3
ผลการดำเนินงานของบริษทั ในป 2551 นับเปนเวลากวาทศวรรษทีบ่ ริษทั แอล.วี.เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) ไดมงุ มัน่ พัฒนาและเติบโตอยางตอเนือ่ งในการให บริการดานทีป่ รึกษาทางวิศวกรรม การออกแบบและรับจางผลิตอุปกรณ เพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานและประหยัดพลังงาน โดยการนำเทคโนโลยีทไี่ ดรบั การพัฒนาและคิดคนโดยบริษทั มาปรับใชกบั กระบวนการคัดแยกขนาดในการผลิต ทัง้ ในอุตสาหกรรม ซิเมนต อุตสาหกรรมเหมืองแร และอุตสาหกรรมพลังงาน เปนตน สำหรับการดำเนินงาน ในป 2551 นับเปนปทนี่ า จดจำอยางยิง่ ดวยเปนปทบี่ ริษทั มีรายไดและผลกำไรสุทธิสงู ทีส่ ดุ ในรอบ 12 ป นับตัง้ แตกอ ตัง้ โดยรายไดจากการดำเนินงานของบริษทั ในป 2551 จำนวน 1,378.8 ลานบาท เมือ่ เปรียบเทียบกับป 2550 จำนวน 434.8 ลานบาท มีการขยายตัว คิดเปนรอยละ 217.1 ทัง้ นีบ้ ริษทั มีกำไรสุทธิของป 2551 จำนวน 100.2 ลานบาท ขณะที่ ป 2550 บริษทั มีผลกำไรสุทธิ เทากับ 46.4 ลานบาท บริษทั ใหความสำคัญตอการพัฒนาความสามารถและประสิทธิภาพของบุคคลากรอยางตอเนือ่ ง เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพโดย รวมของบริษทั พรอมทัง้ การบริหารจัดการธุรกิจดวยการกำกับดูแลทีด่ ี มีความโปรงใสและมงุ สรางประโยชนแกผถู อื หนุ และผมู สี ว น ไดเสียทุกสวน
บริษทั รวมทุน ในป 2551 บริษทั ไดรบั การอนุมตั จิ ากทางการประเทศบราซิล ใหรว มลงทุนในบริษทั แอลวี ลาติโน อเมริกา อีควิปาเมนโตส อินดัสเตรียล จำกัด เมืองเซา เปาโล โดยมีสัดสวนการถือหุนรอยละ 50 เพื่อรวมการขยายธุรกิจและสรางยอดขายใน ภูมิภาคอเมริกาใต แอลวี ลาติโน มีผลการดำเนินงานในชวงเริ่มตนนาพอใจ สามารถสรางสวนแบงกำไรใหแกบริษัท จำนวน 7.5 ลานบาท สำหรับ บริษทั แอล เอ็น วี เทคโนโลยี ไพรเวท จำกัด ประเทศอินเดีย ซึง่ บริษทั ถือหนุ อยรู อ ยละ 49 กลาวไดวา เปนปที่ มีผลประกอบการดีทสี่ ดุ เชนกัน บริษทั ไดรบั สวนแบงกำไรเทากับ 120.7 ลานบาท แนวโนมในป 2552 บริษทั แอล เอ็น วี เทคโนโลยี ไพรเวท จำกัด จะสามารถมีผลประกอบการทีด่ ี แตอาจจะชะลอตัวลงกวาปทผี่ า นมา บริษัท บีแอลวีที แอลแอลซี ในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งบริษัทถือหุนรอยละ 33.33 มีสวนแบงกำไรในปนี้ เทากับ 1.7 ลานบาท บริษทั แอล วี เทคโนโลยี เอ็นจิเนียริง่ จำกัด บริษทั รวมทุนในประเทศจีน ซึง่ บริษทั ถือหนุ รอยละ 50 เริม่ มีการดำเนินการ ใน 2 โครงการแรกของบริษทั ซึง่ มีความคืบหนาดวยดี สวนแบงกำไรทีบ่ ริษทั ไดรบั เทากับ 3.8 ลานบาท 4
Work Operation in 2008 It is now over a decade that L.V. Technology Public Company Limited or LVT has been determined in making development and putting forth unceasing growth in offering consultancy services in engineering and designs and engaging in the production of equipment intended to improve efficiency of the operation and reduce electricity consumption. These endeavours have been materialised through the application of technologies invented and developed by the Company to the sizing process in various industries such as the cement industry, mining industry and energy industry. LVT’s operation throughout 2008 is actually well memorable, with its highest revenue and net profit over 12 years since its incorporation. In 2008, the Company generated the total revenue of 1,378.8 million Baht in comparison with the sum of 434.8 million Baht generated in 2007, hence the growth by 217.1 percent. In this connection, LVT’s net profit in 2008 stands as high as 100.2 million Baht whilst the 2007 figure totaled 46.4 million Baht. The Company has attached significant importance to the incessant development of its personnel’s ability and efficiency with a view to enhancing its overall business efficacy. Particular attention has also been dedicated to business administration based upon good corporate governance, transparency and commitment towards maximised benefits of shareholders as well as all stakeholders.
Associate Companies In 2008, the Company has, upon approval from the Government of Brazil, invested in LV Latino America Equipamentos Industrial Limited Company (LVLA) located in So Paulo, with the shareholding of 50 percent, in an effort to expand its business and engender its sales volume in South America. LVLA’s operation in its start-up period has turned out satisfactory, with the profit-share of 7.5 million Baht being integrated into LVT’s revenue. With respect to LNV Technology Private Limited (LNV) in India, 49 percent of shares of which are owned by LVT, we also witness its best business operation in 2008, as to which LVT has obtained the profit-share in an amount equivalent to 120.7 million Baht. It is anticipated that in 2009 LNV will maintain its fine result of business operation, despite lesser achievement than the previous year.
5
บริษทั แอล วี ยุโรป เอส เอ จำกัด ในประเทศฝรัง่ เศส ซึง่ บริษทั ถือหนุ อยรู อ ยละ 92 ยังคงมีงานโครงการของประเทศ แอลจีเรีย ซึง่ อยใู นระหวางการเตรียมการติดตัง้ เครือ่ งจักรและอุปกรณในเดือนพฤษภาคม 2552 ในปทผี่ า นมาบริษทั มีสว นแบง ขาดทุน 3.2 ลานบาท
สภาวะทางธุรกิจ วิกฤติทางการเงินในประเทศสหรัฐอเมริกาและยุโรปคาดวาจะมีผลกระทบอยางกวางขวางตอการตัดสินใจลงทุนทัว่ โลก อันทีจ่ ริงแลวในปตอ ๆ ไปนีก้ ารลงทุนในบริษทั ใหม ๆ ทีผ่ ลิตซิเมนตคงจะชะลอตัวเปนอยางมาก แมจะมีวกิ ฤติการณทางการเงินของโลก แตแอลวีทแี ทบจะไมไดรบั ผลกระทบอยางรุนแรงดังเชนทีบ่ ริษทั ใหญทวั่ ไปตองเผชิญ ทัง้ นี้ เนือ่ งจากรายไดหลักของบริษทั มาจากการปรับปรุงโรงงานทีม่ อี ยแู ลว อยางไรก็ตาม ในปตอ ๆ ไปคาดวาบริษทั แอลเอ็นวีในประเทศอินเดียจะเริม่ ชะลอตัวในขณะทีบ่ ริษทั แอลวีแอลเอในประเทศ บราซิลยังคงมีการเติบโตทางธุรกิจอยเู ชนเดิม บริษทั จำเปนตองมงุ เนนโครงการขนาดเล็ก ทวายังคงมีโครงการขนาดใหญทมี่ ศี กั ยภาพ ในอีกหลายประเทศทีไ่ มไดรบั ผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจของโลกมากนัก เพือ่ ความเจริญเติบโตทีย่ งั่ ยืน บริษทั จะยังคงเดินหนาทำการตลาดในภูมภิ าคอเมริกาใต ทัง้ ในตลาดเดิมทีป่ ระสบความสำเร็จ มาแลวและตลาดใหม รวมทัง้ กลมุ ตลาดในเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต ตะวันออกกลาง รัสเซีย และกลมุ ประเทศที่ เคยอยใู นการปกครองของรัสเซีย โดยตระหนักถึงความเสีย่ งทีม่ าจากดานเศรษฐกิจและการเมือง คณะกรรมการขอขอบคุณมายังผถู อื หนุ ทุกทานทีใ่ หการสนับสนุนเสมอมาตอการพัฒนาของบริษทั ณ โอกาสนี้
6
ุ อยมู นั่ นายองคคณ
นายชูชาติ บุนนาค
ประธานกรรมการ
กรรมการผจู ดั การ
BLVT, LLC in the United States of America, of which LVT holds 33.33 percent of shares, has gained the profit-share of 1.7 million Baht this year. LV Technology Engineering Company Limited, an associate company in People’s Republic of China, of which LVT owns 50 percent of shares, has successfully embarked on its first 2 projects, with the aggregate amount of 3.8 million Baht acquired as the profit-share for the present year. LV Europe SA in France, 92 percent of shares of which are held by LVT, remains active in its project in Algeria and now prepares the installation of machinery and equipment expected to be put in place in May 2009. Over the year, a loss-share in an amount of 3.2 million Baht has emerged on the part of LVT from this business ally.
Business Outlook The financial crises in the United States of America and Europe are expected to have extensive impacts on overall investment decisions all over the world and, indeed, the coming years will witness a considerable downturn in investments in new cement factories. Despite such worldwide financial crises, LVT is most unlikely to run into such severe impacts as in the case of big corporate entities in general, simply because the largest part of its revenue is from modifications of existing factories. It is, however, expected that in the coming years certain economic downturn will be visualised with respect to business activities in LNV (in India) whilst LVLA (in Brazil) will maintain its business growth. LVT will, therefore, have to concentrate on smaller projects; yet, there remain some potential larger projects in countries not rigorously stricken by the global financial crises. For sustainable growth, this Company will remain firm in its assiduous efforts in penetrating markets in South America, both successfully secured markets and new markets, as well as in East Asia, Southeast Asia, the Middle East, Russia and countries separated from Russia, having regard to economic and political risks. The Board of Directors should like to avail itself of this opportunity to extend most sincere and heart-felt thanks to all shareholders for unfailing support well contributory to the development of the Company as a whole.
Mr. Ongkoon Youman
Mr. Chuchat Bunnag
Chairman of the Board of Directors
Managing Director
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
กาวแรกของบริษทั ดวยวิสยั ทัศนอนั กวางไกลทีเ่ ล็งเห็นศักยภาพของธุรกิจเกีย่ วกับอุตสาหกรรมซิเมนต อีกทัง้ เล็งเห็นถึงแนวโนมทางการ ตลาดทีม่ โี อกาสจะเติบโตขึน้ วิศวกรชาวเดนมารก นายแฮนส จอรเกน เนียลเซน จึงไดจดั ตัง้ บริษทั เล็กๆ ขึน้ มาในป พ.ศ. 2539 ดวยเงินทุนจดทะเบียนเพียงแค 1 ลานบาท เพือ่ ใหบริการดานวิศวกรรมเกีย่ วกับอุตสาหกรรมซิเมนต รวมถึงการออกแบบและ พัฒนาแนวคิดใหมๆ ในขบวนการบดวัตถุดบิ บริษทั แอล.วี.เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) หรือ แอลวีที ใหบริการทีป่ รึกษาทางวิศวกรรม และการออกแบบและรับจาง ผลิตอุปกรณเพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครือ่ งจักร และเพือ่ ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพของการผลิตพรอมกับลดการใชพลังงานไฟฟา ทำใหลกู คาสามารถลดตนทุนการผลิตและเพิม่ ความสามารถในการผลิตไดอกี รอยละ 15-30 ซึง่ เปนการชวยเพิม่ ความสามารถใน การทำกำไรของอุตสาหกรรมอีกดวย นอกจากนัน้ ยังนำไปปรับใชกบั อุตสาหกรรมอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของกับการคัดแยกขนาดของวัตถุดบิ ไดอกี ดวย เชน อุตสาหกรรมเหมืองแร เปนตน
พัฒนาการสคู วามเติบโต นับเปนเวลากวา 12 ปที่ธุรกิจของบริษัทเติบโตขึ้นอยางตอเนื่อง จากการขยายตลาดในภูมิภาคเอเชีย และเปดตลาด สภู มู ภิ าคอืน่ ๆ เชน ตะวันออกกลาง ยุโรป และอเมริกาเหนือ แอลวีที ไดตกลงเปนพันธมิตรทางธุรกิจกับ เอฟ.แอล.สมิทธ แหง ประเทศเดนมารกในป พ.ศ.2542 ภายใตขอ ตกลงทางการคา และเงือ่ นไขตางๆ จากการเปนพันธมิตรตอกัน ทำให แอลวีที ไดรบั การจัดสรรสวนแบงกำไรจาก เอฟ.แอล.สมิทธ รวมถึงคาตอบแทนทางวิศวกรรมสำหรับการใหบริการทางดานวิศวกรรม (Engineering Fee) กับลูกคาของเอฟ.แอล.สมิทธ และหาก เอฟ.แอล.สมิทธ มีความประสงคทจี่ ะจัดซือ้ เทคโนโลยีจาก แอลวีที เพือ่ ใหบริการทางวิศวกรรม กับลูกคาของ เอฟ.แอล.สมิทธ โดยตรง แอลวีที ก็จะยังคงไดรบั คาตอบแทนในรูปของ Royalty Fee อีกดวย ไมเพียงแคการตกลงเปนพันธมิตรกับ เอฟ.แอล.สมิทธ ในประเทศเดนมารกเทานั้น แอลวีที ยังไดจับมือทางธุรกิจกับ บริษัท UBE เพื่อใหดูแลตลาดในประเทศญี่ปุน ซึ่งบริษัทจะไดรับคาตอบแทนทั้งในลักษณะของคาตอบแทนทางวิศวกรรม (Engineering Fee) และ Royalty Fee เชนกัน ในป พ.ศ. 2544 แอลวีที ไดจดั ตัง้ บริษทั แอลเอ็นวี เพือ่ เปนพันธมิตรทางธุรกิจในประเทศอินเดีย และจากการเปนพันธมิตร ตอกันครัง้ นี้ แอลวีที จะไดรบั คาตอบแทนจากบริษทั นีใ้ นรูปของคาลิขสิทธิ์ (License Fee) หลังจากนัน้ ในป พ.ศ.2546 แอลวีที ขยายการลงทุนไปในแถบยุโรป โดยไดรว มจัดตัง้ บริษทั แอลวียโุ รป ซึง่ เริม่ ดำเนินการเมือ่ เดือนมกราคม พ.ศ.2547 และเชนเดียว กันผลการตอบแทนจากการลงทุนนัน้ จะมีลกั ษณะคลายกับบริษทั แอลเอ็นวี หลังจากที่ แอลวีที ประสบความสำเร็จในการขยายเครือขายไปยังภูมภิ าคตางๆ ในป พ.ศ.2548 บริษทั ไดขยายฐานลูกคา และตลาดเขาไปในภูมภิ าคอเมริกาเหนืออยางเต็มตัว ทัง้ สหรัฐอเมริกา และ แคนาดา โดยไดรว มลงทุนใน บีแอลวีที สหรัฐอเมริกา ทีม่ รี ปู แบบการลงทุนคลายกับบริษทั แอลเอ็นวี และ แอลวียโุ รป ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2548 แอลวีที ทำสัญญาและขอตกลงรวมกับ เอฟ. แอล. สมิทธ เอ/เอส แหงเดนมารก อีกครัง้ เพื่อรวมกันทำวิจัยเกี่ยวกับผลิตภัณฑและการพัฒนาอุตสาหกรรมซิเมนต และประเด็นที่สำคัญเกี่ยวกับขอตกลงดังกลาวก็คือ เอฟ.แอล.สมิทธ เอ/เอส ไดเขามาถือหนุ ของ แอลวีที ในนามบริษทั อินเตอรเนชัน่ แนล เอ็นจิเนียริง่ จำกัด รอยละ 15 ปจจุบนั เอฟ.แอล.สมิทธ เอ/เอส ถือหนุ ของแอลวีที ในนามธนาคารเอบีเอ็น แอมโร รอยละ 13.02 ซึง่ การเขามาถือหนุ ในอัตราดังกลาวไม มีผลกระทบตอการบริหารจัดการของ แอลวีที แตอยางใด ในเดือน มีนาคม พ.ศ. 2549 แอลวีที ขยายการลงทุนไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยไดรวมมือกับ Fu Yang International Co., Ltd. จัดตัง้ บริษทั LV Technology Engineering Co., Ltd. เพือ่ ประกอบธุรกิจใหบริการดานวิศวกรรมเชน เดียวกับ แอลวีที ดวยทุนจดทะเบียน 120,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา และถือหนุ รอยละ 50 ลาสุดในเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2551 แอลวีที ไดรว มลงทุนในบริษทั แอล วี ลาติโน อเมริกา อิควิปาเมนโตส อินดัสเตรียลส จำกัด ประเทศบราซิล ดวยทุนจดทะเบียน 200,000 เรียลบราซิล โดยถือหนุ รอยละ 50 ประกอบธุรกิจเชนเดียวกับ แอลวีที โดยมงุ ขยายฐานลูกคาและการตลาดในภูมภิ าคอเมริกาใต 18
First Step With far vision of business potential in the cement industry and of tendency of market growth of this industry, Hans Jorgen Nielsen, a Danish engineer, set up a small company in 1996 with the registered capital of only 1 million Baht to carry on the business of providing engineering services in connection with cement, including designing and developing new ideas relating to the raw material milling process. L.V. Technology Public Company Limited or LVT offers consultancy services in engineering and designs and also engages in the production of equipment intended to improve efficiency of machinery as well as enhance efficiency of the production and also reduce the consumption of electricity. These features are favourable to customers in that costs of production can be reduced, and productivity consequently augmented, by 15-30 percent, hence the increased profit-making capacity of the industry. In addition, these innovative technologies are also capable of application to other industries related to raw material sizing e.g. the mining industry.
Surge to Business Growth Over the period of 12 years, the Company’s business has undergone constant growth, with current expansion of its market to Asian regions as well as market penetration towards such other regions as the Middle East, Europe and North America. Along this line, LVT has in 1999 become a business ally with F.L. Smidth of Denmark and, under terms and conditions of business co-operation, LVT receives distribution of profits from F.L. Smidth and is also entitled to engineering fees for the services offered to F.L. Smidth’s customers. An additional entitlement lies in royalty fees payable to LVT where F.L. Smidth purchases technology from LVT for providing engineering services direct to F.L. Smidth’s customers. Apart from entering into trade alliance with F.L. Smidth in Denmark, LVT has partnered with UBE for handling marketing activities for LVT in Japan. This will draw engineering fees and royalty fees for the Company as well. Then, in 2001, LVT set up LNV as a business partner in India. In consequence of this partnership, LVT has received from this company remuneration in the form of licence fees. Subsequently, in 2003, LVT initiated the expansion of investment to the European zone. For this purpose, LV Europe was set up and has been in operation since January 2004. Likewise, from this investment, the Company has enjoyed commercial entitlements similar to those flowing from the partnership with LNV. LVT’s successful expansion of business networks to different regions of the globe provided an aspiration for further extension. This was indeed envisioned in 2005 when the Company widened its customers’ base and fully penetrated markets in North America so as to cover both the United States of America and Canada. In this instance, the Company invested in BLVT in the United States, whose investment patterns bear similarities to those of LNV and LV Europe. In December 2005, LVT concluded an agreement with F.L. Smidth A/S of Denmark once again with an intention to conduct joint research in products and development in connection with the cement industry. As an essential part of this agreement, F.L. Smidth has held 15 percent of LVT’s shares on behalf of International Engineering Company Limited. At present, F.L.Smidth A/S holds 13.02 percent of LVT’s shares on behalf of the ABN AMRO Bank Indeed, such percentage of shareholding has no adverse effects on the management of LVT. In March 2006, LVT started expansion of its business to the People’s Republic of China. In this light, LVT has co-operated with Fu Yang International Co., Ltd. in setting up LV Technology Engineering Co., Ltd. for providing 19
กาวสกู ารเปน “บริษทั มหาชน” ภายในระยะเวลาอันสัน้ ธุรกิจของ แอลวีที เรียกไดวา เติบโตอยางรวดเร็วแบบกาวกระโดด จากบริษทั สวนตัวขนาดเล็ก ทีก่ อ ตัง้ ในป พ.ศ. 2539 มาเปนบริษทั มหาชน เมือ่ วันที่ 4 สิงหาคม 2546 ไดสำเร็จ ดวยกลยุทธที่แอลวีที เปนผูดำเนินการทั้งดานการออกแบบวิศวกรรมและการจัดหาเทคโนโลยี ในขณะที่พันธมิตร แตละแหงเปนผูดูแลตลาด ทำใหแอลวีที สามารถขยายตลาดเขาสูภูมิภาคเอเชียใตและยุโรปไดดวยตนทุนต่ำ ดังนั้น แอลวีที จึงดำเนินการขยายตลาดในลักษณะเดียวกันนีใ้ นกลมุ ประเทศอืน่ ๆ เชน เปรู สาธารณรัฐอาหรับเอมิเรตต สาธารณรัฐประชาชนจีน เกาหลีใต แคนาดา และออสเตรเลีย เปนตน พัฒนาการของ แอลวีที ไมหยุดอยเู พียงแคนนั้ ยังคงกาวเดินและเพิม่ ศักยภาพการลงทุนโดยไดจดทะเบียนในตลาดหลัก ทรัพย เอ็ม เอ ไอ (mai) เมือ่ วันที่ 14 กรกฏาคม 2547 ดวยทุนจดทะเบียน 105 ลานบาท จำนวนหนุ สามัญ 105 ลานหนุ มูลคา ทีต่ ราไวหนุ ละ 1 บาท ตอมาในเดือนกรกฎาคม 2548 ทีป่ ระชุมวิสามัญผถู อื หนุ ของแอลวีทไี ดอนุมตั กิ ารเพิม่ ทุนจดทะเบียนเปน 315 ลานบาท จากเดิม 105 ลานบาท และอนุมตั กิ ารออกหนุ สามัญเพิม่ ทุนควบใบสำคัญแสดงสิทธิ ซึง่ จะใหสทิ ธิเพือ่ ซือ้ หนุ สามัญของบริษทั แก ผทู ถี่ อื หนุ เดิม หลังจากนัน้ วันที่ 28 เมษายน 2549 ทีป่ ระชุมสามัญผถู อื หนุ ประจำป 2549 ไดมมี ติใหเพิม่ จำนวนทุนจดทะเบียน ของบริษทั จาก เดิม 315 ลานบาท เปน 325.5 ลานบาท โดยไดเสนอขายหนุ สามัญใหแกกรรมการ ผบู ริหาร และพนักงานตาม โครงการ Employee Stock Option Program (ESOP) จำนวน 10.5 ลานหนุ มูลคาทีต่ ราไว หนุ ละ 1 บาท คิดเปนเงิน 10.5 ลานบาท จากการเสนอขายหนุ สามัญใหแกกรรมการ ผบู ริหารและพนักงาน ตามโครงการ Employee Stock Option Program (ESOP) บริษทั ไดจดทะเบียนเพิม่ ทุนชำระแลว จากเดิม 210,000,000 บาท เปน 218,378,045 บาทในเดือนมิถนุ ายน 2550 ระหวางป 2551 บริษทั ไดออกหนุ เพิม่ ทุนจากการใชสทิ ธิในใบสำคัญแสดงสิทธิ เปนผลทำใหทนุ ทีอ่ อกและเรียกชำระแลว ของบริษทั ณ สิน้ เดือนธันวาคม 2551 เพิม่ ขึน้ เปน 228,812,538 บาท จากกาวแรกสกู ารเติบโตตลอดระยะเวลากวา 12 ป บริษทั ยังคงมงุ มัน่ ปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงานใหกา วหนาตอ ไปเพือ่ สรางความสำเร็จทีย่ งั่ ยืนในอนาคต
20
engineering services similar to those offered by LVT. This company was incorporated with a registered capital of U.S. $ 120,000, with 50 percent of shares owned by LVT. Most recently, in May 2008, LVT has, with a view to expanding its customers’ base as well as marketing coverage to the Latin American region, invested in LV Latino America Equipamentos Industrial Limited Company (LVLA) in Brazil, with the registered capital of 200,000 Brazilian Reals and with LVT holding 50 percent shares, for operation of similar businesses as those carried on by LVT.
Progression towards a Public Company Over a rather short period, the business of LVT has witnessed exponential growth – a successful progression from a small private firm formed in 1996 into a status of public company on 4th August 2003. With a delicate strategy whereby LVT undertakes engineering designs and provides technologies whilst business allies cope with marketing, LVT has successfully expanded its markets to South Asia and Europe at low costs. Indeed, the Company makes use of a similar approach in broadening markets towards other countries, including Peru, the United Arab Emirates, the People’s Republic of China, South Korea, Canada and Australia. LVT’s evolution does not end here. LVT continues to progress and enhance its investment potential. In this light, it has been listed in the MAI Stock Exchange as from 14th July 2004, with a registered capital of 105 million Baht made up of 105 million ordinary shares of 1 Baht each. Later, in July 2005, the Company, at an extraordinary meeting of shareholders, obtained an approval for an increase of its registered capital to 315 million Baht from its original capital of 105 million Baht and also an approval for issuance of ordinary shares increasing its capital together with warrants authorising original shareholders to purchase ordinary shares. Afterwards, on 28th April 2006, at its shareholders’ ordinary meeting, the Company obtained an approval for an increase of its registered capital from 315 million Baht to 325.5 million Baht, through issuance of 10.5 million shares, of 1 Baht each, to directors, executives and employees in accordance with the Employee Stock Option Programme (ESOP), with the total increased amount of 10.5 million Baht.
21
ลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษทั บริษทั ยอย และบริษทั รวมทุน โครงสรางของบริษทั บริษทั ยอย และบริษทั รวมทุน ณ 31 ธันวาคม 2551
ชือ่ ยอ LV Europe S.A. LV Technology (Tianjin) LVLA LNV BLVT
= = = = =
บริษทั บริษทั แอล วี ยุโรป เอส.เอ. จำกัด บริษทั แอล วี เทคโนโลยี เอ็นจิเนียริง่ จำกัด (เทียนจิน) บริษทั แอล วี ลาติโน อเมริกา อิควิปาเมนโตส อินดัสเตรียลส จำกัด บริษทั แอล เอ็น วี เทคโนโลยี ไพรเวท จำกัด บริษทั บีแอลวีที แอลแอลซี จำกัด
1. การประกอบธุรกิจของบริษทั ใหบริการดานวิศวกรรม โดยการออกแบบ พัฒนา และรับจางผลิตอุปกรณพรอมทัง้ ติดตัง้ อุปกรณดงั กลาวใหแกลกู คาเพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน และประหยัดพลังงานมากขึ้น โดยการนำเทคโนโลยีที่ไดรับการพัฒนาและคิดคน จากบริษัทมาปรับใชกับบริษัทตางๆ ที่ตองใชกระบวนการคัดแยกขนาดในการผลิต อาทิ อุตสาหกรรมปูนซีเมนต อุตสาหกรรมพลังงาน อุตสาหกรรมเหมืองแร เปนตน ทัง้ นี้ เครือ่ งจักรทีไ่ ดรบั การพัฒนาโดยบริษทั ไดแก เครือ่ งจักรทีใ่ ช ในการแยกฝุนหรือของแข็งโดยใชหลักการเคลื่อนที่ของลมหมุนแบบพายุไซโคลน (Cyclone) เครื่องจักรที่ใชปรับปรุง ประสิทธิภาพหมอบดวัตถุดบิ (Vertical Mill) เครือ่ งจักรทีใ่ ชในการปรับปรุงประสิทธิภาพหมอบดปูนซีเมนต (Ball Mill) และเครือ่ งจักรสำหรับปรับปรุงเทคโนโลยีของหมอเผา (Rotary Kiln) ทีไ่ ดรบั การคิดคนและพัฒนาลาสุดโดยบริษทั
2. ประกอบธุรกิจในบริษทั ยอย และบริษทั รวมทุน 2.1) บริษทั แอล วี ยุโรป เอส.เอ. จำกัด ทุนจดทะเบียน : 280,000 ยูโร บริษทั ไดรว มลงทุนกับ แอล วี ยุโรป ณ ประเทศฝรัง่ เศส โดยประกอบกิจการเชนเดียวกันกับบริษทั ซึง่ มี วัตถุประสงคในการรวมลงทุน คือ การขยายฐานลูกคาและตลาดในภูมภิ าคยุโรป เพือ่ ทีจ่ ะสามารถใหบริการแกลกู คา และเขาถึงกลมุ ลูกคาเปาหมายไดอยางสะดวกและรวดเร็วขึน้ ทัง้ นี้ แอล วี ยุโรป เริม่ ดำเนินงานในเดือนมกราคม ป 2547 โดยมีเงือ่ นไขในการบริหารงานและขอตกลงในบันทึกความเขาใจระหวางกันเหมือนกันกับการรวมลงทุน ใน แอล เอ็น วี คือบริษทั ไดแตงตัง้ ให นางกิง่ แกว วรรณรัตต เปนตัวแทนของบริษทั ในการเปนกรรมการของ แอล วี ยุโรป
22
Nature of Business of the Company, Subsidiaries and Associate Companies The Structure of the Company, Subsidiaries and Associate Companies as of 31st December 2008
Name in brief LV Europe S.A. LV Technology (Tianjin) LVLA LNV BLVT
= = = = =
Full Name LV Europe S.A. LV Technology Engineering Co. Ltd. (Tianjin) LV Latino America Equipamentos Industrial Limited Company LNV Technology Private Limited BLVT, LLC
1. Business Operation of the Company The Company offers customers engineering services in connection with designing, developing, as well as being engaged in the production and installation of equipment aimed at improving operation efficiency as well as reducing electricity consumption. Technologies developed and innovated by LVT are applied for use in companies which require the size-sorting of material in their production process such as those in the cement industry, energy industry, or mining industry. Machines developed by the Company include dust and solid-article separators operated on the cyclone-movement principle, machinery for improving efficiency of Vertical Mills, machinery for improving efficiency of Ball Mill and machinery designed for improving efficiency of Rotary Kilns most recently invented and developed by the Company.
2. Business Operation Involving Subsidiaries and Associate Companies 2.1) LV Europe S.A. Register Capital : Euro 280,000 The Company has invested in LV Europe S.A. in France which has operated similar businesses as those of the Company. The investment placed in this European firm is indeed an endeavour to expand the Company’s customers base and markets to the European region, thereby promoting greater convenience and expediency in serving and accessing target customers. In this connection, LV Europe S.A. started its operation in January 2004 and has carried out businesses on the basis of management terms and provisions set out in the Memorandum of Understanding similar to those applicable to the investment in LNV. On such footing, the Company has appointed Mrs. Kingkaew Wannarat to represent the Company in LV Europe S.A.’s Board of Directors. 23
2.2) บริษทั แอล วี เทคโนโลยี เอ็นจิเนียริง่ จำกัด (เทียนจิน) ทุนจดทะเบียน : 120,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา ในเดือน มีนาคม 2549 แอลวีที ขยายการลงทุนไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีนโดยรวมกับ Fu Yang International Co., Ltd. จัดตัง้ บริษทั แอล วี เทคโนโลยี เอ็นจิเนียริง่ จำกัด (เทียนจิน) เพือ่ ประกอบธุรกิจใหบริการ ดานวิศวกรรมเชนเดียวกับ แอลวีที ดวยทุนจดทะเบียน 120,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา และถือหนุ รอยละ 50 2.3) บริษทั แอล วี ลาติโน อเมริกา อิควิปาเมนโตส อินดัสเตรียลส จำกัด ทุนจดทะเบียน : 200,000 เรียลบราซิล ในเดือน พฤษภาคม 2551 แอลวีที ขยายการลงทุนไปยังประเทศบราซิล จัดตัง้ บริษทั แอล วี ลาติโน อเมริกา อิควิปาเมนโตส อินดัสเตรียลส จำกัด เพือ่ ประกอบธุรกิจใหบริการดานวิศวกรรมเชนเดียวกับ แอลวีที ดวยทุน จดทะเบียน 200,000 เรียลบราซิลและถือหนุ รอยละ 50 โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ การขยายฐานลูกคาและตลาดในภูมิ ภาคอเมริกาใต 2.4) บริษทั แอล เอ็น วี เทคโนโลยี ไพรเวท จำกัด ทุนจดทะเบียน : 3,367,350 รูป บริษทั ไดรว มลงทุนใน แอล เอ็น วี ณ ประเทศอินเดียในป 2544 โดยบริษทั รวมทุนดังกลาวประกอบธุรกิจ เชนเดียวกับบริษทั คือ ใหบริการดานวิศวกรรมและปรับปรุงประสิทธิภาพ ตลอดจนผลิตอุปกรณเพือ่ เพิม่ ศักยภาพ การทำงานของเครื่องจักรพรอมกับการติดตั้งอุปกรณที่ไดรับการพัฒนาดังกลาวกับเครื่องจักรของลูกคา โดย นำเทคโนโลยีที่ไดรับการถายทอดจากบริษัทมาปรับใชสำหรับบริษัทที่อยูในอุตสาหกรรมที่มีการคัดแยกขนาดใน กระบวนการผลิต เชนอุตสาหกรรมปูนซิเมนต และอุตสาหกรรมเหมืองแร เปนตน ทัง้ นี้ การลงทุนบริษทั รวมลงทุนดัง กลาว มีวตั ถุประสงคหลักเพือ่ เปนการขยายฐานลูกคาและตลาดในภูมภิ าคเอเชียใต ในสวนของการบริหาร แอล เอ็น วี บริษทั ไดแตงตัง้ ใหนายเนียลเซนเปนตัวแทนของบริษทั เพือ่ เปนกรรมการ ใน แอล เอ็น วี แตมไิ ดมอี ำนาจในการบริหารงานใดๆ โดย แอล เอ็น วี สามารถดำเนินการบริหารงานดวยตนเอง ภายใตขอ ตกลงตามบันทึกความเขาใจระหวางกัน ทัง้ นี้ แอล เอ็น วี สามารถใชเทคโนโลยีของบริษทั ใหบริการแก ลูกคาในภูมภิ าคเอเชียใต โดยบริษทั จะใหความชวยเหลือในดานเทคโนโลยีและการผลิตอุปกรณแก แอล เอ็น วี และบริษทั จะไดรบั ผลตอบแทนในรูปคาลิขสิทธิ์ (License Fee) จาก แอล เอ็น วี 2.5) บริษทั บีแอลวีที แอลแอลซี จำกัด ทุนจดทะเบียน : 300 เหรียญสหรัฐอเมริกา บริษทั ไดรว มลงทุนในบีแอลวีที ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยประกอบกิจการเชนเดียวกับ แอล เอ็น วี และ แอล วี ยุโรป ซึง่ มีวตั ถุประสงคในการรวมลงทุน คือ การขยายฐานลูกคาและตลาดในประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา เปนหลัก เพือ่ ทีจ่ ะสามารถใหบริการแกลกู คาไดอยางรวดเร็วและเขาถึงกลมุ ลูกคาเปาหมายไดสะดวก ขึน้ โดยมีนายเนียลเซน เปนตัวแทนในนามของบริษทั แตนายเนียลเซนไมมอี ำนาจการบริหารงานใดๆ ทัง้ นี้ บีแอลวีที จะบริหารงานดวยตนเอง ภายใตขอ ตกลงทีม่ ใี นสัญญาการดำเนินงาน (Operating Agreement)
24
2.2) LV Technology Engineering Co. Ltd. (Tianjin) Registered Capital : US $ 120,000 In March 2006, LVT has expanded its investment to the People’s Republic of China. In this connection, LVT has become a business ally with Fu Yang International Co., Ltd. in establishing LV Technology Engineering Co. Ltd. (Tianjin) for carrying out the business of providing engineering services similar to those operated by LVT, with the registered capital of US $ 120,000 and with 50 percent of shares held by LVT. 2.3) LV Latino America Equipamentos Industrial Limited Company Registered Capital : Brazilian Reals 200,000 In 2008, LVT, in an attempt to expand its investment to Brazil, has established LV Latino America Equipamentos Industrial Limited Company for carrying out the business of providing engineering services identical to LVT’s business, with the registered capital of 200,000 Brazilian Reals, with LVT holding 50 percent of shares, with a view to enhancing its customers’ base as well as markets to the South American region. 2.4) LNV Technology Private Limited Registered Capital : Rupees 3,367,350 The Company has entered into business ally with LNV Technology Private Limited in India in 2001. This associate company also operates similar business to LVT’s – providing engineering services and improving efficiency of machinery as well as producing equipment aimed at improving efficiency of operation of machinery and installing such invented equipment onto customers’ machinery, whereby technologies developed by the Company are applied for use in companies in the industry involving the size-sorting process in the course of the production e.g. the cement industry and mining industry. The investment in this associate company is aimed at enhancing the customers’ base and market to the South Asia region. As far as the management of LNV is concerned, the Company has appointed Mr. Hans Jorgen Nielsen to represent the Company in this associate company’s Board of Directors, in which the above-named person has assumed the post of non-executive director. LNV has handled its own management in accordance with the Memorandum of Understanding concluded with the Company. Under this MOU, LNV has been authorised to use the Company’s technologies for servicing customers in South Asia. In this regard, the Company is entitled to licence fees in return for technological assistance to, and the production of equipment for, LNV. 2.5) BLVT, LLC Registered Capital : US $ 300 The Company has injected investment in BLVT, LLC in the United States of America for carrying out businesses similar to those operated by LNV and LV Europe S.A. with the prime intention to expand the coverage of its customers’ base and market to the United States of America and Canada and also in an endeavour to enable the Company to service and reach target customers with greater speediness and expediency. Mr. Hans Jorgen Nielsen has been appointed a non-executive director in BLVT, LLC so as to represent LVT in this associate company. BLVT will manage its own businesses in accordance with provisions of the Operating Agreement made with LVT.
25
โครงสรางรายไดของบริษทั รายไดตามงบการเงินของบริษทั ป 2549 ถึง ป 2551 ดังตอไปนี้
หมายเหตุ : จากลักษณะการเสนอบริการใหแกลกู คาตามสัญญาใหบริการการขาย เกิดขึน้ จากการใหบริการออกแบบและรับจางผลิตอุปกรณ ซึง่ การ ใหบริการดังกลาวจะเปนบริการโดยรวมของบริษทั ดังนัน้ บริษทั จึงไมสามารถแยกรายไดจากการบริการและรับจางผลิตอุปกรณออกจาก กันได ** รายไดอนื่ ๆ ประกอบดวย สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั รวม และรายไดอนื่ ๆ
รายไดตามลักษณะทีม่ าของรายไดสญ ั ญาการใหบริการ
ลักษณะผลิตภัณฑ หรือบริการ ผลิตภัณฑการใหบริการของบริษทั คือ การออกแบบคิดคนเทคโนโลยีและใหบริการดานวิศวกรรม ซึง่ แบงออกเปน 4 ประเภทหลัก ไดแก 1) การปรับปรุงเทคโนโลยีของหมอบดวัตถุดบิ (Vertical Mill) 2) การปรับปรุงเทคโนโลยีของหมอบดปูนซีเมนตผง (Cement Mill หรือ Ball Mill) 3) การปรับปรุงเทคโนโลยีของหมอเผา (Rotary Kiln) 4) การปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตของโรงงานผลิตซีเมนต
26
Structure of the Company’s Revenues Revenues, as declared in the Company’s Financial Statements from 2006 – 2008 can be summarised in the tabular form as follows:
Note : As services delivered to customers under service agreements involve designing and manufacturing equipment ‘to customers’ orders’, the services as provided by the Company are therefore overall services and, on this basis, revenues from the provision of services and revenues from the manufacture of equipment are incapable of separation. ** Revenues from other sources consist of profit-shares from investments in associate companies and other revenues.
Revenues Classified in accordance with the Sources of Service Agreements
Nature of Products or Services Subject-matters of the Company’s services are the designing of engineering technology and providing engineering services, which may be categorised into 4 types, as follows: 1) improvement of technology for Vertical Mills; 2) improvement of technology for Cement Mills (or Ball Mills); 3) improvement of technology for Rotary Kilns; and 4) improvement of efficiency of the production process of cement plants.
