20180315 m ar2017 th full

Page 1


รายงานประจ�ำปี ( ³¼Ì 2560 I บริÁษÉ° ัท ÔÅÛ เอ็º มÔ£ Ô¼ÂÖij¼Å¦ijč เค เรสโตรองต์ ¼Ð กรุċ´ ๊ป ĶË É จ�ำกัIJ ด ºÃʧ² (มหาชน) ¼Ê»¦Ê²´¼ÈĶË´ā

38

Âʼ³É ©

001 ÀÌÂÉ»°ÉĹ²čÕ¾È ·É²± ÌĶ¡Å¦³¼ÌÁÉ°

002 ¡ĊźѾÂˣɩ °Ê¦ ʼԦ̲

004 ÂʼĶÊ ´¼È±Ê² ¼¼º ʼ³¼ÌÁÉ°Ç

006 £®È ¼¼º ʼ ³¼ÌÁÉ°Ç

008 ¾É Á®È ʼ´¼È ų±Ð¼ ÌĶ

023 Ö£¼¦Â¼Ċʦ¡Å¦³¼ÌÁÉ°Ç Õ¾È³¼ÌÁÉ°»ĉÅ»

024 ÔÃijРʼ®čÂĻʣɩ ײ´ā

026 ´ďĶĶÉ» £ÀʺÔÂÍÜ»¦

037 ¼Ê»¦Ê²£Àʺ¼É³µÌIJ§Å³ ¡Å¦£®È ¼¼º ʼ ijĉżʻ¦Ê²°Ê¦ ʼԦ̲

038 ¼Ê»¦Ê² £®È ¼¼º ʼij¼ÀĶÂų

040 ¼Ê»¦Ê²¡Å¦µÑĊÂų³É©§Í ¼É³Å²Ð©Êij

044 ¦³ ʼԦ̲

102 ʼÀÌÔ£¼ÊÈÃč¬Ê²È ʼԦ̲վȵ¾ ʼIJËԲ̲¦Ê²

108 ¼Ê» ʼ ¼ÈÃÀĉʦ ɲ

114 Ö£¼¦Â¼Ċʦ ʼ¯ÏÅÃÐĊ² Õ¾È Ê¼ĶÉIJ ʼ

132 Ã¾É Ê¼ Ë É³IJÑÕ¾ ÌĶ ʼ°ÍÜIJÍ

143 £Àʺ¼É³µÌIJ§Å³ ijĉÅÂɦ£º

150 ¼Ê»¦Ê²£®È ¼¼º ʼ ³¼¼ÁÉ°¹Ì³Ê¾ ¼¼ÃÊ Õ¾È·ÌĶʼ®Ê£ĉÊijųհ²

152 ʼ£À³£Ðº¹Ê»×²Õ¾È ʼ ³¼ÌÃʼĶÉIJ ʼ£ÀʺÔÂÍÜ»¦

154 ¼Ê»¾ÈÔÅÍ»IJ¡Å¦ ¼¼º ʼ µÑĊ³¼ÌÃʼ վȵÑĊºÍÅ˲ÊĶ£À³£Ðº ¡Å¦³¼ÌÁÉ°Ç Õ¾È³¼ÌÁÉ°»ĉÅ»

168 ¡ĊźѾ°ÉÜÀØ´¡Å¦³¼ÌÁÉ°Ç Õ¾È³Ð££¾ÅĊʦÅ̦


วิสัยทัศน์และพันธกิจของบริษัท

วิสัยทัศน์และ พันธกิจของบริษัท

วิสัยทัศน์ (VISION) ส่งมอบความสุขแก่ลูกค้าของเราด้วยอาหาร ที่อร่อย มีคุณภาพ ท่ามกลางประสบการณ์ ที่ ป ระทั บ ใจ และสร้ า งโอกาสความก้ า วหน้ า ให้กับพนักงาน ตลอดจนส่งเสริมชุมชนและ สิ่งแวดล้อม

พันธกิจ (MISSION) • ส่ งมอบสุ ขภาพที่ ดี และเติ ม เต็ ม ความสุ ขให้ กั บ ลู ก ค้ า ด้ ว ยอาหารที่ มี คุ ณ ภาพและความอร่ อ ย พร้ อ มทั้ ง ให้บริการอันเป็นเลิศ ในราคาที่เหมาะสม • รับรู้และเข้าใจความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลง อย่างต่อเนื่อง เพื่อน�ำมาสร้างประสบการณ์ใหม่ให้แก่ ลูกค้า • สร้ า งผลก� ำ ไรอย่ า งยั่ ง ยื น ในระยะยาวให้ กั บ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ของบริษัททั้งหมด • สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี กั บ หุ ้ น ส่ ว นทางธุ ร กิ จ ของ บริษัทในระยะยาว • สร้างความเป็นเลิศและพัฒนาศักยภาพของพนักงาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและมีความสุขในการท�ำงาน • สร้างสรรค์และคิดค้นนวัตกรรมที่มีส่วนช่วยในการ ร่วมรับผิดชอบต่อสังคมตามแนวทางของบริษัท

1


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

2

ข้อมูลส�ำคัญ ทางการเงิน ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน

2560

2559

2558

งบก�ำไรขาดทุน (ล้านบาท)

รายได้จากการขายและบริการ รายได้รวม ก�ำไรขั้นต้น ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ก�ำไรสุทธิ

16,073

15,146

14,478

16,458

15,498

14,923

10,899

10,193

9,534

2,985

2,603

2,319

2,425

2,100

1,856

16,283

15,642

15,122

2,454

2,265

2,124

13,829

13,377

12,998

921

915

910

3,575

3,090

2,702

67.8

67.3

65.9

14.7

13.5

12.4

17.8

15.9

14.5

15.2

13.7

12.4

0.2

0.2

0.2

5.0

5.4

5.2

1

1

1

2.7

2.3

2.0

2.3

2.1

1.9

87

91

93

งบแสดงฐานะทางการเงิน (ล้านบาท)

สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้ว กระแสเงินสดสุทธิจากการด�ำเนินงาน อัตราส่วนทางการเงิน

อัตราก�ำไรขั้นต้น (%) อัตราก�ำไรสุทธิต่อรายได้รวม (%) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (%) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่อง ข้อมูลต่อหุ้น

มูลค่าที่ตราไว้ (บาทต่อหุ้น) ก�ำไรสุทธิต่อหุ้น (บาท) เงินปันผลต่อหุ้น (บาท) อัตราการจ่ายปันผล (%) หมายเหตุ:

เงินปันผลต่อหุ้นส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี 2560 ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2561 และให้น�ำเสนอขอความเห็นชอบต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2561 ในวันที่ 27 เมษายน 2561


ข้อมูลส�ำคัญทางการเงิน

3

สัดสวนรายไดจากการขาย

19% ยาโยอิ

79% 2%

สุกี้

อื่นๆ

รายไดจากการขายและบริการ 20,000

16,073

15,000

15,146

กำไรสุทธิ 3,000 2,500

2,100

2,000 1,500

10,000

1,000

5,000

500 0

0

2560

2560

2559

สินทรัพย 20,000

2,425

2559

หนี้สิน

16,283

15,642

15,000

3,000 2,500

2,454

2,265

2,000

10,000

1,500 1,000

5,000

500

0

0

2560

2559

2560

2559


4

รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

สารจากประธาน กรรมการบริษัทฯ

นายฤทธิ ์ ธี ร ะโกเมน ประธานกรรมการและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

รายได จากการขายและบร�การ เพ��มข�้น ร อยละ 6.1

16,073

ล านบาท

กำไรสุทธิ เพ��มข�้น ร อยละ 15.5

2,425

กำไรสุทธิต อหุ น สำหรับป 2560

2.65

บาท

เปร�ยบเทียบกับ ป 2559 ล านบาท

2.30

บาท


สารจากประธานกรรมการบริษัทฯ

ผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ส� ำ หรั บ ปี 2560 ที่ ผ ่ า นมา ประสบความส� ำ เร็ จ เป็ น ที่ น ่ า พอใจอี ก ปี ห นึ่ ง ซึ่ ง สอดคล้ อ ง กั บ เศรษฐกิ จ ไทยในปี 2560 ที่ มี ก ารขยายตั ว ในอั ต ราที่ ดี ขึ้ น กว่ า ปี ก ่ อ น (GDP growth ปี 2559: 3.3%, ปี 2560: 3.9%) โดยในปี 2560 บริ ษั ท ฯ มี ร ายได้ จ ากการขายและ บริ ก ารเท่ า กั บ 16,073 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 6.1 จากปี ก ่ อ น

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

ในนามของคณะกรรมการบริษัทฯ และ ในนามส่วนตัว ผมมีความยินดีทไี่ ด้มาให้การ ต้ อ นรั บ ท่ า นผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ ม าเข้ า ร่ ว มประชุ ม สามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปีของบริษัทฯ ในครั้ง นี้ ผมมีความยินดียิ่งขึ้นอีกที่จะรายงานให้ ท่านผู้ถือหุ้นทราบว่า ผลการด�ำเนินงานของ บริษัทฯ ส�ำหรับปี 2560 ที่ผ่านมาประสบ ความส� ำ เร็ จ เป็ น ที่ น ่ า พอใจอี ก ปี ห นึ่ ง ซึ่ ง สอดคล้องกับเศรษฐกิจไทยในปี 2560 ที่มี การขยายตัวในอัตราที่ดีข้ึนกว่าปีก่อน (GDP growth ปี 2559: 3.3%, ปี 2560: 3.9%) โดย ในปี 2560 บริษัทฯ มีรายได้จากการขายและ บริการเท่ากับ 16,073 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อย ละ 6.1 จากปีก่อน ทั้งนี้ เนื่องจากบริษัทฯ มีการขยายสาขาอย่างต่อเนื่อง และรายได้ จากการขายและบริ ก ารของสาขาเดิ ม ทั้ ง แบรนด์เอ็มเค สุกี้ และแบรนด์อาหารญี่ปุ่น ยาโยอิทเี่ พิม่ ขึน้ ก�ำไรสุทธิสำ� หรับปี 2560 ก็ได้ เพิม่ ขึน้ เป็น 2,425 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 15.5 จากปีก่อน ซึ่งเป็นอัตราการเพิ่มขึ้นที่ สูงกว่าอัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้จากการ ขายและบริการ ทั้งนี้เป็นผลจากการเพิ่มขึ้น ของรายได้จากการขายและบริการและการ ควบคุมต้นทุนและค่าใช้จา่ ยอย่างจริงจังและ ต่อเนื่อง ส่วนก�ำไรสุทธิต่อหุ้นของบริษัทฯ ก็ได้เพิ่มขึ้นจาก 2.30 บาทต่อหุ้นส�ำหรับปี 2559 เป็น 2.65 บาทต่อหุ้นส�ำหรับปี 2560 จากผลการด�ำเนินงานที่มีก�ำไรที่น่าพอใจ ตามที่กล่าวมาข้างต้นและฐานะการเงินที่ มัน่ คง คณะกรรมการบริษทั ฯ จึงมีมติเห็นควร เสนอให้จ่ายเงินปันผลทั้งปีในอัตราหุ้นละ 2.30 บาท (ปี 2559: 2.10 บาท) โดยที่ บริษัทฯ ได้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลไป แล้วในอัตราหุ้นละ 1.10 บาท ดังนั้น หากที่

ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2561 มีมติ อนุมตั กิ ารจ่ายเงินปันผลตามทีค่ ณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ เสนอมาในครั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ก็ จ ะ ด�ำเนินการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นที่มี สิทธิรับเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 1.20 บาท ในวันที่ 23 พฤษภาคม 2561 นี้ ในปี 2560 ที่ ผ ่ า นมา บริ ษั ท ฯ มี ก าร พัฒนาทีส่ ำ� คัญในด้านต่างๆ เพือ่ เพิม่ ขีดความ สามารถในการแข่งขันและเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับการเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน ของบริษัทฯ ในอนาคต ซึ่งได้แก่ 1. ด�ำเนินการตามแผนกลยุทธ์ในการ พัฒนาทีมผู้บริหารเพื่อสืบทอดการบริหาร งานของบริษัทฯ ในรุ่นต่อไป 2. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน ด้วยการติดตัง้ ระบบปฏิบตั กิ าร ERP (Enterprise Resource Planning) เพื่อเป็นแกนกลางในการ เชื่อมโยงระบบงานต่างๆ เข้าด้วยกัน 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ แก่ลูกค้าด้วยการพัฒนา Mobile Application เพื่อให้ลูกค้าสามารถจองโต๊ะหรือจองคิว ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Device) รวมทั้ง สามารถใช้ Application ดังกล่าวในการเผยแพร่ กิจกรรมทางด้านการตลาดของบริษัทฯ 4. การลงทุนในเครื่องจักรและอุปกรณ์ ที่ทันสมัยเพื่อผลิตสินค้าที่มีปริมาณการขาย เป็นจ�ำนวนมาก ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการ ลดต้นทุนในระยะยาว ตลอดจนการปรับปรุง คุณภาพของสินค้าให้ดีขึ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ริเริ่มการเปิด สาขาในแนวคิ ด ใหม่ ท่ี ส อดคล้ อ งกั บ ภาพ ลั ก ษณ์ ข องศู น ย์ ก ารค้ า และประเภทของ ลูกค้าในบริเวณที่สาขาตั้งอยู่ โดยการเปิด

5

สาขา MK Live แห่งแรกที่ห้างสรรพสินค้า ดิ เอ็มควอเทียร์ ในเดือนมีนาคม 2560 ซึ่ง ปรากฏว่าได้รบั การตอบรับจากลูกค้าอย่างดี ยิ่ง จึงได้เปิดสาขา MK Live แห่งที่สองที่ห้าง สรรพสินค้าเมกา บางนา ในเดือนธันวาคม 2560 และมีแผนการที่จะเปิดสาขา MK Live อีกหลายแห่งในปี 2561 เมือ่ มองไปในปี 2561 ตัวเลขเศรษฐกิจทีม่ ี ความส�ำคัญต่อการขับเคลื่อนการขยายตัว ของเศรษฐกิจไทยที่ปรากฏออกมาในต้นปี แสดงสั ญ ญาณการขยายตั ว ของเศรษฐกิ จ ไทยที่ดีขึ้นต่อเนื่อง เช่น การส่งออกของไทย ในเดือนมกราคม ขยายตัวสูงสุดในรอบ 62 เดือน ที่อัตราร้อยละ 17.6 ดัชนีความเชื่อมั่น ของภาคอุตสาหกรรมเดือนมกราคม 2561 ปรับตัวเพิม่ ขึน้ มาอยูท่ รี่ ะดับ 91.0 ซึง่ เป็นการ ปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่องกันเป็นเดือนที่สาม และเป็นระดับสูงสุดในรอบ 36 เดือน ดัชนี ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือนมกราคม 2561 ก็ได้ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 80.0 ซึง่ เป็นการปรับตัวเพิม่ ขึน้ ติดต่อกันเป็นเดือน ที่หก และเป็นระดับสูงสุดในรอบ 36 เดือน นอกจากนี้ องค์กรและหน่วยงานภาครัฐและ เอกชนทีม่ ชี อื่ เสียงและเป็นทีย่ อมรับเกีย่ วกับ การวิเคราะห์และประเมินแนวโน้มเศรษฐกิจ ต่างคาดการณ์วา่ เศรษฐกิจไทยในปี 2561 จะ ขยายตัวได้ในอัตราทีไ่ ม่ตำ�่ กว่าปี 2560 โดยที่ ธุรกิจของบริษัทฯ มีความเชื่อมโยงกับภาวะ เศรษฐกิจอย่างใกล้ชดิ ดังนัน้ เราจึงมีมมุ มอง ทีเ่ ป็นบวกมากขึน้ เกีย่ วกับผลการด�ำเนินงาน ของบริษัทฯ ส�ำหรับปี 2561 และค่อนข้าง มัน่ ใจว่าบริษทั ฯ จะสามารถบรรลุถงึ เป้าหมาย การด�ำเนินงานส�ำหรับปี 2561 ที่มุ่งหวังไว้ ในระดับที่มีความท้าทายที่สูงขึ้น อย่างไร ก็ตาม เราจะไม่ชะล่าใจและจะยังคงตั้งอยู่ใน ความระมัดระวังและไม่ประมาทโดยการเตรียม ความพร้อมในด้านต่างๆ เพื่อเผชิญกับความ ไม่แน่นอนและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่อาจ เกิดขึ้นในอนาคตและส่งผลกระทบต่อการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ท้ายที่สุดนี้ ในนามของคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ ผมใคร่ ข อขอบคุ ณ ท่ า นผู ้ ถื อ หุ ้ น พนักงาน คู่ค้า และลูกค้าที่ได้ให้ความไว้ วางใจและสนั บ สนุ น การด� ำ เนิ น งานของ บริษทั ฯ ด้วยดีตลอดมา และผมขอถือโอกาส นี้ยืนยันว่าบริษัทฯ จะยึดมั่นในการบริหาร งานตามหลักธรรมาภิบาลทีด่ ี มีความโปร่งใส มีประสิทธิภาพ เพื่อสร้างผลตอบแทนสูงสุด ให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

6

คณะกรรมการ บริษัทฯ

01

02

03

04

05

01. นายฤทธิ์ ธีระโกเมน

ประธานกรรมการ

02. นายทนง โชติสรยุทธ์

กรรมการอิสระ

03. นายสุจินต์ ชุมพลกาญจนา

กรรมการอิสระ

04. ดร.ขัติยา ไกรกาญจน์

กรรมการอิสระ และ

ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล

สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

05. ดร.อรรณพ ตันละมัย

กรรมการอิสระ

และประธานกรรมการตรวจสอบ


คณะกรรมการบริษัทฯ

06

7

07

08

06. นายอรรถพล ชดช้อย

กรรมการอิสระ

กรรมการตรวจสอบ และ

กรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา

และพิจารณาค่าตอบแทน

07. นายประวิทย์ ตันติวศินชัย

กรรมการ

08. นายสมชาย หาญจิตต์เกษม

กรรมการ

09. นางวิไล ฉัททันต์รัศมี

09

10

กรรมการอิสระ

และกรรมการตรวจสอบ

10. นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

กรรมการ และกรรมการบรรษัทภิบาล

สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

8

ลักษณะ การประกอบธุรกิจ

ในปี 2529 ร้ า น เอ็ ม เค สุ กี้ ได้ เ ปิ ด สาขาแรกภายใน ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล พลาซา ลาดพร้ า ว ซึ่ ง ในขณะนั้ น ร้านอาหารรูปแบบสุกี้ยากี้ยังไม่แพร่หลาย แต่ภายหลัง การเปิดสาขาแรก ร้าน เอ็มเค สุกี้ ได้รับความนิยมและ การตอบรั บ อย่ า งแพร่ ห ลายจากลู ก ค้ า จ� ำ นวนมาก ใน ช่ ว งเวลาเดี ย วกั น นี้ ได้ มี ก ารน� ำ การบริ ห ารจั ด การและ การตลาดสมัยใหม่มาด�ำเนินกิจการและเริ่มมีการขยาย สาขาเพิ่ ม ขึ้ น ทั้ ง ในกรุ ง เทพฯ และต่ า งจั ง หวั ด อย่ า ง ต่อเนื่อง


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) (“บริ ษั ท ฯ”) จด ทะเบี ย นจั ด ตั้ ง บริ ษั ท เมื่ อ วั น ที่ 10 กรกฎาคม 2532 มี ทุ น จดทะเบี ย น เริ่มแรก 1,000,000 บาท เพื่อด�ำเนิน ธุ ร กิ จ หลั ก คื อ ร้ า นอาหารประเภท สุ กี้ ย ากี้ นอกจากการประกอบธุ ร กิ จ บริ ก ารอาหารประเภทสุ กี้ ย ากี้ แ ล้ ว ยั ง ด� ำ เนิ น กิ จ การร้ า นอาหารญี่ ปุ ่ น ภายใต้ ชื่ อ และเครื่ อ งหมายการค้ า “ยาโยอิ ” ซึ่ ง เริ่ ม ด� ำ เนิ น การในปี 2549 ร้ า นอาหารญี่ ปุ ่ น ภายใต้ ชื่ อ และเครื่ อ งหมายการค้ า “ฮากาตะ” และ “มิยาซากิ” ซึ่งทั้ง 2 แบรนด์ดัง กล่าว เริ่มด�ำเนินการในเดือนตุลาคม 2555 ร้ า นอาหารไทยภายใต้ ชื่ อ และ เครื่องหมายการค้า “ณ สยาม” และ “เลอ สยาม” และร้านกาแฟ/เบเกอรี่ ภายใต้ ชื่ อ และเครื่ อ งหมายการค้ า “เลอ เพอทิ ท ” รวมถึ ง การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ สถาบั น ฝึ ก อบรมอาชี พ เพื่ อ ฝึ ก อบรมพนั ก งานในเครื อ บริ ษั ท ฯ ทั้งหมด

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มี ร ้ า น เอ็ ม เค สุ กี้ อยู ่ ทั้ ง หมด 435 สาขาทั่ ว ประเทศ (รวมร้ า น เอ็ ม เค โกลด์ 6 สาขา และเอ็ ม เค ไลฟ์ 2 สาขา) ร้ า นอาหารญี่ ปุ ่ น ยาโยอิ 165 สาขา ร้ า นอาหารญี่ ปุ ่ น ฮากาตะ 3 สาขา ร้ า นมิ ย าซากิ 27 สาขา ร้ า น อาหารไทย เลอ สยาม 4 สาขา ร้าน

อาหารไทย ณ สยาม 1 สาขา และร้าน กาแฟ/เบเกอรี่ เลอ เพอทิท 3 สาขา นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารขายแฟรนไชส์ ร้าน เอ็มเค สุกี้ ให้แก่ผู้ประกอบการ ในต่างประเทศ ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศเวียดนาม ประเทศลาว และ จั ด ตั้ ง บริ ษั ท ร่ ว มทุ น ในการด� ำ เนิ น ธุรกิจร้านอาหารในประเทศสิงคโปร์

ร า นเอ็ ม เค สุ ก ี ้

ร า นเอ็ ม เค โกลด

ร า นเอ็ ม เค ไลฟ

สาขา

สาขา

สาขา

427

6

2

ร า นอาหารญี ่ ป ุ  น ยาโยอิ

ร านอาหารญี ่ ป ุ  น มิ ย าซากิ

ร านอาหารญี ่ ป ุ  น ฮากาตะ

สาขา

สาขา

สาขา

165

27

Performance

2017

9

ร า นอาหารไทย เลอ สยาม

ร านอาหารไทย ณ สยาม

สาขา

สาขา

4

ร า นกาแฟ/เบเกอรี ่ เลอ เพอทิ ท

3

สาขา

1

3


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

10

1

ร้ า น เอ็ ม เค สุ กี้ ภายใต้การด�ำเนินงานของบริษัทฯ สามารถแบ่ ง ได้ เ ป็ น 3 ลั ก ษณะ ผลิตภัณฑ์ ดังต่อไปนี้

#Loving Family

#Memorable Moments


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ร้านเอ็มเค สุกี้ ร้านเอ็มเค สุกี้

427 สาขา

ร้านเอ็มเค สุกี้ เป็นร้านอาหารที่ด�ำเนินการโดยบริษัทฯ โดยมีอาหารหลัก เป็นอาหารประเภทสุกี้ ได้แก่ เนื้อสัตว์ ลูกชิ้น ผักสด ชนิดต่างๆ กว่า 100 รายการ ส� ำ หรั บ ลวกในหม้ อ สุ กี้ นอกจากนี้ ยั ง มี อ าหารประเภทอื่ น อี ก หลายรายการไว้ ส�ำหรับบริการ ได้แก่ ติ่มซ�ำ เช่น ซาลาเปา ขนมจีบ ฮะเก๋า ปอเปี๊ยะสด อาหาร จานเดียว (A La Carte) เช่น เป็ดย่างเอ็มเค หมูแดงอบน�้ำผึ้ง ซี่โครงหมูนึ่งอบ เต้าเจี้ยว เนื้อเปื่อยฮ่องกง บะหมี่หยก เกี๊ยวน�้ำ รวมถึงผลไม้ ขนมหวาน ไอศกรีม ชนิดต่างๆ เครื่องดื่มหลากหลายชนิด เป็นต้น ลักษณะของร้านเอ็มเค สุกี้ คือร้านของครอบครัว (Family Restaurant) โดย มีกลุ่มลูกค้าเป้าหมายคือ ลูกค้าประเภทครอบครัว กลุ่มเพื่อน คนท�ำงาน ซึ่งมี รายได้ระดับปานกลางถึงสูง โดยเน้นบรรยากาศสบายๆ ในร้าน สามารถใช้เวลา ร่ ว มกั น ปรุง สุกี้เพื่อ รับ ประทานร่ว มกันพร้อ มกับ สนทนาไปด้ว ยโดยไม่ต้อ งรีบ ร้อน หรือหากเป็นคนท�ำงานที่ระยะเวลาพักเที่ยงมีจ�ำกัด ก็สามารถใช้เวลาไม่ ถึง 1 ชั่วโมงเพื่อรับประทานอาหาร เนื่องจากการบริการของทางร้านเน้นการ บริการที่สะดวก รวดเร็ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ร้านเอ็มเค สุกี้ มีจ�ำนวนทั้งหมด 427 สาขาทั่ว ประเทศ โดยส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ในศูนย์การค้า โมเดิร์นเทรด และคอมมูนิตี้มอลล์ ได้แก่ บิ๊กซี เทสโก้ โลตัส ห้างเซ็นทรัล ห้างโรบินสัน ห้างเดอะมอลล์ เป็นต้น ที่ เป็นแหล่งสรรพสินค้าของลูกค้าที่มีรายได้ระดับปานกลางถึงสูง ร้านเอ็มเค โกลด์

ร้านเอ็มเค โกลด์

6 สาขา

ร้านเอ็มเค โกลด์ เป็นร้านอาหารที่ด�ำเนินการโดยบริษัทฯ โดยมีการบริการ อาหารหลักประเภทสุกี้ และอาหารประเภทอื่นได้แก่ ติ่มซ�ำ และอาหารจานเดียว บริ ก ารเหมื อ นร้ า นเอ็ ม เค สุ กี้ แต่ วั ต ถุ ดิ บ และอาหารที่ ใ ห้ บ ริ ก ารจะเป็ น ระดั บ พรีเมี่ยม ทั้งนี้ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายของร้านเอ็มเค โกลด์ คือ กลุ่มลูกค้าเดิมของ ร้านเอ็มเค สุกี้ ที่มีรายได้ค่อนข้างสูง ชื่นชอบอาหารเกรดพรีเมี่ยม และต้องการ ใช้ร้านเอ็มเค โกลด์ เป็นสถานที่เลี้ยงรับรอง การตกแต่งของร้านเอ็มเค โกลด์ จะเน้นความหรูหรา ประดับด้วยไฟและวัสดุหลากสี ท�ำให้เกิดประกายระยิบ ระยั บ สวยงาม วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ที่ ใช้ ใ นร้ า นจะเน้ น ความหรู ห รา เช่ น การใช้ ห ม้ อ ไฟสีทอง จานชามกระเบื้อง นอกจากนี้รายละเอียดอื่นๆ ได้แก่ อุปกรณ์ตกแต่ง ป้ายชื่อร้าน ครัวเป็ดย่างที่โชว์ด้านหน้าร้าน ผ้ารองจาน แบบฟอร์มพนักงาน ได้รับการออกแบบอย่างพิถีพิถันและมีส่วนประกอบของสีทอง เพื่อให้ดูหรูหรา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ร้านเอ็มเค โกลด์ มีทั้งหมด 6 สาขา ตั้งอยู่ใน ย่านธุรกิจที่ส�ำคัญ ได้แก่ สยามพารากอน เซ็นทรัลเวิลด์ ศาลาแดง เอสพลานาด เอกมัย และจังซีลอน จ.ภูเก็ต โดยรูปแบบการบริการจะเป็นการบริการในรูป แบบตามสั่ ง และคิ ด ราคาตามประเภทและจ� ำ นวนอาหาร และในบางสาขาจะ ให้บริการรูปแบบบุฟเฟ่ต์ด้วย

11


12

รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ร้านเอ็มเค ไลฟ์ ร้านเอ็มเค ไลฟ์

2 สาขา

ร้านเอ็มเค ไลฟ์ เป็นอีกหนึ่งแบรนด์ในกลุ่มร้านอาหารประเภทสุกี้ในเครือ บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) ร้านเอ็มเค ไลฟ์ ถูกตั้งให้เป็นร้าน ต้นแบบคอนเซ็ปต์ของร้านเอ็มเค สุกี้ ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจจากจุดเด่นต่างๆ ของแบรนด์เอ็มเคและไลฟ์สไตล์ของกลุ่มลูกค้า Gen Y มาเป็นจุดตั้งต้นในการ คิดคอนเซ็ปต์ร้าน นิยามของค�ำว่า “LIVE” ในชื่อของแบรนด์นี้คือความมีชีวิตชีวา ซึ่งค�ำว่า LIVE ของ MK LIVE ถูกแตกออกเป็นองค์ประกอบหลักๆ อยู่ 6 องค์ประกอบ คือ LIVE Ingredients, LIVEly Service, LIVE Showcase, LIVE Decoration, LIVE Experiences และ LIVE Bonding ที่เอ็มเค ไลฟ์ ทั้งอาหาร การบริการ และประสบการณ์มื้ออาหาร ถูกออกแบบมาให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและแตกต่างจากร้านเอ็มเค สุกี้ ยกตั ว อย่ า งเมนู พิ เ ศษ เช่ น สุ ก้ี นึ่ ง และสุ กี้ ย ากี้ ส ไตล์ ญี่ ปุ ่ น ต้ น ต� ำ รั บ หรื อ การ บริการที่เป็นกันเองของพนักงาน หรือครัวโชว์ที่เชฟของเอ็มเค ไลฟ์ ปรุงเมนู สดๆ ให้ลูกค้าได้เห็น โดยคอนเซ็ปต์ของร้านนี้หวังว่าลูกค้าจะได้ประสบการณ์ ใหม่ๆ กลับไปทุกครั้งที่มารับประทานที่ร้าน ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 ร้ า นเอ็ ม เค ไลฟ์ มี ทั้ ง หมด 2 สาขา ตั้ ง อยู ่ ที่ ห้างสรรพสินค้า ดิ เอ็มควอเทียร์ และห้างสรรพสินค้าเมกา บางนา

#Experience


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

13

#Healthy


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

14

2

ธุ ร กิ จ ร้ า นอาหารญี่ ปุ ่ น

#Friendship Moment


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ร้านอาหารยาโยอิ ร้านยาโยอิ

165 สาขา

ร้านอาหารยาโยอิ ด�ำเนินการโดยบริษัทย่อย คือ บริษัท เอ็ม เค อินเตอร์ ฟู้ด จ�ำกัด ซึ่งได้รับสิทธิแฟรนไชส์ในการด�ำเนินกิจการร้านอาหารญี่ปุ่นภายใต้ เครื่องหมายการค้ายาโยอิ เคน มาจาก Plenus Co., Ltd. ซึ่งเป็นบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในผู้น�ำในธุรกิจร้านอาหารของประเทศ ญี่ปุ่น โดยร้านอาหารยาโยอิสาขาแรกในประเทศไทยเปิดให้บริการในปี 2549 ร้ า นอาหารยาโยอิ ตกแต่ ง ในบรรยากาศสดใส เป็ น กั น เอง บริ ก ารอาหาร ญี่ปุ่นภายใต้แนวคิด “เสิร์ฟร้อน อร่อยเร็ว” เน้นการให้บริการที่รวดเร็ว แต่มี คุณภาพ ปรุงใหม่ทุกจาน และมีราคาสมเหตุสมผล โดยแนวคิดนี้ได้น�ำมาจาก รู ป แบบการใช้ชีวิต ของชาวญี่ปุ่น คือ แม้จะต้อ งอยู่ในภาวะเร่ง รีบ เพียงใด ทุก อย่างในชีวิตประจ�ำวันจะต้องประณีตและได้มาตรฐาน ไม่เว้นแม้แต่เรื่องอาหาร ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทยที่ให้ความส�ำคัญกับอาหารการกินเช่นกัน ร้านอาหารยาโยอิ บริการอาหารญี่ปุ่นทั้งประเภทจานเดียว (A La Carte) และ อาหารเป็นชุด (Set Menu) ซึ่งจะบริการมาพร้อมกับ ข้าว สลัดผัก ซุปมิโสะ เครื่อง เคียงแบบญี่ปุ่นประจ�ำวัน อาหารแนะน�ำ ได้แก่ หมูชุบแป้งทอดราดซอสมิโสะ หมูย่างกระทะร้อน ข้าวหน้าเนื้อประเภทต่างๆ ข้าวกล่องแบบญี่ปุ่น นอกจากนี้ ยังมีบริการ อุด้ง ราเมน อาหารทานเล่น เช่น เกี๊ยวซ่า พิซซ่าญี่ปุ่น และขนม หวาน รวมถึงเครื่องดื่มที่หลากหลาย นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาและคัดสรรเมนูใหม่ๆ อย่างสม�่ำเสมอร่วมกับเชฟ ชาวญี่ปุ่นของยาโยอิ เคน ประเทศญี่ปุ่น เพื่อให้ได้เมนูที่เข้ากับฤดูกาล และยังคง รูปแบบความเป็นอาหารญี่ปุ่น โดยจะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนมาให้บริการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ร้านอาหารยาโยอิ มีจ�ำนวนทั้งหมด 165 สาขาทั่วประเทศ ร้านฮากาตะ

ร้านฮากาตะ

3 สาขา

ในเดือนตุลาคม ปี 2555 บริษัทฯ ได้เปิดร้านอาหารญี่ปุ่นฮากาตะ สาขาแรก ที่ โรงพยาบาลศิ ริ ร าช ร้ า นฮากาตะ บริ ก ารอาหารญี่ ปุ ่ น ประเภทราเมนชนิ ด ต่างๆ เกี๊ยวซ่า และเครื่องดื่มชนิดต่างๆ ร้านฮากาตะสาขาโรงพยาบาลศิริราช เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ CSR ของบริ ษั ท ฯ โดยบริ ษั ท ฯ จะบริ จ าคก� ำ ไรหลั ง หั ก ค่ า ใช้จ่ายให้แก่โรงพยาบาลศิริราชทั้งหมด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ร้านฮากาตะ มีจ�ำนวน 3 สาขา ได้แก่ สาขาโรงพยาบาลศิริราช สาขาเซ็นทรัล เชียงใหม่ และสาขาเซ็นทรัล หาดใหญ่ ร้านมิยาซากิ

ร้านมิยาซากิ

27 สาขา

ในเดือนตุลาคม ปี 2555 บริษัทฯ ได้เปิดร้านอาหารญี่ปุ่นมิยาซากิ สาขาแรก ที่ศูนย์การค้าเดอะซีน ทาวน์อินทาวน์ (The Scene Town in Town) ซ.ลาดพร้าว 94 โดยบริการอาหารญี่ปุ่นกระทะร้อนประเภทต่างๆ (เทปปันยากิ) เครื่องดื่ม และขนมหวานประเภทต่างๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ร้านมิยาซากิมีจ�ำนวน 27 สาขา

15


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

16

3

ธุ ร กิ จ ร้ า นอาหารไทย

#Original


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ร้าน ณ สยาม ร้าน ณ สยาม

1 สาขา

ร้านอาหารไทย ณ สยาม เป็นร้านอาหารที่ด�ำเนินการโดยบริษัทฯ บริการ อาหารไทยเต็มรูปแบบ ตกแต่งในรูปแบบไทย โดยคงความเป็นร้านอาหารไทย เหมือนยุคก่อตั้งสาขาแรกที่สยามสแควร์ ก่อนที่ร้านอาหารของบริษัทฯ จะมุ่ง ให้บริการอาหารประเภทสุกี้ยากี้เป็นหลัก เน้นกลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ระดับกลาง ถึงสูง อาหารไทยที่ให้บริการมีตั้งแต่อาหารประเภทกับข้าว ได้แก่ น�้ำพริก ต้มย�ำ แกง ผัดผักชนิดต่างๆ อาหารจานเดียว ก๋วยเตี๋ยว อาหารทานเล่น ตลอดจนขนม หวาน และเครื่องดื่มที่หลากหลาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ร้าน ณ สยาม มี 1 สาขา ตั้งอยู่ที่ชั้น B1 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา บางนา ร้านเลอ สยาม

ร้านเลอ สยาม

4 สาขา

ส� ำ หรั บ ร้ า นอาหาร เลอ สยาม เป็ น ร้ า นอาหารที่ ด� ำ เนิ น การโดยบริ ษั ท ฯ และบริการอาหารไทยเต็มรูปแบบเช่นกัน ร้านอาหาร เลอ สยาม ตกแต่งในรูป แบบไทย ในบรรยากาศที่ ห รู มี ร ะดั บ อาหารต่ า งๆ รวมถึ ง เครื่ อ งดื่ ม จะเป็ น ระดับพรีเมี่ยม โดยร้านอาหาร เลอ สยาม เน้นกลุ่มลูกค้าชาวต่างชาติ หรือกลุ่ม ลูกค้าที่มีรายได้ค่อนข้างสูงและต้องการใช้ร้านเป็นสถานที่เลี้ยงรับรอง ณ วันที่ 31 ธั น วาคม 2560 ร้ า นเลอ สยาม มี 4 สาขา ได้ แ ก่ สาขาศาลาแดง สาขา จั ง ซี ล อน จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต สาขาเซ็ น ทรั ล สมุ ย จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี และสาขา ลอนดอนสตรีท กรุงเทพฯ

17


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

18

4

ธุ ร กิ จ ร้ า นกาแฟ และเบเกอรี่

#Coffee Time


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ธุรกิจร้านกาแฟ และเบเกอรี่ ร้านเลอ เพอทิท

3 สาขา

ในเดือนกันยายน ปี 2555 บริษัทฯ ได้เปิดร้านกาแฟและเบเกอรี่ซึ่งพัฒนา ขึ้นเองโดยบริษัทฯ ภายใต้ชื่อและเครื่องหมายการค้า “เลอ เพอทิท” โดยบริการ ขนมทานเล่น เบเกอรี่ กาแฟ และเครื่องดื่มประเภทต่างๆ ร้านเลอ เพอทิท สาขา โรงพยาบาลศิริราชเป็นส่วนหนึ่งของ CSR ของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ จะบริจาค ก�ำไรหลังหักค่าใช้จ่ายให้แก่โรงพยาบาลศิริราชทั้งหมด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ร้านเลอ เพอทิทมีจ�ำนวน 3 สาขา ได้แก่ สาขาโรงพยาบาลศิริราช สาขา ลอนดอนสตรีท และสาขาส�ำนักงานใหญ่

19


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

20

บริการส่งถึงบ้านและบริการจัดเลี้ยงนอกสถานที่

การบริการส่งถึงบ้าน Home Delivery และบริการจัดเลี้ยงนอกสถานที่ ด� ำ เนิ น การโดยบริ ษั ท ฯ และ บริ ษั ท เอ็ม เค อินเตอร์ฟู้ด จ�ำกัด โดยบริการ ส่งอาหารจากร้านเอ็มเค สุกี้ และร้าน ยาโยอิ ถึ ง บ้ า นตั้ ง แต่ เ วลา 10.00 – 21.00 น. (หรือตามเวลาเปิด-ปิดของ บริเวณที่ให้บริการ

ห้างสรรพสินค้า) โดยจ�ำนวนสั่งอาหาร ขั้นต�่ำจากทั้งสองร้านคือ 150 บาท หาก เป็ น อาหารสดรายการย่ อ ยของร้ า น เอ็มเค สุกี้ จ�ำนวนสั่งขั้นต�่ำจะเริ่มต้น ที่ 199 บาท ค่าบริการส่งอาหารครั้ง ละ 40 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว) นอกจากนี้ ลู ก ค้ า ยั ง สามารถสั่ ง จอง สั่งทางโทรศัพท์

กรุงเทพฯ และปริมณฑล

0-2248-5555, 1642

เมืองพัทยา จ.ชลบุรี

0-2248-5555, 0-3837-4484, 1642

เชียงใหม่

0-2248-5555, 0-5380-5742, 1642

ภูเก็ต

0-7624-8266

นครราชสีมา ขอนแก่น

0-2248-5555, 1642

นครปฐม (เฉพาะร้านเอ็มเค สุกี้)

0-2248-5555, 1642

ส�ำหรับบริการจัดเลี้ยงนอกสถานที่ ร้ า นเอ็ ม เค สุ กี้ บริ ก ารรั บ สั่ ง อาหาร ล่ ว งหน้ า และบริ ก ารอาหารกล่ อ ง ส� ำ หรั บ จั ด งานเลี้ ย ง งานพิ ธี ก ารหรื อ

กิ จ กรรมต่า งๆ บริษัท ฯ มีโครงการที่ จะบริ ก ารจั ด เลี้ ย งนอกสถานที่ อ ย่ า ง ครบวงจร โดยจะมีการบริการอุปกรณ์ เช่น หม้อสุกี้ ปลั๊กไฟ โต๊ะเก้าอี้ และ

เป็ น ออร์ เ ดอร์ ล ่ ว งหน้ า ส� ำ หรั บ งาน สัมมนาหรืองานประชุมได้ด้วย โดย สามารถช� ำ ระค่ า อาหารเป็ น เงิ น สด หรื อ บั ต รเครดิ ต วี ซ ่ า ทุ ก ธนาคาร ซึ่ ง การสั่งอาหารสามารถท�ำได้ 2 ทาง คือ สั่งทางโทรศัพท์ และสั่งทางออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์ สั่งทางออนไลน์

http://www.mkrestaurant.com http://www.yayoirestaurants.com

บุ ค ลากรที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญ เพื่ อ อ� ำ นวยความสะดวกในการจั ด งาน นอกสถานที่ เ สมื อ นลู ก ค้ า นั่ ง ทานสุ กี้ ที่ร้านด้วย


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

21

ร้านอาหารในต่างประเทศ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีจ�ำนวนร้านเอ็มเค สุกี้ ร้านยาโยอิ และร้านมิยาซากิ ในต่างประเทศ รายละเอียดดังนี้ ประเทศ

จำ�นวนร้าน เอ็มเค สุกี้

จำ�นวนร้าน ยาโยอิ

จำ�นวนร้าน มิยาซากิ

ญี่ปุ่น

33

-

-

Plenus MK Co., Ltd. (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 12 / ได้รับสิทธิแฟรนไชส์จากบริษัทฯ)

สิงคโปร์

-

8

-

Plenus & MK Pte. Ltd. (บริษัท ฯ ถือ หุ้นร้อ ยละ 50 / เป็นบริษัท ร่ว มค้า )

เวียดนาม

5

-

-

Global Investment Gate Joint-Stock Company เป็นกิจการ ที่ไม่เกี่ยวข้องกันที่ได้รับสิทธิแฟรนไชส์จากบริษัทฯ

1

Premium Food Co., Ltd. เป็นกิ จ การที่ไม่เกี่ยวข้องกันที่ได้รับ สิทธิแฟรนไชส์จากบริษัทฯ ในการด�ำเนินงานร้านเอ็มเค สุกี้ V&V Restaurant เป็ น กิ จ การที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น ที่ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ แฟรนไชส์จากบริษัทฯ ในการด�ำเนินงานร้านมิยาซากิ

ลาว

1

-

ดำ�เนินธุรกิจโดย

รานเอ็มเค สุกี้

ญี่ปุน

33 สาขา

รานมิยาซากิ

รานเอ็มเค สุกี้

สาขา

สาขา

1

1

ลาว เวียดนาม

รานเอ็มเค สุกี้

5

สาขา

รานยาโยอิ

8

สาขา

สิงคโปร


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

22

สถาบันฝึกอบรม

ด� ำ เนิ น การโดยบริ ษั ท เอ็ ม เค เซอร์ วิ ส เทรนนิ่ ง เซ็ น เตอร์ จ� ำ กั ด หรือสถาบันฝึกอบรมเอ็มเค ซึ่งก่อตั้ง ขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ. 2549 เพื่ อ ให้ บ ริ ก าร ฝึ ก อบรมงานด้ า นบริ ก ารและทั ก ษะ ที่ จ� ำ เป็ น ในการท� ำ งานแก่ พ นั ก งาน ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เนื่องจาก บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ดี ว ่ า ทรั พ ยากรที่ มี ค่ามากที่สุดขององค์กรคือ พนักงาน บริ ษั ท ฯ จึ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การ สรรหา คั ด เลื อ ก ดู แ ลเอาใจใส่ และ พั ฒ นาบุ ค ลากรอย่ า งเป็ น ระบบ บริ ษั ท ฯ ได้ พั ฒ นาหลั ก สู ต รการฝึ ก อบรมตามมาตรฐานของบริ ษั ท ฯ อย่ า งเข้ ม ข้ น พนั ก งานทุ ก ส่ ว นงาน ไม่ ว ่ า จะเป็ น พนั ก งานสาขา ทั้ ง ที่

เป็ น พนั ก งานประจ� ำ หรื อ พนั ก งาน ชั่วคราว ซึ่งรวมถึง นักเรียน นักศึกษา พนั ก งานฝ่ า ยบริ ห ารจั ด การ รวมทั้ ง ผู ้ บ ริ ห าร จะต้ อ งได้ รั บ การอบรม พัฒนาความรู้และได้รับความดูแลจาก บริ ษั ท ฯ ในมาตรฐานเดี ย วกั น ตาม Training Road Map เพื่อให้สอดคล้อง กั บ แผนความก้ า วหน้ า ในอาชี พ (Career Path) ของต� ำ แหน่ ง งาน ของพนักงานแต่ละคน สถาบั น ฝึ ก อบรมเอ็ ม เค ตั้ ง อยู ่ ที่ ถนนบางนา-ตราด กม.3 ตรงข้ามกับ ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล พลาซา บางนา เป็ น อาคาร 7 ชั้ น ที่ มี ห ้ อ งฝึ ก อบรม หลายรู ป แบบ มี อุ ป กรณ์ ที่ จ� ำ เป็ น ใน การฝึกอบรมอย่างครบครัน หลักสูตร

ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น หลั ก สู ต รที่ ใช้ ค วามรู ้ และความสามารถด้ า นงานบริ ก าร จากบุ ค ลากรภายใน วิ ท ยากรจึ ง ประกอบไปด้วยผู้บริหารระดับต่างๆ หั ว หน้ า งานและผู ้ เชี่ ย วชาญ มี ค รู ฝ ึ ก ที่มีประสบการณ์ในงานบริการเป็นผู้ ให้ความรู้และถ่ายทอดประสบการณ์ ต่างๆ ที่จ�ำเป็น ทักษะการให้บริการที่ เป็นมาตรฐาน รวมทั้งทัศนคติที่ดีต่อ ลูกค้าและจิตใจที่รักการบริการ ส่งผล ให้ พ นั ก งานเอ็ ม เคทุ ก คนมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะ ร่ ว มกั น สร้ า งสรรค์ ผ ลงานบริ ก าร ให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายนั่ น คื อ การบริ ก าร เพื่อให้ลูกค้าพึงพอใจมากที่สุด


โครงสร้างของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

23

โครงสร้างของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

รานเอ็มเค สุกี้ รานเอ็มเค โกลด และรานเอ็มเค ไลฟ รานกาแฟ/เบเกอรี่ เลอ เพอทิท

แฟรนไซส ในตางประเทศ

100%

100%

รานอาหารญี่ปุน มิยาซากิ และ ฮากาตะ

บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต กรุป จำกัด (มหาชน) (M)

100%

บริษัท เอ็ม เค

บริษัท เอ็มเค เซอรวิส

บริษัท อินเตอรเนชั่นแนล

อินเตอรฟูด จำกัด

เทรนนิ่ง เซ็นเตอร จำกัด

ฟูด ซัพพลาย จำกัด

(MKI)

(MKST)

(IFS)

ร้านอาหารญี่ปุ่น ยาโยอิ

ให้บริการฝึกอบรม งานบริการแก่บริษัท ในเครือ

ผลิตอาหาร เพื่อจำหน่าย

(1) (2)

Plenus Co., Ltd. ถือหุ้นร้อยละ 50 Plenus Co., Ltd. ถือหุ้นร้อยละ 87.8 และ Bridg Co., Ltd. ถือหุ้นร้อยละ 0.2

รานอาหารไทย ณ สยาม และ เลอ สยาม

50%

12%

บริษัท พลีนัส แอนด เอ็มเค

บริษัท พลีนัส-เอ็มเค

พีทีอี ลิมิเท็ด(1)

ลิมิเท็ด(2)

(Plenus & MK Pte. Ltd.)

(Plenus MK Co., Ltd.)

ร้านอาหารในประเทศ สิงคโปร์

ร้านเอ็มเค สุกี้ ในประเทศญี่ปุ่น


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

24

เหตุการณ์สําคัญ ในปี2560

มกราคม

กุ ม ภาพั น ธ์

ไ ด ้ รั บ ร า ง วั ล “ S u p e r b r a n d s

ได้รับรางวัล “The Most Powerful

Thailand 2016” จาก Thailand

Brand of Thailand 2016”

Superbrands Council

เมื่ อ วั น ที่ 22 กุ ม ภาพั น ธ์ 2560 บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ รางวั ล “The Most Powerful Brand of Thailand 2016” ในหมวดร้านอาหารที่มีสาขา จากการ ส� ำ รวจผู ้ บ ริ โ ภคจ� ำ นวน 12,000 คน โดยคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2560 บริษัทฯ ได้ รั บ รางวั ล “Superbrands Thailand 2016” จาก Thailand Superbrands Council

2560

มี น าคม เปิ ด ตั ว แบรนด์ ใ หม่ MK Live

เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2560 บริษัทฯ ได้ เ ปิ ด ตั ว แบรนด์ ใ หม่ MK Live ที่ ห้างสรรพสินค้าเอ็มควอเทียร์


เหตุการณ์ส�ำคัญในปี 2560

25

พฤษภาคม มี ม ติ อ นุ มั ติ ก ารลงทุ น เพิ่ ม ในบริ ษั ท อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล ฟู ้ ด ซั พ พลาย จ� ำ กั ด

2561

เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2560 ที่ ประชุ ม คณะกรรมการของบริ ษั ท ฯ ได้มีมติอนุมัติการลงทุนเพิ่มในบริษัท อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล ฟู ้ ด ซั พ พลาย จ� ำ กั ด จากทุ น จดทะเบี ย นเดิ ม 100 ล้ า นบาท เป็ น ทุ น จดทะเบี ย นใหม่ 280 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 28 ล้านหุ้น มู ล ค่ า หุ ้ น ละ 10 บาท) โดยออกหุ ้ น สามัญใหม่จ�ำนวน 18 ล้านหุ้น มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท

ตุ ล าคม ได้รบ ั รางวัล “No.1 Brand Thailand

เพิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นช� ำ ระแล้ ว เป็ น

2016-2017”

920,878,100 บาท

เมื่ อ วั น ที่ 22 พฤษภาคม 2560 บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ รางวั ล “No.1 Brand Thailand 2016-2017” ในฐานะ แบรนด์ ย อดนิ ย มอั น ดั บ 1 สาขา ภัตตาคาร จาก นิตยสารมาร์เก็ตเธียร์

เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2560 บริษัทฯ ได้ เ พิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นช� ำ ระแล้ ว จาก 914,849,400 บาท เป็น 920,878,100 บาท โดยออกหุ ้ น สามั ญ ใหม่ จ� ำ นวน 6,028,700 หุ ้ น มู ล ค่ า ที่ ต ราไว้ หุ ้ น ละ 1 บาท จากการใช้ สิ ท ธิ จ ากใบ ส�ำคัญแสดงสิทธิ ESOP (M-WA) ของ พนักงานและผู้บริหารของบริษัทฯ


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

26

ปัจจัย ความเสี่ยง ในการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ ย่อม ต้องเผชิญกับความเสี่ยงต่างๆ เหมือน

ความเสี่ยงจากการแข่งขัน ที่ค่อนข้างสูง

กั บ ธุ ร กิ จ อื่ น ๆ ความเสี่ ย งที่ จ ะกล่ า ว ถึ ง ต่ อ ไปนี้ เป็ น ความเสี่ ย งที่ บ ริ ษั ท ฯ พิจารณาแล้ว เห็ น ว่ า หากเกิ ด ขึ้ น จะมี ผลกระทบในเชิ ง ลบต่ อ ธุ ร กิ จ ฐานะ การเงิ น และผลการด�ำเนิ น งานของ บริ ษั ท ฯ อย่ า งมี นั ย ส�ำคั ญ นอกจากนี้ อาจมีความเสี่ยงอื่นๆ ที่บริษัทฯ ไม่อาจ ทราบได้ในขณะนี้ หรือเป็นความเสี่ยงที่ บริษัทฯ พิจารณาแล้ ว เห็ น ว่ า ยั ง ไม่ จั ด ว่ า เป็ น ความเสี่ ย งที่ จ ะก่ อ ให้ เ กิ ด ความ เสี ย หายต่ อ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ อย่ า งมี นัยส�ำคัญ

ธุ ร กิ จ ร้ า นอาหาร ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ ด� ำ เนิ น การอยู ่ นั้ น เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ มี ก าร แข่ ง ขั น ค่ อ นข้ า งสู ง และนั บ วั น จะ ทวีความรุนแรงมากขึ้น ดังนั้น ความ ส�ำเร็จของบริษัทฯ จึงขึ้นอยู่กับความ สามารถของบริษัทฯ ที่จะแข่งขันกับ คู ่ แข่ ง ขั น ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลและ ต่อเนื่อง บริษัทฯ ต้องแข่งขันกับคู่แข่งขันที่ เป็นผู้ประกอบธุรกิจร้านอาหารนานา ชนิดเป็นจ�ำนวนมาก คู่แข่งขันเหล่านี้ มี ทั้ ง ผู ้ ป ระกอบการกลุ ่ ม ร้ า นอาหาร จากต่ า งประเทศ (International Restaurant Chains) กลุ ่ ม ร้ า นอาหาร ที่ ด� ำ เนิ น กิ จ การมานานในประเทศ (Well-Established Local Restaurant Chains) และผู้ประกอบการร้านอาหาร รายเล็กอีกเป็นจ�ำนวนมาก นอกจากนี้ ยั ง มี ผู ้ ป ระกอบการร้ า นอาหารราย ใหม่ ๆ ที่ เข้ า มาในธุ ร กิ จ ร้ า นอาหาร อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง นี้ เนื่ อ งจากธุ ร กิ จ ร้านอาหารมีก�ำแพงที่จะป้องกันไม่ให้ ผู ้ ป ระกอบการใหม่ เข้ า มาในธุ ร กิ จ ร้ า นอาหารค่ อ นข้ า งต�่ ำ การแข่ ง ขั น ในธุ ร กิ จ ร้ า นอาหารนั้ น จะเป็ น การ แข่ ง ขั น ในเชิ ง ราคาและคุ ณ ภาพของ อาหาร ความหลากหลายและความ รู ้ สึ ก ที่ คุ ้ ม ค่ า (Value Perception) ของรายการอาหาร คุ ณ ภาพและ ประสิทธิภาพของการบริการ จ�ำนวน และต� ำ แหน่ ง ที่ ตั้ ง ของร้ า นอาหาร

ประสิ ท ธิ ผ ลในการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ อาหารใหม่ ประสิทธิผลของกิจกรรม ทางด้านโฆษณาและส่งเสริมการขาย ความสามารถในการตกแต่งและการ บ�ำรุงรักษาร้านอาหารให้เป็นที่ดึงดูด ของลู ก ค้ า และโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ชื่อเสียงและความแข็งแกร่งของแบรนด์ หากบริ ษั ท ฯ ไม่ ส ามารถที่ จ ะแข่ ง ขั น กั บ คู ่ แข่ ง ขั น ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล และต่ อ เนื่ อ งในปั จ จั ย ต่ า งๆ เหล่ า นี้ ก็ จ ะมี ผ ลกระทบในเชิ ง ลบต่ อ ธุ ร กิ จ และผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ อย่างมีนัยส�ำคัญ อย่ า งไรก็ ต าม จากการที่ บ ริ ษั ท ฯ มี ก ารเจริ ญ เติ บ โตทั้ ง ทางด้ า นการ ขยายสาขา รายได้ และผลการด�ำเนิน งานซึ่ ง เป็ น ที่ พ อใจอย่ า งต่ อ เนื่ อ งใน ระยะเวลาอันยาวนานเกินกว่า 20 ปี ที่ผ่านมา ย่อมแสดงให้เห็นว่า บริษัทฯ มีความสามารถทีจ่ ะแข่งขันกับคูแ่ ข่งขัน อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลและต่ อ เนื่ อ งได้ อย่างแน่นอน ทั้งนี้ เนื่องจากบริษัทฯ มีความได้เปรียบในเชิงแข่งขันในด้าน ที่ส�ำคัญหลายประการด้วยกันคือ (1) แบรนด์ “MK” เป็นแบรนด์ที่ได้รับการ ยอมรั บ และชื่ น ชอบของลู ก ค้ า โดย ทั่วไป (Strong Brand Recognition) (2) มี ฐ านะการเงิ น ที่ แข็ ง แกร่ ง (Strong Financial Position) ซึ่งเอื้อต่อการขยาย ธุรกิจของบริษัท ฯทั้ง ในระยะสั้นและ ระยะยาว (3) มีทีมผู้บริหารที่มีความ สามารถ และมีประสบการณ์ (Capable and Experienced Management Team) ในธุ ร กิ จ กลุ ่ ม ร้ า นอาหารที่ ย าวนาน


ปัจจัยความเสี่ยง

เกินกว่า 20 ปี ซึ่งช่วยให้การบริหารงาน ของบริษทั ฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิ ท ธิ ผ ล (4) มี ส ถาบั น การ ฝึกอบรมของตนเองเพื่อพัฒนาความรู้ และทักษะการบริหารงานของผู้บริหาร สาขา และโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้การ ฝึ ก อบรมทั ก ษะของพนั ก งานบริ ก าร เ พื่ อ ใ ห ้ คุ ณ ภ า พ ก า ร บ ริ ก า ร ข อ ง ทุ ก สาขามี ม าตรฐานเดี ย วกั น (5) มี จ�ำนวนสาขาที่เป็นร้านอาหารภายใต้ แบรนด์ “MK” และ “Yayoi” เกื อ บ ทั้งหมดเกินกว่า 500 สาขา ซึ่งตั้งอยู่ ในสถานที่ ที่ จั ด ว่ า เป็ น ต� ำ แหน่ ง ที่ ดี ในเชิ ง ยุ ท ธศาสตร์ ทั่ ว ประเทศไทย (6) มี ข นาดของธุ ร กิ จ ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความประหยั ด และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ (Economy of Scale) ในด้านต่างๆ เช่น การจัดซื้อ การขนส่งสินค้า การโฆษณา และ (7) การสร้างครัวกลางและศูนย์ การจั ด ส่ ง สิ น ค้ า ใหม่ ที่ ทั น สมั ย และมี มาตรฐานสากลขึ้ น อี ก แห่ ง หนึ่ ง เพื่ อ สนับสนุนการขยายธุรกิจของบริษัทฯ ในอนาคต ความเสี่ยงจากความผันผวน ของราคาวัตถุดิบ

เนื่ อ งจากต้ น ทุ น อาหารจั ด เป็ น ประเภทค่ า ใช้ จ ่ า ยที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ของ บริ ษั ท ฯ โดยมี สั ด ส่ ว นต่ อ รายได้ จากการขายสู ง ถึ ง ประมาณร้ อ ยละ 34 และต้ น ทุ น อาหารนั้ น ส่ ว นใหญ่ ประกอบด้ ว ยต้ น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ ดั ง นั้ น การเปลี่ ย นแปลงของราคาวั ต ถุ ดิ บ ที่ เพิ่มขึ้น ในขณะที่บริษัทฯ ไม่สามารถ ปรับราคาขายให้สูงขึ้นเพื่อชดเชยกับ ราคาวั ต ถุ ดิ บ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น หรื อ ชดเชย ได้ เ พี ย งบางส่ ว น เนื่ อ งจากความ กดดันจากการแข่งขัน หรือจากภาวะ

เศรษฐกิ จ ที่ ท� ำ ให้ ก� ำ ลั ง ซื้ อ ของผู ้ บริ โ ภคอ่ อ นลง หรื อ จากปั จ จั ย อื่ น ที่ ไม่ เ อื้ อ อ� ำ นวยต่ อ การปรั บ ขึ้ น ราคา ขาย ก็ จ ะส่ ง ผลกระทบในเชิ ง ลบต่ อ ผลการด�ำเนินงานของบริษัทฯ อย่าง มีนัยส�ำคัญ วัตถุดิบของบริษัทฯ นั้น ส่วนใหญ่ จะเป็ น จ� ำ พวกของสด เช่ น เนื้ อ สั ต ว์ อาหารทะเล ผัก ผลไม้ ไข่ ข้าว และ เครื่ อ งปรุ ง รสต่ า งๆ ซึ่ ง ราคาและ ปริ ม าณของวั ต ถุ ดิ บ เหล่ า นี้ ที่ อ อกสู ่ ตลาดในขณะใดขณะหนึ่ง จะผันผวน ตามอุ ป สงค์ แ ละอุ ป ทาน โดยเฉพาะ ป ริ ม า ณ ผ ล ผ ลิ ต ซึ่ ง อ า จ ไ ด ้ รั บ ผ ล กระทบจากปั จ จั ย ลบหลายอย่ า ง เช่น สภาพอากาศที่ไม่เอื้ออ�ำนวยต่อ การเพาะปลูก ภัยธรรมชาติ การแพร่ ระบาดของโรคติดต่อในสัตว์หรือพืช เป็ น ต้ น ซึ่ ง ล้ ว นเป็ น ปั จ จั ย ที่ อ ยู ่ น อก เหนือการควบคุมของบริษัทฯ ในกรณี ที่ ร าคาวั ต ถุ ดิ บ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงใน ทางที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น เนื่ อ งจากปริ ม าณ ผลผลิ ต ที่ ล ดลงซึ่ ง ได้ รั บ ผลกระทบ จากปัจจัยลบดังกล่าวข้างต้น ก็จะท�ำ ให้บริษัทฯ จ�ำเป็นต้องซื้อวัตถุดิบใน

27

ราคาที่สูงขึ้นและในปริมาณที่ไม่เป็น ไปตามที่ บ ริ ษั ท ฯ ต้ อ งการ ซึ่ ง จะส่ ง ผลกระทบในเชิงลบต่อผลการด�ำเนิน งานของบริษัทฯ ในที่สุด เ พื่ อ ล ด ค ว า ม เ สี่ ย ง จ า ก ค ว า ม ผันผวนของราคาวัตถุดิบตามที่กล่าว ข้างต้น บริษัทฯ ได้ด�ำเนินมาตรการ ต่ า งๆ เพื่ อ ควบคุ ม ต้ น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ ให้ อ ยู ่ ใ นระดั บ ที่ เ หมาะสม ที่ ส� ำ คั ญ ได้แก่ (1) มีการประมาณการปริมาณ ความต้ อ งการวั ต ถุ ดิ บ ประเภทที่ มี ผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อต้นทุน วั ต ถุ ดิ บ รวมของบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ใช้ ใ น การวางแผนการจั ด ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ ใน ปริ ม าณและภายในก� ำ หนดเวลา ตามแผนการขายของบริ ษั ท ฯ (2) จากข้ อ มู ล การประมาณการปริ ม าณ วั ต ถุ ดิ บ ที่ ต ้ อ งการ ท� ำ ให้ บ ริ ษั ท ฯ มี อ� ำ นาจในการต่ อ รองราคากั บ ผู ้ ผ ลิ ต หรื อ ผู ้ จั ด จ� ำ หน่ า ย เนื่ อ งจากการซื้ อ เป็นจ�ำนวนมากและมีการก�ำหนดการ ส่ ง มอบสิ น ค้ า ที่ แ น่ น อน (3) เพื่ อ ป้ อ งกั น ความเสี่ ย งจากการผั น ผวน ของราคา มีการท�ำสัญญาซื้อล่วงหน้า กับผู้ผลิตหรือผู้จัดจ�ำหน่ายที่บริษัทฯ


28

รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

เชื่ อ ถื อ โดยมี ค วามผู ก พั น คู ่ สั ญ ญา ตามก�ำหนดระยะเวลาที่ตกลงกัน เช่น 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ปี และมีการ ระบุ ใ นสั ญ ญาที่ ชั ด เจนเกี่ ย วกั บ ราคา ปริ ม าณที่ ซื้ อ ขาย และก� ำ หนดเวลา การส่ ง มอบ (4) มี ก ารจั ด ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ ล่ ว งหน้ า ส� ำ หรั บ วั ต ถุ ดิ บ ประเภทที่ ราคาขึ้นลงตามฤดูกาล และสามารถ จั ด เก็ บ ไว้ ใ นที่ เ หมาะสมโดยไม่ ท� ำ ให้ เสื่อมคุณภาพอย่างมีนัยส�ำคัญ เพื่อใช้ ในฤดูกาลที่ราคามีการปรับสูงขึ้นมาก และ (5) มี ก ารรายงานเปรี ย บเที ย บ อย่างสม�ำ่ เสมอเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลง ของราคาวั ต ถุ ดิ บ ที่ ส ่ ง ผลกระทบ อย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ต่ อ ต้ น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ รวม เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการปรั บ ขึ้ น ราคาขายในกรณี ที่ เ ห็ น ว่ า จ� ำ เป็ น และกระท� ำ ได้ การด� ำ เนิ น มาตรการ เหล่านี้เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงจาก ความผั น ผวนของราคาวั ต ถุ ดิ บ และ ควบคุมต้นทุนวัตถุดิบให้อยู่ในระดับ ที่เหมาะสม ความเสี่ยงจากการเพิ่มขื้น ของค่าใช้จ่ายพนักงาน

ธุ ร กิ จ ร้ า นอาหาร เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี พ นั ก งานเป็ น จ� ำ นวน มาก (Labor Intensive) โดยเฉพาะ พนั ก งานบริ ก ารเพื่ อ ให้ บ ริ ก ารแก่ ลูกค้าให้อยู่ในระดับที่จะท�ำให้ลูกค้า มีความรู้สึกพึงพอใจ ดังนั้น ค่าใช้จ่าย พนักงานจึงจัดเป็นประเภทค่าใช้จ่าย ที่มีความส�ำคัญในอันดับที่สองรองจาก ค่าใช้จ่ายอาหาร ดังนั้น หากค่าใช้จ่าย พนักงานเพิม่ ขึน้ และบริษทั ฯ ไม่สามารถ ปรั บ ราคาขายให้ เ พิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ ชดเชย กั บ ค่ า ใช้ จ ่ า ยพนั ก งานที่ เ พิ่ ม ขึ้ น หรื อ ชดเชยได้ เ พี ย งบางส่ ว น เนื่ อ งจาก

ความกดดันจากการแข่งขัน หรือจาก ภาวะเศรษฐกิ จ ที่ ก ระทบต่ อ ก� ำ ลั ง ซื้ อ ของผู ้ บ ริ โ ภค หรื อ จากปั จ จั ย อื่ น ที่ ไม่ เ อื้ อ อ� ำ นวยต่ อ การปรั บ ขึ้ น ราคา ขาย ก็ จ ะส่ ง ผลกระทบในเชิ ง ลบ ต่ อ ผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ อย่างมีนัยส�ำคัญ เพื่อลดความเสี่ยงจากการเพิ่มขึ้น ของค่าใช้จ่ายพนักงานตามที่กล่าวมา ข้างต้น บริษัทฯ ได้ด�ำเนินมาตรการ ต่างๆ เพื่อติดตามควบคุมให้ค่าใช้จ่าย พนักงานอยู่ในระดับที่เหมาะสมที่สุด (Optimum Level) ดั ง นี้ (1) ก� ำ หนด และปรับเปลี่ยนจ�ำนวนพนักงานของ แต่ ล ะร้ า นอาหารให้ ส อดคล้ อ งกั บ ปริ ม าณธุ ร กิ จ ของแต่ ล ะร้ า นอาหาร ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากที่ สุ ด โดยที่ ยั ง คงสามารถรั ก ษาระดั บ คุ ณ ภาพ การให้บริการแก่ลูกค้าให้อยู่ในระดับ มาตรฐานตามที่ บ ริ ษั ท ฯ ก� ำ หนดไว้ (2) ติ ด ตามควบคุ ม ประสิ ท ธิ ผ ล (Productivity) ของพนักงานของแต่ละ ร้ า นอาหารให้ เ ป็ น ไปตามมาตรฐาน การวั ด ประสิ ท ธิ ผ ลของพนั ก งาน

