PTT: รายงานประจำปี 2558

Page 1

สัน 0.625 นิ้ว

รูปเล่ม 8.5x11.75 นิ้ว

รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 555 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2537-2000

ที่นำ�มาผลิตใหม่ (Recycled Paper) และหมึกพิมพ์ที่ทำ�จากถั่วเหลือง (Soy-based Ink)

พลังงานไทย...ความภาคภูมิใจของคนไทย

รายงานฉบับนี้จัดพิมพ์โดยกระดาษใช้แล้ว

รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

www.pttplc.com

พลังงานไทย

ความภาคภูมิใจของคนไทย


สัน 0.625 นิ้ว

รูปเล่ม 8.5x11.75 นิ้ว


สารบัญ 005

จุดเด่นทางการเงิน

009

ข้อมูลทั่วไปของบริษัท

010

สารจากคณะกรรมการ

014

รายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ

018

รายงานของ คณะกรรมการสรรหา

020

รายงานของ คณะกรรมการ กำ�หนดค่าตอบแทน

022

รายงานของ คณะกรรมการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี

026

รายงานของ คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงองค์กร

028

098

สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียม และปิโตรเคมี

รายการระหว่างกัน

034

ทรัพย์สินที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

070

พลังงานไทย ความมุ่งมั่นเพื่อคนไทย

078

นวัตกรรม สร้างอนาคตที่ยั่งยืน

080

SSHE เกราะป้องกันความสูญเสีย เพื่อความยั่งยืนของสังคมไทย

082

วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

095

สัดส่วนการถือหุ้น บริษัทในกลุ่ม

096

โครงสร้างรายได้ ของ ปตท. และบริษัทย่อย แบ่งตามสายผลิตภัณฑ์

104 105

ปัจจัยความเสี่ยง

112

โครงสร้างเงินทุน

118

โครงสร้างการจัดการ

146

การกำ�กับดูแลกิจการ

198

การควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง

200

คณะกรรมการ

212

คณะผู้บริหาร

226

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ ของคนไทย



กลุ่ม ปตท. มุ่งมั่นปฏิบัติภารกิจในการสร้างความมั่นคงทางพลังงาน ด้วยการบริหารจัดการพลังงานอย่างเพียงพอ ทั่วถึง และเป็นธรรม เพื่อให้ทุกภาคส่วนขับเคลื่อนไปอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ผู้คน ควบคู่กับการรักษาความอุดมสมบูรณ์แก่ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคม


PTT Group Vision วิสัยทัศน์

บริษัทพลังงานไทยข้ามชาติชั้นนำ�

PTT Group Mission พันธกิจ

ดําเนินธุรกิจด้านพลังงานและปิโตรเคมีอย่างครบวงจร ในฐานะเป็นบริษัทพลังงานแห่งชาติ โดยมีพันธกิจในการดูแลผู้มีส่วนได้เสียอย่างสมดุล ต่อลูกค้า

สร้างความพึงพอใจและความผูกพัน แก่ลูกค้า โดยผ่านการนำ�เสนอ ผลิตภัณฑ์และบริการที่มีคุณภาพ ในระดับมาตรฐานสากล ด้วยราคาเป็นธรรม

ต่อคู่ค้า

ต่อประเทศ

ประเทศ พนักงาน

สังคมชุมชน

ดำ�เนินธุรกิจร่วมกันบนพื้นฐาน ของความเป็นธรรม มุ่งสร้างความไว้วางใจ ความสัมพันธ์ และความร่วมมือที่ดี เพื่อพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพ ในการดำ�เนินธุรกิจร่วมกันในระยะยาว

ต่อพนักงาน สนับสนุนการพัฒนาความสามารถ การทำ�งานระดับมืออาชีพ อย่างต่อเนื่อง ให้ความมั่นใจ ในคุณภาพชีวิต การทำ�งาน ของพนักงานทัดเทียมบริษัทชั้นนำ� เพื่อสร้างความผูกพันต่อองค์กร

PTT Group Values ค่านิยม

Synergy สร้างพลังร่วม อันยิ่งใหญ่

สร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ในระยะยาว โดยการจัดหาพลังงาน ในปริมาณที่เพียงพอ มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และราคาเป็นธรรม เพื่อเสริมสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ

ต่อสังคมชุมชน เป็นองค์กรที่ดีของสังคม ดำ�เนินธุรกิจ ที่มีการบริหารจัดการผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล และมีส่วนร่วมในการพัฒนา คุณภาพชีวิตที่ดีแก่สังคม ชุมชน

คู่ค้า

ผู้ถือหุ้น ลูกค้า

Performance Excellence ร่วมมุ่งสู่ ความเป็นเลิศ

Innovation ร่วมสร้าง นวัตกรรม

Responsibility for Society ร่วมรับผิดชอบ ต่อสังคม

HPO องค์กร

PTT Strategic Framework กลยุทธ์การดําเนินธุรกิจ

แห่งความเป็นเลิศ

CG

การกํากับ ดูแลกิจการที่ดี

การเติบโต อย่างยั่งยืน

CSR

ความรับผิดชอบ ต่อสังคม

ต่อผู้ถือหุ้น ดำ�เนินธุรกิจเชิงพาณิชย์ สามารถสร้างผลตอบแทนที่ดี และมีการขยายธุรกิจให้เติบโต ต่อเนื่องอย่างยั่งยืน

Integrity & Ethics ร่วมสร้าง พลังความดี

Trust & Respect ร่วมสร้าง ความเชื่อมั่น


จุดเด่นทางการเงิน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

005

จุดเด่นทางการเงิน 2557

2558

(ล้านบาท)

งบกำ�ไรขาดทุน

รายได้จากการขายและการให้บริการ

2,605,062

กำ�ไรก่อนดอกเบี้ยจ่าย ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย

รวมทั้งค่าใช้จ่ายอื่นและรายได้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง

275,450

2,026,912 284,828

กับการด�ำเนินงาน (EBITDA) ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ ส่วนที่เป็นของบริษัท

58,678

19,936

(ล้านบาท)

งบดุล

สินทรัพย์รวม

2,250,351

2,173,996

ส่วนของผู้ถือหุ้นและส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม

371,408

390,540

หนี้สินรวม

ส่วนของบริษัทใหญ่

1,195,657 683,287

1,086,309 697,147

หุ้นหรือข้อมูลเกี่ยวกับหุ้นสามัญ (ล้านหุ้น) 2,856 2,856 จ�ำนวนหุ้นสามัญที่ออกและช�ำระเต็มมูลค่า (บาท) 239.22 244.07 มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท) 20.34 6.73 ก�ำไรสุทธิต่อหุ้น (บาท) 11.00 10.00 เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น อัตราการจ่ายเงินปันผลต่อก�ำไรสุทธิ (ร้อยละ) 54.1 148.6 (บาท) 324.00 244.00 ราคาหุ้น ณ วันสิ้นงวด 1/

1/

2/

อัตราส่วนทางการเงิน

อัตราก�ำไรสุทธิต่อยอดขายสุทธิ3/ อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม

อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อ EBITDA

อัตราส่วนความสามารถช�ำระดอกเบี้ย

(ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (เท่า) (เท่า) (เท่า) (เท่า)

2.603/

1.523/

3.02

1.39

8.69 0.69

0.39 1.50 10.99

2.89 0.61

0.29 1.10

9.50

หมายเหตุ:

1/ ค� ำ นวณจากจ� ำ นวนหุ ้ น สามั ญ ถั ว เฉลี่ ย ถ่ ว งน�้ ำ หนั ก ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2557 จ� ำ นวน 2,856.30 ล้ า นหุ ้ น และวั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 จ� ำ นวน

2,856.30 ล้านหุ้น

สามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2559 วันที่ 11 เมษายน 2559

เพื่อให้การเปรียบเทียบผลการด�ำเนินงานในแต่ละงวดสะท้อนผลการด�ำเนินงานธุรกิจปกติอย่างแท้จริง (ไม่รวมรายการที่มิได้เกิดประจ�ำ หรือ non-recurring

2/ เป็นอัตราที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ปตท. เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559 และให้น�ำเสนอขอความเห็นชอบต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น ในการประชุม

3/ อัตราส่วนก�ำไรสุทธิต่อยอดขายสุทธิ = ก�ำไรสุทธิ/ รายได้จากการขายและการให้บริการ ทั้งนี้ สูตรได้มีการปรับจากเดิม อัตราก�ำไรสุทธิ = ก�ำไรสุทธิ/ ขายสุทธิ

income)


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

จุดเด่นทางการเงิน

006

รายได้จากการขายและการให้บริการ หน่วย: ล้านบาท -22% 3,000,000

2,605,062

1%

2,500,000

2,026,9121%

26% 2,000,000

28% 1,500,000

38%

กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี 31%

1,000,000 15% 500,000 0

ธุรกิจถ่านหิน

16%

14%

18%

6%

6%

หน่วยธุรกิจการค้า ระหว่างประเทศ หน่วยธุรกิจนํ้ามัน หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ ปตท.สผ.

2558

2557

ก�ำไรสุทธิ หน่วย: ล้านบาท

80,000

60,000

-66%

58,678

8%

19,936

24%

118%

40,000 68%

20,000

142%

ส่วนแบ่งกำ�ไร (ขาดทุน) จากบริษัทร่วมปิโตรเคมีและการกลั่น ปตท.สผ.

4% -4%

0

38%

ปตท.

-95%

ส่วนแบ่งกำ�ไร (ขาดทุน) จากบริษัทร่วมอื่น ๆ ส่วนแบ่งกำ�ไร (ขาดทุน) จากธุรกิจถ่านหิน

-20,000 -103% -40,000

2557

ปรับปรุงใหม่ 1/ ปี 2556 ไม่มีการปรับปรุงใหม่ (restate) ตามนโยบายบัญชี Pack 5 2/ ปี 2557 มีการปรับปรุงใหม่ (restate) ตามนโยบายบัญชี Pack 5

2558


จุดเด่นทางการเงิน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

007

งบแสดงฐานะการเงิน หน่วย: ล้านบาท -3.4%

679,702

453,476

2,173,996

498,657

755,446

2,000,000

2,250,351 704,138

2,400,000

+0.2%

523,023

2,245,103

632,833

375,617

697,000

441,066

1,200,000

702,018

397,325

1,600,000 สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์อื่น ๆ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์สุทธิ หนี้สินอื่น ๆ 1,087,687

1,118,677

1,054,694

1,105,147

400,000

1,020,062

1,092,332

800,000

เงินกู้ยืมระยะยาว (รวมถึงเงินให้กู้ยืมระยะยาว ที่ถึงกำ�หนดชำ�ระภายใน 1 ปี) ส่วนของผู้ถือหุ้น

0

2556 ปรับปรุงใหม่

2558

2557

ปรับปรุงใหม่

อัตราส่วนทางการเงิน อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ร้อยละ)

อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (ร้อยละ)

8.69

3.02 1.39

2.89

อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.69

อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.39

0.61

อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อ EBITDA (เท่า)

อัตราส่วนความสามารถชำ�ระดอกเบี้ย (เท่า)

1.50

10.99 1.10

2557

0.29

2558

2557

9.50

2558


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

จุดเด่นทางการเงิน

008

นโยบายการบัญชี

กลุม ่ บริษท ั ได้ปฏิบต ั ต ิ ามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับใหม่ ทีม ่ ผ ี ลบังคับใช้ในปีปจ ั จุบน ั และมีการเปลีย ่ นแปลง

นโยบายการบั ญ ชี ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม 2558 ส่ ง ผลให้ ต้ อ งปรั บ ปรุ ง งบการเงิ น ย้ อ นหลั ง จึ ง แสดงงบการเงิ น เพื่ อ การเปรียบเทียบ 2 ปี คือ ปี 2558 และปี 2557 สำ�หรับงบแสดงฐานะการเงินได้แสดงยอดต้นงวดของปี 2557 เพิ่มเติม ตามที่มาตรฐานการรายงานทางการเงินกำ�หนด

ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 กลุ่มบริษัทได้ประเมินว่ามีการควบคุมบริษัทย่อยหรือไม่ โดยพิจารณาข้อเท็จจริงและ

สถานการณ์ที่บ่งชี้ว่าเข้าเงื่อนไขตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 เรื่อง งบการเงินรวม รวมถึงประเมินประเภท ของการร่วมการงานว่าเป็นการดำ�เนินงานร่วมกัน หรือเป็นการร่วมค้า โดยพิจารณาสิทธิและภาระผูกพันของผูเ้ ข้าร่วมการงาน

ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 เรื่อง การร่วมการงาน ผลจากการประเมินดังกล่าวพบว่า มีผลกระทบต่อวิธี การบัญชีสำ�หรับส่วนได้เสียในบริษท ั บางแห่ง ซึง่ เดิมถูกพิจารณาเป็นบริษท ั ร่วมโดยใช้วธ ิ ส ี ว ่ นได้เสียในการจัดทำ�งบการเงินรวม

นับจากวันที่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำ�คัญจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555)

เรือ ่ ง เงินลงทุนในบริษท ั ร่วม และมีผลกระทบต่อวิธก ี ารบัญชีสำ�หรับส่วนได้เสียในบริษท ั บางแห่ง ซึง่ เดิมถูกพิจารณาเป็นกิจการ

ที่ควบคุมร่วมกันโดยใช้วิธีรวมตามสัดส่วนในการจัดทำ�งบการเงินรวมตั้งแต่วันที่มีการควบคุมร่วมจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม

2557 ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

บริ ษั ท ร่ ว มที่ เ ปลี่ ย นเป็ น บริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ฯ และต้ อ งนำ�งบการเงิ น ของบริ ษั ท ย่ อ ยมารวมอยู่ ใ นงบการเงิ น รวม

• บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) (PTTGC) และบริษัทย่อย

• บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) (IRPC) และบริษัทย่อย

ของกลุ่มบริษัทตั้งแต่วันที่บริษัทฯ มีอำ�นาจควบคุม ได้แก่

• บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) (TOP) และบริษัทย่อย

• บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) (GPSC) และบริษัทย่อย • บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำ�กัด (TP)

• บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จำ�กัด (PTTES)

• บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จำ�กัด (PTTME) • บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำ�กัด (PTTICT)

บริษัทที่ถือเป็นการร่วมค้าซึ่งต้องเปลี่ยนวิธีในการบันทึกบัญชีจากวิธีรวมตามสัดส่วนมาเป็นวิธีส่วนได้เสีย ได้แก่

• Trans Thai - Malaysia (Malaysia) Sdn. Bhd. (TTM(M))

• บริษัท ทรานส์ ไทย - มาเลเซีย (ประเทศไทย) จำ�กัด (TTM(T)) • บริษัท ผลิตไฟฟ้าและน้ำ�เย็น จำ�กัด (DCAP)

• บริษัท พีทีที เอ็มซีซี ไบโอเคม จำ�กัด (PTTMCC) • บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จำ�กัด (PTTAC) • บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จำ�กัด (HMC)


ข้อมูลทั่วไปของบริษัท

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

009

ข้อมูลทั่วไปของบริษัท ชื่อบริษัท ชื่อย่อ เลขทะเบียนบริษัท ประเภทธุรกิจ

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ปตท.

0107544000108

ประกอบกิจการด้านปิโตรเลียม โดยลงทุนในบริษัทย่อย กิจการที่ควบคุมร่วมกัน

และบริษัทร่วม (กลุ่มบริษัท) ซึ่งประกอบธุรกิจเกี่ยวกับปิโตรเลียมขั้นต้น

ปิโตรเลียมขั้นปลาย ธุรกิจถ่านหิน ธุรกิจไฟฟ้า และธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน

ทุนจดทะเบียน

28,572,457,250 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 2,857,245,725 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท

(ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558)

ทุนที่ออกและชำ�ระเต็มมูลค่า

28,562,996,250 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 2,856,299,625 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท

ที่ตั้งสำ�นักงานใหญ่

555 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ประเทศไทย

(ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558)

โทรศัพท์

โทรสาร

เว็บไซต์

0-2537-2000

0-2537-3498-9

www.pttplc.com

ฝ่ายสื่อสารองค์กร

โทรศัพท์

0-2537-2150-1

อีเมล

corporate@pttplc.com

โทรสาร

ฝ่ายผู้ลงทุนสัมพันธ์

โทรศัพท์

โทรสาร

อีเมล

สำ�นักกรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการบริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

บุคคลอ้างอิง • นายทะเบียนหลักทรัพย์

อีเมล

โทรศัพท์ โทรสาร

• ผู้สอบบัญชี

corporatesecretary@pttplc.com

0-2009-9999 0-2009-9991

ถนนพระรามที่ 6 เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

0-2537-3885-6

0-2537-3883, 0-2537-3887

สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

• นายทะเบียนหุ้นกู้สกุลบาท

ir@pttplc.com

93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400

0-2537-3948

ชั้น 1 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

0-2537-3518-9

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด

0-2537-2572, 0-2537-2171

โทรศัพท์

โทรสาร

0-2271-8000 0-2618-5769

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน)

ทีมบริการทะเบียนหลักทรัพย์ 1 สายปฏิบัติการธุรกรรมการเงินและหลักทรัพย์

อาคาร 2 ชั้น 3 เลขที่ 1060 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท์

ทีมการขายผลิตภัณฑ์บริการหลักทรัพย์ บริการหลักทรัพย์

โทรสาร

0-2256-2323-7 0-2256-2406

เลขที่ 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ โทรสาร

0-2544-3937, 0-2544-2923 0-2937-7662


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สารจากคณะกรรมการ

010

สารจากคณะกรรมการ

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

ปตท. มุ่งมั่นที่จะดำ�เนินธุรกิจให้เติบโตควบคู่กับ

การดู แ ลสั ง คมชุ ม ชนและสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งยั่ ง ยื น เพื่ อ สามารถขั บ เคลื่ อ น ปตท. และประเทศไทยให้ ก้ า วสู่

การแข่งขันในเวทีโลก โดย ปตท. เชือ ่ ในการสร้างทุนมนุษย์

(Human Capital) ให้มีความรู้และศักยภาพสูง เนื่องจาก คนเป็นปัจจัยหลักแห่งความสำ�เร็จในการพัฒนาประเทศ

โดยให้ ค วามสำ�คั ญ ของการสร้ า งสั ง คมแห่ ง การเรี ย นรู้

(Knowledge Based Society) เพื่ อ นำ�ไปสู่ ก ารพั ฒ นา

อย่ า งยั่ ง ยื น และในปี 2558 ปณิ ธ านในการมุ่ ง มั่ น วาง รากฐานในการสร้าง “คน” จากการมีสถาบันการศึกษา

ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี เ ป็ น เครื่ อ งมื อ สำ�คั ญ

เพื่ อ สร้ า งสรรค์ สั ง คมไทยให้ เ ป็ น “สั ง คมอุ ด มปั ญ ญา”

ต่อยอดการพัฒนาประเทศให้ก้าวสู่การแข่งขันในเวทีโลก ้ เมือ ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ก็ประสบผลสำ�เร็จอีกขัน

สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินเป็นองค์ประธาน


สารจากคณะกรรมการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

011

ในพิ ธี เ ปิ ด โรงเรี ย นกำ�เนิ ด วิ ท ย์ และสถาบั น วิ ท ยสิ ริ เ มธี

แห่งแรก ตามแนวคิด PTT Life Station ในประเทศ สปป. ลาว

เมื่ อ วั น ที่ 6 สิ ง หาคม 2558 โดยโรงเรี ย นกำ�เนิ ด วิ ท ย์

เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)

ของ กลุ่ ม ปตท. ณ อำ�เภอวั ง จั น ทร์ จั ง หวั ด ระยอง แ ล ะ ส ถ า บั น วิ ท ย สิ ริ เ ม ธี เ ป็ น น า ม พ ร ะ ร า ช ท า น จ า ก

ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ ท พ รั ต น ร า ช สุ ด า ฯ ส ย า ม บ ร ม ร า ช กุ ม า รี หมายถึ ง แหล่ ง เรี ย นรู้ ท างด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ และสถาบั น แห่งผู้รู้อันยอดเยี่ยมด้านวิทยาศาสตร์ ตามลำ�ดับ

การดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ ปตท. ตามกลยุ ท ธ์ ก ารเติ บ โต

อย่ า งยั่ ง ยื น มุ่ ง สร้ า งสมดุ ล ของการเป็ น องค์ ก รแห่ ง ความ

เป็นเลิศ (High Performance Organization) ที่มีการพัฒนา เทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง ทั้งด้าน

การจัดการกระบวนการทำ�งาน การผลิต การจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ และการให้บริการ เป็นองค์กรที่มีการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) ดำ�เนิ น งานอยู่ ภ ายใต้ ธรรมาภิบาลที่เคร่งครัด มุ่งเน้นการดำ�เนินงานอย่างโปร่งใส

เป็นธรรม ตรวจสอบได้ และเป็นองค์กรที่มีความรับผิดชอบ

ต่ อ สั ง คม ชุ ม ชน และสิ่ ง แวดล้ อ ม (Corporate Social Responsibility) ในภารกิ จ ของการเป็ น องค์ ก รแห่ ง ความ

เป็ น เลิ ศ ปตท. มุ่ ง สร้ า งความมั่ น คงทางพลั ง งานให้ กั บ

ประเทศ ควบคู่กับการสร้างมูลค่าเพิ่มต่อยอดธุรกิจ ตลอด

ห่ ว งโซ่ อุ ป ทานของการดำ�เนนธุ ร กิ จ เพื่ อ ให้ อ งค์ ก รเติ บ โต อย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2558 ปตท. สามารถบรรลุข้อตกลง ในการจัดทำ�สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติเหลว (Liquefied

Natural Gas: LNG) ระยะยาว 20 ปี กั บ บริ ษั ท Qatar Liquefied Gas Company Limited พร้อมกับการดำ�เนินการ

ก่อสร้างระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติบนบกเส้นที่ 4 (ระยองแก่ ง คอย) แล้ ว เสร็ จ สามารถเชื่ อ มโยงโครงข่ า ยระบบท่ อ จากคลั ง นำ�เข้ า LNG ไปยั ง ภาคกลางถึ ง นครสวรรค์ แ ละ

ตะวันออกเฉียงเหนือถึงนครราชสีมา การเปิดสถานีบริการ

NGV ครบ 500 แห่ ง ครอบคลุ ม 54 จั ง หวั ด ทั่ ว ประเทศ

การขยายสถานี บ ริ ก ารน้ำ� มั น ปตท. รู ป แบบ Platinum

กั ม พู ช า และฟิ ลิ ป ปิ น ส์ เพื่ อ รองรั บ การเปิ ด เสรี ป ระชาคม

การขยายธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก ทั้ ง ในและนอกสถานี บ ริ ก ารน้ำ�มั น

ไม่ ว่ า จะเป็ น การเปิ ด ตั ว แบรนด์ Texas Chicken การร่ ว ม ธุรกิจกับ Daddy Dough และการขยายธุรกิจแฟรนไชส์ของ

คาเฟ่อเมซอนทำ�ให้ธุรกิจน้ำ�มันสามารถรักษาความเป็นผู้นำ� ตลาดขายปลีกน้ำ�มันติดต่อกันเป็นปีที่ 23 รวมทัง้ ได้นำ�บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด เข้าจดทะเบียนแปรสภาพ

บริษัทฯ จากบริษัทจำ�กัด เป็นบริษัทมหาชน เพื่อระดมทุน รองรับการขยายธุรกิจไฟฟ้าของ กลุ่ม ปตท. ในอนาคต


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สารจากคณะกรรมการ

012

ปตท. มุ่งเน้นการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อตอกย้ำ�

องค์ความรู้ให้ชุมชน บริหารจัดการระบบฯ ได้ด้วยตนเอง

ธรรมาภิ บ าลและต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น ผ่ า นกิ จ กรรมต่ า ง ๆ

และเป็นศูนย์การเรียนรู้ที่มีนวัตกรรมและระบบการจัดการ

ภาพลั ก ษณ์ บ ริ ษั ท พลั ง งานแห่ ง ชาติ ที่ ดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ บนหลั ก โดยในปี 2558 ปตท. ได้จัดกิจกรรม PTT Group CG Day: กลุ่ ม ปตท. ผนึ ก กำ�ลั ง ยกระดั บ ธรรมาภิ บ าลสู่ ก ารเป็ น วัฒนธรรมองค์กร การสนับสนุนองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน

(ประเทศไทย) ซึ่ ง จั ด งานในหั ว ข้ อ “Active Citizen... พลังพลเมือง ต่อต้านคอร์รป ั ชัน” โดยมีผบ ู้ ริหารและพนักงาน กลุ่ม ปตท. เข้ า ร่ ว มแสดงเจตนารมณ์ เ ข้ า ร่ ว มเป็นภาคีกับ

องค์ ก รต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น (ประเทศไทย) พร้ อ มยกระดั บ ธรรมาภิ บ าลสู่ ก ารเป็ น วั ฒ นธรรมองค์ ก รของ กลุ่ ม ปตท. ในการสนับสนุนนโยบายต่อต้านคอร์รป ั ชัน “Together Against Corruption”

อีกหนึ่งภารกิจสำ�คัญของ ปตท. คือ การมุ่งส่งเสริม

และสนับสนุนให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่าง

มัน ่ คง โดยเฉพาะทางด้านพลังงานโดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ มี อ ยู่ ใ นชุ ม ชนเป็ น หลั ก และมุ่ ง เน้ น ให้ มี ก ารบริ ห ารจั ด การ

ผ่ า นกระบวนการ “มี ส่ ว นร่ ว ม” เพื่ อ ดึ ง ศั ก ยภาพของคน ในชุ ม ชน รวมถึ ง ทุ น ทางสั ง คม ทุ น ทางวั ฒ นธรรมที่ มี อ ยู่ มาผนวกกั บ ความเชี่ ย วชาญและประสบการณ์ ท างธุ ร กิ จ

ของ ปตท. เพือ ่ สร้างสังคมและชุมชนทีเ่ ข้มแข็งพึง่ พาตนเองได้

โดยในปี 2558 “โครงการพั ฒ นาพลั ง งานชุ ม ชน: ระบบ

ก๊ า ซชี ว ภาพจากฟาร์ ม สุ ก ร ตำ�บลท่ า มะนาว” ซึ่ ง ปตท. ใช้องค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการระบบผลิตและส่งจ่าย

ก๊าซฯ มาต่อยอด ให้ชุมชนได้ใช้พลังงานทดแทนในการผลิต ไฟฟ้ า และก๊ า ซหุ ง ต้ ม ในครั ว เรื อ น (LPG) พร้ อ มถ่ า ยทอด

จนเป็ น โครงการต้ น แบบในการพึ่ ง พาตนเองด้ า นพลั ง งาน

ด้ า นพลั ง งานทางเลื อ กที่ ชุ ม ชนมี ส่ ว นร่ ว มอย่ า งแท้ จ ริ ง ส่ ง ผลให้ ไ ด้ รั บ รางวั ล Energy Awards กระทรวงพลั ง งาน

และรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น ด้านการดำ�เนินงานเพื่อสังคม และสิ่งแวดล้อมดีเด่น จากสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบาย รัฐวิสาหกิจ

ความสำ�เร็จจากการดำ�เนินงานในปี 2558 ของ ปตท.

สามารถสะท้ อ นได้ จ ากรางวั ล ต่ า ง ๆ อาทิ เ ช่ น การได้ รั บ

การจั ด อั น ดั บ เป็ น หนึ่ ง ใน 100 บริ ษั ท ขนาดใหญ่ ข องโลก

โดยนิตยสารฟอร์จูนเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน โดย ปตท. อยู่ใน อันดับ 93 ถือว่าอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงปีก่อนหน้า การได้รับ

การจัดอันดับในดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส์ต่อเนื่องเป็นปีที่ 4

ติดต่อกัน การได้รับการจัดอันดับ Green Rankings 2015 ในอันดับที่ 111 ของโลก และลำ�ดับที่ 2 ของโลกในหมวด

พลั ง งาน ซึ่ ง เป็ น อั น ดั บ ที่ ดี ขึ้ น จากอั น ดั บ 136 ของโลก

และอันดับ 10 ในหมวดพลังงาน รางวัล The Asset Corporate

Awards 2015 ประเภท Platinum Award Winners ซึ่ ง ปตท. เป็ น บริ ษั ท ไทยเพี ย งบริ ษั ท เดี ย วที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล

ในระดับ Platinum ต่อเนื่องกันเป็นปีที่ 7 เป็นต้น ซึ่งเกิด จากการทุ่ ม เททำ�งานหนั ก ของทั้ ง ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน

กลุ่ ม ปตท. รวมถึ ง ศั ก ยภาพของการบริ ห ารงานของ คณะกรรมการบริ ษั ท และการสนั บ สนุ น ที่ ดี จ ากผู้ ถื อ หุ้ น และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม


สารจากคณะกรรมการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

013

อย่างไรก็ตาม ในปี 2558 นับเป็นปีที่อุตสาหกรรม

น้ำ� มั น ทั่ ว โลกได้ เ ผชิ ญ กั บ ความท้ า ทาย จากสถานการณ์ วิ ก ฤตการณ์ ร าคาน้ำ� มั น ในตลาดโลกปรั บ ตั ว ลดลง และ

คาดว่ า จะยั ง คงอยู่ ใ นระดั บ ต่ำ� ต่ อ เนื่ อ งไปจนถึ ง ปี 2559 จากภาวะอุ ป ทานล้ น ตลาด อั น มี ส าเหตุ เ นื่ อ งจากการเพิ่ ม กำ�ลังการผลิต Shale oil ของสหรัฐอเมริกา ในขณะที่กลุ่ม

OPEC ยั ง คงกำ�ลั ง การผลิ ต ในระดั บ สู ง พื่ อ รั ก ษาส่ ว นแบ่ ง

ทางการตลาด รวมถึงการบรรลุข้อตกลงในการลดศักยภาพ โครงการนิ ว เคลี ย ร์ ข องอิ ห ร่ า น ประกอบกั บ เศรษฐกิ จ โลก

โดยเฉพาะเศรษฐกิ จ ของสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น มี อั ต รา การขยายตัวลดลง ส่งผลให้ความต้องการใช้น้ำ�มันดิบลดลง

จนอุปทานส่วนเกินจำ�นวนมากถูกเก็บ stock ไว้ ส่งผลให้

การเติ บ โตในอนาคตของ ปตท. นั้ น ยั ง คงยึ ด มั่ น

ในวิ สั ย ทั ศ น์ ที่ จ ะเป็ น บริ ษั ท พลั ง งานไทยข้ า มชาติ ชั้ น นำ� ในปี 2563 พร้อมสร้างความสมดุลต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม

โดยมีพน ั ธกิจในการจัดหาน้ำ�มันและก๊าซธรรมชาติให้คนไทย

มีใช้อย่างเพียงพอต่อความต้องการของประเทศในอนาคต พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานทางปิ โ ตรเลี ย มให้ ป ระชาชน

อย่ า งทั่ ว ถึ ง บริ ห ารจั ด การให้ ร าคาเหมาะสมเป็ น ธรรม เพื่ อ สร้ า งความมั่ น คงด้ า นพลั ง งานให้ ป ระเทศอย่ า งยั่ ง ยื น พร้อมสร้างศรัทธาและความภูมิใจให้กับประชาชนคนไทย

ในการเป็ น บริ ษั ท พลั ง งานของชาติ และเติ ม เต็ ม กลไก ทางธุรกิจที่สำ�คัญในการขับเคลื่อนประเทศไทย

กดดันราคาในระยะอันใกล้นี้ ซึ่งวิกฤตการณ์ราคาน้ำ� มันนี้

โดยเฉพาะธุรกิจปิโตรเลียมต้นน้ำ� ทีผ ่ ลประกอบการส่วนใหญ่

ปตท. และบริษัทใน กลุ่ม ปตท. ด้วยดีเสมอมา และขอให้

ส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษท ั ต่าง ๆ โดยถ้วนหน้า ั จะขึน ้ อยูก ่ บ ั ราคาน้ำ�มันในตลาดโลก ส่งผลให้ ปตท. และบริษท

ในกลุ่ม ประสบปัญหาการขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ และอั ต ราแลกเปลี่ ย นทางบั ญ ชี ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก ระทบต่ อ กระแส

เงินสด โดยในปี 2558 ปตท. และบริษัทในกลุ่ม มีรายได้จาก การขายรวม 2,026,911.57 ล้านบาท และมีกำ�ไรสุทธิรวม

ในนามของคณะกรรมการ ปตท. ขอขอบคุณผู้มีส่วน

ได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม ที่ ไ ด้ ร่ ว มสนั บ สนุ น และให้ ค วามไว้ ว างใจแก่

เชื่ อ มั่ น ว่ า คณะกรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งานทุ ก คน

มีความมุ่งมั่น พร้อมทุ่มเทและปฏิบัติภารกิจเพื่อให้องค์กร

ปตท. เป็นสมบัติที่มีค่าของชาติ ที่คนไทยภาคภูมิใจตลอดไป (Pride & Treasure of Thailand)

19,936.42 ล้ า นบาท ซึ่ ง มี ก ารด้ อ ยค่ า สิ น ทรั พ ย์ ท างบั ญ ชี จำ�นวน 74,155.15 ล้านบาท โดย ปตท. ได้เพิ่มมาตรการ ลดค่าใช้จ่าย (Cost Reduction) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

และจำ�หน่ า ย (Productivity Improvement) เพิ่ ม มู ล ค่ า ทางธุรกิจ (Value Added) การบริหารกลุม ่ หลักทรัพย์ (Portfolio Management) ของกลุม ่ ปตท. ให้คล่องตัวและมีประสิทธิภาพ

สูงสุด รวมถึงการจัดทำ�แผนธุรกิจรองรับสถานการณ์ราคา น้ำ�มันต่าง ๆ ที่เป็นไปได้ (Scenario Planning) เพื่อเตรียม

ความพร้อมรองรับความผันผวนของราคาน้ำ�มันที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต

นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ประธานกรรมการ

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

014

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษั ท ปตท. จำ�กั ด

(มหาชน) ประกอบด้ ว ยกรรมการอิ ส ระผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ

จำ�นวน 3 ท่าน ประกอบด้วย นายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์

เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค และนายวิ ชั ย อั ศ รั ส กร เป็ น กรรมการตรวจสอบ โดยมี

นางสาวนิตยา ดิเรกสถาพร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นั ก ตรวจสอบภายใน เป็ น เลขานุ ก ารคณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามที่

ได้รบ ั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษท ั และตามกฎบัตร

ของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยให้ ค วามสำ�คั ญ กั บ การกำ�หนดโครงสร้างและกระบวนการทำ�งานที่เป็นระบบ คณะกรรมการจึงมีการสอบทานให้บริษัทฯ มีการปฏิบัติ

ตามหลั ก การกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี มี ร ะบบการบริ ห าร ความเสี่ยงที่เพียงพอ และการมีระบบการควบคุมภายใน และตรวจสอบภายในที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล สรุปได้ดังนี้

นายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์ ประธานกรรมการตรวจสอบ


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

015

• ให้ความสำ�คัญต่อการมีระบบการควบคุมภายใน

ที่ เ พี ย งพอและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ นำ�องค์ ก รไปสู่ ก ารมี ร ะบบ ธรรมาภิ บ าลที่ ดี ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การบริ ห ารจั ด การตาม

แนวคิด Three Lines of Defense โดยให้ความรู้ความเข้าใจ แก่ ฝ่ า ยจั ด การในการดำ�เนิ น งานตามนโยบายการต่ อ ต้ า น ทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น รวมถึ ง การพั ฒ นาโครงสร้ า งหน่ ว ย

• ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาและยกระดั บ งาน

ตรวจสอบภายในของ กลุ่ ม ปตท. โดยเฉพาะการพั ฒ นา

บุคลากรอย่างต่อเนือ ่ ง ซึง่ ถือเป็นหัวใจหลักของการดำ�เนินงาน

เช่น สนับสนุนให้เกิดการจัดตั้ง Internal Audit Academy เพื่ออบรมพัฒนาบุคลากรตรวจสอบภายในของ กลุ่ม ปตท.

ให้มีความรู้ความสามารถและสามารถดำ�เนินการตรวจสอบ

ตรวจสอบภายในให้สามารถกำ�กับดูแลความเสี่ยงได้อย่าง

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ครอบคลุมและทันการณ์ยิ่งขึ้น

• กำ�กั บ ดู แ ลการบริ ห ารความเสี่ ย งจากประเด็ น

สำ�คัญต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อองค์กรอย่างมีนัยสำ�คัญ เช่น

ความผั น ผวนในเรื่ อ งของราคาน้ำ�มั น การจั ด หาพลั ง งาน

การพั ฒ นาพลั ง งานทางเลื อ ก และความเสี่ ย งในเรื่ อ ง Cybersecurity เป็นต้น รวมถึงสนับสนุนให้ฝ่ายจัดการจัดทำ�

้ ในปี 2558 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมทัง้ สิน

17 ครั้ง โดยได้มีการหารือร่วมกับฝ่ายจัดการ ผู้ตรวจสอบ ภายในและผู้สอบบัญชี สรุปสาระสำ�คัญในการปฏิบัติหน้าที่ ได้ดังนี้

1. การสอบทานรายงานทางการเงิน คณะกรรมการ

การทดสอบภาวะวิกฤต (Stress Test) เพือ ่ ประเมินผลกระทบ

ของราคาน้ำ� มั น อย่ า งรุ น แรง เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า บริ ษั ท ฯ

ประจำ�ปี ข องบริ ษั ท ฯ และงบการเงิ น รวม รวมถึ ง รายการ

ต่อการดำ�เนินธุรกิจของ กลุม ่ ปตท. ในกรณีทีม ่ ีความผันผวน มี ก ระบวนการติ ด ตามและบริ ห ารจั ด การรองรั บ ประเด็ น เหล่านั้นอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพและทันท่วงที

• ให้ น โยบายการตรวจสอบเชิ ง รุ ก (Proactive

Audit) อย่ า งเป็ น ระบบ รวมถึ ง การพั ฒ นาเทคโนโลยี ที่ ใ ช้ ในการตรวจสอบ เช่น การนำ�ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

มาใช้ ใ นการตรวจสอบและป้ อ งกั น การเกิ ด ทุ จ ริ ต และใช้ ประโยชน์ในการตรวจสอบจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่แต่ละหน่วยธุรกิจใช้ในการดำ�เนินงานให้มากยิ่งขึ้น

ตรวจสอบได้สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงิน

ระหว่างกัน รายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ร่วมกับฝ่ายจัดการ สำ�นักตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชี โดยได้ ส อบถามผู้ ส อบบั ญ ชี ใ นเรื่ อ งความถู ก ต้ อ งครบถ้ ว น

ของงบการเงิน การปรับปรุงรายการบัญชีที่สำ�คัญ รวมถึง

การประมาณการทางบั ญ ชี ซึ่ ง มี ผ ลกระทบต่ อ งบการเงิ น

ความเพียงพอเหมาะสมของวิธีการบันทึกบัญชีและขอบเขต การตรวจสอบ การเปิ ด เผยข้ อ มู ล อย่ า งถู ก ต้ อ งครบถ้ ว น

เพียงพอ และความมีอิสระของผู้สอบบัญชี เพื่อให้มั่นใจว่า

การจั ด ทำ�งบการเงิ น เป็ น ไปตามข้ อ กำ�หนดของกฎหมาย และมาตรฐานบั ญ ชี ต ามหลั ก การบั ญ ชี ที่ รั บ รองทั่ ว ไป

มีความเชื่อถือได้และทันเวลา รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูล อย่างเพียงพอ เป็นประโยชน์กับผู้ใช้งบการเงิน


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

016

2. ก า ร ส อ บ ท า น ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง

คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานประสิ ท ธิ ภ าพและ ความเหมาะสมของกระบวนการบริหารความเสี่ยงอันเกิด

จากภายในและภายนอกองค์กร รวมถึงนโยบายการบริหาร ความเสีย ่ ง แผนงาน และแนวทางการบริหารจัดการความเสีย ่ ง ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ผลการดำ�เนิ น งานของ กลุ่ ม ปตท. แผนการลงทุน การจัดหาแหล่งพลังงาน การพัฒนาพลังงาน ทดแทน รวมถึ ง เหตุ ก ารณ์ ค วามเสี่ ย ง (Event Risk) อื่ น

อย่ า งสม่ำ� เสมอทุ ก ไตรมาสร่ ว มกั บ ฝ่ า ยจั ด การ พร้ อ มทั้ ง

ใ ห้ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ป รั บ ป รุ ง ใ ห้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น โดยเฉพาะความเสี่ยงในเรื่องความผันผวนของราคาน้ำ�มัน

ผลการประเมิ น การควบคุ ม ภายในตามระเบี ย บ

คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำ�หนดมาตรฐาน การควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ในปี 2558 ของฝ่ายจัดการ

และสำ�นักตรวจสอบภายในมีความเห็นว่าการควบคุมภายใน ของบริ ษั ท ฯ มี ค วามเพี ย งพอและมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลทางธุ ร กิ จ

โดยในปี 2558 ได้ปรับปรุงเพิม ่ คำ�ถามทีเ่ น้นในเรือ ่ งการต่อต้าน

การทุจริตในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการที่สำ�คัญ ตามนโยบายเรื่ อ งการต่ อ ต้ า นทุ จ ริ ต และคอร์ รั ป ชั น และ

การจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง ซึ่ ง ผู้ บ ริ ห ารให้ ค วามร่ ว มมื อ ตอบแบบ ประเมินการควบคุมภายในครบถ้วนร้อยละ 100

ซึ่ ง คณะกรรมการตรวจสอบสนั บ สนุ น ให้ ฝ่ า ยจั ด การทำ�

กรณีที่สถานการณ์ไม่เป็นไปตามที่คาดการณ์ไว้

เพือ ่ ให้เกิดการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ อ ี ย่างเป็นระบบ สนับสนุน

การวิ เ คราะห์ Stress Test เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความพร้ อ มรองรั บ

3. การสอบทานประสิทธิผลของระบบการควบคุม

ภายใน คณะกรรมการตรวจสอบให้ ค วามสำ�คั ญ กั บ

การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย รวมถึ ง กฎระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ ง

และการบริหารจัดการตามแนวคิด Three Lines of Defense เน้ น การดำ�เนิ น งานอย่ า งมื อ อาชี พ และเป็ น ระบบ โดยได้

สอบทานระบบการควบคุ ม ภายในร่ ว มกั บ ผู้ ส อบบั ญ ชี แ ละ สำ�นักตรวจสอบภายในทุกไตรมาส ในเรื่องการดำ�เนินงาน การใช้ ท รั พ ยากร การดู แ ลทรั พ ย์ สิ น การป้ อ งกั น หรื อ ลด ความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลือง

4. ก า ร ส อ บ ท า น ก า ร กำ � กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี

คณะกรรมการตรวจสอบเน้ น นโยบายการบริ ห ารจั ด การ

การจัดทำ� Compliance Framework เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด

การดำ�เนิ น งานที่ ไ ม่ เ ป็ น ไปตามกฎหมายหรื อ ระเบี ย บ

ของบริ ษั ท ฯ ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การสร้ า งความตระหนั ก รู้ ในเรื่ อ งการป้ อ งกั น และต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต ให้ กั บ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งานผ่ า นการสั ม มนาและฝึ ก อบรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

โดยได้สอบทานการปฏิบัติงานตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงระบบงาน

ที่ กำ�หนดไว้ สอบทานรายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น และรายการ

ระหว่ า งกั น ของบริ ษั ท ในกลุ่ ม เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า บริ ษั ท ฯ มี ก ารดำ�เนิ น การตามเงื่ อ นไขทางธุ ร กิ จ ปกติ อ ย่ า งสมเหตุ

หรื อ การทุ จ ริ ต ความเชื่ อ ถื อ ได้ ข องรายงานทางการเงิ น

สมผล สอบทานกระบวนการร้ อ งเรี ย นและแจ้ ง เบาะแส

ซึ่ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี ใ ห้ ค วามเห็ น สอดคล้ อ งกั น ว่ า ไม่ พ บประเด็ น

กำ�กับดูแลกิจการทีด ่ แ ี ละปรัชญาการดำ�เนินธุรกิจของบริษท ั ฯ

การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี ปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เป็นสาระสำ�คัญ

การทุจริต (Whistleblowing) เพื่อให้สอดคล้องตามหลักการ


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

017

5. การกำ�กับดูแลงานตรวจสอบภายใน ในปี 2558

6. การพิจารณาแต่งตัง้ ผูส ้ อบบัญชีประจำ�ปี 2559

คณะกรรมการตรวจสอบได้ ใ ห้ ข้ อ เสนอแนะในการพั ฒ นา

คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาและมีมติเห็นชอบให้

ในเชิ ง รุ ก (Proactive) รองรั บ ความเสี่ ย งอื่ น ๆ นอกเหนื อ

ประจำ�ปี 2559 และเสนอให้คณะกรรมการบริษัทฯ นำ�เสนอ

โครงสร้ า งหน่ ว ยงานตรวจสอบเพื่ อ ให้ มี ก ารตรวจสอบ การตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจำ�ปี และกำ�หนด กรอบการจั ด ตั้ ง หน่ ว ยตรวจสอบภายในบริ ษั ท ในกลุ่ ม ให้ มี

ความชั ด เจน เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล

ในการดำ�เนินการตรวจสอบ รวมทั้งกำ�กับให้มีการประเมิน

คุ ณ ภาพการตรวจสอบภายใน และให้ ก ารสนั บ สนุ น

สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ

ขออนุ มั ติ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ประจำ�ปี พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง และ

อนุมัติค่าสอบบัญชีประจำ�ปี 2559 นอกจากนี้ ยังได้พิจารณา ขอบเขตแนวทางและแผนการสอบบัญชีประจำ�ปีของผู้สอบ บัญชีร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการของบริษัทฯ

การพัฒนาบุคลากร การจัดตั้ง Internal Audit Academy

ภายในให้ มี ค วามพร้ อ มทั้ ง ความรู้ แ ละทั ก ษะในสายอาชี พ

คณะกรรมการตรวจสอบ โดยใช้ ค วามรู้ ค วามสามารถ

ขึ้ น อย่ า งเป็ น ทางการ เพื่ อ พั ฒ นาบุ ค ลากรผู้ ต รวจสอบ และได้ ป รั บ ปรุ ง ระบบ Continuous Control Monitoring

and Auditing System (CCMS) ซึ่ ง ช่ ว ยกลั่ น กรองและ ตรวจติ ด ตามความผิ ด ปกติ รวมถึ ง การทุ จ ริ ต ที่ เ กิ ด ขึ้ น

ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง (Procure to Pay) อย่างต่อเนื่อง

โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานแผน

กลยุทธ์ แผนการตรวจสอบประจำ�ปีและแผนการตรวจสอบ ระยะยาว การปฏิ บั ติ ง านตามแผน ผลการตรวจสอบ

ของสำ�นั ก ตรวจสอบภายในโดยให้ ข้ อ แนะนำ�และติ ด ตาม

การดำ�เนินการแก้ไขในประเด็นที่มีนัยสำ�คัญ เพื่อก่อให้เกิด

การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและมีการควบคุมภายในที่เพียงพอ

พิ จ ารณาการปรั บ ปรุ ง กฎบั ต รด้ า นการตรวจสอบภายใน

สอบทานงบประมาณประจำ�ปี ข องหน่ ว ยงานตรวจสอบ

ภายใน แผนการพัฒนา แผนการสรรหาและการหมุนเวียน บุคลากร การฝึกอบรมบุคลากร การประเมินความเพียงพอ

และเหมาะสมของทรั พ ยากร ดั ช นี วั ด ผลการปฏิ บั ติ ง าน

พิ จ ารณาความดี ค วามชอบประจำ�ปี ข องผู้ ช่ ว ยกรรมการ

ผู้จัดการใหญ่สำ�นักตรวจสอบภายใน

โดยสรุ ป คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ต าม

หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ ร ะบุ ไ ว้ ใ นกฎบั ต รของ ความระมั ด ระวั ง ความรอบคอบ และมี ค วามเป็ น อิ ส ระ

อย่ า งเพี ย งพอ ตลอดจนได้ ใ ห้ ค วามเห็ น และข้ อ เสนอแนะ ต่ า ง ๆ อย่ า งสร้ า งสรรค์ เพื่ อ ประโยชน์ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย อย่างเท่าเทียมกัน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า

รายงานข้ อ มู ล ทางการเงิ น ของบริ ษั ท ฯ มี ค วามถู ก ต้ อ ง เชื่อถือได้ สอดคล้องตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

บริษท ั ฯ มีการปฏิบต ั ิงานทีส ่ อดคล้องตามกฎหมาย ข้อผูกพัน ต่าง ๆ ทีเ่ กีย ่ วข้องกับการดำ�เนินธุรกิจ รวมถึงระบบการกำ�กับ

ดูแลกิจการที่ดี มีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเพียงพอ มีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิผล


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการสรรหา

018

รายงานของคณะกรรมการสรรหา

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการสรรหา บริษท ั ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

ประกอบด้วยกรรมการอิสระผู้ทรงคุณวุฒิจำ�นวน 3 ท่าน คื อ นายวั ช รกิ ติ วั ช โรทั ย เป็ น ประธานกรรมการสรรหา พลอากาศโท บุ ญ สื บ ประสิ ท ธิ์ และนายชาญวิ ท ย์

อมตะมาทุ ช าติ เป็ น กรรมการสรรหา โดยมี ผู้ จั ด การ ฝ่ า ยสำ�นั ก กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ แ ละเลขานุ ก ารบริ ษั ท ทำ�หน้าที่เลขานุการ

นับตั้งแต่ปี 2546 บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

ได้ ป ระกาศหลั ก การกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข อง ปตท. เพื่อให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของ ปตท.

ได้ รั บ ทราบและนำ�มาใช้ เ ป็ น หลั ก ในการปฏิ บั ติ ง าน โดย หลั ก การกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ดั ง กล่ า วได้ มี ก ารทบทวน

และปรับปรุงอยู่สม่ำ�เสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมาย

แนวปฏิ บั ติ ส ากล อาทิ เ ช่ น The Organization for Economic and Cooperation and Development (OECD) หรื อ หลั ก เกณฑ์ ข อง ASEAN Corporate Governance

Scorecard ตลอดจนแนวปฏิ บั ติ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์

และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ และเกณฑ์ ข องสมาคมส่ ง เสริ ม

สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย (IOD) โดยจากหลั ก การ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีและข้อบังคับของ ปตท. ได้กำ�หนด

ให้ ค ณะกรรมการสรรหาของ ปตท. ต้ อ งแต่ ง ตั้ ง จาก คณะกรรมการ ปตท. อย่ า งน้ อ ย 3 คน และอย่ า งน้ อ ย

1 คน ต้ อ งเป็ น กรรมการอิ ส ระ มี อำ�นาจ หน้ า ที่ และ ความรั บ ผิ ด ชอบในการคั ด เลื อ กและเสนอรายชื่ อ บุ ค คล

นายวัชรกิติ วัชโรทัย ประธานกรรมการสรรหา

ที่มีความเหมาะสมเพื่อเป็นกรรมการ ปตท. โดยกำ�หนด

วิธีการและหลักเกณฑ์การสรรหาเพื่อให้เกิดความโปร่งใส


รายงานของคณะกรรมการสรรหา

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

019

ในรอบปี 2558 คณะกรรมการ ปตท. ได้มีมติแต่งตั้ง

คณะกรรมการสรรหาชุดปัจจุบัน ทั้งนี้ คณะกรรมการสรรหา

จำ�นวน 3 คน ประกอบด้วยกรรมการอิสระทั้งคณะ อีกทั้ง

ได้มก ี ารปรับปรุงอำ�นาจหน้าทีใ่ ห้ครอบคลุมการทำ�งานให้เป็น ปัจจุบันมากขึ้น อาทิ

• การพิ จ ารณาเสนอชื่ อ กรรมการ เพื่ อ ทำ�หน้ า ที่

กรรมการเฉพาะเรื่อง โดยพิจารณาตามองค์ประกอบของ

คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง คุณสมบัติ ความรู้ ความสามารถ

ของกรรมการ ที่ เ หมาะสมต่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ก รรมการ เฉพาะเรือ ่ ง และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ ปตท. เพือ ่ พิจารณา แต่ ง ตั้ ง ยกเว้ น คณะกรรมการสรรหา ซึ่ ง คณะกรรมการ ปตท. จะเป็นผู้พิจารณาแต่งตั้ง

• มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ คณะกรรมการ ปตท.

โดยตรงตามบทบาทหน้ า ที่ แ ละคณะกรรมการ ปตท.

มีความรับผิดชอบในการดำ�เนินงานของ ปตท. ต่อผู้มีส่วน ได้เสียทุกกลุ่ม

่ ค ี วามเหมาะสม จะพิจารณา • การพิจารณาบุคคลทีม

คณะกรรมการนโยบายรั ฐ วิ ส าหกิ จ และของ IOD อี ก ทั้ ง ต้องเป็นผู้ไม่มีประวัติด่างพร้อยและไม่มีผลประโยชน์ขัดแย้ง กับ ปตท. (Conflict of Interest) เพื่อ:

- พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง กรรมการแทนกรรมการที่ ค รบ

วาระ โดยคณะกรรมการสรรหาดำ�เนิ น ตาม

ปตท. พิจารณาแต่งตั้งบุคคลที่มีความเหมาะสม

ก ร ะ บ ว น ก า ร โ ด ย เ ส น อ ใ ห้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร เพือ ่ เสนอทีป ่ ระชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ พิจารณาแต่งตัง้ เป็นกรรมการ ปตท.

- พิจารณาแต่งตัง้ กรรมการแทนกรรมการทีล ่ าออก

ระหว่างปี โดยคณะกรรมการสรรหาได้พิจารณา

พิจารณาแต่งตั้งให้เป็นกรรมการ

สรรหาบุคคลเพื่อเสนอให้คณะกรรมการ ปตท.

โดยรายชื่ อ บุ ค คลที่ มี ค วามเหมาะสมจะต้ อ งได้ รั บ

ความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ เพื่อ เป็นไปตามระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการกำ�หนด

ตามองค์ประกอบของคณะกรรมการ ความรู้ ความสามารถ

นโยบายและกำ�กับดูแลรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2557 อีกด้วย

รวมทั้งไม่มีกรณีผลประโยชน์ขัดแย้งกับ ปตท. (Conflict of

เฉพาะเรื่อง โดยพิจารณาจากความรู้ ความชำ�นาญ ทักษะ

สรรหา ต้ อ งให้ ส อดคล้ อ งกั บ กลยุ ท ธ์ ใ นการดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ

ปตท.

และประสบการณ์ทเี่ ป็นประโยชน์ตอ ่ ปตท. (Board skill matrix) Interest) และการพิจารณาคุณสมบัตข ิ องกรรมการทีต ่ อ ้ งการ ของบริษัทด้วย

ทั้งนี้ ในปี 2558 มีการประชุมคณะกรรมการสรรหา

ทั้ ง สิ้ น จำ�นวน 5 ครั้ ง โดยได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายอย่ า งรอบคอบ ระมั ด ระวั ง และสมเหตุ ส มผล และได้มีการพิจารณาในเรื่องที่สำ�คัญ ดังนี้

• พิ จ า ร ณ า คั ด เ ลื อ ก บุ ค ค ล จ า ก ห ล า ก ห ล า ย

สาขาอาชีพ มีคุณสมบัติเหมาะสมตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่ น พระราชบั ญ ญั ติ คุ ณ สมบั ติ ม าตรฐาน

ของกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พระราชบัญญัตบ ิ ริษท ั มหาชน พระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์

ระเบี ย บสำ�นั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่ า ด้ ว ยการกำ�หนดนโยบาย และกำ�กับดูแลรัฐวิสาหกิจ เป็นต้น รวมไปถึงข้อบังคับของ

บริษัทและหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. ตลอดจน มีความรู้ความสามารถที่เหมาะสมกับธุรกิจของ ปตท. โดย พิจารณาจากทักษะจำ�เป็นที่ยังขาด วิเคราะห์จาก Board

skill matrix รวมถึงคุณสมบัติที่เหมาะสมต้องให้สอดคล้อง กับกลยุทธ์ในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท รวมทั้งพิจารณา

จากฐานข้อมูลกรรมการ (Director’s Pool) ของสำ�นักงาน

• พิจารณาเสนอชือ ่ กรรมการ เพือ ่ ทำ�หน้าทีก ่ รรมการ

ทีเ่ กีย ่ วข้องกับการปฏิบต ั ห ิ น้าทีแ ่ ละนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ

นอกจากนี้ ปี 2558 คณะกรรมการ ปตท. ได้เปิด

โอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยสามารถเสนอชื่อบุคคลที่เห็นว่า

เหมาะสมเพื่ อ คั ด เลื อ กเป็ น กรรมการได้ ซึ่ ง ปรากฏว่ า ไม่ มี

ผู้ถือหุ้นเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ากระบวนการสรรหากรรมการ ในการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ปี 2559 ทั้ ง นี้ รายละเอี ย ด

ได้เปิดเผยไว้เพื่อความโปร่งใสในการตรวจสอบในรายงาน ประจำ�ปีฉบับนี้แล้ว


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน

020

รายงานของคณะกรรมการ ก�ำหนดค่าตอบแทน

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท ปตท.

จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 3 ท่าน คือ นายอารี พ งศ์ ภู่ ช อุ่ ม เป็ น ประธานกรรมการกำ�หนด

ค่าตอบแทน (ลาออกจากการเป็นกรรมการตั้งแต่วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559 เป็นต้นไป) นายวัชรกิติ วัชโรทัย และ

นายสมชัย สัจจพงษ์ เป็นกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน โดยมี ผู้ จั ด การฝ่ า ยสำ�นั ก กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ แ ละ เลขานุการบริษัททำ�หน้าที่เลขานุการ

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กำ� ห น ด ค่ า ต อ บ แ ท น มี ห น้ า ที่

ในการพิ จ ารณาแนวทางการกำ�หนดค่ า ตอบแทนให้ แ ก่ กรรมการ และประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ ผู้ จั ด การใหญ่ ตลอดจนกำ�หนดวิ ธี ก ารและหลั ก เกณฑ์

การกำ�หนดค่ า ตอบแทนที่ เ ป็ น ธรรมและสมเหตุ ส มผล เนื่ อ งจากค่ า ตอบแทนเป็ น ปั จ จั ย สำ�คั ญ ในการเชิ ญ ชวน

แ ล ะ รั ก ษ า บุ ค ล า ก ร ที่ มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ ห้ อ ยู่ คู่ อ งค์ ก ร อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ช่ ว ยสร้ า งแรงจู ง ใจ

ให้เกิดประสิทธิภาพการทำ�งาน ดังนั้น ในการพิจารณา ค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

และกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ คณะกรรมการกำ�หนด

ค่ า ตอบแทนได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย อย่างรอบคอบ ระมัดระวัง สมเหตุสมผล โดยพิจารณา

จากผลการดำ�เนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายทีก ่ ำ�หนดไว้

และผลประกอบการ ตลอดจนปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ แนวปฏิ บั ติ ข องบริ ษั ท จดทะเบี ย นในอุ ต สาหกรรม

นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม

ประธานกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน วันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 - 7 กุมภาพันธ์ 2559

เดียวกันและบริษัทชั้นนำ�ทั้งระดับประเทศและระดับโลก แนวปฏิ บั ติ ข องบริ ษั ท จดทะเบี ย นที่ เ ป็ น รั ฐ วิ ส าหกิ จ


รายงานของคณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

021

หลั ก การกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เป็ น ต้ น ในรอบปี 2558

เดียวกันและบริษัทชั้นนำ�ทั้งระดับประเทศและระดับโลกใช้

อำ�นาจหน้ า ที่ ใ ห้ ค รอบคลุ ม การทำ�งานให้ เ ป็ น ปั จ จุ บั น

ผลประเมินของคณะกรรมการในหัวข้อต่าง ๆ ที่กำ�หนดไว้ใน

คณะกรรมการกำ�หนดค่ า ตอบแทนได้ มีการปรั บ ปรุ ง มากขึ้น และให้มีความรัดกุม เพื่อช่วยพิจารณากลั่นกรอง และให้ข้อคิดเห็นก่อนนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ ได้แก่

• พิ จ ารณาเสนอแนวทางการประเมิ น ผลและ

ค่ า ตอบแทนประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ต่อคณะกรรมการ ปตท. เพื่อพิจารณาอนุมัติ

รวมทัง้ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ปตท. ประกอบกับ แบบประเมินประจำ�ปี โดยได้เสนอขออนุมต ั ต ิ อ ่ คณะกรรมการ ปตท. เพื่อเสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558

• พิ จ ารณาประเมิ น ผลประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร

และกรรมการผู้จัดการใหญ่ เพื่อกำ�หนดค่าตอบแทน โดย พิ จ ารณาทั้ ง ปั จ จั ย ด้ า นผลการดำ�เนิ น งาน ซึ่ ง เชื่ อ มโยงกั บ

• รั บ ท ร า บ แ ล ะ ใ ห้ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ เ รื่ อ ง ก า ร ป รั บ

บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงการประเมิ น ผลการดำ�เนิ น งานรั ฐ วิ ส าหกิ จ

และพิ จ ารณาค่ า ตอบแทนผู้ บ ริ ห ารระดั บ รองกรรมการ

(สคร.) กับ ปตท. และปัจจัยด้านความสามารถในการบริหาร

ตนเองของประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการ

โครงสร้ า งองค์ ก รและระดั บ งาน รวมทั้ ง การประเมิ น ผล ผู้จัดการใหญ่

• มีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการ ปตท. โดยตรง

ตามบทบาทหน้าทีแ ่ ละคณะกรรมการ ปตท. มีความรับผิดชอบ ในการดำ�เนินงานของ ปตท. ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม

• ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการ

กำ�หนดค่ า ตอบแทน และจั ด ให้ มี ก ารรายงานผลเพื่ อ

รายงานผลให้ ค ณะกรรมการ ปตท. ทราบ และเปิ ด เผย ในรายงานประจำ�ปี

• เปิดเผยรายงานการดำ�เนินงานของคณะกรรมการ

ทั้งนี้ ในปี 2558 คณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน

• พิ จ า ร ณ า กำ� ห น ด ค่ า ต อ บ แ ท น สำ� ห รั บ

กำ�หนดค่าตอบแทนไว้ในรายงานประจำ�ปี

มีการประชุม 1 ครั้ง โดยสรุปสาระสำ�คัญ ดังนี้

คณะกรรมการและคณะกรรมการเฉพาะเรื่ อ ง ประจำ�ปี

2558 โดยพิจารณาจากผลประกอบการและขนาดของธุรกิจ ของบริษัท แนวปฏิบัติที่บริษัทจดทะเบียนในอุตสาหกรรม

ประจำ�ปี ระหว่างสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ

จั ด การและภาวะผู้ นำ� ประกอบกั บ การพิ จ ารณาประเมิ น

ใหญ่ โดยในปลายปี 2558 ได้มีการกำ�หนดให้คณะกรรมการ ทุ ก ท่ า นได้ พิ จ ารณาประเมิ น ผลประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ และส่ ง ผลให้ ค ณะกรรมการ กำ�หนดค่าตอบแทนพิจารณาด้วย

นอกจากนี้ ได้ เ ปิ ด เผยค่ า ตอบแทนของกรรมการ

และกรรมการเฉพาะเรื่อง รวมทั้งค่าตอบแทนผู้บริหารไว้ใน รายงานประจำ�ปีฉบับนี้ เพื่อความโปร่งใสในการตรวจสอบ


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

022

รายงานของคณะกรรมการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ปตท.

จำ�กั ด (มหาชน) ประกอบด้ ว ยกรรมการอิ ส ระจำ�นวน 3 ท่ า น คื อ พลเอก ฉั ต รเฉลิ ม เฉลิ ม สุ ข เป็ น ประธาน

กรรมการกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี นายดอน วสั น ตพฤกษ์ และนายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ เป็นกรรมการกำ�กับดูแล

กิจการทีด ่ ี โดยมีผจ ู้ ด ั การฝ่ายสำ�นักกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ และเลขานุการบริษัททำ�หน้าที่เลขานุการ

คณะกรรมการ ปตท. ให้ความสำ�คัญในการดำ�เนิน

ธุรกิจบนพืน ้ ฐานของความซือ ่ สัตย์ โปร่งใส และตรวจสอบได้

จึ ง มุ่ ง เน้ น ให้ ปตท. ยึ ด มั่ น การดำ�เนิ น งานตามหลั ก การ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี มาตรฐานจริยธรรม จรรยาบรรณ ธุรกิจ และกรอบการบริหารจัดการความยั่งยืนกลุ่ม ปตท.

เพื่ อ พั ฒ นาและยกระดั บ ระบบการกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ของ ปตท. ให้มป ี ระสิทธิภาพอย่างต่อเนือ ่ ง อันเป็นการสร้าง

ความเชื่อมั่นแก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ตลอดจนนำ�ไปสู่ การเติบโตอย่างยั่งยืนขององค์กร

คณะกรรมการ ปตท. ได้มอบหมายให้คณะกรรมการ

กำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยกรรมการอิ ส ระ

3 ท่ า น ทำ�หน้ า ที่ เ สนอแนวปฏิ บั ติ ด้ า นการกำ�กั บ ดู แ ล

กิจการทีด ่ ีตอ ่ คณะกรรมการ การกำ�กับดูแลการปฏิบต ั ิงาน ของกรรมการและฝ่ายจัดการให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับ

ดูแลกิจการทีด ่ ี และสอดคล้องกับหลักการกำ�กับดูแลกิจการ

พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี


รายงานของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

023

ที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งหลักสากล

• จั ด ทำ�รายงานความยั่ ง ยื น ปี 2558 โดยใช้

ของ The Organization for Economic Cooperation

Sustainability Reporting Guidelines และ Oil and Gas

Governance Scorecard ทั้ ง นี้ หน้ า ที่ ข องคณะกรรมการ

Reporting Initiative (GRI) ในการจั ด ทำ�รายงาน โดยมี

and Development (OECD) และ ASEAN Corporate

Sector Disclosure (OGSD), version 4 (G4) ของ Global

กำ� กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี ยั ง ค ร อ บ ค ลุ ม ก า ร ดำ� เ นิ น ง า น

การเปิดเผยข้อมูลในระดับ Core และคงเป้าหมายให้ผ่าน

แนวทางการกำ�กั บ ดู แ ลการดำ�เนิ น งานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ

แล้วเสร็จพร้อมรายงานประจำ�ปี 2558

ด้ า นการบริ ห ารจั ด การความยั่ ง ยื น และการวางกรอบ การต่อต้านคอร์รัปชันของ ปตท.

ในปี 2558 คณะกรรมการกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี

มีการประชุม 4 ครั้ง ตามแผนงานที่กำ�หนดคือไตรมาสละครั้ง

เ พื่ อ ติ ด ต า ม ก า ร ดำ� เ นิ น ง า น ต า ม แ ผ น ง า น ก า ร กำ� กั บ

ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี แ ล ะ ก า ร ต่ อ ต้ า น ค อ ร์ รั ป ชั น แ ผ น ง า น ด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ชุ ม ชน และสิ่ ง แวดล้ อ ม

การสอบทานรายงานโดยหน่วยงานภายนอก ทั้งนี้ มีกำ�หนด

• จั ด ทำ�จดหมายข่ า ว PTT Bizway รายไตรมาส

สำ�หรับผู้ถือหุ้นสามัญ เพื่อสื่อความและสร้างความเข้าใจ อันดีระหว่าง ปตท. และผู้ถือหุ้นสามัญ

• จัดทำ�วารสาร Happiness รายไตรมาสสำ�หรับ

ผู้ถือหุ้นกู้ เพื่อสื่อสาร สื่อความ และสานสัมพันธ์ระหว่าง ปตท. และผู้ถือหุ้นกู้

และการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยสรุปสาระสำ�คัญได้ดังนี้

สิทธิของผู้ถือหุ้น

การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส

• จัดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558

• จัดทำ�แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1)

และรายงานประจำ�ปี ตลอดจนเปิดเผยผลการดำ�เนินงาน ของ ปตท. เป็นรายไตรมาส และข้อมูลสำ�คัญสำ�หรับผู้ถือหุ้น ผู้ ล งทุ น และประชาชนทั่ ว ไป ซึ่ ง มี ส าระสำ�คั ญ ครบถ้ ว น

เพียงพอ เชื่อถือได้ และทันเวลา ผ่านช่องทางต่าง ๆ อย่าง ต่อเนื่อง เช่น ระบบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

และเว็บไซต์ของ ปตท. (www.pttplc.com) โดยมีฝ่ายผู้ลงทุน สั ม พั น ธ์ แ ล ะ ฝ่ า ย สื่ อ ส า ร อ ง ค์ ก ร เ ป็ น ห น่ ว ย ง า น ห ลั ก ในการเผยแพร่ข้อมูล

โดยให้ขอ ้ มูล วัน เวลา สถานที่ และวาระการประชุม ตลอดจน

ข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องตัดสินใจในที่ประชุม แก่ผู้ถือหุ้นเป็นการล่วงหน้าอย่างเพียงพอและทันเวลา

• แจ้ ง ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบกฎเกณฑ์ ต่ า ง ๆ ที่ ใ ช้ ใ น

การประชุ ม และเผยแพร่ ข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วไว้ ใ นเว็ บ ไซต์ ข อง

ปตท. เป็นการล่วงหน้าก่อนจัดส่งเอกสาร เพื่อเปิดโอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ น มี เ วลาศึ ก ษาข้ อ มู ล ประกอบการประชุ ม ล่ ว งหน้ า อย่ า งเพี ย งพอ รวมทั้ ง อำ�นวยความสะดวกให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ได้

ใช้ สิ ท ธิ ใ นการเข้ า ร่ ว มประชุ ม และออกเสี ย งลงคะแนน อย่างเต็มที่ ส่งผลให้ ปตท. ได้รับคะแนนจากการประเมิน AGM Checklist ในระดับดีเยี่ยม


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

024

การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

• ศึกษางานกลุ่มบริษัท ปตท. รวมถึงงานที่เกี่ยวกับ

• เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอเพิ่มวาระการประชุม

• ขอให้ ฝ่ า ยจั ด การจั ด ให้ มี ก ารนำ�เสนอข้ อ มู ล

และเสนอชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ เข้ า รั บ การพิ จ ารณาเลื อ กตั้ ง เป็ น

กรรมการเป็นการล่วงหน้า ระหว่างวันที่ 1 กันยายน 2558 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2558 ตามหลักเกณฑ์ที่ ปตท. กำ�หนด

• กำ�หนดให้ ก รรมการและผู้ บ ริ ห ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล

เกี่ยวกับส่วนได้เสียของตนและผู้เกี่ยวข้อง ประจำ�ปี 2558

ธุรกิจพลังงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ธุรกิจนอกเหนือจากการประชุมประจำ�เดือน เพือ ่ ให้กรรมการ มี ค วามเข้ า ใจธุ ร กิ จ สามารถตั ด สิ น ใจในการพิ จ ารณา

การลงทุนต่าง ๆ เช่น การศึกษาทางด้านการเงินเรือ ่ งการแยก ธุรกิจน้ำ�มัน, Ship Vetting System, แนวทางการจัดตัง้ บรรษัท วิสาหกิจแห่งชาติ, International Anti-Corruption เป็นต้น

• จัดการประชุมระหว่างกรรมการอิสระ 1 ครั้ง

• จัดให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ

การให้ความสำ�คัญกับผู้มีส่วนได้เสีย

อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ผ่ า นระบบ PTT Intranet โดยในปี 2558

• พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการกำ�กับ

เพื่ อ ให้ ก รรมการสามารถพิ จ ารณาธุ ร กรรมของ ปตท.

ที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ของผลประโยชน์ และตั ด สิ น ใจ เพื่อประโยชน์ของ ปตท. โดยรวม

จั ด ทำ� ร า ย ง า น ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง ข อ ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ แ บ บ ไม่พบความขัดแย้งที่มีนัยสำ�คัญ

• กำ�หนดให้กรรมการทุกคนและผู้บริหารที่มีหน้าที่

รายงานการถื อ ครองหลั ก ทรั พ ย์ ต ามกฎหมาย และให้ เลขานุการบริษท ั รวบรวมและรายงานในทีป ่ ระชุมคณะกรรมการ เป็นประจำ�ทุกไตรมาส

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

• ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการ

4 แบบ คือ ประเมินทัง้ คณะ ประเมินตนเอง ประเมินกรรมการ

ท่านอื่น และประเมินคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง สำ�หรับผล การประเมินของปี 2558 อยู่ในระดับ “ดีเยี่ยม”

• เข้ า รั บ การอบรมหลั ก สู ต รกรรมการของสมาคม

ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย ในหลักสูตรต่าง ๆ ทีส ่ ำ�คัญ เช่น หลักสูตร Director Accreditation Program, Anti-Corruption for Executive Program, Role of the Nomination

& Governance Committee Program และร่วมการสัมมนา Re-energizing Growth through Better Governance,

Thailand CG Forum: Governance as a driving force for business sustainability, Thailand’s 6

th

National

Conference on Collective Action Against Corruption “Anti-Corruption in Thailand: Sustaining the Momentum” ตลอดจนเข้ า รั บ การอบรมหลั ก สู ต รผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ด้ า น วิทยาการพลังงาน ซึ่งจัดโดยสถาบันวิทยาการพลังงาน

• จัดการประชุมกรรมการโดยไม่มีผู้บริหาร 1 ครั้ง

ดูแลกิจการทีด ่ ีและการต่อต้านคอร์รป ั ชันของ ปตท. ประจำ�ปี 2558 ตลอดจนเป้าหมายประจำ�ปี เพื่อถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ ทุกระดับ เพื่อให้การดำ�เนินงานของ ปตท. เป็นไปตามหลัก

การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และยกระดับการกำ�กับดูแลกิจการ

ของ ปตท. ให้เทียบเท่าระดับสากล ส่งเสริมความเชือ ่ มัน ่ ให้แก่ ผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม เน้ น ย้ำ� และปลู ก ฝั ง ค่านิยมในการปฏิบัติงานตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

มาตรฐานทางจริ ย ธรรม และจรรยาบรรณในการดำ�เนิ น ธุรกิจอย่างเคร่งครัดจนเกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กร

• กำ�หนดให้บริษท ั ในกลุม ่ ปตท. ประกาศใช้นโยบาย

ต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น เพื่ อ ให้ บุ ค ลากรยึ ด ถื อ เป็ น บรรทั ด ฐาน ในการปฏิ บั ติ ง าน ตลอดจนมุ่ ง เน้ น ให้ ก ารบริ ห ารจั ด การ กลุ่ม ปตท. มีมาตรฐานและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน

• เข้ า ร่ ว มเป็ น สมาชิ ก เครื อ ข่ า ยหุ้ น ส่ ว นต้ า นทุ จ ริ ต

เพื่ อ ประเทศไทย (Partnership Against Corruption for Thailand: PACT Network) ซึ่งจัดตั้งโดยสถาบันไทยพัฒน์

• ประกาศนโยบาย No Gift Policy เพือ ่ เป็นการสร้าง

มาตรฐานที่ ดี ใ นการปฏิ บั ติ ง าน โดยมุ่ ง หวั ง ให้ บุ ค ลากร

ทุ ก ระดั บ ปฏิ บั ติ ง านอย่ า งเต็ ม ความสามารถ โดยไม่ ห วั ง

ผลประโยชน์ตอบแทน ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีและต่อต้านคอร์รัปชันของ ปตท.


รายงานของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

025

ความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนา อย่างยั่งยืน

ระดับสูงสุด รางวัลบริษท ั จดทะเบียนด้านความยัง่ ยืนยอดเยีย ่ ม

• กำ�หนดแนวทางการดำ�เนินงานกิจการเพื่อสังคม

รางวัลรายงานความยัง่ ยืนดีเยีย ่ มประจำ�ปี 2558 (Sustainability

สนั บ สนุ น กรอบการบริ ห ารจั ด การความยั่ ง ยื น กลุ่ ม ปตท. โดยมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะเป็ น องค์ ก รที่ ดี ข องสั ง คม (Corporate

Citizenship) มีความรับผิดชอบในทุกพืน ้ ทีท ่ เี่ ข้าไปดำ�เนินธุรกิจ และสั ง คมโดยรวมตามหลั ก ปฏิ บั ติ ส ากล ให้ ค วามสำ�คั ญ

ต่ อ การมี ส่ ว นร่ ว มของทุ ก ภาคส่ ว น เพื่ อ การดู แ ลรั ก ษา สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศทางธรรมชาติ รวมถึงการพัฒนา ความเป็ น อยู่ ที่ ดี ข องชุ ม ชนและสั ง คมอย่ า งยั่ ง ยื น ผ่ า น การดำ�เนิ น งานภายใต้ ก ลยุ ท ธ์ 3 ด้ า น คื อ การอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาสังคมและ

ชุมชน และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ผ่านการดำ�เนินงาน กิจการเพื่อสังคมกว่า 40 โครงการ

• ผ่ า นการประเมิ น ความยั่ ง ยื น ของ RobecoSAM

Corporate Sustainability Assessment และได้รับการจัดเป็น Member ต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 นับเป็น 1 ใน 13 บริษัท จาก

97 บริ ษั ท ใน Dow Jones Sustainability World Index (DJSI World) และนับเป็น 1 ใน 5 บริษัท จาก 33 บริษัท ใน Dow Jones Sustainability Emerging Markets Index (DJSI Emerging Markets) ในกลุม ่ Oil and Gas Industry (OIX)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

ด้ ว ยความมุ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจและเจตนารมณ์ อั น แน่ ว แน่

ในการดำ�เนินงานบนพื้นฐานของการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

ความรับผิดชอบต่อสังคม และการบริหารจัดการความยัง่ ยืน อย่างต่อเนื่อง ในปี 2558 ปตท. จึงได้รับการยอมรับทั้งในระดับ

ประเทศและระดับสากล อาทิ การจัดอันดับในกลุ่ม “ดีเลิศ” ของโครงการสำ�รวจการกำ�กับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน

ไทย ประจำ�ปี 2558 (Corporate Governance Report of Thai

Listed Companies 2015) ผลประเมินตัวชีว ้ ด ั เรือ ่ งการป้องกัน การมีส่วนเกี่ยวข้องกับคอร์รัปชัน (Anti-Corruption Progress Indicator) ในระดับ 5: ขยายผลสูผ ่ เู้ กีย ่ วข้อง (Extended) ซึง่ เป็น

ปี 2558 (SET Sustainability Awards 2015) และ Thailand

Sustainability Investment 2015 เป็นครัง้ แรกของตลาดทุนไทย Report Awards 2015) ผลการประเมินในระดับ Top 50 ASEAN PLCs ตามเกณฑ์ ASEAN Corporate Governance Scorecard

รางวัล Corporate Governance Asia Annual Recognition Awards 2015 ประเภท Icon on Corporate Governance

(ต่อเนื่องเป็นปีที่ 11) รางวัล The Asset Corporate Awards 2015 ระดับ Platinum (ต่อเนื่องเป็นปีที่ 7) ฯลฯ

คณะกรรมการกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี จ ะยั ง คงมุ่ ง มั่ น

พัฒนาประสิทธิภาพในการดำ�เนินงานด้านการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี ความรับผิดชอบต่อสังคม และการพัฒนาอย่าง

ยัง่ ยืนของ ปตท. เพือ ่ ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจ ของ ปตท. ซึง่ มีเป้าหมายทีจ ่ ะเป็นองค์กรแห่งความภาคภูมใิ จ ของประเทศไทย (Pride & Treasure of Thailand) สร้าง

ความมั่นใจในการดำ�เนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม ปลู ก ฝั ง ให้ พ นั ก งานปฏิ บั ติ ง านบนพื้ น ฐานของจริ ย ธรรม จรรยาบรรณ และความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต เพื่ อ ประโยชน์ ข อง

ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ย อั น จะส่ ง ผลดี ต่ อ ประเทศชาติ ในภาพรวม


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

026

รายงานของคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงองค์กร

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ งองค์กร บริษท ั ปตท.

จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 3 ท่าน คือ นายชาญวิ ท ย์ อมตะมาทุ ช าติ เป็ น ประธานกรรมการ

บริหารความเสี่ยงองค์กร นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ และ

นายชวลิต พิชาลัย เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร โดยมีรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลยุทธ์องค์กร มีภารกิจ เป็น Cheif Risk Officer (CRO) ทำ�หน้าที่เลขานุการ

ปี 2558 ถือเป็นอีกปีหนึ่งที่ บริษัท ปตท. จำ�กัด

(มหาชน) (ปตท.) ต้องเผชิญกับความท้าทายทั้งจากปัจจัย ภายในและภายนอกประเทศ ซึ่งล้วนมีผลต่อการดำ�เนิน ธุรกิจขององค์กร ในการนี้ คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง

องค์ ก รได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นการกำ�กั บ ดู แ ลและบริ ห าร ความเสี่ ย งขององค์ ก รให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ เ หมาะสมภายใต้

หลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด ่ ี เพือ ่ สนับสนุนการดำ�เนินงาน ของคณะกรรมการ ปตท. โดยได้ดำ�เนินการตามขั้นตอน ของกระบวนการบริหารความเสี่ยงอย่างเคร่งครัด เพื่อให้

การบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งของ ปตท. เป็ น ไปอย่ า ง

มีประสิทธิภาพ และช่วยส่งเสริมให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย ทางธุ ร กิ จ ในภาพรวม ตลอดจนสร้ า งความมั่ น ใจแก่ ผู้ถือหุ้น ปตท. ทุกท่าน

นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร (30 มกราคม 2558 - ปัจจุบัน)


รายงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

027

ในการดำ�เนิ น การที่ ผ่ า นมา คณะกรรมการบริ ห าร

ของความเสี่ยงที่เกิดขึ้นให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และสร้าง

จากฝ่ า ยบริ ห ารความเสี่ ย ง ปตท. อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ

มีการดำ�เนินงานอย่างมีประสิทธิผล และสนับสนุนให้ ปตท.

ความเสี่ ย งองค์ ก รได้ รั บ การสนั บ สนุ น การดำ�เนิ น งาน

ซึ่ ง ส่ ง ผ ล ใ ห้ ก า ร ดำ� เ นิ น ง า น มี ลั ก ษ ณ ะ เ ชิ ง รุ ก แ ล ะ มี ความก้าวหน้าอย่างมีนย ั สำ�คัญ โดยสามารถสรุปสาระสำ�คัญ

ความมั่นใจแก่ผู้ถือหุ้นว่าการบริหารความเสี่ยงของ ปตท. สามารถบรรลุเป้าหมายธุรกิจที่กำ�หนดไว้ได้

ในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดังนี้

1. ทบทวนกรอบการบริ ห ารความเสี่ ย งและ

กลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจ ภายใต้ความไม่แน่นอนของภาวะ

รองรับสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน โดยนำ�ตัวชี้วัดความเสี่ยง

ให้ข้อเสนอแนะในการจัดทำ�แผนบริหารความเสี่ยงสำ�หรับ

่ งองค์กรให้สามารถ ปรับปรุงกระบวนการบริหารความเสีย ที่ มี ลั ก ษณะเป็ น สั ญ ญาณเตื อ นภั ย ล่ ว งหน้ า มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ในกรณี ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงความรุ น แรงของความเสี่ ย ง อย่ า งมี นั ย สำ�คั ญ เพื่ อ ให้ ส ามารถปรั บ เปลี่ ย นมาตรการ

การจัดการกับความเสี่ยงได้ทันท่วงที นอกเหนือจากการวัด ประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยงในภาพรวม

2. พิ จ ารณากลั่ น กรองและให้ ข้ อ คิ ด เห็ น แผน

บริ ห ารความเสี่ ย ง โดยมุ่ ง เน้ น การปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ

ของแผนบริหารความเสี่ยงให้ครอบคลุมสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี่ ย งกำ�กั บ ดู แ ลการดำ�เนิ น งาน

ด้านการบริหารความเสี่ยงให้มีการควบคุมที่ดี และกำ�หนด ม า ต ร ก า ร เ พิ่ ม เ ติ ม เ พื่ อ ร อ ง รั บ ค ว า ม ไ ม่ แ น่ น อ น ข อ ง

สภาพแวดล้ อ มทางธุ ร กิ จ เพื่ อ ให้ ค วามเสี่ ย งที่ เ กิ ด ขึ้ น อยู่ในระดับที่ยอมรับได้

3. ติดตามความก้าวหน้าการบริหารความเสี่ยง

และแนวโน้มสถานการณ์ต่าง ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อ ่ ให้ บริษท ั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ปตท. อย่างมีนย ั สำ�คัญ เพือ มี ค วามพร้ อ มรั บ มื อ กั บ สถานการณ์ ต่ า ง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น อาทิ

ความผันผวนของราคาน้ำ�มัน เพื่อบริหารจัดการผลกระทบ

4. พิ จ ารณาการกลั่ น กรองรายการความเสี่ ย ง

องค์กรปี 2559 ให้สอดคล้องกับทิศทาง เป้าหมาย และ

เศรษฐกิจโลกและบริบทด้านพลังงานทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป รวมทัง้

รายการความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการเติบโตในระยะยาว ของ ปตท. เช่น การเน้นย้ำ�ให้มีการปรับปรุงประสิทธิภาพ การลดต้ น ทุ น ด้ า นการปฏิ บั ติ ก าร การเพิ่ ม ผลผลิ ต อย่ า ง ต่อเนื่อง และการเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารการลงทุน เป็นต้น

นอกจากนี้ คณะกรรมการ ปตท. ได้เพิ่มเติมอำ�นาจ

หน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร โดยให้ พิจารณากลั่นกรอง และให้ข้อคิดเห็นวาระที่มีภาระผูกพัน

ในระยะยาว มี ค วามซั บ ซ้ อ นเชิ ง ธุ ร กิ จ และมี ค วามเสี่ ย ง

ที่ อ าจส่ ง ผลกระทบต่ อ ปตท. อย่ า งมี นั ย สำ�คั ญ ก่ อ นที่ จ ะ

นำ�เสนอวาระนั้น ๆ ต่อคณะกรรมการ ปตท. พิจารณาตาม ขั้นตอนต่อไป


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

028

สถานการณเศรษฐกิจ สถานการณปโตรเลียมและปโตรเคมี สถานการณเศรษฐกิจ ปโตรเลียม และปโตรเคมีของโลก ป 2558 สถานการณเศรษฐกิจ เศรษฐกิจโลกในปี 2558 ขยายตัวชะลอลงจากปี 2557 จากเศรษฐกิจของกลุม ่ ประเทศ ตลาดเกิ ด ใหม่ แ ละกํ า ลั ง พั ฒ นา (Emerging Market and Developing Economies) ที่ขยายตัวชะลอลงติดต่อกันเป็นปีที่ 5 โดยเฉพาะเศรษฐกิจจีน และเศรษฐกิจของประเทศ ผู้ ส่ ง ออกน้ํ า มั น และสิ น ค้ า โภคภั ณ ฑ์ ในขณะที่ เ ศรษฐกิ จ ของกลุ่ ม ประเทศพั ฒ นาแล้ ว (Advanced Economies) ขยายตั ว เร่ ง ขึ้ น เล็ ก น้ อ ย โดยเฉพาะเศรษฐกิ จ สหรั ฐ อเมริ ก า ซึ่ ง มี ก ารฟื้ น ตั ว ของตลาดแรงงานที่ ชั ด เจนขึ้ น สํ า หรั บ เศรษฐกิ จ ของกลุ่ ม ประเทศที่ ใ ช้ เงิ น สกุ ล ยู โ รยั ง คงฟื้ น ตั ว อย่ า งค่ อ ยเป็ น ค่ อ ยไป ทั้ ง นี้ กองทุ น การเงิ น ระหว่ า งประเทศ (International Monetary Fund: IMF) ณ เดือนมกราคม 2559 คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจโลก ปี 2558 จะขยายตัวร้อยละ 3.1 (ภาพที่ 1)

ภาพที่ 1:

อัตราการขยายตัว ทางเศรษฐกิจของ กลุมประเทศตาง ๆ ป 2556 - 2558

6

หนวย: % yoy

3

5 5.0 4.6

4 4.0 3.4

3.4 3.1

ที่มา: IMF ณ เดือนมกราคม 2559

2 โลก กลุมประเทศพัฒนาแลว กลุมประเทศตลาดเกิดใหม และกําลังพัฒนา

1.8

1.9

2557

2558

1.4

1 0

2556

สถานการณปโตรเลียมและปโตรเคมี ความต้องการใช้น้ํามันของโลกในปี 2558 เพิ่มขึ้น 1.7 ล้านบาร์เรลต่อวัน สูงกว่าการเพิ่มขึ้นในปี 2557 แม้วา ่ เศรษฐกิจโลกจะชะลอลงกว่าปี 2557 เป็นผลมาจากราคาน้า ํ มันทีล ่ ดต่า ํ ลงมาก ทัง้ นี้ สํานักงานพลังงานสากล (International Energy Agency: IEA) ณ เดือนมกราคม 2559 คาดว่าความต้องการใช้น้ํามันของโลกในปี 2558 อยู่ที่ระดับ 94.5 ล้านบาร์เรลต่อวัน (ภาพที่ 2)


สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

029 ภาพที่ 2:

+1.9%

94.5

98

ความตองการ ใชนํ้ามันโลก ป 2556 - 2558

+1.1%

96

92.8 91.8 95.4

95.1

94 94.0 93.5

93.9

93.2

92

92.8 92.5 91.8

หนวย: ลานบารเรลตอวัน

90

ที่มา: IEA ณ เดือนมกราคม 2559

88

92.0

91.2 90.6

86 84 82 80

2556 Q1

Q2

Q3

2557 Q4

Q1

Q2

Q3

2558 Q4

Q1

Q2

Q3

Q4

ภาวะอุปทานน้ํามันดิบล้นตลาด จากการผลิต Shale Oil ของสหรัฐอเมริกา และการคงกําลังการผลิต น้ํามันของกลุ่ม OPEC ในระดับสูงกว่า 30 ล้านบาร์เรลต่อวัน ได้ทําให้ราคาน้ํามันดิบดูไบเฉลี่ยปี 2558 อยู่ที่ 51.0 เหรี ย ญสหรั ฐ ต่ อ บาร์ เ รล ต่ํ า กว่ า ราคาเฉลี่ ย ในปี 2557 ที่ อ ยู่ ที่ 96.7 เหรี ย ญสหรั ฐ ต่ อ บาร์ เ รล สํ า หรั บ ราคาน้ํ า มั น สํ า เร็ จ รู ป ปรั บ ตั ว ลดลงตามราคาน้ํ า มั น ดิ บ แต่ ไ ม่ รุ น แรงเท่ า กั น เนื่ อ งจากโรงกลั่ น น้ํ า มั น ในระบบ อยู่ในภาวะค่อนข้างสมดุล ราคาเฉลี่ยของน้ํามันเบนซิน 95 ในปี 2558 อยู่ที่ 69.3 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล โดยความต้ อ งการยั ง คงอยู่ ใ นระดั บ สู ง จากการที่ ร าคาน้ํ า มั น ลดต่ํ า ลงมาก ราคาเฉลี่ ย ของน้ํ า มั น ดี เ ซลอยู่ ที่ 64.6 เหรี ย ญสหรั ฐ ต่ อ บาร์ เ รล ต่ํ า กว่ า ราคาเฉลี่ ย ของน้ํ า มั น เบนซิ น จากความต้ อ งการที่ ล ดลงตามกิ จ กรรม ทางเศรษฐกิ จ ที่ อ่ อ นแอ ราคาเฉลี่ ย ของน้ํ า มั น เตาอยู่ ที่ 46.0 เหรี ย ญสหรั ฐ ต่ อ บาร์ เ รล จากความต้ อ งการ ในการเดิ น เรื อ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในขณะที่ อุ ป ทานจากตะวั น ตกลดลง ราคาเฉลี่ ย ของก๊ า ซหุ ง ต้ ม (LPG CP) อยู่ ที่ 424 เหรียญสหรัฐต่อตัน ลดลงตามราคาน้ํามันดิบ (ภาพที่ 3)

ภาพที่ 3:

ราคานํ้ามันดิบดูไบ และผลิตภัณฑ ปโตรเลียม ป 2556 - 2558

หนวย: เหรียญสหรัฐตอบารเรล

นํ้ามันดิบดูไบ เบนซิน 95 ดีเซล นํ้ามันเตา

2556

2557

2558

105.5 119.2 123.4 97.5

96.7 111.0 112.7 88.4

51.0 69.3 64.6 46.0

140 130 120 110 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0

2556 Q1

Q2

Q3

2557 Q4

Q1

Q2

Q3

2558 Q4

Q1

Q2

Q3

Q4

จากการที่ราคาน้ํามันดิบปรับตัวลดลงมากอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ความต้องการน้ํามันสําเร็จรูปยังคง อยู่ ใ นระดั บ สู ง ได้ ทํ า ให้ ร าคาน้ํ า มั น สํ า เร็ จ รู ป ปรั บ ตั ว ลดลงช้ า และน้ อ ยกว่ า ส่ ง ผลให้ ค่ า การกลั่ น ของโรงกลั่ น ประเภท Cracking อ้างอิงที่สิงคโปร์เฉลี่ยในปี 2558 อยู่ที่ 7.7 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล สูงกว่าปี 2557 ที่เฉลี่ย อยู่ที่ 5.8 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

030 ภาพรวมราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีในปี 2558 ปรับตัวลดลงตามราคาน้ํามันดิบและราคาวัตถุดิบแนฟทา รวมถึงความต้องการใช้ที่ขยายตัวลดลงตามสภาพเศรษฐกิจโลกที่ซบเซา ความต้องการเม็ดพลาสติกในเอเชีย ทีอ ่ อ ่ นตัวลง ในขณะทีม ่ ีการเพิม ่ กําลังการผลิตใหม่จากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ จีน อินเดีย และอิหร่าน ได้สง่ ผลให้ราคา โพลีเอทิลน ี ความหนาแน่นสูง (High Density Polyethylene: HDPE) เฉลีย ่ ทัง้ ปี 2558 อยูท ่ ี่ 1,236 เหรียญสหรัฐต่อตัน เช่นเดียวกับราคาพาราไซลีน (Paraxylene: PX) ที่ยังคงมีสภาพอุปทานส่วนเกิน และการซื้อขายเบาบางท่ามกลาง ความกังวลต่อการที่เศรษฐกิจจีนชะลอลง ส่งผลให้ราคาเฉลี่ยทั้งปี 2558 อยู่ที่ 843 เหรียญสหรัฐต่อตัน (ภาพที่ 4)

ภาพที่ 4:

1,800

ราคาผลิตภัณฑ ปโตรเคมี ในตลาดเอเชีย ป 2556 - 2558

1,000

หนวย: เหรียญสหรัฐตอตัน

800

โพลีเอทิลีนความหนาแนนสูง

1,600 1,400 1,200

พาราไซลีน

ที่มา: ICIS

600 400 2556 โพลีเอทิลีน 1,487 ความหนาแนนสูง พาราไซลีน 1,498 แนฟทา 910

2557

แนฟทา

2558

200 1,544

1,236

1,222 849

843 477

0

2556 Q1

Q2

2557

Q3

Q4

Q1

Q2

2558

Q3

Q4

Q1

Q2

Q3

Q4

สถานการณเศรษฐกิจและปโตรเลียมของไทย ป 2558 สถานการณเศรษฐกิจ เศรษฐกิจไทยในปี 2558 ขยายตัวดีขึ้น โดยได้รับอานิสงส์จากการเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณของภาครัฐ การดําเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล และจํานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่สูงเกินคาด ซึ่งช่วยลด ผลกระทบจากภาคการส่งออกที่หดตัวต่อเนื่อง และการลงทุนของภาคเอกชนที่ยังคงอ่อนแอ ทั้งนี้ สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2559 รายงานว่าเศรษฐกิจไทย ในปี 2558 ขยายตัวร้อยละ 2.8 สําหรับเงินบาทอ่อนค่าลง โดยเฉลี่ยทั้งปีอยู่ที่ประมาณ 34.3 บาทต่อเหรียญสหรัฐ เนื่องจากเงินทุนต่างชาติเคลื่อนย้ายออกจากกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่และกําลังพัฒนา (ภาพที่ 5)

หนวย: % yoy 20

ภาพที่ 5:

อัตราการขยายตัว ของเศรษฐกิจไทย ป 2556 - 2558

หนวย: บาทตอเหรียญสหรัฐ 50 อตราแลกเปลี่ยนอางอิง

15

40 35.3 32.7 31.5 29.8

32.5 32.1

31.7

35.8

33.3 32.7

32.6

29.9

10

หนวย: % yoy ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ และธนาคารแหงประเทศไทย

30 5.2

5

20 3.0 2.6

2.5

2.7

2.9

2.8

2.1 0.9

0.8

0.5

0 2556

2557

10

2558

-0.5 GDP (% yoy) อัตราแลกเปลี่ยน อางอิง (บาทตอ เหรียญสหรัฐ)

2.7 30.7

0.8 32.5

GDP

2.8 34.3

-5

0

2556 Q1

Q2

Q3

2557 Q4

Q1

Q2

Q3

2558 Q4

Q1

Q2

Q3

Q4


สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

031 สถานการณปโตรเลียม การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น (ไม่รวมพลังงานหมุนเวียน) ในปี 2558 อยู่ที่ 2.08 ล้านบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน (ภาพที่ 6) โดยมีการใช้น้ํามันและก๊าซธรรมชาติเพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.5 และ 0.3 ตามลําดับ

+1.3%

ภาพที่ 6:

+2.6%

2.08

2.05

การใชพลังงาน เชิงพาณิชยขั้นตน ป 2556 - 2558

2.4

2.00 2% 17%

2% 17%

36%

37%

37%

45%

45%

44%

1.6

หนวย: ลานบารเรลตอวัน หมายเหตุ: ไมรวมพลังงานหมุนเวียน ที่มา: สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

2% 16%

2.0

1.2 0.8

พลังนํ้า/ ไฟฟานําเขา ถานหิน นํ้ามัน กาซธรรมชาติ

0.4 0.0

2556

2557

2558

การใช้น้ํามันสําเร็จรูปของไทย ปี 2558 เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.2 (ภาพที่ 7) โดยการใช้น้ํามันเบนซินเพิ่มขึ้น ร้อยละ 13.2 สูงกว่าน้า ํ มันสําเร็จรูปประเภทอืน ่ ๆ เป็นผลมาจากราคาน้า ํ มันทีล ่ ดลงอย่างมากและการกระตุน ้ เศรษฐกิจ ของภาครัฐ ในขณะที่การใช้น้ํามันดีเซลเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 4.0 เนื่องจากภาวะอุตสาหกรรมที่ซบเซา ส่วนการใช้ น้ํามันเครื่องบินเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.4 จากจํานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เพิ่มขึ้นเกินคาด สําหรับการใช้ก๊าซ LPG เพื่อเป็นเชื้อเพลิงลดลงร้อยละ 6.8 เนื่องจากนโยบายภาครัฐในการปรับเพิ่มราคาให้สะท้อนราคาตลาดโลก

+4.2%

ภาพที่ 7:

การใชนํ้ามัน สําเร็จรูป ป 2556 - 2558 หนวย: ลานลิตร หมายเหตุ: * ไมรวมการใชเพื่อเปนวัตถุดิบ ในปโตรเคมี ที่มา: กรมธุรกิจพลังงาน นํ้ามันเตา นํ้ามันอากาศยาน/ นํ้ามันกาด LPG* เบนซิน ดีเซล

+0.7%

47,913 45,696 50,000 45,000 40,000 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

45,997 4% 13%

5% 12%

4% 12%

19%

19%

18%

19%

20%

46%

46%

46%

17%

2556

2557

2558


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

032 ภาพรวมการจัดหาและจัดจําหน่ายปิโตรเลียมในปี 2558 มีปริมาณการจัดหารวมอยูท ่ ี่ 2,010.43 พันบาร์เรล ต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.11 (ภาพที่ 8) โดยเป็นการจัดหาน้ํามันและก๊าซธรรมชาติร้อยละ 58 และ 42 ตามลําดับ การจั ด หาน้ํ า มั น ดิ บ มาจากการนํ า เข้ า ร้ อ ยละ 86 ส่ ว นการจั ด หาก๊ า ซธรรมชาติ ม าจากการนํ า เข้ า ร้ อ ยละ 27 การจัดจําหน่ายปิโตรเลียมในประเทศมีปริมาณ 1,737.15 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.27 จากปีก่อน โดยแบ่งเป็นน้ํามันสําเร็จรูปและก๊าซธรรมชาติในปริมาณใกล้เคียงกัน สําหรับการส่งออกปิโตรเลียมมีปริมาณ 223.17 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.14 ในปี 2558 ไม่มีการส่งออกน้ํามันดิบ เนื่องจากกรมเชื้อเพลิง ธรรมชาติได้ขอความร่วมมือบริษัทผู้รับสัมปทานปิโตรเลียมทุกรายงดเว้นการส่งออกน้ํามันดิบ

ภาพที่ 8 การจัดหาและจัดจําหนายปโตรเลียมของประเทศไทย ป 2558 การจัดหา

การจัดจําหนาย

หนวย: พันบารเรลตอวัน

ตางประเทศ นํ้ามันดิบ

864.88 สัดส่วน 86% +12.71%

1,000.58 สัดส่วน 86% +12.32%

ในประเทศ 135.70 สัดส่วน 14% +9.92%

นํา้ มัน 1,169.04 สัดส่วน 58% +6.92%

คอนเดนเสท 104.62 สัดส่วน 9% -3.02%

ในประเทศ 95.94 สัดส่วน 97% -6.40%

นํ้ามันสําเร็จรูป

ตางประเทศ1/

63.84 สัดส่วน 5% -32.58%

63.84 สัดส่วน 100% -32.58%

ในประเทศ ส่งออก 104.15 26.45 9.42% +15.74%

นํ้ามันกาด/ เครื่องบิน

ตางประเทศ 8.68 สัดส่วน 8% +61.59%

ในประเทศ ส่งออก 165.98 26.23 +13.24% +10.60%

เบนซิน

6 โรงกลั่น2/ ความสามารถ ในการกลั่นรวม 1,082 พันบารเรลตอวัน

+

ดีเซล

ในประเทศ ส่งออก 378.11 106.31 +4.07% +42.91%

นํ้ามันเตา

ในประเทศ 35.53 -1.49%

ส่งออก 63.05 -4.62%

ในประเทศ

ส่งออก

กาซปโตรเลียม เหลว

ปริมาณการใช ในประเทศ 897.42 +1.87%

ปริมาณสงออก 223.17 +19.10%

213.66 1.13 -10.91% +255.76%

นํ้ามันดิบ

ตางประเทศ 225.56 สัดส่วน 27% +24.24%

กาซธรรมชาติ 841.40 สัดส่วน 42% +2.69%

ในประเทศ 615.84 สัดส่วน 73% -3.45%

สรุป

จัดหารวม

2,010.43 +5.11%

7 โรงแยกกาซฯ3/ ความสามารถ ในการแยกกาซฯ รวม 2,785 ลาน ลบ.ฟุตตอวัน

จําหนายในประเทศ นํ้ามันสําเร็จรูป กาซธรรมชาติ

ไฟฟา

503.26 +4.65%

อุตสาหกรรม/ ขนสง

168.49 -0.48%

ปโตรเคมี

167.98 +0.38%

1,737.15 897.42 839.73

+2.27% +1.87% +2.71%

สงออก นํ้ามันสําเร็จรูป นํ้ามันดิบ

ส่งออก

0.00 -100.00%

นํ้ามัน กาซธรรมชาติ 223.17 +12.14% 223.17 +19.10% -100.00%

ข้อมูล: สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กรมธุรกิจพลังงาน กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ และ ปตท. หมายเหตุ: 1/ รวมก๊าซปิโตรเลียมเหลว 2/ ประกอบด้วยโรงกลั่นนํ้ามันบางจาก, เอสโซ่, ไออาร์พีซี, พีทีที โกลบอล เคมิคอล, สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง และไทยออยล์ ไม่รวมโรงคอนเดนเสทสปลิตเตอร์ ของ พีทีที โกลบอล เคมิคอล และโรงกลั่นฝาง 3/ ประกอบด้วยโรงแยกก๊าซธรรมชาติหน่วยที่ 1 ถึง 6 (รวม ESP) ของ ปตท. และ โรงแยกก๊าซธรรมชาติของบริษัท ปตท.สผ.สยาม/ พลังเพชร ข้อมูลการจัดหา และจําหน่ายปิโตรเลียมไม่รวมปริมาณจัดหาและจําหน่ายยางมะตอย


สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

033 แนวโนมเศรษฐกิจ ปโตรเลียม และปโตรเคมี ป 2559

สํ า หรั บ ราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเคมี โ ดยรวม ในปี 2559 คาดว่าจะลดลงจากสภาพอุปทานส่วนเกิน โดยราคา โพลีเอทิลีนความหนาแน่นสูง (High Density

แนวโนมเศรษฐกิจ

Polyethylene: HDPE) มี แ นวโน้ ม ปรั บ ตั ว ลดลงไป อยู่ที่ 1,091 เหรียญสหรัฐต่อตัน เนื่องจากจะถูกกดดัน

เศรษฐกิ จ โลกในปี 2559 คาดว่ า จะขยายตั ว

ํ (CTO) ในจีน และเทคโนโลยี จากการใช้ถา ่ นหินต้นทุนต่า

เร่ ง ขึ้ น จากปี 2558 โดยเศรษฐกิ จ ของกลุ่ ม ประเทศ

Shale Gas ซึ่ ง มี ค วามได้ เ ปรี ย บด้ า นการแข่ ง ขั น

ตลาดเกิดใหม่และกําลังพัฒนามีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น

เช่ น เดี ย วกั บ ราคาพาราไซลี น (Paraxylene: PX)

เช่น บราซิล และรัสเซีย ซึ่งประสบกับภาวะเศรษฐกิจ

คาดว่ า จะอยู่ ที่ 743 เหรี ย ญสหรั ฐ ต่ อ ตั น เนื่ อ งจาก

ถดถอย ในขณะทีเ่ ศรษฐกิจของกลุม ่ ประเทศพัฒนาแล้ว

ความต้องการ PTA และ Polyester คาดว่าจะขยายตัว

โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มขยายตัว

ลดลง ประกอบกับยังคงมีกําลังการผลิตส่วนเกินอยู่

ต่ อ เนื่ อ ง สํ า หรั บ เศรษฐกิ จ ของกลุ่ ม ประเทศที่ ใ ช้

แนวโนมเศรษฐกิจและปโตรเลียม ของไทย ป 2559

เงิ น สกุ ล ยู โ ร คาดว่ า สภาวะทางการเงิ น ที่ ผ่ อ นคลาย ตลอดจนราคาน้า ํ มันทีต ่ กต่า ํ จะช่วยกระตุน ้ การบริโภค ภาคเอกชนให้สูงขึ้น อย่างไรก็ตาม การชะลอตัวของ เศรษฐกิจจีน ตลอดจนราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่ตกต่ํา

แนวโนมเศรษฐกิจ

จะยังคงเป็นปัจจัยฉุดรั้งเศรษฐกิจโลกต่อไป ทั้งนี้ IMF ณ เดือนมกราคม 2559 คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจโลก ในปี 2559 จะขยายตัวร้อยละ 3.4

เศรษฐกิ จ ไทยในปี 2559 คาดว่ า จะขยายตั ว สูงกว่าปี 2558 โดยได้รับแรงส่งจากมาตรการกระตุ้น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ใ น ร ะ ดั บ จุ ล ภ า ค แ ล ะ ก า ร ใ ช้ จ่ า ย ล ง ทุ น

แนวโนมปโตรเลียมและปโตรเคมี

ของภาครัฐ โดยเฉพาะการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ขนาดใหญ่ ที่ มี ค วามชั ด เจนมากขึ้ น ซึ่ ง จะช่ ว ยสร้ า ง

ความต้ อ งการใช้ น้ํ า มั น ของโลกในปี 2559

ความเชื่ อ มั่ น ให้ ภ าคธุ ร กิ จ และกระตุ้ น การลงทุ น ได้

คาดว่าจะเพิ่มขึ้น 1.2 ล้านบาร์เรลต่อวัน ไปอยู่ที่ระดับ

ขณะที่ ภ าคการท่ อ งเที่ ย วคาดว่ า จะเติ บ โตต่ อ เนื่ อ ง

95.7 ล้านบาร์เรลต่อวัน ตามรายงานของ IEA ณ เดือน

นอกจากนี้ เงินบาททีม ่ แ ี นวโน้มอ่อนค่าลงน่าจะส่งผลดี

มกราคม 2559 นําโดยกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่และ

ต่ อ การส่ ง ออก โดยในปี 2559 คาดว่ า ค่ า เงิ น บาท

กําลังพัฒนา โดยเฉพาะจีน อินเดีย และตะวันออกกลาง

จะอยู่ในช่วง 35.5 - 36.5 บาทต่อเหรียญสหรัฐ สําหรับ

ขณะทีค ่ วามต้องการใช้นา ้ํ มันของกลุม ่ ประเทศทีพ ่ ฒ ั นา

ปั จ จั ย เ สี่ ย ง ที่ ต้ อ ง จั บ ต า ม อ ง ใ น ปี 2 5 5 9 ไ ด้ แ ก่

แล้วคาดว่าทรงตัวจากปีก่อน สําหรับการผลิตน้ํามัน

การฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า ปัญหาภัยแล้ง

คาดว่ า สภาวะอุ ป ทานน้ํ า มั น ดิ บ ล้ น ตลาดจะลดลง

และความล่ า ช้ า ในการเบิ ก จ่ า ยงบประมาณภาครั ฐ

จากการลดกํ า ลั ง การผลิ ต ของกลุ่ ม Non-OPEC

ทั้ ง นี้ สศช. ณ เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ 2559 ประเมิ น ว่ า

อย่างไรก็ตาม การผลิตน้ํามันดิบที่เพิ่มขึ้นจากอิหร่าน

เศรษฐกิจไทยจะเติบโตในช่วงร้อยละ 2.8 - 3.8

และอิ รั ก คาดว่ า จะส่ ง ผลให้ ร าคาน้ํ า มั น ดิ บ ยั ง คงอยู่ ในระดับต่ําประมาณ 35 - 45 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล

แนวโนมสถานการณปโตรเลียม

ซึ่ ง จะกระตุ้ น ให้ มี ก ารใช้ น้ํ า มั น สํ า เร็ จ รู ป สู ง ทํ า ให้ ค่าการกลั่นอ้างอิงสิงคโปร์ในปี 2559 คาดว่าจะเฉลี่ย อยู่ในระดับประมาณ 8 - 9 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล

แนวโน้ ม การใช้ พ ลั ง งานเชิ ง พาณิ ช ย์ ขั้ น ต้ น (ไม่ ร วมพลั ง งานหมุ น เวี ย น) ในปี 2559 คาดว่ า จะขยายตั ว ร้ อ ยละ 2.0 - 3.0 เพิ่ ม ขึ้ น จากปี 2558

ป 2558 ทั่วโลกใชนํ้ามัน

94.5 ลานบารเรลตอวัน

ป 2559 คาดวา ความตองการ ใชนํ้ามันของโลก จะเพิ่มขึ้นเปน

95.7 ลานบารเรลตอวัน

ตามการเติบโตของเศรษฐกิจไทย สําหรับการใช้น้ํามัน สําเร็จรูป กระทรวงพลังงาน ณ เดือนมกราคม 2559 คาดว่าราคาน้ํามันที่ยังคงอยู่ในระดับต่ํา จะส่งผลให้ การใช้ เ พิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 3.0 โดยมี ก ารใช้ น้ํ า มั น เบนซิ น น้า ํ มันดีเซล และน้า ํ มันเครือ ่ งบินเพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 9.7, 1.8 และ 4.5 ตามลําดับ ในขณะที่การใช้ LPG เพื่อเป็น เชื้อเพลิงคาดว่ายังคงหดตัวร้อยละ 2.5


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

034

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการด�ำเนินงาน

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ปตท. เป็นบริษัทพลังงานแห่งชาติที่ประกอบ

ธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมีครบวงจร โดยมีพน ั ธกิจ ในการสร้ า งความมั่ น คงทางพลั ง งานให้ กั บ ประเทศ

สร้ า งความมั่ ง คั่ ง ทางเศรษฐกิ จ และการสร้ า ง

ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง อ ง ค์ ก ร ค ว บ คู่ ไ ป กั บ ก า ร ดู แ ล สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสังคมไทยให้เข้มแข็ง

การประกอบธุรกิจของ ปตท. เป็นการลงทุน

ตลอดห่ ว งโซ่ ธุ ร กิ จ ตั้ ง แต่ ต้ น น้ำ� จนถึ ง ปลายน้ำ� โดย

มุ่ ง เน้ น การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ต่ อ ยอดธุ ร กิ จ ควบคู่ ไปกับการสร้างนวัตกรรมด้านพลังงาน ซึ่งมีรูปแบบ

การประกอบธุ ร กิ จ เป็ น Operating and Holding Company ที่ มี ทั้ ง ธุ ร กิ จ ที่ ดำ�เนิ น งานเองและธุ ร กิ จ ที่ลงทุนผ่านบริษัทในกลุ่ม ปตท. สามารถสรุปได้ดังนี้


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

ธุรกิจที่ดำ�เนินงานเอง

หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ

ดำ�เนินธุรกิจการจัดหาและค้าส่งก๊าซธรรมชาติ

จัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์จากโรงแยกก๊าซธรรมชาติ รวมทัง้

การลงทุนในธุรกิจทีใ่ ช้ประโยชน์และสร้างมูลค่าเพิม ่ ให้กบ ั ก๊าซธรรมชาติผ่านบริษัทในกลุ่ม ปตท. โดยการจัดหา ก๊ า ซธรรมชาติ อ ย่ า งเพี ย งพอ รองรั บ ความต้ อ งการ

ที่ ข ยายตั ว ต่ อ เนื่ อ ง ครอบคลุ ม การจั ด หาจากแหล่ ง ในประเทศ นำ�เข้าจากประเทศเพือ ่ นบ้าน และในรูปของ ก๊าซธรรมชาติเหลว หรือ Liquefied Natural Gas (LNG)

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

035

ราคาผลิตภัณฑ์จากโรงแยกก๊าซธรรมชาติที่จำ�หน่าย

เป็นวัตถุดิบให้กับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ซึ่งขึ้นอยู่กับ ราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเคมี แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเลี ย ม ในตลาดโลก สำ�หรั บ LPG ที่ จำ�หน่ า ยเป็ น เชื้ อ เพลิ ง

ในประเทศ ภาครัฐได้มีการกำ�หนดนโยบายในการปรับ

โครงสร้างราคาจำ�หน่าย LPG ในประเทศ ให้สะท้อน ต้นทุนการจัดหาและผลิตที่แท้จริง ซึ่งมีผลตั้งแต่เดือน

กุมภาพันธ์ 2558 เป็นต้นมา อย่างไรก็ดี ภาครัฐได้ขอ ความร่ ว มมื อ จาก ปตท. ในการช่ ว ยเหลื อ ประชาชน

ที่ใช้ LPG ในกลุ่มภาคครัวเรือนที่มีรายได้น้อย ร้านค้า หาบเร่แผงลอย เป็นการชั่วคราว ให้สามารถซื้อ LPG ได้ในระดับราคาเดิม เพื่อเป็นการบรรเทาผลกระทบ จากการปรับโครงสร้างราคา LPG ของประเทศดังกล่าว

และการจัดจำ�หน่ายครอบคลุมการจัดจำ�หน่ายให้กับ

หน่วยธุรกิจนํ้ามัน

ระบบท่อจัดจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติ และการจัดจำ�หน่าย

ดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ จำ�หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเลี ย ม

เชื้ อ เพลิ ง ทางเลื อ กทดแทนน้ำ� มั น เบนซิ น และดี เ ซล

ออกเป็น 3 ชนิดผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ 1) ผลิตภัณฑ์

ผูผ ้ ลิตไฟฟ้ารายใหญ่ ลูกค้าอุตสาหกรรมผ่านการลงทุน

ให้กับภาคขนส่ง เพื่อส่งเสริมการใช้ก๊าซธรรมชาติเป็น

ผ่านการลงทุนในสถานีบริการ NGV ของหน่วยธุรกิจ

โครงสร้ า งพื้ น ฐาน ในส่ ว นการสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ

ก๊าซธรรมชาติ ปตท. ได้ลงทุนในโรงแยกก๊าซธรรมชาติ เพือ ่ การแยกผลิตภัณฑ์ตา่ ง ๆ ทีม ่ ม ี ล ู ค่าจากก๊าซธรรมชาติ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ในอุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี รองรั บ

การพัฒนาอุตสาหกรรมปิโตรเคมีของไทย เพือ ่ สนับสนุน ภาคเศรษฐกิจอืน ่ ๆ ในการเสริมสร้างเศรษฐกิจของไทย ให้เติบโต รวมทั้งการจำ�หน่ายเป็นก๊าซปิโตรเลียมเหลว หรื อ Liquefied Petroleum Gas (LPG) เพื่ อ ใช้ เ ป็ น เชื้อเพลิงในภาคครัวเรือน อุตสาหกรรมและขนส่ง

ในการนำ�เข้า LNG ปตท. ได้ลงทุนคลังรับ LNG

ผ่านบริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จำ�กัด ซึ่ง ปตท. ถือหุ้น

ร้อยละ 100 เพื่อให้บริการในการรับเรือ จัดเก็บ LNG และแปลงสภาพ LNG เป็นก๊าซธรรมชาติ

การจัดหาก๊าซธรรมชาติส่วนใหญ่ ร้อยละ 73

มาจากก๊ า ซธรรมชาติ ใ นประเทศ ส่วนที่เหลือมาจาก การนำ�เข้าก๊าซธรรมชาติทางท่อจากเมียนมา และนำ�เข้า LNG จากทั่วโลก

ผลประกอบการของธุ ร กิ จ จั ด หาและค้ า ส่ ง

ก๊าซธรรมชาติจะขึน ้ อยูก ่ บ ั ค่าบริการจัดหาและค่าบริการ

ผ่านท่อ ซึ่งอยู่ภายใต้การกำ�กับดูแลของคณะกรรมการ กำ�กับกิจการพลังงานภายใต้พระราชบัญญัตก ิ ารประกอบ

กิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 และผลประกอบการของ

ธุรกิจจัดจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติให้กบ ั ลูกค้าอุตสาหกรรม ส่ ว นใหญ่ จ ะขึ้ น อยู่ กั บ ราคาน้ำ� มั น เตาในตลาดโลก ซึ่ ง เป็ น เชื้ อ เพลิ ง ทางเลื อ กในภาคอุ ต สาหกรรม ส่ ว น

ผลประกอบการของโรงแยกก๊าซธรรมชาติจะขึ้นอยู่กับ

ที่มีคุณภาพ ในราคาที่เหมาะสมและเป็นธรรม โดยแบ่ง เชือ ้ เพลิง ซึง่ หมายถึง น้ำ�มันเชือ ้ เพลิง ก๊าซปิโตรเลียมเหลว

(LPG) 2) ผลิตภัณฑ์หล่อลื่น ซึ่งหมายถึง น้ำ�มันหล่อลื่น และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ล่ อ ลื่ น อื่ น ๆ 3) ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นธุ ร กิ จ

ค้าปลีก (non-oil) โดยมีชอ ่ งทางการจำ�หน่าย 3 ช่องทาง หลัก คือ

1. ต ล า ด ค้ า ป ลี ก ผ่ า น ส ถ า นี บ ริ ก า ร แ ล ะ

นอกสถานี บ ริ ก ารน้ำ� มั น ที่ มี ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพของ

ผลิตภัณฑ์และการบริการอย่างต่อเนื่องภายใต้แนวคิด PTT Life Station สามารถตอบสนองวิ ถี ชี วิ ต ของ

ผู้บริโภคยุคใหม่ได้อย่างครบครัน (One Stop Service) อีกทั้งยังมีการสร้างสรรค์ธุรกิจค้าปลีกใหม่ ๆ ที่ ปตท.