27
ป 2550 และป 2551 บริษทั มีสดั สวนรายไดจากการใหบริการผลิตภัณฑทงั้ 4 ประเภท ดังนี้
บริษทั ไดทำการพัฒนาและคิดคนการใหบริการปรับปรุงเทคโนโลยีของเครือ่ งจักรตางๆ ดังนี้ 1. การปรับปรุงเทคโนโลยีของหมอบดวัตถุดบิ (Vertical Mill) บริษทั ไดพฒ ั นาเทคโนโลยีเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของหมอบดวัตถุดบิ (Vertical Mill) ในป 2541 โดยใชหลักการและ เทคโนโลยีในการลดแรงเสียดทาน ปรับปรุงการไหลของลมและวัตถุดบิ ซึง่ จะชวยทำใหเพิม่ ประสิทธิภาพในการคัดแยกขนาด ของวัตถุดบิ ดวย LVT Classifier ซึง่ ประกอบดวย LV Pocket, Rotor และ, Cage Wheel Rotor เปนตน ซึง่ การปรับปรุงและ ออกแบบกลไกใหมตามเทคโนโลยีที่ไดรับการคิดคนและพัฒนาจากบริษัท จะทำใหการทำงานของเครื่องจักรมีประสิทธิภาพ สามารถเพิม่ ผลผลิตขึน้ ไดประมาณรอยละ 15 – 30 และประหยัดพลังงานเพิม่ ขึน้ ประมาณ 1 – 3 กิโลวัตตชวั่ โมงตอตัน 2. การปรับปรุงเทคโนโลยีของหมอบดปูนซีเมนตผง (Cement Mill หรือ Ball Mill) หลังจากการพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการบดในหมอบดวัตถุดบิ (Vertical Mill) ในป 2541 ตอมาในป 2544 บริษทั ไดพฒ ั นาปรับปรุงประสิทธิภาพของหมอบดปูนซีเมนต (Ball Mill) เพือ่ ปรับปรุงใหเครือ่ งจักรสวนอืน่ ทีใ่ ชในการ ผลิตมีการทำงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ซึง่ การพัฒนาเทคโนโลยีดงั กลาวมีความใกลเคียงกับเทคโนโลยีของหมอบดวัตถุดบิ (Vertical Mill) โดยจะทำการติดตัง้ LVT Classifier และอุปกรณสว นอืน่ ๆ ในระบบการบดปูนซีเมนต (Ball Mill) ซึง่ จะสงผล ตอการหมุนเวียนของอากาศ ทำใหการใชพลังงานภายในหมอบดปูนซีเมนต (Ball Mill) นอยลง และการคัดแยกขนาดมีประ สิทธิภาพมากขึน้ ซึง่ ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพในการทำงานของหมอบดปูนซีเมนต (Ball Mill) ไดประมาณรอยละ 15 - 30 และ ประหยัดพลังงานลงไดประมาณ 1 – 3 กิโลวัตตชวั่ โมงตอตัน 3. การปรับปรุงเทคโนโลยีของหมอเผา (Rotary Kiln) การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของหมอเผา (Rotary Kiln) เปนเทคโนโลยีลา สุดทีบ่ ริษทั ไดพฒ ั นาขึน้ ในป 2545 เพือ่ ใหหมอเผา (Rotary Kiln) มีประสิทธิภาพการทำงานมากขึน้ โดยพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ ลดแรงเสียดทานของลมภายในระบบ หมอเผา (Rotary Kiln System) ซึง่ ทำใหสนิ้ เปลืองพลังงานนอยลง และเพิม่ ประสิทธิภาพการเผามากขึน้ ประมาณรอยละ 15 – 30 4. การปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตของโรงงานผลิตซีเมนต จากการที่บริษัทไดมีการพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพ หมอบดวัตถุดิบ (Vertical Mill) หมอบดปูนซีเมนตผง (Cement Mill หรือ Ball Mill) และหมอเผา (Rotary Kiln) ตามลำดับ ทำใหบริษทั มีศกั ยภาพในการ ขยายการใหบริการในการปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตของโรงงานผลิตซีเมนตแกลกู คาไดครบวงจร ทัง้ นีต้ งั้ แต ป 2547 จนถึงปจจุบนั บริษทั ไดใหบริการปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตซีเมนตครบวงจร ซึง่ สามารถเพิม่ ประสิทธิภาพ ในกระบวนการผลิตไดประมาณ รอยละ 10 - 25 ทัง้ นี้ เทคโนโลยีและบริการดานวิศวกรรมดังกลาวสามารถนำมาปรับใชในอุตสาหกรรมทีม่ กี ารคัดแยกขนาดอืน่ ๆ ไดแก อุตสาหกรรมเหมืองแร และอุตสาหกรรมพลังงาน เปนตน 28
In 2007 and 2008, the Company’s revenues from all the 4 types of services are detailed below.
The Company’s development and invention of services related to the improvement of technology for machinery may be summarised as follows. 1. Improvement of Technology for Vertical Mills The Company has, in 1998, developed new technology designed for increasing efficiency of Vertical Mills. This technology is based upon the principle of the reduction of resistance force and the improvement of the flows of air and raw material. This technology enhances efficiency of the size-sorting of raw material, with the assistance of the ‘LVT Classifier’, which is particularly made up of such important components as the LV Pocket, the Rotor and the Cage Wheel Rotor. The development and mechanical design based upon the technology invented by the Company will lead to an increase of productivity by 15 – 30 percent and contribute to the energy-saving in the approximate amount of 1 – 3 kilowatt-hour per ton. 2. Improvement of Technology for Cement Mills (or Ball Mills) After the improvement of technology used for increasing efficiency of Vertical Mills in 1998, the Company, in 2001, assiduously made technological development leading to the improvement of efficiency of Ball Mills – improving other parts of the machinery towards greater efficiency. The development of this technology is similar in concept to the technology introduced and improved for the Vertical Mill, in that the LVT Classifier and other components to be installed in the Ball Mill will facilitate ventilation within the Ball Mill and, as a result, help save energy as well as increase efficiency of the size-sorting process. With all these features, efficiency of the operation of Ball Mills can be increased by approximately 15 – 30 percent, with the reduction of energy by approximately 1 – 3 kilowatts-hour per ton. 3. Improvement of Technology for Rotary Kilns The improvement of technology for Rotary Kilns is the Company’s most recent technology developed in 2002 with a view to putting forth greater efficiency of the operation of Rotary Kilns. This technology is, in essence, based upon the reduction of resistance force of the wind within the Rotary Kiln system, which leads to lower energy consumption and higher efficiency of the rotary kiln by 15 – 30 percent approximately. 4. Improvement of Efficiency of the Production Process of Cement Plants The development made by the Company in connection with the improvement of technology for Vertical Mills, Cement Mills (or Ball Mills) and Rotary Kilns respectively has provided the Company’s with full potential for offering customers full-scale services related to the improvement of efficiency of the process of production 29
ผลงานทีผ่ า นมาของบริษทั ในการปรับปรุงและพัฒนาเครือ่ งจักรอุปกรณ 1. การพัฒนาประสิทธิภาพการบดของหมอบดวัตถุดบิ (Vertical Mill) ไดแก บริษทั ปูนซิเมนตไทย จำกัด (มหาชน) ประเทศไทย บริษทั Semen Padang ประเทศอินโดนีเซีย บริษทั Hanil Cement ประเทศเกาหลีใต บริษทั National Cement ประเทศสหรัฐอเมริกา บริษทั Tasek Cement ประเทศมาเลเซีย บริษทั UBE Cement ประเทศญีป่ นุ บริษทั Foskor ประเทศแอฟริกาใต บริษทั Eagle Cement ประเทศฟลปิ ปนส เปนตน 2. การพัฒนาประสิทธิภาพการบดปูนซิเมนตผง (Cement Mill หรือ Ball Mill) ไดแก บริษทั Cherat Cement ประเทศปากีสถาน บริษทั Chansung และ บริษทั Ssangyong ประเทศเกาหลีใต บริษทั Shahroud Cement และบริษทั Abyek ประเทศอิหราน บริษทั Cemco ประเทศแคนนาดา บริษทั ACC Gagal ประเทศอินเดีย บริษทั Salto di Pirapora ประเทศบราซิล บริษทั Italcementi Borgo ประเทศอิตาลี บริษทั Perak Hanjoong Siemen ประเทศมาเลเซีย บริษทั Star Cement ประเทศสาธารณรัฐอาหรับเอมิเรตต และ บริษทั TPI ประเทศไทย เปนตน 3. การปรับปรุงเทคโนโลยีของหมอเผา (Rotary Kiln) ไดแก บริษทั Chinfon Haiphong ประเทศเวียดนาม บริษทั Basel Cement ประเทศคาซัคสถาน บริษทั Galadari Cement ประเทศปากีสถาน บริษทั Hanil Cement ประเทศเกาหลีใต เปนตน 4. การปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตของโรงงานผลิตซีเมนต ไดแก บริษทั Fecto Cement และ บริษทั Mustekham ประเทศปากีสถาน บริษทั NSCI ประเทศมาเลเซีย บริษทั Cementos Yura ประเทศเปรู เปนตน บริษทั ไดใหความสำคัญกับการพัฒนาและประดิษฐคดิ คนเทคโนโลยีสมัยใหม เพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน ของเครือ่ งจักรในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต โดยมีนโยบายทีจ่ ะใหบริการปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีของเครือ่ งจักรในระบบ การผลิตของอุตสาหกรรมปูนซีเมนตแบบครบวงจร ทัง้ นีเ้ ทคโนโลยีลา สุดทีบ่ ริษทั ไดมกี ารปรับปรุงและพัฒนา ไดแก • ระบบ Preheater ของหมอเผา • ไซโคลน (Cyclone) ในระบบ Preheater และ • ไซโคลน (Cyclone) ในระบบคัดแยกขนาด (Classifier) รวมทัง้ ระบบคัดแยกขนาด (Classifier) ของ Ball Mill
30
of cement plants. In this connection, since 2004 up to present, the Company has been offering fully integrated services aimed at improving efficiency of the process of production of cements and indeed capable of increasing efficiency in the production process by 10 – 25 percent. In effect, engineering technologies and services described above are capable of application to other industries which involve the size-sorting utility – e.g. the mining industry and energy industry – as well. Non-Exhaustive List of Customers Using the Company’s Technologies and Services for Machinery Improvement and Development 1. Improvement of Technology for Vertical Mills Siam Cement Public Company Limited (Thailand), Semen Padang (Indonesia), Hanil Cement (South Korea), National Cement (U.S.A.), Tasek Cement (Malaysia), UBE Cement (Japan), Foskor (South Africa), Eagle Cement (The Philippines), etc. 2. Improvement of Technology for Cement Mills (Ball Mills) Cherat Cement (Pakistan), Chansung and Ssangyong (South Korea), Shahroud Cement and Abyek (Iran), Cemco (Canada), ACC Gagal (India), Salto di Pirapora (Brazil), Italcementi Borgo (Italy), Perak Hanjoong Siemen (Malaysia), Star Cement (United Arab Emirates), TPI (Thailand), etc. 3. Improvement of Technology for Rotary Kilns Chinfon Haiphong (Vietnam), Basel Cement (Kazakhstan), Galadari Cement (Pakistan) Hanil Cement (South Korea), etc. 4. Improvement of Efficiency of the Production Process of Cement Plants Fecto Cement and Mustekham (Pakistan), NSCI (Malaysia), Cementos Yura (Peru), etc. The Company has dedicated its most robust attention to the development and invention of new technologies to be used for improving efficiency of machinery in the cement industry. In effect, it is the prime policy of the Company to offer fully integrated or full-scale services related to the improvement and development of technology for machinery in the production process of the cement industry. Most recent technologies improved and developed by the Company are herebelow listed: • the Preheater system of a Rotary Kiln • the Cyclone in the Preheater system; and • the Cyclone in the Classifier and the Classifier of a Ball Mill.
31
แนวโนมของตลาดเปาหมาย ภาวะเศรษฐกิจโลกทีม่ แี นวโนมถดถอยสืบเนือ่ งจากปญหาราคาน้ำมันทีส่ งู ขึน้ มาก ตลอดจนวิกฤติการเงินของสหรัฐอเมริกาตัง้ แต ชวงกลางป สงผลตอการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจโลกโดยตรงทำใหเศรษฐกิจของประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลวและกำลังพัฒนาหลายๆ ประเทศเขาสภู าวะชะลอตัวลงหลังจากเติบโตตอเนือ่ งมาหลายป อยางไรก็ตามแมวา เศรษฐกิจโลกจะชะลอตัว แตในภาคธุรกิจอุตสาหกรรมเกีย่ วกับปูนซีเมนต ในบางภูมภิ าคและบางประเทศ เชน อเมริกาใต แอฟริกา หรือ รัสเซีย ทีต่ อ งการปรับปรุงดานเทคโนโลยี เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิตทำใหความตองการ ของบริการดานวิศวกรรมสำหรับอุตสาหกรรมปูนซีเมนตยงั คงมีอยู ในการแขงขันของตลาด แตละบริษัทตองมีแผนการตลาดและมีวิสัยทัศนที่กวางไกล ตลอดจนสามารถกำหนดกลยุทธทาง การตลาดทีเ่ หมาะสม เชนเดียวกับ แอลวีที ทีอ่ าศัยจุดแข็งและขอไดเปรียบในเรือ่ งของการทำงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ความยืดหยนุ หาตามความตองการของลูกคาแตละ และการบริการทีร่ วดเร็ว ทำใหลกู คาประหยัดเวลา คาใชจา ยไดมาก ยังรวมถึงวิธกี ารแกปญ ราย ทำใหลกู คาไดรบั ความพึงพอใจ จากบริการทีร่ วดเร็วทำใหลกู คาเลือกบริการจาก แอลวีที บริษทั ยังมีขอ ไดเปรียบในเรือ่ งความ ยืดหยนุ ของบริการตางๆ ทีส่ ามารถปรับเปลีย่ นไดจนกวาลูกคาจะพึงพอใจ อีกทัง้ เรือ่ งราคาทีเ่ สนอก็สมเหตุสมผลไมสงู จนเกินไป ทำให ลูกคาไดรบั ประโยชนและความคมุ คามากทีส่ ดุ กับการลงทุน จากขอไดเปรียบนีเ้ องถือเปนจุดแข็งของบริษทั ซึง่ นำมาใชเปนกลยุทธ ทางการตลาด และดวยการที่ แอลวีที เริม่ เปนทีย่ อมรับมากขึน้ ในกลมุ ลูกคาเปาหมายทำใหคาดวาบริษทั ยังมีโอกาสในการแขงขัน กับบริษทั อืน่ ๆในตลาดโลก สิง่ ทีส่ ำคัญอีกประการหนึง่ คือเครือ่ งมือทีช่ ว ยทำใหภาพของธุรกิจ แอลวีที ออกไปสกู ลมุ ลูกคาเปาหมายทัว่ โลกก็คอื การโฆษณา และประชาสัมพันธ รวมทัง้ เขารวมในการประชุมระดับนานาชาติ ทีเ่ กีย่ วกับอุตสาหกรรมซีเมนตเพือ่ นำเสนอบริการของบริษทั สำหรับ กลยุทธทางการตลาดผานตัวแทนทางการคา ซึง่ บริษทั ไดแตงตัง้ ไวในภูมภิ าคตางๆ เปนอีกทางหนึง่ ทีช่ ว ยอำนวยความสะดวกในการให บริการแกลกู คาไดมากขึน้ นอกจากนีก้ ารประชาสัมพันธดว ยวิธกี ารบอกตอถึงประสิทธิภาพและคุณภาพของการใหบริการของบริษทั เปนอีกชองทางหนึง่ ทีน่ า จะไดผลดีเชนกัน ภาพรวมของธุรกิจในป 2551 นับวาบริษัทประสบความสำเร็จอยางมากทั้งในดานรายไดและผลกำไร รวมทั้งจำนวนลูกคา ทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแตละภูมภิ าค สำหรับสถานการณการตลาดในป 2552 จะมีความทาทายอยางยิง่ การแขงขันของธุรกิจจะสูงมากขึน้ จากภาวะเศรษฐกิจถดถอยทัว่ โลก อยางไรก็ดกี ารทีบ่ ริษทั มีลกู คาอยใู นหลายภูมภิ าคทัว่ โลก เปนขอดีทสี่ ามารถแสวงหาโอกาสและ ขยายตลาดไปสูลูกคาในภูมิภาคที่ยังคงมีศักยภาพแมบางภูมิภาคเริ่มชะลอตัวลง บริษัทเชื่อมั่นวาจะสามารถบรรลุเปาหมายทาง การตลาดตามแผนงานทีไ่ ดวางไว
32
Trend of target market The world’s economic recession occasioned by highly increased prices of petrol and intensified by the American sub-prime crisis since mid-2008 has direct impacts on economic growth of the globe. Indeed, such recession has turned constant economic growth witnessed in many previous years of both developed and developing countries to the state of downturn. Despite such recession envisioned in the world economy, the cement-related industry in certain regions and certain countries, such as South America, Africa or Russia, where need is felt for the improvement of technology with a view to enhancing efficiency of the production remains in constant demand of engineering services. In the course of market competition, each company is compelled to be equipped with market plans and far vision so as to put forth appropriate market strategies. It is in this direction that LVT makes use of its strengths and advantages with regard to efficient and flexible operation as well as speedy services. These superior features offer customers immense reduction of business time and costs. In addition, with the Company’s customised solutions offered to individual customers, the Company acquires customers’ full satisfaction. Indeed, rapidity plays a large part in inducing customers’ selection of LVT’s services. Another business advantage lies in service flexibility, for services offered are capable of adjustment to customers’ satisfaction. Further, prices are reasonably fixed so as to ensure customers’ confidence in optimal value for money and for investment. All these advantageous strengths form the Company’s crucial market strategies. Indeed, as LVT is increasingly receiving public recognition amongst target customers, it is expected that its opportunities to compete with other companies in the world’s market remain promising. Another instrument employed by the Company for making LVT’s business profile known to targeted customers worldwide rests upon publicity and public relations. In an extended attempt to boost its profile, the Company attends international conferences related to the cement industry so as to introduce the Company’s services. Moreover, through its business representatives appointed in various regions, the Company may serve customers more conveniently. Indeed, the efficiency and quality of the Company’s services seem to be well circulated by words of mouth as well. In its overall business outlook, it can be said that LVT has achieved grand success in terms of revenues, profits and an increasing number of customers in each region. With respect to marketing situations in 2009, great challenges are expected to be witnessed, with a rise in competitiveness in response to the global economic recession. However, the fact that LVT has customers in several regions of the world appears to constitute an advantage for LVT in that it will retain market opportunities and expand markets to customers in regions of promising potential despite a certain extent of recession in some regions. LVT trusts that its well-determined marketing plans will achieve fruitful goals as anticipated.
33
1. ความเสีย่ งดานความผันแปรของอัตราแลกเปลีย่ น บริษทั มีการดำเนินธุรกิจทัง้ ในประเทศและตางประเทศ ดังนัน้ ความผันแปรของอัตราแลกเปลีย่ นจะสงผลกระทบโดยตรงตออัตรา ผลตอบแทนของบริษทั โดยบริษทั จะมีรายไดและตนทุนทัง้ ทีเ่ ปนสกุลเงินดอลลารสหรัฐ และสกุลยูโร ทัง้ นี้ สกุลเงินทัง้ สองไมได แปรผันไปในทิศทางเดียวกันมากนัก บริษทั จึงมีความเสีย่ งหากอัตราแลกเปลีย่ นมีการเปลีย่ นแปลง ในภาวะวิกฤตเศรษฐกิจและการเงินทีเ่ กิดขึน้ ในสหรัฐอเมริกา สงผลกระทบตอภาวะเศรษฐกิจถดถอยทัว่ โลก สรางความผันผวน ใหกบั คาเงินสกุลตางๆ ในภูมภิ าคเอเซีย บริษทั ไดบริหารความเสีย่ งดังกลาว โดยมีนโยบายการสรางความสมดุลระหวางรายรับและ รายจายทีเ่ ปนสกุลเงินตางประเทศในการทำสัญญาการใหบริการ เชน บริษทั มีงานสัญญาการใหบริการหลายโครงการในอินโดนีเซีย และมาเลเซียเปนเงินสกุลยูโร เมือ่ พิจารณาวาคาเงินดอลลารสหรัฐมีการออนคาลงมากในชวงดังกลาว ซึง่ ทำใหบริษทั สามารถลด ความเสีย่ งไดบางสวน ทัง้ นีก้ อ นการทำสัญญากับลูกคา บริษทั ตองพิจารณาทัง้ แหลงทีจ่ ะทำการจัดหาเครือ่ งจักรและวัสดุอปุ กรณ จากผผู ลิตในตางประเทศ รวมทัง้ ตองประเมินคาผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศทีม่ ตี อ ตนทุนการผลิต ในภาวะ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศสกุลหลักตางๆ เพือ่ ใหทราบตนทุนการผลิตอุปกรณไดอยางดีทสี่ ดุ ซึง่ จะ ทำใหบริษทั สามารถลดผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ นของตนทุนในการผลิตอุปกรณไดในระดับหนึง่ อยางไรก็ตาม อัตราแลกเปลีย่ นเปนสิง่ ทีผ่ นั แปรอยตู ลอดเวลา ไมสามารถคาดการณไดอยางแมนยำ ดังนัน้ ในสวนของกำไรของ แตละสัญญา ก็ยงั คงไดรบั ผลกระทบจากการผันแปรของอัตราแลกเปลีย่ น เพราะหากอัตราแลกเปลีย่ นของสกุลเงินดังกลาวแข็งคาขึน้ จะสงผลใหกำไรของบริษทั เพิม่ ขึน้ ในทางตรงขาม หากอัตราแลกเปลีย่ นมีมลู คาออนลง ก็จะทำใหบริษทั มีกำไรลดลงไดเชนกัน
2. ความเสีย่ งจากการขาดสภาพคลองของบริษทั โดยการดำเนินงานปกติของบริษทั บริษทั จะตองมีการใชเงินลงทุนในการจัดเตรียมงานและอุปกรณทจี่ ำเปนในการสงงานใหแก ลูกคาของบริษทั ซึง่ สงผลใหบริษทั จะตองมีกระแสเงินสดออกกอนทีจ่ ะมีกระแสเงินสดรับ จึงสงผลใหบริษทั อาจมีความเสีย่ งจาก การขาดสภาพคลองทางการเงิน ในกรณีทบี่ ริษทั มีการรับงานเปนจำนวนมากซึง่ จะสงผลใหบริษทั มีกระแสเงินสดออกเปนจำนวนมาก ในขณะทีก่ ระแสเงินรับนัน้ ยังไมถงึ กำหนดการรับเงินทีจ่ ะเขามาชดเชยกระแสเงินสดออกดังกลาวไดอยางเต็มที่ ทัง้ นี้ โดยสวนใหญ บริษทั จะมีการตกลงใหลกู คาจายเงินลวงหนา (Advance Payment) แกบริษทั เพือ่ ดำเนินการ เตรียมงาน ในเบือ้ งตน โดยบริษทั จะตองดำเนินการใหสถาบันการเงินออกหนังสือค้ำประกัน (Letter of Guarantee หรือ “L/G”) ใหกบั ลูกคา เพือ่ ประกันเงินรับลวงหนา (Advance Payment Bond) ดังกลาว ตามจำนวนเงินทีร่ บั ลวงหนา นอกจากนี้ บริษทั จะตองดำเนินการให สถาบันการเงินออกหนังสือค้ำประกัน LG อีกฉบับเพือ่ ประกันผลงาน (Performance Bond) ดวย โดยสวนใหญ LG ดังกลาวจะมี มูลคาประมาณรอยละ 10 – 20 ของมูลคางานโครงการ โดยในการออก LG นัน้ บริษทั ตองวางเงินค้ำประกันไวทสี่ ถาบันการเงิน ในอัตรารอยละ 30 ของมูลคา L/G แตละฉบับ (บางสถาบันการเงินตองใหบริษทั วางเงินค้ำประกันในอัตรารอยละ 100) นอกจากนี้ ความเสีย่ งในดานสภาพคลองของบริษทั ยังอาจเกิดไดจากการทีบ่ ริษทั นัน้ ไมมสี นิ ทรัพยถาวรหลัก ทีจ่ ะสามารถนำไป ใชเปนหลักประกันในการกยู มื เงินจากสถาบันการเงินได จึงอาจสงผลตอความสามารถในการกยู มื เงินของบริษทั ซึง่ เปนเหตุผลหนึง่ ทีบ่ ริษทั มีความจำเปนตองเพิม่ ทุน ซึง่ จะสามารถลดปญหาสภาพคลองไดในระดับหนึง่ นอกจากนี้ บริษทั ยังไดหาแหลงเงินทุนเพิม่ เติม โดยการขอเงินกยู มื จากสถาบันการเงินตางๆ เพือ่ นำมาใชเปนเงินทุนในการดำเนินงานเบือ้ งตนในโครงการตางๆ ทีบ่ ริษทั ไดรบั มา สำหรับป 2551 บริษทั ไดรบั การอนุมตั วิ งเงินสินเชือ่ ระยะสัน้ เพือ่ ใชเปนเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินงานของบริษทั จากธนาคาร สแตนดารดชารเตอรด (ไทย) จำกัด (มหาชน) โดยจำแนกเปนวงเงินสินเชือ่ สำหรับ L/C, T/R, Invoice Financing จำนวน 450 ลานบาท และวงเงินสินเชือ่ สำหรับการออกหนังสือค้ำประกัน จำนวน 250 ลานบาท วงเงินสินเชือ่ ดังกลาวชวยใหบริษทั สามารถ บริหารความเสีย่ งดานสภาพคลองไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ประกอบกับป 2550 บริษทั ไดเสนอขายหนุ สามัญเพิม่ ทุนใหแก กรรมการ ผบู ริหาร และพนักงานของบริษทั (ESOP) นอกจากนี้ จากทีบ่ ริษทั ทำการออกหนุ สามัญเพิม่ ทุนควบใบสำคัญแสดงสิทธิ 34
1. Risk from Foreign Exchange Fluctuations Given the Company’s operation of business both domestically and in foreign countries, the Company’s turnover is directly subjected to impacts from foreign exchange fluctuations. In this connection, the Company has revenues and costs fixed in the U.S. dollar and Euro currencies. Admittedly, these currencies do not fluctuate in quite the same direction. A risk is therefore triggered in the event of fluctuation of foreign exchange in regard to these two currencies. The economic and financial crisis in the United States of America results in globally-reaching economic recession and gives rise to fluctuations of various currencies in the Asia. Amidst this difficult plight, the Company, in an attempt to manage such risk, puts forth a policy aimed at building up a due balance between revenues and expenses payable in foreign currencies. For example, the Company has attempted to fix payment under several services agreements involving projects in Indonesia and Malaysia in the Euro currency, considering the negative impact from the devaluation of the U.S. dollar, hence a reduction of risk in some measure. In this connection, before concluding agreements with customers, the Company will seriously consider sources from which machinery and necessary equipment may be supplied by producers in foreign countries and evaluate impacts from foreign exchange on costs of production in circumstances of fluctuations encircling main currencies, in order that costs of production may become best known and fluctuation impacts on such costs may be trimmed down to some extent. That having been said, currency fluctuations are at all times anticipated and incapable of exact predictability. Profits expected to be earned from agreements therefore remain subjected to this fluctuation risk. In this instance, profits will be on the rise in the event where the value of the currency required by a given agreement becomes stronger and, by way of contrast, the Company will encounter reduced profits in case of devaluation of the contractually agreed currency.
2. Risk from Liquidity Deficiency In the course of business operation, the Company requires funding for the preparation of work as well as equipment necessary for the performance and delivery of services engaged by customers. This actuality entails the availability, on the part of the Company, of cash outflows prior to cash inflows and, as a result, triggers a degree of risk of cash flow insufficiency, as envisaged indeed in the case where the Company is engaged to perform a large volume of work or services. In such circumstances, the Company has extensive cash outflows whilst awaiting cash inflows from outstanding remuneration payable by customers in full compensation of the cash outflows incurred. On the whole, customers are required to make advance payment to the Company to finance the preparation of work. For this purpose, the Company ensures that, in consideration for customers’ provision of such advancepayment bonds, Letters of Guarantees (L/G) will be issued by financial institutions in favour of customers in the amount corresponding to the advance payment received. In addition, the Company also causes to be issued by a financial institution another LG to each customer to guarantee performance by the Company (Performance Bond). In general, such LG is issued in the amount equivalent to 10 – 20 percent of the value of the project work. For issuance of each LG, the Company is required 35
ใหแกผถู อื หนุ เดิมในเดือนกุมภาพันธ 2549 บริษทั คาดวาจะมีเงินทุนเพิม่ ขึน้ จากการแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิเปนหนุ สามัญอีกดวย ในระหวางป 2551-2552 สงผลใหบริษทั มีเงินทุนเพิม่ ขึน้ ซึง่ จะสามารถลดความเสีย่ งดังกลาวได
3. ความเสีย่ งในการดำเนินธุรกิจในตางประเทศ บริษทั ดำเนินธุรกิจ โดยทำสัญญากับพันธมิตรทางการคาและรวมลงทุนในตางประเทศหลายประเทศทีม่ ศี กั ยภาพ ไดแก เดนมารก ฝรัง่ เศส อินเดีย สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน และบราซิล เปนตน เพือ่ ขยายฐานลูกคาใหเติบโตมากขึน้ ในภูมภิ าคตางๆ ทัว่ โลก ซึง่ ในแตละประเทศนัน้ ยอมมีความเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากดานภาวะเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และกฎหมายของประเทศ เหลานัน้ ได เพือ่ ลดความเสีย่ งดังกลาวใหนอ ยลง บริษทั จึงมีนโยบายการรวมลงทุนกับบริษทั ทองถิน่ ประเทศตางๆ เนือ่ งจากบริษทั รวมลงทุนดังกลาวสามารถเขาใจสภาพเศรษฐกิจ สังคม ในภูมภิ าคนัน้ ไดดกี วาบริษทั ซึง่ จะสามารถชวยบริษทั ในดานการตลาด และ การติดตอกับลูกคาภายในประเทศดังกลาวไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวา จึงชวยใหบริษทั สามารถขยายฐานลูกคาไดมากขึน้ ทัง้ นีก้ ารลงทุน ในรูปแบบการรวมลงทุนนัน้ ยังมีมลู คาคอนขางต่ำ เมือ่ เปรียบเทียบกับศักยภาพของตลาดและจำนวนลูกคาในแตละภูมภิ าค และบริษทั ยังสามารถไดรบั ผลตอบแทนการลงทุนในรูปของคาลิขสิทธิ์ และคาธรรมเนียมจากบริษทั รวมทุนอีกดวย นอกจากนีบ้ ริษทั ไดแตงตัง้ บริษทั ทองถิน่ เปนตัวแทนทางการคา ซึง่ จะสามารถชวยบริษทั ในดานการตลาด ชวยหาลูกคาและติดตอประสานงาน เพือ่ อำนวย ความสะดวกในการดำเนินงานระหวางบริษทั กับลูกคาในประเทศนัน้ ๆ ใหเกิดประสิทธิภาพมากขึน้
4. ความเสีย่ งดานเทคโนโลยี เนื่องจากบริษัทเปนผูใหบริการดานวิศวกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของเครื่องจักร โดยใชเทคโนโลยีที่บริษัท เปนผรู เิ ริม่ คิดคนและพัฒนาขึน้ มาเอง และนำมาประยุกตใชกบั เครือ่ งจักรใหมปี ระสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน ดังนัน้ ผลิตภัณฑ ของบริษัทอาจถูกลอกเลียนแบบโดยบริษัทคูแขงขันอื่นๆ หรือจากเทคโนโลยีใหมๆ ที่เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ในขณะเดียวกันหากบริษทั ไมสามารถพัฒนาเทคโนโลยีของบริษทั ใหมศี กั ยภาพสูงขึน้ ก็อาจจะสงผลใหบริษทั สูญเสียลูกคาและสวนแบง ทางการตลาดไดเชนกัน อยางไรก็ตาม บริษทั ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาดานเทคโนโลยี โดยสงเสริมใหทมี งานทำการคิดคน และพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ ตลอดเวลา เพื่อเพิ่มทางเลือกใหกับลูกคา และเพิ่มศักยภาพการแขงขันใหแข็งแกรงมากขึ้น เชน การปรับปรุง Cyclone ซึง่ เปนเครือ่ งจักรทีใ่ ชในการแยกฝนุ หรือของแข็ง โดยใชหลักการการเคลือ่ นทีข่ องลมหมุนแบบพายุไซโคลน การปรับปรุงเทคโนโลยีสำหรับหมอเผา (Rotary Kiln) ซึง่ เปนผลิตภัณฑใหมของบริษทั ตลอดจนมีการประยุกตเทคโนโลยีเดิมเพือ่ ทีบ่ ริษทั จะสามารถใหบริการปรับปรุงอุปกรณไดหลากหลายชนิดขึน้ โดยในอดีตทีผ่ า นมา เทคโนโลยีของบริษทั เปนเพียงการเพิม่ ประสิทธิภาพการทำงานของการบดวัตถุดบิ ในหมอบดวัตถุดบิ (Vertical Mill) ตอมาบริษทั ไดปรับปรุงเทคโนโลยีใหสามารถใชกบั หมอบดปูนซีเมนต (Ball Mill) และนอกจากนีบ้ ริษทั สามารถพัฒนาเทคโนโลยีสำหรับหมอเผา (Modification of Rotary Kiln) สงผลใหในปจจุบนั บริษทั สามารถใหบริการปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตของโรงงานผลิตปูนซีเมนตไดอยางครบวงจร มากขึน้ ดังนัน้ บริษทั จึงยังคงรักษาความเปนผนู ำในธุรกิจการปรับปรุงประสิทธิภาพเครือ่ งจักรและไดรบั การไววางใจจากลูกคาตลอดมา ทัง้ นี้ บริษทั คาดวาการลอกเลียนแบบดานเทคโนโลยีของบริษทั นัน้ ยังเปนไปไดคอ นขางยาก
36
to place at a given financial institution a cash deposit equivalent to 30 percent of the amount guaranteed by the LG. Indeed, certain financial institutions requires placement of deposits in the full amount covered by the issued LG. Further, the liquidity-related risk may also stem from the Company’s lack of permanent assets capable of being charged as security for loans from financial institutions. This obviously has impacts on the Company’s ability to acquire loans and, as such, prompts a compelling need for the Company’s increase of its capital as a practical means to ease the liquidity deficiency to some extent. Moreover, additional sources of funds are acquired by the Company through loans from financial institutions to finance preparatory operation under various projects secured. In 2008, the Company obtained an approval of short-term loans from Standard Chartered Bank (Thai) Public Company Limited in an amount of 450 million Baht for L/C, T/R and Invoice Financing and in an additional amount of 250 million Baht for issuance of Letters of Guarantee. These amounts of loan facilitate the Company’s more efficient management of risk with respect to liquidity. Also, in 2007, the Company issued ordinary shares to directors, executives and employees under the Employee Stock Option Programme (ESOP). In addition, following the Company’s issuance of ordinary shares for an increase of its capital together with warrants to original shareholders in February 2006, it is expected that the Company will successfully acquire enhanced funds from the conversion of warrants into ordinary shares during 2008 – 2009. The ensuing increased capital apparently contributes to a reduced risk related to liquidity.
3. Risk Surrounding Operation of Overseas Business As a matter of fact, the Company, in the operation of business, has concluded agreements with trade partners and entered into joint venture with business entities in many countries of high potential, including Denmark, France, India, the United States of America, the People’s Republic of China and Brazil, with a view to expanding its customers’ base in different regions around the world. Perceivably, business risks may be envisaged from country to country in the light of attending economic, social, political or legal conditions. In minimising such risks, the Company seeks, as its policy, to enter into joint venture with companies in local areas of those countries, simply in the honest belief that such local firms tend to be in a better position than the Company in apprehending economic and social circumstances of the localities and, as a result, may be of assistance to the Company in terms of marketing and dealing with customers in those particular countries with greater efficiency, which will in turn lead to extended customers’ base. In effect, investment in the form of joint venture is of a rather low volume when compared with market potential and the number of customers in each region. In fact, the Company may also be rewarded, from joint venture entities, in the form of copyright royalties and fees. In addition, the Company has appointed local firms as trade representatives capable of assisting the Company in marketing, seeking customers and performing co-ordinating activities in the interest of facilitating more efficient operation between the Company and customers in those countries.
4. Technological Risk Given that the Company provides engineering services aimed at enhancing efficiency of the operation of machinery through technology it has invented and developed for this purpose and in an attempt to achieve the energy-saving feature, the Company confronts the risk of its products being imitated by its business competitors or by new technologies emerging and changing at all times. At the same time, if the Company fails to boost up its ability to put forth technological development to reach higher potential, the Company is likely to face the loss of customers as well as market share. Realising the importance of technological development, the Company promotes invention and development by its team of new technologies at all times so as to offer choices to customers and 37
5. ความเสีย่ งดานสิทธิบตั ร บริษทั ไดคดิ คนเทคโนโลยีในการปรับปรุงประสิทธิภาพของหมอบดวัตถุดบิ (Vertical Mill) และไดจดสิทธิบตั รของเทคโนโลยี สำหรับการปรับปรุงประสิทธิภาพของหมอบดวัตถุดบิ ดังกลาวในนามของ บริษทั เอฟ.แอล.สมิทธ เอ/เอส จากประเทศเดนมารก ตามที่ไดตกลงกันไวในสัญญา Co-Operation and License Agreement บริษัทจะไดรับผลตอบแทนเปนสวนแบงผลกำไร (Profit Sharing) คาออกแบบดานวิศวกรรม (Engineering Fee) หรือในกรณีที่ เอฟ.แอล.สมิทธ นำผลิตภัณฑของบริษัท ไปใหบริการแกลกู คาของ เอฟ.แอล.สมิทธ โดยตรง ทาง เอฟ.แอล.สมิทธ จะตองเปนผชู ำระคา Royalty Fee ตามเงือ่ นไข และ สิทธิบตั รดังกลาวจะสิน้ สุดในป 2552 ทัง้ นีเ้ มือ่ ระยะเวลาดังกลาวสิน้ สุดลง เอฟ.แอล.สมิทธ และบริษทั ตางๆ ทีเ่ ปนผใู หบริการเทคโนโลยี สำหรับปรับปรุงประสิทธิภาพเครือ่ งจักรของอุตสาหกรรมปูนซีเมนต สามารถนำเทคโนโลยีทบี่ ริษทั ไดคดิ คนขึน้ ไปใชได ทัง้ นีเ้ ฉพาะ หมอบดวัตถุดบิ (Vertical Mill) เพียงอยางเดียว ซึง่ จะสงผลใหบริษทั อาจมีความเสีย่ งในการสูญเสียสิทธิประโยชนจากเทคโนโลยีนไี้ ด นอกจากนี้ บริษัทมีการคิดคนและพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ อยางตอเนื่อง เพื่อชดเชยความเสี่ยงในการที่สิทธิบัตรดังกลาว จะหมดอายุในอนาคต ไดแก เทคโนโลยีสำหรับหมอเผา (Modification of Rotary Kiln) เปนตน จากการคิดคนและพัฒนาเทคโนโลยี ดังกลาวจึงทำใหบริษทั ยังสามารถรักษาฐานลูกคาและสามารถขยายตลาดเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งไดในอนาคต อยางไรก็ดีการใหบริการดานวิศวกรรมนี้ตองอาศัยทักษะ และความเชี่ยวชาญเฉพาะตัวสูงจึงเปนการยากที่บริษัทอื่นจะนำ เทคโนโลยีนไี้ ปปรับใช โดยเฉพาะในสวนของขอมูลการออกแบบระบบ (Process Design Data) ซึง่ เปนปจจัยสำคัญสำหรับการ ปรับปรุงการทำงานของเครือ่ งจักร และบริษทั มิไดเปดเผยตอบุคคลภายนอก ดังนัน้ บริษทั จึงคาดวาความเสีย่ งดานสิทธิบตั รดังกลาว จึงไมรนุ แรงมากนัก
38
strengthen potential for competitiveness. Illustrations may be found in the improvement of Cyclone (the machinery used for separating dusts or solid particles based upon the mimicking of the movement of the cyclone) and the improvement of the technology used for Rotary Kiln, which is a new product of the Company. Indeed, existing technologies are also put into new application so as to be usable with a greater variety of equipment. In the past, the technology introduced by the Company was merely intended to raise the milling efficiency of the Vertical Mill. With the improvement made by the Company, the technology is capable of application to the Ball Mill as well. Moreover, the Company has successfully carried out the technological development in respect of the Modification of Rotary Kiln. As a result of such development, the Company may, at present, offer services for improving the efficiency of the production process of cement manufacturing plants in a greater integrated fashion. With all this development, the Company retains its leadership status in the industry involving machinery efficiency improvement and maintains continued confidence amongst customers. It is expected that imitation of technologies invented by the Company will remain rare.
