MC: รายงานประจำปี 2558

Page 1

รายงานประจำ�ปี 2558 บริษท ั แม็คกรุป ๊ จำ�กัด (มหาชน)


สารบัญ จุดเด่นทางการเงิน คณะกรรมการบริษท ั

ลักษณะการประกอบธุรกิจ การตลาด และการแข่งขัน

โครงสร้างการจัดการ การกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี

การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการความเสีย ่ ง รายการระหว่างกัน

รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

4

05 06 08 10 16 19 21 28 29 31 32 41 55 62 64 65 68 73 74 75

วิสย ั ทัศน์ และค่านิยมองค์กร สารจากประธานคณะกรรมการ

การเปลีย ่ นแปลง และพัฒนาการทีส ่ �ำ คัญ นโยบาย และภาพรวมในการประกอบธุรกิจ

ปัจจัยความเสีย ่ ง ข้อมูลหลักทรัพย์ และผูถ ้ อ ื หุน ้

การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝ่ายจัดการ

ข้อมูลทัว่ ไป งบการเงิน


VISION CORE VALUE วิสย ั ทัศน์

บมจ. แม็คกรุป ๊ มุง ่ หวังทีจ ่ ะเป็นองค์กรธุรกิจชัน ้ นำ�ของเอเชียด้านเครือ ่ งแต่งกายและไลฟ์สไตล์ ด้วยการบริหารจัดการ แบรนด์หลากหลาย ให้เหมาะสมกับรูปแบบการใช้ชวี ต ิ ทีแ่ ตกต่าง และมุง ่ มัน ่ ทีจ ่ ะสร้างอความพึงพอใจสูงสุดต่อผูม ้ ส ี ว่ นได้ เสีย (stakeholder) และลูกค้าของเราด้วยผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพทีไ่ ด้รบ ั การออกแบบอย่างสมสรีระมากทีส ่ ด ุ ในราคาทีเ่ ป็น ธรรมในทุกระดับของคนรุน ่ ใหม่ โดยช่องทางการจำ�หน่ายทีส ่ ะดวกสบายพร้อมการบริการทีท ่ ม ุ่ เทจากใจ

ค่านิยมองค์กร | MC WAY สิง ่ ทีพ ่ นักงานยึดถือเป็นค่านิยมในการทำ�งาน และการใช้ชวี ต ิ เพือ ่ สะท้อนให้เห็นถึงการเป็นคน Mc Group Motivation Commitment Willingness Appreciation Yes-Mind

แรงจูงใจในการทำ�งาน เพือ ่ สร้างสรรค์ผลงานทีด ่ ท ี ส ่ี ด ุ ให้กบ ั ลูกค้า ความยึดมัน ่ ในคำ�สัญญาต่อลูกค้า และคูค ่ า้ บนหลักการดำ�เนินธุรกิจด้วยความสุจริต ความตัง ้ ใจในการดำ�เนินธุรกิจ เพือ ่ ส่งมอบสิง ่ ทีด ่ ท ี ส ่ี ด ุ ทัง ้ ในสินค้า และบริการ การชืน ่ ชมยินดี เคารพในการทำ�งานของผูอ ้ น ่ื ให้เกียรติ และมีน�ำ้ ใจต่อกัน การคิดบวก พร้อมแก้ไขปัญหาในทุกสถานการณ์ และเชือ ่ ว่าทุกปัญหามีทางออก


MESSAGE FROM CHAIRMAN OF THE BOARD OF DIRECTORS

สารจากประธานกรรมการ เรียน ท่านผูถ ้ อ ื หุน ้ และผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย ในปี 2558 เป็นปีทท ่ี า้ ทายอีกปีหนึง ่ ของ “แม็ค กรุป ๊ ” เนือ ่ งด้วยภาวะเศรษฐกิจทีย ่ ง ั คงชะลอตัว ราคา สินค้าเกษตรยังอยูใ่ นระดับต่�ำ ประกอบกับภาระหนีส ้ น ิ ของประชากรยั ง อยู่ ใ นระดั บ สู ง มี ผ ลกระทบต่ อ การ ใช้จา่ ยและกำ�ลังซือ ้ ของผูบ ้ ริโภคทัว่ ประเทศ รายได้จากการขายของบริษท ั ฯ

ส่งผลให้

ในครึง ่ ปีแรกเติบโต

ต่�ำ กว่าเป้าหมายทีว่ างไว้ อย่างไรก็ตามบริษท ั ฯ มุง ่ มัน ่ ที่จะสร้างการเติบโตของธุรกิจค้าปลีกเสื้อผ้าเครื่อง แต่งกาย

และสินค้าไลฟ์สไตล์

โดยดำ�เนินการภายใต้

กลยุทธ์หลัก ได้แก่ การขยายช่องทางการจัดจำ�หน่าย อย่างต่อเนือ ่ ง

มุง ่ เน้นขยายช่องทางการจัดจำ�หน่าย

ผ่านร้านค้าปลีกของตนเอง (Free-standing shop) เนื่องจากมีความคล่องตัวมากกว่าช่องทางการจัด จำ�หน่ายอืน ่ โดย ณ สิน ้ ปี 2558 บริษท ั มีจด ุ ขายทัง ้ สิน ้ 866 สาขา เพิม ่ ขึน ้ 46 สาขา จากปี 2557 และในเดือน เมษายน บริษท ั ฯ ได้เปิดช่องทางจำ�หน่ายใหม่ในสถานี บริการน้�ำ มัน ปตท. ภายใต้แบรนด์ “mc mc” เพือ ่ ขยาย ฐานลูกค้าใหม่ทเ่ี ป็นคนท้องถิน ่ และนักเดินทาง 6


นอกจากนี้ในช่วงปลายปี บริษัทฯ ยังขยาย

เพราะบริษท ั เชือ ่ ว่า การเติบโตของธุรกิจอย่างยัง ่ ยืนนัน ้

ช่องทางการจัดจำ�หน่ายทางอินเตอร์เน็ตหรือออนไลน์

จะไม่สามารถขาดบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ มีทักษะ

โดยได้ เ ปลี่ย นชื่อ และปรั บ โฉมเว๊ ป ไซต์ เ พื่อ การค้ า จาก

ความรู้ ความเชีย ่ วชาญ ทัง ้ ด้านการทำ�งานและการใช้

“www.wowme.co.th” เป็น “www.mcshop.com”

ชีวต ิ ได้ นอกจากนีบ ้ ริษท ั ยังให้ความสำ�คัญกับการดูแล

บริษัทมีการเพิ่มแบรนด์สินค้า การพัฒนา และ การนำ�เสนอสินค้ากลุ่มใหม่ ซึ่งในปีที่ผ่านมา แบรนด์ “MC” ได้นำ�เสนอผลิตภัณฑ์กระเป๋าเดินทางและกระเป๋า สะพาย ซึง ่ เป็นสินค้าประเภทไลฟ์สไตล์ เพือ ่ ขยายฐาน กลุม ่ ลูกค้าให้ครอบคลุมลูกค้าใหม่ๆเพิม ่ มากขึน ้ ซึง ่ ได้รบ ั

สังคม ชุมชน และสิง ่ แวดล้อม ซึง ่ เป็นรากฐานทางความ คิดที่ “แม็คกรุป ๊ ” ยึดมัน ่ เสมอมา โดยบริษท ั มุง ่ เน้น การ สนับสนุนทางการศึกษา และการสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ เพื่อคืนประโยชน์สู่สังคม เช่น โครงการแม็คสมาร์ท โครงการฝึกสอนเย็บผ้าพัฒนาอาชีพ เป็นต้น

การตอบรับจากลูกค้าเป็นอย่างดี และในส่วนของกลุม ่

สุดท้ายนี้ ในนามของคณะกรรมการบริษท ั และ

ผลิตภัณฑ์เครื่องแต่งกาย บริษัทได้พัฒนาผลิตภัณฑ์

ผูบ ้ ริหารของ บริษท ั แม็คกรุป ๊ จำ�กัด (มหาชน) ดิฉน ั

เสือ ้ ยืด(T-shirt) ร่วมกับผูล ้ งทุนใหม่ภายใต้แบรนด์ใหม่

ขอขอบคุณ ท่านผูถ ้ อ ื หุน ้ ลูกค้า รวมถึงพันธมิตรทาง

“McT” ซึง ่ ใช้ผา้ ทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตพ ิ เิ ศษ ผลิตจากผ้าฝ้าย

ธุรกิจทุกท่าน ทีไ่ ด้ให้การสนับสนุนบริษท ั เป็นอย่างดี

โดยใช้เทคโนโลยี Soft Tech และ micro brushed ทําให้

เสมอมา ทั้งนี้บริษัทจะมุ่งมั่นในการดำ�เนินการบริหาร

มีเนือ ้ ผ้าทีน ่ ม ุ่ สวมใส่สบาย แห้งไว ไม่ยบ ั ง่าย ไม่ตอ ้ งรีด

อย่างเต็มความสามารถด้วยหลักธรรมาภิบาลทีด ่ ี เพือ ่

เป็นการเพิ่มกลุ่มผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลายตอบ

ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สูง สุ ด แก่ ผู้ มี ส่ว นได้ ส่ ว นเสี ย ทุ ก ฝ่ า ย

โจทย์ทางเลือกในชีวต ิ ประจำ�วันของผูบ ้ ริโภค

อย่างยัง ่ ยืน

บริษท ั ยังคงเชือ ่ มัน ่ ในศักยภาพของการเติบโตใน ธุรกิจค้าปลีก เสือ ้ ผ้าเครือ ่ งแต่งกายและสินค้าไลฟ์สไตล์ โดยนอกจากการขยายช่ อ งทางจั ด จำ � หน่ า ยภายใน ประเทศแล้ว บริษัทเล็งเห็นโอกาสในการขยายธุรกิจ ไปยังตลาดใหม่ท่ีมีอัตราการเติบโตที่ดีในต่างประเทศ

สุณี เสรีภาณุ ประธานกรรมการ และประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร

โดยในปี 2558 ทีผ ่ า่ นมา บริษท ั ขยายช่องทางการจัด จำ�หน่ายในประเทศกัมพูชาเป็นแห่งแรก เพิม ่ เติมจากจุด จำ�หน่ายในประเทศเมียนมาร์ ประเทศลาว และประเทศ เวียดนาม ทำ�ให้ ณ สิน ้ ปี 2558 บริษท ั มีจด ุ จำ�หน่ายใน ต่างประเทศทัง ้ สิน ้ 23 จุดจำ�หน่าย ในปี 2559 บริษท ั มุง ่ เน้นการขยายสาขาผ่าน ช่องทางการจัดจำ�หน่ายทัง ้ ในประเทศ และต่างประเทศ โดยบริษัทจะปรับปรุงการกระจายสินค้าและการเลือก สินค้าให้เหมาะสมกับตลาดในแต่ละพื้นที่มากขึ้น โดย บริษท ั ได้เริม ่ ใช้งานระบบ SAP ซึง ่ เป็นระบบสารสนเทศ เพือ ่ การบริหาร (ERP) ตัง ้ แต่เดือนมกราคม 2559 เพือ ่ ที่จะให้การบริหารจัดการในส่วนนี้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น นอกจากนีบ ้ ริษท ั จะยังนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ

ทีม ่ จ ี ด ุ

เด่นและรูปแบบที่แตกต่างกันเพื่อตอบสนองไลฟ์สไตล์ ของผู้บริโภคที่หลากหลาย ตลอดจนจัดกิจกรรมส่ง เสริมการขายที่คุ้มค่าแก่ลูกค้า และจะเริ่มทำ�การตลาด ออนไลน์ผา่ นเว็ปไซต์ www.mcshop.com มากขึน ้ นอกเหนือจากการเติบโตทางธุรกิจ บริษัทยัง มุ่ง เน้ น การพั ฒ นาบุ ค ลากรในทุ ก ระดั บ อย่ า งจริ ง จั ง 7


จุดเด่นทางการเงิน ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน (หน่วย : ล้านบาท)

งบการเงินรวม 2556

2557

2558

รายได้จากการขายสินค้า

2,973

3,470

3,895

รวมรายได้

3,017

3,538

3,951

กำ�ไรก่อนดอกเบีย ้ สุทธิ ภาษี และค่าเสือ ่ มราคา และค่าตัดจำ�หน่าย (EBITDA)

890

898

928

กำ�ไรส่วนทีเ่ ป็นของบริษท ั ใหญ่

733

712

732

4,652

4,857

5,100

951

932

1,024

3,701

3,925

4,076

งบกำ�ไรขาดทุน

งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์รวม หนีส ้ น ิ รวม ส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ รวม

งบการเงินรวม

งบการเงินรวม 2556

2557

2558

อัตรากำ�ไรขัน ้ ต้น

56.7

54.4

56.1

กำ�ไรก่อนดอกเบีย ้ สุทธิ ภาษี และค่าเสือ ่ มราคา และค่าตัดจำ�หน่าย (EBITDA)

29.8

25.7

23.6

อัตรากำ�ไรสุทธิ

24.3

20.1

18.5

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์

22.0

15.0

14.7

อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้

33.2

19.2

18.8

0.3

0.2

0.3

มูลค่าตามบัญชีตอ ่ หุน ้

4.6

4.9

5.1

กำ�ไรต่อหุน ้

0.9

0.9

0.9

เงินปันผลต่อหุน ้

0.7

0.8

0.8

ความสามารถในการทำ�กำ�ไร (ร้อยละ)

อัตราส่วนหนีส ้ น ิ ต่อส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ (เท่า) อัตราส่วนหนีส ้ น ิ ต่อส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ ข้อมูลต่อหุน ้ (บาท)

8


รายได้จากการขายสินค้า (หน่วย: ล้านบาท)

กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ (หน่วย: ล้านบาท)

โครงสร้างรายได้แยกตามผลิตภัณฑ์ ปี 2558

โครงสร้างรายได้แยกตามช่องทางการขาย ปี 2558

(หน่วย: ล้านบาท)

(หน่วย: ล้านบาท)

1/

1/

1%

BISON 33

12%

MCLADY 445

73% MC 2,850

หมายเหตุ: 1/รายได้อน ่ื ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ MC PINK, MC MINI, BLUE BROTHERS, MCMC, รายได้จากการขายสินค้า และบริการทาง อินเตอร์เน็ต และรายได้จากการขายวัตถุดบ ิ ประเภท accessories ให้ แก่ผรู้ บ ั จ้างผลิต

หมายเหตุ: 1/ช่องทางการขายอืน ่ ได้แก่ การขายผ่านตัวแทนการจัด จำ�หน่าย, การออกบูธแสดงสินค้าร้านค้าปลีกค้าส่ง และขายผ่าน ทางอินเตอร์เน็ต เป็นต้น

9


BOARD OF DIRECTORS

8

7

4

3

6

5

1

2



คณะกรรมการบริษท ั นางสาวสุณี เสรีภาณุ

1

ประธานกรรมการ กรรมการบริหาร ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ อายุ 51 ปี รับตำ�แหน่งเมือ ่ วันที่ 24 เมษายน 2557 คุณวุฒก ิ ารศึกษา/การอบรม • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • ปริญญาตรี สาขาบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน ่ ที่ 98/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน ่ ที่ 172/2013 ของสมาคมส่งเสริมสถานบันกรรมการ บริษท ั ไทย (IOD) • หลักสูตรผูบ ้ ริหารระดับสูง (หลักสูตร วตท.) รุน ่ ที่ 15/2555 สถาบันวิทยาการตลาดทุน การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/อืน ่ ๆ ในปัจจุบน ั • ประธานกรรมการ / ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร / กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ บมจ. แม็คกรุป ๊ • กรรมการ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) • กรรมการ บจก. แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริง ่ • กรรมการ บจก. วินเนอร์แมน • กรรมการ บจก. ว้าว มี • กรรมการ บจก. ลุค บาลานซ์ • กรรมการ บจก. ไทม์ เดคโค คอร์ปอเรชัน ่ • กรรมการ บจก. แม็คจีเนียส • กรรมการ บจก. ท๊อป ที 2015 • กรรมการ บจก. มิลเลเนีย ่ ม (1975) • ประธานกรรมการ มูลนิธแิ ม็คกรุป ๊ เพือ ่ สังคมไทย ประสบการณ์ • กรรมการ บจก. เอสเอส ชาลเล้นจ์ • กรรมการ บจก. นายายอาม เรียลเอสเตท • กรรมการ บจก. อมตะ แอพพาเรล สรุปจำ�นวนบริษท ั ทีด ่ �ำ รงตำ�แหน่งกรรมการ • บริษท ั จดทะเบียนอืน ่ : - ไม่มี – • บริษท ั หรือกิจการทัว่ ไป : 10 บริษท ั

12

นายวิรช ั เสรีภาณุ

2

กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน รองกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่กลุม ่ งานปฏิบต ั ก ิ ารผลิต อายุ 53 ปี รับตำ�แหน่งเมือ ่ วันที่ 24 เมษายน 2557 คุณวุฒก ิ ารศึกษา/ การอบรม • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • ปริญญาตรี สาขาเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน ่ ที่ 155/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย (IOD) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ อืน ่ ๆในปัจจุบน ั • กรรมการ/ กรรมการบริหาร/ กรรมการสรรหา และ พิจารณาค่าตอบแทน/ กรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่าง ยัง ่ ยืน / รองกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่กลุม ่ งานปฏิบต ั ก ิ าร ผลิต บมจ. แม็คกรุป ๊ • กรรมการ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) • กรรมการ บจก. แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริง ่ • กรรมการ บจก. วินเนอร์แมน • กรรมการ บจก. ว้าว มี • กรรมการ บจก. ลุค บาลานซ์ • กรรมการ บจก. แม็คจีเนียส ประสบการณ์ • กรรมการ บจก. พี.เค.แอสเซท พลัส • กรรมการ บจก. อมตะ แอพพาเรล สรุปจำ�นวนบริษท ั ทีด ่ �ำ รงตำ�แหน่งกรรมการ • บริษท ั จดทะเบียนอืน ่ : - ไม่มี – • บริษท ั หรือกิจการทัว่ ไป : 6 บริษท ั


นายสมชัย อภิวฒ ั นพร

3

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริหารความเสีย ่ ง ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 65 ปี รับตำ�แหน่งเมือ ่ วันที่ 23 เมษายน 2558 คุณวุฒก ิ ารศึกษา/ การอบรม • ปริญญาโท สาขาการจัดการงานสาธารณะ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน รุน ่ ที่ 46 ปี 2546 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน ่ ที่ 74/2006 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย (IOD) • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน ่ ที่ 14/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย (IOD) • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุน ่ ที่ 21/2008 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย (IOD) • หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) รุน ่ ที่ 17/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย (IOD) • หลักสูตรผูบ ้ ริหารระดับสูง (หลักสูตร วตท.) รุน ่ ที่ 5/2552 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรผูบ ้ ริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (Top Executive Program in Commerce and Trade: TEPCoT) สถาบันวิทยาการการค้า การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ อืน ่ ๆในปัจจุบน ั • กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการบริหารความเสีย ่ ง / ประธานกรรมการ สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน บมจ. แม็คกรุป ๊ • กรรมการ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) • กรรมการ บจก. แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริง ่ • กรรมการ บจก. วินเนอร์แมน • กรรมการ บจก. ว้าว มี • ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ห้างสรรพสินค้า โรบินสัน • ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. เอ็ม ลิง ้ ค์ เอเชีย คอร์ปอเรชัน ่ • ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ซินเน็ค (ประเทศไทย)

นางจำ�นรรค์ ศิรต ิ น ั

4

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสีย ่ ง อายุ 65 ปี รับตำ�แหน่งเมือ ่ วันที่ 23 เมษายน 2558 คุณวุฒก ิ ารศึกษา/ การอบรม • ปริญญาตรี อักษรศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาการละคร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน ่ ที่ SET/2012 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษท ั ไทย (IOD) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน ่ ที่ 180/2013 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย (IOD) • หลักสูตรนักบริหารระดับสูงกิจการกระจายเสียง และ กิจการโทรทัศน์ (กสท.) รุน ่ ที่ 1 สำ�นักงานคณะ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ อืน ่ ๆในปัจจุบน ั • กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการ บริหารความเสีย ่ ง บมจ. แม็คกรุป ๊ • ประธานกรรมการบริหาร บจก. เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย • กรรมการ บจก. ชืน ่ มงคล • กรรมการ บจก. ลายพฤกษ์ • รองประธานกรรมการ บจก. แอนนิเมชัน ่ อินเตอร์ เนชัน ่ แนล (ไทยแลนด์) • กรรมการ บจก. ไอดี วัน เทเลวิชน ่ั • นายก สมาพันธุส ์ มาคมวิชาชีพวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์ • กรรมการ บจก. เฮ้าส์ออ ๊ ฟการ์ตน ู สรุปจำ�นวนบริษท ั ทีด ่ �ำ รงตำ�แหน่งกรรมการ • บริษท ั จดทะเบียนอืน ่ : - ไม่มี • บริษท ั หรือกิจการทัว่ ไป : 7 บริษท ั

สรุปจำ�นวนบริษท ั ทีด ่ �ำ รงตำ�แหน่งกรรมการ • บริษท ั จดทะเบียนอืน ่ : 3 บริษท ั • บริษท ั หรือกิจการทัว่ ไป : 4 บริษท ั

13


นายศุภศักดิ์ จิรเสวีนป ุ ระพันธ์

5

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสีย ่ ง กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน อายุ 51 ปี​ี รับตำ�แหน่งเมือ ่ วันที่ 23 เมษายน 2558 คุณวุฒก ิ ารศึกษา/ การอบรม • นิตศ ิ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยอริโซนา เสตท เทมเป รัฐอริโซนา • นิตศ ิ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เวสท์ ทัน ซานดิเอโก แคลิฟอร์เนีย • เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนอร์ธอิสทัน บอสตัน แมสซาซูเซตส์ • เนติบณ ั ฑิตไทย • ปริญญาตรี นิตศ ิ าสตร์บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน ่ ที่ 10/2004 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย (IOD) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ อืน ่ ๆในปัจจุบน ั • กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการ บริหารความเสีย ่ ง / กรรมการสรรหาและพิจารณา ตอบแทน บมจ. แม็คกรุป ๊ • กรรมการ บจก. ไซม์ ดาร์บ้ี (ประเทศไทย) • กรรมการ บจก. กรีนสปอต • กรรมการ บจก. เอสจี ซากาวะ (ประเทศไทย) • กรรมการ บจก. ซากาวะ เอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) • กรรมการ บจก. ไซม์ ดาร์บ้ี มาสด้า (ประเทศไทย) • กรรมการ บจก. ไซม์ ดาร์บ้ี แวนเทจ (ประเทศไทย) • กรรมการ บจก. ไซม์ ดาร์บ้ี ออโต้ เซอร์วส ิ เซส • กรรมการ บจก. ไซม์-มรกต โฮลดิง ้ ส์ (ประเทศไทย) • กรรมการ บจก. โตเกียวมารีนเซ๊าท์อส ี ต์ (อาคเนย์) บริการ • กรรมการ บมจ. โตเกียวมารีนประกันชีวต ิ (ประเทศไทย) • กรรมการ บจก. เพอร์ฟอร์แมนซ์ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) • กรรมการ บมจ. มรกต อินดัสตรีส ้ ์ • กรรมการ บจก. แรนฮิล ยูทล ิ ต ิ ส ้ี ์ ไทย • กรรมการ บจก. ไวกิง ้ มอเตอร์ส • กรรมการ บจก. เอส.พี.ซี. พรีเชียส เมททอล • กรรมการ บจก. เอส.ซี. ลอว์ ออฟฟิศ สรุปจำ�นวนบริษท ั ทีด ่ �ำ รงตำ�แหน่งกรรมการ • บริษท ั จดทะเบียนอืน ่ : - ไม่มี • บริษท ั หรือกิจการทัว่ ไป : 16 บริษท ั

14

นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม

6

กรรมการ ประธานกรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน อายุ 50 ปี รับตำ�แหน่งเมือ ่ วันที่ 24 เมษายน 2557 คุณวุฒก ิ ารศึกษา/ การอบรม • Master of Business Administration, University of Pennsylvania, USA • Master of Science, Operation Research, University of Michigan, USA • ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุน ่ ที่ 9/2004 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน ่ ที่ 212/2015 การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ อืน ่ ๆในปัจจุบน ั • กรรมการ / ประธานกรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่าง ยัง ่ ยืน บมจ. แม็คกรุป ๊ • กรรมการและกรรมการผูจ ้ ด ั การ บจก. ไพรเวท อิควิต้ี (ประเทศไทย) • กรรมการ บมจ. เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ • กรรมการ บมจ. เอเชียซอฟท์ คอร์ปอเรชัน ่ • กรรมการอิสระ และกรรมการสรรหา และพิจารณาค่า ตอบแทน บมจ. สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี • กรรมการ บจ. อัลตัส แอดไวซอรี่ สรุปจำ�นวนบริษท ั ทีด ่ �ำ รงตำ�แหน่งกรรมการ • บริษท ั จดทะเบียนอืน ่ : 3 บริษท ั • บริษท ั หรือกิจการทัว่ ไป : 2 บริษท ั


พลเอกวิชต ิ ยาทิพย์

7

นางชนัญญารักษ์ เพ็ชร์รต ั น์

8

กรรมการอิสระ

กรรมการอิสระ

อายุ 69 ปี รับตำ�แหน่งเมือ ่ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2557

อายุ 52 ปี รับตำ�แหน่งเมือ ่ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2558

คุณวุฒก ิ ารศึกษา/ การอบรม • ปริญญาโท รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย กรุงเทพธนบุรี • โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ชุดที่ 60 • โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุน ่ ที่ 20 • โรงเรียนเตรียมทหารรุน ่ ที่ 9 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน ่ ที่ 105/2008 • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน รุน ่ ที่ 9 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรการจัดการสมัยใหม่ วิทยาลัยป้องกันราช อาณาจักร รุน ่ ที่ 1 • หลักสูตรผูบ ้ ริหารระดับสูง (หลักสูตร วตท.) รุน ่ ที่ 7/2551 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย สำ�หรับผูบ ้ ริหารระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า รุน ่ ทื่ 12 • หลักสูตรผูบ ้ ริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ สถาบันวิทยาการการค้า มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กระทรวงพาณิชย์ รุน ่ ที่ 3

คุณวุฒก ิ ารศึกษา/ การอบรม • ปริญญาโท สาขา Management Information System มหาวิทยาลัยเวสท์เวอร์จเิ นีย สหรัฐอเมริกา ประกาศนียบัตรด้านการจัดการ (Special Manage ment Program) มหาวิทยาลัยมาร์แชล สหรัฐอเมริกา • ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ เอกการบัญชี มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุน ่ ที่ 49/2547 • หลักสูตร IMD Leadership Development Program by Thailand Listed Company Assoc. 2015 • หลักสูตร Certified Berkeley Institution Executive Coaching (BEIC) 2014 • หลักสูตร Enhancing the Competitiveness of Thai Companies by IMD Switzerland powered by TLCA Thailand Listed Company Association (LDP1) • หลักสูตร LSP1 – Leadership Successor Program for State Enterprises powered by Ministry of Finance • หลักสูตร CMA14 (Capital Market Academy) from The Stock Exchange of Thailand • หลักสูตร EDP6 Executive Development Program, Chairman of Alumni 6 sponsored by TLCA • หลักสูตร Executive Committee of Thai Listed Company Associations (TLCA)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ อืน ่ ๆในปัจจุบน ั • กรรมการอิสระ บมจ. แม็คกรุป ๊ • กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. การบิน กรุงเทพ • ประธานกรรมการ บมจ. นิปปอนแพค (ประเทศไทย) • กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. วนชัยกรุป ๊ • กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ทรีซก ิ ตีไ้ ฟว์ • กรรมการอิสระ บมจ. ล็อกเล่ย์ • ประธานทีป ่ รึกษากลุม ่ บริษท ั ทิปโก้ • อุปนายก สภามหาวิทยาลัยผูท ้ รงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัย นครพนม • กรรมการ สภามหาวิทยาลัยอีสเทิรน ์ เอเชีย • กรรมการ สมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน สรุปจำ�นวนบริษท ั ทีด ่ �ำ รงตำ�แหน่งกรรมการ • บริษท ั จดทะเบียนอืน ่ : 5 บริษท ั • บริษท ั หรือกิจการทัว่ ไป : 4 บริษท ั

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ อืน ่ ๆในปัจจุบน ั • กรรมการอิสระ บมจ. แม็คกรุป ๊ • กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการกำ�ากับดูแลกิจการ บมจ.โทเทิล ่ แอ็คเซ็ส คอมมูนเิ คชัน ่ • กรรมการ บจก.ดีแทค ไตรเน็ต • กรรมการผูจ ้ ด ั การ บจก. ดีเอชแอล เอ็กซ์เพรส อินเตอร์ เนชัน ่ แนล (ประเทศไทย) สรุปจำ�นวนบริษท ั ทีด ่ �ำ รงตำ�แหน่งกรรมการ • บริษท ั จดทะเบียนอืน ่ : 1 บริษท ั • บริษท ั หรือกิจการทัว่ ไป : 2 บริษท ั

15


การเปลีย ่ นแปลงและพัฒนาการทีส ่ �ำ คัญ ประวัตค ิ วามเป็นมาของบริษท ั ฯ

2518 กางเกงยีนส์แบรนด์ “Mc” ถือกำ�เนิดขึน ้

16

2523 ก่อตัง ้ “บริษท ั พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต – เอ็กซ์ ปอร์ต) จำ�กัด” เพือ ่ ดำ�เนินธุรกิจผลิตเสือ ้ ผ้า สำ�เร็จรูปประเภทยีนส์ ภายใต้แบรนด์ “Mc”

2555

2556

- ปรับโครงสร้างการประกอบธุรกิจ เพือ ่ รองรับ การเติบโตในอนาคต โดยก่อตัง ้ บริษท ั จำ�กัด ภายใต้ ชือ ่ “บริษท ั แม็คกรุป ๊ จำ�กัด” มีทน ุ จดทะเบียน 300 ล้านบาท เพือ ่ ดำ�เนินธุรกิจค้าปลีกเครือ ่ งแต่งกาย และสินค้าไลฟ์สไตล์ - จัดตัง ้ “บจก. วินเนอร์แมน” เพือ ่ บริหารจัดการด้าน พนักงานขาย - จัดตัง ้ “บจก. แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริง ่ ” เพือ ่ รองรับการขยายกำ�ลังการผลิตเสือ ้ ผ้าสำ�เร็จรูป - จัดตัง ้ ตัวแทนจัดจำ�หน่ายสินค้าของกลุม ่ บริษท ั ฯ ในประเทศเมียนมาร์ และประเทศลาว

- จัดตัง ้ บริษท ั “MC INTER LIMITED” จด ทะเบียน ในเขตบริหารพิเศษฮ่องกง แห่งสาธารณ รัฐประชาชนจีน เพือ ่ รองรับการดำ�เนินธุรกิจ และ การลงทุนในต่างประเทศในอนาคต - จัดตัง ้ “บจก. ว้าว มี” เพือ ่ ดำ�เนินธุรกิจจัด จำ�หน่ายสินค้าและบริการผ่านทางอินเตอร์เน็ต - จัดตัง ้ “บจก. ลุค บาลานซ์” เพือ ่ รองรับ การลงทุนในธุรกิจใหม่ในกลุม ่ สินค้าไลฟ์สไตล์ - จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษท ั มหาชนในชือ ่ “บริษท ั แม็คกรุป ๊ จำ�กัด (มหาชน)” และเพิม ่ ทุนจดทะเบียนเป็น 400 ล้านบาท - เข้าเป็นบริษท ั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และเริม ่ ซือ ้ ขายหลักทรัพย์ของ บริษท ั ฯ ในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย โดยใช้ชอ ่ื ย่อหลักทรัพย์ “MC” - เปิดตัวแบรนด์ “Mc Pink” ขยายธุรกิจเข้าสู่ เสือ ้ ผ้าแฟชัน ่ วัยรุน ่ สตรี - เปิดตัวแบรนด์ “Mc mini” ขยายฐานกลุม ่ ลูกค้าสูก ่ ลุม ่ เด็กอายุ 6-12 ปี - เปิดตัวแบรนด์ “The Blue Brothers” ขยายฐานธุรกิจเข้าสูต ่ ลาดพรีเมียม


2543 เปิดตัวแบรนด์ “Mc Lady” และ “Bison” เพิม ่ ความหลากหลายของสินค้าและตอบสนองความ ต้องการของกลุม ่ ผูบ ้ ริโภคได้มากขึน ้

2556 - เปิดตัวแบรนด์ “mc mc” ขยายฐานธุรกิจ เข้าสูก ่ ลุม ่ สินค้า Value-for-money สำ�หรับ ทุกเพศทุกวัย - เปิดตัวสินค้าใหม่ “Mc Me” ภายใต้แบรนด์ “Mc” เพือ ่ ขยายเข้าสูก ่ ลุม ่ ลูกค้าผูห ้ ญิงทีม ่ อ ี ายุ 40 ปี ขึน ้ ไป - เข้าลงทุนถือหุน ้ 51% ใน “บจก.ไทม์ เดคโค คอร์ปอเรชัน ่ ” หนึง ่ ในผูน ้ �ำ ธุรกิจนำ�เข้า และ จัดจำ�หน่ายนาฬิกาแบรนด์ดง ั ชัน ้ นำ�จากทัว่ โลก อาทิเช่น Diesel, DKNY, Emporio Armani เป็นต้น

2551 ดำ�เนินแผนการขยายสาขาเชิงรุก โดยเปิดให้ บริการร้านค้าปลีกของตนเอง (Free-standing Shop) สาขาแรกทีเ่ ทสโก้ โลตัส ศาลายา

2557 - จัดตัง ้ ตัวแทนจัดจำ�หน่ายสินค้าของกลุม ่ บริษท ั ฯ ในประเทศเวียดนาม - เปิดตัวร้านค้าปลีก “The Blue Brothers Denim Store” อย่างเป็นทางการ - เปิดตัวสินค้าใหม่ ”Mc mini girls” ภายใต้แบรนด์ “Mc mini” เพือ ่ ขยายฐานลูกค้าจากเดิมทีเ่ จาะจง เฉพาะกลุม ่ เด็กผูช ้ ายอายุ 6-12 ปี ครอบคลุมสู่ กลุม ่ เด็กผูห ้ ญิงอายุ 6-12 ปี - เปิดตัวสินค้าใหม่ “Mc Plus” ภายใต้แบรนด์ “Mc” เพือ ่ ขยายเข้าสูฐ ่ านกลุม ่ ลูกค้าไซส์พเิ ศษ

17


การเปลีย ่ นแปลงและพัฒนาการทีส ่ �ำ คัญ การเปลีย ่ นแปลงและพัฒนาการทีส ่ �ำ คัญในปี 2558

กุมภาพันธ์ ย้ายคลังสินค้าและศูนย์กระจาย สินค้าจากโรงงาน 1 ไปที่คลังสินค้าเช่าของ บมจ. ดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชั่นที่ถนนร่มเกล้า

พฤษภาคม จัดตัง ้ “บจก. แม็คจีเนียส” ซึง ่ เป็น Holding Company เพือ ่ ลงทุนในบริษท ั ร่วมทุน สิงหาคม บจก. แม็คจีเนียส ได้ลงนามในสัญญา ร่วมทุนกับ บริษท ั เพชรเกษมโฮลดิง ้ จำ�กัด (ผูเ้ ชีย ่ วชาญด้านผลิตสิง ่ ทอ) ในสัดส่วนการลงทุน 51:49 ในบริษท ั ท๊อป ที 2015 จำ�กัด ซึง ่ ประกอบ ธุรกิจจำ�หน่ายสินค้าภายใต้ แบรนด์ใหม่ “Mc T” เพือ ่ รุกตลาดเสือ ้ ให้มค ี วามหลากหลายมากขึน ้

มีนาคม เปิดตัวสินค้าใหม่ “กระเป๋าเดินทาง Mc” น้�ำ หนักเบา ภายใต้แบรนด์ “Mc” สินค้าประเภทไลฟ์ สไตล์ส�ำ หรับนักเดินทาง

ตุลาคม จัดตัง ้ ตัวแทนจัดจำ�หน่ายสินค้าของ กลุม ่ บริษท ั ฯ ในประเทศกัมพูชา

เมษายน เปิดช่องทางจำ�หน่ายใหม่ในสถานี บริการน้�ำ มัน ปตท. โดยใช้แบรนด์ “mc mc” ขยาย ฐานลูกค้าใหม่ทเ่ี ป็นคนท้องถิน ่ และนักเดินทาง ทัง ้ นี้ ณ สิน ้ ปี 2558 บริษท ั มีรา้ น mc mc ในสถานี บริการน้�ำ มัน ปตท. รวมจำ�นวนทัง ้ สิน ้ 10 ร้าน ธันวาคม เปลีย ่ นชือ ่ และปรับโฉมเว็บไซต์จาก wowme.co.th เป็น mcshop.com โดยมีแผนทีจ ่ ะ เปิดตัวอย่างเป็นทางการในปี 2559

18


นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ วิสย ั ทัศน์ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย กลยุทธ์

บริษท ั แม็คกรุป ๊ จำ�กัด (มหาชน) (“บริษท ั ฯ”) และบริษท ั ย่อย มุง ่ หวังทีจ ่ ะเป็นองค์กรธุรกิจชัน ้ นำ�ของเอเชีย ด้าน เครือ ่ งแต่งกายและไลฟ์สไตล์ ด้วยการบริหารจัดการแบรนด์หลากหลาย ให้เหมาะสมกับรูปแบบการใช้ชวี ต ิ ทีแ่ ตกต่าง และ มุ่งมั่นที่จะสร้างความพึงพอใจสูงสุดต่อผู้มีส่วนได้เสีย และลูกค้าของเราด้วยผลิตภัณฑ์คุณภาพที่ได้รับการออกแบบ อย่างสมสรีระมากทีส ่ ด ุ ในราคาทีเ่ ป็นธรรม โดยมีชอ ่ งทางการจำ�หน่ายทีส ่ ะดวกสบายพร้อมการบริการทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพ บริษท ั ฯ ได้จด ั ทำ�แผนธุรกิจ ซึง ่ มีเป้าหมายทางการเงิน และการเติบโตของรายได้ ทีอ ่ ต ั ราเติบโตเฉลีย ่ ร้อยละ 20 ต่อปี ตัง ้ แต่ปี 2557– 2561 และเพิม ่ ขีดความสามารถในการทำ�กำ�ไรสูงสุด บริษท ั ฯ มีความมุง ่ มัน ่ ทีจ ่ ะบรรลุเป้าหมายดัง กล่าวโดยใช้กลยุทธ์ดง ั ต่อไปนี้ 1. กลยุทธ์ดา้ นผลิตภัณฑ์: เพิม ่ ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมใหม่เพือ ่ ตอบสนองความ ต้องการของผูบ ้ ริโภคทุกกลุม ่ ทุกวัยและทุกไลฟ์สไตส์ รวมถึงการสร้างความแข็งแกร่งของสินค้าแบรนด์ใหม่ บริษท ั ฯ มุง ่ เน้นการออกแบบและนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ให้มค ี วามหลากหลายทันสมัย และมีนวัตกรรมใหม่ๆ ให้เหมาะ สมกับความต้องการของลูกค้าแต่ละกลุม ่ และเน้นการสร้างการรับรูใ้ นตราสินค้าของบริษท ั ให้เป็นทีร่ จ้ ู ก ั อย่างกว้างขวางยิง ่ ขึน ้ นอกจากนี้ บริษัทฯ มีแผนการที่จะพัฒนาแบรนด์สินค้าใหม่อย่างต่อเนื่องเพื่อขยายไปสู่ตลาดใหม่ที่อาจมี ความต้องการเฉพาะกลุม ่ ทีแ่ ตกต่างกันออกไป โดยในปีทผ ่ี า่ นมา ได้มก ี ารออกแบบผลิตภัณฑ์เฉพาะกลุม ่ เป้าหมาย เช่น ผลิตภัณฑ์ Mc T ซึง ่ เป็นเสือ ้ ยืดทีใ่ ช้เทคโนโลยีการผลิตให้เนือ ้ ผ้ามีความนุม ่ แบบสัมผัสได้ดว้ ยมือ (Soft Tech with micro brush technology) เพือ ่ ความสบายในการสวมใส่ นอกจากนีย ้ ง ั มีการพัฒนาสินค้ากลุม ่ Mc Plus สำ�หรับกลุม ่ ลูกค้า ไซส์พเิ ศษ อย่างต่อเนือ ่ งโดยเล็งเห็นตลาดทีเ่ ติบโตสูงของสินค้ากลุม ่ นี้ ขณะทีย ่ ง ั มีผจ ู้ �ำ นวนผูผ ้ ลิตไม่มากนัก ส่วนสินค้า กลุม ่ Mc Editionสำ�หรับการแต่งกายกึง ่ ลำ�ลองทีส ่ ามารถสวมใส่ในวันทำ�งานได้นน ้ั ก็ยง ั เป็นตลาดทีข ่ ยายตัวได้มาก 2. กลยุทธ์ดา้ นช่องทางการจำ�หน่าย 2.1 ขยายช่องทางการจัดจำ�หน่ายให้เข้าถึงลูกค้าได้ครอบคลุมพืน ้ ทีท ่ ว่ั ประเทศ บริษท ั ฯ ตัง ้ เป้าหมายทีจ ่ ะขยาย ช่องทางการจัดจำ�หน่ายให้ครอบคลุมพืน ้ ทีท ่ ว่ั ประเทศ ด้วยการเพิม ่ ร้านค้าปลีกของตนเอง (Free-standing Shop) และเพิม ่ จุดขายในห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) ซึง ่ ในสิน ้ ปี 2558 มีจ�ำ นวน 866 แห่ง และมีแผนทีจ ่ ะขยายอย่าง ต่อเนือ ่ ง ปีละประมาณ 40-50 จุดขาย โดยบริษท ั ฯมุง ่ เน้นการเปิดร้านค้าปลีกของตนเองเพือ ่ ให้สามารถบริหารจัดการ สินค้าในแต่ละร้านค้าได้อย่างเหมาะสมกับแต่ละจุดขาย เพิม ่ ความคล่องตัวการนำ�เสนอสินค้าใหม่ เช่น เสือ ้ ยืดนวัตกรรม กระเป๋า รองเท้า หรือ สินค้าสำ�หรับผูห ้ ญิงและเด็ก ทีส ่ ามารถทำ�ได้ในจุดขายเดียว การจัดกิจกรรมการขายภายในร้าน ได้ดว้ ยตนเอง มีความสะดวกในการเคลือ ่ นย้ายสินค้า ทำ�ให้การบริหารจัดการสินค้าคงคลังอย่างมีประสิทธิภาพยิง ่ ขึน ้ ทำ�ให้มียอดขายและกำ�ไรที่สูงกว่า รวมทั้งการขายตรงจากร้านค้าปลีกของตนเองกับผู้บริโภคเป็นการรับรายได้ทันที รายวันทำ�ให้ระยะเวลาการเก็บหนี้โดยรวมลดลง ทำ�ให้การบริหารสภาพคล่องมีประสิทธิภาพมากขึ้น กลยุทธ์การเปิดร้านค้าแห่งใหม่ของบริษัทฯ จะทำ�ให้สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายทุกวัยได้มากขึ้น และ เพิม ่ ความสะดวกในการซือ ้ สินค้าแก่ลก ู ค้า ทัง ้ นีใ้ นการเปิดร้านค้าใหม่แต่ละแห่งบริษท ั ฯ จะพิจารณาความเป็นไปได้อย่าง รอบคอบโดยพิจารณาถึง ทำ�เล ศักยภาพของศูนย์การค้า จำ�นวนประชากร กลุม ่ ลูกค้าเป้าหมายและกำ�ลังซือ ้ เป็นต้น 2.2 เพิ่มช่องทางการจัดจำ�หน่ายทางอินเตอร์เน็ตหรือออนไลน์ บจก. ว้าว มี ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ได้เปิดตัวช่องทางการจัดจำ�หน่ายทางอินเตอร์เน็ตหรือออนไลน์ขึ้น ในเดือนมิถุนายน 2556 ภายใต้ชื่อเว็บไซต์ www. wowme.co.th เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางการจัดจำ�หน่ายสู่ลูกค้ารายย่อยอีกทางหนึ่ง ต่อมาในเดือนธันวาคม 2558 บริษัทฯ ได้เปิดตัวช่องทางการจัดจำ�หน่ายออนไลน์ภายใต้ชื่อ www.mcshop.com โดยเน้นสินค้าทีเ่ ป็นเสือ ้ ผ้า เครือ ่ ง แต่งกายของกลุม ่ บริษท ั ฯ ซึง ่ จะทำ�ให้บริษท ั ฯ เข้าถึงกลุม ่ ลูกค้าเป้าหมายได้มากขึน ้ และเพิม ่ ความสะดวกในการซือ ้ สินค้า แก่ลก ู ค้า 3. ขยายช่องทางการจัดจำ�หน่ายไปยังต่างประเทศ เพือ ่ ให้คลอบคลุมกลุม ่ ประเทศในประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) บริษท ั ฯ มีเป้าหมายทีจ ่ ะขยายฐานลูกค้าใหม่ๆ ไปยังต่างประเทศ จากปัจจุบน ั ทีม ่ ก ี ารแต่งตัง ้ ผูแ้ ทนจำ�หน่ายใน ประเทศเมียนมาร์ ประเทศลาว และประเทศเวียดนามแล้วในปี 2558 บริษท ั ฯได้แต่งตัง ้ ผูแ้ ทนจำ�หน่ายในประเทศกัมพูชา โดยได้เปิดร้านค้าปลีกแบบ Free Standing Shop กลางกรุงพนมเปญ นอกจากนีบ ้ ริษท ั ฯ ยังมีแผนงานจะขยายช่อง ทางให้ครอบคลุมกลุม ่ ประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เช่น อินโดนีเซีย และมาเลเซีย เป็นต้น โดยจะพิจารณาถึง รูปแบบการเข้าลงทุนทีเ่ หมาะสม ทัง ้ การเข้าไปดำ�เนินการโดยตรงด้วยกลุม ่ บริษท ั ฯเอง หรือในรูปแบบของการร่วมลงทุน กับพันธมิตรทางธุรกิจ หรือการแต่งตัง ้ ผูจ ้ ด ั จำ�หน่าย เพือ ่ ให้สอดคล้องกับแนวทางการดำ�เนินธุรกิจและความเสีย ่ งใน การลงทุนในประเทศนัน ้ ๆ 19


