Contents
สารบัญ
จุดเด่นในรอบปีและสถิติฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน
Financial Highlights and Statistics for Operation Performance สารจากประธานกรรมการ Message from Chairman รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ Report of the Audit Committee เป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจ The Business Objectives ภาวะเศรษฐกิจไทยปี 2552 และแนวโน้มปี 2553 The Thai Economy in 2009 and its Trends in 2010 ธุรกิจประกันวินาศภัยปี 2552 และแนวโน้มปี 2553 The Insurance Industry in 2009 and its Trends in 2010
3 4 6 9 10 13
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงาน
15
การลงทุนในบริษัทอื่นที่บริษัทถือหุ้นโดยตรงและโดยอ้อม
24
Analysis and Discussion of Operation and Financial Results
Investment in Companies that the Company has Equity Holding โครงสร้างการจัดองค์กร Organization Chart คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ระดับบริหาร The Directors and The Executives ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ Major Shareholder ข้อมูลบริษัท Company Profile ลักษณะการประกอบธุรกิจ Business Profile ปัจจัยความเสี่ยง Risk Factors โครงสร้างการจัดการ Management Structure รายการระหว่างกัน Related Party Transactions
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน Report of the Board of Directors’ Responsibilities for Financial Statements รายงานของผู้สอบบัญชีและงบการเงิน Auditor’s Report and Financial Statements เอกสารแนบท้าย Check List
26 28 39 40 46 60 66 102 104 105 163
จุดเด่นในรอบปีและสถิติฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน FINANCIAL HIGHLIGHTS AND STATISTICS FOR OPERATION PERFORMANCE ณ 31 ธันวาคม 2552 / As at 31 December 2009 หน่วย / Unit ฐานะการเงิน / Financail Position สินทรัพย์รวม / Total assets ล้านบาท / million Baht หนี้สินรวม / Total liabilities ล้านบาท / million Baht ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท / Company shareholders’ equity ล้านบาท / million Baht เงินลงทุนในหลักทรัพย์ / Investment in securities ล้านบาท / million Baht เงินปันผลต่อหุ้น / Dividend per share บาท / Baht จำ�นวนหุ้นที่ชำ�ระแล้ว / Paid-up capital หุ้น / Share จำ�นวนหุ้นที่จดทะเบียน / Authorized capital หุ้น / Share ผลประกอบการ / Operating Performance เบี้ยประกันภัยรับทั้งสิ้น / Gross written premium ล้านบาท / million Baht เบี้ยประกันภัยรับสุทธิ / Net written premium ล้านบาท / million Baht เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ / Earned premium ล้านบาท / million Baht ค่าสินไหมทดแทนสุทธิ / Net loss incurred ล้านบาท / million Baht ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัย / Underwriting expenses ล้านบาท / million Baht กำ�ไรจากการรับประกันภัย / Income on underwriting ล้านบาท / million Baht กำ�ไร (ขาดทุน) จากการลงทุน / Income (loss) on investment ล้านบาท / million Baht ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน / Operating expenses ล้านบาท / million Baht ภาษีเงินได้นิติบุคคล / Corporate income tax ล้านบาท / million Baht กำ�ไรสุทธิ / Net profit ล้านบาท / million Baht อัตราส่วนสภาพคล่อง / Liquidity Ratio อัตราส่วนสภาพคล่อง / Liquidity ratio เท่า / Times อัตราส่วนหมุนเวียนเบี้ยประกันภัยค้างรับ / วัน / Days Collection period for premium due and uncollected อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหากำ�ไร / Profitability Ratios Retention rate ร้อยละ / % อัตราค่าสินไหมทดแทน / Loss ratio ร้อยละ / % อัตรากำ�ไรขั้นต้น / Underwriting profit margin ร้อยละ / % อัตราส่วนค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัย / Underwriting expenses ratio ร้อยละ / % อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน / Return on investment ร้อยละ / % อัตราเบี้ยประกันรับสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น / Net written premium to shareholders’ fund เท่า / Times อัตรากำ�ไรสุทธิ / Net profit margin ร้อยละ / % อัตราผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้น / Return on equity ร้อยละ / % กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น / Earning per share บาท / Baht อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน / Efficiency Ratio อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ / Return on assets ร้อยละ / % อัตราการหมุนของสินทรัพย์ / Assets turnovers เท่า / Times อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน / Financial Position Ratio อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น / Debt to equity ratio เท่า / Times Policy Liability to Capital Fund เท่า / Times อัตราส่วนเงินสำ�รองเพื่อการเสี่ยงภัยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น / เท่า / Times Unearned premium reserve to equity อัตราส่วนเงินสำ�รองเพื่อการเสี่ยงภัยต่อสินทรัพย์รวม / ร้อยละ / % Unearned reserve to total assets อัตราการจ่ายเงินปันผล / Dividend payout ratio ร้อยละ / %
งบการเงิน (ตามวิธีส่วนได้เสีย) Financial Statements (The Equity Method is Applied) 2552 / 2009 2551/2008 2550 / 2007 3,593.39 1,572.98 2,020.41 2,416.59 3.50 30,000,000 30,000,000
3,307.76 1,519.61 1,788.15 1,866.43 3.50 30,000,000 30,000,000
3,462.25 1,387.95 2,074.30 2,122.02 4.00 30,000,000 30,000,000
1,918.06 1,510.17 1,569.23 888.03 1,217.23 351.99 140.30 323.71 33.35 158.56
1,849.92 1,488.03 1,316.55 651.14 944.88 371.66 119.91 316.01 58.71 119.37
1,568.72 1,175.33 1,198.38 594.82 841.94 356.44 182.58 319.43 7.89 226.97
1.09 76
1.27 89
1.57 102
78.73 56.59 22.43 41.61 5.88
80.44 49.46 28.23 46.31 5.33
74.92 49.64 29.74 47.28 7.87
0.79 9.15 8.33 5.29
0.77 8.30 6.18 3.98
0.60 16.26 11.49 7.57
4.60% 0.60
3.53% 0.58
6.57% 0.51
0.78 0.58 0.35
0.85 0.64 0.43
0.67 0.47 0.29
19.71
23.20
17.21
66.22
87.96
52.87
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
3
สุจินต์ หวั่งหลี Suchin Wanglee ประธานกรรมการ Chairman
ปี 2552 ประเทศไทยได้ประสบปัญหาต่างๆ ทั้งวิกฤติการณ์เศรษฐกิจตกต่ำ�ทั่วโลก ความผันผวนของราคาน้ำ�มัน การระบาดของไข้หวัดใหญ่ สายพันธุใ์ หม่และปัญหาการเมืองภายในประเทศ ซึง่ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ แต่อย่างไรก็ดหี น่วยงานทางเศรษฐกิจได้รายงานว่าเศรษฐกิจไทย ได้รับผลกระทบน้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้และกำ�ลังฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง ในปีนี้บริษัทได้เพิ่มศักยภาพทางธุรกิจและการเงิน ด้วยการลงนามความร่วมมือทางธุรกิจกับบริษัท นิปปอนโคอะ อินชัวรันส์ จำ�กัด เพื่อขยาย ฐานการตลาด เสริมสร้างความแข็งแกร่งทางธุรกิจและการบริการ รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีรว่ มกัน โดยบริษทั นิปปอนโคอะ อินชัวรันส์ จำ�กัด ได้เข้ามาถือหุ้นของบริษัทจำ�นวน 3,000,000 หุ้น คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10 ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด นอกจากนั้นบริษัทยังได้เล็งเห็นถึงความสำ�คัญ ในการให้บริการจึงได้เปิดให้บริการหมายเลขโทรศัพท์ 4 หลัก Navakij Call Center 1748 เพื่ออำ�นวยความสะดวกให้กับผู้เอาประกันภัยในการติดต่อ กับบริษัทได้รวดเร็วยิ่งขึ้น สำ�หรับผลประกอบการในปี 2552 บริษัทมีเบี้ยประกันภัยรับทั้งสิ้น 1,918.06 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.7 เมื่อเปรียบเทียบกับอัตราการขยายตัว ของธุรกิจประกันวินาศภัย คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 2.5 ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจ โดยบริษัทมีกำ�ไรสุทธิจากการดำ�เนินงานเป็นจำ�นวนเงินทั้งสิ้น 158.56 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.3 และด้วยการบริหารจัดการองค์กรที่ยึดมั่นตามหลักบรรษัทภิบาลตลอดมา ทำ�ให้ในปีนี้บริษัทได้รับรางวัลแห่งความ ภาคภูมิใจมากมาย ได้แก่ • รางวัลบริษัทที่มีการบริหารงานดีเด่น อันดับ 2 ในปี 2550 และอันดับ 3 ในปี 2551 จากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) • ได้รับเครื่องหมายรับรองมาตรฐานคุณภาพตราสัญลักษณ์ Q-MARK ภาคการค้าและบริการ ประเภทการประกันวินาศภัยอีกครั้งหนึ่ง จากคณะกรรมการร่วม ซึ่งประกอบด้วยสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสมาคมธนาคารไทย • จากผลสำ�รวจการกำ�กับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทยที่จัดทำ�โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) บริษัทได้รับผลการ ประเมินจัดให้เป็นบรรษัทภิบาลที่มีระดับคะแนนอยู่ในช่วง 90-100 อยู่ในเกณฑ์ “ดีเลิศ” ติดต่อกันเป็นปีที่ 2 • การประเมินคุณภาพการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปีที่จัดทำ�โดยสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) บริษัทได้รับผลการประเมินที่มีระดับคะแนนอยู่ในช่วง 90-99 อยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม” ติดต่อกันเป็นปีที่ 3 ในนามของคณะกรรมการและผู้บริหารของบริษัทขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น ลูกค้า และผู้มีอุปการะคุณ รวมถึงพนักงานทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้อง และเป็นกำ�ลังสำ�คัญของบริษัท ให้ยืนหยัดเป็นบริษัทประกันภัยระดับแนวหน้าของประเทศมากว่า 77 ปี และขอสัญญาว่าบริษัทจะดำ�รงไว้ซึ่งชื่อเสียง หลักธรรมาภิบาลที่ดี และรักษาระดับมาตรฐานการบริการที่ดีให้คงอยู่ตลอดไป
สุจินต์ หวั่งหลี ประธานกรรมการ 4
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
MESSAGE
CHAIRMAN
สารจากประธานกรรมการ MASSAGE FROM THE CHAIRMAN In 2009, Thailand had gone through several crucial difficulties such as the global economic recession, the H1N1 pandemic, the political instability, and the oil price fluctuation. As the result, the Thai economic performance was negatively affected. Major economic institutions, however, revealed that the impact on the Thai economy was less than expected, and the economy is on the path of recovery. In 2009, the Navakij Insurance Public Company Limited (NKI) has improved her competitive potential in both business operation and financial strength by the signing of the business cooperation agreement with Nipponkoa Insurance Company Limited. The partnership would cooperate in order to expand the company into the new market base, strengthen the business and services operation, and develop new innovative products and advance technologies. As the business partner, Nipponkoa Insurance Company Limited has purchased 3,000,000 shares of NKI amounting to 10% of the total issued shares. Furthermore, the Company have opened the 24 hours “Navakij Call Center 1748” this year with the objective of providing the most convenience channel for our clients in order to provide the best services. For the year 2009, Navakij total written premiums amounted to 1,918.06 million Bath which expanded at the satisfactory level of 3.7% from 2008 compared favorable with the expansion of the overall non-life insurance business at 2.5%. The Company registered the net profits of 158.56 million Baht which increase 8.3% from 2008. With our management’s full commitment to the policy of good Corporate Governance, the Company are proud to be recognized with various awards in 2009 as followed • The Award for the Best Managed Operation in the Thai non-life insurance market award for 2nd place award in 2007 and 3rd place award in 2008 from the Office of Insurance Commission. • The Q-Mark standard in the field of trade and services for non-life insurance business from the joint committee of the Thai Chamber of commerce, the Federation of Thai Industries, and the Thai Banker’s Association. • Being recognized by the Thai Institute of Director (IOD) as being on the excellence level with the score range of 90-100 for the best Corporate Governance Practice for the 2nd consecutive years. • Being recognized by the Securities and Exchange Commission (SEC) as being on the most excellence quality in conducting the Annual General Meeting with an evaluation of between 90-99 points for the 3rd consecutive years. On behalf of the Board of Directors, I would like to take this opportunity to thanks all shareholders, valued customers, and all employees whose dedication have assist to develop and maintain NKI as one of the leading Thai non-life insurance company in the past 77 years. We, The Navakij Insurance Public Company Limited, promise to maintain our principle of good corporate governance and the highest quality of non-life insurance service industry of Thailand.
Mr. Suchin Wanglee Chairman NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
5
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ REPORT OF THE AUDIT COMMITTEE คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระของบริษทั 3 ท่าน คือ ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี ดำ�รงตำ�แหน่งประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ นายประมนต์ สุธวี งศ์ และ นายเกียรติ ศรีจอมขวัญ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการตรวจสอบ ในระหว่างปี 2552 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุม 11 ครัง้ โดยมีรายละเอียดในการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบดังนี้
The Audit Committee consists of 3 Independent Directors Professor Hiran Radeesri the chairman, Mr. Pramon Sutivong and Mr. Kiet Srichomkwan members of the Committee. During 2009 the Committee had 11 meetings and meeting attendance of the individual member is as follow:
REPORT OF
THE AUDIT COMMITTEE นายประมนต์ สุธีวงศ์
Mr. Pramon Sutivong
ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี Professor Hiran Radeesri
นายเกียรติ ศรีจอมขวัญ
Mr. Kiet Srichomkwan
รายชื่อ / Names
6
ตำ�แหน่ง / Position
จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม Attendance of the Meeting
1. ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี Professor Hiran Radeesri
ประธาน Chairman
11 / 11
2. นายประมนต์ Mr. Pramon
สุธีวงศ์ Sutivong
กรรมการ Member
11 / 11
3. นายเกียรติ Mr. Kiet
ศรีจอมขวัญ Srichomkwan
กรรมการ Member
11 / 11
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามขอบเขตที่ คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ม อบหมายให้ กำ � กั บ ดู แ ลตามกฎบั ต รของ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบขอรายงานการปฏิบตั ิ หน้าที่ในรอบปี 2552 ดังนี้
The Committee performs the duty pursuant to the charter that is approved by the board. The Committee is pleased to report its performance during 2009 as follow:
1. การสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและรายงานการเงิน ประจำ�ปี คณะกรรมการตรวจสอบได้เชิญผู้บริหาร ผู้อำ�นวยการฝ่าย การเงิน ผู้อำ�นวยการสำ�นักตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีมาร่วม ประชุมชี้แจงตอบข้อซักถามเกี่ยวกับการจัดทำ�งบการเงิน ตามข้อ กำ�หนดของกฎหมายและมาตรฐานการบัญชีที่ใช้ในปัจจุบัน เพื่อให้ มั่นใจว่างบการเงินที่ผู้สอบบัญชีรายงานแสดงความเห็นถูกต้องตาม มาตรฐานการบัญชี และเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ ครบถ้วน และ เชือ่ ถือได้ ข้อสังเกตต่างๆ ของผูส้ อบบัญชี ในการประชุมทุกครัง้ จะได้รบั การพิจารณา และนำ�มาปรับปรุงให้เกิดประโยชน์แก่บริษทั อย่างเหมาะสม เสมอ นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมกับผู้สอบบัญชี เป็นการเฉพาะ 1 ครั้ง เพื่อให้มั่นใจว่างบการเงินของบริษัทได้จัดทำ�ขึ้น โดยไม่มีอุปสรรคและผู้สอบบัญชีมีความเป็นอิสระ ผู้อำ�นวยการฝ่าย การเงินและผู้จัดการแผนกบัญชีให้การยืนยันว่าระบบบัญชีของบริษัท เป็นระบบที่มีประสิทธิผล เชื่อมั่นว่าได้มีการรวบรวมและบันทึกรายการ บัญชีครบถ้วน ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชีที่ใช้ในปัจจุบัน จากผล การสอบทานรายงานและคำ �ชี้แจงของผู้รับผิดชอบและผู้สอบบัญชี ภายนอก คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า รายงานงบการเงินของบริษัท ได้จัดทำ�ขึ้นครบถ้วนถูกต้องตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป
1. Reviewed the quarterly and annual financial statements. The committee invited Executive Officers, Vice President of Finance Department, Vice President of the Office of Internal Audit and the Auditors to confer, discuss and answer question on preparing financial statements in accordance with applicable laws and standard of accounting principle. It was done to make certain the audited financial statement were accurate conforming to accounting principles standard and disclosed information were adequate, complete and reliable. It considered and took appropriate actions in response to the auditor’s statements. It also held a meeting and discussed solely with the outside auditor to ensure the financial statements were prepared without any problems and to satisfy of the independence of the auditor. The Vice President of Finance Department and the manager of accounting division confirmed that the company accounting system was effective and were confidence that collection and recording of transactions were complete, conforming to accounting principles standard of the time. From reviewing the statements and explanation received from the responsible officers and the outside auditor, the Audit Committee formed an opinion that the financial statements were completely and accurately prepared according to the general accepted accounting principles.
2. การสอบทานระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการ ตรวจสอบได้สอบทานและประเมินระบบการควบคุมภายใน โดย พิจารณาจากรายงานของสำ�นักตรวจสอบภายในอย่างสม่�ำ เสมอ ไม่พบ ข้อบกพร่องที่เป็นสาระสำ�คัญ การควบคุมภายในมีความเพียงพอและ เหมาะสม ผู้สอบบัญชีภายนอกได้รายงานว่าระบบการควบคุมภายใน ของบริษัทมีความเพียงพอ นอกจากนี้ผู้สอบบัญชีภายนอกยังได้ทำ� การประเมินระบบการควบคุมภายใน และระเบียบวิธีปฏิบัติการลงทุน ประกอบธุ ร กิ จ อื่ น ของบริ ษั ท ประกั น วิ น าศภั ย ตามข้ อ กำ � หนดของ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกัน ภัย (คปภ.) โดยผู้สอบบัญชีภายนอกมีความเห็นว่าบริษัทมีการควบคุม ภายในและการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิผล ปี 2552 บริษัทได้จ้าง ผู้เชี่ยวชาญเข้าตรวจสอบระบบสารสนเทศ ตามแนวทาง COBIT (Control Objectives for Information and Related Technology) ซึ่งผลการตรวจสอบในภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ควรได้รับการปรับปรุง บางส่วนเพือ่ ให้การควบคุมภายในดีขน้ึ บริษทั ได้ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ และจากผลการประเมินระบบควบคุมภายในของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบจึงเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริษัทมี ความเพียงพอและเหมาะสม
2. Reviewed and assessed the internal control systems by reviewing reports of the Office of Internal Audit and the outside auditors on regular basis. There are no significant deficiencies and the internal control system is reasonable adequate and appropriate. In addition the outside auditor who evaluated the internal control system and the procedure of investment as required by the OIC, commented that the company’s the system of internal control and audit was effective. During 2009 the Company also hired an IT specialist to audit the IT system using COBIT (Control objectives for information and related technology) approach, which on a whole, adjustments were needed on some sections for a better internal control. The Company had made necessary adjustment as recommended. From a review of the internal control conducted by the Committee, it had an opinion that the internal control was adequate and appropriate.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
7
3. การสอบทานการเปิดเผยรายการที่เกี่ยวโยงกันและการ ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ข้อบังคับ และประกาศของทางราชการและ หน่วยงานกำ�กับดูแล ในปี 2552 คณะกรรมการตรวจสอบได้รบั การยืนยัน จากผูบ้ ริหารว่า บริษัทและผู้บริหารได้ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจของบริษัท และแนวทางการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ตลาดหลัก ทรัพย์ฯ ของฝ่ายบริหารก่อนทำ�รายการ นอกจากนี้บริษัทได้ปฏิบัติ ตามกฎหมายข้อบังคับและประกาศของทางราชการและหน่วยงาน กำ�กับดูแล และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทตลอดมาอย่าง สม่ำ�เสมอ จากรายงานและคำ�ชี้แจงของผู้รับผิดชอบและผลของ การสอบทาน คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่าบริษัทได้ปฏิบัติถูกต้อง ตามกฎหมาย ข้อกำ�หนด และระเบียบต่างๆ ของหน่วยงานกำ�กับดูแล 4. การบริหารความเสี่ยง บริษัทมีคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงเป็นผู้รับผิดชอบดูแลการบริหารความเสี่ยงของบริษัท โดย คณะกรรมการตรวจสอบทำ�หน้าที่สอบทานแผนการบริหารความเสี่ยง ว่าครอบคลุมเพียงพอหรือไม่ และเสนอความเห็นให้คณะกรรมการ บริษัทพิจารณา นอกจากนี้บริษัทยังได้จัดทำ�แผนการบริหารความเสี่ยง ตามข้อกำ�หนดและแนวทางสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) 5. คณะกรรมการตรวจสอบได้มีการประเมินตนเอง ผล การประเมินอยู่ในระดับดี 6. การแต่งตั้งผู้สอบบัญชีประจำ�ปี 2553 คณะกรรมการ ตรวจสอบได้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีในปีที่ผ่าน มาซึ่งผลเป็นที่พอใจ และได้พิจารณาความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชีกับ สอบทานคุณสมบัติของผู้สอบบัญชีแล้ว เห็นว่าถูกต้องตามหลักเกณฑ์ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กำ�หนด คณะกรรมการตรวจสอบได้ เ สนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท แต่ ง ตั้ ง นางนงลักษณ์ พุ่มน้อย ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4172 และ/หรือ นางสาวรุ้งนภา เลิศสุวรรณกุล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3516 และ/ หรือนายโสภณ เพิ่มศิริวัลลภ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3182 แห่ง บริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท สำ�หรับปี 2553 พร้อมทั้งค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี เพื่อเสนอต่อที่ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นอนุมัตต่อไป คณะกรรมการตรวจสอบเห็นว่า บริษทั ยึดถือนโยบายการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ เี ป็นสำ�คัญ มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอและเหมาะสม พร้อมทัง้ มีการติดตามและประเมินสถานการณ์อย่างสม่�ำ เสมอ
(ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี) ประธานกรรมการตรวจสอบ 23 กุมภาพันธ์ 2553
8
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
3. Reviewed related party transactions and disclosure of information thereof as well as supervised the Company to conduct in compliance with applicable rules and regulations. During 2009 the Committee received confirmation from Executive Officers confirming of their compliance with laws and regulations applicable to the business of the Company, guideline of SET before doing such transaction. In addition the Company always conducts business in compliance with applicable laws, rules and notifications of the governed agencies and laws related to its business. From the report and explanation of the responsible executives as well as from result of a review the Committee had an opinion that the Company performed in compliance with applicable laws, rules and regulations of the governed agencies. 4. Risk management is assigned and under the responsibility of the Risk Management Committee. The duty of the Audit Committee was to review and report to the Board whether the risk management plans were adequately cover risk exposure as well as making recommendation for the Board’s consideration. In so far, the Company had made a risk management plan using the guideline of OIC. 5. The Committee conducted a self-performance assessment of the Audit Committee of which its score ranked good. 6. Appointing an outside auditor for 2009. The Committee evaluated the auditors’ performance during the past year, which resulted satisfactory. It also considered their independence and qualifications and was opinioned that they were conformed to criteria regulated by SEC. Therefore, the Committee recommended the Board to appoint Mrs. Nongluk Pumnoi, CPA. No. 4172 and/or Miss Rungnapa Lertsewankul, CPA. No. 3516 and/ or Mr. Sophon Permsirivallop, CPA. No. 3182, all from Ernst & Young Office Limited as the auditors for 2009 and determined their compensation for submitting to the annual general shareholder meeting approval. The Committee forms an opinion that the Company observed good governance principles in conducting its business, has proper systems of internal controls and regularly monitors and assesses situation.
(Professor Hiran Radeesri) Chairman of the Audit Committee 23 February 2010
เป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจ BUSINESS OBJECTIVES
Business
Objectives นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร
Mr. Pitiphong Bisalputra
ตามที่บริษัทมีเป้าหมายในการเพิ่มสัดส่วนในการรับประกันภัย กลุ่มลูกค้าบุคคลและกลุ่มลูกค้าธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมมาโดย ตลอดนั้น บริษัทยังยึดเป้าหมายที่จะเพิ่มฐานลูกค้ากลุ่มดังกล่าวนี้ ผ่าน ช่องทางการตลาดใหม่ๆ และสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ให้มีความ ทันสมัย และตรงต่อความต้องการของลูกค้าอย่างต่อเนื่อง โดยปัจจุบัน บริษัทได้ดำ�เนินการสำ�รวจความคิดเห็นของลูกค้า เพื่อนำ�มาปรับปรุง การบริการและผลิตภัณฑ์ที่บริษัทมีอยู่ บริษัทจะเริ่มเปิดดำ�เนินการ สาขาที่ 27 ภายในปีนี้ เพื่อกระจายการบริการให้กับลูกค้าที่มีอยู่ทั่ว ประเทศ อีกทั้งยังมีการพัฒนาเครือข่ายอีเลคโทรนิคส์ที่พร้อมให้บริการ สนับสนุนการขายและการบริการให้ครอบคลุมมากขึ้น ในระยะ 2-3 ปี ข้างหน้าบริษัทมีนโยบายที่จะเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งานซึ่งจะช่วยลด ค่าใช้จ่ายในการบริหารให้อยู่ในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 15 ของเบี้ย ประกันภัยรับรวม ซึ่งเป็นเป้าหมายที่ผู้ถือหุ้นและลูกค้าจะได้รับ ประโยชน์ร่วมกัน ปัจจุบันความต้องการของผู้บริโภคมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง ต่อเนื่อง อีกทั้งมีมาตราฐานในการเลือกซื้อที่สูงขึ้น ส่งผลให้เกิดความ คาดหวังในการบริการที่มากขึ้นตามลำ�ดับ ดังนั้นผู้บริโภคจึงเลือกซื้อ ความคุ้มครองที่สามารถสนองตอบความต้องการได้อย่างครบถ้วน ดังนั้นบริษัทจึงต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในการดำ�เนินธุรกิจให้สอดคล้อง กับความต้องการของลูกค้าทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ในขณะเดียวกันยังคงรักษา มาตรฐานคุณภาพที่ดีในการให้บริการแก่ลูกค้าทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน การพัฒนาระบบการบริการ พร้อมทั้งผลิตภัณฑ์ในรูปแบบใหม่ๆ จึงเป็นหัวใจสำ�คัญในการดำ�เนินการให้บริษัทสามารถบรรลุเป้าหมาย ที่วางใว้
It is the Company’s objective to maintain growth in business from group of individual and small to medium size business sectors. Our aims to increase these customer base through new marketing channels and by making product innovation with a continued commitment to meet clients’ needs. This year the Company plans to launch a customer satisfaction survey to identify services and products that need improvement. We will also open our 27th branch office to further increase our service to clients. Furthermore, we also enhance our IT capabilities to render a wider range of services to support sale and service units. Our 2-3 years goals are to improve efficiency at work, aiming to reduce operating expense to 15%, a target which will mutually benefits to both shareholders and clients. In today’s environment, customers’ needs continuously changed the demand of purchasing goods and services is high which leads to higher expectations. Thus they prefer to buy an insurance coverage that completely responds to all their needs. The Company, therefore, needs to adapt our marketing strategies to cope with changes in customers’ needs and at the same time is still maintaining standard and good quality services to all clients. Thus new and innovative products are the Company’s keys to success in business.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
9
ภาวะเศรษฐกิจไทยปี 2552 และแนวโน้มปี 2553 THE THAI ECONOMY IN 2009 AND ITS TRENDS IN 2010 ในปี 2552 ได้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ�ครั้งใหญ่ทั่วโลก จาก ปัญหาสถาบันการเงินในสหรัฐฯ และยุโรปในช่วงไตรมาสที่ 4 ของ ปี 2551 จนทำ�ให้เกิดภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจอย่างเฉียบพลันใน ประเทศต่างๆ ทัว่ โลก อีกทัง้ การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุใ์ หม่ รัฐบาลนานาประเทศต่างได้ออกมาตรการทางการเงินและการคลัง เพื่อประคับประคองเศรษฐกิจของตน จนกระทั่งเศรษฐกิจโลกในช่วง ครึ่งปีหลังของปี 2552 ได้มีสัญญาณของการฟื้นตัวอย่างชัดเจนจาก ปริมาณความต้องการสินค้าที่เพิ่มขึ้นของประเทศเศรษฐกิจในภูมิภาค เอเชีย ส่งผลให้ภาคการส่งออกของประเทศคูค่ า้ ได้มกี ารฟืน้ อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจโลกยังคงเผชิญความเสี่ยงจากอัตราการว่างงานที่อยู่ในเกณฑ์ สูง การสะสมของหนี้สาธารณะจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจรวมทั้ง ความผันผวนของตลาดการเงินโลกอันเนื่องมาจากสภาพคล่องส่วนเกิน สถานการณ์เศรษฐกิจไทยในช่วง 3 ไตรมาสแรกของปี 2552 นับว่าอยู่ในสภาพที่บอบช้ำ�จากวิกฤติการเงินโลกที่ได้ส่งผลกระทบต่อ ภาคเศรษฐกิจจริง โดยเฉพาะอุตสาหกรรมส่งออกที่ชะลอตัวลง จนมี ผลให้อัตราการว่างงานเพิ่มสูงขึ้นและการบริโภคภาคเอกชนชะลอตัวลง อีกทั้งปัญหาด้านการเมืองภายในประเทศที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ กระทรวงการคลังได้แถลงตัวเลขล่าสุดว่าเศรษฐกิจไทยใน ปี 2552 คาดว่าจะหดตัวร้อยละ 2.8 เทียบกับการขยายตัวร้อยละ 2.5 ในปี 2551 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2552 ลดลงจากปีก่อนมาอยู่ ที่ร้อยละ 0.9 ต่อปี เทียบกับร้อยละ 5.5 ในปี 2551 เนื่องจากราคา น้ำ�มัน ประกอบกับมาตรการลดค่าครองชีพ 5 มาตรการ 6 เดือน ที่ ช่วยบรรเทาค่าครองชีพให้ประชาชน อัตราการว่างงานในช่วงไตรมาส สุดท้ายของปีอยู่ที่ร้อยละ 1 ของกำ�ลังแรงงานรวม ได้ลดลงจากช่วง ต้นปี (ไตรมาส 1) ที่ระดับร้อยละ 2.1 ตามสภาวะเศรษฐกิจที่ฟื้นตัว ขึ้นในช่วงครึ่งปีหลัง ในด้านเสถียรภาพภายนอกประเทศอยู่ในระดับ มั่นคง ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 8.1 ของ GDP จากที่เกินดุล ร้อยละ 0.5 ของ GDP ในปี 2551 เนื่องจากการเกินดุลการค้าที่สูงถึง 21.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ อันเป็นผลจากมูลค่าสินค้านำ�เข้าที่หดตัว ลงมากกว่ามูลค่าสินค้าส่งออก มูลค่าสินค้านำ�เข้าหดตัวมาอยู่ที่ร้อยละ 25.9 ต่อปี ทุนสำ�รองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนธันวาคมอยู่ในระดับ สูงที่ 138.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งสูงกว่าหนี้ต่างประเทศระยะสั้น เกินกว่า 5.4 เท่า ซึ่งแสดงถึงความสามารถที่จะรับรองความเสี่ยง จากความผันผวนของวิกฤติการเงินโลก ทั้งนี้สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ณ สิ้นเดือนตุลาคม 2552 อยู่ที่ร้อยละ 45.8 ต่ำ�กว่ากรอบความ ยั่งยืนทางการคลังที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 60 แม้ว่าเศรษฐกิจไทยจะหดตัวมากจากวิกฤติเศรษฐกิจโลกใน ช่วง 3 ไตรมาสแรกของปี 2552 แต่จากการที่ภาครัฐได้ใช้มาตรการ ทางการคลั ง เพื่ อ กระตุ้ น การบริ โ ภคผ่ า นทางงบประมาณรายจ่ า ย ประจำ�ปีเพิ่มเติม 1.16 แสนล้านบาท และแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง
10
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
In 2009, the global economy was in a recession period mainly due to the consequence of the financial crisis from the 4th quarter of 2008 coupled with an epidemic of the H1N1. To cope with the crisis, most governments have to adopt the comprehensive fiscal and monetary packages in order to rescue their own economies. Until the end of 2009, the global economy shows the sign of recovery that reflects in an increase in the demand of goods and services from the Asian countries bringing about the revival of export sectors among the major trade partners. However, This transmission is confidential and intended solely for the person or organization to whom it is addressed. If you are not the intended recipient, you should not copy, distribute or take any action in reliance on it. In 2009, the Thai economy had been in the sharp contraction during the first three quarters mainly due to the global economic recession. This leaded to the sharp contraction in export-oriented industries, the increase in unemployment rate, the sharp drop in domestic consumption and the political instability until present. The Ministry of Finance, announced that the Thai economy in 2009 is forecasted to contract by 2.8% per year compared to last year expansion 2.5% per year. On internal economic stability, headline inflation in 2009 is declined to 0.9% per year compared to last year of 5.5% per year. This is mainly due to the decline in oil price from the last year and the 5-Measure-6-Month program that helps alleviate high cost of living. Compared with 2.1% at the beginning of 2009, unemployment rate in the last quarter is reported at 1% of the total labor forces shows the sign of economic recovery. For external economic stability, current account in 2009 is in a large surplus at 8.1% of GDP compared with the less surplus at 0.5% of GDP in 2008. This is due to a huge trade surplus of 21.3 billion USD which comes from a greater decline in import volume relative to export volume. Import volume is forecasted to contract from the high base of last year by 25.9% per year, Foreign reserve accumulation in December 2009 is in the high level of 138.4 billion USD which is account for 5.4 times of the short-term external debts. This means that external economic stability remains robust and can withstand from the risk of volatility from the global financial market. In addition, public debt per GDP in November 2009 stands at 45.8% of GDP which is lower than the fiscal sustainability framework at 60% of GDP.
ที่ มุ่ ง เน้ น การลงทุ น เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของ ประเทศ ประกอบกับการฟื้นตัวที่เร็วกว่าที่คาดของเศรษฐกิจคู่ค้า สำ�คัญ โดยเฉพาะประเทศในแถบภูมิภาคเอเชีย ได้แก่ จีน อินเดีย และ ออสเตรเลีย จึงทำ�ให้เศรษฐกิจไทยกลับมาขยายตัวเป็นบวกในไตรมาส สุดท้ายเทียบกับฐานที่ต่ำ�ในช่วงเดียวกันของปีก่อน สะท้อนได้จากตัว ชี้วัดทางเศรษฐกิจที่สำ�คัญ คือมูลค่าการส่งออกในไตรมาสที่ 4 ขยาย ตัวเป็นบวกครั้งแรกในรอบปีที่ร้อยละ 11.9 ต่อปี โดยการส่งออกปรับ ตัวดีขึ้นในทุกหมวดสินค้าและประเทศคู่ค้า ส่วนการใช้จ่ายภายใน ประเทศ พบว่าเครื่องชี้การบริโภคภาคเอกชนจากภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ ขยายตัวเป็นบวกครัง้ แรกในรอบปีทร่ี อ้ ยละ 2.6 ต่อปี ในขณะ ที่การลงทุนภาคเอกชนในหมวดก่อสร้างปรับตัวดีขึ้น สะท้อนได้จาก ภาษีธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ที่ขยายตัวร้อยละ 5.1 ต่อปี จากที่หดตัวใน ไตรมาสก่อนหน้า แต่การลงทุนในหมวดเครือ่ งจักรยังคงฟื้น ตัวอย่าง เปราะบาง สะท้อนจากปริมาณนำ�เข้าสินค้าทุนที่ยังติดลบเล็กน้อย ที่ร้อยละ 1.6 ต่อปี นอกจากนี้นโยบายการคลังมีส่วนช่วยสนับสนุน เศรษฐกิจต่อเนื่อง โดยการใช้จ่ายของรัฐบาลขยายตัวในไตรมาสที่ 4 ที่ร้อยละ 11.6 ต่อปี ในปี 2553 กระทรวงการคลังได้คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจไทย จะกลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 3.5 ต่อปี (อยู่ในช่วงร้อยละ 3 - 4) โดยมี แรงส่งทางเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวอย่างชัดเจนในช่วงท้ายปี 2552 และแรงส่ง เชิงนโยบายต่อเนื่องไปยังปี 2553 จากการใช้จ่ายของภาครัฐผ่านแผน ปฏิบัติการไทยเข้มแข็งที่มีช่วงระยะเวลา 3 ปี ประกอบกับแนวโน้มของ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ซึ่งล่าสุดกองทุนระหว่างประเทศได้ปรับ ตัวเลขการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในปี 2553 มาอยู่ที่ระดับร้อยละ 3.9 ต่อปี นอกจากนั้ น เศรษฐกิ จ ไทยในปี ห น้ า คาดว่ า จะได้ รั บ ปั จ จั ย สนับสนุนจากรายได้ภาคครัวเรือนที่ดีขึ้นจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โดยรวม อัตราการว่างงานที่ลดลงกลับเข้าสู่ภาวะปกติ และรายได้ เกษตรกรที่ดีขึ้นตามราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลก ที่มีผลบวกต่อ การบริโภคของภาคเอกชน ทำ�ให้คาดว่าการบริโภคภาคเอกชนจะกลับ มาขยายตัวได้ที่ร้อยละ 3.3 ต่อปี ส่วนการลงทุนภาคเอกชนในปี 2553 คาดว่าการใช้จ่ายในโครงการลงทุนตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง จะช่วยดึงให้การลงทุนภาคเอกชนปรับตัวดีขึ้นตามไปด้วยหรือที่เรียก ว่า “Crowding in Effect” และอัตราดอกเบี้ยที่คาดว่ายังอยู่ในระดับ ต่ำ�จะเอื้อให้การลงทุนภาคเอกชนขยายตัวดีขึ้น จากฐานที่ต่ำ�ในปี 2552 มาขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 8 ต่อปี สำ�หรับปริมาณการส่งออกสินค้าและ บริการในปี 2553 คาดว่าจะกลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 8 ต่อปี ตาม การฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาค เอเชียที่มีแนวโน้มเติบโตได้สูงกว่าภูมิภาคอื่นๆ ส่วนปริมาณการนำ�เข้า สินค้าและบริการคาดว่าจะกลับมาเร่งตัวขึ้นที่ร้อยละ 17.4 ต่อปี ตาม การฟื้นตัวของการใช้จ่ายภายในประเทศและการผลิตสินค้าส่งออกที่ เพิ่มขึ้น อัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ 3.4 ต่อปี ตาม
In spite of the sharp contraction during the first three quarter of 2009, an acceleration of public spendingunder the stimulus package 1 with the amount of 116 bil ion Baht and the stimulus package 2 (i.e., the “Strong Thailand 2012” program) coupled with faster-than expected recovery of Thailand’s trading partner’s economies (e.g., China, India and Australia) would bring about the positive expansion of the Thai economy in the last quarter of 2009. In fact, the economic recovery in the 4th quarter of 2009 is reflected from the following key indicators. Firstly, export volume shows the clear sign of revival with the positive expansion in the first time of the year at 11.9% per year mainly due to the improving of all products. Secondly, private consumption shows the clear sign of improvement which was reflected in real-term value-added tax to expand positively for the first time in 2009 at 2.6% per year. Thirdly, private investment shows the sign of improvement particularly in the expansion of the construction-related sector at 5.1% per year. Meanwhile, machinery-related investment shows fragile recovery with the slightly contraction at 1.6% per year. Lastly, the expansion of the government spending quarter at the percentage of 11.6 per year would boost the Thai economy to be in the positive growth territory. Recently, the Ministry of Finance, revealed that the Thai economy in 2010 is projected to expand at 3.5% per year (within the range of 3-4% per year) due to the better performance of two key factors. One is the implementation of Strong Thailand 2012 economic stimulus package and the other is the tendency of the global economic recovery with the growth rate at 3.9% per year (IMF resource). In addition, some other positive factors are the improvement of household income in line with the economic recovery, the decline of unemployment rate to its normal level, the increase in farm income following the rising the global agricultural prices that would enhance private consumption to expand at 3.3% per year. Private investment in 2010 is forecasted to expand at 8% per year due to the fact that the public investment under the “Strong Thailand 2012” program would cause a crowding-in effect to private investment in line with the tendency of low interest rate. Meanwhile, export volume in 2010 is expected to grow at 8% per year mainly due to the continuing recovery of Thailand major trading partners, especially among Asian countries. Import volume of goods and service is projected to expand at 17.4% per year because of the revival of domestic spending and the increase in manufacturing of export goods. On the NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
11
ราคาน้ำ�มัน (ภายใต้สมมุติฐานของราคาน้ำ�มันดิบดูไบอยู่ในช่วง 75-85 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล) และราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกที่ คาดว่าจะปรับตัวสูงขึ้นตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก ดุลบัญชีเดิน สะพัดในปี 2553 คาดว่าจะเกินดุลลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 3.3 ของ GDP เนื่องจากมูลค่าสินค้านำ�เข้าขยายตัวในอัตราเร่งกว่ามูลค่าสินค้าออก กล่าวโดยสรุปเศรษฐกิจไทยในปี 2553 มีแนวโน้มที่จะขยายตัว ในช่วงระหว่างร้อยละ 3 - 4 ต่อปี สืบเนื่องจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โลกที่ส่งผลต่อการขยายตัวของภาคการส่งออกและการบริโภคภาค เอกชน การกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐอย่างต่อเนื่องที่มีผลต่อการเพิ่ม การลงทุนในภาคเอกชน และการปรับตัวดีขึ้นของความเชื่อมั่นในระบบ เศรษฐกิจ อย่างไรก็ตามในปี 2553 เศรษฐกิจไทยยังมีความท้าทายด้าน การปรับเปลี่ยนมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจต่างๆ ที่ออกไปในปี 2552 ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น การหาทางรับมือกับความผันผวนของระบบการเงิน และเศรษฐกิจโลกที่ยังมีอยู่และเกิดขึ้นต่อเนื่องในอนาคต การสนับสนุน ภาคเอกชนเรื่องการแข่งขันระหว่างประเทศซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรง มากขึ้น และปัญหาด้านเสถียรภาพทางการเมืองซึ่งนำ�ไปสู่ความขัดแย้ง กันทั้งในสภาและนอกสภา รวมทั้งปัญหากรณีมาบตะพุดที่อาจส่งผล ต่อความเชื่อมั่นของการลงทุนของภาคเอกชนภายในประเทศและจาก ต่างประเทศ
internal economic stability, headline inflation in 2010 is projeced to rise at 3.4% per year due to the recovery of global economy leading to raise inagricultural prices and oil price within the range of 75-85 USD per barrel (based on Dubai crude oil price). For external economic stability, current account is projected to decline into 3.3% of GDP due to the rapid acceleration in import volume compared to the less growth of export volume. In sum, the Thai economy in 2010 is projected to expand within the range of 3-4% per year due to the fact that the recovery of the global economy would accelerate the growth of export sector and private consumption. Also, the government spending under the “Strong Thailand 2012” program would cause a crowding-in effect to private investment in line with the tendency of low interest rate. That would boost private spending and investment. However, the economy is facing the challenges from the implementation of the “Strong Thailand 2012” program to achieve at least 80% of approval budget framework, how to cope with the volatility from the global financial markets, how well the private sectors can adjust their business under the environment of free trade policy, the political instability issue and how the government can quickly resolve the suspension of investment projects in Map Ta Phut Industries Estate area so as to rebuild the investor confidence towards the Thai economy.
The Thai Economy in 2009 And Its Trends in 2010 12
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
ธุรกิจประกันวินาศภัยปี 2552 และแนวโน้มปี 2553 THE INSURANCE INDUSTRY IN 2009 AND ITS TRENDS IN 2010 ภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจในปี 2552 ส่งผลกระทบธุรกิจ ประกันวินาศภัยค่อนข้างมากในช่วงครึ่งปีแรก ทำ�ให้หลายบริษัทมีการ ปรับลดเป้าหมายในการดำ�เนินงานลง เพือ่ ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ ที่เป็นอยู่ อย่างไรก็ดีในช่วงครึ่งปีหลังเศรษฐกิจมีการปรับตัวในทางที่ดี ขึ้นจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศคู่ค้าที่ สำ�คัญของไทย อาทิ สหรัฐฯ ยุโรป เอเชียตะวันออก และญี่ปุ่น จนทำ�ให้ การส่งออกและนำ�เข้าปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วงครึ่งปีหลัง ซึ่งจะส่งผลดีต่อ ประกันภัยทางทะเลและขนส่งทำ�ให้มกี ารคาดการณ์วา่ ธุรกิจประกันวินาศภัย ในปี 2552 จะมีเบี้ยรับตรงเติบโตเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 2.5 เมือ่ เทียบ กับปีที่ผ่านมา อันเป็นผลจากการเติบโตของการประกันอัคคีภัยและ เบ็ดเตล็ด โดยการประกันภัยอัคคีภยั จะมีเบีย้ รับโดยตรงเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.8 และประกันภัยเบ็ดเตล็ดมีเบี้ยรับโดยตรงเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.8 ขณะที่ การประกันภัยทางทะเลและขนส่งจะชะลอตัวลงร้อยละ 12.9 ส่วน การประกันภัยรถยนต์คาดว่าจะมีเบี้ยรับตรงลดลงร้อยละ 1.39 ส่วน ทิศทางการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจประกันวินาศภัยทั้งในปัจจุบันและ อนาคต ยังคงถูกกำ�หนดโดยประกันภัยรถยนต์เนื่องจากมีสัดส่วนเบี้ย ประกันภัยต่อรายรับทั้งหมดของธุรกิจสูงถึงร้อยละ 60 ต่อปี โดยเฉพาะ ประกันภัยภาคสมัครใจที่ทำ�รายได้คิดเป็นร้อยละ 50 ของเบี้ยประกัน ภัยทั้งหมดในปี 2551 ดังนั้นเมื่อเศรษฐกิจภายในประเทศมีแนวโน้มที่ จะฟื้นตัวคาดว่าประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจของผู้บริโภคน่าจะเริ่ม ปรับเปลี่ยนไปในทิศทางที่ดีขึ้น สำ�หรับกฎระเบียบและมาตรการต่างๆ ที่สำ�นักงานคณะ กรรมการกำ�กับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ทยอยออกมาบังคับใช้โดยเฉพาะการดำ�รงเงินกองทุนตามความเสี่ยง (Risk-Based Capital: RBC) จะทำ�ให้โครงสร้างและการแข่งขันของ ธุรกิจเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำ�คัญ บริษัทประกันภัยที่ไม่สามารถ ปรับตัวหรือมีเงินกองทุนเพียงพออาจจะต้องเสี่ยงกับการถูกควบรวม ธุรกิจ ขณะที่ต้นทุนการทำ�ธุรกิจจะเพิ่มสูงขึ้นจากการรักษาระดับและ การได้มาซึ่งเงินกองทุนตามข้อบังคับ โดยต้นทุนการทำ�ธุรกิจที่สูง นี้ย่อมเป็นการเสียเปรียบทางด้านการแข่งขันกับธุรกิจประกันภัยใน อาเซียน อันเกิดจากการเปิดเสรีธุรกิจประกันภัยในอนาคตอันใกล้ จากข้อมูลที่ คปภ. ได้ประเมินทิศทางธุรกิจประกันวินาศภัยปี 2553 คาดว่าน่าจะมีอัตราการขยายตัวที่ร้อยละ 8-9 บนพื้นฐานการ ขยายตัวของ GDP ที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประมาณการไว้ที่ร้อยละ 3-3.5 และสัดส่วนเบี้ยประกันภัยต่อ GDP จะขยับเป็นร้อยละ 3.89 เทียบกับปี 2551 อยู่ที่ร้อยละ 3.6 ด้านสำ�นักวิจัยและสถิติบริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน) คาดว่าธุรกิจประกันวินาศภัยในปี 2553 จะมีเบี้ยรับเติบโต เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.6 เทียบกับปี 2552 โดยคาดว่าการใช้จ่ายภาครัฐด้าน การลงทุนภายในประเทศ ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งที่เริ่ม ตั้งแต่ปลายปี 2552 จะสนับสนุนต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยใน
At the onset of the economic crisis in 2009, the Thai non-life insurance industry faced difficult market conditions. Many companies had to adjust their budgets in accordance with the economic situation. Since the second half of 2009, the Thai economy, however, has started to pick up mainly due to the global economic recovery, especially among Thailand’s major trade partners (e.g., US, the EU. and Japan). This leaded to an expansion in export and import volumes which benefited insurance industry in general. As the result, direct written premium of the non-life insurance industry is expected to increase by 2.5% in 2009 due to the growth in fire and miscellaneous premium which expanded at 2.8% and 12.8% respectively. Marine and transportation insurance, however, contracted by 12.9%. Motor insurance premium is expected to decline by 1.39%. The Thai non-life insurance industry is being driven by motor insurance due to the high market share of the total premium (i.e., 60% of total direct written premium). With 50% of the total premium in 2008, the voluntary motor insurance showed the positive sign of expansion in line with the economic recovery in the second half of 2009. Under the supervision of the Office of Insurance Commission (OIC), many rules and regulations, especially the implementation of Risk-Based Capital, will be gradually activated. This will create the significant change in the structure and competitiveness of the non-life insurance industry. With insufficient capital fund and inability to adjust to the new market structure and environments, many companies may face the risk of acquisition. With the new regulations and standard, the costs of doing insurance business in Thailand have greatly increased which may causes, the Thai insurance industry to be less competitive among other Asian countries. For the year 2010, OIC have projected that the Thai non-life insurance industry will expand in the range of 8-9% based on the GDP within the range of 3-3.5% forecasted by the Bank of Thailand. Furthermore, the ratio of premium to GDP is expected to grow to 3.89% compared with the last year rate of 3.6%. For the same period, The Thai Reinsurance Public Company Limited projected that direct written premium of the Thai non-life insurance industry in 2010 will expand at 5.6%. The recovery of the Thai economy from the second half of 2009 due NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
13
to the global economic recovery as well as the government spending under the “Strong Thailand 2009” program would enhance the economic expansion in 2010. As the result the performance of the non-life insurance industry will be positively effected especially in fire, property all risks and engineering insurance. Voluntary motor insurance will have a positive trend again this year. However, energy price and exchange rate are expected to be more volatile in 2010. This may be a deterring factor for the expansion of the Thai non-life insurance industry.
ปี 2553 อย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น และจะส่งผลกระทบที่เป็นบวกกับ ธุรกิจประกันวินาศภัย โดยเฉพาะการประกันอัคคีภัย การประกันความ เสี่ยงภัยทางทรัพย์สิน และการประกันภัยวิศวกรรม ขณะที่การประกัน ภัยรถยนต์ โดยเฉพาะภาคสมัครใจมีแนวโน้มกลับมาเติบโตอีกครั้ง แต่ ความผันผวนของราคาเชื้อเพลิงและอัตราแลกเปลี่ยนที่ถูกประเมินว่า จะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในปี 2553 จะมีส่วนทำ�ให้อัตราการเจริญ เติบโตที่จะเกิดขึ้นไม่เป็นที่น่าพอใจสักเท่าไหร่นัก เมื่อเทียบกับแนวโน้ม ในช่วงปี 2547-2551 ที่เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 9 ต่อปี รายละเอียดตาม ตารางด้านล่าง
หน่วย : ล้านบาท / Unit : million Baht ประเภทประกันภัย Class of Business
ตารางแสดงการคาดการณ์เบี้ยประกันวินาศภัยประจำ�ปี 2552 และ 2553 2009 and 2010 non-life insurance premium forecast
เบี้ยประกันภัยตรง Written Premiums
เบี้ยประกันภัย Premium
ประมาณอัตรา การขยายตัวในปี (ร้อยละ) Estimated Growth Rate / Year (%)
2551 2008 2552 2009 (F) 2552 2009 (F) 2552 2009 (F) 2553 2010 (F) 2551 2008 2552 2009 (F) 2552 2009 (F) 2552 2009 (F) 2553 2010 (F)
อัคคีภัย Fire
ทะเล และขนส่ง Marin & Transportation
รถยนต์ Motor
เบ็ดเตล็ด Miscellaneous
7,500
4,194
64,158
30,402
106,254
กรณีต่ำ�สุด Worse Case
7,674
3,624
62,618
34,111
108,025
กรณีสูงสุด Best Case
7,746
3,681
63,704
34,474
109,604
7,709
3,653
63,264
34,293
108,919
8,027
3,827
65,539
37,647
115,040
-
-
-
-
-
กรณีต่ำ�สุด Worse Case
2.30
-13.59
-2.40
12.20
1.67
กรณีสูงสุด Best Case
3.27
-12.22
-0.71
13.39
3.15
2.79
-12.91
-1.39
12.80
2.51
4.12
4.79
4.03
9.78
5.62
ที่มา : สำ�นักวิจัยและสถิติ บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน) Source : Research and Statistics Division, หมายเหตุ : (F) หมายถึง จากการประมาณของนักวิจัย Thai Reinsurance Public Company Limited ตัวเลขร้อยละแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับมูลค่าของปีที่แล้ว Note : (F) - Forecasting - Percent change from previous year
14
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
รวม Total
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดำ�เนินงาน ANALYSIS AND DISCUSSION OF OPERATION AND FINANCIAL RESULTS สรุปผลการดำ�เนินงานปี 2552 ผลการดำ�เนินงานในปี 2552 เปรียบเทียบกับปี 2551 บริษัทมีกำ�ไรสุทธิ 158.56 ล้านบาท เปรียบเทียบกับกำ�ไรสุทธิ ปีก่อน 119.37 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเป็นจำ�นวน 39.19 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 32.84 โดยมีอัตราผลตอบแทนต่อส่วนผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 6.18 ในปี 2551 เป็นร้อยละ 8.33 ในปี 2552 ส่วนของรายได้ในปี 2552 บริษัทมีเบี้ยประกันภัยรับรวม 1,918.06 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 68.14 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.68 คิดเป็น เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ในปี 2552 จำ�นวน 1,569.23 ล้านบาท ซึ่ง เพิ่มขึ้นจากปีก่อนถึง 252.68 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 19.19 การ เพิ่มขึ้นของเบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ที่มีอัตราเพิ่มที่สูงกว่าอัตรา เพิ่มของรายได้เบี้ยประกันภัยรับ เป็นผลมาจากวิธีการคำ�นวณการรับรู้ รายได้และลักษณะของการเติบโตของเบี้ยประกันภัยรับระหว่างปี 2552 และ 2551 ในปี 2552 บริษัทมีผลการดำ�เนินงานด้านการลงทุนที่ดีมาก โดยมี รายได้ ดอกเบี้ย เงินปันผล และกำ�ไรจากการซื้อขายหลักทรัพย์เป็น จำ�นวนรวม 140.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 20.39 ล้านบาท หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 17 นอกจากนั้นบริษัท ฟอลคอนประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งบริษัทได้ร่วมลงทุนอยู่ร้อยละ 36.27 มีผลการดำ�เนินงานที่ ดีขน้ึ มากโดยสามารถทำ�กำ�ไรสุทธิ ในปี 2552 เป็นจำ�นวน 27.18 ล้านบาท ทำ�ให้บริษัทมีการรับรู้ส่วนแบ่งกำ�ไรเป็นจำ�นวน 9.86 ล้านบาท การบริหารด้านต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน ต้นทุนและ ค่าใช้จ่ายหลักคือค่าสินไหมทดแทน ในปี 2552 มีจำ�นวนรวมสุทธิ 888.03 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 236.89 ล้านบาทจากปีก่อนซึ่งมีจำ�นวน 651.14 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเพิ่มสูงถึงร้อยละ 36 เมื่อเทียบกับปี 2551 และเป็นอัตราเพิ่มที่ค่อนข้างสูงหากเปรียบเทียบกับอัตราเพิ่มของ ด้านรายได้ที่เติบโตในอัตราที่ต่ำ�กว่าที่ร้อยละ 19.19 สืบเนื่องจากอัตรา การเกิดความสูญเสียที่เพิ่มขึ้นในบางประเภทภัย และมาจากการเพิ่ม ของราคาค่าวัสดุ อุปกรณ์ และค่าแรงในการชดใช้ความเสียหาย ซึ่ง บริษัทได้มีปรับปรุงกลยุทธ์ในด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และการบริหาร จัดการเพือ่ การแก้ไขให้ดขี น้ึ แล้วตัง้ แต่ชว่ งปลายไตรมาส 3 ของปี 2552 สำ�หรับค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินการ บริษัทสามารถควบคุมและ บริหารจัดการค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานได้ดีพอสมควร โดยมีค่า ใช้จ่ายในการดำ�เนินงานรวมทั้งสิ้น 323.71 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเพียง 7.70 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.44 เมื่อเทียบกับปีก่อน ปัจจัยที่สำ�คัญที่มีผลกระทบต่อผลการดำ�เนินงานของบริษัท ในรอบปี 2552 มีดังต่อไปนี้ 1. ผลการดำ�เนินงานจากการรับประกันภัย ในปี 2552 มีเบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ 1,569.23 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 252.68 ล้านบาท คิดเป็นอัตราเพิ่มร้อยละ 19.19 มี ค่าใช้จา่ ยในการรับประกันภัยรวม 1,217.23 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 272.35 ล้านบาท หรือเป็นอัตราเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.82 ทำ�ให้มีผลกำ�ไร จากการรับประกันภัย 351.99 ล้านบาท ลดลงจากปีกอ่ น 19.67 ล้านบาท
Operating Result in 2009 Comparison of Operating Results between 2009 and 2008 The Company reported a net profit of 158.56 million Baht in 2009, an increase of 39.19 million Baht or 32.84% from 119.37 million Baht in 2008. Return on equity was also increased to 8.33% from 6.18% in 2008. Written premiums were 1,918.06 million Baht increased from last year by 3.68% or 68.14 million Baht. Earned premium also increased to 1,569.23 million Baht increased 252.68 million Baht or 19.19% from last year. The growth earned premium at relatively higher rate than that of the written premiums is due to method of calculating earned premium and growth pattern of the written premiums between 2009 and 2008. Result of investment operation during 2009 was very well with income from interest, dividends and profit from securities trading totaling 140.30 million Baht, an increase from last year by 17% or 20.39 million Baht. Falcon Insurance Public Company Limited that the Company has a holding of 36.27% also performed well. It produced a profit for 2009 amounting 27.18 million Baht of which 9.86 million Baht was recognized by the company. Management of costing and operating expense in which claims incurred is the major item was continued in 2009. Claim expenses were 888.03 million Baht, an increase from last year of 651.14 million Baht by 36% or 236.89 million Baht and it is a rather high increase when compares to the income which growth is lower at 19.19%. Claims incurred in some classes of business increased which included increase in pricing of materials, equipment and claims settlement cost. The Company has made adjustments in strategy regarding product, pricing and management since the end of 3rd quarter 2009 in order to make some improvement. The Company is relatively well able to control and manage operating expenses, having the total expenses amounting to 323.71 million Baht, increased only 7.70 million Baht or 2.44% from last year. Major Factors Attributed to Operating Results in 2009 are as follows: 1. Underwriting result Earned premium was 1,569.23 million Baht increased from last year by 252.68 million Baht or 19.19%. Underwriting expenses totaled 1,217.23 million Baht increased from last year by 272.35 million Baht or 28.82%. Underwriting profit was NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
15
therefore, decreased from last year to 351.99 million Baht, a decrease of 19.67 million Baht or 5.29%. Gross profit margin was 22% which is lower than the 2008’s margin of 28%. Operation of all classes of business made underwriting profit but claims incurred ratio to earned premium was higher making underwriting profit decrease. Claims incurred ratio was 56.59% of earned premium and amounting to 888.03 million Baht compared to 2008 which was 49.46% and amounting to 651.14 million Baht.
หรือลดลงร้อยละ 5.29 โดยมีอัตรากำ�ไรขั้นต้นปี 2552 อยู่ที่ร้อยละ 22 ซึ่งต่ำ�กว่าปี 2551 ที่อัตราร้อยละ 28 ผลการดำ�เนินงานจากการรับประกันภัยมีกำ�ไรในทุกประเภทภัย แต่มีอัตราค่าสินไหมทดแทนต่อเบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ที่เพิ่มขึ้น จากปีก่อน ทำ�ให้มีผลกำ�ไรจากการรับประกันภัยที่ลดลง โดยอัตราค่า สินไหมทดแทนต่อเบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้อยู่ที่ร้อยละ 56.59 มี ค่าสินไหมทดแทน 888.03 ล้านบาท เทียบกับปี 2551 อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 49.46 มีค่าสินไหมทดแทน 651.14 ล้านบาท
การประกันภัยทุกประเภท / Total Underwriting ณ 31 ธันวาคม 2552 (As at 31 December 2009) 2000
1,918
1,850
หน่วย : ล้านบาท / Unit : million Baht
1,569
1,569 1,317
1500 1000
1,198
888 651 352
500
595 372
356
0 2552/2009 2551/2008 2550/2007 งบการเงินเฉพาะกิจการบริษัท (The Company Only) / งบการเงินตามวิธีส่วนได้เสีย (The Equity Method is Applied) เบี้ยประกันภัยรับทั้งสิ้น / Gross writtien premiums เบีย้ ประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ / Net earned premium
การประกันอัคคีภัย ในปี 2552 บริษทั มีเบีย้ ประกันอัคคีภยั รวม 437.53 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 36.23 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.03 คิดเป็นเบีย้ ประกันภัย ทีถ่ อื เป็นรายได้ 167.91 ล้านบาท เทียบกับปีกอ่ นแล้วลดลง 9.76 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 5.49 มีกำ�ไรจากการรับประกันภัย 90.28 ล้านบาท ซึ่งลดลง 55.29 ล้านบาทหรือลดลงร้อยละ 37.98 ผลกำ � ไรที่ ล ดลงมาจากทั้ ง เบี้ ย ประกั น ภั ย ที่ ถื อ เป็ น รายได้ ที่ ลดลงแล้ว ยังมาจากค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นในระหว่างปี 2552 ที่มี จำ�นวนรวม 49.47 ล้านบาท โดยเพิ่มขึ้นจากปีก่อนถึง 21.33 ล้านบาท และมี ก ารเพิ่ ม ขึ้ น ในส่ ว นของค่ า จ้ า งและค่ า บำ � เหน็ จ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อี ก 23.15 ล้านบาท
16
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
ค่าสินไหมทดแทนสุทธิ / Net claims incurred กำ�ไรจากการรับประกันภัย / Income on underwriting
Fire Fire premium was 437.53 million Baht increased by 36.23 million Baht from last year or 9.03%. Earned premium was 167.91 million Baht a slight decrease of 9.76 million Baht or 5.49%. Underwriting profit was also decreased to 90.28 million Baht, a decrease of 55.29 million Baht or 37.98%. The decrease in profit was due to a decrease in earned premium and increases in claims incurred and commission and brokerages during 2009. The claims incurred was 49.47 million Baht which increased by 21.33 million Baht and commission and brokerages also increased by 23.15 million Baht.
การประกันอัคคีภัย / Fire Insurance ณ 31 ธันวาคม 2552 (As at 31 December 2009) 500
438
หน่วย : ล้านบาท / Unit : million Baht
440
401
400 300 200
49
100 0
178
168
146
184 105
90 37
28
2552/2009 2551/2008 2550/2007 งบการเงินเฉพาะกิจการบริษัท (The Company Only) / งบการเงินตามวิธีส่วนได้เสีย (The Equity Method is Applied) เบี้ยประกันภัยรับทั้งสิ้น / Gross writtien premiums เบีย้ ประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ / Net earned premium
ค่าสินไหมทดแทนสุทธิ / Net claims incurred กำ�ไรจากการรับประกันภัย / Income on underwriting
Marine and transportation การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง Its premium was 118.11 million Baht, decreased by 4.24 million ในปี 2552 บริษัทมีเบี้ยประกันภัยรับ 118.11 ล้านบาท ลดลง 4.24 Baht from last year or 3.46%. Earned premium was 49.96 million ล้านบาท โดยลดลงร้อยละ 3.46 มีเบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ 49.96 Baht decreased from last year by 7.92 million Baht or 13.68%. ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 7.92 ล้านบาทหรือร้อยละ 13.68 มีผลกำ�ไร Underwriting profit also decreased to 38.24 million Baht, a decrease จากการรับประกันภัยจำ�นวน 38.24 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 10.92 by 10.92 million Baht or 22.21% due to a decrease in earn premium ล้านบาทหรือลดลงร้อยละ 22.21 ผลมาจากการลดลงของเบีย้ ประกันภัย and an increase of 2.19 mil ion Baht in claims incurred. ที่ถือเป็นรายได้และในส่วนค่าสินไหมทดแทนที่เพิ่มขึ้น 2.19 ล้านบาท การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง / Marine Insurance ณ 31 ธันวาคม 2552 (As at 31 December 2009) 150 122 หน่วย : ล้านบาท / Unit : million Baht 118 113 120 90 60 30 0
58
50
49
38 11
8
59 43 12
2552/2009 2551/2008 2550/2007 งบการเงินเฉพาะกิจการบริษัท (The Company Only) / งบการเงินตามวิธีส่วนได้เสีย (The Equity Method is Applied) เบี้ยประกันภัยรับทั้งสิ้น / Gross writtien premiums เบีย้ ประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ / Net earned premium
ค่าสินไหมทดแทนสุทธิ / Net claims incurred กำ�ไรจากการรับประกันภัย / Income on underwriting
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
17
การประกันภัยรถยนต์ Motor บริ ษั ท มี เ บี้ ย ประกั น ภั ย รั บ จากการรั บ ประกั น ภั ย รถยนต์ ร วม Written premium was 1,254.52 million Baht increased slightly ทั้งสิ้น 1,254.52 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 53.67 ล้านบาทหรือร้อยละ 4.47 from last year by 53.66 million Baht or 4.47%. Earned คิดเป็นเบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ในปี 2552 เป็นจำ�นวน 1,286.05 premium also increased to 1,286.05 million Baht, an increase of ล้านบาท เพิ่มขึ้น 275 .41 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 27 มีกำ�ไรจาก 275.41 million Baht or 27%. Underwriting profit also increased การรับประกันภัย 193.67 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 46.73 ล้านบาท from last year by 31.80% or 46.73 million Baht to 193.67 million Baht. หรือร้อยละ 31.80 Earned premium though increased by 275.41 million Baht แม้วา่ เบีย้ ประกันภัยทีถ่ อื เป็นรายได้จะเพิม่ สูงถึง 275.41 ล้านบาทแต่ underwriting profit only increased by 46.73 million Baht due to กำ�ไรจากการรับประกันภัยเพิ่มขึ้นเพียง 46.73 ล้านบาท เป็นผลมาจาก growth in claims incurred is higher than growth from income. ค่าสินไหมทดแทนที่เพิ่มขึ้นในอัตราเพิ่มที่สูงกว่าการเพิ่มของรายได้ Claims incurred increased by 211.06 million Baht or 36.24% as a โดยมีค่าสินไหมทดแทนเพิ่มขึ้น 211.06 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นถึงร้อย result of higher claims ratio in some types of vehicles as well as ละ 36.24 ทั้งนี้มีสาเหตุมาจากอัตราการเกิดการสูญเสียในรถยนต์ higher cost of repair materials and claims settling cost. The company บางประเภททีส่ งู มาก ประกอบกับต้นทุนอุปกรณ์และค่าแรงในการชดใช้ has made some adjustments which some improvement result ที่มีราคาสูงขึ้น ทั้งนี้บริษัทได้ดำ�เนินการแก้ไขในส่วนนี้แล้วแต่การแก้ไข was gradually seen since the 4th quarter of 2009. จะทยอยมีผลตั้งแต่ไตรมาสที่ 4 ของปี 2552 เป็นต้นไป During 2009 the Company was able to better control cost of สำ�หรับประกันภัยรถยนต์ในปี 2552 บริษัทสามารถควบคุมต้นทุน commission and brokerages reducing them by 1% of written ด้านค่าบำ�เหน็จและนายหน้าได้ดีกว่าปีก่อนโดยลดลงร้อยละ 1 ของ premium. เบี้ยประกันภัยรับสุทธิ การประกันภัยรถยนต์ / Motor Insurance ณ 31 ธันวาคม 2552 (As at 31 December 2009) หน่วย : ล้านบาท / Unit : million Baht 15000 1,255 1,286 1,201 1200 1,011 883 885 794 900 582 511 600 300 0
194
183
2552/2009 2551/2008 2550/2007 งบการเงินเฉพาะกิจการบริษัท (The Company Only) / งบการเงินตามวิธีส่วนได้เสีย (The Equity Method is Applied) เบี้ยประกันภัยรับทั้งสิ้น / Gross writtien premiums เบีย้ ประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ / Net earned premium
การประกันภัยเบ็ดเตล็ด ในปี 2552 เบีย้ ประกันภัยเบ็ดเตล็ดมีจ�ำ นวน 107.90 ล้านบาท ลดลง จากปีก่อน 17.52 ล้านบาทหรือลดลงร้อยละ 13.97 คิดเป็นเบี้ยประกัน ภัยที่ถือเป็นรายได้ 65.31 ล้านบาท โดยลดลงจากปีก่อน 5.05 ล้านบาท และมีกำ�ไรจากการรับประกันภัย 29.80 ล้านบาทลดลง 0.19 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 0.64
18
147
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
ค่าสินไหมทดแทนสุทธิ / Net claims incurred กำ�ไรจากการรับประกันภัย / Income on underwriting
Miscellaneous Its premium was 107.90 million Baht decreased from last year by 17.52 million Baht or 13.97% and earned premium also decreased by 5.05 million Baht to 65.31 million Baht. Underwriting profit was 29.80 million Baht decreased by 0.19 million Baht or 0.64% from last year.
ผลกำ�ไรจากการรับประกันภัยในปี 2552 มีจ�ำ นวนทีใ่ กล้เคียงกับ ปีก่อน ถึงแม้ว่าเบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้จะต่ำ�กว่าปีก่อนและมีค่า สินไหมทดแทนที่เพิ่มขึ้นจากปีก่อนเป็นจำ�นวน 2.31 ล้านบาท แต่ด้วย ค่าบำ�เหน็จนายหน้าและค่าใช้จ่ายอื่นที่ลดลงเป็นจำ�นวน 7.35 ล้านบาท
Underwriting profit in 2009 was relatively close to last year though earned premium was lower and claims incurred increased by 2.31 million Baht but commission and brokerages and other expenses decreased by 7.35 million Baht.