5. Risk in relation to Patents Following the invention by the Company of the technology dedicated to improving the milling efficiency of the Vertical Mill and the registration of a patent for such technology in the name of “FL Smidth A/S” from Denmark in accordance with the Co-operation and Licence Agreement, the Company is entitled to profit sharing as well as engineering fees. Where FL Smidth A/S directly offers to its customers services based upon the Company’s products, FL Smidth A/S is obliged to pay royalty fees to the Company on the agreed terms and conditions. Such patent will expire in 2009. At the expiration of its period of protection, FL Smidth A/S and other companies offering technologies for the improvement of machinery efficiency in the cement industry may be at liberty to exploit freely, only for the Vertical Mill, the technology invented by the Company. This may therefore engender the risk of the Company losing rights and benefits over this technology. Besides, the Company makes continual efforts in inventing and developing new technologies in compensation for the risk of losing patent rights at the expiration of the term of protection for its patented technology in the future, as envisaged in the case of the technology for the Modification of Rotary Kiln. Again, thanks to such technological inventions and developments, the Company remains able to maintain its customers’ base and capable of expanding market on a regular basis in the future. However, as the provision of engineering services entails high personal skills and expertise, the application by other companies of technologies invented by the Company therefore becomes a matter of immense difficulty, in particular, with respect to process design data, which form an essential factor for the improvement of the operation of machinery. Given their non-disclosure to outsiders, it is anticipated by the Company that the above patent risk might not be of significant severity.
39
ผถู อื หนุ รายใหญ ณ วันที่ 23 มีนาคม 2552
ณ วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2552 ผถู อื หนุ สัญชาติไทย ผถู อื หนุ สัญชาติตา งดาว หมายเหตุ :
จำนวนหนุ สามัญ 185,628,993 136,241,661
สัดสวนการถือหนุ % 57.67 42.33
กอนการประชุมสามัญผถู อื หนุ ประจำป ผลู งทุนสามารถคนหาขอมูลผถู อื หนุ รายใหญทเี่ ปนปจจุบนั ไดจาก เว็บไซต http://www.lv-technology.com
โครงสรางคณะกรรมการของบริษทั โครงสรางคณะกรรมการบริษทั ประกอบดวย กรรมการ 5 คณะ คือ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน และคณะกรรมการสรรหาโดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้
คณะกรรมการบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการทัง้ หมด 8 ทานประกอบดวย 1. นายองคคณ ุ อยมู นั่ ประธานกรรมการ 2. นายแฮนส จอรเกน เนียลเซน กรรมการ กรรมการสรรหา 3. นายชูชาติ บุนนาค กรรมการ 4. นายหาญฤทธิ์ แฮนเซน กรรมการ 5. นายเพียร ไมนัท คริสเตนเซน กรรมการ กรรมการสรรหา 40
Major shareholders as of 23rd March 2009
As of 23rd March 2009 Thai shareholders Foreign shareholders Note :
Number of Shares 185,628,993 136,241,661
Percentage 57.67 42.33
Before the Annual General Meeting of Shareholders, data regarding updated major shareholders are available at http://www.lv-technology.com.
Structure of the Company’s Board of Directors
The structure of the Company’s Board of Directors comprises 5 committees: Board of Directors, Executive Committee, Audit Committee, Remuneration Committee and Nomination Committee. Details of the structure are as shown below.
The Board of Directors
As of 31st December 2008, the Company’s Board of Directors consists of 8 members as follows: 1. Mr. Ongkoon Youman Chairman of the Board of Directors 2. Mr. Hans Jorgen Nielsen Director Member of the Nomination Committee 3. Mr. Chuchat Bunnag Director 4. Mr. Henrik Hansen Director 5. Mr. Per Mejnert Kristensen Director Member of the Nomination Committee
41
6. นายอดิศร ประคุณหังสิต
7. นายจิตต เกียรติสนุ ทร
8. นายสมนึก ใจจงรัก
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการกำหนดคาตอบแทน กรรมการสรรหา กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหา กรรมการตรวจสอบ กรรมการกำหนดคาตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการกำหนดคาตอบแทน
ขอบเขตอำนาจของคณะกรรมการบริษทั ตามมติการประชุมคณะกรรมการ ครัง้ ที่ 6/2546 เมือ่ วันที่ 24 กันยายน 2546 ซึง่ มีคณะกรรมการตรวจสอบเขารวมประชุม ไดกำหนดขอบเขตอำนาจหนาทีข่ องคณะกรรมการ ดังนี้ คณะกรรมการมีอำนาจหนาที่จัดการบริษัทใหเปนไปตามวัตถุประสงค ขอบังคับ และมติที่ประชุมผูถือหุนของบริษัท และ คณะกรรมการอาจมอบอำนาจใหแกกรรมการคนหนึง่ หรือหลายคน หรือบุคคลอืน่ ใดปฏิบตั กิ ารรวมกัน หรือแยกกันเพือ่ กระทำอยาง ใดอยางหนึ่งตามวัตถุประสงคขอบังคับบริษัท เวนแตอำนาจในการดำเนินการดังตอไปนี้จะกระทำไดก็ตอเมื่อไดรับอนุมัติจาก ทีป่ ระชุมผถู อื หนุ กอน ทัง้ นีก้ ำหนดใหรายการทีก่ รรมการหรือบุคคลทีม่ สี ว นไดเสียในเรือ่ งใดๆ ไมมสี ทิ ธิออกเสียงเรือ่ งนัน้ 1.) เรือ่ งทีก่ ฎหมายกำหนดใหตอ งไดมติทปี่ ระชุมผถู อื หนุ 2.) การทำรายการทีก่ รรมการมีสว นไดเสียและอยใู นขายทีก่ ฎหมายหรือขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยระบุใหตอ งไดรบั อนุมตั ิ จากทีป่ ระชุมผถู อื หนุ กรณีดังตอไปนี้ จะตองไดรับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการ และที่ประชุมผูถือหุนดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา สามในสีข่ องจำนวนเสียงทัง้ หมดของผถู อื หนุ ซึง่ มาประชุมและมีสทิ ธิออกคะแนนเสียง 1.) การขายหรือโอนกิจการของบริษทั ทัง้ หมดหรือบางสวนทีส่ ำคัญใหแกบคุ คลอืน่ 2.) การซือ้ หรือรับโอนกิจการของบริษทั อืน่ หรือบริษทั เอกชนมาเปนของบริษทั 3.) การทำ แกไข หรือเลิกสัญญาเกี่ยวกับการใหเชากิจการของบริษัททั้งหมดหรือบางสวนที่สำคัญ การมอบหมายให บุคคลอืน่ เขาจัดการธุรกิจของบริษทั หรือการรวมกิจการกับบุคคลอืน่ โดยมีวตั ถุประสงคจะแบงกำไรขาดทุนกัน 4.) การแกไขเพิม่ เติมหนังสือบริคณหสนธิหรือขอบังคับ 5.) การเพิม่ ทุน การลดทุน การออกหนุ กู การควบหรือเลิกบริษทั นอกจากนี้ จากมติที่ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 1/2547 ระบุวาคณะกรรมการจะตองพิจารณาและใหความเห็นเกี่ยวกับ งบประมาณตลอดจนคาใชจา ยประมาณการรวมไปถึงแผนงานอยางละเอียด กอนทีจ่ ะดำเนินงานโครงการหรือรับงานแบบครบวงจร ในอนาคตของบริษทั
กรรมการผมู อี ำนาจลงนามแทนบริษทั กรรมการซึ่งมีอำนาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทคือ นายแฮนส จอรเกน อิบเซน เนียลเซน นายชูชาติ บุนนาค และ นายหาญฤทธิ์ แฮนเซน กรรมการสองในสามคนนีล้ งลายมือชือ่ รวมกัน และประทับตราสำคัญของบริษทั หรือกรรมการคนใดนหนึง่ ในสามคนนีล้ งลายมือชือ่ รวมกับนายองคคณ ุ อยมู นั่ และประทับตราสำคัญของบริษทั
42
6. Mr. Adisorn Prakunhungsit
7. Mr. Jit Kietsunthorn
8. Mr. Somnuk Chaichongrak
Independent Director Chairman of the Audit Committee Chairman of the Remuneration Committee Member of the Nomination Committee Independent Director Chairman of the Nomination Committee Member of the Audit Committee Member of the Remuneration Committee Independent Director Member of the Audit Committee Member of the Remuneration Committee
Scope of Authorities of the Board of Directors
According to the resolution of the Board of Directors’ meeting No. 6/2003 held on 24th September 2003 which was attended by the Audit Committee, the scope of authorities of the Company’s Board of Directors was prescribed as follows. The Board of Directors has authorities to manage the Company in accordance with its objectives, regulations, and resolutions of shareholders’ meeting. The Board of Directors may delegate authorities to one or more directors or other persons to jointly or separately perform any duties prescribed in the Company’s objectives and regulations, save that the following matters must be approved by the resolution of the shareholders’ meeting at which any director or person who has a conflict of interest in a particular matter may not cast vote on such matter: 1) matters required by laws to be approved by the resolution of the shareholders’ meeting; 2) transactions in which any Director has any conflict of interest and is specified by law or any regulations of the Stock Exchange of Thailand to be approved by the resolution of the shareholders’ meeting. The following matters must be approved at the Board of Directors’ meeting and also at the shareholders’ meeting with endorsement by at least three-fourths of the total votes of shareholders attending the meeting and having voting rights: 1) a sale or transfer of ownership of the Company or a significant part thereof to others; 2) a purchase or transfer of ownership from any other company or private company to LV Technology Plc; 3) any conclusion, modification, or termination of contracts related to a lease of the Company’s undertaking or a significant part thereof, the entrusting of any other person to manage the Company’s business or merge the Company with any other person with a view to sharing profit and loss; 4) any variation of the Company’s Memorandum of Association or regulations; and 5) an increase or reduction of the Company’s capital, an issuance of Company’s debenture, a merger or dissolution of the Company. In addition, in accordance with the resolution of the Board of Directors’ meeting No.1/2004, the Board of Directors shall consider and give advice on the Company’s budget as well as its estimated expenses and work plans before working on or taking fully integrated projects in the future.
Directors with Authority to Sign on behalf of the Company
Directors with authority to sign on behalf of the Company are Mr. Hans Jorgen Nielsen, Mr. Chuchat Bunnag and Mr. Henrik Hansen provided that any two authorised directors jointly sign their names together with the Company’s seal affixed or, alternatively, any of them jointly signs his name with Mr. Ongkoon Youman together with the Company’s seal affixed.
43
คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารของบริษทั ประกอบดวย คณะกรรมการบริหาร 6 ทาน ดังนี้ 1. นายชูชาติ บุนนาค ประธานกรรมการบริหาร 2. นายกิตริ าช เตชะมโนกุล กรรมการบริหาร 3. นางกิง่ แกว วรรณรัตต กรรมการบริหาร 4. นายสัญญา อมรรัตนวฒ ั น กรรมการบริหาร 5. นายปญญา กฤติยาวงศ กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร 6. นางสาวเสมอขวัญ อธิพรศีลวัต ขอบเขตอำนาจหนาทีข่ องคณะกรรมการบริหาร 1) จัดทำขอเสนอแนะ ในการกำหนดนโยบาย กลยุทธฯ เพือ่ เสนอตอคณะกรรมการบริษทั ฯ 2) พิจารณาใหความเห็นตอแผนการดำเนินธุรกิจและการจัดสรรงบประมาณประจำป ตามที่กรรมการผูจัดการเสนอมา เพือ่ นำเสนอตอคณะกรรมการบริษทั 3) กำกับดูแล และติดตามผลการดำเนินงานของบริษทั ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับภาวะของธุรกิจเพือ่ ประโยชนตอ การบริหารกิจการและการดำเนินธุรกิจของบริษทั ใหเปนไปตามวัตถุประสงคและขอบังคับ 4) มีอำนาจในการอนุมตั กิ ารทำธุรกรรมของบริษทั เชน คาใชจา ยดำเนินงาน คาใชจา ยในการขายและบริหาร การซือ้ และ/ หรือขายสินทรัพยของบริษทั การกแู ละ/หรือใหกยู มื เงิน การจัดซือ้ จัดจาง ตามวัตถุประสงคการดำเนินธุรกิจของบริษทั ภายใตวงเงินทีค่ ณะกรรมการกำหนด 5) ดำเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย ทัง้ นี้ กรรมการบริหารรายใดรายหนึง่ หรือหลายรายจะไมมสี ทิ ธิออกเสียงในการอนุมตั ริ ายการตางๆ ทีก่ รรมการบริหารรายใด รายหนึง่ หรือหลายรายดังกลาว รวมถึงบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแยงของกรรมการบริหารดังกลาวนัน้ มีความขัดแยง มีสว นไดเสีย หรือ ผลประโยชนในลักษณะอื่นใดที่ขัดแยงกับบริษัทหรือบริษัทยอย นอกจากนี้ หากรายการใดมีกรรมการบริหารที่ไมมีสิทธิในการ ออกเสียงในการอนุมตั ริ ายการไดเนือ่ งจากมีความขัดแยง มีสว นไดเสีย หรือผลประโยชนในลักษณะอืน่ ใดทีข่ ดั แยงกับบริษทั หรือบริษทั ยอย จนสงผลใหมกี รรมการบริหารผมู สี ทิ ธิออกเสียงไมมากกวากึง่ หนึง่ ของจำนวนกรรมการบริหารทัง้ คณะนัน้ การอนุมตั ริ ายการดังกลาว จะตองเสนอตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาและอนุมตั ริ ายการดังกลาวตามทีข่ อ บังคับของบริษทั หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วของ กำหนด และเปนไปตามกฎเกณฑของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศ ไทย ทัง้ นี้ หากรายการดังกลาวจำเปนตองขอมติจากทีป่ ระชุมผถู อื หนุ กำหนดใหคณะกรรมการตองนำรายการดังกลาวเสนอตอ ทีป่ ระชุมผถู อื หนุ เพือ่ ใหทปี่ ระชุมผถู อื หนุ ทำการพิจารณาและอนุมตั ติ อ ไป
คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน และคณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ประกอบดวย 3 ทาน ดังนี้ 1. นายอดิศร ประคุณหังสิต ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 2. นายจิตต เกียรติสนุ ทร กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 3. นายสมนึก ใจจงรัก กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ ขอบเขตหนาทีค่ วามรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1) สอบทานใหบริษทั มีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเปดเผยอยางเพียงพอ โดยการประสานงานกับผสู อบบัญชี ภายนอกและผบู ริหารทีร่ บั ผิดชอบจัดทำรายงานทางการเงินทัง้ รายไตรมาสและประจำป คณะกรรมการตรวจสอบอาจเสนอ แนะใหผสู อบบัญชีสอบทานหรือตรวจสอบรายการใดๆ ทีเ่ ห็นวาจำเปนและเปนเรือ่ งสำคัญในระหวางการตรวจสอบบัญชี ของบริษทั ได 44
Committees Executive Committee The Executive Committee consists of 6 members as follows: 1. Mr. Chuchat Bunnag Chairman of Executive Committee 2. Mr. Kitirach Tachamanokul Executive Director 3. Mrs. Kingkaew Wannaratt Executive Director 4. Mr. Sanya Amornratwat Executive Director 5. Mr. Punya Kritiyawong Executive Director 6. Miss Samurkwan Atipornsillawat Executive Director Scope of Authorities of the Executive Committee 1) To prepare recommendations regarding the determination of policies and strategies for submission to the Board of Directors; 2) To consider and comment on business plans and annual budget allocation as proposed by the Company’s Managing Director for submission to the Board of Directors; 3) To supervise and monitor the Company’s operating performance to ensure efficiency and suitability in accordance with business situations, provided that the Company’s administration and business operation shall be in compliance with its objective and regulations; 4) To approve the Company’s business transactions such as operating expenses, sales and administrative expenses, purchases and/or sales of the Company’s assets, borrowing and/or lending money, and procurement in accordance with the Company’s objectives and within the budget line prescribed by the Board of Directors. 5) To perform other duties assigned by the Company’s Board of Directors. Any one or more members of the Executive Committee having or likely to have any conflict of interest with the Company or its subsidiary on any matter may not vote on such matter. In the case where, in any matter, the lack of right to vote on the ground of such conflict or conflicting interest results in the number of members of the Committee with the right to vote being less than one half of the total number of members, that matter shall be submitted to the Board of Directors for consideration and approval at its meeting as required by the Company’s regulations, relevant laws and regulations of the Office of the Securities Exchange Commission and the Stock Exchange of Thailand. If the above transaction needs to be approved by the resolution of shareholders’ meeting, the Board of Directors shall submit that transaction to the shareholders’ meeting for further consideration and approval. The Audit Committee, Remuneration Committee and Nomination Committee Audit Committee As of 31st December 2008, the Company’s Audit Committee consists of 3 members as follows: 1. Mr. Adisorn Prakunhungsit Chairman of the Audit Committee and Independent Director 2. Mr. Jit Kietsunthorn Member of the Audit Committee and Independent Director 3. Mr. Somnuk Chaichongrak Member of the Audit Committee and Independent Director Scope of Duties and Responsibilities of the Audit Committee 1) To review the Company’s financial report to ensure accuracy and adequacy of information disclosure, by co-operating with external auditors and management responsible for preparing quarterly and annual financial reports. The Audit Committee may advise external auditors to review or examine any transaction as deemed necessary and important during the auditing; 45
2) สอบทานใหบริษทั มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่ เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบใน การพิจารณาแตงตัง้ โยกยาย เลิกจางหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอืน่ ใดทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับการ ตรวจสอบภายใน 3) สอบทานใหบริษทั ปฏิบตั ติ ามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย และกฎหมาย ทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจของบริษทั 4) พิจารณาคัดเลือก เสนอแตงตัง้ บุคคลซึง่ มีความเปนอิสระเพือ่ ทำหนาทีเ่ ปนผสู อบบัญชีของบริษทั และเสนอคาตอบแทน ผสู อบบัญชีของบุคคลดังกลาว รวมทัง้ เขารวมประชุมกับผสู อบบัญชีโดยไมมฝี า ยจัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครัง้ 5) พิจารณารายการเกีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชนใหเปนไปตามกฎหมายและขอกำหนดของ ตลาดหลักทรัพย ทัง้ นี้ เพือ่ ใหมนั่ ใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสงู สุดตอบริษทั 6) จัดทำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจำปของบริษทั ซึง่ รายงานดังกลาวตองลงนาม โดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และตองประกอบดวยขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้ (ก) ความเห็นเกีย่ วกับความถูกตอง ครบถวน เปนทีเ่ ชือ่ ถือไดของรายงานทางการเงินของบริษทั (ข) ความเห็นเกีย่ วกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษทั (ค) ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจของบริษทั (ง) ความเห็นเกีย่ วกับความเหมาะสมของผสู อบบัญชี (จ) ความเห็นเกีย่ วกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน (ฉ) จำนวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละทาน (ช) ความเห็นหรือขอสังเกต โดยรวมทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบไดรบั จากการปฏิบตั หิ นาทีต่ ามกฎบัตร (Charter) (ซ) รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั 7) ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการของบริษทั มอบหมาย ดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนของบริษทั ประกอบดวย 3 ทาน ดังนี้ 1. นายอดิศร ประคุณหังสิต ประธานกรรมการกำหนดคาตอบแทนและกรรมการอิสระ 2. นายจิตต เกียรติสนุ ทร กรรมการกำหนดคาตอบแทนและกรรมการอิสระ 3. นายสมนึก ใจจงรัก กรรมการกำหนดคาตอบแทนและกรรมการอิสระ ขอบเขตหนาทีค่ วามรับผิดชอบของคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน 1) ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการผจู ดั การ ตาม Performance Agreement ของแตละป และพิจารณากำหนด คาตอบแทน ซึง่ รวมถึงคาจาง คาเบีย้ ประชุม เงินรางวัลและผลประโยชนอนื่ ๆ ใหแกกรรมการผจู ดั การ เพือ่ เสนอทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 2) พิจารณากำหนดคาตอบแทน ซึง่ รวมถึงคาเบีย้ ประชุม เงินรางวัลและผลประโยชนอนื่ ๆ สำหรับกรรมการบริษทั และ คณะอนุกรรมการทีบ่ ริษทั แตงตัง้ โดยมีหลักเกณฑทโี่ ปรงใส เปนธรรมและสมเหตุสมผล เพือ่ เสนอใหคณะกรรมการ บริษทั รับทราบ และเสนอทีป่ ระชุมผถู อื หนุ เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 3) พิจารณากำหนดโครงสรางคาตอบแทนของผบู ริหารระดับสูง โดยมีหลักเกณฑหรือวิธกี าร และโครงสรางทีเ่ ปนธรรมและ สมเหตุสมผล เพือ่ เสนอทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ 4) ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย
46
2) To review the Company’s internal control system and internal audit system to ensure that their suitability and efficiency, to determine an internal audit unit’s independence, as well as to approve the appointment, transfer and dismissal of the chief of an internal audit unit or any other unit in charge of an internal audit; 3) To review the Company’s compliance with the law on securities and exchange, regulations of the Stock Exchange and the laws relating to the Company’s businesses; 4) To consider, select and nominate an independent person to be the Company’s auditor, and to propose such person’s remuneration, as well as to attend a non-management meeting with an auditor at least once a year; 5) To review incidental transactions or transactions that may lead to conflicts of interests, to ensure that they are in compliance with the laws and regulations of the Stock Exchange, satisfy reasonableness and proceed in a manner yielding optimal benefits of the Company; 6) To prepare, and disclose in the Company’s annual report, the Audit Committee’s Report which must be signed by the Chairman of the Audit Committee and contain at least the following information: (a) an opinion on the accuracy, completeness and reliability of the Company’s financial report; (b) an opinion on the adequacy of the Company’s internal control system; (c) an opinion on the compliance with the law on securities and exchange, regulations of the Stock Exchange, or the laws relating to the Company’s businesses; (d) an opinion on the suitability of an auditor; (e) an opinion on the transactions that may lead to conflicts of interests; (f) the number of the Audit Committee’s meetings, and the attendance at such meetings by each member of the Committee; (g) overall opinions or remarks received by the Audit committee in the course of its performance of duties in accordance with the Charter, and; (h) other transactions which, in the Audit Committee’s opinion, should be brought to the attention of the shareholders and general investors, subject to the scope of duties and responsibilities assigned by the Company’s Board of Directors; and 7) To perform any other activities as entrusted by the Company’s Board of Directors, with the approval of the Audit Committee. Remuneration Committee As of 31st December 2008, the Company’s Remuneration Committee consists of 3 members as follows: 1. Mr. Adisorn Prakunhungsit Chairman of the Remuneration Committee and Independent Director 2. Mr. Jit Kietsunthorn Member of the Remuneration Committee and Independent Director 3. Mr. Somnuk Chaichongrak Member of the Remuneration Committee and Independent Director Scope of Duties and Responsibilities of the Remuneration Committee 1) To evaluate the performance of the Managing Director in accordance with the Performance Agreement of each year and recommend remuneration including salaries, meeting allowances, bonus and other benefits of the Managing Director for submission to the Board of Directors for approval; 2) To recommend a remuneration package including meeting allowances, bonus and other benefits of directors of the Company and members of Committees appointed by the Company, provided that the determination of the remuneration package shall be based upon principles which are transparent, fair and reasonable, for further submission to the Board of Directors for information and to the Shareholders’ meeting for approval; 3) To recommend a remuneration structure for high-ranking executives on the basis of the principles and procedures which are fair and reasonable for submission to the Board of Directors for approval; and 4) To perform any other activities entrusted by the Board of Directors. 47
คณะกรรมการสรรหา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 คณะกรรมการสรรหาของบริษทั ประกอบดวย 4 ทาน ดังนี้ 1. นายจิตต เกียรติสนุ ทร ประธานกรรมการสรรหาและกรรมการอิสระ 2. นายอดิศร ประคุณหังสิต กรรมการสรรหาและกรรมการอิสระ 3. นายแฮนส จอรเกน เนียลเซน กรรมการสรรหา 4. นายเพียร ไมนัท คริสเตนเซน กรรมการสรรหา ขอบเขตหนาทีค่ วามรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา ุ สมบัตเิ หมาะสม เพือ่ ดำรงตำแหนงกรรมการและ 1) พิจารณากำหนดหลักเกณฑและกระบวนการในการสรรหาบุคคลทีม่ คี ณ กรรมการผจู ดั การ 2) คัดเลือกบุคคลทีเ่ หมาะสมตามหลักเกณฑ และกระบวนการทีก่ ำหนดไว 3) เสนอผลการสรรหาตอคณะกรรมการบริษทั ประวัตกิ ารทำผิดของผบู ริหาร -ไมม–ี
การสรรหากรรมการและผบู ริหาร (รวมถึงกรรมการตรวจสอบ กรรมการกำหนดคาตอบแทน กรรมการสรรหาและ กรรมการอิสระ) การคัดเลือกบุคคลทีจ่ ะเขาดำรงตำแหนงเปนกรรมการบริษทั กรรรมการตรวจสอบ กรรมการกำหนดคาตอบแทน และกรรมการ สรรหาของบริษทั จะดำเนินการพิจารณาคัดเลือกโดยคณะกรรมการสรรหา ซึง่ จะเปนผพู จิ ารณาคัดเลือกตามเกณฑคณ ุ สมบัตติ าม มาตรา 67 และ 68 แหงพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพยทเี่ กีย่ วของ นอกจากนีย้ งั พิจารณาถึงประสบการณ ความรู และความสามารถ และเสนอขออนุมตั จิ ากคณะกรรมการ บริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ และ/หรือเสนอขออนุมตั แิ ตงตัง้ ตอทีป่ ระชุมผถู อื หนุ ตามหลักเกณฑและวิธกี ารทีก่ ำหนดไวในขอบังคับ ของบริษทั สรุปดังนี้ 1. กรณีตำแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอนื่ นอกจากถึงคราวออกตามวาระใหคณะกรรมการเลือกบุคคลซึง่ มีคณ ุ สมบัตแิ ละ ไมมลี กั ษณะตองหาม เขาเปนกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เวนแตวาระของกรรมการนัน้ จะเหลือนอยกวา สองเดือน การลงมติเลือกตัง้ กรรมการของคณะกรรมการดังกลาวจะตองประกอบดวยคะแนนเสียงไมนอ ยกวาสามในสีข่ องจำนวน กรรมการทีย่ งั เหลืออยู บุคคลซึง่ เขาเปนกรรมการแทน จะอยใู นตำแหนงไดเพียงวาระทีย่ งั เหลืออยขู องกรรมการซึง่ ตนแทน 2. ในการเลือกตัง้ คณะกรรมการของบริษทั จะกระทำโดยทีป่ ระชุมผถู อื หนุ ตามหลักเกณฑและวิธกี ารดังตอไปนี้ 1) ผถู อื หนุ คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเทากับหนึง่ หนุ ตอหนึง่ เสียง 2) ผถู อื หนุ แตละคนจะใชคะแนนเสียงทีม่ อี ยทู งั้ หมดตาม 1) เลือกตัง้ บุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการ ก็ได แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผใู ดมากนอยเพียงใดไมได 3) บุคคลซึง่ ไดรบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลำดับลงมาเปนผไู ดรบั การเลือกตัง้ เปนกรรมการเทาจำนวนกรรมการที่ จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทบี่ คุ คลซึง่ ไดรบั การเลือกตัง้ ในลำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากัน เกินจำนวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ใหผเู ปนประธานเปนผอู อกเสียงชีข้ าด ในการประชุมสามัญผถู อื หนุ ประจำปทกุ ครัง้ จะมีกรรมการพนจากตำแหนงหนึง่ ในสาม ถาจำนวนกรรมการทีเ่ หลืออยไู มสามารถ แบงออกเปนสามสวนไดลงตัว ใหกรรมการจำนวนทีใ่ กลเคียงทีส่ ดุ กับสวนหนึง่ ในสามพนจากตำแหนง 48
Nomination Committee As of 31st December 2008, the Company’s Nomination Committee consists of 4 members as follows: 1. Mr. Jit Kietsunthorn Chairman of the Nomination Committee and Independent Director 2. Mr. Adisorn Prakunhungsit Member of the Nomination Committee and Independent Director 3. Mr. Hans Jorgen Nielsen Member of the Nomination Committee 4. Mr. Per Mejnert Kristensen Member of the Nomination Committee Scope of Duties and Responsibilities of the Nomination Committee 1) To consider and determine criteria and procedures for making nomination of persons with suitable qualifications for appointment to the office of director and the office of Managing Director; 2) To nominate qualified persons in accordance with the pre-determined criteria and procedures; 3) To submit nomination results to the Board of Directors. Recorded Misconduct of Executives
-None-
Selection of Directors Executives (Including the Audit Committee, the Remuneration Committee, the Nomination Committee and Independent Directors)
The selection of persons to be appointed as the Company’s directors, members of the Audit Committee, the Remuneration Committee and the Nomination Committee shall be performed by the Nomination Committee in accordance with the qualifications criteria under section 67 and section 68 of the Public Companies Act, B.E. 2535 (1992) and relevant notifications of the Office of the Securities Exchange Commission. In addition, the experience, knowledge, and proficiency of candidates are also taken into consideration. Results of the selection will be submitted to the Board of Directors for consideration and approval and/or to the shareholders’ meeting for approval in accordance with the rules and procedures set forth in the Company’s articles of association, as may be summarised below: 1. In the case where the office of director becomes vacant on any ground other than at the expiration of the term, the Board of Directors is authorised to select a person with suitable qualifications and without prohibitions to replace the outgoing director in the next Board of Directors’ meeting, except where the remaining term of office of that director is less than 2 months. The resolution approving the appointment of the replacing director must be supported by votes of not less than three-fourth of the remaining directors. The replacement director will be in office only for the remaining term of the outgoing Director. 2. The Board of Directors is elected at the shareholders’ meeting. The election shall be in accordance with the following rules and procedures. 1) Each shareholder shall have one vote for each share he/she holds. 2) Each shareholder may exercise all votes under 1) in voting for one or more persons to become Directors, provided that voting shall not be divisible. 3) The persons receiving the highest votes are, in descending order, elected to the Board of Directors until the required number of directors is met. In the case where two or more candidates have equal votes and such equality results in having more elected persons than the required number of directors, then the chairman shall have a casting vote. At every annual general shareholders’ meeting, one-third of the Directors, or, if the number of existing directors is not capable of being rounded by division by three, then the number nearest to one-third, shall vacate office. 49
การพนจากตำแหนงของกรรมการในปแรก และปที่สองภายหลังการจดทะเบียนเปนบริษัทมหาชนจำกัด ใหใชวิธีสมัครใจ ของกรรมการ หากกรรมการทีส่ มัครใจออกจากตำแหนงยังไมครบจำนวนก็ใหใชวธิ จี บั สลากกัน สวนปตอ ไปใหกรรมการทีอ่ ยใู นตำแหนง นานทีส่ ดุ เปนผอู อกจากตำแหนง ทัง้ นี้ กรรมการทีพ่ น จากตำแหนงตามวาระอาจไดรบั เลือกตัง้ เขามาดำรงตำแหนงใหมได การสรรหาผบู ริหารซึง่ เปนกรรมการบริหาร ในการสรรหาผบู ริหารจะคัดเลือกและแตงตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั โดยพิจารณา จากคุณวุฒิ คุณสมบัติ และประสบการณทเี่ หมาะสม การสรรหาผบู ริหารในระดับต่ำกวาผชู ว ยกรรมการผจู ดั การ ผบู ริหารสายงานนัน้ ๆ จะพิจารณาคัดเลือกและอนุมตั โิ ดยกรรมการ ผจู ดั การ และผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร
คาตอบแทนกรรมการและผบู ริหารบริษทั คาตอบแทนทีเ่ ปนตัวเงิน คาตอบแทนทีจ่ า ยใหแกกรรมการบริษทั เปนคาเบีย้ ประชุม ซึง่ จายใหกบั กรรมการทีเ่ ขารวมประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ละ 10,000 บาทตอทาน สำหรับกรรมการที่ดำรงตำแหนงในคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน และ คณะกรรมการสรรหา จะไดรบั คาเบีย้ ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน และคณะกรรมการสรรหา ครัง้ ละ 10,000 บาทตอทานดวยเชนกัน ทัง้ นี้ ทีป่ ระชุมสามัญผถู อื หนุ ประจำป 2551 ไดอนุมตั คิ า ตอบแทนกรรมการประจำป 2551 เปนจำนวนเงิน 2,000,000 บาท และโบนัสประจำป 2550 สำหรับคณะกรรมการบริษทั เปนจำนวนเงิน 500,000 บาท คาตอบแทนกรรมการบริษทั ในป 2551
หมายเหตุ :
1 2
3 4
50
ลาออกจากการเปนกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2551 ไดรบั การแตงตัง้ เปนกรรมการบริษทั จากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 5/2551 เมือ่ วันที่ 14 พฤษภาคม 2551 ลาออกจากการเปนกรรมการบริษทั เนือ่ งจากครบวาระ เมือ่ วันที่ 25 เมษายน 2551 ลาออกจากการเปนกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2551
The vacation of office of directors in the first and second years following the registration of the Company as a public company shall be on a voluntary basis. Where the number of directors voluntarily agreeing to vacate office is less than the number of directors required to vacate office, the remaining directors to vacate office shall be determined by drawing lots. In every subsequent year, the directors who have been in office for the longest period shall vacate office. An outgoing director may be re-elected. With respect to the selection of members of the Executive Committee, the selection shall be made from the Company’s Board of Directors, based upon appropriate knowledge, qualifications, and experiences. The selection of executives at the level lower than Assistant Managing Director (Vice President) shall be made by executives of the respective line for further approval by the Company’s Managing Director with, however, the endorsement by the Executive Committee.
Remuneration of the Company’s Directors and Managements
Remuneration in cash Remuneration to the Company’s Director is in the form of meeting allowances payable to directors attending the Board of Directors’ meeting at the rate of 10,000 Baht per person for each meeting. Directors who are members of the Audit Committee, the Remuneration Committee and the Nomination Committee are also entitled to the meeting allowances at the rate of 10,000 Baht for attendance at each meeting as well. The 2008 Ordinary Annual Shareholders’ Meeting approved payment of Directors’ remuneration in the total amount of 2,000,000 Baht for 2008 and also approved Directors’ Bonus for 2007 in the amount of 500,000 Baht. Remuneration of the Company’s Directors in 2008
Note :
Resigned from the office of Director on 1st May 2008 2 Appointed as Director at the Board of Directors’ Meeting No. 5/2008 held on 14th May 2008 3 Vacated the office of Director at the expiration of term on 25th April 2008 4 Resigned from the office of Director on 17th November 2008 1
51
คาตอบแทนรวมของกรรมการบริหาร ในรูปเงินเดือน โบนัส เงินสมทบกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ รวม 6 คน ในป 2551 จำนวนรวม ทัง้ สิน้ 17.60 ลานบาท คาตอบแทนอืน่ -ไมม-ี คาตอบแทนผสู อบบัญชีในรอบป 2551 คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) บริษทั จายคาตอบแทนการสอบบัญชีใหแก สำนักงานสอบบัญชี บริษทั ไพรซวอเตอรเฮาสคเู ปอรส เอบีเอเอส จำกัด ทีผ่ สู อบบัญชี สังกัด บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของกับผสู อบบัญชีและสำนักงานสอบบัญชีทผี่ สู อบบัญชีสงั กัด ในรอบปบญ ั ชีทผี่ า นมา จำนวนเงิน รวม 2,227,500 บาท คาบริการอืน่ (Non-audit Fee) บริษทั จายคาตอบแทนการใหคำปรึกษาดานภาษีอากรใหแก สำนักงานสอบบัญชี บริษทั ไพรซวอเตอรเฮาสคเู ปอรส เอบีเอเอส จำกัด ในรอบปบญ ั ชีทผี่ า นมา จำนวนเงินรวม 96,835 บาท การประชุมคณะกรรมการ บริษทั มีนโยบายใหคณะกรรมการกำหนดการประชุมโดยปกติเปนประจำอยางนอยทุกๆ ไตรมาส และมีการประชุมพิเศษเพิม่ ตามความจำเปน โดยมีการกำหนดวาระชัดเจน ลวงหนา และมีวาระพิจารณาติดตามผลการดำเนินงานเปนประจำ เลขานุการบริษทั ไดจดั หนังสือเชิญประชุมพรอมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารใหคณะกรรมการกอนการประชุม เพือ่ ใหคณะกรรมการไดมเี วลา ศึกษาขอมูลอยางเพียงพอกอนเขารวมประชุม
คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ไดแตงตัง้ อนุกรรมการเพือ่ ชวยในการกำกับดูแลกิจการของบริษทั ดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 24 กันยายน 2546 ประกอบดวยกรรมการจำนวน 3 ทาน และทุกทานเปน กรรมการทีเ่ ปนอิสระ ดังรายชือ่ ทีไ่ ดระบุไวแลวในหัวขอกรรมการตรวจสอบขางตน โดยกำหนดใหกรรมการตรวจสอบมีการประชุม สม่ำเสมอเปนปกติอยางนอยทุกไตรมาส และรายงานตอคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 15 ธันวาคม 2549 ประกอบดวยกรรมการจำนวน 3 ทาน และทุกทาน เปนกรรมการทีเ่ ปนอิสระ ดังรายชือ่ ทีไ่ ดระบุไวแลวในหัวขอกรรมการกำหนดคาตอบแทนขางตน โดยกำหนดใหกรรมการกำหนด คาตอบแทนมีการประชุมสม่ำเสมอเปนปกติอยางนอยปละครัง้ และรายงานตอคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการสรรหา จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 15 พฤษภาคม 2550 ประกอบดวยกรรมการจำนวน 4 ทาน และ 2 ทานเปน กรรมการที่เปนอิสระ ดังรายชื่อที่ไดระบุไวแลวในหัวขอกรรมการสรรหาขางตน โดยกำหนดใหกรรมการ สรรหามีการประชุม สม่ำเสมอเปนปกติอยางนอยปละครัง้ และรายงานตอคณะกรรมการบริษทั 52
Remuneration of 6 members of the Executive Committee in the forms of salaries, bonus, and contributions to the Provident Fund in 2008 amounted to 17.60 Million Baht. Other Remuneration -NoneAuditor’s Fee in 2008 Audit fee In the preceding accounting year, the Company has paid the audit fee in the total amount of 2,227,500 Baht to Pricewaterhouse Coopers ABAS Ltd., to which auditors are affiliated, as well as to persons or entities connected with the auditors and the Audit Firm to which the auditors are affiliated. Non Audit fee In the preceding accounting year, the Company has also made payment of the tax-consultancy fee in the amount of 96,835 Baht to PricewaterhouseCoopers ABAS Ltd. Board of Directors’ Meetings According to the Company’s policy, the Board of Directors should convene an ordinary meeting regularly at least once every quarter and may convene extraordinary meeting as needed. The meeting agenda shall be determined clearly in advance and, in this connection, the agenda on the monitoring of the Company’s operation should regularly be included. The Company’s Secretary must send an invitation letter, together with the meeting agenda as well as relevant documents, to directors prior to the meeting in the interest of directors’ sufficient time for studying and digesting information before attending the scheduled meeting. Committees The Company’s Board of Directors has appointed committees for assisting the supervision of the Company’s businesses as follows: The Audit Committee. This Committee was established on 24th September 2003 and consisted of 3 members. All members are independent directors whose names are earlier listed in the section “Audit Committee”. This committee is required to meet regularly at least once every quarter and report to the Board of Directors. The Remuneration Committee. This Committee was established on 15th December 2006 and consisted of 3 members. All members are independent directors whose names are earlier listed in the section “Remuneration Committee”. This committee is required to meet regularly at least once a year and report to the Board of Directors. The Nomination Committee. This Committee was established on 15th May 2007 and consisted of 4 members, two of whom are independent directors. The names of members of this Committee are earlier listed in the section “Nomination Committee”. This committee is required to meet regularly at least once a year and report to the Board of Directors.
