PTT: Happiness Magazine Issue 25

Page 1































2558 .

8,000 6,000 4,000 2,000 0

2558 0% (100%) (200%) (300%) (400%)

หมายเหตุ: บริษัทอื่นในอุตสาหกรรมที่เปรียบเทียบประกอบดวย Anadarko, ConocoPhillips, Hess, Murphy Oil และธุรกิจตนนํ้า (Upstream) ของ BP, Chevron, ExxonMobil, Shell และ Statoil 2559

• ราคานํ้ามันไดปรับตัวลดลงตั้งแตปลายป 2557 หลั ง จากที่ ส หรั ฐ ฯ สามารถเพิ่ ม กํ า ลั ง การผลิ ต จาก Shale Oil ไดอยางตอเนื่อง และกลุม OPEC นําโดย ซาอุฯ ซึง่ แตเดิมเคยมีเปาหมายปรับระดับการผลิตเพือ่ รักษาระดับราคานํ้ามัน ไดเปลี่ยนนโยบายมาเปนเพิ่ม กําลังการผลิตเพื่อรักษาสวนแบงตลาด ทําให supply ลนตลาด • สภาวะอุปทานลนตลาดผอนคลายลงบางใน ชวงสิ้นป 2558 จากอุปทานที่เริ่มลดลงจากอเมริกา และความตองการใชนํ้ามันในตลาดโลกที่สูงขึ้นในปนี้ แตภาวะอุปทานลนตลาดยังคงอยู • แนวโน ม ตลาดยั ง มี ค วามกั ง วลอยู  ม ากจาก แนวโน ม เพิ่ ม การส ง ออกนํ้ า มั น ดิ บ ของอิ ห ร า นหลั ง ยกเลิกมาตรการควํ่าบาตร (คาดวาอิหรานจะสามารถ เพิ่มปริมาณการสงออกได 500,000-800,000 บารเรล ตอวัน ในชวงครึ่งแรกของป 2559) และอัตราการ เติบโตของความตองการใชนาํ้ มันทีอ่ าจไดรบั ผลกระทบ จากสภาวะเศรษฐกิจโลกที่คอนขางซบเซา

1. อุปทานจากกลุม non-OPEC โดยเฉพาะสหรัฐฯ ทีจ่ ะไดรบั ผลกระทบแคไหนจากราคานํา้ มันทีต่ กลงอยาง ตอเนื่อง 2. นโยบายของกลุม OPEC ในดานนโยบายการผลิต 3. ความสามารถเพิ่มการสงออกของอิหรานวาจะ สงออกไดมากแคไหน 4. การฟน ตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะยักษใหญ อยางจีน • สถาบั น วิ จั ย การเงิ น และสถาบั น วิ จั ย พลั ง งาน หลายแห ง คาดการณ ว  า ราคานํ้ า มั น มี โ อกาสปรั บ ตั ว สูงขึ้นในชวงครึ่งหลังของป 2559 จากอุปทานนํ้ามันดิบ ที่คาดวาจะลดลง

29

APR-JUN ENERGY REVIEW















































































Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.