การประกันภัยเบ็ดเตล็ด / Miscellaneous Insurance ณ 31 ธันวาคม 2552 (As at 31 December 2009) 150 120 90 60 30
หน่วย : ล้านบาท / Unit : million Baht
132
125 108 70
65 34
30
71 32
30
36
26
0 2552/2009 2551/2008 2550/2007 งบการเงินเฉพาะกิจการบริษัท (The Company Only) / งบการเงินตามวิธีส่วนได้เสีย (The Equity Method is Applied) เบี้ยประกันภัยรับทั้งสิ้น / Gross writtien premiums เบีย้ ประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ / Net earned premium
2. ผลการดำ�เนินงานจากการลงทุน ในปี 2552 บริษัทมีผลการดำ�เนินงานจากการลงทุนรวม 140.30 ล้านบาท เทียบกับปีก่อนที่มีกำ�ไรจำ�นวน 119.91 ล้านบาท คิดเป็น จำ�นวนที่เพิ่มขึ้น 20.39 ล้านบาทหรือเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 17 โดยมีรายได้จากดอกเบีย้ และเงินปันผลรับรวม 101.65 ล้านบาท โดยเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 2.73 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 2.76 สืบเนื่องมาจากภาวะของอัตราดอกเบี้ยในปี 2552 ยังคงทรงตัวอยู่ใน ระดับต่ำ� และเกือบทุกบริษัทจดทะเบียนมีการจ่ายเงินปันผลในอัตราที่ ลดลง อันเป็นผลสืบเนือ่ งจากภาวะตกต่�ำ ทางเศรษฐกิจต่อเนือ่ งตัง้ แต่ปี 2551 แต่บริษัทมีกำ�ไรจากการซื้อขายหลักทรัพย์ที่สูงขึ้นโดยมีกำ�ไร 38.65 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 17.65 ล้านบาท หรือคิดเป็นอัตรา เพิ ่ ม ขึ ้ น ถึ ง ร้ อ ยละ 84.09 ซึ่งมาจากการปรับตัวเพิ่มขึ้นของดัชนี ตลาดหลักทรัพย์ฯ ในปี 2552 ทีป่ รับตัวเพิม่ สูงจากปี 2551 เกือบ 300 จุด หรือร้อยละ 63.25
ค่าสินไหมทดแทนสุทธิ / Net claims incurred กำ�ไรจากการรับประกันภัย / Income on underwriting
2. Investments Result Investment income totaled 140.30 million Baht increased from 119.91 million Baht in last year by 20.39 million Baht or 17%. Its sources were interest and dividends, profit from securities trading. Income from interest and dividends was 101.65 million Baht increased from last year by 2.73 million Baht or 2.76% due to interest rate in 2009 was still low and dividend paid by most listed companies was lower as a result of recession in economy which continued from 2008. The Company was able to make an increase in profit from securities trading which was 38.65 million Baht increased from last year by 17.65 million Baht or 84.09% as a result of the increase in SET index from 2008 by almost 300 points or 63.25%.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
19
3. ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน บริษัทมีค่าใช้จ่ายดำ�เนินงานในปี 2552 จำ�นวน 323.71 ล้าน บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 7.70 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.44 บริษัท ยังคงสามารถบริหารจัดการและควบคุมค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานได้ดี ต่อเนือ่ งมาจากปีกอ่ น โดยค่าใช้จา่ ยเกือบทุกประเภทมีจ�ำ นวนทีใ่ กล้เคียง และลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน ยกเว้นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานที่เพิ่ม ขึ้น 6.22 ล้านบาทคิดเป็นร้อยละ 3.41 หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญที่เพิ่ม ขึ้น 3.37 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายอื่นเพิ่มขึ้น 1.41 ล้านบาท มาจากค่า ธรรมเนียมที่จ่ายให้กับสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริมการ ประกอบธุระกิจประกันภัย (คปภ.) ซึง่ แปรผันตามเบีย้ ประกันภัยทีเ่ พิม่ ขึน้ และในส่วนของค่าตรวจสอบและประเมินผลการควบคุมภายในด้าน สารสนเทศ และค่าธรรมเนียมในการเก็บรักษาหลักทรัพย์เพื่อให้เป็นไป ตามข้อกำ�หนดของ คปภ. ซึง่ เป็นค่าใช้จา่ ยทีไ่ ม่มใี นปีกอ่ น ทัง้ นีโ้ ดยรวม ของอัตราค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานต่อรายรับจากค่าเบี้ยประกันภัย ยังอยู่ในอัตราที่ใกล้เคียงกับปีก่อน
3. Operating Expenses Operating expenses was 323.71 million Baht increased from last year by 7.70 million Baht or 2.44%. The Company was capable to continue managing and controlling operating expenses from the previous year that almost all of them were very close to or lower that the year before, except personnel expenses, bad debts and doubtful accounts and other expenses. Personnel expenses increased by 6.22 million Baht or 3.41% and bad debts and doubtful accounts increased by 3.37 million Baht. Other expenses increased by 1.41 million Baht which are fees related to written premiums paid to the OIC , fees for evaluation of internal control on IT system and fees paid to the custodian of securities under the OIC regulations. All of them did not exist in the year before. In summary the ratio of operating expenses to premium is still close to the previous year.
ฐานะทางการเงิน 1. ส่วนประกอบของสินทรัพย์ ณ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 3,593.39 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 285.63 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.64 มาจากการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์หลักๆ ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของเงิน ลงทุนในหลักทรัพย์ซึ่งเพิ่มขึ้น 550.16 ล้านบาทหรือคิดเป็นอัตราการ เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.48 เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าตามราคาตลาด ของหุ้นทุนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ซึ่งปรับดีขึ้นอย่างมากใน ปี 2552 และมาจากการย้ายการลงทุนในเงินฝากประจำ�กับธนาคารมา ลงทุนในหลักทรัพย์ประเภทพันธบัตรและหุ้นกู้ ประกอบกับในปี 2552 บริษัทสามารถจัดเก็บเบี้ยประกันภัยค้างชำ�ระได้ดี ทำ�ให้มีเงินทุนเพิ่ม ในการลงทุนในหลักทรัพย์ ส่วนประกอบของสินทรัพย์และการเปลีย่ นแปลงจากปีกอ่ นทีส่ �ำ คัญ :
Financial Status 1. Composition of Assets At 31 December 2009 the Company assets totaled 3,593.39 million Baht increased from last year by 285.63 million Baht or 8.64%, due to value of securities went up by 550.16 million Baht or 29.48% because market value of securities of listed company rose favorably during 2009. The increase also came from transferring of fixed deposit with banks to investment in bond and debenture and from efficiency in collecting receivables making more funds available to invest in securities.
สินทรัพย์ Assets เงินลงทุนในหลักทรัพย์ Investments in Securities ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์สุทธิ Premises and Equipment Net เบี้ยประกันภัยค้างรับสุทธิ Premium Due and Uncollected Net เงินสดและเงินฝากธนาคาร Cash and Deposit at Financial Institutions
20
รวม / Total
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
The main assets and some major changes : จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) Amout (Million Baht) 2,416.59
สัดส่วนต่อ สินทรัพย์รวม Ratio to Total Assets 67.26
ร้อยละเปลี่ยนแปลง จากปีก่อน % of Change From Previous Year 29
209.54
5.83
(12)
341.20
9.50
(26)
184.61
5.14
(40)
3,151.94
87.71
10
2. คุณภาพของสินทรัพย์ 2.1 เงินลงทุนในหลักทรัพย์และเงินสด/เงินฝากธนาคาร เงินลงทุนในหลักทรัพย์ ณ 31 ธันวาคม 2552 มี จำ�นวน 2,416.59 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 550.16 ล้านบาท หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.48 โดยคิดเป็นสัดส่วนต่อสินทรัพย์รวมที่ร้อยละ 67.26 สำ�หรับปี 2552 และร้อยละ 56.42 ในปี 2551 เงินสดและเงินฝากธนาคารมีจำ�นวน 184.61 ล้านบาท ในปี 2552 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 5.14 ต่อสินทรัพย์ และร้อยละ 9.25 ในปี 2551 โดยลดลง 121.30 ล้านบาทจากปีก่อนหรือลดลงร้อยละ 40 ปี 2552 บริษัทมีผลการดำ�เนินงานด้านการลงทุนที่ดี มาก ทั้งด้านผลตอบแทนที่รับรู้แล้วเป็นกำ�ไรและมูลค่าเพิ่มของเงิน ลงทุน เมื่อพิจารณาอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนโดยรวมของปี 2552 มีอัตราผลตอบแทนที่ดีกว่าปีก่อน โดยเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 5.33 ในปี 2551 เป็นร้อยละ 5.88 ผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่มาจาก กำ�ไรจากการซื้อขายเงินลงทุนในหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ในส่วนที่เป็นมูลค่าเพิ่มของเงินลงทุนที่ยังไม่ได้รับรู้เป็น รายได้ ซึ่งเป็นสินทรัพย์เพื่อการลงทุนมีการปรับมูลค่าเพิ่มขึ้นอย่างมาก หากเทียบกับปีกอ่ น โดยพิจารณาในส่วนต่�ำ กว่าทุนจากการเปลีย่ นแปลง มูลค่าเงินลงทุนในปี 2551 ที่มีจำ�นวน 141.08 ล้านบาท ปรับขึ้นเป็น ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่จำ�นวน 86.57 ล้านบาท ในปี 2552 ซึง่ หากคิดเป็นจำ�นวนทีป่ รับเพิม่ ขึน้ เป็นจำ�นวนถึง 227.65 ล้านบาท 2.2 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์สุทธิ ในปี 2551 บริษัทมีมูลค่าตามบัญชีของที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์ ก่อนหักค่าเสื่อมราคา 566.67 ล้านบาท มีค่าเสื่อมราคาสะสม จำ�นวน 329.66 ล้านบาท คิดเป็นจำ�นวนมูลค่าสุทธิที่ 237.01 ล้านบาท ในปี 2552 บริษัทมีการซื้อทรัพย์สินเพิ่มขึ้นจำ�นวนรวม 11.95 ล้านบาท เพื่อการปรับปรุงห้องประชุมใหญ่ที่สำ�นักงานใหญ่เป็นจำ�นวน 4.77 ล้าน บาท มีการซื้อรถยนต์เพิ่มสำ�หรับผู้บริหารระดับสูงและเพื่อการทดแทน สำ�หรับสาขาเป็นจำ�นวนรวมทั้งสิ้น 6.17 ล้านบาท เมื่อหักการตัด จำ�หน่ายออกในมูลค่าของห้องประชุมเดิมที่ได้ปรับปรุงและรถยนต์เดิม ที่ได้รับการทดแทนเป็นจำ�นวน 6.51 ล้านบาท ทำ�ให้มีมูลค่าสุทธิที่เพิ่ม ขึ้นเป็นจำ�นวน 5.44 ล้านบาท โดยมูลค่าตามบัญชีของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ก่อนหักค่าเสื่อมของปี 2552 มีจำ�นวนเพิ่มเป็น 572.11 ล้าน บาทและมีมูลค่าสุทธิที่ 209.54 ล้านบาทเมื่อหักค่าเสื่อมราคาสะสม จำ�นวน 362.56 ล้านบาทแล้ว 2.3 เบี้ยประกันค้างรับ ในปี 2552 ลูกหนี้จากเบี้ยประกันภัยค้างรับมีจำ�นวน 341.20 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 122.99 ล้านบาทหรือร้อยละ 26 มี ระยะการจัดเก็บ 76 วันลดลงจากปีก่อน 13 วันหรือลดลงร้อยละ 14.61 ระยะเวลาการจัดเก็บเบี้ยประกันภัยค้างรับที่ลดลงเป็นผลจากการ บังคับใช้หลัก Cash Before Cover สำ�หรับเบี้ยประกันภัยประเภท รถยนต์ ซึ่ง คปภ. กำ�หนดและประกาศให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2552
2. Assets Quality 2.1 Investment in Securities and Cash and Deposit at Financial Institutions At 31 December 2009 investment in securities was 2,416.59 million Baht increased from last year by 550.16 million Baht or 29.48% and its ratio to total assets in 2009 and 2008 in respectively was 67.26% and 56.42%. Cash and deposit at financial institutions was 184.61 million Baht representing a ratio of 5.14% to asset in 2009 and 9.25% in 2008, decreased by 121.30 mil ion Baht from last year or 40%. During 2009 the investment performance was very well both in terms of gains realized as profit and value of securities that went up. Rate of return from investment was better than last year, increased from 5.33% in 2008 to 5.88% in 2009. Most of the increase was from gains on trading of securities in the stock exchange. Unrealized gain on change in value of trading securities was also gone up substantially from last year. Consideration is given to change in value for trading securities in 2008 that showed a deficit amounting 141.08 million Baht that in 2009 it showed upturn result, an unrealized gain of 86.57 million Baht representing an increase in adjustment of 227.65 million Baht. 2.2 Premises and Equipment Net Book value of premises and equipment in 2008 before depreciation was 566.67 mil ion Baht and accumulated depreciation was 329.66 million Baht so the net value was 237.01 million Baht. During 2009 the Company got new assets value totaled 11.95 mil ion Baht which are a renovated expense of the main conference room at 4.77 million Baht and new cars for the top executive and as replacement for branch offices, totaled 6.17 million Baht. The value of the renovated conference room and cars that have been replaced was written off at 6.51 million Baht, the net asset only increased to 5.44 million Baht. The book value of premises and equipment in 2009, therefore, increased to 572.11 million Baht before depreciation and its net value was 209.54 million Baht after a reduction of accumulated depreciation amounting 362.56 million Baht. 2.3 Premium due and uncollected It was 341.20 million Baht decreased from last year by 122.99 million Baht or 26% and collecting period was down to 76 days decrease by 13 days or 14.61%. The reduction is due to the OIC regulation “Cash Before Cover” practice applied on motor insurance that has been effective since 1 January 2009.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
21
สัดส่วนลูกหนี้ค่าเบี้ยประกันภัยค้างรับที่มีอายุอยู่ในช่วง ระยะเวลาน้อยกว่าหรือเท่ากับ 6 เดือนอยู่ที่ร้อยละ 99.04 ดีขึ้น กว่าปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ 98.52 ซึ่งสะท้อนถึงคุณภาพของลูกหนี้ที่ดีขึ้น ปี 2552 บริษัทพิจารณาตั้งสำ�รองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เพิ่มขึ้นจาก 0.37 ล้านบาทในปี 2551 เป็น 1.43 ล้านบาท การเพิ่มขึ้น ของการตั้ ง สำ � รองหนี้ สู ญ นอกจากที่ จ ะเป็ น ผลมาจากภาวะทาง เศรษฐกิจตกต่ำ� โดยรวมแล้วยังมีผลมาจากการบังคับใช้หลักการ Cash Before Cover สำ�หรับเบี้ยประกันภัยรถยนต์ทำ�ให้มีการเปลี่ยนแปลง รอบและระยะเวลาการจัดเก็บเบี้ยประกันภัยที่สั้นลงอย่างมากซึ่งส่ง กระทบต่อสภาพคล่องของตัวแทนและนายหน้า บริษัทมีการพิจารณาตัดหนี้สูญเบี้ยประกันภัยค้างรับที่ค้าง ชำ�ระเป็นระยะเวลานาน และมีการตั้งสำ�รองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญโดย รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานในปี 2552 เป็นจำ�นวนเงินทั้งสิ้น 3.17 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 3.37 ล้านบาท 2.4 สินทรัพย์อื่นๆ สินทรัพย์อื่นๆ หลัก คือ ค่าสินไหมค้างรับจากคู่กรณีใน ปี 2552 มีจำ�นวน 93.19 ล้านบาทเป็นมูลค่าก่อนหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะ สูญจำ�นวน 37.80 ล้านบาท และมีจำ�นวนสุทธิหลังหักค่าเผื่อหนี้สงสัย จะสูญแล้ว 55.39 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 15.34 ล้านบาท สำ�หรับค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในปี 2552 จำ�นวน 37.80 ล้านบาท ลดลง 0.27 ล้านบาทจากในปีก่อน คิดเป็นอัตราค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญต่อลูกหนีค้ า่ สินไหมทดแทนค้างรับของปี 2552 อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 40.56 เป็นการปรับตัวดีขึ้นหากเทียบกับปี 2551 ซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 48.73 และเมื่อพิจารณาถึงสัดส่วนของอายุการค้างรับที่อยู่ในปีที่เกิดรายการ ของปี 2552 จะมีจำ�นวนสูงขึ้นเป็นร้อยละ 47.35 เทียบกับปี 2551 ซึ่งอยู่ ที่ร้อยละ 38.20 สะท้อนถึงคุณภาพของลูกหนี้ที่ดีขึ้นและโอกาสที่จะ สามารถเรียกร้องกลับมาเป็นรายได้สูงขึ้นเช่นกัน 3. สภาพคล่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีอัตราส่วนสภาพคล่อง 1.09 เท่า ลดลงจากปีก่อนที่ 1.27 เท่า การลดลงนี้ไม่ได้ทำ�ให้สภาพคล่อง ของบริษัทมีผลกระทบใดๆ แต่สะท้อนถึงการบริหารจัดการที่ดีขึ้น โดย พิจารณารายละเอียดขององค์ประกอบที่ลดลงนั้นจะมาจากการจัดสรร ประเภทการลงทุน โดยมีการย้ายการลงทุนที่มีผลตอบแทนที่ต่ำ�ไปยัง การลงทุนทีใ่ ห้ผลตอบแทนทีส่ งู ขึน้ และอีกส่วนหนึง่ มากจากประสิทธิภาพ ในการบริหารลูกหนี้ที่ดีขึ้นทำ�ให้ยอดคงค้างในลูกหนี้ลดลง สินทรัพย์ที่จัดเป็นสินทรัพย์ประเภทหมุนเวียนในปี 2552 ที่มี อยู่ 1,708.33 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 217.92 ล้านบาท มาจากการ ลดลงของลูกหนี้จากเบี้ยประกันภัยค้างชำ�ระ ซึ่งเป็นผลจากการจัดเก็บ ได้ดีขึ้นทำ�ให้ลูกหนี้เบี้ยประกันภัยค้างรับลดลงจากปีก่อนเป็นจำ�นวนถึง 122.99 ล้านบาท ซึ่งจำ�นวนเงินที่จัดเก็บได้เพิ่มนี้บริษัทได้นำ�ไปลงทุน ในหลักทรัพย์ประเภทไม่หมุนเวียน อีกส่วนหนึ่งของการลดลงมาจาก การที่ เ งิ น ฝากประจำ � กั บ ธนาคารที่ จั ด เป็ น สิ น ทรั พ ย์ ห มุ น เวี ย นครบ กำ�หนดไถ่ถอนจำ�นวน 121.30 ล้านบาท และนำ�ไปลงทุนในหลักทรัพย์
22
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Proportion of receivables that is below or equal to 6 months age range was 99.04%, a better ratio than the year before which was 98.52%. It shows a better quality of receivables. In 2009 the Company increased an allowance for bad debts by 0.37 million Baht to 1.43 million Baht. The increase is due to impacts from economy recession and the application of “Cash Before Cover” practice on motor insurance. Under the new practice cycle and duration of collecting premium receivables are much shorter that it has some impact on liquidity of agents and brokers. The Company wrote off long overdue premium receivables and in 2009 recognized expenses for bad debt and doubtful accounts at 3.17 million Baht increased from last year by 3.37 million Baht. 2.4 Other Assets The main item of other assets is receivable from third party that in 2009 was 93.19 million Baht before deducting an allowance for doubtful debts amounting 37.80 million Baht. Net amount after the deduction was 55.39 million Baht increased from last year by 15.34 million Baht. The allowance for doubtful debts in 2009 was 37.80 million Baht decreased by 0.27 million Baht from last year. Its ratio to claims receivable was 40.56%, a better figure when compares with the ratio of 2009 which was 48.73%. In terms of proportion of aging, the receivable of 2009 was as high as 47.35% while the proportion from 2008 was 38.20% which may reflect a better quality of receivables and good possibilities to get recovery. 3. Liquidity The Company liquidity ratio at 31 December 2009 was 1.09 decreased from last year which was 1.27. The reduction does not have any impact on the company’s liquidity rather it gives an image of a better managed company. Consideration on details the reduction was due to transferring of investment assets that earned lower return to investment of higher yield and on efficiency in managing receivable that receivable overdue decreased. Current assets was 1,708.33 millions Baht decreased from last year by 217.92 million Baht due to a decrease in receivable on premium due and uncollected from a better process of collecting premium, a decrease by 122.99 million Baht. The money collected was then invested in securities not classified under current assets. Another reduction in current assets was
ที่จัดอยู่ในประเภทไม่หมุนเวียน อันได้แก่ หุ้นกู้และพันธบัตรที่ให้ผล ตอบแทนสูงกว่าแต่มีระยะเวลาการลงทุนและครบกำ�หนดไถ่ถอนเกิน กว่า 1 ปี ในส่วนของหนี้สินหมุนเวียนในปี 2552 มีจำ�นวนรวม 1,572.98 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปีก่อนเพียง 53.37 ล้านบาท มาจากการเพิ่มขึ้น ของค่าสินไหมทดแทนค้างจ่ายที่เพิ่มขึ้น ซึ่งหากพิจารณาแล้วนับ เป็นการเพิ่มที่ต่ำ�มาก หากเปรียบเทียบกับปริมาณธุรกิจที่เติบโตในปี 2552 เป็นการสะท้อนถึงการบริหารจัดการในการจ่ายชดเชยค่าสินไหม ทดแทนที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็วมากขึ้นนั่นเอง 4. แหล่งที่มาของเงินทุน เงินทุนเพื่อการดำ�เนินงานส่วนใหญ่มาจากส่วนของผู้ถือหุ้น และจากการประกอบธุรกิจ โดยไม่มีการกู้ยืมเงินจากเจ้าหนี้หรือ สถาบันการเงินอื่นทั้งในประเทศและต่างประเทศ ณ 31 ธันวาคม 2552 หนี้สินส่วนใหญ่ของบริษัทเป็นเงินสำ�รองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็น รายได้และสำ�รองค่าสินไหมทดแทนและค่าสินไหมทดแทนค้างจ่าย 5. ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ส่วนของผู้ถือหุ้นมีจำ�นวน 2,020.41 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 232.25 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.99 ซึ่ง มาจากส่วนกำ�ไรที่ยังไม่จัดสรรจำ�นวน 53.56 ล้านบาท มาจากการ เปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้นของผลกำ�ไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจาก ส่วนเกิน (ต่ำ�กว่า) ทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุนเป็นจำ�นวน 170.74 ล้านบาท และมูลค่าเงินลงทุนในบริษัทร่วมที่เพิ่มขึ้นเป็น 7.96 ล้านบาท ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี 1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี ค่าตอบแทนการสอบบัญชีในรอบปีบัญชี 2552 มีจำ�นวนรวม ทั้งสิ้น 1,000,000 บาท 2. ค่าบริการอื่น ค่าตอบแทนของงานบริการอื่น ซึ่งได้แก่ ค่าบริการในการ ประเมินการควบคุมภายในและระเบียบวิธีปฏิบัติในด้านการลงทุน รวมทัง้ ด้านอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องและสัมพันธ์กนั มีจ�ำ นวนเงินรวม 100,000 บาท
from fixed deposit amounting 121.30 million Baht that on due date was moved to invest in securities not classified under current assets which are debenture and bond that have higher yield but duration of investment and maturity are over 1 year. Current liabilities was 1,572.98 million Baht increased from last year by 53.37 million Baht, from an increase in loss reserves and outstanding claims that considerably is rather small when compares to growth in volume of business in 2009. On the other hand it reflects quick and efficiency in managing claims settlement. 4. Source of Fund Funds used in operating business came mostly from the shareholders’ fund and income generating from operations without getting loans or borrowing from local or overseas creditors or financial institutions. At 31 December 2009 the major liabilities are premium reserve and loss reserves and outstanding claims. 5. Shareholders’ Equity The equity at 31 December 2009 was 2,020.41 million Baht increased from last year by 232.25 million Baht or 12.99%. It came from retain earnings amounting 53.56 million Baht, changes in value of investment in which unrealized gain (deficit) amounting 170.74 million Baht and investment in associated company that increased by 7.96 million Baht. Auditor’s Fees 1. Auditing Fees Fees paid to the auditor during 2009 totaled 1,000,000 Baht. 2. Other Fees Fees paid for other services such as evaluating the systems of internal controls and investment procedures including others related matters, altogether totaled 100,000 Baht.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
23
การลงทุนในบริษัทอื่นที่บริษัทถือหุ้นโดยตรงและโดยอ้อม ตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 สัดส่วนการถือหุ้น ชื่อบริษัท
สถานที่ตั้ง
ประเภท ธุรกิจ
ประเภท ทุน ทุนเรียก จำ�นวนหุ้น จำ�นวนหุ้น หุ้น จดทะเบียน ชำ�ระแล้ว ที่ออก ทีบ่ ริษัทถือ โดยตรง จำ�หน่าย ร้อยละ
โดยอ้อม ร้อยละ
1. บริษัท ฟอลคอนประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) โทรศัพท์ 0 2636 8118 โทรสาร 0 2636 8119
กรุงเทพมหานคร ประกัน วินาศภัย
สามัญ 100,000,000 60,000,000 6,000,000 2,175,992
36.27
-
2. บริษัท นิปปอน โคอะ อินชัวรันส์ โบรกเกอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด โทรศัพท์ 0 2955 0137-8 โทรสาร 0 2955 0139
กรุงเทพมหานคร โบรเกอร์
สามัญ
10.00
-
6,000,000 6,000,000
60,000
6,000
INVESTMENT IN 24
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
INVESTMENT IN COMPANIES THAT THE COMPANY HAS EQUITY HOLDING At 10% or over as of 31 December 2009
Company’s Name
Head Office Type of Type of Registered Paid-Up Number Number Business Shares Capital Capital of of Shares Shares Held
Portion of Shares Holding (%) Direct (%)
Indirect (%)
1. The Falcon Insurance Bangkok Public Company Limited Tel. 0 2636 8118 Fax. 0 2636 8119
Non-life Common 100,000,000 60,000,000 6,000,000 2,175,992 Insurance
36.27
-
Bangkok 2. Nipponkoa Insurance Broker (Thailand) Company Limited Tel. 0 2955 0137-8 Fax. 0 2955 0139
Insurance Common 6,000,000 6,000,000 Broker
10.00
-
C
60,000
6,000
MPANIES THAT
THE C MPANY HAS EQUITY H LDING NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
25
โครงสร้างการจัดองค์กร บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) 1 กุมภาพันธ์ 2553 คณะกรรมการ BOARD OF DIRECTORS คณะกรรมการสรรหา NOMINATING COMMITTEE คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน REMUNERATION COMMITTEE คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง RISK MANAGEMENT COMMITTEE
คณะกรรมการบริหาร EXECUTIVE BOARD ประธานกรรมการบริหาร CHAIRMAN OF EXECUTIVE BOARD (CEO) กรรมการผู้อำ�นวยการ PRESIDENT
สายปฏิบัติการ / OPERATIONS GROUP ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ SENIOR VICE PRESIDENT
ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ SENIOR VICE PRESIDENT
ฝ่ายการตลาด MARKETING
ฝ่ายรับประกัน UNDERWRITING
แผนกบริการธุรกิจตัวแทน และนายหน้าบุคคล AGENT แผนกบริการธุรกิจ นายหน้านิติบุคคล BROKER แผนกบริการธุรกิจ สถาบันการเงิน FINANCE INSTITUTE แผนกบริการงานตรง DIRECT BUSINESS แผนกพัฒนาธุรกิจ BUSINESS DEVELOPMENT แผนกวิจัย วางแผน และลูกค้าสัมพันธ์ RESEARCH PLANNING & CUSTOMER RELATIONS สำ�นักงานบริการลูกค้า CUSTOMER SERVICE CENTER
26
ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ SENIOR VICE PRESIDENT
ฝ่ายพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ
INTERNATIONAL BUSINESS DEVELOPMENT
แผนกอัคคีภัย FIRE
แผนกนิปปอนโคอะ NIPPONKOA
แผนกภัยทางทะเล MARINE
แผนกพัฒนา ธุรกิจต่างประเทศ FOREIGN BUSINESS DEVELOPMENT
แผนกภัยยานยนต์ MOTOR แผนกประกันสุขภาพและ ภัยเบ็ดเตล็ดบุคคล HEALTH & MISC. (CASUALTY) แผนกภัยเบ็ดเตล็ดทรัพย์สิน MISCELLANEOUS (PROPERTY) แผนกสัญญาประกันต่อ TREATY REINSURANCE แผนกดำ�เนินงานกรมธรรม์ POLICY PROCESSING แผนกพัฒนาผลิตภัณฑ์ PRODUCT DEVELOPMENT แผนกคณิตศาสตร์ประกันภัย ACTUARIAL
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
ฝ่ายกิจการสาขา BRANCH OPERATION แผนกกิจการ สาขาภาคเหนือ BRANCH OPERATION (NORTH) แผนกกิจการ สาขาภาคใต้ BRANCH OPERATION (SOUTH) แผนกกิจการ สาขาภาคอีสาน BRANCH OPERATION (NORTH EAST) แผนกกิจการ สาขาภาคกลางและตะวันออก BRANCH OPERATION (CENTRAL & EASTERN) แผนกอำ�นวยงานสาขา BRANCH ADMINISTRATION
ฝ่ายสินไหมทดแทน CLAIMS MANAGEMENT
ฝ่ายระบบข้อมูล INFORMATION SYSTEM
แผนกปฏิบัติการสินไหมรถยนต์ CLAIMS OPERATION (MOTOR)
แผนกพัฒนาระบบ SYSTEM DEVELOPMENT
แผนกบริหารสินไหมรถยนต์ CLAIMS ADMINISTRATION (MOTOR)
แผนกสารสนเทศ เพื่อการบริหาร MANAGEMENT INFORMATION SYSTEM
แผนกปฏิบัติการสินไหมทั่วไป CLAIMS OPERATION (NON-MOTOR) แผนกบริหารสินไหมทั่วไป CLAIMS ADMINISTRATION (NON-MOTOR) แผนกนิติการสินไหม ATTORNEY OF CLAIMS
แผนกสารบรรณ IT ADMINISTRATION แผนกบริหารระบบ SYSTEM ADMINISTRATION แผนกโครงการพิเศษ SPECIAL PROJECT
ORGANIZATION CHART The Navakij Insurance Public Company Limited As At 1 February 2010 คณะกรรมการลงทุน INVESTMENT COMMITTEE คณะกรรมการตรวจสอบ AUDIT COMMITTEE สำ�นักตรวจสอบภายใน OFFICE OF INTERNAL AUDIT ที่ปรึกษากรรมการผู้อำ�นวยการ ADVISOR TO PRESIDENT สายอำ�นวยการ / ADMINISTRATION GROUP ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ SENIOR VICE PRESIDENT สำ�นัก กก.ผอ. OFFICE OF PRESIDENT แผนกวิจัย/วางแผน RESEARCH & PLANNING แผนกกฎหมาย LEGAL แผนกผู้ถือหุ้นสัมพันธ์ SHAREHOLDER RELATIONS
ฝ่ายพัฒนาองค์กร
ORGANIZATION DEVELOPMENT แผนกพัฒนาองค์กร ORGANIZATION DEVELOPMENT แผนกทรัพยากรบุคคล HUMAN RESOURCES แผนกฝึกอบรม TRAINING
ฝ่ายธุรการ ADMINISTRATIVE แผนกสำ�นักงาน OFFICE ADMINISTRATION แผนกจัดซื้อ PURCHASING แผนกประชาสัมพันธ์ PUBLIC RELATIONS
ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ SENIOR VICE PRESIDENT ฝ่ายบริหารสินทรัพย์ ASSET MANAGEMENT แผนกพิจารณาการลงทุน INVESTMENT OPERATION แผนกบริหารการลงทุน INVESTMENT ADMINISTRATION
ฝ่ายการเงิน FINANCE แผนกบัญชี ACCOUNTING แผนกการเงิน FINANCE แผนกบริหารหนี้สิน RECEIVABLE MANAGEMENT
RGANIZATI N CHART NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
27
THE NAVAKIJ INSUR PUBLIC COMPANY
EXECUTIVE
DIRECTOR
นายสุจินต์ หวั่งหลี
Mr. Suchin Wanglee
คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ระดับบริหาร
นายสุพจน์ หวั่งหลี
นายวุฒิชัย หวั่งหลี
นายชาน ซู ลี
นายพรพงษ์ พรประภา
นายมิโนรุ ซาซาดะ
นางสาวจิตตินันท์ หวั่งหลี
นางสาวอนุกูล ฐิติกุลรัตน์
นางสาวสุกัญญา ปัณฑพรรธน์กุล Miss Sukanya Pantapatkul
Mr. Suphot Wanglee
Mr. Minoru Sasada
28
Mr. Vuttichai Wanglee
Miss Jittinan Wanglee
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Mr. Chan Soo Lee
Miss Anukul Thitikulrat
Mr. Phornpong Phornprapha
RANCE LIMITED นายนิพล ตั้งจีรวงษ์
นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร
นายเกียรติ ศรีจอมขวัญ
นายประมนต์ สุธีวงศ์
Mr. Nipol T. Jeerawong
Mr. Kiet Srichomkwan
Mr. Pitiphong Bisalputra
Mr. Pramon Sutivong
ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี
Professor Hiran Radeesri
นายทำ�นุ หวั่งหลี
Mr. Thamnu Wanglee
THE DIRECTORS AND THE EXECUTIVES
นางนลินา โพธารามิก
Mrs. Nalina Bodharamik
นางสาวสุมาลี ศักยพันธ์
Miss Sumalee Sakayaphun
นายทาคายูคิ ซาวาซากิ
Mr. Takayuki Sawazaki
นางสาวชุติธร หวั่งลี
Miss Chutithorn Wanglee
นายอดุล พัฒนะภูมิ
นายนิวัตร์ เรือนทองดี
นางวิภาดา ศรีธิมาสถาพร
นางสาวจารุวรรณ จับจำ�รูญ Miss Charuwan Chabchamrun
Mr. Adul Pattanaphum
Miss Vipada Srithimasathaporn
Mr. Niwat Ruantongdee
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
29
คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ระดับบริหาร THE DIRECTORS AND THE EXECUTIVES นายสุจินต์ หวั่งหลี*
ตำ�แหน่ง - ประธานกรรมการ และที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร วุฒิการศึกษา - ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟ้า Northrop Institute of Technology, U.S.A. - Executive Course, Harvard University, U.S.A. - The Role of Chairman (RCM รุ่น 4/2001) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท. รุ่น 9) สถาบันวิทยาการตลาดทุน ประสบการณ์ - กรรมการ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย - นายกสมาคมประกันวินาศภัย ตำ�แหน่งอื่น - ประธานกรรมการ บมจ. ไทยรับประกันภัยต่อ - ประธานกรรมการ บ. สาธรธานี จก. - ประธานกรรมการ บ. รังสิตพลาซ่า จก. - ประธานกรรมการ บมจ. ฟอลคอนประกันภัย - กรรมการ บมจ. โรงแรมราชดำ�ริ - กรรมการอิสระ บมจ. ไทย-เยอรมันเซรามิค อินดัสทรี่ - กรรมการอิสระ บมจ. วโรปกรณ์ - กรรมการ บมจ. อุตสาหกรรมถังโลหะไทย - กรรมการ บ. เดอะ เพ็ท จก. - กรรมการ บ. หวั่งหลี จก. - กรรมการ บ. ไทยเพชรบูรณ์ จก. - กรรมการ บ. อาควา อินฟินิท จก. - กรรมการ บ. หวั่งหลีพัฒนา จก. - กรรมการ บ. นุชพล จก. - กรรมการ สมาคมประกันวินาศภัย - Fellow Member สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : 2,863,300 เพิ่มขึ้น (ลดลง) : (397,800)
30
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Mr. Suchin Wanglee*
Position - Chairman and Advisor to the Executive Board Education - B.S. Electrical Engineering, Northrop Institute of Technology, U.S.A. - Executive Course, Harvard University, U.S.A. - The Role of Chairman (RCM 4/2001), Thai Institute of Directors - Executive Program (CMA 9), Capital Market Academy Experiences - Director, Board of Trade of Thailand - Chairman, The General Insurance Association Other Positions - Chairman, Thai Reinsurance Plc. - Chairman, Sathorn Thani Co., Ltd. - Chairman, Rangsit Plaza Co., Ltd. - Chairman, The Falcon Insurance Plc. - Director, Rajadamri Hotel Plc. - Independent Director, Thai-German Ceramics Industry Plc. - Independent Director, Varopakorn Plc. - Director, Thai Metal Drums MFG. Plc. - Director, The Pet Co., Ltd. - Director, Wanglee Co., Ltd. - Director, Thai-Petchaboon Co., Ltd. - Director, Aqua Infinite Co., Ltd. - Director, Wanglee Pattana Co., Ltd. - Director, Nuchapon Co., Ltd. - Director, The General Insurance Association - Fellow member, Institute of Directors Total shares as at 31 Dec. 2009 : 2,863,300 Increased (decreased) : (397,800)
นายนิพล ตั้งจีรวงษ์*
Mr. Nipol T. Jeerawong*
นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร*
Mr. Pitiphong Bisalputra*
วุฒิการศึกษา - ปริญญาโท บริหารธุรกิจการตลาด University of Hartford, U.S.A. - Director Accreditation Program (DAP รุ่น 5/2003) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE รุ่น 3/2009) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ตำ�แหน่งอื่น - กรรมการ บ. ประไพและบุตร จก. - กรรมการ บ. รังสิตร่วมพัฒนา จก. - กรรมการ บ. ธนสารสมบัติ (ไทย) จก. - กรรมการ บ. ธนพิศาล จก. - กรรมการ บ. ธำ�รงทรัพย์ จก. จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : 89,897 เพิ่มขึ้น (ลดลง) : 10,000
Other Positions - Director, Praphai and Sons Co., Ltd. - Director, Rangsit Ruampatana Co., Ltd. - Director, Thanasarn Sombat (Thai) Co., Ltd. - Director, Thanapisal Co., Ltd. - Director, Thamrongsup Co., Ltd. Total shares as at 31 Dec. 2009 : 89,897 Increased (decreased) : 10,000
ตำ�แหน่ง - กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง วุฒิการศึกษา - ปริญญา วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) - Senior Executive Management Program, SASIN - Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริญญาตรี สาขาสถิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - Director Certificate Program (DCP รุ่น 18/2002) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Director Certificate Program Refresher Course (Re DCP รุ่น 1/2008) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Scandia Management Program (Sweden) - Swiss Insurance Training Center (Switzerland) ตำ�แหน่งอื่น - ที่ปรึกษา บมจ. ฟอลคอนประกันภัย จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : 146,368 เพิ่มขึ้น (ลดลง) : (40,000) ตำ�แหน่ง
- กรรมการ กรรมการผู้อำ�นวยการ กรรมการบริหารความเสี่ยง ผู้อำ�นวยการฝ่ายสินไหมทดแทน และรักษาการผู้อำ�นวยการฝ่ายระบบข้อมูล
Position - Director, Chairman of the Executive Board and Chairman of the Risk Management Committee Education - Bachelor Degree, The National Defence College - Senior Executive Management Program, SASIN - Mini MBA, Thammasat University - Bachelor Degree of Statistic, Thammasat University - Director Certificate Program (DCP 18/2002), Thai Institute of Directors - Director Certificate Program Refresher Course (Re DCP 1/2008), Thai Institute of Directors - Scandia Management Program (Sweden) - Swiss Reinsurance Training Center (Switzerland) Other Positions - Advisor, Falcon Insurance Plc. Total shares as at 31 Dec. 2009 : 146,368 Increased (decreased) : (40,000) Position - Director, President, Member of the Risk Management Committee, Vice President, Claims Dept. and Acting Vice President, Information System Dept. Education - MBA, University of Hartford, U.S.A. - Director Accreditation Program (DAP 5/2003), Thai Institute of Directors - Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE 3/2009), Thai Institute of Directors
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
31
ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี*
ตำ�แหน่ง - กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ วุฒิการศึกษา - ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริญญาโท บริหารธุรกิจทางการบัญชี Wharton School, University of Pennsylvania, U.S.A. - Director Certification Program (DCP รุ่น 0/2000) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ตำ�แหน่งอื่น - ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ดุสิตธานี - ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ไทยคม - ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. อีซี่บาย - กรรมการ บ. เอื้อรดี จก. - ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - ประธานที่ปรึกษา ศูนย์ส่งเสริมการกำ�หนดดูแล กิจการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - Fellow Member สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : - เพิ่มขึ้น (ลดลง) : -
นายเกียรติ ศรีจอมขวัญ*
ตำ�แหน่ง - กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหา วุฒิการศึกษา - ปริญญาตรี เอกบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ Western New Mexico University, U.S.A. - Director Certificate Program (DCP รุ่น 18/2002) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Director Accreditation Program (DAP รุน่ 4/2003) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Finance for Non-Finance Director (FND รุน่ 7/2003) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Audit Committee Program (ACP รุ่น 3/2004) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Improving the Quality of Financial Reporting (QFR รุน่ 4/2006) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - Monitoring the Quality of Financial Report (MFR รุน่ 9/2009) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - Top Executive Program in Commerce and Trade (TEPCoT) มหาวิทยาลัยหอการค้าแห่งประเทศไทย ตำ�แหน่งอื่น - ประธานกรรมการ บ. อลีนกิจสยาม จก. - ประธานกรรมการ บ. โตโยต้าเพชรบูรณ์ ผู้จำ�หน่ายโตโยต้า จก. - ประธานกรรมการ บ. เบญจะรุ่งเรือง จก. - กรรมการผู้มีอำ�นาจ บ. สวนเพชรบูรณ์ จก. - กรรมการผู้มีอำ�นาจ บ. ซิลเวอร์ บีช รีสอร์ท จก. - กรรมการผู้มีอำ�นาจ บ. เป็นสุข จก. - กรรมการผู้มีอำ�นาจ บ. ดินประสิทธิ์ จก. - กรรมการผู้มีอำ�นาจ บ. ไทยเพชรบูรณ์ จก. จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : 35,823 เพิ่มขึ้น (ลดลง) : -
32
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Professor Hiran Radeesri*
Positions - Independent Director and Chairman of the Audit Committee Education - Honorary Doctorate in Accounting, Thammasat University - MBA, Wharton School, University of Pennsylvania, U.S.A. - Director Certification Program (DCP 0/2000), Thai Institute of Directors Other Positions - Chairman of the Audit Committee, Dusit Thani Plc. - Chairman of the Audit Committee, Thai Com Plc. - Chairman of the Audit Committee, Easy Buy Plc. - Director, Aueradee Co., Ltd. - Chairman, Thai Institute of Directors - Chairman of Advisor Group, SET’s Corporatate Governance Center - Fellow member, Thai Institute of Directors Total shares as at 31 Dec. 2009 : Increased (decreased) : -
Mr. Kiet Srichomkwan*
Positions - Independent Director, the Audit Committee and Chairman of the Nominating Committee Education - B.A. Business Administration, Western New Mexico University, U.S.A. - Director Certificate Program (DCP 18/2002), Thai Institute of Directors - Director Accreditation Program (DAP 4/2003), Thai Institute of Directors - Finance for Non-Finance Director (FND 7/2003), Thai Institute of Directors - Audit Committee Program (ACP 3/2004), Thai Institute of Directors - Improving the Quality of Financial Reporting (QFR 4/2006), Thai Institute of Directors - Monitoring the Quality of Financial Report (MFR 9/2009), Thai Institute of Directors - Top Executive Program in Commerce and Trade (TEPCoT), University of the Thai Chamber of Commerce Other Positions - Chairman, Alinkij Siam Co., Ltd. - Chairman, Toyota Petchaboon Toyota’s Dealer Co., Ltd. - Chairman, Benja Rungrueng Co., Ltd. - Authorized Director, Suan Petchaboon Co., Ltd. - Authorized Director, Silver Beach Resort Co., Ltd. - Authorized Director, Pen Sook Co., Ltd. - Authorized Director, Din Prasit Co., Ltd. - Authorized Director, Thai Petchaboon Co., Ltd. Total shares as at 31 Dec. 2009 : 35,823 Increased (decreased) : -
นายประมนต์ สุธีวงศ์*
Mr. Pramon Sutivong*
ตำ�แหน่งอื่น - กรรมการ บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย - ประธานกรรมการ บ. โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จก. - ประธานกรรมการ บ. สยามคอมเพรสเซอร์ อุตสาหกรรม จก. - ประธานอาวุโส หอการค้าไทยและ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย - กรรมการ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติ - อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการสรรหาบริษัท จดทะเบียนตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการป้องกันการทุจริต ภาครัฐวิสาหกิจและธุรกิจเอกชนสำ�นักงานป้องกัน และปราบปรามการทุจริต จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : 105,000 เพิ่มขึ้น (ลดลง) : 2,100
Total shares as at 31 Dec. 2009 : 105,000 Increased (decreased) : 2,100
ตำ�แหน่ง - กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน วุฒิการศึกษา - ปริญญาโท วิศวกรรมเครือ่ งกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ University of Kansas, U.S.A. - Advance Management Program, Harvard Business School, U.S.A. - The Role of Chairman (RCM รุ่น 4/2001) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Director Accreditation Program (DAP รุน่ 6/2003) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Role of Compensation Committee (RCC รุน่ 9/2009) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ประสบการณ์ - ประธานกรรมการ หอการค้าไทย - ประธานกรรมการ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
นายทำ�นุ หวั่งหลี*
ตำ�แหน่ง - กรรมการ วุฒิการศึกษา - อนุปริญญา วิศวกรรมศาสตร์ E.M.I. Electronic College, London - อนุปริญญา Academy of Broadcasting School, New York, U.S.A. - Director Accreditation Program (DAP รุน่ 51/2006) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ตำ�แหน่งอื่น - ประธานกรรมการ บ. ธนาทิพย์ จก. - กรรมการ บ. หวั่งหลี จก. - กรรมการ บ. พลาพัชร จก. จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : 339,634 เพิ่มขึ้น (ลดลง) : -
Positions - Independent Director, the Audit Committee and Chairman of the Remuneration Committee Education - Master Degree in Engineering, Major in Mechanical Engineering, University of Kansas, U.S.A. - Advance Management Program, Harvard Business School, U.S.A. - The Role of Chairman (RCM 4/2001), Thai Institute of Directors - Director Accreditation Program (DAP 6/2003), Thai Institute of Directors - Role of Compensation Committee (RCC 9/2009), Thai Institute of Directors Experiences - Chairman of the Board, The Thai Chamber of Commerce - Chairman of the Board, Board of Trade of Thailand Other Positions - Director, The Siam Cement Plc. - Chairman, Toyota Motor Thailand Co., Ltd. - Chairman, Siam Compressor Industry Co., Ltd. - Past Chairman, The Thai Chamber of Commerce and Board of Trade of Thailand - Director, Nation Corporate Governance Committee - Member of Sub-Committee, New Listing, The Stock Exchange of Thailand - Member of Sub-Committee, National Anti-Corruption Commission (NACC)
Mr. Thamnu Wanglee*
Position - Director Education - Diploma, E.M.I. Electronic College, London - Diploma, Academy of Broadcasting School, New York, U.S.A. - Director Accreditation Program (DAP 51/2006), Thai Institute of Directors Other Positions - Chairman, Thanatip Co., Ltd. - Director, Wanglee Co., Ltd. - Director, Plapat Co., Ltd. Total shares as at 31 Dec. 2009 : 339,634 Increased (decreased) : -
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
33
นายสุพจน์ หวั่งหลี*
วุฒิการศึกษา - ปริญญาตรี Chemical Engineering, Washington University, St. Louis, U.S.A. ตำ�แหน่งอื่น - ประธานกรรมการ บ. สิทธินันท์ จก. - กรรมการผู้มีอำ�นาจ บ. ล็อกซเล่ย์ เทรดดิ้ง จก. - กรรมการผูม้ อี �ำ นาจ บ. สยามมอดิฟายด์ สตาร์ช จก. - กรรมการ บ. โดล (ไทยแลนด์) จก. - กรรมการผู้มีอำ�นาจ บ. บ้านสวนหมาก จก. - กรรมการผู้มีอำ�นาจ บ. พจนกิจ จก. - กรรมการผู้มีอำ�นาจ บ. สาธรธานี จก. - กรรมการผู้มีอำ�นาจ บ. วิสุทธิพาณิชย์ จก. - กรรมการผู้มีอำ�นาจ บ. พิพัฒนสิน จก. - กรรมการผู้มีอำ�นาจ บ. ศุภอรุณ จก. - กรรมการผู้มีอำ�นาจ บ. ฐาวรา จก. - กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ บ. ธนากรผลิตภัณฑ์น้ำ�มันพืช จก. - กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ บ. พูลผล จก. จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : 329,055 เพิ่มขึ้น (ลดลง) : -
Position - Director and Member of the Remuneration Committee Education - B.S. Chemical Engineering, Washington University, St. Louis, U.S.A. Other Positions - Chairman, Sithinan Co., Ltd. - Authorized Director, Loxley Trading Co., Ltd. - Authorized Director, Siam Modified Starch Co., Ltd. - Director, Dole (Thailand) Co., Ltd. - Authorized Director, Baansuanmaak Co., Ltd. - Authorized Director, Photchanakit Co., Ltd. - Authorized Director, Sathorn Thani Co., Ltd. - Authorized Director, Visudhipharnich Co., Ltd. - Authorized Director, Pipatanasin Co., Ltd. - Authorized Director, Supaarun Co., Ltd. - Authorized Director, Thavara Co., Ltd. - Director and Managing Director, Thanakorn Vegetable Oil Co., Ltd. - Director and President, Poonphol Co., Ltd. Total shares as at 31 Dec. 2009 : 329,055 Increased (decreased) : -
นายวุฒิชัย หวั่งหลี*
Mr. Vuttichai Wanglee*
ตำ�แหน่ง
ตำ�แหน่ง
- กรรมการ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน
- กรรมการ และกรรมการสรรหา
วุฒิการศึกษา - ปริญญาตรี สาขา Industrial Engineering, Boston University, U.S.A. ตำ�แหน่งอื่น - กรรมการ บ. เจ้าพระยารีสอร์ท จก. - กรรมการ บ. หวั่งหลีพัฒนา จก. - กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ บ. หวั่งหลี จก. - กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ บ. ชัยทิพย์ จก. - กรรมการ และกรรมการผู้จัดการ บ. บ้านสาธรเหนือ จก. จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : 535,103 เพิ่มขึ้น (ลดลง) : -
34
Mr. Suphot Wanglee*
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Position - Director and Member of the Nominating Committee Education - B.S. Industrial Engineering, Boston University, U.S.A. Other Positions - Director, Chao Phaya Resort Co., Ltd. - Director, Wanglee Pattana Co., Ltd. - Director and Managing Director, Wanglee Co., Ltd. - Director and Managing Director, Chaitip Co., Ltd. - Director and Managing Director, Baan Sathorn Nua Co., Ltd. Total shares as at 31 Dec. 2009 : 535,103 Increased (decreased) : -
นายชาน ซู ลี*
Mr. Chan Soo Lee*
วุฒิการศึกษา - Graduate Diploma, Financial Management, Singapore Institute of Management - Bachelor of Engineering, Electronic and Computer, National University of Singapore ตำ�แหน่งอื่น - กรรมการ บ. หวั่งหลี จก. - กรรมการ Splott Pte., Ltd. - กรรมการผู้จัดการ Tan Guan Lee Co., Ltd. - กรรมการผู้จัดการ TGL Development Co., Ltd. จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : เพิ่มขึ้น (ลดลง) : -
Position - Independent Director and Member of the Nominating Committee Education - Graduate Diploma, Financial Management, Singapore Institute of Management - Bachelor of Engineering, Electronic and Computer, National University of Singapore Other Positions - Director, Wanglee Co., Ltd. - Director, Splott Pte., Ltd. - Managing Director, Tan Guan Lee Co., Ltd. - Managing Director, TGL Development Co., Ltd. Total share as at 31 Dec. 2009 : Increased (decreased) : -
นายพรพงษ์ พรประภา*
Mr. Phornpong Phornprapha*
ตำ�แหน่ง
- กรรมการอิสระ และกรรมการสรรหา
ตำ�แหน่ง - กรรมการอิสระ และกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน วุฒิการศึกษา - ปริญญาตรี สาขา Bachelor of Science in Business Administration, California State University, Long Beach ตำ�แหน่งอื่น - กรรมการ และรองผู้จัดการใหญ่อาวุโส บ. สยามกลการ จก. - ประธาน และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม บ. สยามอินเตอร์เนชั่นแนลคอร์ปอร์เรชั่น จก. - ประธาน และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม บ. สยามริกเก้นอินดัสเตรี้ยล จก. - ประธาน และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม บ. สยามอะไหล่ จก. - ประธาน และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม บ. สยามฮิตาชิออโตโมทีฟโปรดักซ์ จก. - ประธาน และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม บ. สยามคาลโซนิค จก. - ประธาน และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม บ. สยามชิตะ จก. - ประธานกิตติมศักดิ์ บ. เควายบี (ประเทศไทย) จก. - ประธานกิตติมศักดิ์ บ. เอ็กเซดี้ (ประเทศไทย) จก. - รองประธานกิตติมศักดิ์ บ. สยามเอ็นจีเค สปาร์คปลั๊ก จก. จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : 242 เพิ่มขึ้น (ลดลง) : -
Positions - Independent Director and Member of the Remuneration Committee Education - Bachelor of Science in Business Administration, California State University, Long Beach Other Positions - Director and Senior Executive Vice President, Siam Motors Co., Ltd. - President and Authorized Director, Siam International Corp., Ltd. - President and Authorized Director, Siam Riken Industrial Co., Ltd. - President and Authorized Director, Siam Autopart Co., Ltd. - President and Authorized Director, Siam Hitachi Automotive Products Co., Ltd. - President and Authorized Director, Siam Calsonic Co., Ltd. - President and Authorized Director, Siam Chita Co., Ltd. - Chairman , KYB (Thailand) Co., Ltd. - Chairman, EXEDY (Thailand) Co., Ltd. - Vice Chairman, Siam NGK Spark Plug Co., Ltd. Total shares as at 31 Dec. 2009 : 242 Increased (decreased) : -
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
35
นายมิโนรุ ซาซาดะ*
Mr. Minoru Sasada*
นางสาวจิตตินันท์ หวั่งหลี*
Miss Jittinan Wanglee*
นางสาวอนุกูล ฐิติกุลรัตน์*
Ms. Anukul Thitikulrat*
นางสาวสุกัญญา ปัณฑพรรธน์กุล*
Miss Sukanya Pantapatkul*
วุฒิการศึกษา - ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : 559 เพิ่มขึ้น (ลดลง) : -
Total shares as at 31 Dec. 2009 : 559 Increased (decreased) : -
ตำ�แหน่ง - กรรมการ วุฒิการศึกษา - ปริญญาตรี Tokyo University of Foreign Studies, Japan ตำ�แหน่งอื่น - Managing Director, Nipponkoa Management Service (Singapore) Pte., Ltd. จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : เพิ่มขึ้น (ลดลง) : ตำ�แหน่ง - กรรมการ วุฒิการศึกษา - ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ Babson College, U.S.A. - Director Accreditation Program (DAP รุน่ 63/2007) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ตำ�แหน่งอื่น - กรรมการ และผู้อำ�นวยการด้านการขาย บ. รังสิตพลาซ่า จก. - กรรมการผู้มีอำ�นาจ บ. จิตติพัฒน์ จก. จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : 204,590 เพิ่มขึ้น (ลดลง) : ตำ�แหน่ง - กรรมการบริหารความเสี่ยง ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ และผู้อำ�นวยการฝ่ายการเงิน วุฒิการศึกษา - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : - เพิ่มขึ้น (ลดลง) : ตำ�แหน่ง
36
- กรรมการบริหารความเสีย่ ง ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ �ำ นวยการ ผู้อำ�นวยการสำ�นักกรรมการผู้อำ�นวยการ ผู้อำ�นวยการฝ่ายพัฒนาองค์กร เลขานุการบริษัท และเลขานุการคณะกรรมการ
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Position - Director Education - Bachelor of Literature, Tokyo University of Foreign Studies, Japan Other Positions - Managing Director, Nipponkoa Management Service (Singapore) Pte., Ltd. Total shares as at 31 Dec. 2009 : Increased (decreased) : Position - Director Education - Master of Business Administration, Babson College, U.S.A. - Director Accreditation Program (DAP 63/2007), Thai Institute of Directors Other Positions - Director and Vice President Sales Dept., Rangsit Plaza Co., Ltd. - Authorized Director, Jittipat Co., Ltd. Total share as at 31 Dec. 2009 : 204,590 Increased (decreased) : Position - Member of the Risk Management Committee, Senior Vice President and Vice President Finance Dept. Education - MBA, Chulalongkorn University Total shares as at 31 Dec. 2009 : Increased (decreased) : Positions - Member of the Risk Management Committee, Senior Vice President, Vice President, Office of President Dept., Vice President, Organization Dept., Company Secretary and Secretary to the Board Education - B.A. Economic, Thammasat University
นางนลินา โพธารามิก*
ตำ�แหน่ง - ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ วุฒิการศึกษา - ปริญญาโทบริหารธุรกิจ University of West Florida, U.S.A. จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : - เพิ่มขึ้น (ลดลง) : -
Mrs. Nalina Bodharamik*
Positions - Senior Vice President Education - MBA, University of West Florida, U.S.A. Total shares as at 31 Dec. 2009 : Increased (decreased) : -
นายทาคายูคิ ซาวาซากิ*
Mr. Takayuki Sawazaki*
นายอดุล พัฒนะภูมิ*
Mr. Adul Pattanaphum*
นายนิวัตร์ เรือนทองดี
Mr. Niwat Ruantongdee
นางสาวสุมาลี ศักยพันธ์
Miss Sumalee Sakayaphun
ตำ�แหน่ง - ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ วุฒิการศึกษา - ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ Waseda University, Japan จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : - เพิ่มขึ้น (ลดลง) : ตำ�แหน่ง - ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ และผู้อำ�นวยการฝ่ายการตลาด วุฒิการศึกษา - ปริญญาโท บริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - Diploma of Financial Service (General Insurance), Australian and New Zealand Institute of Insurance and Finance จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : เพิ่มขึ้น (ลดลง) : ตำ�แหน่ง - ผู้อำ�นวยการฝ่ายกิจการสาขา วุฒิการศึกษา - ปริญญาตรีวิทยาศาสตร์บัณทิต เอกสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : - เพิ่มขึ้น (ลดลง) : ตำ�แหน่ง - ผู้อำ�นวยการฝ่ายรับประกัน วุฒิการศึกษา - ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : - เพิ่มขึ้น (ลดลง) : -
Position - Senior Vice President Education - B.A. Economics, Waseda University, Japan Total shares as at 31 Dec. 2009 : Increased (decreased) : Position - Senior Vice President and Vice President, Marketing Dept. Education - Master in Public Administration, Thammasat University - Diploma of Financial Service (General Insurance), Australian and New Zealand Institute of Insurance and Finance Total shares as at 31 Dec. 2009 : Increased (decreased) : Position - Vice President, Branch Operation Dept. Education - Bachelor of Science, Major in Statistics, Kasetsart University Total shares as at 31 Dec. 2009 : Increased (decreased) : Positions - Vice President, Underwriting Dept. Education - Bachelor Degree in Economics, Ramkhamhaeng University Total shares as at 31 Dec. 2009 : Increased (decreased) : -
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
37
นางสาวชุติธร หวั่งหลี
Miss Chutithorn Wanglee
นางวิภาดา ศรีธิมาสถาพร
Mrs. Vipada Srithimasathaporn
นางสาวจารุวรรณ จับจำ�รูญ
Miss Charuwan Chabchamrun
ตำ�แหน่ง - กรรมการบริหารความเสี่ยง ผู้อำ�นวยการฝ่ายบริหารสินทรัพย์ และรองผู้อำ�นวยการฝ่ายการเงิน วุฒิการศึกษา - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (การเงิน) The George Washington University, U.S.A. ตำ�แหน่งอื่น - กรรมการ บ. สหชาติอินเตอร์ไพรส์ จก. - กรรมการ บ. วายเจ จก. - กรรมการ บ. ช้อปปิ้ง เซ็นเตอร์ จก. จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : 32,077 เพิ่มขึ้น (ลดลง) : -
ตำ�แหน่ง - ผู้อำ�นวยการสำ�นักตรวจสอบภายใน วุฒิการศึกษา - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : 1,210 เพิ่มขึ้น (ลดลง) : ตำ�แหน่ง - ผู้อำ�นวยการฝ่ายธุรการ วุฒิการศึกษา - ปริญญาตรี อักษรศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 : เพิ่มขึ้น (ลดลง) : หมายเหตุ * กรรมการและผู้บริหาร (ตามคำ�นิยามของ ก.ล.ต.) ของ บมจ. นวกิจประกันภัย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 นับรวมคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
38
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Positions - Member of the Risk Management Committee, Vice President, Asset Management Dept. and Assistance Vice President, Finance Dept. Education - MBA, Finance, The George Washington University, U.S.A. Other Positions - Director, Sahachart Enterprises Co., Ltd. - Director, YJ Co., Ltd. - Director, Shopping Center Co., Ltd. Total shares as at 31 Dec. 2009 : 32,077 Increased (decreased) : Positions - Vice President, Office of Internal Audit Dept. Education - MBA, Burapha University Total shares as at 31 Dec. 2009 : 1,210 Increased (decreased) : Positions - Vice President, Administration Dept. Education - Bachelor of Arts, Chulalongkorn University Total shares as at 31 Dec. 2009 : Increased (decreased) : Remark * The Directors and the Executives (as the definition of SEC) of the Company as at 31 Dec. 2009. Total shares as at 31 Dec. 2009; Include shareholding by spouse and minor child.
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ MAJOR SHAREHOLDERS ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทมีทุนจดทะเบียน 300 ล้านบาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 30 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท ชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว ผู้ถือหุ้น กลุ่มผู้ถือหุ้นที่มีสัดส่วนการถือหุ้นสูงสุด ณ วันปิดสมุดทะเบียน ครั้งล่าสุด เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2552 โดยปรับข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ลำ�ดับ กลุม่ (1)(1) Group No. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
บริษัท นิปปอนโคอะ อินชัวรันส์ จำ�กัด(2) (2) NIPPONKOA Insurance Company Limited นายสุจินต์ หวั่งหลี Mr. Suchin Wanglee บริษัท สหพิทักษ์สิน จำ�กัด The United Indemnity Company Limited บริษัท ธนสารสมบัติ (ไทย) จำ�กัด Thanasarn Sombat (Thai) Company Limited บริษัท สยามกลการ จำ�กัด Saim Motor Company Limited บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด Thai NVDR Company Limited นายณฐพล ศรีจอมขวัญ Mr. Nataphol Srichomkwan นายสุกิจ หวั่งหลี Mr. Sukit Wanglee นายสุพจน์ หวั่งหลี Mr. Suphot Wanglee นายภุชงค์ หวั่งหลี Mr. Poodchong Wanglee
หมายเหตุ (1) นับรวมบุคคลตามมาตรา 258 (2) เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2552 มีการทำ�รายการขายหุ้นของบริษัท ระหว่างผู้ถือหุ้นเดิมบางรายกับผู้ลงทุนรายใหม่ คือ บริษัท นิปปอนโคอะ อินชัวรันส์ จำ�กัด (นิติบุคคลต่างประเทศ)
กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่โดยพฤติการณ์มีอิทธิพลต่อการกำ �หนด นโยบายการจัดการ หรือการดำ�เนินงานของบริษัทอย่างมีนัยสำ�คัญ จากสัดส่วนการถือหุ้นของกลุ่มผู้ถือหุ้นสูงสุด 10 อันดับแรกของ บริษัท ผู้ถือหุ้นลำ�ดับที่ 1 ซึ่งถือหุ้นบริษัทร้อยละ 10 ได้ส่งผู้แทนเข้าเป็น กรรมการบริษัท 1 ท่าน ส่วนผู้ถือหุ้นลำ�ดับที่ 2 และลำ�ดับที่ 9 ดำ�รง ตำ�แหน่งเป็นกรรมการที่มีอำ�นาจลงนาม บุคคลที่กล่าวข้างต้นมิได้ มีพฤติการณ์ที่มีอิทธิพลต่อการกำ�หนดนโยบายการจัดการ หรือการ ดำ�เนินงานของบริษัทอย่างมีนัยสำ�คัญแต่อย่างใด บริษัทมีโครงสร้าง กรรมการที่มีการถ่วงดุลอำ�นาจ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 5 ท่าน กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร 6 ท่าน และกรรมการที่เป็นผู้บริหาร 2 ท่าน การพิจารณาอนุมัติจะถือมติเสียงข้างมากที่ประชุมกรรมการใน การกำ�หนดนโยบายหรือการจัดการ
As at 31 December 2009, the Company’s registered capital was 300 million Baht, dividing into 30 million ordinary shares, each has a par value of 10 Baht and fully paid-up. Shareholders Groups of top shareholders that have the largest holding as at the latest closing date of share registration book on 17 March 2009 adjust the information to the present as at 31 December 2009 สัดส่วน ธุรกิจหลัก จำ�นวนหุ้น Percentage Main Business No. of Shares บริษัทประกันวินาศภัย Non-life insurance นักธุรกิจ Businessman นายหน้าประกันวินาศภัย General insurance broker ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ Building rental จำ�หน่ายรถยนต์ Cars dealer นักลงทุนต่างประเทศ Foreign investors นักธุรกิจ Businessman นักธุรกิจ Businessman นักธุรกิจ Businessman นักธุรกิจ Businessman
3,000,000
10.00%
2,877,200
9.59%
1,820,339
6.07%
1,261,563
4.21%
1,210,000
4.03%
956,526
3.19%
800,084
2.67%
667,225
2.22%
662,544
2.21%
659,442
2.20%
Note (1) Classified according to definition of connected person under clause 258 (2) On 30 March 2009, some existing shareholders sold their shares to a new shareholder, NIPPONKOA Insurance Company Limited.
The major shareholders who have significant influences on the company’s management policy or operation. The first shareholder in the list of top-ten major shareholders holds 10% interest and has assigned one director to represents its interest. The second and the ninth shareholders are directors who are authorized to sign for the Company. All of the above mentioned directors have no significant dominance effects over the management policy or operation. The Board has its structure that balance of power which consists of 5 independent directors, 6 non-executive directors and 2 executive directors. Decision and approval of resolutions on management policy or operation are made by a majority of the board members. NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
39
ข้อมูลบริษัท บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) ทะเบียนบริษัทมหาชนเลขที่ ประเภทธุรกิจ
: เริ่มก่อตั้งเมื่อ 23 กันยายน 2476 : 0107536000862 : รับประกันวินาศภัยทุกประเภท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สัญลักษณ์หุ้นสามัญ นายทะเบียนหุ้น ราคาหลักทรัพย์ในรอบปี 2552
: : : : :
ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนและเรียกชำ�ระเต็มมูลค่า จำ�นวนหุ้นสามัญ จำ�นวนหุ้นสามัญที่เรียกชำ�ระแล้ว ราคาต่อหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้น (งบการเงินรวม) สินทรัพย์รวม (งบการเงินรวม) เงินสำ�รองเพื่อการเสี่ยงภัย (งบการเงินรวม) เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2533 NKI บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0 2229 2800 โทรสาร 0 2654 5427 สูงสุด 70.00 บาท ต่ำ�สุด 49.50 บาท
ผู้สอบบัญชี ธนาคารหลัก
: :
นายโสภณ เพิ่มศิริวัลลภ ทะเบียนผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3182 นางนงลักษณ์ พุ่มน้อย ทะเบียนผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4172 นางสาวรุ้งนภา เลิศสุวรรณกุล ทะเบียนผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3516 บริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด ชั้น 33 อาคารสำ�นักงานเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ 0 2264 0777 โทรสาร 0 2267 0790 ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน) 333 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0 2231 4333 โทรสาร 0 2231 5507-8
ที่ปรึกษากฎหมาย
:
บริษัท สำ�นักงานทนายความสะพานเหลือง จำ�กัด 222/10 ซอยศรีนคร ถนนนางลิ้นจี่ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ 0 2678 0001-5 โทรสาร 0 2678 0006-7
สำ�นักงานใหญ่ :
40
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
300.00 300.00 30.00 30.00 10.00 2,020.41 3,593.39 708.42
ชั้น 25-27 อาคารสาธรนคร 100/48-55, 90/3-6 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0 2636 7900, 0 2238 5058 โทรสาร 0 2636 7997-9 www.navakij.co.th
ล้านบาท ล้านบาท ล้านหุ้น ล้านหุ้น บาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท
COMPANY PROFILE The Navakij Insurance Public Company Limited Public Company Registration No. Type of Business Status as at 31st December 2009 Date listed on the Stock Exchange of Thailand Identification Transfer Agent and Registrar Share Price in 2009
: Founded 23 September 1933 : 0107536000862 : Non-life insurance : : : : :
Authorized registered capital 300.00 million Baht Paid-up capital 300.00 million Baht Number of shares 30.00 million Shares Number of paid-up ordinary shares 30.00 million Shares Par value per share 10.00 Baht Shareholders’ equity 2,020.41 million Baht Total assets 3,593.39 million Baht Unearned premium reserve 708.42 million Baht 24 August 1990 NKI Thailand Securities Depository Company Limited 62 The Stock Exchange of Thailand Building Ratchadapisek Road, Klongtoey Bangkok 10110 Tel. 0 2229 2800 Fax. 0 2654 5427 Highest 70.00 Baht, Lowest 49.50 Baht
Auditor : Principal Banker :
Mr. Sophon Permsirivallop Registration No. 3182 Mrs. Nonglak Pumnoi Registration No. 4172 Miss Rungnapa Lertsuwankul Registration No. 3516 Ernst & Young Office Limited 33th Floor, Lake Rajada Office Complex, 193/136-137 New Rajadapisek Road, Bangkok, Thailand 10110 Tel. 0 2264 0777 Fax. 0 2267 0790 Bangkok Bank Public Company Limited 333 Silom Raod, Kwaeng Silom, Khet Bangrak, Bangkok, Thailand 10500 Tel. 0 2231 4333 Fax. 0 2231 5507-8
Law Consultant
Sapan Leung Law Office Limited 222/10 Soi Srinakorn, Nang Linchee Road, Khet Yannawa, Bangkok, Thailand 10120 Tel. 0 2678 0001-5 Fax. 0 2678 0006-7 25th-27th Floor, Sathorn Nakorn Building, 100/48-55, 90/3-6 North Sathorn Road, Kwaeng Silom, Khet Bangrak, Bangkok, Thailand 10500 Tel. 0 2636 7900, 0 2238 5058 Fax. 0 2636 7997-9 www.navakij.co.th
:
Head Office :
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
41
สำ�นักงานสาขา ภาคกลาง สาขารังสิต
ศูนย์การค้าฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต ชั้น G ห้อง 87/1 เลขที่ 94 ถนนพหลโยธิน ตำ�บลประชาธิปัตย์ อำ�เภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12130
โทรศัพท์ 0 2958 0750-4 โทรสาร 0 2958 0756
สาขาถนนกาญจนาภิเษก เลขที่ 43/15 หมู่ 5 ถนนกาญจนาภิเษก แขวงบางบอน เขตบางบอน กรุงเทพมหานคร 10150
โทรศัพท์ 0 2416 9075, 0 2895 1366-8 โทรสาร 0 2416 3155
สาขาพระราม 9
เลขที่ 9/6 ซอย 7 เสรี 7 ถนนพระราม 9 ตัดใหม่ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250
โทรศัพท์ 0 2300 5562-4 โทรสาร 0 2300 5609
สาขาพระราม 3
อาคารฮั่งเส็งฮวด ชั้น 6 เลขที่ 191/1 ถนนพระราม 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร 10120
โทรศัพท์ 0 2689 0165-70 โทรสาร 0 2689 0171
สาขาสุวรรณภูมิ
เลขที่ 999 หมูท่ ่ี 7 อาคาร 301 เขตปลอดอากร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ชั้นที่ 4 ห้อง 431-432 ถนนบางนา-ตราด กม.15 ตำ�บลราชาเทวะ อำ�เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540
โทรศัพท์ 0 2134 4030-2, 0 2535 5443 โทรสาร 0 2134 4033
สาขานครปฐม
เลขที่ 560 ถนนเพชรเกษม ตำ�บลพระประโทน อำ�เภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000
โทรศัพท์ 0 3427 0060-3 โทรสาร 0 3427 0064
สาขาย่อยสระบุรี สาขาย่อยปราณบุรี
เลขที่ 356/1 ถนนพหลโยธิน ตำ�บลปากเพรียว อำ�เภอเมือง จังหวัดสระบุรี 18000
โทรศัพท์ 0 3623 1751-2, 0 3623 1512-3 โทรสาร 0 3623 1707
เลขที่ 498/4 หมู่ 2 ถนนเพชรเกษม ตำ�บลวังก์พง อำ�เภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77120
โทรศัพท์ 0 3262 3621-3, 0 3282 5758 โทรสาร 0 3262 3624
สาขาพัทยา
เลขที่ 120/12 หมู่ที่ 6 ถนนสุขุมวิท ตำ�บลนาเกลือ อำ�เภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150
โทรศัพท์ 0 3848 9032-5 โทรสาร 0 3848 9036
สาขาเชียงใหม่
เลขที่ 96 ถนนสามล้าน ตำ�บลพระสิงห์ อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
โทรศัพท์ 0 5327 8254-5, 0 5327 8861 โทรสาร 0 5327 8216
สาขาพิจิตร
เลขที่ 4/196-197 ถนนสระหลวง ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดพิจิตร 66000
โทรศัพท์ 0 5661 6560-2 โทรสาร 0 5661 6563
สาขาพิษณุโลก สาขานครสวรรค์
เลขที่ 462/11 ถนนพิชัยสงคราม ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000
โทรศัพท์ 0 5522 0873-6 โทรสาร 0 5522 0877
เลขที่ 605/3-4 หมู่ 10 ถนนเอกมหาชัย ตำ�บลนครสวรรค์ตก อำ�เภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ 60000
โทรศัพท์ 0 5622 8658-60 โทรสาร 0 5622 8661
เลขที่ 177 ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ลำ�ปาง-งาว ตำ�บลสบตุ๋ย อำ�เภอเมือง จังหวัดลำ�ปาง 52100
โทรศัพท์ 0 5421 9039-41 โทรสาร 0 5421 9042
เลขที่ 199/16-17 หมู่ที่ 2 ถนนสายสระบุรี-หล่มสัก ตำ�บลสะเดียง อำ�เภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ 67000
โทรศัพท์ 0 5672 5601-2 โทรสาร 0 5672 5603
ภาคตะวันออก ภาคเหนือ
สาขาย่อยลำ�ปาง สาขาย่อยเพชรบูรณ์
42
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
BRANCH OFFICE Central Future Park Rangsit, Ground Floor, Room G 87/1, 94 Paholyothin Road, Tambol Prachathipat, Amphur Thanyaburi, Patumthani 12130
Tel. Fax.
0 2958 0750-4 0 2958 0756
43/15 Moo 5, Kanchanapisek Road, Kwaeng Bangbon, Khet Bangbon, Bangkok 10150
Tel. Fax.