53
การเขารวมประชุมของคณะกรรมการบริษทั ในป 2551
การปฏิบตั ติ ามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี บริษัทไดตระหนักถึงความสำคัญของหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี อันเปนปจจัยหลักในการเสริมสรางองคกรใหมีระบบที่มี ประสิทธิภาพ และยึดมัน่ ทีจ่ ะดำเนินธุรกิจตามแนวของบรรษัทภิบาล เพือ่ สรางกลไกการควบคุมการดำเนินงานของบริษทั ใหมคี วาม โปรงใส มีความยุติธรรม และเกิดความมั่นใจตอผูมีสวนไดเสียทุกฝาย ซึ่งบริษัทไดปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ในทิศทางเดียวกับทีต่ ลาดหลักทรัพยฯ กำหนดในป 2549 โดยแบงเปน 5 หมวด ดังตอไปนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผถู อื หนุ คณะกรรมการไดกำหนดนโยบายเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการ โดยคำนึงถึงสิทธิขั้นพื้นฐานของผูถือหุน เชน สิทธิในการ ซือ้ ขายหรือการโอนหนุ การมีสว นแบงผลกำไรของบริษทั การไดรบั ขาวสาร ขอมูลของกิจการอยางเพียงพอ การมีสทิ ธิเขารวม ประชุมผถู อื หนุ เพือ่ ออกเสียงลงมติในเรือ่ งตางๆ ตามกฏหมายกำหนด รวมถึงไมกระทำการใดๆ อันเปนการละเมิดหรือริดรอนสิทธิ ของผถู อื หนุ สำหรับการประชุมผถู อื หนุ คณะกรรมการจัดใหมกี ารประชุมผถู อื หนุ เปนการประชุมสามัญประจำป 1 ครัง้ ภายใน 4 เดือน นับแตวนั สิน้ สุดรอบปบญ ั ชีของบริษทั และอาจเรียกประชุมวิสามัญผถู อื หนุ ไดตามความจำเปน ในการประชุมผถู อื หนุ คณะกรรมการ มีนโยบายใหมกี ารจัดสงหนังสือนัดประชุมพรอมทัง้ ขอมูลประกอบการประชุมตามวาระตางๆ พรอมความเห็นของคณะกรรมการ ประกอบการพิจารณาในแตละวาระ รวมถึงกฏเกณท วิธีการที่ใชในการประชุม และขั้นตอนในการลงมติ ใหผูถือหุนทราบ ลวงหนาไมนอ ยกวา 7 วันกอนวันประชุมหรือตามกฏหมายกำหนด ซึง่ ในปทผี่ า นมาบริษทั ไดสง หนังสือนัดประชุมใหผถู อื หนุ ลวงหนา 14 วัน กอนวันประชุม พรอมกำหนดสถานที่ เวลาการประชุมที่สะดวกตอผูถือหุน และไดเผยแพรเอกสารดังกลาวลวงหนา 30 วันกอนวันประชุม โดยผานทางเว็บไซตของบริษทั เพือ่ ใหผถู อื หนุ ไดมเี วลาศึกษาขอมูลลวงหนาอยางเพียงพอ รวมทัง้ มีนโยบาย ละเวนการกระทำใดๆ ทีเ่ ปนการจำกัดโอกาสของผถู อื หนุ ในการเขารวมประชุมและการลงมติออกเสียงลงคะแนน เชน เปดโอกาส ใหผถู อื หนุ ทีม่ าประชุมลาชาสามารถเขารวมประชุมและออกเสียงลงคะแนนได และจัดขัน้ ตอนในการลงทะเบียนเขาประชุมและวิธี การออกเสียงลงมติทไี่ มยงุ ยากซับซอน เพือ่ อำนวยความสะดวกในการใชสทิ ธิตอ ผถู อื หนุ ประธานทีป่ ระชุมไดจดั สรรเวลาในการ ประชุมอยางเพียงพอและเปดโอกาสใหผถู อื หนุ ซักถาม และแสดงความคิดเห็นตางๆ อยางเทาเทียมกัน ทัง้ นีใ้ นการประชุมผถู อื หนุ คณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการ รวมถึงผบู ริหารระดับสูงไดเขารวมประชุม เพือ่ ตอบขอซักถามตางๆ ในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วของ
54
Attendances of the Company’s Board of Directors in 2008 may be detailed as follows:
Principle of Good Corporate Governance
The Company impressively realises the importance of the good corporate governance principle which is an essential factor for strengthening the organisation’s effective systems. As such, the Company is committed to conducting its business along the line of “good corporate governance” with a view to building up operational control mechanisms towards transparency, fairness and confidence of all relevant stakeholders. In this connection, the Company has adhered to the “good corporate governance” principle in as much the same direction as that prescribed in 2006 by the Stock Exchange of Thailand. The good corporate governance may be classified into 5 sections as follows. Section 1: Rights of Shareholders The Board of Directors has prescribed policies in connection with the control and supervision of business, having regard to fundamental rights of shareholders – e.g. the right to sell, purchase or transfer shares, the right to dividend payments, the right to adequate information and the right to attend shareholders’ meetings and vote on any matters prescribed by law. In this connection, the Company must not commit any action in a manner causing rights of shareholders to be violated or impaired. With respect to a meeting of shareholders, the Board of Directors shall arrange an annual ordinary meeting within 4 months from the end of the accounting year of the Company and may call upon an extraordinary meeting as is necessary. For this purpose, it is the policy of the Board of Directors that an invitation letter should be sent to shareholders at least 7 days prior to the date of the meeting or as prescribed by law and should be accompanied by supporting information in accordance with the agenda as well as the Board of Director’s opinions on matters on the agenda, and also the statements of rules and procedures applicable to the meeting and procedures for casting votes. In effect, throughout the past year, the Company submitted invitation letters to shareholders 14 days prior to the due date, and stated the venue and time of the meeting which suited shareholders’ convenience. Further, 30 days prior to the due date, supporting documents for the meeting were made available through the Company’s website to enable shareholders to have sufficient time for studying the information in advance. It is also the Company’s policy to refrain from any conduct preventing shareholders’ opportunities to attend the meeting and casting votes. For instance, the Company has allowed shareholders with late arrival at the meeting venue to attend 55
หมวดที่ 2 การปฏิบตั ติ อ ผถู อื หนุ อยางเทาเทียมกัน บริษทั ตระหนักถึงการสรางความเทาเทียมกันใหเกิดกับผถู อื หนุ ทุกราย ทุกกลมุ ไมวา จะเปนผถู อื หนุ รายใหญ ผถู อื หนุ สวนนอย นักลงทุนสถาบัน หรือผถู อื หนุ ตางชาติ โดยในการประชุมกำหนดใหสทิ ธิออกเสียงในทีป่ ระชุมเปนไปตามจำนวนหนุ ทีผ่ ถู อื หนุ ถืออยู โดยนับหนึง่ หนุ มีสทิ ธิเทากับหนึง่ เสียง และเปดโอกาสใหผถู อื หนุ สวนนอยสามารถเสนอระเบียบวาระการประชุมลวงหนากอนวัน ประชุมไดโดยผานทางเว็บไซตของบริษทั และบริษทั จะจัดสงเอกสารประกอบการประชุมใหแกผถู อื หนุ ลวงหนา สำหรับผถู อื หนุ ทีไ่ มสามารถมารวมประชุมไดดว ยตนเองนัน้ สามารถมอบฉันทะใหกรรมการอิสระหรือบุคคลใด บุคคลหนึง่ เขา รวมประชุมแทนได โดยใชแบบฟอรมหนังสือมอบฉันทะทีส่ ามารถกำหนดทิศทางไดตามรูปแบบของกระทรวงพาณิชยกำหนดและ ระบุรายละเอียดของเอกสารประกอบหนังสือมอบฉันทะไวอยางชัดเจน และบริษทั ไดเปดใหผถู อื หนุ สามารถลงทะเบียนเขารวมประชุม กอนเวลาทีก่ ำหนดไว ในการประชุมผถู อื หนุ ประธานทีป่ ระชุมจะชีแ้ จงวิธกี ารลงมติออกเสียง และดำเนินการประชุมเรียงตามลำดับ วาระทีไ่ ดกำหนดไวในหนังสือเชิญประชุมโดยไมเพิม่ วาระการประชุมทีไ่ มไดแจงใหผถู อื หนุ ทราบลวงหนา บริษทั จัดใหมกี ารใชแบบ ฟอรมลงคะแนนเสียง สำหรับวาระทีต่ อ งการใหมกี ารลงคะแนนเสียง เพือ่ ใหเกิดความโปรงใสและสามารถตรวจสอบได ในวาระ เลือกตัง้ กรรมการบริษทั จะเสนอใหเลือกกรรมการเปนรายบุคคล ซึง่ รายชือ่ ทีเ่ สนอไดผา นการพิจารณาจากคณะกรรมการสรรหาแลว สวนในวาระพิจารณากำหนดคาตอบแทนกรรมการไดผา นการพิจารณาจากคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน ซึง่ กรรมการบริษทั ทีถ่ อื หนุ ของบริษทั ทุกทานถือวาเปนผมู สี ว นไดเสีย รวมถึงกรณีอนื่ ๆ ทีห่ ากกรรมการทานใดมีสว นไดเสียในวาระดังกลาว ก็จะงดออก เสียงในการลงมติในวาระนัน้ ๆ ดวย ในทีป่ ระชุมประธานจะเปดโอกาสใหผถู อื หนุ ซักถามในประเด็นตางๆ และแสดงความคิดเห็น ไดอยางเทาเทียมกัน ทัง้ นีบ้ ริษทั มีการจัดทำรายงานการประชุม พรอมบันทึกประเด็นสำคัญตางๆ ถูกตอง ครบถวน เสร็จสมบูรณ และจัดสงใหตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยภายในเวลาทีก่ ฏหมายกำหนด โดยมีการจัดเก็บรายงานการประชุมผถู อื หนุ อยางเปน ระบบ สามารถตรวจสอบได ในปทผี่ า นมาบริษทั ไดเผยแพรรายงานการประชุมผถู อื หนุ หลังจากวันประชุม 13 วัน ทางเว็บไซตของ บริษัท http://www.lv-technology.com นอกจากนี้บริษัทฯยังไดรับการประเมินจากคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย ในโครงการประเมินคุณภาพของการจัดประชุมสามัญผถู อื หนุ ประจำป 2551 อยใู นระดับทีด่ เี ยีย่ ม บริษทั มีมาตรการปองกันและควบคุมการใชขอ มูลภายใน โดยมีการเปดเผยขอมูลเพิม่ เติมไวในหัวขอโครงสรางการจัดการ เรือ่ ง การดูแลขอมูลภายใน หมวดที่ 3 บทบาทของผมู สี ว นไดเสีย บริษทั มีนโยบายในการใหความสำคัญตอสิทธิของผมู สี ว นไดเสียทุกกลมุ เพือ่ สรางความพึงพอใจ ดวยความเปนธรรม อยาง โปรงใส ตอผมู สี ว นไดเสียทุกกลมุ โดยมีรายละเอียดดังนี้ - ผถู อื หนุ บริษทั มีความมงุ มัน่ ทีจ่ ะดำเนินธุรกิจอยางโปรงใส เพือ่ สรางผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมใหกบั ผถู อื หนุ และ เพือ่ สรางความเจริญเติบโตอยางยัง่ ยืนใหกบั องคกร - พนักงาน การปฏิบตั กิ บั พนักงานอยางเทาเทียม เปนธรรม และใหผลตอบแทนทีเ่ หมาะสม พรอมจัดใหมกี ารฝกอบรม เพือ่ พัฒนาทักษะในการทำงานอยางสม่ำเสมอ - คคู า การบริการคคู า เปนไปตามเงือ่ นไขทางการคา รวมถึงการปฏิบตั ติ ามสัญญาตอคคู า - เจาหนี้ การปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขการกยู มื เงินตามขอตกลง - ลูกคา การเอาใจใสและรับผิดชอบตอลูกคา ใหบริการทีเ่ ทาเทียม รักษาความลับของลูกคาและมีหนวยงานหรือ บุคคลทีท่ ำหนาทีร่ บั ขอรองเรียนของลูกคา เพือ่ รีบดำเนินการใหแกลกู คาโดยเร็วทีส่ ดุ - คแู ขง การประพฤติตามกรอบกติกาการแขงขันทีด่ ี รักษาบรรทัดฐานของขอพึงปฏิบตั ใิ นการแขงขัน หลีกเลีย่ ง วิธกี ารไมสจุ ริตเพือ่ ทำลายคแู ขง - สังคม บริษทั สงเสริมความรับผิดชอบตอสังคมเสมอมา ทัง้ ในประเทศตลอดจนประเทศทีบ่ ริษทั เขาไปดำเนินธุรกิจ เชน ในป 2549 การบริจาคเงินชวยเหลือผปู ระสบอุทกภัยทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศไทย ในป 2550 การบริจาค เงินชวยภัยภิบัติ แผนดินไหวในประเทศเปรู บริจาคสมทบทุนมูลนิธิชัยพัฒนา ตลอดจนการสนับสนุน กิจกรรมของมูลนิธขิ องคนตาบอด และในดานการศึกษาบริษทั ไดบริจาคเงินสนับสนุนการศึกษาและวิจยั ของ นิสติ ภาควิชาวิศวกรรม การบินและอวกาศ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และในปี 56
the meeting and cast votes and has organised processes in connection with the attendance-registration and votecasting in an uncomplicated fashion so as to facilitate the exercise of rights by shareholders. At the meeting, the Chairman of the meeting has to allocate a sufficient amount of time and give shareholders equal opportunities to make enquiries and express opinions. At the meetings, the directors, members of Committees and high-ranking executives are present for the purpose of giving explanations on matters to which inquiries relate. Section 2 : Equal Treatment of Shareholders The Company is strongly aware of ensuring the equality of all shareholders, individually or between groups, whether as major or minor shareholders, institution investors or foreign investors. On this footing, the right to vote at a meeting is governed by the number of shares held by shareholders – indeed on the basis of one vote per share. In addition, minor shareholders are allowed to propose, through the Company’s website, the agenda of the meeting prior to the date set for that meeting and relevant documents will be furnished to shareholders prior to the date of the meeting. Shareholders who cannot attend the meeting may, by proxy, be represented by any independent director or by any person. For this purpose, such shareholders must use the proxy form as may flexibly be prepared in accordance with the form prescribed by the Ministry of Commerce, with clear statements of supporting documents. In effect, the Company provides shareholders with an opportunity to register their availability at the meeting prior to the time fixed for the meeting. At a meeting of shareholders, the Chairman of the meeting shall explain procedures for voting and conduct the meeting in accordance with the agenda indicated in the invitation letter without allowing any matters not brought to shareholders’ notice in advance to be included in the agenda. In the interest of transparency and accountability, the Company has set the “Voting Form” for any agenda in respect of which voting is required. With respect to an election of directors, candidates are nominated individually, provided that the nomination has previously been considered by the Nomination Committee. Matters on the agenda regarding the determination of remuneration must have been considered by the Remuneration Committee. In this regard, all directors holding shares in the Company are taken as having interest and, in effect, any directors with conflicting interest shall also refrain from voting on such agenda. At a meeting, the Chairman of the meeting shall provide shareholders with an opportunity to make inquiries and express their opinions on all matters. The Company shall prepare minutes of the meeting, with all important issues being correctly and completely recorded. Such minutes shall be furnished to the Stock Exchange of Thailand within such time as prescribed by law and shall be systemically retained and made available for inspection. In the preceding year, the Company caused minutes of the meetings to be disseminated via the Company’s website (http://www.lv-technology.com), 13 days after the date of the meeting. In addition, the Company has been assessed by the Securities and Exchange Commission under the “Assessment of the Quality of Holding Ordinary Annual Meetings 2008” Project. In this regard, the Company has proudly been granted the “Excellent” class for this assessment. The company has put in place measures for preventing and controlling the use of insides’ information. Details on this matter are disclosed in the section entitled “Management Structure: Insider information Management”. Section 3 : Roles of Stakeholders The Company has, as its crucial policy, dedicated particular attention to legitimate rights of all groups of stakeholders to ensure their satisfaction on the basis of fairness and transparency, as described below. - Shareholders : The Company is determined to conduct its business on the basis of transparency with a view to generating appropriate profits for shareholders and building up sustainable growth for the organisation. - Employees : The Company offers employees equal and fair treatment as well as suitable remuneration. Employees are also provided with regular training with a view to developing working skills. - Trading Partner : The Company provides services to its trading partners in accordance with the prescribed trading conditions, including provisions of agreements made with trading partners. - Creditors : The Company treats its creditors in accordance with the terms and conditions of loan agreements. 57
2551 บริษัทไดรวมบริจาคเงินชวยเหลือผูประสบอุทกภัยพายุนารกิสทีเ่ กิดขึ้นในประเทศพมารวมทั้งการ บริจาคสมทบทุนมูลนิธชิ ยั พัฒนาและการบริจาคเพือ่ การกุศลสาธารณะอืน่ ๆ หมวดที่ 4 การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส บริษทั ตระหนักดีวา ขอมูลของบริษทั ทัง้ ทีเ่ กีย่ วกับการเงินและทีไ่ มใชการเงินลวนมีผลกระทบตอกระบวนการตัดสินใจของผลู งทุน และผทู มี่ สี ว นไดเสียของบริษทั จึงไดกำหนดนโยบายใหฝา ยบริหารดำเนินการในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับการเปดเผยขอมูลอยางครบถวน โปรงใส ตรงตอความเปนจริง เชือ่ ถือได สม่ำเสมอ และทันเวลา ภายใตขอ กำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย บริษทั ไดมอบหมายใหนายชูชาติ บุนนาคทำหนาทีต่ ดิ ตอสือ่ สารกับผลู งทุน สถาบัน ผถู อื หนุ รวมทัง้ นักวิเคราะหและภาครัฐทีเ่ กีย่ วของ พรอมทัง้ มีเจาหนาทีป่ ระสานงานผลู งทุน ซึง่ ผลู งทุนสามารถติดตอ ขอทราบ ขอมูลบริษทั ไดที่ โทร. 02-717-0835-40 และไดเพิม่ ชองทางการเขาถึงขอมูลของผทู สี่ นใจอยางเทาเทียมกันโดยเปดเผยขอมูลของ บริษทั ผานเว็บไซต http://www.lv-technology.com เชน ประวัตบิ ริษทั โครงสรางคณะกรรมการ โครงสรางผถู อื หนุ ผลิตภัณฑ ขอมูลทางการเงิน รายงานประจำป (56-2) แบบแสดงรายการขอมูลประจำป (56-1) ขาวแจงตลาดหลักทรัพยฯ และราคา หลักทรัพย เปนตน บริษัทกำหนดนโยบายใหคณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะของบริษัท โดยจัดให คณะกรรมการตรวจสอบเปนผูสอบทาน และประเมินระบบการควบคุมภายในใหมีประสิทธิผล เพื่อสรางความเชื่อมั่นใหกับผูมี สวนไดเสียทุกฝาย และคณะกรรมการบริษทั ไดจดั ทำรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน รวมถึง สารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏในรายงานประจำป งบการเงินดังกลาวจัดทำขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปในประเทศ ไทย โดยเลือกใชนโยบายบัญชีทเี่ หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ยางสม่ำเสมอ และใชดลุ ยพินจิ อยางระมัดระวัง และประมาณการทีด่ ี ทีส่ ดุ ในการจัดทำ รวมทัง้ มีการเปดเผยขอมูลสำคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน บริษทั มีนโยบายเปดเผย การปฏิบตั หิ นาทีข่ องคณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการชุดตางๆ ในรอบปทผี่ า นมา เชน จำนวน ครัง้ การเขารวมประชุม รวมทัง้ การเปดเผยนโยบายการจายคาตอบแทนแกกรรมการ และผบู ริหารระดับสูง พรอมทัง้ จำนวน และ รูปแบบของคาตอบแทน ไวในหัวขอโครงสรางการจัดการ เรือ่ งคาตอบแทนคณะกรรมการและผบู ริหาร หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 5.1 โครงสรางคณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการ โครงสรางคณะกรรมการบริษทั บริษทั จะกำหนดคุณสมบัตขิ องผทู จี่ ะมาดำรงตำแหนงกรรมการสอดคลองกับกฏหมายทีเ่ กีย่ วของ โดยคำนึงถึงประสบการณ ความรู ความสามารถ และตองไมดำรงตำแหนงกรรมการหรือผบู ริหารในบริษทั จดทะเบียนเกินกวา 5 แหง เพือ่ จะไดมเี วลา ในการกำกับดูแลบริษทั ใหมปี ระสิทธิภาพอยางเพียงพอ การแตงตัง้ กรรมการและกรรมการผจู ดั การจะมีหลักเกณฑ และกระบวน การสรรหาบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตทิ เี่ หมาะสม ดวยความโปรงใส เชือ่ มัน่ ได โดยผานการกลัน่ กรองจากคณะกรรมการสรรหา และนำเสนอ ตอคณะกรรมการบริษทั และ/หรือผถู อื หนุ แตงตัง้ ตอไป โดยบริษทั กำหนดหนาทีค่ วามรับผิดชอบของกรรมการ คณะอนุกรรมการ รวมถึงระบุวาระการดำรงตำแหนงของกรรมการไวอยางชัดเจน โครงสรางคณะกรรมการ ประกอบดวยกรรมการ 8 ทาน ดังนี้ - กรรมการทีเ่ ปนผบู ริหาร 2 ทาน - กรรมการทีไ่ มเปนผบู ริหาร 6 ทาน คิดเปนอัตราสวนมากกวา 1 ใน 3 ของกรรมการทัง้ คณะ ซึง่ เปนกรรมการ อิสระ 3 ทาน นอกจากนี้โครงสรางคณะกรรมการของบริษัทประกอบดวย ประธานกรรมการไมเปนบุคคลเดียวกันกับกรรมการผูจัดการ กรรมการทีไ่ มใชผบู ริหารมากกวา 1 ใน 3 ของกรรมการทัง้ คณะ ซึง่ จะทำใหเกิดการถวงดุลในการบริหารงานอยางเหมาะสมและ เกิดการสอบทานการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพ และเปนธรรม โดยมีการเปดเผยขอมูลเพิม่ เติมไวในหัวขอโครงสรางการจัดการ เรือ่ งคณะกรรมการบริษทั 58
- Customers :
- Competitors : - Society :
The Company treats its customers with responsibility and concerns and provides them with equal services. The Company also strives to keep confidentiality of customers’ undisclosed information and, in this connection, puts in place an agency or person for receiving customers’ complaints and dealing with such complaints expeditiously. The Company deals with its competitors on the basis of best competition practices, strives to maintain ethical norms of competition and refrains from unscrupulous practices aimed at destroy its competitors. The Company has unfailingly promoted social responsibility, both domestically and in foreign regions where it has entered business partnership, as visualised, for instance, in the donation made for victims of flood in Thailand in 2006, the donation for easing the earthquake disaster in Peru in 2007, the donation for supporting the Chayapattana Foundation, the financial support granted to the Thai Blind People’s Foundation and, in the educational circle, the donation made to support studies and research of students of the Department of Aerospace Engineering, Faculty of Engineering, Kasetsart University. Most recently, in 2008, the Company has made a donation for assisting victims of the Cyclone Nargis Storm in Myanmar, a donation in support of the Chayapattana Foundation and donations for other pubic charities.
Section 4 : Disclosure of Information and Transparency The Company has full awareness of impacts which the Company’s business information, whether financially related information or non-financially related information, may have on the decision-making process of investors and stakeholders. The Company has, therefore, set a policy in connection with disclosure of information by its Management. In this connection, information must be disclosed adequately, transparently, accurately, in a trustable manner, regularly and timely. In accordance with regulations of the Stock Exchange of Thailand and Office of the Securities and Exchange Commission, the Company has appointed Mr. Chuchat Bunnag to be in charge of communicating with institution investors, shareholders, analysts and the relevant government sector. In addition, the Company has provided investment co-ordinators serving the Company’s information to the investors at the telephone number 02-717-0835-40. Further, interested persons may equally access the Company’s information via its website: http://www.lv-technology.com which offers such information as the Company’s background, the structure of Board of Directors, the structure of shareholders, products, financial information, Annual Reports (56-2), Annual Information List Form (56-1), news notified to the Stock Exchange of Thailand and securities’ prices, etc. The Company has also set a policy for the Board of Directors to be responsible for consolidated financial statements and unconsolidated quarterly financial statements of the Company. In this connection, the Audit Committee is in charge of reviewing and assessing the internal control system to ensure effectiveness and confidence of all relevant stakeholders. In addition, the Board of Directors has prepared the Report of Directors’ Responsibilities vis-a-vis the financial statement as well as financial information published in the Annual Report. Such financial statement has been prepared in accordance with the accounting standards generally recognised in Thailand, as to which the Company has opted for the accounting policy which is suitable and regularly practiced. In effect, the Company has exercised discretions with circumspection and made best estimates in the course of the preparation of the financial statement. Also, the Company has made adequate disclosure of important information in notes accompanying the financial statement. The Company has put forth the policy of disclosing the performance of the Board of Directors and other Committees throughout the preceding year e.g. the number of occasions of attending meetings. Disclosure also extends to policies in connection with the payment of remuneration to directors and high-ranking executives, with the indication of the amount and forms of remuneration. All this information is detailed in the section “Management Structure : Remuneration of the Board of Directors and Executives”.
59
โครงสรางคณะอนุกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการชุดตางๆ ประกอบดวย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกำหนด คาตอบแทน และคณะกรรรมการสรรหา เพือ่ ชวยพิจารณากลัน่ กรองเฉพาะเรือ่ งตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย และนำเสนอ คณะกรรมการบริษทั ซึง่ ชวยใหการปฏิบตั หิ นาทีก่ ำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ทัง้ นีป้ ระธานกรรมการ จะไมดำรงตำแหนงประธานหรือสมาชิกในคณะกรรมการชุดยอย ประธานคณะอนุกรรมการและสมาชิกสวนใหญของคณะอนุกรรม การเปนกรรมการอิสระ โดยมีการเปดเผยขอมูลเพิม่ เติมไวในหัวขอโครงสรางการจัดการเรือ่ งคณะอนุกรรมการ คณะกรรมการไดพจิ ารณากำหนดคุณสมบัตทิ เี่ หมาะสมของกรรมการอิสระเทากับขอกำหนดขัน้ ต่ำของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ดังนี้ 1) ถือหนุ ไมเกินรอยละ 1 ของจำนวนหนุ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอยบริษทั รวม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแยง ทัง้ นีใ้ หนบั รวมการถือหนุ ของผทู เี่ กีย่ วของของกรรมการอิสระรายนัน้ ๆ ดวย 2) ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการทีม่ สี ว นรวมในการบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ดรบั เงินเดือนประจำ หรือผมู อี ำนาจควบคุมของบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม บริษทั ยอยลำดับเดียวกัน หรือนิตบิ คุ คล ที่อาจมีความขัดแยง เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ปกอนวันที่ไดรับ การแตงตั้ง 3) ไมเปนบุคคลทีม่ คี วามสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฏหมายในลักษณะทีเ่ ปนบิดา มารดา คสู มรส พีน่ อ ง และบุตร รวมทัง้ คสู มรสของบุตร ของผบู ริหาร ผถู อื หนุ รายใหญ ผมู อี ำนาจควบคุมหรือบุคคล ทีจ่ ะไดรบั การเสนอใหเปนผบู ริหารหรือผมู อี ำนาจควบคุมของบริษทั หรือบริษทั ยอย 4) ไมมหี รือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความ ขัดแยง ในลักษณะทีอ่ าจเปนการขัดขวางการใชวจิ ารณญาณอยางอิสระของตน รวมทัง้ ไมเปนหรือเคยเปน ผถู อื หนุ รายใหญ กรรมการซึง่ ไมใชกรรมการอิสระ หรือผบู ริหาร ของผทู มี่ คี วามสัมพันธทางธุรกิจกับบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแยง เวนแตจะไดพน จากการมีลกั ษณะดังกลาวมา แลวไมนอ ยกวา 2 ปกอ นวันทีไ่ ดรบั การแตงตัง้ ความสัมพันธทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทำรายการทางการคาที่กระทำเปนปกติเพื่อประกอบ กิจการ การเชาหรือใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการเกีย่ วกับสินทรัพยหรือบริการหรือการใหหรือรับความชวย เหลือทางการเงิน ดวยการรับหรือใหกยู มื ค้ำประกัน การใหสนิ ทรัพยเปนหลักประกันหนีส้ นิ รวมถึงพฤติการณ อืน่ ทำนองเดียวกัน ซึง่ เปนผลใหบริษทั หรือคสู ญ ั ญามีภาระหนีท้ ตี่ อ งชำระตออีกฝายหนึง่ ตัง้ แตรอ ยละ 3 ของ สินทรัพยทมี่ ตี วั ตนสุทธิของบริษทั หรือตัง้ แต 20 ลานบาทขึน้ ไป แลวแตจำนวนใดจะต่ำกวา ทัง้ นี้ การคำนวณ ภาระหนีด้ งั กลาวใหเปนไปตามวิธกี ารคำนวณมูลคาของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันตามประกาศคณะกรรมการตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย วาดวยการเปดเผยขอมูลและการปฏิบตั กิ ารของบริษทั จดทะเบียนในรายการทีเ่ กีย่ ว โยงกัน โดยอนุโลมแตในการพิจารณาภาระหนีด้ งั กลาว ใหนบั รวมภาระหนีท้ เี่ กิดขึน้ ในระหวาง 1 ปกอ นวันที่ มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 5) ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความ ขัดแยง และไมเปนผถู อื หนุ รายใหญ กรรมการซึง่ ไมใชกรรมการอิสระ ผบู ริหาร หรือหนุ สวนผจู ดั การของสำนัก งานสอบบัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความ ขัดแยงสังกัดอยู เวนแตจะไดพน จากการมีลกั ษณะดังกลาวมาแลวไมนอ ยกวา 2 ปกอ นวันทีไ่ ดรบั การแตงตัง้ 6) ไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทาง การเงิน หรือผูประเมินราคาทรัพยสิน ซึ่งไดรับคาบริการเกินกวา 2 ลานบาทตอปจากบริษัท บริษัทใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแยง ทัง้ นีใ้ นกรณีทมี่ ผี ใู หบริการทางวิชาชีพเปนนิตบิ คุ คล ใหรวมถึงการเปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือหุนสวนผูจัดการ ของ ผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ปกอนวัน ที่ไดรับการแตงตั้ง
60
Section 5 : Responsibilities of the Board of Directors 5.1 Structures of the Board of Directors and Committees Structure of the Board of Directors The Company seeks to determine qualifications of persons to be appointed as directors in accordance with relevant laws, having regard to experiences, knowledge and expertise possessed, on the proviso that the persons intended to be appointed must not hold office of directors or executives in more than 5 registered companies. This restriction is introduced in an attempt to ensure that the appointees shall be in the position to dedicate their time to the adequately efficient supervision of the Company’s business. The appointment of directors and the Managing Director is subject to the selection rules and procedures under which persons with suitable qualifications will be selected on the basis of transparency and with reliability, indeed upon prior nomination made by the Nomination Committee for further approval by the Board of Directors and/or shareholders. In this connection, the Company has clearly determined scopes of responsibilities of directors and members of Committees. The term of office of directors is also clearly indicated. The structure of the Board of Directors consists of 8 directors as follows: - 2 executive directors; and - 6 non-executive directors (this number is more than one-third of the entire Board of Directors), 3 of whom are independent directors. Moreover, the structure of Board of Directors consists of Chairman of the Board of Directors, who is not the same person as the Managing Director, and non-executive directors in the number greater than one-third of the entire Board of Directors in order to facilitate a suitable balance of the management power and promote efficient and unbiased reviews of the management. Further details are disclosed in the section “Management Structure: Board of Directors”. Structure of the Committees The Board of Directors has appointed the following committees: the Audit Committee, the Remuneration Committee and the Nomination Committee, to assist in the consideration of specific matters entrusted by the Board and submit results of the consideration to the Board. This contributes to the Board’s greater efficiency in the supervision of the Company’s business. For this purpose, the Chairman of the Board of Directors will not be a chairman or member of any committee. Most of chairpersons and members of committees are independent directors. Further details of this matter are disclosed in the section “Management Structure: Committees”. The Board of Directors has determined suitable qualifications of the independent directors in the same standards as those prescribed by the Securities and Exchange Commission and the Stock Exchange of Thailand, as follows. 1) holding shares not exceeding one per cent of the total number of shares carrying voting rights of the Company, its parent company, subsidiary, associate company or juristic person likely to have conflicts of interest, provided that shares held by related persons of the independent director are to be calculated for the purpose of this restriction; 2) not being or having been an executive director, employee, official, or advisor receiving regular salaries, or a person with the power to control the Company, its parent company, subsidiary, associate company, same-level subsidiary or juristic person likely to have conflicts of interest, unless the foregoing status has ended not less than 2 years prior to the appointment; 3) not being a person with relationship of sanguinity or with relationship legally formed by registration in the degree of father, mother, spouse, brother, sister, child and spouse of the child of any executive, major shareholder or controlling person or person to be nominated as executive or controlling person of the Company or its subsidiary; 61
7) ไมเปนกรรมการทีไ่ ดรบั การแตงตัง้ ขึน้ เพือ่ เปนตัวแทนของกรรมการของบริษทั ผถู อื หนุ รายใหญ หรือ ผถู อื หนุ ซึง่ เปนผทู เี่ กีย่ วของกับผถู อื หนุ รายใหญของบริษทั 8) ไมมลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ ำใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกีย่ วกับการดำเนินงานของบริษทั 9) กรรมการอิสระทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ าม 1) – 8) อาจไดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ใหตดั สินใจในการดำเนิน กิจการของบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม บริษทั ยอยลำดับเดียวกัน หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความ ขัดแยง โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององคคณะ (collective decision) ได ขอบเขตหนาทีค่ วามรับผิดชอบของคณะกรรมการอิสระ 1) ดูแลผลประโยชนของผถู อื หนุ ทุกรายใหเทาเทียมกัน 2) ดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางบริษัทกับผูบริการ ผูถือหุนรายใหญ หรือบริษัทอื่นซึ่งมี ผบู ริหารหรือผถู อื หนุ รายใหญกลมุ เดียวกัน 3) ใหความเห็นตอผถู อื หนุ เกีย่ วกับรายการทีบ่ ริษทั ตองขอมติเห็นชอบจากทีป่ ระชุมผถู อื หนุ 4) เขารวมประชุมคณะกรรมการของบริษทั เพือ่ ตัดสินใจในกิจกรรมทีส่ ำคัญของบริษทั 5.2 บทบาท หนาทีแ่ ละความรับผิดชอบ บริษทั มีนโยบายใหคณะกรรมการบริษทั และผบู ริหารมีสว นรวมในการกำหนด (หรือใหความเห็นชอบ) วิสยั ทัศน เปาหมายของ แผนการดำเนินธุรกิจ เพือ่ เพิม่ มูลคาทางเศรษฐกิจสูงสุดใหแกกจิ การ นอกจากนัน้ บริษทั มีนโยบายจัดใหมรี ะบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และมาตรการบริหารความเสีย่ ง รวมทัง้ มีการติดตามการดำเนินการในเรือ่ งดังกลาวอยางสม่ำเสมอ ในการ ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษทั และกรณีมรี ายการทีม่ คี วามขัดแยงหรือมีสว นไดเสีย รวมทัง้ รายการที่ ตองขอความเห็นชอบจากผถู อื หนุ บริษทั ไดดำเนินการตามขอกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บริษทั มีนโยบายสงเสริมใหคณะกรรมการ กรรมการบริหาร และพนักงาน ผซู งึ่ เกีย่ วของปฏิบตั หิ นาทีเ่ กีย่ วกับจรรยาบรรณตาม ภารกิจของบริษทั ดวยความซือ่ สัตย สุจริต และเทีย่ งธรรม ทัง้ การปฏิบตั ติ อ บริษทั และผมู สี ว นไดเสียทุกกลมุ สาธารณชน สังคม และลูกคา โดยบริษัทไดติดตามการปฏิบัติตามแนวทางดังกลาวเปนประจำ รวมถึงกำหนดบทลงโทษทางวินัยไวดวย รวมทั้งมี นโยบายใหคณะกรรมการไดดแู ลรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอยางรอบคอบ โดยกำหนดไวในขอบังคับของบริษทั ซึง่ คณะกรรมการจะตองปฏิบตั ติ ามขอกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยอยางเครงครัด บริษทั ไดใหความสำคัญตอระบบควบคุมภายในทัง้ ในระดับบริหาร และระดับปฏิบตั งิ านทีม่ ปี ระสิทธิภาพ จึงไดกำหนดนโยบาย ดานภาระหนาที่ อำนาจการดำเนินการของผปู ฏิบตั งิ าน ผบู ริหาร และการควบคุมดูแลการใชทรัพยสนิ ของบริษทั ใหเกิดประโยชน และเพือ่ ใหเกิดการถวงดุลและตรวจสอบระหวางกันอยางเหมาะสม และคณะกรรมการบริษทั ไดประเมินความเพียงพอของระบบ การควบคุมภายในปละครัง้ เพือ่ นำขอบกพรองตางๆ มาแกไขปรับปรุง เพือ่ สรางความเชือ่ มัน่ ไดในระบบการควบคุมภายในของบริษทั คณะกรรมการบริษทั ไดแตงตัง้ นางสาวสุพตั รา เผือกพูล เปนเลขานุการบริษทั เพือ่ ปฏิบตั หิ นาทีใ่ นการดูแลกิจกรรมตางๆของ คณะกรรมการ และดูแลใหคณะกรรมการบริษทั ปฏิบตั ติ ามกฎหมายและระเบียบขอบังคับตางๆ ทีเ่ กีย่ วของ รวมทัง้ ประสานงาน ใหมกี ารปฏิบตั ติ ามมติคณะกรรมการบริษทั 5.3 การประชุมคณะกรรมการ บริษทั มีนโยบายใหคณะกรรมการกำหนดการประชุมโดยปกติเปนประจำอยางนอยทุกๆ ไตรมาส และมีการประชุมพิเศษเพิม่ ตามความจำเปน โดยมีการกำหนดวาระการประชุมลวงหนา อยางชัดเจน ประธานกรรมการและกรรมการผจู ดั การจะรวมกันพิจารณา เลือกเรือ่ งเขาวาระการประชุม พรอมเสนอใหกรรมการทุกทานเสนอเรือ่ งทีจ่ ะเขาประชุมได โดยคณะกรรมการสามารถขอขอมูลเพิม่ เติมไดจากกรรมการผจู ดั การหรือ เลขานุการบริษทั รวมทัง้ ใหผบู ริหารระดับสูงเขาประชุมเพือ่ ชีแ้ จงเรือ่ งทีเ่ กีย่ วของ และมีวาระ พิจารณาติดตามผลการดำเนินงานเปนประจำ เลขานุการบริษทั ไดจดั หนังสือเชิญประชุมพรอมระเบียบวาระการประชุมและเอกสาร ใหคณะกรรมการไมนอ ยกวา 7 วันกอนการประชุม เวนแตกรณีเรงดวนจะปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัดกำหนด เพื่อใหคณะกรรมการไดมีเวลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอกอนเขารวมประชุม ในการประชุมประธานกรรมการจะจัดสรรเวลาให 62
4) not having or having had a business relationship with the Company, its parent company, subsidiary, associate company, or juristic person likely to have conflicts of interest in the manner threatening to interfere with his independent judgement, and not being or having been a major shareholder, nonindependent director or executive of any person having a business relationship with the company, its parent company, subsidiary, associate company or juristic person likely to have conflicts of interest, unless the foregoing status has ended not less than 2 years prior to the appointment; Provided that the term ‘business relationship’ under paragraph one includes entering into any business transactions in the normal course of business, taking or granting a lease of immovable property, entering into transactions related to assets or services or granting or receiving financial assistance in the form of receiving or extending loans, giving a guarantee, providing assets as collateral, including any other similar actions, which shall result in the company or its contractual party being subject to indebtedness payable to the other party in the amount of 3 percent or more of the net tangible assets of the Company or twenty million Baht or more, whichever is lower. In this connection, the calculation of such indebtedness shall be governed mutatis mutandis by the method used for calculating values of connected transactions under the Notification of the Board of Governors of the Stock Exchange of Thailand Concerning Disclosure of Information and Actions of Listed Companies with respect to Connected Transactions, provided, however, that such indebtedness shall include indebtedness taking place during the period of one year prior to the date on which the business relationship with the same person has occurred; 5) not being or having been an auditor of the Company, its parent company, subsidiary, associate company or juristic person likely to have conflicts of interest, and not being a major shareholder, non-independent director, executive or managing partner of an audit firm employing auditors of the Company, its parent company, subsidiary, associate company or juristic person likely to have conflicts of interest unless the foregoing relationship has ended not less than 2 years prior to the appointment; 6) not being or having been any professional advisor including legal advisor, financial advisor or valuer receiving service fees in the amount exceeding 2 million Baht per annum from the Company, its parent company, subsidiary, associate company or juristic person likely to have conflicts of interest, provided that in the case of a professional advisor that is a juristic person this prohibition also extends to being or having been a major shareholder, non-independent director, executive or managing partner of that professional advisor as well, unless the foregoing relationship has ended not less than 2 years prior to the appointment; 7) not being a director appointed as a representative of the company’s directors, major shareholders or shareholders who are related to the Company’s major shareholders; and 8) not being subject to any character preventing independent opinions with regard to the operation of the Company’s business. 9) The independent director with qualifications under 1) to 8) may be entrusted by the Company’s Board of Directors to make business decisions in relation to the operation of the Company, its parent company, subsidiary, associate company, same-level subsidiary or juristic person likely to have conflicts of interest on the condition that such decision must be a collective one. Scope of Duties and Responsibilities of Independent Directors 1) To look after interests of all shareholders on the basis of equality; 2) To ensure the lack of conflicts of the Company’s interests with those of its executives, major shareholders or other companies having the same group of executives or major shareholders; 3) To give shareholders opinions on matters in respect of which the Company is required to seek approval at the shareholders’ meeting; and 4) To attend meetings of the Company’s Board of Directors for taking decisions on the Company’s activities of particular importance. 63
