PTT: รายงานประจำปี 2560

Page 1

รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

SUSTAINABLE

GROWTH

F R ALL ร่วมสร้างคุณค่าสู่ความยั่งยืน



สารบัญ 003

จุดเด่นทางการเงิน

006

ข้อมูลทั่วไปของบริษัท

008

สารจากคณะกรรมการ

012

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

016

รายงานของคณะกรรมการสรรหา

018

รายงานของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน

019

รายงานของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

024

รายงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

026

สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

034

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

070

สานพลังสู่ความยั่งยืนร่วมกัน

080

นวัตกรรมสร้างอนาคตที่ยั่งยืน

084

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

101

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทในกลุ่ม

102

โครงสร้างรายได้ของ ปตท. และบริษัทย่อย แบ่งตามสายผลิตภัณฑ์

104

รายการระหว่างกัน

110

ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ

111

ปัจจัยความเสี่ยง

117

โครงสร้างเงินทุน

122

โครงสร้างการจัดการ

150

การกํากับดูแลกิจการ

202

การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง

204

คณะกรรมการ

218

คณะผู้บริหาร

236

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

002

สร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ในระยะยาว โดยการจัดหาพลังงาน ในปริมาณที่เพียงพอ มีคุณภาพได้มาตรฐาน และราคาเป็นธรรม เพื่อเสริมสร้างการเติบโต ทางเศรษฐกิจ

PTT GROUP MISSION พันธกิจ

บริษัทพลังงานไทย ขามชาติชั้นนํา

ตอสังคมชุมชน เป็นองค์กรที่ดีของสังคม ดําเนินธุรุ กิจที่มีการบริหารจัดการ ผลกระทบต่อสิงแวดล้อม ตามมาตรฐานสากล และมีส่วนร่วมในการพัฒนา คุณภาพชีวิตที่ดีแก่สังคม ชุมชน

ดําเนินธุรกิจดานพลังงาน และปโตรเคมีอยางครบวงจร ในฐานะเปนบริษัทพลังงาน แหงชาติ โดยมีพันธกิจ ในการดูแลผูมีสวนไดเสีย อยางสมดุล

ตอผูถือหุน ดําเนินธุ​ุรกิจเชิงพาณิชย์ สามารถสร้างผลตอบแทนที่ดี และมีการขยายธุรุ กิจให้เติบโต ต่อเนืองอย่างยังยืน

ประเทศ

PTT GROUP VISION วิสัยทัศน

สังคมชุมชน

พนักงาน

HPO ผูถือหุน

คูคา

องคกร แหงความเปนเลิศ

ลูกคา

การเติบโต อยางยั่งยืน

PTT STRATEGIC FRAMEWORK กลยุทธการดําเนินธุรกิจ ตอลูกคา สร้างความพึงพอใจ และความผูกพันแก่ลูกค้า โดยผ่านการนําเสนอ ผลิตภัณฑ์และบริการ ที่มีคุณภาพ ในระดับมาตรฐานสากล ด้วยราคาเป็นธรรม

CG

CSR

การกํากับ ดูแลกิจการที่ดี

ความรับผิดชอบ ตอสังคม

PTT GROUP VALUES คานิยม

ตอคูคา ดําเนินธุรกิจร่วมกันบนพื้นฐาน ของความเป็นธรรม มุ่งสร้าง ความไว้วางใจ ความสัมพันธ์ และความร่วมมือที่ดี เพื่อพัฒนา ศักยภาพและประสิทธิภาพ ในการดําเนินธุรกิจร่วมกันในระยะยาว

ตอพนักงาน สนับสนุนการพัฒนาความสามารถ การทํางานระดับมืออาชีพ อย่างต่อเนื่อง ให้ความมั่นใจ ในคุณภาพชีวิต การทํางาน ของพนักงานทัดเทียมบริษัทชั้นนํา เพื่อสร้างความผูกพันต่อองค์กร

Synergy สรางพลังรวม อันยิ่งใหญ

Performance Excellence รวมมุงสู ความเปนเลิศ

Innovation รวมสราง นวัตกรรม

Responsibility for Society

Integrity & Ethics

Trust & Respect

รวมรับผิดชอบตอสังคม

รวมสราง พลังความดี

รวมสราง ความเชื่อมั่น


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

จุดเด่นทางการเงิน

003

01 จุดเดนทางการเงิน 2558

2559

2560

2,025,552

1,718,846

1,995,722

286,214

312,526

345,395

19,936

94,609

135,180

สินทรัพย์รวม

2,173,996

2,232,331

2,232,314

หนี้สินรวม

1,086,309

1,060,734

983,759

ส่วนของผู้ถือหุ้นและส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม

390,540

408,649

429,884

ส่วนของบริษัทใหญ่

697,147

762,948

818,672

2,856

2,856

2,856

244.07

267.14

286.65

6.73

32.68

46.74

10.00

16.00

20.00

148.6

49.0

42.8

244

372

440

1.52

7.54

9.25

2.89

12.96

17.09

1.39

5.88

8.27

0.61

0.52

0.42

0.29

0.19

0.11

1.09

0.71

0.39

9.50

9.23

11.01

งบกําไรขาดทุน

(ลานบาท)

รายได้จากการขายและการให้บริการ กําไรจากการดําเนินงานก่อนค่าเสื่อมราคา ต้นทุนทางการเงิน และภาษีเงินได้ (EBITDA) กําไร (ขาดทุน) สุทธิ ส่วนที่เป็นของบริษัท

งบดุล

(ลานบาท)

หุนหรือขอมูลเกี่ยวกับหุนสามัญ จํานวนหุ้นสามัญที่ออกและชําระเต็มมูลค่า มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น กําไรสุทธิต่อหุ้น เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น อัตราการจ่ายเงินปันผลต่อกําไรสุทธิ ราคาหุ้น ณ วันสิ้นงวด

(ลานหุน) (บาท) (บาท) (บาท) (รอยละ) (บาท)

อัตราสวนทางการเงิน อัตรากําไรสุทธิต่อยอดขายสุทธิ อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อ EBITDA อัตราส่วนความสามารถชําระดอกเบี้ย

(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ) (เทา) (เทา) (เทา) (เทา)


004

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

จุดเด่นทางการเงิน

รายไดจากการขายและการใหบริการ (ลานบาท) -15% +16% 3,000,000

จุดเดน ทางการเงิน 2,025,552 1,995,722 1,718,846 1% 1% 1%

28%

01

30%

31%

28%

30%

31%

16%

18% 18%

รายไดจากการขาย และการใหบริการ ในป 2560

1,995,722 ลานบาท

18% 17% 15% 0

6%

6%

5%

2558

2559

2560

อื่น ๆ กลุมธุรกิจปโตรเคมีและการกลั่น หนวยธุรกิจการคา ระหวางประเทศ

หนวยธุรกิจนํ้ามัน หนวยธุรกิจกาซธรรมชาติ ปตท.สผ.

กําไรจากการดําเนินงานกอนคาเสื่อมราคา ตนทุนทางการเงิน และภาษีเงินได (EBITDA)

อัตราสวนทางการเงิน

345,395 ลานบาท

อัตราผลตอบแทน ผูถือหุน

อัตราผลตอบแทน จากสินทรัพยรวม

(รอยละ)

(รอยละ)

8.27

17.099

ปตท. สรางผลกําไรสุทธิ

12.96

5.88

2.89

1.39 2560

2559

2558

2560

2559

ลานบาท

2558

135,180


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

005

จุดเด่นทางการเงิน

งบแสดงฐานะทางการเงิน (ลานบาท) -0.0%

กําไรสุทธิ (ลานบาท) +>100%

+43%

+2.7%

140,000

2,400,000

135,180 2,232,331

2,232,314

447,411

782,170

94,609

741,584

679,702

453,475

29%

472,405

2,173,996

10%

583,323

373,238

384,044

632,834

375,617

9%

19,936

511,353

31%

55% 119% 55%

1,248,556

1,076,906

-57%

1,171,597

5%

1,106,703

6%

0

1,087,687

1,118,677

142%

-103%

-40,000

0

2558

2559

2560

บริษัทในเครือ-ปโตรเคมีและการกลั่น ปตท.

อัตราสวนหนี้สินรวม ตอสวนของผูถือหุน (เทา)

2558

2559

สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยอื่น ๆ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณสุทธิ

ปตท.สผ. บริษัทในเครืออื่น ๆ

2560

หนี้สินอื่น ๆ เงินกูยืมระยะยาว (รวมถึงเงินกูยืม ระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป) สวนของผูถือหุน

อัตราสวนหนี้สินสุทธิ ตอสวนของผูถือหุน

อัตราสวนหนี้สินสุทธิ ตอ EBITDA

อัตราสวนความสามารถ ชําระดอกเบี้ย

(เทา)

(เทา)

(เทา)

0.29

11.01

0.19

9.50

9.23

2559

0.52

2558

1.09 0.61 0.71

0.42 0.11

2560

2560

2559

2558

2560

2559

2558

2560

2559

2558

0.39


006

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ข้อมูลทั่วไปของบริษัท

02 ขอมูลทั่วไปของบริษัท

ชื่อบริษัท ชื่อยอ เลขทะเบียนบริษัท ประเภทธุรกิจ

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ปตท. 0107544000108 ประกอบกิจการด้านปิโตรเลียม โดยลงทุนในบริษัทย่อย กิจการที่ควบคุมร่วมกัน และบริษัทร่วม (กลุ่มบริษัท) ซึ่งประกอบธุรกิจเกี่ยวกับปิโตรเลียมขั้นต้น ปิโตรเลียมขั้นปลาย ธุรกิจถ่านหิน ธุรกิจไฟฟ้า และธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน

ทุนจดทะเบียน

28,572,457,250 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 2,857,245,725 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560)

ทุนที่ออกและชําระเต็มมูลคา

28,562,996,250 บาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 2,856,299,625 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10 บาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560)

ที่ตั้งสํานักงานใหญ

ฝายสื่อสารและภาพลักษณองคกร

ฝายผูลงทุนสัมพันธ

สํานักกรรมการผูจัดการใหญ และเลขานุการบริษัท

555 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ประเทศไทย โทรศัพท์

0-2537-2000

โทรสาร

0-2537-3498-9

เว็บไซต์

www.pttplc.com

โทรศัพท์

0-2537-2150-1

โทรสาร

0-2537-2572, 0-2537-2171

อีเมล

corporate@pttplc.com

โทรศัพท์

0-2537-3518-9

โทรสาร

0-2537-3948

อีเมล

ptt-ir@pttplc.com

โทรศัพท์

0-2537-3885-6, 0-2537-3855

โทรสาร

0-2537-3883, 0-2537-3887

อีเมล

corporatesecretary@pttplc.com


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ข้อมูลทั่วไปของบริษัท

007

บุคคลอางอิง •

นายทะเบียนหลักทรัพย์

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด ชั้น 1 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400

ผู้สอบบัญชี

โทรศัพท์

0-2009-9999

โทรสาร

0-2009-9991

สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ถนนพระรามที่ 6 เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

นายทะเบียนหุ้นกู้สกุลบาท

โทรศัพท์

0-2271-8000

โทรสาร

0-2618-5769

ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) ทีมบริการทะเบียนหลักทรัพย์ 1

ทีมการขายผลิตภัณฑ์

ชั้น 15 ฝั่งปีกเหนือ (North Wing)

บริการหลักทรัพย์

อาคารจี ทาวเวอร์ แกรนด์ พระราม 9

เลขที่ 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร

เลขที่ 9 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง

เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

โทรศัพท์

0-2544-3937, 0-2544-2923

โทรศัพท์

0-2128-2324-9

โทรสาร

0-2544-7475

โทรสาร

0-2128-4625


008

สารจากคณะกรรมการ

03 สารจากคณะกรรมการ

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

เรียน ทานผูถือหุน

สารจากคณะกรรมการ

009

ความสํ า เร็ จ ของการบริ ห ารจั ด การ Productivity Improvement เป็นส่วนหนึง่ ของการดําเนินการตามกลยุทธ์

ปี 2560 เป็นปีท่ีราคาน้ํามันในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้น

Do Now เพื่อสร้างเสริมศักยภาพการแข่งขันของกลุ่ม ปตท.

อย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่เกิดวิกฤตราคาน้ํามันตกต่ําในช่วง

ซึ่ ง จะยั ง คงต้ อ งเดิ น หน้ า อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและเข้ ม ข้ น เพื่ อ ให้

ปลายปี 2557 ซึง่ เป็นผลมาจากอุปสงค์นาํ้ มันดิบโลกเพิม ่ ขึน ้ ถึง

ผลตอบแทนการลงทุนหรือ Return on Investment (ROI)

1.5 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากการฟืน ้ ตัวของสภาพเศรษฐกิจโลก

ของกลุ่ม ปตท. เทียบเคียงได้กับคู่แข่งชั้นนํา และสามารถ

ขณะเดี ย วกั น กลุ่ ม โอเปกได้ บ รรลุ ข้ อ ตกลงร่ ว มกั บ กลุ่ ม

สร้างความมัน ่ ใจในการขยายธุรกิจในอนาคตภายใต้กลยุทธ์

ผู้ผลิตน้ํามันรายอื่น นําโดยสหพันธรัฐรัสเซียในการรักษา

Decide Now ที่จะรองรับศักยภาพการลงทุนของกลุ่ม ปตท.

ระดับอุปทานน้า ํ มันดิบได้อย่างมีประสิทธิผล ส่งผลให้ราคา

โดยจะต้องเร่งตัดสินใจการลงทุนที่สําคัญเพื่อขยายธุรกิจ

น้า ํ มันดิบดูไบเฉลีย ่ เพิม ่ ขึน ้ เป็น 53.2 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล

ที่ดําเนินการอยู่ ได้แก่ การขยายธุรกิจท่อก๊าซธรรมชาติ

จาก 41.3 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ในปี 2559 เช่นเดียวกับ

การขยายสถานีรับส่งก๊าซธรรมชาติเหลว การขยายธุรกิจ

ความต้ อ งการผลิ ต ภั ณ ฑ์ ทั้ ง ปิ โ ตรเลี ย มและปิ โ ตรเคมี

น้ํามันและค้าปลีก รวมทั้งการขยายกิจการของกลุ่มบริษัท

ได้ ป รั บ เพิ่ ม สู ง ขึ้ น อั น เป็ น ผลมาจากเศรษฐกิ จ โลกที่ ดี ขึ้ น

ในเครือ ทั้งธุรกิจสํารวจและผลิตปิโตรเลียม ธุรกิจไฟฟ้า

้ ส่งผลให้กา ํ ไรขัน ้ ต้น ชุมชนสังคมเมืองมีการขยายตัวเพิม ่ ขึน

ธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเคมี แ ละการกลั่ น เป็ น ต้ น โดยธุ ร กิ จ น้ํ า มั น

ของธุ ร กิ จ การกลั่ น และปิ โ ตรเคมี ดี ขึ้ น เช่ น กั น นอกจากนี้

และค้ า ปลี ก ยั ง คงเน้ น รู ป แบบการขยายการเติ บ โตไป

เศรษฐกิจไทยมีการขยายตัวร้อยละ 3.9 สูงกว่าทีค ่ าดการณ์

พร้อมกับพันธมิตรทางการค้าและการพัฒนาสถานีน้ํามัน

โดยได้รบ ั แรงหนุนจากภาคการส่งออกทีฟ ่ น ื้ ตัว การท่องเทีย ่ ว

จากแนวคิด PTT Life Station ไปสู่ Living Community

ที่ ข ยายตั ว และนโยบายกระตุ้ น การใช้ จ่ า ยของภาครั ฐ

เพื่อให้เป็นศูนย์กลางของชุมชนที่เต็มไปด้วยความผูกพัน

ส่งผลให้ความต้องการใช้พลังงานและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี

ของคนในท้ อ งถิ่ น และการออกแบบสถานี น้ํ า มั น ให้ เ ป็ น

ในประเทศสูงขึ้น

PTT Friendly Design ที่พร้อมดูแลผู้บริโภคทุกเพศทุกวัย

จากปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจและด้านอุปสงค์อุปทาน

และทุกสภาพร่างกายให้เข้าถึงการใช้บริการ

น้า ํ มันโลกดังกล่าว ส่งให้ผลประกอบการกลุม ่ ปตท. มีรายได้

นอกจากนี้ ในการรองรั บ เทคโนโลยี ที่ เ ปลี่ ย นแปลง

จากการจําหน่ายสินค้าและให้บริการรวม 2 ล้านล้านบาท

(Disruptive Technology) และตอบสนองพฤติกรรมของ

เพิ่ ม ขึ้ น จากปี 2559 ร้ อ ยละ 16 และมี กํ า ไรสุ ท ธิ สู ง ถึ ง

ผู้บริโภคที่จะเปลี่ยนไปในอนาคตตามกระแสโลกาภิวัตน์

135,180 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ร้อยละ 43 โดยแบ่ง

(Mega Trends) ปตท. ได้ เ ตรี ย มขยายการลงทุ น ใน

เป็นกําไรทีม ่ าจากผลการดําเนินงานของ ปตท. เอง 74,552

ธุรกิจใหม่ที่เป็น New S-Curve ระยะยาวภายใต้กลยุทธ์

ล้านบาท (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 55) และกําไรที่มาจาก

Design Now โดยคณะกรรมการ ปตท. ได้อนุมัติปรับปรุง

บริษท ั ในกลุม ่ 60,628 ล้านบาท (คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 45)

โครงสร้ า งการบริ ห ารให้ มี ห น่ ว ยธุ ร กิ จ เทคโนโลยี แ ละ

ถือเป็นกําไรสุทธิสูงสุดนับตั้งแต่ก่อตั้ง ปตท. ซึ่งนอกเหนือ

วิศวกรรม ที่จะดูแลการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีรวมทั้ง

จากปัจจัยเกือ ้ หนุนทางเศรษฐกิจและราคาน้า ํ มันตลาดโลก

ความเชี่ยวชาญของกลุ่ม ปตท. มาสร้างธุรกิจใหม่ อีกทั้ง

ยังเกิดจากผลสําเร็จของการมุง่ เน้นการปฏิบต ั ก ิ ารทีเ่ ป็นเลิศ

มีการนําพนักงานรุ่นใหม่ที่ได้รับทุนจาก ปตท. ไปศึกษา

(Operational Excellence) และการเพิ่ ม ผลผลิ ต หรื อ

ในมหาวิทยาลัยชัน ้ นําในต่างประเทศมาจัดตัง้ ทีม “Express

Productivity Improvement ของทัง้ กลุม ่ ปตท. โดยการปรับปรุง

Solution” หรือ “ExpresSo” เพื่อวิเคราะห์ ติดตาม ค้นหา

กระบวนการทํางาน ปรับรูปแบบการดําเนินธุรกิจ การสร้าง

และทําการลงทุนในธุรกิจที่เพิ่งก่อตั้ง (Start Up) รวมทั้ง

พลังร่วม (Synergy) บริษัทในกลุ่ม รวมทั้งการนําเทคโนโลยี

ลงทุนในกองทุนธุรกิจใหม่ ๆ (Corporate Venture Capital)

นวัตกรรมและดิจท ิ ล ั มาใช้ทงั้ ในด้านการตลาดและการผลิต

อีกด้วย

ส่งผลให้เกิดการเพิ่มรายได้ เพิ่มปริมาณการผลิตและลด ค่าใช้จ่ายรวมมูลค่ากว่า 3 หมื่นล้านบาท ผลกําไรที่ดีขึ้น ดังกล่าวส่งผลให้ ปตท. และบริษัทในกลุ่มจะนําส่งเงินให้รัฐ ทั้ ง ในรู ป แบบภาษี แ ละเงิ น ปั น ผลกว่ า 7 หมื่ น ล้ า นบาท ซึง่ เป็นการนําส่งรัฐจํานวนสูงสุดนับตัง้ แต่กอ ่ ตัง้ ปตท. เช่นกัน


010

สารจากคณะกรรมการ

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาขับเคลือ ่ นธุรกิจใหม่ ๆ นี้ สอดรับกับนโยบาย Thailand 4.0 ของภาครัฐที่จะมุ่งพัฒนา Existing S-Curve และสร้าง New S-Curve ให้กับประเทศ ซึ่ง ปตท. ได้ลงนาม Memorandum of Agreement กับสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ หรือ สวทช. เพื่อพัฒนาวังจันทร์วัลเลย์ให้เป็นศูนย์กลางในการวิจัยและพัฒนา นวั ต กรรมและเทคโนโลยี ใ ห้ เ กิ ด สภาวะแวดล้ อ มและเครื อ ข่ า ยร่ ว มกั บ ผู้ ป ระกอบการ อุตสาหกรรมทั้งในประเทศและต่างประเทศ (Eco-System) เพื่อสร้างธุรกิจใหม่ ๆ ภายใต้ เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor of Innovation: EECi) ในการดํ า เนิ น การตามกลยุ ท ธ์ ธุ ร กิ จ ปตท. จะมุ่ ง เน้ น การมี ส่ ว นร่ ว มและสร้ า งสมดุ ล ของผู้มีส่วนได้เสียควบคู่กันไป โดยยกระดับการดําเนินการกิจการเพื่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ไปสู่การสร้างมูลค่าร่วมกันกับสังคมชุมชน (Creating Shared Value: CSV) ผ่านกลไกวิสาหกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise: SE) โดย ปตท. ร่วมกับ บริ ษั ท ในเครื อ ได้ แ ก่ บริ ษั ท ปตท.สํ า รวจและผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย มจํ า กั ด (มหาชน) (PTTEP) บริ ษั ท พี ที ที โกลบอล เคมิ ค อล จํ า กั ด (มหาชน) (PTTGC) บริ ษั ท ไทยออยล์ จํ า กั ด (มหาชน) (TOP) บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) (IRPC) บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํ า กั ด (มหาชน) (GPSC) และ บริ ษั ท ปตท. น้ํ า มั น และการค้ า ปลี ก จํ า กั ด (PTTOR) ได้ร่วมจัดตั้งบริษัท สานพลังวิสาหกิจเพื่อสังคม จํากัด เพื่อนําประสบการณ์ความชํานาญ ทางธุรกิจของกลุ่ม ปตท. มาสร้างธุรกิจใหม่ให้กับชุมชนและสังคม โดยมีโครงการที่จะเริ่ม ดําเนินการ ได้แก่ โครงการจัดหาเมล็ดกาแฟเพื่อความยั่งยืน โดยให้กลุ่มเกษตรกร ชาวเขา ทีป ่ ลูกทําไร่กาแฟในบริเวณชายแดนในจังหวัดเชียงราย สามารถนํากาแฟมาจําหน่ายโดยตรง ให้กับโรงคั่วกาแฟอเมซอนของ ปตท. โดยไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง และโครงการร้านกาแฟ คาเฟ่อเมซอน ช่วยผู้ด้อยโอกาสที่พิการทางการได้ยินสามารถพัฒนาอาชีพเป็นบาริสต้าได้ ในปี 2560 คณะกรรมการ ปตท. ยั ง ได้ อ นุ มั ติ ใ ห้ นํ า เป้ า หมายการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น (Sustainable Development Goals: SDGs) ขององค์การสหประชาชาติเข้าเป็นส่วนหนึ่ง ของการกําหนดทิศทางทางธุรกิจของ ปตท. ในอนาคตที่จะต้องมุ่งสู่การให้ประชาชนเข้าถึง พลั ง งาน มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบใช้ พ ลั ง งานอย่ า งประหยั ด และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และมี ก ารใช้

ป 2560 กลุม ปตท. มีกาํ ไรสุทธิ 135,180 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2559 รอยละ 43

พลังงานสะอาดเพิ่มขึ้น พร้อมกับการรักษาทรัพยากรธรรมชาติบนบกและในทะเล รวมถึง การมี ส่ ว นร่ ว มในการลดปริ ม าณก๊ า ซเรื อ นกระจกเพื่ อ ป้ อ งกั น ปั ญ หาจากการเปลี่ ย นแปลง สภาพภูมิอากาศของโลก (Climate Change) โดยโครงการสําคัญ ได้แก่ โครงการรักษ์น้ํา รั ก ษ์ ป่ า รั ก ษ์ คุ้ ง บางกะเจ้ า เพื่ อ พั ฒ นาคุ้ ง บางกะเจ้ า เป็ น พื้ น ที่ สี เ ขี ย วใหม่ ใ กล้ ก รุ ง เทพฯ โครงการพลังงานเพื่อชุมชนที่มีการขยายผลสู่การจัดทําแผงเซลล์แสงอาทิตย์บนทุ่นลอยน้ํา ในพื้นที่การเกษตรที่ไม่มีไฟฟ้าใช้ และทําให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ในด้านพลังงาน และเป็นการช่วยลดต้นทุนในการทําการเกษตรได้อีกด้วย

ถือเปนกําไรสุทธิสูงสุด นับตั้งแตกอตั้ง ปตท.


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สารจากคณะกรรมการ

011

ในการดําเนินธุรกิจที่ผ่านมาของ ปตท. ตั้งอยู่บนหลักการธรรมาภิบาลโปร่งใสตรวจสอบได้ มีการพัฒนาระบบการทํางานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มั่นใจระบบกลไกการทํางานภายใน ปตท. มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เช่น ระบบการกลัน ่ กรองการลงทุน การจัดซือ ้ จัดจ้าง การควบคุม ภายใน และการเข้าร่วมโครงการสัญญาคุณธรรม (Integrity Pact) เพิ่มในโครงการที่มีการจัดซื้อ จัดจ้างทีส ่ า ํ คัญ จนทําให้เป็นปีแรกที่ ปตท. ได้รบ ั รางวัลชมเชยองค์กรโปร่งใสจากสํานักงาน ป.ป.ช. และรางวัลดีเลิศด้านนวัตกรรมคุณธรรมในองค์กรและด้านคุณธรรมการทํางานในหน่วยงาน จากสํานักงาน ป.ป.ช. เช่นกัน การดําเนินงานข้างต้นตั้งอยู่บนทิศทางกลยุทธ์ Pride and Treasure of Thailand หรือ “PTT” ที่นอกจากจะมุ่งสร้างความสําเร็จทางธุรกิจเพื่อให้ ปตท. เป็นสมบัติอันล้ําค่าของประเทศแล้ว ยังต้องให้ความสําคัญกับการดูแลชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม ตลอดจนผูม ้ ีสว ่ นได้เสียทุกกลุม ่ อย่างสมดุล เพื่อเป็นองค์กรแห่งความภาคภูมิใจของคนไทยอีกด้วย ความสําเร็จในการดําเนินงานของ ปตท. สะท้อนได้จากรางวัลต่าง ๆ ที่ได้รับ อาทิ รางวัล พระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี “Corporate Improvement Excellent Award” ในงาน Thailand Corporate Excellence Awards 2016 ที่มอบให้กับองค์กร

DO NOW DECIDE NOW DESIGN NOW

ที่มีความเป็นเลิศในการพัฒนาด้านต่าง ๆ เพื่อยกระดับศักยภาพขององค์กร รางวัลรัฐวิสาหกิจ ยอดเยี่ยม ประจําปี 2560 (ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2) โดย ปตท. ได้รับรางวัลนวัตกรรมดีเด่นต่อเนื่อง เป็นปีที่ 8 จากโครงการ “พลาสติกชีวภาพคอมพาวด์จากเยือ ่ กาแฟ (Bioplastic compound-based silver skin of coffee: Bio SSCMB)” และรางวัลการดําเนินงานเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมดีเด่น จากโครงการ “พลังธรรมชาติ พลังงานสะอาดเพือ ่ ชุมชน” การได้รบ ั การจัดอันดับในดัชนีความยัง่ ยืน ั คะแนนสูงสุดเป็น Industry Leader ของดาวโจนส์ตอ ่ เนือ ่ งเป็นปีที่ 6 ซึง่ ปีนเี้ ป็นปีแรกที่ ปตท. ได้รบ ในกลุ่ม Oil & Gas Upstream & Integrated (OGX) รางวัลหุ้นยั่งยืน จาก IOD และ ตลท. ผลประเมินระดับดีเลิศ (Excellence CG Scoring) ติดต่อเป็นปีที่ 9 ซึ่งรางวัลเหล่านี้ล้วนมาจาก ความทุม ่ เท มุง่ มัน ่ ในการทํางานของทัง้ ผูบ ้ ริหารและพนักงาน ภายใต้การกํากับดูแลทีด ่ แ ี ละจริงจัง ของคณะกรรมการ ปตท. ทุกท่าน ในนามของคณะกรรมการ ปตท. ขอขอบคุ ณ ผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม ที่ ไ ด้ ใ ห้ ความไว้ ว างใจและสนั บ สนุ น การดํ า เนิ น งานของ ปตท. ด้ ว ยดี เ สมอมา และขอให้ เ ชื่ อ มั่ น ว่ า คณะกรรมการ คณะผู้บริหาร และพนักงาน ปตท. ทุกคนจะมุ่งมั่นทุ่มเทในการพัฒนาองค์กร ปตท. ให้ประสบความสําเร็จอย่างยัง่ ยืน เป็นองค์กรหลักในการช่วยสร้างความมัน ่ คงทางพลังงาน ให้กับประเทศ เพิ่มศักยภาพการแข่งขัน ขยายการลงทุน เพื่อสร้างความมั่งคั่งให้กับประเทศ และผู้มีส่วนได้เสียควบคู่กับการดูแลสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม และผู้มีส่วนได้เสียอย่างสมดุล ภายใต้ระบบการบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาลและการกํากับกิจการทีด ่ ี เพือ ่ สร้างความยัง่ ยืน ให้ ปตท. เป็นสมบัติอันล้ําค่าที่คนไทยและผู้ถือหุ้นทุกท่านร่วมภาคภูมิใจตลอดไป

นายปปยสวัสั ดิ์ิ อั​ัมระนั​ันทน ประธานกรรมการ

นายเทวินทร วงศวานิช

ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ


012

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระผู้ทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ท่าน

รายงานของ คณะกรรมการ ตรวจสอบ

ได้ แ ก่ ศาสตราจารย์ พิ เ ศษ ดร.กิ ต ติ พ งษ์ กิ ต ยารั ก ษ์ เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค และนายวิ ชั ย อั ศ รั ส กร เป็ น กรรมการตรวจสอบ โดยมี นายชลั ช บุ ญ หลาย ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานัก นาย ตรวจสอบภายใน เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ตรว คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทและตามกฎบัตรของ มอ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งสอดคล้องตามแนวปฏิบัติที่ดี คณ ของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ของ โดยสอบทานและผลั กดันให้ ปตท. ปฏิบต ั ต ิ ามหลักการกํากับ โดย ดูแลกิ ่ ี มีระบบการบริหารความเสีย ่ งและการควบคุม ล จการทีด ภายในที ่เพียงพอ มีการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิภาพ ภาย และประสิ ทธิผล ให้ความสําคัญโครงสร้างและกระบวนการ และ ทํางานขององค์ กรอย่างเป็นระบบ มุ่งเน้นการเป็นองค์กร ง โปร่ โปร ง ใส และยกระดั บ คุ ณ ภาพการตรวจสอบภายในของ

04

กลุ่ม ปตท. เพื่อมุ่งสู่การเป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจ (Trustworthy Partner) และสามารถสร้างมูลค่าเพิม ่ ในระยะยาวอย่างยัง่ ยืน Par ให้แก่ ปตท. โดยคํานึงถึงการตอบสนองต่อความต้องการ ของผู้มีส่วนได้เสียอย่างรอบด้าน สรุปสาระสําคัญได้ดังนี้ ของ •

การสร้างวัฒนธรรมองค์กรในเรื่องการกํากับดูแล

การ หารความเสีย การบริ ่ งและการควบคุมภายใน และการกํากับ การ บั ติ ง านให้ เ ป็ น ไปตามกฎเกณฑ์ (Governance, การปฏิ Ri Management & Control and Compliance: GRC) Risk และผลักดันให้เกิดการบริหารจัดการตามแนวคิด Three Lines of Defense โดยสนับสนุนให้สํานักตรวจสอบภายใน

ศาสตราจารยพิเศษ ดร.กิตติพงษ กิตยารักษ ประธานกรรมการตรวจสอบ

มี แ นวทางการดํ า เนิ น งานในเชิ ง รุ ก (Proactive) โดย สื่อความแก่ผู้บริหารและพนักงาน ปตท. ให้เกิดความเข้าใจ ในเรื่ อ งการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี การบริ ห ารความเสี่ ย ง และการควบคุ ม ภายใน และการกํ า กั บ การปฏิ บั ติ ง าน ให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ การดําเนินงานตามนโยบายต่อต้าน การทุจริตคอร์รัปชัน รวมถึงกระบวนการตรวจสอบภายใน ผ่านการบรรยาย คลิปวิดโี อ และหนังสือเพือ ่ เผยแพร่ Lesson Learnt จากผลการตรวจสอบที่ ผ่ า นมาซึ่ ง GRC ถื อ เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ สํ า คั ญ และจํ า เป็ น ต่ อ ผู้ บ ริ ห ารในการกํ า กั บ และควบคุมการปฏิบัติงานให้มีการดําเนินงานอย่างโปร่งใส เพือ ่ ให้บรรลุวต ั ถุประสงค์ของธุรกิจควบคูไ่ ปกับการมีจริยธรรม ในการดํ า เนิ น งาน นอกจากนี้ ค ณะกรรมการตรวจสอบ ยังได้ผลักดันให้มีการปรับปรุงกระบวนการรับเรื่องร้องเรียน และแจ้ ง เบาะแสการทุ จ ริ ต (Whistleblowing) เพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

013

การผลั ก ดั น ให้ มี ก ารเตรี ย มความพร้ อ มของบุ ค ลากร

งบการเงินเป็นไปตามข้อกําหนดของกฎหมายและมาตรฐานบัญชี

ซึ่ ง ถื อ เป็ น ทรั พ ยากรสํ า คั ญ ที่ มี ค่ า อย่ า งยิ่ ง ต่ อ การดํ า เนิ น งาน

ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีความเชื่อถือได้และทันเวลา

เพือ ่ ให้บค ุ ลากรมีความรู้ ความสามารถ และทักษะสําคัญทีจ ่ า ํ เป็น

รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ เป็นประโยชน์กับผู้ใช้

ต้ อ งใช้ เ พื่ อ รองรั บ ธุ ร กิ จ ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว

งบการเงิน

รวมถึงการมีความสามารถในการใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยี

ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชี

สารสนเทศได้ อ ย่ า งเหมาะสม และการให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ

เป็ น การเฉพาะ 1 ครั้ ง โดยไม่ มี ฝ่ า ยจั ด การเข้ า ร่ ว ม เพื่ อ หารื อ

การพั ฒ นาผู้ ต รวจสอบภายในให้ มีความรู้ ค วามสามารถ

เกี่ยวกับแผนการสอบบัญชี ความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่

ในการดําเนินการตรวจสอบได้อย่างมืออาชีพและมีประสิทธิภาพ

และการแสดงความเห็ น ของผู้ ส อบบั ญ ชี โดยให้ ค วามสํ า คั ญ

การสนั บ สนุ น ให้ นํ า ระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศมาใช้

การนําเสนอข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ

เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ องค์ ก ร โดยเชื่ อ มโยงการทํ า งาน ของทั้งหน่วยงานผู้ปฏิบัติงาน (1st Line of Defense) หน่วยงาน

2. การสอบทานการบริ ห ารความเสี่ ย ง คณะกรรมการ

ที่มีหน้าที่ในการกํากับดูแล (2nd Line of Defense) และหน่วยงาน

ตรวจสอบได้ ส อบทานประสิ ท ธิ ภ าพและความเหมาะสมของ

่ เพิม ่ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตรวจสอบ (3rd Line of Defense) เพือ

กระบวนการบริหารความเสี่ยงอันเกิดจากภายในและภายนอก

ในการดํ า เนิ น งานและการกํ า กั บ ดู แ ล รวมถึ ง ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ กิ ด

องค์ ก ร รวมถึ ง นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย ง แผนงานและ

การดําเนินงานที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายหรือระเบียบของ ปตท.

แนวทางการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ

และป้องกันโอกาสในการเกิดทุจริตคอร์รัปชัน

ผลการดําเนินงานของกลุ่ม ปตท. รวมถึงเหตุการณ์ความเสี่ยง

การยกระดับการตรวจสอบภายในโดยมุ่งเน้นความเป็น

(Event Risk) อื่น อย่างสม่ําเสมอทุกไตรมาสร่วมกับฝ่ายจัดการ

มืออาชีพ และความน่าเชื่อถือของผู้ตรวจสอบภายใน เพื่อเพิ่ม

พร้ อ มทั้ ง ให้ ข้ อ เสนอแนะเพื่ อ การพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง ให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น

ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

โดยมุ่งเน้นความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์ (Strategic Risk) ขององค์กร

ให้ก้าวทันต่อธุรกิจและกระแสของโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงในยุค

การบริ ห ารจั ด การและการเตรี ย มความพร้ อ มของบุ ค ลากร

ดิจิทัล ให้ความสําคัญกับความเสี่ยง ซึ่งอาจส่งผลกระทบอย่างมี

เพื่ อ รองรั บ ธุ ร กิ จ ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว รวมถึ ง

นัยสําคัญต่อองค์กร โดยเฉพาะความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์ (Strategic

การบริหารจัดการความมัน ่ คงปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cybersecurity)

Risk) และประเด็นความเสีย ่ งซึง่ อยูใ่ นความสนใจของสาธารณชน

และการใช้ประโยชน์จาก Big Data การมีกระบวนการพิจารณา

เป็นต้น และมุ่งเน้นการตรวจสอบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของธุรกิจ

การลงทุ น ในโครงการขนาดใหญ่ ข องบริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท.

ซึง่ ถือเป็นจุดเชือ ่ มโยงในการมุง่ สูเ่ ป้าหมายเดียวกันของหน่วยธุรกิจ

ที่ ร อบคอบรั ด กุ ม และการบริ ห ารจั ด การสํ า หรั บ ประเด็ น ที่

และหน่วยงานตรวจสอบ รวมถึงสนับสนุนการนําเครื่องมือและ

สาธารณชนให้ความสนใจ ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบได้สนับสนุน

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

ให้ฝ่ายจัดการ จัดทําแผนการดําเนินงานล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ

ในการตรวจสอบให้ครอบคลุมกับปริมาณข้อมูลทีม ่ จ ี า ํ นวนมากขึน ้

เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความพร้ อ มรองรั บ กั บ สถานการณ์ ที่ ไ ม่ เ ป็ น ไปตาม ที่คาดการณ์ไว้

ในปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบมี ก ารประชุ ม ทั้ ง สิ้ น 17 ครั้ง โดยได้มีการหารือร่วมกับฝ่ายจัดการ ผู้ตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชี สรุปสาระสําคัญในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดังนี้

3. การสอบทานประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการตรวจสอบให้ความสําคัญกับการสร้างการตระหนักรู้ แก่ผู้บริหารและพนักงาน ปตท. ในเรื่องการกํากับดูแลกิจการที่ดี

1. การสอบทานงบการเงิ น คณะกรรมการตรวจสอบ

การบริ ห ารความเสี่ ย งและการควบคุ ม ภายใน และการกํ า กั บ

ได้ ส อบทานงบการเงิ น รายไตรมาสและงบการเงิ น ประจํ า ปี

การปฏิ บั ติ ง านให้ เ ป็ น ไปตามกฎเกณฑ์ (Governance, Risk

ของ ปตท. และงบการเงินรวม ร่วมกับฝ่ายจัดการ สํานักตรวจสอบ

Management & Control and Compliance หรื อ GRC)

ภายใน และผู้ ส อบบั ญ ชี รวมถึ ง สอบทานรายการระหว่ า งกั น

โดยส่งเสริมให้มีการสร้างวัฒนธรรมองค์กรในเรื่อง GRC เพื่อให้

และรายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง

ปตท. มีการบริหารจัดการทีด ่ ี มีการดําเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ

ทางผลประโยชน์ โดยได้สอบถามผูส ้ อบบัญชีในเรือ ่ งความถูกต้อง

และประสิทธิผลตามแนวคิดการบริหารจัดการแบบ “Three Lines

ครบถ้ ว นของงบการเงิ น การปรั บ ปรุ ง รายการบั ญ ชี ที่ สํ า คั ญ

of Defense” ที่มุ่งเน้นให้ทุกคนเข้าใจ และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์

รวมถึงการประมาณการทางบัญชี ซึ่งมีผลกระทบต่องบการเงิน

และหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของตนอย่ า งเคร่ ง ครั ด โดยเน้ น

ความเพี ย งพอเหมาะสมของวิ ธี ก ารบั น ทึ ก บั ญ ชี แ ละขอบเขต

การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่ผู้ปฏิบัติงาน (1st Line of Defense)

การตรวจสอบ การเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วน เพียงพอ

เน้นการดําเนินงานอย่างมืออาชีพและเป็นระบบ โดยได้สอบทาน

และความมี อิ ส ระของผู้ ส อบบั ญ ชี เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า การจั ด ทํ า

ระบบควบคุ ม ภายในร่ ว มกั บ ผู้ ส อบบั ญ ชี แ ละสํ า นั ก ตรวจสอบ


014

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

ภายในทุกไตรมาส ทั้งในด้านการดําเนินงาน การใช้ทรัพยากร

รวมถึงการพิจารณากลั่นกรองข้อร้องเรียนที่เป็นธรรมต่อทุกฝ่าย

การดูแลทรัพย์สน ิ การป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย

โดยมีการคุ้มครองผู้ร้องเรียนและผู้ถูกร้องเรียนอย่างเหมาะสม

การรั่ ว ไหล การสิ้ น เปลื อ ง หรื อ การทุ จ ริ ต ความเชื่ อ ถื อ ได้ ข อง

นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบมี ก ารประชุ ม ร่ ว มกั บ

รายงานทางการเงิน การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ

้ เสนอแนะ คณะกรรมการจัดการของ ปตท. 1 ครัง้ โดยหารือและให้ขอ

มติ ค ณะรั ฐ มนตรี ซึ่ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี ใ ห้ ค วามเห็ น สอดคล้ อ งกั น ว่ า

แก่ฝ่ายจัดการเกี่ยวกับการดําเนินการเพื่อให้ ปตท. เป็นองค์กร

ไม่พบประเด็นปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เป็นสาระสําคัญ

แห่ ง ความภาคภู มิ ใ จของคนไทย การดํ า เนิ น การเพื่ อ ต่ อ ต้ า น

ผลการประเมินการควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการ

การทุจริตคอร์รป ั ชัน การดําเนินงานกิจการเพือ ่ สังคมและการคํานึงถึง

ตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกําหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน

ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย อย่ า งรอบด้ า น พร้ อ มเร่ ง รั ด การดํ า เนิ น การ

พ.ศ. 2544 ในปี 2560 ฝ่ายจัดการและสํานักตรวจสอบภายใน

ตามข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบ

มีความเห็นว่า การควบคุมภายในของ ปตท. มีความเพียงพอ และมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลทางธุ ร กิ จ โดยมี ผู้ บ ริ ห ารให้ ค วามร่ ว มมื อ ตอบแบบประเมินการควบคุมภายในครบถ้วนร้อยละ 100

5. การกํ า กั บ ดู แ ลงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการ ต ร ว จ ส อ บ ไ ด้ ใ ห้ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ใ น ก า ร พั ฒ น า เ พื่ อ ย ก ร ะ ดั บ การตรวจสอบภายในทั้ ง ในด้ า นบุ ค ลากร กระบวนการ รวมถึ ง

4. การสอบทานการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ในปี 2560

เครื่องมือและเทคโนโลยีที่ใช้ในการปฏิบัติงาน มุ่งเน้นความเป็น

คณะกรรมการตรวจสอบเน้นนโยบายการบริหารจัดการเพื่อให้

มืออาชีพ และความน่าเชื่อถือของผู้ตรวจสอบภายใน โดยเพิ่ม

เกิดการกํากับดูแลกิจการทีด ่ อ ี ย่างเป็นระบบ สนับสนุนให้นา ํ ระบบ

ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน

เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงานการกํากับดูแลและ

ให้ ก้ า วทั น ต่ อ ธุ ร กิ จ และกระแสของโลกที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง

การตรวจสอบ เพือ ่ เพิม ่ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการดําเนินงาน

่ ง ซึง่ อาจส่งผลกระทบ ในยุคดิจท ิ ล ั การให้ความสําคัญกับความเสีย

และป้องกันการปฏิบัติงานที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายหรือระเบียบ

อย่ า งมี นั ย สํ า คั ญ ต่ อ องค์ ก ร โดยเฉพาะความเสี่ ย งเชิ ง กลยุ ท ธ์

ของ ปตท. รวมถึงลดโอกาสในการเกิดทุจริตคอร์รัปชัน ผลักดัน

(Strategic Risk) เช่ น การลงทุ น ในโครงการที่ มี มู ล ค่ า สู ง

ให้เกิดการสร้างทัศนคติที่ดีในเรื่องการควบคุมภายใน (Internal

การนํ า ระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศใหม่ ๆ มาใช้ ใ นการดํ า เนิ น

Control Mindset) สร้างความตระหนักรู้ในเรื่องการป้องกันและ

ธุ ร กิ จ ความเสี่ ย งใหม่ ที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น (Emerging Risk) และ

ต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต ให้ กั บ ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานผ่ า นการสั ม มนา

ประเด็นความเสี่ยงซึ่งอยู่ในความสนใจของสาธารณชน เป็นต้น

และฝึ ก อบรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยได้ ส อบทานการปฏิ บั ติ ง าน

โดยมุ่งเน้นการตรวจสอบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ตามกฎหมาย กฎ ระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของ

ของธุรกิจ (Productivity Improvement) และสนับสนุนการนํา

ปตท. รวมถึงระบบงานทีก ่ า ํ หนดไว้ สอบทานรายการทีเ่ กีย ่ วโยงกัน

เครื่ อ งมื อ และระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศมาใช้ ป ระโยชน์

และรายการระหว่างกันของบริษัทในกลุ่ม เพื่อให้มั่นใจว่า ปตท.