0 2416 9075, 0 2895 1366-8 0 2416 3155
Rama 9 Branch Office 9/6 Soi 7, Seri 7, New Rama 9 Road, Kwaeng Suanluang, Khet Suanluang, Bangkok 10250 Rama 3 Branch Office 6th Floor, Hung Seng Huat Building, 191/1 Rama 3 Road, Kwaeng Bang Kho Laem, Khet Bang Kho Laem, Bangkok 10120
Tel. Fax.
0 2300 5562-4 0 2300 5609
Tel. Fax.
0 2689 0165-70 0 2689 0171
Suvarnabhumi 999 Moo 7, Building 301, Free Zone, Suvarnabhumi Airport, Branch Office 4th Floor, Room 431-432, Bangna-Trad KM.15, Tambol Racha Thewa, Amphur Bangphli, Samut Prakan 10540 Nakhonpathom 560 Phetkasem Road, Tambol Phraprathon, Amphur Muang, Branch Office Nakhonpathom 73000
Tel. Fax.
0 2134 4030-2, 0 2535 5443 0 2134 4033
Tel. Fax.
0 3427 0060-3 0 3427 0064
Saraburi Sub-Branch
Tel. Fax.
0 3623 1751-2, 0 3623 1512-3 0 3623 1707
Tel. Fax.
0 3262 3621-3, 0 3282 5758 0 3262 3624
Rangsit Branch Office Kanchanaphisek Road Branch Office
356/1 Phahonyothin Road, Tambol Pak Phrieo, Amphur Muang, Saraburi 18000
Pranburi Sub-Branch 498/4 Moo 2, Phetkasem Road, Tambol Wangpong, Amphur Pranburi, Prachuap Khiri khan 77120 East Pattaya 120/12 Moo 6 Sukhumvit Road, Tambol Naklua, Branch Office Amphur Banglamung, Chonburi 20150 North Chiangmai 96 Samlan Road, Tambol Phra-sing, Amphur Muang, Branch Office Chiangmai 50200
Tel. Fax.
0 3848 9032-5 0 3848 9036
Tel. Fax.
0 5327 8254-5, 0 5327 8861 0 5327 8216
Pichit Branch Office
4/196-197 Saruang Road, Tambol Naimuang, Amphur Muang, Pichit 66000
Tel. Fax.
0 5661 6560-2 0 5661 6563
Phitsanulok Branch Office
462/11 Pichaisongkram Road, Tambol Naimuang, Amphur Muang, Phitsanulok 65000
Tel. Fax.
0 5522 0873-6 0 5522-0877
Nakhonsawan Branch Office
605/3-4 Moo 10, Ekmahachai Road, Tambol Nakhonsawantok, Amphur Muang, Nakhonsawan 60000
Tel. Fax.
0 5622 8658-60 0 5622 8661
Lampang Sub-Branch
177 Super Highway Lampang-Ngua, Tambol Sobtui, Amphur Muang, Lampang 52100
Tel. Fax.
0 5421 9039-41 0 5421 9042
Tel. Fax.
0 5672 5601-2 0 5672 5603
Phetchabun Sub-Branch 199/16-17 Moo 2, Saraburi-Lomsak Road, Tambol Sadieng, Amphur Muang, Phetchabun 67000
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
43
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โทรศัพท์ 0 4322 5266-70, 0 4322 5115-6 โทรสาร 0 4322 3724
สาขาขอนแก่น เลขที่ 110-110/1 ถนนศรีจันทร์ ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000 สาขานครราชสีมา เลขที่ 230/11-12 ถนนมิตรภาพ-หนองคาย ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 สาขาอุบลราชธานี เลขที่ 283, 285, 287 ถนนอุปลีสาน ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000
โทรศัพท์ 0 4425 8515, 0 4425 5519 โทรสาร 0 4424 2451
สาขามุกดาหาร
เลขที่ 33/19-20 ถนนชยางกูร ข. ตำ�บลมุกดาหาร อำ�เภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร 49000
โทรศัพท์ 0 4263 1485-7 โทรสาร 0 4263 1488
สาขาอุดรธานี
เลขที่ 419/7-8 ถนนรอบเมือง ตำ�บลหมากแข้ง อำ�เภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000
โทรศัพท์ 0 4224 5878, 0 4232 6280-1 โทรสาร 0 4224 0584
สาขาร้อยเอ็ด
เลขที่ 36/2-3 ถนนเทวาภิบาล ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด 45000
โทรศัพท์ 0 4352 5021, 0 4352 5600-1 โทรสาร 0 4352 5022
สาขาหาดใหญ่
เลขที่ 2/4-5 ถนนราษฎร์ยินดี ตำ�บลหาดใหญ่ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110
โทรศัพท์ 0 7423 0640-1, 0 7434 3063 โทรสาร 0 7422 0771
สาขานครศรีธรรมราช
เลขที่ 187 ถนนพัฒนาการคูขวาง ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000
โทรศัพท์ 0 7532 2030-2 โทรสาร 0 7532 2033
สาขาสุราษฎร์ธานี
เลขที่ 396/14-15 หมู่ 4 ถนนชนเกษม ตำ�บลมะขามเตี้ย อำ�เภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000
โทรศัพท์ 0 7728 9083-4, 0 7721 9102-3 โทรสาร 0 7728 9086
สาขาภูเก็ต
เลขที่ 58/7-8 ถนนเทพกระษัตรี ตำ�บลรัษฎา อำ�เภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000
โทรศัพท์ 0 7623 9671-3 โทรสาร 0 7623 9674
โทรศัพท์ 0 4528 3404-7 โทรสาร 0 4528 3408
ภาคใต้
สาขาย่อยตรัง เลขที่ 100/115 หมู่ที่ 2 ถนนตรัง-ปะเหลียน ตำ�บลโคกหล่อ อำ�เภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 92000
44
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
โทรศัพท์ 0 7559 0060-1 โทรสาร 0 7559 0062
Northeastern Khonkaen Branch Office
110-110/1 Srichan Road, Tambol Naimuang, Amphur Muang, Khonkaen 40000
Tel. Fax.
0 4322 5266-70, 0 4322 5115-6 0 4322 3724
Nakhonratchasima 230/11-12 Mittraphap-Nongkhai Road, Tambol Naimuang, Branch Office Amphur Muang, Nakhonratchasima 30000 Ubon Ratchatani 283, 285, 287 Upaleesarn Road, Tambol Naimuang, Branch Office Amphur Muang, Ubon Ratchatani 34000
Tel. Fax.
0 4425 8515, 0 4425 5519 0 4424 2451
Tel. Fax.
0 4528 3404-7 0 4528 3408
Mukdahan Branch Office
33/19-20 Chayangkul Kor Road, Tambol Mukdahan, Amphur Muang, Mukdahan 49000
Tel. Fax.
0 4263 1485-7 0 4263 1488
Udontani Branch Office
419/7-8 Robmuang Road, Tambol Makkhang, Amphur Muang, Udontani 41000
0 4224 5878, 0 4232 6280-1 0 4224 0584
Roi-Ed Branch Office
36/2-3 Tewapibal Road, Tambol Naimuang, Amphur Muang, Roi-Ed 45000
Tel. Fax. Tel. Fax.
0 4352 5021, 0 4352 5600-1 0 4352 5022
Hat Yai Branch Office
2/4-5 Rajyindee Road, Tambol Hat Yai, Amphur Hat Yai, Songkhla 90110
Tel. Fax.
0 7423 0640-1, 0 7434 3063 0 7422 0771
Nakhonsrithammarat Branch Office Surattani Branch Office
187 Pathanakarnkukwang Road, Tambol Naimuang, Amphur Muang, Nakhonsrithammarat 80000
Tel. Fax. Tel. Fax.
0 7532 2030-2 0 7532 2033 0 7728 9083-4, 0 7721 9102-3 0 7728 9086
Tel. Fax.
0 7623 9671-3 0 7623 9674
Tel. Fax.
0 7559 0060-1 0 7559 0062
Southern
396/14-15 Chonkasem Road, Tambol Makhamtia, Amphur Muang, Surattani 84000
Phuket 58/7-8 Thepkrasatree Road, Tambol Rasada, Branch Office Amphur Muang, Phuket 83000 Trung Sub-Branch 100/115 Moo 2, Trung-Paliand Road, Tambol Koakloi, Amphur Muang, Trung 92000
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
45
ลักษณะการประกอบธุรกิจ BUSINESS PROFILE
ลักษณะการประกอบธุรกิจ 1. การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สำ�คัญ ปี 2476 บริษทั ได้กอ่ ตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 23 กันยายน 2476 ภายใต้ ชื่อ บริษัท หล่วงหลีประกันภัย จำ�กัด โดยเป็นบริษัทรับประกัน วินาศภัยแห่งแรกและแห่งเดียวในย่านฝั่งธนบุรี ปี 2528 บริษัท หล่วงหลีประกันภัย จำ�กัด เปลี่ยนชื่อเป็น “บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด” ปี 2533 เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อ วันที่ 24 สิงหาคม 2533 ปี 2535 นำ�ระบบคอมพิวเตอร์ On-line มาใช้ เพื่อเชื่อมต่อ การปฏิบัติงานสาขาและสำ�นักงานใหญ่ ปี 2536 จดทะเบียนแปรสภาพเป็น “บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน)” ปี 2537 The A.M. Best Company แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ทำ�การสำ�รวจและจัดอันดับ Best Financial Rating ให้บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัทประกันวินาศภัยที่มี มาตรฐานสูง และได้รับรางวัลบริษัทประกันวินาศภัยดีเด่นประจำ�ปี 2537 จากหนังสือพิมพ์เส้นทางเศรษฐกิจ ปี 2540 พัฒนาด้านเทคโนโลยีทั้งระบบ Internet และ เชื่อมต่อระบบสัญญาณดาวเทียม ปี 2545 บริษัทถือหุ้นในบริษัท ประกันภัยสากล จำ�กัด จำ�นวน 2,088,777 หุน้ หรือร้อยละ 99.47 ของทุนจดทะเบียนที่เรียก ชำ�ระแล้ว เพื่อดำ�เนินการควบรวมธุรกิจรับประกันวินาศภัยของบริษัท ประกันภัยสากล จำ�กัด ปี 2546 บริษทั ได้รบั ผลประเมินการกำ�กับดูแลกิจการของบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ให้เป็น “บรรษัทภิบาล” ที่มีผลการประเมินดีเด่นใน กลุ่ม Quartile ที่ 1 ปี 2547 วันที่ 1 มกราคม 2547 บริษทั รับโอนธุรกิจรับประกัน วินาศภัยจากบริษทั ประกันภัยสากล จำ�กัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย (ภายหลัง จดทะเบียนเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น บริษัท นวสากล จำ�กัด) ปี 2548 บริษัทได้รับผลประเมินการกำ�กับดูแลกิจการของ บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ให้เป็น “บรรษัทภิบาล” ที่มีผลการประเมินดีเด่นใน กลุ่ม Quartile ที่ 1 ธันวาคม 2548 บริษัทยื่นคำ�เสนอซื้อหุ้นบริษัท ไทยพาณิชย์ ประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) ที่เหลือทั้งหมด เพื่อขอเพิกถอนจากการ เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ปี 2549 วันที่ 1 เมษายน 2549 บริษัทรับโอนธุรกิจรับประกัน วินาศภัยจากบริษัท ไทยพาณิชย์ประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) (ภายหลัง เปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท ฟอลคอนประกันภัย จำ�กัด (มหาชน)) ซึ่งเป็น บริษัทย่อยที่บริษัทถือหุ้น 5,561,392 หุ้น หรือร้อยละ 92.69 ของทุน จดทะเบียนที่เรียกชำ�ระแล้ว
46
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Business Profile 1. Company’s history and recent major developments 1933 The Company was found on 23 September 1933 as Luang Lee Insurance Company Limited. It was the first and only insurance company located in Thonburi. 1985 The Company changed its name to The Navakij Insurance Company Limited. 1990 It was listed in the Stock Exchange of Thailand on 24 August 1990. 1992 Online computer system was implemented to connect the operation between branch offices and head office. 1993 Transformation to The Navakij Insurance Public Company Limited. 1994 The A.M. Best Company, a US company, evaluated the Company and ranked it as one of the Best Financial Rating that had high standard. It was also awarded an excellent insurance company of 1994 from Sentang Settakij Newspaper. 1997 Developed IT system, internet and satellite access. 2002 It acquired 2,022,777 shares of 99.47% of the paid-up capital of International Assurance Company Limited (IA) for the purpose of merging underwriting operation with IA. 2003 Its corporate governance, evaluated by Institute of Directors for listed companies, was ranked “Good Corporate Governance” having excellence result among the first quartile. 2004 On 1 January 2004 the Company accepted underwriting business which was transferred from IA, its subsidiary (later was re-registered and changed its name to “Navasakol Company Limited”). 2005 The Company’s corporate governance, evaluated by Institute of Directors for listed companies, was ranked “Good Corporate Governance” having excellence result, scored in the first quartile. In December 2005 the Company made tender offer to purchase the remaining shares of the Thai Commercial Insurance Public Company Limited (Thai Commercial) in order to delist it from the Stock Exchange of Thailand. 2006 On 1 April 2006 the Company accepted underwriting business which was transferred from Thai Commercial (later changed its name to Falcon Insurance Public Company Limited), the subsidiary that the company held 5,561,392 shares or 92.69% of its paid-up capital. On 1 July 2006 the Company also accepted underwriting business which was transferred from Ocean General Insurance Company Limited (Ocean) and sold on a private placement basis, 2,057,071 of the newly issued shares or 6.86% of the paid-up capital
วันที่ 1 กรกฎาคม 2549 บริษัทรับโอนธุรกิจรับประกัน วินาศภัยจากบริษัท ไทยสมุทรประกันภัย จำ�กัด และขายหุ้นเพิ่มทุน ของบริษัทเป็นการเฉพาะเจาะจงจำ�นวน 2,057,071 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 6.86 ของทุนจดทะเบียนทีเ่ รียกชำ�ระแล้วให้แก่บริษทั ไทยสมุทรประกันภัย จำ�กัด (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท ไทยสมุทร แอสเซท จำ�กัด) ปี 2550 บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) เป็น บริษัทแรกในธุรกิจประกันวินาศภัยที่ได้รับตราสัญลักษณ์ Q-Mark เพื่อ รับรองมาตรฐานและคุณภาพด้านสินค้าและบริการ จากสภาหอการค้า แห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสมาคมธนาคาร แห่งประเทศไทย หรือคณะกรรมการร่วม (กกร.) บริษทั เปิดสำ�นักงานบริการลูกค้าบริเวณชัน้ 1 อาคารสาธรธานี เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2550 เพื่อรองรับการขยายตัวทางธุรกิจ พร้อมให้ บริการและประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ เช่น การแจ้งอุบัติเหตุ การรับ เรื่องร้องเรียน การรับประกันภัย หรือกิจกรรมทางการตลาด กุมภาพันธ์ 2550 บริษัทขายเงินลงทุนในบริษัท ฟอลคอน ประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) (เดิมชือ่ บริษทั ไทยพาณิชย์ประกันภัย จำ�กัด (มหาชน)) ออกไป คงเหลือ 2,175,992 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 36.27 ของทุน จดทะเบียนที่เรียกชำ�ระแล้ว มิถนุ ายน 2550 บริษทั ขายเงินลงทุนในบริษทั นวสากล จำ�กัด (เดิมชือ่ บริษทั ประกันภัยสากล จำ�กัด) ทีบ่ ริษทั ถือ 2,089,197 หุน้ หรือ ร้อยละ 99.49 ของทุนจดทะเบียนที่เรียกชำ�ระแล้วออกไปทั้งจำ�นวน บริ ษั ท ได้ รั บ ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น สามัญประจำ�ปี 2550 ที่จัดทำ �โดยสำ � นักงานคณะกรรมการกำ �กับ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) อยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม” ระดับคะแนน ≥ 90 ปี 2551 บริษัทได้รับผลประเมินการกำ�กับดูแลกิจการของ บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ให้เป็น “บรรษัทภิบาล” ที่มีผลการประเมินในระดับ “ดีเลิศ” โดยมีช่วงคะแนน 90-100 บริ ษั ท ได้ รั บ ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น สามัญประจำ�ปี 2551 ที่จัดทำ�โดยสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) อยูใ่ นเกณฑ์ “ดีเยีย่ ม” ระดับคะแนน >= 90 สิงหาคม 2551 บริษัท ไทยสมุทร แอสเซท จำ�กัด ขายหุ้นที่ ถือในบริษัท จำ�นวน 2,057,071 หุ้น หรือร้อยละ 6.86 ออกไป ปี 2552 มีการเปลี่ยนโครงสร้างผู้ถือหุ้นของบริษัทโดยบริษัท นิปปอน โคอะ อินชัวรันส์ จำ�กัด บริษัทประกันภัยในประเทศญี่ปุ่นได้ เข้ามาถือหุ้นในบริษัทร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียนที่เรียกชำ�ระแล้ว ในลักษณะที่เป็นพันธมิตรทางธุรกิจ เพื่อขยายตลาดการค้าใหม่ พัฒนา ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีรว่ มกัน เพือ่ เสริมสร้างความแข็งแกร่งทางธุรกิจ และการบริการที่ดียิ่งขึ้น บริษัทพร้อมให้บริการ Navakij Call Center 1748 เพื่อ อำ�นวยความสะดวกให้กบั ผูเ้ อาประกันภัยในการแจ้งอุบตั เิ หตุตลอด 24 ชม. พร้อมแจ้งทำ�ประกันภัย ผ่านบริการหมายเลขโทรศัพท์ 4 หลัก
to Ocean (later changed its name to Ocean Asset Company Limited) 2007 The Navakij Insurance Public Company Limited was the first insurance company to receive “Q-Mark” standards of quality both for products and services, from the joint committee of the Board of Trade of Thailand, The Federation of Thai Industries and The Thai Bankers Association. On 22 January 2007 the Company opened Customer Service Center, located on the ground floor of Sathorn Thani Building, in supporting of expansion in business, offering services and assist customers regarding the Company’s activities i.e. claims reporting, customer complaints, buying insurance cover or other marketing activities. In February 2007 the Company sold its holding in the Falcon Insurance Public Company Limited (formerly Thai Commercial Insurance Public Company Limited). Since then it holds only 2,175,992 shares or 36.27% of the paid-up capital. In June 2007 the Company sold its entire holding of 2,089,197 shares or 99.49% of the registered and paid up capital of Navasakol Company Limited. The Company’s conduct of the annual general shareholders meeting in 2007 was ranked “excellent”, scored above 90 points on the evaluation of Securities Exchange Commission and the Stock Exchange of Thailand. 2008 The Company’s corporate governance evaluated by Institute of Directors (IOD) for listed companies was ranked “excellent” scored 90-100. The Company’s conduct of the annual general shareholders meeting in 2008 was ranked “excellent”, scored above 90 points on the evaluation of Securities Exchange Commission and the Stock Exchange of Thailand. The Ocean Asset Company Limited sold its holding in the company of 2,057,071 shares or 6.86% of the paid-up capital in August 2008 2009 Changes in shareholders structure. Nipponkoa Insurance Company Limited, an insurance Company from Japan, becomes the new shareholder who holds 10% of the Company’s registered and paid-up capital. Nipponkoa signed business cooperation with the Company in order to expand new markets including develop products, services and technologies together for increasing the business strengths and rendering better services. The Company offers 24 hours “Navakij Call Center 1748” to accommodate clients to report a claim and buying insurance cover, just call 4 digit numbers. NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
47
บริ ษั ท ได้ รั บ ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น สามัญประจำ�ปี 2552 ทีจ่ ดั ทำ�โดยสมาคมส่งเสริมผูล้ งทุนไทย อยูใ่ นเกณฑ์ “ดีเยี่ยม” ระดับคะแนน 90-99 บริษัทได้รับคัดเลือกจากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและ ส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ให้เข้ารับรางวัล บริษัท ประกันภัยที่มีการบริหารงานดีเด่น อันดับ 2 และอันดับ 3 ในปี 2550 และปี 2551 บริษัทได้รับการประเมินจากสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสมาคมธนาคารแห่งประเทศไทย หรือคณะกรรมการร่วม (กกร.) ให้ได้รับตราสัญลักษณ์ Q-Mark เพื่อ รับรองมาตรฐานและคุณภาพด้านสินค้าและบริการ เป็นระยะเวลาอีก 2 ปี บริษัทได้รับผลประเมินการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ให้เป็น “บรรษัทภิบาล” ที่มีผลการประเมินในระดับ “ดีเลิศ” โดยมีช่วงคะแนน 90-100 2. การประกอบธุรกิจ ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัทและบริษัทร่วม การประกอบธุรกิจของบริษัทและบริษัทร่วมที่ด�ำ เนินการอยู่ใน ปัจจุบัน มีดังนี้ 2.1 ด้านการรับประกันภัย ธุ ร กิ จ หลั ก ของบริ ษั ท และบริ ษั ท ร่ ว มคื อ การรั บ ประกั น วินาศภัยทุกประเภท ได้แก่ การประกันอัคคีภัย การประกันภัยทาง ทะเลและขนส่ง การประกันภัยรถยนต์ และการประกันภัยเบ็ดเตล็ด แบ่งเป็น • การรับประกันภัยโดยตรง ซึง่ บริษทั จะรับประกันภัยผ่าน ตัวแทน นายหน้า นายหน้านิติบุคคล และสาขาต่างๆ ของบริษัท สัดส่วนการรับประกันภัยโดยตรงเกินกว่าร้อยละ 90 ของเบี้ยประกันภัย รับรวมทั้งสิ้น สำ�หรับบริษัท ฟอลคอนประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ร่วม ช่องทางการขายจะเป็นการขายประกันรายย่อยซึง่ ประกอบด้วย ธนประกันภัยและขายตรง และประกันภัยเชิงพาณิชย์ผา่ นบริษทั นายหน้า • การรั บ ประกั น ต่ อ และจ่ า ยต่ อ ระหว่ า งบริ ษั ท ประกั น วินาศภัยอื่นๆ เพื่อเป็นการกระจายความเสี่ยงในการรับประกันภัย • การประกันภัยแต่ละประเภทแยกกล่าวรายละเอียดใน การประกอบธุรกิจแยกตามสายผลิตภัณฑ์ 2.2 ด้านการลงทุน นอกเหนือจากการดำ�เนินธุรกิจประกันภัยแล้วบริษัทมีการ บริหารจัดการเงินส่วนที่เหลือจากการดำ�เนินธุรกิจประกันภัยอันเป็น ปกติไปลงทุน โดยประเภทการลงทุนและมูลค่าเงินลงทุนเป็นไปตามข้อ กำ�หนดของ คปภ. ว่าด้วยเรื่องการลงทุนของธุรกิจประกันวินาศภัย โดยบริษัทมีการกระจายการลงทุนหลักทรัพย์หลากหลายประเภท เช่น การฝากเงินกับสถาบันการเงิน การซื้อตั๋วสัญญาใช้เงิน พันธบัตรรัฐบาล หุ้นกู้ การลงทุนในหุ้นและหน่วยลงทุน
48
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
The Company’s conduct of the annual general shareholders meeting in 2009 was ranked “excellent”, scored between 90-99 points on the evaluation of Thai Investors Association. The Company received in the second and third place awards respectively for the best managed insurance company of 2007 and 2008 from the Office of Insurance Commission (OIC). The joint committee of the Board of Trade of Thailand, The Federation of Thai Industries and The Thai Bankers’ Association awarded the Company for Q-Mark standard in business and services for another 2 years. The Company has been rated “excellent” and scored between 90-100 from the survey conducted by the Institute of Directors on corporate governance of Thai listed companies. 2. Business profile Business of the Company and the Associated Company Currently the Company and its associated company are engaging in the following business. 2.1 Underwriting Underwriting is the core operation of the Company and its associated company. They write all classes of general insurance i.e. fire, marine and transportation, motor and miscellaneous, etc. These are • Direct insurance. The direct business comes from agents, brokers, broker firms and branch offices and accounts over 90% of the total written premiums. With regard to Falcon Insurance Public Company Limited (Falcon), the associated company channel of sales was retail business consists of bancassurance and direct sales and commercial business from broker companies. • Reinsurance and retrocession is ceded to and accepted from other insurance companies to spread risks. Each class of general insurance is discussed in details under their respective line of business. 2.2 Investment Operations In addition to underwriting, the Company also spends its income on investment in compliance to type of investment and limit for line of investment as specified by OIC’s regulations. The majority of the investment is in deposits with financial institutions, promissory notes, government bonds, debentures, stock and unit trust.
โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทและบริษัทร่วม บริษทั มีบริษทั ร่วม 1 แห่ง ได้แก่ บริษทั ฟอลคอนประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) และมีบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง 1 แห่ง คือ บริษทั นิปปอน โคอะ อินชัวรันส์ โบรคเกอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ดังแสดงในแผนภูมิการถือ หุ้นต่อไปนี้ กลุ่มครอบครัวหวั่งหลี* Wonglee Group*
Holdings structure of the Company and its associated company The Company has one associated company, which is Falcon Insurance Public Company Limited and one connected company, which is Nipponkoa Insurance Broker (Thailand) Company Limited. The corporate holdings structure is displayed as follows: บริษัท นิปปอนโคอะ อินชัวรันส์ จำ�กัด NIPPONKOA Insurance Company Limited
10.00%
53.80% บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) The Navakij Insurance Public Company Limited
36.27%
100%
นิปปอนโคอะ แมเนจเม้นท์ เซอร์วิส (สิงคโปร์) พีทีอี ลิมิเต็ล NIPPONKOA Management Service (Singapore) Private Limited
10.00%
25%
บริษัท ฟอลคอนประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) The Falcon Insurance Public Company Limited
บริษัท นิปปอนโคอะ อินชัวรันส์ โบรคเกอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด NIPPONKOA Insurance Broker Company Limited
หมายเหตุ * กลุ่มหวั่งหลี หมายถึง กรรมการสกุล “หวั่งหลี” และบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ณ วันปิดสมุดทะเบียน 17 มีนาคม 2552
Notesุ * Wanglee group refers to directors from “Wanglee” family and related persons as at the closing date of share registration on 17 March 2009.
3. โครงสร้างรายได้ โครงสร้างรายได้ของบริษัทประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก คือ ราย ได้จากการรับประกันภัย และรายได้จากการลงทุน รายได้ Income
ดำ�เนินการโดย Operator
3. Revenue structure The Company’s revenue comes from 2 main sources, underwriting and investment. 2552 / 2009 2551 / 2008 2550 / 2007 ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ Million Baht % Million Baht % Million Baht %
เบี้ยประกันภัยรับ(2) Written Premiums(2) บมจ. นวกิจประกันภัย อัคคีภัย Fire The Navakij Insurance Plc. 438 21 401 20 440 25 ทางทะเลและขนส่ง Marine & Transporttation 118 6 122 6 113 6 รถยนต์ Motor 1,255 61 1,201 61 883 50 เบ็ดเตล็ด Miscellaneous 108 5 126 6 133 8 รวม Total 1,918 93 1,850 93 1,569 89 รายได้จากการลงทุน Investment Income 140 6 120 6 183 10 รายได้อื่น Other Income 13 1 11 1 15 1 2,071 100 1,981 100 1,767 100 ส่วนกำ�ไร(ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม บมจ. ฟอลคอนประกันภัย(1) 10 - (9) - - Share of income (loss) from investment in The Falcon Insurance Plc.(1) associate รวม Total 2,081 100 1,972 100 1,767 100 หมายเหตุ
1. ในปี 2552 บริษัทถือหุ้นร้อยละ 36.27 ในบริษัท ฟอลคอนประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) 2. เบี้ยประกันภัยรับ หมายถึง เบี้ยประกันภัยรับตรงและเบี้ยประกันภัยรับต่อ แสดงตามงบการเงินรวม โดยในปี 2552 ไม่รวมเบีย้ ประกันภัยของบริษทั ร่วม
Notes 1. The Company holds 36.27% of paid-up capital of The Falcon Insurance Public Company Limited. 2. Written premium means direct written premiums and reinsurance assumed as displayed in the consolidated financial statement however, the written premiums from the associated company were not included in the statement for 2009.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
49
การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์ 1. ลักษณะผลิตภัณฑ์และบริการ บริษัทได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยครบ ทุกประเภท ลักษณะของผลิตภัณฑ์ คือ กรมธรรม์ประเภทต่างๆ ที่ให้ ความคุ้มครองต่อความเสียหายหรือความสูญเสียกับทรัพย์สิน หรือ อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับชีวิตจากเหตุวินาศภัย กรมธรรม์ส่วนใหญ่มีระยะ เวลาคุ้มครอง 1 ปี โดยแบ่งตามประเภทการรับประกันภัย ดังนี้ 1.1 การประกันภัยรถยนต์ ให้บริการรับประกันภัยความเสียหายจากการใช้รถยนต์ เช่น อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการชน หรือคว่ำ� หรือรถสูญหายทั้งคัน ความบาดเจ็บหรือสูญเสียชีวติ ของผูข้ บั ขี่ ผูโ้ ดยสาร และบุคคลภายนอก ความเสียหายต่อทรัพย์สนิ ของบุคคลภายนอก การประกันตัวผูข้ บั ขีแ่ ละ การต่อสู้คดีทางแพ่ง การประกันภัยรถยนต์แบ่งออกเป็น • การรับประกันภัยตามพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองผูป้ ระสบภัย จากรถ พ.ศ. 2535 ทีก่ �ำ หนดให้ผใู้ ช้รถยนต์ทกุ ประเภทต้องทำ�ประกันภัย คุ้มครองค่าเสียหาย ที่เกิดแก่ผู้ประสบภัยจากอุบัติเหตุรถยนต์ • การรับประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ แบ่งออกเป็น 3 หมวด ความคุม้ ครอง ได้แก่ ความคุม้ ครองความเสียหายต่อรถยนต์ ความคุม้ ครอง ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก ความคุม้ ครองรถยนต์สญู หายและไฟไหม้ ทั้งคัน 1.2 การประกันอัคคีภัย ให้บริการรับประกันภัยความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ทรัพย์สิน ต่างๆ เช่น สิ่งปลูกสร้าง ตัวอาคาร เฟอร์นิเจอร์ เครื่องจักร และสต็อก สินค้าที่อยู่ภายในอาคาร ที่มีสาเหตุจากเพลิงไหม้ ฟ้าผ่า รวมถึงภัย อื่นๆ ที่ผู้เอาประกันภัยสามารถเลือกซื้อเพิ่มเติม อย่างเช่น ภัยระเบิด ภัยลมพายุ ภัยน้ำ�ท่วม ภัยแผ่นดินไหว เป็นต้น นอกจากนี้ยังรับประกัน การสูญเสียรายได้อนั เนือ่ งจากธุรกิจหยุดชะงัก ทีม่ สี าเหตุเกิดจากอัคคีภยั และภัยอื่นๆ ที่ได้เลือกซื้อเพิ่มเติม 1.3 การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง ให้บริการรับประกันภัยความเสียหายที่เกิดจากอุบัติเหตุ ระหว่างการขนส่งสินค้าทัง้ ทางรถยนต์ รถไฟ เรือเดินสมุทร หรือเครือ่ งบิน ทั้งในและต่างประเทศ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การประกันภัยสินค้า และการประกันภัยตัวเรือ ทั้งนี้การประกันภัยทางทะเลและขนส่งที่เป็น งานหลักของบริษัทเป็นการประกันภัยสินค้า 1.4 การประกันภัยเบ็ดเตล็ด ให้บริการรับประกันภัยประเภทต่างๆ นอกเหนือจาก ความคุ้มครองของการประกันภัยทีก่ ล่าวมาข้างต้น ได้แก่ • การประกันอุบตั เิ หตุสว่ นบุคคล ให้ความคุม้ ครองการบาดเจ็บ เสียชีวิต หรือทุพพลภาพของผู้เอาประกันอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ • การประกันอุบตั เิ หตุระหว่างการเดินทาง ให้ความคุม้ ครอง การบาดเจ็บจากปัจจัยภายนอกร่างกายของผู้เอาประกันโดยอุบัติเหตุ ในระหว่างการเดินทาง ที่เป็นผลให้ผู้เอาประกันเสียชีวิตหรือสูญเสีย อวัยวะ รวมถึงค่ารักษาพยาบาลอันเนื่องมาจากการบาดเจ็บนั้นด้วย
50
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Operation of Individual Class of Business 1. Profile of Product Lines and Services The Company is licensed to write all classes of general insurance. Insurance products consist of various kinds of policies covering damage or loss of property or loss of life arising from events insured, mostly for a period of one year. They are classified as follows: 1.1 Motor Insurance Motor insurance covers loss or damage against motor accidents, lost car, loss of life and/or property damage to third party and bail bond. This line is divided into: • Motor compulsory insurance which the Protection for Motor Vehicle Accident Victims Act BE. 2535 specifies that all motorists must insure to cover loss of life, bodily injuries caused to victims of car accidents. • General motor insurance which is divided into 3 types of coverage; coverage for own damage, coverage for third party liability and coverage for lost vehicle and fire. 1.2 Fire Insurance Fire insurance covers damage or loss of property such as building, furniture, machinery and stock caused by fire. Additional perils arising from storm, explosion, floods and earthquake may also be insured. There is also cover for business interruption arising from fire and other perils additionally insured. 1.3 Marine and transportation Insurance Marine insurance covers against accidental damage during transportation of cargo by car, train, ship or airplane both domestic and international. This particular line is divided into cargo and hulls insurance. The Company main business is cargo insurance. 1.4 Miscellaneous Insurance Miscellaneous insurance covers other classes not mentioned above, they are • Personal Accidents: covering injury, loss of life or disability caused by accident. • Travel Accidents: covering loss of life, bodily injuries and medical care arising out of an accident while travelling • Personal health and group health: covering for hospitalization expenses such as room and board, meals, medicine, surgery expense, doctor fees, etc. • Loss of income: covering for loss of income while the insured is hospitalized as an in-patient. It pays for daily benefits according to number of days the insured is staying in hospital.
• การประกันสุขภาพส่วนบุคคลและสุขภาพหมู่ คุ้มครอง ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล เช่น ค่าห้องและค่าอาหาร ค่ายารักษา โรค ค่าผ่าตัด ค่าแพทย์ เป็นต้น • การประกันภัยชดเชยรายได้ คุม้ ครองการเข้าพักรักษาตัว เป็นผู้ป่วยใน โดยการจ่ายชดเชยรายวัน ตามจำ�นวนวันทีเ่ ข้าพักรักษาตัว ให้กบั ผูเ้ อาประกันภัย • การประกันภัยมะเร็ง คุ้มครองหากผู้เอาประกันภัย พบว่าเป็นมะเร็งครั้งแรก ซึ่งจะจ่ายค่าทดแทนให้เป็นจำ�นวนเงิน • การประกันภัยผู้เล่นกอล์ฟ คุ้มครองอุบัติเหตุของผู้เอา ประกันภัยระหว่างการฝึกซ้อม หรือเล่นกอล์ฟ รวมถึงอุปกรณ์กอล์ฟ และ รางวัลพิเศษจากการตีโฮล-อิน-วัน และคุ้มครองบุคคลภายนอกที่ได้รับ บาดเจ็บหรือทรัพย์สนิ เสียหายจากการเล่นหรือฝึกซ้อมของผูเ้ อาประกันภัย • การประกันภัยโจรกรรม ให้ความคุม้ ครองทรัพย์สนิ ภายใน สถานทีเ่ อาประกันภัยจากการลักทรัพย์ การปล้นทรัพย์ ชิงทรัพย์ • การประกันความเสี่ยงภัยทุกชนิด ให้ความคุ้มครอง ความเสียหายหรือสูญเสียทรัพย์สินที่เอาประกันภัยอันเนื่องมาจากภัย ทุกประเภทที่มิได้ระบุยกเว้นในกรมธรรม์ • การประกันความเสี่ยงภัยจากวิศวกรรมตามสัญญา ซึง่ ให้ความคุม้ ครองแก่ทรัพย์สนิ ตามโครงการก่อสร้าง เครือ่ งจักรทีน่ �ำ มา ติดตั้งความรับผิดจากการดำ�เนินงานก่อสร้าง หรือการติดตั้งเครื่องจักร อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ในการดำ�เนินงาน รวมถึงความรับผิดต่อบุคคล ภายนอก จากการดำ�เนินงานก่อสร้างหรือติดตั้งนั้นๆ • การประกันภัยเครือ่ งจักร คุม้ ครองทรัพย์สนิ ทีเ่ ป็นเครือ่ งจักร อาทิ เครือ่ งกำ�เนิดไฟฟ้า เครือ่ งจักรเฉพาะทางต่างๆ ฯลฯ ภายใต้อบุ ตั เิ หตุ ที่เกิดขึ้นอย่างไม่ทันคาดคิดจาก อาทิ ความบกพร่องจากการออกแบบ ขาดความชำ�นาญ ไฟฟ้าลัดวงจร การระเบิดในทางฟิสิกส์ หรือการถูก กลั่นแกล้ง • การประกันภัยหม้อกำ�เนิดไอน้ำ� คุ้มครองความเสียหาย ของการระเบิดและยุบแฟบของหม้อไอน้ำ�และถังอัดความดัน ที่เกิด จากความบกพร่องหรือการใช้งานต่างๆ และอันตรายที่เกิดแก่ชีวิต และทรัพย์สินของบุคคลอื่นได้ • การประกันความรับผิดต่อบุคคลภายนอก ให้ความคุม้ ครอง ความรับผิดตามกฎหมายที่ผู้เอาประกันภัยมีต่อบุคคลภายนอก สำ�หรับ ความบาดเจ็บต่อร่างกายหรือการสูญเสียชีวติ หรือความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ ต่อทรัพย์สิน • การประกันเงิน คุ้มครองความเสียหายของเงินภายใน สถานที่เอาประกันภัย ภายในตู้ หรือห้องนิรภัย และภายนอก สถานที่เอาประกันภัยขณะขนส่งตามเส้นทางที่ระบุไว้ • การประกันความซือ่ สัตย์ของลูกจ้าง คุม้ ครองจำ�นวนเงิน ที่นายจ้างสูญเสียไป เนื่องมาจากการฉ้อโกง ยักยอก หรือทุจริตของ ลูกจ้างในหน้าที่ตามที่ระบุไว้ • การประกันภัยอิสรภาพ คุ้มครองกรณีที่ผู้เอาประกัน ภัยถูกดำ�เนินคดี และถูกควบคุมตัวในคดีอาญา อันเนือ่ งมาจากกระทำ�ผิด โดยประมาท แบ่งเป็นก่อนกระทำ�ความผิดและหลังกระทำ�ความผิด
• Cancer: covering and pays for lump sum to the insured who has been diagnosed with cancer. • Golfer: covering for accident to the insured while practicing or playing golf, including golf equipment, the cost of hole-in-one hospitality including liability to the third party for bodily injury and accidental property damage. • Theft: covering robbery and burglary. • All Risks: covering damage or loss of insured property arising from perils not excluded in the policy. • Contractors’ All Risk: providing protection for civil and works during the contract period. Loss or damage to erection machinery including third party liability resulting from such contract works. • Machinery: covering for machinery such as generators, machinery for specific line of industry, etc. against unforeseen sudden physical loss or damage such as faulty in design, lack of skills, short-circuit, physical explosion or carelessness. • Boiler: covering for damage to boiler or pressure vessel and liability of the insured to the third party in respect of bodily injury, loss of life or property damage caused by and solely due to explosion or collapse of boiler or pressure vessel whilst in the course of ordinary working. • Third Party Liability: covering the insured’s legal liability in respect of bodily injuries and/or property damage of third party. • Money: covering loss of cash in insured premise, over the counter or strong room and while being transported on a declared route. • Fidelity Guarantee: covering losses to the employer’s arising from fraud, embezzlement or dishonesty by employees working in a specified duty. • Bail Bond Insurance: to bail out the insured when a person is under arrested or being detained facing charges for committing a crime because of negligence. The cover can be arranged either before or after being accused against an improper action. • Public Liability for Petrol Facilities Controlled Business on Type 3 under Petroleum Control Act: It covers the insured’s legal liability to third party as a result of Fire or Explosion caused by the operation of petrol business or storing petrol or any business within the licensed premises. • Product liability: covering for the legal liability of the insured for harm caused by unsafe products arising from NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
51
• การประกันภัยความรับผิดตามกฎหมาย อันเกิดจาก การประกอบกิจการควบคุมประเภทที่ 3 ตามพระราชบัญญัติควบคุม น้ำ�มันเชื้อเพลิง คุ้มครองความรับผิดตามกฎหมายที่ผู้เอาประกันภัย มีต่อบุคคลภายนอก อันเกิดจากอัคคีภัย หรือการระเบิดอันเกิดจาก การประกอบกิจการน้ำ�มันเชื้อเพลิงหรือการจัดเก็บน้ำ�มันเชื้อเพลิงใน สถานที่ประกอบการ • การประกันภัยความรับผิดตามกฎหมาย ต่อความเสีย หายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย คุ้มครองผู้ประกอบการสำ�หรับ ความรับผิดตามกฎหมายที่เกิดขึ้นจากสินค้าไม่ปลอดภัย อันอาจจะ เกิดจากความบกพร่องของสินค้า • การประกันภัยเบ็ดเตล็ดอื่นๆ นอกจากนี้บริษัทยังมีการรับประกันต่อตามประเภทภัยที่ ระบุไว้ข้างต้น ซึ่งปัจจุบันการรับประกันภัยต่อจากบริษัทประกันต่อ ต่างประเทศมีจ�ำ นวนน้อย ทำ�ให้บริษทั ได้รบั ผลกระทบจากความผันผวน ของอัตราแลกเปลี่ยนเพียงเล็กน้อย 1.5 การประกันต่อ การทำ�ประกันต่อเป็นการกระจายความเสี่ยงในการรับ ประกันภัยของบริษทั ให้อยูใ่ นสัดส่วนทีก่ �ำ หนดไว้ตาม พรบ. ประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 ในกรณีที่บริษัทรับประกันภัยสินทรัพย์ที่มีทุนประกันภัยสูง บริษัทจะพิจารณาทำ�ประกันต่อให้แก่บริษัทรับประกันต่อ เพื่อลด ความเสี่ยงในการรับประกันภัยของบริษัทลง การประกันต่อแบ่งเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ • การประกันต่อแบบเฉพาะราย เป็นการทำ�ประกันภัย ต่อแบบรายต่อราย โดยบริษัทผู้เอาประกันภัยต่อจะต้องแจ้งราย ละเอี ย ดของภั ย แต่ ล ะภั ย ที่ ต้ อ งการทำ � ประกั น ภั ย ต่ อ ให้ บ ริ ษั ท ผู้ รั บ ประกันต่อพิจารณาและอนุมัติเป็นคราวๆ ไป • การประกันต่อตามสัญญา เป็นการทำ�ประกันภัยต่อที่ บริษัทผู้เอาประกันต่อและบริษัทผู้รับประกันต่อได้มีการตกลงไว้ล่วง หน้า โดยทั้งสองฝ่ายจะตกลงในรายละเอียดของภัยที่บริษัทรับประกัน ต่อจะสามารถรับประกันต่อได้ภายในระยะเวลาทีร่ ะบุไว้ในสัญญา ดังนัน้ จึงไม่จำ�เป็นต้องมีการพิจารณาแต่ละภัยอีก หากลักษณะของภัยนั้นๆ เป็นไปตามที่ระบุไว้ในสัญญา การพิจารณากำ�หนดสัดส่วนการรับประกันภัยไว้เอง และ รับประกันภัยต่อบริษัทจะพิจารณาจากเงินกองทุนของบริษัท ลักษณะ ภัย และระดับความเสี่ยงภัยของทรัพย์สินที่เอาประกันภัย ตามนโยบาย ของ คปภ. ที่ให้บริษัทประกันวินาศภัยรับความเสี่ยงภัยไว้เองใน ประเทศ หรือทำ�ประกันภัยต่อกับบริษัทประกันภัยในประเทศ ทำ�ให้ ปั จ จุ บั น บริษัทรับประกันภัยต่อของบริษัทส่วนใหญ่เป็นบริษัทประกัน ภัยในประเทศ และบริษทั จะพิจารณาคัดเลือกบริษทั รับประกันภัยต่อใน ประเทศและต่างประเทศที่มีสถานะทางการเงินที่มั่นคงเป็นเกณฑ์ โดย พิจารณาการจัดอันดับความน่าเชื่อถือสำ�หรับบริษัทรับประกันภัยต่อ โดย S&P หรือ AM Best
52
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
defective products. • Others In addition, the Company also writes reinsurance for all classes of business mentioned above. At present the Company’s reinsurance from aboard are not much, resulting in only a few impacts from the fluctuation of exchange rates. 1.5 Reinsurance Reinsurance is used to spread risks in order to keep the risk retained by the Company within the ratio specified in accordance with the Non-life Insurance Act B.E. 2535. In case of high-sum insured risk, the Company will reinsure to reduce its exposure. Reinsurance can be done as follows: • Facultative Reinsurance is ceded on a case by case basis. Details of each and every risk are given to reinsurers for consideration. • Treaty Reinsurance. Details on the terms and conditions of risks to be reinsured have been agreed in advance between the ceding company and reinsurers. The reinsurers agreed to accept reinsurance of such risks for a period specified in the contract. Criteria on how much to retain and reinsure is depended on the shareholders’fund, nature of risk, and degree of exposure. OIC always encourages insurance companies to retain more or reinsure locally. Following such policy, most of the Company’s reinsurers are local insurance companies. The Company always selects local and overseas reinsurers who are financially secure base upon insurance company rating by S&P or AM Best. 2. Marketing and Competition in the Industry There were 70 general insurance companies in 2009. 64 companies engaged in general insurance. One out of the rest was established under the Protection for Motor Vehicle Accident Victim Act B.E. 2535, to handle compulsory motor insurance. The other 5 companies were doing only health insurance. During 2009 the insurance industry generated premium income of 109,845.43 million Baht, an increase of 3.40% from 2008 (report of the OIC for the year 2009). The top ten largest companies in terms of premium written possess market share totaled to 54.68% leaving the rest to the other 60 companies. The total written premium of 109,845.43 million Baht in 2009, compulsory and voluntary motor insurance produced the largest share of 59.56%, to be followed by miscellaneous, share
2. การตลาดและภาวะการแข่งขัน ในปี 2552 มีบริษทั ประกันวินาศภัยรวมกันทัง้ สิน้ 70 บริษทั ในจำ�นวนนี้เป็นบริษัทที่ทำ�ธุรกิจประกันวินาศภัยถึง 64 บริษัท ที่เหลือ เป็นบริษัทกลางฯ ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม พรบ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 1 บริษัท และเป็นบริษัทที่ทำ�ธุรกิจเฉพาะประกันสุขภาพ อย่างเดียวอีก 5 บริษัท ในปี 2552 ธุรกิจประกันวินาศภัยสามารถผลิต เบี้ยประกันรวมกันได้ถึง 109,845.43 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.40 จากปี 2551 (คปภ., รายงานประจำ�ปี 2552) บริษัทที่ผลิตเบี้ยประกันวินาศภัยได้มากที่สุด 10 อันดับแรก ครอบครองสัดส่วนทางการตลาดถึงร้อยละ 54.68 จากทั้งหมด นอกนั้น เป็นเบี้ยประกันจากอีก 60 บริษัทที่เหลือ เบี้ยประกันภัยที่ผลิตได้ในปี 2552 จำ�นวน 109,845.743 ล้าน บาท ประกอบไปด้วยเบี้ยประกันที่มาจากการประกันรถยนต์ภาคบังคับ และภาคสมัครใจมากที่สุดถึงร้อยละ 59.56 รองลงมาเป็นการประกัน เบ็ดเตล็ดร้อยละ 30.04 ประกันอัคคีภัยร้อยละ 7.09 และประกันทาง ทะเลและขนส่งเพียงร้อยละ 3.31 (บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน), สำ�นักวิจัยและสถิติ) สำ�นักวิจยั และสถิติ บริษทั ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน) คาดการณ์ว่า ณ สิ้นไตรมาสที่ 4 ของปี 2552 เบี้ยประกันรวมจะเป็น 108,918.76 ล้านบาท เท่ากับเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.51 ในขณะเดียวกัน คาดการณ์ว่าอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในปี 2552 จะลดลง ประมาณร้อยละ 2-3 จากปี 2551 โดยการประกันภัยเบ็ดเตล็ดจะมี อัตราการเติบโตสูงสุดที่ร้อยละ 12.8 รองลงมาเป็นการประกันอัคคีภัย ซึ่งจะเติบโตร้อยละ 2.79 สำ�หรับการประกันภัยรถยนต์ที่เคยเติบโตมาก ในปีที่ผ่านๆ มา จะเติบโตลดลงร้อยละ 1.39 ในขณะที่การประกันภัย ทางทะเลและขนส่งจะเติบโตลดลงมากที่สุดถึงร้อยละ 12.91 ซึ่งเป็นผล สื บ เนื่ อ งมาจากภาวะเศรษฐกิ จ ถดถอยที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั่ ว โลกนั บ แต่ ปี 2551 เป็นต้นมา ในปี 2552 คปภ. มีประกาศคำ�สั่งให้เริ่มต้นใช้หลักการชำ�ระ เบี้ยก่อนคุ้มครอง (Cash Before Cover/CBC) กับการประกันภัย รถยนต์ทุกชนิด และคาดว่าหลักการนี้จะถูกนำ�มาใช้กับการประกันภัย ประเภทอื่นๆ ในระยะเวลาอันใกล้ นอกจากนี้ยังกำ�หนดให้เริ่มใช้การ ดำ�รงเงินกองทุนตามความเสี่ยง (Risk-Based Capital/RBC) กับธุรกิจ ประกันภัยทั้งระบบในปี 2554 มีผลให้แต่ละบริษัทจะต้องมีเงินกองทุน เพียงพอตามระดับความเสี่ยงที่แท้จริงของแต่ละบริษัท บริษัทต่างๆ จำ�เป็นจะต้องปรับเปลี่ยนวิธีการทำ�งานและวิธีการทำ�ธุรกิจกันอย่าง ขนานใหญ่ คาดกันว่าจะมีผลให้เกิดการควบรวมบริษัทประกันวินาศภัย เข้าด้วยกัน และบริษทั ประกันวินาศภัยหลายแห่งจะต้องเพิม่ ทุนจดทะเบียน เพื่อให้มีเงินกองทุนเพียงพอตามระดับความเสี่ยงที่แท้จริงภายใต้กรอบ RBC เพื่อให้สามารถดำ�เนินธุรกิจต่อไปด้วยความมั่นคงและน่าเชื่อถือ เชื่อว่าจำ�นวนบริษัทประกันวินาศภัยมีโอกาสที่จะลดจำ�นวนลงจากเดิม มาก การแข่งขันทางด้านราคาจะมีขอ้ จำ�กัดมากขึน้ เพราะบริษัทประกัน วินาศภัยจะต้องบริหารความเสี่ยงในด้านต่างๆ อย่างมีวินัยและ รอบคอบมากขึ้น การกำ�หนดอัตราเบี้ยประกันภัยต้องคำ�นึงถึงต้นทุน
of 30.04%, fire and marine and transportation, share of 7.09% and 3.31% in respectively. (Research and Statistics Department of Thai Reinsurance Public Company Limited) Research and Statistics Department of Thai Reinsurance Public Company Limited estimated at the end of the 4th quarter 2009 the written premiums would total 108,918.76 million Bath, an increase of 2.51%. It also estimated that economy growth in 2009 would reduce from 2008 to 2-3%. Miscellaneous would have the highest growth of 12.8% and fire of 2.79%. Motor that previously had enjoyed favorable high growth rate would have growth rate reduced by 1.39% while marine and transportation growth rate would suffer the highest decrease of 12.91% due to recession in world wide economy since 2008. During 2009 the OIC had ordered “cash before cover/ CBC” principle to be applied to all classes of motor insurance and it is expected that eventually in the near future this principle may apply to all other classes of business. The OIC also initiated risk based capital (RBC) principle on insurance industry of which it will become effective from 2011. As a result, all insurance company must maintain shareholder’s fund sufficiently to meet risks it actually assumed. Insurance companies must undergo many changes in work process and business approaches which merging between companies is expected. Many companies must increase share capital to make their shareholders’ fund appropriate to level of risks actually assumed under RBC principle in order to continue a secure and reliable operation. Numbers of insurance company will largely reduce. There will be more barriers to price competition because insurance companies must manage several aspects of risk with increasing discipline and cautiously attentive. In making quotations more considerations will be given to cost, risk and expenses than before. Competition in the future will be on good business skills and risk management. Competition will be on product design that meets the needs of each customer group including efficiency to provide faster services, and differentiate from competitors rather than solely on pricing as it is now. 2.1 Policy and Market Profile of major products • Competition Strategy The Company concentrates on designing new products and service, developing and penetrating new channels, efficiency in cost management, developing human resource while developing in new information technology for its work process whether inside or outside the Company. It also manages all resources for cost efficient and effective, always and regularly NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
53
ความเสี่ยงภัยและค่าใช้จ่ายมากกว่าในปัจจุบันมาก ในอนาคตการ แข่งขันจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความชำ�นาญในการทำ�ธุรกิจและการ บริหารความเสี่ยง การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผู้บริโภค แต่ละกลุ่ม รวมถึงการพัฒนาบริการให้รวดเร็วมีประสิทธิภาพ และ สร้างความแตกต่างจากคู่แข่งขันมากกว่าที่จะเน้นการแข่งขันราคา เพียงอย่างเดียวดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน 2.1 นโยบายและลักษณะการตลาดของผลิตภัณฑ์หรือบริการทีส่ �ำ คัญ • กลยุทธ์ทางการแข่งขัน บริษัทมุ่งที่จะออกแบบสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และการ บริการ พัฒนาและเจาะตลาดในช่องทางการขายใหม่ๆ เน้นการบริหาร ต้นทุนต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ บริหารทรัพยากรมนุษย์ไปพร้อมๆ กัน กับการบริหารปรับปรุงเทคโนโลยี่สมัยใหม่ให้สอดคล้องกับระบบงานทั้ง ภายนอกและภายในบริษัท บริหารทรัพยากรต่างๆ ด้วยความประหยัด และให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด ปรับปรุงการบริการด้านต่างๆ ให้เหมาะสม กับการบริหารการขายที่ผ่านช่องทางตัวแทน นายหน้า และลูกค้าของ บริษัท เป็นไปด้วยความสม่ำ�เสมอและต่อเนื่อง สอดคล้องกับสภาพ แวดล้ อ มเศรษฐกิ จ และสั ง คมที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว ใน ปัจจุบัน เน้นการสร้างเครือข่ายการบริการและการขาย โดยการขยาย สาขาให้ครอบคลุมจังหวัดสำ�คัญๆ ทั่วประเทศ รวมทั้งมุ่งเน้นการ บริหารความสัมพันธ์กับหน่วยงานหรือองค์กรทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้การบริการที่ครอบคลุม และมีมาตรฐานที่ดีกับลูกค้าของบริษัท นอกจากนัน้ บริษทั ยังมุง่ ทีจ่ ะสร้างภาพลักษณ์ รักษาภาพพจน์และชือ่ เสียง ในการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ และบริ ก ารของบริ ษั ท ให้ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ของ สาธารณชนและสังคม โดยการบำ�เพ็ญประโยชน์และตอบแทนสังคม ส่วนรวมอย่างสม่ำ�เสมอและต่อเนื่อง บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) เป็นบริษัท ประกันวินาศภัยขนาดกลาง ที่เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ตั้งแต่ปี 2536 ร่วมสมัยกับประวัตศิ าสตร์เศรษฐกิจของประเทศไทยมานาน เกือบ 8 ทศวรรษมีประสบการณ์ร่วมกับการเติบโตและวิกฤตการณ์ ต่างๆ ในวงจรเศรษฐกิจของไทยมาอย่างต่อเนื่อง ตลอดระยะเวลาที่ ผ่านมาบริษัทดำ�เนินธุรกิจโดยเน้นธรรมาภิบาล มีความโปร่งใส เน้น ความเป็นธรรมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง ยึดถือในเรื่อง จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ โดย คำ�นึงถึงผลกระทบต่อสังคมมาอย่างสม่ำ�เสมอ นอกจากนี้บริษัทยังเน้น การพัฒนาบุคลากรไปพร้อมๆ กับการพัฒนาเทคโนโลยี่มาโดยตลอด เป็นหนึ่งในบริษัทที่ปรับตัวเปลี่ยนแปลงกับสภาพการแข่งขันในยุค โลกาภิวัฒน์ได้เป็นอย่างดี บริษัทดำ�เนินกลยุทธ์ทางด้านการตลาดด้วยการสร้าง เครือข่ายให้ครอบคลุมพื้นที่ยุทธศาสตร์สำ�คัญๆ มีสาขาถึง 26 แห่งใน จังหวัดใหญ่ๆ ทัว่ ทุกภูมภิ าคของประเทศ บริหารการสือ่ สารและจัดการ ข้อมูลให้ทั่วถึงกันด้วยระบบคอมพิวเตอร์ On Line ทุกแห่ง • ลักษณะลูกค้าและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย กลุม่ ลูกค้าส่วนใหญ่ของบริษทั จะเป็นภาคธุรกิจและการค้า ที่เป็นผู้ประกอบการในด้านอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม ตั้งแต่ขนาด
54
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
makes adjustments of services in order to match the sale channel that goes through agents, brokers and customers in accordance to rapid changes in economy and social. It emphasizes on building good working relationship with work unit or state and private organizations to provide comprehensive services with good standard. In addition the Company aims to build and maintain good corporate image and reputation of its business and services with the community and society at large. It regularly and continuously gets participation in charity functions and makes steady contributions to society. The Navakij Insurance Public Company Limited is a medium size company that listed in the SET since 1993. It is a part of Thai economy for almost 8 decades and experienced growth and crisis in Thai economy. The Company always adopts principles of good corporate governance in business practice, transparency, emphasizing on fairness to stakeholders, morality and business ethics. It always conducts business with considerations of impacts to the community. In addition it regularly develops human resources as well as technologies and is well adjusted to globalize competition. The Company makes marketing strategy to build up network that covers major areas of the country, with 26 branch offices in major cities and all regions. Branches are well connected with communication system and on-line computer network. • Clients and target clients profile The Company’s major clients come from industrial and commercial sectors ranking from smaller to large enterprises, with capital fund of bil ion Baht, that are aware of risk management. They insure property, cargo including all other legal third party liability. Besides the above a large number household have their property and personal accident insurance, with the Company, to reduce their risk exposure. In addition the Company also has done business with government organizations and state enterprises. • Target clients The target clients are as follows: 1. Business sector. It is local industrial and service companies of all sizes that are conscious of risk management. Included is also companies of which main business are in production or services and those who do import and export. 2. Household. Middle class individual who earns above average income, has dependents, whether single or mixedfamily. Most of them own some assets and some obligations
เล็กไปจนกระทั่งขนาดใหญ่ที่มีเงินทุนหมุนเวียนหลายๆ พันล้านบาท ที่ต่างก็ตระหนักถึงการบริหารความเสี่ยงของตนด้วยการทำ�ประกันภัย ทรัพย์สิน ประกันการขนส่งสินค้า รวมถึงการประกันความรับผิดใน ด้านต่างๆ ทีอ่ ยูภ่ ายใต้กฎหมาย นอกจากลูกค้าในภาคธุรกิจและการค้าที่ กล่าวมาแล้ว บริษัทยังมีลูกค้ารายย่อยในภาคครัวเรือนเป็นจำ�นวน มากที่มาใช้บริการทางด้านการประกันภัยวัตถุประสงค์เพื่อลดความ เสีย่ งภัยทัง้ ในด้านทรัพย์สนิ และอุบตั เิ หตุตา่ งๆทีอ่ าจจะเกิดขึน้ นอกจากนี้ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายของบริษัท แบ่งได้ดังนี้ 1. ภาคธุรกิจ เป็นกลุ่มธุรกิจที่มาจากภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการขนาดต่างๆ ภายในประเทศที่ตระหนักถึงการบริหาร ความเสี่ยง บริษัทมุ่งเน้นในกลุ่มภาคการผลิต ภาคบริการ และการ ค้าระหว่างประเทศที่จะต้องนำ�เข้าหรือส่งออกสินค้าเป็นสำ�คัญ 2. ภาคครัวเรือน ชนชัน้ กลางทีเ่ ป็นบุคคลทัว่ ไปซึง่ มีรายได้ ปานกลางขึ้นไป มีบุคคลในครอบครัวที่จะต้องดูแลรับผิดชอบทั้งที่ เป็นครอบครัวเดีย่ วและครอบครัวผสม ส่วนใหญ่จะมีทรัพย์สนิ หลายอย่าง อยู่ในครอบครองและรับผิดชอบ เช่น บ้านอยู่อาศัย รถยนต์ หรือ ทรัพย์สินส่วนบุคคลต่างๆ เป็นต้น 3. องค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐ • การจำ�หน่ายและช่องทางการจำ�หน่าย บริษทั จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ผา่ นช่องทางต่างๆ หลายช่องทาง ด้วยกัน บริษัทมุ่งเน้นความสมดุลทั้งในมิติของชนิดผลิตภัณฑ์ และมิติ ของช่องทางการจัดจำ�หน่าย ทั้งนี้เพื่อเป็นการบริหารความเสี่ยงใน การดำ�เนินธุรกิจของบริษัทให้มีความมั่นคง และเวลาเดียวกันก็เป็น การขยายศักยภาพในการแข่งขันของบริษัทไปด้วยในตัวเอง ช่องทาง การจัดจำ�หน่ายที่สำ�คัญๆ คือ 1. จำ�หน่ายผ่านตัวแทนและนายหน้าประกันวินาศภัย โดยมีทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล 2. จำ�หน่ายโดยผ่านสถาบันการเงินต่างๆ เช่น ธนาคาร บริษัทเงินทุน บริษัทเช่าซื้อ และสหกรณ์ออมทรัพย์ เป็นต้น 3. จำ�หน่ายโดยตรง ส่วนใหญ่จะเป็นลูกค้าหรือองค์กรธุรกิจ ขนาดใหญ่ที่ไม่ต้องการติดต่อผ่านคนกลาง 4. การจำ�หน่ายโดยผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ เช่น การจำ�หน่ายผ่านระบบโทรศัพท์ การจำ�หน่ายผ่านระบบไปรษณีย์ ทั้งทางไปรษณีย์ธรรมดา และไปรษณีย์อีเลคทรอนิค 5. การจำ�หน่ายผ่านเครือข่ายสาขาของบริษัท ที่ตั้งอยู่ ในจังหวัดใหญ่ๆ ทั่วประเทศ การจัดจำ�หน่ายและช่องทางการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ บริษัทจะติดต่อกับตัวแทน นายหน้า และสถาบันการเงินเป็นส่วน ใหญ่ สำ�หรับสาขาของบริษัท นอกจากการให้บริการสินไหมทดแทน แล้วยังทำ�หน้าที่ในการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์และดูแลตัวแทนนายหน้า ตลอดจนลูกค้าของบริษัทด้วย ทั้งนี้บริษัทยังมุ่งเน้นและหลีกเลี่ยง การพึ่งพิงลูกค้ารายใดรายหนึ่งที่มีสัดส่วนเกินร้อยละ 30 ด้วย 2.2 สภาพการแข่งขันภายในอุตสาหกรรม • ทิศทางการขยายงาน สภาวะอุตสาหกรรม และสภาวะ การตลาด
such as houses, cars and other assets etc. 3. Government organization or government unit. • Sales and Sales Channel The Company’s products are distributed through several sale channels. It concentrates on having a balance on both product types and channels of sales to secure operation risk management and at the same time expands potential for competing. Main sale channels are as follows: 1. Insurance agents and brokers both individual and legal entity 2. Financial institutions such as banks, finance companies, mortgage loan companies, saving co-operative and etc. 3. Direct sale to major clients and large corporations that want to deal directly 4. Other channels such as sales by telephone, mail and electronic mail 5. Network of branch offices in major towns throughout Thailand The Company distributed sale products through agents, brokers and financial institutions as main sale channels. Branch offices, besides providing claims services, also handle distribution of products and agents, brokers and clients administration. The Company avoids depending on major clients whose business is above 30%. 2.2 Competition • Expansion directions, industry and marketing situation Recession in world and Thai economy since late 2008 has big impact on insurance industry both in terms of underwriting and investment especially during the 1st quarter of 2009. However, in the later quarters the economy showed improved conditions as a world economy recovered. It is expected written premiums in 2009 would increase from last year by 2.5%, from the growth in fire and miscellaneous premiums. Fire and miscellaneous, in respectively would increase by 2.8% and by 12.8% while marine and transportation would decrease by 12.9%. Motor was expected to decrease by 1.39%. Trends and changes in insurance industry both presently or future are indicated by motor insurance as it occupies the largest 60% share of written premiums of each year, especially voluntary motor represented 50% of the total written premiums in 2008. When the Thai economy showed prospects for recovery, expectantly voluntary premium will follow in good direction. NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
55
ผลจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยของเศรษฐกิจโลกและ ไทยนับตั้งแต่ปลายปี 2551 ส่งผลกระทบต่อผลการดำ�เนินงานของ ธุรกิจประกันวินาศภัยค่อนข้างมาก ทั้งในด้านการรับประกันภัยและ ด้านการลงทุน โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสแรกของปี 2552 อย่างไรก็ดีใน ช่วงครึ่งปีหลังเศรษฐกิจมีการปรับตัวในทางที่ดีขึ้นจากการฟื้นตัวของ เศรษฐกิจโลก ทำ�ให้มีการคาดการณ์ว่าธุรกิจประกันวินาศภัยในปี 2552 จะมีเบี้ยรับตรงเติบโตเพิ่มขึ้นราวร้อยละ 2.5 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา จากการเติบโตของการประกันอัคคีภัยและเบ็ดเตล็ด โดยการประกัน อัคคีภัยจะมีเบี้ยรับโดยตรงเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.8 และประกันเบ็ดเตล็ดมี เบี้ยรับโดยตรงเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.8 ขณะที่การประกันภัยทางทะเลและ ขนส่งจะชะลอตัวลงร้อยละ 12.9 ส่วนการประกันภัยรถยนต์คาดว่าจะมี เบี้ยรับตรงลดลงร้อยละ 1.39 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจประกันวินาศภัยทั้ง ในปัจจุบันและอนาคตยังคงถูกกำ�หนดโดยประกันภัยรถยนต์ เนื่องจาก มีสัดส่วนเบี้ยประกันภัยต่อรายรับทั้งหมดของธุรกิจสูงถึงร้อยละ 60 ต่อ ปี โดยเฉพาะประกันภัยภาคสมัครใจที่ทำ�รายได้คิดเป็นร้อยละ 50 ของ เบี้ยทั้งหมดในปี 2551 ดังนั้นเมื่อเศรษฐกิจภายในประเทศมีแนวโน้มที่ จะฟื้นตัว คาดว่าประกันรถยนต์ภาคสมัครใจของผู้บริโภคน่าจะเริ่ม ปรับเปลี่ยนไปในทิศทางที่ดีขึ้น สำ�หรับกฎระเบียบและมาตรการต่างๆ ที่ คปภ. ทยอย ออกมาบังคับใช้ โดยเฉพาะการดำ�รงเงินกองทุนตามความเสี่ยง (RiskBased Capital: RBC) จะทำ�ให้โครงสร้าง และการแข่งขันของธุรกิจ เปลี่ยนแปลงอย่างมีนยั สำ�คัญ บริษทั ประกันภัยทีไ่ ม่สามารถปรับตัวหรือมี เงินกองทุนเพียงพอ อาจจะต้องเสี่ยงกับการถูกควบรวมธุรกิจ ขณะที่ ต้นทุนการทำ�ธุรกิจจะเพิ่มสูงขึ้นจากการรักษาระดับและการได้มาซึ่ง เงินกองทุนตามข้อบังคับ โดยต้นทุนการทำ�ธุรกิจที่สูงนี้ย่อมเป็นการ เสียเปรียบทางด้านการแข่งขันกับธุรกิจประกันภัยในอาเซียน อันเกิด จากการเปิดเสรีธุรกิจประกันภัยในอนาคตอันใกล้ แนวโน้มธุรกิจประกันวินาศภัยในปี 2553 สำ�นักวิจัย และสถิติ บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน) คาดการณ์ว่า เบีย้ ประกันภัยรับของธุรกิจประกันวินาศภัยจะเติบโตร้อยละ 5.6 เทียบกับ ปี 2552 โดยคาดว่าการใช้จ่ายภาครัฐด้านการลงทุนภายในประเทศ ภายใต้แผนปฏิบตั กิ ารไทยเข้มแข็งทีเ่ ริม่ ตัง้ แต่ปลายปี 2552 จะสนับสนุน ต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในปี 2553 อย่างเป็นรูปธรรมมากยิง่ ขึน้ และจะส่งผลกระทบที่เป็นบวกกับธุรกิจประกันวินาศภัยโดยเฉพาะการ ประกันอัคคีภัย การประกันความเสี่ยงภัยทรัพย์สินและการประกันภัย วิศวกรรม ขณะทีก่ ารประกันภัยรถยนต์โดยเฉพาะภาคสมัครใจมีแนวโน้ม กลับมาเติบโตอีกครั้ง แต่ความผันผวนของราคาเชื้อเพลิงและอัตรา แลกเปลี่ยนที่ถูกประเมินว่าจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในปี 2553 จะมี ส่วนทำ�ให้อตั ราการเจริญเติบโตทีจ่ ะเกิดขึน้ ไม่เป็นทีน่ า่ พอใจสักเท่าไหร่นกั เมื่อเทียบกับแนวโน้มในช่วงปี 2547-2551 ที่เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 9 ต่อปี • สภาวะการตลาดและกลยุทธ์ทางการแข่งขัน บริษัทได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบต่างๆ ในธุรกิจประกันวินาศภัย และ
56
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Regulations and measurements of the OIC that would gradually come into force especially risk base capital (RBC) principle that will have significant impact on structure and competition of insurance companies. The Company that is not able to cope with changes or dose not have sufficient shareholders’ fund will probably be a candidate for merging. At the same time cost of doing business will definitely increase as a result of maintaining and getting the required statuary shareholders’ fund. The higher cost will put them at a disadvantage position to compete with insurance companies from Asian countries when the market opens in the near future. The Research and Statistics Department of Thai Reinsurance Plc. predicted that written premiums would grow positively up to 5.6% in 2010. Investments from government sector under action plan of the“Strong Thailand” which started since late 2009 would boost Thai economy in 2010 and have positive impact to the insurance industry especially fire, property all risk and engineering insurance. There is also trend for voluntary motor to grow again. However, fluctuation in oil price and exchange rate expected to tremendously increase in 2010 would be factors that creates unfavorable growth when compares with average growth rate of 9% per year during 2004-2008. • Market situation and strategy to compete The Company understands and realizes the impact from changes in regulations having on insurance industry and increasing fierce competition from opening up the industry. The Company evaluated its shareholders’ fund against risks assumed in order to assess the potential impacts on risk base capital principle that will come into force in 2011. The evaluation result is used to make strategic plans for operations and investment for the next 3-5 years, creating maximum value to stakeholders. In future the objectives of expansion will not base solely on benefit the Company received but rather will take into account to ascertain whether the yield against risks assumed is worthwhile and the impact to shareholders’ fund and interest of stakeholders is in the long run. The Thai economy was much slowed down during 2008 from inside political problems and recession in the US economy that still showed some continued impact toward 2009. Thai Reinsurance Plc. forecasted the written premiums in 2008 would grow from 2007 to 5.4%, achieved a total of 1.06 hundred billion Baht and the growth rate of 2009 is expected to grow from 2008 to 2.4%.