4. แสวงหาโอกาสในการเข้าซือ ้ กิจการ หรือเข้าร่วมลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจเพิม ่ เติม บริษัทฯ ยังคงนโยบายการแสวงหาโอกาสในการเข้าซื้อกิจการ หรือเข้าร่วมลงทุนกับพันธมิตร ทางธุรกิจที่ มีความเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ เพิ่มเติม โดยมีเป้าหมายการลงทุนในธุรกิจที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน (synergy) กับบริษัทฯ ทั้งภายในประเทศและขยายไปสู่กลุ่มประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายใต้เงื่อนไข ลงทุนและผลตอบแทนที่เหมาะสม ในปี 2558 บริษท ั ฯได้จดทะเบียนบริษท ั ใหม่ชอ ่ื บริษท ั ท็อปที 2015 จำ�กัด ซึง ่ เป็นบริษท ั ร่วมทุนระหว่างบริษท ั ย่อย แห่งหนึง ่ ของบริษท ั กับบริษท ั เพชรเกษมโฮลดิง ้ จำ�กัด เพือ ่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสือ ้ ผ้าท่อนบน (Top) ทีม ่ น ี วัตกรรม สูงภายใต้แบรนด์สน ิ ค้า Mc T 5. มุง ่ เน้นการเพิม ่ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญกับการบริหารจัดการภายในทุกภาคส่วนของการประกอบธุรกิจ ตั้งแต่การจัดหา วัตถุดิบ การบริหารสายการผลิต การวางแผนการบริหารสินค้าสำ�เร็จรูป การจัดส่งสินค้าสู่ร้านค้าทั่วประเทศ รวม ถึงการบริหารจัดการร้านค้าและจุดขาย โดยการปรับปรุงระบบการทำ�งานภายใน (Process Improvement) พร้อม กับการนำ�ระบบสารสนเทศมาใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทั้งระบบตั้งแต่การเลือกซื้อวัตถุดิบ การ พัฒนาประสิทธิภาพในการผลิตของโรงงานบริษัทฯเอง การควบคุมการผลิตของผู้ผลิตรายย่อยที่บริษัทฯเลือกใช้ ในการผลิตสินค้า การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมและรวดเร็วขึ้น การจัดเก็บและการกระจายสินค้าที่มีประสิทธิภาพ มากขึ้น นอกจากนีบ ้ ริษท ั ฯ ยังให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาบุคลากรให้มศ ี ก ั ยภาพรองรับการเติบโตของบริษท ั ฯตัง ้ แต่ การสรรหาบุคลากรผูม ้ ค ี วามรูค ้ วามสามารถ การมุง ่ พัฒนาศักยภาพของพนักงานภายในให้สามารถเติบโตได้ในองค์กร การบริหารค่าตอบแทนที่มีระบบการจัดการที่ยุติธรรม มีเกณฑ์การพิจารณาผลงานอย่างชัดเจนและพิสูจน์ได้ เพือ ่ สร้างแรงจูงใจให้พนักงานมีขวัญและกำ�ลังใจ

โครงสร้างการถือหุน ้ ของกลุม ่ ธุรกิจ บมจ. แม็คกรุป ๊ ธุรกิจใหม่ 99.97% บจก.ว้าว มี

99.98%

ปฏิบต ั ก ิ าร 99.99%

บจก. ลุคบาลานซ์

บจก. แม็คจีเนียส

51%

51%

บจก.ไทม์ เดคโค คอร์ปอเรชัน ่

บจก. ท๊อป ที่ 2015

99.97% บจก. วินเนอร์แมน

การผลิต 100%

MC INTER LIMITED

99.99% บจก. พี.เค.การ์เม้นท์

(อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต)

99.97% บจก. แมนูแฟคเจอริง ่

รายละเอียดของบริษท ั และบริษท ั ย่อย ชือ ่ บริษท ั บมจ. แม็คกรุป ๊

20

ทุนชำ�ระแล้ว (บาท) 400,000,000

ลักษณะการดำ�เนินธุรกิจ ดำ�เนินธุรกิจเกีย ่ วกับการบริหารการจัดจำ�หน่ายเครือ ่ งแต่งกายและสินค้าไลฟ์สไตล์

สัดส่วน การถือหุน ้ -

บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ 250,000,000 (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต)

ดำ�เนินธุรกิจเป็นผูผ ้ ลิตเสือ ้ ผ้าสำ�เร็จรูปประเภทกางเกงยีนส์

99.99%

บจก. วินเนอร์แมน

1,000,000

ดำ�เนินธุรกิจเป็นผูใ้ ห้บริการและบริหารจัดการพนักงานขายและพนักงานคลังสินค้า

99.97%

บจก. แม็ค ยีนส์ แมนู แฟคเจอริง ่

1,000,000

ดำ�เนินธุรกิจเป็นผูผ ้ ลิตเสือ ้ ผ้าสำ�เร็จรูป

99.97%

บจก. ว้าว มี

1,000,000

ดำ�เนินธุรกิจจัดจำ�หน่ายสินค้าและบริการผ่านทางอินเตอร์เน็ตหรือออนไลน์

99.97%

บจก. ลุค บาลานซ์

213,000,000

ดำ�เนินธุรกิจลงทุนในกิจการอืน ่

99.98%

บจก. แม็คจีเนียส

16,000,000

ดำ�เนินธุรกิจลงทุนในกิจการอืน ่

99.99%

บจก. ไทม์ เดคโค คอร์ปอเรชัน ่

20,410,000

ดำ�เนินธุรกิจนำ�เข้าและจัดจำ�หน่ายนาฬิกาชัน ้ นำ�จากทัว ่ โลก

51.00%

บจก. ท๊อป ที 2015

30,000,000

ดำ�เนินธุรกิจจำ�หน่ายสินค้า

51.00%

MC INTER LIMITED

1 ดอลลาร์ ฮ่องกง

ยังไม่มก ี ารดำ�เนินธุรกิจ โดยจัดตัง ้ เพือ ่ รองรับการดำ�เนินธุรกิจ และการลงทุนในต่าง ประเทศในอนาคต

100%


ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท ดำ�เนินธุรกิจค้าปลีกเครื่องแต่งกายและสินค้าไลฟ์สไตล์ ภายใต้เครื่องหมายการค้าของกลุ่มบริษัท และ เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น โดยมุ่งเน้นการเป็นผู้บริหารตราสินค้า บริหารการขายและการตลาด การออกแบบ จัดหาผลิตภัณฑ์ บริหารคลังสินค้า และการกระจายสินค้าสำ�หรับการจัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งหมดของกลุ่มบริษัท โดยมีรูปแบบการประกอบธุรกิจ (Business Model) ซึ่งสามารถสรุปเป็นแผนภาพได้ดังนี้

การวางแผนและการบริหารสินค้า (Merchandise Plan) การวางแผนสินค้าและ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Merchandising Plan + New Product Development)

การออกแบบและการพัฒนาสินค้าใหม่ (New Product Development)

การกระจายและการเติม สินค้า (Allocation/ Replenishment)

วางแผนการสัง ่ สินค้า (Planning)

ตรวจสอบและติดตาม (Monitoring/Tracking)

การวางแผนการจัดหา (Supply Planning) การบริหารห่วงโซ่ อุปทาน (Supply Chain Management)

การออกแบบ (Design)

การจัดหาวัตถุดบ ิ (Material Sourcing)

การพัฒนาต้นแบบ สินค้าใหม่ (Prototype)

การควบคุมการผลิต (Production Control)

การควบคุมคุณภาพ (Quality Control)

การบริหารการกระจายสินค้า (Distribution Management)

การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management)

โรงงานผลิตของบริษท ั ฯ (Our Production Facilities)

ผูร้ บ ั จ้างผลิตภายนอก (Outsource Manufacturers)

การวางแผนเครือข่าย (Network Planning) การบริหารเครือข่าย ค้าปลีก (Retail Management)

การวิจย ั และพัฒนา (Research & Development)

การบริหารตราสินค้า (Marketing)

ในประเทศ (Domestic) ร้านค้าปลีกของบริษท ั ฯ (Free Standing Shops)

ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade)

ธุรกิจออนไลน์ (E- Commerce and on line business)

การบริหารร้านค้า (Operation) ต่างประเทศ (International) (ผ่านตัวแทนจำ�หน่าย สินค้า)

ผูบ ้ ริโภค (End-Customers)

ภายใต้ความสำ�เร็จของการเติบโตของธุรกิจผ่านการขยายเครือข่ายการจัดจำ�หน่ายครอบคลุมทั่วประเทศ ทีผ ่ า่ นมาบริษท ั ได้ตระหนักถึงคุณค่าของการเพิม ่ มูลค่าธุรกิจผ่านสินค้าทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพ ภายใต้ตราสินค้าทีเ่ ป็นทีน ่ ย ิ ม ของลูกค้า และผ่านจุดจำ�หน่ายทีแ่ ข็งแกร่งของบริษท ั เพือ ่ สร้างความมัน ่ คงและต่อยอดโอกาสในการสร้างความหลาก หลายในแบรนด์และสินค้าของบริษท ั โดยได้ให้ความสำ�คัญกับรูปแบบการประกอบธุรกิจของบริษท ั ดังนี้

21


1) การวางแผนสินค้าและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Merchandising Plan and New Product Development) การวางแผนสินค้า และการพัฒนาสินค้าใหม่ เป็นปัจจัยหลักในกระบวนการดำ�เนินธุรกิจของบริษท ั จึงมีการ วิเคราะห์และวางแผนดำ�เนินการโดยการศึกษาความต้องการของผูบ ้ ริโภค การติดตามแนวโน้มแฟชัน ่ (Fashion Trend) กระแสความนิยม และการเปลีย ่ นแปลงของพฤติกรรมผูบ ้ ริโภค เพือ ่ นำ�ข้อมูลดังกล่าวมาพิจารณาในการออกแบบและ พัฒนาสินค้าใหม่ได้ตรงตามความต้องการของผูบ ้ ริโภคในเวลาทีเ่ หมาะสม บริษท ั มีการวางแผนความต้องการสินค้าแต่ละ แบรนด์ รวมถึงการวางแผนการจัดหาวัตถุดบ ิ และการจัดหาสินค้าจากหลายแห่งเพือ ่ ให้ได้สน ิ ค้าทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพในต้นทุนราคา ทีส ่ ามารถแข่งขันได้ โดยการพัฒนาวัตถุดบ ิ ร่วมกับผูผ ้ ลิต เพือ ่ ให้ได้รป ู แบบ ลวดลาย หรือคุณสมบัตท ิ เ่ี หมาะสม 2) การบริหารห่วงโซ่อป ุ ทาน (Supply Chain Management) ในส่วนของเครือ ่ งแต่งกายนัน ้ บริษท ั จัดหาสินค้าจากโรงงานผลิตของกลุม ่ บริษท ั (Our Production Facilities) และจากการว่าจ้างผูร้ บ ั จ้างผลิตภายนอก (Outsource Manufacturers) หลายรายในการผลิตสินค้าให้กบ ั บริษท ั ซึง ่ เป็นรายทีบ ่ ริษท ั เชือ ่ มัน ่ ในคุณภาพและการส่งมอบทีต ่ รงเวลาจากการร่วมดำ�เนินธุรกิจกันมาเป็นระยะเวลานาน และจาก ประสบการณ์การผลิตสินค้าด้วยตนเองตลอด 40 ปีทผ ่ี า่ นมา บริษท ั สามารถควบคุมการผลิต (Production Control) ให้ค�ำ แนะนำ�และควบคุมคุณภาพการผลิต (Quality Control) เพือ ่ ให้การจัดหาสินค้าของบริษท ั ไม่วา่ จากแหล่งใดก็ตาม เป็นไปตามแผนความต้องการสินค้าได้ภายในเวลาทีก ่ �ำ หนด ในส่วนของธุรกิจนาฬิกา บริษท ั เป็นตัวแทนจำ�หน่ายสินค้าโดยตรงจากบริษท ั ผูเ้ ป็นเจ้าของแบรนด โดยบริษท ั จะ ทำ�การประมาณการตัวเลขการขายในแต่ละเดือน และทำ�การสัง ่ ซือ ้ สินค้าทุกเดือน เพือ ่ ให้สามารถจัดหาสินค้าได้ทน ั กับ ความต้องการ นอกจากนี้ บริษท ั ยังให้ความสำ�คัญต่อการบริหารสินค้าคงคลังและการจัดส่งเพือ ่ ให้สน ิ ค้าถูกส่งไปยัง ร้านค้าทัว่ ประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 3) การบริหารเครือข่ายค้าปลีก (Retail Network Management) บริษท ั มีการบริหารจัดการช่องทางการค้าปลีกเพือ ่ เข้าถึงกลุม ่ ผูบ ้ ริโภคได้อย่างทัว่ ถึง โดยมีแผนทีจ ่ ะขยายสาขา ให้ครอบคลุมยิง ่ ขึน ้ และมุง ่ เน้นการเปิดร้านค้าปลีกของตนเองเป็นหลัก โดยบริษท ั มีทม ี งานในการวางแผนเครือข่ายอย่าง เป็นรูปแบบมีการกำ�หนดหลักเกณฑ์การพิจารณาทีส ่ ามารถวัดประสิทธิภาพได้ ซึง ่ มาจากประสบการณ์ความสำ�เร็จที่ ผ่านมาของ บริษท ั มีการวิเคราะห์สถานทีต ่ ง ้ั ทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพในการเปิดร้านค้าปลีกแห่งใหม่ รวมถึงคอยติดตามวิเคราะห์และ วัดผลการดำ�เนินงาน นอกจากนี้ บริษท ั ยังมีเครือข่ายค้าปลีกในต่างประเทศ ผ่านคูค ่ า้ ซึง ่ เป็นตัวแทนจำ�หน่ายสินค้าทีม ่ ี ความเชีย ่ วชาญในการทำ�ตลาดในแต่ละประเทศ เช่น เมียนมาร์ ลาว เวียดนาม และ กัมพูชา เป็นต้น และยังมีแผนทีจ ่ ะขยาย ตลาดไปยัง อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ในอนาคตอันใกล้นด ้ี ว้ ย บริษท ั ยังได้มก ี ารขยายเข้าสูช ่ อ ่ งทางการจัดจำ�หน่ายเพือ ่ เข้าถึงผูบ ้ ริโภคโดยตรง โดยรถโมบายเคลือ ่ นทีแ่ ละรูป แบบร้านค้าแบบใหม่ เช่น Open Kiosk รวมทัง ้ การขยายพืน ้ ทีร่ า้ นค้าในสาขาทีม ่ ย ี อดขายดี เพือ ่ สามารถนำ�เสนอสินค้า ได้เพิม ่ ขึน ้ ตลอดจนมีการพัฒนาต่อเนือ ่ งในช่องทางการจัดจำ�หน่ายทางอินเตอร์เน็ตหรือออนไลน์ เพือ ่ เป็นการเพิม ่ ช่อง ทางการจัดจำ�หน่ายสูล ่ ก ู ค้ารายย่อยอีกทางหนึง ่ พร้อมกันนี้ บริษท ั ยังมีแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ ่ ให้สามารถกระจายสินค้าและบริหารสินค้า คงคลังได้อย่างมีประสิทธิภาพยิง ่ ขึน ้ สอดคล้องกับแผนการรวมศูนย์คลังสินค้าสำ�เร็จรูปไว้ในสถานทีเ่ ดียวกัน ซึง ่ ได้ ดำ�เนินการในส่วนการรวมคลังสินค้าแล้วเสร็จในไตรมาสทีห ่ นึง ่ ปี 2558 และการเตรียมพร้อมระบบ ERP (Enterprise Resource Planning) โดยกำ�หนดการเริม ่ ใช้ระบบ SAP ในวันที่ 1 มกราคม 2559 ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ แบรนด์ และสินค้าของบริษท ั แบรนด์สน ิ ค้าของกลุม ่ บริษท ั มีจด ุ เด่น และรูปแบบทีแ่ ตกต่างกัน เพือ ่ ตอบสนองความต้องการของตลาดในแต่ละ กลุม ่ เป้าหมาย ดังนี้ 1. ผลิตภัณฑ์เสือ ้ ผ้า และเครือ ่ งแต่งกาย ภายใต้แบรนด์ “Mc” แบรนด์ “Mc” เป็นแบรนด์ทม ่ี ย ี อดขายเป็นอันดับหนึง ่ ในตลาดยีนส์ทม ่ี แี บรนด์ในประเทศไทย (อ้างอิงรายงานการ วิจย ั ธุรกิจยีนส์ในประเทศไทยของสมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (TMA) เป็นสินค้าทีเ่ น้น Denim เป็นหลักและ มีสญ ั ลักษณ์ทบ ่ี ง ่ บอกถึงความเป็นแบรนด์ “Mc Jeans” อย่างชัดเจนบนผลิตภัณฑ์ สืบเนือ ่ งมาจากประสบการณ์การ ทำ�ยีนส์ทม ่ี ค ี วามโดดเด่นด้านแพทเทิรน ์ มานานกว่า 40 ปี ความใส่ใจในรายละเอียดด้านคุณภาพในทุกขัน ้ ตอนการผลิต และนโยบายด้านราคาทีท ่ �ำ ให้สน ิ ค้าเข้าถึงลูกค้าได้ในทุกระดับ และในปี 2558 ทีผ ่ า่ นมา Mc Jeans ได้มง ุ่ เน้นในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์อน ่ื ๆ นอกเหนือจากเครือ ่ งแต่งกาย เช่น กระเป๋าเดินทางและกระเป๋า รองเท้า ซึง ่ ตอบโจทย์นโยบายขององค์กร ซึง ่ มุง ่ หน้าสูค ่ วามเป็นแบรนด์ไลฟ์สไตล์ ทัง ้ หมดนีท ้ �ำ ให้แบรนด์ “Mc Jeans” เป็นแบรนด์ทส ่ี ร้างรายได้หลักให้แก่บริษท ั โดย มีรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์ “Mc” คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 73.2 ของรายได้จากการขายสินค้าในปี 2558

22


2. ผลิตภัณฑ์เสือ ้ ผ้า และเครือ ่ งแต่งกาย ภายใต้แบรนด์ “Mc Lady” แบรนด์ “Mc Lady” มาพร้อมกับ Concept และCharacter ทีเ่ รียบง่ายทว่าไม่นา่ เบือ ่ “Simply Stylish” ว่าด้วย เรือ ่ งความเรียบง่ายแต่แอบแฝงด้วย Design และ fitting ทีด ่ ง ึ ความมีเสน่หแ์ ละรายละเอียดของสรีระผูห ้ ญิงออกมาใช้ ให้เหมาะสมกับผูห ้ ญิงเอเชีย โดยกลุม ่ ลูกค้าเป็นผูห ้ ญิงวัยรุน ่ วัยนักศึกษา และวัยเริม ่ ทำ�งานทีม ่ อ ี ายุตง ้ั แต่ 18-35 ปีและ มีไลฟ์สไตล์แบบสาวเมือง สามารถใส่ได้ในชีวต ิ ประจำ�โดยไม่หลุดกระแสของแฟชัน ่ บริษท ั มีรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ ภายใต้แบรนด์ “Mc Lady” คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 11.4 ของรายได้จากการขายสินค้าในปี 2558 3. ผลิตภัณฑ์เสือ ้ ผ้า และเครือ ่ งแต่งกาย ภายใต้แบรนด์ “Bison” แบรนด์ “Bison” เป็นแบรนด์ส�ำ หรับกลุม ่ ผูช ้ ายวัยรุน ่ สำ�หรับวันพักผ่อนสบายๆ มีสน ิ ค้ากลุม ่ เสือ ้ เชิต ้ และเสือ ้ ยืด พิมพ์ลายเป็นหลัก โดยการกำ�หนดกลุม ่ ลูกค้าเป็นกลุม ่ Value for money โดยมีชอ ่ งทางการจัดจำ�หน่ายในห้างค้าปลีก กลุม ่ Hypermarket 4. ผลิตภัณฑ์เสือ ้ ผ้า และเครือ ่ งแต่งกายภายใต้แบรนด์ “Mc Pink” แบรนด์ “Mc Pink” เป็นสินค้าแฟชัน ่ สตรี ภายใต้แนวคิด “Trendy Wear” กลุม ่ ลูกค้าเป้าหมายของ แบรนด์ “Mc Pink” คือ นักศึกษา และผูห ้ ญิงทำ�งานทีม ่ อ ี ายุระหว่าง 18 ปี ถึง 25 ปี ซึง ่ เป็นกลุม ่ ทีช ่ น ่ื ชอบแฟชัน ่ และใส่ใจในการแต่ง กายให้มค ี วามโดดเด่นชอบเข้าสังคมและมีความถีใ่ นการเปลีย ่ นเครือ ่ งแต่งกายสูง โดยในปัจจุบน ั สินค้าแบรนด์ “Mc Pink” จัดจำ�หน่ายผ่านร้านค้าปลีกของแบรนด์ “Mc Lady” 5. ผลิตภัณฑ์เสือ ้ ผ้า และเครือ ่ งแต่งกายภายใต้แบรนด์ “Mc mini” แบรนด์ “Mc mini” เป็นกลุม ่ สินค้าสำ�หรับเด็กผูช ้ ายและเด็กผูห ้ ญิง ทีม ่ อ ี ายุระหว่าง 6 – 12 ปี โดยสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์บนแนวคิดการส่งต่อสไตล์จากรุน ่ สูร่ น ุ่ ดังนัน ้ Mc mini จะเป็นเสือ ้ ผ้าเด็กทีไ่ ม่เหมือนเสือ ้ ผ้าเด็กทัว่ ไป แต่จะเป็น เสือ ้ ผ้าทีส ่ บ ื ทอดความคลาสสิกมาจาก Mc Jeans แล้วเติมสีสน ั ความสนุกในช่วงวัยเด็กเข้าไป ทำ�ให้ได้ผลิตภัณฑ์เสือ ้ ผ้า เด็กทีม ่ ค ี วามโดดเด่นไม่ซ�ำ้ ใคร 6. ผลิตภัณฑ์เสือ ้ ผ้าและเครือ ่ งแต่งกาย ภายใต้แบรนด์ “mc mc“ “mc mc by Mc” แบรนด์นอ ้ งใหม่ภายใต้ Mc Group ออกแบบสินค้ามาเพือ ่ ตอบโจทย์ lifestyle ของกลุม ่ คนทุก เพศทุกวัยภายใต้แนวคิด เรือ ่ งเทีย ่ วครบพบกันทีเ่ ดียวที่ mcmc เสือ ้ ผ้า mcmc เป็นเสือ ้ ผ้าทีเ่ น้นความ เรียบง่าย สวม ใส่สบายสำ�หรับทุกคนในครอบครัว สามารถ Mix & Match ได้ตลอด 365 วัน เพือ ่ การเดินทางท่องเทีย ่ วได้อย่างอิสระ มีสไตล์ลงตัวและมัน ่ ใจ เช่น เสือ ้ ยืด กางเกงยีนส์ เสือ ้ เชิต ๊ jacket และ อืน ่ ๆอีกมากมาย ในคุณภาพทีต ่ ด ั เย็บด้วยความ ประณีตและราคาทีจ ่ บ ั ต้องได้ ตอบโจทย์ทก ุ คำ�ตอบสำ�หรับการสวมใส่ตลอด 365 วัน 7. ผลิตภัณฑ์เสือ ้ ผ้าและเครือ ่ งแต่งกายภายใต้แบรนด์อน ่ื ๆ “The Blue Brothers” แบรนด์ “The Blue Brothers” ยีนส์ส�ำ หรับคนทีร่ ก ั และสะสมยีนส์ ทุกคอลเลคชัน ่ ของ The Blue Brothers มี เอกลักษณ์เฉพาะตัวทีส ่ ะท้อนไลฟสไตล์ของกลุม ่ ลูกค้าทีห ่ ากางเกงยีนส์ระดับ premium ด้วยวัตถุดบ ิ คุณภาพนำ�เข้าจาก ต่างประเทศ และการออกแบบทีล ่ งรายละเอียดในทุกกระบวนการผลิตเพือ ่ สร้างสรรค์ยน ี ส์คณ ุ ภาพสูงทีเ่ อกลักษณ์เฉพาะ ตัวให้กบ ั กลุม ่ คนรักยีนส์โดยเฉพาะ โดยแบรนด์ The Blue Brothers ได้รบ ั การตอบรับทีด ่ จ ี ากกลุม ่ ลูกค้าทีต ่ อ ้ งการ สะท้อนความมีตวั ตน และจุดยืนทีช ่ ด ั เจนในแบบฉบับของตัวเอง ด้วยความชัดเจนของแบรนด์คอนเซ็ปสินค้า ลูกค้า และ ราคาทีเ่ หมาะสมทำ�ให้แบรนด์ The Blue Brothers ได้รบ ั การกล่าวขวัญถึงในกลุม ่ คนรักยีนส์ บริษท ั ได้เปิดร้านค้าปลีก ภายใต้ชอ ่ื “The Blue Brothers Denim Store” จำ�นวน 3 สาขา ได้แก่ศน ู ย์การค้า K Village แฟชัน ่ ไอส์แลนด์ และ เดอะมอลล์ บางกะปิ 8. ผลิตภัณฑ์เสือ ้ ผ้าและเครือ ่ งแต่งกายภายใต้แบรนด์อน ่ื ๆ “McT” จากการวิเคราะห์ความต้องการชองลูกค้าของ Mc Group พบว่า ลูกค้ายังมีความต้องการซือ ้ สินค้า ในกลุม ่ เสือ ้ ยืดเพือ ่ การสวมใส่ควบคูไ่ ปกับผลิตภัณฑ์เดิมของ Mc Group บริษท ั จึงได้พฒ ั นาสินค้าในกลุม ่ เสือ ้ ยืด ด้วยการพัฒนา เนือ ้ ผ้าชนิดพิเศษทีช ่ อ ่ื ว่า ซอฟท์เทค (Soft tech) ซึง ่ มีคณ ุ สมบัตพ ิ เิ ศษเหนือกว่าผ้ายืดทัว่ ไป กล่าวคือ มีความนุม ่ พิเศษ ทีผ ่ วิ สัมผัสเหมือนกำ�มะหยี่ มีความคงตัวสูงไม่ยบ ั หรือเป็นรอยง่าย และแห้งง่าย บริษท ั ได้มการเปิดตัวสินค้าไปแล้วเมือ ่ ปื 2558 ภายใต้ชอ ่ื แบรนด์ “Mc T” ซึง ่ ได้รบ ั การตอบรับเป็นอย่างดีเพราะด้วยคุณสมบัตพ ิ เิ ศษของเนือ ้ ผ้า และการออกแบบ ลวดลายทีม ่ ค ี วามสวยงามและมีลก ั ษณะเฉพาะตัว รวมทัง ้ การจำ�หน่ายด้วยราคาทีส ่ มเหตุสมผล 9. ผลิตภัณฑ์นาฬิกาภายใต้แบรนด์ชน ้ั นำ�มากมายจากทัว ่ โลก บริษท ั เป็นผูจ ้ ด ั จำ�หน่ายนาฬิกาแฟชัน ่ แบรนด์ดง ั จากทัว่ โลก อาทิเช่น Diesel, DKNY, Emporio Armani เป็นต้น ผ่านเครือข่ายการจัดจำ�หน่ายของ ไทม์ เดคโค ซึง ่ เป็นบริษท ั ย่อยทีบ ่ ริษท ั ถือหุน ้ อยูใ่ นสัดส่วน 51% โดยกลุม ่ ลูกค้าเป้า หมาย คือ กลุม ่ ลูกค้าชายหญิงทีต ่ อ ้ งการนาฬิกาแฟชัน ่ ทีเ่ ข้ากับบุคลิกและแฟชัน ่ ร่วมสมัย บริษท ั มีรายได้จากการขาย ผลิตภัณฑ์ของไทม์ เดคโค คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 11.1 ของรายได้จากการขายสินค้าในปี 2558

23


โครงสร้างรายได้ ดังนี้

โครงสร้างรายได้ของบริษท ั ฯ และบริษท ั ย่อยและบริษท ั ย่อย ตามงบการเงินรวมปี 2556 - 2558 มีรายละเอียด

1. โครงสร้างรายได้แยกตามผลิตภัณฑ์ งบการเงินรวม

ปี 2556 ล้านบาท

ปี 2557

ปี 2558

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

2,263

76.1

2,421

69.8

2,850

73.2

2. เครือ ่ งหมายการค้า McLady

496

16.7

492

14.2

445

11.4

3. เครือ ่ งหมายการค้า Bison

120

4.0

80

2.3

33

0.8

4. เครือ ่ งหมายการค้า McMini

9

0.3

21

0.6

25

0.7

5. เครือ ่ งหมายการค้า mc mc

1

0.0

9

0.3

33

0.8

6. เครือ ่ งหมายการค้า McT

-

-

-

-

57

1.5

15

0.5

34

1.0

18

0.5

2,903

97.7

3,057

88.1

3,461

88.9

1. รายได้จากการขายสินค้าและบริการทางอินเตอร์เน็ต2/

2

0.1

1

0.0

0

0.0

2. รายได้จากการขายนาฬิกา3/

67

2.2

412

11.9

434

11.1

2,973

100.0

3,470

100.0

3,895

100.0

รายได้จากการขายเสือ ้ ผ้าสำ�เร็จรูป และเครือ ่ งแต่งกายทีเ่ กีย ่ วข้อง 1. เครือ ่ งหมายการค้า Mc 1/

7. เครือ ่ งหมายการค้าอืน ่ รวมรายได้จากการขายเสือ ้ ผ้าสำ�เร็จรูปฯ รายได้จากการขายสินค้าไลฟ์สไตล์ (Lifestyles) อืน ่

รวมรายได้จากการขาย

หมายเหตุ: 1/ รวมรายได้จากการขายวัตถุดบ ิ ประเภท accessories ให้แก่ผรู้ บ ั จ้างผลิต 2/ รายได้จากการขายสินค้าและบริการทางอินเตอร์เน็ต เริม ่ ตัง ้ แต่วน ั ที่ 1 มิถน ุ ายน 2556 3/ รายได้จากการขายนาฬิกา เริม ่ ตัง ้ แต่วน ั ที่ 1 พฤศจิกายน 2556

2. โครงสร้างรายได้แยกตามช่องทางการจัดจำ�หน่าย งบการเงินรวม

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

1. รายได้จากการขายผ่านห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade)

1,784

60.0

1,663

47.9

1,699

43.6

2. รายได้จากการขายผ่านร้านค้าปลีกของตนเอง (Free-standing Shop)

1,140

38.4

1,647

47.5

2,016

51.8

49

1.6

160

4.6

180

4.6

2,973

100.0

3,470

100.0

3,895

100.0

3. รายได้จากการขายผ่านช่องทางการขายอืน ่ 1/ รวมรายได้จากการขาย

หมายเหตุ: 1/ รายได้จากการขายผ่านช่องทางการขายอืน ่ ได้แก่ การขายผ่านตัวแทนการจัดจำ�หน่าย, การออกบูธแสดงสินค้า ร้านค้าปลีกค้าส่งและขาย ผ่านทางอินเตอร์เน็ต เป็นต้น

24


ช่องทางการจำ�หน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษท ั จัดจำ�หน่ายสินค้าทัง ้ หมดผ่านช่องทางการจัดจำ�หน่ายรวม 843 แห่ง ทัว่ ประเทศไทยและ 23 แห่ง ในต่างประเทศผ่านตัวแทนจำ�หน่าย โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ร้านค้าปลีกของตนเอง (Free-standing Shop): ร้านค้าปลีกของบริษท ั ส่วนใหญ่ตง ้ั อยูใ่ นศูนย์การค้า และ พลาซ่าในห้างสรรพสินค้าประกอบด้วย - ร้านค้าปลีกทีข ่ ายสินค้าเสือ ้ ผ้าสำ�เร็จรูปประเภทยีนส์เป็นหลัก ภายใต้แบรนด์ “Mc” และ/หรือแบรนด์ “Mc Lady” และ/หรือแบรนด์ “Mc mini” และ/หรือ The Blue Brothers - ร้านค้าปลีกทีข ่ ายสินค้าแฟชัน ่ สตรีแบรนด์ “Mc Lady” - ร้านค้าปลีกทีข ่ ายสินค้าเสือ ้ ผ้าสำ�หรับ บุรษ ุ สตรี เด็กชาย และ เด็กหญิง ภายใต้แบรนด์ “mc mc” - ร้านค้าปลีกภายใต้ชอ ่ื “The Blue Brothers Denim Store” จัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ประเภทยีนส ทีเ่ น้นกลุม ่ ลูกค้าทีม ่ ก ี �ำ ลังซือ ้ สูงภายใต้แบรนด์ “The Blue Brothers” - ร้านค้าปลีกทีข ่ ายสินค้านาฬิกาแบรนด์ชน ้ั นำ� อาทิเช่น Diesel, DKNY, Emporio Armani 2. ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade): เป็นจุดขายหรือเคาน์เตอร์ในห้างสรรพสินค้าทัง ้ ทีเ่ ป็นเครือข่าย และเป็นห้างสรรพสินค้าท้องถิน ่ ในต่างจังหวัด และซุปเปอร์สโตร์ทม ่ี ส ี าขากระจายอยูท ่ ว่ั ประเทศ เช่น เซ็นทรัล โรบินสัน เดอะมอลล์ บิก ๊ ซี เทสโก้โลตัส เป็นต้น 3. รถ Moblie Unit และคอนเทนเนอร์: เป็นจุดขายในต่างจังหวัดและท้องทีท ่ ย ่ี ง ั ไม่มจ ี ด ุ ขาย เพือ ่ ให้สามารถเข้า ถึงกลุม ่ ลูกค้าได้มากขึน ้ และยังสามารถใช้เป็นช่องทางในการทดสอบตลาดก่อนเปิดสาขาอีกด้วย 4. ช่องทางการขายอืน ่ ๆในประเทศ: เช่น การเปิดบูธขายในงานแสดงสินค้า หรือเทศกาลต่างๆ 5. ช่องขายผ่านตัวแทนจำ�หน่ายในต่างประเทศ: บริษท ั เริม ่ ขยายช่องทางการจัดจำ�หน่ายไปสูต ่ า่ งประเทศ ด้วยการแต่งตัง ้ ตัวแทนการจัดจำ�หน่าย ซึง ่ จะเป็นผูท ้ �ำ การตลาด กระจายและจัดจำ�หน่ายสินค้า ในประเทศเมียนมาร์ และ ประเทศลาวในปี 2555 ประเทศเวียดนามในปี 2557 และประเทศกัมพูชา ในปี 2558 บริษท ั มีจด ุ ขายต่างประเทศรวม 23 แห่ง โดยอยูท ่ พ ่ี ม่า 18 แห่ง ลาว 2 แห่ง เวียดนาม 2 แห่ง และกัมพูชา 1 แห่ง 6. ช่องทางการจัดจำ�หน่ายผ่านอินเตอร์เนต: บริษท ั ได้เปิดเว็ปไซต์ www.wowme.co.th เพือ ่ เข้าสูต ่ ลาดการ จัดจำ�หน่ายออนไลน์ซง ่ึ บริหารจัดการโดยบริษท ั ย่อยของบริษท ั ชือ ่ บจก.ว้าว มี และช่วงปลายเดือนธันวาคม 2558 ได้มี การเปิดเว็บไซต์เพิม ่ ขึน ้ อีกหนึง ่ เว็บไซด์ภายใต้ชอ ่ื www.mcshop.com โดยเน้นสินค้าเสือ ้ ผ้า เครือ ่ งแต่งกาย เครือ ่ งประดับ ภายใต้แบรนด์ของกลุม ่ บริษท ั เป็นหลัก โดยมีเป้าหมายเป็นทางเลือกในการซือ ้ สินค้าสำ�หรับกลุม ่ ลูกค้าทีช ่ อบไลฟ์สไตล์ แบบออนไลน์ รวมถึงเป็นอีกช่องทางหนึง ่ ทีจ ่ ะนำ�เสนอแบรนด์สน ิ ค้าผ่านทางการตลาดแบบออนไลน์อก ี ด้วย 7. ช่องทางการจัดจำ�หน่ายในสถานีบริการน้�ำ มัน ปตท.: บริษท ั ได้เพิม ่ ช่องทางการจัดจำ�หน่ายอีกหนึง ่ ช่อง ทางคือในสถานีบริการน้ำ�มัน ปตท.เพื่อเพิ่มศักยภาพในการเข้าถึงฐานลูกค้าในประเทศ ให้ครอบคลุมมากขึ้นตาม การพัฒนาธุรกิจค้าปลีกในสถานีบริการน้ำ�มัน และรูปแบบการใช้ชีวิต (Lifestyle) การเดินทางท่องเที่ยวของผู้ บริโภคที่พัฒนาไปอย่างไม่หยุดยั้ง ภายใต้ชื่อร้าน mc mc by Mc โดยมีรูปแบบการค้าดังนี้ - ภายใต้รป ู แบบของ muiti-brand shop โดยจะมีสน ิ ค้าในเครือของMc group อาทิ Mc jeans, Mc lady และ mc mc จัดจำ�หน่าย - นำ�เสนอสินค้าทีห ่ ลากหลาย ครบถ้วนสำ�หรับการเดินทางท่องเทีย ่ ว เสือ ้ ผ้าและเครือ ่ งประดับ สินค้าสำ�หรับการ เดินทาง เช่นหมวก, แว่นตา, กระเป๋าและอืน ่ ๆ - แผนการขยายสาขาไปยังสถานีบริการน้ำ�มันปตท. ในจังหวัด และเส้นทางหลักของแหล่งท่องเที่ยว จุด แวะพัก หรือในเมืองใหญ่เพื่อตอบโจทย์ให้กับผู้บริโภคทั้งภายในและนอกประเทศ (เช่น กลุ่มลูกค้าท่องเที่ยวทัวร์ และ cross border)

25


ตารางแสดงจำ�นวนช่องทางการจัดจำ�หน่ายแบ่งตามประเภทของกลุม ่ บริษท ั ฯ ในปี 2556, 2557 และ 2558 ประเภทเสือ ้ ผ้าและเครือ ่ งแต่งกายภายใต้กลุม ่ “แม็ค” แบ่งตามช่องทางการจัดจำ�หน่าย

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

แห่ง

ร้อยละ

แห่ง

ร้อยละ

แห่ง

ร้อยละ

ร้านค้าปลีกของตนเอง (Free-standing Shop)

174

28.0

232

31.7

263

34.7

ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade)

439

70.2

472

64.7

467

61.6

1

0.2

5

0.7

5

0.7

รวมร้านค้าในประเทศ

614

98.4

709

97.1

735

97

ร้านค้าต่างประเทศ

10

1.6

21

2.9

23

3

624

100.0

730

100.0

758

100.0

รถ Mobile Unit และคอนเทนเนอร์

รวม

ประเภทนาฬิกาภายใต้กลุม ่ “ไทม์ เดดโค” แบ่งตามช่องทางการจัดจำ�หน่าย

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

แห่ง

ร้อยละ

แห่ง

ร้อยละ

แห่ง

ร้อยละ

ร้านค้าปลีกของตนเอง (Free-standing Shop)

13

18.6

19

21.3

25

23.1

ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade)

57

81.4

70

78.7

83

76.9

70

100.0

89

100.0

108

100.0

รวม

ตารางแสดงจำ�นวนช่องทางการจัดจำ�หน่ายแบ่งตามภูมศ ิ าสตร์ของกลุม ่ บริษท ั ฯ ในปี 2556, 2557 และ 2558 ประเภทเสือ ้ ผ้าและเครือ ่ งแต่งกายภายใต้กลุม ่ “แม็ค” แบ่งตามภูมศ ิ าสตร์

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

แห่ง

ร้อยละ

แห่ง

ร้อยละ

แห่ง

ร้อยละ

ต่างจังหวัด - ร้านค้าปลีกของตนเอง - ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade)

451 137 314

72.3 22.0 50.3

499 169 330

68.3 23.1 45.2

513 191 322

67.7 25.2 42.5

กรุงเทพและปริมณฑล - ร้านค้าปลีกของตนเอง - ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade)

162 37 125

26.1 6.1 20.0

205 63 142

28.1 8.6 19.5

217 72 145

29.3 9.5 19.1

1

0.0

5

0.7

5

0.7

รวมร้านค้าในประเทศ

614

98.4

709

97.1

735

97

ร้านค้าต่างประเทศ

10

1.6

21

2.9

23

3

624

100.0

730

100.0

758

100.0

รถ Mobile Unit และคอนเทนเนอร์

รวมทัง ้ สิน ้

ประเภทนาฬิกาภายใต้กลุม ่ “ไทม์ เดดโค” แบ่งตามภูมศ ิ าสตร์

ปี 2557

ปี 2558

แห่ง

ร้อยละ

แห่ง

ร้อยละ

แห่ง

ร้อยละ

ต่างจังหวัด - ร้านค้าปลีกของตนเอง - ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade)

28 5 23

4.0 7.1 32.9

47 10 37

52.8 11.2 41.6

60 14 46

55.6 13.0 42.6

กรุงเทพและปริมณฑล - ร้านค้าปลีกของตนเอง - ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade)

42 8 34

60.0 11.4 48.6

42 9 33

47.2 10.1 37.1

48 11 37

44.4 10.2 34.3

70

100.0

89

100.0

108

100.0

รวมทัง ้ สิน ้

26

ปี 2556


นโยบายการกำ�หนดราคา บริษท ั มีนโยบายในการกำ�หนดระดับราคาขายปลีก โดยพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ อาทิเช่น ต้นทุนสินค้า ประเภท สินค้า รุน ่ แบบสินค้า และอัตรากำ�ไรขัน ้ ต้นทีก ่ �ำ หนดไว้ นอกจากนีบ ้ ริษท ั จะพิจารณาถึงอุปสงค์ในตลาด การแข่งขัน และ กำ�ลังซือ ้ ของกลุม ่ ลูกค้าเป้าหมาย บริษท ั ไม่มน ี โยบายในการแข่งขันด้านราคากับผูจ ้ ด ั จำ�หน่ายสินค้ารายอืน ่ อย่างไร ก็ตาม บริษท ั อาจมีการนำ�สินค้ามาจัดรายการส่งเสริมการขาย ตามกลยุทธ์ทางการตลาดของบริษท ั และ/หรือห้างค้า ปลีกสมัยใหม่ ในจุดจำ�หน่ายต่างๆ ตามความเหมาะสม เพือ ่ กระตุน ้ ยอดขาย และเพิม ่ ฐานลูกค้าในแต่ละช่วงเวลา การจัดหาผลิตภัณฑ์ บริษท ั มีแนวทางการจัดหาผลิตภัณฑ์เครือ ่ งแต่งกาย เพือ ่ จัดจำ�หน่ายใน 2 ช่องทางหลัก คือ 1) จากโรงงาน ผลิตของบริษท ั ย่อยภายในกลุม ่ และ 2) การจัดหาผลิตภัณฑ์โดยจ้างจากผูร้ บ ั จ้างผลิตสินค้าภายนอก (Outsource) ในปัจจุบน ั กลุม ่ บริษท ั มีนโยบายในการจัดหาผลิตภัณฑ์ประเภทกางเกงยีนส์ทง ้ั ประเภทรุน ่ มาตรฐาน (เบสิก) และประเภท แฟชั่นที่ต้องใช้เทคนิคการฟอกสีแบบใหม่ด้วยการผลิตจากโรงงานผลิตของบริษัทย่อยและมีนโยบายในการจัดจ้าง ผูร้ บ ั จ้างผลิตสินค้าภายนอกสำ�หรับการจัดหาสินค้าประเภทอืน ่ เช่น เสือ ้ ยืด เสือ ้ เชิต ้ เสือ ้ ผ้าแฟชัน ่ สตรี และสินค้ากลุม ่ เครือ ่ งหนัง เข็มขัด กระเป๋า และกลุม ่ สินค้าตกแต่ง เช่น หมวก ผ้าพันคอ เป็นต้น รวมทัง ้ การจัดจ้างผูร้ บ ั จ้างผลิตสินค้า ภายนอกสำ�หรับการผลิตกางเกงยีนส์ ในกรณีทก ่ี �ำ ลังการผลิตของกลุม ่ บริษท ั มีก�ำ ลังการผลิตไม่เพียงพอ ในขณะ เดียวกันบริษท ั ยังคงเสาะหาผูผ ้ ลิตภายนอกจากต่างประเทศ โดยเน้นพิจารณาจากคุณภาพฝีมอ ื แรงงานทีไ่ ด้มาตรฐาน และเป็นกลุม ่ ประเทศทีเ่ ป็นสมาชิกเขตการค้าเสรีอาเซียน ซึง ่ จะทำ�ให้ได้รบ ั สิทธิประโยชน์ทางภาษีศล ุ กากร เพือ ่ ให้เกิด ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการต้นทุนสูงสุด และเพือ ่ รองรับการขยายตัวทางธุรกิจสูภ ่ ม ู ภ ิ าคเอเชียในอนาคต สำ�หรับแนวทางการจัดหาผลิตภัณฑ์นาฬิกานั้น บริษัท เป็นตัวแทนจำ�หน่ายสินค้าที่สั่งตรงจากบริษัทผู้เป็น เจ้าของแบรนด์จากต่างประเทศ โดยทำ�การสั่งซื้อสินค้าทุกเดือน เพื่อให้สามารถจัดหาสินค้าได้ทันกับความต้องการ

27


การตลาดและการแข่งขัน ธุรกิจค้าปลีกเครือ ่ งแต่งกายและสินค้าไลฟ์สไตล์ในประเทศไทย ปี 2558 เป็นอีกปีหนึ่งที่ท้าทายสำ�หรับธุรกิจค้าปลีกเครื่องแต่งกายและสินค้าไลฟ์สไตล์จากหลากหลายปัจจัย เนื่องด้วยการชะลอการฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจ ราคาสินค้าเกษตรยังอยู่ในระดับต่ำ�และปัญหาภัยแล้ง ภาระหนี้สิน ของประชากรยังอยู่ในระดับสูง มูลค่าการส่งออกที่ลดลงจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า ส่งผลกระทบ ต่อการใช้จ่าย ความเชื่อมั่นและกำ�ลังซื้อของผู้บริโภค โดยสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ (NESDB) ได้ปรับประมาณการแนวโน้มการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ของประเทศไทยสำ�หรับปี 2558 จากเดิมทีประมาณการการขยายตัวร้อยละ 3.5-4.5 มาอยูท ่ ร่ี อ ้ ยละ 2.9 ในช่วงปลายปี 2558 ด้วยสภาวะเศรษฐกิจทีไ่ ม่เอือ ้ อำ�นวยต่อการบริโภค ภาวะการแข่งขันธุรกิจเครือ ่ งแต่งกายในปี 2558 จึงมีให้เห็น ตลอดทั้งปีโดยผู้ประกอบการทั้งแบรนด์ไทยและแบรนด์ต่างประเทศต่างปรับกลยุทธ์เพื่อดึงดูดลูกค้าและรักษาส่วน แบ่งทางการตลาด โดยมีการทำ�รายการส่งเสริมการขายเพิ่มมากขึ้น สำ�หรับแนวโน้มธุรกิจค้าปลีกเครื่องแต่งกาย และสินค้าไลฟ์สไตล์ ประเทศไทย เป็นหนึ่งในตลาดที่มีศักยภาพ สำ�หรับธุรกิจนี้ เนื่องจากไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคที่หันมานิยมเครื่องแต่งกายที่มีความทันสมัย ประกอบกับการขยาย ตัวของธุรกิจค้าปลีก รวมทั้งการที่ไทยเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการค้า การท่องเที่ยวและเป็นแหล่งช็อปปิ้งสำ�คัญแห่ง หนึ่งของอาเซียน ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้กลุ่มธุรกิจ Fast Fashion หลายแบรนด์สนใจเข้ามาทำ�ตลาดและลงทุนขยาย สาขาในไทยมากขึ้น ประเด็นที่น่าจับตาสำ�หรับการแข่งขันในธุรกิจระยะต่อไป ได้แก่ การเข้ามาของผู้เล่นรายใหม่ และ กลยุทธ์เจาะตลาดผู้บริโภคภายในประเทศอย่าง การขยายสาขาหรือจุดจำ�หน่ายให้ครอบคลุมมากขึ้น ซึ่งผู้ประกอบ การเครื่องแต่งกายประเภท Fast Fashion สัญชาติไทยจะต้องเตรียมรับมือกับผู้เล่นในตลาดที่เพิ่มจำ�นวนมากขึ้น โดยเฉพาะความสำ�เร็จที่มาจากการวางกลยุทธ์กลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน การให้ความสำ�คัญกับสร้างบรรยากาศร้าน เพื่อการดึงดูดความสนใจ รวมไปถึงการสรรหากลยุทธ์หรือโปรโมชั่นที่กระตุ้นให้ผู้บริโภคสามารถเพิ่มความถี่ในการ จับจ่ายใช้สอยมากขึ้น ภาพรวมธุรกิจการค้าปลีกเครือ ่ งแต่งกายและสินค้าไลฟ์สไตล์ในประชาคมอาเซียน (ASEAN Economics Community: AEC) การก้าวไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC อย่างเต็มรูปแบบในปี 2558 ส่งผลให้ตลาดอาเซียน มี ขนาดใหญ่ขึ้น โดยมีจำ�นวนประชากรรวมกันกว่า 600 ล้านคนคิดเป็นร้อยละ 10 ของประชากรโลก และมีมูลค่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศทั้งตลาดถึงกว่า 2,500 พันล้านเหรียญสหรัฐ เป็นตลาดที่เปิดโอกาสให้ธุรกิจการค้า ปลีกเครื่องแต่งกายและสินค้าไลฟ์สไตล์ไทยขยายการเติบโตมากขึ้น การเปิดการค้าเสรีส่งผลให้ประเทศในกลุ่มสมาชิกทยอยเปิดตลาดบริการให้แก่กัน โดยภาคการค้ามีแนวโน้ม ขยายตัวมากขึ้น มีการลงทุนและการจ้างงานเพิ่มขึ้น จำ�นวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น ปริมาณและมูลค่าการค้าชายแดน ที่มากขึ้น ส่งผลให้ธุรกิจค้าปลีกในอาเซียนยังมีแนวโน้มที่จะขยายตัวโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพฤติกรรมผู้บริโภคมีการ เปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมสมัยใหม่ จำ�นวนประชากรวัยทำ�งานที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น รายได้สูงขึ้น มีความต้องการในสินค้า ที่มีคุณภาพและภาพลักษณ์ที่ดี ธุรกิจการค้าปลีกเครื่องแต่งกายและสินค้าไลฟ์สไตล์ไทยที่มีสินค้าคุณภาพและต้นทุน ที่แข่งขันได้ย่อมมีความได้เปรียบในการตลาดและการเติบโตในธุรกิจ