้ รวจสอบภายในให้มค ี วามรู้ ในการตรวจสอบภายใน การพัฒนาผูต

มีการดําเนินการตามเงื่อนไขทางธุรกิจปกติอย่างสมเหตุสมผล

ความสามารถรองรับกับการใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

สอบทานกระบวนการรับเรื่องร้องเรียนและแจ้งเบาะแสการทุจริต

เหล่ า นั้ น การขยายผลการใช้ ง านระบบ Continuous Control

(Whistleblowing) และให้ขอ ้ เสนอแนะในการปรับปรุงกระบวนการ

Monitoring and Auditing System (CCMS) ซึ่งช่วยกลั่นกรอง

เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ประสิ ท ธิ ผ ลให้ ส อดคล้ อ งตามหลั ก การ

และตรวจติดตามความผิดปกติ (Red Flag) รวมถึงการทุจริต

กํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละปรั ช ญาการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของ ปตท.

ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ในกระบวนการต่ า ง ๆ ไปยั ง กระบวนการขาย


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ

015

จนถึ ง ชํ า ระเงิ น (Order to Cash) โดยคาดว่ า จะแล้ ว เสร็ จ

7. การพิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง ผู้ ส อบบั ญ ชี ป ระจํ า ปี 2561

ในปี 2561 การปรับปรุงระบบ CCMS ที่ใช้งานในกระบวนการ

คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิ จ ารณาและมี ม ติ เ ห็ น ชอบให้

จัดซื้อจัดจ้าง (Procure to Pay) อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทันสมัย

สํ า นั ก งานการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น เป็ น ผู้ ส อบบั ญ ชี ข อง ปตท.

และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการกํากับให้มีการประเมินคุณภาพ

ประจํ า ปี 2561 และเสนอให้ ค ณะกรรมการ ปตท. นํ า เสนอ

การตรวจสอบภายใน และการสนับสนุนให้ผู้ตรวจสอบภายใน

ขออนุ มั ติ ต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ประจํ า ปี เ พื่ อ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง

ได้รับวุฒิบัตรสากลทางวิชาชีพ

ผู้สอบบัญชีประจําปี 2561 นอกจากนี้ ยังได้พิจารณาขอบเขต

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานแผนกลยุทธ์ แผนการ ตรวจสอบประจําปีและแผนการตรวจสอบระยะยาว การปฏิบต ั งิ าน

แนวทางและแผนการสอบบัญชีประจําปีของผู้สอบบัญชีร่วมกับ ผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการของ ปตท.

ตามแผน ผลการตรวจสอบของสํานักตรวจสอบภายใน โดยให้

โดยสรุ ป คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ต ามหน้ า ท่ี

ั สําคัญ ข้อแนะนําและติดตามการดําเนินการแก้ไขในประเด็นทีม ่ น ี ย

และความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ ร ะบุ ไ ว้ ใ นกฎบั ต รของคณะกรรมการ

เพื่อก่อให้เกิดการกํากับดูแลกิจการที่ดีและมีการควบคุมภายใน

ตรวจสอบ โดยใช้ ค วามรู้ ค วามสามารถ ความระมั ด ระวั ง

ทีเ่ พียงพอ พิจารณาการปรับปรุงกฎบัตรด้านการตรวจสอบภายใน

ความรอบคอบ และมีความเป็นอิสระอย่างเพียงพอ ตลอดจนได้

สอบทานงบประมาณประจํ า ปี ข องหน่ ว ยงานตรวจสอบภายใน

ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ เพือ ่ ประโยชน์

แผนการพั ฒ นา แผนการสรรหาและการหมุ น เวี ย นบุ ค ลากร

ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย อย่ า งเท่ า เที ย มกั น คณะกรรมการตรวจสอบ

การฝึกอบรมบุคลากร การประเมินความเพียงพอและเหมาะสม

มีความเห็นว่า งบการเงินของ ปตท. มีความถูกต้อง เชื่อถือได้

ของทรัพยากร ดัชนีวัดผลการปฏิบัติงาน รวมถึงการพิจารณา

ส อ ด ค ล้ อ ง ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร บั ญ ชี ที่ รั บ ร อ ง ทั่ ว ไ ป ป ต ท .

ความดี ค วามชอบประจํ า ปี ข องผู้ ช่ ว ยกรรมการผู้ จั ด การใหญ่

มี ก ารปฏิ บั ติ ง านที่ ส อดคล้ อ งตามกฎหมาย ข้ อ ผู ก พั น ต่ า ง ๆ

สํานักตรวจสอบภายใน

ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ รวมถึ ง ระบบการกํ า กั บ ดู แ ล กิจการที่ดี มีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเพียงพอ มีระบบ

6. การรั ก ษาคุ ณ ภาพของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ท บทวนและปรั บ ปรุ ง กฎบั ต รของ คณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งประเมินผลการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการตรวจสอบทั้งคณะและรายบุคคล ทั้งแบบประเมิน ต น เ อ ง แ ล ะ แ บ บ ไ ข ว้ ต า ม แ น ว ป ฏิ บั ติ ที่ ดี ข อ ง สํ า นั ก ง า น คณะกรรมการนโยบายรั ฐ วิ ส าหกิ จ (สคร.) เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า การปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการตรวจสอบเป็ น ไปอย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพและบรรลุ ผ ลที่ กํ า หนดไว้ ทั้ ง นี้ ผลการประเมิ น อยูใ่ นเกณฑ์ดีเยีย ่ ม และคณะกรรมการตรวจสอบได้มก ี ารรายงาน ผลการปฏิ บั ติ ง านให้ ค ณะกรรมการ ปตท. ทราบทุ ก ไตรมาส โดยได้ ใ ห้ ข้ อ สั ง เกตและข้ อ คิ ด เห็ น เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง กระบวนการ กํ า กั บ ดู แ ล ความเสี่ ย งและการควบคุ ม ภายใน และการกํ า กั บ การปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของ ปตท.

การควบคุ ม ภายในและการตรวจสอบภายในที่ เ หมาะสมและ มีประสิทธิผล


016

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการสรรหา

รายงานของ คณะกรรมการ สรรหา

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการสรรหา บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ประกอบด้ ประ วยกรรมการจํานวน 3 ท่าน ซึง่ เป็นกรรมการอิสระ ทั้งคณะ โดยมี พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์ ทําหน้าที่ ปร ประธานกรรมการสรรหา นายชาญวิ ท ย์ อมตะมาทุ ช าติ แล และนายธรณ์ ธํ า รงนาวาสวั ส ดิ์ เป็ น กรรมการสรรหา แล ผู้ จั ด การฝ่ า ยสํ า นั ก กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ แ ละ และมี เลข เลขานุการบริษัททําหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการสรรหา คณ คณะกรรมการสรรหาได้ปฏิบต ั ห ิ น้าทีต ่ ามทีไ่ ด้รบ ั มอบหมาย จา จากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ด้ ว ยความรอบคอบ โปร่ ง ใส แล และเป็นธรรม รวมทั้งได้มีการปรับปรุงแนวทางการดําเนิน งาน งานให้ครอบคลุม สอดรับกับความเป็นปัจจุบันและกลยุทธ์

05

การ าเนินธุรกิจของ ปตท. รวมทัง้ ตระหนักถึงประโยชน์สงู สุด การดํ ของ ้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย ซึ่งในปี 2560 คณะกรรมการ ของผู สร สรรหามี ก ารประชุ ม รวมทั้ ง สิ้ น จํ า นวน 3 ครั้ ง โดยได้ มี การ จารณาในเรื่องที่สําคัญ ดังนี้ การพิ •

พิจารณาแต่งตัง้ กรรมการแทนกรรมการทีค ่ รบวาระ

โดย ขอ โดยใช้ ้ มูลทีม ่ ค ี วามหลากหลายเพือ ่ ประกอบการพิจารณา คั ด เลื อ กบุ ค คลจากหลากหลายสาขาอาชี พ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เหม เหมาะสมตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ข้ อ บั ง คั บ ของบริษท ั หลักการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ข ี อง ปตท. ตลอดจน ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ที่ เ หมาะสมและ

พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์ ประธานกรรมการสรรหา

ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ของ ปตท. และพิจารณาจากทักษะ จํ า เป็ น ที่ ยั ง ขาด โดยการวิ เ คราะห์ Board Skill Matrix รวมทั้งพิจารณาจากฐานข้อมูลกรรมการ (Director’s Pool) ของกระทรวงการคลั ง และของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย (IOD) ผลการทํ า งานและบทบาท


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ในอดีตจนถึงปัจจุบน ั ทีส ่ ามารถสร้างความเชือ ่ มัน ่ ให้ผท ู้ ม ่ี ส ี ว ่ นได้เสีย

รายงานของคณะกรรมการสรรหา

017

พิ จ ารณาปรั บ ปรุ ง เพิ่ ม เติ ม การกํ า หนดทั ก ษะ ความรู้

อีกทัง้ ต้องเป็นผูไ้ ม่มป ี ระวัตด ิ า ่ งพร้อยและไม่มผ ี ลประโยชน์ขด ั แย้ง

ความเชีย ่ วชาญ ประสบการณ์ขององค์ประกอบของคณะกรรมการ

กับ ปตท. (Conflict of Interest) เพื่อเสนอให้คณะกรรมการ ปตท.

ปตท. (Board Skill Matrix) ให้ มี ค วามหลากหลาย ทั น สมั ย

พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบเสนอชื่ อ บุ ค คลที่ มี ค วามเหมาะสม

และเหมาะสมกับธุรกิจของ ปตท. คณะกรรมการสรรหาได้เพิม ่ เติม

ต่ อ ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น เพื่ อ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการ

ทักษะ ความรู้ ความเชี่ยวชาญโดยครอบคลุมทั้งด้านการศึกษา

ปตท. ต่ อ ไป โดยรายชื่ อ บุ ค คลที่ มี ค วามเหมาะสมต้ อ งได้ รั บ

และประสบการณ์ ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจ

ความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการนโยบายรั ฐ วิ ส าหกิ จ (คนร.)

ของ ปตท. ทั้ ง ระยะสั้ น และระยะยาว รวมทั้ ง แผนยุ ท ธศาสตร์

ทั้ ง นี้ เ พื่ อ เ ป็ น ไ ป ต า ม ร ะ เ บี ย บ สํ า นั ก น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ว่ า ด้ ว ย

รัฐวิสาหกิจ โดยตระหนักถึงการขับเคลื่อนองค์กรไปสู่เป้าหมาย

การกําหนดนโยบายและกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2557

ตามพันธกิจและยุทธศาสตร์เป็นสําคัญ

พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง กรรมการแทนกรรมการที่ ล าออก

ปรั บ ปรุ ง การดํ า เนิ น งานของคณะกรรมการสรรหา

โดยคณะกรรมการสรรหาได้ใช้ค วามรอบคอบในการพิ จารณา

ให้ มี ค วามครบถ้ ว น เหมาะสม ทั น ต่ อ สถานการณ์ ปั จ จุ บั น

สรรหาบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และคุณสมบัติเหมาะสม

และสอดคล้ อ งตามนโยบายธรรมาภิ บ าลและหลั ก การกํ า กั บ

ตามหลั ก เกณฑ์ ข้ า งต้ น เพื่ อ เสนอให้ ค ณะกรรมการ ปตท.

ดูแลกิจการของ ปตท.

พิจารณาแต่งตัง้ เป็นกรรมการ ทัง้ นีร้ ายชือ ่ บุคคลทีม ่ ค ี วามเหมาะสม จะต้องได้รับความเห็นชอบจาก คนร. เช่นกัน

นอกจากนี้ ปี 2560 คณะกรรมการ ปตท. ได้ เ ปิ ด โอกาส ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ส่ ว นน้ อ ยสามารถเสนอชื่ อ บุ ค คลที่ เ ห็ น ว่ า เหมาะสม

พิ จ ารณาเสนอชื่ อ กรรมการเพื่ อ ทํ า หน้ า ที่ ก รรมการ

เพื่ อ คั ด เลื อ กเป็ น กรรมการได้ ซึ่ ง ปรากฏว่ า ไม่ มี ผู้ ถื อ หุ้ น เสนอ

เฉพาะเรื่อง โดยพิจารณาตามองค์ประกอบของคณะกรรมการ

ชือ ่ บุคคลเพือ ่ เข้ากระบวนการสรรหากรรมการในการประชุมสามัญ

เฉพาะเรือ ่ ง คุณสมบัติ ความรู้ ความชํานาญ ความสามารถ รวมทัง้

ผู้ถือหุ้นปี 2561 ทั้งนี้ รายละเอียดได้เปิดเผยไว้เพื่อความโปร่งใส

ทั ก ษะที่ เ กี่ ย วข้ อ งและเหมาะสมต่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ก รรมการ

ในการตรวจสอบในรายงานประจําปีฉบับนี้แล้ว

เฉพาะเรื่อง และนําเสนอต่อคณะกรรมการ ปตท. เพื่อพิจารณา แต่งตั้ง ยกเว้นคณะกรรมการสรรหา ซึ่งคณะกรรมการ ปตท. จะเป็นผู้พิจารณาแต่งตั้งโดยตรง


018

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน

ได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยความระมั ด ระวั ง รอบคอบ รวมทั้ ง พิจารณากลัน ่ กรองและให้ขอ ้ คิดเห็นในประเด็นสําคัญต่าง ๆ ก่ อ นนํ า เสนอต่ อ คณะกรรมการ ปตท. โดยในปี 2560 นี้ มีการประชุม 3 ครั้ง ซึ่งสามารถสรุปสาระสําคัญ ดังนี้ •

รายงานของ คณะกรรมการ กําหนดคาตอบแทน

พิจารณากําหนดค่าตอบแทนสําหรับคณะกรรมการ

และคณะกรรมการเฉพาะเรือ ่ ง ประจําปี 2560 โดยพิจารณา จ า ก ผ ล ป ร ะ ก อ บ ก า ร แ ล ะ ข น า ด ข อ ง ธุ ร กิ จ ข อ ง บ ริ ษั ท แนวปฏิ บั ติ ที่ บ ริ ษั ท จดทะเบี ย นในอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น และบริษัทชั้นนําทั้งระดับประเทศและระดับโลกใช้ รวมทั้ง ความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการ ปตท. ประกอบกั บ ผลประเมินของคณะกรรมการในหัวข้อต่าง ๆ ที่กําหนดไว้ ใ น แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ป ร ะ จํ า ปี โ ด ย ไ ด้ เ ส น อ ข อ อ นุ มั ติ ต่ อ คณะกรร คณะกรรมการ ปตท. เพื่อเสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น 2 ประจําปี 2560 •

พิ จ ารณาแนวทางการประเมิ น ผล เพื่ อ กํ า หนด

ตอบแ ค่ า ตอบแทนประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ การ ผู้ จั ด การใหญ่ โดยพิ จ ารณาปั จ จั ย ในด้ า นต่ า ง ๆ อาทิ ผลการดําเนินงาน ซึง่ เชือ ่ มโยงกับบันทึกข้อตกลงการประเมิน

06

ผลการดํ า เนิ น งานรั ฐ วิ ส าหกิ จ ประจํ า ปี ร ะหว่ า งสํ า นั ก งาน คณะกรรม คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) กับ ปตท. ปัจจัย ด้ า นควา นความสามารถในการบริ ห ารจั ด การ และภาวะผู้ นํ า ประกอบ ประกอบกั บ การพิ จ ารณาผลประเมิ น ตนเองของประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ อี ก ทั้ ง นํ า ผลปร ผลประเมิ น ที่ ค ณะกรรมการทุ ก ท่ า นได้ มี ส่ ว นร่ ว มใน การประเมินผลการปฏิบต ั ิงานประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและ กรรมการ กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาของ คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนพิจารณา ก่อนนําเสนอ ต่อคณะกรรมการ ปตท. ต่อไป

นายบุญทักษ หวังเจริญ ประธานกรรมการกําหนดคาตอบแทน

พิ จ ารณาและให้ ค วามเห็ น ต่ อ แนวทางการจั ด

โครงสร้ า งองค์ ก รระดั บ มหภาคของ ปตท. ให้ ส ามารถ ต อ บ ส น อ ง ต่ อ ส ถ า น ก า ร ณ์ พ ลั ง ง า น ปั จ จั ย ภ า ย น อ ก ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ และการแข่ ง ขั น ทาง

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น

ธุ ร กิ จ ที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว ทั้ ง นี้ เพื่ อ สร้ า ง ความเข้ ม แข็ ง ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ ส อดรั บ กั บ ทิ ศ ทาง

ในปี 2560 คณะกรรมการ ปตท. ได้ มี ม ติ แ ต่ ง ตั้ ง

กลยุทธ์องค์กร การขยายตัวสู่ธุรกิจใหม่ (New S-Curve)

คณะกรรมการกํ า หนดค่ า ตอบแทน บริ ษั ท ปตท. จํ า กั ด

และมุ่งเน้นเทคโนโลยีและดิจิทัล รวมทั้งการบริหารจัดการ

(มหาชน) ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยกรรมการอิ ส ระเป็ น ส่ ว นใหญ่

องค์ ก รให้ มี ค วามโปร่ ง ใสและตรวจสอบได้ ตลอดจน

โดยมี น ายบุ ญ ทั ก ษ์ หวั ง เจริ ญ กรรมการอิ ส ระ ทํ า หน้ า ที่

สามารถตอบสนองนโยบายภาครัฐ และดําเนินธุรกิจร่วมกับ

ประธานกรรมการกํ า หนดค่ า ตอบแทน นายสมศั ก ดิ์

ชุมชนอย่างยั่งยืน

โชติรต ั นะศิริ และนายสมชัย สัจจพงษ์ เป็นกรรมการกําหนด ค่าตอบแทน โดยมีผจ ู้ ด ั การฝ่ายสํานักกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่

นอกจากนี้ ได้เปิดเผยค่าตอบแทนของกรรมการ และ

และเลขานุการบริษัท ทําหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการ

กรรมการเฉพาะเรื่ อ ง รวมทั้ ง ค่ า ตอบแทนผู้ บ ริ ห ารไว้ ใ น

กํ า หนดค่ า ตอบแทน คณะกรรมการกํ า หนดค่ า ตอบแทน

รายงานประจําปีฉบับนี้เพื่อความโปร่งใสในการตรวจสอบ


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

รายงานของ คณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการที่ดี

019

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ี บริษท ั ปตท. จํากัด (ม (มหาชน) ประกอบด้ ว ยกรรมการอิ ส ระจํ า นวน 3 ท่ า น ได้แก่ พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข ทําหน้าทีป ่ ระธานกรรมการ กํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี นายดอน วสั น ตพฤกษ์ และนาย ธร ธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์ เป็นกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี โด ผู้ จั ด การฝ่ า ยสํ า นั ก กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ แ ละ โดยมี เล เลขานุ การบริษัท ทําหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการกํากับ ดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการ ปตท. ให้ ค วามสํ า คั ญ ในการดํ า เนิ น ธุรกิจบนพื้นฐานของความซื่อสัตย์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ แล และต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชันทุกรูปแบบ จึงมุง่ เน้นให้ ปตท. ยึ ด มั่ น การดํ า เนิ น งานตามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี

07

มา มาตรฐานจริยธรรม จรรยาบรรณธุรกิจ และกรอบการบริหาร จั ด การความยั่ ง ยื น กลุ่ ม ปตท. เพื่ อ พั ฒ นาและยกระดั บ ระ ระบบการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ข ี อง ปตท. ให้มีประสิทธิภาพ ่ ง อันเป็นการสร้างความเชือ ่ มัน ่ แก่ผม ู้ ส ี ว ่ นได้เสีย อย อย่างต่อเนือ ทุ ก กลุ่ ม ตลอดจนพั ฒ นาไปสู่ ก ารเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ของ อง องค์กร คณะกรรมการ ปตท. ได้มอบหมายให้คณะกรรมการ กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี ทํ า ห น้ า ที่ เ ส น อ แ น ว ป ฏิ บั ติ ด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดีต่อคณะกรรมการ กํากับดูแล การปฏิ บั ติ ง านของกรรมการและฝ่ า ยจั ด การให้ เ ป็ น ไป

พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข ประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

ตามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และสอดคล้ อ งกั บ หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของสํานักงานคณะกรรมการ กํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่ ง ประเทศไทย ข้ อ เสนอแนะจากรายงาน Corporate Governance Assessment Report ของสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย (IOD) รวมทั้ ง หลั ก สากล ของ The Organization for Economic Cooperation and Development, ASEAN CG Scorecard และหลักเกณฑ์ DJSI Corporate Sustainability Assessment ทั้งนี้ หน้าที่ ของคณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ยั ง ครอบคลุ ม ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ด้ า น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ค ว า ม ยั่ ง ยื น และการวางกรอบแนวทางการกํากับดูแลการดําเนินงาน ที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชันของ ปตท.


020

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

ในปี 2560 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดีมีการประชุม

สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) บริษัท พีทีที โกลบอล

5 ครัง้ ตามแผนงานทีก ่ า ํ หนด เพือ ่ กํากับดูแล ติดตาม และประเมิน

เคมิคอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)

ผลการดํ า เนิ น งานตามแผนงานการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละ

บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) และบริษัท โกลบอล เพาเวอร์

การต่อต้านคอร์รัปชัน แผนงานด้านการสื่อสารและภาพลักษณ์

ซินเนอร์ยี่ จํากัด (มหาชน) ให้มีการจัดทํารายงานให้สอดคล้อง

องค์ ก ร ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ชุ ม ชน และสิ่ ง แวดล้ อ ม

กับทิศทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ทีม ่ งุ่ หวัง

และการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยสรุปสาระสําคัญได้ดังนี้

ให้บริษัทจดทะเบียนเปิดเผยข้อมูลตามแนวทางของ GRI •

การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส •

จัดทําแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) และ

รายงานประจําปี ตลอดจนเปิดเผยผลการดําเนินงานของ ปตท. เป็นรายไตรมาส และข้อมูลสําคัญสําหรับผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และ

จั ด ทํ า จดหมายข่ า ว PTT Bizway รายไตรมาสสํ า หรั บ

ผู้ถือหุ้นสามัญ เพื่อสื่อความและสร้างความเข้าใจอันดีระหว่าง ปตท. และผู้ถือหุ้นสามัญ •

จัดทําวารสาร Happiness รายไตรมาสสําหรับผู้ถือหุ้นกู้

่ สาร สือ ่ ความ และสานสัมพันธ์ระหว่าง ปตท. และผูถ ้ อ ื หุน ้ กู้ เพือ ่ สือ

ประชาชนทั่วไป ซึ่งมีสาระสําคัญครบถ้วน เพียงพอ เชื่อถือได้ และทันเวลา ผ่านช่องทางต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น ระบบของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และเว็ บ ไซต์ ข อง ปตท.

สิทธิของผู้ถือหุ้น •

จัดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2560 โดยให้

(www.pttplc.com) โดยมี ฝ่ า ยผู้ ล งทุ น สั ม พั น ธ์ แ ละฝ่ า ยสื่ อ สาร

ข้อมูล วัน เวลา สถานที่ และวาระการประชุม ตลอดจนข้อมูล

และภาพลักษณ์องค์กรเป็นหน่วยงานหลักในการเผยแพร่ข้อมูล

ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องตัดสินใจในที่ประชุมแก่ผู้ถือหุ้น

จัดทํารายงานความยั่งยืน ปี 2560 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 10

เพื่ อ เปิ ด เผยข้ อ มู ล ด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ ม

เป็นการล่วงหน้าอย่างเพียงพอและทันเวลา •

แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการประชุม

โดยปรับปรุงแนวทางในการรายงานจาก Sustainability Reporting

และเผยแพร่ขอ ้ มูลดังกล่าวไว้ในเว็บไซต์ของ ปตท. เป็นการล่วงหน้า

Guidelines version 4.0 (GRI G4 Guideline) เป็น Sustainability

ก่อนจัดส่งเอกสาร เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีเวลาศึกษาข้อมูล

Reporting Standard (GRI Standard) รวมถึง Oil and Gas Sector

ประกอบการประชุ ม ล่ ว งหน้ า อย่ า งเพี ย งพอ รวมทั้ ง อํ า นวย

Disclosures (OGSD) ของ Global Reporting Initiative (GRI)

ความสะดวกให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ ใ ช้ สิ ท ธิ ใ นการเข้ า ร่ ว มประชุ ม และ

และนําเสนอข้อมูลผลการดําเนินงานตามรูปแบบของ Integrated

ออกเสียงลงคะแนนอย่างเต็มที่ ส่งผลให้ ปตท. ได้รับคะแนนจาก

Reporting (IR) รายงานความก้ า วหน้ า ของการปฏิ บั ติ ต าม

การประเมิน AGM Checklist ในระดับดีเยี่ยม

หลั ก สากล 10 ประการของข้ อ ตกลงโลกแห่ ง สหประชาชาติ (United Nations Global Compact: UNGC) รวมถึ ง นํ า เสนอ ผลการดําเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนตาม กรอบของสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals:

การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน •

เปิ ด โอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ น เสนอเพิ่ ม วาระการประชุ ม และ

เสนอชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ เข้ า รั บ การพิ จ ารณาเลื อ กตั้ ง เป็ น กรรมการ

SDGs) เพือ ่ แสดงความมุง่ มัน ่ ขององค์กรในการสนับสนุนเป้าหมาย

เป็ น การล่ ว งหน้ า ระหว่ า งวั น ที่ 1 กั น ยายน 2560 ถึ ง วั น ที่ 30

่ งั่ ยืนของสหประชาชาติ รวมทัง้ จัดให้มีการสอบทาน การพัฒนาทีย

พฤศจิกายน 2560 ตามหลักเกณฑ์ที่ ปตท. กําหนด

รายงานเพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อข้อมูลโดยหน่วยงานภายนอก อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง มี ก ารเผยแพร่ ร ายงานฉบั บ นี้ แ ละฉบั บ ที่ ผ่ า นมา

กําหนดให้กรรมการและผู้บริหารเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ

ส่วนได้เสียของตนและผูเ้ กีย ่ วข้อง ประจําปี 2560 เพือ ่ ให้กรรมการ

บนเว็บไซต์ ปตท. เว็บไซต์ GRI และเว็บไซต์ UNGC นอกจากนี้

สามารถพิจารณาธุรกรรมของ ปตท. ที่อาจมีความขัดแย้งของ

ปตท. ยั ง ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น บริ ษั ท ในกลุ่ ม ได้ แ ก่ บริ ษั ท ปตท.

ผลประโยชน์ และตัดสินใจเพื่อประโยชน์ของ ปตท. โดยรวม


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

จั ด ให้ ก รรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งานทุ ก ระดั บ จั ด ทํ า

รายงานของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

021

กํากับดูแลให้มก ี ารประกาศใช้ “คูม ่ อ ื การกํากับดูแลกิจการ

รายงานความขัดแย้งของผลประโยชน์ โดยในส่วนของผู้บริหาร

ที่ดี มาตรฐานทางจริยธรรม และจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ

และพนักงานจัดทําแบบอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ PTT Intranet

ของ ปตท.” ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 4

โดยในปี 2560 ไม่พบความขัดแย้งที่มีนัยสําคัญ

กํากับดูแลให้มีการพัฒนาระบบการกํากับดูแลกิจการที่ดี

กํ า หนดให้ ก รรมการทุ ก คนและผู้ บ ริ ห ารที่ มี ห น้ า ที่ ต้ อ ง

และการต่อต้านคอร์รป ั ชันในเชิงรุก โดยประกาศใช้คม ู่ อ ื การบริหาร

รายงานการถือครองหลักทรัพย์ตามกฎหมาย และให้เลขานุการ

ความเสีย ่ งด้านคอร์รป ั ชัน เพือ ่ เป็นแนวทางการประเมินความเสีย ่ ง

บริษัทรวบรวมและรายงานในที่ประชุมคณะกรรมการเป็นประจํา

ด้ า นคอร์ รั ป ชั น ในกระบวนการปฏิ บั ติ ง าน และการกํ า หนด

ทุกไตรมาส

กระบวนการควบคุมภายในที่เหมาะสม

กํากับดูแลให้มีการดําเนินการตามแนวปฏิบัติเรื่องการใช้

กํากับดูแลให้มีการรายงานการรับของขวัญที่ไม่สามารถ

ข้อมูลภายใน (Insider Trading) โดยขอให้กรรมการ ผู้บริหาร และ

ปฏิเสธหรือส่งคืนได้ตามนโยบายงดรับของขวัญ (No Gift Policy)

ผู้เกี่ยวข้องกับข้อมูล หลีกเลี่ยงการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท

เพื่ อ เป็ น การสร้ า งมาตรฐานที่ ดี ใ นการปฏิ บั ติ ง านของบุ ค ลากร

ในกลุม ่ ปตท. โดยหากมีความจําเป็นต้องซือ ้ ขายให้แจ้งเลขานุการ

ในกลุ่ม ปตท. โดยมุ่งหวังให้บุคลากรทุกระดับปฏิบัติงานอย่าง

บริษัทล่วงหน้า เพื่อเป็นการสร้างความโปร่งใส

เต็มความสามารถ โดยไม่หวังผลประโยชน์ตอบแทน ตลอดจน หลีกเลี่ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้น

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ •

กํ า กั บ ดู แ ล ใ ห้ มี ก า ร จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก า ร ต่ อ ต้ า น

ประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ 4 แบบ คือ

การทุจริตในหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ (ศปท.) ของ ปตท. ตามแนวทาง

ประเมินทั้งคณะ ประเมินตนเอง ประเมินกรรมการท่านอื่น และ

ทีส ่ า ํ นักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สํานักงาน

ประเมินคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง สําหรับผลการประเมินของ

ป.ป.ช.) กํ า หนด เพื่ อ รั บ ผิ ด ชอบดํ า เนิ น งานด้ า นการป้ อ งกั น

ปี 2560 อยู่ในระดับ “ดีเยี่ยม”

ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยปรับปรุงเพิ่มเติม

เข้ า รั บ การอบรมหลั ก สู ต รต่ า ง ๆ เพื่ อ พั ฒ นาความรู้

ขอบเขตอํานาจหน้าที่ของคณะทํางานการกํากับดูแลกิจการที่ดี

ความสามารถและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติหน้าที่กรรมการ

ของ ปตท. (Corporate Governance Working Group: CGWG) เป็น

อย่างสม่า ํ เสมอ อาทิ หลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

“คณะกรรมการจั ด การการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี (Corporate

บริษัทไทย

Governance Management Committee: CGMC)” และปฏิบต ั ห ิ น้าที่

เป็ น ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต ในหน่ ว ยงานรั ฐ วิ ส าหกิ จ

ศึกษางาน กลุ่มบริษัท ปตท. รวมถึงงานที่เกี่ยวกับธุรกิจ

พลังงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ •

จัดการประชุมระหว่างกรรมการอิสระ 1 ครั้ง

จัดการประชุมกรรมการโดยไม่มีผู้บริหาร 1 ครั้ง

(ศปท.) ของ ปตท. •

ส่ ง เสริ ม และผลั ก ดั น ให้ พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ของ ปตท.

ประกาศเจตนารมณ์เข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบัติภาคเอกชน ไทยในการต่ อ ต้ า นทุ จ ริ ต (Private Sector Collective Action

การให้ความสําคัญกับผู้มีส่วนได้เสีย

Coalition against Corruption: CAC) เพื่อผลักดันให้พันธมิตร

พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบแผนปฏิ บั ติ ก ารกํ า กั บ ดู แ ล

ทางธุ ร กิ จ ดํ า เนิ น งานด้ ว ยความโปร่ ง ใสและต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต

กิจการที่ดีและการต่อต้านคอร์รัปชันของ ปตท. ประจําปี 2560

คอร์ รั ป ชั น ทุ ก รู ป แบบ อั น แสดงออกถึ ง ความมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะร่ ว มมื อ

ตลอดจนเป้าหมายประจําปี เพือ ่ ถ่ายทอดสูก ่ ารปฏิบต ั ท ิ ก ุ ระดับ โดย

และก้าวเดินหน้าไปพร้อมกับ ปตท.

ติดตามผลและให้คา ํ แนะนําอย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ ยกระดับมาตรฐาน การกํากับดูแลกิจการของ ปตท. ให้เทียบเท่าระดับสากล


022

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

สร้างบทบาทการมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านความโปร่งใส

การพัฒนาสังคมชุมชน: มุ่งเน้นการเสริมสร้างความเข้มแข็ง

และต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต กั บ หน่ ว ยงานภายนอกทั้ ง ภาครั ฐ และ

ของชุมชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่

ภาคเอกชน อาทิ งานวันต่อต้านคอร์รัปชันแห่งชาติ วันต่อต้าน

และบรรเทาความเดือดร้อนของชุมชน โดยได้ดา ํ เนินงานโครงการ

คอร์รัปชันสากล เป็นต้น รวมทั้งจัดทําแผนแม่บทและแผนปฏิบัติ

รวมพลังซื้อข้าวจากชาวนา ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 เพื่อเพิ่มช่องทาง

การส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรมของ ปตท. ให้ แ ก่ ค ณะกรรมการส่ ง เสริ ม

ในการจํ า หน่ า ยข้ า วให้ แ ก่ ช าวนาที่ ป ระสบปั ญ หาในการระบาย

คุณธรรมแห่งชาติ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม

ั ชาวนา ผลผลิต และช่วยพัฒนาทักษะการบริหารจัดการข้าวให้กบ อี ก ทั้ ง ช่ ว ยให้ ผู้ บ ริ โ ภคสามารถซื้ อ ข้ า วคุ ณ ภาพดี ราคาถู ก

ความรับผิดชอบต่อสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน

จากชาวนาโดยตรง นอกจากนี้ ปตท. ยังส่งเสริมการพึ่งพาตนเอง

กํ า ห น ด แ น ว ท า ง ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น กิ จ ก า ร เ พื่ อ สั ง ค ม

ทางด้ า นพลั ง งานในระดั บ ชุ ม ชน โดยการดํ า เนิ น โครงการ

่ ปตท. ในการเป็น สนับสนุนกรอบการบริหารจัดการความยัง่ ยืนกลุม

ระบบก๊ า ซชี ว ภาพจากฟาร์ ม สุ ก รและโครงการวิ จั ย ระบบผลิ ต

องค์กรทีด ่ ีของสังคม (Corporate Citizenship) โดยให้ความสําคัญ

ไฟฟ้ า จากเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ แ บบติ ด ตั้ ง ลอยน้ํ า เพื่ อ บริ ห าร

ต่ อ การมี ส่ ว นร่ ว มของทุ ก ภาคส่ ว น เพื่ อ รั บ ผิ ด ชอบดู แ ลรั ก ษา

จัดการน้ํา (Floating PV) ที่ตําบลท่ามะนาว อําเภอชัยบาดาล

สิ่ ง แวดล้ อ มและระบบนิ เ วศทางธรรมชาติ รวมถึ ง การพั ฒ นา

จังหวัดลพบุรี, ตําบลคําแคน อําเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น

ความเป็ น อยู่ ที่ ดี ข องชุ ม ชนในทุ ก พื้ น ที่ ที่ เ ข้ า ไปดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ และ

และตํ า บลสั น ทราย อํ า เภอพร้ า ว จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ซึ่ ง เป็ น

สั ง คมโดยรวมอย่ า งยั่ ง ยื น ผ่ า นการดํ า เนิ น โครงการเพื่ อ สั ง คม

ศูนย์เรียนรู้ด้านพลังงานทดแทนที่สําคัญ

กว่ า 40 โครงการ โดยในปี 2560 มี ก ารดํ า เนิ น งานที่ สํ า คั ญ ใน 3 ด้าน ดังนี้

การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม: ส่งเสริม ความร่ ว มมื อ กั บ ชุ ม ชนและภาคี เ ครื อ ข่ า ยจากทุ ก ภาคส่ ว น

การพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ : ส่ ง เสริ ม การสร้ า งทรั พ ยากร

ในการฟืน ้ ฟูและอนุรก ั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลาย

มนุ ษ ย์ ที่ มี คุ ณ ภาพให้ แ ก่ สั ง คมไทย เพื่ อ นํ า ไปสู่ ก ารขั บ เคลื่ อ น

ทางชีวภาพให้คงความอุดมสมบูรณ์ และเผยแพร่องค์ความรู้และ

ประเทศ โดยมุ่ ง เน้ น การพั ฒ นาการศึ ก ษาของไทย ตั้ ง แต่

ปลูกฝังจิตสํานึกในการดูแลรักษาสิง่ แวดล้อมในชุมชนอย่างยัง่ ยืน

การสนั บ สนุ น การพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน การส่ ง เสริ ม ทั ก ษะ

ผ่านศูนย์เรียนรู้ต่าง ๆ อาทิ ป่าในกรุง ป่าวังจันทร์ และศูนย์ศึกษา

ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ผ่ า นสถาบั น วิ ท ยสิ ริ เ มธี แ ละ

เรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี

โรงเรียนกําเนิดวิทย์ พร้อมทั้งสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับพลังงาน ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น ผ่านการจัดค่าย

ผ่ า นการประเมิ น ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นความยั่ ง ยื น

ปิโตรแคมป์ สู่แชมป์ปิโตร พร้อมทั้งมอบโอกาสทางการศึกษา

ของ RobecoSAM Corporate Sustainability Assessment และ

ให้ แ ก่ เ ยาวชนที่ มี ค วามประพฤติ ดี จ ากโรงเรี ย นและสถาบั น

ได้รับการจัดเป็น DJSI Member ต่อเนื่องเป็นปีที่ 6 นับเป็น 1

การศึกษารอบสถานประกอบการ ปตท. ทั่วประเทศ นอกจากนี้

ใน 9 บริษัท จาก 79 บริษัท ใน Dow Jones Sustainability World

ปตท. ยั ง ดํ า เนิ น โครงการหลั ก สู ต รพลั ง งานเพื่ อ ชุ ม ชน รุ่ น ที่ 4

Index (DJSI World) และนับเป็น 1 ใน 2 บริษัท จาก 19 บริษัท

เพื่อสร้างผู้นําการเปลี่ยนแปลงทางด้านพลังงาน ซึ่งผู้เข้าอบรม

ใน Dow Jones Sustainability Emerging Markets Index (DJSI

ได้ พั ฒ นาและนํ า เสนอโครงงานเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารสํ า หรั บ นํ า ไป

Emerging Markets) ในกลุ่ม Oil & Gas Upstream & Integrated

พัฒนาพื้นที่ของตน

(OGX) โดยมี ค ะแนนการประเมิ น ในเรื่ อ ง Materiality, Policy Influence, Supply Chain Management, Environmental Reporting, Environmental Policy, Biodiversity, Climate Strategy, Social Reporting, Labor Practice Indicators, Human Rights, และ Social Impact on Communities อยู่ในระดับ Industry Best


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ ด้ ว ยความมุ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจและเจตนารมณ์ อั น แน่ ว แน่ ใ นการ ดําเนินงานบนพืน ้ ฐานของการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ี ความรับผิดชอบ ต่ อ สั ง คม และการบริ ห ารจั ด การความยั่ ง ยื น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ในปี 2560 ปตท. จึงได้รับการยอมรับทั้งในระดับประเทศและ ระดับสากล อาทิ •

รางวัลชมเชยองค์กรโปร่งใส จากสํานักงาน ป.ป.ช.