การแข่งขันที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นจากการเปิดเสรีธุรกิจประกันภัย โดยบริษัทได้มีการประเมินความเพียงพอของเงินกองทุนตามระดับ ความเสี่ยงของบริษัท โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบจาก การเริ่มบังคับใช้หลักการดำ�รงเงินกองทุนตามความเสี่ยง (Risk-Based Capital) ในปี 2554 และนำ�มาวางแผนกลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจ และ การบริหารเงินกองทุนของบริษัทในระยะ 3-5 ปี ให้ก่อเกิดประโยชน์ สูงสุดต่อผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท โดยในอนาคตการตั้งเป้าหมายการ ขยายงานของบริษัทจะไม่ได้คำ�นึงถึงเฉพาะผลตอบแทนที่บริษัทได้รับ เพียงอย่างเดียว แต่จะประเมินความคุม้ ค่าของผลตอบแทนกับความเสีย่ ง ในแต่ละด้าน และผลกระทบต่อเงินกองทุนและผลประโยชน์ต่อผู้มีส่วน ได้เสียของบริษัทในระยะยาว เศรษฐกิจของไทยในปี 2551 ที่ชะลอตัวลงอย่างมาก จากปัญหาทางด้านการเมืองภายในประเทศ ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำ�ใน ประเทศสหรัฐอเมริกาที่จะส่งผลต่อเนื่องมาถึงปี 2552 บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน) คาดการณ์วา่ ผลประกอบการของอุตสาหกรรม การประกันวินาศภัยปี 2551 จะเติบโตประมาณร้อยละ 5.4 เมื่อเทียบ กับปี 2550 โดยมีเบี้ยประกันภัยทั้งระบบประมาณ 1.06 แสนล้านบาท และคาดว่าในปี 2552 จะเติบโตประมาณร้อยละ 2.4 เมือ่ เทียบกับปี 2551 ในฐานะที่เป็นบริษัทที่ดำ�เนินธุรกิจประกันภัยมานานถึง 76 ปี จากประสบการณ์ที่ยาวนานทำ�ให้บริษัทมีความชำ�นาญทางด้าน การบริหารความเสี่ยงทางด้านการรับประกันภัย ทางด้านการเงิน และ ในด้านการดำ�เนินงานเป็นอย่างดี เป็นบริษทั ของคนไทยทีม่ คี วามแข็งแกร่ง ทางด้านการเงินในระดับแนวหน้าในอุตสาหกรรมการประกันวินาศภัย มีสินทรัพย์รวม ณ สิ้นปี 2552 จำ�นวน 3,593 ล้านบาท โดยมีเงิน กองทุนอยู่ในระดับสูงและเพียงพอที่จะขยายธุรกิจเพิ่มขึ้นตามแผน กลยุทธ์ทางการตลาด ที่จะต้องใช้ในการขยายงานด้านต่างๆ บริษัท เน้นทีจ่ ะหลีกเลีย่ งการแข่งขันทางด้านราคา โดยดำ�เนินกิจกรรมทางการตลาด ทีส่ ร้างผลกำ�ไรอย่างแท้จริงให้กบั บริษทั บริหารการตลาดให้มมี าตรฐาน และมุ่งที่จะให้เป็นไปตามหลักการบรรษัทภิบาลให้ความสำ�คัญกับภาพ ลักษณ์ทด่ี ขี ององค์กร ในฐานะทีเ่ ป็นสมาชิกหน่วยหนึง่ ในสังคม ปรับปรุง และลดขั้นตอนการทำ�งานให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องและสม่�ำ เสมอ มุ่งขยายช่องทางการขาย ออกแบบปรับปรุงผลิตภัณฑ์และบริการให้ เหมาะสมกับสภาพการณ์การแข่งขันในธุรกิจอยูต่ ลอดเวลา รวมถึงการขยาย สัดส่วนทางการตลาดของแต่ละผลิตภัณฑ์ให้เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้เกิด การประหยัดต่อขนาดด้วยในเวลาเดียวกัน นโยบายการดำ�เนินธุรกิจด้วยหลักการบรรษัทภิบาลโดย เน้นความเป็นธรรม สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ให้ความสำ�คัญเรื่อง ความรับผิดชอบและเชื่อถือได้ทั้งกับลูกค้า ผู้ถือหุ้น และผู้ที่เกี่ยวข้อง ต่างๆ รวมถึงต่อสังคมโดยรวม การจัดทำ�แผนกลยุทธ์ทางการตลาดได้ เน้นที่จะเพิ่มสัดส่วนทางการตลาดไปพร้อมๆ กับการสร้างผลกำ�ไรให้ มากขึ้น มุ่งในการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้ทัดเทียมกับ คู่แข่งขัน เพื่อให้เป็นบริษัทชั้นแนวหน้าในอุตสาหกรรมประกันวินาศภัย ประเทศ
The Company has a 76 years well experience of underwriting, expertise in underwriting, finance and operation management and is one of financial strong and secured companies in the industry. The assets as at the end of 2009 totaled 3,593 million Baht and very strong shareholders’ equity is sufficient to meet future business expansion plans. Pricing is not a key strategy in competing with others; it rather emphasizes on marketing strategies that will bring in real profit and consideration is given to standards of marketing management as well as in compliance with principles of good governance. As a member of community it also pays attention to good corporate image. It also evaluates work process and revises workflow to improve efficiency including looking for new sale channels, regularly revising and designing products to meet competition in the industry including increase market share of each product line for economy of scale. The Company conducts business on principles of good corporate governance, has good and effective communication, and emphasizes on responsibility and reliability to clients, shareholders, and others related parties including the society as a whole. It has strategy plans to gain market share at the same time to make more profit, increase competitiveness edge among competitors and become one of the leaders in the industry
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
57
หน่วย : ล้านบาท Unit : Million Baht
ส่วนแบ่งการตลาดปี 2552 / Market share in 2009 ประเภท Class of Business
อัคคีภัย Fire ทะเลและขนส่ง Marine and transportation รถยนต์ Motor เบ็ดเตล็ด Miscellaneous
รวมทุกประเภท Total
อัตราการ เติบโต Growth Rate
สัดส่วน ผลิตภัณฑ์ Products Mix
228.24 111.59 1,254.52 243.73
-1.82% -0.03% 4.47% 18.04%
12.42% 6.07% 68.25% 13.26%
2.93% 3.07% 1.92% 0.74%
3.10% 2.66% 1.87% 0.68%
1,838.07
4.95%
100%
1.67%
1.65%
ในปี 2552 บริษทั มีเบีย้ ประกันภัยรับโดยตรงทัง้ สิน้ จำ�นวน 1,838 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 4.95 โดยบริษัทมีส่วนแบ่ง ทางการตลาด ณ ธ.ค. 2552 อยู่ที่ร้อยละ 1.67 เพิ่มขึ้นจากปี 2551 ที่ ร้อยละ 1.65 จากการเพิม่ ขึน้ ของส่วนแบ่งทางการตลาดของการประกันภัย รถยนต์ การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง และการประกันภัยเบ็ดเตล็ด ผลจากการเติบโตของแหล่งงานภายในของบริษทั เอง และธุรกิจทีบ่ ริษทั ได้รับจากพันธมิตรทางธุรกิจของบริษัท 3. การจัดหาผลิตภัณฑ์และบริการ ผลิตภัณฑ์และบริการส่วนใหญ่คิดค้นและพัฒนาโดยบริษัท ซึ่ง มีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง เพื่อการปรับปรุง ทบทวนผลิตภัณฑ์ที่ ออกจำ�หน่ายแล้ว ตลอดจนการนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เข้าสู่ตลาดให้ สอดคล้องกับความต้องการ ช่องทางการจำ�หน่าย จุดแข็งของบริษัท และภาวะเศรษฐกิจในประเทศและต่างประเทศโดยสม่ำ�เสมอ การนำ� เสนอผลิตภัณฑ์จะมีทั้งผลิตภัณฑ์ในกลุ่มรถยนต์และที่ไม่ใช่รถยนต์ โดยนโยบายในขยายงานการประกันภัยรถยนต์ควบคู่ไปกับการขยาย งานการประกันภัยประเภทอื่นๆ เช่น ประกันอัคคีภัย ประกันภัยทาง ทะเลและขนส่ง และประกันเบ็ดเตล็ด บริษัทเน้นที่จะคงสัดส่วนของ เบี้ยประกันรถยนต์ให้คงที่ไม่เกินร้อยละ 60 ของผลประกอบการเบี้ย ประกันรวมของบริษัท ทั้งนี้เพื่อให้บริษัทสามารถขยายงานและเติบโต โดยมีส่วนแบ่งทางการตลาดที่เหมาะสมกับขนาดและนโยบายของ องค์กร มีผลประกอบการที่สร้างผลกำ�ไรจากการรับประกันภัยได้ดี รวมทัง้ เน้นการกระจายตัวของผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ โดยไม่ให้เกิดการกระจุกตัว กับผลิตภัณฑ์ใดผลิตภัณฑ์หนึ่งมากจนเกินไป 3.1 แหล่งที่มาของเงินทุน บริษทั มีแหล่งทีม่ าของเงินลงทุน 2 แหล่ง คือ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ และกระแสเงินสดที่ได้จากการดำ�เนินงาน บริษัทไม่มีนโยบายจัดหา แหล่งเงินทุนจากการกู้ยืมหรือจากภายนอก แต่ในการดำ�เนินธุรกิจ ประกันภัยจำ�เป็นต้องมีฐานเงินกองทุนทีเ่ พียงพอทีจ่ ะรองรับการขยายตัว ทางธุรกิจ ดังนัน้ การจัดหาเงินทุนด้วยการเพิม่ ทุน เพือ่ สนับสนุนการขยาย ธุรกิจอาจมีความจำ�เป็นต้องดำ�เนินการเป็นระยะๆ
58
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
ส่วนแบ่ง ส่วนแบ่ง การตลาด การตลาด ธ.ค. 2552 ณ ธ.ค. 2551 Market Share Market Share As at Dec. 2009 As at Dec. 2008
เบี้ยประกันภัย รับตรง ปี 2552 Direct Written Premiums 2009
In 2009, the Company has direct premium of 1,838 million Baht, increase 4.95% from previous year with a market share of 1.67% in 2009, increase from 1.65% in 2008 driven from an increase in market share of motor, marine and transportation and miscellaneous business contributing from a growth from the Company’s internal source of business and an increase in business from our strategic partner. 3. Products and Services Products and services are designed and developed by the Company. There is a work unit responsible to regularly make adjustments and review all products sold including launching new products to meet the needs of customer, channel of sales, strength of the company and situation of economy conditions both local and overseas. A range of product availability includes motor and non-motor products in confirmation of marketing strategy to expand motor line together with other classes of business such as fire, marine and transportation and miscellaneous. The Company emphasizes that the proportion of motor business shall not exceeding 60% of the total written premiums in order for the Company to expand and has market share appropriate to its size and policy, make better underwriting profit and has well distribution of products. 3.1 Sources of Fund The Company’s sources of fund come from shareholder’s fund and cash flow from operations. It does not have policy to raise capital either from borrowing or external sources. However, in underwriting, it is of great important to have sufficient capital to support growth and underwriting capacity so capital may be called from time to time.
3.2 นโยบายการจัดหาเงินทุน นโยบายการลงทุนของบริษัทจะยึดหลักความระมัดระวัง โดยคำ�นึงถึงการบริหารความเสี่ยงจากการลงทุนเป็นสำ�คัญ ไม่มุ่งหวัง ให้เกิดผลตอบแทนสูงสุดเพียงอย่างเดียว แต่มุ่งให้บริษัทสามารถรักษา ระดับอัตราเงินกองทุน และดำ�รงอัตราสภาพคล่องอยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม และเพียงพอต่อการดำ�เนินธุรกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคต รวมทั้ง การได้รับผลประโยชน์ทางด้านภาษีอากร กระแสเงินสดในอนาคต และ การปฏิบัติตามข้อกำ�หนดของ คปภ. ซึ่งควบคุมสัดส่วนการลงทุนใน หลักทรัพย์ประเภทต่างๆ ของบริษัท นโยบายการลงทุนของบริษัทมี การสอบทานอย่างสม่�ำ เสมอ เพือ่ ตอบสนองกับสภาวะตลาดทางการเงิน และการลงทุนที่เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน 3.3 นโยบายการบริหารสภาพคล่อง นโยบายการลงทุ น ของบริ ษั ท ปฏิ บั ติ ต ามประกาศของ คปภ. เรือ่ งการลงทุนประกอบธุรกิจอืน่ ของบริษทั ประกันวินาศภัย ซึง่ กำ�หนด ประเภทและจำ�นวนเงินลงทุนที่บริษัทสามารถลงทุนได้ ทั้งนี้การลงทุน ของบริษัทจะคำ�นึงถึงสภาพคล่อง ความมั่นคง และเสถียรภาพของ การลงทุนเป็นหลัก นอกจากนี้บริษัทมีนโยบายการบริหารสภาพคล่อง ของเงินลงทุน โดยจะลงทุนในหลักทรัพย์ทม่ี รี ะยะเวลาไม่เกิน 3 ปี ไม่นอ้ ย กว่าร้อยละ 50 ของเงินลงทุนทั้งหมด และกำ�หนดลงทุนในหลักทรัพย์ ประเภทตราสารทุนไม่เกินร้อยละ 35 ของเงินลงทุนทั้งหมด (ไม่รวมเงิน ลงทุนในบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วม)
3.2 Source of Funds Policy The Company invests with cautious and careful while giving significant consideration to investment risk. The aim is not to maximize returns but to maintain ratios of shareholders’ fund and appropriate liquidity both at present and in the future. Consideration is also given to tax benefits, future cash flow, and compliance with applicable regulations of the OIC. The investment policy is reviewed regularly in response to rapid changes in today financial and investment markets. 3.3 Liquidity Management Policy The Company observes the Ministry of Commerce’s announcement regarding investment of general insurance companies dated 3 October 2006, and supervised by the OIC, which specifies the category and fund to be invested. Thus, the Company always considers liquidity, security and stability of investment fund. In managing liquidity risk, the Company invests not less than 50% of overall investment fund in securities that maturity date are not over 3 years and not over 35% (excluding investment on the subsidiaries) in common shares.
BUSINESS PROFILE NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
59
ปัจจัยความเสี่ยง RISK FACTORS
60
ความเสี่ยงจากการรับประกันภัย บริษัทมีความเสี่ยงในการดำ�เนินธุรกิจรับประกันภัยจาก 1. ความเสี่ ย งจากความเสี ย หายที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น เป็ น ผลกระทบจาก ปัจจัยภายนอก ทั้งจากสภาพทางภูมิศาสตร์ ภัยธรรมชาติ ภัยพิบัติ อุบัติภัย ภัยก่อการร้าย หรือโจรกรรม และอาจนำ�มาซึ่งความเสียหาย รุนแรงต่อชีวิต ร่างกาย และทรัพย์สินที่บริษัทรับประกันภัยไว้ 2. ความเสี่ยงจากความไม่สมดุลของสัดส่วนของผลิตภัณฑ์จากการ รับประกันภัย โดยเน้นเจาะตลาดเฉพาะภัยบางประเภท อาจทำ�ให้ รายได้ของบริษัทต้องผูกติดกับผลิตภัณฑ์นั้น ซึ่งอาจมีต้นทุนหรือ ค่าเสียหายโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง เช่น การประกันรถยนต์ และอาจ ส่งผลกระทบต่อรายได้หรือกำ�ไรของบริษัท แนวทางบริหารเพื่อลดความเสี่ยง บริษัทมีมาตรการบริหารความเสี่ยงข้างต้นดังนี้ 1. พิจารณาคัดเลือกกลุ่มลูกค้า ลักษณะกิจการ และความเสี่ยงของ ภัยที่จะรับประกันภัยอย่างเข้มงวด 2. กระจายความเสีย่ งภัย โดยการทำ�ประกันภัยต่อแบบสัญญาล่วงหน้า และแบบเฉพาะราย (Treaty Reinsurance and Facultative Reinsurance) ไว้กับบริษัทประกันภัยที่มั่นคงทั้งในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนั้นบริษัทยังได้ซื้อการประกันต่อแบบความเสียหายส่วนเกิน (Excess of Loss Insurance) ซึ่งจะช่วยควบคุมความเสี่ยงภัยที่บริษัท รับไว้เอง เพื่อป้องกันไม่ให้ผลการดำ�เนินงานและฐานะทางการเงินของ บริษทั เกิดความผันผวน และได้รบั ผลกระทบอย่างรุนแรงกรณีเกิดมหันตภัย 3. บริหารสัดส่วนของผลิตภัณฑ์ ให้กระจายการรับเสี่ยงภัยไปใน ทุกประเภทภัย ด้วยสัดส่วนที่เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพตลาด โดย ใช้หลักวิชาการ ข้อมูลทางสถิติที่ทันสมัย และวิสัยทัศน์ในการวางแผน กลยุทธ์ทางการตลาด เพื่อมุ่งเน้นเจาะตลาดในผลิตภัณฑ์ที่สามารถ สร้างผลกำ�ไรและมีแนวโน้มการเติบโตดี
Risks Relating to Underwriting Risks relating to underwriting 1. Increase in claims incurred. The effect from external forces whether physical or geographical factors, natural perils, disasters, accident, terrorism and burglary may bring disaster to lives and damage to property insured. 2. Unbalanced composition of portfolio. The Company has its main income from one particular class of business that it may rely on the product that may have a high acquisition cost or rather high claims ratio than average, such as motor insurance. It may impact the Company’s income or profit. Risk Management Policy The Company adopts measures to deal with the above mentioned risks as follows: 1. It implements strict risk selection criteria, client groups, and type of business. 2. It reinsures to spread risk exposure by placing treaty and facultative reinsurance with local and overseas financial secured companies. In addition it also purchases excess of loss reinsurance to reduce exposure to catastrophe losses and to protect its operation and financial status. 3. It manages composition of the portfolio by writing all classes of business and monitors for the portfolio mix according to market situation. Technical knowledge and up to date statistics are used to plan marketing strategies with vision to penetrate target markets by introducing products that are profitable and have high potential to expand.
ความเสี่ยงจากการแข่งขันและการเปิดเสรีธุรกิจประกันภัย การเปิดเสรีธุรกิจประกันภัยส่งผลทำ�ให้การดำ�เนินธุรกิจประกันภัย ในประเทศไทยมีการเแข่งขันทีร่ นุ แรงมากขึน้ จากการทีบ่ ริษทั ประกันภัย ต่างประเทศซึ่งมีฐานะทางการเงินที่แข็งแกร่ง มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย และมีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เข้ามาร่วมทุนกับบริษัทประกันภัยของคนไทย มากขึน้ ทำ�ให้บริษทั เหล่านีม้ คี วามสามารถในการรับประกันภัยได้สงู ขึน้ ตลอดจนมีอำ�นาจในการแข่งขัน ทั้งด้านราคา เชิงกลยุทธ์ และคุณภาพ ในการให้บริการ ส่งผลให้บริษทั ประกันภัยขนาดกลางและขนาดเล็กของไทย ต้องอยู่ในภาวะแข่งขันอย่างรุนแรง แนวทางบริหารเพื่อลดความเสี่ยง บริษัทมีมาตรการบริหารความเสี่ยงข้างต้น โดย 1. ปรับกลยุทธ์ทางการแข่งขัน โดยการหาช่องทางการตลาดใหม่ที่มี ศักยภาพและพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภทใหม่ ให้สอดคล้องกับภาวะ เศรษฐกิจ สังคม และความต้องการของลูกค้า ให้สามารถตอบรับกับ สภาพตลาดที่เปลี่ยนแปลงไป
Risks Relating to Competition and Liberalization of Insurance Industry The liberalization of insurance industry will result in an increase of fierce competition among insurance companies. Foreign insurance companies, which have strong capital base, modern technology and new products, will help their local joint venture companies in increasing their underwriting capacity in terms of rating competitiveness, strategies and services. Medium and smaller Thai companies will face strong competition. Risk Management Policy The Company has the following measures to deal with the above mentioned risks 1. Adjustment of its competition strategy by looking for new and high potential marketing channels and develop new products to effectively respond to changes in customers’ need, economy and social.
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
2. ดำ�เนินการควบรวมกิจการกับบริษัทประกันภัยขนาดกลางและ ขนาดเล็กของคนไทย เป็นการขยายฐานลูกค้า และเพิ่มขนาดเงิน กองทุนให้สามารถรับเสี่ยงภัยได้มากขึ้น และการบริหารค่าใช้จ่ายใน การดำ�เนินงานโดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน เพื่อให้ต้นทุนการดำ�เนินงานอยู่ ในระดับที่ต่ำ� และสามารถแข่งขันได้
2. Merging with other local small and medium size companies in order to increase customer base and shareholders’ fund to increase its retention capacity. Moreover, it will reduce operating cost by sharing resources with subsidiaries to reduce cost in order to gain advantages on competition.
ความเสี่ยงจากสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ภาวะเศรษฐกิจเป็นปัจจัยสำ�คัญในการดำ�เนินธุรกิจ ในช่วงที่ภาวะ เศรษฐกิจตกต่ำ�ทำ�ให้อำ�นาจซื้อลดลง ผู้เอาประกันภัยของบริษัทซึ่ง ประกอบด้วย ลูกค้าบุคคลธรรมดา และลูกค้านิติบุคคล หรือหน่วยงาน ภาครัฐต่างๆ อาจลดความคุ้มครอง ยกเลิกความคุ้มครอง หรือไม่ต่อ อายุกรมธรรม์ ทั้งจากสาเหตุการลดอัตราการผลิต ลดการส่งออก หรือ ลดค่าใช้จ่าย ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อผลการดำ�เนินงานของบริษัท แนวทางบริหารเพื่อลดความเสี่ยง บริษทั มีมาตรการป้องกันผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ โดยวิเคราะห์สาเหตุ ในการแสดงเจตจำ�นงของผู้เอาประกันภัย ชี้แจงให้ทราบและเข้าใจถึง ผลเสียในการไม่ทำ�ประกันคุ้มครองทรัพย์สิน รวมทั้งเสนอให้ปรับทุน ประกันภัย หรือเปลีย่ นประเภทความคุม้ ครองอืน่ แทน ตามความเหมาะสม ของช่วงเวลาและความต้องการของผู้เอาประกันภัย
Risk Relating to Economic Situations The economy is a significant factor in conducting business. During recession, the Company’s clients; consisting of direct customers, companies, public organizations, may reduce or cancel or not renew their policies due to reduction of production, reduce in export volume and expense cut. These have some effects on the underwriting operation. Risk Management Policy The Company deals with the impact of economy by analyzing reasons of clients’ intention and informs them of disadvantages of not having their property insured. Otherwise, it also recommends them to adjust sum insured or consider alternative coverage that suits their needs.
ความเสี่ยงทางจริยธรรมหรือศีลธรรม นอกเหนือจากความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากอุบัติภัยหรือภัยธรรมชาติ ยัง มีความเสีย่ งทีเ่ กิดจากการกระทำ�อันไม่สจุ ริตของผูเ้ อาประกันภัย ทีม่ งุ่ หวัง ผลประโยชน์จากการทำ�ประกันภัย ทำ�ให้บริษัทต้องเสี่ยงต่อการจ่ายค่า สินไหมทดแทนจำ�นวนสูงเกินความเป็นจริง แนวทางบริหารเพื่อลดความเสี่ยง บริษทั มีมาตรการป้องกันความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ โดยพิจารณาคัดเลือก ลักษณะกลุ่มลูกค้า รวมทั้งลักษณะธุรกิจและลักษณะภัย การเพิ่มความ ระมัดระวังก่อนการตัดสินใจรับประกันภัย การพิจารณาประวัติ ฐานะ การเงิน หรือผลการดำ�เนินงานของผู้เอาประกันภัย การปรับอัตราเบี้ย ประกันภัยให้สมดุลกับความเสี่ยงภัย ตลอดจนกำ�หนดความรับผิดชอบ ส่วนแรก (Excess) ให้ผู้เอาประกันภัยมีส่วนรับเสี่ยงภัยเอง หรือหากมี กรณีบง่ ชีว้ า่ มีความเสีย่ งภัยค่อนข้างสูง บริษทั อาจปฏิเสธการรับประกันภัย
Risks Relating to Morality Not only damages or losses from natural perils and disasters but the Company also faces with fraudulent claims from clients who want to make profit from insurance. In this respect it may have to pay for a higher settlement than the fair amount. Risk Management Policy The Company takes cautious care in selecting customers, their business and nature of risks. Strict underwriting consideration is on their profile, financial status and operating results. It adjusts and charges premium according to exposures as well as imposes self-insured in which clients must participate in the first loss (excess). In case of risks with very high exposure, the Company may refuse to write them.
ความเสี่ยงจากการลงทุน บริษัทมีสินทรัพย์อยู่ในรูปเงินลงทุนในหลักทรัพย์เกินกว่าร้อยละ 50 ของสินทรัพย์ทง้ั หมดของบริษทั ดังนัน้ บริษทั จึงมีความเสีย่ งจากการลงทุน ดังนี้ 1. ความเสี่ยงด้านเครดิต คือความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากผู้ออกตราสาร ที่บริษัทลงทุนไม่มี ความสามารถในการชำ�ระหนี้ได้ตามกำ�หนด
Risks Relating to Investment Over 50% of the total asset are invested in securities. There is exposure from the investment as follows: 1. Credit risk Credit risk is the risk of loss due to a debtor’s failure to meet contractual debt obligation.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
61
แนวทางบริหารเพื่อลดความเสี่ยง บริษัทพิจารณาการลงทุนโดยดูจากการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ หรือ Credit Rating ของผู้ออกตราสาร ที่ได้รับการจัดอันดับความน่า เชื่อถือ โดยสถาบันภายนอกที่มีมาตราฐาน เช่น TRIS และ FITCH โดย กำ�หนดนโยบายที่จะลงทุนเฉพาะตราสารที่มีอันดับความน่าเชื่อถือ ระดับ Investment Grade ขึ้นไปเท่านั้น ทั้งนี้ภายหลังจากการลงทุน แล้ว จะต้องมีการติดตามข่าวสารการปรับอันดับความน่าเชื่อถือของ ตราสารที่บริษัทลงทุนอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อประกอบการพิจารณาถึง แนวโน้มธุรกิจของบริษัทที่ออกตราสาร และกำ�หนดให้มีการติดตาม ทบทวนวงเงินลงทุนรวมในแต่ละรายที่เหมาะสม ภายใต้นโยบายการ ลงทุนของบริษัทอย่างสม่ำ�เสมอ
Risk Management Policy The Company makes selection of investment base on credit rating of issuers of fixed income securities, assigned by reliable outside credit rating agencies such as TRIS and FITCH. It is the Company policy to invest in fixed income securities of at least “Investment Grade” quality. All invested fixed income securities will be periodically monitored for an adjustment of the debtors’ credit rating and relevant information will be gathered to review business potential of the issuers. It also regularly monitors and reviews the limit for investment to ensure adequate investment limit of individual line is maintained at all time.
2. ความเสี่ยงด้านตลาด คือความเสี่ยงที่เกิดจากการลดลงของมูลค่าของสินทรัพย์ที่ลงทุน จากความผันผวนของด้านอัตราแลกเปลี่ยน อัตราดอกเบี้ย และราคา หลักทรัพย์จากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายนอกต่างๆ เช่น ภาวะ เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง แนวทางบริหารเพื่อลดความเสี่ยง บริษทั มีการบริหารความเสีย่ ง โดยการกระจายการลงทุนในหลักทรัพย์ หลายประเภท และกระจายการลงทุนหลายประเภทธุรกิจ เพื่อลด ความผันผวนของมูลค่าเงินลงทุนโดยรวมของบริษัท โดยมีการติดตาม และวิเคราะห์ความผันผวนของราคาตราสารที่ลงทุน อันเนื่องมาจาก ปัจจัยต่างๆ อย่างต่อเนื่องและสม่ำ�เสมอ เพื่อประกอบการตัดสินใจ ลงทุนให้เหมาะสมกับสภาวะการณ์ และมีนโยบายหลีกเลี่ยงการลงทุน ในประเภทหลักทรัพย์เก็งกำ�ไร ที่มีความเสี่ยงของความผันผวนของ ราคาสูง โดยให้น�ำ้ หนักการลงทุนในสินทรัพย์ทม่ี คี ณุ ภาพ และมีผลตอบแทน ที่แน่นอน บริษทั มีคณะกรรมการลงทุน ทีจ่ ะพิจารณาและกำ�หนดนโยบายการลงทุน การกำ�หนดสัดส่วนการลงทุนในแต่ละประเภทหลักทรัพย์และในแต่ละ หลักทรัพย์ ซึง่ เพิม่ เติมจากข้อกำ�หนดของคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) เพื่อลดผลกระทบของความเสี่ยง ที่บริษัทจะสูญเสียเงินลงทุน และมีการพิจารณาและทบทวนสัดส่วนการ ลงทุนอย่างสม่ำ�เสมอ
2. Market Risk It is a decrease in value of securities from fluctuation in exchange rating, interest rating and security prices as well as from external factors such as economic, social and political situation. Risk Management Policy The Company has following measures to deal with the above mentioned risks: The Company manages investment risk bydiversifying portfolio and spread investment funding to include various line of investment as well as categories of business in order to reduce fluctuation in aggregate value of investment. It closely watches and regularly assesses factors that may cause fluctuation to value of investment instruments in order to make a proper investment transaction according to situation. It haspolicy not to invest in speculative securities that price fluctuation is high but concentrates on blue-chip securities and ones that have steady yield. The Company has an investment committee who considers and sets up investment policy. The committee also sets limits on the amount to line investment and individual security, in addition to the Office of Insurance Commission’s (OIC) rule of practice promulgated under the Non-Life Insurance Act B.E. 2535, in order to reduce exposure from the loss of investment funding. The committee considers and reviews structure of portfolio mix on a regular basis.
ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง คือความเสี่ยงอันเกิดจากการมีเงินลงทุนและสินทรัพย์ที่ไม่สามารถ ทำ�การซื้อขายในจำ�นวน ราคา และ เวลาที่ต้องการได้ อาจทำ�ให้บริษัท ประสบกับสภาพขาดเงินสดที่จะนำ�มาชำ�ระหนี้สิน และภาระผูกพันให้ ได้ตามจำ�นวนหรือตรงตามเวลา ผลเสียหายที่เกิดขึ้นมีทั้งความเสีย หายในรูปตัวเงินและความเสียหายที่ไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน เช่น ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ ความเชื่อมั่นของลูกค้า คู่ค้า ประชาชน และอุตสาหกรรม แนวทางบริหารเพื่อลดความเสี่ยง 1. บริษัทมีนโยบายบริหารสภาพคล่องจากกิจกรรมการลงทุน โดย พิจารณาลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีสภาพคล่อง เช่น ตราสารหนี้ภาครัฐ
62
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Liquidity Risk It is the risk that a given security or asset cannot be traded quickly enough at the required quantity, price and time to enable the Company to have cash to pay loans or meet its obligations as they become due. Liquidity is critical to insurance operation as it can create damages in terms of
หรือตราสารหนี้ภาคเอกชน ที่มีความเสี่ยงด้านเครดิตต่ำ� การลงทุน แบบกระจายการลงทุนและกำ�หนดสัดส่วนการลงทุน ระยะเวลาการลงทุน ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับระยะเวลาการชำ�ระหนี้สินและภาระ ผูกพันของบริษัท การบริหารสภาพคล่องจากการดำ�เนินงานและจัดการ โดยคำ�นึงถึง โครงสร้างอายุคงเหลือของสินทรัพย์และหนีส้ นิ ให้อยูใ่ นระดับของปริมาณ และระยะเวลาที่สอดคล้องกับสถานการณ์ทั้งภายในและภายนอกบริษัท เพื่อประโยชน์ทั้งด้านสภาพคล่อง ผลตอบแทน และต้นทุนทางธุรกิจ อันได้แก่ การบริหาร ลูกหนี้ เจ้าหนี้ การบริหารจัดการระยะเวลาคงเหลือ และการเปลี่ยนแปลงมูลค่าสินทรัพย์ 2. บริษัทมีนโยบายการดำ�รงเงินกองทุนในส่วนของทุนที่มาจากส่วน ของผู้ถือหุ้น ให้ครอบคลุมภาระหนี้สิน และให้มีสัดส่วนที่เพียงพอต่อ ความเสี่ยงทางธุรกิจและจากการดำ�เนินงาน และถึงแม้ว่าบริษัทจะมี สภาพคล่องจากแหล่งภายในบริษทั ในการบริหารจัดการกิจกรรมการลงทุน และการดำ�เนินงานของบริษทั เอง ซึง่ มีอยูใ่ นระดับสูงมากแล้วก็ตาม บริษทั ยังจัดให้มีแหล่งสำ�รองสภาพคล่องจากสถาบันการเงินไว้เป็นแผนรอง สำ�หรับภาวะฉุกเฉิน 3. การกำ�หนดหน้าที่ความรับผิดชอบและลำ�ดับชั้นการรายงานของ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารสภาพคล่องอย่างชัดเจน และกำ�หนดให้มี ระบบการรายงานข้อมูลที่สามารถที่จะเตือนภัยให้ผู้บริหารทราบหากมี กิจกรรมใดที่ฝ่าฝืนนโยบาย หรือตัวชี้ค่าใดมีระดับเข้าใกล้ขีดจำ�กัดซึ่ง ได้กำ�หนดไว้โดยกระชับ ชัดเจน รวดเร็ว ทันกาล และถูกต้องแม่นยำ� ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ คือความเสี่ยงที่เกิดจากการดำ�เนินงานที่ผิดพลาดคลาดเคลื่อนของ วิธกี ารทีไ่ ด้ด�ำ เนินการ ซึง่ อาจแตกต่างไปจากทีบ่ ริษทั กำ�หนด อันเนือ่ งจาก บุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านโดยขาดคุณสมบัติ ไม่มคี วามสามารถ มีการทุจริต หรือเทคโนโลยี เครือ่ งมืออุปกรณ์เกิดเหตุขดั ข้อง มีการกำ�หนดกระบวนการ วิธีการปฏิบัติงาน และแบบวิธีที่ไม่ถูกต้อง อันนำ�มาซึ่งความเสียหาย ทั้งในรูปตัวเงินและความเสียหายที่ไม่อยู่ในรูปตัวเงิน เช่น เสียชื่อเสียง เสียเวลา เป็นต้น แนวทางบริหารเพื่อลดความเสี่ยง 1. การสนับสนุนและสร้างค่านิยมต่อการทำ�งาน ที่คำ�นึงถึงหลัก ธรรมภิบาลอย่างต่อเนื่อง บริษัทได้มีการส่งเสริมการปฏิบัติงานที่ยึด หลักธรรมมาภิบาลมาตลอด 2. การกำ�หนดแนวทางและรูปแบบในการปฏิบตั งิ านทีด่ ี (Best Practice) เป็นคู่มือให้ผู้บริหารและพนักงาน การกำ�หนดคู่มือวิธีปฏิบัติงานอำ�นาจ ดำ�เนินการ และความรับผิดชอบอย่างชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษรและ มีการปรับปรุงอย่างสม่ำ�เสมอ 3. การเสริมสร้างวัฒนธรรมและค่านิยมต่อการบริหารความเสี่ยงใน องค์กร และต่อการปฏิบตั งิ านอย่างซือ่ สัตย์ มีจริยธรรม คำ�นึงความถูกต้อง ความรอบคอบ
monetary as well as non-monetary damages such as reputation, image, and credibility to clients, business partners, public and industry. Risk Management Policy 1. The Company establishes policy to manage liquidity risk on investment operation by making investment on securities that are liquid such as fixed income securities from government sector or private sector that has good credit rating. It also spreads out investment funding and balances the portfolio with taking into account time horizons and fund needs to pay loans and meet obligations. Liquidity risk on operation and management deals with the remaining useful life of assets and liabilities that taken into consideration anticipated quantity and duration properly needs in circumstances whether inside and outside the Company for liquidity, yield and cost. It concerns managing account receivable, account payable, remaining useful life of assets and changes in value of assets. 2. It is the Company policy to maintain adequate shareholders’ equity to meets its liabilities and have an appropriate ratio to handle exposure from business and operation risks. Though the Company has high liquidity from sources within the Company, which are investment and operations it still needs other funding sources for its contingency plans for handling liquidity crisis. 3. Responsibilities and line of report to those who manage liquidity risk are clearly defined as well as establish reporting system to generate an early warning report to executives for transactions that are not conform to the Company’ policy or promptly, timely and accurately report warning signs to key risk indicators. Operational Risk The risk to the Company those errors made in the course of conducting its business, lack of compliance with defined procedures. The operational risk also arises from incompetent staff, fraud, or technology and equipment failures, inadequate procedures, processes and methods that resulted in losses in monetary and non-monetary terms i.e. reputation, waste of time, etc. Risk Management Policy 1. Endorse and establish code of work ethics based on good governance on a continuous basis. The Company has always adopted principles of good governance to its operation.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
63
ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี ความเสีย่ งในความปลอดภัยของระบบข้อมูลสารสนเทศ และความเสีย่ ง ของศูนย์คอมพิวเตอร์หลัก ระบบข้อมูลสารสนเทศจัดว่ามีความสำ�คัญ ต่อการดำ�เนินธุรกิจบริษัทเป็นอย่างมาก ทั้งข้อมูลสถิติต่างๆ และข้อมูล สำ�คัญทีเ่ กีย่ วข้องกับลูกค้าของบริษทั ทีน่ �ำ มาใช้ในการพิจารณารับประกันภัย ในการให้บริการลูกค้า และใช้ในการวิเคราะห์ประกอบการจัดทำ�แผน การตลาดของบริษทั ดังนัน้ บริษทั จึงมีความเสีย่ งของการทีข่ อ้ มูลดังกล่าว อาจเกิดมีการสูญหาย หรือรั่วไหลไปสู่บุคคลภายนอก หรือคู่แข่งขัน ซึ่งส่งผลกระทบทางลบต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท รวมถึงความเสี่ยง จากการหยุดธุรกิจอันเนือ่ งมาจากการเกิดพิบตั ภิ ยั กับศูนย์คอมพิวเตอร์หลัก ของบริษัท ทำ�ให้ไม่สามารถใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการดำ�เนินธุรกิจได้ หรือข้อมูลสูญหายบางส่วนหรือทั้งหมด แนวทางบริหารเพื่อลดความเสี่ยง บริษัทมีมาตรการรองรับความเสี่ยงโดยการสร้างระบบป้องกันความ ปลอดภัยของข้อมูล โดยจัดให้มีระบบสำ�รองข้อมูล และมาตรการรองรับ ความเสี่ยงของศูนย์คอมพิวเตอร์หลัก เพื่อรองรับเหตุฉุกเฉินอันอาจจะ เกิดขึน้ ซึง่ บริษทั ได้ก�ำ หนดแนวทางปฎิบตั กิ รณีเกิดเหตุการณ์ฉกุ เฉินทีอ่ าจ กระทบต่อการดำ�เนินงาน โดยได้จัดทำ�แผนการรองรับเพื่อให้การดำ�เนิน ธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plan) รวมถึงได้ท�ำ การทดสอบ แผนดังกล่าวอย่างต่อเนือ่ งเป็นประจำ�ทุกปี เพือ่ เตรียมความพร้อมต่อเหตุการณ์ ฉุกเฉินทีอ่ าจจะเกิดขึน้ นอกเหนือจากนีบ้ ริษทั มีขอ้ กำ�หนดระเบียบวิธปี ฏิบตั ิ อย่างชัดเจน ในเรื่องนโยบายการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลและ ระบบข้อมูล เพือ่ ป้องกันการสูญหาย หรือรัว่ ไหลของข้อมูล โดยมีประเด็น ต่างๆ ดังนี้ 1. ด้าน Software ด้านระบบความปลอดภัย และการรักษาข้อมูล ได้จัดให้มีระบบตรวจสอบระบบการป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์และจัด ให้มีระบบสำ�รองข้อมูล (Backup Data) เป็นประจำ�ในประเภทข้อมูล รายวัน รายเดือน และรายปี โดยได้มีระบบการเก็บข้อมูลสำ�รองไว้ใน ที่ปลอดภัยที่อยู่ภายนอกอาคารที่ตั้งของบริษัท เพื่อรองรับเหตุฉุกเฉิน อันอาจเกิดขึน้ นอกจากนีย้ งั ได้มกี ารจัดเก็บข้อมูลการจราจรทางคอมพิวเตอร์ (Traffic Data) เพือ่ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระทำ�ความผิด เกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ทีม่ ผี ลบังคับใช้แล้ว 2. ด้าน Hardware และระบบเครือข่าย ได้จัดให้มีการใช้บริการ ศูนย์คอมพิวเตอร์สำ�รอง (Backup Site) ของบริษัทเมโทรซิสเต็มส์ และ ระบบเครือข่ายบริษัท UIH เพื่อเป็นศูนย์สำ�รองกรณีเกิดภัยพิบัติ อันอาจ เกิดขึ้น โดยมีการกำ�หนดให้มีการทดสอบศูนย์คอมพิวเตอร์สำ�รองหนึ่ง ครั้งทุกปี โดยใช้ข้อมูลที่ได้ทำ�การสำ�รองไว้เป็นประจำ�ในการทดสอบ การทดสอบจะครอบคลุมทุกระบบงานทัง้ ระบบ Hardware ระบบ Software ระบบข้อมูล รวมถึงระบบเครือข่ายทีจ่ ะเชือ่ มโยงไปยังทุกสาขาของบริษทั ผ่านระบบเครือข่ายออนไลน์ทบ่ี ริษทั ใช้บริการเช่าวงจรจากบริษทั UIH เพือ่ ใช้รองรับในกรณีฉุกเฉินเพิ่มเติมจากระบบออนไลน์ปกติที่เชื่อมต่อไปยัง สาขาของบริษัท 3. ด้านกายภาพของศูนย์คอมพิวเตอร์ ได้จัดให้มีห้องคอมพิวเตอร์ที่ มีระบบสแกนลายนิ้วมือก่อนเข้าห้อง และมีการบันทึกการเข้า-ออกของ
64
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
2. Adopt guidelines of best practices for the employees and executives. Work manual, authority to exercise power and responsibilities are clearly defined in writing and periodically revised. 3. Build up a culture that values corporate risk management and work integrity and ethics. Technology Risk Information system is important in its operations so are statistics and information of clients that are used in underwriting, rendering of services and planing of marketing strategies. If such information were lost or leaked to outsiders or competitors, the Company will suffer negative image. The operation will be interrupted if after a disaster occurred the central computer unit lost or damage causing system failure or losing part of or all of its data. Risk Management Policy It has effective information security solutions to protect electronic information and contingency plan for central computer unit. There is a back-up system in preparation for emergency disaster. A contingency business continuity plan has been designed and tested on a yearly basis in preparation for disaster. In addition procedures and regulations have been clearly defined and practiced in respect of security of data and system as follows: 1. In respect of software security and data, the Company installs a program to check and detect computer viruses and keep daily, monthly and yearly backup data at a secured outside locations in preparation for emergency disaster. It also keeps record of traffic data as required by Computer Related Crimes Act B.E. 2550. 2. In respect of hardware and network, the Company has a contingency plan to use an outside backup site at Metro Systems Corporation and backup network of United Information Highway Company Limited if disaster occurred. Testing at the backup site is done on a yearly basis, using backup data to test hardware, software and data including the backup network to connect with branch offices. 3. In respect of physical security of the central computer unit, the Company installs a program to check fingerprint and keep record of officers, products’ system engineers whom have been granted authority to check hardware and software in order to prevent unauthorized persons to get access to the central unit. 4. In respect of personnel security, the Company establishes clearly defined procedures and implement practices regarding
เจ้าหน้าที่ วิศวกรระบบของบริษัทเจ้าของผลิตภัณฑ์ ที่เข้ามาตรวจสอบ การทำ�งานของระบบ Hardware และ Software เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ที่ ไม่เกี่ยวข้องหรือไม่ได้รับอนุญาตเข้าไปในพื้นที่ดังกล่าว 4. ด้านระบบบริหารบุคคล การกำ�หนดระเบียบวิธีปฏิบัติที่ชัดเจนใน นโยบายการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล และระบบข้อมูล เพือ่ ป้องกัน การสูญหายหรือรั่วไหล เช่น การกำ�หนดสิทธิ์ผู้ใช้งานส่งเมล์ออกนอก บริษัท การกำ�หนดขนาดของเมล์ที่จะสามารถส่งออกนอกบริษัท การมี รายงานตรวจสอบการส่งเมล์ออกนอกบริษัท เป็นต้น โดยประกาศให้ พนักงานทัว่ ไปได้รบั ทราบและจัดอบรมให้กบั พนักงานทีเ่ ข้าใหม่ พร้อมกับ การปฐมนิเทศน์เพื่อให้เข้าใจในแนวนโยบายดังกล่าว 5. ด้านการตรวจสอบระบบสารสนเทศ บริษทั ได้จดั ให้มกี ารตรวจสอบ ระบบสารสนเทศ เพือ่ การปรับปรุงกระบวนการและขัน้ ตอนการทำ�งานให้ได้ มาตราฐานตามหลักสากลอย่างต่อเนื่อง ในปี 2552 บริษัทจัดให้มีการ ตรวจสอบระบบโดยผูต้ รวจสอบภายนอก ซึง่ ตรวจสอบครอบคลุมทัง้ ด้าน Hardware และ Software ตามหลักการและมาตรฐานสากล และได้ ทำ�การปรับปรุงระบบงานให้สอดคล้อง ตามคำ�แนะนำ�ของผู้ตรวจสอบ ดังกล่าวเพื่อให้สามารถใช้ระบบงานสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มีการควบคุมภายในที่ดีและมีความถูกต้องสูง
security of data and system to prevent lost of or leaks of data e.g. identify those who can access to send mail out of the office, set size limit to sent mail, report of sent mail, etc. All employees and new recruited employees are informed of the procedures and the Company’s policy toward security at every orientation. 5. The Company has done computer audit to make improvements to procedures and work processes. During 2009 the outside computer auditor had done both hardware and software audit in accordance to standard procedure. The company had revised and developed the system according to the auditor’s recommendation, in order to ensure efficiency, control and accuracy of the IT system.
RISK FACTORS NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
65
โครงสร้างการจัดการ
MANAGEMENT STRUCTURE การจัดการ บริษัทมีคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อยรวม 7 คณะ คือ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการลงทุน คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงโดยคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะมีขอบเขตอำ�นาจและหน้าที่ดังนี้
The Management The Company has 7 committees, which are the Board of Director, the Audit Committee, the Executive Board, the Investment Committee, the Nominating Committee, the Remuneration Committee, and the Risk Management Committee. Duties and responsibilities of each committee are as follow:
คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 คณะกรรมการบริษัทมีจำ�นวน 13 ท่าน ดังมีรายชื่อดังนี้
The Board of Directors As at 31 December 2009, the board of directors consists of 13 directors as follows:
ชื่อ / Names 1. นายสุจินต์ Mr. Suchin 2. นายนิพล Mr. Nipol 3. นายปิติพงศ์ Mr. Pitiphong 4. นายวุฒิชัย Mr. Vuttichai 5. นายสุพจน์ Mr. Suphot 6. ศาสตราจารย์หิรัญ Prof. Hiran 7. นายประมนต์ Mr. Pramon 8. นายเกียรติ Mr. Kiet 9. นายชาน Mr. Chan 10. นายพรพงษ์ Mr. Phornpong 11. นายทำ�นุ Mr. Thamnu 12. นางสาวจิตตินันท์ Miss Jittinan 13. นายมิโนรุ Mr. Minoru
หวั่งหลี Wanglee ตั้งจีรวงษ์ T. Jeerawong พิศาลบุตร Bisalputra หวั่งหลี Wanglee หวั่งหลี Wanglee รดีศรี Radeesri สุธีวงศ์ Sutivong ศรีจอมขวัญ Srichomkwan ซู ลี Soo Lee พรประภา Phornprapha หวั่งหลี Wanglee หวั่งหลี Wanglee ซาซาดะ(1) Sasada
กรรมการที่ลาออกระหว่างปี 1. 2.
นางสาวพรรณี Miss Pannee นายสมพร Mr. Somporn
เชิดรำ�ไพ Choedrum-phai วิชชุรัตพร Vichuratporn
หมายเหตุ (1) เข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 แทนนางสาวพรรณี เชิดรำ�ไพ
66
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
ตำ�แหน่ง / Position ประธานกรรมการ (กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร แต่มีอำ�นาจลงนาม) Chairman (Non executive director but authorized director) กรรมการ (กรรมการบริหารและมีอำ�นาจลงนาม) Director (Executive director and authoired director) กรรมการ (กรรมการบริหารและมีอำ�นาจลงนาม) Director (Executive director and authoired director) กรรมการ (กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร แต่มีอำ�นาจลงนาม) Director (Non executive director but authorized director) กรรมการ (กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร แต่มีอำ�นาจลงนาม) Director (Non executive director but authorized director) กรรมการอิสระ Independent Director กรรมการอิสระ Independent Director กรรมการอิสระ Independent Director กรรมการอิสระ Independent Director กรรมการอิสระ Independent Director กรรมการ Director กรรมการ Director กรรมการ Director
The directors who resigned during the year กรรมการ (ลาออกวันที่ 30 เมษายน 2552) Director (Resigned on 30 April 2009) กรรมการ (ลาออกวันที่ 30 ธันวาคม 2552) Director (Resigned on 30 December 2009)
Note (1) Was appointed as Director to replace Miss Pannee Choedrum-phai on 15 May 2009.
กรรมการที่มีอำ�นาจลงนามแทนบริษัท 1. นายสุจินต์ หวั่งหลี หรือ นายวุฒิชัย หวั่งหลี หรือ นายสุพจน์ หวัง่ หลี หรือ นายนิพล ตัง้ จีรวงษ์ หรือ นายปิตพิ งศ์ พิศาลบุตร เป็นผู้ลงนามแทนบริษัทในกรมธรรม์ของบริษัท และประทับตราสำ�คัญ ของบริษัท 2. ในการทำ�นิติกรรมอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในข้อ 1 ให้ นายสุจินต์ หวั่งหลี นายวุฒิชัย หวั่งหลี นายสุพจน์ หวั่งหลี นายนิพล ตัง้ จีรวงษ์ นายปิตพิ งศ์ พิศาลบุตร สองในห้าคนลงนามร่วมกันและประทับ ตราสำ�คัญของบริษัท รอบปี 2552 ที่ผ่านมา บริษัทมีการประชุมกรรมการรวม ทั้งสิ้น 4 ครั้ง เป็นการประชุมตามปกติ โดยการประชุมใช้เวลาตั้งแต่ 2-3 ชั่วโมง การเข้าร่วมประชุมของกรรมการบริษัทสรุปได้ดังนี้ รายชื่อ / Name
The Directors Authorized to Sign on Behalf of the Company 1. Mr. Suchin Wanglee or Mr. Vuttichai Wanglee or Mr. Suphot Wanglee or Mr. Nipol T. Jeerawong or Mr. Pitiphong Bisalputra is authorized to sign on behalf of the Company on the Company’s insurance policies and affixed with the Company seal. 2. On any legal commitment other than provided in 1 above, a total of two of the following directors namely: Mr. Suchin Wanglee or Mr. Vuttichai Wanglee or Mr. Suphot Wanglee or Mr. Nipol T. Jeerawong or Mr. Pitiphong Bisalputra, two out of the above five directors are authorized to sign and affixed with the Company seal. During 2009 the board held 4 ordinary board meetings. The meeting lasted between 2-3 hours. The directors’ attendance is summarized as follows การเข้าร่วมประชุมกรรมการ (ครั้ง) Attendance of the Meeting / Total No. of the Board Meeting
การเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น (ครั้ง) Attendance of the Meeting / Total No. of the Shareholders Meeting
1. นายสุจินต์ หวั่งหลี 4/4 Mr. Suchin Wanglee 2. นายนิพล ตั้งจีรวงษ์ 4/4 Mr. Nipol T. Jeerawong 3. นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร 4/4 Mr. Pitiphong Bisalputra 4. นายวุฒิชัย หวั่งหลี 2/4 Mr. Vuttichai Wanglee 5. นายสุพจน์ หวั่งหลี 3/4 Mr. Suphot Wanglee 6. ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี 4/4 Prof. Hiran Radeesri 7. นายประมนต์ สุธีวงศ์ 4/4 Mr. Pramon Sutivong 8. นายเกียรติ ศรีจอมขวัญ 4/4 Mr. Kiet Srichomkwan 9. นายชาน ซู ลี 3/4 Mr. Chan Soo Lee 10. นายพรพงษ์ พรประภา 2/4 Mr. Phornpong Phornprapha 11. นายทำ�นุ หวั่งหลี 4/4 Mr. Thamnu Wanglee 12. นางสาวจิตตินันท์ หวั่งหลี 3/4 Miss Jittinan Wanglee 2/4 13. นายมิโนรุ ซาซาดะ(1) Mr. Minoru Sasada กรรมการที่ลาออกระหว่างปี / The directors who resigned during the year 1. นางสาวพรรณี เชิดรำ�ไพ 1/4 Miss Pannee Choedrum-phai 2. นายสมพร วิชชุรัตพร 4/4 Mr. Somporn Vichuratporn หมายเหตุ
(1) (2) (3)
เข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการเมื่อวันที่ 30เมษายน 2552 ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2552
1/1 1/1 1/1 - - 1/1 1/1 1/1 - - 1/1 - - 1/1 1/1
Note (1) Was appointed on 15 May 2009 (2) Resigned on 30 April 2009 (3) Resigned on 30 December 2009
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
67
อำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท ตามข้อบังคับบริษัท คณะกรรมการมีอำ�นาจหน้าที่ตัดสินใจ และดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทดังนี้ 1. ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และ ข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความซื่อสัตย์ สุจริตและระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท 2. วางแผน กำ�หนดนโยบายในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท และ อนุมัติแผนการดำ�เนินงานระยะยาว 3. พิจารณาอนุมตั โิ ครงสร้างการบริหาร แผนการดำ�เนินงาน และ งบประประมาณประจำ�ปี 4. ประเมินผลการตรวจสอบการดำ�เนินงานของฝ่ายบริหาร ว่า เป็นไปตามแผนงานงบประมาณที่ได้รับอนุมัติไว้หรือไม่ ฯลฯ นอกจากทีก่ ล่าวข้างต้น เรือ่ งดังต่อไปนีค้ ณะกรรมการต้องได้รบั อนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนดำ�เนินการ 1. เรือ่ งทีก่ ฎหมายกำ�หนดให้ตอ้ งได้รบั มติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ 2. การทำ�รายการเกี่ยวโยงตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยกำ�หนดให้บริษัทต้องเปิดเผย และรายงานต่อตลาด หลักทรัพย์ฯ และผู้ถือหุ้น 3. การซื้อหรือขายสินทรัพย์สำ�คัญที่อยู่ในเกณฑ์ที่ต้องรายงาน ต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ หลักเกณฑ์การคัดเลือกกรรมการอิสระ บริษัทได้กำ�หนดคำ�นิยามของ กรรมการอิสระ ตามหลักเกณฑ์ ของ ก.ล.ต. ดังรายละเอียด 1. ถือหุน้ ไม่เกิน 1% ของจำ�นวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด ของบริษัท/บริษัทใหญ่/บริษัทย่อย/บริษัทร่วม/ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มี อำ�นาจควบคุมของบริษัท ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจำ� หรือเป็นผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท เว้นแต่จะได้พ้น จากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการ จดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มี อำ�นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหาร หรือผู้มี อำ�นาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บริษัท ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระ ของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษทั ย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท โดยพิจารณาจากรายการที่มีมูลค่าตั้งแต่ 20 ล้านบาท หรือตั้งแต่ 3%
68
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Powers and Duties of the Board of Directors The Board of Directors has power and duty to make decisions and manage the Company within legal requirements, objectives and regulations as follows: 1. To perform the duties according to laws, objectives and regulations of the Company, including the shareholders’ resolutions with honest, integrity and care in protecting the Company’s interest. 2. To make plans and stipulate policies for the Company’s operation, and approve long-term plans. 3. To approve the management structure, the operating plan and the annual budget. 4. To assess and review the management’s operation to ensure that it is done in accordance with the approved budget plan. Except from the above, the board must receive prior approval from the shareholders’ meeting in the following matters: 1. Matters that the Company, by laws, must get approval of the meeting of the shareholders. 2. Related party’s transactions according to The Stock Exchange of Thailand (SET) announcement, which requires disclosure and report to SET and the shareholders. 3. Transactions of significant assets that the Company must specifically reported to SET. Listing Standards of Independent Directors The Company has provided the definition of Independent Directors by the regulation of Securities and Exchange Commission (SEC) as follows: 1. Holding shares not exceeding 1% of the total number of voting share of the company, holding company, subsidiary, affiliate/major shareholder or controlling person of the applicant, including related person’s shareholding. 2. Neither being nor having been a director, employee, staff, consultant who receives salary or a controlling person of the applicants, the parent company, subsidiary, affiliate, same-level subsidiary, major holder or controlling person of the applicant unless the foregoing status has ended not less than 2 years prior to the date of application filling with the Office. 3. Not being a person related by blood or by registration under laws such as father, mother, sibling, spouse, child including spouse of the child, director, major shareholder, controlling persons or persons to be nominated as executive or controlling persons of the applicant or its subsidiary. 4. Not having a business relationship with the company, parent company, subsidiary, major shareholder or controlling person of the applicants in the manner which may interfere with
ของ NTA บริษัท แล้วแต่จำ�นวนใดจะต่ำ�กว่า เว้นแต่จะได้พ้นจากการมี ลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัท ย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของ สำ�นักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของผู้ขออนุญาต บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บริษัทสังกัดอยู่ เว้นแต่ได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อย กว่า 2 ปี 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึง การให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมาย หรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รบั ค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำ นาจควบคุมของบริษทั และไม่เป็น ผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี �ำ นาจควบคุม หรือหุน้ ส่วนของผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพ นัน้ ด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของ กรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้อง กับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ ป ระกอบกิ จ การที่ มี ส ภาพอย่ า งเดี ย วกั น และเป็ น การ แข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่ มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจำ� หรือถือหุ้นเกิน 1% ของ จำ�นวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึง่ ประกอบด้วยกิจการ ที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทย่อย 9. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ�ให้ไม่สามารถให้ความเห็็นอย่างเป็น อิสระเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัท กรรมการอิสระท่านหนึ่งของบริษัท เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน นิตบิ คุ คลที่เป็นตัวแทนจำ�หน่ายรถยนต์ ซึ่งมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ บริษัทที่มีขนาดรายการมูลค่าเกิน 20 ล้านบาท แต่ไม่เกินร้อยละ 3 ของ มูลค่าสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัท ที่ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 71/2552 พิจารณาเห็นว่า กรรมการอิสระท่านดังกล่าวได้ให้คำ�ปรึกษา ด้านธุรกิจรถยนต์ที่เป็นประโยชน์กับบริษัท และความสัมพันธ์ทางธุรกิจ ข้างต้นไม่กระทบกับการแสดงความเห็นที่เป็นอิสระในฐานะของการ เป็นกรรมการอิสระ จึงได้อนุมัติหลักเกณฑ์การผ่อนผันข้อห้ามความ สัมพันธ์ทางธุรกิจของกรรมการอิสระ โดยกำ�หนดขนาดมูลค่ารายการระดับ ทีม่ นี ยั ให้ได้ไม่เกินร้อยละ 3 ของมูลค่าสินทรัพย์ทม่ี ตี วั ตนสุทธิของบริษทั และความสัมพันธ์ทางธุรกิจนั้นต้องเป็นรายการธุรกิจปกติและรายการ สนับสนุนธุรกิจปกติทเ่ี ป็นเงือ่ นไขการค้าทัว่ ไป ในลักษณะเดียวกับทีบ่ ริษทั พึงจะกระทำ�กับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน
his independent judgement, and neither being nor having been a principal shareholder or controlling person of any person having business relationship with the applicant, its parent company, subsidiary, affiliate, major shareholder or controlling person of the applicant in term of consideration of transaction size worth more than 20 mil ions Baht or 3% of the company’s NTA, whichever is lower, unless the foregoing status has ended at least 2 years prior to the date of application filling with the Office. 5. Neither being nor having been an auditor of the applicant, its parent company, subsidiary, affiliate, major shareholder or controlling person of the applicant, and not being principal shareholder or controlling person, or partner of an audit firm which employs auditors of the applicants, its parent company, subsidiary, affiliate, major shareholder or controlling person of the applicant unless the foregoing status has ended not less than 2 years prior to the date of application filling with the Office. 6. Neither being nor having been any professional advisor including legal advisor or financial advisor who receives an annual service fee exceeding 2 million Baht from the applicants, its paent company, subsidiary, affiliate, major shareholder or controlling person of the applicant and not being principal shareholder or controlling person, or partner of the professional advisor unless the foregoing status has ended not less than 2 years prior to the date of application filling with the Office. 7. Not being a director who has been appointed as a representative of the company’s director, major shareholder or shareholders who are related to the company’s major shareholder. 8. Not operating any business which as the same nature as and it in significant competition with the business of the applicant or subsidiary, or not being principal partner in any partnership, or net being executive director, employee, staff or advisor who receives salary; holding share not exceed 1% of the total number of voting rights of any other company operating business which has the same nature as and is in significant competition with the business of the applicant or subsidiary. 9. Not having any characteristics, which make him incapable of expressing independent opinions with regard to the company’s business. An Independent Director of the Company is a major shareholder of an entity, an automobile dealer company that has business transaction with the company of which the transaction size exceeds 20 million Baht but not exceeds 3% of NTA of the Company. The Board meeting no. 71/2552 considered that the independent director had given value advice on automobile business and the business transaction mentioned above did not NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
69
เลขานุการบริษัท นางสาวสุกัญญา ปัณฑพรรธน์กุล ได้รับแต่งตั้งตามมติที่ ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 66/2551 โดยมีหน้าที่และรับผิดชอบดังนี้ 1. จัดการประชุมผู้ถือหุ้นและประชุมคณะกรรมการให้เป็นไป ตามกฎหมายข้อบังคับของบริษัท และข้อพึงปฏิบัติต่างๆ 2. บันทึกและจัดเก็บรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น และการ ประชุมคณะกรรมการบริษัท 3. ดู แ ลให้ บ ริ ษั ท และคณะกรรมการบริ ษั ท ปฏิ บั ติ ต ามข้ อ กำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ว่าด้วยการเปิดเผยข้อมูล รวมถึงข้อ กำ�หนดของสำ�นักงานกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) 4. ให้ คำ � แนะนำ � เบื้ อ งต้ น แก่ ก รรมการเกี่ ย วกั บ ข้ อ กฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของบริษัท และติดตามให้มีการปฏิบัติตาม อย่างถูกต้องและสม่ำ�เสมอ 5. ติดต่อและสื่อสารกับผู้ถือหุ้นให้ได้รับทราบสิทธิต่างๆ ของผู้ ถือหุ้นและข่าวสารของบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน โดย มีกรรมการ 1 ท่าน ที่มีความรู้ความเข้าใจหรือมีประสบการณ์ด้านบัญชี หรือการเงิน มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี กรรมการตรวจสอบ ที่พ้นจากตำ�แหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งกลับเข้ามาเป็นกรรมการ ตรวจสอบใหม่ได้ โดยอยู่ในตำ�แหน่งได้ไม่เกิน 3 วาระ คณะกรรมการตรวจสอบมีประชุมประจำ�ทุกเดือน ปี 2552 คณะกรรมการ ตรวจสอบมีการประชุมรวม 11 ครั้ง และ 1 ครั้งในจำ�นวนนั้นมีการ ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุม มีการจัด ทำ�รายงานโดยตรงรวมทั้งเข้าประชุมร่วมกับที่ประชุมคณะกรรมการ อย่างสม่ำ�เสมอ นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบยังได้จัดทำ�รายงาน การตรวจสอบเสนอต่อผูถ้ อื หุน้ ในรายงานประจำ�ปี ตารางวันการประชุม คณะกรรมการตรวจสอบจะมีการกำ�หนดล่วงหน้าทัง้ ปี โดยจะสอดคล้อง กับตารางการประชุมของคณะกรรมการบริษัทที่จะมีการกำ�หนดล่วง หน้าเช่นกัน ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 73/2552 เมือ่ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2552 มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบที่ครบวาระ ให้กลับเข้าเป็น คณะกรรมการตรวจสอบอีกวาระหนึ่งตามความเห็นของคณะกรรมการ สรรหา ดังมีรายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ ดังนี้
70
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
interfere with the exercise of his independent judgement as an independent director. The Board approved the principle for granting exemption of prohibition on independent directors’ business transaction. The transaction size the has significant value has been set at not to exceed 3% of NTA of the company and it must be a normal business transaction and support business under general business terms that company would deal with others under similar situation. The Secretary to the Company Miss Sukanya Pantapatkul is assigned as the Company secretary as per resolution of the board no. 66/2551. Her role and responsibilities are as follow: 1. To arrange the shareholders’ meetings and the board meetings in accordance with laws, the Company’s Articles of Association and the other related regulations. 2. To record and maintain record of minutes of the shareholders meetings and the board of directors meetings. 3. To oversee that the Company and the board of directors disclose information in compliance with the regulations of SET as well as the SEC regarding disclosure of information. 4. To provide basic legal advice to the board of directors regarding laws, regulations and Articles of Association of the Company and regularly monitor that they have properly and regularly conducted within law. 5. To communicate with the shareholders to inform them of their right and the Company’s news. The Audit Committee It consists of 3 Independent Directors who possess qualifications required by SEC and SET. One member has expertise and vast experience in accounting and finance. Their term in office is 3 years and the retired director is eligible for re-appointing and may not serve more than 3 consecutive terms in the committee. The Audit Committee meets regularly on a monthly basis. During 2009, it held 11 meetings in which one was with the auditor but without management officers. It reports regularly to, and attends the meeting with the board. The Audit Committee also submits its report, to the shareholders, in the annual report. The Committee has scheduled meetings for the year in advance, and matched it with the schedule of the board meetings, also scheduled for the year. The Board of Directors meeting No. 73/2552 on November 13, 2009 resolved to appoint the retired member of audit committee to serve for another term. The members of audit committee are
ชื่อ / Names
1. ศาสาตราจารย์หิรัญ รดีศรี Prof. Hiran Radeesri 2. นายประมนต์ สุธีวงศ์ Mr. Pramon Sutivong 3. นายเกียรติ ศรีจอมขวัญ Mr. Kiet Srichomkwan
ตำ�แหน่ง / Position ประธานกรรมการตรวจสอบ เป็นบุคคลทีม่ คี วามรูค้ วามเข้าใจ หรือมีประสบการณ์ดา้ นบัญชีและการเงิน Chairman of the Audit Committee who has expertise and vast experience in accounting and finance practice. กรรมการตรวจสอบ Audit Committee กรรมการตรวจสอบ Audit Committee
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบ ตามกฎบัตร ที่ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 69/2551 วันที่ 13 พฤศจิกายน 2551 ดังรายละเอียด หน้าที่และความรับผิดชอบ 1. สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง และเพียงพอ 2. สอบทานให้บริษทั มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมี ประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบ เกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณาคัดเลือกเสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระ เพื่อทำ�หน้าที่เป็นผู้สอบบัญชี และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของ บริษทั รวมทัง้ เข้าร่วมประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มฝี า่ ยจัดการเข้าร่วม ประชุมด้วย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือ รายการที่อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำ �หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้มน่ั ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผล และ เป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 6. สอบทานให้บริษัทมีระบบการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ที่มีประสิทธิภาพ 7. รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้ คณะกรรมการบริษัทอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง 8. จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ใน รายงานประจำ�ปีของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้
จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม เบี้ยประชุม (บาท) Attendance of Meeting Allowances the meeting (Baht)
11/11
330,000
11/11
220,000
11/11
220,000
Powers and Responsibilities of the Audit Committee The audit committee has scope of duty and responsibilities that are approved by the board of directors meeting No. 69/2551 on November 2008 as follows: Duty and responsibilities 1. To review the Company’s financial reporting process to ensure that it is accurate and adequate. 2. To review the Company’s internal control system and internal audit system to ensure that they are suitable and efficient. To determine an internal audit unit’s independence, as well as to approve the appointment, transfer and dismissal of the chief of the internal audit unit or any other unit in charge of an internal audit. 3. To review the Company’s compliance with the law on securities and exchange, the Exchange’s regulations and the laws relating to the company’s business. 4. To consider, select and nominate an independent person to be the Company’s auditor, and to propose such person’s remuneration, as well as to attend a non-management meeting with the auditor at least once a year. 5. To review the connected transactions, or the transactions that may lead to conflicts of interest, to ensure that they are in compliance with the laws and the Exchange’s regulations, and are reasonable and for the highest benefit of the Company. 6. To review that the company has an effective risk management system. 7. To report the audit committee’s performance to the board of directors at least 4 times a year. 8. To prepare, and to disclose in the Company’s annual report, an audit committee’s report which must be signed by the audit committee’s chairman and consist of the at least the following report, NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
71
8.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือ ได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท 8.2 ความเห็ น เกี่ ย วกั บ ความเพี ย งพอของระบบควบคุ ม ภายในของบริษัท 8.3 ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 8.4 ความเห็นเกีย่ วกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี 8.5 ความเห็ น เกี่ ย วกั บ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทาง ผลประโยชน์ 8.6 จำ�นวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการ เข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน 8.7 ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบ ได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) 8.8 รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต้ ข อบเขตหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท 9. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมาย ด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ 10. ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หาพบ หรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการ หรือการกระทำ�ดังต่อไปนี้ ซึ่งอาจมี ผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานของ บริษัท ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการของบริษัท เพื่อดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบ เห็นสมควร 10.1 รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 10.2 การทุ จ ริ ต หรื อ มี สิ่ ง ผิ ด ปกติ ห รื อ มี ค วามบกพร่ อ งที่ สำ�คัญในระบบควบคุมภายใน 10.3 การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของ บริษัท หากคณะกรรมการของบริษัท หรือผู้บริหารไม่ดำ�เนินการให้ การปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาตามวรรคหนึง่ กรรมการตรวจสอบรายใด รายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระทำ�ตามวรรคหนึ่งต่อ ก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย์ฯ 11. ในกรณี ที่ ผู้ ส อบบั ญ ชี พ บพฤติ ก ารณ์ อั น ควรสงสั ย ว่ า กรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบในการดำ�เนินงานของ บริษัทได้กระทำ�ความผิดตามที่กฎหมายระบุ และได้แจ้งข้อเท็จจริง เกี่ยวกับพฤติการณ์ดังกล่าวให้คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท ทราบ และเพื่อดำ�เนินการตรวจสอบต่อไปโดยไม่ชักช้า และให้คณะ กรรมการตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบเบื้องต้นให้แก่ส�ำ นักงาน และผู้สอบบัญชีทราบภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบ บัญชี พฤติการณ์อันควรสงสัยที่ต้องแจ้งดังกล่าว และวิธีการเพื่อให้ได้ มาซึ่งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับพฤติการณ์นั้นให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ กำ�กับตลาดทุนประกาศกำ�หนด
72
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
8.1 an opinion on the accuracy, completeness and creditability of the Company’s financial report, an opinion on the adequacy of the Company’s internal control system, 8.2 an opinion on the compliance with the law on securities and exchange, the Exchange’s regulations, or the laws relating to the Company’s business, 8.3 an opinion on the suitability of the auditor, 8.4 an opinion on the transactions that may lead to conflicts of interests, 8.5 number of audit committee meetings, and the attendance of such meetings by each committee member, 8.6 an opinion or overview comment received by the audit committee from its performance of duties in accordance with the charter, 8.7 other transactions which should be known to the shareholders and general investors, subject to the scope of duties and responsibilities assigned by the Company’s board of directors. 9. To perform any other act as assigned by the Company’s board of directors, with the approval of the audit committee. 10. In performing of its duties, if it found or suspected that there is a transaction or any of the following acts which may materially affect the Company’s financial condition and operating results, the audit committee shall report it to the board of directors for rectification within the period of time that the audit committee thinks fit: 10.1 a transaction which causes a conflict of interest; 10.2 any fraud, irregularity, or material defect in an internal control system; or 10.3 an infringement of the law on securities and exchange, the Exchange’s regulations, or any law relating to the Company’s business. If the Company’s board of directors or management fails to make a rectification within the period of time under the first paragraph, any audit committee member may report on the transaction or act under the first paragraph to SEC or SET. 11. If the auditor of the Company discovers any suspicious circumstance that the director, manager or any other person responsible for the operation of the Company commits an offense as defined by laws and the auditor informed the fact relating to such circumstance to the audit committee in order to continue the inspection without delay. The audit committee shall inspect the circumstance and report the result of preliminary inspection to the auditor’s office and the auditor within 30 days. The suspicious circumstance to be reported and the process to uncover facts of such circumstance shall be as defined by the Capital Market
นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบมีอำ�นาจ ดังนี้ 1. สามารถเชิญกรรมการ ผู้บริหาร หัวหน้าหน่วยงาน หรือ พนักงานของบริษทั หารือ หรือตอบคำ�ถามคณะกรรมการตรวจสอบ 2. สามารถขอคำ�ปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญของบริษัท หรืออาจ จ้างที่ปรึกษา หรือผู้เชี่ยวชาญภายนอกได้หากมีความจำ�เป็น เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ นางวิภาดา ศรีธิมาสถาพร ผู้อำ�นวยการสำ�นักตรวจสอบภายใน คณะกรรมการลงทุน คณะกรรมการลงทุนทำ �หน้าที่ดูแลและกำ �หนดแผนการดำ �เนิน งานการลงทุนของบริษทั ให้เป็นไปตามเป้าหมายทีค่ ณะกรรมการบริษทั ได้ให้ไว้ องค์ประกอบของคณะกรรมการลงทุนดำ�รงโดยตำ�แหน่งของ ผูบ้ ริหาร 3 ท่าน ได้แก่ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผูอ้ �ำ นวยการ และผู้อำ�นวยการฝ่ายบริหารสินทรัพย์ โดยมีนายสุจินต์ หวั่งหลี เป็นที่ ปรึกษาคณะกรรมการลงทุน บริษทั ได้ก�ำ หนดระเบียบและวิธปี ฏิบตั เิ กีย่ วกับ การลงทุนให้การอนุมตั แิ ละการลงนามในเอกสารใดๆ ทีเ่ กีย่ วกับการลงทุน ต้องผ่านการอนุมตั ิ 2 ใน 3 ท่านของคณะกรรมการลงทุน โดยมีขอบเขต ความรับผิดชอบและอำ�นาจอนุมัติภายใต้ระเบียบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ การลงทุนของบริษัทที่ผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมกรรมการครั้งที่ 46/2546 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2546 คณะกรรมการลงทุนมีการประชุมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อ กำ�หนดแผนและทิศทางการลงทุน สัดส่วนเงินลงทุนในแต่ละประเภท และแนวทางปฏิบัติการบริหารความเสี่ยง นอกจากนี้มีการประชุมย่อย เป็นครั้งคราวเพื่อติดตามผลการดำ�เนินงาน และปรับกลยุทธ์การลงทุน ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลง โดยเชิญเจ้าหน้าทีท่ ร่ี บั ผิดชอบ มารายงาน คณะกรรมการการลงทุนมีรายชื่อดังนี้
1. 2. 3. 4.
