพิจารณาความเหมาะสมตามทิศทางของการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัย ที่เนนกลุมเปาหมายเปนผูมีรายไดกลาง-บนถึงกลาง-ลาง ที่ตองการที่พักอาศัยที่ตั้งอยูใกลกับที่ทำงาน สามารถเดินทางไดสะดวก โดยบริษัทไดซื้อที่ดิน จำนวน 7 แปลง และพัฒนาเปนโครงการใหม ดังนี้ สรุปการซือ้ ทีด่ นิ 2552 วันทีโ่ อน กรรมสิทธิ์

ขนาดทีด่ นิ (ตร.ว.)

ราคาทีด่ นิ (บาท/ตร.ว.)

มูลคาทีด่ นิ (ลานบาท)

ราคาประเมิน (ลานบาท)

ผูป ระเมินราคา

2 มี.ค. 52

10,176.30

40,289.69

409,999,972

40,486.23

UK

ลุมพินี วิลล ราษฎรบรู ณะ-ริเวอรววิ

30 เม.ย. 52

2,075.00

35,042.03

72,712,212

42,000.00

Sims Property

ลุมพินี พารค ปน เกลา

30 เม.ย. 52

5,188.00

90,927.57

471,786,790

110,000.77

Sims Property

ลุมพินี วิลล ลาดพราว-โชคชัย 4

16 ต.ค. 52

2,970.00

74,135.10

220,181,247

80,000.00

CIMB

ลุมพินี คอนโดทาวน บางแค

26 ต.ค. 52

3,194.00

31,934.88

102,000,007

31,997.50

CIMB

ราคาประเมิน (ลานบาท)

ผูป ระเมินราคา

โครงการ ลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-นวมินทร

สรุปการซือ้ ทีด่ นิ 2553 โครงการ ลุมพินี เพลส รัชโยธิน ลุมพินี เพลส พระราม 4-กลวยน้ำไท

วันทีโ่ อน กรรมสิทธิ์

ขนาดทีด่ นิ (ตร.ว.)

ราคาทีด่ นิ (บาท/ตร.ว.)

มูลคาทีด่ นิ (ลานบาท)

7 ม.ค. 53

5,921.00

116,013.34

686,914,986

-

ระหวางประเมิน

28 ม.ค. 53

1,704.00

150,000.00

255,600,000

-

ระหวางประเมิน

ทัง้ นีบ้ ริษทั มีนโยบายเพือ่ ลดความเสีย่ งจากขอกำหนดทางกฎหมายทีเ่ กีย่ วของ โดยกอนทีบ่ ริษทั จะซือ้ ทีด่ นิ บริษทั มีหนวยงานทีท่ ำการศึกษาความ เปนไปไดในการพัฒนาโครงการ (Feasibility Study) ทั้งทางดานการตลาด การกอสราง การออกแบบ รวมทั้งทางดานการเงิน โดยเมื่อพิจารณาแลวเห็น วามีความเหมาะสมและมีความเปนไปไดในการพัฒนาโครงการ บริษัทจึงจะดำเนินการซื้อที่ดิน ทั้งนี้บริษัทมีนโยบายไมสะสมที่ดินเพื่อโอกาสในการพัฒนา โครงการที่ยาวนาน

46

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


ÃÒÂä´Œ¢Í§¡Ô¨¡Òà โครงสรางรายไดของกิจการ สำหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 , 2551 และ 2550 หนวย : ลานบาท

ตารางแสดงโครงสรางรายไดของกิจการที่บริษัทถือหุนตั้งแตรอยละ 20 ขึ้นไป ดำเนินการโดย

ผลิตภัณฑ/ บริการ

รอยละ การถือหุน ของบริษัท

รายได

8,390.54

97.65

7,143.60

97.81

6,650.43

97.46

2552

2551 รอยละ

รายได

2550 รอยละ

รายได

รอยละ

บริษัท แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)

พัฒนาอสังหาริมทรัพย

-

บริษัท พรสันติ จำกัด

พัฒนาอสังหาริมทรัพย

99.99

17.94

0.21

15.21

0.21

47.91

0.70

บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด

ใหบริการ

99.88

178.31

2.08

141.84

1.94

125.43

1.84

บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด

ใหบริการ

99.93

5.66

0.07

3.04

0.04

-

-

บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด

พัฒนาอสังหาริมทรัพย

33.33, 20.00 *

8,592.45

100.01

7,303.69

100.00

6,823.77

100.00

* วันที่ 1 ตุลาคม 2550 จำหนายหุนบางสวน คงเหลือสัดสวนการถือหุนรอยละ 20

ตารางแสดงรายละเอียดเงินคางชำระสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เงินคางชำระสะสม โครงการ

ลูกหนี้ที่ขอผอนชำระ 1. โครงการลุมพินี เซ็นเตอร แฮปปแลนด อาคาร อี 2. โครงการลุมพินี สวีท ปนเกลา 3. โครงการลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 4. โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-หลักสี่ 5. โครงการลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ 6. โครงการลุมพินี เพลส พระราม 8 7. โครงการพี.เอส.ที. ซิตี้โฮม สุทธิ

จำนวนราย

ลานบาท

1 1 2 1 1 1 1

0.105 0.085 0.031 0.028 0.077 0.092 0.165

8

0.583

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

47


รายไดของบริษัทจำแนกตามลักษณะผลิตภัณฑและบริการ 3 ป ยอนหลัง บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย มีรายไดจากการขาย และการบริการ จำแนกตามลักษณะโครงการ ดังตอไปนี้ ตารางแสดงรายไดแยกตามประเภทธุรกิจหลักของ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย หนวย : ลานบาท

2552

2551

2550

รายไดจำแนกตามประเภทธุรกิจหลัก ลานบาท ธุรกิจอสังหาริมทรัพยเพื่อขาย โครงการอาคารชุดพักอาศัย รวมรายไดจากการขาย ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยเพื่อเชา โครงการอาคารชุดสำนักงาน โครงการอาคารชุดพักอาศัย รวมรายไดจากการเชา รายไดจากการบริหาร กำไรจากสวนไดเสียเงินลงทุน ในบริษัทยอย และบริษัทรวม * รายไดอื่นๆ ** ยอดรวมรายไดทั้งหมด อัตราการเติบโต รายไดจากการขาย รายไดจากการเชา รายไดจากการบริหาร รายไดรวม

รอยละ

ลานบาท

รอยละ

ลานบาท

รอยละ

8,267.99 8,267.99

96.22 96.22

7,018.71 7,018.71

96.10 96.10

6,574.22 6,574.22

96.34 96.34

3.35 58.68 62.03 183.25

0.04 0.68 0.72 2.13

3.86 57.25 61.11 143.46

0.05 0.78 0.84 1.96

3.77 39.09 42.86 124.45

0.06 0.57 0.63 1.82

3.84 75.34 8,592.45 -

0.04 0.88 100.00 (%) 17.80 1.51 27.74 17.65

80.41 7,303.69 -

1.10 100.00 (%) 6.76 42.58 15.28 7.03

82.24 6,823.77 -

1.21 100.00 (%) 38.47 83.40 (9.66) 35.92

* เริ่มทำงบการเงินรวมในป 2536 ** รายไดอื่นๆ ประกอบดวย คาโอนสิทธิเปลี่ยนมือ รายไดยึดจองยึดสัญญา คาเปลี่ยนแปลงสัญญา ดอกเบี้ยรับ คานายหนา คาที่จอดรถ และ อื่น ๆ

ตารางแสดงรายไดแยกตามประเภทธุรกิจหลักของ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) หนวย : ลานบาท

2552

2551

2550

รายไดจำแนกตามประเภทธุรกิจหลัก ลานบาท ธุรกิจอสังหาริมทรัพยเพื่อขาย โครงการอาคารชุดพักอาศัย รวมรายไดจากการขาย ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยเพื่อเชา โครงการอาคารชุดสำนักงาน โครงการอาคารชุดพักอาศัย รวมรายไดจากการเชา รายไดจากการบริหาร กำไรจากสวนไดเสียเงินลงทุน ในบริษัทยอย และบริษัทรวม * เงินปนผลรับ * รายไดอื่นๆ ** ยอดรวมรายไดทั้งหมด อัตราการเติบโต รายไดจากการขาย รายไดจากการเชา รายไดจากการบริหาร รายไดรวม

รอยละ

ลานบาท

รอยละ

รอยละ

8,255.23 8,255.23

97.49 97.49

7,014.42 7,014.42

97.45 97.45

6,547.31 6,547.31

97.67 97.67

4.66 53.23 57.89 -

0.06 0.63 0.68 -

5.78 52.17 57.95 -

0.08 0.72 0.81 -

6.41 32.69 39.10 -

0.10 0.49 0.58 -

79.93 74.57 8,467.62 -

0.94 0.88 100.00 (%) 17.69 (0.10) 17.64

46.85 78.87 7,198.09 -

0.65 1.10 100.00 (%) 7.13 48.21 7.38

35.30 81.98 6,703.69 -

0.53 1.22 100.00 (%) 37.90 85.57 33.47

* ป 2550 ปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี การบันทึกเงินลงทุนในบริษัทยอย และ บริษัทรวม ในงบเฉพาะกิจการ ใหใชวิธีราคาทุน (ปรับยอนหลัง ป 2549) ** รายไดอื่นๆ ประกอบดวย คาโอนสิทธิเปลี่ยนมือ รายไดยึดจองยึดสัญญา คาเปลี่ยนแปลงสัญญา ดอกเบี้ยรับ คานายหนา คาที่จอดรถ และ อื่น ๆ

48

ลานบาท

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


â¤Ã§ÊÌҧͧ¤ ¡Ã

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริหาร

กรรมการผูจัดการ บจก. พรสันติ

สำนักตรวจสอบ ภายใน

สายงาน พัฒนาธุรกิจ

สายงาน อำนวยการ

กรรมการผูจัดการ บมจ. แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท

กรรมการผูจัดการ บจก. ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท

รองกรรมการผูจัดการ

รองกรรมการผูจัดการ

สายงาน บริหารแบรนด และการตลาด

สายงาน บัญชีและการเงิน

สำนัก ทรัพยากรมนุษย

สายงาน พัฒนาธุรกิจ

สายงาน บริหารงานขาย

สายงานสนับสนุน งานบริหารชุมชน

กรรมการผูจัดการ บจก. ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส

สายงาน บริหารชุมชน

สายงานบัญชี การเงิน นิติบุคคล

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

รองกรรมการผูจัดการ

สายงาน บริหารงานโครงการ

สายงานบำรุง รักษานิติบุคคล

49


¤³Ð¼ÙŒºÃÔËÒÃ

นายปกรณ ทวีสิน ศาสตราจารยศิริ เกวลินสฤษดิ์

ชื่อ อายุ ตำแหนง การศึกษา

: : : :

นายปกรณ ทวีสิน 70 ป ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ The Chartered Institute of Bankers, London ปริญญาบัตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ. รุน 311) ประวัติการอบรม : Certififif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 0/2000) และ Certifif ication of Attendance of Role of the Chairman Program (RCP 16/2007) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณการทำงานยอนหลัง 5 ป จนถึงปจจุบัน ปจจุบัน - ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ บริษัท คอลเกต-ปาลมโอลีฟ (ประเทศไทย) จำกัด - ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ บริษัท โรงแรม รอยัลออคิด (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) 2547-2550 - กรรมการ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ประวัติการทำผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปที่ผานมา : ไมมี สัดสวนการถือหุนในบริษัท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552) : ไมมี ชื่อ อายุ ตำแหนง

: : : การศึกษา ประวัติการอบรม -

ศาสตราจารยศิริ เกวลินสฤษดิ์ 80 ป รองประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขานิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมกฎหมายแหงเนติบัณฑิตสภา นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาบัตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ. รุน 25) หลักสูตรการศึกษาอบรมดานการพัฒนาสาขาการถือครองและการบริหารงานที่ดินมหาวิทยาลัยแคมบริดจ ประเทศอังกฤษ Audit Committee Program (ACP 7 / 2005), Director Accreditation Program (DAP 25 / 2004) และ Finance for Non-Finance Directors รุนที่ 14 / 2004 จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณการทำงานยอนหลัง 5 ป จนถึงปจจุบัน ปจจุบัน - รองประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) - กรรมการรางกฎหมาย กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม - กรรมการรางกฎหมายคณะที่ 7 สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ที่ปรึกษาคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - กรรมการผูทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการจัดที่ดินแหงชาติ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - ที่ปรึกษาคณะกรรมการ สงเสริมความปลอดภัยฯ สมาคมสงเสริมความปลอดภัย และอนามัยในการทำงาน - ที่ปรึกษากรรมการประเมินทุนทรัพย สมาคมประเมินทุนทรัพย - ที่ปรึกษาคณะกรรมการพิจารณาปญหาขอกฎหมายของกรมที่ดิน กรมที่ดิน - กรรมการที่ปรึกษาในคณะกรรมการปรับปรุงและพัฒนากฎหมายของกรมที่ดิน กรมที่ดิน ประวัติการทำผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปที่ผานมา : ไมมี สัดสวนการถือหุนในบริษัท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552) : ไมมี 50

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


Board of Directors นายทวีชัย จิตตสรณชัย นายอมรศักดิ์ นพรัมภา

ชื่อ : นายทวีชัย จิตตสรณชัย อายุ : 71 ป ตำแหนง : รองประธานกรรมการ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และ กรรมการอิสระ การศึกษา : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี Tienjin University, Tienjin, China ประวัติการอบรม : Director Accreditation Program (DAP 26 / 2004) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณการทำงานยอนหลัง 5 ป จนถึงปจจุบัน ปจจุบัน - รองประธานกรรมการ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และกรรมการอิสระ บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท อรทัย อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด ประวัติการทำผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปที่ผานมา : ไมมี สัดสวนการถือหุนในบริษัท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552) : ไมมี

ชื่อ อายุ ตำแหนง การศึกษา

: : : ประวัติการอบรม -

นายอมรศักดิ์ นพรัมภา 64 ป กรรมการ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และ กรรมการอิสระ เนติบัณฑิตอังกฤษ สำนัก Lincoln’s Inn, London เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแหง เนติบัณฑิตยสภา นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาบัตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปรอ.399) Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 30/2003) Audit Committee Program (ACP 23/ 2008) และ Role of Compensation Committee (RCC 9/2009) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง รุนที่ 31 - หลักสูตรนักบริหารชั้นสูง รุนที่ 7 ประสบการณการทำงานยอนหลัง 5 ป จนถึงปจจุบัน ปจจุบัน - กรรมการ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และ กรรมการอิสระ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) - กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน บริษัท อาร ซี แอล จำกัด (มหาชน) - กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหากำหนดคาตอบแทนและพัฒนาบุคลากร และ ประธานธรรมาภิบาล บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) 2550-2552 - ประธานกรรมการ บริษัท สยามเรียลตี้แอนดเซอรวิส จำกัด - ที่ปรึกษาอาวุโส ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ บริษัทหลักทรัพยกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) 2546-2550 - รองกรรมการผูจัดการใหญ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ประวัติการทำผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปที่ผานมา : ไมมี สัดสวนการถือหุนในบริษัท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552) : รอยละ 0.07

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

51


นายเทพ รุงธนาภิรมย นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล

ชื่อ อายุ ตำแหนง การศึกษา

: : : ประวัติการอบรม -

นายเทพ รุงธนาภิรมย 65 ป กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และ กรรมการอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการเงินและการบัญชี มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พาณิชยศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 20/2002) Audit Committee Program (ACP 8/2005), Chartered Director Class (CDC03/2008) และ Role of Compensation Committee (RCC 9/2009) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Capital Market Academy (CMA 04/2007) จากสถาบันวิทยาลัยตลาดทุน ประสบการณการทำงานยอนหลัง 5 ป จนถึงปจจุบัน ปจจุบัน - กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และ กรรมการอิสระ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) - กรรมการตรวจสอบ บริษัท อาร ซี แอล จำกัด (มหาชน) ประวัติการทำผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปที่ผานมา : ไมมี สัดสวนการถือหุนในบริษัท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552) : รอยละ 0.02

ชื่อ อายุ ตำแหนง การศึกษา

นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล 53 ป กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และ กรรมการอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบัญชี University of Illinois, U.S.A. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารทั่วไป Ohio University, U.S.A. พาณิชยศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประวัติการอบรม : Director Accreditation Program (DAP 63/2007) และ Director Certifif ication Program (DCP 91/2007) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณการทำงานยอนหลัง 5 ป จนถึงปจจุบัน ปจจุบัน - กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และ กรรมการอิสระ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) - ผูอำนวยการฝายบัญชี บริษัท อารซีแอล จำกัด (มหาชน) - SVP Credit & Risk Management Hutchison - CAT Wireless Multimedia Head of Finance Support TA Orange Co.Ltd. ประวัติการทำผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปที่ผานมา : ไมมี สัดสวนการถือหุนในบริษัท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552) : ไมมี

52

: : : :

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


Board of Directors นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน นายธีรชัย ปญจทรัพย

ชื่อ อายุ ตำแหนง การศึกษา

: : : ประวัติการอบรม :

นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน 65 ป กรรมการ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และ กรรมการอิสระ Bachelor of Commerce (Accounting) University of New South Wales, Australia นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Diploma, Management Course, IMD, Lausanne, Switzerland Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 36/2003) และ Audit Committee Program (ACP 7/2005) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณการทำงานยอนหลัง 5 ป จนถึงปจจุบัน ปจจุบัน - กรรมการ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และ กรรมการอิสระ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ บริษัท ไทย อกริ ฟูดส จำกัด (มหาชน) - กรรมการตรวจสอบ กรรมการกำหนดคาตอบแทน และ กรรมการอิสระ บริษัท ไทยวาฟูดโปรดักส จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการตรวจสอบและบริหารความเสี่ยง และ กรรมการอิสระ บริษัท ลากูนา รีสอรท แอนด โฮเต็ล จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ บริษัท บางกอกแรนช จำกัด (มหาชน) ประวัติการทำผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปที่ผานมา : ไมมี สัดสวนการถือหุนในบริษัท (รวมคูสมรส) (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552) : รอยละ 0.12

ชื่อ อายุ ตำแหนง การศึกษา ประวัติการอบรม

: : : : :

นายธีรชัย ปญจทรัพย 71 ป กรรมการ มัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนดาราสมุทร ชลบุรี Director Accreditation Program (DAP 26/2004) และ Finance for Non-Finance Directors (FND 14 / 2004) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณการทำงานยอนหลัง 5 ป จนถึงปจจุบัน ปจจุบัน : กรรมการ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ประวัติการทำผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปที่ผานมา : ไมมี สัดสวนการถือหุนในบริษัท (รวมคูสมรส) (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552) : รอยละ 0.24

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

53


นางจงจิตต ฐปนางกูร นายทิฆัมพร เปลงศรีสุข

ชื่อ อายุ ตำแหนง การศึกษา

: : : ประวัติการอบรม :

นางจงจิตต ฐปนางกูร * 63 ป กรรมการ เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง Certifif icate English of Profifif iciency AUA Language Institute Diamond Grading Gemological Institute of America Director Accreditation Program (DAP 4/2003) และ Finance for Non-Finance Directors (FND14/2004) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณการทำงานยอนหลัง 5 ป จนถึงปจจุบัน ปจจุบัน - กรรมการ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท บูรพากอลฟ แอนด คันทรีคลับ จำกัด ประวัติการทำผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปที่ผานมา : ไมมี สัดสวนการถือหุนในบริษัท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552) : รอยละ 0.27 * นางยุพา เตชะไกรศรี นางจงจิตต ฐปนางกูร และนายคัมภีร จองธุระกิจ มีความสัมพันธเปนพี่นอง

ชื่อ อายุ ตำแหนง

: นายทิฆัมพร เปลงศรีสุข : 60 ป : กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจาหนาที่บริหาร และ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน การศึกษา : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม : Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 23/2002) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณการทำงานยอนหลัง 5 ป จนถึงปจจุบัน ปจจุบัน - กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร ประธานเจาหนาที่บริหาร และ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท พรสันติ จำกัด - กรรมการ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด - กรรมการ บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด ประวัติการทำผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปที่ผานมา : ไมมี สัดสวนการถือหุนในบริษัท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552) : รอยละ 0.68

54

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


Board of Directors นางยุพา เตชะไกรศรี นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์

ชื่อ อายุ ตำแหนง การศึกษา

: นางยุพา เตชะไกรศรี* : 59 ป : กรรมการ และ กรรมการบริหาร - เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง - ประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขาบัญชี Accounting Advance of Pitman Examination Institute ประวัติการอบรม : Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 32/2003) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณการทำงานยอนหลัง 5 ป จนถึงปจจุบัน ปจจุบัน - กรรมการและ กรรมการบริหาร บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท พรสันติ จำกัด - กรรมการ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด - กรรมการ บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด - กรรมการ บริษัท ศรีสำอางซัพพลายเออร จำกัด - กรรมการ และ กรรมการบริหาร บริษัท ที.กรุงไทยอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด ประวัติการทำผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปที่ผานมา : ไมมี สัดสวนการถือหุนในบริษัท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552) : รอยละ 1.76 * นางยุพา เตชะไกรศรี นางจงจิตต ฐปนางกูร และนายคัมภีร จองธุระกิจ มีความสัมพันธเปนพี่นอง

ชื่อ อายุ ตำแหนง การศึกษา ประวัติการอบรม

: : : : :

นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ 60 ป กรรมการ กรรมการบริหาร และ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน สถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 27/2003) Director Accreditation Program (DAP 26/2004) Finance for Non-Finance Directors (FND 14/2004) และ Audit Committee Program (ACP 21/2007) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณการทำงานยอนหลัง 5 ป จนถึงปจจุบัน ปจจุบัน - กรรมการ กรรมการบริหาร และ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท พรสันติ จำกัด - กรรมการ บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด - กรรมการ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด - กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บริษัท หลักทรัพย เมอรชั่น พารทเนอร จำกัด (มหาชน) - ที่ปรึกษา บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด ประวัติการทำผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปที่ผานมา : ไมมี สัดสวนการถือหุนในบริษัท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552) : รอยละ 0.54

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

55


นายคัมภีร จองธุระกิจ นายโอภาส ศรีพยัคฆ

ชื่อ อายุ ตำแหนง การศึกษา ประวัติการอบรม

: : : : :

นายคัมภีร จองธุระกิจ* 55 ป กรรมการ และ กรรมการบริหาร บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP48/2004) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณการทำงานยอนหลัง 5 ป จนถึงปจจุบัน ปจจุบัน - กรรมการ และ กรรมการบริหาร บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท พรสันติ จำกัด - กรรมการ บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด - กรรมการ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด - กรรมการ บริษัท ที.กรุงไทยอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) - กรรมการ บริษัท เอส.เอส.เอ. อุตสาหกรรม จำกัด - กรรมการ บริษัท ศรีสำอาง ซัพพลายเออร จำกัด - ประธานกิตติมศักดิ์กลุมอุตสาหกรรมรองเทา สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ประวัติการทำผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปที่ผานมา : ไมมี สัดสวนการถือหุนในบริษัท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552) : รอยละ 1.30 * นางยุพา เตชะไกรศรี นางจงจิตต ฐปนางกูร และนายคัมภีร จองธุระกิจ มีความสัมพันธเปนพี่นอง

ชื่อ อายุ ตำแหนง การศึกษา

นายโอภาส ศรีพยัคฆ 47 ป กรรมการ กรรมการบริหาร และ กรรมการผูจัดการ สถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร Mini M.B.A. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ประวัติการอบรม : Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 71/2006) จากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณการทำงานยอนหลัง 5 ป จนถึงปจจุบัน ปจจุบัน : กรรมการ กรรมการบริหาร และ กรรมการผูจัดการ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 2548 - ผูชวยกรรมการผูจัดการ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด 2544-2547 - ผูจัดการฝายวิจัยและพัฒนา บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด ประวัติการทำผิดทางกฎหมาย ในระยะ 10 ปที่ผานมา : ไมมี สัดสวนการถือหุนในบริษัท (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2552) : ไมมี

56

: : : :

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


»‚ 2553 ¡Ñº¡ÒÃàμÔºâμã¹·Ø¡ÁÔμÔ à»‡ÒËÁÒ·ÕèäÁ‹à¾Õ§¤Ó¹Ö§¶Ö§¼Å¡ÓäÃáÅмÅμͺ᷹·Õè´Õ μ‹Í¼ÙŒÁÕʋǹ䴌àÊÕ ËÒ¡áμ‹ÂѧãËŒ¤ÇÒÁÊÓ¤ÑޡѺ¤Ø³ÀÒ¾ªÕÇÔμ ¢Í§Êѧ¤ÁÀÒÂã¹Í§¤ ¡Ã ÃÇÁ¶Ö§¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº μ‹ÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁáÅÐÊѧ¤ÁÃͺ¢ŒÒ§


ÀÒÇСÒÃᢋ§¢Ñ¹ สภาพการแขงขัน ในป 2552 นับเปนปที่ตลาดอาคารชุดพักอาศัยหดตัวอยางรุนแรงโดยเฉพาะในชวงครึ่งปแรกซึ่งหดตัวกวารอยละ 60 สืบเนื่องจากวิกฤติ เศรษฐกิจที่สงผลตั้งแตปลายป 2551 ประกอบกับสถานการณทางการเมืองที่ยังขาดเสถียรภาพ และการชะลอการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคเพื่อรอดู ทิศทางของราคาอสังหาริมทรัพย อยางไรก็ตาม สำหรับอาคารชุดพักอาศัยยังครองสวนแบงตลาดสูงสุดโดยมีสวนแบงการตลาดประมาณรอยละ 42 สืบเนื่องจากกระแสความนิยมของคนรุนใหมในการใชชีวิต ราคาน้ำมันที่แมจะคลายตัวลงบางในชวงปที่ผานมาแตแนวโนมยังคงปรับตัวสูงขึ้นอยู ตลอด โดยโครงการที่เปดตัวสวนใหญจะเปนโครงการของผูประกอบการรายใหญที่มีความแข็งแกรงทางการเงิน มีความนาเชื่อถือในตลาดทั้งจาก ผูบริโภคและสถาบันการเงิน โดยทุกโครงการที่เปดตัวในชวงปที่ผานมาตางประสบความสำเร็จทางดานการขายเปนอยางดีและสามารถครองสวน แบงการตลาดมากถึงรอยละ 70 ตารางเปรียบเทียบโครงการที่พักอาศัยเปดตัวใหมระหวางป 2547-2552 ประเภท บานเดี่ยว อาคารชุดพักอาศัย ทาวนเฮาส อื่นๆ

ป 2552 19% 42% 33% 6%

ป 2551 17% 29% 47% 7%

ป 2550 12% 62% 19% 8%

ป 2549 18% 52% 23% 7%

ที่มา : AREA, ฝายวิจัยและพัฒนา บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)

ป 2548 31% 29% 29% 11%

ป 2547 40% 23% 29% 8%

งบการเงินรวม (บาท)

อาคารชุดพักอาศัยเปดตัวใหมในป 2552 มีจำนวนรวมประมาณ 25,000 หนวย ซึ่งลดลงจากป 2551 ที่มีอาคารชุดพักอาศัยเปดตัวใหม รวมประมาณ 33,000 หนวย หรือลดลงประมาณรอยละ 24 โดยในจำนวนนี้แบงเปน อาคารชุดพักอาศัยซึ่งมีราคาขายเฉลี่ยตอหนวยตั้งแต 3 ลานบาทขึ้นไป (ระดับบน) ประมาณรอยละ 26 อาคารชุดพักอาศัยซึ่งมีราคาขายเฉลี่ยตอหนวยระหวาง 1-3 ลานบาท (ระดับกลาง) ประมาณรอยละ 64 และอาคารชุด พักอาศัยซึ่งมีราคาขายเฉลี่ยตอหนวยต่ำกวา 1 ลานบาท (ระดับลาง) ประมาณรอยละ 10 จากจำนวนโครงการทั้งหมด 64 โครงการ ซึ่งลดลงจากป 2551 ที่มี 92 โครงการ ซึ่งจะเห็นไดวาอาคารชุดพักอาศัยระดับกลางที่มีราคาขายเฉลี่ยตอหนวยระหวาง 1-3 ลานบาท ยังคงเปนตลาดที่มีการแขงขันกัน มากที่สุด โดยอาคารชุดพักอาศัยซึ่งมีราคาขายเฉลี่ยตอหนวยต่ำกวา 1 ลานบาท ยังคงมีผูประกอบการนอยรายใหความสนใจในการพัฒนา โดยเฉพาะ ผูประกอบการที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย คงมีเพียงบริษัทเทานั้นที่ทำตลาดและเปดตัวโครงการในสวนนี้

ตารางเปรียบเทียบโครงการที่พักอาศัยเปดตัวใหมระหวางป 2547-2552 ราคาขาย ระดับบน ระดับกลาง ระดับลาง

ป 2552 26% 64% 10%

ป 2551 19% 70% 11%

ป 2550 17% 55% 28%

ที่มา : AREA, ฝายวิจัยและพัฒนา บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ไมรวมการเคหะแหงชาติ

58

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

ป 2549 30% 60% 10%

ป 2548

ป 2547

23% 72% 5%

60% 34% 6%


จำนวนคูแขงโดยประมาณขนาดของบริษัทเมื่อเทียบกับคูแขงขัน จากขอมูลลาสุดในเดือนธันวาคม 2552 ที่ทางฝายวิจัยและพัฒนาของบริษัทไดทำการรวบรวม มีผูประกอบการที่อยูในตลาดอาคารชุดพักอาศัย ทั้งหมดจำนวน 43 ราย โดยมีโครงการที่เปดตัวใหมทั้งหมดจำนวน 64 โครงการ คิดเปนจำนวนยูนิตประมาณ 25,000 หนวย โดยอาคารชุดพักอาศัย ระดับบนมีผูประกอบการทั้งหมด 22 ราย จำนวนหนวยที่พัฒนาทั้งหมดประมาณ 6,311 หนวย อาคารชุดพักอาศัยระดับกลางมีผูประกอบการทั้งหมด 25 ราย จำนวนหนวยที่พัฒนาทั้งหมดประมาณ 15,644 หนวย สวนอาคารชุดพักอาศัยระดับลางมีผูประกอบการทั้งหมด 1 ราย จำนวนหนวยที่พัฒนา ทั้งหมดประมาณ 2,568 หนวย โดยผูประกอบการที่ครองสวนแบงตลาดสูงสุดไดแกบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ซึ่งครองสวน แบงตลาดสูงสุดประมาณรอยละ 32 โครงการอาคารชุดพักอาศัยเปดตัวใหม 40% 80,000 32%

30%

60,000

40,000

21%

20% 16%

20,000

9% 3,680

3,471

2548

2549

11%

10%

9,738

7,840 3,747

0

0% 2551

2552

LPN ‘s Share

others

LPN

2551

2550

ตารางเปรียบเทียบโครงการอาคารชุดพักอาศัยเปดตัวใหมระหวางป 2547-2552 1,042,816.30 จำนวนหนวยที่เปดตัว 1,042,816.30

ในกรุงเทพและปริมณฑล แอล.พี.เอ็น สวนแบงการตลาด

ป 2552

ป 2551

ป 2550

ป 2549

ป 2548

ป 2547

24,523 7,840 32%

32,982 3,747

59,501 9,738

39,459 3,471

17,438 3,680

15,040 4,287

11%

16%

9%

21%

29%

ที่มา : AREA, ฝายวิจัยและพัฒนา บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ไมรวมการเคหะแหงชาติ

ฝายวิจัยและพัฒนาของบริษัทไดรวบรวมขอมูลการจดทะเบียนอาคารชุดในป 2552 ซึ่งมีจำนวนรวม 33,309 หนวย โดยบริษัทมีสวน ครองตลาดประมาณรอยละ 20 หรือคิดเปนจำนวน 6,281 หนวย หากแบงตามระดับราคาอาคารชุดพักอาศัยระดับบน มีชุดอาคารจดทะเบียนรวมทั้งสิ้น 6,469 หนวย หรือคิดเปนรอยละ 18 สวนอาคารชุดพักอาศัยระดับกลางมีอาคารชุดจดทะเบียนทั้งสิ้น 21,192 หนวย หรือรอยละ 65 และอาคารชุดพัก อาศัยระดับลางมีอาคารชุดจดทะเบียนทั้งสิ้น 5,648 หนวย หรือคิดเปนรอยละ 17

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

59


ตารางเปรียบเทียบโครงการอาคารชุดพักอาศัยจดทะเบียนระหวางป 2547-2552 จำนวนหนวยที่เปดตัว

ป 2552

ป 2551

ป 2550

ป 2549

ป 2548

ป 2547

ในกรุงเทพและปริมณฑล แอล.พี.เอ็น

33,309 6,281

26,124 8,009

16,222 3,050

14,807 3,333

11,617 2,389

7,567 1,176

สวนแบงการตลาด

20%

31%

19%

23%

21%

16%

ที่มา : AREA, ฝายวิจัยและพัฒนา บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ไมรวมการเคหะแหงชาติ

สรุปภาวะธุรกิจอสังหาริมทรัพยป 2552 สำหรับป 2552 นับเปนปของผูประกอบการรายใหญที่มีความพรอมทางดานการเงิน และมีภาพลักษณที่ดีในสายตาของผูบริโภค ซึ่งตางลวน ประสบความสำเร็จทางดานยอดขายสำหรับการเปิดตัวโครงการใหม โดยเฉพาะผูประกอบการที่จดทะเบียบในตลาดหลักทรัพยซึ่งสามารถครอง สวนแบงการตลาดไดถึงรอยละ 76 สำหรับการเปิดตัวโครงการ แตหากพิจารณาในแตละชวงเวลาจะพบวาภาพรวมในชวงครึ่งปแรก ภาวะตลาด คอนขางซบเซาตอเนื่องมาจากปลายป 2551 โดยการเปดตัวอาคารชุดพักอาศัยลดลงถึงรอยละ 60 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน ผูประกอบการ สวนใหญตางเรงระบายสินคาที่มีอยูในมือเพื่อเตรียมรับกับสภาวะวิกฤติ อยางไรก็ตามผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยตรง เชน ราคาอสังหาริมทรัพยที่ลดลงอยาง มีนัยสำคัญ ปญหาอาคารสรางคางที่อาจเกิดขึ้นเชนในอดีต หนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได (NPL) ในสวนของสถาบันการเงิน และปญหาการวางงาน มิไดเกิด ขึน้ ตามทีห่ ลายฝายมีความกังวล ผนวกกับเสถียรภาพทางดานการเมืองทีม่ แี นวโนมดีขน้ึ และเหตุการณความรุนแรงทางการเมืองที่เกิดขึ้นในเดือนเมษายน ไดยุติลงอยางรวดเร็ว มาตรการกระตุนเศรษฐกิจที่รัฐบาลออกมาเปนระยะเปนปจจัยสำคัญที่ชวยผลักดันใหดัชนีความเชื่อมั่นของผูบริโภคปรับตัวดีขึ้นใน ชวงปลายป 2552 ผูประกอบการสวนใหญจึงเริ่มทยอยเปดตัวโครงการอาคารชุดพักอาศัยเปนจำนวนมาก แมเกิดวิกฤตการณ “ดูไบเวิลด” แตมิไดสง ผล กระทบอยางใดตอภาคอสังหาริมทรัพยที่ขับเคลื่อนโดยตรงจากความตองการภายในประเทศ ในทางกลับกัน มีการโอนอสังหาริมทรัพยจำนวนมากเพื่อรับ สิทธิประโยชนทางดานภาษี (มาตรการหักลดหยอนภาษี 3 แสนบาท) ซึ่งสิ้นสุดลงในปลายปที่ผานมา แนวโนมภาวะธุรกิจอสังหาริมทรัพยป 2553 สำหรับในป 2553 จากการคาดการณของหลายฝายประกอบกับขอมูลภายในของบริษัทที่แสดงใหเห็นถึงการฟนตัวในระบบเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ ตัวเลขการวางงานที่มีการปรับตัวลดลงเหลือเพียงรอยละ 1.1 ในเดือนพฤศจิกายน และคาดการณทง้ั ป 2553 จะมีอตั ราการวางงานไมเกินรอยละ 2 แตใน ขณะเดียวกันหลายสวนยังคงมีความเปราะบางและมีความเสีย่ ง ทัง้ ทิศทางของราคาน้ำมันทีส่ ง ผลตอราคาวัสดุและภาวะเงินเฟอ ความเขมงวดของสถาบันการเงิน การแขงขันที่มีแนวโนมทวีความรุนแรงขึ้น สถานการณทางการเมืองที่ยังครุกรุนและมีการชุมนุมเรียกรองทางการเมืองเปนระยะๆ รวมถึงการไมตอ อายุมาตรการกระตุนธุรกิจอสังหาริมทรัพยที่อาจสงผลใหตลาดมีความคึกคักระยะสั้นๆ ในชวงเดือนมีนาคม โดยหลังจากนั้นอาจคลายตัวลงบางในชวงตน ไตรมาส 2 คณะกรรมการบริษัทจึงไดกำหนดทิศทางในการทำธุรกิจในป 2553 ใหเติบโตแบบระมัดระวังควบคูไปกับการบริหารความเสี่ยงและการติดตาม สถานการณอยางใกลชิด โดยไดกำหนดอัตราการเติบโตของบริษัทในอัตรารอยละ 20

60

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


สำหรับป 2553 เมื่อพิจารณาจากปจจัยตางๆ เชน มาตรการสงเสริมการลงทุนของ BOI ซึ่งเปนตัวผลักดันตลาดอาคารชุดพักอาศัยที่มีราคา ขายในระดับลาง ราคาน้ำมันและกระแสความนิยมอาคารชุดพักอาศัยที่เกาะตามแนวรถไฟฟาทั้งสายปจจุบันและอนาคต ซึ่งเปนตัวผลักดันอาคาร ชุ ด พั ก อาศั ย ที ่ม ี ราคาขายในระดับกลาง ประกอบกับการชะลอการเปิ ดตั ว โครงการเพื่ อ รอดู สถานการณข องผูป ระกอบการในชวงปกอนหนา นาจะเปนปจจัยที่ทำใหมีการเปดตัวอาคารชุดพักอาศัยเปนจำนวนมากตลอดป 2553 หากไมมีเหตุการณพลิกผันทางดานเศรษฐกิจและการเมืองเกิน กวาที ่ ค าดการณไว สำหรับอาคารชุดพักอาศัยที่มีราคาขายในระดับบนนาจะอยูในภาวะทรงตัว ดังนั้น ฝายวิจัยและพัฒนาของบริษัทคาดการณวา จำนวนหนวยของอาคารชุดพักอาศัยเปดตัวใหมในป 2553 อาจใกลเคียงกับป 2550 ซึ่งมีจำนวนประมาณ 50,000-60,000 หนวย หรือเติบโตมากกวา เทาตัวเมื่อเทียบกับป 2552 ดานการจดทะเบียนอาคารชุดพักอาศัยในป 2553 จากขอมูลที่เก็บรวบรวมโดยฝายวิจัยและพัฒนาของบริษัทคาดการณวานาจะมีโครงการที่ กอสรางแลวเสร็จและจดทะเบียนประมาณ 40,000 หนวย ซึ่งเติบโตจากป 2552 ประมาณรอยละ 20 โดยเปนอาคารชุดพักอาศัยในระดับราคาประมาณ 1-3 ลานบาท ครองสวนแบงการตลาดถึงรอยละ 70 และเปนอาคารชุดพักอาศัยที่เปดตัวในชวงป 2550-2551 ในยานถนนสุขุมวิท ถนนรัชดา-พระราม 9 ถนนพหลโยธิน และถนนลาดพราว น้ำมันยังเปนอีกปจจัยหนึ่งที่มีผลตอการเจริญเติบโตของภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย นอกจากภาวะการแขงขันปญหาเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ปจจุบันราคาน้ำมันมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งสงผลโดยตรงตอการบริโภคและอัตราเงินเฟ้อรวมถึงตนทุนคากอสราง แตในขณะ เดียวกันน้ำมันก็เปนปจจัยบวกตอธุรกิจพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยโดยตรง โดยผูบริโภคสวนใหญใหความสนใจตอโครงการอาคารชุดพักอาศัยภาย ในเมืองมากขึ้นกวาบานเดี่ยวหรือทาวนเฮาส ซึ่งถือเปนโอกาสทางธุรกิจ ป 2553 จึงนับเปนอีกปหนึ่งที่ผูประกอบการตองระมัดระวังทั้งทางดาน การแขงขัน ตนทุนที่มีแนวโนมสูงขึ้น เหตุการณทางดานเศรษฐกิจและการเมืองซึ่งยังคงเปนปจจัยเสี่ยงอยูอยางตอเนื่อง สถานภาพและศัก ยภาพในการแขงขั น ตั้งแตเริ่มกอตั้งเปนตนมา บริษัทพยายามแสวงหาตลาดใหมๆ ที่มีการแขงขันนอยหรือปราศจากการแขงขัน (Blue Ocean Strategy) อั น เป็ น กลยุ ท ธห ลั ก ในการแขงขั น เพื ่ อคงไวซ ึ่งผลตอบแทนจากการลงทุ น และยังเปนการกระจายฐานลูกคาออกไปเปนวงกวางเพื่อโอกาสสำหรับการ เติ บโตในอนาคต อั น ไดแก การขยายทำเลของการพัฒนา จากการกระจุ ก ตั ว อยูบ ริ เวณโดยรอบศู น ยกลางธุ ร กิ จ ไปยั ง บริ เวณที่ ม ีค วามหนา แนนสู ง ซึ ่ ง เป็ น เขตรอยตอระหวางเขตกรุ งเทพชั ้ น ในและเขตกรุง เทพชั ้ นกลาง ผนวกกับการขยายกลุมเปาหมาย จากเดิมที่บริษัทมุงเนนเฉพาะ กลุมผูมีรายไดระดั บ กลาง-บนไปสูผูมีรายไดระดั บกลาง-ลาง ซึ่งครอบคลุมประชากรสวนใหญของกรุงเทพและปริมณฑลที่มีความตองการที่พักอาศัย ที่แทจริง แตยังขาดการรองรับอยางจริงจังจากผูประกอบการ นอกจากการแสวงหาตลาดใหมดวยการขยายทำเลในการพัฒนาและการขยายกลุม เปาหมายแลว บริษัทยังคงเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันเพื่อรักษาสวนแบงของตลาดดังนี้

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

61


1.1 การเปนผูน ำดานตนทุน (Cost Leadership) อั นเป็นจุ ด แข็ ง ของบริ ษั ท เริ่มตั้งแตคณะผูบริหาร ซึ่งประกอบดวยสถาปนิก วิศวกร ที่ ม ีป ระสบการณ์ แ ละเขาใจในเรื่ อ งตนทุนอยางลึก ซึ ้ ง รวมกั บ กลุมพั นธมิ ต รที ่ ทำงานกั บ บริ ษ ั ทมาเป็ นระยะเวลานานจนเกิด ความ เขาใจในทิ ศ ทาง และมองเห็น เป้ าหมายรวมกั น ในการผลั ก ดั นใหเ กิด ประสิทธิ ภาพในดานการกอสราง ซึ่งนำไปสูการพัฒนาอยาง ต่ อ เนื ่ อ งจนเกิดเป็นนวัตกรรม ซึ ่งเป็ น รู ปแบบเฉพาะของบริษั ท 1.2 การสรางความแตกตาง (Differentiation) เพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดแกลูกคา บริษัทเลือกที่จะสรางความแตกตางทางผลิตภัณฑ (Product Differentiation) ดวยการออกแบบผลิตภัณฑภายใตแนวคิด “LPN Design” ซึ่งมุงเนนการออกแบบใหหองชุดขนาดเล็ก มีประโยชน ใชสอยที่ตอบสนองตอวิถีชีวิตของผูอยูอาศัยไดอยางครบถวน ตองการการดูแลรักษานอย มีการระบายอากาศที่ดี ซึ่งนับเปนนวัตกรรม สำหรับการออกแบบอาคารชุดพักอาศัยภายใตการวิจัยและพัฒนามาอยางตอเนื่อง จนเปนตนแบบใหหลายๆ บริษทั นำไปปรับใช และสรางความ แตกตางทางการบริการ (Services Differentiation) ซึ่งบริษัทไดใหความสำคัญกับการบริการตลอดขบวนการ เพื่อความพึงพอใจสูงสุดของ ลูกคาโดยเนนที่การบริการหลังการขาย อันไดแก การบริหารชุมชนภายใตกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” ที่มุงเนนคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัย

การปฏิบัติหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

62

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


»˜¨¨Ñ¤ÇÒÁàÊÕè§ คณะกรรมการบริษัทไดมอบหมายใหคณะกรรมการบริหารเปนผูดูแลรับผิดชอบตอความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจของบริษัท ใหอยูในเกณฑ ทีย่ อมรับไดและสอดคลองกับสภาวะแวดลอมทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยางตอเนือ่ ง โดยการกำหนดความเสีย่ งและการบริหารความเสีย่ งทัง้ หมดจะตองไดรบั การอนุมัติ จากคณะกรรมการบริษัท และถือเปนหนึ่งในปจจัยหลักในการกำหนดกลยุทธและแผนธุรกิจในแตละป อีกทั้งยังมีการติดตาม ควบคุม และรายงานตอ คณะกรรมการอยูอยางสม่ำเสมอ เพื่อใหการดำเนินธุรกิจเปนไปตามทิศทางและนโยบายที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ซึ่งการบริหารความเสี่ยง ของบริษัทประกอบดวยขั้นตอนหลักตางๆ ดังนี้ - การระบุความเสี่ยง เปนขั้นตอนของการบงชี้ถึงความเสี่ยงและปจจัยที่เกี่ยวของทั้งภายในและภายนอกประเทศ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปใน แตละชวงเวลา ตลอดจนมีการคาดการณถึงความเสี่ยงใหมๆ ที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นในอนาคตจากฐานขอมูลทั้งภายในและภายนอกองคกร - การประเมินและจัดการความเสีย่ ง เปนขัน้ ตอนทีจ่ ะนำวิธกี ารตางๆ ทีเ่ หมาะสม และความมีสว นรวมของคณะกรรมการบริหารมาใชในการประเมิน ความเสีย่ ง เพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพ ครอบคลุมทัง้ ความเสีย่ งและผลทัง้ หมดทีอ่ าจเกิดขึน้ พรอมทั้งหาวิธีในการจัดการหรือลดความเสี่ยงใหอยู ในเกณฑที่ยอมรับได - การติดตามและควบคุมความเสี่ยง เปนขั้นตอนการติดตามและรายงานผลการดำเนินการตามแผนการบริหารความเสี่ยงที่ไดรับอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษทั เปนประจำในทุกไตรมาส หากมีความเสีย่ งใหมๆ เกิดขึ้นโดยมิไดคาดการณไวและมีแนวโนมจะกระทบกับการดำเนินธุรกิจ อยางรุนแรง คณะกรรมการบริหารอาจตองทบทวนแผนและเปาหมายธุรกิจใหมทง้ั หมดพรอมนำเสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ สำหรับป 2553 นี้ ทางบริษัทไดกำหนดความเสี่ยงและแนวทางในการบริหารจัดการ โดยแบงออกเปน 4 สวน ดังนี้ 1. ความเสี่ยงดานการเงิน (Financial Risk) แมในป 2553 นี้ ดูเหมือนภาวะวิกฤติจะเริม่ คลีค่ ลายไปในทางทีด่ ขี น้ึ จนหลายฝายคาดการณวา เศรษฐกิจภายในประเทศจะกลับมาขยายตัวเปนบวก อีกครั้งหลังจากติดลบติดตอกันมาหลายไตรมาส สำหรับบริษัทเองยังคงระมัดระวังในการดำเนินธุรกิจ เนือ่ งจากทัง้ เศรษฐกิจภายในประเทศและเศรษฐกิจ โลกยังคงอยูใ นภาวะเปราะบาง บริษทั จึงกำหนดอัตราการเติบโตทีเ่ หมาะสม ไมลงทุนเกินขนาด ควบคุมอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนใหอยูในระดับ ที่ยอมรับไดตามนโยบายของคณะกรรมการบริษัท และระบายสินคาคงเหลือใหอยูในระดับต่ำที่สุด รวมทั้งหลีกเลี่ยงความเสี่ยงทางดานการเงินในภาพรวม ที่จะมีผลกระทบตอการทำธุรกิจอยางสูง พรอมกำหนดความเสี่ยงดานการเงินที่สำคัญและแนวทางการจัดการ ดังนี้ 1.1 สภาพคลองทางการเงินของบริษัท การจัดการความเสี่ยง - บริหารสภาพคลอง (กระแสเงินสด) ของบริษัทใหเหมาะสม โดยกำหนดใหมีกระแสเงินสดที่ไมมีภาระผูกพันเปนจำนวนไมต่ำกวา 500 ลานบาท ตลอดเวลา เพื่อใหมั่นใจวาจะสามารถดำเนินงานกอสรางโครงการตางๆ ที่อยูระหวางการพัฒนาใหแลวเสร็จไดดวยกระแสเงินสดของบริษัทเอง ในขณะเดียวกันเปนหนาที่ของฝายการเงินของบริษัทที่จะตองบริหารเงินมิใหตนทุนทางการเงินและดอกเบี้ยสูงขึ้นจนเปนภาระแกการดำเนินงาน และผลประกอบการ เพื่อลดผลกระทบจากการกำหนดแนวทางในการบริหารความเสี่ยงดังกลาวใหอยูในระดับที่เหมาะสม 1.2 นโยบายเขมงวดในการปลอยสินเชื่อรายยอยของสถาบันการเงิน การจัดการความเสี่ยง - เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารการขายดวยการใหความรูความเขาใจถึงกระบวนการในการพิจารณาสินเชื่อของสถาบันการเงินในกรณีที่ลูกคา มีความจำนงคขอสินเชื่อ เชน ระดับราคาของหองชุดที่เหมาะสมกับรายได การปฎิบัติตนระหวางผอนดาวนอันไดแก การไมกอหนี้อื่นใดเพิ่ม

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

63


การเงินลงได พรอมกันนีท้ างฝายขายยังตองทำการขายอยางตอเนือ่ ง แมในโครงการทีป่ ด การขายแลวเพือ่ ขยายฐานลูกคาสำหรับรองรับในกรณี มีการยกเลิกการซื้อหรือการปฏิเสธสินเชื่อจากสถาบันการเงิน - เพิม่ ประสิทธิภาพกระบวนการในการพิจารณาเครดิตของลูกคาทีป่ ระสงคจะขอสินเชือ่ จากสถาบันการเงินใหรดั กุมมากขึน้ ตั้งแตวันแรกที่ลูกคา ตัดสินใจจองซื้อโครงการไปจนกระทั่งถึงชวงยื่นขอสินเชื่อกับสถาบันการเงิน โดยมีการรวมมือกันระหวางบริษัท ลูกคา กับสถาบันการเงิน เพื่อรักษาหรือปรับปรุงเครดิตของลูกคาใหสามารถขอรับสินเชื่อจากสถาบันการเงินได - การบริหารสถาบันการเงินใหมที ศิ ทางและเปาหมายทีส่ อดคลองกับเปาหมายของบริษทั โดยคำนึงถึงประโยชนของลูกคาเปนหลักเพือ่ บรรลุเปาหมาย ในการลดอัตราการปฏิเสธสินเชื่อตามแนวทางและกลยุทธของบริษัท ดังที่ไดกลาวมาขางตน อีกทั้งยังรวมมือกับสถาบันการเงินในการ กำหนดแนวทางการบริหารสินเชื่อในภาพรวมทั้งสินเชื่อโครงการและสินเชื่อรายยอยอันจะกอใหเกิดประโยชนแกทุกฝาย 2. ความเสี่ยงดานกลยุทธ (Strategic Risk) จากการทีบ่ ริษทั กำหนดทิศทางในการดำเนินธุรกิจโดยการใชกลยุทธแบบมุง เนน ดวยการพัฒนาโครงการอาคารชุดพักอาศัยสำหรับผูม รี ายได ระดับกลาง-บนถึงระดับกลาง-ลาง ที่ตองการที่พักอาศัยที่มีคุณภาพในเมืองเปนกลุมเปาหมายหลักที่มีอยูเปนจำนวนมาก นับเปนโอกาสทางธุรกิจที่สงผล ใหบริษัทเติบโตมาจวบจนถึงปจจุบัน แตในขณะเดียวกันกลยุทธดังกลาวก็มีความเสี่ยงควบคูกัน โดยหากภาวะตลาดมีการเปลี่ยนแปลงไปจนกระทบ ตอ “ความเชื่อมั่น” ดังเชนในภาวะวิกฤติเศรษฐกิจที่บริษัทเคยประสบเมื่อป 2540 อาจทำใหบริษัทประสบปญหาในการดำเนินธุรกิจโดยเฉพาะยอด ขายและรายได บริษัทจึงกำหนดความเสี่ยงดานกลยุทธและแนวทางในการบริหารจัดการดังนี้ 2.1 ความเชื่อมั่นของตลาด การจัดการความเสี่ยง - ใชกลยุทธดานราคาตอยูนิตในการเพิ่มยอดขาย ดวยการใชความไดเปรียบของบริษัทในการบริหารตนทุนที่มีประสิทธิภาพ (Cost Leadership) โดยยังคงไวซึ่งคุณคาของผลิตภัณฑ และผลตอบแทนในอัตราที่เหมาะสม - พิจารณาขยายทำเลใหมในการพัฒนาโครงการเพื่อขยายฐานลูกคา และครอบคลุมพื้นที่ที่ยังมีความตองการอาคารชุดพักอาศัยที่มีคุณภาพ ในราคาที่เหมาะสม - พิจารณาลดขนาดโครงการใหเหมาะสมในแตละทำเลและในแตละชวงเวลาของการพัฒนาดวยการใชฐานขอมูลภายในบริษัทที่ไดรับการพัฒนา มาอยางตอเนื่องเปนเครื่องมือในการตัดสินใจ โดยเฉพาะโครงการที่เปน “โครงการนำรอง” ที่บริษัทใชเปน ”เรือธง” ในการขยายทำเลในการ พัฒนาเพื่อสรางการรับรูตอแบรนด “ลุมพินี” - เพิม่ ความเขมแข็งในการบริหารจัดการและการสือ่ สาร “แบรนด” เพือ่ กอใหเกิดการรับรูใ นวงกวาง ซึ่งจะชวยสนับสนุนกลยุทธการขยายทำเลใหมใน การพัฒนาโครงการของบริษัทใหประสบความสำเร็จ - ปรับปรุงกลยุทธการบริหารลูกคา โดยการยกระดับจากการสราง “ความสัมพันธ” เปนการสราง “ประสบการณ” อันจะนำมาซึ่งคุณคาของการ บริการซึ่งสงผลโดยตรงตอ “ความเชื่อมั่น” ตอแบรนด “ลุมพินี” 2.2 กลยุทธแบบมุงเนน (Focus Strategy) การจัดการความเสี่ยง - พัฒนาโครงการที่ไมใชอาคารชุดพักอาศัยโดยบริษัทยอย - พิจารณาขยายทำเลในการพัฒนาโครงการในจังหวัดที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจสูงและมีความตองการอาคารชุดพักอาศัยที่มีคุณภาพในราคา ที่เหมาะสมภายใตแบรนด “ลุมพินี”