เป็นผู้ดำ�เนินการเอง รวมถึงการแสวงหาพันธมิตรของ

ธุ ร กิ จ เพื่ อ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละการบริ ก ารร่ ว มกั น ในปี 2558 ปตท. สามารถบรรลุ ข้ อ ตกลงกั บ Texas

Chicken ให้ ปตท. เป็น Master Franchise และได้ เปิดตัวสาขาแรกที่เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต นับเป็นอีก ความสำ�เร็จที่ ปตท. ตั้งใจคัดสรรนำ�เสนอให้คนไทย

ได้สม ั ผัสประสบการณ์ใหม่ ๆ และเพือ ่ ให้ ปตท. สามารถ พั ฒ นาระดั บ ความผู ก พั น กั บ ผู้ บ ริ โ ภคอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีในการส่งเสริมการขาย เช่น

บัตร PTT Blue Card สามารถเสริมสร้างความสัมพันธ์

กั บ ผู้ บ ริ โ ภคเป็ น การเฉพาะสำ�หรั บ แต่ ล ะกลุ่ ม ลู ก ค้ า

โดยปัจจุบัน มีสมาชิกกว่า 1,200,000 ราย เพื่อขยาย ฐานลูกค้าที่มีความผูกพันต่อ ปตท. และ Application “PTT Blue Card” ทั้งในระบบ Android และ iOS เพื่อให้ สมาชิ ก สามารถรั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ จ ากร้ า นค้ า ชั้ น นำ� ต่าง ๆ ผ่านโทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

036

2. ตลาดพาณิ ช ย์ จำ�หน่ า ยให้ กั บ กลุ่ ม ลู ก ค้ า

ราชการ รั ฐ วิ ส าหกิ จ อุ ต สาหกรรม อากาศยาน เรื อ ขนส่ ง เรื อ ประมง และจำ�หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ปยั ง ตลาดต่างประเทศ

3. ต ล า ด ผู้ ค้ า ม า ต ร า 7 แ ล ะ ม า ต ร า 1 0

หน่ ว ยธุ ร กิ จ น้ำ� มั น ได้ มี ก ารบริ ห ารการลงทุ น

ตามพระราชบัญญัติการค้าน้ำ�มันเชื้อเพลิง

หน่ ว ยธุ ร กิ จ การค้ า ระหว่ า งประเทศได้ จั ด ตั้ ง

บริษัทและสำ�นักงานตัวแทนในต่างประเทศ อาทิเช่น ประเทศสิ ง คโปร์ เมื อ งดู ไ บ สหรั ฐ อาหรั บ เอมิ เ รตส์ เมืองเซีย ่ งไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน และกรุงจาการ์ตา

ประเทศอินโดนีเซีย ส่งผลให้หน่วยธุรกิจการค้าระหว่าง ประเทศมี ธุ ร กรรมการค้ า กั บ คู่ ค้ า ต่ า ง ๆ มากกว่ า 50 ประเทศ ครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่วโลก

ในธุ ร กิ จ และบริ ก ารที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ การดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ

กลุ่ ม ปตท. ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ ปตท. ถื อ หุ้ น ร้ อ ยละ 100

และการขยายธุรกรรมการค้านอกประเทศ (Out-Out

น้ำ� มั น ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศผ่ า นบริ ษั ท ใน เช่ น ธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก และสถานี บ ริ ก าร ธุ ร กิ จ ผสมและ บรรจุน้ำ�มันหล่อลื่น และธุรกิจให้บริการ รับ เก็บ จ่าย

ผลประกอบการของหน่วยธุรกิจการค้าระหว่าง

ประเทศขึ้ น อยู่ กั บ การบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งราคา Trading)

ผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิง และปิโตรเคมี เป็นต้น

หน่วยธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน

ผลประกอบการของธุรกิจน้ำ�มันขึน ้ อยูก ่ บ ั ความต้องการ

การดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ ประกอบด้ ว ยการให้ บ ริ ก าร

ธุรกิจค้าปลีกที่มีอัตราการเติบโตสูงอย่างต่อเนื่อง

การจัดจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติสำ�หรับยานยนต์ ธุรกิจ

ธุรกิจน้ำ�มันเป็นธุรกิจการค้าเสรีทม ี่ ก ี ารแข่งขันสูง

ใช้ น้ำ� มั น ของผู้ บ ริ โ ภค ค่ า การตลาด และรายได้ จ าก

หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

ดำ�เนินธุรกิจการค้าระหว่างประเทศครบวงจร

ภายใต้ ก รอบยุ ท ธศาสตร์ ใ นการสร้ า งความมั่ น คง

ทางด้านพลังงานให้กบ ั ประเทศไทย ควบคูไ่ ปกับการขยาย ฐานการค้าไปยังทุกภูมภ ิ าคทัว ่ โลก ครอบคลุมการจัดหา การนำ�เข้ า การส่ ง ออก และการค้ า ระหว่ า งประเทศ ของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้แก่ น้ำ� มันดิบ คอนเดนเสท ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ำ� มั น สำ�เร็ จ รู ป ก๊ า ซปิ โ ตรเลี ย มเหลว

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเคมี ตั ว ทำ�ละลาย เคมี ภั ณ ฑ์ และ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากปาล์ ม น้ำ� มั น ปาล์ ม ดิ บ กะลาปาล์ ม และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ เป็นต้น รวมทั้งให้บริการบริหาร

ความเสี่ยงด้านราคา และการจัดหาการขนส่งระหว่าง ประเทศ เพื่อสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจที่มีเป้าหมาย

หลั ก ในการเป็ น บริ ษั ท การค้ า สากลข้ า มชาติ ชั้ น นำ�

ที่สร้างความมั่นคงทางพลังงาน และสร้างความมั่งคั่ง ให้กับประเทศ

ด้วยธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศเป็นธุรกรรม

ที่มีมูลค่าสูง หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศจึงมี

การวางระบบควบคุ ม ความเสี่ ย งผ่ า นคณะกรรมการ หลายคณะเพือ ่ ให้เกิดการตรวจสอบแบบถ่วงดุล (Check

and Balance) รวมทัง้ การนำ�ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

มาใช้ ใ นการดำ�เนิ น ธุ ร กรรมต่ า ง ๆ เพื่ อ ให้ ส ามารถ

ควบคุมและตรวจสอบได้อย่างรวดเร็ว โปร่งใส และ มีประสิทธิภาพ

ขนส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ผ่ า นระบบท่ อ ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ

ไฟฟ้าและพลังงานร่วม ธุรกิจการพัฒนาที่ดิน ธุรกิจ

การให้บริการด้านมาตรฐานและระบบการปฏิบัติการ เพื่ อ ความยั่ ง ยื น ธุ ร กิ จ การให้ บ ริ ก ารด้ า นวิ ศ วกรรม

และบริหารโครงการก่อสร้าง ธุรกิจการให้บริการด้าน

วิศวกรรมและซ่อมบำ�รุง และธุรกิจการให้บริการด้าน

อาคารสำ�นักงาน เพื่อให้การบริหารจัดการสินทรัพย์

ด้านโครงสร้างพืน ้ ฐานของกลุม ่ ปตท. เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด และเกิดการสร้างความเชี่ยวชาญในการสร้าง

ความเป็ น เลิ ศ ในการบริ ห ารจั ด การโครงการอย่ า ง

มืออาชีพ เพื่อรองรับการขยายตัวของการดำ�เนินธุรกิจ ของ ปตท. ที่เติบโตอย่างรวดเร็ว ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ

ผ ล ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส่ ว น ใ ห ญ่ ขึ้ น อ ยู่ กั บ อั ต ร า

ค่าบริการส่งก๊าซธรรมชาติ และปริมาณก๊าซธรรมชาติ

ที่ ข นส่ ง ผ่ า นระบบท่ อ ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ รวมทั้ ง อั ต รา ค่าบริการอื่น ๆ


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

ธุรกิจที่ลงทุนผ่านบริษัทในกลุ่ม

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

037

ในแต่ละประเทศที่ดำ�เนินการ ความเสถียรในการผลิต

ไฟฟ้า ความพร้อมจ่ายพลังไฟฟ้า และการบริหารต้นทุน และค่าใช้จา ่ ยในการดำ�เนินงานทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพ รวมทัง้ โอกาสในการลงทุนและพัฒนาขีดความสามารถของ

ธุรกิจสำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม

ผ่าน บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม

ธุรกิจถ่านหิน

ผลิตปิโตรเลียมรวมทัง้ ราคาจำ�หน่ายปิโตรเลียมภายใน

ผ่าน บริษัท พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส จำ�กัด

ปิโตรเลียมตามพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514

จำ�กัด (PTTI)) PTTER ดำ�เนินธุรกิจถ่านหินและเหมือง

จำ�กัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ. โดยธุรกิจสำ�รวจและ ประเทศอยู่ ภ ายใต้ ก ารกำ�กั บ ดู แ ลของคณะกรรมการ

ปตท.สผ. ดำ�เนินธุรกิจสำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม

ทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งลงทุนในธุรกิจ

ที่ต่อเนื่อง เพื่อแสวงหาแหล่งปิโตรเลียมทั้งน้ำ�มันดิบ

และก๊ า ซธรรมชาติ ใ นราคาที่ แ ข่ ง ขั น ได้ เ พื่ อ สร้ า ง ความมั่ น คงทางด้ า นพลั ง งานให้ กั บ ประเทศ และ ก า ร จำ� ห น่ า ย ปิ โ ต ร เ ลี ย ม ที่ ผ ลิ ต ไ ด้ จ า ก โ ค ร ง ก า ร

ในประเทศและภู มิ ภ าคใกล้ เ คี ย งซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ก๊าซธรรมชาติให้กับตลาดในประเทศเป็นหลัก

องค์กร

(PTTER) (เดิ ม ชื่ อ บริ ษั ท พี ที ที อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล

ถ่านหินในสาธารณรัฐอินโดนีเซียและการจำ�หน่ายไปยัง

สาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศเกาหลี ประเทศญี่ปุ่น และประเทศไต้หวัน เป็นต้น

ผลประกอบการของธุรกิจถ่านหินจะขึ้นอยู่กับ

ราคาถ่านหินในตลาดโลกและปริมาณความต้องการ

และการบริ ห ารจั ด การต้ น ทุ น การขุ ด เหมื อ งถ่ า นหิ น อย่างมีประสิทธิภาพ

ผลประกอบการของ ปตท.สผ. ส่วนใหญ่จะขึน ้ อยู่

ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น

และการพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม และการบริหารต้นทุน

ผ่ า นบริ ษั ท ในกลุ่ ม 11 บริ ษั ท ได้ แ ก่ บริ ษั ท

ในการลงทุนและพัฒนาขีดความสามารถขององค์กร

จำ�กั ด (มหาชน) (IRPC), บริ ษั ท สตาร์ ปิ โ ตรเลี ย ม

กับราคาน้ำ�มันในตลาดโลก ความสำ�เร็จในการสำ�รวจ ในการสำ�รวจและผลิตที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งโอกาส

ธุรกิจไฟฟ้า

ผ่าน บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด

(มหาชน) (GPSC) ซึ่ง GPSC ดำ�เนินธุรกิจการผลิตและ

จำ�หน่ายไฟฟ้า ไอน้ำ� และน้ำ�อุตสาหกรรมให้กับลูกค้า อุตสาหกรรม และ กฟผ. รวมทั้งยังเป็นผู้นำ�การลงทุน

เพื่อส่งเสริมการใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในระบบ

ผลิตกระแสไฟฟ้าและน้ำ�เย็น (Cogeneration & District

Cooling System) สำ�หรั บ โครงการต่ า ง ๆ บริ เ วณ พื้ น ที่ แ นวท่ อ ก๊ า ซธรรมชาติ เ พื่ อ การใช้ พ ลั ง งานให้ มี

ประสิทธิภาพสูงสุด โดยทีก ่ ารจัดหาไฟฟ้าจากการลงทุน ในธุร กิจไฟฟ้า ในฐานะผู้ ผลิต ไฟฟ้าอิสระ (IPP) และ

ผู้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า ขนาดเล็ ก (SPP) ทั้ ง ในรู ป แบบกิ จ การ ร่ ว มค้ า (Joint ventures) และหุ้ น ส่ ว นทางธุ ร กิ จ (Business partners) ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ผลประกอบการของ GPSC ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่

กับราคาก๊าซธรรมชาติทเี่ ป็นเชือ ้ เพลิงหลัก อุปสงค์และ อุปทานของไฟฟ้าและไอน้ำ� ค่าไฟฐานและค่าไฟผันแปร

ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) (TOP), บริษัท ไออาร์พีซี รีไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน) (SPRC), บริษัท บางจาก

ปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) (BCP) (จนถึงเดือนเมษายน 2558), บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) (PTTGC), บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จำ�กัด (HMC),

บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จำ�กัด (PTTAC), บริษัท

พี ที ที เอ็ ม ซี ซี ไบโอเคม จำ�กั ด (PTTMCC), บริ ษั ท พีทีที พีเอ็มเอ็มเอ จำ�กัด (PTTPMMA), บริษัท พีทีที

โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำ�กัด (PTTPM) และ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จำ�กัด (PTTPL) โดยดำ�เนินธุรกิจ

ครอบคลุมตั้งแต่การผลิตน้ำ�มันเชื้อเพลิง การผลิตและ จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นต้น ขั้นกลาง และเม็ด

พลาสติกประเภทต่าง ๆ การดำ�เนินธุรกิจด้านการตลาด

เพือ ่ จำ�หน่ายเม็ดพลาสติกทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงการให้บริการด้านโลจิสติกส์อย่างครบวงจร

ผลประกอบการของธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน ่

ส่วนใหญ่จะขึ้นกับภาวะเศรษฐกิจ ราคาวัตถุดิบและ

ผลิตภัณฑ์ในตลาดโลกซึ่งปรับขึ้นลงตามอุปสงค์และ อุ ป ทานของตลาดโลก รวมถึ ง มู ล ค่ า สิ น ค้ า คงเหลื อ ณ สิ้นปี


ความเชื่อมโยงทางธุรกิจ

ธุรกิจขั้นต้น

ธุรกิจขั้นกลาง

การสำ�รวจ และผลิต ปิโตรเลียม

โรงแยก ก๊าซธรรมชาติ

ระบบท่อส่ง ก๊าซธรรมชาติ

ก๊าซธรรมชาติ

นํ้ามันดิบและ นํ้ามันเชื้อเพลิง

ขนส่งน�้ำมัน

การจัดหา น�้ำมันดิบและ น�้ำมันเชื้อเพลิง

การค้า ระหว่างประเทศ

โรงกลั่น

โรงโอเลฟินส์ และอะโรเมติกส์

โรงงานปิโตรเคมี ขั้นกลาง

โรงงานไบโอดีเซล โรงงานเอทานอล เหมืองถ่านหิน การพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ และการบริหาร จัดการอาคาร สถานที่


ธุรกิจขั้นปลาย

ผู้บริโภค

ระบบผลิตไฟฟ้า และน�้ำเย็น

โรงงาน โรงงาน สาหกรรม อุอุตตสาหกรรม

โรงไฟฟ้า โรงไฟฟ้า

กระแสไฟฟ้า

ก๊าซธรรมชาติ สำ�หรับ ยานยนต์

น�้ำมัน

สถานีบริการ

ภาคขนส่ง

ก๊าซหุงต้ม

ก๊าซหุงต้ม ในครัวเรือน

น�้ำมันหล่อลื่น พื้นฐาน

น�้ำมันหล่อลื่น

อุปกรณ์/ ของใช้ เม็ดพลาสติก และพลาสติก ชีวภาพ การส่งออก

แก๊สโซฮอล (E10, E20, E85) ไบโอดีเซล (B7)

การจัดการเพื่อ การพัฒนาอย่าง ยั่งยืน/ ที่ปรึกษา, วิศวกรรม และโครงการ


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

040

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

ผลการดำ�เนินงานปี 2558

ธุรกิจที่ ปตท. ดำ�เนินงานเอง

การดำ�เนิ น งาน ลดค่ า ใช้ จ่ า ยและการเพิ่ ม วิ นั ย ทาง

หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ

รวมทั้งการนำ�เสนอผลิตภัณฑ์นวัตกรรมใหม่เพื่อสร้าง

ผลสำ�เร็ จ ของการดำ�เนิ น งานของหน่ ว ยธุ ร กิ จ

ปี 2558 ปตท. ได้มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพ

การเงิน มีการบริหารความเสีย ่ งด้านราคาอย่างเคร่งครัด รายได้ แต่จากราคาน้ำ�มันที่ปรับลดลงอย่างต่อเนื่องใน ปลายปี 2558 ส่งผลให้ ปตท. และบริษัทในกลุ่ม ปตท.

ประสบปั ญ หาการขาดทุ น จากการเก็ บ สำ�รองนํ้ า มั น และวัตถุดิบ และขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์เป็น

จำ�นวน 54,698 ล้านบาท โดยเฉพาะธุรกิจสำ�รวจและ

ผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย มและธุ ร กิ จ ถ่ า นหิ น ทำ�ให้ ใ นปี 2558 กลุ่ม ปตท. มีกำ�ไรสุทธิรวม 19,936 ล้านบาท และ มีรายได้จากการขาย 2,026,912 ล้านบาท

สำ�หรั บ รายละเอี ย ดผลดำ�เนิ น งานของแต่ ล ะ

หน่วยธุรกิจสามารถสรุปได้ดังนี้

ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ ใ น ปี 2 5 5 8 ม า จ า ก ก า ร ป รั บ ป รุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพในกระบวนการผลิ ต ของโรงแยกก๊ า ซ

ธรรมชาติ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทำ�ให้ ใ นปี 2558 การใช้ พลั ง งานในการผลิ ต ของโรงแยกก๊ า ซฯ ต่ อ หน่ ว ย

ผลิตภัณฑ์ที่ได้ลดลงถึงร้อยละ 4 เมื่อเทียบกับปี 2557

ซึง่ เป็นการช่วยให้คา ่ ใช้จา ่ ยในการผลิตของโรงแยกก๊าซฯ ลดลง นอกจากนี้ยังมาจากการจัดหาก๊าซธรรมชาติได้ เพิ่ ม ขึ้ น ตามความต้ อ งการใช้ ก๊ า ซธรรมชาติ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในกลุ่มลูกค้าภาคไฟฟ้า อุตสาหกรรมและโรงแยกก๊าซ

ธรรมชาติ โดยผลดำ�เนินงานในปี 2558 ของหน่วยธุรกิจ ก๊าซธรรมชาติที่สำ�คัญ สามารถสรุปได้ดังนี้


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

041

การจัดหาก๊าซธรรมชาติ

การจัดจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติในภาคขนส่ง

การจั ด หาก๊ า ซธรรมชาติ ร วม 4,824 ล้ า น

ก า ร จำ� ห น่ า ย ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ ใ น ภ า ค ข น ส่ ง

ลู ก บาศก์ ฟุ ต ต่ อ วั น เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 3 จากปี 2557 ที่ 4,687 ล้านลูกบาศก์ฟต ุ ต่อวัน ประกอบด้วยการจัดหา

จากแหล่งก๊าซธรรมชาติในประเทศ 3,532 ล้านลูกบาศก์ ฟุตต่อวัน และการนำ�เข้า 1,292 ล้านลูกบาศก์ฟต ุ ต่อวัน หรือคิดเป็นสัดส่วนการจัดหาจากแหล่งในประเทศและ ต่างประเทศร้อยละ 73 : 27

การจัดจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติในภาคไฟฟ้า

ปริมาณการจำ�หน่ายรวม 2,886 ล้านลูกบาศก์

มีปริมาณเฉลี่ย 312 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน คิดเป็น

สัดส่วนร้อยละ 6 ของปริมาณจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติ

ทั้ ง หมด ลดลงร้ อ ยละ 2 จากปี 2557 ที่ 317 ล้ า น ลู ก บาศก์ ฟุ ต ต่ อ วั น ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากราคาน้ำ� มั น ดิ บ

ในตลาดโลกปรั บ ลดลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง น้ำ� มั น เบนซิ น และดี เ ซลมี ร าคาถู ก ลง จึ ง ทำ�ให้ ผู้ บ ริ โ ภคกลั บ ไปใช้ น้ำ�มันเบนซินและดีเซลมากขึ้น

การจัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์จากโรงแยกก๊าซธรรมชาติ

ฟุ ต ต่ อ วั น คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 60 ของปริ ม าณ

ก า ร ใ ช้ ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ สำ�ห รั บ โ ร ง แ ย ก ก๊ า ซ

ที่ 2,757 ล้ า นลู ก บาศก์ ฟุ ต ต่ อ วั น เป็ น ผลมาจาก

มี ป ริ ม าณรวม 961 ล้ า นลู ก บาศก์ ฟุ ต ต่ อ วั น คิ ด เป็ น

การจำ�หน่ า ยทั้ ง หมด เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 5 จากปี 2557 ความต้ อ งการใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น โดยการจำ�หน่ า ย ก๊าซธรรมชาติในภาคไฟฟ้าประกอบด้วยการจำ�หน่าย ให้กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ.

รวม 1,151 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 40

ผู้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า อิ ส ระจำ�นวน 10 ราย รวม 995 ล้ า น

ลูกบาศก์ฟุตต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 34 และผู้ผลิตไฟฟ้า รายเล็กจำ�นวน 42 ราย รวม 740 ล้านลูกบาศก์ฟุต ต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 26

การจัดจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติในภาคอุตสาหกรรม

ปริมาณการจำ�หน่ายรวม 669 ล้านลูกบาศก์ฟต ุ

ต่อวัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 14 ของปริมาณจำ�หน่าย ทั้งหมด เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 จากปี 2557 ที่ 653 ล้าน

ลูกบาศก์ฟุตต่อวัน โดยมีจำ�นวนลูกค้าทั้งสิ้น 356 ราย ประกอบด้วย ลูกค้ากลุ่มอุตสาหกรรม 325 ราย ลูกค้า

ผลิตไฟฟ้าใช้เอง 30 ราย และลูกค้ากลุ่มพาณิชย์ 1 ราย ป ริ ม า ณ จำ� ห น่ า ย ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ส่ ว น ห นึ่ ง เ ป็ น ผ ล จ า ก

การขยายการลงทุ น โครงการระบบท่ อ จั ด จำ�หน่ า ย ก๊ า ซธรรมชาติ ส่ ว นขยาย ในพื้ น ที่ เ ขตประกอบการ

อุตสาหกรรม บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ระบบ

จำ�หน่ า ยก๊ า ซในสวนอุ ต สาหกรรมโรจนะ ปราจี น บุ รี และระบบจำ�หน่ า ยก๊ า ซสำ�หรั บ บริ ษั ท เซรามิ ค

อุตสาหกรรมไทย จำ�กัด จังหวัดสระบุรี เป็นต้น

ธรรมชาติ เพื่ อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ก๊ า ซธรรมชาติ สัดส่วนร้อยละ 20 ของปริมาณการจำ�หน่ายทั้งหมด โดยเพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 0.1 จากปี 2557 ที่ 960 ล้ า น

ลู ก บาศก์ ฟุ ต ต่ อ วั น เนื่ อ งจาก ในปี 2557 โรงแยก

ก๊ า ซธรรมชาติ ห น่ ว ยที่ 5 ที่ ต้ อ งหยุ ด เดิ น เครื่ อ งจาก อุ บั ติ เ หตุ ฟ้ า ผ่ า ที่ อุ ป กรณ์ แ ลกเปลี่ ย นความร้ อ นจาก ไอเสียเครือ ่ งยนต์ (Waste Heat Recovery Unit: WHRU)

เมือ ่ วันที่ 14 สิงหาคม 2556 ได้ตด ิ ตัง้ อุปกรณ์แลกเปลีย ่ น ความร้ อ นชุ ด สำ�รอง ณ โรงแยกก๊ า ซฯ หน่ ว ยที่ 5

ในเดือนเมษายน 2557 ทำ�ให้กลับมาเดินเครื่องเต็ม

กำ�ลั ง การผลิ ต ลดผลกระทบในการผลิ ต และนำ�เข้ า LPG รองรับความต้องการใช้ของผู้ใช้พลังงาน และเมื่อ

เดือนกันยายน 2557 ปตท. ได้ทำ�การติดตั้งอุปกรณ์ แลกเปลี่ ย นความร้ อ นจากไอเสี ย เครื่ อ งยนต์ ชุ ด ใหม่ เสร็จสมบูรณ์ ทำ�ให้สามารถเดินเครื่องได้ตามปกติ


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

042

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

ปริมาณ การจ�ำหน่าย ก๊าซธรรมชาติ หน่วย: ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ที่ 1,000 บีทียูต่อลูกบาศก์ฟุต

6,000 5,000 4,000

930

960

961

3,000

307 639

317 653

312 669

610

699

740

872

852

995

1,228

1,206

1,151

2,000 โรงแยกก๊าซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติ สำ�หรับยานยนต์ (NGV) ภาคอุตสาหกรรม ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ (IPP) กฟผ. (EGAT)

ปริมาณ การจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ จากโรงแยก ก๊าซธรรมชาติ หน่วย: พันตัน

1,000 0

8,000 7,000

2556

2557

2558

6,197

6,392

6,423

6,000 5,000 4,000 3,000 2,000

ก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL) ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) ก๊าซโพรเพน ก๊าซอีเทน

4,828

4,687

4,586

1,000 0

2556

705

729

721

2,690

2,739

2,738

727

819

765

2,074

2,106

2,199

2557

2558


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

043

เหตุการณ์ส�ำ คัญของหน่วยธุรกิจ ก๊าซธรรมชาติในรอบปี 2558

มีนาคม

มกราคม

การเปิ ด ให้ ใ ช้ หรื อ เชื่ อ มต่ อ ระบบส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ

• บริ ษั ท Qatar Liquefied Gas Company

Limited (Qatargas) ได้เริ่มส่งมอบก๊าซ LNG เที่ยวแรก ให้ กั บ ปตท. ปริ ม าณ 90,613.43 ตั น ตามสั ญ ญา ซือ ้ ขายก๊าซ LNG รูปแบบสัญญาระยะยาว 20 ปี ปริมาณ

2 ล้านตันต่อปี หรือประมาณ 280 ล้านลูกบาศก์ฟุต ต่อวัน ซึง่ เป็นสัญญาซือ ้ ขายก๊าซ LNG ระยะยาวฉบับแรก ของกลุม ่ ปตท. ช่วยเสริมความมัน ่ คงด้านพลังงานให้กบ ั ประเทศ รองรับความต้องการใช้พลังงานของประเทศ ในระยะยาว

• คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.)

มีมติให้ปรับราคาขายปลีกก๊าซฯ NGV สำ�หรับรถยนต์

ส่วนบุคคลขึ้นในอัตรา 0.50 บาทต่อกิโลกรัม จากเดิม 12.50 เป็น 13.00 บาทต่อกิโลกรัม และปรับราคาขาย

้ ในอัตรา ปลีกก๊าซฯ NGV สำ�หรับรถโดยสารสาธารณะขึน 0.50 บาทต่อกิโลกรัม จากเดิม 9.50 เป็น 10.00 บาท

ต่อกิโลกรัม โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 31 มกราคม 2559 เป็นต้นไป

• กบง. มีมติให้ปรับสูตรคำ�นวณต้นทุนการจัดหา

• กกพ. มี ม ติ เ ห็ น ชอบ “ข้ อ กำ�หนดเกี่ ย วกั บ

บนบกแก่บุคคลที่สามของ ปตท.” (TPA Code - ปตท) และ “ข้ อ กำ�หนดเกี่ ย วกั บ การให้ บ ริ ก ารของสถานี แอลเอ็นจีแก่บค ุ คลทีส ่ าม และการเชือ ่ มต่อสำ�หรับสถานี

แอลเอ็นจีมาบตาพุดของบริษัท พีทีทีแอลเอ็นจี จำ�กัด” (TPA Code - PTTLNG) โดย ปตท. และ PTTLNG ได้

ประกาศใช้ข้อกำ�หนดฯ ดังกล่าว เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2558 การประกาศใช้ข้อกำ�หนดฯ เป็นไปตามข้อบังคับ

ว่าด้วยการจัดทำ�ข้อกำ�หนดเกี่ยวกับการเปิดให้ใช้หรือ เชื่อมต่อระบบส่งก๊าซธรรมชาติ และสถานีแอลเอ็นจี

แก่ บุ ค คลที่ ส าม พ.ศ. 2557” (TPA Regime) และ สอดคล้ อ งกั บ พระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบกิ จ การ พลั ง งาน พ.ศ. 2550 ที่ ใ ห้ มี ก ารแข่ ง ขั น ในกิ จ การ พลังงานและมีการบริหารของระบบโครงข่ายพลังงาน อย่างเป็นธรรมโปร่งใส ไม่เลือกปฏิบัติ

• เมื่ อ วั น ที่ 30 มี น าคม 2558 ที่ ป ระชุ ม

คณะกรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน มีมติอนุมัติ TPA

Code (Onshore) ของ ปตท. อ้างอิงตาม TPA Regime ฉบับปัจจุบัน

LPG ของประเทศให้ เ หมาะสมจากผู้ ผ ลิ ต และจั ด หา

เมษายน

การนำ�เข้ า โดยภาครั ฐ ใช้ ก ลไกของกองทุ น น้ำ� มั น ฯ

มีผลตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 ทำ�ให้ราคา LPG

บำ� รุ ง อุ ป ก ร ณ์ ต า ม แ ผ น ง า น ป ร ะ จำ� ปี พ ร้ อ ม กั น

3 แหล่ง คือ โรงแยกก๊าซธรรมชาติ โรงกลั่นน้ำ�มัน และ ในการบริหารจัดการให้ราคาตั้งต้นเป็นราคาเดียวกัน จากโรงแยกก๊าซฯ สามารถปรับสะท้อนต้นทุนที่แท้จริง

โดยราคาเฉลี่ ย เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ถึ ง เมษายน 2558 ปรับเพิ่มขึ้นจาก 333 เหรียญสหรัฐต่อตัน เป็น 498

เหรียญสหรัฐต่อตัน และภาครัฐจะมีการทบทวนต้นทุน LPG จากโรงแยกก๊าซฯ ทุก ๆ 3 เดือน

• ผู้ ผ ลิ ต ก๊ า ซธรรมชาติ แ หล่ ง ยาดานา และ

แ ห ล่ ง เ ย ต า กุ น ใ น เ มี ย น ม า ไ ด้ ดำ� เ นิ น ก า ร ซ่ อ ม ในระหว่างวันที่ 9 - 21 เมษายน 2558 เนื่องจากเป็น

ช่วงเทศกาลสงกรานต์ ทีค ่ วามต้องการใช้ไฟฟ้าโดยรวม ของประเทศลดลงกว่าปกติ ปตท. ได้เตรียมความพร้อม

โดยจั ด เตรี ย มสำ�รองก๊ า ซธรรมชาติ ใ นท่ อ และจาก ฝัง่ ตะวันออกเพือ ่ เตรียมการเรียกใช้ รวมทัง้ จัดหาน้ำ�มัน

เชื้ อ เพลิ ง สำ�รองสำ�หรั บ โรงไฟฟ้ า ราชบุ รี บางปะกง และพระนครใต้ การซ่ อ มบำ�รุ ง อุ ป กรณ์ สำ�เร็ จ ด้ ว ยดี

เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ทำ�ให้สามารถเริ่มจ่ายก๊าซฯ เข้าสูร่ ะบบได้ ตัง้ แต่เวลา 03.25 น. ของวันที่ 20 เมษายน 2558 นับว่าเร็วกว่าแผนที่กำ�หนดไว้ 6 ชม.


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

044

• ผูผ ้ ลิตก๊าซธรรมชาติแหล่งซอติกา ้ ในเมียนมา

ได้ดำ�เนินการปิดซ่อมบำ�รุงอุปกรณ์ประจำ�ปี ณ แท่น

มิถุนายน

ผลิ ต ในทะเล และระบบท่ อ ฯ บนบก เป็ น ระยะเวลา

สามารถจ่ายก๊าซฯ กลับเข้าสู่ระบบตามปกติได้ ตั้งแต่

ธรรมชาติ ส่วนของต้นทุนผันแปร (Commodity Charge:

8 วัน ตั้งแต่วันที่ 20 - 27 เมษายน 2558 โดยผู้ผลิต เวลา 22.19 น. ของวันที่ 27 เมษายน 2558

• เมือ ่ วันที่ 11 เมษายน 2558 โครงการท่อเชือ ่ ม

ระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ นวนคร - รังสิต กับระบบท่อ

ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ภู มิ ภ าคบนบก นครสวรรค์ ขนาด เส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลาง 28 นิ้ ว ระยะทางประมาณ

106 กิ โ ลเมตร อยู่ ใ นพื้ น ที่ อำ�เภอบางปะอิ น จั ง หวั ด อยุธยา ดำ�เนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ ส่งผลให้การจัดการ

ก๊าซธรรมชาติฝั่งตะวันออกเกิดความสมบูรณ์มากขึ้น อีกทั้งยังเป็นการรองรับการขยายตัวของความต้องการ

ใช้ ก๊ า ซธรรมชาติ ใ นภาคอุ ต สาหกรรมและภาคขนส่ ง ในส่วนภูมิภาคอีกด้วย

พฤษภาคม

• “ข้ อ บั ง คั บ ว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ ก ารจั ด ทำ�

ข้ อ กำ�หนดเกี่ ย วกั บ การเปิ ด ให้ ใ ช้ หรื อ เชื่ อ มต่ อ ระบบ ส่งก๊าซธรรมชาติและสถานีแอลเอ็นจีแก่บุคคลที่สาม

(Third Party Access Regime: TPA Regime) ฉบับที่ 2” เริ่มมีผลใช้บังคับ

• คณะกรรมการนโยบายพลั ง งานแห่ ง ชาติ

(กพช.) มีมติเห็นชอบ แผนระบบรับส่งและโครงสร้าง พื้นฐานก๊าซธรรมชาติ เพื่อความมั่นคงของโครงการ ลงทุนในส่วนที่ 1 (โครงข่ายระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ) ระยะที่ 1 จำ�นวน 3 โครงการ ได้แก่ โครงการปรับปรุง

แท่นผลิต อุปกรณ์ และระบบท่อ เพือ ่ รองรับการส่งก๊าซฯ ให้แก่โรงไฟฟ้าขนอมใหม่ โครงการระบบท่อส่งก๊าซฯ

ในทะเล เชื่อมแหล่งอุบล (อ่าวไทย) และโครงการสถานี

เพิม ่ ความดันก๊าซฯ (Compressor) บนระบบท่อส่งก๊าซฯ วังน้อย - แก่งคอย โดยมอบหมายให้ บริษท ั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) เป็นผู้ดำ�เนินโครงการ ทั้ง 3 โครงการ ทั้งนี้

คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามมติ กพช. เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2558

• คณะกรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน (กกพ.)

มี ม ติ เ ห็ น ชอบการเรี ย กเก็ บ อั ต ราค่ า บริ ก ารส่ ง ก๊ า ซ Tc) ประจำ�ปี 2558 ของระบบท่อนอกชายฝั่งที่ระยอง (พื้นที่ 1), นอกชายฝั่งขนอม (พื้นที่ 2), บนฝั่ง (พื้นที่ 3)

เท่ า กั บ 1.3045 บาทต่ อ ล้ า นบี ที ยู ในขณะที่ ร ะบบ

ท่ อ ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ บ นฝั่ ง ที่ จ ะนะ (พื้ น ที่ 4) เท่ า กั บ 0.1283 บาทต่ อ ล้ า นบี ที ยู และระบบท่ อ ส่ ง ก๊ า ซ

ธรรมชาติบนฝัง่ ทีน ่ ำ� ้ พอง (พืน ้ ที่ 5) เท่ากับ 0.0000 บาท

ต่อล้านบีทียู โดยให้เรียกเก็บอัตราค่าบริการดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2558 เป็นต้นไป การคิดอัตรา

ค่ า บริ ก ารนั้ น อาศั ย หลั ก เกณฑ์ ต ามคู่ มื อ การคำ�นวณ ราคาก๊าซธรรมชาติ และอัตราค่าบริการส่งก๊าซธรรมชาติ

เมื่ อ เดื อ นธั น วาคม 2550 รวมทั้ ง อาศั ย ความตาม

มาตรา 70 แห่งพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ พลังงาน พ.ศ. 2550

• คณะกรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน (กกพ.)

มี ม ติ เ ห็ น ชอบให้ ป รั บ อั ต ราค่ า บริ ก ารเก็ บ รั ก ษาและ

แปรสภาพก๊าซธรรมชาติจากของเหลวเป็นก๊าซ ส่วนของ ั พีทท ี ี แอลเอ็นจี ต้นทุนผันแปร ประจำ�ปี 2558 ของ บริษท จํ า กั ด ที่ อั ต รา 0.8563 บาทต่ อ ล้ า นบี ที ยู โดยให้

เรียกเก็บอัตราค่าบริการดังกล่าว ตัง้ แต่วน ั ที่ 1 มิถน ุ ายน 2558 เป็นต้นไป

• หน่วยธุรกิจก๊าซฯ ปตท. และ บริษท ั ผลิตไฟฟ้า

ราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) ได้ร่วมลงนามบันทึก

ความเข้ า ใจ เพื่ อ ศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ใ นการลงทุ น โครงการ LNG Receiving Terminal ในเมียนมา รวมถึง

เป็ น โอกาสในการจั ด หาแหล่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ใ ห้ กั บ โรงไฟฟ้าที่ผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติ


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

045

กรกฎาคม

พื้นฐานก๊าซธรรมชาติ เพื่อความมั่นคงของโครงการ

• บริษท ั ผูผ ้ ลิตก๊าซธรรมชาติแหล่งพืน ้ ทีพ ่ ฒ ั นา

ร่วมไทย - มาเลเซีย (เจดีเอ เอ-18) ได้ปิดซ่อมบำ�รุง

อุปกรณ์ประจำ�ปี ระหว่างวันที่ 21 - 25 กรกฎาคม 2558 ปตท. ได้เตรียมความพร้อมโดยจัดเตรียมน้ำ�มันสำ�รอง และขนส่งไปยังโรงไฟฟ้าจะนะและโรงไฟฟ้ากระบีล ่ ว่ งหน้า

จึงไม่ส่งผลกระทบต่อผู้ใช้ไฟฟ้า ในความสนับสนุนของ

ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ปตท. ทำ�หน้าที่ประสานการหยุด ซ่อมบำ�รุงแหล่งก๊าซฯ ทำ�ให้สามารถเริม ่ จ่ายก๊าซฯ เข้าสู่

ระบบตามปกติได้ตั้งแต่เวลา 06.00 น. ของวันที่ 25

กรกฎาคม 2558 นับว่าเร็วกว่าแผนที่กำ�หนดไว้ 24 ชม.

• เปิ ด อาคารเรี ย นรู้ แ ละอาคารศู น ย์ ค วบคุ ม

ระบบท่อส่งก๊าซฯ ณ ศูนย์ปฏิบต ั ก ิ ารชลบุรี เป็นศูนย์แสดง

ข้อมูลและพิพธ ิ ภัณฑ์ รวมทัง้ จุดเรียนรูแ ้ ละฝึกปฏิบต ั ก ิ าร

บำ�รุ ง รั ก ษาท่ อ ส่ ง ก๊ า ซฯ (Pipeline Expert Learning Field) โดยมีวต ั ถุประสงค์เพือ ่ รองรับคณะผูเ้ ยีย ่ มชมจาก ภายนอก ทั้งยังรองรับการประชุมและฝึกอบรมภายใน

เพื่ อ พั ฒ นาองค์ ค วามรู้ ข องพนั ก งานระบบท่ อ ส่ ง ก๊ า ซ ธรรมชาติได้เป็นอย่างดี

กันยายน

• โครงการท่อส่งก๊าซธรรมชาติบนบกเส้นที่ 4

จากสถานีรับจ่ายก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG Terminal)

จังหวัดระยอง ไปยังระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติวังน้อย แก่งคอย อำ�เภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี เริ่มส่งก๊าซฯ

เข้ า ระบบ เมื่ อ วั น ที่ 17 กั น ยายน 2558 ช่ ว ยสร้ า ง ความมั่นคงด้านพลังงาน แก่โครงข่ายระบบท่อส่งก๊าซ ธรรมชาติของประเทศ

• คณะกรรมการนโยบายพลั ง งานแห่ ง ชาติ

(กพช.) มีมติเห็นชอบ แผนระบบรับส่งและโครงสร้าง ลงทุนในส่วนที่ 1 (โครงข่ายระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ) ระยะที่ 2 จำ�นวน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการระบบ

ท่อส่งก๊าซธรรมชาติบนบก เส้นที่ 5 และโครงการระบบ ท่อส่งก๊าซธรรมชาติบนบก จากสถานีควบคุมความดัน

ก๊าซธรรมชาติราชบุรี - วังน้อยที่ 6 (RA#6) ไปยังจังหวัด

ราชบุรี ในวงเงินลงทุน 110,100 ล้านบาท เพื่อสร้าง ความมั่นคงและรองรับความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติ

ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ในอนาคต โดยกำ�หนดให้ ส ามารถจ่ า ย

ก๊ า ซเข้ า ระบบได้ ภ ายในปี 2564 และมอบหมายให้

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) เป็นผู้ดำ�เนินโครงการ ทั้ง 2 โครงการ

• ปตท. โดย บริษัท ปตท.ธุรกิจค้าปลีก จำ�กัด

ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่ ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 100 ได้ลงนาม ในสั ญ ญาระหว่ า งผู้ ถื อ หุ้ น กั บ บริ ษั ท โอซาก้ า แก๊ ส

(ประเทศไทย) จำ�กัด ในสัดส่วนร้อยละ 40 และ 60 ตามลำ�ดั บ ในการจั ด ตั้ ง “บริ ษั ท โอจี พี เอนเนอร์ ยี่ โซลูชั่นส์ จำ�กัด” เพื่อดำ�เนินธุรกิจบริหารจัดการด้าน

พลังงานให้แก่กลุ่มอุตสาหกรรมอย่างครบวงจร ในการ ดำ�เนินธุรกิจ Energy Solution (การจัดการด้านพลังงาน

อย่างครบวงจร) และ Energy Efficiency Business (การบริหารประสิทธิภาพการใช้พลังงาน) แบบ One-Stop Service ให้แก่ภาคอุตสาหกรรมในประเทศไทย


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

046

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

แผนที่แสดงโครงข่าย ระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ และโรงแยกก๊าซธรรมชาติ

เวียดนาม

ลาว เมียนมา สินภูฮ่อม นํ้าพอง

ประเทศไทย นครสวรรค์ ยาดานา

บ้านอีต่อง

ซอติก้า

นครราชสีมา

ท่าหลวง

แก่งคอย

วังน้อย

เยตากุน ราชบุรี

ทะเลอันดามัน

พระนครเหนือ บางปะกง พระนครใต้ สมุทรปราการ ชลบุรี นิคมฯ ชายฝั่ง ตะวันออก

กัมพูชา

ระยอง

กำ�ลังการแยกก๊าซฯ ของโรงแยกก๊าซธรรมชาติ หน่วยที่ 1

400 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน

หน่วยที่ 2 และ 3 800 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน หน่วยที่ 4

170 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน

หน่วยที่ 5

570 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน

หน่วยที่ 6

800 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน

แหล่งผลิตก๊าซธรรมชาติ

เบญจมาศ ทานตะวัน ปลาทอง เชฟรอนส่วนเพิ่ม เอราวัณ ขนอม

อาทิตย์

โรงไฟฟ้า โรงแยกก๊าซธรรมชาติ หน่วยที่ 1, 2, 3, 5, 6 จังหวัดระยอง โรงแยกก๊าซธรรมชาติ หน่วยที่ 4 จังหวัดนครศรีธรรมราช

ไพลิน บงกช จะนะ

PTTLNG Receiving Terminal ท่อส่งก๊าซฯ ในปัจจุบัน โครงการท่อส่งก๊าซฯ ในอนาคต

มาเลเซีย

บงกชใต้

พื้นที่พัฒนาร่วม ไทย-มาเลเซีย (JDA)


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

• ป ต ท . ล ง น า ม บั น ทึ ก ข้ อ ต ก ล ง ( M O U )

ความร่ ว มมื อ ทางเทคนิ ค วิ ศ วกรรม กั บ การประปา

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

047

ตุลาคม

นครหลวง (กปน.) โดยมีวต ั ถุประสงค์รว่ มกันในการพัฒนา

วิศวกรรมของทัง้ สองฝ่ายในด้านการบริหารจัดการงาน

และการเชื่อมต่อสำ�หรับสถานีแอลเอ็นจี มาบตาพุด

องค์ความรูแ ้ ละสนับสนุนการนำ�องค์ความรูท ้ างเทคนิค บำ�รุงรักษาระบบส่งท่อก๊าซ ปตท. และด้านการบริหาร จัดการระบบส่งและจ่ายน้ำ�ประปาทางท่อของ กปน.

• เปิดดำ�เนินการท่อส่งก๊าซธรรมชาติเส้นที่ 4

(ระยอง - แก่งคอย) เพื่อโครงข่ายพลังงาน มั่นคง ยั่งยืน

ณ สถานี รั บ จ่ า ยและเพิ่ ม ความดั น ก๊ า ซ หน่ ว ยที่ 4

จังหวัดระยอง โดยการก่อสร้างเป็นไปตามความเห็นชอบ

โดยคณะรั ฐ มนตรี เมื่ อ วั น ที่ 19 มิ ถุ น ายน 2550 เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายท่อก๊าซธรรมชาติจากภาค ตะวั น ออกและภาคกลางสู่ ภ าคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ

• กกพ. มี ม ติ เ ห็ น ชอบ “ข้ อ กำ�หนดเกี่ ย วกั บ

การให้ บ ริ ก ารของสถานี แ อลเอ็ น จี แ ก่ บุ ค คลที่ ส าม ฉบับที่ 2 ของบริษท ั พีทท ี ี แอลเอ็นจี จำ�กัด” (TPA Code -

PTTLNG ฉบั บ ที่ 2) เมื่ อ วั น ที่ 30 ตุ ล าคม 2558 ตามที่ “ข้อบังคับว่าด้วยการจัดทำ�ข้อกำ�หนดเกี่ยวกับ

การเปิ ด ให้ ใ ช้ ห รื อ เชื่ อ มต่ อ ระบบส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ และสถานี แ อลเอ็ น จี แ ก่ บุ ค คลที่ ส าม พ.ศ. 2557”

(หรือ TPA Regime) ได้มีการทบทวน โดย PTTLNG

ได้ ป ระกาศใช้ ข้ อ กำ�หนดฯ ดั ง กล่ า ว เมื่ อ วั น ที่ 21 พฤศจิกายน 2558

ในอนาคต รวมถึงรองรับการนำ�เข้าก๊าซธรรมชาติเหลว อีกด้วย

หน่วยธุรกิจนํ้ามัน

ความสำ�เร็ จ ของธุ ร กิ จ น้ำ� มั น ในปี 2558 เป็ น

ผลจากการกำ�หนดกลยุ ท ธ์ ท างการตลาดที่ เ ป็ น เลิ ศ

(Marketing Excellence) เพื่อตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภคที่หลากหลาย จึงทำ�ให้ ปตท. สามารถ

ครองความเป็นผูน ้ ำ�ในตลาดผลิตภัณฑ์เชือ ้ เพลิงต่อเนือ ่ ง

เป็นปีที่ 23 มีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 39.9 สูงกว่าปีก่อน ร้อยละ 0.5 และเป็นผู้นำ�ในตลาดผลิตภัณฑ์หล่อลื่น

ต่อเนือ ่ งเป็นปีที่ 7 โดยมีสว ่ นแบ่งตลาดร้อยละ 38.4 โดย ผลดำ�เนินงานของหน่วยธุรกิจน้ำ�มันสามารถสรุปได้ดงั นี้


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

048

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

การจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิง

การจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ธุรกิจค้าปลีก

ปี 2558 ปตท. มีปริมาณจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์

นอกเหนือจากสถานีบริการตามแนวคิด PTT Life

เชื้อเพลิงในประเทศรวม 19,079 ล้านลิตร เพิ่มขึ้นจาก

ปี 2557 จำ�นวน 980 ล้านลิตร ประกอบด้วย น้ำ�มัน เบนซิน 3,942 ล้านลิตร น้ำ�มันดีเซล 7,871 ล้านลิตร

น้ำ� มั น เครื่ อ งบิ น และน้ำ� มั น ก๊ า ด 2,714 ล้ า นลิ ต ร น้ำ�มันเตา 1,482 ล้านลิตร และ LPG 3,069 ล้านลิตร

สำ�หรั บ ค่ า การตลาด (กำ�ไรขั้ น ต้ น ของผู้ ค้ า

Station ที่มีอยู่เดิม ปตท. เพิ่มเติมแนวคิดการออกแบบ

สถานีบริการน้ำ�มันในรูปแบบ Friendly Design ที่แสดง

ถึงความใส่ใจ และคำ�นึงการตอบสนองการใช้บริการ

ของผู้บริโภคทุกเพศทุกวัย เช่น การออกแบบทางเดิน

ลาดชั น เพื่ อ สร้ า งความสะดวกให้ กั บ กลุ่ ม ผู้ บ ริ โ ภค ทีใ่ ช้รถ Wheel chair ห้องน้ำ�สำ�หรับเด็กเล็ก ช่องทีจ ่ อดรถ

น้ำ�มันตามมาตรา 7 และเจ้าของสถานีบริการ) ทั้งปี

เฉพาะสำ�หรั บ สตรี และผู้ พิ ก าร เป็ น ต้ น นอกจากนี้

ที่เหมาะสมอยู่ที่ระดับ 1.8 - 2.2 บาทต่อลิตร ซึ่งเป็น

จำ�นวน 26 แห่ง อาทิ PTT Life Station ณ เสียมเรียบ

มีค่ า เฉลี่ ย อยู่ ที่ 1.64 บาทต่ อ ลิ ต ร โดยค่าการตลาด ระดั บ ที่ ค รอบคลุ ม ค่ า ใช้ จ่ า ยในการดำ�เนิ น งานและ

ผลตอบแทนการลงทุ น ของผู้ ค้ า น้ำ� มั น ตามมาตรา 7

ได้ ข ยายสถานี บ ริ ก ารน้ำ� มั น ปตท. ในต่ า งประเทศ กัมพูชา และ PTT Life Station ณ หลวงพระบาง สปป. ลาว เป็นต้น

และเจ้าของสถานีบริการน้ำ�มัน

บริการรวม 1,450 แห่งทั่วประเทศ คิดเป็นร้อยละ 6.1

ได้แก่ ร้านค้าสะดวกซื้อ 7-Eleven 1,245 แห่ง เพิ่มขึ้น

ทั้งนี้ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2558 ปตท. มีสถานี

ของสถานี บ ริ ก ารน้ำ� มั น ทั่ ว ประเทศ สถานี เ ติ ม น้ำ� มั น

อากาศยาน 11 แห่ง คลังน้ำ� มัน 19 แห่ง (เป็นคลัง

ปตท. 9 แห่ง และใช้บริการภายนอก 11 แห่ง) คลังก๊าซ

ปิโตรเลียมเหลว 2 แห่ง คลังปิโตรเลียม 6 แห่ง และ โรงบรรจุก๊าซ 4 แห่ง

ทั้ ง นี้ ณ สิ้ น เดือนธั น วาคม 2558 ปตท.

มี ก ารขยายช่ อ งทางการจั ด จำ�หน่ า ยในธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก

100 แห่ ง จากปี 2557 ร้ า นกาแฟคาเฟ่ อ เมซอน

1,437 แห่ง เพิม ่ ขึน ้ 240 แห่ง จากปี 2557 ธุรกิจยานยนต์

121 แห่ง ลดลง 22 แห่ง จากปี 2557 และในเดือน ธันวาคม 2558 ปตท. สามารถบรรลุข้อตกลงกับ Texas

Chicken และเริม ่ ดำ�เนินธุรกิจในประเทศไทย โดย ปตท. เป็ น Master Franchise และได้ เ ปิ ด ตั ว สาขาแรก

การจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์หล่อลื่น

ปตท. มุ่ ง มั่ น ที่ จ ะผลั ก ดั น ตราสิ น ค้ า PTT

การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานธุรกิจนํ้ามัน

ตราสินค้าระดับโลก (Global Brand) โดยยังคงรักษา

การลงทุ น ในโครงการเพิ่ ม ขี ด ความสามารถ

ทีม ่ ส ี ว่ นแบ่งตลาดเป็นอันดับหนึง่ อย่างต่อเนือ ่ ง ควบคูไ่ ปกับ

จนแล้ ว เสร็ จ ตามแผนงาน สามารถรองรั บ ปริ ม าณ

ต่ า ง ๆ โดยเฉพาะภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้

ขี ด ความสามารถในการนำ�เข้ า จาก 132,000 ตั น

Lubricants ซึ่ ง เป็ น ตราสิ น ค้ า ของคนไทยสู่ ก ารเป็ น ความเป็นผู้นำ�ด้านผลิตภัณฑ์หล่อลื่นภายในประเทศ การขยายฐานลูกค้าไปสู่ตลาดต่างประเทศในภูมิภาค

เอเชียใต้ และประเทศจีน รวมทั้งสิ้น 33 ประเทศ และ ในปี 2558 ปตท. ยังคงมุง่ มัน ่ คิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์

อย่างต่อเนือ ่ ง โดยออกผลิตภัณฑ์หล่อลืน ่ ใหม่รวมทัง้ สิน ้ 10 ชนิด เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า และ ก้าวสู่การเป็นผู้นำ�ด้านเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

ที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต

การนำ�เข้า การจ่ายและระบบขนส่งก๊าซปิโตรเลียมเหลว

การใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลวที่เพิ่มสูงขึ้น และช่วยเพิ่ม ต่อเดือน เป็น 250,000 ตันต่อเดือน รวมถึงการจัดทำ�

แผนแม่ บ ทโครงสร้ า งพื้ น ฐานของธุ ร กิ จ น้ำ� มั น เพื่ อ

พัฒนาเครือข่ายคลังและระบบขนส่ง เช่น การขยาย ขี ด ความความสามารถของคลั ง น้ำ� มั น สุ ร าษฎร์ ธ านี

เพื่ อ รองรั บ ความต้ อ งการใช้ นำ� ้ มั น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในพื้ น ที่ ภาคใต้ เป็นต้น


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

แผนที่แสดงคลังปิโตรเลียม คลังนํ้ามัน คลังก๊าซ ปิโตรเลียมเหลว และสถานีเติมนํ้ามัน อากาศยาน

049

เวียดนาม

ลาว

เชียงราย

ลำ�ปาง

เชียงใหม่

เมียนมา

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

เด่นชัย

อุดรธานี

พิษณุโลก ขอนแก่น

นครสวรรค์

ประเทศไทย

อุบลราชธานี

PTTRM (สระบุรี) ลำ�ลูกกา พระโขนง/ บางจาก ศรีราชา/ บ้านโรงโป๊ะ

เขาบ่อยา

ทะเลอันดามัน

กัมพูชา

อู่ตะเภา

หัวหิน

อ่าวไทย

สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช

ภูเก็ต

คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว

กระบี่

คลังนํ้ามัน

สงขลา

คลัง/ สถานีที่มีนํ้ามันอากาศยาน เก็บสำ�รองอยู่

หาดใหญ่

มาเลเซีย


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

050

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

ปริมาณการจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียม ในประเทศ หน่วย: ล้านลิตร หมายเหตุ: ไม่รวมปริมาณ ก๊าซปิโตรเลียมเหลวที่จำ�หน่าย เป็นวัตถุดิบปิโตรเคมี นํ้ามันเตา นํ้ามันดีเซล นํ้ามันเครื่องบิน/ นํ้ามันก๊าด นํ้ามันเบนซิน ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG)

25,000

5,000 0

1,614

7,375

7,504

2,214

2,408

3,309

3,482

3,146

3,090

2556

1,482 7,871

ปตท. บางจาก เชลล์ เชฟรอน เอสโซ่ อื่นๆ

180

3,942 3,069

2558

21.1

22.5 38.7

39.4 7.5 9.4

7.1 9.6

2,714

2557

22.8

หมายเหตุ: กราฟแสดงส่วนแบ่ง การตลาดของผลิตภัณฑ์รวม ยกเว้นผลิตภัณฑ์หล่อลื่น

ที่มา: กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน

1,604

10,000

หน่วย: ร้อยละ

หน่วย: ล้านลิตร

19,079

18,099

15,000

ส่วนแบ่งตลาด ในประเทศ

ปริมาณการจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ นํ้ามันหล่อลื่น ในประเทศ

17,648

20,000

+5%

+3%

39.9

7.4 9.4

10.4 12.0

10.2 11.0

2556

2557

2558

144

143

142

2556

2557

2558

160

10.8

11.5

140 120 100 80 60 40 20 0


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

051

เหตุการณ์ส�ำ คัญของหน่วยธุรกิจนํ้ามัน ในรอบปี 2558 กรกฎาคม

• เปิดตัวโครงการ Crime Zero “กดปุ่มฉับไว

ปลอดภัยในปั๊ม ปตท.” ณ สถานีบริการน้ำ�มัน ปตท. สาขาเพื่อสวัสดิการ ร.๑ รอ. ถนนวิภาวดีรังสิต เพื่อ

ป้ อ งปรามคนร้ า ยลดโอกาสในการเกิ ด อาชญากรรม ให้ เ หลื อ น้ อ ยที่ สุ ด หรื อ เท่ า กั บ ศู น ย์ ด้ ว ยการนำ�ร่ อ ง ติ ด ตั้ ง ระบบปุ่ ม กดแจ้ ง เหตุ ฉุ ก เฉิ น และสั ญ ญาณไฟ

ไซเรน ที่เชื่อมระบบกล้องวงจรปิดไปยังสถานีตำ�รวจ และโทรศัพท์มือถือของเจ้าหน้าที่ตำ�รวจ

• พั ฒ นาแบรนด์ ห ล่ อ ลื่ น ผ่ า นนวั ต กรรมใหม่

ในด้านต่าง ๆ ภายใต้สโลแกน The Moving Innovation

และกลยุทธ์การตลาด NEXT…Forward โดยการนำ� เทคโนโลยีขน ั้ สูงมาพัฒนาผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต

ควบคูก ่ บ ั การบริการทีต ่ อบสนองความต้องการของลูกค้า ได้ดียิ่งขึ้น

ตุลาคม

• ตอบสนองนโยบายของกระทรวงพลั ง งาน

ในการช่วยเหลือเกษตรกรผูป ้ ลูกปาล์มทีไ่ ด้รบ ั ผลกระทบ โดย ปตท. ได้จัดซื้อน้ำ�มันไบโอดีเซล 100 เปอร์เซ็นต์

พฤศจิกายน

• เปิ ด ตั ว ระบบใหม่ “Amazon Smart Pay”

หรือ B100 ซึ่งเป็นวัตถุดิบในการผลิตน้ำ�มันไบโอดีเซล เพิ่ ม เติ ม อี ก 10 ล้ า นลิ ต ร ตามกำ�ลั ง ความสามารถ ในการจัดเก็บสูงสุดของ ปตท.

ซึ่ ง เป็ น ระบบที่ พั ฒ นาเพื่ อ รองรั บ การซื้ อ สิ น ค้ า ในร้ า น

ธันวาคม

การซื้อสินค้า และเพิ่มความสะดวกรวดเร็วให้กับลูกค้า

กาแฟคาเฟ่อเมซอน แทนการใช้เงินสด เพื่อลดขั้นตอน

• เปิดตัวโครงการ PTT Free WiFi ในการพัฒนา

เครือข่ายอินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wi-Fi) บนเครือข่ายใยแก้ว

นำ�แสง หรือ Fiber Optic ในร้านกาแฟคาเฟ่อเมซอน

ทั้งในและนอกสถานีบริการน้ำ�มัน ปตท. ทั่วประเทศ รวมกว่า 1,300 แห่ง โดยในช่วงแรกสามารถใช้บริการ ได้ ใ นร้ า นกาแฟคาเฟ่ อ เมซอน ในเขตกรุ งเทพฯ และ ปริ ม ณฑล จำ�นวน 200 สาขา และจะใช้ บ ริ ก ารได้ ในสาขาทั่วประเทศภายในต้นปี 2559

• เปิดตัวแบรนด์ “Texas Chicken” สาขาแรก

ที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต และในปี 2559 มีแผนจะขยายเพิม ่ อีก 10 สาขา แบ่งเป็นการขยายสาขา

ในสถานีบริการน้ำ�มัน 5 สาขา และภายในศูนย์การค้า 6 สาขา


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

052

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

น้ำ� มั น สำ�เร็ จ รู ป และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเคมี จ ากภู มิ ภ าค

ตะวันออกกลางและอินเดียซึ่งมีการเพิ่มกำ�ลังการผลิต เพื่ อ จำ�หน่ า ยไปยั ง ภู มิ ภ าคยุ โ รป ซึ่ ง มี ก ารปิ ด ตั ว

ของโรงกลั่ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ควบคู่ ไ ปกั บ การมุ่ ง สร้ า ง

มู ล ค่ า เพิ่ ม ผ่ า นการเช่ า ถั ง เก็ บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ามพื้ น ที่

ยุทธศาสตร์ต่างๆ ซึ่งเป็นการทำ�การค้าครบวงจรตั้งแต่ รั บ -เก็ บ -ผสม-บริ ห าร-จ่ า ย เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์

ให้ มี คุ ณ ภาพและปริ ม าณตรงกั บ ความต้ อ งการของ ผูซ ้ อ ื้ มากทีส ่ ด ุ และมุง่ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน

• เปิดสถานีบริการน้ำ�มันครบวงจร PTT Life

Station ณ เสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา และสถานีบริการ

น้ำ�มัน ปตท. หลวงพระบาง สปป.ลาว ซึง่ เป็นสถานีบริการ น้ำ�มันแบบครบวงจรในรูปแบบ Platinum ตามแนวคิด

PTT Life Station ช่วยสร้างแบรนด์ของไทยให้เป็นที่รู้จัก ในภูมิภาค ร่วมสร้างความภาคภูมิใจให้กับคนไทย

หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

ผลสำ�เร็ จ ของการดำ�เนิ น งานของหน่ ว ยธุ ร กิ จ

การค้าระหว่างประเทศในปี 2558 มาจากการขยาย ธุรกรรมการค้านอกประเทศ (Out-Out Trading) จาก การเปลี่ยนแปลงของตลาดน้ำ�มันโลกอันเนื่องมาจาก การพั ฒ นาการผลิ ต น้ำ� มั น และก๊ า ซธรรมชาติ จ าก หินดินดาน (Shale Oil and Gas) ของสหรัฐอเมริกา อาทิ

การซื้อน้ำ�มันดิบจากละตินอเมริกา แอฟริกาตะวันตก

และเมดิเตอร์เรเนียน ซึง่ มีอป ุ ทานล้นตลาด เพือ ่ จำ�หน่าย

ไปยังภูมิภาคเอเชียและยุโรป เป็นต้น รวมถึงการซื้อ

โดยการใช้เครื่องมืออนุพันธ์ในการบริหารความเสี่ยง

ด้ า นราคา และใช้ ค วามเชี่ ย วชาญด้ า นการจั ด หาเรื อ ขนส่งผลิตภัณฑ์ในการบริหารจัดการต้นทุนการขนส่ง

ให้สามารถแข่งขันได้ ส่งผลให้ในปี 2558 หน่วยธุรกิจ การค้าระหว่างประเทศยังคงรักษาปริมาณการค้าให้อยู่ ในระดับสูง ท่ามกลางสภาวะราคาน้ำ�มันทีป ่ รับตัวลดลง อย่างมากตัง้ แต่ชว ่ งไตรมาสที่ 3 ของปี 2557 เป็นต้นมา

โดยมีปริมาณการค้าผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมและปิโตรเคมี รวม 67,927 ล้ า นลิ ต ร เพิ่ ม ขึ้ น 252 ล้ า นลิ ต ร หรื อ

ร้อยละ 0.37 เทียบกับปี 2557 ซึ่งประกอบด้วยการค้า

น้ำ�มันดิบ 48,436 ล้านลิตร การค้าคอนเดนเสท 7,439

ล้านลิตร การค้าน้ำ�มันสำ�เร็จรูป และก๊าซปิโตรเลียมเหลว 9,579 ล้านลิตร การค้าผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีและตัวทำ� ละลาย 2,472 ล้านลิตร และการค้าในตลาดสินค้าอื่นๆ

นอกเหนื อ จากสิ น ค้ า ที่ เ กี่ ย วกั บ พลั ง งาน อาทิ เ ช่ น น้ำ� มั น ปาล์ ม ดิ บ (Crude Palm Oil) และผลิ ต ภั ณ ฑ์

ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งจากน้ำ� มั น ปาล์ ม รวมถึ ง กะลาปาล์ ม

(Palm Kernel Shell) และอะลูมิเนียม โดยมีปริมาณ การค้ารวมทั้งสิ้น 50 ล้านลิตร


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

การจั ด หาพลั ง งานให้ ป ระเทศอย่ า งเพี ย งพอ

ถื อ เป็ น ภารกิ จ สำ�คั ญ ของหน่ ว ยธุ ร กิ จ การค้ า ระหว่ า ง ประเทศ ประกอบด้วย

053

การนำ�เข้าก๊าซปิโตรเลียมเหลว

เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการใช้ ทั้ ง ในภาค

อุตสาหกรรม ภาคขนส่ง และภาคครัวเรือน ที่มีปริมาณ

การจัดหานํ้ามันดิบและคอนเดนเสท จากแหล่งในประเทศ

เป็ น การทำ�สั ญ ญาซื้ อ ระยะยาวกั บ ผู้ ไ ด้ รั บ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

มากกว่ า ปริ ม าณการผลิ ต ในประเทศ โดยทำ�สั ญ ญา

ระยะยาวกับบริษัทน้ำ�มันแห่งชาติของประเทศผู้ผลิต

สัมปทานสำ�หรับปริมาณการผลิตส่วนใหญ่ เพื่อนำ�มา

จั ด สรรให้ กั บ โรงกลั่ น น้ำ� มั น และโรงปิ โ ตรเคมี ต าม สั ด ส่ ว นและคุ ณ ภาพที่ เ หมาะสมกั บ โรงกลั่ น และ

โรงปิ โ ตรเคมี แ ต่ ล ะแห่ ง โดยในปี 2558 มีการจัดหา น้ำ� มั น ดิ บ และคอนเดนเสทจากแหล่ ง ในประเทศ

ปริมาณทั้งสิ้น 12,688 ล้านลิตร

และผู้ส่งออกรายใหญ่ของโลก อีกทั้งยังสร้างโครงข่าย พันธมิตรกับประเทศผู้นำ�เข้ารายใหญ่อื่น ๆ ในเอเชีย

โดยในปี 2558 หน่ ว ยธุ ร กิ จ การค้ า ระหว่ า งประเทศ

นำ�เข้ า ก๊ า ซปิ โ ตรเลี ย มเหลวทั้ ง สิ้ น 2,231 ล้ า นลิ ต ร หรือคิดเป็นร้อยละ 100 ของปริมาณการนำ�เข้าทั้งหมด ของประเทศไทย

การนำ�เข้านํ้ามันเตา

เพื่อเป็นเชื้อเพลิงสำ�รองในกรณีก๊าซธรรมชาติ

การนำ�เข้านํ้ามันดิบและคอนเดนเสท จากแหล่งต่างประเทศ

เป็ น การทำ�สั ญ ญาซื้ อ ระยะยาวแบบรั ฐ ต่ อ รั ฐ

ซึ่ ง เป็ น เชื้ อ เพลิ ง หลั ก ไม่ เ พี ย งพอ โดยในปี 2558

กับกลุม ่ ประเทศผูผ ้ ลิตในภูมภ ิ าคตะวันออกกลาง รวมถึง ภู มิ ภ าคอื่ น ๆ เพื่ อ นำ�เข้ า น้ำ� มั น ดิ บ และคอนเดนเสท ให้ โ รงกลั่ น และโรงปิ โ ตรเคมี ใ นประเทศอย่ า งน้ อ ย

ตามสัดส่วนที่ ปตท. ถือหุน ้ รวมถึงมีการนำ�เข้าให้โรงกลัน ่ อื่นที่มิได้ถือหุ้น ตามคุณภาพที่เหมาะสมกับโรงกลั่น

และโรงปิ โ ตรเคมี แ ต่ ล ะแห่ ง ปี 2558 มี ก ารนำ�เข้ า น้ำ�มันดิบและคอนเดนเสทจากแหล่งต่างประเทศทัง้ สิน ้

31,222 ล้ า นลิ ต ร หรื อ คิ ด เป็ น ประมาณร้ อ ยละ 61

มีการนำ�เข้าน้ำ�มันเตาทั้งหมด 147 ล้านลิตร

นอกจากนี้ หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

ได้ดำ�เนินการบริหารจัดการความเสีย ่ งราคาจากธุรกรรม การค้า การกลั่น การผลิต ให้กับ ปตท. และบริษัทใน

กลุ่ ม ปตท. โดยใช้ เ ครื่ อ งมื อ การบริ ห ารความเสี่ ย ง

ด้านราคา เช่น Swap หรือ Option อย่างเหมาะสม ซึง่ ในปี 2558 มี ป ริ ม าณการบริ ห ารความเสี่ ย งให้ กั บ ปตท.

ทั้งหมด 18,575 ล้านลิตร และมีการบริหารความเสี่ยง

ให้กับโรงกลั่นใน กลุ่ม ปตท. รวมทั้งสิ้น 2,226 ล้านลิตร

ของการนำ�เข้าทั้งหมดของประเทศไทย

ปริมาณการค้า ระหว่างประเทศ

80,000 70,000

3,173

หน่วย: ล้านลิตร

60,000

15,269

50,000

7,549

71,604

-5.49%

+0.37%

67,675

67,927

2,800

2,472

15,838

9,579 7,439

7,297

40,000 30,000 45,613

20,000 ปิโตรเคมี นํ้ามันสำ�เร็จรูป คอนเดนเสท นํ้ามันดิบ

48,436

41,739

10,000 0

2556

2557

2558


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

054

เหตุการณ์ส�ำ คัญของหน่วยธุรกิจ การค้าระหว่างประเทศในรอบปี 2558 เมษายน

• ทำ�สัญญาซื้อขายอะลูมิเนียม ปริมาณ 2,700

เมตริกตัน กับบริษัทผู้ค้าชั้นนำ�ของโลก เพื่อตอบสนอง ความต้ อ งการของกลุ่ ม ลู ก ค้ า อุ ต สาหกรรมภายใน

ประเทศ ซึ่ ง เป็ น การขยายการค้ า ไปยั ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อื่ น นอกเหนือจากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

กรกฎาคม

พฤษภาคม

อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กลุ่ม ปตท. หรือ WEcoZi โดย

• ลงนามในสัญญาซือ ้ ขายก๊าซปิโตรเลียมเหลว

กับบริษัทคู่ค้าจากประเทศเกาหลีใต้และญี่ปุ่น ซึ่งเป็น

บริษัทนำ�เข้าและจัดหาก๊าซปิโตรเลียมเหลวรายใหญ่ ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อเป็นการสร้าง

โอกาสในการทำ�การค้านอกประเทศของ ปตท. มากขึ้น

นอกเหนือจากการสร้างความมั่นคงทางพลังงานให้กับ ประเทศ

มิถุนายน

• ลงนามในสัญญาซื้อขายน้ำ�มันดิบระยะยาว

จากแหล่งผลิตน้ำ�มันในทวีปอเมริกาใต้ ปริมาณ 18,544

ล้ า นลิ ต ร เพื่ อ ขยายฐานการค้ า ไปยั ง ประเทศในทวี ป อเมริกาและยุโรป เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการก้าวสู่ การเป็นบริษัทพลังงานข้ามชาติชั้นนำ�ของ ปตท.

• ลงนามข้อตกลงความร่วมมือการใช้ประโยชน์

ที่ ดิ น แ ล ะ ร ะ บ บ ส า ธ า ร ณู ป โ ภ ค ภ า ย ใ น พื้ น ที่ เ ข ต

หน่ ว ยธุ ร กิ จ การค้ า ระหว่ า งประเทศ ทำ�หน้ า ที่ จั ด หา กะลาปาล์ ม เพื่ อ ใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง ชี ว ภาพ ซึ่ ง เป็ น

การตอบสนองต่อกลยุทธ์ของ ปตท. ในการดำ�เนินธุรกิจ

ที่ดูแลสิ่งแวดล้อม (Green Roadmap) และมุ่งเน้นการ ใช้พลังงานทางเลือกให้เกิดประโยชน์สูงสุด ➢

หน่วยธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน

ในรอบปี 2558 ที่ผ่านมา กลุ่มธุรกิจโครงสร้าง

พื้ น ฐานได้ เ สริ ม สร้ า งความเชื่ อ มโยงในการบริ ห าร จัดการกลุม ่ ธุรกิจหลักของ ปตท. โดยการเพิม ่ ประสิทธิภาพ

ของกลไกและลดความซับซ้อนในการบริหารจัดการและ

การให้บริการระหว่าง ปตท. และบริษัทในกลุ่ม ปตท.

และสร้ า งความพร้ อ มในการดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ โครงสร้ า ง

พื้นฐานและสาธารณูปโภค ในลักษณะเบ็ดเสร็จ มุ่งหา

โอกาสทางธุ ร กิ จ ใหม่ ๆ ต่ อ เนื่ อ งจากกิ จ กรรมธุ ร กิ จ

ให้ บ ริ ก ารโครงสร้ า งพื้ น ฐาน เช่ น การลงทุ น และ

การก่อสร้างโครงการใหม่ ๆ เพือ ่ สร้างมูลค่าเพิม ่ ในอนาคต พร้ อ มทั้ ง สร้ า งความเชี่ ย วชาญให้ กั บ บุ ค ลากรของ

ปตท. เพื่อรองรับการเป็นศูนย์กลางแห่งความเป็นเลิศ ในการบริหารจัดการโครงการอย่างมืออาชีพ อีกทัง้ ยังมี

การดำ�เนินการเพือ ่ สนองนโยบายของรัฐ ด้วยการบริหาร

จัดการสินทรัพย์ด้านโครงสร้างพื้นฐานของกลุ่ม ปตท. ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ผลสำ�เร็จของกลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานเกิด

จากผลั ก ดั น ให้ มี ก ารทยอยปรั บ ราคาขายปลี ก NGV

อย่างต่อเนือ ่ งเพือ ่ ให้สะท้อนต้นทุน และมีการเปิดสถานี บริการ NGV จำ�นวน 500 สถานี ในปี 2558


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

055

เหตุการณ์ส�ำ คัญของหน่วยธุรกิจ โครงสร้างพื้นฐานในรอบปี 2558

พฤษภาคม

มื อ ถื อ แบบสมาร์ ท โฟนทุ ก ระบบโดยดาวน์ โ หลดผ่ า น

• เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2558 หน่วยงาน

วิศวกรรมโครงการได้ดำ�เนินการทดสอบระบบหมุนเวียน

• เปิดตัวนวัตกรรมใหม่ให้ผใู้ ช้รถ NGV สามารถ

ตรวจสอบปริมาณก๊าซฯ ในแต่ละสถานีบริการได้ด้วย

ตนเอง ผ่าน Application “PTT Life Station” บนโทรศัพท์ APP STORE หรือ PLAY STORE จากนั้นเลือกสถานี บริ ก าร NGV ที่ ต้ อ งการใช้ บ ริ ก าร จะแสดงตำ�แหน่ ง

ของสถานี ฯ ในแผนที่ ซึ่ ง จะมี ก ารแสดงแถบสี ร ะดั บ

พลั ง งานความร้ อ นเหลื อ ทิ้ ง กลั บ คื น สำ�หรั บ โรงแยก

ปริมาณก๊าซฯ ทีพ ่ ร้อมให้บริการ เพือ ่ ช่วยในการตัดสินใจ

พฤษภาคม 2558 เป็นต้นมา โดยเป็นการติดตั้งเตา

ก๊าซธรรมชาติแล้วเสร็จ และเริ่มเดินเครื่องตั้งแต่เดือน

หม้ อ ต้ ม น้ำ� มั น ร้ อ น (Waste Heat Recovery Unit)

ขนาด 31 เมกะวัตต์ (MW) จำ�นวน 3 ชุด ซึ่งสามารถ

ล ด ก า ร ใ ช้ เ ชื้ อ เ พ ลิ ง ข อ ง โ ร ง แ ย ก ก๊ า ซ ฯ ล ง ไ ด้ ถึ ง 1.7 ล้านล้านบีทียูต่อปี

สิงหาคม

• บริษัท PTTME และ PTTMCC ร่วมกันจับมือ

ลงนามสั ญ ญา Service Agreement for Plant

Maintenance Contract โดยมีระยะเวลาสัญญา 1 ปี (1 พฤษภาคม 2558 ถึง 30 เมษายน 2559) ซึ่งถือเป็น

ความร่ ว มมื อ เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารงานบำ�รุ ง รั ก ษาโรงงาน ในเชิงป้องกันและฉุกเฉิน (PM/CM) โดยมุง่ มัน ่ สนับสนุน

การเดิ น เครื่ อ งอย่ า งดี เ ลิ ศ (Operation Excellence)

และเกิดระบบการจัดการทีด ่ ข ี อง PTTMCC โดยบุคลากร ที่มีความเชี่ยวชาญจาก PTTME

กันยายน

• ปตท. เปิ ด สถานี บ ริ ก าร NGV แห่ ง ที่ 500

ประเภทแนวท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ด้วยกำ�ลังการผลิต

ก๊าซเอ็นจีวี 25 ตันต่อวัน รองรับความต้องการใช้ก๊าซฯ

ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร และ จังหวัดใกล้เคียง

เลือกรับใช้บริการ

• ปตท. ลงนามในบันทึกความเข้าใจและส่งมอบ

“มาตรฐานในการบริหารจัดการความปลอดภัยการขนส่ง

ก๊าซธรรมชาติทางรถยนต์ ปตท. (PTT NGV Logistics

Road Safety Management Standard)” ให้แก่ผู้บริหาร

บริษัทผู้รับจ้างขนส่ง NGV ทุกบริษัท และหน่วยงาน

ปตท. ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ แสดงถึ ง ความมุ่ ง มั่ น ร่ ว มกั น

ในการพั ฒ นาระบบการขนส่ ง ให้ มี ค วามปลอดภั ย ภายใต้วิสัยทัศน์ของ ปตท. ที่มุ่งมั่นในการดำ�เนินธุรกิจ ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม

• เปิ ด ตั ว กลุ่ ม ความร่ ว มมื อ Engineering

Services & Technical Solutions Collaboration ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ปตท. และบริ ษั ท พี ที ที เอนเนอร์ ยี่

โซลูชั่นส์ จำ�กัด (PTTES), บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จำ�กัด (PTTME) เพื่อร่วมมือกัน

ด้ า นงานให้ บ ริ ก ารทางเทคนิ ค วิ ศ วกรรม ซ่ อ มบำ�รุ ง ครบวงจร


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

056

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

ธุรกิจที่ลงทุนผ่านบริษัทในกลุ่ม

ธุรกิจสำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม

ในปี 2558 ปตท.สผ. มีรายได้รวมจำ�นวน 5,654

ล้านเหรียญสหรัฐ เมือ ่ เทียบกับ 7,834 ล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2557 โดยมี ส าเหตุ ห ลั ก มาจากราคาขายเฉลี่ ย

ที่ลดลงตามราคาน้ำ�มันดิบในตลาดโลกมาอยู่ที่ 45.29

เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรลเทียบเท่าน้ำ�มันดิบ จาก 63.71

เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรลเทียบเท่าน้ำ�มันดิบ ในปี 2557 แม้ ว่ า ในปี 2558 จะมี ป ริ ม าณการขายเฉลี่ ย เพิ่ ม ขึ้ น

จากเดิม ในปี 2557 ที่ 312,569 บาร์เรลเทียบเท่าน้ำ�มันดิบ

ต่อวัน เป็น 322,167 บาร์เรลเทียบเท่าน้ำ�มันดิบต่อวัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมาย สำ�หรับ

ค่ า ใช้ จ่ า ยรวมก่ อ นบั น ทึ ก การด้ อ ยค่ า ของสิ น ทรั พ ย์ ในปี 2558 อยู่ ที่ 4,642 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ลดลง เมื่ อ เที ย บกั บ 5,087 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ในปี 2557

เนื่องจากบริษัทได้มีมาตรการลดต้นทุนและค่าใช้จ่าย

ตามโครงการ SAVE to be SAFE โดยสามารถ

ลดค่ า ใช้ จ่ า ยและเงิ น ลงทุ น ได้ ป ระมาณร้ อ ยละ 30 เมื่อเทียบกับแผนงบประมาณประจำ�ปี 2558 ส่งผลให้

ต้ น ทุ น ขายต่ อ หน่ ว ย (Unit Cost) ของบริ ษั ท ลดลง จากเดิมที่ 43.45 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ในปี 2557

เป็ น 38.88 เหรี ย ญสหรั ฐ ต่ อ บาร์ เ รล ในปี 2558 หรือลดลงกว่าร้อยละ 11 ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากการเพิ่ม ประสิทธิภาพการดำ�เนินงานและลดต้นทุน โดยยังคง

รักษามาตรฐานความปลอดภัย เช่น การลดจำ�นวนวัน

และค่าใช้จ่ายในการเจาะหลุม โดยเฉพาะในอ่าวไทย ซึ่ ง ที่ ผ่ า นมาสามารถปรั บ ลดได้ ม ากกว่ า ร้ อ ยละ 20

การบริหารจัดการโลจิสติกส์ เช่น การลดจำ�นวนเรือ

การลดการสั่งซื้ออุปกรณ์การผลิตเพื่อมาเก็บไว้ รวมถึง การเจรจาต่ อ รองสั ญ ญาจั ด จ้ า งอุ ป กรณ์ แ ละบริ ก าร ต่าง ๆ ทั้งที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่จะจัดจ้างในอนาคต

รวมถึงการบริหารจัดการโครงสร้างเงินทุนให้เหมาะสม

ผลการดำ�เนิ น งานสำ�หรั บ ปี 2558 ปตท.สผ. และ บริษัทย่อย มีขาดทุนสุทธิรวม 854 ล้านเหรียญสหรัฐ

เ มื่ อ เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ กำ� ไ ร สุ ท ธิ ปี 2 5 5 7 จำ� น ว น 677 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยมีสาเหตุหลักจากการรับรู้ ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้น


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

ปตท.สผ. มีการดำ� เนินโครงการทั้ ง หมด

38 โครงการ ใน 11 ประเทศ ดังนี้

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

057

• โครงการเวียดนาม 16-1 ตั้งอยู่นอกชายฝั่ง

ทะเลทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเวียดนาม โครงการ

ประสบความสำ�เร็ จ ในการดำ�เนิ น การผลิ ต ครั้ ง แรก

โครงการในประเทศไทย

จากแท่นหลุมผลิต H5 ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนใต้ของแหล่ง

ปตท.สผ. มี โ ครงการในประเทศ (รวมพื้ น ที่

2558 โดยปั จ จุ บั น แท่ น หลุ ม ผลิ ต H5 สามารถผลิ ต

คาบเกี่ยว) จำ�นวน 16 โครงการ ส่วนใหญ่เป็นโครงการ ทีด ่ ำ�เนินการผลิตแล้ว (Producing Phase) ทัง้ ในอ่าวไทย

และบนบก โดยในปี นี้ โ ครงการผลิ ต สามารถรั ก ษา ระดับการผลิตได้อย่างต่อเนื่อง อาทิ โครงการบงกช

โครงการอาทิ ต ย์ โครงการเอส 1 และโครงการ คอนแทร็ค 4 โดยในปี 2558 โครงการในประเทศไทย

มี ป ริ ม าณการขายเฉลี่ ย รวมอยู่ ที่ ป ระมาณ 239,793

เทจั๊กจั๋ง (Te GIac Trang Field: TGT) ในเดือนสิงหาคม น้ำ�มันดิบที่อัตราเฉลี่ยประมาณวันละ 11,000 บาร์เรล

ตามเป้ า หมายที่ ว างไว้ ทั้ ง นี้ ในปี 2558 โครงการ มี ป ริ ม าณการขายน้ำ� มั น ดิ บ เฉลี่ ย 31,294 บาร์ เ รล

ต่ อ วั น และปริ ม าณการขายก๊ า ซธรรมชาติ เ ฉลี่ ย ที่

16 ล้านลูกบาศก์ฟต ุ ต่อวัน (หรือ 3,981 บาร์เรลเทียบเท่า น้ำ�มันดิบต่อวัน)

บาร์เรลเทียบเท่าน้ำ�มันดิบต่อวัน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 74

ที่สำ�คัญ เช่น

ของปริมาณการขายทั้งหมด

สำ� ห รั บ โ ค ร ง ก า ร ที่ อ ยู่ ร ะ ห ว่ า ง ก า ร สำ� ร ว จ

(Exploration Phase) ปตท.สผ. ได้ ดำ�เนิ น กิ จ กรรม

โครงการในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ปตท.สผ. มี โ ครงการในภู มิ ภ าคนี้ จำ�นวน

ได้เสร็จสิ้นการเจาะหลุมประเมินเพิ่มเติมตามแผนงาน

13 โครงการ ซึ่ ง ตั้ ง อยู่ ใ นสาธารณรั ฐ แห่ ง สหภาพ เมียนมา (เมียนมา) สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (เวียดนาม) และสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (อินโดนีเซีย)

โดยในปี 2558 โครงการในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้

มี ป ริ ม าณการขายเฉลี่ ย รวมอยู่ ที่ ป ระมาณ 60,672

บาร์เรลเทียบเท่าน้ำ�มันดิบต่อวัน หรือคิดเป็นร้อยละ 19 ของปริมาณการขายทั้งหมด

สำ� ห รั บ โ ค ร ง ก า ร ที่ ดำ� เ นิ น ก า ร ผ ลิ ต แ ล้ ว

(Producing Phase) ปตท.สผ. ได้ ดำ�เนิ น กิ จ กรรม ที่สำ�คัญ เช่น

• โครงการซอติ ก้ า ตั้ ง อยู่ น อกชายฝั่ ง ทะเล

• โครงการเมียนมา เอ็ม 3 ตั้งอยู่นอกชายฝั่ง

ทะเล อ่าวเมาะตะมะของเมียนมา ในปี 2558 โครงการ

ทีว ่ างไว้ทงั้ หมด 5 หลุม ทัง้ นี้ ไม่พบศักยภาพเชิงพาณิชย์ จำ�นวน 4 หลุม ปัจจุบันโครงการอยู่ระหว่างการศึกษา

ทางวิศวกรรมเพือ ่ ประเมินความเป็นไปได้ในการพัฒนา เชิงพาณิชย์

• โครงการเมี ย นมา พี เ อสซี จี และอี พี 2

เป็ น โครงการบนบก ตั้ ง อยู่ ใ นพื้ น ที่ บ ริ เ วณ Central Myanmar Basin ประเทศเมียนมา ในปี 2558 โครงการ

ได้เจาะหลุมสำ�รวจทั้ง 4 หลุม ตามข้อผูกพันการสำ�รวจ

ปิโตรเลียมช่วงที่ 1 ซึง่ ไม่พบศักยภาพปิโตรเลียม ปัจจุบน ั อยู่ระหว่างการยื่นขอขยายเวลาสำ�รวจเพื่อการศึกษา ศักยภาพปิโตรเลียมเพิ่มเติมกับรัฐบาลเมียนมา

อ่าวเมาะตะมะของเมียนมา ปัจจุบันโครงการสามารถ

โครงการในออสตราเลเชีย

โครงการได้ก่อสร้างแท่นหลุมผลิตเฟส 1B แล้วเสร็จ

ปตท.สผ. มี โ ครงการในภู มิ ภ าคนี้ จำ�นวน

รักษาระดับการผลิต นอกจากนี้ โครงการได้เสร็จสิน ้ การ

• โครงการพีทีทีอีพี ออสตราเลเชีย ซึ่งตั้งอยู่

สำ�หรับแหล่งทีด ่ ำ�เนินการผลิตแล้ว (Producing

รักษาปริมาณการผลิตได้คงที่และตามเป้าหมาย โดย

่ จำ�นวน 1 แท่น และอยูร่ ะหว่างการก่อสร้างอีก 3 แท่น เพือ

1 โครงการ คือ

เจาะหลุมประเมินจำ�นวน 10 หลุม ทีเ่ ริม ่ ดำ�เนินการตัง้ แต่

ในเครือรัฐออสเตรเลีย ประกอบด้วย 14 แปลงสัมปทาน

ศั ก ยภาพและวางแผนการพั ฒ นาต่ อ ไปในอนาคต

Phase) คือ แหล่งมอนทารา (Montara) ในปีที่ผ่านมา

ไตรมาสที่ 3 ปี 2557 ปัจจุบันอยู่ระหว่างการประเมิน โดยในปี 2558 มี ป ริ ม าณการขายก๊ า ซธรรมชาติ เฉลี่ยรวมอยู่ที่ประมาณ 314 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน (ประมาณ 47,541 บาร์เรลเทียบเท่าน้ำ�มันดิบต่อวัน)

มี ป ริ ม าณการขายโดยเฉลี่ ย อยู่ ที่ ป ระมาณ 16,288 บาร์เรลต่อวัน หรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 5 ของปริมาณ การขายทั้งหมด ซึ่งสอดคล้องกับแผนการผลิตที่วางไว้


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

058

สำ�หรับแหล่งทีอ ่ ยูร่ ะหว่างการสำ�รวจ (Exploration

โครงการในแอฟริกาและตะวันออกกลาง

ศักยภาพเชิงพาณิชย์ของแหล่ง Cash Maple และหา

ปตท.สผ. มี โ ครงการในภู มิ ภ าคนี้ จำ�นวน

Phase) ในปี 2558 ปตท.สผ. อยู่ระหว่างการวิเคราะห์ แนวทางพัฒนา พร้อมทั้งอยู่ระหว่างการศึกษาข้อมูล

ทางธรณีวิทยาและธรณีฟิสิกส์ในแปลงสัมปทานที่มีอยู่ ทัง้ หมดเพือ ่ กำ�หนดแนวทางการสำ�รวจทีเ่ หมาะสมต่อไป

โครงการในทวีปอเมริกา

ปตท.สผ. มี โ ครงการในภู มิ ภ าคนี้ จำ�นวน

3 โครงการ ตั้ ง อยู่ ใ นประเทศแคนาดาและประเทศ บราซิล ได้แก่

• โครงการมาเรียนา ออยล์ แซนด์ ซึง่ ตัง้ อยูใ่ น

แคว้นอัลเบอร์ตา้ ประเทศแคนาดา โครงการได้ดำ�เนินการ

5 โครงการ ซึ่งตั้งอยู่ในรัฐสุลต่านโอมาน สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย สาธารณรัฐโมซัมบิก และสาธารณรัฐเคนยา

สำ� ห รั บ โ ค ร ง ก า ร ที่ ดำ� เ นิ น ก า ร ผ ลิ ต แ ล้ ว

(Producing Phase) ปตท.สผ. ได้เริ่มดำ�เนินการผลิต

น้ำ� มั น ดิ บ จาก โครงการแอลจี เ รี ย 433 เอ และ 416 บี ซึ่งตั้งอยู่บนบก ทางทิศตะวันออกของประเทศ

แอลจีเรีย ด้วยกำ�ลังการผลิตประมาณ 20,000 บาร์เรล

ต่อวัน พร้อมทัง้ จำ�หน่ายน้ำ�มันดิบครัง้ แรกในไตรมาสที่ 4 ของปี 2558

ยื่ น ขออนุ มั ติ พั ฒ นาแหล่ ง Thornbury Phase 1

อย่างไรก็ดีเนื่องจากราคาน้ำ�มันที่ลดลง โครงการจึง

ในโครงการต่าง ๆ ดังนี้

ต่อรัฐบาลอัลเบอร์ต้า เมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา

อยู่ระหว่างพิจารณาแนวทางการดำ�เนินงานในอนาคต

สำ� ห รั บ โ ค ร ง ก า ร ที่ อ ยู่ ร ะ ห ว่ า ง ก า ร สำ� ร ว จ

(Exploration Phase) ปตท.สผ. ได้ดำ�เนินการสำ�รวจ

• โครงการแอลจี เ รี ย ฮาสสิ เบอร์ ราเคซ

โดยจะเน้นการศึกษาเพื่อลดต้นทุนและลดความเสี่ยง

ซึง่ ตัง้ อยูบ ่ นบก ทางทิศตะวันออกของประเทศแอลจีเรีย

(Third Exploration Phase) และได้เสร็จสิน ้ การเจาะหลุม

ในการพัฒนาโครงการเป็นหลัก

• โครงการบารารินเนียส์ เอพี 1 ตั้งอยู่บริเวณ

แอ่ง Barreirinhas นอกชายฝัง่ ทางตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศบราซิล เมือ ่ วันที1 ่ 9 ตุลาคม 2558 โครงการ

ได้รบ ั การอนุมต ั ริ ายงานการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อม

ในปี 2558 โครงการได้ เ ข้ า สู่ ก ารสำ�รวจระยะที่ 3 สำ�รวจและประเมินผลแล้วจำ�นวน 5 หลุมจากแผนการ เจาะ 6 หลุม

• โครงการโมซัมบิก โรวูมา ่ ออฟชอร์ แอเรีย วัน

(EIA) จากหน่ ว ยงานของรั ฐ บาลสหพั น ธ์ ส าธารณรั ฐ

ซึ่ ง เป็ น โครงการก๊ า ซธรรมชาติ ข นาดใหญ่ ตั้ ง อยู่ น อก

เตรี ย มการเพื่ อ ดำ�เนิ น การสำ�รวจคลื่ น ไหวสะเทื อ น

ประเมินผลทั้งหมดจำ�นวน 6 หลุม และได้คัดเลือกกลุ่ม

บราซิ ล (IBAMA) เรี ย บร้ อ ยแล้ ว ปั จจุบันอยู่ระหว่าง

แบบ 3 มิ ติ โดยคาดว่ า จะเริ่ ม ดำ�เนิ น การสำ�รวจได้ ในไตรมาสที่ 1 ของปี 2559

• โครงการบราซิ ล บี เ อ็ ม อี เ อส 23 ตั้ ง อยู่

บริเวณแอ่ง Espirito Santo นอกชายฝั่งทางตะวันออก

ของประเทศบราซิล ในปี 2558 โครงการได้เจาะหลุมสำ�รวจ

แล้วเสร็จจำ�นวน 1 หลุม และหลุมประเมินผลจำ�นวน

1 หลุม โดยพบปิโตรเลียมในหลุมสำ�รวจและอยูร่ ะหว่าง

ประเมิ น ศั ก ยภาพ ส่ ว นอี ก หนึ่ ง หลุ ม ไม่ พ บศั ก ยภาพ เชิงพาณิชย์

ชายฝั่งของโมซัมบิก โครงการได้เสร็จสิ้นการเจาะหลุม บริษัทผู้รับเหมาที่จะรับงานก่อสร้างโรงงานผลิตก๊าซ

ธรรมชาติเหลวบนบก (Onshore LNG Engineering Procurement and Construction Contract) โดยใน

ส่ ว นของการออกกฎหมายเพื่ อ สนั บ สนุ น การดำ�เนิ น

โครงการ (Decree Law) นัน ้ ได้รบ ั การอนุมต ั จ ิ ากรัฐบาล และรั บ รองจากรั ฐ สภาของสาธารณรั ฐ โมซั ม บิ ก เป็ น

ทีเ่ รียบร้อยแล้ว ปัจจุบน ั โครงการอยูร่ ะหว่างการคัดเลือก ผู้รับเหมาสำ�หรับการติดตั้งอุปกรณ์นอกชายฝั่งทะเล (Offshore Installation) รวมถึงการจัดหาเงินกูใ้ นรูปแบบ ของ Project Finance


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

059

ด้านการบริหารการลงทุน (Portfolio Management)

การปรับทิศทางกลยุทธ์ธุรกิจภายใต้ภาวะ ราคานํ้ามันที่ลดลง

ในปี 2558 ปตท.สผ. ได้มีการดำ�เนินการบริหาร

เนื่องด้วยระดับราคาน้ำ�มันดิบในตลาดโลกได้

การลงทุ น ที่ สำ�คั ญ ได้ แ ก่ การเปลี่ ย นแปลงสั ด ส่ ว น

การลงทุ น ในโครงการเมี ย นมาจำ�นวน 2 โครงการ

ได้ แ ก่ โครงการเมี ย นมา พี เ อสซี จี และอี พี 2

โดยการโอนสิ ท ธิ ก ารถื อ สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 20 ให้ กั บ บริ ษั ท ย่ อ ยของ Mitsui Oil Exploration Co., Ltd.

(MOECO) และ Palang Sophon Offshore Pte. Ltd. และโครงการเมียนมา เอ็มโอจีอี 3 โดยการโอนสิทธิ การถือสัดส่วนร้อยละ 10 ให้กบ ั บริษท ั ย่อยของ MOECO

โครงการสำ�รวจอินโดนีเซีย มาลุนด้า โครงการสำ�รวจ

อิ น โดนี เ ซี ย เซาท์ มานด้ า ร์ ในประเทศอิ น โดนี เ ซี ย และยื่ น ขอคื น สิ ท ธิ โ ครงการสำ�รวจโมซั ม บิ ก โรวู ม่ า

ออนชอร์ ในประเทศโมซัมบิก ทั้งนี้ โครงการทั้งหมด

อยู่ระหว่างรอการอนุมัติจากรัฐบาลของแต่ละโครงการ นอกจากนี้ ยั ง ได้ รั บ การอนุ มั ติการคืนสิทธิการลงทุน ในโครงการสำ�รวจเคนยา แอล 10 เอ ในประเทศเคนยา โครงการอิ น โดนี เ ซี ย ซาดั ง ในประเทศอิ น โดนี เ ซี ย

และโครงการเอ 4/48 และเอ 5/48 ในประเทศไทย เรียบร้อยแล้ว

ด้านการบริหารต้นทุน (Cost Management)

ปตท.สผ. มี ก ารปรั บ แผนการลงทุ น และลด

ค่าใช้จ่าย ตามโครงการ SAVE to be SAFE เพื่อให้

สอดคล้องกับสภาวะราคาน้ำ�มันทีต ่ กต่ำ� โดยมีแนวทาง คือ ลด ละ เลื่อน

• ลด หาแนวทางลดค่าใช้จ่าย ลดต้นทุน และ

หาวิธีการทำ�งาน/ เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ ที่จะช่วย ลดต้นทุนทั้งระยะสั้นและระยะยาว

• ละ ละเว้ น กิ จ กรรมที่ ยั ง ไม่ มี ค วามจำ�เป็ น

ต้องทำ� โดยให้ความสำ�คัญกับโครงการหรือกิจกรรม

ที่มีความจำ�เป็นต้องทำ� (need to have or need to do) ละเว้นโครงการหรือกิจกรรมทีไ่ ม่มค ี วามจำ�เป็น (nice to have or nice to do)

• เ ลื่ อ น เ ลื่ อ น ก า ร ล ง ทุ น ใ น โ ค ร ง ก า ร ที่ มี

ความเสี่ ย งออกไปก่ อ น โดยจั ด อั น ดั บ ความสำ�คั ญ

ของการใช้เงินลงทุน และเลือกลงทุนเฉพาะในโครงการ ทีม ่ ค ี วามคุม ้ ค่าในภาวะราคาน้ำ�มันทีต ่ กต่ำ� เพือ ่ ปรับตัว ให้สอดรับกับสถานการณ์น้ำ�มันที่เกิดขึ้น

ปรับตัวลดลงต่อเนื่องจากปี 2557 มาอยู่ที่ระดับราคา

40 - 60 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล และมีราคาที่ผันผวน ตลอดทั้งปี 2558 จากสถานการณ์ดังกล่าว ปตท.สผ.

จึ ง มี ก า ร ป รั บ แ ผ น ก ล ยุ ท ธ์ แ ล ะ แ ผ น ง า น ใ น ภ า ว ะ ราคาน้ำ� มั น ที่ ล ดลง เพื่ อ รั ก ษาความสมดุ ล ระหว่ า ง

การเติบโตของธุรกิจและผลประกอบการให้มค ี วามยัง่ ยืน ในระยะยาว ดังต่อไปนี้

• โครงการที่ มี ก ารผลิ ต แล้ ว ให้ ล ดค่ า ใช้ จ่ า ย

• โครงการที่กำ�ลังพัฒนา มีการปรับการลงทุน

แต่ยังคงให้สามารถรักษาระดับการผลิต

่ ต ี น ้ ทุน (Final Investment Decision) สำ�หรับโครงการทีม ในการพัฒนาสูง

• โครงการสำ�รวจ เลื อ กลงทุ น ในพื้ น ที่ ที่ มี

• การเติ บ โตจากการเข้ า ซื้ อ กิ จ การ (Merger

ความเสี่ยงต่ำ�

and Acquisition หรือ M&A) เลือกลงทุนในโครงการ

ทีม ่ ก ี ารผลิตหรือใกล้จะมีการผลิตแล้ว เพือ ่ เพิม ่ ปริมาณ สำ�รองและรายได้ให้กับบริษัทในระยะสั้น

• ค่ า ใช้ จ่ า ยสำ�นั ก งาน มี ก ารลดค่ า ใช้ จ่ า ย

ในด้ า นค่ า ที่ ป รึ ก ษา ค่ า เดิ น ทาง และค่ า เทคโนโลยี สารสนเทศ

นอกจากนี้ ปตท.สผ. ได้วเิ คราะห์ผลกระทบจาก

ราคาน้ำ�มันในระดับต่าง ๆ มาช่วยในการตัดสินใจลงทุน

พัฒนาโครงการใหม่เพื่อเพิ่มความมั่นใจในการลงทุน ให้มากขึ้น โดยปัจจุบันมี 6 โครงการ ได้แก่ โครงการ

คอนแทร็ค 4 (แหล่งอุบล) โครงการโมซัมบิก โรวูมา

ออฟชอร์ แอเรีย วัน โครงการแอลจีเรีย ฮาสสิ เบอร์ ราเคซ โครงการพีทีทีอีพี ออสตราเลเชีย (แหล่งแคช/เมเปิล) โครงการมาเรียนา ออยล์ แซนด์ และโครงการเมียนมา เอ็ม 3 นอกจากนี้ ปตท.สผ. มีทิศทางในการดำ�เนินการ ด้าน M&A ที่รอบคอบมากยิ่งขึ้น โดยพิจารณาโอกาส ในการสร้างมูลค่าเพิม ่ และความมัน ่ คงทางด้านพลังงาน

เพื่ อ มุ่ ง เน้ น การรั ก ษาฐานการผลิ ต ภายในประเทศ

ที่แข็งแรงและมองหาโอกาสการลงทุนในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ในพื้นที่ที่ ปตท.สผ. มีศักยภาพสูง

ในการดำ�เนินการ และเลือกพิจารณาลงทุนในประเทศ อื่น ๆ


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

060

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

แผนที่แสดงโครงการ สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม ปตท.สผ.

North America (1)

South America (2)

Africa and Middle East (5)

Southeast Asia (13)

Thailand (16)

Australia (1)

• Canada

• Brazil

• Algeria • Mozambique • Kenya • Oman

• Vietnam • Indonesia • Myanmar

• Thailand and Overlapping Areas

• Australia

ปตท.สผ. ลงทุนในโครงการสำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม 38 โครงการ ใน 11 ประเทศ (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2558)


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

ธุรกิจไฟฟ้า

กุมภาพันธ์

ธุรกิจทีด ่ ำ�เนินงานผ่านบริษท ั ในกลุม ่ ธุรกิจไฟฟ้า

โดย บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (GPSC)

ในปี 2558 มี ผ ลประกอบการเพิ่ ม ขึ้ น จาก 1,851 ล้านบาท ในปี 2557 เป็น 1,906 ล้านบาท ในปี 2558

และมี ก ารเพิ่ ม กำ�ลั ง การผลิ ต ไฟฟ้ า ติ ด ตั้ ง รวมตาม

สัดส่วนการถือหุ้นกำ�ลังการผลิตคาดว่าจะอยู่ที่ 1,917 เมกะวัตต์ โดยเพิ่มขึ้นจากปี 2557 ที่ 1,851 เมกะวัตต์

โดยเป็ น การเพิ่ ม กำ�ลั ง การผลิ ต จากในประเทศและ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

061

• คณะกรรมการบริษท ั ได้อนุมต ั ล ิ งทุนโครงการ

โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Ichinoseki Solar Power 1

ประเทศญี่ ปุ่ น ขนาด 20.8 เมกะวั ต ต์ เพื่ อ จำ�หน่ า ย ไฟฟ้าให้กับบริษท ั สาธารณูปโภคประเทศญีป ่ ุ่น ปัจจุบน ั

โครงการได้ ดำ�เนิ น การแผ้ ว ถางพื้ น ที่ ก่ อ สร้ า งเสร็ จ สมบูรณ์แล้ว โดยอยู่ระหว่างดำ�เนินการเจรจาสัญญา เตรียมพื้นที่ก่อสร้างและสัญญากับผู้รับเหมาหลัก

ต่างประเทศ ในรูปแบบการลงทุนเองและร่วมทุน

มีนาคม

เหตุการณ์ส�ำ คัญของหน่วยธุรกิจไฟฟ้า ในรอบปี 2558

มกราคม

การศึกษา และพัฒนาโครงการบำ�บัดน้ำ�เสียในพื้นที่

• โรงไฟฟ้ า ระยองมี ลู ก ค้ า รายใหม่ ได้ แ ก่

Vencorex (Thailand) Company Limited หรือ VCX

ที่ ถื อ หุ้ น โดย Vencorex Holding (ประเทศฝรั่ ง เศส) ซึ่งเป็นบริษัทที่ PTTGC ร่วมลงทุนกับ Perstorp Holding

• บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด

(มหาชน) และ บริ ษั ท ยู นิ เ วอร์ แ ซล ยู ที ลิ ตี้ ส์ จำ�กั ด ได้ ทำ�การลงนามบั น ทึ ก ความเข้ า ใจร่ ว มกั น เพื่ อ ทำ�

ที่มีศักยภาพ โดยมีเป้าหมายในการฟื้นฟูสภาพน้ำ�ใช้

อุ ต สาหกรรมให้ ก ลั บ มาใช้ อี ก เพื่ อ ลดปริ ม าณน้ำ� ทิ้ ง

และเพือ ่ พัฒนาศักยภาพอืน ่ ทีจ ่ ะส่งผลให้เกิดประโยชน์ ร่วมกันในการดำ�เนินธุรกิจภายภาคหน้า

France SAS โดยได้ตกลงทำ�สัญญาซื้อขายกับ GPSC

พฤษภาคม

ไอน้ำ� 3 ตั น ต่ อ ชั่ ว โมง และไอน้ำ� สำ�รองอี ก 3 ตั น

ต่อชั่วโมง อายุสัญญา 15 ปี คาดว่าจะเริ่มดำ�เนินการ

I P O แ ล ะ นำ� หุ้ น ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ เ ข้ า จ ด ท ะ เ บี ย น

รวม 3 ฉบั บ มี ป ริ ม าณการซื้ อ ขายไฟฟ้ า 2.7 MW

ต่อชั่วโมง และน้ำ�ปราศจากแร่ธาตุ 1 ลูกบาศก์เมตร เชิงพาณิชย์ได้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559

• GPSC เข้ า จดทะเบี ย นแปรสภาพบริ ษั ท ฯ

จากบริ ษั ท จำ�กั ด เป็ น บริ ษั ท มหาชนเพื่ อ ทำ�การออก ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ และวั น ที่ 18 พฤษภาคม


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

062

พฤศจิกายน

• บริ ษั ท IRPC-CP (บริ ษั ท ไออาร์ พี ซี คลี น

พาวเวอร์ จำ�กัด) Phase ที่ 1 เริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2558 ในรูปแบบ Simple Cycle Cogeneration (GPSC ถื อ หุ้ น ในสั ด ส่ ว น

ร้ อ ยละ 51) โดยเป็ น เครื่ อ งกำ�เนิ ด ไฟฟ้ า กั ง หั น ก๊ า ซ (Gas Turbine Generator: GTG) เครื่ อ งผลิ ต ไอน้ำ�

แรงดันสูง (Heat Recovery Steam Generator: HRSG) 2558 เริ่ ม การซื้ อ ขายหุ้ น ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ซึ่ ง

จำ�นวนหุ้นที่เสนอขาย จำ�นวนหุ้นที่จัดสรรจริงเท่ากับ 374,575,200 หุ้ น (เป็ น การเสนอขายต่ อ ประชาชน และการเสนอขายต่อกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน

และเครื่องผลิตไอน้ำ� (Auxiliary Boiler) โดยปัจจุบัน

เดิ น เครื่ อ งผลิ ต ไฟฟ้ า อยู่ ที่ ร ะดั บ กำ�ลั ง การผลิ ต สู ง สุ ด 47 เมกะวั ต ต์ และเดิ น เครื่ อ งผลิ ต ไอน้ำ� จาก HRSG อยู่ที่ระดับ 67 ตันต่อชั่วโมง

ของบริษัท) โดยมีมูลค่าการเสนอขายเท่ากับ 10,035

➢ ธุรกิจถ่านหิน

ล้านบาท

• GPSC พร้ อ มด้ ว ยผู้ ร่ ว มพั ฒ นาโครงการ

บริ ษั ท Marubeni Corporation และ EDEN Group ร่ ว มลงนามบั น ทึ ก ความเข้ า ใจ (MOU) กั บ ผู้ แ ทน

รั ฐ บาลเมี ย นมา ในการมอบสิ ท ธิ แ ต่ เ พี ย งผู้ เ ดี ย ว และการสนั บ สนุ น การศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ สำ�หรั บ

โครงการโรงไฟฟ้ า พลั ง ความร้ อ นร่ ว มเชื้ อ เพลิ ง ก๊ า ซ ธรรมชาติ (Gas-fired Combined Cycle Power Plant)

ที่เมืองตันลิน โดยคาดว่าจะมีกำ�ลังการผลิตประมาณ 400 เมกะวัตต์

สิงหาคม

• คณะกรรมการ GPSC มีมติอนุมัติการลงทุน

ศู น ย์ ผ ลิ ต สาธารณู ป การกลาง แห่ ง ที่ 4 (CUP-4) รู ป แบบ SPP (Cogeneration Facilities) กำ�ลั ง การผลิตไฟฟ้า 45 เมกะวัตต์ ไอน้ำ� 70 ตันต่อชั่วโมง

เพือ ่ ขยายกำ�ลังการผลิต และรองรับการเจริญเติบโตของ กลุม ่ ปตท. ในเขตนิเวศอุตสาหกรรมวนารมย์ (WEcoZi) นิคมอุตสาหกรรมเอเชีย และลูกค้าอุตสาหกรรมในนิคม

อุตสาหกรรมบริเวณใกล้เคียง คาดว่าเริ่มดำ�เนินการ เชิงพาณิชย์ในเดือนมีนาคม 2561

• โรงผลิ ต สาธารณู ป การ แห่ ง ที่ 2 ได้ รั บ

การรับรองจากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก

(องค์การมหาชน) หรือ “อบก.” ในโครงการต้นแบบ

การลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของ

ประเทศไทย เป็นโครงการแรกที่ได้รับการขึ้นทะเบียน รั บ รองปริ ม าณก๊ า ซเรื อ นกระจกที่ ล ดได้ ในประเภท การติดตั้งระบบผลิตพลังงานร่วมใหม่ทั้งระบบ (New Installation of Cogeneration System)

ในปี 2558 SAR มียอดขายถ่านหินรวมทั้งสิ้น

7.5 ล้านตัน โดยมีผลประกอบการเป็นผลขาดทุนสุทธิ

ทั้ ง สิ้ น จำ�นวน 178.8 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ซึ่ ง เป็ น ผล มาจากการรั บ รู้ ก ารด้ อ ยค่ า ทางบั ญ ชี ข องสิ น ทรั พ ย์

(Impairment) จำ�นวนทั้งสิ้น 149.3 ล้านเหรียญสหรัฐ รวมถึ ง ค่ า ใช้ จ่ า ยพิ เ ศษ (Extraordinary expenses)

จำ�นวนทั้งสิ้น 47.8 ล้านเหรียญสหรัฐ เป็นหลัก ทั้งนี้ ถ้าหากไม่รวมรายการพิเศษที่ไม่ได้มาจากการดำ�เนิน ธุ ร กิ จ ปกติ ข อง SAR ข้ า งต้ น SAR จะมี ผ ลประกอบ

การเป็นกำ�ไรสุทธิที่ 18.3 ล้านเหรียญสหรัฐ โดย SAR

ยังคงมุ่งเน้นดำ�เนินการปรับลดค่าใช้จ่ายการทำ�เหมือง

(Cash costs) และค่ า ใช้ จ่ า ยในการดำ�เนิ น งานอย่ า ง ต่อเนือ ่ ง โดยได้เจรจาต่อรองกับผูร้ บ ั เหมาและปรับแผน

การทำ�เหมือง (Mine Plan Optimization) ให้สอดคล้อง กับสภาวการณ์ราคาถ่านหินทีย ่ งั อยูใ่ นช่วงขาลง รวมถึง มี ก ารรั บ ซื้ อ ถ่ า นหิ น จากผู้ ผ ลิ ต ถ่ า นหิ น รายอื่ น เพื่ อ มา

ผสมกับถ่านหินจากเหมือง Jembayan (Coal Blending)


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

063

เพื่ อ ให้ ไ ด้ ถ่ า นหิ น ที่ มี คุ ณ ภาพตามความต้ อ งการ

& Infrastructure Sharing กั บ เหมื อ งข้ า งเคี ย งเพื่ อ

พิจารณาอนุมัติกฎหมายธุรกิจถ่านหิน (Coal Mining

ของลูกค้า ตลอดจนการให้บริการด้าน Mining Services เพิ่มรายได้ให้กับ SAR อีกด้วย

เหตุการณ์ส�ำ คัญของบริษัท พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส จำ�กัด (PTTER) ในรอบปี 2558

• SAR สามารถเข้ า พั ฒ นาพื้ น ที่ สั ม ปทาน

APPEL เพือ ่ ผลิตและขายถ่านหินจากเหมือง Jembayan ได้ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2558 เป็นต้นมา

• ในด้านการพัฒนาชุมชน อาชีวอนามัย และ

สิ่ ง แวดล้ อ ม SAR ได้ รั บ รางวั ล ด้ า นความปลอดภั ย

• โครงการเหมืองถ่านหินบรูไน ปัจจุบน ั PTTER

มีสัดส่วนการถือหุ้นอยู่ร้อยละ 35 อยู่ระหว่างรอการ Act) จากรัฐบาลบรูไน

• บริ ษั ท ฯ ได้ มี ก ารลงนามสั ญ ญา MOU กั บ

บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ้ า ราชบุ รี โ ฮลดิ้ ง จำ�กั ด (มหาชน)

เพื่ อ เข้ า ทำ�การสำ�รวจศั ก ยภาพของแหล่ ง ถ่ า นหิ น

ในประเทศสาธารณรั ฐ แห่ ง สหภาพเมี ย นมา อาทิ โครงการเชี ย งตุ ง ปั จ จุ บั น คณะทำ�งานอยู่ ร ะหว่ า ง การศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ข องการลงทุ น เพื่ อ เตรี ย ม

ขอใบอนุญาตจากรัฐบาลเมียนมาในการเข้าดำ�เนินการ ขุดเจาะสำ�รวจพื้นที่ต่อไป

และสิ่งแวดล้อมจาก Ministry of Energy and Mineral

➢ ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น

6 รางวั ล สำ�หรั บ เหมื อ ง Jembayan ได้ รั บ รางวั ล

ติดต่อกันเป็นระยะเวลา 2 ปี รวมถึงเหมือง Sebuku

รวม 23,643 ล้านบาท สาเหตุหลักจากกำ�ไรขั้นต้นจาก

Resources (MEMR) ของประเทศอิ น โดนี เ ซี ย ถึ ง Environmental PROPER Gold ในระดับ Provincial ได้รับรางวัล CSR Gold ในระดับ Regency อีกด้วย

• โครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินในสาธารณรัฐ

มาดากัสการ์ ซึง่ PTTER มีสด ั ส่วนการลงทุนในโครงการ

ร้ อ ยละ 80 ปั จ จุ บั น ได้ รั บ ใบอนุ ญ าตการทำ�เหมื อ ง (Exploitation Permits) จำ�นวนทั้ ง สิ้ น 5 แปลง

มีปริมาณสำ�รองถ่านหินประมาณ 108 ล้านตัน บริษัทฯ ได้จัดทำ� Bankable Feasibility Study Report แล้วเสร็จ

เมื่อต้นปี 2558 แต่ประสบปัญหาสภาวะตลาดถ่านหิน ่ ลงทุนในโครงการ ทีย ่ งั คงซบเซาทำ�ให้การจัดหาเงินกูเ้ พือ

(Project Financing) ต้ อ งชะลอออกไป โดยคาดว่ า จะสามารถเริ่มผลิตถ่านหินได้ในปี 2567

ปี 2558 กลุม ่ ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน ่ โดยรวม

มี ผ ลประกอบการที่ ดี ขึ้ น จากปี ก่ อ น โดยมี กำ�ไรสุ ท ธิ

การผลิตรวมเพิ่มขึ้น จากส่วนต่างระหว่างราคาน้ำ�มัน สำ�เร็จรูปและน้ำ�มันดิบ (Product Spread) ปรับตัวดีขึ้น

โดยเฉพาะในส่ ว นของผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ำ� มั น เบนซิ น และ น้ำ�มันเตา สำ�หรับธุรกิจปิโตรเคมี แม้วา ่ ส่วนต่างระหว่าง

ราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ กั บ วั ต ถุ ดิ บ ปรั บ ตั ว ลดลง แต่ ไ ด้ รั บ อานิสงค์จากราคาน้ำ�มันดิบทีป ่ รับตัวลดลง ทำ�ให้ตน ้ ทุน

พลังงานทีใ่ ช้ในระบบและส่วนทีส ่ ญ ู หาย (Fuel and loss) ลดต่ำ�กว่าปีก่อน ประกอบกับการใช้กำ�ลังการผลิตและ ปริมาณการขายโดยรวมทีเ่ พิม ่ ขึน ้ และขาดทุนจากสต๊อก น้ำ�มันปรับลดลงจึงทำ�ให้มีผลประกอบการดีขึ้น


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

064

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

ปริมาณจ�ำหน่าย ปิโตรเคมีรวม ของ กลุ่ม ปตท. (โอเลฟินส์, อะโรเมติกส์ และเม็ดพลาสติก) หน่วย: พันตันต่อปี

7,700

7,583

7,600

-1.0%

+0.8%

7,504

7,563

7,500 7,400 7,300 7,200 7,100 7,000

ปริมาณวัตถุดิบ ที่ป้อนเข้าสู่ กระบวนการผลิต นํ้ามันของ กลุ่ม ปตท. หน่วย: พันบาร์เรลต่อวัน หมายเหตุ : ปริมาณวัตถุดิบที่ป้อนเข้าสู่ กระบวนการผลิตนํ้ามันของ กลุ่ม ปตท. รวมปริมาณวัตถุดิบของ BCP และ SPRC จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2558 และ 30 กันยายน 2558 ตามลำ�ดับ

940

2556

2557

2558

922 -3.7%

920

888

900

-4.8%

880

846

860 840 820 800

2556

2557

2558


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

เหตุการณ์ส�ำ คัญของหน่วยธุรกิจ ปิโตรเคมีและการกลั่นในรอบปี 2558 มกราคม

• บริษท ั ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ร่วมลงนาม

กั บ บริ ษั ท ไออาร์ พี ซี โพลี อ อล จำ�กั ด และ PCC

Rokita SA ในสัญญาร่วมทุนระหว่าง บริษัท ไออาร์พีซี

โพลีออล จำ�กัด กับ PCC Rokita SA ประเทศโปแลนด์ โดยการลงทุ น ในครั้ ง นี้ เ ป็ น การลงทุ น ที่ ส อดคล้ อ งกั บ

กลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีมูลค่าเพิ่มสูง (High

Value Added Product) ของ IRPC เพื่อดำ�เนินการ จัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์โพลียรู เิ ทน โดยเน้นตลาดภูมภ ิ าค เอเชีย-แปซิฟิกเป็นหลัก

• บริษท ั ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ร่วมลงนาม

สัญญาซื้อ-ขาย ซึ่งเป็นการต่อสัญญาระยะยาว มูลค่า สัญญาประมาณ 28.5 ล้านเหรียญสหรัฐ กับ Darby

Trading Inc. เพื่อขยายตลาด Slack Wax ไปสู่อเมริกา และยุโรป ทั้งนี้ Darby Trading เป็นลูกค้าที่ซื้อขายกับ

IRPC โดยปริมาณที่ทำ�การซื้อขายตั้งแต่ปี 2541 จนถึง ปัจจุบันมีจำ�นวนมากกว่า 250,000 ตัน

กุมภาพันธ์

• บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ร่วมกับ

บริ ษั ท บู ล ไล้ ท์ อุ ต สาหกรรม จำ�กั ด เปิ ด ตั ว กระเป๋ า

เดินทางที่ทำ�จากเม็ดพลาสติก Green ABS ครั้งแรก

ของโลก ภายใต้แบรนด์ “คาจิโอนิ (CAGGIONI)” โดย เม็ ด พลาสติ ก Green ABS เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ นำ�เอา ยางธรรมชาติ ท ดแทนยางสั ง เคราะห์ มาผสมในเม็ ด

พลาสติก ABS ประมาณร้อยละ 10 - 40 ของปริมาณยาง ทีใ่ ช้ จึงทำ�ให้มค ี ณ ุ สมบัตแ ิ ข็งแรง ทนทาน ทนแรงเสียดสี เหนี ย ว และยื ด หยุ่ น ได้ ม ากกว่ า เม็ ด พลาสติ ก ทั่ ว ไป

โดยบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ถือเป็นผู้ผลิต รายแรกของโลก

เมษายน

• ปตท. ดำ�เนินการจำ�หน่ายหุ้นบริษัท บางจาก

ปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) (BCP) ที่ ปตท. ถืออยู่ ทั้งหมดจำ�นวน 374,748,571 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 27.22 ของจำ�นวนหุ้ น ที่ ชำ�ระแล้ ว ทั้ ง หมดของ BCP

ให้แก่กองทุนรวมวายุภักษ์ 1 ในสัดส่วนร้อยละ 15.25 และสำ�นักงานประกันสังคมในสัดส่วนร้อยละ 11.96

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

065

ั พีทท ี ี โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) • บริษท

ร่วมกับสภากาชาดไทย และอุตสาหกรรมถุงพลาสติกไทย เพื่ อ ร่ ว มกั น ศึ ก ษาและพั ฒ นานวั ต กรรมบรรจุ ภั ณ ฑ์

สำ�หรับถุงรับบริจาคโลหิตของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ทำ�จากเม็ดพลาสติกในประเทศเป็นครัง้ แรก

ในโครงการความร่ ว มมื อ เพื่ อ การพั ฒ นาบรรจุ ภั ณ ฑ์ สำ�หรับถุงรับบริจาคโลหิตและพลาสติกทางการแพทย์

• บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ได้กลับมา

ดำ�เนิ น การผลิ ต เชิ ง พาณิ ช ย์ ห น่ ว ยปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ

น้ำ�มันเตา หรือ Vacuum Gas Oil Hydro Treating Unit

(VGOHT) ตัง้ แต่วน ั ที่ 12 เมษายน 2558 ทัง้ นี้ ในปี 2557 ทางบริษัทได้รับเงินชดเชยค่าสินไหมทดแทนส่วนหนึ่ง จากบริษัทประกันภัยแล้วจำ�นวน 1,710 ล้านบาท

มิถุนายน

• บริ ษั ท พี ที ที โกลบอล เคมิ ค อล จำ�กั ด

(มหาชน) เข้าซือ ้ หุน ้ ร้อยละ 25 ใน บริษท ั พีทท ี ี โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำ�กัด (PTTPM) จาก บริษัท ไออาร์พีซี

จำ�กัด (มหาชน) ในราคาหุ้นละ 2,500 บาท เพื่อเป็นไป ตามโครงสร้างการบริหารจัดการ Marketing & Logistic

• บริ ษั ท พี ที ที โกลบอล เคมิ ค อล จำ�กั ด

(มหาชน) จัดตั้งบริษัท PTTGC America Corporation และ PTTGC America LLC โดยถื อ หุ้ น ในสั ด ส่ ว น ร้อยละ 100 เพื่อดำ�เนินการศึกษาจัดทำ� Front End

Engineering Design (FEED) Study และลงทุนโครงการ

Petrochemical Complex ในประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า เพื่อใช้ประโยชน์จากวัตถุดิบอีเทน จาก Shale gas

• บริ ษั ท ไออาร์ พี ซี จำ�กั ด (มหาชน) และ

Sinopec Engineering Incorporation (SEI) ร่วมลงนาม สั ญ ญาว่ า จ้ า งก่ อ สร้ า ง โครงการขยายกำ�ลั ง ผลิ ต เม็ดพลาสติกโพลิโพรไพลีน (Polypropylene Expansion

Project: PPE) และโครงการผลิ ต เม็ ด พลาสติ ก

โพลิโพรไพลีน คอมพาวด์ (Polypropylene Compound and Specialties Project: PPC) ซึ่ ง วั ต ถุ ป ระสงค์

ของโครงการเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ Propylene จาก โครงการเพิ่มมูลค่าเพื่อผลิตภัณฑ์สะอาด (Upstream Project for Hygiene Valued: UHV)

• บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ร่วมมือกับ

บริษท ั วันเดอร์เวิรล ์ โปรดัคส์ จำ�กัด ผูผ ้ ลิตและจำ�หน่าย

ของเล่นไม้รายใหญ่ ร่วมพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ ของเล่นพลาสติกผสมไม้ หรือ “Wood Plastic Composite”

โดยเริ่มเปิดตัวผลิตภัณฑ์ “Trix Track” ของเล่นฉลาด ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการและความคิ ด สร้ า งสรรค์ ซึ่ ง เป็ น

หนึ่ ง ในกลุ่ ม นวั ต กรรมผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ม็ ด พลาสติ ก ที่ เ ป็ น

มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ไ ด้ คิ ด ค้ น และพั ฒ นาขึ้ น จาก ความตระหนักในคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

066

กรกฎาคม

กันยายน

• บริ ษั ท พี ที ที โกลบอล เคมิ ค อล จำ�กั ด

(มหาชน) และบริษัทย่อย เข้าซื้อหุ้นของ บริษัท พีทีที โพลี เ มอร์ โลจิ ส ติ ก ส์ จำ�กั ด (PTTPL) ในสั ด ส่ ว น ร้ อ ยละ 50 จาก ปตท. ในราคาหุ้ น ละ 118 บาท

ตามนโยบายการปรับโครงสร้างของกลุ่ม ปตท. เพื่อ

ปรับลดสัดส่วนการถือหุ้นใน PTTPL ให้สอดคล้องกับ สัดส่วนการใช้บริการมากขึ้น

สิงหาคม

• บริ ษั ท พี ที ที โกลบอล เคมิ ค อล จำ�กั ด

• บริษท ั พีทท ี ี โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)

บริษท ั ไออาร์พซ ี ี จำ�กัด (มหาชน) และ บริษท ั ไทยออยล์

จำ�กัด (มหาชน) ได้รบ ั การจัดอันดับอยูใ่ นดัชนีความยัง่ ยืน ดาวโจนส์ โดย PTTGC และ TOP ได้ รั บ คั ด เลื อ ก ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 ขณะที่ IRPC ได้รับคัดเลือกต่อเนื่อง เป็นปีที่ 2 นอกจากนี้ TOP ยังได้รับการยอมรับให้เป็น

“ผู้นำ�ด้านการบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืนในระดับ กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานของโลก” ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2

พฤศจิกายน

(มหาชน) ได้ลงนามในสัญญาข้อตกลงเบื้องต้น (Head

ลงทุ น โครงการผลิ ต โพรพิ ลี น ออกไซด์ (Propylene

Oxide (EO) ที่เป็นสารตั้งต้นของการผลิตผลิตภัณฑ์

of Agreement: HOA) 2 สัญญา เพื่อร่วมศึกษาการร่วม

Oxide: PO) กำ�ลังการผลิต 2 แสนตันต่อปี กับบริษัท

โตโยต้า ทูโช คอร์ปอเรชั่น (Toyota Tsusho Corporation หรื อ TTC) และร่ ว มศึ ก ษาการร่ ว มลงทุ น โครงการ

ผลิ ต โพลี อี เ ทอร์ โพลิ อ อล (Polyether Polyols: Polyols) กำ�ลั ง การผลิ ต 130,000 ตั น ต่ อ ปี กั บ ทาง

TTC และ บริษัท ซันโย เคมิคอล อินดัสตรีส์ (Sanyo

Chemical Industries, Ltd. หรือ SCI) ซึ่งทั้ง 2 โครงการ จะตัง้ อยูใ่ นนิคมเหมราชตะวันออก จังหวัดระยอง มูลค่า

• บริ ษั ท พี ที ที โกลบอล เคมิ ค อล จำ�กั ด

(มหาชน) ได้ขยายกำ�ลังการผลิตผลิตภัณฑ์ Ethylene

Ethylene Glycol (EG) ซึ่งรวมถึงผลิตภัณฑ์ MEG DEG TEG และผลิ ต ภั ณ ฑ์ EO Derivatives ซึ่ ง รวมถึ ง

Ethoxylate และ Ethanolamine จาก 336 พันตันต่อปี

เพิ่มขึ้นเป็น 426 พันตันต่อปี ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์ MEG มีกำ�ลังการผลิตเพิ่มขึ้นจาก 395 พันตันต่อปี เป็น 423 พันตันต่อปี

• บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ร่วมกับ

บริษท ั ไทย เอบีเอส จำ�กัด Mr. Toshiro Kojima, President

การลงทุนรวมประมาณ 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐ

of Nippon A&L Inc. และ Sumi-Thai International

จำ�กั ด (มหาชน) มี ม ติ อ นุ มั ติ โ ครงการซื้ อ หุ้ น คื น ของ

เอ แอนด์ แอล จำ�กัด โดยการร่วมทุนในครัง้ นีส ้ อดคล้อง

• คณะกรรมการบริษท ั พีทท ี ี โกลบอล เคมิคอล

บริษัทฯ เพื่อการบริหารทางการเงิน (Treasury Stocks)

ภายในวงเงิ น สู ง สุ ด ไม่ เ กิ น 4,500 ล้ า นบาท และ

จำ�นวนหุ้นที่จะซื้อคืนเท่ากับประมาณร้อยละ 2 ของหุ้น

ที่ จำ�หน่ า ยได้ แ ล้ ว ทั้ ง หมด และมี กำ�หนดระยะเวลา

ซื้อหุ้นคืน 6 เดือน นับตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน 2558 ถึงวันที่ 7 มีนาคม 2559

• บริ ษั ท พี ที ที โกลบอล เคมิ ค อล จำ�กั ด

(มหาชน) ได้ เ พิ่ ม ทุ น ในบริ ษั ท Myriant จำ� นวน

Limited ได้ลงนามในสัญญาร่วมทุน บริษัท ไออาร์พีซี กั บ กลยุ ท ธ์ ก ารพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ มี มู ล ค่ า เพิ่ ม สู ง (High Value Added Product) ของ IRPC เพื่อเพิ่ม ศั ก ยภาพในการแข่ ง ขั น ในกลุ่ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ไตริ นิ ค

คอมพาวด์ โดยมุ่ ง เน้ น การขยายตลาดอุ ต สาหกรรม ยานยนต์ในกลุ่ม AEC

ธันวาคม

184 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือ 6,614 ล้านบาท การเพิม ่ ทุน

เป็นร้อยละ 100

ต่ อ ประชาชนทั่ ว ไปเป็ น ครั้ ง แรกในตลาดหลั ก ทรั พ ย์

ดังกล่าวทำ�ให้สัดส่วนการถือหุ้นเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 84

• ปตท. ดำ�เนินการจำ�หน่ายหุน ้ สามัญของบริษท ั

สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน) (SPRC)

แห่ ง ประเทศไทย โดยเป็ น หุ้ น ที่ เ สนอขายโดย ปตท.