ชื่อ / Names นายนิพล Mr. Nipol นายปิติพงศ์ Mr. Pitiphong นางสาวชุติธร Miss Chutithorn นายสุจินต์ Mr. Suchin
ตั้งจีรวงษ์ T. Jeerawong พิศาลบุตร Bisalputra หวั่งหลี Wanglee หวั่งหลี Wanglee
Supervisory Board. In addition, the audit committee is empowered to 1. Request explanations from directors, executives, managers, chief of departments and staff on matters related to the committee’s function. 2. Consult with the Company’s specialists or employ paid specialists or consultants from outside, if necessary. Secretary to the Audit Committee Mrs. Vipada Sritimasathaporn, Vice President, Office of Internal Audit. The Investment Committee The committee is responsible for oversight of investment policy and plans to achieve the targeted objective. Its members consist of 3 executive officers by the positions of the chairman of the executive board, the president of the Company and the vice president of asset management department. The committee engaged Mr. Suching Wanglee as the advisor. According to the investment procedure, all investment transactions must be approved and signed by at least 2 of the committee members in accordance with the scope of responsibilities and power of authority under rules and practices on investment approved by the board meeting no. 44/2546 on 28 February 1993. The committee meets at least once a year to make plans and set investment directions, proportion for line of investment and risk management. During the year the committee holds several informal meetings from time to time to monitor investment performance and make changes of investment directions to match with changes in situation.The investment committee is consists of the following executive officers:
ตำ�แหน่ง / Position
จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม เบี้ยประชุม (บาท) Attendance of Meeting Allowances the meeting (Baht)
ประธานกรรมการลงทุน (ประธานกรรมการบริหาร) 2/2 Chairman of the Committee (Chairman of the Executive Board) กรรมการลงทุน (กรรมการผู้อำ�นวยการ) 2/2 Member of the Committee (President) กรรมการลงทุน (ผู้อำ�นวยการฝ่ายบริหารสินทรัพย์) 2/2 Member of the Committee (Vice President, Management Dept.) ที่ปรึกษาคณะกรรมการลงทุน 2/2 Consultant to the Committee
-
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
73
หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการลงทุน 1. พิจารณากำ�หนดนโยบายและแผนการลงทุนให้สอดคล้อง กับนโยบายของคณะกรรมการบริษัท 2. วิเคราะห์และบริหารความเสี่ยงด้านการลงทุน 3. พิจารณาอนุมัติการลงทุนในหลักทรัพย์ 4. พิจารณาอนุมัติการให้กู้ยืมทั่วไป 5. พิจารณาอนุมัติการขายทรัพย์สินที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ ทัง้ นี้ อำ�นาจหน้าทีด่ งั กล่าวจะต้องอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ขอ้ กำ�หนด ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ �กับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย (คปภ.) เรือ่ งการประกอบธุรกิจอืน่ ของบริษทั ประกันวินาศภัย และหลักเกณฑ์ข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ฯ และ ก.ล.ต.
Duties and Responsibilities 1. To determine investment policy and make plans to match the Company policy. 2. To assess and manage risks in investment. 3. To consider and approve investment in securities. 4. To consider and approve of money lending. 5. To consider and approve the sale of intangible assets. The duties and powers as mentioned above are subject to the procedures and regulations of the Office of the Insurance Commission (OIC) regarding other business of non-life insurance companies and the procedures and regulations of SET and SEC.
คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการสรรหาประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารของ บริษัทจำ�นวน 3 ท่าน มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งครั้งละ 3 ปี โดยประธาน กรรมการสรรหาและสมาชิกส่วนใหญ่เป็นกรรมการอิสระ ซึง่ ประกอบด้วย รายชื่อดังต่อไปนี้
The Nominating Committee The nominating committee consists of 3 non-executive directors, who each will serve the committee for 3 years. The chairman and majority of the members are independent directors, as follow
ชื่อ / Names
1. 2.
นายเกียรติ Mr. Kiet นายชาน Mr. Chan
3. นายวุฒิชัย Mr. Vuttichai
ตำ�แหน่ง / Position
ศรีจอมขวัญ Srichomkwan ซู ลี Soo Lee
ประธานกรรมการสรรหา (กรรมการอิสระ) Chairman of the Committee (Independent Director) กรรมการสรรหา (กรรมการอิสระ) Member of the Committee (Independent Director)
หวั่งหลี Wanglee
กรรมการสรรหา (กรรมการ) Member of the Committee (Director)
หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา 1. กำ�หนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการในการสรรหา กรรมการบริษัท กรรมการชุดย่อย และผู้บริหารตั้งแต่ระดับกรรมการ ผู้อำ�นวยการขึ้นไป เพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 2. คัดเลือกและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อดำ�รง ตำ�แหน่งต่างๆ เช่น กรรมการบริษัท กรรมการชุดย่อย และผู้บริหาร ตั้งแต่ระดับกรรมการผู้อำ�นวยการขึ้นไป เมื่อครบวาระหรือมีตำ�แหน่ง ว่างลง 3. ดูแลสัดส่วนจำ�นวนและองค์ประกอบของคณะกรรมการให้ เหมาะสมกับองค์กร และหน้าที่ความรับผิดชอบที่มีต่อผู้ถือหุ้น 4. พิ จ ารณาทบทวนอำ � นาจและหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการ สรรหา เพื่อเสนอคณะกรรมการให้ปรับปรุงเหมาะสมสอดคล้องกับ กฎหมาย ระเบียบ หรือคำ�สั่งของหน่วยงานราชการ เช่น คปภ. ตลาดหลักทรัพย์ฯ และ ก.ล.ต. ฯลฯ
74
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม เบี้ยประชุม (บาท) Attendance of Meeting Allowances the meeting (Baht)
3/3
60,000
2/3
20,000
3/3
30,000
Duties and Responsibilities 1. Establish policy, criteria and procedures for the selection of nominees to serve as directors of the board, members of the committee and executive officers of the Company ranking from the president and above, to the board of directors for approval. 2. Recruit and nominate a qualified individual to become director of the board of directors, committee and executive officers of the Company ranking from the president and above when his/her term in office expires or becomes available. 3. Oversee that the proportion, the number of directors and composition of the board of directors are appropriately constituted to the organization and meet its fiduciary obligations to the shareholders. 4. Review duties and responsibilities of the nominating committee and recommend to the board to make changes in compliance with laws, regulations or order of government authorities such as OIC, SET and SEC etc.
คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน The Remuneration Committee คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็น The remuneration committee consists of 3 non-executive ผู้บริหารของบริษัทจำ�นวน 3 ท่าน มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งครั้งละ directors who each will serve for 3 years. The chairman of the 3 ปี โดยประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และสมาชิกส่วนใหญ่ remuneration committee and most of it members are เป็นกรรมการอิสระ ซึ่งประกอบด้วยรายชื่อดังต่อไปนี้ independent directors, as follow: จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม เบี้ยประชุม (บาท) ชื่อ / Names ตำ�แหน่ง / Position Attendance of Meeting Allowances 1. 2.
นายประมนต์ Mr. Pramon นายพรพงษ์ Mr. Phornpong
3. นายสุพจน์ Mr. Suphot
the meeting
(Baht)
สุธีวงศ์ Sutivong พรประภา Phornprapha
ประธานกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ) Chairman of the Committee (Indepent Director) กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ) Chairman of the Committee (Indepent Director)
2/2
40,000
-
-
หวั่งหลี Wanglee
กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน (กรรมการ) Member of the Committee (Director)
2/2
หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน 1. กำ�หนดนโยบาย โครงสร้างผลตอบแทน และผลประโยชน์ อื่นๆ ที่จ่ายให้แก่คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ และผู้บริหารตั้งแต่ระดับกรรมการผู้อำ�นวยการขึ้นไป 2. กำ�หนดแนวทางการประเมินผลงานของกรรมการบริษัท กรรมการชุดย่อยต่างๆ และผู้บริหารตั้งแต่ระดับกรรมการผู้อำ�นวยการ ขึ้นไป เพื่อพิจารณาปรับผลตอบแทนประจำ�ปี 3. พิจารณากำ�หนดค่าตอบแทนประจำ�ปีแก่คณะกรรมการ บริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อนำ�เสนอขออนุมัติต่อที่ประชุม ผู้ถือหุ้น 4. พิ จ ารณากำ� หนดค่ า ตอบแทนประจำ� ปี แ ก่ ผู้ บ ริ ห ารตั้ ง แต่ ระดับกรรมการผูอ้ �ำ นวยการขึน้ ไป และนำ�เสนอขออนุมตั ติ อ่ คณะกรรมการ บริษัท 5. พิจารณาทบทวนหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ พิจารณาค่าตอบแทนเพื่อเสนอคณะกรรมการ ให้ปรับปรุงเหมาะสม สอดคล้องกับกฎหมาย ระเบียบ หรือคำ�สั่งของหน่วยงานราชการ เช่น คปภ. ตลาดหลักทรัพย์ฯ และ ก.ล.ต. ฯลฯ 6. เสนอคำ�แนะนำ�ต่อคณะกรรมการให้ทราบรูปแบบหรือวิธี กำ�หนดค่าตอบแทน ทีม่ กี ารพัฒนาหรือมีการเปลีย่ นแปลงในอุตสาหกรรม เพื่อนำ�มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริษัท 7. ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการพิจารณาค่าตอบแทนของ ผู้บริหารตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
20,000
Duties and Responsibilities 1. Establish policies, compensation program and other benefit plans for the directors of the board, committees’ members and the Company executives ranking from the president level upwards. 2. Make performance evaluation guidelines for determination annual compensation to the directors of the board, the committee members and the company executives ranking from the president upwards. 3. Review and determine the annual compensation to the directors of the board and the committee and submit it to the shareholders meeting for approval. 4. Review and determine the compensation to the company executives ranking from the president level upward and thereof submit to the board for approval. 5. Review duties and responsibilities of the remuneration committee and recommend to the board to make changes in compliance with laws, regulations or order of government authorities such as OIC, SET and SEC etc. 6. Give advice to the board of changes or development in compensation and other benefit programs and practices in the industry, and recommend the board to adopt appropriate changes. 7. Perform such other activities and functions related to determining the executive officers compensation as may be assigned by the board of directors.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
75
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งประกอบด้วย กรรมการ หรือผูบ้ ริหาร ของบริษัท จำ�นวนต้องไม่น้อยกว่า 3 ท่าน มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ครั้งละ 3 ปี ซึ่งประกอบด้วยรายชื่อดังต่อไปนี้
ตำ�แหน่ง / Position
ชื่อ / Names
1. 2. 3. 4. 5.
นายนิพล Mr. Nipol นายปิติพงศ์ Mr. Pitiphong นางสาวอนุกูล Miss Anukul นางสาวสุกัญญา Miss Sukanya นางสาวชุติธร Miss Chutithorn
ตั้งจีรวงษ์์ T. Jeerawong พิศาลบุตร Bisalputra ฐิติกุลรัตน์ Thitikulrat ปัณฑพรรธน์กุล Pantapatkul หวั่งหลี Wanglee
ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง Chairman of the Committee กรรมการบริหารความเสี่ยง Member of the Committee กรรมการบริหารความเสี่ยง Member of the Committee กรรมการบริหารความเสี่ยง Member of the Committee กรรมการบริหารความเสี่ยง Member of the Committee
หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง 1. สอบทานและนำ�เสนอนโยบายการบริหารความเสี่ยงและ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ให้แก่คณะกรรมการบริษัทเพื่ออนุมัติ 2. กำ�กับดูแลการพัฒนาและการปฏิบัติตามกรอบการบริหาร ความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร 3. สอบทานรายงานการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ติดตามความเสีย่ ง ทีส่ �ำ คัญ และดำ�เนินการเพือ่ ให้มน่ั ใจได้วา่ องค์กรมีการจัดการความเสีย่ ง อย่างเพียงพอและเหมาะสม 4. นำ�เสนอความเสี่ยงในภาพรวมของบริษัท รวมถึงความเพียง พอของระบบควบคุมภายใน เพื่อการจัดการความเสี่ยงต่างๆ ที่สำ�คัญ ให้กับคณะกรรมการบริษัท 5. ให้ค�ำ แนะนำ�กับฝ่ายต่างๆ ทีเ่ ป็นหน่วยงานบริหารความเสี่ยง และพิจารณาแก้ไขข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาระบบการบริหาร ความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารและผู้บริหาร คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยสมาชิกทีเ่ ป็นกรรมการและผูบ้ ริหาร เพือ่ ช่วยแบ่งเบา ภาระของคณะกรรมการในการกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานประจำ�ของ บริษัทให้เป็นไปตามนโยบายที่กำ�หนด โดยมีนายสุจินต์ หวั่งหลี เป็นที่ ปรึกษาคณะกรรมการบริหารในการให้ค�ำ แนะนำ�และคำ�ปรึกษาแก่คณะ กรรมการบริหาร ในเรื่องเกี่ยวกับแนวทางการกำ�หนดกลยุทธ์ระยะยาว รวมถึงแนวทางการควบรวมกิจการ คณะกรรมการบริหารมีการประชุม สม่ำ�เสมอทุกสัปดาห์ ตามตารางเวลาที่ได้กำ�หนดล่วงหน้าทั้งปี
76
The Risk Management Committee The risk management committee consists of not less than 3 directors or executive directors who each will serve for 3 years. The members of the committee are as follows:
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม เบี้ยประชุม (บาท) Attendance of Meeting Allowances the meeting (Baht)
1/1
20,000
1/1
10,000
1/1
10,000
1/1
10,000
1/1
10,000
Duties and Responsibilities 1. Review and submit a risk management policy and risk appetite to the board of directors for approval. 2. Oversee development and ensure that all division / department within the Company to perform by the risk management system. 3. Review the risk management reports and periodically follow up on major risks and make sure the Company has managed risks appropriately and with efficiency. 4. Submit to the board of directors, a report of overall risk exposure to the Company including review whether the internal audit system is appropriate to manage exposure from major risks. 5. Give advice to all division/department of the risk management sector, consider and resolve development system of the risk management. The Executive Board and the Executives The Executive Board The members of executive board are directors and executives. It assists the board in overseeing and monitoring normal daily operation according to the company plan. It engaged an advisor, Mr. Suchin Wanglee to advise the executive board on matters concerning long term strategy planning including merger and acquisition. The executive board meets regularly every week scheduled in advance for the year.
เนื่องจาก ณ สิ้นปี 2552 นายสมพร วิชชุรัตพร ได้เกษียณอายุ ทำ�งาน และนายวีระพล เหล่าฤทธิรัตน์ ได้รับแต่งตั้งไปเป็นที่ปรึกษา กรรมการผูอ้ �ำ นวยการ เพือ่ ให้การบริหารงานมีประสิทธิภาพและต่อเนือ่ ง บริษัทจึงได้พิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารชุดใหม่ โดยมีรายชื่อ ดังต่อไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5.
ชื่อ / Names นายนิพล Mr. Nipol นายปิติพงศ์ Mr. Pitiphong นางสาวอนุกูล Miss Anukul นางนลินา Miss Nalina นายสุจินต์ Mr. Suchin
ตั้งจีรวงษ์์ T. Jeerawong พิศาลบุตร Bisalputra ฐิติกุลรัตน์(1) Thitikulrat โพธารามิก(1) Bodharamik หวั่งหลี Wanglee
At the end of 2009 Mr. Somporn Vichuratporn reaches retirement age and Mr. Veeraphol Laudhittirut has been assigned a new position as an advisor to the president. For continued efficiency in managing business the company appointed the new members to executive board. The members are:
ตำ�แหน่ง / Position กรรมการ/ ประธานกรรมการบริหาร Director/ Chairman of the Executive Board กรรมการ/ กรรมการผู้อำ�นวยการ Director/ President ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ Senior Vice President ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ Senior Vice President ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร Consultant to the Executive Board
รายชื่อกรรมการบริหารที่ลาออก
List of the Directors who Resigned
1. นายวีระพล เหล่าฤทธิรัตน์ Mr. Veeraphol Laudhittirut 2. นายสมพร วิชชุรัตพร Mr. Somporn Vichuratporn
รองกรรมการผู้อำ�นวยการ (ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษากรรมการผู้อำ�นวยการ) Executive Vice President (Currently serves as an Advisor to the President) กรรมการ/ รองกรรมการผู้อำ�นวยการ (ลาออกเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2552) Director/Executive Vice President (Resigned on 30 December 2009)
หมายเหตุ (1) ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 74/2553 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553
ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. รับผิดชอบในการควบคุม ดูแล การปฏิบัติงานของฝ่าย จัดการของบริษัท และบริษัทย่อยให้ดำ�เนินไปตามนโยบายและแผน งานหลักที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ให้ดำ�เนินไปอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2. รับผิดชอบในการจัดทำ�นโยบาย งบประมาณ แนวทาง และ แผนงานหลักในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทและบริษัทย่อย เสนอต่อ คณะกรรมการบริษัท 3. รับผิดชอบในการควบคุม ดูแล ให้บริษทั ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พระราชบัญญัตปิ ระกันวินาศภัย พระราชบัญญัติบริษัทมหาชน และกฎหมายอื่นที่เกีย่ วข้อง ตลอดจน ข้อกำ�หนด หรือประกาศทีอ่ อกตามกฎหมายดังกล่าว
จำ�นวนครั้งที่เข้าประชุม เบี้ยประชุม (บาท) Attendance of Meeting Allowances the meeting (Baht)
38/40
-
40/40
-
-
-
-
-
40/40
-
40/40
-
37/40
-
Note (1) Resolution of the board of director No. 74/2553 on 25 February 2010
Power and Responsibility of the Executive Board 1. To control and supervise that the operation of the Company and its subsidiaries are carried out according to the policies and major operating plans, with utmost efficiency and effectiveness, as assigned by the board. 2. To make corporate policy, budget, guideline and other operating plans of the Company and its subsidiaries and report of such to the board. 3. To control and supervise that the Company conducts in compliance with the Securities and Stock Exchange Act, the Non-Life Insurance Act, the Public Company Act and other related applicable regulations thereof. NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
77
4. รับผิดชอบในการดูแลให้บริษัทปฎิบัติตามมาตรฐานการ บัญชีทร่ี บั รองโดยทัว่ ไป ให้มกี ารจัดทำ�งบการเงินทีแ่ สดงถึงฐานะการเงิน และผลการดำ�เนินงานของบริษัทและบริษัทย่อยที่เป็นจริงอย่างรอบคอบ และสมเหตุสมผล 5. รับผิดชอบในการประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยงในการ ประกอบธุรกิจของบริษทั และบริษทั ย่อย และกำ�หนดมาตรการทีเ่ หมาะสม เพื่อบริหารความเสี่ยงเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท 6. รับผิดชอบในการปฏิบตั งิ านอืน่ ตามทีค่ ณะกรรรมการบริษทั มอบหมาย คณะกรรมการบริหาร มีอำ�นาจการในการดำ�เนินงาน ดังนี้ 1. มีอำ�นาจในการจัดการตามนโยบาย งบประมาณ และแผน งานของบริษัทและบริษัทย่อย 2. มีอ�ำ นาจในการกระจายอำ�นาจในการบริหารให้แก่ผรู้ บั ผิดชอบ งานบริหารของบริษัทและบริษัทย่อย ในระดับถัดลงไป 3. มีอำ�นาจในการจัดการและดำ�เนินการต่างๆ ในเรื่องการรับ ประกันภัย การจัดการสินไหมทดแทนและการลงทุนในการจัดการธุรกิจ โดยปรกติ 4. มีอำ�นาจในการจัดซื้อ จัดจ้าง จำ�หน่ายจ่ายโอน และอนุมัติ ค่าใช้จ่ายภายในวงเงิน 30 ล้านบาท 5. มีอำ�นาจอนุมัติค่าใช้จ่ายที่เกินงบประมาณได้ภายในวงเงิน ไม่เกินร้อยละ 20 ของจำ�นวนเงินงบประมาณ 6. การที่คณะกรรมการบริษัทมอบอำ�นาจให้คณะกรรมการ บริหาร หรือการทีค่ ณะกรรมการบริหารมอบอำ�นาจให้ประธานกรรมการ บริหาร หรือกรรมการผู้อำ�นวยการและ/หรือเจ้าหน้าที่อื่นตามความ เหมาะสมให้ดำ�เนินการแทนบริษัทหรือบริษัทย่อย การมอบอำ�นาจใน แต่ละลำ�ดับจะไม่รวมถึงอำ�นาจในการอนุมัติรายการที่ผู้รับมอบอำ�นาจ หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใดกับบริษัทหรือบริษัทย่อย
78
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
4. To control and supervise the Company to follow generally accepted accounting standards and prepare financial statements to show accurately and reasonably the financial and operation results of the Company and its subsidiaries. 5. To evaluate and assess risks in operating business of the Company and its subsidiaries and make appropriate measures to manage such risk and inform the board thereof. 6. To perform any other tasks as assigned by the board. Authority of the Executive Board is as follows 1. To manage the operation of the Company and its subsidiaries according to the policy, budget and operating plans. 2. To delegate the management authority to the respective responsible executives of the Company and subsidiaries according to level of command. 3 To manage and handle all matters related to underwriting, claims administration, investment and other normal operation. 4. To purchase, hire, sell and transfer of assets and to authorize expenditure within the limit of 30 million Baht. 5. To authorize expenditure that exceeds the budget but not over 20% of the budget amount. 6. In the event that the board of directors has given authority to the executive board or in the event that the executive board has given authority to the chairman of the executive board or the president and/or any other executives to act on behalf of the company or its subsidiaries, the authority given so does not include the power to approve transactions that the assignee or the involved person may have interest, or conflict of interest with the company or its subsidiaries.
ผู้บริหาร ตามคำ�นิยามของ ก.ล.ต. มีรายชื่อดังต่อไปนี้
The Executive Officers as desined by SEC are as follows:
ชื่อ / Names 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
นายนิพล Mr. Nipol นายปิติพงศ์ Mr. Pitiphong นายวีระพล Mr. Veeraphol นายสมพร Mr. Somporn นางสาวอนุกูล Miss Anukul นางสาวสุกัญญา Miss Sukanya นางนลินา Miss Nalina นายทาคายูคิ Mr. Takayuki นายอดุล Mr. Adul
ตั้งจีรวงษ์ T. Jeerawong พิศาลบุตร Bisalputra เหล่าฤทธิรัตน์ Laudhittirut วิชชุรัตพร Vichuratporn ฐิติกุลรัตน์์ Thitikulrat ปัณฑพรรธน์กุล Pantapatkul โพธารามิก Bodharamik ซาวาซากิ Savasaki พัฒนภูมิ Pattanaphum
ตำ�แหน่ง / Position ประธานกรรมการบริหาร Chairman of the Executive Board กรรมการผู้อำ�นวยการ Persident รองกรรมการผู้อำ�นวยการ (ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษากรรมการผู้อำ�นวยการ) Executive Vice President (Currently serves as an Advisor to the President) รองกรรมการผู้อำ�นวยการ (ลาออกเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2552) Executive Vice President (Resigned on 30 December 2009) ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ และผู้อำ�นวยการฝ่ายการเงินและบัญชี Senior Vice Persident and Vice Persident, Finance Department ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ Senior Vice Persident ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ Senior Vice Persident ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ (แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2552) Senior Vice President (Was appointed since 1 May 2009)9. ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ (แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2552) Senior Vice President (Was appointed since 1 July 2009)
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหารบริษัท 1. กำ�กับการดูแลการดำ�เนินงานโดยรวมให้เป็นไปตามนโยบาย ของบริษัท และกำ�หนดกลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจให้สอดคล้องกันโยบาย ของคณะกรรมการบริษัท 2. กำ�กับดูแลให้นโยบายและกลยุทธ์ดังกล่าวข้างต้น มีการ นำ�ไปใช้ปฏิบัติอย่างเหมาะสม 3. บริหารจัดการงานตามที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหน่วยงาน 4. ดำ�เนินการทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั งิ านทัว่ ไปในแต่ละวัน การถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหาร(1) ที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงในปีที่ผ่านมา
Duties and Responsibilities of the Executive Officers are as follows: 1. To control and supervise the overall operation in accordance with the Company’s policies including determining that business strategies are in line with the policy set by the board of directors. 2. To control and supervise that the above mentioned policies and strategies have been properly implemented. 3. To manage and monitor performance of the department being assigned to. 4. To manage the daily general operation. Report of changes in the holdings of directors and ฃexecutive officers(1) from last year.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
79
รายชื่อ (กลุ่ม(2)) Name (Groups(2)) 1. นายสุจินต์ หวั่งหลี Mr. Suchin Wanglee 2. นายนิพล ตั้งจีรวงษ์ Mr. Nipol T. Jeerawong 3. นายปิติพงศ์ พิศาลบุตร Mr. Pitiphong Bisalputra 4. นายวุฒิชัย หวั่งหลี Mr. Vuttichai Wanglee 5. นายสุพจน์ หวั่งหลี Mr. Suphot Wanglee 6. ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี Prof. Hiran Radeesri 7. นายประมนต์ สุธีวงศ์ Mr. Pramon Sutivong 8. นายเกียรติ ศรีจอมขวัญ Mr. Kiet Srichomkwan 9. นายชาน ซู ลี Mr. Chan Soo Lee 10. นายพรพงษ์ พรประภา Mr. Phornpong Phornprapha 11. นายทำ�นุ หวั่งหลี Mr. Thamnu Wanglee 12. นางสาวจิตตินันท์ หวั่งหลี Miss Jittinan Wanglee 13. นายมิโนรุ ซาซาดะ Mr. Minoru Sasada 14. นางสาวพรรณี เชิดรำ�ไพ (ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2552) Miss Pannee Choedrum-phai (Resigned as director on 30 April 2009) 15. นายสมพร วิชชุรัตพร (ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2552) Mr. Somporn Vichuratporn (Resigned as director on 30 December 2009) 16. นายวีระพล เหล่าฤทธิรัตน์ Mr. Veeraphol Laudhittirut 17. นางสาวอนุกูล ฐิติกุลรัตน์ Miss Anukul Thitikulrat 18. นางสาวสุกัญญา ปัณฑพรรธน์กุล Miss Sukanya Pantapatkul 19. นางนลินา โพธารามิก Miss Nalina Bodharamik 20. นายทาคายูคิ ซาวาซากิ Mr. Takayuki Savasaki 21. นายอดุล พัฒนภูมิ Mr. Adul Pattanaphum หมายเหตุ
80
(1)
ผู้บริหาร ตามคำ�นิยามของ ก.ล.ต. และรวมผู้อำ�นวยการฝ่ายการเงิน (2) นับรวมบุคคลตามมาตรา 258
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
จำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ 31 ธ.ค. 2552 No. of Shares as at 31 Dec. 2009
จำ�นวนที่เพิ่ม (ลดลง) จากปีก่อน 31 ธ.ค. 2551 Incresaed (Decreased) from the Previous Year 31 Dec. 2008
2,877,200
(390,100)
146,368
(40,000)
89,897
10,000
535,103
-
662,544
(50,000)
-
-
105,000
2,100
35,823
-
-
-
242
-
339,634
-
405,044
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
559
-
-
-
-
-
-
-
Note (1) As defined by SEC executive officers includes the Vice President of Finance Department. (2) Classified according to definition of connected persons under clause 258.
การสรรหากรรมการและผู้บริหาร การสรรหากรรมการ ในการประชุมสามัญประจำ�ปีทกุ ครัง้ กรรมการ 1 ใน 3 ต้องลาออก จากตำ�แหน่ง กรรมการทีพ่ น้ วาระอาจได้รบั การเลือกตัง้ ใหม่ได้ ทีป่ ระชุม สามัญผูถ้ อื หุน้ จะเป็นผูพ้ จิ ารณาแต่งตัง้ กรรมการ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ อาจมี มติถอดถอนกรรมการของบริษัทคนใดออกจากตำ�แหน่งก่อนถึงคราว ออกตามวาระได้ดว้ ยคะแนนเสียงไม่นอ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของจำ�นวนผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มาประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง และมีหนุ้ นับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจำ�นวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง คณะกรรมการสรรหาได้กำ�หนดหลักเกณฑ์เพื่อคัดเลือกบุคคล ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีคุณสมบัติเหมาะสม โดยคำ�นึงถึงองค์ประกอบของ คณะกรรมการให้มีคุณสมบัติที่หลากหลาย และสามารถอุทิศเวลาใน การปฏิบัติหน้าที่อย่างเพียงพอเข้ามาเป็นกรรมการ บริษัทจึงได้กำ�หนด หลักเกณฑ์ให้กรรมการแต่ละท่านสามารถดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการใน บริษัทจดทะเบียนได้ไม่เกิน 5 บริษัท หากกรรมการท่านใดดำ�รง ตำ�แหน่งกรรมการเกินกว่าทีก่ ล่าวไว้ขา้ งต้น หรือไปเป็นกรรมการในกิจการ ที่มีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็นการแข่งขันกับกิจการของบริษัท ต้อง มีหน้าที่รายงานเป็นลายลักษณ์อักษรภายใน 1 เดือน นับแต่ได้รับการ แต่งตั้งให้ประธานกรรมการและ/หรือคณะกรรมการรับทราบทุกครั้ง เพือ่ ทีบ่ ริษทั จะได้แจ้งให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทราบก่อนทีจ่ ะมีมติแต่งตัง้ ต่อไป นอกจากนี้ บริษัทได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยสามารถ เสนอชื่อบุคคลอื่นเพื่อเข้ารับการเลือกตั้งผ่านทางเว็บไซด์ของบริษัทเป็น การล่วงหน้าตั้งแต่วันที่ 15 พฤศจิกายน - 31 ธันวาคม ของทุกปี เพื่อเข้ารับการพิจารณาคัดเลือกในที่ประชุมสามัญประจำ�ปีผู้ถือหุ้น การเลือกคณะกรรมการจะไม่มกี ารแบ่งคะแนนเสียง โดยข้อบังคับ ของบริษัทกำ�หนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการเลือกตั้งกรรมการโดย ผ่านที่ประชุมผู้ถือหุ้น ดังนี้ 1. ผูถ้ อื หุน้ คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุน้ ต่อเสียงหนึง่ 2. ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตามข้อ 1. เลือกตัง้ บุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียง ให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ 3. บุคคลซึง่ ได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลำ�ดับลงมา เป็นผูไ้ ด้รบั การเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำ�นวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือก ตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำ�ดับถัดลงมามี คะแนนเสียงเท่ากันเกินจำ�นวนกรรมการที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตัง้ ใน ครัง้ นัน้ ให้ผเู้ ป็นประธานเป็นผูอ้ อกเสียงชีข้ าดเพิม่ อีกหนึง่ เสียง
Selection of Directors and Executive Officers Selection of Directors At every annual general shareholder meeting, one third of the directors retire. The retired directors are eligible for re-election. The annual general shareholders meeting shall appoint directors. The shareholders meeting can pass a resolution to remove a director from his office before his term is due with a total vote of not less than three fourths of the total number of shareholders who attended the meeting and are eligible to vote. These shareholders must also hold not less than 50 percent of the total number of eligible to vote shares that are present at the meeting. The nominating committee has made criteria in selecting persons who possess appropriate qualification and are able to dedicate enough time to serve as directors. It takes into account of having directors of various qualifications. The company determines that a director may not serve on more than 5 company boards. A director who serves on more than the above mentioned or serves on board of other company that business is similar to the company and in competition with the company must advise the chairman of the board or the board, in writing within 1 month upon being appointed. The company will then report such to the meeting of shareholders before it appoints the director to serve for another term. The Shareholders may propose their candidates by submitting in advance, in written form at the Company’s web site between 15 November-31 December of every year. The candidate submission will be presented when nominations for directors are considered at the annual general shareholders meeting. The election of directors is done at every annual general shareholders meeting and splitting of votes is not allowed. In accordance with the Company’s regulations the procedure of election is as follows: 1. There is one vote per one share. 2. Each shareholder may vote for a candidate of his/her choice. The shareholder can vote for one or for several persons at a time but he cannot divide his vote. 3. The candidate who receives the highest votes will take the vacant seat. In case of tie votes and the number of directors exceed the required number, then the chairman of the meeting will cast his vote.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
81
การสรรหาผู้บริหาร คณะกรรมการสรรหาจะเป็นผู้คัดเลือกบุคคลเข้าดำ�รงตำ�แหน่ง ผูบ้ ริหาร ตัง้ แต่ระดับกรรมการผูอ้ �ำ นวยการขึน้ ไปเพือ่ เสนอคณะกรรมการ บริษัทสำ�หรับ ผู้บริหารอื่นระดับรองลงมาจากกรรมการผู้อำ �นวยการ กรรมการผูอ้ �ำ นวยการจะเป็นผูพ้ จิ ารณา โดยหารือกับประธานกรรมการบริหาร บริษทั ได้ก�ำ หนดจำ�นวนบริษทั ทีผ่ บู้ ริหารระดับสูง (ผูบ้ ริหารระดับสูง หมายถึง ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่ระดับกรรมการผู้อำ�นวยการขึ้นไป) สามารถดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการหรือผู้บริหารในบริษัทอื่นได้ไม่เกิน 5 บริษัท หากผู้บริหารท่านใดดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการเกินกว่าที่กำ�หนด ไว้ หรือไปเป็นกรรมการในกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการ แข่งขันกับกิจการของบริษัท ต้องมีหน้าที่รายงานเป็นลายลักษณ์อักษร ภายใน 1 เดือน นับแต่ได้รับการแต่งตั้งให้บริษัทได้รับทราบ นายนิพล ตั้งจีรวงษ์ ตำ�แหน่งประธานกรรมการบริหาร ได้ครบสัญญาจ้างในสิ้นปี 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 73/2552 วันที่ 13 พฤศจิกายน 2552 มีมติอนุมัติต่อสัญญาจ้าง นายนิพล ตั้งจีรวงษ์ กลับเข้าดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการบริหาร เป็นระยะเวลาอีก 1 ปี โดยสัญญาจ้างสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 เนื่องจากเป็นบุคลากรที่มีความสามารถในการบริหารจัดการ พร้อมทั้ง ให้คำ�แนะนำ�และถ่ายทอดประสบการณ์ในเรื่องของการวางแผนกลยุทธ์ ในการดำ�เนินงานแก่กรรมการผู้อำ�นวยการต่อไปอีก 1 ปี ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ค่าตอบแทนกรรมการ ในปี 2552 ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ได้อนุมตั คิ า่ ตอบแทนกรรมการ ดังนี้ 1. ค่าบำ�เหน็จกรรมการประจำ�ปี 2551 เป็นเงิน 3,680,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 3.5 ของเงินปันผลจ่าย โดยให้ประธานกรรมการ เป็นผู้พิจารณาจัดสรรแก่คณะกรรมการ 2. ค่าเบีย้ ประชุมในปี 2552 สำ�หรับกรรมการทีเ่ ข้าร่วมประชุมดังนี้ การประชุมคณะกรรมการบริษัท ประธานกรรมการ 30,000 บาท/ครั้ง กรรมการ 20,000 บาท/ครั้ง/คน การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการตรวจสอบ 30,000 บาท/ครั้ง กรรมการตรวจสอบ 20,000 บาท/ครั้ง/คน การประชุมคณะกรรมการชุดย่อยอื่น ได้แก่ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการชุดย่อยอื่น 20,000 บาท/ครั้ง กรรมการชุดย่อยอื่น 10,000 บาท/ครั้ง/คน 3. ค่าตอบแทนประจำ� สำ�หรับที่ปรึกษาคณะกรรมการ บริหาร 495,000 บาท/เดือน และสิทธิประโยชน์อน่ื ให้เป็นไปตามสิทธิท่ี พนักงานพึงได้รับตามระเบียบการดำ�เนินงานของบริษัท โดยให้รับใน อัตราเทียบเท่ากับตำ�แหน่งประธานกรรมการบริหาร
82
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Selection of Executives The nominating committee selects and makes recommendation to the board of directors regarding candidates for the office of president and higher. The president, with discussion with the chairman of the executive board, appoints all other executive officers under his line of command. The high ranking senior executives (refer to an executive who holds position of the president or higher) may serve on the board and take up executive position in other companies but not more than 5 companies. The senior executive who serves more than the above mentioned number or serves on board of other company that business is similar to the company and in competition with the company must advise the company, in writing within 1 month upon being appointed. Mr. Nipol T. Jeerawong terms of employment expired at the end of 2009. He possesses good management skills and can give value advice and transfer his experience to the president therefore, the board of directors meeting No. 71/2552 on November 13, 2009 resolved to employ him as the chairman of the executive board for another year. The contract terms will expire on 31 December 2010. Compensation to the Executives Cash Compensation Directors’ Compensation During 2009 the shareholders meeting approved directors’ compensation as follow: 1. Bonus for 2008 amounted to 3,680,000 Baht or 3.5% of dividend paid. The Chairman determines the allocation to directors of the board. 2. The directors’ fees for the directors who attend the meeting are as follows: The board of directors The chairman 30,000 Baht/meeting Other directors 20,000 Baht/meeting/person The Audit Committee The chairman 30,000 Baht/meeting Other members 20,000 Baht/meeting/person Other committees which are nominating committee, remuneration committee and risks management committee. The Chairman of the committee 20,000 Baht/meeting Other members 10,000 Baht/meeting 3. Fix compensation to the advisor to the executive board is 495,000 Baht per month. He is also entitled to receive other fringe benefits as an employee of the Company and at the same level as the Chairman of the Executive Board.
ค่าตอบแทนรวมทีเ่ ป็นตัวเงินของคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการ ชุดย่อยแยกรายบุคคล ชื่อ / Names 1. นายสุจินต์ Mr. Suchin 2. นายนิพล Mr. Nipol 3. นายปิติพงศ์ Mr. Pitiphong 4. นายวุฒิชัย Mr. Vuttichai 5. นายสุพจน์ Mr. Suphot 6. ศาสตราจารย์หิรัญ Prof. Hiran 7. นายประมนต์ Mr. Pramon 8. นายเกียรติ Mr. Kiet 9. นายชาน Mr. Chan 10. นายพรพงษ์ Mr. Phornpong 11. นายทำ�นุ Mr. Thamnu 12. นางสาวจิตตินันท์ Miss Jittinan 13. นายมิโนรุ Mr. Minoru 14. นางสาวพรรณี Miss Pannee 15. นายสมพร Mr. Somporn 16. นางสาวอนุกูล Miss Anukul 17. นางสาวสุกัญญา Miss Sukanya 18. นางสาวชุติธร Miss Chutithorn
(1)
หน่วย : บาท : ปี / Unit : Baht : Year เบี้ยประชุม / Meeting Allowances บำ�เหน็จ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ พิจารณา บริหารความเสีย่ ง สรรหา ตรวจสอบ Bonus Risks Audit Nominating ค่าตอบแทน Committee Committee Remuneration Management Committee Committee
หวั่งหลี 120,000 - Wanglee ตั้งจีรวงษ์ 80,000 - T. Jeerawong พิศาลบุตร 80,000 - Bisalputra หวั่งหลี 40,000 - Wanglee หวั่งหลี 60,000 - Wanglee รดีศรี 80,000 330,000 Radeesri สุธีวงศ์ 80,000 220,000 Sutivong ศรีจอมขวัญ 80,000 220,000 Srichomkwan ซูลี 60,000 - Soo Lee พรประภา 40,000 - Phornprapha หวั่งหลี 80,000 - Wanglee หวั่งหลี 60,000 - Wanglee ซาซาดะ(2) 40,000 - Sasada 20,000 - เชิดรำ�ไพ(3) Choedrum-phai 80,000 - วิชชุรัตพร(4) Vichuratporn ฐิติกุลรัตน์ - - Thitikulrat ปัณฑพรรธน์กุล - - Pantapatkul หวั่งหลี - - Wanglee
รวม / Total หมายเหตุ
กรรมการ บริษัท Board of Directors
Cash compensation to individual director:
Total Compensation
460,000 580,000(1)
-
-
-
-
-
20,000
460,000
560,000
-
-
10,000
230,000
320,000
30,000
-
-
230,000
300,000
-
20,000
-
230,000
310,000
-
-
-
230,000
640,000
-
40,000
-
230,000
570,000
60,000
-
-
230,000
590,000
20,000
-
-
230,000
310,000
-
10,000
-
230,000
280,000
-
-
-
230,000
310,000
-
-
-
230,000
290,000
-
-
-
-
40,000
-
-
-
230,000
250,000
-
-
-
230,000
310,000
-
-
10,000
-
10,000
-
-
10,000
-
10,000
-
-
10,000
-
10,000
1,000,000 770,000 110,000 70,000
ไม่รวมค่าตอบแทนประจำ�ต่อเดือนและผลประโยชน์อื่นในตำ�แหน่ง ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร เป็นเงิน 7,835,000 บาท/ปี (2) เข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 (แทนนางสาวพรรณี เชิดรำ�ไพ) (3) ลาออกจากการเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2552 (4) ลาออกจากการเป็นกรรมการเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2552
ค่าตอบแทน รวม
60,000 3,680,000 5,690,000
Note (1) Not including his compensation and other benefits as the advisor of the executive board that totaled 7,835,000 Baht per year. (2) Was appointed as director to replace Miss Pannee Choedrum-phai on 15 May 2009 (3) Resigned as director on 30 April 2009 (4) Resigned as director on 30 December 2009
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
83
Comparison of director compensation between 2007 and 2008
สรุปเปรียบเทียบค่าตอบแทนกรรมการปี 2551 และปี 2552
2551 / 2008
ค่าตอบแทน / The Compensation
จำ�นวนราย No. of Persons
เบี้ยประชุม / Meeting Fees - กรรมการ The Board of Directors 14 - กรรมการตรวจสอบ Audit Committee 3 - กรรมการสรรหา Nominating Committee 3 - กรรมการพิจารณาค่าตอบแทน Remuneration Committee 3 - กรรมการบริหารความเสี่ยง Risks Management Committee 5 บำ�เหน็จกรรมการ / Diretor’s Bonus 15 รวม / Total
จำ�นวนราย No. of Persons
1,080,000 14 750,000 3 70,000 3 70,000 3 5 4,250,000 14 6,220,000
จำ�นวนเงิน Amount (Baht)
1,000,000 770,000 110,000 70,000 60,000 3,680,000 5,690,000
ค่าตอบแทนผู้บริหาร บริษทั มีตารางกำ�หนดอัตราค่าตอบแทนผูบ้ ริหาร ซึง่ จะพิจารณา ให้อยูใ่ นระดับทีใ่ กล้เคียงกับอุตสาหกรรม บริษทั มีการสำ�รวจอัตราค่าตอบแทน ผูบ้ ริหารเป็นระยะเพือ่ ปรับปรุงให้ทนั กับตลาด และเพียงพอทีจ่ ะรักษาและ จูงใจผู้บริหารที่มีคุณภาพ การพิจารณาค่าตอบแทนจะเชื่อมโยงกับ ผลการดำ�เนินงานของบริษัทและผลการดำ�เนินงานของผู้บริหารแต่ละ ท่าน คณะกรรมการบริษทั มอบหมายให้คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เป็นผู้ทำ�หน้าที่พิจารณาค่าตอบแทนของประธานกรรมการบริหารและ กรรมการผูอ้ �ำ นวยการ ส่วนค่าตอบแทนผูบ้ ริหารอืน่ ๆ รองลงจากกรรมการ ผู้อำ�นวยการกรรมการผู้อำ�นวยการจะพิจารณา โดยจะมีการหารือร่วม กับประธานกรรมการบริหาร
Executive Officers’ Compensation The Company has a scheme of the executive officers’ compensation to take into consideration the compensation applicable in the industry at the time. A survey of such is made periodically for adjustments to keep in line with the market and to retain and attract highly qualified executives. The compensation is considered in relation to the operation result and performance of each executive. The remuneration committee, authorized by the board, considers the chairman of the executive board and the president compensation. The president, consults with the chairman of the executive board, determines other executives’ compensation.
ค่าตอบแทนรวมทีเ่ ป็นตัวเงินของผูบ้ ริหาร(1)
The executives cash compensation(1) 2551 / 2008
ค่าตอบแทน / The Compensation เงินเดือน โบนัส กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ
Salary Bonus Provident Fund
หมายเหตุ (1) ประธานกรรมการบริหาร ผู้บริหาร 4 รายแรก ต่อจากประธานกรรมการบริหาร
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
2552 / 2009
จำ�นวนราย No. of Persons
จำ�นวนเงิน Amount (Baht)
จำ�นวนราย No. of Persons
จำ�นวนเงิน Amount (Baht)
6 6 6
16,572,600 5,626,000 828,630
9 9 9
21,733,200 5,644,600 896,460
23,027,830
28,274,260
รวม / Total
84
จำ�นวนเงิน Amount (Baht)
2552 / 2009
Note (1) The chairman of the executive board and first 4 executive officers of the Company, ranking from the chairman of the executive board.
ค่าตอบแทนอื่น บริษัทได้ทำ�ประกันภัยความรับผิดของกรรมการ และ เจ้าหน้าที่บริษัท (Directors and Officers Liability Insurance) เป็น มูลค่า 80,000,000 ล้านบาท การกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทให้ความสำ�คัญอย่างยิ่งต่อการดำ�เนินกิจการ ภายใต้หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ดังเห็นได้จากบริษัทได้รับรางวัล ต่างๆ อันเป็นสิ่งที่ยืนยันและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ว่าบริษัทคำ�นึงถึงสิทธิประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็น ลูกค้า คู่ค้า ผู้ถือหุ้น ฯลฯ โดยในปี 2552 บริษัทได้รับรางวัล ดังนี้ • รางวัลบริษัทประกันภัยที่มีการบริหารงานดีเด่นอันดับ 1 ในปี 2550 และอันดับ 3 2551 จากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและส่ง เสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) • ได้รับเครื่องหมายรับรองมาตรฐานคุณภาพตราสัญลักษณ์ Q-MARK ภาคการค้าและบริการ ประเภทการประกันวินาศภัยอีกครัง้ หนึง่ จากคณะกรรมการร่วม ซึ่งประกอบด้วยสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสมาคมธนาคารไทย • จากผลสำ�รวจการกำ�กับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทยที่จัด ทำ�โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) บริษัทได้รับ ผลการประเมิ น จั ด ให้ เ ป็ น บรรษั ท ภิ บ าลที่มีร ะดั บ คะแนนอยู่ใ นช่ ว ง 90-100 อยูใ่ นเกณฑ์ “ดีเลิศ” ติดต่อกันเป็นปีท่ี 2 • การประเมินคุณภาพการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปีที่จัดทำ� โดยสำ�นักงานคณะกรรมการกำ �กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) บริษัทได้รับผลการประเมินที่มีระดับคะแนนอยู่ในช่วง 90-99 อยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม” ติดต่อกันเป็นปีที่ 3 สิทธิของผู้ถือหุ้น นโยบายของบริษัทเกี่ยวกับการดูแลผู้ถือหุ้น กำ�หนดให้ปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำ�หนด โดยให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ปีละ 1 ครั้ง ภายในกำ�หนด 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชี เพื่อให้ ผูถ้ อื หุน้ ได้พจิ ารณารายงานการดำ�เนินงานจากคณะกรรมการ ตลอดจน ออกเสียงในกิจการต่างๆ ของบริษัท บริษัทได้คำ�นึงถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น ในการที่จะได้รับทราบข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ โดยให้มีการจัดส่ง หนังสือนัดประชุม รายงานประจำ�ปี พร้อมเอกสารประกอบการประชุม ให้แก่ผู้ถือหุ้นล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 7 วันทำ�การ รวม ทั้งลงประกาศในหนังสือพิมพ์แจ้งกำ�หนดวันเวลาและวาระการประชุม 3 วันติดต่อกันก่อนวันประชุม โดยในปี 2522 ได้ดำ�เนินการให้ผู้ถือหุ้น ได้รับสิทธิดังนี้ 1. บริษทั จัดประชุมผูถ้ อื หุน้ สามัญ 1 ครัง้ ในวันที่ 29 เมษายน 2552 สถานที่จัดประชุมอยู่ในกรุงเทพมหานครและเป็นย่านใจกลางเมืองซึ่ง สามารถเดินทางได้สะดวก และเปิดให้ผู้ถือหุ้นลงทะเบียนเข้าประชุม ล่วงหน้าก่อนการประชุมไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง
Other Compensation The Company buys a directors and officers liability insurance for a sum insured of 80 million Baht. Corporate Governance The board values the importance of good corporate governance and the company commitment to CG is recognized from many awards it received, giving proves and trusts to stakeholders that it operates business taken into consideration the interest of all parties whether clients, business associates, shareholders etc. During 2009 the companyreceived the following awards: • The second and third place awards respectively for the best managed insurance company of 2007 and 2008 from the Office of Insurance Commission. • “Q-Mark” standard in business and services from the joint committee of the Board of Trade of Thailand, The Federation of Thai Industries and The Thai Bankers’ Association. • Rated “excellent” and scored between 90-100 for 2 consecutive years from the survey conducted by the Institute of Directors on corporate governance of Thai listed companies. • Ranked “excellent” and scored between 90-99 for 3 consecutive years on the conduct of the annual general shareholders meeting in 2009 an the evaluation conducted by Thai Investors Association. Rights of Shareholders The Company complies with applicable regulatory regulations regarding shareholders. It conducts annual general shareholders meeting within 4 months from the last day of the accounting year. At the meeting, the shareholders shall consider the operation report and the Company performance. The Company realizes the shareholders’ rights to receive sufficient information prior to the meeting so notification of the meeting, together with the annual report disclosing the operating results and accompanying documents are sent to the shareholders at least 7 days in advance. The notification of the meeting and agenda are also posted in the newspapers for 3 consecutive days prior to the meeting. Rights that shareholders received from the company during 2009 are as the following: 1. The Company conducted the annual general shareholders meeting on 29 April 2009 in Bangkok where shareholders could easily travel. The venue of the meeting was open for shareholders to register for 1 hour prior to the meeting time. NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
85
2. บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นศึกษาข้อมูลก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น โดยได้จัดเตรียมข้อมูลประกอบหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นให้แก่ผู้ถือหุ้น ล่วงหน้าก่อนวันประชุม มีข้อมูลสำ�คัญเกี่ยวข้องกับเรื่องที่เสนอเพื่อให้ผู้ ถือหุ้นมีข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ เช่น ข้อมูลเบื้องต้นของบุคคลที่เสนอ แต่งตั้งเป็นกรรมการ การปฏิบัติงานของกรรมการค่าตอบแทนของ กรรมการ ข้อมูลเปรียบเทียบค่าสอบบัญชี เป็นต้น ในแต่ละวาระของ หนังสือเชิญประชุม บริษัทได้แจ้งข้อเท็จจริงและความเห็นของ คณะกรรมการเพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ได้พจิ ารณา และเพือ่ อำ�นวยความสะดวก บริษัทได้เผยแพร่หนังสือเชิญประชุมและเอกสารการประชุมผู้ถือหุ้นใน เว็บไซด์ของบริษัทในวันที่ 16 มีนาคม 2552 ล่วงหน้าก่อนวันประชุม เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน 3. กรรมการและผู้บริหารเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อชี้แจงการ ดำ�เนินงานของบริษัท พร้อมตอบคำ�ถามและอธิบายในประเด็นต่างๆ ที่ผู้ถือหุ้นต้องการทราบ ตลอดจนรับฟังข้อเสนอของผู้ถือหุ้น กาน ประชุมสามัญประจำ�ปี 2552 มีกรรมการบริษัทที่เข้าร่วมประชุมจำ�นวน 9 ท่าน จากจำ�นวนกรรมการ 14 ท่าน ประกอบด้วย ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการผู้อำ�นวยการ กรรมการตรวจสอบ 3 ท่าน และกรรมการอื่น 3 ท่าน นอกจากนี้ผู้บริหารด้านการเงิน และบัญชีของบริษัท ตัวแทนของผู้สอบบัญชีและตัวแทนจากสมาคมส่ง เสริมผู้ลงทุนไทยได้เข้าร่วมในการประชุมผู้ถือหุ้นดังกล่าวด้วย 4. บริษัทได้เชิญผู้แทนจากบริษัท สำ�นักงานทนายความสะพาน เหลือง จำ�กัด ซึ่งเป็นที่ปรึกษากฎหมายของบริษัท เป็นคนกลางเพื่อ ร่วมตรวจสอบเอกสารของผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบฉันทะที่มีสิทธิเข้าร่วม ประชุม วิธีการลงคะแนนและการนับคะแนนเสียงทำ�หน้าที่ให้การ ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นไปอย่างโปร่งใส 5. บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็นและซักถาม ตลอดจนเปิดโอกาสให้มีการชี้แจงในแต่ละวาระก่อนที่จะลงคะแนน ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิในการออกเสียงลงคะแนนได้อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่มีการจำ�กัดสิทธิการลงคะแนนของผู้ถือหุ้นรายหนึ่งรายใด 6. ในวันประชุมผู้ถือหุ้นประธานกรรมการได้ชี้แจงวิธีการออก เสียงและการนับคะแนนเสียง การประชุมได้ดำ�เนินการตามลำ�ดับวาระ การประชุมไม่เปลี่ยนแปลงข้อมูลสำ�คัญในที่ประชุมอย่างกะทันหัน ผู้ถือหุ้นทุกคนได้รับโอกาสเท่าเทียมกันในการแสดงความเห็นและตั้ง คำ�ถามในประเด็นต่างๆ พร้อมสอบถามการดำ�เนินงานของบริษัทในที่ ประชุมอย่างเต็มที่ ตลอดจนการให้ข้อเสนอต่างๆ แก่บริษัท 7. มี ก ารบั น ทึ ก รายงานประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ถู ก ต้ อ งครบถ้ ว น มีบันทึกคำ�ชี้แจงที่เป็นสาระสำ�คัญ คำ�ถามและคำ�ตอบหรือข้อคิดเห็น โดยสรุป รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นได้จัดทำ�เสร็จเพื่อส่งให้ตลาดหลัก ทรัพย์ฯ และนายทะเบียนบริษัทมหาชน พร้อมทั้งการเผยแพร่ในเว็บ ไซด์ของบริษัทในวันที่ 13 พฤษภาคม 2552 หลังจากวันที่ประชุม 14 วัน
86
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
2. The Company sent out materials of the meeting accompanied the notice of the meeting so shareholders have time to properly assess them without undue pressure. The materials covered important information to the agenda such as initial data of candidates for director seats, directors’ performance and their compensation, comparison of auditor fees, etc. In each agenda of the notice the company gave explanations and opinion of the board to assist shareholders in making their decision. For shareholders’ convenience and speed up in getting access to AGM information, on 16 March 2009, the Company put the notice of the meeting and accompanied materials on its web site. The notice was posted no later than 30 days in advance of the meeting. 3. The directors and executive officers attended the annual shareholder meeting to report on the Company’s performance, answer questions and give explanation on subjects that the shareholders wanted to know as well as take note of their suggestions. At the general annual shareholders meeting in 2009, 9 directors out of 14 attended the meeting. They are chairman of the board, chairman of the executive board, the president, 3 members of the audit committee and 3 directors. In addition, executive officers from finance dept. a representative of the auditor also attended the meeting. 4. The Company invited a representative of Sapan Leung Law Office Limited, the company legal consultant to act as a third party in checking documents presented by shareholders or their representative by proxy that are eligible to attend the meeting,. He was also involved in checking casting votes process and counting of votes to make certain the conduct of shareholders meeting was transparency. 5. The Company also gave considerable time for the shareholders to comment and asked questions as well as giving time for explanation in each agenda before taking a vote. The shareholders have equal right to vote and no one was restrained from doing so. 6. At the annual meeting of shareholders, the Chairman informed the meeting of voting process and the method to count votes. The meeting proceeded according to the agenda without any sudden changes in important materials. The shareholders had equal opportunity to fully express their opinions, asked questions, made inquiries on the performance and gave suggestions to the Company. 7. The Company keeps accurate and complete record of the shareholder meetings. It records minutes to document important explanations, questions and responds or summarized comments. Record of the Minutes of the shareholders meeting was complete and copies of the minutes had been sent to SET, the Registrar of public limited company, Department of Business Development. It has also been posted on the website on 13 May 2009, 14 days after the meeting.
ความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น บริษัทส่งเสริมสิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น โดยถือแนว ปฏิบัติดังนี้ 1. เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าประชุมด้วยตนเองมอบ ฉันทะให้ผอู้ น่ื มาประชุมและออกเสียงลงมติแทน บริษทั ได้ใช้หนังสือมอบ ฉันทะแบบ ข. เป็นแบบที่กำ�หนดรายการและรายละเอียดชัดเจน โดย ในแต่ละวาระผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะให้ผู้รับมอบกระทำ�แทน หรือ ผู้รับมอบฉันทะออกเสียงตามที่ผู้ถือหุ้นระบุไว้ในหนังสือเชิญประชุม 2. บริษัทได้เพิ่มทางเลือกให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุม ด้วยตนเอง ในการมอบฉันทะให้ประธานกรรมการตรวจสอบ หรือ ประธานกรรมการบริหาร หรือกรรมการบริหารเป็นผู้รับมอบอำ�นาจ เข้าประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทนได้ 3. บริษัทแจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบถึงข้อบังคับบริษัทในส่วนที่เกีย่ วข้อง กับการประชุมผูถ้ อื หุน้ เอกสารทีต่ อ้ งใช้แสดงตัวเพือ่ เข้าประชุม และ รายละเอียดวิธีการมอบฉันทะ 4. บริ ษั ท ได้ เ ผยแพร่ จ ดหมายถึ ง ผู้ ถื อ หุ้ น ผ่ า นระบบสื่ อ สาร อีเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ เพือ่ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อย เสนอระเบียบวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น และชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับ เลือกเป็นกรรมการล่วงหน้า โดยได้กำ�หนดหลักเกณฑ์การให้สิทธิของ ผู้ถือหุ้นส่วนน้อย ตลอดจนขั้นตอนและวิธีการในการพิจารณาที่ชัดเจน ในการที่บริษัทจะรับบรรจุเป็นวาระการประชุม โดยผู้ถือหุ้นของบริษัท สามารถดาวน์โหลดข้อมูลได้จาก http://www.navakij.co.th/investor /index_th.aspx 5. บริษัทได้จัดทำ� Investor Relationship Web Page (IR) ใน เว็บไซด์ของบริษัท เพื่อให้ผู้ถือหุ้นสามารถรับทราบข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับบริษัท และติดต่อสอบถามหรือเสนอแนะข้อคิดเห็นผ่านช่อง ทางของ IR Web Page
Equal Treatment of Shareholders The Company supports shareholders rights and ensures equal treatment of all shareholders. The practice is as follows: 1. The shareholders that are unable to attend the meeting may attend and vote by proxy. The Company provides a letter of proxy (form B) with specific agenda and their details and on each item of the agenda so the shareholder can specify whether he lets his proxy vote by himself or he wants his proxy to vote according to his direction. 2. The Company provides an alternative for shareholders that are not able to attend the meeting, to appoint either the chairman of the audit board or the chairman of the executive board or an executive director as their representative to attend the meeting and vote on their behalf. 3. The Company informs shareholders of the company articles of association regarding the meeting of shareholders, identification documents need for attending the meeting and how to appoint a proxy. 4. The Company submitted, to SET on-line system, a letter to shareholders describing process and steps for minority shareholders to propose in advance, an agenda and nominate a candidate for election to the board, for the AGM. The description also included clear defined criteria to ensure that the agenda will be properly considered. Shareholders may download these documents from www.navakij.co.th/th/news_share_fr.htm. 5. The Company has a web page title “Investor Relationship Web Page (IR)” in its web site to inform shareholders of the Company’s news and for them to make inquiries, comments or suggestions to the Company.
บทบาทผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทตระหนักถึงความสำ�คัญและสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่ม ต่างๆ ของบริษัท อันได้แก่ พนักงาน คู่ค้า ลูกค้า เจ้าหนี้ คู่แข่ง ผู้ถือ หุ้น หรือผู้ลงทุน และสังคมโดยรวม ผู้ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่จะสร้างความ สำ�เร็จในการดำ�เนินธุรกิจให้แก่บริษัท โดยบริษัทมีแนวทางปฏิบัติต่อผู้มี ส่วนได้เสียของบริษัทในกลุ่มต่างๆ ดังนี้ ผู้ถือหุ้น : บริษัทมีนโยบายที่จะสร้างกิจการให้มั่นคง เพื่อให้ ผู้ถือหุ้นได้รับผลตอบแทนในรูปเงินปันผลที่เหมาะสมและสม่ำ�เสมอ ทุกปี นอกเหนือจากสิทธิที่กำ�หนดไว้ในกฎหมายและข้อบังคับบริษัท บริษัทจัดให้มีแผนกผู้ถือหุ้นสัมพันธ์ สามารถติดต่อได้ที่เบอร์โทรศัพท์ 0 2636 7900 ต่อ 1630 คอยให้บริการ รับความคิดเห็น และประสานงาน กับผู้ถือหุ้น พนักงาน : บริษัทปฏิบัติต่อพนักงานของบริษัทอย่างเป็นธรรม ให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม มีการสื่อสารให้พนักงานทั่วทั้งองค์กรใน เรื่องการกำ�กับดูแลกิจการโดยผ่านสื่อต่างๆ เช่น การติดป้ายประกาศ การใช้คอมพิวเตอร์ระบบ Lotus Notes เป็นต้น ให้การฝึกอบรมและ
Roles of the Stakeholders The Company is aware of the importance and rights of various interest groups such as employees, clients, creditors, competitors, shareholders, investors and society who contribute to our success. The Company has guidance in dealing with various interest groups. Shareholders: It is the Company’s policy to make the Company secure, enable shareholders to receive appropriate and steady dividend every year. Besides shareholders’ rights as regulates by law and the Company’s articles of association the Company has established a shareholders relation division that can be reached by phone at 0 2636 7900 ext. 1630. The division serves shareholders, handles their suggestions or assists shareholders. Employees: The Company treats all employees with fairness and compensates them appropriately. It conveys concept and principle of corporate governance to all employees through various channels such as posting in the NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
87
พัฒนาพนักงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ในสายอาชีพและหลัก การบริหารจัดการ บริษทั สนับสนุนให้พนักงานศึกษาต่อเพือ่ ความก้าวหน้า ในหน้าทีก่ ารงาน มีนโยบายให้ทนุ การศึกษาทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ บริษัทมีการจัดตั้งกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพพนักงาน และยังมีสวัสดิการใน ด้านต่างๆ นอกเหนือจากที่กฎหมายกำ�หนด ได้แก่ การจัดให้มีการ ประกันสุขภาพและอุบัติเหตุให้แก่พนักงาน การจ่ายสวัสดิการเพื่อช่วย แบ่งเบาภาระของพนักงาน เช่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าเสื้อผ้าพนักงาน รวมทั้งเงินช่วยเหลือประเภทต่างๆ นอกจากนี้บริษัทฯ มีการดูแลความ ปลอดภัยให้แก่พนักงาน โดยมีการตรวจสอบคุณภาพของอุปกรณ์ดบั เพลิง และร่วมกับทางอาคารในการจัดซ้อมหนีไฟ หรือเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินเป็น ประจำ�ทุกปี ปีละ 1 ครั้ง และกำ�หนดให้มีพนักงานที่เป็นผู้นำ�ในแต่ละ จุดเป็นผู้ถือธงสีเขียวในการนำ�ทีม และตรวจสอบให้พนักงานทุกคนลง จากอาคาร ลูกค้า : อันได้แก่ผู้เอาประกันภัย บริษัทมีนโยบายที่ปฏิบัติตอ่ ลูกค้าทุกรายอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม โดยการเสนอขายกรมธรรม์ ที่มีคุณภาพ มีการให้คำ�แนะนำ�ความคุ้มครองที่เหมาะสมและเพียงพอ ต่อความต้องการของลูกค้าในแต่ละรายในราคาที่ยุติธรรม รวมถึงการ ให้ความสำ�คัญในการบริการลูกค้าที่รวดเร็ว โดยการบริการออกสำ�รวจ และตรวจสอบความเสียหายทันทีที่รับแจ้ง และดำ�เนินการชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนให้ได้ภายใน 7 วัน บริษัทยังจัดให้มีสำ�นักงานบริการ ลูกค้า (Customer Service Center: CSC) เป็นช่องทางสำ�หรับอำ�นวย ความสะดวกรวดเร็วให้แก่ลูกค้า รวมถึงการรับเรื่องร้องเรียนต่างๆ โดย บริษัทได้จัดทำ�แบบสอบถามความคิดเห็นลูกค้าที่ได้รับบริการด้าน สินไหมรถยนต์ เพื่อใช้ประเมินผลและปรับปรุงการให้บริการของบริษัท เจ้าหนี้ คู่ค้า และคู่แข่ง : บริษัทได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ได้ ตกลงกันไว้อย่างเคร่งครัด และได้ปฏิบัติอย่างสุจริตและเป็นธรรม โดย บริษัทมีนโยบายด้านการเงินที่ชัดเจน และแจ้งให้คู่ค้าทุกรายได้ทราบ ถึงระยะเวลาในการวางบิลและการชำ�ระเงินของบริษัท เช่น
88
bulletin board and in its computer system (Lotus Notes), etc. It offers continuous training on both underwriting and business management as well as encourages them to continue their education in both local and foreign institutes for career advancement. Furthermore the Company provides provident fund and other benefits exceeding those stated by laws such as personal accident and health insurance, reimbursement for medical expenses, uniform and other welfare. In addition it takes steps to safeguard employees by having fire extinguishers checked and cooperating with the building administrator in conducting fire drill once a year. It assigned leaders for each evacuation area to carry a green flag to lead the team and check that all employees had evacuated the building Clients: In respect of valued clients, it is the Company’s policy to treat all clients equally and with fairness in offering good quality insurance coverage, giving advises on coverage that is appropriate and sufficient to meet their needs at reasonable price. The Company also emphasizes on giving fast and good services by surveying and assessing claims immediately upon being noticed and paying compensation within 7 days upon agreed. Customer Service Center (CSC) is another channel that provides quick assistance to clients including handles their complaints. The Company also sends surveys to the clients who had automobile claims to learn their views regarding the level and quality of the automobile claim service in order to evaluate and make improvement of services. Creditors, Business Associates and Competitors: The Company follows the agreed terms with integrity and fairness. The Company has a clear defined financial procedure that all our business associates have been informed of pay schedules, e.g.
กลุ่มลูกค้า / Groups
วัน/เวลา การติดต่อรับเช็ค / Pay Schedules
กลุ่มลูกค้าและตัวแทน Clients and agents กลุ่มผู้ให้บริการแก่ลูกค้า เช่น อู่ โรงพยาบาล Providers of services to clients e.g. repair garages, hospitals กลุ่มคู่ค้า เช่น บริษัทประกันภัย Business partners i.e. reinsures, suppliers, venders etc.
ทุกวัน Every working days วันพฤหัส ทุกสัปดาห์ Every Thursdays วันพฤหัสสุดท้ายของเดือน The last Thursday of the month
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
สังคมและสิ่งแวดล้อม: บริษัทตระหนักถึงความสำ�คัญของการ ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และให้การสนับสนุนโครงการต่างๆ ที่ เป็นประโยชน์ต่อสังคมมาโดยตลอด เช่น บริษัทเป็นหนึ่งในบริษัท ประกันภัยที่เข้าร่วมโครงการประกันภัยเอื้ออาทรคุ้มครองอุบัติเหตุ เพื่อ สนั บ สนุ น นโยบายรั ฐ บาลในการสร้ า งความมั่ น คงแก่ ค รอบครั ว โครงการชนแล้วแยกเพื่อลดปัญหาการจราจร นอกเหนือจากนี้บริษัทยัง ตระหนักถึงความสำ�คัญถึงการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ผู้ที่ด้อยโอกาส และผู้ประสบภัยทางธรรมชาติ บริษัทได้จัดกิจกรรมเพื่อสังคมอย่าง สม่ำ�เสมอ โดยในปีที่ผ่านมามีการจัดกิจกรรมบริจาคโลหิตร่วมกับศูนย์ บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทยเป็นประจำ�ทุกไตรมาส รวมทั้ง สนับสนุนการจัดทำ�เสื้อยืดขอบคุณผู้บริจาคโลหิตในวันผู้บริจาคโลหิต โลกจำ�นวน 50,000 บาท ร่วมกับคลื่นวิทยุ จส. 100 จัดแรลลี่การกุศล เพื่อหาเงินสนับสนุนบริจาคให้ทหาร ตำ�รวจ และครูใน 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ บริจาคเงินสนับสนุนแก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัย เรียน ศูนย์การทหารม้า 10,000 บาท บริจาคเงินทุนการศึกษาในระดับ ชั้นประถมและมัธยมต้น 10,000 บาท ให้แก่มูลนิธิคุวานันท์ บริจาคเงิน สนับสนุนให้แก่กองทุนวันศรีนครินทร์ เพื่อช่วยเหลือค่ารักษาพยาบาล แก่ผู้ป่วยที่ขัดสน 20,000 บาท บริจาคเงินสนับสนุนในงานวันคนพิการ แห่งชาติจำ�นวน 10,000 บาท แก่สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และบริษทั ยังได้รว่ มเป็นเจ้าภาพทอดกฐินสามัคคี ณ วัดมกุฏคีรีวัน 30,000 บาท รวมทั้งกิจกรรมการปลูกป่าต้นกล้าไม้ โกงกางจำ�นวน 10,000 ต้น ที่สถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลน 6 จังหวัดเพชรบุรี และในเดือนมกราคม 2553 บริษัทได้จัดกิจกรรมการ บริจาคสิ่งของเครื่องใช้ อุปกรณ์การศึกษา และบริจาคเงินให้เป็นทุน การศึกษา 50,000 บาท แก่สถานคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กภาคตะวันออก จ. ระยอง เพื่อช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสทางสังคม การประกอบธุรกิจ ของบริษัทเป็นธุรกิจการให้บริการ จึงไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แต่ อย่างไรก็ตาม บริษัทมีนโยบายให้พนักงานช่วยกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยการปลูกจิตสำ�นึกของพนักงานในการใช้กระดาษอย่างประหยัด เอกสารที่ใช้ภายในให้ใช้กระดาษรีไซเคิลเพื่อลดการตัดต้นไม้ ช่วยชาติ ประหยัดพลังงานและลดภาวะโลกร้อนโดยใช้น้ำ�มันแก๊สโซฮอล และปิด เครื่องปรับอากาศก่อนเลิกงาน 15 นาที สำ�หรับกลไกการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย ผู้มีส่วนได้เสีย สามารถร้องเรียน แจ้งเบาะแสหรือพฤติกรรมทีอ่ าจส่อถึงการประพฤติ มิชอบของเจ้าหน้าที่ในองค์กร โดยส่งหนังสือหรือจดหมาอิเล็กทรอนิกส์ ไปถึงประธานกรรมการบริหารโดยตรงได้ที่ เลขที่ 100/48-55, 90/3-6 อาคารสาธรนครทาวเวอร์ ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 หรือ E-mail: nipol@navakij.co.th กรณีที่ บริษัทดำ�เนินการตรวจสอบข้อมูลและพบว่ามีมูล ก็จะดำ�เนินการแก้ไข และลงโทษตามวินยั นอกจากนีเ้ พือ่ เพิม่ ความมัน่ ใจให้กบั ผูม้ สี ว่ นได้เสีย บริษัทยังจัดช่องทางให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียได้ร้องเรียนการกระทำ�ผิด กฎหมายของผู้บริหารระดับสูง หรือรายงานทางการเงินที่ไม่ถูกต้องต่อ คณะกรรมการตรวจสอบเพื่ อ แสดงถึ ง ความเป็ น ธรรมและโปร่ ง ใส โดยผ่ า นเลขานุ ก ารคณะกรรมการตรวจสอบตามที่ อ ยู่ ข้ า งต้ น หรือ E-mail: vipada_s@navakij.co.th
Society and Environments: The Company recognizes and complies with applicable regulatory laws, procedures and gives support to many projects that benefit the society such as participating in the low-cost personal accident insurance scheme in which the family insured will be secured and knock for knock agreement to reduce traffic problems from accident. Apart from this, it gives much attention and help to people who are less fortune and those who suffer from natural disasters. It participates regularly in many social activities. During the previous year it arranged blood donation activities with the Thai Red Cross Society on a quarterly basis including a 50,000 Baht sponsor for T-shirts to thank blood donors on blood donors’ day. It joined Jor Sor 100 to organize a charity rally to get donation money to soldiers, police and teachers in the 3 southern border provinces. Donation of 10,000 Baht to the center for the development of preschool children located at a cavalry arms trooper. A 10,000 Baht scholarship to Kuvanun Foundation for students in primary and secondary school including a donation of 20,000 Baht to Sri Nakarintra Fund to help patients who are poor. The company donated 10,000 Baht to the National for Council on Social Welfare of Thailand to support activities on the national disabled people day. In addition to the above, the company gave 30,000 Baht to host a Buddhist Katin ceremony at Wat Makutkiriwant as well as participating in a program of seedling 10,000 young mangrove trees at a mangrove swamp in Petchburi. In January 2010 the company gave equipment, studies materials and a 50,000 Baht scholarship to the less fortune children at the Protection of Children’ Welfare in Eastern facility, Rayong. The Company engages in services industry therefore so its operation does not have any impact to environments. However, it has informed the employees to help preserve environments, changing their attitude on the use of paper, using recycled paper to preserve trees, saving energy and reducing greenhouse effects by using gasohol and turning off air conditioner 15 minutes before closing hours. In respect of interest groups, they may initiate a complaint, report on source of or an improper conducted by the employees, by sending mail directly to the chairman of the executive board, address at 100/48-55, 90/3-6 Sathorn Nakorn Tower, North Sathorn Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500 or to his e-mail address, nipol@navakij.co.th. The Company will investigate the complaints and in case that it is true, it will take corrective actions and disciplinary punishment. In establishing trust relationship with interest groups, the Company has another channel where they may report on top executives’ illegal conduct of business or submitting of falsified financial statement to the audit committee. For fairness and transparency, they may direct their allegations to the secretary of the audit committee at the address mentioned above or send an e-mail to vipada_s@navakij.co.th. NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
89
90
บริษัทจะรับพิจารณาเฉพาะเรื่องร้องเรียน หรือคำ�แนะนำ�ของ ผู้มีส่วนได้เสียที่ได้แจ้งชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และ E-mail (ถ้ามี) และความสัมพันธ์กับบริษัท โดยข้อมูลร้องเรียนการ ดำ�เนินการทั่วไปจะถูกเก็บเป็นความลับเฉพาะประธานกรรมการบริหาร และ/หรือกรรมการผู้อำ�นวยการ ส่วนการร้องเรียนการกระทำ�ผิดของ ผูบ้ ริหารระดับสูงจะถูกเก็บโดยเลขานุการกรรมการตรวจสอบ เพือ่ รายงาน คณะกรรมการตรวจสอบโดยตรง
The Company considers only the allegation or suggestions that the sender (writer) declares his name, address, telephone number, fax number and e-mail address (if any) and states his relationship with the Company. All general allegations shall be kept confidentially for the chairman of the executive board or the president. On the other hand, allegations of top executives will be kept by the secretary of the audit committee for reporting to the audit committee.
การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทมีนโยบายและถือแนวทางปฏิบัติในการเปิดเผยข้อมูล เพื่อให้ ผู้ถือหุ้น นักลงทุนมั่นใจในความโปร่งใส ดังนี้ 1. ดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน และ ทันเวลาตามข้อกำ�หนดของการเป็นบริษทั จดทะเบียน ไม่วา่ จะเป็นข้อมูล ทางการเงินหรือข้อมูลด้านอืน่ ๆ โดยผ่านทางระบบสือ่ สารอิเล็กทรอนิกส์ ของตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. เผยแพร่ข้อมูลของบริษัทในแบบ 56-1 รายงานประจำ�ปี ตลอด จนในเว็บไซด์ของบริษัท เพื่อให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน ตลอดจนผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียได้รบั ทราบ และสามารถนำ�ข้อมูลเหล่านัน้ ไปใช้ในการตัดสินใจ 3. บริษัทมีสำ�นักกรรมการผู้อำ�นวยการทำ�หน้าที่ติดตามข้อมูล ข่าวสาร กฎระเบียบของตลาดหลักทรัพย์ฯ และ ก.ล.ต. เพื่อให้บริษัท สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง 4. มีการเปิดเผยรายชื่อกรรมการ ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ และ การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการแต่ละชุดไว้ภายใต้หัวข้อโครงสร้าง การจัดการ มีการเปิดเผยจำ�นวนเงินการจ่ายค่าตอบแทน แยกเป็นราย คณะและรายบุคคลในหัวข้อค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร 5. คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำ�รายงาน ทางการเงินรวมของบริษัท ตลอดจนสารสนเทศที่เสนอต่อผู้ถือหุ้นใน รายงานประจำ�ปี ดูแลคุณภาพของรายงานทางการเงิน รวมทั้งงบการ เงินรวมของบริษัทให้มีการจัดทำ�งบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่ รับรองทั่วไป 6. มีการตรวจสอบบัญชีโดยผู้สอบบัญชีที่เชื่อถือได้และมีความ เป็นอิสระ เลือกใช้นโยบายบัญชีทเ่ี หมาะสมและถือปฏิบตั อิ ย่างสม่�ำ เสมอ 7. คณะกรรมการบริษัทได้ดูแลให้บริษัทมีสำ�นักตรวจสอบภายใน ซึ่งทำ�หน้าที่ตรวจสอบทุกหน่วยงานของบริษัทเป็นระยะ เพื่อให้มีการ บันทึกข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วน มีการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและมี ความสุจริตตามนโยบายทีบ่ ริษทั กำ�หนด และไม่ด�ำ เนินการใดอันเป็นการ ละเมิดกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 8. คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งให้กรรมการอิสระ 3 ท่านเป็น กรรมการตรวจสอบ ทำ�หน้าที่ในการสอบทานให้บริษัทมีรายงาน ทางการเงินที่ถูกต้อง ชัดเจน และทันเวลา สอบทานให้บริษัทมีระบบ การควบคุ ม ภายในและการตรวจสอบภายในที่ เ หมาะสมและมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนพิจารณาการปฏิบัติตามกฎหมายต่างๆ และ ระเบียบของบริษัท พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลให้ถูกต้อง ชัดเจน โปร่งใส และทันเวลาตามข้อกำ�หนดของการเป็นบริษัทจดทะเบียน
Disclosure of Information and Transparency Disclosure Process The company follows the policy and guideline on disclosure of information ensuring transparency to shareholders and investors as follows: 1. Overseeing financial information and other information are disclosed accurately, completely, clearly and timely in accordance with public company regulations, via electronics information system of the Stock exchange of Thailand. 2. Giving out the company information on form 56-1, the annual report as well as posting them on the Company’s website. Shareholders, investors and interest groups may get access and use such information to make decision. 3. The office of president always keeps up to date of information on laws, SET and SEC regulations to direct the Company to comply with any changes. 4. Disclosing list of directors, scope of duty and responsibilities and performance of each committee under “Management structure” and compensation to the each committee and its individual members under “Compensation to the executives”. 5. The board of director is responsible for oversight of the consolidated financial reports including information submitted to shareholders in the annual report, overseeing the quality of financial reports including the consolidated financial reports and having the financial statements always prepared according to general accepted account principles. 6. The financial statements are audited by reliable and independent auditors. Having selects an appropriate account policy and practice with consistency. 7. The board oversees the Company to have the office of internal audit to audit all functional units to make certain that records are complete and correctly booked, that the operation is conducted according to procedures’ standard with integrity and the Company does not violate any applicable regulating laws. 8. The board appointed 3 independent directors to serve as the audit committee. It has duty to review that the Company has clear, accurate and timely financial statements, internal control system and appropriate and effective internal audit system including oversight that the Company conduct is in compliance with applicable laws and regulations. Its duty also
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
ในกรณี ที่ มี ร ายการเกี่ ย วโยงหรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ของ ผลประโยชน์ บริษัทจะนำ�ข้อมูลเสนอคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อให้ พิจารณาความเหมาะสมและความสมเหตุสมผลก่อนที่จะดำ�เนินการ ตามขั้นตอนต่อไป 9. บริษัทจัดทำ� IR Web Page โดยมีแผนกผู้ถือหุ้นสัมพันธ์ในการ ติดต่อให้บริการข้อมูลแก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน และนักวิเคราะห์ สามารถติดต่อได้ที่เบอร์โทรศัพท์ 0 2636 7900 ต่อ 1630 หรือสอบถาม ได้จากหน้า website ของบริษัท www.navakij.co.th ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสร้างของคณะกรรมการ ข้อบังคับบริษัทกำ�หนดให้คณะกรรมการบริษัทมีจำ�นวนไม่ น้อยกว่า 9 ท่าน และกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนคณะ กรรมการทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร ปัจจุบันบริษัทมีคณะ กรรมการจำ�นวน 13 ท่าน ประกอบด้วย กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 2 ท่าน กรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร 6 ท่าน และมีการถ่วงดุลของ กรรมการที่เป็นอิสระ 5 ท่าน คิดเป็น 1 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการทั้ง คณะ คณะกรรมการของบริษทั จะประกอบด้วยบุคคลทีม่ คี วามรู้ ความ สามารถและมี ป ระสบการณ์ ห ลากหลายที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ บริ ษั ท โดยบริษัทไม่มีการกำ�หนดจำ�นวนวาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการ คณะกรรมการบริ ษั ท มี ค วามเป็ น อิ ส ระจากฝ่ า ยจั ด การ โดยประธานกรรมการบริษัทไม่ได้เป็นบุคคลเดียวกับประธานกรรมการ บริหารและกรรมการผู้อำ�นวยการ มีการแบ่งแยกหน้าที่ในการกำ�หนด นโยบายการกำ�กับดูแลและบริหารงานประจำ�อย่างชัดเจน ประธานกรรมการ บริษทั เป็นหนึง่ ในผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ของบริษทั ทีถ่ อื หุน้ ร้อยละ 9.59 ของหุ้นที่ ออกจำ�หน่าย ทั้งนี้บริษัทยังมีความจำ�เป็นที่จะให้ผถู้ อื หุน้ ใหญ่เป็น ประธานกรรมการบริษทั เพือ่ ใช้ประโยชน์จากประสบการณ์ความชำ�นาญ และทักษะในการดำ�เนินธุรกิจประกันภัยซึ่งเป็นธุรกิจที่มีลักษณะเฉพาะ รายชื่อและขอบเขตอำ�นาจหน้าที่คณะกรรมการเปิดเผยข้อมูล ไว้ในหัวข้อโครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีคณะกรรมการชุดย่อยจำ�นวน 6 คณะ เพื่อช่วยดูแลและรับผิดชอบเฉพาะเรื่อง โดยได้เปิดเผยข้อมูลไว้ ในหัวข้อโครงสร้างการจัดการ บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการครัง้ ที่ 68/2551 วันที่ 14 สิงหาคม 2551 ได้อนุมัติให้บริษัทและบริษัทย่อยสามารถมีรายการระหว่างกันที่เป็น รายการธุรกรรมปกติ หรือรายการสนับสนุนธุรกิจปกติที่มีเงื่อนไขการ ค้าโดยทั่วไปกับกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องได้ โดยคณะกรรมการมอบอำ�นาจให้ฝ่ายบริหาร และ/หรือผู้ที่ได้รับมอบ อำ�นาจจากฝ่ายบริหารเป็นผู้มีอำ�นาจในการตกลงทำ�ธุรกรรมดังกล่าว ได้ เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรา 89/12 (1) แห่ง พ.ร.บ. หลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ซึ่งเพิ่มเติมข้อกำ�หนดเกี่ยวกับ หน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการและผู้บริหาร
includes reviewing that the Company discloses appropriate information fairly, fully, accurately, transparency and timely according to regulation of listed companies. In case of related party transactions or conflicts of interest transactions, the audit committee will consider whether information submitted by the Company are appropriate and reasonable before taking further proceeding. 9. The Company has IR web page, under Shareholders relation division, to communicate with shareholders. Shareholders and investors can contact them at 0 2636 7900 ext. 1630 or make inquiries from the web page: www.navakij.co.th. Responsibilities of the Board of Directors Structure of the Board of Directors According to the articles of association the company, the board of directors must have at least 9 directors and no less than half of the board members must have permanent esidence in the Kingdom. The company currently has 13 directors consists of 2 executive directors, 6 non-executive directors and 5 independent directors which is 1/3 of the total board members. Its members are knowledgeable persons who have high capabilities and wide range of extensive experience that is useful to the company. There is not restriction on how many terms a director may serve on the board. The board of directors is independent from the management. The chairman of the board is not the chairman of the executive board or the president of the company. There is a clear separation of duty between making policy for monitoring and managing routine operation. The chairman is one of the major shareholders and holds 10.87% of the paid share capital. The Company still needs to have the major shareholder as its chairman because of his professional expertise, experience and skil s in managing insurance company that is a technical profession. List of directors on the board of directors and its scope of duty and power are disclosed under management structure. Other Committees The board of directors establishes 6 committees to assist it in monitoring and take responsible in specific area of which full details are discussed under the respective committee in Management structure. Role and Responsibilities of the Board of Directors The board of directors meeting No. 68/2551 on August 14, 2008 granted an approval allowing the company and the associated company to make related transactions that are normal business transaction or support normal business under general business terms with directors, executives or connected persons. The board authorized the executives and/or the person authorized by the executives the power to enter into such transactions. The board’s resolution is in accordance with article No. 89/12 (1) of the Securities and Stock Exchange Act (Version No. 4) B.E. 2551 that has a supplement on duty and responsibilities the board of directors and executives. NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
91
สำ � หรั บ รายละเอี ย ดบทบาทและหน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบของ คณะกรรมการแต่ละคณะได้เปิดเผยในหัวข้อโครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการบริ ษั ท ให้ ค วามสำ � คั ญ ในเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ ทิศทางการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทโดยกำ�หนด จริยธรรมทางธุรกิจ ความขัดแย้งของผลประโยชน์ ระบบการควบคุมภายใน และบริหาร ความเสี่ยงเพื่อใช้เป็นแนวทางในการถือปฏิบัติให้บรรลุถึงเป้าหมาย ดังรายละเอียด จริยธรรมทางธุรกิจ บริษัทจัดทำ�ประกาศเรื่องจริยธรรมทางธุรกิจให้พนักงานทุก คนมีหน้าที่ปฏิบัติ โดยจัดพิมพ์ในคู่มือพนักงานและถือเป็นส่วนหนึ่ง ของระเบียบวินัย ผู้บังคับบัญชาในแต่ละระดับชั้นตามสายการบังคับ บัญชาจะเป็นผู้รับผิดชอบในการดูแลการปฏิบัติตามจริยธรรมทางธุรกิจ บริษัทได้กำ�หนด พฤติบัญญัติ ไว้ดังนี้ 1. ประพฤติตนเป็นพลเมืองดี มีหน้าที่และความรับผิดชอบ ปฏิบัติตัวตามกฎหมายของแผ่นดิน หมั่นประกอบกรรมดีต่อสังคม 2. ประพฤติตนเป็นพนักงานที่ดี ดำ�รงไว้ซึ่งชื่อเสียง และยึดถือ กฎข้อบังคับของบริษัท 3. ปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์ของบริษัท โดยคำ�นึงถึงข้อ ปฏิบัติของการจัดการที่ดีของบริษัท ละเว้นการใช้อำ�นาจ หน้าที่ เพื่อผลประโยชน์ส่วนตน ข้อปฏิบัติของการจัดการที่ดี ประกอบด้วย 1. ข้อพึงปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการทั่วไป - พึงรำ�ลึกเสมอว่าการปฏิบัติหน้าที่ของตนนั้นมิใช่พันธะและ ความรับผิดชอบต่อบริษัทฯ หัวหน้างาน กรรมการ และผู้ถือหุ้นที่เป็น เจ้าของเท่านั้น หากยังมีหน้าที่รับผิดชอบต่อลูกค้า ผู้ร่วมงาน และ สังคม ดังนัน้ จึงต้องคำ�นึงถึงประโยชน์สว่ นรวมของบุคคลทุกกลุม่ ดังกล่าว เป็นแนวปฏิบัติการทั้งปวง - พึงรับผิดชอบในผลงานของตนและของผู้ใต้บังคับบัญชา - พึงใฝ่หา ปรับปรุง เพิ่มพูนความรู้ความสามารถของตน และพยายามศึกษาวิทยาการหรือวิชาการแบบต่างๆ อยู่เสมอ - ไม่มุ่งร้าย ทำ�ลาย หรือบั่นทอนทั้งทางตรงหรือทางอ้อม ต่อเกียรติคุณความก้าวหน้าหรือธุรกิจของผู้อื่น - ในการติดต่อและปฏิบัติต่อผู้อื่นควรประกอบด้วยคุณธรรม และมนุษยธรรม ตระหนักถึงศักดิ์ศรีและความเสมอภาคส่วนบุคคล เมื่อถูกขอร้องให้แสดงความคิดเห็นในงานของตน พึงให้ความคิดเห็นที่ เที่ยงตรงและเชื่อถือได้ 2. ข้อพึงปฏิบัติเกี่ยวกับองค์การธุรกิจ - พึงปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายตามนโยบายอันชอบด้วย กฎหมาย โดยความซื่อสัตย์สุจริต ด้วยวิจารณญาณที่ดี และมิให้เสื่อม เสียต่อภาพพจน์หรือเกียรติคุณขององค์การธุรกิจนั้น - ควรวางแผนงาน กำ�หนด และวิเคราะห์เป้าหมายในการ ปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานทั้งของตนเองและผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อให้ บรรลุถึงวัตถุประสงค์องค์กร โดยคำ�นึงถึงคุณธรรมและจรรยาบรรณ ของวิชาชีพต่างๆ ตลอดจนวัฒนธรรมขององค์กร
92
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Roles and responsibilities of individual committees are earlier discussed in details under Management structure. The board is strongly committed to the company’s direction of business in so far to establish code of business ethics, conflicts of interest, internal control system and risks management as guidance practice to achieve the objectives. In details, they are: Code of Ethics The Company makes known to all employees to always observe the code of business ethics that is the employee manual and forming a part of working regulations. Line supervisors at each level are responsible for oversight of compliance with code of ethics. The Company adopts Code of Best Conduct as follows: 1. We shall be good citizen and performs their duty and have responsibilities, observe of laws and always conduct good actions for society. 2. We shall be good employees, protect the Company’s reputation and always observe the Company regulations. 3. We perform our assigned duty to achieve the Company’s objective with consideration to comply with code of best practices and do not use our authority or duty for personal gain. Code of Best Practices are as follows: 1. Code of Best Practice on General Management - We must always realize that in performing our duty it is not only an obligation and responsibilities to the Company, supervisors, directors and shareholders but to clients, colleagues and society as well. Therefore, we must take into consideration the collective benefit of all parties concerned. - We must be personally accountable for our performance and for performance of sub-ordinates under our supervisory. - We should adapt to changes, always broaden our knowledge and continue studying new technology and development in the professions. - We do not directly or indirectly act offensively, aggressively against other’s advancement or business. - We respect and act fairness in dealing with others, recognize their dignity and equitableness. When asked to express an opinion on our work, we must give a faithful and reliable respond. 2. Code of Best Practice on the Company - We should perform our assigned duty by legitimate policy, with integrity, sound consideration and without any intention to cause adverse consequence to the Company’s image or reputation. - We should make plans, analyze objectives of our work unit including subordinates and ours, to meet the Company’s objective with a commitment to the Company’s ethical and professional conducts and culture.
- ใช้ความเป็นผู้นำ�ประสานงานและดำ�เนินการ โดยความรู้ ความสามารถในวิชาชีพของทุกคนทีม่ อี ยูเ่ พือ่ สัมฤทธิผลขององค์การธุรกิจ - พึงเสริมสร้างการปฏิบัติหน้าที่โดยมีระบบการดำ�เนินงานที่มี มาตรฐานและการควบคุมที่ดี โดยใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ ด้วยความระมัดระวังด้วยข้อมูลที่เพียงพอ และมีหลักฐานที่สามารถ อ้างอิงได้ - พึ ง ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารติ ด ต่ อ ประสานงานและเสริ ม สร้ า ง บรรยากาศของการทำ�งานที่ดี มีระเบียบวินัยทั้งภายในองค์การธุรกิจ และภายนอกด้วย - พึงเคารพข้อมูลอันเป็นความลับ ซึง่ ได้รบั ทราบมาโดยตำ�แหน่ง หน้าที่ และไม่ใช้ข้อมูลนั้นมาสู่องค์การธุรกิจที่ตนกำ�ลังปฏิบัติงานอยู่ หรือองค์การธุรกิจที่เคยปฏิบัติงานมาก่อน - ไม่ควรเกี่ยวข้องกับกิจการอื่นใดอันอาจขัดผลประโยชน์ต่อ นายจ้าง หรือบั่นทอนประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของตน - พึงหามาตรการที่ถูกต้องและเหมาะสมเพื่อการป้องกัน และ ให้ความปลอดภัยต่ออาคาร ทรัพย์สิน และกรรมวิธีซึ่งอยู่ในความ รับผิดชอบของตน
- We as a leader, should direct subordinates, coordinate and perform with professional knowledge and skills in conducting business to achieve the success objective of the Company. - We should establish performance standard and sound controlling system on our work system with skills and great care together with sufficient data and reliable sources. - We should encourage cooperation and promote a good working atmosphere, observe the code of disciplines both inside and outside the workplace. - We should observe individuals right to privacy of confidential information that we obtain in line of duty and do not give such information to the Company currently or previously work for, to transact inside trading. - We should not get involved with any other establishments that may create conflict of interest with the employer or that may effect efficiently in carrying out our function. - We should exercise proper conduct to protect and safeguard all property and procedures that are under our responsibility.
3. ข้อพึงปฏิบัติต่อบุคคลอื่นๆ ในองค์การธุรกิจ - ควรพยามยามหลีกเลี่ยง และขจัดการเข้าใจผิดในปัญหา อันสืบเนื่องจากเรื่องแรงงานสัมพันธ์ ซึ่งจะก่อให้เกิดความบาดหมาง ต่อองค์การธุรกิจ หรือระหว่างบุคคล - พึงกระทำ�ต่อผูร้ ว่ มงานอืน่ โดยปราศจากอคติ ช่วยเสริมสร้าง การทำ�งานเป็นทีม และเสริมสร้างความสามัคคีในหมู่พนักงานด้วยกัน - พึงเอาใจใส่ต่อความเป็นอยู่และทุกข์สุขของผู้ร่วมงานอื่น โดยคำ�นึงถึงการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขเป็นสำ�คัญ - พึงพิจารณาถึงความรู้ความสามารถ และส่งเสริมพัฒนาผู้ ใต้บังคับบัญชาที่จะมีโอกาสได้เลื่อนตำ�แหน่งหน้าที่ที่สูงขึ้น ทั้งนี้รวมถึง ตำ�แหน่งของตน
3. Code of Best Practice on Others in the Company - We should avoid and get rid of any misunderstanding issues related to employment relations that may cause conflict between companies or individuals. - We should treat colleagues without any prejudice, build teamwork and motivate cooperation among colleagues. - We should treat colleagues with compassion, empathy and have good intention to establish a healthy happy relation. - We should consider subordinates’ capability, give support and develop skills of those who are capable to advance in their career even though to take up ours.
4. ข้อพึงปฏิบัติเกี่ยวกับลูกค้า คู่แข่ง และรัฐ - พึงปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และมีจริยธรรมใน การดำ�เนินงานที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า คู่แข่งขัน และสังคม - พึงปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ พึงหลีกเลี่ยงการให้ข้อมูลอันเป็นความลับของลูกค้าเพื่อผลประโยชน์ ของบุคคลที่สาม - หาแนวทางส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด ความสั ม พั น ธ์ อั น ดี แ ละยั่ ง ยื น ระหว่างบริษัทกับคู่ค้าให้เป็นไปด้วยดี ประกอบด้วยไมตรีจิต และความ พึงพอใจด้วยกันทุกฝ่าย นำ�มาซึ่งคุณภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว ตรงความ ต้องการ และประหยัด - ห้ามมิให้เปิดเผยข้อมูลของลูกค้าที่ตนได้ล่วงรู้มาจากการ ดำ�เนินธุรกิจ อันเป็นข้อมูลที่ปกติวิสัยจะพึงสงวนไว้ไม่เปิดเผย เว้นแต่ จะได้รับความยินยอมจากลูกค้า หรือเป็นการเปิดเผยตามหน้าที่ตาม กฎหมาย หรือเป็นการเปิดเผยเพื่อประโยชน์ต่อธุรกิจประกันภัยหรือ ประชาชนโดยรวม
4. Code of Best Practice on Clients, Competitors and State - We should always carry out our duty with integrity and observe ethical conduct in respect of clients, competitors and society. - We should always act honestly and impartially when carrying out our duty toward clients. We should not disclose clients’ confidential information for others’ advantage. - We should always motivate a long healthy relation between the Company and associate partners that is hospitable and satisfaction to both parties and bring in quality, accurate, quick, appropriate services to meet their needs and be economy to our administration. - We must not disclose clients’ information that we obtain through our business without authorization from them unless statutory requires to do so or for the benefit of insurance industry or the public. NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
93
- ต้องแน่ใจว่าข่าวหรือข้อความที่จะแสดงออกสู่ภายนอกเป็น ไปอย่างชัดแจ้ง ตรงไปตรงมา ไม่ก่อให้เกิดการแนะแนวที่ผิดวัฒนธรรม ศีลธรรมอันดีงาม ต้องเคารพนับถือในเกียรติส่วนบุคคล - ต้องปฏิบตั ติ ามนโยบายทีด่ ขี องบริษทั โดยยึดหลักสุจริตธรรม ไม่ให้หรือรับสินบนไม่ว่าจะเป็นในรูปของขวัญหรือผลประโยชน์อื่นๆ และจะต้องไม่ยอมปฏิบัติในสิง่ ทีอ่ าจจะก่อให้เกิดการทุจริตติสนิ บน ไม่ กระทำ�การหรือช่วยเหลือหรือสนับสนุนการกระทำ�อันเป็นความผิดตาม กฎหมายและประกาศที่เกี่ยวข้อง หรือกระทำ�การอันเกี่ยวกับทรัพย์โดย ทุจริต หรือกระทำ�อันเป็นภัยต่อเศรษฐกิจ หรือความมั่นคงของประเทศ ตลอดจนไม่ปกปิด หรือมีส่วนในการยักย้าย หรือจำ�หน่ายทรัพย์สินที่ได้ มาเนื่องจากการกระทำ�ดังกล่าว - พึงหลีกเลี่ยงการกระทำ�ใดๆ ในอันที่จะเป็นการบั่นทอนชื่อ เสียงของคู่แข่งขัน
- We must make certain that all news or statement released to outsiders are clear, straightforward, and do not provoke moral misunderstanding. We must respect individual’s character. - We must always observe the Company’s code of ethical conduct consistent with values of integrity, do not give or accept gifts or other benefits and not participate in any kind of activity that may lead to bribery. We must not conduct or help or support misconduct acts in violation of laws or fraudulent or theft or crimes against economy or threats to national security. Furthermore we do not withhold or participate in transferring or dispose of any property from such misconduct. - We should avoid any conduct that causes negative image to competitors’ reputation.
5. ข้อพึงปฏิบัติเกี่ยวกับสภาวะสิ่งแวดล้อม - จงหาทางใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด โดยให้สูญเสียน้อยที่สุด และพยายามหาสิ่งทดแทนทรัพยากรธรรมชาติ ที่นำ�มาใช้โดยคำ�นึงถึงสภาวะแวดล้อมทั้งในปัจจุบันและอนาคต - พึ ง พยายามหาวิ ธี นำ � ของใช้ แ ล้ ว จากสถานประกอบการ มาปรับปรุงใช้อีก - พึงอนุรักษ์ปรับปรุงรักษาซึ่งอาคาร สถานที่ และสิ่งแวดล้อม ให้ดีขึ้น ให้อยู่ในสภาพที่เรียบร้อยงดงามและถูกสุขลักษณะ - พึงรักษาและปรับปรุงมาตรฐานความปลอดภัย เพื่อขจัด อุปทั วันตรายอันอาจเกิดต่อสถานที่ และสภาวะแวดล้อมให้เหลือน้อยทีส่ ดุ
5. Code of Best Practice on Environment Issues - We must utilize natural resources with maximum efficiency and at the same time look for alternate resources by giving attention to the current and future environment. - We should look for alternative methods to recycle products that are used in our workplace. - We should conserve and make good care of buildings and environments, always keep them in physically sound and healthy conditions. - We should have and review the standard of safety conduct in workplace to minimize potential hazards in workplace and environments.
ความขัดแย้งของผลประโยชน์ นโยบายพิจารณารายการที่อาจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์ และรายการที่เกี่ยวโยง 1. คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณารายการที่อาจมีการขัดแย้ง ของผลประโยชน์และรายการเกี่ยวโยงอย่างรอบคอบเสมอมา คำ�นึงถึง ผลประโยชน์ของบริษทั เป็นสำ�คัญ และพิจารณาความจำ�เป็นของการทำ� รายการดังกล่าว โดยราคาเงื่อนไขของรายการดังกล่าวเป็นดำ�เนิน การตามหลักการทางค้าโดยปกติเสมือนหนึ่งทำ�กับบุคคลภายนอก 2. บริษทั ปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ อย่างเคร่งครัด มีการเปิดเผยรายการที่มีความขัดแย้งของผลประโยชน์และรายการ เกีย่ วโยงทีเ่ ข้าเกณฑ์ตอ้ งรายงานต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบเพื่อพิจารณาให้ความเห็นก่อนที่จะนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ บริษัท ในการพิจารณาของคณะกรรมการบริษัทจะทำ�หน้าที่ด้วยความ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริต กรรมการและหรือผู้ที่มีส่วนได้เสียในรายการ ดังกล่าว จะไม่มสี ว่ นร่วมในการพิจารณาและหรือลงมติในรายการดังกล่าว 3. บริษัทจัดทำ�รายงานและเปิดเผยข้อมูลของรายการเกี่ยวโยง หรือรายการที่มีความขัดแย้งของผลประโยชน์ แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบ และ/หรือจัดประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมัติก่อนดำ�เนินการ
94
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Conflicts of Interest The policy for considering the conflicts of interest and related party transactions: 1. The board always considers the conflict of interest and related party transactions with great care, taking into consideration the benefits of the Company and necessity of such transactions, that terms and price are in accordance with normal business practice as if made with outsiders. 2. The Company follows stringent regulations of SE regarding report of conflict of interest and related party transactions. Such transaction is disclosed and submitted to the consideration of the audit committee before presenting it to the board. In respect of the board, the directors perform their duty with great care, honest and integrity. The directors and/or those who have an interest in the transaction do not participate in the discussion, decision making and or vote on such transaction. 3. The Company reports or discloses information on related party or conflict of interest transactions to shareholders or arranges a meeting of the shareholders to seek their approval before taking any action.
4. บริษัทเปิดเผยรายละเอียด มูลค่ารายการ คู่สัญญา เหตุผล และความจำ�เป็นของการทำ�รายการเกีย่ วโยง หรือรายการทีม่ คี วามขัดแย้ง ของผลประโยชน์ในรายงานประจำ�ปีและในรายงานแบบ 56-1 ระบบการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง 1. ระบบการควบคุมภายใน บริษัทได้กำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ดำ�เนินงานของคณะกรรมการ ผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงาน ตลอดจนวงเงินที่สามารถอนุมัติได้เป็น ลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน โดยกำ�หนดตามลำ�ดับชั้นเพื่อเกิด ความคล่องตัวและเพิ่มประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน มีการใช้ระบบ คอมพิวเตอร์ทำ�หน้าที่ในการตรวจสอบสิทธิของผู้ใช้และป้องกันการ อนุมัติในส่วนที่เกินอำ�นาจ บริษัทมีสำ�นักตรวจสอบภายในเพื่อทำ�หน้าที่ตรวจสอบด้าน การเงินและการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ ภายในบริษัท รวมถึง การประเมินความพอเพียงของระบบตรวจสอบภายใน โดยให้สำ�นัก ตรวจสอบภายในอยู่ภายใต้การกำ�กับดูแล และมีหน้าที่จัดทำ�รายงาน ตรงต่อคณะกรรมการบริหารและคณะกรรมการตรวจสอบนอกจากนี้ บริษัทได้แต่งตั้งให้ผู้สอบบัญชีจาก สำ�นักงานเอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด เป็นผู้ประเมินการควบคุมภายในและระเบียบวิธีปฏิบัติในด้านการ ลงทุน รวมทั้งด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน โดยจัดทำ�รายงาน เสนอต่อคณะกรรมการบริหารและ คปภ. ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี 2. การบริหารความเสี่ยง บริษัทมีนโยบายที่ให้ทุกหน่วยงานปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ได้มีการกำ�หนดนโยบายและวิธีการปฏิบัติงาน ตลอดจนอำ�นาจในการดำ�เนินงานต่างๆ ได้มกี ารกำ�หนดเป็นลายลักษณ์อกั ษร และมีการปรับปรุงให้สอดคล้องกับการดำ�เนินงาน บริษัทได้แต่งตั้ง คณะกรรมการบริหาร เพื่อทำ�หน้าที่ประเมิน จัดการกระบวนการ บริหารความเสี่ยง โดยมีประธานกรรมการบริหารเป็นประธานและ ผู้บริหารเป็นสมาชิก เพื่อที่จะได้เกิดแรงสนับสนุนและสามารถจัดการ ความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริษัทมีการจัดทำ�คู่มือแผนรองรับการดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อ เนื่อง (BCP-Business Continuity Plan) โดยในปีนี้บริษัทจัดให้มีการ ทดสอบแผนฉุกเฉิน ในขั้นตอนก่อนที่การกอบกู้ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศจะกอบกู้ได้ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์สำ�รองที่บริษัทเช่าอยู่ ผลการ ทดสอบอยูใ่ นระดับเป็นทีน่ า่ พอใจ และยังได้วา่ จ้างผูเ้ ชีย่ วชาญมาทำ�การ ประเมินความเสี่ยงของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของบริษัท นอกจาก นี้บริษัทยังได้จัดทำ�นโยบายการบริหารความเสี่ยงและสรุปแผน 3 ปี ตามประกาศคณะกรรมการ คปภ. เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขในการกำ�หนดมาตรฐานขั้นต่ำ�ในการบริหารจัดการความเสี่ยง ของบริษัทประกันวินาศภัย พ.ศ. 2551
4. The Company discloses details of related party and conflict of interest transactions with regard to the amount of transactions, contractual party, reasons and necessity, in the annual report and in the report 56-1. Internal Control and Risk Management 1. Internal Control System The Company stipulates explicitly, in writing, the powers and responsibilities of the board of directors, executives, and officers, including the scope that the executive officers can approve, for convenience and efficiency in running the operation. A program has been implemented to check for authorized access and to prevent authorization in excess of the user’s authorized power. The Company established the office of internal audit to examine financial transactions and operation of other divisions as well as evaluation of sufficiency for the company’s internal control system. The office of internal audit is under and reports directly to the executive board and the audit committee. The Company also employs outside auditors from Ernst and Young Offices Limited to evaluate its internal control and investment procedures including other related subjects. The report is submitted to the executive board and the Office of Insurance Commission within March. 2. Risk Management It is the policy that all units must operate in conforming to applicable regulations and relevant laws. The Company identifies in writing its policy and operation processes including assigning authority thereof then periodically makes necessary adjustments as well. It also established a risk management committee to assess and manage risk management process. The Chairman of the Executive Board chairs the committee and its other members are executive officers to secure strong supports and efficient capability to manage risks. The Company has a manual for business continuity plan (BCP). During the year the company made a practical testing of BCP on steps to be taken before the IT system was recovered at the rented computer facility and the outcome was satisfactory. The company also employed an outside specialist to evaluate its IT system. In addition it also made risk management policy and a 3-year plan in compliance with the OIC regulations.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
95
การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทมีการประชุมปกติเป็นรายไตรมาสตาม ตารางที่กำ�หนดไว้ล่วงหน้าทั้งปี มีการกำ�หนดวาระที่ชัดเจนว่าเป็นวาระ เพื่อรับทราบหรือวาระเพื่อพิจารณา วาระหลักๆ ที่เสนอบรรจุในที่ ประชุม ได้แก่ รายงานผลการดำ�เนินงานและงบการเงินของบริษัท รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ระบบการควบคุมภายในของ บริษัท การจัดสรรเงินกำ�ไร การเสนอค่าตอบแทนคณะกรรมการและ คณะกรรมการชุดย่อย การเลือกตั้งกรรมการ และการเสนอชื่อผู้สอบ บัญชีและกำ�หนดค่าสอบบัญชี การประชุมทุกครั้งจะมีการส่งหนังสือ เชิญประชุมล่วงหน้า 3-4 สัปดาห์ และส่งเอกสารประกอบเพื่อให้ กรรมการทุกท่านได้ศกึ ษาข้อมูลก่อนเข้าประชุมล่วงหน้าประมาณ 5-7 วัน กรรมการทุกท่านสามารถเสนอเรื่องเพื่อพิจารณา อภิปราย และแสดงความเห็นได้อย่างอิสระ กรรมการท่านที่มีส่วนได้เสียในวาระ ใดจะออกจากที่ประชุมและไม่มีสิทธิออกเสียงในวาระนั้น เลขานุการ คณะกรรมการเป็ น ผู้ ทำ� การจดบั น ทึ ก รายงานการประชุ ม เป็ น ลาย ลักษณ์อักษร ตลอดจนรายชื่อกรรมการที่เข้าร่วมประชุม และรายชื่อ กรรมการที่ไม่ได้เข้าร่วมประชุม มีการเก็บรักษารายงานการประชุมที่ ผ่านการรับรองแล้วพร้อมให้ตรวจสอบได้ คณะกรรมการชุดย่อย มีการประชุมตามความเหมาะสม และ ถือแนวทางปฏิบัติเช่นเดียวกันกับการประชุมกรรมการ จำ�นวนครั้งการประชุมของคณะกรรมการและคณะกรรมการ ชุดย่อย ดูในหัวข้อการจัดการ การประเมินตนเองของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้ทำ�การประเมินผลงานของคณะ กรรมการทั้งคณะและรายบุคคลเป็นประจำ�ทุกปี โดยบรรจุเป็นวาระ ประชุมเพื่อให้คณะกรรมการรับทราบ และพิจารณาปรับปรุงการปฏิบัติ งานของคณะกรรมการให้เกิดประสิทธิผลมากยิง่ ขึน้ แบบประเมินตนเอง ทั้งคณะที่ใช้ประเมินประกอบด้วย 6 หัวข้อ คือ โครงสร้างและคุณสมบัติ ของคณะกรรมการ บทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการ การทำ�หน้าที่ของกรรมการ ความสัมพันธ์ กับฝ่ายจัดการ และการพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผูบ้ ริหาร โดยความหมายของการให้คะแนน มีดังนี้ 0 = ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง หรือไม่มีการดำ�เนินการในเรื่องนั้นเลย 1 = ไม่เห็นด้วย หรือมีการดำ�เนินการในเรื่องนั้นเล็กน้อย 2 = เห็นด้วย หรือมีการดำ�เนินการในเรื่องนั้นพอสมควร 3 = เห็นด้วยค่อนข้างมาก หรือมีการดำ�เนินการในเรื่องนั้นดี 4 = เห็นด้วยค่อนอย่างมาก หรือมีการดำ�เนินการในเรือ่ งนัน้ ดีเยีย่ ม ผลการประเมินตนเองคณะกรรมการทัง้ คณะได้คะแนนเฉลีย่ 3.68 แบบการประเมิ น ตนเองของคณะกรรมการเป็ น รายบุ ค คล เป็นการประเมินเกี่ยวกับบทบาทและความรับผิดชอบของกรรมการ รวม 15 ข้อ โดยให้คณะกรรมการพิจารณาว่ามีการปฏิบัติ ไม่มีการ ปฏิบัติ หรือไม่แน่ใจ ซึ่งกรรมการแต่ละท่านมีความเห็นว่ามีการปฏิบัติ หน้าที่ครบถ้วน
96
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Meetings of the Board The board of directors conducts ordinary quarterly meetings as scheduled for the year in advance. The agenda are clearly stated whether they are for acknowledgement or consideration. The major agenda include to report the company’s performance and its financial statements, the audit committee report, the internal control system, the appropriation of profit, remuneration to the board and committees, nominating candidates for directorship, nominating the auditor and consider his fees. Notifications of the every meeting are sent about 3-4 weeks before the meeting and the meeting materials and supporting documents are sent later allowing all the directors about 5-7 days, to study them in advance. All directors are free to bring up matters for consideration, discussion and recommendation. A director who has an interest in the meeting agenda will not be present and vote the agenda. The secretary of the board takes record of the minutes of the meeting including keep record of directors who attended and who did not attend the meeting. The records are in writing and kept after certification, ready to be examined at all time. The committees hold meeting when it might be appropriate to hold one and follow the same practice as the board meeting. The number of meetings of the board and committees are discussed under their respective caption. Board of Directors Self-Evaluation The board of directors conducts an annual self-evaluation of the whole board and individual directors. The evaluation was put in the meeting’s agenda for acknowledgement and making necessary adjustment in order to increase performance efficiency. The evaluation of the whole board covers 0 = Strongly disagree or no actions have been taken 1 = Disagree or some actions have been taken 2 = Agree or some reasonable actions have been taken 3 = Agree fairly much or good actions have been taken 4 = Strongly agree or very good actions have been taken Self evaluation for the whole board of directors average scores are 3.68. On the self-evaluation of the individual board member which covers roles and responsibility of the director, totally 15 items, whether done, not done and not sure all directors fully and completely performed their duty.
ค่าตอบแทน คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน เป็นผู้พิจารณาเสนอค่า ตอบแทนกรรมการ กรรมการชุดย่อย และผู้บริหารระดับสูง โดยค่า ตอบแทนกรรมการมีนโยบายเป็นสัดส่วนสัมพันธ์กับการจัดสรรกำ�ไรให้ กับผู้ถือหุ้น และอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับอุตสาหกรรม เพียงพอที่จะ รักษากรรมการ กรรมการทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้ท�ำ หน้าทีเ่ พิม่ ในคณะกรรมการ ชุดย่อยต่างๆ ก็จะได้รับค่าตอบแทนเพิ่มตามหลักเกณฑ์ที่กำ�หนด สำ�หรับค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูงจะพิจารณาจากภาระความ รับผิดชอบของตำ�แหน่งและประสิทธิภาพ โดยคำ�นึงถึงสภาพการแข่งขัน เมื่อเทียบเคียงกับอุตสาหกรรมเดียวกัน ในขณะเดียวกันก็จะพิจารณา ให้สอดคล้องกับผลการดำ�เนินงานของบริษัท รายละเอียดค่าตอบแทนคณะกรรมการชุดต่างๆ และผู้บริหาร ได้เปิดเผยข้อมูลไว้ในหัวข้อค่าตอบแทนผู้บริหาร การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร การพัฒนาความรู้แก่กรรมการ บริษัทสนับสนุนให้กรรมการ เข้ารับการฝึกอบรมจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการไทย โดยจัด ทำ�หนังสือแจ้งกรรมการเพื่อเชิญเข้าร่วมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการไทย ประธานกรรมการเป็นผู้ทำ�การปฐมนิเทศให้แก่ กรรมการที่เข้าใหม่ ให้เข้าใจถึงบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของ กรรมการ โดยให้บริษัทรวบรวมข้อมูลต่างๆ ส่งให้แก่กรรมการใหม่ ประกอบด้วย - คู่มือกรรมการของ ก.ล.ต. - หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีสำ�หรับบริษัทจดทะเบียน - ข้อบังคับบริษัท - รายงานประจำ�ปีของบริษัท บริษัทวางแผนการพัฒนาบุคลากรในองค์กรขึ้นมาเป็นระดับผู้ บริหารและระดับหัวหน้าหน่วยงาน โดยการจัดหลักสูตรรอบรมภายใน ตลอดปี การจัดหลักสูตรฝึกอบรมทัง้ รูปแบบภายใน (In-house Training) การส่งพนักงานเข้าอบรมสัมมนากับสถาบันภายนอก ได้แก่ สถาบัน ประกันภัยไทย และสถาบันประกันภัยในต่างประเทศ นอกจากนี้ยังส่ง ให้ผู้บริหารไปดูงานของบริษัทประกันภัยในต่างประเทศ (สามารถดู รายละเอียดในหัวข้อบุคลากร การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทมีขั้นตอนในการดูแลผู้บริหารในการนำ�ข้อมูลภายในของ บริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน ดังนี้ 1. กำ�หนดให้กรรมการและผู้บริหารมีหน้าที่จัดทำ�แบบรายงาน ต่างๆ ส่งให้บริษัท โดยบริษัทจะทำ�การยืนยันความถูกต้องของข้อมูล ปีละ 1 ครั้ง เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบการทำ�ธุรกรรมกับบริษัท รวมถึงการทำ�รายการเกี่ยวโยง ดังนี้
Compensation The remuneration committee is responsible to determine the kind and amount of compensation payable to directors, committees and senior executives. The compensation is linked to the appropriation of profit and closely to the level paid by the industry to maintain director of high caliber. A director who is assigned to perform in other committees wil receive compensation as stated therein. Compensation to senior executives is tied to scope responsibilities and efficiency with consideration also given to the competitive level of the industry including the company’s performance. Details of compensation to committees and executives are described under Compensation to the executives, in Management Structure. Development of Directors and Executives The Company encourages directors to get training at the Thai Institute of Directors Association (T-IOD) by informing and inviting them to attend training programs. The chairman of the board gives new board members an initial orientation to provide them of knowledge needs for their function, duty, and responsibilities. The company also submits to the new board member the following documents. - Directors handbook published by SEC. - The principles of good corporate governance for listed companies. - The Company articles of association. - The Company’s annual reports. The Company plans to develop officers to take up executive and unit supervisor positions by offering training both in-house or outside institutions such as Thailand Insurance Institution and insurance institutions abroad. In addition executives made business visits to insurance companies aboard. (See details under Human resources) Supervision on Inside Trading The Company has procedures to supervise executives from using inside information for own interest as follows: 1. Directors and executives must submit their reports to the company. The company will make an annual confirmation of report accuracy for the purpose to use it to check transactions with the company and connected transactions, as follows:
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
97
- จัดทำ�รายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ/ผู้บริหาร และ บุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง แจ้งให้บริษัททราบภายใน 30 วันที่มีการไป ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ/ผู้บริหารในบริษัทอื่น หรือมีการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลอื่นที่มีนัย - จัดทำ�และส่งรายงานการถือหลักทรัพย์ครัง้ แรก (แบบ 59-1) และรายงานการเปลี่ยนแปลงหลักทรัพย์ (แบบ 59-2) ตามแบบของ ก.ล.ต. ว่าด้วยรายงานการถือหลักทรัพย์ และส่งสำ�เนารายงานให้แก่ บริษัทในวันเดียวกับวันที่ส่งรายงานต่อ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. กำ�หนดเรื่องการรักษาข้อมูลอันเป็นความลับของบริษัทไว้ใน ประกาศของบริษัท ในเรื่องของจริยธรรมทางธุรกิจ (Code of Ethics) ตลอดจนให้พนักงานลงนามในสัญญาปฏิบัติตามนโยบายรักษาความ ปลอดภัยของข้อมูล เพื่อป้องกันพนักงานนำ�ข้อมูลของบริษัทไปใช้เพื่อ ประโยชน์ส่วนตน หรือนำ�ข้อมูลไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาตจากบริษัท โดยผู้ที่ละเมิดข้อบังคับดังกล่าวจะถือเป็นความผิดอย่างร้ายแรง ซึ่งได้ ระบุบทลงโทษทางวินยั ไว้ในเอกสารคูม่ อื พนักงานอย่างชัดเจน โดยกำ�หนด โทษทางวินัยสูงสุดคือการไล่ออกโดยไม่จ่ายเงินชดเชย 3. การดูแลเรือ่ งการใช้ขอ้ มูลภายในนัน้ บริษทั มีบคุ ลากรผูร้ บั ผิด ชอบดูแลงานต่างๆ เฉพาะเรื่อง และเตือนให้ผู้ปฏิบัติงานระมัดระวัง การเก็บรักษาข้อมูลต่างๆ หากจำ�เป็นต้องเปิดเผยข้อมูลใดๆ จะมี การกำ�หนดบุคคลเป็นการเฉพาะเพื่อทำ�หน้าที่เปิดเผยข้อมูลเท่านั้น 4. บริษัทมีการเก็บรักษาข้อมูลงบการเงินและข้อมูลสารสนเทศ ก่อนนำ�ส่งตลาดหลักทรัพย์ฯ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจะ เก็บรักษาความลับของบริษัทอย่างเคร่งครัด ในระหว่างปี 2552 ไม่ปรากฏว่ากรรมการหรือผู้บริหารมีการ ซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทอย่างมีนัยสำ�คัญในช่วง 1 เดือนก่อนที่จะมี การเปิดเผยงบการเงิน
98
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
- must report their interest in the Company, include the interest of the related persons to the company within 30 days upon being appointed as director/executive of other company or any significant changes in their interest. - must make and submit the first report (Form 59-1) of their holding in the company and a report of changes in the holdings (form 59-2). A copy of the report must be sent to the company on the same day the report was submitted to SEC and SET. 2.The company makes regulations in its code of ethics on safeguarding confidential information and all employees sign an agreement to comply with the policy on confidential data and prevent them from using the company’s information for their personal benefit or using it without proper authorization. The disciplinary penalties for violations are clearly stated in the employee’s manual. The maximum penalty being fired without any compensation. 3. The company assigns respective officers to attend to respective subjects and supervises concerned persons to take good care of data. The assigned officers will disclose information, if necessary 4. The company keeps financial information and others secure before submitting them to SET. The executive officers and assigned officers must take good care of such information and must not disclose them. During 2009 the directors or executive officers of the Company did not make significant purchase or sale their holdings of shares in the Company during one month before the financial statements was reported.
บุคลากร จำ�นวนพนักงานทั้งหมดของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 โดยแบ่งตามสายงานหลักได้ดังนี้
Human Resources Number of personnel as at 31 December 2009 by function.
สายงานหลัก / Function
จำ�นวนพนักงาน / Number of the Officers
ระดับบริหาร Executive สายปฎิบัติการ Operation สายอำ�นวยการ Adminstrator
4 303
รวม / Total
418
111
ค่าตอบแทนพนักงาน บริษัทจ่ายผลตอบแทนรวมให้พนักงานเป็นเงินเดือน โบนัส เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ เงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล เงิน จ่ายสมทบกองทุนประกันสังคม และอื่นๆ เกี่ยวกับพนักงาน ในปี 2552 แยกเป็นรายละเอียดดังนี้
Compensation of Employees Compensation of employees including salary, bonus, provident fund, fringe benefits, medical reimbursement, social welfare contributions and others paid during 2009 are classified as follows:
ค่าตอบแทนพนักงาน / Compensation of Employees
จำ�นวนเงิน (ล้านบาท) / Amount (million Baht)
เงินเดือน Salary โบนัส Bonus เงินสมทบเข้ากองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ (ในส่วนของบริษัท) Provident fund paid by the company ค่าตอบแทนอื่นๆ (เช่น เงินประกันสังคม เงินสวัสดิการรักษาพยาบาล เงินชดเชยจากการเกษียณอายุและเลิกจ้างพนักงาน เป็นต้น) Other fringe benefits (Social welfare contributions, medical reimbursement, compensations for retirement and termination of employment etc.)
137.13
รวม / Total
183.21
34.89 5.84 5.35
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
99
100
ปัญหาข้อพิพาทแรงงาน บริษัทไม่เคยมีข้อพิพาททางกฎหมายหรือคดีฟ้องร้องใดที่เกี่ยวกับ ข้อพิพาทแรงงาน
Labour Disputes The Company does not have any labour disputes nor have lawsuits on this subject.
นโยบายด้านบุคลากร การรับพนักงาน นโยบายในการรั บ พนั ก งานใหม่ ที่ เ ป็ น อั ต ราเพิ่ ม และอั ต รา ทดแทนพนักงานที่ลาออก บริษัทมีเกณฑ์การพิจารณารับเฉพาะ ตำ�แหน่งที่จำ�เป็น โดยจะพิจารณาโยกย้ายพนักงานที่มีอยู่ในองค์กร ที่ เ ห็ น ว่ า มีศักยภาพและสมัครใจที่จะโอนย้ายก่อนที่จะพิจารณารับ บุคคลภายนอก ค่าจ้างและสวัสดิการ บริ ษั ท มี น โยบายพิ จ ารณาการปรั บ เงิ น เดื อ นประจำ� ปี ใ ห้ แ ก่ พนักงานอย่างเป็นธรรม เพื่อให้สามารถดำ�รงชีพเพียงพอกับภาวะ ค่าครองชีพและสถานการณ์ทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน รวมทั้งมีการจ่าย โบนัสประจำ�และโบนัสพิเศษให้แก่พนักงานด้วย บริษัทมีนโยบายการจ่ายสวัสดิการเพื่อช่วยแบ่งเบาภาระบาง ประการของพนักงาน เช่น ค่ารักษาพยาบาล ชุดฟอร์มพนักงาน เงิน ช่วยเหลือประเภทต่างๆ บริษัทมีเงินให้กู้ยืมฉุกเฉิน เงินกู้ยืมเพื่อจัดซื้อ ยานพาหนะ เงินกู้ยืมเพื่อการเคหะ และกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพที่บริษัท จ่ายสมทบให้พนักงาน เพื่อสนับสนุนให้พนักงานเก็บออมในระยะ ยาว และมีเงินทุนจำ�นวนหนึ่งหากจำ�เป็นต้องออกจากงาน การพัฒนาพนักงาน บริ ษั ท ถื อ เป็ น นโยบายสำ � คั ญ ที่ จ ะพั ฒ นาศั ก ยภาพของ พนั ก งานทุ ก คน โดยบริ ษ ั ท ได้ ม ี ก ารจั ด ทำ � งบประมาณสำ � หรั บ หลักสูตรอบรมภายในบริษัท หลักสูตรอบรมกับสถาบันภายนอก และ การสัมมนาดูงานในต่างประเทศ โดยในปีนี้นอกจากจัดหลักสูตรด้าน การบริหารและพฤติกรรมในการทำ�งานแล้ว ยังมุ่งเน้นความรู้ภาษา อังกฤษด้านการพูดและเขียนให้แก่พนักงาน เพื่อรองรับการทำ�งานกับ กลุ่มบริษัทลูกค้าของกลุ่มนิปปอนโคอะ อินชัวรันส์ รวมถึงการให้ทุน พนักงานไปศึกษาปริญญาโท สาขาคณิตศาสตร์ประกันภัย โดยในปี 2552 มีจำ�นวนพนักงานที่เข้าอบรม / สัมมนา ทั้งสิ้น93 หลักสูตร ดังนี้
Policy towards Personnel Staff Recruitment It has recruitment policy to employ new staff to fill in new positions and in replacement. Recruitment is determined if it is necessary with priority consideration is to rotate, within the organization, an employee who has potential and is wil ing to move.
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Compensation and Other Benefits It is the Company polity to make adjustment of salary annually with an intention to make it fair, affordable to the cost of living and current economic situation. It also pays bonus to employees as well The Company also pays for other benefits to lessen employees of some burden, such as reimbursement for medical expenses, uniform worn, other cash benefits. It offers emergency loans, car purchase loans, housing loans and obligated contribution to employees’ provident fund to encourage long term savings so they will have some fund available when retire. Employees Development The company puts high value on training policy to develop current staff potential to enhance their performance efficiency. A budget has been allocated for in house and outside training at institutions and seminars overseas. For the year except for the routine training on management and attitudes toward work the company had a new training for business English both speaking and writing. This is in preparation for working with customer groups of Nipponkoa Insurance. Scholarships for graduate studies in insurance actuarial science were also given to employees.
ประเภทการอบรม Trpe of Training 1. ในประเทศ / Domestic อบรมภายนอก / Outside Training ทั่วไป ด้านการตลาด เทคนิคประกันภัย ด้านบัญชี รวม / Total
General Marketing Insurance technical Accounting
อบรมภายในบริษัท / In-House Training ปฐมนิเทศ Orientation Accounting ด้านบัญชี
การจัดการสินไหม เทคนิคประกันภัย
คอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษ ทั่วไป
Claims management
Insurance technical Computer English language General
รวม / Total 2. ต่างประเทศ / International รวม / Total หมายเหตุ * พนักงาน 1 คน อาจเข้ารับการอบรมมากกว่า 1 หลักสูตร
นโยบายการจ่ายเงินปันผล นโยบายการจ่ายปันผลของบริษัทขึ้นอยู่กับผลการดำ�เนินงาน ของบริษัทในแต่ละปีเป็นสำ�คัญ ซึ่งมีนโยบายจ่ายเงินปันผลไม่ต่ำ�กว่า ร้อยละ 40 ของกำ�ไรสุทธิของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท ต้องไม่มีผลประกอบการขาดทุนสะสม โดยต้องเป็นไปตามมติของ คณะกรรมการบริษัทและมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท ปัจจุบันบริษัทไม่มีบริษัทย่อย โดยมีบริษัทร่วม 1 แห่ง ได้แก่ บริษัท ฟอลคอนประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) ในการพิจารณาจ่าย เงินปันผลจะต้องผ่านมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น และจะกระทำ�เมื่อบริษัท ร่วมได้มีการจัดสรรกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสำ�รองในอัตรา ไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 5 ของกำ�ไรสุทธิประจำ�ปี จนกว่าทุนสำ�รองจะมี จำ�นวนครบร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน
จำ�นวนหลักสูตร Number of Courses
จำ�นวนพนักงานที่เข้าอบรม Number of Attendees
8 5 32
14 11 242
3
64
9 54
3 5
26 293
143 80
7 12 2 5
99 225 40 217
37 2 93
863 2 1,158*
Note * One employee may attend more than one training course.
Dividend Policy Dividends are payable depending mainly on the performance of the company in each year. The policy to pay a dividend not below 40% of the profit from the consolidated and the company only financial statements the company must not have accumulated losses and it must be approved and endorsed by resolutions of the board of directors and the general shareholders meeting. The company does not a subsidiary. It has an associated company that is Falcon Insurance Public Company Limited. In determining dividend payable the associated company must get an approved resolution from the meeting of shareholders. It can be done only when the associated company had allocated at least 5% profit of the year to a statuary reserve account until it accumulation reaches 10% of the registered share capital.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
101
รายงานระหว่างกัน RELATED PARTY TRANSACTIONS ลักษณะของรายการระหว่างกัน บริษัทมีนโยบายที่จะปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ในการดูแล มิให้มีรายการระหว่างกัน อย่างไรก็ตามในกรณีรายการเกี่ยวโยงที่ อาจเกิดขึ้นในอนาคต บริษัทจะดำ�เนินการตามขั้นตอนที่กำ�หนดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ/หรือสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) รวมทั้งจะนำ�เสนอต่อ คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณาให้ความเห็นก่อนดำ�เนินการ บริษทั มีรายการระหว่างบุคคลและกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ซึง่ เกีย่ วข้องกัน โดยการถือหุ้น หรือการมีผู้ถือหุ้น และ/หรือกรรมการบางส่วนร่วมกัน รายการดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขที่เป็นปกติธุรกิจ และเป็นไปตาม ราคาตลาด โดยได้เปิดเผยรายการ สรุปอยูใ่ นหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 9 นอกจากที่กล่าวข้างต้น บริษัทมีการทำ�รายการเกี่ยวโยงกันอื่น โดย ได้เปิดเผยรายการต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ตามหลักเกณฑ์ไปแล้ว ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน รายการระหว่างกันข้างต้นและทีผ่ สู้ อบบัญชีได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินนัน้ ไม่วา่ จะเป็นรายการทางด้านประกันภัยหรือด้าน การลงทุนกับบริษัทย่อยหรือบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน เป็นรายการที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นไปตามสภาพตลาด เพื่อช่วยสนับสนุนการดำ�เนินงานของบริษัท และเพื่อประโยชน์ในการกระจายความเสี่ยงภัยของบริษัท ซึ่งรายการ ดังกล่าวเป็นไปตามวิธีการค้าโดยปกติ เป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้า ทีไ่ ด้ปฏิบตั โิ ดยทัว่ ไปของธุรกิจประกันภัย และปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขข้อกำ�หนด ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) รวมถึงประกาศของ ก.ล.ต. โดยคำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดของ บริษัทเป็นสำ�คัญ มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกัน ผูบ้ ริหารของบริษทั ได้ก�ำ หนดนโยบายการรับประกันภัย และการคิด อัตราเบีย้ ประกันภัยของบริษทั ผูบ้ ริหารในระดับปฏิบตั กิ ารและเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบในสายประกันวินาศภัย จะพิจารณากำ�หนดหลักเกณฑ์ตา่ งๆ ลักษณะรายการ เงือ่ นไข ขนาดรายการ ทีเ่ จ้าหน้าทีใ่ นแต่ละระดับมีอ�ำ นาจ ในการอนุมัติการทำ�รายการ รายการที่เกินอำ�นาจเท่านั้นจึงจะนำ�เสนอ ต่อผู้บริหารระดับต่อไปตามสายการปฏิบัติตามลำ�ดับชั้นเพื่อพิจารณา อนุมัติ หลักเกณฑ์ดังกล่าวใช้พิจารณากับทุกรายการ และใช้ปฏิบัติกับ ทุกบริษัทที่มีธุรกิจกับบริษัท จากขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กล่าวข้างต้น ผูบ้ ริหารหรือผูถ้ อื หุน้ ทีม่ สี ว่ นได้สว่ นเสียจะไม่มสี ว่ นโดยตรงในการอนุมตั ิ การทำ�รายการระหว่างกัน ทัง้ นีค้ ณะกรรมการบริษทั กำ�หนดให้ตอ้ งปฏิบตั ิ ตามหลักเกณฑ์ของประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ฯ เรื่องการ เปิดเผยข้อมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่ เกี่ยวโยงกัน
102
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
RELATED PARTY TRANSACTIONS It is the Company’s policy to comply with applicable regulatory laws and supervise not to have related party transactions. However it may have related transactions in future. If so, it will follow regulatory procedures of The Stock Exchange of Thailand (SET) and/or the Securities and Exchange Commission (SEC) in every respect including submitting them to the Audit Committee for consideration prior to take further actions. The Company had related transactions with individual person and business entities that are related by holding or shareholders and/or some joint directors. The related transactions are normal business deal based on market terms and conditions. They are disclosed in notes to the financial statement, under item no.9. In addition to the above the Company had related party transactions which were disclosed to SET. Necessity and Reasonableness of Related Party Transactions The above mentioned related party transactions are disclosed in the auditor’s notes to financial statements. The transactions whether underwriting or investment transactions with the subsidiaries or related companies, are normal market deals to support operations and to spread risks. It is normal practice in insurance operation, subject to general conditions and terms of the industry and regulations of the Office of Insurance Commission (OIC) and notifications of SEC and SET and with taking into consideration the best interests of the Company. Measures or Procedures for Approval of Related Party Transactions The Company’s Executive Officers define general policy on underwriting and ratings. The underwriting executives and line officers are responsible in setting underwriting criteria, conditions, terms and transaction size that line underwriters at each level are authorized to write and refer, those above their authorization, to their immediate line supervisors for approval. The procedures apply to every transaction and to all persons the Company transacts business with. Following the practice, the Executive Officers or the shareholders that have interest in the transaction will not directly involved themselves in approving those related transactions. The Board establishes a clear policy that in respect of related party transactions the Company must strictly follow the applicable regulations of SET.
นโยบายหรือแนวโน้มการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต แนวโน้มการทำ�รายการในระหว่างกันยังคงมีอยูใ่ นอนาคต เนือ่ งจาก นโยบายของหน่วยราชการที่ต้องการให้บริษัทประกันภัยทำ�ประกันต่อ กับบริษัทประกันภัยและบริษัทประกันต่อของไทย และสนับสนุนให้ บริษัทประกันภัยรวมตัวกันทำ�ประกันต่อผ่านและรับประกันช่วงต่อคืน จากบริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน) นอกจากส่วนหนึ่ง เป็นการทำ�ตามข้อตกลงกันระหว่างบริษัทประกันภัยที่จะทำ�ประกันต่อ กับบริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน) เพื่อประโยชน์ในการ เก็บสถิติและข้อมูลของธุรกิจประกันภัยในประเทศไทย นอกจากนี้หากมีรายการระหว่างกันอื่นหรือรายการที่เกี่ยวโยงที่ อาจเกิดขึ้นในอนาคต บริษัทยึดหลักความถูกต้อง ความโปร่งใส และ ตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้ผู้บริหารหรือกรรมการที่มี ส่วนได้เสียจะไม่สามารถเข้ามามีส่วนในการอนุมัติรายการระหว่างกัน ดังกล่าว บริษัทมีมาตรการที่ให้ฝ่ายบริหารรายงานรายการดังกล่าว ซึ่ง จะเสนอให้คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาตรวจสอบและให้ความ เห็นต่อความสมเหตุสมผลของรายการ รวมทัง้ ความเหมาะสมของราคา เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติต่อไป คณะกรรมการของบริษทั จะต้องปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ฯ รวมตลอดถึงการปฏิบัติตามข้อกำ�หนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลการ ทำ�รายการเกี่ยวโยง หรือการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึ่งทรัพย์สินที่สำ�คัญ ของบริษัท
Policy or Trend for Having Related Party Transactions in the Future The related party transactions will continue in the future. It is due to the controlling authority’s policy requiring insurance companies to place reinsurance with Thai companies and encouraging insurance companies to form reinsurance pools to cede and accept retrocession from Thai Reinsurance Public Company Limited. Another factor is the agreement to place business with Thai Reinsurance Public Company Limited for data collection and statistics of the Thai industry. In future, if there is any related party transaction, the Company will concentrate on appropriateness and will be transparent in disclosing information and will follow the applicable procedures of SET. Executive Officers or Directors, who have an interest, will not involve themselves in approving the related party transaction. The Company will submit and report the transaction to the Audit Committee for consideration and seek its opinion whether the transaction is reasonable and pricing is appropriate, before submission for the Board’s approval. In addition, the Board must comply with securities laws and regulations of SET including the applicable rules relating to disclosure of related party transactions on the acquisition or disposal of significant assets.
RELATED
PARTY TRANSACTIONS NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
103
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน
REPORT OF THE BOARD OF DIRECTORS’ RESPONSIBILITIES FOR FINANCIAL STATEMENTS คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวม และ งบการเงินเฉพาะบริษัทของบริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) รวมทั้งสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำ�ปี งบการเงิน ดังกล่าวจัดขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไป โดยเลือกใช้นโยบาย บัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ และใช้ดุลพินิจอย่าง ระมัดระวังและประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทำ� รวมทั้งการเปิดเผย ข้อมูลสำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้เกิด ความโปร่งใสและเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไป คณะกรรมการบริษทั ได้จดั ให้มี และดำ�รงไว้ซง่ึ ระบบการควบคุม ภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อให้มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่า ข้อมูลทางการบัญชีมีความถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอที่จะดำ�รง รักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน ตลอดจนเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริต หรือการ ดำ�เนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสำ�คัญ ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ เป็นกรรมการทีเ่ ป็นอิสระ ดูแลรับผิดชอบเกีย่ วกับคุณภาพของรายงาน ทางการเงินและระบบควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ ปรากฏในรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำ�ปีแล้ว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายใน ของบริษทั โดยรวมอยูใ่ นระดับทีน่ า่ พอใจ และสามารถสร้างความเชือ่ มัน่ ได้ ว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทประจำ�ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 มีความเชื่อถือได้ โดยถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี รับรองทัว่ ไป และปฏิบตั ถิ กู ต้องตามกฎหมายและกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง
(นายสุจินต์ หวั่งหลี) ประธานกรรมการ
104
(นายนิพล ตั้งจีรวงษ์) ประธานกรรมการบริหาร
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
The Board of Directors is responsible for the consolidated financial statements and the Company financial statements of The Navakij Insurance Public Company Limited including financial information presented in the Annual Report. The financial statements were stated in accordance with generally accepted accounting principles, applying the appropriate accounting policies and consistently adhered with careful discretion and best estimation in the preparation. Beside, significant information was disclosed sufficiently in the notes accompanying the financial statements for the benefit of shareholders and investors in a transparent manner. The Board of Directors has provided and maintained the appropriate and efficient internal control system to reasonably ensure that the accounting data are accurate, complete, and sufficient to maintain its assets and to prevent fraud and materially irregular operation. The Board appointed the Audit Committee who comprises of Independent Directors to oversee the quality of financial reports and internal control of the Company. The Audit Committee’s views regarding this issue is disclosed in this Annual Report under the section of the Audit Committee’s Report. The Board of Directors is of the opinion that the overall internal control system of the Company is satisfactory and can bring about confidence that the consolidated financial statements and the Company financial statements of the Company for the year ending 31 December 2009 are reliable and prepared in conformity with generally accepted accounting principles and carried out accurately in accordance with law and all relevant rules and regulations.