28


ปัจจัยความเสีย ่ ง ปัจจัยความเสีย ่ งทีอ ่ าจจะมีผลกระทบต่อธุรกิจ ฐานะการเงิน ผลการดำ�เนินงานและโอกาสทางธุรกิจของบริษท ั อย่างมีนย ั สำ�คัญ และแนวทางของบริษท ั ในการป้องกันและลดอัตราความเสีย ่ ง สามารถสรุปได้ดง ั นี้ 1. ความเสีย ่ งทีเ่ กีย ่ วข้องกับธุรกิจการจัดจำ�หน่ายเครือ ่ งแต่งกายและสินค้าไลฟ์สไตล์ 1.1 ความเสีย ่ งจากสภาวะการแข่งขันทีร่ น ุ แรง ปัจจัยทีม ่ ผ ี ลกระทบต่อการแข่งขันในธุรกิจการจัดจำ�หน่ายเครือ ่ งแต่งกายและสินค้าไลฟ์สไตล์ประกอบด้วยการ เข้ามาใหม่ของคูแ่ ข่งทัง ้ ในประเทศและจากต่างประเทศ การสร้างแบรนด์สน ิ ค้าใหม่ การแข่งขันด้านราคา การโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การเพิม ่ ขึน ้ ของช่องทางการจัดจำ�หน่ายเพือ ่ เข้าถึงผูบ ้ ริโภคได้งา่ ยขึน ้ อย่างไรก็ตามบริษัทมีนโยบายที่จะเพิ่มช่องทางการขายผ่านร้านค้าปลีกของตนเองและช่องทางการขายอื่นๆ เช่น ธุรกิจออนไลน์ผา่ น www.mcshop.com การใช้รถโมบายเคลือ ่ นที่ (Mobile Unit) เพือ ่ เข้าถึงกลุม ่ ลูกค้าได้มากขึน ้ และการเพิม ่ ความสะดวกในการซือ ้ สินค้าแก่ลก ู ค้า และมุง ่ เน้นการสร้างการรับรูใ้ นตราสินค้าของบริษท ั ให้เป็นทีร่ จ ู้ ก ั อย่าง กว้างขวางยิง ่ ขึน ้ นอกจากนีจ ้ ากประสบการณ์การผลิตทีย ่ าวนานทำ�ให้บริษท ั เชีย ่ วชาญในการควบคุมคุณภาพ และต้นทุนการ ผลิต ไม่วา่ จะเป็นการผลิตด้วยโรงงานของตนเองและควบคุมการว่าจ้างผลิตโดยผูผ ้ ลิตรายอืน ่ ทำ�ให้มค ี วามสามารถใน การดำ�เนินงานทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพ 1.2 ความเสีย ่ งจากการเปลีย ่ นแปลงพฤติกรรมของผูบ ้ ริโภคตามสินค้าแฟชัน ่ สินค้าของบริษัทเป็นกลุ่มสินค้าแฟชั่นจึงอาจได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงรสนิยมในการบริโภคเสื้อผ้า และรูปแบบการใช้ชวี ต ิ ของผูบ ้ ริโภค ทำ�ให้สน ิ ค้าแฟชัน ่ ทีจ ่ ด ั จำ�หน่ายอาจไม่ทน ั ต่อการเปลีย ่ นแปลงของพฤติกรรมผูบ ้ ริโภค บริษท ั มีการทำ�งานร่วมกันระหว่างฝ่ายการตลาด ฝ่ายขาย และฝ่ายออกแบบ เพือ ่ สำ�รวจความเปลีย ่ นแปลงของ พฤติกรรมผูบ ้ ริโภค นอกจากนีบ ้ ริษท ั ยังศึกษาติดตามแนวโน้มแฟชัน ่ ทัง ้ ในประเทศและต่างประเทศอย่างสม่�ำ เสมอมา โดยตลอดเพือ ่ นำ�เสนอสินค้าแฟชัน ่ ใหม่ๆ ให้ทน ั ต่อความต้องการของผูบ ้ ริโภคในทุกช่วงเวลา 2. ความเสีย ่ งทีเ่ กีย ่ วข้องกับการดำ�เนินธุรกิจ 2.1 ความเสีย ่ งจากกลยุทธ์การเติบโตของบริษท ั แผนธุรกิจ และกลยุทธ์การเติบโตของผลประกอบการของบริษท ั ประกอบด้วยการเพิม ่ ความหลากหลายของ ผลิตภัณฑ์ การพัฒนาแบรนด์สน ิ ค้าใหม่ การขยายช่องทางการจัดจำ�หน่าย การลดต้นทุนการผลิตและ การขยายฐาน การจัดหาผลิตภัณฑ์ไปยังแหล่งอืน ่ ทีม ่ ต ี น ้ ทุนต่�ำ กว่า ซึง ่ ความสำ�เร็จของแผนการเติบโตดังกล่าวมีความสำ�คัญต่อธุรกิจ โดยรวมของบริษท ั ทัง ้ นีค ้ ณะกรรมการ และฝ่ายบริหารของบริษท ั ให้ความสำ�คัญในการดำ�เนินกลยุทธ์การเติบโตเหล่านี้ ให้เป็น รูปธรรม ทัง ้ การเพิม ่ ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ โดยครอบคลุมกลุม ่ เป้าหมายทีก ่ ว้างขึน ้ การขยายช่องทางจัด จำ�หน่ายหลายรูปแบบทัง ้ ในและต่างประเทศ ตลอดจนการสรรหาแหล่งผลิตทีม ่ ต ี น ้ ทุนต่�ำ กว่าเดิมโดยคงคุณภาพทีด ่ ไี ว้ นอกจากนี้การลงทุนในธุรกิจนาฬิกา ทำ�ให้บริษัทได้ก้าวเข้าสู่ธุรกิจไลฟ์สไตล์อย่างเต็มรูปแบบ และเป็นไปตาม กลยุทธ์ที่วางแผนไว้ 2.2 ความเสีย ่ งจากการพึง ่ พิงลูกค้ารายใหญ่นอ ้ ยราย บริษท ั มีลก ู ค้ารายใหญ่ 10 รายแรก เป็นห้างค้าปลีกสมัยใหม่รายใหญ่ (Modern Trade) ซึง ่ เป็นลูกค้าทีม ่ ค ี วาม สัมพันธ์อน ั ยาวนานกับบริษท ั และมีการสัง ่ ซือ ้ สินค้าอย่างต่อเนือ ่ ง สม่�ำ เสมอ ทัง ้ นี้ บริษท ั ตระหนักถึงความเสีย ่ งจาก การพึง ่ พิงลูกค้ารายใหญ่และอำ�นาจต่อรองทีจ ่ �ำ กัด จึงมีนโยบายลดความเสีย ่ งโดยการรักษาความสัมพันธ์ทด ่ี ก ี บ ั ลูกค้า กลุม ่ ดังกล่าว และมีนโยบายในการขายผ่านร้านค้าปลีกของตนเอง (Free standing Shop) ให้มากขึน ้ โดยมุง ่ เน้นการ เปิดร้านค้าปลีกทีข ่ ายสินค้าแบรนด์ของบริษท ั เอง ทำ�ให้สามารถลดระดับการพึง ่ พิงลูกค้ารายใหญ่ได้ในอนาคต โดยสิน ้ ปี 2558 บริษท ั ร้านค้าปลีกของตนเองทัง ้ สิน ้ จำ�นวน 288 จุดขาย 2.3 ความเสีย ่ งด้านการจัดการสินค้าคงคลัง เนื่องจากบริษัท ต้องมีการผลิตสินค้าที่หลากหลายและมีปริมาณมาก ประกอบความต้องการสินค้าที่ไม่คงที่ แน่นอน ทำ�ให้บริษัทอาจมีสินค้าคงคลังมากหรือน้อยเกินความต้องการของตลาด และอาจจะส่งผลให้ไม่สามารถ ออกแบบสินค้าที่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภคได้ตามเวลาที่ก�ำ หนด

29


เพือ ่ ตอบสนองความต้องการของผูบ ้ ริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทางบริษท ั ได้จด ั ตัง ้ คณะทำ�งานขึน ้ โดยมี วัตถุประสงค์เพือ ่ วางแผนควบคุมระดับของสินค้าคงคลังให้มค ี วามเหมาะสม เริม ่ ตัง ้ แต่การออกแบบสินค้า การสัง ่ ซือ ้ วัตถุดบ ิ การผลิต การจัดเก็บ ไปจนถึงการส่งสินค้าไปยังทุกจุดขายอย่างรวดเร็ว นอกจากนีบ ้ ริษท ั ได้ศก ึ ษาและให้มก ี าร จัดทำ�มาตรฐานของเวลาการผลิตและการพัฒนาสินค้าใหม่ เพือ ่ ตัง ้ เป็นมาตรฐานในการดำ�เนินงานให้เป็นไปตามเวลาที่ กำ�หนด และมีการพัฒนาให้ใช้เวลาลดลงอย่างต่อเนือ ่ ง 3. ความเสีย ่ งทีเ่ กีย ่ วข้องกับการจัดหาสินค้าเพือ ่ จัดจำ�หน่าย 3.1 ความเสีย ่ งจากความผันผวนของราคาวัตถุดบ ิ ผ้ายีนส์มีฝ้าย (cotton) เป็นส่วนประกอบหลักที่สำ�คัญ ถึงแม้ว่าราคาตลาดของผ้าจะค่อนข้างคงที่ มีการ เคลื่อนไหวของราคาต่�ำ และราคาฝ้ายในตลาดโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยู่น้อยก็ตาม แต่หากราคาฝ้ายมีพัฒนาการที่ เปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากแนวโน้มการผลิตสินค้าจากฝ้ายมีอัตราสูงขึ้น ราคาฝ้ายก็อาจมีความผันผวนกว่าที่ผ่านมา ได้ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อราคาผ้ายีนส์ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักของบริษัท ทั้งนี้จากการที่บริษัท เป็นหนึ่งในผู้ใช้ผ้ายีนส์รายใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ส่งผลให้กลุ่มบริษัท มีอ�ำ นาจใน การต่อรองกับผู้จัดจำ�หน่ายวัตถุดิบได้มากขึ้น นอกจากนี้บริษัท ยังมีระบบการจัดซื้อที่มีประสิทธิภาพ โดยมีการ วางแผนการสั่งซื้อที่เหมาะสม และคัดเลือกผู้จัดจำ�หน่ายวัตถุดิบ ทำ�ให้บริษัท สามารถรักษาอัตรา กำ�ไรขั้นต้นได้ ค่อนข้างคงที่ 3.2 ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงการเช่าโรงงานและทรัพย์สินอื่น แม้กลุ่มบริษัท จะเช่าโรงงานและทรัพย์สินอื่นเพื่อใช้ในการประกอบธุรกิจ แต่การที่กลุ่มบริษัท บริหารจัดการ ทรัพย์สินด้วยวิธีการเช่าจะช่วยเพิ่มความคล่องตัวในการโยกย้ายกำ�ลังการผลิตในอนาคต อย่างไรก็ดีบริษัท ได้มี การพิจารณาการเป็นเจ้าของโรงงาน เพื่อเป็นทางเลือกในการขยายธุรกิจที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ให้กับกลุ่มบริษัท สูงสุด 4. ความเสีย ่ งทีเ่ กีย ่ วข้องกับกฎหมายและระเบียบทางการค้า 4.1 ความเสี่ยงจากการเปิดเสรีทางการค้าภายในภูมิภาคอาเซียน (AEC) การรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 ส่งผลให้มีการเปิดเสรีการเคลื่อนย้ายทรัพยากร เงินทุน แรงงาน และการค้าขายระหว่างกันในตลาดอาเซียน ซึ่งจะทำ�ให้มีสินค้าจากประเทศในกลุ่มอาเซียนเข้ามา แข่งขันกับบริษัท ได้ และอาจส่งผลให้เกิดการแข่งขันที่รุนแรงมากยิ่งขึ้นทั้งตลาดในประเทศและ ในประเทศอาเซียน อย่างไรก็ตาม แบรนด์ “Mc Jeans” เป็นแบรนด์ยีนส์ของไทยเพียงรายเดียว ที่สามารถแข่งขันกับยีนส์ แบรนด์เนมจากต่างประเทศได้ ด้วยคุณภาพที่ดี และราคาที่เหมาะสม รวมทั้งมีการออกแบบที่เหมาะกับสรีระของ คนในภูมิภาคอาเซียนได้เป็นอย่างดี บริษัท มุ่งเน้นการสร้างการรับรู้ในแบรนด์สินค้าของบริษัทให้เป็นที่รู้จักอย่าง กว้างขวางและแข็งแกร่งยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกันยังมีนโยบายในการขยายตลาดการจัดจำ�หน่ายไปยังประเทศในเขต ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งในปัจจุบัน บริษัท ได้มีช่องทางการจัดจำ�หน่ายสินค้าในบางประเทศของภูมิภาคแล้ว 4.2 ความเสี่ยงจากการต่อสัญญาเช่าร้านค้า เนื่องจากบริษัท มีการจัดจำ�หน่ายสินค้าผ่านช่องทางการจัดจำ�หน่ายที่เป็นร้านค้าของตนเอง โดยร้านค้าดัง กล่าวเป็นสัญญาเช่า ซึ่งส่วนใหญ่มีอายุสัญญาประมาณ 3 ปี ดังนั้นบริษัท จึงมีความเสี่ยงจากการไม่ได้รับการต่อ อายุสัญญาเช่า หรือมีความเสี่ยงจากการที่อัตราค่าเช่าและค่าบริการอาจปรับตัวสูงขึ้น อย่างไรก็ตามสัญญาเช่าบางสัญญาได้ให้สิทธิกับบริษัทในการต่ออายุสัญญาเมื่อครบกำ�หนดอายุสัญญา และมีการปรับอัตราค่าเช่าที่ชัดเจน โดยระยะเวลาที่ผ่านมาบริษัท ได้ปฏิบัติตามสัญญาเช่าดังกล่าวอย่างเคร่งครัด และไม่เคยถูกยกเลิกสัญญาจากผู้ให้เช่า รวมทั้งร้านค้าของบริษัท ยังช่วยดึงดูดให้ลูกค้าเข้ามาใช้บริการศูนย์การค้า ซึ่งเป็นการเอื้อประโยชน์ทางธุรกิจระหว่างผู้ประกอบการศูนย์การค้ากับบริษัท จึงทำ�ให้บริษัท เชื่อมั่นว่าจะได้รับ สนับสนุนเป็นอย่างดีในการต่ออายุสัญญาจากผู้ให้เช่าต่อไปในอนาคต 4.3 ความเสี่ยงในการต่อสัญญา เปลี่ยนแปลงเงื่อนไข และข้อตกลงของสัญญาตัวแทนจำ�หน่ายสินค้า สำ�หรับธุรกิจจัดจำ�หน่ายสินค้านาฬิกาจากต่างประเทศ บริษัทได้เป็นตัวแทนจำ�หน่ายหลักในประเทศซึ่งเป็น ปัจจัยสำ�คัญในเชิงการแข่งขัน สัญญาของบริษัท และบริษัทย่อยมีสองลักษณะ ได้แก่ สัญญาแบบที่ต่อโดยอัตโนมัติ และ สัญญาแบบที่มีก�ำ หนดเวลาแน่นอน ซึ่งบริษัทอาจมีความเสี่ยงในการจัดจำ�หน่ายสินค้าในกรณีที่สัญญามีการ กำ�หนดระยะเวลาแน่นอนและคู่สัญญาอาจจะไม่ต่อสัญญาทำ�ให้บริษัทสูญเสียรายได้จากการเป็นตัวแทนจำ�หน่ายนั้น อย่างไรก็ตาม จากการดำ�เนินธุรกิจระหว่างกันมาเป็นเวลานาน และบริษัทได้ดำ�เนินการตามเงื่อนไขที่ระบุใน สัญญามาโดยตลอด ส่งผลให้บริษัทได้รับความไว้วางใจให้ต่ออายุสัญญา ยกเว้นในกรณีที่บริษัท เป็นผู้ตัดสินที่จะไม่ ต่ออายุสัญญาเอง นอกจากนั้น หากคู่สัญญาขอเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขข้อตกลง โดยเฉพาะอัตราค่าตอบแทน บริษัท จะมีการเจรจาต่อรองเพื่อให้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ก่อให้เกิดผลประโยชน์ร่วมกันทั้งสองฝ่าย 30


ข้อมูลหลักทรัพย์และผูถ ้ อ ื หุน ้ จำ�นวนทุนจดทะเบียนและทุนทีช ่ �ำ ระแล้ว ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2558 บริษท ั มีรายละเอียดของโครงสร้างเงินทุนทีส ่ �ำ คัญ ดังนี้ หุน ้ สามัญ: ทุนจดทะเบียนและทุนเรียกชำ�ระแล้ว จำ�นวน 400,000,000 บาท : จำ�นวนหุน ้ สามัญ 800,000,000 หุน ้ : มูลค่าทีต ่ ราไว้หน ุ้ ละ 0.50 บาท รายชือ ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ ใหญ่ ข้อมูลรายชือ ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ ทีถ ่ อ ื หุน ้ สูงสุด 10 อันดับแรก ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2558 ลำ�ดับ

รายชือ ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้

1.

น.ส. สุณี เสรีภาณุ

2.

จำ�นวนหุน ้

ร้อยละ

359,475,300

44.93

MINDO ASIA INVESTMENT LIMITED

70,000,000

8.75

3.

THE HONGKONG AND SHANGHAI BANKING CORPORATION LIMITED, FUND SERVICES DEPARTMENT

44,144,900

5.52

4.

RBC INVESTOR SERVICES TRUST

39,129,100

4.89

5.

นาง ปรารถนา มงคลกุล

23,971,000

3.00

6.

บริษท ั ไทยเอ็นวีดอ ี าร์ จำ�กัด

16,593,500

2.07

7.

นาย วิรช ั เสรีภาณุ

14,800,000

1.85

8.

กองทุนเปิด บัวหลวงหุน ้ ระยะยาว

10,719,400

1.34

9.

HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD

8,251,000

1.03

10.

กองทุนเปิด อเบอร์ดน ี สมอลแค็พ

8,250,900

1.03

กลุม ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ ซึง ่ เป็นผูท ้ ม ่ี ผ ี ลต่อการกำ�หนดนโยบาย การจัดการหรือทิศทางการดำ�เนินงานของบริษท ั ได้แก่ นางสาวสุณี เสรีภาณุ และนายวิรช ั เสรีภาณุ โดยร่วมกันถือหุน ้ ในบริษท ั จำ�นวนรวมประมาณร้อยละ 46.78

ข้อจำ�กัดการถือครองหลักทรัพย์ของบุคคลต่างด้าว บริษท ั มีขอ ้ จำ�กัดการถือครองหลักทรัพย์ของบุคคลต่างด้าว (Foreign Limit) ไว้รอ ้ ยละ 49 ของทุนชำ�ระแล้ว โดย ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2558 มีบค ุ คลต่างด้าวถือครองหลักทรัพย์ของบริษท ั ร้อยละ 22.86 ของทุนชำ�ระแล้ว

ประเภท

จำ�นวนหุน ้

ร้อยละ

ผูถ ้ อ ื หุน ้ สัญชาติไทย

618,530,100

77.32

ผูถ ้ อ ื หุน ้ สัญชาติตา่ งด้าว

181,469,900

22.68

รวม

800,000,000

100.00

นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษท ั มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลไม่ต�ำ่ กว่าร้อยละ 50 ของกำ�ไรสุทธิทเ่ี หลือหลังหักเงินสำ�รองต่างๆ ทุก ประเภททีก ่ ฎหมายและบริษท ั กำ�หนดไว้ โดยพิจารณาจากกำ�ไรสุทธิตามงบการเงินรวมของบริษท ั อย่างไรก็ตามการจ่าย เงินปันผลดังกล่าวจะขึน ้ อยูก ่ บ ั แผนการลงทุน ความจำ�เป็น และความเหมาะสมอืน ่ ๆในอนาคต เมือ ่ คณะกรรมการบริษท ั มีมติเห็นชอบให้จา่ ยเงินปันผลประจำ�ปีแล้ว จะต้องนำ�เสนอขออนุมต ั ต ิ อ ่ ทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผล ระหว่างกาล ให้คณะกรรมการบริษท ั มีอ�ำ นาจอนุมต ั ใิ ห้จา่ ยเงินปันผลได้ แล้วให้รายงานแก่ทป ่ี ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ทราบในการ ประชุมคราวต่อไป สำ�หรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษท ั ย่อย บริษท ั ย่อยจะพิจารณาการจ่ายเงินปันผลจากกำ�ไรสุทธิ หลัง จากหักภาษีเงินได้ในแต่ละปีอย่างไรก็ตามการจ่ายเงินปันผลจะขึน ้ อยูก ่ บ ั แผนการลงทุน และความเหมาะสมอืน ่ ๆ และอาจ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผถ ู้ อ ื หุน ้ เป็นครัง ้ คราวได้

31


โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการบริษท ั คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่ควบคุมการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และ ข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติของผู้ถือหุ้น รวมทั้งการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และข้อบังคับของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยปฏิบต ั ห ิ น้าที่ ด้วยความซือ ่ สัตย์สจ ุ ริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของผูถ ้ อ ื หุน ้ รวมถึงอยูใ่ นกรอบของจริยธรรมธุรกิจ และคำ�นึง ถึงผลประโยชน์ของผูม ้ ส ี ว่ นได้สว่ นเสียทุกฝ่าย อีกทัง ้ จัดให้มรี ะบบบัญชี และรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีทเ่ี ชือ ่ ถือได้ นอกจากนีย ้ ง ั ทำ�หน้าทีก ่ �ำ กับดูแลคณะกรรมการชุดย่อยดูแลเฉพาะเรือ ่ งอีก 5 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจ สอบ คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการเพือ ่ การพัฒนา อย่างยัง ่ ยืน และคณะกรรมการบริหาร โดยขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข ่ องคณะกรรมการชุดย่อยได้เปิดเผยไว้ในหัวข้อการ กำ�กับดูแลกิจการ ข้อย่อยที่ 9.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบริษท ั ประกอบด้วยกรรมการทัง ้ สิน ้ 8 ท่าน โดยมีกรรมการทีเ่ ป็นผู้ บริหาร 2 ท่าน และกรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ ้ ริหาร 6 ท่าน มีรายละเอียดดังนี้ ชือ ่

ตำ�แหน่ง

การเข้าร่วมประชุมคณะ กรรมการ บริษท ั ฯ ในปี 2558

1. นางสาวสุณี เสรีภาณุ

ประธานกรรมการ / กรรมการบริหาร /ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่

7/7

2. นายวิรช ั เสรีภาณุ

กรรมการ / กรรมการบริหาร / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน / กรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน

7/7

3. นายสมชัย อภิวฒ ั นพร

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการบริหารความเสีย ่ ง/ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

7/7

4. นางจำ�นรรค์ ศิรต ิ น ั

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการบริหาร ความเสีย ่ ง

7/7

5. นายศุภศักดิ์ จิรเสวีนป ุ ระพันธ์​์

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการบริหาร ความเสีย ่ ง / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

7/7

6. นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม

กรรมการ / ประธานกรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน

7/7

7. พลเอกวิชต ิ ยาทิพย์

กรรมการอิสระ

6/7

8. นางชนัญญารักษ์ เพ็ชร์รต ั น์ 1

กรรมการอิสระ

1/1

หมายเหตุ: 1นางชนัญญารักษ์ เพ็ชร์รต ั น์ ได้รบ ั แต่งตัง ้ เป็นกรรมการเมือ ่ 11 พฤศจิกายน 2558 แทนนางปรารถนา มงคลกุล ทีล ่ าออกจาก

การเป็นกรรมการ เมือ ่ 30 กันยายน 2558

กรรมการทีม ่ อ ี �ำ นาจลงนามผูกพันบริษท ั เป็นดังนี้ กรรมการกลุม ่ ก. ได้แก่ นางสาวสุณี เสรีภาณุ หรือ นายวิรช ั เสรีภาณุ กรรมการกลุม ่ ข. ได้แก่ นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม กรรมการกลุม ่ ก. สองคนลงลายมือชือ ่ ร่วมกันและประทับ ตราบริษท ั หรือ กรรมการกลุม ่ ก. คนใดคนหนึง ่ ลงลายมือชือ ่ ร่วมกับกรรมการกลุม ่ ข. รวมเป็นสองคนและประทับตรา บริษท ั ทัง ้ นี้ การมอบหมายอำ�นาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษท ั จะไม่มล ี ก ั ษณะเป็นการมอบ อำ�นาจ หรือมอบอำ�นาจช่วง ทีท ่ �ำ ให้คณะกรรมการบริษท ั หรือผูร้ บ ั มอบอำ�นาจจากคณะกรรมการบริษท ั สามารถ อนุมต ั ริ ายการทีต ่ นหรือบุคคลทีอ ่ าจมีความขัดแย้ง (ตามทีน ่ ย ิ ามไว้ในประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือประกาศ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน) อาจมีสว่ นได้เสีย หรืออาจได้รบ ั ประโยชน์ในลักษณะใดๆ หรืออาจมีความขัดแย้งทางผล ประโยชน์อน ่ื ใดกับบริษท ั หรือบริษท ั ย่อยของบริษท ั ยกเว้นเป็นการอนุมต ั ริ ายการทีเ่ ป็นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ทท ่ี ่ี ประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ หรือคณะกรรมการบริษท ั พิจารณาอนุมต ั ไิ ว้

32

ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข ่ องคณะกรรมการบริษท ั 1. ปฏิบต ั ห ิ น้าทีใ่ ห้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษท ั ฯ มติคณะกรรมการบริษท ั และมติท่ี ประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซือ ่ สัตย์สจ ุ ริต 2. พิจารณากำ�หนดรายละเอียดและให้ความเห็นชอบ วิสย ั ทัศน์ กลยุทธ์ทางธุรกิจ ทิศทางของธุรกิจ นโยบาย ทางธุรกิจ เป้าหมาย แนวทาง แผนการดำ�เนินงาน และงบประมาณของบริษท ั และบริษท ั ย่อย ตามทีค ่ ณะกรรมการ บริหารและฝ่ายจัดการจัดทำ� 3. กำ�กับดูแลการบริหารงานและผลการปฏิบต ั ง ิ านของคณะกรรมการบริหาร ประธานกรรมการบริหารประธาน เจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร ฝ่ายจัดการ หรือบุคคลใดๆ ซึง ่ ได้รบ ั มอบหมายให้ท�ำ หน้าทีด ่ ง ั กล่าว เพือ ่ ให้เป็นไปตามนโยบายทีค ่ ณะ กรรมการบริษท ั กำ�หนด


4. ติดตามผลการดำ�เนินงานของบริษัทอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เป็นไปตามแผนการดำ�เนินงาน และงบประมาณ ของบริษัท 5. ดำ�เนินการให้บริษัท และบริษัทย่อยนำ�ระบบงานบัญชีที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพมาใช้รวมทั้งจัดให้มี ระบบควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายใน 6. จัดให้มีการทำ�งบดุล และงบกำ�ไรขาดทุน ณ วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีของบริษัทฯ และลงลายมือชื่อเพื่อรับรอง งบการเงินดังกล่าว เพื่อนำ�เสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีเพื่อพิจารณาอนุมัติ 7. พิจารณาให้ความเห็นชอบการคัดเลือก และเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี และพิจารณาค่าตอบแทน ที่เหมาะสม ตามที่คณะกรรมการตรวจสอบนำ�เสนอ ก่อนนำ�เสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี เพื่อพิจารณาอนุมัติ 8. จัดให้มน ี โยบายเกีย ่ วกับการกำ�กับดูแลกิจการตามหลักธรรมาภิบาลทีเ่ ป็นลายลักษณ์อก ั ษร และการปรับใช้ นโยบายดังกล่าวอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ ่ ให้เชือ ่ มัน ่ ได้วา่ บริษท ั ฯ มีความรับผิดชอบต่อผูม ้ ส ี ว่ นเกีย ่ วข้องทุกกลุม ่ ด้วย ความเป็นธรรม 9. พิจารณาอนุมต ั แิ ต่งตัง ้ บุคคลทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม และไม่มค ี ณ ุ สมบัตต ิ อ ้ งห้ามตามทีก ่ �ำ หนดในพระราช บัญญัตบ ิ ริษท ั มหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 (รวมทัง ้ ทีม ่ ก ี ารแก้ไขเพิม ่ เติม) พระราชบัญญัตห ิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง ้ ทีม ่ ก ี ารแก้ไขเพิม ่ เติม) รวมถึง ประกาศ ข้อบังคับ และ/หรือระเบียบทีเ่ กีย ่ วข้อง เข้าดำ�รงตำ�แหน่ง ใน กรณีทต ่ี �ำ แหน่งกรรมการว่างลง เพราะเหตุอน ่ื นอกจากออกตามวาระ และพิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งตัง ้ กรรมการ แทนกรรมการทีอ ่ อกตามวาระ และการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการตามทีค ่ ณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่า ตอบแทนนำ�เสนอเพือ ่ นำ�เสนอต่อทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ เพือ ่ พิจารณาอนุมต ั ิ 10. แต่งตัง ้ คณะกรรมการชุดย่อย เช่น คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง และคณะกรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน หรือ คณะกรรมการชุดย่อยอื่นใดและกำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการชุดย่อยดังกล่าวเพื่อช่วยเหลือและสนับสนุน การปฏิบต ั ห ิ น้าทีข ่ องคณะกรรมการ 11. พิจารณากำ�หนดและแก้ไขเปลีย ่ นแปลงชือ ่ กรรมการซึง ่ มีอ�ำ นาจลงนามผูกพันบริษท ั ฯ ได้ 12. พิจารณาแต่งตัง ้ ผูบ ้ ริหารตามคำ�นิยามทีก ่ �ำ หนดโดยคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ หรือคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน และเลขานุการบริษท ั รวมทัง ้ พิจารณากำ�หนดค่าตอบแทนของผูบ ้ ริหารดังกล่าว 13. ขอความเห็นทางวิชาชีพจากองค์กรภายนอก หากมีความจำ�เป็นเพือ ่ ประกอบการตัดสินใจทีเ่ หมาะสม 14. ส่งเสริมให้กรรมการ และผูบ ้ ริหารของบริษท ั ฯ เข้าร่วมหลักสูตรสัมมนาต่างๆ ของสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษท ั ไทย ในหลักสูตรทีเ่ กีย ่ วข้องกับหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการและผูบ ้ ริหาร ปัจจุบ ัน บริษัทมีก รรมการอิสระ จำ�นวน 5 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 62.5 ของกรรมการทั้ง หมด ซึ่งมี จำ�นวนมากกว่า ที่หลัก การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีกำ� หนดไว้ คือ คณะกรรมการบริษัทต้องประกอบด้วยกรรมการ อิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ เพื่อให้มีการตรวจสอบและถ่วงดุลกันอย่างเพียงพอ โดยคุณสมบัติ ของกรรมการอิสระที่บริษัทกำ�หนด เท่ากันกับข้อกำ�หนดของคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังนี้ คุณสมบัตข ิ องกรรมการอิสระ กรรมการอิสระจะต้องมีจ�ำ นวนไม่นอ ้ ยกว่าหนึง ่ ในสามของจำ�นวนกรรมการทัง ้ หมดของบริษท ั ฯ และต้องไม่นอ ้ ย กว่าสามคน และต้องมีคณ ุ สมบัตต ิ ามหลักเกณฑ์ดง ั ต่อไปนี้ 1. ถือหุน ้ ไม่เกินร้อยละหนึง ่ ของจำ�นวนหุน ้ ทีม ่ ส ี ท ิ ธิออกเสียงทัง ้ หมดของ บริษท ั ฯ บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของบริษท ั ฯ ทัง ้ นีใ้ ห้นบ ั รวมการถือหุน ้ ของผูท ้ เ่ี กีย ่ วข้องของกรรมการ อิสระรายนัน ้ ๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม ่ ส ี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป ่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจำ� หรือผู้ มีอ�ำ นาจควบคุมของบริษท ั ฯ บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม บริษท ั ย่อยลำ�ดับเดียวกันผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือของ ผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของบริษท ั ฯ เว้นแต่จะได้พน ้ จากการมีลก ั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ ้ ยกว่าสองปี ก่อนวันทีย ่ น ่ื คำ�ขอ อนุญาตต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. ทัง ้ นีล ้ ก ั ษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีทก ่ี รรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ ปรึกษา ของส่วนราชการซึง ่ เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของบริษท ั ฯ 3. ไม่เป็นบุคคลทีม ่ ค ี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะทีเ่ ป็น บิดา มารดา คูส ่ มรส พีน ่ อ ้ ง และบุตร รวมทัง ้ คูส ่ มรสของบุตร ของกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ ผูม ้ อ ี �ำ นาจ ควบคุม หรือบุคคลทีจ ่ ะได้รบ ั การเสนอให้เป็นกรรมการ ผูบ ้ ริหารหรือผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของบริษท ั ฯ หรือบริษท ั ย่อย 4. ไม่มห ี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษท ั ฯ บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือ ผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของบริษท ั ในลักษณะทีอ ่ าจเป็นการขัดขวางการใช้วจ ิ ารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทัง ้ ไม่เป็น หรือเคยเป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ ทีม ่ น ี ย ั หรือผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของผูท ้ ม ่ี ค ี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษท ั ฯ บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของบริษท ั ฯ เว้นแต่จะได้พน ้ จากการมีลก ั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่ น้อยกว่าสองปีกอ ่ นวันทีย ่ น ่ื คำ�ขออนุญาตต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต.

33


5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส ้ อบบัญชีของบริษท ั ฯ บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือผูม ้ ี อำ�นาจควบคุมของบริษท ั ฯ และไม่เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ ทีม ่ น ี ย ั ผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุม หรือหุน ้ ส่วนของสำ�นักงานสอบบัญชี ซึง ่ มีผู้ สอบบัญชีของ บริษท ั ฯ บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของบริษท ั ฯ สังกัด อยู่ เว้นแต่จะได้พน ้ จากการมีลก ั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ ้ ยกว่าสองปีกอ ่ นวันทีย ่ น ่ื คำ�ขออนุญาตต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง ่ รวมถึงการให้บริการเป็นทีป ่ รึกษากฎหมาย หรือทีป ่ รึกษา ทางการเงิน ซึง ่ ได้รบ ั ค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษท ั ฯ บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของบริษท ั และไม่เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ ทีม ่ น ี ย ั ผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุม หรือหุน ้ ส่วนของผูใ้ ห้บริการ ทางวิชาชีพนัน ้ ด้วย เว้นแต่จะได้พน ้ จากการมีลก ั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ ้ ยกว่าสองปีกอ ่ นวันทีย ่ น ่ื คำ�ขออนุญาตต่อ สำ�นักงาน ก.ล.ต. 7. ไม่เป็นกรรมการทีไ่ ด้รบ ั การแต่งตัง ้ ขึน ้ เพือ ่ เป็นตัวแทนของกรรมการของบริษท ั ฯ ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือผูถ ้ อ ื หุน ้ ซึง ่ เป็นผูท ้ เ่ี กีย ่ วข้องกับผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการทีม ่ ส ี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม ่ น ี ย ั กับกิจการของบริษท ั ฯ หรือบริษท ั ย่อย หรือไม่เป็นหุน ้ ส่วนทีม ่ น ี ย ั ในห้างหุน ้ ส่วน หรือเป็นกรรมการทีม ่ ส ี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป ่ รึกษาทีร่ บ ั เงิน เดือนประจำ� หรือถือหุน ้ เกินร้อยละหนึง ่ ของจำ�นวนหุน ้ ทีม ่ ส ี ท ิ ธิออกเสียงทัง ้ หมดของบริษท ั อืน ่ ซึง ่ ประกอบกิจการทีม ่ ี สภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม ่ น ี ย ั กับกิจการของบริษท ั ฯ หรือบริษท ั ย่อย 9. ไม่มล ี ก ั ษณะอืน ่ ใดทีท ่ �ำ ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกีย ่ วกับการดำ�เนินงาน ของบริษท ั ฯ 10. มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระต่อเนือ ่ งได้ไม่เกิน 9 ปี

ผูบ ้ ริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ผูบ ้ ริหารตามนิยามของสำ�นักงานก.ล.ต. มีจ�ำ นวน 6 ท่าน ดังนี้ ชือ ่

ตำ�แหน่ง

1. นางสาวสุณี เสรีภาณุ

ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่

2. นายวิรช ั เสรีภาณุ

รองกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ กลุม ่ งานปฏิบต ั ก ิ ารผลิต

3. นางสาวแสงแข หาญวนิชย์

รองกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ กลุม ่ งานการตลาด

4. นางนฤมล สิงหเสนี

รองกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ กลุม ่ งานการเงินและสนับสนุนธุรกิจ

5. นายวิชย ั สิงห์ศก ั ดิศ ์ รี

ผูช ้ ว่ ยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ กลุม ่ งานบริหารมาตรฐาน และ ข้อกำ�หนดทางธุรกิจ

6. นางสาววรรัตน์ เลาหธนะกูร

ผูช ้ ว่ ยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ กลุม ่ งานบริหารทุนมนุษย์

ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร 1. ดูแล บริหาร ดำ�เนินงาน และปฏิบต ั ง ิ านประจำ�ตามปกติธรุ กิจ เพือ ่ ประโยชน์ของบริษท ั ให้เป็นไปตามนโยบาย วิสย ั ทัศน์ เป้าหมาย แผนการดำ�เนินธุรกิจ และงบประมาณทีก ่ �ำ หนดโดยทีป ่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั และ/หรือตามทีไ่ ด้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริหาร 2. บริหารจัดการการดำ�เนินงานของบริษท ั ให้เป็นไปตามภารกิจหลัก (Mission) ทีก ่ �ำ หนดโดยคณะกรรมการ บริหารเพือ ่ ให้สอดคล้องกับแผนการดำ�เนินธุรกิจ และงบประมาณของบริษท ั และกลยุทธ์ ในการดำ�เนินธุรกิจทีเ่ กีย ่ วข้อง ตามทีก ่ �ำ หนดโดยคณะกรรมการบริษท ั และ/หรือคณะกรรมการบริหาร 3. กำ�กับดูแลการดำ�เนินการด้านการเงิน การตลาด งานบริหารบุคคล และด้านการปฏิบต ั ง ิ านอืน ่ ๆโดยรวมเพือ ่ ให้เป็นไปตามนโยบายและแผนการดำ�เนินงานของบริษท ั ทีก ่ �ำ หนดไว้โดยคณะกรรมการบริษท ั ฯ และ/หรือคณะกรรมการ บริหาร 4. มีอ�ำ นาจจ้าง แต่งตัง ้ โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง กำ�หนดอัตราค่าจ้างและค่าตอบแทนสำ�หรับพนักงานบริษท ั ในตำ�แหน่งทีต ่ �ำ่ กว่ากรรมการบริหาร โดยสามารถแต่งตัง ้ ผูร้ บ ั มอบอำ�นาจช่วงให้ด�ำ เนินการแทนได้ 5. กำ�หนดบำ�เหน็จรางวัล ปรับขึน ้ เงินเดือน ค่าตอบแทน เงินโบนัสพิเศษ นอกเหนือจากเงินเดือนและโบนัสปกติ ประจำ�ของพนักงาน โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร 34


6. เจรจา และเข้าทำ�สัญญา และ/หรือ ธุรกรรมใดๆ ทีเ่ กีย ่ วกับการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษท ั (เช่น การลงทุน เปิดร้านใหม่ การลงทุนซือ ้ เครือ ่ งจักร และทรัพย์สน ิ อืน ่ ๆ ตามงบลงทุนหรืองบประมาณทีไ่ ด้รบ ั อนุมต ั จ ิ ากคณะกรรมการ บริษท ั การซือ ้ สินค้าเข้าคลังสินค้า และการขายสินค้า เป็นต้น) โดยวงเงินสำ�หรับแต่ละรายการให้เป็นไปตามทีก ่ �ำ หนด ไว้ในอำ�นาจดำ�เนินการทีผ ่ า่ นการอนุมต ั จ ิ ากคณะกรรมการบริษท ั แล้ว ทัง ้ นี้ ภายในวงเงินไม่เกิน 30,000,000 บาทต่อ ธุรกรรม 7. พิจารณาอนุมัติการกู้ยืมเงินระหว่างบริษัทกับบริษัทย่อย 8. ออกคำ�สั่ง ระเบียบ ประกาศ และบันทึกต่างๆ ภายในบริษัท เพื่อให้การดำ�เนินงานของบริษัทเป็นไปตาม นโยบายและเพื่อผลประโยชน์ของบริษัท รวมถึงรักษาระเบียบวินัยภายในองค์กร 9. ปฏิบต ั ห ิ น้าทีอ ่ น ่ื ๆ ทีไ่ ด้รบ ั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษท ั และ/หรือ คณะกรรมการบริหาร รวมทัง ้ มี อำ�นาจดำ�เนินการใดๆ ทีจ ่ �ำ เป็นในการปฏิบต ั ห ิ น้าทีด ่ ง ั กล่าว ทั้งนี้ การกำ�หนดอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร จะต้องไม่มีลักษณะเป็นการ มอบอำ�นาจ หรือมอบอำ�นาจช่วงทีท ่ �ำ ให้ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร และ/หรือผูร้ บ ั มอบอำ�นาจจากประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร สามารถอนุมต ั ริ ายการทีต ่ นหรือบุคคลทีอ ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้เสีย หรือาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อน ่ื ใด กับบริษท ั หรือบริษท ั ย่อย และ/หรือบริษท ั ทีเ่ กีย ่ วข้อง ซึง ่ ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารไม่มอ ี �ำ นาจอนุมต ั ใิ นเรือ ่ งดังกล่าว และ จะต้องเสนอต่อทีป ่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั และ/หรือทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ (แล้วแต่กรณี) เพือ ่ พิจารณาอนุมต ั ต ิ อ ่ ไป เว้นแต่ เป็นการพิจารณาอนุมต ั ริ ายการทีเ่ ป็นไปตามธุรกิจปกติและเงือ ่ นไขการค้าปกติ เลขานุการบริษท ั ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 2/2558 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2558 ที่ประชุมมีมติแต่งตั้ง นางสาวอนงค์นาฏ วรรณมาศ ให้ด�ำ รงตำ�แหน่งเลขานุการบริษัท เพื่อทำ�หน้าที่ดูแลและจัดการ การประชุมของคณะ กรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการชุดย่อย และการจัดประชุมผู้ถือหุ้น รวมถึงการจัดเก็บเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และสนับสนุนการดำ�เนินการอื่นๆ ให้เป็นไปตามมาตรฐานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี รวมถึงพระราชบัญญัติหลัก ทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของเลขานุการบริษท ั 1. ให้ค�ำ แนะนำ�เบือ ้ งต้นแก่กรรมการในข้อกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับต่างๆ ของบริษท ั ทีค ่ ณะกรรมการต้องการ ทราบและติดตามให้มก ี ารปฏิบต ั ต ิ ามอย่างถูกต้องสม่�ำ เสมอ รวมถึงการรายงานการเปลีย ่ นแปลงในข้อกำ�หนดกฎหมาย ทีม ่ น ี ย ั สำ�คัญแก่คณะกรรมการ 2. จัดประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ และประชุมคณะกรรมการให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับของบริษท ั และข้อพึงปฏิบต ั ต ิ า่ งๆ 3. บันทึกรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และการประชุมของคณะกรรมการบริษัท รวมทั้งติดตามให้มีการปฏิบัติ ตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท 4. จัดทําและเก็บรักษาทะเบียนกรรมการ รายงานประจำ�ปีบริษัท หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นหนังสือนัดประชุม คณะกรรมการบริษัท รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นและคณะกรรมการบริษัท 5. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้ส่วนเสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร และจัดส่งสําเนาให้แก่ประธาน กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ ภายใน 7 วันทำ�การนับแต่วันที่ได้รับรายงาน 6. ดูแลให้มก ี ารเปิดเผยข้อมูลและรายงานสารสนเทศในส่วนทีร่ บ ั ผิดชอบต่อหน่วยงานทีก ่ �ำ กับบริษท ั ตามระเบียบ และข้อกำ�หนดของหน่วยงานทางการ 7. ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษท ั และดำ�เนินการเรือ ่ งอืน ่ ๆ ตามทีก ่ ฎหมายกำ�หนด หรือ ตามทีไ่ ด้รบ ั มอบ หมายจากคณะกรรมการบริษท ั หรือตามทีค ่ ณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนประกาศกำ�หนด ค่าตอบแทนกรรมการ บริษัทได้พิจารณาแนวทางในการกำ�หนดนโยบายค่าตอบแทนของคณะกรรมการอย่างเป็นธรรม และสมเหตุ สมผล ซึ่งผ่านการกลั่นกรองอย่างละเอียดจากคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน โดยคำ�นึงถึงความ เหมาะสมประการต่างๆ รวมถึงให้มีความสอดคล้องกับผลประกอบการของบริษัท ภาระหน้าที่ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการ ตลอดจนพิจารณาเปรียบเทียบกับอัตราค่าตอบแทนของบริษท ั ทีอ ่ ยูใ่ นอุตสาหกรรมเดียวกัน หรือใกล้ เคียงกับบริษท ั โดยมีการนำ�ผลสำ�รวจค่าตอบแทนกรรมการทีจ ่ ด ั ทำ�โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย (IOD) มาประกอบการพิจารณาเปรียบเทียบเป็นประจำ�ทุกปี

35


ในปี 2558 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนได้ทบทวนค่าตอบแทนกรรมการ โดยมีโครงสร้างค่า ตอบแทนกรรมการทีเ่ ป็นตัวเงินประกอบด้วย ค่าตอบแทน 3 ประเภท ได้แก่ ค่าตอบแทนรายเดือน ค่าเบีย ้ ประชุม และโบนัส โดยไม่มค ี า่ ตอบแทนทีไ่ ม่เป็นตัวเงิน และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษท ั เพือ ่ พิจารณาเห็นชอบ และทีป ่ ระชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจำ�ปี 2558 เมือ ่ วันที่ 23 เมษายน 2558 ได้มม ี ติอนุมต ั ก ิ ารกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการสำ�หรับปี 2558 ดังนี้