ตามที่ บ ริ ษั ท ฯ ได้ พั ฒ นาขึ้ น และ เพื่ อ เป็ น การกระตุ ้ น ให้ ผู ้ บ ริ ห ารร้ า น อาหารแต่ละร้า นให้ค วามส�ำคัญและ เอาใจใส่ ใ นเรื่ อ งนี้ จึ ง ได้ ก� ำ หนดให้ ผลการวั ด ประสิ ท ธิ ผ ลของพนั ก งาน แต่ละร้านอาหารตามที่กล่าวมา เป็น เครื่ อ งชี้ วั ด ผลการด� ำ เนิ น การ (KPI) ตั ว หนึ่ ง ที่ ใช้ ใ นการประเมิ น ผลการ ด� ำ เนิ น งานของแต่ ล ะร้ า นอาหาร (3) น�ำเอาเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นร้ า นอาหาร ซึ่ ง นอกจากจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของ พนักงานแล้ว ยังช่วยยกระดับคุณภาพ การให้ บ ริ ก ารแก่ ลู ก ค้ า ให้ ดี ขึ้ น ด้ ว ย โดยช่วยให้การบริการมีความรวดเร็ว และแม่นย�ำยิง่ ขึน้ และ (4) มีการฝึกอบรม พนั ก งานโดยเฉพาะพนั ก งานบริ ก าร อย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานของพนักงาน ตลอด จนเพื่ อ ให้ คุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก ารแก่ ลูกค้ามีมาตรฐานเดียวกัน การด�ำเนิน มาตรการเหล่ า นี้ อ ย่ า งจริ ง จั ง และ ต่ อ เนื่ อ ง ประกอบกั บ การปรั บ ขึ้ น ราคาขายในกรณีที่เห็นว่าจ�ำเป็นและ


ปัจจัยความเสี่ยง

29

กระท� ำ ได้ ท� ำ ให้ บ ริ ษั ท ฯ สามารถ ควบคุ ม ค่ า ใช้ จ ่ า ยพนั ก งานในระยะ เวลาที่ผ่านมาให้อยู่ในระดับที่เหมาะ สมกั บ รายได้ รวมทั้ ง สามารถลด ความสูญเสียจากการมีพนักงานที่เกิน ความจ�ำเป็นและการปฏิบัติงานที่ด้อย ประสิทธิภาพ ความเสี่ยงจากการขาดแคลน บุคลากรฝ่ายปฏิบัติการสาขา

เนื่ อ งจากธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ เป็ น ธุ ร กิ จ บริ ก าร ดั ง นั้ น บุ ค ลากรจึ ง เป็ น กลไกส� ำ คั ญ ที่ จ ะขั บ เคลื่ อ นธุ ร กิ จ ได้ ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ มี แ ผนงานที่ จ ะเปิ ด สาขาใหม่ทุกๆ ปี และต้องมีพนักงาน ประมาณ 30–40 คนต่อ 1 สาขา ดังนั้น บริ ษั ท ฯ จะต้ อ งมี แ ผนงานการรั บ พนั ก งานใหม่ จ�ำ นวนมากเพื่ อ รองรั บ การเปิดสาขาใหม่ ดังนั้น หากบริษัทฯ ไม่ ส ามารถจั ด หาพนั ก งานใหม่ เ พื่ อ รองรั บ การขยายสาขาหรื อ ทดแทน พนักงานที่ลาออกได้ทันเวลา อาจจะ ส่ ง ผลกระทบต่ อ การให้ บ ริ ก ารและ การด�ำเนินงานของบริษัทฯ ได้อย่าง มีนัยส�ำคัญ อย่ า งไรก็ ต าม บริ ษั ท ฯ ให้ ค วาม สนใจและมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะแก้ ไขประเด็ น ดั ง กล่ า วเพื่ อ ให้ พ นั ก งานท� ำ งานกั บ บริษทั ฯ ให้นานทีส่ ดุ และให้ความส�ำคัญ กั บ การท� ำ งานภายใต้ “วั ฒ นธรรม เอ็มเค” ที่มีการดูแลเอาใจใส่พนักงาน ทุ ก ระดั บ ชั้ น การให้ โ อกาสพนั ก งาน ที่ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ เ พื่ อ ที่ จ ะ เ ป ็ น ระดั บ บริ ห ารได้ ใ นอนาคต การดู แ ล เรื่ อ งค่ า ตอบแทนและสวั ส ดิ ก ารให้ เป็นธรรม การฝึกอบรมเพื่อเพิ่มทักษะ และความรู้ความสามารถ รวมถึงการ ดู แ ลพนั ก งานเหมื อ นเป็ น ครอบครั ว

เดี ย วกั น ด้ ว ยเหตุ ผ ลดั ง กล่ า ว จึ ง มี ผู้มาสมัครเพื่อร่วมท�ำงานกับบริษัทฯ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และพนั ก งานที่ เข้ า ท� ำ งานใหม่ ทุ ก คนจะต้ อ งเข้ า อบรม ตามหลั ก สู ต รของสถาบั น ฝึ ก อบรม เพื่ อ ให้ พ นั ก งานทุ ก คนเข้ า ใจถึ ง วั ฒ นธรรมองค์ ก ร และสามารถ ปฏิ บั ติ ง านเป็ น ไปตามมาตรฐานของ บริษัทฯ บริษัทฯ จึงไม่มีปัญหาในการ หาบุ ค ลากรใหม่ ที่ มี ค วามสามารถ ตามคุณสมบัติที่บริษัทฯ ก�ำหนดไว้ ความเสีย ่ งทีไ่ ม่สามารถหาพืน ้ ที่ เช่ า และไม่ ส ามารถต่ อ สั ญ ญา พืน ้ ทีเ่ ช่าในเงือ ่ นไขตามทีบ ่ ริษท ั ฯ เห็นว่าสมควร

เนื่ อ งจากปั จ จุ บั น มี ก ารแข่ ง ขั น ในอุตสาหกรรมค่อนข้างรุนแรง และ มี ผู ้ ป ระกอบการร้ า นอาหารประเภท อื่นๆ เพิ่มขึ้นมาโดยตลอด ท�ำให้พื้นที่ เช่าเพื่อเปิดกิจการร้านอาหารหายาก ขึ้น อาจท�ำให้บริษัทฯ มีความเสี่ยงใน การหาพื้ น ที่ ใ นการเปิ ด สาขาใหม่ ไ ม่

ได้ตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ เป็นพันธมิตร ทางธุรกิจกับ ผู้ป ระกอบการพื้นที่เช่า หลายรายทั้งศูนย์การค้า โมเดิร์นเทรด และคอมมูนิตี้มอลล์ ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด อีกทั้งบริษัทฯ ยังเป็น ผู้ป ระกอบการร้า นอาหารชั้นน�ำของ ประเทศ มี สิ น ค้ า และบริ ก ารเป็ น ที่ ต้ อ งการของผู ้ บ ริ โ ภค จึ ง ไม่ คิ ด ว่ า เป็ น ความเสี่ ย งที่ จ ะส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท ฯ ไม่ ส ามารถหาพื้ น ที่ เช่ า ได้ ส� ำ หรั บ สัญญาเช่าพื้นที่ของบริษัทฯ ส่วนใหญ่ เป็นสัญญาเช่าครั้งละ 3 ปี และสามารถ ต่ออายุได้ 3–5 ครั้ง ครั้งละ 3 ปี หาก บริษัทฯไม่สามารถต่ออายุสัญญาเช่า อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ ผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯได้ อย่ า งไรก็ ต าม บริษัทฯ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ให้เช่า มานาน มี ป ระวั ติ ก ารช� ำ ระค่ า เช่ า ที่ ดี ปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญาเช่ า มาโดย ตลอด ไม่ เ คยมี ป ั ญ หากั บ ผู ้ ใ ห้ เ ช่ า และที่ ผ ่ า นมาได้ รั บ การต่ อ สั ญ ญา เช่ามาโดยตลอด อีกทั้งบริษัทฯ และ เจ้า ของพื้นที่เช่า ยัง ร่ว มกันแก้ป ัญหา


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

30

ส� ำ หรั บ สาขาที่ มี ผ ลประกอบการที่ ไม่ดี ซึ่งบางครั้งอาจจะต้องพิจารณา ปิ ด สาขานั้ น ไปเพื่ อ ประโยชน์ สู ง สุ ด ของทั้ ง สองฝ่ า ย ท� ำ ให้ บ ริ ษั ท ฯ และ เจ้ า ของพื้ น ที่ เช่ า มี ค วามสั ม พั น ธ์ ที่ ดี มาโดยตลอด ดังนั้น บริษัทฯ จึงเห็นว่า ความเสี่ ย งที่ ไ ม่ ส ามารถหาพื้ น ที่ เช่ า และไม่ ส ามารถต่ อ สั ญ ญาพื้ น ที่ เช่ า ไม่ น ่ า จะเป็ น อุ ป สรรคในการด� ำ เนิ น ธุรกิจแต่อย่างใด ความเสี่ยงจากการ เปิดสาขาใหม่

บริ ษั ท ฯ มี เ ป้ า หมายที่ จ ะเติ บ โต อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ดั ง นั้ น การเปิ ด สาขา ใหม่ เ ป็ น ปั จ จั ย หนึ่ ง ที่ จ ะผลั ก ดั น ให้ บ ริ ษั ท ฯ เติ บ โตตามเป้ า หมาย ที่ ว างไว้ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น การแข่ ง ขั น ใน อุ ต สาหกรรมมี ค วามรุ น แรงมากยิ่ ง ขึ้ น ประกอบกั บ มี ผู ้ ป ระกอบการ ธุรกิจร้านอาหารรายใหม่ๆ เข้ามาใน อุ ต สาหกรรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง บริ ษั ท ฯ จึ ง มี ค วามเสี่ ย งในกรณี ที่ ส าขาที่ เ ปิ ด ใหม่อาจจะไม่สามารถท�ำยอดขายได้ ตามเป้าหมายและไม่ให้ผลตอบแทน คุ ้ ม ค่ า ต่ อ เงิ น ลงทุ น การเปิ ด สาขา ใหม่นั้น จะต้องใช้เงินลงทุนประมาณ 8-10 ล้ า นบาทต่ อ สาขา เพื่ อ ใช้ ส� ำ หรั บ งานออกแบบ งานก่ อ สร้ า ง งานระบบ เฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์ครัว และอุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งใช้ ส� ำนั ก งานอื่ น ๆ บริ ษั ท ฯ มี แ ผนงานที่ จ ะขยายสาขา เอ็มเค สุกี้ และยาโยอิ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งท�ำเลที่ตั้งของสาขาที่เปิดใหม่อาจ จะทั บ ซ้ อ นกั บ สาขาเดิ ม ที่ อ ยู ่ บ ริ เวณ ใกล้ เ คี ย งกั น และอาจส่ ง ผลกระทบ ต่อยอดขายและผลการด�ำเนินงานของ บริษัทฯ ในระยะยาว

อย่ า งไรก็ ต าม บริ ษั ท ฯ มี ก าร ศึ ก ษาแผนงานการเปิ ด สาขาใหม่ อย่ า งเคร่ ง ครั ด และสาขาที่ เ ปิ ด ใหม่ จะต้ อ งให้ ผ ลตอบแทนที่ ดี แ ละคุ ้ ม ต่ อ การลงทุ น ตามเกณฑ์ ที่ ก� ำ หนดไว้ โดยมีฝ่ายพัฒนาและวิศวกรรมเป็นผู้ รั บ ผิ ด ชอบในการส� ำ รวจพื้ น ที่ ความ หนาแน่ น ของประชากร กลุ ่ ม ลู ก ค้ า เป้าหมาย ผลการด�ำเนินงานของสาขา บริ เ วณใกล้ เ คี ย งและการวิ เ คราะห์ ทางการเงิ น เช่ น ระยะเวลาจ่ า ยคื น เงิ น ลงทุ น (Payback Period) และผล ตอบแทนจากการลงทุ น (Return on Investment) จะต้องได้ไม่ต�่ำกว่าเกณฑ์ ที่ ก� ำ หนดไว้ เพื่ อ ใช้ ป ระกอบการ พิจารณาการเปิดสาขาใหม่ ประกอบ กับบริษัทฯ มีประสบการณ์ในการท�ำ ธุรกิจมานานกว่า 25 ปี และมีสินค้า และบริ ก ารเป็ น ที่ ย อมรั บ ของลู ก ค้ า นอกจากนี้ ผู้ประกอบการศูนย์การค้า โมเดิร์นเทรด และคอมมูนิตี้มอลล์ มี ความต้องการร้านอาหารที่มีชื่อเสียง มาเช่ า พื้ น ที่ เ พื่ อ เป็ น การดึ ง ดู ด และ ตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า

ที่มาใช้บริการ ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้รับ ข้ อ เสนอที่ ดี ม าโดยตลอด เช่ น ท� ำ เล ที่ ตั้ ง ขนาดของพื้ น ที่ ระยะเวลาเช่ า เป็ น ต้ น ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ ได้ ท� ำ การศึ ก ษา พื้นที่เช่าทุกแห่งที่ได้รับข้อเสนอ รวม ถึ ง การศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ ท างการ เงิ น เพื่ อ พิ จ ารณาลงทุ น ในพื้ น ที่ ที่ มี ความเหมาะสมและสามารถสร้างผล ตอบแทนที่ ดี บริ ษั ท ฯ มี ค วามมั่ น ใจ ว่ า การเปิ ด สาขาใหม่ ใ ห้ ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ ก ารให้ บ ริ ก ารมากยิ่ ง ขึ้ น จะ ช่ ว ยเพิ่ ม ศั ก ยภาพในการท� ำ ก� ำ ไรให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น และลดความเสี่ ย งต่ อ การ ด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ได้ ใ นระยะ ยาว บริษัทฯ ยังพิจารณาจากยอดขาย และความหนาแน่ น ของลู ก ค้ า ของ สาขาใกล้ เ คี ย งเพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า การ เปิดสาขาใหม่บริเวณนั้น จะไม่ส่งผล กระทบต่ อ ยอดขายของสาขาที่ อ ยู ่ ใกล้ เ คี ย ง แต่ เ ป็ น การเพิ่ ม ทางเลื อ ก ให้กับลูกค้ามากยิ่งขึ้นและเป็นกลยุทธ์ ที่จะเพิ่มพื้นที่การให้บริการเพื่อรักษา สัดส่วนทางการตลาดอีกด้วย


ปัจจัยความเสี่ยง

ความเสี่ยงที่จะไม่ได้ต่อสัญญา แฟรนไชส์ยาโยอิ

บริษัท เอ็ม เค อินเตอร์ฟู้ด จ�ำกัด ได้ รั บ สิ ท ธิ ใ นการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ร้ า น อาหารญี่ ปุ ่ น ในประเทศไทยภายใต้ ชื่ อ “ยาโยอิ ” จาก Plenus Co., Ltd. โดยสัญญาแฟรนไชส์มีอายุ 3 ปี และ สามารถต่ออายุสัญญาได้ครั้งละ 3 ปี เว้ น แต่ คู ่ สั ญ ญาฝ่ า ยหนึ่ ง ฝ่ า ยใดบอก กล่ า วการเลิ ก สั ญ ญาเป็ น หนั ง สื อ ล่ ว งหน้ า 180 วั น ก่ อ นวั น หมดอายุ ในแต่ละคราว ดังนั้น หากมีการบอก เลิ ก สั ญ ญาแฟรนไชส์ บริ ษั ท ฯ จะไม่ สามารถด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ร้ า นอาหาร ยาโยอิ ซึ่ ง จะส่ ง ผลกระทบต่ อ การ ด�ำเนินการของบริษัทฯ บริ ษั ท ฯ ได้ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ร้ า น อาหารยาโยอิ ม าเป็ น เวลา 10 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีทั้งหมด 165 สาขา และที่ผ่านมาบริษัทฯ ได้ปฏิบัติ ตามข้ อ ก� ำ หนดของสั ญ ญาแฟรนไชส์ อย่ า งเคร่ ง ครั ด มาโดยตลอด โดยใช้ รายการอาหารและวิธีการด�ำเนินงาน ของ “ยาโยอิ เคน” ภายใต้ ร ะบบ แฟรนไชส์ของเจ้าของสิทธิ และ Know How ที่ ใช้ ใ นการด� ำ เนิ น งาน ซึ่ ง รวม ถึ ง รู ป แบบของร้ า นอาหาร การปรั บ รายการอาหาร การเลือกวัตถุดิบ การ พัฒนาสินค้า การอบรมพนักงาน และ รูปแบบการด�ำเนินงานทั้งด้านการค้า และการผลิ ต และการช� ำ ระเงิ น ค่ า สิ ท ธิ ต รงตามก� ำ หนด อี ก ทั้ ง บริ ษั ท ฯ เองยั ง มี ค วามมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะขยายสาขา ยาโยอิอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2560 เปิดสาขาใหม่ทั้งหมด 13 สาขา และ มีแผนงานการขยายสาขาอย่างต่อเนือ่ ง ในอนาคต อี ก ทั้ ง ผลการด� ำ เนิ น งาน ของยาโยอิ ก็ มี ก ารเติ บ โตที่ ดี อ ย่ า ง

ต่ อ เนื่ อ ง นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ฯ และ Plenus Co., Ltd. ยังเป็นพันธมิตรทาง ธุรกิจร่วมทุนในการด�ำเนินธุรกิจร้าน เอ็มเค สุกี้ในต่างประเทศและมีความ สั ม พั น ธ์ ที่ ดี ม าเป็ น ระยะเวลานาน และที่ ผ ่ า นมาบริ ษั ท ฯ ได้ ป ฏิ บั ติ ต าม เงื่ อ นไขที่ ร ะบุ ใ นสั ญ ญามาโดยตลอด ซึ่งน่าจะท�ำให้บริษัทฯ ได้รับความไว้ วางใจให้ต่อสัญญาแฟรนไชส์ได้ ความเสี่ยงจากระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ

เพื่ อ เป็ น การเพิ่ ม ศั ก ยภาพในการ ให้บริการลูกค้า บริษัทฯ จึงน�ำระบบ เทคโนโลยี ส ารสนเทศเข้ า มาช่ ว ยใน ขั้ น ตอนการสั่ ง อาหารโดยระบบจะ ส่ ง ค� ำ สั่ ง ตรงไปยั ง ครั ว ต่ า งๆ ทั น ที ซึ่ ง ช่ ว ยการลดระยะเวลาในการให้ บริ ก ารลู ก ค้ า และลดการผิ ด พลาด ในการท� ำ งานให้ น ้ อ ยที่ สุ ด ระบบ เทคโนโลยี ส ารสนเทศยั ง เป็ น ส่ ว น ที่ ส� ำ คั ญ ในการให้ บ ริ ก ารของ Home Delivery ที่รับ order จากลูกค้าและส่ง ค� ำ สั่ ง อาหารไปยั ง สาขาต่ า งๆ เพื่ อ

31

เตรี ย มจั ด ส่ ง ต่ อ ไป นอกจากนี้ ยั ง เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ในการบริ ห ารจั ด การ อื่ น ๆ ดั ง นั้ น หากระบบเทคโนโลยี สารสนเทศมี ป ั ญ หาขั ด ข้ อ งหรื อ มี เหตุ ก ารณ์ ที่ ไ ม่ ค าดคิ ด ที่ ท� ำ ให้ ร ะบบ ดังกล่าวไม่สามารถใช้งานได้ อาจส่ง ผลให้มีผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ ได้ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ เล็งเห็นถึง ความส�ำคัญของระบบสารสนเทศ จึง ได้ ก� ำ หนดแนวทางการพั ฒ นาระบบ เทคโนโลยี ส ารสนเทศให้ มี ค วาม ทันสมัย โดยเน้นการพัฒนาระบบงาน ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ เช่ น ระบบบั ญ ชี การจั ด ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ การบริหารสินค้าคงคลัง การกระจาย สิ น ค้ า และระบบสื่ อ สารระหว่ า ง ส� ำ นั ก งานใหญ่ แ ละสาขาทั่ ว ประเทศ ซึ่ ง ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศจะสามารถรวบรวมข้อมูล เพื่ อ น� ำ ส่ ง ให้ ผู ้ บ ริ ห ารใช้ วิ เ คราะห์ พิจารณาและตัดสินใจ ดังนั้น บริษัทฯ จึ ง มี ค วามมั่ น ใจว่ า ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในกรณีทรี่ ะบบมีปญ ั หาขัดข้อง บริษทั ฯ


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

32

ก็ ส ามารถด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ต่ อ ไปได้ เนื่ อ งจากทุ ก หน่ ว ยงานมี คู ่ มื อ และ ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ ใช้ ใ นการ แก้ ป ั ญ หาและการด� ำ เนิ น การเพื่ อ ให้ ธุรกิจสามารถด�ำเนินต่อไปได้ ความเสี่ยงจากการลงทุน ในต่างประเทศ

บ ริ ษั ท ฯ มี ก า ร ล ง ทุ น ใ น ต ่ า ง ประเทศผ่ า นบริ ษั ท ร่ ว มทุ น 2 แห่ ง โดยถือหุ้นร้อยละ 12 ใน Plenus MK Co., Ltd. เพื่อด�ำเนินธุรกิจร้านเอ็มเค สุ กี้ ในประเทศญี่ ปุ ่ น และถื อ หุ ้ น ร้อยละ 50 ใน Plenus & MK Pte. Ltd. เพื่ อ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ร้ า นเอ็ ม เค สุ กี้ ใน ประเทศสิ ง คโปร์ ซึ่ ง แต่ ล ะประเทศมี ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้จากหลาย ปัจจัย เช่น ภาวะเศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย ภาษี และอัตราแลกเปลี่ยน ดั ง นั้ น หากมี เ หตุ ก ารณ์ ใ ดเหตุ ก ารณ์ หนึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ที่ ส ่ ง ผลกระทบอย่ า งมี นัยส�ำคัญต่อการด�ำเนินธุรกิจในประเทศ นั้ น ๆ อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ ผลการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ ได้ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มีแผนการ ศึ ก ษาการลงทุ น ในต่ า งประเทศ เช่ น การส�ำรวจตลาด (Market Survey) ความ หนาแน่ น ของประชากร กลุ ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมาย รวมถึ ง การศึ ก ษาข้ อ มู ล ทางเศรษฐกิ จ อื่ น ๆ เช่ น GDP อั ต รา เงินเฟ้อ อัตราแลกเปลี่ยน เสถียรภาพ ทางการเมือง นโยบายการลงทุนของ บริ ษั ท ต่ า งชาติ อั ต ราภาษี เป็ น ต้ น รวมถึ ง การวิ เ คราะห์ ท างการเงิ น ที่จะต้องได้ไม่ต�่ำกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนด ไว้ เ พื่ อ ใช้ ป ระกอบการพิ จ ารณาการ ลงทุนในต่างประเทศ นอกจากนี้ การ ที่ มี พั น ธมิ ต รที่ แข็ ง แกร่ ง อย่ า งกลุ ่ ม

Plenus Co., Ltd. ที่ เ ป็ น เจ้ า ของธุ ร กิ จ อาหารกล่ อ งเบนโตะรายใหญ่ ที่ สุ ด ของญี่ ปุ ่ นที่มีส าขากว่า 2,900 สาขา และเป็ น เจ้ า ของธุ ร กิ จ ร้ า นอาหาร พร้ อ มเสิ ร ์ ฟ ภายใต้ ชื่ อ ยาโยอิ เคน ที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ อย่ า งรวดเร็ ว ในประเทศญี่ ปุ ่ น ดั ง นั้ น บริ ษั ท ฯ จึ ง มี ค วามเชื่ อ มั่ น ในวิ สั ย ทั ศ น์ แ ละการ บริหารงานของกลุ่ม Plenus Co., Ltd. ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ชั้ น น� ำ ในประเทศญี่ ปุ ่ น และมี ศั ก ยภาพที่ จ ะท� ำ ให้ ร ้ า นเอ็ ม เค สุ กี้ เป็ น ที่ รู ้ จั ก และขยายสาขาไปทั่ ว ประเทศญี่ปุ่น ดังนั้น บริษัทฯ มีความ เห็ น ว่ า การวางแผนการลงทุ น และ การมี พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ที่ เข้ ม แข็ ง จะสามารถลดความเสี่ ย งดั ง กล่ า วได้ อี ก ทั้ ง การขยายสาขาไปประเทศที่ มี อั ต ราการเติ บ โตสู ง มี ป ระชากรหนา แน่ น และมี ก� ำ ลั ง ซื้ อ น่ า จะเป็ น โอกาส ที่ท�ำให้บริษัทฯ สามารถเติบโตได้อีก และยังเป็นการกระจายความเสี่ยงใน การด�ำเนินงานอีกด้วย

ความเสี่ยงจากโรคระบาด

ในอดี ต ที่ ผ ่ า นมามี โรคหลายชนิ ด ที่ระบาดอย่างรุนแรงและส่งผลกระทบ ต่อ อุตสาหกรรมร้า นอาหาร เช่น ใน ปี 2545 พบโรควัวบ้า (Bovine Spongiform Encephalopathy) ระบาดใน สหรั ฐ อเมริ ก าและยุ โรป ในปี 2548 โรคไข้หวัดนก (Bird Flue หรือ H5N1) ระบาดในหลายประเทศทั่วโลก และ ในปี 2551 พบโรคไข้หวัดหมู (Swine Influenza หรื อ H1N1) ที่ ร ะบาดใน ประเทศเม็กซิโก เป็นต้น การระบาด ของโรคดั ง กล่ า วส่ ง ผลกระทบต่ อ ความมั่ น ใจของลู ก ค้ า ในการบริ โ ภค เนื้ อ วั ว เนื้ อ ไก่ และเนื้ อ หมู ซึ่ ง เป็ น วั ต ถุ ดิ บ ที่ ส� ำ คั ญ ของร้ า นอาหารทุ ก แห่ ง ในเครื อ เอ็ ม เค หากในอนาคตมี โรคระบาดเกิดขึ้นอีกอาจส่งผลกระทบ ต่อรายได้ของบริษัทฯ ได้ บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การ คั ด เลื อ กวั ต ถุ ดิ บ โดยคั ด เลื อ กผู ้ ผ ลิ ต และจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพ และ


ปัจจัยความเสี่ยง

วั ต ถุ ดิ บ ทุ ก ชิ้ น จะต้ อ งมี ร ะบบสื บ ค้ น ย้ อ นกลั บ (Traceability) ที่ ส ามารถ ตรวจสอบเส้ น ทางของอาหารนั้ น ๆ ได้ ตั้ ง แต่ ขั้ น ตอนแรกจนถึ ง ขั้ น ตอน สุ ด ท้ า ยไม่ ว ่ า จะเป็ น ต้ น ก� ำ เนิ ด ของ สินค้า การผลิต การขนส่ง เป็นต้น ท�ำ ให้บริษัทฯ มั่นใจว่าวัตถุดิบทุกชิ้นได้ มาตรฐาน มีคุณภาพสะอาด ปลอดภัย และไม่ มี สิ่ ง ปนเปื้อ น นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง มี ฝ ่ า ยตรวจสอบคุ ณ ภาพ ที่ ค อยตรวจสอบคุ ณ ภาพของสิ น ค้ า ทุ ก ชิ้ น และครั ว กลางทั้ ง 3 แห่ ง ได้ ใบรับรองจากสถาบันระดับสากล เช่น ISO HACCP และ GMP ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ และอุบัติเหตุ

อุทกภัยครั้งร้ายแรงที่เกิดขึ้นตั้งแต่ ปลายเดื อ นกรกฎาคม 2554 จนถึ ง ปลายปี 2554 ได้สร้างความเสียหาย ต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทยใน ช่ ว งครึ่ ง ปี ห ลั ง อย่ า งมาก เนื่ อ งจาก น�้ ำ ได้ ท ่ ว มเข้ า สู ่ พื้ น ที่ เ กษตรกรรม ใ น ภ า ค ก ล า ง ต อ น บ น แ ล ะ พื้ น ที่ อุ ต สาหกรรมในภาคกลางตอนล่ า ง รวมถึ ง นิ ค มอุ ต สาหกรรม 7 แห่ ง ใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัด ปทุมธานี ซึ่งครัวกลางนวนคร (CK3) ที่ ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมนวนครได้ ถูกน�้ำท่วมจนต้องปิดด�ำเนินการและ ย้ า ยฐานการผลิ ต บางส่ ว นมาที่ ค รั ว กลางบางนา (CK4) ซึ่งมีก�ำลังการผลิต ที่ เ พี ย งพอและรองรั บ ความต้ อ งการ ของสาขาที่ มี ทั้ ง หมดในปั จ จุ บั น ได้ อย่ า งไรก็ ต าม บริ ษั ท ฯ ได้ ส ร้ า งครั ว กลางแห่ ง ใหม่ (CK5) ซึ่ ง สามารถ รองรับความต้องการของสาขาได้อีก เป็ น จ� ำ นวนมาก ส� ำ หรั บ ร้ า นอาหาร

ของบริ ษั ท ฯ ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจาก เหตุ ก ารณ์ น�้ ำ ท่ ว มในปี 2554 ได้ แ ก่ ร้ า นอาหารสุ กี้ เอ็ ม เค จ� ำ นวน 55 สาขา และร้ า นอาหารญี่ ปุ ่ น ยาโยอิ จ� ำ นวน 13 สาขา โดยปิ ด บริ ก าร เป็ น ระยะเวลา 0.5-2 เดื อ น โดย ร้ า นส่ ว นใหญ่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ความเสี ย หาย เนื่ อ งจากตั้ ง อยู ่ ใ นศู น ย์ ก ารค้ า และ โมเดิ ร ์ น เทรดที่ มี ม าตรการป้ อ งกั น อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ อุทกภัย ครั้งนี้ยังส่งผลให้การด�ำเนินธุรกิจของ คู่ค้าบางรายหยุดชะงักท�ำให้เกิดการ ขาดแคลนวั ต ถุ ดิ บ บางประเภทระยะ เวลาหนึ่ง ซึ่งส่งผลกระทบต่อยอดขาย ของบริษัทฯ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้ตระหนัก ถึ ง ภั ย พิ บั ติ ธ รรมชาติ ที่ มี ผ ลต่ อ การ ด�ำเนินธุรกิจ จึงวางแผนป้องกันและ รับมือความเสี่ยงดังกล่าว เช่น การซื้อ ประกันภัย การวางแผนปฏิบัติงานใน ภาวะฉุ ก เฉิ น การฝึ ก อบรมพนั ก งาน ในการรั บ มื อ กั บ ภั ย ธรรมชาติ การ จัดหาครัวกลางใหม่ในท�ำเลที่เหมาะ สม การเพิ่ ม ศู น ย์ ก ระจายสิ น ค้ า เพื่ อ กระจายความเสี่ยง การอนุมัติวงเงิน ฉุ ก เฉิ น เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ พนั ก งาน และ การสื่อสารให้ทุกฝ่ายรับรู้ข่าวสารให้ ทั่วถึงการเตรียมความพร้อมของฝ่าย บริหารเพื่อเพิ่มความมั่นใจให้กับผู้ถือ หุ ้ น พนั ก งาน คู ่ ค ้ า และลู ก ค้ า ของ บริ ษั ท ฯ ว่ า ธุ ร กิ จ จะสามารถด� ำ เนิ น ต่อไปและมีการเตรียมความพร้อมใน กรณี ที่ มี ค วามเสี่ ย งจากภั ย ธรรมชาติ เกิดขึ้น ส� ำ หรั บ แผนงานการรั บ มื อ ใน กรณี ที่ สิ น ค้ า บางประเภทขาดแคลน นั้น ฝ่ายจัดซื้อจะเป็นผู้เตรียมการคัด เลื อ กผู ้ ผ ลิ ต และผู ้ จ� ำ หน่ า ยวั ต ถุ ดิ บ ทุ ก รายที่ ส ามารถผลิ ต สิ น ค้ า ตาม

33

มาตรฐานที่ บ ริ ษั ท ฯ ก� ำ หนดไว้ โดย จะติ ด ต่ อ สื่ อ สารอย่ า งใกล้ ชิ ด เพื่ อ ให้ ทราบประเภทสิ น ค้ า ที่ ส ามารถผลิ ต ได้ ก�ำลังการผลิต จ�ำนวนและเวลาที่ สามารถส่ ง มอบสิ น ค้ า ได้ ซึ่ ง ฝ่ า ยจั ด ซื้อจะประสานงานกับครัวกลาง เพื่อ ให้ ก ารสื่ อ สารส่ ง ตรงไปยั ง ทุ ก สาขา ถึงรายการสินค้าที่ขาดแคลน รายการ สินค้าทดแทน และระยะเวลาการส่ง สินค้าในกรณีที่ไม่สามารถส่งให้ตาม ปกติ ซึ่ ง ทางสาขาจะทราบแนวทาง ปฏิ บั ติ แ ละบริ ห ารสิ น ค้ า คงเหลื อ ใน แต่ละสาขาให้มีประสิทธิภาพ และเจ้า หน้าที่ประจ�ำทุกสาขาสามารถสื่อสาร กั บ ลู ก ค้ า โดยตรงได้ ซึ่ ง เหตุ ก ารณ์ อุ ท กภั ย ปี 2554 ท� ำ ให้ บ ริ ษั ท ฯ ไม่ สามารถให้บริการอย่างสมบูรณ์แบบ อย่ า งไรก็ ต าม บริ ษั ท ฯ ได้ พ ยายาม บริ ห ารจั ด การให้ เ หตุ ก ารณ์ ดั ง กล่ า ว ให้ ก ลั บ มาเป็ น ปกติ โ ดยเร็ ว ที่ สุ ด ซึ่ ง ลู ก ค้ า ทุ ก ท่ า นเข้ า ใจในเหตุ ก ารณ์ ดั ง กล่ า วและยั ง ให้ ค วามไว้ ว างใจ บริ ษั ท ฯ เสมอมา บริ ษั ท ฯ มี ค วาม มั่นใจว่าจะสามารถรับมือและเตรียม


34

รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ความพร้อมกับความเสี่ยงดังกล่าวได้ นอกจากการเตรี ย มความพร้ อ ม ในการป้ อ งกั น และรั บ มื อ กั บ อุ ท กภั ย ที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น อี ก บริ ษั ท ฯ ยั ง มี กรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย หลายประเภท เช่น ประกันภัยอุปัทวเหตุ ประกันภัย ส� ำ หรั บ เงิ น ประกั น ความรั บ ผิ ด ต่ อ บุ ค คลภายนอก และประกั น ความ เสี่ ย งภั ย ทรั พ ย์ สิ น เพื่ อ เตรี ย มความ พร้ อ มในการรั บ มื อ กั บ สถานการณ์ ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ความเสี่ยงจากการมีผู้ถือหุ้น รายใหญ่และเป็นผู้บริหาร ระดับสูงของบริษัทฯ ถือหุ้น รวมกันเกินกว่าร้อยละ 50

จากข้ อ มู ล การปิ ด สมุ ด ทะเบี ย น ผู ้ ถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ ณ วั น ที่ 29 ธั น วาคม 2560 ปรากฏว่ า บริ ษั ท ฯ มี ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ แ ละเป็ น ผู ้ บ ริ ห าร ระดั บ สู ง ของบริ ษั ท ฯ ถื อ หุ ้ น รวมกั น จ� ำ นวน 668,038,924 หุ ้ น คิ ด เป็ น ร้อยละ 72.54 ของจ�ำนวนหุน้ ทีจ่ ำ� หน่าย

ได้ แ ล้ ว ทั้ ง หมดของบริ ษั ท ฯ จ� ำ นวน 920,878,100 หุ ้ น แยกเป็ น ของนาย ฤทธิ์ ธีระโกเมน จ�ำนวน 140,059,333 หุ ้ น หรื อ ร้ อ ยละ 15.2 นางยุ พิ น ธีระโกเมน ซึ่งเป็นภริยาของนายฤทธิ์ ธีระโกเมน จ�ำนวน 199,396,802 หุ้น หรื อ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 21.7 นางยุ พิ น ธี ร ะโกเมน ในฐานะผู ้ จั ด การกอง มรดกของนายสมนึก หาญจิตต์เกษม ซึ่ ง เป็ น น้ อ งชายและได้ เ สี ย ชี วิ ต แล้ ว เมื่ อ วั น ที่ 11 มิ ถุ น ายน 2557 จ�ำนวน 164,087,977 หุ้น หรือร้อยละ 17.8 และนายสมชาย หาญจิตต์เกษม ซึ่ ง เป็ น น้ อ งชายอี ก คนหนึ่ ง ของ นางยุ พิ น ธี ร ะโกเมน ถื อ หุ ้ น จ� ำ นวน 164,494,812 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 17.9 สั ด ส่ ว นการถื อ หุ ้ น ดั ง กล่ า ว ส่ ง ผลให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ แ ละเป็ น ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริ ษั ท ฯ ด้ ว ย สามารถควบคุมมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ได้ ใ นเกื อ บทุ ก เรื่ อ ง เช่ น เรื่ อ งการ แต่ ง ตั้ ง กรรมการ หรื อ เรื่ อ งส� ำ คั ญ อื่ น ที่ต้องใช้เสียงส่วนใหญ่ของที่ประชุม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ยกเว้ น เรื่ อ งที่ ก ฎหมายหรื อ

ข้อบังคับของบริษัทฯ ก�ำหนดให้ต้อง ได้ รั บ คะแนนเสี ย ง 3 ใน 4 ของที่ ประชุมผู้ถือหุ้น ดังนั้น ผู้ถือหุ้นรายอื่น ของบริ ษั ท ฯ จึ ง อาจมี ค วามเสี่ ย งที่ ไม่ ส ามารถรวบรวมคะแนนเสี ย งเพื่ อ ตรวจสอบและถ่ว งดุลเรื่อ งที่ผู้ถือ หุ้น รายใหญ่ เ สนอให้ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น พิจารณา อย่างไรก็ดี ผู้ถือหุ้นรายใหญ่และ เป็ น ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริ ษั ท ฯ ดังกล่าวข้างต้นเป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทฯ ในปี 2529 และท�ำให้บริษัทฯ มีการ เจริ ญ เติ บ โตขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ดั ง จะ เห็นได้จากบริษัทฯ มีผลการด�ำเนินงาน ที่ น ่ า ประทั บ ใจและมี ฐ านะการเงิ น ที่ มั่ น คงอย่ า งต่ อ เนื่ อ งตั้ ง แต่ เ ริ่ ม ก่อตั้งบริษัทฯ จนถึงปัจจุบัน นับเป็น เวลายาวนานถึ ง 30 ปี ซึ่ ง เป็ น การ พิ สู จ น์ ที่ ชั ด เจนว่ า ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ และเป็นผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ ดั ง กล่ า วมี ค วามรู ้ ค วามสามารถ ประสบการณ์ แ ละวิ สั ย ทั ศ น์ ที่ จ ะน� ำ พาบริ ษั ท ฯ ให้ เจริ ญ เติ บ โตต่ อ ไปได้ แม้ ก ระนั้ น ก็ ต าม เพื่ อ ให้ บ ริ ษั ท ฯ มี การเจริญเติบโตและสร้างมูลค่าที่เพิ่ม ขึ้นอย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคตให้แก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ แ ละเป็ น ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ ดังกล่าว จึ ง ได้ น� ำ บริ ษั ท ฯ เข้ า จดทะเบี ย นใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยใน ปี 2556 ซึ่ ง เป็ น การยื น ยั น ในระดั บ หนึ่งว่า การบริหารงานของบริษัทฯ มี ประสิทธิภาพ โปร่งใส และเป็นไปตาม หลักบรรษัทภิบาลที่ดี นอกจากนี้ หลัง จากบริษัทฯ เป็นบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ล้ ว บริ ษั ท ฯ ต้ อ ง ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และกฎระเบียบ ของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และ


ปัจจัยความเสี่ยง

ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ซึ่ ง ก� ำ หนดให้ บ ริ ษั ท ฯ ต้ อ งมี ค ณะ กรรมการตรวจสอบที่ ป ระกอบด้ ว ย กรรมการที่ เ ป็ น อิ ส ระทั้ ง หมด และ คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยอื่ น ๆ ตามที่ เห็นว่าจ�ำเป็น เพื่อช่วยคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ ในการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ ของบริ ษั ท ฯ ให้ เ ป็ น ไปตามหลั ก การ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ปัจจุบัน บริษัทฯ มี ค ณะ กรรม กา รชุ ด ย่ อ ยสองชุ ด คื อ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยกรรมการ 3 ท่ า น ซึ่ ง เป็นกรรมการอิสระทั้งหมด และคณะ กรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และ พิ จ ารณาค่ า ตอบแทน ซึ่ ง ประกอบ ด้ ว ยกรรมการที่ เ ป็ น อิ ส ระ 2 ท่ า น จากจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด 3 ท่าน โดยประธานกรรมการต้ อ งเป็ น กรรมการที่เป็นอิสระ นอกจากนี้ ยังได้ มี ก ารก� ำ หนดขอบเขตหน้ า ที่ ค วาม

รับผิดชอบของคณะกรรมการชุดย่อย ดังกล่าวข้างต้นอย่างชัดเจนและเป็น ลายลักษณ์อักษร เพื่อให้มั่นใจว่าคณะ กรรมการชุดย่อยดังกล่าวมีการปฏิบัติ หน้ า ที่ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเป็ น ไปตามหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี โดยเฉพาะมี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ ถูกต้อง ครบถ้วน และโปร่งใส มีการ ตรวจสอบรายการที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ รวม ทั้ ง มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามกฏหมายและ กฎระเบี ย บของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่ ง ประเทศไทย และส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อสร้างความ มั่ น ใจให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น อื่ น เกี่ ย วกั บ เรื่ อ ง การถ่ ว งดุ ล อ� ำ นาจของผู ้ ถื อ หุ ้ น ราย ใหญ่ แ ละเป็ น ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของ บริษัทฯ ตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้น

35


งบแสดงฐานะทางการเงิน และผลการดำเนินงาน ประจำป 2560


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

37

รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน

คณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของ บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท ย่อย ซึ่งจัดท�ำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทยภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 และ ตามข้อก�ำหนดของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยมีการพิจารณาเลือกใช้นโยบาย การบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลส�ำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน โดยผู้สอบบัญชีได้ตรวจสอบงบการเงินและแสดงความเห็นในรายละเอียดของผู้สอบบัญชีแล้ว คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกรรมการที่เป็นอิสระท�ำหน้าที่ก�ำกับดูแล งบการเงิน ประเมินระบบการควบคุมภายในให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งการจัดท�ำงบการเงินตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินของไทย ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ เพื่อให้มั่นใจว่ามี การบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ทางการบั ญ ชี ที่ ถู ก ต้ อ งครบถ้ วนเพียงพอ ทันเวลาและป้อ งกันไม่ให้เกิด การทุจริต หรือ การด�ำเนินการ ผิดปกติ โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจ�ำปีนี้แล้ว คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในของบริษัทฯ สามารถสร้าง ความเชื่อมั่นได้ว่างบการเงินของบริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย แสดงฐานะการเงิน ผล การด�ำเนินงาน และกระแสเงินสดถูกต้องในสาระส�ำคัญแล้ว

(นายฤทธิ์ ธีระโกเมน)

ประธานกรรมการ


38

รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

รายงาน คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร อิ ส ร ะ เ ป ็ น ค ณ ะ กรรมการตรวจสอบ จ� ำ นวน 3 คน โดยมี ดร.อรรณพ ตั น ละมั ย เป็ น ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นางวิไล ฉัททันต์รัศมี และนายอรรถพล ชดช้ อ ย เป็ น กรรมการตรวจสอบ และมี น ายพั ส กร ลิ ล า ท� ำ หน้ า ที่ เลขานุ ก ารคณะกรรมการตรวจสอบ โดยกรรมการตรวจสอบทุ ก ท่ า น มี คุ ณ สมบั ติ ต รงตามที่ ส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ก� ำ หนด และ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย จากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ภายใต้ ขอบเขตหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ ตามกฎบั ต รของคณะกรรมการตรวจ สอบ โดยให้ ค วามส� ำ คั ญ เกี่ ย วกั บ การสอบทานงบการเงิน การสอบทาน ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ก ฎ ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ กฎหมายของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ รวม ถึงการสอบทานระบบการปฏิบัติงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยในรอบปี 2560 คณะกรรมการ ตรวจสอบได้ มี ก ารประชุ ม ร่ ว มกั น 6 ครั้ ง โดยได้ ป ระชุ ม ร่ ว มกั บ ผู ้ บ ริ ห าร ผู ้ ต รวจสอบภายใน และผู ้ ส อบบั ญ ชี รวมทั้งได้จัดการประชุมร่วมกับผู้สอบ บัญชีโดยไม่มีฝ่ายบริหารของบริษัทฯ เข้าร่วมประชุมด้วยเพื่อปรึกษาหารือ และแลกเปลี่ ย นข้ อ คิ ด เห็ น อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น การสร้ า งความมั่ น ใจให้ กั บ ผู้สอบบัญชีว่าได้ปฏิบัติงานอย่างเป็น

อิ ส ระ ไม่ ถู ก จ� ำ กั ด ขอบเขต ทั้ ง นี้ ใน การประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบ ในปีที่ผ่านมาสรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินราย ไตรมาสและงบการเงิน ประจ�ำปี 2560

คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบ ทานงบการเงิ น รายไตรมาสและงบ การเงินประจ�ำปี 2560 และความถูก ต้องของงบการเงินตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิ น ของไทย (Thai Financial Reporting Standards – TFRS) รวมถึงรายการระหว่างกัน รายการที่ อาจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ร่วมกับฝ่ายบริหารและฝ่ายตรวจสอบ ภายในและได้ เ ชิ ญ ผู ้ ส อบบั ญ ชี เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม ทุ ก ครั้ ง ที่ มี ก ารพิ จ ารณา งบการเงิน โดยได้สอบถามและรับฟัง ค� ำ ชี้ แจงจากผู ้ บ ริ ห ารสายงานบั ญ ชี และการเงิ น และผู ้ ส อบบั ญ ชี ใ นเรื่ อ ง ความถูกต้องครบถ้วนของงบการเงิน ของบริษัทฯ และงบการเงินรวม และ ความเพี ย งพอในการเปิ ด เผยข้ อ มู ล และหมายเหตุประกอบงบการเงินของ บริษัทฯ และความมีอิสระของผู้สอบ บั ญ ชี ซึ่ ง คณะกรรมการตรวจสอบมี ความเห็ น สอดคล้ อ งกั บ ผู ้ ส อบบั ญ ชี ว่ า รายงานการเงิ น ดั ง กล่ า วมี ค วาม ถูกต้องตามทีค่ วรในสาระส�ำคัญ เชื่อถือ ได้ ต ามมาตรฐานการบั ญ ชี ที่ รั บ รอง ทั่วไป โดยน�ำเสนอผ่านคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติทุกครั้ง

2. สอบทานข้อมูลการด�ำเนินงาน และระบบการควบคุมภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน ระบบการควบคุ ม ภายในจากการ รายงานของฝ่ า ยตรวจสอบภายใน ร่ ว มกั บ ผู ้ บ ริ ห ารทุ ก ไตรมาส โดย พิจารณาในเรื่องการด�ำเนินงาน การ ใช้ทรัพยากร การดูแลทรัพย์สิน การ ป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความ เสี ย หาย หรื อ การทุ จ ริ ต ความเชื่ อ ถื อ ได้ ข องรายงานทางการเงิ น การ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ ซึ่ ง ไม่ พ บข้ อ บกพร่ อ งที่ เ ป็ น สาระส� ำ คั ญ อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ ติ ด ตามผล การสอบทานของผู ้ ส อบบั ญ ชี ข อง บริ ษั ท ฯ ในด้ า นการควบคุ ม ภายใน และระบบสารสนเทศของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง ไ ด ้ ใ ห ้ ค ว า ม เ ห็ น ส อ ด ค ล ้ อ ง กั น ว่ า ไม่ พ บประเด็ น ปั ญ หาหรื อ ข้ อ บกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญและมั่นใจ ได้ ว ่ า การปฏิ บั ติ ง านของสาขาและ ทุ ก หน่ ว ยงานของบริ ษั ท ฯ เป็ น ไป อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีฝ่ายตรวจ สอบภายในท� ำ หน้ า ที่ ใ นการตรวจ สอบความถู ก ต้ อ งเหมาะสมอย่ า ง เป็ น อิ ส ระและรายงานตรงต่ อ คณะ กรรมการตรวจสอบตามแผนงานการ ตรวจสอบที่ได้รับอนุมัติซึ่งครอบคลุม ระบบงานที่ส�ำคัญของบริษัทฯ 3. สอบทานการปฏิบัติงานตาม กฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ

คณะกรรมการตรวจสอบได้ ร ่ ว ม ประชุ ม กั บ ฝ่ า ยตรวจภายในและฝ่ า ย


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

บริ ห ารที่ เ กี่ ย วข้ อ ง พบว่ า หน่ ว ยงาน ที่ได้รับการตรวจสอบได้ปฏิบัติถูกต้อง ตามที่กฎหมาย ข้อบังคับที่ก�ำหนดไว้ และได้ พิ จ ารณาถึ ง การเปลี่ ย นแปลง กฎหมาย มาตรฐานการบั ญ ชี แ ละ เรื่ อ งอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ บริ ษั ท ฯ ในแต่ ล ะไตรมาสจากผู ้ ส อบบั ญ ชี ภายนอกด้ ว ย เพื่ อ ให้ ไ ด้ มี ก ารศึ ก ษา และท� ำ ความเข้ า ใจก่ อ นน� ำ มาใช้ ในกิ จ การบริ ษั ท ฯ ให้ ถู ก ต้ อ งและ สอดคล้องกับกฎหมายและข้อบังคับ ที่เปลี่ยนแปลงไป 4. สอบทานและให้ความเห็น ต่อรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือ รายการที่อาจก่อให้เกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน ความเหมาะสมและความเพี ย งพอ ในการท� ำ รายการระหว่ า งกั น รวมถึ ง รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทีอ่ าจจะก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ พบว่า ในรอบปี 2560 การตกลงเข้ า ท� ำ รายการระหว่ า งกั น ของบริ ษั ท ฯ มี ลั ก ษณะที่ เ ป็ น ธุ ร กรรมการค้ า ปกติ และมี ค วามสมเหตุ ส มผลและเป็ น ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ มี ค วามโปร่ ง ใสและ มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องและ ครบถ้วน 5. สนับสนุนให้มีการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดี

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน การปฏิ บั ติ ง านของบริ ษั ท ฯ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ กฎระเบี ย บ ของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์

ข้ อ ก� ำ หนดของตลาดหลักทรัพ ย์แ ห่ง ประเทศไทย และกฎหมายอื่ น ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของ บริ ษั ท ฯ ซึ่ ง พบว่ า บริ ษั ท ฯ ได้ ป ฏิ บั ติ ตามกฎหมายและข้ อ ก� ำ หนดต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งอย่ า งถู ก ต้ อ งเหมาะสม รวมถึ ง ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก คนปฏิ บั ติ ตามนโยบายดั ง กล่ า ว เพื่ อ ให้ ก าร ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ เป็นไปอย่าง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น นอกจากนี้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ยั ง ไ ด ้ พิจารณาแบบประเมินตนเองเกี่ยวกับ การต่อต้านคอร์รัปชั่นของภาคเอกชน ไทย เพื่ อ เสนอต่ อ สถาบั น สมาคม กรรมการบริ ษั ท ไทย และบริ ษั ท ฯ ได้รับการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วม ปฏิ บั ติ ข องภาคเอกชนไทยในการ ต่อต้านทุจริตในปีที่ผ่านมา

39

ตามที่ระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบมี ค วามเห็ น ว่ า บริ ษั ท ฯ มี ก ารรายงานข้ อ มู ล ทางการเงิ น และ การด�ำเนินงานอย่างถูกต้อง มีระบบ การควบคุ ม ภายในที่ ดี มี ก ารปฏิ บั ติ ตามกฎหมาย ข้อก�ำหนด และระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง มีการเปิด เผยรายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น อย่ า งถู ก ต้อง และมีการปฏิบัติงานที่สอดคล้อง กั บ ระบบการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี อย่ า งเพี ย งพอ โปร่ ง ใส และเชื่ อ ถื อ ได้ รวมทั้งมีการพัฒนาปรับปรุงระบบ การปฏิ บั ติ ง านให้ มี คุ ณ ภาพ และ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ อย่างต่อเนื่อง

ดร.อรรณพ ตันละมัย

6. พิจารณาและเสนอแต่งตั้ง ผู้สอบบัญชี

คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณา ผลการปฏิ บั ติ ง านในปี ที่ ผ ่ า นมาของ ผูส้ อบบัญชี โดยค�ำนึงถึงความน่าเชือ่ ถือ ความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี ความรู้ ความสามารถในการให้ บ ริ ก าร และ การให้ค�ำปรึกษาในมาตรฐานการบัญชี การสอบบัญชี และรับรองงบการเงิน ได้ทันเวลา คณะกรรมการตรวจสอบ จึงมีมติเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ให้แต่งตั้งบริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ประจ�ำปี 2561 เพื่อพิจารณาและขออนุมัติจาก ที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญ ประจ�ำปี 2561 จากการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะ กรรมการตรวจสอบที่ ไ ด้ รั บ มอบ หมายจากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

40

รายงาน ของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต รายงานของผู้สอบบัญชี รับอนุญาต

เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) ความเห็น

ข้ า พเจ้ า ได้ ต รวจสอบงบการเงิ น รวมของบริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (“กลุ ่ ม บริ ษั ท ”) ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย งบแสดงฐานะการเงิ น รวม ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 งบก� ำ ไรขาดทุ น รวม งบก� ำ ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ รวม งบแสดงการเปลี่ ย นแปลงส่ ว นของ ผู ้ ถื อ หุ ้ น รวมและงบกระแสเงิ น สด รวม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน และ หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น รวม รวมถึ ง หมายเหตุ ส รุ ป นโยบายการ บัญชีที่ส�ำคัญ และได้ตรวจสอบงบการ เงิ น เฉพาะกิ จ การของบริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ข้ า พเจ้ า เห็ น ว่ า งบการเงิ น ข้ า ง ต้ น นี้ แ สดงฐานะการเงิ น ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 ผลการด� ำ เนิ น งานและกระแสเงิ น สดส� ำ หรั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น เดี ย วกั น ของบริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย และเฉพาะของ บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) โดยถู ก ต้ อ งตามที่ ค วร ในสาระส� ำ คั ญ ตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน

เกณฑ์ในการแสดงความเห็น

ข้ า พเจ้ า ได้ ป ฏิ บั ติ ง านตรวจสอบ ตามมาตรฐานการสอบบั ญ ชี ความ รั บ ผิ ด ชอบของข้ า พเจ้ า ได้ ก ล่ า วไว้ ในวรรค ความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ ส อบ บั ญ ชี ต ่ อ การตรวจสอบงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ ในรายงานของข้ า พเจ้ า ข้ า พเจ้ า มี ค วามเป็ น อิ ส ระจากกลุ ่ ม บริ ษั ท ตามข้ อ ก� ำ หนดจรรยาบรรณของ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีที่ก�ำหนดโดย สภาวิชาชีพบัญชี ในส่วนที่เกี่ยวข้อง กับการตรวจสอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ และข้าพเจ้า ได้ ป ฏิ บั ติ ต ามความรั บ ผิ ด ชอบด้ า น จรรยาบรรณอื่ น ๆ ซึ่ ง เป็ น ไปตามข้ อ ก� ำ หนดเหล่ า นี้ ข้ า พเจ้ า เชื่ อ ว่ า หลั ก ฐานการสอบบั ญ ชี ที่ ข ้ า พเจ้ า ได้ รั บ เพี ย งพอและเหมาะสมเพื่ อ ใช้ เ ป็ น เกณฑ์ ใ นการแสดงความเห็ น ของ ข้าพเจ้า เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ

เรื่ อ งส� ำ คั ญ ในการตรวจสอบคื อ เรื่ อ งต่ า งๆ ที่ มี นั ย ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ตาม ดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพของ ข้ า พเจ้ า ในการตรวจสอบงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ ส� ำ หรั บ งวดปั จ จุ บั น ข้ า พเจ้ า ได้ น� ำ เรื่องเหล่านี้มาพิจารณาในบริบทของ การตรวจสอบงบการเงินรวมและงบ การเงินเฉพาะกิจการโดยรวมและใน การแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้

ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่าง หากส�ำหรับเรื่องเหล่านี้ ข้ า พเจ้ า ได้ ป ฏิ บั ติ ง านตามความ รับผิดชอบที่ได้กล่าวไว้ในวรรคความ รั บ ผิ ด ชอบของผู ้ ส อบบั ญ ชี ต ่ อ การ ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการ เงิ น เฉพาะกิ จ การในรายงานของ ข้าพเจ้า ซึ่งได้รวมความรับผิดชอบที่ เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งเหล่ า นี้ ด ้ ว ย การปฏิ บั ติ งานของข้ า พเจ้ า ได้ ร วมวิ ธี ก ารตรวจ สอบที่ อ อกแบบมาเพื่ อ ตอบสนอง ต่ อ การประเมิ น ความเสี่ ย งจากการ แสดงข้ อ มู ล ที่ ขั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เป็ น สาระส� ำ คั ญ ในงบการเงิ น รวม และงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ ผล ของวิ ธี ก ารตรวจสอบของข้ า พเจ้ า ซึ่ ง ได้ ร วมวิ ธี ก ารตรวจสอบส� ำ หรั บ เรื่ อ งเหล่ า นี้ ด ้ ว ย ได้ ใช้ เ ป็ น เกณฑ์ ใ น การแสดงความเห็ น ของข้ า พเจ้ า ต่ อ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการโดยรวม เรื่ อ งส� ำ คั ญ ในการตรวจสอบ พร้อมวิธีการตรวจสอบส�ำหรับแต่ละ เรื่องมีดังต่อไปนี้ การรับรู้รายได้

รายได้ จ ากการขายและบริ ก าร ถื อ เป็ น รายการหลั ก ของกลุ ่ ม บริ ษั ท ที่ มี จ� ำ นวนรายการและจ� ำ นวนเงิ น ที่ มีนัยส�ำคัญและส่งผลกระทบโดยตรง ต่ อ ก� ำ ไรขาดทุ น ของกลุ ่ ม บริ ษั ท ทั้ ง นี้ ก ลุ ่ ม บริ ษั ท มี ร ายการขายและ บริ ก ารผ่ า นสาขาเป็ น จ� ำ นวนมาก ซึ่ ง กระจายทั่ ว ประเทศ โดยเป็ น การ


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาติ

ข า ย ผ ่ า น เ งิ น ส ด แ ล ะ บั ต ร เ ค ร ดิ ต นอกจากนี้ สถานการณ์ ก ารแข่ ง ขั น ในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีความรุนแรงขึ้น ส่งผลให้กลุ่มบริษัท ต้ อ งปรั บ กลยุ ท ธ์ ท างการตลาดและ จัดกิจกรรมส่งเสริมการขายอย่างต่อ เนื่ อ งเพื่ อ กระตุ ้ น ยอดขาย ด้ ว ยเหตุ นี้ ข้ า พเจ้ า จึ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ ในการ ตรวจสอบการรั บ รู ้ ร ายได้ ข องกลุ ่ ม บริษัท ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบการรับรู้ราย ได้ ข องกลุ ่ ม บริ ษั ท โดยการประเมิ น และทดสอบการควบคุ ม ทั่ ว ไปของ ระบบสารสนเทศโดยรวมและระบบ การควบคุ ม ภายในของกลุ ่ ม บริ ษั ท ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ วงจรรายได้ โดย การสอบถามผู ้ มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ ท�ำความเข้าใจและเลือกตัวอย่างเพื่อ ทดสอบทางปฏิ บั ติ ต ามการควบคุ ม ที่ ก ลุ ่ ม บริ ษั ท ออกแบบไว้ นอกจากนี้ ข้ า พเจ้ า ได้ สุ ่ ม ตั ว อย่ า งรายการขาย และบริ ก ารที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระหว่ า งปี และช่ ว งใกล้ สิ้ น รอบระยะเวลาบั ญ ชี เพื่ อ ตรวจสอบกั บ เอกสารประกอบ รายการขายและบริ ก าร ประกอบ กั บ ได้ วิ เ คราะห์ เ ปรี ย บเที ย บข้ อ มู ล บั ญ ชี ร ายได้ จ ากการขายและบริ ก าร แบบแยกย่ อ ย (Disaggregated Data) เพื่ อ ตรวจสอบความผิ ด ปกติ ที่ อ าจ เกิ ด ขึ้ น ของรายการขายและบริ ก าร ตลอดรอบระยะเวลาบัญชี โดยเฉพาะ รายการบัญชีที่ท�ำผ่านใบส�ำคัญทั่วไป (Journal Voucher) ข้อมูลอื่น

ผู ้ บ ริ ห ารเป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ข้ อ มู ล อื่ น ซึ่ ง รวมถึ ง ข้ อ มู ล ที่ ร วมอยู ่ ในรายงานประจ� ำ ปี ข องกลุ ่ ม บริ ษั ท แต่ ไ ม่ ร วมถึ ง งบการเงิ น และรายงาน

ของผู้สอบบัญชีที่แสดงอยู่ในรายงาน นั้ น ซึ่ ง คาดว่ า จะถู ก จั ด เตรี ย มให้ กั บ ข้าพเจ้าภายหลังวันที่ในรายงานของ ผู้สอบบัญชีนี้ ความเห็ น ของข้ า พเจ้ า ต่ อ งบการ เงิ น ไม่ ค รอบคลุ ม ถึ ง ข้ อ มู ล อื่ น และ ข้ า พเจ้ า ไม่ ไ ด้ ใ ห้ ข ้ อ สรุ ป ในลั ก ษณะ การให้ ค วามเชื่ อ มั่ น ในรู ป แบบใดๆ ต่อข้อมูลอื่นนั้น ความรั บ ผิ ด ชอบของข้ า พเจ้ า ที่ เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ การตรวจสอบงบการ เงิ น คื อ การอ่ า นและพิ จ ารณาว่ า ข้ อ มู ล อื่ น นั้ น มี ค วามขั ด แย้ ง ที่ มี ส าระ ส�ำคัญกับงบการเงินหรือกับความรู้ที่ ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้า หรือไม่ หรือปรากฏว่าข้อมูลอื่นแสดง ขั ด ต่ อข้อ เท็จจริง อันเป็นสาระส�ำคัญ หรือไม่ เมื่ อ ข้ า พเจ้ า ได้ อ ่ า นรายงาน ประจ� ำ ปี ข องกลุ ่ ม บริ ษั ท ตามที่ ก ล่ า ว ข้างต้นแล้ว และหากสรุปได้ว่ามีการ แสดงข้ อ มู ล ที่ ขั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เป็ น สาระส� ำ คั ญ ข้ า พเจ้ า จะสื่ อ สาร เรื่ อ งดั ง กล่ า วให้ ผู ้ มี ห น้ า ที่ ใ นการ ก� ำ กั บ ดู แ ลทราบเพื่ อ ให้ มี ก ารด� ำ เนิ น การแก้ไขที่เหมาะสมต่อไป ความรับผิดชอบของผู้ บริหารและผู้มีหน้าที่ในการ ก�ำกับดูแลต่องบการเงิน

ผู ้ บ ริ ห ารมี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบใน การจั ด ท� ำ และน� ำ เสนองบการเงิ น เหล่ า นี้ โ ดยถู ก ต้ อ งตามที่ ค วรตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น และรั บ ผิ ด ชอบเกี่ ย วกั บ การควบคุ ม ภายในที่ ผู ้ บ ริ ห ารพิ จ ารณาว่ า จ� ำ เป็ น เพื่ อ ให้ ส ามารถจั ด ท� ำ งบการเงิ น ที่ ปราศจากการแสดงข้ อ มู ล ที่ ขั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เป็ น สาระส� ำ คั ญ ไม่ ว ่ า

41

จะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ในการจัดท�ำงบการเงิน ผู้บริหาร รั บ ผิ ด ชอบในการประเมิ น ความ สามารถของกลุ่มบริษัทในการด�ำเนิน งานต่อเนื่อง การเปิดเผยเรื่องที่เกี่ยว กั บ การด� ำ เนิ น งานต่ อ เนื่ อ งกรณี ที่ มี เรื่ อ งดั ง กล่ า ว และการใช้ เ กณฑ์ ก าร บั ญ ชี ส� ำ หรั บ การด� ำ เนิ น การต่ อ เนื่ อ ง เว้นแต่ผู้บริหารมีความตั้งใจที่จะเลิก กลุ ่ ม บริ ษั ท หรื อ หยุ ด ด� ำ เนิ น งานหรื อ ไม่ ส ามารถด� ำ เนิ น งานต่ อ เนื่ อ งต่ อ ไปได้ ผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลมีหน้า ที่ ใ นการสอดส่ อ งดู แ ลกระบวนการ ในการจัดท�ำรายงานทางการเงินของ กลุ่มบริษัท ความรับผิดชอบของผู้สอบ บัญชีต่อการตรวจสอบงบ การเงิน

การตรวจสอบของข้ า พเจ้ า มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามเชื่ อ มั่ น อย่ า งสมเหตุ ส มผลว่ า งบการเงิ น โดย รวมปราศจากการแสดงข้ อ มู ล ที่ ขั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เป็ น สาระสาคั ญ หรื อ ไม่ ไม่ ว ่ า จะเกิ ด จากการทุ จ ริ ต หรื อ ข้ อ ผิ ด พลาด และเสนอรายงาน ของผู้สอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของ ข้าพเจ้าอยู่ด้วย ความเชื่อมั่นอย่างสม เหตุ ส มผลคื อ ความเชื่ อ มั่ น ในระดั บ สูงแต่ไม่ได้เป็นการรับประกันว่าการ ปฏิ บั ติ ง านตรวจสอบตามมาตรฐาน การสอบบั ญ ชี จ ะสามารถตรวจพบ ข้ อ มู ล ที่ ขั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เป็ น สาระสาคัญที่มีอยู่ได้เสมอไป ข้อมูลที่ ขั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริ ง อาจเกิ ด จากการ ทุ จ ริ ต หรื อ ข้ อ ผิ ด พลาดและถื อ ว่ า มี สาระสาคั ญ เมื่ อ คาดการณ์ ไ ด้ อ ย่ า ง สมเหตุสมผลได้ว่ารายการที่ขัดต่อข้อ


42

รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

เท็จจริงแต่ละรายการหรือทุกรายการ รวมกั น จะมี ผ ลต่ อ การตั ด สิ น ใจทาง เศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินจากการ ใช้งบการเงินเหล่านี้ ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตาม มาตรฐานการสอบบั ญ ชี ข้ า พเจ้ า ใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ และการสั ง เกตและสงสั ย เยี่ ย งผู ้ ป ระกอบวิ ช าชี พ ตลอดการ ตรวจสอบ และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงาน ดังต่อไปนี้ด้วย • ระบุและประเมินความเสี่ยงที่อาจ มี ก ารแสดงข้ อ มู ล ที่ ขั ด ต่ อ ข้ อ เท็ จ จริงอันเป็นสาระส�ำคัญในงบการ เงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือ ข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบัติ งานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบ สนองต่อความเสี่ยงเหล่านั้น และ ได้ ห ลั ก ฐานการสอบบั ญ ชี ที่ เ พี ย ง พอและเหมาะสมเพื่ อ เป็ น เกณฑ์ ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี่ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญซึ่ง เป็นผลมาจากการทุจริตจะสูงกว่า ความเสี่ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาด เนื่ อ งจากการทุ จ ริ ต อาจเกี่ ย วกั บ การสมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลง เอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้น การแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูล ที่ ไ ม่ ต รงตามข้ อ เท็ จ จริ ง หรื อ การ แทรกแซงการควบคุมภายใน • ท� ำ ค ว า ม เข ้ า ใจ ใ น ร ะ บ บ ก า ร ควบคุ ม ภายในที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การตรวจสอบ เพื่ อ ออกแบบ วิ ธี ก ารตรวจสอบให้ เ หมาะสม กั บ สถานการณ์ แต่ ไ ม่ ใ ช่ เ พื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการแสดงความ

เห็ น ต่ อ ความมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลของ ก า ร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ข อ ง ก ลุ ่ ม บริษัท • ประเมิ น ความเหมาะสมของ นโยบายการบั ญ ชี ที่ ผู ้ บ ริ ห ารใช้ และความสมเหตุผลของประมาณ การทางบั ญ ชี แ ละการเปิ ด เผย ข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่ผู้บริหารจัดท�ำ • สรุ ป เกี่ ย วกั บ ความเหมาะสมของ การใช้ เ กณฑ์ ก ารบั ญ ชี ส� ำ หรั บ กิ จ การที่ ด� ำ เนิ น งานต่ อ เนื่ อ งของ ผู ้ บ ริ ห าร และสรุ ป จากหลั ก ฐาน การสอบบั ญ ชี ที่ ไ ด้ รั บ ว่ า มี ค วาม ไม่ แ น่ น อนที่ มี ส าระส� ำ คั ญ ที่ เ กี่ ย ว กั บ เหตุ ก ารณ์ ห รื อ สถานการณ์ ที่ อ าจเป็ น เหตุ ใ ห้ เ กิ ด ข้ อ สงสั ย อย่างมีนัยส�ำคัญต่อความสามารถ ของกลุ่มบริษัทในการด�ำเนินงาน ต่ อ เนื่ อ งหรื อ ไม่ หากข้ า พเจ้ า ได้ ข้ อ สรุ ป ว่ า มี ค วามไม่ แ น่ น อนที่ มี ส าระส� ำ คั ญ ข้ า พเจ้ า จะต้ อ ง ให้ ข ้ อ สั ง เกตไว้ ใ นรายงานของ ผู ้ ส อบบั ญ ชี ข องข้ า พเจ้ า ถึ ง การ เปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในงบ การเงิ น หรื อ หากเห็ น ว่ า การเปิ ด เผยดัง กล่า วไม่เพียงพอ ข้า พเจ้า จะแสดงความเห็นที่เปลี่ยนแปลง ไป ข้ อ สรุ ป ของข้ า พเจ้ า ขึ้ น อยู ่ กั บ หลั ก ฐานการสอบบั ญ ชี ที่ ไ ด้ รั บ จนถึ ง วั น ที่ ใ นรายงานของผู ้ สอบบั ญ ชี ข องข้ า พเจ้ า อย่ า งไร ก็ตาม เหตุการณ์หรือสถานการณ์ ในอนาคตอาจเป็ น เหตุ ใ ห้ ก ลุ ่ ม บริ ษั ท ต้ อ งหยุ ด การด� ำ เนิ น งาน ต่อเนื่องได้

• ประเมิ น การน� ำ เสนอ โครงสร้ า ง และเนื้ อ หาของงบการเงิ น โดย รวม รวมถึ ง การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งตลอดจนประเมิ น ว่ า งบการเงิ น แสดงรายการและ เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยถู ก ต้ อ ง ตามที่ควรหรือไม่ • รวบรวมเอกสารหลั ก ฐานการ สอบบั ญ ชี ที่ เ หมาะสมอย่ า งเพี ย ง พอเกี่ ย วกั บ ข้ อ มู ล ทางการเงิ น ของกิ จ การหรื อ ของกิ จ กรรม ทางธุ ร กิ จ ภายในกลุ ่ ม บริ ษั ท เพื่ อ แสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการก�ำหนด แนวทาง การควบคุมดูแล และการ ปฏิ บั ติ ง านตรวจสอบกลุ ่ ม บริ ษั ท ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบแต่เพียง ผู้เดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า

ข้ า พเจ้ า ได้ สื่ อ สารกั บ ผู ้ มี ห น้ า ที่ ก� ำ กั บ ดู แ ลในเรื่ อ งต่ า งๆ ซึ่ ง รวมถึ ง ขอบเขตและช่ ว งเวลาของการตรวจ สอบตามที่ได้วางแผนไว้ ประเด็นที่มี นัยส�ำคัญที่พบจากการตรวจสอบรวม ถึงข้อบกพร่องที่มีนัยส�ำคัญในระบบ ควบคุ ม ภายในหากข้ า พเจ้ า ได้ พ บใน ระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้ า พเจ้ า ได้ ใ ห้ ค� ำ รั บ รองแก่ ผู ้ มี ห น้ า ที่ ใ นการก� ำ กั บ ดู แ ลว่ า ข้ า พเจ้ า ได้ ป ฏิ บั ติ ต ามข้ อ ก� ำ หนดจรรยา บรรณที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ความเป็ น อิ ส ระ และได้ สื่ อ สารกั บ ผู ้ มี ห น้ า ที่ ก� ำ กั บ ดู แ ลเกี่ ย วกั บ ความสั ม พั น ธ์ ทั้ ง หมด ตลอดจนเรื่ อ งอื่ น ซึ่ ง ข้ า พเจ้ า เชื่ อ ว่ า มี เหตุผลที่บุคคลภายนอกอาจพิจารณา ว่ า กระทบต่ อ ความเป็ น อิ ส ระของ ข้ า พเจ้ า และมาตรการที่ ข ้ า พเจ้ า ใช้


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาติ

เพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ข ้ า พเจ้ า ขาดความ เป็นอิสระ จากเรื่องที่สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ใน การก� ำ กั บ ดู แ ล ข้ า พเจ้ า ได้ พิ จ ารณา เรื่ อ งต่ า งๆที่ มี นั ย ส� ำ คั ญ มากที่ สุ ด ในการตรวจสอบงบการเงิ น ในงวด ปั จ จุ บั น และก� ำ หนดเป็ น เรื่ อ งส� ำ คั ญ ในการตรวจสอบ ข้ า พเจ้ า ได้ อ ธิ บ าย เรื่ อ งเหล่ า นี้ ใ นรายงานของผู ้ ส อบ

43

บั ญ ชี เว้ น แต่ ก ฎหมายหรื อ ข้ อ บั ง คั บ ห้ า มไม่ ใ ห้ เ ปิ ด เผยเรื่ อ งดั ง กล่ า วต่ อ สาธารณะ หรือ ในสถานการณ์ที่ยาก ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ข้ า พเจ้ า พิ จ ารณาว่ า ไม่ ควรสื่ อ สารเรื่ อ งดั ง กล่ า วในรายงาน ของข้ า พเจ้ า เพราะการกระท� ำ ดั ง กล่ า วสามารถคาดการณ์ ไ ด้ อ ย่ า งสม เหตุ ส มผลว่ า จะมี ผ ลกระทบในทาง ลบมากกว่ า ผลประโยชน์ ที่ ผู ้ มี ส ่ ว น

ได้เสียสาธารณะจะได้จากการสื่อสาร ดังกล่าว ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบงานสอบ บัญชีและการน�ำเสนอรายงานฉบับนี้

กมลทิพย์ เลิศวิทย์วรเทพ

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4377 บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด กรุงเทพฯ: 26 กุมภาพันธ์ 2561


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

44

งบแสดงฐานะการเงิน

บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

7 8 6, 9 6 10

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

409,621,832 322,524,253 331,539,955 236,267,152 9,336,129,839 9,288,255,319 8,719,125,103 8,951,572,621 75,815,284 103,946,584 194,918,683 217,723,217 1,000,000 350,345,201 323,842,992 328,054,301 304,340,386 404,657,837 359,297,051 330,576,094 290,730,656 10,576,569,993 10,397,866,199 9,904,214,136 10,001,634,032

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในการร่วมค้า เงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สิทธิการเช่า สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เงินมัดจ�ำ

11 12 13 14 15 16 23

- 631,479,842 451,479,842 75,875,225 98,081,853 98,081,853 149,207,500 793,720,094 - 793,720,094 4,012,251,004 4,261,475,839 3,273,227,436 3,543,441,753 85,501,823 94,854,383 80,641,986 89,528,848 266,392,170 283,475,771 249,765,514 264,815,377 73,415,240 135,560,230 64,538,903 125,801,665 399,003,600 370,986,518 307,515,714 289,219,878 5,706,159,156 5,244,434,594 5,498,971,342 4,913,494,863

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

16,282,729,149 15,642,300,793 15,403,185,478 14,915,128,895

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


งบการเงิน

45

งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น 6, 17 ภาษีเงินได้ค้างจ่าย รายได้ ค ่ า ธรรมเนี ย มสมาชิ ก รอตั ด บั ญ ชี ส ่ ว นที่ ถึงก�ำหนดรับรู้ภายในหนึ่งปี หนี้สินหมุนเวียนอื่น

1,627,926,195 1,479,548,063 1,436,591,547 1,311,933,354 208,144,792 209,475,620 176,374,985 186,520,274 39,962,594 36,620,928 29,390,090 32,027,724 232,820,179 215,551,430 195,341,205 181,592,790 2,108,853,760 1,941,196,041 1,837,697,827 1,712,074,142

รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน

รายได้คา่ ธรรมเนียมสมาชิกรอตัดบัญชี - สุทธิจาก ส่วนที่ถึงก�ำหนดรับรู้ภายในหนึ่งปี ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น

11,618,345 12,240,558 8,793,234 9,745,203 320,030,716 299,549,797 292,809,902 277,245,094 13,585,521 12,083,724 15,216,255 13,714,458 345,234,582 323,874,079 316,819,391 300,704,755 2,454,088,342 2,265,070,120 2,154,517,218 2,012,778,897

18

รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น

ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 925,850,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท ทุนออกจ�ำหน่ายและช�ำระเต็มมูลค่าแล้ว หุน้ สามัญ 920,878,100 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท (31 ธันวาคม 2559: หุน้ สามัญ 914,849,400 หุน้ มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ส่วนทุนจากการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ ก�ำไรสะสม จัดสรรแล้ว - ส�ำรองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

19 925,850,000

925,850,000

925,850,000

920,878,100 914,849,400 920,878,100 914,849,400 8,785,027,903 8,785,027,903 8,785,027,903 8,785,027,903 656,331,057 626,325,025 656,331,057 626,325,025

20 21

925,850,000

92,585,000 92,585,000 92,585,000 92,585,000 3,367,262,132 2,955,082,401 2,794,015,238 2,487,288,366 6,556,615 3,360,944 (169,038) (3,725,696) 13,828,640,807 13,377,230,673 13,248,668,260 12,902,349,998 16,282,729,149 15,642,300,793 15,403,185,478 14,915,128,895

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

46

งบก�ำไรขาดทุน

บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2560

2559

รายได้

รายได้จากการขายและบริการ ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ รายได้อื่น

11

รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย

16,072,821,597 15,145,882,364 14,174,533,577 13,436,647,305 113,154,343 109,841,904 112,404,560 108,762,771 234,999,895 187,999,916 271,767,942 242,640,153 386,653,476 325,920,011 16,457,743,882 15,498,364,421 14,908,591,508 14,059,330,003

22

ต้นทุนขายและบริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายอื่น

5,173,596,160 4,952,433,152 5,320,959,340 5,045,095,693 7,219,232,540 6,941,696,392 5,863,064,517 5,675,070,527 1,079,528,303 1,000,774,698 875,636,418 836,693,379 51,125,647 13,472,357,003 12,894,904,242 12,110,785,922 11,556,859,599

รวมค่าใช้จ่าย ก� ำ ไ ร ก ่ อ น ส ่ ว น แ บ ่ ง ข า ด ทุ น จ า ก เ งิ น ล ง ทุ น ใ น ก า ร ร ่ ว ม ค ้ า แ ล ะ ค ่ า ใ ช ้ จ่ายภาษีเงินได้

ส ่ วน แบ่ ง ข าด ทุ น จากเงิ น ลงทุ น ใ น การร่วมค้า

12

ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

23

ก�ำไรส�ำหรับปี

2,985,386,879

2,603,460,179

2,797,805,586

2,502,470,404

(21,845,641) 2,963,541,238 (538,694,922) 2,424,846,316

(19,833,042) 2,583,627,137 (483,864,929) 2,099,762,208

2,797,805,586 (478,412,234) 2,319,393,352

2,502,470,404 (430,621,314) 2,071,849,090

2,424,846,316

2,099,762,208

2,319,393,352

2,071,849,090

2.65

2.30

2.53

2.27

2.63

2.28

2.52

2.25

การแบ่งปันก�ำไร

ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ ก�ำไรต่อหุ้น

24

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน ก�ำไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ ก�ำไรต่อหุ้นปรับลด ก�ำไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


งบการเงิน

47

งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2560

2559

2560

2559

2,424,846,316

2,099,762,208

2,319,393,352

2,071,849,090

(360,987)

(402,794)

-

-

8

(211,298)

(4,657,120)

(211,298)

(4,657,120)

8 23

4,657,120 (889,164)

931,424

4,657,120 (889,164)

931,424

3,556,658 3,195,671 2,428,041,987

(3,725,696) (4,128,490) 2,095,633,718

3,556,658 3,556,658 2,322,950,010

(3,725,696) (3,725,696) 2,068,123,394

2,428,041,987

2,095,633,718

2,322,950,010

2,068,123,394

ก�ำไรส�ำหรับปี

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

รายการที่ถูกหรือจะถูกบันทึกในส่วนของ ก�ำไรหรือขาดทุนในภายหลัง ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนจากการ แปลงค่างบการเงินที่เป็นเงินตรา ต่างประเทศ ผลขาดทุ น จากการเปลี่ ย นแปลงมู ล ค่ า เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย โอนผลจากการเปลี่ ย นแปลงมู ล ค่ า เ งิ น ล ง ทุ น ใ น ห ลั ก ท รั พ ย ์ เ ผื่ อ ข า ย ที่จ�ำหน่ายในระหว่างงวดไปก�ำไรหรือ ขาดทุน หัก: ผลกระทบของภาษีเงินได้ ผลก�ำไร (ขาดทุน) จากการเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - สุทธิจากภาษีเงินได้ ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี การแบ่งปันก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


48

รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

งบกระแสเงินสด

บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2560

2559

2,583,627,137

2,797,805,586

2,502,470,404

(52,680,938)

(65,272,617)

(48,086,346)

(9,081,401)

(9,711,995)

(9,380,565)

858,562

(5,474,876)

858,562

19,833,042 1,112,467 13,204,199 864,762,333

159,642 51,125,647 3,077,541 18,823,629 697,050,960

1,112,467 11,488,863 712,089,064

19,317,417 99,600,281 39,233,362

11,285,635 25,530,397 36,175,988

14,520,244 95,036,075 34,492,408

86,355

-

-

(16,411,572)

(16,055,919)

(15,661,072)

(41,777,654) (109,844,903)

(32,027,724) (234,999,895) (112,404,560)

(33,383,986) (187,999,916) (108,762,771)

3,411,838,687

3,165,087,439

2,968,793,431

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน

ก�ำไรก่อนภาษี 2,963,541,238 รายการปรับกระทบยอดก�ำไรก่อนภาษี เป็นเงินสดรับ (จ่าย )จากกิจกรรมด�ำเนินงาน ก�ำไรจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว (71,567,757) ก� ำ ไรจากการเปลี่ ย นแปลงมู ล ค่ า เงิ น ลงทุ น ชั่วคราว (10,438,892) ขาดทุ น (ก� ำ ไร) จากอั ต ราแลกเปลี่ ย นที่ ยั ง ไม่ เกิดขึ้นจริง (5,474,876) ตั ด จ� ำ หน่ า ยส่ ว นเกิ น มู ล ค่ า เงิ น ลงทุ น ในหลั ก ทรัพย์เผื่อขาย 159,642 ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในการร่วมค้า ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า 21,845,641 ขาดทุนจากสินค้าเสียหาย 3,077,541 ค่าตัดจ�ำหน่ายค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า 25,777,440 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย 854,298,254 ขาดทุ น จากการจ� ำ หน่ า ยและตั ด จ� ำ หน่ า ย อุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน 19,201,205 ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ 30,006,032 ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน 41,392,099 การปรั บ ลดสิ น ค้ า คงเหลื อ เป็ น มู ล ค่ า สุ ท ธิ ที่ จ ะ ได้รับ (โอนกลับ) (61,537) รายได้บัตรของขวัญ - สุทธิจากส่วนที่ขาย และรับช�ำระเป็นเงินสดในระหว่างปี (16,639,799) รายได้ค่าธรรมเนียมสมาชิก - สุทธิจากส่วนที่ ขาย และรับช�ำระเป็นเงินสดในระหว่างปี (36,620,928) เงินปันผลรับ ดอกเบี้ยรับ (113,154,343) ก�ำไรจากการด�ำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงใน สินทรัพย์และหนี้สินด�ำเนินงาน 3,705,340,960 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


งบการเงิน

49

งบกระแสเงินสด (ต่อ)

บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2560

2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560

2559

กระแสเงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน (ต่อ)

สินทรัพย์ด�ำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินมัดจ�ำ หนี้สินด�ำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น รายได้รอตัดบัญชี ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดจากกิจกรรมด�ำเนินงาน เงินสดรับจากดอกเบี้ย เงินสดจ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงาน

(375,203) (29,518,213) (31,780,792) (28,017,082)

3,040,399 (42,908,858) (36,871,574) (13,558,009)

(444,074) (26,791,456) (19,311,633) (18,295,836)

(1,356,237) (36,600,789) (23,535,822) (5,309,736)

242,339,071 33,908,548 39,340,381 (20,911,180) 1,501,797 3,911,828,287 141,660,846 (478,769,924) 3,574,719,209

62,047,460 29,758,377 38,758,292 (9,419,306) 2,677,145 3,445,362,613 111,271,786 (467,110,324) 3,089,524,075

218,342,406 29,804,334 28,438,121 (20,611,180) 1,501,797 3,357,719,918 140,128,803 (428,183,925) 3,069,664,796

53,142,314 23,779,060 31,669,733 (8,798,916) 4,307,879 3,006,090,917 110,716,845 (415,385,696) 2,701,422,066

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

50

งบกระแสเงินสด (ต่อ)

บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2560

2559

(596,509,429) 20,884,196 (614,229,960) (12,874,997) (39,755,000) 4,145,396 (1,238,339,794)

1,000,000 (560,388,904) (180,000,000) (448,511,318) (6,059,403) (24,960,000) 16,165,517 234,999,895 (967,754,213)

(1,000,000) (644,208,429) 11,823,596 (407,666,076) (9,691,697) (39,755,000) 22,626,819 187,999,916 (879,870,871)

เงิ น สดรั บ จากการใช้ สิ ท ธิ ใ บส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ซื้อหุ้นสามัญ 6,028,700 เงินปันผลจ่าย (2,012,666,585)

4,599,900 (1,820,494,084)

6,028,700 (2,012,666,480)

4,599,900 (1,820,494,000)

(2,006,637,885)

(1,815,894,184)

(2,006,637,780)

(1,815,894,100)

87,097,579 322,524,253

35,290,097 287,234,156

95,272,803 236,267,152

5,657,095 230,610,057

409,621,832

322,524,253

331,539,955

236,267,152

96,988,403

146,444,780

66,800,868

115,980,519

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน

เงิ น ให้ กู ้ ยื ม ระยะสั้ น แก่ กิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น (เพิ่มขึ้น)ลดลง เงินลงทุนชัว่ คราวและเงินลงทุนระยะยาวอืน่ เพิม่ ขึน้ (833,688,905) เงินสดจ่ายเพื่อลงทุนในบริษัทย่อย เงินจ่ายล่วงหน้าเพื่อซื้ออาคารและอุปกรณ์ลดลง เงินสดจ่ายเพื่อซื้ออาคารและอุปกรณ์ (619,374,684) เงินสดจ่ายส�ำหรับสินทรัพย์ไม่มีตัวตน (6,404,045) เงินสดจ่ายส�ำหรับสิทธิการเช่า (24,960,000) เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายอุปกรณ์ 3,443,889 เงินปันผลรับ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (1,480,983,745) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี (หมายเหตุ 7)

ข้อมูลกระแสเงินสดเปิดเผยเพิ่มเติม

รายการที่ไม่ใช่เงินสด เจ้าหนี้ค่าอาคารและอุปกรณ์

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


หมาย เหตุ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี หุ้นสามัญที่ออกจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 19, 20 การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ 20 เงินปันผลจ่าย 26

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี หุ้นสามัญที่ออกจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 19, 20 การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ 20 เงินปันผลจ่าย 26

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

526,724,744 99,600,281 626,325,025 626,325,025 30,006,032 656,331,057

92,585,000 2,675,814,277 - 2,099,762,208 - 2,099,762,208 - (1,820,494,084) 92,585,000 2,955,082,401 92,585,000 2,955,082,401 - 2,424,846,316 - 2,424,846,316 - (2,012,666,585) 92,585,000 3,367,262,132

ยังไม่ได้จัดสรร

กำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น

7,489,434 (402,794) (402,794) 7,086,640 7,086,640 (360,987) (360,987) 6,725,653

(3,725,696) (3,725,696) (3,725,696) (3,725,696) 3,556,658 3,556,658 (169,038)

7,489,434 (4,128,490) (4,128,490) 3,360,944 3,360,944 3,195,671 3,195,671 6,556,615

ผลขาดทุนจากการ ผลต่างจากการ เปลี่ยนแปลงมูลค่า รวมองค์ประกอบ แปลงค่า เงินลงทุนใน อื่นของส่วนของ งบการเงิน หลักทรัพย์เผื่อขาย ผู้ถือหุ้น

งบการเงินรวม

กำ�ไรสะสม ส่วนทุนจากการ จัดสรรแล้ว ส่วนเกินมูลค่า จ่ายโดยใช้หุ้น สำ�รอง หุ้น เป็นเกณฑ์ ตามกฎหมาย

910,249,500 8,785,027,903 4,599,900 914,849,400 8,785,027,903 914,849,400 8,785,027,903 6,028,700 920,878,100 8,785,027,903

ทุนเรือนหุ้น ที่ออกและ ชำ�ระแล้ว

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

12,997,890,858 2,099,762,208 (4,128,490) 2,095,633,718 4,599,900 99,600,281 (1,820,494,084) 13,377,230,673 13,377,230,673 2,424,846,316 3,195,671 2,428,041,987 6,028,700 30,006,032 (2,012,666,585) 13,828,640,807

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น

(หน่วย: บาท)

51


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี หุ้นสามัญที่ออกจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ เงินปันผลจ่าย

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ก�ำไรส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี หุ้นสามัญที่ออกจากการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ เงินปันผลจ่าย

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

19,20 20 26

19,20 20 26

หมายเหตุ

ส่วนเกินมูลค่า หุ้น

8,785,027,903 8,785,027,903 8,785,027,903 8,785,027,903

ทุนเรือนหุ้นที่ ออก และชำ�ระแล้ว

910,249,500 4,599,900 914,849,400 914,849,400 6,028,700 920,878,100

งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

526,724,744 99,600,281 626,325,025 626,325,025 30,006,032 656,331,057

ส่วนทุนจากการ จ่าย โดยใช้หุ้นเป็น เกณฑ์

ยังไม่ได้จัดสรร

92,585,000 2,235,933,276 - 2,071,849,090 - 2,071,849,090 - (1,820,494,000) 92,585,000 2,487,288,366 92,585,000 2,487,288,366 - 2,319,393,352 - 2,319,393,352 - (2,012,666,480) 92,585,000 2,794,015,238

จัดสรรแล้ว สำ�รอง ตามกฎหมาย

กำ�ไรสะสม

(3,725,696) (3,725,696) (3,725,696) (3,725,696) 3,556,658 3,556,658 (169,038)

ผลขาดทุนจาก การ เปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน ในหลักทรัพย์ เผื่อขาย

กำ�ไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น

องค์ประกอบอื่น ของส่วนของผู้ ถือหุ้น

12,550,520,423 2,071,849,090 (3,725,696) 2,068,123,394 4,599,900 99,600,281 (1,820,494,000) 12,902,349,998 12,902,349,998 2,319,393,352 3,556,658 2,322,950,010 6,028,700 30,006,032 (2,012,666,480) 13,248,668,260

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น

(หน่วย: บาท)

52


งบการเงิน

53

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 1. ข้อมูลทั่วไป

บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จัดตั้งขึ้น เป็ น บริ ษั ท จ� ำ กั ด ตามกฎหมายไทย และได้ จ ดทะเบี ย นแปรสภาพเป็ น บริ ษั ท มหาชนจ� ำ กั ด ตามกฎหมาย ว่ า ด้ ว ยบริ ษั ท มหาชนจ� ำ กั ด และมี ภู มิ ล� ำ เนาในประเทศไทย ธุ ร กิ จ หลั ก ของบริ ษั ท ฯ คื อ การประกอบกิ จ การ ภั ต ตาคารโดยใช้ เ ครื่ อ งหมายการค้ า “เอ็ ม เค เรสโตรองต์ ” ที่ อ ยู ่ ต ามที่ จดทะเบียนของบริษทั ฯ อยูท่ เี่ ลขที่ 1200 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขต บางนา กรุงเทพมหานคร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มี ส าขาเปิ ด ให้ บ ริ ก ารจ� ำ นวน 473 สาขา (2559: 461 สาขา) 2. เกณฑ์ในการจัดท�ำงบการเงิน

2.1. งบการเงิ น นี้ จั ด ท� ำ ขึ้ น ตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ที่ ก�ำหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงิน ตามข้อก�ำหนดในประกาศกรมพัฒนา ธุรกิจการค้าลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ การบัญชี พ.ศ. 2543

งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบ การเงินฉบับที่บริษัทฯ ใช้เป็นทางการ ตามกฎหมาย งบการเงิ น ฉบั บ ภาษา อังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษา ไทยนี้ งบการเงิ น นี้ ไ ด้ จั ด ท� ำ ขึ้ น โดยใช้ เกณฑ์ ร าคาทุ น เดิ ม เว้ น แต่ จ ะได้ เ ปิ ด เผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2. เกณฑ์ ใ นการจั ด ท� ำ งบการ เงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ได้จัดท�ำขึ้น โดยรวมงบการเงินของบริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) (ซึ่ง ต่อไปนี้เรียกว่า “บริษัทฯ”) และบริษัท ย่ อ ย (ซึ่ ง ต่ อ ไปนี้ เ รี ย กว่ า “บริ ษั ท ย่อย”) ดังต่อไปนี้ อัตราร้อยละของการถือหุ้น

ชื่อบริษัท

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั้งขึ้นในประเทศ

2560 ร้อยละ

2559 ร้อยละ

ไทย

100

100

บริษัท เอ็มเค เซอร์วิส เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จ�ำกัด ให้บริการด้านการฝึกอบรม

ไทย

100

100

บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ด ซัพพลายจ�ำกัด ผลิตอาหารเพื่อจ�ำหน่าย

ไทย

100

100

บริษัทย่อย (ถือหุ้นโดยบริษัทฯ) บริษัท เอ็ม เค อินเตอร์ฟู้ด จ�ำกัด

ข) บริษัทฯจะถือว่ามีการควบคุม กิจการที่เข้าไปลงทุนหรือบริษัทย่อย ได้ หากบริษัทฯ มีสิทธิได้รับหรือมีส่วน ได้ เ สี ย ในผลตอบแทนของกิ จ การที่ เข้ า ไปลงทุ น และสามารถใช้ อ� ำ นาจ ในการสั่งการกิจกรรมที่ส่งผลกระทบ อย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ต่ อ จ� ำ นวนเงิ น ผล ตอบแทนนั้นได้

ร้านอาหาร

ค) บริ ษั ท ฯ น� ำ งบการเงิ น ของ บริษัทย่อยมารวมในการจัดท�ำงบการ เงิ น รวมตั้ ง แต่ วั น ที่ บ ริ ษั ท ฯ มี อ� ำ นาจ ในการควบคุ ม บริ ษั ท ย่ อ ยจนถึ ง วั น ที่ บริษัทฯ สิ้นสุดการควบคุมบริษัทย่อย นั้น ง) งบการเงินของบริษัทย่อยได้ จั ด ท� ำ ขึ้ น โดยใช้ น โยบายการบั ญ ชี ที่ ส�ำคัญเช่นเดียวกันกับของบริษัทฯ

จ) ยอดคงค้ า งระหว่ า งบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย รายการค้ า ระหว่ า ง กั น ที่ มี ส าระส� ำ คั ญ ได้ ถู ก ตั ด ออกจาก งบการเงินรวมนี้แล้ว 2.3 บริ ษั ท ฯ จั ด ท� ำ งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ โดยแสดงเงิ น ลงทุ น ในบริษัท ย่อ ยและการร่ว มค้า ตามวิธี ราคาทุน


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

54

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 3. มาตรฐานการรายงาน ทางการเงินใหม่ ก. ม า ต ร ฐ า น ก า ร ร า ย ง า น ทางการเงิ น ที่ เ ริ่ ม มี ผ ลบั ง คั บ ในปี ปัจจุบัน

ในระหว่างปี บริษัทฯ และบริษัท ย่ อ ยได้ น� ำ มาตรฐานการรายงาน ทางการเงินและการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรั บ ปรุ ง 2559) รวมถึ ง แนวปฏิ บั ติ ทางบั ญ ชี ฉ บั บ ใหม่ ซึ่ ง มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ส� ำ หรั บ รอบระยะเวลาบั ญ ชี ที่ เริ่ ม ใน หรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2560 มาถือ ปฏิบัติ มาตรฐานการรายงานทางการ เงิ น ดั ง กล่ า วได้ รั บ การปรั บ ปรุ ง หรื อ จั ด ให้ มี ขึ้ น เพื่ อ ให้ มี เ นื้ อ หาเท่ า เที ย ม กั บ มาตรฐานการรายงานทางการ เงิ น ระหว่ า งประเทศ โดยส่ ว นใหญ่ เป็ น การปรั บ ปรุ ง ถ้ อ ยค� ำ และค� ำ ศั พ ท์ การตี ค วามและการให้ แ นว ปฏิบัติทางการบัญชีกับผู้ใช้มาตรฐาน การน�ำมาตรฐานการรายงานทางการ เงิ น ดั ง กล่ า วมาถื อ ปฏิ บั ติ นี้ ไ ม่ มี ผ ล กระทบอย่ า งเป็ น สาระส� ำ คั ญ ต่ อ งบ การเงิ น ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย อย่างไรก็ตาม มาตรฐานการรายงาน ทางการเงิ น ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง หลักการส�ำคัญสามารถสรุปได้ดังนี้ มาตรฐานการบั ญ ชี ฉบั บ ที่ 27 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง งบการเงิน เฉพาะกิจการ

มาตรฐานฉบับปรับปรุงนี้ก�ำหนด ทางเลื อ กเพิ่ ม เติ ม ส� ำ หรั บ การบั น ทึ ก

บั ญ ชี เ งิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท ย่ อ ย เงิ น ลงทุนในการร่วมค้า และเงินลงทุนใน บริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยเลือกบันทึกตามวิธีส่วนได้เสียได้ ตามที่ อ ธิ บ ายไว้ ใ นมาตรฐานการ บัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2559) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วมและการร่วมค้า ทั้ ง นี้ กิ จ การต้ อ งใช้ วิ ธี ก ารบั น ทึ ก บัญชีเดียวกันส�ำหรับเงินลงทุนแต่ละ ประเภทและหากกิ จ การเลื อ กบั น ทึ ก เงินลงทุนดังกล่าวตามวิธีส่วนได้เสีย ในงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การ กิ จ การ ต้องปรับปรุงรายการดังกล่าวโดยวิธี ปรับย้อนหลัง มาตรฐานฉบั บ ดั ง กล่ า วไม่ มี ผ ล กระทบต่องบการเงินของบริษัทฯและ บริ ษั ท ย่ อ ย เนื่ อ งจากฝ่ า ยบริ ห ารได้ พิจารณาแล้วว่าจะเลือกบันทึกเงินลงทุน ดังกล่าวตามวิธีราคาทุนในงบการเงิน เฉพาะกิจการตามเดิม ข. ม า ต ร ฐ า น ก า ร ร า ย ง า น ทางการเงินที่จะมีผลบังคับในอนาคต

ในระหว่ า งปี สภาวิ ช าชี พ บั ญ ชี ได้ ป ระกาศใช้ ม าตรฐานการรายงาน ทางการเงินและการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง (ปรั บ ปรุ ง 2560) จ� ำ นวนหลายฉบั บ ซึ่งมีผลบังคับใช้ส�ำหรับงบการเงินที่มี รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2561 มาตรฐานการ รายงานทางการเงิ น ดั ง กล่ า วได้ รั บ การปรั บ ปรุ ง หรื อ จั ด ให้ มี ขึ้ น เพื่ อ ให้ มี เ นื้ อ หาเท่ า เที ย มกั บ มาตรฐานการ รายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การปรั บ ปรุ ง และ

อธิบายให้ชัดเจนเกี่ยวกับการเปิดเผย ข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ฝ่ า ยบริ ห ารของบริ ษั ท ฯ และ บริ ษั ท ย่ อ ยเชื่ อ ว่ า มาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง จะ ไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระส�ำคัญ ต่องบการเงินเมื่อน�ำมาถือปฏิบัติ 4. นโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ 4.1 การรับรู้รายได้ รายได้จากการขายและบริการ

รายได้สว่ นใหญ่ประกอบด้วยรายได้ จากการขายอาหารและเครื่ อ งดื่ ม ในภั ต ตาคาร ซึ่ ง รั บ รู ้ เ มื่ อ ได้ ส ่ ง มอบ สินค้า และให้บ ริการแล้ว รายได้จาก การขายและบริ ก ารแสดงมู ล ค่ า ตาม ราคาในใบก� ำ กั บ สิ น ค้ า โดยไม่ ร วม ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ส� ำ หรั บ สิ น ค้ า ที่ ไ ด้ ส่ ง มอบและบริ ก ารที่ ไ ด้ ใ ห้ ห ลั ง จาก หักส่วนลดแล้ว รายได้ค่าธรรมเนียมสมาชิก

รายได้ จ ากบั ต รสมาชิ ก รั บ รู ้ โ ดย วิธีเส้นตรงตลอดอายุของบัตรสมาชิก ดอกเบี้ยรับ

ดอกเบี้ ย รั บ ถื อ เป็ น รายได้ ต าม เกณฑ์ ค งค้ า งโดยค� ำ นึ ง ถึ ง อั ต ราผล ตอบแทนที่แท้จริง เงินปันผลรับ

เงิ น ปั น ผลรั บ ถื อ เป็ น รายได้ เ มื่ อ บริษัทฯ มีสิทธิในการรับเงินปันผล รายได้อื่น

รายได้ อื่ น รั บ รู ้ เ ป็ น รายได้ ต าม เกณฑ์คงค้าง


งบการเงิน

55

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 4.2 เงิ น สดและรายการเที ย บเท่ า เงินสด

เงิ น สดและรายการเที ย บเท่ า เงิ น สด หมายถึ ง เงิ น สดและเงิ น ฝาก ธนาคาร และเงิ น ลงทุ น ระยะสั้ น ที่ มี สภาพคล่องสูง ซึ่งถึงก�ำหนดจ่ายคืน ภายในระยะเวลาไม่ เ กิ น 3 เดื อ น นั บ จากวั น ที่ ไ ด้ ม าและไม่ มี ข ้ อ จ� ำ กั ด ในการเบิกใช้ 4.3 ลูกหนี้การค้า

ลู ก หนี้ ก ารค้ า แสดงมู ล ค่ า ตาม จ�ำนวนมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ บริษัทฯ บั น ทึ ก ค่ า เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ ส� ำ หรั บ ผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดขึ้น จากการเก็ บ เงิ น จากลู ก หนี้ ไ ม่ ไ ด้ ซึ่ ง โดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณ์ การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้ 4.4 สินค้าคงเหลือ

สินค้าส�ำเร็จรูปแสดงตามราคาทุน (วิ ธี เข้ า ก่ อ น-ออกก่ อ น) หรื อ มู ล ค่ า สุ ท ธิ ที่ จ ะได้ รั บ แล้ ว แต่ ร าคาใดจะต�่ ำ กว่า ราคาทุนดังกล่าวหมายถึงต้นทุน ในการผลิ ต ทั้ ง หมดรวมทั้ ง ค่ า โสหุ ้ ย โรงงานด้วย วั ต ถุ ดิ บ และวั ส ดุ อุ ป กรณ์ แ สดง ตามราคาทุน (วิธีเข้าก่อน-ออกก่อน) หรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคา ใดจะต�่ำกว่า และจะถือเป็นส่วนหนึ่ง ของต้นทุนการผลิตเมื่อมีการเบิกใช้ มู ล ค่ า สุ ท ธิ ที่ จ ะได้ รั บ ประมาณ จากราคาที่คาดว่าจะขายได้ตามปกติ ของธุรกิจหักด้วยต้นทุนที่จ�ำเป็นต้อง จ่ายเพื่อให้ขายสินค้านั้นได้ 4.5 เงินลงทุน

ก) เงิ น ลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย์ เ พื่ อ ค้ า แสดงตามมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม การ

เปลี่ ย นแปลงในมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของ หลักทรัพย์บันทึกในงบก�ำไรขาดทุน ข) เงิ น ลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย์ เ ผื่ อ ขายแสดงตามมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม การ เปลี่ ย นแปลงในมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของ หลั ก ทรั พ ย์ ดั ง กล่ า วบั น ทึ ก ในก� ำ ไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และจะบันทึกใน งบก� ำ ไรขาดทุ น เมื่ อ ได้ จ� ำ หน่ า ย หลักทรัพย์นั้นออกไป ค) เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่จะ ครบก�ำหนดช�ำระในหนึ่งปี รวมทั้งที่ จะถือจนครบก�ำหนดแสดงมูลค่าตาม วิ ธี ร าคาทุ น ตั ด จ� ำหน่ า ย บริ ษั ท ฯ ตั ด บัญชีส่วนเกิน/ รับรู้ส่วนต�่ำกว่ามูลค่า ตราสารหนี้ตามอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ซึง่ จ�ำนวนทีต่ ดั จ�ำหน่าย/ รับรู้นี้จะแสดง เป็นรายการปรับกับดอกเบี้ยรับ ง) เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่ อยู่ในความต้องการของตลาดถือเป็น เงินลงทุนทั่วไป ซึ่งแสดงในราคาทุน สุทธิจากค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) จ) เงิ น ลงทุ น ในการร่ ว มค้ า ที่ แสดงในงบการเงิ น รวมแสดงมู ล ค่ า ตามวิธีส่วนได้เสีย ฉ) เงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท ย่ อ ยและ

การร่ ว มค้ า ที่ แ สดงอยู ่ ใ นงบการเงิ น เฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคา ทุนสุทธิจากค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของตราสารหนี้ ค� ำ นวณโดยใช้ อั ต ราผลตอบแทนที่ ประกาศโดยสมาคมตลาดตราสาร หนี้ ไ ทย ส่ ว นมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของ หน่ ว ยลงทุ น ค� ำ นวณจากมู ล ค่ า ของ สินทรัพย์สุทธิของหน่วยลงทุน เมื่ อ มี ก ารจ� ำ หน่ า ยเงิ น ลงทุ น ผล ต่างระหว่างสิ่งตอบแทนสุทธิที่ได้รับ กับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน จะ ถูกบันทึกในงบก�ำไรขาดทุน 4.6 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และ ค่าเสื่อมราคา

ที่ ดิ น แสดงมู ล ค่ า ตามราคาทุ น อาคาร และอุ ป กรณ์ แ สดงมู ล ค่ า ตาม ราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม และ ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่ า เสื่ อ มราคาของอาคารและ อุ ป กรณ์ ค� ำ นวณจากราคาทุ น ของ สิ น ทรั พ ย์ โ ดยวิ ธี เ ส้ น ตรงตามอายุ ใ ห้ ประโยชน์โดยประมาณดังนี้

ส่วนปรับปรุงที่ดิน

5 ปี

อาคาร

20 ปี

ส่วนปรับปรุงพื้นที่เช่า

ตามอายุสัญญาเช่า

งานระบบ

10 ปี

อุปกรณ์เครื่องครัวและอุปกรณ์ด�ำเนินงาน

5 ปี

เครื่องจักรและอุปกรณ์

5 ปี และ 8 ปี

เครื่องตกแต่ง ติดตั้ง และอุปกรณ์ส�ำนักงาน

3 ปี และ 5 ปี

ยานพาหนะ

5 ปี


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

56

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ค่ า เสื่ อ มราคารวมอยู ่ ใ นการ ค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน ไม่ มี ก ารคิ ด ค่ า เสื่ อ มราคาส� ำ หรั บ ที่ ดิ น งานระหว่ า งก่ อ สร้ า ง และ อุปกรณ์ระหว่างติดตั้ง บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ย ่ อ ย ตั ด รายการที่ ดิ น อาคาร และอุ ป กรณ์ ออกจากบัญชี เมื่อจ�ำหน่ายสินทรัพย์ หรื อ คาดว่ า จะไม่ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ เชิ ง เศรษฐกิ จ ในอนาคตจากการใช้ ห รื อ การจ� ำ หน่ า ยสิ น ทรั พ ย์ รายการผล ก� ำ ไรหรื อ ขาดทุ น จากการจ� ำ หน่ า ย สิ น ทรั พ ย์ จ ะรั บ รู ้ ใ นงบก� ำ ไรขาดทุ น เมื่ อ บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยตั ด รายการสินทรัพย์นั้นออกจากบัญชี 4.7 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

สิ น ทรั พ ย์ ไ ม่ มี ตั ว ตนแสดงมู ล ค่ า ตามราคาทุนหักค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม และค่ า เผื่ อ การด้ อ ยค่ า สะสม (ถ้ า มี ) ของสินทรัพย์นั้น บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ย ่ อ ย ตั ด จ� ำ หน่ า ยสิ น ทรั พ ย์ ไ ม่ มี ตั ว ตนที่ มี อ ายุ การให้ ป ระโยชน์ จ� ำ กั ด อย่ า งมี ร ะบบ ตลอดอายุ ก ารให้ ป ระโยชน์ ข อง สิ น ทรั พ ย์ นั้ น และจะประเมิ น การ ด้ อ ยค่ า ของสิ น ทรั พ ย์ ดั ง กล่ า วเมื่ อ มี ข้ อ บ่ ง ชี้ ว ่ า สิ น ทรั พ ย์ นั้ น เกิ ด การด้ อ ย ค่า บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะทบทวน ระยะเวลาการตัดจ�ำหน่ายและวิธีการ ตั ด จ� ำ หน่ า ยของสิ น ทรั พ ย์ ไ ม่ มี ตั ว ตน ดั ง กล่ า วทุ ก สิ้ น ปี เ ป็ น อย่ า งน้ อ ย ค่ า ตั ด จ� ำ หน่ า ยรั บ รู ้ เ ป็ น ค่ า ใช้ จ ่ า ยในงบ ก�ำไรขาดทุน

สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จ�ำกัดมีดังนี้ อายุการให้ประโยชน์ คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ 4.8 สิทธิการเช่าและค่าตัดจ�ำหน่าย

สิทธิการเช่าแสดงมูลค่าตามราคา ทุ น หั ก ค่ า ตั ด จ� ำ หน่ า ยสะสมและค่ า เผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่ า ตั ด จ� ำ หน่ า ยของสิ ท ธิ ก ารเช่ า ค� ำ นวณจากราคาทุ น โดยวิ ธี เ ส้ น ตรง ตามอายุสัญญาเช่าและรวมอยู่ในการ ค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน 4.9 รายการธุ ร กิ จ กั บ บุ ค คลหรื อ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

บุ ค คลหรื อ กิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น กั บ บริ ษั ท ฯ หมายถึ ง บุ ค คลหรื อ กิจการที่มีอ�ำนาจควบคุมบริษัทฯ หรือ ถู ก บริ ษั ท ฯ ควบคุ ม ไม่ ว ่ า จะเป็ น โดย ทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้ การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้ บุ ค คลหรื อ กิ จ การที่ เกี่ ย วข้ อ งกั น ยั ง หมายรวมถึ ง บุ ค คล หรื อ กิ จ การที่ มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งโดย ทางตรงหรื อ ทางอ้ อ มซึ่ ง ท� ำ ให้ มี อิ ท ธิ พ ลอย่ า งเป็ น สาระส� ำ คั ญ ต่ อ บริษัทฯ ผู้บริหารส�ำคัญ กรรมการหรือ พนั ก งานของบริ ษั ท ฯ ที่ มี อ� ำ นาจใน การวางแผนและควบคุ ม การด� ำ เนิ น งานของบริษัทฯ 4.10 สัญญาเช่าด�ำเนินงาน

สัญญาระยะยาวเพื่อเช่าสินทรัพย์ โดยที่ ค วามเสี่ ย งและผลตอบแทน ของความเป็ น เจ้ า ของส่ ว นใหญ่ ไ ม่

5 ปี และ 10 ปี ได้ โ อนไปให้ กั บ ผู ้ เช่ า ถื อ เป็ น สั ญ ญา เช่าด�ำเนินงาน จ�ำนวนเงินที่จ่ายตาม สัญญาเช่าด�ำเนินงานรับรู้เป็นค่าใช้จ่าย ในงบก� ำ ไรขาดทุ น ตามวิ ธี เ ส้ น ตรง ตลอดอายุของสัญญาเช่า ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการยกเลิก สั ญ ญาเช่ า ด� ำ เนิ น งานก่ อ นหมดอายุ การเช่ า เช่ น เบี้ ย ปรั บ ที่ ต ้ อ งจ่ า ยให้ แก่ ผู ้ ใ ห้ เช่ า จะบั น ทึ ก เป็ น ค่ า ใช้ จ ่ า ย ในรอบระยะเวลาบั ญ ชี ที่ ก ารยกเลิ ก นั้นเกิดขึ้น 4.11 เงินตราต่างประเทศ

บริษัทฯ แสดงงบการเงินรวมและ งบการเงิ น เฉพาะกิ จ การเป็ น สกุ ล เงิ น บาท ซึ่ ง เป็ น สกุ ล เงิ น ที่ ใช้ ใ นการ ด�ำเนินงานของบริษัทฯ รายการต่างๆ ของแต่ ล ะกิ จ การที่ ร วมอยู ่ ใ นงบการ เงินรวมวัดมูลค่าด้วยสกุลเงินที่ใช้ใน การด�ำเนินงานของแต่ละกิจการนั้น รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศ แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลก เปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์ และหนี้สินที่เป็นตัวเงินซึ่งอยู่ในสกุล เงิ น ตราต่ า งประเทศได้ แ ปลงค่ า เป็ น เงิ น บาทโดยใช้ อั ต ราแลกเปลี่ ย น ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กํ า ไรและขาดทุ น ที่ เ กิ ด จากการ เปลี่ ย นแปลงในอั ต ราแลกเปลี่ ย นได้ รวมอยูใ่ นการค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน


งบการเงิน

57

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 4.12 การด้อยค่าของสินทรัพย์

ทุ ก วั น สิ้ น รอบระยะเวลารายงาน บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยจะท� ำ การ ประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคาร และอุ ป กรณ์ สิ น ทรั พ ย์ ไ ม่ มี ตั ว ตน และสิ ท ธิ ก ารเช่ า ของบริ ษั ท ฯ และ บริษัทย่อยหากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ ดั ง ก ล ่ า ว อ า จ ด ้ อ ย ค ่ า บ ริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยรั บ รู ้ ข าดทุ น จากการ ด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ของสิ น ทรั พ ย์ มี มู ล ค่ า ต�่ ำ กว่ า มู ล ค่ า ตามบั ญ ชี ข องสิ น ทรั พ ย์ นั้ น ทั้ ง นี้ มู ล ค่ า ที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ คื น หมาย ถึ ง มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมหั ก ต้ น ทุ น ในการ ขายของสิ น ทรั พ ย์ ห รื อ มู ล ค่ า จาก การใช้ สิ น ทรั พ ย์ แ ล้ ว แต่ ร าคาใดจะ สู ง กว่ า ในการประเมิ น มู ล ค่ า จาก การใช้สินทรัพย์ บริษัทฯ และบริษัท ย่ อ ยประมาณการกระแสเงิ น สดใน อนาคตที่ กิ จ การคาดว่ า จะได้ รั บ จาก สินทรัพย์และค�ำนวณคิดลดเป็นมูลค่า ปั จ จุ บั น โดยใช้ อั ต ราคิ ด ลดก่ อ นภาษี ที่ ส ะท้ อ นถึ ง การประเมิ น ความเสี่ ย ง ในสภาพตลาดปั จ จุ บั น ของเงิ น สด ตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเป็น ลั ก ษณะเฉพาะของสิ น ทรั พ ย์ ที่ ก� ำ ลั ง พิ จ ารณาอยู ่ ในการประเมิ น มู ล ค่ า ยุติธรรมหักต้นทุนในการขาย บริษัทฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยใช้ แ บบจ� ำ ลองการ ประเมิ น มู ล ค่ า ที่ ดี ที่ สุ ด ซึ่ ง เหมาะสม กับสินทรัพย์ ซึ่งสะท้อนถึงจ�ำนวนเงิน ที่ กิ จ การสามารถจะได้ ม าจากการ จ� ำ หน่ า ยสิ น ทรั พ ย์ หั ก ด้ ว ยต้ น ทุ น ใน การจ� ำ หน่ า ย โดยการจ� ำ หน่ า ยนั้ น ผู้ซื้อกับผู้ขายมีความรอบรู้และเต็มใจ ในการแลกเปลี่ยนและสามารถต่อรอง

ราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะ ของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยจะรั บ รู ้ รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในงบ ก�ำไรขาดทุน 4.13 ก า ร จ ่ า ย โ ด ย ใ ช ้ หุ ้ น เ ป ็ น เกณฑ์ที่ช�ำระด้วยตราสารทุน

บริษัทฯ รับรู้โครงการจ่ายโดยใช้ หุ ้ น เป็ น เกณฑ์ เ มื่ อ ได้ รั บ บริ ก ารจาก พนั ก งานตามมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของ สิทธิซื้อหุ้น ณ วันให้สิทธิ โดยบันทึก เป็นค่าใช้จ่ายในงบก�ำไรขาดทุนตาม เงื่ อ นไขของระยะเวลาการให้ บ ริ ก าร ของพนักงานที่ก�ำหนดไว้ในโครงการ พร้ อ มกับ รับ รู้ “ส่ว นทุนจากการจ่า ย โดยใช้ หุ ้ น เป็ น เกณฑ์ ” ในส่ ว นของ ผู้ถือหุ้น 4.14 ผลประโยชน์ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน

บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยรั บ รู ้ เ งิ น เดื อ น ค่ า จ้ า ง โบนั ส และเงิ น สมทบ กองทุ น ประกั น สั ง คมเป็ น ค่ า ใช้ จ ่ า ย เมื่อเกิดรายการ ผลประโยชน์ ห ลั ง ออกจากงาน แ ละ ผลปร ะโยช น์ ร ะยะยาวอื่ น ข อง พนักงาน โครงการสมทบเงิน

บริษัทฯ บริษัทย่อยและพนักงาน ได้ ร ่ ว มกั น จั ด ตั้ ง กองทุ น ส� ำ รองเลี้ ย ง ชี พ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยเงิ น ที่ พ นั ก งาน จ่ า ยสะสมและเงิ น ที่ บ ริ ษั ท ฯ และ บริ ษั ท ย่ อ ยจ่ า ยสมทบให้ เ ป็ น ราย เดื อ น สิ น ทรั พ ย์ ข องกองทุ น ส� ำ รอง เลี้ ย งชี พ ได้ แ ยกออกจากสิ น ทรั พ ย์ ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย เงิ น ที่ บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยจ่ า ยสมทบ

กองทุ น ส� ำ รองเลี้ ย งชี พ บั น ทึ ก เป็ น ค่าใช้จ่ายในปีที่เกิดรายการ โครงการผลประโยชน์ ห ลั ง ออก จากงานและผลประโยชน์ ร ะยะยาว อื่นของพนักงาน

บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยมี ภ าระ ส� ำ หรั บ เงิ น ชดเชยที่ ต ้ อ งจ่ า ยให้ แก่ พ นั ก งานเมื่ อ ออกจากงานตาม กฎหมายแรงงาน ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ และ บริ ษั ท ย่ อ ยถื อ ว่ า เงิ น ชดเชยดั ง กล่ า ว เป็ น โครงการผลประโยชน์ ห ลั ง ออก จากงานส� ำ หรั บ พนั ก งาน นอกจาก นั้ น บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยจั ด ให้ มี โครงการผลประโยชน์ ร ะยะยาวอื่ น ของพนั ก งาน ได้ แ ก่ โครงการเงิ น รางวั ล การปฏิ บั ติ ง านครบก� ำ หนด ระยะเวลา บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย ค� ำ น ว ณ ห นี้ สิ น ต า ม โ ค ร ง ก า ร ผ ล ประโยชน์ ห ลั ง ออกจากงานของ พนั ก งานและโครงการผลประโยชน์ ระยะยาวอื่ น ของพนั ก งาน โดยใช้ วิ ธี คิ ด ลดแต่ ล ะหน่ ว ยที่ ป ระมาณ การไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผู ้ เ ชี่ ย วชาญอิ ส ระได้ ท� ำ การ ประเมินภาระผูกพันดังกล่าวตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย ผลก� ำ ไรหรื อ ขาดทุ น จากการ ประมาณการตามหลั ก คณิ ต ศาสตร์ ประกันภัยส�ำหรับโครงการผลประโยชน์ ห ลั ง อ อ ก จ า ก ง า น ข อ ง พ นั ก ง า น จะรับรูท้ นั ทีในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ผลก� ำ ไรหรื อ ขาดทุ น จากการ ประมาณการตามหลั ก คณิ ต ศาสตร์ ป ร ะ กั น ภั ย ส� ำ ห รั บ โ ค ร ง ก า ร ผ ล ประโยชน์ ร ะยะยาวอื่ น ของพนั ก งาน


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

58

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

จะรับรู้ทันทีในงบก�ำไรขาดทุน 4.15 ประมาณการหนี้สิน

บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะบันทึก ประมาณการหนี้ สิ น ไว้ ใ นบั ญ ชี เ มื่ อ ภาระผูกพันซึ่งเป็นผลมาจากเหตุการณ์ ในอดี ต ได้ เ กิ ด ขึ้ น แล้ ว และมี ค วาม เป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าบริษัทฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยจะเสี ย ทรั พ ยากร เชิ ง เศรษฐกิ จ ไปเพื่ อ ปลดเปลื้ อ ง ภ า ร ะ ผู ก พั น นั้ น แ ล ะ ส า ม า ร ถ ป ร ะ ม า ณ มู ล ค ่ า ภ า ร ะ ผู ก พั น นั้ น ได้อย่างน่าเชื่อถือ 4.16 ภาษีเงินได้

ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ ปัจจุบันและภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ปัจจุบัน

บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยบั น ทึ ก ภาษีเงินได้ปัจจุบันตามจ�ำนวนที่คาด ว่าจะจ่ายให้กับหน่วยงานจัดเก็บภาษี ของรัฐ โดยค�ำนวณจากก�ำไรทางภาษี ตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดในกฎหมาย ภาษีอากร ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยบั น ทึ ก ภาษี เ งิ น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี ข องผล แตกต่างชัว่ คราวระหว่างราคาตามบัญชี ของสินทรัพย์และหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลารายงานกั บ ฐานภาษี ข อง สิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งนั้ น โดยใช้ อั ต ราภาษี ที่ มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยรั บ รู ้ หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของ ผลแตกต่ า งชั่ ว คราวที่ ต ้ อ งเสี ย ภาษี ทุกรายการ แต่รับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตั ด บั ญ ชี ส� ำ หรั บ ผลแตกต่ า ง

ชั่วคราวที่ใช้หักภาษี รวมทั้งผลขาดทุน ทางภาษี ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ ใ ช้ ใ นจ� ำ นวน เท่ า ที่ มี ค วามเป็ น ไปได้ ค ่ อ นข้ า งแน่ ที่ บ ริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยจะมี ก� ำ ไร ทางภาษี ใ นอนาคตเพี ย งพอที่ จ ะ ใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราว ที่ ใช้ หั ก ภาษี แ ละผลขาดทุ น ทางภาษี ที่ยังไม่ได้ใช้นั้น บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ย ่ อ ย จ ะ ทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทุกสิ้น รอบ ระยะเวลารายงานและจะท� ำ การ ปรั บ ลดมู ล ค่ า ตามบั ญ ชี ดั ง กล่ า ว หากมี ค วามเป็ น ไปได้ ค ่ อ นข้ า งแน่ ว ่ า บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยจะไม่ มี ก� ำ ไร ทางภาษีเพียงพอต่อการน�ำสินทรัพย์ ภาษี เ งิ น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี ทั้ ง หมด หรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์ บริษัทฯ และบริษัทย่อยจะบันทึก ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยตรงไป ยั ง ส่ ว นของผู ้ ถื อ หุ ้ น หากภาษี ที่ เ กิ ด ขึ้ น เกี่ ย วข้ อ งกั บ รายการที่ ไ ด้ บั น ทึ ก โดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น 4.17 ตราสารอนุพันธ์ สั ญ ญ า ซื้ อ ข า ย เ งิ น ต ร า ต ่ า ง ประเทศล่วงหน้า

สั ญ ญ า ซื้ อ ข า ย เ งิ น ต ร า ต ่ า ง ประเทศล่ ว งหน้ า แสดงตามมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม ซึ่ ง ค� ำ นวณโดยสถาบั น การ เงิ น ที่ น ่ า เชื่ อ ถื อ บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยรั บ รู ้ ก� ำ ไรหรื อ ขาดทุ น จากการ เปลี่ ย นแปลงมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของ สัญญาดังกล่าวในงบก�ำไรขาดทุน 4.18 การวัดมูลค่ายุติธรรม

มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม หมายถึ ง ราคาที่ คาดว่าจะได้รับจากการขายสินทรัพย์

หรื อ เป็ น ราคาที่ จ ะต้ อ งจ่ า ยเพื่ อ โอน หนี้ สิ น ให้ ผู ้ อื่ น โดยรายการดั ง กล่ า ว เป็ น รายการที่ เ กิ ด ขึ้ น ในสภาพปกติ ระหว่ า งผู ้ ซื้ อ และผู ้ ข าย (ผู ้ ร ่ ว มใน ตลาด) ณ วันที่วัดมูลค่า บริษัทฯ และ บริ ษั ท ย่ อ ยใช้ ร าคาเสนอซื้ อ ขายใน ตลาดที่มีสภาพคล่องในการวัดมูลค่า ยุ ติ ธ รรมของสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น ซึ่งมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งก� ำ หนดให้ ต ้ อ งวั ด มู ล ค่ า ด้ ว ยมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม ยกเว้ น ในกรณี ที่ ไ ม่ มี ต ลาดที่ มี ส ภาพคล่ อ งส� ำ หรั บ สิ น ทรั พ ย์ ห รื อ หนี้ สิ น ที่ มี ลั ก ษณะ เดียวกันหรือไม่สามารถหาราคาเสนอ ซื้ อ ขายในตลาดที่ มี ส ภาพคล่ อ งได้ บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยจะประมาณ มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมโดยใช้ เ ทคนิ ค การ ประเมิ น มู ล ค่ า ที่ เ หมาะสมกั บ แต่ ล ะ สถานการณ์ และพยายามใช้ ข ้ อ มู ล ที่ ส ามารถสั ง เกตได้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สิ น ทรั พ ย์ ห รื อ หนี้ สิ น ที่ จ ะวั ด มู ล ค่ า ยุติธรรมนั้นให้มากที่สุด ล� ำ ดั บ ชั้ น ของมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมที่ ใช้ วั ด มู ล ค่ า และเปิ ด เผยมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม ของสินทรัพย์และหนี้สินในงบการเงิน แบ่ ง ออกเป็ น สามระดั บ ตามประเภท ของข้อมูลที่น�ำมาใช้ในการวัดมูลค่า ยุติธรรม ดังนี้ ระดั บ 1 ใช้ ข ้ อ มู ล ราคาเสนอซื้ อ ขายของสิ น ทรั พ ย์ ห รื อ หนี้ สิ น อย่ า ง เดียวกันในตลาดที่มีสภาพคล่อง ระดั บ 2 ใช้ ข ้ อ มู ล อื่ น ที่ ส ามารถ สั ง เกตได้ ข องสิ น ทรั พ ย์ ห รื อ หนี้ สิ น ไม่วา่ จะเป็นข้อมูลทางตรงหรือทางอ้อม ระดั บ 3 ใช้ ข ้ อ มู ล ที่ ไ ม่ ส ามารถ สังเกตได้ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับกระแส


งบการเงิน

59

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

เงินสดในอนาคตที่กิจการประมาณขึ้น ทุ ก วั น สิ้ น รอบระยะเวลารายงาน บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยจะประเมิ น ความจ� ำ เป็ น ในการโอนรายการ ระหว่ า งล� ำ ดั บ ชั้ น ของมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม ส� ำ หรั บ สิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น ที่ ถื อ อยู ่ ณ วั น สิ้ น รอบระยะเวลารายงานที่ มี ก ารวั ด มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมแบบเกิ ด ขึ้ น ประจ�ำ 5. การใช้ดุลยพินิจและประมาณ การทางบัญชีที่ส�ำคัญ

ใ น ก า ร จั ด ท� ำ ง บ ก า ร เ งิ น ต า ม มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฝ่ า ยบริ ห ารจ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ และการประมาณการในเรื่ อ งที่ มี ความไม่แน่นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจ และการประมาณการดั ง กล่ า วนี้ ส่ ง ผลกระทบต่ อ จ� ำ นวนเงิ น ที่ แ สดง ในงบการเงิ น และต่ อ ข้ อ มู ล ที่ แ สดง ในหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง อาจแตกต่ า งไปจาก จ� ำ นวนที่ ป ระมาณการไว้ การใช้ ดุลยพินิจและการประมาณการที่ส�ำคัญ มีดังนี้ สัญญาเช่า

ในการพิ จ ารณาประเภทของ สั ญ ญาเช่ า ว่ า เป็ น สั ญ ญาเช่ า ด� ำ เนิ น งานหรื อ สั ญ ญาเช่ า ทางการเงิ น ฝ่ า ย บริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประเมิน เงื่ อ นไขและรายละเอี ย ดของสั ญ ญา เพื่ อ พิ จ ารณาว่ า บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยได้ โ อนหรื อ รั บ โอนความเสี่ ย ง และผลประโยชน์ ใ นสิ น ทรั พ ย์ ที่ เช่ า ดังกล่าวแล้วหรือไม่

มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของเครื่ อ งมื อ ทางการเงิน

ในการประเมิ น มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม ของเครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น ที่ ไ ม่ มี การซื้ อ ขายในตลาดและไม่ ส ามารถ หาราคาได้ ใ นตลาดซื้ อ ขายคล่ อ ง ฝ่ า ยบริ ห ารต้ อ งใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ ในการ ประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือ ทางการเงิ น ดั ง กล่ า ว โดยใช้ เ ทคนิ ค และแบบจ� ำ ลองการประเมิ น มู ล ค่ า ซึ่ ง ตั ว แปรที่ ใช้ ใ นแบบจ� ำ ลองได้ ม า จากการเที ย บเคี ย งกั บ ตั ว แปรที่ มี อยู ่ ใ นตลาด โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ความเสี่ ย ง ทางด้ า นเครดิ ต (ทั้ ง ของธนาคาร และคู ่ สั ญ ญา) สภาพคล่ อ ง ข้ อ มู ล ความสั ม พั น ธ์ และการเปลี่ ย นแปลง ของมู ล ค่ า ของเครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น ในระยะยาว การเปลี่ ย นแปลงของ สมมติฐานที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ใช้ ในการค� ำ นวณ อาจมี ผ ลกระทบต่ อ มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมที่ แ สดงอยู ่ ใ นงบแสดง ฐานะการเงิน และการเปิดเผยล�ำดับชั้น ของมูลค่ายุติธรรม ที่ ดิ น อาคาร และอุ ป กรณ์ แ ละ ค่าเสื่อมราคา

ในการค� ำ นวณค่ า เสื่ อ มราคาของ อาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็น ต้ อ งท� ำ การประมาณอายุ ก ารให้ ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือเมื่อเลิก ใช้ ง านของอาคารและอุ ป กรณ์ และ ต้ อ งทบทวนอายุ ก ารให้ ป ระโยชน์ และมู ล ค่ า คงเหลื อ ใหม่ ห ากมี ก าร เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้อง สอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคาร และอุ ป กรณ์ ใ นแต่ ล ะช่ ว งเวลาและ

บั น ทึ ก ขาดทุ น จากการด้ อ ยค่ า หาก คาดว่ า มู ล ค่ า ที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ คื น ต�่ำกว่ามูลค่า ตามบัญชีของสินทรัพย์ นั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจ�ำเป็นต้องใช้ ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์ รายได้ แ ละค่ า ใช้ จ ่ า ยในอนาคตซึ่ ง เกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

บริษทั ฯ จะรับรูส้ นิ ทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตั ด บั ญ ชี ส� ำ หรั บ ผลแตกต่ า ง ชั่ ว คราวที่ ใ ช้ หั ก ภาษี แ ละขาดทุ น ทางภาษีที่ไม่ได้ใช้เมื่อมีความเป็นไปได้ ค่ อ นข้ า งแน่ ว ่ า บริ ษั ท ฯ จะมี ก� ำ ไร ทางภาษี ใ นอนาคตเพี ย งพอที่ จ ะใช้ ประโยชน์ จ ากผลแตกต่ า งชั่ ว คราว และขาดทุ น นั้ น ในการนี้ ฝ ่ า ยบริ ห าร จ� ำ เป็ น ต้ อ งประมาณการว่ า บริ ษั ท ฯ ควรรั บ รู ้ จ� ำ นวนสิ น ทรั พ ย์ ภ าษี เ งิ น ได้ รอการตั ด บั ญ ชี เ ป็ น จ� ำ นวนเท่ า ใด โดยพิจารณาถึงจ�ำนวนก�ำไรทางภาษี ที่ ค าดว่ า จะเกิ ด ในอนาคตในแต่ ล ะ ช่วงเวลา การจ่ า ยโดยใช้ หุ ้ น เป็ น เกณฑ์ ที่ ช�ำระด้วยตราสารทุน

ในการประมาณมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม ของการจ่ า ยโดยใช้ หุ ้ น เป็ น เกณฑ์ ฝ่ า ยบริ ห ารต้ อ งใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ ในการ วั ด มู ล ค่ า รวมทั้ ง สมมติ ฐ านต่ า งๆ ที่ เหมาะสม เช่ น อายุ ข องสิ ท ธิ ซื้ อ หุ ้ น ความผันผวนของราคาหุ้น และอัตรา เงินปันผล เป็นต้น


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

60

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ผลประโยชน์ ห ลั ง ออกจากงาน ข อ ง พ นั ก ง า น ต า ม โ ค ร ง ก า ร ผ ล ประโยชน์ แ ละผลประโยชน์ ร ะยะยาว อื่นของพนักงาน

หนี้สินตามโครงการผลประโยชน์ หลั ง ออกจากงานของพนั ก งานและ ตามโครงการผลประโยชน์ ร ะยะ ยาวอื่ น ของพนั ก งาน ประมาณขึ้ น ตามหลั ก คณิ ต ศาสตร์ ป ระกั น ภั ย

ซึ่ ง ต้ อ งอาศั ย ข้ อ สมมติ ฐ านต่ า งๆ ในการประมาณการนั้ น เช่ น อั ต รา คิ ด ลด อั ต ราการขึ้ น เงิ น เดื อ นใน อนาคต อั ต รามรณะ และอั ต ราการ เปลี่ ย นแปลงในจ� ำ นวนพนั ก งาน เป็นต้น 6. รายการธุรกิจกับกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน

ในระหว่ า งปี บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่อยมีรายการธุรกิจที่ส�ำคัญกับบุคคล หรื อ กิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น รายการ ธุ ร กิ จ ดั ง กล่ า วเป็ น ไปตามเงื่ อ นไข ทางการค้ า และเกณฑ์ ต ามที่ ต กลง กั น ระหว่ า งบริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ย และบุค คลหรือ กิจการที่เกี่ยวข้อ งกัน เหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจโดย สามารถสรุปได้ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2560

2559

2560

2559

-

-

1,101 24 119 235 13 5 152 110

976 23 91 188 25 3 32 103

5 55 44 33

5 50 42 31

5 29 33

5 29 31

นโยบายการกำ�หนดราคา

รายการธุรกิจกับบริษัทย่อย

(ตัดออกจากงบการเงินรวมแล้ว) ขายสินค้า รายได้ค่าเช่าช่วงและค่าบริการช่วง รายได้จากการบริหารงาน เงินปันผลรับ ขายสินทรัพย์ถาวร รายได้ค่าเช่า ซื้อสินค้า ค่าฝึกอบรมจ่าย

ราคาทุนบวกก�ำไรส่วนเพิ่ม ตามอัตราที่ระบุในสัญญา ตามอัตราที่ระบุในสัญญา ตามอัตราที่ประกาศจ่าย ราคาตามบัญชีบวกก�ำไรส่วนเพิ่ม ตามอัตราที่ระบุในสัญญา ราคาตลาด ราคาตลาด

รายการธุรกิจกับกิจการทีเ่ กีย ่ วข้องกัน

รายได้ค่าตอบแทนสิทธิ ค่าตอบแทนสิทธิจ่าย ค่าเช่าอุปกรณ์ด�ำเนินงานจ่าย ค่าเช่าที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างจ่าย

ตามอัตราที่ระบุในสัญญา ตามอัตราที่ระบุในสัญญา ราคาตลาด ตามอัตราที่ระบุในสัญญา


งบการเงิน

61

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ยอดคงค้างระหว่างบริษทั ฯและบริษทั ย่อย และกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2560

2559

ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - กิจการที่ เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 9)

บริษัทย่อย บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (มีกรรมการร่วมกัน) รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

510,011

541,227

129,770,000 510,011

126,351,799 541,227

510,011

541,227

130,280,011

126,893,026

10,601,718

10,095,161

35,540,560 3,979,299

14,900,029 4,001,952

10,601,718

10,095,161

39,519,859

18,901,981

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - กิจการที่ เกี่ยวข้องกัน (หมายเหตุ 17)

บริษัทย่อย บริษัทที่เกี่ยวข้องกัน (มีกรรมการร่วมกัน) รวมเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ยอดคงค้างของเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 และการเคลื่อนไหว ของเงินให้กู้ยืมดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้

(หน่วย: บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ในระหว่างปี

ยอดคงเหลือ ณ

เงินให้กู้ยืม

บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ด ซัพพลาย จ�ำกัด รวม

ลักษณะ ความสัมพันธ์

บริ ษ ั ท ย่ อ ย

วันที่ 31 ธันวาคม 2559

1,000,000 1,000,000

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

เพิ่มขึ้น

ลดลง

22,000,000 22,000,000

(23,000,000) (23,000,000)

2560

-


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

62

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

เงิ น ให้ กู ้ ยื ม ระยะสั้ น แก่ กิ จ การที่ เกี่ ย วข้ อ งกั น เป็ น เงิ น ให้ กู ้ ยื ม ในรู ป ของตั๋วสัญญาใช้เงินประเภทไม่มีหลัก ประกัน คิดดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ย เงินฝากประจ�ำ 12 เดือนของธนาคาร พาณิชย์แห่งหนึ่งบวกร้อยละ 0.25 ต่อ ปี และมีก�ำหนดช�ำระคืนเมื่อทวงถาม บริ ษั ท ฯได้ รั บ ช� ำ ระเงิ น ให้ กู ้ ยื ม ระยะ สั้นดังกล่าวแล้วทั้งจ�ำนวนในระหว่าง ปีปัจจุบัน สัญญาส�ำคัญกับกิจการที่ เกี่ยวข้องกัน สัญญาให้สท ิ ธิในการใช้เครือ ่ งหมาย การค้ า และรู ป แบบการให้ บ ริ ก าร และ สิทธิในการด�ำเนินธุรกิจ

เมื่ อ วั น ที่ 10 กุ ม ภาพั น ธ์ 2537 บริ ษั ท ฯเข้ า ท� ำ สั ญ ญาให้ สิ ท ธิ ใ นการ ใช้ เ ครื่ อ งหมายการค้ า และรู ป แบบ การให้บริการ “เอ็ม เค เรสโตรองต์” ในการเปิ ด ร้ า นอาหารสุ กี้ ย ากี้ รู ป แบบไทยในประเทศญี่ ปุ ่ น แก่ บ ริ ษั ท พลีนัส-เอ็มเค จ�ำกัด ซึ่งเป็นกิจการที่ เกี่ ย วข้ อ งกั น ในประเทศญี่ ปุ ่ น โดยมี ค่ า ธรรมเนี ย มรายเดื อ นในอั ต ราตาม ที่ระบุในสัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุ 3 ปี แ ละจะต่ อ อายุ อ อกไปอี ก ทุ ก ๆ 3 ปีจนกว่าจะมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งแจ้งสิ้น สุ ด สั ญ ญาเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรก่ อ น วันสิ้นสุดสัญญา 180 วัน สัญญารับจ้างบริหารงาน

บริ ษั ท ฯเข้ า ท� ำ สั ญ ญารั บ จ้ า ง บริหารงานให้แก่ บริษัท เอ็ม เค อิน เตอร์ ฟู ้ ด จ� ำ กั ด ซึ่ ง บริ ษั ท ฯตกลง รั บ จ้ า งบริ ห ารงานในด้ า นการปฏิ บั ติ

งานที่สาขา ด้านการพัฒนาธุรกิจและ งานวิศวกรรม ด้านการจัดซื้อ ด้านการ ตลาด ด้านการบัญชีและการเงิน ด้าน การบริ ห ารงานบุ ค คลและด้ า นการ ควบคุมคุณภาพ โดยบริษัทฯจะได้รับ ค่ า ตอบแทนในการบริ ห ารงานตาม สัญญาเป็นรายเดือนในอัตราเดือนละ 9 ล้านบาท โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วัน ที่ 1 มกราคม 2560 - 28 กุมภาพันธ์ 2561 (2559: อัตราเดือนละ 7.6 ล้าน บาท) สั ญ ญาจะมี ก ารต่ อ อายุ อ อก ไปอี ก ทุ ก ๆ 2 ปี จนกว่ า บริ ษั ท ฯจะ ได้ รั บ หนั ง สื อ แจ้ ง ความประสงค์ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรจากบริ ษั ท เอ็ ม เค อินเตอร์ฟู้ด จ�ำกัด ล่วงหน้าก่อนสิ้นสุด ระยะเวลาในแต่ ล ะรอบไม่ น ้ อ ยกว่ า 3 เดือน บริ ษั ท ฯเข้ า ท� ำ สั ญ ญารั บ จ้ า ง บริ ห ารงานให้ แ ก่ บ ริ ษั ท เอ็ ม เค เซอร์วิส เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จ�ำกัด ซึ่ง บริ ษั ท ฯตกลงรั บ จ้ า งบริ ห ารงานใน ด้านการจัดซื้อ ด้านการบัญชีและการ เงิ น ด้ า นการบริ ห ารงานบุ ค คลและ บริหารงานการฝึกอบรม โดยบริษัทฯ จะได้ รั บ ค่ า ตอบแทนในการบริ ห าร งานตามสัญญาเป็นรายเดือนในอัตรา เดือนละ 0.8 ล้านบาท โดยมีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560 (2559: อัตราเดือนละ 0.5 ล้านบาท) สัญญาจะมีการต่ออายุ ออกไปอีกทุกๆ 2 ปี จนกว่าบริษัทฯจะ ได้ รั บ หนั ง สื อ แจ้ ง ความประสงค์ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรจากบริ ษั ท เอ็ ม เค เซอร์วิส เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จ�ำกัด ล่วง หน้ า ก่ อ นสิ้ น สุ ด ระยะเวลาในแต่ ล ะ รอบไม่น้อยกว่า 3 เดือน

บริ ษั ท ฯเข้ า ท� ำ สั ญ ญารั บ จ้ า ง บริ ห ารงานให้ แ ก่ บริ ษั ท อิ น เตอร์ เนชั่ น แนล ฟู ้ ด ซั พ พลาย จ� ำ กั ด ซึ่ ง บริ ษั ท ฯตกลงรั บ จ้ า งบริ ห ารงานใน ด้ า นการจั ด ซื้ อ ด้ า นการบั ญ ชี แ ละ การเงิ น ด้ า นการบริ ห ารงานบุ ค คล และด้ า นการควบคุ ม คุ ณ ภาพ โดย บริ ษั ท ฯจะได้ รั บ ค่ า ตอบแทนในการ บริ ห ารงานตามสั ญ ญาเป็ น รายเดื อ น ในอัตราเดือนละ 0.15 ล้านบาท โดย มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม 2560 - 31 ธั น วาคม 2560 (2559: อัตราเดือนละ 0.15 ล้านบาท) สัญญา จะมี ก ารต่ อ อายุ อ อกไปอี ก ทุ ก ๆ 1 ปี จนกว่ า บริ ษั ท ฯจะได้ รั บ หนั ง สื อ แจ้ ง ความประสงค์ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร จากบริ ษั ท อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล ฟู ้ ด ซัพพลาย จ�ำกัด ล่วงหน้าก่อนสิ้นสุด ระยะเวลาในแต่ ล ะรอบไม่ น ้ อ ยกว่ า 3 เดือน สั ญ ญาให้ เ ช่ า ช่ ว งสิ ท ธิ ก ารเช่ า พื้นที่และสัญญาให้บริการช่วง

บริ ษั ท ฯเข้ า ท� ำ สั ญ ญาให้ เ ช่ า ช่ ว งสิ ท ธิ ก ารเช่ า พื้ น ที่ แ ละสั ญ ญาให้ บริการช่วงแก่บริษัท เอ็ม เค อินเตอร์ฟู้ด จ�ำกัด ทั้งสิ้น 6 แห่ง รายได้ค่าเช่าช่วง และค่าบริการช่วงเป็นไปตามเงื่อนไข ของสัญญาแต่ละฉบับ สัญญาดังกล่าว มี อ ายุ 3 ปี และสามารถต่ อ อายุ ออกไปอีกทุกๆ 3 ปี หากบริษัท เอ็ม เค อินเตอร์ฟู้ด จ�ำกัด มิได้ปฏิบัติผิดสัญญา สัญญาให้เช่าอาคาร

เมื่ อ วั น ที่ 1 กุ ม ภาพั น ธ์ 2559 บริ ษั ท ฯเข้ า ท� ำ สั ญ ญาให้ เช่ า อาคาร กั บ บริ ษั ท อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล ฟู ้ ด ซัพพลาย จ�ำกัด โดยที่ฝ่ายหลังตกลง


งบการเงิน

63

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ที่จะจ่ายค่าเช่าให้บริษัทฯเป็นจ�ำนวน 0.54 ล้านบาทต่อเดือน สัญญาให้เช่า นี้มีก�ำหนดระยะเวลาเช่า 6 ปี นับแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2559 ถึงวันที่ 30 เมษายน 2565 ต่ อ มาเมื่ อ วั น ที่ 17 พฤษภาคม 2559 บริษัทฯและบริษัท อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล ฟู ้ ด ซั พ พลาย จ� ำ กั ด ตกลงเปลี่ ย นจ� ำ นวนพื้ น ที่ เช่ า และอั ต ราค่ า เช่ า เป็ น จ� ำ นวน 0.37 ล้านบาทต่อเดือน เมื่ อ วั น ที่ 15 มิ ถุ น ายน 2560 และบริ ษั ท อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล ฟู ้ ด ซัพพลาย จ�ำกัด ตกลงเปลี่ยนจ�ำนวน พื้นที่เช่าและอัตราค่าเช่าเป็นจ�ำนวน 0.46 ล้านบาทต่อเดือน สัญญาเช่าที่ดิน อาคารและโกดัง เก็บสินค้า

เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ ได้ท�ำสัญญาเช่าที่ดิน อาคาร และโกดัง เก็บสินค้ากับบริษัท โกลบอล แอสเซท ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด โดยที่ฝ่ายหลัง ตกลงให้เช่าที่ดิน รวม 6 โฉนด พร้อม สิ่ ง ปลู ก สร้ า ง และบริ ษั ท ฯตกลงที่ จะจ่ า ยค่ า เช่ า เป็ น จ� ำ นวน 1.69 ล้ า น บาทต่อเดือน สัญญามีผลบังคับตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2558 จนถึงวันที่ 31 ธั น วาคม 2560 และบริ ษั ท ฯจะต้ อ ง แจ้งความจ�ำนงการต่ออายุสัญญาเช่า ก่ อ นระยะเวลาเช่ า เดิ ม สิ้ น สุ ด ลงไม่ น้อยกว่า 90 วัน เมื่ อ วั น ที่ 16 พฤศจิ ก ายน 2560 บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท โกลบอล แอส เซท ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด ได้ตกลง ท� ำ สั ญ ญาเช่ า ฉบั บ ใหม่ โดยที่ ฝ ่ า ย หลั ง ตกลงให้ เช่ า ที่ ดิ น พร้ อ มสิ่ ง ปลู ก สร้ า ง และบริ ษั ท ฯตกลงที่ จ ะจ่ า ยค่ า

เช่ า เป็ น จ� ำ นวน 1.94 ล้ า นบาทต่ อ เดือน สัญญามีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2563 และบริ ษั ท ฯจะต้ อ งแจ้ ง ความ จ� ำ นงการต่ อ อายุ สั ญ ญาเช่ า ก่ อ น ระยะเวลาเช่ า เดิ ม สิ้ น สุ ด ลงไม่ น ้ อ ย กว่า 90 วัน สั ญ ญาเช่ า ที่ ดิ น และอาคารคลั ง สินค้า

เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2556 บริษัทฯ ได้ ท� ำ สั ญ ญาเช่ า ที่ ดิ น และอาคารคลั ง สิ น ค้ า กั บ บริ ษั ท โกลบอล แอสเซท ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด โดยที่ฝ่ายหลัง ตกลงให้ เ ช่ า ที่ ดิ น และอาคารคลั ง สิ น ค้ า และบริ ษั ท ฯตกลงที่ จ ะจ่ า ยค่ า เช่าตามอัตราที่ระบุในสัญญา สัญญา เช่ า นี้ มี ก� ำ หนดระยะเวลาเช่ า 20 ปี นับแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 ถึง วันที่ 31 ตุลาคม 2576 ทั้งนี้สัญญาดัง กล่ า วระบุ ใ ห้ บ ริ ษั ท ฯเริ่ ม ช� ำ ระค่ า เช่ า งวดแรกในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 เป็ น ต้ น ไป และบริ ษั ท ฯจะต้ อ งแจ้ ง ความจ�ำนงการต่ออายุสัญญาเช่าก่อน ระยะเวลาเช่ า เดิ ม สิ้ น สุ ด ลงไม่ น ้ อ ย กว่า 90 วัน

เมื่ อ วั น ที่ 18 เมษายน 2559 บริ ษั ท ฯได้ ท� ำ สั ญ ญาเช่ า ที่ ดิ น เพิ่ ม เติ ม กั บ บริ ษั ท โกลบอล แอสเซท ดี เวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด โดยที่ฝ่ายหลัง ตกลงให้ เช่ า ที่ ดิ น และบริ ษั ท ฯตกลง ที่ จ ะจ่ า ยค่ า เช่ า ตามอั ต ราที่ ร ะบุ ใ น สั ญ ญา สั ญ ญาเช่ า นี้ มี ก� ำ หนดระยะ เวลาเช่า 17 ปี 6 เดือน นับแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2559 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2576 ทั้ ง นี้ สั ญ ญาดั ง กล่ า วระบุ ใ ห้ บริษัทฯเริ่มช�ำระค่าเช่างวดแรกในวัน ที่ 1 พฤษภาคม 2559 เป็นต้นไป และ บริษัทฯจะต้องแจ้งความจ�ำนงการต่อ อายุสัญญาเช่าก่อนระยะเวลาเช่าเดิม สิ้นสุดลงไม่น้อยกว่า 90 วัน ค่าตอบแทนกรรมการและ ผู้บริหาร

ในระหว่ า งปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษัทฯและ บริ ษั ท ย่ อ ยมี ค ่ า ใช้ จ ่ า ยผลประโยชน์ พนั ก งานที่ ใ ห้ แ ก่ ก รรมการและผู ้ บริหาร ดังต่อไปนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560

2559

ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน ผลประโยชน์ ที่ จ ่ า ยโดยใช้ หุ ้ น เป็ น เกณฑ์

131 3

117 3

5

15

รวม

139

135

ในระหว่างปี 2560 บริษัทฯมีการจ่ายผลประโยชน์หลังออกจากงานแก่กรรมการ และผู้บริหารจ�ำนวน 15 ล้านบาท (2559: ไม่มี)


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

64

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 7. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559

2560

2559

เงินสด

143,447,079

158,577,057

121,779,125

135,881,696

เงินฝากธนาคาร

266,174,753

163,947,196

209,760,830

100,385,456

รวม

409,621,832

322,524,253

331,539,955

236,267,152

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงินฝากออมทรัพย์มีอัตราดอกเบี้ยระหว่างร้อยละ 0.10 ถึง 0.40 ต่อปี (2559: ร้อยละ 0.10 ถึง 0.40 ต่อปี) 8. เงินลงทุนชั่วคราว 8.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 เงินลงทุนชั่วคราวประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559

2560

2559

เงินฝากประจ�ำ

4,825,636,663

5,963,176,000

4,825,636,663

5,913,176,000

เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้า (หมายเหตุ 8.2)

4,510,493,176

2,254,991,095

3,893,488,440

1,968,308,397

เงินลงทุนในกองทุนส่วนบุคคล (หมายเหตุ 8.3)

-

1,070,088,224

-

1,070,088,224

9,336,129,839

9,288,255,319

8,719,125,103

8,951,572,621

รวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงินฝากประจ�ำมีอัตราดอกเบี้ยระหว่างร้อยละ 1.60 ถึง 2.06 ต่อปี (2559: ร้อยละ 1.63 ถึง 2.03 ต่อปี)


งบการเงิน

65

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 8.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้า ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

หน่วยลงทุนของกองทุนเปิดในประเทศ ราคาทุน บวก: ก�ำไรจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่า เงินลงทุนชั่วคราวในหลักทรัพย์เพื่อค้า มูลค่ายุติธรรม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2560

2559

2560

2559

4,481,030,650

2,235,967,461

3,865,114,465

1,949,646,417

29,462,526

19,023,634

28,373,975

18,661,980

4,510,493,176

2,254,991,095

3,893,488,440

1,968,308,397

รายการเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้าส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุปได้ดังนี้

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2560

ยอดคงเหลือต้นปี

ซื้อเพิ่ม จ�ำหน่าย

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2560

2559

2,254,991,095

3,740,994,671

1,968,308,397

3,410,908,401

20,313,712,188

16,379,290,114

17,633,912,187

14,347,989,114

(18,116,512,187) (17,927,056,029) (15,760,012,187) (15,848,056,029)

ก�ำไรจากการจ�ำหน่ายเงินลงทุน

47,863,188

52,680,938

41,568,048

48,086,346

ก�ำไรจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่า

10,438,892

9,081,401

9,711,995

9,380,565

4,510,493,176

2,254,991,095

3,893,488,440

1,968,308,397

ยอดคงเหลือปลายปี


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

66

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 8.3 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 เงินลงทุนในกองทุนส่วนบุคคล ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม / งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560

2559

เงินฝากกับสถาบันการเงิน

เงินฝากประจ�ำ

971,018,880

-

เงินฝากกับสถาบันการเงิน

971,018,880

-

-

1,043,275,344

เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย

ตราสารหนี้ภาคเอกชนในความต้องการของตลาดในต่างประเทศ - ราคาทุน หุ้นกู้ในประเทศ - ราคาทุนตัดจ�ำหน่าย บวก: ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้น

148,708,817 -

31,470,000

หัก: ตัดจ�ำหน่ายส่วนเกินมูลค่าหลักทรัพย์

(159,642)

-

หัก: ขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่า

(211,298)

(4,657,120)

148,377,877

1,070,088,224

1,119,356,757

1,070,088,224

เงินลงทุนชั่วคราว (หมายเหตุ 8)

325,636,663

1,070,088,224

เงินลงทุนระยะยาวอื่น (หมายเหตุ 13)

793,720,094

-

เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - มูลค่ายุติธรรม รวมเงินลงทุนในกองทุนส่วนบุคคล จัดประเภทเป็น


งบการเงิน

67

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

รายการเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุปได้ดังนี้

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560

2559

1,070,088,224 (31,470,000) 4,657,120 148,708,817

1,043,275,344

(1,066,979,913) 23,704,569 (1,043,275,344) (159,642) (211,298) 148,337,877

31,470,000 (4,657,120) 1,070,088,224

ยอดคงเหลือต้นปี

โอนกลับก�ำไรจากการอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้น ณ วันต้นปี โอนกลับขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่า ณ วันต้นปี ซื้อเพิ่ม จ�ำหน่ายระหว่างงวด - ราคาทุน เงินสดรับจากการจ�ำหน่าย ก�ำไรจากการจ�ำหน่าย รวม ก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้น ตัดจ�ำหน่ายส่วนเกินมูลค่าหลักทรัพย์ ขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่า ยอดคงเหลือปลายปี

บริ ษั ท ฯได้ จั ด ตั้ ง กองทุ น ส่ ว น บุ ค คลเพื่ อ การลงทุ น ซึ่ ง บริ ห ารงาน โดยบริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น โดยมี ก ารลงทุ น ในตราสารหนี้ ใ น ประเทศและต่างประเทศ บริษัทฯ จัด ประเภทเงิ น ลงทุ น ดั ง กล่ า วเป็ น เงิ น ลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ในระหว่ า งปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯจ�ำหน่ายเงิน ลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย์ เ ผื่ อ ขายและ กลั บ รายการการเปลี่ ย นแปลงมู ล ค่ า

ยุ ติ ธ รรมของเงิ น ลงทุ น ที่ เ คยบั น ทึ ก ไว้ในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นจ�ำนวน 4.66 ล้านบาท ไปก�ำไรหรือขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ ได้ ป ระเมิ น มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของเงิ น ลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายดังกล่าว โดยใช้ มู ล ค่ า อ้ า งอิ ง จากบริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ดั ง กล่ า วข้ า ง ต้ น ซึ่ ง มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของเงิ น ลงทุ น ลดลงจ�ำนวน 0.21 ล้านบาท (2559: 4.66 ล้ า นบาท) บริ ษั ท ฯบั น ทึ ก การ

เปลี่ ย นแปลงมู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของเงิ น ลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายดังกล่าว ในก� ำ ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ อื่ น ในงบ ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ แสดงรายการเงิ น ลงทุ น ในกองทุ น ส่วนบุคคลที่จะครบก�ำหนดเกิน 1 ปี จ�ำนวนรวม 793.7 ล้านบาท ไว้ภาย ใต้บัญชี “เงินลงทุนระยะยาวอื่น” ใน ส่วนของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนในงบ แสดงฐานะการเงิน


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

68

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 9. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2560

2559

ลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ

-

-

113,750,530

103,331,679

รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

-

-

113,750,530

103,331,679

อายุหนี้คงค้างนับจากวันที่ถึงก�ำหนดช�ำระ ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระ

29,492,686

27,589,188

23,501,643

23,763,631

รวมลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน

29,492,686

27,589,188

23,501,643

23,763,631

รวมลูกหนี้การค้า

29,492,686

27,589,188

137,252,173

127,095,310

ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินทดรองจ่าย ดอกเบี้ยเงินฝากค้างรับ อื่นๆ

510,011 11,421,934 19,605,436 14,785,217

541,227 11,103,253 48,111,939 16,600,977

16,529,481 10,084,575 19,605,436 11,447,018

23,561,347 9,713,221 47,329,679 10,023,660

รวมลูกหนี้อื่น

46,322,598

76,357,396

57,666,510

90,627,907

รวมลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

75,815,284

103,946,584

194,918,683

217,723,217

ลูกหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน

ลูกหนี้อื่น


งบการเงิน

69

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 10. สินค้าคงเหลือ

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม ราคาทุน

สินค้าส�ำเร็จรูป วัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ รวม

รายการปรับลดราคาทุน ให้เป็นมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ

2560

2559

222,415,319 45,990,959 81,963,741 350,370,019

211,710,357 41,364,568 70,854,422 323,929,347

สินค้าคงเหลือ - สุทธิ

2560

2559

(24,818) (24,818)

(86,355) (86,355)

2560

2559

222,390,501 45,990,959 81,963,741 350,345,201

211,624,002 41,364,568 70,854,422 323,842,992 (หน่วย: บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาทุน

สินค้าส�ำเร็จรูป วัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ รวม

รายการปรับลดราคาทุน ให้เป็นมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ

2560

2559

205,143,926 43,094,479 79,815,896 328,054,301

194,319,299 40,803,351 69,217,736 304,340,386

2560

สินค้าคงเหลือ - สุทธิ

2559

-

-

2560

2559

205,143,926 43,094,479 79,815,896 328,054,301

194,319,299 40,803,351 69,217,736 304,340,386

ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทย่อยกลับรายการปรับลดมูลค่าสินค้าคงเหลือเป็นจ�ำนวน 0.06 ล้านบาท โดยน�ำไปหัก จากมูลค่าของสินค้าคงเหลือที่รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในระหว่างงวด (2559: บริษัทย่อยบันทึกการปรับลดราคาทุนของสินค้า คงเหลือให้เป็นมูลค่าสุทธิที่จะได้รับจ�ำนวน 0.09 ล้านบาท โดยแสดงเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนขาย)


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

70

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 11. เงินลงทุนในบริษัทย่อย

เงินลงทุนในบริษัทย่อยตามที่แสดงในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (หน่วย: บาท) บริษัท

ทุนชำ�ระแล้ว 2560

2559

สัดส่วนการ ลงทุน 2560

2559

เงินปันผลที่บริษัทฯ รับสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

ราคาทุน 2560

2559

2560

2559

(ร้อยละ) (ร้อยละ)

บริษัท เอ็ม เค อินเตอร์ฟู้ด จ�ำกัด 400,000,000 400,000,000 บริษัท เอ็มเค เซอร์วิส เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ จ�ำกัด 35,000,000 35,000,000 บริษัท อินเตอร์ เนชั่นแนล ฟู้ด ซัพพลาย จ�ำกัด 280,000,000 100,000,000 รวม

100

100 299,049,977 299,049,977 199,999,965 159,999,972

100

100 52,429,895 52,429,895 34,999,930 27,999,944

100

100 279,999,970 99,999,970 631,479,842 451,479,842 234,999,895 187,999,916

เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติอนุมัติการลงทุนเพิ่มในบริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ด ซัพพลาย จ�ำกัด (“บริษัทย่อย”) จ�ำนวน 180 ล้านบาท บริษัทย่อยดังกล่าวมีทุนจดทะเบียนเพิ่มจาก 100 ล้านบาท เป็น 280 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 28 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท) โดยบริษัทฯ มีสัดส่วนการถือหุ้นคงเดิมในอัตราร้อยละ 100 บริษัทย่อยได้จดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2560


งบการเงิน

71

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 12. เงินลงทุนในการร่วมค้า 12.1 รายละเอียดของเงินลงทุนในการร่วมค้า

เงินลงทุนในการร่วมค้านี้เป็นเงินลงทุนในกิจการซึ่งบริษัทฯ และบริษัทอื่นควบคุมร่วมกัน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม การร่วมค้า ลักษณะ ทุนชำ�ระ ธุรกิจ แล้ว

สัดส่วนเงิน ลงทุน 2560 2559

มูลค่าตามบัญชี ตามวิธีส่วนได้เสีย 2560

2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาทุน 2560

2559

ค่าเผื่อ การด้อยค่า 2560

มูลค่าตามบัญชีตาม วิธีราคาทุน - สุทธิ

2559

2560

2559

(ร้อยละ)(ร้อยละ)

บริษัท พลีนัส 12.5ล้ า น ร้ า น แอนด์ เอ็ม เค เหรี ย ญ 50 อาหาร พีทีอี ลิมิเท็ด สิ ง คโปร์ รวม

50 75,875,225 98,081,853 149,207,500 149,207,500 (51,125,647)

- 98,081,853 149,207,500

75,875,225 98,081,853 149,207,500 149,207,500 (51,125,647)

- 98,081,853 149,207,500

ในระหว่างปี 2560 บริษัทฯ ได้บันทึกค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริษัท พลีนัส แอนด์ เอ็ม เค พีทีอี ลิมิเท็ด จ�ำนวน 51.1 ล้านบาท เนื่องจากฝ่ายบริหารของบริษัทฯ พิจารณาว่ามีข้อบ่งชี้ของการลดลงของมูลค่าเงินลงทุนดังกล่าว


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

72

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 12.2 ส่วนแบ่งขาดทุน

ในระหว่างปี ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้าในงบการเงินรวมมีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย: พันบาท) การร่วมค้า

งบการเงินรวม 2560

บริษัท พลีนัส แอนด์ เอ็ม เค พีทีอี ลิมิเท็ด

2559

21,846

19,833

12.3 ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของการร่วมค้า

บริษัท พลีนัส แอนด์ เอ็ม เค พีทีอี ลิมิเท็ด สรุปรายการฐานะทางการเงิน

(หน่วย: พันบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

2559

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

80,529 108,106

129,202 106,609

สินทรัพย์รวม

188,635

235,811

หนี้สินหมุนเวียน

36,885

39,647

หนี้สินรวม

36,885

39,647

151,750 50

196,164 50

สัดส่วนตามส่วนได้เสียของกิจการในสินทรัพย์สุทธิ

75,875

98,082

มูลค่าตามบัญชีของส่วนได้เสียของกิจการในการร่วมค้า

75,875

98,082

สินทรัพย์สุทธิ

สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ)


งบการเงิน

73

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

สรุปรายการก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

(หน่วย: พันบาท) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

รายได้ รายได้อื่น ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ขาดทุนส�ำหรับปี ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

2559

298,279 3,600 (81,009) (264,561) (43,691) (43,691) 50

345,665 5,348 (93,437) (297,242) (39,666) (39,666) 50

สัดส่วนตามส่วนได้เสียของกิจการในก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

(21,846)

(19,833)

ส่วนแบ่งขาดทุนจากการลงทุนในการร่วมค้า

(21,846)

(19,833)

ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม

สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ)

13. เงินลงทุนระยะยาวอื่น

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560

2559

เงินลงทุนในกองทุนส่วนบุคคล (หมายเหตุ 8.3)

เงินฝากประจ�ำ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย รวมเงินลงทุนในกองทุนส่วนบุคคล

645,382,217 148,337,877 793,720,094

-

ตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดต่างประเทศ - ราคาทุน หัก: ค่าเผื่อการด้อยค่า เงินลงทุนทั่วไป - สุทธิ รวมเงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ

7,278,275 (7,278,275) 793,720,094

7,278,275 (7,278,275) -

เงินลงทุนทั่วไป

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เงินฝากประจ�ำมีอัตราดอกเบี้ยระหว่างร้อยละ 2.01 ถึง 2.06 ต่อปี


-

31 ธันวาคม 2560

20,289,083 309,505,632

-

(9,808) 17,196,616 286,175,064 3,118,295 23,330,568

-

(25,828)

14,047,356 261,807,085 3,159,068 24,367,979

-

อาคาร

ส่วนปรับปรุง พื้นที่เช่า

งานระบบ

(23,620,311)

970,980,027 1,330,857,294

(9,811,194)

(10,144,893) (12,211,314) 828,016,667 1,173,460,968 152,774,554 181,016,637

689,988,301 1,006,519,506 148,173,259 179,152,776

22,148,745 523,040,409 2,306,647,360 2,150,617,809 - 3,124,307 16,507,780 16,036,874 - 134,122,288 106,409,092 (16,092) - (22,143,625) (17,835,309) 22,132,653 526,164,716 2,435,133,803 2,255,228,466 105,000 639,360 30,890,442 21,760,731 790,927 102,580,581 76,805,442 (33,525) - (20,338,301) (31,328,220) 22,204,128 527,595,003 2,548,266,525 2,322,466,419

ส่วนปรับปรุง ที่ดิน

-

333,100,308 333,100,308 333,100,308

1 มกราคม 2559 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับส่วนที่ จ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2559 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับส่วนที่ จ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่าย

ค่าเสื่อมราคาสะสม

1 มกราคม 2559 ซื้อเพิ่ม โอนเข้า(ออก) จ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2559 ซื้อเพิ่ม โอนเข้า(ออก) จ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2560

ราคาทุน

ที่ดิน

14. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

1,474,864,180

(12,221,639)

(31,433,137) 1,318,681,347 168,404,472

1,163,261,108 186,853,376

1,603,904,250 125,704,257 34,982,833 (35,760,787) 1,728,830,553 107,648,314 12,219,158 (14,953,055) 1,833,744,970

93,999,078

(58,256)

(112,627) 67,528,845 26,528,489

46,961,796 20,679,676

113,484,110 11,193,714 23,488,883 (245,000) 147,921,707 12,704,659 4,507,318 (59,000) 165,074,684

อุปกรณ์เครื่องครัว เครื่องจักรและ และอุปกรณ์ อุปกรณ์ ดำ�เนินงาน

งบการเงินรวม

2,316,760,046

(22,577,645)

(43,724,555) 2,128,663,125 210,674,566

1,958,127,048 214,260,632

2,497,317,138 56,370,222 105,773,477 (45,094,103) 2,614,366,734 85,680,118 67,474,415 (23,315,919) 2,744,205,348

เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและอุปกรณ์ สำ�นักงาน

196,629,290

(7,190,942)

(18,126,163) 173,134,586 30,685,646

158,559,649 32,701,100

237,834,612 1,245,000 29,269,065 (18,130,394) 250,218,283 1,112,500 16,491,306 (8,087,710) 259,734,379

ยานพาหนะ

รวม

(75,505,815) - 6,713,884,630

-

- (115,762,497) - 5,992,857,218 - 796,533,227

- 5,299,271,849 - 809,347,866

103,333,215 9,891,427,956 370,059,931 600,242,085 (434,045,638) - (139,225,310) 39,347,508 10,352,444,731 309,377,183 569,918,307 (280,869,147) - (98,115,730) 67,855,544 10,824,247,308

งานระหว่างก่อสร้าง และอุปกรณ์ ระหว่างติดตั้ง

(หน่วย: บาท)

74


-

-

ส่วนปรับปรุง พื้นที่เช่า

งานระบบ

-

98,111,674 98,111,674 98,111,674

อุปกรณ์ เครื่องครัวและ อุปกรณ์ดำ�เนิน งาน

-

เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและ อุปกรณ์ สำ�นักงาน

-

ยานพาหนะ

98,111,674 98,111,674 98,111,674

รวม

39,347,508 4,261,475,839 67,855,544 4,012,251,004

-

งานระหว่าง ก่อสร้าง และอุปกรณ์ ระหว่างติดตั้ง

796,533,227

80,392,862 485,703,609 77,083,697 71,075,606 427,445,302 63,105,089

-

เครื่องจักรและ อุปกรณ์

2560 (จ�ำนวน 155.0 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร)

4,936,037 239,989,652 1,607,117,136 1,081,767,498 312,037,532 1,915,045 218,089,371 1,577,286,498 991,609,125 260,769,116

-

อาคาร

809,347,866

333,100,308 333,100,308

-

ส่วนปรับปรุง ที่ดิน

งบการเงินรวม

(หน่วย: บาท)

2559 (จ�ำนวน 153.2 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร)

ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี

31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560

มูลค่าสุทธิตามบัญชี

1 มกราคม 2559 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560

ค่าเผื่อการด้อยค่า

ที่ดิน

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

75


1 มกราคม 2559 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ค่ า เสื่ อ มราคาส� ำ หรั บ ส่ ว นที่ จ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2559 ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี ค่ า เสื่ อ มราคาส� ำ หรั บ ส่ ว นที่ จ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2560

ค่าเสื่อมราคาสะสม

1 มกราคม 2559 ซื้อเพิ่ม โอนเข้า (ออก) จ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2559 ซื้อเพิ่ม โอนเข้า (ออก) จ�ำหน่าย/ตัดจ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2560

ราคาทุน

อาคาร

ส่วนปรับปรุง พื้นที่เช่า

งานระบบ

14,047,356 244,631,590 615,192,347 887,087,028 3,159,068 21,419,161 127,858,336 148,176,860

(9,808) - (9,825,142) (12,303,403) 17,196,616 266,050,751 733,225,541 1,022,960,485 3,118,295 20,381,749 130,252,430 148,808,908

(25,828) - (7,777,763) (20,851,728) 20,289,083 286,432,500 855,700,208 1,150,917,665

-

-

22,148,745 464,064,048 2,044,843,158 1,859,637,488 3,124,307 14,268,236 14,708,109 - 78,361,175 58,453,462 (16,092) - (20,593,847) (18,044,535) 22,132,653 467,188,355 2,116,878,722 1,914,754,524 105,000 639,360 27,273,159 16,313,144 790,927 71,287,901 51,990,594 (33,525) - (14,338,705) (25,628,288) 22,204,128 468,618,642 2,201,101,077 1,957,429,974

ส่วนปรับปรุง ที่ดิน

-

311,361,198 311,361,198 311,361,198

ที่ดิน

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

(12,434,011) 1,116,917,183

(31,927,811) 1,014,521,422 114,829,772

913,580,912 132,868,321

1,233,716,987 80,588,672 17,187,507 (43,494,851) 1,287,998,315 80,551,919 5,072,432 (21,474,954) 1,352,147,712

อุปกรณ์เครือ ่ งครัว และอุปกรณ์ ดำ�เนินงาน

(58,256) 89,637,297

(112,627) 66,179,937 23,515,616

46,961,796 19,330,768

113,484,110 9,169,626 (2,116,845) (245,000) 120,291,891 10,850,404 (59,000) 131,083,295

เครื่องจักร และอุปกรณ์

งบการเงินเฉพาะกิจการ

237,834,612 1,245,000 29,269,065 (18,824,151) 249,524,526 1,112,500 16,491,306 (8,087,710) 259,040,622

ยานพาหนะ

(20,267,437) (7,190,942) 2,031,322,612 195,978,885

(42,329,413) (18,710,768) 1,881,035,937 172,530,581 170,554,112 30,639,246

1,749,425,814 158,559,647 173,939,536 32,681,702

2,190,656,061 35,080,184 77,652,690 (44,279,197) 2,259,109,738 72,291,775 43,607,285 (20,581,994) 2,354,426,804

เครื่องตกแต่ง ติดตัง ้ และอุปกรณ์ สำ�นักงาน

8,561,771,516 387,334,452 (152,366,035) 8,796,739,933 399,331,667 (96,051,821) 9,100,019,779

รวม

- (68,605,965) - 5,747,195,433

- (115,218,972) - 5,173,701,270 - 642,100,128

- 4,629,486,490 - 659,433,752

84,025,109 229,150,318 (258,807,054) (6,868,362) 47,500,011 190,194,406 (189,240,445) (5,847,645) 42,606,327

งานระหว่างก่อสร้าง และอุปกรณ์ระหว่าง ติดตั้ง

(หน่วย: บาท)

76


-

-

ส่วนปรับปรุง พื้นที่เช่า

งานระบบ

54,111,954 41,445,998

-

เครื่องจักร และอุปกรณ์

378,073,801 323,104,192

-

เครื่องตกแต่ง ติด ตั้งและอุปกรณ์ สำ�นักงาน

76,993,945 63,061,737

-

ยานพาหนะ

79,596,910 79,596,910 79,596,910

รวม

47,500,011 3,543,441,753 42,606,327 3,273,227,436

-

งานระหว่างก่อสร้าง และอุปกรณ์ระหว่าง ติดตั้ง

642,100,128

193,879,983 155,633,619

79,596,910 79,596,910 79,596,910

อุปกรณ์ เครื่องครัวและ อุปกรณ์ดำ�เนินงาน

2560 (จ�ำนวน 147.0 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร)

4,936,037 201,137,604 1,383,653,181 891,794,039 1,915,045 182,186,142 1,345,400,869 806,512,309

-

อาคาร

659,433,752

311,361,198 311,361,198

-

ส่วนปรับปรุง ที่ดิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(หน่วย: บาท)

2559 (จ�ำนวน 147.5 ล้านบาท รวมอยู่ในต้นทุนการผลิต ส่วนที่เหลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร)

ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับปี

31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560

มูลค่าสุทธิตามบัญชี

1 มกราคม 2559 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560

ค่าเผื่อการด้อยค่า

ที่ดิน

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ)

77


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

78

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีอุปกรณ์จ�ำนวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยัง ใช้งานอยู่ มูลค่าตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจ�ำนวนเงินประมาณ 3,960 ล้านบาท และ 3,394 ล้านบาท ตามล�ำดับ (เฉพาะของบริษัทฯ: 3,503 ล้านบาท และ 3,074 ล้านบาท ตามล�ำดับ) 15. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่เป็นคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์มีรายละเอียดดังนี้

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

งบการเงิน เฉพาะกิจการ

ราคาทุน

1 มกราคม 2559 ซื้อเพิ่ม 31 ธันวาคม 2559 ซื้อเพิ่ม ตัดจ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2560

161,980,450 12,874,997 174,855,447 6,404,045 (246,744) 181,012,748

156,740,654 9,691,697 166,432,351 6,059,403 (193,244) 172,298,510

64,218,190 15,782,874 80,001,064 15,721,426 (211,565) 95,510,925

61,877,132 15,026,371 76,903,503 14,940,969 (187,948) 91,656,524

94,854,383 85,501,823

89,528,848 80,641,986

15,782,874 15,721,426

15,026,371 14,940,969

ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม

1 มกราคม 2559 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี 31 ธันวาคม 2559 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับส่วนที่ตัดจ�ำหน่าย 31 ธันวาคม 2560 มูลค่าสุทธิตามบัญชี

31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี

2559 2560


งบการเงิน

79

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 16. สิทธิการเช่า

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

งบการเงิน เฉพาะกิจการ

ราคาทุน

1 มกราคม 2559 ซื้อเพิ่ม 31 ธันวาคม 2559 ซื้อเพิ่ม 31 ธันวาคม 2560

1,058,827,290 39,755,000 1,098,582,290 24,960,000 1,123,542,290

1,022,447,531 39,755,000 1,062,202,531 24,960,000 1,087,162,531

775,474,926 39,631,593 815,106,519 42,043,601 857,150,120

759,758,213 37,628,941 797,387,154 40,009,863 837,397,017

283,475,771 266,392,170

264,815,377 249,765,514

39,631,593 42,043,601

37,628,941 40,009,863

ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม

1 มกราคม 2559 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี 31 ธันวาคม 2559 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี 31 ธันวาคม 2560 มูลค่าสุทธิตามบัญชี

31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560 ค่าตัดจ�ำหน่ายส�ำหรับปี

2559 2560


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

80

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 17. เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2560

เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้า - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้อื่น - กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้ค่าอาคารและอุปกรณ์ ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เจ้าหนี้ตราสารอนุพันธ์ อื่นๆ รวม

18. ส�ำรองผลประโยชน์ระยะ ยาวของพนักงาน 18.1 โครงการสมทบเงิน

บริษัทฯ บริษัทย่อยและพนักงาน ได้ ร ่ ว มกั น จดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง กองทุ น ส�ำรองเลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติ กองทุ น ส� ำ รองเลี้ ย งชี พ พ.ศ. 2530

470,865,552 10,601,718 99,637,763 96,988,403 934,774,279 15,058,480 1,627,926,195

2559

410,081,588 10,095,161 71,993,853 146,444,780 779,917,988 44,504,562 16,510,131 1,479,548,063

ซึ่ ง ป ร ะ ก อ บ ด ้ ว ย เ งิ น ที่ พ นั ก ง า น จ่ายสะสมและบริษัทฯ และบริษัทย่อย จ่ า ยสมทบให้ เ ป็ น รายเดื อ นในอั ต รา ร้ อ ยละ 2 ของเงิ น เดื อ น กองทุ น ส� ำ รองเลี้ ย งชี พ นี้ บ ริ ห ารโดยบริ ษั ท หลักทรัพย์จัดการกองทุนทิสโก้ จ�ำกัด แ ล ะ จ ะ จ ่ า ย ใ ห ้ แ ก ่ พ นั ก ง า น เ มื่ อ พนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560

26,549,881 458,241,773 12,969,978 92,678,174 66,800,868 765,689,404 13,661,469 1,436,591,547

2559

4,830,991 403,026,513 14,070,989 66,215,988 115,980,519 648,032,772 44,504,562 15,271,020 1,311,933,354

ว่าด้วยกองทุนของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ในระหว่างปี 2560 บริษัทฯ และบริษัท ย่อยรับรู้เงินสมทบดังกล่าวเป็นค่าใช้ จ่ า ยจ� ำ นวน 35.3 ล้ า นบาท (2559: 38.3 ล้ า นบาท) และเฉพาะของ บริ ษั ท ฯเป็ น จ� ำ นวน 31.1 ล้ า นบาท (2559: 34.2 ล้านบาท)


งบการเงิน

81

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 18.2 โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานและผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม ผลประโยชน์หลังออกจากงาน ของพนักงาน

ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น ของพนักงาน

รวม

238,033,059

31,702,682

269,735,741

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

25,133,924 7,914,204 (4,979,306) 266,101,881

5,171,561 1,013,673 (4,440,000) 33,447,916

30,305,485 8,927,877 (9,419,306) 299,549,797

ส่วนที่รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน: ต้นทุนบริการในปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย ผลประโยชน์ที่จ่ายในระหว่างปี

25,351,032 8,736,041 (15,791,180)

6,222,127 1,082,899 (5,120,000)

31,573,159 9,818,940 (20,911,180)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

284,397,774

35,632,942

320,030,716

ณ วันที่ 1 มกราคม 2559

ส่วนที่รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน: ต้นทุนบริการในปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย ผลประโยชน์ที่จ่ายในระหว่างปี

(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ผลประโยชน์หลังออกจากงาน ของพนักงาน

ณ วันที่ 1 มกราคม 2559

ส่วนที่รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน: ต้นทุนบริการในปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย โอนออก ผลประโยชน์ที่จ่ายในระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ส่วนที่รับรู้ในก�ำไรหรือขาดทุน: ต้นทุนบริการในปัจจุบัน ต้นทุนดอกเบี้ย ผลประโยชน์ที่จ่ายในระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น ของพนักงาน

รวม

224,372,342

28,859,293

253,231,635

22,094,038 7,392,260 (1,591,814) (4,638,916)

4,091,084 915,026 (88,219) (4,160,000)

26,185,122 8,307,286 (1,680,033) (8,798,916)

247,627,910

29,617,184

277,245,094

22,068,071 8,089,443 (15,791,180)

5,067,140 951,334 (4,820,000)

27,135,211 9,040,777 (20,611,180)

261,994,244

30,815,658

292,809,902


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

82

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรับรู้ในรายการต่อไปนี้ในงบก�ำไรขาดทุน งบการเงินรวม

(หน่วย: บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2560

2559

2560

2559

ต้นทุนขายและบริการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

3,861,355 31,678,406 5,852,338

3,641,229 29,398,135 6,193,998

3,427,436 27,311,964 5,436,588

3,214,058 25,470,215 5,808,135

รวมค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในงบก�ำไรขาดทุน

41,392,099

39,233,362

36,175,988

34,492,408

บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยคาดว่ า จะจ่ า ยช� ำ ระผลประโยชน์ ร ะยะยาวของพนั ก งานภายใน 1 ปี ข ้ า งหน้ า เป็ น จ� ำ นวน ประมาณ 6.14 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: จ�ำนวน 6.01 ล้านบาท) (2559: จ�ำนวน 22.31 ล้านบาท งบการเงิน เฉพาะกิจการ: จ�ำนวน 21.76 ล้านบาท) ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 ระยะเวลาเฉลี่ ย ถ่ ว งน�้ ำ หนั ก ในการจ่ า ยช� ำ ระผลประโยชน์ ร ะยะยาวของพนั ก งานของ บริษัทฯ และบริษัทย่อยประมาณ 22 ปี (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 22 ปี) (2559: 22 ปี งบการเงินเฉพาะกิจการ: 22 ปี) สมมติฐานที่ส�ำคัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสรุปได้ดังนี้

(หน่วย: ร้อยละต่อปี)

งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560

อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต (ขึ้นกับช่วงอายุของพนักงาน)

2559

3.5 4.0-6.0

3.5 4.0-6.0

ผลกระทบของการเปลี่ ย นแปลงสมมติ ฐ านที่ ส� ำ คั ญ ต่ อ มู ล ค่ า ปั จ จุ บั น ของภาระผู ก พั น ผลประโยชน์ ร ะยะยาวของ พนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุปได้ดังนี้ 31 ธันวาคม 2560

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม อัตราคิดลด

ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน

อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต

เพิ่มขึ้น 1%

ลดลง 1%

เพิ่มขึ้น 1%

ลดลง 1%

(38.7) (1.7)

47.4 1.9

46.4 -

(38.7) -


งบการเงิน

83

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราคิดลด เพิ่มขึ้น 1%

ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะยาวอื่นของพนักงาน

อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต ลดลง 1%

(35.1) (1.4)

เพิ่มขึ้น 1%

42.9 1.6

42.0 -

ลดลง 1%

(35.1) -

31 ธันวาคม 2559

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม อัตราคิดลด เพิ่มขึ้น 1%

ผลประโยชน์หลังออกจากงาน ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น ของพนักงาน

อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต ลดลง 1%

เพิ่มขึ้น 1%

ลดลง 1%

(34.2)

41.8

40.9

(34.2)

(1.6)

1.8

-

-

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราคิดลด เพิ่มขึ้น 1%

ผลประโยชน์ ห ลั ง ออกจากงาน ของพนักงาน ผลประโยชน์ ร ะยะยาวอื่ น ของ พนักงาน

อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต ลดลง 1%

เพิ่มขึ้น 1%

ลดลง 1%

(31.2)

38.2

37.4

(31.2)

(1.3)

1.5

-

-


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

84

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 19. ทุนเรือนหุ้น

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มี ทุ น ที่ อ อกจ� ำ หน่ า ยและช� ำ ระแล้ ว เพิ่ ม ขึ้ น จาก 914.85 ล้ า นบาท (หุ ้ น สามัญ 914.85 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) เป็น 920.88 ล้านบาท (หุ้น สามั ญ 920.88 ล้ า นหุ ้ น มู ล ค่ า หุ ้ น ละ 1 บาท) โดยจ�ำนวนดังกล่าวเป็น ผลมาจากการใช้ สิ ท ธิ ต ามใบส� ำ คั ญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (M-WA) จ� ำ นวน 6.03 ล้ า นบาท (หุ ้ น สามั ญ 6.03 ล้ า นหุ ้ น มู ล ค่ า หุ ้ น ละ 1 บาท) (2559: 4.60 ล้านบาท หุ้นสามัญ 4.60 ล้านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) บริษัทฯ ได้จดทะเบียนการเพิ่มทุน ที่ออกจ�ำหน่ายและช�ำระแล้วดังกล่าว กั บ ก ร ะ ท ร ว ง พ า ณิ ช ย ์ เ มื่ อ วั น ที่ 10 ตุลาคม 2560 20. ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ

เมื่ อ วั น ที่ 18 กั น ยายน 2555 ที่ ประชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ มี ม ติ พิ เ ศษอนุ มั ติ ก ารออกและเสนอ ขายใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ จ ะซื้ อ หุ ้ น สามั ญ ของบริ ษั ท ฯ ชนิ ด ระบุ ชื่ อ ผู ้ ถื อ และไม่ ส ามารถโอนเปลี่ ย นชื่ อ ได้ เว้ น แต่ เ ป็ น การโอนทางมรดกหรื อ โอนให้ แ ก่ ท ายาทหรื อ ผู ้ แ ทนโดย ชอบตามกฎหมายหรื อ กรณี อื่ น ใด ที่ ค ณะกรรมการเห็ น สมควรจ� ำ นวน 20,000,000 หน่วย (ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ มี อ ายุ 5 ปี นั บ จากวั น ที่ อ อกและ เสนอขายและก� ำ หนดราคาใช้ สิ ท ธิ ในการซื้ อ หุ ้ น สามั ญ เท่ า กั บ 1 บาท

ต่ อ 1 หุ ้ น สามั ญ ) โดยไม่ คิ ด มู ล ค่ า โดยจะจั ด สรรให้ แ ก่ ผู ้ บ ริ ห าร รวมถึ ง ผู ้ บ ริ ห ารซึ่ ง ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการ และพนั ก งานของบริ ษั ท ฯ และ/หรื อ บริษัทย่อย เพื่อเป็นการตอบแทนการ ท�ำงานของผูบ้ ริหารและพนักงานดังกล่าว และเพื่ อ ให้ มี ส ่ ว นร่ ว มเป็ น เจ้ า ของ บริษัทฯ ซึ่งบริษัทฯ จะจัดสรรใบส�ำคัญ แสดงสิ ท ธิ ใ ห้ แ ล้ ว เสร็ จ ภายใน 1 ปี นั บ จากวั น ที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ อ อกและ เสนอขายใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ จ าก ที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2556 ที่ ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ มี มติให้แก้ไขชนิดของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ เป็นชนิดระบุชื่อผู้ถือและไม่สามารถ โอนเปลี่ ย นมื อ ได้ เว้ น แต่ เ ป็ น การ โอนในกรณี ที่ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน เสียชีวิต เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2556 บริษัทฯ ได้ จั ด สรรและออกใบส� ำ คั ญ แสดง สิ ท ธิ ท่ี จ ะซื้ อ หุ ้ น สามั ญ ของบริ ษั ท ฯ (โครงการ “ESOP” หรื อ “M-WA”) จ�ำนวน 20,000,000 หน่วย โดยไม่คิด มูลค่าให้แก่ผู้บริหาร รวมถึงผู้บริหารซึ่ง ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและพนักงาน ของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อย อายุ ของใบส�ำคัญแสดงสิทธิไม่เกิน 5 ปี นับ ตั้งแต่วันที่ 7 สิงหาคม 2556 ใบส�ำคัญ แสดงสิทธิสามารถที่จะใช้สิทธิในการ ซื้ อ หุ ้ น สามั ญ ที่ อ อกใหม่ ข องบริ ษั ท ฯ ได้ ร วม 17 ครั้ ง โดยสามารถใช้ สิ ท ธิ ครั้งแรกได้เมื่อครบระยะเวลา 1 ปี นับ จากวันที่บริษัทฯได้ออกใบส�ำคัญแสดง สิทธิ ซึ่งวันใช้สิทธิครั้งแรกตรงกับวันที่ 30 กันยายน 2557 ส�ำหรับการใช้สิทธิ

ครั้งต่อๆ ไปตรงกับวันท�ำการสุดท้าย ของเดือนมีนาคม มิถุนายน กันยายน และธันวาคม ยกเว้นวันใช้สิทธิครั้งที่ 17 (วันใช้สิทธิครั้งสุดท้าย) ซึ่งตรงกับ วันที่ 6 สิงหาคม 2561 ใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ดั ง กล่ า วมี สิ ท ธิ ที่ จ ะซื้ อ หุ ้ น สามั ญ ที่ อ อกใหม่ ของบริ ษั ท ฯ ได้ ใ นอั ต ราการใช้ สิ ท ธิ ของใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ 1 หน่ ว ย ต่อ 1 หุ้นสามัญ ในราคา 1 บาทต่อหุ้น โดยสามารถใช้สิทธิได้ตามรายละเอียด ดังนี้ • หลังจาก 12 เดือน นับแต่วันที่ได้รับ การจัดสรร ผูถ้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ สามารถใช้ สิ ท ธิ ไ ด้ ไ ม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 10 ของจ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ที่ได้รับการจัดสรร • หลังจาก 24 เดือน นับแต่วันที่ได้รับ การจัดสรร ผูถ้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ สามารถใช้ สิ ท ธิ ไ ด้ อี ก ร้ อ ยละ 20 ของจ� ำ นวนใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ได้รับการจัดสรร • หลังจาก 36 เดือน นับแต่วันที่ได้รับ การจัดสรร ผูถ้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ สามารถใช้ สิ ท ธิ ไ ด้ อี ก ร้ อ ยละ 30 ของจ� ำ นวนใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ได้รับการจัดสรร • เมื่อพ้น 48 เดือนนับแต่วันที่ได้รับ การจัดสรร ผูถ้ อื ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ สามารถใช้ สิ ท ธิ ไ ด้ โ ดยไม่ จ� ำ กั ด จ� ำ นวนจนกว่ า จะครบอายุ ข อง ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ


งบการเงิน

85

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

• ในกรณีที่ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิ พ้ น สภาพจากการเป็ น ผู ้ บ ริ ห าร หรื อ พนั ก งานของบริ ษั ท ฯ และ/ หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย เนื่ อ งจากการ เกษี ย ณอายุ ต ามระเบี ย บของ บริษัทฯ ให้ผู้บริหารหรือพนักงาน ดั ง กล่ า วสามารถใช้ สิ ท ธิ ต ามใบ ส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ไ ด้ จ นครบอายุ ของใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ ไ ด้ รั บ จัดสรรนั้น • ในกรณีที่ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ถึ ง แก่ ก รรม ให้ ท ายาทหรื อ ผู ้ รั บ มรดกตามพิ นั ย กรรม (แล้ ว แต่ กรณี ) ของผู ้ ถื อ ใบส� ำ คั ญ แสดง สิ ท ธิ ดั ง กล่ า ว สามารถใช้ สิ ท ธิ ตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิของผู้ถือ ใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ดั ง กล่ า วได้ โดยสามารถใช้ สิท ธิ ซื้อ หุ ้ น สามั ญ ตามใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ไ ด้ เ พี ย ง เท่ า จ� ำ นวนใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ ผู ้ ถื อ ใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ผู ้ นั้ น มี

สิ ทธิเฉพาะในส่ว นที่ค รบก�ำหนด ให้ ใช้ สิ ท ธิ ไ ด้ แ ล้ ว เท่ า นั้ น และจะ สามารถใช้ สิ ท ธิ ไ ด้ ใ นวั น ก� ำ หนด ใช้ สิ ท ธิ ใ ดๆ จนครบก� ำ หนดอายุ ของใบส�ำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว • ในกรณีที่ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ได้โอนย้ายสังกัดหรือบริษัทฯ ตาม ที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เห็ น ชอบโดยที่ ก รรมการ ผู ้ บ ริ ห าร หรื อ พนั ก งานดั ง กล่ า วยั ง คงเป็ น ผู้บริหารหรือพนักงานของบริษัทฯ และ/หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย ณ วั น ที่ ใช้ สิ ท ธิ ให้ ผู ้ บ ริ ห ารหรื อ พนั ก งาน ดั ง กล่ า ว สามารถใช้ สิ ท ธิ ต ามใบ ส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ไ ด้ จ นครบอายุ ของใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ ไ ด้ รั บ จัดสรรนั้น

มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมโดยประมาณของ สิ ท ธิ ซื้ อ หุ ้ น แต่ ล ะสิ ท ธิ ที่ อ อกเท่ า กั บ 42.40 - 46.38 บาท ซึ่งค�ำนวณโดย

ใช้ แ บบจ� ำ ลองการก� ำ หนดราคาสิ ท ธิ ตามแบบจ�ำลองของ Black-ScholesMerton ข้อมูลน�ำเข้าแบบจ�ำลอง ได้แก่ ราคาหุ ้ น ณ วั น ที่ ก� ำ หนดราคา ซึ่ ง เท่ากับ 49 บาท ราคาใช้สิทธิเท่ากับ 1 บาท ความผันผวนที่คาดหวังร้อยละ 38.3 ความคาดหวั ง อั ต ราการจ่ า ย เงินปันผลร้อยละ 3 อายุสัญญา 1 - 5 ปี และอั ต ราดอกเบี้ ย ปลอดความเสี่ ย ง ร้อยละ 3.5 ต่อปี ในระหว่ า งปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่อยบันทึกค่าใช้จ่ายส�ำหรับโครงการ ESOP หรื อ M-WA เป็ น จ� ำ นวน 30 ล้ า นบาท (2559: 99.6 ล้ า นบาท) และเฉพาะของบริษัทฯ จ�ำนวน 25.5 ล้ า นบาท (2559: 95.0 ล้ า นบาท) ซึ่ ง แสดงรวมในค่ า ใช้ จ ่ า ยเกี่ ย วกั บ พนักงานในงบก�ำไรขาดทุนพร้อมกับ รับรู้ “ส่วนทุนจากการจ่ายโดยใช้หุ้น เป็นเกณฑ์” ในส่วนของผู้ถือหุ้นด้วย จ�ำนวนเดียวกัน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษัทฯ มีจ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิคงเหลือดังนี้ 2560

จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ออก ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2556 หัก : ยอดสะสมของใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ใช้สิทธิ ณ วันต้นปี ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ใช้สิทธิระหว่างปี ยอดสะสมของใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ใช้สิทธิ ณ วันสิ้นปี หัก : ยอดสะสมของใบส�ำคัญแสดงสิทธิตัดจ�ำหน่ายต้นปี ใบส�ำคัญแสดงสิทธิตัดจ�ำหน่ายระหว่างปี ยอดสะสมของใบส�ำคัญแสดงสิทธิตัดจ�ำหน่าย ณ วันสิ้นปี* จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ณ วันสิ้นปี

20,000 (9,000) (6,029) (15,029) (4,807) (164) (4,971) -

(หน่วย: พันหน่วย) 2559

20,000 (4,400) (4,600) (9,000) (4,303) (504) (4,807) 6,193

* บริ ษั ท ฯ ตั ด จ� ำ หน่ า ยใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ข องกรรมการ ผู ้ บ ริ ห าร และพนั ก งานของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยที่ ไ ม่ เข้ า เงื่ อ นไข การได้รับสิทธิ เนื่องจากลาออกก่อนใบส�ำคัญแสดงสิทธิครบก�ำหนด


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

86

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 21. ส�ำรองตามกฎหมาย

ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯ ต้องจัดสรรก�ำไรสุทธิ ประจ�ำปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนส�ำรองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของก�ำไรสุทธิประจ�ำปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนส�ำรองนี้จะมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ส�ำรองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถน�ำไป จ่ายเงินปันผลได้ ในปัจจุบันบริษัทฯ ได้จัดสรรทุนส�ำรองตามกฎหมายไว้ครบถ้วนแล้ว 22. ค่าใช้จ่ายตามลักษณะ

รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่ส�ำคัญดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม

เงินเดือนและค่าแรงและผลประโยชน์อื่น ของพนักงาน วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป ค่าเช่าและค่าบริการตามสัญญาเช่าด�ำเนินงาน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย ค่าสาธารณูปโภค ค่าโฆษณา ค่าซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษา ค่าฝึกอบรม ค่าภาษีโรงเรือน ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง การเปลี่ยนแปลงในสินค้าส�ำเร็จรูป

(หน่วย: บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2560

2559

2560

2559

4,688,656,190 2,342,473,909 1,553,566,007 854,298,254 686,944,023 298,401,201 157,260,420 3,225,663 81,924,470 42,667,640 (10,704,962)

4,482,938,787 2,102,367,869 1,468,429,715 864,762,333 688,146,198 240,040,694 156,809,378 2,853,619 77,668,773 44,019,100 (21,871,611)

3,895,044,826 2,169,395,567 1,262,286,422 697,050,960 540,211,525 204,876,292 127,108,969 111,410,636 67,462,600 33,379,567 (10,824,627)

3,769,582,149 2,003,898,688 1,207,168,682 712,089,064 551,134,483 153,782,534 130,632,781 104,662,581 65,250,023 35,989,151 (14,711,773)


งบการเงิน

87

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 23. ภาษีเงินได้ 23.1 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุปได้ดังนี้

(หน่วย: บาท) งบการเงินรวม 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2560

2559

476,912,584 (780,672)

418,038,636 -

424,394,226 (564,727)

7,733,017 483,864,929

60,373,598 478,412,234

6,791,815 430,621,314

ภาษีเงินได้ปัจจุบัน:

ภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับปี 477,439,096 รายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลของปีก่อน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี:

ภาษี เ งิ น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี จ ากการเกิ ด ผลแตกต่ า งชั่ ว คราว และการกลับรายการผลแตกต่างชั่วคราว ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในงบก�ำไรขาดทุน

61,255,826 538,694,922

จ� ำ นวนภาษี เ งิ น ได้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ส่ ว นประกอบแต่ ล ะส่ ว นของก� ำ ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ อื่ น ส� ำ หรั บ ปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุปได้ดังนี้

(หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม 2560

2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560

2559

การเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย

(889,164)

931,424

(889,164)

931,424

ภาษีเงินได้ที่รับรู้ในก�ำไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น

(889,164)

931,424

(889,164)

931,424


88

รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

รายการกระทบยอดระหว่างก�ำไรทางบัญชีกับค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 แสดงได้ดังนี้ (หน่วย: บาท)

งบการเงินรวม 2560

ก�ำไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล

2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560

2559

2,963,541,238 2,583,627,137 2,797,805,586 2,502,470,404

อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล 20% ก�ำไรทางบัญชีก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล คูณอัตราภาษี 592,708,248 รายการปรับปรุงค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ นิติบุคคลของปีก่อน ผลกระทบทางภาษีส�ำหรับ: รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี ค่าใช้จ่ายต้องห้าม 11,208,516 ผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่รับรู้ของบริษัทย่อย 181,922 ค่าใช้จ่ายที่มีสิทธิหักได้เพิ่มขึ้น (65,403,764) รวม (54,013,326)

20% 516,725,427 (780,672)

20% 559,561,117 -

20% 500,494,081 (564,727)

10,781,093 5,655,902 (48,516,821) (32,079,826)

(46,999,979) 16,645,189 (50,794,093) (81,148,883)

(37,599,983) 5,885,000 (37,593,057) (69,308,040)

ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่แสดงอยู่ในงบก�ำไรขาดทุน

483,864,929

478,412,234

430,621,314

538,694,922


งบการเงิน

89

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ส่ ว นประกอบของสิ น ทรั พ ย์ ภ าษี เ งิ น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี แ ละหนี้ สิ น ภาษี เ งิ น ได้ ร อการตั ด บั ญ ชี ประกอบด้ ว ยรายการ ดังต่อไปนี้

(หน่วย: บาท)

งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559

2560

2559

สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงิน ลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย เจ้าหนี้ตราสารอนุพันธ์ อื่นๆ

19,622,335 63,607,061 -

19,622,335 59,544,854 45,215,764

15,919,382 58,561,980 -

15,919,382 55,449,019 43,462,157

42,260 3,792,436

931,424 8,900,912 5,149,664

42,260 3,561,563

931,424 8,900,912 4,871,167

รวม

87,064,092

139,364,953

78,085,185

129,534,061

5,777,365 7,871,487 13,648,852 73,415,240

3,804,723 3,804,723 135,560,230

5,674,795 7,871,487 13,546,282 64,538,903

3,732,396 3,732,396 125,801,665

หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

ก� ำ ไรที่ ยั ง ไม่ เ กิ ด ขึ้ น จากการเปลี่ ย นแปลงมู ล ค่ า เงิ น ลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้า ลูกหนี้ตราสารอนุพันธ์ รวม สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสุทธิ

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 บริ ษั ท ย่ อ ยมี ร ายการผลแตกต่ า งชั่ ว คราวที่ ใช้ หักภาษีและขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ จ�ำนวน 28.2 ล้านบาท (2559: 29.4 ล้านบาท)ที่บริษัทย่อยไม่ได้บันทึกสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เนื่องจากบริษัทย่อย พิ จ ารณาแล้ ว เห็ น ว่ า อาจไม่ มี ก� ำ ไรทางภาษี ใ นอนาคตเพี ย งพอที่ จ ะน� ำ ผลแตกต่ า งชั่ ว คราวและผลขาดทุ น ทางภาษี มาใช้ประโยชน์ได้ ผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้ของบริษัทย่อยดังกล่าวมีจ�ำนวนเงิน 28.6 ล้านบาท ซึ่งจะทยอยสิ้นสุดระยะเวลา การให้ประโยชน์ภายในปี 2564