จำ�นวน 1,242,500,000 หุ้น และเป็นหุ้นที่เสนอขาย โดย SPRC จำ�นวน 197,222,300 หุ้น ภายหลังจาก การขายครั้ ง นี้ ทำ�ให้ สั ด ส่ ว นการถื อ หุ้ น ของ ปตท.

ใน SPRC จะลดลงจากร้ อ ยละ 36 ของจำ�นวนหุ้ น ที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด เหลือร้อยละ 5.4 ของจำ�นวน หุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

067

นอกจากผลดำ�เนินงานของหน่วยธุรกิจต่าง ๆ แล้ว

ประมาณการผลการดำ�เนิ น งานติ ด ระดั บ สู ง (Top

กลุ่ม ปตท. ได้มีการดำ�เนินการที่สำ�คัญในด้านต่าง ๆ

ด้ า นพลั ง งานชั้ น นำ�ของโลก (STRONG) หลั ง จาก

ในการบริ ห ารจั ด การธุ ร กิ จ ของ ปตท. และบริ ษั ท ใน

Quartile Performance) ในปี 2563 เทียบเคียงบริษัท

ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้

ที่ประชุม TTS เห็นชอบทิศทางกลยุทธ์ในอีก 5 - 10 ปี

การวางแผนเชิงกลยุทธ์

บริ ษั ท ในกลุ่ ม จะไปจั ด ทำ�ทิ ศ ทางกลยุ ท ธ์ ข องตนและ

กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ของ ปตท. เป็น

กระบวนการที่ดำ�เนินการอย่างต่อเนื่องทั้งปี โดยเริ่ม จากการประชุมระดมความคิดเห็นของผูบ ้ ริหารระดับสูง ของ กลุม ่ ปตท. (Top Executive Thinking Session: TTS)

เพื่ อ ร่ ว มกั น ทบทวนและกำ�หนดทิ ศ ทางกลยุ ท ธ์ ข อง

กลุ่ม ปตท. ในอีก 5 - 10 ปีข้างหน้า ให้สอดคล้องกับ

สถานการณ์และสภาพแวดล้อมทางธุรกิจทีเ่ ปลีย ่ นแปลง ไปเพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า การดำ�เนิ น งานของกลุ่ ม ปตท.

จะสามารถบรรลุวิสัยทัศน์ และเป้าหมายใน 3 ด้าน คือ

(1) เป็นบริษัทที่มีขนาดใหญ่ (BIG) ที่สามารถรักษา อันดับ 1 ใน 100 ของบริษัทที่มียอดขายสูงสุดของโลก ตามการจัดอันดับของนิตยสาร Fortune 500 (2) เป็น

บริษัทที่ติดอันดับในดัชนีวัดผลการเติบโตอย่างยั่งยืน โดยตลาดหุ้นดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices: DJSI) (LONG) และ (3) เป็ น บริ ษั ท ที่ มี

ข้างหน้า หน่วยธุรกิจและหน่วยงานสนับสนุนรวมทั้ง นำ�เสนอขอความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้บริหารระดับ ผู้ ช่ ว ยกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ขึ้ น ไปของกลุ่ ม ปตท. (Strategic Thinking Session: STS) และหลั ง จาก

ที่ ป ระชุ ม STS ให้ ค วามเห็ น ชอบ ทิ ศ ทางกลยุ ท ธ์

ดังกล่าวจะถูกนำ�เสนอต่อคณะกรรมการ ปตท. เพื่อให้

ความเห็นชอบ โดยในปี 2558 ทิศทางกลยุทธ์การดำ�เนิน

ธุรกิจประจำ�ปี 2559 - 2563 ประกอบไปด้วยกลยุทธ์ ด้ า นเทคโนโลยี (Technology Initiative) กลยุ ท ธ์

ด้านธุรกิจสีเขียวที่ยั่งยืน (Green Initiative) และกลยุทธ์

การบริ ห ารจั ด การการลงทุ น ของกลุ่ ม ปตท. (PTT

Group Portfolio Initiative) แต่อย่างไรก็ตาม ปตท. ยังต้องเผชิญกับความท้าทายที่สำ�คัญอีกประการหนึ่ง

คื อ ความเชื่ อ มั่ น ของสาธารณชน (Public Trust) ดั ง นั้ น จึ ง มี ก ารกำ�หนดกลยุ ท ธ์ ใ นการสร้ า งให้ ปตท. เป็นทีย ่ อมรับ และชืน ่ ชมในฐานะบริษท ั พลังงานแห่งชาติ เพิ่มเติมอีก 2 ยุทธศาสตร์หลัก คือ


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

068

(1) ยุ ท ธศาสตร์ ก ารสร้ า งความภาคภู มิ ใ จ

โดยการมี ส่ ว นร่ ว ม (Pride with Inclusiveness) ซึ่งจะครอบคลุม

• แผนวิสาหกิจการบริหารจัดการผู้มีส่วน

ได้ เ สี ย อย่ า งบู ร ณาการ ประกอบด้ ว ย ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย

(2) ยุทธศาสตร์การดำ�เนินธุรกิจเพือ ่ ความยัง่ ยืน

(Treasure for Sustainability) ซึ่งจะครอบคลุม

• แผนวิสาหกิจของกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียม

ขั้ น ต้ น อาทิ รั ก ษาระดั บ การผลิ ต ของ โ ค ร ง ก า ร ปั จ จุ บั น เ ป ลี่ ย น ศั ก ย ภ า พ

ปิโตรเลียมเป็นปริมาณสำ�รองและการผลิต

ภายนอกแบบทั้งเชิงรุกและเชิงรับ

และลดต้ น ทุ น ในการผลิ ต ค่ า ใช้ จ่ า ย

ภายในสู่ ภ ายนอก โดยปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย ม

• แผนวิ ส าหกิ จ ของธุ ร กิ จ ก๊ า ซธรรมชาติ

ประสิทธิภาพการใช้พลังงานในกระบวนการ

• แผนวิสาหกิจการสร้างความเข้มแข็งจาก

องค์กร SPIRIT เข้าสู่ DNA ของผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ ส่งเสริมให้พนักงาน นำ�ความรู้ จ ากโครงการและผลงานเชิง

ในการดำ�เนินงาน เป็นต้น

และธุรกิจโครงสร้างพืน ้ ฐาน อาทิ การเพิม ่

ผลิต การขยายโครงข่ายพลังงานรองรับ

นวัตกรรมของ ปตท. พัฒนาสังคม ชุมชน

ความต้องการก๊าซธรรมชาติในระยะยาว

สังคม (Social Enterprise) รวมถึงสร้าง

หมุนเวียน เป็นต้น

และสิ่งแวดล้อม ในรูปแบบวิสาหกิจเพื่อ

ผู้บริหารและพนักงานเป็น PTT Brand

Ambassador สร้ า งความภาคภู มิ ใ จ

ด้วยการมีสว่ นร่วม และมีผบ ู้ ริหารทุกระดับ

ในองค์กรร่วมปฏิบต ั ต ิ นเป็นแบบอย่างทีด ่ ี

• แผนวิ ส าหกิ จ การดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า ง

มี ธ ร ร ม า ภิ บ า ล อ า ทิ ก า ร ย ก ร ะ ดั บ

การดำ�เนิ น งานด้ า นการต่ อ ต้ า นทุ จ ริ ต

คอร์รป ั ชันของ ปตท. ไปสูร่ ะดับนานาชาติ เ ส ริ ม ส ร้ า ง เ ค รื อ ข่ า ย ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต โดยร่ ว มมื อ กับหน่วยงานต่าง ๆ เป็นต้น

และการขยายการลงทุนในธุรกิจพลังงาน

• แผนวิสาหกิจของกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียม

ขั้ น ปลาย อาทิ การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ผ่ า นกลยุ ท ธ์ ก ารตลาดที่ เ ป็ น เลิ ศ เพิ่ ม ประสิทธิภาพการผลิต และสร้างพลังร่วม ของบริษัทในกลุ่ม เป็นต้น


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และผลการดำ�เนินงาน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การบริหารจัดการทางการเงิน ของกลุ่ม ปตท.

การบริหารผลดำ�เนินงาน และเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ

จากการที่ ปตท. เป็ นบริษัทมหาชนที่มีมูลค่า

ตลาดสู ง สุ ด ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย

(ตลท.) โดย ณ สิ้นปี 2558 บริษัท ปตท. มีมูลค่าถึงกว่า

696,937 ล้านบาท หรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 5.7 ของ มูลค่าตลาดรวม และหากรวมทัง้ กลุม ่ ปตท. ทีจ ่ ดทะเบียน

ใน ตลท. จะมี มู ล ค่ า ถึ ง กว่ า 1,474,570 ล้ า นบาท

คิ ด เป็ น ประมาณร้ อ ยละ 12.0 ของมู ล ค่ า ตลาดรวม ซึ่งกลุ่ม ปตท. มีแนวโน้มที่จะเติบโตไปอย่างต่อเนื่อง ดังนัน ้ เพือ ่ ให้บริษท ั ในกลุม ่ ปตท. มีโครงสร้างทางการเงิน

ที่แข็งแกร่งเหมาะสม มีวินัยทางการเงิน และมีอันดับ ความน่าเชือ ่ ถือในเกณฑ์ทเี่ ทียบเคียงได้กบ ั บริษท ั ชัน ้ นำ�

อื่ น ๆ ในอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น จึ ง ต้ อ งมี ก ารบริ ห าร

จั ด การทางการเงิ น อย่ า งมี วิ นั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ

โดยมีความโปร่งใสในการให้ข้อมูลต่อผู้ลงทุนทุกราย

อย่ า งเท่ า เที ย มกั น ซึ่ ง ปตท. มี น โยบายทางการเงิ น

และสินเชื่อ (Treasury and Credit Policy) เพื่อใช้เป็น แนวทางในการบริหารการเงินของ ปตท. และกลุม ่ ปตท. อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน

ในปี 2558 ปตท. ได้ มี ก ารบริ ห ารจั ด การ

ทางการเงิน ซึง่ รวมถึงการบริหารสภาพคล่อง การบริหาร

ความเสี่ ย งอั ต ราแลกเปลี่ ย นและอั ต ราดอกเบี้ ย เพื่ อ

ลดค่าใช้จ่าย และ/หรือ สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์กร ซึ่งสามารถสรุปรายละเอียดได้ดังนี้

ั ธ์ทางการเงินเพือ ่ บริหารความเสีย ่ ง • จัดทำ�อนุพน

ที่เกี่ยวข้องกับเงินกู้ระยะยาวของ ปตท. ทำ�ให้สามารถ ลดต้ น ทุ น เงิ น กู้ คิ ด เป็ น มู ล ค่ า รวมทั้ ง สิ้ น ประมาณ 25.38 ล้านบาท สำ�หรับงวดดอกเบี้ยเฉพาะงวดแรก

• บริหารความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนสำ�หรับ

ธุรกรรมการค้าของ ปตท. ซึ่งรวมถึงธุรกรรมการนำ�เข้า ส่งออกผลิตภัณฑ์ ธุรกรรมการซือ ้ และจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ ในต่ า งประเทศ รวมถึ ง ธุ ร กรรมการนำ�เข้ า น้ำ� มั น ดิ บ

ให้ แ ก่ โ รงกลั่ น ในกลุ่ ม ปตท. เป็ น มู ล ค่ า รวมทั้ ง สิ้ น

ประมาณ 17,037 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ สามารถสร้ า ง มูลค่าเพิ่มให้แก่กลุ่ม ปตท. ประมาณ 426 ล้านบาท

069

ปตท. มีการพัฒนาและปรับปรุงระบบการบริหาร

ผลดำ�เนินงาน โดยได้บรู ณาการระบบการบริหารจัดการ เพื่อสร้างมูลค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ (Economic Value

Management: EVM) หลักการ Balanced Scorecard

และเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award: TQA) เข้าด้วยกัน เพื่อให้การดำ�เนินงานของ

องค์ ก รในทุ ก ระดั บ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เป็ น ไปในทิ ศ ทาง เดียวกัน โดยมีเป้าหมายร่วมกันในการสร้างมูลค่าให้กบ ั

องค์ ก ร และคำ�นึ ง ถึ ง ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม อี ก ทั้ ง เป็นการยกระดับการบริหารจัดการให้เข้าสู่มาตรฐาน

สากลเทียบเท่าบริษัทชั้นนำ�ในระดับโลก (World Class)

รวมถึ ง เป็ น การสนั บ สนุ น ระบบการประเมิ น คุ ณ ภาพ

รัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Performance Appraisal: SEPA) ซึ่งมีพื้นฐานมาจากเกณฑ์ TQA ตามนโยบาย

ของกระทรวงการคลังอีกด้วย โดย ปตท. ได้มก ี ารจัดทำ� รายงานผลการดำ�เนินงานขององค์กร (Organization Performance Report: OPR) รวมถึงมีการประเมินตนเอง

และจัดทำ�รายงานผลการตรวจประเมินองค์กร (Self Assessment Report: SAR) เพื่อช่วยให้ทราบถึงจุดแข็ง

และโอกาสในการปรับปรุง (Strength & Opportunities for Improvement: S & OFI)

นอกจากนั้น กระบวนการดำ�เนินงานในลำ�ดับ

ต่ อ มาคื อ การนำ� S & OFI ดั ง กล่ า วมาจั ด ลำ�ดั บ

่ นำ�ไปสูก ่ ารปรับปรุง ความสำ�คัญ และจัดทำ�แผนงานเพือ

รวมถึงการขยายผลไปสู่หน่วยงานต่าง ๆ ทั่วทั้งองค์กร โดย ปตท. ได้ดำ�เนินการอย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและปรับปรุงคุณภาพการบริหารจัดการ องค์ ก ร ซึ่ ง ปตท. มี เ ป้ า หมายบรรลุ ร างวั ล คุ ณ ภาพ แห่งชาติ (Thailand Quality Award: TQA) ด้วย


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

พลังงานไทย ความมุ่งมั่นเพื่อคนไทย

070

พลังงานไทย ความมุ่งมั่นเพื่อคนไทย

ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา กลุ่ม ปตท. ดำ�เนินงานองค์กรอย่างสอดประสานทั้งการพัฒนาธุรกิจ สร้างความเข้มแข็ง

แก่สังคม และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้และพัฒนาบุคลากรของภาคส่วน ต่าง ๆ ด้วยความรับผิดชอบในฐานะองค์กรพลังงานแห่งชาติที่มุ่งมั่นทำ�เพื่อคนไทย

ภายใต้การดำ�เนินงานดังกล่าว ในปี 2558 กลุ่ม ปตท. ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำ�เนินไปทรงเป็นประธานเปิด “สถาบัน

สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินทรงเป็นประธานเปิดโครงการต่าง ๆ ของกลุ่ม ปตท. ดังต่อไปนี้

วิทยสิริเมธี (VISTEC)” ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนในระดับปริญญาโทถึงปริญญาเอก มุ่งเน้นงานวิจัยชั้นแนวหน้า

เพื่อสร้างบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ดีเลิศในระดับโลก และ “โรงเรียนกำ�เนิดวิทย์ (KVIS)” โรงเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ที่เปิดโอกาสให้แก่นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เมื่อวันที่

6 สิงหาคม 2558 สถาบันการศึกษาทั้ง 2 แห่งนี้ก่อตั้งขึ้น เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นแนวหน้า และมีการจัดระบบการศึกษาอย่างมีคุณภาพทัดเทียมกับสถาบันการศึกษาชั้นนำ�ระดับโลก ซึ่งจะนำ�ไปสู่

การเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต


พลังงานไทย ความมุ่งมั่นเพื่อคนไทย

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

071

พร้ อ มกั น นี้ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ

สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินไปทรงเป็น

ประธานเปิดและทรงเยี่ยมชม “โครงการป่าวังจันทร์” บนพื้นที่ปลูกป่าทั้งหมด 351 ไร่ ณ อำ�เภอวังจันทร์ จั ง หวั ด ระยอง ซึ่ ง เป็ น ศู น ย์ ศึ ก ษาเรี ย นรู้ ก ารปลู ก ป่ า

ของ ปตท. ที่ ร วบรวมองค์ ค วามรู้ แ ละนวั ต กรรม การฟื้นฟูป่า ตลอดจนการดำ�เนินงานวิจัยของสถาบัน

ปลูกป่า ปตท. ทั้งนี้ พื้นที่ปลูกป่าจำ�นวน 185.24 ไร่

ได้ นำ�ร่ อ งเข้ า ร่ ว มโครงการลดก๊ า ซเรื อ นกระจกภาค สมัครใจ ตามมาตรฐานของประเทศไทย (Thailand-

Voluntary Emission and Reduction: T-VER) สาขา ป่าไม้ ขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.)

โครงการป่าวังจันทร์

ซึ่ ง เป็ น การตอบสนองนโยบายของ ปตท. ในเรื่ อ ง

Carbon Sink อีกทั้งยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ อีกด้วย

กลุ่ ม ปตท. ได้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จากสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี

เสด็จพระราชดำ�เนินไปทรงเป็นประธานเปิดและทรงเยี่ยมชม “โครงการป่าในกรุง” เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2558 ซึ่งเป็นการพัฒนาพื้นที่ปลูกป่าธรรมชาติในที่ดินของ ปตท. จำ�นวน 12 ไร่ บนถนนสุขาภิบาล 2 เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ทรงเจริ ญ พระชนมายุ 60 พรรษา และเพื่ อ สนั บ สนุ น แนวทางการส่ ง เสริ ม พื้ น ที่ สี เ ขี ย วในเขตเมื อ งของ กลุ่ม ปตท. (PTT Green in the City) โดยมุ่งเน้นการสร้างป่านิเวศที่มีความหลากหลายของพันธุ์ไม้ เพื่อให้

ทุกตารางเมตรของโครงการป่าในกรุงเป็นแหล่งเรียนรูเ้ รือ ่ งการปลูกป่า และกระตุน ้ ให้คนเมืองหลวงได้ตระหนัก ถึ ง ความสำ�คั ญ และร่ ว มมื อ ร่ ว มใจรั ก ษาทรั พ ยากรป่ า ไม้ ใ ห้ ค งอยู่ คู่ แ ผ่ น ดิ น ไทยอย่ า งยั่ ง ยื น โดยเปิ ด ให้ ประชาชนเข้าชมทุกวัน ยกเว้นวันจันทร์และวันหยุดนักขัตฤกษ์

โครงการป่าในกรุง


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

พลังงานไทย ความมุ่งมั่นเพื่อคนไทย

072

สานต่อภารกิจ วางรากฐานเพื่อความยั่งยืน นอกเหนื อ จากภารกิ จ หลั ก ในการสร้ า งความมั่ น คงทางพลั ง งานให้ แ ก่ ป ระเทศในฐานะบริ ษั ท พลั ง งานแห่ ง ชาติ ปตท. ยั ง มี ค วามมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะเป็ น องค์ ก รที่ ดี ข องสั ง คม ขั บ เคลื่ อ นสั ง คมด้ ว ยทุ ก กลไกของ

องค์กร ทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ โดยให้ความสำ�คัญต่อการพัฒนาวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดี ของสั ง คมชุ ม ชนตามหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง รวมถึ ง ดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ชุ ม ชนและสิ่ ง แวดล้ อ ม

ในทุ ก พื้ น ที่ ที่ เ ข้ า ไปดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ ภายใต้ ก ระบวนการมี ส่ ว นร่ ว มของทุ ก ภาคส่ ว น เพื่ อ ให้ สั ง คมไทยก้ า วเดิ น ไป ข้างหน้าร่วมกันอย่างมั่นคงและยั่งยืน ผ่านการดำ�เนินงานกิจการเพื่อสังคม ภายใต้กลยุทธ์ 3 ด้าน คือ การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาสังคมและชุมชน และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยในปี 2558 มีโครงการที่สำ�คัญ ดังนี้

พลังตน

พลังแห่งการสร้างสรรค์

โครงการสิ่งประดิษฐ์ ปตท.

พัฒนาตน บนหนทางแห่งความรู้

การส่งเสริมศักยภาพการสร้างสรรค์ นวัตกรรมของเยาวชน

ที่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถ ซึ่ ง จะเป็ น พลั ง ขั บ เคลื่ อ น

• โครงการประกวดสิ่งประดิษฐ์ ปตท. (PTT Youth Camp)

และทุม ่ เทในการพัฒนาการศึกษาอย่างรอบด้าน ตัง้ แต่

ภายใต้ หั ว ข้ อ “นวั ต กรรมสร้ า งอนาคต: Innovation

และสร้างโอกาสทางการศึกษาหลากหลายระดับตั้งแต่

สร้ า งสรรค์ ข องเยาวชนไทย นอกจากนี้ ยั ง ได้ นำ�ที ม

ด้วยเล็งเห็นถึงความสำ�คัญของทรัพยากรมนุษย์

ประเทศให้เจริญรุดหน้าสู่ระดับสากล ปตท. จึงมุ่งมั่น

การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ส่งเสริมทักษะด้านต่าง ๆ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน จนถึ ง การวิ จั ย เพื่ อ คิ ด ค้ น และ พัฒนาต่อไป

ปตท. ได้ ดำ�เนิ น โครงการประจำ�ปี 2558

Creates the Next” เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความคิ ด ประดิ ษ ฐ์ โรงเรียนพระบางวิทยา จังหวัดนครสวรรค์ ที่ชนะเลิศ การประกวดจากโครงการประจำ�ปี 2557 เข้ า ร่ ว ม


พลังงานไทย ความมุ่งมั่นเพื่อคนไทย

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

073

ศิลปกรรม ปตท. “อนาคต…ออกแบบได้ ”

ค่ายยุวชนอาสา กลุม่ ปตท.

2015) ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งทีมได้คว้ารางวัล

• การส่งเสริมและพัฒนาการศึกษา ด้านศิลปะและวัฒนธรรม

ด้านสิ่งแวดล้อม จากผลงาน “กระดาษซับน้ำ�มันทนไฟ

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเท่านั้น แต่ ปตท. ยังให้

การแข่งขันโครงการวิทยาศาสตร์โอลิมปิก (I-SWEEEP ช ม เ ช ย ป ร ะ เ ภ ท ก า ร บริหารจั ด การและมลภาวะ จากเส้นใยดอกธูปฤาษี”

• ค่ายยุวชนอาสา กลุ่ม ปตท. (PTT Group V-Youth Camp)

ปตท. จั ด กิ จ กรรมนี้ ต่ อ เนื่ อ งเป็ น ปี ที่ 4

โดยมีความมุ่งหมายเพื่อปลูกฝังจิตสำ�นึกรับผิดชอบ

ต่ อ สั ง คม การมี จิ ต สาธารณะและการมี ส่ ว นร่ ว ม พั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ของตนเองอย่ า งยั่ ง ยื น ให้ แ ก่ เ ยาวชน

โดยในปี 2558 มี นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษา ตอนปลายเข้าร่วมกิจกรรมค่าย ณ ศูนย์ฝึกทหารใหม่ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ อำ�เภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

ไ ม่ เ พี ย ง แ ต่ ก า ร พั ฒ น า ค ว า ม รู้ ด้ า น

ความสำ�คัญกับการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม โดยร่วมกับ

มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดประกวดศิลปกรรม ปตท.

ซึ่งในปี 2558 ได้ดำ�เนินมาถึงครั้งที่ 30 ภายใต้หัวข้อ

“อนาคต…ออกแบบได้ (Image of the future)” และได้รบ ั พระกรุณาธิคุณจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า-

โสมสวลี พระวรราชาทิ นั ด ดามาตุ เสด็ จ ประทาน รางวัลแก่ผู้ชนะการประกวด นอกจากนี้ ปตท. ได้ร่วม กับมหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ

มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ จั ด การประกวดศิ ล ปกรรม

ปตท. ในภูมิภาคต่าง ๆ รวมทั้งมีการขยายการประกวด ไปสู่ประเทศในภูมิภาคอาเซียน โดยจัดขึ้น ณ วิทยาลัย

ศิ ล ปะศึ ก ษา นครหลวงเวี ย งจั น ทน์ สาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งนับว่าเป็นก้าวสำ�คัญ ของการจั ด การประกวดเนื่ อ งในวาระครบ 30 ปี ศิลปกรรม ปตท.


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

พลังงานไทย ความมุ่งมั่นเพื่อคนไทย

074

พัฒนาสังคมไปสู่ การพึ่งพาตนเองในอนาคต

ปตท. มุ่ ง มั่ น พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของชุ ม ชน

ชุ ม ชนต้ น แบบที่ มี ร ะบบการจั ด การพลั ง งานทดแทน

กั บ การมี ส่ ว นร่ ว มในการตอบสนองต่ อ ปั ญ หาสั ง คม

พลังงานชุมชนอย่างยั่งยืน และได้รับรางวัลรัฐวิสาหกิจ

ในทุ ก พื้ น ที่ ที่ เ ข้ า ไปดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ โดยให้ ค วามสำ�คั ญ

ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ตั้งแต่ชุมชนระดับท้องถิ่น จนถึงสังคมในภาพรวมระดับประเทศ นอกจากนี้ ปตท. ยังใช้ความเชีย ่ วชาญด้านพลังงานขององค์กรเป็นปัจจัย

โดยชุมชนมีส่วนร่วม และมีการจัดการความรู้ในด้าน ดี เ ด่ น จ า ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร น โ ย บ า ย รั ฐ วิ ส า ห กิ จ ด้านการดำ�เนินงานเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมดีเด่น

ศักยภาพที่จะพึ่งพาตนเองด้านพลังงานได้อย่างยั่งยืน

• หลักสูตรพลังงานเพื่อชุมชน (Community Energy Management Program: CEMP)

ชุมชนเข้มแข็งและพึ่งพาตนเอง ด้านพลังงาน

ความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านพลังงานให้แก่

เพื่ อ ชุ ม ชน เพื่ อ ให้ ค วามรู้ เ รื่ อ งการจั ด การพลั ง งาน

ผลักดันในการสร้างโอกาสทางด้านการพัฒนาวิถีชีวิต และประโยชน์ ใ ห้ แ ก่ ชุ ม ชน และมุ​ุ่ ง เน้ น ให้ ชุ ม ชนมี

ปตท. ยั ง ได้ ร วบรวมองค์ ค วามรู้ ที่ ไ ด้ จ าก

การดำ�เนิ น งานร่ ว มกั บ ชุ ม ชนใน 14 พื้ น ที่ ต้ น แบบ

จากความสำ�เร็จของโครงการรักษ์ปา่ สร้างคน

๘๔ ตำ�บล วิถีพอเพียง ปตท. ได้สนับสนุนการสร้าง

ชุมชนอย่างต่อเนือ ่ ง นำ�มาสูก ่ ารจัดทำ�หลักสูตรพลังงาน

และการนำ�ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ ห้ เ หมาะสมกั บ บริ บ ทของ

ทั่วประเทศ ตลอดระยะเวลา 3 ปี ที่ผ่านมา และจัดทำ�

ชุมชน ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อันจะนำ�

พื ช อื่ น เพื่ อ ป้ อ งกั น ภั ย ดิ น ถล่ ม นำ�ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ

จากรากฐานภาคประชาชน ซึง่ ในปี 2558 ปตท. จัดอบรม

เป็ น ชุ ด ความรู้ เ ทคนิ ค การใช้ ป ระโยชน์ ห ญ้ า แฝกและ

พื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ ได้รับพระราชทานรางวัลจาก

สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี

ในการประกวดหญ้าแฝกนานาชาติครั้งที่ 6 ที่ประเทศ

ไปสู่ ก ารสร้ า งความมั่ น คงทางพลั ง งานอย่ า งยั่ ง ยื น

แก่ ผู้ นำ�ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น จากทั่ ว ประเทศจำ�นวน 2 รุ่ น รวมกว่า 100 คน

และรางวัล The King of Thailand’s Certificate of

หญ้ า แฝกดี เ ด่ น ประเภทการส่ ง เสริ ม และถ่ า ยทอด

การปลูกกาแฟในระบบอนุรก ั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และ

เวียดนาม คือ รางวัล The King of Thailand’s Vetiver Awards ด้ า นการมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชนประเภท การบรรเทาภั ย พิ บั ติ ห รื อ การปกป้ อ งสภาพแวดล้ อ ม Excellence ด้ า นการส่ ง เสริ ม และการใช้ ง านระบบ เทคโนโลยี

• โครงการระบบก๊าซชีวภาพจากฟาร์มสุกร ชุมชนท่ามะนาว อำ�เภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี

ปตท. ร่วมกับชุมชนตำ�บลท่ามะนาว ต่อยอด

การพัฒนางานระบบผลิตและส่งจ่ายก๊าซชีวภาพจาก

มูลสุกรระดับชุมชน ซึง่ เดิมผลิตก๊าซจากมูลสุกร 1 ฟาร์ม ส่งจ่ายเป็นเชือ ้ เพลิงได้เพียง 10 ครัวเรือน สูก ่ ารผลิตก๊าซ

เพิ่มจากมูลสุกร 4 ฟาร์ม และส่งจ่ายเป็นเชื้อเพลิงไปยัง 130 ครัวเรือน ส่งผลให้ชุมชนลดการใช้พลังงานหลัก

อาทิ ก๊าซหุงต้ม น้ำ�มันดีเซล และไฟฟ้า รวมมูลค่ากว่า

518,980 บาทต่ อ ปี ชุ ม ชนตำ�บลท่ า มะนาวถื อ เป็ น

วิจัยและพัฒนาการปลูก และการผลิตกาแฟระบบอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อความร่วมมือ ที่ยั่งยืนกับธุรกิจ

ปตท. ร่วมกับมูลนิธิโครงการหลวง ส่งเสริม

พั ฒ นาทั ก ษะอาชี พ ด้ า นการปลู ก และการผลิ ต กาแฟ ที่มีคุณภาพให้กับเกษตรกรในพื้นที่สูง ในพื้นที่ตำ�บล บ้านหลวง อำ�เภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ โดยใน

ปี 2558 มีเกษตรกรอาสาที่เข้าร่วมโครงการจำ�นวน

ทั้ ง สิ้ น 41 ครั ว เรื อ น ผลผลิ ต จากโครงการได้ มี ส่ ว น สนั บ สนุ น ในด้ า นวั ต ถุ ดิ บ คื อ เมล็ ด กาแฟให้ แ ก่ ธุ ร กิ จ กาแฟ “คาเฟ่อเมซอน (Café Amazon)” ของ ปตท.

ที่ สำ�คั ญ คื อ โครงการนี้ ไ ด้ ช่ ว ยพั ฒ นาอาชี พ สร้ า ง ความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกร ช่วยยกระดับความเป็นอยู่ ที่ ดี ใ ห้ ค นในชุ ม ชน ทั้ ง ยั ง รั ก ษาสมดุ ล ของธรรมชาติ

ตามแนวคิ ด การดำ�เนิ น งานของ ปตท. ที่ มุ่ ง เน้ น การสร้ า งคุ ณ ค่ า เพิ่ ม ให้ แ ก่ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม หรือ Creating Shared Value (CSV)


พลังงานไทย ความมุ่งมั่นเพื่อคนไทย

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

075

โครงการระบบก๊าซชีวภาพ จากฟาร์มสุกร ชุมชนท่ามะนาว

โครงการวิจัยและพัฒนาการปลูกและการผลิตกาแฟ ระบบอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

หลักสูตรพลังงานเพื่อชุมชน

โครงการการประยุกต์ใช้หญ้าแฝกร่วมกับ วิธีกลและพืชอื่นเพื่อป้องกันภัยดินถล่ม


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

พลังงานไทย ความมุ่งมั่นเพื่อคนไทย

076

ทรัพยากรธรรมชาติ พลังเพื่อความยั่งยืน รักษาสิ่งแวดล้อม สร้างสมดุลแห่งชีวิต

สิ่งที่ดำ�เนินไปพร้อม ๆ กับการพัฒนาศักยภาพ

ทางธุรกิจและสร้างสรรค์สังคมชุมชนของกลุ่ม ปตท. คือ การร่วมฟืน ้ ฟู อนุรก ั ษ์ และดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ

ให้คงความสมบูรณ์ทงั้ ในพืน ้ ทีโ่ ดยรอบสถานประกอบการ และพื้ น ที่ ทั่ ว ประเทศ เพื่ อ คื น ความสมบู ร ณ์ แ ก่ ร ะบบ

นิเวศควบคู่กับการสร้างจิตสำ�นึกดูแลรักษาทรัพยากร

ธรรมชาติ อ ย่ า งมี ส่ ว นร่ ว มกั บ ชุ ม ชนและหน่ ว ยงาน ที่เกี่ยวข้องจากทุกภาคส่วน

การปลูกป่าเชิงนิเวศแบบยั่งยืน • โครงการปลูกป่าเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศ และลดภาวะโลกร้อน

ปตท. เดินหน้าปลูกและฟื้นฟูป่า เพื่อสร้าง

ระบบนิเวศที่สมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพ

แ ล ะ เ ป็ น แ ห ล่ ง กั ก เ ก็ บ ก๊ า ซ ค า ร์ บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์ โดยในปี 2558 ยังคงติดตามดูแลโครงการปลูกป่าถาวร

เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องใน

โอกาสทรงครองราชย์ ปี ที่ 50 จำ�นวน 1 ล้ า นไร่ เ ดิ ม และปลูกป่าใหม่รวมทั้งหมด 33,530 ไร่

โครงการปลูกป่าเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศ และลดภาวะโลกร้อน


พลังงานไทย ความมุ่งมั่นเพื่อคนไทย

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

077

โครงการจิตอาสายั่งยืน ปลูกป่า 1 ทีม 1 ไร่

• การแก้ปัญหาเร่งด่วนจากภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ

ปตท. ร่วมแก้ไขปัญหาภัยพิบต ั ท ิ างธรรมชาติ

และให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ เยี ย วยาทั้ ง ในประเทศและ ต่ า งประเทศ โดยการบรรเทาความเดื อ ดร้ อ นของ

ประชาชนทีป ่ ระสบปัญหาภัยแล้ง ปตท. ได้มอบส่วนลด

น้ำ�มันเชือ ้ เพลิงให้แก่เกษตรกรทีข ่ าดทุนและขาดรายได้

จากการปลู ก พื ช ผลได้ ต ามปกติ พร้ อ มทั้ ง สนั บ สนุ น

ปตท. ร่วมใจช่วยเหลือผู้ประสบภัย

น้ำ�แข็งแห้งจำ�นวน 700 ตัน และน้ำ�มันเครื่องบินให้แก่ กรมฝนหลวงและการบินเกษตร เพือ ่ นำ�ไปใช้ปฏิบต ั ก ิ าร ฝ น ห ล ว ง ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ ป ร ะ ส บ ภั ย แ ล้ ง ทั่ ว ป ร ะ เ ท ศ และยังได้มอบน้ำ�ดื่มให้แก่ผู้ประสบภัยในพื้นที่ต่าง ๆ

ผ่านโครงการ “ราษฎร์ รัฐ ร่วมใจช่วยภัยแล้ง” นอกจากนี้ กลุม ่ ปตท. ยังได้สง่ มอบความช่วยเหลือเพือ ่ บรรเทาทุกข์

ให้ แ ก่ ผู้ ป ระสบภั ย แผ่ น ดิ น ไหวในประเทศเนปาล และผู้ประสบอุทกภัยในประเทศเมียนมาด้วย

ราษฎร์ รัฐ ร่วมใจช่วยภัยแล้ง

ที่สำ�คัญ ปตท. ยังส่งเสริมค่านิยมจิตอาสาของพนักงานในองค์กร เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงานทุกคน

มีส่วนร่วมกิจกรรมจิตอาสาเพื่อช่วยเหลือสังคมตามศักยภาพของบุคลากร โดยในปี 2558 ได้จัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม อาทิ “โครงการจิตอาสายั่งยืน ปลูกป่า 1 ทีม 1 ไร่” ติดตาม

ดู แ ลแปลงปลู ก โครงการพั ฒ นาการใช้ ที่ ดิ น ของ ปตท. ณ ตำ�บลป่ า ยุ บ ใน อำ�เภอวั ง จั น ทร์ จั ง หวั ด ระยอง

“โครงการคืนรอยยิ้มสู่ถิ่นไกล” มอบผ้าห่มให้ชาวบ้าน อำ�เภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ “โครงการเทคโนโลยี

เพื่อการศึกษา” ให้ความรู้การใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ณ โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม จังหวัดตราด และ “กิจกรรม ปั่นรักษ์ แยกขยะ” คัดแยกขยะ ณ คุ้งบางกะเจ้า อำ�เภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

กลุ่ ม ปตท. เชื่ อ มั่ น ว่ า ไม่ เ พี ย งแต่ ค วามเจริ ญ ทางเศรษฐกิ จ เท่ า นั้ น ที่ ขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาประเทศ

ทว่ า การสร้ า งสั ง คมให้ พึ่ ง พาตนเองได้ โ ดยตั้ ง อยู่ บ นพื้ น ฐานความรู้ และการรั ก ษาสมดุ ล ของสิ่ ง แวดล้ อ ม จะเป็นพลังที่ผลักดันให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

นวัตกรรม สร้างอนาคตที่ยั่งยืน

078

นวัตกรรม สร้างอนาคตที่ยั่งยืน

ในปี 2558 ปตท. ได้ พั ฒ นางานวิ จั ย และส่ ง เสริ ม

ให้เกิดนวัตกรรมอย่างจริงจัง โดยการให้งบประมาณ เป็นเงิน จำ�นวน 2,256 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.73 ของกำ�ไรสุทธิ

ในปี 2557 รวมทั้งได้มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม (Technology and Innovation Management Operating System: TIMOS) และประกาศใช้

เป็นแนวทางในการปฏิบัติใน ปตท. อย่างเป็นทางการ เพื่อ

ให้ทุกหน่วยงานและพนักงานได้มีแนวทางการปฏิบัติที่เป็น มาตรฐานเดียวกัน

คู่มือระบบการบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Technology and Innovation Management Operating System: TIMOS)

อีกทั้งยังมีกิจกรรมมอบรางวัลสำ�หรับนวัตกรรมที่หลากหลาย เช่น PTT Innovation Award และ PTT Idea Award ส่งเสริม

ให้เกิดการสร้างนวัตกรรมทั่วถึงทั้งองค์กร การสื่อความ ประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ผลงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก องค์กร โดยได้มก ี ารดำ�เนินการอย่างต่อเนือ ่ งผ่านช่องทางทีห ่ ลากหลายทุกช่องทาง เช่น การจัดแสดงผลงานโดดเด่นด้านนวัตกรรม

ที่ PTT We Can Corner การจัดแสดงผลงานร่วมกับหน่วยงานภายนอกเช่นปีทผ ี่ า่ นมา การจัดแสดงผลงานร่วมกับสำ�นักงานนวัตกรรม

แห่งชาติ การเขียนบทความนวัตกรรมลงในวารสารบ้านเรา การสื่อความกิจกรรมต่าง ๆ ผ่าน What’s news, อีเมล โปสเตอร์ อีกทั้งยังมุ่งเน้นติดตามความก้าวหน้าการพัฒนาผลงานที่เป็น Idea (คือ แนวคิดที่ยังไม่ได้นำ �ไปปฏิบัติจริงหรือยังไม่ออกสู่ เชิ ง พาณิ ช ย์ ) พั ฒ นาไปสู่ น วั ต กรรมเชิ ง พาณิ ช ย์ โดยการใช้ ก ระบวนการ PTT Innovation to Commercialization Gate

(PTT I2C Gate) ในการกลั่นกรองงานวิจัยโดยผู้บริหารจากภาคธุรกิจ ซึ่งนอกจากจะทำ �ให้สามารถกลั่นกรองการดำ�เนินงาน

วิจย ั ไปทีละลำ�ดับขัน ้ ตามขัน ้ ตอนการดำ�เนินโครงการวิจย ั แล้วยังทำ�ให้งานวิจย ั มีความเชือ ่ มโยงกับธุรกิจมากยิง่ ขึน ้ จากกระบวนการ ทำ � งานวิ จั ย ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและการส่ ง เสริ ม นวั ต กรรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทำ � ให้ ปตท. ได้ รั บ รางวั ล ที่ ยื น ยั น ความโดดเด่ น

ด้านนวัตกรรมมากมาย เช่น รางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่นด้านนวัตกรรม สำ�หรับผลงาน PTT Flange Corrosion Prevention System ซึ่ง ปตท. ได้รับรางวัลนี้ต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 6 โดยได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารในด้านต่าง ๆ และจากนโยบายของประธาน

เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท. คุณเทวินทร์ วงศ์วานิช ได้ให้ความสำ�คัญมุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรม ต่อผู้มีส่วนได้เสีย ทุกภาคส่วน อันหมายรวมถึงสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม ประชาชน และประเทศชาติ

มีผลิตภัณฑ์นวัตกรรมจากการวิจัยและพัฒนาของสถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท. ที่นำ�ไปใช้งานในเชิงพาณิชย์

ในปี 2558 ดังนี้


นวัตกรรม สร้างอนาคตที่ยั่งยืน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

079

• พั ฒ นาสู ต รผลิ ต ภั ณ ฑ์ นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง และ

น้ำ� มั น หล่ อ ลื่ น ส่ ง ธุ ร กิ จ น้ำ� มั น มากกว่ า 20 รายการ

โดยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ สำ�คั ญ ได้ แ ก่ HSD B0 Euro V for

Winter, PTT Performa Gastech, Challenger 4T:

API SL และหัวเชื้อน้ำ�มันดีเซล

• พัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์หลากสี (Colorful PV)

ทีม ่ ีความสวยงามใช้ตกแต่งอาคารและลดการส่องผ่าน

ของแสง UV ได้มากกว่าร้อยละ 99 และลดการส่องผ่าน รังสี IR ได้มากกว่าร้อยละ 40 ลดการสะท้อนของแสงแดด

ได้ ม ากกว่ า ร้ อ ยละ 94 และป้ อ งกั น และลดอุ ณ หภู มิ

หรื อ ความร้ อ นจากภายนอกที่ จ ะเข้ า สู่ ภ ายในอาคาร

• พัฒนาชุดอุปกรณ์ติดตั้งระบบเชื้อเพลิงร่วม

(Dual Fuel) สำ�หรั บ ดั ด แปลงรถยนต์ ก ระบะดี เ ซล

คอมมอนเรล ให้สามารถใช้ก๊าซธรรมชาติร่วมกับน้ำ�มัน ดีเซล ที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานสูง ในขณะที่

คงสมรรถนะในการขับขีไ่ ว้เช่นเดิม โดยสามารถทดแทน การใช้น้ามันดีเซลได้ร้อยละ 70 อีกทั้งสามารถวิ่งได้

ระยะทางที่มากขึ้นต่อการเติมก๊าซธรรมชาติแต่ละครั้ง สามารถสร้ า งรายได้ จ ากการอนุ ญ าตให้ ใ ช้ เ ทคโนโลยี จำ�นวน 76 ล้านบาท และสามารถลดอัตราการปล่อยมลพิษ

จากท่อไอเสียเทียบกับเทคโนโลยีเชือ ้ เพลิงร่วมแบบเดิม

ได้ ม ากกว่ า ร้ อ ยละ 9 ได้ มี ก ารติ ด ตั้ ง ใช้ ง านที่ อ าคาร

ที่นำ�ไปใช้งานเชิงพาณิชย์แล้วคือ

ของ ปตท. แล้ว 3 แห่ง

• ปรั บ ปรุ ง ความแม่ น ยำ�ในการคาดการณ์

ปริมาณน้ำ�ในพื้นที่มาบตาพุด ให้สามารถคาดการณ์

ปริ ม าณน้ำ� ล่ ว งหน้ า 6 เดื อ น และส่ ง รายงานให้ คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำ� กลุ่ม ปตท. ทุกเดือน

นอกจากนวัตกรรมของสถาบันวิจย ั และเทคโนโลยี

ปตท. แล้วยังมีนวัตกรรมด้านบริการจากหน่วยธุรกิจ

• การพัฒนาระบบการสั่งซื้อด้วยเงินสดแบบ

หักเงินจากบัญชีธนาคารอัตโนมัติ (Direct Approve) ช่ ว ยให้ บ ริ ก ารลู ก ค้ า ด้ ว ยระบบการสั่ ง ซื้ อ และชำ�ระ

ผลิตภัณฑ์แบบอัตโนมัตเิ ต็มรูปแบบหรือ Fully E-service นัน ่ คือ ลูกค้าสามารถสัง่ ซือ ้ สินค้าและชำ�ระเงินอัตโนมัติ

รางวัล: ได้รับรางวัลเทคโนโลยี และเครื่องจักรกลยอดเยี่ยม ประจำ�ปี 2558 ด้านสร้างสรรค์เพื่อสังคม จากกระทรวงวิทยาศาสตร์

ผ่านระบบ Direct Approve ทีเ่ ชือ ่ มต่อกับธนาคารพาณิชย์ แล้วนำ�รถเข้ามารับสินค้าผ่านระบบคลังอัจฉริยะ โดย

พิ ม พ์ ใ บกำ�กั บ ภาษี แ ละออกจากคลั ง ได้ ด้ ว ยตั ว เอง และผลงานการบริการ PTT Contact Center 1365

โดยพัฒนาช่องทางการให้บริการที่หลากหลายรองรับ ธุรกิจทีข ่ ยายตัว เพิม ่ การให้บริการผ่านช่องทาง Non-voice

อาทิ อี เ มล ซึ่ ง สอดรั บ กั บ พฤติ ก รรมของผู้ บ ริ โ ภคที่

ก้าวสูส ่ งั คมดิจท ิ ล ั ช่วยยกระดับมาตรฐานในกระบวนการ บริ ห ารจั ด การข้ อ ร้ อ งเรี ย นให้ เ ป็ น มาตรฐานเดี ย วกั น

ทัง้ องค์กร รวมถึงนำ�ระบบการจัดการข้อมูลความสัมพันธ์

ของลูกค้าเข้ามาประยุกต์ เพื่อสามารถให้บริการเชิงรุก

ในการคาดการณ์คำ�ถามและการตอบข้อซักถามให้กับ ลูกค้าและผู้บริโภคได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงการพัฒนา บุคลากรซึง่ ถือเป็นหัวใจสำ�คัญในการให้บริการทางด้าน

Contact Center ซึ่งมีการควบคุมคุณภาพการให้บริการ อย่างเป็นระบบ

ในปี 2558 ปตท. ได้ยื่นขอจดสิทธิบัตร 14 ฉบับ

ยื่นขอจดอนุสิทธิบัตร 4 ฉบับ ได้รับอนุสิทธิบัตร 3 ฉบับ รางวัล: ได้รับรางวัล บริการภาครัฐแห่งชาติ ประเภทการพัฒนา การบริการที่เป็นเลิศ จากสำ�นักงาน คณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)

รวมแล้ว ปตท. มีสท ิ ธิบต ั รทีย ่ น ื่ ขอจดรวมทัง้ สิน ้ 74 ฉบับ และอนุสิทธิบัตร 17 ฉบับ

จากการที่ ปตท. ได้ผลักดันและส่งเสริมนวัตกรรม

ในองค์ ก รอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ส่ ง ผลให้ ปตท. เป็ น องค์ ก ร รางวัล: ได้รับรางวัลระดับโลก R&D 100 Awards สุดยอดผลงานด้านเทคโนโลยี จากการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของโลก จากการคัดเลือกของ R&D Magazine: Oscars of Invention ประเทศสหรัฐอเมริกา, รางวัลชมเชยด้านเศรษฐกิจ จากสำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ

ที่ได้รับการยอมรับทั้งจากในประเทศและต่างประเทศ ว่าเป็นองค์กรชัน ้ นำ�ด้านนวัตกรรม ทีแ ่ สดงให้เห็นเด่นชัด ด้วยนวัตกรรมและรางวัลคุณภาพต่าง ๆ ที่ ปตท. ได้รับ

สมกั บ การเป็ น บริ ษั ท พลั ง งานไทยข้ า มชาติ ชั้ น นำ� ที่ เ ป็ น สมบั ติ ที่ มี ค่ า ของชาติ แ ละเป็ น ความภาคภู มิ ใ จ ของคนไทย “Pride and Treasure of Thailand”


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

080

SSHE เกราะป้องกันความสูญเสีย เพื่อความยั่งยืนของสังคมไทย

SSHE เกราะป้องกันความสูญเสีย เพื่อความยั่งยืนของสังคมไทย

การบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งและผลกระทบ

ด้ า น ค ว า ม มั่ น ค ง ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย อ า ชี ว อ น า มั ย และสิ่งแวดล้อม (Security, Safety, Occupational Health and Environment: SSHE) อย่างมีประสิทธิภาพ จะเสริม สมรรถนะความเข้มแข็งภายในองค์กร ช่วยควบคุม ป้องกัน

และลดความสูญเสียให้องค์กรสามารถดำ�เนินการธุรกิจ ได้อย่างราบรื่นและปลอดภัย เปรียบเสมือนเกราะป้องกัน

ความเสี่ ย งและผลกระทบเชิ ง ลบไม่ ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น ต่ อ ชุ ม ชน สังคม และสิ่งแวดล้อม สามารถต่อยอดผลประกอบการ

ในทุ ก ๆ ด้ า น ไปสู่ วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละเป้ า หมายที่ กำ�หนดไว้ อย่างยั่งยืนในที่สุด

นโยบายคุณภาพ ความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม (QSHE) กลุ่ม ปตท.

Corp orat

e

Policy Goals & Strategy Management Standards

B Uniut siness / Sit e

Corporate Procedures, Programs, Tools, Guidelines Business Policies, Standards, Procedures, Programs, Guidelines

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ประจําปี 2563 เป้าหมายการดําเนินงาน QSHE ประจําปี มาตรฐานการจัดการ ด้าน SSHE กลุ่ม ปตท. ขั้นตอนการดําเนินงาน/ มาตรฐาน/ แนวทาง/ โปรแกรม/ เครื่องมือ/ ส่วนกลาง ขั้นตอนการดําเนินงาน/ มาตรฐาน/ แนวทาง/ โปรแกรม/ เครื่องมือ ของหน่วยธุรกิจ/ บริษัท/ สายงาน

• Monitoring • Internal/ External Audit • Verification

กลุ่ม ปตท. ยึดถือกรอบการบริหารจัดการด้าน SSHE ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 5 ลำ�ดับชั้น ดังนี้


SSHE เกราะป้องกันความสูญเสีย เพื่อความยั่งยืนของสังคมไทย

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

081

นโยบาย

มีการวิเคราะห์ปัจจัยภายในภายนอก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม นำ�มาทบทวน พันธสัญญาที่ กลุ่ม ปตท. แสดงถึงความมุ่งมั่นในการควบคุม ป้องกัน และลดความเสี่ยงและผลกระทบที่สำ�คัญต่าง ๆ ใน “นโยบาย คุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม กลุ่ม ปตท.” ฉบับปัจจุบันประกาศใช้ตั้งแต่วันที่ 12 พฤศจิกายน 2558

นโยบาย

กลยุทธ์และเป้าหมาย Goals & Strategy Management Standards Corporate Procedures, Programs, Tools, Guidelines

B Uniut siness / Sit e

การบริหาร จัดการความเสี่ยง/ ผลกระทบที่สำ�คัญ

• Monitoring • Internal/ External Audit • Verification

Corp orat e

Policy

ทบทวนผลการดำ�เนินงานตามเป้าหมายด้าน SSHE ประจำ�ปี 2558 และเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ (Strategic Objectives) ปี 2563 และแสวงหาโอกาสในการปรับปรุงประสิทธิภาพ และประสิทธิผลการดำ�เนินงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยผ่านการจัดทำ�แผนกลยุทธ์ด้าน SSHE ระยะกลาง และแผนกลยุทธ์/ แผนธุรกิจประจำ�ปี ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และการกำ�หนดทำ�เป้าหมายประจำ�ปี 2559

กลยุทธ์ และเป้าหมาย

การบริหารจัดการความเสี่ยง/ ผลกระทบที่สำ�คัญ

Business Policies, Standards, Procedures, Programs, Guidelines

มีการพัฒนาและเริ่มประยุกต์ใช้กระบวนการบริหารจัดการ ความเสี่ยง/ ผลกระทบที่สำ�คัญด้าน SSHE เพิ่มขึ้น ในพื้นที่เป้าหมาย เชิงกลยุทธ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนขยายผล ทบทวน และปรับปรุง กระบวนการต่าง ๆ รวมถึงการเตรียมความพร้อมและตอบสนอง ต่อเหตุฉุกเฉินและภาวะวิกฤต อีกทั้งการบริหารจัดการ ความต่อเนื่องทางธุรกิจ ให้ครอบคลุมทุกธุรกิจ/ กระบวนการหลัก ของ กลุ่ม ปตท. และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ในปี 2558 ผลการดำ�เนินงานของตัวชี้วัดด้าน SSHE ตามเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ 3 ด้าน ทั้งด้านสังคมและประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Socio-Eco-Efficient Strategic Objectives) มีแนวโน้มที่ดีขึ้น Socio เพื่อสังคม พนักงาน ผู้รับเหมา ไม่มีอุบัติเหตุ ถึงขั้น หยุดงาน (Lost Time Accident: LTA) เกิดขึ้น กับพนักงาน ปตท.

ไม่มีอุบัติเหตุ ที่ท� ำ ให้เกิด การเสียชีวิต (Fatality) และอัตรา การบาดเจ็บ จากการทำ�งาน รวม (Total Recordable Injuries Rate: TRIR) ของ ผู้รับเหมา ผ่านค่าเป้าหมาย ที่กำ�หนด และมี แนวโน้มที่ดีขึ้น เทียบเคียงบริษัท ชั้นนำ�ในกลุ่ม อุตสาหกรรม เดียวกัน

อัตราการเกิด อุบัติเหตุ รถขนส่ง ผลิตภัณฑ์ ขั้นร้ายแรง ลดลงจาก ปี 2557 ถึง 0.008 ครั้งต่อ 1 ล้านกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 7.84 ซึ่งมี แนวโน้มที่ดีขึ้น มาโดยตลอด ตั้งแต่ปี 2556

Lost Time Accident

ในปี 2558 ได้รับการจัดอันดับ

Green Rankings

เป็นอันดับ 2 ของโลก ในหมวดอุตสาหกรรม พลังงาน

Eco เพื่อลดมลพิษสู่สิ่งแวดล้อม ปริมาณของเสีย ที่นำ�ไปฝังกลบ มีปริมาณลดลง อย่างต่อเนื่อง

สามารถควบคุม ความเข้มของ การระบาย สารอินทรีย์ ระเหย (Volatile Organic Compounds: VOCs) ในสถาน ประกอบการ หลัก ได้อย่างดี

ส่งผลดีทั้งทางตรงและทางอ้อม ต่อผู้มีส่วนได้เสียในกลุ่มต่าง ๆ

Efficient เพื่อลดต้นทุน และลดมลพิษสู่สิ่งแวดล้อม สามารถควบคุม ความเข้ม การปลดปล่อย ก๊าซเรือน กระจก ของ กลุ่ม ปตท. ให้ไม่มาก ไปกว่า ปีที่ผ่านมา

พนักงานและผู้รับเหมา รวมถึงคู่ค้า ที่ปฏิบัติงานกับ กลุ่ม ปตท. มีการบาดเจ็บ เจ็บป่วยจากการทำ�งานน้อยลง คุณภาพชีวิตของพนักงาน ผู้รับเหมา รวมถึงครอบครัวดีขึ้น

ลดความเข้ม การใช้พลังงาน ของ กลุ่ม ปตท. ลงร้อยละ 3.1 จากการดำ�เนิน งานปกติ

ชุมชนรอบข้าง ประชาชน และสังคมไทย ได้รับมลพิษและผลกระทบทางอ้อม เช่น ผลกระทบจากอันตราย การจราจรอันเนื่อง มาจากอุบัติเหตุทางรถ ผลกระทบจากคุณภาพ สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป ลดน้อยลง คุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค ระดับโลก ดีขึ้น จากการปลดปล่อยมลพิษที่น้อยลง ช่วยลดงบประมาณของภาครัฐในการควบคุม กำ�กับและการบำ�บัดฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสุขภาพอนามัยและประชาชน

ZERO TO

LANDFORCE

ลดค่าใช้จ่าย ต้นทุนการดำ�เนินงาน ทั้งทางตรงและในระยะยาวจากการลดมลพิษ ที่แหล่งกำ�เนิดและการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้ทรัพยากรฯ เพิ่มผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้น

CO2 ในปี 2558 ภายใต้ ก รอบการบริ ห าร

คงสถานะการถูกจัดอันดับให้เป็นสมาชิก DJSI

และเรี ย นรู้ ค วามต้ อ งการของผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย

World Index และ Dow Jones Sustainability

จัดการด้าน SSHE กลุม ่ ปตท. มุง่ มัน ่ ในการเข้าถึง ทุกกลุ่ม ผนวกกับการแสวงหาซึ่งเทคโนโลยี

เครื่องมือ และโอกาส นำ�มาซึ่งการปรับปรุง

กลยุทธ์กระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยง และผลกระทบด้ า น SSHE อย่ า งจริ ง จั ง และเป็ น ระบบ ส่ ง ผลให้ ใ นปี 2558 ปตท.

สามารถควบคุม ป้องกัน และลดผลกระทบ และความเสี่ ย งด้ า น SSHE ได้ เ ป็ น อย่ า งดี

ดั ง จะเห็ น ได้ จ ากตั ว ชี้ วั ด ผลการดำ�เนิ น งาน ที่มีแนวโน้มดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง และสามารถ

เป็นปีที่ 4 ทั้งใน Dow Jones Sustainability Emerging Markets Index ในกลุม ่ อุตสาหกรรม

น้ำ�มันและก๊าซ ตลอดจนได้รับการจัดอันดับ Green Rankings เป็ น อั น ดั บ 2 ของโลก

ในหมวดอุตสาหกรรมพลังงาน (อันดับ 111 ของโลก) โดยนิ ต ยสาร Newsweek ทั้ ง นี้

สามารถดูรายละเอียดของผลการดำ�เนินงาน ด้าน SSHE เพิ่มเติมได้ในรายงานความยั่งยืน ปี 2558 (Corporate Sustainability Report 2015)


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

082

วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการด�ำเนินงาน ผลการด�ำเนินงานของ ปตท. และบริษัทย่อย หน่วย: ล้านบาท

รายได้จากการขายและการให้บริการ

ปี 2557 (ปรับปรุงใหม่)

ปี 2558

เพิ่ม (ลด) ร้อยละ

2,605,062

2,026,912

275,450

284,828

3.4

860

6,032

>100.0

(5,992)

>(100.0)

(22.2)

กำ�ไรก่อนหักต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำ�หน่าย รวมทั้งค่าใช้จ่ายอื่น และรายได้อื่น ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงาน (EBITDA)

ส่วนแบ่งกำ�ไร (ขาดทุน) จากบริษัทร่วมและการร่วมค้า กำ�ไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน

11,610

กำ�ไรก่อนหักดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้ (EBIT)

139,887

141,067

0.8

ภาษีเงินได้

38,006

24,855

(34.6)

กำ�ไรสุทธิ

58,678

19,936

(66.0)

ในปี 2558 ปตท. และบริ ษั ท ย่ อ ยมี ร ายได้ จ ากการขาย

ส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและการร่วมค้า

จำ�นวน 2,026,912 ล้านบาท ลดลง 578,150 ล้านบาท หรือ

จำ�นวน 6,032 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 5,172 ล้านบาท โดยหลักมาจาก

แม้ ป ริ ม าณขายโดยรวมยั ง เติ บ โตต่ อ เนื่ อ ง โดยราคาขายเฉลี่ ย

จำ�กัด (มหาชน) (SPRC) เนือ ่ งจากค่าการกลัน ่ ทีส ่ งู ขึน ้ รวมถึงอัตรา

ร้ อ ยละ 22.2 มาจากปั จ จั ย ทางด้ า นราคาที่ ล ดลงเป็ น หลั ก

ของผลิตภัณฑ์ปรับลดลงอย่างมากตามราคาน้ำ�มันดิบดูไบเฉลี่ย ที่ ล ดลงถึ ง ร้ อ ยละ 47.3 เมื่ อ เที ย บกั บ ปี ก่ อ น ส่ ง ผลให้ ทุ ก กลุ่ ม

ผลการดำ�เนินงานที่ดีขึ้นของโรงกลั่นสตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง

กำ�ลังการกลั่นที่เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปีก่อนที่มีการปิดซ่อมบำ�รุง ครั้งใหญ่ตามแผนงาน และมีผลขาดทุนจากสต๊อกน้ำ�มันลดลง

ธุ ร กิ จ มี ร ายได้ จ ากการขายลดลง โดยลดลงมากในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ

และผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย ม และกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเคมี แ ละการกลั่ น

บริษท ั ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) (ปตท.สผ.)

การค้ า ระหว่ า งประเทศ กลุ่ ม ธุ ร กิ จ น้ำ� มั น กลุ่ ม ธุ ร กิ จ สำ�รวจ

ในปี 2558 ปตท. และบริ ษั ท ย่ อ ย มี กำ�ไรก่ อ นหั ก ต้ น ทุ น ทางการเงิ น ภาษี เ งิ น ได้ ค่ า เสื่ อ มราคา และค่ า ตั ด จำ�หน่ า ย รวมทัง้ ค่าใช้จา ่ ยอืน ่ และรายได้อน ื่ ทีไ่ ม่เกีย ่ วข้องกับการดำ�เนินงาน

(EBITDA) จำ�นวน 284,828 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 9,378 ล้านบาท

หรือร้อยละ 3.4

ทั้งนี้ ในปี 2558 ปตท. และบริษัทย่อยรับรู้ขาดทุนจาก

การด้ อ ยค่ า สิ น ทรั พ ย์ เ พิ่ ม ขึ้ น 36,070 ล้ า นบาท โดยหลั ก จาก ที่ รั บ รู้ ด้ อ ยค่ า สิ น ทรั พ ย์ เ พิ่ ม ขึ้ น 17,097 ล้ า นบาท (ปี 2558: 49,893 ล้านบาท, ปี 2557: 32,796 ล้านบาท) ในแหล่งสำ�รวจ และผลิตปิโตรเลียมในต่างประเทศที่ผลิตน้ำ�มันและคอนเดนเสท

เป็ น หลั ก รวมถึ ง บริ ษั ท พี ที ที เอ็ น เนอร์ ยี่ รี ซ อร์ ส เซส จำ�กั ด

(PTTER) รับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ในธุรกิจถ่านหิน จำ�นวน 20,275 ล้านบาท และ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล

จำ�กัด (มหาชน) (PTTGC) รับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ Myriant จำ�นวน 2,531 ล้านบาท


วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

083

ปตท. และบริษท ั ย่อยมีขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย ่ น 5,992 ล้านบาท ขณะทีป ่ ก ี อ ่ นมีกำ�ไรจากอัตราแลกเปลีย ่ น 11,610 ล้านบาท

โดยหลักมาจาก ปตท. ที่มีผลกำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจากการรับ-จ่ายลูกหนี้และเจ้าหนี้เงินตราต่างประเทศลดลง รวมทั้งบริษัท

ในเครือกลุ่ม ปตท. มีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่รับรู้ (Unrealized Loss) ของเงินกู้ยืมสกุลเงินต่างประเทศจากค่าเงินบาท

ที่ อ่ อ นค่ า ลง เมื่ อ เที ย บกั บ เงิ น สกุ ล เหรี ย ญสหรั ฐ นอกจากนี้ มี กำ�ไรจากตราสารอนุ พั น ธ์ ล ดลง 11,487 ล้ า นบาท ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การลดลงของผลกำ�ไรจากสัญญาป้องกันความเสี่ยงส่วนต่างราคาน้ำ�มันสำ�เร็จรูปและน้ำ�มันดิบ ของบริษัทย่อยในกลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี

และการกลั่น อย่างไรก็ดี ในปีนี้มีกำ�ไรจากการจำ�หน่ายเงินลงทุนใน บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) (BCP) และ SPRC

ปตท. และบริษัทย่อยมีภาษีเงินได้ลดลง 13,151 ล้านบาท จากผลการดำ�เนินงานที่ลดลงโดยเฉพาะภาษีเงินได้ปิโตรเลียม

ของ ปตท.สผ. ทีล ่ ดลงเนือ ่ งจากกำ�ไรจากการขายปิโตรเลียมในประเทศลดลง ส่งผลให้ ปตท. และบริษท ั ย่อยมีกำ�ไรสุทธิ 19,936 ล้านบาท ลดลง 38,742 ล้านบาท จาก 58,678 ล้านบาท ในปี 2557

ในปี 2558 ปตท. และบริษัทในกลุ่ม ปตท. มีเหตุการณ์ที่สำ�คัญ (Non-Recurring Items) ดังนี้ มกราคม 2558

• คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) มีมติปรับโครงสร้างราคา LPG เพื่อให้สะท้อนต้นทุนแท้จริง

โดยก�ำหนดต้นทุนเฉลี่ยของราคา LPG จาก 3 แหล่งผลิตใหม่ที่ 488 เหรียญสหรัฐ/ตัน (16.11 บาท/กก.) โดยปรับขึ้นราคา LPG หน้าโรงแยกจากเดิมที่ 333 เหรียญสหรัฐ/ตัน เป็น 498 เหรียญสหรัฐ/ตัน ขณะที่ราคาขายปลีกยังคงเดิมที่ 24.16 บาท/กก. มีผลตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558

• กบง. มีมติปรับราคา NGV ขึ้น 0.50 บาท/กก. ทั้งในส่วนของรถยนต์ส่วนบุคคลและกลุ่มรถโดยสารสาธารณะ

โดยปรับขึ้นมาอยู่ที่ 13.00 บาท/กก. และ 10.00 บาท/กก. ตามล�ำดับ มีผลตั้งแต่วันที่ 31 มกราคม 2558 กุมภาพันธ์ 2558

• คณะกรรมการบริษัท ปตท. มีมติอนุมัติขายทรัพย์สินและกิจการโรงไฟฟ้าพลังงานร่วมในหน่วยผลิต

สาธารณูปการกลางส�ำหรับโรงกลั่นน�้ำมันบางจาก (BUP) ให้แก่ BCP คิดเป็นมูลค่ารวมส�ำหรับทรัพย์สินหลัก ไม่เกินกว่า 1,343,469,367 บาท และมูลค่ารวมของอะไหล่ส�ำรองประมาณ 37.08 ล้านบาท มีนาคม 2558

• ปตท. ทบทวนแผนการลงทุน 5 ปี (ปี 2558 - 2562) ให้สอดคล้องกับสถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่เปลี่ยนแปลง

เมษายน 2558

• หน่วยปรับปรุงคุณภาพน�้ำมันเตา หรือ Vacuum Gas Oil Hydro Treating Unit (VGOHT) ของ บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด

• ปตท. ขายหุ้น BCP ที่ ปตท. ถืออยู่ทั้งหมดจ�ำนวน 374,748,571 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 27.22 ของจ�ำนวนหุ้น

ิ รับลดแผนการลงทุนจาก 326,551 ล้านบาท ลงเหลือ 298,700 ล้านบาท โดยอนุมัตป

(มหาชน) (IRPC) ได้กลับมาด�ำเนินการผลิตเชิงพาณิชย์หลังจากเกิดเพลิงไหม้ในปี 2557 ตั้งแต่วันที่ 12 เมษายน 2558

ที่ช�ำระแล้วทั้งหมดของ BCP ให้แก่กองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง ในสัดส่วนร้อยละ 15.25 และส�ำนักงานประกันสังคม ในสัดส่วนร้อยละ 11.96 ในราคาหุ้นละ 36 บาท พฤษภาคม 2558

• บริษัท ปตท. กรีน เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด (PTTGE SG) ลงนามในสัญญาซื้อขายหุ้น (Sale and Purchase Agreement)

กับผู้ถือหุ้นอีกฝ่าย เพื่อขายหุ้นทั้งหมดที่ถือใน Chancellor Oil Pte. Ltd. ในสัดส่วนร้อยละ 77.56

• บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) (GPSC) เสนอขายหุ้นให้ประชาชนทั่วไป (IPO)

ซึ่งด�ำเนินธุรกิจปาล์มน�ำ้ มันผ่านบริษัท PT. First Borneo Plantations (PT.FBP) ในประเทศอินโดนีเซีย

ในวันที่ 18 พฤษภาคม 2558 ที่ราคา 27 บาท/หุ้น มิถุนายน 2558

• PTTGE SG เสร็จสิ้นกระบวนการขายหุ้น โอนหนี้ และเงินลงทุนล่วงหน้าใน PT. Mitra Aneka Rezeki (PT.MAR)

• PTTGC จัดตั้งบริษัท PTTGC America Corporation และ PTTGC America LLC เพื่อด�ำเนินการศึกษาจัดท�ำ

เพื่อใช้ประโยชน์จากวัตถุดิบอีเทนจาก Shale gas

ให้แก่ Harvey Bay Overseas (HBO) มูลค่าเทียบเท่า 35 ล้านเหรียญสหรัฐ ในวันที่ 9 มิถุนายน 2558

Front End Engineering Design (FEED) Study และลงทุนโครงการ Petrochemical Complex ในประเทศสหรัฐอเมริกา


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

084

กรกฎาคม 2558

วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

• ปตท. จ�ำหน่ายหุ้น บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (PTTPL) จ�ำนวนร้อยละ 49 ของจ�ำนวนหุ้นทั้งหมด

ให้กับ PTTGC และจ�ำนวนร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นทั้งหมดให้กับ บริษัท โซลูชั่น ครีเอชั่น จ�ำกัด (บริษัทย่อยของ PTTGC) สิงหาคม 2558

• คณะกรรมการ ปตท. อนุมัติการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลส�ำหรับผลประกอบการครึ่งแรกของปี 2558

• ปตท. จัดตั้งบริษัท โอจีพี เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด (OGP) โดยเป็นการร่วมทุนระหว่างบริษัท ปตท.ธุรกิจค้าปลีก จ�ำกัด

ในอัตรา 6.00 บาท/หุ้น หรือร้อยละ 37.3 ของก�ำไรสุทธิของงบการเงินรวม

(PTTRB) (บริษัทย่อยของ ปตท.) กับ บริษัท โอซาก้า แก๊ส (ประเทศไทย) จ�ำกัด (OGT) โดยถือหุ้นในสัดส่วน

ท�ำหน้าที่บริหารจัดการด้านพลังงานแก่ลูกค้าแบบครบวงจร (One-Stop Service)

ร้อยละ 40 และ 60 ตามล�ำดับ มีวัตถุประสงค์เพื่อด�ำเนินธุรกิจ Energy Service Solution

• การจ�ำหน่ายเงินลงทุนและการโอนหนี้ในบริษัท PT Az Zhara แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2558

มีมูลค่ารายการทั้งหมดเป็นเงินจ�ำนวน 6.8 ล้านเหรียญสหรัฐ

• PTTGC อนุมัติโครงการซื้อหุ้นคืนของบริษัทฯ เพื่อบริหารทางการเงิน (Treasury Stocks) ภายในวงเงินสูงสุดไม่เกิน

4,500 ล้านบาท และจ�ำนวนหุ้นที่จะซื้อคืนเท่ากับประมาณร้อยละ 2 ของหุ้นที่จ�ำหน่ายได้แล้วทั้งหมด

และมีก�ำหนดระยะเวลาซื้อคืน 6 เดือน นับตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน 2558 ถึงวันที่ 7 มีนาคม 2559 กันยายน 2558

• กบง. มีมติปรับราคา NGV ขึ้น 0.50 บาท/กก. ในส่วนของรถยนต์ส่วนบุคคล โดยปรับขึ้นมาอยู่ที่ 13.50 บาท/กก.

ตุลาคม 2558

• ปตท. ได้ด�ำเนินการจัดหาเงินกู้ โดยการออกหุ้นกู้ประเภทไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีประกัน เสนอขายแก่ผู้ลงทุนประชาชนทั่วไป

ธันวาคม 2558

• ปตท. ขายหุ้น SPRC ต่อประชาชนท�ำให้สัดส่วนการถือหุ้นของ ปตท. ใน SPRC ลดลงจากร้อยละ 36 ของจ�ำนวนหุ้น

มีผลตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน 2558

วงเงินรวม 4,200 ล้านบาท เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2558

ที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด เหลือร้อยละ 5.4 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2558

• การจ�ำหน่ายเงินลงทุนและการโอนหนี้ในบริษัท PTT Green Energy (Netherlands) Cooperatief U.A. (PTTGE COOP) ซึ่งถือหุ้น KPI Project แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2558 มีมูลค่ารายการทั้งหมดเป็นเงินจ�ำนวน

86.65 ล้านเหรียญสหรัฐ มกราคม 2559

• กบง. ประกาศลอยตัว NGV เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2559 ในส่วนของรถยนต์ส่วนบุคคล แต่ยังคงให้ ปตท. ขาย NGV

ได้ที่ราคาไม่เกิน 13.50 บาท/กก. ไป 6 เดือนจนถึงเดือนกรกฎาคม 2559


วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

085

ผลการดำ�เนินงานของ ปตท. และบริษัทย่อย สำ�หรับปี 2558 เปรียบเทียบกับปี 2557 แยกตามธุรกิจสรุปได้ดังนี้ หน่วย: ล้านบาท

ปี 2557 (ปรับปรุงใหม่)

ปี 2558

ยอดขาย

2,605,062

2,026,912

(22.2)

• ก๊าซ1/

581,116

542,799

(6.6)

• สำ�รวจและผลิตฯ

• นํ้ามัน

• การค้าระหว่างประเทศ

• ปิโตรเคมีและการกลั่น

• ถ่านหิน

• อื่น ๆ

EBITDA

• สำ�รวจและผลิตฯ • ก๊าซ

242,071

638,409

1,596,030

185,770

511,530

949,933

1,105,011

874,195

5,192

4,870

20,557

13,633

275,450

284,828

55,283

45,622

174,557

132,653

เพิ่ม (ลด) ร้อยละ (23.3)

(19.9)

(40.5)

(20.9)

(33.7) (6.2) 3.4

(24.0)

(17.5)

• นํ้ามัน

11,577

14,583

• ปิโตรเคมีและการกลั่น

31,390

81,954

>100.0

1,444

3,894

>100.0

139,887

141,067

0.8

• การค้าระหว่างประเทศ

• ถ่านหิน

• อื่น ๆ

EBIT

• สำ�รวจและผลิตฯ • ก๊าซ

• นํ้ามัน

(3,822) 4,471

91,380

39,795

3,315

2,725

39,831

29,765

- ไม่รวมผลกระทบจาก FX.

- รวมผลกระทบจาก FX.

• ปิโตรเคมีและการกลั่น

• ถ่านหิน

• อื่น ๆ

ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย

ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ต้นทุนทางการเงิน

กำ�ไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน

ส่วนแบ่งกำ�ไร (ขาดทุน) จากบริษัทร่วมและการร่วมค้า

(39.1)

(56.4)

(25.2)

8,716

11,607

(3,858)

3,282

>100.0

3,540

54,379

>100.0

0

2,285

>100.0

135,563

143,761

6.0

33,033

30,089

• การค้าระหว่างประเทศ

26.0

>100.0

4,083

(238)

(38,085) 11,610 860

5,517 (167)

(74,155) (5,992) 6,032

33.2

35.1

29.8

94.7

(8.9)

>(100.0) >(100.0)

ภาษีเงินได้

38,006

24,855

กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ

58,678

19,936

(66.0)

20.34

6.73

(66.9)

กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท/หุ้น) 1/ รวมธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน

(34.6)

หมายเหตุ: ผลการด�ำเนินงานงวดปี 2557 ปรับปรุงใหม่ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 เรื่อง งบการเงินรวม และมาตรฐานการรายงาน

ทางการเงิน ฉบับที่ 11 เรื่อง การร่วมการงาน ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

086

วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

ผลการดำ�เนินงานของ ปตท. และบริษัทย่อยจำ�แนกตามกลุ่มธุรกิจ

รายละเอียดยอดขาย EBITDA และ EBIT ของผลการดำ�เนินงานปี 2558 แยกตามกลุ่มธุรกิจ สรุปได้ดังนี้

ยอดขาย EBITDA และ EBIT ของ ผลการด�ำเนินงาน ปี 2558

6% 1% 18% 47%

ก๊าซธรรมชาติ ปิโตรเคมีและการกลั่น นํ้ามันและการค้าระหว่างประเทศ ปตท.สผ. อื่น ๆ*

21%

28%

28%

หน่วย: ล้านบาท

1%

2% 16% 47%

29%

11%

39%

6%

2,026,912

284,828

141,067

Revenue

EBITDA

EBIT

หมายเหตุ: * ธุรกิจถ่านหินและอื่น ๆ

กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ ธุรกิจสำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม: บมจ. ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม หรือ ปตท.สผ.

ปี 2557 (ปรัปรุงใหม่) ราคาขายผลิตภัณฑ์เฉลี่ย (เหรียญสหรัฐ/BOE) ปริมาณขายเฉลี่ย (BOED)

ในปี 2558 ปตท.สผ. มี ร ายได้ จ ากการขายจำ�นวน

185,770 ล้านบาท ลดลง 56,301 ล้านบาท หรือร้อยละ 23.3

สาเหตุหลักมาจากราคาขายเฉลีย ่ ผลิตภัณฑ์ปรับลดลงร้อยละ 28.9 จาก 63.7 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรลเทียบเท่าน้ำ�มันดิบในปี 2557

เหลือ 45.3 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรลเทียบเท่าน้ำ�มันดิบในปี 2558 ขณะทีป ่ ริมาณขายยังคงเติบโตต่อเนือ ่ ง โดยปริมาณขายในปี 2558

ปี 2558

63.7

45.3

312,569

322,167

เพิ่ม (ลด) ร้อยละ (28.9) 3.1

EBITDA ในปี 2558 มีจำ�นวน 132,653 ล้านบาท ลดลง

41,904 ล้ า นบาท หรื อ ร้ อ ยละ 24 ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผลมาจาก

รายได้จากการขายที่ลดลงดังกล่าวข้างต้น อย่างไรก็ตาม บริษัท มีมาตรการลดต้นทุนตามโครงการ SAVE to be SAFE ส่งผล

ให้ ต้ น ทุ น ขายต่ อ หน่ ว ยลดลง นอกจากนั้ น ค่ า ภาคหลวงและ

ค่าใช้จา ่ ยในการดำ�เนินงานปรับลดลงตามยอดขาย และค่าใช้จา ่ ย

ปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 จาก 312,569 บาร์เรลเทียบเท่าน้ำ�มันดิบ

ในการสำ�รวจลดลงเช่นเดียวกัน เนือ ่ งจากปีกอ ่ นมีการตัดจำ�หน่าย

ส่ ว นใหญ่ ม าจากโครงการซอติ ก้ า ที่ เ ริ่ ม ขายก๊ า ซฯ ในประเทศ

เคนยา แอล 10 เอ และ แอล 28/48 ขณะที่ปีนี้ตัดจำ�หน่ายหลุม

ต่อวัน ในปี 2557 เป็น 322,167 บาร์เรลเทียบเท่าน้ำ�มันดิบต่อวัน

เมียนมาตัง้ แต่เดือนมีนาคม 2557 และเริม ่ ผลิตเต็มกำ�ลังพร้อมทัง้ ส่งก๊าซฯ ออกมาขายในประเทศไทย ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2557

หลุ ม สำ�รวจของโครงการพี ที ที อี พี ออสตราเลเชี ย โครงการ

ในเมียนมาและบราซิล


วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

087

EBIT ในปี 2558 มีจำ�นวน 39,831 ล้านบาท ลดลง 51,549 ล้านบาท หรือร้อยละ 56.4 เป็นผลจากค่าเสื่อมราคาที่เพิ่มขึ้น

ตามสินทรัพย์พร้อมใช้งานของโครงการคอนแทร็ค 4 โครงการอาทิตย์ โครงการเอส 1 และโครงการซอติก้า ตามปริมาณการผลิต ที่เพิ่มขึ้น

นอกจากนั้ น ในปี 2558 ปตท.สผ. มี ก ารรั บ รู้ ข าดทุ น จากการด้ อ ยค่ า สิ น ทรั พ ย์ จำ�นวน 49,893 ล้ า นบาท (หรื อ จำ�นวน

46,597 ล้านบาท เมื่อสุทธิภาษีเงินได้) เพิ่มขึ้น 17,097 ล้านบาท ขณะที่ปี 2557 มีขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ 32,796 ล้านบาท จากราคาน้ำ� มั น ในตลาดโลกที่ ล ดลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและมี แ นวโน้ ม ที่ อ าจฟื้ น ตั ว ช้ า โดยด้ อ ยค่ า สิ น ทรั พ ย์ ใ นแหล่ ง สำ�รวจและผลิ ต ปิโตรเลียมในต่างประเทศที่ผลิตน้ำ�มันและคอนเดนเสทเป็นหลัก

กลุ่มธุรกิจก๊าซธรรมชาติ รายละเอียดปริมาณการขายผลิตภัณฑ์ของโรงแยกก๊าซธรรมชาติแต่ละชนิด เป็นดังนี้ หน่วย: ตัน

ปี 2557

ปี 2558

LPG

2,738,633

2,737,866

(0.0)

Ethane

2,105,650

2,199,323

4.4

Propane

819,349

765,063

(6.6)

NGL1/

728,542

720,568

(1.1)

6,392,174

6,422,820

รวม

เพิ่ม (ลด) ร้อยละ

0.5

หมายเหตุ:

1/ รวมผลิตภัณฑ์ Pentane (เริ่มขายตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2558)

รายละเอียดราคาผลิตภัณฑ์อ้างอิงของโรงแยกก๊าซธรรมชาติแต่ละชนิด เป็นดังนี้ หน่วย: เหรียญสหรัฐต่อตัน

ปี 2557 LPG1/, 4/

ปี 2558

เพิ่ม (ลด) ร้อยละ

799

424

(46.9)

Ethylene2/

1,395

1,104

(20.9)

Propylene2/

1,245

774

(37.8)

HDPE2/

1,544

1,238

(19.8)

PP2/

1,553

1,155

(25.6)

786

438

(44.3)

Naphtha3/ หมายเหตุ:

1/ เป็นราคา Contract Price (CP) 60 : 40

2/ ราคาตลาดจรของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South East Asia - Spot)

3/ ราคาตลาดจรของประเทศสิงคโปร์ (MOP’S)

4/ มติ กพช. วันที่ 15 ธันวาคม 2557 เห็นชอบแนวทางปรับราคา LPG มีผลตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 เป็นต้นไป โดยให้ยกเลิกการก�ำหนดราคา ณ โรงแยกก๊าซ

ธรรมชาติที่ระดับ 333 เหรียญสหรัฐต่อตัน และก�ำหนดหลักเกณฑ์การค�ำนวณราคา LPG Pool ซึ่งเป็นราคาซื้อตั้งต้นของ LPG ที่สะท้อนต้นทุนจริงในการผลิต

3 เดือน

และจัดหา (โรงแยกก๊าซธรรมชาติ โรงกลั่นน�้ำมันเชื้อเพลิง และโรงอะโรเมติกส์และน�ำเข้า) เฉลี่ยแบบถ่วงน�้ำหนักตามปริมาณการผลิตและจัดหาย้อนหลัง


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

088

วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

ในปี 2558 กลุ่มธุรกิจก๊าซธรรมชาติมีรายได้จากการขายจำ�นวน 542,799 ล้านบาท ลดลง 38,317 ล้านบาท หรือลดลง

ร้อยละ 6.6 จากปี 2557 โดยหลักจาก

การจัดจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติ

หน่วยธุรกิจก๊าซฯ ของ ปตท. ดำ�เนินธุรกิจจัดหา ขนส่งและจัดจำ�หน่ายก๊าซฯ มีรายได้จากการขายลดลง จากราคาขายเฉลี่ย

ลดลงในทุกกลุม ่ ลูกค้า โดยเฉพาะราคาขายลูกค้าอุตสาหกรรมทีป ่ รับตัวลงตามสูตรราคาทีอ ่ า ้ งอิงราคาน้ำ�มันเตาทีป ่ รับลดลงเมือ ่ เทียบ

กับปีก่อน แม้ว่าปริมาณจำ�หน่ายก๊าซฯ เฉลี่ย (ที่ค่าความร้อน 1,000 บีทียูต่อ 1 ลูกบาศก์ฟุต) เพิ่มขึ้น 119 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน

(MMSCFD) จาก 4,688 MMSCFD ในปี 2557 เป็น 4,807 MMSCFD ในปี 2558 หรือร้อยละ 2.5 โดยหลักจากปริมาณความต้องการ

ใช้ไฟฟ้าของลูก ค้ า กลุ่ ม IPP และ SPP เพิ่ ม สู ง ขึ้ นโดยมีโรงไฟฟ้าใหม่ IPP ที่เริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ในเดือนธันวาคม 2557

และมิถุนายน 2558 ส่วนโรงไฟฟ้าใหม่ SPP เริ่มทยอยดำ�เนินการตั้งแต่ไตรมาสที่ 2/2558 (Q2/2558)

ผลิตภัณฑ์โรงแยกก๊าซธรรมชาติ

ธุรกิจโรงแยกก๊าซฯ มีรายได้จากการขายทีล ่ ดลง จากราคาขายผลิตภัณฑ์ทอ ี่ า ้ งอิงราคาผลิตภัณฑ์ในตลาดโลกลดลง ในปี 2558

แม้ ว่ า ปริ ม าณขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร วม (รวมก๊ า ซโซลี น ธรรมชาติ ที่ ไ ด้ จ ากหน่ ว ยควบคุ ม จุ ด กลั่ น ตั ว ของก๊ า ซฯ) จะเพิ่ ม ขึ้ น เล็ ก น้ อ ยจาก 6,392,174 ตัน ในปี 2557 เป็น 6,422,820 ตัน ในปี 2558 หรือร้อยละ 0.5 โดยหลักจากปริมาณขายผลิตภัณฑ์อีเทน ในขณะที่ ปริมาณขายผลิตภัณฑ์โพรเพนและ NGL ลดลง

EBITDA ของกลุ่มธุรกิจก๊าซฯ ในปี 2558 มีจำ�นวน 45,622 ล้านบาท ลดลง 9,661 ล้านบาท หรือร้อยละ 17.5 โดยหลักจาก

กำ�ไรขัน ้ ต้นของหน่วยธุรกิจก๊าซฯ ของ ปตท. ทีล ่ ดลง โดยเฉพาะจากกำ�ไรขัน ้ ต้นของธุรกิจการจัดหา ขนส่งและจัดจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติ

เนื่องจากราคาขายลูกค้าอุตสาหกรรมของธุรกิจจัดจำ�หน่ายก๊าซฯ ที่ปรับตัวลดลงตามสูตรราคาที่อ้างอิงราคาน้ำ�มันเตาที่ปรับตัวลง

่ น ้ ทุนราคาก๊าซฯ ปรับลดลงช้ากว่า รวมทัง้ กำ�ไรขัน ้ ต้นทีล ่ ดลงของธุรกิจโรงแยกก๊าซฯ จากราคาขายผลิตภัณฑ์ ทีป ในขณะทีต ่ รับตัวลดลง

ดังกล่าวข้างต้น รวมถึงธุรกิจระบบท่อส่งก๊าซฯ มีการชำ�ระเงินชดเชยค่าก่อสร้างท่อเส้นที่ 4 ล่าช้า แม้วา ่ ธุรกิจ NGV จะขาดทุนลดลงจาก

การปรับเพิ่มขึ้นของราคาขายเป็น 13.50 บาทต่อกิโลกรัม สำ�หรับกลุ่มลูกค้าทั่วไป และ 10.00 บาทต่อกิโลกรัม สำ�หรับกลุ่มลูกค้าบัตร

เครดิตพลังงาน (รถแท็กซี่ รถโดยสารสาธารณะ) ทัง้ นี้ EBIT ในปี 2558 อยูท ่ ี่ 29,765 ล้านบาท ซึง่ ลดลงร้อยละ 25.2 ตาม EBITDA ทีล ่ ดลง

สำ�หรั บ ธุ ร กิ จ โครงสร้ า งพื้ น ฐานในปี 2558 มี ผ ลประกอบการดี ขึ้ น โดย GPSC ขายไฟฟ้ า เพิ่ ม ขึ้ น จากโรงไฟฟ้ า ศรี ร าชา

เนื่องจากมีการหยุดซ่อมบำ�รุงในปี 2557 ขณะที่ปีนี้มีค่าใช้จ่ายดำ�เนินงานเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม GPSC ได้รับเงินปันผลรับจาก RPCL

และส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและการร่วมค้าเพิ่มขึ้น

กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย กลุ่มธุรกิจนํ้ามัน หน่วย: ล้านลิตร

ปี 2557 ปริมาณขายเฉลี่ย

24,657

ปี 2558 25,268

เพิ่ม (ลด) ร้อยละ 2.5


วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

089

ในปี 2558 กลุ่มธุรกิจน้ำ�มันมีรายได้จากการขายจำ�นวน 511,530 ล้านบาท ลดลง 126,879 ล้านบาท หรือร้อยละ 19.9

เป็นผลมาจากราคาขายผลิตภัณฑ์ที่ลดลง โดยราคาเฉลี่ยของน้ำ�มันดิบดูไบลดลงจาก 96.7 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ในปี 2557 เหลือ 50.9 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ในปี 2558 ในขณะที่ปริมาณขายเพิ่มขึ้น 611 ล้านลิตร หรือร้อยละ 2.5 จาก 24,657 ล้านลิตร หรือเทียบเท่า 424,907 บาร์เรลต่อวัน ในปี 2557 เป็น 25,268 ล้านลิตร หรือเทียบเท่า 435,443 บาร์เรลต่อวัน ในปี 2558 ทั้งนี้

ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของปริมาณการขายในกลุ่มดีเซล เบนซิน และอากาศยาน ตามความต้องการที่เพิ่มขึ้นจากราคาน้ำ�มันตกต่ำ� EBITDA ในปี 2558 มี จำ�นวน 14,583 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น 3,006 ล้ า นบาท หรื อ ร้ อ ยละ 26 โดยปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น จากกำ� ไร

จากการขายกลุ่มเบนซิน หล่อลื่น และ LPG โดยหลักจากราคาต้นทุนที่ปรับตัวลงตามราคาน้ำ�มันในตลาดโลก รวมถึง stock gain จาก LPG ส่งผลให้ EBIT ในปี 2558 อยู่ที่ 11,607 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,891 ล้านบาท ตาม EBITDA ที่ปรับเพิ่มขึ้นดังกล่าวข้างต้น

กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

หน่วย: ล้านลิตร

ปี 2557 ปริมาณขายเฉลี่ย

78,595

ปี 2558 81,285

เพิ่ม (ลด) ร้อยละ 3.4

ในปี 2558 กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ มีรายได้จากการขายจำ�นวน 949,933 ล้านบาท ลดลง 646,097 ล้านบาท

หรื อ ร้ อ ยละ 40.5 เนื่ อ งจากราคาขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป รั บ ตั ว ลงตามราคาน้ำ� มั น ในตลาดโลก ในขณะที่ ป ริ ม าณขายในปี นี้ เ พิ่ ม ขึ้ น

2,690 ล้านลิตร หรือร้อยละ 3.4 จาก 78,595 ล้านลิตร หรือเทียบเท่า 1,354,404 บาร์เรลต่อวัน ในปี 2557 เป็น 81,285 ล้านลิตร หรือเทียบเท่า 1,400,756 บาร์เรลต่อวัน ส่วนใหญ่จากปริมาณการค้านำ�เข้า (Out-In Trading) และในประเทศ (In-In Trading) ที่เพิ่มขึ้น

โดยเฉพาะจากน้ำ�มันดิบและคอนเดนเสท จากการที่โรงกลั่นน้ำ�มันในกลุ่ม ปตท. ไม่มีการปิดซ่อมบำ�รุงครั้งใหญ่ในงวดนี้ ในขณะที่ ปริมาณการค้าต่างประเทศ (Out-Out Trading) ลดลง จากการเปลี่ยนแปลงนโยบายนำ�เข้าผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของรัฐบาลอินโดนีเซีย

EBITDA ในปี 2558 มีจำ�นวน 3,315 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 7,137 ล้านบาท และ EBIT ที่รวมผลจากอัตราแลกเปลี่ยนในงวดนี้มีกำ�ไร

5,517 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,434 ล้านบาท จากปีก่อนโดยมีสาเหตุหลักจากธุรกรรมของบริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล เทรดดิ้ง จำ�กัด (PTTT)

กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น หน่วย: เหรียญสหรัฐต่อตัน

ปี 2557

ปี 2558

เพิ่ม (ลด) ร้อยละ

HDPE

1,544

1,238

(19.8)

PP

1,553

1,155

(25.6)

BZ - Cond

375

238

(36.5)

PX - Cond

400

383

(4.3)


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

090

วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

หน่วย: เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล

ปี 2557 Market GRM

ปี 2558

เพิ่ม (ลด) ร้อยละ

4.43

6.71

51.5

(4.02)

(1.41)

64.9

Accounting GRM

1.06

5.76

>100.0

อัตราการใช้กำ�ลังการกลั่น (ร้อยละ)

92.4

96.8

4.8

Inventory gain (loss)

หมายเหตุ:

้ มันของ TOP, IRPC, SPRC และ PTTGC - GRM ค�ำนวณจากโรงกลั่นน�ำ

- โรงกลั่น SPRC ค�ำนวณผลการด�ำเนินงาน 11 เดือน ปี 2558 (มกราคม - พฤศจิกายน 2558) เนื่องจาก ปตท. ขายหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 30.59

ในปี 2558 กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น มีรายได้จาก

การขายจำ�นวน 874,195 ล้านบาท ลดลง 230,816 ล้านบาท

หรื อ ร้ อ ยละ 20.9 ส่ ว นใหญ่ ม าจากราคาขายผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ำ�มั น สำ�เร็จรูปและปิโตรเคมีปรับตัวลดลงตามราคาน้ำ�มันดิบ เนือ ่ งจาก

• ผลการดำ�เนิ น งานของโรงปิ โ ตรเคมี ส ายอะโรเมติ ก ส์

โดยรวมดีขึ้นจากปีก่อน โดย P2F เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากต้นทุน พลังงานทีใ่ ช้ในระบบและส่วนทีส ่ ญ ู หาย (Fuel and Loss) ลดต่ำ�ลง

ตามราคาน้ำ�มันดิบ คอนเดนเสททีป ่ รับตัวลดลงรวมถึงผลขาดทุน

อุ ป ทานน้ำ� มั น ดิ บ ที่ ล้ น ตลาด แม้ อั ต ราการใช้ กำ�ลั ง ผลิ ต ของ

จากสต๊อกลดลง แม้วา ่ ส่วนต่างระหว่างราคาผลิตภัณฑ์กบ ั วัตถุดบ ิ

มี ผ ลมาจากการนำ�เข้ า ของประเทศจี น ที่ ล ดลงตามเศรษฐกิ จ

โดยเฉพาะ BZ เนื่องจากสภาวะอุปทานล้นตลาดในภูมิภาคเอเชีย

โรงกลั่ น จะเพิ่ ม ขึ้ น ในขณะที่ ร ายได้ ก ารขายปิ โ ตรเคมี ที่ ล ดลง ที่ชะลอตัว และค่าเงินหยวนที่อ่อนค่าลง

แม้ ร ายได้ จ ากการขายจะลดลง แต่ ผ ลการดำ�เนิ น งาน

ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น โดย EBITDA ในปี 2558 มี จำ�นวนรวม 81,954

ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น 50,564 ล้ า นบาท จากปี 2557 ที่ มี จำ�นวน

31,390 ล้านบาท และ EBIT จำ�นวน 54,379 ล้านบาท เพิ่มขึ้น

(Spread Margin) ได้ปรับตัวลดลงทั้งในส่วนของ PX และ BZ

ประกอบกับอุปสงค์ในจีนที่ลดลงตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ที่ลดต่ำ�ลง สำ�หรับกลุ่มโอเลฟินส์นั้น ผลการดำ�เนินงานโดยรวม

ลดลงจากปีก่อน สาเหตุหลักจาก P2F ลดต่ำ�ลง เนื่องจากราคา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ม็ ด พลาสติ ก ส่ ว นใหญ่ ป รั บ ลดลง ถึ ง แม้ ป ริ ม าณ จำ�หน่ายและอัตราการใช้กำ�ลังการผลิตจะเพิ่มสูงขึ้นก็ตาม

50,839 ล้านบาท สาเหตุหลักดังนี้

ส่วนหนึง่ เป็นผลมาจากส่วนต่างราคาน้ำ�มันสำ�เร็จรูปและน้ำ�มันดิบ

4,004 ล้านบาท ในปี 2558 ส่วนใหญ่มาจากส่วนแบ่งกำ�ไรจาก

• ผลการดำ�เนิ น งานในส่ ว นของโรงกลั่ น ดี ขึ้ น มาก โดย

ปรับตัวเพิม ่ ขึน ้ โดยเฉพาะส่วนต่างราคาน้ำ�มันเบนซินและน้ำ�มันเตา

สำ�หรับส่วนแบ่งกำ�ไรในบริษท ั ร่วมและการร่วมค้าของกลุม ่

ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น ปรับเพิ่มขึ้น 4,762 ล้านบาท เป็น SPRC (มกราคม - พฤศจิกายน 2558) ปรับตัวดีขน ึ้ เนือ ่ งจากอัตรา

ราคาน้ำ�มันที่ลดลงได้ส่งผลกระทบทางบวกต่อต้นทุนน้ำ�มันดิบ

การใช้กำ�ลังการกลั่นที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ ปี 2557 ที่มีการปิด

ของโรงกลั่นลดลงด้วย ประกอบกับมีอัตราการใช้กำ�ลังการกลั่น

ที่เพิ่มขึ้น และขาดทุนจากสต๊อกน้ำ�มันที่ลดลง

ซ่อมบำ�รุงใหญ่หลายโรง รวมถึงผลขาดทุนสต๊อกน้ำ�มันที่ลดลง

ของบริ ษั ท Myriant (บริ ษั ท ย่ อ ยของ PTTGC) จำ�นวน 2,531

และเชื้อเพลิงที่ใช้ในการกลั่นและส่วนที่สูญหาย (Fuel and Loss) ที่เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปีก่อนที่มีโรงกลั่นในกลุ่ม ปตท. มีการปิด จากราคาน้ำ� มั น ดิ บ ที่ ค่ อ นข้ า งทรงตั ว ไม่ ล ดลงอย่ า งรวดเร็ ว เมื่อเทียบกับปลายปี 2557

ซ่ อ มบำ�รุ ง ครั้ ง ใหญ่ ต ามแผนงาน ประกอบกั บ Market GRM

นอกจากนี้ ในปี 2558 มีการรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่า

ล้ า นบาท (หรื อ จำ�นวน 2,056 ล้ า นบาท เมื่ อ สุ ท ธิ ภ าษี เ งิ น ได้ ) ในขณะที่ปีก่อนไม่มีรายการดังกล่าว


วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

091

กลุ่มธุรกิจถ่านหิน

ปี 2557

ปี 2558

เพิ่ม (ลด) ร้อยละ

ราคาอ้างอิงนิวคาสเซิล (เหรียญสหรัฐต่อตัน)

70.9

59.2

(16.5)

ราคาขายเฉลี่ย (เหรียญสหรัฐต่อตัน)

63.6

54.4

(14.5)

9.8

7.3

(25.5)

ปริมาณขาย (ล้านตัน)

ในปี 2558 มีรายได้จากการขายจำ�นวน 13,633 ล้านบาท ลดลง 6,924 ล้านบาท หรือร้อยละ 33.7 สาเหตุหลักมาจาก

ปริมาณขายถ่านหินที่ลดลงร้อยละ 25.5 โดยหลักจากแหล่ง Sebuku รวมทั้งราคาขายถ่านหินเฉลี่ยลดลง 9.6 เหรียญสหรัฐต่อตัน

หรือร้อยละ 15.1

EBITDA ในปี 2558 มีจำ�นวน 2,725 ล้านบาท ลดลง 1,746 ล้านบาท หรือร้อยละ 39.1 สาเหตุหลักมาจากปริมาณขาย

และราคาขายถ่านหินเฉลี่ยที่ลดลงดังกล่าวข้างต้น อย่างไรก็ตาม EBIT ในปี 2558 มีผลขาดทุน 167 ล้านบาท ลดลง เมื่อเทียบกับ ปี 2557 ที่มีขาดทุนจำ�นวน 238 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลจากค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำ�หน่ายที่ลดลงจากปริมาณการผลิตที่ลดลง

ประกอบกับการปรับปรุงกระบวนการผลิต และการขนส่งให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้ต้นทุนดำ�เนินงานที่เป็นเงินเหรียญสหรัฐ ลดลง

นอกจากนี้ ปี 2558 PTTER มีการรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์เหมืองจำ�นวน 20,275 ล้านบาท ดังที่ได้กล่าวข้างต้น

กำ�ไรสุทธิปี 2558 จำ�นวน 19,936 ล้านบาท ลดลงจากปี 2557 จำ�นวน 58,678 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 66

ในปี 2558 ปตท. และบริษัทย่อยมีกำ�ไรสุทธิ 19,936 ล้านบาท ลดลง 38,742 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 66.0 จาก 58,678

ล้านบาท ในปี 2557 สาเหตุหลักจากราคาน้ำ�มันในตลาดโลกที่ปรับลดลงตั้งแต่ปลายปี 2557 ต่อเนื่องมาจนปลายปี 2558 ซึ่งราคา ปรับลดลงต่ำ� กว่า 40 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ต่ำ� สุดในรอบ 11 ปี ส่งผลให้ในปี 2558 ปตท. และบริษัทย่อย รับรู้ขาดทุนจาก

การด้อยค่าสินทรัพย์เพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่จาก ปตท.สผ. รับรู้ด้อยค่าสินทรัพย์เพื่อการสำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม และ PTTER รับรู้ ด้อยค่าสินทรัพย์ในธุรกิจถ่านหิน อีกทั้งการลดลงของราคาน้ำ�มันดังกล่าวทำ�ให้ผลการดำ�เนินงานของ ปตท.สผ. และ ปตท. ลดลง

โดยเฉพาะธุรกิจก๊าซธรรมชาติ ทั้งในส่วนการขายก๊าซฯ ให้ลูกค้าอุตสาหกรรมและการขายผลิตภัณฑ์จากโรงแยกก๊าซฯ อย่างไรก็ตาม

กลุ่มปิโตรเคมีและการกลั่นมีผลการดำ�เนินงานดีขึ้น ในส่วนของโรงกลั่นและปิโตรเคมีสายอะโรเมติกส์ ที่ค่าการกลั่น (Accounting

GRM) และกำ�ไรขั้นต้นต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ (Product to Feed Margin: P2F) เพิ่มขึ้นเนื่องจากส่วนต่างของน้ำ�มันสำ�เร็จรูปกับน้ำ�มันดิบ ที่ปรับสูงขึ้น และต้นทุนที่ใช้ในการผลิตที่ลดลง อย่างไรก็ตาม ผลการดำ�เนินงานของโรงปิโตรเคมีสายโอเลฟินส์ลดลง จากราคา

เม็ดพลาสติกที่ลดลงตามราคาน้ำ�มันดิบ นอกจากนั้นผลกระทบของเงินบาทที่อ่อนค่าลงจากสิ้นปีก่อนส่งผลให้ กลุ่ม ปตท. ขาดทุน จากอัตราแลกเปลี่ยน


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

092

วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

ส่วนแบ่งก�ำไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุน ในบริษัทร่วม และการร่วมค้า หน่วย: ล้านบาท

6,032

7,000 6,000

864

4,000 860

3,000

4,004

2,000

70 736

1,000 อื่น ๆ ก๊าซธรรมชาติ นํ้ามัน ปิโตรเคมีและการกลั่น

812

0

-261

-758

-1,000

2557

1,425

>100%

5,000

ในปี 2558 มี ส่ ว นแบ่ ง กำ�ไรจากเงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท ร่ ว ม

และการร่วมค้าจำ�นวน 6,032 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 5,172 ล้านบาท โดยหลั ก มาจากผลการดำ�เนิ น งานที่ ดี ขึ้ น ของโรงกลั่ น SPRC

(มกราคม - พฤศจิกายน 2558) เนือ ่ งจากค่าการกลัน ่ ทีส ่ งู ขึน ้ รวมถึง

อัตรากำ�ลังการกลั่นที่เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปีก่อนที่มีการปิดซ่อม

บำ�รุงครัง้ ใหญ่ตามแผนงาน และผลขาดทุนจากสต๊อกน้ำ�มันลดลง

ในปี 2558 ปตท. และบริษัทย่อยรับรู้ขาดทุนจากด้อยค่า

้ อ ้ ยค่าสินทรัพย์เพิม ่ ขึน ้ 17,097 ล้านบาท • ปตท.สผ. รับรูด

2558

่ น 5,992 ล้านบาท ในปี 2558 มีขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย

ขณะที่ ปี ก่ อ นมี กำ�ไรจากอั ต ราแลกเปลี่ ย น 11,610 ล้ า นบาท โดยหลั ก มาจาก ปตท. ที่ มี ผ ลกำ�ไรจากอั ต ราแลกเปลี่ ย นจาก

การรับ-จ่ายลูกหนี้และเจ้าหนี้เงินตราต่างประเทศลดลง รวมทั้ง บริษัทในเครือกลุ่ม ปตท. มีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยัง

ไม่รับรู้ (Unrealized Loss) ของเงินกู้ยืมสกุลเงินต่างประเทศจาก ค่าเงินบาทที่อ่อนค่าลง เมื่อเทียบกับเงินสกุลเหรียญสหรัฐ

สินทรัพย์เพิ่มขึ้น 36,070 ล้านบาท จาก

(ปี 2558: 49,893 ล้ า นบาท, ปี 2557: 32,796 ล้ า นบาท)

ป้ อ งกั น ความเสี่ ย งส่ ว นต่ า งราคาน้ำ�มั น สำ�เร็ จ รู ป และน้ำ� มั น ดิ บ

นอกจากนี้ ในช่วงปี 2558 มีกำ�ไรจากตราสารอนุพน ั ธ์ลดลง

11,487 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการลดลงของผลกำ�ไรจากสัญญา

ในแหล่งสำ�รวจและผลิตปิโตรเลียมในต่างประเทศที่ผลิตน้ำ�มัน

(Crack Spread Hedging) ของบริษัทย่อยในกลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี

• PTTER รับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ในธุรกิจ

ใน BCP และ SPRC

• PTTGC รับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ Myriant

ที่ลดลงโดยเฉพาะภาษีเงินได้ปิโตรเลียมของ ปตท.สผ. ที่ลดลง

ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่ายเพิ่มขึ้น 8,198 ล้านบาท

และคอนเดนเสทเป็นหลัก

ถ่านหิน 20,275 ล้านบาท จากราคาถ่านหินที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง 2,531 ล้านบาท

หรือร้อยละ 6 จาก 135,563 ล้านบาท ในปี 2557 เป็น 143,761

ล้านบาท ในปี 2558 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากค่าเสื่อมราคาและ ค่าตัดจำ�หน่ายที่เพิ่มขึ้นของ ปตท.สผ. จากโครงการคอนแทร็ค 4

โครงการอาทิตย์ และโครงการเอส 1 ตามสินทรัพย์พร้อมใช้งาน ที่เพิ่มขึ้น รวมถึงโครงการซอติก้าที่มีปริมาณการผลิตที่เพิ่มขึ้น จากการผลิตเต็มกำ�ลังตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2557

และการกลั่น อย่างไรก็ดี ในปีนี้มีกำ�ไรจากการจำ�หน่ายเงินลงทุน

ภาษีเงินได้ลดลง 13,151 ล้านบาท จากผลการดำ�เนินงาน

เนื่องจากกำ�ไรจากการขายปิโตรเลียมในประเทศลดลง


วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

093

การวิเคราะห์ฐานะทางการเงิน ปตท. และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เปรียบเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

การวิเคราะห์ ฐานะทางการเงิน ปตท. และบริษัทย่อย หน่วย: ล้านบาท

สินทรัพย์รวม 3,000,000

-3.4%

2,250,351

2,500,000 2,000,000 1,500,000 1,000,000

หนี้สินรวมและส่วนของผู้ถือหุ้น

704,138

679,702

104,154

77,342

1,105,147

1,118,677

500,000 0

-3.4%

2,250,351

2,173,996

2,173,996

307,095

260,767

697,000

632,833

191,562

192,709

1,054,694

1,087,687

298,275

336,912

31 ธ.ค. 2557

31 ธ.ค. 2558

สินทรัพย์หมุนเวียน เงินลงทุนเผื่อขาย เงินลงทุนในการร่วมค้า เงินลงทุนในบริษัทร่วม และเงินลงทุนระยะยาวอื่น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น

31 ธ.ค. 2557

31 ธ.ค. 2558

หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินกู้ยืมระยะยาว (รวมส่วนที่ถึงกำ�หนดชำ�ระใน 1 ปี) หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น ส่วนของผู้ถือหุ้น

สินทรัพย์

30 เมษายน 2558 และ SPRC เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2558 (IPO

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ปตท. และบริษท ั ย่อยมีสน ิ ทรัพย์

รวมทั้ ง สิ้ น จำ�นวน 2,173,996 ล้ า นบาท ลดลงจาก ณ วั น ที่

31 ธันวาคม 2557 จำ�นวน 76,355 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.4 เป็นผลจาก

• สิ น ทรั พ ย์ ห มุ น เวี ย น ลดลง 24,436 ล้ า นบาท หรื อ

- สิ น ค้ า คงเหลื อ ลดลง 35,710 ล้ า นบาท ส่ ว นใหญ่

ร้อยละ 3.5 สาเหตุหลักมาจาก

• เงิ น ลงทุ น ระยะยาว ลดลง 26,812 ล้ า นบาท หรื อ

ร้อยละ 25.7 ส่วนใหญ่จากการขายเงินลงทุนใน BCP เมื่อวันที่ วันที่ 8 ธันวาคม 2558)

• สิ น ทรั พ ย์ ไ ม่ มี ตั ว ตนลดลง 13,634 ล้ า นบาท หรื อ

ร้อยละ 7.7 และสินทรัพย์เหมืองลดลง 12,532 ล้านบาท หรือ ร้ อ ยละ 38.6 โดยหลั ก เนื่ อ งจากการรั บ รู้ ด้ อ ยค่ า สิ น ทรั พ ย์ ในการสำ�รวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรและเหมืองถ่านหิน

• ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เพิ่มขึ้น 13,530 ล้านบาท

มาจากราคาและปริมาณสินค้าคงเหลือกลุม ่ ผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียม

หรือร้อยละ 1.2 โดยหลักจากการซื้อที่ดินเพิ่ม การก่อสร้างของ

- ลูกหนีก ้ ารค้าลดลง 34,555 ล้านบาท โดยหลักเกิดจาก

ท่อนครราชสีมาของ ปตท. งานระหว่างการก่อสร้างของโครงการ

- เงิ น สดและรายการเที ย บเท่ า เงิ น สดและเงิ น ลงทุ น

ลดลง เนือ ่ งจากราคาตลาดและปริมาณสำ�รองตามกฎหมายลดลง การลดลงของราคาผลิตภัณฑ์เมื่อเทียบกับสิ้นปี 2557

โครงการท่อก๊าซเส้นที่ 4 โครงการท่อนครสวรรค์ และโครงการ เพิ่ ม มู ล ค่ า เพื่ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ะอาด (UHV) ของ IRPC และงาน

ก่อสร้างโครงการ LNG terminal phase 2 ของ PTTLNG รวมถึง

ชั่วคราวเพิ่มขึ้น 29,968 ล้านบาท โดยหลักเป็นผลมาจากเงินสด

งานก่อสร้างโรงไฟฟ้าขนาดเล็กแห่งใหม่ (New SPPs) ของ TOP

ในขณะที่ มี จ่ า ยชำ�ระหุ้ น กู้ แ ละเงิ น กู้ ยื ม ระยะยาวในระหว่ า งงวด

รับรู้การด้อยค่าของสินทรัพย์เพื่อการสำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม

รับจากการดำ�เนินงาน และการขายเงินลงทุน BCP และ SPRC และการจ่ายเงินปันผล

ทัง้ นี้ ทีด ่ ิน อาคาร และอุปกรณ์บางส่วนลดลง จากการที่ ปตท.สผ.


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

094

วิเคราะห์ฐานะทางการเงิน และผลการดำ�เนินงาน

หนี้สิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ปตท. และบริษท ั ย่อยมีหนีส ้ ินรวมจำ�นวน 1,086,309 ล้านบาท ลดลงจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

• เงิ น กู้ ยื ม ระยะยาว (รวมเงิ น กู้ ยื ม ระยะยาวที่ ถึ ง กำ�หนดชำ�ระภายใน 1 ปี ) ลดลง 64,167 ล้ า นบาท หรื อ ร้ อ ยละ 9.2

จำ�นวน 109,348 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ 9.1 โดยมีสาเหตุหลักมาจาก

ส่วนใหญ่มาจากการจ่ายชำ�ระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวและการไถ่ถอนหุ้นกู้รวมจำ�นวน 136,890 ล้านบาท หลัก ๆ จาก ปตท. ปตท.สผ. PTTGC และ TOP นอกจากนี้ ระหว่างงวดมีการกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้นรวมจำ�นวน 48,141 ล้านบาท ส่วนใหญ่จาก PTTGC, IRPC

และ TOP รวมถึ ง มี ผ ลกระทบจากอั ต ราแลกเปลี่ ย นที่ อ่ อ นค่ า ลงเมื่ อ เที ย บกั บ สิ้ น ปี 2557 ทำ�ให้ เ งิ น กู้ เ พิ่ ม ขึ้ น จำ�นวน 24,075 ล้านบาท

• หนี้ สิ น หมุ น เวี ย นอื่ น ลดลง 46,328 ล้ า นบาท หรื อ ร้ อ ยละ 15 ส่ ว นใหญ่ จ ากเจ้ า หนี้ ก ารค้ า ที่ ล ดลง ซึ่ ง เป็ น ผลมาจาก

ราคาก๊าซและน้ำ�มันที่ลดลงตามราคาตลาดโลก รวมถึงปริมาณการซื้อวัตถุดิบที่ลดลง ณ สิ้นปี 2558

ส่วนของผู้ถือหุ้น

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 ส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น มี จำ�นวนรวม 1,087,687 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น จากสิ้ น ปี 2557 จำ�นวน

• องค์ ป ระกอบอื่ น ของส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น เพิ่ ม ขึ้ น 26,261 ล้ า นบาท โดยส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ผลมาจากผลต่ า งจากการแปลงค่ า

• ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมเพิ่มขึ้น 19,133 ล้านบาท

32,993 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.1 เป็นผลมาจาก

งบการเงินที่เพิ่มขึ้น จากการอ่อนค่าลงของเงินบาท เมื่อเทียบกับสิ้นปี 2557

• กำ�ไรสะสมที่ยังไม่จัดสรรลดลง 12,447 ล้านบาท โดยหลักจากผลประกอบการของ ปตท. และบริษัทย่อย สำ�หรับปี 2558

ลดลงเหลื อ จำ�นวน 19,936 ล้ า นบาท ในขณะที่ มี ก ารจ่ า ยเงิ น ปั น ผลสำ�หรั บ ผลประกอบการครึ่ ง หลั ง ของปี 2557 และสำ�หรั บ

ผลประกอบการครึ่งแรกของปี 2558 อีกจำ�นวน 31,401 ล้านบาท

สภาพคล่อง

สภาพคล่ อ งของ ปตท. และบริ ษั ท ย่ อ ยสำ�หรั บ งวดปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 มี ก ระแสเงิ น สดลดลงสุ ท ธิ จำ�นวน

5,766 ล้านบาท และมีเงินสดสุทธิต้นงวด จำ�นวน 234,212 ล้านบาท เป็นผลให้เงินสดสุทธิปลายงวดเท่ากับ 239,978 ล้านบาท ทั้งนี้ รายละเอียดกระแสเงินสดแต่ละกิจกรรม มีดังนี้

หน่วย: ล้านบาท

ปี 2558 กระแสเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน

กระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

กระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนในเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

293,285

(133,043) (163,813) (762)

ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน

9,872

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นระหว่างงวด-สุทธิ

5,766

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดที่ถูกจัดประเภทเป็นสินทรัพย์เพื่อขาย

227

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นงวด

234,212

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันปลายงวด

239,978


สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทในกลุ่ม

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

095

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทในกลุ่ม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

ธุรกิจส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด PTTEP

(มหาชน)

ธุรกิจก๊าซธรรมชาติ

ร้อยละ 65.29

ร้อยละ

บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย)

TTM(T)

50.00

Trans Thai-Malaysia (Malaysia) Sdn.Bhd.

TTM(M)

50.00

บริษัท ปตท.จ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด

PTTNGD

58.00

บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จ�ำกัด

PTTLNG

100.00

จ�ำกัด

ธุรกิจน�้ำมัน

ร้อยละ

PTT (Cambodia) Limited

PTTCL

100.00

Subic Bay Energy Co., Ltd.