ค่าตอบแทนกรรมการบริษท ั และกรรมการชุดย่อย

ปี 2558 ค่าตอบแทนรายเดือน

ค่าเบีย ้ ประชุม

(บาท/คน/เดือน)

(บาท/คน/เดือน)

1. คณะกรรมการบริษท ั ประธานกรรมการ

20,000

80,000

กรรมการ

10,000

50,000

โบนัสกรรมการ

วงเงินสูงสุดไม่เกิน 5 ล้านบาทต่อปี โดยกรรมการจะจัดสรรให้สอดคล้องกับความสำ�เร็จ ตามเป้าหมายทีไ่ ด้ก�ำ หนดไว้ในตัวชีว้ ด ั ผลการดำ�เนินงาน 2. คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ งและคณะกรรมการตรวจสอบ

ประธานกรรมการ

15,000

30,000

กรรมการ

20,000

30,000

3. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการทุกท่าน

50,000 บาท ต่อคน ต่อปี 4. คณะกรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน

คณะกรรมการทุกท่าน

50,000 บาท ต่อคน ต่อปี

ในรอบปี 2558 ค่าตอบแทนรวมทีเ่ ป็นตัวเงินทีจ ่ า่ ยจริงของคณะกรรมการบริษท ั รวมเป็นจำ�นวนเงิน 6.39 ล้าน บาท ทัง ้ นี้ รายละเอียดการเข้าร่วมประชุม และค่าตอบแทนกรรมการในปี 2558 มีดง ั นี้

36


37

7/7 5/5

7/7 5/5

7/7 5/5

7/7

6/7

1/1

3/5

X

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจ สอบ/ ประธานกรรมการบริหารความเสีย ่ ง/ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่า ตอบแทน

กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการบริหารความเสีย ่ ง

กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการบริหารความเสีย ่ ง/ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

กรรมการ/ประธานกรรมการเพือ ่ การ พัฒนาอย่างยัง ่ ยืน

กรรมการอิสระ

กรรมการอิสระ

อดีตกรรมการ

รวม

3.นายสมชัย อภิวฒ ั นพร

4.นางจำ�นรรค์ ศิรต ิ น ั

5.นายศุภศักดิ์ จิรเสวีนป ุ ระพันธ์

6.นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม์

7.พลเอกวิชต ิ ยาทิพย์

8.นางชนัญญารักษ์ เพ็ชร์รต ั น์ 1

9.นางปรารถนา มงคลกุล 2

คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง X

X

X

X

X

5/5

5/5

5/5

X

X

X

X

X

X

X

4/4

X

4/4

4/4

X

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

หมายเหตุ: 1 นางชนัญญารักษ์ เพ็ชร์รต ั น์ ได้รบ ั แต่งตัง ้ เป็นกรรมการเมือ ่ 11 พฤศจิกายน 2558 2 นางปรารถนา มงคลกุล ลาออกจากการเป็นกรรมการ เมือ ่ 30 กันยายน 2558

X

X

X

X

X

X

7/7

2. นายวิรช ั เสรีภาณุ

X

7/7

กรรมการ/กรรมการบริหาร/กรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน/ กรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน

คณะกรรมการบริษท ั

ประธานกรรมการ/กรรมการบริหาร

ตำ�แหน่ง

คณะกรรมการตรวจสอบ

1. นางสาวสุณี เสรีภาณุ

รายชือ ่ กรรมการ

คณะกรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยิน X

X

X

X

2/2

X

X

X

2/2

X

คณะกรรมการบริษท ั 1,060,000

90,000

10,000

120,000

120,000

120,000

120,000

120,000

120,000

240,000

420,000

X

X

X

120,000

120,000

180,000

X

X

X

420,000

X

X

X

X

120,000

120,000

180,000

X

X

คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริหาร ความเสีย ่ ง

X

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 150,000

X

X

X

X

50,000

X

50,000

50,000

ค่าตอบแทนกรรมการ

คณะกรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยิน 100,000

X

X

X

50,000

X

X

X

50,000

X

1,730,000

90,000

10,000

120,000

170,000

290,000

240,000

350,000

220,000

2430,000

รวม ค่าตอบแทน

เบีย ้ ประชุม

2,810,000

150,000

50,000

300,000

350,000

350,000

350,000

350,000

350,000

560,000

คณะกรรมการบริษท ั

การเข้าร่วมประชุมในปี 2558

150,000

50,000

300,000

350,000

450,000

450,000

500,000

350,000

560,000

รวมเบีย ้ ประชุม

350,000 3,160,000

X

X

X

X

100,000

100,000

150,000

X

X

คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริหาร ความเสีย ่ ง

1,499,995

214,285

X

X

214,285

214,285

214,285

214,285

214,285

214,285

โบนัส กรรมการ สำ�หรับผล การดำ�เนิน งาน ปี 2557

6,389,995

454,285

60,000

420,000

734,285

954,285

904,285

1,064,285

784,285

1,014,285

รวมค่า ตอบแทนที่ เป็นตัวเงิน ทัง ้ สิน


ค่าตอบแทนผูบ ้ ริหารของบริษท ั บริษท ั พิจารณาจ่ายค่าตอบแทนผูบ ้ ริหารโดยคำ�นึงถึงความเป็นธรรมและเหมาะสมตามหน้าที่ ความรับผิด ชอบทีไ่ ด้รบ ั มอบหมาย สอดคล้องกับผลการดำ�เนินงานของบริษท ั ฯ และพิจารณาเปรียบเทียบกับอัตราค่าตอบแทนของ บริษท ั อืน ่ ทีอ ่ ยูใ่ นอุตสาหกรรมเดียวกันหรือใกล้เคียงกับบริษท ั นอกจากนี้ ยังพิจารณาผลการปฏิบต ั ง ิ านของผูบ ้ ริหารแต่ละคนตามเป้าหมายของงานทีร่ บ ั ผิดชอบ โดยมี ความสอดคล้องกับวิสย ั ทัศน์ พันธกิจ และแผนกลยุทธ์ของบริษท ั เพือ ่ เป็นแรงผลักดันให้ผบ ู้ ริหารสร้างความมัน ่ คงและ เติบโตให้แก่องค์กรในระยะยาว โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนและคณะกรรมการบริษท ั พิจารณา ประเมินผลการปฏิบต ั ง ิ านของผูบ ้ ริหารสูงสุด (CEO) และผูบ ้ ริหารระดับสูงเป็นรายบุคคลเป็นประจำ�ทุกปี เพือ ่ นำ�ผล ประเมินดังกล่าวมาประกอบการพิจารณาอนุมต ั ก ิ ารกำ�หนดค่าตอบแทนในรูปแบบของเงินเดือนและโบนัส ในปี 2558 บริษท ั ฯ ได้จา่ ยค่าตอบแทนให้กบ ั ผูบ ้ ริหารทัง ้ สิน ้ 41.6 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดค่าตอบแทน ดังนี้ ค่าตอบแทนรวม (พันบาท/ปี)

ค่าตอบแทนผูบ ้ ริหาร

2557

2558

7

6

- เงินเดือน โบนัส และค่าตอบแทนอืน ่

43,014

40,797

- เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลีย ้ งชีพ และเงินสมทบกองทุนประกันสังคม

1,081

817

ไม่มี

ไม่มี

จำ�นวนผูบ ้ ริหาร ค่าตอบแทนทีเ่ ป็นตัวเงิน

ค่าตอบแทนทีไ่ ม่เป็นตัวเงิน บุคลากร

จำ�นวนบุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556, 2557 และ 2558 บริษท ั ฯ และบริษท ั ย่อย มีพนักงานรวมทัง ้ สิน ้ จำ�นวน 3,124 คน 3,313 คน และ 3,401 คนตามลำ�ดับ โดยแบ่งตามสายงานดังนี้ ในปี 2558 บริษท ั มีจ�ำ นวนพนักงานเพิม ่ ขึน ้ เพือ ่ รองรับปริมาณงานทีเ่ พิม ่ ขึน ้ จากการวางแผนการเติบโตของ ธุรกิจบริษท ั สายงาน/ฝ่าย

2556

2557

7

7

1,588

1,437

ฝ่ายคลังสินค้าและการจัดส่ง

147

176

ฝ่ายสนับสนุนปฏิบต ั ก ิ ารขาย

976

1,196

ฝ่ายแบรนด์และการตลาด

39

107

ฝ่ายการเงินและบัญชี

56

57

ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

3

9

ฝ่ายทรัพยากรบุคคล

7

ฝ่ายวางแผนกลยุทธ์

9

กลุม ่ ธุรกิจอืน ่ 1

246

264

กลุม ่ ธุรกิจอืน ่ 2

280

อืน ่ ๆ

46

48

อืน ่ ๆ

43

รวม

3,124

3,313

ผูบ ้ ริหาร ฝ่ายการผลิต

หมายเหตุ:

38

จำ�นวนพนักงาน (คน)

1 2

2558 ผูบ ้ ริหาร

6

กลุม ่ งานปฏิบต ั ก ิ ารผลิต

1,715

กลุม ่ งานการตลาด

1,257

กลุม ่ งานการเงิน บัญชี และสนับสนุนธุรกิจ

77

8

กลุม ่ งานบริหารทุนมนุษย์

18

4

กลุม ่ งานบริหารมาตรฐานและข้อกำ�หนดทางธุรกิจ

5

กลุม ่ ธุรกิจอืน ่ ในปี 2556 และ 2557 ได้แก่ บจก.ไทม์ เดคโค คอร์ปอเรชัน ่ กลุม ่ ธุรกิจอืน ่ ในปี 2558 ได้แก่ บจก.ไทม์ เดคโค คอร์ปอเรชัน ่ และบจก.ท๊อป ที 2015

3,401


ผลตอบแทนรวมของบุคลากร บริษท ั กำ�หนดนโยบายและมีการบริหารจัดการค่าตอบแทนและสวัสดิการต่างๆ มากกว่าทีก ่ ฎหมายกำ�หนด มุง ่ เน้นให้มค ี วามเหมาะสมและสอดคล้องกับผลการดำ�เนินงานของบริษท ั และผลการประเมินการปฏิบต ั ง ิ านของพนักงาน รวมถึงสอดคล้องกับผลตอบแทนของบุคลากรในอุตสาหกรรมทีใ่ กล้เคียงกัน โดยจะต้องแข่งขันได้ เป็นธรรม มีความ ยืดหยุน ่ เพียงพอ และบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 1. ผลประโยชน์ระยะสัน ้ ของพนักงาน บริษท ั ให้ผลประโยชน์แก่พนักงาน อาทิ เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส เงินสมทบกองทุนประกันสังคมแล้ว นอกจากนี้ บริษท ั ยังมีสวัสดิการอืน ่ ๆ ให้กบ ั พนักงานทุกคน เช่น การจัดตัง ้ กองทุนสำ�รองเลีย ้ งชีพ ประกันสุขภาพแบบกลุม ่ การ ตรวจสุขภาพประจำ�ปี การจัดกิจกรรม 5 ส. การดูแลสภาพแวดล้อมในการทำ�งานให้มค ี วามปลอดภัย การให้ทน ุ การ ศึกษาแก่บต ุ รของพนักงาน เป็นต้น 2. ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน กองทุนสำ�รองเลีย ้ งชีพ บริษท ั ได้จด ั ตัง ้ กองทุนสำ�รองเลีย ้ งชีพ ตามพระราชบัญญัตก ิ องทุนสำ�รองเลีย ้ งชีพ พ.ศ. 2530 (รวมทัง ้ ทีม ่ ก ี าร แก้ไขเพิม ่ เติม) โดยพนักงานทีเ่ ข้าร่วมกองทุนสำ�รองเลีย ้ งชีพนัน ้ บริษท ั จะสมทบเงิน ร้อยละ 3 ของเงินเดือนของพนักงาน เข้ากองทุนสำ�รองเลีย ้ งชีพ และพนักงานจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุน ในอัตราร้อยละ 3 ของเงินเดือนของพนักงานแต่ละ ราย ในระหว่างปี 2558 บริษท ั ได้จา่ ยเงินสบทบเข้ากองทุนเป็น จำ�นวนเงิน 5 ล้านบาท การจ่ายเงินชดเชย บริษท ั มีภาระสำ�หรับเงินชดเชยทีต ่ อ ้ งจ่ายให้แก่พนักงานเมือ ่ ออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึง ่ บริษท ั ถือว่า เงินชดเชยดังกล่าวเป็นผลประโยชน์หลังออกจากงานสำ�หรับพนักงาน ปี 2556 ปี 2557 และปี 2558 บริษท ั และบริษท ั ย่อย จ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงานในลักษณะต่างๆ ได้แก่ เงิน เดือน โบนัส ค่าล่วงเวลา และค่าตอบแทนอืน ่ รวมแล้วเป็นจำ�นวน 697.1 ล้านบาท 844.5 ล้านบาท และ 871.7 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ข้อพิพาทด้านแรงงานทีส ่ �ำ คัญในระยะ 3 ปีทผ ่ี า่ นมา ตามทีเ่ มือ ่ เดือนกรกฎาคม 2557 ได้มก ี ารจัดตัง ้ และยืน ่ ข้อเรียกร้องโดยสหภาพแรงงานแม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริง ่ ซึง ่ บริษท ั ได้รบ ั ข้อเรียกร้องและดำ�เนินเจรจาไกล่เกลีย ่ ข้อพิพาทตามกระบวนการแรงงานสัมพันธ์ซง ่ึ เป็นไปตามพระราช บัญญัตแิ รงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ด้วยดีจนบรรลุซง ่ึ ข้อตกลงร่วมกันหลายประการ แต่ภายหลังมีการตรวจสอบพบ ว่ากระบวนการจัดตัง ้ สหภาพดังกล่าวไม่เป็นไปตามกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ ทำ�ให้สหภาพแรงงานแม็ค ยีนส์ แมนูแฟค เจอริง ่ ถูกเพิกถอนสถานภาพอย่างเป็นทางการโดยสำ�นักทะเบียนกลาง สำ�นักแรงงานสัมพันธ์ กรมสวัสดิการ และ คุม ้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ต่อมาได้มก ี ารขอจัดตัง ้ และยืน ่ ข้อเรียกร้องโดยสหภาพแรงงานใหม่ชอ ่ื ว่า สหภาพแรงงานพนักงานแม็คยีนส์ ขึน ้ มาแทนสหภาพแรงงานแม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริง ่ ซึง ่ บริษท ั ฯ อยูร่ ะหว่างดำ�เนินการเจรจาไกล่เกลีย ่ ข้อพิพาทแรงงาน ด้วยดีตามทีพ ่ นักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานแจ้งมา บริษท ั ยังรอรับทราบข้อร้องเรียนไปตามระยะทีก ่ �ำ หนด เพือ ่ ดำ�เนินการเกีย ่ วกับสหภาพฯ ตามพระราชบัญญัตแิ รงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ต่อไป การพัฒนาบุคลากร บริษัทถือว่าการพัฒนาบุคลากรเป็นปัจจัยสำ�คัญต่อความสำ�เร็จขององค์กร เมื่อบุคลากรมีความสุข และ เห็นคุณค่าในตนเอง บุคลากรเหล่านั้น ย่อมพร้อมที่จะสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้แก่ ลูกค้า คู่ค้า และชุมชน ความท้าทาย ด้านบุคลากรที่เป็นประเด็นหลัก คือ การพัฒนาบุคลากรเหล่านั้น ให้มีทักษะ ความสามารถ และมีจิตสำ�นึกที่ดี รักและ ผูกพันกับองค์กร โดยยึดถือในค่านิยมขององค์กร (Core Values) “Mc Way” เพื่อเป็นการเสริมสร้างวัฒนธรรม องค์กรที่เข้มแข็ง หลักการในการพัฒนาบุคลากรขององค์กรนัน ้ จะมีความเชือ ่ มโยงกับแผนธุรกิจของบริษท ั ด้วยการพัฒนา ทักษะ ความรู้ ความสามารถของบุคลากรในทุกระดับ ประกอบกับการวัดผลอย่างเหมาะสม ทำ�ให้แผนการพัฒนา บุคลากรมีประสิทธิภาพและส่งผลต่อการปฏิบต ั ง ิ านของบุคลากรให้บรรลุตามเป้าหมายของบริษท ั และทำ�ให้พนักงานได้ เติบโตและก้าวหน้าในสายอาชีพของพนักงานไปด้วยกัน จากความเชีย ่ วชาญของกลุม ่ บริษท ั ในเครือด้านการผลิตและการเย็บ โครงการศูนย์พฒ ั นาฝีมอ ื ช่างเย็บได้จด ั ตัง ้ ขึน ้ เพือ ่ พัฒนาฝีมอ ื แรงงานพนักงานเย็บให้มม ี าตรฐานและพัฒนาสูก ่ ารเป็นช่างฝีมอ ื นอกจากนี้ ยังมีการจัดตัง ้ MC Academy เพือ ่ พัฒนาทักษะพนักงานขายหน้าร้านให้มค ี ณ ุ ภาพทัง ้ ในด้านการขาย การบริการ และการบริหารจุดขาย ซึง ่ จะช่วยส่งเสริมให้พนักงานขายมีโอกาสทีก ่ า้ วหน้าในอาชีพต่อไป จะเห็นได้วา่ แนวทางและโครงการต่างๆ ทีบ ่ ริษท ั ฯ และบริษท ั ย่อยได้ด�ำ เนินการมาโดยตลอดนัน ้ สะท้อนให้เห็น นโยบายและปณิธานทีช ่ ด ั เจน ทีต ่ อ ้ งการสร้างความพร้อมให้แก่พนักงานทัง ้ ด้านความรูค ้ วามสามารถ เพือ ่ ให้มศ ี ก ั ยภาพ ทีจ ่ ะเติบโตไปพร้อมองค์กร และสามารถนำ�พาบริษท ั ฯ ไปสูค ่ วามเป็นเลิศทางธุรกิจอย่างยัง ่ ยืน 39


40

ฝ่ายสนับสนุนธุรกิจ

ฝ่ายบริหารตราสินค้า

ฝ่ายบริหารร้านค้าและ มาตราฐาน

ฝ่ายบริหารคุณภาพ

ฝ่ายบริหารสินค้าคงคลัง และการจัดส่ง (Warehouse Management)

ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

ฝ่ายขาย

ฝ่ายผลิต

แผนกบริหาร PC

แผนกธุรกิจ Online

ฝ่ายการตลาด

แผนกความปลอดภัย (Safety และ จป. )

ฝ่ายพัฒนาองค์กร

ฝ่ายพัฒนาทุนมนุษย์

ฝ่ายบริหารทุนมนุษย์

กลุม ่ งานบริหารทุนมนุษย์

ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและ กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่

คณะกรรมการบริหาร

แผนกธุรกิจต่างต่าง ประเทศ

ฝ่ายการเงิน,บัญชี

กลุม ่ งานการตลาด

กลุม ่ งานปฏิบต ั ก ิ ารผลิต

กลุม ่ งานการเงินและ บริหารธุรกิจ

แผนกตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการเพือ ่ การพัฒนา อย่างยัง ่ ยืน

คณะกรรมการสรรหาและพิ จรณาค่าตอบแทน

คณะกรรมการการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง

คณะกรรมการบริษท ั

แผนกตรวจสอบนับสินค้า

แผนกกฎหมาย

แผนกนักลงทุนสัมพันธ์

ฝ่ายออกแบบและบริหาร อาคารสถานที่

แผนกบริหารสำ�นักงานและ จัดซือ ้

ฝ่ายสรรหาผลิตภัณฑ์

ฝ่ายออกแบบผลิตภัณฑ์

ฝ่ายพัฒนาค้าปลีก (ปตท.)

แผนกพัฒนาเพือ ่ ความ ยัง ่ ยืน แผนก Business Inspection

ฝ่ายบริหาร Merchandising

สำ�นักกรรมการผูจ ้ ด ั การ ใหญ่

แผนกบริหารความเสีย ่ ง

กลุม ่ งานบริหารมาตราฐาน และข้อกำ�หนดทางธุรกิจ

เลขานุการบริษท ั

Mc T

Time Deco

กลุม ่ ธุรกิจอืน ่ ๆ

ผังองค์กรของ บมจ.แม็คกรุป๊


การกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี คณะกรรมการและผูบ ้ ริหารของบริษท ั ตระหนักถึงความสำ�คัญในการปฏิบต ั ต ิ ามหลักบรรษัทภิบาลในการดำ�เนิน ธุรกิจ จึงมุง ่ มัน ่ ทีจ ่ ะพัฒนาระดับการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ อ ี ย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ ให้เป็นพืน ้ ฐานสำ�คัญในการดำ�เนินธุรกิจ ของบริษท ั และเป็นทีย ่ อมรับในระดับสากล อีกทัง ้ แสดงถึงความโปร่งใส และจริยธรรมในการดำ�เนินงาน มีความรับผิด ชอบต่อผูม ้ ส ี ว่ นได้เสียของบริษท ั คณะกรรมการบริษท ั ได้ก�ำ หนดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ข ี องบริษท ั และจริยธรรมธุรกิจของบริษท ั เป็น ลายลักษณ์อก ั ษร เพือ ่ เป็นแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจสำ�หรับ กรรมการ ผูบ ้ ริหาร และพนักงานของบริษท ั เพือ ่ เสริม สร้างองค์กรให้มรี ะบบบริหารงานทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพ เพิม ่ มูลค่า และส่งเสริมการเติบโตอย่างยัง ่ ยืนของบริษท ั ต่อไป โดย คณะกรรมการจะทบทวนและปรับปรุงนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ แี ละจริยธรรมธุรกิจทุกปี เพือ ่ ให้เหมาะสมกับการ เปลีย ่ นแปลง ซึง ่ อาจเกิดจากการดำ�เนินธุรกิจ สภาพแวดล้อม สถานการณ์หรือกฎหมาย บริษท ั ได้เผยแพร่นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี และจริยธรรมธุรกิจ ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษท ั เพือ ่ สร้าง ความเข้าใจ และใช้เป็นแนวทางในการปฏิบต ั ง ิ านทีด ่ ข ี องพนักงานทุกระดับชัน ้ รวมถึงเพือ ่ เป็นข้อมูลให้กบ ั ผูถ ้ อ ื หุน ้ ผูม ้ ส ี ว่ น ได้เสีย นักลงทุน และผูส ้ นใจอืน ่ ๆ และเพือ ่ เป็นการกำ�หนดและเปิดเผยแนวทางการส่งเสริมให้เกิดการปฏิบต ั ต ิ ามจริยธรรม ธุรกิจ บริษท ั ได้ก�ำ หนดให้พนักงานทุกคนเซ็นรับทราบถึงจริยธรรมธุรกิจในการปฐมนิเทศก่อนการเริม ่ ทำ�งาน ทัง ้ นี้ จะมี การติดตามการปฏิบต ั ต ิ ามจริยธรรมธุรกิจผ่านกระบวนการตรวจสอบภายในของบริษท ั อีกด้วย ผลคะแนนจากโครงการสำ�รวจการกำ�กับดูแลกิจการบริษท ั จดทะเบียนไทย ในปี 2558 ปรากฏว่าบริษท ั ได้คะแนน เฉลีย ่ ของทัง ้ 5 หมวด เป็นคะแนน 84 ซึง ่ เท่ากับคะแนนเฉลีย ่ โดยรวมของ SET 100 Index (84 คะแนน) นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ บริษท ั ได้น�ำ นโยบายปฏิบต ั ต ิ ามข้อพึงปฏิบต ั ท ิ ด ่ี ส ี �ำ หรับกรรมการบริษท ั จดทะเบียน (Code of Best Practices for Directors of Listed Company) ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ และหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ส ี �ำ หรับ บริษท ั จดทะเบียนปี 2555 (The Principles of Good Corporate Governance For Listed Companies, 2012) ตาม แนวทางทีต ่ ลาดหลักทรัพย์ฯ กำ�หนด มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนานโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ข ี องบริษท ั โดย แบ่งเป็น 5 หมวด โดยในปี 2558 บริษท ั ได้มก ี ารปฏิบต ั ต ิ ามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ ดังนี้ หมวดที่ 1: สิทธิของผูถ ้ อ ื หุน ้ บริษัทตระหนักและให้ความสำ�คัญถึงสิทธิของผู้ถือหุ้นทุกราย โดยจะไม่กระทำ�การใดๆ ที่เป็นการละเมิด หรือ ริด รอนสิทธิของผู้ถือหุ้น รวมทั้งจะส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิของตน ในปี 2558 บริษัทดำ�เนินการในเรื่องต่างๆ ที่เป็นการส่งเสริมและอำ�นวยความสะดวกในการใช้สิทธิของผู้ถือ หุ้น ดังนี้ • มีโครงสร้างระหว่างบริษท ั บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม ทีไ่ ม่ซบ ั ซ้อน ไม่มผ ี ถ ู้ อ ื หุน ้ ร่วมและไม่มผ ี ถ ู้ อ ื หุน ้ ไขว้ และไม่มี โครงสร้างการถือหุน ้ แบบปิรามิดในกลุม ่ ของบริษท ั เพือ ่ ให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ มัน ่ ใจว่าได้รบ ั ผลตอบแทนครบถ้วน • บริษัทจัดให้มีการอำ�นวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นทุกรายไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย นัก ลงทุนสถาบัน หรือผูถ ้ อ ื หุน ้ ต่างชาติ ให้ได้รบ ั สิทธิพน ้ื ฐาน และการปฏิบต ั ใิ นการรักษาสิทธิของผูถ ้ อ ื หุน ้ อย่างเท่าเทียมกัน และละเว้นการกระทำ�ใดๆ ทีเ่ ป็นการจำ�กัดโอกาสการเข้าประชุมของผูถ ้ อ ื หุน ้ ทุกประเภท ได้แก่ สิทธิในการซือ ้ ขาย หรือโอน หุน ้ สิทธิทจ ่ี ะได้รบ ั ข้อมูลข่าวสารทีถ ่ ก ู ต้องชัดเจน สิทธิในการเข้าร่วมประชุม และลงมติอนุมต ั ก ิ ารเข้าทำ�รายการทีส ่ �ำ คัญ สิทธิในการแต่งตัง ้ หรือถอดถอนกรรมการบริษท ั สิทธิในการกำ�หนดอัตราค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษท ั สิทธิ ในการแต่งตัง ้ หรือถอดถอนผูส ้ อบบัญชีและกำ�หนดค่าสอบบัญชี สิทธิในการได้รบ ั ส่วนแบ่งกำ�ไร สิทธิในการเข้าร่วม ตัดสินใจและรับทราบถึงผลการตัดสินใจของบริษท ั ทีเ่ กีย ่ วกับการเปลีย ่ นแปลงในปัจจัยพืน ้ ฐานของบริษท ั • บริ ษั ท จั ด ส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และเอกสารประกอบการประชุ ม ให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น เป็ น การล่ ว งหน้ า อย่างน้อย 7 วัน (หรือระยะเวลาอื่นใดตามที่กฎหมายกำ�หนด) โดยหนังสือเชิญประชุมจะมีรายละเอียดระเบียบวาระ การประชุม เอกสารประกอบระเบียบวาระต่างๆ พร้อมความเห็นของคณะกรรมการบริษัท หนังสือมอบฉันทะตามที่ กระทรวงพาณิชย์กำ�หนด รายชื่อของกรรมการอิสระเพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถเลือกที่จะมอบฉันทะให้เข้าประชุมแทนได้ แผนที่แสดงสถานที่ประชุม และรายละเอียดของเอกสารที่ผู้ถือหุ้นจะต้องนำ�มาแสดงในวันประชุมด้วย เพื่อรักษาสิทธิ ในการเข้าประชุมและการลงคะแนนเสียง และเป็นไปตามข้อบังคับของบริษัท เกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ผู้ถือหุ้น ยังสามารถเข้าดูข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับระเบียบวาระการประชุมของบริษัทแต่ละครั้งได้ทางเว็บไซต์ของบริษัท [www.mcgroupnet.com]

41


• เผยแพร่สารสนเทศ รายละเอียดการใช้สท ิ ธิในเรือ ่ งต่างๆ ผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และเว็บไซต์ของบริษท ั โดยคำ�นึงถึงความเท่าเทียมกันในการรับรูข ้ า่ วสาร ระยะเวลาการใช้สท ิ ธิ และความสะดวกในการ ใช้สท ิ ธิดง ั กล่าว โดยไม่กระทำ�การใดๆ ทีเ่ ป็นการจำ�กัดสิทธิในการเข้าถึงสารสนเทศของบริษท ั หรือปิดกัน ้ การติดต่อ สือ ่ สารระหว่างผูถ ้ อ ื หุน ้ ด้วยกัน • กรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง บริษัท เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะ ให้ กรรมการอิสระหรือบุคคลใดๆ เข้าร่วมประชุมแทนได้ • ในการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ แต่ละครัง ้ ประธานทีป ่ ระชุม หรือผูท ้ ไ่ี ด้รบ ั มอบหมายจะชีแ้ จงเกีย ่ วกับกฎเกณฑ์ทใ่ี ช้ในการ ประชุม รวมถึงขัน ้ ตอนการออกเสียงลงมติ และจัดสรรเวลาในการประชุมอย่างเพียงพอ • ในระหว่างการประชุม ประธานทีป ่ ระชุมได้เปิดโอกาสให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ ทุกคนมีสท ิ ธิเ์ ท่าเทียมกันในการซักถาม แสดง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ ได้อย่างเต็มที่ โดยมีกรรมการและผูบ ้ ริหารทีเ่ กีย ่ วข้องเข้าร่วมประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ เพือ ่ ตอบคำ�ถามในทีป ่ ระชุม พร้อมทัง ้ รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆ ของผูถ ้ อ ื หุน ้ เพือ ่ ทีจ ่ ะนำ�ไปพิจารณา หรือ ดำ�เนินการตามสมควรต่อไป และเมือ ่ การประชุมแล้วเสร็จ บริษท ั จะจัดทำ�รายงานการประชุมอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ ภายใน 14 วันนับจากวันประชุม แล้วนำ�ส่งรายงานการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ดังกล่าวให้กบ ั หน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข้องภายในเวลาที่ กำ�หนด และเผยแพร่รายงานการประชุมทางเว็บไซต์ของบริษท ั เพือ ่ ให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ และบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องสามารถตรวจสอบได้ หมวดที่ 2: การปฏิบต ั ต ิ อ ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ อย่างเท่าเทียมกัน บริษัท จะปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียม และเป็นธรรม ทั้งผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นที่ไม่เป็นผู้ บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย นักลงทุนสถาบัน หรือผู้ถือหุ้นต่างชาติ โดยมีหลักการดังนี้ • บริษัทมีนโยบาย และมีการปฏิบัติในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาและโปร่งใส แก่ผู้ถือหุ้น โดยมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่มีสาระสำ�คัญอย่างสม่ำ�เสมอ รวมถึงจัดให้มีช่องทางการสื่อสารที่ หลากหลาย เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับข้อมูลอย่างเท่าเทียมกัน เช่น สอบถามข้อมูลข่าวสารต่างๆ ผ่านหน่วยงานนักลงทุน สัมพันธ์ ผ่านเว็บไซต์บริษัท หรือการเปิดเผยข้อมูลบริษัทไปยังตลาดหลักทรัพย์อย่างครบถ้วน เป็นต้น • บริษัทมีนโยบายและวิธีการดูแลกรรมการและผู้บริหารในการนำ�ข้อมูลภายในของบริษัท ซึ่งยังไม่เปิดเผยต่อ สาธารณชนไปใช้เพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน (นโยบายการใช้ข้อมูลภายในได้เปิดเผยไวในข้อ 9.5) การประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจำ�ปี 2558 บริษัทให้ความสำ�คัญต่อสิทธิของผู้ถือหุ้น และการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน โดยนำ�หลักการที่ เกี่ยวข้องมาปรับใช้อย่างเป็นรูปธรรมในการจัดประชุมผู้ถือหุ้นทุกครั้ง ตั้งแต่ก่อนการประชุม วันประชุม และหลังการ ประชุม สำ�หรับการประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจำ�ปี 2558 จัดขึน ้ ในวันที่ 23 เมษายน 2558 เวลา 14.00 น. ห้องประชุม สุวรรณภูมิ แกรนด์บอลรูม โรงแรมโนโวเทล สุวรรณภูมิ แอร์พอร์ต เลขที่ 999 หมูท ่ ่ี 1 ตำ�บลหนองปรือ อำ�เภอบางพลี สมุทรปราการ ซึง ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ สามารถใช้บริการขนส่งมวลชนได้หลายรูปแบบในการเดินทางมาประชุม การประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจำ�ปี 2558 ผูถ ้ อ ื หุน ้ มาประชุมด้วยตนเองและผูร้ บ ั มอบฉันทะรวมจำ�นวน 574 ราย คิดเป็น 75.12% ของจำ�นวนหุน ้ ทัง ้ หมด มีกรรมการบริษท ั เข้าร่วมประชุมครบทัง ้ 8 ท่าน คิดเป็น 100% โดยประธาน กรรมการ กรรมการบริษท ั ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง ประธาน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประธานคณะกรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร และกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ ผูบ ้ ริหารระดับสูง เลขานุการบริษท ั และผูส ้ อบบัญชี เข้าร่วมประชุมอย่างครบถ้วนพร้อม เพรียงกัน ทัง ้ นี้ รายละเอียดการดำ�เนินการประชุม มีดง ั นี้ ก่อนการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ • บริษท ั จัดทำ�หนังสือเชิญประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ทัง ้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยในการประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจำ�ปี 2558 ได้เผยแพร่หนังสือเชิญประชุมบนเว็บไซต์ของบริษท ั ตัง ้ แต่วน ั ที่ 23 มีนาคม 2558 ล่วงหน้าก่อนวันประชุม 30 วัน และจัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่ผถ ู้ อ ื หุน ้ ล่วงหน้าก่อนวันประชุม 21 วัน เพือ ่ ให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ ได้รบ ั เอกสารล่วงหน้าก่อนวัน ประชุมและมีเวลาศึกษาข้อมูลก่อนวันประชุมอย่างเพียงพอ • ในหนังสือเชิญประชุม บริษัท มีการระบุข้อเท็จจริงและเหตุผล และความเห็นของคณะกรรมการบริษัท เพื่อ ประกอบการพิจารณาของผูถ ้ อ ื หุน ้ อย่างครบถ้วนและเพียงพอ โดยวาระการประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประกอบด้วย 1) ในวาระแต่งตัง ้ กรรมการ ได้ระบุชอ ่ื -นามสกุล อายุ ประวัตก ิ ารศึกษา ประวัตก ิ ารทำ�งานของกรรมการแต่ละ คนทีจ ่ ะเสนอแต่งตัง ้ จำ�นวนบริษท ั ทีด ่ �ำ รงตำ�แหน่งกรรมการ โดยแยกเป็นหัวข้อบริษท ั จดทะเบียน และบริษท ั ทัว่ ไป หลัก เกณฑ์และวิธก ี ารสรรหา ประเภทของกรรมการทีเ่ สนอ ข้อมูลการเข้าร่วมประชุมในปีทผ ่ี า่ นมา และวันที่ เดือนและปีทไ่ี ด้รบ ั การแต่งตัง ้ เป็นกรรมการของบริษท ั 2) วาระการพิจารณาค่าตอบแทน มีการให้ขอ ้ มูลเกีย ่ วกับนโยบาย จำ�นวนเงินและรูปแบบค่าตอบแทนแยกตาม ตำ�แหน่งและภาระหน้าทีข ่ องกรรมการ หลักเกณฑ์และวิธก ี ารพิจารณาค่าตอบแทน โดยให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ พิจารณาค่าตอบแทน ของคณะกรรมการบริษท ั และคณะกรรมการชุดย่อยทุกชุด 42


3) วาระการแต่งตัง ้ ผูส ้ อบบัญชี ได้ให้ขอ ้ มูลเกีย ่ วกับชือ ่ ผูส ้ อบบัญชีและสำ�นักงานสอบบัญชี ความเป็นอิสระของผู้ สอบบัญชี การพิจารณาความเหมาะสมของค่าสอบบัญชี โดยแสดงค่าสอบบัญชีแยกจากค่าบริการอืน ่ 4) วาระการจ่ายเงินปันผล ได้ให้ขอ ้ มูลเกีย ่ วกับนโยบายการจ่ายเงินปันผล จำ�นวนเงินทีข ่ ออนุมต ั ิ เปรียบเทียบกับ จำ�นวนเงินทีจ ่ า่ ยในปีกอ ่ น • ไม่มีการแจกเอกสารที่มีข้อมูลสำ�คัญในที่ประชุมผู้ถือหุ้นอย่างกะทันหัน รวมทั้งไม่เพิ่มวาระการประชุม หรือ เปลี่ยนแปลงข้อมูลที่สำ�คัญโดยไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า • อำ�นวยความสะดวกให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ ทีไ่ ม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเองโดยการจัดส่งหนังสือมอบฉันทะทุกแบบ ตามทีก ่ ระทรวงพาณิชย์ก�ำ หนด ซึง ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ สามารถกำ�หนดทิศทางการลงคะแนนได้ พร้อมรายละเอียดวิธก ี ารมอบ ฉันทะในการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ไปพร้อมกับหนังสือเชิญประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ และเผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์ของบริษท ั ผูถ ้ อ ื หุน ้ สามารถ ดาวน์โหลดหนังสือมอบฉันทะได้จากเว็บไซต์ของบริษท ั นอกจากนี้ ได้เปิดเผยรายชือ ่ พร้อมประวัตข ิ องกรรมการอิสระให้ ผูถ ้ อ ื หุน ้ สามารถเลือกเป็นผูร้ บ ั มอบฉันทะไว้ดว้ ย วันประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ • กำ�หนดให้มรี ะยะเวลาการลงทะเบียนล่วงหน้าก่อนการประชุม 2 ชัว่ โมง โดยได้น�ำ ระบบคอมพิวเตอร์และบาร์ โค้ดมาใช้ในการลงทะเบียนและตรวจนับคะแนน เพือ ่ ความถูกต้อง รวดเร็ว และเชือ ่ ถือได้ของข้อมูล โดยผูถ ้ อ ื หุน ้ สถาบัน สามารถส่งหนังสือมอบฉันทะมาลงทะเบียนได้กอ ่ นล่วงหน้า เพือ ่ ป้องกันมิให้เริม ่ ประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ล่าช้าอันเกิดมาจากการ ลงทะเบียนเข้าประชุมล่าช้า • กำ�หนดให้สท ิ ธิออกเสียงในทีป ่ ระชุมเป็นไปตามจำ�นวนหุน ้ ทีผ ่ ถ ู้ อ ื หุน ้ ถืออยู่ โดยหนึง ่ หุน ้ มีสท ิ ธิเท่ากับหนึง ่ เสียง • ก่อนเริม ่ การประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ บริษท ั ได้ชแ้ี จงวิธก ี ารลงคะแนนและนับคะแนนให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ ในทีป ่ ระชุมรับทราบ • บริษท ั ใช้บต ั รลงคะแนนมาในการลงมติในการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ โดยจัดทำ�บัตรลงคะแนนแยกตามวาระแต่ละวาระ เพือ ่ ให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ สามารถลงคะแนนได้ตามทีเ่ ห็นสมควร โดยเฉพาะในวาระเลือกตัง ้ กรรมการ ได้ให้มก ี ารเลือกกรรมการราย บุคคล และเก็บบัตรลงคะแนนทุกประเภทสำ�หรับวาระเลือกตัง ้ กรรมการ (ทัง ้ กรณีเห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง) • ในการสรุปผลการนับคะแนนเสียงแต่ละวาระ จะมีการแสดงผลคะแนนให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ ในทีป ่ ระชุมรับทราบทุกวาระ ตามลำ�ดับ • ดำ�เนินการประชุมผู้ถือหุ้นตามลำ�ดับวาระที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นอย่างถูกต้องและโปร่งใส ตามข้อกฎหมายและข้อบังคับของบริษท ั และมีนโยบายทีจ ่ ะไม่เพิม ่ ระเบียบวาระในทีป ่ ระชุมโดยไม่แจ้งให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ ทราบล่วง หน้าโดยไม่จ�ำ เป็น โดยเฉพาะวาระสำ�คัญทีผ ่ ถ ู้ อ ื หุน ้ ต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจ หลังการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ • นำ�ส่งมติทป ่ี ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ภายในวันประชุมผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย เพื่อให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่ได้เข้าร่วมประชุมรับทราบในทันที • จั ด ทำ � รายงานการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และนำ � ส่ ง สำ � เนารายงานการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ให้ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ภายใน 14 วันนับจากวันประชุมตามกำ�หนด และได้เผยแพร่รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษทางเว็บไซต์ของบริษัทพร้อมกันด้วย • ในปี 2558 บริษัทได้รับคะแนนประเมินคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้น 89 คะแนน ภายใต้โครงการ ประเมินคุณภาพ AGM ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย ร่วมกับสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสมาคมบริษัทจดทะเบียน โดยหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ ครอบคลุมขั้นตอนต่างๆ ในการจัดประชุมผู้ถือหุ้น ตั้งแต่ก่อนวันประชุม วันประชุม และภายหลังวันประชุม หมวดที่ 3: บทบาทของผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย บริษท ั ให้ความสำ�คัญต่อผูม ้ ส ี ว่ นได้เสียทุกฝ่ายโดยยึดหลักผลประโยชน์รว่ มกันอย่างยัง ่ ยืน โดยกำ�หนดเป็น นโยบาย และบทบาทต่อผูม ้ ส ี ว่ นได้เสียไว้อย่างชัดเจนใน “จริยธรรมต่อผูม ้ ส ี ว่ นได้เสีย” มีรายละเอียดการดำ�เนินงานดังนี้ ผูถ ้ อ ื หุน ้ บริษท ั มุง ่ มัน ่ จะดำ�เนินธุรกิจของบริษท ั ให้มผ ี ลประกอบการทีด ่ แี ละมีประสิทธิภาพ สร้างการเติบโตอย่างมีคณ ุ ภาพ และมัน ่ คง เพือ ่ สร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กบ ั ผูถ ้ อ ื หุน ้ โดยคำ�นึงถึงการเจริญเติบโตของมูลค่าบริษท ั ในระยะยาวด้วย ผลตอบแทนทีด ่ แี ละยัง ่ ยืน รวมทัง ้ เคารพสิทธิของผูถ ้ อ ื หุน ้ โดยการดำ�เนินการเปิดเผยข้อมูลอย่างเท่าเทียม โปร่งใส เชือ ่ ถือได้ตอ ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ พนักงาน พนักงานเป็นทรัพยากรอันมีคา่ สูงสุดและเป็นปัจจัยสำ�คัญสูค ่ วามสำ�เร็จของบริษท ั บริษท ั จึงดูแลและปฏิบต ั ต ิ อ ่ พนักงานทุกระดับอย่างเป็นธรรม เหมาะสม และเป็นไปตามมาตรฐานสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนตามนโยบายของบริษท ั 43


อย่างเคร่งครัด ไม่วา่ จะเป็นการไม่เลือกปฏิบต ั ก ิ บ ั พนักงาน การกำ�หนดผลตอบแทนตอบแทนและสวัสดิการทีเ่ หมาะสม หรือ การแต่งตัง ้ โยกย้ายบนพืน ้ ฐานของคุณธรรม อีกทัง ้ ได้มง ุ่ พัฒนาเสริมสร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศการทำ�งาน ทีด ่ ี ส่งเสริมการทำ�งานเป็นทีม ปฏิบต ั ต ิ อ ่ พนักงานด้วยความสุภาพ ให้ความเคารพในสิทธิมนุษยชนของพนักงาน และ การใช้ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สง ู สุดแก่บริษท ั บริษัทมีความรับผิดชอบในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมการทำ�งานให้มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน ของพนักงานอยูเ่ สมอ และยึดมัน ่ ปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายว่าด้วยแรงงานอย่างเคร่งครัด บริษท ั เคารพในสิทธิมนุษยชนและความเป็นส่วนตัวของพนักงาน ไม่น�ำ ข้อมูลส่วนตัว เช่น เงินเดือน ประวัติ การรักษาพยาบาล ครอบครัว ไปเปิดเผยให้กบ ั บุคคลภายนอกหรือผูท ้ ไ่ี ม่เกีย ่ วข้อง เว้นแต่เป็นข้อมูลทีต ่ อ ้ งเปิดเผยต่อ บุคคลภายนอกทีเ่ กีย ่ วข้องตามบทบังคับของกฎหมาย ลูกค้า บริษท ั มีนโยบายให้ความสำ�คัญต่อการสร้างคุณค่า และเติบโตไปพร้อมกับลูกค้า ตลอดจนเป็นทีไ่ ว้วางใจของ ลูกค้า ซึง ่ เป็นปัจจัยทีน ่ �ำ ไปสู่ ความสำ�เร็จของธุรกิจบริษท ั โดยปฏิบต ั ต ิ อ ่ ลูกค้าด้วยความจริงใจและสุภาพอ่อนน้อม และมี เจตจำ�นงทีจ ่ ะแสวงหาวิธก ี ารทีจ ่ ะสนองความต้องการของลูกค้าให้มป ี ระสิทธิภาพมากยิง ่ ขึน ้ โดยกำ�หนดเป็นนโยบายและ ข้อปฏิบต ั ไิ ว้อย่างจัดเจนในจริยธรรมธุรกิจ เช่น การผลิตและส่งมอบสินค้าทีผ ่ า่ นการรับรองคุณภาพและได้มาตรฐาน ตรงตามข้อตกลงกับลูกค้าในราคาทีเ่ ป็นธรรม ให้ขอ ้ มูลข่าวสารและคำ�แนะนำ�ทีถ ่ ก ู ต้อง เพียงพอ และทันเหตุการณ์ มี ระบบการจัดการเก็บข้อมูลของลูดค้าอย่างปลอดภัย มีมาตรการรักษาความลับของลูกค้าและไม่น�ำ ข้อมูลของลูกค้าไป ใช้เพือ ่ ประโยชน์ของตนเอง และ/หรือผูท ้ เ่ี กีย ่ วข้องโดยมิชอบ มีระบบ/กระบวนการ ทีใ่ ห้ลก ู ค้าร้องเรียนเกีย ่ วกับคุณภาพ ปริมาณ ความปลอดภัยของสินค้าและบริการ เป็นต้น คูค ่ า้ และ/หรือเจ้าหนีห ้ รือลูกหนี้ บริษท ั มีนโยบายทีจ ่ ะให้การปฏิบต ั ต ิ อ ่ คูค ่ า้ รวมถึงเจ้าหนี้ อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม โดยคำ�นึงถึงประโยชน์ สูงสุดของบริษท ั และตัง ้ อยูบ ่ นพืน ้ ฐานทีเ่ ป็นธรรมต่อทัง ้ สองฝ่าย หลีกเลีย ่ งสถานการณ์ทท ่ี �ำ ให้เกิดความขัดแย้งทางผล ประโยชน์ ให้ขอ ้ มูลทีเ่ ป็นจริง รายงานทีถ ่ ก ู ต้อง รวมทัง ้ ยึดมัน ่ ในข้อสัญญาและถือปฏิบต ั ต ิ ามเงือ ่ นไขทีม ่ ต ี อ ่ เจ้าหนีเ้ ป็น สำ�คัญ ในการชำ�ระคืนเงินต้น ดอกเบีย ้ และการดูแลหลักประกันต่างๆ การดำ�เนินธุรกิจกับคูค ่ า้ ใดๆ ต้องไม่น�ำ มาซึง ่ ความเสือ ่ มเสียต่อชือ ่ เสียงของบริษท ั หรือขัดต่อกฎหมายใดๆ มี การคำ�นึงถึงความเสมอภาคในการดำ�เนินธุรกิจและผลประโยชน์รว่ มกันกับคูค ่ า้ การคัดเลือกคูค ่ า้ ต้องทำ�อย่างยุตธ ิ รรม ทัง ้ นีบ ้ ริษท ั ถือว่าคูค ่ า้ เป็นปัจจัยสำ�คัญในการร่วมสร้างมูลค่าให้กบ ั ลูกค้า คูแ่ ข่งทางการค้า บริษท ั มีนโยบายสนับสนุน และส่งเสริมการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรีและเป็นธรรม รวมถึงการกำ�หนดแนว ปฏิบต ั ต ิ อ ่ คูแ่ ข่งทางการค้า ภายใต้กรอบแห่งกฎหมายเกีย ่ วกับหลักปฏิบต ั ก ิ ารแข่งขันทางการค้า ไม่ละเมิดความลับ หรือ ล่วงรูค ้ วามลับทางการค้าของคูแ่ ข่งทางการค้า ด้วยวิธฉ ี อ ้ ฉล ผิดกฎหมาย หรือขัดต่อจริยธรรม สังคมส่วนรวม บริษท ั ในฐานะเป็นบริษท ั ไทย ตระหนักและมีจต ิ สำ�นึกในบุญคุณของประเทศและเป็นส่วนหนึง ่ ของสังคม ซึง ่ ต้อง รับผิดชอบช่วยเหลือสังคม สนับสนุนกิจกรรมของท้องถิน ่ ทีบ ่ ริษท ั มีการดำ�เนินธุรกิจ ตลอดระยะเวลาของการดำ�เนินงานของบริษท ั บริษท ั ปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมาย และ/หรือกฎระเบียบทีเ่ กีย ่ วข้อง และ พยายามยกระดับการปฏิบต ั ใิ ห้มม ี าตรฐานสูงกว่ากฎหมายกำ�หนด ตลอดจนดูแลป้องกันมิให้การดำ�เนินงานของบริษท ั ก่อให้เกิดความเสียหายต่อคุณภาพชีวต ิ ของสังคม ชุมชน และสิง ่ แวดล้อม ส่งเสริมและสร้างสรรค์สง ั คม ทัง ้ ในส่วนของ การพัฒนาคุณภาพชีวต ิ การส่งเสริมด้านการศึกษา การประหยัดพลังงาน และการรักษาสิง ่ แวดล้อม นอกจากนี้ บริษท ั ยังให้ความสำ�คัญกับการสือ ่ สารและเผยแพร่ความรูด ้ า้ นสิง ่ แวดล้อมไปสูผ ่ ม ู้ ส ี ว่ นได้เสียทีเ่ กีย ่ วข้อง เพือ ่ ร่วมกันดูแลรักษา สิง ่ แวดล้อม และถ่ายทอดความรูแ้ ละประสบการณ์ทบ ่ี ริษท ั มีความเชีย ่ วชาญให้เป็นประโยชน์กบ ั สังคม เช่น โครงการ ฝึกสอนการเย็บผ้า เป็นต้น บริษท ั ยังให้ความสำ�คัญต่อการไม่ละเมิดทรัพย์สน ิ ทางปัญญา หรือลิขสิทธิ์ โดยมีการกำ�หนดนโยบายการใช้ งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของบริษท ั และมีการตรวจสอบการใช้โปรแกรม หรือซอฟต์แวร์ทใ่ี ช้ในการทำ�งานของ พนักงานอยูเ่ สมอ เพือ ่ ป้องกันการใช้โปรแกรม หรือ ซอฟต์แวร์ทล ่ี ะเมิดลิขสิทธิห ์ รือไม่เกีย ่ วข้องกับการทำ�งาน รวมไปถึง การให้ความสำ�คัญกับการตรวจสอบ และจดทะเบียนเครือ ่ งหมายการค้าของบริษท ั อย่างถูกต้อง เพือ ่ ป้องกันการละเมิด หรือถูกละเมิดทรัพย์สน ิ ทางปัญญาจากผูอ ้ น ่ื ด้วยเช่นกัน อีกทัง ้ บริษท ั มีนโยบายผลิตสินค้าและให้บริการใดๆ ทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง ่ แวดล้อมและปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายสิง ่ แวดล้อม ส่งเสริมกิจกรรมการดูแลรักษาธรรมชาติและอนุรก ั ษ์พลังงาน และมีนโยบายทีจ ่ ะคัดเลือกและส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์ท่ี เป็นมิตรกับสิง ่ แวดล้อม โดยสามารถดูรายละเอียดการดำ�เนินงานได้ในหัวข้อการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน นอกจากนี้ พนักงานและผูม ้ ส ี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย สามารถสอบถามรายละเอียด แจ้งข้อร้องเรียน หรือแจ้งเบาะแส การกระทำ�ผิดทางกฎหมาย ความถูกต้องของรายงานทางการเงิน การถูกละเมิดสิทธิ ระบบควบคุมภายในทีบ ่ กพร่อง

44


หรือการผิดจริยธรรมธุรกิจของบริษท ั ผ่านกรรมการตรวจสอบของบริษท ั ได้ ทัง ้ นี้ ข้อมูลการร้องเรียน หรือ แจ้งเบาะแส และข้อมูลของผูร้ อ ้ งเรียน จะได้รบ ั การคุม ้ ครองและเก็บไว้เป็นความลับตามมาตรการคุม ้ ครองผูร้ อ ้ งเรียน โดยกรรมการ ตรวจสอบจะดำ�เนินการสัง ่ การให้มก ี ารตรวจสอบข้อเท็จจริง สรุปรายละเอียดของเรือ ่ งร้องเรียนทัง ้ หมด พร้อมทัง ้ หา แนวทางแก้ไข (ถ้ามี) และรายงานต่อคณะกรรมการบริษท ั เพือ ่ พิจารณาให้ขอ ้ เสนอแนะ แก้ไขเยียวยา หรือดำ�เนินการอืน ่ ใดต่อไป โดยช่องทางในการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน มีดง ั นี้ • จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ auditcommittee@mcgroupnet.com • จดหมายทางไปรษณีย์ ประธานกรรมการตรวจสอบ หรือ ผูจ ้ ด ั การฝ่ายตรวจสอบภายใน บริษท ั แม็คกรุป ๊ จำ�กัด (มหาชน) เลขที่ 448,450 ถนนอ่อนนุช แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท์ 02-329-1051-6 โทรสาร 02-727-7287 ทัง ้ นี้ ในปี 2558 ไม่ปรากฏว่ามีการร้องเรียน หรือ แจ้งเบาะแสจากผูม ้ ส ี ว่ นได้เสีย หมวดที่ 4: การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษท ั ให้ความสำ�คัญต่อการเปิดเผยข้อมูลทีม ่ ค ี วามถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส ตรงเวลา และได้มาตรฐานตาม หลักเกณฑ์ทต ่ี ลาดหลักทรัพย์ฯ หรือสำ�นักงาน ก.ล.ต. กำ�หนด ทัง ้ รายงานทางการเงินและข้อมูลทัว่ ไป ตลอดจนข้อมูล อืน ่ ๆ ทีส ่ �ำ คัญทีม ่ ผ ี ลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์และมีผลต่อการตัดสินใจของผูล ้ งทุนและผูม ้ ส ี ว่ นได้เสียของบริษท ั เพือ ่ ให้ ผูท ้ เ่ี กีย ่ วข้องกับบริษท ั ทัง ้ หมดได้รบ ั ทราบข้อมูลอย่างเท่าเทียมกัน โดยบริษท ั จะเผยแพร่ขอ ้ มูลผ่านช่องทางของ ตลาด หลักทรัพย์ฯ และผ่านทางเว็บไซต์ของบริษท ั ที่ www.mcgroupnet.com คณะกรรมการบริษท ั ตระหนักถึงความรับผิดชอบในการจัดทำ�รายงานทางการเงินรวมของบริษท ั ตลอดจน สารสนเทศทีเ่ สนอต่อผูถ ้ อ ื หุน ้ ในรายงานประจำ�ปี ดูแลคุณภาพของรายงานทางการเงินรวมทัง ้ งบการเงินรวมของบริษท ั ให้มก ี ารจัดทำ�งบตามมาตรฐานการบัญชีทร่ี บ ั รองทัว่ ไป มีการตรวจสอบบัญชีโดยผูส ้ อบบัญชีทเ่ี ชือ ่ ถือได้ และมีความเป็น อิสระ ดูแลให้บริษท ั เลือกใช้นโยบายบัญชีอย่างเหมาะสมและถือปฏิบต ั อ ิ ย่างสม่�ำ เสมอ จัดการดูแลให้รายงานทางการเงิน รวมของบริษท ั มีความถูกต้อง ครบถ้วนเป็นจริง และมีการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญเพียงพอครบถ้วนและเชือ ่ ถือได้ นอกจากนีค ้ ณะกรรมการได้แต่งตัง ้ คณะกรรมการตรวจสอบ เพือ ่ ทำ�หน้าทีใ่ นการสอบทานรายงานทางการเงิน ให้มค ี วามถูกต้อง ครบถ้วนและเชือ ่ ถือได้ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลให้ถก ู ต้อง ชัดเจน โปร่งใสและทันเวลาตามข้อกำ�หนด ของการเป็นบริษท ั จดทะเบียน สอบทานระบบควบคุมภายในเพือ ่ ให้มรี ะบบการควบคุมภายในทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพ รวม ถึงการพิจารณาปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายและระเบียบของบริษท ั นอกจากนีค ้ ณะกรรมการตรวจสอบก็ยง ั มีการสอบทาน พิจารณารายการเกีย ่ วโยงหรือรายการทีม ่ ค ี วามขัดแย้งทางผลประโยชน์ ถึงความเหมาะสมและสมเหตุสมผล ก่อนทีจ ่ ะ นำ�เสนอให้กบ ั ทางคณะกรรมการบริษท ั พิจารณาอนุมต ั ต ิ อ ่ ไป ในปี 2558 บริษท ั ได้จด ั ทำ�คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ (Management Discussion and Analysis หรือ MD&A) เพือ ่ ประกอบการเปิดเผยงบการเงินทุกไตรมาส เพือ ่ ให้นก ั ลงทุนได้รบ ั ทราบข้อมูลและเข้าใจการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษัทในแต่ละไตรมาสได้ดีย่ง ิ ขึ้นนอกเหนือจากข้อมูล ตัวเลขในงบการเงินเพียงอย่างเดียว นอกจากนี้ บริษท ั จัดให้มรี ายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินแสดงควบคู่ กับ รายงานของผูส ้ อบบัญชี และเปิดเผยค่าสอบบัญชีและค่าบริการอืน ่ ทีผ ่ ส ู้ อบบัญชีให้บริการไว้ในรายงานประจำ�ปีอก ี ด้วย ในส่วนของงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์นน ้ั บริษท ั ได้จด ั ตัง ้ หน่วยงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์ เพือ ่ สือ ่ สารข้อมูล สำ�คัญทีเ่ ป็นประโยชน์แก่นก ั ลงทุนสถาบัน ผูถ ้ อ ื หุน ้ นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ สือ ่ มวลชน และประชาชนทัว่ ไป รวมถึง รายงานการปฏิบต ั ง ิ านด้านนักลงทุนสัมพันธ์ตอ ่ ทีป ่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั รับทราบเป็นรายไตรมาส อย่างไรก็ดก ี าร เปิดเผยข้อมูลทีเ่ กีย ่ วข้องกับผลประกอบการของบริษท ั แก่ผถ ู้ อ ื หุน ้ นักลงทุน และนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ต้องมีชว่ งเวลา ทีเ่ หมาะสมในการทีจ ่ ะงดการเปิดเผยข้อมูล เพือ ่ ให้การดำ�เนินงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษท ั เป็นไปตามหลักการ กำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี โดยมีการเปิดเผยข้อมูลทีโ่ ปร่งใสและเท่าเทียม ทัง ้ นีใ้ นรอบปีนง ้ี านด้านนักลงทุนสัมพันธ์ทไ่ี ด้ด�ำ เนิน การ ได้แก่ 1. การต้อนรับนักลงทุนและนักวิเคราะห์ที่ขอพบ (Company Visit) หรือผ่านทางโทรศัพท์ (Conference Call) เป็นจำ�นวนทั้งสิ้น 79 ครั้ง 2. การเข้าร่วมประชุมนักลงทุนที่จัดขึ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งหมด 10 ครั้ง ได้แก่ - Investor Conference และ Road Show ในประเทศ จำ�นวน 6 ครั้ง - Investor Conference และ Road Show ต่างประเทศ จำ�นวน 4 ครั้ง 3. การเข้าร่วมงานบริษัทจดทะเบียนพบผู้ลงทุน (Opportunity Day) ซึ่งจัดโดยตลาดหลักทรัพย์ฯ เป็น ประจำ�ทุกไตรมาส 4. การจัดงานเยี่ยมชมกิจการ (Site Visit) สำ�หรับนักลงทุน จำ�นวน 1 ครั้ง 45


ทัง ้ นี้ เพือ ่ เป็นช่องทางในการสือ ่ สารระหว่างบริษท ั กับผูถ ้ อ ื หุน ้ และนักลงทุน ผูส ้ นใจสามารถติดต่องาน นักลงทุน สัมพันธ์ของบริษท ั ได้ท่ี ผูต ้ ด ิ ต่อ : นางสาวสุทธิภา วัชโรทยางกูร (ผูอ ้ �ำ นวยการแผนกนักลงทุนสัมพันธ์) ทีอ ่ ยู่ : บมจ.แม็คกรุป ๊ เลขที่ 2 ถนนสุขาภิบาล 2 ซอย 5 เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท์ : 02 117-9999 ต่อ 1210 โทรสาร : 02 117-9998 E-mail: ir@mcgroupnet.com หมวดที่ 5: ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. โครงสร้างคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษท ั ประกอบด้วยกรรมการทีม ่ ค ี วามรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการดำ�เนินธุรกิจ ทำ� หน้าทีพ ่ จ ิ ารณาให้ความเห็นชอบในเรือ ่ งสำ�คัญทีเ่ กีย ่ วกับการบริหารของบริษท ั อาทิ นโยบาย วิสย ั ทัศน์ กลยุทธ์ เป้า หมาย ภารกิจ แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริษท ั ตลอดจนกำ�กับดูแลให้คณะผูบ ้ ริหาร บริหารงานให้เป็นไปตาม นโยบายทีก ่ �ำ หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลภายใต้กรอบของกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติท่ี ประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ มติทป ่ี ระชุมคณะกรรมการ ด้วยความซือ ่ สัตย์สจ ุ ริตระมัดระวัง ตามหลักการข้อพึงปฏิบต ั ท ิ ด ่ี ี เพือ ่ เพิม ่ มูลค่าสูงสุดให้แก่กจ ิ การ และความมัน ่ คงสูงสุดให้แก่ผถ ู้ อ ื หุน ้ คณะกรรมการบริษท ั ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 8 ท่าน และเป็นกรรมการอิสระจำ�นวน 5 ท่าน คิดเป็นสัดส่วน กรรมการอิสระเกินกว่า 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทัง ้ หมด โดยกรรมการอิสระทุกท่านเป็นบุคคลทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตค ิ รบ ถ้วนตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน และประกาศตลาดหลักทรัพย์ฯ ทีเ่ กีย ่ วข้อง และสามารถปฏิบต ั ห ิ น้าที่ กรรมการอิสระได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นประโยชน์กบ ั บริษท ั อย่างเต็มที่ คณะกรรมการบริษัทมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งตามข้อบังคับของบริษัทที่กำ�หนดไว้ว่าในการประชุมผู้ถือหุ้น สามัญประจำ�ปีทก ุ ครัง ้ ให้กรรมการออกจากตำ�แหน่งจำ�นวนหนึง ่ ในสาม (1/3) ของจำ�นวนกรรมการ หากจำ�นวน กรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำ�นวนใกล้ทส ่ี ด ุ กับส่วนหนึง ่ ในสาม (1/3) ทัง ้ นี้ เพือ ่ ให้การกำ�กับดูแลเป็นไปตามอย่างทัว่ ถึงในทุกมิติ และสอดคล้องตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี และเพือ ่ สนับสนุนการปฏิบต ั ห ิ น้าทีข ่ องคณะกรรมการบริษท ั บริษท ั ได้จด ั ให้มค ี ณะกรรมการชุดย่อย เพือ ่ กำ�กับดูในเรือ ่ ง ต่างๆ ตลอดจนแต่งตัง ้ เลขานุการบริษท ั ขึน ้ ตามพระราชบัญญัตห ิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 เพือ ่ ช่วย ให้บริษท ั และคณะกรรมการของบริษท ั ปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับต่างๆ ทีเ่ กีย ่ วข้อง รวมถึงเป็นตัวกลาง ทีค ่ อยประสานงานกับบุคคลทัง ้ ภายในและภายนอกบริษท ั โดยบริษท ั มีการกำ�หนดขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ และความรับผิด ชอบของเลขานุการบริษท ั ซึง ่ ได้เปิดเผยไว้แล้วในหัวข้อโครงสร้างการจัดการ นอกจากนี้ บริษท ั ยังมีนโยบายกำ�หนดการดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการในบริษท ั จดทะเบียนอืน ่ ๆ ของกรรมการ บริษท ั ไม่ควรเกินกว่า 5 บริษท ั ในกรณีทก ่ี รรมการคนใดคนหนึง ่ มีต�ำ แหน่งเป็นกรรมการในบริษท ั จดทะเบียนอืน ่ ๆ เกิน กว่า 5 บริษท ั คณะกรรมการจะพิจารณาถึงประสิทธิภาพในการปฏิบต ั ห ิ น้าทีข ่ องกรรมการท่านดังกล่าว ซึง ่ ในปัจจุบน ั กรรมการของบริษท ั ทุกท่านมีการดำ�รงตำ�แหน่งในบริษท ั จดทะเบียนอืน ่ ไม่เกิน 5 บริษท ั 2. บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการ คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่กำ�กับดูแลกิจการและภารกิจของบริษัทให้เป็นไปตามที่ผู้ถือหุ้นอนุมัติและตาม กฎหมายทีใ่ ช้บง ั คับกับบริษท ั วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติทป ่ี ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ มติคณะกรรมการ ทัง ้ นี้ คณะกรรมการบริษท ั จะต้องใช้วจ ิ ารณญาณและความรอบคอบในการตัดสินใจทางธุรกิจ และปฏิบต ั ห ิ น้าทีด ่ ว้ ยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และความซือ ่ สัตย์สจ ุ ริต เพือ ่ รักษาผลประโยชน์สง ู สุดของบริษท ั นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ บริษท ั ได้จด ั ให้มน ี โยบายการกำ�กับดูแลกิจการของบริษท ั เป็นลายลักษณ์อก ั ษร โดยคณะกรรมการจะได้จด ั ให้มี การทบทวนนโยบายและการปฏิบต ั ต ิ ามนโยบายดังกล่าวเป็นประจำ�ทุกปี บริษท ั ถือปฏิบต ั ต ิ ามกฎและข้อบังคับต่างๆ ตาม ทีค ่ ณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน สำ�นักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ กำ�หนด โดยจะเปิดเผยรายงานการกำ�กับดูแล กิจการไว้ในรายงานประจำ�ปีและแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) จริยธรรมธุรกิจ บริษท ั มีนโยบายการดำ�เนินธุรกิจโดยยึดมัน ่ ในมาตรฐานจริยธรรมสูงสุด และได้แก่ การรักษาความลับของบริษท ั การปฏิบต ั ง ิ านด้วยความซือ ่ สัตย์สจ ุ ริต ถูกต้องตามกฎหมาย การเคารพสิทธิซง ่ึ กันและกัน การดูแลทรัพย์สน ิ ของ บริษท ั และสิง ่ แวดล้อมภายนอก ซึง ่ คณะกรรมการตลอดจนผูบ ้ ริหาร และพนักงานทุกคนได้ให้ความสำ�คัญและมีหน้าที่ ต้องถือปฏิบต ั อ ิ ย่างเคร่งครัด โดยคณะกรรมการจะได้จด ั ให้มก ี ารทบทวนนโยบายและการปฏิบต ั ต ิ ามนโยบายดังกล่าว เป็นประจำ�ทุกปี

46


ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริษท ั ได้ก�ำ หนดนโยบายเกีย ่ วกับการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ด้วยการกำ�หนดให้ กรรมการและผูบ ้ ริหารทุกท่านต้องจัดทำ�รายงานการมีสว่ นได้เสีย และนำ�ส่งไว้ให้เลขานุการบริษท ั โดยในการพิจารณา เรื่องต่างๆ จะต้องพิจารณาบนหลักการที่ว่าการตัดสินใจใดๆ ในการดำ�เนินกิจกรรมทางธุรกิจจะต้องทำ� เพื่อผล ประโยชน์สง ู สุดของบริษท ั เท่านัน ้ และควรหลีกเลีย ่ งการกระทำ�ทีก ่ อ ่ ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยกำ�หนดให้ผู้ ทีม ่ ส ี ว่ นเกีย ่ วข้องหรือมีสว่ นได้เสียกับรายการทีพ ่ จ ิ ารณา ต้องแจ้งให้บริษท ั ทราบถึงความสัมพันธ์หรือการมีสว่ นได้เสีย ของตนในรายการดังกล่าว และต้องไม่เข้าร่วมการพิจารณาตัดสินใจ รวมถึงไม่มอ ี �ำ นาจอนุมต ั ใิ นธุรกรรมนัน ้ ๆ หากมีรายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์เกิดขึ้นที่เป็นข้อตกลงทางการค้าที่ไม่เป็นเงื่อนไข การค้าโดยทั่วไป จะต้องนำ�เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติ โดยให้คณะกรรมการตรวจ สอบพิจารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบเพื่อนำ�เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) ทัง ้ นีบ ้ ริษท ั จะต้องปฏิบต ั ต ิ ามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน สำ�นักงาน ก.ล.ต. และ/หรือ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ทีเ่ กีย ่ วข้อง การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่ครอบคลุมทุกด้าน เพื่อให้การปฏิบัติงานของบริษัท เป็นไปตามเป้าหมาย ข้อบังคับ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง รวมถึงได้จัดให้มีกลไกการตรวจสอบ และถ่วงดุลที่มีประสิทธิภาพ อย่างเพียงพอ ในการปกป้อง รักษา และดูแลเงินทุนของผูถ ้ อ ื หุน ้ และสินทรัพย์ของบริษท ั กำ�หนดลำ�ดับชัน ้ ของการ อนุมต ั ิ และความรับผิดชอบของผูบ ้ ริหาร และพนักงาน กำ�หนดระเบียบการปฏิบต ั ง ิ านอย่างเป็นลายลักษณ์อก ั ษร โดยมี ฝ่ายตรวจสอบภายในทำ�หน้าทีต ่ รวจสอบการปฏิบต ั ง ิ านของทุกหน่วยงานให้เป็นไปอย่างถูกต้อง รัดกุม และเป็นไปตาม ทีร่ ะเบียบกำ�หนดไว้ รวมทัง ้ คณะกรรมการตรวจสอบทำ�หน้าทีก ่ �ำ กับดูแลการดำ�เนินงาน และบริหารงานของบริษท ั เพือ ่ ให้บริษท ั มีระบบการควบคุมภายในทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพ ระบบรายงานทางการเงินทีน ่ า่ เชือ ่ ถือโดยฝ่ายตรวจสอบภายในซึง ่ จะ ต้องรายงานผลการตรวจสอบตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็นผูท ้ �ำ หน้าทีต ่ รวจสอบ และทบทวนระบบการควบคุม ภายในของบริษท ั รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบจะทำ�หน้าที่สอบทานรายงานทางการเงิน และนำ�เสนอรายงานทางการเงินต่อคณะ กรรมการบริษท ั ทุกไตรมาส โดยคณะกรรมการบริษท ั เป็นผูร้ บ ั ผิดชอบต่องบการเงินของบริษท ั และสารสนเทศทางการ เงินทีป ่ รากฏในรายงานประจำ�ปี โดยการจัดทำ�งบการเงินดังกล่าวจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีทร่ี บ ั รองทัว่ ไป ในประเทศไทย และตรวจสอบโดยผูส ้ อบบัญชีรบ ั อนุญาต และมีการเลือกใช้นโยบายบัญชีทเ่ี หมาะสมและถือปฏิบต ั อ ิ ย่าง สม่�ำ เสมอ รวมทัง ้ มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 3. การประชุมคณะกรรมการ บริษท ั มีการกำ�หนดตารางการประชุมคณะกรรมการบริษท ั และคณะกรรมการชุดย่อยล่วงหน้าทุกปี โดยข้อ บังคับของบริษท ั กำ�หนดให้คณะกรรมการต้องมีการประชุมอย่างน้อย 3 เดือนต่อครัง ้ และอาจมีการประชุมพิเศษเพิม ่ เติมตามความจำ�เป็น และมีการจัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่กรรมการเพือ ่ พิจารณาก่อนการประชุมล่วงหน้า ไม่นอ ้ ย กว่า 7 วัน ก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณีจ�ำ เป็นรีบด่วนเพือ ่ รักษาสิทธิหรือประโยชน์ของบริษท ั ซึง ่ ในการประชุม ทุกคราวจะ มีการกำ�หนดวาระการประชุมทีช ่ ด ั เจน มีเอกสารประกอบการประชุมทีค ่ รบถ้วนเพียงพอ โดยจัดส่งให้กบ ั คณะกรรมการ ล่วงหน้า เพือ ่ ให้คณะกรรมการได้มเี วลาศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม โดยในการประชุมคณะกรรมการ บริษท ั กรรมการทุกคนสามารถอภิปรายและแสดงความคิดเห็นได้อย่างเปิดเผย นอกจากนีใ้ นการประชุมคณะกรรมการ บริษท ั จะมีการเชิญผูบ ้ ริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการเพือ ่ ให้รายละเอียดเพิม ่ เติมในฐานะทีเ่ กีย ่ วข้องโดยตรง บริษัทมีความมุ่งมั่นให้คณะกรรมการบริษัทได้รับข้อมูลที่เพียงพอ ครบถ้วน ต่อเนื่อง และทันเวลาก่อนการ ประชุมทุกครัง ้ ทัง ้ นีก ้ รรมการบริษท ั สามารถติดต่อเลขานุการบริษท ั ได้โดยตรงอย่างอิสระ เลขานุการบริษท ั มีหน้าที่ ให้ คำ�ปรึกษาแก่คณะกรรมการบริษท ั ในเรือ ่ งทีเ่ กีย ่ วข้องกับการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายและระเบียบต่างๆ 4. การพัฒนากรรมการและผูบ ้ ริหารของบริษท ั บริษท ั จัดให้มก ี ารประเมินผลการปฏิบต ั ง ิ านด้วยตนเองของกรรมการบริษท ั อย่างน้อยปีละ 1 ครัง ้ เพือ ่ เป็นการ ประเมินประสิทธิภาพ ผลงานและปัญหาในการดำ�เนินงานของคณะกรรมการ ตามแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี อีกทัง ้ บริษท ั ยังให้การส่งเสริมและอำ�นวยความสะดวกให้มก ี ารฝึกอบรมและให้ความรูแ้ ก่ผเู้ กีย ่ วข้องในระบบการ กำ�กับดูแลกิจการของบริษท ั เช่น กรรมการบริษท ั กรรมการตรวจสอบ ผูบ ้ ริหาร เป็นต้น เพือ ่ เพิม ่ พูนความรู้ ความ เข้าใจถึงหลักการของการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี กฎเกณฑ์ กฎระเบียบ ตลอดจนบทบาทหน้าทีข ่ องกรรมการบริษท ั ในการบริหารงาน ให้มป ี ระสิทธิภาพและจรรยาบรรณ โดยเข้าร่วมอบรม/สัมมนาหลักสูตรต่างๆของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษท ั ไทย (IOD) และหลักสูตรอบรมทีจ ่ ด ั โดยสถาบันต่างๆทีเ่ กีย ่ วข้อง ซึง ่ ในปี 2558 นี้ มีกรรมการและ ผูบ ้ ริหารเข้าอบรม/สัมมนาหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย (IOD) จำ�นวน 3 ท่าน ดังนี้

47


- หลักสูตร Director Certification Program (DCP) จำ�นวน 2 ท่าน ได้แก่ นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม และ นางสาวแสงแข หาญวนิชย์ - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) จำ�นวน 1 ท่าน ได้แก่ นายวิชย ั สิงห์ศก ั ดิศ ์ รี ปัจจุบันมีกรรมการบริษัท ที่เข้ารับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าที่ของกรรมการ ได้แก่ หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) จำ�นวน 5 ท่าน และหลักสูตร Director Certification Program (DCP) จำ�นวน 7 ท่าน จากกรรมการทัง ้ หมด 8 ท่าน เพือ ่ ประโยชน์ในการรับรูข ้ า่ วสารและเพิม ่ เติมความรู้ ทุกครัง ้ ทีบ ่ ริษท ั ได้รบ ั เอกสารแจ้งการอบรมหรือเอกสารประกอบการอบรมทีเ่ กีย ่ วข้องกับคณะกรรมการบริษท ั บริษท ั จะนำ�ส่งข้อมูลดัง กล่าวให้แก่กรรมการเพือ ่ ศึกษาและพิจารณาเข้าร่วมต่อไป นอกจากนีท ้ ก ุ ครัง ้ ทีม ่ ก ี ารเปลีย ่ นแปลงกรรมการใหม่ เลขานุการบริษท ั จะจัดให้มก ี ารปฐมนิเทศ และมอบหมาย เอกสารข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ ่ การปฏิบต ั ห ิ น้าทีข ่ องกรรมการใหม่ รวมถึงจัดให้มก ี ารแนะนำ�ลักษณะธุรกิจ แนวทาง การดำ�เนินธุรกิจ และแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ใี ห้แก่กรรมการใหม่ คณะกรรมการชุดย่อย บริษัทได้จัดให้มีคณะกรรมการชุดต่างๆ เพิ่มเติมตามที่พิจารณาว่าจำ�เป็น และเหมาะสมซึ่งแต่งตั้งโดยคณะ กรรมการบริษท ั โดยมีวต ั ถุประสงค์เพือ ่ ดูแลงานเฉพาะเรือ ่ งทีต ่ อ ้ งการความเชีย ่ วชาญเฉพาะด้าน และกลัน ่ กรองงาน เหล่านั้นแทนอย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งกำ�หนดให้คณะกรรมการชุดย่อยต้องรายงานผลการปฏิบัติงานต่อคณะ กรรมการบริษท ั ภายในเวลาทีก ่ �ำ หนดไว้เป็นประจำ� นอกจากนีค ้ ณะกรรมการบริษท ั ยังได้มก ี ารแต่งตัง ้ เลขานุการบริษท ั ตามทีไ่ ด้ก�ำ หนดไว้ในพระราชบัญญัตห ิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2551 1. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษท ั ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำ�นวน 3 ท่าน และมีคณ ุ สมบัตค ิ รบถ้วนตาม ทีก ่ �ำ หนดโดยประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน และตลาดหลักทรัพย์ฯ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะ กรรมการตรวจสอบของบริษท ั ประกอบด้วยกรรมการทีม ่ รี ายชือ ่ ดังนี้ ชือ ่

ตำ�แหน่ง

1.นายสมชัย อภิวฒ ั นพร

ประธานกรรมการตรวจสอบ

2.นางจำ�นรรค์ ศิรต ิ น ั

กรรมการตรวจสอบ

3.นายศุภศักดิ์ จิรเสวีนป ุ ระพันธ์

กรรมการตรวจสอบ

โดยกรรมการลำ�ดับที่ 1 คือ นายสมชัย อภิวฒ ั นพร เป็นกรรมการตรวจสอบผูม ้ ค ี วามรูแ้ ละประสบการณ์ดา้ น การบัญชีเพียงพอทีจ ่ ะสามารถทำ�หน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ ่ ถือของงบการเงิน เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ได้แก่ นางสาวอนงค์นาฏ วรรณมาศ ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข ่ องคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้บริษท ั มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษท ั มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบ ในการพิจารณาแต่งตัง ้ โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอืน ่ ใดทีร่ บ ั ผิดชอบเกีย ่ วกับ การตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษท ั ปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ขอ ้ กำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข้องกับธุรกิจของบริษท ั 4. พิจารณาคัดเลือก และเสนอแต่งตัง ้ บุคคลซึง ่ มีความเป็นอิสระเพือ ่ ทำ�หน้าทีเ่ ป็นผูส ้ อบบัญชีของบริษท ั และ เสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทัง ้ เข้าร่วมประชุมกับผูส ้ อบบัญชีโดยไม่มฝ ี า่ ยจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่าง น้อยปีละ 1 ครัง ้ 5. พิจารณารายการทีเ่ กีย ่ วโยงกันหรือรายการทีอ ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ ทัง ้ นี้ เพือ ่ ให้มน ่ั ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สง ู สุดต่อบริษท ั 6. สอบทานถึงความมีประสิทธิภาพและความเหมาะสมของการบริหารความเสีย ่ งของบริษท ั 7. ทบทวนและเสนอข้อแก้ไข ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบให้สอดคล้องกับ สภาวการณ์ 8. ให้คณะกรรมการตรวจสอบมีอ�ำ นาจในการตรวจสอบ และพิจารณาดำ�เนินการกับผูท ้ เ่ี กีย ่ วข้องภายใต้อ�ำ นาจ หน้าทีข ่ องคณะกรรมการตรวจสอบ และมีอ�ำ นาจในการว่าจ้างหรือนำ�ผูเ้ ชีย ่ วชาญเฉพาะด้านมาช่วยงานตรวจสอบและ ดำ�เนินการดังกล่าว 48


9. จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษท ั ซึง ่ รายงานดังกล่าว ต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 1) ความเห็นเกีย ่ วกับความถูกต้อง ครบถ้วน และเชือ ่ ถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษท ั 2) ความเห็นเกีย ่ วกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษท ั 3) ความเห็นเกีย ่ วกับการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนด ของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข้องกับธุรกิจของบริษท ั 4) ความเห็นเกีย ่ วกับความเหมาะสมของผูส ้ อบบัญชี 5) ความเห็นเกีย ่ วกับรายการทีอ ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 6) จำ�นวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน 7) ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมทีค ่ ณะกรรมการตรวจสอบได้รบ ั จากการปฏิบต ั ห ิ น้าทีต ่ ามกฎบัตร (charter) 8) รายการอืน ่ ทีเ่ ห็นว่าผูถ ้ อ ื หุน ้ และผูล ้ งทุนทัว่ ไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบ ั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษท ั 10. ในการปฏิบต ั ห ิ น้าทีข ่ องคณะกรรมการตรวจสอบหากพบหรือมีขอ ้ สงสัยว่ามีรายการหรือการกระทำ�ดังต่อ ไปนี้ ซึง ่ อาจมีผลกระทบอย่างมีนย ั สำ�คัญต่อฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษท ั ให้คณะกรรมการตรวจสอบ รายงานต่อคณะกรรมการของบริษท ั เพือ ่ ดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาทีค ่ ณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร 1) รายการทีเ่ กิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 2) การทุจริต หรือมีสง ่ิ ผิดปกติหรือมีความบกพร่องทีส ่ �ำ คัญในระบบควบคุมภายใน 3) การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมาย ทีเ่ กีย ่ วข้องกับธุรกิจของบริษท ั หากคณะกรรมการของบริษท ั หรือผูบ ้ ริหารไม่ด�ำ เนินการให้มก ี ารปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาข้างต้น กรรมการ ตรวจสอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระทำ�ตามวรรคหนึ่งต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือตลาดหลักทรัพย์ 11. ปฏิบต ั ก ิ ารอืน ่ ใดตามทีค ่ ณะกรรมการของบริษท ั มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบรายงานตรงต่อคณะกรรมการบริษัท และให้กรรมการตรวจสอบมีวาระการดำ�รง ตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง ทั้งนี้จะเลือกกรรมการตรวจสอบผู้พ้นจากตำ�แหน่งเข้ารับตำ�แหน่ง อีกได้ต่อเนื่องไม่เกิน 3 วาระ 2. คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ งของบริษท ั ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 3 ท่าน ดังนี้ ชือ ่

ตำ�แหน่ง

1. นายสมชัย อภิวฒ ั นพร

ประธานกรรมการบริหารความเสีย ่ ง

2. นางจำ�นรรค์ ศิรต ิ น ั

กรรมการบริหารความเสีย ่ ง

3. นายศุภศักดิ์ จิรเสวีนป ุ ระพันธ์

กรรมการบริหารความเสีย ่ ง

เลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง ได้แก่ นางสาวอนงค์นาฏ วรรณมาศ ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข ่ องคณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง 1. กำ�หนดนโยบายในเรือ ่ งของการบริหารความเสีย ่ งให้ครอบคลุมถึงความเสีย ่ งต่างๆ ในการบริหารงาน 2. พิจารณาและอนุมต ั แิ ผนบริหารความเสีย ่ ง 3. จัดให้มค ี ณะทำ�งานบริหารความเสีย ่ งตามความจำ�เป็น โดยสนับสนุนคณะทำ�งานบริหารความเสีย ่ งในด้าน บุคลากร งบประมาณ และทรัพยากรอืน ่ ทีจ ่ �ำ เป็น ให้สอดคล้องกับขอบเขตความรับผิดชอบ 4. ติดตามการดำ�เนินการบริหาร ความเสีย ่ งตัง ้ แต่เริม ่ กระบวนการทีจ ่ ะบ่งชีใ้ ห้ทราบถึงความเสีย ่ ง รวมทัง ้ วิเคราะห์ ประเมินผล จัดการติดตามและรายงานอย่างเป็นระบบ 5. ให้การสนับสนุนให้มก ี ารแนะนำ�กระบวนการบริหารความเสีย ่ งแก่หน่วยงานภายในต่างๆ ตลอดจนติดตามและ ประเมินผลอย่างต่อเนือ ่ ง 6. รายงานต่อคณะกรรมการบริษท ั อย่างสม่�ำ เสมอทีเ่ กีย ่ วกับความเสีย ่ งและการจัดการกับความเสีย ่ งทีส ่ �ำ คัญ

49


วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการบริหารความเสีย ่ ง ทัง ้ นี้ ให้คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ งขึน ้ ตรงต่อคณะกรรมการบริษท ั และให้กรรมการบริหารความเสีย ่ งมี วาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วน ั ทีไ่ ด้รบ ั การแต่งตัง ้ ทัง ้ นี้ จะเลือกกรรมการบริหารความเสีย ่ งผูพ ้ น ้ จาก ตำ�แหน่งเข้ารับตำ�แหน่งอีกก็ได้ 3. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนซึง ่ แต่งตัง ้ โดยคณะกรรมการบริษท ั ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ ชือ ่

ตำ�แหน่ง

1.นายสมชัย อภิวฒ ั นพร

ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

2.นายศุภศักดิ์ จิรเสวีนป ุ ระพันธ์

กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

3.นายวิรช ั เสรีภาณุ

กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ได้แก่ นางสาวอนงค์นาฏ วรรณมาศ ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข ่ องคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 1. พิจารณาสรรหาคัดเลือกบุคคลผูม ้ ค ี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมทีจ ่ ะเข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษท ั 2. ตรวจสอบประวัตแิ ละข้อมูลต่างๆ ของบุคคลทีไ่ ด้รบ ั การคัดเลือก โดยคำ�นึงถึงความรูค ้ วามสามารถ ประสบการณ์ ความเชีย ่ วชาญจากหลากหลายวิชาชีพ มีคณ ุ สมบัตท ิ เ่ี หมาะสม โดยเป็นไปตามข้อบังคับของ บริษท ั และกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข้อง 3. จัดทำ�ความเห็นหรือข้อเสนอแนะต่างๆ เพือ ่ ใช้ประกอบการพิจารณา 4. เสนอชือ ่ บุคคลทีไ่ ด้รบ ั การคัดเลือกต่อคณะกรรมการบริษท ั เพือ ่ พิจารณา 5. ปรับปรุงและแก้ไขกฎบัตรคณะกรรมการสรรหา และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษท ั เพือ ่ พิจารณาอนุมต ั ิ 6. เสนอนโยบายและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนสำ�หรับกรรมการและผูบ ้ ริหารระดับสูง 7. ประเมินผลการปฏิบต ั ง ิ านของคณะกรรมการบริษท ั ในแต่ละปี 8. พิจารณากำ�หนดวงเงินค่าตอบแทนสำ�หรับคณะกรรมการบริษท ั (โดยคำ�นึงถึงผลประกอบการของบริษท ั และเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมเดียวกัน) วงเงินค่าตอบแทนทีไ่ ด้รบ ั อนุมต ั จ ิ ากทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ และจำ�นวน เงินค่าตอบแทนทีจ ่ า่ ยในปีทผ ่ี า่ นมา พร้อมทัง ้ นำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษท ั เพือ ่ พิจารณาเห็นชอบ และนำ� เสนอให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ พิจารณาอนุมต ั ต ิ อ ่ ไป 9. พิจารณาจัดสรรค่าตอบแทนแก่กรรมการบริษท ั และกรรมการชุดย่อยต่างๆ เป็นรายบุคคลโดยคำ�นึงถึง อำ�นาจหน้าที่ และปริมาณความรับผิดชอบภายในวงเงินทีผ ่ ถ ู้ อ ื หุน ้ ได้อนุมต ั ิ 10. ปฏิบต ั ก ิ ารอืน ่ ใดตามทีค ่ ณะกรรมการบริษท ั มอบหมาย วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ทัง ้ นีใ้ ห้คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนขึน ้ ตรงต่อคณะกรรมการบริษท ั และให้กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วน ั ทีไ่ ด้รบ ั การแต่งตัง ้ ทัง ้ นี้ จะเลือกกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนผูพ ้ น ้ จากตำ�แหน่งเข้ารับตำ�แหน่งอีกก็ได้ 4. คณะกรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืนซึง ่ แต่งตัง ้ โดยคณะกรรมการบริษท ั ประกอบด้วยกรรมการ 2 ท่าน ดังนี้ ชือ ่

ตำ�แหน่ง

1. นายสุระศักดิ์ เคารพธรรม

ประธานกรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน

2. นายวิรช ั เสรีภาณุ

กรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน

เลขานุการคณะกรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืนได้แก่ นางสาวอนงค์นาฏ วรรณมาศ ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข ่ องคณะกรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน 1. กำ�หนดนโยบายและทิศทางการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน เพือ ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษท ั อนุมต ั ิ 2. ให้การสนับสนุนในการดำ�เนินงานด้านการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน ให้แนวทางในการดำ�เนินงานและติดตามงาน 3. พิจารณาประเมินผลการดำ�เนินการด้านการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน ให้ค�ำ แนะนำ�เพือ ่ พัฒนา และรายงานต่อคณะ กรรมการบริษท ั 4. ให้ความเห็นชอบรายงานด้านการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน เพือ ่ เปิดเผยต่อสาธารณชน 5. แต่งตัง ้ คณะทำ�งานด้านการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืนได้ตามทีเ่ ห็นสมควร 50


วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของคณะกรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน ทัง ้ นีใ้ ห้คณะกรรมการเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืนขึน ้ ตรงต่อคณะกรรมการบริษท ั และให้กรรมการเพือ ่ การ พัฒนาอย่างยัง ่ ยืนมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วน ั ทีไ่ ด้รบ ั การแต่งตัง ้ ทัง ้ นี้ จะเลือกกรรมการเพือ ่ การ พัฒนาอย่างยัง ่ ยืนผูพ ้ น ้ จากตำ�แหน่งเข้ารับตำ�แหน่งอีกก็ได้ 5. คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษท ั จะแต่งตัง ้ กรรมการจำ�นวนหนึง ่ ตามทีเ่ ห็นสมควรให้เป็นคณะกรรมการบริหาร มีอ�ำ นาจ หน้าทีค ่ วบคุมดูแลกิจการของบริษท ั ตามทีค ่ ณะกรรมการบริษท ั มอบหมาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการ บริหาร ประกอบด้วยกรรมการ 2 ท่าน ดังนี้ ชือ ่

ตำ�แหน่ง

1. นางสาวสุณี เสรีภาณุ

กรรมการบริหาร

2. นายวิรช ั เสรีภาณุ

กรรมการบริหาร

ขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข ่ องคณะกรรมการบริหาร 1. กำ�หนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ และโครงสร้างการบริหารงานในการดำ�เนินธุรกิจของบริษท ั ให้สอดคล้อง และเหมาะสมต่อสภาวะเศรษฐกิจและการแข่งขัน เพือ ่ เสนอให้กรรมการบริษท ั เห็นชอบ 2. กำ�หนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอำ�นาจในการบริหารต่างๆ ของบริษท ั เพือ ่ เสนอให้คณะกรรมการบริษท ั เห็นชอบ 3. ตรวจสอบและติดตามผลการดำ�เนินงานของบริษท ั ให้เป็นไปตามนโยบายและแผนธุรกิจทีไ่ ด้รบ ั อนุมต ั ไิ ว้ และ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. พิจารณาอนุมต ั ก ิ ารเข้าทำ�สัญญา และ/หรือธุรกรรมใดๆ ทีเ่ กีย ่ วกับการดำ�เนินธุรกิจปกติของบริษท ั (เช่น การซือ ้ ขาย การลงทุน หรือร่วมลงทุนกับบุคคลอืน ่ เพือ ่ การทำ�ธุรกรรมตามปกติของบริษท ั และเป็นไปเพือ ่ ประโยชน์ในการดำ�เนินงานตามวัตถุประสงค์ของบริษท ั ) ภายในวงเงินไม่เกิน 50,000,000 (ห้าสิบล้าน) บาท หรือเทียบเท่าต่อธุรกรรม 5. พิจารณาอนุมต ั ก ิ ารกูย ้ ม ื เงิน และการขอสินเชือ ่ ใดๆ จากสถาบันการเงิน การให้กย ู้ ม ื ตลอดจนการจำ�นำ� จำ�นอง หรือเข้าเป็นผูค ้ �ำ้ ประกันของบริษท ั และบริษท ั ย่อย ภายในวงเงินไม่เกิน 50,000,000 (ห้าสิบล้าน) บาท หรือเทียบเท่าต่อธุรกรรม 6. พิจารณาอนุมต ั ก ิ ารดำ�เนินการโครงการต่างๆของบริษท ั และรายงานต่อคณะกรรมการบริษท ั ถึงความคืบ หน้าของโครงการ 7. บริหารความเสีย ่ งในภาพรวมของทัง ้ องค์กร ประเมินความเสีย ่ งและวางรูปแบบโครงสร้างการบริหารความ เสีย ่ งขององค์กร 8. มีอ�ำ นาจในการมอบอำ�นาจให้บค ุ คลอืน ่ ใดหนึง ่ คนหรือหลายคนปฏิบต ั ก ิ ารอย่างใดอย่างหนึง ่ โดยอยูภ ่ ายใต้ การควบคุมของคณะกรรมการบริหาร หรืออาจมอบอำ�นาจเพือ ่ ให้บค ุ คลดังกล่าวมีอ�ำ นาจตามทีค ่ ณะ กรรมการบริหารเห็นสมควร และภายในระยะเวลาทีค ่ ณะกรรมการบริหารเห็นสมควร ซึง ่ คณะกรรมการ บริหารอาจยกเลิก เพิกถอน เปลีย ่ นแปลง หรือแก้ไขบุคคลทีไ่ ด้รบ ั มอบหมายอำ�นาจหรือการมอบอำ�นาจนัน ้ ๆ ได้ตามสมควร 9. พิจารณาอนุมต ั ก ิ ารติดต่อ ดำ�เนินการ และจดทะเบียนกับหน่วยงานราชการในนามของบริษท ั เพือ ่ ประโยชน์ใน การดำ�เนินงานตามวัตถุประสงค์ของบริษท ั 10. พิจารณาอนุมต ั ก ิ ารปรับเงินเดือน ค่าตอบแทน เงินโบนัสประจำ�ปี สำ�หรับพนักงาน เว้นแต่กรรมการบริหาร 11. ดำ�เนินการอืน ่ ๆตามทีค ่ ณะกรรมการบริษท ั มอบหมาย การสรรหาและแต่งตัง ้ กรรมการและผูบ ้ ริหารระดับสูงสุด 1. กรรมการ