รางวั ล รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ มี แ ผนงานยกระดั บ คุ ณ ธรรมและ

ความโปร่งใส ประเภทดีเลิศ ด้านวัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร: Integrity Culture และด้ า นคุ ณ ธรรมการทํ า งานในหน่ ว ยงาน: Work Integrity จากสํานักงาน ป.ป.ช. •

คะแนนการประเมิ น คุ ณ ธรรมและความโปร่ ง ใสใน

การดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment: ITA) จากสํ า นั ก งาน ป.ป.ช. ในระดั บ สู ง มาก สี่ปีติดต่อกัน •

การจั ด อั น ดั บ ในกลุ่ ม “ดี เ ลิ ศ ” ของโครงการสํ า รวจ

การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การบริ ษั ท จดทะเบี ย นไทย ประจํ า ปี 2560 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2017) (ต่อเนื่องเป็นปีที่ 9) •

รางวัล Corporate Governance Asia Annual Recognition

Awards 2016 ประเภท Icon on Corporate Governance (ต่อเนื่อง เป็นปีที่ 13) •

รางวัล The Asset Corporate Awards 2017 ระดับ Platinum

(ต่อเนื่องเป็นปีที่ 9) •

รางวัล Strongest Adherence to Corporate Governance;

Most Consistent Dividend Policy; and Best Strategic Corporate Social Responsibility จากนิ ต ยสาร Alpha Southeast Asia คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ีเชื่อมั่นว่า การดําเนินงาน บนพื้ น ฐานของการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี จ ะส่ ง ผลให้ อ งค์ ก ร ประสบความสํ า เร็ จ อย่ า งยั่ ง ยื น และนํ า ไปสู่ ก ารเป็ น องค์ ก ร แห่ ง ความภาคภู มิ ใ จของประเทศไทย (Pride & Treasure of Thailand) เพื่ อ ประโยชน์ ข องผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม และ เป็นที่ยอมรับในระดับสากลอย่างแท้จริง

รายงานของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

023


024

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

รายงานของ คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงองคกร

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงองค์กร บริษัท ปตท. คณ จํากัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการจํานวน 3 ท่าน ได้แก่ นายชา นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ เป็นประธานกรรมการบริหาร ความ ความเสี่ ย งองค์ ก ร นายธรรมยศ ศรี ช่ ว ย และนายสมคิ ด เลิศไพ ไพฑูรย์ เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร โดยมี รองกร รองกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ก ลยุ ท ธ์ อ งค์ ก ร มี ภ ารกิ จ เป็ น Chief Risk Officer (CRO) และ Chief Stakeholder Officer (CSO) ทําหน้าทีเ่ ลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง องค์กร คณ คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งองค์ ก รได้ ส นั บ สนุ น การดําเนินงานของคณะกรรมการ ปตท. ภายใต้หลักการ

08

กํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งของ ปตท. มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อการบรรลุเป้าหมาย ทางธุ ร กิ จ สอดคล้ อ งกั บ วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละทิ ศ ทางขององค์ ก ร ลดผลกระทบจากความไม่แน่นอนของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ลดผลก และสามารถสร้างความมั่นใจแก่ผู้ถือหุ้นว่า ปตท. มีระบบ และสา การบริหารความเสี่ยงที่สามารถรองรับความเสี่ยงในทุกมิติ ใน ในปี 2560 คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งองค์ ก ร มีการประชุมทัง้ สิน ้ 5 ครัง้ โดยสรุปสาระสําคัญในการปฏิบต ั ิ หน้าที่ได้ดังนี้

นายชาญวิทย อมตะมาทุชาติ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

025

1. กํากับดูแลและบริหารความเสี่ยงเพื่อลดผลกระทบต่อ

4. พิ จ า ร ณ า แ ล ะ ใ ห้ ข้ อ คิ ด เ ห็ น ว า ร ะ ที่ มี ภ า ร ะ ผู ก พั น

การดําเนินธุรกิจของ ปตท. โดยทุกรายการความเสีย ่ งกําหนดให้

ในระยะยาว มี ค วามซั บ ซ้ อ นเชิ ง ธุ ร กิ จ และมี ค วามเสี่ ย ง

มีมาตรการเชิงรุกทีเ่ น้นบริหารจัดการเพือ ่ ลดโอกาสเกิดเหตุการณ์

ที่ส่งผลกระทบต่อ ปตท. อย่างมีนัยสําคัญ ก่อนการนําเสนอต่อ

ความเสีย ่ ง และมีมาตรการเชิงรับหากเกิดเหตุการณ์ความเสีย ่ งขึน ้

คณะกรรมการ ปตท. โดยคณะกรรมการฯ ได้พจ ิ ารณาวาระพิเศษ

เพือ ่ ลดผลกระทบไม่ให้สง่ ผลต่อเป้าหมายขององค์กร มีการจัดทํา

ดังกล่าว อาทิ การจัดหาก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG) เพื่อรองรับ

แผนบริหารจัดการความเสีย ่ งรองรับสถานการณ์ตา ่ ง ๆ ให้ครบถ้วน

ความต้องการ LNG ของประเทศทีเ่ พิม ่ ขึน ้ แนวทางบริหารจัดการ

อาทิ การบริหารความเสี่ยงเพื่อลดผลกระทบจากความผันผวน

โครงการ First Borneo Plantations (FBP) ในประเทศอินโดนีเซีย

ของราคาน้ํ า มั น ดิ บ โดยใช้ เ ครื่ อ งมื อ บริ ห ารความเสี่ ย งต่ า ง ๆ (Hedging Tools) การบริหารความเสี่ยงจากนโยบายการกําหนด

5. พิจารณากลั่นกรองรายการความเสี่ยงองค์กรปี 2561

ราคา LPG ลอยตัวและเปิดเสรีธุรกิจ LPG โดยผลักดันนโยบาย

และนําเสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ปตท. โดยให้มี

การลอยตัวราคา LPG ที่เป็นประโยชน์สูงสุดต่อประเทศชาติ

การบู ร ณาการรายการความเสี่ ย งและแผนบริ ห ารความเสี่ ย ง องค์กรควบคูไ่ ปกับการจัดทําแผนวิสาหกิจปี 2561 ทําให้แผนบริหาร

2. กํากับดูแลการบริหารผู้มีส่วนได้เสียขององค์กร เพื่อให้

ความเสี่ยงมีความชัดเจน สอดคล้องกับทิศทาง เป้าหมาย และ

การบริหารผู้มีส่วนได้เสียมีกระบวนการที่สมบูรณ์และครอบคลุม

กลยุทธ์การดําเนินธุรกิจ มีการถ่ายทอดไปสูก ่ ารปฏิบต ั ท ิ ว ั่ ทัง้ องค์กร

ถึงการบริหารจัดการต่อทุกกลุ่มของผู้มีส่วนได้เสียอย่างครบถ้วน

เพื่ อ ตอบสนองความเสี่ ย งและพร้ อ มรั บ ความเสี่ ย งได้ อ ย่ า ง

โดยแผนธุรกิจที่สําคัญจะมีการพิจารณาผลที่อาจกระทบต่อผู้มี

ทันท่วงที

ส่วนได้เสียแต่ละกลุม ่ และนํามาจัดทํากลยุทธ์ แผนงาน เพือ ่ บริหาร จัดการผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียตามรูปแบบการบริหารจัดการทีเ่ หมาะสมกับ

ด้ ว ยการให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ ความเป็ น เลิ ศ ในการบริ ห าร

สถานการณ์ รวมถึงวางกรอบแนวทางในการติดตามและประเมินผล

ความเสีย ่ งและกลยุทธ์ ความทุม ่ เทและความร่วมมือของบุคลากร

การบริหารจัดการ และการทบทวนแผนบริหารจัดการผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย

ทุกคน ทําให้ปจ ั จัยเสีย ่ งต่าง ๆ ของปี 2560 ได้รบ ั การบริหารจัดการ

ที่ต้องทําอย่างต่อเนื่อง

่ อมรับได้สง่ ผลให้ผลประกอบการ จนสามารถควบคุมอยูใ่ นระดับทีย การดําเนินธุรกิจ และภาพลักษณ์องค์กรของ ปตท. ในปี 2560

3. ติดตามการบริหารความเสี่ยงอย่างใกล้ชิดเป็นประจํา ทุ ก ไตรมาส โดยกํ า หนดให้ มี ตั ว ชี้ วั ด ความเสี่ ย งเพื่ อ เฝ้ า ระวั ง และเตือนภัยล่วงหน้า (Leading Key Risk Indicator) และตัวชี้วัด ความเสีย ่ งเพือ ่ วัดประสิทธิผลของการบริหารความเสีย ่ ง (Lagging Key Risk Indicator) ให้ขอ ้ เสนอแนะแก่ฝา ่ ยจัดการในการปรับปรุง การบริ ห ารจั ด การให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น โดยการทบทวนแผนบริ ห าร ความเสี่ยงให้สอดคล้องกับกลยุทธ์และสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป และมี ก ารรายงานผลการดํ า เนิ น งานของ คณะกรรมการฯ ให้คณะกรรมการ ปตท. ได้รับทราบ

เพิ่มขึ้นจากปี 2559


026

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

สถานการณ เศรษฐกิจ สถานการณ ปโตรเลียม และปโตรเคมี ภาพที่ 1

09

อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของกลุมประเทศตาง ๆ ป 2558 - 2560 หนวย: % yoy ที่มา: IMF ณ เดือนมกราคม 2561

สถานการณ เศรษฐกิจโลก

โลก กลุมประเทศพัฒนาแลว กลุมประเทศตลาดเกิดใหม และกําลังพัฒนา

เศรษฐกิจโลกในปี 2560 ขยายตัวเร่งขึน ้ จากปี 2559 จากเศรษฐกิจของ

ภาพที่ 2 กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว (Advanced economies) โดยเฉพาะเศรษฐกิจ สหรั ฐ อเมริ ก าที่ ข ยายตั ว เร่ ง ขึ้ น ท่ า มกลางตลาดแรงงานที่ เ ข้ า สู่ ส ภาวะ การจ้างงานเต็มที่ (Full employment) ในขณะทีเ่ ศรษฐกิจของกลุม ่ ประเทศ ทีใ่ ช้เงินสกุลยูโรฟืน ้ ตัวชัดเจนและกระจายตัวมากขึน ้ ภายใต้สภาวะการเงิน ที่ผ่อนคลาย สําหรับเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่และกําลัง พัฒนา (Emerging market and developing economies) โดยเฉพาะ เศรษฐกิจจีนซึ่งอยู่ระหว่างการปรับสมดุลโครงสร้างเพื่อการเติบโตอย่าง ยั่งยืนขยายตัวเร่งขึ้นเล็กน้อยจากภาคส่งออกที่ขยายตัวได้ดีและตลาด อสังหาริมทรัพย์ที่ยังคงคึกคัก (Resilient property market) ทั้งนี้กองทุน การเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund: IMF) ณ เดือน มกราคม 2561 ประมาณการว่าเศรษฐกิจโลกจะเติบโตร้อยละ 3.7 ในปี 2560 จากที่เติบโตร้อยละ 3.2 ในปี 2559 (ภาพที่ 1)

ความตองการใชนํ้ามันของโลก ป 2558 - 2560 หนวย: ลานบารเรลตอวัน ที่มา: IEA ณ เดือนธันวาคม 2560


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

027

สถานการณ ปโตรเลียม และปโตรเคมี ความต้ อ งการใช้ น้ํ า มั น ของโลกใน ปี 2560 เพิ่มขึ้น 1.5 ล้านบาร์เรลต่อวัน มากกว่าทีเ่ พิม ่ ขึน ้ ในปี 2559 จากการฟืน ้ ตัว ของเศรษฐกิจโลก ทั้งนี้สํานักงานพลังงาน สากล (International Energy Agency: IEA) ณ เดื อ นธั น วาคม 2560 คาดว่ า ความต้องการใช้นาํ้ มันของโลกในปี 2560 อยูท ่ ่ี ระดับ 97.8 ล้านบาร์เรลต่อวัน (ภาพที่ 2)

6 5

4.7 4.4

4.3

ความต้องการใช้นา ํ้ มันของโลกทีเ่ พิม ่ ขึน ้ ป ร ะ ก อ บ กั บ ภ า ว ะ อุ ป ท า น ตึ ง ตั ว จ า ก

4 การลดกําลังการผลิตของกลุ่ม OPEC และ

3.7 3.4 3.2

Non-OPEC ลง 1.8 ล้ า นบาร์ เ รลต่ อ วั น

3

ต่ อ เนื่ อ งทั้ ง ปี 2560 ปั ญ หาอุ ป ทานจาก

2.3 2.2

ทะเลเหนือและเวเนซุเอลาหยุดชะงัก และ

2

1.7 ปั ญ หาภู มิ รั ฐ ศาสตร์ ใ นตะวั น ออกกลาง

1

แม้ว่ากําลังการผลิต Shale oil ของสหรัฐฯ ปรับเพิม ่ ขึน ้ ต่อเนือ ่ ง ส่งผลให้ราคาน้า ํ มันดิบ

0

2558

2559

2560 ดูไบเฉลี่ยปี 2560 อยู่ที่ 53.2 เหรียญสหรัฐ ต่ อ บาร์ เ รล สู ง กว่ า ราคาเฉลี่ ย ปี 2559 ที่ อ ยู่ ที่ 41.3 เหรี ย ญสหรั ฐ ต่ อ บาร์ เ รล

100

95.0

96.3

97.8 98.3

98.3

สํ า หรั บ ราคาน้ํ า มั น สํ า เร็ จ รู ป ปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น

98.0

98

+1.3

+1.5 96.9

ตามราคาน้ํามันดิบ ราคาเฉลี่ยของน้ํามัน

97.0 96.7

96.2

96

95.8 95.5

94.6

95.6

94 93.6

92

ป 2560 ความตองการ ใชนํ้ามันของโลก

90 88 86 84 82

+1.5

80

2558

2559

2560

ลานบารเรลตอวัน Q1

Q2

Q3

Q4

Q1

Q2

Q3

Q4

Q1

Q2

Q3

Q4


028

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

เบนซิน 95 อยู่ที่ 68.0 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล โดยมีส่วนต่างจากราคาน้ํามันดิบดูไบทรงตัวตามความต้องการใช้ที่ยังอยู่ใน ระดับสูง ประกอบกับอุปทานชะงักจากเฮอร์รเิ คนฮาร์วย ี แ ์ ละอุบต ั เิ หตุทโี่ รงกลัน ่ ในยุโรปและจีน แม้วา ่ อุปทานในจีนโดยรวมเพิม ่ ขึน ้ ้ ตามความต้องการใช้ ราคาเฉลีย ่ ของน้า ํ มันดีเซลอยูท ่ ี่ 65.7 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล โดยมีสว ่ นต่างจากราคาน้า ํ มันดิบดูไบเพิม ่ ขึน ในภาคเศรษฐกิจ ราคาเฉลี่ยของน้ํามันเตาอยู่ที่ 50.8 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล โดยมีส่วนต่างจากราคาน้ํามันดิบดูไบเพิ่มขึ้น ตามความต้ อ งการใช้ ใ นการเดิ น เรื อ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในขณะที่ อุ ป ทานจากรั ส เซี ย และเวเนซุ เ อลาลดลง ราคาเฉลี่ ย ของก๊ า ซหุ ง ต้ ม (LPG CP) อยู่ที่ 485 เหรียญสหรัฐต่อตัน (ภาพที่ 3) ค่าการกลั่นของโรงกลั่นประเภท Cracking อ้างอิงที่สิงคโปร์เฉลี่ยปี 2560 อยู่ที่ 7.1 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล สูงกว่าปี 2559 ที่เฉลี่ยอยู่ที่ 6.1 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล

100

ภาพที่ 3

ราคานํ้ามันดิบดูไบ และผลิตภัณฑปโตรเลียม ป 2558 - 2560

90

หนวย: เหรียญสหรัฐตอบารเรล

50

80 70 60

40 นํ้ามันดิบดูไบ เบนซิน 95 ดีเซล นํ้ามันเตา

2558

2559

2560

51.0 69.3 64.6 46.0

41.3 56.2 52.1 36.3

53.2 68.0 65.7 50.8

30 20 10 0

2558 Q1

Q2

Q3

2559 Q4

Q1

Q2

Q3

2560 Q4

Q1

Q2

Q3

Q4

1,600

ภาพที่ 4

ราคาผลิตภัณฑปโตรเคมี ในตลาดเอเชีย ป 2558 - 2560

1,400 1,200 1,000

หนวย: เหรียญสหรัฐตอตัน ที่มา: ICIS/ Platts 2558 โพลีเอทิลิน 1,236 ความหนาแนนสูง พาราไซลีน 843 แนฟทา 477

800 600 2559

2560

1,132

1,168

794 383

854 484

400 200 0

2558 Q1

Q2

Q3

2559 Q4

Q1

Q2

Q3

2560 Q4

Q1

Q2

Q3

Q4

่ ขึน ้ ตามราคาน้า ํ มันดิบและวัตถุดบ ิ แนฟทา และความต้องการผลิตภัณฑ์ ภาพรวมราคาผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมีในปี 2560 ปรับเพิม ทีด ่ ข ี น ึ้ ตามสภาพเศรษฐกิจ โดยราคาโพลีเอทิลน ี ความหนาแน่นสูง (High density polyethylene: HDPE) ยังได้รบ ั แรงสนับสนุนจาก ภาวะอุปทานตึงตัวในจีนจากมาตรการห้ามนําเข้าพลาสติกรีไซเคิลและโรงงาน HDPE ตั้งใหม่ล่าช้า ส่งผลให้ราคาเฉลี่ยปี 2560 อยู่ที่ 1,168 เหรียญสหรัฐต่อตัน ในขณะที่ราคาพาราไซลีน (Paraxylene: PX) ยังได้รับแรงสนับสนุนจากความต้องการที่เพิ่มขึ้น ต่อเนือ ่ งในตลาดโพลีเอสเตอร์ และโรงงาน PX ตัง้ ใหม่ลา ่ ช้า ส่งผลให้ราคาเฉลีย ่ ปี 2560 อยูท ่ ี่ 854 เหรียญสหรัฐต่อตัน (ภาพที่ 4)


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

029

สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

เศรษฐกิจไทย ป 2560 ขยายตัว

รอยละ

สถานการณ เศรษฐกิจไทย

3.9

เศรษฐกิจไทยในปี 2560 ขยายตัวเร่งขึ้นจากการส่งออกสินค้าที่ปรับตัวดีขึ้น ตามเศรษฐกิ จ คู่ ค้ า และการย้ า ยฐานการผลิ ต มาไทยของบางสิ น ค้ า และภาค การท่องเทีย ่ วทีข ่ ยายตัวได้ดโี ดยเฉพาะนักท่องเทีย ่ วจีน ในขณะทีแ ่ รงกระตุน ้ ภาคการคลัง โดยเฉพาะการลงทุนภาครัฐหดตัว เนือ ่ งจากโครงการลงทุนขนาดเล็กหลายโครงการ อยูใ่ นช่วงปลายของการดําเนินการและโครงการลงทุนขนาดใหญ่เพิง่ เริม ่ ดําเนินการ ในส่วนของการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวต่อเนื่องจากฐานรายได้ที่ปรับเพิ่มขึ้น

เงินบาทแข็งคาขึ้นที่ระดับเฉลี่ย

ในขณะที่ ก ารลงทุ น ภาคเอกชนขยายตั ว ในเกณฑ์ ต่ํ า จากกํ า ลั ง การผลิ ต ส่ ว นเกิ น ในภาคอุตสาหกรรมซึ่งยังอยู่ในเกณฑ์สูง ทั้งนี้สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ (สศช.) ระบุ ว่ า เศรษฐกิ จ ไทยในปี 2560 เติ บ โต

33.9

ร้ อ ยละ 3.9 จากที่ เ ติ บ โตร้ อ ยละ 3.3 ในปี 2559 สํ า หรั บ เงิ น บาทแข็ ง ค่ า ขึ้ น

บาทตอเหรียญสหรัฐ

โดยเฉลี่ ย ปี 2560 ที่ ร ะดั บ 33.9 บาทต่ อ เหรี ย ญสหรั ฐ จากการที่ นั ก ลงทุ น มีมุมมองเชิงลบต่อทิศทางเงินเหรียญสหรัฐ และจากปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ของไทยที่ดีขึ้น (ภาพที่ 5)

บาทตอ เหรียญสหรัฐ

% yoy

10

50

ภาพที่ 5

อัตราการขยายตัว ของเศรษฐกิจไทย ป 2558 - 2560

9

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.)/ ธนาคารแหงประเทศไทย (BOT)

5

อัตราแลกเปลี่ยนอางอิง (RHS) 35.8

35.7

35.3

8

35.3

35.4 34.8

40

35.1 34.3

33.3

33.4

32.6

32.9

7 6

30 GDP (LHS)

4.3 4.0

4

20

3.9 3.6

3

3.0 2.9

3.4

3.3

3.4

3.1 3.0

2.9

2 GDP (% yoy) อัตราแลกเปลี่ยนอางอิง (บาทตอเหรียญสหรัฐ)

2558

2559

2560

3.0 34.3

3.3 35.3

3.9 33.9

10

1 0

0

2558 Q1

Q2

Q3

2559 Q4

Q1

Q2

Q3

2560 Q4

Q1

Q2

Q3

Q4


030

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

3.0

ภาพที่ 6

การใชพลังงาน เชิงพาณิชยขั้นตน ป 2558 - 2560 หนวย: ลานบารเรลตอวัน ที่มา: สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน พลังนํ้า/ ไฟฟานําเขา ถานหิน นํ้ามัน กาซธรรมชาติ

หมายเหตุ: ไมรวมพลังงานหมุนเวียน ป 2560 เปนขอมูลประมาณการ

ภาพที่ 7

การใชนํ้ามันสําเร็จรูป ป 2558 - 2560 หนวย: ลานลิตร ที่มา: กรมธุรกิจพลังงาน นํ้ามันเตา นํ้ามันอากาศยาน/ นํ้ามันกาด LPG* เบนซิน ดีเซล

หมายเหตุ: * ไมรวมการใชเพื่อเปนวัตถุดิบในปโตรเคมี

+1.3%

2.4 2.0

+1.6%

2.13

2.10

2.07

2% 18%

2% 17%

2%

37%

38%

38%

44%

43%

42%

17%

1.6 1.2 0.8 0.4 0.0

2558

60,000 55,000 50,000 45,000 40,000 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

2559

2560

50,756 49,806 +4.0%

47,900

4%

+1.9% 5% 13%

4% 13%

13% 15%

16% 17% 21%

22%

20%

46%

45%

46%

2558

2559

2560

สถานการณปโตรเลียมไทย การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขน ั้ ต้น (ไม่รวมพลังงานหมุนเวียน) ในปี 2560 อยูท ่ ี่ 2.13 ล้านบาร์เรลต่อวัน เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 1.6 เมือ ่ เทียบ กับช่วงเดียวกันของปีก่อน (ภาพที่ 6) โดยมีการใช้น้ํามันเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.3 และก๊าซธรรมชาติลดลงร้อยละ 0.5 ตามลําดับ การใช้น้ํามันสําเร็จรูปของไทย ปี 2560 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.9 (ภาพที่ 7) โดยน้ํามันเบนซินมีการใช้เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 ในขณะที่ การใช้น้ํามันดีเซลเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.7 ซึ่งอัตราการใช้สูงขึ้นมากในช่วงครึ่งปีหลังจากการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ ส่วนการใช้น้ํามัน เครื่องบินเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.2 จากจํานวนนักท่องเที่ยวและจํานวนเที่ยวบินที่เพิ่มขึ้น สําหรับการใช้ก๊าซ LPG ลดลงร้อยละ 1.6 โดยภาค ขนส่งยังมีการใช้ลดลงต่อเนื่อง แต่ภาคอุตสาหกรรมเติบโตได้ดี ส่วนการใช้น้ํามันเตาลดลงร้อยละ 6.8 ภาพรวมการจัดหาและจัดจําหน่ายปิโตรเลียมในปี 2560 มีปริมาณการจัดหารวมอยูท ่ ี่ 2,020.44 พันบาร์เรลต่อวัน เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 0.89 (ภาพที่ 8) โดยเป็นการจัดหาน้ํามันและก๊าซธรรมชาติร้อยละ 59 และ 41 ตามลําดับ การจัดหาน้ํามันดิบมาจากการนําเข้าร้อยละ 87 ส่วนการจัดหาก๊าซธรรมชาติมาจากการนําเข้าร้อยละ 27 การจัดจําหน่ายปิโตรเลียมในประเทศมีปริมาณ 1,769.33 พันบาร์เรล ต่อวัน เพิม ่ ขึน ้ ร้อยละ 1.44 จากปีกอ ่ น โดยแบ่งเป็นน้า ํ มันสําเร็จรูปและก๊าซธรรมชาติในปริมาณใกล้เคียงกัน สําหรับการส่งออกปิโตรเลียม มีปริมาณ 232.57 พันบาร์เรลต่อวัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.79


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

031

สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

ภาพที่ 8

การจัดหาและจัดจําหนายปโตรเลียมของประเทศไทย ป 2560 หนวย: พันบารเรลเทียบเทานํ้ามันดิบตอวัน

การจัดหา

การจัดจําหนาย ตางประเทศ 847.91 สัดสวน 87% 2.16% นํ้ามันดิบ 177.44 สัดสวน 82% 0.21%

ในประเทศ 129.54 สัดสวน 13% -50.27%

เบนซิน

ตางประเทศ 7.35 สัดสวน 5% -49.91% นํ้ามัน 1,196.43 สัดสวน 59% 4.21%

คอนเดนเสท 152.20 สัดสวน 13% 38.91%

นํ้ามันกาด/ เครื่องบิน 6 โรงกลั่น2/ ความสามารถ ในการกลั่นรวม 1,232 พันบารเรลตอวัน

ในประเทศ 144.90 สัดสวน 95% 52.70%

ดีเซล

นํ้ามันเตา

นํ้ามันสําเร็จรูป 66.79 สัดสวน 5% 13.24%

ตางประเทศ1/ 66.79 สัดสวน 100% 13.24%

กาซปโตรเลียม เหลว

ในประเทศ 189.08 3.72%

สงออก 27.91 15.75%

ในประเทศ 116.33 4.48%

สงออก 13.28 32.61%

ในประเทศ 401.11 2.97%

สงออก 90.38 9.34%

ในประเทศ 36.58 -6.56%

สงออก 60.66 8.47%

ในประเทศ 202.26 3.62%

สงออก 7.67 193.38%

ปริมาณการใช ในประเทศ 945.36 3.03%

ปริมาณสงออก 199.89 14.02%

นํ้ามันดิบ สงออก 32.68 5.85% ตางประเทศ 241.06 สัดสวน 27% 8.26%

กาซธรรมชาติ 824.00 สัดสวน 41% -0.89%

ในประเทศ 582.94 สัดสวน 73% -4.24%

สรุป

จัดหารวม

2,020.44 0.89%

7 โรงแยกกาซฯ3/ ความสามารถ ในการแยกกาซฯ รวม 2,785 ลาน ลบ.ฟุตตอวัน

จําหนายในประเทศ นํ้ามันสําเร็จรูป กาซธรรมชาติ

1,769.33 945.36 823.17

ไฟฟา

476.78 -2.93%

อุตสาหกรรม/ ขนสง

169.63 -0.49%

ปโตรเคมี

177.56 7.64%

นํ้ามัน

1.44% 3.03% -0.32%

สงออก นํ้ามันสําเร็จรูป นํ้ามันดิบ

กาซธรรมชาติ

232.57 199.89 32.68

12.79% 14.02% 5.85%

ข้อมูล: สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กรมธุรกิจพลังงาน กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ และ ปตท. หมายเหตุ: 1/ รวมก๊าซปิโตรเลียมเหลว 2/ ประกอบด้วยโรงกลัน ่ นํา ้ มันบางจาก, เอสโซ่, ไออาร์พีซี, พีทีที โกลบอล เคมิคอล, สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นง่ิ และไทยออยล์ ไม่รวมโรงคอนเดนเสทสปริตเตอร์ ของ พีทีที โกลบอล เคมิคอล และโรงกลั่นฝาง 3/ ประกอบด้วยโรงแยกก๊าซธรรมชาติหน่วยที่ 1 ถึง 6 (รวม ESP) ของ ปตท. และโรงแยกก๊าซธรรมชาติของบริษัท ปตท.สผ.สยาม/ พลังเพชร ข้อมูลการจัดหา และจําหน่ายปิโตรเลียมไม่รวมปริมาณจัดหาและจําหน่ายยางมะตอย


032

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

แนวโนมป 2561 แนวโนมเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจโลกในปี 2561 มีแนวโน้มขยายตัวเร่งขึ้นเล็กน้อย จากปี 2560 จากเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่คาดว่าจะขยายตัวเร่งขึ้น จากตลาดแรงงานทีเ่ ข้มแข็งและผลกระทบทางบวกของการปฏิรป ู

ความตองการ ใชนํ้ามันของโลก

ภาษี ในขณะที่เศรษฐกิจของกลุ่มประเทศที่ใช้เงินสกุลยูโรคาดว่า จะขยายตัวชะลอลงเล็กน้อยจากการดําเนินนโยบายงบประมาณ ขาดดุลน้อยลงของรัฐบาล (Less expansionary fiscal stance) สําหรับเศรษฐกิจจีน คาดว่าจะขยายตัวชะลอลงภายใต้การเดินหน้า ปฏิรูปเศรษฐกิจของรัฐบาล โดยเศรษฐกิจโลกยังคงมีความเสี่ยง ่ าวะปกติ (Monetary จากการดําเนินนโยบายการเงินเพือ ่ กลับเข้าสูภ

+1.3

ลานบารเรลตอวัน

policy normalization) นโยบายปกป้ อ งทางการค้ า (Inwardlooking policies) และปัญหาความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์และ การก่อการร้าย ทั้งนี้ IMF ณ เดือนมกราคม 2561 คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจโลกในปี 2561 จะขยายตัวร้อยละ 3.9

แนวโนมปโตรเลียมและปโตรเคมี ความต้องการใช้น้ํามันของโลกในปี 2561 คาดว่าจะเพิ่มขึ้น

การใชพลังงาน เชิงพาณิชยขั้นตนของไทย มีแนวโนมจะขยายตัว รอยละ

1.3 ล้านบาร์เรลต่อวัน ไปอยู่ที่ระดับ 99.1 ล้านบาร์เรลต่อวัน ตามรายงานของ IEA ณ เดือนธันวาคม 2560 นําโดยกลุม ่ ประเทศ ตลาดเกิ ด ใหม่ แ ละกํ า ลั ง พั ฒ นา โดยเฉพาะจี น และอิ น เดี ย ในขณะที่ ค วามต้ อ งการใช้ น้ํ า มั น ของกลุ่ ม ประเทศพั ฒ นาแล้ ว คาดว่าทรงตัวจากปีก่อน สําหรับการผลิตน้ํามันคาดว่าปริมาณ น้ํ า มั น ดิ บ คงคลั ง จะเข้ า สู่ ค่ า เฉลี่ ย 5 ปี จากมาตรการลดกํ า ลั ง การผลิ ต ของกลุ่ ม OPEC และ Non-OPEC อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การควบคุมการผลิตของลิเบียและไนจีเรีย และปัญหาภูมริ ฐ ั ศาสตร์ ในตะวันออกกลาง แต่ยงั คงมีปจ ั จัยกดดันราคาคือปริมาณการผลิต Shale oil ในสหรัฐฯ ที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่องตามราคาน้ํามันดิบ ทั้งนี้ คาดว่าราคาน้ํามันดิบดูไบในปี 2561 จะเฉลี่ยอยู่ที่ระดับประมาณ 60 - 65 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล และค่าการกลั่นอ้างอิงสิงคโปร์ จะเฉลี่ยอยู่ที่ระดับประมาณ 7 - 8 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล สําหรับราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีโดยรวมในปี 2561 คาดว่า จะทรงตัวในระดับสูง โดยราคา HDPE มีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้น ที่ระดับ 1,255 เหรียญสหรัฐต่อตัน ตามราคาเอทิลีนที่มีแนวโน้ม สูงขึ้น และจากภาวะตลาดในจีนที่ยังตึงตัว ส่วนหนึ่งเป็นผลจาก มาตรการด้านสิง่ แวดล้อมและการห้ามนําเข้าโพลีเมอร์ทผ ี่ า ่ นการ รีไซเคิล แม้ว่าคลื่นลูกแรกของโรงงานตั้งใหม่ในสหรัฐฯ จะเป็น ปัจจัยกดดันราคาในช่วงครึ่งหลังของปี สําหรับราคา PX คาดว่า

2.0 - 3.0


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สถานการณ์เศรษฐกิจ สถานการณ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

033

จะอยู่ที่ 922 เหรียญสหรัฐต่อตัน จากความต้องการโพลีเอสเตอร์ ทีย ่ งั คงอยูใ่ นระดับสูง และการห้ามนําเข้าพอลิเอทิลน ี เทเรฟทาเลต (Polyethylene Terephthalate: PET) ที่ผ่านการรีไซเคิลของจีน แม้ว่าผลผลิตจากโรงงานตั้งใหม่จะเป็นปัจจัยกดดันไม่ให้ราคา ขึ้นสูงมากนัก

แนวโนมเศรษฐกิจไทย เศรษฐกิ จ ไทยในปี 2561 มี แ นวโน้ ม ขยายตั ว ใกล้ เ คี ย งกั บ ปีกอ ่ น โดยมีแรงขับเคลือ ่ นสําคัญจากการใช้จา ่ ยภาครัฐโดยเฉพาะ การลงทุนในโครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ซึ่ ง จะช่ ว ยดึ ง ดู ด ให้ เ กิ ด การลงทุ น ภาคเอกชน การส่งออกสินค้าคาดว่าจะขยายตัวชะลอลงจากฐาน ที่สูงในปีก่อน ในขณะที่จํานวนนักท่องเที่ยวคาดว่าจะขยายตัว ต่อเนือ ่ งตามภาวะเศรษฐกิจโลก ในส่วนของการบริโภคภาคเอกชน คาดว่ า จะขยายตั ว อย่ า งค่ อ ยเป็ น ค่ อ ยไปจากรายได้ ค รั ว เรื อ น ที่ค่อย ๆ ปรับเพิ่มขึ้นและภาระหนี้ครัวเรือนที่ยังอยู่ในระดับสูง สํ า หรั บ เงิ น บาทมี แ นวโน้ ม เฉลี่ ย ทั้ ง ปี อ ยู่ ใ นช่ ว ง 31.25 - 33.25 บาทต่ อ เหรี ย ญสหรั ฐ โดยเศรษฐกิ จ ไทยยั ง คงมี ค วามเสี่ ย ง จากการดํ า เนิ น นโยบายการค้ า ระหว่ า งประเทศและนโยบาย การเงินของประเทศพัฒนาแล้ว รวมทัง้ ความล่าช้าของการเบิกจ่าย เงินภาครัฐ ทั้งนี้ สศช. ณ เดือนมกราคม 2561 คาดว่าเศรษฐกิจ ไทยในปี 2561 จะขยายตัวร้อยละ 4.1

แนวโนมสถานการณปโตรเลียมไทย แนวโน้มการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น (ไม่รวมพลังงาน หมุ น เวี ย น) ในปี 2561 คาดว่ า จะขยายตั ว ร้ อ ยละ 2.0 - 3.0 เพิม ่ ขึน ้ จากปี 2560 ตามการเติบโตของเศรษฐกิจไทย การใช้นา ้ํ มัน สําเร็จรูป กระทรวงพลังงานคาดว่าน้ํามันในกลุ่มเบนซิน ดีเซล และน้ํ า มั น เครื่ อ งบิ น ยั ง มี แ นวโน้ ม การใช้ เ พิ่ ม ขึ้ น ต่ า งจาก LPG ที่ มี ค วามนิ ย มเติ ม ในรถยนต์ ล ดลง และน้ํ า มั น เตาที่ มี ก ารใช้ ลดลงในภาคผลิตไฟฟ้าและอุตสาหกรรม การใช้ก๊าซธรรมชาติ มีแนวโน้มคงทีเ่ มื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา


034

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

กลุมธุรกิจการคาระหวางประเทศ จัดหานํ้ามันดิบและคอนเดนเสท จากแหลงนํ้ามันในประเทศ

ลักษณะ การประกอบธุรกิจ และผลการดําเนินงาน ธุรกิจสํารวจและผลิตปโตรเลียม ดําเนินธุรกิจผานบริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) (ปตท.สผ.) และลงทุนในธุรกิจที่ตอเนื่อง มีการดําเนินโครงการ

36 10

ทั้งหมด

10 ใน

GAS CHAIN

กลุมธุรกิจกาซธรรมชาติ จัดหา คาสง คาปลีก และลงทุนในธุรกิจ ที่สรางมูลคาเพิ่มใหกาซธรรมชาติ จัดหากาซธรรมชาติ

4,725 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน

โครงการ

ประเทศ

INFRASTRUCTURE ASTRUCT BUSINESS

กลุมธุรกิจโครงสรางพื้นฐาน และบริหารความยั่งยืน รองรับการขยายตัวอยางรวดเร็ว ของธุรกิจของ ปตท. เสริมสราง ความเชื่อมโยงในการบริหารจัดการ กลุมธุรกิจหลัก เสริมสรางโอกาส ทางธุรกิจใหม ๆ บริหารจัดการ ทรัพยสินของ ปตท. ใหเกิดประโยชนเพิ่มขึ้น

10,329 95

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

035

ปตท. เปนบริษัทพลังงานแหงชาติที่ประกอบธุรกิจปโตรเลียมและปโตรเคมีครบวงจร ภายใตวิสัยทัศนที่จะเปนบริษัทพลังงานไทยขามชาติชั้นนํา โดยมีพันธกิจในการดูแลผูมีสวนไดเสียทุกกลุม อยางสมดุล ประกอบดวย ประเทศ สังคมชุมชน ผูถือหุน ลูกคา คูคา และพนักงาน โดยมีเปาหมายทางธุรกิจ (Aspiration) ให ปตท. เปนองคกรแหงความภาคภูมิใจของคนไทย ในฐานะบริษัทพลังงานแหงชาติ (PTT is the Pride and Treasure of Thailand: PTT) ผานการปลูกฝงวัฒนธรรมการทํางานของพนักงานตามคานิยม “SPIRIT” ใหเปนทั้งคนเกงและคนดี

ลานลิตร การประกอบธุรกิจของ ปตท. เปนการลงทุนตลอดหวงโซธุรกิจตั้งแตตนนํ้าจนถึงปลายนํ้า โดยมุงเนนการสรางมูลคาเพิ่ม ตอยอดธุรกิจควบคูไปกับการสรางนวัตกรรมดานพลังงาน ซึ่งมีรูปแบบการประกอบธุรกิจเปน Operating and Holding Company ที่มีทั้งธุรกิจที่ดําเนินงานเองและธุรกิจที่ลงทุนผานบริษัทในกลุม ปตท.

คิดเปนรอยละ ของปริมาณการผลิตในไทย

ผลิตภัณฑหลอลื่น มีสวนแบงตลาด ในประเทศเปนอันดับ คิดเปนสวนแบงตลาด รอยละ สงออกไปตางประเทศ แลว 39 ประเทศทั่วโลก พัฒนาผลิตภัณฑหลอลื่นใหม รวม 8 ชนิด

1

34.5

PETROCHEMICAL ROCHEMI CHAIN

OIL CHAIN

ผลิตภัณฑเชื้อเพลิง มีปริมาณจําหนายในประเทศ

20,529 มีสวนแบงตลาดรอยละ มีสถานีบริการรวม 1,627 แหง ทั่วประเทศ

ลานลิตร

40.5

ธุรกิจปโตรเคมีและการกลั่น ปตท. ลงทุนผานบริษัทในกลุม 9 บริษัท ผลิตนํ้ามันเชื้อเพลิง ผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑปโตรเคมีขั้นตน ขั้นกลาง และเมล็ดพลาสติกทั้งในประเทศและตางประเทศ รวมถึงใหบริการดานโลจิสติกสครบวงจร กําไรสุทธิ

81,049

ลานบาท

NEW BUSI BUSINESS I NESS

ธุรกิจถานหิน ยอดขายถานหิน รวมทั้งสิ้น

ลานตัน ผลิตภัณฑและบริการ กํ า ไรสุ ท ธิ ในธุรกิจคาปลีก Non-Oil คือสวนสําคัญที่ทําใหธุรกิจ ลานเหรียญสหรัฐ สถานีบริการในภาพรวมอยูรอด เพราะใหผลตอบแทน มากกวาการขายนํ้ามัน

8.3 89


036

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ธุรกิจที่ ปตท. ดําเนินงานเอง กลุมธุรกิจกาซธรรมชาติ

ดํ า เ นิ น ธุ ร กิ จ จั ด ห า ค้ า ส่ ง แ ล ะ ค้ า ป ลี ก ก๊ า ซ ธ ร ร ม ช า ติ จัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์จากโรงแยกก๊าซธรรมชาติ รวมทัง้ การลงทุน ในธุ ร กิ จ ที่ ใ ช้ ป ระโยชน์ แ ละสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ก๊ า ซธรรมชาติ ผ่านบริษัทในกลุ่ม ปตท. โดยการจัดหาก๊าซธรรมชาติครอบคลุม การจัดหาจากแหล่งในประเทศ นําเข้าจากประเทศเพือ ่ นบ้าน และ การนําเข้าในรูปของก๊าซธรรมชาติเหลวหรือ Liquefied Natural Gas (LNG) เพื่ อ ให้ เ พี ย งพอกั บ ความต้ อ งการของผู้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า รายใหญ่ ลูกค้าอุตสาหกรรมผ่านการลงทุนระบบท่อจัดจําหน่าย ก๊ า ซธรรมชาติ และภาคขนส่ ง ผ่ า นการลงทุ น ในสถานี บ ริ ก าร NGV และการจํ า หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากโรงแยกก๊ า ซธรรมชาติ ผ่ า นการลงทุ น ในโรงแยกก๊ า ซธรรมชาติ เพื่ อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้กบ ั ก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทย เพือ ่ ใช้เป็นวัตถุดบ ิ ในอุตสาหกรรม ปิโตรเคมี และการจําหน่ายเป็นก๊าซปิโตรเลียมเหลวหรือ LPG เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงในภาคครัวเรือน อุตสาหกรรม และขนส่ง


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

037

นอกจากนี้หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติยังได้มี

Price ซึ่งต่อมามีผลทําให้ปัจจุบันภาครัฐฯ ยกเลิกการกําหนดราคา ณ โรงกลั่น

การลงทุนคลังรับ LNG ผ่านบริษท ั พีทท ี ี แอลเอ็นจี

สําหรับผูผ ้ ลิตในประเทศและการประกาศราคาขายส่ง ณ คลังก๊าซ โดยให้มป ี ระกาศ

จํากัด ที่ ปตท. ถือหุ้นร้อยละ 100 เพื่อให้บริการ

ราคาอ้างอิงเสมอภาคกับราคานําเข้า แต่ยงั มีการกํากับราคา ณ โรงแยกก๊าซธรรมชาติ

ในการรับเรือ จัดเก็บ LNG และแปลงสภาพ LNG

ของ ปตท. ให้เทียบเท่าต้นทุนโดยใช้กองทุนน้า ํ มันเชือ ้ เพลิงรักษาระดับดังกล่าวและ

เป็นก๊าซธรรมชาติ เพื่อรองรับการนําเข้า LNG

ให้มก ี ารส่งเงินกองทุนน้า ํ มันเชือ ้ เพลิงในอัตรา 20 เหรียญสหรัฐต่อเมตริกตันสําหรับ

ของ ปตท.