(Mr. Suchin Wanglee) Chairman
(Mr. Nipol T. Jeerawong) Chairman of the Executive Board
รายงานของผู้สอบบัญชี
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 งบกำ�ไรขาดทุน งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นและงบกระแสเงินสดที่เกี่ยวข้องสำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน ของบริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีราคาทุนของบริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบ ในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามิได้ตรวจสอบงบการเงินของบริษัทร่วม แห่งหนึ่งที่รวมอยู่ในงบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียนี้ งบการเงินของบริษัทฯได้รวมเงินลงทุนในบริษัทร่วมดังกล่าว ตามวิธีส่วนได้เสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เป็นจำ�นวน 87.5 ล้านบาท และ ส่วนแบ่งกำ�ไรของบริษัทร่วมสำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน เป็นจำ�นวน 9.9 ล้านบาท งบการเงินของบริษัทร่วมดังกล่าวตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีอื่นซึ่งเสนอรายงานอย่างไม่มีเงื่อนไข โดยข้าพเจ้า ได้รับรายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีนั้นแล้ว การแสดงความเห็นของข้าพเจ้าในส่วนที่เกี่ยวข้องกับจำ�นวนเงินของรายการต่างๆ ของบริษทั ร่วมดังกล่าว ซึง่ รวมอยูใ่ นงบการเงินซึง่ แสดงเงินลงทุนตามวิธสี ว่ นได้เสียได้ถอื ตามรายงานของผูส้ อบบัญชีอน่ื นัน้ งบการเงิน ของบริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ที่นำ�มาเปรียบเทียบไว้ ณ ที่นี้ได้ตรวจสอบ โดยผู้สอบบัญชีอื่นในสำ�นักงานเดียวกันกับข้าพเจ้าซึ่งได้แสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2552 ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไป ซึง่ กำ�หนดให้ขา้ พเจ้าต้องวางแผนและปฏิบตั งิ าน เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการ ใช้วธิ กี ารทดสอบหลักฐานประกอบรายการทัง้ ทีเ่ ป็นจำ�นวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลัก การบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสำ�คัญ ซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดทำ�ขึ้น ตลอดจนการประเมิน ถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำ�เสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวประกอบกับรายงานของ ผู้สอบบัญชีอื่นที่กล่าวถึงในวรรคแรกให้ข้อสรุปที่เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า จากการตรวจสอบของข้าพเจ้าและรายงานของผู้สอบบัญชีอื่น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ผลการดำ�เนินงานและกระแสเงินสดสำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป
นงลักษณ์ พุ่มน้อย ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4172
บริษัท สำ�นักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จำ�กัด กรุงเทพฯ : 25 กุมภาพันธ์ 2553
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
105
งบดุล
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน)
(หน่วย : บาท) งบการเงิน ซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
หมายเหตุ
2552
2551
2552
6, 9 7 8 10 11 9 9, 12 13 19 14
639,538,685 99,965,257 532,829,461 725,014,978 419,243,682 2,416,592,063 1,993,149 292,252 2,285,401 87,461,119 10,000,000 184,611,105 209,540,893 7,364,963 68,559,508 341,201,220 13,773,959 55,390,407 127,159,922 12,621,377 56,828,621 252,000,327 3,593,390,558
309,481,604 207,842,015 419,030,436 457,624,440 472,455,911 1,866,434,406 2,220,324 257,456 2,477,780 69,646,661 10,000,000 305,905,601 237,006,354 6,463,393 55,053,939 464,196,163 9,488,000 40,051,630 166,220,875 16,347,580 58,470,565 281,090,650 3,307,762,947
639,538,685 99,965,257 532,829,461 725,014,978 419,243,682 2,416,592,063 1,993,149 292,252 2,285,401 34,175,695 10,000,000 184,611,105 209,540,893 7,364,963 68,559,508 341,201,220 13,773,959 55,390,407 127,159,922 12,621,377 56,828,621 252,000,327 3,540,105,134
สินทรัพย์ เงินลงทุนในหลักทรัพย์ พันธบัตร ตั๋วเงิน หุ้นทุน หุ้นกู้ หน่วยลงทุน รวมเงินลงทุนในหลักทรัพย์ - สุทธิ เงินให้กู้ยืม โดยมีหลักทรัพย์เป็นประกัน อื่น ๆ รวมเงินให้กู้ยืม เงินลงทุนในบริษัทร่วม เงินลงทุนอื่น เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ เงินวางไว้จากการประกันภัยต่อ เงินค้างรับเกี่ยวกับการประกันภัยต่อ เบี้ยประกันภัยค้างรับ - สุทธิ รายได้จากการลงทุนค้างรับ สินทรัพย์อื่น ค่าสินไหมค้างรับจากคู่กรณี - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ อื่น ๆ รวมสินทรัพย์อื่น รวมสินทรัพย์
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
106
งบการเงินเฉพาะกิจการ ซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีราคาทุน
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
2551
309,481,604 207,842,015 419,030,436 457,624,440 472,455,911 1,866,434,406 2,220,324 257,456 2,477,780 34,175,695 10,000,000 305,905,601 237,006,354 6,463,393 55,053,939 464,196,163 9,488,000 40,051,630 166,220,875 16,347,580 58,470,565 281,090,650 3,272,291,981
งบดุล (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน)
(หน่วย : บาท) งบการเงิน ซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
หมายเหตุ
2552
2551
งบการเงินเฉพาะกิจการ ซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีราคาทุน 2552
2551
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สิน เงินสำ�รองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ 15 708,419,297 767,480,482 708,419,297 767,480,482 สำ�รองค่าสินไหมทดแทนและค่าสินไหมทดแทนค้างจ่าย 459,369,543 382,128,082 459,369,543 382,128,082 เงินถือไว้จากการประกันภัยต่อ 9 163,222,886 133,350,102 163,222,886 133,350,102 เงินค้างจ่ายเกี่ยวกับการประกันภัยต่อ 9 23,717,107 19,822,713 23,717,107 19,822,713 หนี้สินอื่น ค่าจ้างและค่าบำ�เหน็จค้างจ่าย 9 70,817,382 89,838,625 70,817,382 89,838,625 เบี้ยประกันภัยรับล่วงหน้า 29,497,905 27,593,296 29,497,905 27,593,296 ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย 8,417,506 16,408,424 8,417,506 16,408,424 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 4,142,769 3,940,740 4,142,769 3,940,740 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 44,305,815 44,623,262 44,305,815 44,623,262 หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี 19 21,641,780 - 21,641,780 - อื่น ๆ 39,429,483 34,422,481 39,429,483 34,422,481 รวมหนี้สินอื่น 218,252,640 216,826,828 218,252,640 216,826,828 รวมหนี้สิน 1,572,981,473 1,519,608,207 1,572,981,473 1,519,608,207 ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 30,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท 300,000,000 300,000,000 300,000,000 300,000,000 ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว หุ้นสามัญ 30,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท 300,000,000 300,000,000 300,000,000 300,000,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 647,186,097 647,186,097 647,186,097 647,186,097 ผลกำ�ไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ส่วนเกิน (ต่ำ�กว่า) ทุนจากการเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน 6 64,925,341 (105,811,712) 64,925,341 (105,811,712) ส่วนเกิน (ต่ำ�กว่า) ทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่า เงินลงทุนในบริษัทร่วม 1,696,870 (6,260,681) - - ส่วนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงส่วนได้เสีย ในบริษัทร่วม 1,569,359 1,569,359 - - กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว สำ�รองตามกฎหมาย 16 30,000,000 30,000,000 30,000,000 30,000,000 สำ�รองทั่วไป 20,000,000 20,000,000 20,000,000 20,000,000 ยังไม่ได้จัดสรร 15 955,031,418 901,471,677 905,012,223 861,309,389 รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 2,020,409,085 1,788,154,740 1,967,123,661 1,752,683,774 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 3,593,390,558 3,307,762,947 3,540,105,134 3,272,291,981 รายการนอกงบดุล - ภาระผูกพันทั้งสิ้น ภาระผูกพัน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
23
17.1
15.5
17.1
(หน่วย : ล้านบาท) 15.5
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
107
งบกระแสเงินสด
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน)
(หน่วย : บาท) งบการเงิน ซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
2552
2551
งบการเงินเฉพาะกิจการ ซึ่งแสดงผลเงินลงทุนตามวิธีราคาทุน 2552
2551
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน เบี้ยประกันภัยรับจากการรับประกันภัยโดยตรง 1,960,224,053 1,732,522,500 1,960,224,053 1,732,522,500 เงินจ่ายเกี่ยวกับการประกันภัยต่อ (82,366,429) (49,776,961) (82,366,429) (49,776,961) ค่าสินไหมทดแทนจากการรับประกันภัยโดยตรง (935,131,760) (745,912,483) (935,131,760) (745,912,483) ค่าใช้จา่ ยในการจัดการสินไหมทดแทนจากการรับประกันภัยโดยตรง (31,124,544) (23,513,580) (31,124,544) (23,513,580) ค่าจ้างและค่าบำ�เหน็จจากการรับประกันภัยโดยตรง (374,576,638) (312,784,122) (374,576,638) (312,784,122) ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยอื่น (60,000,971) (45,286,489) (60,000,971) (45,286,489) รายได้จากการลงทุนสุทธิ 101,165,386 95,146,523 101,165,386 95,146,523 รายได้อื่น 12,788,402 10,828,891 12,788,402 10,828,891 ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน (277,307,050) (298,443,483) (277,307,050) (298,443,483) ภาษีเงินได้นิติบุคคล (37,545,561) (57,028,797) (37,545,561) (57,028,797) เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดำ�เนินงาน 276,124,888 305,751,999 276,124,888 305,751,999 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจาก เงินลงทุนในหลักทรัพย์ 3,165,559,219 3,211,128,107 3,165,559,219 3,211,128,107 เงินฝากสถาบันการเงิน 130,091,499 - 130,091,499 - เงินให้กู้ยืม 962,379 587,200 962,379 587,200 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน 6,215,213 11,160,593 6,215,213 11,160,593 กระแสเงินสดใช้ไป เงินลงทุนในหลักทรัพย์ (3,453,223,281) (3,295,177,903) (3,453,223,281) (3,295,177,903) เงินฝากสถาบันการเงิน - (109,998,019) - (109,998,019) เงินให้กู้ยืม (770,000) - (770,000) - ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน (9,136,785) (14,906,837) (9,136,785) (14,906,837) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (160,301,756) (197,206,859) (160,301,756) (197,206,859) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายชำ�ระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน (2,026,269) (1,803,219) (2,026,269) (1,803,219) เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 17) (104,999,860) (119,995,040) (104,999,860) (119,995,040) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (107,026,129) (121,798,259) (107,026,129) (121,798,259) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ 8,797,003 (13,253,119) 8,797,003 (13,253,119) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี 35,654,413 48,907,532 35,654,413 48,907,532 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายปี (หมายเหตุ 10) 44,451,416 35,654,413 44,451,416 35,654,413 รายการที่ไม่ใช่เงินสด ยานพาหนะจากสัญญาเช่าการเงิน 3,005,470 4,549,867 3,005,470 4,549,867 ส่วนเกิน (ต่ำ�กว่า) ทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน 170,737,053 (268,303,310) 170,737,053 (268,303,310) ส่วนเกิน (ต่ำ�กว่า) ทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน ของบริษัทร่วม 7,957,551 (17,215,233) - หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
108
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
งบกำ�ไรขาดทุน
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน)
(หน่วย : บาท) งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย
2552
2551
ภัยทางทะเล สำ�หรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 อัคคีภัย และขนส่ง รถยนต์ เบ็ดเตล็ด รวม รวม รายได้จากการรับประกันภัย เบี้ยประกันภัยรับ 437,529,871 118,109,337 1,254,515,576 107,901,237 1,918,056,021 1,849,917,580 หัก: เบี้ยประกันภัยต่อ (265,267,566) (68,182,988) (19,639,101) (54,800,099) (407,889,754) (361,885,869) เบี้ยประกันภัยรับสุทธิ 172,262,305 49,926,349 1,234,876,475 53,101,138 1,510,166,267 1,488,031,711 เงินสำ�รองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (เพิ่ม) ลดจากปีก่อน (4,355,706) 31,507 51,176,477 12,208,908 59,061,186 (171,484,808) เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ 167,906,599 49,957,856 1,286,052,952 65,310,046 1,569,227,453 1,316,546,903 ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัย ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นระหว่างปี 49,475,312 10,621,486 793,461,921 34,467,380 888,026,099 651,139,004 ค่าใช้จ่ายในการจัดการสินไหมทดแทน 1,692,408 682,122 20,548,451 545,525 23,468,506 17,011,537 ค่าจ้างและค่าบำ�เหน็จ 22,952,087 (52,411) 223,416,061 (715,063) 245,600,674 230,639,291 ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยอื่น 3,504,297 466,702 54,953,074 1,214,233 60,138,306 46,093,583 รวมค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัย 77,624,104 11,717,899 1,092,379,507 35,512,075 1,217,233,585 944,883,415 กำ�ไรจากการรับประกันภัย 90,282,495 38,239,957 193,673,445 29,797,971 351,993,868 371,663,488 รายได้จากการลงทุนสุทธิ 101,649,061 98,917,754 กำ�ไรจากการลงทุนในหลักทรัพย์ 38,646,474 20,993,038 ส่วนแบ่งกำ�ไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม (หมายเหตุ 7) 9,856,907 (9,399,894) รายได้อื่น 13,471,248 11,916,722 515,617,558 494,091,108 ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน 188,557,010 182,339,102 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์ 94,987,758 97,627,770 ค่าภาษีอากร 2,471,531 2,598,767 หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) 3,164,345 (209,179) ค่าตอบแทนกรรมการ (หมายเหตุ 18) 5,690,000 6,220,000 ค่าใช้จ่ายทางการเงิน 737,532 951,958 ค่าใช้จ่ายในการขาย 7,591,380 7,924,097 ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น 20,513,376 18,558,784 รวมค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน 323,712,932 316,011,299 กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 191,904,626 178,079,809 ภาษีเงินได้นิติบุคคล (หมายเหตุ 19) (33,345,025) (58,714,184) กำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี 158,559,601 119,365,625 กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (หมายเหตุ 20) กำ�ไรสุทธิ 5.29 3.98
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
109
งบกำ�ไรขาดทุน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน)
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีราคาทุน
2552
2551
ภัยทางทะเล สำ�หรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 อัคคีภัย และขนส่ง รถยนต์ เบ็ดเตล็ด รวม รวม รายได้จากการรับประกันภัย เบี้ยประกันภัยรับ 437,529,871 118,109,337 1,254,515,576 107,901,237 1,918,056,021 1,849,917,580 หัก: เบี้ยประกันภัยต่อ (265,267,566) (68,182,988) (19,639,101) (54,800,099) (407,889,754) (361,885,869) เบี้ยประกันภัยรับสุทธิ 172,262,305 49,926,349 1,234,876,475 53,101,138 1,510,166,267 1,488,031,711 เงินสำ�รองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ (เพิ่ม) ลดจากปีก่อน (4,355,706) 31,507 51,176,477 12,208,908 59,061,186 (171,484,808) เบี้ยประกันภัยที่ถือเป็นรายได้ 167,906,599 49,957,856 1,286,052,952 65,310,046 1,569,227,453 1,316,546,903 ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัย ค่าสินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นระหว่างปี 49,475,312 10,621,486 793,461,921 34,467,380 888,026,099 651,139,004 ค่าใช้จ่ายในการจัดการสินไหมทดแทน 1,692,408 682,122 20,548,451 545,525 23,468,506 17,011,537 ค่าจ้างและค่าบำ�เหน็จ 22,952,087 (52,411) 223,416,061 (715,063) 245,600,674 230,639,291 ค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยอื่น 3,504,297 466,702 54,953,074 1,214,233 60,138,306 46,093,583 รวมค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัย 77,624,104 11,717,899 1,092,379,507 35,512,075 1,217,233,585 944,883,415 กำ�ไรจากการรับประกันภัย 90,282,495 38,239,957 193,673,445 29,797,971 351,993,868 371,663,488 รายได้จากการลงทุนสุทธิ 101,649,061 98,917,754 กำ�ไรจากการลงทุนในหลักทรัพย์ 38,646,474 20,993,038 รายได้อื่น 13,471,248 11,916,722 505,760,651 503,491,002 ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน 188,557,010 182,339,102 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ์ 94,987,758 97,627,770 ค่าภาษีอากร 2,471,531 2,598,767 หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) 3,164,345 (209,179) ค่าตอบแทนกรรมการ (หมายเหตุ 18) 5,690,000 6,220,000 ค่าใช้จ่ายทางการเงิน 737,532 951,958 ค่าใช้จ่ายในการขาย 7,591,380 7,924,097 ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานอื่น 20,513,376 18,558,784 รวมค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน 323,712,932 316,011,299 กำ�ไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 182,047,719 187,479,703 ภาษีเงินได้นิติบุคคล (หมายเหตุ 19) (33,345,025) (58,714,184) กำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี 148,702,694 128,765,519 กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (หมายเหตุ 20) กำ�ไรสุทธิ 4.96 4.29
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
110
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
111
ทุนเรือนหุ้น ที่ออก และชำ�ระแล้ว
ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
- - - - 3,276,623 - - - - (393,704,993) - - - - 104,909,827 - - - - (285,518,543) - - - 119,365,625 119,365,625 - - - 119,365,625 (166,152,918) - - - (119,995,040) (119,995,040) 1,569,359 30,000,000 20,000,000 901,471,677 1,788,154,740
10,954,552 (17,215,233) - - (17,215,233) - (17,215,233) - (6,260,681)
(หน่วย : บาท)
รวม 1,569,359 30,000,000 20,000,000 902,101,092 2,074,302,698
กำ�ไรสะสม ส่วนเกินทุน จากการ จัดสรรแล้ว เปลี่ยนแปลง ส่วนได้เสีย สำ�รอง ในบริษัทร่วม ตามกฎหมาย สำ�รองทั่วไป ยังไม่ได้จัดสรร
งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ส่วนเกิน ส่วนเกิน (ต่�ำ กว่า) ทุน (ต่�ำ กว่า) ทุน จากการ จากการ เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง มูลค่าเงิน มูลค่าเงินลงทุน ลงทุน ในบริษทั ร่วม
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 300,000,000 647,186,097 162,491,598 รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ผลกำ�ไร (ขาดทุน) ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น - - 20,491,856 ส่วนที่โอนไปกำ�ไรหรือขาดทุนเนื่องจากขาย - - (393,704,993) ภาษีเงินได้รอตัดที่รับรู้หรือโอนออกจากส่วนของผู้ถือหุ้น - - 104,909,827 รวมค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น - - (268,303,310) กำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี - - - รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ทั้งสิ้นที่รับรู้สำ�หรับปี - - (268,303,310) เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 17) - - - ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 300,000,000 647,186,097 (105,811,712)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน)
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ภือหุ้น
112
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย
(หน่วย : บาท)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ส่วนเกิน ส่วนเกิน กำ�ไรสะสม (ต่�ำ กว่า) ทุน (ต่�ำ กว่า) ทุน ส่วนเกินทุน จากการ จากการ จากการ จัดสรรแล้ว ทุนเรือนหุ้น เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง สำ�รอง ที่ออก ส่วนเกิน มูลค่าเงิน มูลค่าเงินลงทุน ส่วนได้เสีย และชำ�ระแล้ว มูลค่าหุ้น ลงทุน ในบริษัทร่วม ในบริษัทร่วม ตามกฎหมาย สำ�รองทั่วไป ยังไม่ได้จัดสรร รวม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 300,000,000 647,186,097 (105,811,712) (6,260,681) 1,569,359 30,000,000 20,000,000 901,471,677 1,788,154,740 รายได้ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ผลกำ�ไรที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น - - 31,586,257 7,957,551 - - - - 39,543,808 ส่วนที่โอนไปกำ�ไรหรือขาดทุนเนื่องจากขาย - - 196,063,148 - - - - - 196,063,148 ภาษีเงินได้รอตัดที่รับรู้หรือโอนออกจากส่วนของผู้ถือหุ้น - - (56,912,352) - - - - - (56,912,352) รวมรายได้ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น - - 170,737,053 7,957,551 - - - - 178,694,604 กำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี - - - - - - - 158,559,601 158,559,601 รวมรายได้ทั้งสิ้นที่รับรู้สำ�หรับปี - - 170,737,053 7,957,551 - - - 158,559,601 337,254,205 เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 17) - - - - - - - (104,999,860) (104,999,860) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 300,000,000 647,186,097 64,925,341 1,696,870 1,569,359 30,000,000 20,000,000 955,031,418 2,020,409,085
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน)
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ภือหุ้น (ต่อ)
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
113
งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีราคาทุน
(หน่วย : บาท)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
กำ�ไรสะสม ส่วนเกิน (ต่�ำ กว่า) ทุน จัดสรรแล้ว ทุนเรือนหุ้น จากการ ที่ออก ส่วนเกิน เปลี่ยนแปลง สำ�รอง และชำ�ระแล้ว มูลค่าหุ้น มูลค่าเงินลงทุน ตามกฎหมาย สำ�รองทั่วไป ยังไม่ได้จัดสรร รวม สำ�หรับสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 300,000,000 647,186,097 (162,491,598) 30,000,000 20,000,000 852,538,910 2,012,216,605 รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ผลกำ�ไรที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น - - 20,491,856 - - - 20,491,856 ส่วนที่โอนไปกำ�ไรหรือขาดทุนเนื่องจากขาย - - (393,704,993) - - - -393,704,993 ภาษีเงินได้รอตัดที่รับรู้หรือโอนออกจากส่วนของผู้ถือหุ้น - - 104,909,827 - - - 104,909,827 รวมค่าใช้จ่ายที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น - - (268,303,310) - - - (268,303,310) กำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี - - - - - 128,765,519 128,765,519 รวมรายได้ (ค่าใช้จ่าย) ทั้งสิ้นที่รับรู้สำ�หรับปี - - (268,303,310) - - 128,765,519 (139,537,791) เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 17) - - - - - (119,995,040) (119,995,040) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 300,000,000 647,186,097 (105,811,712) 30,000,000 20,000,000 861,309,389 1,752,683,774
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน)
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)
114
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีราคาทุน
(หน่วย : บาท)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
กำ�ไรสะสม ส่วนเกิน (ต่�ำ กว่า) ทุน จัดสรรแล้ว ทุนเรือนหุ้น จากการ ที่ออก ส่วนเกิน เปลี่ยนแปลง สำ�รอง สำ�หรับสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 และชำ�ระแล้ว มูลค่าหุ้น มูลค่าเงินลงทุน ตามกฎหมาย สำ�รองทั่วไป ยังไม่ได้จัดสรร รวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 300,000,000 647,186,097 (105,811,712) 30,000,000 20,000,000 861,309,389 1,752,683,774 รายได้ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย ผลกำ�ไรที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น - - 31,586,257 - - - 31,586,257 ส่วนที่โอนไปกำ�ไรหรือขาดทุนเนื่องจากขาย - - 196,063,148 - - - 196,063,148 ภาษีเงินได้รอตัดที่รับรู้หรือโอนออกจากส่วนของผู้ถือหุ้น - - (56,912,352) - - - (56,912,352) รวมรายได้ที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น - - 170,737,053 - - - 170,737,053 กำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี - - - - - 148,702,694 148,702,694 รวมรายได้ทั้งสิ้นที่รับรู้สำ�หรับปี - - 170,737,053 - - 148,702,694 319,439,747 เงินปันผลจ่าย (หมายเหตุ 17) - - - - - (104,999,860) (104,999,860) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 300,000,000 647,186,097 64,925,341 30,000,000 20,000,000 905,012,223 1,967,123,661
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน)
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 1. ข้อมูลทั่วไป บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) จัดตั้งขึ้นเป็นบริษัทมหาชนและมีภูมิลำ�เนาในประเทศไทย ธุรกิจหลักของบริษัทฯ คือ การรับประกันวินาศภัย โดยมีที่อยู่ตามที่จดทะเบียนซึ่งเป็นสำ�นักงานใหญ่ตั้งอยู่เลขที่ 100/48-55 ชั้นที่ 25-27 อาคารสาธรนครทาวเวอร์ และเลขที่ 90/3-6 ชั้นที่ 1 อาคารสาธรธานี สาธรธานีคอมเพล็กซ์ ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 2. เกณฑ์ในการจัดทำ�งบการเงิน งบการเงินนี้จัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กำ�หนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 ยกเว้นบริษัทฯได้นำ�มาตรฐานการบัญชีระหว่าง ประเทศฉบับที่ 12 เรือ่ ง ภาษีเงินได้ (IAS No. 12 Income Taxes) มาถือปฏิบตั ดิ ว้ ย เนือ่ งจากยังไม่มกี ารประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีของไทยในเรือ่ งนี้ และ จัดทำ�ขึ้นตามวิธีการบัญชีเกี่ยวกับการประกันภัยในประเทศไทยและหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งกำ�หนดโดยสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย การแสดงรายการในงบการเงินนี้ได้จัดทำ�ขึ้นเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำ�หนดในคำ�สั่งนายทะเบียนลงวันที่ 6 มีนาคม 2545 ออกตามความใน พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลมาจากงบการเงินฉบับ ภาษาไทยดังกล่าว งบการเงินนี้ได้จัดทำ�ขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมเว้นแต่จะได้เปิดเผยเป็นอย่างอื่นในนโยบายการบัญชี 3. การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่ ในเดือนมิถนุ ายน 2552 สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 12/2552 เรือ่ ง การจัดเลขระบุฉบับมาตรฐานการบัญชีของไทย ให้ตรงตามมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ การอ้างอิงเลขมาตรฐานการบัญชีในงบการเงินนี้ได้ถือปฏิบัติตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับดังกล่าว สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 86/2551 และฉบับที่ 16/2552 ให้ใช้มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการ เงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีใหม่ดังต่อไปนี้ 3.1 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) การด้อยค่าของสินทรัพย์ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2550) สิ น ทรั พ ย์ ไ ม่ ห มุ น เวี ย นที่ ถื อ ไว้ เ พื่ อ ขายและการดำ� เนิ น งานที่ ย กเลิ ก แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำ�หรับการบันทึกสิทธิการเช่า แนวปฏิบัติทางการบัญชีสำ�หรับการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวปฏิบัติทางการบัญชีข้างต้นถือปฏิบัติกับงบการเงินสำ�หรับรอบระยะเวลา บัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป ฝ่ายบริหารของบริษัทฯได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2550) และแนวปฏิบัติทางการบัญชีสำ�หรับการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกันไม่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ ส่วนแม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) และแนวปฏิบัติทางการบัญชีสำ�หรับการบันทึกสิทธิการเช่า ไม่มีผลกระทบอย่างเป็น สาระสำ�คัญต่องบการเงินสำ�หรับปีปัจจุบัน 3.2 มาตรฐานการบัญชีที่ยังไม่มีผลบังคับใช้ในปีปัจจุบัน วันที่ มีผลบังคับใช้ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 การบัญชีสำ�หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล 1 มกราคม 2555 และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2550) การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 1 มกราคม 2554 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 1 มกราคม 2554 อย่างไรก็ตาม กิจการสามารถนำ�มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2550) และมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 มาถือปฏิบัติก่อนกำ�หนดได้ ฝ่ายบริหารของบริษัทฯได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐานการบัญชีฉบับที่20 และมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่40 ไม่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ ส่วนมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2550) จะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำ�คัญต่องบการเงินสำ�หรับปีที่เริ่มใช้มาตรฐานการบัญชีดังกล่าว NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
115
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 4. นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญ 4.1 การรับรู้รายได้ (ก) เบี้ยประกันภัย เบี้ยประกันภัยถือเป็นรายได้ตามวันที่ที่มีผลบังคับใช้ในกรมธรรม์ประกันภัยหลังจากหักเบี้ยประกันภัยต่อและส่งคืนแล้วสำ�หรับกรมธรรม์ ที่มีอายุไม่เกิน 1 ปี ในกรณีที่กรมธรรม์มีอายุเกิน 1 ปี จะบันทึกรายได้และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องเป็นรายการรับหรือจ่ายล่วงหน้าโดยทยอย รับรู้เป็นรายได้และค่าใช้จ่ายตามอายุการให้ความคุ้มครองเป็นรายปี (ข) เบี้ยประกันภัยต่อ เบี้ยประกันภัยต่อถือเป็นรายได้เมื่อบริษัทฯได้รับใบคำ�ขอเอาประกันภัยต่อหรือใบแจ้งการประกันภัยต่อจากบริษัทผู้เอาประกันภัยต่อ (ค) ดอกเบี้ยและเงินปันผลรับ ดอกเบี้ยถือเป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคำ�นึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริง เงินปันผลรับถือเป็นรายได้เมื่อมีสิทธิในการรับ เงินปันผล 4.2 เงินสำ�รองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ บริษัทฯตั้งเงินสำ�รองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ตามกฎเกณฑ์ในประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง การจัดสรรเงินสำ�รองสำ�หรับเบี้ย ประกันภัยที่ยังไม่ตกเป็นรายได้ของบริษัทและเงินสำ�รองสำ�หรับค่าสินไหมทดแทนของบริษัทประกันวินาศภัยดังนี้
การประกันอัคคีภัย รถยนต์ ตัวเรือและเบ็ดเตล็ด (ยกเว้นอุบัติเหตุการเดินทางที่มีความคุ้มครองไม่เกิน 6 เดือน) การประกันภัยทางทะเลและขนส่ง (สินค้า) การประกันภัยอุบัติเหตุการเดินทางที่มีความคุ้มครองไม่เกิน 6 เดือน
- วิธีเฉลี่ยรายเดือน (วิธีเศษหนึ่งส่วนยี่สิบสี่) - เต็มจำ�นวนเบี้ยประกันภัยรับสุทธิในรอบเก้าสิบวันย้อนหลัง - เต็มจำ�นวนเบี้ยประกันภัยรับสุทธิในรอบสามสิบวันย้อนหลัง
4.3 สำ�รองค่าสินไหมทดแทนและค่าสินไหมทดแทนค้างจ่าย บริษัทฯบันทึกค่าสินไหมทดแทนค้างจ่ายตามจำ�นวนที่จะจ่ายจริง ส่วนสำ�รองค่าสินไหมทดแทนจะบันทึกเมื่อได้รับการแจ้งคำ�เรียกร้อง ค่าเสียหายจากผู้เอาประกันภัยตามจำ�นวนที่ผู้เอาประกันภัยแจ้งและโดยการประมาณการของฝ่ายบริหาร มูลค่าประมาณการสินไหมทดแทน สูงสุดจะไม่เกินทุนประกันของกรมธรรม์ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้บริษัทฯได้ตั้งสำ�รองเพิ่มเติมสำ�หรับความเสียหายที่เกิดขึ้นแล้วแต่ยังไม่ได้ มีการรายงานให้บริษัทฯทราบ (Incurred but not reported - IBNR) ในอัตราร้อยละ 2.5 ของเบี้ยประกันภัยรับสุทธิย้อนหลังสิบสองเดือน เพื่อให้ เป็นไปตามประกาศกระทรวงพาณิชย์เรื่องการจัดสรรเงินสำ�รองสำ�หรับเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ตกเป็นรายได้ของบริษัทและเงินสำ�รองสำ�หรับค่าสินไหม ทดแทนของบริษัทประกันวินาศภัย อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป บริษัทประกันภัยต้องจัดสรรเงินสำ�รองค่าสินไหมทดแทนใน กรณีที่มีความเสียหายเกิดขึ้นแล้วแต่ยังไม่ได้มีการรายงานให้บริษัททราบ (IBNR) ในจำ�นวนที่สูงกว่าระหว่างจำ�นวนเงินสำ�รองค่าสินไหมที่คำ�นวณโดย วิธีการทางคณิตศาสตร์ประกันภัยและวิธีร้อยละ 2.5 ของเบี้ยประกันภัยรับสุทธิย้อนหลังสิบสองเดือน
116
4.4 ค่าจ้างและค่าบำ�เหน็จ ค่าจ้างและค่าบำ�เหน็จถือเป็นค่าใช้จ่ายทันทีในงวดบัญชีที่เกิดรายการ 4.5
เงินลงทุน (ก) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้าแสดงตามมูลค่ายุติธรรม บริษัทฯ บันทึกการเปลี่ยนแปลงมูลค่าของหลักทรัพย์เป็นรายการกำ�ไรหรือ ขาดทุนในงบกำ�ไรขาดทุน เงินลงทุนจัดประเภทเป็นหลักทรัพย์เพื่อค้าเมื่อมีวัตถุประสงค์หลักที่จะขายในอนาคตอันใกล้ (ข) เงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายแสดงตามมูลค่ายุติธรรม บริษัทฯบันทึกการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหลักทรัพย์ดังกล่าวเป็นรายการแยกต่าง หากในส่วนของผู้ถือหุ้นจนกระทั่งจำ�หน่ายหลักทรัพย์ดังกล่าวออกไป จึงบันทึกการเปลี่ยนแปลงมูลค่านั้นในงบกำ�ไรขาดทุน (ค) เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่จะครบกำ�หนดชำ�ระในหนึ่งปี และที่จะถือจนครบกำ�หนดแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุนตัดจำ�หน่าย บริษัทฯ ตัดบัญชีส่วนเกิน/ส่วนต่ำ�กว่ามูลค่าตราสารหนี้ตามอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ซึ่งจำ�นวนที่ตัดจำ�หน่ายนี้จะแสดงเป็นรายการปรับกับ ดอกเบีย้ รับตราสารหนีจ้ ดั เป็นประเภททีจ่ ะถือจนครบกำ�หนดเมือ่ บริษทั ฯมีความตัง้ ใจแน่วแน่และมีความสามารถทีจ่ ะถือไว้จนครบกำ�หนดไถ่ถอน (ง) เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดถือเป็นเงินลงทุนทั่วไป ซึ่งแสดงในราคาทุนสุทธิจากค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี)
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 (จ) เงินลงทุนอื่นแสดงมูลค่าตามราคาทุน (ฉ) เงินลงทุนในบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียแสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย (ช) เงินลงทุนในบริษัทร่วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุน มู ล ค่ า ยุ ต ิธรรมของหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดคำ �นวณจากราคาเสนอซื้อหลังสุด ณ สิ้นวันทำ �การสุดท้า ยของปี ข อง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มูลค่ายุติธรรมของตราสารหนี้ถือพื้นฐานจากการคำ�นวณอัตราผลตอบแทนหรือราคาจากสมาคมตลาดตราสารหนี้ ไทยแล้วแต่กรณี มูลค่ายุติธรรมของหน่วยลงทุนคำ�นวณจากมูลค่าสินทรัพย์สุทธิ บริษัทฯใช้วิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักในการคำ�นวณต้นทุนของเงินลงทุน ในกรณีที่มีการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน บริษัทฯจะปรับเปลี่ยนราคาของเงินลงทุนใหม่โดยใช้มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่โอนเปลี่ยน ประเภทเงินลงทุน ผลแตกต่างระหว่างราคาตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่โอนได้บันทึกเป็นรายการกำ�ไร (ขาดทุน) ในงบกำ�ไรขาดทุนหรือแสดง เป็นส่วนเกิน (ต่ำ�กว่า) ทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าในส่วนของผู้ถือหุ้นแล้วแต่ประเภทของเงินลงทุนที่มีการโอนเปลี่ยน 4.6 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดในงบกระแสเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง ซึ่งถึงกำ�หนดจ่ายคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือนนับจากวันที่ได้มาและไม่มีข้อจำ�กัดในการเบิกใช้ 4.7 เบี้ยประกันภัยค้างรับ เบีย้ ประกันภัยค้างรับแสดงมูลค่าตามจำ�นวนมูลค่าสุทธิทจ่ี ะได้รบั บริษทั ฯบันทึกค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญสำ�หรับผลขาดทุนโดยประมาณทีอ่ าจ เกิดขึน้ จากการเก็บเงินค่าเบีย้ ประกันภัยค้างรับไม่ได้ ซึง่ โดยทัว่ ไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุเบีย้ ประกันภัยค้างรับ
4.8 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ทีด่ ินแสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) ค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์คำ�นวณจากราคาทุนของสินทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณดังนี้ อาคาร - 20 ปี อาคารชุด - 20 ปี ส่วนปรับปรุงอาคาร - 5, 10, 20 ปี เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและอุปกรณ์สำ�นักงาน - 5, 10 ปี ยานพาหนะ - 5 ปี ค่าเสื่อมราคารวมอยู่ในการคำ�นวณผลการดำ�เนินงาน ไม่มีการคิดค่าเสื่อมราคาสำ�หรับที่ดินและสินทรัพย์ระหว่างติดตั้ง 4.9 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน บริษัทฯจะวัดมูลค่าสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ณ วันที่ได้มาด้วยราคาทุน และภายหลังการรับรู้รายการครั้งแรก สินทรัพย์ไม่มีตัวตนแสดง มูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจำ�หน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม (ถ้ามี) ของสินทรัพย์นั้น บริษัทฯตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จำ�กัดอย่างมีระบบตลอดอายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย์นั้น และจะประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่า บริษัทฯจะทบทวนระยะเวลาการตัดจำ�หน่ายและวิธีการ ตัดจำ�หน่ายของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนดังกล่าวทุกสิ้นปีเป็นอย่างน้อย ค่าตัดจำ�หน่ายรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จำ�กัด คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งมีอายุการให้ประโยชน์ 10 ปี 4.10 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำ�นาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูกควบคุมโดยบริษัทฯไม่ว่าจะเป็น โดยทางตรงหรือทางอ้อม หรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันยังหมายรวมถึงบริษัทร่วมและบุคคลซึ่งมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำ�คัญกับบริษัทฯ ผู้บริหารสำ�คัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯที่มีอำ�นาจในการวางแผนและควบคุมการดำ�เนินงานของบริษัทฯ NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
117
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 4.11 สัญญาเช่าระยะยาว กรณีที่บริษัทฯเป็นผู้เช่า สัญญาเช่าทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ทค่ี วามเสีย่ งและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กบั ผูเ้ ช่าถือเป็นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่าหรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิของจำ�นวนเงินที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่า แล้วแต่มลู ค่าใดจะต่�ำ กว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จา่ ยทางการเงินจะบันทึกเป็นหนีส้ นิ ระยะยาว ส่วนดอกเบีย้ จ่ายจะบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุน ตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่า กรณีที่บริษัทฯเป็นผู้ให้เช่า สัญญาเช่าดำ�เนินงาน สินทรัพย์ที่ให้เช่าภายใต้สัญญาเช่าดำ�เนินงานแสดงรวมอยู่ในที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในงบดุล และตัดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการ ใช้งานของสินทรัพย์เช่นเดียวกับสินทรัพย์ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกัน รายได้ค่าเช่ารับรู้เป็นรายได้ตามวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาการให้เช่า 4.12 เงินตราต่างประเทศ รายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินซึ่ง อยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล กำ�ไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยู่ในการคำ�นวณผลการดำ�เนินงาน 4.13 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ทุกวันที่ในงบดุล บริษัทฯจะทำ�การประเมินการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์หรือสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนของบริษัทฯ หากมี ข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าวอาจด้อยค่า บริษัทฯรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่าต่ำ�กว่ามูลค่า ตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ทั้งนี้มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายของสินทรัพย์หรือมูลค่าจากการใช้ สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ บริษัทฯประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดว่าจะได้รับ จากสินทรัพย์และคำ�นวณคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดก่อนภาษีที่สะท้อนถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาดปัจจุบันของเงินสด ตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย์ที่กำ�ลังพิจารณาอยู่ ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย บริษัทฯ ใช้แบบจำ�ลองการประเมินมูลค่าที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย์ ซึ่งสะท้อนถึงจำ�นวนเงินที่กิจการสามารถจะได้มาจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์หักด้วย ต้นทุนในการจำ�หน่าย โดยการจำ�หน่ายนัน้ ผูซ้ อ้ื กับผูข้ ายมีความรอบรูแ้ ละเต็มใจในการแลกเปลีย่ นและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะ ของผูท้ ไ่ี ม่มคี วามเกีย่ วข้องกัน บริษัทฯจะรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าในงบกำ�ไรขาดทุน 4.14 ผลประโยชน์พนักงาน บริษัทฯรับรู้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดรายการ 4.15 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ตามแบบแสดงรายการ บริษัทฯบันทึกภาษีเงินได้โดยคำ�นวณจากกำ�ไรสุทธิทางภาษีตามกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีคำ�นวณขึ้นจากผลแตกต่างชั่วคราวระหว่างราคาตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สิน ณ วันที่ในงบดุลกับฐาน ภาษีของสินทรัพย์และหนีส้ นิ นัน้ โดยใช้อตั ราภาษีทม่ี ผี ลบังคับใช้ ณ วันทีใ่ นงบดุล บริษทั ฯรับรูห้ นีส้ นิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีส�ำ หรับผลแตกต่างชัว่ คราวทีต่ อ้ งเสียภาษี และรับรูส้ นิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีส�ำ หรับผล แตกต่างชัว่ คราวทีใ่ ช้หกั ภาษี รวมทัง้ ผลขาดทุนทางภาษีทย่ี งั ไม่ได้ใช้ ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯจะรับรูส้ นิ ทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีกต็ อ่ เมือ่ มีความเป็นไปได้คอ่ นข้าง แน่ที่บริษัทฯจะมีกำ�ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอสำ�หรับผลแตกต่างชั่วคราวที่ใช้หักภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไม่ได้ใช้นั้น บริษัทฯจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทุกวันที่ในงบดุล และจะปรับลดมูลค่าตามบัญชีดังกล่าวเมื่อมี ความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริษัทฯจะไม่มีกำ�ไรทางภาษีเพียงพอต่อการนำ�สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทั้งหมดหรือบางส่วนมาใช้ประโยชน์ บริษัทฯจะบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น หากภาษีที่เกิดขึ้นเกี่ยวข้องกับรายการที่ได้บันทึกโดยตรงไปยัง ส่วนของผู้ถือหุ้น
118
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 5. การใช้ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำ�คัญ ในการจั ด ทำ� งบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝ่ายบริหารจำ �เป็นต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการในเรื ่ อ งที ่ ม ี ความไม่ แ น่ น อนเสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี้ส่งผลกระทบต่อจำ �นวนเงินที่แสดงในงบการเงินและต่ อ ข้ อ มู ล ที ่ แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากจำ�นวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการที่ สำ�คัญมีดังนี้ สัญญาเช่า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็นสัญญาเช่าดำ�เนินงานหรือสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประเมินเงื่อนไข และรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่าบริษัทฯได้โอนหรือรับโอนความเสี่ยงและผลประโยชน์ในสินทรัพย์ที่เช่าดังกล่าวแล้วหรือไม่ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้ แต่ละราย โดยคำ�นึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ในขณะนั้น เป็นต้น มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ในการประเมิ น มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรมของเครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น ที่ ไ ม่ มี ก ารซื้ อ ขายในตลาดและไม่ ส ามารถหาราคาได้ ใ นตลาดซื้ อ ขายคล่ อ ง ฝ่ายบริหารต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินดังกล่าว โดยใช้เทคนิคและแบบจำ�ลองการประเมินมูลค่าซึ่งตัวแปร ที่ใช้ในแบบจำ�ลองได้มาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที่มีอยู่ในตลาด โดยคำ�นึงถึงสภาพคล่อง ข้อมูลความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าของ เครื่องมือทางการเงินในระยะยาว ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในตราสารทุน บริษัทฯจะตั้งค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายและเงินลงทุนทั่วไปเมื่อฝ่ายบริหารใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาว่ามูลค่ายุติธรรม ของเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสำ�คัญและเป็นระยะเวลานาน การที่จะสรุปว่าเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสำ�คัญหรือเป็นระยะ เวลานานหรือไม่นั้นจำ�เป็นต้องใช้ดุลยพินิจของฝ่ายบริหาร ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื่อมราคา ในการคำ�นวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องทำ�การประมาณอายุการใช้งานและมูลค่าซากเมื่อเลิกใช้งาน ของอาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการใช้งานและมูลค่าซากใหม่หากมีการเปลี่ยนแปลงเช่นนั้นเกิดขึ้น นอกจากนี้ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่าหาก คาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต่ำ�กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ในการนี้ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์ รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์นั้น สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ในการบันทึกและวัดมูลค่าของสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน ณ วันทีไ่ ด้มา ตลอดจนการทดสอบการด้อยค่าในภายหลัง ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องประมาณการกระ แสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากสินทรัพย์ รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลดที่เหมาะสมในการคำ�นวณหามูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดนั้นๆ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี บริษัทฯจะรับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีในบัญชีเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่า บริษัทฯจะมีกำ�ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอ ที่จะใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ภาษีเงินนั้นได้ ในการนี้ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องประมาณการว่าบริษัทฯควรรับรู้จำ�นวนสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีเป็น จำ�นวนเท่าใด โดยพิจารณาถึงจำ�นวนกำ�ไรที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
119
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 สำ�รองค่าสินไหมทดแทนและค่าสินไหมทดแทนค้างจ่าย ทุกวันที่ในงบดุล บริษัทฯต้องประมาณการสำ�รองค่าสินไหมทดแทนและค่าสินไหมทดแทนค้างจ่ายโดยแยกพิจารณาสองส่วน คือ ส่วนของค่า สินไหมทดแทนที่เกิดขึ้นและบริษัทฯได้รับรายงานความเสียหายแล้ว และส่วนของความเสียหายที่เกิดขึ้นแล้วแต่บริษัทฯยังไม่ได้รับรายงาน (Incurred but not reported - IBNR) ซึ่งต้องใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ประกันภัยที่เป็นมาตรฐานสากล เช่น วิธี Chain Ladder และวิธี Bornheutter-Ferguson ในการประมาณการ ข้อสมมติฐานหลักที่ใช้ในวิธีการทางคณิตศาสตร์ประกันภัยดังกล่าวประกอบด้วยข้อมูลในอดีต ซึ่งได้แก่ การเปลี่ยนแปลงประมาณการค่าสินไหม ทดแทน การจ่ายชำ�ระค่าสินไหมทดแทนของบริษัทฯ ค่าสินไหมทดแทนเฉลี่ย จำ�นวนครั้งของค่าสินไหม เป็นต้น ในการคำ�นวณตามวิธีการทาง คณิตศาสตร์ประกันภัยนี้ จะทำ�การวิเคราะห์ตามประเภทของการรับประกันภัย และต้องใช้นักคณิตศาสตร์ประกันภัย (Actuary) ซึ่งเป็นผู้ที่มี ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ และมีความเข้าใจในธุรกิจประกันภัยและความเข้าใจในผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯเป็นผู้วิเคราะห์ อย่างไรก็ตามประมาณการดังกล่าวเป็นการคาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคต จึงอาจแตกต่างกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงได้ ทั้งนี้ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ได้อนุโลมให้การคำ�นวณเงินสำ�รองความเสียหายที่เกิดขึ้น แล้วแต่บริษัทฯยังไม่ได้รับรายงาน (Incurred but not reported - IBNR) สามารถคำ�นวณและรับรองโดยผู้บริหารของบริษัทฯที่ได้รับอนุญาตจากคปภ. คดีฟ้องร้อง บริษัทฯมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย ซึ่งฝ่ายบริหารได้ใช้ดุลยพินิจในการประเมินผลของคดีที่ถูกฟ้องร้อง แล้วและ เชื่อมั่นว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นจะไม่เกินกว่าจำ�นวนที่ได้บันทึกไว้แล้ว ณ วันที่ในงบการเงิน
120
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 6. เงินลงทุนในหลักทรัพย์
(หน่วย : บาท) งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย/ งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีราคาทุน 2552 2551 ราคาทุน/ราคาทุน ราคาทุน/ราคาทุน มูลค่ายุติธรรม มูลค่ายุติธรรม ตัดจำ�หน่าย ตัดจำ�หน่าย
หลักทรัพย์เผื่อขาย ตราสารทุน หุ้นทุน หน่วยลงทุน กำ�ไร (ขาดทุน) ที่ยังไม่เกิดขึ้น จากการเปลี่ยนแปลง มูลค่าเงินลงทุน รวมหลักทรัพย์เผื่อขาย ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด พันธบัตร ตั๋วเงิน หุ้นกู้ ค่าเผื่อการด้อยค่า รวมตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด เงินลงทุนทั่วไป ตราสารทุน หุ้นทุน ค่าเผื่อการด้อยค่า รวมเงินลงทุนทั่วไป รวมเงินลงทุนในหลักทรัพย์ - สุทธิ
394,823,265 439,071,017
501,217,721 419,243,682
428,783,739 571,553,151
386,798,696 472,455,911
86,567,121 920,461,403
- 920,461,403
(141,082,283) 859,254,607
859,254,607
639,538,685 99,965,257 725,014,978 - 1,464,518,920
309,481,604 207,842,015 459,824,440 (2,200,000) 974,948,059
34,179,240 (2,567,500) 31,611,740
34,534,240 (2,302,500) 32,231,740
2,416,592,063
1,866,434,406
ส่วนเกิน (ต่ำ�กว่า) ทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีรายละเอียดดังนี้
ตราสารทุน หุ้นทุน หน่วยลงทุน รวม สินทรัพย์ (หนี้สิน) ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ส่วนเกิน (ต่ำ�กว่า) ทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน - สุทธิจากภาษีเงินได้
(หน่วย : บาท)
งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย/ งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีราคาทุน 2552 2551 106,394,456 (19,827,335) 86,567,121 (21,641,780)
(41,985,042) (99,097,240) (141,082,282) 35,270,570
64,925,341
(105,811,712)
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
121
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เงินลงทุนในตราสารหนี้ระยะเวลาครบกำ�หนดดังนี้
(หน่วย : บาท) งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย/ งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีราคาทุน ภายใน 1 ปี ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกำ�หนด พันธบัตร ตั๋วเงิน หุ้นกู้ รวม
287,803,526 99,965,257 116,530,213 504,298,996
ระยะเวลาครบกำ�หนด 1 - 5 ปี มากกว่า 5 ปี 278,937,619 - 552,204,750 831,142,369
72,797,540 - 56,280,015 129,077,555
รวม 639,538,685 99,965,257 725,014,978 1,464,518,920
บริษัทฯได้นำ�พันธบัตรจำ�นวน 5.5 ล้านบาท (2551: 4.9 ล้านบาท) ไปวางเป็นหลักทรัพย์ในการยื่นประกันกรณีที่ผู้เอาประกันที่เป็นผู้ขับขี่ รถยนต์ตกเป็นผู้ต้องหา บริษัทฯได้นำ�พันธบัตรและเงินลงทุนอื่นจำ�นวน 20 ล้านบาท (2551: 20 ล้านบาท) ไปวางไว้กับนายทะเบียนสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เพื่อเป็นหลักทรัพย์ค้ำ�ประกันตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทฯมีเงินลงทุนในหุ้นกู้ของบริษัทที่อาจมีปัญหาในการจ่ายคืนเงินลงทุนเป็นจำ�นวน 7.0 ล้านบาท โดยเงิน ลงทุนดังกล่าวได้โอนไปให้ธนาคารพาณิชย์ในประเทศแห่งหนึ่งเป็นผู้ชำ�ระแทน ซึ่งธนาคารยืนยันที่จะชำ�ระเงินลงทุนดังกล่าวภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2552 อย่างไรก็ตาม บริษัทฯได้ตั้งค่าเผื่อการด้อยค่าสำ�หรับเงินลงทุนดังกล่าวบางส่วนเป็นจำ�นวน 2.2 ล้านบาท ทั้งนี้บริษัทฯได้รับชำ�ระเงินลงทุนดัง กล่าวแล้วเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 7. เงินลงทุนในบริษัทร่วม 7.1 รายละเอียดของบริษัทร่วม
(หน่วย : บาท) บริษัท
งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย สัดส่วน มูลค่าตามบัญชี ราคาทุน เงินลงทุน ตามวิธิส่วนได้เสีย 2552 2551 2552 2551 2552 2551 ร้อยละ ร้อยละ 36.27 36.27 70,739,402 70,739,402 87,461,119 69,646,661
ลักษณะ จัดตั้งขึ้น ธุรกิจ ในประเทศ บริษัท ฟอลคอนประกันภัย รับประกัน ไทย จำ�กัด (มหาชน) วินาศภัย รวม
122
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
70,739,402 70,739,402 87,461,119 69,646,661
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
(หน่วย : บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีราคาทุน สัดส่วน มูลค่าตามบัญชี ราคาทุน เงินลงทุน ตามวิธิส่วนได้เสีย 2552 2551 2552 2551 2552 2551 ร้อยละ ร้อยละ 36.27 36.27 70,739,402 70,739,402 34,175,695 34,175,695
บริษัท
ลักษณะ จัดตั้งขึ้น ธุรกิจ ในประเทศ บริษัท ฟอลคอนประกันภัย รับประกัน ไทย จำ�กัด (มหาชน) วินาศภัย รวม
70,739,402 70,739,402 34,175,695 34,175,695
7.2 ส่วนแบ่งกำ�ไร/ขาดทุน ในระหว่างปี บริษัทฯรับรู้ส่วนแบ่งกำ�ไร/ขาดทุนจากการลงทุนในบริษัทร่วมในงบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียดังนี้
(หน่วย : บาท) งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย
ส่วนแบ่งกำ�ไร/ขาดทุน จากเงินลงทุนในบริษัทร่วมในระหว่างปี 2552 2551
บริษัท
บริษัท ฟอลคอนประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) 9,856,907 (9,399,894) รวม 9,856,907 (9,399,894) 7.3 ข้อมูลทางการเงินของบริษัทร่วม
(หน่วย : บาท) ทุนเรียกชำ�ระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
บริษัท
บริษัท ฟอลคอนประกันภัย จำ�กัด (มหาชน)
2552
2551
สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
2551
หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552
2551
รายได้รวมสำ�หรับปี กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ สิ้นสุดวันที่ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2552
2551
2552
2551
60,000,000 60,000,000 577,304,640 431,560,394 326,616,727 229,993,411 484,543,090 286,572,866 27,179,073 (25,918,920)
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
123
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 8. เงินลงทุนอื่น จำ�นวนนี้เป็นเงินลงทุนในสลากออมทรัพย์ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โดยได้รับดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 1 ต่อปี และ ครบกำ�หนดในวันที่ 20 มิถุนายน 2554 9. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทฯกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันสามารถสรุปได้ดังนี้ ในระหว่างปี บริษัทฯมีรายการธุรกิจที่สำ�คัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและ เกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ดังนี้
รายชื่อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
บริษัท ฟอลคอนประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท นิปปอน โคอะ อินชัวรันส์ โบรกเกอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท สหพิทักษ์สิน จำ�กัด บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท อุตสาหกรรมถังโลหะไทย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท วโรปกรณ์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ธนากรผลิตภัณฑ์น้ำ�มันพืช จำ�กัด บริษัท รังสิตพลาซ่า จำ�กัด บริษัท สาธรธานี จำ�กัด บริษัท ดุสิตธานี จำ�กัด (มหาชน) บริษัท สยามกลการ จำ�กัด บริษัท หวั่งหลี จำ�กัด บริษัท สิทธินันท์ จำ�กัด บริษัท ชัยทิพย์ จำ�กัด บริษัท สยาม มอดิฟายด์ สตาร์ช จำ�กัด บริษัท พี อินทีเรีย แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จำ�กัด
ลักษณะความสัมพันธ์ บริษัทร่วม บริษัทฯถือหุ้นร้อยละ 10 ถือหุ้นในบริษัทฯร้อยละ 7.43 มีกรรมการร่วมกันและการถือหุ้น มีกรรมการร่วมกันและการถือหุ้น มีกรรมการร่วมกันและการถือหุ้น มีกรรมการร่วมกันและการถือหุ้น มีกรรมการร่วมกันและการถือหุ้น มีกรรมการร่วมกันและการถือหุ้น มีกรรมการร่วมกันและการถือหุ้น มีกรรมการร่วมกันและการถือหุ้น มีกรรมการร่วมกันและการถือหุ้น มีกรรมการร่วมกันและการถือหุ้น มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน มีกรรมการร่วมกัน
ในระหว่างปี บริษัทฯมีรายการธุรกิจที่สำ�คัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รายการธุรกิจดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและ เกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริษัทฯและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้น ซึ่งเป็นไปตามปกติธุรกิจโดยสามารถสรุปได้ดังนี้
124
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
(หน่วย : บาท)
รายการธุรกิจกับบริษทั ร่วม - บริษทั ฟอลคอนประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) เบี้ยประกันภัยรับตรง เบี้ยประกันภัยรับต่อ เบี้ยประกันภัยจ่ายต่อ ค่าบำ�เหน็จจ่าย ค่าบำ�เหน็จรับ ค่าเช่า รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เบี้ยประกันภัยรับตรง บริษัท นิปปอน โคอะ อินชัวรันส์ โบรกเกอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด* บริษัท สหพิทักษ์สิน จำ�กัด* บริษัท อุตสาหกรรมถังโลหะไทย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท วโรปกรณ์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ธนากรผลิตภัณฑ์น้ำ�มันพืช จำ�กัด บริษัท รังสิตพลาซ่า จำ�กัด บริษัท สาธรธานี จำ�กัด บริษัท ดุสิตธานี จำ�กัด (มหาชน) บริษัท สยามกลการ จำ�กัด บริษัท หวั่งหลี จำ�กัด บริษัท สิทธินันท์ จำ�กัด บริษัท ชัยทิพย์ จำ�กัด บริษัท สยาม มอดิฟายด์ สตาร์ช จำ�กัด เบี้ยประกันภัยรับต่อ บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน) เบี้ยประกันภัยจ่ายต่อ บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน) ค่าสินไหมทดแทน บริษัท นิปปอน โคอะ อินชัวรันส์ โบรกเกอร์(ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท อุตสาหกรรมถังโลหะไทย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท วโรปกรณ์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ธนากรผลิตภัณฑ์น้ำ�มันพืช จำ�กัด บริษัท รังสิตพลาซ่า จำ�กัด บริษัท สาธรธานี จำ�กัด บริษัท ดุสิตธานี จำ�กัด (มหาชน) บริษัท สิทธินันท์ จำ�กัด บริษัท ชัยทิพย์ จำ�กัด ค่าบำ�เหน็จจ่ายจากการรับประกันภัยโดยตรง บริษัท นิปปอน โคอะ อินชัวรันส์ โบรกเกอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท สหพิทักษ์สิน จำ�กัด ค่าบำ�เหน็จจ่ายจากการรับประกันภัยต่อ บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน) ค่าบำ�เหน็จรับ บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน) เงินปันผลรับ บริษัท นิปปอน โคอะ อินชัวรันส์ โบรกเกอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษัท ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท อุตสาหกรรมถังโลหะไทย จำ�กัด (มหาชน) ค่าออกแบบและตกแต่งสำ�นักงาน บริษัท พี อินทีเรีย แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จำ�กัด ค่าเช่าและบริการอาคารสำ�นักงานสาขา บริษัท รังสิตพลาซ่า จำ�กัด
งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย / งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินการลงทุนตามวิธีราคาทุน 2552 2551 741,295 6,150,369 4,309,177 1,530,748 1,245,051 2,290,680
875,172 4,143,742 -
114,078,598 644,037,905 - 3,360,128 - 14,860,870 12,560,103 520,380 1,142,174 382,136 804,924 2,829,502 2,297,436 3,809,618
62,697,875 781,927,707 189,606 1,797,857 (86,155) 17,746,843 9,613,246 527,554 205,308 612,487 407,663 3,086,659 2,605,022 3,732,348
36,508,985
30,764,811
158,924,196
69,012,091
8,784,325 3,011,123 170,931 955,363 652,453 80,674 141,833 333,730 656,567
10,287,178 75,137 331,718 54,160 22,278 -
19,314,503 34,785,226
9,724,660 124,267,490
14,291,259
13,688,041
65,997,686
30,386,057
120,000 12,223,307 5,504,000
150,000 12,862,759 4,954,000
980,000
2,787,548
290,864
925,780
* เบี้ยประกันภัยรับตรงจากนายหน้าประกันวินาศภัย
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
125
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
รายการธุรกิจกับบริษัทร่วม เบี้ยประกันภัยรับตรง เบี้ยประกันภัยรับต่อ/เบี้ยประกันภัยจ่ายต่อ/ ค่าบำ�เหน็จจ่ายจากการรับประกันภัยต่อ/ ค่าบำ�เหน็จรับ ค่าเช่า รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เบี้ยประกันภัยรับตรง เบี้ยประกันภัยรับต่อ/เบี้ยประกันภัยจ่ายต่อ/ ค่าบำ�เหน็จจ่ายจากการรับประกันภัยต่อ/ ค่าบำ�เหน็จรับ ค่าสินไหมทดแทน ค่าบำ�เหน็จจ่ายจากการรับประกันภัยโดยตรง เงินปันผลรับ ค่าออกแบบและตกแต่งสำ�นักงาน ค่าเช่าและบริการอาคารสำ�นักงานสาขา
126
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
นโยบายการกำ�หนดราคา
อัตราค่าเบี้ยประกันภัยตามปกติธุรกิจ เป็นปกติทางการค้าของการประกันภัยต่อตามประเภท ของการประกันภัยและสัญญาประกันภัยต่อ ราคาตามสัญญา อัตราค่าเบี้ยประกันภัยตามปกติธุรกิจ เป็นปกติทางการค้าของการประกันภัยต่อตามประเภท ของการประกันภัยและสัญญาประกันภัยต่อ ตามที่เกิดขึ้นจริง ตามประกาศสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย เรื่อง อัตราค่าจ้างหรือค่าบำ�เหน็จสำ�หรับ นายหน้าประกันวินาศภัย ตามที่ประกาศจ่าย ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริษัทฯมียอดคงค้างที่มีสาระสำ�คัญของสินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกันดังนี้
เงินลงทุนในหลักทรัพย์ - หุน้ ทุน บริษทั นิปปอน โคอะ อินชัวรันส์ โบรกเกอร์(ประเทศไทย) จำ�กัด บริษทั ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั อุตสาหกรรมถังโลหะไทย จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั วโรปกรณ์ จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ธนากรผลิตภัณฑ์น�ำ้ มันพืช จำ�กัด บริษทั รังสิตพลาซ่า จำ�กัด บริษทั สาธรธานี จำ�กัด บริษทั ดุสติ ธานี จำ�กัด (มหาชน) รวม
(หน่วย : บาท)
งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย / งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินการลงทุนตามวิธีราคาทุน 2552 2551 600,000 166,158,876 76,368,000 6,480,000 1,283,145 9,944,200 6,560,000 12,780,000 - 280,174,221
600,000 165,693,714 56,760,000 2,520,000 1,033,182 9,944,200 6,560,000 13,045,000 174,600 256,330,696
เงินค้างรับ (จ่าย) เกีย่ วกับการประกันภัยต่อ บริษทั ฟอลคอนประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) บริษทั ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน) รวม
(2,692,312) 2,062,512 (629,800)
(960,843) 6,440,793 5,479,950
เบีย้ ประกันภัยค้างรับ บริษทั นิปปอน โคอะ อินชัวรันส์ โบรกเกอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษทั สหพิทกั ษ์สนิ จำ�กัด รวม
35,253,622 72,345,072 107,598,694
16,191,220 173,708,862 189,900,082
เงินถือไว้จากการประกันภัยต่อ บริษทั ไทยรับประกันภัยต่อ จำ�กัด (มหาชน)
27,234,565
28,910,129
ค่าจ้างและค่าบำ�เหน็จค้างจ่าย บริษทั นิปปอน โคอะ อินชัวรันส์ โบรกเกอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด บริษทั สหพิทกั ษ์สนิ จำ�กัด รวม
3,406,181 13,177,660 16,583,841
2,457,108 33,527,498 35,984,606
ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในปี 2552 บริษัทฯได้จ่ายเงินเดือน โบนัส ค่าเบี้ยประชุมและเงินบำ�เหน็จให้แก่กรรมการและผู้บริหารเป็นจำ�นวนเงิน 34.0 ล้านบาท (2551: 26.3 ล้านบาท)
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
127
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 10. เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน
(หน่วย : บาท)
เงินสด เงินฝากธนาคารประเภทไม่ก�ำ หนดระยะเวลาจ่ายคืน เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมือ่ สิน้ กำ�หนดระยะเวลา รวมเงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน หัก : เงินฝากสถาบันการเงินทีม่ รี ะยะเวลาครบกำ�หนด เกินกว่า 3 เดือนและทีม่ ขี อ้ จำ�กัดการเบิกใช้ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย / งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินการลงทุนตามวิธีราคาทุน 2552 2551 525,164 346,341 43,926,252 35,308,072 140,159,689 270,251,188 184,611,105 305,905,601 (140,159,689) 44,451,416
(270,251,188) 35,654,413
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯได้นำ�เงินฝากธนาคารจำ�นวน 3.3 ล้านบาท (2551: 5.7 ล้านบาท) ไปวางเป็นหลักทรัพย์ในการยื่น ประกันกรณีที่ผู้เอาประกันที่เป็นผู้ขับขี่รถยนต์ตกเป็นผู้ต้องหา และเป็นหลักประกันการออกหนังสือค้ำ�ประกันที่ธนาคารออกให้ในนามบริษัทฯ 11. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
(หน่วย : บาท) งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย / งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินการลงทุนตามวิธีราคาทุน ง บปรุง เครืติด่อตังตกแต่ สินทรัพย์ ้งและ ที่ดิน อาคาร อาคารชุด ส่วนปรั ยานพาหนะ อาคาร อุปกรณ์สำ�นักงาน ระหว่างติดตั้ง รวม
ราคาทุน 31 ธันวาคม 2551 ซือ้ เพิม่ 10,973,753 จำ�หน่าย โอน 31 ธันวาคม 2552 ค่าเสือ่ มราคาสะสม 31 ธันวาคม 2551 ค่าเสือ่ มราคาสำ�หรับปี ค่าเสือ่ มราคาส่วนที่ จำ�หน่าย 31 ธันวาคม 2552 มูลค่าสุทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2551 31 ธันวาคม 2552 ค่าเสือ่ มราคาสำ�หรับปี 2551 2552
8,375,779 5,094,380 259,243,030 16,771,004 234,194,683 42,984,046 - 566,662,922 - - - 42,056 3,786,030 6,165,667 980,000 - - - - (3,359,942) (2,172,425) - (5,532,367) - - - - 980,000 - (980,000) 8,375,779 5,094,380 259,243,030 16,813,060 235,600,771 46,977,288 - 572,104,308 - 5,032,789 100,849,977 16,700,026 183,236,005 23,837,771 - 44,395 8,135,051 60,835 22,584,142 7,413,471
- 329,656,568 - 38,237,894
- - - - (3,172,692) (2,158,355) - 5,077,184 108,985,028 16,760,861 202,647,455 29,092,887
- (5,331,047) - 362,563,415
8,375,779 8,375,779
61,591 158,393,053 17,196 150,258,002
70,978 50,958,678 19,146,275 52,199 32,953,316 17,884,401
- 237,006,354 - 209,540,893 37,935,103 38,237,894
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯมียานพาหนะตามสัญญาเช่าการเงินซึ่งมีมูลค่าตามบัญชี 7.3 ล้านบาท (2551: 7.4 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯมีอาคารและอุปกรณ์จำ�นวนหนึ่งซึ่งตัดค่าเสื่อมราคาหมดแล้วแต่ยังคงใช้งานอยู่ ราคาทุนก่อนหักค่าเสื่อมราคา สะสมของสินทรัพย์ดังกล่าวมีจำ�นวน 197.4 ล้านบาท (2551: 183.2 ล้านบาท)
128
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 12. เบี้ยประกันภัยค้างรับ เบี้ยประกันภัยค้างรับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 จำ�แนกตามอายุหนี้ได้ดังนี้
ระยะเวลาค้างชำ�ระ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 6 เดือน มากกว่า 6 เดือน ถึง 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน รวมเบีย้ ประกันภัยค้างรับ หัก: ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ เบีย้ ประกันภัยค้างรับ - สุทธิ
(หน่วย : บาท)
งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย / งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินการลงทุนตามวิธีราคาทุน 2552 2551 337,916,306 2,143,385 2,575,533 342,635,224 (1,434,004) 341,201,220
13. ค่าสินไหมค้างรับจากคู่กรณี ค่าสินไหมค้างรับจากคู่กรณีจัดประเภทตามปีที่เกิดการเรียกร้องค่าสินไหมได้ดังนี้
ปีทเ่ี รียกร้อง ปี 2552 ปี 2551 ปี 2550 ปี 2549 ปี 2548 ก่อนปี 2548 เป็นต้นไป รวมค่าสินไหมค้างรับจากคูก่ รณี หัก: ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ค่าสินไหมค้างรับจากคูก่ รณี - สุทธิ
457,299,747 4,027,255 3,239,896 464,566,898 (370,735) 464,196,163
(หน่วย : บาท)
งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย / งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินการลงทุนตามวิธีราคาทุน 2552 2551 44,126,557 14,417,646 5,981,099 4,568,833 4,815,015 19,285,171 93,194,321 (37,803,914) 55,390,407
29,841,856 14,050,337 4,811,920 5,401,496 24,017,482 78,123,091 (38,071,461) 40,051,630
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
129
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 14. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีรายละเอียดดังนี้
(หน่วย : บาท) งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย / งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินการลงทุนตามวิธีราคาทุน 2552 2551 52,078,472 51,956,471 (39,457,095) (35,608,891) 12,621,377 16,347,580 3,848,204 3,754,325
ราคาทุน ค่าตัดจำ�หน่ายสะสม มูลค่าสุทธิตามบัญชี ค่าตัดจำ�หน่ายทีร่ วมอยูใ่ นงบกำ�ไรขาดทุนสำ�หรับปี
15. เงินสำ�รองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ถือเป็นรายได้ส่วนที่ต้องจัดสรรเพิ่มเติม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 กำ�ไรสะสมของบริษัทฯไม่ได้รวมเงินสำ�รองเพิ่มเติมจำ�นวน 0.2 ล้านบาท (2551: 0.8 ล้านบาท) ซึ่งตามประกาศ กระทรวงพาณิชย์ เรื่อง การจัดสรรเงินสำ�รองสำ�หรับเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ตกเป็นรายได้ของบริษัทและเงินสำ�รองสำ�หรับค่าสินไหมทดแทนของบริษัท ประกันวินาศภัย ลงวันที่ 30 กันยายน 2548 ได้กำ�หนดให้บริษัทต้องจัดสรรเงินสำ�รองสำ�หรับเบี้ยประกันภัยต่อเพิ่มในกรณีที่บริษัทมีการเอาประกันภัย ต่อกับผู้ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยในต่างประเทศและสัญญาเอาประกันภัยต่อดังกล่าวมิได้ก�ำ หนดหรือมีการกำ�หนดให้มีการหักเบี้ยประกันภัยต่อ เก็บไว้ แต่หากจำ�นวนที่กำ�หนดดังกล่าวน้อยกว่าจำ�นวนตามวิธีการจัดสรรเงินสำ�รองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ตกเป็นรายได้ที่กำ�หนดโดยคปภ. บริษัทต้อง จัดสรรเงินสำ�รองส่วนเพิ่มให้เท่ากับเงินสำ�รองเบี้ยประกันภัยที่ยังไม่ตกเป็นรายได้ เนื่องจากบริษัทฯถือว่าความเสี่ยงจากการรับประกันภัยทั้งหมดได้โอน ไปให้ผู้รับประกันภัยต่อแล้ว เป็นผลให้บริษัทฯไม่มีภาระผูกพันโดยตรงที่จะต้องชำ�ระหนี้ดังกล่าวอีกต่อไป จึงไม่จำ�เป็นต้องบันทึกบัญชีเป็นหนี้สิน 16. สำ�รองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯ ต้องจัดสรรกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีส่วนหนึ่งไว้เป็น ทุนสำ�รองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำ�ไรสุทธิประจำ�ปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำ�รองนี้จะมีจำ�นวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของ ทุนจดทะเบียน สำ�รองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำ�ไปจ่ายเงินปันผลได้ 17. เงินปันผลจ่าย
(หน่วย : บาท)
อนุมัติโดย
รวมเงินปันผล
เงินปันผลต่อหุ้น
เงินปันผลประจำ�ปีส�ำ หรับปี 2551 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ เมือ่ วันที่ 29 เมษายน 2552 105,000,000 3.50 เงินปันผลประจำ�ปีส�ำ หรับปี 2550 ทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ เมือ่ วันที่ 30 เมษายน 2551 120,000,000* 4.00 * เงินปันผลที่ประกาศจ่ายจำ�นวน 5,000 บาท เป็นของผู้ถือหุ้นที่ไม่มีสิทธิรับเงินปันผล ดังนั้นเงินปันผลที่บริษัทฯจ่ายไปจริงจึงมีจำ�นวนเพียง 119,995,000 บาท 18. ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าตอบแทนกรรมการนี้เป็นผลประโยชน์ที่จ่ายให้แก่กรรมการของบริษัทฯตามมาตรา 90 ของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด โดยไม่รวมเงิน เดือนและผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องที่จ่ายให้กับกรรมการที่เป็นผู้บริหาร 19. ภาษีเงินได้นิติบุคคล/ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ภาษีเงินได้นิติบุคคลสำ�หรับปีคำ�นวณขึ้นในอัตราร้อยละ 25 ของกำ�ไรก่อนภาษีเงินได้บวกกลับด้วยสำ�รองและค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ไม่อนุญาต ให้ถือเป็นค่าใช้จ่ายในการคำ�นวณภาษีและหักด้วยเงินปันผลที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำ�มารวมเป็นเงินได้ ทั้งนี้ อัตราดังกล่าวเป็นไปตามพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 475) พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 29 กรกฎาคม 2551 ออกความตามในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตรารัษฎากร
130
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551
(หน่วย : บาท)
ภาษีเงินได้ส�ำ หรับปีทค่ี �ำ นวณจากกำ�ไรทางภาษี ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีลดลง ภาษีเงินได้ส�ำ หรับปีซง่ึ อยูใ่ นงบกำ�ไรขาดทุน
งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย / งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินการลงทุนตามวิธีราคาทุน 2552 2551 29,554,643 46,478,243 3,790,382 12,235,941 33,345,025 58,714,184
ส่วนประกอบของภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที่แสดงอยู่ในงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีดังนี้
(หน่วย : บาท) งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย / งบการเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินการลงทุนตามวิธีราคาทุน 2552 2551 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ขาดทุนทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จากการเปลีย่ นแปลง มูลค่าเงินลงทุน - หลักทรัพย์เผือ่ ขาย เงินสำ�รองเบีย้ ประกันภัยทีย่ งั ไม่ถอื เป็นรายได้ ค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์ ค่าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญ ค่าตัดจำ�หน่ายของมูลค่าของกิจการทีไ่ ด้มาจากการซือ้ ธุรกิจ สำ�รองค่าสินไหมทดแทน สำ�รองค่าสินไหมทดแทนทีอ่ าจเกิดขึน้ แต่ยงั ไม่ได้รายงานให้บริษทั ฯทราบ สำ�รองโบนัสพนักงาน อืน่ ๆ รวม หนีส้ นิ ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี กำ�ไรทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จากการเปลีย่ นแปลง มูลค่าเงินลงทุน - หลักทรัพย์เผือ่ ขาย
- 26,088,198 641,875 10,095,170 11,195,049 57,935,185 9,438,539 8,474,534 3,291,372 127,159,922
35,270,570 43,066,949 1,125,625 10,194,129 12,785,716 45,743,621 9,300,198 8,034,576 699,491 166,220,875
21,641,780
-
20. กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำ�ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำ�นวณโดยหารกำ�ไรสุทธิสำ�หรับปีด้วยจำ�นวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี 21. กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ บริษัทฯและพนักงานบริษัทฯได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพตามพระราชบัญญัติกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่งประกอบด้วย เงินที่พนักงานจ่ายสะสมและเงินที่บริษัทฯจ่ายสมทบให้ในอัตราร้อยละ 5 ของเงินเดือน กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดยบริษัทหลักทรัพย์จัดการ กองทุน เอ็มเอฟซี จำ�กัด (มหาชน) และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อพนักงานนั้นออกจากงานตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริษัทฯ ในระหว่างปี 2552 บริษัทฯได้จ่ายเงินสมทบกองทุนเป็นจำ�นวนเงิน 5.3 ล้านบาท (2551: 5.1 ล้านบาท) 22. ข้อมูลทางการเงินจำ�แนกส่วนงาน บริษัทฯดำ�เนินกิจการในส่วนงานทางธุรกิจเดียวคือธุรกิจรับประกันวินาศภัยและดำ�เนินธุรกิจในส่วนงานทางภูมิศาสตร์เดียวคือใน ประเทศไทย ดังนั้น รายได้ กำ�ไรและสินทรัพย์ทั้งหมดที่แสดงในงบการเงินจึงเกี่ยวข้องกับส่วนงานทางธุรกิจและส่วนงานทางภูมิศาสตร์ตามที่กล่าวไว้ NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
131
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 23. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น 23.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเช่าดำ�เนินงาน บริษัทฯได้เข้าทำ�สัญญาเช่าดำ�เนินงานที่เกี่ยวข้องกับการเช่าอาคารสำ�นักงาน อายุของสัญญามีระยะเวลาตั้งแต่ 1 ถึง 4 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯ มีจำ�นวนเงินขั้นต่ำ�ที่ต้องจ่ายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต้สัญญาเช่าดำ�เนินงานที่บอกเลิกไม่ได้ดังนี้
จ่ายชำ�ระภายใน ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี
ล้านบาท 4.1 13.0
บริษัทฯได้เข้าทำ�สัญญาเช่าดำ�เนินงานที่เกี่ยวข้องกับการให้เช่าพื้นที่ในอาคาร อายุของสัญญามีระยะเวลาตั้งแต่ 2 ถึง 3 ปี สินทรัพย์ที่ให้เช่า ตามสัญญาเช่าดำ�เนินงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จะก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่าขั้นต่ำ�ในอนาคตดังนี้
จ่ายชำ�ระภายใน ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี
ล้านบาท 3.2 3.1
ในระหว่างปี 2552 บริษัทฯมีรายจ่ายตามสัญญาเช่าและรายได้จากการให้เช่าที่รับรู้แล้วในงบกำ�ไรขาดทุนเป็นจำ�นวนเงิน 8.7 ล้านบาท และ 2.8 ล้านบาท ตามลำ�ดับ 23.2 การค้ำ�ประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯมีหนังสือค้ำ�ประกันซึ่งออกโดยธนาคารในนามบริษัทฯเหลืออยู่เป็นจำ�นวน 3.1 ล้านบาท (2551: 5.4 ล้านบาท) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ 23.3 คดีฟ้องร้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทฯมีคดีความที่ถูกฟ้องร้องจากการเป็นผู้รับประกันภัย โดยมีทุนทรัพย์รวมประมาณ 153.7 ล้านบาท (2551: 195.6 ล้านบาท) ซึ่งผลของการพิจารณาคดีดังกล่าวยังไม่สิ้นสุดและส่วนใหญ่บริษัทฯคาดว่าจะชนะคดี บริษัทฯได้บันทึกสำ�รองเผื่อผลเสียหายที่ อาจเกิดขึ้นบางส่วนไว้ในงบการเงินและฝ่ายบริหารเชื่อว่าสำ�รองเผื่อผลเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจำ�นวนดังกล่าวเพียงพอแล้ว ในจำ�นวนนีม้ คี ดีทบ่ี ริษทั ฯถูกฟ้องร้องจากผูเ้ อาประกันภัยรายหนึง่ โดยมีทนุ ทรัพย์ฟอ้ งร้อง 122 ล้านบาท เนือ่ งจากทรัพย์สนิ ของผูเ้ อาประกัน ถูกไฟไหม้เสียหาย แต่กรมธรรม์ไม่คุ้มครอง เนื่องจากความเสียหายส่วนใหญ่ไม่ถูกระบุในเงื่อนไขของกรมธรรม์ ซึ่งบริษัทฯได้บันทึกสำ�รองค่าสินไหม สำ�หรับกรมธรรม์นี้ไว้แล้ว 1.5 ล้านบาท ตามสัดส่วนที่บริษัทฯรับผิดชอบ (กรมธรรม์นี้ร่วมรับประกันกับบริษัทประกันอื่น บริษัทฯรับผิดชอบ 15% ของ ทุนประกัน 10 ล้านบาท) ณ ปัจจุบันยังไม่มีความคืบหน้าของคดี 24. เครื่องมือทางการเงิน 24.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่สำ�คัญของบริษัทฯตามที่นิยามอยู่ในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32 “การแสดงรายการสำ�หรับเครื่องมือทางการ เงิน” ประกอบด้วย เงินลงทุนในหลักทรัพย์ เงินฝากสถาบันการเงินและเบี้ยประกันภัยค้างรับ บริษัทฯมีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือทางการเงิน ดังกล่าว และมีนโยบายการบริหารความเสี่ยงดังนี้ ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษัทฯมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับเบี้ยประกันภัยค้างรับ ฝ่ายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้โดยการกำ�หนดให้มีนโยบาย และวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นบริษัทฯจึง ไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็นสาระสำ�คัญจากการให้สินเชื่อ นอกจากนี้ การให้สินเชื่อของบริษัทฯไม่มีการกระจุกตัวเนื่องจากบริษัทฯมีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีอยู่จำ�นวนมากราย จำ�นวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯอาจต้อง สูญเสียจากการให้สินเชื่อคือมูลค่าตามบัญชีของเบี้ยประกันภัยค้างรับที่แสดงอยู่ในงบดุล
132
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (ต่อ)
บริษัท นวกิจประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษทั ฯมีความเสีย่ งจากอัตราดอกเบีย้ ทีส่ �ำ คัญอันเกีย่ วเนือ่ งกับเงินลงทุนในหลักทรัพย์ทม่ี ดี อกเบีย้ และเงินฝากสถาบันการเงิน อย่างไรก็ตาม สินทรัพย์ทางการเงินส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 สินทรัพย์ทางการเงินที่สำ�คัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และสำ�หรับสินทรัพย์ทางการเงินที่มีอัตรา ดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบกำ�หนด หรือวันที่มีการกำ�หนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ (หากวันที่มีการกำ�หนดอัตราดอกเบี้ยใหม่ถึงก่อน) ได้ดังนี้
(หน่วย : ล้านบาท) งบ
เงินลงทุนในหลักทรัพย์ พันธบัตร ตัว๋ เงิน หุน้ กู้ - สุทธิ เงินฝากสถาบันการเงิน รวม
ภายใน 1 ปี 287.8 100.0 116.5 120.2 624.5
งบการเงินซึ่งแสดงเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย / การเงินเฉพาะกิจการซึ่งแสดงเงินการลงทุนตามวิธีราคาทุน อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยคงที่ รวม ภายใน มากกว่า ปรับขึ้นลงตาม ราคาตลาด 1 ถึง 5 ปี 5 ปี 278.9 - 552.2 20.0 851.1
72.8 - 56.3 - 129.1
- - - 43.9 43.9
639.5 100.0 725.0 184.1 1,648.6
อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริง 1.10 - 8.50 1.00 - 2.25 3.20 - 11.56 0.25 - 3.80
24.2 มูลค่ายุติธรรรมของเครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จำ�นวนเงินที่ผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กันในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้ และเต็มใจในการ แลกเปลี่ยนและสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน วิธีการกำ�หนดมูลค่ายุติธรรมขึ้นอยู่กับลักษณะของ เครื่องมือทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมจะกำ�หนดจากราคาตลาดล่าสุดหรือกำ�หนดขึ้นโดยใช้เกณฑ์การวัดมูลค่าที่เหมาะสม บริษัทฯใช้วิธีการและข้อสมมติฐานในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินดังนี้ เงินลงทุนในหลักทรัพย์/เงินฝากสถาบันการเงิน หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด มูลค่ายุติธรรมถือตามราคาที่ซื้อขายกันในตลาด เงินลงทุนทั่วไป มูลค่ายุติธรรมไม่สามารถคำ�นวณได้อย่างเหมาะสมจึงไม่มีการเปิดเผย พันธบัตร ตั๋วเงิน หุ้นกู้ และเงินฝากสถาบันการเงินที่มีระยะเวลาครบกำ�หนดเหลือน้อยกว่า 90 วัน มูลค่ายุติธรรมถือตามราคาที่แสดงใน งบดุล ส่วนที่เกิน 90 วัน ประมาณโดยวิธีการหาส่วนลดกระแสเงินสด โดยพิจารณาอัตราดอกเบี้ยปัจจุบันและอายุสัญญาคงเหลือ เนื่องจากสินทรัพย์ทางการเงินส่วนใหญ่ของบริษัทฯจัดอยู่ในประเภทระยะสั้น เงินลงทุนในหลักทรัพย์และเงินให้กู้ยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกล้ เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯจึงประมาณมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีที่แสดงในงบดุล 25. การบริหารทุนของบริษัทประกันวินาศภัย วัตถุประสงค์ในการบริหารทุนของบริษัทฯ คือ การดำ�รงไว้ซึ่งความสามารถในการดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่องและการดำ�รงเงินกองทุนให้เป็น ไปตามข้อกำ�หนดของคปภ. 26. เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน เมือ่ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการของบริษทั ฯได้มมี ติเสนอจ่ายเงินปันผลให้แก่ ผูถ้ อื หุน้ ในอัตราหุน้ ละ 3.50 บาท รวมเป็นเงิน 105 ล้านบาท โดยมีก�ำ หนดจ่ายในวันที่ 17 พฤษภาคม 2553 โดยจะเสนอต่อทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปีของบริษทั ฯเพือ่ อนุมตั ใิ นวันที่ 29 เมษายน 2553 27. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมัติให้ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553 NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
133
AUDITOR’S REPORT
Report of Independent Auditor To the Shareholders of The Navakij Insurance Public Company Limited I have audited the accompanying balance sheet, in which the equity method is applied, of The Navakij Insurance Public Company Limited as at 31 December 2009, and the related statements of income, changes in shareholders’ equity and cash flows for the year then ended, and the separate financial statements, in which the cost method is applied, of The Navakij Insurance Public Company Limited for the same year. These financial statements are the responsibility of the Company’s management as to their correctness and the completeness of the presentation. My responsibility is to express an opinion on these financial statements based on my audit. I did not audit the financial statements as at 31 December 2009 and for the year then ended of an associated company included in these financial statements in which the equity method is applied. The Company’s financial statements included investment in this associated company as at 31 December 2009 of Baht 87.5 million, accounted for under the equity method, and share of income of this associated company for the year then ended of Baht 9.9 million. The financial statements of this associated company were audited by another auditor, whose report has been furnished to me, and my opinion, insofar as it relates to the amounts of the various transactions of this associated company included in the financial statements in which the equity method is applied, is based solely on the report of that auditor. The financial statements of The Navakij Insurance Public Company Limited for the year ended 31 December 2008, as presented herein for comparative purposes, were audited by another auditor of our firm who expressed an unqualified opinion on those statements, under his report dated 26 February 2009. I conducted my audit in accordance with generally accepted auditing standards. Those standards require that I plan and perform the audit to obtain reasonable assurance about whether the financial statements are free of material misstatement. An audit includes examining, on a test basis, evidence supporting the amounts and disclosures in the financial statements. An audit also includes assessing the accounting principles used and significant estimates made by management, as well as evaluating the overall financial statement presentation. I believe that my audit, together with the report of the other auditor discussed in the first paragraph, provides a reasonable basis for my opinion. In my opinion, based on my audit and the report of the other auditor, the financial statements referred to above present fairly, in all material respects, the financial position of The Navakij Insurance Public Company Limited as at 31 December 2009, the results of their operations and their cash flows for the year then ended, in accordance with generally accepted accounting principles.