ตามข้อบังคับบริษท ั กำ�หนดว่า ในการประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจำ�ปีทก ุ ครัง ้ ให้กรรมการออกจากตำ�แหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจำ�นวนกรรมการทีจ ่ ะแบ่งออกให้ตรงสามส่วนไม่ได้ ให้ออกโดยจำ�นวนทีใ่ กล้ทส ่ี ด ุ กับส่วน 1 ใน 3 โดยให้กรรมการ ทีอ ่ ยูใ่ นตำ�แหน่งนานทีส ่ ด ุ เป็นผูอ ้ อกจากตำ�แหน่ง และกรรมการทีอ ่ อกจากตำ�แหน่งมีสท ิ ธิได้รบ ั เลือกตัง ้ กลับมาดำ�รง ตำ�แหน่งใหม่ได้ คณะกรรมการได้ ม อบหมายให้ ค ณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนมี ห น้ า ที่รับ ผิ ด ชอบในการ พิจารณาสรรหา คัดเลือก และกลัน ่ กรองบุคคลทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตท ิ เ่ี หมาะสมตามข้อบังคับของบริษท ั โดยผ่านความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริษท ั ในการนำ�เสนอต่อทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ พิจารณาแต่งตัง ้ ผูท ้ จ ่ี ะมาดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษท ั

51


การแต่งตัง ้ กรรมการบริษท ั เป็นไปตามทีร่ ะบุในข้อบังคับบริษท ั ดังนี้ - กรรมการบริษท ั จะเป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ ของบริษท ั หรือไม่กไ็ ด้ - ให้บริษท ั มีคณะกรรมการของบริษท ั เพือ ่ ดำ�เนินกิจการของบริษท ั ประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อยห้า (5) คน โดยกรรมการไม่นอ ้ ยกว่ากึง ่ หนึง ่ (1/2) ของจำ�นวนกรรมการทัง ้ หมดจะต้องมีถน ่ิ ทีอ ่ ยูใ่ นประเทศไทย นอกจากนีบ ้ ริษท ั ยังได้ก�ำ หนดโครงสร้างคณะกรรมการบริษท ั ตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ คือ คณะ กรรมการบริษท ั จะต้องประกอบด้วยคณะกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของกรรมการทัง ้ คณะด้วย • คณะกรรมการบริษท ั คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะเป็นผู้กำ� หนดวิธีการสรรหาบุคคลเพื่อดำ �รงตำ � แหน่ง กรรมการ โดยจะพิจารณาคุณสมบัติของกรรมการให้เหมาะสมและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของบริษัท ภายใต้ โครงสร้างและองค์ประกอบของคณะกรรมการตามทีค ่ ณะกรรมการบริษท ั กำ�หนดไว้ ทัง ้ นี้ บุคคลดังกล่าวจะต้องเป็น ผูท ้ ม ่ี ค ี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมทัง ้ ในด้าน ความรู้ ประสบการณ์ ความเชีย ่ วชาญ การอุทศ ิ เวลา รวมถึงมีคณ ุ สมบัตค ิ รบถ้วน ในการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษท ั ตามพระราชบัญญัตบ ิ ริษท ั มหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 (รวมทัง ้ ทีไ่ ด้มก ี ารแก้ไข เพิม ่ เติม) พระราชบัญญัตห ิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง ้ ทีไ่ ด้มก ี ารแก้ไขเพิม ่ เติม) ประกาศคณะ กรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนทีเ่ กีย ่ วข้อง ทัง ้ นีก ้ ารแต่งตัง ้ กรรมการของบริษท ั จะต้องได้รบ ั อนุมต ั จ ิ ากคณะกรรมการบริษท ั และ/หรือทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ (แล้วแต่กรณี) • กรรมการอิสระ สำ�หรับการสรรหาบุคคลเพือ ่ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระของบริษท ั บุคคลดังกล่าวต้องมีคณ ุ สมบัตต ิ าม นิยามกรรมการอิสระของบริษท ั ซึง ่ มีเกณฑ์เท่ากับข้อกำ�หนดของสำ�นักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ คุณสมบัตก ิ รรมการอิสระ กรรมการอิสระจะต้องมีจ�ำ นวนไม่นอ ้ ยกว่าหนึง ่ ในสามของจำ�นวนกรรมการทัง ้ หมดของบริษท ั และต้องไม่นอ ้ ย กว่าสามคน และต้องมีคณ ุ สมบัตต ิ ามหลักเกณฑ์ดง ั ต่อไปนี้ 1. ถือหุน ้ ไม่เกินร้อยละหนึง ่ ของจำ�นวนหุน ้ ทีม ่ ส ี ท ิ ธิออกเสียงทัง ้ หมดของ บริษท ั บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของบริษท ั ทัง ้ นีใ้ ห้นบ ั รวมการถือหุน ้ ของผูท ้ เ่ี กีย ่ วข้องของกรรมการอิสระ รายนัน ้ ๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม ่ ส ี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป ่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจำ� หรือผู้ มีอ�ำ นาจควบคุมของบริษท ั บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม บริษท ั ย่อยลำ�ดับเดียวกันผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือของผูม ้ ี อำ�นาจควบคุมของบริษท ั เว้นแต่จะได้พน ้ จากการมีลก ั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ ้ ยกว่าสองปีกอ ่ นวันทีย ่ น ่ื คำ�ขออนุญาต ต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. ทัง ้ นีล ้ ก ั ษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีทก ่ี รรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือทีป ่ รึกษา ของส่วนราชการซึง ่ เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของบริษท ั 3. ไม่เป็นบุคคลทีม ่ ค ี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะทีเ่ ป็นบิดามารดา คูส ่ มรส พีน ่ อ ้ ง และบุตร รวมทัง ้ คูส ่ มรสของบุตร ของกรรมการรายอืน ่ ผูบ ้ ริหาร ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ ผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุม หรือบุคคลทีจ ่ ะได้รบ ั การเสนอให้เป็นกรรมการ ผูบ ้ ริหารหรือผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของบริษท ั หรือบริษท ั ย่อย 4. ไม่มห ี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษท ั บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือผูม ้ ี อำ�นาจควบคุมของบริษท ั ในลักษณะทีอ ่ าจเป็นการขัดขวางการใช้วจ ิ ารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทัง ้ ไม่เป็นหรือ เคยเป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ ทีม ่ น ี ย ั หรือผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของผูท ้ ม ่ี ค ี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษท ั บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของบริษท ั เว้นแต่จะได้พน ้ จากการมีลก ั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ ้ ยกว่า สองปีกอ ่ นวันทีย ่ น ่ื คำ�ขออนุญาตต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส ้ อบบัญชีของบริษท ั บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือผูม ้ อ ี �ำ นาจ ควบคุมของบริษท ั และไม่เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ ทีม ่ น ี ย ั ผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุม หรือหุน ้ ส่วนของ สำ�นักงานสอบบัญชี ซึง ่ มีผส ู้ อบบัญชี ของ บริษท ั บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของบริษท ั สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้ พ้นจากการมีลก ั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ ้ ยกว่าสองปีกอ ่ นวันทีย ่ น ่ื คำ�ขออนุญาตต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษา ทางการเงิน ซึง ่ ได้รบ ั ค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษท ั บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุมของบริษท ั และไม่เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ ทีม ่ น ี ย ั ผูม ้ อ ี �ำ นาจควบคุม หรือหุน ้ ส่วนของผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพ นัน ้ ด้วย เว้นแต่จะได้พน ้ จากการมีลก ั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ ้ ยกว่าสองปีกอ ่ นวันทีย ่ น ่ื คำ�ขออนุญาตต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. 7. ไม่เป็นกรรมการทีไ่ ด้รบ ั การแต่งตัง ้ ขึน ้ เพือ ่ เป็นตัวแทนของกรรมการของบริษท ั ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ หรือผูถ ้ อ ื หุน ้ ซึง ่ เป็นผูท ้ เ่ี กีย ่ วข้องกับผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่

52

8. ไม่ประกอบกิจการทีม ่ ส ี ภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม ่ น ี ย ั กับกิจการของบริษท ั หรือบริษท ั ย่อย หรือ ไม่เป็นหุน ้ ส่วนทีม ่ น ี ย ั ในห้างหุน ้ ส่วน หรือเป็นกรรมการทีม ่ ส ี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป ่ รึกษาทีร่ บ ั เงินเดือน ประจำ� หรือถือหุน ้ เกินร้อยละหนึง ่ ของจำ�นวนหุน ้ ทีม ่ ส ี ท ิ ธิออกเสียงทัง ้ หมดของบริษท ั อืน ่ ซึง ่ ประกอบกิจการทีม ่ ส ี ภาพ อย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันทีม ่ น ี ย ั กับกิจการของบริษท ั หรือบริษท ั ย่อย


9. ไม่มล ี ก ั ษณะอืน ่ ใดทีท ่ �ำ ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกีย ่ วกับการดำ�เนินงานของบริษท ั 10. มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระต่อเนือ ่ งได้ไม่เกิน 9 ปี 2. ผูบ ้ ริหารระดับสูงสุด ในการสรรหาผูม ้ าดำ�รงตำ�แหน่งผูบ ้ ริหารระดับสูงสุดของบริษท ั หรือประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารนัน ้ คณะกรรมการ บริหารจะเป็นผูพ ้ จ ิ ารณาเบือ ้ งต้น ซึง ่ จะสรรหาบุคคลทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตค ิ รบถ้วน เหมาะสม มีความรูค ้ วามสามารถ และ ประสบการณ์ทเ่ี ป็นประโยชน์ตอ ่ การดำ�เนินงานของบริษท ั เข้าใจธุรกิจของบริษท ั เป็นอย่างดี และสามารถบริหารงานให้ บรรลุวต ั ถุประสงค์ เป้าหมายทีค ่ ณะกรรมการบริษท ั กำ�หนดไว้ได้ และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่า ตอบแทนพิจารณาเห็นชอบ และเสนอต่อคณะกรรมการบริษท ั พิจารณาอนุมต ั ต ิ อ ่ ไป การกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษท ั ย่อย ในการกำ�กับดูแลกิจการของบริษท ั ย่อยและบริษท ั ร่วม บริษท ั จะส่งตัวแทนเข้าดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการและ/ หรือผูบ ้ ริหารในบริษท ั ย่อยและบริษท ั ร่วม ตามสัดส่วนการถือหุน ้ ของบริษท ั โดยบุคคลดังกล่าวจะต้องได้รบ ั การเสนอ ชือ ่ และอนุมต ั แิ ต่งตัง ้ โดยคณะกรรมการบริษท ั นอกจากนีย ้ ง ั ต้องมีคณ ุ สมบัตแิ ละประสบการณ์ทเ่ี หมาะสมในการบริหาร กิจการของบริษท ั ย่อยและบริษท ั ร่วมนัน ้ ๆด้วย นอกจากนีย ้ ง ั ต้องมีคณ ุ สมบัตแิ ละประสบการณ์ทเ่ี หมาะสมในการบริหารกิจการของบริษท ั ย่อยและบริษท ั ร่วมให้ เป็นไปตามนโยบายทางธุรกิจของบริษท ั รวมทัง ้ ปฏิบต ั ห ิ น้าทีใ่ ห้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติท่ี ประชุม ผูถ ้ อ ื หุน ้ ด้วยความซือ ่ สัตย์สจ ุ ริต และระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของผูถ ้ อ ื หุน ้ อีกทัง ้ ผูแ้ ทนของบริษท ั มีหน้า ที่กำ�กับดูแลให้บริษัทย่อยและบริษัทร่วมมีการเปิดเผยข้อมูลฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงานการทำ�รายการ ระหว่างบริษท ั ดังกล่าวกับบุคคลทีเ่ กีย ่ วโยง การได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึง ่ ทรัพย์สน ิ หรือการทำ�รายการสำ�คัญอืน ่ ใดของ บริษท ั ดังกล่าวให้ครบถ้วนถูกต้อง ผูแ้ ทนดังกล่าวมีหน้าทีต ่ ด ิ ตามการดำ�เนินธุรกิจของบริษท ั ย่อยและบริษท ั ร่วมอย่างใกล้ชด ิ พร้อมทัง ้ นำ�เสนอผล ประกอบการ รวมทัง ้ ข้อเสนอแนะเกีย ่ วกับนโยบายการดำ�เนินธุรกิจต่อคณะกรรมการของบริษท ั และ/หรือบริษท ั ย่อย และ/หรือบริษท ั ร่วม เพือ ่ ให้เกิดประโยชน์สง ู สุดแก่บริษท ั ย่อยและบริษท ั ร่วม รวมถึงให้ธรุ กิจมีการเจริญเติบโตอย่างยัง ่ ยืน การดูแลเรือ ่ งการใช้ขอ ้ มูลภายใน บริษัทมีนโยบายและวิธีการดูแลกรรมการ และผู้บริหารในการนำ�ข้อมูลภายในบริษัท ซึ่งยังไม่เปิดเผยต่อ สาธารณชนไปใช้เพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตน ดังนี้ 1. ให้ความรูแ้ ก่กรรมการและผูบ ้ ริหาร เกีย ่ วกับหน้าทีใ่ นการรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของตน คูส ่ มรส และบุตรทีย ่ ง ั ไม่บรรลุนต ิ ภ ิ าวะ ต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. ตาม มาตรา 59 และบทกำ�หนดโทษ ตามมาตรา 275 แห่งพระราช บัญญัตห ิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง ้ ทีม ่ ก ี ารแก้ไขเพิม ่ เติม) รวมทัง ้ การรายงานการได้มาหรือ จำ�หน่ายหลักทรัพย์ของตน คูส ่ มรส และบุตรทีย ่ ง ั ไม่บรรลุนต ิ ภ ิ าวะต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 246 และบทกำ�หนด โทษ ตามมาตรา 298 แห่งพระราชบัญญัตห ิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวมทัง ้ ทีม ่ ก ี ารแก้ไขเพิม ่ เติม) 2. ให้กรรมการและผูบ ้ ริหารของบริษท ั รวมถึงคูส ่ มรสและบุตรทีย ่ ง ั ไม่บรรลุนต ิ ภ ิ าวะ จัดทำ�และเปิดเผยรายงาน การถือครองหลักทรัพย์และรายงานการเปลีย ่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของบริษท ั ต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. ตาม มาตรา 59 และบทกำ�หนดโทษ ตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัตห ิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (รวม ทัง ้ ทีม ่ ก ี ารแก้ไขเพิม ่ เติม) และจัดส่งสำ�เนารายงานนีใ้ ห้แก่บริษท ั ในวันเดียวกับวันทีส ่ ง ่ รายงานต่อสำ�นักงาน ก.ล.ต. 3. กรรมการ ผูบ ้ ริหาร พนักงานและลูกจ้างของบริษท ั และบริษท ั ย่อย ทีไ่ ด้รบ ั ทราบข้อมูลภายในทีเ่ ป็นสาระสำ�คัญ ซึง ่ มีผลต่อการเปลีย ่ นแปลงราคาหลักทรัพย์ตอ ้ งใช้ความระมัดระวังในการซือ ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษท ั ในช่วง 1 เดือน ก่อนทีง ่ บการเงินหรือข้อมูลภายในนัน ้ จะเปิดเผยต่อสาธารณชนและในช่วงระยะเวลา 24 ชัว่ โมงภายหลังจากทีข ่ อ ้ มูล ภายในของบริษท ั ได้เปิดเผยต่อสาธารณชนแล้ว ผูท ้ เ่ี กีย ่ วข้องกับข้อมูลภายในต้องไม่เปิดเผยข้อมูลนัน ้ ให้ผอ ู้ น ่ื ทราบ จนกว่าจะได้มก ี ารแจ้งข้อมูลนัน ้ ให้แก่ตลาดหลักทรัพย์ฯ มาตรการลงโทษหากมีการกระทำ�การฝ่าฝืนระเบียบปฏิบต ั ด ิ ง ั กล่าวข้างต้น บริษท ั ถือเป็นความผิดทางวินย ั ตามข้อบังคับการทำ�งานของบริษท ั โดยจะพิจารณาลงโทษตามควรแก่ กรณี ได้แก่ การตักเตือนด้วยวาจา การตักเตือนเป็นหนังสือ การภาคทัณฑ์ ตลอดจนการเลิกจ้างพ้นสภาพการเป็น พนักงานด้วยเหตุไล่ออก ปลดออก หรือให้ออก แล้วแต่กรณี เป็นต้น 4. ห้ามมิให้กรรมการ ผูบ ้ ริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษท ั ใช้ขอ ้ มูลภายในของบริษท ั ทีม ่ ห ี รืออาจมีผลกระ ทบต่อการเปลีย ่ นแปลงราคาของหลักทรัพย์ของบริษท ั ซึง ่ ยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณชน ซึง ่ ตนได้ลว่ งรูม ้ าในตำ�แหน่ง หรือฐานะเช่นนัน ้ มาใช้เพือ ่ การซือ ้ หรือขายหรือเสนอซือ ้ หรือเสนอขาย หรือชักชวนให้บค ุ คลอืน ่ ซือ ้ หรือขาย หรือเสนอซือ ้ หรือเสนอขายซึง ่ หุน ้ หรือหลักทรัพย์อน ่ื (ถ้ามี) ของบริษท ั ไม่วา่ ทัง ้ ทางตรงหรือทางอ้อม ในประการทีน ่ า่ จะเกิดความเสีย หายแก่บริษท ั ไม่วา่ ทัง ้ ทางตรงหรือทางอ้อม และไม่วา่ การกระทำ�ดังกล่าวจะทำ�เพือ ่ ประโยชน์ตอ ่ ตนเองหรือผูอ ้ น ่ื หรือนำ� ข้อเท็จจริงเช่นนัน ้ ออกเปิดเผยเพือ ่ ให้ผอ ู้ น ่ื กระทำ�ดังกล่าว โดยตนได้รบ ั ผลประโยชน์ตอบแทนหรือไม่กต ็ าม 53


ข้อมูลการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการและผูบ ้ ริหารของบริษท ั ในปี 2558 1/

หน่วย :

จำ�นวนหุน ้ ก่อนการ ได้มา/จำ�หน่ายไปใน ปี 2558

ได้มาระหว่างปี

จำ�หน่ายไประหว่างปี

จำ�นวนหุน ้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

1.นางสาวสุณี เสรีภาณุ

356,711,500

2,763,800

0

359,475,300

2.นายวิรช ั เสรีภาณุ

14,800,000

0

0

14,800,000

3.นายสมชัย อภิวฒ ั นพร

0

0

0

0

4.นางจำ�นรรค์ ศิรต ิ น ั

0

0

0

0

5.นายศุภศักดิ์ จิรเสวีนป ุ ระพันธ์

0

0

0

0

6.นายสุระศักดิ์ เคารพธรรมv

0

0

0

0

7.พลเอกวิชต ิ ยาทิพย์

0

0

0

0

8.นางชนัญญารักษ์ เพ็ชร์รต ั น์

0

0

0

0

9.นางสาวแสงแข หาญวนิชย์

533,400

0

0

533,400

10.นางนฤมล สิงหเสนี

0

0

0

0

11.นายวิชย ั สิงห์ศก ั ดิศ ์ รี

0

0

0

0

12.นางสาววรรัตน์ เลาหธนะกูร

0

0

0

0

กรรมการ/ผูบ ้ ริหาร

หมายเหตุ:

1/

จำ�นวนหุน ้ สามัญของกรรมการและผูบ ้ ริหารทีป ่ รากฏในตราราง นับรวมจำ�นวนหุน ้ ของคูส ่ มรสและบุตรทีย ่ ง ั ไม่บรรลุนต ิ ภ ิ าวะแล้ว

ค่าตอบแทนของผูส ้ อบบัญชี ทีป ่ ระชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจำ�ปี 2558 มีตอ ิ นุมต ั แิ ต่งตัง ้ บริษท ั สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด โดย นางสาวรุง ้ นภา เลิศสุวรรณกุล ผูส ้ อบบัญชีรบ ั อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3516 และ/หรือนางสาวพิมพ์ใจ มานิตขจรกิจ ผูส ้ อบบัญชีรบ ั อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4521 และ/หรือ นางสาวรสพร เดชอาคม ผูส ้ อบบัญชีรบ ั อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 5659 และ/หรือ นางสาวสุมนา พันธ์พงษ์สานนท์ ผูส ้ อบบัญชีรบ ั อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 5872 เป็นผูส ้ อบบัญชีของบริษท ั ในปี 2558 โดย บริษท ั ได้จา่ ยค่าสอบบัญชีในส่วนของบริษท ั เป็นจำ�นวนเงิน 1.1 ล้านบาท ค่าสอบบัญชีของบริษท ั ย่อย เป็นจำ�นวนเงิน 1.64 ล้านบาท และค่าสอบบัญชีของบริษท ั ร่วมค้า เป็นจำ�นวนเงิน 0.15 ล้านบาท รวมทัง ้ มีคา่ ตอบแทนสำ�หรับงาน บริการอืน ่ คือ ตรวจสอบการปฏิบต ั ต ิ ามเงือ ่ นไขของบัตรส่งเสริมสำ�หรับบริษท ั ย่อยแห่งหนึง ่ จำ�นวนเงิน 0.15 ล้านบาท การปฏิบต ั ต ิ ามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ใี นเรือ ่ งอืน ่ ๆ ในปีทผ ่ี า่ นมาบริษท ั ยังคงมุง ่ มัน ่ ทีจ ่ ะปฏิบต ั ต ิ ามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี สำ�หรับบริษท ั จดทะเบียนตาม แนวทางทีต ่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนด โดยได้ปฏิบต ั ต ิ ามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ข ี องบริษท ั อย่าง เคร่งครัด และได้ด�ำ เนินการในเรือ ่ งความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นอย่างต่อเนือ ่ งเสมอมา

54


การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน บริษท ั ยังคงยึดหลักการบริหารงานตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี ใส่ใจดูแลสังคม สิง ่ แวดล้อม และผูม ้ ส ี ว่ น ได้เสียทุกฝ่ายให้ได้รบ ั ความเป็นธรรมเท่าเทียมกัน ตลอดจนตระหนักและยึดถือการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายควบคูไ่ ปพร้อม กับการดำ�เนินธุรกิจ เพือ ่ ให้สามารถดำ�เนินธุรกิจ ให้เจริญเติบโตได้อย่างมัน ่ คงและยัง ่ ยืน การดำ�เนินงานเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน บริษัทสนับสนุน และให้ความสำ�คัญกับการเปิดเผยข้อมูลที่สะท้อนให้เห็นถึงการปฏิบัติตามแนวทาง เพื่อการ พัฒนาอย่างยั่งยืนอย่างครบถ้วน โดยข้อมูลที่เปิดเผยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสีย (stakeholders) ทุกฝ่าย เพื่อให้รับทราบการปฏิบัติด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืนของบริษัท โดยในปีที่ผ่านมาบริษัทยังคงให้ความสำ�คัญกับบทบาทของผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทอย่างสม่�ำ เสมอ ไม่ว่าจะ เป็นผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่งทางการค้า เจ้าหนี้ รวมถึงสังคมและสิ่งแวดล้อม และได้ปฏิบัติตามนโยบาย และแนวทางเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของบริษัท ดังนี้ 1) การประกอบกิจการด้วยความเป็นธรรม บริษัทมีนโยบายในการดำ�เนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรม โปร่งใส มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรมกับคู่แข่งขัน ภาย ใต้กรอบกติกาของการแข่งขันสากล ภายใต้กฎหมายเกี่ยวกับหลักปฏิบัติการแข่งขันทางการค้า ต่อต้านการผูกขาด ทางการค้าหรือการใช้อ�ำ นาจโดยมิชอบของผู้มีอำ�นาจเหนือตลาด การให้/รับสินบนหรือผลประโยชน์อื่น และการ บิดเบือนกลไกการแข่งขัน ไม่ละเมิดความลับหรือล่วงรู้ความลับทางการค้าของคู่แข่งด้วยวิธีฉ้อฉล และไม่ท�ำ ลายคู่ แข่งด้วยวิธีการอันไม่สุจริต เช่น การจ่ายเงินสินจ้างให้แก่พนักงานของคู่แข่ง เป็นต้น และไม่ทำ�ลายชื่อเสียงของคู่แข่ง ทางการค้าด้วยการกล่าวหาในทางร้าย ทีผ ่ า่ นมาบริษท ั ได้มด ี �ำ เนินธุรกิจอย่างมีบรรษัทภิบาล มีความโปร่งใส เชือ ่ ถือได้ และมุง ่ มัน ่ ในการสร้างกิจการให้มี ความมัน ่ คงอย่างยัง ่ ยืน เพือ ่ เพิม ่ มูลค่าหุน ้ สูงสุดให้แก่ผถ ู้ อ ื หุน ้ และสามารถจ่ายเงินปันผลให้แก ผูถ ้ อ ื หุน ้ อย่างสม่�ำ เสมอ โดยบริษท ั มุง ่ สร้างความสัมพันธ์อน ั ดีแก่คค ู่ า้ มีการจัดซือ ้ /จัดหาทีเ่ ป็นธรรม ไม่มก ี ารกีดกันทางการค้าหรือจำ�กัดการ แข่งขัน และปฏิบต ั ต ิ ามกรอบการแข่งขันทางการค้าทีส ่ จ ุ ริต โดยยึดถือการปฏิบต ั ต ิ ามสัญญา จรรยาบรรณบริษท ั และ คำ�มัน ่ ทีใ่ ห้ไว้กบ ั ลูกค้าอย่างเคร่งครัด โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์รว่ มกัน รวมทัง ้ ปฏิบต ั ต ิ ามสัญญาทีต ่ กลงร่วมกัน และ มีนโยบายในการส่งมอบสินค้าตามคุณภาพและตรงตามกำ�หนดเวลา รวมถึงการต่อต้านการละเมิดทรัพย์สน ิ ทางทาง ปัญญาหรือสิง ่ อืน ่ ใดทีม ่ ก ี ฎหมายคุม ้ ครอง โดยมีการตรวจสอบการใช้งานของสินค้าทีม ่ ล ี ข ิ สิทธิอ ์ ยูเ่ สมอ เช่น การตรวจ สอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือการใช้เครือ ่ งหมายการค้าของผูอ ้ น ่ื เป็นต้น 2) การต่อต้านทุจริตคอร์รป ั ชัน ่ บริษัทดำ�เนินธุรกิจโดยยึดมั่นในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ ตลอดจนสนับสนุนการสร้างวัฒนธรรม องค์กรให้ยึดมั่นในความซื่อสัตย์และความถูกต้องชอบธรรม โดยบริษัทมีความมุ่งมั่นในการสร้างจิตสำ�นึก และ ทัศนคติที่ดีให้แก่ผู้บริหาร และพนักงานในการปฏิบัติงานตามกฎระเบียบ ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต โดยบริษัทได้ประกาศใช้นโยบายต่อต้านคอร์รัปชั่นที่กำ�หนดให้ผู้บริหารหรือพนักงานตลอดจนผู้เกี่ยวข้อง หลีกเลี่ยงกิจกรรมหรือดำ�เนินธุรกิจอื่นใดที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ห้ามเสนอที่จะให้ผลประโยชน์ และปฏิเสธการรับสิ่งตอบแทนใดๆ จากผู้เกี่ยวข้องทางธุรกิจ ซึ่งส่อไปในทางจูงใจ ให้ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ใดๆ อันจะส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อบริษัทได้ รวมทั้งมีการควบคุมการ ปฏิบัติตามนโยบาย เพื่อป้องกันการทุจริตอย่างแข็งขัน และเพื่อแสดงออกถึงการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ในทุกรูปแบบ ตามที่บริษัทได้ประกาศเจตนารมณ์ร่วมกับ “แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการ ทุจริต” โดยในปีนี้บริษัทได้จัดทำ�หนังสือเพื่อประชาสัมพันธ์ถึงนโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่น และการประกาศ เจตนารมณ์เข้าเป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตให้กับคู่ค้าของบริษัทได้รับทราบ และร่วมกันปฏิบัติตามนโยบายของบริษัทไปพร้อมกัน นอกจากนี้ บริษท ั ยังมีกระบวนการบริหารความเสีย ่ งและตรวจสอบ โดยการประเมินความเสีย ่ งของธุรกิจ และ ปรับปรุงระบบการควบคุมภายในให้รด ั กุมอยูเ่ สมอ เพือ ่ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและการประพฤติมช ิ อบ รวมทัง ้ ได้ก�ำ หนดโครงสร้างองค์กรตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ เี พือ ่ ให้มก ี ารตรวจสอบและถ่วงดุลอย่างมีประสิทธิภาพ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมและสือ ่ สารให้เกิดความเข้าใจนำ�ไปสูก ่ ารยอมรับและนำ�ไปใช้เป็นแนวปฏิบต ั ปลูกจิตสำ�นึกทีด ่ ใี ห้ พนักงานและบริหารบุคลากรอย่างเป็นรูปธรรม และจัดให้มก ี ารทบทวนกระบวนการทำ�งานในทุกขัน ้ ตอน เพือ ่ ให้มน ่ั ใจว่า บริษท ั มีระบบป้องกันความเสีย ่ งทีเ่ ข้มงวดในการป้องกันการเกิดการทุจริตคอรัปชัน ่ ในองค์กร นอกจากนี้ ในปี 2558 คณะกรรมการบริษท ั ได้ท�ำ การทบทวนแก้ไขจริยธรรมธุรกิจของบริษท ั เพือ ่ ปรับปรุงให้ สอดคล้องกับการดำ�เนินงานในปัจจุบน ั และเพิม ่ เติมบางหัวข้อให้ครอบคลุมกิจกรรมต่างๆ มากขึน ้ โดยได้มก ี ารประกาศ ใช้จริยธรรมธุรกิจฉบับใหม่น้ี เมือ ่ วันที่ 21 กรกฎาคม 2558 รวมถึงเพิม ่ การกำ�หนดบทลงโทษในกรณีทม ่ี ก ี าร ฝ่าฝืน

55


จริยธรรมธุรกิจด้วย ในขณะเดียวกันบริษัท ได้จัดให้มีการอบรมหัวข้อจริยธรรมธุรกิจและการต่อต้านคอร์รัปชั่นใน การปฐมนิเทศพนักงานใหม่เป็นประจำ�ทุกเดือน และได้เพิ่มเติมบทความเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และการต่อ ต้านคอร์รัปชั่นเป็นคอลัมน์หนึ่งของนิตยสาร MC Society ที่จะออกเผยแพร่ทุก 2 เดือน เพื่อกระตุ้นเตือนให้พนักงาน ของบริษัทปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวอย่างเคร่งครัด 3) การเคารพสิทธิมนุษยชน บริษท ั เคารพต่อกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชนอย่างเคร่งครัด มีนโยบายให้บค ุ ลากรของบริษท ั ปฏิบต ั ต ิ อ ่ กัน ด้วยความเสมอภาค ยุตธ ิ รรม ให้เกียรติกน ั และกัน และเคารพในสิทธิสว่ นบุคคลอย่างเท่าเทียมกัน ไม่มก ี ารเลือกปฏิบต ั ิ ทัง ้ การแบ่งแยกสีผวิ เชือ ้ ชาติ ศาสนา เพศ สังคม สิทธิทางการเมืองในทุกๆ ขัน ้ ตอนตามแนวปฏิบต ั พ ิ น ้ื ฐานตามหลัก สิทธิมนุษยชน และไม่สนับสนุนกิจการทีล ่ ะเมิดหลักสิทธิมนุษยชน บริษท ั เคารพในความเป็นส่วนตัวของ พนักงาน ไม่น�ำ ข้อมูลส่วนตัว เช่น เงินเดือน ประวัตก ิ ารรักษาพยาบาล ครอบครัว ไปเปิดเผยให้กบ ั บุคคลภายนอก หรือ ผูท ้ ไ่ี ม่เกีย ่ วข้อง เว้นแต่เป็นข้อมูลทีต ่ อ ้ งเปิดเผยต่อบุคคลภายนอกทีเ่ กีย ่ วข้องตามบทบังคับของกฎหมาย บริษท ั จึงได้ปฏิบต ั ต ิ อ ่ ผูม ้ ส ี ว่ นได้เสียในการดำ�เนินธุรกิจทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน และหมัน ่ ตรวจตราไม่ให้ธรุ กิจ ของบริษท ั เข้าไปมีสว่ นร่วมในการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชนเสมอมา นอกจากนีย ้ ง ั จัดให้มก ี ารร้องเรียน อย่างเหมาะสม สำ�หรับผูท ้ ไ่ี ด้รบ ั การปฏิบต ั อ ิ ย่างไม่เป็นธรรม และมีมาตรการปกป้องผูแ้ จ้งเบาะแสอย่างเหมาะสม โดยช่องทางการร้อง เรียนหรือแจ้งเบาะแสให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการ ในหมวดที่ 3 เรือ ่ งบทบาทของผูม ้ ส ี ว่ นได้เสีย 4) การปฏิบต ั ต ิ อ ่ แรงงานอย่างเป็นธรรม บริษท ั ให้ความสำ�คัญต่อแรงงานหรือพนักงาน ซึง ่ เป็นผูเ้ กีย ่ วข้องหรือผูม ้ ส ี ว่ นได้เสียโดยตรงของบริษท ั และถือว่า พนักงานเป็นทรัพยากรทีม ่ ค ี ณ ุ ค่าขององค์กรและมีความสำ�คัญต่อการเติบโต ดังนัน ้ จึงควรได้รบ ั การปฏิบต ั ท ิ เ่ี ป็นธรรม ทัง ้ ในด้านผลตอบแทนและสวัสดิการ ด้านคุณภาพชีวต ิ และความปลอดภัย และด้านการพัฒนาศักยภาพ โดยบริษท ั ได้จด ั ตัง ้ คณะทำ�งานด้าน EHS (Environment, Health, Safety) เพือ ่ เป็นหน่วยงานกลาง ทีท ่ �ำ หน้าทีต ่ รวจสอบทาง ด้านความปลอดภัย สิง ่ แวดล้อม และอาชีวอนามัย ของทุกสถานประกอบการของกลุม ่ บริษท ั รวมถึงให้ค�ำ แนะนำ�ในการ ปฏิบต ั แิ ละแก้ไขปัญหาต่างๆ เช่นการตรวจสอบและแก้ไขปัญหาเรือ ่ งการจัดการสารเคมีในกระบวนการผลิตรวมทัง ้ การ กำ�จัดของเสียอย่างบูรณาการ ด้านผลตอบแทนแลสวัสดิการ บริษท ั ให้การดูแลพนักงานอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถ ความรับผิดชอบ และผลการปฏิบต ั ง ิ านของพนักงานแต่ละคน มีการบริหารจัดการค่าตอบแทนและสวัสดิการต่างๆ มากกว่าทีก ่ ฎหมาย กำ�หนด เช่น การจัดตัง ้ กองทุนสำ�รองเลีย ้ งชีพ ประกันสุขภาพแบบกลุม ่ การตรวจสุขภาพประจำ�ปี การจัดกิจกรรม 5 ส. การ ดูแลสภาพแวดล้อมในการทำ�งานให้มค ี วามปลอดภัย การให้ทน ุ การศึกษาแก่บต ุ รของพนักงาน เป็นต้น โดยค่าตอบแทน และสวัสดิการทีจ ่ ด ั ให้กบ ั พนักงานนัน ้ บริษท ั มุง ่ เน้นให้มค ี วามเหมาะสมและสอดคล้องกับผลการดำ�เนินงานของบริษท ั และ ผลการประเมินการปฏิบต ั ง ิ านของพนักงาน รวมถึงสอดคล้องกับผลตอบแทนของบุคลากรในอุตสาหกรรมทีใ่ กล้เคียง กัน รวมถึงมีนโยบายจ่ายเงินโบนัสแก่พนักงานเมือ ่ บริษท ั สามารถทำ�กำ�ไรได้ถง ึ เป้าหมาย ด้านคุณภาพชีวต ิ และความปลอดภัย บริษท ั ได้ก�ำ หนดนโยบาย รวมถึงการจัดสวัสดิการต่างๆ ให้แก่พนักงานเพือ ่ ให้เป็นไปตามกฎหมายและหลักสิทธิ มนุษยชน ไม่วา่ จะเป็นนโยบายเกีย ่ วกับการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทำ�งาน พร้อมรณรงค์และส่งเสริมการพัฒนาทีมงาน เพือ ่ สร้างมาตรฐานระดับสูงมุง ่ เน้น ความเป็นเลิศด้านการปฏิบต ั ิ

26

19

13 4

56


การ โดยมีการทำ�การค้นหา วิเคราะห์ ประเมินความเสีย ่ งความเป็นอันตรายของทุกกระบวนการในการทำ�งาน พร้อม ดำ�เนินการวางแผนแก้ไข ป้องกัน รณรงค์อย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ เป็นมาตรฐานในด้านความปลอดภัยให้แต่ละโรงงานนำ� ไปปฏิบต ั ิ รวมถึงมีการจัดตัง ้ คณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน (คปอ.) และ เจ้าหน้าทีค ่ วามปลอดภัยในการทำ�งาน ระดับวิชาชีพ (จป.วิชาชีพ) โดยมีเจ้าหน้าทีค ่ วามปลอดภัยในการทำ�งานทัง ้ ระดับ บริหาร (จป.บริหาร) และระดับหัวหน้างาน (จป.หัวหน้า) และอบรมพนักงานให้มค ี วามรู้ เรือ ่ งความปลอดภัยในการทำ�งาน อย่างต่อเนือ ่ งซึง ่ ได้ด�ำ เนินตามมาตรการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม อย่างเคร่งครัดและเป็น ไปตามมาตรฐาน นอกจากนีย ้ ง ั คำ�นึงถึงเรือ ่ งความปลอดภัยต่อชีวต ิ และทรัพย์สน ิ ของพนักงาน มีการติดตัง ้ สัญญาณเตือน ภัยภายในอาคาร พร้อมทัง ้ ตัง ้ ทีมดับเพลิง (Fireman) ประจำ�แต่ละโรงงาน มีการจัดซือ ้ ชุดผจญเพลิง และมีการฝึก ซ้อมอย่างสม่�ำ เสมอ รวมทัง ้ ทำ�การซ้อมการอพยพหนีไฟ โดยมีรป ู แบบและแผน พร้อมใช้รหัสในการอพยพหนีไฟ ซึง ่ เป็นแนวทางปฏิบต ั ท ิ ถ ่ี ก ู ต้อง ตรงตามระบบมาตรฐานความปลอดภัยและข้อบังคับกฎหมายฉบับใหม่ ทัง ้ นีบ ้ ริษท ั ได้ จัดการอบรมด้านความปลอดภัยอยูเ่ สมอ เช่น โครงการอบรม หลักสูตร ความปลอดภัยในการทำ�งานเกีย ่ วกับสารเคมี โครงการอบรม หลักสูตร ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน สำ�หรับลูกจ้าง โครงการอบรม หลักสูตร ความรูท ้ ว่ั ไปเกีย ่ วกับอาชญากรรมต่างๆ ด้านคุณภาพชีวต ิ บริษท ั ส่งเสริมให้พนักงานทุกคนมีสข ุ ภาพทีด ่ ท ี ง ้ั ทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ได้แก่ การจัดให้มพ ี ยาบาล วิชาชีพปฏิบต ั ง ิ านประจำ�สถานทีท ่ �ำ การตลอดเวลาทำ�การของบริษท ั ซึง ่ เป็นไปตามทีก ่ ฎหมายกำ�หนด ตลอดจนจัดให้มี การตรวจสุขภาพประจำ�ปีให้แก่พนักงานประจำ�ทุกคน เพือ ่ ให้พนักงานทำ�งานในสภาพแวดล้อมทีป ่ ลอดภัย มีคณ ุ ภาพ ชีวต ิ การทำ�งานทีด ่ ี ไม่เจ็บป่วย บาดเจ็บ หรือเกิดโรคภัยจากการทำ�งาน สามารถปฏิบต ั ง ิ านได้เต็มประสิทธิภาพ และ ดำ�เนินชีวต ิ อย่างมีความสุข ด้านการพัฒนาบุคคลากร บริษท ั มุง ่ มัน ่ ในการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนือ ่ ง ด้วยการมุง ่ พัฒนาความรูค ้ วามสามารถและทักษะเพือ ่ ให้การ ปฏิบต ั ง ิ านมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิง ่ ขึน ้ โดยบริษท ั ได้มก ี ารจัดตัง ้ “แม็ค อคาเดมี” (Mc Academy) เพือ ่ รับ ผิดชอบวางแผนการพัฒนาและฝึกอบรมพนักงาน ให้พนักงานมีความรูค ้ วามสามารถ และทักษะทีจ ่ �ำ เป็นในการทีจ ่ ะ ทำ�ให้บริษท ั บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ทางธุรกิจทีบ ่ ริษท ั กำ�หนดไว้ รวมทัง ้ การปลูกฝังให้ผบ ู้ ริหารและพนักงาน ยึดถือในค่านิยมขององค์กร (Core Values) “Mc Way” เพือ ่ เป็นการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรทีเ่ ข้มแข็งดังนี้

M

Motivation = “จูงใจ”

C

Commitment = “ยึดมัน ่ ”

ยึดมัน ่ ในคำ�สัญญาต่อลูกค้าละคูค ่ า้ ตามหลักการดำ� เนินธุรกิจด้วยความ สุจริต

W

Willingness = “เต็มใจ”

ดำ�เนินธุรกิจด้วยความตัง ้ ใจในทุกส่วนของงานเพือ ่ มอบส่งมอบสิง ่ ทีด ่ ท ี ส ่ี ด ุ ทัง ้ สินค้าและบริการ

A

Appreciation = “ให้เกียรติ”

ชืน ่ ชมและเคารพในการทำ�งานของเพือ ่ นพนักงานให้เกียรติและมีน�ำ้ ใจต่อกัน ทัง ้ ภายในหน่วยงานและทัว่ ทัง ้ องค์กร

Y

Yes-Minded = “ทำ�ได้”

มีแรงจูงใจในการทำ�งานเพือ ่ สร้างสรรค์ผลงานทีด ่ ท ี ส ่ี ด ุ ให้แก่ลก ู ค้า

คิดบวกต่อทุกเรือ ่ งทีพ ่ บเจอพร้อมแก้ไขปัญหาในทุกสถานการณ์และเชือ ่ ว่าทุก ปัญหามีทางออก

ทัง ้ นี้ เพือ ่ ยกระดับและสร้างมาตรฐานในการปฏิบต ั ง ิ านให้มป ี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิง ่ ขึน ้ ซึง ่ แม็ค อคา เดมี นีม ้ ง ุ่ เน้นการพัฒนาทีค ่ รอบคลุมในทุกกลุม ่ พนักงานและทุกระดับ เพือ ่ ยกระดับขีดความสามารถของพนักงานให้ ทัดเทียมกับบริษท ั ชัน ้ นำ� เพือ ่ เพิม ่ ความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจทัง ้ ในปัจจุบน ั และอนาคต นอกจากที่กล่าวมาข้างต้น บริษัทจัดให้พนักงานได้มีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในการที่จะเสนอแนะ ปรับปรุง และ พัฒนาสวัสดิการของพนักงานโดยการสนับสนุนให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ (คกส.) ซึ่งเป็นผู้แทนของพนักงานที่มาจากการเลือกตั้งอันเป็นการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 อีกด้วย 57


5) ความรับผิดชอบต่อผูบ ้ ริโภค บริษท ั มีนโยบายให้ความสำ�คัญต่อการสร้างคุณค่าและเติบโตไปพร้อมกับลูกค้า ตลอดจนเป็นทีไ่ ว้วางใจของลูกค้า ซึง ่ เป็นปัจจัยทีน ่ �ำ ไปสูค ่ วามสำ�เร็จของธุรกิจบริษท ั โดยปฏิบต ั ต ิ อ ่ ลูกค้าด้วยความจริงใจและสุภาพอ่อนน้อม และมีเจตจำ�นง ทีจ ่ ะแสวงหาวิธก ี ารทีจ ่ ะสนองความต้องการของลูกค้าให้มป ี ระสิทธิภาพมากยิง ่ ขึน ้ โดยกำ�หนดเป็นนโยบายและข้อปฏิบต ั ิ ไว้ ดังต่อไปนี้ 1. ผลิต ออกแบบ และส่งมอบสินค้าทีผ ่ า่ นการรับรองคุณภาพและได้มาตรฐาน ตรงตามข้อตกลงกับลูกค้าใน ราคาทีเ่ ป็นธรรม ไม่คา้ กำ�ไรเกินควร บริการ

2. ให้ขอ ้ มูลข่าวสารและคำ�แนะนำ�ทีถ ่ ก ู ต้อง เพียงพอ และทันเหตุการณ์ ต่อลูกค้า เพือ ่ ให้ทราบเกีย ่ วกับสินค้า การ