64

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


3. ความเสีย่ งดานสภาวะแวดลอมธุรกิจ (Business Environment Risk) เปนที่ตระหนักแลววาในปจจุบันสภาวะแวดลอมธุรกิจในดานตางๆ เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วและมีผลกระทบเปนวงกวาง อันเนื่องจากการ เปดกวางของขอมูลและขาวสาร การเคลื่อนยายเงินทุนที่รวดเร็ว การเก็งกำไรของกองทุนขามชาติสงผลใหธุรกิจมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น หากไมระมัดระวัง ขาดการติดตามและประเมินสถานการณอยางใกลชิด การลงทุนที่เกินขนาดและการขาดวินัยทางการเงิน อาจทำใหธุรกิจประสบปญหาจนอาจยากตอการ แกไขโดยเฉพาะองคกรทีข่ าดความยืดหยุน อีกทัง้ ขอเรียกรองในสิทธิทางสังคม (Social Rights) เริม่ มีความเขมขนมากขึน้ และขยายตัวไปในทุกธุรกิจ โดยเฉพาะ การพัฒนาโครงการขนาดใหญในทำเลทีม่ คี วามหนาแนนสูงและใชระยะเวลาในการกอสรางนาน ซึง่ ไมสามารถหลีกเลีย่ งผลกระทบทีม่ ตี อ ชุมชนรอบขางไดทั้ง ฝุนละอองมลภาวะทางอากาศ และเสียง นโยบายของบริษัทไดใหความสำคัญตอการรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคมโดยถือเปนมิติหนึ่งในแผนภูมิ กลยุทธ บริษทั จึงกำหนดแนวทางในการบริหารความเสีย่ งดานสภาวะแวดลอมธุรกิจ ดังนี้ 3.1 การตระหนักตอสิทธิทางสังคมและสภาพแวดลอม การจัดการความเสีย่ ง - ใหความสำคัญตอสภาพแวดลอมและชุมชนโดยรอบโครงการที่พัฒนา โดยเริ่มตั้งแตกระบวนการในการคัดเลือกที่ดินในการพัฒนา แปลงที่ดินที่ พัฒนาตองมีความเหมาะสมทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม ความพรอมของสาธารณูปโภคและสาธารณูปการตางๆ ขนาดของถนนที่เหมาะสม เพียงพอในการรองรับการจราจรที่เพิ่มขึ้นภายหลังการพัฒนา การมีทางเขาออกโครงการหลายทางสำหรับโครงการขนาดใหญเพื่อลดผลกระทบ ของคอขวด จะชวยลดผลกระทบที่มีตอสภาพแวดลอมและชุมชนรอบขางไดตั้งแตตนน้ำ ตามนโยบายของบริษัทที่ใหความสำคัญตอการ รับผิดชอบตอสิง่ แวดลอมและสังคม - จัดทีมบุคลากรที่เปนผูบริหารระดับสูงของบริษัทดำเนินกิจกรรมสัมพันธกับชุมชนรอบขางเพื่อกอใหเกิดความเชื่อมั่น และเปนชองทางในการ ติดตอสื่อสารระหวางบริษัทและชุมชนรอบขางในกรณีที่อาจมีเหตุการณที่อยูนอกเหนือการควบคุมเกิดขึ้น เพื่อรวมกันหาทางในการแกไข และลดผลกระทบไดอยางทันทวงที 3.2 ความไมแนนอนของสถานการณทางการเมือง การจัดการความเสีย่ ง - กำหนดอัตราการเติบโตของบริษทั ใหเหมาะสม - บริหารจัดการดวยความยืดหยุนโดยพรอมที่จะเปลี่ยนแปลงใหสอดคลองกับสถานการณไดตลอดเวลาโดยใช “คานิยมองคกร” (Core Values) เปนตัวขับเคลือ่ น - ติดตามและวิเคราะหสถานการณอยางใกลชดิ 4. ความเสีย่ งดานการดำเนินงาน (Operation Risk) ในภาวะเศรษฐกิจทีม่ คี วามเปราะบางภายใตการแขงขันทีท่ วีความรุนแรงมากขึน้ ประสิทธิภาพของการดำเนินงาน มีสวนสำคัญในการทำใหบริษัท ยังคงสามารถดำเนินธุรกิจไดอยางตอเนือ่ ง ไมวา จะเปนการบริหารงานขายและการตลาด การบริหารงานกอสราง การบริหารชุมชน ที่เปนดานหนาในการ สัมผัสกับลูกคาหรือสวนสนับสนุนในดานตางๆ หากทุกสวนขาดประสิทธิภาพอาจทำใหการประกอบธุรกิจของบริษทั ไมประสบความสำเร็จตามแผนงานทีว่ าง ไวทง้ั ทางตรงและทางออม บริษทั จึงกำหนดบทบาทและเพิม่ ความเขมขนในการบริหารจัดการความเสีย่ งดานการดำเนินงานดังนี้ 4.1 ประสิทธิภาพในการบริหารการตลาด การขาย และการบริการลูกคา การจัดการความเสีย่ ง - เพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารคาใชจา ยทางการตลาดดวยการหาชองทางใหมๆ ในการสือ่ สารเพือ่ เขาถึงกลุม เปาหมายไดโดยตรง

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

65


- ปรับปรุงประสิทธิภาพของพนักงานขาย และทีมขายอันเปนหัวใจหลักในการสรางยอดขายใหแกบริษทั - ปรับปรุงกระบวนการในการสงมอบหองชุดและการโอนกรรมสิทธิ์ใหรวดเร็วขึ้น 4.2 ประสิทธิภาพของการบริหารชุมชน การจัดการความเสีย่ ง - ความรับผิดชอบตอความเปนอยูของผูซื้อในโครงการที่บริษัทพัฒนาภายหลังการโอนกรรมสิทธิ์ เปนนโยบายและกลยุทธที่สำคัญของบริษัท โดยบริษัทไดพัฒนาแนวทางในการดำเนินงานในสวนนี้มาตลอด ตามบทบาทและกลยุทธของสายงานสำหรับป 2553 บริษัทกำหนดใหสายงาน บริหารชุมชนมุง เนนในการบริหารงบประมาณของนิตบิ คุ คลอาคารชุดใหเกิดความโปรงใสและสามารถตรวจสอบได รวมถึงการบริหารความปลอดภัย ในโครงการ เพือ่ กอใหเกิดความเชือ่ มัน่ ของลูกคาทีม่ ตี อ แบรนด “ลุมพิน”ี 4.3 ประสิทธิภาพของการบริหารงานกอสราง การจัดการความเสีย่ ง - สำหรับในป 2553 บริษัทกำหนดใหสายงานบริหารงานกอสรางเพิ่มความเขมขนดานการบริหารงานใน 2 สวนที่สำคัญ ไดแก การบริหารตนทุน และการบริหารคุณภาพของผลิตภัณฑ โดยมีเปาหมายสำหรับโครงการทีอ่ ยูร ะหวางกอสรางดังนีค้ อื สามารถลดตนทุนคากอสรางโดยเฉพาะตนทุน แฝงอยางนอยรอยละ 1 โดยยังคงคุณภาพของผลิตภัณฑของบริษัทโดยมีตัวชี้วัด ไดแก ความพึงพอใจของลูกคาที่มีตอผลิตภัณฑของบริษัทตอง อยูในเกณฑไมต่ำกวารอยละ 70 ซึ่งทั้ง 2 สวนถูกบรรจุในแผนการดำเนินงานเพื่อติดตามและตรวจสอบอยูตลอดเวลา จากคณะกรรมการ บริหาร และคณะกรรมการบริษทั ตามลำดับ 4.4 ประสิทธิภาพในการบริหารตนทุน การจัดการความเสีย่ ง - จากจุดแข็งของบริษัท ในการบริหารตนทุนซึ่งเนนสวนสำคัญในการกำหนดราคาขายของบริษัท ซึ่งสามารถกำหนดราคาขายไดต่ำกวาคูแขง ในป 2553 ราคาน้ำมันมีแนวโนมจะสูงขึ้น ซึ่งจะสงผลกระทบตอราคาวัสดุกอสราง ทำใหตนทุนทางตรงสูงกวาประมาณการในตนทุนชวงกอน กอสราง บริษัทไดมีการจัดการความเสี่ยง โดยการสั่งซื้อวัสดุที่สำคัญ เชน เหล็ก หรือ อลูมินั่ม กระจก เปนตน ไวลวงหนา และตกลงราคาที่ เหมาะสมกับผูค า วัสดุกอ สรางในกลุม พันธมิตร ซึง่ ชวยใหบริษทั ลดความเสีย่ งของตนทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ จากราคาวัสดุกอ สรางผันผวนได 4.5 การดำเนินงานของหนวยงานภายในองคกร การจัดการความเสีย่ ง - ในป 2552 บริษัทไดกำหนดใหมีการปรับปรุงกระบวนการในการดำเนินการ (Reprocess) เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการพรอม เผชิญสภาวะวิกฤติซึ่งไดผลเปนอยางดี สำหรับในป 2553 บริษัทจึงเพิ่มความเขมขนขึ้นดวยการกำหนดใหมีการปรับปรุงกระบวนการหลักใน การประกอบธุรกิจของบริษัท (Core Operation Reprocess) ตั้งแตตนจนจบกระบวนการ เพื่อตัดทอนหรือลดความซ้ำซอนขั้นตอนในการ ดำเนินงานของแตละสายงานอันจะกอใหเกิดความรวดเร็ว และประสิทธิภาพในองครวม - เพื่อควบคุมคาใชจายประจำของบริษัทซึ่งสวนใหญเกิดจากคาใชจายดานการพนักงาน บริษัทจึงกำหนดใหมีการจัดจางหนวยงานภายนอกมา ดำเนินการแทนในสวนงานทีม่ ผี ลกระทบนอยทัง้ สวนงาน ภายใตการควบคุมมาตรฐานและคุณภาพจากบริษทั

66

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


á¹Ç·Ò§¡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹¢Í§ºÃÔÉÑ·ã¹»‚ 2553 สำหรับป 2553 จากการคาดการณของหลายฝายประกอบกับขอมูลภายในของบริษัทที่แสดงใหเห็นถึงการฟนตัวในระบบเศรษฐกิจ รวมถึงกำลัง ซื้อและดัชนีความเชื่อมั่นของผูบริโภค ในขณะที่ยังมีปจจัยหลายประการที่มีความเสี่ยงและเปราะบาง ทั้งภาวะทางการเมืองที่ผันผวน ทิศทางของราคา น้ำมันทีส่ ง ผลตอราคาวัสดุและภาวะเงินเฟอ ความเขมงวดของสถาบันการเงิน การแขงขันทีม่ แี นวโนมทวีความรุนแรงมากยิง่ ขึน้ สภาพอากาศที่แปรปรวน และภัยธรรมชาติทเ่ี กิดขึน้ ทัว่ โลกอยางตอเนือ่ ง รวมถึงการที่ภาครัฐไมตออายุมาตรการกระตุนธุรกิจอสังหาริมทรัพยที่อาจสงผลใหตลาดอสังหาริมทรัพย มีความคึกคักเพียงชวงสั้นๆ ในเดือนมีนาคม และหลังจากนั้นอาจจะมีการคลายตัวลงบางในชวงตนไตรมาส 2 คณะกรรมการบริษัทจึงกำหนดทิศทาง การดำเนินธุรกิจภายในป 2553 ใหมกี ารเติบโตแบบระมัดระวังควบคูไ ปกับการบริหารความเสีย่ งและการติดตามสถานการณอยางใกลชดิ โดยคณะกรรมการ บริษัทไดกำหนดอัตราการเติบโตของบริษัทอยูในอัตรารอยละ 20 สำหรับการรับรูรายไดซึ่งคาดวาในปนี้ บริษัทจะมีรายไดจากการขายประมาณ 9,600 ลานบาท จากโครงการที่แลวเสร็จในปนี้จำนวน 6 โครงการ ไดแก โครงการลุมพินี วิลล บางแค โครงการลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-นวมินทร โครงการลุมพินี คอนโดทาวน บางแค โครงการลุมพินี วิลล ราษฎรบูรณะ-ริเวอรวิว และทายสุดคือโครงการลุมพินี วิลล ลาดพราว-โชคชัย 4 ซึ่งเปดขายในเดือนพฤศจิกายน 2552 ที่ผานมา ซึ่งทั้ง 6 โครงการมีมูลคารวมประมาณ 7,730 ลานบาท และเมื่อสิ้นป 2552 บริษัทมียอดขายรอรับรูรายไดอยูประมาณ 10,500 ลานบาท โดยเปนยอดขายรอรับรูรายไดในป 2553 จำนวน 7,200 ลานบาท บริษัทวางเปาหมายที่จะระบายสินคาคงเหลือทั้งหมดที่มีอยูประมาณ 1,995 ลานบาทเมื่อสิ้นป 2552 ใหหมดภายในไตรมาส 3 ของป 2553 ดวยการเพิ่มกิจกรรมและคาใชจายทางการตลาดอยางตอเนื่อง โดยในสวนของอัตราการปฏิเสธสินเชื่อจากสถาบันการเงินที่หลายฝาย กังวลนั้น บริษัทไดจัดตั้งหนวยงานที่รับผิดชอบดูแลและบริหารเครดิตของลูกคาโดยรวมมือกับสถาบันการเงินอยางใกลชิด เพื่อลดอัตราการปฏิเสธ สินเชื่อจากสถาบันการเงินใหอยูในระดับต่ำกวาป 2552 ที่ผานมา ซึ่งในป 2552 ลูกคาของบริษัทถูกปฏิเสธสินเชื่อจากธนาคารประมาณรอยละ 10-12 สวนแผนการเปดโครงการใหม บริษัทมีแผนที่จะเปดตัวโครงการใหมประมาณ 6-8 โครงการ มีมูลคารวมประมาณ 13,000-15,000 ลานบาท โดยกำหนดเปาหมายยอดขายประมาณ 13,000 ลานบาท หรือมีอัตราการเติบโตที่ประมาณรอยละ 30 จากปที่ผานมาที่มียอดขายประมาณ 10,800 ลานบาท เพื่อเปนรายไดของป 2553 และป 2554 โดยบริษัทไดดำเนินการซื้อที่ดินแลวจำนวน 2 แปลง ไดแก โครงการลุมพินี เพลส รัชโยธิน และโครงการลุมพินี เพลส พระราม 4-กลวยน้ำไท ที่มีกำหนดการเปดตัวพรอมกันในวันที่ 20 มีนาคม 2553 สวนที่ดินแปลงอื่นอยูระหวางการ พิจารณาเพื่อเปดโครงการในชวงครึ่งปแรกอีก 2-3 แปลง เพื่อเปนรายไดของป 2555 บริษทั เชือ่ วาธุรกิจทีบ่ ริษทั ดำเนินการอยูส อดคลองกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทัง้ ในเรือ่ งของความพอประมาณ (การกำหนดอัตราการเติบโต และกำไรขั้นตนที่เหมาะสม) ภูมิคุมกัน (การบริหารความเสี่ยง) และความมีเหตุมีผลอันไดแกการสรางที่พักอาศัยที่มีคุณภาพภายในเมือง ซึ่งเปน หนึ่งในปจจัยสี่อันเปนความจำเปนขั้นพื้นฐานของการดำรงชีวิต ประกอบกับกลุมลูกคาเปาหมายของบริษัทเปนกลุมที่ตองการที่อยูอาศัยที่มีคุณภาพ อยางแทจริง ภายใตการคำนึงถึงความสมดุลในทุกมิติดวยความระมัดระวัง ดวยกรอบบริหารความเสี่ยงที่บรรจุอยูในแผนธุรกิจ โดยอาศัยขอมูลทั้ง ภายในและภายนอก ประกอบกับประสบการณในการเผชิญวิกฤติที่ผานมา รวมถึงแนวทางการบริหารจัดการที่คำนึงถึงความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม และสังคม การคำนึงถึงความเทาเทียมของผูมีสวนไดเสียทุกกลุมดวยหลักการเปดเผย โปรงใส และตรวจสอบได เปนปจจัยที่เอื้อใหบริษัทจะยังคง สามารถดำเนินธุรกิจตอไปดวยอัตราการเติบโตอยางสม่ำเสมอ

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

67


แผนภูมิกลยุทธของบริษัท ป 2553

การเติบโตของยอดขาย กำไรอยางเหมาะสม

คุณคาผลิตภัณฑ

มิติทางการเงิน ผลตอบแทนผูถือหุนอยางยั่งยืน

ธรรมาภิบาล

มิติของลูกคา ความเชื่อมั่นตอแบรนด “ลุมพินี”

คุณคาการบริการ ชุมชนนาอยู

ในกระบวนการ

มิติทางสิ่งแวดลอมและสังคม ความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม

นอกกระบวนการ

LPN GREEN มิติของกระบวนการภายใน ปฏิบัติการเชิงประสิทธิผล

สวนหนา

Reprocess

Reprocess

คานิยมองคกร อบรมและพัฒนา

68

สวนสนับสนุน

มิติทางบุคลากร องคกรคุณภาพ

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

ความกาวหนาในงาน ความสมดุลของชีวิตและงาน


ÂÖ´ÁÑ蹡ÒôÓà¹Ô¹§Ò¹ÀÒÂãμŒ ËÅÑ¡¸ÃÃÁÒÀÔºÒÅ

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

69


ÃÒ§ҹ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺ »ÃШӻ‚ 2552 คณะกรรมการตรวจสอบบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ประกอบดวยกรรมการบริษัทที่เปนอิสระ 3 ทาน ซึ่งเปน ผูท รงคุณวุฒิ มีความรู และมีประสบการณดานการบริหารองคกร และดานการเงิน โดยมี นายอมรศักดิ์ นพรัมภา เปนประธาน นายเทพ รุงธนาภิรมย และนายวีระศักดิ์ วหาวิศาล เปนกรรมการ โดยมี นางสาวปวีณริสา วสิษฐตระกูล เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ในป 2552 มีการประชุมรวม 4 ครัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ และเลขานุการฯ เขาประชุมครบทุกครัง้ จัดเปนการประชุมภายในคณะกรรมการตรวจสอบประชุมเฉพาะกับผูสอบบัญชี และประชุมรวมกับฝายบริหารพรอมกับผูสอบบัญชี สรุปสาระสำคัญในการปฏิบัติหนาที่ ไดดังนี้ 1) การสอบทานงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบไดทบทวนรายงานทางการเงินรายไตรมาส และประจำป 2552 โดยประชุมรวมกับฝายบริหาร และผูส อบบัญชี ซึง่ ไดเขารวมประชุมทุกครัง้ ทำการพิจารณางบการเงินของบริษทั ยอยทัง้ 3 แหง คือ บริษทั ลุมพินี พรอพเพอรต้ี มาเนจเมนท จำกัด บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด และบริษัท พรสันติ จำกัด เพื่อนำมาประกอบการพิจารณางบการเงินของบริษัทแม โดยไดสอบถามและมีการชีแ้ จง ขอมูลทีใ่ ชจดั ทำงบการเงินตามมาตรฐานบัญชี และตามขอกำหนดกฎหมาย รวมทัง้ การเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบอยางเพียงพอ จนไดผลเปนทีน่ า พอใจ กอนจะใหความเห็นชอบในงบการเงินดังกลาว 2) การสอบทานการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบไดใหคำแนะนำเกี่ยวกับการปรับปรุงระบบงานอยางตอเนื่อง เพื่อลดความเสี่ยง ในดานธุรกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม อีกทั้งไดใหแนวปฏิบัติในการบริหารความเสี่ยง เพื่อการพัฒนาสูความยั่งยืน และใหความสำคัญกับการบริหาร ความเสีย่ งมากขึน้ โดยติดตามการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริหารดวยการดูรายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารทีท่ ำการประชุมกัน สัปดาหละครัง้ 3) การสอบทานการกำกับกิจการ คณะกรรมการตรวจสอบไดทบทวนระบบการควบคุมภายใน ผานทางรายงานการตรวจสอบภายใน และรายงาน ทางการเงินทุกไตรมาส โดยพิจารณาในเรือ่ งการดูแลทรัพยสนิ การใชทรัพยากร การลดขอผิดพลาด หรือการสิน้ เปลือง การปองกันการรั่วไหล หรือการ ทุจริต การปฏิบัติตามขอกำหนด กฎระเบียบที่เกี่ยวของ ซึ่งรายงานทางการเงิน และรายงานผลตรวจสอบภายใน ไดใหความเห็นสอดคลองกันวาไมพบ ขอบกพรอง หรือประเด็นปญหาทีเ่ ปนสาระสำคัญ และการควบคุมภายในของบริษทั มีความเพียงพอ และใหความรวมมือกับฝายบริหารอยางใกลชดิ โดยมอบ นโยบายใหฝา ยตรวจสอบภายใน ทำการตรวจสอบเฉพาะกิจ ตามความตองการของฝายบริหาร เพือ่ ใหแนใจวา การดำเนินกิจการของบริษทั เปนไปอยางโปรงใส 4) การกำกับดูแลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบไดพจิ ารณาใหความเห็นชอบแผนงานตรวจสอบภายในประจำป และสอบทานการ ปฏิบตั งิ านของสำนักตรวจสอบใหเปนไปตามแผน โดยเนนในเรือ่ งผลตรวจทีม่ นี ยั สำคัญทีก่ อ ใหเกิดการดูแลกิจการทีด่ ี และเนนหนักใหมพี ฒั นาการดานสอบ ทานเชิงปองกัน และการสรางมูลคาเพิม่ อยางตอเนือ่ ง เพือ่ ยังประโยชนตอ หนวยงานตางๆ ใหมกี ารปฏิบตั งิ านไดอยางมีประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ ใหตดิ ตามการ ปฏิบตั งิ านของพนักงานบริษทั ทีบ่ ริหารจัดการนิตบิ คุ คลอาคารชุดตางๆ วาไดดำเนินการตางๆ ตามทีค่ ณะกรรมการนิตบิ คุ คลอาคารชุดสัง่ การไดเรียบรอย ดวยการสอบทานจากรายงานการประชุมนิตบิ คุ คลอาคารชุด นอกจากนีค้ ณะกรรมการตรวจสอบไดพจิ ารณาความดีความชอบประจำปของหัวหนาหนวยตรวจ สอบภายใน 5) การปรับปรุงแกไขกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ อยางตอเนือ่ ง เพือ่ ใหทนั สมัยตามหลัก Good Governance 6) การพิจารณาแตงตัง้ ผูส อบบัญชีประจำป 2553 คณะกรรมการตรวจสอบไดพจิ ารณาผลการปฏิบตั งิ าน และความเปนอิสระในการทำหนาทีข่ อง ผูส อบบัญชีรบั อนุญาต ในปทผ่ี า นมา และเห็นชอบในการเสนอผูส อบบัญชีจากสำนักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ เปนผูส อบบัญชี ประจำป 2553 พรอมคาตอบแทน และไดเสนอตอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ในวันที่ 8 เมษายน 2553 ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

อมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ วันที่ 29 มกราคม 2553

70

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


รายงานความรับผิดชอบในการตรวจสอบงบการเงิน และการกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการตรวจสอบใหความสำคัญกับรายงานงบการเงิน ที่ตองจัดทำตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ และทันเวลา การบันทึกรายการทางบัญชีที่มีนัยสำคัญ เชน รายการระหวางกัน ตองมีความโปรงใส ตรวจสอบได เพื่อใหมั่นใจวาบริษัทไดดำเนินงาน ตามเงื่อนไขธุรกิจปกติ เพื่อประโยชนตอผูใชงบ หรือนักลงทุนที่จะเชื่อมั่นวาขอมูลงบการเงินที่ไดรับ เชื่อถือได คณะกรรมการตรวจสอบมีการกำกับดูแลกิจการ โดยเนนหนักในระบบการควบคุมภายใน 5 เรื่อง คือ 1) การมีองคกร และสภาพแวดลอมที่ดี เชน มีขอกำหนดเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ เปนลายลักษณอักษร 2) มีการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม เชน มีการกำหนดมาตรการที่จะลดความเสี่ยง และนำไปปฏิบัติ 3) มีการควบคุมการปฏิบตั งิ านของฝายบริหาร เชน กำหนดอำนาจอนุมตั ชิ ดั เจน แบงแยกหนาทีก่ ารเงิน และบัญชี เพือ่ การตรวจสอบซึง่ กันและกัน การจัดทำธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ ถือเสมือนหนึ่งเปนรายการที่กระทำกับบุคคลภายนอก 4) มีระบบสารสนเทศ และการสือ่ สารขอมูลทีเ่ ปนปจจุบนั เชน การจัดเสนอขอมูลใหคณะกรรมการบริษทั ใชประกอบการตัดสินใจไดอยางเพียงพอ 5) มีระบบการติดตาม เชน การรายงานผลการตรวจสอบตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใหผูตรวจสอบภายในปฏิบัติงานไดอยางอิสระ และเสนอผลการติดตามงานไดอยางตรงไปตรงมา คณะกรรมการตรวจสอบ เห็นวาบริษัทมีการดำเนินการควบคุมภายในดังกลาวไดเหมาะสม เปนแนวทางที่เอื้อใหการดำเนินธุรกิจมีการกำกับ ดูแลกิจการที่ดีได

การปฏิบัติหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

71


ÃÒ§ҹ¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÃÃËÒáÅоԨÒóҤ‹Òμͺ᷹ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนไดรับการแตงตั้งโดยคณะกรรมการบริษัท โดยกำหนดใหมีสัดสวนของกรรมการอิสระมาก กวาครึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งคณะซึ่งมีจำนวนรวมทั้งสิ้น 7 คน มีวาระการดำรงตำแหนงคราวละ 2 ป ไดแก 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ 2. นายทวีชัย จิตตสรณชัย รองประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ 3. นายเทพ รุงธนาภิรมย กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ 4. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ 5. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน กรรมการอิสระ 6. นายทิฆัมพร เปลงศรีสุข ประธานเจาหนาที่บริหาร 7. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ กรรมการบริหาร โดยมีนางสาวสมศรี เตชะไกรศรี เปนเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนมีหนาที่และความรับผิดชอบตามกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ดังนี้ ดานการสรรหา 1. เสนอหลักเกณฑและแนวทางในการคัดเลือกกรรมการบริษัท อนุกรรมการชุดตางๆ และผูบริหารระดับสูง 2. ดำเนินการสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมใหดำรงตำแหนงกรรมการบริษัท อนุกรรมการชุดตางๆ และผูบริหาร ระดับสูง ตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา 3. เสนอหลักเกณฑและแนวทางประเมินผลงานของกรรมการบริษัท และประธานเจาหนาที่บริหาร ดานการพิจารณาคาตอบแทน 1. เสนอหลักเกณฑและแนวทางการกำหนดคาตอบแทนกรรมการบริษัท อนุกรรมการชุดตางๆ ผูบริหารระดับสูงและพนักงานของบริษัท 2. พิจารณาการปรับปรุงนโยบาย และโครงสรางการบริหารคาตอบแทนของกรรมการบริษัท อนุกรรมการชุดตางๆ ผูบริหารระดับสูงและ พนักงานของบริษัทใหสอดคลองกับสภาวะของตลาดแรงงานในขณะนั้น เพื่อนำเสนอตอคณะกรรมการ ในป 2552 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนมีการประชุมอยางตอเนื่องรวม 6 ครั้ง เพื่อพิจารณาเรื่องตางๆ ตามบทบาทหนาที่ และนำเสนอใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอีกชั้นหนึ่ง สรุปเรื่องที่พิจารณาไดดังนี้ 1. พิจารณาคุณสมบัติของผูดำรงตำแหนงกรรมการผูจัดการของบริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด ซึ่งเปนบริษัทในเครือ 2. พิจารณาปรับปรุงแบบประเมินตนเองของกรรมการ แบบประเมินไขว แบบประเมินคณะกรรมการบริษัท และแบบประเมินประธานเจาหนาที่ บริหาร สำหรับในการประเมินกรรมการประจำป 2552 3. พิจารณาหลักเกณฑและแนวทางในการคัดเลือกกรรมการบริษัท อนุกรรมการ และผูบริหารระดับสูง 4. พิจารณาการจายโบนัสกลางป การจายโบนัสประจำปของพนักงาน ประจำป 2552 5. พิจารณาการจายคาตอบแทนพนักงานประจำป 2553 6. พิจารณาบำเหน็จประจำป 2552 7. พิจารณาคาตอบแทนกรรมการบริษัทประจำป 2553 8. พิจารณาบำเหน็จประจำป 2552 และคาจางบริหารของกรรมการบริหารประจำป 2553 9. พิจารณารายชื่อและคุณสมบัติกรรมการที่ครบวาระเพื่อเสนอชื่อกลับเขาดำรงตำแหนง

72

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


ในป 2552 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนมีความมุงมั่นที่จะกำหนดหลักเกณฑและแนวทางการดำเนินงานตามบทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบ เพื่อสรางบรรทัดฐานขององคกรใหมีแบบแผนและหลักปฏิบัติ นำมาซึ่งความชัดเจน โปรงใส เปนธรรมตามแนวทางการกำกับดูแล กิจการที่ดี โดยเฉพาะอยางยิ่งเรื่องการประเมินกรรมการที่มีการปรับปรุงใหกรรมการประเมินตนเองและถูกประเมินโดยเพื่อนกรรมการอีก 3 ทาน หลักเกณฑการคัดเลือกกรรมการ อนุกรรมการหรือผูบริหารระดับสูง โดยรวบรวมแนวปฏิบัติและปรับใหเปนมาตรฐานที่สมบูรณขึ้น ในการพิจารณาคาตอบแทนทั้งของพนักงานและกรรมการชุดตางๆ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนไดใชความรู ประสบการณ พิจารณาดวยความรอบคอบ ยุตธิ รรม และสอดคลองกับบทบาทหนาทีแ่ ละภาระของผูเ กีย่ วของแตละตำแหนง โดยเปรียบเทียบกับขอมูลของอุตสาหกรรม และขอมูลคาตอบแทนกรรมการจากรายงานของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ภายใตผลประกอบการ และภาวะทางเศรษฐกิจตามความเหมาะสม

อมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน วันที่ 24 กุมภาพันธ 2552

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

73


¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§´ŒÒ¹â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡Òà ป 2537

- บริษทั ไดจดทะเบียนเขาตลาดหลักทรัพย เปนบริษทั มหาชนเมือ่ วันที่ 21 มิถนุ ายน 2537 ซึง่ ประกอบดวยคณะกรรมการผูท รงคุณวุฒิ 16 ทาน ไดแก 1. นายจำลอง รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ ประธานกรรมการ 2. นายพงส สารสิน รองประธานกรรมการ 3. นายปกรณ ทวีสิน รองประธานกรรมการ 4. นายทวีชัย จิตตสรณชัย ประธานกรรมการบริหาร 5. นายศิริ เกวลินสฤษดิ์ กรรมการ 6. นายโมรา บุณยผล กรรมการ 7. นายเทพ รุงธนาภิรมย กรรมการ 8. นายธีรชัย ปญจทรัพย กรรมการ 9. นางจงจิตต ฐปนางกูร กรรมการ 10. นายศิริชัย เจริญศักดิ์วัฒนา กรรมการ 11. นายชาลลส เย กวอง ลี กรรมการ 12. นายสมเกียรติ ตั้งถาวร กรรมการ 13. ผศ.ดร.สมชาย ภคภาสนวิวัฒน กรรมการ 14. นายทิฆัมพร เปลงศรีสุข กรรมการผูจัดการ 15. นางยุพา เตชะไกรศรี กรรมการ รองกรรมการผูจัดการ 16. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ กรรมการ รองกรรมการผูจัดการ

ปี 2540

- นายจำลอง รัตนกุลเสรีเริงฤทธิ์ ขอลาออกจากประธานกรรมการ เนือ่ งจากปญหาสุขภาพ และนายพงส สารสิน ขอลาออกจากกรรมการ เนื่องจากภารกิจในขณะนั้นทำใหไมสามารถใหเวลาไดเต็มที่ คณะกรรมการจึงไดเรียนเชิญ นายโมรา บุณยผล เขาดำรงตำแหนง ประธานกรรมการแทน

ป 2541

- นายปกรณ ทวีสนิ ขอลาออกจากกรรมการอิสระ เนือ่ งจากภาวะทางเศรษฐกิจมีแนวโนมทีจ่ ะกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนกบั บริษทั นายสมชาย ภคภาสนววิ ฒั น ขอลาออกจากกรรมการ เนือ่ งจากภารกิจทีเ่ พิม่ มากขึน้ คณะกรรมการจึงไดเรียนเชิญ นายวุฒพิ ล สุรยิ าภิวฒั น เขาดำรงตำแหนงกรรมการและกรรมการอิสระของบริษัท

ป 2543

- ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2543 มีมติเปนเอกฉันทแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีรายนามดังนี้ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ศาสตราจารยศิริ เกวลินสฤษดิ์ กรรมการตรวจสอบ นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน กรรมการตรวจสอบ นายเทพ รุงธนาภิรมย เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ นางนวนุช จินตพิทักษ รวมทั้งไดกำหนดขอบเขต อำนาจ หนาที่ และความรับผิดชอบ เพื่อใหเปนไปตามหลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในการกำกับดูแลกิจการ

ป 2544

- ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท มีมติเปนเอกฉันทพิจารณาแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบชุดเดิม ซึ่งครบวาระการทำงาน 2 ป ใหเขา ดำรงตำแหนงอีกวาระหนึ่ง

ป 2545

- คณะกรรมการบริษัท เสนอที่ประชุมผูถือหุนแตงตั้งนายปกรณ ทวีสิน ใหดำรงตำแหนงรองประธานกรรมการของบริษัท

ป 2547

- บริษทั สงเสริมและสนับสนุนใหคณะกรรมการไดเขารับการอบรมในหลักสูตรตางๆ ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยมีกรรมการเขาอบรมในหัวขอตางๆ ดังนี้

74

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


1. Director Certifif ication Program 2. Board Performance Evaluation 3. Finance for Non-Finance Directors 4. Director Accreditation Program 5. CEO Performance Evaluation 6. New COSO Enterprise Risk Management ป 2548

- ศาสตราจารยโมรา บุณยผล ประธานกรรมการบริษทั ไดถงึ แกกรรมเมือ่ วันที่ 30 กรกฎาคม 2548 และมติการประชุมคณะกรรมการ บริษทั ครัง้ ที่ 4/2548 ไดมมี ติแตงตัง้ นายปกรณ ทวีสนิ ใหดำรงตำแหนงประธานกรรมการบริษทั โดยมีผลตัง้ แตวนั ที่ 11 สิงหาคม 2548 - คณะกรรมการบริษัทแตงตั้งนายอมรศักดิ์ นพรัมภา ดำรงตำแหนงกรรมการอิสระโดยมีผลตั้งแตวันที่ 22 ธันวาคม 2548 - คณะกรรมการบริษัทแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบชุดเดิมใหดำรงตำแหนงอีกวาระหนึ่งระหวางวันที่ 1 กุมภาพันธ 2549 ถึง วันที่ 30 เมษายน 2551 โดยมีรายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบประกอบดวย 1. ศาสตราจารยศิริ เกวลินสฤษดิ์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายเทพ รุงธนาภิรมย กรรมการตรวจสอบ 3. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน กรรมการตรวจสอบ 4. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา กรรมการตรวจสอบ

ป 2549

- แตงตั้งนายทิฆัมพร เปลงศรีสุข ใหดำรงตำแหนงประธานกรรมการบริหาร แทนนายทวีชัย จิตตสรณชัย ที่ขอลาออก โดยมีผล ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2549 - แตงตั้งศาสตราจารยศิริ เกวลินสฤษดิ์ และนายทวีชัย จิตตสรณชัย ใหดำรงตำแหนงรองประธานกรรมการ โดยมีผลตั้งแตวันที่ 25 เมษายน 2549 - แตงตั้งนายวีระศักดิ์ วหาวิศาล ใหดำรงตำแหนงกรรมการ โดยมีผลตั้งแตวันที่ 25 เมษายน 2549 - แตงตัง้ นายอมรศักดิ์ นพรัมภา และนายวีระศักดิ์ วหาวิศาล ใหดำรงตำแหนงประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการตรวจสอบแทน ศาสตราจารยศริ ิ เกวลินสฤษดิ์ และนายวุฒพิ ล สุรยิ าภิวฒั น ทีข่ อลาออก โดยมีผลตัง้ แตวนั ที่ 25 เมษายน 2549 เปนตนไป ซึ่งมี กำหนดวาระถึงวันที่ 30 เมษายน 2551 โดยมีรายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบจำนวน 3 ทาน ดังนี้ 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายเทพ รุงธนาภิรมย กรรมการตรวจสอบ 3. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบ - แตงตั้งนายโอภาส ศรีพยัคฆ ดำรงตำแหนงกรรมการบริหารและกรรมการผูจัดการ โดยมีผลตั้งแตวันที่ 25 เมษายน 2549

ป 2550

- ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 5/2550 เมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2550 ไดแตงตัง้ คณะอนุกรรมการพิจารณาคาตอบแทนเพือ่ พิจารณาคาตอบแทนของคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานในองคกร - บริษทั ไดจดั การประชุมผูถ อื หุน ประจำป 2550 ในวันที่ 26 เมษายน 2550 และเชิญผูถ อื หุน ไปเยีย่ มชมโครงการลุมพินี เพลส นราธิวาสเจาพระยา หลังจากเสร็จสิน้ การประชุมผูถ อื หุน เพือ่ ใหผถู อื หุน เขาใจการดำเนินธุรกิจของบริษทั รวมทัง้ เปนการสรางความสัมพันธ อยางยั่งยืนระหวางบริษัทและผูถือหุน ซึ่งไดรับการตอบรับอยางดียิ่ง - บริษทั สงเสริมและสนับสนุนใหคณะกรรมการไดเขารับการอบรมในหลักสูตรตางๆ ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยมีกรรมการเขาอบรมในหัวขอตางๆ ดังนี้ 1. Director Certif ification Program 2. Director Accreditation Program 3. Role of the Chairman Program

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

75


- บริษทั ไดจดั ใหมกี ารปฐมนิเทศกรรมการใหม โดยนำเสนอภาพรวมของการดำเนินธุรกิจ วิสยั ทัศน พันธกิจ กลยุทธ ความเสีย่ ง และการ บริหารความเสีย่ งรวมไปถึงกฎระเบียบตางๆ นโยบายการกำกับดูแลกิจการ และมีการสงมอบจรรยาบรรณของกรรมการ รวมทัง้ ได พาไปเยี่ยมชมโครงการของบริษัท เพื่อใหเกิดความเขาใจการดำเนินธุรกิจในเชิงลึกอีกดวย - บริษทั จัดใหมกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการเพือ่ การปรับปรุงการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการในดานตางๆ ไดแก 1. ความพรอมของกรรมการ 2. การกำหนดกลยุทธ และวางแผนธุรกิจ (Strategy Setting and Policy Making) 3. การจัดการความเสี่ยงและการควบคุมภายใน (Risk Management and Internal Control) 4. การดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน (Confflict of Interest) 5. การติดตามรายงานทางการเงินและการดำเนินการ (Financial Reporting) 6. การประชุมคณะกรรมการ 7. อื่นๆ ไดแก การสรรหาและแตงตั้งกรรมการ การพิจารณาคาตอบแทน การประเมินผลงานกรรมการผูจัดการ ป 2551

- ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2551 วันที่ 24 เมษายน 2551 มีมติดังตอไปนี้คือ 1. แตงตั้งกรรมการบริษัทเพื่อดำรงตำแหนงตางๆ ดังมีรายนามตอไปนี้ 1. นายปกรณ ทวีสิน ประธานกรรมการบริษัท 2. ศาสตราจารย ศิริ เกวลินสฤษดิ์ รองประธานกรรมการบริษัท 3. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา กรรมการบริษัท 4. นายทิฆัมพร เปลงศรีสุข ประธานกรรมการบริหารและประธานเจาหนาที่บริหาร 2. แตงตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีวาระการดำรงตำแหนง 2 ป ตัง้ แตวนั ที่ 1 พฤษภาคม 2551 ถึงวันที่ 30 เมษายน 2553 ดังมีรายนามตอไปนี้ 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. นายเทพ รุงธนาภิรมย กรรมการตรวจสอบ 3. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบ - ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 7/2551 วันที่ 6 พฤศจิกายน 2551 มีมติแตงตัง้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน จำนวน 7 คน ดังมีรายนามตอไปนี้ 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 2. นายทวีชัย จิตตสรณชัย 3. นายเทพ รุงธนาภิรมย 4. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล 5. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน 6. นายทิฆัมพร เปลงศรีสุข 7. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์

ป 2552

- วันที่ 12 มีนาคม 2552 คณะกรรมการบริษัทไดเขาเยี่ยมชมโครงการตางๆ ของบริษัท เพื่อรวมตรวจสอบมาตรฐานงานกอสราง กอนการสงมอบใหแกลกู คา ไดแก - โครงการลุมพินี เพลส ปนเกลา 2 - โครงการลุมพินี สวีท ปนเกลา - โครงการลุมพินี พระราม 8 - ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2552 มีมติแตงตั้ง 1. นายทวีชยั จิตตสรณชัย รองประธานกรรมการบริษทั และกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 2. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบและกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 3. นางยุพา เตชะไกรศรี กรรมการบริหาร 4. นายโอภาส ศรีพยัคฆ กรรมการบริหารและกรรมการผูจัดการ

76

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


- วันที่ 15 ตุลาคม 2552 คณะกรรมการบริษัทไดเขาเยี่ยมชมโครงการตางๆ ของบริษัท ไดแก - โครงการลุมพินี เพลส พหล-สะพานควาย - โครงการลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ - เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2552 กรรมการบริษัท ไดแก นายอมรศักดิ์ นพรัมภา และนายเทพ รุงธนาภิรมย ไดเขารวมอบรมหลักสูตร Role of Compensation Committee (RCC 9/2009) ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 7/2552 วันที่ 17 ธันวาคม 2552 มีมติใหดำเนินโครงการประเมินผลกรรมการบริษทั ประจำป 2552 โดยแบงเปน 1. ประเมินผลกรรมการบริษัททั้งคณะ 2. ประเมินผลกรรมการบริษัทรายบุคคล 3. ประเมินประธานเจาหนาที่บริหารและประธานคณะกรรมการบริหาร (CEO)

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

77


â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡Òà โครงสรางการจัดการของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ประกอบดวย คณะกรรมการ ทั้งหมดจำนวน 4 ชุด ไดแก 1. คณะกรรมการบริษัท 2. คณะกรรมการตรวจสอบ 3. คณะกรรมการบริหาร 4. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ตามหนังสือรับรองการจดทะเบียนของกระทรวงพาณิชย มีจำนวนทั้งหมด 14 คน ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิที่มีความรู ความสามารถ และประสบการณที่เปนประโยชนตอบริษัท จำนวน 14 คน ประกอบดวย - กรรมการอิสระ จำนวน 7 คน (คิดเปนรอยละ 50.0) - กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร จำนวน 2 คน (คิดเปนรอยละ 14.3) - กรรมการที่เปนผูบริหาร จำนวน 5 คน (คิดเปนรอยละ 35.7) คณะกรรมการบริษัท 14 คน มีรายนามดังนี้ 1. นายปกรณ ทวีสิน 2. ศาสตราจารยศิริ เกวลินสฤษดิ์ 3. นายทวีชัย จิตตสรณชัย 4. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา 5. นายเทพ รุงธนาภิรมย 6. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล 7. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน 8. นายธีรชัย ปญจทรัพย 9. นางจงจิตต ฐปนางกูร 10. นายทิฆัมพร เปลงศรีสุข 11. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ 12. นางยุพา เตชะไกรศรี 13. นายคัมภีร จองธุระกิจ 14. นายโอภาส ศรีพยัคฆ โดยมี นางสาวสมศรี เตชะไกรศรี

ประธานกรรมการและกรรมการอิสระ รองประธานกรรมการและกรรมการอิสระ รองประธานกรรมการและกรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหาร กรรมการที่เปนผูบริหาร เปนเลขานุการบริษัท

บริษทั มีกรรมการทีม่ คี ณุ สมบัตเิ ปนกรรมการอิสระ จำนวน 7 คน โดยบริษทั ไดพจิ ารณาคุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระทีส่ อดคลองกับคุณสมบัติ ตามหลักเกณฑของสำนักงานคณะกรรมการหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ดังนี้ 1. ถือหุนไมเกินรอยละ 1 ของจำนวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่มีความขัดแยง โดยใหนับรวมหุนที่ถือโดยผูที่เกี่ยวของดวย 2. ไมเปนกรรมการหรือเคยเปนกรรมการทีม่ สี ว นรวมในการบริหารงาน ไมเปนพนักงาน ลูกจาง หรือทีป่ รึกษาทีไ่ ดรบั เงินเดือนประจำ ไมเปน ผูม อี ำนาจควบคุมของบริษทั บริษทั ยอย บริษทั รวม หรือนิตบิ คุ คลทีม่ คี วามขัดแยงกันทัง้ ในปจจุบนั และชวง 2 (สอง) ปกอ นไดรบั การแตงตัง้ 3. เปนกรรมการที่ไมมีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เปนบิดามารดา คูสมรส พี่นอง บุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตรของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอชื่อเปนผูบริหาร หรือผูมีอำนาจควบคุม ของบริษทั บริษทั ยอย บริษทั รวม 4. เปนกรรมการทีไ่ มมผี ลประโยชน หรือมีสว นไดเสียไมวา ทางตรงหรือทางออม ทัง้ ในดานความสัมพันธในลักษณะของการใหบริการทางวิชาชีพ ความสัมพันธทางธุรกิจและการบริหารงานของบริษทั บริษทั ยอย บริษทั รวม หรือผูถ อื หุน รายใหญของบริษทั ลักษณะความสัมพันธตามวรรคหนึง่ หมายถึง (1) ความสัมพันธในลักษณะของการใหบริการทางวิชาชีพ ลักษณะความสัมพันธ : ผูส อบบัญชี ผูใ หบริการทางวิชาชีพอืน่ เชน ทีป่ รึกษากฎหมาย ทีป่ รึกษาทางการเงิน ผูป ระเมินราคาทรัพยสนิ เปนตน

78

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


ระดับนัยสำคัญที่เขาขายไมอิสระ ดังนี้ - กรณีผูสอบบัญชี : หามทุกกรณี - กรณีเปนผูใหบริการทางวิชาชีพอื่น : ไดรับคาบริการมูลคารายการเกิน 2 ลานบาทตอป (2) ความสัมพันธทางธุรกิจ ลักษณะความสัมพันธ : กำหนดครอบคลุมรายการทางธุรกิจทุกประเภท ไดแก รายการทีเ่ ปนธุรกรรมปกติ รายการเชาหรือใหเชา อสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับสินทรัพยหรือบริการ หรือรายการใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงินดวยการรับหรือใหกูยืม ค้ำประกัน การใหสินทรัพยเปนหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณอื่นทำนองเดียวกัน ระดับนัยสำคัญที่เขาขายไมอิสระ ดังนี้ - มูลคารายการ 20 ลานบาท หรือ 3% ของ NTA ของบริษัท แลวแตจำนวนใดจะต่ำกวา ทัง้ นีใ้ นการพิจารณามูลคารายการ ใหรวมรายการที่เกิดขึ้นในระหวาง 1 (หนึ่ง) ป กอนวันที่มีการทำรายการในครั้งนี้ดวย 5. เปนกรรมการที่มีความเปนอิสระในการปฏิบัติหนาที่และแสดงความคิดเห็น หรือรายงานผลการปฏิบัติงานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษทั ไดโดยอิสระ โดยไมอยูภ ายใตการควบคุมหรือเปนตัวแทนของผูบ ริหาร หรือผูถ อื หุน รายใหญของบริษทั หรือผูที่เกี่ยวของกับผูถือ หุนรายใหญของบริษัท 6. ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการบริษัท ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูเกี่ยวของกับผูถือ หุนรายใหญของบริษัท 7. ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทำใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระได 8. กรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนดไวในขอ 1- ขอ 7 อาจไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทใหตัดสินใจในการดำเนิน กิจการของบริษัท บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยงโดยมีการตัดสินใจในรูปแบบองคคณะ (Collective Decision) ได อำนาจและหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท บริษทั ไดกำหนดหนาทีค่ วามรับผิดชอบของกรรมการ โดยยึดหลักการการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและนโยบาย เรื่องขอพึงปฏิบัติที่ดีสำหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียนของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ดังตอไปนี้ 1. ปฏิบตั หิ นาทีใ่ หเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับของบริษทั และมติทป่ี ระชุมผูถ อื หุน ดวยความซือ่ สัตย สุจริต ระมัดระวัง และมี ความรับผิดชอบอยางสม่ำเสมอ และดำเนินการโดยการรักษาผลประโยชนของผูถือหุนทุกรายอยางเทาเทียมกัน 2. กำหนดวิสยั ทัศน กลยุทธ นโยบาย ทิศทางการดำเนินงานของบริษทั และควบคุมดูแลใหฝา ยจัดการดำเนินงานตามนโยบายทีก่ ำหนดไวอยาง มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลคาสูงสุดใหแกบริษัทและผูถือหุนอยางมั่นคงและยั่งยืน 3. ตองจัดใหมีการเปดเผยขอมูลตอผูถือหุน ผูลงทุน และผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุมอยางถูกตองครบถวน โปรงใส และทันเวลา 4. จัดใหมีระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิภาพ 5. จัดใหมีการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพและมีการติดตามผลอยางสม่ำเสมอ 6. จัดใหมีการกำกับดูแลใหมีการดำเนินงานตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีและมีการติดตามผลอยางสม่ำเสมอ 7. จัดใหมเี ลขานุการบริษทั เพือ่ ชวยดูแลกิจกรรมตางๆ ของคณะกรรมการ และชวยใหคณะกรรมการบริษทั ปฏิบตั ใิ หเปนไปตามกฎหมายและขอ กำหนดที่เกี่ยวของ 8. จัดใหมีระเบียบจรรยาบรรณทางธุรกิจของกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน เพื่อเปนมาตรฐานการปฏิบัติงานภายในบริษัท 9. คณะกรรมการสามารถแสวงหาความเห็นทางวิชาชีพที่เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจดวยการวาจางทีป่ รึกษาภายนอก ดวยคาใชจายของบริษัท 10. กำหนด วัน เวลา สถานทีจ่ ดั ประชุมผูถ อื หุน รวมทัง้ กำหนดระเบียบวาระการประชุมผูถ อื หุน วันปดสมุดทะเบียนพักการโอนหุน และพิจาณา สรุปผลการดำเนินงานเสนอตอผูถ อื หุน ในป 2552 คณะกรรมการบริษัทไดมีการประชุมรวมกันตามที่กำหนดไวลวงหนาจำนวน 6 ครั้ง การประชุมวาระพิเศษจำนวน 1 ครั้ง และมี การประชุมที่เปนรูปแบบของการเยี่ยมชมโครงการของบริษัทจำนวน 1 ครั้ง และการประชุมผูถือหุนจำนวน 1 ครั้ง การแตงตั้งและถอดถอนคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน มีหนาที่สรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเพื่อดำรงตำแหนงกรรมการบริษัทโดยการสรรหาบุคคลที่มี คุณสมบัตเิ หมาะสมดานคุณวุฒิ ประสบการณ ความชำนาญในวิชาชีพ มีภาวะผูน ำ วิสยั ทัศนกวางไกล มีคณุ ธรรมและจริยธรรม มีประวัตกิ ารทำงานทีโ่ ปรง ใส มีความสามารถในการแสดงความเห็นอยางเปนอิสระ โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนจะนำเสนอบุคคลทีเ่ หมาะสมเสนอตอทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาใหความเห็นชอบ กอนจะนำเสนอตอทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เพือ่ พิจารณาแตงตัง้ หรือเลือกตัง้ และในกรณีทต่ี ำแหนงกรรมการ บริษัทวางลง โดยมิใชเปนการออกตามวาระ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน อาจพิจารณาสรรหาบุคคลที่เหมาะสมเสนอตอที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท เมื่อพิจารณาแตงตั้งบุคคลเขาเปนกรรมการบริษัทในตำแหนงที่วางลงไดตามขอบังคับของบริษัท

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

79


ตามขอบังคับของบริษัท หมวดที่ 3 วาดวยคณะกรรมการ ขอ 11 กำหนดใหที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการบริษัทตามหลักเกณฑ และ วิธกี ารดังตอไปนี้ “ในการประชุมสามัญประจำปทกุ ครัง้ ใหคณะกรรมการออกจากตำแหนงจำนวนหนึง่ ในสามเปนอัตรา ถาจำนวนกรรมการทีจ่ ะแบงออกใหตรงเปน สามสวนไมได ก็ใหออกโดยจำนวนใกลที่สุดกับสวนหนึ่งในสาม กรรมการทีจ่ ะตองออกจากตำแหนงในปแรกและปทส่ี อง ภายหลังจดทะเบียนบริษทั นัน้ ใหใชวธิ จี บั สลากกัน สวนปหลังๆ ตอไป ใหกรรมการคน ทีอ่ ยูใ นตำแหนงนานทีส่ ดุ นัน้ เปนผูอ อกจากตำแหนง หากมีผอู ยูใ นตำแหนงนานทีส่ ดุ มากกวาจำนวนทีต่ อ งออก ใหใชวธิ จี บั สลากกันระหวางผูท อ่ี ยูใ นตำแหนง นานที่สุดนั้น กรรมการผูออกไปนั้นอาจไดรับเลือกตั้งใหมได” 2. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบประกอบดวยกรรมการอิสระ จำนวน 3 คนดังนี้ 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายเทพ รุงธนาภิรมย กรรมการตรวจสอบ 3. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบ โดยมี นางสาวปวีณริสา วสิษฐตระกูล เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบประกอบดวยกรรมการบริษทั ทีม่ คี ณุ สมบัตเิ ปนอิสระตามประกาศของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึง่ ทุกคนมีความ เปนอิสระ และมีคณุ สมบัตคิ รบถวน ตามทีส่ ำนักงานคณะกรรมการหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (กลต.) และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ตลท.) กำหนด โดยมีนายเทพ รุงธนาภิรมย และ นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล เปนบุคคลที่มีความรูทางดานบัญชีและการเงินเปนอยางดี ทั้งนี้คณะกรรมการ ตรวจสอบมีการประชุมรวมกันอยางสม่ำเสมอ และมีการรายงานตอคณะกรรมการบริษัท โดยในป 2552 มีการประชุมทั้งหมด 4 ครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่ ความรับผิดชอบ และบทบาทการปฏิบัติงาน ในฐานะที่เปนองคกรอิสระที่ใหการสนับสนุนและการปฏิบัติงาน ทีช่ ดั เจนในการดูแลขจัดปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนใหเปนอยางสัมฤทธิผ์ ล สอบถามขอมูลทางการเงินทีเ่ สนอตอทีส่ าธารณชน และผูถ อื หุน สอบ ทานระบบการควบคุมภายในที่ชัดเจน และคณะกรรมการบริษัทกำหนดใหมีขึ้น กระบวนการตรวจสอบภายใน และการสื่อสารกับผูสอบบัญชีของบริษัท อนึ่ง เพื่อใหสอดคลองกับการปฏิบัติตามหมวด 3/1 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ฉบับแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) 2551 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1/ 2552 เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ 2552 ไดมีมติพิจารณาเปลี่ยนแปลง หนาที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตรวจสอบใหเขมขนขึน้ โดยสอดคลองกับประกาศของตลาดหลักทรัพย เรือ่ งคุณสมบัตแิ ละขอบเขตการดำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ พ.ศ. 2551 หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่และความรับผิดชอบตามกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1) สอบทานกระบวนการตรวจสอบระบบการควบคุมภายในและกระบวนการในการจัดทำรายงานทางการเงิน 2) พิจารณาและเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชีรับอนุญาต รวมถึงพิจารณาคาตอบแทน 3) สอบทานกระบวนการในการดูแลใหมีการปฏิบัติตามนโยบาย กฎระเบียบ ขอบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวของ ตลอดจนมติของที่ประชุมคณะ กรรมการบริษัท 4) ใหคำแนะนำฝายบริหารในการปรับปรุงกระบวนการทำงานหรือระบบงานเพื่อลดความเสี่ยงในเรื่องตางๆ และเพื่อใหมีระบบการทำงานที่มี ประสิทธิภาพ 5) ใหคำแนะนำในการกำหนดนโยบายดานการกำกับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งติดตามประเมินและรายงานการปฏิบัติตามแนวทางการกำกับดูแล กิจการที่ดี 6) กำหนดขอบเขตในการตรวจสอบภายใน และพิจารณารายงานผลการตรวจของสำนักตรวจสอบภายใน 7) พิจารณาและใหความเห็นตอคณะกรรมการบริษัทในการแตงตั้ง โยกยาย ถอดถอน กำหนดคาตอบแทน และการพิจารณาความดีความชอบ ของเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ 8) จัดหาที่ปรึกษาจากภายนอก เพื่อใหคำแนะนำหรือชวยเหลือการปฏิบัติงาน ตรวจสอบตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัท 9) ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย และคณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบ 3. คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร จำนวนทั้งหมด 5 คน ดังมีรายนามดังตอไปนี้ 1. นายทิฆัมพร เปลงศรีสุข ประธานกรรมการบริหารและประธานเจาหนาที่บริหาร 2. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ กรรมการบริหาร 3. นางยุพา เตชะไกรศรี กรรมการบริหาร 4. นายคัมภีร จองธุระกิจ กรรมการบริหาร 5. นายโอภาส ศรีพยัคฆ กรรมการบริหาร และ กรรมการผูจัดการ 80

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


คณะกรรมการบริหารไดรับการแตงตั้งขึ้นโดยการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการบริษัทที่เปนผูบริหาร จำนวน 4 คน และเปนผูบริหารระดับสูงของบริษัทจำนวน 1 คน โดยคัดเลือกจากบุคคลที่มีความรู ความสามารถ มีความเขาใจในบทบาทหนาที่ที่ตองรับผิดชอบและ มีความเขาใจลักษณะงาน การดำเนินธุรกิจของบริษัทเปนอยางดี มีหนาที่ในการดูแลบริหารจัดการกิจการของบริษัทใหสอดคลองกับนโยบายของคณะ กรรมการบริษัท โดยคำนึงถึงผลประโยชนสูงสุดของบริษัทเสมอ ในป 2552 มีการประชุมที่คณะกรรมการบริหารกำหนดไวลวงหนาจำนวน 29 ครั้ง และมีการประชุมวาระพิเศษจำนวน 2 ครั้ง รวมจำนวน 31 ครั้ง หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร 1. กำกับดูแลการจัดการ และการดำเนินธุรกิจของบริษัท 2. วางแผนกำหนดนโยบาย วิสัยทัศน พันธกิจ และกลยุทธในการดำเนินธุรกิจของบริษัท และบริษัทในเครือ 3. ควบคุมการบริหารจัดการใหบรรลุผลตามแผนงานที่ไดกำหนดไว 4. พิจารณากำหนดทิศทางการลงทุนและการขยายฐานธุรกิจ 5. พิจารณาและบริหารงบประมาณตามทีไ่ ดรบั อนุมตั หิ ลักเกณฑจากคณะกรรมการบริษทั 6. พิจารณาและอนุมตั กิ ารลงทุนในโครงการ หรือกิจกรรมทีไ่ มอยูใ นแผนงานทีไ่ ดรบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ในวงเงินไมเกิน 10,000,000 บาท ตอครัง้ 7. ไดรบั มอบอำนาจจากคณะกรรมการบริษทั ในการกระทำทางดานนิตกิ รรมและเอกสารดังตอไปนี้ 7.1) การจดทะเบียน ซือ้ - ขายทีด่ นิ ทีด่ นิ พรอมสิง่ ปลูกสราง สิง่ ปลูกสรางและหองชุด 7.2) การจดทะเบียน และการเชา - ใหเชาทีด่ นิ ทีด่ นิ พรอมสิง่ ปลูกสราง สิง่ ปลูกสรางและหองชุด 7.3) การจดทะเบียนจำนอง การรับจำนอง การขึน้ เงินจำนอง การจดทะเบียนไถถอนจำนอง การจดทะเบียนปลอดจำนองทีด่ นิ ที่ดินพรอมสิ่ง ปลูกสราง สิง่ ปลูกสรางและหองชุด 7.4) การขอรังวัดทีด่ นิ การขอออกโฉนดทีด่ นิ การขอแบงแยกและการรวมทีด่ นิ การขออนุญาตจัดสรรทีด่ นิ 7.5) การจดทะเบียนภาระจำยอมเปนภารยทรัพยและสามยทรัพยของทีด่ นิ 7.6) การจดทะเบียนอาคารชุด การจดทะเบียนนิตบิ คุ คลอาคารชุด การแตงตัง้ ผูจ ดั การนิตบิ คุ คลอาคารชุด การเลือกตัง้ /การแตงตัง้ กรรมการ นิตบิ คุ คลอาคารชุด 7.7) การทำสัญญากูเ งิน สัญญาตางๆ กับธนาคารพาณิชย และสถาบันการเงิน รวมทัง้ การเปดบัญชีเงินฝาก 7.8) การประชุมเจาของรวมนิตบิ คุ คลอาคารชุดและการแตงตัง้ ตัวแทนเขาประชุมและการเลือกตัง้ เปนกรรมการนิตบิ ุคคลอาคารชุดในฐานะ เจาของรวม รวมทัง้ การประชุมผูถ อื หุน ของบริษทั ยอย บริษทั รวมและบริษทั ในเครือ 7.9) มีอำนาจมอบหมายใหบคุ คลอืน่ กระทำการแทนรวมถึงนิตกิ รรมทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับธุรกรรมของบริษทั ตามขอ 7.1-7.8 8. ใหคำปรึกษา และ/หรือแนะนำการบริหารจัดการแกผบู ริหารระดับสูง 9. พิจารณา และ/หรือ กำหนดบุคคลในการดำรงตำแหนงผูบ ริหารระดับสูงของบริษทั และบริษทั ในเครือ 10. พิจารณาเรือ่ งอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย 4. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน มีจำนวนทั้งหมด 7 คน ประกอบดวย กรรมการอิสระ จำนวน 5 คน และกรรมการบริหาร จำนวน 2 คน ดังมีรายนามดังตอไปนี้ 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน (กรรมการอิสระ) 2. นายทวีชัย จิตตสรณชัย กรรมการอิสระ 3. นายเทพ รุงธนาภิรมย กรรมการอิสระ 4. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการอิสระ 5. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน กรรมการอิสระ 6. นายทิฆัมพร เปลงศรีสุข ประธานกรรมการบริหาร 7. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ กรรมการบริหาร โดยมี นางสาวสมศรี เตชะไกรศรี ทำหนาที่เลขานุการ ในป 2552 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนไดมกี ารประชุมรวมกันจำนวน 6 ครัง้ โดยมีกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทน ดังนี้ หมายเหตุ : นิยามของคณะกรรมการในกฎบัตร หมายถึง คณะกรรมการบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