Nonglak Pumnoi Certified Public Accountant (Thailand) No. 4172 Ernst & Young Office Limited Bangkok: 25 February 2010
134
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
BALANCE SHEETS THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED (Unit : Baht) Financial statements in which the equity method is applied As at 31 December 2009 and 2008
Note
2009
2008
Separate financial statements in which the cost method is applied 2009
2008
Assets Investments in securities Bonds 639,538,685 309,481,604 639,538,685 309,481,604 Notes 99,965,257 207,842,015 99,965,257 207,842,015 Stocks 532,829,461 419,030,436 532,829,461 419,030,436 Debentures 725,014,978 457,624,440 725,014,978 457,624,440 Unit trusts 419,243,682 472,455,911 419,243,682 472,455,911 Total investments in securities - net 6, 9 2,416,592,063 1,866,434,406 2,416,592,063 1,866,434,406 Loans Security guaranteed loans 1,993,149 2,220,324 1,993,149 2,220,324 Others 292,252 257,456 292,252 257,456 Total loans 2,285,401 2,477,780 2,285,401 2,477,780 Investment in associate 7 87,461,119 69,646,661 34,175,695 34,175,695 Other investments 8 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 Cash and deposits at financial institutions 10 184,611,105 305,905,601 184,611,105 305,905,601 Premises and equipment - net 11 209,540,893 237,006,354 209,540,893 237,006,354 Amounts deposit on reinsurance treaties 7,364,963 6,463,393 7,364,963 6,463,393 Due from reinsurers 9 68,559,508 55,053,939 68,559,508 55,053,939 Premium due and uncollected - net 9, 12 341,201,220 464,196,163 341,201,220 464,196,163 Accrued investment income 13,773,959 9,488,000 13,773,959 9,488,000 Other assets Claims receivable - net 13 55,390,407 40,051,630 55,390,407 40,051,630 Deferred tax assets 19 127,159,922 166,220,875 127,159,922 166,220,875 Intangible asset - net 14 12,621,377 16,347,580 12,621,377 16,347,580 Others 56,828,621 58,470,565 56,828,621 58,470,565 Total other assets 252,000,327 281,090,650 252,000,327 281,090,650 Total assets 3,593,390,558 3,307,762,947 3,540,105,134 3,272,291,981
The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
135
BALANCE SHEETS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED (Unit : Baht) Financial statements in which the equity method is applied As at 31 December 2009 and 2008
Note
2009
2008
Separate financial statements in which the cost method is applied 2009
2008
Liabilities and shareholders’ equity Liabilities Unearned premium reserve 15 708,419,297 767,480,482 708,419,297 767,480,482 Loss reserve and outstanding claims 459,369,543 382,128,082 459,369,543 382,128,082 Amounts withheld on reinsurance treaties 9 163,222,886 133,350,102 163,222,886 133,350,102 Due to reinsurers 9 23,717,107 19,822,713 23,717,107 19,822,713 Other liabilities Accrued commissions 9 70,817,382 89,838,625 70,817,382 89,838,625 Premium received in advance 29,497,905 27,593,296 29,497,905 27,593,296 Corporate income tax payable 8,417,506 16,408,424 8,417,506 16,408,424 Liabilities under finance lease agreements 4,142,769 3,940,740 4,142,769 3,940,740 Accrued expenses 44,305,815 44,623,262 44,305,815 44,623,262 Deferred tax liabilities 19 21,641,780 - 21,641,780 - Others 39,429,483 34,422,481 39,429,483 34,422,481 Total other liabilities 218,252,640 216,826,828 218,252,640 216,826,828 Total liabilities 1,572,981,473 1,519,608,207 1,572,981,473 1,519,608,207 Shareholders’ equity Share capital Registered 30,000,000 ordinary shares of Baht 10 each 300,000,000 300,000,000 300,000,000 300,000,000 Issued and paid-up 30,000,000 ordinary shares of Baht 10 each 300,000,000 300,000,000 300,000,000 300,000,000 Premium on share capital 647,186,097 647,186,097 647,186,097 647,186,097 Unrealised gains (losses) Revaluation surplus (deficit) on changes in values of investments 6 64,925,341 (105,811,712) 64,925,341 (105,811,712) Revaluation surplus (deficit) on changes in values of investment in associate 1,696,870 (6,260,681) - - Revaluation surplus on changes in interest in equity of associate 1,569,359 1,569,359 - - Retained earnings Appropiated Statutory reserve 16 30,000,000 30,000,000 30,000,000 30,000,000 General reserve 20,000,000 20,000,000 20,000,000 20,000,000 Unappropriated 15 955,031,418 901,471,677 905,012,223 861,309,389 Total shareholders’ equity 2,020,409,085 1,788,154,740 1,967,123,661 1,752,683,774 Total liabilities and shareholders’ equity 3,593,390,558 3,307,762,947 3,540,105,134 3,272,291,981 Off-balance sheet item - commitments Commitments
23
The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
136
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
17.1
15.5
(Unit : Million Baht) 17.1 15.5
CASH FLOW STATEMENTS THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED (Unit : Baht) Financial statements in which the equity method is applied For the years ended 31 December 2009 and 2008
2009
2008
Separate financial statements in which the cost method is applied 2009
2008
Cash flows from operating activities Direct premium written 1,960,224,053 1,732,522,500 1,960,224,053 1,732,522,500 Reinsurance paid (82,366,429) (49,776,961) (82,366,429) (49,776,961) Losses incurred on direct insurance (935,131,760) (745,912,483) (935,131,760) (745,912,483) Losses adjustment expenses on direct insurance (31,124,544) (23,513,580) (31,124,544) (23,513,580) Commissions and brokerages on direct insurance (374,576,638) (312,784,122) (374,576,638) (312,784,122) Other underwriting expenses (60,000,971) (45,286,489) (60,000,971) (45,286,489) Net investment income 101,165,386 95,146,523 101,165,386 95,146,523 Other income 12,788,402 10,828,891 12,788,402 10,828,891 Operating expenses (277,307,050) (298,443,483) (277,307,050) (298,443,483) Corporate income tax (37,545,561) (57,028,797) (37,545,561) (57,028,797) Net cash flows from operating activities 276,124,888 305,751,999 276,124,888 305,751,999 Cash flows from investing activities Cash flows from Investments in securities 3,165,559,219 3,211,128,107 3,165,559,219 3,211,128,107 Deposits at financial institutions 130,091,499 - 130,091,499 - Loans 962,379 587,200 962,379 587,200 Premises and equipment, and intangible asset 6,215,213 11,160,593 6,215,213 11,160,593 Cash flows used in Investments in securities (3,453,223,281) (3,295,177,903) (3,453,223,281) (3,295,177,903) Deposits at financial institutions - (109,998,019) - (109,998,019) Loans (770,000) - (770,000) - Premises and equipment, and intangible asset (9,136,785) (14,906,837) (9,136,785) (14,906,837) Net cash flows used in investing activities (160,301,756) (197,206,859) (160,301,756) (197,206,859) Cash flows from finacncing activities Repayment of liabilities under finance lease agreements (2,026,269) (1,803,219) (2,026,269) (1,803,219) Dividend paid (Note 17) (104,999,860) (119,995,040) (104,999,860) (119,995,040) Net cash flows used in financing activities (107,026,129) (121,798,259) (107,026,129) (121,798,259) Net increase (decrease) in cash and cash equivalents 8,797,003 (13,253,119) 8,797,003 (13,253,119) Cash and cash equivalents at beginning of year 35,654,413 48,907,532 35,654,413 48,907,532 Cash and cash equivalents at end of year (Note 10) 44,451,416 35,654,413 44,451,416 35,654,413 Non-cash items Vehicles under finance lease agreements 3,005,470 4,549,867 3,005,470 4,549,867 Revaluation surplus (deficit) on changes in values of investments 170,737,053 (268,303,310) 170,737,053 (268,303,310) Revaluation surplus (deficit) on changes in values of investment in associate 7,957,551 (17,215,233) - The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
137
INCOME STATEMENTS THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED (Unit : Baht) Financial statements in which the equity method is applied
2009
2008
Marine and For the years ended 31 December 2009 and 2008 Fire transportation Motor Miscellaneous Total Total Underwriting income Premium written 437,529,871 118,109,337 1,254,515,576 107,901,237 1,918,056,021 1,849,917,580 Less: Premium ceded (265,267,566) (68,182,988) (19,639,101) (54,800,099) (407,889,754) (361,885,869) Net premium written 172,262,305 49,926,349 1,234,876,475 53,101,138 1,510,166,267 1,488,031,711 Unearned premium reserve (increase) decrease from previous year (4,355,706) 31,507 51,176,477 12,208,908 59,061,186 (171,484,808) Total underwriting income 167,906,599 49,957,856 1,286,052,952 65,310,046 1,569,227,453 1,316,546,903 Underwriting expenses Losses incurred during the year 49,475,312 10,621,486 793,461,921 34,467,380 888,026,099 651,139,004 Losses adjustment expenses 1,692,408 682,122 20,548,451 545,525 23,468,506 17,011,537 Commissions and brokerages 22,952,087 (52,411) 223,416,061 (715,063) 245,600,674 230,639,291 Other underwriting expenses 3,504,297 466,702 54,953,074 1,214,233 60,138,306 46,093,583 Total underwriting expenses 77,624,104 11,717,899 1,092,379,507 35,512,075 1,217,233,585 944,883,415 Income on underwriting 90,282,495 38,239,957 193,673,445 29,797,971 351,993,868 371,663,488 Net investment income 101,649,061 98,917,754 Gains on investments in securities 38,646,474 20,993,038 Share of income (loss) from investment in associate (Note 7) 9,856,907 (9,399,894) Other income 13,471,248 11,916,722 515,617,558 494,091,108 Operating expenses Personnel expenses 188,557,010 182,339,102 Premises and equipment expenses 94,987,758 97,627,770 Taxes and duties 2,471,531 2,598,767 Bad debt and doubtful accounts (reversal) 3,164,345 (209,179) Directors’ remuneration (Note 18) 5,690,000 6,220,000 Finance cost 737,532 951,958 Selling expenses 7,591,380 7,924,097 Other operating expenses 20,513,376 18,558,784 Total operating expenses 323,712,932 316,011,299 Income before corporate income tax 191,904,626 178,079,809 Corporate income tax (Note 19) (33,345,025) (58,714,184) Net income for the year 158,559,601 119,365,625 Basic earnings per share (Note 20) Net income 5.29 3.98
The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
138
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
INCOME STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED (Unit : Baht) Financial statements in which the equity method is applied
2009
2008
Marine and For the years ended 31 December 2009 and 2008 Fire transportation Motor Miscellaneous Total Total Underwriting income Premium written 437,529,871 118,109,337 1,254,515,576 107,901,237 1,918,056,021 1,849,917,580 Less: Premium ceded (265,267,566) (68,182,988) (19,639,101) (54,800,099) (407,889,754) (361,885,869) Net premium written 172,262,305 49,926,349 1,234,876,475 53,101,138 1,510,166,267 1,488,031,711 Unearned premium reserve (increase) decrease from previous year (4,355,706) 31,507 51,176,477 12,208,908 59,061,186 (171,484,808) Total underwritting income 167,906,599 49,957,856 1,286,052,952 65,310,046 1,569,227,453 1,316,546,903 Underwriting expenses Losses incurred during the year 49,475,312 10,621,486 793,461,921 34,467,380 888,026,099 651,139,004 Losses adjustment expenses 1,692,408 682,122 20,548,451 545,525 23,468,506 17,011,537 Commissions and brokerages 22,952,087 (52,411) 223,416,061 (715,063) 245,600,674 230,639,291 Other underwriting expenses 3,504,297 466,702 54,953,074 1,214,233 60,138,306 46,093,583 Total underwriting expenses 77,624,104 11,717,899 1,092,379,507 35,512,075 1,217,233,585 944,883,415 Income on underwriting 90,282,495 38,239,957 193,673,445 29,797,971 351,993,868 371,663,488 Net investment income 101,649,061 98,917,754 Gains on investments in securities 38,646,474 20,993,038 Other income 13,471,248 11,916,722 505,760,651 503,491,002 Operating expenses Personnel expenses 188,557,010 182,339,102 Premises and equipment expenses 94,987,758 97,627,770 Taxes and duties 2,471,531 2,598,767 Bad debt and doubtful accounts (reversal) 3,164,345 (209,179) Directors’ remuneration (Note 18) 5,690,000 6,220,000 Finance cost 737,532 951,958 Selling expenses 7,591,380 7,924,097 Other operating expenses 20,513,376 18,558,784 Total operating expenses 323,712,932 316,011,299 Income before corporate income tax 182,047,719 187,479,703 Corporate income tax (Note 19) (33,345,025) (58,714,184) Net income for the year 148,702,694 128,765,519 Basic earnings per share (Note 20) Net income 4.96 4.29
The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
139
140
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Revaluation surplus (deficit) on changes in values of investments in associate
The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
Balance as at 31 December 2007 300,000,000 647,186,097 162,491,598 10,954,552 Income and expenses recognised directly in equity Investments in available-for-sale securities Gains (losses) recognised in shareholders’ equity - - 20,491,856 (17,215,233) Transferred to profit or loss due to disposals - - (393,704,993) - Deferred tax recognised/transferred out - - 104,909,827 - Net expenses recognised directly in equity - - (268,303,310) (17,215,233) Net income for the year - - - - Total income and expenses for the year - - (268,303,310) (17,215,233) Dividend paid (Note 17) - - - - Balance as at 31 December 2008 300,000,000 647,186,097 (105,811,712) (6,260,681)
For the years ended 31 December 2009 and 2008
Revaluation surplus (deficit) on changes in Issued and values Premium on paid-up share capital share capital of investments Statutory reserve
General reserve
Appropriated Unappropriated
Retained earnings
Total
(Unit: Baht)
- - - - 3,276,623 - - - - (393,704,993) - - - - 104,909,827 - - - - (285,518,543) - - - 119,365,625 119,365,625 - - - 119,365,625 (166,152,918) - - - (119,995,040) (119,995,040) 1,569,359 30,000,000 20,000,000 901,471,677 1,788,154,740
1,569,359 30,000,000 20,000,000 902,101,092 2,074,302,698
in equity of associate
Revaluation surplus on changes in interest
Financial statements in which the equity method is applied
STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDER’S EQUITY THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
141
Revaluation surplus (deficit) on changes in values of investments in associate
Revaluation surplus on changes in interest
Appropriated
Retained earnings
(Unit: Baht)
The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
For the years ended 31 December 2009 and 2008
in equity of Statutory General Total reserve reserve Unappropriated associate Balance as at 31 December 2008 300,000,000 647,186,097 (105,811,712) (6,260,681) 1,569,359 30,000,000 20,000,000 901,471,677 1,788,154,740 Income recognised directly in equity Investments in available-for-sale securities Gains recognised in shareholders’ equity - - 31,586,257 7,957,551 - - - - 39,543,808 Transferred to profit or loss due to disposals - - 196,063,148 - - - - - 196,063,148 Deferred tax recognised/transferred out - - (56,912,352) - - - - - (56,912,352) Net income recognised directly in equity - - 170,737,053 7,957,551 - - - - 178,694,604 Net income for the year - - - - - - - 158,559,601 158,559,601 Total income for the year - - 170,737,053 7,957,551 - - - 158,559,601 337,254,205 Dividend paid (Note 17) - - - - - - - (104,999,860) (104,999,860) Balance as at 31 December 2009 300,000,000 647,186,097 64,925,341 1,696,870 1,569,359 30,000,000 20,000,000 955,031,418 2,020,409,085
Revaluation surplus (deficit) on changes in Issued and values Premium on paid-up of investments share capital share capital
Financial statements in which the equity method is applied
STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDER’S EQUITY (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED
142
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Statutory reserve
General reserve
Appropriated Unappropriated
Retained earnings
Total
(Unit: Baht)
The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
Balance as at 31 December 2007 300,000,000 647,186,097 162,491,598 30,000,000 20,000,000 852,538,910 2,012,216,605 Income and expenses recognised directly in equity Investments in available-for-sale securities Gains recognised in shareholders’ equity - - 20,491,856 - - - 20,491,856 Transferred to profit or loss due to disposals - - (393,704,993) - - - -393,704,993 Deferred tax recognised/transferred out - - 104,909,827 - - - 104,909,827 Net expenses recognised directly in equity - - (268,303,310) - - - (268,303,310) Net income for the year - - - - - 128,765,519 128,765,519 Total income and expenses for the year - - (268,303,310) - - 128,765,519 (139,537,791) Dividend paid (Note 17) - - - - - (119,995,040) (119,995,040) Balance as at 31 December 2008 300,000,000 647,186,097 (105,811,712) 30,000,000 20,000,000 861,309,389 1,752,683,774
For the years ended 31 December 2009 and 2008
Revaluation surplus (deficit) on changes in Issued and values paid-up Premium on share capital share capital of investments
Separate financial statements in which the cost method is applied
STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDER’S EQUITY (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
143
Statutory reserve
General reserve
Appropriated Unappropriated
Retained earnings
Total
(Unit: Baht)
The accompanying notes are an integral part of the financial statements.
Balance as at 31 December 2008 300,000,000 647,186,097 (105,811,712) 30,000,000 20,000,000 861,309,389 1,752,683,774 Income recognised directly in equity Investments in available-for-sale securities Gains recognised in shareholders’ equity - - 31,586,257 - - - 31,586,257 Transferred to profit or loss due to disposals - - 196,063,148 - - - 196,063,148 Deferred tax recognised/transferred out - - (56,912,352) - - - (56,912,352) Net income recognised directly in equity - - 170,737,053 - - - 170,737,053 Net income for the year - - - - - 148,702,694 148,702,694 Total income for the year - - 170,737,053 - - 148,702,694 319,439,747 Dividend paid (Note 17) - - - - - (104,999,860) (104,999,860) Balance as at 31 December 2009 300,000,000 647,186,097 64,925,341 30,000,000 20,000,000 905,012,223 1,967,123,661
For the years ended 31 December 2009 and 2008
Revaluation surplus (deficit) on changes in Issued and values paid-up Premium on share capital share capital of investments
Separate financial statements in which the cost method is applied
STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDER’S EQUITY (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 1. General information The Navakij Insurance Public Company Limited (“the Company”) is a public company incorporated and domiciled in Thailand. The Company is principally engaged in the provision of non-life insurance and its registered address, which is the head office, is 100/48-55, 25th-27th Floor,Sathorn Nakorn Tower Building, and 90/3-6, 1st Floor, Sathorn Thani Building, Sathorn Thani Complex, North Sathorn Road, Silom, Bangrak, Bangkok. 2. Basis of preparation The financial statements have been prepared in accordance with accounting standards enunciated under the Accounting Profession Act B.E. 2547, except that International Accounting Standard (IAS) No. 12 Income Taxes has been adopted since no related Thai Accounting Standard has yet been announced, and in accordance with Thai accounting practices related to insurance and the accounting and reporting guidelines prescribed by the Office of Insurance Commission. The presentation of the financial statements has been made in compliance with the order of the Registrar dated 6 March 2002, as empowered under the Accounting Act B.E. 2543. The financial statements in Thai language are the official statutory financial statements of the Company. The financial statements in English language have been translated from the Thai language financial statements. The financial statements have been prepared on a historical cost basis except where otherwise disclosed in the accounting policies. 3. Adoption of new accounting standards In June 2009, the Federation of Accounting Professions issued Notification No. 12/2552, assigning new numbers to Thai Accounting Standards that match the corresponding International Accounting Standards. The numbers of Thai Accounting Standards as referred to in these financial statements reflect such change. The Federation of Accounting Professions has issued Notifications No. 86/2551 and 16/2552, mandating the use of new accounting standards, financial reporting standard and accounting treatment guidance as follows. 3.1 Accounting standards, financial reporting standard and accounting treatment guidance which are effective for the current year Framework for the Preparation and Presentation of Financial Statements (revised 2007) TAS 36 (revised 2007) Impairment of Assets TFRS 5 (revised 2007) Non-current Assets Held for Sale and Discontinued Operations Accounting Treatment Guidance for Leasehold Right Accounting Treatment Guidance for Business Combination under Common Control These accounting standards, financial reporting standard and accounting treatment guidance became effective for the financial statements for fiscal years beginning on or after 1 January 2009. The management has assessed the effect of these standards and believes that TFRS 5 (revised 2007) and Accounting Treatment Guidance for Business Combination under Common Control are not relevant to the business of the Company, while Framework for Preparation and Presentation of Financial Statements (revised 2007), TAS 36 (revised 2007) and Accounting Treatment Guidance for leasehold right do not have any significant impact on the financial statements for the current year.
3.2 Accounting standards which are not effective for the current year Effective date TAS 20 Accounting for Government Grants and 1 January 2012 Disclosure of Government Assistance TAS 24 (revised 2007) Related Party Disclosures 1 January 2011 TAS 40 Investment Property 1 January 2011 However, TAS 24 (revised) 2007) and TAS 40 allow early adoption by the entity before the effective date.
144
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 The management of the Company has assessed the effect of these standards and believes that TAS 20 and TAS 40 are not relevant to the business of the Company, while TAS 24 (revised 2007) will not have any significant impact on the financial statements for the year in which it is initially applied. 4. Significant accounting policies 4.1 Revenue recognition (a) Premium For insurance policies with coverage period of up to 1 year, premium income is recognised on the date the insurance policy comes into effect, after deducting premium ceded and cancelled. For long-term insurance policies of which the coverage periods are longer than 1 year, related revenues and expenses are recorded as unearned and prepaid items, and amortise to income and expenses over the annual coverage period. (b) Reinsurance premium Reinsurance premium income is recognised when the reinsurer places the reinsurance application or the statement of accounts with the Company. (c) Interest income and dividends Interest income is recognised on an accrual basis based on the effective interest rate. Dividends are recognised when the right to receive the dividends is established. 4.2 Unearned premium reserve Unearned premium reserve is set aside in compliance with the Notification of the Ministry of Commerce governing the appropriation of unearned premium reserve and loss reserve by the non-life insurance company as follows. Fire, motors, hull and miscellaneous - Monthly average basis (the one-twenty fourth basis) (except for travel accident with coverage of not more than 6 months) Marine and transportation (cargo) - Net premium written for the last ninety days Travel accident with coverage of not more than 6 months - Net premium written for the last thirty days 4.3 Loss reserve and outstanding claims Outstanding claims are recorded at the amount to be actually paid. Loss reserve is provided upon the receipt of the claims advice from the insured based on the claims notified by the insured and estimates made by the Company’s management. The maximum value of claims estimated is not however, to exceed the sum-insured under the relevant policy. In addition, the Company sets up a provision for losses incurred but not reported (IBNR) at 2.5% of net premiums written for the previous 12 months in compliance with the Notification of the Ministry of Commerce governing the appropriation of unearned premium reserve and loss reserve by the non-life insurance company. However, since 1 January 2009, the Company is to allocate IBNR according to the actuarial method, but it is not to be less than 2.5% of the total net written premium written on all types of risk in the twelve months prior to the allocation date. 4.4 Commissions and brokerages Commissions and brokerages are expended when incurred. 4.5 Investments (a) Investments in securities held for trading are stated at fair value. Gains or losses arising from changes in the carrying amounts of securities are included in the income statement. Investments are classified as held for trading if they are ac quired for the purpose of selling in the near term. (b) Investments in available-for-sale securities are stated at fair value. Changes in the carrying amounts of securities are recorded as separate items in shareholders’ equity until the securities are sold, when the changes are then included in the income statement. NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
145
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 (c) Investments in debt securities, both due within one year and expected to be held to maturity, are recorded at amortised cost. The premium/discount on debt securities is amortised by the effective rate method with the amortised amount presented as an adjustment to the interest income. The debt securities are classified as held to maturity when the Company has the positive intention and ability to hold them to maturity. (d) Investments in non-marketable equity securities, which the Company classifies as other investments, are stated at cost net of allowance for loss on impairment (if any). (e) Other investments are stated at cost. (f) Investment in associated company is accounted for in the financial statements in which the equity method is applied, using the equity method. (g) Investment in associated company is accounted for in the separate financial statements in which the cost method is applied, using the cost method. The fair value of marketable securities is based on the latest bid price of the last working day of the year as quoted on the Stock Exchange of Thailand. The fair value of debt instruments is determined based on the required rate of return or the yield rates quoted by the Thai Bond Market Association. The fair value of unit trusts is determined from their net asset value. The weighted average method is used for computation of the cost of investments. In the event the Company reclassifies investments in securities, such investments are adjusted to their fair value as at the reclassification date. Differences between the carrying amount of the investments and their fair value on that date are included in determining income or recorded as surplus (deficit) from changes in values of investments in shareholders’ equity, depending on the type of investment which is reclassified. 4.6 Cash and cash equivalents Cash and cash equivalents in cash flow statements consist of cash in hand and at banks, and all highly liquid investments with an original maturity of three months or less and not subject to withdrawal restrictions. 4.7 Premium due and uncollected Premium due and uncollected is stated at the net realisable value. Allowance for doubtful accounts is provided for the estimated losses that may be incurred in collection of premium due and uncollected. The allowance is generally based on collection experience and analysis of premium due and uncollected aging. 4.8 Premises and equipment/depreciation Land is stated at cost. Buildings and equipment are stated at cost less accumulated depreciation and allowance for loss on impairment of assets (if any). Depreciation of premises and equipment is calculated by reference to their costs on a straight-line basis over the following estimated useful lives.
146
Buildings Condominium units Buildingsimprovement Furniture, fixtures and office equipment Motor vehicles Depreciation is included in determining income. No depreciation is provided on land and assets under installation.
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
- 20 - 20 - 5, 10, 20 - 5, 10 - 5
years years years years years
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 4.9 Intangible asset Acquired intangible asset is measured at cost. Following initial recognition, intangible asset is carried at cost less any accumulated amortisation and any accumulated impairment losses (if any). Intangible asset with finite life is amortised on a systematic basis over the economic useful life and tested for impairment whenever there is an indication that the intangible asset may be impaired. The amortisation period and the amortisation method of such intangible asset are reviewed at least at each financial year end. The amortisation expense is charged to the income statement. Intangible asset is computer software with finite useful life of 10 years. 4.10 Related party transactions Related parties comprise enterprises and individuals that control, or are controlled by, the Company, whether directly or indirectly, or which are under common control with the Company. They also include associated company and individuals which directly or indirectly own a voting interest in the Company that gives them significant influence over the Company, key management personnel, directors and officers with authority in the planning and direction of the Company’s operations. 4.11 Long-term lease agreements Where the Company is the lessees Leases of premises or equipment which transfer substantially all the risks and rewards of ownership are classified as finance leases. Finance leases are capitalised at the lower of the fair value of the leased assets and the present value of the minimum lease payments. The outstanding rental obligations, net of finance charges, are included in other long-term payables, while the interest element is charged to the income statements over the lease period. The premises or equipment acquired under finance leases is depreciated over the useful life of the asset. Where the Company is the lessors Operating leases Assets leased out under operating leases are included in premises and equipment in the balance sheet. They are depreciated over their expected useful lives on a basis consistent with other similar premises and equipment owned by the Company. Rental income is recognised on a straight-line basis over the lease term. 4.12 Foreign currencies Transactions in foreign currencies are translated into Baht at the exchange rates ruling on the transaction dates. Monetary assets and liabilities denominated in foreign currencies are translated into Baht at the exchange rates ruling on the balance sheet date. Exchange gains and losses are included in determining income. 4.13 Impairment of assets At each reporting date, the Company performs impairment reviews in respect of the premises and equipment and intangible amount of an asset, which is the higher of the asset’s fair value less costs to sell and its value in use, is less than the carrying amount. In determining value in use, the estimated future cash flows are discounted to their present value using a pre-tax discount rate that reflects current market assessments of the time value of money and the risks specific to the asset. In determining fair value less costs to sell, an appropriate valuation model is used. These calculations are corroborated by a valuation model that, based on information available, reflects the amount that the Company could obtain from the disposal of the asset in an arm’s length transaction between knowledgeable, willing parties, after deducting the costs of disposal. An impairment loss is recognised in the income statement.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
147
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 4.14 Employee benefits Salaries, wages, bonuses and contributions to the social security fund and provident fund are recognised when incurred. 4.15 Income tax Current tax Income tax is provided for in the accounts based on the taxable profits determined in accordance with tax legislation. Deferred tax Deferred income tax is calculated based on temporary differences at the balance sheet date between the tax bases of assets and liabilities and their carrying amounts, by using the enacted tax rate at the balance sheet date. The Company recognises deferred tax liabilities for taxable temporary differences and recognises deferred tax assets for deductible temporary differences and tax losses carried forward. The Company recognises deferred tax assets to the extent that it is probable that future taxable profits will be available against which such deductible temporary differences and tax losses carried forward can be utilised. At each balance sheet date, the Company reviews and reduces the carrying amount of deferred tax assets to the extent that is no longer probable that sufficient taxable profits will be available to allow all or part of the deferred tax assets to be utilised. The Company records deferred tax directly to equity if the tax relates to items that are recorded directly to equity. 5. Significant accounting judgments and estimates The preparation of financial statements in conformity with generally accepted accounting principles at times requires management to make subjective judgments and estimates regarding matters that are inherently uncertain. These judgements and estimates affect reported amounts and disclosures and actual results could differ. Significant judgments and estimates are as follows: Leases In determining whether a lease is to be classified as an operating lease or finance lease, the management is required to use judgement regarding whether significant risk and rewards of ownership of the leased asset has been transferred, taking into consideration terms and conditions of the arrangement. Allowance for doubtful accounts In determining an allowance for doubtful accounts, the management needs to make judgement and estimates based upon, among other things, past collection history, aging profile of outstanding debts and the prevailing economic condition. Fair value of financial instruments In determining the fair value of financial instruments that are not actively traded and for which quoted market prices are not readily available, the management exercise judgment, using a variety of valuation techniques and models. The input to these models is taken from observable markets, and includes consideration of liquidity, correlation and longer-term volatility of financial instruments. Impairment of equity investments The Company treats available-for-sale investments and other investments as impaired when the management judges that there has been a significant or prolonged decline in the fair value below their cost or where other objective evidence of impairment exists. The determination of what is “significant” or “prolonged” requires judgement.
148
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 Premises and equipment/Depreciation In determining depreciation of buildings and equipment, the management is required to make estimates of the useful lives and salvage values of the Company’s buildings and equipment and to review estimate useful lives and salvage values when there are any changes. In addition, the management is required to review premises and equipment for impairment on a periodical basis and record impairment losses in the period when it is determined that their recoverable amount is lower than the carrying amount. This requires judgements regarding forecast of future revenues and expenses relating to the assets subject to the review. Intangible asset The initial recognition and measurement of intangible asset, and subsequent impairment testing, require management to make estimates of cash flows to be generated by the asset or the cash generating units and to choose a suitable discount rate in order to calculate the present value of those cash flows. Deferred tax assets Deferred tax assets are recognised in respect of temporary differences only to the extent that it is probable that taxable profit will be available against which these differences can be utilised. Significant management judgement is required to determine the amount of deferred tax assets that can be recognised, based upon the likely timing and level of estimate future profits. Loss reserve and outstanding claims At each reporting date, the Company has to estimate loss reserve and outstanding claims taking into account two factors. These are the expected ultimate cost of claims reported at the balance sheet date, and the expected ultimate cost of claims incurred but not reported (IBNR) at the balance sheet date. The ultimate cost of outstanding claims is established using a range of standard actuarial claims projection techniques, such as the Chain Ladder and Bornheutter-Ferguson methods. The main assumptions underlying these techniques relate to historical experience, including the development of claims estimates, paid and incurred losses, average costs per claim and claim numbers. To perform the calculation, it is necessary to perform analysis based on the type of insurance and to use the services of an actuary with expertise, experience, and an understanding of the insurance business and the Company’s products. Nevertheless, such estimates are forecasts of future outcomes, and actual results could differ. The Office of Insurance Commission (OIC) permits members of the Company’s management who have been authorised by OIC to calculate and endorse loss reserve for IBNR. Litigation The Company has contingent liabilities as a result of litigation. The Company’s management has used judgement to assess of the results of the litigation and believes that losses incurred will not exceed the recorded amounts as at the balance sheet date.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
149
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 6. Investments in securities
(Unit : Baht) Financial statements in which the equity method is applied / Separate financial statements in which the cost method is applied 2009 2008 Cost / Cost / Fair value Fair value Amortised cost Amortised cost
Available-for-sale securities Equity securities Stocks Unit trusts Unrealised gains (losses) on changes in values of investments Total available-for-sale securities Held-to-maturity debt securities Bonds Notes Debentures Allowance for impairment Total held-to-maturity debt securities Other investments Equity securities Stocks Allowance for impairment Total other investments Total investments in securities - net
394,823,265 439,071,017
501,217,721 419,243,682
428,783,739 571,553,151
386,798,696 472,455,911
86,567,121 920,461,403
- 920,461,403
(141,082,283) 859,254,607
859,254,607
639,538,685 99,965,257 725,014,978 - 1,464,518,920
309,481,604 207,842,015 459,824,440 (2,200,000) 974,948,059
34,179,240 (2,567,500) 31,611,740
34,534,240 (2,302,500) 32,231,740
2,416,592,063
1,866,434,406
Surplus (deficit) on changes in values of investments as at 31 December 2009 and 2008 are detailed below.
(Unit : Baht)
Equity securities Stocks 106,394,456 Unit trusts Total Deferred tax assets (liabilities) Surplus (deficit) on changes in values of investments - net of income tax
150
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
Financial statements in which the equity method is applied / Separate financial statements in which the cost method is applied 2009 2008 (41,985,042) (19,827,335) 86,567,121 (21,641,780)
(99,097,240) (141,082,282) 35,270,570
64,925,341
(105,811,712)
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 Investments in debt securities as at 31 December 2009 will be due as follows.
(Unit : Baht)
Financial statements in which the equity method is applied / Separate financial statements in which the cost method is applied Period to maturity Within 1 year 1 - 5 years Over 5 years Total Held-to-maturity debt securities Bonds Notes 99,965,257 Debentures Total
287,803,526 - 116,530,213 504,298,996
278,937,619 - 552,204,750 831,142,369
72,797,540 99,965,257 56,280,015 129,077,555
639,538,685 725,014,978 1,464,518,920
The Company has placed bonds of Baht 5.5 million (2008: Baht 4.9 million) as bail bond in cases where insured drivers have been charged with criminal offence. The Company has placed bonds and other investments totaling Baht 20 million (2008: Baht 20 million) as a security with the Registrar in accordance with the Non-life Insurance Act. As at 31 December 2008, the Company has investments totaling Baht 7.0 million in debentures of a company that may face difficulties making payment, and that have been transferred to a local financial institution to make payment instead. The financial institution confirmed that it will make settlement under the debentures within February 2009. However, the Company has provided a partial allowance for loss on impairment of the investments amounting to Baht 2.2 million. The Company has received the settlement under that debentures on 2 February 2009. 7. Investment in associate 7.1 Details of associate
Company’s name
(Unit : Baht) Financial statements in which the equity method is applied Shareholding Carrying amounts based Cost percentage on equity method 2009 2008 2009 2008 2009 2008 % % 36.27 36.27 70,739,402 70,739,402 87,461,119 69,646,661
Nature of Country of business incorporati on The Falcon Insurance Pcl. Provision of Thailand non-life insurance Total
70,739,402 70,739,402 87,461,119 69,646,661
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
151
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 (Unit : Baht) Separate financial statements in which the cost method is applied Carrying amounts based Shareholding Cost on cost method percentage 2009 2008 2009 2008 2009 2008 % % 36.27 36.27 70,739,402 70,739,402 34,175,695 34,175,695
Company’s name
Nature of Country of business incorporati on The Falcon Insurance Pcl. Provision of Thailand non-life insurance Total
70,739,402 70,739,402 34,175,695 34,175,695
7.2 Share of income/loss During the year, the Company has recognised its share of income/loss from investment in associate company in the financial statements in which the equity method is applied as follows:
(Unit : Baht)
Financial statements in which the equity method is applied Share of income/loss from investment in associate during the year 2009 2008
Company’s name
The Falcon Insurance Pcl. 9,856,907 (9,399,894) Total 9,856,907 (9,399,894) 7.3 Summarised financial information of associate
(Unit : Baht)
152
Paid-up capital as at 31 December
Total assets as at 31 December
Total liabilities as at 31 December
Company’s name
2009
2009
2009
The Falcon Insurance Pcl.
60,000,000 60,000,000 577,304,640 431,560,394 326,616,727 229,993,411 484,543,090 286,572,866 27,179,073 (25,918,920)
2008
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
2008
2008
Total revenues for Net income (loss) for the years ended the years ended 31 December 31 December 2009
2008
2009
2008
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 8. Other investments These represent investments in savings card deposits of the Bank for Agriculture and Agricultural Coorperatives, which carry interest at the rate of 1% per annum and mature on 20 June 2011. 9. Related party transactions The relationships between the Company and its related parties are summarised below.
Name of related parties
The Falcon Insurance Pcl. Nipponkoa Insurance Broker (Thailand) Co., Ltd The United Indemnity Co., Ltd. Thai Reinsurance Pcl. Thai Metal Drum Manufacturing Pcl. Varopakorn Pcl. Thai-German Ceramic Industry Pcl. Thanakorn Vegetable Oil Products Co., Ltd. Rangsit Plaza Co., Ltd. Sathorn Thani Co., Ltd. Dusit Thani Pcl. Siam Motors Co., Ltd. Wanglee Co., Ltd. Sitthinan Co., Ltd. Chaitip Co., Ltd. Siam Modified Starch Co., Ltd. P Interior & Associates Co., Ltd.
Nature of relationship
Associated company 10% of shares held by the Company 7.43% of shares held in the Company Common directors and through shareholding Common directors and through shareholding Common directors and through shareholding Common directors and through shareholding Common directors and through shareholding Common directors and through shareholding Common directors and through shareholding Common directors and through shareholding Common directors and through shareholding Common directors and through shareholding Common directors Common directors Common directors Common directors
During the years, the Company had significant business transactions with related parties, which have been concluded on commercial terms and bases agreed upon in the ordinary course of business between the Company and those companies. Below is a summary of those transactions.
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
153
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 (Unit : Baht) Financial statements in which the equity method is applied / Separate financial statements in which the cost method is applied Transactions with associate - The Falcon Insurance Pcl. Direct premium written Reinsurance premium written Premium ceded Commission paid Commission received Rental Transactions with related parties Direct premium written Nipponkoa Insurance Broker (Thailand) Co., Ltd.* The United Indemnity Co., Ltd.* Thai Metal Drum Manufacturing Pcl. Varopakorn Pcl. Thai-German Ceramic Industry Pcl. Thanakorn Vegetable Oil Products Co., Ltd. Rangsit Plaza Co., Ltd. Sathorn Thani Co., Ltd. Dusit Thani Pcl. Siam Motors Co., Ltd. Wanglee Co., Ltd. Sitthinan Co., Ltd. Chaitip Co., Ltd. Siam Modified Starch Co., Ltd. Reinsurance premium written Thai Reinsurance Pcl. Premium ceded Thai Reinsurance Pcl. Claims Nipponkoa Insurance Broker (Thailand) Co., Ltd. Thai Metal Drum Manufacturing Pcl. Varopakorn Pcl. Thanakorn Vegetable Oil Products Co., Ltd. Rangsit Plaza Co., Ltd. Sathorn Thani Co., Ltd. Dusit Thani Pcl. Sitthinan Co., Ltd. Chaitip Co., Ltd. Commission paid - direct premium Nipponkoa Insurance Broker (Thailand) Co., Ltd. The United Indemnity Co., Ltd. Commission paid - reinsurance premium Thai Reinsurance Pcl. Commission received Thai Reinsurance Pcl. Dividend received Nipponkoa Insurance Broker (Thailand) Co., Ltd. Thai Reinsurance Pcl. Thai Metal Drum Manufacturing Pcl. Design and decoration fee P Interior & Associates Co., Ltd. Rental and service fee Rangsit Plaza Co., Ltd. * Direct premium written from non-life insurance brokers
154
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
2009
2008
741,295 6,150,369 4,309,177 1,530,748 1,245,051 2,290,680
875,172 4,143,742 -
114,078,598 644,037,905 - 3,360,128 - 14,860,870 12,560,103 520,380 1,142,174 382,136 804,924 2,829,502 2,297,436 3,809,618
62,697,875 781,927,707 189,606 1,797,857 (86,155) 17,746,843 9,613,246 527,554 205,308 612,487 407,663 3,086,659 2,605,022 3,732,348
36,508,985
30,764,811
158,924,196
69,012,091
8,784,325 3,011,123 170,931 955,363 652,453 80,674 141,833 333,730 656,567
10,287,178 75,137 331,718 54,160 22,278 -
19,314,503 34,785,226
9,724,660 124,267,490
14,291,259
13,688,041
65,997,686
30,386,057
120,000 12,223,307 5,504,000
150,000 12,862,759 4,954,000
980,000
2,787,548
290,864
925,780
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 Transfer Pricing Policy Transactions with associate Direct premium written Ordinary course of business premium rate Reinsurance premium written/Premium Ordinary course of business ceded rates, based on the cede/Commission paid from type of reinsurance and the reinsurance contracts reinsurance premium written/Commission received Rental Contract price Transactions with related parties Direct premium written Ordinary course of business premium rate Reinsurance premium written/Premium Ordinary course of business ceded rates, based on the ceded/Commission paid from type of reinsurance and the reinsurance contracts reinsurance premium written /Commission received Claims Actual paid Commission paid from direct premium written In accordance with the Notification of the Office of Insurance Commission governing commission rates for non-life insurance brokers Dividend income As declared Design and decoration fee Contract price Rental and service of building space for branch office Contract price NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
155
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 The Company has the following significant balances of assets and liabilities with related parties.
(Unit : Baht)
Financial statements in which the equity method is applied / Separate financial statements in which the cost method is applied
2009
2008
600,000 166,158,876 76,368,000 6,480,000 1,283,145 9,944,200 6,560,000 12,780,000 - 280,174,221
600,000 165,693,714 56,760,000 2,520,000 1,033,182 9,944,200 6,560,000 13,045,000 174,600 256,330,696
Due from (to) reinsurers The Falcon Insurance Pcl. Thai Reinsurance Pcl. Total
(2,692,312) 2,062,512 (629,800)
(960,843) 6,440,793 5,479,950
Premium due and uncollected Nipponkoa Insurance Broker (Thailand) Co., Ltd. The United Indemnity Co., Ltd. Total
35,253,622 72,345,072 107,598,694
16,191,220 173,708,862 189,900,082
Amounts withheld on reinsurance treaties Thai Reinsurance Pcl.
27,234,565
28,910,129
Accrued commissions Nipponkoa Insurance Broker (Thailand) Co., Ltd. The United Indemnity Co., Ltd. Total
3,406,181 13,177,660 16,583,841
2,457,108 33,527,498 35,984,606
Investments in securities - stocks Nipponkoa Insurance Broker (Thailand) Co., Ltd. Thai Reinsurance Pcl. Thai Metal Drum Manufacturing Pcl. Thai-German Ceramic Industry Pcl. Varopakorn Pcl. Thanakorn Vegetable Oil Products Co., Ltd. Rangsit Plaza Co., Ltd. Sathorn Thani Co., Ltd. Dusit Thani Pcl. Total
Directors and management’s remuneration In 2009, the Company paid salaries, bonuses, meeting allowance and gratuities to their directors and management totaling Baht 34.0 million (2008: Baht 26.3 million).
156
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 10. Cash and deposits at financial institutions
(Unit: Baht) Financial statements in which the equity method is applied / Separate financial statements in which the cost method is applied
Cash Deposits at banks with no fixed maturity date Deposits at banks with fixed maturity date Total cash and deposits at financial institutions Less: Deposits at financial institutions with maturity of more than 3 months and subject to restrictions Cash and cash equivalents
2009 525,164 43,926,252 140,159,689 184,611,105
2008 346,341 35,308,072 270,251,188 305,905,601
(140,159,689) 44,451,416
(270,251,188) 35,654,413
As at 31 December 2009, the Company has placed deposits at banks totaling Baht 3.3 million (2008: Baht 5.7 million) as bail bond in cases where insured drivers have been charged with criminal offence and to secure against the issuance of bank guarantee on behalf of the Company. 11. Premises and equipment Financial statements in which the equity method is applied / Separate financial statements in which the cost method is applied Condominium Buildings Furniture,fixtures Motor Assets under and office units vehicl e s Buildings improvement equipment installation
Land
Cost 31 December 2008 Additions Disposals Transfers 31 December 2009 Accumulated depreciation 31 December 2008 epreciation for the year Depreciation for disposals 31 December 2009 Net book value 31 December 2008 31 December 2009 Depreciation for the year 2008 2009
(Unit : Baht) Total
8,375,779 5,094,380 259,243,030 16,771,004 234,194,683 42,984,046 - 566,662,922 - - - 42,056 3,786,030 6,165,667 980,000 10,973,753 - - - - (3,359,942) (2,172,425) - (5,532,367) - - - - 980,000 - (980,000) 8,375,779 5,094,380 259,243,030 16,813,060 235,600,771 46,977,288 - 572,104,308 - 5,032,789 100,849,977 16,700,026 - 44,395 8,135,051 60,835 - - - - - 5,077,184 108,985,028 16,760,861 8,375,779 8,375,779
61,591 158,393,053 17,196 150,258,002
183,236,005 22,584,142 (3,172,692) 202,647,455
23,837,771 7,413,471 (2,158,355) 29,092,887
70,978 50,958,678 19,146,275 52,199 32,953,316 17,884,401
- - - -
329,656,568 38,237,894 (5,331,047) 362,563,415
- 237,006,354 - 209,540,893 37,935,103 38,237,894
As at 31 December 2009, the Company had motor vehicles under finance lease agreements with net book values amounting to Baht 7.3 million (2008: Baht 7.4 million). As at 31 December 2009, certain building and equipment items have been fully depreciated but are still in use. The original cost, before deducting accumulated depreciation, of those assets amounted to Baht 197.4 million (2008: Baht 183.2 million). NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
157
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 12. Premium due and uncollected The balances as at 31 December 2009 and 2008 of premium due and uncollected are classified by aging as follows.
(Unit : Baht) Financial statements in which the equity method is applied / Separate financial statements in which the cost method is applied
Overdue Less than or equal to 6 months Over 6 months to 12 months Over 12 months Total premium due and uncollected Less: Allowance for doubtful accounts Premium due and uncollected - net
2009 337,916,306 2,143,385 2,575,533 342,635,224 (1,434,004) 341,201,220
2008 457,299,747 4,027,255 3,239,896 464,566,898 (370,735) 464,196,163
13. Claims receivable Claims receivable classified by the years the claims incurred are as follows.
(Unit : Baht) Financial statements in which the equity method is applied / Separate financial statements in which the cost method is applied
158
Claim year Year 2009 Year 2008 Year 2007 Year 2006 Year 2005 Prior to year 2005 Total claims receivable Less: Allowance for doubtful accounts Claims receivable - net
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
2009
2008
44,126,557 14,417,646 5,981,099 4,568,833 4,815,015 19,285,171 93,194,321 (37,803,914) 55,390,407
29,841,856 14,050,337 4,811,920 5,401,496 24,017,482 78,123,091 (38,071,461) 40,051,630
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 14. Intangible asset Detail of intangible asset which is computer software is as follows:
(Unit : Baht) Financial statements in which the equity method is applied / Separate financial statements in which the cost method is applied
Cost Accumulated amortisation Net book value Amortisation included in income statement for the year
2009 52,078,472 (39,457,095) 12,621,377 3,848,204
2008 51,956,471 (35,608,891) 16,347,580 3,754,325
15. Additional unearned premium reserve As at 31 December 2009, the retained earnings of the Company excluding additional reserve amounted to Baht 0.2 million (2008: Baht 0.8 million). According to the Notification of the Ministry of Commerce governing the appropriation of the unearned premium reserve and loss reserve by the non-life insurance company dated 30 September 2005, when non-life insurance company sets aside unearned premium reserve for reinsurance with foreign reinsurers, whether or not the reinsurance contract indicates that amounts are to be withheld, if the amount to be withheld is lower than the appropriation of unearned premium reserve specified by the Office of Insurance Commission, non-life insurance company is to additionally allocate an amount equal to the deficit to unearned premium reserve. Since the Company has transferred their risks from insurance to the reinsurers and no longer has commitments in respect of debt settlement, such additional allocation of unearned premium reserve is, therefore, not to be recorded as liabilities. 16. Statutory reserve Pursuant to Section 116 of the Public Limited Companies Act B.E. 2535, the Company is required to set aside to a statutory reserve at least 5% of its net income after deducting accumulated deficit brought forward (if any), until the reserve reaches 10% of the registered capital. The statutory reserve is not available for dividend distribution. 17. Dividends
(Unit : Baht)
Approved by
Total dividends
Dividend per share
Final dividends for 2008 Annual General Meeting of the shareholders on 29 April 2009 105,000,000 3.50 Final dividends for 2007 Annual General Meeting of the shareholders on 30 April 2008 120,000,000* 4.00 * Baht 5,000 of the declared dividends was for shareholders who have no right to receive them, so only Baht 119,995,000 of the Company’s dividends has actually been paid to the shareholders. 18. Directors’ remuneration Directors’ remuneration represents the benefits paid to the Company’s directors in accordance with Section 90 of the Public Limited Company Act B.E. 2535, exclusive of salaries and related benefits payable to executive directors. 19. Corporate income tax / deferred income tax Corporate income tax for the year has been calculated at the rate of 25% of income before income tax for the year, after adding back certain provisions and expenses which are disallowable for tax computation purposes and deducting dividend income which is exempted from tax. The tax rate applied is in compliance with the provisions of Royal Decree (475) B.E. 2551 dated 29 July 2008, issued under the Revenue Code, regarding the reduction of income tax rate . NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
159
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 (Unit : Baht) Financial statements in which the equity method is applied / Separate financial statements in which the cost method is applied
Income tax for the year on taxable profits Decrease in deferred income tax Income tax for the year as included in the income statements
2009 29,554,643 3,790,382 33,345,025
2008 46,478,243 12,235,941 58,714,184
The components of deferred income tax as presented in the balance sheets as at 31 December 2009 and 2008 are as follows:
(Unit : Baht)
Financial statements in which the equity method is applied / Separate financial statements in which the cost method is applied
Deferred tax assets Unrealised losses on changes in values of investments - available-for-sale securities Unearned premium reserve Allowance for loss on impairment of investments in securities Allowance for doubtful accounts Amortisation of value of business acquired Loss reserve Provision for losses incurred but not reported (IBNR) Reserve for employees’ bonuses Others Total Deferred tax liabilities Unrealised gains on changes in values of investments - available-for-sale securities
2009
2008
- 26,088,198 641,875 10,095,170 11,195,049 57,935,185 9,438,539 8,474,534 3,291,372 127,159,922
35,270,570 43,066,949 1,125,625 10,194,129 12,785,716 45,743,621 9,300,198 8,034,576 699,491 166,220,875
21,641,780
-
20. Basic earnings per share Basic earnings per share is calculated by dividing net income for the year by the weighted average number of ordinary shares in issue during the year. 21. Provident fund The Company and its employees have jointly established a provident fund in accordance with the Provident Fund Act B.E. 2530. Both employees and the Company contribute to the fund monthly at the rate of 5% of basic salary. The fund, which is managed by MFC Asset Management Public Company Limited, will be paid to employees upon termination in accordance with the fund rules. During the year 2009, the Company contributed Baht 5.3 million (2008: Baht 5.1 million) to the fund.
160
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 22. Segment information The Company’s business operations involve a single segment, the provision of non-life insurance, and are carried on in the single geographic area of Thailand. As a result, all of the revenues, profits and assets as reflected in these financial statements pertain to the aforementioned business segment and geographic area. 23. Commitments and contingent liabilities 23.1 Operating lease commitments The Company has entered into several lease agreements in respect of the lease of office building space. The terms of the agreements are generally between 1 and 4 years. As at 31 December 2009, future minimum lease payments required under these non-cancellable operating leases contracts were as follows. Payable within: Million Baht Less than 1 year 4.1 More than 1 year 13.0 The Company has entered into several lease agreements in respect of the provision of office building space. The terms of the agreements are generally between 2 and 3 years. Assets under operating lease agreements as at 31 December 2009 will generate future minimum rental income as follows: Payable within: Million Baht Less than 1 year 3.2 More than 1 year 3.1 During the year 2009, the Company recognised rental expenses of Baht 8.7 million and rental income of Baht 2.8 million. 23.2 Guarantees As at 31 December 2009, there were outstanding bank guarantees of approximately Baht 3.1 million (2008: Baht 5.4 million) issued by a bank on behalf of the Company in respect of certain performance bonds as required in the normal course of business. 23.3 Litigation As at 31 December 2009, lawsuits have been brought against the Company, as the insurer, in relation to claims totaling approximately Baht 153.7 million (2008: Baht 195.6 million). The ultimate outcome of these cases is not determinable. However, the Company’s management expects the verdicts to be mostly favorable. The Company therefore has recorded a certain amount of provision for potential losses in the financial statements. The Company’s management believes that such provision is adequate. The amounts include a case that the Company has been sued for Baht 122 million by an insured party with respect to fire damage to assets of the insured that were not covered by its policy because the majority of the damage was not stipulated in the conditions of the policy. The Company has recorded allowance for the claim under this policy of Baht 1.5 million, in proportion to its exposure (the policy was jointly incured with other insurance companies and the Company accepted 15% of the insured amount of Baht 10 million). At present, the case still has no progress. 24. Financial instruments 24.1 Financial risk management The Company’s financial instruments, as defined under Thai Accounting Standard No. 32 “Financial Instruments: Presentation”, principally comprise investments in securities, deposits at financial institutions, and premium due and uncollected. The financial risks associated with these financial instruments and how they are managed is described below. Credit risk The Company is exposed to credit risk primarily with respect to premium due and uncollected. The Company manages the risk by adopting appropriate credit control policies and procedures and therefore does not expect to incur material financial losses. In addition, the Company does not have high concentrations of credit risk since it has a large customer base. The maximum exposure to credit risk is limited to the carrying amounts of premium due and uncollected as stated in the balance sheet. NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
161
NOTES TO FINANCIAL STATEMENTS (CONTINUED) THE NAVAKIJ INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED For the years ended 31 December 2009 and 2008 Interest rate risk The Company’s exposure to interest rate risk relates primarily to its investments in securities and deposits at financia linstitutions. However, most of the Company’s financial assets bear fixed interest rates which are close to the market rate. Significant financial assets as at 31 December 2009 classified by type of interest rate are summarised in the table below, with those financial assets that carry fixed interest rates further classified based on the maturity date, or the repricing date if this occurs before the maturity date.
(Unit: Million Baht)
Financial statements in which the equity method is applied / Separate financial statements in which the cost method is applied Fixed interest rates Within 1 year
Investments in securities Bonds Notes Debentures - net Deposits at financial institutions Total
287.8 100.0 116.5 120.2 624.5
1-5 years
278.9 - 552.2 20.0 851.1
Over 5 years
72.8 - 56.3 - 129.1
Floating interest rate
- - - 43.9 43.9
Total
639.5 100.0 725.0 184.1 1,648.6
Effective interest rate
(% p.a.) 1.10 - 8.50 1.00 - 2.25 3.20 - 11.56 0.25 - 3.80
24.2 Fair values of financial instruments A fair value is the amount for which an asset can be exchanged on a liability settled between knowledgeable, willing parties in an arm’s length transaction. The fair value is determined by reference to the market price of the financial instrument or by using an appropriate valuation technique, depending on the nature of the instrument. The following methods and assumptions were used by the Company in estimating the fair values of financial instruments: Investments in securities/deposits at financial institutions The fair value of listed securities is based on their quoted market prices. The fair value of other securities cannot be properly calculated, and therefore no disclosure is made. The fair value of bonds, notes, debentures, and deposits at financial institutions with maturity periods of less than 90 days is based on their carrying value. For those with maturity periods longer than 90 days, fair value is estimated using a discounted cash flow analysis based on the current interest rate and the remaining period to maturity. Since major financial assets are short-term in nature, investments in securities and loans carry interest at rates which approximate market rates, the fair values of financial assets are estimated to be close to the amounts presented in the balance sheet. 25. Capital management The primary objectives of the Company’s capital management are to preserve the ability to continue as a going concern and to maintain capital reserve in accordance with Notifications of the OIC. 26. Subsequent events On 25 February 2010, a meeting of the Board of Directors of the Company proposed a dividend payment of Baht 3.50 per share, a total of Baht 105 million, to be paid on 17 May 2010, for approval by the Annual General Meeting of the Company’s shareholders, which will be held on 29 April 2010. 27. Approval of financial statements These financial statements were authorised for issue by the Company’s Board of Directors on 25 February 2010.
162
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
สรุปตำ�แหน่งของรายการที่กำ�หนดตามแบบ 56-2 ในรายงานประจำ�ปี 2552 หัวข้อ 1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 ข้อมูลบริษัท 1.2 นิติบุคคลที่บริษัทถือหุ้นร้อยละ 10 ขึ้นไป 1.3 บุคคลอ้างอิง 2. ข้อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัท 2.1 ข้อมูลจากงบการเงิน 2.2 อัตราส่วนทางการเงินที่สำ�คัญ 3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3.1 ลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัทและบริษัทย่อย และนโยบายการแบ่งการดำ�เนินงานของบริษัทในกลุ่ม 1) ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2) นโยบายการแบ่งการดำ�เนินงานของบริษัทในกลุ่ม 3.2 สายผลิตภัณฑ์หรือกลุ่มธุรกิจ 1) สัดส่วนรายได้ 2) โครงสร้างรายได้ 3.3 การเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญของลักษณะการประกอบธุรกิจ 1) ลักษณะผลิตภัณฑ์หรือบริการ 2) การตลาดและภาวะการณ์แข่งขัน 3) การจัดหาผลิตภัณฑ์ของบริการ 4) แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมและสภาพการแข่งขันในอนาคต 4. ปัจจัยความเสี่ยง 5. โครงสร้างการถือหุ้นและการจัดการ 5.1 ผู้ถือหุ้น 5.2 การจัดการ 1) โครงสร้างการจัดการ 2) การสรรหากรรมการและผู้บริหาร 3) ค่าตอบแทนผู้บริหาร 4) การกำ�กับดูแลกิจการ 5) การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน 6) การควบคุมภายใน 5.3 นโยบายการจ่ายเงินปันผล 6. รายการระหว่างกัน 6.1 ลักษณะและนโยบายในการทำ�รายการระหว่างกัน 6.2 ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน 6.3 มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติรายการระหว่างกัน 6.4 นโยบายหรือแน้วโน้มการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต 7. การวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงาน 7.1 ผลการดำ�เนินงาน 7.2 ฐานะทางการเงิน 7.3 ปัจจัยที่อาจมีอิทธิพลต่อการดำ�เนินงานหรือฐานะการเงิน 7.4 เป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจ 8. งบการเงิน 8.1 งบการเงินปรียบเทียบ 8.2 รายงานของผู้สอบบัญชี 8.3 รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ 8.4 ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี
หน้าท่ี 40-45 24 40-41
3 3 46-59 46-59 49 49 50 53 58 13-14 60-65 39 66 81 82 85 97 95 101 102-103 102 102 103 15-20 20-23 60-65 9 105-162 105-162 6-8 23
NAVAKIJ ANNUAL REPORT 2009
163
SUMMARY OF SPECIFIED ITEMS AS IN 56-2 FROM IN 2009 ANNUAL REPORT HEADING 1. General Information 1.1 General Information 1.2 Holding in Other companies of more than 10% 1.3 Other references 2. Financial Highlights 2.1 Data from financial statements 2.2 Significant financial ratio 3. Business Overview 3.1 Business overview of the Company and subsidiaries and the conglomerates 1) Business Overview 2) Policy towards subsidiaries 3.2 Product lines 1) Proportion of revenue 2) Structure of the Company’s revenue 3.3 Material changes of business characteristics 1) Characteristics of product or service 2) Marketing and competitions 3) Products and services 4) Industrial trend and future competition 4. Risks Factors 5. Shareholders and Management 5.1 Shareholders 5.2 Management 1) Management structure 2) Selection of directors and managements 3) Management remuneration 4) Control and monitor 5) Supervision for uses of inside information 6) Internal control 5.3 Devident policy 6 Related Party Transaction 6.1 Characteristics and policy of related party transaction 6.2 Necessity and reasoning for transaction 6.3 Measures on procedures for approval of related party transaction 6.4 Policy or trend of future related party transaction 7. Financial and Operations Analysis 7.1 Operation 7.2 Financial position 7.3 Sign factors which may influence the operation or financial position 7.4 Business objectives. 8. Financial Statements 8.1 Comparison of financial statement 8.2 Auditor’s report 8.3 Report of the audit committee 8.4 Audited fee
164
นวกิ จ ประกั น ภั ย รายงานประจำ � ปี 2552
PAGE
40-45 25 40-41
3 3 46-59 46-59 49 49 50 53 58 13-14 60-65 39 66 81 82 85 97 95 101 102-103 102 102 103 15-20 20-23 60-65 9 105-162 105-162 6-8 23