คณะกรรมการแสดงความคิดเห็นอยางอิสระในประเด็นตางๆ อยางเพียงพอ หากกรรมการทานใดมีสวนไดเสียกับเรื่อง ทีพ่ จิ ารณาจะไมรว มตัดสินใจ ในเรือ่ งดังกลาว และมีการจัดทำรายงานการประชุม พรอมจัดเก็บอยางเปนระบบ สามารถตรวจสอบได และนำสงตลาดหลักทรัพยภายในระยะเวลาทีก่ ำหนด 5.4 การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั บริษทั มีการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ปละ 1 ครัง้ โดยใชแบบประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษทั (Board Self-Assessment) โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ นำขอมูลมาพิจารณาทบทวน ผลงานและอุปสรรคตางๆ ในปทผี่ า นมา และ เพือ่ นำมาปรับปรุงการทำงานของคณะกรรมการบริษทั ใหมปี ระสิทธิภาพมากขึน้ การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการผจู ดั การ คณะกรรมการบริษทั รวมกับคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนเปนผปู ระเมิน ผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการผจู ดั การ โดยพิจารณาจาก Performance Agreement ประกอบกับผลการดำเนินงานของบริษทั โดยคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนจะนำเสนอขอมูลทีใ่ ชในการพิจารณากำหนดคาตอบแทน รวมถึงผลประโยชนอนื่ ๆ ของ กรรมการผจู ดั การ เสนอตอคณะกรรมการบริษทั 5.5 คาตอบแทนคณะกรรมการ คาตอบแทนกรรมการและผบู ริหาร คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนเปนผพู จิ ารณากำหนดคาตอบแทนกรรมการและผบู ริหาร เพือ่ เสนอคาตอบแทนกรรมการในแตละปตอ คณะกรรมการบริษทั และนำเสนอผถู อื หนุ อนุมตั ิ สวนคาตอบแทนผบู ริหาร คณะกรรมการ บริษทั เปนผพู จิ ารณา ซึง่ คาตอบแทนดังกลาว จะสอดคลองกับหนาทีค่ วามรับผิดชอบ ผลการปฏิบตั งิ าน ซึง่ เชือ่ มโยงกับผลการ ดำเนินงานของบริษทั และเหมาะสม สามารถเปรียบเทียบไดกบั อุตสาหกรรมเดียวกัน และเพียงพอตอการจูงใจ ในการปฏิบตั งิ าน ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีการเปดเผยขอมูลเพิม่ เติมไวในหัวขอโครงสรางการจัดการเรือ่ งคาตอบแทนกรรมการและผบู ริหาร 5.6 การพัฒนากรรมการและผบู ริหาร บริษทั ฯ สงเสริมใหคณะกรรรมการและผบู ริหารระดับสูงเขารวมสัมมนาหลักสูตรทีเ่ ปนประโยชนตอ การปฏิบตั หิ นาที่ ซึง่ เปน หลักสูตรทีจ่ ดั โดยหนวยงานของรัฐ หรือองคกรเอกชน สำหรับกรรมการบริษทั จะสงเสริมใหกรรมการทุกทานรวมทัง้ กรรมการทีเ่ ขา ใหม เขาอบรมหลักสูตรเกีย่ วกับกรรมการ ซึง่ จัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) เพือ่ นำความรแู ละประสบการณ มาพัฒนาองคกรและปฏิบตั หิ นาทีก่ ำกับดูแลกิจการใหมปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ทัง้ นีบ้ ริษทั ไดเปดเผยขอมูลการเขารวมอบรมของ กรรมการ ตามหลักสูตรของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทยไวในหัวขอรายนามกรรมการบริษทั ซึง่ เขารับการอบรมจาก สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) การดูแลเรือ่ งการใชขอ มูลภายใน บริษทั มีนโยบายการควบคุมดูแลการใชขอ มูลภายใน เพือ่ เปนขอมูลในการซือ้ -ขายหลักทรัพยของบริษทั ลวงหนา โดยจะใหเฉพาะ ผบู ริหารเปนผรู บั รขู อ มูลเทานัน้ และจะเปดเผยขอมูลใหพนักงานของบริษทั รับทราบเฉพาะสวนทีจ่ ำเปนตอการปฏิบตั งิ านเทานัน้ ทัง้ นี้ บริษทั ยังกำหนดใหมวี ธิ กี ารควบคุมใหกรรมการ ผบู ริหาร และพนักงาน ในการนำขอมูลความลับของบริษทั ไปใชเพือ่ ประโยชน สวนตัว ทัง้ นี้ มีการกำหนดบทลงโทษพนักงานทีฝ่ า ฝนไมปฏิบตั ติ ามกฎไวอยางชัดเจน โดยมีการกำหนดกฎเกณฑซงึ่ มีรายละเอียด ของขอกำหนดดังนี้ 1. กรรมการ ผบู ริหาร พนักงาน และลูกจางของบริษทั จะตองรักษาความลับ และ/หรือขอมูลภายในของบริษทั 2. กรรมการ ผบู ริหาร พนักงาน และลูกจางของบริษทั จะตองไมนำความลับ และ/หรือขอมูลภายในของบริษทั ไปเปดเผย หรือ แสวงหาผลประโยชนแกตนเองหรือเพือ่ ประโยชนแกบคุ คลอืน่ ใดไมวา โดยทางตรงหรือทางออม และไมวา จะไดรบั ผลตอบแทนหรือไมกต็ าม 3. กรรมการ ผบู ริหาร พนักงาน และลูกจางของบริษทั จะตองไมทำการซือ้ ขาย โอนหรือรับโอน หลักทรัพยของบริษทั โดย ใชความลับและ/หรือขอมูลภายในบริษทั และ/หรือ เขาทำนิตกิ รรมอืน่ ใดโดยใชความลับ และ/หรือ ขอมูลภายในของบริษทั อันอาจกอใหเกิดความเสียหายตอบริษทั ไมวา โดยทางตรงหรือทางออม ขอกำหนดนีใ้ หรวมความถึงญาติสนิท (“ญาติสนิท” หมายความวา บุคคลทีม่ คี วามสัมพันธทางสายโลหิต ทางการสมรสและโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย เชน บิดา มารดา คสู มรส บุตร พีน่ อ ง ลุง ปา นา อา รวมทัง้ คสู มรสของบุคคลดังกลาวเปนตน) ของกรรมการ ผบู ริหาร พนักงาน และ ลูกจางของบริษทั ดวย 64
5.2 Roles, Duties and Responsibilities As part of its policies, the Company allows the Board of Directors and executives to participate in the determination (or approval) of its visions and targets of business plans, with a view to promoting optimal added value to the business. Moreover, the Company has made part of its policies the provision of systems for internal control and internal audit as well as risk management measures. The implementation of these matters is regularly monitored at meetings of the Audit Committee and meetings of the Board of Directors. In the event of matters involving conflicts of interests and matters requiring shareholders’ approval, the Company has dealt with them in accordance with regulations of the Securities and Exchange Commission and regulations of the Stock Exchange of Thailand. The Company also has the policy of encouraging its Board of Directors, executive directors, employees and persons concerned to perform their duties on the basis of ethical business standards and in line with honesty and fairness. This applies to treatment to the Company, all stakeholders, the general public, society and customers. In this respect, the Company has regularly monitored the pursuit of these practices and has determined penalty for breach. In addition, the Company ensures that its Board of Directors shall, under the Company’s policy, carefully supervise matters in which conflicts of interests may be found. This is embodied in the Company’s article of association. The Board of Directors indeed strictly abides by regulations of the Securities and Exchange Commission and regulations of the Stock Exchange of Thailand. The Company has attached particular importance to efficient internal control systems at both executive and operational levels. To this end, the Company has set policies in relation to scopes of duties and authorities of employees and executives and in relation to the control of use of the Company’s assets to ensure optimal benefits. All this promotes the proper balance of power. In addition, the Company annually assesses sufficiency of its internal control systems once a year in order that weaknesses discovered can be learned and taken as lessons guiding the improvement towards reliability of the internal control system. The Company has appointed Miss Supatra Puakpool as the Company’s Secretary in charge of handling general affairs of the Board of Directors and ensuring the Board’s compliance with relevant laws, rules and regulations, including co-ordinating necessary activities in the implementation of resolutions of the Board of Directors’ meetings. 5.3 Board of Directors’ Meetings The Company has introduced a policy whereby the Board of Directors shall meet regularly at least once every quarter and may call upon extraordinary meetings as are necessary. The agenda of the meeting shall be clearly prepared in advance. In this connection, matters to be included in the agenda are to be considered and selected by the Chairman of the Board of Directors and the Managing Director, and all directors may propose matters to be decided upon at the meeting. The Board of Directors can request for additional information from the Managing Director or from the Company’s Secretary. In addition, high-ranking executives will attend the meeting for explaining relevant matters. Also, there should be included in the agenda the regular monitoring of work operation. Further, in order to enable directors to have sufficient time for studying information before each meeting, the Company’s Secretary will prepare invitation letters, together with the agenda and supporting documents and furnish them to the Board of Directors at least 7 days prior to the date of the meeting, save in the case of urgency, in which case the procedures prescribed by the Public Companies Act, B.E. 2535 (1992) shall be observed. At the meeting, the Chairman of the Board of Directors should allocate adequate time for free expression of opinions on matters on the agenda. In the case of any personal interest in the matter to be decided upon, a director may not take part in the decision on that matter. Minutes of meetings will systemically be prepared and kept in a manner allowing inspection and shall be submitted to the Stock Exchange of Thailand within the specified time. 5.4 Evaluation of the Board of Directors’ Performance The Company conducts the evaluation of its Board of Directors’ performance once a year based upon the ‘Board Self-Assessment’ Form with a view to reviewing, from all information obtained, the past year’s work performance and obstacles as well as improving the Board of Director’s works towards greater efficiency. 65
4. กรรมการและผบู ริหารของบริษทั จะตองไมทำการซือ้ ขาย โอนหรือรับโอน หลักทรัพยของบริษทั เปนระยะเวลา 1 เดือน กอนทีง่ บการเงินจะเปดเผยสสู าธารณชน ทัง้ นี้ บริษทั จะกำหนดโทษทางวินยั สำหรับผฝู า ฝนขอกำหนดดังกลาว และบริษทั จะพิจารณาลงโทษตามควรแกกรณี ไดแก การตักเตือนดวยวาจา การตักเตือนเปนลายลักษณอกั ษร การภาคทัณฑ พักงาน ปลดออก หรือ ไลออก แลวแตกรณี นอกจากนี้ บริษัทไดใหความรูแกกรรมการและผูบริหารใหทราบเกี่ยวกับหนาที่ที่กรรมการและผูบริหารตองรายงานการถือ หลักทรัพยของบริษทั และบทกำหนดโทษตามพระราชบัญญัตใิ นกฎหมายหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และตาม ขอกำหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และรายงานการถือหลักทรัพยตอ คณะกรรมการบริษทั ทราบทุกไตรมาส บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั มีจำนวนพนักงานทัง้ สิน้ 138 คน ในป 2551 บริษทั จายคาตอบแทนใหแกพนักงาน เปนเงินรวม 114.56 ลานบาท ซึง่ ประกอบดวย เงินเดือน เงินลวงเวลา เงินรางวัล คาสวัสดิการ และเงินสมทบกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ นโยบายการพัฒนาบุคลากร บุคลากรเปนปจจัยทีส่ ำคัญทีจ่ ะขับเคลือ่ นใหบริษทั ไปสคู วามเติบโตอยางมัน่ คง บริษทั จึงมีนโยบายในการพัฒนาบุคลากรใหมคี วาม กาวหนา สนับสนุนโอกาสในการเรียนรูกับบุคลากรทุกคน โดยเนนการทำงานเปนทีมและมีการอบรมภายในใหแกพนักงานใหมี ความรู ความเขาใจ และมีความชำนาญในเทคโนโลยีทบี่ ริษทั ไดคดิ คนและพัฒนาเพือ่ ปรับปรุงคุณภาพเครือ่ งจักรใหมกี ารทำงานที่ มีประสิทธิภาพสูงขึน้ รวมถึงสงเสริมใหเรียนรเู ทคโนโลยีใหมๆ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยตู ลอดเวลา โดยมีการอบรมภายนอกรวมกับ เอฟ.แอล.สมิทธ ประเทศเดนมารก ซึง่ เปนพันธมิตรทางการคา เปนการเรียนรแู ละแลกเปลีย่ นเทคโนโลยี เพือ่ เพิม่ ศักยภาพของ บุคลากร พรอมทีจ่ ะแขงขันทางธุรกิจ นอกจากนีบ้ ริษทั ยังสรางแรงจูงใจ โดยใหผลตอบแทนในการทำงานทีเ่ หมาะสม มีสวัสดิการ ทีด่ ี และจัดสรรหนุ ของบริษทั ใหกบั กรรมการ ผบู ริหาร และพนักงานในโครงการ ESOP เพือ่ เปนขวัญและกำลังใจ และรักษาบุคลากร ทีม่ คี วามสามารถและมีประสิทธิภาพใหรว มงานกับองคกร และจะทำใหเกิดประโยชนสงู สุดกับบริษทั ในอนาคต
66
The evaluation of performance of Managing Director shall be conducted by the Board of Director together with the Remuneration Committee and shall be based upon the Performance Agreement as well as results of work operation of the Company. The Remuneration Committee will submit to the Board of Directors information used in the determination of remuneration as well as other benefits of the Managing Director. 5.5 Remuneration of the Board of Directors The remuneration of directors and executives shall be, for each year, determined by the Remuneration Committee for submission to the Company’s Board of Directors and further approval by shareholders at the shareholders’ meeting, whilst the remuneration of executives shall be determined by the Board of Directors. The remuneration above shall be determined in a matter commensurate with duties and responsibilities as well as results of work performance associated with the Company’s results of operation and in an appropriate fashion comparable to businesses in the same industry and promoting incentives for working towards optimal productivity. Further details in this regard are disclosed in the section entitled “Management Structure: Remuneration of Directors and Executives” 5.6 Development for Directors and Executives The Company encourages the Board of Directors and high-ranking executives to attend training courses, organised by the government or private sectors, which are useful for the performance of duties. In particular, all directors, including newly appointed directors, are encouraged to attend such courses related to the performance of directors’ duties as organised by the Institute of Directors of Thailand (IOD) with a view to making use of essential knowledge and experience obtained for putting forth organisational development and the performance of supervisory duties towards greater efficiency. In this regard, details in connection with directors’ attendance at training under courses organised by the IOD’s are disclosed in the section entitled “Name-list of Directors Attending Training Courses Organised by the Institute of Directors of Thailand (IOD)”. Insider’ Information Management The Company has determined a policy related to the supervision of insider information to be used as decisive data in futures trading of the Company’s securities. Insider information may be accessible only by the Company’s executives whilst disclosure of such information to the Company’s employees may be made only to the extent necessary for the performance of their duties. The Company has also put in place measures for preventing directors, executives and employees from using the Company’s confidential information for personal gain. For this purpose, penalties have clearly been imposed on violating employees. Rules in this respect are detailed below. 1. Directors, executives, officials and employees of the Company must keep confidentiality of the Company’s information and/or insider information. 2. Directors, executives, officials and employees of the Company must not disclose the Company’s confidential and/or insider information or exploit such information for personal gain or any other person’s gain, whether directly or indirectly and whether on a remunerative basis or not . 3. Directors, executives, officials and employees of the Company must not purchase, sell or take a transfer of the Company’s securities by virtue of the Company’s confidential and/or insider information and/or enter into any juristic act by virtue of the Company’s confidential and/or insider information in a manner likely to cause prejudice to the Company, whether directly or indirectly, provided that this requirement shall also extend to close relatives (and, for this purpose, “close relatives” means persons with relationship of sanguinity or with relationship legally formed by registration – such as father, mother, spouse, child, brother, sister, uncle or aunt, or the spouse of such persons) of directors, executives, officials and employees of the Company as well. 4. Directors and executives of the Company must not purchase, sell or take a transfer of the Company’s securities within 1 month prior to disclosure of its financial statement to the public. In this connection, the Company shall prescribe disciplinary penalties for violators of the above restrictions. Penalties shall be imposed in accordance with the gravity of circumstances and are in the following forms: oral warning, written warning, probation, suspension from service, removal from service, or expulsion, as the case may be. 67
นโยบายการจายเงินปนผล บริษทั มีนโยบายจายเงินปนผลในอัตรารอยละ 40 – 60 ของกำไรสุทธิของงบการเงินรวมหลังหักภาษีเงินไดสำรองตามกฎหมาย และสำรองอืน่ ๆ ในแตละป ทัง้ นีก้ ารจายเงินปนผลจะขึน้ อยกู บั สภาวะเศรษฐกิจ กำไรจากการดำเนินงาน แผนการลงทุนตางๆ ในอนาคต และสอดคลองกับพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด การจายเงินปนผล
หมายเหตุ : * รอการอนุมตั จิ ากการประชุมสามัญผถู อื หนุ ประจำป 2552
สำหรับนโยบายการจายเงินปนผลของบริษทั ยอยและบริษทั รวมให LVT ขึน้ อยกู บั ผลประกอบการและคณะกรรมการของบริษทั ยอย และบริษทั รวมนัน้ จะพิจารณาการจายเงินปนผลเปนกรณีไป
68
In addition, the Company has brought to the attention of its directors and executives information in relation to their duty to report the Company’s securities holding as well as information concerning penalties prescribed under the Securities and Exchange Act B.E. 2535 (1992) and under the regulations of the Stock Exchange of Thailand. Directors and executives are also informed of their duty to furnish a report on its securities holding to the Board of Directors at the end of each quarter. Personnel As of 31st December 2008, the Company had 138 employees in total. In 2008, the amount of remuneration paid by the Company to its employees totaled 114.56 million Baht, consisting of monthly salaries, overtime payments, reward-payments, welfare payments, and provident fund contribution payments. Personnel Development Policy As human resources are perceivably a crucial factor driving the Company to sustainable growth, the Company has thus set its personnel development policy and, in this light, promoted learning opportunities for the entire workforce, with emphasis on teamwork. In addition, internal training programmes have been made available for employees in order for them to be equipped with knowledge, understanding, and skills in relation to the technologies invented and developed by the Company for improving efficiency of machinery operation. The Company’s human resources are also encouraged to learn new technologies which regularly change with time. In this connection, external training has also been organised in collaboration with F.L. Smidth, which is the Company’s business ally in Denmark, with a view to learning and exchanging technologies contributory to enhanced potential of the Company’s personnel and readiness for business competitiveness. Further, the Company strives to create incentives through offering appropriate remuneration, providing good welfare and allocating shares to directors, executive and employees under the ESOP Programme (Employee Stock Option Programme) intended also to promote personnel’s morale and spirits and aimed also at preserving personnel of high competence and efficiency, who will work for the Company towards optimal benefits in the future. Dividend Payment Policy The Company has the policy of paying dividends to shareholders at the rate of 40 – 60 percent of its annual net profit of the consolidated financial statement after tax and deduction of statutory reserves as well as other reserves. Payment of dividends depends on economic situations, operating profits, and future investment plans and shall be in accordance with the Public Company Law. Dividend Payment
Notes : * Pending approval by the Annual General Meeting of Shareholders for the year 2009.
The policy regarding the dividend payment from subsidiaries and associate companies to the L.V. Technology Pcl. shall depend on their operating performances and the determination of Board of Directors of such companies on an individual-case basis.
69
รายการระหวางกันทีเ่ กิดขึน้ กับบริษทั ยอยและบริษทั รวม ในป 2551 มีรายการระหวางกันทีเ่ กิดขึน้ กับบริษทั ยอยและบริษทั รวมทีเ่ กีย่ วของกันไดทำการซือ้ ขาย หรือตกลงวาจางงาน โดยใชเงือ่ นไขและราคาตลาดเชนเดียวกับบุคคลภายนอก โดยไดแสดงไวแลวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 21 ขัน้ ตอนการอนุมตั กิ ารทำรายการระหวางกัน บริษทั ไดกำหนดมาตรฐานและขัน้ ตอนการอนุมตั กิ ารทำรายการระหวางกัน โดยจะกำหนดใหการเขาทำรายการของบุคคล ทีอ่ าจจะมีความขัดแยงทางผลประโยชนจะตองผานการพิจารณาจากคณะกรรมการบริหาร โดยจะตองไดรบั อนุมตั จิ าก คณะกรรมการบริษทั โดยกรรมการซึง่ มีสว นไดเสียจะไมมสี ทิ ธิในการลงคะแนน นโยบายการทำรายการระหวางกันในอนาคต บริษทั ประมาณการวารายการระหวางกันในปจจุบนั มีแนวโนมทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตอยางตอเนือ่ ง เนือ่ งจากเปนลักษณะ ธุรกิจการคาทัว่ ไปซึง่ เปนไปตามการคาปกติ อาทิรายไดคา ทีป่ รึกษาทางเทคนิค รายไดจากการใหบริการดานวิศวกรรม ลูกหนีก้ ารคา เจาหนีก้ ารคา เปนตน นโยบายของบริษทั ในการทำรายการระหวางกันในอนาคตจะตองใชนโยบายราคา และเงือ่ นไขที่ ยุตธิ รรมเมือ่ เปรียบเทียบกับการทำรายการกับบุคคลภายนอก และตองเปนไปตามกฏหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย ขอบังคับของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยการเปดเผยชนิดและมูลคาของรายการระหวางกัน พรอมทัง้ เหตุผลของรายการระหวางกันตอทีป่ ระชุมผถู อื หนุ ของบริษทั รวมทัง้ การเปดเผยขอมูลในรายงานประจำป
70
Connected transaction with subsidiary and associate company In 2008, the Company entered into the connected transactions of buying, selling, or hiring agreement with its subsidiary and associate companies under the prices and conditions which those associates offer to general persons. The transactions were disclosed in the note No. 21 accompanying the financial statements. Procedure concerning the approval of connected transaction The Company has set a standard and procedure concerning the approval of connected transaction which requires that the transactions with related persons who may have conflict of interest must be approved by the Board of Directors. The Director who has conflict of interest shall have no voting right in the approval of the said connected transaction. Policy on future connected transaction The Company estimated that current connected transactions tend to arise continuously in the future because they are normal business transactions of general trading natures such as revenue from technical advisory service, engineering service, trade accounts receivable, and trade accounts payable etc. The Company has policy concerning the future connected transactions that the price and condition is fair compare to the price and condition offers to general person. The said transactions shall comply with the Securities and Exchange Act and regulation of the Stock Exchange of Thailand. Information regarding the type and value of connected transaction, as well as reason of entering into connected transaction shall be disclosed at the annual shareholders’ meeting and included in the Company’s annual report.
71
คณะกรรมการบริษทั แอล.วี. เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) ใหความสำคัญกับการปฏิบตั ติ ามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยได จัดตัง้ คณะกรรมการสรรหาเพือ่ ทำหนาทีพ่ จิ ารณากำหนดหลักเกณฑและกระบวนการในการสรรหาบุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม เพือ่ ดำรงตำแหนงกรรมการและกรรมการผจู ดั การ และนำเสนอผลการสรรหาตอคณะกรรมการบริษทั ณ วันที่ 31 1. 2. 3. 4.
ธันวาคม 2551 คณะกรรมการสรรหาประกอบดวย ; นายจิตต เกียรติสนุ ทร ประธานกรรมการสรรหาและกรรมการอิสระ นายอดิศร ประคุณหังสิต กรรมการสรรหาและกรรมการอิสระ นายแฮนส จอรแกน เนียลเซน กรรมการสรรหา นายเพียร ไมนัส คริสเตนเซน กรรมการสรรหา
ในป 2551 คณะกรรมการสรรหาไดมกี ารประชุมรวมกัน เพือ่ ปฏิบตั หิ นาทีต่ ามภารกิจทีไ่ ดรบั มอบหมาย สรุปไดดงั นี้ 1. พิจารณารายชือ่ กรรมการแทนกรรมการทีต่ อ งออกตามวาระ ตามขอบังคับบริษทั ฯ จำนวน 4 ทาน ไดแก นายปเตอร เคียรคแี ทป นายหาญฤทธิ์ แฮนเซน นายคิม แพนดรอป คริสเตนเซน และนายไมเคิล รูบี้ รอลิทเซน โดยไดพจิ ารณาคุณสมบัติ ประสบการณ ความเชีย่ วชาญ และความเหมาะสมทีจ่ ะเปนประโยชนสงู สุดใหแกการดำเนินกิจการของบริษทั ฯ และเสนอ ตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ใหนายปเตอร เคียรคแี ทป นายหาญฤทธิ์ แฮนเซน และนายคิม แพนดรอป คริสเตนเซน กลับเขาดำรงตำแหนงกรรมการบริษทั ฯ ตอไป สำหรับนายไมเคิล รูบี้ รอลิทเซน ไมประสงคจะดำรงตำแหนงกรรมการ บริษทั ตอไป จึงไดพจิ ารณาใหลดจำนวนสมาชิกของคณะกรรมการบริษทั จาก 10 ทาน เหลือ 9 ทาน 2. พิจารณาคุณสมบัตขิ อง คุณสุพตั รา เผือกพูล และไดเสนอตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ใหดำรงตำแหนงเลขานุการบริษทั เพือ่ ทำหนาทีด่ แู ลกิจกรรมของคณะกรรมการและบริษทั ใหปฏิบตั ติ ามกฎหมายและระเบียบขอบังคับทีเ่ กีย่ วของตางๆ 3. พิจารณาใหมกี ารกำหนดกฎบัตรของคณะกรรมการสรรหาเพือ่ กำหนดคุณสมบัตขิ องกรรมการทีต่ อ งการสรรหา เพือ่ ความ โปรงใส และใหแนใจวาเปนไปตามทีค่ ณะกรรมการคาดหวัง ทัง้ นีก้ ารเขารวมประชุมและคาตอบแทนทีค่ ณะกรรมการไดรบั ในป 2551 ไดเปดเผยขอมูลเพิม่ เติมไวในหัวขอโครงสราง การจัดการ เรือ่ งคาตอบแทนกรรมการและผบู ริหาร และการเขารวมประชุมของคณะกรรมการบริษทั
นายจิตต เกียรติสนุ ทร ประธานกรรมการสรรหา
72
The Board of Directors of L.V. Technology Public Company Limited dedicates particular attention to the need to comply with good corporate governance. To this end, the Board has set up a nomination committee to be in charge of considering and laying down rules and procedures for the selection of persons with suitable qualifications for appointment to the office of directors and managing directors and submitting nomination results to the Board of Directors. As of 31st December 2008, the Nomination Committee consisted of the following persons: 1. Mr. Jit Kietsunthorn Chairman of the Nomination Committee and Independent Director 2. Mr. Adisorn Prakunhungsit Member of the Nomination Committee and Independent Director 3. Mr. Hans Jorgen Nielsen Member of the Nomination Committee 4. Mr. Per Mejnert Kristensen Member of the Nomination Committee In 2008, the Nomination Committee met for the purpose of performing assigned duties, as may be summarised below. 1. The Nomination Committee met for considering persons to be nominated for appointment to the office of directors to fill the vacancies caused by the expiration of office of 4 directors, namely, Mr. Peter Kirketerp, Mr. Henrik Hansen, Mr. Kim Pandrup Christensen and Mr. Michael Ruby Lauritsen. The Nomination Committee took into account qualifications, experiences, expertise and suitability of persons believed to be of optimal value to the Company’s business operation. After careful consideration, the recommendation was made to the Board of Directors for re-appointing Mr. Peter Kirketerp, Mr. Henrik Hansen and Mr. Kim Pandrup Christensen as directors of the Company. As Mr. Michael Ruby Lauritsen expressed his intention not to be re-appointed as directors, the Nomination Committee therefore considered the reduction of the number of directors from 10 directors to 9 directors. 2. The Nomination Committee considered the qualifications of Ms Supatra Puakpool and nominated the above-named person for appointment by the Board of Directors to the office of the Company Secretary in charge of facilitating transactions of the Board of Directors as well as the Company to ensure compliance with relevant laws, rules and regulations. 3. The Nomination Committee considered the formulation of the Charter of the Committee and the qualifications of persons to be nominated for appointment as directors, in the interest of transparency and meeting the expectation of the Board of Directors. In this connection, details as to attendance and remuneration of the Nomination Committee throughout 2008 have been disclosed under the topic “Management Structure Re: Remuneration of Directors, Members of Committees and Executives and Attendance of the Board of Directors of the Company”
Mr. Jit Kietsunthorn Chairman of the Nomination Committee 73
คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนของบริษทั แอล.วี.เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) ประกอบดวยกรรมการอิสระจำนวน 3 ทาน ดังนี้
นายอดิศร ประคุณหังสิต นายจิตต เกียรติสนุ ทร นายสมนึก ใจจงรัก
ประธานกรรมการกำหนดคาตอบแทน กรรมการ กรรมการ
ในรอบป พ.ศ. 2551 คณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนไดปฏิบตั หิ นาทีต่ ามขอบังคับของคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทน โดยมีการประชุมกรรมการกำหนดคาตอบแทนจำนวน 1 ครัง้ และไดเสนอผลการประชุมตอคณะกรรมการบริษทั ซึง่ สรุปสาระสำคัญ ไดดงั นี้ 1. ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของกรรมการผจู ดั การ ตาม Performance Agreement และพิจารณากำหนดคาตอบแทน 2. พิจารณาจัดสรรคาตอบแทนกรรมการบริษทั 3. กำหนดใหประธานคณะกรรมการบริษทั ไมควรเปนประธานหรือสมาชิกของคณะกรรมการกำหนดคาตอบแทนเพือ่ ใหสอดคลองกับแนวปฏิบตั ขิ องตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในการกำหนดคาตอบแทนของคณะกรรมการและโครงสรางคาตอบแทนของผูบริหารระดับสูง จะมีหลักเกณฑหรือวิธีการ และโครงสรางที่เปนธรรมและเหมาะสมกับภาระหนาที่ ความรับผิดชอบ ผลการปฏิบัติงาน รวมถึงผลประกอบการของบริษัท และสามารถเทียบเคียงไดกับธุรกิจในอุตสาหกรรมเดียวกัน ซึ่งการเขารวมประชุมและคาตอบแทนที่คณะกรรมการไดรับ ในป 2551 ไดเปดเผยขอมูลเพิม่ เติมไวในหัวขอโครงสรางการจัดการ เรือ่ งคาตอบแทนกรรมการและผบู ริหาร และการเขารวม ประชุมของคณะกรรมการบริษัท
นายอดิศร ประคุณหังสิต ประธานกรรมการกำหนดคาตอบแทน
74
The Remuneration Committee of L.V. Technology Public Company Limited consists of 3 independent directors, as follows: Mr. Adisorn Prakunhungsit Chairman of the Remuneration Committee Mr. Jit Kietsunthorn Member Mr. Somnuk Chaichongrak Member In 2008, the Remuneration Committee has performed duties in accordance with the Regulation of the Committee. For this purpose, the Committee met once and thereafter submitted the deliberations made at the meeting to the Board of Directors, as may be summarised below. 1. The Committee appraised the performance of the Managing Director in accordance with the Performance Agreement and then determined remuneration of the Managing Director based upon such performance appraisal. 2. The Committee considered and determined remuneration of directors of the Company. 3. The Committee recommended that President of the Board of Directors of the Company should not be Chairman or member of the Remuneration Committee, so as to ensure compliance with the practice set by the Security Exchange of Thailand. The determination of remuneration of the Board of Directors and the formulation of the remuneration structure of highranking executives have been made on the basis of rules, procedures and structures that are fair and commensurate with duties, responsibilities, work performance of the executives as well as results of business operation of the Company, having regard also to the positions of businesses in the same line of industry. In this connection, details as to attendance and remuneration of the Remuneration Committee throughout 2008 have been disclosed under the topic “Management Structure Re: Remuneration of Directors, Members of Committees and Executives and Attendance of the Board of Directors of the Company�.
Mr. Adisorn Prakunhungsit Chairman of the Remuneration Committee
75
ภาพรวมของการดำเนินงาน ตลอดทัง้ ป 2551 บริษทั เรงเดินหนาดานการขายและการทำตลาดทัง้ ในตลาดเดิมทีม่ อี ยแู ละตลาดใหม โดยเนนในกลมุ ตลาดหลัก ไดแก เอเชียตะวันออกเฉียงใต เอเชียตะวันออกและตะวันออกกลาง กลมุ ประเทศทีอ่ ยใู ตการปกครองของรัสเซีย และ ตลาดใหม ๆ ในอเมริกาใต ทัง้ นีจ้ ากการรวมทุนกับพันธมิตรทางการคาในประเทศบราซิล เพือ่ กอตัง้ บริษทั แอล วี ลาติโน อเมริกา อิควิปาเมนโตส อินตัสเตรียลส จำกัด ในป 2551 ทำใหบริษทั สามารถขยายฐานการตลาดและฐานลูกคาใหมในกลมุ ประเทศอเมริกาใต เพิม่ ขึน้ อีก สงผลใหบริษทั มีรายไดรวมเพิม่ ขึน้ อยางมีนยั สำคัญเมือ่ เปรียบเทียบกับปกอ น นับเปนปทบี่ ริษทั ประสบความสำเร็จทัง้ ใน ดานรายไดและกำไรสุทธิสงู สุดตัง้ แตกอ ตัง้ กิจการมาครบสิบสองป รายได รายไดหลักของบริษทั มาจากสัญญาการใหบริการ ซึง่ ประกอบดวยการใหบริการดานการออกแบบทางวิศวกรรม รวมทัง้ รับจางผลิตอุปกรณที่ไดรับการพัฒนาขึ้นสำหรับลูกคาเฉพาะราย บริษัทสามารถขยายการใหบริการดานวิศวกรรม เพื่อปรับปรุง ประสิทธิภาพการทำงานของเครือ่ งจักรอุปกรณใหแกลกู คาทีอ่ ยใู นกลมุ อุตสาหกรรมซีเมนตซงึ่ เปนงานโครงการขนาดใหญไดเพิม่ มากขึน้ ในป 2551 บริษทั มีรายไดรวม 1,560.94 ลานบาท ประกอบดวยรายไดจากสัญญาการใหบริการ จำนวน 1,378.43 ลานบาท สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั รวม 133.78 ลานบาท และรายได อืน่ ๆ 48.73 ลานบาท ทัง้ นีร้ ายไดจากสัญญาการใหบริการ ในป 2551 ปรับตัวเพิม่ ขึน้ จากป พ.ศ. 2550 เปนจำนวน 903.00 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 189.93 สืบเนือ่ งจากความกาวหนา ในโครงการทีไ่ ดทำสัญญาในไตรมาสที่ 4 ในป พ.ศ. 2550 โดยรายไดสว นใหญมาจากงานโครงการ Cementos Yura ประเทศเปรู จำนวน 343.28 ลานบาท โครงการ Mustehkam ประเทศปากีสถาน จำนวน 167.87 ลานบาท โครงการ Basel ประเทศคาซัคสถาน จำนวน 155.48 ลานบาท เปนตนสวนโครงการใหมทที่ ำสัญญาในป พ.ศ. 2551 และมีรายไดทสี่ ำคัญ คือ โครงการ APIAI ประเทศอารเจนตินา จำนวน 133.50 ลานบาท บริษทั มีสว นแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั รวม จำนวน 133.78 ลานบาท (พ.ศ.2550: 40.70 ลานบาท) เพิม่ ขึน้ จากป 2550 จำนวน 93.08 ลานบาท หรือคิดเปนเพิม่ ขึน้ รอยละ 228.69 ประกอบดวยสวนแบงกำไรตามสัดสวนการลงทุนใน แอล เอ็น วี ประเทศอินเดีย 120.74 ลานบาท เนือ่ งจากการเติบโตของอุตสาหกรรมซิเมนตในภูมภิ าค สวนแบงกำไรจาก บริษทั แอล วี ลาติโน อเมริกา อีควิปาเมนโตส อินดัสเตรียล จำกัด ซึง่ เปนบริษทั ทีรว มลงทุนในป พ.ศ. 2551 จำนวน 7.45 ลานบาท สวนแบงกำไร จากบริษทั แอล วี เทคโนโลยี เอ็นจิเนียริง จำกัดในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน จำนวน 3.84 ลานบาท ซึง่ พัฒนาและเติบโต เพิม่ ขึน้ ในปนี้ และสวนแบงกำไรจาก บริษทั บีแอลวีที ซึง่ เปนบริษทั รวมทุนในสหรัฐอเมริกา จำนวน 1.75 ลานบาท ตนทุนและคาใชจา ย บริษทั มีตน ทุนสัญญาการใหบริการในป 2551 จำนวน 1,075.80 ลานบาท สัดสวนของตนทุนการใหบริการตอรายไดจาก สัญญาการใหบริการ เทากับรอยละ 78.04 (พ.ศ.2550: รอยละ 64.20) สัดสวนตนทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ เนือ่ งจาก ในปนบี้ ริษทั มีการดำเนินงาน โครงการขนาดใหญหลายโครงการ ดังไดกลาวมาแลวขางตน ดังนัน้ สัดสวนตนทุนของงานโครงการขนาดใหญจะเปนสัดสวนที่สงู เมือ่ เทียบกับในปพ.ศ. 2550 ซึง่ บริษทั มีงานโครงการขนาดใหญจำนวนนอยกวาและเริม่ ดำเนินงานโครงการขนาดใหญในชวงปลายป คาใชจา ยในดานการขายและบริการ สวนใหญเปนคาใชจา ยเกีย่ วกับพนักงาน และคาใชจา ยดานการตลาดและการขาย ซึ่งไดแก คานายหนา คาใชจายเดินทาง สำหรับคาใชจายในการขายและบริหารทั่วไป ในป 2551 จำนวน 227.58 ลานบาท คิดเปนอัตราสวนรอยละ 16.51 ของรายไดจากสัญญาการใหบริการ ซึง่ ลดลงเมือ่ เปรียบเทียบกับอัตราสวนของคาใชจา ยในการขาย และบริหารทัว่ ไปตอรายไดจากสัญญาการใหบริการ ในป 2550 ทีม่ อี ตั ราสวนรอยละ 32.17 ซึง่ เปนผลจากการเพิม่ ขึน้ ของรายได และการควบคุมคาใชจา ยของบริษทั
76
Operation Outlook Throughout 2008, the Company has made fullest efforts in promoting sale volume and marketing in both existing and new markets, with particular emphasis on main markets, namely, Southeast Asia, East Asia and the Middle East, countries formerly joined to Russia and new markets in Latin America. Following the Company’s entry into partnership with business allies in Brazil leading to the incorporation of LV Latino America Equipamentos Industrial Limited Company (LVLA) in 2008, the Company has successfully expanded its marketing and customers’ base embracing countries in the Latin American region. This expansion has given rise to the significant escalation of Company’s net revenues as compared with the figure of the previous year. This year is indeed the year of grand success of the Company in view of highest revenues and net profits over the period of 12 years since its incorporation. Incomes
Principal incomes of the Company were generated from service agreements, which involved the provision of services related to engineering designs and the production of equipment specifically tailor-made for individual customers. The Company succeeded in acquiring large-sized projects under which the Company provided engineering services aimed at improving operation efficiency of machinery for customers in the cement industry. In 2008, the Company has generated the total incomes in the amount of 1,560.94 million Baht, made up of incomes from service agreements in the amount of 1,378.43 million Baht, profit-shares from the investments in associate companies in the amount of 133.78 million Baht and other incomes in the amount of 48.73 million Baht. In this connection, the incomes from service agreements in 2008 rose from 2007 by 903.00 million Baht, representing 189.93 percent, as a result of the advancement of the projects in respect of which service agreements were made in the fourth quarter of 2007. In effect, the largest part of incomes was from overseas projects e.g. the Cementos Yura Project in Peru, representing the amount of 343.28 million Baht, the Mustehkam Project in Pakistan, representing the amount of 167.87 million Baht and the Basel Project in Kazakhstan, representing 155.48 million Baht. The new project under the agreement signed in 2008 which generated a significant source of revenue is the APIAI Project in Argentina, with the amount of 133.50 million Baht being generated. The Company has obtained aggregate profit-shares of 133.78 million Baht from investments placed in associate companies (as compared with the figure of 40.70 million Baht in 2007), hence an increase by 93.08 million Baht from 2007 or a rise by 228.69 percent. The total profit-shares are made up of the profit-share of 120.74 million Baht from LNV in India where there has been regional growth of the cement industry, the profit-share of 7.45 million Baht from LV Latino America Equipamentos Industrial Limited Company (LVLA), in which LVT has started its investment in 2008, the profit-share of 3.84 million Baht from LV Technology Engineering Company Limited in People’s Republic of China which has undergone further development and growth this year, and the profit-share of 1.75 million Baht from BLVT, LLC in the United States of America. Costs and Expenses The Company had the total costs of 1,075.80 million Baht from service agreements in 2008. The ratio of service costs to incomes from service agreements turned out to be at 78.04 percent (as compared with 64.20 percent in 2007). The elevated cost ratio was prompted by the fact that this year the Company carried out operations in several large projects as indicated earlier. As such, the cost ratio involving large-sized projects augmented in comparison with the cost ratio in 2007 during which the Company had a smaller number of large projects the operation of which actually commenced near the end of the year. Most of the expenses incurred in marketing and services were expended on items related to employees and, in addition, on marketing and sales, consisting of Commission and travel expenses. In effect, the expenditure incurred in sales and general administration in 2008 totaled 227.58 million Baht, representing 16.51 percent of incomes from service agreements. Indeed, there occurs a drop in the ratio of expenses on sales and on general administration to incomes from service agreements, given that the ratio of 2007 stood at 32.17 percent. This decline is a consequence of the increased incomes and the expenditure control of the Company.