81


องคประกอบและคุณสมบัติ 1. คณะกรรมการบริษทั เปนผูพ จิ ารณาแตงตัง้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนซึง่ ประกอบดวยกรรมการบริษทั จำนวนไมเกิน 7 คน 2. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนควรมาจากกรรมการอิสระเปนสวนใหญ ถามีกรรมการที่เปนผูบริหารอยูในคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาคาตอบแทนก็ควรเปนสวนนอยของจำนวนกรรมการทั้งคณะ 3. ใหคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนเลือกกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนที่เปนกรรมการอิสระ จำนวน 1 คน เพื่อ ดำรงตำแหนง ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 4. ใหคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนพิจารณาเสนอคณะกรรมการแตงตั้งบุคคลเพื่อทำหนาที่เลขานุการคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน วาระการดำรงตำแหนงและคาตอบแทน 1. กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนมีวาระดำรงตำแหนงคราวละ 2 (สอง)ป โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนชุด แรกมีวาระการดำรงตำแหนงระหวางวันที่ 6 พฤศจิกายน 2551 ถึง วันที่ 30 เมษายน 2553 2. นอกจากการพนตำแหนงตามวาระแลวกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนอาจพนจากตำแหนงเมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุณสมบัตหิ รือมีลกั ษณะตองหามตามกฎหมายวาดวยบริษทั มหาชนจำกัด และ/หรือตาม พ.ร.บ.หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และ/หรือตามที่คณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยกำหนด (4) คณะกรรมการมีมติใหออก 3. กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนคนใดจะลาออกจากตำแหนงใหยื่นใบลาออกตอประธานคณะกรรมการ 4. ในกรณีที่ตำแหนงกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนวางลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ใหคณะกรรมการเลือก กรรมการบริษัทคนใดคนหนึ่งดำรงตำแหนงกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนเพื่อทดแทนตำแหนงที่วางโดยผูไดรับการแตงตั้งจะมีวาระการดำรง ตำแหนงเพียงเทาวาระที่เหลืออยูของกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 5. กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนซึ่งพนจากตำแหนงตามวาระอาจไดรับการแตงตั้งใหกลับเขาดำรงตำแหนงตอไปได 6. กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนจะไดรับคาตอบแทนเพียงใดใหเปนไปตามที่ที่ประชุมผูถือหุนกำหนด หนาที่และความรับผิดชอบ 1. ดานการสรรหา 1.1 เสนอหลักเกณฑและแนวทางในการคัดเลือกกรรมการบริษัท อนุกรรมการชุดตางๆ และผูบริหารระดับสูง 1.2 ดำเนินการสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสมใหดำรงตำแหนงกรรมการบริษทั อนุกรรมการชุดตางๆ และผูบ ริหารระดับสูง ตอคณะกรรมการเพื่อพิจารณา 1.3 เสนอหลักเกณฑและแนวทางประเมินผลงานของกรรมการบริษัท และประธานเจาหนาที่บริหาร 2. ดานการพิจารณาคาตอบแทน 2.1 เสนอหลักเกณฑและแนวทางการกำหนดคาตอบแทนกรรมการบริษัท อนุกรรมการชุดตางๆ ผูบริหารระดับสูงและพนักงาน ของบริษัท 2.2 พิจารณาการปรับปรุงนโยบาย และโครงสรางการบริหารคาตอบแทนของกรรมการบริษทั อนุกรรมการชุดตางๆ ผูบ ริหารระดับ สูงและพนักงานของบริษัทใหสอดคลองกับสภาวะของตลาดแรงงานในขณะนั้น เพื่อนำเสนอตอคณะกรรมการ การประชุม 1. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนจะตองจัดใหมีหรือเรียกประชุมอยางนอยปละ 1 ครั้ง 2. ในการประชุมคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนจะตองมีกรรมการเขารวมในการประชุมแตละครัง้ เกินกวากึง่ หนึง่ ของจำนวน กรรมการทั้งหมด และในการประชุมแตละครั้งกรรมการอิสระจะตองมีจำนวนที่มากกวาจึงจะครบเปนองคประชุม 3. มติทป่ี ระชุมของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนจะถือตามเสียงขางมากของกรรมการทีม่ าประชุมและครบองคประชุม ทัง้ นี้ กรรมการผูมีสวนไดเสียในเรื่องใดจะตองไมเขารวมในการพิจารณาหรือลงมติเกี่ยวกับเรื่องนั้น

82

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


สรุปสถิติการเขารวมประชุมของคณะกรรมการชุดตางๆ ในป 2552 มีการประชุมคณะกรรมการชุดตางๆ ดังมีรายละเอียดตอไปนี้ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั มีการประชุมรวมกันอยางนอยไตรมาสละ 1 ครัง้ โดยในป 2552 คณะกรรมการบริษทั มีการประชุมรวมกันจำนวน 6 ครัง้ และการประชุมในรูปแบบของการเยี่ยมชมโครงการจำนวน 1 ครั้ง รวมทั้งหมด 7 ครั้ง โดยเปนการประชุมที่ไดกำหนดลวงหนา และมีการประชุมวาระ พิเศษ จำนวน 1 ครั้ง รวมเปนการประชุมกรรมการบริษัท 8 ครั้ง และการเขารวมประชุมในการประชุมผูถือหุน จำนวน 1 ครั้ง ดังตอไปนี้

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

รายชื่อกรรมการบริษัท นายปกรณ ศาสตราจารยศิริ นายทวีชัย นายอมรศักดิ์ นายเทพ นายวีระศักดิ์ นายวุฒิพล นายธีรชัย นางจงจิตต นายทิฆัมพร นางยุพา นายพิเชษฐ นายคัมภีร นายโอภาส

ทวีสิน เกวลินสฤษดิ์ จิตตสรณชัย นพรัมภา รุงธนาภิรมย วหาวิศาล สุริยาภิวัฒน ปญจทรัพย ฐปนางกูร เปลงศรีสุข เตชะไกรศรี ศุภกิจจานุสันติ์ จองธุระกิจ ศรีพยัคฆ

ประชุมกรรมการ บริษัท

ประชุมผูถือหุน (จำนวน 1 ครั้ง)

8/8 8/8 7/8 8/8 8/8 8/8 8/8 7/8 7/8 8/8 8/8 8/8 8/8 8/8

1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1

คณะกรรมการตรวจสอบ ในป 2552 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 4 ครั้ง โดยเปนการประชุมที่กำหนดไวลวงหนา โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

รายชื่อ

ลำดับ 1

นายอมรศักดิ์

นพรัมภา

2 3

นายเทพ นายวีระศักดิ์

รุงธนาภิรมย วหาวิศาล

ตำแหนง

จำนวนครั้ง ของการเขาประชุม

ประธานกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

4/4 4/4 4/4

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

83


คณะกรรมการบริหาร ในป 2552 คณะกรรมการบริหารมีการประชุมรวมทั้งสิ้น 29 ครั้ง โดยเปนการประชุมที่กำหนดไวลวงหนา และมีการประชุมวาระพิเศษ จำนวน 2 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 31 ครั้ง โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

รายชื่อ

ลำดับ 1

นายทิฆัมพร

เปลงศรีสุข

2 3 4 5

นายพิเชษฐ นางยุพา นายคัมภีร นายโอภาส

ศุภกิจจานุสันติ์ เตชะไกรศรี จองธุระกิจ ศรีพยัคฆ

ตำแหนง

จำนวนครั้ง ของการเขาประชุม

ประธานกรรมการบริหาร และประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร และกรรมการผูจัดการ

30/31 31/31 29/31 31/31 31/31

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ในป 2552 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนมีการประชุมทั้งสิ้น 6 ครั้ง โดยเปนการประชุมที่กำหนดไวลวงหนา โดยมีรายละเอียดตอไปนี้

รายชื่อ

ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7

84

นายอมรศักดิ์ นายทวีชัย นายเทพ นายวีระศักดิ์ นายวุฒิพล นายทิฆัมพร นายพิเชษฐ

นพรัมภา จิตตสรณชัย รุงธนาภิรมย วหาวิศาล สุริยาภิวัฒน เปลงศรีสุข ศุภกิจจานุสันติ์

ตำแหนง ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

จำนวนครั้ง ของการเขาประชุม 6/6 6/6 5/6 6/6 6/6 5/6 6/6


อนึ่งในป 2552 มีการประชุมคณะกรรมการที่ไมใชผูบริหาร จำนวน 1 ครั้ง โดยมีรายละเอียดของการเขารวมประชุมดังนี้ ลำดับ

รายชื่อ

ตำแหนง

จำนวนครั้ง ของการเขาประชุม

1 2 3

นายปกรณ ศาสตราจารยศิริ นายทวีชัย

ทวีสิน เกวลินสฤษดิ์ จิตตสรณชัย

ประธานกรรมการบริษัท และ กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการบริษัท และ กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการบริษัท และ กรรมการอิสระ

1/1 1/1 1/1

4

นายอมรศักดิ์

นพรัมภา

ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และกรรมการอิสระ

1/1

5

นายเทพ

รุงธนาภิรมย

กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และกรรมการอิสระ

1/1

6

นายวีระศักดิ์

วหาวิศาล

กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และกรรมการอิสระ

1/1

7 8 9

นายวุฒิพล นายธีรชัย นางจงจิตต

สุริยาภิวัฒน ปญจทรัพย ฐปนางกูร

กรรมการบริษัท และ กรรมการอิสระ กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท

1/1 1/1 1/1

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

85


การสรรหากรรมการและผูบริหาร วิธีการสรรหาบุคคลที่จะแตงตั้งเปนกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนมีหนาที่สรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติ เพื่อดำรงตำแหนงกรรมการ โดยการสรรหาบุคคลที่มี คุณสมบัตใิ นดานตางๆ โดยดูถงึ ความเหมาะสม ดานคุณวุฒิ ประสบการณ ความชำนาญในวิชาชีพ มีภาวะผูน ำวิสยั ทัศนกวางไกล มีคณุ ธรรมและจริยธรรม มีประวัตกิ ารทำงานทีโ่ ปรงใส มีความสามารถในการแสดงความเห็นอยางอิสระ รวมถึงผลการปฏิบตั งิ านในฐานะกรรมการบริษทั ในชวงทีผ่ า นมา โดยเสนอ ตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาใหความเห็นชอบรวมกันกอนทีจ่ ะนำเสนอตอทีป่ ระชุมผูถ อื หุน เวนแตกรณีทต่ี ำแหนงกรรมการบริษทั วางลง โดยมิใชวางลงตามวาระอาจพิจารณาสรรหาบุคคลที่เหมาะสมตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อแตงตั้งบุคคลเขาเปนกรรมการในตำแหนงที่วางลงได ตามขอบังคับบริษัท วิธีการสรรหาบุคคลที่จะแตงตั้งเปนผูบริหาร สำหรับผูบ ริหารของบริษทั ในระดับผูจ ดั การฝายขึน้ ไปจะพิจารณาคัดเลือก โดยกรรมการผูจ ดั การ และตองผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการ บริหาร คาตอบแทนของกรรมการและผูบริหาร คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนเปนผูพ จิ ารณาวงเงินคาตอบแทนกรรมการทีเ่ หมาะสม และนำเสนอตอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณา โดยเปรียบเทียบอางอิงจากอุตสาหกรรมเดียวกันและทีม่ ขี นาดใกลเคียงกัน รวมทัง้ พิจารณาอัตราการขยายตัวทางธุรกิจ และการเติบโตของบริษทั ดวย โดยแบงออกเปน 2 ประเภท 1. คาตอบแทนทีเ่ ปนตัวเงิน ประกอบดวยคาเบีย้ ประชุมและบำเหน็จ ดังนี้ 1.1) คาตอบแทนของกรรมการ ประจำป 2552 ตามสิทธิ์และผลประโยชนตอบแทนในการปฏิบัติหนาที่ไดแก คาพาหนะ คารับรอง เบีย้ เลีย้ ง เบีย้ ประชุม และคาใชจา ยทีจ่ ำเปน (ขอบังคับบริษทั หมวดที่ 3 วาดวยคณะกรรมการ ขอ 18) โดยในการประชุมสามัญผูถ อื หุน ประจำป 2552 เมือ่ วันที่ 28 เมษายน 2552 ทีป่ ระชุมไดมมี ติอนุมตั วิ งเงินคาตอบแทนเปนเงินจำนวน 6,480,000.- บาท (หกลานสีแ่ สนแปดหมืน่ บาทถวน) และมอบหมาย ใหคณะกรรมการบริษัทเปนผูใชดุลยพินิจ พิจารณาจัดสรรคาตอบแทนตอไปซึ่งในป 2552 คณะกรรมการบริษัทไดพิจารณาจัดสรรคาตอบแทนและใชจริง เปนจำนวนเงิน 6,480,000.- บาท จำนวน กรรมการ (คน)

ตำแหนง

คาตอบแทนประจำป 2552 บาท/ป/คน รวมทั้งหมด(บาท)

บำเหน็จประจำป 2551 ที่จายในป 2552 บาท/บาท/คน ป/ คน รวมทั ้งหมด(บาท) รวมทั ้งหมด(บาท)

ประธานกรรมการ

1

900,000

900,000

675,000

675,000

รองประธานกรรมการ

2

600,000

1,200,000

450,000

900,000

ประธานกรรมการตรวจสอบ

1

840,000

840,000

630,000

630,000

กรรมการ และ กรรมการตรวจสอบ

2

720,000

1,440,000

540,000

1,080,000

กรรมการ (ที่ไมเปนผูบริหาร)

3

300,000

900,000

225,000

675,000

กรรมการบริหาร

5

300,000

1,200,000

225,000

900,000

14

3,660,000

6,480,000

2,745,000

4,860,000

รวม

1.2) สวนคาตอบแทนของผูบ ริหาร ประกอบดวย คาจางบริหาร โบนัสและเงินกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ ซึ่งมีจำนวนผูบริหารของบริษัท รวมทั้งสิ้น 5 คน โดยมีคาตอบแทนรวมกันเปนเงิน 14,101,158.- บาท 2. คาตอบแทนอื่น -ไมมี-

86

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


การกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษทั ไดใหความสำคัญตอการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี เนือ่ งจากตระหนักดีวา การกำกับดูแลกิจการที่ดีสามารถเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันทางธุรกิจ ดังนั้นคณะกรรมการบริษัทจึงใหความสำคัญตอการบริหารงานบนพื้นฐานแหงความซื่อสัตย สุจริต มีคุณธรรมและจริยธรรม ตามหลักธรรมาภิบาลอันเปนปจจัยสำคัญทีส่ ง ผลใหการดำเนินธุรกิจของบริษทั เปนไปอยางโปรงใส มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มัน่ คง และเจริญเติบโต อยางยั่งยืน ตลอดจนเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจ ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทประกาศใชจรรยาบรรณทางธุรกิจของคณะกรรมการบริษัท จรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน แนวทางการดำเนิน ธุรกิจที่สอดคลองกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเปนแบบแผนการปฏิบัติที่ดีของกรรมการและพนักงาน เพื่อใหมั่นใจไดวา การปฏิบัติงานตาม ภาระหนาที่ที่ไดรับมอบหมายนั้นเปนไปโดยถูกตองตามแนวทางของหลักธรรมาภิบาลที่ดีและไดเผยแพรในเว็บไซดของบริษัทคือ www.lpn.co.th โดยมี รายละเอียดดังนี้ นโยบายเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทตระหนักและใหความสำคัญในหลักการกำกับการดูแลกิจการที่ดี โดยเนนความโปรงใสของการดำเนินธุรกิจเพื่อเพิ่มความ เชื่อมั่นแกผูถือหุน ผูลงทุน และผูมีสวนไดเสีย โดยมีหลักการที่สำคัญดังนี้ 1. การปฏิบัติตอผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียอยางเทาเทียมและเปนธรรม 2. คณะกรรมการบริษัททุมเท มุงมั่นในการปฏิบัติหนาที่ดวยความรอบคอบ โปรงใส เพื่อประโยชนสูงสุดตอองคกร ผูถือหุน และผูมีสวน ไดเสียทั้งหมด 3. บริษัทมีการกำหนดจรรยาบรรณทางธุรกิจของคณะกรรมการบริษัท และพนักงานเพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติใหสอดคลองกับการกำกับ ดูแลกิจการที่ดี ทั้งนี้ แนวทางของการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทมีรายละเอียดดังตอไปนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผูถือหุน (Rights of Shareholders) บริษทั ใหความเคารพตอสิทธิขน้ั พืน้ ฐานของผูถ อื หุน ทัง้ ในฐานะของนักลงทุนและในฐานะเจาของบริษทั ดวยการปฏิบตั ติ อ ผูถ อื หุน อยางเทาเทียม กัน ซึง่ ผูถ อื หุน สามารถรับทราบผลการดำเนินงาน นโยบายการบริหารงาน หรือการเขาทำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน อยางถูกตองครบถวนตามความเปนจริง ผานชองทางเว็บไซตของบริษทั คือ www.lpn.co.th ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หรือเว็บไซตของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย คือ www.set.or.th ผูถือหุนสามารถมั่นใจไดวาสิทธิดังกลาวไดรับการคุมครองและปฏิบัติดวยดีเสมอยกตัวอยางเชน 1) สิทธิในการเขารวมประชุมสามัญผูถ อื หุน ซึง่ จัดใหมปี ล ะ 1 ครัง้ ในวัน เวลา และสถานทีท่ เ่ี หมาะสม โดยบริษทั ไดสง หนังสือนัดประชุมพรอม เอกสารขอมูลประกอบการประชุมที่มีรายละเอียดเพียงพอ ครบถวน ที่แสดงรายละเอียดความเปนมาและความเห็นของคณะกรรมการบริษัทในทุกวาระ และมีรายละเอียดในเรื่องดังตอไปนี้ - ขอมูลของบุคคลที่ไดรับการเสนอชื่อใหเขาดำรงตำแหนงกรรมการแทนกรรมการที่ครบกำหนดออกจากตำแหนงตามวาระ - ขอมูลของบุคคลที่เสนอชื่อใหเขาดำรงตำแหนงกรรมการ - ขอบังคับของบริษัทเฉพาะที่เกี่ยวกับการประชุมผูถือหุน - เอกสารและหลักฐานที่ผูเขารวมประชุมตองแสดงกอนเขารวมประชุม วิธีการมอบฉันทะการลงทะเบียน และการออกเสียงลงคะแนนในการ ประชุมผูถือหุน - แผนที่สถานที่จัดการประชุมสามัญผูถือหุน - หนังสือมอบฉันทะ แบบ ข. (แบบที่กำหนดรายการตางๆ ที่จะมอบฉันทะที่ละเอียดชัดเจน ตายตัว) ทั้งนี้ บริษัทไดจัดทำหนังสือมอบฉันทะ ตามแบบประกาศของกระทรวงพาณิชยซึ่งมี 3 แบบ คือ แบบ ก. แบบ ข. และแบบ ค. โดยใหสิทธิแกผูถือหุนในการเลือกหนังสือมอบฉันทะแบบใด แบบหนึ่งก็ได โดยสามารถ Download หนังสือมอบฉันทะจากทางเว็บไซตของบริษัท ทั้งนี้ เพื่อใหผูถือหุนใชประกอบการพิจารณาตัดสินใจลงคะแนนใน วาระตางๆ เปนการลวงหนาไมนอ ยกวา 7 วัน นอกจากนี้ บริษทั ไดลงประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพเปนเวลาติดตอกัน 3 วัน กอนวันประชุม ไมนอ ยกวา 3 วัน และดานการลงทะเบียนเขาประชุมเปนไปโดยสะดวก สามารถลงทะเบียนลวงหนากอนการประชุมไมนอยกวา 1 ชั่วโมง 2) บริษทั ไดเพิม่ ชองทางการเผยแพรหนังสือนัดประชุมผูถ อื หุน และเอกสารประกอบการประชุมผานทางเว็บไซตของบริษทั คือ www.lpn.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเปนการลวงหนากอนวันประชุม 30 วัน เพื่อใหผูถือหุนมีเวลาพิจารณาวาระที่สำคัญตางๆ มากยิ่งขึ้น 3) บริษัทมอบหมายใหบริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งเปนนายทะเบียนหุนของบริษัทเปนผูจัดสงหนังสือนัดประชุม

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

87


ผูถือหุนใหแกผูถือหุนลวงหนากอนวันประชุม 21 วัน บริษัทใหสิทธิแกผูถือหุนที่เขามารวมประชุมผูถือหุนในภายหลังที่ไดเริ่มการประชุมแลว โดยมีสิทธิ ออกเสียงลงคะแนนในวาระที่อยูระหวางการพิจารณา และยังไมไดลงมติพรอมนับเปนองคประชุมตั้งแตวาระที่เขารวมประชุมและออกเสียง เปนตนไป 4) ในการประชุมผูถือหุน กอนเริ่มการประชุมตามวาระ ประธานกรรมการบริษัทจะกลาวแนะนำคณะกรรมการทุกทาน และผูสอบบัญชีของ บริษัทที่เขารวมประชุมดวยตอผูถือหุน พรอมทั้งชี้แจงใหผูถือหุนทราบถึงวิธีการในการลงคะแนนเสียง และสิทธิของผูถือหุน โดยประธานที่ประชุม ทำหนาที่ควบคุมการประชุมใหเปนไปตามลำดับวาระที่แจงในหนังสือนัดประชุมผูถือหุน จัดสรรเวลาใหเหมาะสม เพียงพอสำหรับการนำเสนอประเด็น ตางๆ ของแตละวาระ รวมทั้งเปดโอกาสใหผูถือหุนแสดงความคิดเห็น ซักถามเรื่องตางๆ เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจของบริษัท และบริษัทยอย พรอมทั้ง มีการบันทึกการประชุมอยางถูกตองครบถวน และสรุปการลงมติและนับคะแนนเสียงดวยความโปรงใสและเปนธรรม 5) บริษัทไดเปดเผยรายชื่อผูถือหุน 10 อันดับแรกของบริษัท ณ วันปดสมุดทะเบียนพักการโอนหุนกอนการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป ใหผูถือหุนทราบผานทางเว็บไซตของบริษัท คือ www.lpn.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 6) ประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2552 วาระเลือกตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ออกตามวาระ บริษัทไดเปดโอกาสใหผูถือหุนลงคะแนนเสียง เลือกตั้งกรรมการเปนรายบุคคล ทั้งนี้เพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิเลือกกรรมการที่ตองการไดอยางแทจริง 7) บริษัทไดนำระบบ E-Voting ของบริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด มาใชในการลงทะเบียนและตรวจนับองคประชุม ผูถือหุน รวมทั้งการนับคะแนนในการลงมติตามวาระการประชุม 9) ในระหวางการประชุม คณะกรรมการบริษัทไดเปดโอกาสใหผูถือหุนแสดงความคิดเห็น ขอเสนอแนะ หรือตัง้ คำถามในวาระตางๆอยางอิสระ กอนลงมติ 10) บริษัทไดดำเนินการจัดทำรายงานการประชุมผูถือหุน ภายหลังที่ประชุมผูถือหุนสิ้นสุดลงอยางละเอียดครบถวน ตามขอเท็จจริงที่ปรากฏ ในการประชุมผูถือหุน โดยจัดสงใหแกตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกระทรวงพาณิชยภายใน 14 วันหลังการประชุม พรอมทั้งเผยแพรผานทาง เว็บไซตของบริษัท คือ www.lpn.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 11) การออกเสียงคะแนนกระทำโดยเปดเผย โดยมีบัตรลงคะแนนในแตละวาระ เพื่อใหผูถือหุนสามารถลงคะแนนไดโดยอิสระ ทั้งนี้ในวาระ เลือกตั้งกรรมการ บริษัทไดเปดโอกาสใหผูถือหุนลงคะแนนเสียง เลือกตั้งกรรมการเปนรายบุคคล 12) บริษัทมีนโยบายการจายเงินปนผลแกผูถือหุนทุกรายในอัตราที่เทาเทียมกัน 13) เพิ่มชองทางการเผยแพรจดหมายเชิญประชุม และเอกสารประกอบการพิจารณารวมถึงกฎเกณฑการเขาประชุม และขอบังคับเกี่ยวกับ การประชุม ในเว็บไซตของบริษัท คือ www.lpn.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเปนการลวงหนากอนไดรับเอกสารการประชุม เพื่อใหผูถือหุนมีเวลา พิจารณามากยิ่งขึ้น โดยขอมูลดังกลาวมีรายละเอียดอยางเพียงพอ และครบถวน 14) ใหสิทธิผูถือหุนที่เขารวมประชุมในภายหลังที่ไดเริ่มการประชุมแลว ในการออกเสียงลงคะแนน สำหรับวาระที่อยูในระหวางการพิจารณา และยังไมมีการลงมติ โดยนับเปนองคประชุมตั้งแตวาระที่ไดเขารวมประชุม และออกเสียงเปนตนไป หมวดที่ 2 การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน (Equitable Treatment of Shareholders) บริษทั ดำเนินธุรกิจโดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบตอสังคมและผูท เ่ี กีย่ วของกับทุกฝาย คณะกรรมการบริษทั ปฏิบตั หิ นาทีโ่ ดยคำนึง ถึงผลประโยชนที่ดีที่สุดสำหรับผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน โดยใหความสำคัญและเคารพตอสิทธิแหงความเปนเจาของของผูถือหุน โดยไมเอื้อประโยชนตอ ผูมีสวนไดเสียกลุมใดกลุมหนึ่ง ทั้งนี้ผูถือหุนจึงสามารถมั่นใจไดวาสิทธิของตนจะไดรับการคุมครองและปฏิบัติดวยดีเสมอ คณะกรรมการบริษัทมีแนวทาง ในการรักษาไวซึ่งสิทธิดังกลาว ดังนี้ 1) บริษทั เปดเผยขอมูลใหผถู อื หุน ทราบอยางเพียงพอ ทันเวลา และทัว่ ถึงเกีย่ วกับผลการดำเนินงาน นโยบายการบริหารงาน ขอมูลการทำรายการ ทีเ่ กีย่ วโยงกันอยางถูกตองครบถวน รวมถึงการเผยแพรขอ มูลทีจ่ ำเปนตอการตัดสินใจของผูถ อื หุน ผานชองทางเว็บไซตของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย www.set.or.th และเว็บไซตบริษัท คือ www.lpn.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2) บริษทั จัดการประชุมผูถ อื หุน ใหเปนไปตามลำดับวาระทีแ่ จงไวในหนังสือนัดประชุมผูถ อื หุน โดยบริษทั จะไมเพิม่ วาระการประชุมโดยไมไดแจง ใหผูถือหุนทราบลวงหนา หากจะมีการเพิ่มวาระเพื่อพิจารณาเรื่องอื่นนอกเหนือจากที่กำหนดไวในหนังสือนัดประชุมผูถือหุนจะตองไดรับอนุมัติจากที่ ประชุมผูถือหุนดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา 1 ใน 3 ของผูถือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง 3) ในการประชุมผูถือหุนทุกครั้ง บริษัทไดดำเนินการจัดสงหนังสือเชิญประชุมพรอมเอกสารขอมูลประกอบการประชุมโดยมีรายละเอียด ครบถวนถูกตอง รวมทัง้ ความเห็นของคณะกรรมการบริษทั ในแตละวาระอยางเพียงพอภายในระยะเวลาทีก่ ฎหมายกำหนด และเผยแพรจดหมายเชิญประชุม ผูถือหุนและเอกสารประกอบการประชุมเปนการลวงหนากอนการประชุมเพื่อใหผูถือหุนไดมีเวลาในการพิจารณามากยิ่งขึ้นในเว็บไซตบริษัท คือ www.lpn.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 4) หากผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมได บริษัทไดจัดสงใหมีหนังสือมอบฉันทะตามแบบของกระทรวงพาณิชยไปพรอมหนังสือนัดประชุม ผูถือหุน เพื่อใหผูถือหุนที่ประสงคจะมอบฉันทะใหผูอื่นมาประชุมแทนโดยเลือกที่จะมอบฉันทะใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งแทน หรือกรรมการอิสระคนใดคน หนึ่งของบริษัทเขารวมประชุมแทนเพื่อเปนการรักษาสิทธิของผูถือหุนได 5) การกำหนดใหสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผูถือหุนเปนไปตามจำนวนหุนที่ผูถือหุนถืออยู โดยหนึ่งหุนมีสทิ ธิเทากับหนึ่งเสียง 6) บริษัทมีการดูแลเรื่องการใชขอมูลภายในโดยมีนโยบายหามกรรมการและผูบริหารใชขอมูลภายในที่มีสาระสำคัญของบริษัท และบริษัทยอย ซึ่งยังไมไดเปดเผยตอสาธารณชนเพื่อประโยชนของตนเองหรือผูอื่น ซึ่งรวมถึงการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัท โดยกรรมการผูบริหาร และพนักงานที่ 88

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


อยูในหนวยงานที่ทราบขอมูลภายในจะตองระงับการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทในชวง 1 เดือนกอนการเปดเผยงบการเงินตอสาธารณชน - ในกรณีที่กรรมการและผูบริหารคนใดทำการซื้อขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพยของบริษัทจะตองแจงใหสำนักงานคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยทราบทุกครั้งภายใน 3 วันทำการนับจากวันที่มีการเปลี่ยนแปลง และแจงใหเลขานุการบริษัทไดรับทราบ รวมทั้งได กำหนดใหบรรจุวาระการรายงานการถือครองหลักทรัพยบริษัทของกรรมการ รวมทั้งคูสมรสเปนวาระประจำในการประชุมคณะกรรมการบริษัททุก ไตรมาส - บริษัทมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในการดูแล และขจัดปญหาความขัดแยงทางผลประโยชน โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งมีหนาที่ตาม กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบเปนผูสอบทานการปฏิบัติตามกฎระเบียบและขอบังคับตางๆ ใหเปนไปตามกฎหมาย ตามหลักเกณฑของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ซึง่ หากทีป่ ระชุมมีมติทำรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน หรือเขาทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน บริษัทจะทำการเปดเผยมูลคารายการ ชื่อคูสัญญาและบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน เหตุผลความจำเปน และรายละเอียดอื่นๆ ทีเ่ กีย่ วของในการเขาทำรายการดังกลาวอยางถูกตอง ครบถวนทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษผานชองทางเว็บไซตของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย คือ www.set.or.th และเว็บไซตบริษัท คือ www.lpn.co.th หมวดที่ 3 การคำนึงถึงบทบาทของผูมีสวนไดเสีย (Roles of Stakeholders) บริษัทใหความสำคัญตอการคำนึงถึงประโยชนของผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ โดยดำเนินธุรกิจดวยความรับผิดชอบและเปนธรรมตอผูมีสวน เกี่ยวของทุกฝาย มุงมั่นในการพัฒนากิจการของบริษัทใหเจริญกาวหนามั่นคงอยางยั่งยืน สามารถสรางผลตอบแทนแกผูถือหุนอยางเหมาะสม ปกปอง ผลประโยชนและดูแลทรัพยสนิ ของบริษทั เสมือนวิญูชนพึงรักษาทรัพยสนิ ของตน ในการนี้บริษัทไดดูแลสิทธิของผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ ดวยการปฏิบัติ ที่ดีอยางเทาเทียมกัน ดังนี้ ผูถือหุน : บริษทั เคารพตอสิทธิขน้ั พืน้ ฐานของผูถ อื หุน ตามทีก่ ำหนดไวโดยกฎหมาย ขอบังคับของบริษทั โดยปฏิบัติตอผูถือหุนทุกรายอยาง เทาเทียมกัน บริษัทมีกลไกที่ทำใหผูถือหุนมีความเชื่อมั่นวาจะไดรับขอมูลที่ถูกตองและผลตอบแทนที่เหมาะสม การรับผลตอบแทนตามนโยบายการ จายเงินปนผลของบริษัท มีการควบคุมการทำรายการระหวางกัน มีมาตรการปองกันการขัดแยงทางผลประโยชน ปองกันการใชขอมูลภายในเกี่ยวกับ ขาวสารทีเ่ ปนความลับ และหามกรรมการ ผูบ ริหารทีร่ บั ทราบขอมูลภายใน ไมใหนำขอมูลภายในของบริษทั ไปใชเพือ่ ประโยชนสว นตน รวมทัง้ เพือ่ การซือ้ ขายหลักทรัพยของบริษัท โดยเฉพาะในชวง 1 เดือนกอนเผยแพรงบการเงินแกสาธารณชน ลูกคา : บริษทั ใหความสำคัญและรับผิดชอบตอลูกคาทุกรายอยางสม่ำเสมอและเทาเทียมกัน รับผิดชอบตอคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ ตามที่ไดโฆษณาหรือสัญญาไว รักษาความลับลูกคา พรอมทั้งมีหนวยงานที่ทำหนาที่รับเรื่องรองเรียนของลูกคาเพื่อรับดำเนินการแกไขปญหาใหแกลูกคา โดยเร็วที่สุด ตลอดจนการสรางคุณภาพชีวิตที่ดี เสริมสรางความอบอุนของสมาชิกในครอบครัวและสรางความสัมพันธระหวางลูกคาดวยกิจกรรมตางๆ อยางตอเนื่อง คูคา : บริษัทไดปฏิบัติตามขอตกลงและเงื่อนไขการคาตามกรอบกติกาการแขงขันที่สุจริต เสมอภาค และเปนธรรม คำนึงถึงประโยชน สูงสุดของบริษัทโดยอยูบนพื้นฐานของการไดรับผลตอบแทนที่เปนธรรมทั้งสองฝาย โดยรักษาคำมั่นที่ใหไวกับคูคาอยางเครงครัด รวมทั้งการเสริมสราง สัมพันธภาพ และความเขาใจที่ดีตอกัน หลีกเลี่ยงสถานการณที่อาจจะทำใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนดวยการเจรจาแกปญหาบนพื้นฐานของ ความสัมพันธทางธุรกิจ รวมถึงการไมเรียกรับ หรือยินยอมที่จะรับทรัพยสิน หรือประโยชนอื่นใดที่อยูนอกเหนือขอตกลงทางการคา คูแขง : บริษัทดำเนินธุรกิจโดยปฏิบัติตามกรอบกติกาของการแขงขันทางการคาโดยสุจริตและเปนธรรม โดยใชหลักคูแขงเชิงพันธมิตร อัน เปนการสงเสริมซึ่งกันและกันในกรอบที่ไมกอใหเกิดความเสียหายทางธุรกิจ และความสัมพันธระหวางกัน โดยตลอดระยะเวลาที่ผานมา บริษัทไมเคยมี ขอพิพาทใดๆ ในเรื่องที่เกี่ยวกับคูแขงทางการคา เจาหนี้ : บริษัทยึดถือและปฏิบัติตามขอตกลงเงื่อนไขทางการคา เงื่อนไขการกูยืมเงินตามขอตกลงและหนาที่อันพึงมีตอเจาหนี้ดวยความ ซื่อสัตยสุจริตเพื่อสรางความเชื่อมั่นและไววางใจซึ่งกันและกัน พนักงาน : บริษทั ใหความสำคัญตอการพัฒนาศักยภาพและความสามารถของพนักงานทุกระดับ สรางเสริมใหมคี วามรู ความสามารถในหนาที่ และพัฒนาพนักงานที่มีศักยภาพใหสูภาวะผูนำ รวมถึงการใหพนักงานมีสวนรวมในการกำหนดทิศทางการดำเนินงานใหมีทัศนคติเดียวกัน เสริมสราง วัฒนธรรมและบรรยากาศที่ดีในการทำงาน ปรับปรุงสภาพแวดลอมใหมีความปลอดภัยตอชีวิต สุขภาพ ทรัพยสินของพนักงาน และสวัสดิการตางๆ เชน การตรวจสุขภาพประจำป กองทุนสำรองเลีย้ งชีพ อีกทัง้ ยังคำนึงถึงความสมดุลของการทำงาน และชีวิตสวนตัวของพนักงาน (Work Life Balance) เปนตน พรอมกับดูแลผลตอบแทนอยางเปนธรรม เหมาะสมกับผลการปฏิบัติงานของพนักงานแตละคนและผลสำเร็จทางธุรกิจของบริษัท สิ่งแวดลอมและสังคม : บริษัทดำเนินธุรกิจโดยคำนึงถึงผลกระทบตอทรัพยากรและสิ่งแวดลอมให ความสำคัญตอการอนุรักษพลังงาน กิจกรรมที่มีสวนสนับสนุนสังคมใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น พรอมทั้งรักษาและอนุรักษสิ่งแวดลอมใหคงอยูอยางยั่งยืน โดยถือเปนนโยบายสำคัญสวนหนึ่ง ควบคูกับการดำเนินธุรกิจของบริษัท

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

89


หมวดที่ 4 การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส (Disclosure and Transparency) บริษัทใหความสำคัญตอการเปดเผยขอมูลที่มีความถูกตอง ครบถวน โปรงใสและทั่วถึง โดยไดเผยแพรขอมูลขาวสารตางๆ เพื่อใหผูลงทุนและ ผูท เ่ี กีย่ วของไดรบั ทราบอยางรวดเร็วและเทาเทียมกัน โดยผานชองทางเว็บไซตของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย www.set.or.th และเว็บไซตบริษัท www.lpn.co.th ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และบริษทั ไดกำหนดบุคคลทีส่ ามารถใหขอ มูลและขาวสารตามทีน่ กั ลงทุนและผูท เ่ี กีย่ วของตองการ โดยใน ป 2552 ผูถ อื หุน รายยอย นักลงทุนทัว่ ไปและนักวิเคราะห ไดมกี ารติดตอสือ่ สารกับเจาหนาทีข่ องบริษทั ซึง่ บริษทั มีความเห็นวาเปนการสรางความสัมพันธ อันดีระหวางกัน และเชื่อวาปจจุบันผูถือหุนรายยอยและนักลงทุนทั่วไปตางใหความสำคัญกับขอมูลการลงทุนเปนอยางมาก ทั้งนี้ เจาหนาที่บริษัทจะ ตั้งมั่นอยูบนพื้นฐานของการเปดเผยขอมูลที่เทาเทียมกัน บริษัทไดตระหนักและมีความรับผิดชอบตอความเชื่อถือไดและถูกตองของขอมูลทางเงิน โดย คณะกรรมการบริษัทไดจัดทำรายงานทางการเงินที่มีขอมูลถูกตองครบถวน ตามมาตรฐานการบัญชีและหลักบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป รวมทั้งการเปดเผย สารสนเทศสำคัญทีม่ ผี ลกระทบ หรืออาจมีผลกระทบตอการเปลีย่ นแปลงในราคาหลักทรัพยของบริษทั หรือตอการตัดสินใจลงทุน โดยการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ ขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และหนวยงานอื่นๆ ของรัฐอยาง เครงครัด และติดตามการแกไขเปลี่ยนแปลงอยางสม่ำเสมอเพื่อใหมั่นใจวากฎหมาย กฎเกณฑ มีความทันสมัยและเปนหลักประกันใหผูถือหุนเชื่อมั่นใน การดำเนินธุรกิจอยางตรงไปตรงมา บริษทั เปดชองทางใหผถู อื หุน นักลงทุน และบุคคลทัว่ ไปสามารถซักถามขอสงสัยตางๆ ผานชองทางนักลงทุนสัมพันธ คือ นายสุริยา สุริยาภิวัฒน ซึ่งเปนบุคคลที่พรอมจะใหขอมูลและขาวสารตามที่นักลงทุน และผูที่เกี่ยวของที่สนใจ โดยสามารถติดตอไดดังนี้ E-mail Address : IR@lpn.co.th หรือ โทรศัพท : (02) 285-5011 หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท (Board Responsibilities) 1. โครงสรางคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั ประกอบดวย บุคคลทีม่ คี วามรูค วามสามารถและมีประสบการณในหลายสาขา อาทิเชน วิศวกรรมศาสตร สถาปตยกรรมศาสตร เศรษฐศาสตร บริหารธุรกิจ กฎหมาย บัญชี การเงิน เปนตน ซึ่งกรรมการทุกทานผานการอบรมหลักสูตรกรรมการจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (Thai Institute of Directors Association-IOD) ทั้งนี้คณะบุคคลดังกลาวนี้มีบทบาทสำคัญ ในการกำหนดนโยบายของบริษัทรวมกับผูบริหาร ระดับสูงวางแผนการดำเนินงานทั้งระยะสั้นและระยะยาวตลอดจนกำหนดนโยบายทางการเงิน การบริหารความเสี่ยง และภาพรวมขององคกร มีบทบาท สำคัญในการกำกับดูแล ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานของบริษทั รวมถึงผลการปฏิบตั งิ านของผูบ ริหารระดับสูง ใหเปนไปตามแผนที่วางไวอยาง เปนอิสระ โครงสรางการจัดการของบริษัทประกอบดวย คณะกรรมการทั้งหมด 4 ชุด ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัท 2. คณะกรรมการตรวจสอบ 3. คณะกรรมการบริหาร 4. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน บริษัทมีการกำหนด และแยกอำนาจของคณะกรรมการแตละชุดไวอยางชัดเจน โดยในการพิจารณาตัดสินใจในเรื่องสำคัญๆ จะตองผานความ เห็นชอบของคณะกรรมการแตละชุด ซึง่ มีหนาทีเ่ ฉพาะเรือ่ ง และเสนอเรือ่ งใหคณะกรรมการบริษทั พิจารณาหรือรับทราบ โดยการพิจารณาตัดสินใจจะตองผาน ความเห็นชอบของคณะกรรมการแตละชุด เพื่อถวงดุลและสอบทานใหความโปรงใส และเปนธรรมตอผูที่เกี่ยวของทุกฝาย โดยมีประธานกรรมการบริษัท ทีม่ คี วามเปนอิสระจากฝายบริหารและไมไดดำรงตำแหนงในคณะกรรมการชุดยอย ประธานกรรมการบริหาร (Chief Executive Director) ในฐานะหัวหนา ของคณะกรรมการบริหาร รับผิดชอบตอคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการดำเนินธุรกิจและการปฏิบัติงานของบริษัท ใหสอดคลองกับนโยบายของ คณะกรรมการบริษัทโดยติดตามผลการดำเนินงานของฝายจัดการ และกำหนดใหมีการประชุมรวมกัน เพื่อรายงานความกาวหนาของผลดำเนินงาน และ ผลประกอบการของบริษัทเปนประจำทุกเดือน วาระการดำรงตำแหนงของกรรมการบริษัท ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจำป กรรมการตองออกจากตำแหนงจำนวนหนึ่งในสาม ถาจำนวนกรรมการแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมไดก็ ใหออก โดยจำนวนใกลที่สุดกับสวนหนึ่งในสาม กรรมการบริษทั ไดรบั การแตงตัง้ เลือกตัง้ และถอดถอน โดยทีป่ ระชุมผูถ อื หุน มีวาระการดำรงตำแหนงตามขอบังคับของบริษทั และเมือ่ ครบวาระ แลวอาจไดรับการเลือกตั้งกลับเขาดำรงตำแหนงตอไปไดอีกเวนแตในกรณีที่ตำแหนงกรรมการบริษัทวางลง โดยมิใชเปนการออกตามวาระ คณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาคาตอบแทนจะทำหนาที่พิจารณาสรรหาบุคคลที่เหมาะสมเสนอตอที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท เพื่อแตงตั้งบุคคลเขาเปนกรรมการ ในตำแหนงที่วางลงตามขอบังคับของบริษัท บริษัทมิไดกำหนดอายุกรรมการ และ/หรือ จำนวนวาระสูงสุดที่จะดำรงตำแหนงอยางตอเนื่องได โดยเชื่อวาอายุหรือระยะเวลาดำรงตำแหนงมิได เปนอุปสรรค หากเปรียบเทียบกับความรูความสามารถและประสบการณอันทรงคุณคาที่แตละคนมีและพรอมที่จะนำมาเปนประโยชนตอบริษัท

90

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


จำนวนบริษัทที่กรรมการดำรงตำแหนง บริษัทไดเปดเผยรายละเอียดขอมูลการดำรงตำแหนงกรรมการแตละคนที่บริษัทอื่นไวในแบบ 56-1 และในรายงานประจำป ( Annual Report) โดยในปจจุบันมีกรรมการบริษัทจำนวน 5 คน ที่ดำรงตำแหนงกรรมการบริษัทจดทะเบียนอื่นแตไมเกิน 4 แหง ทั้งนี้บริษัทมั่นใจวาจะไมมีผลกระทบตอ การปฏิบัติงานหนาที่แตอยางใด โดยตลอดระยะเวลาที่ผานมา บริษัทไดรับคำปรึกษา คำแนะนำ และขอเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินธุรกิจของ บริษัทที่มีประโยชนอยางตอเนื่องและสม่ำเสมอ คณะกรรมการชุดยอย คณะกรรมการบริษทั มีการแตงตัง้ คณะกรรมการ คณะกรรมการชุดยอยตางๆ ไดแก คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน เพื่อใหปฏิบัติหนาที่เฉพาะเรื่องและนำเสนอใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาและรับทราบซึ่งคณะกรรมการชุดยอยมีสิทธิ์หนาที่ ตามที่กำหนด 2. บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ภาวะผูนำและวิสัยทัศน คณะกรรมการบริษัทเปนผูกำกับดูแลกิจการของบริษัท ใหเปนไปตามวัตถุประสงค และเปาหมายที่กำหนดไวใหเกิดประโยชนสูงสุด คณะกรรมการบริษัทมีหนาที่ ในการกำหนดวิสัยทัศน พันธกิจ นโยบาย วางเปาหมาย แผนงาน งบประมาณ และกลยุทธทางธุรกิจ ตลอดจน ควบคุมการดำเนินงานของบริษัทใหเปนไปตามแผนธุรกิจ และงบประมาณที่ไดวางไวอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล มีความเปนอิสระในการ แสดงความคิดเห็น และการตัดสินใจ คณะกรรมการบริษัทใหความสำคัญตอรายงานทางการเงินที่ตองสะทอนใหเห็นถึงผลการดำเนินงานอยางแทจริง มีการประเมิน กำหนด และ วางมาตรฐานในการบริหาร ปองกันและจัดการความเสีย่ งใหอยูใ นระดับทีเ่ หมาะสมอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ภายใตหลักการถวงดุลอำนาจและ สามารถตรวจสอบได โดยคณะกรรมการบริษทั มีความมุง มัน่ ในการพัฒนาเพือ่ ใหธรุ กิจของบริษทั มีความเจริญกาวหนาอยางมัน่ คงและยัง่ ยืน สามารถสราง ผลตอบแทนแกผูถือหุนไดอยางเหมาะสม การแบงแยกบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการ บริษัทมีการกำหนด และแยกอำนาจของคณะกรรมการบริษัทและฝายจัดการ ในระดับตางๆ ไวอยางชัดเจน โดยในการพิจารณาและตัดสินใจใน เรื่องที่สำคัญๆ จะตองผานความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดยอย เพื่อถวงดุลและสอบทานใหเกิดความโปรงใสและเปนธรรม ตอผูที่เกี่ยวของทุกฝาย ประธานกรรมการบริษัท มีความเปนอิสระจากฝายบริหาร ฝายจัดการ และไมไดดำรงตำแหนงในคณะกรรมการชุดยอย การรวมหรือแยกตำแหนง ประธานกรรมการบริษัทเปนกรรมการที่ไมเปนผูบริหารและไมเปนบุคคลเดียวกับประธานเจาหนาที่บริหาร โดยประธานกรรมการบริษัทมีความ เปนอิสระจากฝายบริหาร มีการแบงแยกหนาทีใ่ นการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลและการบริหารงานประจำออกจากกันอยางชัดเจน ประธานกรรมการ บริษทั มีหนาทีเ่ ปนประธานในทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ซึง่ เปนผูก ำหนดนโยบาย แผนงาน และกลยุทธทส่ี ำคัญใหฝา ยบริหารนำไปปฏิบตั ิ โดยกรรมการ บริษทั ทุกคนมีความเปนอิสระในการเสนอวาระการประชุม การแสดงความคิดเห็นตอการดำเนินงานของบริษทั ในดานตางๆ รวมถึงพิจารณาอยางรอบคอบ ในเรื่องที่อาจขัดแยงทางผลประโยชน เพื่อใหมีความถูกตอง โปรงใส สามารถตรวจสอบได สวนประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร (Chief Executive Offif icer - CEO) เปนหัวหนาคณะของฝายบริหาร รับผิดชอบตอคณะกรรมการบริษัทในการดูแล การดำเนินกิจการและปฏิบัติงานของบริษัทใหสอดคลองกับนโยบายของคณะกรรมการบริษัท โดยมีการบริหารติดตามการดำเนินงานของฝายบริหาร และฝายจัดการโดยกำหนดใหมีการประชุมรวมกัน เพื่อรายงานความกาวหนาของผลการดำเนินงาน และผลประกอบการของบริษัทเปนประจำทุกเดือน มีการกระจายอำนาจลงไปสูฝายบริหาร ในการกำหนดหนาที่ ความรับผิดชอบ และวงเงิน การประชุมคณะกรรมการบริษัท การเขารวมประชุม และการมีกิจกรรมรวมกันกับบริษัทถือวาเปนหนาที่สำคัญของกรรมการบริษัท เพื่อรับทราบ และรวมกันตัดสินใจในการ ดำเนินธุรกิจ โดยบริษทั มีการกำหนดวันและเวลาประชุมของคณะกรรมการบริษทั ไวลว งหนาตลอดปอยางนอยปละ 6 ครัง้ แตละครัง้ จะมีการกำหนดวาระประชุม ที่ชัดเจน มีการนำสงเอกสารกอนการประชุมลวงหนากอนวันประชุม อยางนอย 7 วัน เพื่อใหคณะกรรมการบริษัทไดมีเวลาในการพิจารณาศึกษาขอมูล อยางเพียงพอกอนเขารวมประชุม

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

91


ประธานกรรมการบริษทั และประธานกรรมการบริหารรวมกันกำหนดวาระการประชุมและพิจารณาเรือ่ งเขาวาระการประชุมคณะกรรมการบริษทั และในการประชุมไดเปดโอกาสใหกรรมการทุกคนสามารถเสนอเรือ่ งตางๆ เพือ่ เขารับการพิจารณาเปนวาระการประชุมได ตลอดจนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ ทัง้ นีใ้ นการลงมติในทีป่ ระชุม ใหถอื มติของเสียงมาก โดยใหกรรมการคนหนึง่ มีหนึง่ เสียง กรรมการทีม่ สี ว นไดเสียจะไมเขารวมประชุม และ/ หรือสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น การประชุมแตละครั้งใชเวลาประมาณ 4-5 ชั่วโมง เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทไดตระหนักถึงความสำคัญของบทบาทและหนาที่เลขานุการ บริษัทซึ่งมีสวนชวยสนับสนุนการดำเนินงานของบริษัทใหเปน ไปตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ปฏิบัติถูกตองตามหลักเกณฑและขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้ง นางสาวสมศรี เตชะไกรศรี รองกรรมการผูจัดการ ดำรงตำแหนงเลขานุการบริษัท ทำ หนาทีป่ ระสานงานระหวางกรรมการบริษทั และฝายจัดการ ทำหนาทีด่ แู ลและประสานงานดานกฎหมาย กฎเกณฑตา งๆ ทีเ่ กีย่ วของสนับสนุนใหดำเนินการ ตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี พรอมปฏิบัติตามขอบังคับและประกาศของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลัก ทรัพยและตลาดหลักทรัพย รวมทั้งการติดตามผลการปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการบริษัทและมติที่ประชุมผูถือหุนดวย การประเมินตนเองของกรรมการบริษัทและการประเมินประธานเจาหนาที่บริหาร (Chief Executive Off icer- CEO) ประธานกรรมการบริษัท ใหความสำคัญตอการประเมินผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการบริษัท และประธานเจาหนาที่บริหารโดยมีวัตถุประสงค ในการนำผลการประเมินไปใชประโยชนในการปรับปรุงระดับการปฏิบตั หิ นาทีข่ องคณะกรรมการบริษัทในดานตางๆ โดยคณะกรรมการบริษัทไดมอบหมาย ใหคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนเปนผูดำเนินการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ดำเนินการใหมีการประเมินตนเองของกรรมการ โดยแบงออกเปน 3 ประเภท ประเภทที่ 1 การประเมินผลคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) โดยประเมินในดานตางๆ คือ ความโดดเดนในความรูความสามารถ (Core Competency) ความเปนอิสระ (Independence) ความพรอมในการปฏิบัติภารกิจ (Preparedness) ความเอาใจใสตอหนาที่และความรับผิดชอบ (Practice as a director) การปฏิบตั หิ นาทีใ่ นคณะกรรมการ (Committee Activities) ความมุง มัน่ ในการพัฒนาองคกร (Development of Organization) ประเภทที่ 2 การประเมินผลกรรมการเปนรายบุคคล โดยประเมินในดานตางๆ คือความโดดเดนในความรูความสามารถ (Core Competency) ความเปนอิสระ (Independence) ความพรอมในการปฏิบตั ภิ ารกิจ (Preparedness) ความเอาใจใสตอ หนาทีแ่ ละความรับผิดชอบ (Practice as a director) การปฏิบัติหนาที่ในคณะกรรมการ (Committee Activities) ความมุงมั่นในการพัฒนาองคกร (Development of Organization) ประเภทที่ 3 การประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะ โดยประเมินในดานตางๆ คือ โครงสรางและคุณสมบัติของคณะกรรมการ บทบาทหนาที่และ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการ การทำหนาทีข่ องกรรมการ ความสัมพันธกับฝายจัดการ การพัฒนาตนเองของคณะกรรมการ และการพัฒนาผูบริหาร ทั้งนี้ ขั้นตอนการประเมิน คือประมาณเดือนธันวาคม โดยมีเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนทำหนาที่จัดสงแบบประเมิน ใหกรรมการแตละทานประเมินตนเองโดยอิสระ หลังจากนั้น เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนจะทำการรวบรวมแบบประเมินผล เพื่อจัดทำรายงานสรุป ประมวลผลการประเมิน และนำเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1 ของปถัดไป อนึ่ง ผลการประเมินผลปฏิบัติงานคณะกรรมการบริษัทในป 2552 ไดนำเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ 2553

92

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


ภาพรวมของการประเมินผลคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) ลำดับ หัวขอประเมิน 1 2 3 4 5 6

ความโดดเดนในความรูความสามารถ (Core Competency) ความเปนอิสระ (Independence) ความพรอมในการปฏิบัติภารกิจ (Preparedness) ความเอาใจใสตอหนาที่และความรับผิดชอบ (Practice as a director) การปฏิบัติหนาที่ในคณะกรรมการ (Committee Activities) ความมุงมั่นในการพัฒนาองคกร (Development of Organization) ภาพรวมเฉลี่ย

ภาพรวมการประเมินผลกรรมการรายบุคคล (ประเมินกรรมการ) ลำดับ หัวขอประเมิน 1 2 3 4 5 6

ความโดดเดนในความรูความสามารถ (Core Competency) ความเปนอิสระ (Independence) ความพรอมในการปฏิบัติภารกิจ (Preparedness) ความเอาใจใสตอหนาที่และความรับผิดชอบ (Practice as a director) การปฏิบัติหนาที่ในคณะกรรมการ (Committee Activities) ความมุงมั่นในการพัฒนาองคกร (Development of Organization) ภาพรวมเฉลี่ย

ภาพรวมการประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะ ลำดับ หัวขอประเมิน 1 2 3 4 5 6

โครงสรางและคุณสมบัติของคณะกรรมการ บทบาทหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการ การทำหนาที่ของกรรมการ ความสัมพันธกับฝายจัดการ การพัฒนาตนเองของคณะกรรมการและการพัฒนาผูบริหาร ภาพรวมเฉลี่ย

ผลประเมิน(รอยละ) 81.55 79.91 76.79 83.04 81.75 82.65 81.43

ผลประเมิน(รอยละ) 83.73 79.61 80.51 87.35 88.10 84.18 84.93

ผลประเมิน(รอยละ) 95.23 94.33 96.12 95.57 98.07 92.83 95.10

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

93


นอกจากนัน้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนไดใหคณะกรรมการบริษทั ทำการประเมินประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร (CEO) โดยประเมิ น ในดานตางๆ คือ การวางแผนกลยุทธ ความเปนผูน ำ ผลการดำเนินงานดานการเงิน การบริหารกำกับดูแลการทำธุรกรรม การจัดทำแผนทดแทนตำแหนง การบริหารทรัพยากรมนุษย การสื่อสาร และการสรางความสัมพันธกับคณะกรรมการบริษัท

ภาพรวมผลการประเมินประธานเจาหนาที่บริหาร ลำดับ หัวขอประเมิน 1 2 3 4 5 6 7 8

การวางแผนกลยุทธ ความเปนผูนำ ผลการดำเนินงานดานการเงิน การบริหารกำกับดูแลการทำธุรกรรม การจัดทำแผนทดแทนตำแหนง การบริหารทรัพยมนุษย การสื่อสาร การสรางความสัมพันธกับคณะกรรมการบริษัท ภาพรวมเฉลี่ย

ผลประเมิน(รอยละ) 89.00 86.00 83.33 91.67 66.67 69.33 89.33 89.00 82.63

คาตอบแทน - รายละเอียดตามที่ปรากฏ คาตอบแทนของกรรมการและผูบริหาร

การพัฒนากรรมการและผูบริหาร คณะกรรมการบริษัทและผูบริหารใหความสำคัญตอการเขารวมสัมมนาหลักสูตรที่เปนประโยชนตอการปฏิบัติหนาที่ โดยเล็งเห็นประโยชนของ การศึกษาอบรม โดยเขารวมรับการอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (Thai Institute of Directors Association-IOD) ตามที่สำนักงานคณะกรรมการหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (กลต.) กำหนดใหกรรมการของบริษัทจดทะเบียนตองผานการอบรมอยางนอยหนึ่ง หลักสูตร ไดแก Director Accreditation Program (DAP) และ Director Certifif ication Program (DCP) นอกจากหลักสูตรที่กำหนด คณะกรรมการ บริษทั ยังใหความสำคัญในการเขารวมรับการอบรมหลักสูตรอืน่ ๆ ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) อาทิเชน หลักสูตร Role of Compensation Committee (RCC) เปนตน หลักสูตร Company Secretary ของสมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ เสริมสรางศักยภาพความเปนผูน ำที่ เปนมืออาชีพ มีความรู ความเขาใจในบทบาทหนาที่อยางแทจริง และเปนตนแบบในการขับเคลื่อนองคกรเพื่อนำไปสูการกำกับดูแลกิจการที่ดี ปฐมนิเทศกรรมการใหม ในกรณีมีกรรมการเขาใหม บริษัทไดกำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเตรียมความพรอม ในการปฏิบัติหนาที่กรรมการบริษัทเพื่อใหกรรมการเขา รับตำแหนงสามารถปฏิบัติหนาที่ไดทันที โดยมีเลขานุการบริษัทเปนผูประสานงานในดานตางๆ ดังนี้ 1) ประสานงานในการใหขอมูลเกี่ยวกับบริษัทในดานกฎหมายและอื่นๆ อาทิเชน ขอบังคับบริษัท วัตถุประสงคบริษัท โครงสรางองคกร จรรยาบรรณทางธุรกิจของคณะกรรมการบริษัท เปนตน 2) จัดใหมีการพบปะกับประธานกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดยอยและผูบริหารของบริษัท เพื่อรับทราบขอมูลเกี่ยว กับการดำเนินธุรกิจของบริษัท การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริษัทไดระบุขอกำหนดเกี่ยวกับขอบเขตการเปดเผยขอมูลภายในใหแกบุคคลภายนอกไวในจรรยาบรรณทางธุรกิจทั้งของกรรมการบริหารและ พนักงาน ในสวนของจรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน บริษทั จัดทำไวในคูม อื พนักงาน ซึง่ จะมอบใหแกพนักงานเมือ่ แรกเขาทำงาน และเพือ่ ใหเกิดความ มั่นใจวาพนักงานไดปฏิบัติตามขอกำหนดอยางถูกตอง บริษัทไดกำหนดใหผูบังคับบัญชาและฝายบริหารทรัพยากรมนุษยดูแลการใชขอมูลของพนักงานใน เบื้องตน

94

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


สำหรับการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพยของคณะกรรมการตอสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 บริษัทกำหนดใหกรรมการทุกทานมีหนาที่แจงเรื่องการเปลี่ยนแปลงการ ถือครองหลักทรัพยของบริษทั ทันที โดยผานทางแผนกนักลงทุนสัมพันธ สังกัดสำนักกรรมการ เพือ่ จัดทำรายงานสงใหสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลัก ทรัพยและตลาดหลักทรัพย รวมถึงการจัดทำบันทึกการเปลี่ยนแปลงและสรุปจำนวนหลักทรัพยของคณะกรรมการเปนรายบุคคลเพื่อนำเสนอใหแกคณะ กรรมการบริษัททราบในการประชุมทุกครั้ง บริษัทมีการวางระบบขอมูลของบริษัท โดยกำหนดลำดับความสำคัญ และอำนาจของผูที่สามารถพิจารณาตรวจสอบแกไขขอมูลเปนลำดับขั้น ตอนที่ชัดเจน โดยมีฝายสารสนเทศที่ทำหนาที่ดูแลตรวจสอบความครบถวนถูกตองอยูเสมอ นอกจากนั้นยังมีฝายตรวจสอบภายในคอยสุมตรวจอยูเปน ระยะๆ อีกชั้นหนึ่งดวย จรรยาบรรณทางธุรกิจ คณะกรรมการบริษัทจัดใหมีจรรยาบรรณทางธุรกิจของคณะกรรมการบริษัทและของพนักงาน เพื่อเปนแนวทางปฏิบัติใหสอดคลองกับหลักการ กำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อประโยชนตอบริษัท ผูถือหุน กรรมการ พนักงาน และผูมีสวนไดเสียอื่นๆ ดานบุคลากร จากวิสัยทัศนของบริษัท อันไดแก การมุงมั่นดำเนินการในการรักษาภาวะผูนำดานการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัย บริษัทจึงไดใหความสำคัญ อยางยิ่งในเรื่องการบริหารทรัพยากรมนุษย โดยมีพันธกิจในการสงเสริมคานิยมองคกรเพื่อนำไปสูความสุข ความกาวหนา ความมั่นคงของพนักงาน ภายใตองคกรคุณภาพ ดังนี้ 1. การบริหารจัดการ บริษัทมีนโยบายการบริหารจัดการดานบุคลากรที่เปนหนึ่งเดียว ทั้งพนักงานสวนหนา (Front Line) เชน สายงานบริหารงานขาย สายงาน บริหารโครงการ สายงานบริหารแบรนดและการตลาด หรือสวนสนับสนุน (Back Off ice) เชน สายงานบัญชีและการเงิน กฎหมาย ธุรการ ซึ่งเป็นไป ตามแผนภูมิกลยุทธที่กำหนดโดยคณะกรรมการบริษัท ซึ่งมีประธานเจาหนาที่บริหารและประธานคณะกรรมการบริหารเปนผูรับผิดชอบตามแนวทางที่ กำหนด และมีสำนักทรัพยากรมนุษยเปนผูดำเนินการตามแผนงานและแนวทางที่กำหนดไว เพื่อใหสอดคลองและเอื้อใหเปาหมายของแตละสายงาน บรรลุผล 2. การสงเสริมคานิยมองคกร (Core Values) บริษัทไดกำหนดสมรรถนะหลัก (Core Competency) ของพนักงานมาอยางตอเนื่อง จนพัฒนามาเปนคานิยมองคกรภายใตวิถี “CLASSIC” เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาบุคลากรทุกสายงาน รวมถึงกำหนดเปนแนวทางในการรับพนักงานใหมเขาปฏิบัติงานภายในองคกร “CLASSIC” คานิยมองคกร Collaboration ความรวมมือรวมใจ Lateral Thinking คิดนอกกรอบ Alliance ปยะมิตร Speed รวดเร็ว Service Minded ใจรักบริการ Integrity คุณธรรม Cost Awareness บริหารตนทุน “CLASSIC” เปนสวนสำคัญในการสนับสนุนวิสัยทัศนและกลยุทธองคกรใหบรรลุเปาหมาย บริษัทจึงไดตอกย้ำดวยการถายทอดและแลกเปลี่ยน ประสบการณเพื่อสรางความรูความเขาใจถึงแกนแทของ “CLASSIC” ใหกับพนักงานและผูบริหารอยางตอเนื่อง โดยมีผูบริหารระดับสูงเปนแบบอยาง ตลอดจนกำหนดบทบาทของพนักงานทุกระดับในองคกรดังนี้

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

95


บทบาทหนาที่

CLASSIC

ผูบริหารระดับสูง

Ambassador

ผูบริหารระดับกลาง

Agent

พนักงานทุกคน

Member

- ใหคำปรึกษา ใหคำแนะนำ CLASSIC Agent - สรางความเชือ่ มัน่ ใน CLASSIC ใหกบั พนักงาน - ถายทอดแนวคิด มุมมอง ประสบการณใหกบั CLASSIC Agent - สรางแรงบันดาลใจให CLASSIC Agent มุง สูก ารเปน CLASSIC Ambassador

- มีทศั นคติทด่ี แี ละเชือ่ มัน่ ในคานิยม CLASSIC - เปนแบบอยางทีด่ ี (Role Model) - ถายทอดแนวคิด มุมมอง ประสบการณใหกบั CLASSIC Member - กระตุน สงเสริมให CLASSIC Member แสดงพฤติกรรม CLASSIC

- มีทศั นคติทด่ี แี ละเชือ่ มัน่ ในคานิยม CLASSIC - ทำความเขาใจความหมาย เรียนรู คูม อื CLASSIC เสมอ - แสดงพฤติกรรมทีส่ อดคลองตามความหมายในคูม อื CLASSIC - ประยุกตใชคา นิยม CLASSIC ในการทำงานอยางสม่ำเสมอ

ในป 2552 บริษัทไดจัดกิจกรรมตางๆ เพื่อใหพนักงานทุกคนตระหนักถึงความสำคัญและจริงจังกับคานิยมองคกรดังนี้ การสงเสริมความรู ความเขาใจ (Awareness & Understanding) • งาน Kick off : CLASSIC Day : กระตุนใหพนักงานตระหนักถึงความสำคัญและประโยชนในการนำ CLASSIC มาเปนสวนหนึ่งของการ ทำงาน รวมทั้งยังมีกิจกรรมที่ชวยใหพนักงานเขาใจถึงพฤติกรรม CLASSIC ทั้ง 7 ตัวที่องคกรคาดหวังไดอยางชัดเจน • Executive Sharing : การถายทอดความรู มุมมอง ประสบการณ โดยกรรมการบริหารสูผ บู ริหาร พนักงาน เพือ่ ถายโอนแนวปฏิบตั ทิ ส่ี ะทอน CLASSIC และสอดคลองกับทิศทางและกลยุทธขององคกร • CLASSIC Story Board : เปนกิจกรรมที่พนักงานแตละฝายรวมเขียนพฤติกรรมที่เพื่อนรวมงานแสดงพฤติกรรมการทำงานที่สะทอน CLASSIC เพื่อใหเกิดความเขาใจถึงแนวปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม • วารสาร LPN News : คอลัมน CLASSIC Story : ถายทอดเรื่องราว หรือเหตุการณที่พนักงานสงมอบบริการดวยการใช CLASSIC จนสราง ความประทับใจใหกับลูกคา เจาของรวม และไดเขียนแสดงความชื่นชมพนักงาน เพื่อใหเกิดแรงบันดาลใจกับพนักงานคนอื่นๆ การแสดงความชื่นชม (Reward & Recognition) • CLASSIC Story Card : กิจกรรมทีผ่ บู ริหารและพนักงาน เขียนชืน่ ชมเพือ่ นรวมงาน หรือผูใ ตบงั คับบัญชาทีแ่ สดงพฤติกรรมสะทอน CLASSIC เพื่อใหเกิดการแสดงพฤติกรรมอยางตอเนื่อง สัญญาใจรวมกัน (Commitment) • กิจกรรมตางๆ ของบริษัท : การที่ผูบริหารและพนักงาน สมัครเขารวมกิจกรรมตางๆ ของบริษัท อาทิ กิจกรรมงานขาย งานโอน กิจกรรม ดานสิ่งแวดลอม เปนตน ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความรวมมือรวมใจ และการเปนสวนหนึ่งในความสำเร็จของบริษัท นอกจากนัน้ บริษทั ยังไดจดั ทำ CLASSIC Hand Book เพือ่ เปนคูม อื ใหพนักงานทุกคนมีไวเพือ่ การเรียนรู ตอกย้ำ ทบทวน สำรวจตนเอง รวมถึง บันทึกพฤติกรรมทีส่ ะทอนคานิยม เพือ่ แบงปนองคความรูก นั ในแตละหนวยงาน ตลอดจนมีการสำรวจพัฒนาการของพฤติกรรม “CLASSIC” อยางตอเนื่อง

96

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


3. การเตรียมผูสืบทอด การเตรียมผูสืบทอด (Succession Plan) ในองคกร เปนภารกิจหลักของผูบริหารที่ตองวางแผนและดำเนินการเพื่อสรางความตอเนื่องในการ บริหารงาน และเตรียมบุคลากรเพื่อรองรับนโยบายและแผนงานองคกรในอนาคต บริษัทรวมกับที่ปรึกษาจัดทำโครงการคนหาและพัฒนาผูสืบทอดโดยใชปจจัยสำคัญในการผลักดันกลยุทธองคกรมากำหนดเกณฑการคัดเลือก ผูท ม่ี ศี กั ยภาพ โดยมีการประเมินเปรียบเทียบกลุมเปาหมายรายบุคคลเพื่อใหมั่นใจในกระบวนการคัดสรร จัดตั้งเปนกลุมบุคคลที่จะตองพัฒนาและจัดทำ แผนการพัฒนาและมอบหมายภารกิจเปนกรณีพิเศษเพื่อติดตามและประเมินศักยภาพ มีการจัดใหมีพี่เลี้ยงซึ่งเปนผูบริหารระดับสูงเพื่อใหขอมูลยอนกลับ ใหคำแนะนำและติดตามพัฒนาการ แผนพัฒนาผูสืบทอดจะออกแบบเฉพาะใหเหมาะกับแตละบุคคล ทั้งการพัฒนาดานที่โดดเดน และเสริมในจุดออน รวมถึงสอดคลองกับทิศทางขององคกรในการเตรียมผูสืบทอดถือเปนเรื่องสำคัญและมีความละเอียดออนทั้งตอกลุมเปาหมายและกับผูรวมงานทั้งหมด ดวย โดยองคกรจะใหความสำคัญกับพนักงานภายในเปนลำดับแรกเพื่อเปนการสรางความผูกพันระหวางพนักงานกับองคกรดวย 4. การดูแลพนักงาน บริษัทเล็งเห็นถึงความสำคัญของพนักงานวาเปนผูมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนใหบริษัทเติบโตอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน จึงไดพยายาม หาแนวทางในการสนับสนุนพนักงานใหสามารถทำงานไดอยางเต็มประสิทธิภาพเพื่อประสบผลสำเร็จของงาน โดยแบงออกไดดังนี้ - ความสมดุลระหวางชีวิตและงาน ชีวอนามัย การจัดสถานที่และความพรอมของเครื่องมือในการทำงาน บริษทั ใหความสำคัญกับการปรับสมดุลระหวางงาน สวนตัว ครอบครัว และสังคม (Work Life Balance) ของพนักงานใหเกิดความสมดุล ทัง้ ยัง ใสใจกับสวัสดิภาพความเปนอยูของพนักงานดวยการจัดการดานประกันสุขภาพ ใหความคุม ครองในรูปสวัสดิการ สิทธิประโยชนเกีย่ วกับการ ประกันชีวติ การประกันอุบตั เิ หตุ โดยพิจารณาจากความตองการพื้นฐาน และวิถีชีวิต (Lifestyle) การตรวจรางกาย การจัดใหมีคณะกรรมการ สวัสดิการ ซึง่ เลือกตัง้ จากพนักงานทีท่ ำหนาทีใ่ หคำแนะนำและแสดงความเห็นดานการจัดสรรสวัสดิการของพนักงาน เพือ่ คอยดูแลและสงเสริม คุณคาของบุคลากร มีเครื่องมือและอุปกรณในการปฏิบัติงานอยางเพียงพอ การจัดสถานที่ที่คำนึงถึงสวัสดิภาพอนามัย และความปลอดภัยใน การทำงานของพนักงานตามที่กฎหมายกำหนดทุกประการ รวมถึงสรางจิตสำนึกในดานความปลอดภัยในการทำงานตลอดเวลา จัดเตรียม ระบบปองกันภัยและความพรอมดานอุปกรณความปลอดภัยตางๆ ที่พรอมใชงานอยูเสมอ - จริยธรรมและคุณธรรม นอกเหนือจากการดำเนินงานตามเปาหมาย บริษัทยังมุงสงเสริมเรื่องจริยธรรมและคุณธรรมของพนักงาน ตลอดจนสรางโอกาสใหพนักงาน เขารวมทำกิจกรรมความดีในรูปแบบตางๆ อยางตอเนื่องตามความสมัครใจ เพื่อเปนการกระตุนจิตสำนึกที่ดีใหเกิดขึ้นและขยายผลไปยังบุคคล อื่นๆ ซึ่งกิจกรรมระหวางพนักงานตางสายงานและผูบริหารถือเปนหนึ่งในกิจกรรมที่บริษัทไดจัดใหมีอยางตอเนื่องเพื่อพัฒนาความสัมพันธ ระหวางกัน ตลอดป 2552 บริษทั จัดใหพนักงานทุกคนทีเ่ กิดในเดือนเดียวกันไดมโี อกาสทำบุญวันเกิด ทำความดี และรวมกิจกรรมทีส่ รางความสุข ใหตนเองและสามารถสรางความสัมพันธระหวางกันไดเปนอยางดี - การสื่อสาร และเนื่องจากหัวใจของการดำเนินธุรกิจที่มีลูกคาเปนศูนยกลาง ตองมีพนักงานเปนผูขับเคลื่อนเจตนารมณเหลานั้น จึงถือเปนความสำคัญ ที่องคกรตองดูแลพนักงานใหสามารถทำงานไดอยางเต็มความสามารถ มีความสุข และมีพลังแหงความมุงมั่นในการทำหนาที่ของตนเอง มีระบบการสื่อสารระหวางองคกรและผูบริหารที่มีคุณภาพดวยวารสารขาวภายในองคกร เพื่อสื่อสารความคาดหวังและขอมูลขาวสารตางๆ ชวยลดชองวางทางการสือ่ สารระหวางองคกรกับพนักงาน ควบคูไ ปกับการจัดกิจกรรมผูบ ริหารพบพนักงานอยางตอเนือ่ งเพือ่ สรางความผูกพัน ระหวางพนักงานและองคกรเสมือนชุมชนหนึ่งที่มีความรัก ความเขาใจ ความอาทรหวงใยกันและกันดุจครอบครัวใหญ ซึ่งความผูกพันที่ดี ภายในองคกรจะนำไปสูการแสดงออกของพนักงานถึงความเอาใจใสและหวงใยตอลูกคาตอไป - ความผูกพันตอองคกร หัวหนางานแตละระดับชั้นมีบทบาทในการรับทราบความคิดเห็นของพนักงานที่มีตองาน รวมถึงองคกร สภาพแวดลอม เพื่อนรวมงาน ระบบ การจัดการความสมดุลในดานตางๆ ในแตละปสายงานทรัพยากรมนุษยจะทำการสำรวจระดับความผูกพันทีพ่ นักงานมีตอ องคกร ความพึงพอใจ ในผลตอบแทนสภาพการจางงาน คานิยม ผูรวมงาน หัวหนางาน โอกาสการเรียนรู เติบโต และรายงานผลตอผูบริหารสูงสุด รวมถึงเสนอ แผนงานเพื่อพัฒนาใหบุคลากรทำงานดวยความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

97


5. การพัฒนาและการอบรม บริษัทกำหนดใหมีหลักสูตรเพื่อพัฒนาทักษะและขีดความสามารถตามความสำคัญและจำเปนของสายความรับผิดชอบ ควบคูกับเปาหมายการ เติบโตของพนักงาน แผนพัฒนาจะแบงเปนความรูพื้นฐาน และความรูเฉพาะทาง ซึ่งแตละหัวขอจะมีทั้งหลักสูตรที่จัดอบรมภายในองคกรเอง เพื่อให สอดคลองกับลักษณะธุรกิจ และหลักสูตรภายนอกเพื่อใหพนักงานมีโอกาสแลกเปลี่ยนองคความรูและประสบการณกับบุคคลภายนอก โดยจะใหน้ำหนัก กับการอบรมพัฒนาเชิงปฏิบัติ การจำลองสถานการณ การรวมกลุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการติดตามผลควบคูไปกับความรูทางทฤษฎี ในการ จัดอบรมภายในองคกร คณะผูบริหาร คณะกรรมการบริษัท ซึ่งลวนเปนผูทรงคุณวุฒิและมากดวยประสบการณจะรวมเปนผูใหวิทยาทานอยางตอเนื่อง ซึ่งถือเปนการถายทอดองคความรูจากผูรูธุรกิจองคกรโดยเฉพาะ ดานงบประมาณที่ใชในการอบรมพัฒนา บริษัทไดมีการจัดสรรอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพทั้งหลักสูตรมาตรฐานและหลักสูตรตามความ จำเปนของตำแหนงงาน รวมถึงการจัดการองคความรูเพื่อใหเปนทรัพยสินที่จับตองไมไดที่สามารถสืบทอดไปยังพนักงานรุนตอไป 6. จำนวนบุคลากร โครงสรางการบริหารจัดการดานบุคลากรของบริษัทและบริษัทในเครือเปนแบบรวมศูนยเพื่อใหมีความเปนเอกภาพ และเปนไปในทิศทางเดียวกัน ภายใตการกำกับดูแลของประธานเจาหนาที่บริหารและประธานคณะกรรมการบริหาร พนักงานของทั้งเครือสามารถถายโอนภาระความรับผิดชอบ เพื่อ การเติบโตกาวหนาไดตลอดเวลา ในป 2552 เปนปที่บริษัทวางแผนการเติบโตทางธุรกิจแบบระมัดระวัง โดยเฉพาะดานอัตรากำลังที่ควบคุมไมใหขยายตัวมากนัก เพื่อผลักดัน ใหพนักงานเกิดความเปลี่ยนแปลงกระบวนการคิดและการทำงาน อันเปนการสงเสริมการสรางนวัตกรรมใหมๆ และควบคุมการเติบโตของคาใชจายคงที่ ของบริษัท โดยเริ่มผอนปรนความเขมงวดเรื่องการเพิ่มอัตรากำลังดวยการเริ่มรับพนักงานประจำในชวงทายของป 2552 จากพนักงานของบริษัท แอล. พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด และบริษัท พรสันติ จำกัด รวม 4 บริษัท จำนวน 662 คน ในป 2551 ไดปรับเพิ่มขึ้นเปน 701 คน ในชวงปลายป 2552 โดยแยกตามสายงานดังนี้ - สายงานพัฒนาธุรกิจ 34 คน - สายงานบริหารแบรนดและการตลาด 22 คน - สายงานบัญชีและการเงิน 79 คน - สายงานบริหารงานขาย 38 คน - สายงานบริหารชุมชน 179 คน - สายงานบริหารโครงการ 69 คน - สายงานอำนวยการ 38 คน - สำนักตรวจสอบ 6 คน - สำนักทรัพยากรมนุษย 17 คน - สายงานสนับสนุนงานบริหารชุมชน 79 คน - สายงานบัญชีและการเงิน นิติบุคคล 34 คน - สายงานบำรุงรักษานิติบุคคล 106 คน รวม 701 คน ดานผลตอบแทนของพนักงาน ป 2552 แยกเปน 1. คาตอบแทน 2. สวัสดิการ เงินกองทุน 3. การอบรมพัฒนา รวม

350,031,672 21,034,600 12,001,110 383,067,382

บาท บาท บาท บาท

บริษัทมีการจายคาตอบแทนในรูปแบบโบนัสประจำปตามผลประกอบการ เพื่อเปนการตอบแทนตอความทุมเท ความรวมมือรวมใจของพนักงาน ทุกคนที่ชวยผลักดันใหการดำเนินธุรกิจของบริษัทบรรลุเปาหมายตามที่วางไวภายใตหลักธรรมาภิบาล

98

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


¨ÃÃÂÒºÃó·Ò§¸ØáԨ จรรยาบรรณทางธุรกิจของคณะกรรมการ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) จรรณยาบรรณของคณะกรรมการฉบับนี้ จัดทำขึ้นโดยมีจุดประสงคเพื่อใหกรรมการของบริษัทยึดถือเปนแนวทางปฏิบัติเพื่อใหสอดคลองกับ หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี และแสดงถึงความมุงมั่นของกรรมการที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานดานจริยธรรม เพื่อประโยชนตอบริษัท ผูถือหุน พนักงาน และผูมีสวนไดเสียอื่นๆ คณะกรรมการของบริษัท ถือเปนผูกำหนดนโยบายในการบริหารองคกร และวางหลักการกำกับดูแลกิจการ เพื่อใหการดำเนินกิจการเปนไป อยางมีประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงคของวิสัยทัศนและพันธกิจ จากการที่บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ไดรับความ เชื่อมั่นในมาตรฐานการดำเนินธุรกิจจากผูถือหุน นักลงทุน และสาธารณชนทั่วไป สงผลใหกรรมการของบริษัททุกทานจะตองปฏิบัติตามขอบัญญัติ และเจตนารมณของกฎหมายดวยความรอบคอบและเอาใจใส รวมถึงการปฏิบัติตนใหเปนแบบอยางที่ดีตอพนักงาน เพื่อรักษาชื่อเสียงและภาพลักษณ ที่ดีของบริษัทที่สรางมาใหคงอยูตลอดไป จรรยาบรรณทางธุรกิจ มีดังตอไปนี้ 1. ความซื่อสัตย ยุติธรรม และคุณธรรม ปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความซือ่ สัตยสจุ ริต ยึดมัน่ ตอความจริง และไมเลือกปฏิบัติจากความแตกตางดานเชื้อชาติ ศาสนา เพศ สถานภาพสมรส หรือความไรสมรรถภาพทางรางกาย กรรมการจะยึดมั่นตอความจริง และจะไมทำใหเกิดความเขาใจผิดทั้งโดยทางตรงและทางออม จะไมพูดหรือกระทำการอันเปนเท็จ และ จะไมกอใหเกิดความเขาใจผิดโดยละเวนการพูด หรือการปฏิบัติ 2. ความเปนอิสระ ตัดสินใจและปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ยความเปนอิสระ โดยจะไมใหผลประโยชนสว นตัว ผลตอบแทน คาตอบแทนที่เปนตัวเงินหรือไมเปนตัวเงิน มาอยูเหนือความเปนอิสระในการใชขอมูลที่เปนความจริง ครบถวน มีเหตุผลในการปฏิบัติหนาที่ 3. การดำเนินธุรกรรมสวนตัว และการรักษาความลับ การดำเนินธุรกรรมสวนตัวหรือธุรกิจอื่นๆ ของกรรมการจะตองแยกออกจากการดำเนินกิจการของบริษัทในฐานะกรรมการบริษัท ไมใช ชื่อบริษัทในการดำเนินธุรกรรมสวนตัวหรือธุรกิจอื่นๆ และไมเกี่ยวของในกิจการซึ่งจะนำความเสื่อมเสียมาสูบริษัท รวมถึงไมเปดเผยขอมูลที่เปนความลับ ของลูกคา พนักงาน และการดำเนินงานของบริษทั ตอบุคคลทีส่ ามเวนแตจะไดรบั ความยินยอมจากบริษทั อีกทัง้ จะไมใชขอ มูลทีไ่ ดรบั ในฐานะเปนกรรมการ ไปในทางที่ไมถูกตอง 4. การเปดเผยเรื่องผลประโยชน กรรมการจะตองเปดเผยผลประโยชนจากธุรกิจสวนตัวหรือธุรกิจอืน่ ๆ รวมทัง้ เรือ่ งใดๆ ทีเ่ ปนความขัดแยงทางผลประโยชน หรืออาจนำไป สูความขัดแยงทางผลประโยชนใหบริษัททราบ การดำเนินการใดๆ กับบริษัทของกรรมการ จะตองอยูในระดับที่เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแยงทางผลประโยชนที่อาจเกิดขึ้น หรือ ถูกเขาใจวาเกิดขึ้น 5. การยึดถือปฏิบัติตามกฎหมาย ยึดถือปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ และขอกำหนดที่เกี่ยวของกับการดำเนินธุรกิจ และจะไมใชชองวางของกฎหมาย ขอบังคับ ขอกำหนด เพื่อประโยชนของบริษัทหรือประโยชนสวนตนโดยมิชอบ 6. การใหโอกาสผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน รักษาสิทธิประโยชนของผูถือหุนตามหนาที่ที่ไดรับความไววางใจ และคำนึงถึงสิทธิประโยชนของผูมีสวนไดเสียอื่นๆ กับบริษัท การปฏิบัติหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. หนาที่ตอบริษัท 1.1 อุทศิ เวลาใหบริษทั อยางเต็มทีใ่ นการปฏิบตั ภิ ารกิจในฐานะกรรมการบริษทั และปฏิบตั ติ ามแนวทางการกำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละ จรรยาบรรณทางธุรกิจของบริษัท

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

99


1.2. ใชดุลยพินิจที่เปนอิสระในการกำกับดูแลกิจการ 1.3 มีความรับผิดชอบตอผูถ อื หุน คำนึงถึงสิทธิประโยชนของผูม สี ว นไดเสียอืน่ ๆ โดยยึดถือหลักจรรยาบรรณ และปฏิบตั ติ ามกฎหมาย 1.4 สรรหาผูบริหารระดับสูงที่มีศักยภาพ สามารถอุทิศตนเพื่อประโยชนของบริษัทไดอยางเต็มที่ 1.5 ดูแลใหฝายบริหารรายงานเรื่องที่สำคัญของบริษัทเพื่อใหการดำเนินกิจการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 1.6 แจงใหแกบริษัททราบเปนลายลักษณอักษร กรณีที่กรรมการไปเปนกรรมการที่ปรึกษาในบริษัทอื่นหรือองคกรสมาคมอื่นใด การดำเนินการดังกลาวจะตองไมขดั ตอประโยชนของบริษทั และการประกอบหนาทีโ่ ดยตรง หรือเขาไปเปนผูถ อื หุน ในกิจการใดๆ ซึ่งอาจมีผลประโยชนหรือกอใหเกิดความขัดแยงทางธุรกิจตอบริษัท 2. หนาที่ตอผูถือหุน 2.1 กำกับดูแลเพื่อใหเปนที่มั่นใจไดวา บริษัทมีสถานะทางการเงิน การบริหารและการจัดการที่ถูกตอง เหมาะสม เพื่อกอใหเกิด ผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมตอผูถือหุน 2.2 กำกับดูแลเพื่อใหเปนที่มั่นใจไดวา บริษทั ไดเปดเผยขอมูลทีม่ สี าระสำคัญครบถวน ถูกตอง เปนความจริง ทันเวลา มีมาตรฐาน และโปรงใสแกผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน 2.3 กำกับดูแลเพื่อใหเปนที่มั่นใจไดวา บริษัทใหความสำคัญและเคารพตอสิทธิของผูถือหุนทุกรายอยางเสมอภาคและเทาเทียมกัน 2.4 กำกับดูแลเพื่อใหเปนที่มั่นใจไดวา บริษัทใหคำชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน และสถานะทางการเงินของบริษัท ตามหลักเกณฑการเปดเผยขอมูล 2.5 กำกับดูแลเพือ่ ใหเปนทีม่ น่ั ใจไดวา บริษทั ใหความสำคัญตอขอเสนอแนะตางๆ ของผูถ อื หุน และนำขอเสนอแนะทีด่ ไี ปปฏิบตั ใิ หเกิด ประโยชนตอการดำเนินงาน 3. หนาที่ตอพนักงาน 3.1 ปฏิบัติตอพนักงานทุกคนดวยความเปนธรรม โดยไมเลือกปฏิบัติตอผูใดผูหนึ่งเนื่องจากความแตกตางในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ เพศ อายุ พื้นฐานการศึกษา หรือความชอบพอสวนตัว 3.2 พึงรับฟงความคิดเห็นหรือขอเสนอแนะของพนักงานและพิจารณานำไปใชในทางที่เปนประโยชนตอบริษัท 3.3 ไมละเมิดสิทธิและเสรีภาพสวนบุคคลทั้งทางตรงและทางออม 4. หนาที่ตอผูมีสวนไดเสียอื่นๆ 4.1 กำกับดูแลเพื่อใหเปนที่มั่นใจไดวา บริษัทไดปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวของ 4.2 กำกับดูแลเพือ่ ใหเปนทีม่ น่ั ใจไดวา บริษทั ใหความสำคัญตอผลกระทบทีจ่ ะเกิดแกผมู สี ว นไดเสียอืน่ ๆ ชุมชน สังคม และสิง่ แวดลอม ความรอบคอบในการปฏิบัติหนาที่ 1. เขาประชุมคณะกรรมการบริษัททุกครั้ง ในกรณีที่มีความจำเปนที่ไมสามารถเขารวมประชุมได จะแจงใหบริษัททราบลวงหนา 2. หาขอมูลความรูเกี่ยวกับสภาพแวดลอมที่มีผลกระทบตอธุรกิจของบริษัท 3. ศึกษาถึงขอกฎหมาย กฎระเบียบ หรือขอกำหนดที่เกี่ยวของที่มีผลตอการปฏิบัติหนาที่ในฐานะกรรมการของบริษัท 4. ใชเวลาอยางเพียงพอในการพิจารณาขอมูลเปนการลวงหนาดวยความรอบคอบ 5. พิจารณาและใหความเห็นอยางเปนอิสระ กรณีที่กรรมการทานใดไมเห็นดวยกับมติของที่ประชุม กรรมการทานนั้นสามารถกำหนดใหมีการ บันทึกความเห็นแยงไวในรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท 6. สงเสริมใหมกี ารสือ่ สารระหวางคณะกรรมการและผูส อบบัญชีรบั อนุญาต เพื่อใหเกิดความมั่นใจไดวาการปฏิบัติงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เปนไปอยางมีอิสระและมีประสิทธิภาพ โดยไดรับความรวมมือจากฝายบริหารและฝายตรวจสอบภายใน 7. ปฏิบัติหนาที่ในฐานะกรรมการใหเปนไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ ขอกำหนด ขอบังคับที่เกี่ยวของ รวมถึงมาตรฐานธุรกิจและจริยธรรม 8. ในกรณีมีขอสงสัยใดๆ คณะกรรมการสามารถขอขอมูลเพิ่มเติม หรือคำชี้แจงจากฝายบริหาร หรือที่ปรึกษาของบริษัท 9. ไมกระทำการใดๆ ที่อาจเปนขอครหาในเรื่องความซื่อสัตยสุจริตและเที่ยงธรรม โดยหลีกเลี่ยงทั้งโดยตนเองและครอบครัว ในการเรียก รับ หรือยินยอมจะรับเงิน สิ่งของ หรือประโยชนอื่นใดจากผูเกี่ยวของทางธุรกิจของบริษัท เชน ลูกคา ผูรับเหมา พอคา เปนตน เวนแตใน โอกาส หรือเทศกาลอันเปนประเพณีนิยม ทั้งนี้ จะตองไมมีราคามากจนเกินสมควรหรือเกินแกปกติวิสัย ความขัดแยงของผลประโยชน 1. ไมใชอำนาจหนาที่ในตำแหนงกรรมการเพื่อแสวงประโยชนสวนตนหรือของผูใกลชิด ไมวาทางตรง หรือทางออม 2. แจงใหบริษัททราบโดยไมชักชาเมื่อมีเหตุดังนี้ 2.1 การตอบรับเชิญเปนกรรมการหรือที่ปรึกษาของบริษัทอื่น 100

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


2.2 กรรมการและบุคคลในครอบครัวมีสว นรวม หรือเปนผูถ อื หุน ในกิจการใดๆ ซึง่ อาจมีผลประโยชน หรือเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนกบั บริษทั 2.3 มีสวนไดสวนเสียโดยตรงหรือโดยออมในสัญญาใดๆ ที่ทำกับบริษัท โดยตองระบุลักษณะของสัญญา ชื่อของคูสัญญา สวนไดเสียในสัญญา 2.4 เขาถือหลักทรัพยหรือหุนกูของบริษัทหรือบริษัทในเครือ โดยจะตองระบุจำนวนหลักทรัพยรวมทั้งการเปลี่ยนแปลง 3. หาทางหลีกเลี่ยงไมใหมีความขัดแยงของผลประโยชนเกิดขึ้น หากมีกรณีเกิดความขัดแยงขึ้น กรรมการจะตองพิจารณาวาจะของดเวนจาก การรวมอภิปรายใหความเห็นหรืองดการออกเสียงลงคะแนนในวาระดังกลาว หรือไมเขารวมประชุมในวาระดังกลาว หรือขอไมรบั เอกสารวาระ การประชุมที่เกี่ยวของ หรือขอลาออกจากตำแหนงกรรมการ หากความขัดแยงนั้นถือเปนเรื่องสำคัญ 4. กรรมการทีเ่ ปนผูบ ริหารจะตองใชความระมัดระวังอยางยิง่ ตอความขัดแยงของผลประโยชนทอ่ี าจเกิดขึน้ ระหวางการทำงานในฐานะของฝายบริหาร และการดำเนินงานในฐานะที่เปนกรรมการซึ่งไดรับความไววางใจจากผูถือหุน 5. กรรมการไมควรเกี่ยวของในการซื้อขายหุนของบริษัทเพื่อการลงทุนระยะสั้น การใชขอมูลของบริษัท 1. ไมใชขอมูลที่ไดรับในฐานะกรรมการบริษัทไปในทางที่มิชอบ 2. ไมเปดเผยขอมูลตางๆ เชน ขอมูลที่เปนความลับทางธุรกิจ หรือขอมูลที่มีผลกระทบตอการทำธุรกิจตอบุคคลภายนอก 3. ไมซื้อหรือขายหุนในขณะที่มีขอมูล ซึ่งถาเปดเผยตอสาธารณชนจะมีผลกระทบตอราคาหุน 4. รักษาขอมูลความลับของบริษทั ระมัดระวังมิใหเอกสารหรือขาวสารอันเปนความลับของบริษทั รัว่ ไหล หรือตกไปถึงผูท ไ่ี มเกีย่ วของอันอาจเปน เหตุใหบริษัทเกิดความเสียหาย 5. ไมใชขอ มูลภายในเพือ่ ประโยชนสว นตัวหรือผูอ น่ื โดยเฉพาะอยางยิง่ ขอมูลนัน้ เปนสาระสำคัญตอการเปลีย่ นแปลงราคาของหลักทรัพยทย่ี งั ไมได เปดเผยตอสาธารณะ 6. จะตองไมแจงขอมูลซึ่งอาจมีผลกระทบตอราคาหุนของบริษัท ซึ่งยังไมเปดเผยตอสาธารณชน ซึ่งขอมูลเหลานั้นจะรวมถึง 6.1 การคาดการณผลกำไร 6.2 การออกหลักทรัพยใหม 6.3 การกูยืม 6.4 การครอบงำกิจการที่อาจจะเกิดขึ้น 6.5 การเปลี่ยนแปลงการประกอบการที่สำคัญ 6.6 โครงการลงทุนใหม 6.7 ปญหาเกี่ยวกับสภาพคลอง จรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) เปนบริษัทที่ดำเนินธุรกิจดานการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่มีความรับผิดชอบตอผูมี สวนไดเสียตางๆ ตั้งแตผูถือหุน ลูกคา คูคา คูสัญญา พนักงาน ตลอดจนตอสิ่งแวดลอมและสังคม ซึ่งพนักงานทุกคนของบริษัทลวนมีสวนชวยผลักดัน ใหการดำเนินงานของบริษัทบรรลุตามเปาหมายและวิสัยทัศนดังที่ไดกำหนดไว บริษัทมีความมุงมั่นที่จะใหพนักงานทุกคนของบริษัทตระหนักถึงความรับผิดชอบจากการไดรับความไววางใจในการประกอบธุรกิจ ซึ่งในการ ดำเนินธุรกิจไปสูความสำเร็จ ความมั่นคง ยั่งยืน และเปนที่เชื่อถือจากลูกคา ผูถือหุน และประชาชนโดยทั่วไป บริษัทไดกำหนดจรรยาบรรณทางธุรกิจ ของพนักงาน เพื่อเปนหลักในการประพฤติปฏิบัติของพนักงาน จรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงานฉบับนี้ กำหนดขึ้นเพื่อเปนมาตรฐานเบื้องตนสำหรับพนักงาน ในการปฏิบัติตนอยางมีจรรยาบรรณ เปน เครื่องมืออยางหนึ่งในการเตือนพนักงานใหมีความระมัดระวัง และปองกันไมใหพนักงานกระทำการใดๆ ที่เปนการละเมิดกฎ ระเบียบ ขอบังคับ ที่นำ ความเสื่อมเสียมาสูชื่อเสียงของบริษัท บริษัทมอบหมายใหฝายทรัพยากรมนุษย เปนผูมีหนาที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน โดยใหผูบังคับบัญชา แตละฝายรวมดูแลใหพนักงานปฏิบัติตามขอกำหนดที่บัญญัติไวดวย จรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน แบงรายละเอียดเปนหัวขอตางๆ 10 หัวขอ มีคำอธิบายที่ชัดเจน และมอบใหพนักงานทุกคนไวเพื่อเปน แนวทางในการปฏิบัติตามดังนี้ 1. ขอบเขตของจรรยาบรรณ 2. การปฏิบัติตามกฎหมาย และการรักษากฎระเบียบของบริษัท 3. ความเชื่อถือไดของขอมูล

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

101


4. การรักษาความลับของขอมูล 5. การสื่อสาร 6. การใชขอมูลภายในเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย 7. การคุกคาม 8. การพนัน การดื่มแอลกอฮอล และสิ่งเสพติด 9. การใหและรับของกำนัล และการเลี้ยงรับรอง 10. การทำงานอื่นหรือกิจกรรมภายนอก นอกจากนี้ ยังไดกำหนดการปฏิบัติหนาที่และความรับผิดชอบของพนักงาน ตามบทบาทหนาที่ที่มีตอบริษัท ตอลูกคา ตอผูถือหุน ตอผูบังคับ บัญชา เพื่อนรวมงาน และหนาที่ตอตนเอง รวมถึงความขัดแยงทางผลประโยชน และการใชขอมูลของบริษัท เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติรวมกัน

102

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


¡ÒäǺ¤ØÁÀÒÂã¹ คณะกรรมการบริษัทจัดใหมีระบบควบคุมภายในที่พอเพียง และเหมาะสมกับการดำเนินกิจการ เพื่อลดหรือปองกันความเสี่ยงตางๆ ที่จะกอให เกิดความเสียหายตอทรัพยสินของบริษัทซึ่งประกอบดวย องคกรและสภาพแวดลอม คณะกรรมการบริษทั มีการกำหนดเปาหมายทางธุรกิจทีช่ ดั เจนและสามารถวัดผลได โดยคำนึงถึงสมรรถนะความสามารถในการแขงขันขององคกร มีการจัดทำแผนธุรกิจประจำปโดยมีการทบทวนเปาหมายการปฏิบตั งิ านแลววา การตัง้ เปาหมายไดดำเนินการอยางรอบคอบ โดยบริษทั มีการใช Key Performance Indicator (KPI’s) เปนเครื่องมือในการพิจารณาผลตอบแทนของพนักงาน บริษัทกำหนดใหมีการจัดโครงสรางอำนาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร ผูบริหาร และพนักงานไวเปนลายลักษณอักษร อยางชัดเจน บริษทั กำหนดแนวทางการดำเนินธุรกิจ โดยใชแนวทางการสรางความสมดุลทุกมิติ (Balance Scorecard) ซึง่ สอดคลองกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง รวมถึงกำหนดใหมีจรรยาบรรณธุรกิจของคณะกรรมการบริษัท และจรรยาบรรณการทำงานของพนักงาน อีกทั้งคานิยมองคกร (Core Values) เปนลายลักษณอักษร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหคณะกรรมการบริษัท ผูบริหาร และพนักงานพึงปฏิบัติอยางเครงครัดดวยความซื่อสัตยสุจริต และโปรงใส ทั้งนี้ ในการกำหนดนโยบายและแผนธุรกิจของบริษัท บริษัทยังไดกำหนดโดยคำนึงถึงความเปนธรรมที่มีตอคูคา เพื่อประโยชนของบริษัท ในระยะยาว การบริหารความเสี่ยง บริษัทมีการบริหารความเสี่ยงอยางเปนระบบ โดยการวิเคราะห และประเมินปจจัยเสี่ยงทั้งที่มาจากภายนอกและภายในซึ่งอาจมีผลกระทบ ตอการดำเนินธุรกิจอยางสม่ำเสมอ ถึงแมวาบริษัทจะไมไดกำหนดใหมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเปนคณะกรรมการชุดยอยอีกคณะหนึ่ง แตไดมอบ หมายใหทางคณะกรรมการบริหารเปนผูรับผิดชอบและพิจารณาการบริหารความเสี่ยง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อหามาตรการปองกัน และจัดการความเสี่ยง ใหอยูในระดับที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่สอดคลองในแตละสภาวการณ โดยไมสงผลกระทบตอการดำเนินงานของบริษัทเปนสำคัญ บริษัทมีการจัดทำระเบียบแนวปฏิบัติและคูมือการปฏิบัติของแตละฝายงาน และมีการสื่อสารใหพนักงานทั้งองคกรไดรับทราบเพื่อรวมกัน ปฏิบัติตามแผนการบริหารความเสี่ยงของคณะกรรมการบริหาร รวมทั้งมีการติดตามผลอยางสม่ำเสมอ การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร บริษัทมีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบระหวางคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร และผูบริหารระดับสูงอยางชัดเจน มีการกำหนด อำนาจ หนาที่ ตลอดจนความรับผิดชอบของผูบริหาร และผูปฏิบัติงานทุกคน มีการกำหนดอำนาจอนุมัติ และวงเงินอนุมัติของฝายบริหารแตละระดับไว เปนลายลักษณอักษร มีคณะกรรมการบริหารเปนผูตรวจสอบ ทบทวน และติดตามผลการปฏิบัติงานของทุกฝาย มีคณะกรรมการตรวจสอบติดตามผล การดำเนินงาน และประเมินความเสี่ยงของบริษัท โดยรายงานผลการปฏิบัติงานตอคณะกรรมการบริษัทเปนประจำอยางนอยไตรมาสละหนึ่งครั้ง มีการ ติดตามดูแลการดำเนินงานของบริษัทยอย และบริษัทรวมอยางสม่ำเสมอ รวมทั้งมีการกำหนดทิศทางใหบุคคลที่บริษัทแตงตั้งใหเปนกรรมการหรือ ผูบริหารในบริษัทดังกลาวถือปฏิบัติ โดยรายงานผลการดำเนินงานใหคณะกรรมการบริษัททราบอยางนอยไตรมาสละหนึ่งครั้ง ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล บริษทั มีการสือ่ สารขอมูลไปยังคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ใหไดขอ มูลทีม่ คี ณุ ภาพ และเพียงพอตอการตัดสินใจ โดยคณะกรรมการบริษทั จะไดรบั เอกสาร ประกอบการประชุมอยางนอยภายในระยะเวลาขัน้ ต่ำตามกฎหมายกำหนด และในรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัทจะมีบันทึกขอซักถามความเห็น หรือขอสังเกตของกรรมการที่สามารถตรวจสอบได บริษัทจัดใหมีระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานภายในองคกรอยางมีประสิทธิภาพ และมีการพัฒนาระบบ สารสนเทศอยางตอเนื่อง โดยมีฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ รวบรวม วิเคราะห และตรวจสอบใหมีความถูกตองสมบูรณและเปนปจจุบัน ในรูปแบบที่เขาใจ งายเหมาะแกการใชงาน โดยคำนึงถึงการจัดเก็บที่มีประสิทธิภาพ มีการสำรองขอมูลที่สำคัญ และจัดเก็บในที่ที่ปลอดภัย มีรายงานตางๆ เชน ระบบการขาย ระบบบัญชี-การเงิน ระบบบริหารตนทุน ระบบพัฒนาและบริหารทรัพยากรบุคคล ระบบสื่อสารภายในองคกรทุกระบบจะเชื่อมโยงทั่วถึงกันทั้งองคกร ซึ่งทำใหสามารถควบคุม และปองกันปญหาจากความผิดพลาด มีการประเมินและติดตามเพื่อใหระบบมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับนโยบายของบริษัท จึงไดขอมูลสารสนเทศที่ถูกตองตรงกัน เชื่อถือได และรวดเร็ว ชวยใหฝายบริหารไดรับรูขอมูลตรงเวลา และสามารถใชเพื่อประกอบการตัดสินใจไดทัน เหตุการณ

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

103


บริษทั มีมาตรการปองกันความปลอดภัยสำหรับฮารดแวร ซอฟแวร และระบบฐานขอมูล โดยมีโปรแกรมไฟรวอลสปอ งกันการบุกรุก โปรแกรมปองกัน ไวรัส มีการจัดทำสัญญาบำรุงรักษาเครือ่ งเซิรฟ เวอร ตลอดจนระบบการสำรองขอมูลทีม่ ปี ระสิทธิภาพและการแยกจัดเก็บไวในทีท่ ป่ี ลอดภัย ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริษัท มอบหมายใหคณะกรรมการบริหาร เปนผูติดตามและควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหารอยางใกลชิด โดยมีการประชุม รวมกันอยางสม่ำเสมอทุกสัปดาห และจัดใหมีการรายงานผลการดำเนินงานตามแผนธุรกิจที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเปนประจำทุกไตรมาส เพื่อใหทราบถึงความแตกตางจากเปาหมายที่กำหนดไว และกำหนดแนวทางการแกไข เพื่อใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ บริษัทมีการกำหนดและประเมินระบบการควบคุมภายใน ใหเหมาะสมกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทอยางสม่ำเสมอ พรอมทั้งการติดตามและ ประเมินผลอยางตอเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานนำเสนอตอคณะกรรมการตรวจสอบ

104

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


ÃÒ¡ÒÃÃÐËÇ‹Ò§¡Ñ¹ รายการระหวางกันทีเ่ กิดขึน้ ระหวางบริษทั กับบริษทั ยอย บริษทั ยอยกับบริษทั ยอย และบริษทั ยอยกับบริษทั รวม ในป 2552 บริษทั มีรายการระหวางกันที่เกิดขึ้นกับบริษัทยอย และบริษัทรวม ที่ไดทำการซื้อขาย หรือตกลงวาจางกัน โดยใชเงื่อนไข และ ราคาตลาดเชนเดียวกับที่ทำกับบุคคลภายนอก ณ ขณะนั้นๆ สรุป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ดังนี้คือ รายการระหวางกันทีเ่ กิดขึน้ ระหวางบริษทั กับบริษทั ลุมพินี พรอพเพอรต้ี มาเนจเมนท จำกัด ไดแก รายการระหวางกัน

จำนวนเงินตามสัญญา

1. คาบริหารงานขายและงานโอนกรรมสิทธิ์ 1.1 คาบริหารงานขาย 18 โครงการ 1.2 คาตอบแทนการขาย 14 โครงการ

รอยละ 0.50 ของมูลคาโครงการ รอยละ 1.50 ของมูลคาโครงการ

2. คาสงเสริมและรักษาความนิยมแบรนด 6 โครงการ

รอยละ 0.30 ของมูลคาโครงการ

3. คานายหนาจากการจัดหาผูเ ชา 4 โครงการ

คาเชา 1 เดือน / สัญญาเชา 1 ป

4. คาบริหารและจัดเก็บรายไดทจ่ี อดรถ 4.1 การบริหารและจัดการ อาคารลุมพินี ทาวเวอร รอยละ 80 และ อาคารแอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร รอยละ 20 4.2 การจัดเก็บรายไดคา ทีจ่ อดรถ 2 โครงการ

72,000 บาท / เดือน รอยละ 3 ของยอดรายได

5. คาบริหารชุมชน 8 โครงการ ไดแก 5.1 โครงการลุมพินี วิลล รามอินทรา-หลักสี่ (ม.ค. 2552 - ก.พ. 2552) 5.2 โครงการลุมพินี วิลล ประชาชืน่ -พงษเพชร (16 ม.ค. 2552 - 30 เม.ย. 2552) 5.3 โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รัตนาธิเบศร (16 มี.ค. 2552 - 31 ต.ค. 2552) 5.4 โครงการลุมพินี สวีท ปน เกลา (เม.ย. 2552 - ก.ค. 2552) 5.5 โครงการลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 (พ.ค. 2552 - ส.ค. 2552) 5.6 โครงการลุมพินี เพลส พระราม 8 (ต.ค. 2552 - ธ.ค. 2552) 5.7 โครงการลุมพินี สวีท พระราม 8 (พ.ย. 2552 - ธ.ค. 2552) 5.8 โครงการลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ (พ.ย. 2552 - ธ.ค. 2552) 6. คาบริการจดทะเบียนอาคารชุด และนิตบิ คุ คลอาคารชุด 7 โครงการ ไดแก โครงการลุมพินี วิลล ประชาชืน่ -พงษเพชร โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รัตนาธิเบศร โครงการลุมพินี สวีท ปน เกลา โครงการลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 โครงการลุมพินี เพลส พระราม 8 โครงการลุมพินี สวีท พระราม 8 โครงการลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่

300,000 บาท / เดือน 250,000 บาท / เดือน 320,000 บาท / เดือน 250,000 บาท / เดือน 250,000 บาท / เดือน 300,000 บาท / เดือน 80,000 บาท / เดือน 200,000 บาท / เดือน

150,000 บาท / โครงการ / เดือน

7. คาบริการวางระบบอาคารชุด (ตอโครงการ) 7.1 โครงการลุมพินี สวีท พระราม 8 7.2 อีก 6 โครงการ ไดแก โครงการลุมพินี วิลล ประชาชืน่ -พงษเพชร โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รัตนาธิเบศร โครงการลุมพินี สวีท ปน เกลา โครงการลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 โครงการลุมพินี เพลส พระราม 8 โครงการลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

150,000 บาท /เดือน 200,000 บาท / เดือน

105


รายการระหวางกัน 8. คาบริการรักษาความสะอาด 8.1 หองสัมมนาชัน้ 11 อาคารลุมพินี ทาวเวอร 8.2 สำนักงาน ชัน้ 36 อาคารลุมพินี ทาวเวอร 8.3 ลานจอดรถ อาคารลุมพินี ทาวเวอร 8.4 ลานจอดรถ อาคารแอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร 8.5 โครงการลุมพินี เรสซิเดนซ สาทร 8.6 โครงการลุมพินี พลาซา อโศก 8.7 สำนักงานกอสราง สำนักงานขาย และ สำนักงานฝายบริการลูกคา 9. คาบริหารหองเชา (หองพักอาศัย หรือสำนักงาน) เริม่ เดือน เม.ย. 2551 ทัง้ หมด 4 โครงการ ไดแก อาคารแอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร โครงการลุมพินี เซ็นเตอร แฮปปแ ลนด อาคาร E, โครงการลุมพินี วิลล พระแมมารี-สาทร โครงการลุมพินี คอนโดทาวน บดินทรเดชา-รามคำแหง

จำนวนเงินตามสัญญา

12,500 บาท / เดือน 31,500 บาท / เดือน 20,000 บาท / เดือน 10,000 บาท / เดือน 55,000 บาท / เดือน 85,050 บาท / เดือน ตามงวดทีป่ ฏิบตั งิ านจริง

รอยละ 10 ของคาเชารายเดือน

10. คาบริหารจัดการหองชุดเพือ่ การพาณิชยภายในโครงการอาคารชุดพักอาศัย (เหมาจาย)

169,344 บาท / เดือน

11. คาจางบริหารอาคาร 11.1 โครงการลุมพินี เรสซิเดนซ สาทร 11.2 โครงการลุมพินี พลาซา อโศก

95,000 บาท / เดือน 188,160 บาท / เดือน

12. การบริการบำรุงรักษาระบบงาน โครงการลุมพินี เรสซิเดนซ สาทร

20,000 บาท / เดือน

13. คาเชาและบริการสำนักงาน อาคารลุมพินี ทาวเวอร ชัน้ 36 โซน D 13.1 ม.ค. 2552 - ก.ย. 2552 13.2 ต.ค. 2552 - ธ.ค. 2552

21,000 บาท / เดือน 10,000 บาท / เดือน

14. ดอกเบีย้ จายตามตัว๋ สัญญาใชเงิน 14.1 อัตราดอกเบีย้ รอยละ 1.675 14.2 อัตราดอกเบีย้ รอยละ 1.333 14.3 อัตราดอกเบีย้ รอยละ 0.967 14.4 อัตราดอกเบีย้ รอยละ 0.916 14.5 อัตราดอกเบีย้ รอยละ 0.750 14.6 อัตราดอกเบีย้ รอยละ 0.717