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

90

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 23.2 สิทธิพิเศษจากการส่งเสริมการลงทุน

บริษัทย่อยได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 โดยการอนุมัติของคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน ภายใต้เงื่อนไขที่ก�ำหนดบางประการ สิทธิประโยชน์ที่ส�ำคัญประกอบด้วย บริษัท อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ด ซัพพลาย จ�ำกัด

บัตรส่งเสริมเลขที่ 1. วันที่ในบัตรส่งเสริม 2. เพื่อส่งเสริมการลงทุนในกิจการ 3. สิทธิประโยชน์ส�ำคัญที่ได้รับ 3.1. ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าส�ำหรับเครื่องจักรตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมัติ 3.2. ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลส�ำหรับก�ำไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับ การส่งเสริมรวมกันไม่เกินร้อยละ 100 ของเงินลงทุนซึ่งไม่รวมค่าที่ดินและเงินทุนหมุนเวียน โดย มีก�ำหนดเวลาหกปีนับแต่วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น 3.3. ได้รับยกเว้นไม่ต้องน�ำเงินปันผลจากกิจการที่ได้รับการส่งเสริมซึ่งได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลไปรวมค�ำนวณเพื่อเสียภาษีตลอดระยะเวลาที่ผู้ได้รับการส่งเสริมได้รับยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้น 4. วันที่เริ่มใช้สิทธิตามบัตรส่งเสริม

58-2617-1-00-1-0 18 ธั น วาคม 2558 ผลิ ต อาหารสำ�เร็ จ รู ป และ กึ ่ ง สำ�เร็ จ รู ป แช่ แข็ ง ได้ ร ั บ ได้ ร ั บ

ได้ ร ั บ

7 กรกฎาคม 2559

รายได้ของบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 เป็นรายได้ส่วนที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน 24. ก�ำไรต่อหุ้น

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานค�ำนวณโดยหารก�ำไรส�ำหรับปีที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (ไม่รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ด้วยจ�ำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี ก�ำไรต่อหุ้นปรับลดค�ำนวณโดยหารก�ำไรส�ำหรับปีที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ (ไม่รวมก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ด้ ว ยผลรวมของจ� ำ นวนหุ ้ น สามั ญ ถั ว เฉลี่ ย ถ่ ว งน�้ ำ หนั ก ที่ อ อกอยู ่ ใ นระหว่ า งปี สุ ท ธิ จ ากจ� ำ นวนถั ว เฉลี่ ย ถ่ ว งน�้ ำ หนั ก ของหุ ้ น ของบริ ษั ท ฯอาจต้ อ งออกเพื่ อ แปลงหุ ้ น สามั ญ เที ย บเท่ า ปรั บ ลดทั้ ง สิ้ น ให้ เ ป็ น หุ ้ น สามั ญ โดยสมมติ ว ่ า ได้ มี ก าร แปลงเป็นหุ้นสามัญ ณ วันต้นปีหรือ ณ วันออกหุ้นสามัญเทียบเท่า


งบการเงิน

91

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 24.1 จ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก

(หน่วย: พันหุ้น) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560

2559

ยอดยกมา บวก: จ�ำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนักของหุ้นสามัญ ที่ออกในระหว่างปี

914,849 1,371

910,249 1,081

จ�ำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน�้ำหนัก

916,220

911,330

24.2 การกระทบยอดก�ำไรต่อหุ้นปรับลด

การกระทบยอดระหว่างก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานและก�ำไรต่อหุ้นปรับลดแสดงได้ดังนี้ งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม กำ�ไรสำ�หรับปี

จำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ย ถ่วงน้ำ�หนัก

กำ�ไรต่อหุ้น

2560

2559

2560

2559

2560

2559

(พันบาท)

(พันบาท)

(พันหุ้น)

(พันหุ้น)

(บาท)

(บาท)

2,424,846

2,099,762

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

ก�ำไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ

916,220

911,330

4,617

8,536

920,837

919,866

2.65

2.30

2.63

2.28

ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด

ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (M-WA) ก�ำไรต่อหุ้นปรับลด

ก� ำ ไรที่ เ ป็ น ของผู ้ ถื อ หุ ้ น สามั ญ สมมติ ว ่ า มีการใช้สิทธิ ซื้ อ หุ ้ นสามั ญจากใบส� ำ คั ญ แสดงสิทธิ 2,424,846

2,099,762


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

92

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม กำ�ไรสำ�หรับปี

จำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ย ถ่วงน้ำ�หนัก

กำ�ไรต่อหุ้น

2560

2559

2560

2559

2560

2559

(พันบาท)

(พันบาท)

(พันหุ้น)

(พันหุ้น)

(บาท)

(บาท)

2,319,393

2,071,849

916,220

911,330

4,370

8,080

920,590

919,410

ก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

ก�ำไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทฯ

ผลกระทบของหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลด

ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (M-WA) ก�ำไรต่อหุ้นปรับลด

ก�ำไรที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ สมมติว่ามีการ ใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญจากใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 2,319,393 25. ข้อมูลส่วนงานด�ำเนินงาน

ข้ อ มู ล ส่ ว นงานด� ำ เนิ น งานที่ น� ำ เสนอนี้ ส อดคล้ อ งกั บ รายงานภายใน ของบริษัทฯ ที่ผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจสูง สุ ด ด้ า นการด� ำ เนิ น งานได้ รั บ และ สอบทานอย่ า งสม�่ ำ เสมอเพื่ อ ใช้ ใ น การตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากร ให้ กั บ ส่ ว นงานและประเมิ น ผลการ ด�ำเนินงานของส่วนงาน บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยด� ำ เนิ น กิ จ การในส่ ว นงานด� ำ เนิ น งานสอง ส่ ว นงาน คื อ ธุ ร กิ จ ร้ า นอาหารและ ธุ ร กิ จ อื่ น ที่ ป ระกอบกิ จ การสนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ อาหาร ได้ แ ก่ การให้ บ ริ ก าร

2,071,849

ด้ า นฝึ ก อบรม และการผลิ ต และ จ� ำ หน่ า ยอาหาร และด�ำเนินธุรกิจใน เขตภู มิ ศ าสตร์ เ ดี ย วคื อ ประเทศไทย อย่ า งไรก็ ต าม ธุ ร กิ จ ร้ า นอาหารเป็ น ส่ ว นงานด� ำ เนิ น งานหลั ก ของกิ จ การ และมี ข ้ อมูลของส่ว นงานด�ำเนินงาน ซึ่ ง พิ จ ารณาจากเกณฑ์ เชิ ง ปริ ม าณมี สัดส่วนเกินกว่าร้อยละ 90 ของส่วน งานด� ำ เนิ น งานและเขตภู มิ ศ าสตร์ จากเหตุ ผ ลดั ง กล่ า ว ผู ้ มี อ� ำ นาจ ตั ด สิ น ใจสู ง สุ ด ด้ า นการด� ำ เนิ น งาน จึ ง พิ จ ารณารวมส่ ว นงานด� ำ เนิ น งาน เป็นส่วนงานที่รายงานเพียงส่วนงาน เดียว คือ ธุรกิจร้านอาหาร บริษัทฯ ประเมินผลการปฏิบัติงาน

2.53

2.27

2.52

2.25

ของส่ ว นงานโดยพิ จ ารณาจากก� ำ ไร หรื อ ขาดทุ น จากการด� ำ เนิ น งาน ซึ่ ง วั ด มู ล ค่ า โดยใช้ เ กณฑ์ เ ดี ย วกั บ ที่ ใช้ ใ นการวั ด ก� ำ ไรหรื อ ขาดทุ น จาก การด� ำ เนิ น งานในงบการเงิ น ดั ง นั้ น รายได้ ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน และ สินทรัพย์ทั้งหมดที่แสดงอยู่ในงบการ เงิ น จึ ง ถื อ เป็ น การรายงานตามส่ ว น งานด�ำเนินงานและเขตภูมิศาสตร์แล้ว ข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้ารายใหญ่

ในปี 2560 และ 2559 บริษัทฯ และ บริษัทย่อยไม่มีรายได้จากลูกค้ารายใด ที่มีค่าเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 10 ของรายได้ของกิจการ


งบการเงิน

93

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 26. เงินปันผล

เงินปันผลที่ประกาศจ่ายในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ประกอบด้วย อนุมัติโดย

เงินปันผลจ่าย เงินปันผลจ่าย ต่อหุ้น (ล้านบาท)

วันที่จ่าย เงินปันผล

(บาท)

ปี 2560

เงินปันผลจากผลการด�ำเนินงาน ส�ำหรับปี 2559

ที่ประชุมสามัญประจ�ำปีผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2560

เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ด�ำเนินงานส�ำหรับงวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2560

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2560

รวม

1,006

1.1 23 พฤษภาคม 2560

1,006 2,012

1.1 2.2

8 กั น ยายน 2560

ปี 2559

เงินปันผลจากผลการด�ำเนินงาน ส�ำหรับปี 2558

ที่ประชุมสามัญประจ�ำปีผู้ถือหุ้น เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2559

เงินปันผลระหว่างกาลจากผลการ ด�ำเนินงานส�ำหรับงวดหกเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2559

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2559

รวม

910

910 1,820

1.0 19 พฤษภาคม 2559

1.0 2.0

8 กั น ยายน 2559

27. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 27.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ายทุน

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 บริ ษั ท ฯและบริ ษั ท ย่ อ ยมี ภ าระผู ก พั น เกี่ ย วกั บ รายจ่ า ยฝ่ า ยทุ น ที่ มี ส าระส� ำ คั ญ จ� ำ นวน ประมาณ 23.3 ล้านบาท ที่เกี่ยวข้องกับการท�ำสัญญาสิทธิการเช่า การซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์ (เฉพาะของบริษัทฯ: 21.9 ล้านบาท) (2559: ไม่มี)


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

94

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 27.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญา เช่าด�ำเนินงานและสัญญาบริการ

บริษัทฯ และบริษัทย่อยได้เข้าท�ำ สั ญ ญาเช่ า ด� ำ เนิ น งานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ

การเช่ า พื้ น ที่ ใ นอาคารและอุ ป กรณ์ และสั ญ ญาบริ ก ารอื่ น ๆ อายุ ข อง สัญญามีระยะเวลาตั้งแต่ 3 ถึง 20 ปี บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีจ�ำนวน

เงินขั้นต�่ำที่ต้องจ่ายในอนาคตทั้งสิ้น ภายใต้ สั ญ ญาเช่ า ด� ำ เนิ น งานและ สัญญาบริการที่บอกเลิกไม่ได้ ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

จ่ายช�ำระ ภายใน 1 ปี 1 ถึง 5 ปี มากกว่า 5 ปี

27.3 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญา ซื้อขายสินค้าล่วงหน้า

บริ ษั ท ฯ ได้ เข้ า ท� ำ สั ญ ญาซื้ อ ขาย สิ น ค้ า ล่ ว งหน้ า กั บ บริ ษั ท หลายราย ในประเทศ โดยบริษัทฯ และคู่สัญญา ได้ ต กลงร่ ว มกั น เกี่ ย วกั บ ปริ ม าณการ ส่งมอบ ก�ำหนดการส่งมอบ สถานที่ ส่งมอบและราคาสินค้า และบริษัทฯ ตกลงที่ จ ะจ่ า ยค่ า สิ น ค้ า ตามอั ต ราที่ ระบุในสัญญา

2559

1,383 1,448 285

27.4 หนังสือค�้ำประกันธนาคาร

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 มี หนังสือค�้ำประกันที่ออกโดยธนาคาร ในนามบริษัทฯ และบริษัทย่อยเหลือ อยู่เป็นจ�ำนวนประมาณ 19.5 ล้านเยน และ 21.3 ล้านบาท (2559: 20.1 ล้าน บาท) ซึ่ ง เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ ภาระผู ก พั น ทางปฏิ บั ติ บ างประการตามปกติ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยหนั ง สื อ ค�้ ำ ประกั น เพื่อค�้ำประกันการจ่ายช�ำระเงินให้กับ เจ้าหนี้จ�ำนวน 19.5 ล้านเยน และ 8.3

1,331 1,358 313

ล้านบาท (2559: 8.3 ล้านบาท) และ เพื่ อ ค�้ ำ ประกั น การใช้ ไ ฟฟ้ า จ� ำ นวน 13.0 ล้านบาท (2559: 11.8 ล้านบาท) 27.5 ก า ร ค�้ ำ ป ร ะ กั น ร ะ ห ว ่ า ง กิจการที่เกี่ยวข้องกัน

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 บริษัทฯ มีการค�้ำประกันวงเงินสินเชื่อ ให้ แ ก่ บ ริ ษั ท อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล ฟู้ด ซัพพลาย จ�ำกัด (“บริษัทย่อย”) จ�ำนวน 45 ล้านบาท (2559: ไม่มี)


งบการเงิน

95

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 28. ล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีสินทรัพย์และหนี้สินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม แยกแสดงตามล�ำดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม ระดับ 1

ระดับ 2

ระดับ 3

รวม

2560

2559

2560

2559

2560

2559

2560

2559

-

-

4,510 148

2,255 1,070

-

-

4,510 148

2,255 1,070

-

-

39

-

-

-

39

-

-

-

-

45

-

-

-

45

สินทรัพย์ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม

เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้า - ตราสารหนี้ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - ตราสารหนี้ ตราสารอนุ พั น ธ์ - สั ญ ญาซื้ อ ขายเงิ น ตราต่ า งประเทศ ล่วงหน้า - ก�ำไร หนี้สินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม

ตราสารอนุ พั น ธ์ - สั ญ ญาซื้ อ ขายเงิ น ตราต่ า งประเทศ ล่วงหน้า - ขาดทุน

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ระดับ 1

ระดับ 2

ระดับ 3

รวม

2560

2559

2560

2559

2560

2559

2560

2559

-

-

3,893 148

1,968 1,070

-

-

3,893 148

1,968 1,070

-

-

39

-

-

-

39

-

-

-

-

45

-

-

-

45

สินทรัพย์ที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม

เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้า - ตราสารหนี้ เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย - ตราสารหนี้ ตราสารอนุ พั น ธ์ - สั ญ ญาซื้ อ ขายเงิ น ตราต่ า งประเทศ ล่วงหน้า - ก�ำไร หนี้สินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม

ตราสารอนุ พั น ธ์ - สั ญ ญาซื้ อ ขายเงิ น ตราต่ า งประเทศ ล่วงหน้า - ขาดทุน


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

96

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 29. เครื่องมือทางการเงิน 29.1 นโยบายการบริ ห ารความ เสี่ยง

เครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น ที่ ส� ำ คั ญ ข อ ง ก ลุ ่ ม บ ริ ษั ท ต า ม ที่ นิ ย า ม อ ยู ่ ในมาตรฐานการบั ญ ชี ฉ บั บ ที่ 107 “การแสดงรายการและการเปิ ด เผย ข้ อ มู ล ส� ำ หรั บ เครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น ” ประกอบด้ ว ย เงิ น สดและรายการ เที ย บเท่ า เงิ น สด ลู ก หนี้ ก ารค้ า และ ลู ก หนี้ อื่ น เงิ น ลงทุ น และเจ้ า หนี้ การค้ า และเจ้ า หนี้ อื่ น กลุ ่ ม บริ ษั ท มี ความเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เครื่ อ งมื อ

ทางการเงิ น ดั ง กล่ า ว และมี น โยบาย การบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ

กลุ ่ ม บริ ษั ท มี ค วามเสี่ ย งด้ า นการ ให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค้า และลู ก หนี้ อื่ น ฝ่ า ยบริ ห ารควบคุ ม ความเสี่ ย งนี้ โ ดยการก� ำ หนดให้ มี นโยบายและวิ ธี ก ารในการควบคุ ม สินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นกลุ่มบริษัทจึง ไม่ ค าดว่ า จะได้ รั บ ความเสี ย หายที่ เป็ น สาระส� ำ คั ญ จากการให้ สิ น เชื่ อ นอกจากนี้ การให้ สิ น เชื่ อ ของกลุ ่ ม บริ ษั ท ไม่ มี ก ารกระจุ ก ตั ว เนื่ อ งจาก กลุ ่ ม บริ ษั ท มี ฐ านของลู ก ค้ า ที่ ห ลาก

ห ล า ย แ ล ะ มี อ ยู ่ จ� ำ น ว น ม า ก ร า ย จ� ำ นวนเงิ น สู ง สุ ด ที่ ก ลุ ่ ม บริ ษั ท อาจ ต้ อ งสู ญ เสี ย จากการให้ สิ น เชื่ อ คื อ มูลค่าตามบัญชีของลูกหนี้ที่แสดงอยู่ ในงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย

กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตรา ดอกเบี้ ย ที่ ส� ำ คั ญ อั น เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ เงิ น ฝากธนาคารซึ่ ง มี อั ต ราดอกเบี้ ย ที่ ป รั บ ขึ้ น ลงตามอั ต ราตลาด หรื อ มี อั ต ราดอกเบี้ ย คงที่ ซึ่ ง ใกล้ เ คี ย งกั บ อั ต ราตลาดในปั จ จุ บั น ความเสี่ ย ง จากอัตราดอกเบี้ยของกลุ่มบริษัท จึง อยู่ในระดับต�่ำ

สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่ส�ำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ยได้ดังนี้

(หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน 1 ปี

มากกว่า 1 ถึง 4 ปี

อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลง ตาม ไม่มี ราคาตลาด อัตราดอกเบี้ย

รวม

อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริง (ร้อยละต่อปี)

สินทรัพย์ทางการเงิน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เงินลงทุนระยะยาวอื่น

4,826 4,826

794 794

262 262

148 4,510 76 4,734

410 9,336 76 794 10,616

0.10-0.40 1.60-2.06 2.01-2.36

-

-

-

1,628 1,628

1,628 1,628

-

หนี้สินทางการเงิน

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น


งบการเงิน

97

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย คงที่ - ภายใน ปรับขึ้นลงตาม ไม่มี 1 ปี ราคาตลาด อัตราดอกเบี้ย

รวม

อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริง (ร้อยละต่อปี)

สินทรัพย์ทางการเงิน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

5,963 5,963

166 166

157 3,325 104 3,586

323 9,288 104 9,715

0.10-0.40 1.63-2.03 -

-

-

1,480 1,480

1,480 1,480

-

หนี้สินทางการเงิน

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน 1 ปี

มากกว่า 1 ถึง 4 ปี

อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลงตาม ไม่มี ราคาตลาด อัตราดอกเบี้ย

รวม

อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริง (ร้อยละต่อปี)

สินทรัพย์ทางการเงิน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เงินลงทุนระยะยาวอื่น

4,826 4,826

794 794

203 203

129 3,893 195 4,217

332 8,719 195 794 10,040

0.10-0.40 1.60-2.06 2.01-2.36

-

-

-

1,436 1,436

1,436 1,436

-

หนี้สินทางการเงิน

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

98

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 อัตราดอกเบี้ย คงที่ - ภายใน 1 ปี

อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลงตาม ราคาตลาด

ไม่มี อัตราดอกเบี้ย

รวม

อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริง (ร้อยละต่อปี)

สินทรัพย์ทางการเงิน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น

5,913 5,913

101 101

135 3,039 218 3,392

236 8,952 218 9,406

0.10-0.40 1.63-2.03 -

-

-

1,312 1,312

1,312 1,312

-

หนี้สินทางการเงิน

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน

กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ส�ำคัญอันเกี่ยวเนื่องจากเงินลงทุนชั่วคราว การขายสินค้า และบริการ เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 กลุ่มบริษัทมีสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศดังนี้ สกุลเงิน

งบการเงินรวม 2560

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559 (ล้าน)

2560

2559 (ล้าน)

อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

2559

(บาทต่อหน่วยเงินตราต่างประเทศ)

สินทรัพย์ทางการเงิน

เหรียญสหรัฐอเมริกา เยน เหรียญสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

20.0 1.6 36.0

50.0 1.6 -

20.0 1.6 36.0

50.0 1.6 -

32.5146 0.2860 8.8531

35.6588 0.3046 -

36.7

15.9

-

1.4

0.2936

0.3113

หนี้สินทางการเงิน

เยน


งบการเงิน

99

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

กลุ่มบริษัทมีสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงเหลืออยู่ดังนี้ สกุลเงิน

งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ

อัตราแลกเปลี่ยน ตามสัญญา

(ล้าน)

(บาทต่อหน่วยเงินตรา ต่างประเทศ)

วันครบกำ�หนดตามสัญญา

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 จ�ำนวนที่ขาย

เหรียญสหรัฐอเมริกา

20

เหรียญสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

36

33 .864 -34 .286 8 .9905

50

34 .85 -35 .17

พฤษภาคมและกรกฎาคม

2561 ตุ ล าคม 2561

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จ�ำนวนที่ขาย

เหรียญสหรัฐอเมริกา 29.2 มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของเครื่ อ ง

30. การบริหารจัดการทุน

31. การจัดประเภทรายการใน งบการเงิน

มือทางการเงิน

เนื่ อ งจากเครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น ส่ ว นใหญ่ ข องกลุ ่ ม บริ ษั ท จั ด อยู ่ ใ น ประเภทระยะสั้นหรือมีอัตราดอกเบี้ย ใกล้ เ คี ย งกั บ อั ต ราดอกเบี้ ย ในตลาด กลุ่มบริษัทจึงประมาณมูลค่ายุติธรรม ของเครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น ใกล้ เ คี ย ง กับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบแสดง ฐานะการเงิน

กรกฎาคมและกั น ยายน 2560

วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการ ทุ น ที่ ส� ำ คั ญ ของกลุ ่ ม บริ ษั ท คื อ การ จั ด ให้ มี ซึ่ ง โครงสร้ า งทุ น ที่ เ หมาะสม เพื่ อ สนั บ สนุ น การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของ กลุ ่ ม บริ ษั ท และเสริ ม สร้ า งมู ล ค่ า การ ถื อ หุ ้ น ให้ กั บ ผู ้ ถื อ หุ ้ น โดย ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 กลุ ่ ม บริ ษั ท มี อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนเท่ากับ 0.18:1 (2559: 0.17:1) และเฉพาะบริ ษั ท ฯ มี อั ต ราส่ ว นหนี้ สิ น ต่ อ ทุ น เท่ า กั บ 0.16:1 (2559: 0.16:1)

บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยได้ มี ก าร จั ด ประเภทรายการบั ญ ชี ดั ง ต่ อ ไปนี้ ในงบก� ำ ไรขาดทุ น ส� ำ หรั บ ปี สิ้ น สุ ด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ใหม่ เพื่อให้ สอดคล้องกับการจัดประเภทรายการ บัญชีในปีปัจจุบัน


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

100

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม (ต่อ) บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย

ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ตามที่จัดประเภทใหม่

ตามที่เคยรายงานไว้

ตามที่จัดประเภทใหม่

ตามที่เคยรายงานไว้

15,145,882,364

15,115,182,444

13,436,647,305

13,397,274,890

242,640,153

273,340,073

325,920,011

365,292,426

รายได้จากการขายและบริการ รายได้อื่น

การจั ด ประเภทรายการบั ญ ชี ดั ง กล่ า วไม่ มี ผ ลกระทบต่ อ ก� ำ ไรส� ำ หรั บ ปี ห รื อ ส่ ว นของผู ้ ถื อ หุ ้ น ตามที่ ไ ด้ รายงานไว้ 32. เหตุการณ์ภายหลังรอบ ระยะเวลารายงาน

เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2561 ที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 1/2561 ได้มีมติอนุมัติในเรื่องดังนี้ • อนุ มั ติ ก ารจ่ า ยเงิ น ปั น ผลงวด สุ ด ท้ า ยส� ำ หรั บ ปี 2560 ให้ แ ก่ ผู้ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 1.20 บาท รวมเป็ น เงิ น ปั น ผลทั้ ง สิ้ น 1,105 ล้านบาท บริ ษั ท ฯ จะน� ำ เสนอเพื่ อ อนุ มั ติ

การจ่ า ยเงิ น ปั น ผลดั ง กล่ า วในที่ ประชุ ม สามั ญ ประจ� ำ ปี ผู ้ ถื อ หุ ้ น ของ บริษัทฯต่อไป • อนุ มั ติ ก ารลดทุ น จดทะเบี ย นของ บริ ษั ท ฯจ� ำ นวน 4.97 ล้ า นบาท จากทุ น จดทะเบี ย นเดิ ม 925.85 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 925.85 ล้าน หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) เป็นทุน จดทะเบียนใหม่ 920.88 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 920.88 ล้านหุ้น มูลค่า หุ ้ น ละ 1 บาท) เพื่ อ ตั ด หุ ้ น จด ทะเบี ย นที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ อ อกจ� ำ หน่ า ย ของบริษัทฯ บริ ษั ท ฯ จะน� ำ เสนอเพื่ อ อนุ มั ติ การลดทุ น จดทะเบี ย นดั ง กล่ า วในที่ ประชุ ม สามั ญ ประจ� ำ ปี ผู ้ ถื อ หุ ้ น ของ บริษัทฯ ต่อไป • อนุมัติการลงทุนร่วมกับบริษัทอื่น

4 แห่ ง เพื่ อ จั ด ตั้ ง บริ ษั ท แห่ ง ใหม่ ชื่อ “บริษัท เอ็ม-เซนโค โลจิสติกส์ จ� ำ กั ด ” เพื่ อ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ในการ ขนส่ ง ให้ เช่ า คลั ง สิ น ค้ า ซื้ อ มา ข า ย ไ ป แ ล ะ รั บ จั ด ส ่ ง สิ น ค ้ า ร ะ ห ว ่ า ง ป ร ะ เ ท ศ โ ด ย มี ทุ น จดทะเบี ย น 1,300 ล้ า นบาท (หุ ้ น สามั ญ 130 ล้ า นหุ ้ น มู ล ค่ า หุ ้ น ละ 10 บาท) ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ จะ ถื อ หุ ้ น ร้ อ ยละ 49.75 ในบริ ษั ท แห่งใหม่ 33. การอนุมัติงบการเงิน

งบการเงิ น นี้ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ อ อก โดยคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เมื่ อ วั น ที่ 26 กุมภาพันธ์ 2561


งบการเงิน

101


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

102

การวิเคราะห์ฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงาน

ผลการด�ำเนินงาน

ในปี 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายได้รวมจ�ำนวน 16,458 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า 959 ล้านบาท หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.2 โดยหลักเกิดจากรายได้จากการขายและบริการเพิ่มขึ้น 927 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลมาจากการขยายสาขา ของร้านเอ็มเคสุกี้และร้านอาหารญี่ปุ่นยาโยอิ รวมถึงการเพิ่มขึ้นของยอดขายของสาขาเดิม (Same-Store Sales) เนื่องจาก บริษัทฯ มีการท�ำกิจกรรมทางการตลาดและออกเมนูอาหารใหม่ๆ เพื่อกระตุ้นยอดขายอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ในปีที่ ผ่านมาต้นทุนวัตถุดิบหลักปรับตัวลดลง ท�ำให้บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีก�ำไรขั้นต้นเท่ากับ 10,899 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อย ละ 6.9 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า จากปัจจัยต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้น ส่งผลให้ในปี 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีก�ำไร สุทธิจ�ำนวน 2,425 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า 325 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.5 รายได้จากการขายและบริการ ปี 2559

ล้านบาท

ร้านเอ็มเค สุกี้/ เอ็มเค โกลด์/ เอ็มเค ไลฟ์ ร้านอาหารญี่ปุ่นยาโยอิ ร้านอาหารอื่น ๆ* รวมรายได้จากการขายและบริการ

ปี 2560

ร้อยละ

ล้านบาท

ร้อยละ

เพิ่มขึ้น (ลดลง) ร้อยละ

12,094

79.8

12,686

78.9

4.9

2,709

17.9

3,025

18.8

11.7

343

2.3

362

2.3

5.5

15,146

100.0

16,073

100.0

6.1

* ร้ า นอาหารอื่ น ๆ คื อ ร้ า นอาหารญี่ ปุ ่ น มิ ย าซากิ ร้ า นฮากาตะ ร้ า นอาหารไทย ณ สยาม ร้ า นเลอ สยาม และร้ า นกาแฟและ เบเกอรี่ เลอ เพอทิท

ในปี 2560 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีรายได้จากการขายและบริการจ�ำนวน 16,073 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน หน้า 927 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 6.1 เนื่องจากการขยายสาขาของร้านเอ็มเคสุกี้และร้านอาหารญี่ปุ่นยาโยอิ รวม ถึงการเพิ่มขึ้นของยอดขายของสาขาเดิม ทั้งนี้รายได้จากการขายและบริการของบริษัทฯ และบริษัทย่อยกว่าร้อยละ 98 เป็นรายได้จากการขายและบริการจากร้านเอ็มเค สุกี้ เอ็มเค โกลด์ และเอ็มเค ไลฟ์ ซึ่งด�ำเนินการโดยบริษัทฯ และร้าน อาหารญี่ปุ่นยาโยอิ ซึ่งด�ำเนินการโดยบริษัท เอ็ม เค อินเตอร์ฟู้ด จ�ำกัด แนวโน้มสัดส่วนรายได้จากการขายและบริการ จากธุรกิจสุกี้มีแนวโน้มลดลงในขณะที่สัดส่วนรายได้จากการขายและบริการจากธุรกิจอาหารญี่ปุ่นยาโยอิมีแนวโน้มเพิ่ม สูงขึ้น เนื่องจากร้านอาหารญี่ปุ่นยาโยอิมีอัตราการขยายตัวที่สูงกว่า


การวิเคราห์ฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน

103

ผลการด�ำเนินงานของธุรกิจร้านเอ็มเค สุกี้/ เอ็มเค โกลด์/ เอ็มเค ไลฟ์ 2559

2560

จ�ำนวนสาขาร้านสุกี้

จ�ำนวนร้านเปิดใหม่สุทธิ จ�ำนวนสาขา ณ สิ้นปี/งวด

5

11

424

435

12,094

12,686

2.2

4.9

(0.3)

1.7

ผลการด�ำเนินงานและอัตราการเติบโต-ร้านสุกี้

รายได้จากการขายและบริการ (ล้านบาท) อัตราการเติบโตของรายได้จากการขายสุกี้ทั้งหมด (ร้อยละ) อัตราการเติบโตของรายได้จากการขายสุกี้–สาขาเดิม (ร้อยละ)

รายได้จากการขายและบริการของร้านสุกี้

ในปี 2560 บริษัทฯ มีรายได้จากการขายและบริการจากร้านสุกี้จ�ำนวน 12,686 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า 592 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.9 โดยหลักเกิดจากการขยายสาขาใหม่จ�ำนวน 11 สาขา และการเติบโตของยอด ขายของสาขาเดิม ผลการด�ำเนินงานของธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่นยาโยอิ 2559

2560

จ�ำนวนสาขาร้านอาหารญี่ปุ่นยาโยอิ

จ�ำนวนร้านเปิดใหม่สุทธิ

18

7

จ�ำนวนสาขา ณ สิ้นปี/งวด

158

165

2,709

3,025

14.1

11.7

3.6

3.6

ผลการด�ำเนินงานและอัตราการเติบโต – ร้านอาหารญี่ปุ่นยาโยอิ

รายได้จากการขายและบริการ (ล้านบาท) อัตราการเติบโตของรายได้จากการขายทั้งหมด (ร้อยละ) อัตราการเติบโตของรายได้จากการขาย–สาขาเดิม (ร้อยละ)


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

104

รายได้จากการขายและบริการ ของร้านอาหารญี่ปุ่นยาโยอิ

ในปี 2560 บริษัทฯ มีรายได้จาก การขายและบริ ก ารร้ า นอาหารญี่ ปุ ่ น ยาโยอิ จ� ำ นวน 3,025 ล้ า นบาท คิ ด เป็ น การเพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 11.7 จากปี ก่อนหน้า การเพิ่มขึ้นของรายได้ร้าน อาหารญี่ ปุ ่ น ยาโยอิ ส าเหตุ ห ลั ก เกิ ด จากการเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนสาขา โดย ในปี 2560 จ� ำ นวนสาขาได้ เ พิ่ ม ขึ้ น สุทธิ 7 สาขา ทั้งนี้เนื่องมาจากกระแส ตอบรับที่ดีของแบรนด์ยาโยอิ ท�ำให้ บริษัทฯ มีแผนที่จะขยายสาขาเพื่อให้ ครอบคลุมความต้องการของผู้บริโภค ทั้ ง ในกรุ ง เทพฯ ปริ ม ณฑล และต่ า ง จั ง หวั ด นอกจากนี้ ยั ง เป็ น ผลมาจาก การเติบโตของยอดขายสาขาเดิม โดย ในปี 2560 ยอดขายสาขาเดิมเติบโต ร้อยละ 3.6 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า รายได้อื่น

ในปี 2560 บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยมี ร ายได้ อื่ น จ� ำ นวน 385 ล้ า น บาท โดยหลั ก ประกอบด้ ว ย รายได้ ดอกเบีย้ รับ จ�ำนวน 113 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 3 ล้านบาท สาเหตุหลักเนื่องจากเงิน ฝากประจ� ำ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น และรายได้ อื่ น จ� ำ นวน 272 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น 29 ล้านบาท ซึ่งรายได้อื่นหลักๆ มาจาก ก�ำไรจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าของ เงินลงทุนชั่วคราว รายได้จากค่าบัตร สมาชิก เป็นต้น ต้นทุนการขายและบริการของ บริษัทฯ

ต้ น ทุ น การขายและบริ ก ารของ บริ ษั ท ฯ กว่ า ร้ อ ยละ 90 เป็ น ต้ น ทุ น

ก็ได้ปรับเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 67.3 ใน ปี 2559 เป็นร้อยละ 67.8 ในปี 2560 ซึ่ ง สาเหตุ ห ลั ก เนื่ อ งจากราคาต้ น ทุ น วัตถุดิบหลักที่ลดลง

ค่ า อาหารและเครื่ อ งดื่ ม ต้ น ทุ น อื่ น ๆ ได้ แ ก่ ค่ า ขนส่ ง ค่ า เก็ บ รั ก ษาสิ น ค้ า ในคลั ง สิ น ค้ า ค่ า เสื่ อ มราคาอาคาร โรงงาน เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ์ ค่ า สาธารณู ป โภค เป็ น ต้ น โดยบริ ษั ท ฯ มี ก ารควบคุ ม ระบบการจั ด ซื้ อ และ การผลิตทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โดยการสัง่ ซือ้ วั ต ถุ ดิ บ และสิ น ค้ า ส� ำ เร็ จ รู ป ส� ำ หรั บ ร้านสุกี้ ร้านอาหารญี่ปุ่นยาโยอิ และ ร้ า นอาหารอื่ น เป็ น แบบรวมศู น ย์ ท� ำ ให้ มี ก ารสั่ ง ซื้ อ สิ น ค้ า จ� ำ นวนมาก ในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง ส่งผลให้มีการ ประหยัดเนื่องจากขนาด (Economy of Scale) และมีอ�ำนาจต่อรองที่ค่อนข้าง สูงกับผู้จัดจ�ำหน่าย อีกทั้งการผลิตที่ ผ่านครัวกลางเกือบทั้งหมด ท�ำให้เกิด การประหยัดเนื่องจากขนาดจากการ ผลิ ต และยั ง สามารถควบคุ ม คุ ณ ภาพ สิ น ค้ า ให้ มี ม าตรฐานเดี ย วกั น ได้ อี ก ด้วย นอกจากนี้ บริษัทฯ มีการบริหาร จั ด การสิ น ค้ า คงเหลื อ ทั้ ง ประเภท วั ต ถุ ดิ บ และสิ น ค้ า ส� ำ เร็ จ รู ป โดย ประมาณการความต้ อ งการวั ต ถุ ดิ บ และสิ น ค้ า คงเหลื อ ของแต่ ล ะสาขา ในแต่ ล ะวั น ท� ำ ให้ ส ามารถควบคุ ม ปริ ม าณสิ น ค้ า ที่ จั ด ส่ ง ไปให้ แ ต่ ล ะ สาขาและควบคุ ม ปริ ม าณของเสี ย ได้ ใ นแต่ละวัน การบริหารการจัด ส่ง วั ต ถุ ดิ บ และสิ น ค้ า ส� ำ เร็ จ รู ป แบบรวม ศู น ย์ ยั ง ช่ ว ยท� ำ ให้ ส ามารถควบคุ ม ต้ น ทุ น การจั ด ส่ ง ได้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ยิ่งขึ้น

ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการขายและบริ ห าร ที่ ส� ำ คั ญ ประกอบด้ ว ย ค่ า ใช้ จ ่ า ย พนั ก งาน ค่ า เช่ า ค่ า สาธารณู ป โภค ค่าใช้จ่ายในการโฆษณาและส่งเสริม การขาย ค่ า วั ส ดุ สิ้ น เปลื อ ง และค่ า เสื่ อ มราคาทรั พ ย์ สิ น ถาวรและค่ า ตั ด จ� ำ หน่ า ย ในปี 2560 มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย ในการขายและบริ ห ารทั้ ง สิ้ น 8,299 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ร้อยละ 4.5 เหตุ ผ ลหลั ก เนื่ อ งจากค่ า ใช้ จ ่ า ย ทางการตลาดเพื่ อ ส่ ง เสริ ม การขาย ค่ า เช่ า และค่ า บริ ก ารของสาขาต่ า งๆ ที่เพิ่มสูงขึ้น การเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่าย พนั ก งานจากจ� ำ นวนพนั ก งานที่ เ พิ่ ม ส�ำหรับสาขาที่เปิดใหม่ ส่วนอัตราส่วน ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการขายและบริ ห าร ต่ อ รายได้ ร วมปรั บ ลดลงจากร้ อ ยละ 51.2 ในปี 2559 เป็ น ร้ อ ยละ 50.4 ในปี นี้ ทั้ ง นี้ สาเหตุ ห ลั ก เนื่ อ งจาก การเพิ่ ม ขึ้ น ของรายได้ จ ากการขาย และบริ ก ารตามที่ ก ล่ า วไว้ ข ้ า งต้ น ประกอบกั บ การลดลงของค่ า เสื่ อ ม ราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย และการลดลง ของส�ำรองค่าใช้จ่ายจากการให้สิทธิ ในการซื้อหุ้นแก่พนักงาน

ก�ำไรขั้นต้น

ก�ำไรสุทธิ

ในปี 2560 บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่อยมีก�ำไรขั้นต้นเท่ากับ 10,899 ล้าน บาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.9 เมื่อเทียบกับ ปีก่อนหน้า ส�ำหรับสัดส่วนก�ำไรขั้นต้น ต่ อ รายได้ จ ากการขายและบริ ก าร

จากปั จ จั ย ต่ า งๆ ซึ่ ง มี ผ ลกระทบ ต่ อ ผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยตามที่ ก ล่ า วมาแล้ ว ข้ า งต้ น ท� ำ ให้ ก� ำไรสุ ท ธิ ข องบริ ษั ท ฯ และบริษัทย่อยปรับเพิ่มขึ้นจาก 2,100

ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร


การวิเคราห์ฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน

ล้านบาทในปี 2559 เป็น 2,425 ล้าน บาทในปี 2560 หรือเพิ่มขึ้น 325 ล้าน บาท คิ ด เป็ นร้ อ ยละ 15.5 เมื่อ เที ย บ กับปีก่อน ฐานะการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย มี สิ น ทรั พ ย์ ร วม 16,283 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ณ สิ้น ปี 2559 จ�ำนวน 640 ล้านบาท หรือ คิดเป็นการเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.1 สาเหตุ หลักมาจาก 1. การเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนระยะ ยาว จ� ำ นวน 794 ล้ า นบาท สาเหตุ

หลั ก มาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของเงิ น ฝาก ประจ�ำ จ�ำนวน 646 ล้านบาท และ เงิน ลงทุ น ในหลักทรัพ ย์เผื่อ ขาย จ�ำนวน 148 ล้านบาท 2. การเพิ่ ม ขึ้ น ของเงิ น สดและ รายการเที ย บเท่ า เงิ น สด จ� ำ นวน 87 ล้านบาท 3. การลดลงของที่ ดิ น อาคาร และอุ ป กรณ์ จ� ำ นวน 249 ล้ า นบาท เนื่ อ งจากมี ก ารตั ด ค่ า เสื่ อ มราคา ระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มี ห นี้ สิ น รวมทั้ ง หมดจ� ำ นวน 2,454 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ณ สิ้นปี 2559 จ� ำ นวน 189 ล้ า นบาท คิ ด เป็ น การ เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.3 โดยมีสาเหตุหลัก

105

มาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของค่ า ใช้ จ ่ า ย ค้างจ่าย จ�ำนวน 155 ล้านบาท เจ้าหนี้ การค้ า จ� ำ นวน 61 ล้ า นบาท และ การเพิ่ ม ขึ้ น ของส� ำ รองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนั ก งาน จ� ำ นวน 20 ล้านบาท ส่ ว นของผู ้ ถื อ หุ ้ น ของบริ ษั ท ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีจ�ำนวน 13,829 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ณ สิ้นปี 2559 จ� ำ นวน 451 ล้ า นบาท โดย มี ส าเหตุ ห ลั ก มาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของ ก� ำ ไรสะสม จ� ำ นวน 412 ล้ า นบาท และการเพิ่ ม ขึ้ น ของส่ ว นทุ น จากการ จ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ จ�ำนวน 30 ล้านบาท

กระแสเงินสด

(หน่วย: ล้านบาท) รายการ

2559

2560

เงินสดสุทธิจากกิจกรรมด�ำเนินงาน

3,090

3,575

เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

(1,238)

(1,481)

เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

(1,816)

(2,007)

35

87

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ ในปี 2560 บริษัทฯ มีเงินสดรับสุทธิ จากกิจกรรมด�ำเนินงานจ�ำนวน 3,575 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 485 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปีก่อน หรือเท่ากับ 15.7% โดยมี ส าเหตุ ห ลั ก มาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของก�ำไรจากการด�ำเนินงานก่อนการ เปลี่ ย นแปลงในสิ น ทรั พ ย์ แ ละหนี้ สิ น ด�ำเนินงาน การเพิม่ ขึน้ ของเจ้าหนีก้ ารค้า และเจ้ า หนี้ อื่ น สุ ท ธิ และการลดลง ของสินค้าคงเหลือ

เงิ น สดสุ ท ธิ ใ ช้ ไ ปในกิ จ กรรม ลงทุ น ของบริ ษั ท ฯ มี จ� ำ นวน 1,481 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น จากปี ก ่ อ น 243 ล้ า นบาท โดยกิ จ กรรมลงทุ น ส่ ว น ใหญ่เป็นเงินลงทุนทั่วไป จ�ำนวน 834 ล้านบาท และเงินสดจ่ายเพื่อซื้อที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ จ�ำนวน 619 ล้านบาท เนื่องจากการขยายสาขาที่เพิ่มขึ้น ส� ำ หรั บ กระแสเงิ น สดสุ ท ธิ ใช้ ไ ป ในกิจกรรมจัดหาเงินมีจ�ำนวน 2,007

ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 191 ล้านบาท โ ด ย ส า เ ห ตุ ห ลั ก ม า จ า ก ก า ร จ ่ า ย เงินปันผลที่สูงขึ้นกว่าปีก่อน จากการเคลื่อนไหวของเงินสดใน กิ จ กรรมด� ำ เนิ น งาน กิ จ กรรมลงทุ น และกิ จ กรรมจั ด หาเงิ น ส่ ง ผลให้ ใ นปี 2560 บริ ษั ท ฯ มี เ งิ น สดและรายการ เทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น 87 ล้านบาท


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

106

การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนทางการเงิน

หน่วย

งบการเงินรวม ปี 2559

ปี 2560

อัตราส่วนสภาพคล่อง

อัตราส่วนสภาพคล่อง (Current ratio)

เท่ า

5.4

5.0

อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว

เท่ า

5.0

4.6

อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด

เท่ า

1.6

1.8

อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้

เท่ า

549

563

ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย

วั น

1

1

อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ

เท่ า

24.7

23.8

ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย

วั น

15

15

อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้

เท่ า

12.3

11.7

ระยะเวลาช�ำระหนี้

วั น

29

31

Cash Cycle

วั น

(14)

(15)

อัตราก�ำไรขั้นต้น

ร้ อ ยละ

67.3

67.8

อัตราก�ำไรจากการด�ำเนินงาน

ร้ อ ยละ

14.9

16.2

อัตราส่วนเงินสดต่อการท�ำก�ำไร

ร้ อ ยละ

137.3

137.5

อัตราก�ำไรสุทธิ

ร้ อ ยละ

13.5

14.7

อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น

ร้ อ ยละ

15.9

17.8

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์

ร้ อ ยละ

13.7

15.2

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร

ร้ อ ยละ

62.3

72.8

เท่ า

1.0

1.0

อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

เท่ า

0.2

0.2

อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

เท่ า

0.0

0.0

อัตราส่วนความสามารถช�ำระดอกเบี้ย

เท่ า

N/A

N/A

อัตราส่วนความสามารถช�ำระภาระผูกพัน (Cash Basis)

เท่ า

1.3

1.3

อัตราส่วนแสดงความสามารถในการท�ำก�ำไร

อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน

อัตราการหมุนของสินทรัพย์ อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน


การวิเคราห์ฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน

อัตราส่วนสภาพคล่อง

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มี อั ต ราส่ ว นสภาพคล่ อ งที่ แข็ ง แกร่ ง โดยมีอัตราส่วนสภาพคล่องที่ 5.0 เท่า ปรับลดลงเล็กน้อยจาก 5.4 เท่าในปี 2559 และเนื่องจากตามลักษณะธุรกิจ ของบริษัทฯ จะมีการเก็บเงินสดทันที ภายหลั ง การขายและบริ ก าร ท� ำ ให้ ระยะเวลาเก็ บ หนี้ เ ฉลี่ ย ของบริ ษั ท ฯ มี ร ะยะสั้ น มากคื อ 1 วั น ในขณะที่ เจ้าหนี้การค้าจากการซื้อวัตถุดิบและ สินค้าส�ำเร็จรูปจะช�ำระภายหลังตาม นโยบายเครดิต โดยมีระยะเวลาช�ำระ หนี้ โ ดยเฉลี่ ย ประมาณ 30 วั น และ ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย 15 วัน จึง ท�ำให้บริษัทฯ มีเงินสดส่วนเกิน ท�ำให้ วงจรเงิ น สดติ ด ลบคื อ มี ว งจรเงิ น สด (15) วัน อัตราส่วนแสดงความ สามารถในการท�ำก�ำไร

อั ต ราส่ ว นความสามารถในการ ท�ำก�ำไรในปี 2560 ปรับตัวสูงขึ้นจาก ปีก่อน โดย ปี 2560 บริษัทฯ มีอัตรา ผลตอบแทนผู ้ ถื อ หุ ้ น ร้ อ ยละ 17.8 โดยปรับเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 15.9 ใน ปี 2559 สาเหตุหลักเกิดจากก�ำไรสุทธิ ที่ปรับเพิ่มขึ้น จ�ำนวน 325 ล้านบาท นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังมีอตั ราก�ำไรขัน้ ต้น ที่ ร ้ อ ยละ 67.8 และอั ต ราก� ำ ไรสุ ท ธิ ร้อยละ 14.7 ซึ่งล้วนปรับสูงขึ้นจากปี ก่อน แสดงให้เห็นถึงความสามารถใน การท�ำก�ำไรของบริษัทฯ ที่ดีขึ้น

อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพ ในการด�ำเนินงาน

ส� ำ หรั บ อั ต ราผลตอบแทนจาก สิ น ทรั พ ย์ ข องปี 2560 อยู ่ ที่ ร ้ อ ยละ 15.2 ปรับเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 13.7 ใน ปี 2559 โดยสาเหตุหลักมาจากก�ำไร สุทธิที่เพิ่มขึ้นจากปีก่อน โครงสร้างทางการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีอัตราหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น 0.2 เท่า ซึ่งไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับปี 2559 เนือ่ งมาจากบริษทั ฯ ไม่มเี งินกูจ้ าก สถาบั น การเงิ น และมี เ งิ น สดที่ เ หลื อ อยู่ค่อนข้างมากที่ได้จากการเพิ่มทุน ปัจจัยที่อาจมีผลกระทบต่อ การด�ำเนินงานในปี 2561

สถานการณ์ ก ารแข่ ง ขั น ในตลาด ธุ ร กิ จ ร้ า นอาหารในปี 2561 ยั ง คง เป็ น ไปอย่ า งรุ น แรง โดยผู ้ ป ระกอบ การร้ า นอาหาร ทั้ ง เชนร้ า นอาหาร และร้ า นอาหารทั่ ว ไปยั ง คงต้ อ งปรั บ กลยุ ท ธ์ รั บ การแข่ ง ขั น อย่ า งเข้ ม ข้ น และสอดคล้ อ งกั บ พฤติ ก รรมของ ลู ก ค้ า จากภาวะเศรษฐกิ จ ที่ มี ค วาม ไม่ แ น่ น อน ส่ ง ผลให้ ผู ้ ค นชะลอการ รั บ ประทานอาหารนอกบ้ า นลงและ ยั ง มี ท างเลื อ กในการรั บ ประทาน อาหารหลากหลายมากขึ้น โดยสาขา ของร้านอาหารส่วนใหญ่ของบริษัทฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยมี ท� ำ เลที่ ตั้ ง อยู ่ ใ น

107

ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้าโมเดิร์น เทรด และคอมมู นิ ตี้ ม อลล์ ซึ่ ง ท� ำ ให้ บริ ษั ท ฯ ต้ อ งแข่ ง ขั น กั บ คู ่ แข่ ง ที่ เ ป็ น ผู้ประกอบธุรกิจร้านอาหารนานาชนิด เป็ น จ� ำ นวนมาก ทั้ ง กลุ ่ ม ร้ า นอาหาร จากต่ า งประเทศ กลุ ่ ม ร้ า นอาหารที่ ด�ำเนินกิจการมานานในประเทศ ร้าน อาหารรายเล็ ก และยั ง มี ผู ้ ป ระกอบ การร้ า นอาหารรายใหม่ ๆ ที่ เข้ า มา ในธุรกิจร้านอาหารอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ และบริษัท ย่ อ ยยั ง คงมี เ ป้ า หมายที่ จ ะเติ บ โต อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเน้ น การขยาย สาขาเอ็มเค สุกี้ และยาโยอิเป็นหลัก โดยการขยายสาขาตั้ ง อยู ่ บ นหลั ก ความระมั ด ระวั ง และพิ จ ารณาถึ ง ผลตอบแทนและความคุ้มค่าของการ ลงทุ น ส� ำ หรั บ การขยายสาขาของ ยาโยอิ บริษัทฯ ยังเล็งเห็นถึงโอกาส และช่องทางในการขยายไปยังตลาด ลูกค้าที่อยู่ตามต่างจังหวัด โดยยังคง เน้ น การเปิ ด ร้ า นสาขาในห้ า งสรรพ สิ น ค้ า ศู น ย์ ก ารค้ า โมเดิ ร ์ น เทรดและ คอมมู นิ ตี้ ม อลล์ เนื่ อ งจากมี ต ้ น ทุ น การลงทุ น ต�่ ำ กว่ า การเปิ ด ร้ า นแบบ Stand Alone และมี จ� ำ นวนลู ก ค้ า ที่ หนาแน่นกว่า


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

108

รายการ ระหว่างกัน รายการระหว่างกันของบริษัทฯ และบริษัทย่อยและบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง บุคคลและบริษัท ที่เกี่ยวข้อง ปี 2559

1. บริษัท โกลบอล แอสเซท ดีเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด (เดิมชื่อ บริษัท เอ็มเค โกลบอล จำ�กัด) (GAD)

ความสัมพันธ์ ปี 2560

ลักษณะ รายการ

มูลค่ารายการ (ล้านบาท) ปี ปี 2559 2560

กรรมการและ/หรือผู้บริหาร ค่าจัดท�ำบัญชี 0.02 0.02 และผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริษัทฯ 3 ราย ได้แก่ นางยุพิน ธีระโกเมน นายฤทธิ์ ธีระโกเมน และ นายสมชาย หาญจิตต์เกษม เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ GAD ด้วยสัดส่วนการถือหุ้น ร้อยละ 82.9 (รวมการ ถือหุ้นของนายฤทธิ์และ นางยุพิน และนางยุพิน ในฐานะผู้จัดการมรดกของ นางทองค�ำ เมฆโต และ นายสมนึก หาญจิตต์เกษม) และร้อยละ 17.1 ตามล�ำดับ ค่าเช่าที่ดิน 34.32 35.72 มีกรรมการร่วมกัน คือ นายฤทธิ์ ธีระโกเมน และ นายสมชาย หาญจิตต์เกษม

ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการ

• รายการให้บริการจัดท�ำบัญชีแก่ GAD จ�ำนวน 15,000 บาท • ก�ำหนดราคาโดยประมาณจาก จ�ำนวนเวลาที่ใช้ในการให้บริการ และค่าใช้จ่ายพนักงานที่ให้บริการ • ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ การให้บริการจัดท�ำบัญชีแก่ GAD นั้นเรียกเก็บตามค่าใช้จ่าย พนักงานที่ให้บริการโดยไม่ท�ำให้ บริษัทฯ เสียประโยชน์ ดังนั้น รายการดังกล่าวจึงถือว่ามีความ สมเหตุสมผลและเกิดขึ้นตาม ความจ�ำเป็น • เพื่อใช้เป็นอาคารส�ำนักงานแห่ง ใหม่ในอัตราเดือนละ 1,687,554 บาทต่อเดือน • เพื่อใช้เป็นโรงงานครัวกลาง – บางนา CK5 แห่งใหม่ในอัตราเดือนละ 1,049,510 บาทต่อเดือน • ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ รายการเช่าที่ดินเป็นการด�ำเนิน ธุรกรรมตามปกติ โดยอัตราค่าเช่า เทียบเคียงได้กับอัตราตลาดของ ทรัพย์สินในบริเวณใกล้เคียงกัน ซึ่งรายการดังกล่าวถือว่ามีความ สมเหตุสมผลและเป็นไปเพื่อ ประโยชน์ของบริษัทฯ


รายการระหว่างกัน

บุคคลและบริษัท ที่เกี่ยวข้อง ปี 2559

ความสัมพันธ์ ปี 2560

ลักษณะ รายการ

มูลค่ารายการ (ล้านบาท) ปี ปี 2559 2560

2. บริษัท เอ็ม เค กรรมการและผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ค่าจัดท�ำบัญชี 0.02 เวิลด์ไวด์ จำ�กัด ของบริษัทฯ 3 ราย ได้แก่ (MKWW) นางยุพิน ธีระโกเมน นายฤทธิ์ ธีระโกเมน และ นายสมชาย หาญจิตต์เกษม เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ MKWW ด้วยสัดส่วนการถือหุ้น ร้อยละ 85.0 (รวมการ ถือหุ้นของนายฤทธิ์และ นางยุพินและนางยุพิน ในฐานะผู้จัดการมรดกของ นางทองค�ำ เมฆโต และ นายสมนึก หาญจิตต์เกษม) และร้อยละ 15 ตามล�ำดับ มีกรรมการร่วมกัน คือ นายฤทธิ์ ธีระโกเมน และ นายสมชาย หาญจิตต์เกษม 3. บริษัท สุพีเรีย ฟู้ด เซอร์วิส จำ�กัด (SFS)

ผูบ้ ริหารและผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ของบริษัทฯ ได้แก่ นางยุพิน ธีระโกเมน เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของ SFS ด้วยสัดส่วนการถือหุ้น ร้อยละ 65.0 มีกรรมการร่วมกัน คือ นายสมชาย หาญจิตต์เกษม

ค่าเช่าเครื่อง ล้างจานและ เครื่องท�ำ น�้ำแข็ง

109

0.02

ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการ

• รายการให้บริการจัดท�ำบัญชีแก่ MKWW จ�ำนวน 15,000 บาท • ก�ำหนดราคาโดยประมาณจาก จ�ำนวนเวลาที่ใช้ในการให้บริการ และค่าใช้จ่ายพนักงานที่ให้บริการ • ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ การให้บริการจัดท�ำบัญชีแก่ MKWW นั้นเรียกเก็บตามค่าใช้จ่ายพนักงาน ที่ให้บริการโดยไม่ท�ำให้บริษัทฯ เสียประโยชน์ ดังนั้น รายการดังกล่าว จึงถือว่ามีความสมเหตุสมผล และเกิดขึ้นตามความจ�ำเป็น

53.28 56.40 • รายการเช่าเครื่องล้างจานส�ำหรับ เอ็มเคสุกี้และยาโยอิทุกสาขา โดย SFS เป็นหนึ่งในผู้ให้บริการ หลายรายที่บริษัทฯ เลือกใช้ และ ได้มีการก�ำหนดราคาที่ไม่แตกต่าง จากผู้ให้บริการรายอื่น • รายการเช่าเครื่องท�ำน�้ำแข็งส�ำหรับ เอ็มเคสุกี้และยาโยอิทุกสาขา โดย SFS เป็นคู่ค้าเพียงรายเดียว ที่มีระบบให้เช่าเครื่องท�ำน�้ำแข็ง และให้บริการซ่อมบ�ำรุงหลังการขาย • ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ รายการเช่าอุปกรณ์ดังกล่าวเป็น ธุรกรรมปกติของบริษัทฯ และ ได้มีการก�ำหนดราคาโดยเทียบเคียง ได้กับราคาที่เสนอโดยผู้ให้บริการ รายอื่น รายการดังกล่าวจึงมีความ สมเหตุสมผลและเป็นไปเพื่อ ประโยชน์ของบริษัทฯ


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

110

บุคคลและบริษัท ที่เกี่ยวข้อง ปี 2559

4. บริษัท เควี อีเลคทรอนิคส์ จำ�กัด (KVE)

ความสัมพันธ์ ปี 2560

ลักษณะ รายการ

กรรมการของบริษัทฯ ได้แก่ ค่าที่ปรึกษา ดร. ขัติยา ไกรกาญจน์ เป็น ทางด้านไอที กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของ KVE ด้วยสัดส่วน การถือหุ้นร้อยละ 60.0 มีกรรมการร่วมกัน คือ ดร.ขัติยา ไกรกาญจน์

มูลค่ารายการ (ล้านบาท) ปี ปี 2559 2560

0.72

0.90

ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการ

• บริษัทฯ ได้ว่าจ้าง KVE เป็นที่ปรึกษา ทางด้านระบบสารสนเทศในอัตรา ค่าบริการเดือนละ 70,000 บาท ซึ่ง เป็นอัตราทีไ่ ม่แตกต่างจากผูใ้ ห้บริการ รายอื่น • ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ รายการว่าจ้างดังกล่าวเป็นธุรกรรม ปกติของบริษทั ฯ ซึง่ ต้องมีการปรับปรุง

ระบบสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง เพื่อรองรับการขยายตัวของธุรกิจ โดยได้ก�ำหนดค่าที่ปรึกษาจากการ เทียบเคียงกับราคาที่เสนอโดย ผู้ให้บริการรายอื่น รายการดังกล่าว จึงมีความสมเหตุสมผลและเป็นไป เพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ 5. บริษัท ซีเอ็ด ยูเคชั่น จำ�กัด (มหาชน) (SE-ED)

กรรมการและผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ค่าสปอนเซอร์ ของบริษัทฯ 2 ราย ได้แก่ นายฤทธิ์ ธีระโกเมน และ นายทนง โชติสรยุทธ์ เป็น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ SE-ED ด้วยสัดส่วนการถือหุ้น ร้อยละ 7.1 และร้อยละ 2.5 ตามล�ำดับ มีกรรมการร่วมกัน คือ นายทนง โชติสรยุทธ์ (เป็นกรรมการผู้มีอ�ำนาจ ลงนามใน SE-ED) และ นายประวิทย์ ตันติวศินชัย

0.68

0.42

• ค่าสปอนเซอร์คิตตี้แคมป์และการ แข่งขันหุ่นยนต์ระดับประถม 4 • ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ รายการว่าจ้างดังกล่าวเป็นธุรกรรม ปกติของบริษัทฯ และได้มีการ ก�ำหนดราคาโดยเทียบเคียงได้กับ ราคาที่เสนอโดยผู้ให้บริการรายอื่น รายการดังกล่าวจึงถือว่ามีความ สมเหตุสมผลและเป็นไปเพื่อ ประโยชน์ของบริษัทฯ


รายการระหว่างกัน

บุคคลและบริษัท ที่เกี่ยวข้อง ปี 2559

ความสัมพันธ์ ปี 2560

ลักษณะ รายการ

111

มูลค่ารายการ (ล้านบาท) ปี ปี 2559 2560

ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการ

6. บริษทั เนชัน่ แนล กรรมการและผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ค่าจัดท�ำบัญชี 0.02 ฟู้ด รีเทล จำ�กัด ของบริษัทฯ 2 ราย ได้แก่ (NFR) นางยุพิน ธีระโกเมน และ นายฤทธิ์ ธีระโกเมน เป็น ผู้ถือหุ้นใหญ่ของ NFR ด้วย สัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 99.9 (รวมการถือหุ้นของ นายฤทธิ์และนางยุพิน และนางยุพินในฐานะ ผู้จัดการมรดกของ นายสมนึก หาญจิตต์เกษม) มีกรรมการร่วมกัน คือ นายสมชาย หาญจิตต์เกษม

0.02

• รายการให้บริการจัดท�ำบัญชีแก่ NFR จ�ำนวน 15,000 บาท • บริษัทฯ ก�ำหนดราคาโดยประมาณ จากจ�ำนวนเวลาที่ใช้ในการให้บริการ และค่าใช้จ่ายพนักงานที่ให้บริการ • ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ การให้บริการจัดท�ำบัญชีแก่ NFR นั้นเรียกเก็บตามค่าใช้จ่ายพนักงาน ที่ให้บริการโดยไม่ท�ำให้บริษัทฯ เสียประโยชน์ ดังนั้น รายการดังกล่าว จึงถือว่ามีความสมเหตุสมผลและ เกิดขึ้นตามความจ�ำเป็น

7. นางยุพิน ธีระโกเมน

0.41

• รายการเช่าสถานที่เพื่อใช้ด�ำเนินการ Home Delivery Call Center และสาขา ย่อยโชคชัย • ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ รายการเช่าสถานที่ดังกล่าวเป็นไป เพื่อใช้ในการด�ำเนินธุรกิจของ บริษัทฯ นั้น โดยได้มีการพิจารณา ถึงความเหมาะสมของสถานที่ตั้ง ที่ก่อให้เกิดความสะดวกในการ ให้บริการแก่ลูกค้า อัตราค่าเช่า สามารถเทียบเคียงได้กับอัตราค่าเช่า ในพื้นที่เดียวกัน ดังนั้น รายการ ดังกล่าวจึงถือว่ามีความสมเหตุสมผล และเป็นไปเพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ

ผูบ้ ริหารและผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ เช่าทรัพย์สิน

0.38


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

112

บุคคลและบริษัท ที่เกี่ยวข้อง ปี 2559

8. นายฤทธิ์ ธีระโกเมน

ความสัมพันธ์ ปี 2560

ลักษณะ รายการ

มูลค่ารายการ (ล้านบาท) ปี ปี 2559 2560

ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผล ของรายการ

ผูบ้ ริหารและผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ขายบัตรของ 0.11 ขวัญ

0.20

• รายการขายบัตรของขวัญเพื่อใช้ บริการร้านอาหารของบริษัทฯและ บริษัทย่อย โดยก�ำหนดราคาเช่น เดียวกับลูกค้าทั่วไป • ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ รายการขายบัตรของขวัญเป็น ธุรกรรมปกติของบริษัทฯ และ ได้มีการก�ำหนดราคาเช่นเดียวกับ ลูกค้าทั่วไป รายการดังกล่าวจึง ถือว่ามีความสมเหตุสมผลและ เป็นไปเพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ

9. นายสมชาย ผูบ้ ริหารและผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ขายบัตรของ 0.27 หาญจิตต์เกษม ขวัญ

0.06

• รายการขายบัตรของขวัญเพื่อใช้ บริการร้านอาหารของบริษัทฯ และ บริษัทย่อย โดยก�ำหนดราคาเช่น เดียวกับลูกค้าทั่วไป • ความเห็นของคณะกรรมกา รตรวจสอบ รายการขายบัตรของขวัญเป็น ธุรกรรมปกติของบริษัทฯ และ ได้มีการก�ำหนดราคาเช่นเดียวกับ ลูกค้าทั่วไป รายการดังกล่าวจึง ถือว่ามีความสมเหตุสมผลและ เป็นไปเพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ

10. นายประวิทย์ ตันติวศินชัย

0.12 -

• รายการขายบัตรของขวัญเพื่อใช้ บริการร้านอาหารของบริษัทฯ และ บริษัทย่อย โดยก�ำหนดราคาเช่น เดียวกับลูกค้าทั่วไป • ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ รายการขายบัตรของขวัญเป็น ธุรกรรมปกติของบริษัทฯ และ ได้มีการก�ำหนดราคาเช่นเดียวกับ ลูกค้าทั่วไป รายการดังกล่าวจึง ถือว่ามีความสมเหตุสมผลและ เป็นไปเพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ

ผู้บริหารและผู้ถือหุ้น

ขายบัตรของ 0.12 ขวัญ


รายการระหว่างกัน

ความจ�ำเป็นและความสมเหตุ สมผลของรายการ

บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ บ ริ ษั ท ย ่ อ ย เข ้ า ท� ำ รายการระหว่ า งกั น ด้ ว ยความ ระมัดระวัง โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์ สู ง สุ ด ของบริ ษั ท ฯ บริ ษั ท ย่ อ ยและ ผู ้ ถื อ หุ ้ น เป็ น ส� ำ คั ญ การท� ำ รายการ ระหว่ า งกั น ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทุก รายการเป็ น รายการตามธุ ร กิ จ ปกติ หรือเป็นรายการที่มีความจ�ำเป็นและ มี ค วามสมเหตุ ส มผลเพื่ อ สนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ ปกติ ข องบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย โดยเงื่ อ นไขต่ า งๆของรายการ ระหว่างกันที่เกิดขึ้นจะถูกก�ำหนดให้ เป็ น ไปตามเงื่ อ นไขการค้ า ปกติ แ ละ เป็ น ไปตามราคาตลาด และด� ำ เนิ น การเช่ น เดี ย วกั บ ที่ ป ฏิ บั ติ กั บ ลู ก ค้ า ทั่ ว ไปที่ มี ลั ก ษณะเดี ย วกั น หรื อ ใกล้ เคี ย งกั น ส� ำ หรั บ การกู ้ ยื ม เงิ น /การ ให้ กู ้ ยื ม เงิ น กั บ บริ ษั ท ที่ เ กี่ ย วข้ อ งนั้ น บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยด� ำ เนิ น การ ไปเพื่ อ เสริ ม สภาพคล่ อ งตามความ จ�ำเป็นเท่านั้น มาตรการอนุมัติการท�ำ รายการระหว่างกัน

บริ ษั ท ฯ อนุ มั ติ ร ายการระหว่ า ง กั น โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ ข อง บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยเป็ น ส� ำ คั ญ โดยผ่ า นขั้ น ตอนการพิ จ ารณาตาม