77
กำไรขัน้ ตนและกำไรสุทธิ ในปพ.ศ. 2551 บริษทั มีกำไรขัน้ ตน จำนวน 302.63 ลานบาท คิดเปนเพิม่ ขึน้ รอยละ 21.95 เพิม่ ขึน้ จากปกอ น 132.44 ลานบาท ทัง้ นีเ้ ปนผลโดยตรงจากการเพิม่ ขึน้ ของรายไดจากสัญญาการใหบริการ เนือ่ งจากบริษทั เรงดำเนินงานดานการขายและการ ตลาดไปยังภูมภิ าคทีม่ ศี กั ยภาพ โดยเฉพาะการรวมกับบริษทั รวมทุนใหมในประเทศบราซิล เพือ่ ขยายฐานการตลาดในประเทศตางๆ ใน อเมริกาใต รวมถึงการเปดบริษัทใหมในประเทศบราซิล พรอมทั้งปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานในทุกระดับตลอดจนการ พิจารณาอัตรากำไรขัน้ ตนทีเ่ หมาะสมและสามารถแขงขันไดในการประกอบธุรกิจของบริษทั ผลกำไรสุทธิสำหรับปพ.ศ. 2551 เปนจำนวน 221.89 ลานบาท (พ.ศ. 2550: 62.79 ลานบาท) เพิม่ ขึน้ 159.10 ลานบาท จากปกอ น สาเหตุหลักจากการเพิม่ ขึน้ ของรายไดจากสัญญาการใหบริการทีเ่ พิม่ ขึน้ และสวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษทั รวม ซึง่ มีผลการดำเนินงานทีข่ ยายตัวและเติบโตขึน้ จากปกอ น ฐานะทางการเงินของบริษทั สินทรัพย สินทรัพยรวมของบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวน 1,320.86 ลานบาท (พ.ศ. 2550: 713.39 ลานบาท) เพิม่ ขึน้ เปนจำนวน 607.47 ลานบาท เมือ่ เปรียบเทียบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 โดยมีสาเหตุหลักดังตอไปนี้ 1) บริษทั มีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวน 191.94 ลานบาท (พ.ศ.2550: 171.21 ลานบาท) เพิม่ ขึน้ จากปทแี่ ลว 20.73 ลานบาท หรือคิดเปนเพิม่ ขึน้ รอยละ 12.11 ทัง้ นีจ้ ากรายไดตามสัญญา การใหบริการทีเ่ รียกเก็บได 2) บริษทั มีลกู หนีก้ ารคาสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 จำนวน 211.70 ลานบาท (พ.ศ. 2550: 67.04 ลานบาท) เพิม่ ขึน้ จากปกอ นจำนวน 144.66 ลานบาท คิดเปนลดลงรอยละ 215.78 เนือ่ งจากโครงการในปนี้ เปนโครงการใหญและ ลักษณะสัญญาการใหบริการโครงการมีระยะเวลาในการดำเนินงานระหวาง 12 – 18 เดือนขึน้ ไป การเรียกเก็บคา บริการจะตองสอดคลองกับการดำเนินการและสัญญานัน้ ๆ โดยการเรียกเก็บคาบริการจากลูกคาจะเปนไปตามขอตกลง ในสัญญาบริการและ Letter Of Credit (L/C) ซึง่ เปนการรับประกันการจายชำระคาบริการจากลูกคา เมือ่ บริษทั ได ทำงานสำเร็จลุลว งและสงมอบงานตามการตกลงกับลูกคา 3) บริษทั มีคา อุปกรณจา ยลวงหนา จำนวน 264.47 ลานบาท (พ.ศ. 2550: 74.93 ลานบาท) เพิม่ จากปทแี่ ลว จำนวน 189.54 ลานบาท ดังทีก่ ลาวมาแลววาโครงการในป พ.ศ. 2551 สวนใหญเปนโครงการขนาดใหญ และมีการเพิม่ ขึน้ ของจำนวนโครงการ ดังนั้น เมื่อมีการสั่งซื้ออุปกรณบริษัทตองจายชำระคาอุปกรณลวงหนาสำหรับงานในแตละ โครงการใหแกผผู ลิต และผขู าย 4) บริษทั มีเงินฝากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 จำนวน 318.04 ลานบาท (พ.ศ. 2550: 207.42 ลานบาท) เพิม่ ขึน้ จากปทแี่ ลว 110.62 ลานบาท หรือคิดเปนเพิม่ ขึน้ รอยละ 53.33 เนือ่ งจากบริษทั มีเงินฝากเพือ่ การค้ำประกัน สินเชือ่ กับสถาบันการเงินและเงินฝากในการค้ำประกันผลงาน 5) เงินลงทุนในบริษทั รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 มีจำนวน 190.99 ลานบาท เพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง โดยเปรียบเทียบ กับปกอ น ซึง่ บริษทั มีเงินลงทุนในบริษทั รวม จำนวน 86.95 ลานบาท โดยมีสาเหตุหลักจากผลประกอบการกำไรที่ เพิม่ ขึน้ ของบริษทั รวม โดยเฉพาะ บริษทั แอล เอ็น วี ประเทศอินเดีย เงินลงทุน บริษทั แอล วี ลาติโน อเมริกา อีควิปาเมนโตส อินดัสเตรียลส ในประเทศบราซิล ทีบ่ ริษทั เพิง่ จะรวมทุนในปนี้ บริษทั แอล วี เทคโนโลยี เอ็นจิเนียริง จำกัด ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และ บริษทั บีแอลวีที ในประเทศสหรัฐอเมริกา
78
Preliminary Profit and Net Profit In 2008, the Company obtained the preliminary profit of 302.63 million Baht, a rise by 21.95 percent or by 132.44 million Baht from the previous year’s figure. This escalation is a direct consequence of an increase in incomes generated from service agreements following the Company’s accelerated action in expanding sales and marketing to regions of high potential, in particular, in the wake of the investments placed in business allies in Brazil as part of the attempt to extend the Company’s marketing base to cover various countries in Latin America and also in the wake of the establishment of a new company in Brazil. No doubt, the increased preliminary profit has also been attributable to the improvement of efficiency of operations at all levels and the pre-determination of the Company’s preliminary profit at the appropriate rate facilitating its competiveness. The net profit of the Company in 2008 has come up at the amount of 221.89 million Baht (as compared with the figure of 62.79 million Baht generated in 2007), hence an increase by 159.10 million Baht from the previous year. The principal factors triggering this rise lie in an increase in incomes from mounting service agreements and also the greater amount obtained from the profit-shares from investments in business allies, of which the operations have undergone expansion and growth from the previous year. Financial Status of the Company Assets As of 31st December 2008, the Company had the total assets of 1,320.86 million Baht (as compared with the total assets of 713.39 million Baht in 2007), hence an increase by 607.47 million Baht from the status as of 31st December 2007. This rise has been, in the main, prompted by the following facts. 1) The Company had cash and cash equivalents as of 31st December 2008 in the amount of 191.94 million Baht (as compared with 171.21 million Baht in 2007), apparently an increase from the previous year by 20.73 million Baht or 12.11 percent. Such cash and cash equivalents were obtained from payments collectible from service agreements. 2) The Company had net receivables as of 31st December 2008 in the amount of 211.70 million Baht (as compared with 67.04 million Baht in 2007), hence a rise from the previous year by 144.66 million Baht or 215.78 percent. This is due to the fact that projects of this year were large projects with the duration of operation from 12 – 18 months upwards. Collection of service fees would have to match the operations carried out under the agreements concerned and comply with the provisions of the agreements as well as Letters Of Credit (L/C) issued to ensure payment by the Company’s customers upon completion and delivery of works under the agreements made with the customers. 3) The Company made advance payments for equipment in the amount of 264.47 million Baht (as compared with the sum of 74.93 million Baht in 2007). The amount augmented from the previous year’s figure by 189.54 million Baht. As earlier indicated, most of the projects operated in 2008 were large projects. Further, there was a rise in the number of the projects acquired. This prompted the needs to purchase equipment, in respect of which advance payments had to be made to manufacturers and sellers for the equipment used in each project. 4) The Company had cash deposits at financial institutions as of 31st December 2008 in the amount of 318.04 million Baht (as compared with 207.42 million Baht in 2007). This rise, by 110.62 million Baht or by 53.33 percent, from the previous year was due to the fact that the Company had to maintain cash deposits as security for loans extended by financial institutions as well as cash as security for work performance. 5) As of 31st December 2008, the Company had the funding for investment in associate companies in the amount of 190.99 million Baht. The investment funding underwent a constant augmentation as compared with the figure of 86.95 million Baht last year. This growth was principally engendered by the rising profits from associate companies, in particular, from LNV in India, LV Latino America Equipamentos Industrial Limited Company in Brazil (in which LVT has invested for the first time this year), LV Technology Engineering Company Limited in People’s Republic of China and BLVT, LLC in the United States of America. 79
หนีส้ นิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษทั มีหนีส้ นิ รวม จำนวน 718.86 ลานบาท คิดเปนรอยละ 54.42 ของหนีส้ นิ รวมและ สวนของผถู อื หนุ ทัง้ นีห้ นีส้ นิ รวมทีเ่ พิม่ ขึน้ 445.46 ลานบาทเมือ่ เปรียบเทียบกับปกอ นมีสาเหตุมาจากหนีส้ นิ ระยะสัน้ ไดแก เจาหนี้ งานโครงการตามสัญญาสุทธิ จำนวน 408.46 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากปกอ น 214.65 ลานบาท สวนใหญเปนจำนวนเงินทีเ่ รียกเก็บ จากลูกคาสวนทีเ่ กินกวามูลคางานทีแ่ ลวเสร็จ และ เจาหนีก้ ารคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 จำนวน 177.99 ลานบาท เพิม่ ขึน้ จากปกอ น 145.34 ลานบาท การเพิม่ ขึน้ ของเจาหนีท้ งั้ สองสวนนี้ สอดคลองกับปริมาณสัญญาการใหบริการทีเ่ พิม่ ขึน้ ในป 2551 สภาพคลอง ตารางสรุปกระแสเงินสด
ในป 2551 บริษทั มีจำนวนโครงการเพิม่ มากขึน้ และ อีกทัง้ ขนาดของโครงการใหญกม็ จี ำนวนมากขึน้ ทำใหบริษทั ตอง ใชเงินในกิจกรรมการดำเนินงานของบริษทั ดังนัน้ เมือ่ เปรียบเทียบกับปกอ น กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดำเนินงานจึงนอยกวา บริษทั มีกระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุนติดลบ จำนวน 110.57 ลานบาท เนือ่ งจากบริษทั ตองฝากเงินกับสถาบันการเงินเพือ่ เปนหลักทรัพยค้ำประกัน เพือ่ ใชเปนเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินงานจากการทีบ่ ริษทั ไดรบั งานสัญญาการใหบริการเพิม่ ขึน้ บริษทั มีกระแสเงินสดจากกิจกรรมการจัดหาเงิน จำนวน 6.85 ลานบาท โดยบริษทั มีกระแสเงินสดรับจากการกยู มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงินมาใชในการดำเนินธุรกิจ ในรูปของทรัสตรซี ที และเงินกรู ะยะสัน้ จากธนาคารเพิม่ มากขึน้ นอกจากนีบ้ ริษทั จาย เงินปนผลแกผถู อื หนุ จำนวน 32.75 ลานบาท เพิม่ จากปกอ นทีไ่ มมกี ารจายเงินปนผลเนือ่ งจากบริษทั มีผลขาดทุน สวนของผถู อื หนุ ทีป่ ระชุมวิสามัญผถู อื หนุ เมือ่ วันที่ 25 กุมภาพันธ 2551 ไดอนุมตั ใิ หนำสวนเกินมูลคาหนุ ของบริษทั ทีไ่ ดรบั จากการออก หนุ เพิม่ ทุน ระหวางวันที่ 30 มกราคม ถึง วันที่ 3 กุมภาพันธ 2549 จำนวน 43.25 ลานบาท และสำรองตามกฎหมายจำนวน 7.00 ลานบาท ไปหักกับขาดทุนสะสมจำนวน 50.25 ลานบาท ทีเ่ กิดจากผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงมาตรฐานบัญชีเกีย่ วกับเรือ่ ง เงินลงทุนในบริษทั รวมและบริษทั ยอย ในระหวางป พ.ศ. 2551 บริษทั ไดออกหนุ เพิม่ ทุนจากการใชสทิ ธิในใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 10.43 ลานหนุ มูลคา ทีต่ ราไวหนุ ละ 1 บาท ในราคาหนุ ละ 1.25 บาท เปนผลใหทนุ ทีอ่ อกและเรียกชำระแลวเพิม่ ขึน้ 10.43 ลานบาท และสวนเกิน มูลคาหนุ เพิม่ ขึน้ 2.61 ลานบาท ภาพรวมดานฐานะการเงินของบริษทั ณ. 31 ธันวาคม 2551 บริษทั มีอตั ราผลตอบแทนตอสวนของผถู อื หนุ คิดเปนอัตรา รอยละ 43.45 (พ.ศ. 2550: รอยละ16.39) ซึง่ มีอตั ราผลตอบแทนทีส่ งู กวาปกอ น สวนอัตราสวนของหนีส้ นิ ตอสวนของผถู อื หนุ อยใู นระดับ 1.19 เทา หนีส้ นิ สวนใหญของบริษทั เปนเจาหนีก้ ารคา 128.95 ลานบาท และเจาหนีง้ านโครงการตามสัญญาสุทธิ จำนวน 408.46 ลานบาท
80
Liabilities As of 31st December 2008, the Company had total liabilities in the amount of 718.86 million Baht, with the debt to equity ratio of 54.42 percent. In this connection, the increase in total liabilities by 445.46 million Baht from the previous year’s figure has been occasioned by short-term debts, indeed made up of, first, indebtedness to project-creditors in the amount of 408.46 million Baht – a rise by 214.65 million Baht from the previous year – incurred under projects implemented pursuant to agreements and collected from customers in excess of the value of works performed and, secondly, indebtedness to trade creditors in the amount of, as of 31st December 2008, 177.99 million Baht – an upsurge from the previous-year’s figure by 145.34 million Baht. The increase in the amount of both sources of indebtedness proceeded in the direction corresponding to the growing volume of service agreements in 2008. Liquidity
The Company’s cash flows may be summarised in a tabular form below.
In 2008, projects acquired by the Company were in the rise, with the increasing number of large-sized projects as well. Such increase gave rise to the compelling need of capital to be expended on the operation of the Company. As such, when compared with the position of the previous year, cash flows from operating transactions this year were in a smaller amount. Notably, the deficit, in the amount of 110.57 million Baht, in the Company’s cash flows from investment transactions has stemmed from the Company’s need to have cash deposits in financial institutions as security and also as the revolving capital for the operation of works under the service agreements increasingly acquired. The Company had cash flows in the amount of 6.85 million Baht from fund-raising transactions. In this connection, the Company had greater cash inflows from short-term loans acquired from financial institutions in the form of trust receipts as well as short-term loans from commercial banks. In addition, the Company paid dividends to shareholders in the total amount of 32.75 million Baht, indeed an increase from the previous year, given that no dividend was paid last year due to the Company’s loss. Shareholders’ Equity At an extraordinary meeting held on 25th February 2008, the Company approved a set-off of the Company’ s accumulated loss of 50.25 million Baht, occasioned by the impacts of the alteration of the accounting standard related to funds invested in associate companies and subsidiaries, against the amount of 43.25 million Baht which represented the value of shares over their par value obtained from an issuance of the Company’s capital-increasing shares from 30th January to 3rd February 2006 and also against the Company’s statutory reserve of 7 million Baht. In 2008, the Company issued 10.43 million shares, through warrants, for an increase of the Company’s capital at the price of 1.25 Baht per share for each share having a par value of 1 Baht. In consequence, the Company obtained an increase of the fully paid capital in the amount of 10.43 million Baht, with the amount of 2.61 million Baht over their par value. From its overall financial outlook, as of 31st December 2008, the Company had the dividend to equity ratio of 43.45 percent (whilst the figure of 2007 stood at 16.39 percent). This indicates a higher rate of dividend than in the previous year. The debt to equity ratio is 1.19. Most of the Company’s debts were indebtedness to trade creditors in the amount of 128.95 million Baht and indebtedness in the amount of 408.46 million Baht in respect of due to customers on project contracts, net. 81
คณะกรรมการบริษทั ฯ เปนผรู บั ผิดชอบตองบการเงินของบริษทั แอล.วี. เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) ซึง่ จัดทำขึน้ ตาม มาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปในประเทศไทย โดยไดมกี ารพิจารณาเลือกใชนโยบายบัญชีทเี่ หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ยางสม่ำเสมอ รวมทัง้ มีการเปดเผยขอมูลสำคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดแตงตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ประกอบดวยกรรมการทีเ่ ปนอิสระกำกับดูแลงบการเงินและ ประเมินระบบการควบคุมภายในใหมปี ระสิทธิผล เพือ่ ใหมคี วามมัน่ ใจไดวา มีการบันทึกขอมูลทางบัญชีถกู ตอง ครบถวนอยางเพียงพอ ทันเวลา และปองกันไมใหเกิดการทุจริตหรือการดำเนินการทีผ่ ดิ ปกติ ซึง่ ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบปรากฏในรายงาน ของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ไดแสดงไวในรายงานประจำปนแี้ ลว คณะกรรมการบริษทั ฯ มีความเห็นวาระบบการควบคุมภายในของบริษทั สามารถสรางความเชือ่ มัน่ ไดวา งบการเงินของ บริษทั แสดงฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดถูกตองในสาระสำคัญแลว
นายองคคณ ุ อยมู นั่ ประธานคณะกรรมการบริษทั
84
นายชูชาติ บุนนาค กรรมการผจู ดั การ
The Board of Directors of L.V. Technology Public Company Limited is responsible for the financial statements of the Company and subsidiaries which have been prepared in accordance with generally accepted accounting standards in Thailand. The policies pursued are deemed appropriate and applied consistently with adequate disclosure of important information in the notes to the financial statements. The Board has appointed an Audit Committee consisted of independent members to provide effective of finances and the internal control system to ensure that accounting records are accurate, complete and timely, to prevent fraud and materially irregular operations. The views of the Audit Committee are reported in the Audit Committee’s report in the Company’s annual report. The Board is confident that the internal control system of L.V. Technology Public Company Limited presents the financial position, results of operations, and cash flows accurately.
Mr. Ongkoon Youman Chairman of the Board of Directors
Mr. Chuchat Bunnag Managing Director
85
คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั แอล.วี.เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) ประกอบดวยกรรมการอิสระจำนวน 3 ทาน ซึ่ง มีความรู ความเชีย่ วชาญและประสบการณ ดานการเงินและบัญชี ดานเทคนิคและดานกฎหมาย โดยมีนายอดิศร ประคุณหังสิต เปนประธานกรรมการตรวจสอบ นายจิตต เกียรติสนุ ทรและ นายสมนึก ใจจงรัก เปนกรรมการตรวจสอบ ในรอบป 2551 คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบตั หิ นาทีต่ ามขอบเขตทีค่ ณะกรรมการบริษทั ไดมอบหมายใหกำกับดูแลตาม ขอกำหนดในระเบียบของบริษทั วาดวยขอบเขตหนาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ สอดคลองกับแนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ แี ละขอกำหนด เรือ่ งขอบเขตหนาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบทีจ่ ดั ทำโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยมีการประชุมกรรมการตรวจสอบ จำนวน 11 ครัง้ และไดเสนอผลการประชุมตอคณะกรรมการบริษทั สรุปสาระสำคัญไดดงั นี้ 1. 2. 3. 4. 5.
สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและประจำป พรอมแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวรวมกับฝายบริหาร โดยมีผูสอบบัญชีเขารวมประชุม เพื่อชี้แจงผลการตรวจสอบและใหขอสังเกตกับคณะกรรมการตรวจสอบกอน นำเสนอตอคณะกรรมการบริษทั สอบทานความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน โดยเชิญผูสอบบัญชี ผูตรวจสอบภายใน ผูบริหาร ทีเ่ กีย่ วของ เขาชีแ้ จงในประเด็นทีม่ ขี อ สงสัย เพือ่ ใหทกุ หนวยงานตระหนักถึงความสำคัญของระบบการควบคุมภายใน สอบทานการปฏิบตั ติ ามกฏหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยและกฏหมายอืน่ ทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจของบริษทั สอบทานการทำธุรกรรมของบริษทั กับกิจการทีเ่ กีย่ วโยงหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน พิจารณาอนุมัติแผนการตรวจสอบประจำป และสอบทานการรายงานผลการตรวจสอบของผูตรวจสอบภายใน รวมทัง้ การประเมินผลการควบคุมภายในเพือ่ ใหมนั่ ใจวา การควบคุมภายในมีประสิทธิภาพเพียงพอและเหมาะสม
คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา งบการเงินรวมของบริษทั และบริษทั ยอย ไดจดั ทำขึน้ ตามหลักการบัญชีทรี่ บั รอง ทัว่ ไป มีการปฏิบตั ติ ามกฏหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และกฏหมายอืน่ ทีเ่ กีย่ วของกับธุรกิจของบริษทั ฯ การเปดเผย ขอมูลในรายงานทางการเงินมีความครบถวน ถูกตอง เชือ่ ถือได คณะกรรมการตรวจสอบไดพจิ ารณาคัดเลือก และใหความเห็นชอบในการนำเสนอตอคณะกรรมการบริษทั ฯ เพือ่ ขออนุมตั ิ จากทีป่ ระชุมผถู อื หนุ แตงตัง้ ทีป่ ระชุมผถู อื หนุ อนุมตั กิ ารจางบริษทั ไพรซวอเตอรเฮาสคเู ปอรส เอบีเอเอส จำกัด เปนผสู อบบัญชี ของบริษทั สำหรับรอบปบญ ั ชี 2552 อีกวาระหนึง่ โดยมีคา ธรรมเนียมการสอบบัญชี เปนเงิน 2,400,000 บาท
นายอดิศร ประคุณหังสิต ประธานกรรมการตรวจสอบ
86
The Audit Committee of L.V. Technology Public Company limited consists of three independent directors with knowledge,expertise and experience in finance & accounting, law, and related technical practices. It is chaired by Mr. Adisorn Prakhunhangsit , with Mr. Jit Kietsunthorn and Mr. Somnuk Chaichongrak members. In 2008, the Audit Committee performed their duties and responsibilities as assigned by the Board of Directors in line with the Company’s notification of Audit Committee which is in accordance with the Stock Exchange of Thailand’s regulations. The Audit Committee had 11 meetings and reported the results to the Company’s Board of Directors. The main activities of the Audit Committee were as follows: 1. Reviewing the Company’s quarterly and annual financial statements with management and Company’s Auditor before submitting to the Board of Directors. 2. Reviewing the Company’s system of internal controls. The Committee have discussed with the external auditor, internal auditor and management to emphasize their concern on the efficiency of the internal control system. 3. Reviewing the Company’s performance to be complied with the Securities and Exchange Act. The Stock Exchange of Thailand’s regulations and other related business laws. 4. Reviewing the disclosure of connected transaction and potential conflicts of interest. 5. Approving the Internal Audit Plan , reviewing the Internal Audit Report and evaluated the internal control system to ensure that the internal control system was functioning effectively In the opinion of the Audit Committee, they considered that the company’s and consolidated financial statements were prepared in accordance with generally accepted accountancy principles. That the Company complied with the Securities and Exchange Act. The Stock Exchange of Thailand’s regulations and other related business laws. The information disclosed in its financial reports were complete, correct, and reliable. The Audit Committee has consented to appoint PricewaterhouseCoopers ABAS Limited to be the company’s auditor for the fiscal year 2009 the fee in the aggregate amount will be 2,400,000 Baht and also proposed the Board of Directors to present to the Annual General Shareholders’ Meeting for approval
Mr. Adisorn Prakhunhangsit Chairman of Audit Committee
87
เสนอ ผถู อื หนุ บริษทั แอล.วี. เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2550 งบกำไรขาดทุนรวม และงบกำไรขาดทุนเฉพาะบริษทั งบแสดงการเปลีย่ นแปลงสวนของผถู อื หนุ รวมและงบแสดงการเปลีย่ นแปลงสวนของผถู อื หนุ เฉพาะ บริษทั และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษทั สำหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกันของแตละปทแี่ นบมานีข้ องบริษทั แอล.วี. เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) และบริษทั ยอย และของเฉพาะบริษทั แอล.วี.เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) ซึง่ ผบู ริหารของกิจการ เปนผรู บั ผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผรู บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงิน ดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดใหขาพเจาตองวางแผนและ ปฏิบตั งิ านเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวางบการเงินแสดงขอมูลทีข่ ดั ตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญหรือไม การตรวจสอบ รวมถึงการใชวธิ กี ารทดสอบหลักฐานประกอบรายการทัง้ ทีเ่ ปนจำนวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสม ของหลักการบัญชีทกี่ จิ การใชและประมาณการเกีย่ วกับรายการทางการเงินที่เปนสาระสำคัญ ซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทำขึ้น ตลอดจน การประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการทีน่ ำเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชือ่ วาการตรวจสอบดังกลาวใหขอ สรุป ทีเ่ ปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา ขาพเจาเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ขางตนนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะบริษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2550 ผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะบริษทั และกระแสเงินสดรวมและกระแส เงินสดเฉพาะบริษทั สำหรับปสนิ้ สุดวันเดียวกันของบริษทั แอล.วี. เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) และบริษทั ยอย และของบริษทั แอล.วี. เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) โดยถูกตองตามทีค่ วรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป
ประสิทธิ์ เยือ่ งศรีกลุ ผสู อบบัญชีรบั อนุญาตเลขที่ 4174 บริษทั ไพรซวอเตอรเฮาสคเู ปอรส เอบีเอเอส จำกัด กรุงเทพมหานคร 2 มีนาคม พ.ศ. 2552
88
To the Shareholders of L.V. Technology Public Company Limited I have audited the accompanying consolidated and company balance sheets as at 31 December 2008 and 2007, and the consolidated and company statements of income, the consolidated and company statements of changes in shareholders’ equity and cash flows for the years then ended of L.V. Technology Public Company Limited and its subsidiary and of L.V. Technology Public Company Limited respectively. The Company’s management is responsible for the correctness and completeness of information in these financial statements. My responsibility is to express an opinion on these financial statements based on my audits. I conducted my audits in accordance with generally accepted auditing standards. Those standards require that I plan and perform the audit to obtain reasonable assurance about whether the financial statements are free of material misstatement. An audit includes examining, on a test basis, evidence supporting the amounts and disclosures in the financial statements. An audit also includes assessing the accounting principles used and significant estimates made by management, as well as evaluating the overall financial statement presentation. I believe that my audits provide a reasonable basis for my opinion. In my opinion, the consolidated and company financial statements referred to above present fairly, in all material respects, the consolidated and company financial position as at 31 December 2008 and 2007, and the consolidated and company results of operations, and cash flows for the years then ended of L.V. Technology Public Company Limited and its subsidiary and of L.V. Technology Public Company Limited, respectively, in accordance with generally accepted accounting principles.