LPG ที่ผลิตในประเทศและต้องได้รับการอนุญาตส่งออกก่อน

การกํ า หนดโครงสร้ า งราคาจํ า หน่ า ยของ

นอกจากนีต ้ งั้ แต่เดือนตุลาคม 2560 ภาครัฐได้ยกเลิกการขอความร่วมมือจาก

ธุรกิจค้าส่งและค้าปลีกก๊าซธรรมชาติ จะอยูภ ่ ายใต้

ปตท. ในการช่วยเหลือประชาชนที่ใช้ LPG ในกลุ่มภาคครัวเรือนที่มีรายได้น้อย

พระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบกิ จ การพลั ง งาน

โดยจะให้ผา ่ นกลไกโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐแทน แต่ยงั คงขอให้ ปตท. ช่วยเหลือ

พ.ศ. 2550 ธุรกิจจัดหาและค้าส่งก๊าซธรรมชาติ

ผู้ใช้ LPG กลุ่มร้านค้าหาบเร่แผงลอย เป็นการบรรเทาผลกระทบจากการปรับ

จะกําหนดโครงสร้างราคาจําหน่ายให้กับลูกค้า

โครงสร้างราคา LPG ของประเทศ

กลุ่มผู้ผลิตไฟฟ้า รวมทั้งการบริหารการขนส่ง

ความสําเร็จของหน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติในปี 2560 มีผลประกอบการที่ดีขึ้น

ก๊ า ซธรรมชาติ ท างท่ อ จะมี อั ต ราผลตอบแทน

เป็นผลมาจากราคาน้าํ มันดิบและผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมีในตลาดโลกทยอยปรับตัวเพิม ่ ขึน ้

ตามที่ ภ าครั ฐ กํ า หนด และธุ ร กิ จ จั ด จํ า หน่ า ย

ในขณะที่ต้นทุนราคาก๊าซธรรมชาติในประเทศมีเสถียรภาพมากกว่า นอกจากนี้

ก๊าซธรรมชาติให้กบ ั ลูกค้าอุตสาหกรรมส่วนใหญ่

ยังเป็นผลมาจากการปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตของโรงแยกก๊าซ

โครงสร้างราคาจําหน่ายจะขึน ้ อยูก ่ บ ั ราคาน้าํ มันเตา

ธรรมชาติอย่างต่อเนื่องเพื่อลดค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน มีการปรับเพิ่มรูปแบบ

ในตลาดโลก เพื่ อ ให้ แ ข่ ง ขั น ได้ กั บ เชื้ อ เพลิ ง

การดําเนินธุรกิจ โดยเน้นการให้บริการแก่บุคคลภายนอกมากขึ้น ปรับกลยุทธ์

ทางเลื อ ก ได้ แ ก่ ราคาขายปลี ก น้ํ า มั น เตา

ในการจัดซือ ้ พัสดุอป ุ กรณ์ ซึง่ ช่วยให้ธรุ กิจสามารถเพิม ่ รายได้มากขึน ้ โดยผลดําเนิน

ในประเทศ ในส่ ว นของโรงแยกก๊ า ซธรรมชาติ

งานในปี 2560 ของหน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติที่สําคัญสรุปได้ดังนี้

จําหน่ายให้กับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ตามราคา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเคมี แ ละปิ โ ตรเลี ย ม ซึ่ ง เป็ น ไป

> การจัดหากาซธรรมชาติ

ตามกลไกตลาดโลก สําหรับ LPG ที่จําหน่ายเป็น

การจัดหาก๊าซธรรมชาติอยู่ที่ 4,725 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวันลดลงจาก

เชื้ อ เพลิ ง ในประเทศ คณะกรรมการนโยบาย

ปี 2559 ที่ 4,762 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน หรือลดลงร้อยละ 0.9 ประกอบด้วย

พลังงานแห่งชาติ (กพช.) ได้มีมติ เมื่อวันที่ 8

การจั ด หาจากแหล่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ใ นประเทศ 3,342 ล้ า นลู ก บาศก์ ฟุ ต ต่ อ วั น

ธันวาคม 2559 และวันที่ 31 กรกฎาคม 2560

และการนํ า เข้ า 1,378 ล้ า นลู ก บาศก์ ฟุ ต ต่ อ วั น หรื อ คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นการจั ด หา

เห็นชอบแนวทางการเปิดเสรีธรุ กิจก๊าซ LPG และ

จากแหล่งในประเทศและต่างประเทศร้อยละ 71 : 29

ได้ยกเลิกการควบคุมราคา จากระบบ LPG Pool

สัดสวนการจัดหากาซธรรมชาติ จากแหลงในประเทศและตางประเทศ คิดเปนรอยละ

71: 29


038

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

> การจัดจําหนายกาซธรรมชาติในภาคไฟฟา ปริมาณการจําหน่ายรวม 2,734 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน คิดเป็นสัดส่วน ร้ อ ยละ 58 ของปริ ม าณการจํ า หน่ า ยทั้ ง หมด ลดลงร้ อ ยละ 2.9 จากปี 2559 ที่ 2,816 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เป็นผลมาจากความต้องการใช้ก๊าซธรรมชาติ ในการผลิ ต ไฟฟ้ า ที่ ล ดลง เนื่ อ งจากมี ก ารนํ า เชื้ อ เพลิ ง ทางเลื อ กอื่ น เข้ า มา ใช้ ท ดแทนมากขึ้ น โดยการจํ า หน่ า ยก๊ า ซธรรมชาติ ใ นภาคไฟฟ้ า ประกอบด้ ว ย การจํ า หน่ า ยให้ กั บ การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทยหรื อ กฟผ. รวม 757 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 28 ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระจํานวน 10 ราย รวม 934 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 34 และผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก จํานวน 62 ราย รวม 1,043 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 38

> การจัดจําหนายกาซธรรมชาติในภาคอุตสาหกรรม

ปริมาณจําหนาย กาซธรรมชาติ

ปริมาณการจําหน่ายรวม 727 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน คิดเป็นสัดส่วน ร้ อ ยละ 15 ของปริ ม าณจํ า หน่ า ยทั้ ง หมด เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 1.7 จากปี 2559 ที่ 715 ล้ า นลู ก บาศก์ ฟุ ต ต่ อ วั น โดยมี จํ า นวนลู ก ค้ า ทั้ ง สิ้ น 358 รายสั ญ ญา ประกอบด้วย ลูกค้าภาคอุตสาหกรรม 327 รายสัญญา ลูกค้าภาคผลิตไฟฟ้าใช้เอง 30 รายสัญญา และลูกค้าภาคพาณิชย์ 1 รายสัญญา ปริมาณจําหน่ายที่เพิ่มขึ้น ส่ ว นหนึ่ ง เป็ น ผลจากการขยายการลงทุ น โครงการระบบจํ า หน่ า ยก๊ า ซธรรมชาติ ส่วนขยาย ในพืน ้ ทีส ่ วนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี ระบบจําหน่ายก๊าซธรรมชาติ ส่วนขยายในพืน ้ ทีน ่ ค ิ มอุตสาหกรรมเหมราช ชลบุรี และระบบจําหน่ายก๊าซธรรมชาติ

หนวย: ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ที่ 1,000 บีทียูตอลูกบาศกฟุต โรงแยกกาซธรรมชาติ กาซธรรมชาติสําหรับยานยนต (NGV) ภาคอุตสาหกรรม ผูผลิตไฟฟารายเล็ก (SPP) ผูผลิตไฟฟาอิสระ (IPP) กฟผ. (EGAT)

ในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมเอเซีย สุวรรณภูมิ จังหวัดสมุทรปราการ เป็นต้น

> การจัดจําหนายกาซธรรมชาติในภาคขนสง การจําหน่ายก๊าซธรรมชาติในภาคขนส่งมีปริมาณเฉลี่ย 268 ล้านลูกบาศก์ ฟุตต่อวัน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 6 ของปริมาณจําหน่ายก๊าซธรรมชาติท้ังหมด ลดลงร้อยละ 6 จากปี 2559 ที่ 285 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ซึ่งเป็นผลมาจาก ราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกปรับลดลง น้ํามันเบนซินและดีเซลมีราคาถูกลงและ มีความสะดวกมากกว่า ขณะทีภ ่ าครัฐมีนโยบายลอยตัวราคา NGV และปรับเพิม ่ ค่า

ปริมาณจําหนาย ผลิตภัณฑจาก โรงแยกกาซธรรมชาติ

คุณภาพก๊าซธรรมชาติ ส่งผลให้ราคาขายปลีก NGV ในภาคขนส่งปรับเพิ่มขึ้น จึงทําให้ผู้บริโภคกลับไปใช้น้ํามันเบนซินและดีเซลมากขึ้น

หนวย: พันตัน

> การจัดจําหนายผลิตภัณฑจากโรงแยกกาซธรรมชาติ การใช้ก๊าซธรรมชาติสําหรับโรงแยกก๊าซธรรมชาติ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้กับก๊าซธรรมชาติมีปริมาณรวม 996 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 21 ของปริมาณการจําหน่ายทั้งหมด โดยเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 จากปี 2559 ที่ 946 ล้ า นลู ก บาศก์ ฟุ ต ต่ อ วั น เนื่ อ งจากในปี 2560 มี ก ารเพิ่ ม ความสามารถ ในการผลิ ต ของโรงแยกก๊ า ซธรรมชาติ หน่ ว ยที่ 6 ให้ ผ ลิ ต ได้ เ พิ่ ม ขึ้ น 40 ล้ า น ลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ตั้งแต่ไตรมาสที่ 4 ของปี 2560 ซึ่งช่วยให้โรงแยกก๊าซธรรมชาติ จํ า หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ เ พิ่ ม ขึ้ น ประกอบกั บ มี ก ารจั ด ทํ า กิ จ กรรมเพิ่ ม ผลผลิ ต (Productivity Improvement) อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ผลประกอบการของโรงแยก ก๊าซธรรมชาติดข ี น ึ้ ทัง้ จากการเดินเครือ ่ งหน่วยแยกก๊าซธรรมชาติมป ี ระสิทธิผลและ ประสิทธิภาพดีขึ้นและค่าใช้จ่ายการผลิตที่ลดต่ําลง

กาซเพนเทน กาซโซลีนธรรมชาติ กาซแอลพีจี (LPG) กาซโพรเพน กาซอีเทน


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

6,000

4,828

4,762

961

946

312 669

285 715

4,725

5,000 996 4,000

268 727

3,000 740 869 1,043 2,000

995 972 934

1,000

1,151 975 757

0

2558

2559

2560

8,000

6,423

6,454

7,000

26 695

24 721

2,738

2,794

765

856

2,199

2,059

2,333

2558

2559

2560

9,000

6,811 44 688

6,000 2,919

5,000 4,000 3,000

827

2,000 1,000 0

039


เมียนมา เวียดนาม

แผนที สดงโครงข X6่แ31 O_XD." าย ระบบทอY ส="งก าL<ซธรรมชาติ และโรงแยกก =J441 GาD ซธรรมชาติ "

ลาว

L&2==;%L/N X?JY="X< L&2==;%L/N

DN3:SH G; 3`M8G"

ประเทศไทย 3 =DA== <L.L3L

4 L3GO/ G"

1 LE?A"

3 ==L%DO;L X " G<

AK"3 G< %G/N L

W</L R3

"5 8=J3 =WE3QG 4L"5J " 8 3 8=J3 =Z/

ทะเลอันดามัน

=L%4R=ÿ D;R;R1=5=L L=

กัมพูชา

%?4R=ÿ 3N ;I %L<7 %L<7 " /JAK3GG

=J< J<G"

อาวไทย W4}#;LB 1L3/JAK3 5?L1G" 5?L1G" ´

XE? "6?N/ L&2==;%L/N Y="[99 L Y="X< L&2==;%L/N E3 A<1O_ û° ´° µ° ·° ¸ #K"EAK.=J<G" Y="X< L&2==;%L/N E3 A<1O_ ¶ #K"EAK.3 =B=ÿ2==;=L% ÉØ É ÐÝÜ ÍÚÕÑÖÉÔ ¬ ±û­

WG=LAK 3G;

[8?N3WE3QG 4" % 4" %Z/ D" " ?L

1 GD " L&I Z3G3L /

8č`31O_8K,3L= A; [1<±;LW?W&O< ¬ ­

DJW.L .L

ÍËÍÑÞÑÖÏ ÍÚÕÑÖÉÔ ¬ ±´­¼ ÝÜÝÚÍ 1 GD " L&I Z35 ##Ė43K

GL1N/<

[8?N3Z/

M?K" L=X< L&I G"Y="X< L&2==;%L/N

มาเลเซีย

E3 A<1O_ û E3 A<1O_ ´ X?J µ E3 A<1O_ ¶ E3 A<1O_ · E3 A<1O_ ¸

¶´ú ? L3?S 4LB 9ę// GAK3 º´ú ? L3?S 4LB 9ę// GAK3 û¹ú ? L3?S 4LB 9ę// GAK3 ·¹ú ? L3?S 4LB 9ę// GAK3 ººú ? L3?S 4LB 9ę// GAK3


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

กลุมธุรกิจนํ้ามัน

ดําเนินธุรกิจจําหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงในราคา ทีเ่ หมาะสมและเป็นธรรม โดยแบ่งออกเป็น 3 ชนิดผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ (1) ผลิตภัณฑ์ เชื้อเพลิง ซึ่งรวมน้ํามันเชื้อเพลิงและก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) (2) ผลิตภัณฑ์ หล่อลื่น ซึ่งรวมน้ํามันหล่อลื่นและผลิตภัณฑ์หล่อลื่นอื่น ๆ (3) ผลิตภัณฑ์และ บริการในธุรกิจค้าปลีก (Non-Oil) โดยมีช่องทางการจําหน่าย 3 ช่องทางหลัก คือ ั ผูบ ้ ริโภค ทัง้ การจําหน่าย 1) ตลาดค้าปลีก จําหน่ายผลิตภัณฑ์และบริการให้กบ ผ่านสถานีบริการน้ํามันและภายนอกสถานีบริการน้ํามัน ปตท. ในปี 2560 ปตท. มีการยกระดับรูปแบบการบริการของสถานีบริการน้ํามันจากแนวคิด PTT Life Station ก้าวสู่ Living Community ศูนย์กลางของชุมชน ที่เต็มไปด้วยความผูกพัน กับการใช้ชว ี ต ิ ของทุกคน ตอบสนองความต้องการทีห ่ ลากหลายของผูบ ้ ริโภคทุกคน ได้ อ ย่ า งครบครั น ไม่ ว่ า จะเป็ น สถานี บ ริ ก ารในรู ป แบบ PTT Friendly Design สัญลักษณ์แห่งความห่วงใย ที่พร้อมดูแลผู้บริโภคทุกเพศ ทุกวัย ทุกสภาพร่างกาย ให้ ส ามารถเข้ า ถึ ง และใช้ บ ริ ก ารได้ ทุ ก พื้ น ที่ ด้ ว ยความสะดวก ปลอดภั ย จั ด ทํ า โครงการ “แยก แลก ยิ้ม” ช่วยสร้างการมีส่วนร่วมของผู้บริโภคแยกขยะลงถัง ที่สถานีบริการ และนํารายได้จากการขายขยะที่ถูกคัดแยกไปสร้างรอยยิ้มให้กับ ชุมชนโดยรอบ มีการเปิดให้บริการ PTT Compact Model หรือสถานีบริการน้ํามัน ปตท. ขนาดเล็ก ซึ่งตั้งอยู่บนถนนสายรองที่เชื่อมระหว่างจังหวัดกับตัวอําเภอ เพื่อ เป็นการเพิ่มการให้บริการที่มีมาตรฐานเข้าถึงประชาชนทุกพื้นที่ จํานวน 45 สาขา ้ า ํ เนินการเอง นอกจากนี้ ปตท. ยังมีการสร้างสรรค์ธรุ กิจค้าปลีกใหม่ ๆ ที่ ปตท. เป็นผูด รวมถึงการแสวงหาพันธมิตรทางธุรกิจ SMEs เพือ ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ ร่วมกัน ช่วยสร้างงานสร้างอาชีพควบคูก ่ บ ั ช่วยดูแลคนไทยให้เติบโตไปด้วยกันอย่าง ยั่งยืน ในปี 2560 ปตท. ร่วมกับธนาคารกสิกรไทยให้การสนับสนุนผู้ประกอบการ ธุ ร กิ จ แฟรนไชส์ ฮั่ ว เซงฮงติ่ ม ซํ า เพื่ อ ส่ ง เสริ ม SMEs ไทยให้ ส ามารถสร้ า งงาน ด้ ว ยตนเองในรู ป แบบ Quick Service Restaurant (QSR) และจั ด พื้ น ที่ เ ป็ น ช่ อ งทางให้ ชุ ม ชนนํ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ภาพมาจํ า หน่ า ยถึ ง มื อ ผู้ บ ริ โ ภคโดยตรง

041


042

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

ที่สถานีบริการน้ํามัน รวมถึงการจับมือกับไปรษณีย์ไทยพัฒนา

ปตท. ซึง่ ส่วนใหญ่ ปตท. ถือหุน ้ ร้อยละ 100 เช่น ธุรกิจค้าปลีกและ

ช่ อ งทางการจํ า หน่ า ยสิ น ค้ า ชุ ม ชน ผ่ า นระบบ E-Commerce

สถานีบริการในประเทศ ธุรกิจผสมและบรรจุนา ้ํ มันหล่อลืน ่ เป็นต้น

ในสถานีบริการน้ํามัน สนับสนุนการกระจายผลิตภัณฑ์ของชุมชน

ธุรกิจน้า ํ มันเป็นธุรกิจการค้าเสรีทม ่ี ก ี ารแข่งขันสูงและอยูภ ่ ายใต้

สิ น ค้ า OTOP และ SMEs ได้ อ ย่ า งทั่ ว ถึ ง ทั้ ง ในประเทศและ

การกํ า กั บ ดู แ ลด้ ว ยกฎหมายหลายฉบั บ เช่ น พระราชบั ญ ญั ติ

ระหว่ า งประเทศ ซึ่ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง ความร่ ว มมื อ ในการเติ ม เต็ ม

การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติควบคุมน้ํามัน

การให้ บ ริ ก ารอย่ า งครบวงจรของสถานี บ ริ ก ารน้ํ า มั น ปตท.

เชื้ อ เพลิ ง พ.ศ. 2542 พระราชบั ญ ญั ติ ก ารค้ า น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง

นอกจากนี้ ปตท. ยังสร้างความผูกพันกับผู้บริโภคอย่างต่อเนื่อง

พ.ศ. 2543 ฯลฯ โดย ปตท. เป็นหนึ่งในผู้ค้าน้ํามันตามมาตรา 7

ผ่ า นบั ต ร PTT Blue Card ที่ ปั จ จุ บั น มี ก ารขยายฐานลู ก ค้ า ที่ มี

ที่ จ ดทะเบี ย นกั บ ก รม ธุ รกิ จพลั ง ง า นจํ า นวนรวม 47 ราย

ความผูกพันต่อ ปตท. มาเป็นสมาชิกกว่า 2,800,000 ราย โดย

(ณ เดือนธันวาคม 2560) โดยปัจจัยทีส ่ ง่ ผลกระทบต่อผลประกอบการ

ปตท. ได้พัฒนาการสร้างความสัมพันธ์ที่มีรูปแบบเฉพาะสําหรับ

คือ ความผันผวนของสถานการณ์ราคาน้ํามันในตลาดโลก และ

สมาชิกแต่ละกลุ่มที่มีลักษณะพื้นฐานและความต้องการเฉพาะ

สภาพเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อกําลังซื้อของผู้บริโภค และความสําเร็จ

ที่แตกต่างกัน ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกจาก Big Data อีกทั้ง

ของการขยายธุรกิจค้าปลีกที่มีอัตราการเติบโตสูงอย่างต่อเนื่อง

ยังมีการพัฒนา PTT Blue Card Mobile Application ทั้งในระบบ

ความสําเร็จของธุรกิจน้า ํ มันในปี 2560 เป็นผลจากการกําหนด

Android และ iOS เพื่อให้สมาชิกสามารถรับสิทธิประโยชน์จาก

กลยุทธ์ความเป็นเลิศทางการตลาด (Marketing Excellence)

ร้านค้าชั้นนําต่าง ๆ ผ่านโทรศัพท์มือถือ Smart Phone ได้อีกด้วย

เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่หลากหลาย จึงทําให้

2) ต ล า ด พ า ณิ ช ย์ จํ า หน่ า ยให้ กั บ กลุ่ ม ลู ก ค้ า ราชการ

ต่อเนื่องเป็นปีที่ 25 มีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 40.5 สูงกว่าปีก่อน

รัฐวิสาหกิจ อุตสาหกรรม อากาศยาน เรือขนส่ง เรือประมง เพือ ่ นํา

ร้ อ ยละ 0.1 และเป็ น ผู้ นํ า ในตลาดผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ล่ อ ลื่ น ต่ อ เนื่ อ ง

ผลิตภัณฑ์ไปใช้ในการดําเนินธุรกิจ รวมถึงการจําหน่ายผลิตภัณฑ์

เป็นปีที่ 9 โดยมีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 34.5 โดยผลดําเนินงาน

ไปยังตลาดต่างประเทศ

ของหน่วยธุรกิจน้ํามันสรุปได้ดังนี้

ปตท. สามารถครองความเป็นผู้นําในตลาดผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิง

3) ตลาดผู้ค้าส่งมาตรา 7 และมาตรา 10 จําหน่ายให้กับ กลุ่มผู้ค้ามาตรา 7 และมาตรา 10 ตามพระราชบัญญัติการค้า

> การจําหนายผลิตภัณฑเชื้อเพลิง ปี 2560 ปตท. มี ป ริ ม าณจํ า หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ชื้ อ เพลิ ง ในประเทศรวม 20,529 ล้านลิตร เพิ่มขึ้นจากปี 2559 จํานวน

น้ํามันเชื้อเพลิง

426 ล้ า นลิ ต ร ประกอบด้ ว ย น้ํ า มั น เบนซิ น 4,614 ล้ า นลิ ต ร นอกจากนี้หน่วยธุรกิจน้ํามันได้บริหารการลงทุนในธุรกิจและ บริการที่เกี่ยวเนื่องกับการดําเนินธุรกิจน้ํามันผ่านบริษัทในกลุ่ม

ผูนําในตลาด ผลิตภัณฑหลอลื่น ตอเนื่องเปนปที่ มีสวนแบงการตลาด

9

รอยละ

34.5

ผูนําในตลาด ผลิตภัณฑเชื้อเพลิง ตอเนื่องเปนปที่ มีสวนแบงการตลาด

25

รอยละ

40.5

น้า ํ มันดีเซล 8,238 ล้านลิตร น้า ํ มันเครือ ่ งบินและน้า ํ มันก๊าด 3,264 ล้านลิตร น้ํามันเตา 1,404 ล้านลิตร และ LPG 3,009 ล้านลิตร


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

043

สํ า หรั บ ค่ า การตลาด (กํ า ไรขั้ น ต้ น ของผู้ ค้ า น้ํ า มั น ตาม

จากไลฟ์ ส ไตล์ ข องคนยุ ค ใหม่ ที่ ต้ อ งการความรวดเร็ ว

มาตรา 7 และเจ้าของสถานีบริการ) ทัง้ ปีมีคา ่ เฉลีย ่ อยูท ่ ี่ 1.68 บาท

ในการเข้าถึงสินค้าและบริการ ปตท. มีการพัฒนาร้านคาเฟ่อเมซอน

ต่อลิตร ซึ่งยังต่ํากว่าค่าการตลาดที่เหมาะสมที่ 1.8 - 2.2 บาท

รูปแบบ Drive Thru โดยเริม ่ เปิดให้บริการสาขาแรกในสถานีบริการ

ต่อลิตร ซึ่งเป็นระดับที่เหมาะสมสําหรับผลตอบแทนการลงทุน

น้ํามัน ปตท. สาขาพระราม 2 (ขาออก) เพื่ออํานวยความสะดวก

ของผู้ค้าน้ํามันตามมาตรา 7 และเจ้าของสถานีบริการน้ํามัน

ให้ กั บ คนรั ก กาแฟและผู้ ขั บ ขี่ ใ ช้ บ ริ ก ารผ่ า นระบบ Drive Thru

ทั้งนี้ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2560 ปตท. มีสถานีบริการ รวม 1,627 แห่งทั่วประเทศ คิดเป็นร้อยละ 6.4 ของสถานีบริการ

เพือ ่ ประหยัดเวลาไม่ตอ ้ งเสียเวลาหาทีจ ่ อดรถ สามารถเดินทางต่อ ได้ทันที

น้ํามันทั่วประเทศ สถานีเติมน้ํามันอากาศยาน 11 แห่ง คลังน้ํามัน

จากรูปแบบการให้บริการของสถานีบริการน้ํามัน ปตท.

20 แห่ง (เป็นคลังปตท. 9 แห่ง และใช้บริการภายนอก 11 แห่ง)

ในประเทศ ที่ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้บริโภค ได้นําไป

คลังก๊าซ 4 แห่ง (เป็นคลัง ปตท. 3 แห่ง และใช้บริการภายนอก

เป็นต้นแบบของสถานีบริการขยายไปสูป ่ ระเทศเพือ ่ นบ้าน เพือ ่ ช่วย

1 แห่ง) คลังปิโตรเลียม 5 แห่ง และโรงบรรจุก๊าซ 4 แห่ง

ผลักดันให้ตราสินค้าไทยเป็นที่รับรู้ สร้างความภาคภูมิใจให้กับ คนไทย เกิดการยอมรับจากผู้บริโภคในต่างประเทศว่าสินค้าไทย

> การจําหนายผลิตภัณฑหลอลื่น

เป็นสินค้าที่มีคุณภาพ โดยในปี 2560 มีการขยายสถานีบริการ

ปตท. มุ่ ง มั่ น ในการผลั ก ดั น Brand PTT Lubricants

น้ํามัน ปตท. ในต่างประเทศจํานวน 33 แห่ง เช่น สถานีบริการ

ที่เป็น Brand ของคนไทยสู่การเป็น Global Brand โดยยังคงรักษา

น้ํ า มั น ปตท. เปิ ด บริ ก ารตลอด 24 ชั่ ว โมง ที่ ส าขาเนี๊ ย กวั น

ความเป็ น ผู้ นํ า ด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ล่ อ ลื่ น ภายในประเทศที่ มี ส่ ว น

กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา เป็นต้น

แบ่งตลาดเป็นอันดับหนึง่ ควบคูไ่ ปกับการขยายตลาดต่างประเทศ

เพือ ่ ให้การบริหารจัดการและการถ่ายทอดองค์ความรูเ้ ป็นไป

โดยเฉพาะภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้ และประเทศจีน

อย่ า งยั่ ง ยื น และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ปตท. ได้ จั ด ตั้ ง Oil Business

โดย ปตท. ได้สง่ ออกผลิตภัณฑ์หล่อลืน ่ ไปจําหน่ายยังต่างประเทศ

Academy (OBA) เพือ ่ เป็นกลไกหลักในการถ่ายทอดองค์ความรูห ้ ลัก

แล้ว 39 ประเทศ ในปี 2560 ปตท. พัฒนาผลิตภัณฑ์หล่อลื่นใหม่

ที่ สํ า คั ญ และจํ า เป็ น ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ น้ํ า มั น ให้ กั บ บุ ค ลากร

รวม 8 ชนิ ด เพื่ อ ตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า

ทั้งของ ปตท. คู่ค้า และลูกค้า ร่วมกันพัฒนาขีดความสามารถ

และการเปลี่ ย นแปลงเทคโนโลยี ย านยนต์ มุ่ ง สู่ ก ารเป็ น ผู้ นํ า

บุ ค ลากรทั้ ง หมดที่ เ กี่ ย วข้ อ งให้ มี ศั ก ยภาพในการปฏิ บั ติ ง าน

ด้านเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม

มีความพร้อมรองรับการขยายธุรกิจทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ รวมถึ ง Amazon Inspiring Campus (AICA) เป็ น ศู น ย์ ก ลาง

> การจําหนายผลิตภัณฑธุรกิจคาปลีก

ในการพั ฒ นาความพร้ อ มของบุ ค ลากรในธุ ร กิ จ คาเฟ่ อ เมซอน

ปตท. ได้ เ ลื อ กสรรธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก หรื อ Non-Oil เพื่ อ

มุง่ เน้นการสร้างมาตรฐานและคุณภาพการให้บริการด้วยทีม Audit

ตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของผู้บริโภคและเติมเต็ม

และหลั ก สู ต รการฝึ ก อบรมสํ า หรั บ เจ้ า ของร้ า น (Franchisee)

ความสมบูรณ์ของสถานีบริการ ให้มีความเหมาะสม ลงตัวสําหรับ

และพนั ก งาน (Barista) รวมถึ ง การออก Product Line ใหม่

แต่ละทําเลที่ตั้ง โดยธุรกิจ Non-Oil ถือเป็นส่วนสําคัญที่ทําให้

อย่างต่อเนือ ่ งหรือพัฒนาองค์ความรูท ้ ส ี่ า ํ คัญให้แก่คค ู่ า ้ และลูกค้า

ธุ ร กิ จ สถานี บ ริ ก ารในภาพรวมมี ผ ลตอบแทนที่ ดี ขึ้ น จากราย

ของ ปตท. ให้มีศักยภาพ

ได้เสริมของธุรกิจ Non-Oil ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2560 ปตท. มี ร้ า นค้ า สะดวกซื้ อ 7-Eleven 1,468 แห่ ง เพิ่ ม ขึ้ น 118 แห่ ง จากปี 2559 ร้านกาแฟคาเฟ่อเมซอน 2,123 แห่ง เพิม ่ ขึน ้ 406 แห่ง

> การลงทุนในโครงสรางพื้นฐาน ของหนวยธุรกิจนํ้ามัน

จากปี 2559 Texas Chicken 14 แห่ง เพิ่มขึ้น 5 แห่ง จากปี 2559

ปตท. ให้ความสําคัญกับการลงทุนเพื่อสร้างความมั่นคง

ฮัว ่ เซ่งฮงติม ่ ซํา 34 แห่ง เพิม ่ ขึน ้ 29 แห่ง จากปี 2559 ธุรกิจยานยนต์

ด้านพลังงานให้กับประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทําแผน

117 แห่ง ลดลง 7 แห่ง จากปี 2559

แม่บทโครงสร้างพื้นฐานของหน่วยธุรกิจน้ํามัน วางแผนพัฒนา

เพือ ่ สนองนโยบาย National e-Payment ของรัฐบาล ปตท.

เครื อ ข่ า ยคลั ง และระบบขนส่ ง อย่ า งเป็ น ระบบ เช่ น การขยาย

ร่วมกับธนาคารกสิกรไทย นํานวัตกรรมการชําระเงินด้วย QR Code

ขีดความสามารถของคลังน้าํ มันสุราษฎร์ธานี เพือ ่ รองรับการขยายตัว

Payment มาใช้ในร้านค้าปลีกของ ปตท. สร้างประสบการณ์ใหม่

ทางเศรษฐกิจทีส ่ ง่ ผลให้ความต้องการใช้นา ้ํ มันในเขตพืน ้ ทีภ ่ าคใต้

ในการซื้อสินค้าและบริการ เพิ่มความสะดวก และความมั่นใจ

เป็นต้น

ให้กับผู้บริโภคขึ้นไปอีกขั้น ด้วยการใช้ Dynamic QR Code ชําระ ค่าสินค้าและบริการแทนเงินสด ซึ่งมีความถูกต้องเที่ยงตรงและ ไม่ต้องจ่ายค่าธรรมเนียมอืน ่ ใด


เมียนมา เวียดนาม

แผนที่แสดง คลังปโตรเลียม คลังนํ้ามัน คลังกาซปโตรเลียมเหลว และสถานีเติมนํ้ามัน อากาศยาน

ลาว W%O<"=L< W%O<"ZE;

W. 3%K<

G.R=2L3O

DY R 1 <K

T C ( G3 X 3 )

8CN- YR?

ประเทศไทย 3 =DA==

PTTRM, TL

D3L; 43NDAR ==- : ;S N B==OL%L Q8 MTT

8=JY 3"³ ³ 4L"#L 8=J5=JX." P S P D; 1R =DL = 4L"# JW ="^

4 L3Y="Y5 J

อาวไทย %;R 8= D; <R

?"K3MM` ; 3K

DR=LC(= 2L3O

?"K ³ D0L31O ;_O O3MM` ; 3K GL LB< L3W 4^DMM=G"G<S [สถานที่] ?"KZ% 4= NL=: L< 3G [สถานที่] ?"K 5/1 .

3 =B=2O==; =L% /

=J4O_

กัมพูชา /=L. L.

EAK E3N

?K" L&5 Y/=W?O<;WE?A

G4R?=L%2L3 O

M? S L TL

D3L; 43N.G3W

ทะเลอันดามัน

; /N=6 ? (%<K : ; )N

D=J4=RO

FPT 4L"5JG3N

G3X 3

D" ?L EL.ZE} 5 //L3O3O3

มาเลเซีย


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ปริมาณการจําหนาย ผลิตภัณฑปโตรเลียม ในประเทศ หนวย: ลานลิตร หมายเหตุ: ไมรวมปริมาณกาซปโตรเลียมเหลว ที่จําหนายเปนวัตถุดิบปโตรเคมี ไมรวมผลิตภัณฑหลอลื่น กาซปโตรเลียมเหลว นํ้ามันเตา นํ้ามันเครื่องบิน/ นํ้ามันกาด นํ้ามันดีเซล นํ้ามันเบนซิน

045

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

30,000

20,103

20,529

2,982 1,478 3,042

3,009 1,404 3,264

8,179

8,238

4,422

4,614

3,942

2558

2559

2560

22,500

19,079

15,000

3,069 1,482 2,714 7,871

7,500

0

สวนแบงตลาดในประเทศ หนวย: รอยละ หมายเหตุ: กราฟแสดงสวนแบงการตลาด ของผลิตภัณฑรวม

7.4%

7.4% 21.1%

9.4% 10.8%

ปตท. เอสโซ บางจาก เชลล เชฟรอน อื่น ๆ

หนวย: ลานลิตร ที่มา: กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน

20.7%

11.0%

11.5%

9.6%

11.2%

11.2% 40.4% 40 4%

40 5% 40.5%

2559

2560

200 180 160

158

150

2559

2560

142

140 120 100 80 60 40 20 0

2558

20.4%

11.2%

39.9%

2558

ปริมาณการจําหนาย ผลิตภัณฑหลอลื่น ในประเทศ

7.1%

9.4%


046

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

กลุมธุรกิจ การคาระหวางประเทศ

ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ การค้ า ระหว่ า งประเทศครบวงจร เพื่ อ สร้ า ง

ความสําเร็จของหน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศในปี 2560

ความมั่ น คงทางด้ า นพลั ง งานให้ กั บ ประเทศไทย ควบคู่ ไ ปกั บ

เป็นผลมาจากการขยายเครือข่ายทางการค้าครอบคลุมทุกภูมภ ิ าค

การขยายฐานการค้าไปยังทุกภูมภ ิ าคทัว ่ โลก ครอบคลุมการจัดหา

อย่างต่อเนือ ่ ง ผ่านการดําเนินงานของบริษท ั ในเครือและสํานักงาน

การนําเข้า การส่งออก และการค้าระหว่างประเทศของผลิตภัณฑ์

ตัวแทนที่กระจายอยู่ในจุดยุทธศาสตร์การค้าทุกภูมิภาคทั่วโลก

ต่ า ง ๆ ได้ แ ก่ น้ํ า มั น ดิ บ คอนเดนเสท ก๊ า ซปิ โ ตรเลี ย มเหลว

ตลอดจนการจั ด รู ป แบบการบริ ห ารงานแบบ Global Book

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ํ า มั น สํ า เร็ จ รู ป ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเคมี ตั ว ทํ า ละลาย

Portfolio ทํ า ให้ ส ามารถบริ ห ารจั ด การธุ ร กรรมการค้ า ได้ อ ย่ า ง

เคมีภัณฑ์ ถ่านหิน น้ํามันปาล์มดิบ น้ํามันปาล์มสําเร็จรูป กะลา

มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ควบคู่ ไ ปกั บ การใช้ ค วามรู้ ความเชี่ ย วชาญ

ปาล์ม และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ รวมทั้งให้บริการบริหารความเสี่ยง

และประสบการณ์ ก ารให้ บ ริ ก ารการขนส่ ง ระหว่ า งประเทศและ

ด้านราคา และจัดหาการขนส่งระหว่างประเทศ เพื่อสนับสนุน

การบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ โดยมีผลการดําเนินงาน

การดําเนินธุรกิจที่มีเป้าหมายหลักในการเป็นบริษัทการค้าสากล

ที่สําคัญสรุปได้ดังนี้

ชั้ น นํ า ของโลก ที่ ส ร้ า งความมั่ น คงทางพลั ง งานให้ กั บ ประเทศ และสร้างความภาคภูมิใจให้คนไทยในเวทีการค้าสากล

1) การจัดหาพลังงานให้กับประเทศอย่างเพียงพอ

ผลประกอบการของหน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศขึ้นอยู่

หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศมีหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบ

กับการแสวงหาโอกาสในการขยายธุรกรรมการค้านอกประเทศ

และภารกิ จ หลั ก ในการจั ด หาน้ํ า มั น ดิ บ และคอนเดนเสทให้ กั บ

จึ ง ได้ จั ด ตั้ ง บริ ษั ท ลู ก และสํ า นั ก งานตั ว แทนในจุ ด ศู น ย์ ก ลาง

โรงกลัน ่ ในกลุม ่ ปตท. เพือ ่ สร้างความมัน ่ คงทางพลังงานและสร้าง

การค้าต่าง ๆ ของโลก อาทิ ประเทศสิงคโปร์ กรุงดูไบ สหรัฐอาหรับ

มูลค่าเพิ่มให้กับทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ ผ่านการจัดหา

เอมิเรตส์ นครเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน กรุงจาการ์ตา

แหล่ ง พลั ง งานทั้ ง จากในประเทศและนอกประเทศมาจั ด สรร

ประเทศอินโดนีเซีย และกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ส่งผลให้

ให้กับโรงกลั่นน้ํามันและโรงปิโตรเคมีตามสัดส่วนและคุณภาพ

หน่ ว ยธุ ร กิ จ การค้ า ระหว่ า งประเทศ มี ธุ ร กรรมการค้ า กั บ คู่ ค้ า

ที่เหมาะสม โดยในปี 2560 หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

ครอบคลุ ม ทุ ก ภู มิ ภ าคทั่ ว โลก และเนื่ อ งจากธุ ร กรรมการค้ า

สามารถจัดหาน้ํามันดิบและคอนเดนเสทจากแหล่งในประเทศ

ระหว่ า งประเทศเป็ น ธุ ร กรรมที่ มี มู ล ค่ า สู ง หน่ ว ยธุ ร กิ จ การค้ า

ปริมาณทั้งสิ้น 10,329 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 95 ของปริมาณ

ระหว่างประเทศจึงวางระบบควบคุมความเสีย ่ งตาม Best Practice

การผลิตของประเทศไทย และการจัดหาน้า ํ มันดิบและคอนเดนเสท

ที่ Trading House ชั้นนําในระดับสากลใช้เป็นแนวปฏิบัติ กล่าวคือ

จากแหล่งผลิตในต่างประเทศที่มีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น

มี ค ณะกรรมการที่ ทํ า หน้ า ที่ กํ า หนดนโยบายและกํ า กั บ ดู แ ล

นอกเหนือไปจากการนําเข้าจากประเทศผู้ผลิตในตะวันออกกลาง

การบริหารความเสีย ่ งในด้านต่าง ๆ และแบ่งโครงสร้างการทํางาน

ซึง่ มีความเสีย ่ งด้านความมัน ่ คงทางการเมือง อาทิ แหล่งน้า ํ มันดิบ

และบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจนเป็นแบบ Front-Mid-Back เพื่อให้

ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก แอฟริกา และอเมริกา เพื่อให้มั่นใจได้ว่า

เกิดการตรวจสอบแบบถ่วงดุล (Check & Balance) และมีการนํา

ประเทศไทยจะมีน้ํามันดิบเข้ากลั่นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2560

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการดําเนินธุรกรรมต่าง ๆ เพือ ่

มี ก ารนํ า เข้ า ทั้ ง สิ้ น 31,211 ล้ า นลิ ต ร หรื อ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 58

ให้สามารถตรวจสอบได้อย่างรวดเร็ว โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ

ของปริมาณการนําเข้าของประเทศไทย


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การนําเขานํ้ามันดิบ จากประเทศผูผลิต แบงตามภูมิภาคตาง ๆ

1%

4%

1% 5%

22% 23%

เอเชียแปซิฟิก แอฟริกา อเมริกา ตะวันออกกลาง ในประเทศ

047

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

22% 45%

47%

47% 29% 27%

2558

นอกจากนี้ หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศยังทําหน้าทีน ่ าํ เข้า

25%

2559

2560

3) การขยายฐานการค้าครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่วโลก

กลุ่มผลิตภัณฑ์น้ํามันสําเร็จรูปเพื่อรองรับปริมาณความต้องการ

นอกเหนื อ ไปจากภารกิ จ ในการสร้ า งความมั่ น คงทาง

ใช้พลังงานของประเทศที่สูงขึ้นในบางช่วงเวลา อาทิ การนําเข้า

พลั ง งานผ่ า นการจั ด หาผลิ ต ภั ณ ฑ์ และการสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม

น้ํ า มั น เบนซิ น พื้ น ฐาน (GBASE) สํ า หรั บ การผลิ ต แก๊ ส โซฮอล

ให้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ส่ ว นเกิ น ผ่ า นการส่ ง ออกแล้ ว หน่ ว ยธุ ร กิ จ การค้ า

การนําเข้าก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) สําหรับภาคอุตสาหกรรม

ระหว่างประเทศยังมุง่ เน้นการขยายธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศ

ํ มันเตาเพือ ่ เป็นเชือ ้ เพลิง ภาคขนส่ง และภาคครัวเรือน การนําเข้าน้า

ให้ครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่วโลก ผ่านการดําเนินงานของบริษัท

สํารองการผลิตไฟฟ้าของประเทศ โดยในปี 2560 มีการนําเข้า

ในเครือและสํานักงานตัวแทนที่ตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์การค้า

ทั้ ง สิ้ น 1,260 ล้ า นลิ ต ร หรื อ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 33 ของปริ ม าณ

ด้านพลังงานทีส ่ า ํ คัญของโลกทัง้ ในฝัง่ ซีกโลกตะวันออกและซีกโลก

การนําเข้าของประเทศไทย

ตะวันตก เพื่อให้สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและสถานการณ์ ่ โมง รวมถึงการติดต่อประสาน ความเคลือ ่ นไหวต่าง ๆ ได้ตลอด 24 ชัว

2) การสร้างมูลค่าเพิม ่ ให้กบ ั ผลิตภัณฑ์สว ่ นเกินของประเทศ

งานกับลูกค้าและคูค ่ า ้ ของ ปตท. ในภูมิภาคต่าง ๆ ได้อย่างใกล้ชิด

บทบาทในการเป็นผู้รักษาสมดุลทางพลังงานและสร้าง

ตลอดจนการแสวงหาโอกาสในการเพิ่ ม มู ล ค่ า และต่ อ ยอด

ความมั่ ง คั่ ง ทางเศรษฐกิ จ ให้ กั บ ประเทศเป็ น อี ก หนึ่ ง ภารกิ จ

การทําการค้าในภูมภ ิ าคใหม่ ๆ เพิม ่ มากขึน ้ ทัง้ นีห ้ น่วยธุรกิจการค้า

ที่สําคัญของหน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ ผ่านการสร้าง

ระหว่างประเทศใช้การบริหารงานแบบ Global Book Portfolio

ความร่วมมือกับกลุ่มบริษัทโรงกลั่น โรงปิโตรเคมี และโรงแยก

เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทําธุรกรรมการค้า และสร้างมูลค่า

ก๊าซธรรมชาติ ปตท. เพื่อส่งออกกลุ่มผลิตภัณฑ์น้ํามันสําเร็จรูป

สูงสุดให้กับกลุ่ม ปตท. ทําให้ในปี 2560 มีปริมาณธุรกรรมการค้า

และกลุ่มผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ที่เกินจากความต้องการใช้ภายใน

นอกประเทศ (Out-Out Trading) รวม 32,298 ล้านลิตร เพิ่มขึ้น

ประเทศ อาทิ น้าํ มันเตา น้าํ มันดีเซลคุณภาพต่าํ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว

ร้อยละ 9.0 เทียบกับปี 2559

(LPG) ก๊ า ซโซลี น ธรรมชาติ (NGL) ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ายโอเลฟิ น ส์ และอะโรเมติกส์ โดยมีเป้าหมายในการเพิ่มมูลค่าและนํารายได้ จากการส่งออกกลับเข้ามาให้กับประเทศ ทั้งนี้ในปี 2560 หน่วย ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ มีการส่งออกกลุ่มผลิตภัณฑ์น้ํามัน สําเร็จรูปรวม 4,059 ล้านลิตร หรือคิดเป็นร้อยละ 36 ของปริมาณ การส่งออกของประเทศไทย ในส่วนของกลุ่มผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี มีการส่งออกรวม 1,865 ล้านลิตร


048

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

ปริมาณการคา ระหวางประเทศ

80,000

67,927 -9.18% 70,000

22,472 , 2 9,579

60,000 หนวย: ลานลิตร ไมรวมธุรกรรมการคา ที่ดําเนินการผานบริษัทในเครือ ปโตรเคมี นํ้ามันสําเร็จรูป คอนเดนเสท นํ้ามันดิบ

7,439

-9.75%

61,690 55,678 22,573 ,573 5,714 8,049

50,000

11,865 ,865 4,059 7,601

40,000 30,000

48,436 45,354

42,153

2559

2560

20,000 10,000 0

2558

ในปี 2560 หน่ ว ยธุ ร กิ จ การค้ า ระหว่ า งประเทศ มี ป ริ ม าณ

ทัง้ นีใ้ นปี 2560 เมือ ่ รวมธุรกรรมการค้าทีด ่ า ํ เนินการโดยหน่วย

การค้ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเลี ย มและปิ โ ตรเคมี 55,678 ล้ า นลิ ต ร

ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศและบริษท ั ในเครือ จะมีปริมาณการค้า

ลดลง 6,013 ล้ า นลิ ต ร หรื อ ร้ อ ยละ 9.75 เที ย บกั บ ปี 2559

รวม 76,236 ล้านลิตร เพิ่มขึ้น 1,769 ล้านลิตร หรือร้อยละ 2.4

จากปริ ม าณการค้ า กั บ บริ ษั ท น้ํ า มั น แห่ ง ชาติ ใ นภู มิ ภ าคลดลง

เทียบกับปี 2559 โดยในปี 2560 มีปริมาณการค้าที่ดําเนินการ

อั น เป็ น ผลมาจากนโยบายพึ่ ง พาพลั ง งานภายในประเทศ

ผ่านบริษัทในเครือรวม 22,902 ล้านลิตร เพิ่มขึ้นร้อยละ 44.4

ของประเทศผู้ นํ า เข้ า ประกอบด้ ว ยการค้ า น้ํ า มั น ดิ บ 42,153

เที ย บกั บ ปี 2559 อั น เป็ น ผลจากความมุ่ ง มั่ น ในการขยายฐาน

ล้ า นลิ ต ร การค้ า คอนเดนเสท 7,601 ล้ า นลิ ต ร การค้ า น้ํ า มั น

การค้ า ในต่ า งประเทศเพื่ อ สร้ า งความมั่ น คงทางพลั ง งานให้ กั บ

สํ า เร็ จ รู ป และก๊ า ซปิ โ ตรเลี ย มเหลว 4,059 ล้ า นลิ ต ร การค้ า

ประเทศ และสร้างความภาคภูมิใจให้คนไทยในเวทีการค้าสากล

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเคมี แ ละตั ว ทํ า ละลาย 1,865 ล้ า นลิ ต รและ การค้าผลิตภัณฑ์อน ื่ ๆ อาทิ น้า ํ มันปาล์มดิบ น้า ํ มันปาล์มสําเร็จรูป และกะลาปาล์ม ปริมาณการค้ารวมทั้งสิ้น 52 ล้านกิโลกรัม

กลุมธุรกิจโครงสรางพื้นฐาน และบริหารความยั่งยืน


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

049

ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ โดยมุ่ ง เน้ น การบริ ห ารจั ด การผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย

ปตท. (สวญ.) เป็นหน่วยงานหลักของ ปตท. ที่มีหน้าที่ดําเนินงาน

ให้มค ี วามสมดุลและโปร่งใส มีธรรมาภิบาล เพือ ่ สนองต่อนโยบาย

ดั ง กล่ า ว และมี ก ารบริ ห ารการลงทุ น ผ่ า นบริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท.