3. ปฏิบต ั ต ิ ามเงือ ่ นไขต่างๆ ทีม ่ ต ี อ ่ ลูกค้าอย่างเคร่งครัด กรณีทไ่ี ม่สามารถปฏิบต ั ต ิ ามเงือ ่ นไขข้อใดได้ตอ ้ งรีบแจ้ง ให้ลก ู ค้าทราบ เพือ ่ ร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหา 4. ปฏิบต ั ก ิ บ ั ลูกค้าด้วยความสุภาพ และเป็นทีว่ างใจของลูกค้า 5. มีระบบการจัดการเก็บข้อมูลของลูกค้าอย่างปลอดภัย มีมาตรการรักษาความลับของลูกค้าไม่สง ่ ต่อข้อมูล โดยไม่ได้รบ ั ความยินยอมจากลูกค้า และไม่น�ำ ข้อมูลของลูกค้าไปใช้เพือ ่ ประโยชน์ของตนเอง และ/หรือผูท ้ เ่ี กีย ่ วข้องโดยมิ ชอบ 6. รับประกันสินค้า ภายใต้เงือ ่ นไขระยะเวลาทีเ่ หมาะสม และปฏิบต ั ต ิ ามพระราชบัญญัตค ิ ม ุ้ ครองผูบ ้ ริโภค 7. ให้มรี ะบบ/กระบวนการ ทีใ่ ห้ลก ู ค้าร้องเรียนเกีย ่ วกับคุณภาพ ปริมาณ ความปลอดภัยของสินค้า และบริการ รวมทัง ้ ความรวดเร็วในการตอบสนองการส่งมอบ และการดำ�เนินการอย่างถึงทีส ่ ด ุ เพือ ่ ให้ลก ู ค้าได้รบ ั การตอบสนอง อย่างรวดเร็ว 8. ริเริม ่ สนับสนุนการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของลูกค้า 9. มุง ่ เน้นการพัฒนาเพือ ่ ผลิตสินค้า การใช้บรรจุภณ ั ฑ์ และการขนส่งสินค้าทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง ่ แวดล้อม 10. สร้างช่องทางในการให้ขอ ้ มูลเกีย ่ วกับผลิตภัณฑ์และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ลก ู ค้าทราบอย่างต่อเนือ ่ ง 6) การดูแลรักษาสิง ่ แวดล้อม บริษัทมุ่งมั่นและให้ความสำ�คัญต่อการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยกำ�หนดให้มีนโยบายกำ�จัดปัญหาที่เกิดจาก กระบวนการการผลิต และกำ�หนดให้มรี ะบบการบริหารจัดการสิง ่ แวดล้อม พร้อมทัง ้ ให้มก ี ารพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อ เนือ ่ ง เพือ ่ ลดผลกระทบด้านสิง ่ แวดล้อม โดยบริษท ั ได้ใส่ใจในทุกขัน ้ ตอน เริม ่ ตัง ้ แต่ก�ำ หนดนโยบายการจัดหาวัตถุดบ ิ ทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง ่ แวดล้อม นโยบายการลดของเสียในกระบวนการการผลิต นโยบายการลดการใช้พลังงานในองค์กร นโยบายบำ�บัดของเสีย และนโยบายการพัฒนาเศษวัสดุเหลือใช้ เป็นต้น บริษท ั คำ�นึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมโดย ส่วนรวม และตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสิง ่ แวดล้อมซึง ่ กำ�หนดไว้ในจริยธรรมทีต ่ อ ้ งปฏิบต ั ต ิ อ ่ สังคม และเมือ ่ มีโครง การใหม่ๆ บริษท ั จะให้คณะทำ�งานด้าน EHS เข้าร่วมในการให้ค�ำ ปรึกษาตัง ้ แต่การออกแบบโดยคำ�นึงถึงการรักษาสิง ่ แวดล้อมและความปลอดภัยเป็นสำ�คัญ ในส่วนของบริษท ั ย่อย ได้แก่ บจก. พี.เค.การ์เม้นท์ (อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต) และบจก. แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริง ่ ให้ ความสำ�คัญ และมีการติดตามผลกระทบต่อสิง ่ แวดล้อมทีอ ่ าจจะเกิดขึน ้ จากการผลิต เช่น น้�ำ เสีย จากการซักฟอก และ ฝุน ่ ละอองจากการพ่นสีสเปย์ โดยปฏิบต ั ต ิ ามกฎระเบียบ และขัน ้ ตอนการปฏิบต ั ง ิ านอย่างเคร่งครัด และ มีการดำ�เนินการ เพือ ่ ควบคุมและจัดการผลกระทบต่อสิง ่ แวดล้อมดังนี้ 1. การจัดการทรัพยากรสิง ่ แวดล้อม 1.1 การป้องกันและเฝ้าระวัง 1.1.1 คุณภาพอากาศและสภาวะแวดล้อมในการทำ�งาน บริษท ั มีการนำ�แก๊สธรรมชาติ (LPG) มาใช้ทดแทนน้�ำ มันเตา เพือ ่ ลดมลภาวะทางอากาศ ได้แก่ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SOx) ออกไซด์ของไนโตเจน (NOx) คาร์บอนมอนอกไซด์ (COx) เป็นต้น โดยมีมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพ สิง ่ แวดล้อมก่อนปล่อยออกนอกบริเวณโรงงาน พร้อมมีการตรวจสอบคุณภาพสภาวะแวดล้อมในพืน ้ ทีก ่ ารทำ�งาน เช่น คุณภาพอากาศ ในพืน ้ ทีท ่ �ำ งาน (ฝุน ่ ละอองรวม คลอรีน ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ กรดน้�ำ ส้ม ฝุน ่ ละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน) ความดังของเสียง แสงสว่าง และความร้อนในพืน ้ ทีท ่ �ำ งานผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามกฎหมายกำ�หนด 1.1.2 คุณภาพน้�ำ บริษท ั ได้มรี ะบบการจัดการน้�ำ เสียจากกระบวนการผลิต โดยใช้ระบบบำ�บัดน้�ำ เสียแบบเอสบีอาร์ (SBR) ซึง ่ เป็นก ระบวนการบำ�บัดน้�ำ เสียทางชีวภาพ และมีมาตรการติดตามเฝ้าระวัง พร้อมตรวจวัดคุณภาพน้�ำ ทิง ้ จากระบบบำ�บัดน้�ำ เสียเป็นประจำ�ทุกเดือน และผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามกฎหมายกำ�หนด

58


1.2 การจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 1.2.1 การจัดการกากอุตสาหกรรม บริษัท มีมาตรการคัดแยกวัสดุไม่ใช้แล้วแบ่งตามประเภทและจัดเก็บอย่างเป็นระบบก่อนส่งให้ผู้รับกำ�จัดที่ได้รบ ั อนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม นำ�ไปฝังกลบหรือบำ�บัดตามวิธท ี ก ่ี ฎหมายกำ�หนด 1.2.2 การจัดการสารเคมี บริษท ั มีการจัดหมวดหมูส ่ ารเคมี (ทีใ่ ช้ในกระบวนการฟอก), ทำ�การปรับปรุงข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet; SDS) ซึง ่ แบ่งประเภทตามความเป็นอันตรายของมาตรฐานกรมโรงงานอุตสาหกรรม และมาตรฐาน สมาคมป้องกันอัคคีภย ั แห่งชาติ (National Fire Protection Association; NFPA) และทางด้านการจัดเก็บสารเคมี บริษท ั ใช้วธ ิ ก ี ารจัดเก็บตามมาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรมและมีบค ุ ลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการ เก็บรักษาวัตถุอน ั ตราย ซึง ่ ได้รบ ั การขึน ้ ทะเบียนจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม 2. ส่งเสริมให้พนักงานมีความรู้ ทางบริษท ั ได้ตระหนักในเรือ ่ งการให้ความรูก ้ บ ั พนักงานอย่างสม่�ำ เสมอ โดยส่งพนักงานเข้าอบรมกับหน่วยงาน ต่างๆ เช่น การอบรมหลักสูตรบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบการเก็บรักษาวัตถุอน ั ตราย หลักสูตรกฎระเบียบสารอันตราย และฉลากสิง ่ แวดล้อมในผลิตภัณฑ์สง ่ิ ทอ หลักสูตรผูค ้ วบคุมระบบบำ�บัดมลพิษน้�ำ และหลักสูตรผูป ้ ฏิบต ั ง ิ านประจำ�ระบบ บำ�บัดมลพิษน้�ำ เป็นต้น ทัง ้ นีต ้ ง ้ั แต่เริม ่ ดำ�เนินการผลิต โรงงานทัง ้ หมดของบริษท ั ย่อย ไม่เคยมีขอ ้ พิพาท หรือฟ้องร้องเกีย ่ วกับการสร้าง ผลกระทบต่อสิง ่ แวดล้อม และไม่เคยได้รบ ั การตักเตือนหรือปรับจากหน่วยงานของรัฐ ตามกฎหมายทีบ ่ ริษท ั ย่อยต้อง ปฏิบต ั ต ิ ามอันได้แก่ พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ.2535 และพระราชบัญญัตส ิ ง ่ เสริมและรักษาคุณภาพสิง ่ แวดล้อมแห่ง ชาติ พ.ศ.2535 แต่อย่างใด นอกจากนีใ้ นปี 2558 บริษท ั ยังมีโครงการเพือ ่ สิง ่ แวดล้อมทีส ่ �ำ คัญนอกจากทีก ่ ล่าวมาข้างต้น ดังนี้ โครงการการใช้วส ั ดุอย่างมีคณ ุ ค่า (Material Utilization) เนือ ่ งจากในปัจจุบน ั ในยุคทีก ่ ารแข่งขันทางเศรษฐกิจและการค้าเป็นไปอย่างยากลำ�บาก องค์กรต่างๆ ต้องเฟ้น หากลยุทธ์เพือ ่ นำ�มาพัฒนา และปรับปรุงอย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ ความอยูร่ อดของธุรกิจ และยังต้องคงไว้ซง ่ึ ความพึงพอใจ ของลูกค้าทัง ้ ทางด้านราคา คุณภาพ และการส่งมอบสินค้า ในส่วนของโรงงานของบริษัท นอกเหนือจากการนำ�เทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาใช้เพื่อเพิ่มกำ�ลังการผลิต หรือลด ต้นทุนแล้ว เรายังคงมีการทบทวนการใช้ประโยชน์สูงสุดจากวัตถุดิบที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อเป็นการลด ต้นทุน และเกิดผลกำ�ไรอย่างต่อเนือ ่ ง ด้วยแนวคิดการพัฒนาอย่างง่ายๆ โดยเราเริม ่ กิจกรรมนีท ้ ่ี บริษท ั แม็คยีนส์ แมนู แฟคเจอริง ่ จำ�กัด ในปี 2558 ดังต่อไปนี้ 1. เปลีย ่ นวิธก ี ารในการวางมาร์คแพทเทิรน ์ (แบบพิมพ์งานตัด) ทำ�ให้สามารถปรับลดขนาดช่องว่างระหว่างชิน ้ งานของแพทเทิรน ์ จาก 2 มม. เหลือ 0.5 มม.มีผลทำ�ให้สามารถลดปริมาณการใช้ผา้ ได้ประมาณ 1.5% 2. ปรับปรุงวิธก ี ารปูผา้ โดยการตัดปลายผ้าในการปูผา้ แต่ละชัน ้ แทนการปูมว้ นปลายผ้าเป็นสันทบไปมา ซึง ่ ทำ�ให้ ประหยัดผ้าตรงช่วงสันทบทีป ่ ลายทัง ้ สองด้าน ทำ�ให้สามารถลดปริมาณการใช้ผา้ ได้ประมาณ 0.28% 3. คัดเลือกความกว้างของหน้าผ้าแต่ละม้วนที่มีขนาดใกล้เคียงกัน และเฉดสีเดียวกันเพื่อกำ�หนดขนาดของ มาร์คเกอร์ที่เหมาะสมกับหน้าผ้าแต่ละชุด 4. ปรับแพทเทิร์นที่เป็นมุมแหลมให้เป็นมุมตัด เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการวางมาร์ค 5. รวบรวมชิ้นงานตัดที่คัดออกเนื่องจากตำ�หนิผ้ามาประกอบเป็นตัวกางเกงเพื่อขายเป็นสินค้าเกรดบีแทน การขายเป็นเศษผ้า โครงการเพือ ่ สิง ่ แวดล้อม 1. ได้ปรับปรุงเรือ ่ งการนำ�กากของเสีย ทีเ่ กิดขึน ้ จากกระบวนการผลิตออกจากโรงงานและนำ�ไปกำ�จัดอย่าง เหมาะสมและเป็นมิตรกับสิง ่ แวดล้อม 2. ปรับปรุงระบบการใช้ลมจากเครือ ่ งอัดอากาศ ทีใ่ ช้ในกระบวนการผลิตให้มป ี ระสิทธิภาพดีขน ้ึ ทำ�ให้ประหยัด การใช้พลังงานไฟฟ้าในการใช้อป ุ กรณ์ดง ั กล่าว 3. เปลีย ่ นหลอดไฟแสงสว่างทีใ่ ช้อยูเ่ ดิม เป็นหลอด LED ขนาด 20 วัตต์ ในสถานประกอบการทัง ้ ส่วนสำ�นักงาน และในส่วนของโรงงานผลิต ซึง ่ ดำ�เนินการไปแล้วประมาณ 50% ( เป็นหลอดไฟประมาณ 3,000 หลอด ) ซึง ่ ช่วย ประหยัดการใช้ไฟฟ้าลงไปจากเดิม 4. ได้เพิม ่ พืน ้ ทีส ่ เี ขียวตามความเหมาะสม โดยการปลูกต้นไม้เพิม ่ ขึน ้ ในสถานประกอบการของบริษท ั 7) การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม บริษัท ตระหนักถึงความรับผิดชอบที่พึงมีต่อสังคม และชุมชนจนถือเสมือนเป็นภารกิจหลัก ที่จะสร้างสรรค์ โครงการ และกิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ในการพัฒนาสังคม และชุมชน 59


ในปีทผ ่ี า่ นมาบริษท ั มีโครงการทีส ่ �ำ คัญในการร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม ดังนี้ โครงการแม็คฝึกสอนเย็บผ้าพัฒนาอาชีพ (MC Sewing Training for Occupation Development) ด้วยประสบการณ์ในการดำ�เนินธุรกิจเข้าสูท ่ ศวรรษที่ 5 และศักยภาพทางด้านการพัฒนาธุรกิจอย่างต่อเนือ ่ ง ทัง ้ ในด้านเทคโนโลยีในการผลิตและการบริหารทรัพยากรมนุษย์ บริษท ั จึงได้ด�ำ เนินนโยบายทีจ ่ ะถ่ายทอดองค์ความรูแ้ ละ ประสบการณ์ทางด้านการเย็บผ้าให้แก่ชม ุ ชน และสังคมโดยการจัดตัง ้ โครงการแม็คฝึกสอนเย็บผ้าพัฒนาอาชีพ (Mc Sewing Training for Occupation Development) ขึน ้ ซึง ่ มีวต ั ถุประสงค์หลักในการส่งเสริมให้ประชาชนทีม ่ ค ี วาม สนใจได้รบ ั ความรู้ และประสบการณ์ทเ่ี ป็นประโยชน์ สามารถทีจ ่ ะนำ�ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพเลีย ้ งตนเอง และ ครอบครัวได รวมทัง ้ ยังสร้างโอกาสในการทำ�งานให้แก่ประชาชนทีผ ่ า่ นการฝึกอบรม ในการทีจ ่ ะเข้าร่วมงานกับบริษท ั ตามความเหมาะสมต่อไป โครงการแม็คฝึกสอนเย็บผ้าพัฒนาอาชีพเปิดรับสมัครประชาชนในชุมชนเขตพืน ้ ทีป ่ ระเวศและประชาชนโดยทัว่ ไป ทีส ่ นใจในทุกวันเสาร์เวลา 09.00 – 16.00 น. เป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน โดยกำ�หนดหลักสูตรสำ�หรับการฝึกอบรม ประกอบด้วยภาคทฤษฎี ได้แก่ ความรูเ้ บือ ้ งต้นเกีย ่ วกับผ้าและหลักการเย็บผ้า ความรูเ้ บือ ้ งต้น และการซ่อมแซมดูแล รักษาจักรเย็บผ้าเบือ ้ งต้น และความรูท ้ เ่ี กีย ่ วข้องอืน ่ ๆ และภาคปฏิบต ั ใิ นการตัดเย็บผ้าจริง

โดยในรุน ่ ที่ 1 ได้ด�ำ เนินการเสร็จสิน ้ เมือ ่ วันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2558 โดยได้รบ ั ความร่วมมือด้วยดีจากฝ่าย พัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สำ�นักเขตประเวศ กรุงเทพมหานคร และกลุม ่ ปักจักรบ้านขวัญเรียม (ผลิตภัณฑ์ ชุมชนระดับประเทศ OTOP 5 ดาว) เขตประเวศ กรุงเทพฯ ถือได้วา่ ประสบความสำ�เร็จบรรลุตามวัตถุประสงค์ดว้ ยดีโดย ได้รบ ั ผลการประเมินโดยรวมจากประชาชนทีผ ่ า่ นการฝึกอบรมว่า ได้รบ ั ความรูแ้ ละประสบการณ์ทเ่ี ป็นประโยชน์จริง ซึง ่ สำ�นักงานเขตประเวศ กรุงเทพฯ ให้การยกย่องชืน ่ ชมบริษท ั ว่าเป็นแบบอย่างทีด ่ ข ี องสถานประกอบกิจการทีม ่ ช ี อ ่ื เสียง ระดับประเทศและกำ�ลังเติบโตสูร่ ะดับสากลแต่ไม่มองข้ามการให้ความสำ�คัญในการพัฒนาชุมชนและสังคมรายรอบสถาน ประกอบกิจการด้วย ถือเป็นการช่วยสนับสนุนภาครัฐในการร่วมพัฒนาชุมชนและสังคมได้เป็นอย่างดียง ่ิ โครงการแม็คสมาร์ท (MC SMART) บริษท ั ในฐานะผูป ้ ระกอบธุรกิจค้าปลีกเครือ ่ งแต่งกายและสินค้าไลฟ์สไตล์ทม ่ี ส ี ว่ นแบ่งการตลาดในธุรกิจยีนส์เป็น อันดับหนึง ่ ของประเทศ ร่วมกับกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (DITP) จัดโครงการแม็คสมาร์ท ขึน ้ ซึง ่ นอกเหนือจากคุณภาพและรูปแบบของสินค้าทีบ ่ ริษท ั ให้ความสำ�คัญเป็นอย่างยิง ่ แล้ว การสร้างสรรค์กจ ิ กรรมอัน แสดงถึงความห่วงใยใส่ใจ และรับผิดชอบต่อสังคม สิง ่ แวดล้อม ตลอดจนความตัง ้ ใจจริงในการส่งเสริม และพัฒนาขีด ความสามารถของคนในสังคมก็มค ี วามสำ�คัญด้วยเช่นกัน การจัดโครงการแม็คสมาร์ทในครัง ้ นี้ เกิดจากแนวความคิด ทีต ่ อ ้ งการสร้างสรรค์งานศิลปะ งานออกแบบ ตลอดจนงานแฟชัน ่ โดยการนำ�เศษผ้ายีนส์และวัสดุเหลือจากการผลิต ยีนส์แม็ค กลับมาใช้สร้างให้เป็นผลงานทีเ่ ป็นประโยชน์สง ู สุดทีส ่ ามารถใช้สอยได้จริงในชีวต ิ ประจำ�วัน

60


บริษท ั มุง ่ มัน ่ ทีจ ่ ะพัฒนาศักยภาพด้านความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบของคนไทยให้เป็นทีร่ จ ู้ ก ั ทัว่ โลก และ เป็นผูน ้ �ำ อันดับหนึง ่ ด้านการออกแบบ ในครัง ้ นีเ้ รามุง ่ เป็นส่วนหนึง ่ ในการร่วมสร้างประโยชน์สง ู สุดกลับคืนสูส ่ ง ั คม ผ่าน แนวคิดด้านการอนุรก ั ษ์สง ่ิ แวดล้อม เพือ ่ เป็นแบบอย่างทีด ่ แี ละส่งต่อทัศนคติแห่งการช่วยเหลือสังคมสูเ่ ยาวชนคนรุน ่ ใหม่ ต่อไป โดยโครงการมีวต ั ถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพือ ่ ตอกย้�ำ การเป็นองค์กรทีส ่ นับสนุนการศึกษาของเยาวชน และต้องการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพในทักษะ ด้านการใช้ความคิดสร้างสรรค์ของกลุม ่ เป้าหมาย ทัง ้ นิสต ิ นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไปทีม ่ ค ี วามสนใจทางด้านการการ สร้างสรรค์งานศิลปะ งานออกแบบ และแฟชัน ่ (Fashion Lifestyle and Living Lifestyle) เพือ ่ ต่อยอดไปสูก ่ ารพาณิชย์ ทัง ้ ในไทยและต่างประเทศ 2. เป็นโครงการทีส ่ นับสนุนการเรียนการสอนของนิสต ิ นักศึกษาในด้านการสร้างสรรค์ การออกแบบ และแฟชัน ่ ของกลุม ่ เป้าหมาย และเป็นพืน ้ ทีใ่ ห้ได้แสดงความสามารถ 3. เป็นการแสดงออกถึงการให้ความสำ�คัญของการรับผิดชอบต่อสังคม ตามวิสย ั ทัศน์ของแม็คกรุป ๊ โดยการ สนับสนุน ส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพทางความคิดสร้างสรรค์ของคนไทย เพือ ่ เป็นอีกหนึง ่ ช่องทางในการสร้างอาชีพ และรายได้ และมีสว่ นช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศชาติให้เติบโตและแข็งแรงขึน ้ เพือ ่ ความอยูด ่ ม ี ส ี ข ุ ของคนไทย อย่างยัง ่ ยืน 4. แสดงออกถึงเจตนารมณ์และความมุง ่ มัน ่ ในการให้ความสำ�คัญด้านสิง ่ แวดล้อมโดยโครงการ Mc Smart เป็นการนำ�วัสดุเหลือใช้จากระบวนการผลิตยีนส์แม็ค นำ�กลับมาพัฒนาต่อใช้สร้างเป็นผลงาน เพือ ่ ให้ทก ุ คนได้มส ี ว่ นร่วม ช่วยกันลดปริมาณขยะ และสร้างสิง ่ แวดล้อมทีด ่ ค ี น ื สูส ่ ง ั คม โดยโครงการแม็คสมาร์ทนีจ ้ ะแล้วเสร็จและประกาศผลในปี 2559 8) การมีนวัตกรรม และเผยแพร่-รับผิดชอบต่อสังคม สิง ่ แวดล้อม ผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย บริษท ั มีความมุง ่ มัน ่ และให้ความสำ�คัญต่อการพัฒนาการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี และพัฒนานวัตกรรมและเผย แพร่-รับผิดชอบต่อสังคม สิง ่ แวดล้อม ผูม ้ ส ี ว่ นได้เสียอย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ สร้างให้เป็นองค์กรทีม ่ ค ี ณ ุ ค่าต่อสังคมภาย ใต้ความสมดุลทัง ้ ด้านผลประกอบการและการมีความรับผิดชอบต่อผูม ้ ส ี ว่ นได้เสียขององค์กร ทัง ้ สังคม ชุมชน และ สิง ่ แวดล้อม โดยบริษท ั ปฏิบต ั ต ิ ามข้อกำ�หนดของกฎหมาย และกฎระเบียบต่างๆ ทีเ่ กีย ่ วข้อง เพือ ่ ให้สท ิ ธิของผูม ้ ส ี ว่ นได้ เสียได้รบ ั การดูแลและปกป้องด้วยความเป็นธรรม และสนับสนุนให้ผม ู้ ส ี ว่ นได้เสียมีสว่ นร่วมในการสร้างเสริมความมัง ่ คัง ่ ความมัน ่ คง และความยัง ่ ยืนของกิจการในระยะยาว

61


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจำ�ปี 2558 เรียน ท่านผูถ ้ อ ื หุน ้ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษท ั แม็คกรุป ๊ จำ�กัด (มหาชน) ซึง ่ ได้รบ ั แต่งตัง ้ โดยคณะกรรมการบริษท ั ประกอบด้วยกรรมการอิสระ จำ�นวน 3 ท่าน ทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตค ิ รบถ้วนตามประกาศสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ อีกทัง ้ เป็นผูม ้ ค ี วามรูค ้ วามเชีย ่ วชาญและประสบการณ์โดยเฉพาะ โดยมีนายสมชัย อภิวฒ ั น พร เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นางจำ�นรรค์ ศิรต ิ น ั และ นายศุภศักดิ์ จิรเสวีนป ุ ระพันธ์ เป็นกรรมการตรวจสอบ และนางสาวอนงค์นาฏ วรรณมาศ เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ในรอบปี 2558 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบต ั ห ิ น้าทีต ่ ามทีไ่ ด้รบ ั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษท ั ซึง ่ สอดคล้องกับประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้ง สิ้น 5 ครั้ง โดยคณะกรรมการตรวจสอบทัง ้ 3 ท่านเข้าร่วมประชุมครบทุกครัง ้ และสามารถสรุปสาระสำ�คัญของงานที่ ปฏิบต ั ไิ ด้ดง ั ต่อไปนี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำ�ปี 2558 ร่วมกับฝ่ายบริหารและผู้สอบบัญชีของ บริษัท เพื่อให้ค�ำ แนะนำ� และข้อคิดเห็น เพื่อความถูกต้องครบถ้วน เชื่อถือได้ ของงบการเงิน และเปิดเผยข้อมูลที่ สำ�คัญครบถ้วน เพียงพอ และทันเวลา เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2. สอบทานให้บริษท ั ปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 3. สอบทานและให้ความเห็นในกรณีทเ่ี กิดรายการทีเ่ กีย ่ วโยงกัน หรือรายการทีอ ่ าจจะมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้มค ี วามถูกต้องครบถ้วน รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลของรายการดังกล่าว ตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยได้แสดงความเห็นว่า รายการดัง กล่าวได้ด�ำ เนินการอย่างสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สง ู สุดต่อบริษท ั นอกจากนีไ้ ด้พจ ิ ารณา การเปิดเผยบทวิเคราะห์ ทางการเงินและผลการดำ�เนินงานทุกไตรมาส 4. สอบทานให้บริษท ั มีระบบการควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายในทีเ่ พียงพอ เหมาะสม และมีประสิทธิผล 5. พิจารณาเสนอแต่งตั้งบริษัท สำ�นักงาน อีวายจำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท รวมทั้งพิจารณาเสนอค่า ตอบแทนในปี 2558 รวมทั้งประชุมกับผู้สอบบัญชี และฝ่ายตรวจสอบ โดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วม 6. พิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการแต่งตัง ้ โยกย้าย และพิจารณาความดีความชอบ หรือลงโทษหัวหน้าหน่วยงานเกี่ยวกับการตรวจสอบ 7. ให้ความเห็นชอบแผนงานการตรวจสอบของหน่วยงานตรวจสอบ รวมทั้งสอบทานรายงานผลการตรวจ สอบ แนวทางการตรวจสอบ และประเมินผลการตรวจสอบการดำ�เนินงานด้านต่างๆ ของบริษัท 8. พิจารณากลั่นกรองงบประมาณ และอัตรากำ�ลังของหน่วยงานที่เกี่ยวกับการตรวจสอบ 9. พิจารณาอนุมัติการปรับปรุงกฎบัตรฝ่ายตรวจสอบประจำ�ปี 2558 10. พิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงานในรอบปี 2558 โดยวิธีการประเมินตนเอง ผลการประเมินสรุปได้ว่า การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบอยู่ในเกณฑ์ดีมาก คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานผลการประชุมทุกครัง ้ ให้คณะกรรมการบริษท ั รับทราบอยูเ่ ป็นประจำ� และ อย่างต่อเนือ ่ ง ทัง ้ นีภ ้ ารกิจทีไ่ ด้ปฏิบต ั ใิ นปี 2558 ตามทีก ่ ล่าวข้างต้น คณะกรรมการตรวจสอบ ขอสรุปความเห็นดังนี้ 1. ระบบบัญชีและรายงานทางการเงินของบริษท ั มีความถูกต้อง เชือ ่ ถือได้ และ มีการเปิดเผยข้อมูลทีส ่ �ำ คัญครบ ถ้วน เพียงพอ และทันเวลา 2. ระบบการควบคุมภายในของบริษท ั มีความเพียงพอและเหมาะสม และมีการจัดทำ� ปรับปรุงแก้ไขระบบการ ควบคุมภายในอย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ ให้มค ี วามเหมาะสมกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษท ั ในปัจจุบน ั และอนาคต และสอดคล้อง กับกฎหมายและกฎระเบียบทีเ่ กีย ่ วข้อง 3. ผูส ้ อบบัญชีของบริษท ั คือ บริษท ั สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด มีความเป็นอิสระ และมีประสบการณ์ในการตรวจ สอบรายงานทางการเงินของบริษท ั ให้มค ี วามถูกต้อง เชือ ่ ถือได้ และมีการเปิดเผยข้อมูลทีส ่ �ำ คัญครบถ้วน เพียงพอ และ ทันเวลา

62


4. จากการสอบทานรายการทีเ่ กีย ่ วโยงกัน หรือรายการทีอ ่ าจจะมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการ ตรวจสอบเห็นว่า บริษท ั ได้มก ี ารเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วน และรายการดังกล่าวเป็นรายการทีม ่ เี งือ ่ นไขและ ราคาทีย ่ ต ุ ธ ิ รรมเหมาะสม ซึง ่ ได้ผา่ นการอนุมต ั จ ิ ากฝ่ายจัดการหรือคณะกรรมการบริษท ั ก่อนทำ�รายการแล้ว โดยสรุปภาพรวมแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ครบถ้วนตามที่ระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบทีไ่ ด้รบ ั อนุมต ั จ ิ ากคณะกรรมการบริษท ั ทุกประการ

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2559 ในนามของคณะกรรมการตรวจสอบ

(นายสมชัย อภิวฒ ั นพร) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

ิ น ั ได้ลาออกจากการเป็นกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการ หมายเหตุ: นางจำ�นรรค์ ศิรต บริหารความเสีย ่ งของบริษท ั ตัง ้ แต่วน ั ที่ 31 ธันวาคม 2558 เป็นต้นไป โดยคณะกรรมการบริษท ั ได้แต่งตัง ้ ให้นาย ลักษณะน้อย พึง ่ รัศมี เป็นกรรมการตรวจสอบ แทน โดยมีผลตัง ้ แต่วน ั ที่ 1 มกราคม 2559 เป็นต้นไป 63


การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสีย ่ ง สรุปความเห็นของคณะกรรมการบริษท ั เกีย ่ วกับระบบการควบคุมภายใน ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครัง ้ ที่ 1/2559 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบทัง ้ 3 ท่าน เข้าร่วมประชุม เพือ ่ ให้ความเห็นเกีย ่ วกับความเพียงพอ และเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน โดยอ้างอิงแบบประเมินความเพียง พอของระบบการควบคุมภายใน ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ 5 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. องค์กรและสภาพแวดล้อม บริษท ั สนับสนุนให้มส ี ภาพแวดล้อมในการทำ�งานทีด ่ ี มีการจัดโครงสร้างการ บริหารทีด ่ ี เหมาะสมตามขนาดและการดำ�เนินงาน มีการปฏิบต ั ต ิ ามนโยบายการกำ�กับดูแลทีด ่ ี โดยจัดให้มจ ี ริยธรรม ธุรกิจ (Code of Conduct) สำ�หรับพนักงานและผูบ ้ ริหารทุกคนเป็นลายลักษณ์อก ั ษร 2. การบริหารความเสีย ่ ง บริษท ั มีระบบการบริหารความเสีย ่ งทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพ โดยมีการกำ�าหนดนโยบายการ บริหารความเสีย ่ ง มี การบ่งชีค ้ วามเสีย ่ ง การประเมินความเสีย ่ ง การจัดการความเสีย ่ ง และมีระบบการติดตามผลของ การบริหารความเสีย ่ งรายไตรมาส รวมทัง ้ มีการทบทวนความเสีย ่ งกับสถานการณ์ปจ ั จุบน ั อยูเ่ สมอ 3. การควบคุมการปฏิบต ั ง ิ านของฝ่ายบริหาร บริษท ั ได้ก�ำ หนดขอบเขตอำ�นาจหน้าทีแ่ ละวงเงินอำ�นาจอนุมต ั ิ ของฝ่ายจัดการในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจนเป็นลายลักษณ์อก ั ษร มีการแบ่งแยกหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบการอนุมต ั ิ การ บันทึกรายการ และการรักษาสินทรัพย์แยกจากกัน 4. ระบบสารสนเทศและการสือ ่ สารข้อมูล บริษท ั ให้ความสำ�คัญในความถูกต้อง เชือ ่ ถือได้และทันเวลาของข้อมูล สารสนเทศต่างๆ รวมถึงการพัฒนาระบบสารสนเทศอย่างต่อเนือ ่ งทัง ้ ระบบข้อมูลด้านการเงินการปฏิบต ั ง ิ าน การ ปฏิบต ั ต ิ ามระเบียบข้อบังคับต่างๆ เพือ ่ ให้การตัดสินใจเป็นไปอย่างถูกต้องแม่นยำ� 5. ระบบการติดตาม บริษท ั มีขน ้ั ตอนการติดตามและการกำ�กับดูแลการปฏิบต ั ง ิ านในแต่ละระดับอย่างต่อเนือ ่ ง เหมาะสม โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้แต่งตัง ้ บริษท ั สำ�นักงานปิตเิ สวี ทำ�หน้าทีเ่ ป็นผูต ้ รวจสอบภายในร่วมกับ ฝ่าย ตรวจสอบภายในของบริษท ั ได้รายงานผลการตรวจสอบให้คณะกรรมการตรวจสอบทราบเป็นรายไตรมาสและคณะ กรรมการตรวจสอบได้รายงานสรุปต่อคณะกรรมการบริษท ั เพือ ่ พิจารณาสัง ่ การให้มก ี ารแก้ไขภายในเวลาทีเ่ หมาะสม ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบต่อระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานระบบการควบคุมภายใน ซึง ่ มุง ่ เน้นการตรวจสอบเชิงปฏิบต ั ก ิ ารอย่างมี ประสิทธิภาพให้พฒ ั นาอย่างต่อเนือ ่ ง มีประสิทธิผล และรายงานผลการปฏิบต ั ง ิ านให้คณะกรรมการบริษท ั ทราบจึงมี ความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษท ั มีความเพียงพอและเหมาะสม ผลการสอบทานเป็นไปตามขัน ้ ตอนที่ กำ�หนดไว้ สอดคล้องกับข้อกำ�หนดกฎหมาย และนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ ในส่วนของผูส ้ อบบัญชี บริษท ั สำ�นักงานอีวาย จำ�กัดซึง ่ เป็นผูส ้ อบบัญชีได้ประเมินประสิทธิผลของการควบคุม ภายในของบริษท ั ตามทีเ่ ห็นว่าจำ�เป็น ซึง ่ พบว่าไม่มจ ี ด ุ อ่อนของระบบการควบคุมภายในทีม ่ ส ี าระสำ�คัญแต่ประการใด หัวหน้างานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้แต่งตัง ้ บริษท ั สำ�นักงานปีตเิ สวี จำ�กัด โดยมี นางสาวชวนา วิวฒ ั น์พนชาติ ตำ�แหน่ง กรรมการผูจ ้ ด ั การ มีประสบการณ์ตรวจสอบภายใน และตรวจสอบบัญชีกว่า 25 ปี ทำ�หน้าทีเ่ ป็นผูต ้ รวจสอบภายในร่วม กับฝ่ายตรวจสอบภายในของบริษท ั ซึง ่ คณะกรรมการตรวจสอบได้พจ ิ ารณาคุณสมบัตข ิ องผูด ้ �ำ รงตำ�แหน่งหัวหน้างาน ตรวจสอบภายในแล้วว่ามีความเหมาะสมทีจ ่ ะปฏิบต ั ห ิ น้าทีด ่ ง ั กล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในส่วนของการแต่งตัง ้ ถอดถอน และโยกย้ายผูด ้ �ำ รงตำ�แหน่งหัวหน้างานผูต ้ รวจสอบภายใน ต้องได้รบ ั อนุมต ั ิ จากคณะกรรมการตรวจสอบทุกครัง ้

64


รายการระหว่างกัน บริษท ั และบริษท ั ย่อย ได้มก ี ารตกลงเข้าทำ�รายการกับบุคคลทีเ่ กีย ่ วโยงกัน โดยรายการดังกล่าวเป็นรายการ ตามธุรกิจปกติของบริษท ั และบริษท ั ย่อย ซึง ่ เป็นไปตามเงือ ่ นไขการค้าทัว่ ไปเพือ ่ ให้สอดคล้องกับข้อกำ�หนดของพระราช บัญญัตห ิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) 2551 มาตรา 89/12 (1) คณะกรรมการได้อนุมต ั ใิ นหลักการเมือ ่ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 ให้ฝา่ ยจัดการมีอ�ำ นาจเข้าทำ�รายการระหว่างกันทีม ่ เี งือ ่ นไขการค้าทัว่ ไป โดยฝ่ายจัดการ สามารถทำ�ธุรกรรมดังกล่าว หากธุรกรรมเหล่านัน ้ มีขอ ้ ตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับทีว่ ญ ิ ญูชนจะพึงกระทำ� กับคูส ่ ญ ั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอำ�นาจต่อรองทางการค้าทีป ่ ราศจากอิทธิพลในการทีต ่ นมีสถานะเป็น กรรมการ ผูบ ้ ริหาร หรือบุคคลทีม ่ ค ี วามเกีย ่ วข้อง สำ�หรับงวดบัญชีสน ้ิ สุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษท ั ได้เปิดเผยรายการทีเ่ กีย ่ วโยงกันทีเ่ ข้าข่ายตาม ประกาศตลาดหลักทรัพย์ฯ เรือ ่ ง หลักเกณฑ์ เงือ ่ นไข และวิธก ี ารเปิดเผยข้อมูลรายการทีเ่ กีย ่ วโยงกันของบริษท ั จด ทะเบียน โดยสรุปรายละเอียด ดังนี้

บริษท ั ทีเ่ กีย ่ วข้องกัน

1.บจก.มิลเลเนีย ่ ม (1975) (เดิม ชือ ่ บจก.แม็ค) ความสัมพันธ์: นางสาวสุณี เสรีภาณุ เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ ใหญ่และกรรมการ

ลักษณะรายการ

มูลค่า รายการ ปี 2558 (ล้านบาท)

เหตุผลความจำ�เป็น

บริษท ั ได้เช่าทีด ่ น ิ และอาคารสำ�นักงานสีพ ่ ระยา

1.85

เป็นการเช่าเพือ ่ เป็นสำ�นักงานฝ่ายขายเพือ ่ ใช้ งานอันเป็นรายการปกติทางการค้าของบริษท ั อัตราค่าเช่าเป็นอัตราทีอ ่ า้ งอิงกับราคาประเมิน จากผูป ้ ระเมินอิสระซึง ่ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พจ ิ ารณาแล้วมีความเห็นว่า รายการทีเ่ กิดขึน ้ มีความเป็นธรรมและสมเหตุสมผลเพือ ่ ประโยชน์ สูงสุดของบริษท ั

บริษท ั เช่ารถยนต์เพือ ่ ใช้ในการประกอบธุรกิจ

0.72

เป็นการเช่าเพือ ่ ใช้ในการประกอบธุรกิจ ตาม ราคาตลาด ซึง ่ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแล้วมีความเห็นว่า รายการทีเ่ กิดขึน ้ มี ความเป็นธรรมและสมเหตุสมผล

2.บจก. เอสเอส ชาลเล้นจ์ ความสัมพันธ์: คุณสุณี เสรี ภาณุ เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้

บริษท ั ได้เช่าทีด ่ น ิ และอาคาร Design Center

4.9

เป็นการเช่าเพือ ่ ใช้เป็นสำ�นักงานของบริษท ั อัน เป็นรายการปกติทางการค้าของบริษท ั อัตรา ค่าเช่าเป็นอัตราทีอ ่ า้ งอิงกับราคาประเมินจาก ผูป ้ ระเมินอิสระซึง ่ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแล้วมีความเห็นว่า รายการทีเ่ กิดขึน ้ มี ความเป็นธรรมและสมเหตุสมผลเพือ ่ ประโยชน์ สูงสุดของบริษท ั

3. บจก. บูตค ิ พร้อพเพอร์ต้ี แมนเนจเม้นท์ (เดิมชือ ่ บจก. พี เอ็ม กรุป ๊ ) ความสัมพันธ์: คุณปรารถนา มงคลกุล เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ และ กรรมการ

บริษท ั ย่อยคือ บจก.แม็ค ยีนส์ แมนูแฟคเจอริง ่ ได้เช่าทีด ่ น ิ และอาคารโรงงาน PK2

2.88

เป็นการเช่าโรงงานเพือ ่ ใช้ผลิตสินค้าเป็น รายการตามปกติธรุ กิจ ซึง ่ อัตราค่าเช่าอ้างอิง จากราคาประเมินโดยผูป ้ ระเมินอิสระ ซึง ่ คณะ กรรมการตรวจสอบได้พจ ิ ารณาแล้วมีความ เห็นว่า รายการทีเ่ กิดขึน ้ มีความเป็นธรรมและสม เหตุสมผล

65


มูลค่า รายการ ปี 2558 (ล้าน บาท)

บริษท ั ทีเ่ กีย ่ วข้องกัน

ลักษณะรายการ

4. บจก. ภาณภัทร ความสัมพันธ์: นายภานุ ณรงค์ชย ั กุล เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ และกรรมการ

บริษท ั ย่อยคือ บจก. ไทม์ เดคโค คอร์ปอเรชัน ่ ได้เช่าอาคารสำ�นักงาน จาก บจก. ภาณภัทร

3.1

เป็นการเช่าเพือ ่ เป็นสำ�นักงานเพือ ่ ใช้งานอัน เป็นรายการปกติทางการค้าของบริษท ั อัตรา ค่าเช่าเป็นอัตราทีอ ่ า้ งอิงกับราคาประเมินโดย ผูป ้ ระเมินอิสระ ซึง ่ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พจ ิ ารณาแล้วมีความเห็นว่า รายการทีเ่ กิด ขึน ้ มีความเป็นธรรมและสมเหตุสมผลเพือ ่ ประโยชน์สง ู สุดของบริษท ั

5. บจก. ไทม์ เดคโค เซอร์วส ิ เซส ความสัมพันธ์: นายภานุ ณรงค์ชย ั กุล และนายวราฤทธิ์ เปล่งวาณิช เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ และกรรมการ

บริษท ั ย่อยคือ บจก. ไทม์ เดคโค คอร์ปอเรชัน ่ ได้ใช้บริการหลังการขายจาก บจก.ไทม์ เดค โค เซอร์วส ิ เซส

1.94

บริษท ั ย่อยคือ บจก. ไทม์ เดคโค คอร์ปอเรชัน ่ ขายอะไหล่นาฬิกา ให้แก่ บจก. ไทม์ เดคโค เซ อร์วส ิ เซส

2.0

บจก. ไทม์ เดคโค เซอร์วส ิ เซส ให้บริการหลัง การขายแก่ บริษท ั ไทม์ เดคโค คอร์ปอเรชัน ่ การซือ ้ ขายอะไหล่นาฬิกาและ การบริการเป็น รายการปกติทางการค้า ซึง ่ ราคาขายอะไหล่ และ อัตราค่าบริการเป็นราคาตลาด คณะ กรรมการตรวจสอบได้พจ ิ ารณาแล้วมีความ เห็นว่า รายการทีเ่ กิดขึน ้ มีความเป็นธรรมและ สมเหตุสมผลเพือ ่ ประโยชน์สง ู สุดของบริษท ั

6.นายภานุ ณรงค์ชย ั กุล ความสัมพันธ์: เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ และ กรรมการ บริษท ั ย่อย บจก. ไทม์ เดค โค คอร์ปอเรชัน ่

บริษท ั ย่อย คือ บจก. ไทม์ เดคโค คอร์ปอเรชัน ่ ได้ขายสินค้าสำ�เร็จรูป ให้แก่ นายภานุ ณรงค์ ชัยกุล

0.01

การขายสินค้าดังกล่าวเป็นรายการปกติ ทางการค้าของบริษท ั โดยราคาสินค้าเป็นไป ตามราคาตลาด ซึง ่ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พจ ิ ารณาแล้วมีความเห็นว่า รายการทีเ่ กิด ขึน ้ มีความเป็นธรรมและสมเหตุสมผล

บริษท ั ย่อย คือ บจก. ไทม์ เดคโค คอร์ปอเรชัน ่ ได้ขายรถยนต์ให้นายภานุ ณรงค์ชย ั กุล

2.9

การขายรถยนต์ดง ั กล่าวเป็นรายการปกติ ทางการค้าของบริษท ั โดยราคารถยนต์เป็นไป ตามราคาตลาด ซึง ่ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พจ ิ ารณาแล้วมีความเห็นว่า รายการทีเ่ กิด ขึน ้ มีความเป็นธรรมและสมเหตุสมผล

บริษท ั ย่อย คือ บจก. ไทม์ เดคโค คอร์ปอเรชัน ่ ได้ จ่ายค่าดอกเบีย ้ ให้แก่นายภานุ ณรงค์ชย ั กุล

0.1

อัตราดอกเบีย ้ ดังกล่าวเป็นไปตามราคาตลาด ซึง ่ คณะกรรมการตรวจสอบได้พจ ิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่า รายการทีเ่ กิดขึน ้ มีความเป็น ธรรมและสมเหตุสมผล

บริษท ั ย่อย คือ บจก. ไทม์ เดคโค คอร์ปอเรชัน ่ ได้ จ่ายค่าดอกเบีย ้ ให้แก่ นายวราฤทธิ์ เปล่ง วาณิช

0.1

อัตราดอกเบีย ้ ดังกล่าวเป็นไปตามราคาตลาด ซึง ่ คณะกรรมการตรวจสอบได้พจ ิ ารณาแล้ว มีความเห็นว่า รายการทีเ่ กิดขึน ้ มีความเป็น ธรรมและสมเหตุสมผล

7.นายวราฤทธิ์ เปล่งวาณิช ความสัมพันธ์: เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ และ กรรมการ บริษท ั ย่อย บจก. ไทม์ เดค โค คอร์ปอเรชัน ่

เหตุผลความจำ�เป็น

ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ รายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน ้ ระหว่างบริษท ั บริษท ั ย่อยและบริษท ั ร่วม เป็นรายการทีด ่ �ำ เนินการทางธุรกิจตาม ปกติ และได้ผา่ นการพิจารณาอนุมต ั จ ิ ากคณะกรรมการบริษท ั หรือคณะกรรมการบริหารของบริษท ั ซึง ่ เป็นไปตามขัน ้ ตอนการอนุมต ั ท ิ เ่ี หมาะสมตามระเบียบข้อบังคับของบริษท ั ทุกประการ นโยบายและแนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต รายการระหว่างกันของบริษท ั ในอนาคตจะเป็นรายการทีด ่ �ำ เนินการทางธุรกิจปกติเช่นเดิม ไม่มรี ายการใดเป็น พิเศษ ไม่มก ี ารถ่ายเทผลประโยชน์ ระหว่างบริษท ั บริษท ั ย่อย กับบุคคลทีอ ่ าจมีความขัดแย้ง ส่วนนโยบายการกำ�หนด ราคาระหว่างบริษท ั กับบริษท ั หรือบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกัน ก็จะกำ�หนดราคาตามปกติของธุรกิจเช่นเดียวกับทีก ่ �ำ หนดให้แก่ 66


บริษท ั หรือบุคคลอืน ่ ทีไ่ ม่เกีย ่ วข้องกัน ทัง ้ นีร้ าคาสินค้าหรือวัตถุดบ ิ ทีซ ่ อ ้ื จากบริษท ั หรือบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกันก็จะเป็นไป ตามทีต ่ กลงกันไว้ในสัญญา หรือเป็นราคาทีอ ่ ง ิ กับราคาตลาดสำ�หรับวัตถุดบ ิ ชนิดนัน ้ ๆ ทัง ้ นี้ คณะกรรมการตรวจสอบ หรือผูส ้ อบบัญชีของบริษท ั หรือผูเ้ ชีย ่ วชาญอิสระจะทำ�การพิจารณาตรวจสอบ และให้ความเห็นถึงความเหมาะสมของ ราคา และความสมเหตุสมผลของการทำ�รายการ พร้อมทัง ้ เปิดเผยประเภทและมูลค่าของรายการดังกล่าว พร้อมทัง ้ เหตุผลในการทำ�รายงานต่อทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ในรายงานประจำ�ปี นอกจากนีค ้ ณะกรรมการบริษท ั จะต้องปฏิบต ั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ ข้อบังคับ ประกาศ คำ�สัง ่ หรือข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงการปฏิบต ั ต ิ ามข้อกำ�หนดเกีย ่ ว กับการเปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการเกีย ่ วโยง และการได้มาหรือจำ�หน่ายทรัพย์สน ิ ทีส ่ �ำ คัญของบริษท ั หรือบริษท ั ย่อย ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีก ่ �ำ หนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ ทัง ้ นี้ หากมีรายการระหว่างกันของบริษท ั หรือบริษท ั ย่อยเกิดขึน ้ กับบุคคลทีอ ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีสว่ นได้สว่ นเสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคต คณะกรรมการตรวจสอบ จะเป็นผูใ้ ห้ความเห็นเกีย ่ ว กับความจำ�เป็นและความเหมาะสมของรายการนัน ้ ในกรณีทค ่ี ณะกรรมการตรวจสอบไม่มค ี วามชำ�นาญพิเศษในการ พิจารณารายการระหว่างกันทีอ ่ าจเกิดขึน ้ จะให้ผเู้ ชีย ่ วชาญอิสระ หรือผูส ้ อบบัญชีของบริษท ั เป็นผูใ้ ห้ความเห็นเกีย ่ วกับ การทำ�รายการระหว่างกันดังกล่าว เพือ ่ นำ�ไปใช้ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการ หรือผูถ ้ อ ื หุน ้ ตามแต่กรณี ทัง ้ นี้ บริษท ั จะเปิดเผยรายการระหว่างกันไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินทีไ่ ด้รบ ั การตรวจสอบจากผูส ้ อบบัญชี