Prasit Yuengsrikul Certified Public Accountant (Thailand) No. 4174 PricewaterhouseCoopers ABAS Limited Bangkok 2 March 2009
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
1 ขอมูลทัว่ ไป บริษทั แอล.วี. เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ”) เปนบริษทั มหาชนจำกัด ซึง่ จดทะเบียนและตัง้ ในประเทศไทย ซึง่ มีทอี่ ยู ตามทีไ่ ดจดทะเบียนไวดงั นี้ เลขที่ 719 อาคาร เค.พี.เอ็น ทาวเวอร ชัน้ 9 ชัน้ 17 และชัน้ 23 ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 บริษทั เปนบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เพือ่ วัตถุประสงคในการรายงานขอมูล จึงรวมเรียกบริษทั และ บริษทั ยอยวากลมุ บริษทั กลมุ บริษทั ดำเนินธุรกิจหลักในการใหคำปรึกษาดานวิศวกรรมเครือ่ งกล โดยการออกแบบ พัฒนา และปรับปรุงประสิทธิภาพ ของเครือ่ งจักรและอุปกรณ สำหรับอุตสาหกรรมซีเมนตและอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วของกัน กลมุ บริษทั มีการประกอบกิจการในตางประเทศมากกวา 30 ประเทศ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ไดรบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2552
2 นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีทสี่ ำคัญทีใ่ ชในการจัดทำงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั มีดงั ตอไปนี้ 2.1 เกณฑในการจัดทำงบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ไดจดั ทำขึน้ ตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป ภายใตพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 ซึง่ หมายความถึง มาตรฐานการบัญชีทอี่ อกภายใตพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และตามขอกำหนด ของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยวา ดวยการจัดทำและนำเสนอรายงานทางการเงินภายใตพระราชบัญญัติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ไดจดั ทำขึน้ โดยใชเกณฑราคาทุนเดิมในการวัดมูลคาขององคประกอบของงบการเงิน การจัดทำงบการเงินใหสอดคลองกับหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไปในประเทศไทยกำหนดใหฝา ยบริหารประมาณการและ กำหนดสมมติฐานทีเ่ กีย่ วของโดยจะมีผลตอตัวเลขของสินทรัพยและหนีส้ นิ รวมทัง้ การเปดเผยขอมูลเกีย่ วกับสินทรัพยและหนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ณ วันทีใ่ นงบการเงิน และขอมูลรายไดและคาใชจา ยในรอบระยะเวลาทีเ่ สนองบการเงินดังกลาว ตัวเลขทีเ่ กิดขึน้ จริงอาจแตกตางจากตัวเลขประมาณการ ถึงแมวา ฝายบริหารไดจดั ทำขึน้ จากความเขาใจในตัวเลขประมาณการเหตุการณ และสิง่ ทีไ่ ดกระทำไปในปจจุบนั อยางดีทสี่ ดุ แลว 102
2 นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.1 เกณฑในการจัดทำงบการเงิน (ตอ) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ฉบับภาษาอังกฤษจัดทำขึน้ จากงบการเงินตามกฎหมายทีเ่ ปนภาษาไทย ในกรณีทมี่ คี วาม ขัดแยงกันหรือมีความแตกตางในการตีความระหวางสองภาษา ใหใชตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเปนหลัก 2.2 ขอมูลเปรียบเทียบ
ตัวเลขเปรียบเทียบไดถกู ปรับปรุงใหสอดคลองกับการเปลีย่ นแปลงการนำเสนอขอมูลในปปจ จุบนั เทาทีจ่ ำเปนดังตอไปนี้ 2.3 มาตรฐานการบัญชีใหมและการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี ในระหวางป พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2551 สภาวิชาชีพบัญชีไดประกาศเรือ่ งมาตรฐานการบัญชีใหมและมาตรฐานการ บัญชี ซึง่ ไดมกี ารปรับปรุงใหม ดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ซึง่ ไดมกี ารปรับปรุงใหม ฉบับที่ 25 เรือ่ งงบกระแสเงินสด ฉบับที่ 29 เรือ่ งสัญญาเชา ฉบับที่ 31 เรือ่ งสินคาคงเหลือ ฉบับที่ 33 เรือ่ งตนทุนการกยู มื ฉบับที่ 35 เรือ่ งการนำเสนองบการเงิน ฉบับที่ 39 เรือ่ งนโยบายบัญชี การเปลีย่ นแปลงประมาณการทางบัญชี และขอผิดพลาด 103
2 นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.3 มาตรฐานการบัญชีใหมและการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี (ตอ) ฉบับที่ 41 เรือ่ งงบการเงินระหวางกาล ฉบับที่ 43 เรือ่ งการรวมธุรกิจ ฉบับที่ 49 เรือ่ งสัญญากอสราง มาตรฐานการบัญชีทอี่ อกใหม ฉบับที่ 51 เรือ่ งสินทรัพยไมมตี วั ตน การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการบัญชีทอี่ อกใหมขา งตนมีผลบังคับใชสำหรับงบการเงินทีม่ รี อบระยะเวลา บัญชีเริม่ ตนหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 ยกเวน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 เรือ่ งสัญญาเชา ซึง่ มีผลบังคับใชสำหรับ สัญญาเชาทุกประเภททีม่ วี นั เริม่ ตนสัญญาเชาในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 เปนตนไป ผูบริหารของกลุมบริษัทไดประเมินและเห็นวามาตรฐานการบัญชีดังกลาวไมมีผลอยางเปนสาระสำคัญตองบการเงินที่ นำเสนอ มาตรฐานการบัญชีทมี่ กี ารปรับปรุงและมีผลบังคับใชตงั้ แตรอบระยะเวลาบัญชีเริม่ ตนในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 และบริษทั ยังไมไดนำมาใชงวดปปจ จุบนั ฉบับที่ 36 ฉบับที่ 54
เรือ่ งการดอยคาของสินทรัพย เรือ่ งสินทรัพยไมหมุนเวียนทีถ่ อื ไวเพือ่ ขายและการดำเนินงานทีย่ กเลิก
มาตรฐานดังกลาวคาดวาจะไมมผี ลกระทบทีเ่ ปนสาระสำคัญตองบการเงิน 2.4 เงินลงทุนในบริษทั ยอยและบริษทั รวม และสวนไดเสียในกิจการรวมคา (1) บริษทั ยอย บริษทั ยอยหมายถึงกิจการ (ซึง่ รวมถึงกิจการเฉพาะกิจ) ทีก่ ลมุ บริษทั มีอำนาจในการควบคุมนโยบายการเงินและการ ดำเนินงาน และโดยทัว่ ไปแลวกลมุ บริษทั จะถือหนุ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงมากกวากึง่ หนึง่ ในการประเมินวากลมุ บริษทั มีการควบคุม บริษทั อืน่ หรือไม กิจการตองพิจารณาถึงการมีอยแู ละผลกระทบจากสิทธิในการออกเสียงทีเ่ ปนไปไดทกี่ จิ การสามารถใช สิทธิหรือแปลงสภาพตราสารนัน้ ในปจจุบนั รวมถึงสิทธิในการออกเสียงทีเ่ ปนไปไดซงึ่ กิจการอืน่ ถืออยดู ว ย กลมุ บริษทั รวมงบการเงินของบริษัทยอยไวในงบการเงินรวมตั้งแตวันที่กลุมบริษัทควบคุมบริษัทยอยจนกระทั่งอำนาจควบคุม จะหมดไป กลมุ บริษทั บันทึกการซือ้ บริษทั ยอยดวยวิธกี ารซือ้ และแสดงตนทุนดวยมูลคายุตธิ รรมของสินทรัพยทจี่ า ยไป หรือดวย มูลคายุตธิ รรมของตราสารทุนทีอ่ อกให หรือดวยภาระหนีส้ นิ ซึง่ กลมุ บริษทั ตองรับผิดชอบตัง้ แตวนั ทีไ่ ดบริษทั ยอยมา สินทรัพยและหนีส้ นิ ทีร่ ะบุได ซึง่ ไดจากการซือ้ บริษทั ยอยจะถูกวัดมูลคาเริม่ แรกในวันทีไ่ ดบริษทั ยอยนัน้ ทีม่ ลู คายุตธิ รรม โดยรวมสวนทีเ่ ปนของผถู อื หนุ สวนนอยดวย ตนทุนการไดบริษทั ยอยทีส่ งู กวามูลคายุตธิ รรมของสวนแบงของสินทรัพยสทุ ธิของบริษทั ยอยทีก่ ลมุ บริษทั จะไดรบั จะ บันทึกเปนคาความนิยม
104
2 นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.4 เงินลงทุนในบริษทั ยอยและบริษทั รวม และสวนไดเสียในกิจการรวมคา (ตอ) ตนทุนการไดบริษทั ยอยทีต่ ่ำกวามูลคายุตธิ รรมของสวนแบงของสินทรัพยสทุ ธิของบริษทั ยอยจะรับรใู นงบกำไรขาดทุนทันที รายการบัญชียอดคงเหลือ และรายการกำไรหรือรายการขาดทุนทีย่ งั ไมไดเกิดขึน้ จริงซึง่ เปนผลจากรายการระหวางกัน ของกิจการทีอ่ ยใู นกลมุ บริษทั จะถูกตัดบัญชีออกไป เวนแตรายการขาดทุนทีเ่ กิดขึน้ จริงซึง่ กลมุ บริษทั พิจารณาแลววา มีขอบงชี้วาสินทรัพยนั้นเกิดการดอยคา กลุมบริษัทจะเปลี่ยนนโยบายการบัญชีของบริษัทในกรณีที่จำเปนเพื่อให สอดคลองกับนโยบายการบัญชีของบริษทั เงินลงทุนในบริษทั ยอยแสดงในงบการเงินเฉพาะบริษทั โดยใชวธิ รี าคาทุน รายชื่อของบริษัทยอยหลักของบริษัท และผลกระทบทางการเงินจากการไดมาในบริษัทไดเปดเผยไวในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินขอ 11 (ก) (2) บริษทั รวม บริษทั รวมเปนกิจการทีก่ ลมุ บริษทั มีอทิ ธิพลอยางเปนสาระสำคัญแตไมถงึ กับควบคุม ซึง่ โดยทัว่ ไปก็คอื การทีก่ ลมุ บริษทั ถือหนุ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงอยรู ะหวางรอยละ 20 ถึงรอยละ 50 ของสิทธิออกเสียงทัง้ หมด เงินลงทุนในบริษทั รวมรับรเู ริม่ แรก ดวยราคาทุนและใชวธิ สี ว นไดเสียในการแสดงในงบการเงินรวม สวนแบงกำไรหรือขาดทุนของกลมุ บริษทั ในบริษทั รวมทีเ่ กิดขึน้ ภายหลังการไดมาจะรวมไวในงบกำไรขาดทุน และความเคลือ่ นไหว ในบัญชีสว นเกินจากการตีมลู คายุตธิ รรมภายหลังการไดมาจะรวมไวเปนสวนหนึง่ ของบัญชีสว นเกินจากการตีมลู คา ยุตธิ รรม ผลสะสมของการเปลีย่ นแปลงภายหลังการไดมาจะปรับปรุงกับราคาตามบัญชีของเงินลงทุน เมือ่ สวนแบงขาดทุน ของกลมุ บริษทั ในบริษทั รวมมีมลู คาเทากับหรือเกินกวามูลคาสวนไดเสียของกลมุ บริษทั ในบริษทั รวมนัน้ กลมุ บริษทั จะไมรบั รู สวนแบงขาดทุนอีกตอไป เวนแตกลมุ บริษทั มีภาระผูกพันในหนีข้ องบริษทั รวมหรือรับวาจะจายหนีแ้ ทนบริษทั รวม รายการกำไรทีย่ งั ไมไดเกิดขึน้ จริงระหวางกลมุ บริษทั กับบริษทั รวมจะตัดบัญชีเทาทีก่ ลมุ บริษทั มีสว นไดเสียในบริษทั รวม นัน้ รายการขาดทุนทีย่ งั ไมไดเกิดขึน้ จริงก็จะตัดบัญชีในทำนองเดียวกัน เวนแตรายการนัน้ มีหลักฐานวาสินทรัพยที่ โอนระหวางกันเกิดการดอยคา บริษทั รวมจะเปลีย่ นนโยบายการบัญชีเทาทีจ่ ำเปนเพือ่ ใหสอดคลองกับนโยบายการบัญชีของกลมุ บริษทั เงินลงทุนในบริษทั รวมแสดงในงบการเงินเฉพาะบริษทั โดยใชวธิ รี าคาทุน รายชือ่ ของบริษทั รวมไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 11 (ข) (3) สวนไดเสียในกิจการรวมคา เงินลงทุนในกิจการรวมคารับรเู ริม่ แรกดวยราคาทุนและใชวธิ สี ว นไดเสียในการแสดงในงบการเงินรวมและแสดงดวย ราคาทุนในงบการเงินเฉพาะบริษทั กลมุ บริษทั รับรเู งินลงทุนในกิจการรวมคาซึง่ ไดรวมสวนแบงของกลมุ บริษทั ในกำไร หรือขาดทุนของกิจการรวมคาทีเ่ กิดขึน้ ภายหลังการซือ้ ไวเปนสวนหนึง่ ของบัญชีสว นเกิน (สวนต่ำกวา) จากการตีมลู คา 105
2 นโยบายการบัญชี (ตอ) (3) สวนไดเสียในกิจการรวมคา (ตอ) ยุตธิ รรม ผลสะสมของการเปลีย่ นแปลงภายหลังการไดมาจะปรับปรุงกับราคาตามบัญชีของเงินลงทุน กลมุ บริษทั จะไมรบั รู สวนแบงขาดทุนอีกตอไปหากสวนแบงขาดทุนของกลมุ บริษทั ในกิจการรวมคามีมลู คาเทากับหรือเกินกวามูลคาสวนไดเสียของ กลมุ บริษทั ในกิจการรวมคานัน้ เวนแตกลมุ บริษทั ตองรับผิดในหนีข้ องกิจการรวมคาหรือรับวาจะจายหนีแ้ ทนกิจการรวมคา รายการกำไรทีย่ งั ไมไดเกิดขึน้ จริงระหวางกลมุ บริษทั กับกิจการรวมคาจะตัดบัญชีเพียงเทาทีก่ ลมุ บริษทั มีสว นไดเสีย ในกิจการรวมคานัน้ รายการขาดทุนทีย่ งั ไมไดเกิดขึน้ จริงก็จะตัดเปนบัญชีในทำนองเดียวกันเวนแตเปนรายการทีม่ ี หลักฐานวาเกิดกรณีทสี่ นิ ทรัพยทโี่ อนระหวางกันนัน้ ดอยคา นโยบายการบัญชีของกิจการรวมคาจะเปลีย่ นเทาทีจ่ ำเปน เพือ่ ใหสม่ำเสมอกับนโยบายการบัญชีของกลมุ บริษทั รายชือ่ ของกิจการรวมคาไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 11 (ค) 2.5 การแปลงคาเงินตราตางประเทศ กลมุ บริษทั แปลงคารายการทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศใหเปนเงินบาท โดยใชอตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีเ่ กิดรายการและแปลงคา สินทรัพยและหนีส้ นิ ทีเ่ ปนตัวเงินทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศ ณ วันทีใ่ นงบดุลใหเปนเงินบาท โดยใชอตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีใ่ น งบดุล รายการกำไรและรายการขาดทุนทีเ่ กิดจากการรับหรือจายชำระทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศและทีเ่ กิดการแปลงคาสินทรัพย และหนีส้ นิ ทีเ่ ปนตัวเงินดังกลาว ไดบนั ทึกทันทีในงบกำไรขาดทุน รายการในงบกำไรขาดทุนและงบกระแสเงินสดของหนวยงานตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอตั ราแลกเปลีย่ นถัวเฉลีย่ ใน ระหวางป รายการในงบดุลแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีใ่ นงบดุล ผลตางจากการแปลงคาทีเ่ กิด จากการแปลงคาของเงินลงทุนสุทธิในหนวยงานตางประเทศไดรวมไปยังสวนของผถู อื หนุ และจะรับรผู ลสะสมของผลตาง จากการแปลงคาทัง้ หมดดังกลาวเปนสวนหนึง่ ของกำไรหรือขาดทุนจากการจำหนายหนวยงานตางประเทศนัน้ เมือ่ มีการ จำหนายหนวยงานตางประเทศนัน้ คาความนิยมและการเปลีย่ นแปลงมูลคายุตธิ รรมทีเ่ กิดจากการไดมาซึง่ หนวยงานตางประเทศ จะถือเปนสินทรัพยหรือหนีส้ นิ ของหนวยงานตางประเทศและแปลงคาโดยใชตามอัตราปด 2.6 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดไดแสดงอยใู นงบดุลดวยราคาทุน ในการจัดทำงบกระแสเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทา เงินสดประกอบดวย เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทจายคืนเมือ่ ทวงถาม เงินลงทุนระยะสัน้ อืน่ ทีม่ สี ภาพคลองใน การเปลีย่ นมือสูงซึง่ มีอายุไมเกินสามเดือนนับจากวันทีไ่ ดมา 2.7 ลูกหนีก้ ารคา ลูกหนีก้ ารคารับรเู ริม่ แรกดวยมูลคาตามใบแจงหนี้ และจะวัดมูลคาตอมาดวยจำนวนเงินทีเ่ หลืออยหู กั ดวยคาเผือ่ หนีส้ งสัย จะสูญซึง่ ประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิน้ งวด คาเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญหมายถึงผลตางระหวางราคาตาม บัญชีของลูกหนีก้ ารคาเปรียบเทียบกับมูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั จากลูกหนีก้ ารคา หนีส้ ญ ู ทีเ่ กิดขึน้ ในระหวางปตดั เปนคาใชจา ย เมือ่ สามารถระบุได
106
2 นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.7 ลูกหนีก้ ารคา (ตอ) ผบู ริหารของกลมุ บริษทั ประมาณคาเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ โดยอาศัยการประเมินผลของฝายบริหารทีเ่ กีย่ วกับความสูญเสียทีอ่ าจจะเกิด ขึน้ จากยอดลูกหนีก้ ารคาทีค่ งคางอยู ณ วันสิน้ ป การประเมินผลดังกลาวไดคำนึงถึงประสบการณการชำระเงินในอดีตและปจจัย อยางอืน่ ซึง่ รวมทัง้ การพิจารณาถึงการเปลีย่ นแปลงในสวนประกอบและปริมาณของลูกหนี้ ความสัมพันธของยอดคาเผือ่ หนีส้ งสัย จะสูญตอยอดลูกหนี้ ตลอดจนสภาวะทางเศรษฐกิจ 2.8 สัญญาโครงการ สัญญาโครงการเปนสัญญาที่ทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อกอสรางสินทรัพยรายการเดียวหรือหลายรายการที่สัมพันธกันอยาง ใกลชดิ หรือพึง่ พากัน เรือ่ งการออกแบบ เทคโนโลยี และหนาทีก่ ารใชงาน หรือเชือ่ มโยงกันดวยวัตถุประสงคหรือการใชงาน ในขัน้ สุดทาย เมือ่ ผลสำเร็จของงานโครงการไมสามารถประมาณการไดอยางนาเชือ่ ถือ กลมุ บริษทั รับรรู ายไดตามสัญญาเปนจำนวน ไมเกินตนทุนตามสัญญาทีเ่ กิดขึน้ และเปนไปไดคอ นขางแนทจี่ ะไดประโยชนคนื กลับมาจากตนทุนดังกลาว และรับรตู น ทุนตาม สัญญาเปนคาใชจา ยเมือ่ เกิดขึน้ เมือ่ ผลสำเร็จของงานโครงการสามารถประมาณการไดอยางนาเชือ่ ถือ กลมุ บริษทั รับรรู ายไดตามสัญญาและตนทุนตาม สัญญาดวยวิธอี า งอิงกับขัน้ ความสำเร็จของงาน ซึง่ วัดโดยอิงความสัมพันธระหวางตนทุนตามสัญญาทีเ่ กิดขึน้ จนถึงปจจุบนั เทียบเปนสัดสวนกับประมาณการตนทุนรวมตามสัญญา รายการขาดทุนทัง้ หมดทีค่ าดวาจะเกิดขึน้ จากสัญญาจะรับรเู ปนคาใชจา ย ทันทีเมือ่ มีความเปนไปไดคอ นขางแนวา ตนทุนรวมตามสัญญาจะมีมลู คาเกินกวารายไดรวมตามสัญญา ตนทุนทีเ่ กิดขึน้ ระหวางปจนถึงวันสิน้ ปของงานตามสัญญาซึง่ เกีย่ วของกับกิจกรรมในอนาคตตามสัญญา จะไมรวมอยใู น ตนทุน แตแสดงไวเปนงานระหวางกอสรางตามสัญญา จำนวนรวมของตนทุนทีเ่ กิดขึน้ จนถึงปจจุบนั ของแตละสัญญาและรายการกำไร (หักดวยรายการขาดทุนทีร่ บั รแู ลว) ของ แตละสัญญาจะนำไปเปรียบเทียบกับเงินงวดทีเ่ รียกเก็บจากผจู า งจนถึงวันสิน้ ป หากผลรวมของตนทุนคาโครงการและ รายการกำไร (หักดวยรายการขาดทุนทีร่ บั รแู ลว) สูงกวาจำนวนเงินงวดทีเ่ รียกเก็บ สวนเกินทีเ่ กิดขึน้ จะแสดงเปนยอดลูกหนี้ งานโครงการตามสัญญา หากจำนวนเงินงวดทีเ่ รียกเก็บสูงกวาผลรวมของตนทุนคาโครงการและรายการกำไร(หักดวยรายการ ขาดทุนทีร่ บั รแู ลว) สวนเกินทีเ่ กิดขึน้ จะแสดงเปนเจาหนีง้ านโครงการตามสัญญา 2.9 อุปกรณ อุปกรณแสดงดวยราคาทุนหักคาเสือ่ มราคาสะสม คาเสือ่ มราคาคำนวณดวยวิธเี สนตรงตามอายุการใชงานเปนระยะเวลา 5 ป ในกรณีทรี่ าคาตามบัญชีสงู กวาประมาณการมูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืน ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดใหเทากับมูลคาทีค่ าดวา จะไดรบั คืน การซอมแซมและบำรุงรักษาจะรับรใู นงบกำไรขาดทุนในระหวางปบญ ั ชีทเี่ กิดรายการขึน้ รายการกำไรและรายการขาดทุนจากการจำหนายสินทรัพยกำหนดโดยเปรียบเทียบสิง่ ตอบแทนทีไ่ ดรบั กับราคาตามบัญชี และรวมไวในกำไรจากการดำเนินงาน 107
2 นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.10 สินทรัพยไมมตี วั ตน (โปรแกรมคอมพิวเตอร) สิทธิการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรทมี่ ลี กั ษณะเจาะจงทีซ่ อื้ มาบันทึกเปนสินทรัพยเมือ่ ตนทุนในการไดมาและการดำเนินการ ใหโปรแกรมคอมพิวเตอรเฉพาะเจาะจงที่นำมาใชงานไดตามประสงค โดยจะตัดจำหนายตลอดอายุประมาณการให ประโยชนทมี่ ปี ระมาณการภายในระยะเวลา 3 ป หรือตลอดอายุสทิ ธิการใช 2.11 สัญญาเชาระยะยาว - กรณีทกี่ ลมุ บริษทั เปนผเู ชา สัญญาระยะยาวเพือ่ เชาสินทรัพยโดยทีค่ วามเสีย่ งและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญตกอยกู บั ผใู หเชา จะจัด เปนสัญญาเชาดำเนินงาน เงินทีต่ อ งจายภายใตสญ ั ญาเชาดำเนินงานจะบันทึกในงบกำไรขาดทุน โดยใชวธิ เี สนตรงตลอด อายุของสัญญาเชานัน้ 2.12 เงินกยู มื เงินกยู มื รับรเู ริม่ แรกดวยมูลคายุตธิ รรมของสิง่ ตอบแทนทีไ่ ดรบั หักดวยตนทุนการจัดทำรายการทีเ่ กิดขึน้ ในเวลาตอมาเงินกยู มื วัด มูลคาดวยวิธรี าคาทุนตัดจำหนายตามวิธอี ตั ราดอกเบีย้ ทีแ่ ทจริง ผลตางระหวางสิง่ ตอบแทน (หักดวยตนทุนการจัดทำรายการที่ เกิดขึน้ ) เมือ่ เทียบกับมูลคาทีจ่ า ยคืนเพือ่ ชำระหนีน้ นั้ จะรับรใู นงบกำไรขาดทุนตลอดชวงเวลาการกยู มื 2.13 ผลประโยชนพนักงาน บริษทั จัดใหมกี องทุนสำรองเลีย้ งชีพซึง่ เปนแผนการจายสมทบตามทีก่ ำหนดไว สินทรัพยของกองทุนสำรองเลีย้ งชีพไดแยก ออกไปจากสินทรัพยของบริษทั และมีการบริหารโดยผจู ดั การกองทุนภายนอก กองทุนสำรองเลีย้ งชีพไดรบั เงินสะสมเขา กองทุนจากพนักงานและเงินสมทบจากบริษัทที่เกี่ยวของ เงินจายสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพบันทึกเปนคาใชจายใน งบกำไรขาดทุนสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีทเี่ กิดรายการนัน้ 2.14 ประมาณการหนีส้ นิ กลมุ บริษทั จะบันทึกประมาณการหนีส้ นิ ซึง่ ไมรวมถึงประมาณการหนีส้ นิ สำหรับผลตอบแทนพนักงานอันเปนภาระผูกพัน ในปจจุบนั ตามกฎหมายหรือตามขอตกลงทีจ่ ดั ทำไว อันเปนผลสืบเนือ่ งมาจากเหตุการณในอดีต ซึง่ การชำระภาระผูกพัน นัน้ มีความเปนไปไดคอ นขางแนวา จะสงผลใหบริษทั ตองสูญเสียทรัพยากรออกไป และตามประมาณการทีน่ า เชือ่ ถือของ จำนวนทีต่ อ งจาย ในกรณีทกี่ ลมุ บริษทั คาดวาประมาณการหนีส้ นิ เปนรายจายทีจ่ ะไดรบั คืนกลมุ บริษทั จะบันทึกเปนสินทรัพย แยกตางหากเมือ่ คาดวานาจะไดรบั รายจายนัน้ คืนอยางแนนอน 2.15 การรับรรู ายได รายไดจากสัญญาการใหบริการประกอบดวย มูลคาตามใบแจงหนีค้ า บริการทีใ่ หโดยเปนจำนวนเงินสุทธิจากภาษีขาย เงินคืน และสวนลด รายไดจากการใหบริการแกลูกคาอางอิงตามขั้นความสำเร็จของระดับบริการที่ทำเสร็จแลว ดูนโยบาย การบัญชี ขอ 2.8 เรือ่ งสัญญาโครงการ
108
2 นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.15 การรับรรู ายได (ตอ) รายไดดอกเบีย้ รับรตู ามเกณฑสดั สวนของเวลาโดยคำนึงถึงอัตราดอกเบีย้ ทีแ่ ทจริงของชวงเวลาจนถึงวันครบอายุ และ พิจารณาจากจำนวนเงินตนทีเ่ ปนยอดคงเหลือในบัญชีสำหรับการบันทึกคางรับของบริษทั รายไดเงินปนผลรับรเู มือ่ สิทธิ ทีจ่ ะไดรบั เงินปนผลนัน้ เกิดขึน้ 2.16 การจายเงินปนผล เงินปนผลทีจ่ า ยบันทึกในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ในรอบระยะเวลาบัญชี ซึง่ ทีป่ ระชุมผถู อื หนุ ของบริษทั ทีเ่ กีย่ วของไดอนุมตั กิ ารจายเงินปนผล 2.17 ขอมูลจำแนกตามสวนงาน ขอมูลจำแนกตามสวนงานแสดงโดยแบงตามภูมศิ าสตรของการดำเนินงานตางๆของกลมุ บริษทั และบริษทั 2.18 เครือ่ งมือทางการเงิน สินทรัพยทางการเงินทีแ่ สดงในงบดุลประกอบดวย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากสถาบันการเงิน เงินให กยู มื แกบริษทั ยอยและลูกหนีก้ ารคา หนีส้ นิ ทางการเงินทีแ่ สดงในงบดุลประกอบดวย เงินกยู มื ระยะสัน้ เจาหนีก้ ารคา ภาษีเงินได คางจาย เงินกยู มื และหนีส้ นิ ตามสัญญาเชาการเงิน ซึง่ นโยบายการบัญชีเฉพาะสำหรับรายการแตละรายการไดเปดเผยแยกไว ในแตละหัวขอทีเ่ กีย่ วของ บริษทั เปนคสู ญ ั ญาในอนุพนั ธทเี่ ปนเครือ่ งมือทางการเงินซึง่ เปนสัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา สัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนาชวยปองกันบริษทั จากความเคลือ่ นไหวของอัตราแลกเปลีย่ นดวยการกำหนด อัตราทีจ่ ะใชรบั รสู นิ ทรัพยทเี่ ปนสกุลเงินตางประเทศซึง่ จะไดรบั จริง หรือทีจ่ ะใชรบั รหู นีส้ นิ ทีเ่ ปนสกุลเงินตางประเทศซึง่ จะตองจายชำระ มูลคายุตธิ รรมของสัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนาประเมินโดยใชราคาตลาดของอัตราแลกเปลีย่ น ณ วันที่ ในงบดุล การเปดเผยขอมูลเกีย่ วกับเครือ่ งมือทางการเงินซึง่ กลมุ บริษทั เปนคสู ญ ั ญาไดแสดงไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 24
3 ประมาณการทางบัญชีทสี่ ำคัญ ขอสมมติฐาน และการใชดลุ ยพินจิ การประมาณการ ขอสมมติฐาน และการใชดลุ ยพินจิ ไดมกี ารประเมินทบทวนอยางตอเนือ่ งและอยบู นพืน้ ฐานของประสบการณ ในอดีตและปจจัยอืน่ ๆ ซึง่ รวมถึงการคาดการณถงึ เหตุการณในอนาคตทีเ่ ชือ่ วามีเหตุผลในสถานการณขณะนัน้ 3.1 การดอยคาของลูกหนีก้ ารคา กลมุ บริษทั ไดกำหนดคาเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญเพือ่ ใหสะทอนถึงการดอยคาลงของลูกหนีก้ ารคาซึง่ เกีย่ วพันกับประมาณการ ผลขาดทุนอันเปนผลมาจากการทีล่ กู คาไมมคี วามสามารถในการชำระหนี้ คาเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญนัน้ เปนผลมาจากการที่ กลมุ บริษทั ไดประเมินกระแสเงินสดไหลเขาในอนาคต ซึง่ การประเมินนัน้ อยบู นพืน้ ฐานเกีย่ วกับประสบการณในอดีตของการ ติดตามทวงถาม ความมีชอื่ เสียง และการผิดชำระหนี้ และการพิจารณาแนวโนมของตลาด
109
3 ประมาณการทางบัญชีทสี่ ำคัญ ขอสมมติฐาน และการใชดลุ ยพินจิ (ตอ) 3.2 ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ และสินทรัพยไมมตี วั ตน ฝายบริหารเปนผปู ระมาณการของอายุการใชงานและมูลคาซากสำหรับอาคารและอุปกรณ และสินทรัพยไมมตี วั ตนของ กลมุ บริษทั โดยฝายบริหารจะมีการทบทวนคาเสือ่ มราคาเมือ่ อายุการใชงานและมูลคาซากมีความแตกตางไปจากการ ประมาณการในงวดกอน หรือมีการตัดจำหนายสินทรัพยทเี่ สือ่ มสภาพหรือไมไดใชงานโดยการขายหรือเลิกใช 3.3 ประมาณการหนีส้ นิ คารับประกันโครงการ กลมุ บริษทั รับรปู ระมาณการหนีส้ นิ ดวยจำนวนเงินทีป่ ระมาณการไวเพือ่ ทีจ่ ะซอมแซมหรือเปลีย่ นทดแทนสินคาทีอ่ ยใู นชวง การรับประกัน ณ วันทีใ่ นงบดุล ประมาณการหนีส้ นิ ในสวนนีค้ ำนวณจากขอมูลปริมาณการซอมแซมและการเปลีย่ น ทดแทนในอดีต
4 การจัดการความเสีย่ งในสวนของทุน วัตถุประสงคของกลมุ บริษทั ในการบริหารทุนของบริษทั นัน้ เพือ่ ดำรงไวซงึ่ ความสามารถในการดำเนินงานอยางตอเนือ่ งของกลมุ บริษัทเพื่อสรางผลตอบแทนตอผูถือหุนและเปนประโยชนตอผูที่มีสวนไดเสียอื่น และเพื่อดำรงไวซึ่งโครงสรางของทุนที่ เหมาะสมเพือ่ ลดตนทุนทางการเงินของทุน ในการดำรงไวหรือปรับโครงสรางของทุน กลมุ บริษทั อาจปรับนโยบายการจายเงินปนผลใหกบั ผถู อื หนุ การคืนทุนใหแกผถู อื หนุ การออก หนุ ใหม หรือการขายทรัพยสนิ เพือ่ ลดภาระหนี้
5 ขอมูลจำแนกตามสวนงานทางภูมศิ าสตร ถึงแมวา กลมุ บริษทั ไดดำเนินธุรกิจทัว่ โลกในลักษณะเดียวกัน ธุรกิจเหลานีด้ ำเนินงานใน เขตภูมศิ าสตรหลัก 3 เขต ดังนี้ ทวีปเอเชีย เปนทวีปทีบ่ ริษทั ใหญตงั้ อยแู ละดำเนินงานทางธุรกิจเปนหลักของบริษทั ทวีปอืน่ ๆประกอบดวย ทวีปแอฟริกา เปนตน
รายไดจากสัญญาการใหบริการและผลการดำเนินงานตามสวนงานทีร่ วมอยใู นทวีปใดทวีปหนึง่ แสดงโดยใชสถานทีต่ งั้ ของลูกคา ซึง่ ไม แตกตางอยางมีสาระสำคัญเมือ่ มีการใชทวีปอันเปนสถานทีต่ งั้ ของผสู งั่ ซือ้ 110
6 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด
เงินฝากธนาคารประเภทจายคืนเมือ่ ทวงถามมีอตั ราดอกเบีย้ ระหวางรอยละ 0.13 ถึงรอยละ 1.75 ตอป (พ.ศ. 2550 : รอยละ 0.75 ตอป)
7 ลูกหนีก้ ารคา - สุทธิ
ลูกหนีก้ ารคาแยกตามอายุ ณ วันที่ 31 ธันวาคม สรุปไดดงั นี้
111
8 ลูกหนี(้ เจาหนี)้ งานโครงการตามสัญญา - สุทธิ
9 สินทรัพยหมุนเวียนอืน่
10 เงินฝากสถาบันการเงินทีต่ ดิ ภาระค้ำประกัน เงินฝากสถาบันการเงินเปนเงินฝากประจำและไดนำไปวางเปนประกันเงินกยู มื ระยะสัน้ จากธนาคารและสัญญาโครงการ เงินฝากสถาบัน การเงินมีอตั ราดอกเบีย้ ระหวางรอยละ 1.25 ถึงรอยละ 4.25 ตอป (พ.ศ. 2550 : รอยละ 1.75 ถึงรอยละ 4.75 ตอป)
112
113
สำหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551
11 เงินลงทุนซึง่ บันทึกโดยวิธสี ว นไดเสีย - สุทธิ
114
หนีส้ นิ สำหรับผลขาดทุนจากการรับรสู ว นไดเสียเกินกวาเงินลงทุนในบริษทั ยอย
บริษทั รับรปู ระมาณการหนีส้ นิ สำหรับผลขาดทุนจากการรับรสู ว นไดเสียเกินกวาเงินลงทุนในบริษทั ยอยเปนหนีส้ นิ ของบริษทั ทัง้ รอยละ 100 เนือ่ งจากบริษทั มีภาระผูกพันทีจ่ ะตองดำเนินงานโครงการทีย่ งั ไมแลวเสร็จในบริษทั ดังกลาว
ก) เงินลงทุนในบริษทั ยอย
11 เงินลงทุนซึง่ บันทึกโดยวิธสี ว นไดเสีย - สุทธิ (ตอ)
115
ถึงแมวา บริษทั ถือหนุ ของ LV Technology Engineering (Tianjin) Co., Ltd. และ LV Latino America Equipamentos Industrials Ltda. เพียงกึง่ หนึง่ แตบริษทั ไมมอี ำนาจควบ คุมนโยบายทางการเงินและการดำเนินงานของบริษทั ทีไ่ ปลงทุน ดังกลาว อยางไรก็ตาม บริษทั ยังมีอทิ ธิพล ซึง่ เปนสาระสำคัญของการดำเนินงาน ดังนัน้ LV Technology Engineering (Tianjin) Co., Ltd. และ LV Latino America Equipamentos Industrials Ltda. จึงถือวาเปนบริษทั รวมและแสดงอยใู นงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั โดยใชวธิ สี ว นไดเสีย และวิธรี าคาทุนตามลำดับ
ในระหวางป พ.ศ. 2551 บริษทั เขาไปลงทุนในบริษทั LV Latino America Equipamentos Industrials Ltda. เปน จำนวนรอยละ 50 ของทุนจดทะเบียนเปนมูลคา 1,970,303 บาท ณ วัน ทีเ่ ขาไปลงทุน บริษทั ดังกลาวมีสนิ ทรัพยสทุ ธิตดิ ลบ 4,067,355 บาท ดังนัน้ บริษทั ไดบนั ทึกคาความนิยมมูลคา 4,003,980 บาท รวมอยใู นเงินลงทุนในบริษทั รวมดังกลาว
ข) เงินลงทุนในบริษทั รวม
11 เงินลงทุนซึง่ บันทึกโดยวิธสี ว นไดเสีย - สุทธิ (ตอ)
116
ค)
รายละเอียดเกีย่ วกับกิจการทีค่ วบคุมรวมกันมีดงั ตอไปนี้
เงินลงทุนในกิจการรวมคา
รายการสวนแบงรายได สวนแบงในสินทรัพยและหนีส้ นิ จากบริษทั รวม ตามสัดสวนของการถือหนุ สามารถแสดงไดดงั ตอไปนี้
ข) เงินลงทุนในบริษทั รวม (ตอ)
11 เงินลงทุนซึง่ บันทึกโดยวิธสี ว นไดเสีย - สุทธิ (ตอ)
12 อุปกรณ - สุทธิ
117
13 สินทรัพยไมมตี วั ตน - สุทธิ (โปรแกรมคอมพิวเตอร)
14 เงินกยู มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน
ทรัสตรซี ที ประกอบดวยสัญญาในสกุลเงินบาท 4,839,185 บาท มีอตั ราดอกเบีย้ รอยละเทากับ MLR บวก 0.5 ตอป สัญญา ในสกุลเงินดอลลารสหรัฐฯ 103,992 มีอตั ราดอกเบีย้ รอยละ 4.8 ตอป และสัญญาในสกุลเงินยูโร 100,000 มีอตั ราดอกเบีย้ รอยละ 8 ตอป (พ.ศ. 2550 : สัญญาในสกุลเงินบาท 1,944,000 บาท มีอตั ราดอกเบีย้ รอยละ7.5 ตอป) เงินกยู มื ระยะสัน้ จากธนาคาร เปนเงินกยู มื ในสกุลเงินบาทและมีอตั ราดอกเบีย้ รอยละเทากับ MLR บวก 0.5 ตอป บริษทั นำเงินฝากประจำมูลคา 6,000,000 บาท ไปค้ำประกันเงินกยู มื ดังกลาว เงินกแู พคกิง้ เครดิต เปนเงินกใู นสกุลเงินดอลลารสหรัฐฯ 136,700 มีอตั ราดอกเบีย้ รอยละ 4.8 ตอป
15 ประมาณการหนีส้ นิ คารับประกันงานโครงการ กลมุ บริษทั รับประกันงานโครงการเปนระยะเวลาโดยเฉลีย่ 1-3 ป โดยจะรับประกันผลงานโครงการหากไมเปนทีพ่ อใจของ ลูกคา ประมาณการหนีส้ นิ การรับประกันงานโครงการจำนวน 9,474,850 บาท (พ.ศ. 2550 : 6,739,650 บาท) ซึง่ ประมาณ จากประสบการณการซอมแซมและชดเชยคาเสียหายในอดีต
118
16 ทุนเรือนหนุ และสวนเกินมูลคาหนุ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 หนุ สามัญจดทะเบียนทัง้ หมดมีจำนวน 325.5 ลานหนุ (พ.ศ. 2550 : 325.5 ลานหนุ ) ซึง่ มี มูลคาทีต่ ราไวหนุ ละ 1 บาท (พ.ศ. 2550 : หนุ ละ 1 บาท) หนุ สามัญทีอ่ อกจำหนายและเรียกชำระแลวทัง้ หมดมีจำนวน 228.81 ลานหนุ (พ.ศ. 2550 : 218.38 ลานหนุ ) ซึง่ มีมลู คาทีต่ ราไวจำนวนหนุ ละ 1 บาท (พ.ศ. 2550 : หนุ ละ 1 บาท) บริษทั จดทะเบียนเพิม่ ทุนกับกระทรวงพาณิชย เมือ่ วันที่ 7 มิถนุ ายน พ.ศ. 2549 ระหวางวันที่ 4 มิถนุ ายน พ.ศ. 2550 ถึงวันที่ 8 มิถนุ ายน พ.ศ. 2550 บริษทั ไดดำเนินการขายหนุ สามัญเพิม่ ทุนแกกรรมการ ผบู ริหาร และพนักงานของบริษทั ตามโครงการสิทธิซอื้ หนุ สามัญทีจ่ ดั สรรใหแกกรรมการและพนักงานของบริษทั (ESOP) เปนจำนวน 8,339,900 หนุ มูลคา ทีต่ ราไว หนุ ละ 1 บาท ในราคาหนุ ละ 1 บาท เปนผลใหทนุ ทีอ่ อกและเรียกชำระแลว เพิม่ ขึน้ 8,339,900 บาท ทีป่ ระชุมวิสามัญผถู อื หนุ เมือ่ วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 ไดอนุมตั ใิ หนำเงินสวนเกินมูลคาหนุ ของบริษทั ทีไ่ ดรบั จากการ ออกหนุ เพิม่ ทุน ระหวางวันที่ 30 มกราคม ถึงวันที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2549 จำนวน 74,047,553 บาท ไปหักกับขาดทุน สะสมของบริษทั ทีเ่ กิดขึน้ จากผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงมาตรฐานบัญชีเกีย่ วกับเรือ่ งเงินลงทุนในบริษทั รวมและบริษทั ยอย และไดแสดงรายการดังกลาวไวในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ระหวางกาลสำหรับงวดเกาเดือนสิน้ สุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2550 ตอมาวันที่ 25 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551 ทีป่ ระชุมวิสามัญผถู อื หนุ ไดมมี ติอนุมตั ใิ หยกเลิกมติทปี่ ระชุมวิสามัญผถู อื หนุ เมือ่ วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 และไดอนุมตั ใิ หนำเงินสวนเกินมูลคาหนุ ของบริษทั ทีไ่ ดรบั จากการออกหนุ เพิม่ ทุน ระหวางวันที่ 30 มกราคม ถึงวันที่ 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2549 จำนวน 43,246,805 บาท ไปหักกับขาดทุนสะสมของบริษทั ทีเ่ กิดขึน้ จาก ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงมาตรฐานบัญชีเกีย่ วกับเรือ่ งเงินลงทุนในบริษทั รวมและบริษทั ยอย ณ วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 บริษทั ไดออกหนุ เพิม่ ทุนจากการใชสทิ ธิในใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 1,485,000 หนุ มูลคาทีต่ ราไวหนุ ละ 1 บาท ในราคาหนุ ละ 1.25 บาท เปนผลใหทนุ ทีอ่ อกและเรียกชำระแลวเพิม่ ขึน้ 1,485,000 บาท และ สวนเกินมูลคาหนุ เพิม่ ขึน้ 371,250 บาท ณ วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2551 บริษทั ไดออกหนุ เพิม่ ทุนจากการใชสทิ ธิในใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 4,403,270 หนุ มูลคา ทีต่ ราไวหนุ ละ 1 บาท ในราคาหนุ ละ 1.25 บาท เปนผลใหทนุ ทีอ่ อกและเรียกชำระแลวเพิม่ ขึน้ 4,403,270 บาท และสวนเกิน มูลคาหนุ เพิม่ ขึน้ 1,100,817 บาท ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 บริษทั ไดออกหนุ เพิม่ ทุนจากการใชสทิ ธิในใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 4,546,223 หนุ มูลคาทีต่ ราไวหนุ ละ 1 บาท ในราคาหนุ ละ 1.25 บาท เปนผลใหทนุ ทีอ่ อกและเรียกชำระแลวเพิม่ ขึน้ 4,546,223 บาท และ สวนเกินมูลคาหนุ เพิม่ ขึน้ 1,136,556 บาท 119
17 เงินปนผลจาย ในการประชุมผถู อื หนุ สามัญประจำป เมือ่ วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2551 ผถู อื หนุ ไดอนุมตั จิ า ยเงินปนผลของรอบป พ.ศ. 2550 ใหกบั ผถู อื หนุ ทัง้ หมดทีถ่ อื อยจู ำนวน 0.15 บาทตอหนุ เปนจำนวนเงินทัง้ สิน้ 32,748,044 บาท (พ.ศ. 2550 : ไมม)ี เงินปนผลดังกลาวไดจา ยใหแก ผถู อื หนุ แลวเสร็จในวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2551
18 ใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หนุ
บริษทั ไดออกใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หนุ สามัญทีจ่ ดั สรรใหแกผถู อื หนุ เปนใบสำคัญแสดงสิทธิฯ ชนิดระบุชอื่ ผถู อื และโอนเปลีย่ น มือไดจำนวน 105,000,000 หนวย ซึง่ มีอายุ 3 ป นับจากวันทีส่ ามารถใชสทิ ธิไดวนั แรก คือวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 โดยสามารถใชซอื้ หนุ สามัญไดในอัตรา 1 หนวยตอหนุ สามัญ 1 หนุ ณ ราคา 1.25 บาทตอหนุ และสามารถใชสทิ ธิไดทกุ สามเดือน หลังจากวันทีส่ ามารถใชสทิ ธิไดวนั แรก
19 สำรองตามกฎหมาย
ภายใตพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำกัด บริษทั ตองสำรองตามกฎหมายอยางนอยรอยละ 5 ของกำไรสุทธิหลังจากหักสวน ของขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาสำรองนี้จะมีมูลคาไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมาย ไมสามารถจัดสรรได ทีป่ ระชุมวิสามัญผถู อื หนุ เมือ่ วันที่ 25 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551 ไดอนุมตั ใิ หนำเงินสำรองตามกฎหมายจำนวน 7,000,000 บาท ไปหักกับ ขาดทุนสะสมของบริษทั ทีเ่ กิดขึน้ จากผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงมาตรฐานบัญชีเกีย่ วกับเรือ่ งเงินลงทุนในบริษทั รวมและบริษทั ยอย
120
20 กำไรตอหนุ กำไรตอหนุ ขัน้ พืน้ ฐานคำนวณโดยการหารกำไรสุทธิสำหรับปทเี่ ปนของผถู อื หนุ สามัญดวยจำนวนหนุ สามัญถัวเฉลีย่ ถวงน้ำหนักตามจำนวนหนุ
สำหรับกำไรตอหนุ ปรับลดคำนวณโดยดูจากจำนวนหนุ สามัญถัวเฉลีย่ ทีถ่ อื โดยบุคคลภายนอกในระหวางปไดปรับปรุงดวยจำนวน หนุ สามัญเทียบเทาปรับลดโดยสมมุตวิ า หนุ สามัญเทียบเทาปรับลดไดแปลงเปนหนุ สามัญทัง้ หมด บริษทั มีหนุ สามัญเทียบเทาปรับลด อยหู นึง่ ประเภท คือ ใบสำคัญแสดงสิทธิเลือกซือ้ หนุ ซึง่ บริษทั คำนวณจำนวนหนุ เทียบเทาปรับลดโดยพิจารณาจากมูลคายุตธิ รรม ซึง่ ขึน้ อยกู บั มูลคาทีเ่ ปนตัวเงินของราคาตามสิทธิซอื้ หนุ ทีม่ าพรอมกับใบสำคัญแสดงสิทธิเลือกซือ้ หนุ (กำหนดจากราคาถัวเฉลีย่ ของหนุ สามัญของบริษทั ในระหวางป) การคำนวณนีท้ ำขึน้ เพือ่ กำหนดจำนวนหนุ สามัญทีต่ อ งบวกเพิม่ กับหนุ สามัญทีถ่ อื โดยบุคคล ภายนอกในการคำนวณกำไรตอหนุ ปรับลด โดยไมมกี ารปรับปรุงกำไรสุทธิแตอยางใด
121
21 รายการกับบุคคลและกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน กิจการและบุคคลที่ควบคุมบริษัทหรือถูกควบคุมโดยบริษัทหรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกับบริษัททั้งทางตรงหรือทางออม ไมวา จะโดยทอดเดียวหรือหลายทอด กิจการและบุคคลดังกลาวเปนบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของกับกลมุ บริษทั บริษทั ยอยและ บริษัทยอยลำดับถัดไป บริษัทรวมและบุคคลที่เปนเจาของสวนไดเสียในสิทธิออกเสียงของกลุมบริษัทซึ่งมีอิทธิพลอยางเปน สาระสำคัญเหนือกิจการ ผบู ริหารสำคัญรวมทัง้ กรรมการและพนักงานของกลมุ บริษทั ตลอดจนสมาชิกในครอบครัวทีใ่ กลชดิ กับ บุคคลเหลานัน้ กิจการและบุคคลทัง้ หมดถือเปนบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของกับกลมุ บริษทั ในการพิจารณาความสัมพันธระหวางบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของซึง่ อาจมีขนึ้ ได ตองคำนึงถึงรายละเอียดของความสัมพันธ มากกวารูปแบบความสัมพันธตามกฎหมาย หนุ ของบริษทั สวนใหญถอื โดยผถู อื หนุ ทัว่ ไปในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รายการตอไปนีเ้ ปนรายการคาทีเ่ ปนปกติธรุ กิจกับบริษทั ยอย บริษทั รวม กิจการรวมคาและกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน รายการระหวางกัน เหลานีท้ เี่ กิดขึน้ เปนไปตามประเพณีและเงือ่ นไขทางการคาทัว่ ไปและในราคาตลาด ก) รายไดคา ทีป่ รึกษาทางเทคนิค
ในระหวางปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 รายไดคา ทีป่ รึกษาดังกลาวมีเงือ่ นไขตามทีไ่ ดตกลงกันไว และคิดตาม ราคาทุนบวกรอยละ 20 (พ.ศ. 2550 : ราคาทุนบวกรอยละ 20) ข) รายไดจากการรับเหมาชวงงาน
ในระหวางปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 รายไดจากการรับเหมาชวงงานดังกลาวคิดตามราคาทุนบวกรอยละ 10 (พ.ศ. 2550 : ราคาทุนบวกรอยละ 10)
122
21 รายการกับบุคคลและกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน (ตอ) ค) ตนทุนการรับเหมาชวงงาน
ในระหวางปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 กิจการทีเ่ กีย่ วของกันคิดคาตนทุนการรับเหมาชวงงานตามราคาทุนบวก รอยละ 10 พ.ศ. 2550 : ราคาทุนบวกรอยละ 10) ง) ลูกหนีก้ ารคา - บริษทั ทีเ่ กีย่ วของกัน - สุทธิ
จ) ลูกหนีก้ จิ การรวมคา บริษทั สามารถขอชดเชยภาษีเงินไดและเบีย้ ปรับเงินเพิม่ ทีจ่ า ยใหแกกรมสรรพากรในตางประเทศในป พ.ศ. 2550 จากกิจการรวมคา ฉ) เจาหนีก้ ารคา - บริษทั ทีเ่ กีย่ วของกัน
123
21 รายการกับบุคคลและกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน (ตอ) ช) เงินใหกยู มื ระยะสัน้ แกบริษทั ยอย
เงินใหกยู มื บริษทั ยอยเปนเงินกยู มื ทีไ่ มมกี ารคิดดอกเบีย้ สำหรับป พ.ศ. 2551 (พ.ศ. 2550 : มีอตั ราดอกเบีย้ รอยละ MLR บวกรอยละ 1 จำนวนเงินดอกเบีย้ 2.96 ลานบาท) ซ) คาตอบแทนกรรมการ
คาตอบแทนกรรมการ ไดแกคา เบีย้ ประชุมและผลตอบแทนอืน่ ซึง่ ไดรบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมสามัญประจำปของผถู อื หนุ แลว
22 คาใชจา ยตามลักษณะ รายการบางรายการทีร่ วมอยใู นการคำนวณกำไรจากการดำเนินงาน สามารถนำมาแยกตามลักษณะไดดงั นี้
23 ภาษีเงินได
124
23 ภาษีเงินได (ตอ) สำหรับภาษีเงินไดจากการดำเนินธุรกิจในตางประเทศ ในป พ.ศ. 2550 บริษทั ไดรบั แจงจากเจาหนาทีก่ รมสรรพากรในตางประเทศ วาบริษทั มิไดนำสงภาษีเงินไดจากการเขาไปดำเนินธุรกิจในประเทศดังกลาว อยางไรก็ตาม จากการประเมินโดยผบู ริหารของ บริษัทและสอบทานโดยผูชำนาญดานการภาษีอากรของประเทศดังกลาว บริษัทไดทำการตั้งสำรองคาใชจายสำหรับกรณีนี้ เต็มจำนวนเปนภาษีเงินไดจำนวน 7,921,568 บาท และเบี้ยปรับเงินเพิ่มเปนจำนวน 3,949,770 บาท สำหรับเบี้ยปรับ เงินเพิม่ ดังกลาวไดบนั ทึกไวในคาใชจา ยจากการขายและบริหาร
24 เครือ่ งมือทางการเงิน ความเสีย่ งทางการเงินโดยสวนใหญของบริษทั คือ ความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น เนือ่ งจากรายไดจากสัญญาการใหบริการ และตนทุนการรับเหมาชวงงานเปนเงินตราตางประเทศ บริษัทมีรายไดจากสัญญาโครงการและตนทุนสัญญาการใหบริการเปนเงินตราตางประเทศ บริษัทจึงมีความเสี่ยงหากอัตรา แลกเปลีย่ นมีการเปลีย่ นแปลง อยางไรก็ดี บริษทั ไดมมี าตรการปองกันความเสีย่ งดังกลาว โดยมีนโยบายการสรางความสมดุล ระหวางรายรับและรายจายทีเ่ ปนสกุลเงินตางประเทศ ซึง่ ทำใหบริษทั สามารถลดความเสีย่ งของรายจายทีเ่ ปนเงินสกุลตางประเทศ ไดบางสวน บริษทั ใชเครือ่ งมือทางการเงินเพือ่ ลดความไมแนนอนของกระแสเงินสดในอนาคตทีเ่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราแลกเปลีย่ น และเพือ่ ชวยในการบริหารสภาพคลองของเงินสด ซึง่ กลยุทธทบี่ ริษทั ใชในการปองกันความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นในอนาคต คือ การทำสัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา บริษัทไมอนุญาตใหดำเนินการจัดหาเครื่องมือทางการเงินที่มีลักษณะเปนการเก็งกำไร สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศ ลวงหนาจะทำกับธนาคารทีบ่ ริษทั มีวงเงินสินเชือ่ ในเรือ่ งดังกลาวอยู 24.1 วัตถุประสงคและเงือ่ นไขทีส่ ำคัญ ในระหวางป พ.ศ. 2550 บริษทั มีรายการซือ้ ทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศรายการหนึง่ ทีส่ ำคัญ ผบู ริหารจึงตัดสินใจใชสญ ั ญา ซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนาเปนการปองกันความเสีย่ งสำหรับรายการดังกลาว สัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 บริษทั มีรายการซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนาคงคาง 1 สัญญา คือ สัญญา จะซือ้ 332,018,400 เยน (พ.ศ. 2550 : 408,241,400 เยน) และสัญญาจะขาย 3,684,999 ดอลลารสหรัฐฯ (พ.ศ. 2550 : 3,707,915 ดอลลารสหรัฐฯ) 24.2 ความเสีย่ งดานการใหสนิ เชือ่ กลมุ บริษทั ไมมคี วามเสีย่ งทีส่ ำคัญจากการกระจุกตัวของสินเชือ่ บริษทั มีนโยบายทีใ่ หความมัน่ ใจวาบริษทั ใหบริการแกลกู คา ทีม่ ปี ระวัตสิ นิ เชือ่ ทีเ่ หมาะสม และมีนโยบายวาการใหบริการทุกรายการทีเ่ ปนสาระสำคัญจะตองมีการเปดหนังสือค้ำประกัน ผลงานกับธนาคารทีเ่ ชือ่ ถือได 24.3 ความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ กลุมบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยจากธุรกรรมการกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เนื่องจากเปนเงินกูยืม ระยะสัน้ บริษทั จึงไมไดซอื้ เครือ่ งมือทางการเงินเพือ่ ปองกันความเสีย่ ง 125
24 เครือ่ งมือทางการเงิน (ตอ) 24.4 มูลคายุตธิ รรม มูลคายุตธิ รรมโดยประมาณของสินทรัพยทางการเงินและหนีส้ นิ ทางการเงินทีม่ อี ายุคงเหลือต่ำกวาหนึง่ ปมคี า ใกลเคียงกับมูลคา ทีต่ ราไว ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 บริษทั มีรายการซือ้ เงินตราตางประเทศลวงหนาคงคาง 1 สัญญา คือ สัญญาจะซือ้ 332,018,400 เยน และ สัญญาจะขาย 3,684,999 ดอลลารสหรัฐฯ สัญญาดังกลาวมีมลู คายุตธิ รรมสุทธิเทียบเทาเงินบาท จำนวน 718,206 บาท มูลคายุตธิ รรมของสัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา คำนวณโดยใชอตั ราทีก่ ำหนดโดยธนาคารของบริษทั เสมือนวา ไดยกเลิกสัญญาเหลานี้ ณ วันทีใ่ นงบดุล
25 หนังสือค้ำประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 กลมุ บริษทั มีภาระผูกพันตามหนังสือค้ำประกันซึง่ ออกโดยธนาคาร เปนจำนวนเงินทัง้ สิน้ 6,466,935 ดอลลารสหรัฐ 5,291,445 ยูโร และ 387,000 บาท (พ.ศ. 2550 : 5,566,962 ดอลลารสหรัฐ และ 3,180,710 ยูโร) เพือ่ ค้ำประกันตอ บุคคลทีส่ ามจากการดำเนินธุรกิจตามปกติของกลมุ บริษทั และคาดวาจะไมเกิดหนีส้ นิ จากภาระผูกพันนี้
26 สัญญาเชาดำเนินงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 กลมุ บริษทั มีสญ ั ญาเชาดำเนินงานเปนระยะเวลา 3 ป จำนวนเงินคาเชาทัง้ หมดทีก่ ลมุ บริษทั จะตอง จายในอนาคตตามเงือ่ นไขของสัญญาเชาสรุปไดดงั นี้
27 หนีส้ นิ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในภายหนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 กลมุ บริษทั มีเลตเตอรออฟเครดิตคงคางเปนจำนวน 363,228,400 เยน 288,710 ยูโร 516,695 ดอลลารสหรัฐ และ 14,314,742 บาท (พ.ศ. 2550 : 20,860,000 เยน และ 28,202 ยูโร)
28 เหตุการณภายหลังวันทีใ่ นงบดุล ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ พ.ศ. 2552 ผถู อื หนุ ของบริษทั ไดใชสทิ ธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิซอื้ หนุ สามัญจำนวน 93,058,116 หนวย และ บริษทั ไดรบั เงินจากการใชสทิ ธิดงั กลาวจำนวน 116,322,645 บาท (1 หนวย ตอ 1.25 บาท) 126
1 General information L.V. Technology Public Company Limited (“the Company�) is a public company limited incorporated and resident in Thailand. The address of its registered office is as follows: 719 K.P.N. Tower Building 9th and 17th and 23th Floor, Pharam 9 Road, Bangkapi, Huaykwang, Bangkok 10310. The Company is listed on the Stock Exchange of Thailand. For reporting purposes, the Company and its subsidiaries are referred to as the Group. The principal business operation of the Group is mechanised engineering consultation by designing, developing and improving the efficiency of machines and equipment for the cement industry and related industries worldwide. The Group has operations in over 30 countries. The consolidated and company financial statements have been approved for issue by the board of directors on 2 March 2009.