SBECL

100.00

บริษัท ปตท.ธุรกิจค้าปลีก จ�ำกัด

PTTRB

100.00

บริษัท ไทยลู้บเบล็นดิ้ง จ�ำกัด

TLBC

48.95

KELOIL - PTT LPG Sdn.Bhd.

KPL

40.00

บริษัท ปิโตรเอเซีย (ประเทศไทย) จ�ำกัด

PA (Thailand) 35.00

บริษัท ปิโตรเอเซีย (Maoming) จ�ำกัด

PA (Maoming) 20.00

บริษัท ปิโตรเอเซีย (Sanshui) จ�ำกัด

PA (Sanshui)

บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จ�ำกัด

ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

ร้อยละ

PTT International Trading Pte. Ltd.

100.00

PTTT

ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น

ร้อยละ

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) PTTGC1/

48.89

บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จ�ำกัด

PTTPM

50.00

บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จ�ำกัด

PTTAC

48.50

บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จ�ำกัด

HMC

41.44

บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด

PTTPL

50.00

บริษัท พีทีที เอ็มซีซี ไบโอเคม จ�ำกัด

PTTMCC

50.00

บริษัท พีทีที พีเอ็มเอ็มเอ จ�ำกัด

PTTPMMA

บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน)

TOP

49.10

บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน)

IRPC

38.51

ั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จ�ำกัด บริษท

SPRC

5.41

(มหาชน)

ธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน

100.00

ร้อยละ

บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง PTTME

40.00

25.00

บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด

PTTES

40.00

THAPPLINE

40.40

บริษัท ผลิตไฟฟ้าและน�ำ ้ เย็น จ�ำกัด

DCAP

35.00

บริษัท บริการน�้ำมันอากาศยาน จ�ำกัด

IPS

16.67

บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จ�ำกัด

TP

26.00

บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จ�ำกัด

BAFS

บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด

GPSC

22.58

บริษัท ขนส่งน�้ำมันทางท่อ จ�ำกัด

FPT

บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จ�ำกัด

EnCo

50.00

บริษัท พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล จ�ำกัด

PTT TANK

100.00

PTT Oil Myanmar Co., Ltd.

PTTOM

100.00

(มหาชน)

7.06 0.00024

จ�ำกัด

(มหาชน)

ธุรกิจอื่น ๆ

ร้อยละ

บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จ�ำกัด

BSA2/

25.00

บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จ�ำกัด

PTTICT

20.00 13.33

ธุรกิจการลงทุนต่างประเทศ

ร้อยละ

บริษัท พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส จ�ำกัด

PTTER

100.00

บริษัท ทิพยประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน)

TIP

PTT Green Energy Pte. Ltd.

PTTGE

100.00

PTT Regional Treasury Center Pte. Ltd.

PTTRTC

หมายเหตุ:

1/ PTTGC ได้ทำ � การซื้อหุ้นคืนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในระหว่างปี 2558 ท�ำให้ ปตท. มีสัดส่วนความเป็นเจ้าของร้อยละ 49.34 2/ ปตท. ถือหุ้นสามัญของ BSA ทั้งหมด จึงมีสัดส่วนความเป็นเจ้าของร้อยละ 100.00

100.00


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

096

โครงสร้างรายได้ของ ปตท. และบริษัทย่อย แบ่งตามสายผลิตภัณฑ์

โครงสร้างรายได้ของ ปตท. และบริษัทย่อย แบ่งตามสายผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์/ บริการ ดำ�เนินการโดย

ร้อยละ ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 การถือหุ้น (ปรับปรุงใหม่) (ตรวจสอบ) ของบริษัท ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ

1. ผลิตภัณฑ์ก๊าซ

บมจ. ปตท. (หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ)

490,481.29

17.02

425,928.38

16.03

382,374.58

18.58

บมจ. ปตท. (หน่วยธุรกิจน�้ำมันและหน่วยธุรกิจ

83,948.22

2.91

85,825.23

3.23

86,417.98

4.20

การค้าระหว่างประเทศ)

บมจ. ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม (PTTEP)

65.29

101,955.11

3.54

117,986.25

4.44

120,691.68

5.87

บจ. ปตท.จ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ (PTTNGD)

58.00

10,154.87

0.35

10,313.01

0.39

7,966.37

0.39

บจ. ผลิตไฟฟ้าและพลังงานร่วม (CHPP1/)

182.13

0.01

-

-

-

-

หัก รายได้ค่าก๊าซส่วนที่ PTTEP

(97,325.70)

(3.38)

(110,838.79)

(4.17)

(107,743.35)

(5.24)

ขายให้ บมจ. ปตท.

รวมรายได้จากผลิตภัณฑ์ก๊าซ 2. ผลิตภัณฑ์น�้ำมัน

บมจ. ปตท. (หน่วยธุรกิจน�้ำมันและหน่วยธุรกิจ

การค้าระหว่างประเทศ)

บมจ. ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม (PTTEP)

489,707.26 23.80

980,375.98

36.89

643,755.90

31.28

65.29

118,381.95

4.11

119,610.42

4.50

61,034.68

2.97

(84,399.51)

(2.93)

(93,635.66)

(3.52)

(50,685.20)

(2.46)

100.00

322,417.32

11.19

258,278.62

9.72

183,336.31

8.91

48.89

-

-

16,655.40

0.63

32,852.68

1.59

หัก รายได้ค่าน�้ำมันดิบส่วนที่ PTTEP ขายให้ บมจ. ปตท.

PTT International Trading Pte. Ltd. (PTTT)

529,214.08 19.92

57.11

589,395.92 20.45 1,646,289.35

บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล (PTTGC5/)

บมจ. ไทยออยล์ (TOP )

49.10

-

-

206,755.38

7.78

140,262.71

6.82

บมจ. ไออาร์พซ ี ี (IRPC5/)

38.51

-

-

145,626.70

5.48

110,141.22

5.35

5/

PTT (Cambodia) Co., Ltd. (PTTCL)

100.00

7,330.44

0.25

7,715.74

0.29

6,396.54

0.31

บจ. ปตท. ธุรกิจค้าปลีก (PTTRB2/)

100.00

38,247.88

1.33

63,773.05

2.40

50,138.95

2.44

Subic Bay Energy Co., Ltd. (SBECL )

100.00

21,172.93

0.73

1,013.18

0.04

-

-

2/

รวมรายได้จากผลิตภัณฑ์น�้ำมัน 2,069,440.36 71.79 1,706,168.81 64.21 1,177,233.79 57.21 3. ผลิตภัณฑ์

บมจ. ปตท. (หน่วยธุรกิจน�้ำมันและหน่วยธุรกิจ

การค้าระหว่างประเทศ)

ปิโตรเคมี

46,579.53

1.62

28,451.58

1.07

15,647.43

0.76 5.86

บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล (PTTGC5/)

48.89

-

-

105,986.61

3.99

120,598.30

บมจ. ไทยออยล์ (TOP5/)

49.10

-

-

-

-

15,174.03

0.74

บมจ. ไออาร์พซ ี ี (IRPC5/)

38.51

-

-

63,853.23

2.40

50,773.08

2.46

บจ. พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง (PTTPM)

50.00

76,300.43

2.65

89,757.64

3.38

75,349.14

3.66

PTT International Trading Pte. Ltd. (PTTT)

100.00

-

-

21,376.28

0.80

30,185.37

1.47

บจ. เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ (HMC5/)

41.44

10,741.38

0.37

-

-

-

-

บจ. พีทีที อาซาฮี เคมิคอล (PTTAC5/)

48.50

4,828.14

0.17

-

-

-

-

4.81

309,425.34 11.64

รวมรายได้จากผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี

138,449.48

307,727.35 14.95

4. ผลิตภัณฑ์เหมือง

บจ. พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส (PTTER3/)

100.00

24,977.75

0.87

20,436.37

0.77

13,632.79

PTT International Trading Pte. Ltd. (PTTT)

100.00

-

-

605.47

0.02

-

รวมรายได้จากผลิตภัณฑ์เหมือง 5. ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ

บมจ. ปตท. (หน่วยธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน)

PTT Green Energy Pte. Ltd. (PTTGE)

24,977.75

0.87

0.79

13,632.79

0.66

-

-

0.05

-

1.99

100.00

532.08

0.02

600.57

0.02

228.37

0.01

9.84

-

4.44

0.00

บจ. บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ (BSA) 25.00 8.60 -

21,041.84

0.66

-

บมจ. ไทยออยล์ (TOP5/)

49.10

-

-

-

-

636.67

0.03

บมจ. ไออาร์พซ ี ี (IRPC5/)

38.51

-

-

180.89

0.01

178.36

0.01

791.35

0.03

รวมรายได้จากผลิตภัณฑ์อื่น ๆ

540.68

0.02

1,049.83

0.05


โครงสร้างรายได้ของ ปตท. และบริษัทย่อย แบ่งตามสายผลิตภัณฑ์

ผลิตภัณฑ์/ บริการ ดำ�เนินการโดย

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

097

ร้อยละ ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 การถือหุ้น (ปรับปรุงใหม่) (ตรวจสอบ) ของบริษัท ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ

6. รายได้

บมจ. ไทยออยล์ (TOP5/)

49.10

-

-

1,043.19

0.04

980.26

0.05

บมจ. ไออาร์พซ ี ี (IRPC5/)

38.51

-

-

3,479.35

0.13

3,183.68

0.15

บมจ. โกลบอล เพาวอร์ ซินเนอร์ยี่ (GPSC5/)

22.58

-

-

14,343.01

0.54

13,698.17

0.67

บจ. เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ (EnCo)

50.00

48.50

-

36.33

-

11.95

-

บจ. ผลิตไฟฟ้าและน�ำ้ เย็น (DCAP5/)

35.00

1,002.38

0.03

-

-

-

-

-

65.73

-

-

-

-

-

สาธารณูปโภค

บจ. ไทย โซล่าร์ รีนิวเอเบิล (TSR4/)

รวมรายได้สาธารณูปโภค 7. รายได้

จากธุรกิจเสริม

บมจ. ปตท. (หน่วยธุรกิจน�้ำมันและหน่วยธุรกิจ บจ. ปตท. ธุรกิจค้าปลีก (PTTRB2/)

100.00

PTT (Cambodia) Limited (PTTCL)

100.00

รวมรายได้จากธุรกิจเสริม 8. รายได้

0.03

4,109.00

0.14

18,901.88 4,669.14

0.71 0.17

17,874.06 5,499.12

0.87 0.27

4,765.56

0.17

4,833.01

0.18

4,833.04

0.23

การค้าระหว่างประเทศ)

1,116.61

- 0.31

33.76 9,535.91

- 0.35

105.72 10,437.88

0.01 0.51

-

-

-

-

28.33

0.00

บมจ. ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม (PTTEP)

65.29

4,635.63

0.16

4,474.74

0.17

4,044.20

0.20

บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล (PTTGC5/)

48.89

-

-

1,166.92

0.04

2,804.83

0.14

บมจ. ไทยออยล์ (TOP5/)

49.10

-

-

623.86

0.02

(133.00)

(0.01)

บมจ. ไออาร์พซ ี ี (IRPC5/)

บจ. ปตท.ธุรกิจค้าปลีก (PTTRB2/)

บจ. พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ (PTTICT )

20.00

-

-

บจ. พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล (PTT TANK)

100.00

380.37

0.01

บจ. พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ (PTTPL6/)

50.00

1,154.85

0.04

บจ. พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ (PTTES5/)

40.00

-

-

บจ. เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ (EnCo)

50.00

568.55

0.02

บจ. บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ (BSA)

25.00

817.70

0.03

จากการให้บริการ

บมจ. ปตท. (หน่วยธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน)

6.79 8,881.35

5/

38.51

-

-

734.71

0.03

517.07

0.03

100.00

395.40

0.01

420.23

0.02

564.52

0.03

35.76

-

262.48

0.01

732.08

0.03

715.82

0.03

1,113.01

0.04

133.32

0.01

4.58

-

57.80

-

131.82

-

243.84

0.01

543.75

0.02

6.94

0.00

PTT (Cambodia) Limited (PTTCL)

100.00

0.26

-

-

-

-

-

PTT Oil Myanmar Co., Ltd. (PTTOM)

100.00

-

-

1.71

-

2.46

-

บจ. ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) (TTM(T) )

50.00

1,501.98

0.05

-

-

-

-

Trans Thai-Malaysia (Malaysia) Sdn.Bhd. (TTM(M)5/) 50.00

151.42

0.01

-

-

-

-

5/

รวมรายได้จากการให้บริการ

9,606.16

0.33

9,983.17

0.37

9,248.61

0.45

รวมรายได้จากการขายและการให้บริการ 2,842,408.31 98.61 2,605,062.38 98.02 2,026,911.57 98.50 9. อื่น ๆ 9.1 รายได้อื่น ๆ

14,027.21

0.49

40,012.36

1.51

30,784.17

1.50

9.2 ก�ำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

(210.37)

(0.01)

11,610.31

0.44

(5,992.73)

(0.29)

รวมรายได้อื่น

13,816.84

0.48

51,622.67

1.95

24,791.44

1.21

10. ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม

26,356.15

0.91

860.02

0.03

6,031.70

0.29

รวมรายได้ 2,882,581.30 100.00 2,657,545.07 100.00 2,057,734.71 100.00

หมายเหตุ:

1/ ปตท. ถือหุ้นใน CHPP ด้วยสัดส่วนร้อยละ 100 จนถึงวันที่ 24 ธันวาคม 2556 จึงจ�ำหน่ายเงินลงทุนใน CHPP ในส่วนที่ถืออยู่ทั้งหมดให้แก่ บจ. โกลบอล เพาเวอร์

ซินเนอร์ยี่ (GPSC)

PTTRB ได้รวมรายได้จากการขายของบริษัทย่อยดังกล่าวตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557

2/ ปตท. ปรับโครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทย่อยของ SBECL โดยโอนมาให้ PTTRB เป็นผู้ถือหุ้นแทนตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2557 ทั้งนี้ รายได้จากการขายของ 3/ เดิมชื่อ บจ. พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล (PTTI)

4/ ปตท. ถือหุ้นใน TSR ด้วยสัดส่วนร้อยละ 40 ตั้งแต่วันที่ 3 พฤษภาคม 2556 จนถึงวันที่ 24 ธันวาคม 2556 จึงจ�ำหน่ายเงินลงทุนใน TSR ในส่วนที่ถืออยู่

ทั้งหมดให้แก่ GPSC

การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 เรื่อง การร่วมการงาน ส่งผลให้ PTTGC, TOP, IRPC, GPSC, PTTES และ PTTICT เปลี่ยนสถานะจากบริษัทร่วมเป็น

ตามสัดส่วนเป็นวิธีรับรู้ตามส่วนได้เสีย

5/ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไป กลุ่ม ปตท. ได้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 เรื่อง งบการเงินรวม และมาตรฐาน

บริษัทย่อย และส่งผลให้การจัดท�ำงบการเงินรวมของการร่วมค้า ได้แก่ HMC, PTTAC, DCAP, PTTMCC, TTM(T) และ TTM(M) เปลี่ยนจากวิธีการรวม

6/ ปตท. ได้ขาย PTTPL ในสัดส่วนร้อยละ 49 และร้อยละ 1 ให้แก่ PTTGC และ Solution Creation ตามล�ำดับ


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายการระหว่างกัน

098

รายการระหว่างกัน

รายการระหว่างกันสัญญา รายการระหว่างกันดังกล่าวเกิดจากสัญญาต่าง ๆ ซึง่ มีลกั ษณะของรายการและสัญญาโดยสรุปดังต่อไปนี้

1. รายการระหว่าง ปตท. กับรัฐวิสาหกิจทีถ่ อื หุน้ โดยรัฐบาล

ลักษณะของรายการ

ปตท. มีสถานะเป็นบริษท ั น้ำ�มันแห่งชาติซงึ่ รัฐบาลได้มน ี โยบาย

โดยมีมติคณะรัฐมนตรีลงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2545 ให้ส่วนราชการ

และรัฐวิสาหกิจทีจ ่ ะซือ ้ น้ำ�มันเชือ ้ เพลิงจำ�นวนตัง้ แต่ 10,000 ลิตรขึน ้ ไป ให้ซอ ื้ จาก ปตท. ดังนัน ้ ในปี 2558 ปตท. จึงมีการขายผลิตภัณฑ์นำ� ้ มัน เชื้อเพลิงให้รัฐวิสาหกิจ ได้แก่ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร การรถไฟแห่งประเทศไทย

อย่างไรก็ตาม หากรัฐวิสาหกิจมียอดค้างชำ�ระค่าซื้อน้ำ�มันเชื้อเพลิง

ปตท. สามารถคิ ด ดอกเบี้ ย จากยอดค้ า งชำ�ระดั ง กล่ า วได้ ทั้ ง นี้

เมื่ อ วั น ที่ 13 สิ ง หาคม 2558 คณะกรรมการนโยบายพลั ง งาน แห่งชาติมีมติยกเว้นให้ EGAT ไม่ต้องซื้อน้ำ�มันกับ ปตท. ในกรณีที่ซื้อ เกินกว่า 10,000 ลิตร

2. รายการระหว่าง ปตท. กับ บริษทั ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) (PTTEP) ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย

ลักษณะของรายการ

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ปตท.สผ. และบริ ษั ท ย่ อ ยทำ�การผลิ ต เพื่ อ จำ�หน่ า ยมี 4 ชนิ ด คื อ น้ำ� มั น ดิ บ ก๊ า ซธรรมชาติ LPG

และคอนเดนเสท โดย ปตท. เป็ น ผู้ รั บ ซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ กื อ บทั้ ง หมดของ ปตท.สผ. และบริ ษั ท ย่ อ ย (คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 86 ของผลิตภัณฑ์ของ ปตท.สผ. ในปี 2558) สำ�หรับการซือ ้ ขายก๊าซธรรมชาติ ปตท. ได้ทำ�สัญญาซือ ้ ขายก๊าซธรรมชาติระยะยาว

กับ ปตท.สผ. อายุสัญญาประมาณ 25 - 30 ปี มีการกำ�หนดปริมาณซื้อขายขั้นต่ำ�เป็นรายปี ส่วนการซื้อขายน้ำ�มันดิบ

และคอนเดนเสทจะอิงราคาน้ำ�มันในตลาดโลก ซึ่งมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับน้ำ�มันดิบที่ผลิตได้ เพื่อให้สามารถสะท้อนมูลค่า ของผลิตภัณฑ์ได้ใกล้เคียงกับราคาตลาด โดย ปตท. ทำ�สัญญาซื้อขายน้ำ�มันดิบและคอนเดนเสทกับ ปตท.สผ. เช่นเดียวกัน


รายการระหว่างกัน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

099

3. รายการระหว่าง ปตท. กับบริษัทในเครือ กลุ่มปิโตรเคมีและการกลั่น

ลักษณะของสัญญากับ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นงิ่ จำ�กัด (มหาชน) (SPRC)

ผู้ ถื อ หุ้ น ของ SPRC จะจั ด หาน้ำ� มั น ดิ บ ตามสั ด ส่ ว น

ลักษณะของรายการ

ปตท. ทำ�สัญญาจัดหาน้ำ�มันดิบและรับซือ ้ ผลิตภัณฑ์นำ� ้ มัน

ในราคาตลาด และรั บ ซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ นำ� ้ มั น สำ�เร็ จ รู ป ที่ ไ ด้ จ าก

น้ำ�มันดิบและรับซือ ้ ผลิตภัณฑ์น้ำ�มันสำ�เร็จรูปตามสัดส่วนการถือหุน ้

ของกำ�ลังการกลั่นที่ 126,000 บาร์เรลต่อวัน ตามราคาตลาด

ทีส ่ ำ�คัญสามารถสรุปแยกในแต่ละบริษท ั ตามรายละเอียดด้านล่าง

ปตท. และ บริษัท เชฟรอน (ไทย) จำ�กัด ในการพิจารณารับซื้อ

บริษัทโรงกลั่นน้ำ�มันในเครือ ในการบริหารความเสี่ยงด้านราคา

ที่สาม ทั้งนี้ ปตท. ได้ทำ�การจำ�หน่ายหุ้น SPRC ต่อประชาชน

จากความผันผวนของราคา อย่างไรก็ตาม การบริหารความเสี่ยง

3 ธันวาคม 2558 ทำ�ให้สัดส่วนการถือหุ้นของ ปตท. ใน SPRC

เหลือร้อยละ 5.4 ทั้งนี้ ตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นไป ปตท. มีสิทธิ

การถือหุน ้ โดย ปตท. จัดหาในสัดส่วนร้อยละ 36 ของกำ�ลังการกลัน ่

สำ�เร็จรูปกับบริษัทโรงกลั่นน้ำ� มันในเครือ โดย ปตท. จะจัดหา

โรงกลั่น ในปริมาณขั้นต่ำ�ไม่น้อยกว่าร้อยละ 36 ของร้อยละ 70

ที่ ปตท. ถือหุ้นอยู่ในโรงกลั่นน้ำ� มันนั้น ๆ ลักษณะของสัญญา

ในประเทศ ปริมาณส่วนเกินจากการผลิตดังกล่าว SPRC จะให้สท ิ ธิ

นอกจากนี้ ปตท. ยั ง ได้ ทำ�สั ญ ญาซื้ อ ขายตราสารอนุ พั น ธ์ กั บ

ส่วนเกินตามราคาทีต ่ กลงกันก่อนทีจ ่ ะนำ�ไปเสนอขายให้แก่บค ุ คล

้ มั น สำ�เร็ จ รู ป เพื่ อ ลดผลกระทบ ของน้ำ� มั น ดิ บ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ นำ�

ทั่วไปเป็นครั้งแรกในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่

ด้านราคาดังกล่าวขึ้นกับนโยบายของแต่ละบริษัทนั้น ๆ

ภายหลังการจำ�หน่ายหุน ้ ต่อประชาชนในครัง้ นีล ้ ดลงจากร้อยละ 36

ลักษณะของสัญญากับ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) (TOP)

ในการเสนอขายน้ำ�มันดิบในสัดส่วนประมาณร้อยละ 20

้ ผลิตภัณฑ์นำ� ้ มันสำ�เร็จรูป ปตท. จัดหาน้ำ�มันดิบและรับซือ

จาก TOP ในสั ด ส่ ว นขั้ น ต่ำ� ร้ อ ยละ 49.99 ของกำ�ลั ง การกลั่ น

ปตท. จัดหาก๊าซธรรมชาติให้ SPRC เพื่อใช้ในโรงกลั่น

ของบริ ษั ท ฯ ตามปริ ม าณในสั ญ ญาในราคาตลาดตามปกติ

ของธุรกิจ โดยสัญญาทั้ง 2 ฉบับมีระยะเวลา 10 ปี (1 มกราคม

2552 - 31 ธันวาคม 2561 และ 17 มีนาคม 2552 - 16 มีนาคม

ในราคาตลาด โดยสั ญ ญานี้ มี ร ะยะเวลาขั้ น ต่ำ� 10 ปี นั บ จาก

2562)

ยกเลิ ก สั ญ ญาได้ โ ดยแจ้ ง ความประสงค์ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร

น้ำ�มันสำ�รองตามกฎหมาย

ตามที่ระบุไว้ในสัญญา POCSA

ปี 2557 โดยหลังจากระยะเวลา 10 ปี คู่สัญญาสามารถที่จะขอ

ปตท. มีสัญญาระยะสั้นในการฝากเก็บน้ำ�มันเพื่อเก็บเป็น

เป็นการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 12 เดือน ตามข้อกำ�หนดและเงื่อนไข

ปตท. จั ด หาก๊ า ซธรรมชาติ ใ ห้ TOP เพื่ อ ใช้ ใ นโรงกลั่ น

ลักษณะของสัญญากับ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) (BCP)

ธุรกิจ โดยสัญญามีระยะเวลา 10 ปี (1 มกราคม 2557 - 31 ธันวาคม

ปตท. จัดหาน้ำ�มันดิบทั้งหมดให้ BCP ตามสัญญาจัดหา

นอกจากนี้ ปตท. ยังได้ทำ�สัญญาซื้อขายตราสารอนุพันธ์

การรับซือ ้ ผลิตภัณฑ์น้ำ�มันสำ�เร็จรูป (Product Offtake Agreement)

น้ำ� มั น สำ�เร็ จ รู ป เพื่ อ ลดผลกระทบจากความผั น ผวนของราคา

ร้ อ ยละ 30 ของปริ ม าณการผลิ ต (ไม่ ร วมน้ำ� มั น เครื่ อ งบิ น และ

นโยบายของ TOP

ผลิตภัณฑ์เป็นไปตามราคาตลาด ทัง้ นี้ สัญญาทัง้ 2 ฉบับจะสิน ้ สุด

ของบริษัทฯ ตามปริมาณในสัญญาในราคาตลาดตามปกติของ 2566)

ในการบริหารความเสี่ยงด้านราคาของน้ำ�มันดิบและผลิตภัณฑ์

อย่ า งไรก็ ต าม การบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นราคาดั ง กล่ า วขึ้ น กั บ

น้ำ�มันดิบ (Feedstock Supply Agreement) และได้ทำ�สัญญา โดย ปตท. จะรับซือ ้ ผลิตภัณฑ์นำ� ้ มันสำ�เร็จรูปจาก BCP ไม่นอ ้ ยกว่า

น้ำ�มันเตา) หรือตามแต่ตกลงกัน ซึ่งราคาซื้อขายน้ำ�มันดิบและ

ในระยะเวลา 12 ปี นั บ ตั้ ง แต่ วั น ที่ โ ครงการ Product Quality

Improvement เริ่มดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ได้ในปี 2553


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายการระหว่างกัน

100

ปตท. จัดหาก๊าซธรรมชาติให้ BCP เพื่อใช้ในกระบวนการ

4 ปี (10 พฤศจิกายน 2558 - 31 ธันวาคม 2562) โดยราคา

ผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและการผลิตไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม

ซื้อขายเป็นไปตามราคาตลาด

2562) และระยะเวลา 15 ปี (3 ธันวาคม 2552 - 2 ธันวาคม 2567)

ในการบริหารความเสี่ยงด้านราคาของน้ำ�มันดิบและผลิตภัณฑ์

และเป็นไปตามเงื่อนไขทางธุรกิจปกติ

อย่ า งไรก็ ต าม การบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นราคาดั ง กล่ า วขึ้ น กั บ

(Cogeneration) รวมระยะเวลา 10 ปี (3 สิงหาคม 2552 - 2 สิงหาคม

โดยราคาซื้ อ ขายก๊ า ซธรรมชาติ เ ป็ น ไปตามที่ กำ�หนดในสั ญ ญา

ปตท. ได้ทำ�สัญญาการใช้บริการคลังปิโตรเลียมศรีราชา

โดยสัญญานีม ้ ผ ี ลบังคับใช้ตงั้ แต่วน ั ที่ 1 มกราคม 2552 และสิน ้ สุด

นอกจากนี้ ปตท. ยังได้ทำ�สัญญาซื้อขายตราสารอนุพันธ์

น้ำ� มั น สำ�เร็ จ รู ป เพื่ อ ลดผลกระทบจากความผั น ผวนของราคา นโยบายของ IRPC

เป็นไปตามที่กำ�หนดในสัญญา

ลักษณะรายการและสัญญากับ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) (PTTGC)

ทั้ ง หมดจำ�นวนทั้ ง สิ้ น 374,748,571 หุ้ น ให้ แ ก่ ก องทุ น รวม

PTTGC เป็ น บริ ษั ท ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการควบรวมบริ ษั ท

เมษายน 2558 ปัจจุบันจึงไม่ถือว่าเป็นรายการระหว่างกัน

บริษัท ปตท. เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) (PTTCH) กับ บริษัท

วันที่ 31 ธันวาคม 2566 รวมระยะเวลา 15 ปี อัตราค่าบริการ

ทั้งนี้ ปตท. ได้ทำ�การจำ�หน่ายหุ้นใน BCP ที่ ปตท. ถืออยู่

วายุ ภั ก ษ์ หนึ่ ง และสำ�นั ก งานประกั น สั ง คมแล้ ว เมื่ อ วั น ที่ 30

ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จำ�กัด พ.ศ. 2535 ระหว่าง

ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำ�กัด (มหาชน) (PTTAR) โดยได้

ลักษณะรายการและสัญญากับ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) (IRPC)

จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 และได้รับมา

ปตท. จัดหาน้ำ�มันดิบให้ IRPC ตามสัญญาจัดหาน้ำ�มันดิบ

PTTCH กับ PTTAR แล้วนั้น บริษัทใหม่ได้คงไว้ซึ่งกิจการเดิมของ

ซึ่งทรัพย์สิน หนี้ สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบทั้งหมดของ

แบบ Term และ Spot โดยจะมีการเจรจาต่ออายุสัญญาปีต่อปี

ทัง้ สองบริษท ั ดังกล่าว โดยภายหลังจากการควบรวมบริษท ั ระหว่าง

ทั้งสองบริษัท โดยกลุ่มธุรกิจที่มีรายการและสัญญาระหว่างกัน

ซึ่งราคาซื้อขายเป็นไปตามราคาตลาด

มีดังต่อไปนี้

ที่คลังของ IRPC ซึ่งตั้งอยู่ที่ระยองและชุมพร มีผลบังคับใช้ตั้งแต่

กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์

ปตท. เป็นผู้จัดหาวัตถุดิบหลักที่ใช้ในกระบวนการผลิต

ปตท. ทำ�สัญญาซื้อผลิตภัณฑ์น้ำ�มันสำ�เร็จรูปกับ IRPC

วันที่ 1 มกราคม 2559 เป็นระยะเวลา 1 ปี โดยมีการเจรจาต่ออายุ สัญญาปีต่อปี ซึ่งราคาซื้อขายเป็นไปตามราคาตลาด

ปตท. จัดทำ�สัญญาจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติให้กับ IRPC

เพื่อใช้ในกระบวนการผลิตไฟฟ้าและพลังความร้อนร่วม มีระยะ เวลาสัญญา 10 ปี (14 มกราคม 2554 - 13 มกราคม 2564)

และเพื่ อ ใช้ ใ นกระบวนการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี ร ะยะเวลาสั ญ ญา

ให้กับ PTTGC ได้แก่ ก๊าซอีเทน ก๊าซโพรเพน ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) และก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL) โดยรายละเอียดของสัญญา

ซื้อขายวัตถุดิบหลักที่สำ�คัญประกอบด้วย

วัตถุดิบ

ปริมาณการจัดหาตามสัญญา (ตันต่อปี)

ปีที่สิ้นสุดสัญญา (พ.ศ.)

อีเทน

454,000 - 605,000

2563

อีเทน

370,000 - 500,000

2563

อีเทน

1,300,000 - 1,350,000

2568

โพรเพน

126,000 - 168,000

2563

แอลพีจี

100,000 - 160,000

2563

แอลพีจี

> 240,000

2563

แอลพีจี

336,000

2563

แอลพีจี

> 156,000

2564

เอ็นจีแอล

380,000 - 470,000

2564


รายการระหว่างกัน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

101

โดยสัญญาซื้อขายวัตถุดิบหลักนี้ โครงสร้างราคาวัตถุดิบ

ก๊าซอีเทนแปรผันตามราคาผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก HDPE ประเภท

ปตท. รับซื้อผลิตภัณฑ์น้ำ�มันสำ�เร็จรูปที่ได้จากการกลั่น

ในปริมาณขั้นต่ำ�ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้

ฟิ ล์ ม (HDPE Film Grade) ในตลาดเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้

ตามราคาตลาดในประเทศ สัญญารับซื้อผลิตภัณฑ์มีระยะเวลา

พลาสติก HDPE ส่วนโครงสร้างราคาวัตถุดิบก๊าซโพรเพนและ

18 ปี ให้ ถื อ ว่ า สั ญ ญามี ผ ลต่ อ ไปอย่ า งไม่ มี ที่ สิ้ น สุ ด เว้ น แต่

ซึ่ ง จะสะท้ อ นภาวะของตลาดปิ โ ตรเคมี ทั้ ง สายไปถึ ง ตลาดเม็ ด

ก๊ า ซปิ โ ตรเลี ย มเหลว (LPG) แปรผั น ตามราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ม็ ด พลาสติก PP ประเภทฟิล์ม (PP Film Grade) ในตลาดเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนราคาวัตถุดบ ิ อืน ่ เป็นไปตามราคาทีต ่ กลงกัน

ซึ่งอิงกับราคาตลาดทั่วไป นอกจากนี้ ในส่วนของการเรียกเก็บเงิน เข้ากองทุนน้ำ�มันจากภาคปิโตรเคมีที่ใช้ก๊าซโพรเพน ก๊าซบิวเทน และก๊ า ซปิ โ ตรเลี ย มเหลว (LPG) เป็ น วั ต ถุ ดิ บ นั้ น เดิ ม ภาครั ฐ

ได้เรียกเก็บในอัตรา 1 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 13 มกราคม 2555 โดย PTTGC เป็นผู้รับภาระในการชำ�ระ

ค่ากองทุนฯ ดังกล่าว ต่อมาในปี 2558 ภาครัฐได้ประกาศยกเลิก การเรียกเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำ�มันจากภาคปิโตรเคมีทอ ี่ ต ั รา 1 บาท ต่อกิโลกรัม โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 เป็นต้นไป

สั ญ ญาซื้ อ ขายวั ต ถุ ดิ บ ดั ง กล่ า วเมื่ อ สิ้ น สุ ด แล้ ว สามารถ

18 ปี มี ผ ลบั ง คั บ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 9 กุ ม ภาพั น ธ์ 2549 หลั ง จาก จะมีการบอกกล่าวล่วงหน้า

้ มั น สำ�เร็ จ รู ป ปตท. จั ด ทำ�สั ญ ญารั บ ซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ นำ�

ของโครงการขยายการลงทุน (New Complex Product Offtake Agreement) กั บ PTTGC เป็ น ระยะเวลา 18 ปี ตั้ ง แต่ วั น ที่ 9

กุ ม ภาพั น ธ์ 2549 หลั ง จาก 18 ปี ให้ ถื อ ว่ า สั ญ ญามี ผ ลต่ อ ไป อย่างไม่มีที่สิ้นสุด เว้นแต่จะมีการบอกกล่าวล่วงหน้า โดย ปตท. จะรั บ ซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ทั้ ง หมดของปริ ม าณผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ PTTGC

ผลิตได้จาก Upgrading Complex โดย ปตท. จะรับซื้อผลิตภัณฑ์

อย่างน้อยร้อยละ 50 ของจำ�นวนผลิตภัณฑ์ทั้งหมดในราคาตลาด ในประเทศ

ปตท. ทำ�สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ PTTGC เพื่อใช้

ในกระบวนการผลิตน้ำ�มันสำ�เร็จรูปและการผลิตไฟฟ้า ซึ่งสัญญา

ต่ออายุสัญญาได้อีก 5 ปี ทั้งนี้ ขึ้นกับเงื่อนไขที่ระบุไว้ในแต่ละ

จะสิ้นสุดลงในปี 2561

ในการบริหารความเสี่ยงด้านราคาของน้ำ�มันดิบและผลิตภัณฑ์

สัญญา

ปตท. ทำ�สั ญ ญาจั ด หาคอนเดนเสทให้ กั บ PTTGC

โดยทำ�เป็นสัญญาซื้อขายระยะยาวที่อิงกับตะกร้าราคาน้ำ�มันดิบ

(Basket of Crude Oil Prices) ในปริมาณ 4.6 - 6.1 ล้านตันต่อปี

ปตท. ทำ�สัญญารับซื้อผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์และแนฟทา

ที่ผลิตจากโรงอะโรเมติกส์ของ PTTGC เพื่อจำ�หน่ายให้แก่ลูกค้า

นอกจากนี้ ปตท. ยังได้ทำ�สัญญาซื้อขายตราสารอนุพันธ์

น้ำ� มั น สำ�เร็ จ รู ป เพื่ อ ลดผลกระทบจากความผั น ผวนของราคา อย่ า งไรก็ ต าม การบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นราคาดั ง กล่ า วขึ้ น กั บ นโยบายของ PTTGC

Evergreen Basis โดยหลังจากปี 2556 ให้ถือว่าสัญญามีผลต่อไป

ลักษณะรายการและสัญญากับ บริษทั เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จำ�กัด (HMC)

ปตท. ทำ�สัญญาจัดหาวัตถุดิบที่ใช้ในกระบวนการผลิต

ส่งออก โดยเป็นสัญญาระยะยาวนับตั้งแต่ปี 2544 ภายใต้เงื่อนไข

อย่างไม่มีที่สิ้นสุด เว้นแต่จะมีการบอกกล่าวล่วงหน้า

ปตท. มีสัญญาระยะสั้นในการฝากเก็บน้ำ�มันเพื่อเก็บเป็น

น้ำ�มันสำ�รองตามกฎหมาย

กลุม ่ ธุรกิจการกลัน ่ น้� ำ มันและจัดหาผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียม สำ�เร็จรูป

ปตท. จั ด หาน้ำ� มั น ดิ บ ตามสั ญ ญาจั ด หาน้ำ� มั น ดิ บ และ

ให้แก่ HMC โดยทำ�สัญญาซื้อขายวัตถุดิบก๊าซโพรเพนระยะยาว มีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่เริ่มเดินเครื่องปี 2553 และสามารถ ต่ออายุได้คราวละ 5 ปี โดยโครงสร้างราคาจะแปรผันตามราคา

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ม็ ด พลาสติ ก PP ประเภทฟิ ล์ ม (PP Film Grade) ในตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ในปี 2551 ปตท. ได้แก้ไขคุณภาพของผลิตภัณฑ์โพรเพน

วัตถุดิบอื่น (Feedstock Supply Agreement) โดยมีผลบังคับใช้

และจุดส่งมอบ (Delivery Point) จากเดิมส่งมอบ ณ ด้านหน้า

และปริ ม าณที่ PTTGC กำ�หนดด้ ว ยราคาตลาด ทั้ ง การนำ�เข้ า

ณ โรงงาน HMC แทน จึ ง ได้ แ ก้ ไ ขโครงสร้ า งราคาวั ต ถุ ดิ บ

ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 กุ ม ภาพั น ธ์ 2552 ซึ่ ง ปตท. จะจั ด หาตามชนิ ด จากต่างประเทศและน้ำ�มันดิบที่ผลิตได้ในประเทศ

โรงแยกก๊ า ซธรรมชาติ จั ง หวั ด ระยอง โดยเปลี่ ย นเป็ น ส่ ง มอบ

ก๊ า ซโพรเพนให้ ส ะท้ อ นต้ น ทุ น การจั ด ส่ ง วั ต ถุ ดิ บ ก๊ า ซโพรเพน โดยเพิ่ ม เติ ม ค่ า ผ่ า นท่ อ (Pipeline Transportation Charges) ส่งผลให้ราคาของผลิตภัณฑ์มีมูลค่าสูงขึ้น


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายการระหว่างกัน

102

มีผลบังคับใช้และวันสิ้นสุดสัญญาฯ อย่างชัดเจน คือ วันที่ 19

4. รายการระหว่าง ปตท. กับบริษัทในเครือ กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน

ต่ออายุได้คราวละ 5 ปี เช่นเดิม นอกจากนี้ ยังแก้ไขราคาซื้อขาย

ในปี 2556 ปตท. ได้แก้ไขสัญญาฯ โดยระบุวันที่สัญญาฯ

มกราคม 2553 ถึงวันที่ 18 มกราคม 2568 แต่ยังคงสามารถ วั ต ถุ ดิ บ ก๊ า ซโพรเพน โดยสั ญ ญามี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1

ลักษณะรายการและสัญญากับ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน) (GPSC)

วัตถุดบ ิ ก๊าซโพรเพน แปรผันตามราคาผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก PP

ปตท. ทำ�สั ญ ญาซื้ อ ก๊ า ซธรรมชาติ เ พื่ อ ใช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ

ธั น วาคม 2555 เป็ น ต้ น ไป ซึ่ ง สั ญ ญายั ง คงมี โ ครงสร้ า งราคา ประเภทฟิลม ์ (PP Film Grade) เช่นเดิม แต่เปลีย ่ นแปลงสมมติฐาน

ให้สะท้อนภาพปัจจุบันมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้ราคาของผลิตภัณฑ์

มีมูลค่าสูงขึ้น นอกจากนี้ ในส่วนของการเรียกเก็บเงินเข้ากองทุน น้ำ� มั น จากภาคปิ โ ตรเคมี ที่ ใ ช้ ก๊ า ซโพรเพน ก๊ า ซบิ ว เทน และ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) เป็นวัตถุดิบ เดิมภาครัฐได้เรียกเก็บ

ในอั ต รา 1 บาทต่ อ กิ โ ลกรั ม ซึ่ ง มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 13 มกราคม 2555 โดย HMC เป็นผู้รับภาระในการชำ�ระค่ากองทุนฯ

ที่ สำ�คั ญ ในการผลิ ต กระแสไฟฟ้ า เพื่ อ จำ�หน่ า ย ซึ่ ง เป็ น รายการ ธุรกิจปกติของบริษัทฯ ทั้งนี้ ปตท. เป็นผู้ขายก๊าซธรรมชาติให้ แก่ ผู้ ป ระกอบการอุ ต สาหกรรมแต่ เ พี ย งรายเดี ย วในประเทศ โดยมีราคาและเงื่อนไขการรับซื้อก๊าซธรรมชาติตามสัญญาซื้อ

ขายก๊าซธรรมชาติ โดย ปตท. และ โรงไฟฟ้าของ GPSC มีสัญญา ซื้อขายก๊าซ ดังนี้

1) โรงไฟฟ้ า ศรี ร าชา มี ก ารเข้ า ทำ�สั ญ ญาซื้ อ ขายก๊ า ซ

ดังกล่าว ต่อมาในปี 2558 ภาครัฐได้ประกาศยกเลิกการเรียกเก็บ

ธรรมชาติกับ ปตท. เป็นระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดในปี 2568 ที่ราคา

โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 เป็นต้นไป

บริ ษั ท สามารถส่ ง ผ่ า นค่ า เชื้ อ เพลิ ง รวมอยู่ ใ นค่ า พลั ง งานไฟฟ้ า

เงินเข้ากองทุนน้ำ�มันจากภาคปิโตรเคมีที่อัตรา 1 บาทต่อกิโลกรัม

ปตท. จัดหาก๊าซธรรมชาติให้ HMC เพื่อใช้ในกระบวนการ

ผลิ ต ตามปริ ม าณในสั ญ ญาในราคาตลาดตามปกติ ข องธุ ร กิ จ

โดยสัญญามีระยะเวลา 10 ปี (30 ตุลาคม 2552 - 29 ตุลาคม 2562)

ลักษณะรายการและสัญญากับ บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จำ�กัด (PTTAC)

ปตท. จัดหาวัตถุดิบที่ใช้ในกระบวนการผลิตให้แก่ PTTAC

ตัง้ แต่ปี 2551 โดยทำ�สัญญาซือ ้ ขายวัตถุดบ ิ ก๊าซโพรเพนระยะยาว

มีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่โรงงานเริ่มดำ�เนินการผลิต และ

สามารถต่ออายุได้คราวละ 5 ปี โดยโครงสร้างราคาจะแปรผัน

ก๊าซสำ�หรับผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP Gas Price) โดย

(Energy Payment) ไปยัง กฟผ. ทั้งนี้ กรณีที่ ปตท. ไม่สามารถ จัดส่งปริมาณก๊าซธรรมชาติได้ตามสัญญาดังกล่าวและ กฟผ.

สั่งให้บริษัทเดินเครื่องด้วยเชื้อเพลิงสำ�รอง กฟผ. จะเป็นผู้ชดเชย ค่าเชื้อเพลิงส่วนที่เพิ่มขึ้นให้แก่บริษัท โดยโรงไฟฟ้าศรีราชาได้

ทำ�สัญญาซื้อขายน้ำ�มันดีเซลกับ TOP เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงสำ�รอง

ในกรณีที่ไม่สามารถจัดหาก๊าซธรรมชาติได้ โดยสัญญามีระยะ เวลา 25 ปี สิ้นสุดในปี 2568

2) โรงผลิตสาธารณูปการ 1 (Central Utility Plant 1:

CUP-1) ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า โดยมี การเข้าทำ�สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ ปตท. เป็นระยะเวลา 15 ปี สิ้นสุดปี 2564

3) โรงผลิตสาธารณูปการ 2 (Central Utility Plant 2:

ตามราคาผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก PP ประเภทฟิล์ม (PP Film

CUP-2) ใช้ ก๊ า ซธรรมชาติ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง ในการผลิ ต ไฟฟ้ า โดยมี

15 ปี สิ้นสุดในปี 2565

Grade) ในตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ในปี 2556 ปตท. แก้ไขโครงสร้างราคาซื้อขายวัตถุดิบ

ก๊าซโพรเพน โดยเพิ่มเติมในส่วนของการเรียกเก็บเงินเข้ากองทุน

การเข้าทำ�สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ ปตท. เป็นระยะเวลา

4) โรงผลิตสาธารณูปการ 3 (Central Utility Plant 3:

น้ำ� มั น จากภาคปิ โ ตรเคมี ที่ ใ ช้ ก๊ า ซโพรเพน ก๊ า ซบิ ว เทน และ

CUP-3) โรงผลิตสาธารณูปการ 3 ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง

ในอัตรา 1 บาทต่อกิโลกรัม มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 13 มกราคม

ปตท. เป็นระยะเวลา 15 ปี สิ้นสุดปี 2566

ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) เป็นวัตถุดิบ ซึ่งภาครัฐได้เรียกเก็บ 2555 โดย PTTAC เป็นผูร้ บ ั ภาระในการชำ�ระค่ากองทุนฯ ดังกล่าว

ต่อมาในปี 2558 ภาครัฐได้ประกาศยกเลิกการเรียกเก็บ

เงินเข้ากองทุนน้ำ�มันจากภาคปิโตรเคมีที่อัตรา 1 บาทต่อกิโลกรัม โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 เป็นต้นไป

่ ใช้ในกระบวนการ ปตท. จัดหาก๊าซธรรมชาติให้ PTTAC เพือ

ผลิ ต ตามปริ ม าณในสั ญ ญาในราคาตลาดตามปกติ ข องธุ ร กิ จ โดยสัญญามีระยะเวลา 15 ปี (21 มีนาคม 2554 - 20 มีนาคม 2569)

ในการผลิตไอน้ำ�โดยมีการเข้าทำ�สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ


รายการระหว่างกัน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

103

ความสมเหตุสมผลของการเข้าทำ�รายการ ระหว่างกัน

นโยบายเกี่ยวกับรายการระหว่างกันในอนาคต

ที่ดำ�เนินการทางธุรกิจตามปกติเช่นเดิม ไม่มีรายการใดเป็นพิเศษ

สำ�หรั บ การเข้ า ทำ�รายการซื้ อ สิ น ค้ า วั ต ถุ ดิ บ และ/หรื อ

รั บ บริ ก ารจากบริ ษั ท ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น นั้ น มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ก่ อ ให้ เกิดประโยชน์สูงสุดร่วมกันในการดำ�เนินธุรกิจภายในกลุ่ม ปตท. และเพื่อสนับสนุนความมั่นคงทางพลังงานของประเทศ โดยเป็น

การดำ�เนิ น ตามธุ ร กิ จ ปกติ โดยที่ ป ริ ม าณสิ น ค้ า หรื อ วั ต ถุ ดิ บ

ที่ บ ริ ษั ท ฯ ซื้ อ /ขาย หรื อ บริ ก ารที่ บ ริ ษั ท ฯ ให้ / ได้ รั บ จากบริ ษั ท ที่เกี่ยวข้องนั้นสอดคล้องกับความต้องการและการดำ�เนินธุรกิจ

ของบริษัทฯ ทั้งนี้ราคาที่รับซื้อ/ขาย หรือให้/รับบริการจากบริษัท

ที่ เ กี่ ย วข้ อ งมี ลั ก ษณะเป็ น ไปตามที่ ต กลงกั น ในสั ญ ญาซึ่ ง ก่ อ ให้ เกิ ด ประโยชน์ ท างการค้ า แก่ ทั้ ง บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยที่มิได้มีวัตถุประสงค์ในการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างกัน หรือมีรายการใด ๆ เป็นพิเศษ

รายการระหว่างกันของ ปตท. ในอนาคต จะเป็นรายการ

ไม่มีการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่าง ปตท. บริษัทย่อย บริษัทร่วม

บริ ษั ท ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และผู้ ถื อ หุ้ น ส่ ว นนโยบายการกำ�หนดราคา ระหว่าง ปตท. กับกิจการทีเ่ กีย ่ วข้องกัน กำ�หนดจากราคาตามปกติ

ของธุ ร กิ จ เช่ น เดี ย วกั บ ที่ กำ�หนดให้ กั บ บุ ค คล/ กิ จ การอื่ น ที่ ไ ม่ เกี่ ย วข้ อ งกั น สำ�หรั บ ราคาสิ น ค้ า ที่ ซื้ อ จากบริ ษั ท ย่ อ ยจะเป็ น

ไปตามราคาจำ�หน่ า ยของบริ ษั ท ย่ อ ยที่ อ้ า งอิ ง จากราคาตลาด การเปิ ด เผยรายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น จะเป็ น ไปตามระเบี ย บ

ของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ แห่ ง ประเทศไทย รวมทั้ ง เป็ น ไปตามมาตรฐานการบั ญ ชี เ รื่ อ ง การเปิ ด เผยข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ บุ ค คลหรื อ กิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น ซึ่งกำ�หนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ

104

ทรัพย์สินที่ใช้ ในการประกอบธุรกิจ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ทรัพย์สินหลักที่ ปตท. และบริษัทย่อยใช้ในการประกอบธุรกิจ มีมูลค่าสุทธิ

หลังหักค่าเสื่อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า จำ�นวน 1,118,677 ล้านบาท สินทรัพย์ไม่มีตัวตนสุทธิ จำ�นวน 163,154 ล้านบาท และสินทรัพย์เหมืองสุทธิ จำ�นวน 19,935 ล้านบาท (รายละเอียดตามหมายเหตุ

ประกอบงบการเงินสำ�หรับปี ของ ปตท. และบริษัทย่อย สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ข้อ 16 เรื่องที่ดิน

อาคารและอุปกรณ์ ข้อ 17 เรื่องสินทรัพย์ไม่มีตัวตน และข้อ 18 เรื่องสินทรัพย์เหมือง ตามลำ�ดับ)


ปัจจัยความเสี่ยง

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

105

ปัจจัยความเสี่ยง

จากการบริหารความเสีย ่ งของ ปตท. ทีด ่ ำ�เนินการอย่างต่อเนือ ่ ง

ทำ�ให้ ปั จ จั ย เสี่ ย งต่ า ง ๆ ที่ ป รากฏในปี ที่ ผ่ า นมาได้ รั บ การบริ ห าร

จัดการจนสามารถควบคุมได้ในระดับหนึ่ง รวมกับปัจจัยเสี่ยงใหม่

ทีไ่ ด้ดำ�เนินการภายใต้แผนบริหารความเสีย ่ งในปีปจ ั จุบน ั ปตท. จึงทำ� การปรับปรุงหัวข้อปัจจัยเสี่ยงที่ปรากฏต่อผู้ลงทุนให้สอดคล้องกัน ปัจจัยเสี่ยงหลัก ๆ สามารถจำ�แนกได้ดังนี้

1. ความเสี่ยงทางด้านกลยุทธ์ 1.1 ความเสี่ยงจากกลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจ

การเติบโตทางธุรกิจของกลุ่ม ปตท. เกิดจากการลงทุนขยาย

ธุรกิจตามแผนกลยุทธ์ ซึ่งธุรกิจของกลุ่ม ปตท. ส่วนใหญ่เป็นธุรกิจ ที่ ใ ช้ เ งิ น ลงทุ น สู ง เป็ น การลงทุ น ล่ ว งหน้ า ในระยะยาว และต้ อ งใช้

ระยะเวลาในการก่อสร้าง ทำ�ให้ ปตท. ต้องเผชิญกับความไม่แน่นอน

ของสภาพแวดล้ อ มทางธุ ร กิ จ ต่ า ง ๆ เช่ น ความผั น ผวนของสภาวะเศรษฐกิ จ เหตุ ก ารณ์ ค วามไม่ ส งบต่ า ง ๆ

ความไม่สมดุลของอุปสงค์และอุปทานพลังงาน ความผันผวนของราคาปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ความต้องการ ที่ ห ลากหลายของกลุ่ ม ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย เป็ น ต้ น จึ ง อาจเกิ ด ความเสี่ ย งที่ ทำ�ให้ ปตท. ไม่ ส ามารถบรรลุ ต าม

เป้ า หมายการดำ�เนิ น การตามกลยุ ท ธ์ ดั ง กล่ า ว ซึ่ ง อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ ผลประกอบการของ ปตท. และอั ต รา ผลตอบแทนจากการลงทุนไม่เป็นไปตามคาดการณ์ไว้

ปตท. จึงได้จัดให้มีการประชุมสัมมนาผู้บริหารระดับสูงของกลุ่ม ปตท. ทั้งในระดับผู้บริหารสูงสุดของ

กลุ่ม ปตท. ที่เรียกว่า Top Executive Thinking Session (TTS) และในกลุ่มผู้บริหารระดับสูงของ ปตท. ที่เรียกว่า

Strategic Thinking Session (STS) ทุกปี เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มในอนาคตของสภาพแวดล้อมทางด้านธุรกิจ สังคม

และสิ่งแวดล้อม มีการทบทวนและปรับปรุงทิศทางและกลยุทธ์การดำ�เนินธุรกิจให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ รวมทั้งบูรณาการกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์และการบริหารความเสี่ยงในขั้นตอน

ต่าง ๆ โดยได้มีการจัดทำ�แผนธุรกิจควบคู่กับแผนบริหารความเสี่ยงโดยการประเมินผลกระทบในด้านต่าง ๆ และจัดทำ�แผนบริหารความเสี่ยงรองรับ


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ปัจจัยความเสี่ยง

106

1.2 ความเสี่ยงด้านประสิทธิภาพ การลงทุน

ในรู ป แบบกลุ่ ม ปตท. โดยมี ค ณะกรรมการบริ ห าร

ปตท. มี ก ารลงทุ น ขยายธุ ร กิ จ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

ทั้งในส่วนของธุรกิจที่ ปตท. ดำ�เนินการเอง และธุรกิจ

ที่ ปตท. ลงทุนผ่านบริษัทในกลุ่ม ซึ่ง ปตท. ต้องเผชิญ

กั บ ความเสี่ ย งที่ ส่ ง ผลต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการลงทุ น ทั้งจากอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนอาจไม่เป็นไป

ตามเป้าหมาย การดำ�เนินโครงการล่าช้ากว่าแผนงาน และเงินลงทุนโครงการสูงกว่างบประมาณที่ตั้งไว้

ปตท. ได้บริหารจัดการเพือ ่ ลดความเสีย ่ งทีส ่ ง่ ผล

ต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการลงทุ น โดยจั ด ทำ�ระเบี ย บและ

ข้ อ กำ�หนดว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ ก ารลงทุ น ของบริ ษั ท ในกลุม ่ ปตท. และแนวทางการกำ�กับดูแลบริษท ั ที่ ปตท.

ถื อ หุ้ น มาใช้ ใ นการกลั่ น กรองการตั ด สิ น ใจ ติ ด ตาม

ปตท. ดำ�เนินการลดความเสี่ยงด้านการเตรียม

บุ ค ลากรโดยใช้ ก ลไกการบริ ห ารสายอาชี พ แบ่ ง เป็ น 2 กลุ่ ม ได้ แ ก่ กลุ่ ม ผู้ บ ริ ห าร ใช้ ก ารบริ ห ารจั ด การ

และพั ฒ นาผู้ บ ริ ห ารของกลุ่ ม ปตท. เป็ น ผู้ ดู แ ล เพื่ อ รองรับความต้องการผูบ ้ ริหารระดับสูงทัง้ ในเชิงปริมาณ

และคุณภาพ และกลุ่มพนักงาน เป็นการบริหารจัดการ

ภายในสายงาน โดยใช้แนวคิดการบริหารสายอาชีพ เช่ น เดี ย วกั บ ระดั บ ผู้ บ ริ ห าร ดู แ ลโดยคณะกรรมการ ทีป ่ รึกษาสายอาชีพ ทัง้ นี้ ในแต่ละสายอาชีพจะมีการจัด

ทำ�แผนกำ�ลังคน กำ�หนดตำ�แหน่งงานสำ�คัญ และแผน

พัฒนารายบุคคล นอกจากนี้ ปตท. ได้มีโครงการเพื่อ พัฒนาบุคลากรให้เป็นผูบ ้ ริหารทีม ่ ค ี วามพร้อมในการไป

ปฏิ บั ติ ง านในต่ า งประเทศ และ/หรื อ ภายในประเทศ (Young People to Global: YP2G) อีกทั้งยังมีการจัดตั้ง

และกำ�กับดูแลการลงทุนของ ปตท. และบริษัทในกลุ่ม

สถาบันการศึกษาเฉพาะทาง (Functional Academy)

(Strategic Investment Management: SIM) ที่ มี

ทั้งในด้านเทคนิคและตามรูปแบบของงาน และจัดตั้ง

โ ด ย มี ก ร ะ บ ว น ก า ร บ ริ ห า ร ก า ร ล ง ทุ น เ ชิ ง ก ล ยุ ท ธ์ คณะกรรมการบริหารการลงทุน ประกอบไปด้วยผูบ ้ ริหาร

ที่มีความเชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ ทำ�หน้าที่พิจารณา

กลัน ่ กรอง ติดตามรายงานการลงทุนของ ปตท. ประกอบ

การตั ด สิ น ใจของคณะกรรมการจั ด การ ปตท. และ

คณะกรรมการ ปตท. เพือ ่ ให้เกิดความมัน ่ ใจว่าเงินลงทุน ขององค์กรทีม ่ จ ี ำ�กัดจะเกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพ

สูงสุด การบริหารการลงทุนของคณะกรรมการ SIM

เพือ ่ พัฒนาบุคลากรของสายอาชีพให้เกิดความชำ�นาญ

PTT Leadership and Learning Institute เพื่อพัฒนา ทรั พ ยากรบุ ค คลให้ มี ศั ก ยภาพสู ง สุ ด โดยมุ่ ง พั ฒ นา

ภาวะผู้ นำ�และส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ เตรี ย ม ความพร้อมสำ�หรับผูท ้ จ ี่ ะเป็นผูบ ้ ริหารในอนาคต เพือ ่ ให้

มั่นใจว่า ปตท. จะมีผู้บริหารและพนักงานที่มีคุณภาพ และเพียงพอในระบบอย่างต่อเนื่อง

จะมีการทำ�งานใน 4 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นวางแผน

1.4 ความเสี่ยงด้านชื่อเสียงองค์กร

และขัน ้ ดำ�เนินการเชิงพาณิชย์ อีกทัง้ ภายหลังการลงทุน

ผ ล ก า ร ดำ� เ นิ น ง า น ข อ ง ก า ร ล ง ทุ น แ ล ะ เ ฝ้ า ร ะ วั ง

ที่ ส่ ง ผลในเชิ ง ลบต่ อ ปตท. ที่ ป รากฏตามสื่ อ ต่ า ง ๆ

การลงทุน ขั้นวิเคราะห์การลงทุน ขั้นดำ�เนินการลงทุน ได้รับอนุมัติดำ�เนินการแล้วนั้น ปตท. จะมีการติดตาม

การเปลีย ่ นแปลงของปัจจัยต่าง ๆ ทีจ ่ ะทำ�ให้ผลตอบแทน จากการลงทุนไม่เป็นไปตามเป้าหมายอย่างสม่ำ�เสมอ ทำ�ให้ ก ารแก้ ไ ขปั ญ หาสามารถทำ�ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และมีประสิทธิภาพ

1.3 ความเสี่ยงในการพัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับการเติบโตทางธุรกิจ

ปตท. มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว จากการขยาย

การลงทุ น ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ และการแสวงหา

โอกาสทางธุรกิจโดยลงทุนในธุรกิจใหม่ ความพร้อม

ของบุ ค ลากรเพื่ อ รองรั บ การเติ บ โตทางธุ ร กิ จ จึ ง เป็ น

ปัจจัยแห่งความสำ�เร็จที่สำ�คัญ หาก ปตท. ไม่สามารถ

จั ด เตรี ย มและพั ฒ นาบุ ค ลากรที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญ และประสบการณ์ ไ ด้ เ พี ย งพอ อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ ธุรกิจและการบรรลุเป้าหมายในระยะยาว

ความคาดหวั ง ที่ ห ลากหลายของกลุ่ ม ผู้ มี ส่ ว น

ได้เสียต่าง ๆ รวมถึงเหตุการณ์และประเด็นข่าวต่าง ๆ ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์องค์กร ความเชือ ่ มัน ่

ของสาธารณชนทีม ่ ต ี อ ่ ปตท. และก่อให้เกิดอุปสรรคต่อ

การดำ�เนินงานและการขยายธุรกิจของ ปตท. ในอนาคต

ปตท. ได้บริหารจัดการความเสีย ่ งโดยการทบทวน

การดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ ของ ปตท. ในปั จ จุ บั น และกำ�หนด

ทิศทางการดำ�เนินธุรกิจในอนาคตเพื่อสร้างสมดุลและ คุณค่าเพิ่มร่วมกันระหว่างธุรกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ภายใต้ แ นวคิ ด Creating Shared Value (CSV) การบริ ห ารจั ด การกลุ่ ม ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย (Stakeholder Management) อย่างเป็นระบบ เพือ ่ ให้สามารถตอบสนอง

ต่ อ ความคาดหวั ง ของผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย กลุ่ ม ต่ า ง ๆ

อย่ า งสมดุ ล อี ก ทั้ ง มี ก ารกำ�หนดแนวทางการสื่ อ สาร

องค์ ก รและการบริ ห ารภาพลั ก ษณ์ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ ทิศทางองค์กร การบริหารประเด็นโดยการวิเคราะห์และ

คาดการณ์ประเด็นล่วงหน้า การบริหารฐานข้อมูลและ

พัฒนาช่องทางการสื่อสารให้สามารถอธิบายประเด็น


ปัจจัยความเสี่ยง

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

107

และสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย โดยมุ่งเน้นการสื่อสาร

ส่วนแบ่งตลาดก๊าซธรรมชาติทั้งในส่วนกลุ่มลูกค้าผลิต

ร้านกาแฟคาเฟ่อเมซอน ตลอดจนขยายผลผ่านเครือข่าย

ก๊าซธรรมชาติรายใหม่ เพือ ่ ลดความเสีย ่ งในการสูญเสีย

เชิงรุกผ่านสื่อกระแสหลัก สื่อออนไลน์ สถานีบริการ ต่ า ง ๆ รวมถึ ง การชี้ แ จงข้ อ เท็ จ จริ ง ของผู้ บ ริ ห ารต่ อ สือ ่ มวลชนและการเข้าร่วมในเวทีเสวนาต่าง ๆ เพือ ่ สร้าง ความรูค ้ วามเข้าใจทีถ ่ ก ู ต้องเรือ ่ งพลังงาน สินค้า บริการ และการดำ�เนินธุรกิจของ ปตท. ไปสู่สาธารณชน

1.5 ความเสี่ยงจากปริมาณการผลิต ก๊าซธรรมชาติลดลง และราคา ก๊าซธรรมชาติมีแนวโน้มสูงขึ้น

ปริ ม าณสำ�รองก๊ า ซธรรมชาติ ใ นอ่ า วไทยที่ มี

ไฟฟ้าและกลุ่มลูกค้าอุตสาหกรรมให้แก่ผู้ดำ�เนินธุรกิจ

ส่วนแบ่งตลาด ปตท. ได้ประสานกับลูกค้าเพือ ่ ดำ�เนินการ

ต่ อ สั ญ ญาซื้ อ ขายก๊ า ซธรรมชาติ ก่ อ นที่ สั ญ ญาเดิ ม จะหมดอายุ

2. ความเสีย่ งในการประกอบธุรกิจ 2.1 ความเสี่ยงจากราคาปิโตรเลียม และปิโตรเคมีที่ลดลงอยู่ในระดับตํ่า และมีความผันผวนสูง

แนวโน้มลดลง อีกทั้งแหล่งก๊าซธรรมชาติเอราวัณและ

สัมปทานในช่วงปี 2565 - 2566 รวมถึงต้นทุนราคา

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเคมี และส่ ว นต่ า งราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์

แหล่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ บ งกชในอ่ า วไทยจะสิ้ น สุ ด อายุ

ก๊าซธรรมชาติในระยะยาวมีแนวโน้มทีจ ่ ะปรับเพิม ่ สูงขึน ้

จากการเพิ่ ม ขึ้ น ของสั ด ส่ ว นการจั ด หา LNG และ ต้นทุนในการพัฒนาแหล่งก๊าซธรรมชาติในประเทศที่มี

แนวโน้ ม เพิ่ ม สู ง กว่ า ในปั จ จุ บั น อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ

ความสามารถในการแข่ ง ขั น ของก๊ า ซธรรมชาติ เ มื่ อ เปรียบเทียบกับเชือ ้ เพลิงชนิดอืน ่ และกระทบต่อปริมาณ

ราคาวั ต ถุ ดิ บ และราคาจำ�หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์

ก๊าซธรรมชาติ คอนเดนเสท น้ำ�มันดิบ น้ำ�มันสำ�เร็จรูป และวัตถุดิบ (Spread) ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ของ ปตท. และบริษัทในกลุ่ม มีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลง ตามตลาดโลกอย่ า งผั น ผวนและมี แ นวโน้ ม ที่ จ ะอยู่

ในระดับต่ำ�เป็นเวลานาน อีกทัง้ สถานการณ์ราคาน้ำ�มัน

ทีล ่ ดลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ราคาต้นทุนก๊าซธรรมชาติ ทีอ ่ า ้ งอิงราคาน้ำ�มันย้อนหลัง 6 - 21 เดือน ปรับตัวต่ำ�ลง

และราคาของวัตถุดิบของโรงแยกก๊าซธรรมชาติและ

ช้ากว่าราคาขายผลิตภัณฑ์บางชนิดที่อ้างราคาน้ำ�มัน

และต้นทุนของโรงแยกก๊าซธรรมชาติและอุตสาหกรรม

อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในอนาคตของ ปตท.

อุตสาหกรรมปิโตรเคมี อาจทำ�ให้ตอ ้ งลดกำ�ลังการผลิต

ปิโตรเคมีเพิม ่ สูงขึน ้ ซึง่ ส่งผลกระทบต่อผลประกอบการ และการเติบโตในระยะยาวของกลุ่ม ปตท.

ปตท. จัดหาก๊าซธรรมชาติเหลว (Liquid Natural

Gas: LNG) มาทดแทนก๊ า ซธรรมชาติ ที่ จั ด หามา จากแหล่ ง ในอ่ า วไทยที่ จ ะลดลงเพื่ อ ให้ ส ามารถตอบ สนองต่อความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติของประเทศ อี ก ทั้ ง ได้ ดำ�เนิ น การศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ใ นการใช้

ทีเ่ ป็นปัจจุบน ั มากกว่า อาจส่งผลกระทบต่อผลดำ�เนินงาน และบริษัทในกลุ่ม

เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงด้านราคาเป็นไป

อย่างมีประสิทธิภาพ ปตท. ได้กำ�หนดแผนบริหารจัดการ เพื่ อ รองรั บ ผลกระทบจากแนวโน้ ม ราคาพลั ง งานต่ำ� ในระยะเวลานาน โดยมุง่ เน้นการปรับปรุงประสิทธิภาพ

การลดต้นทุนการดำ�เนินงาน การทบทวนแผนการลงทุน

และการตัดสินใจการลงทุนที่สำ�คัญ นอกจากนี้ ปตท.

วัตถุดบ ิ ทางเลือกและการนำ�เข้าวัตถุดบ ิ จากต่างประเทศ

ได้ มี ก ารจั ด ทำ�แผนธุ ร กิ จ ในรู ป แบบที่ ร องรั บ หลาย

อุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี รวมทั้ ง ศึ ก ษาความพร้ อ ม

ราคาน้ำ�มันต่าง ๆ เพื่อให้กลุ่ม ปตท. มีแผนธุรกิจและ

เพื่ อ ใช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ของโรงแยกก๊ า ซธรรมชาติ และ ของโครงสร้างพื้นฐาน โดยพิจารณาความคุ้มค่าเชิง

เศรษฐศาสตร์และห่วงโซ่การผลิตของกลุ่ม ปตท. เพื่อ หาแนวทางดำ�เนินการที่จะทำ�ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

น อ ก จ า ก นี้ ภ า ค รั ฐ ไ ด้ มี น โ ย บ า ย ส่ ง เ ส ริ ม

การแข่ ง ขั น ในธุ ร กิ จ ก๊ า ซธรรมชาติ โดยกำ�หนดให้ มี การเปิดให้บค ุ คลทีส ่ าม สามารถใช้บริการโครงข่ายระบบ

ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ และสถานีกักเก็บและแปรสภาพ LNG จากของเหลวเป็ น ก๊ า ซ (Third Party Access:

สถานการณ์ (Scenario Planning) ในสถานการณ์ระดับ

การลงทุ น ที่ เ หมาะสมในการรองรั บ การเปลี่ ย นแปลง และความไม่ แ น่ น อนที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคตได้ อ ย่ า ง ทันท่วงที อีกทั้งมีการตั้งคณะทำ�งานบริหารความเสี่ยง

ราคา เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ความเคลื่อนไหวราคา ่ ง น้ำ�มันในตลาดโลก และเข้าดำ�เนินการบริหารความเสีย

ด้านราคาวัตถุดิบและราคาผลิตภัณฑ์ร่วมกันในกลุ่ม

ปตท. ให้เกิดประโยชน์สงู สุด ปัจจุบน ั ปตท. ได้ดำ�เนินการ บริหารความเสี่ยงด้านราคาโดยการทำ�สัญญาซื้อขาย

TPA) ซึ่งส่งผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในโครงสร้าง

ตราสารอนุ พั น ธ์ กั บ บริ ษั ท คู่ ค้ า โดยมี ก ารกำ�หนด

ในภาพรวม อาจจะส่ ง ผลกระทบให้ ปตท. สู ญ เสี ย

และสอดคล้องกับแผนธุรกิจของกลุ่ม ปตท. ซึ่งการเข้า

ของการดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ ก๊ า ซธรรมชาติ ข องประเทศไทย

เป้าหมายในการดำ�เนินการบริหารความเสีย ่ งทีเ่ หมาะสม


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ปัจจัยความเสี่ยง

108

ซื้อขายตราสารอนุพันธ์ในตลาดการค้าอนุพันธ์ทุกครั้ง

ระบบท่ อ ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ห รื อ โรงไฟฟ้ า ใหม่ ที่ จ ะใช้

การบริหารความเสีย ่ งด้านราคาให้ควบคูแ ่ ละสอดคล้อง

การนำ�เข้าก๊าซธรรมชาติในภูมิภาคมีความไม่แน่นอน

จะดำ�เนิ น การตามนโยบายขององค์ ก ร ในแนวทาง

ไปกับปริมาณซือ ้ ขายวัตถุดบ ิ และผลิตภัณฑ์ของกลุม ่ ปตท. เพื่อบริหารต้นทุนซื้อและราคาขาย และลดผลกระทบ

จากความผั น ผวนของราคาที่ มี ต่ อ ผลประกอบการ ของกลุ่ ม ปตท. อี ก ทั้ ง มี ก ารจั ด วางโครงสร้ า งและ กระบวนการในการกำ�กับดูแลการบริหารความเสีย ่ งและ การตรวจสอบถ่วงดุลที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากล

2.2 ความเสี่ยงจากปริมาณการจัดหา ก๊าซธรรมชาติอาจไม่สอดคล้องกับ ปริมาณความต้องการ

ปตท. ดำ�เนิ น การเจรจาจั ด หาก๊ า ซธรรมชาติ

เพิ่มเติมจากแหล่งต่าง ๆ ในประเทศ และการเจรจา จัดหาก๊าซธรรมชาติในรูปก๊าซธรรมชาติเหลวจากกลุ่ม ผู้ ข ายในหลายประเทศทั่ ว โลก ซึ่ ง เป็ น การทำ�สั ญ ญา ซื้ อ ก๊ า ซธรรมชาติ ร องรั บ ความต้ อ งการใช้ ใ นปั จ จุ บั น

ก๊าซธรรมชาติ การลดลงของปริมาณสำ�รองก๊าซธรรมชาติ เพิ่มขึ้น ภาวะตลาด LNG ที่ไม่เอื้ออำ�นวยต่อการจัดหา

ได้ตามปริมาณหรือคุณภาพทีต ่ อ ้ งการ การเปลีย ่ นแปลง

ของสภาพแวดล้ อ มในการดำ�เนินธุ ร กิจ รวมถึง

ค ว า ม ผั น ผ ว น ข อ ง ร า ค า น้ำ� มั น จ ะ ส่ ง ผ ล ต่ อ ร า ค า ก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น

ในการรองรั บ ความเสี่ ย งข้ า งต้ น ปตท. ได้ มี

การติ ด ตามความเคลื่ อ นไหวของการจั ด หาและ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ ต า ม แ น ว โ น้ ม การเปลี่ ย นแปลงราคาก๊ า ซธรรมชาติ ใ นตลาดโลก

และนโยบายของภาครัฐ รวมทั้งได้มีการประสานงาน

กั บ กลุ่ ม ผู้ ข ายและลู ก ค้ า อย่ า งใกล้ ชิ ด เพื่ อ ทบทวน และปรั บ ปรุ ง แผนการจั ด หาก๊ า ซธรรมชาติ แ ละ LNG

ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวอย่างสม่ำ�เสมอ ให้สามารถ

รองรั บ กั บ สถานการณ์ ที่ ไ ม่ เ ป็ น ไปตามแผน รวมถึ ง ผลกระทบเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินและภาวะวิกฤต

ปริมาณซื้อก๊าซธรรมชาติขั้นต่ำ�รายปีที่ ปตท. จะต้อง

2.3

ความเสี่ยงจากการดำ�เนินการ ของรัฐบาลที่อาจก่อให้เกิด ผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจ ของ ปตท.

ก๊ า ซธรรมชาติ ไ ด้ ค รบตามปริ ม าณขั้ น ต่ำ� ที่ กำ�หนดไว้

จากการที่ ปตท. มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจที่มี

ที่ไม่ได้รับนั้นด้วย (Take-or-Pay) โดยมีสิทธิรับปริมาณ

และอยู่ ภ ายใต้ ก ารกำ�กั บ ดู แ ลของกระทรวงพลั ง งาน

และความต้องการก๊าซธรรมชาติที่คาดว่าจะขยายตัว เพิ่มขึ้นในอนาคตตามสภาพเศรษฐกิจ

ในสั ญ ญาซื้ อ ก๊ า ซธรรมชาติ จ ะมี ก ารกำ�หนด

รั บ ซื้ อ โดยหากในปี สั ญ ญาใด ปตท. ไม่ ส ามารถรั บ ในสัญญา ปตท. จะต้องชำ�ระค่าก๊าซธรรมชาติในส่วน

ก๊า ซธรรมชาติ ที่ ไ ด้ ชำ�ระไปแล้ ว แต่ ยั งไม่ได้รับนั้นในปี

รั ฐ บาลโดยกระทรวงการคลั ง เป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่

รวมทั้ ง การทำ�ธุ ร กิ จ พลั ง งานอยู่ ภ ายใต้ ก ารกำ�กั บ

ิ ธิในการรับ ต่อ ๆ ไป (Make-Up) ทัง้ นี้ ในปีที่ ปตท. จะใช้สท

ดู แ ลของคณะกรรมการนโยบายพลั ง งานแห่ ง ชาติ

ก๊าซธรรมชาติให้ได้ครบตามปริมาณซื้อก๊าซธรรมชาติ

พลั ง งานแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2535 ดั ง นั้ น ภาครั ฐ ยั ง คง

ปริ ม าณก๊ า ซธรรมชาติ ดั ง กล่ า ว ปตท. จะต้ อ งรั บ ซื้ อ ขั้นต่ำ�ตามสัญญาในปีนั้น ๆ ก่อน นอกจากนี้ สำ�หรับ

(กพช.) ภายใต้พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบาย สามารถกำ�กั บ ดู แ ลการดำ�เนิ น การใด ๆ ของ ปตท.

สัญญาซือ ้ LNG ประเภท Spot Cargo และสัญญาระยะสัน ้

เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามนโยบายพลั ง งาน เศรษฐกิ จ และ

จะนำ� LNG ไปขายให้ลก ู ค้ารายอืน ่ ซึง่ ปตท. มีความเสีย ่ ง

ตามพระราชบั ญ ญั ติ ฯ ในการเสนอแนะนโยบาย

หาก ปตท. ไม่สามารถรับ LNG ได้ตามสัญญา ผู้ขาย

ที่ จ ะต้ อ งจ่ า ยเงิ น ส่ ว นต่ า งราคาให้ ผู้ ข าย หากผู้ ข าย ขายได้ในราคาที่ตำ� ่ กว่าสัญญาที่ทำ�ไว้กับ ปตท.

ความไม่ แ น่ น อนในภาวะเศรษฐกิ จ โลกและ

ประเทศไทย ความผันผวนของราคาน้ำ�มันและ LNG

ในตลาดโลก รวมถึงการเปลีย ่ นแปลงของสภาพแวดล้อม ในการดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ อาจก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี่ ย งที่ ส่ ง

ผลกระทบต่อการจัดหาก๊าซธรรมชาติของ ปตท. เช่น การไม่ ส ามารถส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ใ ห้ ไ ด้ ต ามปริ ม าณ

ที่ ร ะบุ ใ นสั ญ ญาของผู้ ข าย ปริ ม าณความต้ อ งการ

ก๊าซธรรมชาติในอนาคตอาจไม่เป็นไปตามทีค ่ าดการณ์ ความไม่แน่นอนของกำ�หนดแล้วเสร็จของการก่อสร้าง

สังคมของประเทศ และ กพช. สามารถอาศัยอำ�นาจ

แ ล ะ แ ผ น ก า ร บ ริ ห า ร พ ลั ง ง า น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ต่ อ คณะรัฐมนตรี รวมทั้งกำ�หนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไข

ในการกำ�หนดราคาพลังงานให้สอดคล้องกับนโยบาย และแผนการบริ ห ารพลั ง งานของประเทศ อี ก ทั้ ง

ภาครั ฐ อยู่ ร ะหว่ า งการพิ จ ารณาร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ที่ สำ� คั ญ เ ช่ น ร่ า ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ปิ โ ต ร เ ลี ย ม ร่างพระราชบัญญัติการพัฒนา กำ�กับดูแลและบริหาร รัฐวิสาหกิจ ร่างพระราชบัญญัตจ ิ ด ั ซือ ้ จัดจ้างและบริหาร

พัสดุภาครัฐ เป็นต้น ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการดำ�เนิน ธุรกิจของ ปตท.


ปัจจัยความเสี่ยง

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

109

น อ ก จ า ก นี้ แ ล้ ว ก า ร กำ� ห น ด น โ ย บ า ย แ ล ะ

บริษัทในกลุ่มร่วมกันพัฒนาและเชื่อมโยงระบบโดยมี

ต่อผลประกอบการของ ปตท. เช่น การควบคุมราคา

สายโซ่ ท างธุ ร กิ จ ของ ปตท. ให้ ส ามารถดำ�เนิ น การ

มาตรการด้านพลังงานของภาครัฐ อาจส่งผลกระทบ

วัตถุประสงค์เพื่อปกป้องกิจกรรมที่สร้างมูลค่าตลอด

ก๊ า ซปิ โ ตรเลี ย มเหลว (LPG) และก๊ า ซธรรมชาติ

ได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อี ก ทั้ ง มี ก ารดำ�เนิ น โครงการ Zero

มี ค วามเสี่ ย งที่ จ ะต้ อ งรั บ ภาระในการชดเชยราคา

ปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต เที ย บเท่ า ระดั บ สากล

สำ�หรั บ ยานยนต์ (NGV) เป็ น ต้ น ซึ่ ง ปตท. ยั ง คง

LPG ให้ กั บ ผู้ มี ร ายได้ น้ อ ยซึ่ ง อาจจะมี ก ารใช้ สิ ท ธิ์

Unplanned Shutdown โดยส่งเสริมให้บริษัทในกลุ่ม และป้องกันไม่ให้เกิดการหยุดชะงักของธุรกิจ นอกจากนี้

จำ�นวนมากขึ้ น ในอนาคตหรื อ ต้ อ งรั บ ภาระอย่ า ง

้ ประกันภัยคุม ้ ครองความเสีย ่ งสำ�หรับ ปตท. ได้มีการซือ

ต่อเนื่องของนโยบายการกำ�หนดราคา NGV ให้สะท้อน

บริษัทอื่น ๆ ในอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

ต้องหยุดดำ�เนินการ (Business Interruption)

ต่อเนื่องต่อไป รวมถึงยังคงมีความเสี่ยงในด้านความ ต้นทุนที่แท้จริง

ปตท. มี ก ารติ ด ตามและวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบ

อั น เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงนโยบายและมาตรการ

ข อ ง ภ า ค รั ฐ ร ว ม ทั้ ง ก า ร ติ ด ต่ อ ป ร ะ ส า น ง า น กั บ

ห น่ ว ย ง า น ร า ช ก า ร อ ย่ า ง ใ ก ล้ ชิ ด เ พื่ อ ใ ห้ ข้ อ มู ล ทำ�ความเข้าใจ และกำ�หนดมาตรการรองรับ เพื่อลด

ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น

3. ความเสี่ยงทางด้านปฏิบัติการ 3.1 ความเสี่ยงจากการหยุดชะงัก ของการผลิตและการดำ�เนินธุรกิจ

ปตท. ดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเลี ย มและปิ โ ตรเคมี

ครบวงจรและมี ก ารดำ�เนิ น งานในหลายพื้ น ที่ ทั้ ง ใน ประเทศและต่างประเทศ มีโอกาสได้รับผลกระทบจาก

จากการหยุดชะงักของการผลิตและการดำ�เนินธุรกิจ

ซึ่งอาจเกิดจากความผิดพลาดของบุคลากร อุบัติเหตุ อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งจั ก รขั ด ข้ อ ง ภั ย ธรรมชาติ ภั ย จาก

ความไม่สงบทางการเมือง ภัยจากการก่อการร้าย และ

ภัยอันตรายอื่น ๆ ที่ยากต่อการคาดการณ์ได้ ซึ่งอาจ ก่อให้เกิดความสูญเสียอย่างมีนัยสำ�คัญต่อ ปตท.

เพื่ อ เป็ น การลดโอกาสและผลกระทบจากภั ย

คุกคามดังกล่าว ปตท. กำ�หนดให้ผบ ู้ ริหารและพนักงาน ของทุ ก หน่ ว ยธุ ร กิ จ ต้ อ งตระหนั ก ถึ ง การมี ส่ ว นร่ ว ม

ในการดำ�เนินการ สนับสนุนและปฏิบัติตามนโยบาย การจัดการสภาวะวิกฤติและการบริหารความต่อเนื่อง

ทางธุ ร กิ จ โดยยึ ด “มาตรฐานระบบการบริ ห าร

ความต่ อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ กลุ่ ม ปตท. (PTT Group

Business Continuity Management System Standard:

BCMS)” และ “มาตรฐานการจัดการด้านความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม กลุม ่ ปตท.

(PTT Group Security, Safety, Health and Environment Management Standard: SSHE MS)” เพื่ อ ใช้ เ ป็ น

แนวทางให้หน่วยธุรกิจ หน่วยงานสนับสนุน ตลอดจน

ทรั พ ย์ สิ น หลั ก ที่ ใ ช้ ใ นการดำ�เนิ น ธุ ร กิ จ ทั้ ง หมดตามที่

พึงปฏิบัติ และได้ทำ�ประกันภัยเพิ่มเติมในกรณีที่บริษัท

3.2 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลง ข้อบังคับเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย

การดำ�เนินธุรกิจของกลุม ่ ปตท. ต้องปฏิบต ั ต ิ าม

กฎหมายและข้ อ บั ง คั บ เกี่ ย วกั บ ความปลอดภั ย และ

สิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ ข้ ม งวด มี บ ทบั ญ ญั ติ ที่ ใ ห้ ห น่ ว ยงาน

ภาครัฐสามารถกำ�กับดูแลได้อย่างชัดเจน โดยในอนาคต มีแนวโน้มที่กลไกการกำ�กับดูแลของหน่วยงานภาครัฐ

มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นไปในทิ ศ ทางที่ ซั บ ซ้ อ นและเข้ ม งวด มากยิง่ ขึน ้ อาจทำ�ให้เกิดข้อจำ�กัดต่อการประกอบธุรกิจ

ของ ปตท. หรืออาจทำ�ให้ตน ้ ทุนในการดำ�เนินการเพิม ่ ขึน ้ อย่างมีนัยสำ�คัญได้ นอกจากนี้ โครงการต่าง ๆ ของ

ปตท. อาจเกิดความเสี่ยงในประเด็นของระยะเวลาและ เงื่อนไขการปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการพิจารณา

ให้ความเห็นชอบรายงานการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อม (EIA) หรือรายงานการศึกษาและประเมินผลกระทบ ต่ อ คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มและสุ ข ภาพของประชาชน

ในชุ ม ชน (EHIA) รวมถึ ง ขบวนการมี ส่ ว นร่ ว มและ

การยอมรั บ ของชุ ม ชนที่ อ าจจะก่ อ ให้ เ กิ ด ความล่ า ช้ า ข อ ง ก า ร ดำ� เ นิ น โ ค ร ง ก า ร ไ ม่ แ ล้ ว เ ส ร็ จ ต า ม เ ว ล า

ที่กำ�หนด ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจและ ความสามารถในการเพิ่มรายได้ของ ปตท. ในอนาคต

ปตท. ได้ มี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งในประเด็ น

ดังกล่าว โดยกำ�หนดให้ทก ุ พืน ้ ทีป ่ ฏิบต ั งิ านมีการติดตาม ตรวจวัดและประเมินความสอดคล้องของการดำ�เนินการ ตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด หากพบพื้ น ที่ ใ ดมี แ นวโน้ ม ปฏิ บั ติ ไ ม่ ส อดคล้ อ งกั บ

กฎหมาย จะเร่งกำ�หนดมาตรการแก้ไขและป้องกันอย่าง

เร่งด่วน นอกจากนั้น ได้มีการพัฒนาระบบการติดตาม และจั ด การกฎหมายด้ า นคุ ณ ภาพ ความปลอดภั ย

อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อมขึน ้ เพือ ่ เป็นระบบฐานข้อมูล


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ปัจจัยความเสี่ยง

110

กฎหมายและข้อปฏิบต ั ท ิ เี่ ป็นฐานข้อมูลเดียวกันทัง้ ปตท.

ต่อการแล้วเสร็จของโครงการ (Critical Path) เพื่อลด

ข้อปฏิบัติได้อย่างทันท่วงที สามารถนำ�ไปจัดทำ�แผน

การควบคุมให้มากทีส ่ ด ุ เช่น การจัดหาทีมงานทีม ่ ค ี วามรู้

ทำ�ให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับทราบกฎหมาย และ

การปฏิบัติตามกฎหมายและประเมินความสอดคล้อง กฎหมายได้ ค รบถ้ ว น ตลอดจนยั ง มี ก ารติ ด ตาม

และวิเคราะห์ผลกระทบต่อการดำ�เนินงานของ ปตท. อั น เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงกฎหมายและข้ อ บั ง คั บ ต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและ

ความปลอดภั ย รวมทั้ ง การติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ หน่ ว ยงานราชการอย่ า งใกล้ ชิ ด เพื่ อ นำ�ข้ อ มู ล มา

ระดับความเสี่ยงของการพัฒนาโครงการให้อยู่ภายใต้ ความสามารถมาปฏิบัติงานควบคุมและตรวจสอบงาน ก่อสร้าง การจัดเตรียมมาตรการในการลดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม การติดตามกฎหมายและกฎระเบียบใหม่ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การติ ด ตามและวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบ

ต่อการดำ�เนินงานโครงการ การพัฒนากระบวนการ มีส่วนร่วมของประชาชน รวมทั้งการจัดเตรียมแผนงาน

และมาตรการรองรับเพื่อลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น

วางแผนงานหรือกำ�หนดมาตรการรองรับ และจัดให้มี

หากกำ�หนดแล้วเสร็จของโครงการล่าช้ากว่าแผนทีว ่ างไว้

ของชุมชนในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

4. ความเสี่ยงทางการเงิน

3.3 ความเสี่ยงในการก่อสร้างโครงการ ที่อาจแล้วเสร็จไม่เป็นไปตามแผน

4.1 ความเสี่ยงจากความผันผวน ของค่าเงินบาท

การดำ�เนินงานมวลชนสัมพันธ์โดยมุง่ เน้นการมีสว ่ นร่วม

ปตท. มี ก ารลงทุ น ขยายธุ ร กิ จ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

ซึ่งแต่ละโครงการมีความเสี่ยงที่จะทำ�ให้การก่อสร้าง

แล้วเสร็จไม่เป็นไปตามระยะเวลาที่กำ�หนด และ/หรือ

เกินงบประมาณทีต ่ งั้ เอาไว้ โดยปัจจุบน ั ปตท. มีโครงการ

สำ�คัญ ๆ เช่น โครงการตามแผนระบบรับส่งและโครงสร้าง พืน ้ ฐานก๊าซธรรมชาติเพือ ่ ความมัน ่ คง ส่วนที่ 1: โครงการ ระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติในระยะที่ 1 (ปี 2558 - 2562) และระยะที่ 2 (ปี 2558 - 2564) ซึ่งการพัฒนาโครงการ ต่าง ๆ อาจล่าช้ากว่าแผนที่ประมาณการไว้จากสาเหตุ หลายประการ เช่น สถานะทางด้านการเงินของบริษัท ผู้รับเหมา สภาพภูมิอากาศ การขออนุมัติการก่อสร้าง

จากหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง การคัดค้านจากเจ้าของ

ที่ ดิ น เอกชนในการเข้ า พื้ น ที่ ก่ อ สร้ า ง การคั ด ค้ า น

การเปลี่ ย นแปลงของค่ า เงิ น บาทต่ อ เงิ น สกุ ล

เหรียญสหรัฐ จะมีผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม ต่อรายได้ส่วนใหญ่ของ ปตท. และยังส่งผลกระทบต่อ กำ�ไรขาดทุนสุทธิทางบัญชีของ ปตท. จากการที่ ปตท. และบริษัทย่อยมีภาระหนี้เงินกู้ต่างประเทศคงค้างอยู่

ดั ง นั้ น ค ว า ม ผั น ผ ว น ข อ ง ค่ า เ งิ น บ า ท ต่ อ เ งิ น ส กุ ล ต่ า งประเทศ รวมถึ ง นโยบายทางเศรษฐกิ จ การเงิ น

และการคลังของประเทศ อาจส่งผลกระทบต่อฐานะ ทางการเงินและผลประกอบการโดยรวมของ ปตท. ได้

เ พื่ อ ล ด ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ค ว า ม ผั น ผ ว น ข อ ง

ค่าเงินบาท ปตท. ได้ดำ�เนินการจัดโครงสร้างของเงินกู้ ที่เป็นเงินสกุลต่างประเทศให้มีสัดส่วนสมดุลกับรายได้

ที่เป็นเงินสกุลต่างประเทศ (Natural Hedge) รวมทั้ง

การดำ�เนิ น การก่ อ สร้ า งจากชุ ม ชน การขั ด ขวาง

การบริหารเงินในบัญชีเงินฝากที่เป็นสกุลต่างประเทศ

ที่ต้องใช้ระยะเวลาในการจัดหาและขนส่งนาน ราคา

เพื่อแปลงเงินกู้สกุลต่างประเทศ (Participating Swap)

การดำ�เนินงานของผูม ้ อ ี ท ิ ธิพลในพืน ้ ที่ การจัดซือ ้ อุปกรณ์ ต้นทุนของวัตถุดบ ิ อัตราแลกเปลีย ่ น และความไม่แน่นอน

(Foreign Currency Deposit) การใช้อนุพน ั ธ์ทางการเงิน

และการซือ ้ -ขายเงินสกุลต่างประเทศล่วงหน้า (Forward)

ของสภาพอากาศ ดังนัน ้ หากโครงการต่าง ๆ ไม่แล้วเสร็จ

เพื่อเตรียมการชำ�ระหนี้เงินกู้สกุลต่าง ๆ และธุรกรรม

การเงินและผลการดำ�เนินงานของ ปตท. ได้

ทางการเงินและสินเชื่อ (Treasury and Credit Policy)

ตามเวลาที่ กำ�หนด อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ ฐานะทาง

เพือ ่ ให้โครงการแล้วเสร็จตามระยะเวลาทีก ่ ำ�หนด

อยูภ ่ ายใต้งบประมาณ ให้ได้คณ ุ ภาพทีเ่ หมาะสมและให้ เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบต่าง ๆ ที่กำ�หนด ปตท.

ได้ให้ความสำ�คัญกับการบริหารงานที่มีความสำ�คัญ

การค้า นอกจากนี้ ปตท. ได้ดำ�เนินการจัดทำ�นโยบาย เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการบริ ห ารการเงิ น ของ ปตท. และบริ ษั ท ในกลุ่ ม อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเป็ น ไป

ในทิ ศ ทางเดี ย วกั น โดยรวมถึ ง ข้ อ กำ�หนดในเรื่ อ ง

การบริหารความเสี่ยงต่าง ๆ


ปัจจัยความเสี่ยง

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

111

4.2 ความเสี่ยงจากการให้การสนับสนุน ทางการเงินแก่บริษัทในกลุ่ม ปตท.

หาก ปตท. เห็ น ว่ า การดำ�เนิ น การดั ง กล่ า วจะเป็ น

การบั ญ ชี ไ ทยกำ�หนดให้ ปตท. จะต้ อ งมี ก ารรวม

ปตท. มี ก ารลงทุ น โครงการใหม่ ขยายธุ ร กิ จ

หรือปรับปรุงการด�ำเนินงาน เพื่อให้บริษัทมีการเติบโต

อย่างต่อเนื่อง และในบางครั้งการลงทุนดังกล่าวอาจ ลงทุ น ผ่ า นบริ ษั ท ที่ จั ด ตั้ ง ใหม่ และ/หรื อ ร่ ว มทุ น กั บ

พั น ธมิ ต ร (Strategic Partner) และ/หรื อ ผ่ า นบริ ษั ท ในกลุ ่ ม ปตท. ซึ่ ง บริ ษั ท บางแห่ ง ยั ง อยู ่ ใ นช่ ว งเริ่ ม ต้ น

ประโยชน์มากกว่า กรณีที่ ปตท. ตัดสินใจเข้าควบคุม การบริ ห ารบริ ษั ท ในกลุ่ ม เหล่ า นี้ ภายใต้ ม าตรฐาน

งบการเงินของบริษท ั ในกลุม ่ เข้ากับงบการเงินของ ปตท. ตั้ ง แต่ วั น ที่ มี อำ�นาจในการควบคุ ม ด้ ว ย ซึ่ ง การรวม งบการเงินนี้อาจจะส่งผลกระทบต่อฐานะทางการเงิน รวมของ ปตท.

การเงินไม่แข็งแกร่งเพียงพอ ผูถ ้ อ ื หุน ้ รวมถึง ปตท. จึงยัง

4.3 ความเสี่ยงจากการจัดหาเงินทุน สำ�หรับการดำ�เนินการตามแผน

โครงการ (Cost Overrun Support) เพือ ่ ให้บริษท ั ดังกล่าว

การด�ำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัทในภาพรวม นอกจากนี้

และธุรกิจโรงแยกก๊าซธรรมชาติ รวมทั้งธุรกิจปิโตรเคมี

โครงการ หรืออยู่ในวัฏจักรขาลงของธุรกิจ หรือฐานะ ต้ อ งให้ ก ารสนั บ สนุ น ทางการเงิ น ในช่ ว งการก่ อ สร้ า ง สามารถด�ำเนิ น การได้ ต ามกลยุ ท ธ์ แ ละนโยบาย

ในบางกรณีบริษัทอาจประสบปัญหาขาดสภาพคล่อง ในช่ ว งด� ำ เนิ น การเชิ ง พาณิ ช ย์ (Cash Deficiency Support) ซึ่งอาจเกิดจากเหตุสุดวิสัย จึงมีความจ�ำเป็น

ต้ อ งรั บ การสนั บ สนุ น ทางการเงิ น จากผู ้ ถื อ หุ ้ น ทั้ ง นี้ ปตท. จะพิจารณาให้ความสนับสนุนทางการเงินในรูป

ของเงิ น กู ้ และ/หรื อ สิ น เชื่ อ ทางการค้ า เป็ น รายกรณี ซึ่ง ปตท. มีความเชื่อว่านโยบายและการด�ำเนินการ ดั ง กล่ า วจะสามารถสร้ า งความแข็งแกร่งอย่างยั่งยืน ให้กับบริษัทในกลุ่ม ปตท. ได้

ในการให้ความสนับสนุนทางการเงินแก่บริษัท

ในกลุ่มเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของหนี้ด้อยสิทธิ หรื อ สิ น เชื่ อ ทางการค้ า หรื อ การให้ เ งิ น กู้ จ ากผู้ ถื อ หุ้ น

ปตท. ไม่สามารถยืนยันได้ว่าบริษัทเหล่านี้จะสามารถ

ชำ�ระคืนเงินให้แก่ ปตท. หรือบริษัทเหล่านี้จะไม่ประสบ กับปัญหาทางการเงินอีก หรือไม่ต้องการการสนับสนุน

ทางการเงิ น จาก ปตท. อี ก ซึ่ ง อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ ผลการดำ�เนิ น งานและฐานะทางการเงิ น ของ ปตท. นอกจากนี้ หาก ปตท. หรือบริษท ั ในกลุม ่ ตกเป็นผูผ ้ ด ิ นัด

(Default) ภายใต้สัญญาข้อตกลงการให้การสนับสนุน

จากผู้ ถื อ หุ้ น อาจส่ ง ผลให้ เ จ้ า หนี้ บ างรายเรี ย กให้ ห นี้ ถึ ง กำ�หนดชำ�ระโดยพลั น ได้ (Acceleration) จึ ง ไม่ สามารถยืนยันได้ว่า ปตท. จะไม่เพิ่มสัดส่วนการลงทุน

มากขึ้น หรือเพิ่มสัดส่วนการลงทุนมากกว่าร้อยละ 50 หรื อ เข้ า ควบคุ ม การบริ ห ารบริ ษั ท ในกลุ่ ม เหล่ า นี้

ธุรกิจของ ปตท. โดยเฉพาะอย่างยิง่ ธุรกิจสำ�รวจ

และผลิตปิโตรเลียม ธุรกิจระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ

เป็นธุรกิจที่ใช้เงินลงทุนสูงและเป็นการลงทุนล่วงหน้า ในทางปฏิบัติถึงแม้ ปตท. จะมีการติดตามและบริหาร

ความเสี่ ย งทางธุ ร กิ จ อย่ า งใกล้ ชิ ด แต่ ก ารใช้ เ งิ น ทุ น ดั ง กล่ า วยั ง อาจคลาดเคลื่ อ นไปจากแผนที่ ว างไว้ เนือ ่ งจากหลากหลายปัจจัยซึง่ อยูน ่ อกเหนือการควบคุม

ของ ปตท. ซึง่ อาจมีผลกระทบต่อความสำ�เร็จและต้นทุน โครงการของ ปตท.

จากการประกอบธุ ร กิ จ ของ ปตท. ที่ มุ่ ง เน้ น

การสร้ า งความเติ บ โตอย่ า งมั่ น คงในระยะยาวและ การเป็ น บริ ษั ท ที่ มี ก ารกำ�กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ทำ�ให้ ปตท. มีแผนงานลงทุนเพื่อขยายธุรกิจอย่างระมัดระวัง

โดยคำ�นึ ง ถึ ง แหล่ ง เงิ น ทุ น ต่ า ง ๆ โดยเฉพาะการจั ด โครงสร้างเงินทุนที่สามารถดำ�รงอัตราส่วนทางการเงิน ที่สำ�คัญต่าง ๆ ให้อยู่ระดับที่เหมาะสมเทียบเคียงได้กับ บริ ษั ท ในอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น ซึ่ ง จากการติ ด ตาม การเปลี่ ย นแปลงของปั จ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด หา

เงินทุนอย่างต่อเนือ ่ ง ปตท. จึงมีความเชือ ่ ว่าจะสามารถ

จั ด หาเงิ น ทุ น เพื่ อ การขยายธุ ร กิ จ ในอนาคตได้ อ ย่ า ง เพียงพอ ด้วยต้นทุนทางการเงินที่เหมาะสม


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างเงินทุน

112

โครงสรางเงินทุน

หลักทรัพยของ ปตท. หุนสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ปตท. มีทุนจดทะเบียน 28,572,457,250 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 2,857,245,725 หุ้น มูลค่า ที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยเป็นทุนที่ออกและชําระแล้ว 28,562,996,250 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 2,856,299,625 หุ้น

พันธบัตรและหุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทมีเงินกู้ยืมในประเทศที่อยู่ในรูปพันธบัตร ปตท. ที่คํ้าประกันโดยกระทรวงการคลังจํานวน 3,000 ล้านบาท และที่อยู่ในหุ้นกู้ ปตท. กระทรวงการคลังไม่คํ้าประกันจํานวน 167,503 ล้านบาท รวมพันธบัตรและหุ้นกู้ ปตท. ในประเทศ ทั้งสิ้น 170,503 ล้านบาท และบริษัทมีเงินกู้ยืมต่างประเทศในรูปหุ้นกู้ ปตท. สกุลเงินเหรียญสหรัฐและสกุลเงินเยน กระทรวงการคลังไม่ค้า ํ ประกัน จํานวนเทียบเท่า 62,585 ล้านบาท โดยรายละเอียดสําคัญของพันธบัตรและหุ้นกู้ สามารถสรุปได้ดังนี้

พันธบัตรและหุนกู

จํานวน (ลานบาท)

วันครบกําหนดไถถอน

หลักประกัน

3,000

ปี 2559 - 2563

ไม่มี

167,503

ปี 2559 - 2653

ไม่มี

62,585

ปี 2559 - 2585

ไม่มี

พันธบัตร ปตท. คํ้าประกันโดยกระทรวงการคลัง • พันธบัตรในประเทศ หุ้นกู้ ปตท. กระทรวงการคลังไม่คํ้าประกัน • หุ้นกู้ในประเทศ1/ 4/ • หุ้นกู้ต่างประเทศ2/ 3/ 4/ รวม

รวมพันธบัตรและหุนกู ปตท.

230,088 233,088

หมายเหตุ: 1/ Fitch Rating จัดอันดับเครดิตภายในประเทศ (National Rating) ของหุ้นกู้ ปตท. ระยะยาวที่ระดับ “AAA (tha)” แนวโน้มเครดิตมีเสถียรภาพ 2/ Moody’s จัดอันดับเครดิตหุ้นกู้ต่างประเทศของ ปตท. ที่ระดับ “Baa1” แนวโน้มเครดิตมีเสถียรภาพ 3/ S&P’s จัดอันดับเครดิตหุ้นกู้ต่างประเทศของ ปตท. ที่ระดับ “BBB+” แนวโน้มเครดิตมีเสถียรภาพ 4/ รายละเอียดหุ้นกู้ในประเทศและหุ้นกู้ต่างประเทศของ ปตท.


โครงสร้างเงินทุน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

113 หุนกูในประเทศไมมีหลักประกัน ไมดอยสิทธิ หุนกู PTTC165A

จํานวน (ลานบาท) 3,000

อัตราดอกเบี้ยตอป ปีท่ี 1 - 6 ร้อยละ 5.00

ปีที่ 7 - 12 ร้อยละ 5.95

อายุ/ กําหนดการไถถอน อายุ 12 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2559

จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี PTTC165B

2,970

PTTC167A

17,100

ร้อยละ 6.17 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 10 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2559

ปีท่ี 1 - 5 ร้อยละ 4.25

อายุ 7 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2559

ปีที่ 6 - 7 ร้อยละ 5.25

จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี PTTC16OA

8,000

ร้อยละ 5.79 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 10 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2559

PTTC172A

2,6361/

ร้อยละ 4.10 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 7 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2560

PTTC17DA

1,500

ร้อยละ 5.87 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 10 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2560

PTTC17DB

4,0002/

ปีที่ 1 - 4 ร้อยละ 3.20

อายุ 7 ปี 15 วัน กําหนดไถ่ถอนปี 2560

ปีที่ 5 - 6 ร้อยละ 4.20

ปีที่ 7 ร้อยละ 5.00 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี PTTC18DA PTTC18NA

500 18,0493/

PTTC195A

1,000

PTTC195B

15,000

ร้อยละ 5.91 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 11 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2561

ปีที่ 1 - 4 ร้อยละ 4.00

อายุ 6 ปี 9 เดือน 19 วัน

ปีที่ 5 - 6 ร้อยละ 4.40

ปีที่ 7 ร้อยละ 5.50 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

กําหนดไถ่ถอนปี 2561

ร้อยละ 5.90 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 15 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2562

ปีท่ี 1 - 4 ร้อยละ 4.10

อายุ 6 ปี 11 เดือน 24 วัน

ปีที่ 5 - 6 ร้อยละ 5.10

จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี PTTC195C

PTTC20NA

10,000

22,000

ปีท่ี 1 - 4 ร้อยละ 4.10

กําหนดไถ่ถอนปี 2562 ปีที่ 5 - 6 ร้อยละ 5.10

อายุ 6 ปี 9 เดือน 15 วัน

จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

กําหนดไถ่ถอนปี 2562

ร้อยละ 4.75 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 6 ปี 11 เดือน 19 วัน กําหนดไถ่ถอนปี 2563

PTTC208A

4,118

ร้อยละ 5.95 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 15 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2563

PTTC215A

1,030

ร้อยละ 6.53 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 15 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2564

PTTC21NA

10,000

ร้อยละ 4.00 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 6 ปี 11 เดือน กําหนดไถ่ถอนปี 2564

PTTC21NB

4,200

ร้อยละ 3.50 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 6 ปี 27 วัน กําหนดไถ่ถอนปี 2564

PTTC222A

4,0004/

ร้อยละ 4.50 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 12 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2565

ร้อยละ 6.58 จ่ายดอกเบี้ยครั้งเดียว

อายุ 10 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2566

PTTC239A

10,000

ในวันครบกําหนดไถ่ถอน


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างเงินทุน

114 จํานวน (ลานบาท)

หุนกู PTTC243A

15,000

อัตราดอกเบี้ยตอป ปีท่ี 1 - 5 ร้อยละ 5.00

ปีที่ 6 - 8 ร้อยละ 6.20

ปีที่ 9 - 15 ร้อยละ 6.80 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ/ กําหนดการไถถอน อายุ 15 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2567 (ผู้ถือหุ้นกู้สามารถไถ่ถอนก่อนกําหนดได้ ณ สิ้นปีที่ 8)

PTTC247A

9,400

ปีท่ี 1 - 5 ร้อยละ 4.25

ปีที่ 6 - 10 ร้อยละ 5.50

ปีที่ 11 - 15 ร้อยละ 5.75 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 15 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2567 (ผู้ถือหุ้นกู้สามารถไถ่ถอนก่อนกําหนดได้ ณ สิ้นปีที่ 10)

PTTC10DA

4,000

ร้อยละ 5.90 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 100 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2653 (ผู้ถือหุ้นกู้สามารถไถ่ถอนก่อนกําหนดได้ ณ สิ้นปีที่ 50 และ 75 และกรณีอ่น ื ที่ระบุ ในข้อกําหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ ของผู้ออกหุ้นกู้และผู้ถือหุ้นกู้)

รวม

167,503

หุนกูตางประเทศไมมีหลักประกัน ไมดอยสิทธิ หุนกู

จํานวน (ลานบาท)

อัตราดอกเบี้ยตอป

อายุ/ กําหนดการไถถอน

USD Bond ปี 2005

12,430

ร้อยละ 5.875 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 30 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2578

Samurai Bond ปี 2007

10,5325/

ร้อยละ 2.71 ของเงินต้นสกุลเยนญี่ปุ่น

อายุ 10 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2560

จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี USD Bond ปี 2012

18,0856/

ร้อยละ 3.375 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 10 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2565

USD Bond ปี 2012

21,5387/

ร้อยละ 4.50 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 30 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2585

รวม

62,585


โครงสร้างเงินทุน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

115 หมายเหตุ: 1/ ปตท. ได้ทา ํ สัญญาแลกเปลีย ่ นสกุลเงิน (Cross Currency Swap) จากหุน ้ กูส ้ กุลบาท จํานวน 2,636 ล้านบาท เป็นสกุลเหรียญสหรัฐ จํานวน 79.45 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่อัตราลอยตัว LIBOR บวกอัตราร้อยละคงที่ต่อปี ของเงินต้นสกุลเหรียญสหรัฐ 2/ ปตท. ได้ทําสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงิน (Cross Currency Swap) จากหุ้นกู้สกุลบาท จํานวน 3,000 ล้านบาท เป็นสกุลเหรียญสหรัฐ จํานวน 99 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่อัตราดอกเบี้ยคงที่ตั้งแต่ปีที่ 3 - 4 ร้อยละ 1.375 ต่อปี ปีที่ 5 - 6 ร้อยละ 2.64 ต่อปี ปีที่เหลือ ร้อยละ 3.44 ต่อปี ของเงินต้นสกุลเหรียญสหรัฐ 3/ ปตท. ได้ ทํ า สั ญ ญาแลกเปลี่ย นสกุ ล เงิ น (Cross Currency Swap) จากหุ ้ น กู ้ ส กุ ล บาท จํ า นวน 9,000 ล้ า นบาท เป็ น สกุ ล เหรี ย ญสหรั ฐ จํ า นวน 285 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่อัตราลอยตัว LIBOR บวกอัตราร้อยละคงที่ต่อปี ของเงินต้นสกุลเหรียญสหรัฐ 4/ ปตท. ได้ทําสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงิน (Cross Currency Swap) จากหุ้นกู้สกุลบาท จํานวน 4,000 ล้านบาท เป็นสกุลเหรียญสหรัฐ จํานวน 120.55 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่อัตราลอยตัว LIBOR บวกอัตราร้อยละคงที่ต่อปี ของเงินต้นสกุลเหรียญสหรัฐ 5/ ปตท. ได้ทําสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงิน (Cross Currency Swap) จากหุ้นกู้สกุลเยน จํานวน 36,000 ล้านเยน เป็นสกุลเหรียญสหรัฐ จํานวน 290.51 ล้านเหรียญสหรัฐ และได้ใช้อนุพันธ์ทางการเงินมาช่วยลดต้นทุนทางการเงิน (Switchable Swap และ Cross Currency Swap Linked to LIBOR) ดังนี้ จํานวน 96.84 ล้านเหรียญสหรัฐ มีอัตราคงที่ร้อยละ 4.975 ต่อปี โดยคู่สัญญาอนุพันธ์มีสิทธิเปลี่ยนเป็นอัตราลอยตัวที่ร้อยละ LIBOR+0.65 ต่อปี และจํานวน 96.84 ล้านเหรียญสหรัฐ มีอัตราลอยตัวที่ร้อยละ LIBOR+0.20 ต่อปี กรณีท่ี LIBOR มากกว่าร้อยละ 4.25 ต่อปี หรือร้อยละ 5.50 ต่อปี กรณีท่ี LIBOR น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 4.25 ต่อปี และจํานวน 96.84 ล้านเหรียญสหรัฐ มีอัตราคงที่ร้อยละ 5.37 ต่อปี โดยคู่สัญญาอนุพันธ์มีสิทธิเปลี่ยนเป็น อัตรา LIBOR+0.20 ต่อปี 6/ ปตท. ได้ทําสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) จากหุ้นกู้สกุลเหรียญสหรัฐ จํานวน 500 ล้านเหรียญสหรัฐ จากอัตราดอกเบี้ยคงที่ เป็นอัตราดอกเบีย ้ ลอยตัว LIBOR บวกอัตราร้อยละคงทีต ่ อ ่ ปี ของเงินต้นสกุลเหรียญสหรัฐ โดยสัญญาแลกเปลีย ่ นอัตราดอกเบีย ้ ดังกล่าวจะสิน ้ สุดอายุสญ ั ญา ในวันที่ 25 ตุลาคม 2561 7/ ปตท. ได้ทําสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) จากหุ้นกู้สกุลเหรียญสหรัฐ จํานวน 500 ล้านเหรียญสหรัฐ จากอัตราดอกเบี้ยคงที่ เป็นอัตราดอกเบีย ้ ลอยตัว LIBOR บวกอัตราร้อยละคงทีต ่ อ ่ ปี ของเงินต้นสกุลเหรียญสหรัฐ โดยสัญญาแลกเปลีย ่ นอัตราดอกเบีย ้ ดังกล่าวจะสิน ้ สุดอายุสญ ั ญา ในวันที่ 25 ตุลาคม 2562

ใบสําคัญแสดงสิทธิที่ทําการซื้อหุนสามัญของ ปตท. การออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิท่จ ี ะซื้อหุ้นสามัญ (Warrant) ให้แก่กรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหาร พนักงาน ปตท. และพนักงานบริษัทในเครือ ปตท. ที่มาปฏิบัติงานประจําในตําแหน่งงานของ ปตท. จํานวน 60,000,000 หน่วย แบ่งเป็น 2 รุ่น คือ รุ่นที่ 1 (PTT-W1) จํานวน 40,000,000 หน่วย เสนอขายในปี 2548 และใช้สิทธิครั้งสุดท้าย วันที่ 31 สิงหาคม 2553 และรุ่นที่ 2 (PTT-W2) จํานวน 20,000,000 หน่วย เสนอขายในปี 2549 และใช้สิทธิครั้งสุดท้าย วันที่ 28 กันยายน 2554 ได้ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว และยังไม่มีการขออนุมัติออก Warrant รุ่นใหม่

ตั๋วแลกเงินระยะสั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทไม่มียอดคงค้างตั๋วแลกเงินระยะสั้น

ผูถือหุน ปตท. มีโครงสร้างผู้ถือหุ้นตามข้อมูล ณ วันปิดสมุดทะเบียนเพื่อจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ปี 2558 (วันที่ 15 กันยายน 2558) ดังนี้


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างเงินทุน

116 จํานวนหุน (ลานหุน)

จํานวนเงิน (ลานบาท)

ทุนจดทะเบียน

2,857.2

28,572

-

ทุนชําระแล้ว (ณ วันที่ 15 กันยายน 2558)

2,856.3

28,563

99.967

1,459.9

14,599

51.111

212.7

2,127

7.448

รายการ

• กระทรวงการคลัง • กองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง โดย บลจ. เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน)

รอยละ

• กองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง โดย บลจ. กรุงไทย จํากัด (มหาชน)

212.7

2,127

7.448

• สถาบันและนักลงทุนทั่วไป

970.9

9,709

33.993

0.9

9

0.033

ทุนยังไม่ชําระ

ทั้งนี้ รายชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ 14 อันดับแรกของ ปตท. เป็นดังนี้ (ณ วันที่ 15 กันยายน 2558)

ลําดับที่

รายชื่อ

1.

กระทรวงการคลัง

2.

จํานวนหุน

รอยละของ จํานวนหุนทั้งหมด

1,459,885,575

51.111

กองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง โดย บลจ. เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน)

212,730,000

7.448

3.

กองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง โดย บลจ. กรุงไทย จํากัด (มหาชน)

212,730,000

7.448

4.

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด

145,843,367

5.106

5.

CHASE NOMINEES LIMITED

94,260,308

3.300

6.

STATE STREET BANK EUROPE LIMITED

31,274,940

1.095

7.

สํานักงานประกันสังคม

26,560,500

0.930

8.

GIC PRIVATE LIMITED

26,273,200

0.920

9.

THE BANK OF NEW YORK MELLON

23,929,500

0.838

10.

STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY

20,335,198

0.712

11.

EAST FOURTEEN LIMITED-DIMENSIONAL EMER MKTS VALUE FD

19,096,000

0.669

12.

PEOPLES’S BANK OF CHINA

17,564,500

0.615

13.

กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ (EQ-TH)

15,301,750

0.536

14.

HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD

14,470,337

0.507

2,320,255,175

81.235

ยอดรวม หมายเหตุ:

1. ผู้ถือหุ้นลําดับที่ 5 และ 14 มีช่อ ื เป็นบริษัทนิติบุคคล หรือ NOMINEE ACCOUNT ซึ่ง ปตท. ได้ตรวจสอบกับบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด (TSD) แล้ว ไม่สามารถตรวจสอบและเปิดเผย Ultimate Shareholder ได้ แต่อย่างไรก็ตาม กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่รายเดียวที่เป็นตัวแทน ภาครัฐ ที่มีส่วนในการกําหนดนโยบายการจัดการ ปตท. โดยเสนอผู้แทนมาเป็นกรรมการให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้ง ส่วนผู้ถือหุ้นรายอื่นซึ่งรวมถึง ผู้ถือหุ้นลําดับที่ 5 และ 14 ไม่ได้มีพฤติการณ์มีอิทธิพลต่อการกําหนดนโยบายการจัดการของ ปตท. เช่น ส่งผู้แทนมาเป็นกรรมการของ ปตท. เป็นต้น 2. ผู้ถือหุ้นใน บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด ซึ่งถือใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์อ้างอิง (Non-Voting Depository Receipt: NVDR) ในรายการที่ 4 ไม่ มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งในที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ยกเว้ น กรณี ก ารใช้ สิ ท ธิ อ อกเสี ย งเพื่ อ ลงมติ เ กี่ ย วกั บ การเพิ ก ถอนหุ ้ น ออกจากการเป็ น หลั ก ทรั พ ย์ จ ดทะเบี ย น ในตลาดหลักทรัพย์ฯ


โครงสร้างเงินทุน

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

117 นโยบายการจายเงินปนผล นโยบายจายเงินปนผลของ ปตท. บริษัทมีนโยบายจ่ายเงินปันผลไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 25 ของกําไรสุทธิท่ีเหลือหลังหักเงินสํารองต่าง ๆ ทุกประเภทที่กฎหมาย และบริษท ั ได้กา ํ หนดไว้ โดยพิจารณาจากกําไรสุทธิตามงบการเงินรวมของบริษท ั อย่างไรก็ตาม การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะขึน ้ อยูก ่ บ ั แผนการลงทุน ความจําเป็นและความเหมาะสมอื่น ๆ ในอนาคต เมื่อคณะกรรมการบริษัทมีมติเห็นชอบให้จ่ายเงินปันผลประจําปีแล้ว จะต้องนําเสนอขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่เป็นการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ให้คณะกรรมการบริษัทมีอํานาจอนุมัติ ให้จ่ายเงินปันผลได้แล้วให้รายงานให้ท่ป ี ระชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวต่อไป

นโยบายจายเงินปนผลของบริษัทยอย สําหรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษท ั ย่อย บริษท ั ย่อยแต่ละแห่งจะพิจารณาการจ่ายเงินปันผลจากกระแสเงินสดคงเหลือ เที ย บกั บ งบลงทุ น ของบริ ษั ท ย่ อ ยนั้ น ๆ หากกระแสเงิ น สดคงเหลื อ ของบริ ษั ท ย่ อ ยมี เ พี ย งพอและได้ ตั้ ง สํ า รองตามกฎหมายแล้ ว บริษัทย่อยนั้น ๆ จะพิจารณาจ่ายเงินปันผลเป็นกรณีไป

นโยบายจายเงินปนผลของ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) หากไม่มีความจําเป็นอันใดคณะกรรมการบริษัทมีนโยบายที่จะเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจ่ายเงินปันผลของบริษัทแก่ผู้ถือหุ้น เป็นจํานวนไม่นอ ้ ยกว่าร้อยละ 30 ของกําไรสุทธิหลังจากหักภาษีเงินได้แล้วในแต่ละปี และอาจจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผถ ู้ ือหุน ้ เป็นครั้งคราวได้ ส่วนในกรณีของบริษัทย่อยนั้น บริษัทไม่ได้กําหนดนโยบายจ่ายเงินปันผล


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

118

โครงสรางการจัดการ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โครงสร้ า งการจั ด การ บริ ษั ท ปตท. จํ า กั ด (มหาชน) ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 ประกอบด้วย คณะกรรมการ ปตท. และได้แต่งตั้งคณะกรรมการ เฉพาะเรื่อง จํานวน 5 คณะ ช่วยกลั่นกรองงานที่มี ความสํ า คั ญ ได้ แ ก่ คณะกรรมการตรวจสอบ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ร ร ห า ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กํ า ห น ด ค่ า ตอบแทน คณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร โดยมี ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็ น ผู้ บ ริหารสู ง สุ ดของบริษั ท ฯ บริหารจั ด การ ผ่ า นคณะกรรมการจั ด การ ซึ่ ง แบ่ ง เป็ น 3 ประเภท ประกอบด้วย 21 คณะ


โครงสร้างการจัดการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

119 ผูตรวจสอบบัญชี

ผูถือหุน คณะกรรมการ

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน

ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ (บริหารจัดการผ่านคณะกรรมการ 21 คณะ) สํานักตรวจสอบภายใน ผู้ช่วย กผญ. สื่อสารองค์กรและกิจการเพื่อสังคม

สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการบริษัท

รองกรรมการผูจัดการใหญ กลยุทธองคกร ผู้ช่วย กผญ. แผนกลยุทธ์และบริหารการลงทุน

ประธานเจาหนาที่บริหารการเงิน

ผู้ช่วย กผญ. นโยบายและเศรษฐกิจพลังงาน

ผู้ช่วย กผญ. การเงินองค์กร

ผู้ช่วย กผญ. บัญชีองค์กร

รองกรรมการผูจัดการใหญ ทรัพยากรบุคคลและศักยภาพองคกร ผู้ช่วย กผญ. ทรัพยากรบุคคลองค์กร

ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ กลุมธุรกิจโครงสรางพื้นฐาน และบริหารความยั่งยืน

สํานักกฎหมาย

ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ กลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นตน และกาซธรรมชาติ

รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจ กาซธรรมชาติ 1. ผู้ช่วย กผญ. บริหารความยั่งยืน 2. ผู้ช่วย กผญ. วิศวกรรม และบริหารโครงการ 3. ผู้ช่วย กผญ. ก๊าซธรรมชาติ สําหรับยานยนต์ 4. ผู้ช่วย กผญ. สถาบันวิจัย และเทคโนโลยี ปตท.