ของรัฐในการแยกระบบท่อก๊าซฯ ออกจากธุรกิจก๊าซฯ เพื่อรองรับ

ที่ดําเนินธุรกิจและบริการเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐาน

การตรวจสอบแล้ว ยังเป็นการรองรับการขยายตัวของการดําเนิน

ความสํ า เร็ จ ของกลุ่ ม ธุ ร กิ จ โครงสร้ า งพื้ น ฐานได้ เ สริ ม สร้ า ง

ธุรกิจที่เติบโตอย่างรวดเร็วของ ปตท. เสริมสร้างความเชื่อมโยง

ความเชื่ อ มโยงในการบริ ห ารจั ด การกลุ่ ม ธุ ร กิ จ หลั ก ของ ปตท.

ในการบริหารจัดการกลุ่มธุรกิจหลักของ ปตท. และเสริมสร้าง

โดยการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของกลไกและลดความซั บ ซ้ อ น

โอกาสทางธุ ร กิ จ ใหม่ ๆ ต่ อ เนื่ อ งจากกิ จ กรรมธุ ร กิ จ ให้ บ ริ ก าร

ในการบริหารจัดการและการให้บริการระหว่าง ปตท. และบริษัท

โครงสร้างพืน ้ ฐาน เช่น การลงทุน และการก่อสร้างโครงการใหม่ ๆ

ในกลุ่ ม ปตท. รวมถึ ง ดํ า เนิ น งานด้ า นการวิ จั ย และพั ฒ นา

การบริหารจัดการทรัพย์สินของ ปตท. ให้เกิดประโยชน์เพิ่มขึ้น

อย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นการเสริมสร้างฐานทางด้านเทคโนโลยี

อาทิ ที่ดิน อาคาร สิ่งปลูกสร้าง อีกทั้งยังเป็นการสร้างความพร้อม

(Technology Base Structure) และขีดความสามารถของนักวิจัย

ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ โครงสร้ า งพื้ น ฐานและสาธารณู ป โภค

ให้เป็นผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา รวมทั้งกําหนดกลไกการดําเนิน

ในลักษณะเบ็ดเสร็จ สร้างความเชีย ่ วชาญให้กบ ั บุคลากรของ ปตท.

งานให้ มี ก ระบวนการเชื่ อ มโยงการทํ า งานระหว่ า งสถาบั น วิ จั ย

เพื่ อ รองรั บ การเป็ น ศู น ย์ ก ลางแห่ ง ความเป็ น เลิ ศ ในการบริ ห าร

และเทคโนโลยี ปตท. และกลุม ่ ธุรกิจ โดยในปี 2560 ได้เพิม ่ เติมบริการ

จัดการโครงการอย่างมืออาชีพ รองรับต่อการเติบโตทัง้ ในประเทศ

Patent Landscape เพื่อให้บริการด้าน Intellectual Property (IP)

และต่างประเทศ

แก่หน่วยงานต่าง ๆ 31 รายการ

กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานและบริหารความยั่งยืน ประกอบ ด้วยสายงานภายใต้ ดังนี้ 1) สายงานบริหารความยั่งยืน ประกอบด้วย งานคุณภาพ

โดย ปตท. มีผลสําเร็จของธุรกิจโครงสร้างท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ที่สําคัญ ดังนี้ •

โครงการเพิ่ ม ความดั น ท่ อ ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ใ นทะเล

ความมั่ น คง ความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสิ่ ง แวดล้ อ ม

(Offshore Compressor) ได้ดําเนินการติดตั้งและทดสอบหน่วย

(QSSHE) งานบริหารจัดการสูค ่ วามยัง่ ยืนกลุม ่ ปตท. (PTT Group

เพิ่มความดันแล้วเสร็จ

Sustainability Management) และงานพัฒนาระบบปฏิบัติการ สูค ่ วามเป็นเลิศกลุม ่ ปตท. (PTT Group Excellence Transformation)

โครงการท่ อ ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ นครราชสี ม า ระยะที่ 1

ก่อสร้าง วางท่อและสถานีควบคุมความดันก๊าซฯ แล้วเสร็จเมือ ่ วันที่

2) สายงานวิ ศ วกรรมและบริ ก ารโครงการ ประกอบด้วย

20 ธันวาคม 2559 โดยมีความยาวประมาณ 111 กิโลเมตร สําหรับ

งานบริ ห ารโครงการด้ า นวิ ศ วกรรมและการก่ อ สร้ า ง รวมทั้ ง

ระยะที่ 2 อยู่ระหว่างการดําเนินการก่อสร้างโดยได้ดําเนินการ

การจัดการทีด ่ น ิ และการประเมินโครงการทีเ่ กีย ่ วกับความปลอดภัย

ก่อสร้างและวางท่อก๊าซแล้วบางส่วนคิดเป็นระยะทางประมาณ

สิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชน การจัดทําข้อกําหนดเพื่อสนับสนุน

17 กิโลเมตร ณ เดือนธันวาคม 2560 และมีกําหนดการเสร็จสิ้น

โครงการต่าง ๆ ของ ปตท. ให้ดา ํ เนินการได้สา ํ เร็จตามวัตถุประสงค์

ในปี 2561

และเป้าหมายที่กําหนด 3) สายงานก๊าซธรรมชาติสําหรับยานยนต์ ประกอบด้วย งานกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจก๊าซธรรมชาติสา ํ หรับยานยนต์ (NGV) งานด้านตลาด ได้แก่ งานขายและบริหารสถานี งานตลาด บริการ

โครงการสถานีเพิ่มความดันก๊าซฯ กลางทาง บนระบบท่อ

ส่งก๊าซฯ เส้นที่ 4 (Midline Compressor) ดําเนินการก่อสร้าง ติดตัง้ และดําเนินการทดสอบสถานีและหน่วยเพิ่มความดันแล้วเสร็จ •

โครงการระบบท่อส่งก๊าซฯ เส้นที่ 5 จากระยองไปไทรน้อย -

ลูกค้า สนับสนุนการขาย และงานวิศวกรรม บํารุงรักษาสถานี

โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ/ใต้ ในระยะที่ 1 อยูร่ ะหว่างการดําเนินงาน

และบริหารโครงการ

ออกแบบด้ า นวิ ศ วกรรม และสํ า รวจสภาพภู มิ ศ าสตร์ ข องพื้ น ที่

4) สายงานขนส่งก๊าซธรรมชาติทางท่อผ่านระบบส่งก๊าซ

วางท่อฯ และในระยะที่ 2 อยู่ระหว่างดําเนินการประมูลเพื่อจัดหา

ธรรมชาติ ประกอบด้วยระบบส่งก๊าซธรรมชาติในทะเล ทีเ่ ชือ ่ มต่อ

ผูร้ บ ั เหมาของโครงการระยะที่ 2 และมีกา ํ หนดแล้วเสร็จในปี 2564

กั บ แหล่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ต่ า ง ๆ ในอ่ า วไทย และระบบส่ ง ก๊ า ซ

โครงการระบบท่อส่งก๊าซฯ จากสถานีควบคุมความดัน

ธรรมชาติ บ นบกฝั่ ง ตะวั น ออก ที่ รั บ ก๊ า ซฯ จากอ่ า วไทย ระบบ

ก๊าซฯ ราชบุรี - วังน้อยที่ 6 ไปยังจังหวัดราชบุรี อยูร่ ะหว่างดําเนินการ

ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ บ นบกฝั่ ง ตะวั น ตกที่ รั บ ก๊ า ซฯ แหล่ ง ยาดานา

ออกแบบและตรวจสอบเอกสารด้ า นวิ ศ วกรรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

เยตากุน และซอติกา ้ ในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ทีช ่ ายแดน

รวมถึ ง ดํ า เนิ น การเตรี ย มพื้ น ที่ ก่ อ สร้ า งของสถานี ค วบคุ ม ก๊ า ซฯ

ไทย-เมี ย นมา เพื่ อ จ่ า ยก๊ า ซฯ ไปยั ง ผู้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า โรงแยกก๊ า ซ

ในตําแหน่งแนวท่อก๊าซของโครงการ และมีกําหนดการเสร็จสิ้น

ธรรมชาติ NGV และอุตสาหกรรม

ในปี 2563

นอกจากนี้ กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานฯ ยังมีหน่วยงานอื่น ๆ

โครงการสถานีเพิ่มความดันก๊าซฯ บนระบบท่อส่งก๊าซฯ

ได้แก่ ธุรกิจบริหารสินทรัพย์ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ธุรกิจพัฒนา

วังน้อย-แก่งคอย อยู่ระหว่างดําเนินการออกแบบทางวิศวกรรม

อสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจการให้บริการด้านอาคารสํานักงาน รวมถึง

อย่างต่อเนื่องและได้เริ่มการก่อสร้างและมีกําหนดการเสร็จสิ้น

ั และพัฒนาซึง่ มีสถาบันวิจย ั และเทคโนโลยี ดําเนินงานด้านการวิจย

ในปี 2562


050

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

ธุรกิจที่ลงทุน ผานบริษัทในกลุม ธุรกิจสํารวจ และผลิตปโตรเลียม

ส่ ง ผลให้ ต้ น ทุ น ต่ อ หน่ ว ยเป็ น 29.05 เหรี ย ญสหรั ฐ ต่ อ บาร์ เ รล เทียบเท่าน้ํามันดิบในปีนี้ ซึ่งลดลงจากเดิมที่ 30.46 เหรียญสหรัฐ ต่ อ บาร์ เ รลเที ย บเท่ า น้ํ า มั น ดิ บ ในปี 2559 โดยปี 2560 บริ ษั ท มีรายได้จากการขาย 4,281 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิม ่ ขึน ้ จากปี 2559 ประมาณร้อยละ 2 ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นผลจากราคาขายเฉลีย ่ ซึง่ เพิม ่ ขึน ้ เป็น 39.20 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรลเทียบเท่าน้ํามันดิบ จากเดิม ที่ 35.91 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรลเทียบเท่าน้ํามันดิบในปี 2559 สําหรับปริมาณการขายเฉลีย ่ อยูท ่ รี่ ะดับ 299,206 บาร์เรลเทียบเท่า น้ํามันดิบต่อวัน ซึ่งลดลงจากในปี 2559 ที่ระดับ 319,521 บาร์เรล เทียบเท่าน้ํามันดิบต่อวัน สําหรับปี 2560 บริษัทมีกําไรจากการดําเนินงานตามปกติ (Recurring Net Profit) 836 ล้านเหรียญสหรัฐ และขาดทุนจาก รายการที่ ไ ม่ ใ ช่ ก ารดํ า เนิ น งานปกติ (Non-Recurring) จํ า นวน

ผ่าน บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

242 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งเป็นผลสุทธิจากขาดทุนจากการด้อยค่า

หรื อ ปตท.สผ. โดยธุ ร กิ จ สํ า รวจและผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย มรวมทั้ ง

สิ น ทรั พ ย์ ต ามมาตรฐานบั ญ ชี จ ากการปรั บ แผนการลงทุ น ของ

ราคาจําหน่ายปิโตรเลียมภายในประเทศอยูภ ่ ายใต้การกํากับดูแล

โครงการมาเรียนา ออยล์ แซนด์ ซึ่งรายการดังกล่าวไม่กระทบ

ของคณะกรรมการปิ โ ตรเลี ย มตามพระราชบั ญ ญั ติ ปิ โ ตรเลี ย ม

กับเงินสดในมือและกระแสเงินสดของบริษัทแต่อย่างใด อีกทั้ง

พ.ศ. 2514

ผลประโยชน์ทางภาษีที่เกี่ยวข้องกับอัตราแลกเปลี่ยนจากการที่

ปตท.สผ. ดําเนินธุรกิจสํารวจและผลิตปิโตรเลียมทัง้ ในประเทศ

้ ระหว่างปี เป็นผลให้ ค่าเงินบาทเมือ ่ เทียบกับเหรียญสหรัฐแข็งค่าขึน

และต่ า งประเทศรวมทั้ ง ลงทุ น ในธุ ร กิ จ ที่ ต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ แสวงหา

ปตท.สผ. มีกําไรสุทธิ (Net Profit) จํานวนทั้งสิ้น 594 ล้านเหรียญ

แหล่งปิโตรเลียมทัง้ น้า ํ มันดิบและก๊าซธรรมชาติในราคาทีแ ่ ข่งขันได้

สหรัฐ บริษท ั ยังคงรักษาสถานะการเงินทีแ ่ ข็งแกร่ง โดยมีสินทรัพย์

เพื่ อ สร้ า งความมั่ น คงทางด้ า นพลั ง งานให้ กั บ ประเทศ และ

ณ สิ้ น ปี 2560 จํ า นวน 19,220 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ มี ห นี้ สิ น

การจํ า หน่ า ยปิ โ ตรเลี ย มที่ ผ ลิ ต ได้ จ ากโครงการในประเทศ

รวมทั้งสิ้น 7,703 ล้านเหรียญสหรัฐ และส่วนของผู้ถือหุ้นจํานวน

และภูมิภาคใกล้เคียง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นก๊าซธรรมชาติให้กับตลาด

11,517 ล้านเหรียญสหรัฐ ปตท.สผ. มีการดําเนินโครงการทัง้ หมด

ในประเทศเป็นหลัก

36 โครงการ ใน 10 ประเทศ ดังนี้

ผลประกอบการของ ปตท.สผ. ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับราคา น้ํ า มั น ในตลาดโลก ความสํ า เร็ จ ในการสํ า รวจและการพั ฒ นา

โครงการในประเทศไทย

แหล่งปิโตรเลียม และการบริหารต้นทุนในการสํารวจและผลิต

ปตท.สผ. มีโครงการในประเทศจํานวน 16 โครงการ ส่วนใหญ่

ที่ มีประสิทธิภาพ รวมทั้ ง โอกาสในการลงทุ น และพั ฒ นา

เป็นโครงการที่ดําเนินการผลิตแล้ว (Producing Phase) ทั้งใน

ขีดความสามารถขององค์กร

อ่าวไทยและบนบก โดยกิจกรรมที่สําคัญของโครงการผลิตหลัก

ความสํ า เร็ จ ของธุ ร กิ จ สํ า รวจและผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย มในปี

ได้ แ ก่ โครงการบงกช ประสบความสํ า เร็ จ ในการเพิ่ ม การผลิ ต

2560 มาจากการที่บริษัทได้ดําเนินนโยบายลดต้นทุนและเพิ่ม

คอนเดนเสทเพือ ่ ชดเชยการเรียกรับก๊าซธรรมชาติทล ี่ ดลงจากผูซ ้ อ ื้

ประสิทธิภาพการดําเนินงานภายใต้โครงการ SPEND SMART to

รวมทั้งอยู่ระหว่างการเตรียมความพร้อมในการเข้าร่วมประมูล

Business Sustainability ด้วยแนวคิด “คิดใหม่ ทําใหม่ ให้ได้ผล”

สั ม ปทานโครงการบงกชที่ จ ะหมดอายุ ใ นปี 2565 - 2566

เพื่อให้เป็นองค์กรที่บริหารงานด้วยต้นทุนต่ํา สามารถแข่งขันได้

โครงการเอส 1 ได้ทําการขุดเจาะหลุมผลิตอย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง

ในระยะยาวและเติบโตได้อย่างยั่งยืน โดยสามารถลดค่าใช้จ่าย

จะมี ก ารขุ ด เจาะหลุ ม สํ า รวจในปี 2561 เพื่ อ ช่ ว ยเพิ่ ม ปริ ม าณ


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

051

การผลิ ต ในอนาคต ทั้ ง นี้ ปี 2560 โครงการในประเทศไทย

สําหรับโครงการที่อยู่ระหว่างการสํารวจ (Exploration Phase)

มี ป ริ ม าณการขายเฉลี่ ย รวมอยู่ ที่ 230,504 บาร์ เ รลเที ย บเท่ า

ส่วนใหญ่จะอยู่ในเมียนมาทั้งบนบกและในทะเล อาทิ โครงการ

น้ํ า มั น ดิ บ ต่ อ วั น หรื อ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 77 ของปริ ม าณการขาย

่ อกชายฝัง่ ทะเล อ่าวเมาะตะมะของเมียนมา เมียนมา เอ็ม 3 ตัง้ อยูน

ทั้ ง หมด นอกจากนี้ แหล่ ง อุ บ ลภายใต้ โ ครงการคอนแทร็ ค 4

ปั จ จุ บั น อยู่ ร ะหว่ า งการเจรจากรอบการพั ฒ นาเชิ ง พาณิ ช ย์

ซึ่งอยู่ระหว่างการหารือกับผู้ดําเนินการของโครงการเพื่อเตรียม

กับรัฐบาลเมียนมา โครงการเมียนมา MD-7 อยู่ระหว่างศึ ก ษา

การพัฒนา และคาดว่าจะสามารถผลิตปิโตรเลียมเชิงพาณิชย์

โครงสร้ า งทางธรณี วิ ท ยาเพื่ อ ประเมิ น ศั ก ยภาพปิ โ ตรเลี ย ม

ได้ภายในปี 2565 ด้วยกําลังการผลิตของโครงการที่ 25,000 -

โครงการเมี ย นมา เอ็ ม 11 โครงการเมี ย นมา เอ็ ม โอจี อี 3

30,000 บาร์เรลเทียบเท่านํ้ามันดิบต่อวัน

และโครงการซาราวั ก เอสเค 410 บี ในมาเลเซี ย อยู่ ร ะหว่ า ง การศึกษาด้านธรณีวิทยาและศักยภาพทางปิโตรเลียมเพือ ่ เตรียม

โครงการในเอเชียตะวันออกเฉียงใต

การเจาะหลุ ม สํ า รวจในปี 2561 รวมทั้ ง โครงการเวี ย ดนาม บี

ปตท.สผ. มี โ ครงการในภู มิ ภ าคนี้ จํ า นวน 13 โครงการ

และ 48/95 และโครงการเวียดนาม 52/97 ตั้งอยู่นอกชายฝั่ง

ซึ่งตั้งอยู่ในเมียนมา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มาเลเซีย

ทะเลของเวียดนาม ซึ่งอยู่ระหว่างการเจรจาสัญญาเชิงพาณิชย์

แ ล ะ ส า ธ า ร ณ รั ฐ อิ น โ ด นี เ ซี ย โ ด ย ใ น ปี 2 5 6 0 โ ค ร ง ก า ร

เพื่ อ รองรั บ การตั ด สิ น ใจลงทุ น ขั้ น สุ ด ท้ า ย (Final Investment

ในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ มี ป ริ ม าณการขายเฉลี่ ย รวมอยู่ ที่

Decision: FID) ต่ อ ไป ทั้ ง นี้ ค าดว่ า จะเริ่ ม ผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย ม

ประมาณ 55,371 บาร์เรลเทียบเท่าน้ํามันดิบต่อวัน หรือคิดเป็น

เชิงพาณิชย์ได้ในช่วงปลายปี 2564

ร้อยละ 19 ของปริมาณการขายทั้งหมด ในส่ ว นของโครงการที่ ดํ า เนิ น การผลิ ต แล้ ว (Producing

โครงการในออสตราเลเชีย

Phase) ปตท.สผ. ได้ดําเนินกิจกรรมในโครงการที่สําคัญ อาทิ

ปตท.สผ. มีโครงการในภูมิภาคนี้ จํานวน 1 โครงการ คือ

โครงการซอติกา ้ ตัง้ อยูน ่ อกชายฝัง่ ทะเล อ่าวเมาะตะมะของเมียนมา

โครงการพีทีทีอีพี ออสตราเลเชีย ซึ่งตั้งอยู่ในเครือรัฐออสเตรเลีย

ปั จ จุ บั น โครงการสามารถรั ก ษาปริ ม าณการผลิ ต ได้ ค งที่ ต าม

ประกอบด้วย 12 แปลงสัมปทาน

เป้าหมาย โดยปัจจุบันโครงการมีปริมาณการขายก๊าซธรรมชาติ

สําหรับแหล่งที่ดําเนินการผลิตแล้ว (Production Phase) คือ

เฉลี่ย 301 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน (ประมาณ 47,747 บาร์เรล

แหล่งมอนทารา โครงการสามารถรักษาปริมาณการขายเฉลี่ย

เทียบเท่าน้ํามันดิบต่อวัน) โครงการเวียดนาม 16-1 ตั้งอยู่นอก

สําหรับปี 2560 ได้ตามแผนที่ 10,580 บาร์เรลต่อวัน

ชายฝั่งทะเลทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเวียดนาม ในปี 2560

สํ า หรั บ แหล่ ง Cash Maple ที่ อ ยู่ ใ นระยะเวลาสํ า รวจ

โครงการมีปริมาณการขายน้ํามันดิบเฉลี่ย 21,087 บาร์เรลต่อวัน

(Exploration Phase) นั้น โครงการได้เสร็จสิ้นการศึกษาวิศวกรรม

และปริมาณการขายก๊าซธรรมชาติเฉลีย ่ 2 ล้านลูกบาศก์ฟต ุ ต่อวัน

เบื้องต้น (Pre-FEED Study) และอยู่ระหว่างการเตรียมการทํา

(ประมาณ 486 บาร์เรลเทียบเท่าน้ํามันดิบต่อวัน)

FEED Study โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในปี 2561


052

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

โครงการในทวีปอเมริกา

ด้านการบริหารการลงทุน (Portfolio Management)

ปตท.สผ. มีโครงการในภูมิภาคนี้ จํานวน 3 โครงการ ซึ่ง

ปตท.สผ. มี เ ป้ า หมายในการบริ ห ารการลงทุ น โดยคํ า นึ ง

ตั้ ง อยู่ ใ นประเทศแคนาดา และสหพั น ธ์ ส าธารณรั ฐ บราซิ ล

ถึ ง ค ว า ม เ สี่ ย ง ปั จ จั ย แ ล ะ ผ ล ก ร ะ ท บ ใ น ก า ร ล ง ทุ น เ พื่ อ ใ ห้

โดยโครงการทั้ ง สามเป็ น โครงการที่ อ ยู่ ร ะหว่ า งการสํ า รวจ

ทันต่อสภาวะอุตสาหกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม

(Exploration Phase) สําหรับโครงการมาเรียนา ออยล์ แซนด์

และส่ ง เสริ ม การเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ในอนาคต ตามแนวทาง

ตั้ ง อยู่ ใ นแคว้ น อั ล เบอร์ ต้ า ของแคนาดา โดยโครงการได้ ป รั บ

ดังต่อไปนี้

แผนการพั ฒ นาเพื่ อ หาแนวทางการบริ ห ารจั ด การโครงการ ที่เหมาะสม

(1) รักษาปริมาณการผลิตของโครงการปัจจุบันด้วยต้นทุน การดําเนินงานที่ต่ําเพื่อรักษาความสามารถในการทํากําไร โดย

สํ า หรั บ ในบราซิ ล มี โ ครงการร่ ว มทุ น 2 โครงการ คื อ

เน้นเพิ่มปริมาณการผลิตคอนเดนเสทของโครงการในอ่าวไทย

โครงการบารารินเนียส์ เอพี 1 ตั้งอยู่นอกชายฝั่งทางตะวันออก

และเพิ่ ม ปริ ม าณการผลิ ต ในโครงการเอส 1 โครงการผลิ ต

เฉี ย งเหนื อ ของบราซิ ล และโครงการบราซิ ล บี เ อ็ ม อี เ อส 23

ในเมียนมา และแหล่งมอนทาราในออสเตรเลีย

ตั้ ง อยู่ น อกชายฝั่ ง ทางตะวั น ออกของบราซิ ล ปั จ จุ บั น ทั้ ง สอง

(2) เพิ่ ม ปริ ม าณสํ า รองปิ โ ตรเลี ย มทั้ ง ในระยะสั้ น และระยะ

โครงการอยู่ ร ะหว่ า งการศึ ก ษาด้ า นธรณี วิ ท ยาและศั ก ยภาพ

ยาว โดยการเตรียมความพร้อมในการเข้าประมูลแหล่งสัมปทาน

ปิโตรเลียม

ที่ กํ า ลั ง จะหมดอายุ ใ นอ่ า วไทยทั้ ง แหล่ ง บงกชและเอราวั ณ ซึ่ ง ปตท.สผ. มีความพร้อมเป็นอย่างมากที่จะเข้าร่วมประมูลตาม

โครงการในแอฟริกาและตะวันออกกลาง

กรอบระยะเวลาของกระทรวงพลั ง งาน การเร่ ง รั ด การพั ฒ นา

ปตท.สผ. มีโครงการในภูมิภาคนี้จํานวน 3 โครงการ ซึ่งตั้งอยู่

โครงการที่อยู่ระหว่างรอการตัดสินใจขั้นสุดท้าย ได้แก่ โครงการ

ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย และสาธารณรัฐ

โมซัมบิก โรวูมา ออฟชอร์ แอเรีย วัน โครงการแอลจีเรีย ฮาสสิ

โมซัมบิก

เบอร์ ราเคซ โครงการเวียดนาม บี และ 48/95 และโครงการ

สําหรับโครงการที่ดําเนินการผลิตแล้ว (Producing Phase)

เวียดนาม 52/97 และโครงการคอนแทร็ค 4 (แหล่งอุบล) รวมถึง

ปตท.สผ. ได้ ดํ า เนิ น การผลิ ต น้ํ า มั น ดิ บ จากโครงการแอลจี เ รี ย

มองหาโอกาสการเข้าซื้อกิจการโดยให้ความสําคัญกับสินทรัพย์

433 เอ และ 416 บี ในปี 2560 มีปริมาณการผลิตเฉลี่ย 17,360

ที่ผลิตแล้ว หรือจะเริ่มผลิตในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

บาร์เรลต่อวัน

ที่ บ ริ ษั ท มี ค วามเชี่ ย วชาญและภู มิ ภ าคอื่ น ที่ มี ศั ก ยภาพสู ง โดย

สํ า หรั บ โครงการที่ อ ยู่ ร ะหว่ า งการสํ า รวจ (Exploration

เน้นโครงการที่มีความเสี่ยงในการดําเนินโครงการที่ค่อนข้างต่ํา

Phase) ปตท.สผ. ได้ ดํ า เนิ น การสํ า รวจในโครงการแอลจี เ รี ย

มีตลาดรองรับในการขายปิโตรเลียมและมีผลตอบแทนที่น่าสนใจ

ฮาสสิ เบอร์ ราเคซ ซึง่ ตัง้ อยูบ ่ นบก ทางทิศตะวันออกของแอลจีเรีย

รวมทั้ ง เตรี ย มแผนการสํ า รวจในแหล่ ง สํ า รวจของบริ ษั ท ที่ มี อ ยู่

โดยโครงการได้นา ํ ส่งแผนพัฒนาเพือ ่ ขออนุมต ั ิพน ื้ ทีใ่ นการพัฒนา

ในปัจจุบัน โดยเฉพาะในเมียนมาและมาเลเซีย และมองหาโอกาส

ต่อรัฐบาลแอลจีเรียในเดือนธันวาคม 2560 และคาดว่าจะได้รับ

ในการหาแหล่งสํารวจในพื้นที่ยุทธศาสตร์เพิ่มเติม

อนุมัติภายในไตรมาสที่ 1 ปี 2561 ด้วยกําลังการผลิตปิโตรเลียม

(3) ขยายการลงทุนและดําเนินธุรกิจ LNG ครบวงจร (LNG

เชิงพาณิชย์ในเฟสแรกที่อัตรา 10,000 - 13,000 บาร์เรลต่อวัน

Value Chain) กั บ ปตท. เพื่ อ การเติ บ โตทางธุ ร กิ จ และสร้ า ง

ในปี 2562 และหลังจากนัน ้ จะพิจารณาการลงทุนเพิม ่ เติมเพือ ่ เพิม ่

ความมั่ น คงทางพลั ง งานของประเทศ โดยแสวงหาการลงทุ น

กําลังการผลิตรวมเป็น 50,000 บาร์เรลต่อวัน โครงการโมซัมบิก

ในโครงการ LNG ต่าง ๆ ทั่วโลก สะท้อนผ่านความสําเร็จจาก

โรวูมา ่ ออฟชอร์ แอเรีย วัน ซึง่ เป็นโครงการก๊าซธรรมชาติขนาดใหญ่

การที่บริษัท พีทีที โกลบอล แอลเอ็นจี จํากัด ซึ่งเป็นบริษัทร่วม

ตั้ ง อยู่ น อกชายฝั่ ง ของโมซั ม บิ ก โดยมี ค วามคื บ หน้ า ที่ สํ า คั ญ

ทุ น ระหว่ า ง ปตท.สผ. และ ปตท. เข้ า ซื้ อ สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 10

ั ิ ในปี 2560 ได้แก่ การเจรจากับรัฐบาลโมซัมบิก โดยได้รบ ั การอนุมต

ในโครงการ MLNG Train 9 ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นโรงงาน

กฎหมายและกฎระเบียบ (Legal & Contractual Framework)

LNG Liquefaction ที่มีกําลังการผลิตปัจจุบัน 3.6 ล้านตันต่อปี

การอนุ มั ติ สั ม ปทานการบริ ห ารจั ด การทางทะเลและท่ า เรื อ

ในปี 2560

(Marine Concessions) เริ่มการเคลื่อนย้ายชุมชนออกจากพื้นที่

โดยในปี 2560 บริ ษั ท ได้ มี ก ารบริ ห ารการลงทุ น ที่ สํ า คั ญ

ก่อสร้างโครงการ (Resettlement) ในเดือนพฤศจิกายน 2560

(Portfolio Rationalization) ได้ แ ก่ การคั ด เลื อ ก Total E&P

ปัจจุบน ั โครงการอยูร่ ะหว่างการขออนุมต ั แ ิ ผนการพัฒนาโครงการ

M y a n m a r ( T O TA L ) ซึ่ ง เ ป็ น บ ริ ษั ท ที่ มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ แ ล ะ

(Plan of Development) จากรัฐบาลโมซัมบิก ซึ่งคาดว่าจะได้รับ

ความเชี่ยวชาญในการสํารวจและพัฒนาแหล่งปิโตรเลียมทั่วโลก

การอนุ มั ติ ใ นต้ น ปี 2561 นอกจากนี้ โครงการยั ง เร่ ง ผลั ก ดั น

เข้าเป็นผู้ร่วมทุนในโครงการเมียนมา MD-7 และการคืนแปลง

การเจรจาสัญญาซื้อขาย LNG ระยะยาวกับผู้ซื้อ และการเจรจา

สํ า รวจของโครงการเมี ย นมา พี เ อสซี จี และอี พี 2 ปั จ จุ บั น

สั ญ ญาเงิ น กู้ ใ นรู ป แบบ Project Finance กั บ สถาบั น การเงิ น

อยู่ระหว่างการรออนุมัติจากรัฐบาลเมียนมา

โดยคาดว่าจะสามารถผลิตปิโตรเลียมเชิงพาณิชย์ได้ในปี 2566 ด้วยกําลังการผลิตระยะแรกที่ 12 ล้านตันต่อปี


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

053

ธุรกิจโครงสรางพื้นฐาน

• ธุรกิจไฟฟาและสาธารณูปการ ผ่ า น บริ ษั ท โกลบอล เพาเวอร์ ซิ น เนอร์ ยี่ จํ า กั ด (มหาชน) (GPSC) ดําเนินธุรกิจผลิตสาธารณูปการ (ไฟฟ้า ไอน้ํา และน้ําปราศจากแร่ธาตุ) ให้ลูกค้าอุตสาหกรรม และดําเนินการ ผลิ ต ไฟฟ้ า อิ ส ระ (IPP) และผ่ า นบริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ้ า และน้ํ า เย็ น

• ธุรกิจใหบริการดานวิศวกรรมและที่ปรึกษา ทางเทคนิค

จํากัด (DCAP) ดําเนินการผลิตไฟฟ้าและน้า ํ เย็นเพือ ่ จําหน่ายให้กบ ั

ผ่าน บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จํากัด (PTTES)

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และ บริษท ั ไทยออยล์ เพาเวอร์ จํากัด (TP)

ให้ บ ริ ก ารเป็ น ที่ ป รึ ก ษาทางเทคนิ ก วิ ศ วกรรม และดํ า เนิ น งาน

ดําเนินการผลิตไฟฟ้าจําหน่ายไฟฟ้าให้แก่ กฟผ. และจําหน่าย

ด้านต่าง ๆ และบริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง

ไฟฟ้าและไอน้ําให้ลูกค้าในกลุ่มบริษัท ไทยออยล์

จํ า กั ด (PTTME) ประกอบธุ ร กิ จ ด้ า นวิ ศ วกรรม การออกแบบ

ความสําเร็จของธุรกิจไฟฟ้าและสาธารณูปการมาจาก

ก่ อ สร้ า ง และงานก่ อ สร้ า งโครงการต่ า ง ๆ รวมทั้ ง ให้ บ ริ ก าร

การบริ ห ารจั ด การหน่ ว ยผลิ ต ต่ า ง ๆ ให้ ทํ า งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

งานซ่ อ มบํ า รุ ง ต่ า ง ๆ ในโรงงานอุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี แ ละ

มีประสิทธิภาพ ทําให้ค่าซ่อมบํารุงลดต่ําทั้งจากโรงไฟฟ้าศรีราชา

โรงงานอุ ต สาหกรรมทุ ก ประเภท ต่ อ มา ปตท. ได้ โ อนขายหุ้ น

Reserve Shutdown โรงผลิ ต สาธารณู ป การระยองสามารถ

ของ PTTME ที่ถืออยู่ทั้งหมดในสัดส่วนร้อยละ 40 ให้กับบริษัท

บริหารการเดินเครื่องได้มีประสิทธิภาพ และมีบันทึกรายได้จาก

PTTGC เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2560

เงินค่าประกันที่ GTG12 เกิด Incident เมื่อปี 2559 การดําเนินงาน ของบริษัทในเครือดีกว่าแผน อีกทั้งบริษัทฯ มีการลดค่าใช้จ่าย จากการดําเนินงานและค่าที่ปรึกษา ซึ่งสามารถลดต้นทุนให้กับ

• ธุรกิจบริหารสินทรัพย ผ่าน บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จํากัด (EnCo) ให้ บ ริ ก ารพื้ น ที่ สํ า นั ก งาน ให้ บ ริ ก ารบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากร

บริษัทได้ โดย GPSC และบริษัทในเครือ (งบการเงินรวม) มีผล การดําเนินงานประจําปี 2560 เท่ากับ 3,175 ล้านบาท สูงกว่า ผลประกอบการปี 2559 จํ า นวน 475 ล้ า นบาทหรื อ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 17.60 (ผลประกอบการประจํ า ปี 2559 กํ า ไรสุ ท ธิ 2,700 ล้านบาท)

กายภาพ รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ให้กับ กลุ่ม ปตท. อย่างครบวงจร


054

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

ธุรกิจถานหิน

เดิม ปตท. ได้ลงทุนในธุรกิจถ่านหินผ่าน บริษท ั พีทท ี ี เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส จํากัด (PTTER) โดยการดําเนินธุรกิจเหมืองถ่านหิน ในสาธารณรั ฐ อิ น โดนี เ ซี ย ผ่ า น บริ ษั ท Sakari Resources Limited (SAR) ซึ่งผลิตและจําหน่ายถ่านหินไปยังประเทศในทวีป เอเชียเป็นหลัก ได้แก่ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง ไต้หวัน สาธารณรัฐ เกาหลี ประเทศญีป ่ น ุ่ สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐอินเดีย ประเทศมาเลเซีย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย และประเทศไทย เป็นต้น ต่อมา ในปี 2560 ปตท. มีนโยบายให้บริษท ั ปตท. โกลบอล เมเนจเม้นท์ จํากัด (PTT Global Management Company Limited: PTTGM) เป็นบริษัทแกนกลางรองรับการลงทุนของ ปตท. ทั้งในประเทศ และต่ า งประเทศและปรั บ โครงสร้ า งการลงทุ น โดยโอนย้ า ย กลุ่มธุรกิจถ่านหินทั้งหมดไปอยู่ภายใต้ PTTGM ในปี 2560 ธุ ร กิ จ ถ่ า นหิ น มี ย อดขายถ่ า นหิ น รวมทั้ ง สิ้ น 8.3 ล้านตัน ลดลงจากปี 2559 ซึ่งมียอดขายถ่านหินรวมเท่ากับ 9.8 ล้านตัน โดยมีผลประกอบการจากการดําเนินธุรกิจถ่านหิน เป็นกําไรสุทธิอยู่ที่ 89 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งดีขึ้นจากปี 2559 ที่มี ผลกําไรสุทธิที่ 16.3 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึง่ เป็นผลจากราคาถ่านหิน อ้างอิงนิวคาสเซิล (NEWC) ในตลาดโลกปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นจาก ปี 2559 โดยในปี 2560 บริษัท SAR ได้มุ่งเน้นด้านการดําเนินงาน ทีเ่ ป็นเลิศ ควบคุมค่าใช้จา ่ ยการทําเหมือง และการดําเนินงานอย่าง ต่อเนื่อง ปรับแผนการขายและการตลาดให้สอดคล้องกับสภาวะ ตลาดโลกที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึงได้มีการทบทวนแผนการผลิต ถ่านหินให้เหมาะสมกับปริมาณสํารอง และคุณภาพของถ่านหิน ที่มีการเปลี่ยนแปลงไป เพื่อเพิ่มความสามารถในการทํากําไรของ บริษัท

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

055

ธุรกิจปโตรเคมีและการกลัน่

ปตท. ลงทุนผ่านบริษัทในกลุ่มจํานวน 9 บริษัท ได้แก่ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) (TOP) บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) (IRPC) บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) (PTTGC) บริษท ั เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จํากัด (HMC) บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด (PTTAC) บริษัท พีทีที เอ็มซีซี ไบโอเคม จํากัด (PTTMCC) บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จํากัด (PTTPM) บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จํากัด (PTTPL) และ บริษัท พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล จํากัด (PTT Tank) โดยดําเนินธุรกิจ ครอบคลุ ม ตั้ ง แต่ ก ารกลั่ น นํ้ า มั น ดิ บ เพื่ อ ผลิ ต น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง การผลิ ต และจํ า หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเคมี ขั้ น ต้ น ขั้ น กลาง และเม็ ด พลาสติ ก ประเภทต่ า ง ๆ ทั้ ง สายโอเลฟิ น ส์ แ ละอะโรเมติ ก ส์ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ด้านการตลาดเพื่อจําหน่ายเม็ดพลาสติกทั้งในประเทศ และต่างประเทศ รวมถึงการให้บริการด้านโลจิสติกส์ครบวงจร และการให้ บ ริ ก ารท่ า เที ย บเรื อ และคลั ง เก็ บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ นอกจากนัน ้ ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน ่ ยังได้มก ี ารพัฒนา ผลิตภัณฑ์ ต่อยอด ขยายกําลังการผลิต ตลอดจนบริการ ใหม่ ๆ เพือ ่ ต่อยอดเพิม ่ มูลค่าเพิม ่ ทางธุรกิจและเพิม ่ ช่องทาง การค้ า และการให้ บ ริ ก าร อี ก ทั้ ง ยั ง แสวงหาโอกาส ในการขยายการลงทุ น ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันในการดําเนิน ธุรกิจของกลุ่ม ปตท. ต่อมาเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2560 ปตท. ได้ดําเนินการปรับโครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่ม ปตท. ในส่วนที่เกี่ยวกับธุรกิจ ปิโตรเคมีสายโพรเพนและสายพลาสติกชีวภาพ รวมถึงธุรกิจบริการที่เกี่ยวข้อง โดยการโอนขายหุ้นทั้งหมดที่ ปตท. ถืออยู่ใน HMC, PTTAC, PTTMCC, PTTPM, PTTPL และ บริษัท พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จํากัด (PTTME) ให้แก่ PTTGC ในฐานะที่เป็นบริษัทแกนหลักของธุรกิจปิโตรเคมี (Petrochemical Flagship) ของกลุ่ม ปตท. เพื่อเสริมสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน เพิ่มโอกาสในการต่อยอดของอุตสาหกรรมและธุรกิจ ตลอดจนการลดความซ้ําซ้อนและเพิ่มประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการภายในสายโซ่อุปทาน เพื่อสร้างความเข้มแข็งและการเติบโตได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ผลประกอบการของธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่นส่วนใหญ่จะขึ้นกับภาวะเศรษฐกิจ ส่วนต่างราคานํ้ามันดิบและวัตถุดิบ กับราคาผลิตภัณฑ์นํ้ามันเชื้อเพลิงและปิโตรเคมีในตลาดโลก ซึ่งปรับขึ้นลงตามอุปสงค์และอุปทานของตลาดโลก รวมถึง มูลค่าสินค้าคงเหลือ ณ สิ้นปี


ความเชื่อมโยงทางธุรกิจ ธุรกิจขั้นกลาง

การสํารวจ และผลิต ปโตรเลียม

INFRASTRUCTURE BUSINESS

GAS CHAIN

ธุ ร กิ จ ขั้ น ต น

ธุรกิจขั้นปลาย

การจัดหา กาซธรรมชาติเหลว

โรงแยก กาซธรรมชาติ

กาซธรรมชาติ

ระบบทอสง กาซธรรมชาติ

ผูบริโภค

ทอยอย

นํ้ามันดิบ และนํ้ามันเชื้อเพลิง

OIL CHAIN PETROCHEMICAL CHAIN

การคา ระหวาง ประเทศ

ระบบผลิตไฟฟา และนํ้าเย็น

โรงไฟฟา

กระแสไฟฟา

กาซธรรมชาติ สําหรับยานยนต

นํ้ามันสําเร็จรูป และเชื้อเพลิง ชีวภาพ

ขนสงนํ้ามัน

การจัดหา นํ้ามันดิบและ นํ้ามันเชื้อเพลิง

โรงงาน อุตสาหกรรม

โรงกลั่น

สถานี บริการ

ภาคขนสง

กาซหุงตม

กาซหุงตม ในครัวเรือน/ ขนสง/ อุตสาหกรรม

นํ้ามันหลอลื่นพื้นฐาน

นํ้ามันหลอลื่น

อุปกรณ/ ของใช วัตถุดิบที่ไดจาก การเกษตร

โรงโอเลฟินส และอะโรเมติกส

โรงโพลีเมอร

เม็ดพลาสติก และพลาสติก ชีวภาพ

NEW BUSINESS

การสงออก

โรงงานไบโอดีเซล โรงงานเอทานอล เหมืองถานหิน การพัฒนาอสังหาริมทรัพย และการบริหารจัดการ อาคารสถานที่

การจัดการ เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน/ ที่ปรึกษา, วิศวกรรมโครงการ


058

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

ความสํ า เร็ จ ของธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเคมี แ ละการกลั่ น ในปี 2560

โครงการ Propylene Oxide (PO) และโครงการ Polyols

มาจากปริมาณการผลิตและจําหน่ายทีม ่ ากขึน ้ ส่วนต่างผลิตภัณฑ์

& PU System ซึ่ ง เป็ น โครงการขยายธุ ร กิ จ ขั้ น ปลายน้ํ า สู่ ก ลุ่ ม

โดยรวมทีด ่ ข ี น ึ้ ประกอบกับการเพิม ่ ประสิทธิภาพในการดําเนินงาน

อุตสาหกรรม Polyurethane ที่มีมูลค่าสูง PTTGC ได้มีการจัดตั้ง

ทัว ่ ทัง้ องค์กรทีด ่ า ํ เนินมาอย่างต่อเนือ ่ ง การสร้างมูลค่าเพิม ่ และลด

บริ ษั ท ย่ อ ยและบริ ษั ท ร่ ว มทุ น เพื่ อ ดํ า เนิ น การลงทุ น ในโครงการ

ต้นทุนภายใต้กจ ิ กรรม Productivity Improvement และการบริหาร

Propylene Oxide (PO) กํ า ลั ง การผลิ ต ที่ 200,000 ตั น ต่ อ ปี

จัดการ จากพลังร่วม (Synergy Value) ของบริษัทในกลุ่ม ภายใต้

และในโครงการ Polyols & PU System กําลังการผลิต Polyols

โครงการ PRISM (Petrochemical and Refining Integrated Synergy

ที่ 130,000 ตันต่อปี PU System กําลังการผลิตที่ 20,000 ตันต่อปี

Management) โครงการ PTT Group Operational Excellence

ตามลําดับ

จากการประยุกต์ใช้ Best Practice การบริหารระบบโลจิสติกส์

• โครงการ mLLDPE กํ า ลั ง การผลิ ต 400,000 ตั น ต่ อ ปี

กลุม ่ ปตท. (Group Logistics Management) และการบริหารห่วงโซ่

เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์เอทิลีนของบริษัท อยู่ระหว่าง

ั ในกลุม ่ ปิโตรเคมี อุปทาน (Value Chain Optimization) ทําให้บริษท

ก่ อ สร้ า ง คาดว่ า จะแล้ ว เสร็ จ และดํ า เนิ น การเชิ ง พาณิ ช ย์ ไ ด้ ใ น

และการกลั่นมีกําไรสุทธิในปี 2560 เท่ากับ 81,049 ล้านบาท

ไตรมาสที่ 1 ปี 2561

เพิ่มขึ้นจากปีก่อนจํานวน 18,500 ล้านบาท บริ ษั ท ในกลุ่ ม ปิ โ ตรเคมี แ ละการกลั่ น มี ป ริ ม าณวั ต ถุ ดิ บ โดยรวมที่ ป้ อ นเข้ า สู่ ก ระบวนการผลิ ต น้ํ า มั น ของกลุ่ ม ปตท.