ระเบี ย บปฏิ บั ติ ข องบริ ษั ท ฯ และ บริ ษั ท ย่ อ ยและผ่ า นคณะกรรมการ ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริ ษั ท ฯ และ บริ ษั ท ย่ อ ย ร่ ว มพิ จ ารณาถึ ง ผลกระ ทบและให้ มี ก ารก� ำ หนดราคาเป็ น ไปอย่ า งเหมาะสมตามเงื่ อ นไขการ ค้ า ปกติ เ สมื อ นการท� ำ รายการกั บ บุ ค คลภายนอก โดยการท� ำ รายการ ระหว่ า งกั น ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ จะต้ อ ง ได้ รั บ การพิ จ ารณาอนุ มั ติ จ ากคณะ กรรมการบริษัทฯ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ มี ก ารขออนุ มั ติ ใ นหลั ก การเกี่ ย วกั บ ข้ อ ตกลงทางการค้ า ที่ มี เ งื่ อ นไขการ ค้ า โดยทั่ ว ไปในการท� ำ ธุ ร กรรมระ หว่ า งบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยกั บ กรรมการ ผู ้ บ ริ ห าร หรื อ บุ ค คลที่ มี ความเกี่ ย วข้ อ ง ดั ง นี้ บริ ษั ท ฯ และ บริ ษั ท ย่ อ ย อาจมี ร ายการระหว่ า ง กั น ในอนาคต บริ ษั ท ฯ จึ ง ขออนุ มั ติ ในหลั ก การให้ ฝ ่ า ยจั ด การสามารถ อนุ มั ติ ก ารท� ำ ธุ ร กรรมดั ง กล่ า ว หาก ธุ ร กรรมเหล่ า นั้ น มี ข ้ อ ตกลงทางการ ค้ า ในลั ก ษณะเดี ย วกั บ ที่ วิ ญ ญู ช น จะพึ ง กระท� ำ กั บ คู ่ สั ญ ญาทั่ ว ไปใน สถานการณ์ เ ดี ย วกั น ด้ ว ยอ� ำ นาจต่ อ รองทางการค้ า ที่ ป ราศจากอิ ท ธิ พ ล ในการที่ตนมีสถานะเป็นกรรมการ ผู้ บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ จะจั ด ท� ำ รายงานสรุ ป การท� ำ ธุ ร กรรมเพื่ อ รายงานในการ ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ทุ ก ไตรมาส

113

ในกรณีที่กรรมการบริษัทฯ กรรมการ บริหาร กรรมการผู้จัดการหรือบุคคล ที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง มี ส ่ ว นได้ เ สี ย หรือ มีค วามขัด แย้ง ทางผลประโยชน์ กรรมการที่ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ผู ้ นั้ น ไม่ มี อ�ำนาจในการอนุมัติรายการดังกล่าว กั บ บริ ษั ท ฯ หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย ตามที่ ส�ำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. และ/ หรือตลาดหลักทรัพย์ฯก�ำหนด ทั้งนี้ บริษัทฯ จะเปิดเผยรายการ ระหว่ า งกั น ที่ ส� ำ คั ญ ไว้ ใ นหมายเหตุ ประกอบงบการเงินที่ได้รับการตรวจ สอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และ บริษัทย่อย นโยบายหรือแนวโน้มการท�ำ รายการระหว่างกันในอนาคต

บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีนโยบาย ในการท�ำรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้น ในปัจจุบันและในอนาคตที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยถือปฏิบัติเช่นเดียวกับลูกค้าทั่วไป ด้ ว ยนโยบายการก� ำ หนดราคาที่ เ ป็ น ธรรมและเป็ น ไปตามเงื่ อ นไขการค้ า ทั่ ว ไปโดยผ่ า นกระบวนการพิ จ ารณา อนุมัติที่ชัดเจน โปร่งใส ยุติธรรม เป็น ไปตามหลั ก การการก� ำ กั บ กิ จ การที่ ดี ถู ก ต้ อ งตามหลั ก เกณฑ์ ที่ บ ริ ษั ท ฯ และบริษัทย่อยก�ำหนด และต้องเป็น ไปตามอ� ำ นาจอนุ มั ติ ก ารท� ำ รายการ ระหว่างกันตามที่ระบุในข้อ 12.3


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

114

โครงสร้างการถือหุ้น และการจัดการ

หุ้นสามัญ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจ�ำนวน 925,850,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 925,850,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท โดยเป็นทุนช�ำระแล้วจ�ำนวน 920,878,100 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 920,878,100 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ผู้ถือหุ้น

รายชื่อผู้ถือหุ้น 10 รายแรกที่ปรากฏในสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2560 มีดังนี้ รายชื่อผู้ถือหุ้น

จำ�นวนหุ้น

สัดส่วนร้อยละ

1. นางยุพิน ธีระโกเมน

199,396,802

21.7

2. นายสมชาย หาญจิตต์เกษม(1)

164,494,812

17.9

3. นางยุพิน ธีระโกเมน ในฐานะผู้จัดการมรดกของ นายสมนึก หาญจิตต์เกษม(2)

164,087,977

17.8

4. นายฤทธิ์ ธีระโกเมน(3)

140,059,333

15.2

5. มูลนิธิป้าทองค�ำ เอ็มเค(4)

31,265,983

3.4

6. N.C.B.TRUST LIMITED-NORGES BANK 11

19,920,200

2.2

7. ส�ำนักงานประกันสังคม

17,797,000

1.9

8. กองทุนเปิด บัวหลวงหุ้นระยะยาว

16,618,400

1.8

9. กองทุนเปิด บัวหลวงหุ้นระยะยาว 75/25

9,062,600

1.0

10. DBS Bank LTD

9,002,900

1.0

หมายเหตุ:

(1) นายสมชาย หาญจิตต์เกษม เป็นน้องชายของนางยุพิน ธีระโกเมน (2) นายสมนึก หาญจิตต์เกษม เป็นน้องชายที่เสียชีวิตไปแล้วของนางยุพิน ธีระโกเมน (3) นายฤทธิ์ ธีระโกเมน เป็นสามีของนางยุพิน ธีระโกเมน (4) มูลนิธิป้าทองค�ำ เอ็มเค ก่อตั้งขึ้นโดยนางยุพิน ธีระโกเมน และนายสมชาย หาญจิตต์เกษม ซึ่งเป็นบุตรของนางทองค�ำ เมฆโต ที่เสียชีวิตไปแล้ว โดยมีนางยุพิน ธีระโกเมน และนายสมชาย หาญจิตต์เกษม เป็นประธานและรองประธานกรรมการของมูลนิธิ ตามล�ำดับ


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ

มติ ที่ ป ระชุ ม วิ สามั ญ ผู ้ ถือ หุ ้ น ครั้ ง ที่ 1/2556 เมื่อ วันที่ 3 มกราคม 2556 ได้อ นุมัติให้บ ริษัท ฯ ออกและเสนอขายใบ ส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ จ�ำนวน 20,000,000 หน่วย โดยจัดสรรให้แก่ผู้บริหาร (รวมถึงผู้บริหาร ซึ่ ง ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการ) และพนั ก งานของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย (“ใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ” หรื อ “M-WA”) ซึ่ ง มี รายละเอียดสรุปได้ดังนี้ ประเภทและชนิด

• ใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) ชนิดระบุชื่อผู้ถือและไม่สามารถโอนเปลี่ยนมือได้ เว้นแต่เป็นการโอน ในกรณีที่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานเสียชีวิต

อายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ

• 5 ปี นับจากวันที่ออกและเสนอขาย

จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ออก

• 20,000,000 หน่วย

ราคาเสนอขายต่อหน่วย

• หน่วยละ 0 บาท (ศูนย์บาท)

วิธีการเสนอขาย

• เสนอขายครั้งเดียวให้แก่ผู้บริหาร (รวมถึงผู้บริหารซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ) และพนักงานของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อย เป็นจ�ำนวนเกินกว่า 50 ราย

วิธีการจัดสรร

• จัดสรรให้แก่ผู้บริหาร (รวมถึงผู้บริหารซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ) และพนักงาน ของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อย โดยไม่ผ่านผู้รับช่วงซื้อหลักทรัพย์ • ทั้งนี้ จ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จัดสรรให้ผู้บริหาร (รวมถึงผู้บริหารซึ่งด�ำรง ต� ำ แหน่ ง กรรมการ) และพนั ก งานแต่ ล ะราย ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี จ� ำ นวนเท่ า กั น ขึ้นอยู่กับต�ำแหน่ง อายุงาน ความรู้และประสบการณ์ ความรับผิดชอบ ผลการ ปฏิบัติงาน และศักยภาพหรือประโยชน์ที่บริษัทฯ จะได้รับ

จ�ำนวนหุ้นสามัญที่ส�ำรองเพื่อการ

• 20,000,000 หุ้น

ใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ อัตราการใช้สิทธิ

• ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วยต่อหุ้นสามัญ 1 หุ้น (อาจเปลี่ยนแปลงในภายหลัง ตามเงื่อนไขการปรับสิทธิ)

ราคาใช้สิทธิ

• ราคาการใช้ สิ ท ธิ ข องใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ จ ะเท่ า กั บ 1 บาทต่ อ หุ ้ น เว้ น แต่ จ ะมี การปรั บ ราคาการใช้ สิ ท ธิ ต ามเงื่ อ นไขการปรั บ สิ ท ธิ ซึ่ ง ราคาใช้ สิ ท ธิ ดั ง กล่ า ว ถือเป็นการเสนอขายหลักทรัพย์ในราคาต�่ำกว่าราคาตลาด ซึ่งค�ำนวณโดยอ้างอิง กับราคาเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแก่ประชาชนทั่วไปที่ราคา 49 บาทต่อหุ้น

ระยะเวลาการใช้สิทธิ

• วันท�ำการสุดท้ายของทุกไตรมาส (เดือนมีนาคม หรือเดือนมิถุนายน หรือเดือน กันยายน หรือเดือนธันวาคม) ตลอดอายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ โดยเริ่มใช้สิทธิ ภายหลังครบก�ำหนดระยะเวลา 12 เดือน นับแต่วันที่ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ให้แก่ผู้บริหาร (รวมถึงผู้บริหารซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ) และพนักงานของ บริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อย (วันก�ำหนดใช้สิทธิ) ตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้

115


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

116

ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (ต่อ) ระยะเวลาการใช้สิทธิ

• หลังจาก 12 เดือนนับแต่วันที่ได้รับการจัดสรรผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิสามารถ ใช้สิทธิได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของจ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการจัดสรร • หลังจาก 24 เดือน นับแต่วันที่ได้รับการจัดสรร ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิสามารถ ใช้สิทธิได้อีกร้อยละ 20 ของจ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการจัดสรร • หลังจาก 36 เดือน นับแต่วันที่ได้รับการจัดสรร ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิสามารถ ใช้สิทธิได้อีกร้อยละ 30 ของจ�ำนวนใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ได้รับการจัดสรร • หลังจาก 48 เดือน นับแต่วันที่ได้รับการจัดสรร ผู้ถือใบส�ำคัญแสดงสิทธิสามารถ ใช้สิทธิได้โดยไม่จ�ำกัดจ�ำนวนจนกว่าจะครบอายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ • ใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ เ หลื อ จากการใช้ สิ ท ธิ ห รื อ ไม่ ถู ก ใช้ สิ ท ธิ ใ นวั น ก� ำ หนดการ ใช้สิทธิใดๆ สามารถสะสมเพื่อน�ำไปใช้สิทธิได้ในวันก�ำหนดการใช้สิทธิครั้งต่อๆ ไปได้ตลอดอายุของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ แต่หากครบก�ำหนดอายุของใบส�ำคัญ แสดงสิทธิแล้วใบส�ำคัญแสดงสิทธิใดๆ ที่ไม่ถูกใช้สิทธิจะถูกยกเลิกและสิ้นผลไป • วันสุดท้ายของการใช้สิทธิ ตรงกับวันท�ำการสุดท้ายของวันที่ครบก�ำหนดระยะ เวลา 5 ปีนับแต่วันที่ออกใบส�ำคัญแสดงสิทธิ

ระยะเวลาแสดงความจ�ำนง

• ไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนก�ำหนดการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย

ในการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย เงื่อนไขส�ำหรับการใช้สิทธิ ตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ

1. ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิจะต้องมีสถานะเป็นผู้บริหาร (รวมถึงผู้บริหารซึ่งดำ�รง ตำ�แหน่งกรรมการ) และพนักงานของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อย ณ วันที่ใช้ สิทธิ 2. ในกรณีที่ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิพ้นสภาพจากการเป็นผู้บริหาร (รวมถึงผู้บริหาร ซึ่ ง ดำ�รงตำ�แหน่ ง กรรมการ) หรื อ พนั ก งานของบริ ษั ท ฯ และ/หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย เนื่ อ งจากการเกษี ย ณอายุ ต ามระเบี ย บของบริ ษั ท ฯ ให้ ผู้ บ ริ ห ารหรื อ พนั ก งาน ดั ง กล่ า วสามารถใช้ สิ ท ธิ ต ามใบสำ�คั ญ แสดงสิ ท ธิ ไ ด้ จ นครบอายุ ข องใบสำ�คั ญ แสดงสิทธิที่ได้รับจัดสรรนั้น 3. ใ นกรณี ที่ ผู้ ถื อ ใบสำ�คั ญ แสดงสิ ท ธิ ถึ ง แก่ ก รรม ให้ ท ายาทหรื อ ผู้ รั บ มรดกตาม พินัยกรรมของผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิดังกล่าว สามารถใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ ตามใบสำ�คัญแสดงสิทธิได้เพียงเท่าจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ผู้ถือใบสำ�คัญ แสดงสิทธิผู้นั้นมีสิทธิเฉพาะในส่วนที่ครบกำ�หนดให้ใช้สิทธิได้แล้วเท่านั้น โดย จะสามารถใช้สิทธิได้ในวันกำ�หนดใช้สิทธิใดๆ จนครบกำ�หนดอายุของใบสำ�คัญ แสดงสิทธิดังกล่าว 4. ในกรณีที่ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิได้โอนย้ายสังกัดหรือบริษัทตามที่คณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ เห็ น ชอบ โดยที่ ผู้ บ ริ ห ารหรื อ พนั ก งานดั ง กล่ า วยั ง คงเป็ น ผู้ บ ริ ห าร หรือพนักงานของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อย ณ วันที่ใช้สิทธิ ให้ผู้บริหารหรือ พนั ก งานดั ง กล่ า วสามารถใช้ สิ ท ธิ ต ามใบสำ�คั ญ แสดงสิ ท ธิ ไ ด้ จ นครบอายุ ข อง ใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ได้รับจัดสรรนั้น


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

ใบส�ำคัญแสดงสิทธิ (ต่อ) เงื่อนไขส�ำหรับการใช้สิทธิ ตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ

เหตุในการต้องออกหุ้นใหม่ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง การใช้สิทธิ

5. ในกรณีที่ผู้ถือใบสำ�คัญแสดงสิทธิพ้นสภาพจากการเป็นผู้บริหาร (รวมถึงผู้บริหาร ซึ่ ง ดำ�รงตำ�แหน่ ง กรรมการ) หรื อ พนั ก งานของบริ ษั ท ฯ และ/หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย ก่อนหรือในวันกำ�หนดใช้สิทธิใดๆ ด้วยเหตุอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในข้อ 2-4 ข้างต้น ให้ผู้บริหารหรือพนักงานของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อยรายนั้นไม่สามารถ ใช้ สิ ท ธิ ต ามใบสำ�คั ญ แสดงสิ ท ธิ (ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ ใช้ สิ ท ธิ ) ที่ เ หลื อ อยู่ ไ ด้ อี ก ต่ อ ไป โดยให้ถือว่าใบสำ�คัญแสดงสิทธิดังกล่าวเป็นอันถูกยกเลิกและสิ้นผลในทันที • เมื่ อ มี ก ารปรั บ ราคาการใช้ สิ ท ธิ แ ละอั ต ราการใช้ สิ ท ธิ ต ามเงื่ อ นไขของการปรั บ สิ ท ธิ ต ามที่ ก� ำ หนดในข้ อ ก� ำ หนดสิ ท ธิ และเงื่ อ นไขของใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ซึ่ ง เป็นเหตุการณ์ตามที่ระบุในประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน หรือประกาศ อื่นใดที่เกี่ยวข้องก�ำหนด

วันที่ออกและระยะเวลาเสนอขาย

• บริษัทฯ จะจัดสรรใบส�ำคัญแสดงสิทธิให้กับผู้บริหาร (รวมถึงผู้บริหารซึ่งด�ำรง ต�ำแหน่งกรรมการ) และพนักงานของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อย ให้แล้วเสร็จ ภายใน 1 ปีนับจากวันที่ได้รับอนุมัติให้ออกและเสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ

ตลาดรองของใบส�ำคัญ

• บริษัทฯ จะไม่น�ำใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่ออกในครั้งนี้เข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรัพย์ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

แสดงสิทธิ ตลาดรองของหุ้นสามัญ ที่เกิดจากการใช้สิทธิ

• บริ ษั ท ฯ จะน� ำ หุ ้ น สามั ญ ที่ เ กิ ด จากการใช้ สิ ท ธิ ต ามใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ที่ อ อก ในครั้ ง นี้ เข้ า จดทะเบี ย นเป็ น หลั ก ทรั พ ย์ จ ดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย

ผลกระทบต่อผู้ถือหุ้น

• ผลกระทบต่อราคาตลาดของหุ้นของบริษัทฯ (Price Dilution) • ในกรณีที่มีการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จัดสรรให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อย ทั้งจ�ำนวน 20,000,000 หน่วย ราคาตลาดของหุ้นของบริษัทจะลดลงในอัตราร้อยละ 2.1 บนสมมติฐานราคา ตลาดของหุ ้ น บริ ษั ท ฯ คื อ ราคาเสนอขายหุ ้ น เพิ่ ม ทุ น ให้ แ ก่ ป ระชาชนทั่ ว ไป (IPO Price) ที่ 49 บาทต่อหุ้น และราคาใช้สิทธิซื้อหุ้นตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิ ที่ 1 บาทต่อหุ้น

ผลกระทบต่อผู้ถือหุ้น

• ผลกระทบต่อส่วนแบ่งก�ำไรต่อหุ้น (Earning Per Share Dilution) และสิทธิในการ ออกเสียงของผู้ถือหุ้น (Control Dilution) • ในกรณีที่มีการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จัดสรรให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อย ทั้งจ�ำนวน 20,000,000 หน่วย ส่วนแบ่งก�ำไรต่อหุ้นหรือสิทธิในการออกเสียงของผู้ถือหุ้นจะลดลงในอัตราร้อย ละ 2.2 ของส่วนแบ่งก�ำไรหรือสิทธิในการออกเสียงเดิม โดยค�ำนวณเปรียบเทียบ กับจ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทฯ จ�ำนวน 925,850,000 หุ้น (ทุนจดทะเบียนช�ำระแล้วภายหลังจากที่บริษัทฯ เสนอขายหุ้นเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือ หุ้นเดิมและประชาชนทั่วไปและการใช้สิทธิตามใบส�ำคัญแสดงสิทธิทั้งจ�ำนวน)

117


118

รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ทั้งนี้ หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และราย ละเอียดอื่นๆ ของใบส�ำคัญแสดงสิทธิ รวมทั้ ง เหตุ ที่ ท� ำ ให้ ต ้ อ งออกหุ ้ น ใหม่ เพื่ อ รองรั บ การปรั บ ราคาการใช้ สิ ท ธิ อั ต ร า ก า ร ใช ้ สิ ท ธิ ข อ ง ใ บ ส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ ใ ห้ อ ยู ่ ใ นดุ ล ยพิ นิ จ ของ คณะกรรมการเป็ น ผู ้ มี อ� ำ นาจในการ พิจารณาก�ำหนดหรือแก้ไขตามที่เห็น สมควร และมอบหมายให้ ป ระธาน กรรมการเป็นผู้มีอ�ำนาจในการจัดท�ำ ข้อก�ำหนดสิทธิและหน้าที่ของผู้ออก ใบส� ำ คั ญ แสดงสิ ท ธิ รวมทั้ ง มี อ� ำ นาจ ในการก� ำ หนดหรื อ แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม หลักเกณฑ์ ข้อก�ำหนด เงื่อนไข และราย

ละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออก ใบส�ำคัญแสดงสิทธิเพื่อให้เป็นไปตาม กฎหมายและประกาศของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง นโยบายการจ่ายเงินปันผล

บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยจะจ่ า ย เงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของ ก�ำไรสุทธิภายหลังการหักภาษีเงินได้ นิ ติ บุ ค คลและการจั ด สรรทุ น ส� ำ รอง ตามกฎหมาย โดยพิ จ ารณาจากงบ การเงินรวมเป็นส�ำคัญ

อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ และบริษัท ย่ อ ยอาจพิ จ ารณาจ่ า ยเงิ น ปั น ผลใน อั ต ราที่ น ้ อ ยกว่ า อั ต ราที่ ก� ำ หนดข้ า ง ต้ น หรื อ งดจ่ า ยเงิ น ปั น ผล โดยขึ้ น อยู ่ กั บ ภาวะทางเศรษฐกิ จ ผลการ ด� ำ เนิ น งาน ฐานะการเงิ น สภาพ คล่ อ งของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย และความจ�ำเป็นในการใช้เป็นเงินทุน หมุ น เวี ย นในการบริ ห ารกิ จ การและ การขยายธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ และ บริษัทย่อย


โครงสรางการถือหุนและการจัดการ

119

โครงสร้างการจัดการของ บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ากัด (มหาชน)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 โครงสร้างองค์กรของบริษัทฯ มีรายละเอียดดังนี้

คณะกรรมการบริษัท ฯ

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

คณะกรรมการตรวจสอบ

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ฝ่ายตรวจสอบภายใน

รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่

รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ใหญ่อาวุโสและประธาน เจ้าหน้าที่การเงิน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ใหญ่อาวุโส

สายงานธุรกิจภัตตาคาร ญี่ปุ่น

โครงการพิเศษ

สายงานบัญชีและ การเงิน

สายงานพัฒนาภัตตาคาร และซ่อมบำารุง

สายงานการตลาด

สายงานทรัพยากร มนุษย์

สายงานเทคโนโลยี สารสนเทศ

สายงานซัพพลายเชน

สายงานธุรกิจภัตตาคาร เอ็มเค

สายงานดิจิตอล เทคโนโลยี

สายงานประกันคุณภาพ และความปลอดภัย ทางอาหาร

สายงานพัฒนา ผลิตภัณฑ์


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

120

โครงสร้างการจัดการของบริษัทฯ ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะ กรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และ พิจารณาค่าตอบแทน ทัง้ นี้ คณะกรรมการ บริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน มีองค์ประกอบ คุ ณ สมบั ติ และการแบ่ ง แยกหน้ า ที่ และความรั บ ผิ ด ชอบอย่ า งชั ด เจน รายละเอียดดังนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะ กรรมการบริ ษั ท ฯ ประกอบด้ ว ย กรรมการ 10 ท่าน ดังนี้ 1. นายฤทธิ์ ธีระโกเมน ประธานกรรมการ 2. นายสมชาย หาญจิตต์เกษม กรรมการ 3. นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร กรรมการและกรรมการ บรรษัทภิบาล สรรหา และ พิจารณาค่าตอบแทน 4. ดร.อรรณพ ตันละมัย กรรมการอิสระและประธาน กรรมการตรวจสอบ 5. นางวิไล ฉัททันต์รัศมี กรรมการอิสระและกรรมการ ตรวจสอบ 6. นายอรรถพล ชดช้อย กรรมการอิสระ กรรมการ ตรวจสอบ และกรรมการ บรรษัทภิบาล สรรหา และ พิจารณาค่าตอบแทน

7. นายทนง โชติสรยุทธ์ กรรมการอิสระ 8. ดร.ขัติยา ไกรกาญจน์ กรรมการอิสระและประธาน กรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน 9. นายสุจินต์ ชุมพลกาญจนา กรรมการ 10.นายประวิทย์ ตันติวศินชัย กรรมการและเลขานุการบริษัทฯ กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม

กรรมการผู ้ มี อ� ำ นาจลงนามแทน บริษัทฯ คือ นายฤทธิ์ ธีระโกเมน นาย สมชาย หาญจิ ต ต์ เ กษม นายสมชาย พิพธิ วิจติ รกร นายประวิทย์ ตันติวศินชัย สองในสี่คนลงลายมือชื่อร่วมกันและ ประทับตราส�ำคัญของบริษัทฯ ขอบเขตอ�ำนาจ หน้าที่ และ ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการ

1. จัดการบริษัทฯ ให้เป็นไปตาม กฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับ ของบริษัทฯ รวมทั้งมติคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ และมติ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต รั บ ผิ ด ชอบ ระมัดระวัง และรอบคอบ โดยค�ำนึงถึง ประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ และเป็น ธรรมต่ อ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ทุกฝ่าย 2. พิจารณาและให้ความเห็นชอบ หรื อ อนุ มั ติ ใ นเรื่ อ งที่ ส� ำ คั ญ เกี่ ย วกั บ การด�ำเนินงานของบริษทั ฯ เช่น วิสยั ทัศน์ และพั น ธกิ จ กลยุ ท ธ์ เป้ า หมาย

ทางการเงิน ความเสี่ยง แผนงานและ งบประมาณ เป็นต้น 3. ติ ด ตามและควบคุ ม ดู แ ลให้ ฝ่ายจัดการด�ำเนินการให้เป็นไปตาม นโยบายและแผนที่ก�ำหนดไว้อ ย่า งมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. ดู แ ลให้ ก ารด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของ บริษัทฯ มีความต่อเนื่องในระยะยาว แ ล ะ พิ จ า ร ณ า ใ ห ้ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ แผนพั ฒ นาผู ้ บ ริ ห าร รวมทั้ ง ทบทวน แผนการสื บ ทอดต� ำ แหน่ ง ผู ้ บ ริ ห าร ระดั บ สู ง (Management Succession Plan) 5. จัดให้มีนโยบายการก�ำกับดูแล กิจการของบริษทั ฯ เป็นลายลักษณ์อกั ษร แ ล ะ ใ ห ้ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ น โ ย บ า ย ดังกล่าว รวมทั้งมีการทบทวนนโยบาย และการปฏิ บั ติ ต ามนโยบายดั ง กล่ า ว เป็นประจ�ำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 6. ส่ ง เสริ ม ให้ จั ด ท� ำ จรรยาบรรณ ธุ ร กิ จ เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร เพื่ อ ให้ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน เข้ า ใจถึ ง มาตรฐานด้ า นจริ ย ธรรมที่ บริษัทฯ ใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ รวมทั้ง ติดตามให้มกี ารปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณ ดังกล่าวอย่างจริงจัง 7. พิ จ ารณาเรื่ อ งความขั ด แย้ ง ของผลประโยชน์ อ ย่ า งรอบคอบ การพิ จ ารณาการท� ำ รายการที่ อ าจมี ความขัดแย้งของผลประโยชน์ ควรมี แนวทางที่ ชั ด เจนและเป็ น ไปเพื่ อ ผลประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้น โดยรวมเป็นส�ำคัญ โดยที่ผู้มีส่วนได้เสีย ไม่ ค วรมี ส ่ ว นร่ ว มในการตั ด สิ น ใจ รวมทั้ ง ก� ำ กั บ ดู แ ลให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ตามข้ อ ก� ำ หนดเกี่ ย วกั บ ขั้ น ตอนการ ด�ำเนินการและการเปิดเผยข้อมูลของ


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ของ ผลประโยชน์ให้ถูกต้องครบถ้วน 8. ก� ำ กั บ ดู แ ลให้ มี ก ารบริ ห าร ความเสี่ ย งที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล รวมทั้ ง มี ก ารทบทวนระบบและประเมิ น ประสิ ท ธิ ผ ลของการจั ด การความ เสี่ ย งอย่ า งสม�่ ำ เสมอและในทุ ก ๆ ระยะเวลาที่ พ บว่ า ระดั บ ความเสี่ ย ง มีการเปลี่ยนแปลง 9. จั ด ใ ห ้ มี ร ะ บ บ ก า ร ค ว บ คุ ม ด้ า นการด� ำ เนิ น งาน ด้ า นรายงาน ทางการเงิ น และด้ า นการปฏิ บั ติ ตามกฎหมาย ระเบียบ และนโยบาย รวมทั้ ง จั ด ให้ มี บุ ค คลหรื อ หน่ ว ยงาน ที่ มี ค วามเป็ น อิ ส ระในการปฏิ บั ติ หน้ า ที่ เ ป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบในการตรวจ สอบระบบการควบคุ ม ดั ง กล่ า วและ ทบทวนระบบที่ ส� ำ คั ญ อย่ า งน้ อ ย ปีละ 1 ครั้ง 10. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ หรื อ คณะกรรมการตรวจสอบควรให้ความ เห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบ การควบคุ ม ภายในและการบริ ห าร ความเสี่ยงไว้ในรายงานประจ�ำปีของ บริษัทฯ 11. จั ด ให้ มี แ นวทางการด� ำ เนิ น การที่ ชั ด เจนเกี่ ย วกั บ ผู ้ ที่ ป ระสงค์ จะแจ้ ง เบาะแส หรื อ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ผ่ า นทาง website หรื อ รายงานตรง ต่ อ บริ ษั ท ฯ โดยช่ อ งทางในการแจ้ ง เบาะแสอาจก�ำหนดให้ผ่านกรรมการ อิ ส ระหรื อ กรรมการตรวจสอบของ บริษัทฯ เพื่อให้มีการตรวจสอบข้อมูล ตามกระบวนการที่บริษัทฯ ก�ำหนดไว้ และรายงานต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ

12. จั ด ใ ห ้ มี ก ล ไ ก ก� ำ กั บ ดู แ ล บ ริ ษั ท ย ่ อ ย เ พื่ อ ดู แ ล รั ก ษ า ผ ล ประโยชน์ ใ นเงิ น ลงทุ น ของบริ ษั ท ฯ โดยมี ห น้ า ที่ ใ นการพิ จ ารณาความ เหมาะสมของบุ ค คลที่ จ ะส่ ง ไปเป็ น กรรมการในบริ ษั ท ย่ อ ย เพื่ อ ควบคุ ม การบริหารให้เป็นไปตามนโยบายของ บริ ษั ท ฯ และการท� ำ รายการต่ า งๆ ให้ ถู ก ต้ อ งตามกฎหมายและหลั ก เกณฑ์ ข องกฎหมายหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และประกาศของ ตลาดหลักทรัพย์ 13. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ และการประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่ ในกรณี ที่ มี เ หตุ สุ ด วิ สั ย โดยกรรมการ บริษัทฯ ที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุม จะต้องแจ้งให้ประธานกรรมการหรือ เลขานุ ก ารคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ทราบล่วงหน้าก่อนการประชุม 14. ประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ ของคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นประจ�ำ ทุกปี คณะกรรมการตรวจสอบ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะ กรรมการตรวจสอบประกอบด้ ว ย กรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. ดร.อรรณพ ตันละมัย ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 2. นางวิไล ฉัททันต์รัศมี กรรมการตรวจสอบและ กรรมการอิสระ 3. นายอรรถพล ชดช้อย กรรมการตรวจสอบและ กรรมการอิสระ

121

กรรมการตรวจสอบทั้ ง 3 ท่ า น เป็ น ผู ้ ที่ มี ค วามรู ้ แ ละประสบการณ์ ด้านบัญชีและการเงิน ขอบเขตอ�ำนาจ หน้าที่ และ ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการตรวจสอบ

1. สอบทานให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ก าร รายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและ เพียงพอ 2. สอบทานให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ร ะบบ การควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่ เ หมาะสมและมี ประสิ ท ธิ ผ ล และพิ จ ารณาความเป็ น อิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ค วามเห็ น ชอบในการ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง โยกย้ า ย เลิ ก จ้ า ง หั ว หน้ า หน่ ว ยงานตรวจสอบภายใน หรื อ หน่ ว ยงานอื่ น ใดที่ รั บ ผิ ด ชอบ เกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้ บ ริ ษั ท ฯ ปฏิ บั ติ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ข้ อ ก� ำ หนดของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ และกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. สอบทานและหารื อ กั บ ฝ่ า ย จัดการเกี่ยวกับความเสี่ยงที่ส�ำคัญของ บริ ษั ท ฯ และมาตรการที่ ฝ ่ า ยจั ด การ ได้ด�ำเนินการเพื่อติดตามและควบคุม ความเสี่ยงดังกล่าว 5. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง บุ ค คลซึ่ ง มี ค วามเป็ น อิ ส ระเพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ผู ้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ และเสนอค่ า ตอบแทนของบุ ค คล ดั ง กล่ า ว รวมทั้ ง เข้ า ร่ ว มประชุ ม กั บ


122

รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ผู ้ ส อบบั ญ ชี โดยไม่ มี ฝ ่ า ยจั ด การเข้ า ร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 6. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย และข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าว สมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุด ต่อบริษัทฯ 7. จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบเสนอต่ อ คณะกรรมการ บริษัทฯ หลังจากการประชุมของคณะ กรรมการตรวจสอบแต่ละครั้ง 8. จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบโดยเปิ ด เผยไว้ ใ นรายงาน ประจ�ำปีของบริษทั ฯ ซึง่ รายงานดังกล่าว ต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบและต้ อ งประกอบด้ ว ย ข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ค ว า ม เ ห็ น เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม ถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น เป็ น ที่ เชื่ อ ถื อ ได้ ของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ (ข) ความเห็นเกีย่ วกับความเพียงพอ ของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ (ค) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ข้ อ ก� ำ หนดของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ หรื อ กฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ (ง) ค ว า ม เ ห็ น เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม เหมาะสมของผู้สอบบัญชี (จ) ความเห็ น เกี่ ย วกั บ รายการที่ อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (ฉ) จ� ำ นวนการประชุ ม ของคณะ กรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุม

ของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน (ช) ความเห็ น หรื อ ข้ อ สั ง เกตโดย รวมที่ ค ณะกรรมการตรวจสอบได้รับ จากการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามกฎบั ต ร (Charter) (ซ) รายการอื่นที่เห็นว่า ผู้ถือหุ้น และผู ้ ล งทุ น ทั่ ว ไปควรทราบ ภายใต้ ขอบเขตหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ 9. ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะ กรรมการบริ ษั ท ฯมอบหมายด้ ว ย ความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ 10. ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะ กรรมการตรวจสอบ หากพบหรื อ มี ข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระท�ำ ดั ง ต่ อ ไปนี้ ซึ่ ง อาจมี ผ ลกระทบอย่ า ง มี นั ย ส� ำ คั ญ ต่ อ ฐานะการเงิ น และ ผลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ให้ คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่ อ คณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อด�ำเนินการ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขภายในเวลาที่ ค ณะ กรรมการตรวจสอบเห็นสมควร (ก) รายการที่ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ (ข) การทุ จ ริ ต หรื อ มี สิ่ ง ผิ ด ปกติ หรือมีความบกพร่องที่ส�ำคัญในระบบ ควบคุมภายใน (ค) การฝ่ า ฝื น กฎหมายว่ า ด้ ว ย หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ข้ อ ก� ำ หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ บริ ษั ท ฯ หากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ หรื อ ผู ้ บ ริ ห ารไม่ ด� ำ เนิ น การให้ มี ก าร

ปรั บ ปรุ ง แก้ ไขภายในเวลาตามวรรค หนึ่งต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. หรือตลาด หลักทรัพย์ฯ 11. ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น ้ า ที่ ข อ ง คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ ตรวจสอบอาจขอค� ำ ปรึ ก ษาจาก ที่ ป รึ ก ษ า อิ ส ร ะภา ยนอ ก หรื อ ผู ้ เชี่ยวชาญในวิชาชีพอื่นๆ หากเห็นว่า มี ค วามจ� ำ เป็ น และเหมาะสม โดย บริษัทฯ เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่ เกี่ยวข้องทั้งหมด ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะ กรรมการตรวจสอบตามที่ ก ล่ า วข้ า ง ต้น คณะกรรมการตรวจสอบมีความ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ โดยตรง และคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ยังคงมีความรับผิดชอบในการด�ำเนิน งานของบริษัทฯ ต่อบุคคลภายนอก คณะกรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณา ค่าตอบแทน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะ กรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และ พิ จ ารณาค่ า ตอบแทน ประกอบด้ ว ย กรรมการ 3 ท่าน ดังนี้ 1. ดร.ขัติยา ไกรกาญจน์ ประธานคณะกรรมการ บรรษัทภิบาลฯ 2. นายอรรถพล ชดช้อย กรรมการบรรษัทภิบาลฯ 3. นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร กรรมการบรรษัทภิบาลฯ


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

ขอบเขตอ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณา ค่าตอบแทน ด้านบรรษัทภิบาล

1. พั ฒ น า แ ล ะ เ ส น อ แ น ะ แ น ว ปฏิ บั ติ ด ้ า นการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ที่เหมาะสมกับบริษัทฯ และสอดคล้อง กับหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ 2. ติดตามดูแลการปฏิบัติงานของ บริ ษั ท ฯ ให้ เ ป็ น ไปตามแนวปฏิ บั ติ ด้ า นการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข อง บริ ษั ท ฯ ตามที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ จ ากคณะ กรรมการบริษัทฯ 3. ทบทวนแนวปฏิ บั ติ ด ้ า นการ ก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท ฯ โดยเปรี ย บเที ย บกั บ หลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องมาตรฐานสากล แ ล ะ ข อ ง ต ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย ์ แ ห ่ ง ประเทศไทย และเสนอแนะต่ อ คณะ กรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ พิ จ ารณา ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 4. ทบทวนปรั ช ญาในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ จริ ย ธรรมธุ ร กิ จ จริ ย ธรรม กรรมการ จริ ย ธรรมพนั ก งาน และ แนวปฏิ บั ติ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งตามความ เหมาะสม เพือ่ น�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ 5. ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อื่ น ใดที่ เ กี่ ย วกั บ ด้ า นการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ต ามที่ ได้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ

ด้านการสรรหา

1. สรรหาบุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เหมาะสมที่ จ ะด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น กรรมการบริษัทฯ และผู้บริหารระดับ สู ง ในต� ำ แหน่ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหาร เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง ส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห าร ระดั บ สู ง ในต� ำ แหน่ ง ประธานเจ้ า หน้าที่บริหาร และในกรณีที่ต�ำแหน่ง ก ร ร ม ก า ร ว ่ า ง ล ง เ พ ร า ะ เ ห ตุ อื่ น นอกจากถึงคราวออกตามวาระ หรือ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ พิ จ ารณา คั ด เลื อ กเพื่ อ เสนอชื่ อ ให้ ที่ ป ระชุ ม ผู้ถือหุ้นเป็นผู้แต่งตั้งส�ำหรับกรณีอื่น 2. ในการสรรหาบุ ค คลเพื่ อ เสนอ ชื่ อ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ หรื อ ที่ ประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการบริษัทฯ หรือผู้บริหารระดับ สู ง ในต� ำ แหน่ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหารตามที่กล่าวในข้อ 1 นั้น คณะ กรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และ พิจารณาค่าตอบแทน ควรด�ำเนินการ ดังนี้ 2.1. ก� ำ หนดคุ ณ สมบั ติ แ ละ ลั ก ษณะส่ ว นตั ว อื่ น ที่ เ ห็ น ว่ า มี ค วาม ส� ำ คั ญ ของกรรมการและผู ้ บ ริ ห าร ระดั บ สู ง ในต� ำ แหน่ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารที่ ต ้ อ งการสรรหา เช่ น มี ค วามรู ้ ประสบการณ์ และความ เชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นที่ ต ้ อ งการ มี ความเป็ น ผู ้ น� ำ มี คุ ณ ธรรมและความ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผลงาน (Integrity and Accountability) ยึ ด มั่ น ในการท� ำ งาน อย่ า งมี ห ลั ก การและมาตรฐานเยี่ ย ง มืออาชีพ มีวุฒิภาวะและความมั่นคง และกล้าแสดงความคิดเห็นที่แตกต่าง

123

และเป็นอิสระ เป็นต้น 2.2. พิ จ า ร ณ า ค ว า ม เ ป ็ น อิสระของบุคคลที่จะเสนอชื่อให้เป็น กรรมการประเภทอิ ส ระของบริ ษั ท ฯ ว่ า มี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว นในการด� ำ รง ต� ำ แหน่ ง เป็ น กรรมการอิ ส ระของ บริษัทฯ หรือไม่ 2.3. พิ จ ารณาความเพี ย งพอ ของการอุ ทิ ศ เวลาส� ำ หรั บ การปฏิ บั ติ หน้าที่ในฐานะกรรมการบริษัทฯ เช่น ในการพิ จ ารณาเสนอชื่ อ กรรมการ เดิ ม เข้ า ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ต่ อ อี ก วาระ อาจประเมิ น จากจ� ำ นวนครั้ ง ของ การเข้ า ร่ ว มประชุ ม คณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ ส่ ว นบุ ค คลที่ จ ะถู ก เสนอชื่ อ เป็ น กรรมการใหม่ อ าจพิ จ ารณาจาก จ�ำนวนบริษัทที่บุคคลนั้นด�ำรงต�ำแหน่ง อยู่ก่อนที่จะเป็นกรรมการบริษัทฯ 2.4. ตรวจสอบให้รอบคอบว่า บุคคลที่จะถูกเสนอชื่อนั้น มีคุณสมบัติ ตามกฎหมายและข้ อ ก� ำ หนดของ หน่วยงานทางการ 3. ทบทวนและเสนอความเห็ น ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เกี่ ย วกั บ ความเหมาะสมของขนาด (Size) และ องค์ประกอบ (Composition) ของคณะ กรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ หน้ า ที่ ข องคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล เช่ น ควร จะมี จ� ำ นวนกรรมการเพี ย งพอที่ มี คุณสมบัติที่เหมาะสมเพื่อแต่งตั้งเป็น กรรมการของคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย ที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ส่วนองค์ประกอบของคณะกรรมการ บริษัทฯ ควรประกอบด้วยกรรมการที่มี ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความเชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นที่


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

124

หลากหลาย เพื่ อ ให้ ก ารพิ จ ารณา ตั ด สิ น ใจของคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ในเรื่องต่างๆ มีความรอบคอบรัดกุม ยิ่ ง ขึ้ น นอกจากนี้ ควรพิ จ ารณาถึ ง ความเหมาะสมของจ�ำนวนกรรมการ ที่ เ ป็ น อิ ส ระเพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามหลั ก การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี 4. ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อื่ น ใดที่ เ กี่ ย วกั บ ด้านการสรรหากรรมการตามที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ด้านการพิจารณา ค่าตอบแทน

1. พิ จ ารณาค่ า ตอบแทนของ กรรมการบริษัทฯ กรรมการของคณะ กรรมการชุ ด ย่ อ ยที่ ค ณะกรรมการ บริษัทฯ จัดตั้งขึ้น และผู้บริหารระดับสูง ในต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ หรือที่ ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติแล้วแต่ กรณี ค่าตอบแทนในที่นี้ ให้หมายรวม ถึง (ก) ค่าตอบแทนประจ�ำ (Retainer) ซึ่ ง เป็ น ค่ า ตอบแทนที่ จ ่ า ยเป็ น ราย เดือน (ข) ค่าเบี้ยประชุม (Attendance Fee) ซึ่งเป็นค่าตอบแทนที่จ่ายเป็นราย ครั้ ง ต่ อ การประชุ ม ส� ำ หรั บ กรรมการ ที่ เข้ า ร่ ว มประชุ ม (ค) ค่ า ตอบแทน ที่ จ ่ า ยตามผลการด� ำ เนิ น งานของ บริษัทฯ (Incentive) ซึ่งได้แก่ โบนัสหรือ บ�ำเหน็จ และ (ง) ผลประโยชน์อื่นใด ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด 2. เ พื่ อ ใ ห ้ ก า ร พิ จ า ร ณ า ค ่ า ตอบแทนมี ค วามโปร่ ง ใส เป็ น ธรรม และสมเหตุ ส มผล คณะกรรมการ บรรษั ท ภิ บ าล สรรหา และพิ จ ารณา ค่ า ตอบแทนควรด� ำ เนิ น การพิ จารณา

ค่ า ตอบแทนตามหลั ก เกณท์ แ ละ แนวทาง ดังต่อไปนี้ 2.1. ค่ า ตอบแทนควรสมเหตุ สมผลและอยู ่ ใ นระดั บ ที่ ส ามารถที่ จะดึ ง ดู ด และรั ก ษากรรมการและ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ที่ บริ ษั ท ฯ ต้ อ งการ โดยอาจพิ จ ารณา เปรี ย บเที ย บกั บ ข้ อ มู ล การจ่ า ยค่ า ตอบแทนของบริษัทอื่นที่มีการก�ำกับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละเที ย บเคี ย งกั น ได้ เช่น ขนาดของกิจการ (Size) ซึ่งอาจวัด ได้จากยอดขายหรือยอดสินทรัพย์รวม เป็นต้น ระดับของก�ำไร (Profitability) และความยากง่ า ยของการบริ ห าร (Complexity) 2.2. ค่ า ตอบแทนกรรมการ ควรเหมาะสมและสอดคล้ อ งกั บ ขอบเขตหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของ กรรมการแต่ละคน กรรมการที่ได้รับ มอบหมายหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ เพิ่ ม ขึ้ น ก็ ค วรได้ รั บ ค่ า ตอบแทนที่ เพิ่ ม ขึ้ น ด้ ว ย เช่ น กรรมการชุ ด ย่ อ ย นอกจากจะได้ รั บ ค่ า ตอบแทนใน ฐานะเป็นกรรมการบริษัทฯ แล้ว ควร ได้รับค่าตอบแทนเพิ่มเติมอีกในฐานะ เป็ น กรรมการชุ ด ย่ อ ยด้ ว ย ประธาน กรรมการบริ ษั ท ฯ และประธาน คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยควรได้ รั บ ค่ า ตอบแทนมากกว่ า สมาชิ ก ของคณะ กรรมการบริ ษั ท ฯ และสมาชิ ก ของ คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยในอั ต ราที่ เหมาะสม 2.3. ค่าตอบแทนของกรรมการ ที่จ่ายตามผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี ของบริษัทฯ เช่น โบนัสกรรมการ ควร เชื่อมโยงกับผลตอบแทนที่จ่ายให้แก่ ผู้ถือหุ้นในรูปของเงินปันผล หากปีใด

มิ ไ ด้ มี ก ารจ่ า ยเงิ น ปั น ผลแก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ก็ จ ะไม่ มี ก ารพิ จ ารณาการจ่ า ยโบนั ส ให้แก่กรรมการ 2.4. กรรมการที่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห าร ของบริษัทฯ จะได้รับค่าตอบแทนใน ฐานะของผู ้ บ ริ ห ารเท่ า นั้ น จะไม่ ไ ด้ รับค่าตอบแทนในฐานะกรรมการของ บริษัทฯ แต่อย่างใด 3. ทบทวนและให้ ค� ำ แนะน� ำ ต่ อ คณะกรรมการบริษัทฯ เกี่ยวกับความ เหมาะสมของค่ า ตอบแทนกรรมการ เป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี โดยพิ จ ารณาตาม หลักเกณท์และแนวทางการพิจารณา ค่ า ตอบแทนดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ก่ อ น น� ำ เสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น เพื่ อ พิจารณาอนุมัติ 4. ประเมินผลการปฏิบัติงานของ ผู้บริหารระดับสูงในต�ำแหน่งประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารเพื่ อ ก� ำ หนดค่ า ตอบแทนก่อนน�ำเสนอขออนุมัติจาก คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี ในการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ งานประจ� ำ ปี ข องผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ในต�ำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร นั้น ควรจะพิจารณาจากผลการด�ำเนิน งานประจ� ำ ปี ข องบริ ษั ท ฯ โดยรวม ผลการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นด้ า นที่ ส� ำ คั ญ อื่ น และการสร้ า งผลตอบแทนให้ แก่บริษัทฯ และผู้ถือหุ้นในระยะยาว นอกจากนี้ ควรจะเปรียบเทียบกับผล การด�ำเนินงานของบริษัทอื่นที่อยู่ใน อุตสาหกรรมเดียวกันที่เทียบเคียงกัน ได้ประกอบการพิจารณาด้วย 5. ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อื่ น ใดที่ เ กี่ ย วกั บ ด้ า นการพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนตามที่ ได้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

คณะผู้บริหาร

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มี ผู ้ บ ริ ห าร รวม 5 ท่ า น ตามรายชื่ อ และต�ำแหน่ง ดังนี้ 1. นายฤทธิ์ ธีระโกเมน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2. นายสมชาย หาญจิตต์เกษม รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ 3. นางยุพิน ธีระโกเมน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ 4. นายเกียรติก้อง กังวานวงษ์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ อาวุโส 5. นางสุดารัตน์ พัทธ์วิวัฒน์ศิริ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ อาวุโส ขอบเขตอ�ำนาจ หน้าที่ และ ความรับผิดชอบของประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร

ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารเป็ น ต� ำ แหน่ ง ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง สุ ด ของ บริษัทฯ และมีอ�ำนาจ หน้าที่ และความ รับผิดชอบในการบริหารกิจการทั้งปวง ของบริ ษั ท ฯ ตามที่ ค ณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ มอบหมายและรายงานตรง ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ โดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง อ� ำ นาจ หน้ า ที่ และความ รับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ตามที่ ค ณะกรรมการมอบหมายนั้ น ให้ ร วมถึ ง เรื่ อ งหรื อ กิ จ การต่ า งๆ ดั ง ต่อไปนี้ 1. บริ ห ารกิ จ การทั้ ง ปวงของ บริ ษั ท ฯ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมาย

วั ต ถุ ป ระสงค์ ข้ อ บั ง คั บ และมติ ที่ ประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ตลอดจนนโยบาย ระเบียบ กฎข้อบังคับ ค�ำสั่ง และมติ ของคณะกรรมการบริษัทฯ 2. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ ของบริษัทฯ อย่างดีที่สุด 3. จัดท�ำแผนธุรกิจ แผนการลงทุน และงบประมาณประจ�ำปีของบริษัทฯ ร ว ม ทั้ ง ป รั บ ป รุ ง แ ก ้ ไข แ ผ น แ ล ะ งบประมาณดั ง กล่ า วในระหว่ า งปี หากเห็นว่าจ�ำเป็น เพื่อให้สอดคล้อง กับเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมี นัยส�ำคัญ และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 4. ควบคุมและติดตามการด�ำเนิน การตามแผนธุ ร กิ จ แผนการลงทุ น และงบประมาณที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ จ าก คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ให้ บ รรลุ ผ ล ส�ำเร็จตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ 5. เสนอรายงานผลการด� ำ เนิ น งานและฐานะการเงิ น ประจ� ำ เดื อ น ประจ� ำ รายไตรมาส และประจ� ำ ปี ของบริ ษั ท ฯ รวมทั้ ง ข้ อ มู ล อื่ น ที่ เกี่ ย วข้ อ งและเห็ น ว่ า มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การทบทวนการด� ำ เนิ น งานของ บริ ษั ท ฯ ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ พิ จ ารณารั บ ทราบหรื อ ให้ ค วาม เห็นชอบ 6. รายงานให้ ค ณะกรรมการ บริษัทฯ ทราบโดยไม่ชักช้า ในกรณีที่ มี เ หตุ ก ารณ์ เ กิ ด ขึ้ น หรื อ มี เ หตุ ก ารณ์ ที่ มี ค วามเป็ น ไปได้ สู ง ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ใน อนาคตที่ อ าจมี ผ ลกระทบในเชิ ง ลบ อย่างมีนัยส�ำคัญต่อผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงิ น หรื อ ชื่ อ เสี ย งของ บริ ษั ท ฯ รวมทั้ ง เสนอมาตรการหรื อ

125

ค� ำ แนะน� ำ ในการแก้ ไ ขเหตุ ก ารณ์ ดั ง กล่ า วต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ 7. จั ด ท� ำ ห รื อ ป รั บ ป รุ ง แ ก ้ ไข โครงสร้ า งองค์ ก รระดั บ สู ง รวมทั้ ง ก� ำ หนดหน้ า ที่ ความรั บ ผิ ด ชอบของ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ที่ อ ยู ่ ภ ายใต้ ก าร บั ง คั บ บั ญ ชาของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหาร และน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 8. จั ด ท� ำ ห รื อ ป รั บ ป รุ ง แ ก ้ ไข ตารางการมอบอ� ำ นาจด� ำ เนิ น การ และเสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติ 9. ควบคุ ม ดู แ ลการด� ำ เนิ น งาน และกิ จ กรรมประจ� ำ วั น ของบริ ษั ท ฯ ให้ เ ป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวม ทั้งก�ำกับดูแลให้พนักงานของบริษัทฯ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามนโยบาย ระเบี ย บ กฎข้อบังคับ ค�ำสั่ง และมติของคณะ กรรมการบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด 10. มี อ� ำ นาจในการบั ง คั บ บั ญ ชา พนักงานและลูกจ้างของบริษัทฯ ทุก ต� ำ แหน่ ง รวมถึ ง การว่ า จ้ า ง แต่ ง ตั้ ง โยกย้ า ย ลงโทษทางวิ นั ย และเลิ ก จ้ า ง อย่ า งไรก็ ต าม ถ้ า เป็ น พนั ก งาน ในต� ำ แหน่ ง ตั้ ง แต่ ผู ้ อ� ำ นวยการฝ่ า ย หรื อ เที ย บเท่ า ขึ้ น ไป จะต้ อ งรายงาน ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เพื่ อ รั บ ทราบด้วย 11. มีอ�ำนาจในการออกระเบียบ ว่าด้วยการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ซึ่ง รวมถึงการก�ำหนด เปลี่ยนแปลง แก้ไข และยกเลิ ก ระเบี ย บ กฎข้ อ บั ง คั บ ค�ำสัง่ ประกาศทีเ่ กีย่ วกับการปฏิบตั งิ าน ของบริ ษั ท ฯ โดยไม่ ขั ด หรื อ แย้ ง กั บ ระเบียบ ข้อก�ำหนด หรือค�ำสั่งที่คณะ


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

126

กรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด 12. มีอ�ำนาจในการมอบหมายให้ บุ ค คลอื่ น ปฏิ บั ติ ง านหรื อ กระท� ำ การ อย่ า งหนึ่ ง อย่ า งใดแทน ตามที่ เ ห็ น สมควรได้ ภายใต้ขอบเขตอ�ำนาจของ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 13. มี อ� ำ นาจในการพิ จ ารณา อนุ มั ติ ห รื อ ด� ำ เนิ น การในเรื่ อ งอื่ น ๆ ตามทีก่ ำ� หนดไว้ในตารางการมอบหมาย อ� ำ นาจด� ำ เนิ น การที่ ค ณะกรรมการ บริษัทฯ ได้อนุมัติแล้ว 14. ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อื่ น ใดตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ เป็นครั้งคราว ทั้ ง นี้ การใช้ อ� ำ นาจของประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ไ ม ่ ส า ม า ร ถ ก ร ะ ท� ำ ไ ด ้ ใ น ก ร ณี ที่ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารหรือบุคคล ที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ตามที่ นิ ย ามไว้ ในประกาศคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ มี ส่ ว นได้ เ สี ย หรื อ อาจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ใ นลั ก ษณะอื่ น ใด กั บ บริ ษั ท ฯ หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย เว้ น แต่ เป็ น การอนุ มั ติ ร ายการธุ ร กิ จ ปกติ ที่ มี เ งื่ อ นไขการค้ า โดยทั่ ว ไป และคณะ กรรมการบริษัทฯ ได้อนุมัติในหลักการ ไว้แล้วตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ฯ เลขานุการบริษัทฯ

คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ มี ก าร พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง เลขานุ ก ารบริ ษั ท ฯ อย่างชัดเจนในการประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ ครั้งที่ 1/2560 โดยมอบหมาย ให้ นางสุ ด ารั ต น์ พั ท ธ์ วิ วั ฒ น์ ศิ ริ ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ที่ มี ป ระสบการณ์ แ ละมี คุ ณ สมบั ติ ที่ เ หมาะสมท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น เลขานุ ก ารบริ ษั ท ฯ โดยมอบหมาย

ให้เลขานุการบริษัทฯ มีหน้าที่ด�ำเนิน การดังนี้ 1. ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรับผิดชอบ ความระมั ด ระวั ง และความซื่ อ สั ต ย์ สุจริตเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ เป็นส�ำคัญ รวมทั้งต้องปฏิบัติให้เป็นไป ตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ ของบริษทั ฯ มติคณะกรรมการ ตลอดจน มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น 2. จั ด การเรื่ อ งการประชุ ม คณะ กรรมการและการประชุมผู้ถือ หุ้นให้ เป็ น ไปตามกฎหมาย ข้ อ บั ง คั บ ของ บริ ษั ท ฯ และข้ อ พึ ง ปฏิ บั ติ ที่ ดี (Best Practices) 3. บั น ทึ ก รายงานการประชุ ม คณะกรรมการและการประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้ ง แจ้ ง มติ ข องที่ ป ระชุ ม คณะ กรรมการและที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ให้ ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องทราบและติดตาม ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามมติ ดั ง กล่ า วผ่ า น ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 4. จั ด ท� ำ และเก็ บ รั ก ษาเอกสาร ดังต่อไปนี้ 4.1. ทะเบียนกรรมการ 4.2. หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม คณะ กรรมการ รายงานการประชุ ม คณะ กรรมการ และรายงานประจ� ำ ปี ข อง บริษัทฯ 4.3. หนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น 5. เก็ บ รั ก ษารายงานการมี ส ่ ว น ได้ เ สี ย ที่ ร ายงานโดยกรรมการและ ผู้บริหาร 6. ดู แ ลให้ มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล และรายงานสารสนเทศในส่ ว นที่ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ หน่ ว ยงานก� ำ กั บ ดู แ ล ตามระเบี ย บและข้ อ ก� ำ หนดของ หน่วยงานทางการ

7. ติ ด ต่ อ และสื่ อ สารกั บ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทั่ ว ไปให้ ไ ด้ รั บ ทราบสิ ท ธิ ต ่ า งๆ ของ ผู้ถือหุ้นและข่าวสารของบริษัทฯ 8. ให้ ค� ำ แนะน� ำ และข้ อ มู ล ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วกั บ ข้ อ กฎหมาย ระเบี ย บ และข้อบังคับต่างๆ ที่คณะกรรมการ ต้องทราบและปฏิบัติ รวมทั้งติดตาม ให้มีการปฏิบัติตามอย่างถูกต้องและ สม�่ำเสมอ 9. ดู แ ลกิ จ กรรมต่ า งๆ ของคณะ กรรมการ เพื่ อ ให้ ก รรมการปฏิ บั ติ หน้ า ที่ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผล


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

127

ตารางสรุปการเข้าร่วมการประชุมของคณะกรรมการปี 2560

รายนามคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณา ค่าตอบแทน

1. นายฤทธิ์ ธีระโกเมน

5/5

-

-

2. นายสมชาย หาญจิตต์เกษม

5/5

-

-

3. นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

5/5

-

2/2

4. ดร.อรรณพ ตันละมัย

5/5

5/6

-

5. นางวิไล ฉัททันต์รัศมี

5/5

6/6

-

6. นายอรรถพล ชดช้อย

5/5

6/6

2/2

7. นายทนง โชติสรยุทธ์

5/5

-

-

8. ดร.ขัติยา ไกรกาญจน์

5/5

-

2/2

9. นายสุจินต์ ชุมพลกาญจนา

5/5

-

-

10. นายประวิทย์ ตันติวศินชัย

5/5

-

-

ค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหาร

บริษัทฯ ได้ก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการไว้อย่างชัดเจนและโปร่งใส สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบใน การก�ำกับการท�ำงานของบริษัทฯ และผ่านการพิจารณาความเหมาะสมโดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ ส�ำหรับ ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารในปี 2560 มีรายละเอียดดังนี้ ค่าตอบแทนกรรมการ

ในปี 2560 บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการจ�ำนวน 7,357,000 บาท อย่างไรก็ดี ตามหลักเกณฑ์การ ก� ำ หนดค่ า ตอบแทนกรรมการของบริ ษั ท ฯ กรรมการที่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห ารจะได้ รั บ ค่ า ตอบแทนในฐานะของผู ้ บ ริ ห ารเท่ า นั้ น จะไม่ได้รับค่าตอบแทนในฐานะกรรมการแต่อย่างใด


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

128

ตารางแสดงค่าตอบแทนกรรมการของบริษัทฯ ค่าตอบแทนกรรมการ (บาท) ชื่อ-สกุล

คณะกรรมการ บริษัทฯ

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ บรรษัทภิบาล สรรหา และ พิจารณาค่า ตอบแทน

รวม

1. นายฤทธิ์ ธีระโกเมน

-

-

-

-

2. นายสมชาย หาญจิตต์เกษม

-

-

-

-

3. นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

955,000

-

30,000

985,000

4. ดร.อรรณพ ตันละมัย

955,000

99,000

-

1,054,000

5. นางวิไล ฉัททันต์รัศมี

955,000

84,000

-

1,039,000

6. นายอรรถพล ชดช้อย

955,000

84,000

30,000

1,069,000

7. นายทนง โชติสรยุทธ์

955,000

-

-

955,000

8. ดร.ขัติยา ไกรกาญจน์

955,000

-

45,000

1,000,000

9. นายสุจินต์ ชุมพลกาญจนา

955,000

-

-

955,000

10. นายประวิทย์ ตันติวศินชัย

300,000

-

-

300,000

6,985,000

267,000

105,000

7,357,000

รวม


โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ

129

ค่าตอบแทนผู้บริหาร

ในปี 2560 บริ ษั ท ฯ มี ก ารจ่ า ยค่ า ตอบแทนเป็ น เงิ น เดื อ น โบนั ส และค่ า ตอบแทนอื่ น ๆ ให้ แ ก่ ผู ้ บ ริ ห ารบริ ษั ท ฯ จ�ำนวน 54,928,651 บาท ตารางแสดงค่าตอบแทนผู้บริหารของบริษัทฯ ประเภท

จำ�นวน (ราย)

ค่าตอบแทน (บาท)

เงินเดือน

5

41,351,141

เงินโบนัส

5

12,714,202

ค่าตอบแทนอื่นๆ*

5

863,308

รวม

5

54,928,651

* ค่าตอบแทนอื่นๆ ได้แก่ ค่าน�้ำมัน ค่ารักษาพยาบาล และค่าตอบแทนจากกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ เป็นต้น ค่าตอบแทนอื่นๆ

นอกจากการจ่ า ยค่ า ตอบแทนให้ แก่ ก รรมการและผู ้ บ ริ ห ารในรู ป ของ ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินข้างต้นแล้ว จากมติ ที่ ป ระชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ครั้งที่ 1/2555 เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2555 ได้ อ นุ มั ติ ใ ห้ บ ริ ษั ท ฯ ออกและ เสนอขายใบส�ำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ

หุ ้ น สามั ญ ของบริ ษั ท ฯ (M-WA) รวม จ� ำ นวน 20,000,000 หน่ ว ย ให้ แ ก่ ผู ้ บ ริ ห าร (รวมถึ ง ผู ้ บ ริ ห ารซึ่ ง ด� ำ รง ต�ำแหน่งกรรมการ) และพนักงานของ บริ ษั ท ฯ และ/หรื อ บริ ษั ท ย่ อ ย ซึ่ ง จั ด สรรพร้ อ มกั บ การเสนอขายหุ ้ น สามัญแก่ประชาชนในเดือนสิงหาคม

2556 ทั้งนี้ ผู้บริหาร (รวมถึงผู้บริหาร ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ) ได้รับการ จัดสรร M-WA รวมจ�ำนวน 1,744,100 หน่วย ดังรายละเอียดต่อไปนี้


รายงานประจําป 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต กรุป จํากัด (มหาชน)

130

รายนามผู้บริหารที่ได้รับจัดสรร M-WA

จำานวนหน่วยที่ได้รับจัดสรร

จำานวนหน่วยที่ใช้สิทธิในปี 2560

นายฤทธิ์ ธีระโกเมน

451,300

180,600

นางยุพิน ธีระโกเมน

406,800

162,800

นายสมชาย หาญจิตต์เกษม

406,800

162,800

นายสุจินต์ ชุมพลกาญจนา

251,200

100,500

นายประวิทย์ ตันติวศินชัย

162,800

65,200

นายเกียรติก้อง กังวานวงษ์

65,200

26,100

ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี • ค่าตอบแทนจากการสอบ บัญชี (Audit Fee)

ในปี 2560 บริ ษั ท ฯ จ่ า ยค่ า ตอบแทนการสอบบั ญ ชี ใ ห้ แ ก่ ผู ้ ส อบ บัญชีของบริษัทฯ เป็นจ�านวนเงินรวม 2,130,000 บาท

• ค่าบริการอื่น (Non-Audit Fee)

ในปี 2560 บริ ษั ท ฯ จ่ า ยค่ า ต อ บ แ ท น ข อ ง ง า น บ ริ ก า ร อื่ น (Non-audit Service) ซึ่งได้แก่ ค่าสังเกตุ การณ์ ใ นการท� า ลายทรั พ ย์ สิ น เป็ น จ�านวนเงินรวม 170,610 บาท


หลักการกำกับ ดูแลกิจการที่ดี


132

รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

หลักการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี

นโยบายการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี

บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) เป็ น บริ ษั ท ฯ ที่ ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับด้านอาหารและ บริการ มีสาขาทั้งในประเทศและต่าง ประเทศที่ให้บริการลูกค้าเป็นจ�ำนวน มาก และเป็ น ที่ ย อมรั บ ในเรื่ อ งการ บริการ ความปลอดภัย และคุณภาพ ของอาหาร จึ ง ท� ำ ให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ก าร เจริญเติบโตอย่างมั่นคง นอกจากการ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ มี ร ากฐานมั่ น คงแล้ ว คณะกรรมการบริษัทฯ ยังได้ให้ความ ส�ำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี มีความเชื่อมั่นในหลักการ และได้น�ำข้อบังคับต่างๆ มาใช้ในการ ด�ำเนินธุรกิจ ก�ำหนดนโยบายบริหาร กิ จการ รวมถึง การก�ำกับ ดูแ ลภายใน หน่วยงาน เพื่อให้กิจการด�ำเนินงาน เป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิ ท ธิ ผ ล และบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ เป้าหมายที่ได้วางไว้ ความส� ำ คั ญ ของการก� ำ กั บ ดู แ ล กิจการที่ดีตามองค์ประกอบนั้น เป็น

แนวทางในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ ยึ ด มั่ น ในความถูกต้อง โปร่งใส และมีความ เป็ น ธรรมอย่ า งทั่ ว ถึ ง สร้ า งความ เชื่ อ มั่ น ต่ อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ผู ้ ล งทุ น ลู ก ค้ า พนั ก งาน และผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ย รวมถึงเป็นการปลูกฝังให้พนักงานของ บริ ษั ท ฯ ได้ ต ระหนั ก และมี จิ ต ส� ำ นึ ก ในจริยธรรม ในการด�ำเนินธุรกิจด้าน บริ ก าร ซึ่ ง แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง มาตรฐาน การจัดการที่ดีของบริษัทฯ ซึ่งจะเป็น ประโยชน์ ต ่ อ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ และ เป็ น ที่ ย อมรั บ ทั้ ง ในประเทศและต่ า ง ประเทศ ดังนั้น คณะกรรมการบริษัทฯ จึ ง ได้ ก� ำ หนดนโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ล กิ จ การที่ ดี ขึ้ น มา เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ ง กับหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อ น� ำ ไปสู ่ ก ารเติ บ โตและความมั่ น คงที่ ยั่งยืน และเป็นบริษัทฯ ที่ได้รับความ ไว้วางใจจากผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ลูกค้า พนักงาน และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย

นายฤทธิ์ ธีระโกเมน ประธานกรรมการบริษัท


หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริษทั ฯ มีเจตนารมณ์ ที่ จ ะส่ ง เสริ ม ให้ บ ริ ษั ท ฯ เป็ น องค์ ก ร ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ การก�ำกับดูแลกิจการ และการบริหาร จั ด การที่ ดี เ ลิ ศ โดยมุ ่ ง เน้ น การสร้ า ง ประโยชน์ที่ดีให้แก่ผู้ถือหุ้น และค�ำนึง ถึงผู้ที่มีส่วนได้เสียโดยรวม มีคุณธรรม ในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ มี ค วามโปร่ ง ใส และตรวจสอบได้ จึ ง ได้ ก� ำ หนดเป็ น นโยบายด้านการจัดการดูแลที่ดี เพื่อ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ผู ้ บ ริ ห าร และพนั ก งานยึ ด ถื อ เป็ น แนวทางใน การปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ ผู ้ บริ ห ารและพนั ก งานทุ ก คนจะปฏิ บั ติ งานด้ ว ยความโปร่ ง ใส ซื่ อ สั ต ย์ ต ่ อ องค์ ก ร และผู ้ ร ่ ว มงานทุ ก ๆ คนที่ เกี่ยวข้อง 2. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จะให้ ความส� ำ คั ญ กั บ ลู ก ค้ า เป็ น อั น ดั บ แรก อี ก ทั้ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ ความเป็ น อยู ่ แ ละความสุ ข ในการท� ำ งานของ พนักงาน ประโยชน์องค์กร และคู่ค้า ร่วมกัน เป็นล�ำดับ 3. คณะกรรมการบริษัทฯ จะมุ่งมั่น และทุ ่ ม เทปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด ้ ว ยความ รั บ ผิ ด ชอบ มี ค วามเป็ น อิ ส ระ และมี การจั ด แบ่ ง หน้ า ที่ ร ะหว่ า งประธาน กรรมการและประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหารรวมถึงผู้บริหารทุกท่าน 4. คณะกรรมบริ ษั ท ฯ จะวางตน ให้ เ ป็ น ที่ เ คารพนั บ ถื อ และเป็ น ผู ้ น� ำ ในเรื่องจริยธรรมและเป็นตัวอย่างใน

การปฏิบัติงานตามแนวทางการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ 5. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จะ ท� ำ งานด้ ว ยความเสี ย สละ ไม่ คิ ด เล็ ก คิดน้อยในประโยชน์ส่วนตน จะค�ำนึง ถึ ง ผลลั พ ธ์ โ ดยรวมขององค์ ก ร และ ส่วนรวมเป็นหลักก่อนเสมอ 6. เ ป ิ ด เ ผ ย ส า ร ส น เ ท ศ ข อ ง บริษัทฯ ทั้งในเรื่องทางการเงินและที่ ไม่ ใช่ เรื่ อ งทางการเงิ น อย่ า งเพี ย งพอ เชื่อถือได้ และทันเวลาเพื่อให้ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ ได้รับ สารสนเทศอย่างเท่าเทียมกัน 7. ผู ้ ถื อ หุ ้ น บริ ษั ท ฯ จะได้ รั บ การ ปฏิ บั ติ อ ย่ า งเท่ า เที ย มกั น มี สิ ท ธิ ใ น การเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล สารสนเทศ และมี ช่ อ งทางในการสื่ อ สารกั บ บริ ษั ท ฯ ที่ เหมาะสม 8. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ อาจ แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการเฉพาะเรื่ อ งขึ้ น ตามความเหมาะสม เพื่อช่วยพิจารณา กลั่ น กรองงานที่ มี ค วามส� ำ คั ญ อย่ า ง รอบคอบ และมี ร ะบบการคั ด สรร บุ ค ลากรที่ จ ะเข้ า มารั บ ผิ ด ชอบใน ต� ำ แหน่ ง บริ ห ารที่ ส� ำ คั ญ ทุ ก ระดั บ อย่ า งเหมาะสมและมี ก ระบวนการ สรรหาที่โปร่งใสเป็นธรรม ความส�ำคัญของการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดี

1. เพื่ อ เสริ ม สร้ า งระบบบริ ห าร จั ด การที่ ดี โปร่ ง ใส และมี ม าตรฐาน ชัดเจนเป็นสากล สามารถตรวจสอบได้ ซึ่ ง จะช่ ว ยให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ศั ก ยภาพใน การแข่งขัน ป้องกัน และขจัดความขัด แย้งทางผลประโยชน์ที่อาจจะเกิดขึ้น

133

2. สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ กั บ นั ก ลงทุนทั้งภายในและภายนอกประเทศ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย เพื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด ผล ประโยชน์ร่วมกันอย่างเท่าเทียมกัน 3. เพื่ อ เป็ น เครื่ อ งมื อ การวั ด ผล การด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และ ตรวจสอบการท� ำ งานต่ า งๆ เพื่ อ การ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขการด� ำ เนิ น งานให้ มีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ จนบรรลุเป้าหมาย ของบริษัทฯ นโยบายเกี่ยวกับการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดี หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ถึ ง สิ ท ธิ ใ นความเป็ น เจ้ า ของในการ ควบคุมบริษัทฯ ผ่านการแต่งตั้งคณะ กรรมการบริ ษั ท ฯ ให้ ท� ำ หน้ า ที่ แ ทน ผู ้ ถื อ หุ ้ น และมี สิ ท ธิ ใ นการตั ด สิ น ใจ เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญของ บริ ษั ท ฯ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จึ ง ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิของตน ตามสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้น ดังนี้ 1. การประชุมผู้ถือหุ้น

1.1. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จะ ดู แ ลให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ก ารให้ ข ้ อ มู ล วั น เวลา สถานที่ และวาระการประชุ ม โดยมีค�ำชี้แจงและเหตุผลประกอบใน แต่ละวาระ หรือประกอบมติที่ขอตาม ที่ระบุไว้ในหนังสือเชิญประชุมสามัญ และวิ ส ามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น หรื อ ในเอกสาร แนบวาระการประชุ ม และเผยแพร่ ผ่าน website ของบริษัทฯ ละเว้นการ กระท�ำใดๆ ที่เป็นการจ�ำกัดโอกาสของ


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

134

ผู้ถือหุ้นในการศึกษาสารสนเทศของ บริษัทฯ 1.2. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จะ อ� ำ นวยความสะดวกในการประชุ ม ผู้ถือหุ้น สถานที่จัดการประชุม ให้มี ขนาดเพียงพอรองรับจ�ำนวนผู้ถือหุ้น อยู ่ ใ นกรุ ง เทพมหานครหรื อ จั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย ง และไม่ ไ กลเกิ น ไปจนเป็ น อุปสรรคในการเดินทาง 1.3. บริษทั ฯ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเสนอวาระการประชุ ม หรื อ ส่ ง ค� ำ ถามเกี่ ย วกั บ บริ ษั ท ฯ ล่ ว งหน้ า ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น ตามช่องทาง ที่ บ ริ ษั ท ฯ จั ด ให้ เช่ น ทาง website บริษัทฯ 1.4. บริ ษั ท ฯ เปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ ไ ม่ ส ามารถมาร่ ว มประชุ ม ได้ด้วยตนเองมีสิทธิมอบฉันทะให้ผู้อื่น มาประชุ ม และลงมติ แ ทนผู ้ ถื อ หุ ้ น โดยได้ รั บ เอกสารและค� ำ แนะน� ำ ใน การมอบฉันทะ ผู้รับมอบฉันทะที่ถูก ต้องตามกฎหมาย พร้อมทั้งเสนอชื่อ กรรมการอิ ส ระให้ เ ป็ น ทางเลื อ กใน การมอบฉันทะ 2. การด�ำเนินการในวันประชุม ผู้ถือหุ้น

2.1. บริษทั ฯ ได้มกี ารน�ำเทคโนโลยี มาใช้ กั บ การประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น การ ลงทะเบี ย นผู ้ ถื อ หุ ้ น การนั บ คะแนน และแสดงผล เพื่ อ ให้ ก ารด� ำ เนิ น การ ประชุ ม สามารถกระท� ำ ได้ ร วดเร็ ว ถูกต้อง และแม่นย�ำ 2.2. บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือ หุ ้ น ซั ก ถามประธานกรรมการ และ ประธานกรรมการชุ ด ย่ อ ย ในเรื่ อ งที่

เกี่ยวข้องกับวาระการประชุม 2.3. ผู ้ ถื อ หุ ้ น มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย ง ลงคะแนนแยกส� ำ หรั บ แต่ ล ะระเบี ย บ วาระที่ เ สนอในการลงมติ เ ลื อ กตั้ ง กรรมการเป็นรายบุคคล 2.4. บริษัทฯ จัดให้มีบุคคลที่เป็น อิ ส ระเป็ น ผู ้ ต รวจนั บ หรื อ ตรวจสอบ คะแนนเสี ย งในการประชุ ม สามั ญ และวิ ส ามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น และเปิ ด เผยให้ ที่ ป ระชุ ม ทราบพร้ อ มบั น ทึ ก ไว้ ใ น รายงานการประชุม 2.5. ประธานในที่ ป ระชุ ม ต้ อ ง จัดสรรเวลาให้อย่างเหมาะสม และส่ง เสริ ม ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น มี โ อกาสแสดงความ คิ ด เห็ น และตั้ ง ค� ำ ถามที่ เ กี่ ย วข้ อ งต่ อ ที่ประชุมตามระเบียบวาระการประชุม นั้นๆ 3. การจัดท�ำรายงานการประชุม และการเปิดเผยมติการประชุม ผู้ถือหุ้น

3.1. รายงานการประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น บั น ทึ ก การชี้ แจงขั้ น ตอนการลง คะแนน และวิ ธี ก ารแสดงผลคะแนน ให้ ที่ ป ระชุ ม ทราบก่ อ นด� ำ เนิ น การ ประชุม รวมทั้งการเปิดโอกาสให้ผู้ถือ หุ ้ น ตั้ ง ประเด็นหรือ ซักถาม นอกจาก นี้ บันทึกค�ำถามค�ำตอบ และผลการลง คะแนนในแต่ละวาระว่ามีผู้ถือหุ้นเห็น ด้ ว ย คั ด ค้ า น และงดออกเสี ย งเป็ น อย่างไรรวมถึงบันทึกรายชื่อกรรมการ ผู้เข้าร่วมประชุมและกรรมการที่ลาป ระชุมด้วย 3.2. บ ริ ษั ท ฯ ได ้ เป ิ ด เผยใ ห้ สาธารณชนทราบถึงผลการลงคะแนน ของแต่ละวาระในการประชุมสามัญและ

วิสามัญผู้ถือหุ้นในวันท�ำการถัดไปบน website ของบริษัทฯ หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ถึงการดูแลให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น ทุ ก รายอย่ า งเท่ า เที ย มกั น และเป็ น ธรรม โดยด�ำเนินการดังนี้ 1. การให้ข้อมูลก่อนการประชุม ผู้ถือหุ้น

1.1. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ จะดู แ ลให้ บ ริ ษั ท ฯ แจ้ ง ก� ำ หนดการ ประชุมพร้อมระเบียบวาระ และความ เห็นของคณะกรรมการต่อตลาดหลัก ทรัพย์ฯ และเผยแพร่ผ่านทาง website ของบริษัทฯ อย่างน้อย 28 วันก่อนวัน นัดประชุมผู้ถือหุ้น 1.2. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จะ ดูแลให้บริษัทฯ แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบ กฎเกณฑ์ ต ่ า งๆ ที่ ใช้ ใ นการประชุ ม ขั้ น ตอนการออกเสี ย งลงมติ รวมทั้ ง สิ ท ธิ ก ารออกเสี ย งลงคะแนนตาม แต่ละประเภทของหุ้น 1.3. หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น จัดท�ำเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ทั้งฉบับ 2. การคุ้มครองสิทธิของ ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย

2.1. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จะ ก� ำ หนดหลั ก เกณฑ์ ก ารให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ส่ ว นน้ อ ยเสนอเพิ่ ม วาระการประชุ ม ล่ ว งหน้ า ก่ อ นวั น ประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ให้


หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

ชั ด เจนเป็ น การล่ ว งหน้ า เพื่ อ แสดง ถึ ง ความเป็ น ธรรมและความโปร่ ง ใส ในการพิจารณาว่าจะเพิม่ วาระทีผ่ ถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยเสนอหรือไม่ 2.2. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จะ ก� ำ หนดวิ ธี ก ารให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ส่ ว นน้ อ ย เสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้าด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการ เช่น ให้เสนอชื่อผ่านคณะ กรรมการสรรหาล่วงหน้า 3-4 เดือน ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น พร้อมข้อมูล ประกอบการพิจารณาด้านคุณสมบัติ และการให้ ค วามยิ น ยอมของผู ้ ไ ด้ รั บ การเสนอชื่อ 2.3. คณะกรรมการบริษทั ฯ ด�ำเนิน การประชุมผู้ถือหุ้นตามล�ำดับวาระที่ ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุม และ ไม่ เ พิ่ ม วาระในที่ ป ระชุ ม โดยไม่ แจ้ ง ให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า 2.4. คณะกรรมการบริษัทฯ เปิด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ได้ ใช้ สิ ท ธิ ใ นการ แต่งตั้งกรรมการเป็นรายคน 3. การป้องกันการใช้ขอ ้ มูลภายใน

เพื่อความเท่าเทียมกันในการรับรู้ ข้ อ มู ล และเพื่ อ ป้ อ งกั น การใช้ ข ้ อ มู ล ภายในเพื่ อ ประโยชน์ ข องกรรมการ ผู ้ บ ริ ห าร และพนั ก งาน ซึ่ ง รวมถึ ง คู ่ สมรสและบุ ต รที่ ยั ง ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภ าวะ และเพื่อเป็นการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (Good Governance) บริษัทฯ ได้มีการ ก�ำหนดนโยบายการดูแลการใช้ข้อมูล ภายในไว้ดังนี้ 3.1. ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนั ก งานของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง รวมถึ ง คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ที่ ท ราบข้ อ มู ล ที่ มี ส าระส� ำ คั ญ และงบ

การเงิ น ของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง ยั ง มิ ไ ด้ เ ปิ ด เผยแก่ ส าธารณชนทั่ ว ไป ท� ำ การ เผยแพร่ ห รื อ เปิ ด เผยแก่ บุ ค คลอื่ น ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน รวม ทั้งมิให้มีการล่วงรู้ข้อมูลระหว่างส่วน งาน เพื่อป้องกันการน�ำข้อมูลภายใน ที่ มี ส าระส� ำ คั ญ ซึ่ ง ยั ง มิ ไ ด้ เ ปิ ด เผยแก่ สาธารณชนทั่วไปไปเปิดเผยก่อนเวลา อันควร เว้นแต่ส่วนงานนั้นจ�ำเป็นต้อง รับทราบโดยหน้าที่ และให้ดูแลข้อมูล ดังกล่าวเช่นเดียวกับหน่วยงานเจ้าของ ข้อมูล ทั้งนี้ ไม่รวมถึงการให้ข้อมูลแก่ หน่วยงานราชการที่ก�ำกับดูแล 3.2. ห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนั ก งานของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง รวมถึ ง คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ที่ทราบข้อมูลที่ส�ำคัญและงบการเงิน ของบริ ษั ท ฯ ท� ำ การ ซื้ อ ขาย โอน หรื อ รั บ โอนหลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ฯ ในช่ ว ง 1 เดื อ นก่ อ นการเปิ ด เผยงบ การเงินให้แก่สาธารณชนทราบ และ จนกว่าจะพ้น 24 ชั่วโมงนับแต่ได้มีการ เปิ ด เผยข้ อ มู ล นั้ น สู ่ ส าธารณชน (Blackout Period) ทั้งนี้บริษัทฯ จะแจ้ง ให้บุคคลที่เกี่ยวข้องทราบเกี่ยวกับช่วง ระยะเวลา Blackout Period ล่วงหน้า 14 วันก่อนถึง Blackout Period 4. การมีสว ่ นได้เสียของกรรมการ

4.1. การประชุ ม คณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ วาระใดที่ ก รรมการมี ส ่ ว น ได้ เ สี ย จะต้ อ งแจ้ ง ต่ อ ที่ ป ระชุ ม เพื่ อ รับทราบ และต้องออกนอกห้องประชุม ในวาระนั้นๆ 4.2. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ มี ห น้ า ที่ พิ จ ารณาและแก้ ไ ขปั ญ หา

135

เรื่องความขัดแย้งของผลประโยชน์ที่ อาจจะเกิ ด ขึ้ น รวมถึ ง รายการที่ เ กี่ ย ว โยงกั น เพื่ อ ประโยชน์ ข องบริ ษั ท ฯ และผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ย โดยมอบ หมายให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบ พิ จ ารณาและให้ ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์และรายการที่เกี่ยวโยงกัน ในการท�ำธุรกรรมของบริษัทฯ น�ำเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ รับทราบอย่าง สม�่ำเสมอทุกไตรมาส หมวดที่ 3 บทบาทของผู้มี ส่วนได้เสีย

คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ให้ ค วาม ส� ำ คั ญ ต่ อ สิ ท ธิ ข องผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ม ได้แก่ ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง สังคม พนั ก งาน และผู ้ ถื อ หุ ้ น ตระหนั ก ถึ ง หน้าที่ความรับผิดชอบ โดยได้จัดท�ำ จรรยาบรรณข้ อ พึ ง ปฏิ บั ติ ที่ ดี ให้ พนั ก งานให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ ผู ้ มี ส ่ ว น ได้ เ สี ย กลุ ่ ม ต่ า งๆ มี ค วามซื่ อ สั ต ย์ ต่ อ หน้ า ที่ ไม่ ทุ จ ริ ต ไม่ จ ่ า ยสิ น บน ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การตอบสนองต่ อ ผลประโยชน์ ใ ห้ แ ก่ ทุ ก ฝ่ า ยอย่ า ง ซื่อตรงและเป็นธรรม ซึ่งสามารถสรุป แนวทางปฏิ บั ติ แ ยกตามกลุ ่ ม ต่ า งๆ ได้ดังนี้ • ลู ก ค้ า มุ ่ ง มั่ น สร้ า งความพอใจ และมั่ น ใจให้ แ ก่ ลู ก ค้ า พั ฒ นา สิ น ค้ า ให้ มี คุ ณ ภาพ และบริ ก าร ที่ดียิ่งขึ้น ต่อลูกค้า อีกทั้งให้ความ ส� ำ คั ญ ในการสร้างความสะดวก ให้แก่ลูกค้า บริษัทฯ เอาใจใส่และ รับผิดชอบ ต่อลูกค้าโดยมีหน่วยงาน ที่ ติ ด ตาม และรั บ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย น


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

136

น�ำมาปรับปรุง การบริการอยู่เสมอ คู ่ ค ้ า มุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะสร้ า งความ สัมพันธ์ที่ดี เอื้อประโยชน์ร่วมกัน และเพื่ อ เป็ น การรั ก ษาสิ ท ธิ ข อง คู ่ ค ้ า ในธุ ร กิ จ บริ ก ารด้ ว ยความ ซื่ อ สั ต ย์ อ ย่ า งสู ง สุ ด เป็ น สิ่ ง ที่ บริษัทฯ ให้ความ ส�ำคัญอย่างสูง ต่ อ คู ่ ค ้ า รวมทั้ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่อความลับทางการค้าของคู่ค้า คู่แข่ง มุ่งเน้นการแข่งขันทางด้าน คุ ณ ภาพและประสิ ท ธิ ภ าพของ การให้บริการเพื่อประโยชน์สูงสุด ของลู ก ค้ า ไม่ ท� ำ ลายชื่ อ เสี ย ง ของคู ่ แข่ ง เพี ย งเพื่ อ ผลประโยชน์ ของ บริ ษั ท ฯ ในขณะเดี ย วกั น ถื อ ว่ า บริ ษั ท อื่ น เป็ น คู ่ ค ้ า และเป็ น ผู้ร่วมวิชาชีพเดียวกัน มีสัตยาบัน ร่วมกันในการประกอบวิชาชีพ สั ง คม คณะกรรมการตระหนั ก ถึ ง ความเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของสั ง คม โดยมอบเป็ น นโยบายให้ ฝ ่ า ย จั ด การน� ำ เรื่ อ งความรั บ ผิ ด ชอบ ต่ อ สั ง คม CSR (Corporate Social Responsibility) เพื่ อ ให้ ค วาม ช่ ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น และสร้ า ง ประโยชน์ แ ก่ ชุ ม ชนและสั ง คมใน ภาพรวม และส่งเสริมให้พนักงาน ตระหนั ก ถึ ง ความรั บ ผิ ด ชอบที่ มี ต่อสังคมทุกภาคส่วน พนักงาน ให้ โ อกาสแก่ พ นั ก งาน ทุกระดับอย่างเท่าเทียมกันในการ ท�ำงาน และยึดหลักคุณธรรมและ ความยุ ติ ธ รรมในการบริ ห ารงาน ทรัพยากรบุคคล ทั้งค่าตอบแทน สวัสดิการ กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ เพื่ อ ความมั่ น คงในอนาคตของ พนักงาน ตลอดจนให้ความส�ำคัญ

เรื่องการพัฒนาพนักงานทุกระดับ ในด้านความรู้ ทักษะ และค่านิยม ที่ดีในการท�ำงาน อีกทั้งดูแลเรื่อง ความปลอดภั ย และสุ ข อนามั ย ของพนั ก งานในโรงงาน และให้ พนั ก งานทุ ก คนปฏิ บั ติ ง านมี ก าร น� ำ ระบบประเมิ น และการวั ด ผล อย่างเป็นธรรมตามความสามารถ (Competency) และได้ก�ำหนดดัชนี การวั ด ผลส� ำ เร็ จ (KPIs : Key Performance Indicators) มาวัดผล ส�ำเร็จในการท�ำงานของพนักงาน เพื่อเทียบกับเป้าหมาย • ผู้ถือหุ้น มุ่งมั่นในการด�ำเนินงาน ทีจ่ ะรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ เพื่ อ สร้ า งความพึ ง พอใจสู ง สุ ด แก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ด้ ว ยผลตอบแทนที่ ดี และการเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้ ง มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล ต่ อ ผู ้ ล งทุ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น อย่ า งถู ก ต้ อ ง ครบถ้วน โปร่งใส และเชื่อถือได้ เปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ทุ ก รายได้ ใช้สิทธิอย่างเท่าเทียมกัน หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูล และความโปร่งใส

1. คณะกรรมการบริษัทฯ มีหน้าที่ ในการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศ ทั้งที่ เป็นทางการเงินและมิใช่ทางการเงิน อย่ า งครบถ้ ว นทั น เวลา และเชื่ อ ถื อ ได้อย่างเท่าเทียมกัน ให้ผู้ถือหุ้นและ ผู้มีส่วนได้เสียรับทราบ ทางรายงาน ประจ�ำปี การแจ้งข่าวสาร ผ่านระบบ สารสนเทศของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่ ง ประเทศไทย และ website ของ บริ ษั ท ฯ โดยครอบคลุ ม ตามข้ อ พึ ง

ปฏิบัติที่ดีตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยได้ ก� ำ หนดแนวทางไว้ โดยบริษัทฯ มีการเปิดเผยสารสนเทศ ที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างสม�่ำเสมอทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผ่านช่อง ทางการสื่ อ สารทั้ ง ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และ website ของบริษัทฯ 2. จั ด ให้ มี ห น่ ว ยงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น หน่ ว ยงาน ประสานกั บ นั ก ลงทุ น สถาบั น นั ก วิเคราะห์หลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯ ในการให้ข้อมูล การด�ำเนิน งาน และการลงทุนของบริษัทฯ ด้วย ช่ อ งทางการติ ด ต่ อ ที่ ส ะดวก รวดเร็ ว และเข้าถึงได้ง่าย 3. ข้ อ มู ล ส� ำ คั ญ ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ราคาหลักทรัพย์ของบริษัทฯ หรืออาจ มี ผ ลกระทบต่ อ การตั ด สิ น ใจลงทุ น หรื อ มี ผ ลกระทบต่ อ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ของผู ้ ถื อ หุ ้ น จะเปิ ด เผยหลั ง จากที่ ข้อมูลนั้นเผยแพร่อย่างเป็นทางการต่อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว 4. คณะกรรมการบริษัทฯ มีหน้าที่ ในการจัดท�ำรายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการต่ อ รายงานทาง การเงิ น และแสดงไว้ คู ่ กั บ รายงาน ประจ�ำปี ค่าตอบแทนของคณะกรรมการ เป็ น รายบุ ค คลในรายงานประจ� ำ ปี นอกจากนั้ น จะต้ อ งเปิ ด เผยรวมถึ ง จ�ำนวนครั้งในการประชุมในแต่ละปี 5. คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบ หมายให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบดู รายงานการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ (Management Discussion and Analysis) ควบคู่กับงบการเงินทุกไตรมาส รวมถึง ต้องพิจารณาค่าสอบบัญชีและเปิดเผย ค่าสอบบัญชีในรายงานประจ�ำปี


หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

6. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ต้ อ ง เปิดเผยนโยบายการจ่ายค่าตอบแทน แก่ ก รรมการและผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ที่ สะท้ อ นถึ ง ภาระหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของแต่ ล ะท่ า น รวมทั้ ง รู ป แบบ หรื อ ลั ก ษณะของค่ า ตอบแทน และ รวมถึงค่าตอบแทนที่กรรมการแต่ละ ท่านได้รับจากการเป็นกรรมการของ บริษัทย่อยด้วย 7. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ต้ อ ง รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลัก ทรัพย์ของบริษัทฯ ตามกฎเกณฑ์ของ คณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 8. คณะกรรมการบริษัทฯ ก�ำหนด ให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบด� ำ เนิ น การ ตรวจสอบและดู แ ลการบริ ห าร จั ด การความเสี่ ย ง โดยจั ด ให้ มี ก าร วิ เ คราะห์ ป ระเมิ น ความเสี่ ย งที่ อ าจ จะเกิ ด ขึ้ น พร้ อ มทั้ ง ด� ำ เนิ น การให้ มี การบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งให้ อ ยู ่ ในระดับที่ยอมรับได้ หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัทฯ 1. องค์ประกอบ คุณสมบัติของ คณะกรรมการบริษัทฯ และการ แต่งตั้ง

1.1. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี จ�ำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ควรไม่ เกิน 12 คน สุดแต่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจะ ก�ำหนดเป็นครั้งคราว และในจ�ำนวนนี้ ต้ อ งมี ก รรมการอิ ส ระอย่ า งน้ อ ยครึ่ ง หนึ่งของกรรมการที่มีอยู่ 1.2. กรรมการจะต้องมีคุณสมบัติ

แ ล ะ ไ ม ่ มี ลั ก ษ ณ ะ ต ้ อ ง ห ้ า ม ต า ม กฎหมายว่ า ด้ ว ยบริ ษั ท มหาชนจ� ำ กั ด และไม่ มี ลั ก ษณะที่ แ สดงถึ ง การขาด ความเหมาะสมที่ จ ะได้ รั บ ความไว้ วางใจให้ บ ริ ห ารจั ด การกิ จ การที่ มี มหาชนเป็ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น ตามกฎหมาย และประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ว่า ด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 1.3. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก� ำ ห น ด หลั ก เกณฑ์ ใ นการให้ ก รรมการด� ำ รง ต� ำ แหน่ ง ในบริ ษั ท อื่ น โดยพิ จ ารณา ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานของ กรรมการที่ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง หลาย บริ ษั ท อย่ า งรอบคอบ และเพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า กรรมการสามารถทุ ่ ม เท เวลาในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นบริ ษั ท ฯ ได้อย่างเพียงพอ โดยก�ำหนดจ�ำนวน บริษัทที่กรรมการแต่ละคนจะไปด�ำรง ต�ำแหน่งให้เหมาะสมกับลักษณะหรือ สภาพธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่งไม่ควรเกิน 5 บริ ษั ท จดทะเบี ย น ทั้ ง นี้ เนื่ อ งจาก ประสิ ท ธิ ภ าพของการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ในฐานะกรรมการบริ ษั ท อาจลดลง หากจ� ำ นวนบริ ษั ท ที่ ก รรมการไป ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง มี ม ากเกิ น ไป และมี การเปิ ด เผยหลั ก เกณฑ์ ดั ง กล่ า วให้ สาธารณชนทราบด้วย 1.4. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จั ด ให้มีเลขานุการบริษัทฯ ท�ำหน้าที่ให้ ค� ำ แนะน� ำ ด้ า นกฎหมาย กฎเกณฑ์ ต่ า งๆ ที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ควร ทราบ และปฏิบัติหน้าที่ดูแลกิจกรรม ของกรรมการ รวมทั้ ง ประสานงาน ให้มกี ารปฏิบตั ติ ามมติของคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ ทั้ ง นี้ ต ้ อ งมี วุ ฒิ ก ารศึ ก ษา จบปริ ญ ญาตรีท างด้า นกฎหมายหรือ บัญชี หรือได้ผ่านการอบรมหลักสูตร

137

ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อง เลขานุการ 1.5. คณะกรรมการ สามารถตั้ ง คณะอนุ ก รรมการได้ อ ย่ า งไม่ จ� ำ กั ด ตามความจ�ำเป็น เพื่อช่วยกลั่นกรอง และควบคุมดูแลงานด้านต่างๆ 1.6. การแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ มี ค ว า ม โ ป ร ่ ง ใ ส แ ล ะ ชั ด เจ น โ ด ย คณะกรรมการสรรหาเป็ น ผู ้ เริ่ ม ต้ น การสรรหา และเสนอชื่ อ บุ ค คลที่ มี คุ ณ ส ม บั ติ เ ห ม า ะ ส ม ที่ จ ะ ด� ำ ร ง ต� ำ แหน่ ง กรรมการบริ ษั ท ฯ พร้ อ ม ประวั ติ อ ย่ า งเพี ย งพอส� ำ หรั บ การ คั ด เลื อ ก เมื่ อ ได้ ร ายชื่ อ แล้ ว คณะ กรรมการสรรหาเสนอรายชื่อต่อคณะ กรรมการบริษัทฯ พิจารณาน�ำเสนอที่ ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อลงมติแต่งตั้งเป็น กรรมการต่อไป 1.7. มี ก ารเปิ ด เผยประวั ติ ข อง กรรมการทุ ก ราย ผ่ า น website ของ บริษัทฯ 1.8. กรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ใหม่จะได้รบั ฟังการบรรยายสรุปเกีย่ วกับ ข้ อ มู ล ที่ มี ค วามจ� ำ เป็ น และเป็ น ประโยชน์ตอ่ การปฏิบตั หิ น้าทีก่ รรมการ บริษัทฯ ภายในเวลา 3 เดือนนับจาก ที่ได้รับการแต่งตั้ง 1.9. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ ก�ำหนดนโยบายและวิธีปฏิบัติในการ ไปด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการที่ บ ริ ษั ท อื่ น ของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริ ษั ท ฯ อย่างชัดเจน ทั้งประเภทของต�ำแหน่ง กรรมการและจ�ำนวนบริษัทที่สามารถ ไปด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ได้ ทั้ ง นี้ ต้ อ งผ่ า น ความเห็นชอบจากคณะกรรมการก่อน 1.10. ค ณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

138

มอบหมายให้เลขานุการบริษัทฯ สรุป ข้ อ มู ล ใหม่ ๆ ให้ ก รรมการใหม่ รั บ ทราบผ่านทางคู่มือกรรมการบริษัทฯ และให้ ก รรมการใหม่ ไ ด้ เข้ า เยี่ ย มชม กิจการ เพื่อให้เข้าใจการด�ำเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ ได้ดียิ่งขึ้น 2. บทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการบริษัทฯ

คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี ห น้ า ที่ และความรับผิดชอบที่ส�ำคัญ ดังนี้ 2.1. จั ด การบริ ษั ท ฯ ให้ เ ป็ น ไป ตามกฎหมาย วั ต ถุ ป ระสงค์ และข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ รวมทั้ ง มติ ค ณะ กรรมการบริ ษั ท ฯ และมติ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต รับผิดชอบ ระมัดระวัง และรอบคอบ โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ประโยชน์ สู ง สุ ด ของ บริษทั ฯ และเป็นธรรมต่อผู้มีสว่ นได้เสีย ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย 2.2. พิ จ ารณาและให้ ค วามเห็ น ชอบหรื อ อนุ มั ติ ใ นเรื่ อ งที่ ส� ำ คั ญ เกี่ ย ว กั บ การด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ เช่ น วิสยั ทัศน์และพันธกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย ทางการเงิ น ความเสี่ ย ง แผนงาน และงบประมาณ เป็นต้น 2.3. ติ ด ตามและควบคุ ม ดู แ ลให้ ฝ่ายจัดการด�ำเนินการให้เป็นไปตาม นโยบายและแผนที่ ก� ำ หนดไว้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2.4. ดู แ ลให้ ก ารด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริษัทฯ มีความต่อเนื่องในระยะ ยาว และพิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบ แผนพั ฒ นาผู ้ บ ริ ห าร รวมทั้ ง ทบทวน แผนการสื บ ทอดต� ำ แหน่ ง ผู ้ บ ริ ห าร ระดับสูง (Management Succession Plan)

2.5. จั ด ให้ มี น โยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท ฯ เป็ น ลาย ลั ก ษณ์ อั ก ษร และให้ ค วามเห็ น ชอบ นโยบายดั ง กล่ า ว รวมทั้ ง มี ก าร ทบทวนนโยบายและการปฏิ บั ติ ต าม นโยบายดั ง กล่ า วเป็ น ประจ� ำ อย่ า ง น้อยปีละ 1 ครั้ง 2.6. ส่งเสริมให้จดั ท�ำจรรยาบรรณ ธุ ร กิ จ เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร เพื่ อ ให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ทุ ก ค น เข ้ า ใจ ถึ ง ม า ต ร ฐ า น ด ้ า น จริยธรรมที่บริษัทฯ ใช้ในการด�ำเนิน ธุ ร กิ จ รวมทั้ ง ติ ด ตามให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ตามจรรยาบรรณดังกล่าวอย่างจริงจัง 2.7. พิ จ ารณาเรื่ อ งความขั ด แย้ ง ของผลประโยชน์ อ ย่ า งรอบคอบ การพิ จ ารณาการท� ำ รายการที่ อ าจมี ความขั ด แย้ ง ของผลประโยชน์ ควร มี แ นวทางที่ ชั ด เจนและเป็ น ไปเพื่ อ ผลประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้น โดยรวมเป็นส�ำคัญ โดยที่ผู้มีส่วนได้เสีย ไม่ ค วรมี ส ่ ว นร่ ว มในการตั ด สิ น ใจ รวมทั้ ง ก� ำ กั บ ดู แ ลให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ตามข้ อ ก� ำ หนดเกี่ ย วกั บ ขั้ น ตอนการ ด�ำเนินการและการเปิดเผยข้อมูลของ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ของผล ประโยชน์ให้ถูกต้องครบถ้วน 2.8. ก� ำ กั บ ดู แ ลให้ มี ก ารบริ ห าร ความเสี่ ย งที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล รวมทั้ ง มี ก ารทบทวนระบบและประเมิ น ประสิ ท ธิ ผ ลของการจั ด การความ เสี่ ย งอย่ า งสม�่ ำ เสมอและในทุ ก ๆ ระยะเวลาที่พ บว่า ระดับ ความเสี่ยงมี การเปลี่ยนแปลง 2.9. จั ด ให้ มี ร ะบบการควบคุ ม ด้ า นการด� ำ เนิ น งาน ด้ า นรายงาน ทางการเงิ น และด้ า นการปฏิ บั ติ

ตามกฎหมาย ระเบียบ และนโยบาย รวมทั้ ง จั ด ให้ มี บุ ค คลหรื อ หน่ ว ยงาน ที่ มี ค วามเป็ น อิ ส ระในการปฏิ บั ติ หน้ า ที่ เ ป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบในการตรวจ สอบระบบการควบคุ ม ดั ง กล่ า ว และ ทบทวนระบบที่ส�ำคัญอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2.10. คณะกรรมการบริษัทฯ หรือ คณะกรรมการตรวจสอบควรให้ความ เห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบ การควบคุ ม ภายในและการบริ ห าร ความเสี่ ย งไว้ ใ นรายงานประจ� ำ ปี ข อ งบริษัทฯ 2.11. จั ด ให้ มี แ นวทางการด� ำ เนิ น การที่ ชั ด เจนเกี่ ย วกั บ ผู ้ ที่ ป ระสงค์ จะแจ้ ง เบาะแส หรื อ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ผ่านทาง website หรือรายงานตรงต่อ บริษัทฯ โดยช่องทางการแจ้งเบาะแส อาจก� ำ หนดให้ ผ ่ า นกรรมการอิ ส ระ หรือกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ เพื่ อ ให้ มี ก ารตรวจสอบข้ อ มู ล ตาม กระบวนการที่บริษัทฯ ก�ำหนดไว้ และ รายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ 2.12. จั ด ให้ มี ก ลไกก� ำ กั บ ดู แ ล บริษัทย่อย เพื่อดูแลรักษาผลประโยชน์ ในเงิ น ลงทุ น ของบริ ษั ท ฯ โดยมี หน้ า ที่ ใ นการในการพิ จ ารณาความ เหมาะสมของบุ ค คลที่ จ ะส่ ง ไปเป็ น กรรมการในบริ ษั ท ย่ อ ย เพื่ อ ควบคุ ม การบริหารให้เป็นไปตามนโยบายของ บริ ษั ท ฯ และการท� ำ รายการต่ า งๆ ให้ ถู ก ต้ อ งตามกฎหมายและหลั ก เกณฑ์ ข องกฎหมายหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และประกาศของ ตลาดหลักทรัพย์ 2.13. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ และการประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น


หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

เว้ น แต่ ใ นกรณี ที่ มี เ หตุ สุ ด วิ สั ย โดย กรรมการบริ ษั ท ฯ ที่ ไ ม่ ส ามารถเข้ า ร่ ว มประชุ ม จะต้ อ งแจ้ ง ให้ ป ระธาน กรรมการหรือเลขานุการคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ ทราบล่ ว งหน้ า ก่ อ นการ ประชุม 2.14. ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ หน้ า ที่ ข องคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เป็นประจ�ำทุกปี 3. การจัดตั้งคณะกรรมการ

ค่าตอบแทน ซึ่งประกอบด้วยกรรมการ บริ ษั ท ฯ ที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู ้ บ ริ ห ารจ� ำ นวน ไม่ น ้ อ ยกว่ า 3 คน และกรรมการ ไม่ น ้ อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง และประธานของ คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าล สรรหา และพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน ต้ อ งเป็ น กรรมการที่เป็นอิสระ ทั้งนี้ ประธาน กรรมการบริษัทฯ ไม่ควรเป็นกรรมการ หรื อ ประธานของคณะกรรมการ บรรษั ท ภิ บ าล สรรหา และพิ จ ารณา ค่าตอบแทน

ชุดย่อยเฉพาะเรื่อง

คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ มี ห น้ า ที่ พิ จ ารณาและให้ ค วามเห็ น ชอบใน เรื่องที่ส�ำคัญที่เกี่ยวกับการด�ำเนินงาน อย่ า งรอบคอบและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ดั ง นั้ น คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จึ ง พิจารณาตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ดังต่อไปนี้ 3.1. คณะกรรมการตรวจสอบ โดย แต่งตั้งจากกรรมการอิสระ อย่างน้อย 3 ท่าน โดยอย่างน้อย 1 ท่านต้องมีความรู้ ด้านบัญชี/การเงิน และต้องมีคุณสมบัติ เกี่ยวกับความเป็นอิสระตามประกาศ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และตามนิยามกรรมการอิสระทีก่ ำ� หนด ส�ำหรับบริษทั ฯ โดยเฉพาะ เพือ่ ท�ำหน้าที่ ตรวจสอบ ระบบควบคุมภายใน ระบบ รายงานทางการเงิ น และการบริ ห าร จัดการความเสี่ยง รวมถึงการพิจารณา คัดเลือกและแต่งตั้งผู้สอบบัญชี 3.2. คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ เป็ น ผู ้ แ ต่ ง ตั้ ง ประธานและกรรมการของคณะกรรมการ บรรษั ท ภิ บ าล สรรหา และพิ จ ารณา

4. การประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ และการได้รับเอกสาร ข้อมูลต่างๆ

4.1. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ได้ จัดให้มีการก�ำหนดตารางการประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ ล่วงหน้าเป็น รายปี และให้เลขานุการบริษัทฯ แจ้งให้ กรรมการแต่ละคนรับทราบก�ำหนดการ ดังกล่าว 4.2. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จะ ได้ รั บ ข้ อ มู ล สารสนเทศที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กั บ การประชุ ม เป็ น การล่ ว งหน้ า โดยเลขานุ ก ารบริ ษั ท ฯ มี ห น้ า ที่ จั ด ท� ำ หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม พร้ อ ม ระเบียบวาระการประชุมและเอกสาร ประกอบการประชุมก่อนการประชุม ล่ ว งหน้ า อย่ า งน้ อ ย 5 วั น เพื่ อ ให้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีเวลาศึกษา ข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม เว้นแต่เป็นการเรียกประชุมเร่งด่วน 4.3. ประธานกรรมการเป็ น ผู ้ ให้ความเห็นชอบในการจัดวาระการ ประชุ ม โดยการปรึ ก ษาหารื อ กั บ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการ

139

แต่ละท่านมีความเป็นอิสระที่จะเสนอ เรื่องเข้าสู่วาระการประชุม โดยก�ำหนด ให้เลขานุการบริษัทฯ มีหน้าที่รวบรวม การน�ำเสนอเรื่องเข้าสู่วาระการประชุม จากกรรมการแต่ละท่าน 4.4. กรรมการที่ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ในแต่ ล ะวาระการประชุ ม จะต้ อ งงด ออกเสียง หรืองดให้ความเห็นในวาระ นั้นๆ ส�ำหรับการประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ ในวาระใดที่กรรมการมีส่วนได้ เสีย ประธานกรรมการจะขอความร่วม มือให้กรรมการปฏิบตั ติ ามนโยบาย โดย ขอให้กรรมการแจ้งต่อที่ประชุมเพื่อรับ ทราบและเชิญกรรมการที่มีส่วนได้เสีย ออกนอกห้องประชุมในวาระนั้นๆ 4.5. คณะกรรมการบริษัทฯ มอบ หมายให้เลขานุการบริษัทฯ ท�ำหน้าที่ บันทึกการประชุมให้ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา และต้องมีความชัดเจนทั้งผล การประชุ ม และความเห็ น ของคณะ กรรมการ เพื่อใช้ในการอ้างอิง 5. ค่าตอบแทนของคณะกรรม การบริษัทฯ และประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารไม่ อ าจ ก� ำ หนดค่ า ตอบแทนให้ ต นเองได้ เนื่ อ งจากเป็ น การขั ด กั น ของผล ประโยชน์ การก� ำ หนดค่ า ตอบแทน จึงต้องด�ำเนินการโดยคณะกรรมการ บรรษั ท ภิ บ าล สรรหา และพิ จ ารณา ค่ า ตอบแทนเป็ น ผู ้ พิ จ ารณาก� ำ หนด และเสนอให้กรรมการเห็นชอบ จากนั้น จึ ง ให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น เห็ น ชอบตามผลงานที่ คณะกรรมการได้ท�ำไว้ต่อไป


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

140

5.1. คณะกรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน มีหน้าที่ให้ค�ำแนะน�ำแก่คณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ เกี่ ย วกั บ ค่ า ตอบแทนของ คณะกรรมการฯ และประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร ในด้านการก�ำหนดโครงสร้าง /องค์ ป ระกอบของค่ า ตอบแทน อย่ า งเป็ น ธรรม เหมาะสมกั บ ความ รั บ ผิ ด ชอบ และสอดคล้ อ งกั บ ผล การด�ำเนินงาน อยู่ในระดับที่สามารถ จู ง ใจและรั ก ษากรรมการที่ มี คุ ณ ภาพ ไว้ได้หรือเทียบเคียงได้ในอุตสาหกรรม เดี ย วกั น มี โ ครงสร้ า ง/องค์ ป ระกอบ ค่าตอบแทนที่มีความชัดเจน โปร่งใส ง่ายต่อการเข้าใจ 5.2. ผู ้ ถื อ หุ ้ น มี สิ ท ธิ พิ จ ารณา หลั ก เกณฑ์ แ ละนโยบายการก� ำ หนด ค่าตอบแทนกรรมการในแต่ละต�ำแหน่ง ทุกปี โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ต้อง น� ำ เสนอค่ า ตอบแทนกรรมการให้ ผู้ถือหุ้นเป็นผู้พิจารณา โดยก�ำหนดเป็น วาระการประชุมในการประชุมสามัญ ประจ�ำปีผู้ถือหุ้น 5.3. คณะกรรมการบริษัทฯ และผู้ บริหารระดับสูงจะต้องรายงานเกี่ยวกับ ค่าตอบแทนกรรมการ หลักการเหตุผล ไว้ในรายงานประจ�ำปีและงบการเงิน ของบริษัทฯ 6. การประเมินผลของคณะ กรรมการบริษัทฯ และประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร

6.1. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน ตนเองเป็ น รายปี เพื่ อ ให้ ก รรมการ ร่ ว มกั น พิ จ ารณาผลงานและปั ญ หา

เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไขต่ อ ไป ทั้ ง นี้ การ ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะ กรรมการบริ ษั ท ฯ จะใช้ แ นวทาง ตามการประเมิ น ที่ เ สนอแนะโดย ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และด� ำ เนิ น การปรั บ ปรุ ง เพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ให้เหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจของ บริษัทฯ 6.2. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จั ด ให้มีการประเมินผลงานของประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารเพื่ อ เปรี ย บเที ย บ กับผลการด�ำเนินงานโดยคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ จะท� ำ การประเมิ น ในแบบ ประเมิ น ผล และคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ ได้ ม อบหมายให้ ป ระธาน กรรมการเป็นผู้แจ้งผลการประเมินต่อ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและคณะกรรม การบริษัทฯ 7. แผนการสืบทอดต�ำแหน่ง

7.1. คณะกรรมการบริษัทฯ มอบ หมายให้ ป ระธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และฝ่ า ยบริ ห าร จั ด ท� ำ แผนในการ ทดแทนต� ำ แหน่ ง งาน (Succession Plan) ในระดั บ บริ ห ารและต� ำ แหน่ ง ในสายงานหลัก 7.2. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ษั ท ฯ ก� ำ หนดให้ ป ระธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร รายงานเพื่ อ ทราบเป็ น ประจ� ำ ถึ ง แผนการพัฒนาและสืบทอดงาน เพื่อ เตรี ย มความพร้ อ มที่ ต ่ อ เนื่ อ งถึ ง ผู ้ สื บ ทอดงานในกรณี ที่ ต นไม่ ส ามารถ ปฏิบัติหน้าที่ได้ 7.3. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จะ ด� ำ เนิ น การเพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า มี ร ะบบ การคัดสรรบุคลากรทีจ่ ะเข้ามารับผิดชอบ

ตามความเหมาะสม 8. การพัฒนากรรมการและ ผู้บริหาร

8.1. คณะกรรมการบริษัทฯ จะส่ง เสริมและอ�ำนวยความสะดวกให้มีการ ฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดี 8.2. คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ จะ ได้รับการพัฒนาความรู้จากหน่วยงาน ก� ำ กั บ ดู แ ลอย่ า งสม�่ ำ เสมอ และ ต่อเนื่อง โดยมอบหมายให้เลขานุการ บริษัทฯ ประสานงานกับกรรมการเพื่อ แจ้งหลักสูตรการฝึกอบรมต่างๆ 9. หน้าที่และความรับผิดชอบ ของเลขานุการบริษัทฯ

9.1. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิด ชอบ ความระมัดระวัง และความซือ่ สัตย์ สุจริต เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ เป็นส�ำคัญ รวมทั้งต้องปฏิบัติให้เป็นไป ตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับขอ งบริษทั ฯ มติคณะกรรมการ ตลอดจนมติ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น 9.2. จัดการเรื่องการประชุมคณะ กรรมการและการประชุมผู้ถือ หุ้นให้ เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับของบริษทั ฯ และข้อพึงปฏิบัติที่ดี (Best Practices) 9.3. บั น ทึ ก รายงานการประชุ ม คณะกรรมการและการประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ้น รวมทั้งแจ้งมติของที่ประชุมคณะ กรรมการและที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ให้ ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องทราบ และติดตาม ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามมติ ดั ง กล่ า วผ่ า น ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร


หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

9.4. จัดท�ำและเก็บรักษาเอกสาร ดังต่อไปนี้ (ก) ทะเบียนกรรมการ (ข) ห นั ง สื อ นั ด ป ร ะ ชุ ม คณะกรรมการ รายงาน การประชุ ม คณะกรรมการ และรายงานประจ� ำ ปี ข อง บริษัทฯ (ค) หนังสือนัดประชุมผู้ถือ หุ้นและรายงานการประชุม ผู้ถือหุ้น 9.5. เก็บรักษารายงานการมีส่วน ได้ เ สี ย ที่ ร ายงานโดยกรรมการและ ผู้บริหาร 9.6. ดู แ ลให้ มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล และรายงานสารสนเทศในส่ ว นที่ รับผิดชอบต่อหน่วยงานก�ำกับดูแลตาม ระเบียบและข้อก�ำหนดของหน่วยงาน ทางการ 9.7. ติดต่อและสื่อสารกับผู้ถือหุ้น ทั่ ว ไ ป ใ ห ้ ไ ด ้ รั บ ท ร า บ สิ ท ธิ ต ่ า ง ๆ ของผู้ถือหุ้นและข่าวสารของบริษัทฯ 9.8. ให้ค�ำแนะน�ำและข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับข้อกฎหมาย ระเบียบและข้อ บังคับต่างๆ ที่คณะกรรมการต้องทราบ และปฏิ บั ติ รวมทั้ ง ติ ด ตามให้ มี ก าร ปฏิบัติตามอย่างถูกต้องและสม�่ำเสมอ 9.9. ดูแลกิจกรรมต่างๆ ของคณะ กรรมการ เพือ่ ให้กรรมการปฏิบตั หิ น้าที่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

141


ความรับผิดชอบ ตอสังคม


ความรับผิดชอบตอสังคม

143

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ผู ้ น� า ธุ ร กิ จ ยุ ค ปั จ จุ บั น ต่ า งร่ ว ม สร้างความร่วมมือระหว่างหลายภาค ส่ ว นเพื่ อ จั ด ท� า แผนพั ฒ นาไปสู ่ ค วาม ยั่ ง ยื น อี ก ทั้ ง ยั ง มี ก ารน� า เทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้ ทบทวนวิธีการบริหาร ทรัพยากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และ พั ฒ นาทั ก ษะยุ ค ใหม่ ใ ห้ เ เก่ บุ ค ลากร เพื่ อ รองรั บ การเปลี่ ย นแปลงทาง สั ง คม ตลอดระยะเวลาการด� า เนิ น ธุ ร กิ จ ร่ ว ม 32 ปี ข องบริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโตรองต์ กรุ ๊ ป จ� า กั ด (มหาชน) ได้ ใ ห้ ค วามส� า คั ญ ต่ อ การก� า กั บ ดู แ ล กิ จ การที่ ดี ค วบคู ่ ไ ปกั บ การยึ ด มั่ น ใน หลักจริยธรรมอย่างสม�่าเสมอ ส่งผล ให้หลักการและนโยบายต่างๆ ภายใน องค์ ก รมี ห ลั ก เกณฑ์ ที่ ส อดคล้ อ งต่ อ ความรับผิดชอบของสังคมและชุมชน อย่างชัดเจน บริษัทฯ หวังที่จะสร้าง ผลกระทบเชิ ง บวกแก่ สั ง คม และ สร้ า งการเติ บ โตที่ ยั่ ง ยื น ผ่ า นการมี ส่วนร่วมในการบริหารจัดการภายใน องค์กรที่ค�านึงถึงความรับผิดชอบต่อ สั ง คมและการปั น ผลประโยชน์ กั บ คู ่ ค ้ า บริ ษั ท ฯ มุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะสอดแทรก การด�าเนินกิจการด้วยความรับผิดชอบ และกิ จ กรรมต่ อ สั ง คมในหลั ก การ ด� า เนิ น กิ จ การอย่ า งต่ อ เนื่ อ งต่ อ ไป เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ วิ สั ย ทั ศ น์ ข อง บริษทั ฯ ทีว่ า่ “ส่งมอบความสุขแก่ลกู ค้า ของเราด้วยอาหารที่อร่อย มีคุณภาพ ท่ า มกลางประสบการณ์ ที่ ป ระทั บ ใจ และสร้างโอกาสความก้าวหน้าให้กับ พนักงาน ตลอดจนส่งเสริมชุมชนและ สิ่งแวดล้อม”

การด�าเนินกิจการด้วยความ รับผิดชอบ (CSR-in-Process)

การด�าเนินกิจการด้วยความรับผิด ชอบต่อสังคมของบริษัทฯ ถูกสร้างขึ้น จากแนวคิ ด ที่ ว ่ า มู ล ค่ า เชิ ง เศรษฐกิ จ สามารถที่ จ ะถู ก สร้ า งไปพร้ อ มกั บ การสร้างคุณค่าทางสังคม และท�าให้ บริ ษั ท ฯ เจริ ญ เติ บ โตไปพร้ อ มกั บ ความเจริญก้าวหน้าของสังคมได้ การก�ากับดูแลกิจการด้วย หลักธรรมาภิบาล

ระบบการก� า กั บ ดู แ ลกิ จ การมี ความส� า คั ญ อย่ า งยิ่ ง ในการด� า เนิ น ธุ ร กิ จ นโยบายและกฎต่ า งๆ ถู ก ตั้ ง ขึ้ น เ พื่ อ รั ก ษ า ค ว า ม ส า มั ค คี แ ล ะ ความเป็นหนึ่งเดียวกันขององค์กร การ ก� า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ การด�า เนินธุรกิจของบริษัท ฯ เอง โดยตรง เนื่องจากจะเป็นการผลักดัน ให้บริษัทฯ มีการจัดการทางด้านการ เงิน กฎหมาย และจริยธรรมที่ดี อีกทั้ง ยังช่วยผลักดันองค์กรสู่ความเป็นเลิศ การประกอบกิจการด้วย ความเป็นธรรม

เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความโปร่ ง ใสในการ ด�าเนินธุรกิจ บริษัทฯ ได้วางรากฐาน นโยบายในการปฏิ บั ติ ต ่ อ คู ่ ค ้ า อย่ า ง เสมอภาคและเป็นธรรม กล่าวคือ การ ได้ รั บ ผลประโยชน์ ต อบแทนต่ า งๆ ต้ อ งค� า นึ ง ถึ ง ความเสมอภาคและ เป็ น ธรรมต่ อ คู ่ ค ้ า รวมทั้ ง ผู ้ ที่ มี ค วาม เกี่ ย วข้ อ งต่ อ บริ ษั ท ฯ ตลอดทั้ ง วงจร เป็นส�าคัญ

การรั ก ษาค� า มั่ น และตรงต่ อ เวลา เป็ น หั ว ใจส� า คั ญ ในการด� า เนิ น ธุ ร กิ จ กรณีที่มีผลประโยชน์ใดๆ เกิดขึ้นโดย ไม่สุจริต ทางบริษัทฯ พร้อมเปิดเผย รายละเอี ย ดต่ อ คู ่ ค ้ า เพื่ อ เข้ า ร่ ว ม ในการตั ด สิ น ใจแก้ ป ั ญ หาร่ ว มกั น โดยยุ ติ ธ รรมและรวดเร็ ว นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีนโยบายปฏิบัติต่อคู่แข่ง ทางการค้ า ภายใต้ ก รอบกติ ก าการ แข่ ง ขั น ที่ ดี ไม่ ล ะเมิ ด ความลั บ หรื อ ล่วงรู้ความลับทางการค้าของคู่ค้าด้วย วิ ธี ฉ ้ อ ฉล ไม่ แ สวงหาข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ความลับของคู่แข่งขันทางการค้าด้วย วิ ธี ก ารที่ ไ ม่ สุ จ ริ ต หรื อ ไม่ เ หมาะสม และไม่ท�าลายชื่อเสียงของคู่แข่งทาง การค้าด้วยการกล่าวหาในทางร้าย การด�าเนินการเกี่ยวกับการ ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

ปั จ จุ บั น ปั ญ หาคอร์ รั ป ชั่ น ยั ง คง ทวี ค วามรุ น แรงมากขึ้ น และหยั่ ง รากลึ ก ลงในทุ ก ภาคส่ ว นของสั ง คม ไทย ส่ ง ผลให้ ก ารด� า เนิ น การพั ฒ นา เศรษฐกิ จ และสั ง คมต้ อ งหยุ ด ชะงั ก และเกิ ด ความเสี ย หาย ท� า ให้ ก าร ฟื ้ น ฟู เ ศรษฐกิ จ และสั ง คมด� า เนิ น ไป ได้ ช ้ า กว่ า ที่ ค วรจะเป็ น ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ ส ามารถแก้ ไขปั ญ หาดั ง กล่ า วได้ อย่ า งสั ม ฤทธิ์ ผ ล ผู ้ น� า ทั้ ง ภาครั ฐ และ ภาคเอกชนจึงลงความเห็นในการร่วม จับมือกันแก้ไขอย่างจริงจัง มุ่งปฏิบัติ อย่า งต่อ เนื่อ ง ซึ่ง นโยบายความร่วม มือนี้ได้ขยายมาสู่ภาคธุรกิจด้วย


144

รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

บทบาทของบริ ษั ท ฯ ในฐานะ บ ริ ษั ท ที่ จ ด ท ะ เ บี ย น ใ น ต ล า ด หลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย คื อ การ ท�ำหน้าที่ส�ำคัญในการเป็นแบบอย่าง ที่ดีของการต่อต้านการคอร์รัปชั่นให้ ภาคเอกชน อีกทัง้ บริษทั ฯ มีความมุง่ มัน่ ที่ จ ะด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี คุ ณ ธรรม โดยยึ ด มั่ น ในหลั ก บรรษั ท ภิ บ าลที่ ดี มี ค วามโปร่ ง ใส ตรวจสอบได้ และ ปลอดคอร์ รั ป ชั่ น ในทุ ก รู ป แบบ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเป็ น รู ป ธรรมในการ ต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั่ น ที่ ชั ด เจน บริ ษั ท ฯ โดยประธานกรรมการและประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารจึ ง ได้ ล งนามในค� ำ ประกาศเจตนารมณ์เข้าร่วมแนวร่วม ปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อ ต้านการทุจริต เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2557 และเพื่อให้การด�ำเนินการเกี่ยว กั บ การต่ อ ต้ า นการคอร์ รั ป ชั่ น เป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ประธาน กรรมการและประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริ ห ารจึ ง ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะท� ำ งานการ ต่ อ ต้ า นการคอร์ รั ป ชั่ น ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 24 ตุ ล าคม 2557 เพื่ อ ด� ำ เนิ น การ ประเมิ น ตนเองเกี่ ย วกั บ มาตรการ การต่อต้านการคอร์รัปชั่นของบริษัทฯ ในปี 2558 คณะท� ำ งานการต่ อ ต้ า น คอร์ รั ป ชั่ น ได้ จั ด ท� ำ นโยบายต่ อ ต้ า น คอร์ รั ป ชั่ น และแนวทางปฏิ บั ติ เ กี่ ย ว กั บ การต่ อ ต้ า นการคอร์ รั ป ชั่ น ซึ่ ง ได้ รั บ การอนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ ก รรมการ ผู ้ บ ริ ห าร และพนั ก งานของบริ ษั ท ฯ น� ำ ไปใช้ เป็นแนวทางการปฏิบัติในการต่อต้าน คอร์ รั ป ชั่ น นอกจากนี้ เมื่ อ วั น ที่ 1 8 สิ ง ห า ค ม 2 5 6 0 บ ริ ษั ท ฯ ได้รบั การรับรองเป็นสมาชิกของแนวร่วม

ปฏิ บั ติ ข องภาคเอกชนไทยในการ ต่อต้านทุจริต โดยการรับรองดังกล่าว มีอายุ 3 ปีนับจากวันที่ให้การรับรอง อนึ่ง นอกจากการจัดท�ำนโยบาย ที่ ป ้ อ งกั น การกระท� ำ ผิ ด ครรลองแล้ ว บุ ค ลากรทุ ก ระดั บ ในองค์ ก รล้ ว น ได้รับการปลูกฝังมิให้รับอามิสสินจ้าง หรื อ สิ น น�้ ำ ใจใดแม้ ใ นกรณี ที่ มี ก าร มอบของขวัญตามธรรมเนียมเทศกาล ต่ า งๆ หากมี ค วามจ� ำ เป็ น ต้ อ งรั บ ไว้ สิ น น�้ ำ ใจดั ง กล่ า วจะถู ก น� ำ มาเก็ บ ไว้ เพื่อน�ำไปมอบเป็นสาธารณประโยชน์ ต่อไปภายหลัง การเคารพสิทธิมนุษยชน

“วัฒนธรรมเอ็มเค” เปรียบเสมือน เครื่ อ งมื อ หลั ก ที่ ท างบริ ษั ท ฯ ยึ ด มั่ น และน� ำ มาใช้ ใ นการส่ ง เสริ ม การ เคารพสิทธิมนุษยชน พร้อมทั้งใช้เป็น แนวความคิ ด หลั ก ในการขั บ เคลื่ อ น องค์ ก ร เนื่ อ งด้ ว ยบริ ษั ท ฯ เน้ น การ บริหารองค์กรในรูปแบบครอบครัวที่ มี ค วามเป็ น น�้ ำ หนึ่ ง ใจเดี ย วกั น และ มีเป้าหมายร่วมกัน บริษัทฯ จึงให้ความ ส� ำ คั ญ กั บ พนั ก งานทุ ก ระดั บ อย่ า ง เท่ า เที ย มกั น ไม่ มี ช นชั้ น ศั ก ดิ น า ไม่ เลือกปฏิบัติ ตลอดจนไม่น�ำความแตก ต่ า งด้ า นเชื้ อ ชาติ สั ญ ชาติ ภู มิ ล� ำ เนา สีผิว เพศ และศาสนา มาชี้วัดคุณค่า ความเป็นมนุษย์ เพราะบริษัทฯ เชื่อ ว่ามนุษย์ทุกคนล้วนมีเกียรติ ศักดิ์ศรี สิทธิและเสรีภาพในตนเอง นอกจากความแตกต่างดังที่กล่าว มาแล้ว บริษัทฯ ยังมีความเชื่อมั่นใน ศั ก ยภาพของผู ้ ทุ พ พลภาพที่ มี ค วาม ผิ ด ปกติ ท างสายตาหรื อ การสื่ อ สาร โดยเปิ ด โอกาสให้ บุ ค คลดั ง กล่ า ว

เข้ า ท� ำ งานเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ขององค์ ก ร จั ด สรรให้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามความ รับผิดชอบในขอบเขตที่สามารถท�ำได้ และมี ค วามคาดหวั ง ในการสร้ า ง คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ใ ห้ กั บ บุ ค คลเหล่ า นี้ ต่อไปในอนาคต การปฏิบัติต่อแรงงาน อย่างเป็นธรรม

บริษัทฯ ตระหนักว่าพนักงานเป็น ปัจจัยแห่ง ความส�ำเร็จของการบรรลุ เป้ า หมายของบริ ษั ท ฯ ที่ มี คุ ณ ค่ า ยิ่ ง จึงเป็นนโยบายของบริษทั ฯ ทีจ่ ะให้การ ปฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น ธรรมทั้ ง ในด้ า นโอกาส ผลตอบแทน การแต่ ง ตั้ ง โยกย้ า ย ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพ โดยยึด หลักปฏิบัติดังนี้ (1) ปฏิบัติต่อพนักงานด้วยความ สุ ภ าพ และให้ ค วามเคารพต่ อ ความ เป็ น ปั จ เจกชนและศั ก ดิ์ ศ รี ข องความ เป็นมนุษย์ (2) ให้ผลตอบแทนที่เป็นธรรมต่อ พนักงาน (3) ดู แ ลรั ก ษาสภาพแวดล้ อ มใน การท�ำงานให้มีความปลอดภัยต่อชีวิต และทรัพย์สินของพนักงานอยู่เสมอ (4) การแต่งตั้งและโยกย้าย รวม ถึ ง การให้ ร างวั ล และการลงโทษ พนั ก งาน กระท� ำ ด้ ว ยความสุ จ ริ ต ใจ และตั้ ง อยู ่ บ นพื้ น ฐานของความ รู้ ความสามารถ และความเหมาะสม ของพนักงานนั้น (5) ให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนา ความรู้ความสามารถของพนักงานโดย ให้โอกาสอย่างทั่วถึงและสม�่ำเสมอ (6) รับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอ


ความรับผิดชอบต่อสังคม

แนะซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ บ นพื้ น ฐานความรู ้ ท าง วิชาชีพของพนักงาน (7) ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและข้ อ บั ง คั บ ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ พนั ก งาน อย่างเคร่งครัด (8) หลีกเลี่ยงการกระท�ำใดๆ ที่ไม่ เป็นธรรมซึ่งอาจมีผลกระทบต่อความ มั่นคงในหน้าที่การงานของพนักงาน หรือคุกคามและสร้างความกดดันต่อ สภาพจิตใจของพนักงาน บริษัทฯ ยังให้ความส�ำคัญในเรื่อง ความปลอดภัยในการท�ำงาน รวมถึง มีการจัดสถานที่ท�ำงานและจัดเตรียม อุปกรณ์ความปลอดภัยต่างๆ ให้เพียง พอต่ อ การท� ำ งาน เพื่ อ ให้ พ นั ก งาน ทุกคนได้รบั ความปลอดภัย และมีสภาพ แวดล้อมในการท�ำงานที่ดี นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ มี ก ารจั ด ตั้ ง แผนกพนั ก งาน สัมพันธ์ เพื่อเป็นช่องทางในการให้ค�ำ แนะน�ำ รวมถึงปรึกษาปัญหาร้องเรียน ต่างๆ แก่พนักงาน ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ คื อ หั ว ใจในการ ขั บ เคลื่ อ นขององค์ ก ร พนั ก งานที่ มี ร่ า งกายที่ แข็ ง แรงและสุ ข ภาพที่ ดี นั้ น เป็ น ก� ำ ลั ง ส� ำ คั ญ ในการเพิ่ ม ผลผลิ ต อั ต ราการรั ก ษา และความพึ ง พอใจ ของลู ก ค้ า ในขณะเดี ย วกั น พนั ก งาน ที่มีความสุขและความผูกพันในหน้าที่ การงานทั้งยังสามารถที่จะมีส่วนร่วม ในการน� ำ เสนอรู ป แบบการท� ำ งาน เชิ ง สร้ า งสรรค์ แ ละแบ่ ง ปั น ความคิ ด เชิงนวัตกรรม บริษทั ฯ มีความตัง้ ใจทีจ่ ะ ส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานทุ ก คนมี สุ ข ภาพ ที่แข็งแรง จึงดูแลและวัดค่า BMI ของ พนักงาน เพื่อที่จะออกแบบกิจกรรม ให้ ส อดคล้ อ งเพื่ อ ช่ ว ยให้ พ นั ก งาน ตระหนักถึงความส�ำคัญของการเอาใจ

ใส่ สุ ข ภาพตนเอง การรั บ ประทาน อาหารทีม่ คี ณ ุ ค่า และการออกก�ำลังกาย อี ก ทั้ ง ยั ง จั ด ตั้ ง โครงการ “MK สุ ด ฟิ ต พิ ชิ ต ไขมั น ” ส� ำ หรั บ พนั ก งานที่ มี ค ่ า BMI สู ง เพื่ อ ให้ ลุ ก ขึ้ น สู ้ กั บ โรคอ้ ว น รวมถึ ง สร้ า งแรงบั น ดาลใจในการ ออกก� ำ ลั ง กายให้ แ ก่ พ นั ก งานทุ ก คน และเพื่ อ เป็ น การส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพที่ ดี แก่ พ นั ก งาน บริ ษั ท ฯ ได้ แ บ่ ง พื้ น ที่ ส� ำ นั ก งานใหญ่ ส ่ ว นหนึ่ ง เป็ น ห้ อ ง ออกก�ำลังกาย และสนับสนุนเงินทุนใน การซื้ออุปกรณ์กีฬา นอกจากนี้ บริษัทฯ มีการจัดแข่งขันแบดมินตันและฟุตบอล ประจ�ำปีเพื่อส่งเสริมการออกก�ำลังกาย และการท�ำงานเป็นทีม บริษัทฯ ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญ ของความก้ า วหน้ า ในต� ำ แหน่ ง งาน ของบุ ค ลากร จึ ง ได้ ท� ำ ความร่ ว มมื อ กับมหาวิทยาลัยชั้นน�ำหลายแห่งเพื่อ เป็ น คู ่ สั ญ ญาในการมอบทุ น กู ้ ยื ม ให้ แก่ พ นั ก งานเพื่ อ การศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญ ญาขั้ น สู ง เพื่ อ ให้ ไ ด้ ค วามรู ้ วิ ช า และประสบการณ์ที่จะสามารถน�ำมา ใช้ ใ นการปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ การพั ฒ นา อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ จั ด ท� ำ การ มอบเงิ น ทุ น เพื่ อ การศึ ก ษาแก่ ลู ก ของ พนักงานทุกปี เพื่อเป็นการเสริมสร้าง โอกาสในการเรียนหนังสือ และเสริม แรงเพื่ อ ให้ พ นั ก งานและครอบครั ว มี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น บริษัทฯ ได้มอบเงิน ทุนเพื่อการศึกษาเป็นจ�ำนวน 931 ทุน รวมเป็นเงิน 5.1 ล้านบาทในปี 2560 ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค

เพื่อให้สอดคล้องไปกับวิสัยทัศน์ เอ็ ม เคมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะสร้ า งความสุ ข

145

และสุ ข ภาพที่ ดี แ ก่ ลู ก ค้ า จากการ รับประทานอาหารที่มีคุณภาพ รสชาติ อร่อย และดีต่อสุขภาพ พร้อมกับการ บริการที่ประทับใจ บริษัทฯ ให้ความ ส�ำคัญกับสุขภาพและความปลอดภัย ของลูกค้าโดยเน้นคุณภาพและความ สะอาดของอาหารทุ ก รายการ เรามี ผู ้ ช� ำ นาญการคอยตรวจสอบเพื่ อ ให้ ลูกค้ามั่นใจว่าอาหารและการบริการ อยู ่ ภ ายใต้ ม าตรฐานความปลอดภั ย ในทุกขั้นตอน ดูแลตั้งแต่การรับมอบ สิ น ค้ า ขั้ น ตอนการปรุ ง อาหารใน โรงงานครั ว กลาง ระบบขนส่ ง ไปยั ง สาขาทั่ ว ประเทศ และการจั ด เก็ บ อาหารในแต่ ล ะสาขา นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง มี ก ารอบรมให้ ค วามรู ้ แ ก่ พนั ก งานทุ ก คนเพื่ อ ให้ เ ข้ า ใจและ สามารถปฏิ บั ติ ง านตามมาตรฐานที่ วางไว้ ซึ่งมาตรฐานต่างๆ ที่น�ำมาใช้ ได้รับการรับรองจากสถาบันต่างๆ เช่น • ใบรับรองมาตรฐานระบบบริหาร คุ ณ ภาพ ISO 9001:2008 เพื่ อ รับรองว่าครัวกลางเอ็มเคมีระบบ การจั ด การคุ ณ ภาพและความ ปลอดภั ย ในการผลิ ต อาหาร ซึ่ ง เป็ น มาตรฐานสากลที่ ทั่ ว โลก ยอมรับ • ใบรั บ รองความปลอดภั ย ของ อาหาร (Hazard Analysis Critical Control Point หรื อ HACCP) ซึ่ ง เป็ น ระบบการจั ด การเพื่ อ ความ ปลอดภั ย ของอาหาร โดยใช้ ก าร ควบคุ ม จุ ด วิ ก ฤติ ที่ ต ้ อ งควบคุ ม (Critical Control Point หรื อ CCP) ของการผลิ ต ซึ่ ง ผู ้ ป ระกอบการ อุ ต สาหกรรมอาหารสามารถน� ำ


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

146

ไปปฏิ บั ติ ไ ด้ โ ดยตลอดในห่ ว งโซ่ อาหาร ตั้ ง แต่ ผู ้ ผ ลิ ต เบื้ อ งต้ น (Primary Producer) จนถึงผู้บริโภค ขัน้ สุดท้าย เพือ่ สร้างความปลอดภัย ของผลิตภัณฑ์ ใบรับรองการปฏิบัติที่ดีในการผลิต (Good Manufacturing Practices หรือ GMP) โดยเน้นกระบวนการผลิตที่ดี เพื่ อ ให้ ไ ด้ สิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพ ซึ่ ง ครอบคลุ ม ถึ ง กระบวนการผลิ ต ที่ ครัวกลาง อุปกรณ์การผลิต รวมถึง การจัดส่งสินค้าจนถึงมือผู้บริโภค ใบรั บ รองระบบการตรวจสอบ สารพิษตกค้างในผักสด/ผลไม้สด จากกรมวิ ท ยาศาสตร์ ก ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสุ ข ซึ่ ง รั บ รอง ว่ า บริ ษั ท ฯ สามารถด� ำ เนิ น การ ตรวจสอบสารพิษตกค้างในผักสด ผลไม้สด ที่จ�ำหน่ายได้อย่างเป็น ระบบ และสามารถทวนสอบได้ ได้รับการรับรอง “โครงการอาหาร ปลอดภัย” (Food Safety) ของกรม วิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข ซึง่ จะเน้นการตรวจสอบ สารปนเปื ้ อ นในอาหาร ได้ แ ก่ สารบอร์ แ รกซ์ สารกั น รา สาร ฟอกขาว สารฟอร์ มาลิ น และยา ฆ่าแมลง ได้ รั บ การรั บ รอง “โครงการร้ า น อาหารวั ต ถุ ดิ บ ปลอดภั ย เลื อ กใช้ สินค้า Q” (Q Restaurant) ซึ่งเป็น โครงการของส�ำนักงานมาตรฐาน สิ น ค้ า เกษตรและอาหารแห่ ง ชาติ ในสั ง กั ด กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ร ้ า น อาหารเลือกใช้วัตถุดิบจากสินค้า Q ซึ่งเป็นสินค้าที่ได้รับการรับรอง

มาตรฐานตามระบบการผลิ ต ที่ ดี เพื่ อ ให้ ผู ้ บ ริ โ ภคได้ บ ริ โ ภคสิ น ค้ า ที่มีความปลอดภัย • ได้รับการรับรอง “โครงการปลอด ผงชู ร ส” จากสถาบั น อาหาร กระทรวงอุ ต สาหกรรม ซึ่ ง ทาง สถาบั น อาหารจะเข้ า มาท� ำ การ ต ร ว จ ส อ บ รั บ ร อ ง ร ะ บ บ โ ด ย การน�ำตัวอย่างอาหาร เครื่องปรุง และน�้ ำ จิ้ ม มาท� ำ การตรวจหา สาร MSG (Monosodium Glutamate) ในห้องปฏิบัติการ เพื่อให้มั่นใจว่า อาหารทุกจานในร้านเอ็มเคสะอาด ปลอดภั ย และปลอดผงชู ร ส อย่ า งแท้ จ ริ ง โดยสถาบั น อาหาร ท� ำ การมอบป้ า ยรั บ รองปลอด ผงชูรสให้กับร้านเอ็มเคทุกสาขา ในส่ ว นของการใช้ น�้ ำ มั น ทอดซ�้ ำ ทางบริ ษั ท ฯ มี วิ ธี ก ารตรวจสอบโดย ดูทมี่ าตรฐานสารทีเ่ รียกว่า “สารโพลาร์” (Polar Compounds) ซึ่ ง ก� ำ หนดว่ า สารโพลาร์จะต้องไม่เกินค่าที่สามารถ ใช้ต่อได้ และน�้ำมันดังกล่าวจะถูกน�ำ ไปขายต่ อ เพื่ อ น� ำ ไปใช้ ใ นการผลิ ต เป็นน�้ำมันไบโอดีเซลเท่านั้น และด้ ว ยนโยบายในการดู แ ล สุขภาพของลูกค้า ทางบริษัทฯ ได้ร่วม มื อ กั บ สถาบั น อาหาร มหาวิ ท ยาลั ย มหิดล ในการพัฒนาโปรแกรมที่ใช้ใน การค�ำนวณค่าพลังงานอาหาร (Calorie -Calculation Program) โปรแกรมนี้ จะค� ำ นวณพลั ง งานอาหารที่ ลู ก ค้ า ได้รับในมื้อนั้นๆ เป็นรายบุคคล โดย ใบแสดงผลจะถูกน�ำมามอบให้พร้อม กับใบเสร็จ ลูกค้าที่รักสุขภาพโดยส่วน ใหญ่จะให้ความส�ำคัญกับใบแสดงผล

นี้ เพราะสามารถช่วยในการควบคุม การรับประทานอาหารได้เป็นอย่างดี การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม

บริ ษั ท ฯ มี ค วามตั้ ง ใจในการลด ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มให้ อ ยู ่ ใ น เกณฑ์ น ้ อ ยที่ สุ ด ตลอดทั้ ง สายธาร ธุรกิจ เพื่อรักษาและด�ำรงไว้ซึ่งระบบ นิ เ วศและสิ่ ง แวดล้ อ มของชุ ม ชนที่ บริษัทฯ ประกอบกิจการอยู่ เช่น • การสร้ า งระบบที่ เข้ ม งวดในการ ก�ำจัดขยะติดเชื้อ บริษัทฯ จะก�ำจัด ขยะติ ด เชื้ อ ภายในห้ อ งปฏิ บั ติ การจุ ล ชี ว วิ ท ยาในโรงงาน ซึ่ ง มี กระบวนการฆ่ า เชื้ อ ที่ อุ ณ หภู มิ 121 องศาเซลเซียส • ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียก่อนปล่อยลง สู่ล�ำคลอง โดยมีการตรวจคุณภาพ น�้ำทิ้งตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 กระทรวงอุตสาหกรรม • การควบคุมผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ตามมาตรฐานของกรมอุตสาหกรรม และมาตรฐานสากล รวมทั้ ง ป ฏิ บั ติ ต า ม ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ ข ้ อ บั ง คั บ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งอย่ า งครบถ้ ว น บริษัทฯมีการจัดตั้งนโยบายตรวจ วั ด เเละลดการใช้ พ ลั ง งานที่ ค รั ว กลางเเละสาขา • ตั้ ง แต่ ป ลายปี 2556 บริ ษั ท ฯ มี การน�ำหลอดไฟ LED ซึ่งเป็นหลอด ไฟประเภทประหยัดพลังงานและ มี ค วามทนทาน ไม่ ต ้ อ งเปลี่ ย น หลอดบ่ อ ยมาใช้ ใ นร้ า นอาหาร สาขาใหม่ๆ และมีความพยายาม ที่จะน�ำการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ไปสู่ร้านอาหารสาขาที่เปิดบริการ


ความรับผิดชอบต่อสังคม

ก่อนหน้าให้ครบทุกแห่ง • ในกระบวนการขนส่ง ทางบริษัทฯ ได้ ศึ ก ษาการบริ ห ารและติ ด ตาม พิ กั ด ต� ำ แหน่ ง ยานพาหนะ (Fleet Management) ที ม งานขนส่ ง นั้ น มีการก�ำหนดเส้นทางเดินรถใหม่ เพื่ อ ที่ จ ะประหยั ด น�้ ำ มั น เเละ บริ ห ารพื้ น ที่ ข นส่ ง ของรถให้ เ ต็ ม ที่สุด นอกจากนี้เเล้วบริษัทฯ มีการ ก� ำ หนดความเร็ ว ในการขั บ ขี่ เ เละ ติดตั้งเทคโนโลยีเพื่อที่จะสอดส่อง ใ ห ้ ย า น พ า ห น ะ ใช ้ ค ว า ม เร็ ว ในการขับขี่ที่ 80-90 กม./ชม. ซึ่ง เป็นระดับความเร็วที่ให้ประโยชน์ ในเรื่ อ งการประหยั ด พลั ง งาน ทั้งนี้พนักงานขับรถได้ถูกฝึกตาม หลั ก สู ต รการขั บ ขี่ เ เบบประหยั ด น�้ ำ มั น เเละรถแต่ ล ะคั น จะมี ก าร ติดตั้งระบบ GPS เพื่อความสะดวก ในการควบคุ ม ดู แ ลรวมถึ ง ตรวจ สอบเส้นทางเดินรถ • ส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานใช้ ท รั พ ยากร ที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งประหยั ด และก่ อ ให้ เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด เช่ น การ รี ไซเคิ ล วั ส ดุ ต ่ า งๆ เช่ น กระดาษ และพลาสติ ก การใช้ น�้ ำ อย่ า ง ประหยัด และการแยกขยะ เป็นต้น การร่วมพัฒนาชุมชน หรือสังคม

สื บ เนื่ อ งจากค� ำ มั่ น สั ญ ญาที่ จ ะ ด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนโดยแนวทาง CSR-in-Process บริ ษั ท ฯ มุ ่ ง เน้ น ใน การเชื่ อ มต่ อ ความส� ำ เร็ จ ของธุ ร กิ จ กับความก้าวหน้าของสังคมให้มีการ พัฒนาไปพร้อมกัน

1. การจัดซื้อวัตถุดิบจาก โครงการหลวง

บริ ษั ท ฯ มี น โยบายการใช้ สิ น ค้ า ที่ผลิตในประเทศเป็นหลัก นับตั้งแต่ ปี 2558 ทางบริ ษั ท ฯ ได้ ท� ำ สั ญ ญา ร่ ว มกั บ มู ล นิ ธิ โ ครงการหลวงเพื่ อ ท�ำการซื้อขายสินค้า เเละในปัจจุบัน ปริ ม าณผั ก กว่ า ครึ่ ง ที่ ร ้ า นอาหารใน เครือของบริษัทฯ ใช้ในการประกอบ อาหารนั้ น ถู ก ท� ำ การซื้ อ เเละคั ด สรร ผ่ า นโครงการหลวง การร่ ว มมื อ ของ บริ ษั ท ฯ เเละมู ล นิ ธิ โ ครงการหลวง ไม่ ห ยุ ด อยู่เพียงเเค่การเป็นผู้ซื้อ เเละ ผู ้ ข าย ทางบริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ ร ่ ว มศึ ก ษา เเละพัฒนาโครงการเพื่อชุมชนชาวไร่ บริ ษั ท ฯ ได้ บ ริ จ าคเงิ น เพื่ อ พั ฒ นา โรงเรือน และการเป็นอยู่ของเกษตรกร และครอบครัว โดยสนับสนุนโครงการ สร้ า งสถานรั บ เลี้ ย งเด็ ก เล็ ก และ โครงสร้ า งระบบของการเกษตรเพื่ อ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น ใน อนาคต บริ ษั ท ฯ ยั ง คงมี ก ารด� ำ เนิ น โครงการอย่างต่อเนื่อง โดยจะมีการ พัฒนานวัตกรรมเพื่อการเกษตร การ ศึกษา เเละการกักเก็บน�้ำ 2. โครงการการศึกษา ระบบทวิภาคี

บ ริ ษั ท ฯ ไ ด ้ มี ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ กั บ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการ อาชี ว ศึ ก ษาและวิ ท ยาลั ย ในสั ง กั ด 45 แห่ ง เพื่ อ สร้ า งความร่ ว มมื อ ระหว่ า งสถานการศึ ก ษาในการมอบ เงินทุนการศึกษา โอกาสในการพัฒนา วิชาชีพ เเละเส้นทางก้าวหน้าในสาย อาชีพให้เเก่นักศึกษาอาชีวะ บริษัทฯ ท� ำ การฝึ ก อบรมนั ก เรี ย นให้ มี ค วาม

147

พร้ อ มทั้ ง ด้ า นวิ ช าการและทั ก ษะ อาชีพ ด้วยหลักสูตรที่ร่วมมือกันร่าง แ ล ะ มี ก า ร ส อ น ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ควบคู ่ ไ ปกั บ การปฏิ บั ติ ง านในสถาน ประกอบการ เพื่ อ ให้ ผู ้ ที่ ส� ำ เร็ จ การ ศึกษาเป็นผู้ที่มีค วามรู้ค วามสามารถ อย่ า งแท้ จ ริ ง เข้ า ใจงานบริ ก าร และ มีคุณภาพตรงตามความต้องการของ ตลาดแรงงาน โดยมี ห ลั ก สู ต รทั้ ง ใน ระดับปวช. ปวส. และปริญญาตรี ทั้งนี้ ทางบริษัทฯ ได้เข้าร่วมรับผิดชอบทั้ง ขบวนการตั้งแต่การไปประชาสัมพันธ์ ที่ ส ถานศึ ก ษาเพื่ อ ให้ ข ้ อ มู ล เกี่ ย ว กั บ โครงการ ท� ำ ความเข้ า ใจกั บ ครู แ นะแนว ผู ้ ป กครอง นั ก เรี ย น นักศึกษา รวมจนถึงการดูแลนักเรียน ระหว่ า งที่ อ ยู ่ กั บ ทางบริ ษั ท ฯ อย่ า ง เป็ น ประจ� ำ การช่ ว ยเหลื อ ค่ า เทอม ตลอดระยะเวลาการศึ ก ษาพร้ อ ม เบี้ยเลี้ยงและสวัสดิการต่างๆ การจัด อบรมหลั ก สู ต รที่ เ ป็ น ประโยชน์ กั บ นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาเพื่ อ เตรี ย มความ พร้ อ มก่ อ นเริ่ ม ฝึ ก งานและระหว่ า ง การฝึ ก งาน รวมถึ ง การจั ด งานมอบ วุฒิบัตรหลังจากจบการศึกษา เป็นต้น โดยในปี 2560 มีนักเรียนที่ส�ำเร็จการ ศึ ก ษาจากโครงการกั บ ทางบริ ษั ท ฯ แล้วจ�ำนวน 604 คน และมีนักเรียนที่ ก้าวหน้าในสายอาชีพร่วมงานต่อกับ เราเป็นจ�ำนวน 49 คน บริษัทฯ ได้ท�ำการยกระดับความ ร่ ว มมื อ กั บ สถานศึ ก ษาในปี 2560 โดยร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ การอาชี ว ศึ ก ษา ได้ ริ เ ริ่ ม โครงการ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารวิ ช าชี พ Thailand 4.0 ซึ่ ง ประสานความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง ภาครั ฐ และภาคเอกชนในการร่ า ง


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

148

หลั ก สู ต รการสอนเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ ง กั บ หลั ก ยุ ท ธศาสตร์ ข องชาติ โดย โครงการนี้ เ ปิ ด โอกาสให้ กั บ นั ก เรี ย น นักศึกษาเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ ท� ำ ง า น จ ริ ง แ ล ะ ค ว า ม เชี่ ย ว ช า ญ ผ่ า นหลั ก สู ต รเฉพาะที่ จั ด เตรี ย มเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะด้ า นอุ ต สาหกรรมการ บริ ก ารแบบยกระดั บ ซึ่ ง เป็ น ที่ มุ ่ ง เน้ น ของยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ตั้ ง แต่ ป ี 2558 บริษัทฯ ได้ร่วมมือกับวิทยาลัย อาชี ว ศึ ก ษาเชี ย งราย เพื่ อ ท� ำ ความ เข้ า ใจความต้ อ งการของชุ ม ชนและ จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ เ อ็ ม เค “MK Brain Center” โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ สนั บ สนุ น พื้ น ที่ ใ นการใช้ อ บรม เกี่ ย วกั บ งานการบริ ก ารร้ า นอาหาร และเรี ย นรู ้ ใ นสถานที่ เ สมื อ นจริ ง เพื่ อ ให้ เ กิ ด บรรยากาศคล้ า ยกั บ การ ท� ำ งานมากที่ สุ ด โดยจะมี ค รู ผู ้ ส อน ของสถาบั น ฝึ ก อบรมเอ็ ม เคเข้ า ร่ ว ม ในการให้ความรู้ 3. โครงการสนับสนุน นักเรียนพิการ

บริ ษั ท เอ็ ม เค เรสโครองต์ กรุ ๊ ป จ� ำ กั ด (มหาชน) พยายามที่ จ ะสนั บ สนุ น เเละส่ ง เสริ ม ให้ ก ลุ ่ ม คนผู ้ พิ ก าร มี อ าชี พ เเละมี ค วามมั่ น ใจโดยการ เปิดโอกาสให้แก่เด็กนักเรียนโรงเรียน โสตศึ ก ษาและโรงเรี ย นปั ญ ญานุ กู ล จ� ำ นวนกว่ า 18 แห่ ง ทั่ ว ประเทศ ซึ่ ง เป็ น เด็ ก นั ก เรี ย นในกลุ ่ ม บกพร่ อ ง ทางการได้ ยิ น และบกพร่ อ งทางสติ ปัญญา ได้เข้าร่วมท�ำงานกับบริษัทฯ ทางบริ ษั ท ฯ ได้ ว างแผนให้ มี ก าร จั ด การเรี ย นการสอนทั ก ษะในการ ให้ บ ริ ก ารตามหลั ก สู ต รการเรี ย น การสอนทวิ ภ าคี ร ะดั บ มั ธ ยมปลาย

ของสถาบั น ฝึ ก อบรมเอ็ ม เคแก่ เ ด็ ก นั ก เรี ย น ซึ่ ง ทุ ก รายวิ ช าจะมี ก ารลง พื้ น ที่ ศึ ก ษาดู ง านและฝึ ก ปฏิ บั ติ จ ริ ง ที่ ส าขา และมี โ อกาสได้ ท� ำ งานเพื่ อ เพิ่มประสบการณ์หรือหารายได้พิเศษ โดยก่ อ นการท�ำงาน ทั้ง นักเรียนและ ผู ้ ป กครองจะได้ รั บ การปฐมนิ เ ทศ เกี่ยวกับกระบวนการท�ำงาน และพาชม สถานที่ปฏิบัติงานและที่พัก นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมีการมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ เข้ า ตรวจเยี่ ย มตามสาขาเพื่ อ ที่ จ ะ ดู เ เลการปรั บ ตั ว เเละความเป็ น อยู ่ ของนักเรียน ซึ่งในปี 2560 นี้ บริษัทฯ ได้ เ ปิ ด โอกาสความก้ า วหน้ า ใน วิ ช าชี พ นี้ ใ ห้ เ เก่ เ ด็ ก นั ก เรี ย นพิ ก าร เป็นจ�ำนวน 200 คน การสร้างนวัตกรรมและ เผยแพร่นวัตกรรม

บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามส� ำ คั ญ ทางด้ า น นวั ต กรรมเเละดี ไ ซน์ ตั้ ง แต่ ส มั ย ที่ บริ ษั ท ฯ เริ่ ม ประกอบธุ ร กิ จ ในอดี ต หนึ่ ง ในสาเหตุ ห ลั ก ที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด การ ระเบิ ด เเละไฟไหม้ ใ นเมื อ งไทยนั้ น สืบเนือ่ งมาจากการใช้เเก๊ส ด้วยความมุง่ มั่นที่จะดูเเลความปลอดภัยของลูกค้า เเละพนักงาน บริษัทฯ จึงริเริ่มในการ ออกเเบบหม้ อ ไฟฟ้ า ของตนเองเพื่ อ ที่ จ ะน� ำ มาทดแทนหม้ อ แก๊ ส เเละมี นโยบายห้ามใช้เเก๊สทั้งในโซนบริการ เเละโซนครั ว ส� ำ หรั บ ร้ า นอาหารใน เครือทั้งหมด สัญลักษณ์หม้อแดงของ ร้ า นเอ็ ม เคจึ ง เป็ น เครื่ อ งหมายของ คุณภาพและความใส่ใจที่ทางบริษัทฯ มีต่อลูกค้าเเละพนักงานมาโดยตลอด ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังมีการปรับปรุงรูปแบบ ของหม้ อ ไฟฟ้ า อย่ า งต่ อ เนื่ อ งจนมา เป็นเตาเเม่เหล็กไฟฟ้า (Induction) ซึ่ง ปลอดภัยจากการถูกไฟดูด 100%

อี ก หนึ่ ง นวั ต กรรมที่ ร ้ า นเอ็ ม เค เป็ น ผู ้ คิ ด ค้ น และที่ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก อย่ า ง แพร่หลายคือ คอนโดใส่อาหาร เนื่อง จากบริ ษั ท ฯ พบปั ญ หาพื้ น ที่ ที่ ค ่ อ น ข้ า งจ� ำ กั ด บนโต๊ ะ อาหาร และด้ ว ย เเรงบั น ดาลใจจากการออกแบบของ คอนโดมิ เ นี ย ม คอนโดใส่ อ าหารจึ ง ถู ก ออกเเบบมาให้ ส ามารถวางซ้ อ น กั น ได้ ห ลายชั้ น โดยที่ ยั ง สามารถคง มาตรฐานความสะอาดไว้ นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารใช้ นวัตกรรม PDA ในการสั่งอาหารเพื่อ ความรวดเร็ ว ในการบริ ก ารลู ก ค้ า และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการท� ำ งาน ของพนั ก งาน ลดความผิ ด พลาด เเละลดเวลาที่ ลู ก ค้ า รออาหาร อี ก ทั้ ง ทางบริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารร่ ว มมื อ กั บ มหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ โดยการให้ทุน เพื่ อ ค้ น คว้ า และวิ จั ย เพื่ อ ประดิ ษ ฐ์ หุน่ ยนต์เสิรฟ์ อาหาร โครงการนีน้ อกจาก จะเป็ น การเพิ่ ม ประสบการณ์ ที่ พิ เ ศษ ให้ เ เก่ ร ้ า นเอ็ ม เคโดยมี หุ ่ น ยนต์ ม า เสิร์ฟเเล้ว ยังเปิดโอกาสให้นักศึกษา ฝึกทักษะทางเทคนิค เเก้ไขปัญหาจาก สถานการณ์จริง เเละได้ลงมือปฏิบัติ จนเห็นผลงานวิจัยของตนเองออกมา เป็ น รู ป ธรรมเเละน� ำ มาใช้ เ พื่ อ เกิ ด ประโยชน์ได้จริง บริ ษั ท ฯ ยั ง คงท� ำ การพั ฒ นา นวั ต กรรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ ให้ สอดคล้ อ งกั บ ยุ ค ดิ จิ ทั ล มี ก ารคิ ด ค้ น นวัตกรรมใหม่ๆ ที่จะสามารถพัฒนา การบริการให้ดียิ่งขึ้น โดยในปี 2556 บริษัทฯ ได้มีการติดตั้งอุปกรณ์ Tablet บนโต๊ ะ อาหารเพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า สามารถ สั่งอาหารได้เอง (Self-Ordering System) และในปัจจุบันบริษัทฯ ได้ติดตั้งระบบ ดังกล่าวไปแล้วมากกว่า 110 สาขา


ความรับผิดชอบต่อสังคม

กิจกรรมเพื่อสังคม (CSR-After Process)

บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ต่ อ การคื น สิ่ ง ดี ๆ ให้ แ ก่ สั ง คมเพื่ อ ความยั่งยืน ดังนั้น ทุกปีทางบริษัทฯ จึ ง ร่ ว มกั บ มู ล นิ ธิ ป ้ า ทองค� ำ ในการ บริจาคเงินและให้ความช่วยเหลือแก่ องค์กรต่างๆ โดยในปี 2560 บริษัทฯ ร่ ว มกั บ มู ล นิ ธิ ป ้ า ทองค� ำ ได้ ส ร้ า ง โอกาสส�ำหรับผู้ยากไร้และขาดแคลน โดยการมอบเงิ น บริ จ าคเป็ น จ� ำ นวน มากกว่า 40 ล้านบาท โดยโครงการ ที่บริษัทฯ สนับสนุน ได้แก่ 1. การสาธารณสุขส�ำหรับ ผู้ขาดแคลน

หนึ่ ง ในค� ำ มั่ น สั ญ ญาของบริ ษั ท ฯ คื อ การร่ ว มพั ฒ นาการสาธารณสุ ข และโครงการด้ า นการแพทย์ ต ่ า งๆ ส� ำ หรั บ ผู ้ ย ากไร้ โดยเงิ น บริ จ าค ของเราจะมุ ่ ง เน้ น เพื่ อ สนั บ สนุ น โรงพยาบาลรั ฐ บาลเเละโครงการที่ ขาดแคลนเงินทุน ดังนี้

• กองทุนยาสภากาชาดไทย • โครงการวิง่ การกุศล “ก้าวคนละก้าว” • ห้ อ งผ่ า ตั ด โรงพยาบาลพิ บู ล มังสาหาร • รถพยาบาล โรงพยาบาลค�ำตากล้า • เครือ่ งมือทางการแพทย์ โรงพยาบาล ชลบุรี • กองทุนวัดพระบาทน�้ำพุ 2. การมุ่งเน้นส่งเสริม ด้านการศึกษา

เยาวชน คือ กลุ่มคนที่มีเรี่ยวแรง ในการเสริ ม สร้ า งชุ ม ชน ดั ง นั้ น การ ศึ ก ษ า ซึ่ ง คื อ ร า ก ฐ า น ก า ร เรี ย น รู ้ ของกลุ ่ ม เยาวชนนั้ น จึ ง เป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ในการมี ส ่ ว นร่ ว มพั ฒ นาสั ง คม บริ ษั ท ฯ ได้ เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความส� ำ คั ญ และมุ่งเน้นที่จะสนับสนุนสถาบันการ ศึ ก ษาและโครงการเรี ย นรู ้ อ ย่ า งต่ อ เนื่องต่างๆ ที่ส่งเสริมรากฐานของการ ศึกษาแห่งชาติ โดยโครงการที่บริษัทฯ สนับสนุน ได้แก่

149

• โครงการหอสมุ ด มหาวิ ท ยาลั ย มหิดล • ศู น ย ์ ก า ร เ รี ย น รู ้ ก า ร เ ก ษ ต ร อทิตยาทร

นอกจากนี้ เนื่องจากบริษัทฯ เป็น ผู ้ ป ระกอบธุ ร กิ จ อาหาร บริ ษั ท ฯ จึ ง มี ค วามตั้ ง ใจที่ จ ะสนั บ สนุ น คุ ณ ภาพ ชี วิ ต ที่ ดี ใ ห้ บุ ค ลากรของโรงพยาบาล ผ่ า นการรั บ ประทานอาหาร บริ ษั ท ฯ ได้ เ ปิ ด บริ ก ารร้ า นอาหารในเครื อ เอ็มเคฯ ทั้งหมด 4 ร้าน ประกอบด้วย ร้านเอ็มเค สุกี้ ร้านอาหารญี่ปุ่นยาโยอิ ร้านอาหารญี่ปุ่นฮากาตะ ราเมน และ ร้ า นกาแฟ เลอ เพอทิ ท ณ อาคาร ปิยมหาราชการุณย์ โรงพยาบาลศิริราช ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ได้ ท� ำ การยกผลก� ำ ไร ทั้ ง หมดที่ ไ ด้ จ ากการด� ำ เนิ น งานหลั ง หักค่าใช้จ่ายให้แก่มูลนิธิโรงพยาบาล ศิริราช


150

รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัทฯ ตามมติ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2558 เพื่อท�ำหน้าที่ช่วยคณะกรรมการบริษัทฯ ในการก�ำกับ ดูแลงานด้านบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน โดยคณะกรรมการชุดนี้จะประกอบด้วยกรรมการบริษัทฯ อย่างน้อย 3 คน และกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งและประธานของคณะกรรมการชุดนี้ต้องเป็นกรรมการที่เป็นอิสระ มี วาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี นับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง หรือในกรณีที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนที่ว่างลง ก็จะอยู่ในต�ำแหน่งได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนซึ่งตนเข้ามาแทน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน ชุด ปัจจุบันประกอบด้วยกรรมการ 3 คน ดังนี้ 1. ดร. ขัติยา ไกรกาญจน์ 2. นายอรรถพล ชดช้อย 3. นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

เป็นประธาน เป็นกรรมการ เป็นกรรมการ

นับตั้งแต่วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2560 จนถึงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2561 คณะกรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณา ค่าตอบแทน ได้มีการประชุม 2 ครั้ง เพื่อด�ำเนินการในเรื่องต่าง ๆ ตามที่ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน ซึ่งผลของการประชุมสรุปได้ดังนี้ 1. พิจารณาค่าตอบแทนของประธานเจ้าหน้าที่บริหารเกี่ยวกับโบนัสประจ�ำปี 2560 และการปรับขึ้นเงินเดือนส�ำหรับ ปี 2561 โดยได้พิจารณาถึงผลการด�ำเนินงานประจ�ำปีของบริษัทฯ โดยรวม ผลการปฏิบัติงานในด้านที่ส�ำคัญอื่น และการ สร้างผลตอบแทนให้แก่บริษัทฯ ในระยะยาว รวมทั้งทบทวนความเหมาะสมของผลตอบแทนโดยการเปรียบเทียบกับ ต�ำแหน่งที่เท่ากันของบริษัทอื่นที่เทียบเคียงกันได้ เช่น ขนาดของกิจการ ซึ่งอาจวัดได้จากยอดขายหรือยอดสินทรัพย์รวม ที่ประชุมมีความเห็นว่า ค่าตอบแทนของประธานเจ้าหน้าที่บริหารในปัจจุบันมีความเหมาะสมแล้ว ส่วนโบนัสประจ�ำปี 2560 และการปรับขึ้นเงินเดือนของปี 2561 ให้อยู่ในระดับเช่นเดียวกับผู้บริหารอื่นของบริษัทฯ


รายงานคณะกรรมการบรรษัทภิบาลสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

2. พิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทฯ และกรรมการของคณะกรรมการชุดย่อยที่คณะกรรมการบริษัทฯ จัด ตั้งขึ้นตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรฯ และมีความเห็นว่าค่าตอบแทนของกรรมการบริษัทฯ ที่จ่ายเป็นรายเดือน และค่าตอบแทนส�ำหรับกรรมการของคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการชุดย่อยอื่นๆ ที่จ่ายเป็นรายครั้งมีความ เหมาะสมแล้ว ส�ำหรับค่าตอบแทนกรรมการที่เป็นโบนัสประจ�ำปี 2560 เห็นควรเสนอให้มีการเปลี่ยนแปลงตามสัดส่วน การเปลี่ยนแปลงของเงินปันผลประจ�ำปี 2560 ที่จะเสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 3. พิจารณาสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมเพื่อแทนกรรมการที่ต้องออกจากต�ำแหน่งตามวาระ โดยได้ยึดหลัก เกณฑ์ในการพิจารณาตามที่ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรฯ และมีความเห็นว่า ควรเสนอให้กรรมการที่ต้องออกจากต�ำแหน่งตาม วาระในครั้งนี้ คือ นายอรรณพ ตันละมัย นางวิไล ฉัททันต์รัศมี และนายสมชาย พิพิธวิจิตรกร กลับเข้ารับต�ำแหน่งเป็น กรรมการต่อไปอีกวาระหนึ่ง เนื่องจากมีคุณสมบัติที่เหมาะสม มีการมาร่วมประชุมอย่างสม�่ำเสมอ และให้ค�ำแนะน�ำที่ สร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อที่ประชุม

(ดร.ขัติยา ไกรกาญจน์)

ประธานคณะกรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

151


152

รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

การควบคุมภายในและ การบริหารจัดการความเสี่ยง

คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ความ ส� ำ คั ญ ต่ อ ระบบการควบคุ ม ภายใน อย่างต่อเนื่อง โดยมอบหมายให้คณะ กรรมการตรวจสอบท� ำ หน้ า ที่ ใ นการ ก� ำ กั บ ดู แ ลระบบการควบคุ ม ภายใน ให้มีประสิทธิภาพเพียงพอและเหมาะ สมกั บ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ โดยมี ฝ ่ า ย ตรวจสอบภายในท� ำ หน้ า ที่ ติ ด ตาม และสอบทานระบบการปฏิ บั ติ ง าน ของหน่ ว ยงานต่ า งๆ ของบริ ษั ท ฯ และรายงานตรงต่ อ คณะกรรมการ ตรวจสอบ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความมั่ น ใจ ว่ า การปฏิ บั ติ ง านมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และประสิ ท ธิ ผ ล มี ก ารใช้ ท รั พ ยากร ของบริ ษั ท ฯ อย่ า งคุ ้ ม ค่ า และก่ อ ให้ เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ตลอดจนดู แ ล รักษาทรัพย์สิน ลดความผิดพลาดและ ป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น จากการทุ จ ริ ต หรื อ ประพฤติ มิ ช อบ รวมถึงมีการก�ำกับดูแลการปฏิบัติงาน การรายงานทางการเงิ น ที่ มี ค วาม ถูกต้อง เชื่อถือได้ และทันเวลา รวม ทั้ ง ให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามนโยบาย กฎ ระเบี ย บ และข้ อ บั ง คั บ ของกฎหมาย เพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ กิ ด ความเสี ย หาย ต่อบริษัทฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการ ตรวจสอบได้มกี ารประเมินความเพียงพอ ของระบบการควบคุ ม ภายในและ รายงานตรงต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี ตามแนวทางของ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ (กลต.) และเป็ น ไปตามกรอบการควบคุ ม

ภายในของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยที่อ้างอิงจาก COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Tread Way Commission) ทั้ง 5 องค์ ป ระกอบ ได้ แ ก่ สภาพแวดล้ อ ม และการควบคุม (Control Environment) การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) การควบคุ ม การปฏิ บั ติ ง าน (Control Activities) ระบบสารสนเทศ และการสื่อสารข้อมูล (Information and Communication) และระบบการติดตาม (Monitoring Activities) ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ไม่ พ บข้ อ บกพร่ อ งที่ มี นั ย ส� ำ คั ญ ต่ อ ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ 1. สภาพแวดล้อมและการควบคุม

บริ ษั ท ฯได้ ก� ำ หนดให้ มี ส ภาพ แวดล้ อ มของการควบคุ ม ภายในที่ ดี โดยจัดโครงสร้างองค์กรและสายงาน การบั ง คั บ บั ญ ชาที่ ชั ด เจนเหมาะสม รวมทั้ ง ก� ำ หนดเป้ า หมายทางธุ ร กิ จ และดัชนีชวี้ ดั ผลส�ำเร็จ (Key Performance Indicators: KPI) เพื่อใช้ในการประเมิน ประสิ ท ธิ ภ าพในการปฏิ บั ติ ง านให้ สอดคล้ อ งกั บ เป้ า หมายขององค์ ก ร ก� ำ หนดให้ มี คู ่ มื อ การใช้ อ� ำ นาจและ คู ่ มื อ การปฏิ บั ติ ง านของทุ ก ระบบ อย่ า งเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการปฏิ บั ติ ง าน มี ก ารถ่ า ยทอดเป้ า หมายองค์ ก ร ลงสู ่ ร ะดั บ สายงานและฝ่ า ย มี ก าร สร้ า งบรรยากาศของการปฏิ บั ติ ง าน ที่ดี เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรทุกระดับ

ในหน่ว ยงานมีทัศ นคติที่ดีต่อ องค์กร ด้วยการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร ที่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ ความซื่ อ สั ต ย์ และจริยธรรม นอกจากนี้บริษัทฯ ยัง เน้ น ให้ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก คน ของบริษัท ฯ ให้ค วามส�ำคัญเกี่ยวกับ การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยก�ำหนด ให้มีนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อให้การปฏิบัติงานมีความโปร่งใส และเป็ น ธรรมต่ อ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ทุกกลุ่ม 2. การประเมินความเสี่ยง

บริ ษั ท ฯได้ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การบริ ห ารความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น กั บ ธุ ร กิ จ ที่ อ าจท� ำ ให้ ไ ม่ บ รรลุ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่ก�ำหนด ไว้ โดยคณะกรรมการบริษัทฯได้มีมติ จั ด ตั้ ง คณะจั ด การบริ ห ารความเสี่ ย ง ซึ่ ง เป็ น ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของแต่ ล ะ หน่ ว ยงาน มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบดู แ ล และติดตามกระบวนการบริหารความ เสี่ ย ง การประเมิ น ความเสี่ ย งของบ ริษัทฯ และทบทวนปัจจัยและสาเหตุ ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความเสี่ ย ง โดยผ่ า นการ ประชุมคณะจัดการบริหารความเสี่ยง เพื่ อ รวบรวมความเสี่ ย งที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้นและรายงานผลการประเมินความ เสี่ ย งต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯเพื่ อ พิ จ ารณารั บ ทราบ ทั้ ง นี้ ร ายละเอี ย ด ด้านการบริหารความเสี่ยง ปรากฏใน หัวข้อ “ปัจจัยความเสี่ยง”


การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง

3. การควบคุมการปฏิบัติงาน

บริ ษั ท ฯ มี ม าตรการควบคุ ม ที่ เหมาะสมและเพียงพอ มีการก�ำหนด นโยบายและระเบี ย บปฏิ บั ติ ที่ มี ก าร ก� ำ หนดขอบเขตอ� ำ นาจหน้ า ที่ แ ละ การอนุ มั ติ ที่ ชั ด เจน มี ก ารแบ่ ง แยก หน้ า ที่ ก ารปฏิ บั ติ ง าน มี ก ารจั ด ท� ำ คู ่ มื อ การปฏิ บั ติ ง านทุ ก ขั้ น ตอน มี การสอบทานรายงานทางการเงิ น และรายงานผลการด�ำเนินงานที่มิใช่ ทางการเงิ น ให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บที่ ก� ำ หนด มี ก ารบั น ทึ ก บั ญ ชี ค รบถ้ ว น ถู ก ต้ อ งและสม�่ ำ เสมอ มี ก ารจั ด เก็ บ เอกสารทางบั ญ ชี ทั้ ง ที่ เ ป็ น เอกสาร และข้ อ มู ล สารสนเทศไว้ อ ย่ า งเป็ น ระบบ และเป็ น ไปตามที่ ก ฎหมาย ก� ำ หนด โดยให้ แ ต่ ล ะหน้ า ที่ ส ามารถ ถ่ ว งดุ ล อ� ำ นาจหรื อ มี ก ลไกสามารถ ตรวจสอบย้อนกลับได้อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะการปฏิ บั ติ ง านในส่ ว น ที่มีความเสี่ยงส�ำคัญ เพื่อป้องกันและ ลดข้อผิดพลาด เช่น ธุรกรรมด้านการ เงิ น การขาย การจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง หรื อ การดู แ ลทรั พ ย์ สิ น เป็ น ต้ น รวมถึ ง การน�ำระบบสารสนเทศมาใช้ในการ ปฏิบัติงานเพื่อช่วยให้การปฏิบัติงาน มี ค วามรวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มากขึ้น บริษัทฯ มีการวางระบบด้าน การบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล และ มี ก ารควบคุ ม ติ ด ตามประเมิ น ผล การปฏิ บั ติ ง านของพนั ก งานอย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ มี ก ารพั ฒ นาบุ ค ลากร อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให้ พ นั ก งานมี ความรู ้ ค วามสามารถในการปฏิ บั ติ งานอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ในกรณี ที่ บ ริ ษั ท ฯ มี ก ารท� ำ ธุ ร กรรม กับบุคคลที่มีความขัดแย้งหรือบุคคล ที่เกี่ยวข้องกัน ฝ่ายบริหารจะน�ำเรื่อง

เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการตรวจ สอบเพื่อพิจารณาความสมเหตุสมผล หากคณะกรรมการตรวจสอบไม่ มี ความช�ำนาญในการพิจารณารายการ ระหว่างกันที่เกิดขึ้น บริษัทฯ จะจัดให้ มีบุคคลที่มีความรู้ความช�ำนาญพิเศษ เช่น ผู้สอบบัญชี หรือผู้ประเมินราคา ทรั พ ย์ สิ น หรื อ ส� ำ นั ก งานกฎหมาย เป็นต้น ที่เป็นอิสระจากบริษัทฯ และ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง เป็ น ผู ้ ใ ห้ ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกัน ดังกล่าว และเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป 4. ระบบสารสนเทศและการ สื่อสารข้อมูล

บริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญต่อระบบ สารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล ส่ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ มี ก ารพั ฒ นา ระบบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ข้อมูลต่าง ๆ มี ค วามถูกต้อ งและเป็นปัจจุบัน โดย ได้ น� ำ ระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ ทั น สมั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง มีความปลอดภัยของข้อมูล มีการจัด เก็ บ ข้ อ มู ล หรื อ เอกสารที่ ส�ำ คั ญ อย่ า ง เป็ น ระบบ เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ง าน และการน� ำ ข้ อ มู ล ที่ ส� ำ คั ญ ไปใช้ ใ น การบริหารจัดการของผู้บริหาร หรือ ผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ มีความครบถ้วน ถู ก ต้ อ งอย่ า งเพี ย งพอ รวมทั้ ง มี การก� ำ หนดนโยบายความปลอดภั ย ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้ ข้ อ มู ลที่เหมาะสม เพื่อ ป้อ งกันความ เสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นและเตรียมความ พร้ อ มก้ า วสู ่ เ ทคโนโลยี ใ นอนาคต นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ฯ ยั ง มี ห น่ ว ยงาน นักลงทุนสัมพันธ์ซงึ่ เป็นหน่วยงานทีท่ ำ� หน้าที่ประสานงานกับนักลงทุนต่างๆ

153

เพื่อให้ข้อมูลการด�ำเนินงานและการ ลงทุนของบริษัท ฯ ด้ว ยช่อ งทางการ ติ ด ต่ อ รวดเร็ ว และเข้ า ถึ ง ได้ ง ่ า ย เช่ น Website ของบริ ษั ท ฯ E-mail Call Center เป็นต้น และที่ส�ำคัญบริษัทฯ ได้ จัด ให้มีช ่อ งทางการสื่อ สารให้บุคคล ภายนอกสามารถแจ้ ง ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การร้ อ งเรี ย น หรื อ แจ้ ง เบาะแสการ ทุจริตผ่านช่องทางที่บริษัทฯ ก�ำหนด ดังกล่าวข้างต้น 55. ระบบการติดตาม

คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย ให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบติ ด ตาม และประเมิ น ผลระบบการควบคุ ม ภายใน โดยให้ฝ่ายตรวจสอบภายใน เป็ น ผู ้ ส อบทานและประเมิ น ผลการ ปฏิ บั ติ ง านตามแผนการตรวจสอบ ประจ� ำ ปี ที่ ไ ด้ รั บ การอนุ มั ติ โ ดยคณะ กรรมการตรวจสอบ ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ มัน่ ใจว่าสิง่ ทีต่ รวจพบจากการสอบทาน นั้ น ได้ รั บ การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขอย่ า ง เหมาะสมทั น ท่ ว งที โดยน� ำ เสนอ รายงานและประเด็นต่างๆ อย่างเป็น อิ ส ระ ผ่ า นคณะกรรมการตรวจสอบ และฝ่ายบริหารที่เข้าร่วมประชุมเป็น ประจ� ำ ทุ ก ไตรมาส นอกจากนี้ คณะ กรรมการตรวจสอบได้ เ ชิ ญ ผู ้ ส อบ บั ญ ชี เข้ า ร่ ว มประชุ ม เพื่ อ พิ จ ารณา และรับทราบผลการสอบทานงบการ เงินและประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับระบบ การควบคุ ม ภายในซึ่ ง ไม่ พ บประเด็ น ที่เป็นข้อบกพร่องที่เป็นสาระส�ำคัญ


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

154

รายละเอียดของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย รายละเอียดของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย 1. นายฤทธิ์ ธีระโกเมน ต�ำแหน่ง

• ประธานกรรมการ • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม

วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ

• มิถุนายน 2555

ครั้งแรก อายุ

• 66 ปี

จ�ำนวนและสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

• ของตนเอง 140,059,333 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 15.2 • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 199,396,802 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 21.7

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่าง

• เป็นสามีของนางยุพิน ธีระโกเมน

ผู้บริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรีวิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องที่จัด

• Director Accreditation Program (DAP) 97/2555

โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการท�ำงานที่ส�ำคัญ

• บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2555-ปัจจุบัน 2532-2555 2529-2555 2530-2542 2517-2530

ประธานกรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป กรรมการ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป กรรมการผู้จัดการ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป ประธานกรรมการ บมจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น กรรมการผู้จัดการ บมจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น

• บริษัทที่มิได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2537-ปัจจุบัน 2542-ปัจจุบัน 2549-ปัจจุบัน 2549-ปัจจุบัน 2533-ปัจจุบัน 2534-ปัจจุบัน 2555-ปัจจุบัน 2558-ปัจจุบัน 2559-ปัจจุบัน

กรรมการ บจ. เอ็ม เค เวิลด์ไวด์ กรรมการ บจ. โกลบอล แอสเซท ดีเวลลอปเม้นท์ กรรมการ บจ. เอ็ม เค อินเตอร์ฟู้ด กรรมการ บจ. เอ็มเค เซอร์วิส เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ กรรมการ บจ. พรีซิชั่น แมนูแฟคเจอริ่ง กรรมการ บจ. โทเท็มส์ กรรมการ บจ. หาญธีร์ ยูนิตี้ กรุ๊ป กรรมการ บจ. อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ด ซัพพลาย กรรมการ บจ. ยูนิตี้ โกลบอล ดีเวลลอปเมนท์


รายละเอียดของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

2. นายสมชาย หาญจิตต์เกษม ต�ำแหน่ง

• กรรมการ • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ

• มิถุนายน 2555

ครั้งแรก อายุ

• 56 ปี

จ�ำนวนและสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

• ของตนเอง 164,494,812 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 17.9 • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่าง

• เป็นน้องชายของนางยุพิน ธีระโกเมน

ผู้บริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ • ปริญญาโท (MS) Abilene Christian University ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องที่จัด บริษัทไทย (IOD)

• Director Accreditation Program (DAP) 97/2555 • Director Accreditation Program (DAP) 6/2546 • Financial Statements for Directors (FSD) 9/2547

ประวัติการท�ำงานที่ส�ำคัญ

• บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

2558-ปัจจุบัน 2532-ปัจจุบัน 2555-2558 2535-2555

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป กรรมการ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป กรรมการผู้จัดการ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป รองกรรมการผู้จัดการ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป

• บริษัทที่มิได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2537-ปัจจุบัน 2542-ปัจจุบัน 2549-ปัจจุบัน 2549-ปัจจุบัน 2547-ปัจจุบัน 2550-ปัจจุบัน 2555-ปัจจุบัน 2558-ปัจจุบัน 2537-ปัจจุบัน 2539-ปัจจุบัน 2548-ปัจจุบัน 2559-ปัจจุบัน 2559-ปัจจุบัน

กรรมการ บจ. เอ็ม เค เวิลด์ไวด์ กรรมการ บจ. โกลบอล แอสเซท ดีเวลลอปเม้นท์ กรรมการ บจ. เอ็ม เค อินเตอร์ฟู้ด กรรมการ บจ. เอ็มเค เซอร์วิส เทรนนิ่ง เซ็นเตอร์ กรรมการ บจ. เจ้าบ้านดวิบุรีวิลล่า (เพชรบุรี) กรรมการ บจ. เชลล์ฮัท เอ็นเทอร์เทนเม้นท์ กรรมการ บจ. หาญธีร์ ยูนิตี้ กรุ๊ป กรรมการ บจ. อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ด ซัพพลาย กรรมการ บจ. เนชั่นแนล ฟู้ด รีเทล กรรมการ บจ. คิปสัน อินเตอร์เทค กรรมการ บจ. สุพีเรีย ฟู้ด เซอร์วิส กรรมการ บจ. เอ็ม เพอฟอร์แมนซ์ กรรมการ บจ. เอ็ม เอชคิว

155


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

156

3. นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร ต�ำแหน่ง

• กรรมการ • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม • กรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ

• มิถุนายน 2555

ครั้งแรก อายุ

• 78 ปี

จ�ำนวนและสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

• ของตนเอง (ไม่มี) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 3,700,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.4

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่าง

• เป็นน้องชายของมารดาของนายฤทธิ์ ธีระโกเมน

ผู้บริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรีบัญชี (เกียรตินิยมอันดับสอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ (การบัญชี) Michigan State University ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องที่จัด

• การสัมมนาผลส�ำรวจค่าตอบแทนกรรมการบริษัทไทย 2547 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2548

โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการท�ำงานที่ส�ำคัญ

• บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2555-ปัจจุบัน 2546-ปัจจุบัน 2552-2557 2547-2552 2529-2541 2527-2542 2526-2542

กรรมการ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป กรรมการ บมจ. สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ประธานกรรมการ บมจ. บางสะพานบาร์มิล กรรมการ บมจ. บางสะพานบาร์มิล กรรมการ บมจ. ปูนซีเมนต์นครหลวง กรรมการ บมจ. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา กรรมการ บมจ. ประกันชีวิตศรีอยุธยา

• บริษัทที่มิได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2547-ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. สหวิริยาเพลทมิล 2552-2555 กรรมการ บมจ. เหล็กแผ่นรีดเย็นไทย


รายละเอียดของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

4. ดร.อรรณพ ตันละมัย ต�ำแหน่ง

• กรรมการอิสระ • ประธานกรรมการตรวจสอบ

วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ

• มิถุนายน 2555

ครั้งแรก อายุ

• 67 ปี

จ�ำนวนและสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

• ของตนเอง (ไม่มี) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัว

• -ไม่มี-

ระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรีวิศวกรรมเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท Engineering Management University of Missouri ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ (MBA Quantitative Business Analysis) Indiana University ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาเอก Engineering Management University of Missouri ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องที่จัด

• Director Certification Program (DCP) 154/2554

โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการท�ำงานที่ส�ำคัญ

• บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2555-ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป 2558-ปัจจุบัน กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ทางด่วนและ รถไฟฟ้ากรุงเทพ 2554-2558 กรรมการ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ทางด่วนกรุงเทพ

• บริษัทที่มิได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2559-ปัจจุบัน คณบดี คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา 2559-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. ทอออ 2549-25560 กรรมการ บจ. เอ็กซ์ สิบเก้า 2555-2559 คณบดี วิทยาลัยการจัดการมหาวิทยาลัยมหิดล 2550-2554 คณบดี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2542-2550 ประธานกรรมการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2538-2542 หัวหน้าภาควิชาพาณิชยศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2532-2538 ประธานกรรมการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

157


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

158

5. ดร.ขัติยา ไกรกาญจน์ ต�ำแหน่ง

• กรรมการอิสระ • ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ

• มิถุนายน 2555

ครั้งแรก อายุ

• 65 ปี

จ�ำนวนและสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

• ของตนเอง (ไม่มี) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่าง

• -ไม่มี-

ผู้บริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรีวิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโทวิศวกรรมไฟฟ้า University of Missouri – Rolla ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาเอกวิศวกรรมไฟฟ้า University of Missouri – Rolla ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องที่จัด บริษัทไทย (IOD)

• Director Accreditation Program (DAP) 37/2548 • Financial Statements for Directors (FSD) 3/2551 • Advanced Audit Committee Program (AACP) 34/2554 • Director Certification Program (DCP) 110/2551 • Director Certification Program Update (DCPU) 5/2558

ประวัติการท�ำงานที่ส�ำคัญ

• บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

2560-ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. กุลธรเคอร์บี้ 2555-ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป 2554-ปัจจุบัน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. แพลนเน็ต คอมมิวนิเคชั่น เอเชีย 2550-ปัจจุบัน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. พรีเมียร์ มาร์เก็ตติ้ง 2548-2557 กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. พรีเมียร์ เทคโนโลยี

• บริษัทที่มิได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2556-ปัจจุบัน 2551-ปัจจุบัน 2551-ปัจจุบัน 2545-ปัจจุบัน 2531-ปัจจุบัน

กรรมการ บจ. ลิงซ์ คอร์ปอเรชั่น กรรมการ บจ. เมฆฟ้าดีเวลลอปเมนท์ กรรมการ บจ. วิปเทล กรรมการ บจ. ทรัพย์อุดมพร็อพเพอร์ตี้ กรรมการและกรรมการผู้จัดการ บจ. เควี อีเลคทรอนิคส์


รายละเอียดของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

6. นายทนง โชติสรยุทธ์ ต�ำแหน่ง

• กรรมการอิสระ

วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ

• มิถุนายน 2555

ครั้งแรก อายุ

• 64 ปี

จ�ำนวนและสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

• ของตนเอง (ไม่มี) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่าง

• -ไม่มี-

ผู้บริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรีวิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโทครุศาสตร์ สาขาบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องที่จัด

• Director Certification Program (DCP) 33/2546

โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการท�ำงานที่ส�ำคัญ

• บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2555-ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป 2536-ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการผู้จัดการ บมจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น

• บริษัทที่มิได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2556-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. เบสแล็บ 2553-ปัจจุบัน ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนเพลินพัฒนา บจ. เพลินพัฒน์ 2549-ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการบริหารโรงเรียนเพลินพัฒนา บจ. เพลินพัฒน์ 2544-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. ซีเอ็ดบุ๊คเซ็นเตอร์ 2527-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. เอ็มแอนด์อี 2546-2549 กรรมการและกรรมการบริหาร บจ. เพลินพัฒน์ 2530-2536 กรรมการและกรรมการผู้จัดการ บจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น

159


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

160

7. นางวิไล ฉัททันต์รัศมี ต�ำแหน่ง

• กรรมการอิสระ • กรรมการตรวจสอบ

วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ

• มิถุนายน 2555

ครั้งแรก อายุ

• 64 ปี

จ�ำนวนและสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

• ของตนเอง (ไม่มี) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่าง

• -ไม่มี-

ผู้บริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรีบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโทบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องที่จัด บริษัทไทย (IOD)

• Fellow (FIOD) • DCP Refresher 2/2549 • Director Certification Program (DCP) 13/2544

ประวัติการท�ำงานที่ส�ำคัญ

• บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

2560-ปัจจุบัน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. สหไทย เทอร์มินอล 2555-ปัจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป 2558-ปัจจุบัน กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. บีซีพีจี 2556-2558 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ซันไทยอุตสาหกรรมถุงมือยาง 2553-2555 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ห้องเย็นเอเชี่ยนซีฟู้ด

• บริษัทที่มิได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2560-ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. สหไทย สตีลไพพ์ 2559-ปัจจุบัน กรรมการในคณะกรรมการตรวจสอบ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2540-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. ฮอร์ตั้นอินเตอร์เนชั่นแนล 2535-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. จัดหางาน เอ็กเซ็คคิวทีฟเสิร์ชเซอร์วิสเซส 2557-2560 ผู้เชี่ยวชาญวิชาชีพด้านบัญชีการเงินประจ�ำคณะกรรมการ ตรวจสอบการประปานครหลวง 2554-2560 เลขาธิการ สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2545-2554 กรรมการและเหรัญญิก สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์


รายละเอียดของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

8. นายอรรถพล ชดช้อย ต�ำแหน่ง

• กรรมการอิสระ • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการบรรษัทภิบาล สรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ

• มิถุนายน 2555

ครั้งแรก อายุ

• 61 ปี

จ�ำนวนและสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

• ของตนเอง (ไม่มี) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่าง

• -ไม่มี-

ผู้บริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรีบัญชี (ต้นทุน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องที่จัด

• Director Certification Program (DCP) 54/2548

โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการท�ำงานที่ส�ำคัญ

• บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2555-ปัจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ.เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป 2556-ปัจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. เอ็ม พิคเจอร์ส เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ 2525-2542 กรรมการบริหารและประธานเจ้าหน้าที่การเงิน บมจ. ไมเนอร์ คอร์ปอเรชั่น

• บริษัทที่มิได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2560-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. วีรันดา รีสอร์ท แอนด์ สปา 2555-ปัจจุบัน ที่ปรึกษาทางการเงิน บจ. ยูนิคอุตสาหกรรมพลาสติก 2544-2554 กรรมการและผู้อ�ำนวยการ บจ. มอลลิเก้เฮลท์แคร์ (ประเทศไทย) 2542-2544 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการเงินและบัญชี บจ. อังกฤษตรางู (แอล.พี.)

161


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

162

9.นายสุจินต์ ชุมพลกาญจนา ต�ำแหน่ง

• กรรมการ

วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ

• มิถุนายน 2555

ครั้งแรก อายุ

• 66 ปี

จ�ำนวนและสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

• ของตนเอง 4,200,500 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.5 • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 1,500,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.2

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่าง

• -ไม่มี-

ผู้บริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรีวิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องที่จัด

• Director Accreditation Program (DAP) 97/2555

โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการท�ำงานที่ส�ำคัญ

• บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2555-ปัจจุบัน 2555-2557 2549-2555 2535-2549

กรรมการ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป รองกรรมการผู้จัดการ สายงานพัฒนาสาขาภัตตาคาร บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป รองกรรมการผู้จัดการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจและธุรกิจ ต่างประเทศ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป ผู้อ�ำนวยการ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป


รายละเอียดของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

10. นายประวิทย์ ตันติวศินชัย ต�ำแหน่ง

• กรรมการ • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม • ที่ปรึกษาด้านบัญชีและการเงิน

วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ

• มิถุนายน 2555

ครั้งแรก อายุ

• 61 ปี

จ�ำนวนและสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

• ของตนเอง 4,112,800 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.4 ของทุนที่ออกและช�ำระแล้ว • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่าง

• -ไม่มี-

ผู้บริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรีบัญชี (การเงินและการธนาคาร) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ประกาศนียบัตรขั้นสูงการสอบบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องที่จัด

• Director Accreditation Program (DAP) 97/2555 • Director Accreditation Program (DAP) 6/2546

โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการท�ำงานที่ส�ำคัญ

• บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2560-ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป 2542-ปัจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ซีเอ็ดยูเคชั่น 2555-2559 กรรมการและเลขานุการ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป 2558-2559 ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (บัญชีและการเงิน) บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป 2549-2558 รองกรรมการผู้จัดการ สายงานบัญชีและการเงิน บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป 2537-2549 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชีและการเงิน บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป

• บริษัทที่มิได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2558-ปัจจุบัน กรรมการ บจ. เอ็ม เค อินเตอร์ฟู้ด

163


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

164

11. นางยุพิน ธีระโกเมน ต�ำแหน่ง

• รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ

• -

ครั้งแรก อายุ

• 61 ปี

จ�ำนวนและสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

• ของตนเอง 199,396,802 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 21.7 • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 140,059,333 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 15.2

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่าง ผู้บริหาร

• เป็ น ภรรยาของนายฤทธิ์ ธีระโกเมน และเป็นพี่ส าวของนายสมชาย หาญ จิตต์เกษม

คุณวุฒิทางการศึกษา

• มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องที่จัด

• -ไม่มี-

โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการท�ำงานที่ส�ำคัญ

• บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2558-ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป 2555-2558 กรรมการผู้จัดการ กลุ่มธุรกิจภัตตาคารอาหารญี่ปุ่น บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป 2549-2555 รองกรรมการผู้จัดการฝ่ายซัพพลายเซนและร้านอาหารญี่ปุ่น บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป 2529-2549 ผู้อ�ำนวยการ บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป

• บริษัทที่มิได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2542-ปัจจุบัน 2537-ปัจจุบัน 2539-ปัจจุบัน 2548-ปัจจุบัน 2555-ปัจจุบัน 2557-ปัจจุบัน 2558-ปัจจุบัน 2559-ปัจจุบัน

กรรมการ บจ. โกลบอล แอสเซท ดีเวลลอปเม้นท์ กรรมการ บจ. เนชั่นแนลฟู้ดรีเทล กรรมการ บจ. คิปสัน อินเตอร์เทค กรรมการ บจ. สุพีเรีย ฟู้ด เซอร์วิส กรรมการ บจ. หาญธีร์ ยูนิตี้ กรุ๊ป กรรมการ บจ. เฮลท์ พลัส ครีเอชั่น กรรมการ บจ. อินเตอร์เนชั่นแนล ฟู้ด ซัพพลาย กรรมการ บจ. ยูนิตี้ โกลบอล ดีเวลลอปเมนท์


รายละเอียดของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

12. นายเกียรติก้อง กังวานวงษ์ ต�ำแหน่ง

• ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส สายงานพัฒนาภัตตาคารและซ่อมบ�ำรุง

วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ

• -

ครั้งแรก อายุ

• 50 ปี

จ�ำนวนและสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

• ของตนเอง 21,100 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.0 • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 400,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.0

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่าง

• -ไม่มี-

ผู้บริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรีวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องที่จัด

• -ไม่มี-

โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการท�ำงานที่ส�ำคัญ

• บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2560-ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส สายงานพัฒนา ภัตตาคารและซ่อมบ�ำรุง บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป 2555-2560 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนาและวิศวกรรม บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป

165


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

166

13. นางสุดารัตน์ พัทธ์วิวัฒน์ศิริ ต�ำแหน่ง

• ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส สายงานบัญชีและการเงิน • เลขานุการบริษัท

วันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ

• -

ครั้งแรก อายุ

• 45 ปี

จ�ำนวนและสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท

• ของตนเอง 920,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.1 • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่าง

• เป็นหลานสาวของมารดาของนายฤทธิ์ ธีระโกเมน

ผู้บริหาร คุณวุฒิทางการศึกษา

• ปริญญาตรีสถิติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ University of Illinois at Urbana-Champaign ประเทศสหรัฐอเมริกา

การผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องที่จัด

• หลักสูตร Company Secretary Program รุ่น 82/2560

โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประวัติการท�ำงานที่ส�ำคัญ

• บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2560-ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส สายงานบัญชีและ การเงิน บมจ. เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป 2556-2560 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบัญชีและการเงิน บมจ.เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป


รายละเอียดของกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจควบคุมของบริษัทฯ และบริษัทย่อย

167

รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหุ้นบริษัทฯ ของกรรมการและผู้บริหาร ลำ�ดับ

1

รายชื่อ

นายฤทธิ์ ธีระโกเมน

ตำ�แหน่ง

นายสมชาย หาญจิตต์เกษม

4

15.2%

199,234,002 199,396,802

162,800 162,800

21.7% 17.9%

กรรมการ 164,332,012 164,494,812 รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่

3,700,000 -

3,700,000 -

0 -

0.40% -

20,000 -

0 -

-20,000 -

-

-

-

-

-

4,136,000 1,500,000 4,047,600

4,200,500 1,500,000 4,112,800

64,500 0 65,200

0.5% 0.2% 0.4%

รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ 199,234,002 199,396,802 นางยุพิน ธีระโกเมน คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 139,878,733 140,059,333 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ นายเกียรติก้อง กังวานวงษ์ 30,000 21,100

162,800 180,600 -8,900

21.7% 15.2% 0.0%

นายสมชาย พิพิธวิจิตรกร

กรรมการ

ดร.อรรณพ ตันละมัย

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

5 6 7

ดร.ขัติยา ไกรกาญจน์

กรรมการอิสระ

นายทนง โชติสรยุทธ์

กรรมการอิสระ

นางวิไล ฉัททันต์รัศมี

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

8

นายอรรถพล ชดช้อย

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

9 10

นายสุจินต์ ชุมพลกาญจนา

กรรมการ

นายประวิทย์ ตันติวศินชัย

กรรมการ ที่ปรึกษาด้านบัญชีและ การเงิน

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

11 12

ใหญ่อาวุโส

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

13

จำ�นวนหุ้นที่ สัดส่วน เปลี่ยนแปลง การถือหุ้น เพิ่มขี้น/ ในบริษัท ลดลง (%)

180,600

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

3

จำ�นวนหุ้นที่ ถือ ณ วันที่ 29 ธันวาคม 2560

ประธานกรรมการ 139,878,733 140,059,333 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

2

จำ�นวนหุ้นที่ ถือ ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2559

นางสุดารัตน์ พัทธ์วิวัฒน์ศิริ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ใหญ่อาวุโส

400,000 1,040,000

400,000 920,000

-120,000

0.0% 0.1%

-

-

-

-


รายงานประจ�ำปี 2560 I บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

168

ข้อมูลทั่วไปของบริษัทฯ และบุคคลอ้างอิง

ชื่อบริษัท

:

บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ เลขทะเบียนบริษัท โฮมเพจบริษัท โทรศัพท์ โทรสาร

: ธุรกิจร้านอาหาร : 1200 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 : 0107555000317 : www.mkrestaurant.com : 0-2836-1000 : 0-2836-1099

ทุนเรือนหุ้น ณ 31 ธันวาคม 2560

ทุนจดทะเบียน : 925,850,000 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 925,850,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ทุนที่ออกจ�ำหน่ายและช�ำระแล้ว : 920,878,100 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 920,878,100 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท นายทะเบียนหลักทรัพย์ : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์: 0-2009-9000 โทรสาร: 0-2009-9991 ผู้ตรวจสอบบัญชี : บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์: 0-2264-0777 โทรสาร: 0-2264-0789




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.