1. ผู้ช่วย กผญ. วางแผน 2. ผู้ช่วย กผญ. แยกก๊าซธรรมชาติ 3. ผู้ช่วย กผญ. จัดหา และตลาดก๊าซธรรมชาติ 4. ผู้ช่วย กผญ. ระบบท่อส่ง ก๊าซธรรมชาติ 5. ผู้ช่วย กผญ. ระบบท่อ จัดจําหน่ายก๊าซธรรมชาติ

หมายเหตุ: ผู้ช่วย กผญ. = ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ กลุมธุรกิจ ปโตรเลียมขั้นปลาย

รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจนํ้ามัน

รองกรรมการผูจัดการใหญ บริหารกลยุทธ กลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย

1. ผู้ช่วย กผญ. วางแผน 1. ผู้ช่วย กผญ. 2. ผู้ช่วย กผญ. แผนกลุ่มธุรกิจ การตลาดขายปลีก ปิโตรเลียมขั้นปลาย 3. ผู้ช่วย กผญ. 2. ผู้ช่วย กผญ. การตลาดพาณิชย์ บริหารความร่วมมือ และต่างประเทศ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียม 4. ผู้ช่วย กผญ. ปฏิบัติการ ขั้นปลาย คลังปิโตรเลียม 5. ผู้ช่วย กผญ. ธุรกิจหล่อลื่น

รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจ การคาระหวางประเทศ 1. ผู้ช่วย กผญ. การค้าระหว่างประเทศ 2. ผู้ช่วย กผญ. วางแผน และควบคุมความเสี่ยง


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

120 องคประกอบของคณะกรรมการ ตามข้อบังคับ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กําหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการดังนี้ • มีจํานวนไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน • มีกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 3 คน (หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. กําหนดให้มีกรรมการอิสระไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง) • กรรมการอย่างน้อย 1 คน ต้องมีความรู้ด้านบัญชีการเงิน ทัง้ นี้ ปัจจุบน ั คณะกรรมการของ บริษท ั ปตท. จํากัด (มหาชน) ตามหนังสือรับรองกระทรวงพาณิชย์ ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2558 มีจํานวน 15 ท่าน ประกอบด้วย • กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 14 ท่าน (เป็นกรรมการที่เป็นอิสระ 11 ท่าน ซึ่งเกินกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งคณะ) • กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 1 ท่าน รายชื่อคณะกรรมการ ปตท. ประกอบด้วย

ลําดับ

รายชื่อกรรมการ

1.

นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

ตําแหนง ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ 2559 กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ

วันที่ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ ปตท. 1 กรกฎาคม 2557 (วาระที่ 1)

(กรรมการตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2557, ประธานกรรมการตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม 2557) 2.

นายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ

1 กรกฎาคม 2557 (วาระที่ 1)

3.

นายวัชรกิติ วัชโรทัย

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการสรรหา/

10 เมษายน 2552 (วาระที่ 1)

กรรมการกําหนดค่าตอบแทน

10 เมษายน 2555 (วาระที่ 2) 9 เมษายน 2558 (วาระที่ 3)

4.

5.

นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม*

กรรมการ/ ประธานกรรมการ

7 กรกฎาคม 2557 (วาระที่ 1)

(ลาออก มีผลวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559)

กําหนดค่าตอบแทน

9 เมษายน 2558 (วาระที่ 2)

กรรมการอิสระ/

4 กันยายน 2557 (วาระที่ 1)

พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

ประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี 6.

7.

นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ

4 กันยายน 2557 (วาระที่ 1)

บริหารความเสี่ยงองค์กร/ กรรมการสรรหา

9 เมษายน 2558 (วาระที่ 2)

กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

1 กรกฎาคม 2557 (วาระที่ 1) 9 เมษายน 2558 (วาระที่ 2)

8.

นายวิชัย อัศรัสกร

กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

4 กันยายน 2557 (วาระที่ 1)

9.

พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์

กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหา

4 กันยายน 2557 (วาระที่ 1)

10.

นายสมชัย สัจจพงษ์

กรรมการ/ กรรมการกําหนดค่าตอบแทน

1 พฤศจิกายน 2558 (วาระที่ 1)

11.

นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

กรรมการอิสระ/ กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

22 เมษายน 2558 (วาระที่ 1)

12.

นายดอน วสันตพฤกษ์

กรรมการอิสระ/ กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

26 กรกฎาคม 2557 (วาระที่ 1)

13.

นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

กรรมการอิสระ/

11 เมษายน 2556 (วาระที่ 1)

กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร 14.

นายชวลิต พิชาลัย

กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

18 สิงหาคม 2558 (วาระที่ 1)

15.

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ

10 กันยายน 2558 (วาระที่ 1)

(ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่)


โครงสร้างการจัดการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

121 หมายเหตุ:

คณะกรรมการแต่งตั้งกรรมการใหม่แทนกรรมการที่ออกตามวาระและลาออกในปี 2558 ดังนี้ บุคคลลําดับที่ 10

นายสมชัย สัจจพงษ์ ดํารงตําแหน่งแทนนายรังสรรค์ ศรีวรศาสตร์ ซึ่งลาออกเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558

บุคคลลําดับที่ 11

นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ ดํารงตําแหน่งแทนนายมนตรี โสตางกูร ซึ่งพ้นจากตําแหน่งกรรมการ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2557

บุคคลลําดับที่ 14

นายชวลิต พิชาลัย ดํารงตําแหน่งแทนนายทวารัฐ สูตะบุตร ซึ่งลาออกเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2558

บุคคลลําดับที่ 15

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ดํารงตําแหน่งแทนนายไพรินทร์ ชูโชติถาวร ซึ่งพ้นจากตําแหน่งกรรมการเนื่องจากหมดวาระ การดํารงตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ตามสัญญาจ้าง มีผลวันที่ 10 กันยายน 2558

* นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ได้แจ้งลาออกจากการเป็นกรรมการ โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559 เป็นต้นไป

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท

• ควบคุม ติดตาม ดูแลให้มีการดําเนินการตามกลยุทธ์ และนโยบายที่สําคัญ รวมถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมายทางการเงิน

อํานาจของคณะกรรมการบริษัท

และแผนงานบริษัท งบประมาณของบริษัท ที่กําหนด • จัดให้มรี ะบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบ

• คณะกรรมการบริ ษั ท มี อํ า นาจดู แ ลและจั ด การบริ ษั ท ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับและมติของทีป ่ ระชุม ผู้ถือหุ้น • คณะกรรมการบริษัทมีอํานาจแต่งตั้งกรรมการคนหนึ่ง เป็นประธานกรรมการ และจะแต่งตั้งรองประธานกรรมการก็ได้ ตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร • คณะกรรมการบริษัทมีอํานาจแต่งตั้งกรรมการคนหนึ่ง เป็ น ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ และเลขานุการคณะกรรมการตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร

บัญชี รวมทั้งดูแลให้มีระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบ ภายในที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • สอดส่ อ งดู แ ลและจั ด การแก้ ไ ขปั ญ หาความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้น รวมถึงรายการที่เกี่ยวโยงกัน • กํ า หนดแนวทางการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งอย่ า ง ครอบคลุ ม และดู แ ลให้ ผู้ บ ริ ห ารมี ร ะบบ หรื อ กระบวนการที่ มี ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการความเสี่ยง • ดูแลให้มีระบบหรือกลไกการจ่ายค่าตอบแทนผู้บริหาร ระดั บ สูง ที่เ หมาะสม เพื่อ ก่อ ให้เ กิ ด แรงจูง ใจทั้ง ในระยะสั้น และ ระยะยาว

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท

• ทํ า การประเมิ น ผลงานของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร และกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ และกําหนดค่าตอบแทนให้สอดคล้อง

• คณะกรรมการมีหน้าทีต ่ ามข้อบังคับของบริษท ั ซึง่ รวมถึง การดูแลและจัดการบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับและมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น • กําหนดวิสย ั ทัศน์ ทิศทาง กลยุทธ์ นโยบายและแผนงาน ที่สําคัญของบริษัท รวมทั้งพิจารณาประเด็นความเสี่ยงที่อาจจะ เกิดขึ้น เพื่อให้มั่นใจว่าผู้บริหารจะสามารถนําวิสัยทัศน์ ทิศทาง ั ใิ ห้เกิดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ และกลยุทธ์ทก ี่ า ํ หนดขึน ้ ไปปฏิบต

กับผลการดําเนินงาน • ดูแลให้มีช่องทางในการสื่อสารกับผู้ถือหุ้นแต่ละกลุ่ม และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของบริษัทอย่างเหมาะสม ่ ก ู ต้อง ชัดเจน โปร่งใส น่าเชือ ่ ถือ • ให้มก ี ารเปิดเผยข้อมูลทีถ และมีมาตรฐานสูง • เป็นผู้นําและเป็นตัวอย่างในการปฏิบัติงานที่ดี


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

122 นอกจากนี้ มีอํานาจดําเนินการของคณะกรรมการ บริษัท กลาวโดยสังเขปไดดังนี้

การแตงตั้งและการถอดถอนกรรมการบริษัท 1. กรรมการของบริ ษั ท เลื อ กตั้ ง โดยที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น

• อํานาจอนุมัติการนําเงินไปลงทุนระยะยาวต่าง ๆ เช่น

โดยมีจํานวนไม่น้อยกว่า 5 คน และไม่เกิน 15 คน และมีกรรมการ

การลงทุนในหุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ พันธบัตร หุ้นกู้ และใบสําคัญ

ที่เป็นอิสระไม่น้อยกว่า 3 คน ซึ่งกรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ

แสดงสิทธิ (Warrant) หรือตราสารทางการเงินอื่น

จํ า นวนกรรมการทั้ ง หมดต้ อ งมี ถิ่ น ที่ อ ยู่ ใ นราชอาณาจั ก ร และ

• อํ า นาจอนุ มั ติ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น ทางการเงิ น แก่ บ ริ ษั ท

กรรมการบริษัทอย่างน้อย 1 คน ต้องเป็นผู้มีความรู้ด้านบัญชี

ที่ ปตท. ถือหุน ้ (ไม่วา ่ จะเป็นการถือหุน ้ ทางตรงและ/หรือทางอ้อม)

และการเงิน โดยกรรมการต้องมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายและ

ในรูปแบบการให้เงินทุน ทั้งในรูปหุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ การให้

ข้อบังคับกําหนด ทั้งนี้ ตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมา คณะกรรมการ

เงินกู้ หรือการให้การสนับสนุนทางการเงินในรูปแบบอื่น ๆ ตาม

ปตท. ได้ มี ม ติ เ ห็ น ชอบให้ กํ า หนดสั ด ส่ ว นกรรมการที่ เ ป็ น อิ ส ระ

ความเหมาะสม

เพิ่มเป็นไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง และถือปฏิบัติต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน

• อนุ มั ติ ใ นกรณี ที่ จํ า เป็ น ต้ อ งก่ อ หนี้ ผู ก พั น หรื อ จ่ า ยเงิ น

ณ วั น ที่ 1 กุ ม ภาพั น ธ์ 2559 มี ก รรมการอิ ส ระ 11 คน

เกินกว่าหรือนอกเหนือจากงบประมาณประจําปีหรืองบประมาณ

โดยกรรมการทั้งหมดมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย และมีกรรมการ

เพิ่มเติม

ผู้ มี ค วามเชี่ ย วชาญด้ า นบั ญ ชี ก ารเงิ น 5 คน คื อ นายสมชั ย

• พิจารณางบประมาณประจําปี

สั จ จพงษ์ นางนั น ทวั ล ย์ ศกุ น ตนาค นายอารี พ งศ์ ภู่ ช อุ่ ม

• อนุมต ั จ ิ ด ั หาพัสดุ รวมถึงการอนุมต ั เิ รือ ่ งต่าง ๆ ทีเ่ กีย ่ วข้อง

นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ และ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

กับการจัดหาพัสดุ ในวงเงินส่วนทีเ่ กินอํานาจกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่

ื หุน ้ เลือกตัง้ กรรมการ ซึง่ คณะกรรมการ 2. ให้ทป ี่ ระชุมผูถ ้ อ

• เห็ น ชอบในการจํ า หน่ า ยพั ส ดุ ซึ่ ง เป็ น ที่ ดิ น หรื อ ที่ ดิ น

สรรหาเป็นผู้คัดเลือกและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม

พร้อมสิ่งปลูกสร้าง

ต่อคณะกรรมการ ปตท. ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ถือหุ้นรายหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจํานวนหุ้น

• ให้ความเห็นชอบการบรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย หรือเลื่อน

ที่ตนถือ

ระดั บ พนั ก งานระดั บ รองกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ห รื อ เที ย บเท่ า

(2) ผู้ถือหุ้นแต่ละรายจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมด

ขึ้นไป

ตาม (1) เลื อ กตั้ ง บุ ค คลคนเดี ย วหรื อ หลายคน

• แต่งตั้งเลขานุการบริษัท

เป็นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผใู้ ด

กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพัน

มากน้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมา เป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจํานวน

ตามข้อบังคับบริษัทได้กําหนดกรรมการผู้มีอํานาจลงนาม แทนบริษท ั ซึง่ ณ วันที่ 3 พฤศจิกายน 2558 (ปัจจุบน ั ) ประกอบด้วย

กรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น

(1) นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการ

(4) ในกรณี ที่ บุ ค คลซึ่ ง ได้ รั บ การเลื อ กตั้ ง ในลํ า ดั บ

ผู้ จั ด การใหญ่ ล งลายมื อ ชื่ อ และประทั บ ตราสํ า คั ญ ของบริ ษั ท

ถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจํานวนกรรมการ

หรือ (2) นายวัชรกิติ วัชโรทัย นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ หรือ

ที่ จ ะพึ ง มี ห รื อ จะพึ ง เลื อ กตั้ ง ในครั้ ง นั้ น ให้ ผู้ เ ป็ น

นายชวลิ ต พิ ช าลั ย กรรมการสองคนลงลายมื อ ชื่ อ ร่ ว มกั น และ

ประธานในที่ประชุมนั้นเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด

ประทับตราสําคัญของบริษัท

3. ในการประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจําปีทก ุ ครัง้ ให้กรรมการ ออกจากตํ า แหน่ ง ตามวาระหนึ่ ง ในสามเป็ น อั ต รา ถ้ า จํ า นวน กรรมการที่ จ ะแบ่ ง ออกให้ ต รงเป็ น สามส่ ว นไม่ ไ ด้ ก็ ใ ห้ อ อกโดย จํานวนใกล้ที่สุดกับส่วนหนึ่งในสาม กรรมการที่จะต้องออกจาก ตํ า แหน่ ง ในปี แ รกและปี ที่ ส องภายหลั ง จดทะเบี ย นบริ ษั ท นั้ น ให้กรรมการจับสลากกันว่าผูใ้ ดจะออก ส่วนในปีทส ี่ ามและปีหลัง ๆ ต่อไป ให้กรรมการคนที่อยู่ในตําแหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออกจาก ตําแหน่ง


โครงสร้างการจัดการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

123 4. ในกรณีตา ํ แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอน ื่ นอกจาก ถึงคราวออกจากตามวาระ คณะกรรมการอาจเลือกตัง้ บุคคลซึง่ มี คุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อบังคับบริษัทเข้าเป็น กรรมการแทนในตําแหน่งทีว ่ า ่ งในการประชุมคณะกรรมการ ปตท. คราวถั ด ไปก็ ไ ด้ เว้ น แต่ ว าระของกรรมการที่ พ้ น จากตํ า แหน่ ง

• ไม่ เ ป็ น ผู้ ดํ า รงตํ า แหน่ ง ใดในพรรคการเมื อ ง หรื อ เจ้าหน้าที่ของพรรคการเมือง • ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากงาน เพราะ ทุจริตต่อหน้าที่ • ไม่ เ ป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ของรั ฐ วิ ส าหกิ จ นั้ น หรื อ ผู้ ถื อ หุ้ น ของ

จะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน โดยคณะกรรมการต้องมีคะแนนเสียง

นิตบ ิ ค ุ คลทีร่ ฐ ั วิสาหกิจนัน ้ ถือหุน ้ (ยกเว้น กรรมการของรัฐวิสาหกิจ

แต่งตัง้ ไม่นอ ้ ยกว่าสามในสีข ่ องจํานวนกรรมการทีย ่ งั เหลืออยู่ ทัง้ นี้

ทีไ่ ม่เป็นข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างทีม ่ ต ี า ํ แหน่ง หรือเงินเดือน

บุคคลทีเ่ ข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยูใ่ นตําแหน่งกรรมการ

ประจําตําแหน่งของราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น

ได้เพียงเท่าวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน

หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ และกรรมการของรัฐวิสาหกิจนั้นถือหุ้น

5. กรรมการคนใดจะลาออกจากตําแหน่งให้ยน ื่ ใบลาออก ต่อบริษัท การลาออกมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึงบริษัท

ไม่เกินกว่าร้อยละ 0.5 ของทุนชําระแล้วของรัฐวิสาหกิจ ซึ่งตนเป็น กรรมการหรือนิตบ ิ ค ุ คลทีร่ ฐ ั วิสาหกิจซึง่ ตนเป็นกรรมการถือหุน ้ อยู)่

6. ในการลงมติให้กรรมการคนใดออกจากตําแหน่งก่อน

• ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งใดในนิติบุคคลที่รัฐวิสาหกิจนั้น

ถึงคราวออกตามวาระ ให้ถือคะแนนเสียงไม่น้ อยกว่าสามในสี่

เป็นผู้ถือหุ้น เว้นแต่คณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจนั้นมอบหมาย

ของจํ า นวนผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ม าประชุ ม และมี สิ ท ธิ อ อกเสี ย ง และมี หุ้ น

ให้ ดํ า รงตํ า แหน่ ง กรรมการหรื อ ดํ า รงตํ า แหน่ ง อื่ น ในนิ ติ บุ ค คล

นับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้น

ที่รัฐวิสาหกิจนั้นเป็นผู้ถือหุ้น

ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน

คุณสมบัติของกรรมการ

• ไม่เป็นกรรมการหรือผู้บริหาร หรือผู้มีอํานาจในการ จั ด การ หรื อ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ในนิ ติ บุ ค คลซึ่ ง เป็ น ผู้ รั บ สั ม ปทาน ผู้ ร่ ว มทุ น หรื อ มี ป ระโยชน์ ไ ด้ เ สี ย เกี่ ย วข้ อ งกั บ กิ จ การของ รั ฐ วิ ส าหกิ จ นั้ น เว้ น แต่ เ ป็ น ประธานกรรมการ กรรมการ หรื อ

มีคณ ุ สมบัตแ ิ ละไม่มล ี ก ั ษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจํากัด พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสําหรับ กรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2550 และมติ คณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง อาทิ • มีอายุไม่เกิน 65 ปีบริบูรณ์

ผู้บริหารโดยการมอบหมายของรัฐวิสาหกิจนั้น ในคู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดีฯ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 ได้กําหนดเรื่องการดํารงตําแหน่งของกรรมการ ดังนี้ 1. ดํ า รงตํ า แหน่ ง กรรมการในรั ฐ วิ ส าหกิ จ และ/หรื อ นิติบุคคลที่รัฐวิสาหกิจเป็นผู้ถือหุ้นได้ไม่เกิน 3 แห่ง

• ไ ม่ เ ป็ น ก ร ร ม ก า ร ใ น รั ฐ วิ ส า ห กิ จ ห รื อ นิ ติ บุ ค ค ล

2. ดํารงตําแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนในตลาด

ที่รัฐวิสาหกิจเป็นผู้ถือหุ้นเกินกว่า 3 แห่ง ทั้งนี้ นับรวมการเป็น

หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ไม่เกิน 5 แห่ง ทัง้ นี้ การดํารงตําแหน่ง

กรรมการโดยตําแหน่งและการได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการ

กรรมการตามความในข้อ 2 นี้ จะต้องไม่ขัดต่อหลักเกณฑ์ในข้อ 1

แทนในตําแหน่งกรรมการด้วย

ด้วย ทัง้ นี้ การดํารงตําแหน่งกรรมการตามความในข้อ 1 และข้อ 2

ุ สมบัตเิ กีย ่ วกับความเป็นอิสระ • กรรมการอิสระต้องมีคณ ตามประกาศตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่องคุณสมบัติ และขอบเขตการดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 5 แห่ง 3. กรรมการอิสระและกรรมการเฉพาะเรื่องไม่สามารถ ดํารงตําแหน่งเกิน 9 ปีต่อเนื่อง

• ไม่เคยได้รบ ั โทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงทีส ่ ด ุ ให้จา ํ คุก

ี ค ุ คลในบัญชีรายชือ ่ กรรมการ อีกทัง้ ปตท. กํากับดูแลให้มบ

เว้ น แต่ เ ป็ น โทษสํ า หรั บ ความผิ ด ที่ ไ ด้ ก ระทํ า โดยประมาทหรื อ

ที่กระทรวงการคลังจัดทําขึ้น ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจํานวน

ความผิดลหุโทษ

กรรมการทั้งหมด เพื่อเป็นไปตามกฎหมายด้วย โดย ณ วันที่ 1

• ไม่เป็นข้าราชการการเมือง เว้นแต่เป็นการดํารงตําแหน่ง กรรมการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

กุมภาพันธ์ 2559 กรรมการ ปตท. รวม 15 ท่าน เป็นกรรมการ อยู่ในบัญชีรายชื่อ Director’s Pool ของสํานักงานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) จํานวน 9 ท่าน


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

124 การประชุมของคณะกรรมการ ปตท.

2559 - 2563 นอกจากนี้ มี ก ารประชุ ม กรรมการโดยไม่ มี ผู้ บ ริ ห าร 1 ครั้ ง ในหั ว ข้ อ วาระเรื่ อ ง “บทบาทของกรรมการ

ปตท. มี ก ารกํ า หนดการประชุ ม คณะกรรมการ ปตท.

ในการสร้าง ETHICS เพือ ่ ความยัง่ ยืนขององค์กร” ซึง่ คณะกรรมการ

ไว้ อ ย่ า งเป็ น ทางการล่ ว งหน้ า ตลอดปี โดยในปี 2558 กํ า หนด

ได้ให้ความสําคัญกับการสร้างจรรยาบรรณ และการกํากับดูแล

การประชุ ม เดื อ นละ 1 ครั้ ง ในทุ ก วั น ศุ ก ร์ สั ป ดาห์ สุ ด ท้ า ยของ

ให้มีการดําเนินการเป็นไปตามหลักจรรยาบรรณที่กําหนด อีกทั้ง

เดื อ น และอาจมี ก ารประชุ ม วาระพิ เ ศษเฉพาะคราวเพิ่ ม เติ ม

ยังได้หารือการปรับปรุงการประชุมและการดําเนินการต่าง ๆ เพื่อ

ตามความเหมาะสม ซึ่ ง สํ า นั ก กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ แ ละ

พัฒนาการทํางานอีกด้วย รวมทัง้ การประชุมกรรมการอิสระ 1 ครัง้

เลขานุ ก ารบริ ษั ท จะส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ระเบี ย บวาระการ

ในหัวข้อวาระเรื่อง “การกําหนดเป้าหมายการปฏิบัติหน้าที่ของ

ประชุมที่มีรายละเอียดและเหตุผลครบถ้วน และเอกสารประกอบ

กรรมการเป็นตัวชี้วัดผลการดําเนินงาน (KPI)” ซึ่งทําให้กรรมการ

การประชุ ม ที่ มี เ นื้ อ หาที่ จํ า เป็ น และเพี ย งพอในการตั ด สิ น ใจ

อิสระได้หารือกําหนดมาตรฐานการทํางาน รวมถึงการปรับปรุง

ให้กรรมการแต่ละท่านล่วงหน้าก่อนการประชุมประมาณ 7 วัน

นโยบายหรื อ แนวปฏิ บั ติ ข องการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ทั้ ง นี้

เพื่อให้กรรมการมีเวลาเพียงพอในการศึกษาก่อนการประชุม

ในการประชุมทุกครั้ง ประธานฯ จะเปิดโอกาสให้กรรมการเสนอ

ตั้งแต่ปี 2547 จนถึงปัจจุบัน การประชุมคณะกรรมการ

ความคิดเห็นอย่างเปิดเผยและมีอิสระเสรี

ปตท. ได้จัดในรูปแบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ มีการส่งระเบียบ

นอกจากนี้ ในปี 2558 คณะกรรมการยังกําหนดให้จัดทํา

วาระการประชุ ม ในรู ป แบบแผ่ น CD และตั้ ง แต่ ปี 2556 ได้ มี

วาระสืบเนือ ่ ง โดยเป็นการรายงานความคืบหน้าของการดําเนินการ

การพัฒนาผ่านระบบ Application Software ของอุปกรณ์ iPad

ตามวาระทีม ่ านําเสนอคณะกรรมการ และติดตามการดําเนินการ

ซึ่งช่วยอํานวยความสะดวกและลดการใช้เอกสารประกอบวาระ

ตามข้อสังเกต/ ข้อคิดเห็นของที่ประชุม รวมถึงเป็นการติดตาม

การประชุ ม ได้ เ ป็ น จํ า นวนมาก รวมถึ ง สามารถลดขั้ น ตอนและ

ดูแลให้มีการนํากลยุทธ์ของบริษท ั ไปปฏิบต ั ิ โดยให้จด ั ทําเป็นวาระ

ระยะเวลาในการจั ด ส่ ง ระเบี ย บวาระการประชุ ม ได้ เ ป็ น อย่ า งดี

รายงานในที่ประชุมทุกเดือนด้วย

นอกจากนี้ ช่วยให้การทํางานของกรรมการเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กํ า ห น ด เ ป็ น น โ ย บ า ย ว่ า ใ น ว า ร ะ ใ ด หากกรรมการเข้าข่ายมีผลประโยชน์ทีอ ่ าจขัดแย้งกับผลประโยชน์

ปี 2558 มีการประชุมรวม 16 ครั้ง เป็นการประชุมนัดปกติ

ของ ปตท. ฝ่ า ยเลขานุ ก ารฯ จะไม่ จั ด ส่ ง วาระการประชุ ม ให้

12 ครั้ง และการประชุมนัดพิเศษ 4 ครั้ง โดยหนึ่งในการประชุม

กรรมการท่านนั้น และกรรมการดังกล่าวจะไม่เข้าร่วมประชุมและ

ั ว ิ ส ิ ย ั ทัศน์และภารกิจ นัดพิเศษเป็นวาระการกําหนด/ ทบทวน/ อนุมต

้ ๆ การบันทึกรายงานการประชุมแต่ละวาระ งดออกเสียงในวาระนัน

ทิศทางและกลยุทธ์การดําเนินธุรกิจ กลุ่ม ปตท. (5 ปี rolling)

สําหรับการจัดทํารายงานการประชุมจะประกอบด้วยข้อคิดเห็น/

ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจําทุกปี โดยในปี 2558 ที่ผ่านมา คณะกรรมการ

ข้อสังเกต เป็นลายลักษณ์อักษร และจัดเก็บรายงานการประชุม

และผู้ บ ริ ห ารได้ มี ส่ ว นร่ ว มในการพิ จ ารณาทบทวนวิ สั ย ทั ศ น์

ที่ผ่านการรับรองแล้วจากคณะกรรมการ ปตท. เพื่อให้กรรมการ

และภารกิจ และอนุมัติทิศทางและกลยุทธ์การดําเนินธุรกิจของ

และผูเ้ กีย ่ วข้องตรวจสอบได้ ทัง้ นี้ การประชุมคณะกรรมการ ปตท.

่ ใช้เป็นกรอบและแนวทางให้หน่วยธุรกิจ บริษท ั ย่อย กลุม ่ ปตท. เพือ

แต่ละครั้งใช้เวลาประชุมประมาณ 3 ชั่วโมง โดยสรุปการประชุม

บริษัทร่วมใช้ในการจัดทําแผนวิสาหกิจและงบประมาณประจําปี

ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้


โครงสร้างการจัดการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

125

1.

นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

12/2558

10/2558 นัดพิเศษ 4/2558 11/2558

9/2558

7/2558 นัดพิเศษ 3/2558 8/2558

6/2558

5/2558

4/2558

รายชื่อกรรมการ

1/2558 นัดพิเศษ 1/2558 2/2558 นัดพิเศษ 2/2558 3/2558

สรุปการเขาประชุมในป 2558 ของคณะกรรมการบริษัท/ คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง 5 คณะ

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

2. นายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

3.

นายวัชรกิติ วัชโรทัย

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

4. นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม

X

/

/

/

/

/

X

/

/

/

/

X

/

X

X

/

5.

พล.อ. ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

X

/

/

/

X

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

6. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

7.

/

X

/

X

X

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

8. นายวิชัย อัศรัสกร

/

/

/

/

/

/

/

X

/

/

/

/

/

X

/

/

9.

พล.อ.ท. บุญสืบ ประสิทธิ์

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

X นายรังสรรค์ ศรีวรศาสตร์

/

X

/

/

/

/

/

/

X

/

/

/

นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

10.

นายสมชัย สัจจพงษ์

11.

นายดอน วสันตพฤกษ์

12.

นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

13. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

แต่งตั้งมีผลวันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 เป็นต้นไป

/

/

/

/

/

แต่งตั้งมีผลวันที่ 22 เมษายน 2558 เป็นต้นไป

/

/

/

/

/

X นายคุรุจิต นาครทรรพ

/

X

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

X

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

ลาออกมีผลตั้งแต่วันที่ 13 มกราคม 2558 เป็นต้นไป

X นายทวารัฐ สูตะบุตร

/

แต่งตั้งมีผลวันที่ 22 เมษายน 2558 เป็นต้นไป

14. นายชวลิต พิชาลัย X นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร

ลาออกมีผลตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2558 เป็นต้นไป

/

/

/

/

/

แต่งตั้งมีผลวันที่ 18 สิงหาคม 2558 เป็นต้นไป

/

/

15. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

/

/

/

/

/

/

ลาออกมีผลตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2558 เป็นต้นไป

/

/

/

/

แต่งตั้งมีผลวันที่ 10 กันยายน 2558 เป็นต้นไป

/

/

/

/

ครบวาระตามสัญญาจ้าง

/

/

/

/

/

รวมกรรมการที่เข้าประชุม

11

11

13

12

11

15

14

14

14

15

15

14

14

13

12

15

จํานวนกรรมการทั้งหมด

13

13

13

13

13

15

15

15

15

15

15

15

14

15

15

15


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

126 สรุปการเขาประชุมในป 2558 ของคณะกรรมการบริษัท/ คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง 5 คณะ การประชุมคณะกรรมการในป 2558 รายชื่อกรรมการ

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริหาร สรรหา กําหนด ปตท. ตรวจสอบ กํากับดูแล ความเสี่ยง รวม 5 ครั้ง คาตอบแทน รวม 16 ครั้ง รวม 17 ครั้ง กิจการที่ดี องคกร รวม 1 ครั้ง รวม 4 ครั้ง รวม 4 ครั้ง

การดํารงตําแหนง กรรมการระหวางป

1. นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

16/16

2. นายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์

16/16

3. นายวัชรกิติ วัชโรทัย

16/16

4. นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม

11/16

5. พล.อ. ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

14/16

6. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

16/16

7. นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

13/16

15/17

-

8. นายวิชัย อัศรัสกร

14/16

15/17

-

9. พล.อ.ท. บุญสืบ ประสิทธิ์

16/16

10. นายสมชัย สัจจพงษ์

17/17

3/3

5/5

1/1

-

4/4

1/1

1/1

4/4

5/5

-

-

2/3

1 พฤศจิกายน 2558 (แทนนายรังสรรค์ ศรีวรศาสตร์)

11. นายดอน วสันตพฤกษ์

16/16

4/4

-

12. นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

10/11

1/1

22 เมษายน 2558 (แทนนายมนตรี โสตางกูร)

13. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 14. นายชวลิต พิชาลัย

16/16

4/4

6/6

2/2

18 สิงหาคม 2558 (แทนนายทวารัฐ สูตะบุตร)

15. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

5/5

10 กันยายน 2558 (แทนนายไพรินทร์ ชูโชติถาวร)


โครงสร้างการจัดการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

127 สรุปการเขาประชุมของคณะกรรมการครบวาระ/ ลาออก ระหวางป 2558 (รวม 4 ทาน) การประชุมคณะกรรมการในป 2558 รายชื่อกรรมการ

1. นายคุรุจิต นาครทรรพ

0/0

2. นายทวารัฐ สูตะบุตร

5/5

3. นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร

การดํารงตําแหนง กรรมการระหวางป

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริหาร สรรหา กําหนด ปตท. ตรวจสอบ กํากับดูแล ความเสี่ยง รวม 5 ครั้ง คาตอบแทน รวม 16 ครั้ง รวม 17 ครั้ง กิจการที่ดี องคกร รวม 1 ครั้ง รวม 4 ครั้ง รวม 4 ครั้ง

ลาออกวันที่ 13 มกราคม 2558 0/1

11/11

3/3

ลาออกวันที่ 1 สิงหาคม 2558 พ้นจากตําแหน่งเนื่องจาก ครบวาระตามสัญญาจ้าง มีผลวันที่ 10 กันยายน 2558

4. นายรังสรรค์ ศรีวรศาสตร์

10/12

1/1

ลาออกวันที่ 1 ตุลาคม 2558

หมายเหตุ: ในปี 2558 มีการประชุม คณะกรรมการ ปตท. รวม 16 ครั้ง เป็นการประชุมตามปกติ 12 ครั้ง และประชุมนัดพิเศษ 4 ครั้ง * สาเหตุส่วนใหญ่ที่กรรมการไม่สามารถเข้าร่วมประชุม เนื่องจากติดไปต่างประเทศและติดราชการ โดยกรรมการจะแจ้งการลาล่วงหน้า และส่ง หนังสือลาประชุมให้กับประธานกรรมการ

ผูบริหาร รายชื่อผูบริหาร ณ ปจจุบัน (1 กุมภาพันธ 2559) (โครงสร้างการจัดการบริษท ั ปตท. จํากัด (มหาชน) (organization chart) ได้รายงานในหัวข้อ “ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ” แล้ว)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

1. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช1/

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

2. นายปิติพันธ์ เทพปฏิมากรณ์2/

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ

3. นายสรัญ รังคสิริ

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย

4. นายชวลิต พันธ์ทอง3/

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานและบริหารความยั่งยืน

5. นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน

6. นายกฤษณ์ อิ่มแสง4/

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ทรัพยากรบุคคลและศักยภาพองค์กร

7. นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์5/

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลยุทธ์องค์กร

8. นายนพดล ปิ่นสุภา6/

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ

9. นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์7/

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่หน่วยธุรกิจน้ํามัน

10. นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร8/

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย

11. นางบุบผา อมรเกียรติขจร

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

128 ชื่อ-นามสกุล 12. นายสมพร ว่องวุฒิพรชัย9/

ตําแหนง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

13. นายอธิคม เติบศิริ

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)

14. นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)

15. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน)

16. นายสัมฤทธิ์ สําเนียง10/

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงินองค์กร

17. นางนิธิมา เทพวนังกูร

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่บัญชีองค์กร

หมายเหตุ: รายชื่อ 1 - 5 คือผู้บริหารของบริษัท ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. 1/ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2558 แทนนายไพรินทร์ ชูโชติถาวร ซึ่งครบกําหนดตามสัญญาจ้างกรรมการผู้จัดการใหญ่ 2/ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 แทนนายณัฐชาติ จารุจินดา ซึ่งเกษียณอายุ 3/ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 แทนนายสุรงค์ บูลกุล ซึ่งเกษียณอายุ 4/ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 แทนนายปิติพันธ์ เทพปฏิมากรณ์ ซึ่งเดิมดํารงตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและ ก๊าซธรรมชาติและรักษาการแทนรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ทรัพยากรบุคคลและศักยภาพองค์กร 5/ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 แทนนายชาญศิลป์ ตรีนุชกร ซึ่งไปดํารงตําแหน่งรองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย 6/ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 แทนนายชาครีย์ บูรณกานนท์ ซึ่งเกษียณอายุ 7/ แต่งตัง้ เมือ ่ วันที่ 1 ตุลาคม 2558 แทนนายชวลิต พันธ์ทอง ซึง่ ไปดํารงตําแหน่งประธานเจ้าหน้าทีป ่ ฏิบต ั ก ิ ารกลุม ่ ธุรกิจโครงสร้างพืน ้ ฐานและบริหารความยัง่ ยืน 8/ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 แทนนายสรากร กุลธรรม ซึ่งเกษียณอายุ 9/ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2558 แทนนายเทวินทร์ วงศ์วานิช ซึ่งไปดํารงตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ 10/ แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2559 แทนนางสาวพรรณนลิน มหาวงศ์ธิกุล ซึ่งไปปฏิบัติงาน Secondment ในบริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

อํานาจหนาที่ของประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ (กรรมการผูจัดการใหญ)

• ดําเนินกิจการ และ/หรือบริหารงานประจําวันของบริษท ั • บ ร ร จุ แ ต่ ง ตั้ ง ถ อ ด ถ อ น โ ย ก ย้ า ย เ ลื่ อ น ล ด ตัดเงินเดือน หรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัย พนักงานและลูกจ้าง ตลอดจนให้พนักงานและลูกจ้างออกจากตําแหน่งตามระเบียบ

ตามข้อบังคับของบริษัท กรรมการผู้จัดการใหญ่มีอํานาจ

ที่คณะกรรมการกําหนด

และหน้ า ที่ เ กี่ ย วกั บ การบริ ห ารบริ ษั ท ตามที่ ค ณะกรรมการ

• ดําเนินการให้มก ี ารจัดทําและส่งมอบนโยบายทางธุรกิจ

มอบหมาย และจะต้องบริหารบริษท ั ตามแผนงานหรืองบประมาณ

ของบริ ษั ท รวมถึ ง แผนงานและงบประมาณต่ อ คณะกรรมการ

ที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการอย่างเคร่งครัด ซื่อสัตย์ สุจริต

เพื่อขออนุมัติ และมีหน้าที่รายงานความก้าวหน้าตามแผนและ

และระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้นอย่างดี

งบประมาณที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ ดั ง กล่ า วต่ อ คณะกรรมการในทุ ก ๆ

ที่ สุ ด อํ า นาจหน้ า ที่ ข องกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ใ ห้ ร วมถึ ง เรื่ อ ง

3 เดือน

หรือกิจการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ด้วย

• ดํ า เนิ น การหรื อ ปฏิ บั ติ ง านให้ เ ป็ น ไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ


โครงสร้างการจัดการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

129 คณะกรรมการ ปตท. ได้มอบอํานาจในการบริหารจัดการ

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หรือผู้ดํารงตําแหน่งเทียบเท่าขึ้นไป

บริษท ั ให้กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ โดยมีหลักการและขอบเขตอํานาจ

จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทก่อน และ

ดังต่อไปนี้

ให้มีอํานาจกําหนดเงื่อนไขในการทํางานของพนักงานและลูกจ้าง

• เป็ น ผู้ มี อํ า นาจในการบริ ห ารกิ จ การของบริ ษั ท ตาม

และออกระเบียบว่าด้วยการปฏิบัติงานของบริษัท โดยไม่ขัดหรือ

วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ นโยบาย ระเบียบ ข้อกําหนด คําสั่งและมติ

แย้ ง กั บ ระเบี ย บ ข้ อ กํ า หนด หรื อ คํ า สั่ ง ที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท

ที่ประชุมคณะกรรมการ และ/หรือมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท

กําหนด • ให้มอ ี า ํ นาจในการมอบอํานาจช่วง และ/หรือมอบหมาย

ทุกประการ • เป็ น ผู้ มี อํ า นาจในการบั ง คั บ บั ญ ชา ติ ด ต่ อ สั่ ง การ

ให้บุคคลอื่นปฏิบัติงานเฉพาะอย่างแทนได้ โดยการมอบอํานาจ

ดํ า เนิ น การ ตลอดจนเข้ า ลงนามในนิ ติ ก รรม สั ญ ญา เอกสาร

ช่ ว ง และ/หรื อ การมอบหมายดั ง กล่ า วให้ อ ยู่ ภ ายใต้ ข อบเขต

ิ ต่อกับหน่วยงานราชการ คําสัง่ หนังสือแจ้งหรือหนังสือใด ๆ ทีใ่ ช้ตด

แห่งการมอบอํานาจตามหนังสือมอบอํานาจดังกล่าว และ/หรือ

รัฐวิสาหกิจ และบุคคลอื่น ตลอดจนให้มีอํานาจกระทําการใด ๆ

ให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อกําหนด หรือคําสั่งที่คณะกรรมการของ

ที่จําเป็นและสมควร เพื่อให้การดําเนินการข้างต้นสําเร็จลุล่วงไป

บริษัท และ/หรือบริษัทกําหนดไว้

• เป็นผูม ้ ีอา ํ นาจในการบังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้าง

ทั้งนี้ การใช้อํานาจของกรรมการผู้จัดการใหญ่ดังกล่าว

ทุ ก ตํ า แหน่ ง รวมถึ ง การบรรจุ แต่ ง ตั้ ง ถอดถอน เลื่ อ น ลด

ข้างต้นไม่สามารถกระทําได้ หากกรรมการผู้จัดการใหญ่มีส่วนได้

ตัดเงินเดือนหรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัย ตลอดจนให้ออกจาก

ส่ ว นเสี ย หรื อ อาจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ใ นลั ก ษณะ

ตํ า แหน่ ง ตามระเบี ย บ ข้ อ กํ า หนดหรื อ คํ า สั่ ง ที่ ค ณะกรรมการ

ใด ๆ กั บ บริ ษั ท ในการใช้ อํ า นาจดั ง กล่ า ว โดยในปี 2558 ไม่ มี

ของบริ ษั ท กํ า หนด แต่ ถ้ า เป็ น พนั ก งานหรื อ ลู ก จ้ า งชั้ น ที่ ป รึ ก ษา

การดําเนินการใด ๆ ที่นอกเหนือขอบเขตอํานาจดังกล่าว

คณะกรรมการจัดการของ ปตท. ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2544 ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการของ ปตท. (PTT Management Committee: PTTMC) เพื่อทํา หน้าที่บริหารจัดการ ปตท. ทั้งนี้ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 ประกอบด้วยผู้บริหาร 11 ตําแหน่ง ดังนี้

ชื่อตําแหนง

ตําแหนง

1. ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

ประธานกรรมการ

2. ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ

กรรมการ

3. ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย

กรรมการ

4. ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานและบริหารความยั่งยืน

กรรมการ

5. ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน

กรรมการ

6. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ทรัพยากรบุคคลและศักยภาพองค์กร

กรรมการ

7. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ

กรรมการ

8. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่หน่วยธุรกิจน้ํามัน

กรรมการ

9. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย

กรรมการ

10. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

กรรมการ

11. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลยุทธ์องค์กร

กรรมการและเลขานุการ

โดยมีผู้จัดการฝ่ายสํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัท เป็นผู้ช่วยเลขานุการ คณะกรรมการจัดการฯ มีกําหนดการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง โดยในปี 2558 มีการประชุมรวม 34 ครั้ง (นัดปกติ 32 ครั้ง และนัดพิเศษ 2 ครั้ง)


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

130 หนาทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการจัดการ ของ ปตท.

• การพิจารณา กลั่นกรอง กําหนดนโยบายและหลักการ การกํากับดูแลแบบ กลุ่ม ปตท. (PTT Way of Conduct) รวมทั้ง ผลักดันให้เกิดผลในทางปฏิบัติตามแนวทางที่กําหนดไว้

ให้ คํ า ปรึ ก ษาและข้ อ เสนอแนะต่ อ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหารและกรรมการผู้จั ดการใหญ่ ในการตั ดสินใจในประเด็น ที่ สํ า คั ญ ต่ อ กลยุ ท ธ์ ทิ ศ ทางการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ แผนการดํ า เนิ น งานในระยะยาว ผลการดําเนินงาน แผนการลงทุน งบประมาณ การจั ด สรรทรั พ ยากรให้ กั บ ปตท. และบริ ษั ท ที่ ปตท. ถื อ หุ้ น รวมทั้งบริหารจัดการให้เกิดระบบการทํางานของบริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ให้รวมถึงการให้คําปรึกษา ข้ อ เสนอแนะ ผลั ก ดั น และส่ ง เสริ ม การดํ า เนิ น งานในเรื่ อ ง ดังต่อไปนี้ • การกําหนดวิสัยทัศน์และภารกิจหลักของ กลุ่ม ปตท.

• การจั ด ลํ า ดั บ ความสํ า คั ญ ในการจั ด สรรทรั พ ยากร บุคคลและการเงินให้แก่ ปตท. และบริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น • การหาข้อยุติร่วมในประเด็นข้อขัดแย้งที่สําคัญระหว่าง กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย • การติดตามความคืบหน้าและผลการดําเนินงานของ กลุ่ม ปตท. เทียบกับเป้าหมายที่กําหนด (PA & KPIs) • ก า ร พิ จ า ร ณ า ก ลั่ น ก ร อ ง ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง ในการดําเนินธุรกิจของ กลุ่ม ปตท. • การกลั่ น กรองระเบี ย บวาระการประชุ ม ก่ อ นนํ า เสนอ คณะกรรมการ ปตท.

• การกํ า หนดทิ ศ ทางกลยุ ท ธ์ อ งค์ ก ร และเป้ า หมาย

• การจั ด ลํ า ดั บ ความสํ า คั ญ ของผลการตั ด สิ น ใจของ

การดํ า เนิ น ธุร กิ จ ของ กลุ่ ม ปตท. ตลอดจนผลการดํา เนิ น งาน

คณะกรรมการ ปตท. เพือ ่ นําไปสูก ่ ารดําเนินการอย่างมีประสิทธิผล

ของกลุ่มธุรกิจและ กลุ่ม ปตท. โดยรวม • การพิ จ ารณากลั่ น กรองถึ ง โครงสร้ า งการจั ด สรร งบประมาณและทรั พ ยากร เพื่ อ การลงทุ น และการสนั บ สนุ น การดําเนินธุรกิจของ ปตท. และ กลุม ่ ปตท. (PTT Group’s Capital

• การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ และ/หรือ คณะทํางาน เพื่อช่วยปฏิบัติงานของคณะกรรมการฯ • ปฏิ บั ติ ง านอื่ น ตามที่ ป ระธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่มอบหมาย

Allocation Structure) • การพิจารณากลั่นกรองการบริหารการลงทุนของ ปตท. และ กลุ่ม ปตท. (PTT Group’s Portfolio Management) • การพิจารณากลัน ่ กรอง และติดตามการขยายการลงทุน ในต่างประเทศของ กลุ่ม ปตท. • การกํ า หนดนโยบาย/ การตั ด สิ น ใจด้ า นการบริ ห าร ทรั พ ยากรบุ ค คล การเตรี ย มความพร้ อ มและพั ฒ นาผู้ บ ริ ห าร ของ กลุ่ ม ปตท. ตั้ ง แต่ ร ะดั บ 10 ขึ้ น ไป ให้ เ ป็ น ระบบและ มีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับภารกิจของ กลุ่ม ปตท. ในอนาคต (Leadership Affliliation & Alignment Program) • การพิ จ ารณากลั่ น กรองและให้ ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ มาตรฐาน/ การสร้างกลไกการบริหารจัดการ ระบบทรัพยากรบุคคล ระบบข้อมูล รวมทั้งโครงสร้างองค์กรใน ปตท. และ กลุ่ม ปตท. เพื่อก้าวไปสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน

นอกจากคณะกรรมการจั ด การของ ปตท. ตามข้ า งต้ น เพื่อให้การบริหารจัดการ กลุ่ม ปตท. เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถผลักดันกลยุทธ์ และการดํ าเนินธุรกิจภายในกลุ่ม ให้ บ รรลุ ผ ลตามเป้ า หมายได้ ปตท. ได้ มี จั ด แบ่ ง กลุ่ ม ของ คณะกรรมการเป็น 3 ประเภทหลัก ประกอบด้วย

1. คณะกรรมการผลักดันกลยุทธองคกร (Strategy Committees) ประกอบด้วย 1.1 คณะกรรมการจัดการ กลุ่ม ปตท. (PTT Group Management Committee: PTTGMC) 1.2 คณะกรรมการจัดการของ ปตท. (PTT Management Committee: PTTMC) (ที่กล่าวข้างต้น)


โครงสร้างการจัดการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

131 2. คณะกรรมการประสานและตัดสินใจระหวางธุรกิจ (Coordination Committees) ประกอบด้วย 2.1 คณะกรรมการบริหารความร่วมมือของกลุม ่ ธุรกิจ ปิโตรเลียมขัน ้ ต้นและก๊าซธรรมชาติ (Upstream & Gas Business Group Alignment & Coordination Management Committee: UAC) 2.2 คณะกรรมการบริหารความร่วมมือของกลุม ่ ธุรกิจ

3. คณะกรรมการบริหารองคกร (Support Committees) ประกอบด้วย 3.1 คณะกรรมการแผนวิสาหกิจ (Corporate Plan Committee: CPC) 3.2 คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งและควบคุ ม ภายใน (Risk Management and Internal Control Committee: RMCC)

ปิ โ ตรเลี ย มขั้ น ปลาย (Downstream Business

3.3 คณะกรรมการบริ ห ารความร่ ว มมื อ ของกลุ่ ม

Group Alignment & Coordination Committee:

ทรั พ ยากรบุค คล (Human Resources Group

DAC)

Alignment & Coordination Management

2.3 คณะกรรมการบริหารความร่วมมือของกลุม ่ ธุรกิจ

Committee: HRAC)

โครงสร้ า งพื้ น ฐาน (Infrastructure Business

3.4 คณะกรรมการบริ ห ารความร่ ว มมื อ ของกลุ่ ม

Group Alignment & Coordination Committee:

การเงิ น และบั ญ ชี (Finance & Accounting

IAC) 2.4 คณะกรรมการบริ ห ารความร่ ว มมื อ เทคโนโลยี กลุ่ม ปตท. (Technology Alignment Committee: TAC)

Group Alignment & Coordination Management Committee: FAAC) 3.5 คณะกรรมการจัดการความรู้ กลุ่ม ปตท. (PTT Group KM Committee)

2.5 คณะกรรมการบริ ห ารความร่ ว มมื อ การดํ า เนิ น

3.6 คณะกรรมการบริหารจัดการด้านการตรวจสอบ

ธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น กลุ่ ม ปตท. (Sustainability

ภายใน กลุ่ม ปตท. (PTT Group Internal Audit

Alignment Committee: SAC)

Management Committee)

2.6 คณะกรรมการแผนกลยุทธ์ธุรกิจก๊าซธรรมชาติ (Gas Business Strategic Alignment Committee: GBSC) 2.7 คณะกรรมการแผนกลยุ ท ธ์ ธุ ร กิ จ น้ํ า มั น (Oil Business Strategic Alignment Committee: OBSC)

3.7 คณะกรรมการนโยบายเทคโนโลยี ส ารสนเทศ กลุ่ม ปตท. (PTT Group ICT Committee) 3.8 คณะกรรมการนโยบายและการจัดหาเชิงกลยุทธ์ ระหว่างบริษัทใน กลุ่ม ปตท. (PTT Group Policy & Strategic Sourcing Committee) 3.9 คณะกรรมการนโยบาย คุ ณ ภาพ ความมั่ น คง

2.8 คณะกรรมการแผนกลยุ ท ธ์ ธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเคมี แ ละ

ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม

การกลั่น (Petrochemicals & Refining Business

กลุม ่ ปตท. (PTT Group Quality, Security, Safety,

Strategic Alignment Committee: PRSC)

Health, and Environment Management

2.9 คณะกรรมการแผนกลยุทธ์ธุรกิจการค้าระหว่าง ประเทศ (Trading Business Strategic Alignment Committee: TBSC)

Committee: QSHEGMC) 3.10 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี กลุ่ม ปตท. (PTT Group Corporate Governance Committee)


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

132 เลขานุการบริษัท เพื่อให้เป็นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียนในหมวดความรับผิดชอบของคณะกรรมการ และตาม ข้อกําหนดของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการ ปตท. จึงได้แต่งตั้งเลขานุการบริษัทขึ้น โดยมีภาระ หน้ า ที่ ใ นการให้ คํ า แนะนํ า ด้ า นกฎหมายและกฎเกณฑ์ ต่ า ง ๆ ที่ ค ณะกรรมการต้ อ งทราบและปฏิ บั ติ การจั ด การประชุ ม รวมทั้ ง ดูแลกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะกรรมการ เพื่อให้กรรมการสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และก่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ ปตท. รวมทั้งการจัดทําและเก็บรักษาเอกสาร อาทิ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจําปีของบริษท ั หนังสือนัดประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ รายงานการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ และเก็บรักษา รายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร โดยคณะกรรมการฯ ได้ แ ต่ ง ตั้ ง เลขานุ ก ารบริ ษั ท ตั้ ง แต่ ปี 2551 มาเป็ น ลํ า ดั บ จนถึ ง ปั จ จุ บั น ได้ แ ต่ ง ตั้ ง นางวั น ทนี ย์ จารึ ก ซึ่งดํารงตําแหน่งผู้จัดการฝ่ายสํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัท และปฏิบัติหน้าที่เป็นเลขานุการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2556 เป็นต้นมา

ประวัติเลขานุการบริษัท ประวัติการศึกษา • ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาเยอรมัน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (Master of Business Administration) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประวัติการอบรมดานเลขานุการบริษัท • สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร Company Secretary Program (CSP 2/2002), Effective Minute Taking (EMT 1/2006), Board Reporting Program (BRP 9/2012), Company Reporting Program (CRP 4/2012) • หลักสูตร TLCA: Executive Development Program (EDP 7) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • หลักสูตร Company Secretaries, Trueeventus ประเทศฟิลิปปินส์ (2013) • หลักสูตร Leadership Development Program ของสถาบัน Centre for Creative Leadership ประเทศสิงคโปร์ (2015)

นางวันทนีย จารึก เลขานุการบริษัท

ประสบการณการทํางาน 2545 - 2548

: ผู้ชํานาญการ สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่

2549 - 2556

: หัวหน้าทีม สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่

และเลขานุการบริษัท ปตท.

(ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2556 - ปัจจุบัน)

อายุ 55 ป

และเลขานุการบริษัท ปตท. 2556 - ปัจจุบัน : ผู้จัดการฝ่ายสํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการบริษัท ปตท.

สัดสวนการถือหุนบริษัท: ร้อยละ 0.000780

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของ • ไม่มี

กิจกรรมพิเศษที่สําคัญ • กรรมการชมรมเลขานุการบริษัทจดทะเบียนไทย สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

ความสัมพันธระหวางผูบริหาร • ไม่มี


โครงสร้างการจัดการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

133 คาตอบแทนของกรรมการและผูบริหาร

1.2 เบี้ย ประชุมคณะกรรมการอื่น ที่คณะกรรมการ ปตท. แต่งตั้ง ได้แก่

ปตท. ได้กา ํ หนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการทีเ่ ป็นธรรม และสมเหตุสมผล มีคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน ทําหน้าที่ ทบทวน โดยพิจารณาถึงความเหมาะสม และสอดคล้องกับภาระ

1.2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ • เ บี้ ย ก ร ร ม ก า ร ร า ย เ ดื อ น เ ดื อ น ล ะ 15,000 บาท

ความรับผิดชอบของกรรมการ สถานะทางการเงินของบริษัทและ

• เ บี้ ย ป ร ะ ชุ ม ค รั้ ง ล ะ 1 5 , 0 0 0 บ า ท

เปรี ย บเที ย บกั บ บริ ษั ท ในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ระดั บ เดี ย วกั น โดยกํ า หนด

(เฉพาะกรรมการที่ เ ข้ า ประชุ ม ) และ

ค่ า ตอบแทนเป็ น เบี้ ย ประชุ ม และโบนั ส อนึ่ ง กรรมการที่ ไ ด้ รั บ

เลขานุการฯ ได้รับเบี้ยประชุมเดือนละ

มอบหมายให้เป็นกรรมการในคณะกรรมการเฉพาะเรื่องชุดอื่น ๆ

7,500 บาท

ก็ ใ ห้ ไ ด้ รั บ ค่ า ตอบแทนเพิ่ ม ตามความรั บ ผิ ด ชอบที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ทั้ ง นี้

1.2.2 สําหรับคณะกรรมการอืน ่ คือ คณะกรรมการ

ิ ากทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ แล้ว ค่าตอบแทนกรรมการได้รบ ั การขออนุมต ั จ

สรรหา คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน

ดังนี้

คณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี

คาตอบแทนกรรมการ

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร และคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ยอื่ น ที่ อ าจมี การแต่ ง ตั้ ง โดยคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ

คาตอบแทนกรรมการ

ตามความจําเป็นและเหมาะสมในอนาคต กําหนดเบี้ยประชุมครั้งละ 24,000 บาท

ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ในการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจํ า ปี 2558 เมือ ่ วันพฤหัสบดีที่ 9 เมษายน 2558 มีมติอนุมต ั ค ิ า ่ ตอบแทน กรรมการ แยกเป็นดังนี้

1. คาเบี้ยประชุม 1.1 เบี้ยประชุมคณะกรรมการ ปตท. ประกอบด้วย

(เฉพาะกรรมการที่เข้าประชุม) 1.3 ประธานกรรมการของทุกคณะฯ ให้ได้รับสูงกว่า กรรมการ ในอัตราร้อยละ 25

เงินโบนัสคณะกรรมการ ปตท. ประจําป 2558

• เบี้ยกรรมการรายเดือน เดือนละ 30,000 บาท (เท่ากับอัตราเดิม)

กําหนดค่าตอบแทนทีเ่ ป็นเงินโบนัสให้สะท้อนและเชือ ่ มโยง

• เบีย ้ ประชุม เฉพาะกรรมการทีเ่ ข้าประชุมครัง้ ละ

กั บ ผลประกอบการหรื อ กํ า ไรสุ ท ธิ ข อง ปตท. ในอั ต ราเท่ า กั บ

50,000 บาท (เท่ า กั บ อั ต ราเดิ ม ) โดยจํ า กั ด

ร้อยละ 0.05 ของกําไรสุทธิประจําปี 2558 และให้คํานวณจ่าย

การจ่ายเบี้ยประชุม ไม่เกินปีละ 15 ครั้ง

ตามระยะเวลาการดํารงตําแหน่ง แต่กําหนดวงเงินสูงสุดไม่เกิน 3,000,000 บาทต่ อ คนต่ อ ปี (เท่ า กั บ อั ต ราเดิ ม ) และประธาน กรรมการ ปตท. ได้รับสูงกว่ากรรมการฯ ในอัตราร้อยละ 25


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

134 คาตอบแทนที่กรรมการไดรับเปนรายบุคคล ป 2558 ลําดับ

รายนาม

จํานวนวัน ม.ค. - ธ.ค. 2558

หนวย: บาท

โบนัส ป 25581/

เบี้ยประชุม กรรมการฯ (รวมเบี้ยรายเดือน)

เบี้ยประชุม กรรมการฯ เฉพาะเรื่อง

รวม คาเบี้ยประชุม

รวม คาตอบแทน

1.

นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

365

830,684.07

1,387,500.00

-

1,387,500.00

2,218,184.07

2.

นายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์2/

365

664,547.25

1,110,000.00

615,750.00

1,725,750.00

2,390,297.25

3.

นายวัชรกิติ วัชโรทัย2/

365

664,547.25

1,110,000.00

294,000.00

1,404,000.00

2,068,547.25

4.

นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม

365

664,547.25

910,000.00

-

910,000.00

1,574,547.25

5.

พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข2/

365

664,547.25

1,010,000.00

192,000.00

1,202,000.00

1,866,547.25

6.

นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ2/

365

664,547.25

1,110,000.00

192,000.00

1,302,000.00

1,966,547.25

7.

นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

365

664,547.25

960,000.00

405,000.00

1,365,000.00

2,029,547.25

8.

นายวิชัย อัศรัสกร2/

365

664,547.25

1,060,000.00

537,000.00

1,597,000.00

2,261,547.25

9.

นายสมชัย สัจจพงษ์

61

111,061.32

110,000.00

-

110,000.00

221,061.32

10.

พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์

365

664,547.25

1,110,000.00

120,000.00

1,230,000.00

1,894,547.25

11.

นายดอน วสันตพฤกษ์

365

664,547.25

1,110,000.00

96,000.00

1,206,000.00

1,870,547.25

12.

นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

254

462,452.06

699,000.00

24,000.00

723,000.00

1,185,452.06

13.

นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

365

664,547.25

1,110,000.00

96,000.00

1,206,000.00

1,870,547.25

14.

นายชวลิต พิชาลัย

136

247,612.13

383,548.39

48,000.00

431,548.39

679,160.52

15.

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช3/

113

205,736.55

311,000.00

-

311,000.00

516,736.55

8,503,018.63

13,491,048.39

2,619,750.00

16,110,798.39

24,613,817.02

รวมทั้งสิ้น หมายเหตุ: 1/ รวมโบนัสกรรมการปี 2558 ที่จ่ายงวดหลัง

2/ รวมค่าเบี้ยประชุมในการปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการสรรหาและคณะอนุกรรมการกําหนดค่าตอบแทนในกระบวนการสรรหาประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท. 3/ ค่าตอบแทนกรรมการทั้งหมดของนายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ได้ส่งคืนให้กับ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไข สัญญาจ้างบริหารในตําแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ลงวันที่ 27 สิงหาคม 2558 นอกจากนี้ ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ ได้สง่ คืนเงินค่าตอบแทนในฐานะประธานกรรมการ และหรือกรรมการ ทีไ่ ด้รบ ั ค่าตอบแทน กรรมการจากบริษัทในกลุ่มอีก 2 บริษัท ได้แก่ ค่าตอบแทนกรรมการที่ได้รับจากบริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) ช่วงระหว่าง เดือนกันยายน - ธันวาคม 2558 เป็นจํานวนเงิน 360,000 บาท และค่าตอบแทนกรรมการที่ได้รับจากบริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) ช่วงระหว่าง เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2558 เป็นจํานวนเงิน 263,226.00 บาท เรียบร้อยแล้วตามเงื่อนไขสัญญาจ้างบริหารฯ บุคคลลําดับที่ 9

นายสมชัย สัจจพงษ์ ดํารงตําแหน่งกรรมการ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2558

บุคคลลําดับที่ 12

นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ ดํารงตําแหน่งกรรมการ ตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน 2558

บุคคลลําดับที่ 14

นายชวลิต พิชาลัย ดํารงตําแหน่งกรรมการ ตั้งแต่วันที่ 18 สิงหาคม 2558

บุคคลลําดับที่ 15

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ดํารงตําแหน่งกรรมการ ตั้งแต่วันที่ 10 กันยายน 2558

ทั้ ง นี้ บริ ษั ท จั ด หารถสํ า หรั บ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ ห้ กั บ ประธานกรรมการใช้ ใ นขณะดํ า รงตํ า แหน่ ง เพื่ อ อํ า นวยความสะดวก ในการปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น


โครงสร้างการจัดการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

135 กรรมการครบวาระและลาออกระหวางป 2558 ลําดับ

จํานวนวัน ม.ค. - ธ.ค. 2558

รายนาม

1.

นายคุรุจิต นาครทรรพ

2.

หนวย: บาท

เบี้ยประชุม กรรมการฯ (รวมเบี้ยรายเดือน)

โบนัส ป 25581/

เบี้ยประชุม กรรมการฯ เฉพาะเรื่อง

รวม คาเบี้ยประชุม

รวม คาตอบแทน

12

21,848.13

11,612.90

-

11,612.90

33,461.03

นายทวารัฐ สูตะบุตร

101

183,888.42

349,000.00

-

349,000.00

532,888.42

3.

นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร

252

458,810.71

799,000.00

72,000.00

871,000.00

1,329,810.71

4.

นายรังสรรค์ ศรีวรศาสตร์2/

273

497,044.93

770,000.00

120,000.00

890,000.00

1,387,044.93

1,161,592.19

1,929,612.90

192,000.00

2,121,612.90

3,283,205.09

รวมทั้งสิ้น หมายเหตุ: 1/ รวมโบนัสกรรมการปี 2558 ที่จ่ายงวดหลัง

2/ รวมค่าเบี้ยประชุมในการปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการสรรหาและคณะอนุกรรมการกําหนดค่าตอบแทนในกระบวนการสรรหาประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท. บุคคลลําดับที่ 1 บุคคลลําดับที่ 2

นายคุรุจิต นาครทรรพ ดํารงตําแหน่งกรรมการตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 และลาออกมีผลวันที่ 13 มกราคม 2558 นายทวารัฐ สูตะบุตร ดํารงตําแหน่งกรรมการตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน 2558 และลาออกจากการเป็นกรรมการตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2558 เป็นต้นไป

บุคคลลําดับที่ 3

นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร พ้นจากตําแหน่งกรรมการเนื่องจากหมดวาระการดํารงตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ตามสัญญาจ้าง มีผลวันที่ 10 กันยายน 2558

บุคคลลําดับที่ 4

นายรังสรรค์ ศรีวรศาสตร์ ดํารงตําแหน่งกรรมการตั้งแต่วันที่ 26 กรกฎาคม 2557 และลาออกจากการเป็นกรรมการ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2558 เป็นต้นไป

สรุปเปรียบเทียบคาตอบแทนกรรมการ ป 2555 - 2558 คาตอบแทน

หนวย: บาท

ป 2555

ป 2556

ป 2557

ป 2558*

จํานวนราย จํานวนเงิน จํานวนราย จํานวนเงิน จํานวนราย จํานวนเงิน จํานวนราย จํานวนเงิน

เงินเบี้ยประชุม

14

11,316,572.58

15

16,324,759.22

14

17,632,709.70

15

18,232,411.29

โบนัสรวม

14

30,122,950.82

15

45,129,452.06

14

27,680,910.81

15

9,664,610.82

รวม

41,439,523.40

61,454,211.28

45,313,620.51

* รวมโบนัสกรรมการปี 2558 ที่จ่ายงวดหลัง

คาตอบแทนกรรมการอิสระที่ ไดรับจากการเปนกรรมการอิสระในบริษัทยอยระหวางป 2558 ไม่มี

27,897,022.11


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

136 คาตอบแทนผูบริหาร คาตอบแทนผูบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหารเป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่กรรมการ ปตท. กําหนด ซึ่งเชื่อมโยงกับผลการดําเนินงานของ ปตท. ตามระบบประเมินผลรัฐวิสาหกิจ (Performance Agreement: PA) กําหนดโดยกระทรวงการคลังซึ่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารทุกระดับร่วมกันกําหนดตัวชี้วัดและตั้งค่าเป้าหมาย (Key Performance Indicators: KPIs) ไว้แต่ละปี เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินธุรกิจและนําไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการ ผู้ จั ด การใหญ่ และผู้ บ ริ ห ารทุ ก ระดั บ โดยคณะกรรมการกํ า หนดค่ า ตอบแทนเป็ น ผู้ พิ จ ารณากํ า หนดค่ า ตอบแทนให้ ส ะท้ อ นถึ ง ผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) ตลอดจนแนวปฏิบัติและมาตรฐานของกลุ่มธุรกิจชั้นนําประเภทเดียวกัน พร้อมทั้ง นําเสนอหลักการและจํานวนค่าตอบแทนที่เหมาะสมต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาและอนุมัติ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2557 เป็นต้นมา ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารของ ปตท. ตามเกณฑ์ ข อง ก.ล.ต. เปลี่ ย นแปลง เนื่ อ งจาก ปตท. มี ก ารปรั บ โครงสร้ า งการบริ ห ารจั ด การ จึ ง มี ผ ลให้ จํ า นวนผู้ บ ริ ห ารตาม คําจํากัดความของสํานักงาน ก.ล.ต. มีจํานวน 5 ท่าน (ก่อนการปรับโครงสร้าง คือ 1 มกราคม - 30 เมษายน 2557 มีจํานวน 10 ท่าน) ซึ่งไม่รวมผู้บริหารระดับสูง ที่ไปปฏิบัติงานในบริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น และผู้บริหารระดับสูงของบริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น ที่มาปฏิบัติงาน ที่ ปตท. ได้รับค่าตอบแทนจาก ปตท. ตามรายละเอียดดังนี้

คาตอบแทนรวมของผูบริหาร ปตท. ป 2558 (แยกคาตอบแทน ปธบ./ กผญ.)

หนวย: บาท

ป 2558 ผูบริหาร (ตามเกณฑ ก.ล.ต.) คาตอบแทน

เงินเดือนรวม โบนัสรวม

รวม

รวม

จํานวนราย

จํานวนเงิน

จํานวนราย (รวมประธาน เจาหนาที่บริหาร และกรรมการ ผูจัดการใหญ)

จํานวนเงิน

24,063,596.00

4

27,622,740.00

5

51,686,336.00

8,458,219.00

4

8,700,040.00

5

17,158,259.00

ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ*

32,521,815.00

36,322,780.00

68,844,595.00

หมายเหตุ: * - ค่าตอบแทนประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ของนายไพรินทร์ ชูโชติถาวร ดํารงตําแหน่งช่วงวันที่ 1 มกราคม 2558 - 9 กันยายน 2558 และนายเทวินทร์ วงศ์วานิช ดํารงตําแหน่งช่วงวันที่ 10 กันยายน 2558 - 31 ธันวาคม 2558 - เงินเดือนประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ในส่วนของนายเทวินทร์ วงศ์วานิช รวมค่าตอบแทนที่ ปตท. จ่ายให้เนื่องจากปฏิบัติงาน เพิ่มเติม ได้แก่ การเป็นประธานกรรมการ และ/หรือกรรมการ บริษัทใน กลุ่ม ปตท. ตามที่ได้รับมอบหมาย โดยประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ได้ส่งคืนค่าตอบแทนในฐานะประธานกรรมการ และ/หรือกรรมการ ที่ได้รับจาก ปตท. บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) และ บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) ให้กับ ปตท. เรียบร้อยแล้ว ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขสัญญาจ้างบริหารฯ


โครงสร้างการจัดการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

137 คาตอบแทนรวมของผูบริหาร ปตท. ป 2555 - 2558 คาตอบแทน

หนวย: บาท

ป 2555

ป 2556

ป 2557

ป 2558

จํานวนราย จํานวนเงิน จํานวนราย จํานวนเงิน จํานวนราย จํานวนเงิน จํานวนราย จํานวนเงิน

เงินเดือนรวม

9

62,769,000.00

10

69,023,520.00

10/5

56,454,960.00

5

51,686,336.00

โบนัสรวม

9

23,993,379.77

10

30,772,449.50

10/5

34,428,132.00

5

17,158,259.00

รวม

86,762,379.77

99,795,969.50

90,883,092.00

68,844,595.00

เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับผูบริหารของ ปตท. ป 2555 - 2558 คาตอบแทน เงินสมทบกองทุน

ป 2555

หนวย: บาท

ป 2556

ป 2557

ป 2558

จํานวนราย จํานวนเงิน จํานวนราย จํานวนเงิน จํานวนราย จํานวนเงิน จํานวนราย จํานวนเงิน 9

6,276,900.00

9

6,652,851.60

9/4

4,937,228.80

4

5,086,634.00

สํารองเลี้ยงชีพ

ข้อมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการและผู้บริหารของบริษัท มีดังนี้ ไม่ปรากฏว่ามีประวัติการทําความผิดตามกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมาเกี่ยวกับ 1) การถูกพิพากษาว่ากระทําผิดทางอาญา ยกเว้นที่เป็นความผิดอันเกิดจากการฝ่าฝืนกฎจราจร ความผิดลหุโทษ หรือ ความผิดในทํานองเดียวกัน 2) การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย หรือถูกพิทักษ์ทรัพย์ 3) การเป็นผูบ ้ ริหาร หรือผูม ้ อ ี า ํ นาจควบคุมในบริษท ั หรือห้างหุน ้ ส่วนทีถ ่ ก ู พิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย หรือถูกพิทก ั ษ์ทรัพย์

พนักงาน บุคลากรของ ปตท. ทุกคน ถือเป็นทรัพยากรทีส ่ า ํ คัญทีส ่ ด ุ ในการดําเนินธุรกิจ โดยมีความเชือ ่ มัน ่ ว่า การเจริญเติบโตขององค์กร ขึน ้ อยูก ่ บ ั พนักงานทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพ ดังนัน ้ ปตท. จึงมีนโยบายมุง่ เน้นทีจ ่ ะพัฒนาและปรับปรุงระบบการบริหาร และระบบการพัฒนาบุคลากร ให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยี และเป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อที่จะเสริมสร้างและพัฒนาให้พนักงานเป็นทั้งคนดี และคนเก่ง ตลอดจนมีส่วนร่วมในการพัฒนาและช่วยเหลือสังคมโดยส่วนรวม และมุ่งเน้นให้พนักงานเป็นกลไกหลักในการพัฒนา ให้ ปตท. ก้าวไปสู่การเป็นองค์กรแห่งความความยั่งยืน (Sustainability Organization) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์กร มุ่งไปสู่การเป็นบริษัทที่สร้างความมั่นคงทางพลังงานให้แก่ประเทศชาติ

จํานวนบุคลากรและคาตอบแทนบุคลากร จํานวนพนักงาน ปตท. (รวมพนักงานที่ไปปฏิบัติงาน Secondment ในบริษัทใน กลุ่ม ปตท.) ปี 2558 เท่ากับ 4,382 คน และทั้งนี้ ปตท. ยังคงดําเนินการจัดทําแผนอัตรากําลังคนให้สอดคล้องต่อการดําเนินธุรกิจ ภายใต้ความผันผวนของสภาวะเศรษฐกิจ โดยให้ความสําคัญกับการจัดสรรทรัพยากรในจุดที่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่ม หรือมีความจําเป็นต่อเนื่องจากการลงทุน นอกจากนั้น ยังได้ จั ด ทํ า แผนและดํ า เนิ น การพั ฒ นาศั ก ยภาพพนั ก งานอย่ า งจริ ง จั ง ในทุ ก ระดั บ ตลอดจนปรั บ ขั้ น ตอนการทํ า งานให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มากยิ่งขึ้น


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

138 จํานวนบุคลากรแบ่งตามกลุ่มธุรกิจ ปี 2555 - 2558 มีรายละเอียดดังนี้

กลุมธุรกิจ

ป 2555 ปตท.

หนวย: คน

ป 2556

กลุม ปตท.

ปตท.

ป 2557

กลุม ปตท.

ปตท.

ป 2558

กลุม ปตท.

ปตท.

กลุม ปตท.

1. ก๊าซธรรมชาติ

1,367

-

1,424

-

1,323

-

1,289

-

2. นํ้ามัน

1,296

-

1,496

-

1,409

-

1,465

-

103

-

95

-

93

-

83

-

-

-

-

-

201

-

342

-

3. ปิโตรเคมีและการกลั่น 4. กลุ่มธุรกิจโครงสร้าง พื้นฐาน 5. สนับสนุน และปฏิบัติงาน ในบริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น

1,1971/

2652/

1,0981/

2822/

1,2181/

2722/

1,2031/

2782/

6. บริษัทย่อยและกิจการ ร่วมค้า

รวม

-

20,551

-

24,969

-

25,714

-

24,512

3,963

20,816

4,113

25,251

4,244

25,986

4,382

24,790

หมายเหตุ: 1/ ไม่รวมพนักงาน ปตท. ที่ไปปฏิบัติงานในบริษัทในเครือ 2/ พนักงาน ปตท. ที่ไปปฏิบัติงานในบริษัทในเครือ

ค่าตอบแทนแก่บุคลากร (ไม่รวมกรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้บริหารระดับสูง) ปี 2555 - 2558 มีรายละเอียดดังนี้

หนวย: บาท

คาตอบแทน

ป 2555

ป 2556

ป 2557

ป 2558

เงินเดือนรวม

3,311,831,273.00

3,549,202,456.00

3,729,946,652.00

4,000,980,185.00

โบนัสรวม

1,653,647,970.00

1,756,840,371.00

1,869,490,435.00

1,647,437,327.00

318,714,613.00

415,284,584.00

434,836,637.00

468,316,181.00

2,331,060,076.00

2,364,683,270.00

2,750,517,905.00

2,676,017,663.00

7,615,253,932.00

8,086,010,681.00

8,784,791,629.00

8,792,751,356.00

เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ อื่น ๆ (ถ้ามี)

รวม


โครงสร้างการจัดการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

139 คาตอบแทนอื่น ๆ

ปตท. ได้ มุ่ ง เน้ น ให้ ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานในทุ ก ระดั บ ร่ ว มกั น กํ า หนดแผนงานให้ ส อดคล้ อ งกั บ ทิ ศ ทางและเป้ า หมาย

ปตท. ได้จัดสวัสดิการและค่าตอบแทนอื่น ๆ นอกเหนือ

ขององค์กร ซึ่งจะส่งผลให้การดําเนินธุรกิจทั่วทั้งองค์กรมุ่งไปสู่

จากเงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพให้กับ

จุดหมายเดียวกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้บริหารระดับสูง

ผู้บริหารและพนักงานตามความเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ

ของ ปตท. และบริษัทในกลุ่มที่เกี่ยวข้องทั้งหมด รวมทั้งสายงาน

การดํารงชีพ ตลอดจนมาตรฐานของกลุ่มบริษัทในธุรกิจชั้นนํา

สนับสนุน มาร่วมประชุมหารือและกําหนดวิสัยทัศน์และทิศทาง

ประเภทเดียวกัน อาทิเช่น ค่าเช่าบ้าน ค่าปฏิบัติงานต่างจังหวัด

ขององค์กรร่วมกัน และถ่ายทอดทิศทางดังกล่าวไปสู่หน่วยงาน

ค่ า ล่ ว งเวลา เป็ น ต้ น โดยในปี 2556 ปตท. ได้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง

ภายในสายงานต่ า ง ๆ จากกลยุ ท ธ์ ธุ ร กิ จ เป็ น แผนธุ ร กิ จ และ

โครงสร้างเงินเดือนของ ปตท. ให้สามารถแข่งขันได้ นอกจากนั้น

แผนการใช้ ง บประมาณที่ มี ค วามสอดคล้ อ งในทิ ศ ทางเดี ย วกั น

ปตท. มี ก ลยุ ท ธ์ แ ละนโยบายในการสร้ า งแรงจู ง ใจแก่ พ นั ก งาน

พนักงาน ปตท. ทุกระดับได้กําหนดวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด (Key

ทั้ ง ในรู ป แบบของตั ว เงิ น และไม่ ใ ช่ รู ป แบบของตั ว เงิ น อาทิ เ ช่ น

Performance Indicators: KPIs) ที่ถ่ายทอดลงมาตามลําดับเป็น

นโยบายสวัสดิการทางเลือก (Flexible Benefit) เพื่อเปิดโอกาส

รายบุคคล ตั้งแต่ระดับองค์กร หน่วยงาน ลงมาจนถึงพนักงาน

ให้พนักงานได้มส ี ท ิ ธิเ์ ลือกใช้สวัสดิการทีเ่ หมาะสมกับรูปแบบการใช้

ทั้งนี้ วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดที่พนักงานกําหนดนั้น จะใช้เป็น

ชีวต ิ ของตนเอง นโยบายด้านการพัฒนาบุคลากร การตรวจสุขภาพ

กรอบการปฏิบัติงานและมาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัติงาน

ของผู้ปฏิบัติงานที่ทํางานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง และการปรับปรุง

ของพนั ก งานแต่ ล ะบุ ค คล ซึ่ ง สามารถสะท้ อ นความแตกต่ า ง

สวัสดิการค่ารักษาพยาบาล เป็นต้น

ของผลการปฏิบัติงานของพนักงานได้

ทั้ ง นี้ ปี 2557 มี ก ารปรั บ อั ต ราค่ า เล่ า เรี ย นบุ ต รใหม่

ปตท. ได้ นํ า แนวทางในการบริ ห ารสายอาชี พ (Career

ตามประกาศกรมบั ญ ชี ก ลาง สํ า หรั บ ค่ า เบี้ ย ประกั น ชี วิ ต เฉลี่ ย

Management) มาใช้เพื่อเตรียมความพร้อมและส่งเสริมพนักงาน

2,832.29 บาทต่อคนต่อปี และค่ารักษาพยาบาลที่ ปตท. จ่ายเป็น

ทุกระดับให้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ให้เป็นไปตาม

สวัสดิการให้พนักงานและครอบครัวทั้งระบบสวัสดิการที่ ปตท.

รูปแบบ (Model) ที่องค์กรกําหนดขึ้น เพื่อรองรับภารกิจและสร้าง

บริหารและระบบประกันสุขภาพ เฉลีย ่ 98,561.31 บาทต่อคนต่อปี

คุณค่าให้แก่องค์กรอย่างต่อเนื่อง โดยใช้เป็นกรอบและแนวทาง

ปี 2558 มีการปรับสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล โดยเพิ่ม

หลักของการบริหารและพัฒนาพนักงานในทุกระดับ การกําหนด

วงเงินค่าคลอดบุตร สําหรับระบบประกันสุขภาพ และปรับเพิ่ม

สายอาชีพของ ปตท. ขึ้นอยู่กับทิศทางการดําเนินธุรกิจที่มุ่งสร้าง

อัตราค่าเครื่องอัดอากาศขณะหายใจเข้า (Continuous Positive

ี ความสามารถในการแข่งขัน โดยแบ่งการดําเนินงาน ให้องค์กรมีขด

Airway Pressur: CPAP) ให้แก่พนักงานและครอบครัวสําหรับ

เป็น 2 กลุม ่ คือ กลุม ่ ผูบ ้ ริหารระดับสูง และกลุม ่ พนักงาน ทีเ่ ชือ ่ มโยง

ค่าเบี้ยประกันชีวิตเฉลี่ย 2,829.90 บาทต่อคนต่อปี และค่ารักษา

กั น อย่ า งชั ด เจนและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง มี ก ระบวนการคั ด เลื อ ก

พยาบาลที่ ปตท. จ่ายเป็นสวัสดิการให้พนักงานและครอบครัว

ประเมินศักยภาพ และจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล (Individual

ทั้งระบบสวัสดิการที่ ปตท. บริหารและระบบประกันสุขภาพ เฉลี่ย

Development Plan) อย่างเป็นระบบโดย

79,325.89 บาทต่อคนต่อปี

การพัฒนาและปรับปรุงระบบทรัพยากรบุคคล

• กลุ่ ม ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง (ระดั บ เที ย บเท่ า ผู้ จั ด การฝ่ า ย ขึ้ น ไป) เป็ น การบริ ห ารจั ด การในรู ป แบบ กลุ่ ม ปตท. (Group Leader Development) เพื่อรองรับความต้องการผู้บริหารระดับ สูงทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ มีคณะผู้บริหารระดับ CEO ของ

เพื่อให้องค์กรพัฒนาไปสู่การเป็นองค์กรแห่งความยั่งยืน

กลุม ่ ปตท. เรียกว่า คณะกรรมการจัดการ กลุม ่ ปตท. (PTT Group

ปตท. ยั ง คงพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ระบบการบริ ห ารและพั ฒ นา

Management Committee: PTTGMC) มีหน้าทีแ ่ ละความรับผิดชอบ

ทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมี

ในการกํ า หนดทิ ศ ทางและนโยบายการดํ า เนิ น งานในเรื่ อ ง

วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ที่ จ ะพั ฒ นาศั ก ยภาพของบุ ค ลากรให้ ไ ด้ ใ ช้

การบริหารสายอาชีพกลุ่มผู้บริหารระดับสูง และคณะกรรมการ

ความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มที่ เพื่อนําพาให้องค์กร

บริหารความร่วมมือของกลุม ่ ทรัพยากรบุคคล (Human Resources

บรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ รวมถึ ง การมี โ อกาส

Group Alignment & Coordination Management Committee:

ก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และเติบโตไปพร้อม ๆ กับความสําเร็จ

HRAC) มีหน้าที่ให้คําปรึกษาและข้อเสนอแนะให้แก่รองกรรมการ

ขององค์กรด้วย

ผูจ ้ ด ั การใหญ่ทรัพยากรบุคคลและศักยภาพองค์กร ในการตัดสินใจ ประเด็นความร่วมมือที่สําคัญต่อกลยุทธ์และทิศทางในการกํากับ ดูแลด้านทรัพยากรบุคคลของ กลุม ่ ปตท. ให้สอดคล้องกับทิศทาง ของ กลุ่ม ปตท.


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

140 • กลุ่มพนักงาน (ระดับผู้จัดการส่วนหรือเทียบเท่าลงมา)

การฝึกอบรมทีเ่ หมาะสมตาม Success Profile รวมถึงการหมุนเวียน

เป็ น การบริ ห ารและพั ฒ นาพนั ก งานตามความจํ า เป็ น ของ

เปลี่ยนหน้าที่ความรับผิดชอบ ตาม Career Path เพื่อให้พนักงาน

การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของแต่ ล ะบริ ษั ท ในกลุ่ ม เพื่ อ รองรั บ ทิ ศ ทาง

สามารถพัฒนาทักษะ ความชํานาญ จากประสบการณ์ในตําแหน่ง

การดําเนินธุรกิจในอนาคต สําหรับ ปตท. ได้กําหนดให้จัดตั้ง

หน้าที่ใหม่ ตลอดจนการแต่งตั้ง เลื่อนระดับพนักงานให้เหมาะสม

คณะกรรมการจั ด การทรั พ ยากรบุ ค คล (Corporate Human

่ วามรับผิดชอบและศักยภาพของพนักงาน ซึง่ การพัฒนา กับหน้าทีค

Resources Committee: HRC) มี ห น้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ

พนักงานให้เหมาะสมตามความสามารถและความต้องการของ

ในการส่งเสริมผลักดันและควบคุมติดตามการดําเนินงานในเรื่อง

พนักงานและองค์กรนัน ้ นอกจากพนักงานจะมีความพร้อมสําหรับ

การบริหารสายอาชีพกลุ่มพนักงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย และ

การเติบโตเป็นผูบ ้ ริหารระดับสูงของ กลุม ่ ปตท. แล้ว ยังจะนํา ปตท.

กลุ่ ม ที่ ป รึ ก ษาประจํ า สายอาชี พ (Career Counseling Team:

ไปสู่ความสําเร็จตามเป้าหมายที่กําหนดไว้ในที่สุด

CCT) รวม 15 สายอาชีพ มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการบริหาร

นอกจากการมุ่งเน้นพัฒนาบุคลากรตามแนวทางข้างต้น

สายอาชีพกลุ่มพนักงาน ให้คําปรึกษา ชี้แนะ ควบคุมและติดตาม

แล้ว ปตท. ยังใส่ใจในเรื่องของสิ่งแวดล้อม โดยได้จัดการอบรม

การดําเนินงาน ทั้งนี้ วัตถุประสงค์ในการบริหารสายอาชีพนั้น

หลักสูตรด้านสิ่งแวดล้อมให้กับพนักงานที่ทํางานเกี่ยวข้องและ

เป็ น กลไกให้ พ นั ก งานตั้ ง เป้ า หมายและวางแผนพั ฒ นาตนเอง

ผู้สนใจ เพื่อปลูกฝังให้พนักงานมีความตระหนักถึงความสําคัญ

เพื่อความก้าวหน้าในอาชีพและสร้างคุณค่าในงานที่รับผิดชอบ

ในเรื่ อ งดั ง กล่ า ว โดยในปี 2558 ได้ มี ก ารจั ด หลั ก สู ต รอบรมฯ

ให้สอดคล้องกับเป้าหมายและทิศทางขององค์กร ทั้งในรูปแบบ

รายละเอียดดังตาราง

No.

Name of the business event

Start date

End date

Location

25/9/2015

25/9/2015

ปตท.สนญ

78

and Environment Management

2/1/2015

31/12/2015

ปตท.สนญ

103

3.

Contractor SSHE Mgt.

24/3/2015

14/9/2015

ปตท.สนญ

147

4.

ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม 1/1/2015

31/12/2015

ปตท.สนญ

515

1.

Environmental Impact Assessment (EIA)

2.

Basic Safety, Occupational Health

ในที่ทํางาน SSHE Training 1

Total

Attendess

843

ในปี 2558 ปตท. ยังคงจัดให้มีโครงการ Young People to Globalize: YP2G เป็นปีที่สาม เพื่อคัดเลือกบุคลากรที่มีความพร้อม ไปปฏิบัติงานต่างประเทศตามกลยุทธ์ของ ปตท. พนักงานดังกล่าวจะได้รับการพัฒนาและเตรียมความพร้อม โดยจะได้รับมอบหมาย ให้รับผิดชอบงานพัฒนาธุรกิจต่างประเทศ (International Business Development) หรืองานที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินธุรกิจของ ปตท. ในต่างประเทศ (International Related Business) ซึ่งจะทําให้พนักงานได้เรียนรู้และเพิ่มพูนประสบการณ์ด้าน Business Acumen จากการปฏิบัติงานจริง ในรูปแบบ On the Job Training: OJT นอกจากนี้ ในปี 2557 ปตท. ได้เพิ่มการบริหารสายอาชีพ คุณภาพ มาตรฐานและงานวิศวกรรม (Quality Assurance and Engineering Career) เพื่อรองรับกลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานของ ปตท. ปตท. ยังคงให้ความสําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถของพนักงาน (Career and Competency Management) โดยมี การจัดทําและทบทวน Success Profile รวมทั้ง Career Path ของแต่ละตําแหน่งงาน และผลักดันให้มีการประเมิน Success Profile เพื่ อ ให้ ส อดรั บ กั บ Performance Cycle ที่ พ นั ก งานต้ อ งหารื อ กั บ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชา (Two-Way) ถึ ง งานที่ ต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบตั้ ง แต่ ต้ น ปี เพื่อติดตามและประเมินผลปลายปี ตั้งการจัดทําแผนการพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) ในระบบ COACH พร้อมทั้งปรับปรุงคู่มือการใช้งานเพื่อพัฒนาพนักงานตามสายอาชีพที่กําหนด และสอดคล้องกับการดําเนินธุรกิจขององค์กร


โครงสร้างการจัดการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

141 กลุ่ม ปตท. ได้ให้ความสําคัญกับการส่งเสริมการเรียนรู้ ตอบสนองกลยุทธ์ขององค์กรทีต ่ อ ้ งการเปลีย ่ นจาก Resource-Based เป็น Knowledge-Based โดยที่ ปตท. กําลังเข้าสูส ่ งั คมอุดมปัญญา

’s Learning Triad for Sustainabiltiy 3 ประสานแหงการเรียนรู สูความยั่งยืนของ กลุม ปตท.

(Knowledge Society) ซึ่ ง ความท้ า ทายในการก้ า วสู่ ยุ ค สั ง คม

Toward Knowledge Base Organization

อุ ด มปั ญ ญา หั ว ใจสํ า คั ญ อยู่ ที่ ก ารเรี ย นรู้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพราะ เป็ น หนทางนํ า ไปสู่ ก ารอยู่ ร อดที่ แ ท้ จ ริ ง กลุ่ ม ปตท. ในฐานะ องค์กรพลังงานแห่งชาติ ซึ่งดําเนินธุรกิจบนพื้นฐานของความรู้ และนวั ต กรรม จึ ง ได้ ริ เ ริ่ ม เคลื่ อ นยุ ท ธศาสตร์ “3 ประสาน

PTT Leadership Learning Institute

New Frontier Knowledge for Thailand

TEA/ YTEA

PLLI

VISTEC/ KVIS

Breadth of Knowledge

All Round

Depth of Knowledge

STRONG

BIG

LONG

มั่นคง

มั่งคั่ง

ยั่งยืน

Energy Liteorraldcy the W

for

แห่งการเรียนรู้ สู่ความยั่งยืนของ กลุ่ม ปตท.” เน้นการสร้างองค์ความรู้และคนคุณภาพ เพื่อเป็นกําลัง สําคัญในการพัฒนาประเทศให้เติบโตอย่างมั่นคง โดยส่งเสริม และผลักดันให้เกิดหน่วยงานที่มีบทบาทในการส่งเสริมการเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร ได้แก่ การจัดตั้งสถาบันวิทยาการ พลังงาน โรงเรียนกําเนิดวิทย์ และสถาบันวิทยสิริเมธี สํ า หรั บ การเรี ย นรู้ ข องพนั ก งานภายในองค์ ก ร ได้ จั ด ตั้ ง “สถาบันพัฒนาผูน ้ า ํ และการเรียนรู้ กลุม ่ ปตท.” (PTT Leadership and Learning Institute: PLLI) เพื่อทําหน้าที่เป็นศูนย์กลาง แห่งการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของผู้นําและพนักงาน เพื่อให้

สําหรับกลุม ่ หลักสูตร Function Course นี้ PLLI ดําเนินการ

เป็นทรัพยากรบุคคลที่ทั้ง “ดีและเก่ง” มีภาวะผู้นํา มีความพร้อม

ร่ ว มกั บ กลุ่ ม Functional Academy ที่ ปตท. จั ด ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ

ในการเรี ย นรู้ ต ลอดชี วิ ต เป็ น ต้ น ทุ น ที่ มี คุ ณ ค่ า ขององค์ ก ร

พัฒนาองค์ความรู้ภายในองค์กรให้เป็นระบบ โดยส่งเสริมให้เกิด

ด้วยความเชื่อมั่นใน “พลังความรู้” และ “พลังของการพัฒนา

การแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ภายในหน่วยงานตาม

ทุนมนุษย์” เพื่อขับเคลื่อนองค์กรให้เติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน

แต่ละสายอาชีพ และส่งผ่านจากรุ่นสู่รุ่นอย่างเป็นขั้นตอน ทําให้

โดย ปตท. เปิดกว้างให้พนักงานทุกคนได้รบ ั โอกาสเรียนรูต ้ ลอดเวลา

พนั ก งานจากแต่ ล ะสายอาชี พ มี โ อกาสได้ เ รี ย นรู้ แ ละพั ฒ นา

ทั้ ง ในสายอาชี พ และนอกสายอาชี พ ซึ่ ง พนั ก งานทุ ก คนจะได้

ศั ก ยภาพตามขี ด ความสามารถของแต่ ล ะบุ ค คล ตั้ ง แต่ ร ะดั บ

เข้ารับการเรียนรู้ พัฒนา ตลอดชีวต ิ การทํางาน ผ่านกลุม ่ หลักสูตร

เริ่มต้นจนถึงระดับผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งยังเปิดโอกาสให้พนักงาน

ที่ PLLI ดําเนินการ ดังนี้

สายอาชีพอื่นเข้าร่วมเรียนรู้หัวข้อที่สนใจได้

1. หลักสูตร Leadership Acceleration Program เป็น หลักสูตรเตรียมความพร้อมและเร่งพัฒนาผูบ ้ ริหารของ กลุม ่ ปตท. 2. กลุ่มหลักสูตร Core Course สําหรับพนักงานทุกคน เป็นกลุ่มหลักสูตรหลักที่ออกแบบเชื่อมโยงกับเป้าหมาย นโยบาย

Management ตลอดจนด้าน Soft Skills ที่ช่วยเสริมพฤติกรรม ให้เป็นไปตามสมรรถนะหลัก (Core Competency) ตามความจําเป็น ของพนักงานแต่ละระดับ 3. กลุ่ ม หลั ก สู ต ร Function Course เป็ น หลั ก สู ต รของ สายอาชีพต่าง ๆ ที่มุ่งพัฒนาพนักงานภายในสายอาชีพ ตั้งแต่ ระดับแรกเริ่มจนถึงระดับผู้เชี่ยวชาญ

IB

Competency-Based ซึ่งจะช่วยพัฒนาด้าน Business/ People

G

และความรู้ ข ององค์ ก ร รวมถึ ง หลั ก สู ต รที่ อ ยู่ บ นพื้ น ฐานของ


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

142 นอกจากนี้ ปตท. ยังมุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

พนักงานอย่างต่อเนือ ่ งตัง้ แต่แรกเข้าจนถึงเกษียณอายุการทํางาน

(Learning Organization) ที่ ทํ า ธุ ร กิ จ บนฐานองค์ ค วามรู้ ผ่ า น

เพื่อเตรียมความพร้อมและสร้างขีดความสามารถตามทิศทาง

การบริ ห ารจั ด การองค์ ค วามรู้ อ ย่ า งเป็ น ระบบ (Knowledge

ขององค์กรและหน่วยงานต้องการ สร้างพนักงานให้เป็น คนเก่ง

Management) ตาม Functional Excellence ใน PTT Way ซึ่งเป็น

คนดี และมีความรับผิดชอบ ขององค์กรและสังคม

หัวข้อองค์ความรู้ที่สําคัญขององค์กร มีการประเมินประสิทธิผล

นอกเหนือจากระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลที่มุ่งเน้น

การจัดการความรู้ทั้งเชิงคุณภาพผ่าน PTT Group KM Maturity

พั ฒ นาพนั ก งาน ปตท. ให้ เ ป็ น คนเก่ ง หรื อ เป็ น ผู้ ที่ มี ศั ก ยภาพ

Assessment และเชิ ง ปริ ม าณผ่ า น KM Dashboard อี ก ทั้ ง

สามารถตอบสนองต่ อ ความคาดหวั ง ขององค์ ก รในการดํ า เนิ น

มี BRIGHT หรือ PTT Group Knowledge Center เป็นศูนย์กลาง

ธุรกิจ (High Performance Organization) ได้แล้ว ปตท. ยังให้

ทีร่ วบรวมองค์ความรูท ้ ส ี่ า ํ คัญ ผนวกกับการสนับสนุนจากผูบ ้ ริหาร

ความสําคัญต่อการพัฒนาพนักงานให้เป็นคนดี มีความรับผิดชอบ

และพนักงานทุกระดับเกิดเป็นวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

โดยมี ส่ ว นร่ ว มในการดู แ ลสั ง คม ชุ ม ชน และสิ่ ง แวดล้ อ ม

ในวิ ถี ก ารทํ า งาน ที่ ช่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานพั ฒ นาศั ก ยภาพ

(Corporate Social Responsibility) รวมทั้งยึดหลักการกํากับดูแล

ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องผ่านการเรียนรู้ และการแก้ไขปัญหา

กิจการที่ดี (Corporate Governance) เป็นกรอบให้ผู้บริหารและ

ต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ นําองค์ความรูไ้ ปพัฒนาต่อยอด

พนั ก งานถื อ ปฏิ บั ติ ทั้ ง นี้ ปตท. มี ค วามเชื่ อ มั่ น ว่ า การพั ฒ นา

เพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่เป็นเลิศและต่อยอดสู่นวัตกรรมใหม่ ๆ

พนักงานให้เป็นคนเก่ง คนดี และมีความรับผิดชอบนั้น จะช่วยให้

ซึ่งเป็นรากฐานสําคัญในการผลักดันให้ ปตท. แข่งขันได้อย่าง

องค์กรเจริญเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืนในระยะยาว

ยั่งยืน ทั้งนี้ ปตท. มีโปรแกรมอบรมและพัฒนาให้กับผู้บริหารและ

สรุปตัวเลขการพัฒนาพนักงาน หนวย: ชั่วโมงตอคนตอป

จํานวนชั่วโมงอบรมตอคนตอป

ป 2555

ป 2556

ป 2557

ป 2558

พนักงาน

60.1

63.0

35.24*

55.11

ผู้บริหาร

41.8

43.0

22.61

30.02

หนวย: บาทตอคนตอป

คาใชจายอบรมตอคนตอป พนักงานและผู้บริหาร

ป 2555

ป 2556

ป 2557

ป 2558

54,611.00

58,000.00

55,435.37

34,476.36

* ตัวเลขค่าใช้จ่ายอบรมต่อคนต่อปี ลดลงจากปี 2557 เนื่องจากนโยบายรัฐบาลที่งดการอบรมในต่างประเทศ


โครงสร้างการจัดการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

143 การสรางสัมพันธภาพที่ดีระหวางผูบริหาร และพนักงานเพื่อเปาหมายเดียวกัน

จั ด การทรั พ ยากรบุ ค คล คณะกรรมการกิ จ การสั ม พั น ธ์ ปตท. และคณะกรรมการบริหารสายอาชีพ เป็นต้น และมีการสํารวจ ความคิ ด เห็ น ของพนั ก งานโดยที่ ป รึ ก ษาผู้ เ ชี่ ย วชาญทางด้ า น

ปตท. ได้ จั ด ให้ มี รู ป แบบการสื่ อ ความระหว่ า งผู้ บ ริ ห าร

การบริหารทรัพยากรบุคคลภายนอกจํานวน 1 ครั้ง นอกจากนี้

และพนั ก งาน เพื่ อ ให้ พ นั ก งานทุ ก ระดั บ ได้ รั บ ทราบถึ ง แนวทาง

ยังมีการร่วมมือกับบริษท ั ใน กลุม ่ ปตท. เพือ ่ พัฒนาระบบฐานข้อมูล

การดําเนินงานขององค์กร อุปสรรคหรือผลกระทบทีอ ่ าจจะเกิดขึน ้

ผู้ บ ริ ห ารของกลุ่ ม และจั ด ทํ า แผนพั ฒ นาผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของ

และเปิดโอกาสให้พนักงานได้แสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วม

กลุ่ม ปตท. ร่วมกัน

ในการพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการดําเนินงานขององค์กร

การกําหนดใหมีคานิยมรวมของ กลุม ปตท. (PTT Group Core Values)

ในแต่ละปี นอกเหนือจากการประชุมคณะกรรมการกิจการสัมพันธ์ ปตท. ที่กําหนดวาระการประชุมอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง ยังมี การประชุมคณะกรรมการร่วมปรึกษาหารือ (Joint Consultation Committee: JCC) ทีก ่ า ํ หนดให้มก ี ารประชุมร่วมกันระหว่างผูบ ้ ริหาร

ค่านิยม กลุ่ม ปตท. คือ SPIRIT อันเป็นวิถีการทํางาน

และพนักงานในหน่วยงานภูมิภาคทัว ่ ประเทศ นอกจากนี้ ประธาน

ซึ่ ง หากผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก คนยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ เ ป็ น แนวทาง

เจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร/ กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ ยังได้จด ั ประชุมสือ ่ ความ

ในการดํ า รงชี วิ ต ด้ ว ยแล้ ว จะทํ า ให้ เ ป็ น คนเก่ ง คนดี และมี

กับพนักงานอย่างต่อเนือ ่ งเป็นระยะมาโดยตลอด และมีการสํารวจ

ความรั บ ผิ ด ชอบ เป็ น ที่ ย อมรั บ และเป็ น ที่ รั ก ของทุ ก คน และ

ความพึงพอใจและความผูกพันของพนักงานต่อองค์กรเป็นประจํา

จะช่วยสะท้อนภาพลักษณ์ของ กลุ่ม ปตท. ในความเป็นองค์กร

ทุ ก ปี เพื่ อ รั บ ทราบระดั บ ความพึ ง พอใจและระดั บ ความผู ก พั น

ทีน ่ า ่ เชือ ่ ถือและไว้วางใจไปสูส ่ งั คมภายนอก ชุมชน และประเทศชาติ

ในปัจจัยต่าง ๆ เพื่อหาแนวทางแก้ไขและปรับปรุง โดย ปตท.

ิ ก ี ารทํางาน อย่างเด่นชัดต่อไป เมือ ่ พนักงาน กลุม ่ ปตท. ทุกระดับมีวถ

มีความเชือ ่ มัน ่ ว่าการสือ ่ ความทีด ่ ี และการแลกเปลีย ่ นความคิดเห็น

ที่ ส อดคล้ อ งกั น ที่ น อกเหนื อ จากความเป็ น คนเก่ ง แล้ ว ยั ง มุ่ ง

ระหว่างผู้บริหารและพนักงานจะนําไปสู่สัมพันธภาพที่ดีระหว่าง

เน้ น ในความเป็ น คนดี มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบก็ จ ะช่ ว ยเสริ ม สร้ า ง

ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก ระดั บ และทํ า ให้ บ รรลุ เ ป้ า หมายของ

ความแข็งแกร่งให้กบ ั องค์กรและนําพาไปสูค ่ วามสําเร็จตามกรอบ

องค์ ก รร่ ว มกั น รวมทั้ ง ได้ ดํ า เนิ น การ สอบทานความต้ อ งการ

กลยุทธ์การเติบโตอย่างยั่งยืนของ กลุ่ม ปตท. ซึ่งค่านิยม SPIRIT

พื้ น ฐานด้ า นทรั พ ยากรบุ ค คลของผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานผ่ า น

ประกอบด้วย:

การดําเนินงานของคณะกรรมการหลายคณะ เช่น คณะกรรมการ

Performance Excellence

Synergy

+

Innovation

+ เกง

HPO

ดี

รับผิดชอบ

CG

CSR

+ Integrity and Ethics

Trust and Respect

Responsibility for Society


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

144 อีกทั้งค่านิยม SPIRIT รากฐานสําคัญที่หล่อหลอมให้ผู้บริหารและพนักงาน กลุ่ม ปตท. เป็นคนเก่ง คนดี และมีความรับผิดชอบ ต่อองค์กรและสังคมภายนอก เพื่อสามารถนํา กลุ่ม ปตท. ไปเป็น Pride & Treasure of Thailand ตามปณิธานของ ปธบ./ กผญ. เพื่อให้ กลุ่ม ปตท. เป็นที่ศรัทธา เป็นองค์กรแห่งความภาคภูมิใจของประชาชนคนไทย โดยในปี 2558 ได้เพิ่มการมุ่งเน้นในความเป็น RIT ให้มากยิ่งขึ้น โดยที่ยังคงความสําคัญของ SPI ไว้ไม่ได้ละเลยไป เพื่อสะท้อนภาพลักษณ์ของ กลุ่ม ปตท. ในความเป็นคนดี และมีความรับผิดชอบต่อสังคมชุมชน ออกไปสู่สายตาผู้มีส่วนได้เสียภายนอกให้เด่นชัดมากยิ่งขึ้น รวมถึงมีการทบทวนและปรับปรุง แก้ไขนโยบาย ตลอดจนพัฒนาปรับปรุงระบบและกระบวนการทํางานต่าง ๆ ในองค์กร เพื่อส่งเสริมการบริหารจัดการองค์กรเป็นไป ด้วยความโปร่งใส โดยเริ่มตั้งแต่นโยบาย CG นโยบายต่อต้านคอร์รัปชัน นโยบายงดรับของขวัญ (No Gift Policy) ระบบตรวจสอบ ภายใน (Internal Audit) กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement) ฯลฯ ตลอดจนเชื่อมโยงกระบวนการการทํางานที่คํานึงถึง ความรับผิดชอบของสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ผ่านหลักการบริหารความยั่งยืน (Sustainability Management) และ CSR ของ กลุ่ ม ปตท. เพื่ อ ประโยชน์ ต่ อ สั ง คมภายนอก ชุ ม ชน และประเทศชาติ ตลอดจนสร้ า งคุ ณ ค่ า ร่ ว มระหว่ า งสั ง คมและธุ ร กิ จ เช่ น การพัฒนาสั ง คมภายใต้แ นวคิ ด วิ ส าหกิ จ เพื่อ สั งคม (Social Enterprise) เพื่ อ ได้รั บการยอมรั บในวงกว้ างจากสั งคม ชุมชน และประชาชนคนไทย

Pride • • • • •

Treasure

Country Energy Security (NOC) Public Trust Business Transparency Corporate Governance Public Wealth Community & Environment

• • • •

Top Class Energy Company Sustainable Growth High Performance Org. Knowledge-Based Company

Balancinng betweenn the two roolees

การสืบทอดตําแหนงสําหรับผูบริหาร

ซึ่ ง เป็ น กรรมการโดยตํ า แหน่ ง และมี อ ายุ ไ ม่ เ กิ น 58 ปี บ ริ บู ร ณ์ ในวั น ยื่ น ใบสมั ค ร เมื่ อ คณะกรรมการสรรหาสรรหาผู้ ที่ มี

เนือ ่ งจาก ปตท. มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจ ดังนัน ้ การสรรหา

ความเหมาะสมแล้ ว ให้ เ สนอต่ อ ผู้ มี อํ า นาจพิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง

และแต่งตั้งตําแหน่งของกรรมการผู้จัดการใหญ่ จึงต้องเป็นไป

โดยต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ผู้บริหาร

ตามพระราชบั ญ ญั ติ ม าตรฐานสํ า หรั บ กรรมการและพนั ก งาน

เดิ ม พ้ น จากตํ า แหน่ ง สั ญ ญาจ้ า งมี ร ะยะเวลาคราวละไม่ เ กิ น

รัฐวิสาหกิจ โดยต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา 8 ตรี และดําเนิน

4 ปี ในกรณี ที่ ค ณะกรรมการจะจ้ า งผู้ บ ริ ห ารเดิ ม ต่ อ หลั ง จาก

กระบวนการสรรหาตามมาตรา 8 จัตวา โดยคณะกรรมการ ปตท.

ครบกําหนดเวลาตามสัญญาจ้าง ไม่ต้องดําเนินการกระบวนการ

แต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาคณะหนึง่ จํานวน 5 คน ทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัติ

สรรหาใหม่ แต่จะจ้างเกินสองคราวติดต่อกันไม่ได้ ซึ่งในปี 2558

และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ทําหน้าที่สรรหาบุคคล

คณะกรรมการ ปตท. ได้ดําเนินการกระบวนการสรรหากรรมการ

ที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่เหมาะสมสําหรับ

ผู้จัดการใหญ่คนใหม่เพื่อทําหน้าที่แทนนายไพรินทร์ ชูโชติถาวร

เป็นผูบ ้ ริหาร ปตท. โดยต้องมีคณ ุ สมบัตแ ิ ละไม่มล ี ก ั ษณะต้องห้าม

ซึ่ ง ค ร บ ว า ร ะ ต า ม สั ญ ญ า จ้ า ง ใ น วั น ที่ 9 กั น ย า ย น 2 5 5 8

ตามกฎหมาย ไม่เป็นกรรมการของ ปตท. ยกเว้นเป็นผู้บริหาร

โดยได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการสรรหากรรมการผู้ จั ด การใหญ่


โครงสร้างการจัดการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

145 ตามพระราชบั ญ ญั ติ ม าตรฐานสํ า หรั บ กรรมการและพนั ก งาน

โดยมีกลไกการบริหารดังนี้

รัฐวิสาหกิจ ทั้งนี้ มีผู้สนใจสมัครและมีคุณสมบัติครบถ้วนจํานวน

• คณะกรรมการจัดการ กลุ่ม ปตท.

4 คน โดยแบ่งเป็นผู้บริหาร กลุ่ม ปตท. 3 คน และบุคคลภายนอก 1 คน ซึ่งกระบวนการสรรหาดําเนินการด้วยความโปร่งใสภายใต้ แนวทางการสรรหาผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด ตามมาตรา 8 วรรค 3 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ คุ ณ สมบัติ ม าตรฐานสํ า หรับ กรรมการและ พนักงานรัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2550 ซึ่งคณะกรรมการ

(PTT Group Management Committee: PTTGMC) • คณะกรรมการจัดการ กลุ่ม ปตท. - Minor (PTT Group Management Committee - Minor: PTTGMC-Minor) • คณะกรรมการบริหารความร่วมมือของกลุ่มทรัพยากร

สรรหากรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ไ ด้ พิ จ ารณาคั ด เลื อ กผู้ ส มั ค ร

บุคคล (Human Resources Group Alignment

ที่ เ หมาะสมเสนอต่ อ คณะกรรมการ ปตท. เพื่ อ พิ จ ารณา คื อ

& Coordination Management Committee: HRAC)

นายเทวิ น ทร์ วงศ์ ว านิ ช ทั้ ง นี้ เมื่ อ วั น ที่ 26 มิ ถุ น ายน 2558

• คณะกรรมการจัดการทรัพยากรบุคคล

คณะกรรมการ ปตท. ได้มม ี ติเห็นชอบตามทีค ่ ณะกรรมการสรรหา

ของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ปตท. เสนอและแต่ ง ตั้ ง นายเทวิ น ทร์

(Human Resources Management Committee: HRMC)

วงศ์วานิช ให้ดา ํ รงตําแหน่งประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ปตท. คนใหม่ ต่อจาก นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร

• คณะกรรมการจัดการทรัพยากรบุคคล (Corporate Human Resources Committee: HRC)

โดยเข้ารับตําแหน่งตั้งแต่วันที่ 10 กันยายน 2558 และมีวาระ การดํารงตําแหน่ง 2 ปี 11 เดือน นับจากวันที่ได้รับการแต่งตั้ง

ผลการดําเนินการ ป 2558

(เนื่องจาก นายเทวินทร์ วงศ์วานิช จะมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์

• การเตรียม SEVP Pool Member คือ กลุ่มผู้บริหาร

ในวันที่ 30 สิงหาคม 2561) ปตท. ได้ดา ํ เนินการพัฒนาผูบ ้ ริหารระดับสูงอย่างต่อเนือ ่ ง เพื่ อ ให้ มี ผู้ บ ริ ห ารขององค์ ก รเป็ น หนึ่ ง ในผู้ มี คุ ณ สมบั ติ ที่ พ ร้ อ ม สมัครเข้าคัดเลือกในการสรรหากรรมการผู้จัดการใหญ่ครั้งต่อไป โดยมีการเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร เพื่อทดแทนผู้บริหาร ระดับสูงทีจ ่ ะเกษียณอายุ ในระหว่างปี 2558 - 2562 และนโยบาย/

ระดับ EVP ที่มีความพร้อมและศักยภาพ (กลุ่ม ปตท.) - จํานวน Pool Member 39 ราย (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558) - Pool Member ได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นดํารงตําแหน่ง 23 ราย (ปี 2551 - 2558) • การเตรียม EVP Pool Member คือ กลุ่มผู้บริหาร

แนวทางการพั ฒ นาผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของ กลุ่ ม ปตท. รวมทั้ ง

ระดับ VP ที่มีความพร้อมและศักยภาพ (กลุ่ม ปตท.)

การจั ด ทํ า แผนพั ฒ นารายบุ ค คล คื อ Management Pool

- จํานวน Pool Member 120 ราย

ประกอบด้วยผู้บริหาร 320 คน และ Potential Pool ของตําแหน่ง Key Area ไว้เรียบร้อยแล้ว การบริ ห ารดั ง กล่ า ว ดํ า เนิ น การมาตั้ ง แต่ ปี 2550 โดย ปตท. มีระบบ “การพัฒนาผู้บริหารระดับสูง (Group Leadership

(ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558) - Pool Member ได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นดํารงตําแหน่ง 31 ราย (ปี 2552 - 2558) • การเตรียม VP Pool Member คือ กลุ่มผู้บริหาร

Development Program: GLDP)” เพื่อเป็นการวาง Succession

ระดับ ผจ.ส่วน ที่มีความพร้อมและศักยภาพ (ปตท.)

Plan สําหรับเตรียมบุคลากรให้มีความพร้อมขึ้นดํารงตําแหน่ง

- จํานวน Pool Member 161 ราย

ที่สูงขึ้นเมื่อมีตําแหน่งว่างของ กลุ่ม ปตท. ได้แก่ ตําแหน่งต่าง ๆ ดังนี้

(ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558) - Pool Member ได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นดํารงตําแหน่ง

• กรรมการผู้จัดการใหญ่ (President) • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่หรือเทียบเท่า (Senior Executive Vice President: SEVP)

102 ราย (ปี 2552 - 2558)

ขอพิพาทดานแรงงาน

• ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่หรือเทียบเท่า (Executive Vice President: EVP) • ผู้จัดการฝ่ายหรือเทียบเท่า (Vice President: VP)

ปตท. ไม่มข ี อ ้ พิพาทด้านแรงงานทีม ่ น ี ย ั สําคัญในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

146

การกํากับดูแลกิจการ

นโยบายการกํากับดูแลกิจการ ในฐานะบริ ษั ท พลั ง งานแห่ ง ชาติ แ ละบริ ษั ท จดทะเบี ย น ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปตท. ตระหนักถึงพันธกิจสําคัญ ในการสร้ า งความเชื่ อ มั่ น ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ โดยมี ร ะบบบริ ห าร จัดการที่ดี โปร่งใส และเป็นธรรม ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ดังนั้น สิง่ ทีจ ่ ะทําให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ ไว้วางใจ และมัน ่ ใจในการลงทุนกับธุรกิจของ ปตท. คือ การมีนโยบายและการดําเนินงานที่รักษาสิทธิพื้นฐานที่ผู้ถือหุ้น พึ ง ได้ รั บ อย่ า งเป็ น ธรรมตามที่ ก ฎหมายกํ า หนด หรื อ มากกว่ า นั้ น รวมถึงการจัดการที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ที่ดีที่สุด เป็นที่ยอมรับจากผู้ลงทุนและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายอยู่เสมอ นั บ ตั้ ง แต่ แ ปลงสภาพเป็ น บริ ษั ท ปตท. จํ า กั ด (มหาชน) และกระจายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปลายปี 2544 ปตท. ให้ความสําคัญในด้านการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ม ี าโดยตลอด โดย กําหนดให้ ปตท. “ต้องจัดทํานโยบายเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ ตลอดจนจริยธรรมในการประกอบธุรกิจของคณะกรรมการ ผู้บริหาร ่ ี ระดับสูง ฝ่ายจัดการ และพนักงาน ตามระบบการกํากับดูแลกิจการทีด

เพือ ่ เป็นแนวทางปฏิบต ั ิขององค์กรทีไ่ ด้มาตรฐานและเป็นแนวทางทีถ ่ ก ู ต้อง” ไว้ในข้อบังคับของ บริษท ั ปตท. จํากัด (มหาชน) รวมทั้งได้กําหนดระเบียบบริษัทว่าด้วยการกํากับดูแลกิจการที่ดีในปี 2544 ซึ่งได้มีการแก้ไขทบทวน ในปี 2557 และจัดทําคู่มือหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. ส่งมอบให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ทุกคน ลงนามรับทราบและถือปฏิบัติ เป็นครั้งแรกในปี 2546 และต่อมา คณะกรรมการ ปตท. จัดให้มีการปรับปรุง อย่างต่อเนื่องอีกจํานวน 3 ฉบับ ในปี 2548 ปี 2552 และปรับปรุงครั้งที่ 3 ในปี 2556 - 2558 เพื่อให้เป็นไปตาม หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจน ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากรายงาน Corporate Governance Assessment Report ของสมาคมส่งเสริมกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ที่ปรับปรุงให้สอดคล้องกับ ASEAN Corporate Governance Scorecard (ASEAN CG Scorecard) และแนวปฏิบัติที่ดีของบริษัทชั้นนําในระดับสากล โดยแก้ไขชื่อคู่มือเป็น “คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี มาตรฐาน ทางจริยธรรม และจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)” สาระสําคัญที่ปรับปรุง ในคู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดีฯ ฉบับนี้ คือ


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

147 • เพิ่ ม เติ ม สาระเกี่ ย วกั บ มาตรฐานทางจริ ย ธรรมเพื่ อ ให้ คู่ มื อ CG ของ ปตท. มี ส ถานะเป็ น ประมวลจริ ย ธรรมตาม

นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance Policy)

รัฐธรรมนูญ • เพิ่มเติมกลไกและหลักปฏิบัติเกี่ยวกับคู่มือ CG เพื่อให้

ปตท. มีการทบทวนปรับปรุงนโยบายและคู่มือการกํากับ

มี ค วามชั ด เจนในการปฏิ บั ติ แ ละการลงโทษเมื่ อ มี ก ารฝ่ า ฝื น

ดูแลกิจการที่ดีตามโอกาส เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม

หรือละเว้น

ทางเศรษฐกิจ และสังคมทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป และกําหนดให้กรรมการ

• เพิ่มเติมการดํารงตําแหน่งของกรรมการ ปตท. ดังนี้

ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับลงนามรับทราบและยึดถือปฏิบัติ

1. ดํ า รงตํ า แหน่ ง กรรมการในรั ฐ วิ ส าหกิ จ และ/หรื อ

เป็นส่วนหนึ่งในการทํางาน เพื่อให้เห็นถึงคํามั่นสัญญาในการนํา

นิติบุคคลที่รัฐวิสาหกิจเป็นผู้ถือหุ้นได้ไม่เกิน 3 แห่ง

นโยบายด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจฯ

2. ดํ า รงตํ า แหน่ ง กรรมการในบริ ษั ท จดทะเบี ย น

ไปปฏิบต ั ิอย่างเป็นรูปธรรม โดยคณะกรรมการได้กา ํ หนดนโยบาย

ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ไม่เกิน 5 แห่ง

การกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. ไว้ดังนี้

ทัง้ นี้ การดํารงตําแหน่งกรรมการตามความในข้อ 2 นี้

1. คณะกรรมการ ปตท. ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน

จะต้องไม่ขด ั ต่อหลักเกณฑ์ขอ ้ 1 ด้วย อนึง่ การดํารง

มุง่ มัน ่ ทีจ ่ ะนําเอาหลักสําคัญในการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ข ี อง ปตท.

ตําแหน่งกรรมการในข้อ 1 และข้อ 2 รวมกันแล้ว

ทั้ง 6 ประการ คือ Accountability, Responsibility, Equitable

ต้องไม่เกิน 5 แห่ง

Treatment, Transparency, Vision to Create Long-term Value

3. กรรมการอิสระและกรรมการเฉพาะเรือ ่ งไม่สามารถ ดํารงตําแหน่งเกิน 9 ปี ต่อเนื่อง • เพิ่มเติมหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตรวจสอบและคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร • เพิ่มเติมจรรยาบรรณว่าด้วยการปฏิบัติต่อเจ้าหนี้ เพื่อ ให้ครอบคลุมการดูแลผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มเจ้าหนี้ให้ชัดเจนขึ้น • เพิ่มเติมนโยบายต่อต้านคอร์รัปชันของ ปตท.

และ Ethics มาใช้ในการดําเนินงาน มีโครงสร้างการบริหารที่มี ความสัมพันธ์กน ั ระหว่างคณะกรรมการ ปตท. ผูบ ้ ริหาร และผูถ ้ อ ื หุน ้ อย่างเป็นธรรม 2. คณะกรรมการ ปตท. จะปฏิบต ั ห ิ น้าทีด ่ ว ้ ยความทุม ่ เท และรับผิดชอบ มีความเป็นอิสระ และมีการจัดแบ่งบทบาทหน้าที่ ระหว่างประธานกรรมการกับประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ออกจากกันอย่างชัดเจน

• เพิม ่ เติมนโยบายเกีย ่ วกับการพิจารณาลงมติในทีป ่ ระชุม

3. คณะกรรมการ ปตท. มีบทบาทสําคัญในการกําหนด

คณะกรรมการ จํานวนองค์ประชุมขั้นต่ําจะต้องมีกรรมการอยู่

วิสย ั ทัศน์ กลยุทธ์ นโยบายและแผนงานทีส ่ า ํ คัญของ ปตท. โดยจะ

ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมดที่มาประชุม

ต้องพิจารณาถึงปัจจัยเสีย ่ งและวางแนวทางการบริหารจัดการทีม ่ ี

• เพิ่ ม เติ ม คุ ณ สมบั ติ ข องกรรมการที่ ต้ อ งการสรรหา ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจของบริษัท • เพิม ่ เติมหลักการการไปดํารงตําแหน่งต่าง ๆ ของผูบ ้ ริหาร บริษัท กลุ่ม ปตท.