IRPC •

โครงการเพิม ่ มูลค่าต่อยอดจากโครงการ Upstream Project

เท่ า กั บ 669,000 บาร์ เ รลต่ อ วั น เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 6 จากปี ก่ อ น

for Hygiene and Value Added Products (UHV) ประกอบด้วย

เนื่องจากปี 2559 มีการหยุดซ่อมบํารุงโรงกลั่นประจําปี ในขณะที่

2 โครงการย่อย ดังนี้

ปริ ม าณการจํ า หน่ า ยปิ โ ตรเคมี โ ดยรวมเท่ า กั บ 7,467 พั น ตั น

> โครงการ Gasoline Maximization เพื่ อ เพิ่ ม กํ า ลั ง

ลดลงร้ อ ยละ 5 เนื่ อ งจาก PTTGC โรงอะโรเมติ ก ส์ ห น่ ว ยที่ 2

การผลิตน้า ํ มันเบนซินประมาณ 25 ล้านลิตรต่อเดือน เริม ่ ดําเนินการ

มีการหยุดซ่อมแซมตามแผนระหว่างวันที่ 4 มิถุนายน ถึงวันที่

เชิงพาณิชย์เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2560

18 กรกฎาคม 2560 ประกอบกับปริมาณการจําหน่ายปิโตรเคมี

> โครงการติ ด ตั้ ง เครื่ อ งถ่ า ยเทความร้ อ นจากตั ว เร่ ง

ของ HMC และ PTTAC จะรวมปริมาณการจําหน่ายเฉพาะในช่วง

ปฏิกริ ย ิ า (UHV Catalyst Cooler Project) เพือ ่ เพิม ่ ศักยภาพการผลิต

วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2560 เนื่องจากการปรับ

โดยใช้น้ํามันหนักเป็นวัตถุดิบและช่วยลดข้อจํากัดของอุณหภูมิ

โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่ม ปตท. ดังกล่าวข้างต้น

ในเครื่องปฏิรูปตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst Regenerator) โดยได้

ในปี 2560 ปตท. และบริษัทในกลุ่มปิโตรเคมีและการกลั่น

คั ด เลื อ กบริ ษั ท ออกแบบด้ า นวิ ศ วกรรมและจั ด หาเครื่ อ งจั ก ร

มี ก ารปรั บ และขยายการลงทุ น รวมทั้ ง การเพิ่ ม กํ า ลั ง การผลิ ต

อุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว คาดว่าการก่อสร้างจะแล้วเสร็จประมาณ

ซึ่งสรุปความก้าวหน้าโครงการที่สําคัญ ดังนี้

ไตรมาสที่ 1 ปี 2562 •

โครงการขยายกําลังการผลิตโพรพิลีน (Fully Integrated

PTT

Polypropylene) มีวต ั ถุประสงค์เพือ ่ เพิม ่ กําลังการผลิตเม็ดพลาสติก

โพลีโพรพิลีนจํานวน 300,000 ตันต่อปี ประกอบด้วย 2 โครงการ

จําหน่ายหุ้นสามัญของ บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง

จํากัด (มหาชน) (SPRC) ที่ ปตท. ถืออยู่ทั้งหมดภายหลังจาก

ย่อยดังนี้

ที่ได้ดําเนินการจําหน่ายไปเมื่อปี 2558 โดยคิดเป็นร้อยละ 5.41

> โครงการปรั บ ปรุ ง สายการผลิ ต โพลี โ พรพิ ลี น (PP

ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของ SPRC ผ่านตลาด

Expansion: PPE) ขยายกําลังการผลิตเพิ่มอีก 160,000 ตันต่อปี

หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อให้สอดคล้องกับการดําเนินการ

ส่งผลให้มก ี า ํ ลังการผลิตรวมเป็น 635,000 ตันต่อปี เริม ่ ดําเนินการ

ตามทิศทางกลยุทธ์ ปตท.

เชิงพาณิชย์เมื่อเดือนกันยายน 2560 > โครงการขยายกําลังการผลิตเม็ดพลาสติกโพลีโพรพิลน ี

PTTGC

คอมพาวด์ แ ละโพลี โ พรพิ ลี น เกรดพิ เ ศษ (PP Compounding:

บริษัท โกลบอลกรีน เคมิคอล จํากัด (มหาชน) หรือ GGC

PPC) กําลังการผลิต 140,000 ตันต่อปี โดยใช้เทคโนโลยีการผลิต

ซึ่งเป็นบริษัทแกนนําของธุรกิจเคมีภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมของกลุ่ม

คอมพาวด์เพียงขั้นตอนเดียว ซึ่งสามารถสร้างความได้เปรียบ

PTTGC เข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมี

ด้านต้นทุนการผลิตที่ต่ําลงกว่าเดิม เริ่มดําเนินการเชิงพาณิชย์

การเปิดซื้อขายหลักทรัพย์วันแรก เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2560

เมื่อเดือนธันวาคม 2560


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

TOP •

059

โครงการพลั ง งานสะอาด Clean Fuel Project (CFP)

โครงการขยายสถานีจ่ายน้ํามันทางรถ (Lorry Expansion)

เป็นโครงการเพือ ่ เพิม ่ ขีดความสามารถในการเพิม ่ มูลค่าผลิตภัณฑ์

ช่วยเพิม ่ ศักยภาพการจ่ายน้า ํ มันทางรถของบริษท ั จาก 12 ล้านลิตร

ทีม ่ ีมล ู ค่าต่า ํ ไปเป็นผลิตภัณฑ์ทีม ่ ีมล ู ค่าสูงกว่า และความสามารถ

ต่อวัน เป็น 17 ล้านลิตรต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 41 ดําเนินการผลิต

ในการกลั่ น น้ํ า มั น ดิ บ ที่ มี ค วามหลากหลายได้ ม ากขึ้ น ซึ่ ง ทํ า ให้

เชิงพาณิชย์ (COD) ในไตรมาสที่ 1 ปี 2560

เพิ่ ม ศั ก ยภาพการแข่ ง ขั น และรั ก ษาความเป็ น ผู้ นํ า ในตลาด ของบริษัท ขณะนี้อยู่ระหว่างการประมูลจัดหาผู้รับเหมาก่อสร้าง คาดว่าจะสามารถตัดสินใจลงทุนขั้นสุดท้าย (Final Investment Decision) ประมาณไตรมาสที่ 3 ปี 2561

ปริมาณวัตถุดิบ ที่ปอนเขาสูกระบวนการผลิต นํ้ามันของกลุม ปตท. หนวย: พันบารเรลตอวัน

700

669

-3%

652

+6%

631

650 600 550 500 450 400 0

2558

ปริมาณจําหนายปโตรเคมีรวม ของกลุม ปตท. (โอเลฟนส+อะโรเมติกส+ เม็ดพลาสติก)

2559

2560

9,000 -5% +4%

7,880 8,000

7,554 7,467

7,000

หนวย: พันตันตอป 6,000

5,000

0

2558

2559

2560


060

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

เหตุการณสําคัญ ของ ปตท. ในรอบป 2560

กุมภาพันธ

ปตท. ลงนาม MOU ข้อตกลงการศึกษาแนวทางการบริการก๊าซ ธรรมชาติ ร่วมกับ บริษัท นวนคร จํากัด (มหาชน) เป็นจุดเริ่มต้น ของความร่ ว มมื อ ในการบริ ก ารก๊ า ซธรรมชาติ ใ ห้ กั บ โรงงาน อุตสาหกรรมในเขตอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดนครราชสีมา

มกราคม

ปตท. เริ่ ม ส่ ง ก๊ า ซฯ เพื่ อ การค้ า ให้ กั บ ลู ก ค้ า โรงไฟฟ้ า SPP บริ ษั ท แอ๊ ด วานซ์ อะโกร เอเซี ย จํ า กั ด ปริ ม าณก๊ า ซฯ จั ด ส่ ง ตามสั ญ ญา 16 ล้ า นลู ก บาศก์ ฟุ ต ต่ อ วั น และลู ก ค้ า โรงงาน อุตสาหกรรม บริษัท คาราบาว ตะวันแดง จํากัด ปริมาณก๊าซฯ จัดส่งตามสัญญา 0.4 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน

ปตท. พัฒนาสูตรหล่อลืน ่ Hino Premium CNG &

ปตท. ส่ ง ออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ํ า มั น หล่ อ ลื่ น ไปยั ง ประเทศจิ บู ตี

Dynamic NGV, PTT Challenger Synthetic 4T,

เป็นครัง้ แรก ซึง่ นับเป็นประเทศที่ 37 ที่ ปตท. ส่งผลิตภัณฑ์หล่อลืน ่

PTT Steelcool W01, PTT Fork Oil E200 และ

ออกไปจําหน่าย

Synthetic Gear LS 75W-90 •

ปตท. และกองทัพเรือ ลงนามบันทึกความร่วมมือโครงการติดตาม ผลการใช้ผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงและหล่อลื่น เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์

ปตท. พั ฒ นา EV Wall Charger แล้ ว เสร็ จ อยู่ระหว่างทดลองและประเมินผลการใช้งาน

หล่ อ ลื่ น ที่ เ หมาะสมต่ อ การใช้ ง านของกองทั พ เรื อ ยื ด อายุ

ปตท. ดํ า เนิ น การโครงการเปลี่ ย นหลอดไฟฟ้ า

การเปลี่ยนถ่ายน้ํามันหล่อลื่น อีกทั้งยังเป็นการสร้างองค์ความรู้

แสงสว่ า งบริ เ วณบั น ไดหนี ไ ฟจากแบบ LED

ด้านผลิตภัณฑ์เชือ ้ เพลิงและผลิตภัณฑ์หล่อลืน ่ สําหรับกองทัพเรือ

ธรรมดา เป็นแบบ LED Sensor สามารถลดการใช้

ปตท. (PTT Philippines Corporation: PTTPC) และ บริ ษั ท

พลังงานลงประมาณร้อยละ 48 จากเดิม คิดเป็น

Cebu Air, Inc. ร่ ว มลงนามสั ญ ญาการจั ด หานํ้ า มั น เครื่อ งบิ น

45,780 kWh/yr หรือประมาณ 180,000 บาท

Jet A1 จํานวน 267 ล้านลิตร ในปี 2560 สําหรับเทีย ่ วบินในประเทศ

ต่อปี

และระหว่ า งประเทศของสายการบิ น Cebu Pacific ซึ่ ง เป็ น สายการบิ น ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในประเทศฟิ ลิ ป ปิ น ส์ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง มานานกว่า 17 ปี •

ปตท. เปิดตัวแคมเปญ What’s Your Challenge? สําหรับน้ํามัน หล่อลื่น PTT Challenger หนึ่งในตระกูลน้ํามันหล่อลื่นสําหรับ รถจักรยานยนต์ ที่ออกแบบและพัฒนาภายใต้แนวความคิดของ ความท้าทายในทุกการขับขี่ ตอบสนองการขับขี่ในทุกรูปแบบ

ปตท. ส่งมอบ “โครงการพลังธรรมชาติ พลังงานสะอาดเพือ ่ ชุมชน บ้านต้นผึ้ง” ให้แก่ชุมชนหมู่บ้านต้นผึ้ง ตําบลสามหมื่น อําเภอ แม่ระมาด จังหวัดตาก โดยดําเนินการติดตัง้ “ไฮดรอลิคแรมปัม ๊ ” ซึ่งนับเป็นต้นแบบแห่งแรกของการใช้ไฮดรอลิคแรมปั๊มกับพื้นที่ บนภู เ ขาสู ง ที่ มี แ หล่ ง น้ํ า ซั บ ขนาดเล็ ก และเป็ น พื้ น ที่ แ ห่ ง ที่ 3 ในโครงการ “พลั ง งานธรรมชาติ พลั ง งานสะอาดเพื่ อ ชุ ม ชน” โดยใช้พลังงานจากแหล่งน้ํามาใช้ในการส่งน้ํา ทดแทนการใช้ พลังงานไฟฟ้าหรือน้ํามัน ช่วยให้ชุมชนมีน้ําใช้ตลอดทั้งปี


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

061

เมษายน

มีนาคม

ปตท. รับมอบ LNG เทีย ่ วแรก จากสัญญาซือ ้ ขายระยะยาวร่วมกับ บริษัท บีพี สิงคโปร์ พีทีอี จํากัด ปริมาณ 0.16 ล้านลูกบาศก์เมตร และ บริษท ั เชลล์ อีสเทิรน ์ เทรดดิง้ จํากัด ปริมาณ 0.13 ล้านลูกบาศก์ เมตร ณ สถานีรบ ั -จ่ายก๊าซธรรมชาติเหลว มาบตาพุด จังหวัดระยอง

• •

แก้ไขเพิม ่ เติม ฉบับที่ 9 เพือ ่ ให้ผผ ู้ ลิตฯ รักษากําลังการผลิตต่อเนือ ่ ง

ปตท. ทําสัญญาซื้อน้ํามันดิบกับบริษัท Brunei

จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2562

Shell Petroleum Company ในการรั บ ซื้ อ น้ํ า มั น ดิ บ จากประเทศบรู ไ นต่ อ เนื่ อ งเป็ น ปี ที่ 7

ปตท. ลงนามสั ญ ญาซื้ อ ขายก๊ า ซธรรมชาติ แ หล่ ง บงกชเหนื อ

ปตท. เริ่มส่งก๊าซฯ เพื่อการค้าให้กับลูกค้าโรงงานอุตสาหกรรม

ติ ด ต่ อ กั น เพื่ อ สร้ า งความมั่ น คงทางพลั ง งาน

บริษท ั เอ็นจีเค เซรามิค จํากัด (นิคมเอเซียสุวรรณภูม)ิ โดยมีปริมาณ

ให้กับประเทศ

ก๊าซฯ จัดส่งตามสัญญา 0.22 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน •

ปตท. ร่วมกับกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ เปิดโครงการ ิ ย์ในสถานีบริการน้า ํ มัน ปตท. เพือ ่ ช่วยยกระดับ ร้านอาหารหนูณช คุ ณ ภาพชี วิ ต ของนั ก เดิ น ทางให้ ไ ด้ รั บ ประทานอาหารที่ อ ร่ อ ย มีคุณภาพ สะอาด และประหยัด รวมทั้งเป็นการสร้างมาตรฐาน ในการดําเนินธุรกิจแก่ผู้ประกอบการ SME

ปตท. ได้ รั บ อนุ มั ติ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น จาก สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) โดยยกเว้นอากรนําเข้า สําหรับโครงการขยายอายุ ท่อส่งก๊าซธรรมชาติบนบก เส้นที่ 1 ส่วนทีม ่ ก ี ารวาง ท่อส่งก๊าซฯ ใหม่ ในพื้นที่จังหวัดระยอง ชลบุรี และสระบุรี ทําให้เงินลงทุนของโครงการลดลง ต้ น ทุ น ค่ า เชื้ อ เพลิ ง ลดลง ส่ ง ผลให้ ค่ า ไฟฟ้ า ที่เรียกเก็บจากประชาชนลดลง

ปตท. และ บริษัท เอสวีแอล คอร์ปอเรชั่น จํากัด เข้าร่วมโครงการความร่วมมือทางธุรกิจในการใช้ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ล่ อ ลื่ น ปตท. กั บ รถขนส่ ง ทั้ ง หมด ในระบบขนส่งของ SVL Group ซึ่งเป็นผู้ให้บริการ ด้านโลจิสติกส์ครบวงจร

ปตท. ร่วมมือกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายให้กับเกษตรกร ผู้ถือบัตรสินเชื่อ เกษตรกร โดยมอบส่วนลดน้ํามันลิตรละ 30 สตางค์ แก่เกษตรกร ที่ ชํ า ระค่ า น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ทุ ก ชนิ ด ผ่ า นบั ต รสิ น เชื่ อ เกษตรกร ของธนาคาร ธ.ก.ส. ณ สถานี บ ริ ก าร ปตท. ทั่ ว ประเทศที่ มี เครื่องหมายรับบัตรสินเชื่อเกษตรกร นอกจากนี้ ยังมอบส่วนลด พิเศษร้อยละ 10 เมื่อซื้อผลิตภัณฑ์หล่อลื่น ปตท. ทุกชนิด ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560


062

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

พฤษภาคม

ปตท. ลงนามสัญญาซื้อขาย LNG ระยะยาว กับ บริษท ั เปโตรนาส แอลเอ็นจี จํากัด กําหนดส่งมอบ ปี 2560 - 2561 ในปริมาณ 1 ล้านตันต่อปี และตัง้ แต่ ปี 2562 ในปริมาณ 1.2 ล้านตันต่อปี อายุสัญญา 15 ปี และในวันที่ 20 กรกฎาคม 2560 ปตท. รับมอบ LNG เที่ยวแรกจาก บริษัท เปโตรนาส แอลเอ็นจี จํากัด ปริมาณ 0.14 ล้านลูกบาศก์เมตร ณ สถานีรับ-จ่ายก๊าซธรรมชาติเหลว มาบตาพุด จังหวัดระยอง

ปตท. เริม ่ ส่งก๊าซฯ เพือ ่ การค้าให้กบ ั ลูกค้าโรงไฟฟ้า SPP บริษัท กัลฟ์ วีทีพี จํากัด โดยมีปริมาณก๊าซฯ จัดส่งตามสัญญา 18 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน

ปตท. รับรางวัลเกียรติยศ “No. 1 Brand Thailand 2017” โดยสถานีบริการน้า ํ มัน ปตท. ได้รบ ั รางวัล หมวด Gas Station ส่วนคาเฟ่อเมซอนได้รบ ั รางวัล ในหมวด Coffee Shop และผลิตภัณฑ์หล่อลื่น ปตท. ได้ รั บ รางวั ล ในหมวด Engine Oil Car โดยได้ รั บ ผลสํ า รวจความน่ า เชื่ อ ถื อ ให้ เ ป็ น อั น ดั บ 1 ติ ด ต่ อ กั น เป็ น ปี ที่ 7 จั ด โดยนิ ต ยสาร Marketeer

ปตท. ลงนามสั ญ ญาการมอบสิ ท ธิ์ ม าสเตอร์ แฟรนไชส์ คาเฟ่อเมซอน (Master Franchise) ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ให้แก่ บริษัท พีทีที (ลาว) จํากัด (PTTLAO) อย่างเป็น ทางการ เป็นการเพิ่มโอกาสในการขยายธุรกิจ ของ ปตท. และประชาชนลาวจะได้มีส่วนร่วมใน การดําเนินธุรกิจกับ ปตท. ซึง่ เป็นการสร้างโอกาส สร้างงาน สร้างอาชีพ และสร้างรายได้ ซึง่ จะส่งผลดี ต่ อ ระบบเศรษฐกิ จ โดยรวมให้ กั บ เพื่ อ นบ้ า น ของไทย ด้วยผลิตภัณฑ์และบริการจาก ปตท. ทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพตามมาตรฐานสากลในราคาทีเ่ ป็นธรรม อีกด้วย


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

063

มิถุนายน

ปตท. ดําเนินการก่อสร้าง LNG Terminal 1 Phase 2 แล้วเสร็จ พร้ อ มเปิ ด ดํ า เนิ น การเชิ ง พาณิ ช ย์ สามารถรองรั บ LNG ได้ 10 ล้านตันต่อปี

ปตท. ร่วมลงนามในสัญญาซื้อขายน้ํามันดิบกับบริษัท Rosneft Trading S.A. (Switzerland) (RTSA) บริษัทในเครือของบริษัท Rosneft ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท น้ํ า มั น แห่ ง ชาติ ข องสหพั น ธรั ฐ รั ส เซี ย ในกรอบการซือ ้ -ขายน้า ํ มันดิบเป็นระยะเวลา 5 ปี เพือ ่ เป็นการสร้าง ทางเลือกการจัดหาแหล่งพลังงานให้กับประเทศไทยนอกเหนือ จากน้ํามันดิบจากตะวันออกกลาง และมีส่วนช่วยในการต่อยอด การขยายธุรกรรมการค้าของ ปตท. ไปสู่ภูมิภาคตะวันตก

ปตท. ร่วมกับ ปตท.สผ. จัดตั้งบริษัท PTTGL เพื่อแสวงหาโอกาส ลงทุนในธุรกิจ LNG

ปตท. เริ่ ม ส่ ง ก๊ า ซฯ เพื่ อ การค้ า ให้ กั บ ลู ก ค้ า โรงไฟฟ้ า SPP บริษัท โรจนะ เพาเวอร์ จํากัด (โครงการ 3)/ บริษัท บางปะอิน โคเจนเนอเรชั่ น จํ า กั ด (โครงการ 2) โดยมี ป ริ ม าณก๊ า ซฯ จัดส่งตามสัญญารวม 36 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน

ปตท. ส่ ง ออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ล่ อ ลื่ น ไปยั ง ประเทศอั ฟ กานิ ส ถาน เป็นครั้งแรก นับเป็นประเทศที่ 38 ที่ ปตท. ส่งผลิตภัณฑ์หล่อลืน ่ ออกไปจําหน่าย

ปตท. และธนาคารทหารไทย ร่วมเปิดตัวบัตรเงินสดเติมน้ํามัน อัตโนมัติ (PTT Top Up Card) บัตรเงินสดเติมน้ํามันประเภท เติมเงิน ใช้ชําระค่าน้ํามันเชื้อเพลิงที่สถานีบริการน้ํามัน ปตท. ได้โดยไม่มค ี า ่ ธรรมเนียม สามารถกําหนดวงเงินรวมทัง้ ชนิดน้า ํ มัน ในการเติ ม ได้ ช่ ว ยเพิ่ ม ความสะดวก ปลอดภั ย ตรวจสอบ รายละเอียดการใช้จ่ายได้ง่าย และสามารถวางแผนด้านการเงิน ได้สะดวกยิ่งขึ้น

ปตท. บรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกรไทย ตามนโยบาย ของรั ฐ บาลในการช่ ว ยแก้ ปั ญ หาราคาผลผลิ ต ทางการเกษตร ตกต่ํ า โดยให้ ก ารสนั บ สนุ น เพิ่ ม ช่ อ งทางจํ า หน่ า ยผลผลิ ต จาก เกษตรกรใน “โครงการรวมพลังคนไทย ร่วมใจช่วยเกษตรกร” เปิ ด โอกาสให้ เ กษตรกรหมุ น เวี ย นนํ า ผลผลิ ต มาจํ า หน่ า ยถึ ง มื อ ผู้ บ ริ โ ภคโดยตรงที่ ส ถานี บ ริ ก ารน้ํ า มั น ปตท. ทั่ ว ประเทศ โดยไม่คด ิ ค่าใช้จา ่ ย ช่วยสนองความต้องการของผูบ ้ ริโภค อํานวย ความสะดวกให้สามารถเลือกซือ ้ ได้งา ่ ยยิง่ ขึน ้ โดยนําร่องช่วยเหลือ เกษตรกรชาวไร่ สั บ ปะรด ให้ นํ า ผลผลิ ต ที่ ร าคาตกต่ํ า ไปวาง ่ ถานีบริการน้า ํ มัน ปตท. ในจังหวัดลําปางและอุตรดิตถ์ จําหน่ายทีส แล้วจํานวน 7 แห่ง เพื่อช่วยระบายสับปะรดล้นตลาดในพื้นที่ ภาคเหนือ

ปตท. เปิ ด ตั ว “PTT Group EV Bus” โดยพลเอก อนั น ตพร กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีวา ่ การกระทรวงพลังงาน เป็นประธานในพิธี


064

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

กรกฎาคม

คณะกรรมการกํ า กั บ กิ จ การพลั ง งาน (กกพ.) มี ม ติ เ ห็ น ชอบ การเรียกเก็บอัตราค่าบริการส่งก๊าซธรรมชาติ ส่วนของต้นทุนผันแปร ของระบบท่อส่งก๊าซฯ นอกชายฝั่งที่ระยอง (พื้นที่ 1) ระบบท่อส่ง ก๊าซฯ นอกชายฝัง่ ทีข ่ นอม (พืน ้ ที่ 2) ระบบท่อส่งก๊าซฯ บนฝัง่ (พืน ้ ที่ 3) และระบบท่อส่งก๊าซฯ บนฝัง่ ทีจ ่ ะนะ (พืน ้ ที่ 4) โดยให้เรียกเก็บอัตรา ค่าบริการดังกล่าว และเห็นชอบให้ปรับอัตราค่าบริการเก็บรักษา และแปรสภาพก๊ า ซธรรมชาติ จ ากของเหลวเป็ น ก๊ า ซ ส่ ว นของ ต้นทุนผันแปร ประจําปี 2560 ของ บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จํากัด

ปตท. เริม ่ ส่งก๊าซฯ ให้กบ ั ลูกค้าโรงไฟฟ้า SPP บริษท ั กัลฟ์ ทีเอส 1 จํากัด บริษัท คลองหลวง ยูทิลิตี้ จํากัด ปริมาณก๊าซฯ จัดส่ง ตามสัญญารวม 34 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน และลูกค้าโรงงาน อุตสาหกรรม บริษท ั เอ็นเอส-โอจี เอนเนอร์จี โซลูชน ั่ ส์ (ไทยแลนด์) ี ล๊าส อินดัสทรี จํากัด ปริมาณจัดส่งก๊าซฯ จํากัด บริษท ั กบินทร์บรุ ก ตามสัญญารวม 4.12 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน

ปตท. คว้ารางวัล Asia Marketing Company of the Year 2017 หรือสุดยอดบริษัทการตลาดแห่งเอเชีย ประจําปี 2017 จากที่ได้ รับการคัดเลือกโดยสมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย (MAT) ให้ เ ป็ น ตั ว แทนประเทศไทยเข้ า ร่ ว มการประกวด The Asia Marketing Excellence Award ซึ่งจัดขึ้นโดยสมาพันธ์การตลาด แห่ ง เอเชี ย (Asia Marketing Federation: AMF) สะท้ อ นถึ ง ความเป็นเลิศด้านการตลาด ความโดดเด่น นวัตกรรม การสร้าง แบรนด์ และการเป็นผู้นําด้านการตลาดในภูมิภาคเอเชีย

ปตท. รับรางวัล Drive Award 2017 รางวัลยอดเยี่ยมในสาขา การตลาด (Marketing Excellence) โดยสมาคมนิสิตเก่าเอ็มบีเอ คณะพาณิ ช ยศาสตร์ แ ละการบั ญ ชี จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย มอบให้กับองค์กรชั้นนําของประเทศที่มีแนวคิดการบริหารงาน ทีโ่ ดดเด่น มีนวัตกรรมทีพ ่ ร้อมขับเคลือ ่ นองค์กรสูก ่ ารเป็นฟันเฟือง สํ า คั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ของประเทศ พร้ อ มสร้ า ง ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมจนเป็นที่ประจักษ์ต่อสาธารณชน

ปตท. ลงนามข้อตกลงคุณธรรมของโครงการท่อส่งก๊าซธรรมชาติ บนบก เส้นที่ 5 ส่วนที่ 2 โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน เป็ น ประธานในพิ ธี และมี ก ารลงนามข้ อ ตกลงร่ ว มกั บ ผู้ ส นใจ ร่วมเสนอราคา และผู้สังเกตการณ์อิสระผู้ทรงคุณวุฒิ

ปตท. ได้ รั บ ความเห็ น ชอบรายงานการวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบ สิ่งแวดล้อม (EIA) ในโครงการท่อส่งก๊าซฯ RA#6-ราชบุรี และ โครงการท่อส่งก๊าซฯ เส้นที่ 5 จากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ (กก.วล.)


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

065

สิงหาคม

PTTLNG ร่ ว มกั บ บริ ษั ท Samsung Engineering

ปตท. รับรางวัลในงาน Thailand Labour Management

(Thailand) Ltd. และบริษัท CAZ (Thailand) Ltd. ลงนาม

E x c e l l e n c e Aw a r d 2 0 1 7 โ ด ย รั บ ร า ง วั ล ส ถ า น

ใ น สั ญ ญ า โ ค ร ง ก า ร ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก พ ลั ง ง า น

ประกอบกิ จ การต้ น แบบดี เ ด่ น ด้ า นความปลอดภั ย

ความเย็นเพื่อปรับปรุงเสถียรภาพระบบไฟฟ้า (In-plant

อาชีวอนามั ย และสภาพแวดล้ อ มในการทํ า งาน

Power Generation) ซึ่ ง เป็ น ครั้ ง แรกของประเทศไทย

ประจําปี 2560 จํานวน 63 รางวัล และรางวัลเจ้าหน้าที่

ที่นําความเย็นเหลือใช้จากการเปลี่ยนสถานะของ LNG

ความปลอดภัยดีเด่น 3 รางวัล โดยมีคลังปิโตรเลียม

มาต่ อ ยอดช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพระบบไฟฟ้ า ภายใน

สุราษฎร์ธานี เป็นสถานประกอบกิจการที่ได้รับรางวัลฯ

โรงงานให้ ดี ขึ้ น ร้ อ ยละ 21 อี ก ทั้ ง ยั ง ช่ ว ยลดผลกระทบ

ต่อเนื่องมากถึง 21 ปี ซึ่งนับเป็นสถานประกอบกิจการ ที่ได้รับรางวัลต่อเนื่องมากที่สุดของประเทศ

ด้านสิ่งแวดล้อมในทะเล •

ปตท. ร่ ว มกั บ บริ ษั ท S&P Global Platts จั ด เสวนา นําเสนอสถานการณ์ตลาดน้ํามันและปิโตรเคมีรวมถึง LNG และตลาดเรือขนส่ง เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ มุมมองทิศทางตลาดในอนาคตให้กับผู้บริหารระดับสูง ของหน่วยงานราชการ สถาบันพลังงานเพือ ่ อุตสาหกรรม และสถาบันปิโตรเลียม ซึ่งมีผู้เข้าร่วมงานกว่า 200 คน

ปตท. ลงนามสัญญาต่ออายุสง่ ก๊าซฯ กับลูกค้าโรงไฟฟ้า SPP บริษท ั โกลว์ พลังงาน จํากัด (มหาชน) โดยมีปริมาณก๊าซฯ จัดส่งตามสัญญา 66 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน

ปตท. เริม ่ ส่งก๊าซฯ เพือ ่ การค้าให้กบ ั ลูกค้าโรงงานอุตสาหกรรม บริษท ั แม็คคียฟ ์ ด ู้ เซอร์วส ิ เซส (ประเทศไทย) จํากัด บริษท ั คานายาม่า คาเซอิ (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เอเซียน อินซูเลเตอร์ จํากัด (มหาชน) ปริมาณจัดส่งก๊าซฯ ตามสัญญา โดยรวม 0.53 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน

ปตท. และการยางแห่งประเทศไทย ลงนามบันทึกข้อตกลง

London Ltd. เพือ ่ รองรับการขยายธุรกรรมการค้าระหว่าง

ความร่ ว มมื อ การใช้ ศู น ย์ บ ริ ก ารยานยนต์ ฯ FIT Auto ของ ปตท. เพื่อสนับสนุน “โครงการยางล้อประชารัฐ” โดยให้ฟรีค่าบริการติดตั้ง ตั้งศูนย์ฯ ถ่วงล้อ เมื่อเปลี่ยน ยาง TH TYPE ที่ศูนย์บริการ FIT Auto ทั่วประเทศ

ปตท. เพิ่ ม ทุ น ในบริ ษั ท PTT International Trading ประเทศในภูมิภาคฝั่งตะวันตกของโลก

ปตท. รับรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่นด้านนวัตกรรมประจําปี 2560 ด้วยผลงาน Bio-SSCMB (วัสดุผลิตจากเยือ ่ กาแฟ) จากสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.)


066

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

กันยายน

ปตท. ร่ ว มกั บ ธนาคารเพื่ อ การเกษตรและ

ปตท. และธนาคารเพือ ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)

สหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) จัดพื้นที่ในสถานี

ลงนามความร่วมมือ “ปตท. - ธ.ก.ส. รวมพลัง ร่วมใจช่วยเกษตรกร”

บริการ ปตท. ทั่วประเทศ เพิ่มช่องทางจําหน่าย

เพื่อสร้างเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจ ช่วยเหลือเกษตรกรและ

สิ น ค้ า และผลผลิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพ ช่ ว ยเกษตรกร

ชุมชนทัว ่ ประเทศให้มช ี อ ่ งทางการจําหน่ายสินค้าผ่านสถานีบริการ

ระบายผลผลิ ต ตามฤดู ก าลสู่ ผู้ บ ริ โ ภคโดยตรง

น้ํามัน ปตท. สร้างรายได้ ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจระดับฐานราก

พร้ อ มอํ า นวยความสะดวกให้ ผู้ บ ริ โ ภคเลื อ กซื้ อ

และพัฒนาฝีมือเกษตรกรไทย ด้วยการให้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎี

ไ ด้ ง่ า ย ช่ ว ย พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ก า ร เ ก ษ ต ร

และภาคปฏิ บั ติ ใ นการใช้ น้ํ า มั น หล่ อ ลื่ น สํ า หรั บ เครื่ อ งจั ก รกล

ให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น

ทางการเกษตร เพือ ่ ให้เกษตรกรสามารถนําความรูไ้ ปปรับประยุกต์

ปตท. ลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ

ใช้ได้อย่างแท้จริง

การซือ ้ ขายเมล็ดกาแฟกะลา ภายใต้กระบวนการ ปลู ก และผลิ ต กาแฟระบบอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากร ธรรมชาติ ระหว่างวิสาหกิจชุมชนกาแฟปางขอน และวิสาหกิจชุมชนกาแฟอาข่าปางขอน กับบริษท ั สานพลัง วิสาหกิจเพื่อสังคม จํากัด ซึ่งเป็นบริษัท ในกลุม ่ ปตท. และคาเฟ่อเมซอน ณ บ้านปางขอน ตํ า บลห้ ว ยชมภู อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด เชี ย งราย เป็นการส่งเสริมธุรกิจเพื่อสังคมที่ประกอบด้วย ก า ร พั ฒ น า ก า ร ป ลู ก แ ล ะ ผ ลิ ต ก า แ ฟ ด้ ว ย การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ การจั ด หาเมล็ ด กาแฟดิ บ และเพิ่ ม ช่ อ งทาง การจําหน่าย รวมถึงสนับสนุนการจ้างงานชุมชน

ปตท. เริ่ ม ส่ ง ก๊ า ซฯ เพื่ อ การค้ า ให้ กั บ ลู ก ค้ า โรงไฟฟ้ า SPP

ในท้ อ งถิ่ น ให้ ชุ ม ชนมี ส่ ว นร่ ว มพั ฒ นาตนเอง

บริษัท กัลฟ์ ทีเอส 2 จํากัด ปริมาณจัดส่งก๊าซฯ ตามสัญญา

เติบโตไปอย่างเกื้อกูลกัน

18 ล้ า นลู ก บาศก์ ฟุ ต ต่ อ วั น และลู ก ค้ า โรงงานอุ ต สาหกรรม

ปตท. และทหารเรื อ ร่ ว มลงนามในบั น ทึ ก

บริ ษั ท นิ ค เคอิ เอ็ ม ซี อลู มิ นั ม (ประเทศไทย) จํ า กั ด ปริ ม าณ

ความเข้ า ใจว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ด้ า นพลั ง งาน

จัดส่งก๊าซฯ ตามสัญญา 0.4 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน

แ ล ะ ก า ร บ ริ ก า ร น้ํ า มั น เ ชื้ อ เ พ ลิ ง แ ล ะ ธุ ร กิ จ

ปตท. ได้รบ ั รางวัลด้านนวัตกรรมการบริการ จากรองนายกรัฐมนตรี

ทีเ่ กีย ่ วเนือ ่ งบริเวณสนามบินอูต ่ ะเภา เพือ ่ สนับสนุน

นายวิษณุ เครืองาม ในงาน “รางวัลเลิศรัฐบริการภาครัฐแห่งชาติ

การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก

ั รางวัลนวัตกรรมการบริการทีเ่ ป็นเลิศ ปี 2560” โดยผลงานทีไ่ ด้รบ

(Special Eastern Economic Corridor) เมืองการบิน

คื อ Mobile Application จากส่ ว นตลาดและบริ ก ารลู ก ค้ า

ภาคตะวันออก (Eastern Aviation) ให้เกิดผลสําเร็จ

ฝ่ายตลาดก๊าซธรรมชาติสําหรับยานยนต์

เป็นรูปธรรม ตามนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ Thailand 4.0


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

067

ตุลาคม

ปตท. ร่วมกับ บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่

ปตท. ประสานความร่ ว มมื อ ไปยั ง หน่ ว ยงานรั ฐ วิ ส าหกิ จ

จํากัด (มหาชน) (GPSC) ลงนามในบันทึกข้อตกลง

ที่รับผิดชอบด้านการคมนาคมในช่วงพระราชพิธี 3 หน่วยงาน

“Natural Gas Market & Total Energy Solution

คื อ รฟท. ขสมก. และ บขส. ในโครงการ “รวมพลั ง ร่ ว มใจ

Project” เพื่ อ พั ฒ นาตลาดก๊ า ซธรรมชาติ แ ละ

ให้ บ ริ ก ารฟรี ” ในการสนั บ สนุ น น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง สํ า หรั บ ขนส่ ง

ตลาดไฟฟ้า ในประเทศกัมพูชา ซึง่ จะช่วยต่อยอด

ประชาชนเพือ ่ ร่วมแสดงความอาลัยเนือ ่ งในพระราชพิธถ ี วายพระเพลิง

การดําเนินธุรกิจด้านพลังงานแบบครบวงจรของ

พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

กลุ่ม ปตท. ในภูมิภาคอาเซียน

บรมนาถบพิตร

ปตท. ร่วมลงนามในสัญญาซือ ้ ขายก๊าซธรรมชาติ กับ บริษท ั ดับบลิวเอชเอ อีสเทิรน ์ ซีบอร์ด เอ็นจีดี 2 จํ า กั ด สํ า หรั บ พื้ น ที่ นิ ค มอุ ต สาหกรรมเหมราช อีสเทิร์น ซีบอร์ด 2 อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เป็ น การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ตามนโยบายการเปิ ด เสรี กิจการก๊าซฯ ของภาครัฐ เพื่อสร้างความมั่นคง ทางการจัดหาพลังงาน ให้แก่ภาคอุตสาหกรรม ของประเทศไทย

ปตท. รั บ รางวั ล ในงาน 2017 World Branding Awards C e r e m o n y ที่ จั ด ขึ้ น เ พื่ อ ม อ บ ร า ง วั ล ใ ห้ กั บ แ บ ร น ด์ ชั้ น นํ า จากทั่วโลก โดยสถานีบริการน้ํามัน ปตท. และคาเฟ่อเมซอน ได้รับการคัดเลือกจาก World Branding Forum ให้ได้รับรางวัล Brand of the Year (National Tier 2017 - 2018) ในสาขา Petro/Gas Station category และ Retailer-Coffee category ตามลําดับ

ปตท. เริม ่ ส่งก๊าซเพือ ่ การค้าให้กบ ั ลูกค้าโรงไฟฟ้า

ปตท. และบริษัท ซีพีซี เทรด แอนด์ เซอร์วิส จํากัด ร่วมลงนาม

SPP บริษัท บ้านโป่ง ยูทิลิตี้ (โครงการ 1 และ 2)

ความร่วมมือ “โครงการพัฒนาตลาด Pulverized Coal ระบบปิด

จํ า กั ด ปริ ม าณจั ด ส่ ง ก๊ า ซฯตามสั ญ ญาโรงละ

ตลอด Supply Chain ในภาคอุตสาหกรรม” โดยโครงการดังกล่าว

17 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน

เกิดขึน ้ จากการพัฒนาต่อยอดโครงการ Pulverized Coal ในระดับ ทดลอง หรือ Pilot Scale ที่ ปตท. ได้ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม ดําเนินการในปี 2558 เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการผลิต การจัดเก็บ การขนส่ง และใช้งาน Pulverized Coal แบบระบบปิด และเพือ ่ นําเสนอเชือ ้ เพลิงทางเลือกใหม่ทต ี่ อบสนองความต้องการ ใช้ พ ลั ง งาน และช่ ว ยลดต้ น ทุ น ค่ า เชื้ อ เพลิ ง สํ า หรั บ การผลิ ต ในภาคอุตสาหกรรมด้วยเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) โดยที่ ผ่ า นมาปรากฏผลของความเป็ น ไปได้ และคุ้ ม ค่ า ในการดํ า เนิ น การข้ า งต้ น และได้ รั บ การยอมรั บ ในภาคอุ ต สาหกรรม จนนํ า ไปสู่ ก ารใช้ ง าน Pulverized Coal อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน


068

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

พฤศจิกายน

ปตท. จับมือไปรษณีย์ไทย เปิดช่องทางในสถานี บริ ก ารช่ ว ยกระจายสิ น ค้ า ชุ ม ชน โดยพั ฒ นา ช่ อ งทางการจํ า หน่ า ยสิ น ค้ า ชุ ม ชน ผ่ า นระบบ E-Commerce ในสถานี บ ริ ก ารน้ํ า มั น ปตท. ช่วยสนับสนุนให้ชม ุ ชนสามารถกระจายสินค้าและ ผลิตภัณฑ์ของชุมชน สินค้า OTOP และ SMEs ข้ า มภู มิ ภ าคได้ อ ย่ า งทั่ ว ถึ ง ทั้ ง ในประเทศและ ระหว่างประเทศ

ปตท. ร่ ว มกั บ ธนาคารกสิ ก รไทย สนั บ สนุ น ด้ า นการเงิ น ให้ ธุ ร กิ จ แฟรนไชส์ ฮั่ ว เซ่ ง ฮงติ่ ม ซํ า เพื่อสร้างโอกาสให้ทุกคนสามารถสร้างงานด้วย ตนเอง และช่วยส่งเสริม SME ไทยอยูไ่ ด้อย่างยัง่ ยืน

ปตท. และ Efuel Services Snd. Bhd. ลงนาม ความร่วมมือ PTT Lubricants Distributorship Agreement Signing Ceremony ในการมอบสิทธิ์ ให้ เ ป็ น ตั ว แทนจํ า หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ล่ อ ลื่ น ของ ปตท. เจ้าแรกในประเทศมาเลเซีย

ปตท. ส่ ง ออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ล่ อ ลื่ น ไปยั ง ประเทศ ฟิ จิ เ ป็ น ครั้ ง แรก โดยในครั้ ง นี้ ปตท. ส่ ง ออก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ล่ อ ลื่ น ทั้ ง กลุ่ ม เบนซิ น และดี เ ซล ไปจําหน่าย