67


การวิเคราะห์ และอธิบายของฝ่ายจัดการ ภาพรวมผลการดำ�เนินงานของบริษท ั ปี 2558 เป็นปีแห่งความท้าทายในการประกอบธุรกิจ เนือ ่ งด้วยภาวะเศรษฐกิจทีช ่ ะลอตัว ราคาสินค้าเกษตรยัง อยูใ่ นระดับต่�ำ และปัญหาภัยแล้ง ประกอบกับภาระหนีส ้ น ิ ของประชากรยังอยูใ่ นระดับสูงมีผลกระทบต่อการใช้จา่ ย และ กำ�ลังซือ ้ ของผูบ ้ ริโภค ส่งผลให้รายได้จากการขายของบริษท ั ในครึง ่ แรกของปีแม้จะเติบโตแต่กต ็ �ำ่ กว่าเป้าหมายทีว่ าง ไว้ ดังนัน ้ ในระหว่างปีบริษท ั จึงได้ปรับลดเป้าหมายอัตราการเติบโตของรายได้จากการขายมาอยูท ่ ร่ี อ ้ ยละ 10-15 และ บริษท ั มุง ่ มัน ่ ทีจ ่ ะสร้างการเติบโตของธุรกิจโดย 1) ขยายสาขาอย่างต่อเนือ ่ ง มุง ่ เน้นขยายช่องทางการจัดจำ�หน่ายผ่านร้านค้าปลีกของตนเองเนือ ่ งจากมีความ คล่องตัวมากกว่าช่องทางการจัดจำ�หน่ายอืน ่ โดยในเดือนเมษายน บริษท ั ได้เปิดช่องทางจำ�หน่ายใหม่ในสถานีบริการ น้�ำ มัน ปตท. ภายใต้แบรนด์ “mc mc” เพือ ่ ขยายสูฐ ่ านลูกค้าใหม่ทเ่ี ป็นคนท้องถิน ่ และนักเดินทาง นอกจากนี้ ในช่วงปลาย ปีบริษท ั ยังขยายช่องทางการจัดจำ�หน่ายทางอินเตอร์เน็ตหรือออนไลน์ โดยได้เปลีย ่ นชือ ่ และปรับโฉมเว๊ปไซต์เพือ ่ การค้า จาก www.WoWme.co.th เป็น www.mcshop.com สำ�หรับจำ�นวนช่องทางการจำ�หน่าย ณ สิน ้ เดือนธันวาคม 2558 บริษท ั มีจด ุ จำ�หน่ายทัง ้ สิน ้ 866 แห่ง เพิม ่ ขึน ้ จากสิน ้ ปี 2557 จำ�นวน 47 แห่ง แบ่งออกเป็น จุดจำ�หน่ายในประเทศเพิม ่ ขึน ้ 45 แห่ง เป็น 843 แห่ง • ร้านค้าปลีกของตนเองเพิม ่ ขึน ้ 37 แห่ง เป็น 288 แห่ง (รวมร้าน mc mc ในสถานีบริการน้�ำ มัน ปตท. 10 แห่ง) • ห้างค้าปลีกสมัยใหม่เพิม ่ ขึน ้ 8 แห่ง เป็น 550 แห่ง และมีรถโมบายเคลือ ่ นที่ (mobile unit) รวม 5 จุดขาย • จุดจำ�หน่ายต่างประเทศเพิม ่ ขึน ้ 2 แห่ง เป็น 23 แห่ง 2) การนำ�เสนอสินค้าใหม่ เช่น กระเป๋าเดินทางและกระเป๋าสะพาย ภายใต้แบรนด์ “Mc” ซึง ่ เป็นสินค้าประเภทไลฟ์ สไตล์ส�ำ หรับนักเดินทางและนักศึกษา นอกจากนีย ้ ง ั ได้พฒ ั นาการผลิตเสือ ้ ผ้าท่อนบนร่วมกับผูล ้ งทุนใหม่ภายใต้แบรนด์ ใหม่ “McT” ทีใ่ ช้ผา้ ซึง ่ มีคณ ุ สมบัตพ ิ เิ ศษ ผลิตจากผ้าฝ้ายโดยใช้เทคโนโลยี Soft Tech และ micro brushed ทำ�ให้มเี นือ ้ ผ้า ทีน ่ ม ุ่ สวมใส่สบาย แห้งไว ไม่ยบ ั ง่าย ไม่ตอ ้ งรีด เป็นการเพิม ่ กลุม ่ ผลิตภัณฑ์ให้มค ี วามหลากหลายตอบโจทย์ทางเลือกใน ชีวต ิ ประจำ�วันของผูบ ้ ริโภค พร้อมกับเลือกสินค้าให้เหมาะสมกับตลาดในแต่ละพืน ้ ทีม ่ ากยิง ่ ขึน ้ 3) โปรแกรมส่งเสริมการขายทีน ่ า่ สนใจและคุม ้ ค่าต่อผูบ ้ ริโภคอย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ ช่วยกระตุน ้ ยอดขาย โดยเน้นการ เพิม ่ จำ�นวนและมูลค่าการซือ ้ ของผูบ ้ ริโภค ขณะทีย ่ ง ั คำ�นึงถึงการรักษาระดับอัตราการทำ�กำ�ไรของบริษท ั แม้วา่ ในระยะเวลา 9 เดือนแรกของปี บริษท ั มีอต ั ราการเติบโตยอดขายต่อร้านเดิม (Same-Store-Sales Growth) ลดลงร้อยละ 1.3 แต่เนือ ่ งจากไตรมาสสุดท้ายของปีเป็นฤดูกาลขายทีด ่ ท ี ส ่ี ด ุ ประกอบกับการนำ�กิจกรรมส่งเสริมการ ขายทีบ ่ ริษท ั เสนอต่อผูบ ้ ริโภคในไตรมาส 4 ได้รบ ั การตอบรับทีด ่ จ ี ากผูบ ้ ริโภค ซึง ่ รวมถึงกิจกรรมครบรอบ 40 ปีของ กลุม ่ บริษท ั ตลอดจนกิจกรรมในช่วงสัปดาห์สด ุ ท้ายของปีเพือ ่ ตอบรับมาตรการกระตุน ้ เศรษฐกิจของรัฐบาลในช่วง ปลายปี 2558 (ผูบ ้ ริโภคสามารถนำ�ค่าซือ ้ สินค้าหรือบริการในประเทศมาหักลดหย่อนภาษีเงินได้บค ุ คลธรรมดา) ส่งผล ให้บริษท ั มีอต ั ราการเติบโตยอดขายต่อร้านเดิมเพิม ่ ขึน ้ ถึง 19.2% ในไตรมาส 4 ทำ�ให้อต ั ราการเติบโตยอดขายต่อร้าน เดิมในปี 2558 เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 4.4 จากปี 2557 จากกลยุทธ์ทก ่ี ล่าวมาข้างต้นส่งผลให้ในปี 2558 บริษท ั มีรายได้จากการขาย 3,895 ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 12.3 จากปี 2557 เป็นไปตามกรอบเป้าหมายอัตราการเติบโตของรายได้จากการขายใหม่ทต ่ี ง ้ั ไว้ ทัง ้ นีบ ้ ริษท ั มีรายได้ จากการขายร้านค้าปลีกของตนเองเติบโตขึน ้ ร้อยละ 22.4 เทียบกับปี 2557 โดยมีสด ั ส่วนคิดเป็นร้อยละ 51.7 ของราย ได้จากการขายรวม เพิม ่ ขึน ้ จากสัดส่วนร้อยละ 47.5 เป็นไปตามทิศทางแผนธุรกิจของบริษท ั ทีม ่ ง ุ่ เน้นการขยายช่อง ทางการจัดหน่ายผ่านร้านค้าปลีกของตนเอง ทัง ้ นีส ้ ด ั ส่วนรายได้จากการขายของห้างค้าปลีกสมัยใหม่คด ิ เป็นร้อยละ 43.6 ของรายได้จากการขายรวม ปรับตัวลดลงจากสัดส่วนร้อยละ 48.0 ในปี 2557 ในปี 2558 บริษท ั มีก�ำ ไรขัน ้ ต้นเท่ากับ 2,186 ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 15.8 คิดเป็นอัตรากำ�ไรขัน ้ ต้นรวมทีร่ อ ้ ย ละ 56.1 เพิม ่ ขึน ้ จากร้อยละ 54.4 ในปี 2557 สาเหตุหลักมาจากการเพิม ่ ขึน ้ ของอัตรากำ�ไรขัน ้ ต้นของธุรกิจเสือ ้ ผ้าและ เครือ ่ งแต่งกายอันเนือ ่ งมาจากการปรับปรุงสายงานการผลิตตัง ้ แต่ตน ้ ปี ทำ�ให้บริษท ั สามารถควบคุมต้นทุนการผลิตได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน ้ กำ�ไรก่อนดอกเบีย ้ จ่าย ภาษี และค่าเสือ ่ มราคา (EBITDA) สำ�หรับปี 2558 เท่ากับ 928 ล้านบาท เติบโต ร้อย ละ 3.4 จากปีกอ ่ น เนือ ่ งจากบริษท ั มีคา่ ใช้จา่ ยในการขายและบริหารเพิม ่ ขึน ้ ถึงร้อยละ 26.1 โดยมีสด ั ส่วนของค่าใช้จา่ ยใน การขายและบริหารต่อรายได้จากการขายในปี 2558 อยูท ่ ร่ี อ ้ ยละ 37.3 (เพิม ่ ขึน ้ จากร้อยละ 33.2 ในปี 2557) ทัง ้ นีส ้ ด ั ส่วน

68


ค่าใช้จา่ ยในการขายและบริหาร (ไม่รวมค่าเสือ ่ มราคา) ต่อรายได้จากการขายคิดเป็นร้อยละ 34.1 เพิม ่ ขึน ้ จากร้อยละ 30.5 ในปีกอ ่ นหน้า เป็นผลจากค่าเช่าและบริการจากการเพิม ่ จุดจำ�หน่ายและคลังสินค้าแห่งใหม่ทเ่ี ปิดดำ�เนินการในช่วง ปลายเดือนกุมภาพันธ์ รวมถึงค่าใช้จา่ ยบุคลากรทัง ้ ฝ่ายขายและบริหารทีเ่ พิม ่ ขึน ้ เพือ ่ รองรับแผนการเติบโตในอนาคต ในขณะทีร่ ายได้จากการขายใน 9 เดือนแรกถูกกดดันจากกำ�ลังซือ ้ ของผูบ ้ ริโภคทีย ่ ง ั ไม่กระเตือ ้ งเท่าทีค ่ วร ส่งผลให้อต ั รา การทำ�กำ�ไร EBITDA ของบริษท ั ในปี 2558 มีคา่ เท่ากับร้อยละ 23.6 ลดลงจากร้อยละ 25.7 ในปีกอ ่ นหน้า จากสัดส่วนกำ�ไรทีเ่ พิม ่ ขึน ้ ของบริษท ั ย่อยแห่งหนึง ่ ทีไ่ ด้รบ ั สิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัตส ิ ง ่ เสริม การลงทุน ส่งผลให้อต ั ราภาษีเงินได้ทแ่ี ท้จริงของบริษท ั (Effective Tax Rate) ลดลงอย่างมีนย ั สำ�คัญมาอยูท ่ ร่ี อ ้ ยละ 6.0 จากร้อย ละ 8.9 ในปี 2557 ในปี 2558 บริษท ั รายงานกำ�ไรสุทธิ 732 ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ ในอัตราร้อยละ 2.9 จากปี 2557 เนือ ่ งมาจากสาเหตุ ทีก ่ ล่าวมาแล้วข้างต้น ทัง ้ นีบ ้ ริษท ั มีอต ั รากำ�ไรสุทธิรวมอยูท ่ ร่ี อ ้ ยละ 18.5 ลดลงจากร้อยละ 20.1 ในปีกอ ่ นหน้า โดย ธุรกิจเสือ ้ ผ้าและเครือ ่ งแต่งกายมีอต ั รากำ�ไรสุทธิอยูท ่ ร่ี อ ้ ยละ 20.4 และธุรกิจนาฬิกามีอต ั รากำ�ไรสุทธิอยูท ่ ร่ี อ ้ ยละ 5.8 ลด ลงจากร้อยละ 22.2 และร้อยละ 8.0 ตามลำ�ดับ การวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน สินทรัพย์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษท ั มีสน ิ ทรัพย์รวมทัง ้ สิน ้ 5,100 ล้านบาท เปรียบเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษท ั มีสน ิ ทรัพย์รวมทัง ้ สิน ้ 4,857 ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ 243 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจาก 1) การเพิม ่ ขึน ้ ของเงินสด จำ�นวน 342 ล้านบาทจากการขายเงินลงทุนระยะสัน ้ 2) การลดลงของเงินลงทุนระยะสัน ้ จำ�นวน 1,164 ล้านบาท เพือ ่ นำ�ไปใช้ขยายธุรกิจและจ่ายเงินปันผล 3) การเพิม ่ ขึน ้ ของลูกหนีก ้ ารค้า จำ�นวน 68 ล้านบาท 4) การเพิม ่ ขึน ้ ของสินค้าคงคลัง จำ�นวน 780 ล้านบาท จากการสำ�รองสินค้าสำ�หรับจุดจำ�หน่ายทีเ่ พิม ่ มากขึน ้ รวมถึงผลกระทบจากการชะลอตัวของการบริโภค 5) การเพิม ่ ขึน ้ ของสินทรัพย์หมุนเวียนอืน ่ จำ�นวน 59 ล้านบาท 6) การเพิม ่ ขึน ้ ของเงินลงทุนในการร่วมค้า จำ�นวน 32 ล้านบาท (ร่วมลงทุนกับ บริษท ั เพชรเกษมโฮลดิง ้ จำ�กัด) 7) การเพิม ่ ขึน ้ ของสินทรัพย์ไม่มต ี วั ตน จำ�นวน 98 ล้านบาท จากการลงทุนในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ ่ ให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพยิง ่ ขึน ้ 8) การเพิม ่ ขึน ้ ของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี จำ�นวน 26 ล้านบาท หนีส ้ น ิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษท ั มีหนีส ้ น ิ รวมทัง ้ สิน ้ 1,024 ล้านบาท เปรียบเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษท ั มีหนีส ้ น ิ รวมทัง ้ สิน ้ 932 ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ 93 ล้านบาท จากการเพิม ่ ขึน ้ ของเจ้าหนีก ้ ารค้า จำ�นวน 63 ล้านบาท จาก การเพิม ่ ขึน ้ ของค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย จำ�นวน 36 ล้านบาท และการลดลงของภาษีเงินได้คา้ งจ่าย จำ�นวน 8 ล้านบาท ส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษท ั มีสว่ นของผูถ ้ อ ื หุน ้ เท่ากับ 4,076 ล้านบาท เปรียบเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษท ั มีสว่ นของผูถ ้ อ ื หุน ้ เท่ากับ 3,925 ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ 151 ล้านบาท ปัจจัยหลักมาจากกำ�ไรเบ็ดเสร็จ รวมสำ�หรับปี 2558 จำ�นวน 751 ล้านบาท และสุทธิจากการจ่ายเงินปันผลจำ�นวน 600 ล้านบาท สภาพคล่อง และ อัตราส่วนทีส ่ �ำ คัญ กระแสเงินสด สำ�หรับปี 2558 บริษท ั มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เพิม ่ ขึน ้ สุทธิจ�ำ นวน 342 ล้านบาท เป็นผลจาก: 1) กระแสเงินสดทีไ่ ด้รบ ั จากการดำ�เนินงานจำ�นวน 14 ล้านบาท โดยมีปจ ั จัยหลักมาจากผลการดำ�เนินงานที่ เติบโตอย่างต่อเนือ ่ งโดยบริษท ั มีก�ำ ไรจำ�นวน 732 ล้านบาท และกำ�ไรทีเ่ ป็นเงินสดจำ�นวน 959 ล้านบาท โดยเงินสดส่วน ใหญ่ใช้ไปในการซือ ้ สินค้าสำ�เร็จรูปเพือ ่ เตรียมพร้อมในการขยายจุดขายโดยมีการเพิม ่ ขึน ้ ของสินค้าคงเหลือ 810 ล้าน บาท 2) กระแสเงินสดทีไ่ ด้รบ ั มาจากกิจกรรมลงทุนจำ�นวน 935 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจากการขายเงินลงทุนระยะ สัน ้ จำ�นวน 1,158 ล้านบาท ขณะทีใ่ ช้ไปกับการซือ ้ ทีด ่ น ิ อาคารและอุปกรณ์เพือ ่ ใช้ในการขยายธุรกิจ จำ�นวน 150 ล้าน บาท ลงทุนในสินทรัพย์ทไ่ี ม่มต ี วั ตนจำ�นวน 101 ล้านบาทสำ�หรับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ ่ ให้การบริหารจัดการมี ประสิทธิภาพยิง ่ ขึน ้ และลงทุนในการร่วมค้า จำ�นวน 15 ล้านบาท 3) กระแสเงินสดจ่ายจากกิจกรรมจัดหาเงินจำ�นวน 607 ล้านบาท ซึง ่ ส่วนใหญ่เป็นการจ่ายเงินปันผลให้กบ ั ผูถ ้ อ ื หุน ้ จำ�นวน 600 ล้านบาท และดอกเบีย ้ จ่าย จำ�นวน 6 ล้านบาท 69


อัตราส่วนทางการเงิน ในปี 2558 บริษท ั มีอต ั ราผลตอบแทนผูถ ้ อ ื หุน ้ เท่ากับร้อยละ 18.8 และอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์เท่ากับร้อย ละ 14.7 ลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 19.2 และร้อยละ 15.0 ในปี 2557 ตามลำ�ดับ เนือ ่ งจากกำ�ไรสุทธิและกำ�ไรจากการ ดำ�เนินงานเติบโตในอัตราทีน ่ อ ้ ยกว่าอัตราการเติบโตของส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ และสินทรัพย์ สำ�หรับอัตราส่วนสภาพคล่อง ในปี 2558 บริษท ั มีระยะเวลาการขายสินค้ารวม 377 วัน โดยสำ�หรับธุรกิจเสือ ้ ผ้า และเครือ ่ งแต่งกายมีระยะเวลาการขายสินค้าอยูท ่ ่ี 354 วัน เพิม ่ ขึน ้ จาก 266 วันในปี 2557 เป็นผลจากการชะลอตัวใน การบริโภคของผูบ ้ ริโภคตัง ้ แต่ตน ้ ปีอน ั เนือ ่ งมาจากภาวะเศรษฐกิจทีย ่ ง ั ไม่ฟน ้ื ตัวและเติบโตในอัตราต่�ำ กว่าทีบ ่ ริษท ั คาด การณ์ไว้ นอกจากนีด ้ ว้ ยปัจจัยฤดูกาลของธุรกิจทีก ่ ารขายจะอ่อนตัวลงในไตรมาส 2 และไตรมาส 3 ส่งผลให้ระดับสินค้า คงคลังเพิม ่ ขึน ้ โดยระยะเวลาการขายสินค้าของธุรกิจเสือ ้ ผ้าและเครือ ่ งแต่งกายปรับเพิม ่ ขึน ้ ไปสูงสุดในไตรมาส 3 (408 วัน) ก่อนทีจ ่ ะลดลงมาอยูท ่ ่ี 354 วันในช่วงปลายปีเนือ ่ งจากการขายทีด ่ ข ี น ้ึ จากปัจจัยฤดูกาลและโปรแกรมการส่งเสริม การขายใหม่ๆ ของบริษท ั ทีอ ่ อกมากระตุน ้ การซือ ้ ของผูบ ้ ริโภคในไตรมาสสุดท้ายของปี ทัง ้ นีบ ้ ริษท ั ในระหว่างปีบริษท ั ได้พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้สามารถกระจายสินค้าและบริหารสินค้าคงคลังได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก ขึน ้ และเตรียมความพร้อมระบบ ERP (Enterprise Resource Planning) เพือ ่ รองรับการขยายตัวของธุรกิจในอนาคต ทีต ่ อ ้ งการระบบงานทีจ ่ ะช่วยให้บริษท ั สามารถบริหารจัดการสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อัตราส่วนหนีส ้ น ิ ต่อส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ ของบริษท ั ยังอยูใ่ นระดับต่�ำ มาก คือ ที่ 0.25 เท่า และอัตราส่วนหนีส ้ น ิ ทีม ่ ี ภาระดอกเบีย ้ จ่ายต่อส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ มีคา่ เพียง 0.04 เท่า แนวโน้มในอนาคต บริษท ั เชือ ่ มัน ่ ในศักยภาพของการเติบโตในธุรกิจค้าปลีกเสือ ้ ผ้าเครือ ่ งแต่งกายและสินค้าไลฟ์สไตล์ รวม ถึงโอกาสทางธุรกิจทีม ่ อ ี ก ี มากมาย พร้อมกันนี้ บริษท ั มัน ่ ใจว่าบริษท ั มีศก ั ยภาพในการรักษาความเป็นผูน ้ �ำ ในตลาด และจะสามารถรายงานผลประกอบการทีแ่ ข็งแกร่งได้ในทุกๆ ปี จากการทีม ่ ผ ี บ ู้ ริหารและทีมงานทีม ่ เี ป้าหมายร่วมกัน ในการสร้างความเติบโต โดยบริษท ั ยังคงแนวทางการดำ�เนินธุรกิจภายใต้กลยุทธ์หลัก อันได้แก่ 1) การขยายช่องทางการจัดจำ�หน่าย สินค้าและนำ�เสนอช่องทางการขายรูปแบบใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมการซือ ้ ของผูบ ้ ริโภค 2) การพัฒนา และ การนำ�เสนอสินค้ากลุม ่ ใหม่ เพือ ่ เพิม ่ ความหลากหลายของสินค้าให้แก่ลก ู ค้า และ 3) การขยายธุรกิจเพิม ่ เติมไปยังตลาด ใหม่ในภูมภ ิ าค ทัง ้ หมดนีจ ้ ะดำ�เนินการไปพร้อมกับการบริหารทรัพยากรบุคคลซึง ่ เป็นปัจจัยทีบ ่ ริษท ั ให้ความสำ�คัญเป็น อย่างยิง ่ ทัง ้ นี้ เพือ ่ ให้มน ่ั ใจว่า ปัจจัยและพืน ้ ฐานทางธุรกิจทีท ่ �ำ ให้บริษท ั ประสบความสำ�เร็จในอดีต จะยังสร้างการเติบโต ทีย ่ ง ่ั ยืนต่อไปได้ในอนาคต แนวโน้มในอนาคต บริษัทเชื่อมั่นในศักยภาพของการเติบโตในธุรกิจค้าปลีกเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย และสินค้าไลฟ์สไตล์ รวมถึง โอกาสทางธุรกิจที่มีอีกมากมาย พร้อมกันนี้ บริษัท มั่นใจว่าบริษัท มีศักยภาพในการรักษาความเป็นผู้นำ�ในตลาด และจะสามารถรายงานผลประกอบการที่แข็งแกร่งได้ในทุกๆ ปี จากการที่มีผู้บริหารและทีมงานที่มีเป้าหมายร่วมกัน ในการสร้างความเติบโต โดยบริษท ั ยังคงแนวทางการดำ�เนินธุรกิจภายใต้กลยุทธ์หลัก อันได้แก่ 1) การขยายช่องทางการจัดจำ�หน่าย สินค้าและนำ�เสนอช่องทางการขายรูปแบบใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมการซือ ้ ของผูบ ้ ริโภค 2) การพัฒนา และ การนำ�เสนอสินค้ากลุม ่ ใหม่ เพือ ่ เพิม ่ ความหลากหลายของสินค้าให้แก่ลก ู ค้า และ 3) การขยายธุรกิจเพิม ่ เติมไปยังตลาด ใหม่ในภูมภ ิ าค ทัง ้ หมดนีจ ้ ะดำ�เนินการไปพร้อมกับการบริหารทรัพยากรบุคคลซึง ่ เป็นปัจจัยทีบ ่ ริษท ั ให้ความสำ�คัญเป็น อย่างยิง ่ ทัง ้ นี้ เพือ ่ ให้มน ่ั ใจว่า ปัจจัยและพืน ้ ฐานทางธุรกิจทีท ่ �ำ ให้บริษท ั ประสบความสำ�เร็จในอดีต จะยังสร้างการเติบโต ทีย ่ ง ่ั ยืนต่อไปได้ในอนาคต

70


งบกำ�ไรขาดทุน (ล้านบาท)

สำ�หรับปี ปี 2558

ปี 2557

เปลีย ่ นแปลง

รายได้จากการขาย

3,895

3,470

12.3%

รวมรายได้

3,951

3,538

11.7%

ต้นทุนขาย

1,709

1,582

8.0%

ค่าใช้จา่ ยในการขาย

984

779

26.3%

ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร

468

372

25.8%

กำ�ไรก่อนส่วนแบ่งจากเงินลงทุนใน การร่วมค้า

790

805

(1.8%)

กำ�ไรก่อนค่าใช้จา่ ยทางการเงินและ ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้

797

805

(1.0%)

ต้นทุนทางการเงิน

6

6

(8.8%)

กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้

791

799

(0.9%)

ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้

47

71

(34.2%)

กำ�ไรสำ�หtรับงวด

745

728

2.3%

ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอ ี �ำ นาจควบคุม

12

16

(21.8%)

กำ�ไรของบริษท ั

732

712

2.9%

งบแสดงฐานะการเงิน (ล้านบาท)

31 ธ.ค. 2558

31 ธ.ค. 2557

เปลีย ่ นแปลง

877

1,699

(48.4%)

ลูกหนีก ้ ารค้า

702

634

10.7%

สินค้าคงคลัง

2,316

1,536

50.8%

สินทรัพย์อน ่ื

1,205

988

22.0%

รวมสินทรัพย์

5,100

4,857

5.0%

เจ้าหนีก ้ ารค้า

554

491

13.0%

หนีส ้ น ิ ทีม ่ ภ ี าระดอกเบีย ้

158

155

1.6%

หนีส ้ น ิ อืน ่

312

286

9.3%

รวมหนีส ้ น ิ

1,024

932

9.9%

ส่วนของบริษท ั ใหญ่

3,957

3,819

3.6%

119

106

11.7%

4,076

3,925

3.8%

เงินสดและรายการเทียบเท่า

ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอ ี �ำ นาจควบคุม ส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้

71


ตารางแสดงอัตราส่วนทางการเงินทีส ่ �ำ คัญ อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่อง

เท่า

31 ธ.ค. 58

31 ธ.ค. 57

4.13

4.49

สำ�หรับปี 2558

สำ�หรับปี 2557

ระยะเวลาเก็บหนีเ้ ฉลีย ่

วัน

62

ระยะเวลาขายสินค้าเฉลีย ่

วัน

377

302

ระยะเวลาชำ�ระหนี้

วัน

110

106

Cash cycle

วัน

328

267

สำ�หรับปี 2558

สำ�หรับปี 2557

ความสามารถในการทำ�กำ�ไร

71

อัตรากำ�ไรขัน ้ ต้น

%

56.1

54.4

- ธุรกิจจัดจำ�หน่ายเสือ ้ ผ้าเครือ ่ งแต่งกาย

%

57.3

55.4

- ไทม์ เดคโค

%

46.4

47.1

อัตรากำ�ไรสุทธิ

%

18.5

20.1

- ธุรกิจจัดจำ�หน่ายเสือ ้ ผ้าเครือ ่ งแต่งกาย

%

20.4

22.2

- ไทม์ เดคโค

%

5.8

8.0

อัตรากำ�ไรก่อนดอกเบีย ้ ภาษี และค่าเสือ ่ ม ราคาและค่าตัดจำ�หน่าย

%

23.6

25.7

อัตราผลตอบแทนผูถ ้ อ ื หุน ้

%

18.8

19.2

สำ�หรับปี 2558

สำ�หรับปี 2557

อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดำ�เนิน งาน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์

%

14.7

15.0

อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน

31 ธ.ค. 57

อัตราส่วนหนีส ้ น ิ ทีม ่ ภ ี าระดอกเบีย ้ จ่ายต่อส่วน ของผูถ ้ อ ื หุน ้

เท่า

0.04

0.04

อัตราส่วนหนีส ้ น ิ ต่อส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้

เท่า

0.25

0.24

หมายเหตุ: *สำ�หรับผลประกอบการเดือนพฤศจิกายน และธันวาคม 2557

72

31 ธ.ค. 58


รายงานความรับผิดชอบของคณะ กรรมการบริษท ั ต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษท ั แม็คกรุป ๊ จำ�กัด (มหาชน) เป็นผูร้ บ ั ผิดชอบต่องบการเงินเฉพาะบริษท ั และงบการเงินรวม ของบริษท ั และบริษท ั ย่อย รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงินทีป ่ รากฏในรายงานประจำ�ปี งบการเงินดังกล่าวจัดทำ� ขึน ้ ตามมาตรฐานการบัญชีไทยและหลักการบัญชีทร่ี บ ั รองทัว่ ไปของประเทศไทย โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีทเ่ี หมาะสม และถือปฏิบต ั อ ิ ย่างสม่�ำ เสมอ และใช้ดล ุ ยพินจ ิ อย่างระมัดระวังและประมาณการทีด ่ ท ี ส ่ี ด ุ ในการจัดทำ� รวมทัง ้ การเปิดเผย ข้อมูลสำ�คัญเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพือ ่ ให้งบการเงินมีความน่าเชือ ่ ถือ และเป็นประโยชน์ตอ ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ และนักลงทุนทัว่ ไป คณะกรรมการบริษท ั ได้จด ั ให้มแี ละดำ�รงรักษาไว้ซง ่ึ ระบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมและประสิทธิผล เพือ ่ ให้ เกิดความมัน ่ ใจอย่างมีเหตุผลว่า ข้อมูลทางบัญชีมค ี วามถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอ ทีจ ่ ะดำ�รงรักษาไว้ซง ่ึ ทรัพย์สน ิ ตลอดจนเพือ ่ ป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตหรือดำ�เนินการทีผ ่ ด ิ ปกติอย่างมีสาระสำ�คัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษท ั ได้มอบหมายคณะกรรมการตรวจสอบซึง ่ เป็นกรรมการอิสระ เป็นผูส ้ อบทาน เกีย ่ วกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบการควบคุมภายใน และรายงานการสอบทานดังกล่าวต่อคณะ กรรมการบริษท ั คณะกรรมการบริษท ั มีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของบริษท ั โดยรวมมีประสิทธิผลอยูใ่ นระดับทีน ่ า่ พอใจ และสามารถสร้างความเชือ ่ มัน ่ อย่างมีเหตุผลต่อความเชือ ่ ถือได้ของงบการเงินเฉพาะบริษท ั และงบการเงินรวมของ บริษท ั ย่อย สำ�หรับปีบญ ั ชี สิน ้ สุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

.....................................................

(นางสาวสุณี เสรีภาณุ) ประธานกรรมการ

.....................................................

(นายวิรช ั เสรีภาณุ) กรรมการ

73


ข้อมูลทัว่ ไปของบริษท ั ชือ ่ บริษท ั

: บริษท ั แม็คกรุป ๊ จำ�กัด (มหาชน)

ทีต ่ ง ้ั สำ�นักงานใหญ่

: 448, 450 ถนนอ่อนนุช แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250

โทรศัพท์

: 0-2329-1051-6

เว็บไซต์

: www.mcgroupnet.com

เลขทะเบียนบริษท ั

: 0107556000230

ประเภทธุรกิจ

: บริษท ั แม็คกรุป ๊ จำ�กัด (มหาชน) ดำ�เนินธุรกิจค้าปลีกเครือ ่ งแต่งกาย และไลฟ์สไตล์ ภายใต้ เครือ ่ งหมายการค้าของกลุม ่ บริษท ั ฯ และเครือ ่ งหมายการค้าของบุคคลอืน ่

ทุนจดทะเบียน

: 400,000,000 บาท

ทุนชำ�ระแล้ว

: 400,000,000 บาท (หุน ้ สามัญจำ�นวน 800,000,000 หุน ้ )

มูลค่าหุน ้ ทีต ่ ราไว้

: 0.50 บาท

นายทะเบียนหลักทรัพย์

: บริษท ั ศูนย์รบ ั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400

ผูส ้ อบบัญชี

: บริษท ั สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด ชัน ้ 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์: 0-2677-2000 โทรสาร: 0-2677-2222

โดยนางสาวรุง ้ นภา เลิศสุวรรณกุล ผูส ้ อบบัญชีรบ ั อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3516 และ/หรือ นางสาวพิมพ์ใจ มานิตขจรกิจ ผูส ้ อบบัญชีรบ ั อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4521 และ/หรือ นางสาวรสพร เดชอาคม ผูส ้ อบบัญชีรบ ั อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 5659 และ/หรือ นางสาว สุมนา พันธ์พงษ์สานนท์ ผูส ้ อบบัญชีรบ ั อนุญาต ทะเบียนเลขที่ 5872

ผูล ้ งทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริษท ั แม็คกรุป ๊ จำ�กัด (มหาชน) เพิม ่ เติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) ของบริษท ั ฯ ทีแ่ สดงไว้ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษท ั ฯ www.mcgroupnet.com 74


งบการเงินสำ�หรับปีสน ้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 และรายงานของผูส ้ อบบัญชีรบ ั อนุญาต

75



รายงานของผูส ้ อบบัญชีรบ ั อนุญาต เสนอต่อผูถ ้ อ ื หุน ้ ของบริษท ั แม็คกรุป ๊ จำ�กัด (มหาชน) และบริษท ั ย่อย ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษท ั แม็คกรุป ๊ จำ�กัด (มหาชน) และบริษท ั ย่อย ซึง ่ ประกอบด้วยงบแสดงฐานะ การเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 งบกำ�ไรขาดทุนรวม งบกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลง ส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบกระแสเงินสดรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่ สำ�คัญและหมายเหตุเรือ ่ งอืน ่ ๆ และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษท ั แม็คกรุป ๊ จำ�กัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ความรับผิดชอบของผูบ ้ ริหารต่องบการเงิน ผู้ บ ริ ห ารเป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบในการจั ด ทำ � และการนำ � เสนองบการเงิ น เหล่ า นี้ โ ดยถู ก ต้ อ งตามที่ ค วรตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินและรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผ้บ ู ริหารพิจารณาว่าจำ�เป็นเพื่อให้สามารถจัดทำ� งบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิด พลาด ความรับผิดชอบของผูส ้ อบบัญชี ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้า ได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกำ�หนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อกำ�หนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินปราศจากการแสดง ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจำ�นวนเงินและการเปิด เผยข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมินความ เสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญของงบการเงินไม่ว่าจะเกิดจาก การทุจริตหรือข้อ ผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล่าว ผู้สอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำ�และ การนำ�เสนองบการเงินโดยถูกต้องตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวม ถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชี ที่จัดทำ�ขึ้นโดยผู้บริหาร รวมทั้งการประเมินการนำ�เสนองบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็น ของข้าพเจ้า ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนีแ้ สดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ผลการดำ�เนินงานและกระแสเงินสด สำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท แม็คกรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และเฉพาะของบริษัท แม็คกรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรือ ่ งอืน ่ งบการเงิ น รวมของบริ ษ ั ท แม็ ค กรุ ๊ ป จำ � กั ด (มหาชน) และบริ ษ ั ท ย่ อ ยและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การของบริ ษ ั ท แม็คกรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่น ซึ่งแสดงความเห็น อย่างไม่มีเงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558

สุมนา พันธ์พงษ์สานนท์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 5872 บริษัท สำ�นักงาน อีวาย จำ�กัด กรุงเทพฯ: 25 กุมภาพันธ์ 2559 77


78


79


80


บริษัท แม็คกรุ๊ป จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกําไรขาดทุนเบ็ด เสร็จ สําหรับปีส ิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2558 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

2558

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557

2558

2557

กําไรขาดทุน: รายได้ รายได้จากการขาย

6

3,894,989,149

3,469,752,912

3,451,068,839

3,038,472,502

เงินปันผลรับ

6

7,122

6,000

587,492,950

657,492,000

ดอกเบี้ยรับ

6

24,046,199

37,769,145

25,038,806

41,909,353

รายได้อื่น

6

รวมรายได้

31,859,059

30,076,676

44,629,965

39,073,939

3,950,901,529

3,537,604,733

4,108,230,560

3,776,947,794

1,708,816,793

1,581,609,939

2,013,249,955

1,864,286,492

983,898,760

778,965,038

950,530,022

708,421,661

ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

6

รวมค่าใช้จ่าย

467,992,229

372,110,337

387,795,759

313,419,398

3,160,707,782

2,732,685,314

3,351,575,736

2,886,127,551

790,193,747

804,919,419

756,654,824

890,820,243

6,768,884

-

-

-

796,962,631

804,919,419

756,654,824

890,820,243

กําไรก่อนส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในการร่วมค้า ค่าใช้จ่ายทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในการร่วมค้า

13

กําไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน

(5,593,843)

กําไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

22

กําไรสําหรับปี

(6,132,320)

791,368,788

798,787,099

(4,638)

(10,205)

756,650,186

890,810,038

(39,621,568)

(51,802,813)

(46,854,818)

(71,156,844)

744,513,970

727,630,255

717,028,618

839,007,225

6,225,394

-

1,241,302

-

750,739,364

727,630,255

718,269,920

839,007,225

732,016,271

711,644,698

717,028,618

839,007,225

12,497,699

15,985,557

744,513,970

727,630,255

738,240,118

711,644,698

718,269,920

839,007,225

0.90

1.05

กําไรขาดทุนเบ็ด เสร็จอื่น:

รายการที่จะไม่ถูกบันทึกในส่วนของกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลกําไรจากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย - สุทธิจากภาษีเงินได้

19, 22.3

กําไรขาดทุนเบ็ด เสร็จรวมสําหรับปี

การแบ่งปันกําไร ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนที่เป็นของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม ของบริษัทย่อย

การแบ่งปันกําไรขาดทุนเบ็ด เสร็จรวม ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนที่เป็นของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม ของบริษัทย่อย

12,499,246

15,985,557

750,739,364

727,630,255

0.92

0.89

กําไรต่อหุ้น กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กําไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ

24

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

81


82 -

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

การถือหุ้นในบริษัทย่อย

-

-

2,824,925,638 -

400,000,000

-

-

-

เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 27)

ส่วนขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงสัดส่วน

-

-

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

-

-

-

-

2,824,925,638

400,000,000

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558

กําไรสําหรับปี

2,824,925,638

400,000,000

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับปี

-

-

-

การถือหุ้นในบริษัทย่อย

ส่วนขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงสัดส่วน

-

-

เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 27)

ลงทุนในบริษัทย่อย

-

-

-

-

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับปี

-

-

2,824,925,638

หุ้นสามัญ

เต็มมูลค่าแล้ว

400,000,000

ส่วนเกินมูลค่า

ที่ออกและชําระ

ทุนเรือนหุ้น

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

กําไรสําหรับปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557

สําหรับปีส ิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2558

งบแสดงการเปลี่ย นแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท แม็คกรุ๊ป จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

-

65,000,000

-

-

-

-

-

65,000,000

65,000,000

-

-

-

-

-

-

65,000,000

จัดสรรแล้ว

-

669,541,893

-

(600,000,000)

738,240,118

6,223,847

732,016,271

531,301,775

531,301,775

-

-

(504,000,000)

711,644,698

-

711,644,698

323,657,077

ยังไม่ได้จัดสรร

กําไรสะสม

ส่วนขาดทุน

-

-

-

-

-

-

-

(2,626,281)

(6,179)

-

-

-

-

(2,620,102)

(2,620,102)

(2,620,102)

ในบริษัทย่อย

สัดส่วนการถือหุ้น

(2,626,281)

(6,179)

-

-

-

-

(2,620,102)

(2,620,102)

(2,620,102)

-

-

-

-

-

-

ของส่วนของผู้ถือหุ้น

รวมองค์ประกอบอื่น

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

งบการเงินรวม

จากการเปลี่ยนแปลง

ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ

-

3,956,841,250

(6,179)

(600,000,000)

738,240,118

6,223,847

732,016,271

3,818,607,311

3,818,607,311

(2,620,102)

-

(504,000,000)

711,644,698

-

711,644,698

3,613,582,715

ของบริษัทฯ

ผู้ถือหุ้น

รวมส่วนของ

-

118,726,429

(14,920)

(7,050)

12,499,246

1,547

12,497,699

106,249,153

106,249,153

2,420,102

63,600

(7,890)

15,985,557

-

15,985,557

87,787,784

ของบริษัทย่อย

อํานาจควบคุม

ส่วนได้เสียที่ไม่มี

ส่วนของผู้มี

-

4,075,567,679

(21,099)

(600,007,050)

750,739,364

6,225,394

744,513,970

3,924,856,464

3,924,856,464

(200,000)

63,600

(504,007,890)

727,630,255

-

727,630,255

3,701,370,499

ผู้ถือหุ้น

รวมส่วนของ

(หน่วย: บาท)


83

2,824,925,638 2,824,925,638

400,000,000 400,000,000

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 27)

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558

2,824,925,638 -

400,000,000 -

เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 27)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

-

-

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

-

-

-

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับปี

-

-

กําไรสําหรับปี

-

-

-

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับปี

-

-

2,824,925,638

หุ้นสามัญ

เต็มมูลค่าแล้ว 400,000,000

ส่วนเกินมูลค่า

ที่ออกและชําระ

ทุนเรือนหุ้น

กําไรสําหรับปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557

สําหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2558

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือ หุ้น (ต่อ )

บริษัท แม็คกรุ๊ป จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อ ย

-

40,000,000

-

-

-

-

40,000,000

40,000,000

-

-

-

-

40,000,000

จัดสรรแล้ว

กําไรสะสม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

774,445,800

(600,000,000)

718,269,920

1,241,302

717,028,618

656,175,880

656,175,880

(504,000,000)

839,007,225

-

839,007,225

321,168,655

ยังไม่ได้จัดสรร

-

4,039,371,438

(600,000,000)

718,269,920

1,241,302

717,028,618

3,921,101,518

3,921,101,518

(504,000,000)

839,007,225

-

839,007,225

3,586,094,293

ผู้ถือหุ้น

รวมส่วนของ

(หน่วย: บาท)


บริษัท แม็คกรุ๊ป จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2558

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2557

2558

2557

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรก่อนภาษี

791,368,788

798,787,099

155,124,520

130,582,135

756,650,186

890,810,038

รายการปรับกระทบยอดกําไรก่อนภาษีเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดําเนินงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่าย เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ

114,457,409

73,925,218

(7,122)

(6,000)

(587,492,950)

(657,492,000)

(24,045,704)

(37,769,145)

(25,038,806)

(41,909,353)

ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน

12,105,006

8,079,889

5,763,589

4,402,125

ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในการร่วมค้า

(6,768,884)

-

-

-

5,593,843

6,132,320

-

-

5,627,824

(5,806,523)

ต้นทุนทางการเงิน ขาดทุน (กําไร) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรม ของเงินลงทุนประเภทเพื่อค้า กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ขาดทุนจากการด้อยค่าเงินลงทุนในบริษัทย่อย

(26,848)

-

5,614,154 (4,429)

(5,757,264) -

-

-

-

1,000,000

หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ

5,826,838

3,641,570

5,864,754

28,640,160 (12,659,981)

การปรับลดสินค้าคงเหลือเป็นมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ (กลับรายการ)

18,386,302

(12,661,184)

26,319,117

กลับรายการค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

(5,761,986)

(2,457,417)

(5,153,021)

ขาดทุน (กําไร) จากการจําหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

1,100,599

174,364

(63,909)

958,523,176

888,697,108

296,916,094

280,754,313

(78,643,732)

88,626,493

(100,738,281)

64,444,622 13,400,025

(204,630)

กําไรจากการดําเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์ และหนี้สินดําเนินงาน สินทรัพย์ดําเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ

(810,420,634)

(160,744,333)

(1,139,555,917)

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

(40,984,652)

(21,160,115)

(34,996,738)

11,381,342

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

(13,958,715)

(36,043,723)

(14,594,832)

(41,622,692)

103,487,373

41,267,972

358,721,876

(155,577,850)

(1,879,995)

(39,227,524)

(851,170)

(31,397,369)

(398,510)

1,565,197

หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น จ่ายผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน เงินสดได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

84

(3,482,899) 112,241,412

(6,626,373)

1,493,528 (2,718,433)

731,223 (2,154,535)

756,354,702

(636,323,873)

139,959,079

(97,753,261)

(104,887,195)

(69,532,823)

(77,825,770)

14,488,151

651,467,507

(705,856,696)

62,133,309


บริษัท แม็คกรุ๊ป จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด (ต่อ) สําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2557

2558

2557

37,859,744

48,545,767

38,852,847

52,686,230

เงินสดจ่ายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

(150,424,785)

(239,308,424)

(137,859,033)

(219,331,256)

เงินสดจ่ายซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

(100,897,312)

(109,461,577)

(100,897,312)

(107,643,119)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากดอกเบี้ย

เงินสดรับจากการจําหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินลงทุนระยะสั้นลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินสดรับจากเงินปันผลรับ เงินสดรับจากเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน จ่ายเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดจ่ายเพื่อการลงทุนในการร่วมค้า เงินสดจ่ายค่าหุ้นในบริษัทย่อย เงินสดสุทธิจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน

4,940,578

8,426,866

1,344,582

1,686,916

1,158,430,849

(14,186,328)

1,158,430,849

(14,186,328)

7,122

6,365

703,741,555

619,742,563

-

-

188,549,500

374,761,770

-

-

(191,803,975)

(166,028,630)

(15,299,900)

-

-

(21,099) 934,595,197

(200,000)

(16,021,100)

(212,136,400)

(306,177,331)

1,644,337,913

329,551,746

(5,686,868)

(6,001,457)

-

-

(600,011,870)

(504,491,986)

2,475,846

47,206,085

-

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ดอกเบี้ยจ่าย จ่ายเงินปันผล

(600,003,425)

(504,486,421)

เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ยืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงินเพิ่มขึ้น จ่ายชําระหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน

(4,078,304)

-

(1,026,842)

-

-

เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

-

22,350,000

-

6,001,027

ชําระคืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

-

(16,086,633)

-

(6,001,027)

เงินสดรับจากการออกหุ้นสามัญในบริษัทย่อย จากส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม

-

63,600

-

-

เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

(607,301,196)

(457,987,233)

(600,003,425)

(504,486,421)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ

341,782,152

(112,697,057)

338,477,792

(112,801,366)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี

154,403,777

267,100,834

142,346,596

255,147,962

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี (หมายเหตุ 7)

496,185,929

154,403,777

480,824,388

142,346,596

-

-

-

-

7,824,272

-

1,551,628

-

ข้อมูลเพิ่มเติมประกอบกระแสเงินสด รายการที่ไม่ใช่เงินสด กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย สําหรับโครงการผลประโยชน์พนักงาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

85


86


87


88


89


90


91


92


93


94


95


96


97


98


99


100


101


102


103


104


105


106


107


108


109


110


111


112


113


114


115


116


117


118


119


120


121


122


123


124


125


www.mcgroupnet.com

78


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.