2 Accounting policies The principal accounting policies adopted in the preparation of these consolidated and company financial statements are set out below: 2.1 Basis of preparation The consolidated and company financial statements have been prepared in accordance with Thai generally accepted accounting principles under the Accounting Act B.E. 2543, being those Thai Accounting Standards issued under the Accounting Profession Act B.E. 2547, and the financial reporting requirements of the Securities and Exchange Commission under the Securities and Exchange Act B.E. 2535. The consolidated and company financial statements have been prepared under the historical cost convention. The preparation of financial statements in conformity with Thai generally accepted accounting principles requires management to make estimates and assumptions that affect the reported amounts of assets and liabilities, the disclosure of contingent assets and liabilities at the date of the financial statements and the 127
2 Accounting policies (Cont’d) 2.1 Basis of preparation (Cont’d) amounts of revenues and expenses in the reported periods. Although these estimates are based on management’s best knowledge of current events and actions, actual results may differ from those estimates. An English version of the consolidated and company financial statements have been prepared from the statutory financial statements that are in Thai language. In the event of a conflict or a difference in interpretation between the two languages, the Thai language statutory financial statements shall prevail. 2.2 Comparative figures Comparative figures have been adjusted to conform with changes in presentation in the current year.
128
2 Accounting policies (Cont’d) 2.3 New accounting standard and amendments to accounting standards During 2007 and 2008, the Federation of Accounting Profession (“FAP”) has announced new standard and amendments to Thai Accounting Standards (“TAS”) as follows: Revised standards TAS no. 25 “Cash Flow Statements” TAS no. 29 “Leases” TAS no. 31 “Inventories” TAS no. 33 “Borrowing Costs” TAS no. 35 “Presentation of Financial Statements” TAS no. 39 “Accounting Policies, Changes in Accounting Estimates and Errors” TAS no. 41 “Interim Financial Reporting” TAS no. 43 “Business Combinations” TAS no. 49 “Construction Contracts” New standard TAS no. 51 “Intangible Assets” The amendments to accounting standards and the new accounting standard are effective for the period beginning on or after 1 January 2008 except TAS no. 29 “Leases” which is effective for the lease contract started on or after 1 January 2008. The Group’s management has determined that the revised standards and new standard will not significantly impact the financial statements being presented. The amendments to accounting standards are effective for the period beginning on or after 1 January 2009 and have not been adopted early by the Group. TAS no. 36 TAS no. 54
“Impairment of Assets” “Non-current Assets Held for Sale and Discontinued Operations”
Those standards are not expected to have a material impact on the financial statements being presented. 2.4 Investment in a subsidiary and associates and interests in a joint venture (1) Subsidiary Subsidiaries are all entities (including special purpose entities) over which the Group has the power to govern the financial and operating policies generally accompanying a shareholding of more than one half of the voting rights. The existence and effect of potential voting rights that are currently exercisable 129
2 Accounting policies (Cont’d) 2.4 Investment in a subsidiary and associates and interests in a joint venture (Cont’d) or convertible are considered when assessing whether the Group controls another entity. Subsidiaries are consolidated from the date on which control is transferred to the Group and are no longer consolidated from the date that control ceases. The purchase method of accounting is used to account for the acquisition of subsidiary by the Group. The cost of an acquisition is measured as the fair value of the assets given, equity instruments issued and liabilities incurred or assumed at the date of exchange, plus costs directly attributable to the acquisition. Identifiable assets acquired and liabilities and contingent liabilities assumed in a business combination are measured initially at their fair values at the acquisition date, irrespective of the extent of any minority interest. The cost of acquisition is more than the fair value of the net assets of the subsidiary acquired, the difference is recognised as goodwill. The excess of the cost of acquisition over the fair value of the Group’s share of the identifiable net assets acquired the difference is recognised directly in the income statement. Intercompany transactions, balances and unrealised gains on transactions between group companies are eliminated; unrealised losses are also eliminated unless cost cannot be recovered. Where necessary, accounting policies of subsidiaries have been changed to ensure consistency with the policies adopted by the Group. In the Company’s separate financial statements, investments in a subsidiary are reported by using the cost method of accounting. A list of the Group’s principal subsidiaries and the effects acquisitions of subsidiaries are shown in Note 11 (a). (2) Associates Associates are all entities over which the Group has significant influence but not control, generally accompanying a shareholding of between 20% and 50% of the voting rights. In the consolidated financial statement, investment in associates are accounted from using the equity method of accounting and are initially recognised at cost. The Group’s share of its associates’ post-acquisition profits or losses is recognised in the income statement, and its share of post-acquisition movements in reserves is recognised in fair value reserves. The cumulative post-acquisition movements are adjusted against the carrying amount of the investment. 130
2 Accounting policies (Cont’d) 2.4 Investment in a subsidiary and associates and interests in a joint venture (Cont’d) When the Group’s share of losses in an associate equals or exceeds its interest in the associate, including any other unsecured receivables, the Group does not recognise further losses, unless it has incurred obligations or made payments on behalf of the associate. Unrealised gains on transactions between the Group and its associates are eliminated to the extent of the Group’s interest in the associates. Unrealised losses are also eliminated unless the transaction provides evidence of an impairment of the asset transferred. Accounting policies of associates have been changed, where necessary, to ensure consistency with the policies adopted by the Group. In the Company’s separate financial statements, investments in associates and accounted for using the cost method. A list of the Group’s associates are shown in Note 11 (b). (3) Joint venture Investment in a joint venture is accounted for by the equity method and cost method of accounting in the consolidated and Company financial statements, respectively. The Group’s share of joint venture’ post-acquisition profits or losses is recognised in the income statement, and its share of postacquisition movements in fair value reserves is recognised in fair value reserves. The cumulative postacquisition movements are adjusted against the carrying amount of the investment. When the Group’ s share of losses in the joint venture equals or exceeds its interest in the joint venture, including any other the Group’s obligations or payments that are made on behalf of the joint venture, the Group does not recognise further losses, unless it has incurred obligations or made payments on behalf of the joint venture. Unrealised gains on transactions between the Group and its joint venture are eliminated to the extent of the Group’s interest in the joint venture. Unrealised losses are also eliminated unless the transaction provides evidence of an impairment of the asset transferred. Accounting policies of joint venture have been changed, where necessary, to ensure consistency with the policies adopted by the Group. A list of the Group’s principal joint ventures is set out in Note 11 (c).
131
2 Accounting policies (Cont’d) 2.5 Foreign currency translation Foreign currency transactions are translated into Thai Baht using the exchange rates prevailing at the date of the transaction. Monetary assets and liabilities denominated in foreign currency are translated into Thai Baht at the exchange rate prevailing at the balance sheet date. Gains and losses resulting from the settlement of foreign currency transactions and from the translation of monetary assets and liabilities denominated in foreign currencies are recognised in the statements of income. Statements of income and cash flows of foreign entities are translated into the Group’s reporting currency at the weighted average exchange rates for the year and balance sheets are translated at the exchange rates ruling on the balance sheet date. Currency translation differences arising from the retranslation of the net investment in foreign entities are taken to shareholders’ equity. On disposal of a foreign entity, accumulated currency translation differences are recognised in the statement of income as part of the gain or loss on sale. Goodwill and fair value adjustments arising on the acquisition of a foreign entity are treated as assets and liabilities of the foreign entity and are translated at the closing rate. 2.6 Cash and cash equivalents Cash and cash equivalents are carried in the balance sheet at cost. For purposes of cash flow statement, cash and cash equivalents comprise cash on hand, deposits held at call with banks, other short-term highly liquid investments with original maturities of three months or less. 2.7 Trade accounts receivable Trade accounts receivable are carried at original invoice amount and subsequent measured at the remaining amount less allowance for doubtful receivables based on a review of all outstanding amounts at the year end. The amount of the allowance is the difference between the carrying amount of the receivable and the amount expected to be collectible. Bad debts are written off during the year in which they are identified. The Group’s management estimates the allowance for doubtful accounts from the ending balance of trade accounts receivable. The estimate encompasses consideration of past collection experiences and other factors such as changes in composition and volume of the receivable, the relationship of the allowance to the receivable and economic conditions. 2.8 Construction contracts A construction contract is a contract specifically negotiated for the construction of an asset or a combination of assets that are closely interrelated or interdependent in terms of their design, technology and functions or their ultimate purpose of use. 132
2 Accounting policies (Cont’d) When the outcome of a construction contract cannot be estimated reliably, contract revenue is recognised to the extent of contract costs incurred where it is probable those costs will be recoverable. Contract costs are recognised when incurred. When the outcome of a construction contract can be estimated reliably, contract revenue and contract costs are recognised by using the percentage of completion method. The stage of completion is measured by reference to the relationship contract costs incurred for work performed to date bear to the estimated total costs for the contract. When it is probable that total contract costs will exceed total contract revenue, the expected loss is recognised as an expense immediately. Costs incurred in the year in connection with future activity on a contract are excluded and shown as work in process. The aggregate of the costs incurred and the profit/loss recognised on each contract is compared against the progress billings up to the year end. Where the total costs incurred and recognised profits (less recognised losses) exceed progress billings, the balance is shown as due from customers on construction contracts. Where progress billings exceed total costs incurred plus recognised profits (less recognised losses), the balance is shown as due to customers on construction contract. 2.9 Equipment Equipment is stated at historical cost less accumulated depreciation. Depreciation is calculated on the straight-line basis to write down the cost of each asset, to their residual values over their estimated useful life of 5 years. Where the carrying amount of an asset is greater than its estimated recoverable amount, it is written down immediately to its recoverable amount. Repair and maintenance costs are charged to the statements of income during the financial period in which they are incurred. Gains and losses on disposals are determined by comparing proceeds with carrying amount and are included in operating profit. 2.10 Intangible assets (Computer software) Acquired computer software licenses are capitalised on the basis of the costs incurred to acquire and bring to use the specific software. These costs are amortised over their estimated useful lives of three years or the age of software licenses.
133
2 Accounting policies (Cont’d) 2.11 Leases - where a Group company is the lessee Leases not transferring a significant portion of the risks and rewards of ownership to the lessee are classified as operating leases. Payments made under operating leases are charged to the statements of income on a straight-line basis over the period of the lease. 2.12 Borrowings Borrowings are recognised initially at the fair value of proceeds received, net of transaction costs incurred. Borrowings are subsequently stated at amortised cost using the effective yield method; any difference between proceeds (net of transaction costs) and the redemption value is recognised in the statement of income over the period of the borrowings. 2.13 Employee benefits The Company operates a provident fund that is a defined contribution plan. The assets of which are held in a separate trust fund. The provident fund is funded by payments from employees and by the Company. Contributions to the provident fund are charged to the statement of income in the year to which they relate. 2.14 Provisions Provisions, excluding the provisions for employee benefits, are recognised when the Group has a present legal or constructive obligation as a result of past events, it is probable that an outflow of resources will be required to settle the obligation, and a reliable estimate of the amount can be made. Where the Group expects a provision to be reimbursed, for example under an insurance contract, the reimbursement is recognised as a separate asset but only when the reimbursement is virtually certain. 2.15 Revenue recognition Revenue from construction contract comprises the invoiced value for the services net of output tax, rebates and discounts. Revenue from rendering services is based on the percentage of completion determined by reference to services performed to date as a percentage of total services to be performed. See accounting policy 2.8 on construction contracts. Interest income is recognised on a time proportion basis, taking account of the principal outstanding and the effective rate over the period to maturity, when it is determined that such income will accrue to the Company. Dividends are recognised when the right to receive payment is established.
134
2 Accounting policies (Cont’d) 2.16 Dividends Dividends are recorded in the consolidated and company’s financial statements in the period in which they are approved by the shareholders. 2.17 Segment reporting Segment information is presented by geographical areas of the Group/Company’s operations. 2.18 Financial instruments Financial assets carried on the balance sheet include cash and cash equivalents, deposits at financial institutions, short-term loans to a subsidiary and trade accounts receivable. Financial liabilities carried on the balance sheet include short-term borrowing, trade accounts payable, income tax payable loans and finance leases. The particular accounting policies are disclosed in the individual policy statements associated with each item. The Company is party to derivative financial instruments which comprise forward foreign exchange contracts. Forward foreign exchange contracts protect the Company from movements in exchange rates by establishing the rate at which a foreign currency asset will be realised or a foreign currency liability settled. The fair value of forward foreign exchange contracts is determined using forward exchange market rates at the balance sheet date. Disclosures about financial instruments to which the Group is a party are provided in Note 24.
3 Critical accounting estimates, assumption and judgements Estimates and judgements are continually evaluated and are based on historical experience and other factors, including expectations of future events that are believed to be reasonable under the circumstances. 3.1 Impairment of receivable The Group maintains an allowance for doubtful accounts to reflect impairment of trade receivables relating to estimated losses resulting from the inability of customers to make required payments. The allowance for doubtful accounts is significantly impacted by the Group’s assessment of future cash flows, such assessment being based on consideration of historical collection experience, known and identified instances of default and consideration of market trends.
135
3 Critical accounting estimates, assumption and judgements (Cont’d) 3.2 Property, plant and equipment and intangible assets Management determines the estimated useful lives and residual values for the Group’s plant and equipment and intangible assets. Management will revise the depreciation charge where useful lives and residual values are different to previously estimated, or it will write off or write down technically obsolete or assets that have been abandoned or sold. 3.3 Provision for warranty expenses The Group recognises the estimated liability to repair or replace products still under warranty at the balance sheet date. The provision for warranty is calculated based on past history of the level of repairs and replacements.
4 Capital risk management The Group’s objectives when managing capital are to safeguard the Group’s ability to continue as a going concern in order to provide returns for shareholders and benefits for other stakeholders and to maintain an optimal capital structure to reduce the cost of capital. In order to maintain or adjust the capital structure, the Group may adjust the amount of dividends paid to shareholders, return capital to shareholders, issue new shares or sell assets to reduce debt.
5 Segment information Although the group’s businesses are managed on a worldwide basis, they operate in three main geographical areas: Asia is the continent of the parent company which is also the main operating company. Others are consisting of Africa.
136
Contract revenues and segment results are based on the continent in which the customer is located. It would not be materially different if based on the continent in which the order is received.
6 Cash and cash equivalents
The interest rate of deposits at banks was 0.13% - 1.75% per annum (2007 : 0.75% per annum).
7 Trade accounts receivable, net
Outstanding trade accounts receivable as at 31 December can be analysed as follows:
137
8 Due from (to) customers on project contracts, net
9 Other current assets
10 Deposits at financial institutions - restricted for pledge Deposits at financial institutions are fixed deposits and have been pledged as collateral to secure the short term loan from a bank and project contracts. The interest rate of deposits at financial institutions was 1.25% - 4.25% per annum (2007 : 1.75% - 4.75% per annum).
138
139
For the year ended 31 December 2008
11 Investment - equity method, net
140
a)
Provision on share of loss from investment in a subsidiary
Provision on share of loss from investment in a subsidiary exceeding its interest in the subsidiary is recognised as 100% liability because the Company has incurred constructive obligations to complete the outstanding project of this subsidiary.
Investment in a subsidiary
11 Investment - equity method, net (Cont’d)
141
b)
Although the Company has an ownership interest in LV Technology Engineering (Tianjin) Co., Ltd. of 50%, and LV Latino America Equipamentos Industrials Ltda. of 50%, the Company does not have control over the financial and operating policies of such investments. However, the Company is able to exercise significant influence and, therefore, LV Technology Engineering (Tianjin) Co., Ltd. and LV Latino America Equipamentos Industrials Ltda. are considered as associates which are accounted for by the equity method and cost method in the consolidated and the Company financial statements, respectively.
During the year 2008, the Company has invested in LV Latino America Equipamentos Industrials Ltda. to acquire 50% of total share capital amounting to Baht 1,970,303. At the date of investment, the acquired company had negative net asset of Baht 4,067,355. The Company recognised goodwill of Baht 4,003,980 included in the investment in this associate.
Investment in associates
11 Investment - equity method, net (Cont’d)
142
c)
b)
Investment in a joint venture
The Group’s share of result of its associates and its share of the assets and liabilities according to ownershare interest are as follows:
Investment in associates (Cont’d)
11 Investment - equity method, net (Cont’d)
12 Equipment, net
143
13 Intangible assets, net (Computer software)
14 Short-term borrowing from financial institution
Trust receipts composed of Thai Baht 4,839,185 bearing interest rate of MLR+0.5% per annum, US dollar 103,992 bearing interest rate of 4.8% per annum, and Euro dollar 100,000 bearing interest rate of 8% per annum. (2007 : THB 1,944,000 bearing interest rate of 7.5% per annum) Short-term loan from a bank represented a loan denominated in Thai Baht and bearing the interest rate of MLR+0.5% per annum. This loan has been pledged by a fixed deposit of Thai Baht 6,000,000. Packing credit denominated in US dollar 136,700 bears interest rate of 4.8% per annum.
15 Provision for warranty expenses The Group gives approximately 1-3 years warranties on certain construction projects which fail to perform satisfactorily. A provision for warranty expenses of Baht 9,474,850 (2007 : Baht 6,739,650) has been recognised at the year-end for expected warranty claims based on past experience of the level of repairs and claims.
144
16 Share capital and premium on share capital
As at 31 December 2008, the total registered ordinary shares are 325.5 million shares (2007 : 325.5 million shares) with Baht 1 par value (2007 : Baht 1 par value). The issued number of ordinary shares is 228.81 million shares (2007 : 218.38 million shares) with a par value of Baht 1 per share (2007 : Baht 1 per share). The Company registered the increased share capital with the Ministry of Commerce on 7 June 2006. During 4 June 2007 to 8 June 2007, the Company issued shares to the existing directors and employees of the Company under Employee Stock Option Program (ESOP) 8,339,900 shares at par value of Baht 1 per share and can buy at Baht 1 per share. Consequently, the Company’s issued and paid-up share capital increased for Baht 8,339,900. On 26 July 2007, the shareholders at the Extraordinary General Meeting passed a resolution to offset the share premium from issuing ordinary shares for capital increase during 30 January to 3 February 2006 in the amount of Baht 74,047,553 with the Company accumulated deficit which occurred due to the effect of the changes in accounting for the investments in subsidiaries and associates presented in the interim consolidated and company financial statements for the nine-month period ending 30 September 2007. On 25 February 2008, the shareholders at the Extraordinary General Meeting passed a resolution to cancel the resolution of the Extraordinary General Meeting held on 26 July 2007 and passed a resolution to offset the share premium from issuing ordinary shares for capital increase during 30 January to 3 February 2006 in the amount of Baht 43,246,805 with the Company accumulated deficit which occurred due to the effect of the changes in accounting for the investments in subsidiaries and associates. On 15 May 2008, the Company registered its issued and paid-up share capital in respect of exercised warrants which were issued to the shareholders amounting to 1,485,000 shares with Baht 1 par value at the price Baht 1.25 per share. Consequently, the Company’s issued and paid-up share capital increased for Baht 1,485,000 and share premium increased Baht 371,250. On 15 August 2008, the Company registered its issued and paid-up share capital in respect of exercised warrants which were issued to the shareholders amounting to 4,403,270 shares with Baht 1 par value at the price Baht 1.25 per share. Consequently, the Company’s issued and paid-up share capital increased for Baht 4,403,270 and share premium increased Baht 1,100,817. 145
16 Share capital and premium on share capital (Cont’d) On 15 November 2008, the Company registered its issued and paid-up share capital in respect of exercised warrants which were issued to the shareholders amounting to 4,546,223 shares with Baht 1 par value at the price Baht 1.25 per share. Consequently, the Company’s issued and paid-up share capital increased for Baht 4,546,223 and share premium increased Baht 1,136,556.
17 Dividend paid On 25 April 2008, the shareholders at the Annual General Meeting approved to pay the dividend of 2007 to all outstanding shareholders at Baht 0.15 per share amounting to a total of Baht 32,748,044 (2007 : nil). This dividend was paid on to all shareholders on 23 May 2008.
18 Warrants
The Company issued and offered 105,000,000 units of warrants to shareholders which are in registered form and are transferable with a maturity period of 3 years from the first exercise date on 15 May 2006. The exercise ratio is 1 unit of warrant to 1 ordinary share and the exercise price is Baht 1.25 each. The exercise period is every three months from the first exercise date.
19 Legal reserve
Under the Public Company Limited Act., the Company is required to set aside as a legal reserve at least 5% of its net profit after accumulated deficit brought forward (if any) until the reserve is not less that 10% of the registered capital. The legal reserve is non-distributable. On 25 February 2008, the shareholders at the Extraordinary General Meeting passed a resolution to offset the legal reserve in the amount of Baht 7,000,000 with the Company accumulated deficit which occurred from the effect of changes in accounting for investments in subsidiaries and associates. 146
20 Earnings per share Basic earnings per share are calculated by dividing the net profit for the year attributable to shareholders by the weighted average number of ordinary shares in issue during the year.
The diluted earnings per share is calculated adjusting the weighted average number of ordinary shares outstanding to assume conversion of all dilutive potential ordinary shares. The Company has one category of dilutive potential ordinary shares: warrants. For the warrants a calculation is made to determine the number of shares that could have been acquired at fair value (determined as the average annual market price of the Company’s shares) based on the monetary value of the subscription rights attached to outstanding warrants. The number of shares calculated as above is compared with the number of shares that would have been issued assuming the exercise of the warrants. The difference is added to the denominator as an issue of ordinary shares for no consideration. No adjustment is made to earnings.
147
21 Related party transactions Enterprises and individuals that directly, or indirectly through one or more intermediaries control, or are controlled by, or are under common control with, the Group, including holding companies, subsidiaries and fellow subsidiaries are related parties of the Group. Associates and individuals owning, directly or indirectly, an interest in the voting power of the Group that gives them significant influence over the enterprise, key management personnel, including directors and officers of the Group and close members of the family of these individuals and companies associated with these individuals also constitute related parties. In considering each possible related party relationship, attention is directed to the substance of the relationship, and not merely the legal form. The majority of the Company’s shares are widely held by public through the Stock Exchange of Thailand. The following transactions were carried out with subsidiary, associates, joint venture and related parties at the market price in the normal course of business. a)
Technical assistance fee
During the year ended 31 December 2008, the fees charged were made on agreed commercial terms and conditions and were charged at cost plus 20% (2007 : cost plus 20%). b)
Revenue from subcontract
During the year ended 31 December 2008, the fees were charged at cost plus 10% (2007 : cost plus 10%).
148
21 Related party transactions (Cont’d) c)
Cost from subcontract
During the year ended 31 December 2008, the costs were charged at cost plus 10% (2007 : cost plus 10%). d)
Trade accounts receivable - related companies, net
e)
Amount due from a joint venture The Company could reimburse the income tax, tax penalty and interest paid to the Revenue Department of 2007 in the foreign country from the joint venture.
f)
Trade accounts payable - related companies
149
21 Related party transactions (Cont’d) g)
Short-term loans to a subsidiary
The loans to a subsidiary has no interest charge in this year. (31 December 2007 : interest at in MLR plus 1% amounting to Baht 2.96 million). h) Directors’ remuneration
Directors’ remuneration represents meeting fees and gratuities as approved by shareholders of the Company in their Annual General Meeting.
22 Expenses by nature The following expenditures, classified by nature, have been charged in arriving at operating profits:
23 Income tax
150
23 Income tax (Cont’d) For income taxes from the business operation in the foreign country in 2007, the Company had been informed from the Revenue Department of the foreign country that the Company did not submit the income tax from the revenue generated from business operation in that country. Therefore the management has estimated the provision of income tax liabilities and engaged the tax specialist in that country to review. The Company had fully set up provision for income tax liability which comprised of income tax amounting to Baht 7,921,568 and penalty and interest amounting to Baht 3,949,770. These penalty and interest have been recorded in the selling and administrative expenses.
24 Financial instruments The principal financial risk faced by the Company is foreign currency exchange rates as certain service contracts and cost of subcontract have been made in foreign currencies. The Company’s contract revenue and cost of contracts were agreed in foreign currencies. Therefore, the Company has to encounter the financial risk from foreign currency exchange rate substantially. However, the Company has set up the policy to protect such risk by balancing income and expenses that are in foreign currencies. This can reduce some risks in foreign currency expenses. The objectives of using financial instruments are to mitigate the uncertainty over future cash flows arising from movements in exchange rates, and to manage liquidity of the cash resources. Foreign exchange forward contracts are taken out to manage the currency risks. Trading for speculative purposes is prohibited. Forward foreign exchange contracts are confined to the banks that the Company has facilities with. 24.1 Objectives and significant terms and conditions During the year 2007, the Company has a significant purchase contract in foreign currency, the management had managed the risk arising from fluctuations in a currency exchange rate of this contract by entering in the forward foreign exchange contract. Forward foreign exchange contracts As at 31 December 2008, the Company has an outstanding forward foreign exchange contract which was a buying amounting to Yen 332,018,400 (2007 : Yen 408,241,400) and selling USD 3,684,999 (2007 : USD 3,707,915). 24.2 Credit risk The Group has no significant concentration of credit risk from customers. The Group has policies in place to ensure that services are provided to customers with an appropriated credit history and as a policy, all major services are supported by sight letters of credit issued by reputable banks. 151
24 Financial instruments (Cont’d) 24.3 Interest rate risk The Group has interest rate risk from short-term borrowings from financial institutions. The Company does not use the financial instrument to hedge the exposure because these are the short-term borrowings. 24.4 Fair values The face values of financial assets and liabilities with a maturity of less than one year are assumed to approximate their fair values. As at 31 December 2008, the Company has an outstanding forward foreign exchange contract which was a buying amounting to Yen 332,018,400 and s selling USD 3,684,999. The net fair values is equivalent to Thai Baht 718,206. The fair values of forward foreign exchange contracts have been calculated using rates quoted by the Company’s banker assuming the contracts had been terminated.
25 Bank guarantees As at 31 December 2008, the Group was responsible for bank guarantees totaling US Dollar 6,466,935 Euro 5,291,445 and Baht 387,000 (2007 : US Dollar 5,566,962 and Euro 3,180,710) issued by banks to third parties in the ordinary course of business and no liabilities are expected to arise.
26 Operating lease commitment As at 31 December 2008, the Group has three-year operating leases the future aggregate minimum lease payments under non-cancellable operating leases are as follows:
152
27 Contingent liabilities As at 31 December 2008, the Group has outstanding letter of credit amounting to Yen 363,228,400 Euro 288,710 US Dollar 516,695 and Baht 14,314,742 (2007 : Yen 20,860,000 and Euro 28,202).
28 Subsequent event As at 13 February 2009, the shareholders exercised warrants 93,058,116 units and the Company received money from these exercised warrants amounting to Baht 116,322,645 (1 unit : Baht 1.25).
153
สถานทีต่ งั้ สำนักงาน บริษทั แอล.วี.เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) เลขที่ 719 อาคารเค.พี.เอ็น ทาวเวอร ชัน้ 9, 17 และ 23 (โซนซีและดี) ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 02-717-0835-40 โทรสาร 02-717- 0841, 02-717- 0577 เว็บไซต http://www.lv-technology.com
Address L.V. Technology Public Company Limited 719 KPN Tower, 9th , 17th & 23rd Floor (Zone C-D) Rama IX Road, Bangkabi, Huaykwang, Bangkok 10310 Tel. 02-717-0835-40 Fax. 02-717-0841, 02-717-0577 Website http://www.lv-technology.com
ชือ่ ยอหลักทรัพย เลขทะเบียนบริษทั ประเภทธุรกิจ ปทกี่ อ ตัง้ วันทีจ่ ดทะเบียนแปรสภาพเปน บริษทั มหาชนจำกัด
: 4 สิงหาคม 2546
Symbol Corporate Registration No. Type of Business Year of Establishment Date of Conversion into a Public Company
: : : :
Date of Being Listed in SET (mai) Registered Capital Issued and Paid –up Capital Par Value
วันทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ (mai) ทุนจดทะเบียน ทุนทีอ่ อกและชำระแลว มูลคาทีต่ ราไว
154
: : : :
LVT 0107546000211 บริการดานวิศวกรรม 2539
14 กรกฎาคม 2547 325,500,000.00 บาท 228,812,538.00 บาท หนุ ละ 1 บาท
: : : :
LVT 0107546000211 Engineering Services 1996
:
August 4, 2003
: : : :
July 14, 2004 325,500,000.00 Baht 228,812,538.00 Baht 1 Baht
บุคคลอางอิงอืน่ ๆ นายทะเบียนหลักทรัพย บริษทั ศูนยรบั ฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 02-229-2800 โทรสาร 02-359-1259
Other Reference Persons Share Registrar Thailand Securities Depository Co., Ltd. 62 The Stock Exchange of Thailand Building, Rachadapisek Road, Klongtoey, Bangkok 10110 Tel. 02-229-2800 Fax. 02-359-1259
ผสู อบบัญชี บริษทั ไพรซวอเตอรเฮาสคเู ปอรส เอบีเอเอส จำกัด เลขที่ 179/74-80 อาคารบางกอกซิตี้ เทาเวอร ชัน้ 15 ถนนสาทรใต กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 02-286-9999, 02-344-1000 โทรสาร 02-286-5050
Auditor Pricewaterhouse Coopers ABAS Ltd. 179/74-80 Bangkok City Tower 15th Floor, Sathorn Road, Bangkok 10210 Tel. 02-286-9999, 02-344-1000 Fax. 02-286-5050
ทีป่ รึกษากฎหมาย บริษทั กฎหมายเอสซีจี จำกัด 1 ถนนปูนซิเมนตไทย แขวงบางซือ่ เขตบางซือ่ กรุงเทพฯ 10800 โทรศัพท 02-586-5777 โทรสาร 02-586-2976
Legal Counsellor SCG Legal Counsel Limited 1 Siam Cement Road, Bangsue, Bangkok 10800 Tel. 02-586-5777 Fax. 02-586-2976