106

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

14,226.03 บาท 43,459.45 บาท 11,127.12 บาท 11,293.15 บาท 20,342.47 บาท 170,115.62 บาท


รายการระหวางกันทีเ่ กิดขึน้ ระหวางบริษทั กับบริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวสิ จำกัด ไดแก รายการระหวางกัน 1. การบริหารงานกอสรางโครงการ 14 โครงการ

จำนวนเงินตามสัญญา 57,020,700.91 บาท / 14 โครงการ

2. การบริหารงานโครงการ (ดำเนินงานซอม) (เหมาจาย)

435,514.02 บาท / เดือน

3. คาเชาและบริการสำนักงาน (อาคารลุมพินี ทาวเวอร ชัน้ 36 โซน E, F ) 3.1 ม.ค. 2552 - ก.ย. 2552 3.2 ต.ค. 2552 - ธ.ค. 2552

118,000 บาท / เดือน 5,000 บาท / เดือน

4. ดอกเบีย้ จายตามตัว๋ สัญญาใชเงิน 4.1 อัตราดอกเบีย้ รอยละ 1.675 4.2 อัตราดอกเบีย้ รอยละ 1.333 4.3 อัตราดอกเบีย้ รอยละ 0.967 4.4 อัตราดอกเบีย้ รอยละ 0.916 4.5 อัตราดอกเบีย้ รอยละ 0.750 4.6 อัตราดอกเบีย้ รอยละ 0.717

83,933.56 บาท 73,808.03 บาท 27,420.40 บาท 25,974.24 บาท 46,787.67 บาท 94,427.91 บาท

รายการระหวางกันทีเ่ กิดขึน้ ระหวางบริษทั กับบริษทั พรสันติ จำกัด ไดแก รายการระหวางกัน

จำนวนเงินตามสัญญา

1. คาเชา คาบริการสำนักงาน และคาสาธารณูปโภค (อาคารลุมพินี ทาวเวอร ชัน้ 36 โซน C ) ม.ค. 2552 - ธ.ค. 2552

1,500 บาท / เดือน

รายการระหวางกันทีเ่ กิดขึน้ ระหวางบริษทั พรสันติ จำกัด กับบริษทั ลุมพินี พรอพเพอรต้ี มาเนจเมนท จำกัด ไดแก รายการระหวางกัน 1. การบริหารหองเชา 3 โครงการ

จำนวนเงินตามสัญญา รอยละ 10 ของคาเชา / เดือน / หอง

2. การบริการจัดหาผูเ ชาหองพัก 3 โครงการ

คาเชา 1 เดือน / สัญญาเชา 1 ป 16,448.60 บาท / เดือน

3. การบริหารงานขาย โครงการทาวนโฮม รามอินทรา-หลักสี่ ม.ค. 2552 - มี.ค. 2552 4. คาตอบแทนการขาย โครงการอาคารพาณิชย รามอินทรา-หลักสี่

รอยละ 2 ของมูลคาโครงการ

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

107


รายการระหวางกันทีเ่ กิดขึน้ ระหวางบริษทั พรสันติ จำกัด กับบริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวสิ จำกัด ไดแก รายการระหวางกัน 1. การบริหารงานกอสรางโครงการ 1.1 โครงการทาวนโฮม รามอินทรา-หลักสี่ (ม.ค. 2552 - เม.ย. 2552) 1.2 โครงการอาคารพาณิชย พหล- สุทธิสาร 1 (ก.ย. 2552 - ธ.ค. 2552) 1.3 โครงการอาคารพาณิชย พหล-สุทธิสาร 2 (พ.ย. 2552 - ธ.ค. 2552) 1.4 โครงการอาคารพาณิชย ปน เกลา (พ.ย. 2552 - ธ.ค. 2552)

จำนวนเงินตามสัญญา

46,728.97 บาท / เดือน 9,345.79 บาท / เดือน 9,345.79 บาท / เดือน 9,345.79 บาท / เดือน

รายการระหวางกันทีเ่ กิดขึน้ ระหวางบริษทั ลุมพินี พรอพเพอรต้ี มาเนจเมนท จำกัด กับบริษทั แกรนด ยูนติ ้ี ดิเวลล็อปเมนท จำกัด ไดแก รายการระหวางกัน 1. คาวางระบบอาคารชุด (โครงการ ยูสบาย) 2. คาบริการทำความสะอาด 2.1 สำนักงานขาย 5 โครงการ ไดแก โครงการพารควิว วิภาวดี โครงการยูสบาย โครงการยูดไี ลท กลวยน้ำไท โครงการยูดไี ลท หวยขวาง โครงการยูดไี ลท จตุจกั ร 2.2 สำนักงานนิตบิ คุ คลอาคารชุด 3 โครงการ ไดแก โครงการพารควิว วิภาวดี โครงการยูสบาย โครงการยูดไี ลท กลวยน้ำไท 3. คาบริหารอาคารชุด 2 โครงการ 3.1 โครงการพารควิว วิภาวดี 3.2 โครงการยูสบาย

จำนวนเงินตามสัญญา 150,000 บาท

ตามงวดทีป่ ฏิบตั งิ านจริง ตามงวดทีป่ ฏิบตั งิ านจริง

50,000 บาท/เดือน 85,000 บาท/เดือน

4. คาบริหารงานขาย 3 โครงการ 4.1 โครงการพารควิว วิภาวดี (2 เดือน) 4.2 โครงการยูสบาย (3 เดือน) 4.3 โครงการยูดไี ลท หวยขวาง 5. คานายหนาจากการขายหองชุด 2 โครงการ 5.1 โครงการพารควิว วิภาวดี 5.2 โครงการยูสบาย

32,184 บาท/เดือน 150,318.33 บาท/เดือน 320,345.89 บาท

รอยละ 2 จากยอดโอนกรรมสิทธิ์ รอยละ 1 จากยอดมูลคาจองซือ้

รายการระหวางกันทีเ่ กิดขึน้ ระหวางบริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวสิ จำกัด กับบริษทั แกรนด ยูนติ ้ี ดิเวลล็อปเมนท จำกัด ไดแก รายการระหวางกัน คาบริหารงานขาย

108

จำนวนเงินตามสัญญา 5,622,814.77 บาท

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


ผูใ หกู

ผูก ู

ลักษณะ การกูย มื

จำนวนเงิน (ลานบาท)

ระยะเวลา

อัตราดอกเบีย้ ตอป (รอยละ)

บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด

บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)

ตัว๋ สัญญาใชเงิน

0.0

AT CALL

0.717

บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวสิ จำกัด

บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)

ตัว๋ สัญญาใชเงิน

0.0

AT CALL

0.717

จากนโยบายและกลยุทธของบริษัทที่ตองการควบคุมคุณภาพในการดำเนินการในทุกขั้นตอน โดยบริษัทและบริษัทรวมมอบหมายใหบริษัทยอย รับผิดชอบในการบริหารโครงการทีบ่ ริษทั และบริษทั รวมพัฒนา เริม่ ตัง้ แตการบริหารงานขาย การบริหารงานกอสราง ตลอดจนถึงการบริหารชุมชน ซึ่งถือ เปนการบริการหลังการขายโดยมีการแบงแยกขอบเขตภาระหนาที่ระหวางกันอยางชัดเจนบนพื้นฐานของคาบริการที่ตกลงกันตามราคาตลาดทั่วไปแล ะ เปนธรรมแกทง้ั สองฝาย อีกทัง้ บริษทั ยังถือหุน ในบริษทั ยอยทัง้ หมดจึงมัน่ ใจไดวา จะไมเปนชองทางในการยักยายถายเทสินทรัพยของบริษทั เพราะผลประกอบ การของบริษัทยอย และบริษัทรวมจะนำมาผนวกรวมในงบการเงินรวม ขั้นตอนการทำรายการระหวางกันเริ่มตนจากความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารตอแผนธุรกิจประจำปของบริษัท เพื่อนำเสนออนุมัติจาก นโยบายหรื อแนวโนษมัทการทำรายการระหว ในอนาคต คณะกรรมการบริ ในทางปฏิบัติบริษัทางกั มีกนารกำหนดอำนาจและวงเงิ นอนุมัติที่ชัดเจนในแตละระดับเพื่อใหเกิดความโปรงใสและตรวจสอบได อีกทั้งยังมี จากเหตุผลดัส่ งอบทานการทำรายการต กลาวขางตน บริษัทยังมีางๆ ความจำเป นในการทำรายการระหว นเพื่อใหเกิดประโยชน สูงสุดตอองคกรโดยรวม ฝายตรวจสอบภายในที ถึงความเพี ยงพอและเหมาะสมพราองกัมนำเสนอรายงานให คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อรักษาไวซึ่ง และคณะกรรมการ คุณษคัทาของผลิ ตภัณทแบละบริการตามแนวทางขององคกร อันนำไปสูความเชื่อมั่นที่มตี อแบรนด “ลุมพินี” เพื่อการเติบโตอยางตอเนื่องและยั่งยืน บริ ทราบตามลำดั รายการระหวางบริษทั กับบุคคลทีม่ ผี ลประโยชนรว ม บริษัทมีนโยบายสนับสนุนใหพนักงานและผูเกี่ยวของมีที่พักเปนของตนเองโดยใหสวนลดเปนสวัสดิการ สำหรับพนักงานที่จองซื้อหองชุดใ น โครงการตางๆ ของบริษัทโดยกำหนดเปนหลักการดังนี้ 1. เปนการซื้อ-ขายในนามพนักงาน และมีวัตถุประสงคเพื่อการพักอาศัยเทานั้น 2. ใหสวนลดเมื่อโอนกรรมสิทธิ์หองชุด ในสวนลดจะมีการแจงประกาศใหทราบทั่วกันทั้งบริษัทเปนรายโครงการ 3. สิทธิประโยชนอื่นๆ ใชหลักการเดียวกับลูกคาทั่วไปทุกประการ

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

109


โครงการลุมพินี สวีท ปน เกลา ชือ่

ยูนติ

จำนวนหองชุด

ราคาขายรวม

สวนลดเมือ่ โอน

หมายเหตุ

1. ศิร,ิ นฤมล

เกวลินสฤษดิ์

A-0918, A-0919

2

4,076,000.00

70,694.00

โอน มิ.ย. 2552

2. วสพล

ศุภกิจจานุสนั ติ์

A-1627

1

2,108,000.00

1,807.00

โอน มิ.ย. 2552

3. วสมน

ศุภกิจจานุสนั ติ์

A-1927

1

2,125,000.00

1,821.00

โอน มิ.ย. 2552

รวม

8,309,000.00

74,322.00

ยูนติ

จำนวนหองชุด

ราคาขายรวม

สวนลดเมือ่ โอน

หมายเหตุ

โครงการลุมพินี พารค ปน เกลา ชือ่ 1. สรรค

สุขขุ าวดี

A-0707

1

1,338,000.00

-

ยังไมโอน

2. ชูพรรณ

จองธุระกิจ

B-1110, B-1111

2

3,107,000.00

-

ยังไมโอน

รวม

4,445,000.00

-

ยูนติ

จำนวนหองชุด

ราคาขายรวม

สวนลดเมือ่ โอน

หมายเหตุ

โครงการลุมพินี วิลล รามคำแหง 44 ชือ่ 1. ปรีชา

เตชะไกรศรี

B-0818, B-0822

2

2,476,000.00

3,786.00

โอน ส.ค. 2551

2. ไพโรจน

ศุภกิจจานุสนั ติ์

B-1801

1

1,433,000.00

35,211.00

โอน เม.ย. 2551

3. สุนยี า

ศุภกิจจานุสนั ติ์ิ

B-1906

1

1,538,000.00

29,881.00

โอน ส.ค. 2551

รวม

5,447,000.00

68,878.00

ยูนติ

จำนวนหองชุด

ราคาขายรวม

สวนลดเมือ่ โอน

หมายเหตุ

1. พรรณเพ็ญ แสงจันทรภกั ดี

A3-0412

1

657,500.00

4,997.00

โอน ม.ค. 2552

2. อนันต

ปยะตันติ

A3-0411

1

685,500.00

4,997.00

โอน ต.ค. 2552

3. จรัญ

เกษร

A3-0513

1

820,000.00

161,232.00

โอน มี.ค. 2552

รวม

2,163,000.00

171,226.00

โครงการลุมพินี คอนโดทาวน บดินทรเดชา-รามคำแหง ชือ่

110

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-นวมินทร ชือ่

ยูนติ

จำนวนหองชุด

A-0107, A-0108, A-0109

3

ราคาขายรวม

สวนลดเมือ่ โอน

หมายเหตุ

8,414,000.00

-

ยังไมโอน

1. ธีรชัย

ปญจทรัพย

2. โรจนา

ศุภกิจจานุสนั ติ์

B-0106

1

3,088,000.00

-

ยังไมโอน

3. ภิฤดี

ศุภกิจจานุสนั ติ์

B-0107

1

3,088,000.00

-

ยังไมโอน

4. สรรค

สุขขุ าวดี

A-0807

1

857,000.00

-

ยังไมโอน

รวม

15,447,000.00

-

ราคาขายรวม

สวนลดเมือ่ โอน

หมายเหตุ

โครงการลุมพินี วิลล ลาดพราว-โชคชัย 4 ชือ่

ยูนติ

จำนวนหองชุด

1. ชูพรรณ

จองธุระกิจ

B-1002

1

1,401,000.00

-

ยังไมโอน

2. วิศาล

ศุภกิจจานุสนั ติ์

A-0912, A-0919, B-0908, B-1001

4

5,624,000.00

-

ยังไมโอน

รวม

7,025,000.00

-

โครงการลุมพินี เพลส พระราม 9 - รัชดา เฟส 1 ชือ่ 1. ไพโรจน

ศุภกิจจานุสนั ติ์

ยูนติ

จำนวนหองชุด

B-2003, B-2004

2 รวม 4

ราคาขายรวม

สวนลดเมือ่ โอน

หมายเหตุ

4,272,000.00

-

ยังไมโอน

4,272,000.00

-

-

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

111


¢ŒÍ¾Ô¾Ò··Ò§¡®ËÁÒ บริษทั ไมมขี อ พิพาททางกฎหมายในลักษณะคดีทบ่ี ริษทั จะมีผลกระทบทางดานลบตอการดำเนินธุรกิจของบริษทั อยางมีนยั สำคัญ

112

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


ÃÒ§ҹ´ŒÒ¹¡ÒÃà§Ô¹


¤Ó͸ԺÒÂáÅСÒÃÇÔà¤ÃÒÐË ¢Í§½†Ò¨Ѵ¡Òà ผลการดำเนินงานของบริษัทโดยรวม บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ซึ่งดำเนินธุรกิจพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยสำหรับผูมีรายไดระดับกลางบนถึงกลางลาง ที่ตองการที่พักอาศัยที่มีคุณภาพภายในเมือง โดยใช “Balance Scorecard” เปนกลยุทธองคกรในการดำเนินธุรกิจเพื่อสรางความสมดุลในทุกมิติ ทั้งทางดานการเงิน ดานลูกคา ดานกระบวนการภายใน และดานบุคคลากร รวมถึงหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยในปที่ผานมา ผลประกอบการ ของบริษัทยังคงเติบโตอยางตอเนื่องภายใตการบริหารความเสี่ยงโดยเฉพาะสภาพคลองซึ่งสะทอนอยูในงบกระแสเงินสด ทั้งเงินสดและรายการ เทียบเทาเงินสดรวมถึงอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน ในมิติทางดานลูกคาบริษัทไดยกระดับการบริหารลูกคาจากการสรางความสัมพันธเปน การบริหารประสบการณเพื่อเพิ่มคุณคาทางดานการบริการ รวมถึงการใหความสำคัญอยางเขมขนของกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” ซึ่งเปนความแตกตาง จากคูแขงขัน อีกทั้งยังเปดตัวผลิตภัณฑใหมที่ไดรับการยกยองใหเปนผลิตภัณฑแหงปจากหนังสือพิมพฉบับหนึ่งทั้งคุณคาของผลิตภัณฑและการ บริการที่บริษัทมีการพัฒนาอยางตอเนื่องนำมาสูความเชื่อมั่นตอแบรนด “ลุมพินี” นอกจากนีบ้ ริษทั ยังคงปรับปรุงโครงสรางการจัดการและกระบวนการใน การดำเนินการอยางตอเนื่องเพื่อเพิ่มความรวดเร็วอันเปนจุดแข็งของบริษัท เพื่อลดคาใชจายและความเสี่ยงของการดำเนินงานซึ่งประสบผลเปน อยางดีในปที่ผานมาและจะเปนรากฐานของการเติบโตอยางตอเนื่อง ขณะเดียวกันบริษัทยังคงใหความสำคัญกับความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและ สังคมโดยเฉพาะผลกระทบอันเกิดจากกระบวนการในการดำเนินธุรกิจของบริษัทเพื่อนำไปสูการเติบโตอยางมั่นคงและยั่งยืน บริษทั บริษทั ยอย และบริษทั รวมมีรายไดรวม 8,513.27 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากชวงเดียวกันของป 2551 ทีม่ รี ายไดรวม 7,223.29 ลานบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอยละ 17.85 โดยมาจากโครงการทีบ่ ริษทั กอสรางแลวเสร็จและรับรูร ายไดในป 2552 คือโครงการลุมพินี วิลล ประชาชืน่ -พงษเพชร ลุมพินี คอนโดทาวน รัตนาธิเบศร ลุมพินี สวีท ปนเกลา ลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ ลุมพินี เพลส พระราม 8 ลุมพินี สวีท พระราม 8 และบางสวนมาจากโครงการที่แลวเสร็จในปกอนหนา โดยอัตราสวนกำไรขั้นตนจากการขายปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก รอยละ 31.24 เปน รอยละ 31.32 สำหรับรายไดจากธุรกิจใหเชาและบริการและธุรกิจใหบริการบริหารจัดการเพิ่มขึ้นจากป 2551 รอยละ 19.89 รายการ

ยอดขาย 1. รับรู 2. รายไดจากขาย 3. ตนทุนขาย 4. กำไรขั้นตน

(ยูนิต) (ลานบาท) (ยูนิต) (ลานบาท) (ลานบาท) (รอยละ)

ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ป 2552 ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

ไตรมาส 1-4

ไตรมาส 1

ไตรมาส 2

ป 2553 ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

ไตรมาส 1-4

1,204 1,656.80 1,648 1,977.75 1,368.44 30.81

2,636 2,884.56 1,671 2,225.30 1,513.63 31.98

1,694 2,268.49 1,578 2,072.74 1,377.56 33.54

2,918 4,031.09 1,229 1,992.20 1,418.58 28.79

8,452 10,840.94 6,126 8,267.99 5,678.21 31.32

1,997 2,900.58 814 1,344.60 938.85 30.18

1,932 3,482.13 1,982 2,197.88 1,504.98 31.53

994 1,605.24 2,250 2,065.11 1,417.98 31.34

764 1,077.20 1,332 1,411.12 964.35 31.66

5,687 9,065.14 6,378 7,018.71 4,826.16 31.24

ฐานะการเงิน สำหรับฐานะการเงินของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีสินทรัพยรวม 8,088.04 ลานบาท ลดลงจาก 8,846.49 ลานบาท ในป 2551 หรือลดลงรอยละ 8.57 สาเหตุหลักมาจากการลดลงของสินทรัพยหมุนเวียน ในสวนของรายการมูลคางานเสร็จยังไมเรียกเก็บ 185.95 ลานบาท ทีด่ นิ และตนทุนโครงการระหวางพัฒนา 878.61 ลานบาท สำหรับหนี้สินรวมของบริษัทลดลงจาก 4,362.02 ลานบาท ในป 2551 เหลือเพียง 2,819.13 ลานบาท ในป 2552 ซึ่งลดลงถึง 1,542.89 ลานบาท หรือรอยละ 35.37 เนื่องจากบริษัทมีการชำระคืนเงินกูทั้งระยะสั้นและระยะยาว จำนวน 1,573.87 ลานบาท จากแหลงเงินที่ไดรับจากการโอนกรรมสิทธิ์หองชุด โครงสรางเงินทุน โครงสรางเงินทุนของบริษัทในป 2552 บริษัทฯ มีหนี้สินในอัตรารอยละ 34.86 และสวนของผูถือหุนรอยละ 65.14 สะทอนใหเห็นถึง ความมั่นคงของฐานะการเงินที่โครงสรางเงินทุนมาจากสวนของผูถือหุนมากกวาหนี้สิน โดยมีอัตราสวนหนี้สินรวมตอทุนลดลงจาก 0.97 เทา ในป 2551 เปน 0.54 เทา ในขณะที่คาเฉลี่ยหนี้สินตอทุนของหมวดบริษัทจดทะเบียนในหมวดพัฒนาอสังหาริมทรัพยจำนวน 12 บริษัทในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยเทากับ 0.93 เทา แตหากพิจารณาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเบี้ยตอสวนของผูถือหุนจะเทากับ 0.19 เทา เทียบกับ 0.58 เทา ในป 2551

114

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


ขอมูลเปรียบเทียบระหวางผลประกอบการของบริษัทกับคาเฉลี่ยอุตสาหกรรม รายการ

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม

บมจ. แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท

9.81 1.03 16.83 0.93 10.08 18.79

8.29 0.13 15.81 0.54 16.80 25.79

1. คาใชจา ยในการขายและบริหาร / รายไดรวม (%) 2. ดอกเบี้ยจาย / รายไดรวม (%) 3. กำไรสุทธิ / รายไดรวม (%) 4. อัตราสวนนี้สิน / ทุน (เทา) 5. อัตราผลตอบแทน / สินทรัพยรวม (%) 6. อัตราผลตอบแทน / ทุน (%)

หมายเหตุ คาเฉลี่ยอุตสาหกรรมคำนวณจาก 12 บริษัทในตลาดหลักทรัพย ไดแก บริษัท อารียา พรอพเพอรตี้ จำกัด (มหาชน) บริษัท เอเชี่ยน พร็อพเพอรตี้ จำกัด (มหาชน) บริษัท ลลิล พร็อพเพอรตี้ จำกัด (มหาชน) บริษัท แลนด แอนด เฮาส จำกัด (มหาชน) บริษัท แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) บริษัท มั่นคงการเคหะ จำกัด (มหาชน) บริษัท โนเบิล ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) บริษัท ปริญสิริ จำกัด (มหาชน) บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จำกัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้ เฮาส จำกัด (มหาชน) บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ศุภาลัย จำกัด (มหาชน) สภาพคลองและความสามารถในการทำกำไร คาเฉลี่ยอัตรากำไรสุทธิตอรายไดรวมของหมวดพัฒนาอสังหาริมทรัพยในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเฉพาะที่ทำธุรกิจบานจัดสรร และอาคารชุดพักอาศัย รวม 12 บริษัทของป 2552 เฉลี่ยอยูที่รอยละ 16.83 โดยสวนของบริษัทจะอยูที่รอยละ 15.81 ซึ่งสูงกวาคาเฉลี่ยดังกลาว แสดงใหเห็นวา บริษัทมีการบริหารจัดการไดดีกวาอุตสาหกรรมโดยรวม เมื่อพิจารณางบกระแสเงินสด ณ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีเงินสดคงเหลือและเงินลงทุนระยะสั้นจำนวน 1,319.20 ลานบาท ลดลงจาก ชวงเดียวกันของปกอนซึ่งมี 1,690.75 ลานบาท หรือรอยละ 21.98 เนื่องจากบริษัทมีการนำเงินไปชำระคืนเงินกูบางสวน โดยคาดการณกระแสเงินสดดัง กลาวมีสำรองไวเพียงพอตอการดำเนินการตอไปในอนาคต การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญและแนวโนมในอนาคต ตามที่บริษัทไดดำเนินงานตามแผนการพัฒนาโครงการมาอยางตอเนื่อง ตั้งแตกระบวนการบริหารงานขาย การกอสราง การสงมอบหองชุด และการโอนกรรมสิทธิ์ที่เปนไปตามเปาหมาย สงผลใหบริษัทมีสภาพคลองสูงสุด สรางการเติบโตอยางตอเนื่องและมั่นคง ซึ่งตั้งแตป 2552-ปจจุบัน บริษัทมีโครงการที่อยูภายใตการพัฒนาทั้งสิ้น จำนวน 6 โครงการ คิดเปน 8,025 ยูนิต มูลคารวม 10,670 ลานบาท โดยในไตรมาส 1 ของป 2553 บริษัทมีแผนที่จะพัฒนาโครงการใหม จำนวน 3 โครงการ ซึ่งจะทำใหบริษัทมีโครงการที่อยูระหวางดำเนินการทั้งสิ้น 9 โครงการ คิดเปน 15,730 ลานบาท ขณะเดียวกัน ณ สิ้นป 2553 บริษัทจะมียอดขายที่รอรับรูรายได จำนวน 7,227 ลานบาท สวนในป 2554 บริษัทคาดวาจะมียอดขายที่รอ รับรูรายได จำนวน 3,314 ลานบาท โดยโครงการที่จะแลวเสร็จ และรับรูรายไดในป 2553 นี้ มีรายละเอียดดังนี้ โครงการ

จำนวน (ยูนิต)

1. ลุมพินี เพลส พระราม 9 เฟส 1 2. ลุมพินี วิลล บางแค 3. ลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-นวมินทร (อาคาร A,B,C) 4. ลุมพินี คอนโดทาวน บางแค 5. ลุมพินี วิลล ราษฎรบรู ณะ-ริเวอรววิ 6. ลุมพินี วิลล ลาดพราว-โชคชัย 4 รวม

1,165 271 1,833 795 1,028 1,026 6,118

มูลคา (ลานบาท)

กำหนดแลวเสร็จ

2,600.00 300.00 1,610.00 660.00 1,200.00 1,360.00 7,730.00

ไตรมาส 2 ป 2553 ไตรมาส 2 ป 2553 ไตรมาส 3 ป 2553 ไตรมาส 3 ป 2553 ไตรมาส 4 ป 2553 ไตรมาส 4 ป 2553

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

115


¹âºÒºÑÞªÕ 1. เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เพื่อวัตถุประสงคในการจัดทำงบกระแสเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายรวมถึง เงินฝากธนาคารซึ่งถึงกำหนดจายคืน ในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือน และไมมีขอจำกัดในการเบิกใช 2. เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนในตั๋วแลกเงิน และตั๋วสัญญาใชเงิน แสดงไวโดยวิธีราคาทุน (Cost Method) หักดวยคาเผื่อการดอยคา (ถามี) เงินลงทุนในหลักทรัพยเพื่อคา แสดงดวยราคายุติธรรม ผลตางจากการเปลี่ยนแปลงมูลคาบันทึกไวเปนกำไร (ขาดทุน) ที่ยังไมเกิดขึ้นจาก การปรับมูลคาเงินลงทุนในงบกำไรขาดทุน 3. คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ บริษทั ตัง้ สำรองคาเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญเปนจำนวนเงินโดยประมาณจากความเสียหายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากการเรียกเก็บเงินลูกหนี้ โดยพิจารณาจาก ลูกหนี้เปนรายตัวที่คางชำระคางวดเกินกวา 6 เดือน และเขาเกณฑการรับรูรายได 4. ที่ดินและตนทุนโครงการ ที่ดินและตนทุนโครงการระหวางกอสราง แสดงดวยราคาทุนโดยวิธีเฉพาะเจาะจง หรือมูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับ แลวแตอยางใด จะต่ำกวา ราคาทุนประกอบดวย ที่ดิน คาพัฒนาที่ดิน คากอสราง คาใชจายที่เกี่ยวของโดยตรงกับโครงการและดอกเบี้ยเงินกูยืม ที่เกี่ยวของซึ่งจะหยุดบันทึกดอกเบี้ยจายเขามาเปนตนทุน เมื่องานกอสรางแลวเสร็จหรือโครงการหยุดพัฒนา 5. สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือ ประกอบดวย อาคารหองชุดที่สรางเสร็จในสวนที่ยังไมไดโอนกรรมสิทธิ์ใหผูซื้อ บริษัทแสดงไวในราคาทุน โดยวิธีเฉพาะ เจาะจงหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ำกวา วัสดุคงเหลือ แสดงดวยราคาทุน โดยวิธีเขากอน - ออกกอน (FIFO) หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับ แลวแตราคาใดจะต่ำกวา 6. เงินลงทุนระยะยาว - เงินลงทุนบริษัทรวม ในงบการเงินรวม แสดงไวโดยวิธีสวนไดเสีย (Equity Method) - เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมในงบการเงินเฉพาะกิจการ แสดงไวโดยวิธีราคาทุน (Cost Method) หักดวยคาเผื่อการดอยคา (ถามี) 7. สินทรัพยใหเชา ที่ดินแสดงไวในราคาทุน อาคารและอุปกรณสวนที่ไมมีการตีราคาเพิ่มแสดงดวยราคาทุนหักดวยคาเสื่อมราคาสะสม คาเสื่อมราคา คำนวณโดยวิธีเสนตรงในอัตราดังนี้ จำนวนป อาคารสำนักงาน และ ลานจอดรถ 40 คาตกแตง และ เครื่องใชสำนักงาน 10 เครื่องคอมพิวเตอร 5 8. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ/คาเสื่อมราคา - ที่ดิน แสดงไวในราคาทุน - อาคารและอุปกรณ แสดงไวในราคาทุนหักดวยคาเสื่อมราคาสะสม คาเสื่อมราคาคำนวณโดยวิธีเสนตรง ในอัตราดังนี้ จำนวนป อาคารสำนักงาน 40 คาตกแตง และ เครื่องใชสำนักงาน 10 เครื่องคอมพิวเตอร และ งานพัฒนาระบบโปรแกรม 5 ยานพาหนะ 5

116

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


9. การดอยคาของสินทรัพย - บริษทั พิจารณาการดอยคาของสินทรัพยประเภท ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ เงินลงทุน ทีด่ นิ และตนทุนโครงการรอการพัฒนาและสินทรัพย ไมมตี วั ตนตางๆ เมือ่ มีขอ บงชีว้ า สินทรัพยจะเกิดการดอยคา โดยพิจารณาจากมูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืนของสินทรัพย หากมีราคาต่ำกวา ราคาตามบัญชี ถือวาสินทรัพยนน้ั เกิดการดอยคา ซึง่ จะรับรูผ ลขาดทุนจากการดอยคาดังกลาวในงบกำไรขาดทุน และบริษทั จะบันทึกกลับ รายการจากการดอยคา ตอเมื่อมีขอบงชี้วาการดอยคานั้นไมมีอยูอีกตอไปหรือยังมีอยูแตเปนไปในทางที่ลดลง - มูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืนของสินทรัพย หมายถึง ราคาขายสุทธิหรือมูลคาจากการใชสนิ ทรัพย แลวแตราคาใดจะสูงกวาและจะประมาณ จากสินทรัพยแตละรายการ หรือหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดแลวแตกรณี 10. สินทรัพยตามสัญญาเชาการเงิน บริษัทบันทึกสินทรัพยตามสัญญาเชาการเงินเปนสินทรัพยและหนี้สินในงบดุล ดวยจำนวนเทากับราคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชา ณ วันเริ่มตนของสัญญาเชา ดอกเบี้ยจายตามสัญญาจะถูกบันทึกตามงวดตางๆ ตลอดอายุ ส ั ญ ญาเชาตามยอดคงเหลือของหนี้สิน ตามสัญญาเชาในแตละงวด 11. การรับรูรายไดและคาใชจาย 11.1 รายไดจากการขายอาคารชุด รับรูโดยวิธีอัตรารอยละของงานที่ทำเสร็จซึ่งจะคำนวณโดยใชอัตราสวนของงานที่กอสรางที่เสร็จ แลวเปรียบเทียบกับตนทุนทั้งหมดที่ประมาณไว โดยบริษัทจะเริ่มรับรูรายไดเมื่อมีการทำสัญญาจะซื้อจะขายไมนอยกวารอยละ 40 ของโครงการที่เปดขาย และรับชำระเงินเกินกวารอยละ 20 ของแตละสัญญา และงานพัฒนา และงานกอสรางไดผานขั้นตอนเบื้องตน แลว ไมนอยกวารอยละ 10 ของงานกอสรางของแตละโครงการ ทั้งนี้บริษัทจะหยุดรับรูรายไดทันทีเมื่อผูซื้อผิดนัดชำระเงินเกินกวา 3 งวดติดตอกัน และอัตราสวนงานที่ทำเสร็จสูงกวาเงินคางวดที่ถึงกำหนดชำระ 11.2 รายไดคาเชาและบริการที่เกี่ยวของในที่ดิน อาคารและอุปกรณใหเชาจะรับรูเปนรายไดตามเกณฑคงคาง 11.3 รายไดจากการใหบริการจะรับรูเปนรายไดเมื่อการใหบริการเสร็จสิ้นลง 11.4 รายไดอื่นและคาใชจายรับรูตามเกณฑคงคาง 11.5 บริษัทคำนวนตนทุนจากการขายบานและที่ดิน อาคารชุดที่ขายแลว โดยถือเปนตนทุนขายตามอัตรารอยละของการรับรูรายได 12. ภาษีเงินไดนิติบุคคล บริษัทและบริษัทยอยบันทึกภาษีเงินไดนิติบุคคลที่ตองจายในแตละงวด เปนคาใชจายทั้งหมดในงวดนั้นและคำนวณภาษีเงินไดตามที่กำหนด ไวในประมวลรัษฎากร โดยคำนวณจากรายไดที่รับรูตามวิธีคางวดที่ครบกำหนดชำระสำหรับโครงการที่เปดขายกอนป 2550 และรับรู รายไดตามวิธีอัตรารอยละของงานที่ทำเสร็จสำหรับโครงการที่เปดในป 2550 เปนตนไป 13. ประมาณการบัญชี ในการจัดทำงบการเงินตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝายบริหารตองใชการประมาณการรายการบัญชีบางรายการซึ่งมีผลกระทบตอ จำนวนเงินที่แสดงในงบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน ดวยเหตุนี้ผลที่เกิดขึ้นจริงในภายหลังจึงอาจแตกตางไปจากจำนวนที่ ประมาณไว ประมาณการและขอสมมติฐานที่อาจมีความเสี่ยงตอการปรับปรุงบัญชีในปถัดไปตอมูลคาสินทรัพยยกไป ณ วันที่ในงบดุล ไดแก สำรอง โครงการเงินบำเหน็จพนักงาน ตนทุนโครงการเงินบำเหน็จพนักงาน เปนมูลคาประเมินโดยผูบริหาร การประมาณการในเรื่องนี้คอนขางมี ความไมแนนอน อันเนื่องมาจากลักษณะของโครงการที่มีระยะเวลายาว (หมายเหตุ 3.17.2) การประมาณการในเรื่องอื่นๆ ไดถูกเปดเผยใน แตละสวนที่เกี่ยวของของหมายเหตุประกอบงบการเงินนี้ 14. ประมาณการหนี้สิน บริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สินเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนของการเกิดภาระผูกพันในปจจุบัน ตามกฎหมายหรือจากการ อนุมานอันเปนผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณในอดีต ภาระผูกพันดังกลาว คาดวาจะสงผลใหสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชนเชิงเศรษฐกิจ เพื่อจายชำระ ภาระผูกพันและจำนวนที่ตองจายสามารถประมาณการไดอยางนาเชื่อถือ หากบริษัทคาดวาจะไดรับคืนรายจายชำระไป ตามประมาณการหนี้สินทั้งหมดหรือบางสวนอยางแนนอน บริษัทจะรับรูรายจายไดรับคืนเปนสินทรัพยแยกตางหากแตตองไมเกิน จำนวนประมาณการหนี้สินที่เกี่ยวของ

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

117


15. กำไรตอหุน - กำไรตอหุน ขัน้ พืน้ ฐานคำนวณโดยการหารกำไร(ขาดทุน)สุทธิสำหรับงวด ดวยจำนวนหุน สามัญถัวเฉลีย่ ถวงน้ำหนักทีอ่ อกอยูใ นระหวางงวด หลังหักหุนทุนซื้อคืน - กำไรตอหุนปรับลดคำนวณโดยการหารกำไร(ขาดทุน)สุทธิสำหรับงวด ดวยผลรวมของจำนวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักที่ออกอยูใน ระหวางงวดกับจำนวนถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักของหุนสามัญที่บริษัทอาจตองออกเพื่อแปลงหุนสามัญเทียบเทาปรับลดทั้งสิ้น (ใบสำคัญ แสดงสิทธิ)ใหเปนหุนสามัญ 16. หุนทุนซื้อคืน บริษัทบันทึกหุนสามัญของบริษัทที่ซื้อคืนกลับมาดวยวิธีราคาทุน 17. ผลประโยชนของพนักงาน 17.1 กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงาน บริษัทจัดใหมีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งเปนลักษณะของแผนการจายสมทบตามที่ไดกำหนดการจายสมทบไวแลว สินทรัพยของกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ ไดแยกออกไปจากสินทรัพยของบริษัท และไดรับการบริหารโดยผูจัดการกองทุนภายนอก กองทุนสำรองเลี้ยงชีพดังกลาว ไดรับเงินสะสมเขากองทุนจากพนักงานและเงินสมทบจากบริษัท เงินจายสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพบันทึกเปนคาใชจายในงบกำไร ขาดทุนสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้น 17.2 เงินบำเหน็จพนักงาน ขอผูกพันตามนโยบายการจายเงินบำเหน็จพนักงาน เมื่อครบเกษียณอายุตามกฎหมายแรงงาน และตามเกณฑของบริษัทประมาณการ ไวโดยพิจารณาจากพนักงานที่มีอายุตั้งแต 45 ป ขึ้นไป และมีอายุงานตั้งแต 10 ป ขึ้นไป ตามอัตรารอยละที่ผูบริหารประมาณขึ้น โดยได เริ่มใชประมาณการดังกลาวในไตรมาส 4 ป 2552 18. การประกาศใชมาตรฐานการบัญชีใหม สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 86/2551 และฉบับที่ 16/2552 เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี ซึ่งไดประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาแลว โดยใหใชมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหม ดังตอไปนี้ 18.1 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่มีผลบังคับใชในปปจจุบัน แมบทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) การดอยคาของสินทรัพย มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2550) สินทรัพยไมหมุนเวียนทีถ่ อื ไวเพือ่ ขายและการดำเนินงานที่ ยกเลิก(เดิมเปนมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 54) แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการบันทึกสิทธิการเชา แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีขา งตนถือปฏิบตั กิ บั งบการเงินสำหรับรอบระยะเวลา บัญชีทเ่ี ริม่ ในหรือวันที่ 1 มกราคม 2552 เปนตนไป ฝายบริหารของบริษทั ไดประเมินแลวเห็นวามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2550) และแนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการบันทึกสิทธิการเชาและการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน ไมเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัท สวนแมบทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) และมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) ไมมี ผลกระทบอยางเปนสาระสำคัญตองบการเงินสำหรับงวดปจจุบัน 18.2 มาตรฐานการบัญชีที่ยังไมมีผลบังคับใชในปปจจุบัน วันที่มีผลบังคับใช ฉบับที่ 20 การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปดเผยขอมูล 1 มกราคม 2555 เกี่ยวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2550) การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการ 1 มกราคม 2554 ที่เกี่ยวของกัน 1 มกราคม 2554 ฉบับที่ 40 อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ฝายบริหารของบริษัท อยูระหวางการประเมินผลกระทบตองบการเงินในปที่เริ่มใชมาตรฐานการบัญชีทั้ง 3 ฉบับดังกลาว ซึ่งยังไม สามารถสรุปไดในขณะนี้

118

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


ÃÒ§ҹ¢Í§¼ÙŒÊͺºÑÞªÕÃѺ͹ØÞÒμ สำหรับป 2551 รายงานของผูสอบบัญชี มีดังนี้ (1) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบกำไรขาดทุนรวมและงบกำไร ขาดทุนเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนเฉพาะกิจการและงบกระแสเงินสด รวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสำหรับปสน้ิ สุดวันเดียวกันของแตละปของบริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอยและของเฉพาะ บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้เปนผู รับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา (2) ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดใหขาพเจาตองวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อใหได ความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวา งบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการทดสอบหลักฐานประกอบ รายการทั้งที่เปนจำนวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช และประมาณการเกี่ยวกับรายการทาง การเงินที่เปนสาระสำคัญ ซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทำขึ้นตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวา การตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา (3) ขาพเจาเห็นวางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการขางตนนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะกิจการและกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำหรับปสิ้นสุดวัน เดียวกันของแตละปของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย และของงบการเงินเฉพาะบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

สำนักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ

สุวิมล กฤตยาเกียรณ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 2982 วันที่ 19 กุมภาพันธ 2552

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

119


สำหรับป 2552 รายงานของผูสอบบัญชี มีดังนี้ (1) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 งบกำไรขาดทุนรวมและงบกำไรขาดทุนเฉพาะ กิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนเฉพาะกิจการ งบกระแสเงินสดรวมและงบกระแส เงินสดเฉพาะกิจการ สำหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ของ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย และ ของเฉพาะบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวน ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับป สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ทีน่ ำมาแสดงเปรียบเทียบ ตรวจสอบโดยผูส อบบัญชีอน่ื ในสำนักงานเดียวกัน ซึง่ แสดงความเห็น อยางไมมีเงื่อนไข ตามรายงานลงวันที่ 19 กุมภาพันธ 2552 (2) ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดใหขาพเจาตองวางแผนและปฏิบตั งิ านเพือ่ ใหไดความ เชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวา งบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการทดสอบหลักฐานประกอบราย การทั้งที่เปนจำนวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช และประมาณการเกี่ยวกับรายการ ทางการเงินที่เปนสาระสำคัญ ซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวาการตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา (3) ขาพเจาเห็นวางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการขางตนนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะกิจการและกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสำหรับป สิ้นสุดวันเดียว กันของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย และ ของงบการเงินเฉพาะบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป

สำนักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ

วิไลรัตน โรจนนครินทร ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 3104 วันที่ 18 กุมภาพันธ 2553

120

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


§º´ØÅ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

งบการเงินรวม (บาท) สินทรัพย

สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคาและตั๋วเงินรับ ลูกหนี้การคา-สุทธิ ตั๋วเงินรับ มูลคางานเสร็จยังไมเรียกเก็บ ที่ดินและตนทุนโครงการระหวางกอสราง ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ

หมายเหตุ

2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551

2552

2551

3.1 3.2, 4

992,153,969.21 327,045,165.02

640,746,063.06 1,050,000,000.00

890,595,113.18 327,045,165.02

576,099,768.85 1,050,000,000.00

3.3, 5

582,737.00 518,804.73 32,370,455.84 2,902,872,692.86 1,295,375.74 2,004,062,298.53

1,021,187.20 439,751.42 218,324,918.10 3,781,477,154.54 1,042,816.30 1,403,971,692.02

417,737.00 518,804.73 32,370,455.84 2,876,961,515.83 70,000,162.64 1,995,094,641.54

808,187.20 439,751.42 218,324,918.10 3,777,820,014.71 73,343,031.32 1,396,354,369.30

249,342,326.95 20,000,000.00 20,851,272.40 20,175,435.94 12,786,270.97 6,584,056,805.19

83,577,284.35 14,582,022.51 12,888,151.93 20,058,705.70 7,228,129,747.13

249,342,326.95 20,000,000.00 19,760,964.01 9,957,578.67 6,492,064,465.41

83,577,284.35 12,442,550.25 13,264,487.55 7,202,474,363.05

118,311,873.96 541,661,983.25 685,628,551.59 80,504,052.43

70,470,397.70 681,921,048.23 709,989,215.31 86,777,852.66

330,332,084.11 420,435,265.67 599,363,884.89 66,961,993.78

286,332,084.11 538,151,276.51 620,970,250.82 72,675,140.79

28,367,108.01 49,513,545.54 1,503,987,114.78 8,088,043,919.97

27,245,238.73 20,000,000.00 21,961,377.26 1,618,365,129.89 8,846,494,877.02

20,431,263.97 46,986,753.54 1,484,511,245.96 7,976,575,711.37

20,431,263.97 20,000,000.00 20,363,091.26 1,578,923,107.46 8,781,397,470.51

3.11, 6 3.4, 7, 15 9.1 3.5, 8

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินจายลวงหนาผูรับเหมา เงินมัดจำคาสินคา รายไดคางรับ คาใชจายจายลวงหนา อื่น ๆ

16.3

รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม ที่ดินและตนทุนโครงการรอการพัฒนา สินทรัพยใหเชา-สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ

3.6, 9.2 3.4, 7, 15 3.7, 10, 15 3.8, 11, 15

สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น ภาษีถูกหัก ณ ที่จาย เงินมัดจำคาสินคา อื่น ๆ

รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

7

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

121


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบการเงินนรวม รวม(บาท) (บาท) งบการเงิ หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงิน เจาหนี้และตั๋วเงินจายคืนหองชุด เจาหนี้การคาและตั๋วเงินจาย เงินกูยืมและหนี้สินระยะยาวที่ถึงกำหนด ชำระภายใน 1 ป เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินกูยืมระยะสั้นกิจการที่เกี่ยวของกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินรับลวงหนา เงินประกันผลงาน ภาษีเงินไดนิติบุคคลคางจาย อื่นๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน - สุทธิ เงินกูยืมระยะยาว หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เงินมัดจำคาเชาและบริการ ประมาณการหนี้สินผลประโยชนพนักงาน อื่นๆ รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

หมายเหตุ

2552

2551

2552

2551

12

284,992,375.68 1,519,752.63 722,437,708.34

1,345,078,533.81 1,402,950.53 690,266,716.33

284,992,375.68 1,519,752.63 720,334,571.58

1,345,078,533.81 1,402,950.53 687,352,979.41

13, 14 9.3 9.4

476,501,572.81 -

718,608,409.63 -

475,611,489.03 16,124,911.35 -

716,589,992.57 26,319,881.99 69,000,000.00

529,827,162.56 112,278,950.26 235,451,314.06 147,835,114.89 2,510,843,951.23

626,974,082.05 93,799,677.65 224,483,274.98 111,280,422.72 3,811,894,067.70

527,827,162.56 111,953,475.21 228,578,639.96 115,468,572.35 2,482,410,950.35

626,296,082.05 93,799,677.65 214,223,716.84 80,965,937.25 3,861,029,752.10

3,816,713.38 259,000,000.00

6,759,053.52 530,672,345.00

3,288,846.04 259,000,000.00

5,384,449.68 530,672,345.00

11,891,868.10 30,000,000.00 3,581,968.71 308,290,550.19 2,819,134,501.42

11,227,528.18 1,466,721.05 550,125,647.75 4,362,019,715.45

10,960,859.68 30,000,000.00 1,111,148.71 304,360,854.43 2,786,771,804.78

10,217,100.14 1,120,401.05 547,394,295.87 4,408,424,047.97

3.10, 13 14

3.17

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

122

งบการเงิ นเฉพาะกิ จการจการ (บาท)(บาท) งบการเงิ นเฉพาะกิ

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบการเงินนรวม รวม(บาท) (บาท) งบการเงิ หมายเหตุ

2552

งบการเงิ นเฉพาะกิ จการจการ (บาท)(บาท) งบการเงิ นเฉพาะกิ 2551

2552

2551

หนี้สินและสวนของผูถือหุน (ตอ) สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ จำนวน 1,475,698,768 หุน มูลคาหุนละ 1.00 บาท ทุนที่ออกและเรียกชำระแลว หุนสามัญ จำนวน 1,475,698,768 หุน มูลคาหุนละ 1.00 บาท สวนเกินมูลคาหุน สวนเกินมูลคาหุนทุนซื้อคืน กำไรสะสม จัดสรรแลว สำรองตามกฎหมาย สำรองหุนทุนซื้อคืน ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของผูถือหุนบริษัทใหญ หัก หุนทุนซื้อคืน รวมสวนของผูถือหุนบริษัทใหญ - สุทธิ สวนของผูถือหุนสวนนอย รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

19.1 19.2

3.16, 18

1,475,698,768.00

1,475,698,768.00

1,475,698,768.00

1,475,698,768.00

1,475,698,768.00 441,807,166.00 39,061,748.24

1,475,698,768.00 441,807,166.00 -

1,475,698,768.00 441,807,166.00 39,061,748.24

1,475,698,768.00 441,807,166.00 -

148,000,000.00 3,164,229,657.58 5,268,797,339.82 5,268,797,339.82 112,078.73 5,268,909,418.55 8,088,043,919.97

148,000,000.00 16,689,514.97 2,418,837,427.68 4,501,032,876.65 (16,689,514.97) 4,484,343,361.68 131,799.89 4,484,475,161.57 8,846,494,877.02

148,000,000.00 3,085,236,224.35 5,189,803,906.59 5,189,803,906.59 5,189,803,906.59 7,976,575,711.37

148,000,000.00 16,689,514.97 2,307,467,488.54 4,389,662,937.51 (16,689,514.97) 4,372,973,422.54 -4,372,973,422.54 8,781,397,470.51

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

123


§º¡ÓäâҴ·Ø¹ สำหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบการเงินนรวม รวม(บาท) (บาท) งบการเงิ หมายเหตุ รายไดจากการขายและบริการ รายไดจากการขาย รายไดจากธุรกิจใหเชาและบริการ รายไดจากธุรกิจรับจางบริหารจัดการ รวมรายไดจากการขายและบริการ ตนทุนขายและบริการ ตนทุนขาย ตนทุนจากธุรกิจใหเชาและบริการ ตนทุนจากธุรกิจรับจางบริหารจัดการ รวมตนทุนจากการขายและบริการ กำไรขั้นตน รายไดอื่น ดอกเบี้ยรับ สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม รายไดจากการเปลี่ยนแปลงสัญญา กำไรจากการจำหนายสินทรัพย เงินปนผลรับ อื่นๆ รวมรายไดอื่น กำไรกอนคาใชจาย คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนกรรมการ คาตอบแทนผูบริหาร สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวม รวมคาใชจาย กำไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน กำไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กำไรสุทธิ การแบงปนกำไร สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอย กำไรตอหุนขั้นพื้นฐาน จำนวนหุนถัวเฉลี่ย

9.2

3.12

3.15

2552

2551

2552

2551

8,267,992,930.08 62,026,713.72 183,251,971.45 8,513,271,615.25

7,018,707,430.85 61,114,993.01 143,464,477.41 7,223,286,901.27

8,255,225,728.35 57,893,571.57 8,313,119,299.92

7,014,418,284.62 57,948,848.13 7,072,367,132.75

(5,678,206,984.03) (41,037,188.52) (121,005,495.86) (5,840,249,668.41) 2,673,021,946.84

(4,826,169,232.07) (40,555,069.21) (124,497,272.29) (4,991,221,573.57) 2,232,065,327.70

(5,746,892,276.09) (47,117,373.51) (5,794,009,649.60) 2,519,109,650.32

(4,896,877,259.91) (47,307,005.65) (4,944,184,265.56) 2,128,182,867.19

15,304,795.26 3,841,476.26 25,520,628.35 24,931,208.02 9,579,474.17 79,177,582.06 2,752,199,528.90 (236,350,405.01) (475,665,563.94) (11,770,000.00) (69,893,072.09) (793,679,041.04) 1,958,520,487.86 (11,113,033.96) 1,947,407,453.90 (588,664,912.56) 1,358,742,541.34

11,686,792.35 32,570,314.47 9,667,867.55 26,481,706.29 80,406,680.66 2,312,472,008.36 (130,363,190.21) (393,605,643.46) (11,070,000.00) (60,942,777.89) (6,643,294.09) (602,624,905.65) 1,709,847,102.71 (10,124,275.92) 1,699,722,826.79 (494,211,604.38) 1,205,511,222.41

15,139,752.41 25,520,628.35 24,859,686.35 79,929,000.00 9,052,974.12 154,502,041.23 2,673,611,691.55 (383,319,535.21) (271,477,807.70) (11,770,000.00) (35,208,014.11) (701,775,357.02) 1,971,836,334.53 (11,037,443.25) 1,960,798,891.28 (569,731,122.87) 1,391,067,768.41

10,869,902.59 32,570,314.47 9,667,806.30 46,849,620.00 25,766,872.80 125,724,516.16 2,253,907,383.35 (351,742,671.88) (222,830,457.43) (11,070,000.00) (30,281,273.21) (615,924,402.52) 1,637,982,980.83 (9,929,083.90) 1,628,053,896.93 (454,188,661.07) 1,173,865,235.86

1,358,691,262.50 51,278.84 1,358,742,541.34 0.93 1,468,170,209

1,205,438,655.21 72,567.20 1,205,511,222.41 0.82 1,474,593,089

1,391,067,768.41 1,391,067,768.41 0.95 1,468,170,209

1,173,865,235.86 1,173,865,235.86 0.80 1,474,593,089

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

124

งบการเงินเฉพาะกิ นเฉพาะกิจการ จการ(บาท) (บาท) งบการเงิ

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


§ºáÊ´§¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ã¹Ê‹Ç¹¢Í§¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ สำหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบการเงินรวม

(หนวย : บาท)

สวนของบริษัทใหญ หมายเหตุ

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2551

สวนเกิน

สวนเกิน

มูลคาหุนสามัญ

มูลคาหุนทุนซื้อคืน

ทุนเรือนหุน

1,475,698,768.00

สวนของ

สำรองตาม

สำรอง

กำไร(ขาดทุน)สะสม

กฎหมาย

หุนทุนซื้อคืน

ยังไมไดจัดสรร

หุนทุนซื้อคืน

441,807,166.00

- 148,000,000.00

-

หุนทุนซื้อคืน

ผูถือหุน รวม

-

1,761,339,843.92

(16,689,514.97)

รวม สวนนอย

3,826,845,777.92

109,612.69

(16,689,514.97)

สำรองหุนทุนซื้อคืน

16,689,514.97

กำไรสุทธิ

(16,689,514.97)

-

1,205,438,655.21

1,205,438,655.21

3,826,955,390.61 (16,689,514.97) -

72,567.20

1,205,511,222.41 (206,602,147.52)

เงินปนผลจายระหวางกาล

17

(206,597,827.52)

(206,597,827.52)

(4,320.00)

เงินปนผลจาย

17

(324,653,728.96)

(324,653,728.96)

(46,060.00)

(324,699,788.96)

16,689,514.97

2,418,837,427.68

4,484,343,361.68

131,799.89

4,484,475,161.57

(16,689,514.97)

16,689,514.97

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2552

1,475,698,768.00

441,807,166.00

-

หุนทุนซื้อคืน

(16,689,514.97) 148,000,000.00 16,689,514.97

16,689,514.97

สำรองหุนทุนซื้อคืน สวนเกินมูลคาหุนทุนซื้อคืน

39,061,748.24

16,689,514.97

-

-

39,061,748.24

กำไรสุทธิ

39,061,748.24

1,358,691,262.50

1,358,691,262.50

51,278.84

เงินปนผลจายระหวางกาล

17

(231,609,767.04)

(231,609,767.04)

-

(231,609,767.04)

เงินปนผลจาย

17

(398,378,780.53)

(398,378,780.53)

(71,000.00)

(398,449,780.53)

3,164,229,657.58

5,268,797,339.82

112,078.73

5,268,909,418.55

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

1,475,698,768.00 441,807,166.00

- 148,000,000.00

39,061,748.24

-

1,358,742,541.34

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 5,268,909,418.55 3,164,229,657.58

งบการเงินเฉพาะกิจการ สวนเกิน หมายเหตุ

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2551

สวนเกิน

(หนวย : บาท)

สำรองตาม

สำรอง

กำไร(ขาดทุน)สะสม

กฎหมาย

หุนทุนซื้อคืน

ยังไมไดจัดสรร

หุนทุนซื้อคืน

ทุนเรือนหุน

มูลคาหุนสามัญ

1,475,698,768.00

441,807,166.00

รวม

มูลคาหุนทุนซื้อคืน

-

หุนทุนซื้อคืน

-

148,000,000.00

-

1,681,543,324.13

16,689,514.97

(16,689,514.97)

(16,689,514.97)

3,747,049,258.13 (16,689,514.97)

สำรองหุนทุนซื้อคืน กำไรสุทธิ

-

1,173,865,235.86

1,173,865,235.86 (206,597,827.52)

เงินปนผลจายระหวางกาล

17

(206,597,827.52)

เงินปนผลจาย

17

(324,653,728.96)

(324,653,728.96)

16,689,514.97

2,307,467,488.54

4,372,973,422.54

(16,689,514.97)

16,689,514.97

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2552

1,475,698,768.00

441,807,166.00

-

หุนทุนซื้อคืน

(16,689,514.97)

148,000,000.00

16,689,514.97

16,689,514.97

สำรองหุนทุนซื้อคืน สวนเกินมูลคาหุนทุนซื้อคืน

39,061,748.24

กำไรสุทธิ เงินปนผลจายระหวางกาล เงินปนผลจาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

39,061,748.24

1,391,067,768.41

1,391,067,768.41

17

(231,609,767.04)

(231,609,767.04)

17

(398,378,780.53)

(398,378,780.53)

3,085,236,224.35

5,189,803,906.59

1,475,698,768.00 441,807,166.00

39,061,748.24

-

148,000,000.00

-

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ 3,164,229,657.58

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

125


§º¡ÃÐáÊà§Ô¹Ê´ สำหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบการเงินรวม (บาท) 2552 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรกอนภาษีเงินได รายการปรับปรุงกระทบกำไรสุทธิเปนเงินสดรับ (จาย) จากกิจกรรมดำเนินงาน รายไดเงินปนผล คาเสื่อมราคาทรัพยสิน ขาดทุน (กำไร) จากการตีราคาเงินลงทุน ขาดทุน (กำไร) จากการขายเงินลงทุน ขาดทุนจากการดอยคาทรัพยสิน ขาดทุนจากการปรับลดมูลคาสินคา โอนกลับคาเผื่อการปรับลดมูลคาสินคา ขาดทุน(กำไร)จากการจำหนายทรัพยสิน ขาดทุนจากการตัดจำหนายทรัพยสินสูญหาย สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวม ตามวิธีสวนไดเสีย ขาดทุนจากการตัดจายภาษีถูกหัก ณ ที่จาย คาใชจายดอกเบี้ย กำไรจากการดำเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพยและหนี้สินดำเนินงาน สินทรัพยจากการดำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง เงินลงทุนในหลักทรัพยเพื่อคา ลูกหนี้การคาและตั๋วเงินรับ มูลคางานเสร็จยังไมเรียกเก็บ ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ ที่ดินและตนทุนโครงการระหวางกอสราง เงินจายลวงหนาผูรับเหมา สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น สินทรัพยจากการดำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง

2551

2552

2551

1,947,407,453.90

1,699,722,826.79

1,960,798,891.28

1,628,053,896.93

34,162,522.55 (5,494,710.50) (3,198,441.93) 24,380,711.81 1,268,000.00 (19,010,295.23) (24,940,639.12) 572,150.74

36,857,646.03 19,698,042.72 (9,562,939.66) 63,822.69

(79,929,000.00) 25,484,967.74 (5,494,710.50) (3,198,441.93) 24,380,711.81 (19,010,295.23) (24,859,686.35) 544,962.70

(46,849,620.00) 26,782,669.51 19,698,042.72 (9,681,886.92) 63,822.69

(3,841,476.26) 719,265.50 11,113,033.96

6,643,294.09 3,413,564.87 10,124,275.92

11,037,443.25

9,929,083.90

1,963,137,575.42

1,766,960,533.45

1,889,754,842.77

1,627,996,008.83

(318,352,012.59) 359,396.89 185,954,462.26 (252,559.44) (632,613,247.00) 1,085,450,471.55 (165,765,042.60) (26,241,973.47) (16,429,122.93) 112,110,372.67

(410,494.67) (117,953,322.14) (1,042,816.30) (985,138,273.81) 833,392,642.47 (62,955,406.17) (9,107,155.28) (1,944,028.20) (345,158,854.10)

(318,352,012.59) 311,396.89 185,954,462.26 3,342,868.68 (629,597,190.56) 1,085,324,319.15 (165,765,042.60) (24,011,050.67) (15,024,616.93) 122,183,133.63

(460,494.67) (117,953,322.14) (328,774.07) (989,266,291.38) 886,013,699.38 (62,955,406.17) (3,166,687.70) (5,352,093.07) (293,469,369.82)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

126

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


สำหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบการเงินรวม (บาท) 2552 หนี้สินจากการดำเนินงาน เพิ่มขึ้น (ลดลง) เจาหนี้การคาและตั๋วเงินจาย เจาหนี้และตั๋วเงินจายคืนหองชุด เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินจากการดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดรับ(จาย)จากการดำเนินงาน จายดอกเบี้ย จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมา(ใชไป)จากกิจกรรมดำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน เงินลงทุนในตั๋วแลกเงิน เงินสดรับจากตั๋วสัญญาใชเงินและตั๋วแลกเงินครบกำหนด เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ที่ถึงกำหนดชำระใน 1 ป (เพิ่มขึ้น)ลดลง เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม เงินปนผลรับ ซื้อสินทรัพยถาวร ซื้อสินทรัพยเชา ขายสินทรัพยถาวร ขายสินทรัพยเชา เงินสดสุทธิไดมา(ใชไป)จากกิจกรรมการลงทุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551

2552

2551

28,336,336.59 116,802.10 (40,821,077.76) 32,779,587.58 20,411,648.51 2,095,659,596.60 (90,739,235.37) (579,538,008.26) 1,425,382,352.97

136,237,382.74 774,954.19 (12,427,423.29) 509,841.57 125,094,755.21 1,546,896,434.56 (113,995,663.42) (496,767,342.37) 936,133,428.77

29,146,936.75 116,802.10 (10,194,970.64) (44,520,609.88) 30,734,507.20 5,282,665.53 2,017,220,641.93 (91,224,231.37) (555,376,199.75) 1,370,620,210.81

137,002,107.89 774,954.19 3,441,371.41 (15,127,000.57) 1,204,539.70 127,295,972.62 1,461,822,611.63 (114,902,579.29) (456,987,991.41) 889,932,040.93

(300,000,000.00) 1,350,000,000.00

(1,050,000,000.00) -

(300,000,000.00) 1,350,000,000.00

(1,050,000,000.00) -

(44,000,000.00) (14,521,877.23) (3,326,945.80) 282,098.13 89,294,709.00 1,077,727,984.10

12,000,000.00 (66,000,000.00) (11,394,539.06) (750,622.98) 2,002,372.89 27,077,000.00 (1,087,065,789.15)

(44,000,000.00) 79,929,000.00 (9,592,180.22) (3,326,945.80) 168,140.19 89,294,709.00 1,162,472,723.17

12,000,000.00 (66,000,000.00) 46,849,620.00 (8,849,549.78) (750,622.98) 1,326,379.44 27,077,000.00 (1,038,347,173.32)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

127


สำหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

งบการเงินรวม (บาท) 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551

2552

2551

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน รับเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน รับ(คืน)เงินเบิกเกินบัญชี รับเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน คืนเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน รับเงินกูยืมระยะยาว คืนเงินกูยืมระยะยาว จายชำระหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน ซื้อคืนหุนสามัญ ขายคืนหุนสามัญ สวนเกินมูลคาหุนสามัญซื้อคืน จายเงินปนผล เงินสดสุทธิไดมา(ใชไป)จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม

5,913,841.87 1,264,000,000.00 (2,330,000,000.00) 2,851,200,000.00 (3,363,592,345.00) (4,915,643.43) (1,199,399.95) 17,888,914.92 39,061,748.24 (630,059,547.57) (2,151,702,430.92) 351,407,906.15 640,746,063.06 992,153,969.21

23,190,778.28 2,207,990,000.00 (1,327,990,000.00) 2,476,820,000.00 (2,489,427,655.00) (5,766,219.51) (16,689,514.97) (531,270,656.48) 336,856,732.32 185,924,371.94 454,821,691.12 640,746,063.06

การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับ กระแสเงินสดเพิ่มเติม ดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 21

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

128

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

(69,000,000.00) 5,913,841.87 “ 1,264,000,000.00 (2,330,000,000.00) 2,851,200,000.00 (3,363,592,345.00) (2,881,802.16) “ (1,199,399.95) 17,888,914.92 39,061,748.24 (629,988,547.57) (2,218,597,589.65) 314,495,344.33 576,099,768.85 890,595,113.18

69,000,000.00 23,793,501.65 2,207,990,000.00 (1,327,990,000.00) 2,476,820,000.00 (2,489,427,655.00) (2,734,070.52) (16,689,514.97) (531,220,276.48) 409,541,984.68 261,126,852.29 314,972,916.56 576,099,768.85


ËÁÒÂàËμØ»ÃСͺ§º¡ÒÃà§Ô¹ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 1. การดำเนินงานของบริษัท บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) เปนบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2537 ธุรกิจหลักของบริษทั คือ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย สถานทีต่ ง้ั ของบริษทั 1168/109 อาคารลุมพินที าวเวอร ชัน้ 36 ถนนพระราม 4 แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 2. หลักเกณฑในการจัดทำงบการเงิน 2.1 งบการเงินนี้ไดจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ภายใตพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ.2547 และแสดงรายการ ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคา โดยกระทรวงพาณิชย ลงวันที่ 30 มกราคม 2552 เรื่องกำหนดรายการยอที่ตองมีใน งบการเงิน พ.ศ. 2552 และตามขอกำหนดของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยวาดวยการจัดทำ และนำ เสนอรายงานทางการเงินภายใตพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ 2535 2.2 งบการเงินของบริษัท จัดทำขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมในการวัดมูลคาขององคประกอบของรายการในงบการเงิน ยกเวน รายการที่เปดเผยไวในนโยบายการบัญชีที่เกี่ยวของ 2.3 ในการจัดทำงบการเงินรวมสำหรับป สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวยงบการเงินของ บริษทั แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษัทใหญ โดยเขาถือหุนในบริษัทยอย ดังนี้ อัตราการถือหุน

บริษัท พรสันติ จำกัด บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด

รอยละ

ประเภทธุรกิจ

ความสัมพันธ

99.99

อสังหาริมทรัพย

ผูถือหุน, ควบคุมโดยกรรมการ

99.88

ใหบริการ

ผูถือหุน, ควบคุมโดยกรรมการ

99.93

ใหบริการ

ผูถือหุน, ควบคุมโดยกรรมการ

2.4 รายการบัญชีระหวางกัน ในการจัดทำงบการเงินรวม รายการบัญชีระหวางกันที่เปนสาระสำคัญไดตัดออกในการทำงบการเงินรวมแลว 2.5 งบการเงินรวมนี้จัดทำขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อแสดงฐานะการเงินรวม และผลการดำเนินงานรวมของ บริษัท แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอยเทานั้น การใชขอมูลตามงบการเงินรวมเพื่อวัตถุประสงคอื่น อาจมีขอจำกัด ดานลักษณะที่คอนขางแตกตางกันในบรรดาบริษัทยอยที่นำงบการเงินมาประกอบเปนงบการเงินรวม 3. สรุปนโยบายบัญชีที่สำคัญ 3.1 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เพื่อวัตถุประสงคในการจัดทำงบกระแสเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายรวมถึง เงินฝากธนาคารซึ่งถึงกำหนดจาย คืนในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือน และไมมีขอจำกัดในการเบิกใช 3.2 เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนในตั๋วแลกเงิน และตั๋วสัญญาใชเงิน แสดงไวโดยวิธีราคาทุน (Cost Method) หักดวยคาเผื่อการดอยคา (ถามี) เงินลงทุนในหลักทรัพยเพือ่ คา แสดงดวยราคายุตธิ รรม ผลตางจากการเปลีย่ นแปลงมูลคาบันทึกไวเปนกำไร (ขาดทุน) ทีย่ งั ไมเกิดขึ้น จากการปรับมูลคาเงินลงทุนในงบกำไรขาดทุน ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

129


3.3 คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ บริษัทตั้งสำรองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเปนจำนวนเงินโดยประมาณจากความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเรียกเก็บเงินลูกหนี้ โดยพิจารณาจากลูกหนี้เปนรายตัวที่คางชำระคางวดเกินกวา 6 เดือน และเขาเกณฑการรับรูรายได 3.4 ที่ดินและตนทุนโครงการ ที่ดินและตนทุนโครงการระหวางกอสราง แสดงดวยราคาทุนโดยวิธีเฉพาะเจาะจง หรือมูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับ แลวแตอยางใด จะต่ำกวา ราคาทุนประกอบดวย ที่ดิน คาพัฒนาที่ดิน คากอสราง คาใชจายที่เกี่ยวของโดยตรงกับโครงการและดอกเบี้ยเงินกูยืมที่ เกี่ยวของ ซึ่งจะหยุดบันทึกดอกเบี้ยจายเขามาเปนตนทุน เมื่องานกอสรางแลวเสร็จหรือโครงการหยุดพัฒนา 3.5 สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือ ประกอบดวย อาคารหองชุดทีส่ รางเสร็จในสวนทีย่ งั ไมไดโอนกรรมสิทธิใ์ หผซู อ้ื บริษทั แสดงไวในราคาทุน โดยวิธเี ฉพาะ เจาะจงหรือมูลคาสุทธิทจ่ี ะไดรบั แลวแตราคาใดจะต่ำกวา วัสดุคงเหลือ แสดงดวยราคาทุนโดยวิธเี ขากอน - ออกกอน (FIFO) หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับ แลวแตราคาใดจะต่ำกวา 3.6 เงินลงทุนระยะยาว - เงินลงทุนในบริษัทรวมในงบการเงินรวม แสดงไวโดยวิธีสวนไดเสีย (Equity Method) - เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมในงบการเงินเฉพาะกิจการ แสดงไวโดยวิธีราคาทุน (Cost Method) หักดวยคาเผื่อการ ดอยคา (ถามี) 3.7 สินทรัพยใหเชา ที่ดินแสดงไวในราคาทุน อาคารและอุปกรณสวนที่ไมมีการตีราคาเพิ่มแสดงดวยราคาทุนหักดวยคาเสื่อมราคาสะสม คาเสื่อมราคาคำนวณโดยวิธีเสนตรงในอัตราดังนี้ จำนวนป อาคารสำนักงาน และ ลานจอดรถ คาตกแตง และ เครื่องใชสำนักงาน เครื่องคอมพิวเตอร

40 10 5

3.8 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ/คาเสื่อมราคา - ที่ดิน แสดงไวในราคาทุน - อาคารและอุปกรณ แสดงไวในราคาทุนหักดวยคาเสื่อมราคาสะสม คาเสื่อมราคาคำนวณโดยวิธีเสนตรง ในอัตราดังนี้ จำนวนป จำนวนป อาคารสำนักงาน คาตกแตง และ เครื่องใชสำนักงาน เครื่องคอมพิวเตอร และ งานพัฒนาระบบโปรแกรม ยานพาหนะ

40 10 5 5

3.9 การดอยคาของสินทรัพย บริษัทพิจารณาการดอยคาของสินทรัพยประเภท ที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินลงทุน ที่ดินและตนทุนโครงการรอการพัฒนาและ สินทรัพยไมมีตัวตนตางๆ เมื่อมีขอบงชี้วา สินทรัพยจะเกิดการดอยคา โดยพิจารณาจากมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพย หากมีราคาต่ำกวาราคาตามบัญชี ถือวาสินทรัพยนั้นเกิดการดอยคา ซึ่งจะรับรูผลขาดทุนจากการดอยคาดังกลาวในงบกำไรขาดทุน และบริษทั จะบันทึกกลับรายการจากการดอยคา ตอเมือ่ มีขอ บงชีว้ า การดอยคานัน้ ไมมอี ยูอ กี ตอไปหรือยังมีอยู แตเปนไปในทางที่ลดลง มูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืนของสินทรัพย หมายถึง ราคาขายสุทธิหรือมูลคาจากการใชสนิ ทรัพย แลวแตราคาใดจะสูงกวาและจะประมาณ จากสินทรัพยแตละรายการ หรือหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดแลวแตกรณี 130

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


3.10 สินทรัพยตามสัญญาเชาการเงิน บริษัทบันทึกสินทรัพยตามสัญญาเชาการเงินเปนสินทรัพยและหนี้สินในงบดุล ดวยจำนวนเทากับราคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชา ณ วันเริ่มตนของสัญญาเชา ดอกเบี้ยจายตามสัญญาจะถูกบันทึกตามงวดตางๆ ตลอดอายุสัญญาเชาตามยอดคงเหลือของหนี้สิน ตามสัญญาเชาในแตละงวด 3.11 การรับรูรายไดและคาใชจาย 3.11.1 รายไดจากการขายอาคารชุด รับรูโดยวิธีอัตรารอยละของงานที่ทำเสร็จซึ่งจะคำนวณโดยใชอัตราสวนของงานที่กอสราง ที่เสร็จแลว เปรียบเทียบกับตนทุนทั้งหมดที่ประมาณไว โดยบริษัทจะเริ่มรับรูรายไดเมื่อมีการทำสัญญาจะซื้อจะขายไม นอยกวารอยละ 40 ของโครงการที่เปดขาย และรับชำระเงินเกินกวารอยละ 20 ของแตละสัญญา และงานพัฒนา และ งานกอสรางไดผานขั้นตอนเบื้องตนแลวไมนอยกวารอยละ 10 ของงานกอสรางของแตละโครงการ ทั้งนี้บริษัทจะหยุด รับรูรายไดทันทีเมื่อผูซื้อผิดนัดชำระเงินเกินกวา 3 งวดติดตอกัน และอัตราสวนงานที่ทำเสร็จสูงกวาเงินคางวดที่ถึง กำหนดชำระ 3.11.2 รายไดคาเชาและบริการที่เกี่ยวของในที่ดิน อาคารและอุปกรณใหเชาจะรับรูเปนรายไดตามเกณฑคงคาง 3.11.3 รายไดจากการใหบริการจะรับรูเปนรายไดเมื่อการใหบริการเสร็จสิ้นลง 3.11.4 รายไดอื่นและคาใชจายรับรูตามเกณฑคงคาง 3.11.5 บริษัทคำนวนตนทุนจากการขายบานและที่ดิน อาคารชุดที่ขายแลว โดยถือเปนตนทุนขายตามอัตรารอยละของการ รับรูรายได 3.12 ภาษีเงินไดนิติบุคคล บริษัทและบริษัทยอยบันทึกภาษีเงินไดนิติบุคคลที่ตองจายในแตละป เปนคาใชจายทั้งหมดในงวดนั้นและคำนวณภาษีเงินไดตามที่ กำหนดไวในประมวลรัษฎากร โดยคำนวณจากรายไดที่รับรูตามวิธีคางวดที่ครบกำหนดชำระสำหรับโครงการที่เปดขายกอนป 2550 และรับรูรายไดตามวิธีอัตรารอยละของงานที่ทำเสร็จสำหรับโครงการที่เปดในป 2550 เปนตนไป 3.13 ประมาณการทางบัญชี ในการจัดทำงบการเงินตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝายบริหารตองใชการประมาณการรายการบัญชีบางรายการซึ่งมีผลกระทบ ตอจำนวนเงินที่แสดงในงบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน ดวยเหตุนี้ผลที่เกิดขึ้นจริงในภายหลัง จึงอาจแตกตางไปจาก จำนวนที่ประมาณไว ประมาณการและขอสมมติฐานที่อาจมีความเสี่ยงตอการปรับปรุงบัญชีในปถัดไปตอมูลคาสินทรัพยยกไป ณ วันที่ในงบดุล ไดแก สำรองโครงการเงินบำเหน็จพนักงาน ตนทุนโครงการเงินบำเหน็จพนักงาน เปนมูลคาที่ประเมินโดยผูบริหาร การประมาณการใน เรื่องนี้คอนขางมีความไมแนนอน อันเนื่องมาจากลักษณะของโครงการที่มีระยะเวลายาว (หมายเหตุ 3.17.2) การประมาณการใน เรื่องอื่นๆ ไดถูกเปดเผยในแตละสวนที่เกี่ยวของของหมายเหตุประกอบงบการเงินนี้ 3.14 ประมาณการหนี้สิน บริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สินเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนของการเกิดภาระผูกพันในปจจุบัน ตามกฎหมายหรือจากการ อนุมานอันเปนผลสืบเนือ่ งมาจากเหตุการณในอดีต ภาระผูกพันดังกลาว คาดวาจะสงผลใหสญู เสียทรัพยากรทีม่ ปี ระโยชนเชิงเศรษฐกิจ เพื่อจายชำระ ภาระผูกพันและจำนวนที่ตองจายสามารถประมาณการไดอยางนาเชื่อถือ หากบริษัทคาดวาจะไดรับคืนรายจาย ชำระไปตามประมาณการหนี้สินทั้งหมดหรือบางสวนอยางแนนอน บริษัทจะรับรูรายจายไดรับคืนเปนสินทรัพยแยกตางหากแต ตองไมเกินจำนวนประมาณการหนี้สินที่เกี่ยวของ 3.15 กำไรตอหุน - กำไรตอหุนขั้นพื้นฐานคำนวณโดยการหารกำไร(ขาดทุน)สุทธิสำหรับป ดวยจำนวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักที่ออกอยูใน ระหวางป หลังหักหุนทุนซื้อคืน - กำไรตอหุนปรับลดคำนวณโดยการหารกำไร(ขาดทุน)สุทธิสำหรับป ดวยผลรวมของจำนวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักที่ออก อยูในระหวางป กับจำนวนถัวเฉลี่ยถวงน้ำหนักของหุนสามัญที่บริษัทอาจตองออกเพื่อแปลงหุนสามัญเทียบเทาปรับลดทั้งสิ้น (ใบสำคัญแสดงสิทธิ) ใหเปนหุนสามัญ ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

131


3.16 หุนทุนซื้อคืน บริษัทบันทึกหุนสามัญของบริษัท ที่ซื้อคืนกลับมาดวยวิธีราคาทุน 3.17 ผลประโยชนของพนักงาน 3.17.1 กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงาน บริษทั จัดใหมกี องทุนสำรองเลีย้ งชีพ ซึง่ เปนลักษณะของแผนการจายสมทบตามทีไ่ ดกำหนดการจายสมทบไวแลว สินทรัพย ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ไดแยกออกไปจากสินทรัพยของบริษัท และไดรับการบริหารโดยผูจัดการกองทุนภายนอก กองทุนสำรองเลี้ยงชีพดังกลาวไดรับเงินสะสมเขากองทุนจากพนักงานและเงินสมทบจากบริษัท เงินจายสมทบกองทุน สำรองเลี้ยงชีพบันทึกเปนคาใชจายในงบกำไรขาดทุนสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้น 3.17.2 เงินบำเหน็จพนักงาน ขอผูกพันตามนโยบายการจายเงินบำเหน็จพนักงาน เมื่อครบเกษียณอายุตามกฎหมายแรงงาน และตามเกณฑของ บริษัท ประมาณการไวโดยพิจารณาจากพนักงานที่มีอายุตั้งแต 45 ป ขึ้นไป และมีอายุงานตั้งแต 10 ป ขึ้นไปตามอัตรา รอยละที่ผูบริหารประมาณการขึ้นโดยไดเริ่มใชประมาณการดังกลาวในไตรมาส 4 ป 2552 3.18 การประกาศใชมาตรฐานการบัญชีใหม สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 86/2551 และฉบับที่ 16/2552 เกีย่ วกับมาตรฐานการบัญชี ซึง่ ไดประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาแลว โดยใหใชมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหม ดังตอไปนี้ 3.18.1 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่มีผลบังคับใชในปปจจุบัน แมบทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) การดอยคาของสินทรัพย มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2550) สินทรัพยไมหมุนเวียนทีถ่ อื ไวเพือ่ ขายและการดำเนินงาน ที่ยกเลิก (เดิมเปนมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 54) แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการบันทึกสิทธิการเชา แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีขา งตนถือปฏิบตั กิ บั งบการเงินสำหรับรอบ ระยะเวลาบัญชีทเ่ี ริม่ ในหรือวันที่ 1 มกราคม 2552 เปนตนไป ฝายบริหารของบริษทั ไดประเมินแลวเห็นวามาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2550) และแนวปฏิบตั ทิ างการบัญชีสำหรับการบันทึกสิทธิการเชาและการรวมธุรกิจ ภายใตการควบคุมเดียวกันไมเกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจของบริษทั สวนแมบทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) และมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) ไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสำคัญตองบการเงินสำหรับงวดปจจุบนั 3.18.2 มาตรฐานการบัญชีที่ยังไมมีผลบังคับใชในปปจจุบัน วันที่มีผลบังคับใช ฉบับที่ 20 การบัญชีสำหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปดเผยขอมูล 1 มกราคม 2555 เกี่ยวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2550) การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการ 1 มกราคม 2554 ที่เกี่ยวของกัน ฉบับที่ 40 อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน 1 มกราคม 2554 ฝายบริหารของบริษทั อยูร ะหวางการประเมินผลกระทบตองบการเงินในปทเี่ ริม่ ใชมาตรฐานการบัญชีทงั้ 3 ฉบับดังกลาว ซึ่งยังไมสามารถสรุปไดในขณะนี้

132

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


4. เงินลงทุนชั่วคราว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวย งบการเงินรวม (บาท) 2552

อัตราดอกเบี้ย

ตั๋วสัญญาใชเงิน ตั๋วแลกเงิน หลักทรัพยเพื่อคา - กองทุนเปดในตราสารหนี้ และตราสารทุน ของธนาคารพาณิชย รวมทั้งสิ้น

2.50% - 3.80% 2.75% - 4.00%

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551

2552

2551

-

480,000,000.00 570,000,000.00

-

480,000,000.00 570,000,000.00

327,045,165.02 327,045,165.02

1,050,000,000.00

327,045,165.02 327,045,165.02

1,050,000,000.00

5. ลูกหนี้การคา-สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวย

งบการเงินรวม (บาท) 2552 จำนวนเงินที่ไดทำสัญญาจะซื้อจะขายแลว (31 ธ.ค. 52 : รอยละ 89.76 , 31 ธ.ค. 51 : รอยละ 85.64 ของยอดขายของโครงการที่เปดขาย) หัก มูลคาโครงการที่ไดทำสัญญาจะซื้อจะขาย ที่มีการโอนแลว คงเหลือมูลคาโครงการที่ไดทำสัญญา จะซื้อจะขายแตยังไมมีการโอน คางวดที่ถึงกำหนดชำระ หัก เงินชำระแลว ลูกหนี้คางวดที่คางชำระ โอนคางวดครบกำหนดที่ยังไมรับรูเปนรายได โอนเปนลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน รวมลูกหนี้การคา หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551

2552

2551

34,835,474,316.69

26,008,701,338.31

34,775,968,316.69

25,993,851,338.31

(24,160,048,354.69)

(16,282,214,743.98)

(24,147,542,354.69)

(16,272,214,743.98)

10,675,425,962.00 201,889,981.91 (100,831,926.32) 101,058,055.59 (30,475,318.59) (70,000,000.00) 582,737.00 582,737.00

9,726,486,594.33 479,222,402.41 (390,048,474.21) 89,173,928.20 (18,095,433.00) (70,000,000.00) 1,078,495.20 (57,308.00) 1,021,187.20

10,628,425,962.00 188,059,981.91 (99,166,926.32) 88,893,055.59 (18,475,318.59) (70,000,000.00) 417,737.00 417,737.00

9,721,636,594.33 477,392,402.41 (388,431,474.21) 88,960,928.20 (18,095,433.00) (70,000,000.00) 865,495.20 (57,308.00) 808,187.20

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

133


ลูกหนี้การคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 แยกตามอายุหนี้ไดดังนี้ งบการเงินรวม (บาท) 2552 เกินกำหนด 1 - 3 เดือน เกินกำหนด 4 - 6 เดือน เกินกำหนด 7 - 12 เดือน เกินกำหนด 12 เดือน ขึ้นไป รวม โอนคางวดครบกำหนดที่ยังไมรับรู เปนรายได รวมลูกหนี้การคา หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคา - สุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551

2552

2551

26,245,266.59 1,786,000.00 2,415,289.00 611,500.00 31,058,055.59

17,761,052.00 894,268.20 238,400.00 280,208.00 19,173,928.20

14,245,266.59 1,786,000.00 2,415,289.00 446,500.00 18,893,055.59

17,761,052.00 894,268.20 238,400.00 67,208.00 18,960,928.20

(30,475,318.59) 582,737.00 582,737.00

(18,095,433.00) 1,078,495.20 (57,308.00) 1,021,187.20

(18,475,318.59) 417,737.00 417,737.00

(18,095,433.00) 865,495.20 (57,308.00) 808,187.20

6. มูลคางานเสร็จยังไมเรียกเก็บ/คางวดครบกำหนดที่ยังไมรับรูเปนรายได ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวย

งบการเงินรวม (บาท) 2552 คางวดที่ถึงกำหนดชำระแลว-สุทธิ หัก การรับรูรายไดตามอัตรารอยละ ของงานที่เสร็จ รวม รายการดังกลาวประกอบดวย มูลคางานเสร็จแตยังไมเรียกเก็บ หัก คางวดครบกำหนดที่ยังไมรับรู เปนรายได รวม มูลคางานเสร็จแตยังไมเรียกเก็บ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ มูลคางานเสร็จยังไมเรียกเก็บ - สุทธิ

134

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551

2552

2551

201,889,981.91

479,222,402.41

188,059,981.91

477,392,402.41

(208,117,956.00) (6,227,974.09)

(683,784,727.35) (204,562,324.94)

(206,287,959.00) (18,227,977.09)

(681,954,727.35) (204,562,324.94)

36,703,295.68

222,657,757.94

36,703,295.68

222,657,757.94

(30,475,318.59) 6,227,977.09 36,703,295.68 (4,332,839.84) 32,370,455.84

(18,095,433.00) 204,562,324.94 222,657,757.94 (4,332,839.84) 218,324,918.10

(18,475,318.59) 18,227,977.09 36,703,295.68 (4,332,839.84) 32,370,455.84

(18,095,433.00) 204,562,324.94 222,657,757.94 (4,332,839.84) 218,324,918.10

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


7. ที่ดินและตนทุนโครงการระหวางกอสราง และที่ดินและตนทุนโครงการรอการพัฒนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวย

งบการเงินรวม (บาท) 2551 ที่ดิน คากอสรางและออกแบบ คาใชจายอื่นในโครงการ ดอกเบี้ยจาย รวม หัก สวนของตนทุนขาย-สะสม โอนเขาขาดทุนจากการดอยคา โอนเขาสินคาคงเหลือ โอนเขาทรัพยสินเชา , สำนักงาน รวมสวนที่โอนแลว คงเหลือ หัก ที่ดิน และตนทุนโครงการระหวางกอสราง ที่ดินและตนทุนโครงการรอการพัฒนา-สุทธิ

2,987,659,884.78 2,114,059,293.98 81,824,774.95 309,553,491.47 5,493,097,445.18 1,232,692.32 391,833,602.41 595,052,947.68 41,580,000.00 1,029,699,242.41 4,463,398,202.77 3,781,477,154.54 681,921,048.23

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

2552

1,084,215,652.35 4,111,593,275.11 90,787,629.62 82,729,566.59 5,369,326,123.67 40,657,904.95 4,380,711.81 6,343,151,033.57 6,388,189,650.33 (1,018,863,526.66) (878,604,461.68) (140,259,064.98)

4,071,875,537.13 6,225,652,569.09 172,612,404.57 392,283,058.06 10,862,423,568.85 41,890,597.27 396,214,314.22 6,938,203,981.25 41,580,000.00 7,417,888,892.74 3,444,534,676.11 2,902,872,692.86 541,661,983.25

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 ที่ดิน คากอสรางและออกแบบ คาใชจายอื่นในโครงการ ดอกเบี้ยจาย รวม หัก สวนของตนทุนขาย-สะสม โอนเขาขาดทุนจากการดอยคา โอนเขาสินคาคงเหลือ โอนเขาทรัพยสินเชา , สำนักงาน รวมสวนที่โอนแลว คงเหลือ หัก ที่ดิน และตนทุนโครงการระหวางกอสราง ที่ดินและตนทุนโครงการรอการพัฒนา-สุทธิ

2,841,587,096.52 2,112,344,970.69 81,794,974.95 309,553,491.47 5,345,280,533.63 1,232,692.32 391,833,602.41 594,662,947.68 41,580,000.00 1,029,309,242.41 4,315,971,291.22 3,777,820,014.71 538,151,276.51

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

2552

1,083,704,575.18 4,100,091,780.29 90,787,629.62 82,729,566.59 5,357,313,551.68 37,252,971.23 4,380,711.81 6,334,254,378.36 6,375,888,061.40 (1,018,574,509.72) (900,858,498.88) (117,716,010.84)

3,925,291,671.70 6,212,436,750.98 172,582,604.57 392,283,058.06 10,702,594,085.31 38,485,663.55 396,214,314.22 6,928,917,326.04 41,580,000.00 7,405,197,303.81 3,297,396,781.50 2,876,961,515.83 420,435,265.67

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

135


ที่ดินและตนทุนโครงการระหวางรอการพัฒนา ประกอบดวย

งบการเงินรวม (บาท)

ที่ดิน คากอสรางและออกแบบ คาใชจายอื่นในโครงการ รวม หัก คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย ที่ดินและตนทุนโครงการรอการพัฒนา-สุทธิ

2551

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

2552

990,382,893.37 80,632,752.58 2,739,004.69 1,073,754,650.64 (391,833,602.41) 681,921,048.23

(135,713,838.61) (158,590.62) (5,923.94) (135,878,353.17) (4,380,711.81) (140,259,064.98)

854,669,054.76 80,474,161.96 2,733,080.75 937,876,297.47 (396,214,314.22) 541,661,983.25

งบการเงิน (บาท)

ที่ดิน คากอสรางและออกแบบ คาใชจายอื่นในโครงการ หัก คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย ที่ดินและตนทุนโครงการรอการพัฒนา-สุทธิ

2551

เพิ่มขึ้น (ลดลง)

2552

846,912,382.94 80,363,291.29 2,709,204.69 (391,833,602.41) 538,151,276.51

(113,329,375.09) (5,923.94) (4,380,711.81) (117,716,010.84)

733,583,007.85 80,363,291.29 2,703,280.75 (396,214,314.22) 420,435,265.67

- ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทไดโอนที่ดินและตนทุนโครงการระหวางกอสรางที่มีระยะเวลาการกอสราง ไมเกิน 1 ป แยกแสดงเปนรายการตางหากไวในสวนของสินทรัพยหมุนเวียน ซึ่งมีจำนวน 2,902.87 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 2,876.96 ลานบาท) และจำนวน 3,781.48 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 3,777.82 ลานบาท) ตามลำดับ - สวนของตนทุนขายสะสมเกิดจากการบันทึกตนทุนขายตามวิธีอัตรารอยละของการรับรูรายไดในแตละงวดที่สะสมมาตั้งแตมีการรับรู รายไดในแตละโครงการ และจะมีการโอนออกเมื่อปดโครงการงานกอสรางในงวดปตอไป - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทไดมีการบันทึกคาเผื่อการปรับลดมูลคาของเงินมัดจำที่ดิน จำนวน 20.00 ลานบาท และ ที่ดิน โครงการรอการพัฒนาจำนวน 4.38 ลานบาท รวมเปนจำนวน 24.38 ลานบาท เนื่องจากที่ดินดังกลาวมีขอพิพาทอยู และศาลมีคำสั่ง ใหพิทักษทรัพยเด็ดขาดแลว ซึ่งกิจการไดรับรูผลขาดทุนจากบันทึกคาเผื่อดังกลาวในงบกำไรขาดทุนป 2552 ทั้งจำนวน - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทเหลือโครงการที่อยูระหวางการกอสรางจำนวน 10 โครงการ และ 11 โครงการ ตามลำดับ - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทไดมีการทำบันทึกขอตกลงกับบริษัท พรสันติ จำกัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัท วาจะขายที่ดินให ในราคา 15.00 ลานบาท เพื่อนำไปพัฒนาโครงการตอ ซึ่งที่ดินดังกลาวมีราคาทุน 6.27 ลานบาท โดยบริษัทไดรับเงินมัดจำแลวจำนวน 1.00 ลานบาท ซึ่งไดแสดงไวเปนเจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ที่ดินและตนทุนโครงการระหวางกอสรางและที่ดินรอการพัฒนาบางสวน จำนวน 2,506.98 ลานบาท และจำนวน 3,981.15 ลานบาท ตามลำดับ บริษัทไดนำไปจดจำนองเพื่อเปนหลักทรัพยค้ำประกันเงินเบิกเกินบัญชีและเงิน กูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 12 และเงินกูยืมธนาคารพาณิชย และสถาบันการเงินตามที่กลาว ไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 14 และ 15

136

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


8. สินคาคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวย งบการเงินรวม (บาท)

อาคารชุด วัสดุคงเหลือ รวม หัก คาเผื่อการลดมูลคาสินคา รวมสุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2552

2551

2552

2551

2,005,988,723.30 29,322.72 2,006,018,046.02 (1,955,747.49) 2,004,062,298.53

1,423,600,412.02 69,322.72 1,423,669,734.74 (19,698,042.72) 1,403,971,692.02

1,995,782,389.03 1,995,782,389.03 (687,747.49) 1,995,094,641.54

1,416,052,412.02 1,416,052,412.02 (19,698,042.72) 1,396,354,369.30

- ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินคาคงเหลือ จำนวน 635.60 ลานบาท ติดภาระจำนองเพื่อเปนหลักทรัพยค้ำประกันเงินเบิกเกินบัญชี และเงินกูย มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงินตามหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 12 และเงินกูธ นาคารพาณิชยและสถาบันการเงินตามหมายเหตุ ประกอบงบการเงินขอ 14 และ 15 - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทมีการบันทึกการลดมูลคาของสินคาคงเหลืออาคารชุด รวมจำนวน 1.96 ลานบาท (เฉพาะบริษัทจำนวน 0.69 ลานบาท) และ จำนวน 19.70 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 19.70 ลานบาท) ตามลำดับ

9. รายการบัญชีที่เกี่ยวของกัน กิจการ 1. บริษัท พรสันติ จำกัด

2. บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด

ลักษณะรายการ กูยืมจากบริษัท

นโยบายราคา เงินตนครบกำหนดป 2550 อัตราดอกเบี้ยรอยละ 4.84 - 5.28 ตอป

ซื้อที่ดินเปลาจากบริษัท

ตามราคาที่ตกลงในสัญญาซึ่ง ใกลเคียงกับราคาประเมินจากผูประเมินอิสระ

ใหบริการบริหารงานกอสรางและการขาย, ระบบการจัดการสินทรัพยใหเชาแกบริษัท และบริษัทรวม

คาบริการเรียกเก็บตามสัญญาที่ตกลงกัน

ใหกูยืมเงิน

ครบกำหนดเมื่อทวงถาม อัตราดอกเบี้ยรอยละ 0.717 - 2.633 ตอป

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

137


กิจการ 3. บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด และบริษัทยอย บริษัทแกรนดยู ลิฟวิ่ง จำกัด (เปนบริษัทรวมของบริษัท)

ลักษณะรายการ กูยืมจากบริษัท

นโยบายราคา ครบกำหนดเมื่อทวงถาม อัตราดอกเบี้ยรอยละ 5.0 - 9.5 ตอป

ไดรับการบริการบริหารงานกอสราง, งานขายและธุรกิจนายหนาตัวแทนขายจาก บริษัทยอยของบริษัท 4. บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด

คาบริการเรียกเก็บตามสัญญาที่ตกลงกัน

ใหบริการบริหารงานกอสราง และการขายแกบริษัท

คาบริการเรียกเก็บตามสัญญาที่ตกลงกัน

ใหกูยืมเงิน

ครบกำหนดเมื่อทวงถาม อัตราดอกเบี้ยรอยละ 0.717 - 2.633 ตอป

9.1 ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน งบการเงินรวม (บาท)

บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด และบริษัทยอยบริษัท แกรนดยู ลิฟวิ่ง จำกัด (เปนบริษัทรวมของบริษัท) รวม

2551

เพิ่มขึ้น

ลดลง

2552

1,042,816.30 1,042,816.30

10,494,733.22 10,494,733.22

10,242,173.78 10,242,173.78

1,295,375.74 1,295,375.74

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด บริษัท พรสันติ จำกัด บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด และบริษัทยอยบริษัท แกรนดยู ลิฟวิ่ง จำกัด (เปนบริษัทรวมของบริษัท) รวม

2551

เพิ่มขึ้น

ลดลง

2552

342,400.00 73,000,000.00

30,593,176.45 51,819,784.38 61,008.00

30,935,576.45 51,819,784.38 3,061,008.00

70,000,000.00

631.32 73,343,031.32

2,208.77 82,476,177.60

2,677.45 85,819,046.28

162.64 70,000,162.64

ในป 2551 บริษัทไดขายที่ดินเปลาใหบริษัท พรสันติ จำกัด เพื่อทำโครงการจำนวน 129.20 ลานบาท โดยรับชำระแลวเปนจำนวน 59.20 ลานบาท คงเหลือจำนวน 70.00 ลานบาท

138

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


9.2 เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม อัตรา การถือหุน บริษัทยอย บริษัท พรสันติ จำกัด หัก คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน คงเหลือสุทธิ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด บริษัทรวม บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด และบริษัทยอย บริษัท แกรนดยู ลิฟวิ่ง จำกัด (เปนบริษัทรวมของบริษัท) รวม

99.99

เงินปนผล (บาท)

99.88

-

318,037,237.15 (111,425,191.36) 206,612,045.79 998,800.00

29,964,000.00

99.93

-

999,300.00

49,965,000.00

20.00

118,311,873.96 118,311,873.96

121,721,938.32 330,332,084.11

79,929,000.00

อัตรา การถือหุน บริษัทยอย บริษัท พรสันติ จำกัด หัก คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน คงเหลือสุทธิ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด บริษัทรวม บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด และบริษัทยอย บริษัท แกรนดยู ลิฟวิ่ง จำกัด (เปนบริษัทรวมของบริษัท) รวม

งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) วิธีสวนไดเสีย วิธีราคาทุน 31 ธันวาคม 2552

99.99

งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) วิธีสวนไดเสีย วิธีราคาทุน 31 ธันวาคม 2551

เงินปนผล (บาท)

99.88

-

318,037,237.15 (111,425,191.36) 206,612,045.79 998,800.00

35,057,880.00

99.93

-

999,300.00

11,791,740.00

20.00

70,470,397.70 70,470,397.70

77,721,938.32 286,332,084.11

46,849,620.00

งบการเงินบริษัทรวมซึ่งนำมาบันทึกกำไรสวนไดเสียฯ ในป 2552 จำนวน 19,266,025.40 บาท เปนงบการเงินที่ผูบริหารจัดทำขึ้นโดยยังไมผานการ ตรวจสอบโดยผูสอบบัญชี ในป 2552 บริษทั ไดจา ยชำระคาหุน เพิม่ ทุนทีบ่ ริษทั แกรนด ยูนติ ้ี ดิเวลล็อปเมนท จำกัด เรียกชำระคาหุน เพิม่ ในราคาหุน ละ 4.00 บาท รวมเปนเงิน 44.00 ลานบาท ในป 2551 บริษทั ไดซอ้ื หุน เพิม่ ทุนในบริษทั แกรนด ยูนติ ้ี ดิเวลล็อปเมนท จำกัด จำนวน 11 ลานหุน ในราคาเรียกชำระหุน ละ 6.00 บาท รวมจำนวน เงิน 66.00 ลานบาท ซึ่งการซื้อหุนเพิ่มทุนดังกลาวเปนการซื้อหุนเพิ่มทุนตามสัดสวนเดิม

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

139


9.3 เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

บริษัท พรสันติ จำกัด บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด บริษัท ลุมพินี โปรเจคมาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด

2551

เพิ่มขึ้น

ลดลง ลดลง

2,700.00 8,557,225.76 17,759,956.23 26,319,881.99

1,018,000.00 174,931,616.35 62,563,787.23 238,513,403.58

2552

18,000.00 175,753,735.76 72,936,638.46 248,708,374.22

1,002,700.00 7,735,106.35 7,387,105.00 16,124,911.35

9.4 เงินกูยืมระยะสั้นกิจการที่เกี่ยวของกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด บริษัท ลุมพินี โปรเจคมาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด

2551

เพิ่มขึ้น

ลดลง

10,000,000.00 59,000,000.00 69,000,000.00

85,000,000.00 33,000,000.00 118,000,000.00 238,513,403.58

2552

95,000,000.00 92,000,000.00 187,000,000.00 48,708,374.22

-

9.5 ขาย - ที่ดินเปลา งบการเงินรวม (บาท) 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2551

2552

-

บริษัท พรสันติ จำกัด รวม

-

2551 -

129,200,000.00 129,200,000.00

9.6 รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน งบการเงินรวม (บาท) 2552 9.6.1 ตนทุนขาย บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด รวม 9.6.2 ตนทุนจากธุรกิจใหเชาและบริการ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด รวม 9.6.3 คาใชจายดำเนินงาน บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด รวม 9.6.4 รายไดจากธุรกิจใหเชาและบริการ บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด บริษัท พรสันติ จำกัด รวม 9.6.5 ดอกเบี้ยจาย บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด รวม

140

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2551

2552

2551

-

-

62,563,787.23 15,422,556.85 77,986,344.08

64,339,648.25 12,571,999.22 “ 76,911,647.47

-

-

9,293,441.28 9,293,441.28

9,994,565.44 “ 9,994,565.44

-

-

150,215,618.22 “ 150,215,618.22

144,283,447.12 85,710,028.21 “ 229,993,475.33

-

-

-

-

1,077,000.00 219,000.00 18,000.00 1,314,000.00

849,000.00 1,062,000.00 13,500.00 1,924,500.00

-

-

35,433.73 12,456.99 47,890.72

13,345.34 118,304.67 13131,650.01

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


9.6 รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ) งบการเงินรวม (บาท) 2552 9.6.6 ดอกเบี้ยรับ บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด และบริษัทยอย บริษัท แกรนดยู ลิฟวิ่ง จำกัด (เปนบริษัทรวมของบริษัท) รวม 9.6.7 รายไดจากธุรกิจรับจางบริหารจัดการ บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด และบริษัทยอย บริษัท แกรนดยู ลิฟวิ่ง จำกัด (เปนบริษัทรวมของบริษัท) รวม 9.6.8 กำไรจากการขายที่ดินเปลา บริษัท พรสันติ จำกัด รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2551

2552

2551

-

277,377.05 277,377.05

-

277,377.05 277,377.05

4,869,709.68 4,869,709.68

3,230,617.18 3,230,617.18

-

-

-

-

-

5,710,853.77 5,710,853.77

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

141


10. สินทรัพยใหเชา-สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวย งบการเงินรวม (บาท) 2551 ราคาทุน ที่ดิน - ราคาทุน อาคาร - ราคาทุน คาตกแตงอาคารและเฟอรนิเจอร รวม คาเสื่อมราคาสะสม อาคาร - ราคาทุน คาตกแตงอาคารและเฟอรนิเจอร รวม สินทรัพยใหเชา-สุทธิ คาเสื่อมราคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

เพิ่มขึ้น

ลดลง

โอนเขา (ออก) สุทธิ

2552

153,862,341.62 613,764,377.55 35,890,410.72 803,517,129.89

2,801,478.51 2,801,478.51

(11,872,449.83) (51,278,551.74) (63,151,001.57)

11,054,209.12 38,813,004.43 525,467.29 50,392,680.84

153,044,100.91 601,298,830.24 39,217,356.52 793,560,287.67

81,777,371.69 11,750,542.89 93,527,914.58 709,989,215.31

14,425,236.10 1,790,365.43 16,215,601.53

(1,811,780.03) 1,811,780.03

-

94,390,827.76 13,540,908.32 107,931,736.08 685,628,551.59 16,215,601.53 16,611,766.05

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 ราคาทุน ที่ดิน - ราคาทุน อาคาร - ราคาทุน คาตกแตงอาคารและเฟอรนิเจอร รวม คาเสื่อมราคาสะสม อาคาร - ราคาทุน คาตกแตงอาคารและเฟอรนิเจอร รวม สินทรัพยใหเชา-สุทธิ คาเสื่อมราคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

เพิ่มขึ้น

ลดลง

โอนเขา (ออก) สุทธิ

2552

142,863,719.82 510,686,585.05 31,856,659.75 685,406,964.62

2,801,478.51 2,801,478.51

(11,872,449.83) (51,278,551.74) (63,151,001.57)

11,054,209.12 38,813,004.43 525,467.29 50,392,680.84

142,045,479.11 498,221,037.74 35,183,605.55 675,450,122.40

56,540,308.04 7,896,405.76 64,436,713.80 620,970,250.82

11,850,518.15 1,610,785.59 13,461,303.74

(1,811,780.03) (1,811,780.03)

-

66,579,046.16 9,507,191.35 76,086,237.51 599,363,884.89 13,461,303.74 13,767,046.02

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทไดโอนสินคาคงเหลือ จำนวน 49.87 ลานบาท และจำนวน 65.32 ลานบาท ตามลำดับ มาเปนสินทรัพยใหเชา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ทีด่ นิ และอาคารใหเชา จำนวน 333.34 ลานบาท (เฉพาะบริษทั จำนวน 321.96 ลานบาท) และจำนวน 341.02 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 329.20 ลานบาท) ตามลำดับ บริษทั ไดนำไปจดจำนองเพือ่ เปนหลักทรัพยคำ้ ประกันเงินเบิกเกินบัญชี เงินกูยมื ระยะสั้น และระยะยาวจากธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงิน ตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 12 ,14 และ 15 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทมีสินทรัพยใหเชาที่คิดคาเสื่อมราคาเต็มมูลคาแลว แตยังใชงานอยูคิดเปนมูลคาตนทุน เปนจำนวน 7.43 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 3.40 ลานบาท) และ 4.71 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 3.37 ลานบาท) ตามลำดับ

142

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


11. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ-สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวย งบการเงินรวม (บาท) 2551 ราคาทุน ที่ดินและอาคารสำนักงาน คาตกแตง เครื่องใชสำนักงาน งานพัฒนาระบบโปรแกรม เครื่องคอมพิวเตอร ยานพาหนะ เครื่องมือชาง งานระหวางตกแตง โปรแกรมระหวางพัฒนา รวม คาเสื่อมราคาสะสม ที่ดินและอาคารสำนักงาน คาตกแตง เครื่องใชสำนักงาน งานพัฒนาระบบโปรแกรม เครื่องคอมพิวเตอร ยานพาหนะ เครื่องมือชาง รวม สุทธิ คาเสื่อมราคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

เพิ่มขึ้น

ลดลง

โอนเขา (ออก)

2552

34,428,993.00 12,238,989.38 49,815,536.21 19,994,385.73 38,893,954.92 28,506,020.00 2,272,276.17 2,517,500.00 188,667,655.41

2,031,191.90 4,789,129.15 972,458.83 3,678,910.24 609,616.33 642,852.34 3,478,724.11 16,202,882.90

(7,681,658.41) (179,525.74) (3,570,000.00) (11,431,184.15)

(379,909.71) 4,480,824.17 148,550.00 (42,056.08) (5,251,982.99) (1,044,574.61)

34,428,993.00 14,270,181.28 46,543,097.24 25,447,668.73 42,541,889.42 24,936,020.00 2,881,892.50 600,796.26 744,241.12 192,394,779.55

6,894,196.48 3,296,310.06 34,852,782.55 13,435,824.30 29,069,604.54 13,001,139.73 1,339,945.09 101,889,802.75 86,777,852.66

761,993.80 1,214,754.42 (3,840,448.68) 2,583,095.21 3,375,010.84 (171,785.88) 4,514,818.58 5,151,045.01(3,569,997.00) 346,203.16 (7,582,231.56) 17,946,921.02 77,852.66

(363,765.09) (363,765.09)

7,656,190.28 4,511,064.48 33,231,663.99 16,810,835.14 33,412,637.24 14,582,187.74 1,686,148.25 111,890,727.12 80,504,052.43 17,946,921.02 20,245,879.98

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

143


งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 ราคาทุน ที่ดินและอาคารสำนักงาน คาตกแตง เครื่องใชสำนักงาน งานพัฒนาระบบโปรแกรม เครื่องคอมพิวเตอร ยานพาหนะ งานระหวางตกแตง โปรแกรมระหวางพัฒนา รวม คาเสื่อมราคาสะสม อาคารสำนักงาน คาตกแตง เครื่องใชสำนักงาน งานพัฒนาระบบโปรแกรม เครื่องคอมพิวเตอร ยานพาหนะ รวม สุทธิ คาเสื่อมราคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

เพิ่มขึ้น

ลดลง

31,744,128.49 12,238,989.38 39,892,846.98 19,994,385.73 18,746,318.03 16,211,020.00“ 120,000.00 138,947,688.61

717,829.90 3,522,261.87 411,443.83 2,421,739.13 642,852.34 3,063,958.82 10,780,085.89

(7,611,186.45) (31,525.74) “ (1,190,000.00) “ (8,832,712.19)

4,209,331.97 3,296,310.06 26,774,803.03 13,435,824.30 13,707,035.43 4,849,243.03 66,272,547.82“ 72,675,140.79

761,993.80 1,187,754.25 1,776,057.57 3,081,988.56 2,157,043.75 3,058,826.07 12,023,664.00

(3,810,022.31) (23,786.88) (1,189,999.00) (5,023,808.19)

โอนเขา (ออก)

2552

2,032,627.57 (42,056.08) (2,651,236.39) (660,664.90) -

31,744,128.49 12,956,819.28 35,803,922.40 22,438,457.13 21,136,531.42 15,021,020.00 600,796.26 532,722.43 140,234,397.41 4,971,325.77 4,484,064.31 24,740,838.29 16,517,812.86 15,840,292.30 6,718,070.10 73,272,403.63 66,961,993.78 12,023,664.00 13,015,623.49

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ทีด่ นิ และอาคาร จำนวน 28.81 ลานบาท และจำนวน 29.94 ลานบาท ตามลำดับ บริษัทไดนำไป จดจำนองเพือ่ เปนหลักทรัพยคำ้ ประกันเงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย มื ระยะสัน้ และระยะยาวจากธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงิน ตามทีก่ ลาวไวในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินขอ 12 ,14 และ 15 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทมีสินทรัพยถาวรที่คิดคาเสื่อมราคาเต็มมูลคาแลวแตยังใชงานอยู คิดเปนมูลคาตนทุน จำนวน 54.91 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 36.16 ลานบาท) และจำนวน 43.07 ลานบาท (เฉพาะบริษัทจำนวน 33.22 ลานบาท) ตามลำดับ

12. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบดวย งบการเงินรวม (บาท) 2552 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน รวม

30,992,375.68 254,000,000.00 284,992,375.68

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551

25,078,533.81 1,320,000,000.00 1,345,078,533.81

2552

2551

30,992,375.68 254,000,000.00 284,992,375.68

25,078,533.81 1,320,000,000.00 1,345,078,533.81

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้น ค้ำประกันโดยที่ดินและตนทุนโครงการระหวางกอสราง ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 7, สินคาคงเหลือ ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 8, ทีด่ นิ และอาคารใหเชาตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 10, ทีด่ นิ และอาคาร ตามหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน ขอ 11 และขอ 15

144

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


13. หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน - สุทธิ รายละเอียดเกี่ยวกับสินทรัพยที่เชาตามสัญาเชาการเงิน มีดังนี้

งบการเงินรวม (บาท) ยานพาหนะ เครื่องถายเอกสาร รวม หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2552

2551

2552

2551

24,630,000.00 1,615,047.10 26,245,047.10 14,681,818.81 11,563,228.29

28,200,000.00 594,706.33 28,794,706.33 13,115,379.76 15,679,326.57

14,715,000.00 932,447.10 15,647,447.10 6,721,836.55 8,925,610.55

15,905,000.00 405,206.33 16,310,206.33 4,908,969.35 11,401,236.98

จำนวนขัน้ ต่ำทีต่ อ งจายสำหรับสัญญาเชาการเงินขางตนมี ดังนี้ 2552

งบการเงินรวม (บาท) ภายใน 1 ป เกิน 1 ป แตไมเกิน 3 ป เกิน 3 ป แตไมเกิน 5 ป รวม หัก ดอกเบี้ยจายในอนาคตของสัญญาเชาการเงิน มูลคาปจจุบันของหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2552

2551

2552

2551

3,872,223.41 3,671,996.32 394,643.82 7,938,863.55 (620,577.36) 7,318,286.195

5,932,064.00 6,166,913.25 527,016.00 12,625,993.25 (978,530.10) 11,647,463.15

2,915,970.83 3,270,554.16 200,023.66 6,386,548.65 (486,213.58) 5,900,335.07

3,316,896.00 5,261,327.75 500,052.00 9,078,275.75 (823,833.50) 8,254,442.25

หนีส้ นิ ตามสัญญาเชาการเงินไมรวมดอกเบีย้ จายในอนาคต มีดงั นี้

งบการเงิ งบการเงินนรวม รวม(บาท) (บาท) หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หัก หนี้สินตามสัญญาเชาการเงินที่ครบกำหนดภายใน 1 ป หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน-สุทธิ

14. เงินกูยืมระยะยาว

2552

2551

7,318,286.19 (3,501,572.81) 3,816,713.38 14,681,818.81 11,563,228.29

11,647,463.15 (4,888,409.63) 6,759,053.52 14,681,818.81 11,563,228.29

งบการเงินรวม (บาท) เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน หัก เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ป สุทธิ

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2552 5,900,335.07 (2,611,489.03) 3,288,846.04 14,681,818.81 11,563,228.29

2551 8,254,442.25 (2,869,992.57) 5,384,449.68 “14,681,818.81 11,563,228.29

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2552

2551

2552

2551

732,000,000.00 (473,000,000.00) 259,000,000.00 14,681,818.81 11,563,228.29

1,244,392,345.00 (713,720,000.00) 530,672,345.00 14,681,818.81 11,563,228.29

732,000,000.00 (473,000,000.00) 259,000,000.00 14,681,818.81 11,563,228.29

1,244,392,345.00 (713,720,000.00) 530,672,345.00 “14,681,818.81 11,563,228.29

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทไดเบิกเงินกูโครงการเปน จำนวน 732.00 ลานบาท และจำนวน 1,244.39 ลานบาท ตามลำดับ จากสถาบันการเงินจายดอกเบี้ยในอัตราตลาดเงิน (Market Rate) และจายคืนเมื่อจบโครงการ เงินกูยืมระยะยาว ค้ำประกันโดยที่ดินและตนทุนโครงการระหวางกอสราง ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 7, สินคาคงเหลือ ตามหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน ขอ 8, ที่ดินและอาคารใหเชา ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 10, ที่ดินและอาคาร ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 11 และขอ 15

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

145


15. หลักทรัพยที่นำไปค้ำประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ที่ดินและตนทุนโครงการระหวางกอสรางและที่ดินรอการพัฒนาบางสวน จำนวน 2,506.98 ลานบาท และจำนวน 3,981.15 ลานบาท ตามลำดับ ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 7, สินคาคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวน 635.60 ลานบาท ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 8, ที่ดินและอาคารใหเชา จำนวน 333.34 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 321.96 ลานบาท) และจำนวน 341.02 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 329.20 ลานบาท) ตามลำดั บ ตามหมายเหตุป ระกอบงบการเงิน ขอ 10 และที่ดินและ อาคาร-สำนักงานจำนวน 28.81 ลานบาท และจำนวน 29.94 ลานบาท ตามลำดับ ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 11 บริษัทไดนำไปจดจำนอง เพื ่ อ เป็ น หลั ก ทรั พยค้ำประกันเงินกูยืมธนาคารพาณิชยและกั บ สถาบั นการเงิ น ภายในวงเงินกูยืม จำนวน 4,204.00 ลานบาท ตามหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน ขอ 12 และ 14

16. หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นภายหนาและภาระผูกพัน 16.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทและบริษัทยอย มีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการใหธนาคารออกหนังสือค้ำประกันดังตอไปนี้ 16.1.1 จากการใหธนาคารออกหนังสือค้ำประกันใหกับกรมสรรพากรจำนวน 17.21 ลานบาท เนื่องจากบริษัทและบริษัทยอยถูกประเมิน ภาษีอากรของปกอนๆ จำนวน 27.57 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 7.41 ลานบาท) ซึ่งจากการยื่นอุทธรณกับกรมสรรพากร ไดรบั คำวินจิ ฉัยอุทธรณ ใหลดหนีเ้ บีย้ ปรับและเงินเพิม่ คงเหลือเปนจำนวน 17.21 ลานบาท (เฉพาะบริษทั จำนวน 2.62 ลานบาท) แตบริษัทยังไมไดบันทึกเปนภาระหนี้สิน เนื่องจากบริษัทไดยื่นฟองตอศาลภาษีอากร และศาลไดพิพากษาใหบริษัทชนะคดี แตกรมสรรพากรไดยื่นอุทธรณตอ ซึ่งศาลฎีกาพิพากษายกคำพิพากษาศาลภาษีอากร และยอนสำนวนกลับไปที่ศาลภาษีอากรใหม ปจจุบันคดีอยูระหวางการยื่นอุทธรณตอศาลภาษีอากร 16.1.2 จากการใหธนาคารออกหนังสือค้ำประกันใหกับหนวยงานราชการและรัฐวิสาหกิจจำนวนรวม 5.85 ลานบาท (เฉพาะบริษัทจำนวน 2.72 ลานบาท) และ จำนวน 5.68 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 2.56 ลานบาท) 16.1.3 บริษัทยอยค้ำประกันภาระหนี้ใหกับบุคคลอื่นกับธนาคาร เปนจำนวน 1.01 ลานบาท 16.1.4 บริษัทมีขอพิพาทเปนจำเลยอยูในคดีผิดสัญญาเรียกรองคาเสียหายเปน จำนวน 46.67 ลานบาท บริษัทไดบันทึกคากอสรางไว ในงบการเงินเปน จำนวน 30.45 ลานบาท และบริษัทไดยื่นฟองแยงเรียกรองคาเสียหายแกโจทกมีทุนทรัพย จำนวน 261.48 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ศาลชั้นตนไดพิพากษาใหบริษัทชำระเงินแกโจทกเปนจำนวน 29.85 ลานบาท และใหโจทก ชำระเงินใหแกบริษทั เปนจำนวน 3.00 ลานบาท คงเหลือสุทธิเปนจำนวน 26.85 ลานบาท พรอมดอกเบีย้ ในอัตรารอยละ 7.5 ตอป เปนจำนวน 12.36 ลานบาท รวมเปนเงินจำนวน 39.21 ลานบาท ผลตางจำนวน 8.76 ลานบาท บริษทั ยังไมไดบนั ทึกภาระหนีส้ นิ ไวในงบการเงินนี้ เนื่องจากบริษัท ไดยื่นอุทธรณและขอทุเลาการบังคับคดี ซึ่งศาลไดรั บ หลั ก ประกั น และอนุ ญ าตใหทุเลา การบังคับคดีในชั้นอุทธรณได โดยอยูระหวางนัดฟงคำพิพากษาศาลอุทธรณ และผลของคดีความจะเปนประโยชนแกบริษัท 16.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทมีภาระผูกพันตามสัญญากับผูรับเหมากอสรางโครงการที่จะตองกอสรางใหเสร็จตามสัญญา คงเหลืออีกจำนวน 1,370.70 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 1,370.36 ลานบาท) และจำนวน 1,227.71 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 1,227.51 ลานบาท) ตามลำดับ 16.3 ตามรายงานการประชุมคณะกรรมการบริหาร ครั้งที่ 28/2552 เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2552 มีมติใหบริษัทจายชำระคาที่ดินตามขอตกลง จำนวน 695.92 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 680.92 ลานบาท) และบริษัทไดจายเงินมัดจำคาที่ดินไปแลว จำนวน 21.00 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 20.00 ลานบาท) ดังนั้นบริษัทจึงมีภาระผูกพันที่จะตองจายชำระคาที่ดินสวนที่เหลืออีกจำนวน 674.92 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 660.92 ลานบาท) 17. เงินปนผลจาย สำหรับป 2552 ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2552 ลงวันที่ 6 สิงหาคม 2552 อนุมัติใหจายเงินปนผลระหวางกาลแกผูถือหุน จากผล การดำเนินงานสำหรับงวด 6 เดือน ของป 2552 ในอัตราหุนละ 0.16 บาท จำนวน 1,447.56 ลานหุน เปนจำนวน 231.61 ลานบาท ซึ่งบริษัท ไดจายเงินปนผลแลวในระหวางงวด

146

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


ตามมติที่ประชุมสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2552 ลงวันที่ 28 เมษายน 2552 อนุมัติใหจายเงินปนผลแกผูถือหุน จากผลการดำเนินงาน สำหรับป 2551 ในอัตราหุน ละ 0.4115 บาท จำนวน 1,475.70 ลานหุน เปนจำนวน 605.04 ลานบาท โดยหักเงินปนผลระหวางกาลทีจ่ า ยไปแลวจำนวน 206.60 ลานบาท คงเหลือเปนเงินปนผลจายงวดนี้ จำนวน 398.44 ลานบาท ซึง่ บริษทั ไดจา ยเงินปนผลสวนทีเ่ หลือแลวในระหวางงวด สำหรับป 2551 ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2551 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2551 อนุมัติใหจายเงินปนผลระหวางกาลแกผูถือหุนจากผล การดำเนินงานสำหรับงวด 6 เดือน ของป 2551 ในอัตราหุนละ 0.14 บาท จำนวน 1,475.70 ลานหุน เปนจำนวน 206.60 ลานบาทซึง่ บริษทั ไดจ ายเงินปนผลแลวในระหวางงวด ตามมติที่ประชุมสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2551 ลงวันที่ 24 เมษายน 2551 อนุมัติใหจายเงินปนผลแกผูถือหุน จากผลการดำเนินงาน สำหรับป 2550 ในอัตราหุนละ 0.32 บาท จำนวน 1,475.70 ลานหุน เปนจำนวน 472.22 ลานบาท โดยหักเงินปนผลระหวางกาลที่จายไปแลว จำนวน 147.57 ลานบาท คงเหลือเปนเงินปนผลจายงวดนี้ จำนวน 324.65 ลานบาท ซึ่งบริษัทไดจายเงินปนผลสวนที่เหลือแลวในระหวางงวด 18. หุนทุนซื้อคืน ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2551 ลงวันที่ 9 ตุลาคม 2551 อนุมัติโครงการซื้อหุนคืนเพื่อการบริหารทางการเงิน จำนวนไมเกิน 62 ลานหุน คิดเปนรอยละ 4.20 ของหุนที่จำหนายทั้งหมด และมี ว งเงิ น สู ง สุ ด ไมเกิน 200 ลานบาท โดยดำเนิ นการซื้อหุนใน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยตั้งแตวันที่ 24 ตุลาคม 2551 ถึงวันที่ 23 เมษายน 2552 และมีกำหนดระยะเวลาจำหนายหุนที่ซื้อคืนภายหลัง 6 เดือนนับแตการซื้อหุนคืนเสร็จแตตองไมเกิน 3 ป ทัง้ นีห้ นุ ทุนซือ้ คืนทีบ่ ริษทั ถืออยูไ มนบั เปนองคประชุมในการประชุมผูถ อื หุน รวมทัง้ ไมมสี ทิ ธิในการออกเสียงลงคะแนนและสิทธิในการรับเงิน ปนผล ในกรณีที่บริษัทจำหนายหุนไมหมดภายในระยะเวลาที่กำหนดนับแตวันซื้อหุนคืน ซึ่งเมื่อพนกำหนดบริษัทจะลดทุนที่ชำระแลวโดยใชวิธี ตัดหุนจดทะเบียนที่ซื้อคืน และยังมิไดจัดจำหนายทั้งหมด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีหุนสามัญซื้อคืน จำนวน 7.5963 ลานหุน ราคาทุนรวมจำนวน 16.69 ลานบาท ในระหวางป 2552 บริษัทไดทำการซื้อหุนสามัญซื้อคืน จำนวน 0.55 หุน ราคาทุนรวมจำนวน 1.20 ลานบาท รวมมีหุนสามัญซื้อคืน จำนวน 8.1463 ลานหุน ราคาทุน รวมจำนวน 17.89 ลานบาท และไดจำหนายหุนซื้อคืนทั้งหมดแลว ในป 2552 19. กำไรสะสม 19.1 สำรองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริษัท มหาชน จำกัด พ.ศ.2535 บริษัทตองจัดสรรกำไรสุทธิประจำปเปนทุนสำรองตามกฎหมายไมนอยกวารอยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปหลังจากหักยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียนสำรอง ตามกฎหมายดังกลาวจะนำไปจายเงินปนผลไมได 19.2 สำรองสำหรับหุนทุนซื้อคืน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั มีการจัดสรรกำไรสะสม จำนวน 16.69 ลานบาท เปนสำรองสำหรับหุน ทุนซือ้ คืนตามแนวทางทีก่ ำหนด โดยคณะกรรมการกฤษฎีกา และสภาวิชาชีพบัญชี เรื่องการซื้อหุนคืนตามมาตรา 66/1(2) และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ไดยกเลิกการสำรองดังกลาว แลวทั้งจำนวน เนื่องจากไดจำหนายหุนซื้อคืนทั้งหมดแลว ในป 2552 20. เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน บริษัทและบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย และจากการที่คูสัญญาไมปฏิบัติตามสัญญา บริษัทและบริษัทยอย ไมมีนโยบายประกอบธุรกรรมตราสารอนุพันธทางการเงินเพื่อการเก็งกำไรหรือเพื่อการคา ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยนี้เกิดขึ้นจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยในตลาดในอนาคต ซึ่งจะสงผลกระทบตอผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทและบริษัทยอย บริษัทและบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยเนื่องจากมีเงินฝากกับสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชี ธนาคารและเงินกูยืมเปนจำนวนมาก บริษัทและบริษัทยอยมิไดใชตราสารอนุพันธทางการเงินเพื่อปองกันความเสี่ยงดังกลาว เนื่องจากฝายบริหาร ของบริษัทและบริษัทยอยเห็นวาไมมีตลาดภายในประเทศรองรับการปองกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

147


ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ บริษัทและบริษัทยอยมีความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้และรายไดที่ยังไมถึงกำหนดชำระ อยางไรก็ตามเนื่องจากบริษัท และบริษัทยอยจะไมโอนกรรมสิทธิ์ในสินทรัพยที่ขายใหกับผูซื้อจนกวาจะไดรับชำระมูลคาตามสัญญาทั้งหมด ดังนั้นบริษัท จึงไมคาดวาจะไดรับความ เสียหายที่เปนสาระสำคัญจากการเก็บหนี้ มูลคายุติธรรมของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงิน บริษัทและบริษัทยอยใชวิธีและขอสมมติฐานดังตอไปนี้ ในการประมาณมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน - เงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนชั่วคราว แสดงมูลคายุติธรรมโดยประมาณตามจำนวนเงินที่แสดงในงบดุล - ลูกหนี้การคาและตั๋วเงินรับที่ครบกำหนดชำระนับตั้งแตวันสิ้นงวดนอยกวา 90 วัน หรือลูกหนี้ที่ผิดนัดชำระหนี้ แสดงมูลคายุติธรรม โดยประมาณตามจำนวนเงินที่แสดงในงบดุล - เงินใหกูยืม แสดงมูลคายุติธรรมโดยประมาณตามจำนวนเงินที่แสดงในงบดุล - เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เจาหนี้การคาและตั๋วเงินจายที่มีกำหนดการชำระหนี้ไมเกิน 90 วัน มูลคายุติธรรมโดยประมาณแสดง ตามจำนวนเงินที่แสดงในงบดุล - ดอกเบี้ยคางจาย มูลคายุติธรรมโดยประมาณแสดงตามจำนวนเงินที่แสดงในงบดุล - เงินกูยืมระยะยาวซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ราคาตามบัญชีมีจำนวนเทากับมูลคายุติธรรมโดยประมาณ 21. เปดเผยขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับงบกระแสเงินสด 21.1 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดประกอบดวย เงินสดในมือและยอดคงเหลือในธนาคาร จากรายการในงบดุลดังนี้ งบการเงินรวม (บาท) 2552 2551 เงินสดและเงินฝากธนาคาร

992,153,969.21

640,746,063.06

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2552 2551 890,595,113.18

576,099,768.85

21.2 สินทรัพยตามสัญญาเชาการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทไดเชาซื้อสินทรัพยเปนจำนวน 1.02 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 0.53 ลานบาท) โดยบันทึกไว เปนหนี้สินตามสัญญาเชาการเงินทั้งจำนวน ณ วั นที ่ 31 ธั น วาคม 2551 บริ ษ ั ท ไดเชาซื้อสินทรัพยเป็ นจำนวน 8.40 ลานบาท โดยจายชำระเป็ น จำนวน 2.10 ลานบาท สวนที่เหลือบันทึกไวเปนหนี้สินตามสัญญาเชาการเงินทั้งจำนวน 21.3 สินทรัพยใหเชา ณ วั นที ่ 31 ธั น วาคม 2552 และ 2551 บริ ษ ั ท ไดโอนสินคาคงเหลืออาคารชุดไปเปนสินทรัพยใหเชา จำนวน 49.87 ลานบาท และจำนวน 65.32 ลานบาท ตามลำดับ 21.4 ที่ดินระหวางกอสราง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทไดโอนที่ดินระหวางกอสรางโครงการแหงหนึ่ง จำนวน 11.60 ลานบาท เปนทรัพยสินรอการเวนคืน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทไดขายที่ดินจำนวน 3.00 ลานบาท ใหกับบริษัทยอยแหงหนึ่ง และบันทึกไวเปนลูกหนี้กิจการ ที่เกี่ยวของกันทั้งจำนวน 21.5 ที่ดินรอการพัฒนา ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2552 บริ ษ ั ท ไดโอนที่ดินและตนทุ นโครงการรอการพั ฒนา จำนวน 149.58 ลานบาท (เฉพาะบริ ษ ั ท จำนวน 113.34 ลานบาท) ไปเปนที่ดินและตนทุนโครงการระหวางกอสราง และในระหวางปบริษัทไดรับเงินมัดจำที่ดินจำนวน 1.00 ลานบาท จากบริษัทยอยแหงหนึ่ง ซึ่งบันทึกไวเปนลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกันทั้งจำนวน ณ วั นที ่ 31 ธั น วาคม 2551 บริ ษ ั ท ไดขายที่ดินจำนวน 126.20 ลานบาท ใหกับบริษัทยอยแหงหนึ ่ ง โดยรั บ ชำระเป็ นจำนวน 56.20 ลานบาท สวนที่เหลือ บันทึกไวเปนลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกันทั้งจำนวน 148

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


22. ขอมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานตามประเภทสวนงานทางธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ประกอบดวย

(หนวย : ลานบาท)

บริษัทใหญ ประเภทธุรกิจ

ขาย-สุทธิ ตนทุนขาย กำไรขั้นตน รายไดอื่น กำไรจากสวนไดเสียเงินลงทุนในบริษัทรวม คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนกรรมการ คาตอบแทนผูบริหาร กำไร(ขาดทุน)กอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน-ดอกเบี้ยจาย กำไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กำไร(ขาดทุน)สุทธิสำหรับป

ธุรกิจ ธุรกิจ ใหเชาและ อสังหาฯ บริการ อื่นๆ

8,255.23 (5,746.89) 2,508.34 -

57.89 (47.12) 10.77 -

2,508.34

10.77

บริษัทยอย รวม

- 8,313.12 - (5,794.01) - 2,519.11 154.50 154.50 (383.32) (383.32) (271.48) (271.48) (11.77) (11.77) (35.21) (35.21)

(547.28)

1,971.83

-

-

(11.04)

(11.04)

2,508.34

10.77

(558.32)

1,960.79

2,508.34

- (569.73) 10.77 (1,128.05)

(569.73) 1,391.06

ธุรกิจ ธุรกิจ ธุรกิจ บริการและ ใหเชาและ อสังหาฯ บริหาร บริการ อื่นๆ จัดการอาคาร

12.45 (9.56) 2.89 -

2.89 -

2.89 2.89

420.94 (121.01) 299.93 -

5.45 (3.34) 2.11 -

299.93

2.11

-

-

299.93

2.11

299.93

2.11

รวม

ตัดบัญชี

- 8,751.96 (238.69) - (5,927.92) 87.67 - 2,824.04 (151.02) 1.38 155.88 (80.55) 3.84 (0.54) (383.86) 147.51 (208.59) (480.07) 4.40 (11.77) (34.68) (69.89) (242.43) 2,034.33 (75.82) (0.12) (11.16) 0.05 (242.55) 2,023.17 (75.77) (18.93) (588.66) (261.48) 1,434.51 (75.77)

รวม

8,513.27 (5,840.25) 2,673.02 75.33 3.84 (236.35) (475.67) (11.77) (69.89) 1,958.51 (11.11) 1,947.40 (588.66) 1,358.74

การแบงปนกำไร สวนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนของผูถือหุนสวนนอย

สินทรัพยถาวร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

1,358.69 0.05 1,358.74 66.96

-

-

-

13.54

80.50

-

รายการตัดบัญชีระหวางกัน เปนรายไดคาเชาพื้นที่, การใหบริการและดอกเบี้ยรับ รายการดังกลาวเปนไปตามธุรกิจปกติทางการคา

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

149

80.50


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ประกอบดวย

(หนวย : ลานบาท) บริษัทใหญ ธุรกิจ ธุรกิจ ใหเชาและ อสังหาฯ บริการ อื่นๆ

ประเภทธุรกิจ

ขาย-สุทธิ ตนทุนขาย กำไรขั้นตน รายไดอื่น คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนกรรมการ คาตอบแทนผูบริหาร ขาดทุนจากสวนไดเสียเงินลงทุนในบริษัทรวม กำไร(ขาดทุน)กอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน-ดอกเบี้ยจาย กำไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กำไร(ขาดทุน)สุทธิสำหรับป

7,014.42 (4,896.88) 2,117.54 2,117.54 2,117.54 2,117.54

57.95 (47.31) 10.64 10.64 10.64 10.64

บริษัทยอย ธุรกิจ ธุรกิจ ธุรกิจ บริการและ ใหเชาและ อื่นๆ บริ ห าร อสังหาฯ จัดการอาคาร บริการ

รวม

- 7,072.37 - (4,944.19) - 2,128.18 125.73 125.73 (351.74) (351.74) (222.83) (222.83) (11.07) (11.07) (30.28) (30.28) (490.19) 1,637.99 (9.93) (9.93) (500.12) 1,628.06 (454.19) (454.19) (954.31) 1,173.87

10.00 (6.48) 3.52 3.52 3.52 3.52

459.76 (124.50) 335.26 335.26 335.26 335.26

5.09 (3.36) 1.73 1.73 1.73 1.73

รวม

- 7,547.22 - (5,078.53) - 2,468.69 2.76 128.49 (0.91) (352.65) (180.69) (403.52) (11.07) (30.66) (60.94) (209.50) 1,769.00 (0.33) (10.26) (209.83) 1,758.74 (40.02) (494.21) (249.85) 1,264.53

ตัดบัญชี

รวม

(323.93) 7,223.29 87.31 (4,991.22) (236.62) 2,232.07 (48.08) 80.41 222.29 (130.36) 9.91 (393.61) - (11.07) - (60.94) (6.64) (6.64) (59.14) 1,709.86 0.12 (10.14) (59.02) 1,699.72 - (494.21) (59.02) 1,205.51

การแบงปนกำไร สวนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนของผูถือหุนสวนนอย

1,205.44 0.07 1,205.51

สินทรัพยถาวร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

72.68

-

-

-

14.10

86.78

-

รายการตัดบัญชีระหวางกัน เปนรายไดคาเชาพื้นที่, การใหบริการและดอกเบี้ยรับ รายการดังกลาวเปนไปตามธุรกิจปกติทางการคา

23. คาใชจายตามลักษณะ รายการคาใชจายแบงตามลักษณะประกอบดวยรายการคาใชจายที่สำคัญดังตอไปนี้ งบการเงินรวม (บาท)

ซื้อที่ดินและจายคากอสรางระหวางป การเปลี่ยนแปลงในโครงการระหวางกอสราง และที่ดินรอการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงในสินคาคงเหลือ คาเผื่อการลดมูลคาสินคา โอนกลับคาเผื่อการลดมูลคาสินคา เงินเดือนและคาแรงและผลประโยชนอื่น ของพนักงาน ภาษีธุรกิจเฉพาะและคาธรรมเนียมโอน คาเสื่อมราคาและคาใชจายตัดจาย

150

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2552

2551

5,260,822,584.32

5,139,812,385.71

5,327,058,038.61

5,092,095,457.98

1,018,863,526.66 (582,468,831.72) 1,268,000.00 19,010,295.23

729,682,862.32 (920,067,929.73) -

1,018,574,509.72 (579,729,977.01) 19,010,295.23

854,201,811.34 (926,161,923.18) -

415,664,142.75 9,213,275.44 34,734,673.29

322,559,764.75 45,401,825.27 36,921,468.72

151,929,001.39 9,199,301.44 26,029,930.44

75,340,969.22 45,390,479.27 26,846,492.20

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

2552

2551

86.78


24. เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ไดแก เงินทุนที่ประกอบดวยเงินที่พนักงานออกสมทบดวยความสมัครใจ ในอัตรา 2-4 % ของเงินเดือน และบริษัทจายสมทบจำนวน ไมเกิน 3-7% ของเงินเดือนทีพ่ นักงานจายเขากองทุนสำรองเลีย้ งชีพ กสิกรไทยทรัพยมน่ั คง ซึง่ จดทะเบียนแลว เลขที่ 24/2540 เมือ่ วันที่ 28 มกราคม 2540 และกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ สวัสดิการพัฒนา ซึง่ จดทะเบียนแลวเลขที่ 23/2536 เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ 2536 ตามพระราชบัญญัตกิ องทุนสำรองเลีย้ งชีพ พ.ศ. 2530 และรวมถึ ง ผลประโยชนที่ไดรับจากการนำเงินกองทุนไปหาผลประโยชนดวยเงินกองทุนนี้ บริษัทไดมอบหมายใหอยูในการจัดการ ของผูจัดการกองทุน บริษัทและบริษัทยอยจายเงินสมทบเขากองทุนฯ ดังนี้ งบการเงินรวม (บาท) 2552 2551 เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

7.64

6.64

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2552 2551 2.47

1.65

25. นโยบายการจายคาตอบแทนกรรมการ ที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจำป 2552 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2552 กำหนดจายคาตอบแทนกรรมการบริษัทที่ปฏิบัติงานมาดวย ความอุตสาหะ จำนวนไมเกิน 11.34 ลานบาทตอป ทั้งนี้ไมรวมถึงคาตอบแทนหรือสวัสดิการที่กรรมการไดรับในฐานะพนักงานหรือลูกจางของบริษัท และการจั ด สรรเงิ นดั ง กลาวใหอยูในความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนเปนผูรับผิดชอบ และใหมีผลใชตอไปทุกปจนกวา จะมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งรายการนี้บริษัทบันทึกไวในหมวดคาใชจายของบริษัท 26. คาตอบแทนผูบริหาร คาตอบแทนกรรมการบริหาร ผูจัดการและผูบริหารสี่รายแรกรองจากผูจัดการลงมา และผูบริหารในระดับเทียบเทารายที่สี่ทุกราย ประกอบดวยเงินเดือน คาที ่ ป รึ ก ษา โบนั ส เบี้ยประชุม บำเหน็จ คาน้ำมัน คาโทรศัพท บริษัทมีคาตอบแทนผูบริหารสำหรับงวด 1 ปี สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 จำนวน 69.89 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 35.21 ลานบาท) และ จำนวน 60.94 ลานบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 30.28 ลานบาท) ตามลำดับ

27. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงคในการบริหารจัดการทุนที่สำคัญของบริษัทและบริษัทยอย คือการจัดใหมซี ง่ึ โครงสรางทางการเงินที่เหมาะสมและการดำรงไว ซึ่งความสามารถในการดำเนินธุรกิจอยางตอเนื่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทและบริษัทยอย มีอัตราสวนหนี้สินตอทุนสรุปไดดังนี้ งบการเงินรวม (บาท) 2552 2551 อัตราสวนหนี้สินตอทุน

0.54

0.97

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2552 2551 0.54

1.01

28. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ไดรับการอนุมัติใหออกงบการเงินจากคณะกรรมการของบริษัท เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ 2553

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

151


¤‹Òμͺ᷹¢Í§¼ÙŒÊͺºÑÞªี คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) ผูสอบบัญชีของบริษัทในรอบปที่ผานมามีจำนวนเงินรวม 850,000 บาท สำนักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชีสังกัด บุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวของกับผูสอบบัญชี และสำนักงานสอบบัญชีที่ผูสอบ บัญชีสังกัดในรอบปบัญชีที่ผานมามีจำนวนเงินรวม 450,000 บาท คาบริการอื่น (Non-audit free) -ไมมี-

152

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


ÀÒ¤¼¹Ç¡


¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä» บริษัทที่ออกหลักทรัพย บริษัท

:

ที่ตั้งสำนักงาน

:

เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร Call Center เว็บไซด แผนกนักลงทุนสัมพันธ

: : : : :

แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย 1168/109 อาคารลุมพินี ทาวเวอร ชั้น 36 ถนนพระราม 4 แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 0107537002303 (บมจ. เลขที่ 447) (02) 285-5011-6 (02) 285-5017 (02) 689-6888 www.lpn.co.th (02) 285-5011 ตอ 147 E-mail: ir@lpn.co.th

บริษัทยอย

154

บริษัท

:

ที่ตั้งสำนักงาน

:

เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร

: : :

บริษัท

:

ที่ตั้งสำนักงาน

:

เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร

: : :

บริษัท

:

ที่ตั้งสำนักงาน

:

เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร

: : :

ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด ประกอบธุรกิจการใหบริการดานบริหารชุมชน 1168/109 อาคารลุมพินี ทาวเวอร ชั้น 36 ถนนพระราม 4 แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 0105535058865 (02) 285-5011-6 (02) 285-5017 ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด ประกอบธุรกิจการใหบริการดานบริหารงานกอสราง 1168/109 อาคารลุมพินีทาวเวอร ชั้น 36 ถนนพระราม 4 แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 0105550127691 (02) 285-5011-6 (02) 285-5017 พรสันติ จำกัด ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่มิใชโครงการอาคารชุดพักอาศัย 1168/109 อาคารลุมพินี ทาวเวอร ชั้น 36 ถนนพระราม 4 แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 0105533054218 (เดิมเลขที่ 5421/2533) (02) 285-5011-6 (02) 285-5017

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


บริษัทรวม บริษัท

:

ที่ตั้งสำนักงาน

:

เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร

: : :

แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย 888/224 อาคารมหาทุน พลาซา ชั้น 2 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 0105544087228 (02) 100-7171 (02) 253-3863

ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท ที่ตั้งสำนักงาน

: :

เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร

: : :

บริษัท ที่ตั้งสำนักงาน

: :

ผูสอบบัญชี

:

โทรศัพท โทรสาร

: :

สำนักงานกฎหมายเสริมศักดิ์ เวชช และเพื่อน 399/365-368 อาคารโชคชัยรวมมิตร คอนโดมิเนียม ชั้น 12 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 4760/2525 (02) 691-5541-5 (02) 691-5545

ผูสอบบัญชี สำนักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ 316/32 ซอยสุขุมวิท 22 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ นางวิไลรัตน โรจนนครินทร ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3104 (02) 259-5300 (02) 260-1553

นายทะเบียนหลักทรัพย บริษัท ที่ตั้งสำนักงาน

: :

โทรศัพท โทรสาร Call Center เว็บไซด

: : : :

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ (02) 229-2800 (02) 359-1259 (02) 229-2888 www.tsd.co.th

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

155


¡ÒûÃСͺ¸ØáԨ¢Í§áμ‹ÅÐÊÒ¼ÅÔμÀѳ± ลักษณะผลิตภัณฑหรือบริการ บริษัท บริษัทยอย และบริษัทรวมประกอบธุรกิจใน 2 สวนทั้งการผลิตและการใหบริการที่ตอเนื่องกันตลอดทั้งกระบวนการไดแก ธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย และธุรกิจการใหบริการดานงานบริหารอสังหาริมทรัพยแบบครบวงจร โดยมีรายละเอียดดังนี้ ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย ในชวงเริม่ ตนบริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) และบริษทั ยอยประกอบธุรกิจดานการพัฒนาอสังหาริมทรัพย โดยมีวตั ถุประสงค เพื่อการขายและการใหเชาแบบครบวงจรในหลากหลายรูปแบบโครงการที่พัฒนาขึ้น ซึ่งในชวงตนสวนใหญจะเปนอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญตั้งอยู ใจกลางเมือง นับตั้งแตชวงวิกฤติเศรษฐกิจป 2540 เปนตนมา บริษัทไดมีการปรับเปลี่ยนนโยบายและกลยุทธทางธุรกิจโดยมุงเนนการพัฒนาอาคารชุด พักอาศัยสำหรับผูที่มีรายไดระดับกลาง-บนถึงกลาง-ลางเปนกลุมเปาหมายหลัก (Focus Strategy) โดยใชกลยุทธการตลาดในการสรางความแตกตางทั้ง ดานผลิตภัณฑและการบริการ (Differentiation Strategy) โดยบริษัทไดพัฒนารูปแบบอาคารชุดพักอาศัยภายใตแนวคิด “LPN Design” ซึ่งเนนประโยชน ใชสอยที่ครบถวนในพื้นที่ขนาดเล็กภายในเมือง ซึ่งมีความแตกตางจากรูปแบบผลิตภัณฑทั่วไป และบริษัทยังไดพัฒนาการบริการหลังการขายในรูปแบบ ของการบริหารชุมชน โดยเนนเรื่องคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัยซึ่งเปนกลยุทธที่แตกตางและสรางความเชื่อมั่นตอลูกคา นอกจากนี้ ยังใชกลยุทธการเปน ผูนำดานตนทุน (Cost Leadership Strategy) ซึ่งเปนจุดแข็งของบริษัทมาสนับสนุนและผลักดันใหเกิดความไดเปรียบทางการแขงขัน ในปจจุบันบริษัท ไดจำแนกและกำหนดตำแหนงของผลิตภัณฑ เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการรับรูสอดคลองและครอบคลุมกับกลุมลูกคาเปาหมายของบริษัทภายใตชื่อ และตราสินคาดังนี้ “ลุมพินี สวีท” และ “ลุมพินี เพลส”

แบรนดที่ไดรับการพัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการที่อยูอาศัยของคนในวัยทำงาน ที่เปนผูบริหารระดับกลางคอนขางสูง มีความสามารถ ในการใชจายเพื่อที่อยูอาศัยไดเดือนละประมาณ 20,000 บาท ฐานะทางการเงินอยูในระดับดีและมีอำนาจในการใชจายเพื่อนำความสุข ความสะดวก สบายมาใหกับชีวิต ทำเลในการพัฒนาโครงการดังกลาวจึงอยูในเขตที่มีความหนาแนนสูง อาจอยูในเขตใจกลางหรือรอบศูนยกลางธุรกิจ (CBD) สะดวกในการเดินทางดวยระบบคมนาคมขนาดใหญ ครบครันดวยสิ่งอำนวยความสะดวกที่สมบูรณพรอมที่จำเปนตอการใชชีวิตประจำวัน รวมถึงมีการ ออกแบบตกแตงที่บงบอกถึงสถานภาพของผูอยูอาศัยเพื่อการใชชีวิตอยางมีคุณภาพ Needs : “ความสุขที่ครบครัน ความมีสถานะในสังคม” Real Pleasure in their living : “ความสมบูรณ ความมีระดับ”

“ลุมพินี วิลล”

แบรนดที่ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้นเพื่อคนในวัยทำงานซึ่งอาจเปนผูบริหารระดับตนอายุไมเกิน 35 ป ตองการความสะดวกในการเดินทางและการอยู อาศัยที่เปนสวนตัว มีความสามารถในการใชจายเพื่อที่อยูอาศัยประมาณเดือนละ 10,000 บาท มีรายไดพอใชจายในชีวิตประจำวัน ไมมีภาระมากมาย เปนคนรุนหนุมสาวที่ตองการใหรางวัลกับชีวิต ทำเลที่ตั้งโครงการจึงอยูในเขตที่มีความหนาแนนสูง ใกลแหลงงาน หางสรรพสินคา แบรนด “ลุมพินี วิลล” จึงเปนทางเลือกสำหรับคนรุนใหมที่ตองการใชชีวิตในแบบของตนเองขณะที่ยังคงอยูใกลชิดกับครอบครัวเดิม Needs : “ใหความสุขกับตัวเอง และคนใกลชิด” Real Pleasure in their living : “ตองการใหรางวัลกับชีวิต”

156

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


“ลุมพินี เซ็นเตอร” และ “ลุมพินี คอนโดทาวน”

แบรนดที่มุงสรางที่อยูอาศัยในราคาที่ไมสูงเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีใหกับกลุมคนวัยเริ่มตนการทำงานทั่วไป ผูประกอบวิชาชีพอิสระ มีความสามารถ ในการใชจายดานที่อยูอาศัยเดือนละ 5,000 บาท โดยทำเลที่ตั้งโครงการจะอยูในเขตรอยตอระหวางใจกลางเมืองกับเขตรอบนอกที่มีความหนาแนนสูง ซึ่งทำงานหรือพักอาศัยหางจากที่ตั้งโครงการในรัศมีไมเกิน 5 กิโลเมตร ซึ่งเปนกลุมขนาดใหญที่มีความตองการที่พักอาศัย บริษัทจึงวางตำแหนงให “ลุมพินี คอนโดทาวน” เปนเปาหมายหลักหรือ “เรือธง” (Flag Ship) ของการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยของบริษัท เพื่อใหเปนที่อยูอาศัยหลังแรกที่มี คุณภาพและเปนจุดเริ่มตนของครอบครัวที่อบอุน สำหรับผูที่อยูในวัยเริ่มตนของชีวิตครอบครัว Needs : “โอกาสในชีวิต” Real Pleasure in their living : “การเริ่มตนที่จะทำใหชีวิตดีขึ้นและมีความสุข” “ลุมพินี พารค”

แบรนดเฉพาะกิจที่ไดรับการตอยอดการพัฒนามา “ลุมพินี พารค“ จึงเพิ่มอีกหนึ่งคุณคาของผลิตภัณฑ อันไดแกสวนพักผอนขนาดใหญภายใตชื่อ “สวนรวมใจ” (Community Park) เพื่อเปนสถานที่ที่จะสามารถทำกิจกรรมรวมกัน ไมวาจะเปนระหวางครอบครัวหรือกับเพื่อนบานก็ตาม นับเปนการ ยกระดับคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัยในอาคารชุดขนาดใหญ สำหรับทุกโครงการภายหลังการสงมอบ บริษัทไดกำหนดนโยบายสำหรับการบริการหลังการขายเพื่อดูแลลูกคาอยางตอเนื่อง โดยใหบริษัทยอย คือ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด เปนผูรับผิดชอบงานบริหารชุมชนและงานบริการอื่นๆ อยางครบวงจร เพื่อความสมบูรณพรอม ของแตละชุมชนและชวยรักษาหรือยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัยในทุกๆ ดาน งานบริการดังกลาวครอบคลุมตั้งแต การบริหารชุมชน การบริการ ซื้อ ขาย โอน แลกเปลี่ยน จัดหาผูเชา การบำรุงรักษาอุปกรณและสวนประกอบอาคาร ตลอดจนงานบริการดานการรักษาความสะอาดรวม ถึงการดูแลความเปนอยูและคุณภาพของชุมชน นอกจากนี้ ยังเพิ่มคุณคาของการบริการโดยการดูแลสิง่ แวดลอม และสรางสรรคสังคมอันดีงามของชุมชน ที่บริหารตามกลยุทธของบริษัท และจากประสิทธิภาพของการบริหารชุมชน สงผลใหบริษัทไดรับความไววางใจจากเจาของรวมทุกโครงการลงมติเลือก บริษัทยอยใหบริหารชุมชนอยางตอเนื่องทุกป ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงความรับผิดชอบตอคุณภาพชีวิตของผูพักอาศัยใหเห็นเปนรูปธรรมชัดเจน อันเปนผล มาจากการทุมเทแรงกาย แรงใจ และความมุงมั่นของทุกคนในองคกร ธุรกิจใหบริการดานงานบริหารอสังหาริมทรัพย บริษัทไดจัดตั้งบริษัทยอยชื่อ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด โดยถือหุนรอยละ 99.88 โดยตั้งแตป 2540 เปนตนมา บริษัท ไดมอบหมายใหบริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด รับผิดชอบงานบริหารอสังหาริมทรัพยทั้งหมดในรูปแบบของการบริการครบวงจร เริ่มตั้งแตงานบริหารโครงการไมวาจะเปนงานบริหารการตลาด ขาย เชา โอน บริหารงานกอสราง รวมทั้งการบริหารอาคารที่บริษัทไดพัฒนาขึ้น ซึ่งเปนนโยบาย “บริการหลังการขาย” ของบริษัทเพื่อรองรับการเติบโตในอนาคต ปลายป พ.ศ. 2550 บริษัทไดจัดตั้งบริษัทยอยโดยบริษัทถือหุนรอยละ 99.93 ขึน้ อีกบริษทั หนึง่ และแบงแยกการดำเนินการในดานการบริหารโครงการใหอยูใ นความรับผิดชอบของบริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวสิ จำกัด เพื่อใหเกิดความชัดเจนและรองรับการเติบโตในอนาคตซึ่งจะแบงแยกลักษณะการใหบริการของทั้งสองบริษัทไดดังนี้ การบริหารงานขายและการตลาด ดำเนินการโดยบริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด ครอบคลุมถึงการสำรวจขอมูลของตลาด ความตองการของผูบริโภค วิเคราะห คูแขงขัน การกำหนดราคาขาย วางกลยุทธทางการตลาด วางแผนการขาย เตรียมเอกสารสัญญานิติกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของ ประสานงานการติดตาม เก็บคางวด โอนกรรมสิทธิ์หองชุดและสาธารณูปโภคใหกับลูกคา ซึ่งจะรายงานผลการดำเนินงานอยางสม่ำเสมอทุกสัปดาหตอผูบริหารระดับสูง โดยทุก ขั้นตอนของการดำเนินการ บริษัทไดจัดทีมงานที่มีประสบการณในธุรกิจอสังหาริมทรัพยมาดูแลรับผิดชอบตลอดทั้งขบวนการ ภายหลังการสงมอบหาก ลูกคาตองการฝากขาย-ฝากเชา เพื่อหาผลตอบแทนจากการลงทุน บริษัทมีหนวยงานที่ใหบริการจัดหาผูซื้อ-ผูเชา ภายใตการดำเนินงานแบบครบวงจร ของฝายตัวแทนนายหนา ซึ่งนอกจากการจัดหาผูซื้อ-ผูเชาแลวยังดำเนินการดานนิติกรรมสัญญา ใหคำปรึกษาและประสานงานในการจัดหาสินเชื่อจาก สถาบันการเงิน ตลอดจนกระบวนการโอนกรรมสิทธิ์ในกรณีฝากขาย สวนกรณีฝากเชา บริษัทใหบริการคำแนะนำ และประสานงานดานการตกแตงตั้งแต ตนจนสงมอบหองชุดใหกับผูเชา นอกจากนี้ ยังใหบริการดานการบริหารการเชาตลอดอายุสัญญาการเชาอีกดวย ซึ่งถือเปนการใหบริการอยางครบวงจร และเปนไปตามนโยบายการสรางมูลคาเพิ่มและบริการหลังการขายใหกับลูกคาของบริษัท

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

157


การบริหารงานโครงการ ดำเนินงานภายใตบริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด เปนการบริหารงานดานการพัฒนาโครงการของบริษัทและบริษัทในเครือ โดยเริ่มตั้งแตการเขาปรับปรุงสภาพที่ดินภายหลังการซื้อ วางแนวทางการบริหารโครงการใหเปนไปตามแนวคิดเริ่มตนทั้งทางดานการเงิน การตลาด การขาย การกอสราง ตลอดจนถึงการสงมอบหองชุด โดยมุงเนนการบริหารงานใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพภายใตกลยุทธ “Q-C-S-E-S” อันไดแก 1. Quality ในดานคุณภาพ จัดใหมีกระบวนการในการตรวจสอบคุณภาพกอนสงมอบ โดยทีมงานตรวจสอบคุณภาพอันครอบคลุมตั้งแตการ ตรวจสอบความเรียบรอยภายในหองชุด จนถึงสวนประกอบโครงการทั้งหมด เพื่อใหเกิดความสมบูรณและปลอดภัยในการพักอาศัย 2. Cost ในดานตนทุน จัดใหมีการบริหารตนทุนที่เหมาะสมตามแผนพัฒนาโครงการ โดยการกำหนดขั้นตอนการทำงานอยางมีประสิทธิภาพและ ใชเทคนิคการทำงานที่เหมาะสมรวมกับพันธมิตร เพื่อควบคุมไมใหงบประมาณคากอสรางเกินกวางบประมาณที่กำหนด 3. Schedule ในดานระยะเวลาการกอสราง จากประสบการณการทำงานอันยาวนานทีผ่ า นมารวมกับพันธมิตร ทำใหบริษทั สามารถพัฒนารูปแบบ และกระบวนในการกอสราง (Process Innovation) โดยการพัฒนาระบบสำเร็จรูปตางๆ ที่ผลิตและควบคุมคุณภาพจากโรงงานพรอมระบบการติดตั้ง ที่ทำใหการกอสรางแลวเสร็จกอนกำหนด หรืออยางชาเปนไปตามที่ใหสัญญาไวกับลูกคาทุกโครงการ 4. Environment ในดานสิง่ แวดลอม มุง เนนในการลดผลกระทบอันเกิดจากการกอสรางตอสภาพแวดลอมและชุมชนโดยขางเคียงใหนอ ยทีส่ ดุ โดย ปฏิบัติตามมาตรการที่ปรากฏรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมที่ไดรับอนุมัติจากสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยาง เครงครัด (สผ) รวมทั้งดูแลรักษาและปรับปรุงสภาพแวดลอมโดยรอบโครงการอยางตอเนื่อง 5. Safety ในดานความปลอดภัย บริษัทไดใหความสำคัญในเรื่องของความปลอดภัยทั้งภายในและภายนอกโครงการในขณะกอสราง รวมถึงชีวิต ความเปนอยูข องคนงานกอสราง โดยจัดใหมชี วี อนามัย การใหความรูใ นการทำงาน รวมถึงการดูแลสภาพทีพ่ กั อาศัยในดานความปลอดภัยและสุขอนามัย ของคนงาน และจัดใหมบี คุ ลากรทีด่ แู ลเรือ่ งความปลอดภัย (จป) โดยเฉพาะ ทัง้ นี้ ยังจัดใหมหี นวยงานทีด่ แู ลลูกคาภายหลังการสงมอบหองชุด เพือ่ ซอมแซม แกไขขอบกพรองอันเกิดจากกระบวนการกอสรางหรือวัตถุดิบ รวมทั้งการตอเติมงานตางๆ ภายในหองชุด ปรับปรุงสภาพสวนประกอบโครงการ ตามความเหมาะสมโดยเฉพาะโครงการที่แลวเสร็จมาสักระยะหนึ่ง เพื่อใหสภาพโดยรวมของโครงการคงไวซึ่งคุณคาและมูลคาในระยะยาว งานบริหารชุมชน งานบริหารชุมชนถือเปนนโยบายหลักของบริษัทในการสรางความแตกตางทางดานการบริการ ซึ่งเปนกลยุทธในการสรางความเชื่อมั่นและความ ไววางใจในบริษัทมาโดยตลอด โดยบริษัทไดมอบหมายใหบริษัทยอย คือ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด เปนผูดูแลรับผิดชอบในการ บริหารจัดการชุมชนตามบทบาทและหนาที่ที่ไดกลาวถึงแลวในเรื่องของการบริหารตราผลิตภัณฑหรือแบรนด งานบริหารทรัพยสินเพื่อเชา ปจจุบันบริษัทมีทรัพยสินใหเชาอันไดแก พื้นที่สวนพาณิชยกรรมทั้งหมดของโครงการแกรนด พารควิว อโศก (Grand Parkview Asoke) ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทแกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด ประกอบกับการเก็บหองชุดเพื่อการพาณิชยบางสวนในโครงการอาคารชุดพักอาศัย สำหรับ รองรับนโยบายการบริการแบบครบวงจรภายในชุมชน (Total Solution Service) เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำรงชีวิตประจำวันของผูอยูอาศัย ซึ่งนอกจากจะสรางมูลคาเพิ่มใหแกโครงการแลวยังทำรายไดอยางสม่ำเสมอจากการเชาใหกับบริษัท เปนการขยายฐานและลดจุดออนทางดานแหลงที่มา ของรายไดของบริษัทที่มีเฉพาะรายไดจากการขายเพียงอยางเดียว งานบริหารพื้นที่จอดรถยนต งานบริหารพื้นที่จอดรถยนตอยูภายใตการดำเนินงานของบริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด ในอาคารสำนักงานขนาดใหญที่มีที่ จอดรถยนตเปนจำนวนมากและเปนทรัพยสินของบริษัท เพื่อใหบริการในเรื่องระบบบริหารจัดการ การใหเชา การจัดเก็บรายได และการบำรุงรักษาเพื่อ อำนวยความสะดวกใหลูกคาและผูมาติดตอทั้งหมดใหมีความคลองตัว ปลอดภัย และเปนระเบียบ

158

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


การตลาดและภาวะการแขงขัน การตลาดของผลิตภัณฑและบริการ กลยุทธการตลาด นอกจากขีดความสามารถทางการแขงขันแลว บริษัทยังไดใหความสำคัญตอกลยุทธการตลาดซึ่งเปนกลยุทธยอยในแตละโครงการที่มีความ แตกตางกัน โดยเริ่มจาก - การวิจัย เพื่อกำหนดแนวทางและทิศทางของการพัฒนาโครงการ การกำหนดทำเล ลูกคากลุมเปาหมาย ผานทางการออกสำรวจและเก็บ รวบรวมขอมูลรอบดาน เพื่อใหเกิดความแมนยำในการนำสินคาออกสูตลาด - การกำหนดราคาขาย ที่ไมเพียงแตราคาขายของคูแขงในตลาดในยานใกลเคียงเทานั้นที่เปนปจจัยพื้นฐานในการกำหนดราคาขาย บริษัทยังคง ใหความสำคัญตอการควบคุมตนทุนโครงการทั้งทางตรงและทางออม ซึ่งเปนตัวแปรสำคัญที่ทำใหบริษัทสามารถกำหนดราคาไดอยางเหมาะสม ในขณะที่ ยังรักษาผลตอบแทนตอการลงทุนอยูในระดับที่กำหนดแมเผชิญสภาวะการแขงขันที่รุนแรง - การสือ่ สารการตลาด บริษทั มุง สือ่ สาร โฆษณา ประชาสัมพันธตรงเขาสูก ลุม เปาหมาย ซึง่ กระจายอยูบ ริเวณโดยรอบโครงการรวมทัง้ ฐานลูกคา มุงหวัง ซึ่งเคยแวะเยี่ยมชมโครงการของบริษัทดวยปายโฆษณาประชาสัมพันธขนาดใหญ และปายยอยรวมทั้งไดเร็คเมลลซึ่งใหสิทธิพิเศษเพื่อเปนแรง กระตุนใหเกิดการจองในชวงการเปดขาย ซึ่งบริษัทประสบความสำเร็จมาโดยตลอด และยังสามารถรักษาคาใชจายทางการตลาดใหอยูในระดับต่ำมาก โดยมีคาใชจายทางการตลาดประมาณรอยละ 1 ของรายไดจากการขาย - การบริหารประสบการณลูกคา โดยหนวยงานบริหารประสบการณลูกคารวมกับหนวยงานที่เปนสวนหนาที่สัมผัสกับลูกคาโดยตรง ออกแบบ มาตรฐานของจุดสัมผัสเพื่อเปนแนวทางในการใหบริการลูกคาที่จะนำมาซึ่งประสบการณอันนาประทับใจ รวมทั้งเปนผูรับผิดชอบในการตอบสนองตอ ขอเสนอแนะหรือขอรองเรียนตางๆ ดวยการประสานงานไปยังหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงในการปรับปรุง แกไข เพื่อรักษาสัมพันธภาพอันดีระหวาง ลูกคาและบริษัท รวมทั้งการจัดกิจกรรมตางๆ อยางตอเนื่องเพื่อสะทอนถึงการดูแลเอาใจใสตอลูกคา สิ่งตางๆ เหลานี้ไดสรางใหเกิดความเชื่อมั่นตอ ตราสินคาจนสามารถที่จะบอกตอไดอยางเต็มภาคภูมิ ซึ่งสะทอนใหเห็นไดจากยอดขายของโครงการเปดตัวใหมที่มาจากการแนะนำ - ภาพลักษณขององคกร อันเกิดจากจิตสำนึกในความรับผิดชอบตอลูกคาและความมุง มัน่ พัฒนาคุณภาพสินคาและบริการอยางตอเนือ่ งสม่ำเสมอ ทำใหทกุ โครงการทีผ่ า นมาประสบความสำเร็จในดานการขาย เนือ่ งดวยลูกคาใหความเชือ่ มัน่ ตอการดำเนินงานและภาพลักษณขององคกร การทำการตลาด บริษัทจัดใหมีการทำการตลาด การสื่อสารการตลาด และกิจกรรมทางการตลาด โดยเฉพาะในชวงเปดตัวโครงการซึ่งเปนชวงที่ลูกคาใหความ สนใจและเขาชมโครงการสูงสุดดังนี้ - จดหมายเชื้อเชิญ (Direct Mail) ทุกครั้งที่มีการเปดตัวโครงการ จะมีการสงจดหมายเชื้อเชิญใหแกฐานลูกคาของบริษัท เพื่อประชาสัมพันธ โครงการ และมอบสิทธิพิเศษเพื่อนำมาใชเปนสวนลดในวันเปดตัวโครงการ ซึ่งจะดำเนินงานโดยหนวยงานของบริษัทที่จัดขึ้นโดยเฉพาะ ลูกคาที่สนใจ สามารถติดตอเขามาที่ฝายขายของบริษัทหรือเขาชมรายละเอียดของโครงการพรอมหองตัวอยางที่บริษัทจัดขึ้นตามรายละเอียดที่แจงไวในจดหมาย เชื้อเชิญ - โฆษณาและประชาสัมพันธ จัดทำโฆษณาและประชาสัมพันธผานสื่อตางๆ โดยมุงเนนบริเวณโดยรอบโครงการ รวมถึงภายในหางสรรพสินคา อินเตอรเน็ต ขอความสั้นผานโทรศัพทเคลื่อนที่ แผนปายโฆษณาและนิตยสารตางๆ เปนตน โดยพิจารณาเลือกสื่อที่มีประสิทธิภาพสูง และสามารถเขา ถึงกลุมลูกคาเปาหมาย - ออกบูธแสดงสินคา เปนการประชาสัมพันธโครงการในเชิงรุก โดยเนนการออกบูธในหางสรรพสินคายานใกลเคียงโครงการและยานใจกลางธุรกิจ หรืองานมหกรรมบานและคอนโดซึ่งจัดตอเนื่องทุกป เพื่อใหไดกลุมลูกคาที่ตรงกับกลุมเปาหมายของโครงการ - อินเตอรเน็ต เพื่อตอบสนองตอชีวิต สังคม และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป บริษัทไดแสวงหาชองทางการตลาดใหมๆ อยูตลอดเวลา อินเตอรเน็ต เปนชองทางการตลาดใหมชองทางหนึ่งที่ปจจุบันไดรับการยอมรับจากผูบริโภคอยางกวางขวางวาเปนการสื่อสารที่เขาถึงกลุมผูบริโภคโดยตรงตลอด 24 ชั่วโมง และคาใชจายต่ำ เมื่อเทียบกับสื่อการตลาดอื่นๆ ซึ่งบริษัทเองไดใหความสำคัญโดยพัฒนาเว็บไซต www.lpn.co.th ขึ้นเพื่อเปนชองทางใหลูกคา กลุมเปาหมายของบริษัทไดรับทราบขอมูลขาวสารและความเคลื่อนไหวของโครงการ - สิทธิพิเศษ บริษัทเสนอสิทธิพิเศษสำหรับลูกคาผูจองซื้อโครงการในชวงเวลาเปดตัวโครงการ เชน ราคาพิเศษเฉพาะชวงเปดโครงการ แถม เฟอรนิเจอร แถมชุดครัวหรือเครื่องปรับอากาศ เปนตน

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

159


ลักษณะลูกคา กลุมลูกคาตามลักษณะผลิตภัณฑและบริการ 1. กลุมผูซื้อโครงการอสังหาริมทรัพย ลูกคาในกลุมนี้จะเปนผูซื้อรายยอยทั่วไปที่มีความประสงคในการซื้อหองชุดเพื่อพักอาศัยเปนสำคัญ โดยในปจจุบันฐานลูกคาของบริษัทในกลุมนี้มี อยูมากกวา 100,000 ราย สวนหนึ่งของกลุมลูกคามาจากการแนะนำหรือบอกตออันเกิดจากความเชื่อมั่นที่มีตอแบรนด “ลุมพินี” (Trusted Brand) จาก การรวบรวมขอมูลของฝายวิจัยและพัฒนาสามารถแบงลูกคาออกไดตามวัตถุประสงคและพฤติกรรมการซื้อได 5 กลุมดังนี้ - กลุมผูซื้อเพื่อเปนบานหลังแรก เปนกลุมที่อยูในชวงเริ่มตนของวัยทำงาน ที่ตองการมีที่อยูอาศัยที่มีคุณภาพเปนของตนเองในราคาที่ไมสูงมาก - กลุมผูซื้อเพื่อเปนบานหลังที่สอง เปนกลุมลูกคาที่ตองการที่พักอาศัยในเขตศูนยกลางธุรกิจหรือแหลงงาน เพื่อแกไขปญหาคาใชจายและระยะ เวลาที่ตองสูญเสียในการเดินทาง - กลุมผูซื้อเพื่อตองการขยายครอบครัว เปนกลุมลูกคาที่ทำการคา หรือมีธุรกิจอยูในบริเวณที่ตั้งโครงการซึ่งตองการที่พักอาศัยอยูในบริเวณ เดียวกัน หรือเพื่อการขยายครอบครัวของบุตรหลานในอนาคต - กลุมผูซื้อเพื่อบุตรหลาน เปนกลุมลูกคาที่ซื้อเพื่อเปนการเตรียมพรอมสำหรับบุตรหลานที่จะเขาศึกษาในสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงซึ่งอยูไมหาง จากโครงการที่บริษัทพัฒนา - กลุมผูซื้อเพื่อการลงทุน เปนกลุมลูกคาที่ตองการลงทุนในทรัพยสินในระยะยาว ซึ่งอาจจะอยูในลักษณะการซื้อเพื่อปลอยเชาเนื่องจากโครงการ ตางๆ ของบริษัทอยูในทำเลที่มีศักยภาพ และอัตราผลตอบแทนจากการเชาอยูในระดับที่สูงกวาอัตราดอกเบี้ย 2. กลุมผูเชาโครงการอสังหาริมทรัพย สำหรับกลุมผูเชาโครงการอสังหาริมทรัพยแบงออกเปน 2 สวน ไดแก - ผูเชาเพื่อการพักอาศัย ลูกคาในกลุมนี้สวนใหญเปนกลุมของพนักงานระดับสูงทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ ที่มีระดับรายไดคอนขางสูงซึ่ง ตองการที่อยูอาศัยใกลแหลงงาน ซึ่งโครงการของบริษัทเองสามารถรองรับความตองการในสวนนี้ไดเปนอยางดี - ผูเชาเพื่อการพาณิชย ลูกคาในกลุมนี้คือผูประกอบธุรกิจดานตางๆ ในพื้นที่เพื่อการพาณิชยกรรมในโครงการแกรนด พารควิว อโศก และ ในหองชุดเพือ่ การพาณิชยในโครงการตางๆ โดยบริษทั มุง หวังทีจ่ ะสรางเครือขายการคาปลีกตามนโยบายการบริการแบบครบวงจร (Total Solution Services) และเปนการขยายแหลงที่มาของรายไดนอกเหนือรายไดจากการขาย 3. กลุมผูรับบริการโครงการอสังหาริมทรัพย สำหรับกลุม ผูร บั บริการโครงการอสังหาริมทรัพย ไดแก การวาจางบริหารชุมชนซึง่ ดำเนินการโดยบริษทั ลุมพินี พร็อพเพอรต้ี มาเนจเมนท จำกัด โดยจะรับบริหารเฉพาะชุมชนที่บริษัทพัฒนาขึ้นเทานั้น เพื่อสรางภาพลักษณที่ดี รวมทั้งเปนกลยุทธในการสรางความแตกตางทางดานการบริการ กลุมลูกคาเปาหมาย บริษัทกำหนดกลุมลูกคาเปาหมายของบริษัทเปนผูที่ตองการที่พักอาศัยในทำเลที่มีความหนาแนน อยูไมไกลจากระบบขนสงมวลชนหรือทางดวน ซึ่งงายตอการเดินทาง เพียบพรอมดวยสิ่งอำนวยความสะดวก โดยมีรายไดระดับกลาง-บนถึงกลาง-ลางหรือประมาณ 15,000-50,000 บาทตอครอบครัว มีอายุอยูระหวาง 25-45 ป ซึ่งครอบคลุมประชากรสวนใหญที่เปนกำลังซื้อหลัก และปจจุบันพักอาศัยอยูในบานเชา หอพัก อพารทเมนตหรือพักอาศัย อยูกับบิดามารดา โดยมีความตองการที่จะแยกตัวออกมาเพื่อสรางครอบครัวใหมตามวิถีชีวิตปจจุบันของคนเมือง การจำหนาย และชองทางการจำหนาย บริษัทใชวิธีการจำหนายหรือการขายในลักษณะขายตรง โดยทีมงานขายของบริษัทซึ่งประกอบดวยพนักงานขายหลัก ที่มีประสบการณดาน การขาย มีความรูความเขาใจในผลิตภัณฑและบริการของบริษัทเปนอยางดี คอยบริการใหขอมูลและคำแนะนำเพื่อประกอบการตัดสินใจแกลูกคาในทุก โครงการ และพนักงานขายเสริม ซึ่งเปนพนักงานของบริษัทและบริษัทยอยที่ปฏิบัติหนาที่ประจำในสวนสนับสนุน อาทิเชน ฝายบัญชีและการเงิน ฝายธุรการ เปนตน โดยพนักงานเหลานี้จะไดรับการอบรมความรูในดานผลิตภัณฑของบริษัทและเทคนิคการขายเบือ้ งตนอยางสม่ำเสมอ เพือ่ ชวยงานขาย ในชวงเปดตัวโครงการที่จัดขึ้นในบริเวณที่ตั้งโครงการรวมกับพนักงานขายหลัก โดยการนำลูกคาเขาเยี่ยมชมโครงการ สภาพแวดลอมของโครงการ หองตัวอยาง เพื่อใหลูกคาเห็นสถานที่จริงและผลิตภัณฑจริงที่บริษัทจะทำการสงมอบเมื่อโครงการกอสรางแลวเสร็จ พรอมใหขอมูลประกอบการตัดสินใจ และตอบขอซักถามในเรื่องตางๆ นอกจากนั้น บริษทั ยังใหความสำคัญกับการตกแตงสำนักงานขาย (Offfiice Presentation) ซึง่ เปนชองทางการจัดจำหนาย หลักของบริษัท รวมทั้งการตกแตงหองตัวอยาง การตกแตงบริเวณโครงการ (Site Presentation) เพื่อสรางความประทับใจและความเชื่อมั่นใหกับลูกคา ที่ชมโครงการ นอกจากนั้น บริษัทไดจัดสรางสำนักงานขายกลางในยานศูนยกลางธุรกิจ เพื่ออำนวยความสะดวกใหแกลูกคาและกลุมเปาหมายโดย สามารถเยี่ยมชมหองตัวอยาง จองซื้อหองชุด ชำระคางวด รวมถึงธุรกรรมอื่นๆ ไดเชนเดียวกับสำนักงานขายในบริเวณที่ตั้งโครงการ