ความเหมาะสม รวมทั้งต้องดําเนินการเพื่อให้มั่นใจว่าระบบบัญชี รายงานทางการเงินและการสอบบัญชี มีความน่าเชื่อถือ 4. คณะกรรมการ ปตท. จะต้องเป็นผูน ้ า ํ ในเรือ ่ งจริยธรรม เป็นตัวอย่างในการปฏิบัติงานตามแนวทางการกํากับดูแลกิจการ ที่ดีของ ปตท. และสอดส่องดูแลในเรื่องการจัดการแก้ไขปัญหา

ทัง้ นี้ ปตท. กําหนดให้การกํากับดูแลกิจการทีด ่ เี ป็นส่วนหนึง่

ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และรายการที่เกี่ยวโยงกัน

ของวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมขององค์กร โดยมีเป้าหมาย

5. คณะกรรมการ ปตท. อาจแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ

ที่จะให้ ปตท. เป็นบริษัทที่เจริญเติบโตอย่างยั่งยืน (Sustainable

เฉพาะเรื่องขึ้นตามความเหมาะสม เพื่อช่วยพิจารณากลั่นกรอง

Growth Strategy) โดยผลักดันให้เป็นบริษัทพลังงานไทยข้ามชาติ

งานที่มีความสําคัญอย่างรอบคอบ

ชั้ น นํ า เป็ น องค์ ก รที่ มี ศั ก ยภาพเป็ น เลิ ศ (High Performance

6. คณะกรรมการ ปตท. ต้ อ งจั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ผล

Organization: HPO) มีความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และ

ตนเองรายปี เพื่อใช้เป็นกรอบในการตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่

สิ่ ง แวดล้ อ ม (Corporate Social Responsibility: CSR) และ

ของคณะกรรมการ

สร้างประโยชน์ตอบแทนที่เหมาะสมแก่ผู้มีส่วนได้เสีย บนหลัก การกํากับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance: CG)

7. คณะกรรมการ ปตท. เป็นผูพ ้ จ ิ ารณากําหนดจรรยาบรรณ ของ ปตท. เพือ ่ ให้คณะกรรมการ ผูบ ้ ริหาร พนักงาน รวมถึงลูกจ้าง ทุกคนใช้เป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติ ควบคู่ไปกับข้อบังคับ และระเบียบของ ปตท.


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

148 8. มีการเปิดเผยสารสนเทศของ ปตท. ทั้งในเรื่องทาง

1.1 กําหนดการจัดประชุมผูถือหุน

การเงิ น และที่ ไ ม่ ใ ช่ เ รื่ อ งทางการเงิ น อย่ า งเพี ย งพอ เชื่ อ ถื อ ได้ และทันเวลา เพื่อให้ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียของ ปตท. ได้รับ

ปตท. ได้กําหนดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปีละครั้ง

สารสนเทศอย่ า งเท่ า เที ย มกั น มี ห น่ ว ยงานประชาสั ม พั น ธ์ แ ละ

ภายในเวลาไม่เกิน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีของ ปตท.

หน่ ว ยงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ รั บ ผิ ด ชอบในเรื่ อ งการให้ ข้ อ มู ล กั บ

และในกรณีทม ี่ ค ี วามจําเป็นเร่งด่วนต้องเสนอวาระเป็นกรณีพเิ ศษ

นักลงทุนและประชาชนทั่วไป

ซึ่ ง เป็น เรื่อ งที่ก ระทบหรื อ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ผลประโยชน์ ข องผู้ถื อ หุ้ น

9. ผู้ถือหุ้น ปตท. จะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน

หรือเกี่ยวข้องกับเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ กฎหมาย ที่ใช้บังคับที่ต้อง

มีสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ และมีช่องทางในการสื่อสาร

ได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นแล้ว บริษัทจะเรียกประชุมวิสามัญ

กับ ปตท. ที่เหมาะสม

ผู้ถือหุ้นเป็นกรณีไป

10. มี ร ะบบการคั ด สรรบุ ค ลากรที่ จ ะเข้ า มารั บ ผิ ด ชอบ

ทั้งนี้ ในปี 2558 ปตท. ได้จัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น

ในตํ า แหน่ ง บริ ห ารที่ สํ า คั ญ ทุ ก ระดั บ อย่ า งเหมาะสม และ

ในวันพฤหัสบดีที่ 9 เมษายน 2558 ณ ห้องจัดงาน EH 106 ชั้น 1

มีกระบวนการสรรหาที่โปร่งใส เป็นธรรม

ศูนย์นท ิ รรศการและการประชุมไบเทค เลขที่ 88 ถนนบางนา-ตราด

11. คณะกรรมการ ปตท. ต้องจัดให้มีระบบที่สนับสนุน การต่ อ ต้ า นการคอร์ รั ป ชั น ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า

(กม. 1) บางนา กรุ ง เทพฯ และไม่ มี ก ารเรี ย กประชุ ม วิ ส ามั ญ ผู้ถือหุ้น

ฝ่ า ยบริ ห ารได้ ต ระหนั ก และให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การต่ อ ต้ า น การคอร์รัปชัน รวมทั้งปฏิบัติตามมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชัน

1.2 การแจงเชิญประชุมลวงหนา

ปตท. ได้เผยแพร่คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี มาตรฐาน ทางจริ ย ธรรมและจรรยาบรรณในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของ บริ ษั ท

ในปี 2558 คณะกรรมการ ปตท. ในการประชุม ครั้งที่

ปตท. จํากัด (มหาชน) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3 บนระบบเครือข่าย

2/2558 เมือ ่ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2558 มีมติให้มก ี ารจัดการประชุม

PTT Intranet และบนเว็บไซต์ของ ปตท. แล้ว

สามัญผู้ถือหุ้นประจําปีในวันที่ 9 เมษายน 2558 โดยได้เปิดเผย มติ ก ารประชุ ม วั น ประชุ ม และระเบี ย บวาระการประชุ ม และ

โดยสรุปสาระสําคัญการดําเนินการด้านการกํากับดูแล กิจการเป็นดังนี้

1.

สิทธิของผูถือหุน

แจ้งข่าวประกาศในเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่ อ ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบล่ ว งหน้ า ในวั น ที่ ค ณะกรรมการมี ม ติ ก่ อ น การจัดส่งหนังสือเชิญประชุม โดย บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเป็นนายทะเบียนหลักทรัพย์ของ ปตท. จะเป็นผู้ดําเนินการจัดส่งหนังสือเชิญประชุมที่มีรายละเอียดวาระ

ในฐานะเจ้าของบริษัท ผู้ถือหุ้นย่อมมีสิทธิกําหนดทิศทาง

การประชุม ข้อมูลประกอบทีส ่ า ํ คัญและจําเป็นสําหรับการตัดสินใจ/

การดําเนินธุรกิจของบริษัท หรือตัดสินใจในเรื่องที่มีผลกระทบ

ความเห็นของคณะกรรมการ รายงานการประชุมที่ผ่านมาซึ่งมี

อย่างมีนัยสําคัญต่อบริษัท การประชุมผู้ถือหุ้นจึงเป็นเวทีสําคัญ

รายละเอียดครบถ้วน รายงานประจําปี พร้อมทั้งเอกสารประกอบ

สํ า หรั บ ผู้ ถื อ หุ้ น ในการแสดงความคิ ด เห็ น ติ ด ต่ อ ซั ก ถาม และ

การประชุม เอกสารทีต ่ อ ้ งใช้ในการมอบฉันทะ และระบุวธ ิ ก ี ารใช้ไว้

พิจารณาลงคะแนนเสียงชี้ขาด และคัดเลือกคณะกรรมการ เพื่อ

ื หุน ้ ล่วงหน้ามากกว่า ชัดเจนตามที่ ปตท. กําหนด โดยจัดส่งให้ผถ ู้ อ

ทําหน้าที่กํากับดูแลบริษัทแทนผู้ถือหุ้น ดังนั้นผู้ถือหุ้นจึงมีสิทธิ

14 วัน ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น หนังสือเชิญประชุมส่งออกวันที่ 18

โดยชอบที่ จ ะเข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น มี เ วลาเพี ย งพอสํ า หรั บ

มีนาคม 2558 และได้ทําการประกาศลงในหนังสือพิมพ์รายวัน

การพิจารณา และรับทราบผลการประชุม

ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อย่างละ 1 ฉบับ ติดต่อกัน ต่อเนื่องฉบับละ 3 วัน ก่อนวันประชุม 3 วัน (วันที่ 3 - 5 เมษายน 2558) เพือ ่ บอกกล่าวเรียกประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ เป็นการล่วงหน้าเพียงพอ สําหรับการเตรียมตัวก่อนมาเข้าร่วมประชุม ทั้ ง นี้ ในการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ปตท. ได้ นํ า ข้ อ มู ล ้ อ ื หุน ้ และเอกสารประกอบเปิดเผยในเว็บไซต์ หนังสือเชิญประชุมผูถ ของ ปตท. ล่ ว งหน้ า ก่ อ นวั น ประชุ ม 34 วั น (เริ่ ม ตั้ ง แต่ วั น ที่ 6 มีนาคม 2558)


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

149 1.3 การดําเนินการประชุมผูถือหุน

หรือผู้ถือหุ้นซึ่งถือหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจํานวน

ก่อนเริ่มการประชุมผู้ถือหุ้นแต่ละครั้ง ประธานที่ประชุม

นอกจากที่ กํ า หนดไว้ ใ นหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม เมื่ อ ที่ ป ระชุ ม ได้

จะแนะนําคณะกรรมการ คณะผูบ ้ ริหาร ผูส ้ อบบัญชีของบริษท ั และ

พิ จ ารณาระเบี ย บวาระที่ กํ า หนดไว้ เ ป็ น ที่ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว ตามที่

ที่ปรึกษากฎหมายซึ่งทําหน้าที่เป็นคนกลางให้ที่ประชุมรับทราบ

กําหนดไว้ในข้อบังคับของ ปตท. ทัง้ นี้ ในการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ สามัญ

หุ้ น ที่ จํ า หน่ า ยได้ ทั้ ง หมด อาจขอให้ ที่ ป ระชุ ม พิ จ ารณาเรื่ อ งอื่ น

แล้วจึงชี้แจงกติกาทั้งหมด รวมถึงวิธีนับคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้น

ประจําปี 2558 ไม่มก ี ารเปลีย ่ นลําดับระเบียบวาระ และไม่มก ี ารขอ

ที่ต้องลงมติในแต่ละวาระตามข้อบังคับของ ปตท. รวมถึงการใช้

ให้ทีป ่ ระชุมพิจารณาเรื่องอื่นทีไ่ ม่ได้กา ํ หนดไว้ในทีป ่ ระชุมอย่างใด

สิ ท ธิ อ อกเสี ย งลงคะแนนในแต่ ล ะวาระอย่ า งชั ด เจน และเมื่ อ มี

อนึ่ ง ในการประชุ ม ทุ ก ครั้ ง จะมี ก ารจดบั น ทึ ก รายงาน

การให้ข้อมูลตามระเบียบวาระแล้ว ประธานฯ จะเปิดโอกาสให้

การประชุมอย่างถูกต้องครบถ้วน และสรุปด้วยการลงมติพร้อมกับ

ผู้เข้าร่วมประชุมทุกรายแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ถาม

นับคะแนนเสียง ซึ่งรวมระยะเวลาทีใ่ ช้ในการประชุมผู้ถือหุน ้ แต่ละ

คําถามในแต่ละวาระ และให้เวลาอภิปรายอย่างเหมาะสมเพียงพอ

ครั้งประมาณ 3 - 4 ชั่วโมง ทั้งนี้ ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ

จากนั้น ประธานฯ และผู้บริหารจะตอบข้อซักถามอย่างชัดเจน

ประจําปี 2558 ได้กําหนดการประชุมเวลา 09.30 น. โดยเริ่มรับ

ตรงประเด็น และให้ความสําคัญกับทุกคําถาม แล้วจึงให้ที่ประชุม

ลงทะเบียนเวลา 07.30 น. โดย ณ ตอนเปิดประชุม มีผู้ถือหุ้น

ออกเสียงลงมติในวาระนั้น ๆ สําหรับวาระการเลือกตั้งกรรมการ

เข้าร่วมการประชุมรวมจํานวนทั้งสิ้น 3,942 ราย โดยมาประชุม

ประธานฯ จะดําเนินการให้ผู้ถือหุ้นลงมติเป็นรายบุคคล

ด้วยตนเอง 1,305 ราย และรับมอบฉันทะ 2,637 ราย รวมจํานวน

ประธานฯ จะดําเนินการประชุมตามลําดับวาระการประชุม

หุ้นทั้งสิ้น 2,360,177,057 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 82.63 ซึ่งเกิน

และไม่เพิ่มวาระการประชุมโดยไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า

กว่า 1 ใน 3 ของจํานวนหุน ้ ทีจ ่ า ํ หน่ายได้ทงั้ หมดของ ปตท. จํานวน

เว้นแต่ที่ประชุมจะมีมติให้เปลี่ยนลําดับระเบียบวาระด้วยคะแนน

ทั้งสิ้น 2,856,299,625 หุ้น โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุมและชี้แจง

เสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจํานวนผู้ถือหุ้นซึ่งเข้าร่วมประชุม

ข้อมูลประกอบด้วย

กรรมการ 1. นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

ประธานกรรมการ/ กรรมการอิสระ

2. นายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ

3. นายรังสรรค์ ศรีวรศาสตร์

กรรมการ/ ประธานกรรมการกําหนดค่าตอบแทน

4. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

5. นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

6. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

กรรมการอิสระ/ กรรมการกําหนดค่าตอบแทน/ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

7. นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม

กรรมการ

8. นายวัชรกิติ วัชโรทัย

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการสรรหา/ กรรมการกําหนดค่าตอบแทน/ กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

9. พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์

กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหา

10. นายวิชัย อัศรัสกร

กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

11. นายดอน วสันตพฤกษ์

กรรมการอิสระ/ กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

12. นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร

กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ/ กรรมการสรรหา/ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

กรรมการ 1 ท่าน คือ พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข ติดภารกิจราชการต่างประเทศ


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

150 ผูบริหาร 1. นายสุรงค์ บูลกุล

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน

2. นายณัฐชาติ จารุจินดา

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ

3. นายสรัญ รังคสิริ

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย

4. นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน

นอกจากนี้ ยังมีผู้บริหารระดับรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารจากบริษัท กลุ่ม ปตท. ที่อยู่ด้านหน้าเวที พร้อมที่จะชี้แจง และให้ข้อมูลในกรณีที่มีข้อสอบถามที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ กรรมการอิสระเป็นผู้รับมอบฉันทะจากผู้ถือหุ้น รายย่อยด้วย

ผูสอบบัญชี 1. นางสาวมะยุรีย์ จันทะมาตย์

สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

2. นางสาวกุลปราโมทย์ อดิศราลักษณ์

สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

3. นางสาวจิราวัฒน์ พฤกษาสวย

สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

ที่ปรึกษากฎหมาย (ทําหน้าที่ตรวจสอบและสอบและการลงคะแนนเสียงกรณีมีข้อโต้แย้งตลอดการประชุม) 1. นางสาวเพียงพะนอ บุญกล่ํา

บริษัท วีระวงค์ ชินวัฒน์และเพียงพนอ จํากัด

2. นายธีรศักดิ์ เพ็ชรไพบูลย์

บริษัท วีระวงค์ ชินวัฒน์และเพียงพนอ จํากัด

3. นายสถาพร จําสุข

บริษัทสํานักกฎหมาย เซ้าส์ เอเชีย จํากัด

4. นายกันย์ วัชระกร

บริษัทสํานักกฎหมาย เซ้าส์ เอเชีย จํากัด

ผูถือหุน (ณ ตอนปิดประชุม เวลา 12.56 น.) มีผู้ถือหุ้นมาประชุมรวมทั้งสิ้น 6,030 ราย โดยมาประชุมด้วยตนเอง 2,224 ราย และรับมอบฉันทะ 3,806 ราย รวมเป็นจํานวนหุ้นทั้งสิ้น 2,425,104,863 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 84.90 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

151 1.4 แนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับความขัดแยงของผลประโยชน สําหรับการประชุม

2.1 การเสนอวาระการประชุมเพิ่มเติม และเสนอชื่อบุคคลเพื่อแตงตั้งเปนกรรมการ

คูม ่ อ ื การกํากับดูแลกิจการทีด ่ ข ี อง ปตท. กําหนดให้กรรมการ

ปตท. กําหนดหลักเกณฑ์ รวมทั้งกําหนดขั้นตอนแนวทาง

ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งานทุ ก คน จั ด ทํ า รายงานความขั ด แย้ ง ของ

การพิจารณาการให้สิทธิผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเสนอวาระ และ/หรือ

ผลประโยชน์ทั้งที่เป็นแบบรายงานประจําปี และแบบรายงานใหม่

ชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ แต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการล่ ว งหน้ า ให้ ค ณะกรรมการ

ระหว่างปีกรณีมีการเปลี่ยนแปลง และในการประชุมใด ๆ ผู้มีส่วน

ปตท. พิจารณากําหนดเป็นระเบียบวาระการประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้

ได้ เ สี ย หรื อ มี ผ ลประโยชน์ ที่ ขั ด แย้ ง กั บ ปตท. จะต้ อ งแจ้ ง ให้

พื่ อ ให้ โ อกาสผู้ ถื อ หุ้ น มี ส่ ว นร่ ว มในการกํ า กั บ ดู แ ลบริ ษั ท และ

ที่ประชุมทราบ และไม่ร่วมพิจารณาหรืองดออกเสียงในเรื่องนั้น ๆ

การคั ด สรรบุ ค คลที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมและปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ไ ด้

ในการประชุมผูถ ้ ือหุน ้ หากมีกรรมการท่านใดมีสว ่ นได้เสีย

ื หุน ้ และผูม ้ ส ี ว ่ นได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เพือ ่ ประโยชน์สงู สุดของผูถ ้ อ

่ ระชุม หรือมีสว ่ นเกีย ่ วข้องในวาระใด กรรมการท่านนัน ้ จะแจ้งต่อทีป

ส่ ว นเสี ย ทุ ก ฝ่ า ย โดยให้ สิ ท ธิ ผู้ ถื อ หุ้ น ท่ า นเดี ย วหรื อ หลายท่ า น

เพื่อขอไม่ร่วมประชุมและงดออกเสียงในวาระนั้น ๆ

ที่มีหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่า 100,000 หุ้น เสนอวาระการประชุม หรือเสนอชือ ่ บุคคลทีม ่ ค ี วามเหมาะสมเข้าดํารงตําแหน่งกรรมการ

1.5 การเปดเผยผลการประชุมผูถือหุน

ปตท. ก่ อ นการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจํ า ปี ใ นช่ ว งไตรมาส สุดท้ายของปี

ในปี 2558 ปตท. จะจั ด ส่ ง รายงานสรุ ป ผลการลงมติ

สํ าหรับการประชุมสามัญผู้ ถือหุ้นปี 2558 ปตท. ได้นํา

ในที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ให้ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ และคณะกรรมการ

หลักเกณฑ์ดังกล่าวเผยแพร่บนเว็บไซต์ของ ปตท. และแจ้งข่าว

ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ภ ายในช่ ว งเย็ น หลั ง จากเสร็ จ สิ้ น การประชุ ม

ประกาศในเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมี

(วันที่ 9 เมษายน 2558) และจัดส่งรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น

ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2557 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม

(ซึง่ จดบันทึกรายงานการประชุม โดยแยกวาระชัดเจน ระบุจา ํ นวน

2557 แล้ว อย่างไรก็ตาม ไม่มีผู้ถือหุ้นเสนอวาระการประชุม และ

กรรมการที่ เ ข้ า ประชุ ม / ลาประชุ ม ข้ อ ซั ก ถามของผู้ ถื อ หุ้ น และ

ไม่มีการเสนอชื่อบุคคลเสนอแต่งตั้งเป็นกรรมการในระยะเวลา

ข้ อ ชี้ แ จงของคณะกรรมการ วิ ธี ก ารนั บ คะแนนเสี ย ง และผล

ดังกล่าว ซึง่ เลขานุการบริษท ั ได้รายงานต่อทีป ่ ระชุมคณะกรรมการ

การนับคะแนนในแต่ละวาระไว้อย่างครบถ้วน) ให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ

ปตท. รับทราบแล้ว

และคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ภายใน กําหนด 14 วัน รวมทัง้ ได้เผยแพร่รายงานการประชุม วีดท ิ ศ ั น์ ภาพ และเสียงของการประชุมบนเว็บไซต์ของ ปตท. ไว้แล้วด้วย

2.

การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน

2.2 การอํานวยความสะดวกแกผูถือหุน ในการประชุมผูถือหุน เช่นเดียวกับการดําเนินการทีผ ่ า ่ นมา ในการจัดการประชุม ผู้ ถื อ หุ้ น ประจํ า ปี 2558 ปตท. ได้ อํ า นวยความสะดวกให้ กั บ

ปตท. ปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น แต่ ล ะรายเท่ า เที ย มกั น (แม้ ว่ า

ผู้ถือหุ้นทุกราย ตั้งแต่การเลือกสถานที่จัดการประชุมให้สะดวก

จะถือหุ้นไม่เท่ากันและมีสิทธิออกเสียงไม่เท่ากัน ตามจํานวนหุ้น

เพียงพอกับจํานวนผู้ถือหุ้นที่จะมาเข้าร่วมประชุม รวมทั้งจัดให้

ที่ถือ) ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิพื้นฐานในฐานะผู้ถือหุ้นเท่าเทียมกัน

มี เ จ้ า หน้ า ที่ ค อยดู แ ล ต้ อ นรั บ ให้ ค วามสะดวกอย่ า งเพี ย งพอ

โดยไม่คา ํ นึงถึง เพศ อายุ เชือ ้ ชาติ สัญชาติ ศาสนา ความเชือ ่ ฐานะ

ิ ารทีใ่ ช้รถเข็น สามารถอํานวยความสะดวกให้กบ ั ผูส ้ งู อายุและผูพ ้ ก

ทางสังคม ความพิการ หรือความคิดเห็นทางการเมือง โดยในวัน

การจัดห้องประชุมสํารองและระบบการถ่ายทอดสัญญาณโต้ตอบ

ประชุมผู้ถือหุ้น ปตท. จะจัดเตรียมที่นั่งสําหรับผู้พิการ ผู้สูงอายุ

ระหว่างห้องประชุม การเตรียมการรักษาความปลอดภัยและแผน

่ ะดวกทีส ่ ด ุ รวมทัง้ จัดเจ้าหน้าทีไ่ ว้คอย และหญิงมีครรภ์ไว้ในจุดทีส

รั บ มื อ กรณี เ กิ ด เหตุ ฉุ ก เฉิ น ให้ กั บ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มการประชุ ม การเปิ ด

อํานวยความสะดวก ทั้งนี้ ปตท. ได้เผยแพร่ข้อมูลการประชุม

บริการตรวจรับเอกสารลงทะเบียนล่วงหน้า 5 วัน การจัดเจ้าหน้าที่

ผู้ ถื อ หุ้ น ของบริ ษั ท เป็ น การล่ ว งหน้ า ก่ อ นวั น ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และ

ให้ บ ริ ก ารถ่ า ยเอกสารและตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของเอกสาร

จัดทําเป็นภาษาอังกฤษเผยแพร่พร้อมภาษาไทย รวมทัง้ กําหนดให้

การเปิ ด รั บ ลงทะเบี ย นก่ อ นเวลาประชุ ม 2 ชั่ ว โมง การขยาย

กรรมการที่ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ต้ อ งงดเว้ น การมี ส่ ว นร่ ว มในการประชุ ม

ระยะเวลารับลงทะเบียนจนถึงระยะเวลาก่อนการพิจารณาวาระ

พิจารณาในวาระนั้น ๆ ซึ่งรวมถึงการจัดกิจกรรมอื่น ๆ สําหรับ

การประชุมสุดท้าย การนําเทคโนโลยีมาใช้กับการประชุมผู้ถือหุ้น

ผู้ถือหุ้น ปตท. ก็เปิดโอกาสให้โดยไม่มีข้อจํากัด

ด้วยการใช้ระบบ Barcode ในการลงทะเบียนและการลงคะแนน เสียง เพื่อความสะดวกรวดเร็ว รวมทั้งการจัดให้มีการเลี้ยงรับรอง สําหรับผู้ถือหุ้นที่มาร่วมประชุม


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

152 แม้ ผู้ ถื อ หุ้ น ส่ ว นใหญ่ ที่ ม าเข้ า ร่ ว มการประชุ ม สามั ญ

ตอประเทศ

สร้างความมั่นคงด้านพลังงานในระยะยาว

ประจําปีของ ปตท. เป็นคนไทย และดําเนินการประชุมผู้ถือหุ้น

โดยการจัดหาพลังงานในปริมาณที่เพียงพอ

เป็นภาษาไทย แต่ ปตท. ได้จัดทําเอกสารประกอบการประชุม

มีคณ ุ ภาพ ได้มาตรฐาน และราคาทีเ่ ป็นธรรม

ผู้ถือหุ้น และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องเป็น 2 ภาษา คือ ภาษาไทย

เพื่อเสริมสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ

และภาษาอังกฤษ สําหรับผู้ถือหุ้นชาวไทยและชาวต่างชาติ และ

ตอสังคมชุมชน

เป็นองค์กรที่ดีของสังคม ดําเนินธุรกิจ

จัดทําเว็บไซต์ของ ปตท. เป็น 2 ภาษา รวมทั้งจัดให้มีพนักงาน

ที่มีการบริหารจัดการผลกระทบต่อ

ที่มีความเชี่ยวชาญทางภาษาคอยให้ความสะดวกในการประชุม

สิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล

ื หุน ้ ทัง้ นี้ ในกรณีทม ี่ ผ ี ถ ู้ อ ื หุน ้ ทีไ่ ม่สามารถสือ ่ สารเป็นภาษาไทย ผูถ ้ อ

และมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต

ซักถามข้อสงสัยหรืออภิปรายในที่ประชุมผู้ถือหุ้น ปตท. จะจัด

ที่ดีแก่สังคมชุมชน

ให้มก ี ารสือ ่ สารทีเ่ หมาะสมและมีการแปลเป็นภาษาไทยทัง้ คําถาม

ตอผูถือหุน

ดําเนินธุรกิจเชิงพาณิชย์ สามารถสร้าง

และคําตอบสําหรับผูเ้ ข้าร่วมประชุมท่านอืน ่ ในทีป ่ ระชุม เพือ ่ รักษา

ผลตอบแทนที่ดี และมีการขยายธุรกิจ

ประโยชน์ และอํานวยความสะดวกในการสื่อสารสําหรับผู้ถือหุ้น

ให้เติบโตต่อเนื่องอย่างยั่งยืน

ชาวต่างชาติ

ตอลูกคา

สร้างความพึงพอใจและความผูกพันแก่ลก ู ค้า โดยผ่านการนําเสนอผลิตภัณฑ์และบริการ

2.3 การมอบฉันทะ

ที่มีคุณภาพในระดับมาตรฐานสากล ด้วยราคาเป็นธรรม

เพื่อรักษาสิทธิให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สะดวกเข้าประชุม ประจําปี

ตอคูคา

ดําเนินธุรกิจร่วมกันบนพื้นฐานของ

2558 ด้วยตนเอง ผูถ ้ อ ื หุน ้ สามารถมอบฉันทะให้ผอ ู้ น ื่ หรือกรรมการ

ความเป็นธรรม มุ่งสร้างความไว้วางใจ

อิสระของ ปตท. ท่านใดท่านหนึ่งจากกรรมการอิสระที่เข้าร่วม

ความสัมพันธ์และความร่วมมือที่ดี

ประชุมทั้งหมด ซึ่ง ปตท. จะระบุรายชื่อไว้ในหนังสือมอบฉันทะ

เพื่อพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพ

ตามแบบที่ ก ระทรวงพาณิ ช ย์ กํ า หนด เพื่ อ ให้ เ ป็ น ผู้ เ ข้ า ประชุ ม

ในการดําเนินธุรกิจร่วมกันในระยะยาว

และออกเสียงลงมติแทนผู้ถือหุ้นได้โดยไม่มีเงื่อนไข ทั้งนี้ ในกรณี

ตอพนักงาน

สนับสนุนการพัฒนาความสามารถ

ที่ผู้ถือหุ้นมอบฉันทะให้กับผู้อื่น ปตท. จะให้สิทธิและปฏิบัติต่อ

การทํางานระดับมืออาชีพอย่างต่อเนื่อง

ผู้ รั บ มอบฉั น ทะเสมื อ นเป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ท่ า นหนึ่ ง นอกจากนี้ ปตท.

ให้ความมั่นใจในคุณภาพชีวิตการทํางาน

ได้เปิดเผยแบบหนังสือมอบฉันทะที่แนบ พร้อมทั้งรายละเอียด

ของพนักงานทัดเทียมบริษัทชั้นนํา

และขั้นตอนต่าง ๆ บนเว็บไซต์ของ ปตท. ล่วงหน้าก่อนวันประชุม

เพื่อสร้างความผูกพันต่อองค์กร

30 วั น โดยผู้ ถื อ หุ้ น สามารถสอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได้ ทั้ ง ทางโทรศัพท์หรือช่องทางอื่น ๆ เช่น เว็บไซต์ อีเมล เป็นต้น

3.1 การปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียทั้ง 6 กลุม

บทบาทตอผูมีสวนไดเสีย

3.1.1 ประเทศ

ปตท. ในฐานะบริษัทพลังงานแห่งชาติ ได้ให้ความสําคัญ

ปตท. ในฐานะองค์ ก รพลั ง งานของชาติ มี พั น ธกิ จ

ในการดู แ ลและคํ า นึ ง ถึ ง ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม ทั้ ง ภายใน

ในการตอบสนองความต้ อ งการของประเทศตามวิ สั ย ทั ศ น์

และภายนอกบริ ษั ท รวมถึ ง ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและ

ประเทศไทย “มั่ น คง มั่ ง คั่ ง ยั่ ง ยื น ” เพื่ อ ไปสู่ ก ารวางรากฐาน

สิง่ แวดล้อม โดยแบ่งกลุม ่ ผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียของ ปตท. ออกเป็น 6 กลุม ่

การพั ฒ นาประเทศที่ แ ข็ ง แกร่ ง โดยการสร้ า งความมั่ น คงด้ า น

และกําหนดพันธกิจเป็นเป้าหมายในการตอบสนองความต้องการ

พลั ง งานในระยะยาว ให้ ป ระชาชนคนไทยมี พ ลั ง งานใช้ อ ย่ า ง

ของผู้มีส่วนได้เสียในแต่ละกลุ่มอย่างสมดุลดังต่อไปนี้

เพียงพอ ทั่วถึง เท่าเทียม และยั่งยืน

3.


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

153 ปตท. มีนโยบายการดําเนินธุรกิจทีส ่ อดคล้องกับนโยบายรัฐ

3.1.3 ผูถือหุน

ตามแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ และทิ ศ ทาง ยุทธศาสตร์ของกระทรวงพลังงาน โดยมุ่งเน้นในเรื่องการจัดหา

กลยุทธ์การเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน (Sustainable Growth

พลังงานให้เพียงพอ เพื่อสร้างความมั่นคงด้านพลังงานในราคา

Strategy) ถูกนํามาใช้ในการบริหารจัดการ ปตท. ให้เป็นองค์กร

ที่ เ หมาะสม เป็ น ธรรม และการพั ฒ นาพลั ง งานที่ ยั่ ง ยื น และ

ที่ มี ค วามเป็ น เลิ ศ ในด้ า นการดํ า เนิ น งาน (High Performance

เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดย ปตท. มีบทบาทในด้านต่าง ๆ ดังนี้

Organization) โดยตั้ ง มั่ น อยู่ บ นหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี

1) ด้ า นการสร้ า งความมั่ น คงทางพลั ง งาน (Security)

(Corporate Governance) ควบคู่ไปกับการดูแลสังคม ชุมชน และ

โดยการใช้เงินลงทุนมากกว่าร้อยละ 50 ของเงินลงทุนทั้งหมด

สิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility) เพื่อให้นักลงทุน

เพื่ อ การพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานทางพลั ง งาน เช่ น ระบบท่ อ

มั่นใจว่า ปตท. จะเป็นบริษัทที่ให้ผลตอบแทนที่ดี มีความยั่งยืน

ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ สถานี รั บ ก๊ า ซธรรมชาติ (LNG Receiving

เป็นองค์กรที่อยู่คู่สังคมไทยตลอดไป

Terminal) LPG Import Facilities คลังนํ้ามัน และสถานีบริการ นํ้ามัน เป็นต้น ทางด้านการจัดหาพลังงาน ปตท. มีการบริหาร

กิจกรรมสําหรับผู้ถือหุ้นสามัญ

จัดการความเสีย ่ งในการจัดหาพลังงานจากแหล่งต่าง ๆ ในปริมาณ

ปตท. ได้จัดให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเข้าเยี่ยมชมกิจการ เพื่อ

ที่เพียงพอ มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน เพื่อตอบสนองความต้องการ

เปิ ด โอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ น รายย่ อ ยได้ มี โ อกาสเยี่ ย มชมการดํ า เนิ น

พลังงานของประเทศ เช่น การจัดหาก๊าซธรรมชาติที่ครอบคลุม

งาน รับทราบข้อมูล พบปะกับคณะผู้บริหาร ปตท. และมีส่วนร่วม

การจัดหาจากแหล่งในประเทศ การนําเข้าจากประเทศเพื่อนบ้าน

ในกิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คม ชุ ม ชน และสิ่ ง แวดล้ อ ม ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด

และในรูปของก๊าซธรรมชาติเหลว หรือ Liquefied Natural Gas

ระยอง ของ ปตท. อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นมา

(LNG) เพื่อตอบสนองความต้องการพลังงานของประเทศ

สําหรับปี 2557 ปตท. งดการจัดกิจกรรมผู้ถือหุ้นเยี่ยมชม

2) ด้านการสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ (Economy)

กิ จ การ เนื่ อ งจากเกิ ด เหตุ ก ารณ์ ชุ ม นุ ม ทางการเมื อ ง และในปี

โดยการลงทุ น จั ด หาพลั ง งานในต้ น ทุ น พลั ง งานที่ เ หมาะสม

2558 ปตท. ได้มีกําหนดแผนงานจะจัดกิจกรรมในวันที่ 18 - 19

ประชาชนและธุ ร กิ จ ยอมรั บ ได้ การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้

พฤศจิ ก ายน 2558 โดย ปตท. นํ า ส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ และเอกสาร

พลังงาน และสร้างมูลค่าเพิม ่ ให้กบ ั ทรัพยากรปิโตรเลียม ผ่านธุรกิจ

ตอบรับไปยังผู้ถือหุ้นซึ่งปรากฏรายชื่อ ณ วันปิดสมุดทะเบียนเพื่อ

โรงแยกก๊าซธรรมชาติ โรงกลั่นน้ํามัน และธุรกิจปิโตรเคมี ที่ทําให้

พักการโอนหุ้นเพื่อสิทธิเข้าร่วมประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจําปี

เกิ ด การพั ฒ นาธุ ร กิ จ ต่ อ เนื่ อ งอี ก มากมาย รวมถึ ง การส่ ง เสริ ม

2558 (วันที่ 9 มีนาคม 2558) โดยทางไปรษณีย์ เพื่อให้ผู้ถือหุ้น

การนํ า เทคโนโลยี ม าใช้ ป รั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพและพั ฒ นา

แจ้ ง ความประสงค์ ใ นการเข้ า เยี่ ย มชมกิ จ การของ ปตท. อนึ่ ง

ขีดความสามารถให้กับผู้ประกอบการ ตลอดห่วงโซ่ธุรกิจ เพื่อ

เนือ ่ งจากมีผใู้ ห้ความสนใจและแจ้งความประสงค์ทจ ี่ ะเข้าเยีย ่ มชม

เสริมสร้างความเข้มแข็งและการเติบโตในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล

กิจการของ ปตท. จํานวนมากถึง 2,000 คน ปตท. จึงกําหนด

3) ด้ า นการสร้ า งสิ่ ง แวดล้ อ มที่ ยั่ ง ยื น (Ecology) โดย

ให้ใช้วิธีการจับสลากในการคัดเลือกผู้มีสิทธิเข้าเยี่ยมชมกิจการ

ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ด้ า นการวิ จั ย และพั ฒ นาพลั ง งานที่ เ ป็ น มิ ต ร

เช่นเดียวกับที่ผ่านมา โดยมีผู้บริหารและคณะทํางานการกํากับ

ต่อสิ่งแวดล้อมและพลาสติกชีวภาพ รวมถึงการสร้างมูลค่าเพิ่ม

ดูแลกิจการทีด ่ เี ป็นสักขีพยาน กําหนดจับฉลากในวันที่ 13 ตุลาคม

ให้กับผลิตผลชุมชนทางการเกษตร

2558 และประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้าเยี่ยมชมกิจการของ ปตท. บนเว็บไซต์ของ ปตท. เจ้าหน้าที่ของ ปตท. ได้ดําเนินการแจ้ง

3.1.2 สังคม ชุมชน

ผู้มีสิทธิเข้าเยี่ยมชมกิจการของ ปตท. ทางโทรศัพท์เพื่อยืนยัน การตอบรับเข้าเยี่ยมชมกิจการของ ปตท. โดยกิจกรรมดังกล่าว

ปตท. ให้ความสําคัญต่อการดูแลชุมชนและสังคม โดย

จะจัดให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ รายย่อยเข้าเยีย ่ มชมกิจการ ณ นิเวศอุตสาหกรรม

คํ า นึ ง ถึ ง การป้ อ งกั น ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มภายใต้ ม าตรฐาน

้ ทีโ่ ครงการ LNG วนารมย์ กลุม ่ ปตท. หรือ PTT WEcoZI เยีย ่ มชมพืน

สากล และการสร้ า งความเข้ ม แข็ ง และมั่ น คงให้ แ ก่ สั ง คมไทย

Receiving Terminal บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จํากัด (เป็นการนั่งรถ

ด้ ว ยการมี ส่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นาวิ ถี ชี วิ ต และความเป็ น อยู่ ที่ ดี

เยีย ่ มชมบริเวณโดยรอบ โดยมีเจ้าหน้าทีข ่ องโรงแยกก๊าซธรรมชาติ

ของชุมชนและสังคมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้

ระยอง เป็ น ผู้ แ นะนํ า และตอบข้ อ ซั ก ถาม) และสวนสมุ น ไพร

เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนใน 3 แนวทางหลัก ได้แก่ การพัฒนา

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และทัศนศึกษา

ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และการส่ ง เสริ ม

การทํา CSR ของ ปตท. ณ สวนสมุนไพรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สยามบรมราชกุมารี จังหวัดระยอง จํานวน 360 คน โดยแบ่งเป็น

อนึ่ ง รายละเอี ย ดในเรื่ อ งดั ง กล่ า วปรากฏอยู่ ใ นหั ว ข้ อ “พลังงานไทย ความภาคภูมใิ จของคนไทย” และรายงานความยัง่ ยืน ปี 2558 (Corporate Sustainability Report 2015)

2 รุ่น รุ่นละ 180 คน เช่นปีที่ผ่านมา สํ า หรั บ ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ส นใจเข้ า เยี่ ย มชมกิ จ การในครั้ ง ต่ อ ไป (ประจําปี 2559) สามารถติดตามความคืบหน้าและรายละเอียด โครงการได้บนเว็บไซต์ของ ปตท. โดย ปตท. ขอสงวนสิทธิ์สําหรับ ผู้ถือหุ้นที่ยังไม่เคยเข้าร่วมกิจกรรมเท่านั้น


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

154 กิจกรรมสําหรับผู้ถือหุ้นกู้

ปตท. รับฟังความต้องการและความคาดหวังของลูกค้า

ปตท. ได้จัดกิจกรรมสําหรับผู้ถือหุ้นกู้อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่

ผ่านช่องทางหลากหลายที่ได้รับการประเมินแล้วว่าเป็นช่องทาง

ปี 2553 เป็นต้นมา โดยมีวต ั ถุประสงค์เพือ ่ เป็นช่องทางในการรักษา

ที่ ส ามารถให้ ส ารสนเทศที่ มี คุ ณ ภาพเพี ย งพอต่ อ การนํ า ไป

ความสัมพันธ์อันดีระหว่าง ปตท. กับผู้ถือหุ้นกู้ของ ปตท. และ

ออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการได้ตรงตามความต้องการ และ

เพื่อเป็นการตอบแทนความเชื่อมั่นที่ได้ลงทุนในหุ้นกู้ของ ปตท.

ความคาดหวังของลูกค้า ทั้งในด้านคุณภาพ ปริมาณ และราคา

ในระยะยาว ทั้งนี้ กิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดขึ้นมีความหลากหลายเพื่อ

ที่เหมาะสม/ เป็นธรรม เช่น การออกเยี่ยม การสัมมนา การสํารวจ

ตอบสนองความต้องการของผูถ ้ อ ื หุน ้ กูท ้ ม ี่ จ ี า ํ นวนกว่า 28,000 ราย

ความคิ ด เห็น ฯลฯ จากการประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพของช่อ งทาง

อาทิ นิ ต ยสารรายไตรมาส Happiness กิ จ กรรมเยี่ ย มชม

การรับฟังลูกค้าอย่างสม่า ํ เสมอ ส่งผลให้มก ี ารปรับเปลีย ่ นช่องทาง

กิ จ การ ปตท. (ในปี 2558 ได้ จั ด ขึ้ น 2 ครั้ ง คื อ ครั้ ง ที่ 1

การรั บ ฟั ง ลู ก ค้ า ให้ มี ค วามสะดวกและทั น สมั ย อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

เดือนมีนาคม เยี่ยมชมโรงแยกก๊าซธรรมชาติ และสวนสมุนไพร

มี ก ารเพิ่ ม ช่ อ งทางการรั บ ฟั ง ลู ก ค้ า ผ่ า น Social Media เช่ น

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดระยอง

Website, Facebook, Line Group เป็ น ต้ น นอกจากนี้ ปตท.

และครั้งที่ 2 เดือนธันวาคม เยี่ยมชมสถาบันวิทยสิริเมธี (VISTEC)

ยั ง รั บ ฟั ง สารสนเทศอื่ น ๆ นอกเหนื อ จากความต้ อ งการและ

โรงเรียนกําเนิดวิทย์ (KVIS) และโครงการป่าวังจันทร์ จั งหวัด

ความคาดหวังของลูกค้า อาทิ แนวโน้มเทคโนโลยี สภาพการแข่งขัน

ระยอง) กิจกรรมสานสัมพันธ์ครอบครัว กิจกรรมเวิรก ์ ชอปประเภท

การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของสังคม ชุมชน รูปแบบการใช้

ต่าง ๆ นอกจากนั้น ยังมีกิจกรรมวาไรตี้คอนเสิร์ตที่ยังคงได้รับ

ชีวต ิ ของผูบ ้ ริโภค ฯลฯ เพือ ่ นํามาประมวลผลร่วมกับความต้องการ

การตอบรับที่ดีเสมอมา โดยในปี 2558 ปตท. ได้จัดคอนเสิร์ต

ของลู ก ค้ า และใช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล ป้ อ นเข้ า ในการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์

รวม 3 รอบ ที่ผู้ถือหุ้นกู้สามารถเลือกได้ตามความชอบของตนเอง

และบริการที่ดึงดูดใจลูกค้าของคู่แข่ง รวมถึงลูกค้าที่มีศักยภาพ

ภายใต้ชื่อ “Your Concert” และ ปตท. ยังคงมีแผนการพัฒนา

ในการเป็นลูกค้าของ ปตท. ในอนาคต

รู ป แบบการดํ า เนิ น การจั ด กิ จ กรรม เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและ ความพึงพอใจของผู้ถือหุ้นกู้อย่างต่อเนื่อง

ปตท. พัฒนาระบบสนับสนุนเพื่อเพิ่มความสะดวกให้กับ ลูกค้าในการทําธุรกรรมกับ ปตท. อย่างต่อเนื่อง เช่น การรับคําสั่ง ซื้อผ่านศูนย์รับคําสั่งซื้อ ระบบ e-Order/ e-Billing/ e-Payment/

กิจกรรมสําหรับนักลงทุนสถาบัน

Direct Approved ฯลฯ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการทํ า งานของศู น ย์

ในปี 2558 นอกเหนือจากกิจกรรมผู้บริหารพบนักลงทุน

รับข้อร้องเรียน ด้วยการสร้างระบบ iMind เชือ ่ มโยง รวมศูนย์ขอ ้ มูล

เพื่อชี้แจงข้อมูลผลประกอบการประจําไตรมาสแล้ว ปตท. ได้จัด

ที่เกี่ยวข้อง เช่น อีเมล เว็บไซต์ ข้อมูลสมาชิกบัตร PTT Blue Card

ให้นักลงทุนสถาบันและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์เยี่ยมชมกิจการ

ฯลฯ เพือ ่ ให้พนักงานทีท ่ า ํ หน้าทีร่ บ ั ข้อร้องเรียนสามารถตอบสนอง

และพบผู้บริหารเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเป็นประจําปีในช่วง

ลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว ด้วยข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยํา

เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ และจั ด ให้ มี ก ารเยี่ ย มชมการดํ า เนิ น งานของ

ปตท. จัดทําคู่มือการดําเนินงาน (Procedure Manual)

โรงแยกก๊าซฯ หน่วยที่ 6 จังหวัดระยอง อย่างอบอุน ่ และเป็นกันเอง

และคู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Work Instruction) นําคู่มือสู่

โดยในการเยี่ยมชมดังกล่าวนักลงทุนและนักวิเคราะห์มีโอกาส

การปฏิบต ั ิ และมีการทวนสอบมาตรฐานตามระบบ QMS ISO 9000,

ทราบถึงทิศทางและโอกาสในการดําเนินธุรกิจของ กลุ่ม ปตท.

ISO 14000, TIS 18000 เพือ ่ ให้มน ั่ ใจว่าบุคลากรทัง้ หมดของ ปตท.

จากผู้บริหารโดยตรง

สามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์ บริการ และประสบการณ์ที่ดีให้แก่ ลูกค้าได้ตรงตามมาตรฐานที่กําหนดไว้อย่างสม่ําเสมอ

3.1.4 ลูกคา

ปตท. พัฒนาวิธก ี ารสร้างความสัมพันธ์กบ ั ลูกค้าให้เหมาะสม กับแต่ละวงจรชีวิตของลูกค้า เพื่อนําไปสู่การซื้อซ้ํา และบอกต่อ

ปตท. ดําเนินธุรกิจใน 2 ตลาดหลัก คือ ตลาดในประเทศ

อั น เป็ น ระดั บ ความสั ม พั น ธ์ เป้ า หมายขั้ น สู ง สุ ด มี ก ารประเมิ น

และตลาดต่ า งประเทศ จํ า หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก๊ า ซธรรมชาติ

ความพึงพอใจและความผูกพันของลูกค้าทีม ่ ต ี อ ่ ปตท. เปรียบเทียบ

และผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมให้กบ ั ลูกค้า 2 กลุม ่ หลัก คือ Business to

คู่แข่งผ่านการสํารวจความพึงพอใจประจําปี มีการพัฒนาวิธีการ

Business: B2B และ Business to Consumer: B2C

สํารวจและข้อคําถามเพื่อให้ผลการสํารวจสะท้อนข้อเท็จจริงมาก และสามารถมองเห็นโอกาสในการต่อยอดทางธุรกิจได้ชด ั เจนมากขึน ้ มีการปรับแนวทางการวัดความไม่พึงพอใจ ให้สามารถทราบถึง สัญญาณชี้บ่ง เพื่อนําไปสู่การแก้ไขปัญหาอย่างทันท่วงที ป้องกัน การสูญเสียลูกค้า


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

155 ปตท. จัดกลุ่มประเภทข้อร้องเรียนตามความรุนแรงของ

1. นโยบายและทิศทางการดําเนินงานที่ชัดเจน

ผลกระทบ มี ก ารกํ า หนด Service Level Agreement สํ า หรั บ

มีนโยบายและกลยุทธ์ขององค์กรเป็นปัจจัยสําคัญที่สร้าง

ข้อร้องเรียนแต่ละประเภท ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องแก้ไข

ความตระหนักให้แก่ทงั้ พนักงานภายในองค์กรและสังคมภายนอก

ปั ญ หาให้ แ ล้ ว เสร็ จ ภายในระยะเวลาที่ กํ า หนดไว้ ข้ อ ร้ อ งเรี ย น

รับทราบถึงความมุ่งมั่น และทิศทางการดําเนินงานขององค์กร

ทุกประเภทจะต้องได้รับการตอบสนองเบื้องต้นภายใน 24 ชั่วโมง

ดังนั้นในปี 2558 ปตท. จึงได้มีการออกนโยบายการจัดหาและ

และมี ก ารสอบถามกลั บ ไปยั ง ลู ก ค้ า ทุ ก รายภายหลั ง การแก้ ไ ข

บริหารงานผู้ค้าอย่างยั่งยืน กลุ่ม ปตท.

ข้อร้องเรียน เพื่อสอบถามถึงความพึงพอใจต่อการแก้ไขปัญหา

เพื่ อ ให้ ผู้ ค้ า ของ ปตท. มี แ นวทางปฏิ บั ติ สํ า หรั บ ผู้ ค้ า

ของ ปตท. ที่มีต่อข้อร้องเรียนนั้น ๆ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่า ลูกค้า

ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ เ ป็ น ไปตามแนวทางการบริ ห ารองค์ ก ร

ได้รับการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม มีความพึงพอใจต่อการแก้ไข

อย่างยั่งยืนและเหมาะสมมากขึ้น ปตท. จึงได้ทบทวน แนวทาง

ปัญหา และจะยังคงซื้อผลิตภัณฑ์และบริการของ ปตท. ต่อไป

การปฏิบต ั อ ิ ย่างยัง่ ยืนของผูค ้ า ้ ปตท. (PTT Supplier Sustainable

ในอนาคต

Code of Conduct: SSCoC) และประกาศใช้เป็นครัง้ ที่ 3 เมือ ่ วันที่

ทั้งนี้ ในปี 2558 ปตท. ได้ดําเนินโครงการหรือกิจกรรม

3 สิงหาคม 2558 โดยกําหนดเนื้อหาและขอบเขตให้อยู่ภายใต้

ร่วมกับลูกค้าอย่างต่อเนือ ่ ง เช่น โครงการ PTT Tune Up ให้บริการ

ข้อกําหนด ข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประเด็น

ตรวจเช็กเครื่องยนต์ และปรับจูนเครื่องยนต์ฟรีในช่วงเทศกาล

ที่ ปตท. ให้ความสําคัญ ประกอบด้วย 4 หัวข้อหลัก ดังนี้

เพื่ อ สร้ า งจิ ต สํ า นึ ก ด้ า นการประหยั ด พลั ง งานและการตระหนั ก

1. จริยธรรมทางธุรกิจ

ถึ ง ความปลอดภั ย ในการเดิ น ทาง การออกแบบสถานี บ ริ ก าร

2. ความรับผิดชอบต่อสังคม

ตามแนวคิด “Universal Design” เพื่ออํานวยความสะดวกให้แก่

3. ความปลอดภัย

ผู้พิการและผู้สูงอายุ การเปิดตัวโครงการ Crime Zero “กดปุ่ม

4. การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม

ฉับไว ปลอดภัยในปัม ๊ ปตท.” เป็นความร่วมมือกับตํารวจนครบาล โดยทําระบบแจ้งเหตุฉุกเฉินโดยตรงไปยังเจ้าหน้าที่ตํารวจ เมื่อ

2. การบริหารจัดการผู้ค้าอย่างยั่งยืน:

เกิดเหตุการณ์ผด ิ ปกติภายในสถานีบริการ เพือ ่ เพิม ่ ความปลอดภัย

ปตท. มี ก ารประเมิ น ความเสี่ ย งและผลกระทบด้ า น

ให้กับผู้ใช้บริการ เป็นต้น

สิ่งแวดล้อม สังคม และการกํากับดูแล (Environment, Social, และ Governance/ Economics: ESG) และความเสี่ยงต่อผู้ซื้อ

3.1.5 คูคา

(Buyer Risk) ของกลุ่มงานสินค้าและบริการของ ปตท. ทั้งหมด โดยผลจากการประเมิ น จะนํ า มาใช้ จั ด กลุ่ ม และแบ่ ง ระดั บ

ผู้ค้าถือเป็นผู้มีส่วนได้เสียสําคัญในการดําเนินธุรกิจร่วม

ในการบริหารผู้ค้า เป็น 3 ระดับ คือ 1. กลุ่ม Strategic/ Critical

กัน ปตท. จึงให้ความสําคัญต่อการปฏิบัติต่อผู้ค้าอย่างเสมอภาค

2. กลุ่ม Key และ 3. กลุ่ม Managed เรียงตามลําดับความรุนแรง

บนหลักการของการแข่งขันที่เป็นธรรม เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน

และผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น โดยผู้ค้าในแต่ละประเภทจะได้รับ

สร้ า งความสั ม พั น ธ์ แ ละความร่ ว มมื อ อั น ดี ปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญา

การบริ ห ารจั ด การตามความเหมาะสม โดยผู้ ค้ า ที่ อ ยู่ ใ นกลุ่ ม

อย่ า งเคร่ ง ครั ด และการปฏิ บั ติ ต ามกระบวนการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง

Strategic จะได้ รั บ การบริ ห ารจั ด การอย่ า งเข้ ม ข้ น เพิ่ ม เติ ม จาก

ซึ่งเป็นกระบวนการสําคัญในการควบคุม คุณภาพสินค้า บริการ

กลุ่มอื่น กล่าวคือ ผู้ที่ต้องการเข้าร่วมเสนอราคาเมื่อมีการประมูล

ตลอดจนค่าใช้จ่ายในการดําเนินกิจการใน ปตท. จึงมีการกําหนด

สินค้าหรือบริการกลุ่มงาน Strategic จะต้องตอบแบบประเมิน

หลักเกณฑ์และขั้นตอนการจัดหาพัสดุเพื่อให้เกิดความโปร่งใส

การปฏิบต ั อ ิ ย่างยัง่ ยืน (Sustainability Performance Assessment)

ตรวจสอบได้ และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด

และหากผลการประเมินคะแนนไม่ถึงตามเกณฑ์ที่กําหนดจะต้อง

่ ะดําเนินธุรกิจให้เติบโต นอกจากนัน ้ ปตท. มีความมุง่ มัน ่ ทีจ

จัดทําแผนงานและกรอบเวลาในการปรับปรุง (ESG Corrective

อย่างยั่งยืน ควบคู่ไปกับการกํากับดูแลกิจการเพื่อชุมชน สังคม

Action Plan) ตามแบบฟอร์มทีก ่ า ํ หนดและส่งมาพร้อมกับเอกสาร

และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้บรรลุตามปณิธานที่ตั้งไว้ ปตท. จึงให้

การประมู ล ทั้ ง นี้ ปตท. ขอสงวนสิ ท ธิ์ ใ นการเข้ า ตรวจสอบผล

ความสํ า คั ญ กั บ การบริ ห ารจั ด การห่ ว งโซ่ อุ ป ทานและพั ฒ นา

การดําเนินการด้านการปฏิบัติอย่างยั่งยืนตามความเหมาะสม

ให้ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม โดยได้ จั ด ทํ า กระบวนการบริ ห าร ความเสี่ ย งและลดผลกระทบจากการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของผู้ ค้ า เพื่ อ สนั บ สนุ น การดํ า เนิ น งานด้ า นการบริ ห ารห่ ว งโซ่ อุ ป ทาน อย่างยัง่ ยืนให้ประสบความสําเร็จ โดยมีปจ ั จัยหลักในการขับเคลือ ่ น 3 ปัจจัยคือ


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

156 นอกจากนี้ ปตท. ได้ ส ร้ า งความพร้ อ มและสื่ อ ความ

3. การพัฒนาศักยภาพของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ความรูค ้ วามเข้าใจ ตลอดจนศักยภาพของบุคลากรทีม ่ ส ี ว ่ น

ให้ แ ก่ ผู้ ค้ า ควบคู่ กั น ไป เพื่ อ ให้ มี ก ารเตรี ย มการในการพั ฒ นา

เกี่ยวข้องเป็นอีกปัจจัยที่สําคัญในการขับเคลื่อนให้การดําเนินการ

การดําเนินงานธุรกิจของตนให้เป็นไปตามแนวทางความยั่งยืน

ทั้ ง หมดนี้ สั ม ฤทธิ ผ ล ปตท. จึ ง ให้ ค วามสํ า คั ญ ในการพั ฒ นา

หรือแนวทางการปฏิบัติอย่างยั่งยืนของผู้ค้า ปตท. (PTT Supplier

ศักยภาพด้านการจัดหาและบริหารงานผู้ค้าของผู้บริหาร และ

Sustainable Code of Conduct) ที่ ปตท. ได้ประกาศใช้

พนักงานภายในองค์กรอย่างเป็นระบบและเหมาะสม ผ่านการจัด

เพื่ อ ให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล และความรู้ ร ะหว่ า ง

อบรม สื่อความ รวมถึงกระบวนการบริหารจัดการองค์ความรู้

ปตท. กับผู้ค้า และพัฒนาศักยภาพของผู้ค้าให้พร้อมสนับสนุน

(Knowledge Management: KM) เพือ ่ ให้สามารถบรรลุวต ั ถุประสงค์

่ ง ความสําเร็จของ ปตท. ทัง้ ในด้านผลการดําเนินการ ความต่อเนือ

ด้านความยั่งยืนสู่การบริหารจัดการผู้ค้า

ในการทําธุรกิจ ตลอดจนความรับผิดชอบต่อสังคม ในปี 2558 ปตท. ได้จด ั งานสัมมนาผูค ้ า ้ (Supplier Relationship Management Seminar: SRM) ทั้ ง หมดจํ า นวน 9 ครั้ ง โดยเป็ น การจั ด งาน ของแต่ละหน่วยธุรกิจ/ สายงานจํานวน 8 ครั้ง ดังนี้

กลุมคูคา

วันที่จัดงาน

ผู้ค้าของธุรกิจหล่อลื่น

30 มีนาคม 2558

ผู้ค้าของฝ่ายวิศวกรรมและบริการเทคนิคตลาดพาณิชย์และต่างประเทศ

30 มีนาคม 2558 และ 18 ธันวาคม 2558

ผู้ค้าของโรงแยกก๊าซธรรมชาติ จังหวัดนครศรีธรรมราช

18 มิถุนายน 2558

ผู้ค้าของระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ

2 กรกฎาคม 2558

ผู้ค้าของโรงแยกก๊าซธรรมชาติ จังหวัดระยอง

6 ตุลาคม 2558

ผู้ค้าของฝ่ายวิศวกรรมสถานีบริการ ธุรกิจน้ํามัน

16 ตุลาคม 2558

ผู้ค้าของหน่วยงานก๊าซธรรมชาติสําหรับยานยนต์ (NGV)

22 ธันวาคม 2558

และงานสัมมนาผู้ค้าหลักจากทุกหน่วยงานที่ดําเนินการจัดหาพัสดุให้ ปตท. 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2558 โดยในการจัดสัมมนาผู้ค้าของ ปตท. จะมีการสื่อความ ถ่ายทอดทิศทางการดําเนินงาน การจัดกิจกรรมที่มีความเหมาะสมตาม กลุ่มผู้ค้า โดยมีหัวข้อการสื่อความและการจัดกิจกรรมสัมมนาที่ผ่านมาในปี 2558 ดังนี้ • การสื่อความทิศทางการดําเนินธุรกิจของวิสัยทัศน์และพันธกิจของ ปตท. • การสื่อความนโยบายและทิศทางการจัดหาพัสดุ ปตท. และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง • การสื่อความการจัดหา การบริหารจัดการผู้ค้า และการบริหารองค์กรอย่างยั่งยืน • การสื่อความการจัดหาสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม • การสื่อความงานทะเบียนผู้ค้า ปตท. (PTT AVL) • การจัดกิจกรรมกลุม ่ ทํากิจกรรมร่วมกันระหว่างพนักงานจัดหาและผูค ้ า ้ ให้มก ี ารแลกเปลีย ่ นความคิดเห็น เพือ ่ นํามาปรับปรุง กระบวนการทํางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนเกิดความสัมพันธ์ที่ดี และก่อเกิดเป็นความสัมพันธ์ที่ยั่งยืน (Sustainable Partnership) ต่อไป • การจัดทํา workshop การประเมินความเสี่ยงด้าน ESG ให้แก่ผู้ค้าเพื่อให้เกิดความยั่งยืนตลอดห่วงโซ่อุปทานอย่างแท้จริง


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

157 ปตท. กําหนดให้ผท ู้ จ ี่ ะเข้าร่วมเสนอราคาจะต้องปฏิบต ั ต ิ าม

หลังจากทีผ ่ ค ู้ า ้ ส่งมอบสินค้า/ บริการในแต่ละงวดงานแล้ว

กฎระเบี ย บด้ า นความปลอดภั ย เกี่ ย วกั บ การทํ า งานและการใช้

ปตท. จะทําการประเมินผู้ค้าพร้อมทั้งแจ้งผลการประเมินให้แก่

เครือ ่ งมือตลอดจนระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ อย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะ

ผู้ค้าทราบถึงข้อดี/ ข้อควรปรับปรุงในการดําเนินงาน เพื่อที่ผู้ค้า

ในการทํ า งานที่ มี ผ ลกระทบต่ อ ความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย

จะได้ รั บ ทราบและพิ จ ารณานํ า ไปปรั บ ปรุ ง การดํ า เนิ น งานของ

และสภาพแวดล้อมให้ระมัดระวังในการทํางานเป็นพิเศษ ทั้งนี้

ผู้ค้าเอง (Supplier Development) ให้ดียิ่งขึ้นไป

ปตท. จะจัดให้มีการเข้าเยี่ยมชมกิจการของผู้ค้า เพื่อประเมินถึง

นอกจากนี้ ในการจั ด หาพั ส ดุ ปตท. จะสนั บ สนุ น ผู้ ค้ า

ศักยภาพในการดําเนินงาน โดยเฉพาะด้านความมั่นคง ปลอดภัย

ในประเทศก่อนเป็นอันดับแรก โดยเมื่อพิจารณาข้อมูลการจัดหา

อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ พนักงานของบริษัท

ที่ผ่านมา พบว่า ปตท. มีการจัดหาสินค้าจากท้องถิ่นมากกว่า

ผู้ค้าต้องผ่านการเข้าอบรมการปฏิบัติตนและดําเนินการในพื้นที่

ร้อยละ 90 ตลอดระยะเวลาทีผ ่ า ่ นมา รวมถึงส่งเสริมให้มก ี ารจัดหา

การทํางานของ ปตท. และปฏิบัติงานตามข้อกําหนดในการเข้า

สิ น ค้ า จากในพื้ น ที่ ที่ ส ถานประกอบการ ปตท. ตั้ ง อยู่ เ ป็ น หลั ก

ทํางานในเขตปฏิบต ั ิงานซึง่ มีรายละเอียดการปฏิบต ั ิตนตามแต่ละ

ซึง่ ก่อให้เกิดการสร้างเม็ดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจของไทย

ลักษณะงานไว้

อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชน

ปตท. มีการจัดทําทะเบียนผู้ค้า (PTT Approved Vendor

3.1.6 พนักงาน

List; PTT AVL) เพือ ่ ประโยชน์ในงานจัดหาพัสดุดว ้ ยวิธป ี ระมูล โดย มีวต ั ถุประสงค์เพือ ่ ให้มน ั่ ใจว่าภายใต้กระบวนการกําหนดกลุม ่ งาน และขั้นตอนหรือวิธีการในการคัดเลือกผู้ค้าเพื่อขึ้นทะเบียนผู้ค้า กับ ปตท. นั้น จะได้ผู้ค้าที่มีประสิทธิภาพ สามารถส่งมอบสินค้า/

(ได้รายงานหมวดโครงสร้างการจัดการ หัวข้อ “พนักงาน” แล้ว)

บริการได้ตรงกับความต้องการขององค์กร และส่งเสริมความเป็น พันธมิตร (Partnership) กับ ปตท. อย่างยั่งยืน โดยในปี 2558 นี้ มีผค ู้ า ้ ทีไ่ ด้รบ ั การอนุมต ั ใิ ห้ขน ึ้ ทะเบียนผูค ้ า ้ ปตท. แล้วทัง้ สิน ้ จํานวน

3.2 การเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน สากล

294 บริษัท จาก 29 กลุ่มงาน เพื่ อ ให้ ก ารจั ด ทํ า ทะเบี ย นผู้ ค้ า ของ ปตท. เป็ น ไปอย่ า ง

ปตท. กําหนด ให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของ

มีประสิทธิภาพ ปตท. ได้กําหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข คุณสมบัติ

ปตท. ทุกคนต้องเคารพกฎหมาย ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ

ของผู้ค้าที่สมัครเพื่อคัดเลือกขึ้นทะเบียนผู้ค้าในแต่ละกลุ่มงาน

วัฒนธรรมที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศที่ ปตท. เข้าไปลงทุน

โดยคุณสมบัติเบื้องต้นของผู้ค้าจะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้

และเคารพหลั ก สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนสากลอย่ า งเคร่ ง ครั ด ตามหลั ก

1. ผูค ้ า้ จะต้องไม่เป็นผูล ้ ะทิง้ งานของ ปตท. หรือส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐ 2. กรณีที่เคยถูกเพิกถอนออกจากกลุ่มงานใดในทะเบียน

ปฏิ ญ ญาสากลว่ า ด้ ว ยสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน โดยถื อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ การปฏิบต ั งิ าน และไม่สนับสนุนกิจกรรมทีเ่ ป็นการละเมิดหลักสิทธิ มนุษยชนสากล

ผู้ค้าของ ปตท. จะไม่มีสิทธิยื่นขอขึ้นทะเบียนผู้ค้าฯ กับ ปตท.

ปตท. เป็นผู้นําและส่งเสริมบริษัทในกลุ่มให้นําหลักสิทธิ

ในกลุม ่ งานนัน ้ ๆ ในช่วงระยะเวลา 5 ปี นับถัดจากวันทีถ ่ ก ู เพิกถอน

มนุ ษ ยชนไปปฏิ บั ติ ต ามกรอบการบริ ห ารจั ด การความยั่ ง ยื น

ยกเว้ น กรณี ถู ก เพิ ก ถอน เนื่ อ งจากเป็ น ผู้ ล ะทิ้ ง งานของ ปตท.

กลุ่ม ปตท. โดย ปตท. ได้เข้าเป็นภาคีของ United Nations Global

หรือส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐ ปตท.

Compact (UNGC) ตัง้ แต่วน ั ที่ 1 มีนาคม 2555 อันเป็นการประกาศ

จะไม่รบ ั เข้าเป็นผูค ้ า ้ ในทะเบียนผูค ้ า ้ ปตท. จนกว่าจะมีหนังสือแจ้ง

เจตนารมณ์ที่จะนําหลักสิทธิมนุษยชน สิทธิแรงงาน การรักษา

แสดงหลักฐานการยกเลิกการถูกเพิกถอน

สิ่ ง แวดล้ อ ม และการต่ อ ต้ า นการคอร์ รั ป ชั น ในระดั บ สากล

3. ผู้ ค้ า จะต้ อ งเข้ า ใจและรั บ ทราบแนวทางการปฏิ บั ติ

มาเป็ น แนวทางในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ เพื่ อ ควบคุ ม และป้ อ งกั น

อย่างยั่งยืนของผู้ค้า ปตท. (PTT Supplier Sustainable Code of

ความเสีย ่ งด้านสิทธิมนุษยชน รวมถึงใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา

Conduct: SSCoC)

การดํ า เนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ เป็ น องค์ ก รที่ ดี ข องสั ง คม

นอกจากหลั ก เกณฑ์ ใ นเบื้ อ งต้ น แล้ ว ปตท. ยั ง ประเมิ น

มีความรับผิดชอบต่อการดําเนินงาน และการตัดสินใจทางธุรกิจ

คุณสมบัติผค ู้ า ้ ในด้านการดําเนินงานและด้านแนวทางการปฏิบต ั ิ

ปั จ จุ บั น บริ ษัท ใน กลุ่ ม ปตท. ที่เ ข้า ร่ ว มเป็ น ภาคี ข้อ ตกลงโลก

อย่างยั่งยืนของผู้ค้าควบคู่กันไปด้วย

แห่งสหประชาชาติ ได้แก่ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) บริษท ั ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) และ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) อนึ่ง ข้อมูลการดําเนินการในปี 2558 ในเรื่องนีป ้ รากฏ อยู่ในรายงานความยั่งยืน ปี 2558 แล้ว


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

158 3.3 ขอพิพาทที่สําคัญกับผูมีสวนไดเสีย

4.2 ความสัมพันธกับผูลงทุน

ปรากฏอยู่ใน “ข้อพิพาททางกฎหมาย” ซึ่งเปิดเผยในแบบ

ปตท. แปลงสภาพและกระจายหุ้ น ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์

แสดงรายการประจําปี (แบบ 56-1)

4.

การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส

แห่งประเทศไทยตัง้ แต่เดือนตุลาคม 2544 ปตท. จัดให้มห ี น่วยงาน ฝ่ายผูล ้ งทุนสัมพันธ์ (Investor Relations Department) ทีท ่ า ํ หน้าที่ เป็ น ศู น ย์ ก ลางในการเปิ ด เผยข้ อ มู ล สํ า คั ญ ต่ อ ผู้ ล งทุ น และดู แ ล กระบวนการรายงานทางการเงิน เช่น การนําเสนอผลการดําเนินงาน

การเปิดเผยข้อมูลเป็นดัชนีชว้ี ด ั ความโปร่งใสในการดําเนินการ

งบการเงิน สารสนเทศที่ ปตท. แจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ รวมถึง

ทีส ่ า ํ คัญ เป็นปัจจัยสําคัญในการสร้างความเชือ ่ มัน ่ ให้กบ ั นักลงทุน

มีการทําบทรายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ายบริหาร (MD&A)

แ ล ะ ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ย ป ต ท . จึ ง ใ ห้ ค ว า ม สํ า คั ญ กั บ

รายไตรมาส ซึ่งแสดงสถานภาพผลการดําเนินงานและแนวโน้ม

การเปิดเผยข้อมูลทีถ ่ ก ู ต้อง แม่นยํา และสร้างช่องทางการเปิดเผย

ในอนาคตของ ปตท. ต่อผู้ถือหุ้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ข้ อ มู ล ที่ ห ลากหลายเพื่ อ ให้ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ยสามารถ

ได้ รั บ ทราบอย่ า งเท่ า เที ย มกั น สม่ํ า เสมอ และครบถ้ ว นตาม

เข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ได้ โ ดยง่ า ย รณรงค์ ใ ห้ ก รรมการ ผู้ บ ริ ห าร และ

ความเป็นจริง นอกจากนี้ ปตท. ได้จัดทํานิตยสารเพื่อผู้ถือหุ้นกู้

พนั ก งานตระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของการเปิ ด เผยข้ อ มู ล และ

ปตท. ภายใต้ ชื่ อ “Happiness” ออกเป็ น รายไตรมาส เพื่ อ ใช้

ความโปร่ ง ใสในการดํ า เนิ น งานและสร้ า งกลไกในการรั บ เรื่ อ ง

เป็นช่องทางในการสื่อความ ข่าวสาร ข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจและ

ร้ อ งเรี ย นที่ เ หมาะสมและเป็ น ธรรมสํ า หรั บ ทั้ ง ผู้ ร้ อ งเรี ย นและ

ผลการดํ า เนิ น งานของ ปตท. ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น กู้ และจดหมายข่ า ว

ผู้ถูกร้องเรียน ดังนี้

รายไตรมาสเพื่อผู้ถือหุ้นสามัญ ปตท. ภายใต้ชื่อ “PTT Bizway” โดยจั ด ทํ า เป็ น 2 ภาษา เพื่ อ สื่ อ ความวิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ

4.1 การรายงานของคณะกรรมการ ทั้งที่เปนการเงินและไมใชการเงิน

ผลประกอบการรายไตรมาส การกํากับดูแลกิจการทีด ่ ี การบริหาร จัดการสูค ่ วามยัง่ ยืนของ ปตท. และกิจกรรมทีส ่ า ํ คัญในช่วงเวลานัน ้ ทัง้ นี้ ผูล ้ งทุนสามารถติดต่อกับหน่วยงานได้โดยตรง หรือผ่านทาง

ปตท. จั ด ทํ า รายงานความยั่ ง ยื น ปี 2558 (Corporate

เว็ บ ไซต์ ข อง ปตท. ซึ่ ง มี ข้ อ มู ล ทั้ ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ

Sustainability Report 2015) เพื่ อ สื่ อ สารนโยบาย แนวทาง

ที่ได้ปรับปรุงให้ทันสมัยเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ประกอบด้วยข้อมูล

การบริหารจัดการ รวมถึงผลการดําเนินงานด้านเศรษฐกิจ สังคม

สําคัญ ๆ อาทิ

และสิ่งแวดล้อม โดยใช้ Sustainability Reporting Guidelines และ Oil and Gas Sector Disclosure (OGSD) รุ่นที่ 4 (G4) ของ

• รายงานประจําปี (แบบ 56-2)/ แบบแสดงรายการประจําปี (แบบ 56-1)

Global Reporting Initiative (GRI) เพื่ อ ให้ ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล

• ข้อมูลโครงการลงทุนที่สําคัญ

มีความเหมาะสมและเฉพาะเจาะจงกับธุรกิจมากขึ้น นอกจากนี้

• การจัดซื้อจัดจ้าง

ปตท. จัดให้มก ี ารสอบทานข้อมูลในรายงานโดยหน่วยงานภายนอก

• การแถลงทิศทางนโยบายขององค์กรโดยผู้บริหาร

ต่อเนือ ่ งเป็นปีที่ 5 เพือ ่ ให้มน ั่ ใจว่าข้อมูลมีความถูกต้อง ความโปร่งใส

• การดําเนินการตามนโยบายรัฐ

และเชื่อถือได้ และมีเป้าหมายให้มีการดําเนินการต่อเนื่องทุกปี

• แผนงานที่สําคัญ

ทั้งนี้ ปตท. จัดส่งรายงานความยั่งยืน ปี 2558 พร้อมกับรายงาน

• นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีและกิจกรรมส่งเสริม

ประจํ า ปี ใ ห้ กั บ ผู้ ถื อ หุ้ น และเปิ ด เผยให้ กั บ ผู้ ที่ ส นใจบนเว็ บ ไซต์

• ผลการดําเนินงานด้านการเงิน

ของ ปตท. www.pttplc.com

• ผลการดําเนินงานที่ไม่ใช่ด้านการเงิน • กิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมที่สําคัญ


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

159 โดย ปตท. ได้ให้ความสําคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และทั่วถึง รวมทั้งการนําเสนอผลงาน และการแจ้งสารสนเทศขององค์กรต่อนักลงทุน ผู้ถือหุ้น และผู้เกี่ยวข้องทั้งในทางตรงและทางอ้อมมาโดยตลอด สรุปได้ดังนี้ • ทางตรง: ปตท. มีการนําเสนอผลการดําเนินงานให้แก่นักวิเคราะห์ นักลงทุน และพนักงาน เป็นระยะ ๆ อย่างสม่ําเสมอ ในรูปของ Analyst Meeting, Roadshow, Conference Call การเข้าร่วม Conference ซึ่งจัดโดยสถาบันต่าง ๆ รวมทั้งการร่วมกิจกรรม พบนั ก ลงทุ น รายย่ อ ยกั บ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ และผู้ เ กี่ ย วข้ อ งสามารถทํ า การนั ด หมาย (Company Visit) เข้ า พบผู้ บ ริ ห าร ปตท. เพื่อสอบถามข้อมูลความคืบหน้าการดําเนินกิจการได้ตลอดเวลา

สรุปกิจกรรมหลักป 2557 - 2558 ดังนี้ กิจกรรมในป 2557 (จํานวนครั้ง)

กิจกรรมในป 2558 (จํานวนครั้ง)

Roadshow ต่างประเทศ

12

9

Roadshow ในประเทศ

9

10

Analyst Meeting

4

4

Credit Rating Review

4

4

Company Visit/ Conference Call

65

79

8 - 10 ครั้งต่อวัน

8 - 10 ครั้งต่อวัน

ร่วมกิจกรรมตลาดหลักทรัพย์สัญจร และหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อพบนักลงทุน

3

3

นํานักลงทุนสถาบันพบผู้บริหารและเยี่ยมชมกิจการ

4

5

นํานักลงทุนรายย่อยพบผู้บริหารและเยี่ยมชมกิจการ

งดกิจกรรมเนื่องจาก

กําหนดจัด 1 ครั้ง (2 รุ่น)

เกิดเหตุการณ์ชุมนุม

(18 - 19 พฤศจิกายน)

กิจกรรม

ทางอีเมล/ โทรศัพท์

ทางการเมือง กิจกรรมสานสัมพันธ์ผู้ถือหุ้นกู้

14

16

• ทางอ้อม: ปตท. มีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท ผลการดําเนินงาน งบการเงิน และข้อมูลนําเสนอในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึง รายงานสารสนเทศที่ ปตท. แจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยผูส ้ นใจสามารถอ่านข้อมูลได้ทางเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (www.set.or.th) เว็บไซต์ของ ปตท. และนิตยสารเพื่อผู้ถือหุ้นกู้ ปตท. “Happiness” รวมทั้งจดหมายข่าวรายไตรมาส เพื่อผู้ถือหุ้นสามัญ “PTT Bizway” • กรณี ที่ นั ก ลงทุ น และผู้ เ กี่ ย วข้ อ งมี ข้ อ สงสั ย และต้ อ งการสอบถาม สามารถติ ด ต่ อ มายั ง ฝ่ า ยผู้ ล งทุ น สั ม พั น ธ์ ปตท. โทรศัพท์ 0-2537-3518-9 อีเมล: ir@pttplc.com หรือผ่านเว็บไซต์ของ ปตท. www.pttplc.com


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

160 การเผยแพร่ข่าวประชาสัมพันธ์ ความเคลื่อนไหวทางธุรกิจ ความคืบหน้าของการดําเนินงาน และโครงการต่าง ๆ รวมทั้ง ให้บริการตอบคําถามและอํานวยความสะดวกในการติดต่อแก่สอ ื่ มวลชนและสาธารณชนอย่างต่อเนือ ่ ง ในปี 2557 - 2558 มีการดําเนิน กิจกรรม สรุปได้ดังนี้

กิจกรรมในป 2557 (จํานวนครั้ง)

กิจกรรมในป 2558 (จํานวนครั้ง)

ทางอีเมล

108

144

ข่าวแจก/ ภาพข่าว

237

316

การแถลงข่าว

38

28

นําสื่อมวลชนเยี่ยมชมการดําเนินงาน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

10

19

30 คณะ

55 คณะ

กิจกรรม

การให้การต้อนรับ/ ให้ข้อมูลกับหน่วยงานที่มาเยี่ยมชม/ ดูงานในด้านต่าง ๆ

(เกิดเหตุการณ์ชุมนุม ทางการเมือง)

4.3 การแจงขอรองเรียนและการเขาถึงขอมูล

ซึ่งข้อคําถาม ข้อติชม และข้อเสนอแนะต่าง ๆ จะส่งต่อ ให้ ห น่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งดํ า เนิ น การแก้ ไ ขปรั บ ปรุ ง ผ่ า นระบบ

ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม สามารถใช้ ก ลไกในการติ ด ต่ อ

การจัดการเรื่องร้องเรียน โดยมีการติดตามความคืบหน้าผ่าน

การรั บ ทราบข้ อ มู ล การแจ้ ง ข่ า ว/ เบาะแส ทั้ ง ภายในองค์ ก ร

การแจ้งเตือนในระบบอีเมล ทุก 3 วัน หากดําเนินการไม่แล้วเสร็จ

โดยระบบ Intranet Webboard และจากภายนอกโดยผ่านช่องทาง

้ ไปอีกระดับเพือ ่ ดําเนินการ จะแจ้งเตือนไปยังผูบ ้ งั คับบัญชาทีส ่ งู ขึน

เว็ บ ไซต์ / โดยทางโทรศั พ ท์ / โดยหนั ง สื อ แจ้ ง / โดยทางอี เ มล

หากแล้วเสร็จ หน่วยงานที่รับผิดชอบจะแจ้งผลการดําเนินงาน

แจ้งหน่วยงาน ฝ่ายผู้ลงทุนสัมพันธ์ สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่

ให้ผู้ติดต่อทราบ และมีการติดตามในภายหลังอีกครั้งหนึ่งโดย

และเลขานุการบริษท ั ฝ่ายสือ ่ สารองค์กร หรือศูนย์บริหารคําสัง่ ซือ ้

สอบถามความพึงพอใจจากการให้บริการโดยเจ้าหน้าที่ Contact

และลูกค้าสัมพันธ์ ดังนี้

Center ทั้ ง นี้ ผู้ บ ริ ห ารติ ด ตามสารสนเทศทั้ ง หมดเป็ น ประจํ า

• โทรศัพท์: PTT Contact Center 1365, 0-2537-2000

ทุกเดือนเพื่อติดตามแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงและนํากลับมาใช้

• เว็บไซต์:

www.pttplc.com

เป็นแนวทางปรับปรุงกระบวนการ สินค้า และบริการเพือ ่ ตอบสนอง

• อีเมล:

- ศูนย์บริหารคําสั่งซื้อและลูกค้าสัมพันธ์:

ความต้ อ งการของผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ย ทั้ ง นี้ ในปี 2558

1365@pttplc.com

มีข้อคําถาม ข้อติชม และข้อเสนอแนะต่าง ๆ รวม 145,975 เรื่อง

- ฝ่ายสื่อสารองค์กร:

โดยส่วนใหญ่เป็นเรื่องบัตร PTT Blue Card บัตรเครดิตพลังงาน

corporate@pttplc.com - สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่

NGV สถานที่ตั้งสถานีบริการ/ ร้านค้า และโครงการต่าง ๆ สํ า หรั บ การร้ อ งเรี ย น ปตท. เปิ ด โอกาสให้ บุ ค คลทั่ ว ไป

และเลขานุการบริษัท:

สามารถร้องเรียนเมื่อพบพฤติกรรมของกรรมการ ผู้บริหาร และ

corporatesecretary@pttplc.com

พนักงานที่ไม่เหมาะสมหรือขัดต่อจรรยาบรรณธุรกิจของ ปตท.

- ฝ่ายผู้ลงทุนสัมพันธ์: ir@pttplc.com

ต่ อ สํ า นั ก ตรวจสอบภายใน สํ า นั ก กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ แ ละ

- สายด่วน CG: cghelpdesk@pttplc.com

เลขานุการบริษัท และฝ่ายทรัพยากรบุคคล โดย ปตท. จะรับฟัง ทุ ก ข้ อ ร้ อ งเรี ย นอย่ า งเสมอภาค โปร่ ง ใส เอาใจใส่ และให้ ความเป็ น ธรรมแก่ ทุ ก ฝ่ า ย มี ก ารกํ า หนดระยะเวลาดํ า เนิ น การ ที่ เ หมาะสม มี ก ารรั ก ษาความลั บ และคุ้ ม ครองผู้ ร้ อ งเรี ย น โดยในปี 2558 ไม่ พ บข้ อ ร้ อ งเรี ย นด้ า นจริ ย ธรรมที่ มี นั ย สํ า คั ญ และสอบสวนแล้วมีความผิดจริง


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

161 คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง การประเมินผล กรรมการ การปฐมนิเทศกรรมการ การพัฒนากรรมการ 1.

คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง

แห่ ง ประเทศไทย รวมทั้ ง มี ก ารกํ า หนดบทบาทภาระหน้ า ที่ ความรั บ ผิ ด ชอบเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรไว้ อ ย่ า งชั ด เจน ตั้ ง แต่ ปี 2552 เป็นต้นมา ได้มีการขยายอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ กํ า กับ ดูแ ลกิ จ การที่ดี ใ ห้ มี ห น้า ที่ม อบนโยบาย แนวปฏิ บัติ และ ติ ด ตามการดํ า เนิ น งานด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ชุ ม ชน และสิง่ แวดล้อมเพิม ่ เติม เพือ ่ ให้คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ี

คณะกรรมการ ปตท. ให้ความสําคัญในการกํากับดูแล

สามารถดําเนินงานด้านการดูแลผู้มีส่วนได้เสียได้อย่างครบถ้วน

กิจการที่ดี โดยในช่วงเริ่มแรกได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะ

และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมถึงในปี 2556 คณะกรรมการกํากับ

เรื่องขึ้น 3 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ

ดูแลกิจการที่ดีได้มีอํานาจครอบคลุมถึงการวางกรอบแนวทาง

สรรหา และคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน ซึ่งคณะกรรมการ

การกํ า กั บ ดู แ ลการดํ า เนิ น งานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การต่ อ ต้ า นการ

ตรวจสอบจะมี ห น้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบในการดํ า เนิ น การ

ทุจริตของ ปตท. โดยในปี 2558 คณะกรรมการ ปตท. ได้มีการ

เกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการและการบริหารความเสี่ยงในระดับ

พิ จ ารณาปรั บ ปรุ ง อํ า นาจหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการเฉพาะเรื่ อ ง

คณะกรรมการด้วย

ได้แก่ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน

ต่ อ มาในปี 2547 คณะกรรมการ ปตท. ได้ จั ด ตั้ ง คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. เพื่อช่วยส่งเสริม และกลั่ น กรอง การดํ า เนิ น งานเกี่ ย วกั บ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ และการบริหารจัดการให้ดีเลิศ และในปี 2556 คณะกรรมการ

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี และคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงองค์กร เพื่อให้เป็นปัจจุบันมากขึ้นด้วย ทั้งนี้ คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ทั้ง 5 คณะ มีบทบาท หน้าที่และการดําเนินการ ดังนี้

ปตท. ได้ จั ด ตั้ ง คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งองค์ ก ร ปตท. เพื่อให้การดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงของ ปตท.

1.1 คณะกรรมการตรวจสอบ

มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น และสอดคล้องกับหลักการกํากับดูแล กิจการที่ดีที่บริษัทจดทะเบียนพึงปฏิบัติและเป็นไปตามหลักการ

คณะกรรมการตรวจสอบทํ า หน้ า ที่ ส อบทานรายงาน

และแนวทางการกํากับดูแลทีด ่ ใี นรัฐวิสาหกิจปี 2552 ของสํานักงาน

ทางการเงิ น โดยมี ห น่ ว ยงานบั ญ ชี แ ละสํ า นั ก งานการตรวจเงิ น

คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) ดังนัน ้ ในปัจจุบน ั ปตท.

แผ่นดินมาประชุมร่วมกัน และนําเสนอรายงานทางการเงินต่อ

จึงมีคณะกรรมการเฉพาะเรือ ่ งรวม 5 คณะ เพือ ่ ช่วยกลัน ่ กรองงาน

คณะกรรมการ ปตท. ทุกไตรมาส โดยคณะกรรมการ ปตท. เป็น

ที่ มี ค วามสํ า คั ญ อย่ า งรอบคอบ ภายใต้ ห ลั ก การกํ า กั บ ดู แ ล

ผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวมของ ปตท. และบริษัทย่อย รวมทั้ง

กิ จ การที่ ดี มุ่ ง เน้ น การสร้ า งประโยชน์ สู ง สุ ด ให้ แ ก่ ผู้ ถื อ หุ้ น โดย

สารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําปี งบการเงิน

คํานึงถึงผู้ที่มีส่วนได้เสียโดยรวม มีคุณธรรมในการดําเนินธุรกิจ

ดังกล่าวจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีรับรองและตรวจสอบ

มี ค วามโปร่ ง ใส และตรวจสอบได้ คณะกรรมการเฉพาะเรื่ อ ง

โดยสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน การเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศ

ทุกคณะประกอบด้วยกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร และมีคุณสมบัติ

ที่ สํ า คั ญ ทั้ ง ข้ อ มู ล ทางการเงิ น และไม่ ใ ช่ ก ารเงิ น ดํ า เนิ น การ

หน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบตามข้ อ กํ า หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์

บนพื้นฐานของข้อเท็จจริงอย่างครบถ้วนและสม่ําเสมอด้วย


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

162 คณะกรรมการ ปตท. ได้อนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2544 โดยแต่งตั้งจากกรรมการ ปตท. ซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กําหนด มีจํานวนอย่างน้อย 3 คน ทั้งนี้ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนงในคณะกรรมการตรวจสอบ

ตําแหนงในคณะกรรมการ ปตท.

1. นายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์

ประธานกรรมการ

กรรมการอิสระ

2. นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

กรรมการ

กรรมการอิสระ

3. นายวิชัย อัศรัสกร

กรรมการ

กรรมการอิสระ

หมายเหตุ: นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค เป็นกรรมการตรวจสอบที่มีความรู้และประสบการณ์เพียงพอในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินบริษัท 1. นายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์ ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ ตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม 2557 และเปลี่ยนแปลงตําแหน่งเป็นประธานกรรมการตรวจสอบ ตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน 2557 2. นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ ตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม 2557 3. นายวิชัย อัศรัสกร ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ ตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน 2557

โดยมีผช ู้ ว ่ ยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ สํานักตรวจสอบภายใน เป็นเลขานุการ

• พิ จ ารณารายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจ มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือมีโอกาสเกิดการทุจริตที่อาจ มี ผ ลกระทบต่ อ การปฏิ บั ติ ง านของ ปตท. โดยให้ เ ป็ น ไปตาม

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ

กฎหมายและข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ

• จั ด ทํ า ก ฎ บั ต ร ว่ า ด้ ว ย ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ภ า ย ใ น ข อ ง

• เสนอข้อแนะนําต่อคณะกรรมการ ปตท. ในการพิจารณา

คณะกรรมการตรวจสอบ ให้สอดคล้องกับขอบเขตความรับผิดชอบ

แต่ ง ตั้ ง โยกย้ า ย เลื่ อ นขั้ น เลื่ อ นตํ า แหน่ ง และประเมิ น ผลงาน

ในการดําเนินงานของ ปตท. โดยต้องได้รับความเห็นชอบจาก

ของหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการ ปตท. และมี ก ารสอบทานความเหมาะสมของ ระเบียบดังกล่าวอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

• พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทน ผู้สอบบัญชีของ ปตท. ต่อคณะกรรมการ ปตท.*

• สอบทานประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการ

• ประสานงานเกี่ยวกับผลการตรวจสอบกับผู้สอบบัญชี

กํากับดูแลกิจการทีด ่ ี กระบวนการบริหารความเสีย ่ ง และกระบวนการ

และอาจเสนอแนะให้สอบทานหรือตรวจสอบรายการใดที่เห็นว่า

ควบคุมภายใน

จําเป็น

• สอบทานให้ ปตท. มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง และน่าเชื่อถือ

• รายงานผลการดําเนินงานเกีย ่ วกับการตรวจสอบภายใน ของคณะกรรมการตรวจสอบต่อคณะกรรมการ ปตท. อย่างน้อย

• สอบทานการดํ า เนิ น งานของ ปตท. ให้ ถู ก ต้ อ งตาม

ไตรมาสละ 1 ครัง้ ยกเว้นรายงานผลการดําเนินงานในไตรมาสที่ 4

กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ วิธี ปฏิบัติงาน มติคณะรัฐมนตรี

ให้ จั ด ทํ า เป็ น รายงานผลการดํ า เนิ น งานประจํ า ปี พร้ อ มทั้ ง

กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของ

ส่งรายงานดังกล่าวให้กระทรวงเจ้าสังกัดของ ปตท. และกระทรวง

ตลาดหลักทรัพย์ฯ ประกาศหรือคําสัง่ ทีเ่ กีย ่ วข้องกับการดําเนินงาน

การคลังเพื่อทราบ • ประเมินผลการดําเนินงานเกีย ่ วกับการตรวจสอบภายใน

ของ ปตท. • สอบทานให้ ปตท. มี ร ะบบการตรวจสอบภายในที่ ดี พิจารณาความเพียงพอของงบประมาณ บุคลากร และความเป็น อิสระของหน่วยตรวจสอบภายใน

ของคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยปีบัญชีการเงินละ 1 ครั้ง ให้คณะกรรมการ ปตท. ทราบ • เปิ ด เผยรายงานผลการดํ า เนิ น งานประจํ า ปี ข อง คณะกรรมการตรวจสอบ และค่ า ตอบแทนของผู้ ส อบบั ญ ชี ในรายงานประจําปีของ ปตท.

หมายเหตุ: * ปตท. เข้าข่ายรัฐวิสาหกิจ ตามคํานิยามใน พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 4 ซึ่ง พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงิน แผ่นดิน พ.ศ. 2542 มาตรา 4 มาตรา 39 และมาตรา 42 กําหนดว่า สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) มีอํานาจหน้าที่ในการแสดงความเห็น ตามมาตรฐานการสอบบัญชีท่รี ับรองทั่วไปของรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

163 • ประธานกรรมการตรวจสอบ หรื อ กรรมการตรวจสอบ ต้ อ งเข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ปตท. เพื่ อ ชี้ แ จงในเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ คณะกรรมการตรวจสอบ หรือการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีด้วย • ดําเนินการให้ฝ่ายบริหารจัดให้มีกระบวนการรับและกํากับดูแลการรับเรื่องร้องเรียน • กรณีทก ี่ ารดําเนินงานตรวจสอบภายในเรือ ่ งใดหรือการปฏิบต ั งิ านอืน ่ ใดของคณะกรรมการตรวจสอบมีความจําเป็นต้องอาศัย ความรู้ความสามารถจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง ให้คณะกรรมการตรวจสอบเสนอต่อคณะกรรมการ ปตท. เพื่อพิจารณาให้มีการเชิญ หรือดําเนินการว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องด้วยค่าใช้จ่ายของ ปตท. ได้ • เมื่อคณะกรรมการตรวจสอบได้รับรายงานผลการตรวจสอบภายในที่พบว่ามีการปฏิบัติที่ฝ่าฝืนกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีปฏิบัติงาน มติคณะรัฐมนตรี ประกาศ และคําสั่ง ที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงานของ ปตท. ให้แจ้งต่อผู้บริหารสูงสุด เพื่อพิจารณา สั่งให้หน่วยงานที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงานของ ปตท. ดําเนินการแก้ไข • คณะกรรมการตรวจสอบต้ อ งประชุ ม ร่ ว มกั น อย่ า งน้ อ ยไตรมาสละ 1 ครั้ ง ทั้ ง นี้ ต้ อ งมี ก ารประชุ ม ร่ ว มกั บ ผู้ ส อบบั ญ ชี โดยไม่มีฝ่ายบริหารอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • ให้คณะกรรมการตรวจสอบประชุมอย่างเป็นทางการร่วมกับฝ่ายบริหารอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • ปฏิ บั ติ ง านอื่ น ใดตามที่ ก ฎหมายกํ า หนดหรื อ คณะกรรมการ ปตท. มอบหมาย ทั้ ง นี้ ต้ อ งอยู่ ใ นขอบเขต หน้ า ที่ และ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเป็นไปตามแนวทางที่กําหนดไว้ในระเบียบ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ว่าด้วยคณะกรรมการตรวจสอบและหน่วย ตรวจสอบภายใน พ.ศ. 2557 ในปี 2558 มีการประชุม 17 ครัง้ (ปกติ 12 ครัง้ และนัดพิเศษ 5 ครัง้ ) โดยมีการรายงานต่อคณะกรรมการ ปตท. และมีการประชุม ร่วมกับผู้ตรวจสอบบัญชีภายนอกและหน่วยงานบัญชีในการสอบทานงบการเงินทุกไตรมาส ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานผลการปฏิบัติงานประจําปีไว้ในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบแล้ว

1.2 คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการ ปตท. ได้อนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการสรรหา เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2544 โดยแต่งตั้งจากกรรมการ ปตท. 3 คน ทั้งนี้ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนงในคณะกรรมการสรรหา

ตําแหนงในคณะกรรมการ ปตท.

ประธานกรรมการ

กรรมการอิสระ

2. พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์

กรรมการ

กรรมการอิสระ

3. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

กรรมการ

กรรมการอิสระ

1. นายวัชรกิติ วัชโรทัย

หมายเหตุ: 1. นายวัชรกิติ วัชโรทัย เปลี่ยนแปลงตําแหน่งเป็นประธานกรรมการสรรหา ตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน 2557 2. พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์ ดํารงตําแหน่งกรรมการสรรหา ตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน 2557 3. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ ดํารงตําแหน่งกรรมการสรรหา ตั้งแต่วันที่ 26 กันยายน 2558

โดยมีผู้จัดการฝ่ายสํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัททําหน้าที่เลขานุการ


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

164 หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา ในปี 2558 ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ ได้ มี ก ารพิ จ ารณา

ทั้ ง นี้ ได้ กํ า หนดวิ ธี ก ารสรรหาบุ ค คลเพื่ อ แต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการดังนี้

ปรับปรุงอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสรรหาให้เป็นปัจจุบัน มากขึ้น ดังนี้ 1. กํ า หนดวิ ธี ก ารและหลั ก เกณฑ์ ก ารสรรหากรรมการ ปตท. เพื่อให้เกิดความโปร่งใส 2. คั ด เลื อ กบุ ค คลที่ ส มควรได้ รั บ การเสนอชื่ อ เป็ น

1. คณะกรรมการสรรหากําหนดคุณสมบัติของกรรมการ ที่ต้องการสรรหาทดแทน เพื่อให้มีองค์ประกอบและคุณสมบัติ ตามกฎหมาย/ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสอดคล้องกับกลยุทธ์ และการดําเนินธุรกิจของ ปตท. และกําหนดวิธีการเสนอรายชื่อ ผู้มีคุณสมบัติ

กรรมการใหม่ เมื่อมีตําแหน่งว่างลง (จากการลาออก หรือครบ

ทั้ ง นี้ คู่ มื อ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี มาตรฐานทาง

วาระ) เพื่อเสนอคณะกรรมการ ปตท. หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อ

จริยธรรม และจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ ได้ระบุคุณสมบัติ

ดําเนินการแต่งตั้ง โดยคํานึงถึงองค์ประกอบของคณะกรรมการ

ของคณะกรรมการไว้วา่ กรรมการแต่ละคนต้องมาจากผูท ้ รงคุณวุฒิ

ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อ ปตท.

หลากหลายสาขาอาชีพที่จําเป็นในการบริหารกิจการของ ปตท.

รวมทัง้ ไม่มก ี รณีผลประโยชน์ขด ั แย้งกับ ปตท. (Conflict of Interest)

ควรประกอบด้ ว ยผู้ ที่ มี ค วามรู้ ด้ า นธุ ร กิ จ พลั ง งานปิ โ ตรเลี ย ม

อีกทั้งคุณสมบัติของกรรมการที่ต้องการสรรหา ต้องให้สอดคล้อง

อย่ า งน้ อ ย 3 คน ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด้ า นกฎหมายอย่ า งน้ อ ย 1 คน

กับกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจของบริษัท

และผู้ทรงคุณวุฒิด้านบัญชีและการเงินอย่างน้อย 1 คน (Board

3. พิจารณาเสนอชื่อกรรมการ เพื่อทําหน้าที่กรรมการ

Composition)

เฉพาะเรื่อง โดยพิจารณาตามองค์ประกอบของคณะกรรมการ

2. คณะกรรมการสรรหาสรุปผลการสรรหาและเสนอชื่อ

เฉพาะเรื่ อ ง คุ ณ สมบั ติ ความรู้ ความสามารถของกรรมการ

ผูม ้ ค ี วามเหมาะสมทีจ ่ ะเป็นกรรมการ ปตท. พร้อมเหตุผลประกอบ

ที่ เ หมาะสมต่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ก รรมการเฉพาะเรื่ อ ง และนํ า

และนําเสนอต่อคณะกรรมการ ปตท.

เสนอต่ อ คณะกรรมการ ปตท. เพื่ อ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง ยกเว้ น

3. คณะกรรมการ ปตท. พิจารณาคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติ

คณะกรรมการสรรหา ซึ่งคณะกรรมการ ปตท. จะเป็นผู้พิจารณา

เหมาะสมตามรายชือ ่ ทีค ่ ณะกรรมการสรรหานําเสนอเพือ ่ พิจารณา

แต่งตั้ง

แต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการหรื อ เพื่ อ เสนอรายชื่ อ ต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถือ หุ้ น 4. มีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการ ปตท. โดยตรง

เพื่ อ อนุ มั ติ แ ต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการต่ อ ไป โดยรายชื่ อ บุ ค คลที่ มี

ตามบทบาทหน้าที่และคณะกรรมการ ปตท. มีความรับผิดชอบ

ความเหมาะสมจะต้ อ งได้ รั บ ความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการ

ในการดําเนินงานของ ปตท. ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม

นโยบายรัฐวิสาหกิจ เพื่อเป็นไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี

5. ประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหา และจั ด ให้ มี ก ารรายงานผลเพื่ อ รายงานผลให้ ค ณะกรรมการ ปตท. ทราบ และเปิดเผยในรายงานประจําปี 6. เปิ ด เผยรายงานการดํ า เนิ น งานของคณะกรรมการ สรรหาไว้ในรายงานประจําปี 7. ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อื่ น ใด ตามที่ ค ณะกรรมการ ปตท. มอบหมาย

ว่าด้วยการกําหนดนโยบายและกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2557 อีกด้วย ในปี 2558 มี ก ารประชุ ม 5 ครั้ ง โดยกรรมการสรรหา ทุ ก ท่ า นที่ ดํ า รงตํ า แหน่ ง อยู่ ข ณะนั้ น เข้ า ร่ ว มประชุ ม ครบทุ ก ท่ า น และเลขานุการบริษท ั ปฏิบต ั ห ิ น้าทีเ่ ลขานุการคณะกรรมการสรรหา ทั้งนี้ คณะกรรมการสรรหาได้รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจําปีไว้ในรายงานของคณะกรรมการสรรหาแล้ว


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

165 1.3 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน คณะกรรมการ ปตท. ได้อนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2544 โดยแต่งตั้งจากกรรมการ ปตท. 3 ท่าน ทั้งนี้ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนงในคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน

ตําแหนงในคณะกรรมการ ปตท.

1. นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม*

ประธานกรรมการ

กรรมการ

2. นายวัชรกิติ วัชโรทัย

กรรมการ

กรรมการอิสระ

3. นายสมชัย สัจจพงษ์

กรรมการ

กรรมการ

หมายเหตุ: 1. นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ดํารงตําแหน่งประธานกรรมการกําหนดค่าตอบแทน ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 * นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ลาออกจากการเป็นกรรมการ ตั้งแต่วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559 เป็นต้นไป 2. นายวัชรกิติ วัชโรทัย ดํารงตําแหน่งกรรมการกําหนดค่าตอบแทน ตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม 2557 3. นายสมชัย สัจจพงษ์ ดํารงตําแหน่งกรรมการกําหนดค่าตอบแทน ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2558

โดยมีผู้จัดการฝ่ายสํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัททําหน้าที่เลขานุการ

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน ในปี 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการ ได้มีการพิจารณาปรับปรุงอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนให้เป็น ปัจจุบันและรัดกุมมากขึ้นดังนี้ 1. กําหนดหลักเกณฑ์หรือวิธีการกําหนดค่าตอบแทน รวมทั้งพิจารณาเสนอค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผล สําหรับ กรรมการและกรรมการเฉพาะเรื่องต่อคณะกรรมการ ปตท. และที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ 2. พิ จ ารณาเสนอแนวทางการประเมิ น ผลและค่ า ตอบแทนประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ต่อคณะกรรมการ ปตท. เพื่อพิจารณาอนุมัติ 3. รับทราบและให้ข้อเสนอแนะเรื่องการปรับโครงสร้างองค์กรและระดับงาน รวมทั้งการประเมินผลและพิจารณาค่าตอบแทน ผู้บริหารระดับรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ 4. มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ คณะกรรมการ ปตท. โดยตรงตามบทบาทหน้ า ที่ แ ละคณะกรรมการ ปตท. มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ในการดําเนินงานของ ปตท. ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม 5. ประเมินผลการปฏิบต ั งิ านของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน และจัดให้มก ี ารรายงานผลเพือ ่ รายงานผลให้คณะกรรมการ ปตท. ทราบ และเปิดเผยในรายงานประจําปี 6. เปิดเผยรายงานการดําเนินงานของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนไว้ในรายงานประจําปี 7. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใด ตามที่คณะกรรมการ ปตท. มอบหมาย ในปี 2558 มีการประชุม 1 ครั้ง โดยกรรมการกําหนดค่าตอบแทนทุกท่านที่ดํารงตําแหน่งอยู่ขณะนั้น เข้าร่วมประชุมครบ ทุกท่าน และเลขานุการบริษัทปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน ทัง้ นี้ คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนได้รายงานผลการปฏิบต ั งิ านประจําปีไว้ในรายงานของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน แล้ว


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

166 1.4 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการ ปตท. ได้อนุมต ั ิจด ั ตั้งคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ี เมือ ่ วันที่ 24 มิถน ุ ายน 2547 โดยแต่งตั้งจากกรรมการ ปตท. 3 ท่าน ทั้งนี้ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนงในคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

ตําแหนงในคณะกรรมการ ปตท.

ประธานกรรมการ

กรรมการอิสระ

2. นายดอน วสันตพฤกษ์

กรรมการ

กรรมการอิสระ

3. นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

กรรมการ

กรรมการอิสระ

1. พล.อ. ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

หมายเหตุ: 1. พล.อ. ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข ดํารงตําแหน่งประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี ตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน 2557 2. นายดอน วสันตพฤกษ์ ดํารงตําแหน่งกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี ตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน 2557 3. นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ ดํารงตําแหน่งกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี ตั้งแต่วันที่ 26 กันยายน 2558

โดยมีผู้จัดการฝ่ายสํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัททําหน้าที่เลขานุการ

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี ในปี 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการ ได้มีการพิจารณาปรับปรุงอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดีให้เป็น ปัจจุบันมากขึ้น ดังนี้ 1. เสนอแนวปฏิบัติด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดี ต่อคณะกรรมการบริษัท 2. ให้คําแนะนําแก่คณะกรรมการ ปตท. ในเรื่องเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการที่ดี 3. ดูแลการปฏิบัติงานของกรรมการและฝ่ายจัดการ เพื่อให้เป็นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี 4. ทบทวนแนวทางหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. โดยเปรียบเทียบกับแนวปฏิบัติของสากลปฏิบัติ และเสนอแนะ ต่อคณะกรรมการ ปตท. 5. มอบนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. ให้คณะทํางานกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. 6. มอบนโยบายและแนวปฏิบัติในการดําเนินงานด้านการบริหารจัดการความยั่งยืน (Sustatinability Management: SM) ซึ่งรวมถึงการดําเนินงานด้านการดูแล สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility: CSR) 7. กําหนดนโยบายให้ ปตท. เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอชื่อบุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการ ปตท. และการเสนอ วาระสําหรับการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น 8. ติดตามการดําเนินงานด้าน SM และรายงานต่อคณะกรรมการ ปตท. 9. วางกรอบแนวทางการกํากับดูแลการดําเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตของ ปตท. ในปี 2558 มีการประชุม 4 ครั้ง โดยกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดีทุกท่านที่ดํารงตําแหน่งอยู่ขณะนั้น เข้าร่วมประชุมครบ ทุกท่าน และเลขานุการบริษัทปฏิบต ั ิหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี ทั้งนี้ คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดีได้รายงานผลการปฏิบัติงานประจําปีไว้ในรายงานของคณะกรรมการกํากับดูแล กิจการที่ดีแล้ว


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

167 1.5 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร คณะกรรมการ ปตท. ได้อนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2556 และ 22 พฤศจิกายน 2556 และ 31 มกราคม 2557 โดยแต่งตั้งจากกรรมการ ปตท. อย่างน้อย 3 ท่าน และอย่างน้อย 1 ท่านเป็นกรรมการอิสระ ทั้งนี้ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนงในคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร

ตําแหนงในคณะกรรมการ ปตท.

ประธานกรรมการ

กรรมการอิสระ

2. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

กรรมการ

กรรมการอิสระ

3. นายชวลิต พิชาลัย

กรรมการ

กรรมการ

1. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

หมายเหตุ: 1. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ ดํารงตําแหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร ตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน 2557 และได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยงองค์กร ตั้งแต่วันที่ 30 มกราคม 2558 แทน นายคุรุจิต นาครทรรพ ซึ่งลาออกจากการเป็นกรรมการ ปตท. ตั้งแต่วันที่ 13 มกราคม 2558 2. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ดํารงตําแหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร ตั้งแต่วันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 3. นายชวลิต พิชาลัย ดํารงตําแหน่งกรรมการและกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร ตั้งแต่วันที่ 18 สิงหาคม 2558

โดยมีรองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลยุทธ์องค์กร มีภารกิจเป็น Chief Risk Officer (CRO) ทําหน้าที่เลขานุการ

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร ในปี 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการได้มีการพิจารณาปรับปรุงอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กรให้เป็น ปัจจุบันมากขึ้น เป็นดังนี้ • กําหนด และทบทวน นโยบาย กรอบการบริหารความเสี่ยงองค์กร • กํากับดูแลและสนับสนุนให้มีการดําเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยงองค์กร สอดคล้องกับกลยุทธ์และเป้าหมายทางธุรกิจ รวมถึงสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป • ให้ขอ ้ เสนอแนะแนวทาง ติดตาม และประเมินผล การบริหารความเสีย ่ งต่อคณะกรรมการบริหารความเสีย ่ งและควบคุมภายใน (Risk Management and Internal Control Committee: RMCC (ระดับจัดการ) เพื่อนําไปดําเนินการ • พิจารณารายงานผลการบริหารความเสีย ่ งองค์กร และให้ขอ ้ คิดเห็นในความเสีย ่ งทีอ ่ าจจะเกิดขึน ้ รวมทัง้ แนวทางการกําหนด มาตรการควบคุม หรือบรรเทา (Mitigation Plan) และการพัฒนาระบบการจัดการบริหารความเสี่ยงองค์กรให้แก่ RMCC เพื่อให้มี ประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง • สนับสนุนการดําเนินงานของ Chief Risk Officer (CRO) ให้บรรลุเป้าหมายของการบริหารความเสี่ยงองค์กร • รายงานผลการบริหารความเสีย ่ งองค์กรให้คณะกรรมการ ปตท. รับทราบ และในกรณีทม ี่ ีปจ ั จัย หรือเหตุการณ์สา ํ คัญ ซึง่ อาจ มีผลกระทบต่อ ปตท. อย่างมีนัยสําคัญ ต้องรายงานต่อคณะกรรมการ ปตท. เพื่อทราบและพิจารณาโดยเร็วที่สุด • พิจารณากลั่นกรองและให้ข้อคิดเห็นวาระที่มีภาระผูกพันในระยะยาว มีความซับซ้อนเชิงธุรกิจ และมีความเสี่ยงที่อาจ ส่งผลกระทบต่อ ปตท. อย่างมีนัยสําคัญ ก่อนที่จะนําเสนอวาระนั้น ๆ ต่อคณะกรรมการ ปตท. • ประชุมคณะกรรมการฯ อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง • ปฎิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการ ปตท. มอบหมาย ทั้งนี้ การสอบทานระบบบริหารความเสี่ยงองค์กร ยังคงเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบและสํานักตรวจสอบภายใน โดยในปี 2558 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กรมีการประชุม 4 ครั้ง โดยกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กรส่วนใหญ่ ที่ ดํ า รงตํ า แหน่ ง อยู่ ข ณะนั้ น เข้ า ร่ ว มประชุ ม ครบทุ ก ท่ า น และรองกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ก ลยุ ท ธ์ อ งค์ ก ร ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ลขานุ ก าร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร ่ งองค์กร ได้รายงานผลการปฏิบต ั งิ านประจําปีไว้ในรายงานของคณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง คณะกรรมการบริหารความเสีย องค์กรแล้ว


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

168 2.

การประเมินผลตนเองของคณะกรรมการ บริษัท

สรุ ป ผลการประเมิ น คณะกรรมการผลรายบุ ค คล (ประเมินตนเอง) ในภาพรวม 6 หัวข้อ เห็นว่ากรรมการส่วนใหญ่ ถื อ ปฏิ บั ติ เ ป็ น ประจํ า คะแนนเฉลี่ ย อยู่ ใ นเกณฑ์ ดี เ ยี่ ย ม เท่ า กั บ

คณะกรรมการ ปตท. ในการประชุมครัง้ ที่ 9/2558 เมือ ่ วันที่

98.70%

25 กันยายน 2558 มีมติเห็นชอบแบบประเมินผลคณะกรรมการ

3. แบบประเมินผลคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมิน

ปตท. ที่ได้ใช้ประเมินในปี 2557 ทั้ง 4 แบบ ประกอบด้วย แบบ

กรรมการท่านอื่น) ประกอบด้วย 6 หัวข้อ เหมือนกับแบบประเมิน

ประเมินผลคณะกรรมการทัง้ คณะ/ แบบประเมินผลคณะกรรมการ

ผลคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) เพื่อให้สามารถ

รายบุ ค คล (ประเมิ น ตนเอง)/ แบบประเมิ น ผลคณะกรรมการ

เปรียบเทียบผลกับที่กรรมการประเมินตนเอง

รายบุ ค คล (ประเมิ น กรรมการท่ า นอื่ น )/ แบบประเมิ น ผล

สรุ ป ผลการประเมิ น ผลคณะกรรมการรายบุ ค คล

คณะกรรมการเฉพาะเรื่ อ ง (ประเมิ น ทั้ ง คณะ) ว่ า ยั ง คงมี

(ประเมินกรรมการท่านอื่น) รวมจํานวน 6 หัวข้อ เห็นว่ากรรมการ

ความเหมาะสมสําหรับใช้ประเมินคณะกรรมการ ปตท. ประจําปี

ส่วนใหญ่ถือปฏิบัติเป็นประจํา คะแนนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม

2558 โดยได้มีการปรับปรุงเพิ่มเติมบางรายการ ได้แก่ การขอให้

เท่ากับ 99.13%

คณะกรรมการระบุ ห ลั ก สู ต รหรื อ ความชํ า นาญเฉพาะด้ า น

4. แบบประเมินผลคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง (ประเมิน

ที่กรรมการต้องการอบรมเพิ่มเติม เพื่อให้สามารถจัดหาหลักสูตร

ทัง้ คณะ) ประกอบด้วย 4 หัวข้อ คือ นโยบายคณะกรรมการ (Board

เพื่อตรงความต้องการของกรรมการแต่ละท่านอย่างชัดเจน โดย

Policy)/ โครงสร้างของคณะกรรมการ (Board Composition)/

แบบประเมินผลทั้ง 4 แบบ มีเกณฑ์การประเมินผล คิดเป็นร้อยละ

แนวปฏิบัติของคณะกรรมการ (Board Practices)/ การจัดเตรียม

จากคะแนนเต็มในแต่ละข้อทั้งหมด ดังนี้

และดําเนินการประชุม (Board Meeting) สรุ ป ผลการประเมิ น ผลคณะกรรมการเฉพาะเรื่ อ ง

มากกวา มากกวา มากกวา มากกวา ตํ่ากวา

85% 75% 65% 50% 50%

= = = = =

ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง

(ประเมินทัง้ คณะ) ทัง้ 4 คณะ รวมจํานวน 4 หัวข้อ เห็นว่าดําเนินการ อย่างมีประสิทธิภาพ/ เห็นด้วยอย่างยิ่ง ดังมีรายละเอียด ดังนี้ 4.1 คณะกรรมการสรรหา มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ ดีเยี่ยม เท่ากับ 98.96% 4.2 คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน มีคะแนนเฉลีย ่ อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม เท่ากับ 100.00%

โดยสรุปผลการประเมินได้ ดังนี้ 1. แบบประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะ ประกอบด้วย 5 หัวข้อ คือ นโยบายคณะกรรมการ (Board Policy)/ โครงสร้าง ของคณะกรรมการ (Board Composition)/ แนวปฏิ บั ติ ข อง คณะกรรมการ (Board Practices)/ การจัดเตรียมและดําเนินการ

4.3 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ี มีคะแนนเฉลีย ่ อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม เท่ากับ 97.22% 4.4 คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ งองค์กร มีคะแนน เฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม เท่ากับ 99.31% 5. การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการ

ประชุม (Board Meeting)/ การอบรมและพัฒนา (Board Training

ตรวจสอบ

and Development)

เพือ ่ ให้เป็นไปตามระเบียบ บริษท ั ปตท. จํากัด (มหาชน)

สรุปผลการประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะ ในภาพ

ว่ า ด้ ว ยคณะกรรมการตรวจสอบและหน่ ว ยตรวจสอบภายใน

รวม 5 หัวข้อ เห็นว่าการดําเนินการส่วนใหญ่จัดทําได้ดีเยี่ยม/

พ.ศ. 2557 เรื่ อ ง การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน ประกอบกั บ

เหมาะสมทีส ่ ด ุ มีคะแนนเฉลีย ่ อยูใ่ นเกณฑ์ดีเยีย ่ ม เท่ากับ 94.96%

คู่มือการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบในรัฐวิสาหกิจ

2. แบบประเมินผลคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมิน

กระทรวงการคลั ง และตามคู่ มื อ ปฏิ บั ติ สํ า หรั บ ผู้ ต รวจสอบ

ตนเอง) ประกอบด้วย 6 หัวข้อ คือ ความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจ

ภายในและกรรมการตรวจสอบเพื่ อ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี

และการกระทํ า ของตนเอง สามารถอธิ บ ายการตั ด สิ น ใจได้

ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตอนที่ 1.1 ภาระหน้าที่

(Accountability)/ ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ย

ของคณะกรรมการตรวจสอบ กําหนดให้คณะกรรมการตรวจสอบ

ขีดความสามารถและประสิทธิภาพที่เพียงพอ (Responsibility)/

ต้ อ งประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านเกี่ ย วกั บ การตรวจสอบภายใน

การปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย อย่ า งเท่ า เที ย มเป็ น ธรรม และ

อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยการประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นราย

สามารถมีคําอธิบายได้ (Equitable Treatment)/ มีความโปร่งใส

บุคคลและประเมินผลการปฏิบต ั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบ

ในการดําเนินงานทีส ่ ามารถตรวจสอบได้ และมีการเปิดเผยข้อมูล

ทั้ ง คณะ รวมทั้ ง รายงานผลการประเมิ น ปั ญ หาและอุ ป สรรค

(Transparency)/ การมีวิสัยทัศน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่กิจการ

ตลอดจนแผนการปรับปรุงการดําเนินงานให้คณะกรรมการ ปตท.

ในระยะยาว (Vision to Create Long Term Value)/ การมีจริยธรรม/

ทราบทุกปี โดยในปี 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบฯ

จรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ (Ethics)

ครั้ ง ที่ 10/2558 วั น ที่ 15 ตุ ล าคม 2558 มี ม ติ เ ห็ น ชอบให้ ใ ช้


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

169 แบบประเมิ น ผลคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้ ว ยแบบ ประเมินผลรายบุคคล (ประเมินตนเอง) แบบประเมินผลรายบุคคล

3.

การปฐมนิเทศกรรมการ (Directors Orientation)

(ประเมินไขว้) และแบบประเมินผลคณะกรรมการตรวจสอบทัง้ คณะ ซึง่ มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับแนวปฏิบต ั ท ิ ด ี่ ข ี องสํานักงาน

สําหรับกรรมการที่เข้ารับตําแหน่งใหม่ในคณะกรรมการ

คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) และตลาดหลักทรัพย์

ปตท. ปตท. ได้จัดให้มีการปฐมนิเทศ เพื่อให้กรรมการใหม่ได้

แห่งประเทศไทย (ตลท.) และที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ

รับทราบนโยบายธุรกิจของ ปตท. รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น

ครัง้ ที่ 12/2558 วันที่ 15 ธันวาคม 2558 มีมติเห็นชอบการประเมิน

โครงสร้างทุน ผู้ถือหุ้น ผลการดําเนินงาน ข้อมูลระบบต่าง ๆ ที่ใช้

ผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจําปี 2558

งานภายใน ปตท. รวมทั้งกฎหมาย กฎเกณฑ์ต่าง ๆ พร้อมทั้งส่ง

ผลสรุปเป็นดังนี้

มอบคู่มือสําหรับกรรมการ ซึ่งเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์สําหรับ

• แบบประเมิ น ผลคณะกรรมการตรวจสอบรายบุ ค คล (ประเมินตนเอง) ประกอบด้วย 6 หัวข้อ คือ ความรู้ทางธุรกิจ/

การเป็ น กรรมการ ปตท. ให้ กั บ กรรมการ ทั้ ง นี้ คู่ มื อ กรรมการ ประกอบด้วย

ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน/ อํานาจหน้าที่/ ความเป็นอิสระและ ความเที่ ย งธรรม/ ความเข้ า ใจในหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ

คูมือกรรมการ:

ของกรรมการตรวจสอบ/ การอุ ทิ ศ เวลาในการปฏิ บั ติ ง านและ

1. พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด

การประชุม โดยมีเกณฑ์การประเมินผล 4 ระดับ คือ 4 = ดีเยี่ยม/

2. พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

3 = ดีมาก/ 2 = ดี/ 1 = ควรปรับปรุง

3. พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสําหรับ

สรุปผลการประเมินคณะกรรมการตรวจสอบรายบุคคล (ประเมินตนเอง) อยู่ในเกณฑ์ ดีเยี่ยม คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 3.78 • แบบประเมิ น ผลคณะกรรมการตรวจสอบรายบุ ค คล

กรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ 4. ใบสําคัญแสดงการจดทะเบียนบริษัท 5. หนังสือรับรองบริษัท

(ประเมินไขว้) ประกอบด้วย 6 หัวข้อ เหมือนแบบประเมินผลคณะ

6. วัตถุประสงค์ของบริษัท

กรรมการตรวจสอบรายบุคคล (ประเมินตนเอง)

7. ข้อบังคับบริษัท

สรุปผลการประเมินคณะกรรมการตรวจสอบรายบุคคล (ประเมินไขว้) อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.94 • แบบประเมิ น ผลคณะกรรมการตรวจสอบทั้ ง คณะ

8. ระเบียบบริษัท (15 ระเบียบ) 9. คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. 10. คู่มือกรรมการบริษัทจดทะเบียน

ประกอบด้ ว ย 7 หั ว ข้ อ คื อ องค์ ป ระกอบของคณะกรรมการ ตรวจสอบ/ การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ/ บทบาทและ หน้าที่ความรับผิดชอบ/ ความสัมพันธ์กับผู้ตรวจสอบภายในและ

ขอมูลสําหรับกรรมการ: 1. Presentation แนะนําการดําเนินธุรกิจของ ปตท.