ปตท. เปิ ด ตั ว PTT Challenger Superbike

ธันวาคม

Racing 10W-50 และ 10W-60 ที่สุดของน้ํามัน หล่อลืน ่ สําหรับรถจักรยานยนต์ซป ุ เปอร์ไบค์ขนาด 600 cc ขึ้ น ไป ทั้ ง ประเภทสปอร์ ต และทั ว ร์ ริ่ ง ครั้งแรกในไทย •

ปตท. รั บ รางวั ล “การตลาดยอดเยี่ ย ม” MAT

บริษัท วันไทยอุตสาหกรรม จํากัด (บางชัน) และ บริษัท เอพีซี

Industrial: Chemical จากสมาคมการตลาด

อุ ต สาหกรรม จํ า กั ด ปริ ม าณจั ด ส่ ง ก๊ า ซฯ ตามสั ญ ญารวม

แห่งประเทศไทย ภายใต้ชื่อแคมเปญ “What’s

0.32 ล้านลูกบาศก์ฟต ุ ต่อวัน

ไม่ได้มีไว้แค่เพื่อตัวเอง”

ปตท. เริ่มส่งก๊าซฯ เพื่อการค้าให้กับลูกค้าโรงงานอุตสาหกรรม

Award 2017 ระดั บ Silver ในประเภทผลงาน

your Challenge?” หรือ “จิตวิญญาณที่ท้าทาย •

ปตท. รับรางวัลประกาศเกียรติคุณองค์กรส่งเสริมอารยสถาปัตย์ แห่งปี 2560 ในโอกาสที่ ปตท. เป็นองค์กรส่งเสริมความร่วมมือ

ปตท. เริม ่ ส่งก๊าซฯ เพือ ่ การค้าให้กบ ั ลูกค้าโรงไฟฟ้า

ในการออกแบบและสร้างสัญลักษณ์ Friendly Design โดยได้

SPP บริ ษั ท กั ล ฟ์ ที เ อส 3 จํ า กั ด และ บริ ษั ท

นําเสนอแนวคิดสถานีบริการ ปตท. ในรูปแบบ PTT Friendly

ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ (โครงการ 1 และ 2)

Design สัญลักษณ์แห่งความห่วงใย ที่ ปตท. มุ่งมั่นพัฒนาขึ้น

จํ า กั ด ปริ ม าณจั ด ส่ ง ก๊ า ซฯ ตามสั ญ ญารวม

ด้วยความใส่ใจ พร้อมดูแลผู้บริโภคทุกเพศ ทุกวัย และทุกสภาพ

53 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน

ร่ า งกาย ให้ ส ามารถเข้ า ถึ ง และใช้ บ ริ ก ารได้ ทุ ก พื้ น ที่ ด้ ว ย

ปตท. ดํ า เนิ น การก่ อ สร้ า งและทดสอบสถานี

ความสะดวกและปลอดภัย

เพิ่ ม ความดั น ก๊ า ซฯ กลางทาง บนท่ อ ส่ ง ก๊ า ซฯ เส้นที่ 4 (Midline Compressor) แล้วเสร็จ


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ปตท. รับรางวัลธุรกิจยานยนต์ยอดนิยม ประจําปี 2560 Thailand Automotive Quality Award 2017 (TAQA) ในกลุ่มผลิตภัณฑ์ เกี่ยวเนื่องกับรถยนต์ ในด้านน้ํามันเชื้อเพลิงและสถานีบริการ น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ต่ อ เนื่ อ งเป็ น ปี ที่ 8 ตอกย้ํ า ความเชื่ อ มั่ น และ ความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์และบริการที่ผู้บริโภคมีต่อแบรนด์ ปตท. ได้เป็นอย่างดี

ปตท. ร่ ว มมื อ กั บ ธนาคารกสิ ก รไทย สนองนโยบาย National e-Payment นํานวัตกรรมการชําระเงินด้วย QR Code Payment มาใช้ในร้านค้าปลีกของ ปตท. เพิ่มความสะดวกและความมั่นใจ ้ ริโภคขึน ้ ไปอีกขัน ้ สร้างประสบการณ์ใหม่ในการซือ ้ สินค้า ให้กบ ั ผูบ และบริการทีง่ า่ ยดายด้วย Dynamic QR Code เพียงสแกน ก็ชาํ ระเงิน ได้ ทั น ที โดยไม่ ต้ อ งใช้ เ งิ น สด และไม่ ต้ อ งระบุ จํ า นวนเงิ น เอง หมดกังวลเรื่องจํานวนเงินไม่ตรงตามจริง อีกทั้งยังใช้ได้ไม่จํากัด จํานวนครั้ง และฟรีไม่มีค่าธรรมเนียม

ปตท. ร่วมกับธนาคารทหารไทย เปิดตัวบัตรเติมน้ํามัน ปตท. PTT FLEET CARD สําหรับหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ ซึ่งมีหน้าที่ต้องหักและนําส่งภาษี ณ ที่จ่าย (Withholding Tax) สํ า หรั บ การซื้ อ น้ํ า มั น ณ สถานี บ ริ ก าร โดยหน่ ว ยงานราชการ และรัฐวิสาหกิจสามารถแต่งตั้งให้ธนาคารทหารไทยเป็นตัวแทน หักภาษี ณ ที่จ่าย และนําส่งกรมสรรพากรแทนได้ ซึ่งจะช่วยลด ขั้นตอนในการทํางานและการจัดซื้อน้ํามันของหน่วยงานราชการ และรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ ในการเติมน้ํามันที่สถานีบริการ ปตท. กว่า 1,500 สาขาทั่วประเทศ

ป ต ท . ล ง น า ม ใ น บั น ทึ ก ค ว า ม ต ก ล ง ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เพื่ อ พั ฒ นาบุ ค ลากรกั บ คณะโลจิ ส ติ ก ส์ มหาวิ ท ยาลั ย บู ร พา ต่อเนือ ่ งเป็นปีที่ 2 โดยมุง่ เน้นการจัดทําหลักสูตรพัฒนาศักยภาพ บุคลากร แล้วยังมีการพัฒนาระบบจําลองสถานการณ์การทํา การค้าระหว่างประเทศในรูปแบบ Web Base เพื่อเป็นเครื่องมือ สํ า คั ญ ในการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและเสริ ม การเรี ย นรู้ ใ นสภาพ แวดล้อมธุรกิจเสมือนจริง

ปตท. ดํ า เนิ น การติ ด ตั้ ง และทดสอบหน่ ว ยเพิ่ ม ความดั น ก๊ า ซฯ ในทะเล (Offshore Compressor) แล้วเสร็จ

ปตท. ลงนาม MOA ระหว่างกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ โดย สวทช. และ ปตท. เพื่อการพัฒนาวังจันทร์วัลเลย์เป็นฐานที่ตั้งสําคัญ ของ EECi

ปตท. ดํ า เนิ น การออกแบบ Conceptual design “Natural Innovation Park/ Eco City” และจัดทําแผนผังโฉนดที่ดินพื้นที่ ขอบเขตโครงการ EECi สําหรับการขอประกาศพืน ้ ทีว ่ งั จันทร์วล ั เลย์ เป็น “เขตส่งเสริมนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก” แล้วเสร็จ

ลักษณะการประกอบธุรกิจและผลการดําเนินงาน

069


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สานพลังสู่ความยั่งยืนร่วมกัน

สานพลัง สูความยั่งยืน รวมกัน

11 ปั จ จั ย สํ า คั ญ ในการสร้ า งความเจริ ญ ก้ า วหน้ า แก่ ชุ ม ชน สั ง คม และประเทศ มี ห ลายประการ หนึ่ ง ในนั้ น คื อ ความร่ ว มแรงร่ ว มใจจากทุ ก ฝ่ า ย ปตท. ขอเป็นส่วนหนึง่ ในการร่วมขับเคลือ ่ นสังคมไทย ให้ ก้ า วหน้ า โดยนํ า เป้ า หมายการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น (Sustainable Development Goals) ซึง่ ประชาคมโลก ต ก ล ง ร่ ว ม กั น ใ ช้ เ ป็ น ก ร อ บ ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ด้านการพัฒนามากําหนดเป็นแนวทางการดําเนินงาน เพื่อสังคมให้ครอบคลุมในทุกมิติ ตั้งแต่การศึกษา และการพัฒนาศักยภาพเยาวชน ส่งเสริมมาตรฐาน คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี และสร้ า งการเข้ า ถึ ง พลั ง งาน ทางเลื อ กอย่ า งเหมาะสม ตลอดจนการอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและฟืน ้ ฟูสงิ่ แวดล้อม ทัง้ ทางบก และทางทะเล ปลู ก และดู แ ลรั ก ษาป่ า เพื่ อ กั ก เก็ บ ก๊ า ซเรื อ นกระจก อั น เป็ น สาเหตุ ห นึ่ ง ของการ เปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ พร้ อ มทั้ ง ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด ความตระหนั ก รู้ แ ละความร่ ว มมื อ จาก ภาคส่ ว นต่ า ง ๆ จนนํ า ไปสู่ ก ารร่ ว มสร้ า งสั ง คม สู่ความยั่งยืน

“โครงการรักษนํ้า รักษปา รักษคุงบางกะเจา”

070


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สานพลังสู่ความยั่งยืนร่วมกัน

071

สานพลัง “รักษนํ้า รักษปา รักษคุงบางกะเจา” ปตท. และบริษท ั ในกลุม ่ ร่วมสืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในการรักษา พื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่ของคุ้งบางกะเจ้า อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ให้มีระบบนิเวศที่สมบูรณ์ พร้อมเสริมสร้างชุมชน เข้มแข็ง ดําเนินงานภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและหลักการมีสว ่ นร่วมกับภาคีเครือข่าย กลุม ่ ผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียสําคัญ อาทิ มูลนิธิ ชัยพัฒนา กระทรวงพลังงาน กรมป่าไม้ ส่วนราชการท้องถิ่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และการมีส่วนร่วมของชุมชนคุ้งบางกะเจ้า ผ่านการดําเนินงานหลัก 4 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาสิ่งแวดล้อม การพัฒนาคุณภาพชีวิต การส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน และการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ โดยในปี 2560 ได้ร่วมพัฒนาปรับปรุงสวนเฉลิมพระเกียรติฯ 80 พรรษา ฟื้นฟูพื้นที่สีเขียว เพิ่มพันธุ์ไม้พื้นถิ่น ปลูกป่าชายเลน และวิจัยการกัดเซาะพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ํา ตลอดจนส่งเสริมการพัฒนาเยาวชนร่วมกับเครือข่ายโรงเรียนในพื้นที่ ในชื่อ กิจกรรมกล้าพันธุ์ดี เพื่อสร้างกลุ่มผู้นําการเปลี่ยนแปลงรุ่นใหม่ นอกจากนี้ได้ดําเนินการวิจัยอัตลักษณ์ชุมชนคุ้งบางกะเจ้าในมิติต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นองค์ความรู้ระยะยาว อันจะนําไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน


072

สานพลังสู่ความยั่งยืนร่วมกัน

พลังปญญา สรางการพัฒนา พลังคน สรางอนาคต

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สถาบันวิทยสิริเมธีและโรงเรียนกําเนิดวิทย พื้นที่ของนักคิดและนักทํา ปตท. สร้างสรรค์พื้นที่สําหรับการเพาะต้นกล้าแห่งอนาคต ซึ่งจะเติบโตขึ้นเป็นกําลังสําคัญในการสนับสนุนการพัฒนา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นนักคิดและนักปฏิบัติ ที่พร้อมจะก้าวออกไปรับใช้สังคม คือ สถาบันวิทยสิริเมธีและโรงเรียนกําเนิดวิทย์ สถาบันวิทยสิริเมธี เปิดสอนระดับปริญญาโทและปริญญาเอก

นับจากอดีตจนถึงปัจจุบัน มีตัวอย่างมากมายที่กระตุ้นเตือน

ในสํานักวิชาวิทยาการโมเลกุลและสํานักวิทยาการพลังงานแล้ว จํานวน 3 รุ่น มีผู้เข้ารับการศึกษาในระดับปริญญาโท

ให้เราตระหนักในพลังของวิทยาศาสตร์

ปริญญาเอก และนักวิจัยหลังปริญญาเอก รวม 156 คน

และเทคโนโลยีที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงโลก

นอกจากนี้ สถาบันวิทยสิริเมธียังมุ่งมั่น

และชีวิตมนุษย์ ทั้งยังเป็นกลไกสําคัญ ในการพัฒนาประเทศ อย่างไรก็ดี จุดเริ่มต้นที่จะทําให้เกิดความก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมถึงเกิดการนํามาใช้ประโยชน์ได้ อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยก็คือ คน ซึ่งจะเป็นผู้เรียนรู้ ต่อยอด ตลอดจน สร้างสรรค์สิ่งดี ๆ จากศาสตร์ดังกล่าว ปตท. จึงให้ความสําคัญกับการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ โดยมีเป้าหมายสําคัญ คือการสร้างความก้าวหน้าด้านบุคลากร ที่เชี่ยวชาญทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีให้แก่ประเทศ โดยเริ่มจากการบ่มเพาะพื้นฐานที่ดี ทั้งร่างกายและจิตใจ

สร้างสรรค์งานวิจัยที่จะพัฒนาไปสู่นวัตกรรม ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมในด้านต่าง ๆ ดังนี้


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สานพลังสู่ความยั่งยืนร่วมกัน

073

Advanced Functional Materials: การพั ฒ นางานวิ จั ย ด้านวัสดุหน้าที่พิเศษขั้นสูง เช่น การพัฒนาพื้นผิวของวัสดุ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเกิดปฏิกิริยา ลดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมและลดต้นทุนการผลิตในอุตสาหกรรม รวมถึง การพัฒนาแคปซูลและส่วนผสมในยาหรือสารตั้งต้นทางเคมี เพื่อการออกฤทธิ์หรือเกิดปฏิกิริยาที่มีประสิทธิภาพ เป็นต้น

Energy Science and Applied Technology: การพัฒนา

สถาบันวิทยสิริเมธี

งานวิจย ั วิทยาศาสตร์พลังงานและเทคโนโลยีในการประยุกต์ใช้ เช่น การพัฒนาวัสดุคอมโพสิต (วัสดุผสม) เพื่อใช้เป็นแหล่ง กักเก็บพลังงาน (Energy Storage) การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยา เพื่อเพิ่มคุณภาพของ Bio-Oil การพัฒนาซีโอไลต์ (Zeolite) ซึ่ ง เป็ น ตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย าที่ สํ า คั ญ ในกระบวนการกลั่ น ของ อุตสาหกรรมปิโตรเคมี การออกแบบและพัฒนาสารตัวนํา ไอออน และการพั ฒ นารู ป แบบการเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าในระดั บ โมเลกุลให้มีประสิทธิภาพ เป็นต้น •

Biological Inspired Engineering and Sustainable Technology: การพั ฒ นางานวิ จั ย เพื่ อ สร้ า งความยั่ ง ยื น ใน การนําวัสดุจากธรรมชาติไปประยุกต์ใช้ เช่น การออกแบบ ํ เสียจากฟาร์มสุกร ชุดดักจับกลิน ่ (Scrubber) ในระบบกําจัดน้า โดยใช้ วั ส ดุ ที่ ห าได้ ใ นพื้ น ที่ แ ละราคาถู ก เช่ น กาบมะพร้ า ว และมุ้ ง ไนลอน การพั ฒ นาตั ว ดู ด ซั บ จากขยะกระดาษ ก า ร พั ฒ น า ตั ว เ ร่ ง ป ฏิ กิ ริ ย า เ ฉ พ า ะ เ พื่ อ ใ ช้ ใ น ก า ร ผ ลิ ต Biodegradable Polymers ให้เหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาที่เปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เป็ น สารเคมี เชื้ อ เพลิ ง และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี มู ล ค่ า รวมทั้ ง มีส่วนช่วยลดปัญหาโลกร้อน เป็นต้น

Data Science and Engineering: การพั ฒ นางานวิ จั ย ด้านการจัดการข้อมูลดิจท ิ ล ั และการใช้ประโยชน์ โดยเชือ ่ มต่อ อุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต (Internet of Things) แ ล ะ นํ า ม า ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ ง า น ด้ า น วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ วิทยาศาสตร์การกีฬา สถาปัตยกรรมศาสตร์ การออกแบบเมือง สาธารณสุข การจัดการข้อมูล การศึกษา และอุตสาหกรรม


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สานพลังสู่ความยั่งยืนร่วมกัน

โรงเรียนกําเนิดวิทย

074

โรงเรี ย นกํ า เนิ ด วิ ท ย์ เปิ ด รั บ นั ก เรี ย นเข้ า ศึ ก ษาระดั บ รุ่ น ละ 72 คน นอกจากการบ่ ม เพาะต้ น กล้ า นั ก วิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในรั้วโรงเรียนแล้ว ยังขยายขอบเขตการส่งเสริม การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสูภ ่ ายนอก ด้วย โดยร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดการประกวด

โรงเรียนศตวรรษที่ 21

มัธยมศึกษาตอนปลายแล้ว จํานวน 3 รุน ่ (ปีการศึกษา 2558 - 2560)

นวัตกรรมสีเขียว ประจําปี 2560 (Youth Greenovation Awards 2017) ชิ ง ถ้ ว ยพระราชทานสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี โดยเปิดโอกาสให้เยาวชนคนรุ่นใหม่ ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย และอาชีวศึกษาหรือ เทียบเท่า ได้แสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ ประดิษฐ์นวัตกรรม ทีน ่ า ํ ไปใช้ได้จริง เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ซึง่ ทีมเยาวชนทีไ่ ด้รบ ั ถ้วย พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้แก่ •

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผลงาน “ชุดแปลงพลังงานสําหรับนักเดินทาง” โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม กรุงเทพมหานคร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผลงาน “DIY Filaments for 3D Printer” โรงเรียนกําเนิดวิทย์ จังหวัดระยอง

ระดับอาชีวศึกษา ผลงาน “ทุ่นอนุรักษ์ปะการังโดยใช้พลังงานคลื่นทะเล” วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ปโตรแคมป สูแชมปปโตร


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สานพลังสู่ความยั่งยืนร่วมกัน

075

โรงเรียนศตวรรษที่ 21 กาวใหเทาทัน กาวใหเทาเทียม ปตท. สนับสนุนการสร้างโอกาสทางการศึกษาให้แก่เยาวชน รอบสถานประกอบการ ให้ เ ข้ า ถึ ง การศึ ก ษาที่ มี คุ ณ ภาพและ ได้ ม าตรฐาน โดยดํ า เนิ น โครงการโรงเรี ย นแห่ ง ศตวรรษที่ 21 เพื่อพัฒนาโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ให้เป็นโรงเรียนต้นแบบในการปฏิรูปการเรียน การสอนของโรงเรียนทัง้ ระบบ ประกอบด้วย การขับเคลือ ่ นองค์กร ของผู้บริหาร การพัฒนาศักยภาพครู การพัฒนาสภาพแวดล้อม และสื่อการสอน ตลอดจนการสร้างความร่วมมือกับผู้ปกครอง และชุมชน ในการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมต่อการพัฒนา สติ ปั ญ ญาและพฤติ ก รรมของนั ก เรี ย น นอกจากนี้ ยั ง มุ่ ง เน้ น การพั ฒ นาให้ เ ยาวชนมี คุ ณ ลั ก ษณะที่ จํ า เป็ น ต่ อ ยุ ค ปั จ จุ บั น อั น ได้ แ ก่ มี ค วามรู้ ด้ า นการคิ ด วิ เ คราะห์ การคํ า นวณ ภาษา และเทคโนโลยี ควบคู่ไปกับทักษะการใช้ชีวิตที่จะทําให้เยาวชน มี ศั ก ยภาพพร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลงของระบบเศรษฐกิ จ และ สั ง คม เติ บ โตเป็ น “คนดี ” และ “คนเก่ ง ” ทั้ ง นี้ ใ นปี 2560 กลุ่ม ปตท. ได้ดําเนินการโครงการต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 สามารถ พั ฒ นาโรงเรียนต้ น แบบในจั ง หวั ด ระยองจํ า นวน 2 แห่ ง และโรงเรียนเครือข่ายอีก 5 แห่ง ซึ่งทั้งหมดได้รับเชิญจาก สพฐ. ให้ ร่ ว มเป็ น ต้ น แบบขยายผลสู่ โ รงเรี ย นของรั ฐ อี ก 3,000 แห่ ง ทั่วประเทศ

ปโตรแคมป สูแชมปปโตร ปตท. ดําเนินโครงการปิโตรแคมป์ สูแ ่ ชมป์ปโิ ตร อย่างต่อเนือ ่ ง เป็นปีท่ี 12 เพือ ่ ส่งเสริมให้เยาวชนมีความรูค ้ วามเข้าใจด้านปิโตรเคมี การกลั่ น พลั ง งาน ตลอดจนความคิ ด สร้ า งสรรค์ ใ นการสร้ า ง นวัตกรรมใหม่ ๆ โดยในปี 2560 ปตท. มีนก ั เรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายจํานวน 55 คน จาก 13 โรงเรียนทั่วประเทศ ที่ผ่าน การคั ด เลื อ กเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมนี้ เพื่ อ เรี ย นรู้ ด้ า นวิ ช าการและ ทํ า กิ จ กรรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ ปิ โ ตรเลี ย ม และ สิ่ ง แวดล้ อ ม อี ก ทั้ ง ปตท. ยั ง ร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรีคัดเลือกเยาวชนจากโครงการนี้ไปศึกษาต่อ ระดั บ อุ ด มศึ ก ษาในภาควิ ช าวิ ศ วกรรมเคมี แ ละวิ ศ วกรรม สิ่ ง แวดล้ อ ม คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้ า ธนบุ รี พร้ อ มทั้ ง สนั บ สนุ น ทุ น การศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ ง ตลอดระยะเวลาการศึกษา 4 ปี จนถึงปั จ จุ บั น มีผู้ ไ ด้ รั บ ทุนการศึกษาทัง้ สิน ้ 55 คน และมีผส ู้ าํ เร็จการศึกษาแล้วทัง้ สิน ้ 27 คน โดยผู้ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาบางกลุ่ ม ศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ ปริ ญ ญาโท ด้านวิทยาการพลังงานและวิศวกรรมศาสตร์ และบางกลุม ่ ทํางาน เป็ น บุ ค ลากรด้ า นวิ ศ วกรรมศาสตร์ ที่ มี คุ ณ ภาพให้ แ ก่ ภ าครั ฐ และเอกชน


076

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สานพลังสู่ความยั่งยืนร่วมกัน

เติมพลังที่เขมแข็งใหชุมชน สูการพึ่งตนเองทางพลังงาน ปตท. ตระหนักถึงสถานการณ์การลดลงของพลังงานจากฟอสซิล และเล็งเห็นถึงความสําคัญของการพัฒนาและส่งเสริมการใช้ พลังงานทดแทนในรูปแบบต่าง ๆ จึงได้ริเริ่มโครงการพัฒนา พลังงานชุมชน เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนพึ่งพาตนเองด้านพลังงาน ได้อย่างยั่งยืน พร้อมทั้งยังให้ความสําคัญต่อการดําเนินกิจกรรม ที่ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนในมิติต่าง ๆ ด้วย

พลังสะอาด พลังงานเพื่อชุมชน จากการปฏิ บั ติ ง านของพนั ก งาน ปตท. ใน การดูแลระบบท่อและชุมชนรอบพืน ้ ทีแ ่ นวท่อส่งก๊าซ ธรรมชาติ ทําให้ ปตท. ทราบถึงปัญหาการเข้าถึง สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานของชุมชน โดยเฉพาะ น้ําสะอาดเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร ปตท. จึ ง เชื่ อ มโยงความรู้ ความเชี่ ย วชาญด้ า น

การดําเนินโครงการพลังธรรมชาติ พลังงานสะอาด เพือ ่ ชุมชน โดยศึกษา ออกแบบ และพัฒนาระบบ ส่งน้า ํ โดยเครือ ่ งตะบันน้า ํ (Hydraulic Ram Pump) ซึ่งไม่ใช้พลังงานจากไฟฟ้าหรือน้ํามัน จนสามารถ แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ําในชุมชนได้สําเร็จ แล้ ว จึ ง ขยายผลและพั ฒ นาต่ อ ยอดเป็ น โมเดล การบริ ห ารจั ด การน้ํ า ในพื้ น ที่ ที่ มี ลั ก ษณะสภาพ ภู มิ ป ระเทศต่ า งกั น โดยในปี 2560 ปตท. ได้ ขยายผลการดําเนินโครงการไปยังพืน ้ ทีต ่ า ่ ง ๆ ทัว ่ ประเทศไทย รวมทั้งสิ้น 14 แห่ง ทําให้ชุมชนและ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถเข้าถึง และใช้ประโยชน์ จากน้า ํ สะอาด ได้ปล ี ะกว่า 190,431 ลูกบาศก์เมตร ทั้งในภาคครัวเรือน การเกษตร และการป้องกัน ไฟป่า

พลังงานสะอาดเพื่อชุมชน

วิศวกรรมและพลังงานขององค์กรที่สะสมมากว่า 30 ปี สู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน ด้วย


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สานพลังสู่ความยั่งยืนร่วมกัน

077

ระบบผลิตไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย แบบติดตั้งลอยนํ้าเพื่อบริหารจัดการนํ้า (Floating PV) แสงจากฟา สู ไฟฟาของชุมชน ปตท. ร่วมกับมูลนิธิชัยพัฒนา ดําเนินการวิจัยระบบผลิต ไฟฟ้ า จากเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ แ บบติ ด ตั้ ง ลอยน้ํ า เพื่ อ บริ ห าร จัดการน้ํา (Floating PV) ณ สระเก็บน้ําพระราม 9 อันเนื่อง มาจากพระราชดําริ และได้ขยายผลการใช้เซลล์แสงอาทิตย์ ในระดั บ ชุ ม ชน โดยส่ ง เสริ ม ให้ ชุ ม ชนหั น มาพึ่ ง พาการใช้ พลั ง งานหมุ น เวี ย นซึ่ ง เป็ น พลั ง งานสะอาดจากธรรมชาติ ทดแทนการใช้พลังงานจากฟอลซิล ในปี 2560 ปตท. ได้ขยายผล การใช้ ง านเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ แ บบติ ด ตั้ ง ลอยน้ํ า สํ า หรั บ ใช้ สู บ น้ํ า ในการเกษตร ไปยั ง ชุ ม ชนเครื อ ข่ า ยที่ สํ า คั ญ ของ ปตท. ใน 5 พื้นที่ ได้แก่ ตําบลดงขี้เหล็ก อําเภอเมือง จังหวัด ปราจีนบุรี ตําบลท่ามะนาว อําเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ตําบลลําสินธุ์ อําเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง ตําบลคําแคน อําเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น และตําบลแม่ทา อําเภอ แม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ สามารถผลิตไฟฟ้าได้รวม 114,690 หน่วยต่อปี ส่งผลให้ชุมชนลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานได้กว่า 771,496 บาท และลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ 67.64 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ต่อปี อีกด้วย

ที่ตําบลท่ามะนาว อําเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ปตท. ได้ ดํ า เนิ น โครงการระบบก๊ า ซชี ว ภาพจากฟาร์ ม สุ ก รเพื่ อ แก้ไขปัญหากลิ่นรบกวนจากฟาร์มสุกรและนําของเสียจาก ฟาร์มสุกรมาผลิตเป็นก๊าซชีวภาพใช้ภายในชุมชน เพือ ่ ทดแทน ก๊าซ LPG และถ่านไม้ โดยในปี 2559 ปตท. ได้นําองค์ความรู้ จากการดําเนินงานที่ตําบลท่ามะนาว ไปขยายผลต่อในอีก 2 พืน ้ ที่ ได้แก่ ตําบลคําแคน อําเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น และตําบลสันทราย อําเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบัน ชุมชนทั้ง 3 แห่ง (183 ครัวเรือน) กลายเป็นชุมชนต้นแบบ ที่ ป ระชาชนมี ส่ ว นร่ ว มในระบบการจั ด การพลั ง งานท้ อ งถิ่ น รวมค่ า ใช้ จ่ า ยที่ ล ดลงและรายได้ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ต่ อ ปี 1.12 ล้ า นบาท ลดการปล่ อยก๊า ซคาร์บ อนไดออกไซด์ ไ ด้ 1,287 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ต่อปี

พลังงานกาซชีวภาพ

ระบบกาซชีวภาพจากฟารมสุกร พลังงานกาซชีวภาพ คุณคาจากของเสีย


078

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สานพลังสู่ความยั่งยืนร่วมกัน

ศูนยเรียนรูปาวังจันทร

พลังแหงการรักษธรรมชาติ เพื่อลมหายใจของทุกชีวิต ปตท. ดําเนินงานด้านกิจการเพื่อสังคมโดยมีเป้าหมายหนึ่ง คือ การคืนความอุดมสมบูรณ์สู่ธรรมชาติและระบบนิเวศ ตลอดจนความหลากหลายทางชีวภาพ โดยตระหนักว่า การปกป้องรักษาทรัพยากรธรรมชาตินั้น จําเป็นต้องสร้าง ภาคีเครือข่าย และการเผยแพร่ความรู้ที่ถูกต้อง

สถาบันปลูกปา ปตท. ปลูกปา ปลูกชีวิต กลุ่ม ปตท. ยังคงสานต่อภารกิจ

ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อมและระบบนิเวศอย่างยัง่ ยืน

ในการดูแลรักษาป่าในโครงการปลูกป่า

ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยฟื้นฟูการทํานาแบบ

ถาวรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ

ดั้งเดิมของชาววังจันทร์ จังหวัดระยอง ตั้งแต่การปลูกจนถึง

พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

การเก็ บ เกี่ ย ว ซึ่ ง จั ด ขึ้ น เป็ น ประจํ า ทุ ก ปี นั บ ตั้ ง แต่ ปี 2558

บรมนาถบพิตร ในโอกาสทรงครองราชย์

เป็นต้นมา ทัง้ นี้ ในปี 2560 มีผเู้ ข้าเยีย ่ มชมโครงการป่าวังจันทร์

ปีที่ 50 ช่วง ปี 2537 - 2545 จํานวน

จํานวน 66,795 คน

1,012,401 ไร่ อย่างต่อเนื่อง โดยมีการปลูกป่าใหม่

ป่าในกรุง ตัง้ อยูบ ่ นพืน ้ ที่ 12 ไร่ ณ ถนนสุขาภิบาล 2 เขตประเวศ

ภายใต้ “โครงการปลูกป่าเพือ ่ ฟืน ้ ฟูระบบนิเวศและลดภาวะโลกร้อน”

กรุงเทพมหานคร ออกแบบภายใต้แนวคิด PTT Green in City

ซึ่งแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ปี 2546 - 2555 จํานวน 42,349 ไร่

มีการออกแบบอาคารที่กลมกลืนกับสิ่งแวดล้อมและประหยัด

และปี 2556 - 2560 จํ า นวน 105,268 ไร่ โดยในปี 2560

พลังงาน เป็นต้นแบบนวัตกรรมอาคารเขียว สอดคล้องกับ

มีการปลูกป่าเป็นจํานวนทั้งสิ้น 2,587 ไร่ ประกอบด้วย

โมเดลไทยแลนด์ 4.0 ด้ า นการขั บ เคลื่ อ นที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ

> ป่าต้นน้ํา จังหวัดน่าน 400 ไร่

สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน และรูปแบบการศึกษาและเรียนรู้ป่า

> ป่าชุมชน จังหวัดขอนแก่น ยโสธร ร้อยเอ็ด รวม 1,561 ไร่

ในเมือง ในปี 2560 มีผู้เข้าเยี่ยมชมจํานวน 117,420 คน

> ป่าชายเลน จังหวัดระยองและชุมพร รวม 626 ไร่

ศู น ย์ ศึ ก ษาเรี ย นรู้ ร ะบบนิ เ วศป่ า ชายเลนสิ ริ น าถราชิ นี

นอกจากภารกิ จ ในการปลู ก และดู แ ลรั ก ษาป่ า สถาบั น

ตัง้ อยูท ่ จ ี่ งั หวัดประจวบคีรข ี น ั ธ์ เป็นศูนย์ศก ึ ษาเรียนรูท ้ รี่ วบรวม

ปลูกป่า ปตท. ยังรวบรวมองค์ความรู้เรื่องการปลูกและฟื้นฟูป่า

องค์ความรู้การฟื้นฟูพื้นที่นากุ้งร้างให้กลับมาเป็นป่าชายเลน

และถ่ายทอดองค์ความรู้สู่สาธารณชน ผ่านศูนย์เรียนรู้ต่าง ๆ

ที่อุดมสมบูรณ์ และเป็นแหล่งเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลน

ดังนี้

ระดั บ ประเทศ รวมถึ ง เป็ น พื้ น ที่ ต้ น แบบการบริ ห ารจั ด การ พื้นที่ป่าอย่างยั่งยืนร่วมกับชุนชนและหน่วยงานภาครัฐและ

ศูนย์เรียนรู้ป่าวังจันทร์ ณ ตําบลป่ายุบใน อําเภอวังจันทร์

เอกชน โดยในปี 2560 มีผู้เข้าเยี่ยมชม จํานวน 53,045 คน

ั ถุประสงค์ จังหวัดระยอง เป็นศูนย์หลักทางภาคตะวันออก มีวต

สร้างรายได้ให้ชม ุ ชนจากการจัดการท่องเทีย ่ ว เป็นจํานวนทัง้ สิน ้

เพื่อรวบรวมองค์ความรู้และนวัตกรรมการฟื้นฟูป่ารูปแบบ

360,640 บาท นอกจากนี้ ปตท. ยังดําเนินโครงการห้องเรียน

ต่ า ง ๆ โดยเฉพาะการฟื้ น ฟู ป่ า แบบบู ร ณาการในรู ป แบบ

ธรรมชาติเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านป่าชายเลนในรูปแบบ

“วนเกษตร” ทีป ่ ลูกไม้ยน ื ต้น พืชไร่ พืชสวน รวมถึงการทํานา

่ งระยะเวลา ของการอบรมเชิงปฏิบต ั ก ิ าร ซึง่ เป็นหลักสูตรต่อเนือ

แบบผสมผสานในพืน ้ ทีเ่ ดียวกัน เป็นหนึง่ ในรูปแบบการฟืน ้ ฟู

9 เดือน ให้แก่นักเรียนในโรงเรียนพื้นที่เครือข่ายของศูนย์ฯ

ป่าที่ได้จัดทําแปลงสาธิตขึ้น เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์

สิรินาถราชินี จํานวน 1,291 คน


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

079

ปาในกรุง

ศูนยศึกษาเรียนรูระบบนิเวศปาชายเลนสิรินาถราชินี

สานพลังสู่ความยั่งยืนร่วมกัน

มหัศจรรยจากตนหญา การพัฒนาและรณรงคการใชหญาแฝก อันเนื่องมาจากพระราชดําริ แม้ จ ะเป็ น เพี ย งต้ น หญ้ า แต่ แ ฝกมี ค วามมหั ศ จรรย์ ที่ ทํ า ประโยชน์ ไ ด้ ม ากอย่ า งเหลื อ เชื่ อ ตั้ ง แต่ ก ารอนุ รั ก ษ์ ดิ น จนถึ ง การต่อยอดสร้างสรรค์เป็นงานฝีมือที่ใช้ประโยชน์ ปตท. และภาคีเครือข่าย ได้ร่วมสานต่อการใช้ประโยชน์จาก หญ้าแฝกเพื่ออนุรักษ์ดินและน้ําอย่างยั่งยืน โดยส่งเสริมให้เกิด การขยายเครือข่ายคนรักษ์แฝกในระดับพื้นที่ ระดับภูมิภาค และ ระดับประเทศ พร้อมทั้งพัฒนาศักยภาพเครือข่าย เช่น การอบรม การบริ ห ารจั ด การ การพั ฒ นาแบรนด์ แ ละโลโก้ V-STRONG Network ของเครือข่ายคนรักษ์แฝก และส่งเสริมการพัฒนารูปแบบ

มหัศจรรยจากหญาแฝก

ผลิตภัณฑ์หต ั ถกรรมจากใบหญ้าแฝก ให้มค ี วามทันสมัย เหมาะสม และตรงกับความต้องการของลูกค้า


080

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

นวัตกรรมสร้างอนาคตที่ยั่งยืน

ด้วย ปตท. ให้การส่งเสริม สนับสนุนค่านิยมด้าน Innovation ภายในองค์ ก รอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เป็ น ผลให้ เ กิ ด บรรยากาศของ การสร้างสรรค์นวัตกรรมจากพนักงานในหน่วยงานต่าง ๆ ทั่วทั้ง องค์กร โดยพนักงานมีช่องทางส่งผลงานความคิดสร้างสรรค์และ

นวัตกรรม สรางอนาคต ที่ยั่งยืน

นวัตกรรมผ่านการประกวด PTT Innovation Awards ซึง่ มีการจัดขึน ้ เป็นประจําทุกปี เพือ ่ เป็นการให้รางวัล สร้างแรงบันดาลใจและเป็น แบบอย่างที่ดีให้กับพนักงานคนอื่น ๆ นอกเหนือจากการจัดการประกวด PTT Innovation Awards แล้ว ยังมีการสื่อความ ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ผลงานต่าง ๆ และ แลกเปลี่ยนความรู้ทั้งภายในและภายนอก ปตท. อย่างต่อเนื่อง ผ่านช่องทางที่หลากหลาย เช่น การจัดแสดงผลงานที่โดดเด่น ด้านนวัตกรรมผ่าน PTT We Can Corner การเผยแพร่บทความ นวัตกรรมในวารสาร PTT Spirit การสื่อความกิจกรรมต่าง ๆ ผ่าน Intranet อีเมล และโปสเตอร์ ทั้งนี้ในปี 2560 ปตท. ได้จัดงาน นิทรรศการด้านนวัตกรรม PTT Group Innovation Expo เพื่อ เป็ น การสื่ อ ถึ ง ความเป็ น องค์ ก รแห่ ง นวั ต กรรมของ ปตท. ให้ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทัว ่ ไป เข้ามาเยีย ่ มชมผลงานเป็น

12

ครั้งแรก ภายในงานได้มีการรวบรวมผลงานนวัตกรรมที่โดดเด่น ของกลุ่ ม ปตท. มากกว่ า 30 ผลงาน โดยเป็ น ผลงานที่ ใ ห้ ความสําคัญและมุ่งเน้นในการสร้างนวัตกรรมต่อผู้มีส่วนได้เสีย ทุกภาคส่วน อันหมายรวมถึง สังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม ประชาชน และประเทศชาติ ตามนโยบายของนายเทวิ น ทร์ วงศ์ ว านิ ช ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ปตท. โดย ปตท. ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก พลเอก อนั น ตพร กาญจนรั ต น์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน เป็นประธานเปิดงาน และเยีย ่ มชม ผลงาน


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

นวัตกรรมสร้างอนาคตที่ยั่งยืน

081

ตัวอย่างผลงานนวัตกรรมที่โดดเด่นอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของพนักงาน ก่อให้เกิดคุณค่าและสร้างมูลค่าแก่องค์กรและผู้มีส่วนได้เสีย อาทิ

นวัตกรรมเชิงพาณิชย และเพื่อสังคม Bio-Cellulose Composite Wound Dressing ผลิตภัณฑ์ผ้าปิดแผลจากเส้นใยเซลลูโลส ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางในระดับนาโนเมตร ผลิตได้จากจุลินทรีย์ ที่มีลักษณะจําเพาะ โดยทีมนักวิจัยของ ปตท. ประสบความสําเร็จ ในการเตรียมไบโอเซลลูโลสคอมพอสิต มีสมบัติเหมาะสมใช้เป็นวัสดุปิดแผล และยังประสบความสําเร็จในการพัฒนา เทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อช่วยลดต้นทุนของ กระบวนการผลิต วัสดุปิดแผลจาก ไบโอเซลลูโลสคอมพอสิตมีคุณสมบัติในการรักษา

BIO-CELLULOSE COMPOSITE WOUND DRESSING

บาดแผลดีกว่าวัสดุปิดแผลในท้องตลาดอย่างมี นัยสําคัญ ปัจจุบันอยู่ระหว่างการพัฒนา เพื่อทดสอบ กับคนไข้ในสถาบันบําราศนราดูร ขณะนี้ ดําเนินการขอขึ้นทะเบียน อย. พร้อมทั้งศึกษารูปแบบ การดําเนินธุรกิจ เพื่อรองรับการจําหน่ายเชิงพาณิชย์ ต่อไป

รางวัลเหรียญทอง งานแสดงสิ่งประดิษฐ์ในเวทีนานาชาติ ภายในงาน 45th International Exhibition of Inventions of Geneva 2017 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์


082

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

นวัตกรรมสร้างอนาคตที่ยั่งยืน

นวัตกรรมเชิงพาณิชย และสิ่งแวดลอม

นวัตกรรมเพื่อสังคม และสิ่งแวดลอม

Bio SSCMB (Bio Silver Skin Coffee Masterbatch)

Hydraulic Ramp Pump PVC-Model เป็นการนํา

ผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพคอมพาวด์ที่เกิดจาก

ภูมิปัญญาชาวบ้าน มาพัฒนาปรับปรุงต่อยอด

การใช้วัตถุดิบพลาสติกชีวภาพของกลุ่ม ปตท.