160

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


สถานภาพและศักยภาพในการแขงขัน ตั้งแตเริ่มกอตั้งเปนตนมา บริษัทพยายามแสวงหาตลาดใหมๆ ที่มีการแขงขันนอยหรือปราศจากการแขงขัน (Blue Ocean Strategy) อันเปน กลยุทธหลักในการแขงขันเพื่อคงไวซึ่งผลตอบแทนจากการลงทุน และยังเปนการกระจายฐานลูกคาออกไปเปนวงกวางเพื่อโอกาสสำหรับการเติบโตใน อนาคต อันไดแก การขยายทำเลของการพัฒนาจากการกระจุกตัวอยูบริเวณโดยรอบศูนยกลางธุรกิจไปยังบริเวณที่มีความหนาแนนสูง ซึ่งเปนเขตรอยตอ ระหวางเขตกรุงเทพชั้นในและเขตกรุงเทพชั้นกลาง ผนวกกับการขยายกลุมเปาหมาย จากเดิมที่บริษัทมุงเนนเฉพาะกลุมผูมีรายไดระดับกลางไปสูผูมี รายไดระดับกลาง-ลาง ซึ่งครอบคลุมประชากรสวนใหญของกรุงเทพและปริมณฑลที่มีความตองการที่พักอาศัยที่แทจริง แตยังขาดการรองรับอยาง จริงจังจากผูประกอบการ นอกจากการแสวงหาตลาดใหมดวยการขยายทำเลในการพัฒนาและการขยายกลุมเปาหมายแลว บริษัทยังคงเพิ่มขีดความ สามารถทางการแขงขันเพื่อรักษาสวนแบงของตลาดดังนี้ - การเปนผูน ำดานตนทุน (Cost Leadership) อันเปนจุดแข็งของบริษทั เริม่ ตัง้ แตคณะผูบ ริหารซึง่ ประกอบดวยสถาปนิกและวิศวกรทีม่ ปี ระสบการณ และเขาใจในเรื่องตนทุนอยางลึกซึ้ง รวมถึงกลุมพันธมิตรที่ทำงานกับบริษัทมาเปนระยะเวลานานจนเกิดความเขาใจในทิศทาง และมองเห็นเปาหมายรวม กันในการผลักดันใหเกิดประสิทธิภาพในดานการกอสราง ซึ่งนำไปสูการพัฒนาอยางตอเนื่องจนเกิดเปนนวัตกรรม ซึ่งเปนรูปแบบเฉพาะของบริษัท - การสรางความแตกตาง (Differentiation) เพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดแกลูกคา บริษัทเลือกที่จะสรางความแตกตางทางผลิตภัณฑ (Product Differentiation) ดวยการออกแบบผลิตภัณฑภายใตแนวคิด “LPN Design” ซึ่งมุงเนนการออกแบบใหหองชุดขนาดเล็กมีประโยชนใชสอยที่ ตอบสนองตอวิถีชีวิตของผูอยูอาศัยไดอยางครบถวน ตองการการดูแลรักษานอย มีการระบายอากาศที่ดี ซึ่งนับเปนนวัตกรรมสำหรับการออกแบบ อาคารชุดพักอาศัยภายใตก ารวิ จั ยและพั ฒนามาอยางตอเนื่อง จนเปนตนแบบใหหลายๆ บริษัทนำไปปรับใช และความแตกตางทางการบริ ก าร (Services Differentiation) ซึ่งบริษัทไดใหความสำคัญกับการบริการตลอดขบวนการ เพื่อความพึงพอใจสูงสุดของลูกคาโดยเนนที่การบริการหลัง การขาย อันไดแก การบริหารชุมชนภายใตกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” ที่มุงเนนคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัย การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ การจัดใหไดมาซึ่งผลิตภัณฑและบริการ ผลิตภัณฑหลักของบริษัทคือโครงการอาคารชุดพักอาศัยสำหรับกลุมเปาหมายที่มีรายไดระดับกลาง-บนถึงกลาง-ลาง ที่ตองการที่อยูอาศัยที่มี คุณภาพในราคาที่เหมาะสม มีความปลอดภัย แวดลอมดวยสาธารณูปโภค และอยูในทำเลที่ใกลระบบขนสงมวลชนหรือทางดวนเพื่อความคลองตัวในการ เดินทาง เพื่อใหสอดคลองกับสภาพการแขงขัน กฎหมาย และตนทุนที่เปลี่ยนไป บริษัทไดกำหนดแนวทางการพัฒนาโครงการและขั้นตอนตางๆ ไว ดังตอไปนี้ สำรวจความตองการของตลาดในบริเวณตางๆ ทั้งในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั้งจังหวัดที่มีความเติบโตทางเศรษฐกิจ เพื่อใชเปน ขอมูลในการกำหนดทำเลเปาหมายในการขยายฐานลูกคาและพืน้ ทีใ่ นการพัฒนา โดยมุง เนนกลุม ลูกคาทีม่ รี ะดับรายไดกลาง-บนถึงกลาง-ลางโดยมีราคาขาย ตอยูนิตระหวาง 700,000-2,000,000 บาท รวมถึงการสำรวจภาวะตลาด คูแขงขัน อุปสงค อุปทาน สภาวะเศรษฐกิจ และสังคมในชวงเวลานั้นๆ วิเคราะหโครงการ วางเปาหมายทางการตลาด พิจารณาจัดหาที่ดิน รวมทั้งวิเคราะหทำเลที่ตั้ง รูปราง ขนาด สภาพแวดลอมโดยรอบ กฎระเบียบตางๆ ของทางภาครัฐที่มีผลกระทบตอโครงการ รวมถึงคูแขงขัน เพื่อกำหนดลักษณะ ขนาดของโครงการ และขั้นตอนในการพัฒนา รวมถึง คุณคาของผลิตภัณฑที่สงมอบใหแกลูกคา (Product Value) โดยพิจารณาจากผลตอบแทนการลงทุน ความสอดคลองเหมาะสมของทำเลที่ตั้งและรูปแบบ ในการพัฒนาโครงการ วางผังและออกแบบโครงการใหสอดคลองกับผลการศึกษา โดยคัดเลือกสถาปนิกและที่ปรึกษาโครงการที่มีคุณภาพ เขาใจในแนวทางของบริษัท เนื่องจากผูออกแบบทั้งสถาปนิกและวิศวกรอยูในสวนของตนน้ำที่มีผลโดยตรงตอตนทุนโดยเฉพาะตนทุนทางออม เชน อัตราสวนพืน้ ทีข่ ายตอทีด่ นิ ทีแ่ สดง ถึงประสิทธิภาพในการออกแบบ การควบคุมตนทุนทางออมถือวาเปนหนึ่งในขอไดเปรียบของบริษัทเพื่อรักษาความสามารถในการแขงขัน (Cost Leadership Strategy) จัดทำแผนงานการพัฒนาโครงการ วางแผนทางการเงินและจัดหาแหลงเงินทุนสำหรับโครงการ (Project Financing) วางแผนการบริหาร การขายและการตลาด พรอมทั้งแผนการบริหารชุมชนภายหลังการสงมอบ จัดเตรียมทีมงานรวมทั้งกำหนดอัตรากำลังของบุคลากรเพื่อบริหารโครงการ ซึ่งดำเนินการโดยบริษัทยอย ตั้งแตทีมงานขาย ทีมงานกอสราง ทีมงานโอนกรรมสิทธิ์และสงมอบ รวมถึงทีมงานบริหารชุมชน การบริหารงานดานการขายและการตลาด ไดแก - การวางแผนการขาย อันไดแก การกำหนดราคาขาย วางแผนการชำระเงินของลูกคาพรอมทัง้ จัดหาแหลงเงินกูใ หกบั ลูกคาในชวงโอนกรรมสิทธิ์ (Housing Loan) โดยพิจารณาสถาบันการเงินทีใ่ หสทิ ธิประโยชนสงู สุดแกลกู คา กำหนดเปาหมายการขาย รวมทัง้ อบรมทีมงานขาย - การวางแผนการตลาด อันไดแก การวางแผนการโฆษณาประชาสัมพันธที่เขาถึงกลุมเปาหมาย การจัดทำเอกสารประกอบการขาย รวมถึง กำหนดการและกระบวนการในการเปดขาย

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

161


- การบริหารงานกอสรางโครงการ โดยมีขั้นตอนที่สำคัญดังนี้ - ประสานงานและใหขอมูลโครงการแกผูที่เกี่ยวของทั้งชุมชนที่อยูใกลเคียงและหนวยราชการ โดยเฉพาะชุมชนในบริเวณใกลเคียงที่อาจไดรับผล กระทบและมีความกังวลตอการพัฒนาโครงการโดยตรง - จัดทำรายงานการศึกษาผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเพื่อขออนุมัติจากสำนักนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม(สผ) และขออนุญาตปลูกสรางจากหนวย งานที่เกี่ยวของตามลำดับ - วางแผนการกอสรางและคัดเลือกผูรับเหมาในการดำเนินการกอสราง โดยจำกัดระยะเวลาในการกอสรางใหแลวเสร็จภายใน 18 เดือน (Economy of Speed) โดยนับตั้งแตเริ่มเปดขายซึ่งบริษัทไดมีการพัฒนาระบบงานกอสราง และเทคนิคทางการกอสรางดวยการนำชิ้นสวนสำเร็จรูป เขามาใช โดยมีบริษัทยอยเปนผูบริหารและควบคุมงานกอสรางในทุกขั้นตอน ตามบทบาทและหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย - รายงานความคืบหนาของโครงการแกลูกคาอยางสม่ำเสมอ - ประเมินและติดตามผลการขาย ผลตอบแทนของโครงการ โดยจัดทำรายงานสรุปเพือ่ เปนขอมูลและกรณีศกึ ษาของบริษทั สำหรับโครงการตอไป - บริหารชุมชนภายหลังการสงมอบ ภายใตบทบาทหนาที่ ความรับผิดชอบ และกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” โดยมีเปาหมายที่การสรางคุณภาพชีวิตที่ เหมาะสม ภายใตความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคม กำลังการผลิตและปริมาณการผลิต บริษัทมิไดมีกำลังการผลิตหรือปริมาณการผลิตโดยตรง แตมีการวาจางผูรับเหมากอสรางที่เปนพันธมิตรที่มีความนาเชื่อถือ ตลอดจนมี ประสบการณทเ่ี หมาะสมกับโครงการแตละโครงการเปนผูด ำเนินการในการกอสราง โดยมีบริษทั ยอยเปนผูบ ริหารงานกอสรางและควบคุมดูแลอยางใกลชดิ และใชวธิ กี ารประมูลหรือสืบราคาในการกำหนดมูลคางานกอสรางเพือ่ ใหไดราคาคากอสรางทีเ่ หมาะสม โดยเปนการจัดจางแบบเหมารวม ทัง้ วัสดุและคาแรง เพือ่ ลดความเสีย่ งในการผันผวนของราคาวัสดุกอ สราง นอกจากนี้ บริษทั ยังมีนโยบายในการประมูลทีไ่ มผกู ติดกับผูร บั เหมาหลัก โดยแยกประมูลเปนสวนๆ ตามลักษณะของงาน เชน งานเสาเข็ม งานโครงสราง งานฝาเพดาน งานกระจกและอลูมิเนียม งานระบบไฟฟาและประปา เปนตน เพื่อเปนการลดความ เสี่ยงและตนทุนทางออม โดยที่ผูรับเหมาแตละรายจะตองทำงานไดสอดประสานกันเพื่อความรวดเร็วและคุณภาพของงานกอสรางที่ตองสงมอบใหแก ลูกคาโดยมีผูรับเหมาหลักและบริษัทยอยเปนแกนกลางในการประสานงานดานตางๆ อีกทั้งในบางกรณีบริษัทจะดำเนินการสั่งซื้อวัสดุบางรายการโดยตรง เชน ลิฟต ซึ่งมียอดสั่งซื้อสูงและเปนงานที่ตองใชบริการจากผูขายโดยตรง ขบวนการขั้นตอนทั้งหมดดังกลาวขางตนดำเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพทั้ง ในดานตนทุนและระยะเวลาที่เหมาะสม ภายใตกลยุทธกลุมพันธมิตรที่แข็งแกรงและเปนที่ไววางใจของทางบริษัท ซึ่งถือเปนหนึ่งในความไดเปรียบในการ แขงขัน การจัดหาวัตถุดิบ ตามทีไ่ ดกลาวมาขางตนแลววาบริษทั มิไดผลิตหรือมีกำลังการผลิตโดยตรงแตอาศัยการจัดจางผูร บั เหมาทีเ่ ปนพันธมิตรทีม่ คี วามนาเชือ่ ถือตลอดจน มีประสบการณที่เหมาะสมกับโครงการแตละโครงการเปนผูดำเนินการกอสรางโดยการจัดจางเปนการจัดจางรวมทั้งวัสดุและคาแรงเพื่อเปนการลดความ เสีย่ งในการผันผวนของราคาวัสดุกอ สราง บริษทั จึงหมดความจำเปนในการจัดหาวัสดุดว ยตนเอง อยางไรก็ตาม ทีด่ นิ สำหรับการพัฒนาโครงการเปนวัตถุดบิ ที่สำคัญที่สุดในการพัฒนาโครงการดังคำที่วา “อสังหาริมทรัพยคือ ทำเล ทำเล และทำเล” บริษัทจึงกำหนดปจจัยที่ใชเปนเกณฑในการพิจารณาที่ดินเพื่อ การพัฒนาและแนวทางในการจัดหาที่ดินดังนี้ - ทำเลทีต่ ง้ั ของทีด่ นิ จะตองอยูใ นบริเวณทีม่ คี วามหนาแนนและตัง้ อยูร มิ ถนนสายหลัก มีสาธารณูปโภคครบครัน อยูใ กลแหลงงานหรือแหลงชุมชน ขนาดใหญ ใกลระบบขนสงมวลชนหรือทางดวน โดยมีทางเขาออกที่สะดวก ไมอยูในแนวเวนคืนหรือมีปญหาอุปสรรคจากขอกฎหมายหรือโครงการตางๆ ของทางภาครัฐ - ขนาดหนากวางของที่ดินและรูปรางของที่ดินตองเหมาะสมและสอดคลองกับ พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร เพื่อใหเกิดการใชประโยชนที่ดินไดสูงสุด นอกจากนี้ยังตองสอดคลองกับขอกำหนดการใชประโยชนที่ดินตามผังเมือง - ราคาของทีด่ นิ จะตองไมอยูใ นเกณฑสงู เกินกวารอยละ 30 ของตนทุนโครงการ เพือ่ ใหบริษทั ยังคงสามารถรักษาระดับราคาขายและผลตอบแทน ในการลงทุนใหเปนไปตามนโยบายและกลยุทธการแขงขันของบริษัท - การจัดหาที่ดินโดยการลงประกาศทางสื่อหนังสือพิมพเพื่อติดตอกับเจาของที่โดยตรง หรือผานทางตัวแทนนายหนา หรือเสนอซื้อจากสถาบัน การเงิน และสถาบันบริหารทรัพยสิน (บสท) โดยบริษัทไดจัดใหมีหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงในการจัดหาและตรวจคุณสมบัติของที่ดินโดยตรง และ บริษทั ไดดำเนินการแจงขอสารสนเทศตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเมือ่ มีการจัดซือ้ ทีด่ นิ เพือ่ ความโปรงใส อีกทัง้ ยังมีการประเมินราคาโดยผูป ระเมิน อิสระเพื่อเปนการตรวจสอบอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งที่ดินทุกแปลงที่บริษัทจัดซื้อมีราคาต่ำกวาราคาประเมิน

162

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


¢ŒÍÁÙÅâ¤Ã§¡Òà โครงการในอดีต และที่ดำเนินอยูในปจจุบัน

รายละเอียดโครงการที่พัฒนาเสร็จสมบูรณของ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ลำดับ

โครงการ

ลักษณะโครงการ

จำนวน อาคาร

จำนวน นิตฯิ

เนือ้ ที่ โครงการ

มูลคาโครงการ (ลานบาท)

จำนวน (ยูนติ )

ระยะเวลา

1

ลุมพินี ทาวเวอร

อาคารชุดสำนักงาน สูง 38 ชั้น

1

1

2-3-33 ไร

113

2,118.00

เริม่ เปดขาย มิ.ย. 2532

2

แอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร

อาคารชุดสำนักงาน สูง 18 ชั้น

1

1

1-2-42 ไร

76

564.00

มี.ค. 2533

2532-2535

3

ลุมพินี เพลส

อาคารชุดพักอาศัย สูง 19 ชั้น

1

1

1-3-26 ไร

34

408.00

ก.ย. 2534

2534-2537

4

แอล.พี.เอ็น. มินิออฟฟศ

อาคารสำนักงาน สูง 7 ชั้น

1

1

0-0-90 ตรว.

1

29.00

2537

2537

5

บานลุมพินี บางบัวทอง

อาคารพาณิชย และทาวนเฮาส

-

-

36-1-31.2 ไร

704

725.00

ต.ค. 2537

2537-2539

6

สี่พระยา ริเวอรวิว

อาคารพักอาศัย สูง 31 ชั้น

1

1

2-0-16.6 ไร

310

1,100.00

ม.ค. 2537

2537-2541

7

บานลุมพินี 2 บางบัวทอง

อาคารพาณิชย

-

-

2-1-84.9 ไร

35

97.00

ม.ค. 2540

2540-2542

8

ลุมพินี เซ็นเตอร

อาคารพาณิชย สูง 3.75 ชั้น

1

1

1-1-81.2 ไร

23

62.00

พ.ย. 2542

2542-2543

9

ลุมพินี เซ็นเตอร อาคาร A-H

อาคารชุดพักอาศัย สูง 7 ชั้น และ 8 ชั้น

20

6

12-2-26 ไร

1,765

857.00

พ.ย. 2542

2542-2545

10

ลุมพินี เพลส สาทร อาคาร A-D

อาคารชุดพักอาศัย สูง 9 ชั้น

4

2

3-2-52.6 ไร

603

726.00

มี.ค. 2544

2544-2545

11

ลุมพินี เรสซิเดนซ สาทร

อาคารชุดพักอาศัยพรอมบริการเพื่อเชา สูง 9 ชั้น

1

1

0-1-99 ตร.ว.

37

95.00

-

2545-2546

12

ลุมพินี เซ็นเตอร ลาดพราว 111 อาคาร A-G

อาคารชุดพักอาศัย สูง 8 ชั้น

7

4

6-2-17 ไร

856

663.00

ส.ค. 2545

2545-2547

13

ลุมพินี เพลส สวนพลู-สาทร

อาคารชุดพักอาศัย สูง 9 ชั้น

2

1

2-2-22.5 ไร

281

372.00

ก.ย. 2545

2545-2546

14

ลุมพินี เพลส พระราม 4-สาทร

อาคารชุดพักอาศัย สูง 9 ชั้น

2

1

2-0-38 ไร

231

405.00

พ.ย. 2545

2545-2546

15

ลุมพินี เพลส นราธิวาส 24

อาคารชุดพักอาศัย สูง 9 ชั้น

2

1

2-0-25 ไร

190

353.00

ม.ค. 2546

2545-2546

16

ลุมพินี วิลล พระแมมารี-สาทร

อาคารชุดพักอาศัย สูง 9 ชั้น

2

1

2-3-65 ไร

300

457.00

พ.ค. 2546

2546-2547

17

ลุมพินี เพลส พระราม 3-เจริญกรุง

อาคารชุดพักอาศัย สูง 9 ชั้น

2

1

2-3-79 ไร

312

485.00

มี.ค. 2546

2546-2547

18

ลุมพินี เพลส นราธิวาสราชนครินทร

อาคารชุดพักอาศัย สูง 9 ชั้น

2

1

2-2-11.2 ไร

233

481.00

มิ.ย. 2546

2546-2547

19

ลุมพินี สวีท สุขุมวิท 41

อาคารชุดพักอาศัย สูง 9 ชั้น

2

1

1-2-78 ไร

159

486.00

ก.ย. 2546

2546-2547

20

ลุมพินี เพลส พระราม 3-ริเวอรวิว

อาคารชุดพักอาศัย สูง 19 ชั้น

1

1

3-0-65.1 ไร

497

1,031.00

มี.ค. 2547

2547-2548

21

ลุมพินี เซ็นเตอร สุขุมวิท 77

อาคารชุดพักอาศัย สูง 9 ชั้น

5

1

6-2-30.2 ไร

872

898.00

ม.ค. 2547

2547-2548

22

ลุมพินี วิลล พหล-สุทธิสาร

อาคารชุดพักอาศัย สูง 21 ชั้น

2

1

5-0-76.9 ไร

861

1,408.00

ก.ค. 2547

2547-2548

23

ลุมพินี เซ็นเตอร นวมินทร

อาคารชุดพักอาศัย สูง 8 ชั้น

3

1

3-2-65.7 ไร

442

389.00

ม.ค. 2548

2548-2549

24

ลุมพินี วิลล สุขุมวิท 77

อาคารชุดพักอาศัย สูง 23 ชั้น

3

1

4-3-29.8 ไร

987

1,561.00

ธ.ค. 2547

2547-2549

25

ลุมพินี เพลส ปนเกลา

อาคารชุดพักอาศัย สูง 22 ชั้น

1

1

3-0-33 ไร

580

1,107.00

มี.ค. 2548

2548-2549

26

ลุมพินี วิลล ศูนยวัฒนธรรม

อาคารชุดพักอาศัย สูง 8 ชั้น

9

1

12-2-63 ไร

1,324

1,956.00

มี.ค. 2548

2548-2549

27

ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจาพระยา

อาคารชุดพักอาศัย สูง 29 ชั้น

3

1

9-0-72 ไร

1,306

3,598.00

มิ.ย. 2548

2548-2550

28

ลุมพินี เพลส พหล-สะพานควาย

อาคารชุดพักอาศัย สูง 29 ชั้น

2

1

7-1-68 ไร

1,093

2,237.00

ม.ค. 2549

2549-2550

29

ลุมพินี เพลส ปนเกลา 2

อาคารชุดพักอาศัย สูง 26 ชั้น

1

1

3-3-83.3 ไร

651

1,138.00

ก.ย. 2549

2549-2550

30

ลุมพินี เพลส รัชดา-ทาพระ

อาคารชุดพักอาศัย สูง 29 ชั้น และ 4 ชั้น

3

2

6-2-26 ไร

898

1,650.00

พ.ค. 2549

2549-2551

31

ลุมพินี วิลล รามคำแหง 44

อาคารชุดพักอาศัย สูง 23 ชั้น

2

1

4-2-56 ไร

827

1,304.00

ก.ค. 2549

2549-2551

32

ลุมพินี คอนโดทาวน บดินทรเดชา-รามคำแหง

อาคารชุดพักอาศัย สูง 8 ชั้น

14

1

32-3-28 ไร

3,445

3,074.00

ก.ย. 2550

2550-2551

33

ลุมพินี คอนโดทาวนรามอินทรา-หลักสี่

อาคารชุดพักอาศัย สูง 8 ชั้น

7

1

13-0-40 ไร

1,568

1,272.00

เม.ย. 2550

2550-2551

34

ลุมพินี วิลล รามอินทรา-หลักสี่

อาคารชุดพักอาศัย สูง 14 ชั้น

1

1

7-2-58.3 ไร

1,271

1,388.00

มิ.ย. 2550

2550-2551

35

ลุมพินี วิลล ประชาชื่น-พงศเพชร

อาคารชุดพักอาศัย สูง 19 ชั้น

2

1

7-3-83.8 ไร

958

1,360.00

ก.ย. 2550

2550-2552

36

ลุมพินี คอนโดทาวน รัตนาธิเบศร

อาคารชุดพักอาศัย สูง 8 ชั้น

8

1

19-0-59.1 ไร

1,944

1,796.00

ธ.ค. 2550

2550-2552

37

ลุมพินี สวีท ปนเกลา

อาคารชุดพักอาศัย สูง 21 ชั้น

1

1

3-1-67 ไร

547

1,353.00

พ.ย. 2550

2550-2552

38

ลุมพินี วิลล รามคำแหง 26

อาคารชุดพักอาศัย สูง 8 ชั้น

5

1

10-2-74 ไร

998

1,388.00

ก.พ. 2551

2551-2552

39

ลุมพินี เพลส พระราม 8

อาคารชุดพักอาศัย สูง 13 ชั้น

2

1

9-3-4.4 ไร

1,131

1,956.00

มี.ค. 2551

2551-2552

40

ลุมพินี สวีท พระราม 8

อาคารชุดพักอาศัย สูง 12 ชั้น

1

1

1-3-55.9 ไร

182

518.00

มี.ค. 2551

2551-2552

41

ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่

อาคารชุดพักอาศัย สูง 14 ชั้น

1

1

4-1-96.3 ไร

516

925.00

ก.พ. 2552

2552

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

ระยะเวลาพัฒนา 2532-2535

163


รายละเอียดโครงการที่พัฒนาเสร็จสมบูรณของ บริษัท พรสันติ จำกัด ลำดับ

โครงการ

ลักษณะโครงการ

จำนวน อาคาร

จำนวน นิตฯิ

เนือ้ ที่ โครงการ

จำนวน (ยูนติ )

มูลคาโครงการ (ลานบาท)

2

6-2-78.7 ไร

1,548

1,944.00

ระยะเวลา เริม่ เปดขาย 2534

ระยะเวลาพัฒนา 2533-2537

1

พี.เอส.ที. คอนโดวิลล ทาวเวอร 1,2

อาคารชุดพักอาศัย สูง 22 ชั้น

2

2

พี.เอส.ที. มินิออฟฟศ

อาคารกึ่งสำนักงานกึ่งพักอาศัย สูง 7 ชั้น

5

-

4-1-35 ไร

10

131.00

2535

2535-2536

3

พี.เอส.ที. ซิตี้โฮม

อาคารชุดพักอาศัย สูง 29 ชั้น

1

1

4-1-34.2 ไร

764

1,480.00

เม.ย. 2537

2537-2542

4

อาคารพาณิชย ศูยนวัฒนธรรม

อาคารพาณิชย

-

-

0-1-50 ไร

5

41.00

มี.ค. 2550

2550

5

อาคารพาณิชย นวมินทร

อาคารพาณิชย

-

-

34.3 ตร.ว.

1

12.00

มิ.ย. 2551

2550

6.

ทาวนโฮม รามอินทรา-หลักสี่

ทาวนโฮม

-

-

0-0-82 ตร.ว.

4

16.46

ก.ย. 2551

2551-2552

จำนวน (ยูนติ )

มูลคาโครงการ (ลานบาท)

รายละเอียดโครงการรวมทุนที่พัฒนาเสร็จสมบูรณของ บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด ลำดับ

โครงการ

ลักษณะโครงการ

จำนวน อาคาร

จำนวน นิตฯิ

เนือ้ ที่ โครงการ

1

ลุมพินี เพลส วอเตอรคลิฟ

อาคารชุดพักอาศัย สูง 36 ชั้น

4

1

4-0-40.4 ไร

617

1,426.00

2

ลุมพินี ทาวนโฮม รัชดา-พระราม 3

ทาวนเฮาสสูง 4.5 ชั้น

-

1

2-2-2.5 ไร

28

280.00

3

ลุมพินี สวีท รัชดา-พระราม 3

อาคารชุดพักอาศัย สูง 9 ชั้น

1

1

0-3-86 ตร.ว.

53

4

แกรนด เฮอริเทจ ทองหลอ

อาคารชุดพักอาศัย สูง 8 ชั้น

1

1

1-0-1 ไร

74

5

แกรนด พารควิว อโศก

อาคารชุดพักอาศัย สูง 34 ชั้น

1

1

3-1-98 ไร

483

6

พารควิว วิภาวดี 1-3

อาคารชุดพักอาศัย สูง 8 ชั้น

16

3

7-3-25 ไร

959

7

พารควิว วิภาวดี 4

อาคารชุดพักอาศัย สูง 8 ชั้น

1

1

0-3-14 ไร

49

โครงการ

ลักษณะโครงการ

เริม่ เปดขาย พัฒนาและกอสราง มี.ค. 2545 2545 พ.ย. 2545

2545-2547

250.00

ก.ย. 2546

2546-2547

350.00

เม.ย. 2547

2547-2548

1,631.00

มิ.ย. 2547

2547-2549

1,000.00

พ.ย. 2547

2547-2550

64.00

มี.ค. 2551

2551

รายละเอียดโครงการที่ดำเนินการอยูในปจจุบัน ลำดับ

ระยะเวลา

ขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จำนวน จำนวน ขนาดทีด่ นิ จำนวนหนวย อาคาร นิตฯิ โครงการ (ยูนติ )

มูลคา (ลานบาท)

ความคืบหนาโครงการ

ระยะเวลา เริม่ เปดขาย ระยะเวลาพัฒนา ธ.ค. 2551 2551-2553

งานขาย 80%

งานกอสราง 40%

1

ลุมพินี วิลล บางแค

อาคารชุดพักอาศัย สูง 22 ชัน้

1

-

2-0-38 ไร

271

300.00

2

ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา (เฟส 1)

อาคารชุดพักอาศัย สูง 25 และ 30 ชัน้

2

-

15-1-0 ไร

1,165

2,600.00

มิ.ย. 2551

2551-2553

83%

56%

3

4

-

14-2-93.3 ไร

2,568

2,250.00

มิ.ย. 2552

2552-2553

*88%

6%

2

-

5-0-75 ไร

1,028

1,200.00

ก.ค. 2552

2552-2553

58%

6%

5

ลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-นวมินทร* อาคารชุดพักอาศัย สูง 25 ชัน้ อาคารชุดพักอาศัย สูง 29 และ 31 ชัน้ ลุมพินี วิลล ราษฎรบรู ณะ-ริเวอรววิ อาคารชุดพักอาศัย สูง 18 ชัน้ ลุมพินี วิลล ลาดพราว-โชคชัย 4

2

-

7-1-0 ไร

1,026

1,360.00

พ.ย. 2552

2552-2553

100%

0%

6

ลุมพินี พารค ปน เกลา

อาคารชุดพักอาศัย สูง 30 ชัน้

2

-

12-1-87 ไร

2,702

3,600.00

พ.ย. 2552

2552-2554

90%

0%

7

ลุมพินี คอนโดทาวน บางแค

อาคารชุดพักอาศัย สูง 8 ชัน้

4

-

7-3-94 ไร

790

660.00

ม.ค. 2553

2553

0%

0%

8

อาคารพาณิชย พหล-สุทธิสาร 1

อาคารพาณิชย สูง 4 ชัน้

-

-

0-0-49 ไร

1

12.00

ขายยกตึก

2552-2553

0%

54%

9

อาคารพาณิชย พหล-สุทธิสาร 1

อาคารพาณิชย สูง 5 ชัน้

-

-

0-1-87 ไร

1

47.00

ขายยกตึก

2552-2553

100%

4%

4

*ความคืบหนางานขายโครงการลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-นวมินทร คำนวนจากอาคาร A,B,C

164

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


งานที่ยังไมสงมอบ

รายละเอียดโครงการที่ยังไมสงมอบ ลำดับ

2553

กอนป 2552

ขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

ลุมพินี พารค ปนเกลา ลุมพินี วิลล ลาดพราว-โชคชัย 4 ลุมพินี วิลล ราษฎรบูรณะ-ริเวอรวิว ลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-นวมินทร ลุมพินี วิลล บางแค ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา (เฟส 1) ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ ลุมพินี สวีท พระราม 8 ลุมพินี เพลส พระราม 8 ลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 ลุมพินี คอนโดทาวน รัตนาธิเบศร ลุมพินี สวีท ปนเกลา ลุมพินี วิลล ประชาชื่น-พงศเพชร อื่นๆ

จำนวน (ยูนติ )

มูลคา (ลานบาท)

2,380 1,206 597 1,438 215 962 220 68 295 27 90 1 6 66 7,571

3,314.00 1,360.00 718.00 1,303.00 239.00 2,347.00 381.00 155.00 531.00 42.00 86.00 5.00 10.00 79.00 10,570.00

คาดวาจะรับรูร ายไดในป 2553 2554 3,314.00 1,360.00 718.00 1,303.00 239.00 2,347.00 381.00 155.00 531.00 42.00 86.00 5.00 10.00 79.00 7,256.00 3,314.00

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

อยูในระหวางการโอน

2552

โครงการ

อยูในระหวางการกอสราง

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

โครงการ สรางเสร็จป 2554

165


·ÃѾ ÊÔ¹·Õè㪌㹡ÒûÃСͺ¸ØáԨ ลักษณะสำคัญของทรัพยสินถาวร ที่ดินและอาคาร รายการทรัพยสิน

ที่ตั้ง

บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 1. ทรัพยสินเพื่อใหเชา โครงการลุมพินี ทาวเวอร โครงการแอล.พี.เอ็น.ทาวเวอร โครงการสี่พระยา ริเวอรวิว โครงการลุมพินี เซ็นเตอร เฟส 4 (อาคาร E1,2) โครงการลุมพินี เพลส สาทร (อาคาร C-D) โครงการลุมพินี เพลส สาทร (อาคาร E) โครงการลุมพินี พลาซา อโศก โครงการลุมพินี วิลล พระแมมารี-สาทร โครงการลุมพินี วิลล สุขุมวิท 77 โครงการลุมพินี เพลส ปนเกลา โครงการลุมพินี เพลส ปนเกลา 2 โครงการลุมพินี สวีท ปนเกลา โครงการลุมพินี วิลล ศูนยวัฒนธรรม โครงการลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจาพระยา โครงการลุมพินี เพลส พหล-สะพานควาย โครงการลุมพินี เพลส รัชดา-ทาพระ โครงการลุมพินี คอนโดทาวน บดินทรเดชา-รามคำแหง โครงการลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-หลักสี่ โครงการลุมพินี วิลล ประชาชื่น-พงษเพชร โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รัตนาธิเบศร รวมทรัพยสินเพื่อใหเชา 2. ทรัพยสินสำนักงาน โครงการลุมพินี ทาวเวอร รวมทรัพยสินสำนักงาน 3. ทรัพยสินเพื่อขาย โครงการสี่พระยา ริเวอรวิว โครงการลุมพินี เพลส พระราม 3-เจริญกรุง โครงการลุมพินี สวีท ปนเกลา โครงการลุมพินี เพลส รัชดา-ทาพระ โครงการลุมพินี เพลส รัชดา-ทาพระ (อาคาร C) โครงการลุมพินี วิลล รามคำแหง 44 โครงการลุมพินี คอนโดทาวน บดินทรเดชา-รามคำแหง โครงการลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-หลักสี่ โครงการลุมพินี วิลล รามอินทรา-หลักสี่ โครงการลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ โครงการลุมพินี วิลล ประชาชื่น-พงษเพชร โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รัตนาธิเบศร โครงการลุมพินี สวีท พระราม 8 โครงการลุมพินี เพลส พระราม 8 รวมทรัพยสินเพื่อขาย 166

เนื้อที่โครงการ พื้นที่โครงการ

มูมูลคลคาตาม บัญาชีตาม ญชี (ลาบันบาท) (ลานบาท)

ราคาประเมิน (ลานบาท)

3,945.02 799.56 4,344.73 149.20 184.14 2,238.55 12,633.60 44.92 176.81 65.74 311.13 310.69 443.19 927.29 120.52 172.50 820.65 32.11 150.27 152.50 190.30

ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม.

59.36 18.82 14.64 2.12 7.35 89.24 258.14 1.94 5.79 3.29 13.28 17.03 18.77 40.33 4.99 5.25 22.12 0.88 4.53 5.09 5.89 598.85

86.87 30.20 14.96 3.84 9.90 113.64 304.70 2.01 8.98 5.18 20.22 24.89 26.60 60.27 7.84 10.20 31.63 1.77 5.88 8.32 7.81 785.44

ถ.พระราม 4

1,340.58

ตร.ม. ตร.ม.

35.12 35.12

35.65 35.65

ถ.โยธา ถ.พระราม 3 ถ.บรมราชชนนี ถ.รัชดาภิเษก ถ.รัชดาภิเษก ถ.รามคำแหง ถ.รามคำแหง ถ.รามคำแหง ถ.รามอินทรา ถ.รามอินทรา ถ.รามอินทรา ถ.ประชาชื่น ถ.รัตนาธิเบศร ถ.พระราม 8 ถ.พระราม 8

64.71 60.42 382.25 1,619.69 30.71 128.58 3,730.02 4,199.84 564.21 334.49 11,374.43 304.00 22,124.74 3,445.24 20,177.87

ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม. ตร.ม

2.94 2.81 16.74 50.66 0.84 3.61 76.80 114.93 11.70 8.32 398.60 8.64 458.35 144.53 695.62 1,995.09

2.94 2.81 24.55 80.57 0.84 5.48 122.68 194.27 18.71 12.05 552.08 12.29 795.87 195.54 995.56 3,016.24

ถ.พระราม 4 ถ.รัชดาภิเษก ถ.โยธา ถ.แฮปปแลนด สาย 1 ถ.นราธิวาสราชนครินทร ถ.นราธิวาสราชนครินทร ถ.รัชดาภิเษก ถ.สาทร ซ.สุขุมวิท 77 ถ.บรมราชชนนี ถ.บรมราชชนนี ถ.บรมราชชนนี ซ.เหมงจาย ถ.พระราม 3 ถ.ประดิพัทธ ถ.รัชดาภิเษก ถ.รามคำแหง ถ.รามคำแหง ถ.รามอินทรา ถ.ประชาชื่น ถ.รัตนาธิเบศร

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

ผูประเมินราคา

ภาระผูกพัน ภาระผูกพัน

*Agency ฯ, ราคาตลาด SCIB , BAY SCIB Agency For Real Estate ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด SCIB ราคาตลาด KBANK **ที.เอ.มาเนจเมนทฯ ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด -

*Agency ฯ,ราคาตลาด

SCIB , BAY

ราคาตามบัญชี ราคาตามบัญชี ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด ราคาตลาด

-


รายการทรัพยสิน

4. ทรัพยสินอยูระหวางการพัฒนา โครงการลุมพินี พารค ปน เกลา โครงการลุมพินี เพลส พระราม 9 โครงการลุมพินี เพลส พระราม 9 เฟส 2 โครงการลุมพินี วิลล บางแค โครงการลุมพินี คอนโดทาวน บางแค โครงการลุมพินี วิลล ราษฎรบรู ณะ โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-นวมินทร (อาคาร A, B) โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-นวมินทร (อาคาร C) โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-นวมินทร (อาคาร D) โครงการลุมพินี วิลล ลาดพราว-โชคชัย 4 รวมทรัพยสินอยูระหวางการพัฒนา 5. ทรัพยสินรอการพัฒนา โครงการบานลุมพินี บางบัวทอง 3 โครงการลุมพินี เพลส สาทร โครงการลุมพินี เพลส สาทร โครงการ ปน เกลา รวมทรัพยสินรอการพัฒนา รวมทรัพยสินของ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) (1) บริษัท พรสันติ จำกัด 1. ทรัพยสินเพื่อใหเชา โครงการพี.เอส.ที. คอนโดวิลล ทาวเวอร 1 โครงการพี.เอส.ที. คอนโดวิลล ทาวเวอร 2 โครงการพี.เอส.ที. ซิตี้โฮม รวมทรัพยสินเพื่อใหเชา 2. ทรัพยสินเพื่อขาย โครงการทาวนโฮม รามอินทรา-หลักสี่ รวมทรัพยสินเพื่อขาย 3. ทรัพยสินอยูระหวางการพัฒนา โครงการอาคารพาณิชย พหล-สุทธิสาร 1 โครงการอาคารพาณิชย พหล-สุทธิสาร 2 โครงการอาคารพาณิชย ปนเกลา รวมทรัพยสินอยูระหวางการพัฒนา 4. ทรัพยสินรอการพัฒนา โครงการอาคารพาณิชย รัชดา-ลาดพราว รวมทรัพยสินรอการพัฒนา รวมทรัพยสินของ บริษัท พรสันติ จำกัด (2) รวมทรัพยสินของ บริษัท (1) + (2)

ที่ตั้ง

มูลคาตาม มูบัลญคชีาตาม (ลาบันบาท) ญชี (ลานบาท)

เนื้อที่โครงการ พื้นที่โครงการ

ราคา ประเมิน (ลานบาท)

ผูประเมินราคา

ภาระผูกพัน ภาระผูกพัน

Sims Property ราคาตลาด ราคาตามบัญชี ราคาตลาด ราคาตามบัญชี ราคาตามบัญชี ราคาตลาด

KBANK KBANK ACL SCIB BBL

ถ.บรมราชชนนี ถ.พระราม 9 ถ.พระราม 9 ถ.สุขาภิบาล 1 ถ.สุขาภิบาล 1 ถ.ราษฎรบูรณะ ถ.รามอินทรา

12-3-88.60 7-1-68.13 7-3-18.87 2-38 7-3-94 5-75 6-1-51.58

ไร ไร ไร ไร ไร ไร ไร

507.55 1,132.16 394.81 97.75 102.99 137.74 131.00

570.75 1,493.94 394.81 103.34 102.99 137.74 162.16

ถ.รามอินทรา

3-3-67.69

ไร

70.18

81.33

ราคาตลาด

BBL

ถ.รามอินทรา

4-1-74.63

ไร

68.01

74.53

Sims Property

BBL

7-1-70

ไร

234.79 2,876.98

237.60 1,691.42

UK

CIMB

ถ.ลาดพราว

บางบัวทอง ถ.นราธิวาสราชนครินทร ถ.นราธิวาสราชนครินทร ถ.บรมราชชนนี

11,466.60 996.40 73.00 103.00

ตารางวา ตารางวา ตารางวา ตารางวา

165.09 241.72 7.36 6.27 420.44 5,926.48

154.20 241.72 7.36 6.27 409.55 7,606.07

ซาลแมนน (ฟารอีสท) ราคาตามบัญชี ราคาตามบัญชี ราคาตามบัญชี

SCIB SCIB -

ซ.นาคสุวรรณ ซ.นาคสุวรรณ ซ.นาคสุวรรณ

278.45 ตารางเมตร 136.71 ตารางเมตร 11,637.89 ตารางเมตร

0.89 4.70 81.52 87.11

2.20 6.39 98.50 107.09

ราคาตลาด ราคาตลาด เอส แอนด พี

SCIB

ถ.รามอินทรา

16.50

ตารางวา

2.74 2.74

2.74 2.74

ราคาตามบัญชี

-

ถ.พหลโยธิน ถ.พหลโยธิน ถ.ปนเกลา

49.40 187.10 130.00

ตารางวา ตารางวา ตารางวา

10.13 28.94 0.50 39.57

10.13 28.94 0.50 39.57

ราคาตามบัญชี ราคาตามบัญชี ราคาตามบัญชี

-

ถ.ลาดพราว

1,682.50

ตารางวา

126.77 126.77 256.19 6,182.67

126.77 126.77 276.17 7,882.24

ราคาตามบัญชี

-

*Agency For Real Estate, ราคาตลาด **ที.เอ.มาเนจเมนท คอรโปเรชั่น (1999)

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

167


¡ÒáٌÂ×Áà§Ô¹¢Í§ºÃÔÉÑ· รายการกูยืม บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ลำดับ =

สถาบัน

ประเภท การกูยืม

วงเงิน (ลานบาท)

ยอดคงคาง (ลานบาท)

สัดสวน รอยละ

อัตราดอกเบี้ย เฉลี่ยรอยละ

1

เงินกูยืม 6 สถาบันการเงิน

เงินกู

4,204.00

986.00

23.45

4.42%

4,204.00

986.00

23.45

รวม

สถาบันการเงินที่ติดตอ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 (หนวย : ลานบาท) ลำดับ

สถาบันการเงิน

จำนวนเงิน

1

เงินฝากกับสถาบันการเงิน 10 แหง

992.15

รวม

992.15

168

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

(หนวย : ลานบาท) หลักประกัน ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง


·ÕèÍÂÙ‹â¤Ã§¡Òà อาคารชุดสำนักงาน

อาคารชุดพักอาศัยภายใตแบรนด “ลุมพินี เพลส”

ลุมพินี ทาวเวอร 1168 ถนนพระราม 4 ทุงมหาเมฆ สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 677-6356-7, (02) 286-9855 โทรสาร (02) 286-9856

ลุมพินี เพลส สาทร 124 ถนนนราธิวาสราชนครินทร ทุงวัดดอน สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 287-4567 โทรสาร (02) 287-4257

แอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร ถนนนางลิ้นจี่ ชองนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 285-4225-6 โทรสาร (02) 285-4089

ลุมพินี เพลส สวนพลู-สาทร 435 ซอยสวนพลู 8 ถนนสาทร 3 ทุงมหาเมฆ สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 286-1585 โทรสาร (02) 286-1850

อาคารชุดพักอาศัย ลุมพินี เพลส 216 ซอยไกรสีห ถนนศรีบำเพ็ญ ทุงมหาเมฆ สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 671-1368-70 โทรสาร (02) 249-1793 สี่พระยา ริเวอรวิว 108 ถนนโยธา ตลาดนอย สัมพันธวงศ กรุงเทพฯ 10100 โทร. (02) 639-5002-4 โทรสาร (02) 639-5004 พี.เอส.ที. คอนโดวิลล ทาวเวอร 1 118 ซอยนาคสุวรรณ ถนนนนทรี ชองนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ10120 โทร. (02) 681-3112-3 โทรสาร (02) 681-3113 พี.เอส.ที. คอนโดวิลล ทาวเวอร 2 120 ซอยนนทรี 14 ถนนนนทรี ชองนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 681-3523-5 โทรสาร (02) 681-3524 พี.เอส.ที. ซิตี้โฮม 128 ซอยนนทรี 14 ถนนนนทรี ชองนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 681-3501, (02) 681-3505 โทรสาร (02) 681-3509

ลุมพินี เพลส พระราม 4-สาทร 164 ซอยศรีบำเพ็ญ ถนนพระราม 4 ชองนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 350-2895 โทรสาร (02) 350-2897 ลุมพินี เพลส นราธิวาส 24 253,255 ถนนสาธุประดิษฐ ชองนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 211-4351 โทรสาร (02) 211-4375 ลุมพินี เพลส พระราม 3-เจริญกรุง 101 ถนนพระราม 3 บางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 291-8632, (02) 291-9333 โทรสาร (02) 291-8607 ลุมพินี เพลส นราธิวาสราชนครินทร 471 อาคาร A ชั้น G ถนนนราธิวาสราชนครินทร ชองนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 294-6877 โทรสาร (02) 294-6876 ลุมพินี เพลส พระราม 3-ริเวอรวิว 297 ถนนพระราม 3 บางโคล บางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 291-9915, (02) 291-9918 โทรสาร (02) 291-9923 ลุมพินี เพลส ปนเกลา 28 ถนนบรมราชชนนี บางบำหรุ บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทร. (02) 458-3111-2 โทรสาร (02) 458-3113

อาคารชุดพักอาศัยภายใตแบรนด “ลุมพินี สวีท” ลุมพินี สวีท สุขุมวิท 41 28 ถนนสุขุมวิท 41 คลองตันเหนือ วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. (02) 261-9330 โทรสาร (02) 261-9331 ลุมพินี สวีท ปนเกลา ถนนบรมราชชนนี บางยี่ขัน บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทร. (02) 434-2244, (02) 434-1140-2 โทรสาร (02) 434-2211 ลุมพินี สวีท พระราม 8 ถนนอรุณอมรินทร บางยี่ขัน บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทร (02) 434-2004 โทรสาร (02) 434-2005

ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจาพระยา 78 ถนนพระราม 3 ชองนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 293-1111 โทรสาร (02) 293-1234 ลุมพินี เพลส พหล-สะพานควาย 171 ถนนประดิพัทธ สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. (02) 279-1010 โทรสาร (02) 279-1180 ลุมพินี เพลส รัชดา-ทาพระ 18 ถนนรัชดาภิเษก (ทาพระ-ตากสิน) บุคคโล ธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 โทร. (02) 466-1144 กด 333, (02) 460-2250 โทรสาร (02) 466-1145

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

169


ลุมพินี เพลส ปนเกลา 2 89 ถนนบรมราชชนนี อรุณอมรินทร บางกอกนอย กรุงเทพฯ 10700 โทร. (02) 433-2551, (02) 433-4444 โทรสาร (02) 433-2552 ลุมพินี เพลส พระราม 8 ถนนอรุณอมรินทร บางยี่ขัน บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทร. (02) 434-2004 โทรสาร (02) 434-2005 ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา ถนนพระราม 9 แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. (02) 248-1555 โทรสาร (02) 248-8222 ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ 20 ถนนรามอินทรา อนุสาวรีย บางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. (02) 552-4242 โทรสาร (02) 552-4646

ลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 59/1179 ถนนกรุงเทพกรีฑา รามคำแหง 26 หัวหมาก บางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทร. (02) 300-0500 โทรสาร (02) 300-0504 ลุมพินี วิลล บางแค ถนนสุขาภิบาล 1 บางแค ภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 โทร. (02) 413-4455 โทรสาร (02) 413-4446 อาคารชุดพักอาศัยภายใตแบรนด “ลุมพินี เซ็นเตอร” ลุมพินี เซ็นเตอร แฮปปแลนด อาคาร A, B, C, F, G, H 556/1, 560/1, 568/1,432/1, 582/1, 580/1 ซอยศูนยการคาแฮปปแลนด 1 คลองจั่น บางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทร. (02) 374-7270-1 โทรสาร (02) 374-7270

อาคารชุดพักอาศัยภายใตแบรนด “ลุมพินี วิลล” ลุมพินี วิลล พระแมมารี-สาทร 88 ซอยจันทร 27 ถนนจันทน ทุงวัดดอน สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) -212-4515 โทรสาร (02) 212-4375 ลุมพินี วิลล พหล-สุทธิสาร 23 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. (02) 278-4125 โทรสาร (02) 278-4128 ลุมพินี วิลล สุขุมวิท 77 615 ถนนออนนุช 3-5 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทร. (02) 332-3004-5 โทรสาร (02) 332-3805 ลุมพินี วิลล ศูนยวัฒนธรรม 601 อาคาร C ถนนประชาอุทศิ สามเสนนอก หวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. (02) 274-4212 โทรสาร (02) 274-4210-11 ตอ 5134 ลุมพินี วิลล รามคำแหง 44 11 ซอยรามคำแหง 44 ถนนรามคำแหง หัวหมาก บางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทร. (02) 370-4444 โทรสาร (02) 370-4443 ลุมพินี วิลล รามอินทรา-หลักสี่ 2 ถนนรามอินทรา อนุสาวรีย บางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. (02) 197-9383- 4 โทรสาร (02) 197-9090 ลุมพินี วิลล ประชาชื่น-พงษเพชร 93 หมู 9 ถนนประชาชื่น บางเขน นนทบุรี 11000 โทร. (02) 149-3000 โทรสาร (02) 149-3001

170

อาคาร D2 335/1 ซอยศูนยการคาแฮปปแ ลนด 1 คลองจัน่ บางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทร. (02) 374-6301 โทรสาร (02) 377-3072 อาคาร E 557 ซอยศูนยการคาแฮปปแลนด 1 คลองจั่น บางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทร. (02) 377-9395-6 โทรสาร (02) 378-4370 ลุมพินี เซ็นเตอร ลาดพราว 111 อาคาร A, B, C, D 58, 60, 62, 64 ซอยลาดพราว 111 ถนนลาดพราว คลองจั่น บางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทร. (02) 370-2698, (02) 370-2530 โทรสาร (02) 370-2606 อาคาร E,F,G 3041,3033 ซอยอยูเย็น 111 ถนนลาดพราว คลองจั่น บางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทร. (02) 374-8394-5 โทรสาร (02) 374-8395 ลุมพินี เซ็นเตอร สุขุมวิท 77 อาคาร A, B, C, D, E 567, 573, 577, 591, 595 ซอยออนนุช 3-5 ถนนสุขุมวิท 77 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทร. 02-332-3803-4 โทรสาร 02-332-3805 ลุมพินี เซ็นเตอร นวมินทร 821 ซอยศูนยการคาแฮปปแ ลนดสาย 1 คลองจัน่ บางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทร. (02) 184-6118 โทรสาร (02) 184-6248

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)


อาคารชุดพักอาศัยภายใตแบรนด “ลุมพินี คอนโดทาวน” ลุมพินี คอนโดทาวน บดินทรเดชา-รามคำแหง ซอยรามคำแหง 43/1 วังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. (02) 539-8811, (02) 539-8883 โทรสาร (02) 539-7277

แกรนด พารควิว อโศก 189 ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. (02) 261-3218-9 โทรสาร (02) 258-0506

ลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-หลักสี่ ถนนรามอินทรา อนุสาวรีย บางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. (02)-197-9222 โทรสาร (02)-197-9221

พารควิว วิภาวดี 1 ถนนกำแพงเพชร 6 สีกัน ดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 โทร. (02) 573-3401-3 โทรสาร (02) 573-3401 หนวยงานอื่นๆ

ลุมพินี คอนโดทาวน รัตนาธิเบศร 141 ถนนรัตนาธิเบศร อำเภอเมือง นนทบุรี 11000 โทร. (02) 149-5000 โทรสาร (02) 149-5002

สำนักงานขายกลาง อยูใ นบริเวณเดียวกับโครงการลุมพินี เพลส สาทร ติดหางแมคโคร ออฟฟศ สาทร ถนนนราธิวาสราชนครินทร โทร. (02) 287-3388 โทรสาร (02) 287-3377

ทาวนเฮาส บานลุมพินี บางบัวทอง เฟส 1, 2 222 ถนนตลิ่งชัน-บางบัวทอง บางบัวทอง นนทบุรี 11110 โทร. (02) 285-5011-6, (02) 923-4527-8 เซอรวิส อพารตเมนท ลุมพินี เรสซิเดนซ สาทร 222 ถนนราธิวาสราชนครินทร ทุงวัดดอน สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 287-3330 โทรสาร (02) 287-3444 โครงการในนามบริษทั รวมทุน ลุมพินี เพลส วอเตอรคลิฟ 1, 2 427,421 ถนนสาธุประดิษฐ ชองนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10100 โทร. (02) 673-5596-7, (02) 673-6360-1 โทรสาร (02) 673-5595, (02) 673-6362 ลุมพินี สวีท รัชดา-พระราม 3 441 ถนนสาธุประดิษฐ ชองนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 212-7909 โทรสาร (02) 212-7908 ลุมพินี ทาวนโฮม รัชดา-พระราม 3 431 ถนนสาธุประดิษฐ ชองนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. (02) 211-9221 โทรสาร (02) 673-5595 แกรนด เฮอริเทจ ทองหลอ 21 ซอยอรรคพัฒน (ทองหลอ 13) ถนนสุขุมวิท 55 คลองตันเหนือ วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. (02) 390-0910 โทรสาร (02) 390-0911

ÃÒ§ҹ»ÃШӻ‚ 2552 ºÃÔÉÑ· áÍÅ.¾Õ.àÍç¹.´ÕàÇÅÅÍ»àÁ¹· ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹)

171


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.