ั ฝ่ายบริหาร/ การรายงาน/ การรักษา ผูส ้ อบบัญชี/ ความสัมพันธ์กบ

โดยประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ

คุณภาพ โดยมีเกณฑ์การประเมินผล 4 ระดับ คือ 4 = ปฏิบัติ

ผู้จัดการใหญ่

ครบถ้ ว น/ 3 = ปฏิ บั ติ เ ป็ น ส่ ว นใหญ่ / 2 = ปฏิ บั ติ บ างครั้ ง / 1 = ยังไม่ปฏิบัติ สรุปผลการประเมินคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งคณะ อยู่ในเกณฑ์ปฏิบัติครบถ้วน คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.88

2. รายชื่อคณะกรรมการ คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง และผังโครงสร้างการจัดการ 3. Director Fiduciary Duty Check List 4. หลักการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ส ี า ํ หรับบริษท ั จดทะเบียน

อนึ่ง บริษัทจะทําการวิเคราะห์หัวข้อของการประเมินผล

5. รายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน

เพื่ อ มาพั ฒ นา/ ปรั บ ปรุ ง การทํ า งานต่ อ ไป เช่ น ในหั ว ข้ อ การมี

6. ข้อแนะนําการให้สารสนเทศสําหรับผู้บริหาร

ส่วนร่วมในการวางแผนงาน สืบทอดตําแหน่งของผูบ ้ ริหารระดับสูง ที่ประชุมคณะกรรมการควรพิจารณาปรับปรุงการดําเนินการ เช่น ้ ด ั การใหญ่ ในวาระการเสนอแต่งตัง้ ผูบ ้ ริหารระดับรองกรรมการผูจ

จดทะเบียน 7. Company Profile บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ฉบับย่อ

ซึ่ ง เป็ น อํ า นาจของคณะกรรมการ ขอให้ ฝ่ า ยจั ด การนํ า เสนอ

8. รายงานประจําปี

ผูบ ้ ริหารทีเ่ ป็น candidate อย่างน้อย 2 - 3 ท่าน เพือ ่ ให้คณะกรรมการ

9. รายงานทางการเงิน

ได้เห็นจุดเด่น/ จุดด้อยของ candidate แต่ละท่านก่อนการพิจารณา

10. รายงานความยั่งยืน ปตท.

แต่งตั้ง เป็นต้น

11. หนังสือธรรมาภิบาล 12. หนังสือ PTT The S-Curve Story 13. วารสารหุ้นกู้ 14. วารสารบ้านเรา (PTT Spirit)


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

170 15. บทความ แฉ ความจริง…แปรรูปรัฐวิสาหกิจ 16. PTT WAY OF CONDUCT 17. FACT SHEET 18. PLLI 19. PTT Technology and Innovation Mangement Operating System ในปี 2558 ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ นําเสนอข้อมูล ปตท. โดยบรรยายชี้แจงให้กับกรรมการใหม่ เกีย ่ วกับนโยบายธุรกิจของ ปตท. รวมทัง้ ข้อมูลทีเ่ กีย ่ วข้อง เพือ ่ นําเสนอภาพรวมการดําเนินธุรกิจและผลการดําเนินงานให้กรรมการใหม่ ได้เห็นภาพที่ชัดเจน พร้อมกับส่งมอบคู่มือกรรมการและข้อมูลสําหรับกรรมการตามรายการข้างต้น รวม 3 ครั้ง

4.

การพัฒนากรรมการ ปตท. • การอบรม/ สัมมนา คณะกรรมการ ปตท. และผู้บริหารระดับสูงให้ความสําคัญต่อการเข้าร่วมอบรมสัมมนาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา

ความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่กรรมการอย่างสม่ําเสมอ (ดังรายละเอียดตามข้อมูลในประวัติของแต่ละท่าน) โดยกรรมการ ปตท. ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 93) มีประวัติได้เข้ารับการอบรมกับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) แล้ว โดย ปตท. ให้การสนับสนุนและดําเนินการให้กรรมการพิจารณาเข้ารับการอบรมกับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย และสถาบันอื่น ๆ ในทุกหลักสูตรที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องตลอดปี รวมถึงการจัดผู้เชี่ยวชาญ บริษัทที่ปรึกษา นําเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์สําหรับธุรกิจ อย่างสม่ําเสมอ (In-house Briefing) ประมาณไตรมาสละ 1 ครั้ง รวมทั้งจัดให้คณะกรรมการได้ดูงานจากหน่วยงานหรือองค์กรอื่น ตามความเหมาะสม ทําให้เกิดมุมมองความคิดที่เป็นประโยชน์มาประยุกต์ใช้กับธุรกิจของ ปตท. ในปี 2558 มีกรรมการเข้ารับการอบรม/ สัมมนา ดังนี้

รายชื่อกรรมการ นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

หลักสูตรอบรม/ หัวขอสัมมนา - Board Briefing - สัมมนา เรื่อง บทบาทและหน้าที่กรรมการรัฐวิสาหกิจ ของสํานักงานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) (5 มิ.ย. 2558) - รับฟังบรรยาย “แนวทางการจัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจแห่งชาติ” (13 ก.ค. 2558) - เข้าร่วม PTT Group CG Day 2015 (25 ส.ค. 2558) - รับฟังบรรยาย “บทบาทของกรรมการในการสร้าง Ethics เพื่อความยั่งยืนขององค์กร” โดย PwC (28 ส.ค. 2558) - สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...International Cases and Practices, IOD (14 ต.ค. 2558) - สัมมนา Thailand’s 6th National Conference on Collective Action against Corruption “Anti-Corruption in Thailand: Sustaining the Momentum” จัดโดย IOD (16 ต.ค. 2558)

นายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์

- หลักสูตร Advance Audit Committee Program (AACP 18/2015) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Board Briefing - สัมมนา เรื่อง บทบาทและหน้าที่กรรมการรัฐวิสาหกิจ ของสํานักงานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) (5 มิ.ย. 2558) - สัมมนา PTT Group AC Forum 2015 (6 ก.ค. 2558) - รับฟังบรรยาย “บทบาทของกรรมการในการสร้าง Ethics เพื่อความยั่งยืนขององค์กร” โดย PwC (28 ส.ค. 2558)


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

171 รายชื่อกรรมการ นายวัชรกิติ วัชโรทัย

หลักสูตรอบรม/ หัวขอสัมมนา - Board Briefing - เข้าร่วม PTT Group CG Day 2015 (25 ส.ค. 2558) - รับฟังบรรยาย “บทบาทของกรรมการในการสร้าง Ethics เพื่อความยั่งยืนขององค์กร” โดย PwC (28 ส.ค. 2558) - สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...International Cases and Practices, IOD (14 ต.ค. 2558)

นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม

- Board Briefing - รับฟังบรรยาย “บทบาทของกรรมการในการสร้าง Ethics เพื่อความยั่งยืนขององค์กร” โดย PwC (28 ส.ค. 2558)

พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

- Board Briefing

นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

- Board Briefing - สัมมนา เรื่อง บทบาทและหน้าที่กรรมการรัฐวิสาหกิจ ของสํานักงานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) (5 มิ.ย. 2558) - รับฟังบรรยาย “บทบาทของกรรมการในการสร้าง Ethics เพื่อความยั่งยืนขององค์กร” โดย PwC (28 ส.ค. 2558)

นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

- Board Briefing - สัมมนา PTT Group AC Forum 2015 (6 ก.ค. 2558) - หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD 29/2015) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) (ระหว่างอบรม) - สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...International cases and practices, IOD (14 ต.ค. 2558) - สัมมนาหัวข้อ Global Financial Market Outlook 2016, IOD (17 พ.ย. 2558)

นายวิชัย อัศรัสกร

- Board Briefing - สัมมนา เรื่อง บทบาทและหน้าที่กรรมการรัฐวิสาหกิจ ของสํานักงานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) (5 มิ.ย. 2558) - สัมมนา Re-energizing Growth through Better Governance สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) (18 มิ.ย. 2558) - สัมมนา PTT Group AC Forum 2015 (6 ก.ค. 2558) - รับฟังบรรยาย “แนวทางการจัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจแห่งชาติ” (13 ก.ค. 2558) - รับฟังบรรยาย “บทบาทของกรรมการในการสร้าง Ethics เพื่อความยั่งยืนขององค์กร” โดย PwC (28 ส.ค. 2558) - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่น 7 ปี 2558 สถาบันวิทยาการพลังงาน (ระหว่างอบรม) - หลักสูตร Directors Certification Program (DCP 212/2015) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) (ระหว่างอบรม) - สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...International cases and practices, IOD (14 ต.ค. 2558) - สัมมนา CG Forum 4/2015-Thailand CG Forum “Governance as a Driving Force for Business Sustainability” ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สํานักงาน ก.ล.ต. และ IOD (28 ต.ค. 2558)


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

172 รายชื่อกรรมการ พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์

หลักสูตรอบรม/ หัวขอสัมมนา - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 117/2015), Role of the Nomination & Governance Committee Program (RNG 7/2015) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Board Briefing - รับฟังบรรยาย “แนวทางการจัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจแห่งชาติ” (13 ก.ค. 2558) - เข้าร่วม PTT Group CG Day 2015 (25 ส.ค. 2558) - รับฟังบรรยาย “บทบาทของกรรมการในการสร้าง Ethics เพื่อความยั่งยืนขององค์กร โดย PwC (28 ส.ค. 2558)

นายสมชัย สัจจพงษ์

- ปฐมนิเทศกรรมการใหม่

(แต่งตั้งมีผลวันที่ 1 พ.ย. 2558) นายดอน วสันตพฤกษ์

- หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 117/2015), Role of the Nomination & Governance Committee Program (RNG 7/2015) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่น 6 ปี 2558 สถาบันวิทยาการพลังงาน - รับฟังบรรยาย “แนวทางการจัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจแห่งชาติ” (13 ก.ค. 2558) - Board Briefing - เข้าร่วม PTT Group CG Day 2015 (25 ส.ค. 2558) - รับฟังบรรยาย “บทบาทของกรรมการในการสร้าง Ethics เพื่อความยั่งยืนขององค์กร” โดย PwC (28 ส.ค. 2558) - สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...International Cases and Practices, IOD (14 ต.ค. 2558)

นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

- ปฐมนิเทศกรรมการใหม่

(แต่งตั้งมีผลวันที่ 22 เม.ย. 2558)

- Board Briefing - รับฟังบรรยาย “บทบาทของกรรมการในการสร้าง Ethics เพื่อความยั่งยืนขององค์กร” โดย PwC (28 ส.ค. 2558) - สัมมนา Thailand’s 6th National Conference on Collective Action against Corruption “Anti-Corruption in Thailand: Sustaining the Momentum” จัดโดย IOD (16 ต.ค. 2558)

นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

- Board Briefing - รับฟังบรรยาย “บทบาทของกรรมการในการสร้าง Ethics เพื่อความยั่งยืนขององค์กร” โดย PwC (28 ส.ค. 2558)


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

173 รายชื่อกรรมการ นายชวลิต พิชาลัย (แต่งตั้งมีผลวันที่ 18 ส.ค. 2558)

หลักสูตรอบรม/ หัวขอสัมมนา - ปฐมนิเทศกรรมการใหม่ - Board Briefing - เข้าร่วม PTT Group CG Day 2015 (25 ส.ค. 2558) - รับฟังบรรยาย “บทบาทของกรรมการในการสร้าง Ethics เพื่อความยั่งยืนขององค์กร” โดย PwC (28 ส.ค. 2558) - สัมมนาหัวข้อ Global Financial Market Outlook 2016, IOD (17 พ.ย. 2558)

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช (แต่งตั้งมีผลวันที่ 10 ก.ย. 2558)

- หลักสูตร Anti-Corruption for Executive Program (ACEP 15/2015) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - Board Briefing - เข้าร่วม PTT Group CG Day 2015 (25 ส.ค. 2558) - สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...International Cases and Practices, IOD (14 ต.ค. 2558) - สัมมนา Thailand’s 6th National Conference on Collective Action against Corruption “Anti-Corruption in Thailand: Sustaining the Momentum” จัดโดย IOD (16 ต.ค. 2558) - สัมมนา CG Forum 4/2015-Thailand CG Forum “Governance as a Driving Force for Business Sustainability” ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สํานักงาน ก.ล.ต. และ IOD (28 ต.ค. 2558) - สัมมนาหัวข้อ Global Financial Market Outlook 2016, IOD (17 พ.ย. 2558)

นอกจากนี้ ฝ่ายจัดการยังได้นําเสนอข้อมูลที่สําคัญ เช่น การดําเนินธุรกิจของหน่วยธุรกิจต่าง ๆ และบริษัทใน กลุ่ม ปตท. การจัดซื้อน้ํามันและการขายก๊าซ และสถานการณ์ราคาน้ํามันในตลาดโลก เป็นต้น โดยจัดเป็นการประชุมนําเสนอต่อคณะกรรมการ (Board Briefing 2558) อีกด้วย

• การตรวจเยี่ยมการดําเนินธุรกิจ ทรัพยสิน พนักงานของบริษัทใน กลุม ปตท./ การศึกษากิจการพลังงาน ปตท. มีนโยบายที่จะจัดให้มีการตรวจเยี่ยมการดําเนินธุรกิจ ทรัพย์สิน พนักงาน ของบริษัทใน กลุ่ม ปตท. ทั้งในประเทศ และต่างประเทศให้กับกรรมการเป็นระยะ ๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจธุรกิจยิ่งขึ้น สามารถนําความรู้และประสบการณ์ ที่ได้รับมาช่วย ในการพิจารณาเรื่องพลังงานของ ปตท. และของประเทศได้ ในปี 2558 การตรวจเยี่ยมการดําเนินธุรกิจ ทรัพย์สิน พนักงานของบริษัทใน กลุ่ม ปตท. ของคณะกรรมการ ปตท. ดังนี้ 1. การเดินทางไปตรวจเยี่ยมการดําเนินธุรกิจ ทรัพย์สิน พนักงาน ของบริษัท กลุ่ม ปตท. การศึกษากิจการพลังงาน รวมทั้ง การพบปะ แลกเปลี่ ย นความเห็ น กั บ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริ ษั ท น้ํ า มั น แห่ ง ชาติ อื่ น และองค์ ก รที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญด้ า นพลั ง งาน ในต่างประเทศ ณ สาธารณรัฐอิตาลี สาธารณรัฐมอลตา และรัฐสุลต่านโอมาน ดังนี้ • การศึกษางาน Expo Milano 2015 สาธารณรัฐอิตาลี Theme งาน “Feeding The Planet, Energy for Life” โดยได้รับ ข้อมูลความรู้ว่าทุกประเทศทั่วโลกให้ความสําคัญเกี่ยวกับการใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่า เนื่องจากแหล่งพลังงานที่ใช้กัน อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ส่วนมากเป็นพลังงานประเภทใช้แล้วหมดไป ดังนั้นพลังงานทางเลือกต่าง ๆ เช่น พลังงาน แสงอาทิตย์ พลังงานลม หรือพลังงานชีวภาพ จึงเข้ามามีบทบาทสําคัญ สําหรับการจัดนิทรรศการของแต่ละประเทศ ได้มีการนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ในการจัดแสดง ซึ่งประเทศไทยควรนํามาประยุกต์ใช้


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

174 • การพบปะ แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น กั บ ผู้ บ ริ ห าร

• การตรวจเยีย ่ มการดําเนินธุรกิจและพบปะผูบ ้ ริหาร

ของบริษัท Eni S.p.A.

แ ล ะ เ จ้ า ห น้ า ที่ พ นั ก ง า น ข อ ง P T T E P O m a n

- บริษัท Eni S.p.A. เป็นบริษัทพลังงานแห่งชาติ

Company Limited (PTTEP Oman)

ของสาธารณรัฐอิตาลี ดําเนินธุรกิจปิโตรเลียม

- PTTEP Oman เป็นบริษัทลูกของ บริษัท ปตท.

ครบวงจร ถื อ หุ้ น โดยรั ฐ บาลอิ ต าลี ร้ อ ยละ 30

สํ า รวจและผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย ม จํ า กั ด (มหาชน)

และมีธุรกิจเกี่ยวข้องใน 85 ประเทศทั่วโลก โดยมี พนักงาน 82,300 คน - Eni S.p.A. นําเสนอข้อมูลภาพรวมบริษัท กลยุทธ์ ในแต่ละหน่วยธุรกิจของปี 2558 - 2561 โดยมุง่ เน้น

(ปตท.สผ.) ณ รัฐสุลต่านโอมาน - ได้ รั บ ทราบภาพรวมของการใช้ พ ลั ง งานของรั ฐ สุลต่านโอมาน - การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของ PTTEP Oman ซึ่ ง ก่ อ ตั้ ง

การลดต้นทุนและพัฒนาประสิทธิภาพ และสร้าง

มาแล้ ว เป็ น เวลา 13 ปี โดยมี พ นั ก งานของ

ผลตอบแทนให้ผู้ถือหุ้นอย่างยั่งยืน

ปตท.สผ. ที่ Secondment ประมาณ 12 คน

- มีการหารือเกีย ่ วกับการดําเนินธุรกิจทีเ่ กีย ่ วข้องกัน รับทราบถึงกลยุทธ์ของ Eni ในการดําเนินธุรกิจ

มี ก ารดํ า เนิ น โครงการโอมาน 44 เพื่ อ ผลิ ต น้ํามันดิบและคอนเดนเสท

พลั ง งาน และหารื อ แนวโน้ ม การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ

อนึง่ การเดินทางครัง้ นี้ ถือเป็นการให้ขวัญและกําลังใจ

ภายใต้สถานการณ์ราคาพลังงานที่ลดลง รวมทั้ง

กับพนักงานที่ต้องทํางานในต่างแดน รวมทั้งทําให้คณะกรรมการ

แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ บทบาทของ

ได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพื่อใช้พัฒนาการทําธุรกิจของ ปตท.

LNG ซึ่งจะเป็นพลังงานสําคัญในอนาคตอีกด้วย

และกลุ่ม ปตท. ต่อไป

• การพบปะ แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น กั บ ผู้ บ ริ ห าร ของมหาวิทยาลัยมอลต้า (University of Malta) และ

นโยบายในการส่ ง เสริ ม ให้ ก รรมการได้ เ พิ่ ม พู น ความรู้

สถาบันมหาสมุทรระหว่างประเทศ (International

เกี่ ย วกั บ ทิ ศ ทางการใช้ พ ลั ง งานของประเทศต่ า ง ๆ ดั ง กล่ า ว

Ocean Institute: IOI) ที่สาธารณรัฐมอลตา

ข้ า งต้ น นั้ น ทํ า ให้ ค ณะกรรมการได้ ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บกั บ

- มหาวิ ท ยาลั ย มอลต้ า (University of Malta)

การกําหนดนโยบายด้านพลังงานของประเทศไทย รวมทั้งเปิด

ปั จ จุ บั น มี 14 คณะ และมี นั ก ศึ ก ษาต่ า งชาติ

โอกาสให้กรรมการได้ติดตามข้อมูลและความก้าวหน้าในธุรกิจ

ประมาณ 750 คน จาก 82 ประเทศทั่วโลก และ

พลังงาน พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้เชี่ยวชาญจาก

ได้ร่วมมือกับสถาบันมหาสมุทรระหว่างประเทศ

บริษัทพลังงานชั้นนําระดับโลกในต่างประเทศโดยตรง เพื่อเปิด

(International Ocean Institute: IOI) ซึ่ ง เป็ น

มุมมองในการขยายการลงทุนของ กลุ่ม ปตท. ในต่างประเทศ

สถาบั น ที่ ตั้ ง ขึ้ น ตั้ ง แต่ ปี 2515 ดํ า เนิ น งาน

ซึง่ สอดคล้องกับทิศทางการดําเนินธุรกิจของ กลุม ่ ปตท. ในอนาคต

ตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการศึกษา

โดยข้ อ มู ล ความรู้ แ ละประสบการณ์ ต รงที่ ค ณะกรรมการได้ รั บ

กฎหมายทะเล เพื่อส่งเสริมการศึกษา การวิจัย

จากกิจกรรมนี้จะมีส่วนช่วยให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในธุรกิจ

ก า ร ใ ช้ พื้ น ที่ ท รั พ ย า ก ร ท า ง ท ะ เ ล อ ย่ า ง มี

พลังงานในระดับโลกได้เป็นอย่างดี และจะช่วยในการพิจารณา

ประสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง การหาแนวทางป้ อ งกั น

กํ า หนดแนวทางการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ เ หมาะสมของ ปตท. และ

และอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มทางทะเล โดยร่ ว มกั น

ประเทศได้ต่อไป

จัดหลักสูตรที่น่าสนใจ คือ Master of Arts in

นอกจากนี้ คณะกรรมการ ปตท. ยังได้มีโอกาสไปเข้าร่วม

Ocean Governance ซึง่ มีจด ุ มุง่ หมายในการพัฒนา

งานเปิดสถานีบริการน้ํามันครบวงจร PTT Life Station แห่งแรก

การศึ ก ษา วิ จั ย การจั ด การทางทะเล และ

เมื อ งเสี ย มเรี ย บ ประเทศกั ม พู ช า และในเมื อ งหลวงพระบาง

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นการสร้างความสัมพันธ์

- ได้รับทราบถึงความก้าวหน้าเกี่ยวกับเทคโนโลยี

อันดีระหว่างประเทศไทยกับนานาชาติให้แน่นแฟ้น และยังเตรียม

ที่ ใ ช้ ใ นการเตือนภั ย ต่ า ง ๆ โดยดู จ ากการ

พร้อมการก้าวสู่เออีซี ปลายปี 2558 นี้ได้เป็นอย่างดี อันจะนํามา

เปลี่ ย นแปลงทางทะเล ตลอดจนตระหนั ก ถึ ง

ซึ่งการพัฒนาด้านพลังงานร่วมกันในระยะยาวต่อไป นอกจากนี้

ค ว า ม สํ า คั ญ ใ น ก า ร ใ ส่ ใ จ ดู แ ล สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

คณะกรรมการยังได้มีโอกาสพบปะผู้บริหาร พนักงาน ของบริษัท

นอกจากนี้ ยังได้รบ ั ทราบเกีย ่ วกับระบบการศึกษา

ในกลุ่ม ซึ่งมีสํานักงานอยู่ในประเทศนั้น ๆ เพื่อหารือ ดูกิจการ

ในเบื้องต้น ซึ่งสามารถนํามาปรับใช้กับสถาบัน

ร่ ว มกั น แก้ ไ ขปั ญ หา ซึ่ ง เป็ น ประโยชน์ อ ย่ า งยิ่ ง ในการพิ จ ารณา

วิทยสิริเมธีและโรงเรียนกําเนิดวิทย์ได้

กลยุทธ์ของบริษัทใน กลุ่ม ปตท. ต่อไป


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

175 ทั้งนี้ ในปี 2558 คณะกรรมการยังได้ตรวจเยี่ยมกิจการ ภายในประเทศดังนี้

คุณสมบัติของกรรมการอิสระ

(1) ถื อ หุ้ น ไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 0.5 ของจํ า นวนหุ้ น ที่ มี สิ ท ธิ

1. คณะกรรมการ ปตท. เฝ้าทูลละอองพระบาทรับเสด็จ

ออกเสียงทั้งหมดใน ปตท. บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคล

สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็ จ

ที่อาจมีความขัดแย้ง โดยให้นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย

พระราชดําเนินทรงเปิด “โครงการป่าในกรุง” ถนนสุขาภิบาล 2

(ผูท ้ เี่ กีย ่ วข้อง หมายถึง บุคคลตามมาตรา 258 แห่ง พ.ร.บ. หลักทรัพย์

เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร ซึ่งโครงการป่าในกรุงจะช่วยสร้าง

และตลาดหลักทรัพย์)

ความตระหนักรู้ กระตุ้นให้คนเมืองหลวงได้รับรู้ถึงความสําคัญ

(2) ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน/ พนักงาน/

และร่วมมือร่วมใจในการรักษาทรัพยากรป่าไม้ให้คงอยู่คู่แผ่นดิน

ลูกจ้าง/ ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจํา หรือ ผู้มีอํานาจควบคุม

ไทยอย่างยั่งยืน

ของ ปตท. บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลําดับ

2. คณะกรรมการ ปตท. เยี่ ย มชมการดํ า เนิ น งาน การก่อสร้างโรงเรียนกําเนิดวิทย์และสถาบันวิทยสิริเมธี อําเภอ

เดียวกัน หรือ นิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ปัจจุบัน และช่วง 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง)

วั ง จั น ทร์ จั ง หวั ด ระยอง ในเดื อ นมกราคม 2558 และเมื่ อ

(3) ไม่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างสายโลหิ ต หรื อ โดยการจด

วั น ที่ 6 สิ ง หาคม 2558 ได้ เ ฝ้ า ทู ล ละอองพระบาทรั บ เสด็ จ

ทะเบียนในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร

สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เสด็ จ

รวมทั้งคู่สมรสของบุตรกับผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอํานาจ

พระราชดําเนินทรงเปิดโรงเรียนกําเนิดวิทย์และสถาบันวิทยสิรเิ มธี

ควบคุ ม หรื อ บุ ค คลที่ จ ะได้ รั บ การเสนอชื่ อ เป็ น ผู้ บ ริ ห ารหรื อ

ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาที่ดําเนินงานโดย กลุ่ม ปตท. บนพื้นที่

ผู้มีอํานาจควบคุมของ ปตท. หรือบริษัทย่อย

รวมขนาด 900 ไร่ เน้นการเรียนการสอนและการวิจัยทางด้าน

(4) ความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ ปตท.

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพือ ่ มุง่ เน้นผลิตบุลคากรทีม ่ ีคณ ุ ภาพ

(ก) ลักษณะความสัมพันธ์

ระดับโลก และทรงเปิดโครงการป่าวังจันทร์ ของสถาบันปลูกป่า

• ความสั ม พั น ธ์ ใ นลั ก ษณะของการให้ บ ริ ก าร

ปตท. ที่ตั้งภายในบริเวณเดียวกัน ซึ่งเป็นโครงการที่ทําขึ้นเพื่อ

ทางวิชาชีพ

สร้างห้องเรียนธรรมชาติขนาดใหญ่

o ลักษณะความสัมพันธ์: ผู้สอบบัญชี ผู้ให้

3. คณะกรรมการ ปตท. เข้าร่วมชมนิทรรศการมหัศจรรย์

บริ ก ารทางวิ ช าชี พ อื่ น เช่ น ที่ ป รึ ก ษา

ไม้เมืองหนาว ครัง้ ที่ 5 “ทิวลิปบานทีร่ ะยอง” ซึง่ จัดขึน ้ ในระหว่างวันที่

กฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน ผู้ประเมิน

8 - 17 เมษายน 2558 ณ สวนสมุนไพรสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

ราคาทรัพย์สิน เป็นต้น

สยามบรมราชกุมารี

การสรรหาและแตงตั้งกรรมการ และผูบริหารระดับสูงสุด 1.

กรรมการอิสระ

o ระดับนัยสําคัญที่เข้าข่ายไม่อิสระ - กรณีผู้สอบบัญชี: ห้ามทุกกรณี - กรณี เ ป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารทางวิ ช าชี พ อื่ น : มูลค่ารายการเกิน 2 ล้านบาทต่อปี • ความสั ม พั น ธ์ ท างการค้ า / ทางธุ ร กิ จ (ใช้ แ น ว ท า ง ใ น ทํ า น อ ง เ ดี ย ว กั บ ข้ อ กํ า ห น ด ว่ า ด้ ว ยการทํ า รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ของ

1.1 คุณสมบัติของกรรมการอิสระ

ตลาดหลักทรัพย์ฯ) o ลักษณะความสัมพันธ์: กําหนดครอบคลุม

คณะกรรมการ ปตท. ในการประชุมครั้งที่ 1/2556 เมื่อ

ร า ย ก า ร ท า ง ธุ ร กิ จ ทุ ก ป ร ะ เ ภ ท ไ ด้ แ ก่

วันที่ 17 มกราคม 2556 ได้มีมติเห็นชอบตามที่คณะกรรมการ

รายการที่ เ ป็ น ธุ ร กรรมปกติ รายการเช่ า /

กํากับดูแลกิจการที่ดีเสนอ คือ การกําหนดนิยามความเป็นอิสระ

ให้ เ ช่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ รายการเกี่ ย วกั บ

ของกรรมการ ปตท. ใหม่ ซึ่งเข้มกว่าหลักเกณฑ์ของสํานักงาน

สินทรัพย์/ บริการ และรายการให้หรือรับ

คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)

ความช่วยเหลือทางการเงิน

และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และกําหนดบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการอิสระไว้ รวมทั้งได้จัดทํา เป็นคูม ่ อ ื การปฏิบต ั ห ิ น้าทีแ ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการอิสระ ของ ปตท. ซึ่งลงนามโดยประธานกรรมการ เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2556 ดังนี้


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

176 o ระดับนัยสําคัญที่เข้าข่ายไม่อิสระ: มูลค่า

ทั้ ง นี้ ในกรณี ที่ ก รรมการอิ ส ระมี ก ารดํ า รงตํ า แหน่ ง เป็ น

รายการ ≥ 20 ล้ า นบาท หรื อ ≥ 3%

กรรมการอิสระในบริษัทใหญ่ บริษัทย่อย และบริษัทย่อยลําดับ

ของ NTA ของ ปตท. แล้ ว แต่ จํ า นวนใด

เดี ย วกั น ปตท. ต้ อ งเปิ ด เผยข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การดํ า รงตํ า แหน่ ง

จะต่ํ า กว่ า ทั้ ง นี้ ในการพิ จ ารณามู ล ค่ า

ดั ง กล่ า วและค่ า ตอบแทนรวม ที่ ก รรมการอิ ส ระรายนั้ น ได้ รั บ

รายการให้รวมรายการที่เกิดขึ้นในระหว่าง

ในแบบ 56-1 และแบบ 56-2 ด้วย

6 เ ดื อ น ก่ อ น วั น ที่ มี ก า ร ทํ า ร า ย ก า ร ในครั้งนี้ด้วย (ข) กรณี ที่ มี ลั ก ษณะความสั ม พั น ธ์ ต าม (ก) กั บ นิติบุคคล บุคคลที่ถือว่าเข้าข่ายไม่อิสระ ได้แก่

บทบาทหนาที่และความรับผิดชอบของกรรมการอิสระ ของ ปตท.

(1) เสนอแนะเรื่องที่สําคัญและเป็นประโยชน์ต่อ ปตท.

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ (ยกเว้ นกรณีเป็น

ผู้ถือหุ้น และผู้ถือหุ้นรายย่อยต่อคณะกรรมการ ปตท. และ/หรือ

กรรมการอิ ส ระ/ กรรมการตรวจสอบ) และ

ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่แล้วแต่กรณี

ผู้บริหาร หรือ Partner ของนิติบุคคลนั้น

(2) ให้ ค วามคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ บทบาทและหน้ า ที่ ข อง

(ค) กํ า หนดช่ ว งเวลาที่ ห้ า มมี ค วามสั ม พั น ธ์ ต าม

คณะกรรมการ ปตท. ที่พึงปฏิบัติ รวมทั้งให้ความคิดเห็นตาม

(ก) และ (ข): ปั จ จุ บั น และ 2 ปี ก่ อ นได้ รั บ

บทบาทและหน้าทีข ่ องกรรมการอิสระทีพ ่ งึ ปฏิบต ั เิ พือ ่ ประโยชน์ตอ ่

การแต่งตั้ง

ปตท. ผู้ถือหุ้น และผู้ถือหุ้นรายย่อย

(ง) ข้ อ ยกเว้ น : กรณี มี เ หตุ จํ า เป็ น และสมควร

(3) สอบทานให้ ปตท. ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ซึ่ ง มิ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งสม่ํ า เสมอและต่ อ เนื่ อ ง

กั บ กรรมการอิ ส ระ รวมถึ ง ทบทวนนิ ย ามกรรมการอิ ส ระให้ มี

กรรมการอิ ส ระ/ กรรมการตรวจสอบ อาจมี

ความเหมาะสมและครบถ้วนตามกฎหมาย

ความสั ม พั น ธ์ เ กิ น ระดั บ นั ย สํ า คั ญ ที่ กํ า หนด

(4) ป ฏิ บั ติ ก า ร อื่ น ใ ด ต า ม ที่ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป ต ท .

ในระหว่ า งดํ า รงตํ า แหน่ ง ก็ ไ ด้ แต่ ต้ อ งได้ รั บ

มอบหมายโดยจะต้องไม่มีผลต่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นอิสระ

อนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการ ปตท. ก่ อ นและ

(5) วาระของกรรมการอิ ส ระเริ่ ม ตั้ ง แต่ มี คุ ณ สมบั ติ

มติ ที่ ไ ด้ ต้ อ งเป็ น มติ เ ป็ น เอกฉั น ท์ โดย ปตท.

ครบถ้วนตามนิยามกรรมการอิสระในการกํากับดูแลกิจการที่ดี

ต้ อ ง เ ปิ ด เ ผ ย ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ดั ง ก ล่ า ว ข อ ง

ของ ปตท. และพ้นจากการเป็นกรรมการอิสระเมื่อขาดคุณสมบัติ

ก ร รม ก า รรา ย นั้ น ไว้ ใ น แ บ บ แ สดง รา ย ก า ร

ตามนิยามดังกล่าว หรือพ้นจากตําแหน่งกรรมการ ปตท.

ข้ อ มู ล ประจํ า ปี (แบบ 56-1) และรายงาน

(6) กรรมการอิสระต้องประชุมอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง

ประจํ า ปี (แบบ 56-2) ของ ปตท. และหาก ต่อมา ปตท. จะเสนอกรรมการอิสระนั้น เพื่อ ดํ า รงตํ า แหน่ ง ต่ อ อี ก วาระหนึ่ ง ปตท. จะต้ อ ง เปิ ด เผยข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ความสั ม พั น ธ์ ดั ง กล่ า ว

1.2 การแยกตําแหนงประธานกรรมการ และประธานเจาหนาที่บริหาร/ กรรมการผูจัดการใหญ

ในหนั ง สื อ นั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ในวาระเลื อ กตั้ ง กรรมการด้วย

เพื่ อ ให้ ก ารแบ่ ง แยกหน้ า ที่ ใ นเรื่ อ งการกํ า หนดนโยบาย

(5) ไม่ เ ป็ น กรรมการที่ ไ ด้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ตั ว แทน

ของ ปตท. และการบริหารงานประจําของ ปตท. ออกจากกัน

ของกรรมการของ ปตท. ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ห รื อ ผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง เป็ น

และเพื่ อ ให้ ก รรมการทํ า หน้ า ที่ ส อดส่ อ ง ดู แ ล และประเมิ น ผล

ผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ ปตท.

การบริ ห ารงานได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ปตท. จึ ง กํ า หนดให้

(6) ไม่ มี ลั ก ษณะอื่ น ใดที่ ทํ า ให้ ไ ม่ ส ามารถให้ ค วามเห็ น อย่างเป็นอิสระได้ (7) กรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติตาม (1) - (6) อาจได้รับ

ประธานกรรมการ และประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร/ กรรมการ ผู้ จั ด การใหญ่ เป็ น คนละบุ ค คลกั น เสมอ ประธานกรรมการ ต้องคอยสอดส่องดูแลการบริหารจัดการของฝ่ายบริหาร คอยให้

มอบหมายจากคณะกรรมการ ปตท. ให้ตัดสินใจในการดําเนิน

คํ า แนะนํ า ช่ ว ยเหลื อ แต่ ต้ อ งไม่ มี ส่ ว นร่ ว มและไม่ ก้ า วก่ า ย

กิจกรรมของ ปตท. บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อย

ในการบริหารงานปกติประจําวัน โดยให้เป็นหน้าที่ของประธาน

ลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่มีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสินใจ

เจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ภายใต้กรอบอํานาจ

ในรูปแบบองค์คณะ (collective decision) ได้

ที่ได้รับจากคณะกรรมการ


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

177 ปัจจุบน ั ประธานกรรมการ ปตท. เป็นกรรมการอิสระ มีภาวะ

บริ บู ร ณ์ ใ นวั น ยื่ น ใบสมั ค ร เมื่ อ คณะกรรมการสรรหาสรรหา

ผู้นําสูง ทําหน้าที่ดูแลกรรมการมิให้อยู่ภายใต้อิทธิพลของฝ่าย

ผู้ที่มีความเหมาะสมแล้วให้เสนอต่อผู้มีอํานาจพิจารณาแต่งตั้ง

บริหาร โดยทําหน้าที่ให้ผู้เข้าร่วมประชุมใช้สิทธิออกเสียง ปฏิบัติ

โดยต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี นับแต่วน ั ทีผ ่ บ ู้ ริหารเดิม

ตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีอย่างเคร่งครัด

พ้ น จากตํ า แหน่ ง สั ญ ญาจ้ า งมี ร ะยะเวลาคราวละไม่ เ กิ น 4 ปี ในกรณี ที่ ค ณะกรรมการจะจ้ า งผู้ บ ริ ห ารเดิ ม ต่ อ หลั ง จากครบ

1.3 ความเปนอิสระของประธานกรรมการ

กําหนดเวลาตามสัญญาจ้างไม่ตอ ้ งดําเนินการกระบวนการสรรหา ใหม่ แต่จะจ้างเกินสองคราวติดต่อกันไม่ได้

คณะกรรมการ ปตท. ในการประชุมนัดพิเศษครัง้ ที่ 1/2557

ทัง้ นี้ ข้อมูลการสืบทอดตําแหน่งสําหรับผูบ ้ ริหารได้รายงาน

เมือ ่ วันที่ 4 กรกฎาคม 2557 มีมติแต่งตัง้ นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

ไว้ภายใต้หมวดโครงสร้างการจัดการ หัวข้อ “พนักงาน” ข้างต้นแล้ว

กรรมการอิ ส ระ เป็ น ประธานกรรมการ ซึ่ ง เป็ น ไปตามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี สํ า หรั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย น ปี 2555 ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และทํ า ให้ ก ารทํ า งาน ของประธานกรรมการมี ค วามเป็ น อิ ส ระ รวมถึ ง เป็ น การสร้ า ง ความเชื่ อ มั่ น ในการดํ า เนิ น งานที่ มี ค วามโปร่ ง ใส และดู แ ล

การกํากับดูแลการดําเนินงาน ของบริษัทยอยและบริษัทรวม กลไกการกํากับดูแล

ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย อย่างเป็นธรรม

2.

การสรรหากรรมการและผูบ ริหารระดับสูงสุด

ปตท. กํ า หนดนโยบายการกํ า กั บ ดู แ ลการดํ า เนิ น งาน ของบริษัท กลุ่ม ปตท. โดยจัดทําเป็นคู่มือ PTT Way และกําหนด แนวปฏิบัติ PTT Way of Conduct ซึ่งเป็นการรวบรวม ประมวล

2.1 การสรรหากรรมการ

กระบวนการทํ า งานในมิ ติ ต่ า ง ๆ ของบริ ษั ท ใน กลุ่ ม ปตท. ให้ ส อดคล้ อ งและประสานเป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั น ในกระบวนการ

(วิธีการสรรหาบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการ รายงาน

ทํางาน โดยจะเป็นแนวทางให้ผู้บริหาร ปตท. ที่ดํารงตําแหน่ง

ไว้ภายใต้หมวดการกํากับดูแลกิจการ หัวข้อ “การปฏิบต ั ต ิ อ ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้

กรรมการบริ ษั ท ใน กลุ่ ม ปตท. และผู้ จั ด การใหญ่ บ ริ ษั ท ใน

อย่างเท่าเทียมกัน 2.1 การเสนอวาระการประชุมเพิ่มเติมและ

กลุ่ ม ปตท. หรื อ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งยึ ด ถื อ เป็ น แนวทาง

เสนอชื่อบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการ” และ “คณะกรรมการ

ในการปฏิ บั ติ ง านและเกิ ด ความร่ ว มมื อ ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ

เฉพาะรื่อง 1.2 คณะกรรมการสรรหา” แล้ว)

ของบริษัทต่าง ๆ ใน กลุ่ม ปตท. ในทิศทางเดียวกัน สอดคล้อง และสนับสนุนการทําธุรกิจซึ่งกันและกัน เพื่อสร้างความได้เปรียบ

2.2 การสรรหาผูบริหารระดับสูงสุด/ การสืบทอดตําแหนง

ในการแข่งขัน ซึ่งจะผลักดันให้บรรลุเป้าหมายระยะยาวที่วางไว้ และประสบความสําเร็จและเติบโตอย่างยั่งยืนต่อไป รวมทั้ ง ได้ มี ก ารกํ า หนดบทบาทและหน้ า ที่ ข องบุ ค ลากร

เนือ ่ งจาก ปตท. มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจ ดังนัน ้ การสรรหา

ผู้ ดํ า ร ง ตํ า แ ห น่ ง ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร อั น เ ป็ น แ น ว ท า ง

และแต่งตั้งตําแหน่งของกรรมการผู้จัดการใหญ่ จึงต้องปฏิบัติ

ในการปฏิบต ั ท ิ ค ี่ วรยึดในการบริหารงานบริษท ั ต่าง ๆ ใน กลุม ่ ปตท.

ตามพระราชบั ญ ญั ติ ม าตรฐานสํ า หรั บ กรรมการและพนั ก งาน

เพื่อประโยชน์สูงสุดตามพันธกิจ

รัฐวิสาหกิจ โดยต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา 8 ตรีและดําเนิน กระบวนการสรรหาตามมาตรา 8 จัตวา โดยให้คณะกรรมการ

บทบาทหลั ก ในการบริ ห ารจั ด การบริ ษั ท ใน กลุ่ ม ปตท. ประกอบด้วย

ปตท. ตั้ ง คณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่ ง จํ า นวน 5 คน ที่ มี

บทบาทของคณะกรรรมการ ปตท. มีดังนี้

คุณสมบัตแ ิ ละไม่มล ี ก ั ษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ทําหน้าทีส ่ รรหา

• การกํ า หนดวิ สั ย ทั ศ น์ ทิ ศ ทาง กลยุ ท ธ์ แ ละนโยบาย

บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่เหมาะสม

• การแต่ ง ตั้ ง ฝ่ า ยบริ ห ารรั บ ผิ ด ชอบการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ

สําหรับเป็นผู้บริหาร ปตท. โดยต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้ามตามกฎหมาย ไม่เป็นกรรมการของ ปตท. ยกเว้นเป็น ผู้บริหารซึ่งเป็นกรรมการโดยตําแหน่ง และมีอายุไม่เกิน 58 ปี

• การติดตามและรับผิดชอบในการดําเนินงานของบริษัท โดยมุ่งเน้นให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ถือหุ้นและผู้ที่ส่วนได้เสีย • ตั้งมั่นในหลักธรรมาภิบาล


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

178 บทบาทของฝ่ายจัดการจะมีหน้าที่

ผูบ ้ ริหารสูงสุดบริษท ั ใน กลุม ่ ปตท. หรือพนักงาน ปตท. ปฏิบต ั งิ าน

• สร้ า งความเชื่ อ มโยงด้ า นกลยุ ท ธ์ แ ละนโยบายของ

Secondment บริษัทใน กลุ่ม ปตท.

กลุ่ม ปตท. กับบริษัทให้เป็นรูปธรรมทางปฏิบัติ • บริหารจัดการบริษัทให้มีผลการดําเนินงานเป็นที่พอใจ แก่ผู้ถือหุ้น

• การเชื่อมโยงและผลักดันให้บรรลุตามเป้าหมาย โดย ผ่านคณะกรรมการต่าง ๆ • หน่วยงานบริหารบริษัทในเครือแต่ละหน่วยธุรกิจ จะทํา

บทบาทของเลขานุการบริษัทจะมีหน้าที่

หน้าที่ถ่ายทอด ติดตาม ให้คําปรึกษา และประเมินการผลักดัน

• ส่ ง เสริ ม การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องกรรมการบริ ษั ท และ

นโยบายต่าง ๆ กับบริษัทใน กลุ่ม ปตท.

ผู้จัดการใหญ่ • รั บ ผิ ด ช อ บ ง า น ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร บ ริ ษั ท (Compliance) • จัดทําระบบควบคุมภายใน (Internal Control) บทบาทของผู้ถือหุ้นจะมีหน้าที่ ิ น้าทีข ่ องคณะกรรมการ • เลือกและตรวจสอบการปฏิบต ั ห ของบริษัท

ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ต่ า ง ๆ ที่ กํ า ห น ด บ ท บ า ท ห น้ า ที่ แ ล ะ ความรับผิดชอบของกรรมการและผูบ ้ ริหารระดับสูงสุดของบริษท ั ใน กลุ่ม ปตท. รวมถึง • หลั ก เกณฑ์ ต ามระเบี ย บของคณะกรรมการกํ า กั บ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ • หลักการบริหารจัดการบริษัทใน กลุ่ม ปตท.

• ร่ ว มกํ า หนดนโยบายเกี่ ย วกั บ การดํ า เนิ น งานต่ า ง ๆ ของบริษัท

• หลักปฏิบัติการต่อต้านทุจริต กํากับโดยคณะกรรมการ โครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต

การแบ่งกลุ่มงานในการบริหารจัดการแบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่

นโยบายการไปดํารงตําแหนงกรรมการที่อื่น ของกรรมการและผูบริหาร

• ระดับองค์กร (Corporate Level) ประกอบด้วย - ระดับสํานักงานใหญ่ (Corporate Center) มุ่งเน้น

ในปี 2558 ปตท. มีบริษัทในกลุ่มที่ไปลงทุนและถือหุ้นรวม

ด้านการกํากับดูแล และ Share Service โดยกําหนด

42 บริษัท (เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ 7 บริษัท)

นโยบาย กลุ่ม ปตท. ให้มีความสอดคล้อง

ปตท. จึงได้ให้ความสําคัญและกําหนดรูปแบบการบริหารจัดการ

- ระดับแกนนํากลุม ่ (COO/ BG) มีบทบาทในการกําหนด

ในลักษณะ กลุม ่ ปตท. เพือ ่ สร้างให้เกิดพลังร่วมและมีประสิทธิภาพ

กลยุทธ์ เป้าหมาย ติดตามการปฏิบัติงานของแต่ละ

ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ร่ ว มกั น (Synergy) ด้ ว ยการเสนอแต่ ง ตั้ ง

กลุ่ ม ธุ ร กิ จ อย่ า งใกล้ ชิ ด เพื่ อ ที่ จ ะมุ่ ง สู่ ก ารปฏิ บั ติ

ให้กรรมการหรือผู้บริหารของ ปตท. ไปเป็นกรรมการในบริษัทใน

ที่เป็นเลิศ สร้างพลังร่วม

กลุ่ ม ปตท. เพื่ อ กํ า กั บ ดู แ ลให้ บ ริ ษั ท ดั ง กล่ า วกํ า หนดนโยบาย

• ระดับปฏิบัติการ ใน กลุ่ม ปตท. ได้แก่ Business Unit

และดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายของ ปตท. ให้ เ กิ ด

และบริษัทภายใต้ Business Unit มุ่งปฏิบัติงานในธุรกิจตนเอง

ประโยชน์และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ทั้งนี้

ให้ เ ป็ น เลิ ศ บรรลุ ผ ลสํ า เร็ จ นํ า นโยบายการกํ า กั บ ดู แ ลของ

วัตถุประสงค์ของการเสนอบุคคลเพื่อไปเป็นกรรมการในบริษัท

กลุ่ม ปตท. ไปบูรณาการร่วมกับการปฏิบัติการของหน่วยงานของ

อื่นมีดังนี้

ตนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

1) เพือ ่ กํากับดูแลการบริหารจัดการให้เป็นไปตามนโยบาย ของบริ ษั ท ใน กลุ่ ม ปตท. และติ ด ตาม ประเมิ น ผลภาพรวม

การบริหารจัดการระดับองค์กร (Corporate Level) และ

การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ใน กลุ่ ม ปตท. ให้ ส อดคล้ อ งกั บ

ระดั บ ปฏิ บั ติ ก าร (BU/Flagship) จะเชื่ อ มโยงกั น การกลไก

นโยบายของ ปตท. ในทิศทางเดียวกันกับ ปตท. และมีมาตรฐาน

การกํากับดูแล ได้แก่

ใกล้เคียงกัน

• ระเบียบบริษัท • การถ่ า ยทอดนโยบายฯ เพื่ อ นํ า ไปสู่ ก ารปฏิ บั ติ โ ดย ผู้บริหาร ปตท. ดํารงตําแหน่งกรรมการ และ/หรือดํารงตําแหน่ง

2) เป็ น การสร้ า ง Synergy ให้ กั บ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ใน กลุ่ม ปตท. เพื่อให้เกิดการประสานประโยชน์และการสร้างมูลค่า เพิ่มให้กับทุกองค์กรที่เกี่ยวข้อง รวมถึงประเทศไทย


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

179 3) เพื่ อ นํ า ประสบการณ์ ค วามสามารถเฉพาะด้ า นไป

2. Reporting: ให้การรายงานทางการเงินและรายงาน

ช่วยเหลือธุรกิจ เช่น การนําความรู้ด้านการเงินไปช่วยปรับปรุง

อื่น ๆ ที่จัดทําขึ้นเพื่อใช้ภายในและภายนอกองค์กร เป็นไปอย่าง

พัฒนาด้านบัญชี การเงิน ให้บริษัทนั้น ๆ ดําเนินธุรกิจได้เติบโต

ถูกต้อง เชื่อถือได้ และทันเวลา

ต่อไปอย่างเข้มแข็ง ซึ่งรวมถึงการไปช่วยเหลือบริษัทที่ไม่ได้อยู่ใน

3. Compliance: ให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ

กลุ่ม ปตท. รวมทั้งสามารถนําความรู้และประสบการณ์ที่ได้ไป

ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการทํางานขององค์กร รวมทั้งการปฏิบัติ

ทําหน้าที่เป็นกรรมการกํากับดูแลบริษัทชั้นนําเหล่านั้นให้กลับมา

ตามนโยบายและวิธีการปฏิบต ั ิงานทีอ ่ งค์กรกําหนดขึน ้ ทีเ่ กีย ่ วข้อง

ช่วยเสริมประโยชน์ให้กับ ปตท. และเป็นการสร้างความสัมพันธ์

กับการดําเนินธุรกิจของ ปตท. อย่างเคร่งครัด

ที่ดี เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจให้กับ ปตท. ด้วย 4) ถือเป็นหน้าทีห ่ นึง่ ในการปฏิบต ั ห ิ น้าทีข ่ องกรรมการและ ผู้บริหาร

ปตท. กํ า หนดให้ มี ห น่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบเกี่ ย วกั บ งาน ควบคุ ม ภายในเพื่ อ ดํ า เนิ น การประเมิ น การควบคุ ม ภายในของ องค์กร โดยประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

ทั้งนี้ ปตท. กํากับดูแลให้มีการพิจารณาแต่งตั้งผู้บริหาร

ปตท. มอบหมายให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุม

หรือบุคคลภายนอกจากบุคคลในบัญชีรายชือ ่ กรรมการทีก ่ ระทรวง

ภายใน มี อํ า นาจหน้ า ที่ ใ นการกํ า หนดแนวทางการปฏิ บั ติ ง าน

การคลัง (Director’s Pool) ในบริษัท กลุ่ม ปตท. ที่เป็นรัฐวิสาหกิจ

ตามมาตรฐานการควบคุมภายใน การประเมินผล และการรายงาน

ตาม พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานสําหรับกรรมการและพนักงาน

เกี่ยวกับการควบคุมภายในของ ปตท. ในภาพรวม ตามระเบียบ

รั ฐ วิ ส าหกิ จ ฯ จั ด ทํ า ขึ้ น ไม่ น้ อ ยกว่ า หนึ่ ง ในสามของจํ า นวน

คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกําหนดมาตรฐาน

กรรมการอื่นของรัฐวิสาหกิจนั้น ทั้งนี้ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559

การควบคุ ม ภายใน พ.ศ. 2544 ข้ อ 6 ซึ่ ง กํ า หนดให้ หั ว หน้ า

ปตท. มีผู้บริหารอยู่ในบัญชีรายชื่อ Director’s Pool รวม 7 ราย

หน่วยงานทั้งราชการและรัฐวิสาหกิจรายงานต่อคณะกรรมการ

และกํ า กั บ ดู แ ลให้ ผู้ บ ริ ห าร ปตท. และบุ ค คลภายนอกที่ ดํ า รง

ตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ผู้ กํ า กั บ ดู แ ลและคณะกรรมการตรวจสอบ

ตําแหน่งกรรมการในบริษท ั ที่ ปตท. ถือหุน ้ ดํารงตําแหน่งในบริษท ั

เกี่ ย วกั บ การควบคุ ม ภายในอย่ า งน้ อ ยปี ล ะครั้ ง ทั้ ง นี้ คณะ

ที่ ปตท. หรือรัฐวิสาหกิจอืน ่ ถือหุน ้ ไม่เกิน 3 แห่ง เพือ ่ ลดความเสีย ่ ง

กรรมการ ปตท. ได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบทําหน้าที่

ด้ า นการขั ด กั น ทางผลประโยชน์ แ ละกํ า กั บ ดู แ ลให้ มี ก ารปฏิ บั ติ

ในการสอบทานผลการประเมินการควบคุมภายใน ซึ่งจัดทําขึ้น

ตามกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และให้ เ ป็ น ไปตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี

โดยฝ่ายบริหารและสํานักตรวจสอบภายในเป็นประจําทุกปีโดยมี

เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2554 เกี่ยวกับมาตรการป้องกันการทุจริต

สาระสําคัญดังนี้

ของรั ฐ วิ ส าหกิ จ เรื่ อ งการแต่ ง ตั้ ง ข้ า ราชการระดั บ สู ง หรื อ บุ ค คล ดํารงตําแหน่งกรรมการในรัฐวิสาหกิจหลายแห่ง ตามข้อเสนอ ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ

(1) สภาพแวดลอมของการควบคุม (Control Environment)

มิชอบแห่งชาติ (ปปช.) นอกจากนี้ คณะกรรมการยั ง มี ม ติ กํ า หนดแนวปฏิ บั ติ

ในภาพรวม ปตท. มีสภาพแวดล้อมของการควบคุมภายใน

หลักการการไปดํารงตําแหน่งต่าง ๆ ของผูบ ้ ริหารบริษท ั กลุม ่ ปตท.

ที่ดี มีความเหมาะสมเพียงพอต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผล

โดยในปี 2558 คณะกรรมการได้ มี ม ติ ใ ห้ ถื อ หลั ก การดั ง กล่ า ว

ในการดําเนินธุรกิจ โดยผู้บริหารได้ส่งเสริมสนับสนุนวัฒนธรรม

เป็นส่วนหนึ่งของคู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดีฯ อีกด้วย

องค์ ก รที่ มุ่ ง เน้ น ความซื่ อ สั ต ย์ แ ละจริ ย ธรรม เป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี

การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน 1.

ระบบการควบคุมภายใน

(Role Model) และมีการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ดังนี้ • กํ า หนดนโยบายและระเบี ย บปฏิ บั ติ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อักษรเกี่ยวกับความซื่อสัตย์และจริยธรรม (Code of Conduct) โดยคณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เ ป็ น ผู้ กํ า หนดนโยบาย ด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดีตามหลักมาตรฐานสากล รวมถึง

ปตท. ให้ความสําคัญต่อการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง

การเปิดเผยเกี่ยวกับการขัดกันในผลประโยชน์ส่วนตนกับกิจการ

โดยมุ่งเน้นให้มีการจัดวางระบบการควบคุมภายในที่ครอบคลุม

ขององค์กร (Conflicts of Interest) เพื่อป้องกันกิจกรรมที่อาจ

ทุ ก กิ จ กรรมและในหลายมิ ติ อ ย่ า งเพี ย งพอและเหมาะสมกั บ

เกิดผลประโยชน์ทับซ้อน กิจกรรมที่ผิดกฎหมายและไม่เหมาะสม

การดําเนินธุรกิจเพื่อ

มี ก ารทบทวนปรั บ ปรุ ง นโยบายและคู่ มื อ เป็ น ประจํ า ทุ ก ปี โดย

1. Operational Excellence: ให้ มี ก ารบริ ห ารจั ด การ

กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับ ลงนามรับทราบและ

การใช้ทรัพยากรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ยึดถือปฏิบต ั เิ ป็นส่วนหนึง่ ในการทํางาน เพือ ่ ให้เห็นถึงคํามัน ่ สัญญา

รวมถึ ง การดู แ ลทรั พ ย์ สิ น การป้ อ งกั น หรื อ ลด ความผิ ด พลาด

ในการนํานโยบายด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณ

ความเสียหาย การรั่วไหล และการทุจริต

ธุรกิจฯ ไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

180 • การจัดโครงสร้างองค์กรที่มีลักษณะของการกระจาย อํ า นาจ เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ง านมี ค วามคล่ อ งตั ว เหมาะสม และสอดคล้ อ งกั บ สภาพธุ ร กิ จ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป มี ก ารมอบ

6. แข่งขันอย่างเสรี เป็นธรรม 7. มีกระบวนการการจัดซื้อที่โปร่งใส และปฏิบัติต่อ คู่ค้าอย่างเป็นธรรม

อํ า นาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร โดย

8. รับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม

มี ก ารกํ า หนดตั ว ชี้ วั ด (Key Performance Indicators: KPIs)

9. สนับสนุนสิทธิของพนักงาน และสร้างความผูกพัน

เพื่ อ เป็ น แนวทางในการปฏิ บั ติ ง านของพนั ก งานและติ ด ตาม ผลการดําเนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายอย่างสม่า ํ เสมอ รวมทัง้ มี ก ารทบทวนเป้ า หมายประจํ า ปี ซึ่ ง พนั ก งานทุ ก คนทราบถึ ง บทบาท อํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบของตน • กํ า หนดให้ ก ารกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมขององค์กร โดยมีเป้าหมายที่จะให้ ปตท. เป็นบริษัทที่เจริญเติบโตอย่างยั่งยืน (Sustainable Growth Strategy) โดยผลักดันให้เป็นบริษท ั พลังงานไทยข้ามชาติชน ั้ นํา เป็น องค์กรที่มีศักยภาพเป็นเลิศ (High Performance Organization: HPO) มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ชุ ม ชน และสิ่ ง แวดล้ อ ม (Corporate Social Responsibility: CSR) และสร้างประโยชน์

ต่อองค์กร 10. ปฏิบัติต่อเงื่อนไขสัญญาที่มีต่อเจ้าหนี้ อย่างเคร่งครัด โปร่งใส และเท่าเทียมกัน 11. มีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน ที่มีประสิทธิภาพ 12. มีแนวทางปฏิบัติในการรับ การให้ของขวัญ ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด 13. รักษาความปลอดภัย ส่งเสริมสุขอนามัย และรักษาสิ่งแวดล้อม 14. เคารพทรัพย์สินทางปัญญา และใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในทางที่ถูก

ตอบแทนที่ เ หมาะสมแก่ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย บนหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ล กิจการที่ดี (Corporate Governance: CG)

(2) จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ (Code of Conduct)

(3) ความขัดแยงทางผลประโยชน (Conflicts of Interest) ปตท. กําหนดให้มก ี ารเปิดเผยข้อมูลเพือ ่ ป้องกันการขัดกัน ของผลประโยชน์ส่วนตนกับบริษัท (Conflicts of Interest) เพื่อ

ปตท. กําหนดนโยบายและระเบียบปฏิบัติเป็นลายลักษณ์

ป้ อ งกั น กิ จ กรรมที่ อ าจเกิ ด ผลประโยชน์ ทั บ ซ้ อ น กิ จ กรรมที่ ผิ ด

อักษรเกี่ยวกับความซื่อสัตย์และจริยธรรม (Code of Conduct)

กฎหมายและไม่เหมาะสม โดยคณะกรรมการ ปตท. ได้กําหนด

โดยคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด ่ เี ป็นผูก ้ า ํ หนดจรรยาบรรณ

นโยบายเกี่ ย วกั บ ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ บ นหลั ก การ

ในการดําเนินธุรกิจฯตามหลักมาตรฐานสากลไว้ในคูม ่ อ ื การกํากับ

ทีว ่ า ่ การตัดสินใจใด ๆ ของบุคลากรทุกระดับในการดําเนินกิจกรรม

ดูแลกิจการทีด ่ ฯ ี และกําหนดให้การฝ่าฝืนจรรยาบรรณมีความผิด

ทางธุ ร กิ จ จะต้ อ งทํ า เพื่ อ ผลประโยชน์ สู ง สุ ด ของ ปตท. เท่ า นั้ น

ทางวินัย

และถือเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกระดับที่จะหลีกเลี่ยงการมีส่วน

จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของ ปตท. มีสาระสําคัญ

เกี่ยวข้องทางการเงิน และ/หรือความสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก อื่น ๆ ซึ่งจะส่งผลให้ ปตท. ต้องเสียผลประโยชน์หรือก่อให้เกิด

ดังนี้ 1. เคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชนสากล

ความขั ด แย้ ง ในด้ า นความภั ก ดี ห รื อ ผลประโยชน์ ห รื อ ขั ด ขวาง

2. เป็นกลางทางการเมือง

การปฏิ บั ติ ง านอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยกํ า หนดให้ ผู้ ที่ มี ส่ ว น

3. ไม่มีส่วนได้เสียและผลประโยชน์ขัดกัน

เกี่ยวข้องหรือเกี่ยวโยงกับรายการที่พิจารณา ต้องแจ้งให้บริษัท

4. รักษาความลับ และไม่ใช้ข้อมูลภายใน เพื่อประโยชน์ส่วนตัว 5. ตอบสนองความต้องการของลูกค้า และรับผิดชอบ ต่อผู้บริโภค

ทราบถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ห รื อ ความเกี่ ย วโยงของตนในรายการ ดังกล่าว และต้องไม่เข้าร่วมการพิจารณาตัดสิน รวมถึง ปตท. จะต้ อ งดํ า เนิ น การให้ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งไม่ มี อํ า นาจอนุ มั ติ ห รื อ เกี่ยวข้องกับธุรกรรมนั้น ๆ


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

181 (4) การจัดทํารายงานเปดเผยรายการ ที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนกับ ปตท.

(6) การจัดทํารายงานการเปลี่ยนแปลง การถือหลักทรัพย

ปตท. กํ า หนดให้ ก รรมการ ผู้ บ ริ ห าร พนั ก งานทุ ก คน

เพื่อกํากับดูแลด้านการใช้ข้อมูลภายใน ปตท. ได้กําหนด

ต้ อ งจั ด ทํ า รายงานเปิ ด เผยรายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทาง

ให้คณะกรรมการ ปตท. และผู้บริหาร ซึ่งหมายรวมถึงคู่สมรส

ผลประโยชน์กบ ั ปตท. โดยใช้แบบฟอร์มรายงานการเปิดเผยรายการ

และบุ ต รที่ ยั ง ไม่ บ รรลุ นิ ติ ภ าวะ เมื่ อ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงการถื อ

ที่สงสัยว่าจะเป็นผลประโยชน์ที่ขัดกันกับผลประโยชน์ของ ปตท.

หลั ก ทรั พ ย์ ปตท. จะต้ อ งแจ้ ง ให้ ปตท. ทราบ และรายงาน

และในการอนุมัติใด ๆ สําหรับกรณีดังกล่าวต้องยึดถือหลักการ

การเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ต่อสํานักงานคณะกรรมการ

ไม่ให้มีการกําหนดเงื่อนไขหรือข้อกําหนดพิเศษผิดไปจากปกติ

กํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ตามมาตรา 59 แห่ ง

ถือเป็นกระบวนการควบคุมภายในของ ปตท. รวมทัง้ ได้กา ํ หนดให้

พระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ พ.ศ. 2535

สํานักตรวจสอบภายในและคณะกรรมการตรวจสอบเป็นผูส ้ อดส่อง

ภายใน 3 วันทําการนับจากวันที่ซื้อ ขาย โอน หรือรับโอน รวมทั้ง

ดูแลและจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ดงั กล่าว

ปตท. ได้กําหนดนโยบายให้มีการเปิดเผย/ รายงาน การซื้อ/ ขาย/

ทั้งนี้ ในปี 2558 ได้ดําเนินการให้กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน

โอน เปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหาร

ทุ ก คนจั ด ทํ า รายงานในช่ ว งต้ น ปี ซึ่ ง สรุ ป ผลไม่ พ บรายการขั ด

ต่อคณะกรรมการ ปตท. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในการประชุม

แย้งที่มีสาระสําคัญ โดยในแบบการเปิดเผยรายการขัดแย้งทาง

ประจํ า เดื อ น โดยกํ า หนดเป็ น วาระปกติ ใ นปฏิ ทิ น การประชุ ม

ผลประโยชน์ของ ปตท. จะเป็นการยืนยันการรับทราบว่า การฝ่าฝืน

คณะกรรมการ ปตท. ไว้ล่วงหน้า

ไม่ปฏิบัติตาม จริยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของ

อนึ่ ง ในช่ ว ง 1 สั ป ดาห์ ก่ อ นวั น ปิ ด งบการเงิ น ประจํ า

ปตท. เข้าลักษณะแห่งความผิดทางวินัย ต้องพิจารณาโทษวินัย

ไตรมาสและประจําปี สํานักกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่และเลขานุการ

ตามขั้นตอนการลงโทษ และความร้ายแรงของการกระทํา

บริษัทจะทําหนังสือแจ้งกรรมการ ผู้บริหาร หรือหน่วยงานที่ได้ รั บ ทราบข้ อ มู ล ภายใน (Insider) ไม่ ใ ห้ เ ปิ ด เผยข้ อ มู ล ภายใน

(5) การจัดทํารายงานการมีสวนไดเสีย ของกรรมการ ผูบริหาร และบุคคล ที่มีความเกี่ยวของ

แก่ บุ ค คลภายนอกหรื อ บุ ค คลที่ ไ ม่ มี ห น้ า ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และห้ า ม ซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วง 45 วัน สําหรับงบไตรมาส และ 60 วัน สําหรับงบประจําปี (ตั้งแต่วันปิดงบจนถึงวันแจ้งงบ ต่ อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ ) คื อ ก่ อ นที่ ง บการเงิ น จะเผยแพร่ ต่ อ

ในช่ ว งไตรมาสแรกของปี 2558 คณะกรรมการ ปตท.

่ เป็นการป้องกันไม่ให้นา ํ ข้อมูลภายในไปใช้ในทาง สาธารณชน เพือ

ได้ จั ด ทํ า แบบรายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย ของกรรมการ เพื่ อ ใช้

มิชอบ (Insider Trading) ทั้งนี้ ในปี 2558 กรรมการและผู้บริหาร

เป็ น ข้ อ มู ล พื้ น ฐานในการกํ า กั บ ดู แ ลด้ า นการมี ส่ ว นได้ เ สี ย

ได้ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด มีการแจ้งกรรมการและผู้บริหาร

ในระดับกรรมการ และเช่นเดียวกับผูบ ้ ริหารระดับสูงได้ดา ํ เนินการ

จํานวน 4 ครั้ง คือ ห้ามซื้อ/ ขาย/ โอนหุ้น ปตท. (1) ระหว่างวันที่

จั ด ทํ า แบบรายงานดั ง กล่ า วประจํ า ปี ค รบทุ ก ราย และจั ด ส่ ง ให้

1 มกราคม ถึงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 (งบปี 2557) (2) ระหว่าง

เลขานุการบริษัทจัดเก็บ รวบรวม พร้อมทั้งทําสําเนาส่งประธาน

วันที่ 1 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม 2558 (งบไตรมาสที่ 1

คณะกรรมการ ปตท. และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

ปี 2558) (3) ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม ถึงวันที่ 14 สิงหาคม 2558

เพื่ อ ใช้ ใ นการตรวจสอบและกํ า กั บ ดู แ ลด้ า นความขั ด แย้ ง ทาง

(งบไตรมาสที่ 2 ปี 2558) (4) ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 16

ผลประโยชน์ อนึ่ ง ในระหว่ า งปี ไ ม่ มี ก ารรายงานการมี ส่ ว นได้

พฤศจิกายน 2558 (งบไตรมาสที่ 3 ปี 2558)

ส่วนเสียของกรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลเกี่ยวข้อง


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

182 รายงานการถือหลักทรัพยของกรรมการ ปตท. ป 2557 และป 2558 จํานวนหุน (หุน) ลําดับที่

รายชื่อกรรมการ

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2557

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2558

เพิ่ม (ลด) ระหวางป

หมายเหตุ

1.

นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

-

-

-

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

นายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์

-

-

-

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

นายวัชรกิติ วัชโรทัย

-

-

-

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม

-

-

-

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

พล.อ. ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

-

-

-

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

-

-

-

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

-

-

-

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

นายวิชัย อัศรัสกร

-

-

-

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

พล.อ.ท. บุญสืบ ประสิทธิ์

-

-

-

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 2.

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 3.

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 4.

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 5.

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 6.

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 7.

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 8.

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 9.

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

183 จํานวนหุน (หุน) ลําดับที่

10.

รายชื่อกรรมการ

นายสมชัย สัจจพงษ์

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2557

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2558

เพิ่ม (ลด) ระหวางป

หมายเหตุ

-

-

-

กรรมการแต่งตั้งใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 (ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

นายดอน วสันตพฤกษ์

-

-

-

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

-

-

-

กรรมการแต่งตั้งใหม่ ตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน 2558

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 11.

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 12.

นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.) คู่สมรสและบุตร

-

-

-

130,800

-

-

-

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 13.

นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

(ในปี 2558 มีรายการโอนหุ้น ปตท. ให้คู่สมรส จํานวน 130,800 หุ้น เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2558)

14.

คู่สมรส

-

130,800

-

-

บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

-

-

-

-

นายชวลิต พิชาลัย

-

-

-

กรรมการแต่งตั้งใหม่ ตั้งแต่วันที่ 18 สิงหาคม 2558 (ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

-

-

-

แสดงข้อมูลไว้ในตารางการถือหลักทรัพย์

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 15.

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

ของผู้บริหาร ปตท. หมายเหตุ: คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของกรรมการไม่มีการถือหุ้น ยกเว้นกรรมการ ลําดับที่ 13


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

184 รายงานการถือหลักทรัพยของกรรมการที่ครบวาระและลาออกระหวางป 2558 จํานวนหุน (หุน) ลําดับที่

1.

รายชื่อกรรมการ

นายคุรุจิต นาครทรรพ

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2557

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2558

เพิ่ม (ลด) ระหวางป

-

N/A

N/A

หมายเหตุ

ลาออก เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2558 (ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

N/A

N/A

-

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 2.

นายทวารัฐ สูตะบุตร

ลาออก เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2558 (ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

60,000

N/A

N/A

-

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 3.

นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร

พ้นวาระจากกรรมการเนื่องจากหมดวาระ การดํารงตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ตามสัญญาจ้าง มีผลวันที่ 10 กันยายน 2558

คู่สมรส

4.

2,000

N/A

N/A

-

บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

-

-

-

-

นายรังสรรค์ ศรีวรศาสตร์

-

N/A

N/A

ลาออก เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 (ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

-

-

-

-


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

185 การถือหลักทรัพยของผูบริหาร ป 2557 และป 2558 จํานวนหุน (หุน) ลําดับที่

1.

รายชื่อผูบริหาร

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2557

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2558

เพิ่ม (ลด) ระหวางป

56,000

25,000

(31,000)

หมายเหตุ

เข้ารับตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ตามสัญญาจ้าง ตั้งแต่วันที่ 10 กันยายน 2558 (ในปี 2558 มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ดังนี้ - ซื้อหุ้นเพิ่ม 10,000 หุ้น - ขายหุ้นออกบางส่วน จํานวน 41,000 หุ้น)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

25,500

25,500

-

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2558)

-

-

-

-

นายสรัญ รังคสิริ

0

0

-

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

4,334

4,334

-

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2558)

-

-

-

-

นายชวลิต พันธ์ทอง

0

0

-

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

101,900

101,900

-

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2558)

-

-

-

-

นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร

0

0

-

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 2.

นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

3.

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 4.

นายปิติพันธ์ เทพปฏิมากรณ์ คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

5.

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 6.

นางบุบผา อมรเกียรติขจร คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

7.

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

186 จํานวนหุน (หุน) ลําดับที่

8.

รายชื่อผูบริหาร

นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2557

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2558

เพิ่ม (ลด) ระหวางป

20,500

22,500

2,000

หมายเหตุ

(ในปี 2558 มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ดังนี้ - ซื้อหุ้นเพิ่ม 2,000 หุ้น)

คู่สมรส

2,300

3,800

1,500

(ในปี 2558 มีรายการซื้อหุ้น ปตท. ดังนี้ - ซื้อหุ้นเพิ่ม จํานวน 2,100 หุ้น - ขายหุ้นออกบางส่วน จํานวน 600 หุ้น)

9.

บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

-

-

-

-

นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์

N/A

0

-

ผู้บริหารแต่งตั้งใหม่ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2558 (ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2558)

คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 10.

นายนพดล ปิ่นสุภา

N/A

120,200

-

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2558)

-

-

-

-

N/A

13,600

-

ผู้บริหารแต่งตั้งใหม่ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2558 (ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2558)

คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 11.

นายกฤษณ์ อิ่มแสง

N/A

50,800

-

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2558)

-

-

-

-

N/A

10,000**

N/A

* ผู้บริหารแต่งตั้งใหม่ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 ** ข้อมูลการถือหลักทรัพย์ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

N/A

0

-

ผู้บริหารแต่งตั้งใหม่ ปฏิบัติงาน Secondment

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 12.

นายสมพร ว่องวุฒิพรชัย

บมจ. ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม ณ วันที่ 22 ตุลาคม 2558 (ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2558) คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

N/A

10,000

-

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2558)

-

-

-

-


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

187 จํานวนหุน (หุน) ลําดับที่

13.

รายชื่อผูบริหาร

นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2557

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2558

เพิ่ม (ลด) ระหวางป

2,000

2,000

-

หมายเหตุ

ปฏิบัติงาน Secondment ใน บมจ. ไออาร์พีซี ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2556 (ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2558)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

0

0

-

ปฏิบัติงาน Secondment ใน บมจ. ไทยออยล์

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 14.

นายอธิคม เติบศิริ

ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2557 (ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.) คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

0

0

-

ปฏิบัติงาน Secondment ใน บมจ. พีทีที โกลบอล

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 15.

นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์

เคมิคอล ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2557 (ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2558) คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

41,000

41,000

-

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2558)

-

-

-

-

N/A

7,000**

-

* ผู้บริหารแต่งตั้งใหม่

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 16.

นางนิธิมา เทพวนังกูร คู่สมรสและบุตร ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

17.

นายสัมฤทธิ์ สําเนียง*

มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 ** ข้อมูลการถือหลักทรัพย์ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ หมายเหตุ: คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของผู้บริหารไม่มีการถือหุ้น ยกเว้นผู้บริหาร ลําดับที่ 8, 9, 10 และ 12


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

188 การถือหลักทรัพยของผูบริหารที่โยกยาย/ เกษียณอายุระหวางป 2557 และป 2558 จํานวนหุน (หุน) ลําดับที่

1.

รายชื่อผูบริหาร

นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2557

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2558

เพิ่ม (ลด) ระหวางป

60,000

N/A*

-

หมายเหตุ

* หมดวาระการดํารงตําแหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ตามสัญญาจ้าง มีผลวันที่ 10 กันยายน 2558 (ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในปี 2558 ช่วงที่อยู่ในตําแหน่ง)

คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 2.

นายสุรงค์ บูลกุล

2,000

N/A*

-

-

-

-

-

-

118,183

N/A

-

เกษียณอายุ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2558 (ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในปี 2558 ช่วงที่อยู่ในตําแหน่ง)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

63

N/A

-

-

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 3.

นายณัฐชาติ จารุจินดา

เกษียณอายุ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2558 (ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในปี 2558 ช่วงที่อยู่ในตําแหน่ง)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

44,108

N/A

-

เกษียณอายุ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2558

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 4.

นายชาครีย์ บูรณกานนท์

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในปี 2558 ช่วงที่อยู่ในตําแหน่ง) คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 5.

นายสรากร กุลธรรม

11,300

N/A

-

-

-

-

-

-

45,400

N/A

(1,000)

เกษียณอายุ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2558 (ในปี 2558 มีรายการขายหุ้น ปตท. ดังนี้ - ขายหุ้นออกบางส่วน จํานวน 1,000 หุ้น)

คู่สมรส

บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

11,000

-

N/A

-

2,000

(ในปี 2558 มีรายการซื้อหุ้น ปตท. ดังนี้

-

- ซื้อหุ้นเพิ่ม จํานวน 2,000 หุ้น)

-

-


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

189 จํานวนหุน (หุน) ลําดับที่

รายชื่อผูบริหาร

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2557

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2558

เพิ่ม (ลด) ระหวางป

6.

นายประมินทร์ พันทวีศักดิ์

0

N/A

-

หมายเหตุ

เกษียณอายุ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2558 ปฏิบัติงาน Secondment ใน บจ.ฟีนอล ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 (ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในปี 2558 ช่วงที่อยู่ในตําแหน่ง)

คู่สมรส

300

N/A

-

-

-

-

-

-

28,812

N/A

2,000

บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 7.

นางสาวพรรณนลิน

* ปฏิบัติงาน Secondment

มหาวงศ์ธิกุล*

ใน บมจ. ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 (ในปี 2558 มีรายการซื้อหุ้น ปตท. ดังนี้ - ซื้อหุ้นเพิ่ม จํานวน 2,000 หุ้น)

คู่สมรสและบุตร

-

-

-

-

ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ หมายเหตุ: 1. คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของผู้บริหารไม่มีการถือหุ้น ยกเว้นผู้บริหาร ลําดับที่ 1, 4, 5 และ 6 2. การออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (Warrant) ให้แก่ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหาร พนักงาน ปตท. และพนักงานบริษัทในเครือ ปตท. ที่มาปฏิบัติงานประจําในตําแหน่งงานของ ปตท. จํานวน 60,000,000 หน่วย แบ่งเป็น 2 รุ่น คือ รุ่นที่ 1 (PTT-W1) จํานวน 40,000,000 หน่วย เสนอขาย ในปี 2548 และใช้สิทธิครั้งสุดท้าย วันที่ 31 สิงหาคม 2553 และรุ่นที่ 2 (PTT-W2) จํานวน 20,000,000 หน่วย เสนอขายในปี 2549 และใช้สิทธิครั้งสุดท้าย วันที่ 28 กันยายน 2554 ได้ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว และยังไม่มีการขออนุมัติออก Warrant รุ่นใหม่

(7) การยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินตอ ปปช. ตามพระราชบัญญัตป ิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 39 กําหนดให้กรรมการ และผู้บริหารสูงสุดของ ปตท. รวมไปถึงกรรมการและผู้บริหารสูงสุดในนิติบุคคลที่ ปตท. ถือหุ้นเกินกว่าร้อยละ 50 มีหน้าที่ยื่นบัญชี แสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะต่อคณะกรรมการ ปปช. ทุกครั้งที่เข้ารับตําแหน่ง ทุก ๆ 3 ปีทด ี่ า ํ รงตําแหน่ง และเมือ ่ พ้นจากตําแหน่ง 1 ปี โดย ปตท. จะมีหนังสือแจ้งเตือนกรรมการและผูบ ้ ริหารสูงสุดตามเวลาทีก ่ า ํ หนด

(8) การแจงการมีสวนไดเสียในที่ประชุม คณะกรรมการฯ ได้กําหนดนโยบายในเรื่องในการประชุมคณะกรรมการ ปตท. ทุกครั้ง ประธานกรรมการจะแจ้งต่อที่ประชุม เพือ ่ ขอความร่วมมือกรรมการปฏิบต ั ิตามนโยบายเกีย ่ วกับเรือ ่ งความขัดแย้งของผลประโยชน์วา ่ ในระเบียบวาระใดทีก ่ รรมการเกีย ่ วข้อง หรือมีส่วนได้เสีย ขอให้กรรมการแจ้งต่อที่ประชุมเพื่องดออกเสียงหรือให้ความเห็นใด ๆ ในปี 2558 มีการแจ้งต่อประธานกรรมการฯ จํานวน 17 วาระ (การประชุมรวม 16 ครั้ง)

(9) การพิจารณาและการสอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกัน คณะกรรมการตรวจสอบมี ห น้ า ที่ ใ นการพิ จ ารณาและสอบทานรายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ที่อาจมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของ ปตท. โดยให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ ก่อนนําเสนอคณะกรรมการ ปตท. เพื่อพิจารณาอนุมัติ


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

190 (10) กิจกรรมรณรงคสงเสริมการกํากับดูแลกิจการ ที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ

• จั ด ใ ห้ มี ช่ อ ง ท า ง ใ น ก า ร สื่ อ ค ว า ม ด้ า น ก า ร กํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ก่ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย กลุ่ ม ผู้ ถื อ หุ้ น สามั ญ โดยตรง อีกช่องทางหนึง่ คือ การจัดทําจดหมายข่าวรายไตรมาสภายใต้ชอ ื่

คณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ทํ า หน้ า ที่ ส่ ง เสริ ม

“PTT Bizway” โดยจัดทําเป็น 2 ภาษา คือ ภาษาไทยและภาษา

และกลั่ น กรองการดํ า เนิ น งานเกี่ ย วกั บ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ

อังกฤษ ส่งไปทางไปรษณีย์ให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญได้รับทราบข้อมูล

เพื่อให้ ปตท. มีการรณรงค์ส่งเสริมความสําคัญของการปฏิบัติ

สําคัญ ได้แก่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

หน้าที่ตามหลักการกํากับดูแลกิจการอย่างจริงจัง โดยได้จัดตั้ง

ผลประกอบการ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี การบริ ห ารจั ด การ

คณะทํางานการกํากับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งมีผู้บริหารระดับผู้ช่วย

สู่ความยั่งยืนของ ปตท. ข่าวสารการดําเนินงานของ ปตท. ฯลฯ

กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ เ ป็ น หั ว หน้ า คณะทํ า งาน กํ า หนดแผน

โดย ปตท. ได้จัดทําแบบประเมินทัศนคติของผู้ถือหุ้นต่อ ปตท.

ปฏิ บั ติ ก ารกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละการต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น

สําหรับหัวข้อทัศนคติความพึงพอใจต่อ ปตท. ผูถ ้ อ ื หุน ้ มีความเห็น

ของ ปตท. พร้อมทั้งเป้าหมายประจําปี ซึ่งได้รับการอนุมัติจาก

ว่า ปตท. มีการกํากับดูแลกิจการที่ดี ในระดับมากถึงมากที่สุด

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ี และคณะกรรมการ ปตท. เพือ ่

รวมแล้วประมาณร้อยละ 80

ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนําไปปฏิบัติ รวมทั้งช่วยดําเนินการต่าง ๆ

• ปลายปี 2558 คณะทํางานการกํากับดูแลกิจการที่ดี

ตามนโยบาย และเป็ น ผู้ จั ด กิ จ กรรมหลากหลายในการรณรงค์

ปตท. ได้จัดทําแบบสอบถามผ่านช่องทางการสื่อสารภายใน เพื่อ

ส่งเสริมการปลูกจิตสํานึกแห่งความรับผิดชอบภายใต้หลักการ

ประเมินความรู้ความเข้าใจและการสื่อความด้านการกํากับดูแล

กํากับดูแลกิจการที่ดี ให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และ

กิจการที่ดีของพนักงาน ปตท. สรุปว่าพนักงานกว่าร้อยละ 90

ผู้เกี่ยวข้อง โดยในปี 2558 ได้ดําเนินการ ดังนี้

มี ค วามเข้ า ใจเป็ น อย่ า งดี ใ นเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ล

• ทบทวนค่านิยม/ วัฒนธรรมองค์กรให้มีความเหมาะสม

กิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ รวมทั้งได้จัดทํา CG E-learning

และสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และบริบทการดําเนินงานขององค์กร

ในระบบ Intranet เพื่อใช้เป็นสื่อสําหรับให้ความรู้เรื่องหลักการ

มาอย่างต่อเนือ ่ ง โดยผูน ้ า ํ ระดับสูงปฏิบต ั ต ิ นให้เห็นถึงความมุง่ มัน ่

กํากับดูแลกิจการที่ดี จรรยาบรรณธุรกิจ และมาตรการต่อต้าน

ต่อค่านิยม และสื่อสารต่อบุคลากรทั่วทั้งองค์กร ผ่านช่องทาง

คอร์รัปชันแก่พนักงานทุกคน และมีการวัดผลโดยการประเมิน

ต่ า ง ๆ รวมถึ ง กํ า หนดแผนงาน/ กิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ ม ค่ า นิ ย ม/

ความรู้ความเข้าใจเพื่อการพัฒนาการปลูกจิตสํานึกและรณรงค์

วัฒนธรรมองค์กร และตัวชี้วัดที่ใช้ในการติดตามและประเมินผล

ส่ ง เสริ ม พนั ก งานให้ มี ค วามตระหนั ก ในการปฏิ บั ติ ง านตาม

ที่ เ ป็ น รู ป ธรรม ส่ ง ผลให้ ก ารสื่ อ สารภายในองค์ ก ร การแบ่ ง ปั น

จรรยาบรรณธุรกิจที่กําหนดไว้

ทัก ษะของบุค ลากร และการสร้ า งนวั ต กรรมในสภาพแวดล้ อ ม ของการทํางานเกิดประสิทธิผลเป็นอย่างดี

• จั ด ให้ มี ก ารอบรมหั ว ข้ อ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น แก่ พ นั ก งานที่ เ ข้ า ใหม่ ผ่ า นหลั ก สู ต ร

• กําหนดนโยบายและวิธีบริหารทรัพยากรบุคคลไว้เป็น

การปฐมนิ เ ทศทุ ก รุ่ น รวมทั้ ง กํ า หนดให้ ส อบวั ด ความรู้ ใ นระบบ

ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร เช่ น การคั ด เลื อ ก การฝึ ก อบรม การเลื่ อ น

CG E-Learning โดยในปี 2558 มี ก ารจั ด สื่อ ความในกิ จ กรรม

ตําแหน่ง การจ่ายผลประโยชน์ตอบแทน เป็นต้น โดยมีนโยบาย

ดังกล่าวรวม 4 รุ่น จํานวนรุ่นละ 60 - 80 คน และมีการมอบ

ในการพัฒนาความรู้ ความสามารถของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง

คู่มือ CG ให้พนักงานเข้าใหม่ทุกคนได้ศึกษาและลงนามรับทราบ

เพื่อให้มีศักยภาพสอดคล้องกับความจําเป็นทางธุรกิจและรองรับ

เพื่ อ นํ า ไปใช้ เ ป็ น แนวทางในการทํ า งานตามหลั ก การ CG และ

แผนการขยายงานในอนาคต

จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของ ปตท.

• จัดตั้งศูนย์บริหารข้อร้องเรียน โดยมีฝ่ายสื่อสารองค์กร

• จัดการอบรมหลักสูตร “Fundamental Practice for

และศูนย์บริหารคําสั่งซื้อและลูกค้าสัมพันธ์เป็นผู้รับผิดชอบหลัก

Company Secretary Program” ให้แก่พนักงานใน กลุ่ม ปตท.

ในการบริหารจัดการข้อร้องเรียนจากภายนอกเพื่อให้มีการตอบ

โดยมีการครอบคลุมถึงนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และ

สนองต่ อ ข้ อ สอบถามต่ า ง ๆ รวมถึ ง ข้ อ ร้ อ งเรี ย นภายใน โดยมี

การต่อต้านคอร์รัปชัน บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อ

การกํ า หนดระยะเวลาที่ เ หมาะสม ทั้ ง นี้ จะมี ก ารรวบรวมและ

ส่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานมี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจที่ ถู ก ต้ อ งและนํ า ไป

บริหารประเด็น รวมถึงนําเสนอผู้บริหารระดับสูง เพือ ่ การปรับปรุง

ปรั บ ใช้ ใ นการปฏิ บั ติ ง านอย่ า งเหมาะสม ผ่ า นการบรรยายโดย

และพัฒนาองค์กรในทุก ๆ ด้าน อย่างสม่ําเสมอ

้ รงคุณวุฒท ิ งั้ ภายในและภายนอก เช่น ตลาดหลักทรัพย์ วิทยากรผูท

• ในปี 2558 มีการจัดการประชุมคณะกรรมการกํากับ ดูแลกิจการที่ดี รวม 4 ครั้ง ตามปฏิทินการประชุมที่กําหนดไว้ อย่างน้อยไตรมาสละครั้ง เพื่อกํากับดูแลงานด้านการกํากับดูแล กิ จ การที่ ดี การต่ อ ต้ า นการคอร์ รั ป ชั น ติ ด ตามความก้ า วหน้ า การบริหารจัดการสูค ่ วามยัง่ ยืนของ ปตท. รวมทัง้ งานด้านกิจกรรม เพื่อสังคมและการสื่อความของ ปตท.

แห่ ง ประเทศไทย สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย์ และตลาดหลักทรัพย์ สํานักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน เป็นต้น


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

191 • นอกจากการส่งเสริมความรู้ด้านการกํากับดูแลกิจการ ที่ ดี ภ ายในองค์ ก รแล้ ว ปตท. ยั ง ส่ ง เสริ ม การแบ่ ง ปั น ความรู้ แก่ ห น่ ว ยงานภายนอก เพื่ อ ยกระดั บ มาตรฐานการกํ า กั บ ดู แ ล กิ จ การที่ ดี โดยตอบรั บ การขอเข้ า เยี่ ย มชมดู ง านขององค์ ก ร/ สถาบันต่าง ๆ และผู้บริหารระดับสูงได้รับเชิญไปบรรยายหรือ ร่วมเสวนาภายนอกด้วย

ปตท. ได้ จั ด กิ จ กรรมเพื่ อ ส่ ง เสริ ม การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ ที่ดีให้กับบริษัทใน กลุ่ม ปตท. ดังต่อไปนี้ • ก า ร แ ต่ ง ตั้ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี กลุ่ม ปตท. • การจัดงาน PTT Group CG Day ซึ่งเป็นกิจกรรมสําคัญ ประจําปี เพื่อรณรงค์ ส่งเสริม และเผยแพร่การดําเนินการกํากับ

• ปตท. มี ก ารสร้ า งบรรยากาศของการรณรงค์ ผ่ า นสื่ อ

ดูแลกิจการที่ดีของบริษัทใน กลุ่ม ปตท. จัดโดยบริษัทใน กลุ่ม

ต่าง ๆ ภายในองค์กร เช่น การจัดนิทรรศการ การจัดทําเว็บไซต์

ปตท. 6 บริษัท ได้แก่ PTT, PTTEP, PTTGC, TOP, IRPC และ

ิ ต่อสอบถาม CG ทีม ่ ข ี อ ้ มูลครบถ้วน และเปิดโอกาสให้ผส ู้ นใจได้ตด

GPSC เพื่อนําเสนอการดําเนินงานด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดี

ได้ผ่านช่องทางอีเมล cghelpdesk@pttplc.com จัดทําวีดิทัศน์

ของ กลุ่ม ปตท. และส่งเสริมให้ผู้บริหารและพนักงานตระหนัก

เพือ ่ ใช้สือ ่ ความฯ จัดให้มีคอลัมน์เกีย ่ วกับ CG ในวารสารรายเดือน

ถึ ง ความสํ า คั ญ ของการนํ า หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ม าใช้

“PTT Spirit” เพือ ่ ให้พนักงานทุกคนได้รบ ั ทราบข่าวการดําเนินการ

ในการปฏิบัติงาน ประกอบด้วยนิทรรศการและเกมสันทนาการ

ที่ เ กี่ ย วกั บ CG รวมทั้ ง ให้ ค วามรู้ แ ละร่ ว มกิ จ กรรมที่ น่ า สนใจ

ที่ ใ ห้ ค วามรู้ การเสวนาแสดงวิ สั ย ทั ศ น์ โ ดยผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด เพื่ อ

ซึ่ ง ได้ รั บ การตอบรั บ จากพนั ก งานทุ ก ระดั บ เป็ น อย่ า งดี รวมทั้ ง

แสดงความมุ่ ง มั่ น ของผู้ นํ า องค์ ก ร การแสดงละคร ฯลฯ โดย

การเผยแพร่คู่มือกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. ฉบับปรับปรุง

ตัวแทนพนักงานจากทั้ง 6 บริษัท ทั้งนี้ มีแขกรับเชิญกิตติมศักดิ์

ครั้ ง ที่ 3 ทั้ ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ สํ า หรั บ นั ก ลงทุ น และ

จากหน่ ว ยงานภายนอกไปร่ ว มงานด้ ว ย ได้ แ ก่ ผู้ แ ทนจาก

ผู้สนใจต่างชาติ รวมถึงผู้มีส่วนได้เสียนําไปใช้เป็นประโยชน์ หรือ

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย/ สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

นําไปใช้อ้างอิงได้ไว้ในเว็บไซต์ของ ปตท. ด้วย

รวมทั้ ง คู่ ค้ า ของ กลุ่ ม ปตท., ผู้ บ ริ ห าร กลุ่ ม ปตท., พนั ก งาน

• เกม “CG Millionaire Challenge” ถูกจัดทําขึน ้ ในรูปแบบ

ซึ่ ง ได้ รั บ ทั้ ง ความรู้ แ ละความประทั บ ใจในความสามั ค คี ร่ ว มมื อ

เกมในระบบ PTT Intranet โดยมีวัตถุประสงค์ให้ความรู้ด้าน CG

ร่ ว มใจของผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง และพนั ก งานที่ ไ ด้ ร่ ว มกิ จ กรรม

ผ่านการไขปริศนาของตัวละครในด้านต่าง ๆ ตามจรรยาบรรณ

ปลูกจิตสํานึกทีด ่ ใี นการบริหารและการปฏิบต ั งิ าน ทัง้ นี้ ในปี 2558

ในการดําเนินธุรกิจของ ปตท. เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และการจดจํา

กลุม ่ ปตท. โดยมี ปตท. เป็นเจ้าภาพจัดงานในชือ ่ “PTT Group CG

ที่ดี

Day 2015: Shade of Sharing…Passing the Power Forward” • ปตท. ยังให้ความสําคัญด้านการกํากับดูแลกิจการของ

ภายใต้ แ นวคิ ด ร่ ว มส่ ง ต่ อ พลั ง ความดี ยิ่ ง ดี ยิ่ ง ให้ ยิ่ ง ยั่ ง ยื น

บริษัทใน กลุ่ม ปตท. เพื่อให้เป็นไปตามแนวทางการบริหารบริษัท

เพื่ อ ให้ บุ ค ลากรของ กลุ่ ม ปตท. ทุ ก คนร่ ว มกั น ทํ า หน้ า ที่ เ ป็ น

ในรูปแบบ “กลุ่ม ปตท.” โดยกําหนดเป้าหมายในการยกระดับ

เครือข่ายในการส่งต่อพลังความดีไปยังทุกภาคส่วน ซึง่ กลุม ่ ปตท.

มาตรฐานการกํากับดูแลกิจการของบริษัทใน กลุ่ม ปตท. ให้อยู่

เชื่อมั่นว่า ด้วยพลังแห่งความดีที่ทุกคนร่วมมือกัน จะนําพาให้

ในระดับใกล้เคียงกัน และเตรียมความพร้อมสําหรับการเข้ารับ

สังคมของเราเป็นสังคมที่ขาวสะอาดอย่างยั่งยืน

การจั ด อั น ดั บ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี รวมทั้ ง กํ า หนดแผน การดําเนินงาน และแนวทางการประชาสัมพันธ์การกํากับดูแล

(11) การตอตานทุจริตคอรรัปชัน

กิ จ การที่ ดี เ ชิ ง รุ ก โดยร่ ว มกั น ศึ ก ษา พั ฒ นาแนวทางการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ต ามมาตรฐานสากลที่ เ หมาะสมสํ า หรั บ ใช้ เ ป็ น

• ปตท. กําหนดแนวปฏิบต ั ท ิ เี่ กีย ่ วข้องกับการต่อต้านทุจริต

หลักปฏิบต ั ข ิ อง กลุม ่ ปตท. และกําหนดหลักการกํากับดูแลกิจการ

คอร์รัปชันในจริยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของ

ของ กลุ่ม ปตท. ดังนี้

บริษัท เช่น จรรยาบรรณว่าด้วยการมีส่วนได้เสียและผลประโยชน์ ขัดกัน จรรยาบรรณว่าด้วยการรับ การให้ ของขวัญ ทรัพย์สิน

R E A C

= = = =

T =

R-E-A-C-T Responsibility “ความรับผิดชอบตอหนาที่” Equitable Treatment “ไมเลือกปฏิบัติ” Accountability “ยึดถือความถูกตอง” Creation of Long-term Value “สรางมูลคาเพิ่มระยะยาวใหองคกร” Transparency “ความโปรงใสตรวจสอบได”

หรื อ ประโยชน์ อื่ น ใด โดยมี ส าระสํ า คั ญ ว่ า การให้ แ ละการรั บ ของขวัญ ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดที่ไม่เหมาะสม อาจนํามา ซึ่งความลําบากใจในภายหลัง/ อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจ ในการปฏิบัติหน้าที่ และอาจทําให้ ปตท. เสียประโยชน์ในที่สุด ปตท. ไม่สนับสนุนการให้สินบนอย่างเด็ดขาด ทั้งนี้ ให้เป็นไปตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ยังกําหนดให้ Integrity & Ethics เป็ น ค่ า นิ ย มหนึ่ ง ขององค์ ก รและเป็ น มาตรฐานทางจริ ย ธรรม ของ ปตท. เพื่อให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานยึดถือ ปฏิ บั ติ ค วบคู่ ไ ปกั บ ข้ อ บั ง คั บ และระเบี ย บของ ปตท. เพื่ อ ให้ การบริหารและการปฏิบัติงานมีความโปร่งใส สุจริต เป็นธรรม ควรค่าแก่ความเชื่อมั่นและไว้วางใจของผู้มีส่วนได้เสีย


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

192 • ปี 2553 ปตท. ได้ร่วมลงนามในการแสดงเจตนารมณ์

จริยธรรม จัดอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการกํากั บดูแลกิจการที่ดี

เป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต

และการต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น ระบบ CG E-Learning เป็ น ต้ น

(Private Sector Collective Action Coalition against Corruption:

รวมทั้งมีการจัดให้ผู้บริหารและพนักงานเข้าร่วมอบรมหลักสูตร

CAC) ซึ่ ง เป็ น โครงการที่ จั ด ขึ้ น โดยสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น

ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น ซึ่ ง จั ด โดยหน่ ว ยงาน

กรรมการบริ ษั ท ไทย และได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากรั ฐ บาลและ

ภายนอก เช่น หลักสูตรที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

สํ า นั ก งานคณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต

บริษัทไทย

แห่งชาติ (ป.ป.ช.) โดยเป็น 1 ใน 27 บริษัทแรกที่ร่วมประกาศ เจตนารมณ์

• ปตท. ได้ ดํ า เนิ น การเพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามกระบวนการ ให้การรับรอง (Certification Process) ของโครงการแนวร่วมปฏิบต ั ิ

• ปี 2555 ปตท. ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกภาคีข้อตกลงโลก

ของภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต (Private Sector

แห่งสหประชาชาติ (United Nations Global Compact: UNGC)

Collective Action Coalition against Corruption: CAC) ซึ่ง ปตท.

เพือ ่ แสดงถึงเจตนารมณ์ในการนําหลักสิทธิมนุษยชน สิทธิแรงงาน

ได้แสดงหลักฐานประกอบต่าง ๆ เกี่ยวกับนโยบายในการดําเนิน

การรักษาสิ่งแวดล้อม และการต่อต้านคอร์รัปชันในระดับสากล

ธุรกิจ มาตรการขั้นตอนการปฏิบัติงาน ตลอดจนระบบควบคุม

มาเป็นแนวทางในการดําเนินธุรกิจ

ภายใน เพื่ อ เสนอต่ อ คณะกรรมการโครงการฯ โดย ปตท. ได้

• คณะกรรมการ ปตท. ในการประชุมครั้งที่ 6/2557 เมื่อ วั น ที่ 27 มิ ถุ น ายน 2557 พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบนโยบาย

รั บ รองสถานะเป็ น สมาชิ ก แนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข องภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริตเรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2557

ต่อต้านคอร์รัปชันของ ปตท. และ กลุ่ม ปตท. และให้ประกาศใช้

• ในปี 2558 ปตท.ได้ประกาศนโยบาย “งดรับของขวัญ

ทั่วทั้งองค์กร โดยกําหนดให้นโยบายต่อต้านคอร์รัปชันของ ปตท.

(No Gift Policy)” ในทุกเทศกาล เพื่อเป็นการสร้างมาตรฐาน

เป็นส่วนหนึ่งของคู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี มาตรฐานทาง

ที่ดีในการปฏิบัติงาน โดยมุ่งหวังให้บุคลากรทุกระดับปฏิบัติงาน

จริยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของ ปตท. และ

อย่างเต็มความสามารถ โดยไม่หวังผลประโยชน์ตอบแทน และ

กําหนดให้นโยบายต่อต้านคอร์รัปชันของ กลุ่ม ปตท. เป็นส่วน

เป็ น การตอกย้ํ า การปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี

หนึ่งของแนวทางการกํากับดูแลบริษัทใน กลุ่ม ปตท. (PTT Way

และการต่ อต้ านคอร์รัปชั น โดยได้จัดทําหนังสือแจ้ งหน่วยงาน

of Conduct) เพื่อให้บริษัทใน กลุ่ม ปตท. มีมาตรฐานและแนวทาง

และจัดทําป้ายประชาสัมพันธ์ในพื้นที่สํานักงานของ ปตท.

การบริหารจัดการไปในทิศทางเดียวกัน

• การติดตามประเมินผลการปฏิบัติ

• นโยบายต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น ของ ปตท. กํ า หนดให้

- คณะกรรมการ ปตท. มีหน้าที่กํากับดูแลให้ ปตท.

บุ ค ลากรของ ปตท. ต้ อ งไม่ ดํ า เนิ น การหรื อ เข้ า ไปมี ส่ ว นร่ ว ม

มี ร ะบบที่ ส นั บ สนุ น การต่ อ ต้ า นการคอร์ รั ป ชั น ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ

ในการคอร์รัปชัน การให้/ รับสินบนทุกรูปแบบ ทั้งทางตรงและ

เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า ฝ่ า ยบริ ห ารได้ ต ระหนั ก และให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ

ทางอ้อม โดยบุคลากรของ ปตท. ต้องดําเนินการตามแนวปฏิบัติ

การต่อต้านการคอร์รัปชัน และปลูกฝังจนเป็นวัฒนธรรมองค์กร

ในนโยบายต่อต้านคอร์รป ั ชันของ ปตท. ซึง่ ครอบคลุมกระบวนการ

่ าํ กับดูแลการควบคุม - คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าทีก

ดํ า เนิ น งานต่ า ง ๆ อย่ า งจริ ง จั ง เช่ น การบริ จ าคเพื่ อ การกุ ศ ล

ภายใน การจั ด ทํ า รายงานทางการเงิ น และกระบวนการอื่ น

การบริหารทรัพยากรบุคคล การจัดหาพัสดุ การควบคุมภายใน

ที่เกี่ยวข้องกับมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชัน รวมทั้งกํากับดูแล

เป็นต้น

การปฏิบต ั ต ิ ามมาตรการต่อต้านการคอร์รป ั ชัน สอบทานมาตรการ • ปตท. ได้ สื่ อ ความนโยบายต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น และ

และการควบคุมภายในทีเ่ กีย ่ วข้อง เพือ ่ ให้มน ั่ ใจว่า มาตรการต่อต้าน

แนวปฏิ บั ติ ไ ปยั ง บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม บริ ษั ท อื่ น ที่ ปตท.

การคอร์ รั ป ชั น มี ค วามเพี ย งพอและมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล สอบทาน

มี อํ า นาจในการควบคุ ม คู่ ค้ า ทางธุ ร กิ จ และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย

การประเมินความเสี่ยงและให้คําแนะนําต่อคณะกรรมการ ปตท.

รวมทั้งสาธารณชน ผ่านช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย เช่น

เกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ที่ ค วรมี เ พื่ อ ลดความเสี่ ย งนั้ น โดยผู้ บ ริ ห าร

จดหมาย อีเมล เว็บไซต์ ระบบ PTT Intranet การจัดสัมมนา

ต้ อ งนํ า คํ า แนะนํ า ไปปฏิ บั ติ รวมทั้ ง รายงานผลการตรวจสอบ

การจั ด นิ ท รรศการ เป็ น ต้ น เพื่ อ ให้ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม

ภายในเกี่ ย วกั บ มาตรการต่ อ ต้ า นการคอร์ รั ป ชั น ของ ปตท.

รับทราบและปฏิบัติให้สอดคล้องกับแนวทางที่ ปตท. กําหนด • ปตท. จัดให้มีการสื่อสารและฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง

ต่ อ คณะกรรมการ ปตท. อย่ า งสม่ํ า เสมอ และให้ คํ า แนะนํ า ข้อควรปฏิบัติแก่คณะกรรมการ ปตท. และผู้บริหาร

แก่บุคลากรของ ปตท. เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริง

- คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี มีหน้าที่กําหนด

เกี่ ย วกั บ มาตรการต่ อ ต้ า นการคอร์ รั ป ชั น ความคาดหวั ง ของ

และทบทวนนโยบายต่อต้านคอร์รัปชัน ให้ข้อเสนอแนะ แนวทาง

ปตท. และบทลงโทษหากไม่ปฏิบต ั ิตามมาตรการนี้ เช่น การอบรม

ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้าน

หัวข้อการกํากับดูแลกิจการที่ดีและต่อต้านคอร์รัปชันแก่พนักงาน

การคอร์รัปชันเป็นประจําทุกปี

ที่เข้าใหม่ผ่านหลักสูตรการปฐมนิเทศ การจัดอบรมหลักสูตรทาง


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

193 - คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ งองค์กร มีหน้าทีก ่ า ํ กับ

- ปตท. จั ด ให้ มี ข้ อ กํ า หนดว่ า ด้ ว ย “การร้ อ งเรี ย น

ดูแลและสนับสนุนให้มีการดําเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยง

และแจ้งเบาะแสการทุจริต” เพื่อกําหนดหลักเกณฑ์และแนวทาง

ด้ า นการต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น โดยการประเมิ น ความเสี่ ย งด้ า น

ปฏิบัติเกี่ยวกับการร้องเรียนและแจ้งเบาะแสการทุจริตต่อหน้าที่

คอร์ รั ป ชั น และทบทวนมาตรการต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น ให้ เ พี ย งพอ

(Whistleblowing) ให้ มี ค วามเหมาะสมและเป็ น ไปในทิ ศ ทาง

เหมาะสม

เดียวกันทั้งองค์กร อีกทั้งมีมาตรการคุ้มครองและให้ความเป็น - ผู้ บ ริ ห ารกํ า หนดให้ มี ก ารประเมิ น ความเสี่ ย งด้ า น

ธรรมแก่ผู้ร้องเรียน หรือผู้ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลเบาะแส

การคอร์ รั ป ชั น ในกระบวนการปฏิบั ติงานที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิด

ที่ เ กี่ ย วข้ อ งด้ ว ย โดย Whistleblowing จะเป็ น เครื่ อ งมื อ ในแง่

การคอร์ รั ป ชั น ทบทวนความเหมาะสมของกระบวนการและ

ของการเป็ นสั ญ ญาณเตือนภั ย ล่ วงหน้ าและเป็ น ช่ องทาง

มาตรการต่าง ๆ และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง รวมทั้งสื่อสารไปยัง

ในการปราบปรามการทุ จ ริ ต เนื่ อ งจากจะช่ ว ยแก้ ไ ขปั ญ หาได้

พนักงานและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

ทันท่วงทีก่อนที่ปัญหานั้นจะบานปลายและอาจเกิดผลกระทบต่อ

- ปตท. มีการควบคุมภายในซึง่ สามารถลดและควบคุม

ภาพพจน์และฐานะทางการเงินขององค์กรอย่างรุนแรงในภายหลัง

ความเสี่ ย งในการปฏิ บั ติ โดยสร้ า งสภาพแวดล้ อ มการควบคุ ม

ได้ โดยพนักงาน ปตท. ทุกคนสามารถทําหน้าทีเ่ ป็น Whistleblower

ที่ ส่ ง เสริ ม ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต แก่ พ นั ก งานทุ ก คน การประเมิ น

โดยเป็นกระบอกเสียงสะท้อนความผิดปกติ เพือ ่ สร้างความโปร่งใส

ความเสีย ่ งและกําหนดกิจกรรมควบคุมทีม ่ ค ี วามเพียงพอเหมาะสม

การกํากับดูแลกิจการที่ดี และความยั่งยืนขององค์กร

โดยเฉพาะความเสี่ ย งที่ ปตท. ยอมรั บ ไม่ ไ ด้ อาทิ ความเสี่ ย ง

• บทลงโทษ

ด้านการทุจริตคอร์รัปชัน

- ปตท. กําหนดให้บค ุ ลากรทุกระดับต้องลงนามรับทราบ

- ปตท. จัดให้มีขั้นตอนในการเก็บรักษาเอกสารและ

คู่มือ CG เพื่อแสดงถึงพันธสัญญาในการน้อมรับหลักปฏิบัติที่ดี

บันทึกต่าง ๆ ให้พร้อมต่อการตรวจสอบเพื่อยืนยันความถูกต้อง

เป็นแนวทางดําเนินงาน คู่มือ CG จึงเปรียบเสมือนวินัยที่ทุกคน

และเหมาะสมของรายการทางการเงิน การควบคุมภายในของ

ต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด

กระบวนการทําบัญชีและการเก็บรักษาข้อมูล ได้รบ ั การตรวจสอบ

• ปตท. จัดให้มีกระบวนการในการลงโทษบุคลากรที่ไม่

ภายในเพือ ่ ยืนยันประสิทธิผลของกระบวนการตามมาตรการต่อต้าน

ปฏิบัติตามมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชันอย่างเหมาะสมและ

การคอร์รัปชัน และเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าการบันทึกรายการ

เป็นธรรม การกระทําใด ๆ ที่ฝ่าฝืนหรือไม่เป็นไปตามนโยบายนี้

ทางการเงินมีหลักฐานอย่างเพียงพอเพื่อใช้ในการตรวจสอบ

ไม่ ว่ า ทางตรงหรื อ ทางอ้ อ ม จะได้ รั บ การพิ จ ารณาทางวิ นั ย

- หน่ ว ยตรวจสอบภายใน มี ก ารตรวจสอบรายการ

ตามระเบียบที่ ปตท. กําหนด ซึ่งมีขั้นตอนการสืบสวนข้อเท็จจริง

ที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โอกาสการเกิดทุจริตและ

การสอบสวน การลงโทษ และการอุทธรณ์ที่ชัดเจน หรือมีโทษ

ประสิทธิภาพขององค์กรในการบริหารความเสี่ยงจากการทุจริต

ตามกฎหมาย บุคลากรของ ปตท. ต้องทําความเข้าใจและปฏิบัติ

ภายในองค์กรและในระดับกิจกรรมการดําเนินงาน รวมถึงสอบทาน

ตามนโยบายต่อต้านคอร์รัปชันในทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน

เกี่ยวกับหลักจริยธรรมธุรกิจ จรรยาบรรณผู้บริหารและพนักงาน

อย่างเคร่งครัด

อีกทัง้ มีการพิจารณาและรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบและ ผู้บริหารสูงสุดทันที เมื่อพบรายการหรือการกระทําที่อาจก่อให้

2.

การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)

เกิดความเสียหายต่อผลการดําเนินการของ ปตท. อย่างร้ายแรง รวมถึงกรณีการเกิดทุจริต

ปตท. ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการบริหารความเสีย ่ ง

• มาตรการ ขอบเขต และกลไกการคุม ้ ครองผูแ ้ จ้งเบาะแส

ภายใต้ ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ธุ ร กิ จ ทั้ ง จากปั จ จั ย

- ป ต ท . มี ก ร ะ บ ว น ก า ร บ ริ ห า ร ท รั พ ย า ก ร บุ ค ค ล

ภายในและภายนอก โดยถื อ ว่ า การบริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น

ที่ ส ะท้ อ นถึ ง ความมุ่ ง มั่ น ต่ อ มาตรการต่ อ ต้ า นการคอร์ รั ป ชั น

องค์ ป ระกอบที่ สํ า คั ญ ของทุ ก กระบวนการในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ

และมี น โยบายที่ จ ะไม่ ล ดตํ า แหน่ ง ลงโทษ หรื อ ให้ ผ ลทางลบ

ของ ปตท. และต้องมีความเชื่อมโยงกันทุกระดับ จึงได้กําหนด

ต่อบุคลากรที่ปฏิเสธการคอร์รัปชัน แม้ว่าการกระทํานั้นจะทําให้

เป็ น นโยบายบริ ห ารความเสี่ ย งทั้ ง องค์ ก รที่ พ นั ก งานทุ ก คนต้ อ ง

ปตท. สูญเสียโอกาสทางธุรกิจ

ปฏิ บั ติ ต าม และมี ก ารประเมิ น ความเสี่ ย งในระดั บ ปฏิ บั ติ ก าร

- บุ ค ลากรของ ปตท. ไม่ พึ ง ละเลยหรื อ เพิ ก เฉยเมื่ อ

สํ า หรั บ ความเสี่ ย งในระดั บ องค์ ก รจะมี ก ารบริ ห ารจั ด การ

พบการกระทําที่อาจฝ่าฝืนมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชัน โดย

อย่างเป็นระบบผ่านคณะกรรมการจัดการคณะต่าง ๆ ของ ปตท.

ปตท. จัดให้มีช่องทางการแจ้งเบาะแสและการคุ้มครองผู้รายงาน

และความเสี่ ย งในการปฏิ บั ติ ง านจะอยู่ ภ ายใต้ ก ารกํ า กั บ ดู แ ล

ที่ปลอดภัย เมื่อบุคลากรต้องการแจ้งข้อมูลหรือเบาะแส รวมทั้ง

ของผู้บริหารที่รับผิดชอบการปฏิบัติงานนั้น ๆ ทั้งนี้ มีการจัดตั้ง

เมื่อบุคลากรต้องการคําแนะนําเกี่ยวกับการปฏิบัติตามมาตรการ

คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งและควบคุ ม ภายในทํ า หน้ า ที่

ต่อต้านการคอร์รัปชัน

บริ ห ารความเสี่ ย งในภาพรวมให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลสู ง สุ ด โดย


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

194 ถื อ เ ป็ น ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง ทุ ก ห น่ ว ย ง า น ใ น ก า ร จั ด ก า ร

ในกรณี ที่ ปตท. มี ก ารทํ า ธุ ร กรรมกั บ ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่

และควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ซึ่งมีการระบุไว้

กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว ปตท.

อย่างชัดเจนในคําบรรยายหน้าที่งาน (Functional Description)

มี ม าตรการที่ รั ด กุ ม เพื่ อ ติ ด ตามให้ ก ารทํ า ธุ ร กรรมนั้ น ต้ อ งผ่ า น

ของทุกหน่วยงาน

ขั้ น ตอนการอนุ มั ติ ที่ กํ า หนดทุ ก ครั้ ง ทุ ก รายการ โดยผู้ ที่ มี ส่ ว น

3.

กิจกรรมการควบคุม (Control Activities)

ได้ เ สี ย จะไม่ ร่ ว มอนุ มั ติ ร ายการนั้ น ๆ ทั้ ง ยั ง มี ก ารติ ด ตามและ ดูแลผลการดําเนินงานอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ ปตท. ยังให้ความสําคัญในเรื่อง ความมั่นคง

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร จั ด ก า ร ข อ ง ป ต ท . มี อํ า น า จ ห น้ า ที่

ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม (Security, Safety,

ในการทบทวนรายงานทัง้ ทางการเงินและไม่ใช่รายงานทางการเงิน

Health and Environment: SSHE) เพราะถือเป็นหนึ่งในเกราะ

ของทุ ก กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ในภาพรวมขององค์ ก ร และมี ก ารสอบทาน

ป้องกันความสูญเสียที่สําคัญยิ่งต่อการดําเนินธุรกิจขององค์กร

การปฏิ บั ติ ง านให้ เ ป็ น ไปตามกฎ ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ และคู่ มื อ

ให้เติบโตอย่างราบรื่นและยั่งยืน สามารถต่อยอดผลประกอบการ

การปฏิ บั ติ ง านต่ า ง ๆ อย่ า งสม่ํ า เสมอ มี ก ารกํ า หนดนโยบาย

ในทุ ก ๆ ด้ า นให้ มี ผ ลการดํ า เนิ น งานที่ เ ป็ น เลิ ศ ไปสู่ วิ สั ย ทั ศ น์

และระเบี ย บปฏิ บั ติ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร เช่ น การประเมิ น ผล

และเป้ า หมายที่ กํ า หนดไว้ ใ นที่ สุ ด โดยคณะกรรมการ ปตท.

การปฏิบัติงานของพนักงานทุกระดับ โดยกําหนดเป็นดัชนีวัดผล

ดู แ ล ติ ด ตาม ให้ น โยบาย และคํ า แนะนํ า เกี่ ย วกั บ ความมั่ น คง

การดําเนินงาน (Key Performance Indicators: KPIs) เพื่อให้

ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ที่ ปตท. นํามา

การควบคุมกิจกรรมด้านการบริหารมีความเหมาะสมและเพียงพอ

ปรั บ ใช้เ ป็น กิ จ กรรมการควบคุม ผ่า นคณะกรรมการจั ด การของ

ตรวจสอบและติดตามได้ นอกจากนี้ ยังมีการระบุการดําเนินงาน

ปตท. ในระดั บ ฝ่ า ยจั ด การ ซึ่ ง มี ก รรมการผู้ จั ด การใหญ่ เ ป็ น

ในส่วนที่มีความเสี่ยงสําคัญและกําหนดกลไกในการควบคุมเพื่อ

ประธานฯ รวมทั้งคณะกรรมการนโยบาย QSHE กลุ่ม ปตท. และ

ป้องกันและลดข้อผิดพลาด มีการสอบทานผลการดําเนินงานโดย

คณะกรรมการ QSHE ปตท. ซึ่งทําหน้าที่กลั่นกรองและกํากับ

ฝ่ายบริหารอย่างสม่ําเสมอ เช่น ธุรกรรมด้านการเงิน การจัดซื้อ

ดูแลการบริหารจัดการในระดับปฏิบัติการของ กลุ่ม ปตท. และ

และการบริหารทั่วไป มีการมอบหน้าที่อย่างเป็นระบบให้กับกลุ่ม

ภายใน ปตท. ตามลําดับ โดยมีหน่วยงานรับผิดชอบส่วนกลาง คือ

บุค ลากรเพื่อ ความมั่ น ใจว่า มี ร ะบบตรวจสอบ และคานอํ า นาจ

ฝ่ายความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม

กันได้ โดยมีการแบ่งแยกอํานาจหน้าที่ในการอนุมัติ การประมวล

และฝ่ า ยบริ ห ารคุ ณ ภาพองค์ ก ร โดยในปี 2558 ได้ กํ า หนด

ผลข้อมูล การบันทึกรายการหรือการบันทึกบัญชี การรับ-จ่ายเงิน

ให้มีการนําเสนอ SSHE moment เป็นวาระประจําวาระแรกของ

การสอบทานการตรวจสอบและการดูแลรักษาทรัพย์สน ิ ออกจากกัน

การประชุ ม คณะกรรมการ ปตท. ทุ ก ครั้ ง อี ก ด้ ว ย รายละเอี ย ด

โดยเด็ดขาด มีการควบคุมภายในด้านการเงินการบัญชี เกี่ยวกับ

สามารถศึกษาจากหัวข้อ SSHE เกราะป้องกันความความสูญเสีย

การเก็บเงิน รักษาเงิน การรับจ่าย เงินฝากธนาคาร และเงินยืม

เพื่อความยั่งยืนของสังคมไทย และรายงานความยั่งยืน ปี 2558

ทดรอง ให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บที่ กํ า หนด มี ก ารบั น ทึ ก บั ญ ชี

(Corporate Sustainability Report 2015)

ครบถ้วนถูกต้องและสม่า ํ เสมอ มีการจัดเก็บเอกสารทางบัญชีทงั้ ที่ เป็นเอกสารและข้อมูลสารสนเทศไว้อย่างเป็นระบบ และเป็นไปตาม ที่กฎหมายกําหนด

4.

ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล (Information & Communication)

ในด้ า นการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง ปตท. มี ก ารดํ า เนิ น การตาม ระเบี ย บและข้ อ กํ า หนดว่ า ด้ ว ยการพั ส ดุ ซึ่ ง ได้ กํ า หนดหน้ า ที่

ด้ ว ยวิ สั ย ทั ศ น์ ข องคณะกรรมการ ปตท. ในการจั ด ตั้ ง

ความรั บ ผิ ด ชอบในกระบวนการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งไว้ อ ย่ า งชั ด เจน

บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด (PTTICT) ขึ้น เพื่อเป็นศูนย์รวม

เช่น อํานาจหน้าที่ วงเงินอนุมัติ การกําหนดความต้องการพัสดุ

การบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ สาร (ไอซีท)ี ของ ปตท.

การตรวจ-รับ การควบคุมและการเก็บรักษาพัสดุ และการตรวจ

และบริษท ั ใน กลุม ่ ปตท. เพือ ่ ลดค่าใช้จา ่ ย ลดปริมาณงานทีซ ่ า ้ํ ซ้อน

นับทรัพย์สิน ในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ปตท. มีการวาง

เพิ่มศักยภาพทางด้านโครงสร้างพื้นฐานไอซีทีของแต่ละบริษัท

ระบบด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล และมีการควบคุมติดตาม

ตลอดจนเพิ่มอํานาจต่อรองในการจัดหาของ ปตท. และบริษัทใน

ประเมินผลอย่างเพียงพอ ทั้งการสรรหา การกําหนดค่าตอบแทน

กลุม ่ ปตท. โดย PTTICT สามารถทําหน้าทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ

หน้าที่ความรับผิดชอบ การพัฒนาบุคลากร การปฏิบัติงานของ

ต่อเนื่อง เป็นกําลังสําคัญให้กับ ปตท. และบริษัทใน กลุ่ม ปตท.

บุคลากร และการสื่อสาร เพื่อให้พนักงานมีความรู้ความสามารถ

มาตลอดระยะเวลา 10 ปี

และการบริหารทรัพยากรบุคคลของ ปตท. มีความเหมาะสมและ มีประสิทธิภาพ


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

195 คณะกรรมการ ปตท. ยังได้ดําเนินการสนับสนุนให้ ปตท.

นอกจากนี้ ในปี 2558 คณะกรรมการ ปตท. ได้ ใ ห้

ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ทางด้านเทคโนโลยี

ความสําคัญในการพัฒนาระบบบริหารจัดการองค์ความรู้เพื่อให้

สารสนเทศและการสื่ อ สาร และพั ฒ นาระบบสารสนเทศสร้ า ง

บริการความรู้ที่ได้เก็บรวบรวมไว้อย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ระบบ PTT

นวัตกรรมเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจทางด้าน

Learning Management System (LMS) ซึ่งเป็นระบบเชื่อมโยง

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพทัดเทียม

การกําหนดหลักสูตรในการพัฒนาศักยภาพของพนักงาน ปตท.

กับบริษัทชั้นนําของโลก อาทิเช่น การปรับปรุงระบบสื่อสารข้อมูล

ให้ ต รงตามตํ า แหน่ ง งาน เป็ น ต้ น พั ฒ นาระบบ Knowledge

ภายใน ปตท. ให้เป็น High Speed Network ระดับ 10GBps พัฒนา

Management (KM) บนเครื่องสมาร์ทโฟนเพื่อให้บุคลากรของ

ระบบ Point Of Sale (POS) ของ ปตท. ให้เป็นแบบ Cloud Service

ปตท. สามารถค้ น หาใช้ ง านองค์ ค วามรู้ ข อง ปตท. ได้ อ ย่ า ง

เพื่อรองรับการขยายตัวทางธุรกิจต่าง ๆ ที่มีการขยายสาขาและ

รวดเร็ ว และยั ง ดํ า เนิ น งานผ่ า นคณะกรรมการตรวจสอบ และ

เติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น ร้านกาแฟคาเฟ่อเมซอน ร้านไก่ทอด

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ปตท.

TEXAS เป็ น ต้ น พั ฒ นาระบบ SAP โดยใช้ Global Template

ซึ่ ง กํ า หนดให้ มี ก ารสอบทานระบบสารสนเทศที่ ใ ช้ สํ า หรั บ

และ Global Platform ในการนํ า ระบบ SAP มาใช้ ง านเป็ น

การบริ ห ารงานและจั ด ทํ า รายงานการควบคุ ม ภายในและ

ระบบงานหลักให้แก่บริษัทใน กลุ่ม ปตท. สามารถลดระยะเวลา

การ Rollout IT Governance และ Way of Conduct (WoC) ไปยัง

ในการนําระบบมาใช้งานได้เป็นอย่างดี ลดความซ้า ํ ซ้อนของข้อมูล

บริ ษั ท ใน กลุ่ ม ปตท. เพื่ อ ให้ ทุ ก บริ ษั ท มี ก ารดํ า เนิ น งานเป็ น ไป

ในการใช้ ง านและเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล ถึ ง กั น ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ

ในทิศทางเดียวกันทัง้ กลุม ่ และครอบคลุมทุกหน่วยงานทัง้ ในประเทศ

รองรับการทํางานทั้งภายในและนอกประเทศ

และต่างประเทศอย่างครบถ้วน

นอกจากนี้ ปตท. ได้ ดํ า เนิ น การพั ฒ นาระบบติ ด ตาม การขนส่ ง (In Vehicle Management System: IVMS) ช่ ว ย ในการติดตามการขนส่งสินค้าของ ปตท. ทําให้สามารถบริหาร

5.

ระบบติดตามและประเมินผล (Monitoring & Evaluation)

จัดการการขนส่งได้เป็นอย่างดี มีระบบเตือนภัยกรณีขบ ั ขีอ ่ อกนอก เส้นทาง มีห้องควบคุมในการติดตามรถขนส่งเพิ่มความปลอดภัย

• ระบบการตรวจสอบภายใน

ในการขนส่งสินค้าของผู้ปฏิบัติงาน สามารถจัดทําสรุปรายงาน ต่ อ ผู้ บ ริ ห ารได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และยั ง ได้ คิ ด ค้ น นวั ต กรรมใหม่

สํ า นั ก ตรวจสอบภายใน เป็ น หน่ ว ยงานอิ ส ระ รายงาน

เพื่ อ สนั บ สนุ น การรายงานผลต่ า ง ๆ เป็ น PTT Dashboard

ขึ้ น ตรงต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ ทํ า หน้ า ที่ ใ นการสร้ า ง

สามารถรองรั บ การติ ด ตามประสิ ท ธิ ผ ลการดํ า เนิ น งานตาม

ความเชื่ อ มั่ น (Assurance) และให้ คํ า ปรึ ก ษา (Consulting)

แนวทางการประเมิ น แบบ State Enterprise Performance

เพื่ อ ให้ ก ระบวนการทํ า งานภายในองค์ ก รมี ก ารกํ า กั บ ดู แ ล

Appraisal (SEPA) เพื่อก้าวไปสู่การเป็นองค์กรชั้นนําอย่างเต็ม

กิจการ การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่ดี บรรลุ

ภาคภูมิและเป็นบริษัทพลังงานเพื่อคนไทย (Pride and Treasure)

วัตถุประสงค์การดําเนินงานขององค์กร

คณะกรรมการ ปตท. ยังตระหนักและให้ความสําคัญกับ

สํานักตรวจสอบภายในมีการวางแผนการตรวจสอบภายใน

ความปลอดภัยในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการเก็บรักษา

ประจํ า ปี และแผนการตรวจสอบระยะยาว 3 ปี โดยการจั ด

ข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยได้ติดตามและผลักดันการก่อสร้าง

ทํ า แผนการตรวจสอบเป็ น ไปตามทิ ศ ทางกลยุ ท ธ์ ท างธุ ร กิ จ

ศูนย์คอมพิวเตอร์แห่งใหม่แล้วเสร็จพร้อมเปิดใช้งานเมื่อวันที่ 2

(Business Strategic Direction) และความเสี่ ย งที่ สํ า คั ญ ที่ ส่ ง

กันยายน 2558 ที่ผ่านมา มีการออกแบบด้วยมาตรฐาน Data

ผลกระทบต่ อ การดํ า เนิ น งาน (Risk-Based Approach) โดย

Center ขั้นสูงสุด (TIER IV) เป็นแห่งแรกในประเทศไทย พร้อมทั้ง

ครอบคลุมกระบวนการการดําเนินธุรกิจทั้งของ ปตท. และบริษัท

ดํ า เนิ น การขอการรั บ รองมาตรฐานความปลอดภั ย ข้ อ มู ล หรื อ

ในเครือทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ และรายงานผลการตรวจสอบ

ISO/IEC270001 (Information Security Management System)

ให้แก่คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณา รวมถึงการรายงาน

มีการปรับปรุงความปลอดภัยระบบเครือข่าย (Network Security)

ต่ อ คณะกรรมการ ปตท. และหน่ ว ยงานกํ า กั บ ดู แ ลเป็ น ประจํ า

เพื่อยกระดับสู่ Digital Security มีการพัฒนาโปรแกรมควบคุม

ทุ ก ไตรมาส โดยมี ก ารติ ด ตามผลการปฏิ บั ติ ต ามข้ อ เสนอแนะ

การนําอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ไม่ผ่านการขึ้นทะเบียนการอนุญาต

ที่พบจากการตรวจสอบอย่างสม่ําเสมอ ทั้งนี้ ในการปฏิบัติงาน

ให้ใช้งานใน ปตท. มาเชื่อมต่อเข้ากับระบบ LAN หรือ Wireless

ของสํานักตรวจสอบภายในไม่มีข้อจํากัดในการแสดงความเห็น

LAN ของ ปตท. ทําให้เกิดความมั่นคงและปลอดภัยสูงสุด รองรับ

และไม่ มี ป ระเด็ น ที่ มี ค วามขั ด แย้ ง ระหว่ า งหน่ ว ยรั บ ตรวจและ

การก้ า วไปสู่ Digital Roadmap ในอนาคต ปตท. ยั ง จั ด ให้

สํานักตรวจสอบภายในที่ยังหาข้อยุติไม่ได้

มีการซ้อมแผนฉุกเฉินทางด้าน ICT เพื่อรองรับการดําเนินธุรกิจ อย่างต่อเนื่องตามมาตรฐาน ISO 22301 (Business Continuity Management System)


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

196 • การประเมินการควบคุมภายในดวยตนเอง

ฝ่ายบริหารความเสีย ่ งองค์กร สายงานกลยุทธ์องค์กรได้รบ ั มอบหมายให้ดูแลการดําเนินงานเรื่องการประเมินการควบคุม

ปตท. มี ก ารติ ด ตามประเมิ น ผลการควบคุ ม ภายใน

ภายในของ ปตท. ได้ดา ํ เนินการรวบรวมและจัดทําระบบสารสนเทศ

อย่างน้อยปีละครัง้ โดยได้กา ํ หนดไว้เป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการ

เพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลการควบคุมที่สําคัญ (List of Key Control)

ปฏิบัติงานตามปกติของฝ่ายบริหาร ผู้ควบคุมงาน และผู้มีหน้าที่

ที่มีการรวบรวมข้อมูลคําอธิบายลักษณะงาน (FD) คําสั่งแต่งตั้ง

เกี่ ย วข้ อ ง รวมทั้ ง ได้ จั ด ให้ มี ก ารประเมิ น การควบคุ ม ภายใน

คณะกรรมการ บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท ระเบียบ

ด้วยตนเอง (Control Self-Assessment: CSA) ในองค์กรแบบ

คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน กรอบการควบคุมภายในตาม

ผสมผสานดังนี้

มาตรฐานสากล (COSO Internal Control Integrated Framework)

• จั ด ทํ า แบบประเมิ น การควบคุ ม ภายในรายบุ ค คล

รวมทัง้ มาตรการต่อต้านคอร์รป ั ชันตามเกณฑ์คา ํ ถามของโครงการ

(Specific Questionnaire) สํ า หรั บ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ ฝ่ า ยขึ้ น ไป

แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต เพื่อ

ที่ปฏิบัติงานตามโครงสร้างของ ปตท. และผู้บริหารที่ปฏิบัติงาน

ปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาแบบประเมิ น การควบคุ ม ภายในให้ แ ก่ ผู้ บ ริ ห าร

Secondment บริษัทในกลุ่ม เพื่อประเมินการควบคุมภายในทั้งใน

ระดับฝ่ายขึน ้ ไปทีป ่ ฏิบต ั งิ านตามโครงสร้างของ ปตท. และผูบ ้ ริหาร

ระดับองค์กรและระดับฝ่ายงาน

ทีป ่ ฏิบต ั งิ าน Secondment บริษท ั ในกลุม ่ ให้คา ํ ถามในแบบประเมิน

• จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ (Facilitated Workshop) เพื่อ

ครอบคลุมกิจกรรมตามกระบวนการปฏิบต ั งิ านทีส ่ าํ คัญ และพัฒนา

การประเมินการควบคุมภายในในระดับกิจกรรม มุ่งเน้นกิจกรรม

ฐานข้อมูลการควบคุมที่สําคัญเพิ่มขึ้นเป็น 30 กระบวนการหลัก

การควบคุ ม ในกระบวนการทํ า งาน โดยผลการประเมิ น และ

รวมทั้ ง มี ก ารพั ฒ นารู ป แบบการตอบแบบประเมิ น การควบคุ ม

แผนการปรับปรุงการควบคุมภายในจะต้องได้รับความเห็นชอบ

ด้วยตนเองเป็นแบบ Electronic (e-CSA) เพื่อให้ผู้บริหารสามารถ

จากเจ้าของกระบวนการและมีการติดตามโดยผู้บังคับบัญชา

ทําการประเมินฯ และสามารถเรียกดูรายงานผลการประเมินฯ

ทั้ ง นี้ ฝ่ า ยบริ ห ารความเสี่ ย งองค์ ก รจะเป็ น ผู้ ร วบรวม

ผ่านระบบ Intranet ได้ โดยในปี 2558 ได้มีการปรับปรุงคําถาม

ข้อมูลวิเคราะห์ สรุปผล และจัดทํารายงานการประเมินตนเอง

การประเมิ น โดยเน้ น ที่ ก ระบวนการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง และนโยบาย

ทั่วทั้งองค์กร โดยมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุม

ต่อต้านทุจริต มีการหารือกับหน่วยงานเจ้าของกระบวนการให้เป็น

ภายในทําหน้าที่ในการกลั่นกรอง ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะ

ผูร้ ว ่ มพิจารณาความเพียงพอเหมาะสมของคําถามในการประเมิน

รวมทั้งวางแนวทางให้กับหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อดําเนินการ

การควบคุ ม ภายในด้ ว ยตนเอง ซึ่ ง ช่ ว ยสร้ า งความตระหนั ก รู้

แก้ไขปรับปรุงเป็นประจําทุกปี นอกจากนี้ ยังมีสํานักตรวจสอบ

และส่ ง เสริ ม การทํ า งานที่ ส อดคล้ อ งกั น ของทั้ ง องค์ ก ร เพื่ อ

ภายในทํ า การสอบทานเพื่ อ สร้ า งความมั่ น ใจว่ า การควบคุ ม

ทุกหน่วยงานดําเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน

ภายในที่ มี อ ยู่ มี ค วามเพี ย งพอเหมาะสม และมี ก ารปฏิ บั ติ

คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานผลการประเมิ น

อย่ า งสม่ํ า เสมอ โดยมี ค ณะกรรมการตรวจสอบทํ า หน้ า ที่

การควบคุมภายใน ซึ่งประเมินโดยผู้บริหารและสํานักตรวจสอบ

ในการสอบทานผลการประเมิ น การควบคุ ม ภายในเป็ น ประจํ า

ภายในอย่ า งสม่ํ า เสมอ ไม่ พ บประเด็ น ปั ญ หาหรื อ ข้ อ บกพร่ อ ง

ทุ ก ปี ในกรณี พ บข้ อ ที่ ค วรปรั บ ปรุ ง ได้ มี ก ารกํ า หนดวิ ธี ป ฏิ บั ติ

ที่ เ ป็ น สาระสํ า คั ญ ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ความเห็ น ของผู้ ส อบบั ญ ชี

เพื่ อ ให้ ค วามมั่ น ใจว่ า ข้ อ ตรวจพบจากการตรวจสอบและ

ของ ปตท. ระบบการควบคุมภายในของ ปตท. มีความเพียงพอ

การสอบทานได้รับการดําเนินการปรับปรุงแก้ไขอย่างทันท่วงที

และมีประสิทธิผลทางธุรกิจ

ในส่ ว นของการประเมิ น การควบคุ ม ภายในด้ า นบั ญ ชี ก ารเงิ น มี ก ารตรวจสอบและสอบทานโดยสํ า นั ก งานตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น

คาตอบแทนของผูสอบบัญชี (Audit Fee)

ซึ่ ง เป็ น ผู้ ต รวจสอบภายนอก และนํ า เสนอผลการตรวจสอบ/ สอบทานแก่ ค ณะกรรมการตรวจสอบเพื่ อ พิ จ ารณา เป็ น ราย ไตรมาสและรายปี การติดตามและประเมินการควบคุมภายในของ ปตท. ได้

บริษัทฯ และบริษัทย่อย จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชี (Audit fee) ให้แก่สํานักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปี บัญชีที่ผ่านมา มีจํานวนเงินรวม 145,528,035 บาท (หนึ่งร้อย

ยึดถือและปฏิบต ั ิตามแนวทางการติดตามประเมินผลการควบคุม

สี่สิบห้าล้านห้าแสนสองหมื่นแปดพันสามสิบห้าบาท) นอกจากนี้

ภายใน ซึ่ ง กํ า หนดในเอกสารคํ า แนะนํ า : การจั ด ทํ า รายงาน

บริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้จ่ายค่าตอบแทนของงานบริการอื่น

ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ข้อ 6 การติดตาม

(Non-audit fee) ที่มีสาระสําคัญ เช่น ค่าธรรมเนียมในการจัดทํา

ประเมินผลอยูใ่ นเกณฑ์ดี นอกจากนี้ ทุกกลุม ่ ธุรกิจจะมีการรายงาน

The Offering Memorandum of the Global Medium Term

ผลการดําเนินงานทุกเดือน รวมทั้งมีการวัดผลการดําเนินงาน

Notes Programme ค่ า ตรวจรั บ รองงบการเงิ น ที่ ใ ช้ ใ นการยื่ น

โดยเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด (Key Performance Indicator: KPIs)

กรมสรรพากร และค่าตรวจรับรองอื่น ๆ ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา

อย่างสม่ําเสมอ

รวมจํานวน 11,378,086 บาท (สิบเอ็ดล้านสามแสนเจ็ดหมื่น แปดพันแปดสิบหกบาท)


การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

197 การปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแล กิจการที่ดีในเรื่องอื่น ๆ

• การถ่ายทอดค่านิยมสูบ ่ ริษท ั ใน กลุม ่ ปตท. ผ่านนโยบาย กลุ่ม ปตท. และกําหนดให้ค่านิยม SPIRIT เป็นหนึ่งในแนวทาง การกํากับดูแลบริษัทใน กลุ่ม ปตท. (PTT Way of Conduct)

จากผลสํารวจการกํากับดูแลกิจการของ ปตท. ที่สมาคม

• การกําหนดให้นโยบายต่อต้านคอร์รัปชัน กลุ่ม ปตท.

ส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย (IOD) ได้ ทํ า การสํ า รวจ

เป็ น หนึ่ ง ในแนวทางการกํ า กั บ ดู แ ลบริ ษั ท ใน กลุ่ ม ปตท. (PTT

และให้คะแนนตามโครงการสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัท

Way of Conduct) โดยมีการกําหนดตัวชี้วัดอย่างเป็นรูปธรรม

จดทะเบี ย นประจํ า ปี 2558 ในภาพรวม ปตท. อยู่ ใ นเกณฑ์

เพือ ่ ผลักดันการบริหารจัดการบริษท ั ใน กลุ่ม ปตท. ให้มีมาตรฐาน

“ดีเลิศ” และได้รับคะแนนเฉลี่ยภาพรวมและรายหมวดสูงกว่า

และแนวทางการบริ ห ารจั ด การ ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น และ

คะแนนเฉลี่ยของบริษัทที่ทําการสํารวจทั้งหมดในปี 2558 จํานวน

สามารถสร้างพลังร่วมได้ตามวัตถุประสงค์ของการลงทุน รวมทั้ง

588 บริษัท และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของบริษัทในกลุ่ม SET50

เพื่ อ ผลั ก ดั น นโยบายสู่ ก ารดํ า เนิ น การอย่ า งเป็ น ระบบ รองรั บ

ทั้ ง นี้ ผลสํ า รวจดั ง กล่ า วพิ จ ารณาจากข้ อ มู ล ที่ ปตท. เปิ ด เผย

การตรวจประเมินต่อไป

ต่อสาธารณะ โดยในปี 2558 ปตท. มีแนวปฏิบัติที่ดี นอกเหนือ

ตลอดปี 2558 ปตท. ได้ ป ฏิ บั ติ ต ามหลั ก การกํ า กั บ

จากเกณฑ์การสํารวจ ซึ่งสามารถใช้เป็นแนวปฏิบัติที่ดีต่อบริษัท

ดู แ ลกิ จ การที่ ดี อนึ่ ง อาจไม่ ค รอบคลุ ม เกณฑ์ ข องโครงการ

จดทะเบียนอื่น ๆ ที่สําคัญ ได้แก่ • ประธานกรรมการปั จ จุ บั น เป็ น กรรมการอิ ส ระ จึ ง มี ความเป็ น อิ ส ระในการมอบหมายนโยบายและกํ า กั บ ดู แ ล

สํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies) และ ASEAN CG Scorecard ในประเด็นดังต่อไปนี้ • การกําหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการ ประกอบ

การบริหารงานของ ปตท. • ปตท. กําหนดให้มีจํานวนกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า

ด้วยจํานวน 5 - 12 คน ข้อบังคับของ ปตท. กําหนดให้มจ ี า ํ นวนกรรมการไม่นอ ้ ยกว่า

กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการที่มีอยู่ • เ นื่ อ ง จ า ก ป ต ท . มี ส ถ า น ะ เ ป็ น รั ฐ วิ ส า ห กิ จ ต า ม

5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน โดยปัจจุบัน ปตท. มีจํานวนกรรมการ

พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 คณะกรรมการ

ทั้ ง สิ้ น 13 คน ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ข้ อ บั ง คั บ และการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ

ตรวจสอบจึ ง ได้ พิ จ ารณาเห็ น ชอบให้ สํ า นั ก งานการตรวจเงิ น

ด้านปิโตรเลียมที่ต้องการผู้ทรงคุณวุฒิหลากหลายสาขาอาชีพ

แผ่นดิน ซึง่ เป็นหน่วยงานทีม ่ ค ี วามเป็นกลางและมีความน่าเชือ ่ ถือ

ที่จําเป็นในการบริหารกิจการของ ปตท. ซึ่งปัจจุบันคณะกรรมการ

เป็ น ผู้ ส อบบั ญ ชี ข อง ปตท. และนํ า เสนอคณะกรรมการ ปตท.

ปตท. ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการเฉพาะเรื่ อ งจํ า นวน 5 คณะ

เพื่ อ พิ จ ารณาและขออนุ มั ติ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง

ช่วยกลัน ่ กรองงานทีม ่ ค ี วามสําคัญ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ

และอนุมัติค่าสอบบัญชี

คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการกํ า หนดค่ า ตอบแทน

• จั ด ทํ า Agenda Base Meeting และนํ า ไปปฏิ บั ติ เป็นวาระการประชุมของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี และคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงองค์กร • การลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ กรรมการโดยการลงคะแนน

ในการทบทวนผลการดําเนินงาน โดยมีหัวข้อ QSHE/ SPIRIT/ CSR/ CG Talk เพื่อเป็นช่องทางการสื่อความ CG และส่งเสริม

เสียงแบบสะสม (Cumulative Voting) ข้อบังคับของ ปตท. กําหนดให้เลือกตั้งกรรมการโดยวิธี

การกระตุ้ น เตื อ น การรณรงค์ เ รื่ อ งการตระหนั ก ถึ ง การทํ า งาน อย่างมี CG ด้วย • ปตท. กํ า หนดแนวทางการปฏิ บั ติ ที่ ส่ ง เสริ ม ค่ า นิ ย ม

คะแนนเสียงข้างมาก และผู้ถือหุ้นแต่ละคนมีคะแนนเสียงเท่ากับ จํานวนหุ้นที่ตนถืออยู่ นอกจากนี้ ปตท. ได้กําหนดให้มีวิธีการ

SPIRIT อย่างเป็นระบบและเชื่อมโยงกับกลไกต่าง ๆ ในองค์กร

อื่ น ในการดู แ ลสิ ท ธิ ข องผู้ ถื อ หุ้ น รายย่ อ ยมาโดยตลอด เช่ น

เพื่อเน้นการนําค่านิยม SPIRIT ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม

การสนั บ สนุ น ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น รายย่ อ ยใช้ สิ ท ธิ เ สนอวาระการประชุ ม

และยั่ ง ยื น โดยมี ก ารจั ด ทํ า SPIRIT Norm เป็ น บรรทั ด ฐาน

เพิ่มเติม หรือเสนอชื่อบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการได้ล่วงหน้า

เพื่ อ เป็ น การเสริ ม สร้ า งบรรยากาศการทํ า งานที่ ช่ ว ยสนั บ สนุ น /

เป็นต้น

กระตุ้นเตือนให้พนักงานเป็น “คนเก่ง” และ “คนดี” มีพฤติกรรม

ทั้ ง นี้ จํ า นวนครั้ ง ของการประชุ ม คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย

การทํางานที่สอดคล้องกับค่านิยม SPIRIT ซึ่งผู้บริหารเป็นผู้ที่มี

แสดงรายละเอี ย ดในหั ว ข้ อ “การประชุ ม ของคณะกรรมการ

บทบาทสําคัญเป็นอย่างยิ่งในการเป็น Role Model และ Coaching

ปตท.” แล้ว

ั ต ิ นเป็นตัวอย่างทีด ่ ี ให้กบ ั พนักงานอย่างเป็นรูปธรรม เช่น การปฏิบต อย่างสม่ําเสมอ, มีการสื่อความอย่างชัดเจนตรงไปตรงมา การให้ คํ า ปรึ ก ษาชี้ แ นะอย่ า งใกล้ ชิ ด เป็ น ต้ น ซึ่ ง รวมถึ ง การถ่ า ยทอด นโยบายการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ซ ี งึ่ เป็นหนึง่ ในค่านิยมองค์กรด้วย


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง

198

การควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง แ ล ะ ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ได้มอบหมายให้ฝ่ายบริหารความเสี่ยงองค์กรมีหน้าที่การประเมิน การควบคุมภายใน โดยการจัดทําแบบประเมินการควบคุมภายใน ด้วยตนเองรายบุคคลสําหรับผู้บริหารตั้งแต่ระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไป ที่ ป ฏิ บั ติ ง านตามโครงสร้ า งของ ปตท. และผู้ บ ริ ห ารที่ ป ฏิ บั ติ ง าน Secondment บริ ษั ท ในกลุ่ ม ซึ่ ง ครอบคลุ ม หน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ โดยอ้ า งอิ ง กรอบแนวทางปฏิ บั ติ ด้ า นการควบคุ ม ภายในของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission: COSO ซึ่ ง กํ า หนดองค์ ป ระกอบหลั ก ที่ จํ า เป็ น ในการควบคุมภายในไว้ 5 ด้าน ได้แก่ (1) การควบคุมภายในองค์กร ่ ง (Risk Assessment) (Control Environment) (2) การประเมินความเสีย (3) การควบคุ ม การปฏิ บั ติ ง าน (Control Activities) (4) ระบบ สารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล (Information & Communication) และ (5) ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) โดยมีวต ั ถุประสงค์ เพือ ่ สร้างความมัน ่ ใจว่าการดําเนินงานของ ปตท. จะบรรลุวต ั ถุประสงค์ ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิภาพของการดําเนินงาน การใช้ ทรัพยากร การดูแลรักษาทรัพย์สน ิ การป้องกันหรือลดความผิดพลาด

ความเสียหาย การรัว ่ ไหล การสิน ้ เปลือง ความเชือ ่ ถือได้ของรายงานทางการเงินการบัญชีและรายงานอืน ่ ๆ รวมถึง การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรีและนโยบาย รวมทั้งระเบียบปฏิบัติของ ปตท. รวมทั้ง ประเมินตามกรอบแนวทางการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ี (Corporate Governance: CG) และมาตรการต่อต้านคอร์รป ั ชัน ตามเกณฑ์คําถามของโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต โดยสํานักตรวจสอบภายในได้สอบทานประสิทธิผลของการควบคุมภายในและรายงานผลการสอบทาน ต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท โดยคณะกรรมการได้ประเมินระบบการควบคุมภายในของ บริษัท โดยการสอบถามข้อมูลจากฝ่ายบริหารเกี่ยวกับการดําเนินการตามแนวทาง/ ข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนา การควบคุมภายใน แล้วสรุปได้วา ่ จากการประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษท ั ในด้านต่าง ๆ 5 องค์ประกอบ คือ การควบคุมภายในองค์กร การประเมินความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติงาน ระบบสารสนเทศและการสื่อสาร ข้อมูล และระบบการติดตาม คณะกรรมการเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอและ เหมาะสม โดยบริษัทได้จัดให้มีบุคลากรอย่างเพียงพอที่จะดําเนินการตามระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ


การควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

199 หัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน

• สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัท รับผิดชอบดูแลติดตามให้ กลุ่ม ปตท. / คณะกรรมการ ปตท./

ในการประชุมคณะกรรมการจัดการ ปตท. ครัง้ ที่ 21/2551

คณะกรรมการจัดการของ ปตท. / ผู้บริหาร / หน่วยงาน ปฏิบัติ

เมือ ่ วันที่ 22 กันยายน 2551 ได้แต่งตัง้ นางสาวนิตยา ดิเรกสถาพร

ตามกฎระเบี ย บด้ า นการเป็ น รั ฐ วิ ส าหกิ จ และบริ ษั ท จดทะเบี ย น

ให้ดํารงตําแหน่งผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักตรวจสอบ

รวมทั้ ง ระเบี ย บบริ ษั ท และข้ อ บั ง คั บ ปตท. ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมทั้ ง

ภายใน ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2551 เนื่องจากเป็นผู้ที่มีความรู้

เป็นศูนย์กลางในการรวบรวม ติดตามข้อมูลเกี่ยวกับกฎระเบียบ

ความเข้าใจธุรกิจของ ปตท. เป็นอย่างดี ประกอบกับมีประสบการณ์

ภายนอกที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และสื่ อ สาร ให้ ค วามรู้ คํ า ปรึ ก ษา เรื่ อ ง

ในงานบัญชีการเงินและงานบริหารความเสี่ยงทางการเงินของ

ก ฎ ร ะ เ บี ย บ ภ า ย น อ ก ด้ า น ก า ร เ ป็ น รั ฐ วิ ส า ห กิ จ แ ล ะ บ ริ ษั ท

ปตท. ทัง้ ในระดับธุรกิจและในภาพรวม จึงเห็นว่า มีความเหมาะสม

จดทะเบี ย น โดยแปลความ/สรุ ป เรี ย บเรี ย ง เพื่ อ ให้ บุ ค คล/

ที่จะปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวได้ ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้มี

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการได้อย่างถูกต้อง

การพิจารณาเห็นชอบการแต่งตั้ง โยกย้าย รวมทั้งการพิจารณา

• สํานักกฎหมาย รับผิดชอบกํากับดูแลงานด้านกฎหมาย

ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านและความดี ค วามชอบประจํ า ปี ข อง

ทีเ่ กีย ่ วข้องกับการประกอบธุรกิจ รวมทัง้ กฎหมายด้านการเป็นบริษท ั

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักตรวจสอบภายใน

จดทะเบียน กฎหมายด้านสิง่ แวดล้อม/ความปลอดภัยในอุตสาหกรรม

งานกํากับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัท (Compliance)

กฎหมายพลั ง งาน คดี ศ าลปกครอง กฎหมายระหว่ า งประเทศ เพือ ่ ให้การดําเนินธุรกิจขององค์กรเป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย และกฎระเบียบอื่น ๆ ของรัฐ ให้คําปรึกษาประเด็นข้อกฎหมาย แก่หน่วยงานต่าง ๆ / กลุ่มบริษัท ปตท. เพื่อให้การดําเนินงาน

ปตท. มี ก ารกํ า หนดหน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบการปฏิ บั ติ ให้เป็นไปตามกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร ประกอบด้วย

มีความสอดคล้องกับกฎหมาย โดยเฉพาะการทําธุรกรรมใหม่ ๆ ทัง้ ใน ประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้การประกอบธุรกิจมีความคล่องตัว • สํ า นั ก ตรวจสอบภายใน รั บ ผิ ด ชอบในการประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพและความเพี ย งพอของระบบการควบคุ ม ภายใน และตรวจสอบการปฏิบัติงานของทั้งองค์กร รวมทั้งบริษัทในเครือ

ประวัติหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน ประวัติการศึกษา ปร • บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Master of Business Administration (Finance) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)

ประวัติการอบรม ปร • หลักสูตร Senior Executive Program (SEP) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Finance for Senior Executives, Harvard Business School • NIDA - Wharton Executive Leadership Program, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 91/2011) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตรนักบริหารการยุติธรรมทางปกครองระดับสูง (บยป.) รุ่นที่ 3 สํานักงานศาลปกครอง

นางสาวนิตยา ดิเรกสถาพร หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน

อายุ 58 ป

ประสบการณการทํางาน 2536 - 2543

: ผู้จัดการฝ่ายบัญชี ปตท.

2544 - 2549

: ผู้จัดการฝ่ายบริหารความเสี่ยงการเงินและนโยบายสินเชื่อ ปตท.

2549 - 2551

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่บัญชีการเงิน บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน)

2552 - ปัจจุบัน : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่สํานักตรวจสอบภายใน ปตท.

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของ • ไม่มี

ความสัมพันธระหวางผูบริหาร • ไม่มี


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

คณะกรรมการ

200

คณะกรรมการ

3

2

4

1

6

5 1. นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ 2. นายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์ 3. นายวัชรกิติ วัชโรทัย 4. นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม 5. พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข 6. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ 7. นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

7 กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการสรรหา/ กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการ/ ประธานกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหา/ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ


คณะกรรมการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

201

8

10

9

12

11

14

13 8. นายวิชัย อัศรัสกร 9. พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์ 10. นายสมชัย สัจจพงษ์ 11. นายดอน วสันตพฤกษ์ 12. นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ 13. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 14. นายชวลิต พิชาลัย 15. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

15 กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหา กรรมการ/ กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ/ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรรมการอิสระ/ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรรมการอิสระ/ กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ/ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

202

ประวัติคณะกรรมการ * ข้อมูลการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559

นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ อายุ 62 ปี

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ประธานกรรมการ

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

ธนาคารกสิกรไทย จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จำ�กัด (มหาชน)

กรรมการอิสระ/

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ • 1 กรกฎาคม 2557

(ดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม 2557)

คุณวุฒิการศึกษา

• ปริญญาตรี สาขาคณิตศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 1)

University of Oxford, UK

and Political Science, University of London, UK

and Political Science, University of London, UK

• ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ London School of Economics • ปริญญาเอก (เศรษฐศาสตร์) London School of Economics

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 35/2005)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

ของสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.)

• สัมมนา เรื่อง บทบาทและหน้าที่กรรมการรัฐวิสาหกิจ

(5 มิถุนายน 2558)

• สัมมนาแนวทาง “การจัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจแห่งชาติ”

• กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ

• กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ • กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ • ประธานกรรมการ มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

นายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์ อายุ 57 ปี

กรรมการอิสระ/

ประธานกรรมการตรวจสอบ

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ • 1 กรกฎาคม 2557

(13 กรกฎาคม 2558)

คุณวุฒิการศึกษา

International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Action against Corruption “Anti-Corruption in Thailand:

(Master of Laws หรือ LL M) Cornell University, USA (ทุน ก.พ.)

Harvard University, USA (ทุนฟุลไบรท์)

Standford University, USA (ทุนฟุลไบรท์)

• สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...

• สัมมนา Thailand’s 6th National Conference on Collective

Sustaining the Momentum” จัดโดย IOD (16 ตุลาคม 2558)

• Board Briefing, ปตท.

ประสบการณ์การทำ�งาน 2549 - 2551

: รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน

• ปริญญาตรี สาขานิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) • ปริญญาโทด้านกฎหมายการค้าและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ • ปริญญาโท ด้านกฎหมาย (Master of Laws หรือ LL M)

• ปริญญาเอก ด้านกฎหมาย (Doctor of the Science of Law หรือ J.S.D.)

2551 - 2552

: ประธานที่ปรึกษาประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ประวัติการอบรม

2552 - 2555

: กรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่

ปัจจุบัน

ธนาคารกสิกรไทย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) : กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ

ธนาคารกสิกรไทย จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ

มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม

• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 112/2014),

Advance Audit Committee Program (AACP 18/2015) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• เนติบัณฑิตไทย (นบท.) สำ�นักอบรมศึกษากฎหมาย

แห่งเนติบัณฑิตยสภา

ในระบอบประชาธิปไตยสำ�หรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 5

• หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครอง

สถาบันพระปกเกล้า

• ประกาศนียบัตรหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 49

• ประกาศนียบัตรหลักสูตรสถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 8 • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน

(วพน.) รุ่นที่ 1


ประวัติคณะกรรมการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

203

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

• การประชุมระดับชาติ ว่าด้วยการสร้างแนวร่วมปฏิบต ั ิภาคเอกชนไทย

คุณวุฒิการศึกษา

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Roosevelt University, USA

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง

สาขาวิชาการจัดการ วิทยาลัยทองสุข

ในการต่อต้านการทุจริตครั้งที่ 5 หัวข้อ “Tackling Corruption through Public-Private Collaboration (16 ตุลาคม 2557)

• สัมมนา เรื่อง บทบาทและหน้าที่กรรมการรัฐวิสาหกิจ

ของสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) (5 มิถุนายน 2558)

• สัมมนา PTT Group AC Forum 2015 • Board Briefing, ปตท.

ประสบการณ์การทำ�งาน

• ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) • ปริญญาโท M.P.A. (Master of Public Administration), • ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์

• ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์

2548 - 2551

: รองปลัดกระทรวงยุติธรรม

ประวัติการอบรม

2557 - 2558

: ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายข้าราชการประจำ�

Moving Corporate Governance Forward:

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

2551 - 2557 2558 - ปัจจุบัน

: ปลัดกระทรวงยุติธรรม

: ผู้อำ�นวยการสถาบันเพื่อการยุติธรรม

แห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

• กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน/

ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ/

กรรมการกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ • กรรมการเนติบัณฑิตยสภา

• นายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ

• กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล

• กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของกรมสอบสวนคดีพิเศษ

• กรรมการสำ�นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด

• กรรมการบริหารและประธานสาขาประเทศไทย

มูลนิธิป้องกันอาชญากรรมแห่งเอเชีย (ACPF)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

นายวัชรกิติ วัชโรทัย อายุ 55 ปี

กรรมการอิสระ/

กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน

Challenge for Thai Directors ปี 2012

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐเอกชนและการเมือง

(ปริญญาบัตร วปม.) รุ่นที่ 4 ปี 2549 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 9 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตร “กำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูง

ของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน” รุ่นที่ 5

สถาบันพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ (PDI)

• หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 15

วิทยาลัยการยุติธรรม สำ�นักงานศาลยุติธรรม

รุ่นที่ 5 สถาบันวิทยาการการค้า

สถาบันวิทยาการพลังงาน

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อุตสาหกรรมและการลงทุน รุ่นที่ 1 ปี 2556

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT) • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 1 • หลักสูตร “ภูมิพลังแผ่นดิน” สำ�หรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 1 • ประกาศนียบัตรหลักสูตรนักบริหารระดับสูงด้านการพัฒนาธุรกิจ

สถาบันวิทยาการธุรกิจและอุตสาหกรรม

• ประกาศนียบัตรผู้บริหารระดับสูงด้านการบริหารงาน

พัฒนาเมือง (มหานครรุ่นที่ 3) วิทยาลัยพัฒนามหานคร

ในการต่อต้านการทุจริตครั้งที่ 5 หัวข้อ “Tackling Corruption

• การประชุมระดับชาติ ว่าด้วยการสร้างแนวร่วมปฏิบต ั ิภาคเอกชนไทย through Public-Private Collaboration” (16 ตุลาคม 2557)

• สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...

International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558)

• Board Briefing, ปตท.

ประธานกรรมการสรรหา/

ประสบการณ์การทำ�งาน

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ

• 10 เมษายน 2552, 10 เมษายน 2555 (ต่อวาระ),

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 121/2009),

9 เมษายน 2558 (ต่อวาระ)

2544 - 2550

: ผู้ช่วยเลขาธิการพระราชวังฝ่ายที่ประทับ

2550 - ปัจจุบัน

: กรมวังผู้ใหญ่ สำ�นักพระราชวัง

สำ�นักพระราชวัง


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

204

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 4

สถาบันวิทยาการตลาดทุน

สำ�นักงานศาลยุติธรรม

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

รุ่นที่ 1 ปี 2555 สถาบันวิทยาการพลังงาน

• กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการสรรหา/

• หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 14

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.) รุ่นที่ 46

กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.)

บริษัท อควา คอร์เปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)

• Board Briefing, ปตท.

บริษัท แกรนด์แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ • ประธานกรรมการ

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ • คณะกรรมการดำ�เนินการจัดงานกาชาด สภากาชาดไทย • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โรงเรียนราชวินิตประถม

• นายกสมาคมผู้ปกครองและครู โรงเรียนราชวินิตประถม

• กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา • กรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทผู้ทรงคุณวุฒิ

นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม* อายุ 58 ปี

ระบบราชการ (ก.พ.ร.) สำ�นักนายกรัฐมนตรี

11 ตุลาคม 2556

27 มิถุนายน 2557

: เลขาธิการสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนา : ปลัดกระทรวงพลังงาน

25 พฤษภาคม 2558 : เลขาธิการสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนา

ระบบราชการ (ก.พ.ร.) สำ�นักนายกรัฐมนตรี : ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

: ปลัดกระทรวงพลังงาน

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

• กรรมการ/ ประธานกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

ประธานกรรมการกำ�กับยุทธศาสตร์และการปฏิรูป

กรรมการ/

• กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ/

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

ประธานกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ

• 7 กรกฎาคม 2557, 9 เมษายน 2558 (ต่อวาระ)

: ปลัดกระทรวงการคลัง

ปัจจุบัน

• ไม่มี

: อธิบดีกรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง

1 ตุลาคม 2553

1 ตุลาคม 2558 -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

1 ตุลาคม 2552

14 กรกฎาคม 2558

มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต

ประสบการณ์การทำ�งาน

*ลาออก มีผลตั้งแต่วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559

คุณวุฒิการศึกษา

• ปริญญาตรี ด้านการจัดการระหว่างประเทศ Boston University, USA • ปริญญาโท ด้านการเงิน Marshall University, USA

บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ • ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

• ปริญญาเอก ด้านการเงิน University of Mississippi, USA

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 3/2000)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ธนาคารโลก (World Bank)

Harvard University, USA

Action (AVIRA) สถาบัน INSEAD ฝรั่งเศส

• หลักสูตร Government Debt Monitoring System

• หลักสูตร Global Trend and Public Enterprise Reform, • หลักสูตร Awareness, Vision, Imagination, Responsibility,

พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข อายุ 60 ปี

กรรมการอิสระ/

ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ • 4 กันยายน 2557


ประวัติคณะกรรมการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

205

คุณวุฒิการศึกษา

ประวัติการอบรม

โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า

โรงเรียนเสนาธิการทหารบก

• ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต

• ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การทหาร)

ประวัติการอบรม

• Board Briefing, ปตท.

ประสบการณ์การทำ�งาน 2555

: ผู้ช่วยเสนาธิการทหารบกฝ่ายยุทธการ

2556

: รองเสนาธิการทหารบกกองทัพบก

กองทัพบก

2557 - 30 กันยายน : เสนาธิการทหารบกกองทัพบก

2558

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • กรรมการอิสระ/

ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ

บริษัท อสมท จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ • สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

• ประธานกรรมการ การยางแห่งประเทศไทย (กยท.)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 109/2008),

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.) รุ่นที่ 50

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

รุ่นที่ 5 สถาบันพระปกเกล้า

สำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

รุ่นที่ 4 สถาบันวิทยาการการค้า

(The 4 Imperatives of Great Leaders)”

• หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ สำ�หรับนักบริหารระดับสูง • หลักสูตรนักบริหารระดับกลาง

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT) • หลักสูตร “4 ภารกิจหลักของผู้น� ำ

สำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

• หลักสูตร “Cross-Border Infrastructure in a Market Economy”

กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา

่ ที่ 18 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรผูบ ้ ริหารระดับสูง (วตท.) รุน

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 3

สถาบันวิทยาการพลังงาน

ของสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.)

• สัมมนาเรื่อง บทบาทและหน้าที่กรรมการรัฐวิสาหกิจ

(5 มิถุนายน 2558)

• Board Briefing, ปตท.

ประสบการณ์การทำ�งาน 2550 - 2553

: ที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน

และสังคมแห่งชาติ

2553 - ปัจจุบัน

นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ อายุ 59 ปี

Audit Committee Program (ACP 39/2012)

สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ

: รองเลขาธิการ

สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ

และสังคมแห่งชาติ

กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหา/

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

• กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหา/

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ

คุณวุฒิการศึกษา

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

• 4 กันยายน 2557, 9 เมษายน 2558 (ต่อวาระ)

• ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

• ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาการเศรษฐกิจ)

• กรรมการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย

• ไม่มี


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

206

นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค อายุ 57 ปี

กันยายน 2553

: อธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก

กรรมการตรวจสอบ

กันยายน 2555

: อธิบดีกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ

ตุลาคม 2555

: รองปลัดกระทรวงพาณิชย์

กระทรวงพาณิชย์

กรรมการอิสระ/

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ

• 1 กรกฎาคม 2557, 9 เมษายน 2558 (ต่อวาระ)

คุณวุฒิการศึกษา

• ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต (การเงินและการธนาคาร)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

University of Wisconsin-Madison, USA

• ปริญญาโท MBA (การตลาดและธุรกิจระหว่างประเทศ)

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 166/2012),

Audit Committee Program (ACP 43/2013)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• หลักสูตร Management Development Program ณ Mt. Eliza,

ตุลาคม 2556

ปัจจุบัน

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ • ที่ปรึกษา สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย (สภาผู้ส่งออก) • ที่ปรึกษา สมาคมไทย-ญี่ปุ่น

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

สำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

ปี 2549 - 2550 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

& Economic Reform, Kennedy School of Government,

Harvard University, Boston, USA ปี 2551

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT)

รุ่นที่ 2 ปี 2552 สถาบันวิทยาการการค้า

สถาบันวิทยาการตลาดทุน

คุณวุฒิการศึกษา

ของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน รุ่นที่ 12 ปี 2556

• หลักสูตรการกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูง

(Public Director Institute: PDI)

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

Australia

• สัมมนา PTT Group AC Forum 2015

• สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...

กรรมการตรวจสอบ

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ New South Wales University, Sydney,

ประวัติการอบรม

รุ่นที่ 5 สถาบันวิทยาการพลังงาน

กรรมการอิสระ/

• 4 กันยายน 2557

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.)

นายวิชัย อัศรัสกร อายุ 55 ปี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 14 ปี 2555

กระทรวงพาณิชย์

• กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

• Leaders in Development Program-Managing Political

: อธิบดีกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

Melbourne, Australia ปี 2532

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.) รุ่นที่ 49

กระทรวงพาณิชย์

1 ตุลาคม 2558 - : อธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา

• หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (นบส.) รุ่นที่ 38 ปี 2546

กระทรวงพาณิชย์

• หลักสูตร Directors Certification Program (DCP 212/2015)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) (อยู่ระหว่างอบรม)

• หลักสูตรผูบ ้ ริหารระดับสูง (วตท.) รุน ่ ที่ 12 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558)

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

(17 พฤศจิกายน 2558)

• การประชุมระดับชาติ ว่าด้วยการสร้างแนวร่วมปฏิบัติ

• สัมมนาหัวข้อ Global Financial Market Outlook 2016, IOD • Board Briefing, ปตท.

ประสบการณ์การทำ�งาน ตุลาคม 2551

พฤษภาคม 2552

: รองปลัดกระทรวงพาณิชย์

: อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

กระทรวงพาณิชย์

(ปริญญาบัตร ปรอ.) รุ่นที่ 22 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตครั้งที่ 5 หัวข้อ

(16 ตุลาคม 2557)

“Tackling Corruption through Public-Private Collaboration”

• สัมมนา เรื่อง บทบาทและหน้าที่กรรมการรัฐวิสาหกิจ

ของสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) (5 มิถุนายน 2558)


ประวัติคณะกรรมการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

207

• สัมมนา Re-energizing Growth through Better Governance

คุณวุฒิการศึกษา

• โรงเรียนนายเรืออากาศ รุ่นที่ 20

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) (18 มิถุนายน 2558)

• สัมมนา “แนวทางการจัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจแห่งชาติ”

(13 กรกฎาคม 2558)

รุ่นที่ 7 ปี 2558 สถาบันวิทยาการพลังงาน

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.)

• โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 13

• โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง รุ่นที่ 56

• โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ รุ่นที่ 33 • วิทยาลัยการทัพอากาศ รุ่นที่ 36

• สัมมนา PTT Group AC Forum 2015

ประวัติการอบรม

International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558)

“Governance as a Driving Force for Business Sustainability”

(28 ตุลาคม 2558)

• สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption... • สัมมนา CG Forum 4/2015 - Thailand CG Forum

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำ�นักงาน ก.ล.ต. และ IOD

• Board Briefing, ปตท.

ประสบการณ์การทำ�งาน 2538 - ปัจจุบัน

: กรรมการ

(ประเทศไทย)

องค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน (ประเทศไทย)

บริษัท เชียงเฮงอินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด

• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 117/2015),

Role of the Nomination & Governance Committee Program

(RNG 7/2015) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• การประชุมระดับชาติ ว่าด้วยการสร้างแนวร่วม

ปฏิบัติภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตครั้งที่ 5 หัวข้อ

(16 ตุลาคม 2557)

“Tackling Corruption through Public-Private Collaboration”

• สัมมนา “แนวทางการจัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจแห่งชาติ”

(13 กรกฎาคม 2558)

• Board Briefing, ปตท.

2554 - ตุลาคม 2557 : เลขาธิการองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน

ประสบการณ์การทำ�งาน

ตุลาคม 2557 - ปัจจุบัน : รองประธานกรรมการ

มีนาคม 2556 - ปัจจุบัน : รองประธานกรรมการหอการค้าไทย

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

2552 - 2554

: เสนาธิการ กรมช่างอากาศ

กองทัพอากาศ

2554 - 2556 2556

2556 - 2557

กองบัญชาการสนับสนุนกองทัพอากาศ : รองเจ้ากรมช่างอากาศ กองทัพอากาศ : ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพอากาศ : เจ้ากรมช่างอากาศ กองทัพอากาศ

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหา

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ

• กรรมการบริหาร

ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์กรมหาชน)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

• ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ ์ อายุ 62 ปี

กรรมการสรรหา

กรรมการอิสระ/

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ • 4 กันยายน 2557

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

นายสมชัย สัจจพงษ์ อายุ 54 ปี

กรรมการ/

กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ • 1 พฤศจิกายน 2558


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

208

คุณวุฒิการศึกษา

• ปริญญาโทเศรษฐศาสตร์ Ohio State University, USA

• ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาเอกเศรษฐศาสตร์ Ohio State University, USA

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Certificate Program (DCP 75/2006)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

สำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

สถาบันวิทยาการตลาดทุน

(ปริญญาบัตร ปรอ.) รุ่นที่ 20 ปี 2550 - 2551

• หลักสูตรนักบริหารระดับสูง: ผู้นำ�ที่มีวิสัยทัศน์ รุ่นที่ 44 ปี 2548

นายดอน วสันตพฤกษ์ อายุ 57 ปี

กรรมการอิสระ/

กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ • 26 กรกฎาคม 2557

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 2 ปี 2549

คุณวุฒิการศึกษา

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

University of New South Wales, Sydney, Australia

University of New South Wales, Sydney, Australia

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT)

• ปริญญาตรี วิศวกรรมอุตสาหการ • ปริญญาโท วิศวกรรมอุตสาหการ

รุ่นที่ 2 ปี 2552 สถาบันวิทยาการการค้า

ประวัติการอบรม

ของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน (PDI) ปี 2554

• หลักสูตรการกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูง

สถาบันพระปกเกล้า

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.)

รุ่นที่ 3 สถาบันวิทยาการพลังงาน

ประสบการณ์การทำ�งาน 2552 - 2553

: อธิบดีกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง

นโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง

กระทรวงการคลัง

2553 - 2554

2554 - 2557 2557 - 2558

2558 - ปัจจุบัน

: ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานคณะกรรมการ

: ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเศรษฐกิจการคลัง : อธิบดีกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง : ปลัดกระทรวงการคลัง

• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 117/2015),

Role of the Nomination & Governance Committee Program

(RNG 7/2015) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• การประชุมระดับชาติ ว่าด้วยการสร้างแนวร่วมปฏิบัติ

ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตครั้งที่ 5 หัวข้อ

(16 ตุลาคม 2557)

“Tackling Corruption through Public-Private Collaboration”

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.)

รุ่นที่ 6 สถาบันวิทยาการพลังงาน

(13 กรกฎาคม 2558)

International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558)

• สัมมนา “แนวทางการจัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจแห่งชาติ” • สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption... • Board Briefing, ปตท.

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ประสบการณ์การทำ�งาน

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

• กรรมการ/ กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการ/ ประธานกรรมการ ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน)

2552 - ปัจจุบัน

: ประกอบธุรกิจส่วนตัว

• กรรมการอิสระ/ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ

• กรรมการอิสระ/ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการ

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ

• ไม่มี

• ไม่มี

• ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี


ประวัติคณะกรรมการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

209

นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ อายุ 58 ปี

กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

กรรมการอิสระ/

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ • 22 เมษายน 2558

นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ อายุ 63 ปี

กรรมการอิสระ/

กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท:

ร้อยละ 0.004579 (ตนเอง 0; คูส ่ มรส 0.004579)

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ • 11 เมษายน 2556

คุณวุฒิการศึกษา

• ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์)

คุณวุฒิการศึกษา

• ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Utah State University, USA

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

สาขาวิชาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมสังคม

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์​

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 113/2009),

Audit Committee Program (ACP 34/2011)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.)

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

Action against Corruption “Anti-Corruption in Thailand:

• สัมมนา Thailand’s 6th National Conference on Collective

Sustaining the Momentum” จัดโดย IOD (16 ตุลาคม 2558)

• Board Briefing, ปตท.

ประสบการณ์การทำ�งาน 2552 - 2553

2553 - 2556

2556 - ปัจจุบัน

• ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ • ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ • ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ • ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

: ผู้อ� ำ นวยการสำ�นักงบประมาณ

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการ บริษัท สายการบินนกแอร์ จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ

• กรรมการผู้แทนสำ�นักงบประมาณ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย • กรรมการบริหาร (กรรมการโดยตำ�แหน่ง)

• ปริญญาวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์

ประวัติการอบรม

• กรรมการอิสระ/ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

• ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA),

: ที่ปรึกษา สำ�นักงบประมาณ

: รองผู้อำ�นวยการสำ�นักงบประมาณ

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา)

สำ�นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 26/2004),

The Role of Chairman (RCP 28/2012),

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• Certificate in Advanced Management Program (AMP 155),

Harvard Business School, USA

(ปริญญาบัตร ปรอ.) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

ในระบอบประชาธิปไตยสำ�หรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 6

• หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 10 • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 3 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.)

รุ่นที่ 3 สถาบันวิทยาการพลังงาน

• สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

ประสบการณ์การทำ�งาน

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

• ไม่มี

2546 - 2554

: ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

และกรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ปัจจุบัน

: ประธานองค์กรธุรกิจเพือ ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (TBCSD)


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

210

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

(17 พฤศจิกายน 2558)

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)

• หลักสูตรผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง

• สัมมนาหัวข้อ Global Financial Market Outlook 2016, IOD

• กรรมการอิสระ/ กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

• Board Briefing, ปตท.

• กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ

• กรรมการอิสระ บริษัท อินทัชโฮลดิ้งส์ จำ�กัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ/ ประธานกรรมการบริหาร

บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท ไทยคม จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการอิสระ/ ประธานคณะกรรมการบริหาร

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ • ประธานกรรมการ บริษัท เมอร์เมด มาริไทม์ จำ�กัด (มหาชน)

(บริษัทจดทะเบียนในสิงคโปร์)

• สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

• ประธานองค์กรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (TBCSD)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

ประสบการณ์การทำ�งาน 2554 - 2555

: รองอธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

2555 - 2557

: ผู้ตรวจราชการ

กระทรวงพลังงาน

สำ�นักงานปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน

2557 - 2558

: ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานนโยบาย

2558 - ปัจจุบัน

: รองปลัดกระทรวงพลังงาน

และแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

• กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ

นายชวลิต พิชาลัย อายุ 60 ปี

กรรมการ/

กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ • ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช อายุ 57 ปี

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

• 18 สิงหาคม 2558

คุณวุฒิการศึกษา

• ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาโท พัฒนาการเศรษฐกิจมหาบัณฑิต

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Canada

และกรรมการผู้จัดการใหญ่

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท:

• ปริญญาโท Master of Public Administration, Carleton University,

ประวัติการอบรม

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 192/2014)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

สำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

ปี 2551 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

Columbia University, USA

กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ/

• 10 กันยายน 2558

• หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (นบส.) รุ่นที่ 39

คุณวุฒิการศึกษา

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.)

• The Columbia Senior Executive Program (CSEP 131),

ร้อยละ 0.000875 (ตนเอง 0.000875; คูส ่ มรส 0)

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) (เกียรตินิยมอันดับ 1) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• ปริญญาโท M.Sc. (Chemical Engineering), Rice University, USA

• ปริญญาโท M.Sc. (Petroleum Engineering), University of Houston,

USA


ประวัติคณะกรรมการ

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

211

ประวัติการอบรม

2555 - 9 กันยายน

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท.

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 21/2002),

2558

Role of the Compensation Committee (RCC 13/2011),

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

(มหาชน)

Financial Statements for Directors (FSD 6/2009),

Anti-Corruption for Executive Program (ACEP 15/2015)

• โครงการอบรมผู้น� ำ สากล (Program for Global Leadership: PGL)

รุ่นที่ 3, Harvard Business School, USA

ในระบอบประชาธิปไตย สำ�หรับผู้บริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 10

• หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครอง

10 กันยายน 2558 - ปัจจุบัน

และกรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด : ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท.

สถาบันพระปกเกล้า

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• Senior Executive Program (SEP) รุ่นที่ 7

ปฏิบัติงาน Secondment ในตำ�แหน่ง

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 6 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

• กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ/

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการ บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ/ ประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

(ปริญญาบัตร ปรอ.) รุ่นที่ 22 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

วิทยาลัยการยุติธรรม สำ�นักงานศาลยุติธรรม

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ

รุ่นที่ 3 สถาบันวิทยาการพลังงาน

สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย (สวสท.)

ของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 7

ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.)

International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558)

Action against Corruption “Anti-Corruption in Thailand:

• หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 16 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) • หลักสูตรการกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูง • สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...

• สัมมนา Thailand’s 6th National Conference on Collective

Sustaining the Momentum”, IOD (16 ตุลาคม 2558)

• สัมมนา CG Forum 4/2015 - Thailand CG Forum

“Governance as a Driving Force for Business Sustainability”

(28 ตุลาคม 2558) จัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

สำ�นักงาน ก.ล.ต. และ IOD

(17 พฤศจิกายน 2558)

• สัมมนาหัวข้อ Global Financial Market Outlook 2016, IOD • Board Briefing, ปตท.

ประสบการณ์การทำ�งาน 2551 - 2552

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลยุทธ์และพัฒนาองค์กร

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) (ปตท.) กรกฎาคม 2552 -

: ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน

กลยุทธ์และพัฒนาองค์กร ปตท.

ธันวาคม 2552

มกราคม 2553 -

และรักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่

: ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน ปตท.

เมษายน 2555

• ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

• นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• กรรมการสภามหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ประธาน คณะอนุกรรมการด้านการจัดการข้อมูล

และการสื่อสารประชาสัมพันธ์ ในคณะกรรมการพัฒนา ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (กพข.)

• กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถ

ในการแข่งขันของประเทศ (กพข.)

และมูลนิธิโรงเรียนวิทยาศาสตร์ระยอง (RAIST/ RASA)

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ

สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (TMA)

• กรรมการมูลนิธิสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระยอง • ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ คณะกรรมาธิการด้านพลังงาน Fossil • ประธานคณะกรรมการ TMA Center for Competitiveness • กรรมการ Board of Trustees สมาคมจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยีแห่งชาติ

สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

คณะผู้บริหาร

212

คณะผู้บริหาร

3

2

4

1

6

5 1. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ/ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ 2. นายปิติพันธ์ เทพปฏิมากรณ์ ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ 3. นายสรัญ รังคสิริ ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย 4. นายชวลิต พันธ์ทอง ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานและบริหารความยั่งยืน 5. นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน 6. นายกฤษณ์ อิ่มแสง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ทรัพยากรบุคคลและศักยภาพองค์กร 7. นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลยุทธ์องค์กร

7


คณะผู้บริหาร

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

213

8

10

9

12

11

14

13 8. นายนพดล ปิ่นสุภา 9. นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ 10. นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร 11. นางบุบผา อมรเกียรติขจร 12. นายสมพร ว่องวุฒิพรชัย

15

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจนํ้ามัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) 13. นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) 14. นายอธิคม เติบศิริ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) 15. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)


* ข้อมูลการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

214

ประวัติคณะผู้บริหาร * ข้อมูลการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช อายุ 57 ปี

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ/

(17 พฤศจิกายน 2558)

• Board Briefing, ปตท.

ประสบการณ์การทำ�งาน

ร้อยละ 0.000875 (ตนเอง 0.000875; คู่สมรส 0)

• 10 กันยายน 2558

คุณวุฒิการศึกษา

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) (เกียรตินิยมอันดับ 1) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• ปริญญาโท M.S. (Chemical Engineering), Rice University, USA

• ปริญญาโท M.S. (Petroleum Engineering), University of Houston,

และกรรมการผู้จัดการใหญ่

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท:

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

• สัมมนาหัวข้อ Global Financial Market Outlook 2016, IOD

USA

ประวัติการอบรม

2551 - 2552

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

กรกฎาคม 2552 -

: ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน

ธันวาคม 2552

มกราคม 2553 - เมษายน 2555

กลยุทธ์และพัฒนาองค์กร ปตท.

และรักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลยุทธ์และพัฒนาองค์กร ปตท.

: ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน ปตท.

2555 - 9 กันยายน

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท.

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

2558

ปฏิบัติงาน Secondment ในตำ�แหน่ง และกรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด

(มหาชน) 10 กันยายน 2558 -

: ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 21/2002),

ปัจจุบัน

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน)

Financial Statements for Directors (FSD 6/2009),

Anti-Corruption for Executive Program (ACEP 15/2015)

Role of the Compensation Committee (RCC 13/2011), สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• โครงการอบรมผู้นำ�สากล (Program for Global Leadership: PGL)

รุ่นที่ 3, Harvard Business School, USA

ในระบอบประชาธิปไตย สำ�หรับผู้บริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 10

• หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครอง

และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท.

• กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ/

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท.

• กรรมการ บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • กรรมการ/ ประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

• Senior Executive Program (SEP) รุ่นที่ 7

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ (ปัจจุบัน)

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 6 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

(สวสท.)

ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.)

สถาบันพระปกเกล้า

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

(ปริญญาบัตร ปรอ.) รุ่นที่ 22 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

วิทยาลัยการยุติธรรม สำ�นักงานศาลยุติธรรม

รุ่นที่ 3 ปี 2556 สถาบันวิทยาการพลังงาน

ของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 7

International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558)

Action against Corruption “Anti-Corruption in Thailand:

• หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 16 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) • หลักสูตรการกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูง • สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...

• สัมมนา Thailand’s 6th National Conference on Collective

Sustaining the Momentum”, IOD (16 ตุลาคม 2558)

• สัมมนา CG Forum 4/2015 - Thailand CG Forum

“Governance as a Driving Force for Business Sustainability”

สำ�นักงาน ก.ล.ต. และ IOD

(28 ตุลาคม 2558) จัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

• ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย • นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • กรรมการสภามหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ประธาน คณะอนุกรรมการด้านการจัดการข้อมูล

และการสื่อสารประชาสัมพันธ์ ในคณะกรรมการพัฒนา ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (กพข.)

• กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถ

ในการแข่งขันของประเทศ (กพข.)

และมูลนิธิโรงเรียนวิทยาศาสตร์ระยอง (RAIST/ RASA)

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ

สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (TMA)

• กรรมการมูลนิธิสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระยอง • ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ คณะกรรมาธิการด้านพลังงาน Fossil • ประธานคณะกรรมการ TMA Center for Competitiveness


ประวัติคณะผู้บริหาร

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

215

• กรรมการ Board of Trustees สมาคมจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย

1 ตุลาคม 2558 -

: ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ

และรักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่

• กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยีแห่งชาติ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์

ปัจจุบัน

นายปิติพันธ์ เทพปฏิมากรณ์ อายุ 59 ปี

กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ

กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ ทรัพยากรบุคคลและศักยภาพองค์กร ปตท. : ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ

กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ

ปตท.

• ไม่มี

1 กุมภาพันธ์ 2559 -

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

และเทคโนโลยีแห่งชาติ

31 มกราคม 2559

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท:

ร้อยละ 0.000152 (ตนเอง 0.000152; คู่สมรส 0)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน) • กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง

บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ (ปัจจุบัน) • ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำ�กัด • กรรมการ บริษัท Sakari Resources จำ�กัด

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

• 1 ตุลาคม 2558

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร

คุณวุฒิการศึกษา

• ไม่มี

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

• ปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจ)

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 138/2010),

Anti-Corruption for Executive Program (ACEP 4/2012) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• Strategic Human Resource Management, Harvard University,

USA

The Wharton School of University of Pennsylvania, USA

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รุ่นที่ 3 สำ�นักงานคณะกรรมการเลือกตั้ง

Crotonville, USA

นายสรัญ รังคสิริ อายุ 58 ปี

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ

กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

• 1 ตุลาคม 2556

• NIDA-Wharton Executive Leadership Program,

คุณวุฒิการศึกษา

• Senior Executive Program (SEP)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Polytechnic Institute of New York, USA

• หลักสูตรการพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้งระดับสูง (พตส.)

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (อุตสาหการ) • ปริญญาโท M.S. Management,

• PTT Executive Leadership Program, General Electrics,

ประวัติการอบรม

• หลักสูตรผูบ ้ ริหารระดับสูง (วตท.) รุน ่ ที่ 19 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

Director Certification Program (DCP 61/2005),

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์การทำ�งาน 2547 - 2553

2553 - 30 กันยายน 2558

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

สายงานทรัพยากรบุคคลองค์กร ปตท.

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

ทรัพยากรบุคคลและศักยภาพองค์กร ปตท.

• หลักสูตร Company Secretary Program (CSP 8/2004),

Finance for Non-Finance Director (FN 19/2005)

• Thirty Fourth Oxford Energy Seminar, St.Catherine’s College,

Oxford University, UK

The Wharton School of the University of Pennsylvania, USA

(ปริญญาบัตร ปรอ.) รุ่นที่ 23 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

• NIDA-Wharton Executive Leadership Program 2009, • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

216

• หลักสูตรนักบริหารระดับสูงด้านการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม

คุณวุฒิการศึกษา

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.)

และการลงทุน (วธอ.) รุ่นที่ 1/2013

รุ่นที่ 5/2014 สถาบันวิทยาการพลังงาน

International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558)

• สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...

ประสบการณ์การทำ�งาน 2551 - 2552

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

• ปริญญาโท MBA, Central Missouri State University, USA

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 177/2556)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• หลักสูตรผูบ ้ ริหารระดับสูง (วตท.) รุน ่ ที่ 18 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

สื่อสารองค์กรและกิจการเพื่อสังคม ปตท.

• Senior Executive Program (SEP)

การตลาดพาณิชย์และต่างประเทศ ปตท.

• PTT - GE Executive Leadership Program, GE Crotonville, USA

การตลาดขายปลีก ปตท.

หน่วยธุรกิจน้ำ�มัน ปตท.

ประสบการณ์การทำ�งาน

กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย ปตท.

2552 - 2553 2553 - 2554 2554 - 2556 2556 - ปัจจุบัน

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ : ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน)

• กรรมการ/ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน/

กรรมการบริหารความเสี่ยง

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการ/ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน/

ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ (ปัจจุบัน) • ประธานสโมสรฟุตบอล พีทีที ระยอง

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

นายชวลิต พันธ์ทอง อายุ 59 ปี

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ

และบริหารความยั่งยืน

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

• 1 มกราคม 2559

กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• Nida-Wharton Executive Leaders Program,

The Wharton School of the University of Pennsylvania, USA

2552 - 2553

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

2553 - 2554

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

2554 - 2556

ปฏิบัติการคลัง ปตท.

การตลาดพาณิชย์และต่างประเทศ ปตท. : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ การตลาดขายปลีก ปตท.

2556 - 2557

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

รักษาการปัจจุบันรองกรรมการผู้จัดการใหญ่

การตลาดขายปลีก/

หน่วยธุรกิจน้ำ�มัน ปตท.

2557- 30 กันยายน

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

1 ตุลาคม 2558 -

: ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ

2558

31 ธันวาคม 2558

1 มกราคม 2559 - ปัจจุบัน

หน่วยธุรกิจน้ำ�มัน

กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน ปตท. : ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน

และบริหารความยั่งยืน ปตท.

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน)

• กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ (ปัจจุบัน) • ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี


ประวัติคณะผู้บริหาร

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

217

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน

ร้อยละ 0.000893 (ตนเอง 0.000893; คู่สมรส 0)

นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต อายุ 53 ปี สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท:

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

ตุลาคม 2554 -

30 เมษายน 2557

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ การเงินองค์กร ปตท.

1 พฤษภาคม 2557 - : ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน ปตท. ปัจจุบัน

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน) • กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง

• 1 พฤษภาคม 2557

บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)

คุณวุฒิการศึกษา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ (ปัจจุบัน)

with emphasis in Financial Management,

(สนจ.) พ.ศ. 2558 - 2560

ภายใต้การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางรถไฟของประเทศไทย

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) • ปริญญาโท Master of Business Administration,

Pennsylvania State University, Pennsylvania, USA

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 8/2001),

• กรรมการอำ�นวยการ สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• คณะอนุกรรมการ ด้านการเงินและรูปแบบการลงทุนรถไฟไทย-จีน

(คบร.)

• ที่ปรึกษาคณะกรรมการ สายงานส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรม

Director Certification Program Update (DCPU 5/2015),

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ระยองและมูลนิธิโรงเรียนวิทยาศาสตร์ระยอง (RAIST/ RASA)

สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

Audit Committee Program (ACP 38/2012)

• Member, Beta Gamma Sigma

(US National Scholastic Honour Society in Business)

Fontainebleau, France

USA

• Advanced Management Programme, INSEAD Business School, • Advanced Management Program, Harvard Business School, • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 4 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 16

• กรรมการและเหรัญญิก มูลนิธิสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • กรรมการและกรรมการตรวจสอบ

• ประธานกรรมการ สภาธุรกิจไทย-มาเลเซีย • กรรมการ คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

วิทยาลัยการยุติธรรม สำ�นักงานศาลยุติธรรม

(สวปอ.มส.) รุ่นที่ 2 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

(ปริญญาบัตร ปรอ.) รุ่นที่ 26 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

และการลงทุน (วธอ.) รุ่นที่ 2

• หลักสูตรความมั่นคงขั้นสูงวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • TLCA Executive Development Program รุ่นที่ 1

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

• หลักสูตรนักบริหารระดับสูงด้านการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม

สถาบันวิทยาการธุรกิจและอุตสาหกรรม

ประสบการณ์การทำ�งาน

2548 - มกราคม 2554 : รองกรรมการอำ�นวยการด้านการเงิน

กุมภาพันธ์ 2554 - ตุลาคม 2554

ทรัพยากรบุคคลและศักยภาพองค์กร

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท:

ร้อยละ 0.000567 (ตนเอง 0.000567; คูส ่ มรส 0)

• 1 กุมภาพันธ์ 2559

คุณวุฒิการศึกษา

สายบัญชีและการเงิน

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

นายกฤษณ์ อิ่มแสง อายุ 50 ปี

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

218

ประวัติการอบรม

คุณวุฒิการศึกษา

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

สำ�หรับผู้บริหารระดับสูง ปตท.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 2010) • หลักสูตร Leadership Development Program

• หลักสูตร “ภูมิพลังแผ่นดิน” สำ�หรับผู้บริหารระดับสูง

ประสบการณ์การทำ�งาน 2552 - 2554

: ผู้จัดการฝ่ายบริหารศักยภาพผู้บริหาร

และบุคลากร ปตท.

ธุรกิจหล่อลื่น ปตท.

2555 - 2556 2556 - 2558 2558 - 31 มกราคม 2559

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

ปฏิบัติการคลัง ปตท.

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

• กรรมการ บริษัท ปตท.บริหารธุรกิจค้าปลีก จำ�กัด

• กรรมการ บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จำ�กัด

• กรรมการ บริษัท สปอร์ต เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จำ�กัด

• รองเลขาธิการ สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ผู้ช่วยเลขาธิการ

สมาคมนิสิตเก่าวิศวกรรมศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

• 1 ตุลาคม 2558

The Board’s Role in Mergers and Acquisitions (1/2011) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• ประกาศนียบัตรหลักสูตร Advanced Management Program (AMP)

รุ่น 183/2012 Harvard Business School, USA

Stanford Graduate School of Business

International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558)

• หลักสูตร Strategic Marketing Management,

• สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ (ปัจจุบัน)

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 160/2012),

ทรัพยากรบุคคลและศักยภาพองค์กร ปตท.

• ไม่มี

ประวัติการอบรม

ประสบการณ์การทำ�งาน

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน)

(เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การตลาดขายปลีก ปตท.

1 กุมภาพันธ์ 2559 - : รักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปัจจุบัน

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล

2552 - 2554

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

2554 - 30 กันยายน

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท.

2558

1 ตุลาคม 2558 - ปัจจุบัน

แผนกลยุทธ์และบริหารการลงทุน ปตท. ปฏิบัติงาน Secondment ในตำ�แหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

สายงานการตลาดและพาณิชยกิจ

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) (PTTGC)

: รักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลยุทธ์องค์กร ปตท.

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน)

• กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ (ปัจจุบัน) • กรรมการ บริษัท พีทีที เอ็มซีซี ไบโอเคม จำ�กัด • กรรมการ บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จำ�กัด

นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์ อายุ 58 ปี

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลยุทธ์องค์กร

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท:

ร้อยละ 0.004208 (ตนเอง 0; คู่สมรส 0.004208)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

นายนพดล ปิ่นสุภา อายุ 51 ปี

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท:

ร้อยละ 0.002255

(ตนเอง 0.000476; คู่สมรส 0.001779)


ประวัติคณะผู้บริหาร

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

219

• 1 ตุลาคม 2558

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ (ปัจจุบัน)

คุณวุฒิการศึกษา

บริษัท ปตท. จำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติ จำ�กัด

บริษัท อมตะ จัดจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติ จำ�กัด

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

• กรรมการ/ ประธานกรรมการ

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า)

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 146/2011),

Financial Statement for Director (FSD 12/2011) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• กรรมการ/ ประธานกรรมการ

• กรรมการ บริษัท ราชบุรี เพาเวอร์ จำ�กัด

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

• Leadership Development Program III,

สถาบันพัฒนาผู้นำ�และการเรียนรู้ กลุ่ม ปตท. (PTT Leadership and Learning Institute)

• โครงการ Breakthrough Program For Senior Executives,

International Leading Business School (IMD), Lausanne, Switzerland

• หลักสูตร Assessor Training Program,

นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ อายุ 50 ปี

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจน้� ำ มัน

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท:

ร้อยละ 0.000921

(ตนเอง 0.000788; คู่สมรส 0.000133)

สำ�นักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558)

คุณวุฒิการศึกษา

Japan, USA

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

• หลักสูตร Financial Statement for Directors, • สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...

• หลักสูตร Mitsui-HBS Global Management Academy 2015, • G-20Y Summit 2015, France

• หลักสูตรผู้บริหารกระบวนยุติรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 19

สถาบันข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม

ประสบการณ์การทำ�งาน 2553 - 2555

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

2555 - 2557

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

1 ตุลาคม 2557 -

30 กันยายน 2558

ระบบท่อจัดจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติ ปตท. ก๊าซธรรมชาติสำ�หรับยานยนต์ ปตท. : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท. ปฏิบัติงาน Secondment

ในตำ�แหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด

(มหาชน) 1 ตุลาคม 2558 -

ปัจจุบัน

: รักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ ปตท.

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน)

• กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

• 1 ตุลาคม 2558

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

• ปริญญาโท พัฒนาการเศรษฐกิจมหาบัณฑิต

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 173/2013)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

College of Petroleum Studies, Oxford, England

• หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP) รุ่นที่ 1 • Diploma of Petroleum Management,

(ได้รับทุนการศึกษาจาก British Council)

• หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครอง

ในระบอบประชาธิปไตย สำ�หรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 14 สถาบันพระปกเกล้า

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 20

สถาบันวิทยาการตลาดทุน

The Wharton School of the University of Pennsylvania, USA

• NIDA-Wharton Executive Leadership Program 2009,

• PTT Executive Leadership, General Electric, GE, New York, USA


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

220

ประสบการณ์การทำ�งาน 2553 - 2554

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

สื่อสารองค์กรและกิจการเพื่อสังคม ปตท.

การตลาดพาณิชย์และต่างประเทศ ปตท.

2554 - 2557

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

2557 - 30 กันยายน

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

1 ตุลาคม 2557 -

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

2557

30 กันยายน 2558

การตลาดขายปลีก ปตท.

บริหารความยั่งยืนและวิศวกรรมโครงการ

ปตท. 1 ตุลาคม 2558 -

ปัจจุบัน

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจน้ำ�มัน ปตท.

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน) • กรรมการ/ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการ

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ (ปัจจุบัน) • ประธานกรรมการ บริษัท ปตท.ธุรกิจค้าปลีก จำ�กัด

• ประธานกรรมการ บริษัท ปตท.บริหารธุรกิจค้าปลีก จำ�กัด • กรรมการมูลนิธิพลังที่ยั่งยืน

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 85/2007),

Financial Statements for Directors (FSD 12/2011),

Chartered Director Class (CDC 10/2015)

Director Accreditation Program (DAP 93/2011), สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ระดับผู้บริหาร

กรมกิจการพลเรือนทหารบก รุ่นที่ 1

• วิทยาลัยการทัพอากาศ (วทอ.) รุ่นที่ 35 ปี 2549

• หลักสูตร Senior Executive Program (SEP-20) รุ่นที่ 20

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• PTT Executive Leadership, General Electric, GE, New York, USA • Advanced Senior Executive Program (ASEP-5), Class 5,

KELLOGG & SASIN, Chicago, USA

สำ�หรับนักบริหารระดับสูง (ปศส.) รุ่นที่ 10 สถาบันพระปกเกล้า

and Practice (LEAP) สถาบัน INSEAD, France & Singapore

PTT Leading and Learning Institute (PLLI)

รุ่นที่ 57 ปี 2557 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558)

• หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ • หลักสูตร Leadership Excellence through Awareness

• หลักสูตร Leadership Development Program III (LDP 3) • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.) • สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...

ประสบการณ์การทำ�งาน

2552 - กันยายน 2557 : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร อายุ 55 ปี

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

บริหารกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

• 1 มกราคม 2559

คุณวุฒิการศึกษา

• ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

• ปริญญาโท เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปฏิบัติงาน Secondment

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

ตุลาคม 2557 -

30 กันยายน 2558

1 ตุลาคม 2558 - 31 ธันวาคม 2558

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ในตำ�แหน่ง สายพาณิชยกิจและการตลาด

(1 มีนาคม 2556 - 30 กันยายน 2557) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

กลุ่มธุรกิจท่าเรือและบริหารจัดการทรัพย์สิน (19 ตุลาคม 2554 - 28 กุมภาพันธ์ 2556)

กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทย เอ บี เอส จำ�กัด (1 พฤศจิกายน 2553 - 30 พฤศจิกายน 2555)

กรรมการผูจ ้ ด ั การ บริษท ั น้� ำ มัน ไออาร์พซ ี ี จำ�กัด (1 พฤศจิกายน 2553 - 13 กรกฎาคม 2555) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานแผน (1 มิถุนายน 2552 - 18 ตุลาคม 2554) : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลยุทธ์องค์กร ปตท.

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น ปตท.

1 มกราคม 2559 - : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปัจจุบัน

บริหารกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย


ประวัติคณะผู้บริหาร

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

221

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน)

ประสบการณ์การทำ�งาน 2545 - 2552

: ผู้จัดการฝ่ายค้านํ้ามันดิบ ปตท.

• กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

2553 - 2557

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ (ปัจจุบัน)

ปตท.

• ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จำ�กัด

• ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำ�กัด

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

นางบุบผา อมรเกียรติขจร อายุ 57 ปี

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท:

หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ ร้อยละ 0.003568 (ตนเอง 0.003568; คู่สมรส 0)

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

• 1 ตุลาคม 2557

คุณวุฒิการศึกษา

• วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาเศรษฐศาสตร์) (เกียรตินิยม)

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

(เกียรตินิยม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

• พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการบริหารการเงิน)

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 152/2011)

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

1 ตุลาคม 2557 -

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

2557

ปัจจุบัน

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ (ปัจจุบัน) • กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำ�กัด • กรรมการ Tiger Energy Trading Pte. Ltd.

• รองประธานสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

(Class 2012), IMD Institute/ Switzerland

Creative Leadership, Singapore

ปี 2551

คุณวุฒิการศึกษา

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Oklahoma, USA

สถาบันวิทยาการตลาดทุน

Oklahoma, USA

Oklahoma, USA

• Senior Executive Program (Class 2003)

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 21/2558

หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ ปตท.

• กรรมการ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)

• หลักสูตรวิทยาลัยการทัพบก สถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง

หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ ปตท.

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• หลักสูตร Leadership Development Program - Center for

บริหารกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย

2557 - 30 กันยายน

• หลักสูตร Breakthrough Program for Senior Executive (BPSE)

: ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

นายสมพร ว่องวุฒิพรชัย อายุ 57 ปี

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

และกรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน)

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท:

ร้อยละ 0.000350 (ตนเอง 0; คูส ่ มรส 0.000350)

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

• 22 ตุลาคม 2558

• ปริญญาตรี Petroleum Engineering, University of Tulsa, • ปริญญาโท Petroleum Engineering, University of Tulsa, • ปริญญาเอก Petroleum Engineering, University of Tulsa,


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

222

นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ อายุ 56 ปี

ประวัติการอบรม

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)

• Advanced Management Program 2006

(Executive Education Program), Harvard Business School, USA

• GE Energy Customer Executive Leadership Program (2012),

และกรรมการผู้จัดการใหญ่

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

GE Global Learning, Crotonville, USA

PTT Leading and Learning Institute (PLLI)

สถาบันวิทยาการพลังงาน

และปราบปรามการทุจริตระดับสูง (นยปส.) รุ่นที่ 6

คุณวุฒิการศึกษา

สัญญา ธรรมศักดิ์ สำ�นัก ป.ป.ช.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• Leadership Development Program III (2013), • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 2 • หลักสูตรนักบริหารยุทธศาสตร์การป้องกัน

สถาบันการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ประสบการณ์การทำ�งาน

1 พฤษภาคม 2549 - : รองผู้จัดการใหญ่ 14 มกราคม 2553

สายงานโครงการต่างประเทศ

บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด

(มหาชน) 15 มกราคม 2553 -

31 ธันวาคม 2557

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

กลุ่มงานโครงการต่างประเทศ

บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) 1 มกราคม 2558 -

21 ตุลาคม 2558

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

กลุ่มงานกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจ

บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด

(มหาชน) 22 ตุลาคม 2558 -

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท.

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ปัจจุบัน

ปฏิบัติงาน Secondment ในตำ�แหน่ง และกรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด

(มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน)

• กรรมการ บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ (ปัจจุบัน) • ไม่มี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

• 1 ตุลาคม 2557

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี • ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 131/2010),

Role of Chairman Program (RCP 30/2013)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• Advanced Management Programme,

INSEAD Business School, France

และหลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

• หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.) รุ่นที่ 50

(ปริญญาบัตร ปรอ.) รุ่นที่ 20 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

• หลักสูตร Oxford Energy Seminar 2013, UK

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 4

สถาบันวิทยาการพลังงาน

และผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน

ของภาครัฐ สถาบันพระปกเกล้า

• หลักสูตรการกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการ

รุ่นที่ 12 ปี 2557 สถาบันพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูง

• หลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย (นธป.) รุ่นที่ 3/2558

ประสบการณ์การทำ�งาน 2552 - 2554

: รองกรรมการผู้จัดการด้านพัฒนาธุรกิจ

และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

2554 - 30 กันยายน 2557

1 ตุลาคม 2557 - ปัจจุบัน

บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด สายงานกลยุทธ์องค์กร ปตท.

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลยุทธ์องค์กร ปตท.

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท.

ปฏิบัติงาน Secondment ในตำ�แหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

และกรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษท ั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)


ประวัติคณะผู้บริหาร

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

223

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน)

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 17

สถาบันวิทยาการตลาดทุน

Harvard University, USA

สถาบันวิทยาการพลังงาน

• กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ/

• Executive Education Program, Harvard Business School

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 6

กรรมการบริหารความเสี่ยง

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)

• รองประธานกรรมการ บริษัท วีนีไทย จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ (ปัจจุบัน)

ประสบการณ์การทำ�งาน 2552 - 2554

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

• กรรมการ บริษัท PTT Chemical International Private Limited

และรักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่

• กรรมการ

บริษัท PTT Chemical International (Asia Pacific ROH) Limited

• ประธานกรรมการ บริษัท ไทยโอลีโอ เคมิคอล จำ�กัด

• กรรมการอำ�นวยการ สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • นายกสมาคมเพื่อนชุมชน

• รองประธานกรรมการมูลนิธิสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ระยองและมูลนิธิโรงเรียนวิทยาศาสตร์ระยอง (RAIST/ RASA)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี

นายอธิคม เติบศิร ิ อายุ 53 ปี

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

• 1 ตุลาคม 2557

คุณวุฒิการศึกษา

• ปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ สาขาบัญชี

(วิชาเอกบัญชีต้นทุนและการบริหารทางการเงิน) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

• ปริญญาโทด้านบริหารธุรกิจ

สาขาการเงินและการค้าระหว่างประเทศ

Berkeley, California, USA

กลุ่มธุรกิจท่าเรือและบริหารจัดการทรัพย์สิน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

2554 - 2556

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท.

กรรมการผู้จัดการใหญ่

2556 - 30 กันยายน 2557

1 ตุลาคม 2557 - ปัจจุบัน

ปฏิบัติงาน Secondment ในตำ�แหน่ง บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น ปตท. : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท.

ปฏิบัติงาน Secondment ในตำ�แหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

และกรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)

สายแผนธุรกิจองค์กร

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท: ไม่มี

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน)

และกรรมการผู้จัดการใหญ่

(เกียรตินิยมระดับ High Distinction), Armstrong University,

ประวัติการอบรม

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 125/2009)

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

(ปริญญาบัตร วปม.) รุ่นที่ 5 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

สมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ เอกชน และการเมือง • หลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมั่นคงขั้นสูง (วปอ.มส.1)

• กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)

• กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ (ปัจจุบัน) • ประธานกรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จำ�กัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์มารีน จำ�กัด

• ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ โซลเว้นท์ จำ�กัด • ประธานกรรมการ บริษัท ท็อป โซลเว้นท์ จำ�กัด

• ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ เพาเวอร์ จำ�กัด • ประธานกรรมการ บริษัท ท็อป เอสพีพี จำ�กัด • ประธานกรรมการ บริษัท ลาบิกซ์ จำ�กัด

• ประธานกรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จำ�กัด

• กรรมการมูลนิธิสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระยอง

และมูลนิธิโรงเรียนวิทยาศาสตร์ระยอง (RAIST/ RASA)

• กรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิ สถาบันวิทยสิริเมธี

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

224

นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ อายุ 57 ปี

2553 - 2556

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

ปฏิบัติงาน Secondment ในตำ�แหน่ง

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัท:

ร้อยละ 0.000070 (ตนเอง 0.000070; คู่สมรส 0)

หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น ปตท. : รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท. กรรมการผู้จัดการใหญ่

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน)

วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง

• 1 ตุลาคม 2556

• กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง

คุณวุฒิการศึกษา

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี)

2556 - ปัจจุบัน

: รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

(เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการอบรม

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการสำ�คัญที่เกี่ยวข้องในบริษัทหรือองค์กรอื่น ๆ (ปัจจุบัน) • กรรมการ บริษัท อูเบะเคมิคอลส์ (เอเชีย) จำ�กัด (มหาชน) • ประธานกรรมการ บริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 132/2010),

• ประธานกรรมการ บริษัท ไทยเอบีเอส จำ�กัด

• ประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด

Audit Committee Program (ACP 38/2012),

and Risk Management (MIR 12/2012)

Monitoring the System of Internal Control

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP 3)

ปี 2552 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

สำ�หรับนักบริหารระดับสูง” สถาบันพระปกเกล้า (ปปร. 15)

• หลักสูตร “การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

ปี 2555

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 16

สถาบันวิทยาการตลาดทุน

(ปริญญาบัตร ปรอ.) รุ่นที่ 26 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

รุ่นที่ 6 ปี 2558

Governance Matters, Australia ปี 2558

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation,

ประสบการณ์การทำ�งาน 2550 - 2551

: ผู้ช่วยกรรมการอำ�นวยการ ด้านธุรกิจ

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)

ด้านวางแผนกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจ

2551 - 2552

2552 - 2553

: ผู้ช่วยกรรมการอำ�นวยการ

บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) : ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

แผนและบริหารบริษัทในเครือ

หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น ปตท.

• ประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด

• ประธานกรรมการ บริษัท เทคโนโลยีไออาร์พีซี จำ�กัด • ประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี พีซีซี จำ�กัด

• ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมโรงกลั่นน้� ำ มันปิโตรเลียม

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (วาระปี 2557 - 2559)

(กลุ่มอุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียม ปิโตรเคมี

(วาระปี 2557 - 2559)

• รองประธาน คลัสเตอร์ปิโตรเคมี

พลาสติก และเคมี) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

• กรรมการและกรรมการบริหาร สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (วาระปี 2557 - 2559)

• กรรมการ สถาบันน้ำ�เพื่อความยั่งยืน (วาระปี 2557 - 2559) • กรรมการ (สาขาวิศวกรรมเคมี)

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์

(ตามคำ�สั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สกอ. 697/2558)

และมูลนิธิโรงเรียนวิทยาศาสตร์ระยอง (RAIST/ RASA)

• กรรมการ สภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิ สถาบันวิทยสิริเมธี • กรรมการ มูลนิธิสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระยอง • กรรมการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (วาระปี 2557 - 2559) • ที่ปรึกษา คณะกรรมการ สถาบันพลาสติก (เริ่มกันยายน 2557) • ที่ปรึกษา สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในพระบรมราชูปถัมภ์ (เริ่มสิงหาคม 2558)

ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี


การดำ�รงตำ�แหน่งของผู้บริหาร และผู้มีอำ�นาจควบคุม ในบริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) บริษัทย่อย การร่วมค้า บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง ประจำ�ปี 2558

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

225

การด�ำรงต�ำแหน่งของผู้บริหาร และผู้มีอ�ำนาจควบคุมในบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย การร่วมค้า บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง ประจ�ำปี 2558

บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)

ธุรกิจส�ำรวจ 1 และผลิตปิโตรเลียม ธุรกิจก๊าซ ธุรกิจลงทุน ต่างประเทศ

ธุรกิจน�้ำมัน

บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม

บริษัทย่อย*

นายสัมฤทธิ์ ส�ำเนียง

นายอธิคม เติบศิริ

/ /

/ / /

/ /

/ /

/ / / *0/ // // // // // // // // // // // // // // // //

* 0 /

x

/

/

/

x

PTTLNG

4 PTT Green Energy Pte. Ltd.

PTTGE

5 บริษัท พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส จ�ำกัด

PTTER

6 PTT (Cambodia) Limited

PTTCL

7 บริษัท ปตท.ธุรกิจค้าปลีก จ�ำกัด

PTTRB

TLBC

SBECL

PTT TANK

11 PTT Oil Myanmar Co., Ltd.

PTTOM

12 บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด

PTTPL

x

13 บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จ�ำกัด

PTTPM

x

/

PTTPMMA

PTTGC

/

x

/

/

/

*0/

16 บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน)

TOP

/

/

/

*0/

17 บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน)

IRPC

/

x

/

/

/

0/

PTT International Trading Pte. Ltd.

PTTT

19 PTT Regional Treasury Center Pte. Ltd.

PTTRTC

BSA

PTTICT

x

GPSC

/

/

/

14 บริษัท พีทีที พีเอ็มเอ็มเอ จ�ำกัด 15 บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด

นางนิธิมา เทพวนังกรู

นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ

นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์

นายสมพร ว่องวุฒิพรชัย

นางบุบผา อมรเกียรติขจร

นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร

นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์

x /

PTTNGD

9 Subic Bay Energy Co., Ltd.

นายนพดล ปิ่นสุภา

นายกฤษณ์ อิ่มแสง

PTT PTTEP

3 บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จ�ำกัด

8 บริษัท ไทยลู้บเบล็นดิ้ง จ�ำกัด

นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์

นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต

นายสรัญ รังคสิริ

นายชวลิต พันธ์ทอง

นายปิติพันธ์ เทพปฏิมากรณ์

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

นายชวลิต พิชาลัย

นายสมชัย สัจพงษ์

นายดอน วสันตพฤกษ์

นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

นายวิชัย อัศรัสกร

นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม

8

พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์

7

นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

6

2 บริษัท ปตท.จ�ำหน่ายก๊าซธรรมชาติ จ�ำกัด

/

/

(มหาชน)

ธุรกิจการค้า 18 ระหว่างประเทศ ธุรกิจอื่น ๆ

5

จ�ำกัด (มหาชน)

10 บริษัท พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล จ�ำกัด

ธุรกิจปิโตรเคมี และการกลั่น

4

นายวัชรกิติ วัชโรทัย

รายชื่อบริษัท* ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

3

นายกิตติพงษ์ กิตยารักษ์

รายชื่อผู้บริหารฯ ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559

2

นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

1

20 บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จ�ำกัด 21 บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จ�ำกัด 22 บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) 23 บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จ�ำกัด

EnCo

/

บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จ�ำกัด

TP

25 บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด

PTTES

26 บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์

PTTME

TTM(T)

ธุรกิจโครงสร้าง 24 พื้นฐาน

ธุรกิจก๊าซ

เอนจิเนียริง จ�ำกัด

27 บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย)

การร่วมค้า บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน*

28 Trans Thai-Malaysia (Malaysia) Sdn. Bhd. 29 บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จ�ำกัด 30 บริษัท ปิโตรเอเซีย (ประเทศไทย) จ�ำกัด 31 บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จ�ำกัด

ธุรกิจน�้ำมัน

ธุรกิจปิโตรเคมี และการกลั่น

จ�ำกัด TTM(M) THAPPLINE

PAT

BAFS

(มหาชน) 32 บริษัท บริการน�้ำมันอากาศยาน จ�ำกัด

IPS

33 บริษัท ขนส่งน�้ำมันทางท่อ จ�ำกัด

FPT

34 Keloil-PTT LPG Sdn. Bhd.

KPL

35 Petro Asia (Maoming) Co., Ltd.

PA-Maoming

36 Petro Asia (Sanshui) Co., Ltd.

PA-Sanshui

37 บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จ�ำกัด

HMC

38 บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จ�ำกัด

SPRC

(มหาชน) 39 บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จ�ำกัด

PTTAC

/

40 บริษัท พีทีที เอ็มซีซี ไบโอเคม จ�ำกัด

PTTMCC

/

TIP

ธุรกิจอื่น ๆ 41 ธุรกิจโครงสร้าง 42 พื้นฐาน

บริษัท ทิพยประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตไฟฟ้าและนํ้าเย็น จ�ำกัด

หมายเหตุ: สัญลักษณ์

DCAP

— = รองประธาน

* = ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร O = กรรมการผู้จัดการใหญ่ / = กรรมการ // = ผู้บริหาร รายชื่อผู้บริหารตามนิยาม ก.ล.ต. 4 รายแรก นับต่อจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ได้แก่ นายปิติพันธ์ เทพปฏิมากรณ์,

* บริษัทมีการจัดประเภทบริษัทในเครือใหม่ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 เรื่อง งบการเงินรวม ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558

x = ประธานกรรมการ

นายสรัญ รังคสิริ, นายชวลิต พันธ์ทอง และนายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

226

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย ปตท. ให้ความส� ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ใส่ใจสังคม และรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม การด�ำเนินธุรกิจอย่างมีธรรมาภิบาล เปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส รวมไปถึงการมุง่ มัน่ ในการสร้างนวัตกรรม และการส่งเสริมเทคโนโลยี อย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง โดยปี 2558 ปตท. ได้ รั บ รางวั ล การจั ด อั น ดั บ และการรั บ รองในด้ า นต่ า ง ๆ ทั้งระดับประเทศและระดับสากล จาก 45 สถาบัน รวมเป็น 77 รางวัล (รางวัลระดับประเทศ จาก 34 สถาบัน จ�ำนวน 57 รางวัล และรางวัล ระดับสากล จาก 11 สถาบัน จ�ำนวน 20 รางวัล) โดยสรุปดังนี้

ด้านความเป็นเลิศ ในการด�ำเนินธุรกิจ 01

02

1. สถานีบริการนํ้ามัน ปตท. ได้รับการโหวตจากผู้บริโภค ให้เป็นแบรนด์ที่ได้รับ ความนิยมสูงสุด เป็นปีที่ 12 ติดต่อกัน (2004 - 2015) 2. ผลิตภัณฑ์หล่อลื่น ปตท. ได้รับความเชื่อมั่นจากผู้บริโภค ให้เป็นแบรนด์อันดับ 1 ติดต่อกัน เป็นปีที่ 5

No. 1 Brand Thailand 2014 - 2015 สถานี บริการนํ้ามัน ปตท. (Gas Station) - นํ้ามัน หล่อลื่น (Engine Oil Car) และคาเฟ่อเมซอน (Coffee Shop) ได้รับการโหวตให้เป็นแบรนด์ ที่ได้รับความนิยมสูงสุด เป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน

ผู้มอบรางวัล

ผู้มอบรางวัล

นิตยสาร BrandAge

รับรางวัล/ จัดอันดับ 20 กุมภาพันธ์ 2558

นิตยสาร Marketeer

รับรางวัล/ จัดอันดับ 11 มิถุนายน 2558


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

227

รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น (The Prime Minister’s Industry Award) ประเภทการจัดการพลังงาน ประจำ�ปี 2558 จากความสำ�เร็จในการเป็นหน่วยงาน

ที่มีเป้าหมายเด่นชัดในการบริหารจัดการพลังงาน และสามารถดำ�เนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผู้มอบรางวัล

กระทรวงอุตสาหกรรม

รับรางวัล/ จัดอันดับ 25 กันยายน 2558

ระดับประเทศ 03

04

1. คุณเทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ รับรางวัล ASEAN Excellent Enterprises and Businessman 2. รางวัล ASEAN Admired Brands 3. รางวัล ASEAN Quality Goods and Services ผู้มอบรางวัล

สมาคมมาตรฐานและคุณภาพแห่งประเทศไทย (สมคท.) ร่วมมือกับสมาคมเวียดนาม เมืองโฮจิมินห์ (Vietnam Quality Association of Ho Chi Minh City) จากงาน

ASEAN Communication Program 2015 (ACP’ 15)

รับรางวัล/ จัดอันดับ

30 พฤศจิกายน 2558


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

228

รางวัล Asia’s Best CFO of 2014 ซึ่งมอบให้แก่

คุณวิรัตน์ เอื้อนฤมิต

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน ผู้มอบรางวัล

The Corporate Treasurer

จากงาน ASEAN Treasury Summit

รับรางวัล/ จัดอันดับ มีนาคม 2558

ระดับสากล 01

02

งาน 5th Asian Excellence Recognition Awards 2015 ได้รับ 6 รางวัล ประเภทบุคคล 3 รางวัล

ประเภทองค์กร 3 รางวัล

1. ซีอีโอยอดเยี่ยมแห่งเอเชีย (Asia’s Best CEO)

(Investor Relations): ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร (ได้รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 5)

1. รางวัลนักลงทุนสัมพันธ์ยอดเยี่ยม

(Best Investor Relations) (ได้รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 5)

2. ซีเอฟโอยอดเยี่ยมแห่งเอเชีย (Asia’s Best CFO):

2. รางวัลความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมยอดเยี่ยม

3. นักลงทุนสัมพันธ์มืออาชีพยอดเยี่ยม

คุณวิรัตน์ เอื้อนฤมิต

(Best Investor Relations Professional):

คุณพิจินต์ อภิวันทนาพร (ได้รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 2)

(Best Environment Responsibility) (ได้รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 5)

3. รางวัลความรับผิดชอบต่อสังคมยอดเยี่ยม

(Best CSR) (ได้รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 3)

ผู้มอบรางวัล

นิตยสาร Corporate Governance Asia

รับรางวัล/ จัดอันดับ 10 เมษายน 2558


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

229

รางวัล Asia’s Most Admired Brand 2014 ในกลุ่มธุรกิจพลังงาน โดย ปตท. เป็น 1 ใน 100 บริษัทที่ได้รับการจัดอันดับ จากบริษัทชั้นนำ�กว่า 500 บริษัทในเอเชีย ผู้มอบรางวัล

บริษัท World Consulting and Research Center (WCRC)

รับรางวัล/ จัดอันดับ 27 พฤษภาคม 2558

รางวัล Top Corporate Borrowers in Asia - Thailand (ได้รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 3) ผู้มอบรางวัล

นิตยสาร FinanceAsia

รับรางวัล/ จัดอันดับ

11 พฤศจิกายน 2558

03

04

05

06

ได้รับการจัดอันดับที่ 93 จาก 500 บริษัทขนาดใหญ่ที่สุดของโลก

รางวัล The Asset Corporate Awards 2015 ประเภท Platinum Award Winners

นับเป็นการติดอันดับ Top 100

การจัดอันดับที่ผ่านมา

(ปตท. เป็นบริษัทไทยเพียงบริษัทเดียว

ปี 2013 เป็นอันดับที่ 81

ต่อเนื่องกันเป็นปีที่ 7)

ต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน ผู้มอบรางวัล

นิตยสาร Fortune Global 500

ปี 2014 เป็นอันดับที่ 84 ปี 2012 เป็นอันดับที่ 95

ปี 2011 เป็นอันดับที่ 128 ปี 2010 เป็นอันดับที่ 155

ที่ได้รับรางวัลในระดับ Platinum

ผู้มอบรางวัล

นิตยสาร The Asset

ปี 2009 เป็นอันดับที่ 118 รับรางวัล/ จัดอันดับ กรกฎาคม 2558

ปี 2008 เป็นอันดับที่ 135 ปี 2007 เป็นอันดับที่ 207 ปี 2006 เป็นอันดับที่ 265 ปี 2005 เป็นอันดับที่ 373 ปี 2004 เป็นอันดับที่ 456

รับรางวัล/ จัดอันดับ 15 ธันวาคม 2558


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

230

ด้านการด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน รางวัลด้านสิ่งแวดล้อม 1. ประกาศนียบัตร โครงการ

ลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจ

(T-VER*) สาขาป่าไม้

ตามมาตรฐานของประเทศไทย

ผู้มอบรางวัล

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก 2. ใบประกาศเครื่องหมายรับรอง รับรางวัล/ จัดอันดับ

คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์

ก๊าซธรรมชาติสำ�หรับยานยนต์ (NGV)

ผู้มอบรางวัล

กุมภาพันธ์ 2558

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก

* โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction Program: T-VER)

รับรางวัล/ จัดอันดับ

ระดับประเทศ

28 มีนาคม 2558 01

02

03

รางวัล Thailand Green Label Award เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติผู้ประกอบการ ที่เข้าร่วมโครงการฉลากเขียว

อย่างต่อเนื่องกว่า 10 ปี และเป็นองค์กร

ที่ดำ�เนินธุรกิจอย่างใส่ใจสิ่งแวดล้อมของประเทศ ผูม ้ อบรางวัล

สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย

โล่เกียรติยศจาก พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ในฐานะที่เป็นกลุ่มบริษัทพลังงานของไทย ที่ประสบความสำ�เร็จในการดำ�เนินงานด้านความยั่งยืน ผูม ้ อบรางวัล

พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ในงาน “ธุรกิจไทยขับเคลื่อนไทย

สู่ความยั่งยืนด้วยมาตรฐานสากล (Thai Corporate Moving toward Sustainable Growth)” จัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

รับรางวัล/ จัดอันดับ 26 กุมภาพันธ์ 2558

รับรางวัล/ จัดอันดับ 19 มีนาคม 2558


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

231

ใบรับรอง ESG100 Certificate หรือใบรับรอง 100 บริษัทที่มีความโดดเด่นในการดำ�เนินธุรกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ผูม ้ อบรางวัล

สถาบันไทยพัฒน์

รับรางวัล/ จัดอันดับ 27 มีนาคม 2558

04

05

06

การรับรอง Green Meetings Certification ต่อเนื่องมาตลอดระยะเวลา 3 ปี ผูม ้ อบรางวัล

องค์กรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนและสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย

รับรางวัล/ จัดอันดับ 27 พฤษภาคม 2558

ประกาศเกียรติคุณและยกย่องเชิดชูเกียรติ ปตท. ในฐานะ “องค์กรปลอดโฟม 100%” ผูม ้ อบรางวัล

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

รับรางวัล/ จัดอันดับ 5 มิถุนายน 2558


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

232

รางวัลด้านความปลอดภัยระดับประเทศ ประจำ�ปี 2558 จำ�นวน 3 รางวัล 1. เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำ�งาน (จป.) ระดับวิชาชีพดีเด่น

2 ท่าน ได้แก่ คุณณัฐพงศ์ รู้ซื่อ และคุณปรีดา สกุลโต

ในการทำ�งาน (คปอ.) ดีเด่น ได้แก่ โรงแยกก๊าซฯ ระยอง

และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน (สปก.)

2. รางวัลคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม

รางวัลอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 4 (วัฒนธรรมสีเขียว) ประจำ�ปี 2558

3. รางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย

ผู้มอบรางวัล

กระทรวงอุตสาหกรรม

ผูม ้ อบรางวัล

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ในงานสัปดาห์ความปลอดภัย ในการทำ�งานแห่งชาติครั้งที่ 29

รับรางวัล/ จัดอันดับ 11 สิงหาคม 2558 รับรางวัล/ จัดอันดับ

มิถุนายน 2558 และ 2 กรกฎาคม 2558 07

พื้นที่นิเวศอุตสาหกรรมวนารมย์ กลุ่ม ปตท. หรือ PTT WEcoZI ได้ผ่านการตรวจประเมินการให้การรับรองทางด้านนิเวศอุตสาหกรรม การจัดการสิ่งแวดล้อม และการลดก๊าซเรือนกระจก ดังนี้

1. รางวัลเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับ Eco Champion โดยเป็นแห่งแรก

ของประเทศไทย จากการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

เชิงพื้นที่จากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ของป่านิเวศระยองวนารมย์ กลุ่ม ปตท. ได้รับการขึ้นทะเบียนจากองค์การ

ก๊าซเรือนกระจกได้กว่า 1,000 ตันคาร์บอนไดออกไซต์เทียบเท่าต่อปี

2. ใบรับรองระบบบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ISO 14001 : 2004 3. การลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานประเทศไทย (T-VER)

บริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ซึ่งสามารถลด

ผูม ้ อบรางวัล

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย/ สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ/ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)

รับรางวัล/ จัดอันดับ สิงหาคม 2558

08

09


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

233

รางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น 1. รางวัลการเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใสดีเด่น

2. รางวัลด้านการดำ�เนินงานเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมดีเด่น โดยในปีนี้ ปตท.

โล่ประกาศเกียรติคุณสถานประกอบกิจการ ที่ได้รับการรับรองตามกิจกรรมการรณรงค์ลดสถิติ อุบัติเหตุจากการทำ�งานให้เป็นศูนย์ ประจำ�ปี 2558

ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณฯ ระดับเงิน

ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณฯ ระดับทองแดง

ระบบป้องกันการกัดกร่อนหน้าแปลน (PTT Flange Corrosion Preventive

ฝ่ายวิจัยธรณีวิทยาและวิศวกรรมปิโตรเลียม สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท.

1. โรงแยกก๊าซธรรมชาติระยอง

โล่ประกาศเกียรติคุณฯ ดังนี้

ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณฯ ระดับเงิน

ชีวภาพจากฟาร์มสุกร ตำ�บลท่ามะนาว อำ�เภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี”

3. รางวัลนวัตกรรมดีเด่น ซึ่ง ปตท. ได้รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 6 โดยในปีนี้ โครงการ

โดยสถานประกอบกิจการของ ปตท. ได้รับมอบ

ได้รับรางวัลดังกล่าว ในโครงการชื่อ “โครงการพัฒนาพลังงานชุมชนระบบก๊าซ

2. โรงแยกก๊าซธรรมชาติขนอม

System) ซึ่งเป็นโครงการที่คิดค้นโดยพนักงาน ปตท. ในส่วนของทีมนักวิจัย โดยใช้วัสดุที่ได้รับการออกแบบมาเป็นพิเศษเพื่อเชื่อมต่อระหว่างท่อกับท่อ

ท่อกับวาล์ว หรือท่อกับอุปกรณ์อื่น ซึ่งมีคุณสมบัติป้องกันปัญหาการกัดกร่อน

ที่จะก่อให้เกิดการรั่วไหลของก๊าซ สามารถลดต้นทุน และใช้ประโยชน์ในองค์กร

ผู้มอบรางวัล

3. สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท.

สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ

ผู้มอบรางวัล

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน รับรางวัล/ จัดอันดับ 22 กันยายน 2558

รับรางวัล/ จัดอันดับ สิงหาคม 2558 10

11

12

รางวัลด้านความยั่งยืนจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1. รางวัลความยั่งยืน (Sustainability Awards)

2. รางวัลองค์กรลงทุนหรือสนับสนุนความยั่งยืนของไทย

(Thailand Sustainability Investment Awards) ประจำ�ปี 2558

ผู้มอบรางวัล

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

รับรางวัล/ จัดอันดับ 16 ตุลาคม 2558


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

234

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นประธานเปิดการประชุมหญ้าแฝกนานาชาติครั้งที่ 6

ณ มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดานัง สาธารณรัฐ

สังคมนิยมเวียดนาม และได้พระราชทานรางวัล The King of Thailand Vetiver Awards ซึ่ง ปตท. ได้รับพระราชทาน 2 รางวัล ได้แก่

1. รางวัล The King of Thailand Vetiver Awards ด้านการมีส่วนร่วม

ของประชาชน ประเภทการบรรเทาภัยพิบัติหรือการปกป้องสภาพแวดล้อม

ด้านการส่งเสริมและการใช้งานระบบหญ้าแฝกดีเด่น

2. รางวัล The King of Thailand’s Certificate of Excellence

ผู้มอบรางวัล

มูลนิธิชัยพัฒนา สำ�นักงาน กปร. และองค์กรหญ้าแฝกนานาชาติ (The Vetiver Network International)

รับรางวัล/ จัดอันดับ 12 พฤษภาคม 2558

13

14

15

รางวัลพระราชทาน Thailand Corporate Excellence Awards 2015 1. รางวัลความเป็นเลิศด้านความรับผิดชอบ

ต่อสังคม (Corporate Social Responsibility)

2. รางวัลดีเด่น สาขาความเป็นเลิศด้านผู้นำ� 3. รางวัลดีเด่น สาขาความเป็นเลิศ

ด้านการจัดการทรัพยากรบุคคล

ด้านการบริหารทางการเงิน

4. รางวัลดีเด่น สาขาความเป็นเลิศ

ผู้มอบรางวัล

สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (TMA)

และสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากงาน Thailand Corporate Excellence Awards 2015

โรงบรรจุผลิตภัณฑ์หล่อลื่น ปตท. พระโขนง ได้รับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม (ISO 14001) ผู้มอบรางวัล

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม รับรางวัล/ จัดอันดับ

24 พฤศจิกายน 2558

รับรางวัล/ จัดอันดับ ธันวาคม 2558


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

235

รางวัลธุรกิจยานยนต์ยอดนิยม Thailand Automotive Quality Award (TAQA) 2015

ปตท. ได้รับการจัดอันดับ Green Rankings 2015 ในอันดับที่ 111 ของโลก และลำ�ดับที่ 2 ของโลก ในหมวดพลังงาน ซึ่งเป็นอันดับที่ดีขึ้นจากอันดับที่ 136 ของโลก และอันดับที่ 10 ในหมวดพลังงาน เมื่อปี 2557

จำ�นวน 2 รางวัล

1. ผลิตภัณฑ์เกี่ยวเนื่องกับรถยนต์ในกลุ่มน้� ำ มันเชื้อเพลิง 2. สถานีบริการน้� ำ มัน (ได้รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 6)

ผู้มอบรางวัล

นิตยสาร Newsweek

พร้อมการได้รับการรับรองตราสัญลักษณ์ GREEN FOR LIFE

สำ�หรับบรรจุภัณฑ์น้ำ�มันหล่อลื่นโฉมใหม่ ผู้มอบรางวัล

รับรางวัล/ จัดอันดับ

บริษัท สื่อสากล จำ�กัด ร่วมกับ บริษัท คัสต้อม เอเซีย จำ�กัด

26 มิถุนายน 2558

และหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ

รับรางวัล/ จัดอันดับ 9 ธันวาคม 2558

ระดับสากล 16

17

01

02

การจัดอันดับและการเป็นสมาชิกของ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) DJSI 2015 (2558) ปตท. คงสถานะเป็นสมาชิกต่อเนื่อง เป็นปีที่ 4 ทั้งใน Dow Jones Sustainability World Index (DJSI World) และ Dow Jones Sustainability Emerging Markets Index (DJSI Emerging Markets) ในกลุ่มอุตสาหกรรม นํ้ามันและก๊าซ (Oil and Gas Industry: OIX) ของกลุ่ม DJSI World รางวัลรายงานความยั่งยืน ประจำ�ปี 2558 (Sustainability Report Award) ระดับดีเยี่ยม (Best)

ผู้มอบรางวัล

Dow Jones Sustainability Indices (DJSI)

โดยได้รับรางวัลนี้ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 ผู้มอบรางวัล

สำ�นักงานคณะกรรมกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย และสถาบันไทยพัฒน์

รับรางวัล/ จัดอันดับ 15 ธันวาคม 2558

รับรางวัล/ จัดอันดับ กันยายน 2558


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

236

ด้านการด�ำเนินธุรกิจ อย่างมีธรรมาภิบาลและโปร่งใส รางวัล “หุ้นขวัญใจมหาชน กลุ่มทรัพยากร” โดยได้รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 ผู้มอบรางวัล

หนังสือพิมพ์ข่าวหุ้น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

รับรางวัล/ จัดอันดับ 21 พฤษภาคม 2558

ระดับประเทศ 01

สถานีบริการนํ้ามัน ปตท. ทั้งสิ้น 7 สถานี ได้ผ่านเกณฑ์ประเมินตามข้อกำ�หนดและเข้ารับมอบ ประกาศเกียรติคุณ ในเรื่องการเสริมสร้างเจตคติที่ดี ในการป้องกันและแก้ ไขปัญหายาเสพติด ให้แก่ สถานประกอบการในเขตกรุงเทพฯ ที่เป็นตัวอย่างที่ดี ในการบริหารจัดการด้านยาเสพติด ผู้มอบรางวัล

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

รับรางวัล/ จัดอันดับ 17 มิถุนายน 2558

02


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

237

รางวัลบุคคลตัวอย่างภาคธุรกิจ 2015 ภาคธุรกิจพลังงานและสาธารณปูโภค มอบให้กับ

1. คุณเทวินทร์ วงศ์วานิช

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย

2. คุณสรัญ รังคสิริ

ผู้มอบรางวัล

มูลนิธิสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (มสวท.)

รับรางวัล/ จัดอันดับ 19 ตุลาคม 2558

03

04

ผลสำ�รวจการกำ�กับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน (Corporate Governance Report: CGR) ประจำ�ปี 2558 ของบริษัทจดทะเบียนไทย โดย ปตท. ได้รับผลประเมิน ในการจัดอันดับอยู่ในระดับดีเลิศ หรือ 5 ตราสัญลักษณ์ ติดต่อกันเป็นปีที่ 7 และติดหนึ่งใน TOP QUARTILE ของบริษัท จดทะเบียนที่มีมูลค่าทางการตลาดไม่น้อยกว่า 10,000 ล้านบาท ผู้มอบรางวัล

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Director: IOD)

รับรางวัล/ จัดอันดับ 20 ตุลาคม 2558


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

238

ผลการประเมินระดับการพัฒนาความยั่งยืน ของบริษัทจดทะเบียนไทย ปี 2558 โดย ปตท. ได้รับ ผลการประเมินตัวชี้วัดเรื่องการป้องกันการมีส่วนเกี่ยวข้อง กับคอร์รัปชัน (Anti-Corruption Progress Indicator) ในระดับ 5: ขยายผลสู่ผู้เกี่ยวข้อง (Extended) (ระดับสูงสุด) ผู้มอบรางวัล

สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และสถาบันไทยพัฒน์

ศูนย์บริหารคำ�สั่งซื้อและลูกค้าสัมพันธ์ ปตท. รับมอบโล่ ประกาศเกียรติคุณแก่ผู้ประกอบการธุรกิจดีเด่น ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2

รับรางวัล/ จัดอันดับ

ผู้มอบรางวัล

21 ตุลาคม 2558

สำ�นักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) และสถาบัน รับรองมาตรฐาน ISO จากงานประชุมสัมมนาโครงการพัฒนา

ศักยภาพศูนย์รับเรื่องและแก้ไขปัญหาให้กับผู้บริโภค (Call Center) และพิธีมอบโล่ประกาศเกียรติคุณแก่ผู้ประกอบการธุรกิจดีเด่น

รับรางวัล/ จัดอันดับ ตุลาคม 2558 05

06

คณะกรรมการได้รับรางวัล ดังนี้ 1. รางวัลคณะกรรมการแห่งปี - ดีเด่น ประจำ�ปี 2558

2. รางวัลเกียรติคุณพิเศษสำ�หรับคณะกรรมการบริษัทที่มีผลงานดีต่อเนื่อง ผู้มอบรางวัล

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ร่วมกับ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย/ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย/ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย/

สมาคมธนาคารไทย/ สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย และสภาธุรกิจตลาดทุนไทย

รับรางวัล/ จัดอันดับ

17 พฤศจิกายน 2558

07


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

239

รับมอบรางวัลดีเด่น 4 ด้าน 1. Most Organised Investor Relations

(ได้รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 2)

2. Strongest Adherence to Corporate Governance 3. Most Consistent Dividend Policy

(ได้รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 5)

(ได้รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 2)

4. Best Annual Report in Thailand

ผู้มอบรางวัล

นิตยสาร Alpha Southeast Asia

รับรางวัล/ จัดอันดับ 14 กันยายน 2558

ระดับสากล 01

รางวัล ASEAN Corporate Governance Awards ในฐานะบริษัทจดทะเบียนไทย ที่ได้รับผลการประเมิน ในระดับ TOP 50 ASEAN PLCs ตามหลักเกณฑ์ ASEAN Corporate Governance Scorecard 2015 ผู้มอบรางวัล

ผลสำ�รวจการกำ�กับดูแลกิจการ บริษัทจดทะเบียนไทยตาม

ASEAN Corporate Governance Scorecard 2015

รับรางวัล/ จัดอันดับ พฤศจิกายน 2558

02


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

240

ด้านสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยี GODJI The Adventure การ์ตูน 3D Animation เรื่องแรกของ ปตท. ได้รับรางวัล “Best Animation TV Series 2015” จากงานการประกวด Bangkok International Digital Content Awards 2015 (BIDC Awards) ผู้มอบรางวัล

สำ�นักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (SIPA)/

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (DITP)/ สำ�นักงานส่งเสริมการจัดการประชุม และนิทรรศการ (องค์การมหาชน) (TCEB) พร้อมความร่วมมือภาคเอกชน สมาคมผู้ประกอบการแอนิเมชั่นและคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ไทย (TACGA)/ สมาคมซอฟแวร์เกมไทย (TGA)/ สมาคมดิจิทอลคอนเทนต์ไทย (DCAT)/

สมาคมอีเลิร์นนิ่งแห่งประเทศไทย (e-LAT)/ สมาคมส่งเสริมธุรกิจซิกกราฟ (BASA)

รับรางวัล/ จัดอันดับ 29 เมษายน 2558

ระดับประเทศ 01

นักวิจัย ฝ่ายเทคนิคพลังงานประยุกต์และเครื่องยนต์ทดสอบ สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท. (คุณเกียรติสกุล วัชรินทร์ยานนท์) ได้รับรางวัลจากผลงานวิจัยเรื่อง “อุปกรณ์ควบคุมการจ่ายก๊าซ สำ�หรับเครื่องยนต์เบนซินเพื่อรองรับการใช้ก๊าซหลากหลายคุณภาพเป็นเชื้อเพลิงทดแทน” 1. รางวัลชนะเลิศบทความวิจัยดีเด่น

2. รางวัลชนะเลิศผู้นำ�เสนอผลงานวิจัยดีเด่น ผู้มอบรางวัล

สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ในงานสัปดาห์วิชาการความมั่นคง

รับรางวัล/ จัดอันดับ 29 เมษายน 2558

02


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

241

03

รางวัล Thailand ICT Excellence Awards 2015 กลุ่ม ปตท. ได้รับรางวัลไอซีทียอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี 2558 ได้แก่

1. รางวัลระดับ Excellence ประเภทโครงการขับเคลื่อนธุรกิจ

(Business Enable Projects) จากโครงการ Max Attention

(Business Enable Projects) จากโครงการพัฒนาระบบจัดการสินค้า

2. รางวัลระดับ Excellence ประเภทโครงการขับเคลื่อนธุรกิจ

คงคลังอัตโนมัติ หรือ Inventory Decision Support System (DSS)

3. รางวัลระดับ Excellence ประเภท Core Process Improvement Project

จากโครงการ Continuous Control Monitoring and Auditing System: CCMS

PTT Fill & Go (RFID Ring Technology) ระบบการเติมน้ำ�มันอัจฉริยะ

4. รางวัลระดับ Excellence สาขา Business Enabler Project จากโครงการ

ผู้มอบรางวัล

สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย ร่วมกับ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ประเทศไทย และวิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รับรางวัล/ จัดอันดับ 23 มิถุนายน 2558


รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

242

รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ ประเภทการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ ในระดับดีจากผลงาน PTT Contact Center 1365 และระบบสั่งซื้อด้วยเงินสดแบบหักเงิน จากบัญชีธนาคารอัตโนมัติ (Direct Approve) ผู้มอบรางวัล

สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)

รับรางวัล/ จัดอันดับ 29 กันยายน 2558

04

05

ผลงาน ชุดอุปกรณ์ PTT DIESEL CNG ได้รับรางวัลชมเชยด้านเศรษฐกิจ จากการประกวดรางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ ประจำ�ปี 2558 ผู้มอบรางวัล

สำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รับรางวัล/ จัดอันดับ 5 ตุลาคม 2558


รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รายงานประจําปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

243

ผลงานวิจัย Colorful PV Rest Area หรือซุ้มพลังงาน แสงอาทิตย์ ได้รับรางวัลเทคโนโลยีสร้างสรรค์เพื่อสังคม (Creative Technology for Society) ประจำ�ปี 2558 ผู้มอบรางวัล

กระทรวงวิทยาศาสตร์ จากการประกวดรางวัลเทคโนโลยี และเครื่องจักรกลยอดเยี่ยมและเทคโนโลยี และสมาคมเครื่องจักรกลไทย

รับรางวัล/ จัดอันดับ

15 พฤศจิกายน 2558

06

07

รางวัล Best Customer Experience Management (ประเภทการบริหารจัดการประสบการณ์ของลูกค้า) จากโครงการ PTT Blue Card Mobile Application จากงานพิธีมอบรางวัล ICT Best Practice Awards 2015 ผู้มอบรางวัล

บริษัท กสท โทรคมนาคม จำ�กัด (มหาชน) ร่วมกับ

สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศไทย (ATCI)

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC) และนิตยสาร E LEADER นิตยสารสำ�หรับผู้นำ�ด้านไอซีทีในองค์กร

รับรางวัล/ จัดอันดับ 18 ธันวาคม 2558



สัน 0.625 นิ้ว

รูปเล่ม 8.5x11.75 นิ้ว


สัน 0.625 นิ้ว

รูปเล่ม 8.5x11.75 นิ้ว

รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 555 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2537-2000

ที่นำ�มาผลิตใหม่ (Recycled Paper) และหมึกพิมพ์ที่ทำ�จากถั่วเหลือง (Soy-based Ink)

พลังงานไทย...ความภาคภูมิใจของคนไทย

รายงานฉบับนี้จัดพิมพ์โดยกระดาษใช้แล้ว

รายงานประจำ�ปี 2558 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

www.pttplc.com

พลังงานไทย

ความภาคภูมิใจของคนไทย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.