ด้วยความรู้ด้านวิศวกรรมชลศาสตร์มาออกแบบใหม่

รวมกับเยื่อกาแฟซึ่งเป็นของเสียจากกระบวนการคั่วกาแฟ

โดยใช้วัสดุ PVC ซึ่งมีราคาถูก สามารถหาได้ง่ายในพื้นที่

ของโรงคั่วอเมซอน โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้มีคุณสมบัติเพียงพอ

ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยไม่ต้องพึ่งพาพลังงาน

กับการใช้งาน และมีคุณลักษณะโดดเด่นเฉพาะตัว

ไฟฟ้าหรือพลังงานอื่น ๆ สามารถนําน้ําจากพื้นที่ต่ํา

คือ มีกลิ่นกาแฟ และผิวสัมผัสคล้ายกับวัสดุไม้จากธรรมชาติ

ไปสู่ที่พื้นที่สูงเพื่อนํากลับมาเป็นน้ําประปาของชุมชน ในถิ่นทุรกันดารได้เป็นอย่างดี โดยมีการนําไป ติดตั้งตามพื้นที่ชนบทที่ขาดแคลนแหล่งน้ํา หลายแห่งแล้ว

HYDRAULIC RAMP PUMP PVC-MODEL

BIO SSCMB (BIO SILVER SKIN COFFEE MASTERBATCH)

รางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น ด้านนวัตกรรมปี 2560 จากสํานักงาน

รางวัลจากนิตยสาร

คณะกรรมการนโยบาย

The Asset

รัฐวิสาหกิจ

สาขา Best Initiative in Innovation โดยนิตยสาร

รางวัลเหรียญทองและ

The Asset พิจารณามอบ

เหรียญรางวัลพิเศษ

รางวัลให้กับองค์กรชั้นนํา

งานแสดงสิ่งประดิษฐ์

ของเอเชียที่มีการบริหาร

ในเวทีนานาชาติภายในงาน

จัดการดีเลิศ

45th International

ในด้านสิ่งแวดล้อม สังคม

Exhibition of Inventions

และการกํากับดูแลที่ดี

of Geneva 2017 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

รางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่นด้านการดําเนินงาน เพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมปี 2560 จากสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

นวัตกรรมสร้างอนาคตที่ยั่งยืน

083

DIESEL EURO V FOR WINTER

นวัตกรรมเชิงพาณิชย Diesel Euro V for Winter ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมน้ํามัน Diesel Euro V for Winter นี้ เกิดขึ้นจากการประสานความร่วมมือ ของทีมนักวิจัย ปตท. และฝ่ายตลาดรัฐและอุตสาหกรรม ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ํามันตามความต้องการของลูกค้า ให้ได้คุณภาพตามมาตรฐาน Euro V และมีค่า CFPP ต่ํากว่า -15 องศาเซลเซียส สําหรับรถยนต์ที่ผลิตเพื่อการส่งออกไปยัง ประเทศที่มีอุณหภูมิติดลบ โดยใช้ระยะเวลาในการพัฒนาเพียง 6 เดือน ลูกค้าจึงมีความเชื่อมั่นในศักยภาพของ ปตท. ที่สามารถผลิตน้ํามันได้เทียบเท่ากับบริษัทน้ํามันชั้นนําของโลก สร้างยอดจําหน่ายสองล้านลิตรต่อปี และสามารถขยายผล สู่การพัฒนานวัตกรรมในผลิตภัณฑ์น้ํามันเชื้อเพลิง Special Grade อื่น ๆ ที่ใช้กับเครื่องยนตร์เบนซินตามที่ลูกค้าต้องการ เช่น น้ํามันแก๊สโซฮอล 91 Euro V เป็นต้น และยังขยายตลาดไปยังผู้ผลิตรถยนต์รายอื่น ๆ ได้อีกด้วย

รางวัลภายใน ปตท. จากการประกวด PTT Innovation Awards (Successful Innovation ระดับ Silver) ประจําปี 2016, รางวัล Best for Oil (Recognition Award) ประจําปี 2015 ของธุรกิจน้ํามัน, และ PTT Group R&D Achievement Award ประจําปี 2015

จากการที่ ปตท. ผลักดัน ส่งเสริม เทคโนโลยีและนวัตกรรมในองค์กร อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ ปตท. เป็นองค์กรที่ได้รับการยอมรับ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ว่าเป็นองค์กรชั้นนําด้านนวัตกรรม ที่แสดงให้เห็นเด่นชัดด้วยนวัตกรรมและรางวัลคุณภาพต่าง ๆ ที่ ปตท. ได้รับ สมกับการเป็นบริษัทพลังงานไทยข้ามชาติชั้นนํา ที่เป็นสมบัติที่มีค่าของชาติและเป็นความภาคภูมิใจของคนไทย “Pride and Treasure of Thailand”


084

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

13 วิเคราะหฐานะทางการเงิน และผลการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานของ ปตท. และบริษัทยอย หนวย: ลานบาท

ป 2559

ป 2560

1,718,846

1,995,722

16.1%

312,526

345,395

10.5%

และบริษัทร่วม

4,143

7,310

76.4%

กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน

4,473

13,650

> 100%

183,792

229,106

24.7%

ภาษีเงินได้

26,593

28,306

6.4%

กําไรสุทธิ

94,609

135,180

42.9%

รายได้จากการขายและการให้บริการ

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (รอยละ)

กําไรก่อนหักต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่าย (EBITDA) ส่วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในการร่วมค้า

กําไรจากการดําเนินงานตามส่วนงาน (Operating Income)

ในปี 2560 ปตท. และบริษท ั ย่อยมีรายได้จากการขายจํานวน 1,995,722 ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ 276,876 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.1 โดย เพิม ่ ขึน ้ ในเกือบทุกกลุม ่ ธุรกิจ โดยเฉพาะกลุม ่ ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศและกลุม ่ ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน ่ เมือ ่ เทียบกับปีกอ ่ น ตาม ราคาเฉลีย ่ ของผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมและปิโตรเคมีทงั้ สายโอเลฟินส์และอะโรเมติกส์ทเี่ พิม ่ ขึน ้ ตามราคาน้า ํ มันดิบดูไบ ซึง่ ราคาเฉลีย ่ ปรับ เพิ่มขึ้นจาก 41.3 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล เป็น 53.2 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล หรือร้อยละ 28.8 อย่างไรก็ตามธุรกิจสํารวจและผลิตฯ มีรายได้ขายลดลงจากค่าเงินบาททีแ ่ ข็งค่าขึน ้ มากและปริมาณขายทีป ่ รับลดลง แม้วา ่ ราคาขายจะเพิม ่ ขึน ้ ตามราคาน้า ํ มันดิบ โดยในปีนี้ ปตท. และบริษัทย่อยมีกําไรก่อนหักต้นทุนทางการเงิน ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่าย (EBITDA) จํานวน 345,395 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 32,869 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.5 โดยหลักจากกลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่นที่มีผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นจาก ธุรกิจการกลั่นตามกําไรขั้นต้นจากการกลั่นไม่รวมผลกระทบจากสต๊อกน้ํามัน (Market GRM) ที่สูงขึ้นโดยหลักจากส่วนต่างราคา ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมกับวัตถุดิบ (Crack Spread) ของน้ํามันเตาและดีเซลที่ปรับเพิ่มขึ้น แม้ว่ากําไรจากสต๊อกน้ํามันจะลดลงเมื่อเทียบ กับปี 2559 นอกจากนี้ธุรกิจก๊าซธรรมชาติในส่วนของโรงแยกก๊าซฯ มีผลการดําเนินงานดีขึ้นจากราคาขายผลิตภัณฑ์ที่อิงกับราคา ปิโตรเคมีปรับสูงขึ้น ในขณะที่ต้นทุนก๊าซฯ ลดลง และปริมาณขายที่เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ที่โรงแยกก๊าซฯ อีเทน (Ethane Separation Plant: ESP) และโรงแยกก๊าซฯ หน่วยที่ 6 (Gas Seperation Plant: GSP 6) มีซ่อมบํารุงใหญ่ นอกจากนี้ยังมีกําไรเพิ่มขึ้นจากธุรกิจ การจัดหาและจัดจําหน่ายก๊าซฯ ค่าเสือ ่ มราคาและค่าตัดจําหน่ายลดลง 12,445 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.7 จาก 128,734 ล้านบาท ในปี 2559 เป็น 116,289 ล้านบาท ในปี 2560 โดยหลักมาจาก PTTEP ที่มีการปรับปริมาณสํารองปิโตรเลียมเพิ่มขึ้น


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

085

9,000

7,310

ภาพที่ 1 +76%

สวนแบงกําไรจาก เงินลงทุนในการรวมคา และบริษัทรวม

8,000

93

7,000

1,205 875

6,000

4,143 5,000 73

หนวย: ลานบาท อื่น ๆ กาซธรรมชาติ นํ้ามัน ปโตรเคมีและการกลั่น

4,000

1,204 5,137

3,000 897 2,000 1,969 1,000 0

2559

2560

ในปี 2560 มี ส่ ว นแบ่ ง กํ า ไรจากเงิ น ลงทุ น ในการร่ ว มค้ า

ในปี 2560 ปตท. และบริษท ั ย่อยมีรายการทีไ่ ม่ได้เกิดขึน ้ ประจํา

และบริษัทร่วมจํานวน 7,310 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 3,167 ล้านบาท

(Non-recurring Items) โดยมีรายการที่สําคัญ ได้แก่ การขาดทุน

หรือร้อยละ 76.4 จาก 4,143 ล้านบาท ในปี 2559 โดยหลัก

จากการด้ อ ยค่ า สิ น ทรั พ ย์ 24,848 ล้ า นบาท โดยหลั ก ขาดทุ น

เพิม ่ ขึน ้ จากบริษท ั พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด (PTTAC) ทีม ่ ีราคา

จากการด้อยค่าสินทรัพย์จากแหล่งสํารวจและผลิตปิโตรเลียม

ขายเฉลี่ยผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น

ในต่ า งประเทศของ PTTEP 18,505 ล้ า นบาท ขาดทุ น จาก

ในปี 2560 ปตท. และบริษัทย่อยมีกําไรจากตราสารอนุพันธ์

ั ปตท. โกลบอล แมนเนจเม้นท์ การด้อยค่าสินทรัพย์ถา่ นหินของบริษท

693 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 9,675 ล้านบาท จากปี 2559 ที่มีขาดทุน

จํากัด (PTTGM) 4,229 ล้านบาท และขาดทุนด้อยค่าสินทรัพย์

จากตราสารอนุพน ั ธ์ จํานวน 8,982 ล้านบาท โดยหลักเพิม ่ ขึน ้ จาก

ของ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) (PTTGC)

สัญญาประกันความเสี่ยงทางการเงินและราคาสินค้าโภคภัณฑ์

2,296 ล้ า นบาท นอกจากนี้ มี กํ า ไรจากการจํ า หน่ า ยเงิ น ลงทุ น

ของบริ ษั ท ปตท.สํ า รวจและผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย ม จํ า กั ด (มหาชน)

2,674 ล้ า นบาท โดยหลั ก จากการจํ า หน่ า ยเงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท

(PTTEP) บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) (IRPC) และ ปตท.

สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จํากัด (มหาชน) (SPRC) และ ปตท.

กําไรจากอัตราแลกเปลีย ่ นเพิม ่ ขึน ้ 9,177 ล้านบาท จากจํานวน

มีรายได้เงินปันผลจากกองทุนรวม 4,310 ล้านบาท

4,473 ล้านบาท ในปี 2559 เป็น 13,650 ล้านบาท โดยหลักมาจาก

ปตท. และบริษัทย่อยมีภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น 1,713 ล้านบาท

ปตท. ที่มีผลกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจากการรับและจ่ายชําระ

หรือร้อยละ 6.4 จาก 26,593 ล้านบาท ในปี 2559 เป็น 28,306

เงินจากลูกหนี้ เจ้าหนีก ้ ารค้าและเงินกูส ้ กุลเงินต่างประเทศเพิม ่ ขึน ้

ล้านบาท ในปี 2560 โดยหลักมาจากบริษัทในเครือกลุ่มปิโตรเคมี

และจากเงิ น บาทที่ แ ข็ ง ค่ า ขึ้ น เมื่ อ เที ย บกั บ เงิ น เหรี ย ญสหรั ฐ

และการกลั่นที่มีผลการดําเนินงานดีขึ้น ขณะที่ PTTEP ลดลงจาก

ส่งผลให้ ปตท. และบริษัทในเครือโดยส่วนใหญ่มีกําไรจากอัตรา

ผลประโยชน์ทางภาษีที่เกิดขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินบาท

แลกเปลี่ยนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริง (Unrealized FX Gain) เพิ่มขึ้น

ที่ แ ข็ ง ค่ า ขึ้ น เมื่ อ เที ย บกั บ เงิ น เหรี ย ญสหรั ฐ ส่ ง ผลให้ ใ นปี 2560

จากเงินกู้ยืมสกุลเงินต่างประเทศ

ปตท. และบริ ษั ท ย่ อ ยมี กํ า ไรสุ ท ธิ 135,180 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น 40,571 ล้านบาท จาก 94,609 ล้านบาท ในปี 2559


086

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

สรุปเหตุการณที่สําคัญ (Non-Recurring Items) สําหรับป 2560 ถึงปจจุบัน มีรายละเอียดดังนี้ มกราคม 2560

ตามที่มีข่าวเรื่อง บริษัท โรลส์-รอยซ์ เอ็นเนอร์จี ซิสเต็ม (Rolls-Royce) ผู้ผลิตเครื่องยนต์สําหรับ อากาศยาน และเครือ ่ งจักรสําหรับอุตสาหกรรมรายใหญ่ของประเทศอังกฤษ ได้มีสว ่ นเกีย ่ วข้องกับ การจ่ายเงินสินบนให้แก่เจ้าหน้าที่ของบริษัทพลังงานของประเทศไทย รวมถึง ปตท. ใน 6 โครงการ ในช่วงปี 2543 - 2556 •

ปตท. ได้ชแ ี้ จงว่า ปตท. ให้ความสําคัญกับความโปร่งใสในการดําเนินธุรกิจตามหลักธรรมาภิบาล ้ จัดจ้าง ของการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ี ปตท. จึงได้ตงั้ คณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริงการจัดซือ ในโครงการต่าง ๆ ที่มีการใช้เครื่องยนต์ของโรลส์-รอยซ์ในช่วงเวลาดังกล่าว เพื่อรายงาน ต่อคณะกรรมการบริษัท ภายใน 30 วัน

PTTEP ได้แจ้งว่าบริษัทได้จัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงของการจัดซื้อจัดจ้าง ที่เกี่ยวข้องกับบริษัท โรลส์-รอยซ์ ในช่วงเวลาดังกล่าว เพื่อรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท ภายใน 30 วัน

มีนาคม 2560

ปตท. เข้าร่วมทํา Inter-Company Borrowing and Lending (ICBL) กับ บริษท ั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด (มหาชน) (GPSC) เพือ ่ เพิม ่ ประสิทธิภาพการบริหารสภาพคล่องและความร่วมมือ ทางการเงินในกลุ่ม ปตท.

เมษายน 2560

ปตท. ได้ดําเนินการเสนอซื้อคืนหุ้นกู้สกุลเหรียญสหรัฐ ของ ปตท. ที่ออกและเสนอขายให้กับ ผู้ลงทุนในต่างประเทศ ได้แก่ รุ่น PTTF358A และรุ่น PTTF42OA โดยมีมูลค่ารวมทั้งสิ้น จํานวน 81.15 ล้านเหรียญสหรัฐ เป็นผลให้หุ้นกู้รุ่นดังกล่าวมีจํานวนเงินต้นคงเหลือรวมกัน ทั้งสิ้น 868.85 ล้านเหรียญสหรัฐ

หลังจากเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2560 คณะกรรมการ ปตท. ได้มีมติเห็นชอบการปรับโครงสร้าง ปตท. ซึ่งประกอบด้วยการโอนกิจการของหน่วยธุรกิจน้ํามัน รวมถึงสินทรัพย์และหนี้สินของ หน่วยธุรกิจดังกล่าว ตลอดจนหุน ้ ของบริษท ั ทีเ่ กีย ่ วข้องให้แก่ บริษท ั ปตท. น้า ํ มันและการค้าปลีก จํากัด (PTT Oil and Retail Business Company Limited: PTTOR) (เดิมชื่อ บริษัท ปตท. ธุรกิจ ค้าปลีก จํากัด) ในวันที่ 28 เมษายน 2560 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของ ปตท. จึงมีมติอนุมัติ ด้วยคะแนนเสียงมากกว่า 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ที่มาประชุมให้ปรับโครงสร้าง ปตท. ดังกล่าวข้างต้น และได้รับทราบความเป็นไปได้ของแผนการเสนอขายหุ้นสามัญของ PTTOR ต่อประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) ซึ่งรวมถึงการเสนอขายหุ้นสามัญของ PTTOR ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของ ปตท. ที่มีสิทธิได้รับการจัดสรรหุ้น แต่จะไม่เสนอขายให้ผู้ถือหุ้นที่ทําให้ PTTOR มีหน้าที่ตามกฎหมายต่างประเทศ (Preferential Share Offering) และการนํา PTTOR เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในอนาคต (รายการ IPO)

ทีป ่ ระชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ของ ปตท. อนุมต ั จ ิ า ่ ยเงินปันผลสําหรับผลประกอบการปี 2559 ในอัตรา หุ้นละ 16.00 บาท คิดเป็นเงินประมาณ 45,705.15 ล้านบาท โดยเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2559 ปตท. ได้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลประกอบการงวด 6 เดือนแรกของปี 2559 ในอัตรา หุน ้ ละ 6.00 บาท คงเหลือเงินปันผลทีจ ่ ะจ่ายสําหรับผลประกอบการงวด 6 เดือนหลังของปี 2559 ในอัตราหุ้นละ 10.00 บาท ในวันที่ 15 พฤษภาคม 2560


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

พฤษภาคม 2560

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

087

ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท GPSC ได้ อ นุ มั ติ ใ ห้ เ ข้ า ทํ า สั ญ ญา Licence and Services Agreement เพื่ อ ได้ รั บ สิ ท ธิ ใ นการดํ า เนิ น การธุ ร กิ จ ผลิ ต และจํ า หน่ า ยแบตเตอรี่ ใ นประเทศ กลุ่มอาเซียน โดยใช้เทคโนโลยีของ 24M Technologies Inc. (24M)

คณะกรรมการ ปตท. มีมติอนุมต ั ใิ ห้ บริษท ั ปตท. กรีน เอ็นเนอร์ยี่ จํากัด (PTTGE SG) ดําเนินการ ยกเลิ ก การเข้ า ร่ ว มทุ น ใน Chancellor Oil Pte. Ltd. (CO) ซึ่ ง ถื อ หุ้ น ในบริ ษั ท PT First Borneo Plantations (PT FBP) รวมถึงให้จําหน่ายหุ้น และโอนหนี้เงินกู้ PTTGE SG ให้แก่ บริษัท PT Bentala Agro Lestari (Bentala) โดยในวันที่ 10 พฤษภาคม 2560 PTTGE SG และ Bentala รวมถึงคูส ่ ญ ั ญาอืน ่ ทีเ่ กีย ่ วข้อง ได้ลงนามในสัญญาซือ ้ ขายหุน ้ (Sale and Purchase Agreement) เรียบร้อยแล้ว

ณ วันที่ 23 พฤษภาคม 2560 บริษัท พีทีที พีเอ็มเอ็มเอ จํากัด (PTTPMMA) ซึ่งถือหุ้นโดย ปตท. ร้อยละ 100 ได้ดําเนินการเปลี่ยนแปลงชื่อบริษัทเป็น PTTGM

มิถุนายน 2560

ปตท. ร่วมทุนกับ บริษัท ปตท.สผ.ศูนย์บริหารธุรกิจ จํากัด (บริษัทย่อยของ ปตท.สผ.) จัดตั้ง บริษัท พีทีที โกลบอล แอลเอ็นจี จํากัด (PTT Global LNG Company Limited: PTTGL) โดย ถือหุ้นในสัดส่วนเท่ากันที่ร้อยละ 50 รองรับการดําเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG) เพื่อเป็นก้าวแรกในการขยายการลงทุนในธุรกิจ LNG Value Chain แบบครบวงจร

บริษท ั ปตท.สผ.สยาม จํากัด (ปตท.สผ.สยาม) บริษท ั ย่อยที่ ปตท.สผ. ถือหุน ้ ร้อยละ 100 และเป็น ผู้ดําเนินงานโครงการเอส 1 ได้หยุดการผลิตชั่วคราวเฉพาะในพื้นที่ ส.ป.ก. เป็นเวลา 23 วัน เนื่องจากศาลปกครองสูงสุดได้มีคําพิพากษาเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2560 ให้เพิกถอนระเบียบ คณะกรรมการปฏิ รู ป ที่ ดิ น เพื่ อ เกษตรกรรม เรื่ อ งการให้ ค วามยิ น ยอมในการนํ า ทรั พ ยากร ธรรมชาติในเขตปฏิรูปที่ดินไปใช้ประโยชน์ตามกฎหมายอื่น ให้ผู้รับสัมปทานบนบกทุกราย หยุดกิจกรรมการผลิตปิโตรเลียมที่มีการดําเนินการอยู่ในพื้นที่ ส.ป.ก. เป็นการชั่วคราว ส่งผล ให้ปริมาณการขายน้ํามันดิบเฉลี่ยลดลงประมาณ 15,000 บาร์เรลต่อวัน ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) ลดลงประมาณ 130 ตันต่อวัน และก๊าซธรรมชาติลดลงประมาณ 10 ล้านลูกบาศก์ฟุต ต่อวัน

เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2560 บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่น จํากัด (PTT ICT) ซึ่งดําเนินธุรกิจ ให้บริการเกีย ่ วกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ สาร ถือหุน ้ โดยบริษท ั ในกลุม ่ ปตท. โดย ปตท. ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 20 ได้เปลี่ยนแปลงชื่อเป็น “บริษัท พีทีที ดิจิตอล โซลูชั่น จํากัด” (PTT DIGITAL)


088

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

กรกฎาคม 2560

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

วันที่ 3 กรกฎาคม 2560 ปตท. และ PTTGM ได้ดําเนินการโอนหุ้นและทรัพย์สินของบริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จํากัด (HMC) บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด (PTTAC) บริษัท พีทีที เอ็มซีซี ไบโอเคม จํากัด (PTTMCC) บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จํากัด (PTTPM) บริษัท พีทีที โพลิเมอร์ โลจิสติกส์ จํากัด (PTTPL) บริษท ั พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จํากัด (PTTME) และผลการศึกษาโครงการ PTTPMMA ให้แก่ PTTGC เรียบร้อย โดยมูลค่าการโอนสุทธิ ภายหลังปรับมูลค่ารวมทัง้ สิน ้ 25,061,382,583.55 บาท (ซึง่ เป็นจํานวนทีร่ วมภาษีมล ู ค่าเพิม ่ แล้ว)

ปตท. ได้รบ ั เอกสารทางคดีเกีย ่ วกับการฟ้องร้องจากเหตุการณ์นา ้ํ มันรัว ่ ไหลจากแหล่งมอนทารา โดยเป็นการฟ้องเรียกค่าเสียหายจากกระทรวงสิ่งแวดล้อมและป่าไม้ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เป็นจํานวนเงินประมาณ 2.1 พันล้านเหรียญสหรัฐ โดย ปตท. จะดําเนินการต่อสู้คดีดังกล่าว ในประเด็นข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายต่อไป

บริษัท พีทีที โกลบอล แอลเอ็นจี จํากัด (PTTGL) ได้จัดตั้งบริษัทย่อย PTTGL Investment Limited (PTTGLI) โดย PTTGLI ได้ลงนามในสัญญาซื้อขายหุ้น (Share Sale and Purchase Agreement: SSPA) กับบริษัท Petroliam Nasional Berhad (PETRONAS) เพื่อเข้าซื้อหุ้น ของบริษท ั PETRONAS LNG 9 Sdn Bhd (PL9SB) (บริษัทย่อยของ PETRONAS) ในสัดส่วน ร้อยละ 10 โดยมีมูลค่าประมาณ 500 ล้านเหรียญสหรัฐ

ในระหว่ า งแผนการปิ ด ซ่ อ มบํ า รุ ง โรงอะโรเมติ ก ส์ ห น่ ว ยที่ 2 จั ง หวั ด ระยอง ของ PTTGC เกิดมีเหตุการณ์สารไซลีนรั่วไหล ในวันที่ 12 กรกฎาคม 2560 อย่างไรก็ตามบริษัทสามารถ ควบคุมสถานการณ์ให้กลับสู่สภาวะปกติได้ในเวลา 3 ชั่วโมง

คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) มีมติเปิดเสรี LPG ทั้งระบบ มีผลตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2560

สิงหาคม 2560

PTTGC จะเลื่อนการหยุดผลิตของโรงงานโอเลฟินส์สาขา 1 (ตามแผนเดิมในระหว่างเดือน สิงหาคมและกันยายน 2560 เป็นระยะเวลา 17 วัน) ไปหยุดพร้อมกับการหยุดซ่อมบํารุงใหญ่ ตามรอบทุก 5 ปี ในไตรมาส 4/2561 ส่งผลให้ไม่มค ี วามจําเป็นทีจ ่ ะต้องหยุดหน่วยผลิตต่อเนือ ่ ง คือในส่วนของหน่วยผลิตโอลีเฟล็กซ์ (Oleflex) เป็นระยะเวลา 29 วัน และหน่วยผลิต HDPE 1/1 เป็นระยะเวลา 15 วัน ในระหว่างเดือนสิงหาคมและกันยายน 2560

PTTGC ได้มี การจั ด ตั้ง บริ ษัท จี ซี ออกซี เรน จํ ากัด (GC Oxirane) เพื่อ ดํ าเนิ นการลงทุน ในโครงการ Propylene Oxide (PO) ซึ่งถือหุ้นโดยบริษัทฯ ร้อยละ 100 โดยมีกําลังการผลิต PO อยู่ที่ 200,000 ตันต่อปี มีวัตถุดิบหลักคือ Propylene คาดว่าจะสามารถดําเนินการผลิต เชิงพาณิชย์ได้ภายในปี 2563 นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้จัดตั้ง บริษัท จีซี โพลีออลส์ จํากัด (GC Polyols) เพื่อใช้ลงทุนในโครงการ Polyols & PU โดยบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 82.1 Sanyo Chemical Industries, Ltd. ถือหุ้นร้อยละ 14.9 และ Toyota Tsusho Corporation ถือหุ้น ร้อยละ 3 ซึ่งมีโครงการลงทุนก่อสร้างโรงงานเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ Polyols โดยมีกําลังการผลิต อยู่ที่ 130,000 ตันต่อปี และผลิตภัณฑ์ PU System กําลังการผลิตอยู่ที่ 20,000 ตันต่อปี คาดว่าจะสามารถดําเนินการผลิตเชิงพาณิชย์ได้ภายในปี 2563 ทัง้ นีโ้ ครงการทัง้ สองจะมีมล ู ค่า เงินลงทุนรวมทัง้ สิน ้ ประมาณ 887.4 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเท่าประมาณ 32,000 ล้านบาท

วันที่ 18 สิงหาคม 2560 คณะกรรมการ ปตท. ได้พิจารณาอนุมต ั ิขายหุน ้ บริษท ั Keloil-PTT LPG Sdn. Bhd. (KPL) ในส่วนที่ ปตท. ถืออยูท ่ งั้ หมดจํานวน 2,160,000 หุน ้ ในราคา 1 ริงกิต ให้แก่ บริษท ั Keloil Bottling Sdn.Bhd. (KBSB) เนือ ่ งจากบริษท ั มีผลการดําเนินงานขาดทุนสะสมอย่างต่อเนือ ่ ง

คณะกรรมการ ปตท. มีมติให้จด ั ตัง้ บริษท ั สานพลัง วิสาหกิจเพือ ่ สังคม จํากัด โดยเป็นการร่วมทุน ระหว่างบริษัทในกลุ่ม ปตท. มีทุนจดทะเบียนเริ่มต้นเป็นเงิน 10,000,000 บาท เพื่อสนับสนุน การดําเนินกิจการด้านวิสาหกิจเพื่อสังคมของบริษัทในกลุ่ม ปตท.


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

กันยายน 2560

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

089

มติ กบง. วันที่ 5 กันยายน 2560 ให้ปรับราคาขาย NGV เฉพาะค่าใช้จ่ายการปรับปรุงคุณภาพ ก๊าซที่ 0.4553 บาทต่อกิโลกรัม ทําให้คา่ ใช้จา่ ยดําเนินการ NGV เพิม ่ ขึน ้ จาก 3.4367 บาทต่อกิโลกรัม เป็น 3.8920 บาทต่อกิโลกรัม ให้มีผลตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน 2560 โดยทยอยปรับขึ้นเป็น สองงวด ในเดือนกันยายน และเดือนตุลาคม

บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จํากัด (BSA) (บริษัทย่อยของ ปตท. ถือหุ้นสัดส่วน ร้อยละ 25) ได้จัดตั้งบริษัทใหม่ภายใต้ BSA ชื่อบริษัท บิซิเนส โปรเฟสชั่นแนล โซลูชั่นส์ จํากัด (Business Professional Solutions Co., Ltd.: BPS) ด้วยทุนจดทะเบียน 5,000,000 บาท เพือ ่ รองรับการดําเนินธุรกิจของ ปตท. ทีจ ่ ะมีการให้บริการ Shared Service สาขาต่าง ๆ ในอนาคต

GPSC มีการออกและเสนอขายหุ้นกู้ เป็นหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน สกุลเงินบาท วงเงิน ไม่เกิน 5,000 ล้านบาท เสนอขายแก่ผู้ลงทุนสถาบัน และ/หรือ ผู้ลงทุนรายใหญ่

ตุลาคม 2560

ปตท. ได้ ดํ า เนิ น การไถ่ ถ อนหุ้ น กู้ ส กุ ล ดอลลาร์ ส หรั ฐ อเมริ ก า ครบกํ า หนดไถ่ ถ อนปี 2565 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.375 ต่อปี ซึ่งบริษัทฯ ออกและเสนอขายแก่ผู้ลงทุนในต่างประเทศ และจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์สงิ คโปร์ โดยไถ่ถอนหุน ้ กูต ้ ามจํานวนเงินต้นคงค้างของหุน ้ กู้ ทั้งหมด หรือเท่ากับ 500 ล้านเหรียญสหรัฐ

PTTEP ได้พิจารณาปรับแผนการพัฒนาโครงการมาเรียนา ออยล์ แซนด์ ในประเทศแคนาดา ซึ่งรวมถึงการชะลอการตัดสินใจลงทุนขั้นสุดท้าย (Final Investment Decision) ของโครงการ ้ าดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ออกไป ส่งผลให้ในไตรมาสที่ 3 ของปี 2560 PTTEP จะรับรูข เป็นจํานวนประมาณ 550 ล้านเหรียญสหรัฐ

PTTEP ได้ จั ด ตั้ ง บริ ษั ท ย่ อ ยเพื่ อ รองรั บ การเข้ า ร่ ว มประมู ล สิ ท ธิ ใ นการดํ า เนิ น การสํ า รวจ และผลิตปิโตรเลียมในประเทศเม็กซิโก บริษท ั PTTEP Mexico E&P Limited, S. de R.L. de C.V. มีทุนจดทะเบียน 3,000 เปโซเม็กซิโก ซึ่งประกอบด้วยหุ้นสามัญจํานวน 3,000 หุ้น มูลค่า หุ้นละ 1 เปโซเม็กซิโก

พฤศจิกายน 2560

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2560 ปตท. ได้จําหน่ายหุ้นสามัญของ SPRC ที่ ปตท. ถืออยู่ทั้งหมด จํ า นวน 234,562,369 หุ้ น คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 5.41 ของจํ า นวนหุ้ น ที่ จํ า หน่ า ยได้ แ ล้ ว ทั้ ง หมด ของ SPRC รวมเป็นมูลค่าการจําหน่ายทั้งสิ้น 3,706,085,430.20 บาท ผ่านตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2560 บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จํากัด (IRPC-CP) โรงไฟฟ้า ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก กําลังการผลิตติดตั้งรวม 240 เมกะวัตต์ ไอน้ํา 180-300 ตันต่อชั่วโมง ที่ GPSC และ IRPC ได้เข้าถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 51 และ 49 ตามลําดับ เริ่มเปิดดําเนินการ เชิงพาณิชย์ในระยะที่ 2 คิดเป็นกําลังการผลิตติดตั้ง จํานวน 195 เมกะวัตต์ หรือเป็นกําลัง การผลิตตามสัดส่วนการลงทุนในระยะที่ 2 จํานวน 99.4 เมกะวัตต์ ได้เดินเครื่องจ่ายไฟฟ้า เข้าระบบโครงข่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยแล้ว

คณะกรรมการของ ปตท. และ GPSC ได้อนุมัติการซื้อที่ดินและอยู่ระหว่างเข้าทําสัญญาจัดซื้อ ่ า ้ งถึง ทีด ่ น ิ กับ ปตท. เพือ ่ ใช้ในการก่อสร้างศูนย์ผลิตสาธารณูปการส่วนขยาย ภายใต้โครงการทีอ โดยเป็นที่ดินมีโฉนดรวมทั้งสิ้น 6 โฉนด (2 แปลง) พื้นที่รวม 35 ไร่ 3 งาน 60.2 ตารางวา ราคา ซื้อขายรวม 269,253,750 บาท และรายการค่าบํารุงรักษาสิ่งอํานวยความสะดวกในนิคม อุตสาหกรรมระยะเวลา 15 ปี มูลค่ารวม 11,404,800 บาท โดยคาดว่าจะมีการเข้าทํารายการ ภายในปี 2560 นี้


090

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

ธันวาคม 2560

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

คณะกรรมการ ปตท. ในการประชุมเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2560 ได้มีมติอนุมัติแผนการลงทุน

PTTEP แจ้งแผนการดําเนินงานประจําปี 2561 ของ PTTEP และบริษท ั ย่อย โดยมีประมาณการ

5 ปี (ปี 2561 - 2565) ของ ปตท. วงเงินรวม 341,962 ล้านบาท รายจ่ า ยรวมทั้ ง สิ้ น 3,103 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ แบ่ ง เป็ น รายจ่ า ยดํ า เนิ น งาน (Operating Expenditure) 1,332 ล้านเหรียญสหรัฐ และรายจ่ายลงทุน (Capital Expenditure) 1,771 ล้านเหรียญสหรัฐ •

วันที่ 15 ธันวาคม 2560 บริษท ั อิจิโนเซกิ โซล่า พาวเวอร์ 1 จีเค (Ichinoseki Solar Power 1 G.K. หรือ ISP1) ของ GPSC ซึง่ เป็นโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตัง้ บนพืน ้ ดิน (Solar Farm) ที่เมืองอิจิโนเซกิ เขตอิวาเตะ ประเทศญี่ปุ่น กําลังการผลิตติดตั้งรวม 25.881 เมกะวัตต์ หรือคิดเป็นกําลังการผลิตตามสัดส่วนจํานวน 25.62 เมกะวัตต์ ได้จา ่ ยไฟฟ้าเข้าระบบ แล้ว โดยมีสัญญาซื้อขายไฟฟ้า 20.8 เมกะวัตต์ กับ Tohoku Electric Power Co., Inc. ประเทศ ญี่ปุ่น ที่อัตราค่าไฟฟ้า Feed in Tariff เท่ากับ 40 เยนต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 20 ปี

มกราคม 2561

วันที่ 31 มกราคม 2561 PTTEP และ บริษัท ปตท.สผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด ได้ลงนาม ในสัญญาการโอนสิทธิสัมปทาน (Agreement for the Assignment and Transfer) เพื่อเข้าซื้อ สัดส่วนการลงทุนร้อยละ 22.2222 ในโครงการบงกช ซึ่งได้แก่ แปลง B15 แปลง B16 และ แปลง B17 จากบริษัท Shell Integrated Gas Thailand Pte. Limited (Shell) และแปลง G12/48 จากบริษท ั Thai Energy Company Limited (บริษท ั ย่อยของ Shell) ด้วยมูลค่าก่อนภาษีประมาณ 750 ล้านเหรียญสหรัฐ ทั้งนี้ การเข้าซื้อสัดส่วนการลงทุนจะเสร็จสมบูรณ์เมื่อบรรลุเงื่อนไข ตามที่ระบุไว้ในสัญญาฯ ดังกล่าว โดยคาดว่าจะเสร็จสิ้นภายในไตรมาสที่ 2 ของปี 2561

วันที่ 23 มกราคม 2561 PTTGC ได้ดําเนินการลงนามสัญญาออกแบบวิศวกรรมการจัดหา เครือ ่ งจักรและอุปกรณ์การก่อสร้าง (Engineering, Procurement & Construction) โรงโอเลฟินส์ แห่งใหม่ (Olefin Reconfiguration Project) ซึ่งตามแผนงานคาดว่าจะสามารถดําเนินการผลิต เชิงพาณิชย์ได้ภายในปี 2563 โดยมีมูลค่าเงินลงทุนรวมทั้งสิ้นประมาณ 985 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 35,657 ล้านบาท ที่อัตราแลกเปลี่ยน 36.2 บาทต่อเหรียญสหรัฐ

วันที่ 29 มกราคม 2561 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท PTTGC America LLC (PTTGCA) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ PTTGC มีมติอนุมัติให้ PTTGCA ลงนามในร่างข้อตกลงเบื้องต้น (HOA) กับบริษัทในเครือของบริษัท Daelim Industrial Co., Ltd. ผู้ประกอบธุรกิจก่อสร้างและ ผูผ ้ ลิตเคมีภณ ั ฑ์สาธารณรัฐเกาหลี เพือ ่ ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการปิโตรเคมี คอมเพล็กซ์ ในรัฐโอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา ถึงรายละเอียดรวมถึงการออกแบบทางวิศวกรรม (FEED: Front-End Engineering Design) และการจัดหาแหล่งเงินทุนของโครงการฯ เพื่อผลิตจําหน่าย เอทิลีนและผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องซึ่งมีกําลังการผลิต 1.5 ล้านตันต่อปี

กุมภาพันธ 2561

วันที่ 31 มกราคม 2561 บริษท ั PTTEP Mexico E&P Limited, S. de R.L. de C.V. (PTTEP MEP) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ PTTEP และกลุ่มผู้ร่วมทุนได้ชนะการประมูลแปลงสํารวจในอ่าวเม็กซิโก ประเทศเม็กซิโก จํานวน 2 แปลง


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

091

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

ภาพรวมผลการดําเนินงานของ ปตท. และบริษัทยอย ผลการดําเนินงานของ ปตท. และบริษัทยอย สําหรับป 2560 เปรียบเทียบกับป 2559 แยกตามธุรกิจ สรุปไดดังนี้ หนวย: ลานบาท

ป 2559

ป 2560

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (รอยละ)

1,718,846

1,995,722

16.1%

• สํารวจและผลิตฯ

150,217

147,725

(1.7%)

• ก๊าซ1/

457,986

465,638

1.7%

16,307

19,575

20.0%

• น้ํามัน

484,429

547,296

13.0%

• การค้าระหว่างประเทศ

748,429

935,616

25.0%

• ปิโตรเคมีและการกลั่น

785,362

950,727

21.1%

4,497

4,954

10.2%

312,526

345,395

10.5%

107,464

105,468

(1.9%)

72,082

89,402

24.0%

4,178

6,114

46.3%

22,918

19,598

(14.5%)

2,865

527

(81.6%)

5,024

5,387

7.2%

102,623

124,059

20.9%

ยอดขาย

• ถ่านหิน

• อื่น ๆ กําไรจากการดําเนินงานก่อนค่าเสื่อมราคา ต้นทุนทางการเงิน และภาษีเงินได้ (EBITDA) • สํารวจและผลิตฯ • ก๊าซ • ถ่านหิน • น้ํามัน • การค้าระหว่างประเทศ • ไม่รวมการปรับปรุงผลกระทบจาก FX. และการป้องกันความเสี่ยง • รวมการปรับปรุงผลกระทบจาก FX. และการป้องกันความเสี่ยง • ปิโตรเคมีและการกลั่น • อื่น ๆ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่าย 1/

รวมธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน

670 128,734

(315) 116,289

< (100%) (9.7%)


092

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

ป 2559

ป 2560

183,792

229,106

24.7%

• สํารวจและผลิตฯ

33,945

49,699

46.4%

• ก๊าซ

53,966

70,514

30.7%

2,243

4,224

88.3%

19,477

15,454

(20.7%)

2,832

494

(82.6%)

4,991

5,354

7.3%

71,951

89,539

24.4%

กําไรจากการดําเนินงานตามส่วนงาน

• ถ่านหิน • น้ํามัน

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (รอยละ)

• การค้าระหว่างประเทศ • ไม่รวมการปรับปรุงผลกระทบจาก FX. และการป้องกันความเสี่ยง • รวมการปรับปรุงผลกระทบจาก FX. และการป้องกันความเสี่ยง • ปิโตรเคมีและการกลั่น • อื่น ๆ

(348)

(1,359)

< (100%)

ส่วนแบ่งกําไรจากการร่วมค้าและบริษัทร่วม

4,143

7,310

76.4%

ขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์

7,203

24,848

> 100%

กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน

4,473

13,650

> 100%

184,183

242,014

31.4%

ต้นทุนทางการเงิน

28,887

29,086

0.7%

ภาษีเงินได้

26,593

28,306

6.4%

94,040

135,187

43.8%

กําไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ (EBIT)

กําไรสําหรับงวดจากการดําเนินงานต่อเนื่อง กําไรสําหรับงวดจากการดําเนินงานทีย ่ กเลิก-สุทธิ จากภาษี กําไรสุทธิ

569

(7)

< (100%)

94,609

135,180

42.9%

กําไรสุทธิต่อหุ้น (บาทต่อหุ้น)

32.68

46.74

43.0%

• จากการดําเนินงานต่อเนื่อง

32.48

46.74

43.9%

• จากการดําเนินงานที่ยกเลิก

0.20

-

(100.0%)


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

093

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

ผลการดําเนินงานของ ปตท. และบริษัทยอย จําแนกตามกลุมธุรกิจ ผลการดําเนินงานงวดปี 2560 สรุปได้ดังนี้

ภาพที่ 2

1,995,722

รายละเอียดยอดขาย EBITDA และ Operating Income สําหรับผลการดําเนินงาน งวดป 2560

1% 5%

345,395

229,106

2%

1%

15% 22% 26% 31% 30% 7% 48%

31% 6%

หนวย: ลานบาท กาซธรรมชาติ ปโตรเคมีและการกลั่น นํ้ามันและการคา ปตท.สผ. อื่น ๆ*

36%

Revenue

39%

EBITDA

Operating Income

* ธุรกิจถานหินและอื่น ๆ

กลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นตนและกาซธรรมชาติ ธุรกิจสํารวจและผลิตปโตรเลียม: บมจ. ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม หรือ PTTEP ป 2559 ราคาขายผลิตภัณฑ์เฉลี่ย (เหรียญสหรัฐต่อ BOE) ปริมาณขายเฉลี่ย (BOED)

ป 2560

35.9

39.2

319,521

299,206

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (รอยละ) 9% (6%)

ในปี 2560 PTTEP มีรายได้จากการขายจํานวน 147,725 ล้านบาท ลดลง 2,492 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.7 จากปี 2559 สาเหตุหลัก มาจากค่ า เงิ น บาทที่ แ ข็ ง ค่ า ขึ้ น มาก แม้ ว่ า ราคาขายเฉลี่ ย โดยรวมปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 9 จาก 35.9 เหรี ย ญสหรั ฐ ต่ อ บาร์ เ รล ในปี 2559 เป็น 39.2 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ในปี 2560 แต่ปริมาณขายเฉลี่ยโดยรวมลดลงร้อยละ 6 จาก 319,521 บาร์เรล เทียบเท่าน้ํามันดิบต่อวัน ในปี 2559 เป็น 299,206 บาร์เรลเทียบเท่าน้ํามันดิบต่อวัน ในปี 2560 โดยหลักจากโครงการพีทีทีอีพี ออสตราเลเซีย ที่มีการขายน้ํามันดิบลดลง และโครงการสินภูฮ่อม เนื่องจากผู้ซื้อรับก๊าซฯ ในปริมาณลดลง EBITDA ในปี 2560 มีจํานวน 105,468 ล้านบาท ลดลง 1,996 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.9 โดยหลักเป็นผลมาจากกําไรขั้นต้น ที่ลดลงตามที่กล่าวข้างต้น กําไรจากการดําเนินงานตามส่วนงาน ในปี 2560 มีจํานวน 49,699 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 15,754 ล้านบาท หรือร้อยละ 46.4 โดยหลัก มาจากค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่ายลดลง 17,750 ล้านบาท จากการปรับปริมาณสํารองปิโตรเลียมเพิ่มขึ้น


094

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

กลุมธุรกิจกาซธรรมชาติ รายละเอียดปริมาณการขายผลิตภัณฑของโรงแยกกาซธรรมชาติแตละชนิดเปนดังนี้ หนวย: ตัน

ป 2559

ป 2560

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (รอยละ)

LPG

2,794,203

2,919,061

4.5%

Ethane

2,058,987

2,333,234

13.3%

Propane

856,286

826,526

(3.5%)

NGL1/

745,054

732,192

(1.7%)

6,454,530

6,811,013

รวม

5.5%

หมายเหตุ: 1/

รวมผลิตภัณฑ์ Pentane

รายละเอียดราคาผลิตภัณฑอางอิงของโรงแยกกาซฯ แตละชนิดเปนดังนี้ หนวย: เหรียญสหรัฐตอตัน

ป 2559

ป 2560

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (รอยละ)

336

485

44.3%

1,037

1,092

5.3%

705

824

16.9%

HDPE2/

1,132

1,168

3.2%

PP2/

1,046

1,155

10.4%

354

449

26.8%

LPG1/, 4/ Ethylene2/ Propylene2/

Naphtha3/ หมายเหตุ: 1/

เป็นราคา Contract Price (CP) 50:50

2/

ราคาตลาดจรของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (South East Asia – Spot)

3/

ราคาตลาดจรของประเทศสิงคโปร์ (MOP’S)

4/

ทีป ่ ระชุม กพช. รับทราบข้อสรุปการดําเนินงานเพือ ่ เปิดเสรีธรุ กิจก๊าซ LPG ตามทีป ่ ระชุม กบง. วันที่ 2 ธันวาคม 2559 กบง. มีมติเห็นชอบแนวทางเปิดเสรีธรุ กิจก๊าซ LPG เป็น 2 ระยะ โดยระยะแรกเป็นช่วงเวลาเปลีย ่ นผ่านก่อนจะเปิดเสรีทงั้ ระบบ (ช่วงปี 2560) จะเปิดเสรีเฉพาะในส่วนการนําเข้าแต่ยงั คงควบคุมราคาโรงกลัน ่ น้า ํ มัน และโรงแยกก๊าซธรรมชาติผา ่ นกลไกของกองทุนน้า ํ มัน และระยะทีส ่ องเป็นการเปิดเสรีทงั้ ระบบ มีผลตัง้ แต่วน ั ที่ 1 สิงหาคม 2560 โดยยกเลิกการกําหนดราคา LPG ณ โรงกลัน ่ สําหรับโรงแยกก๊าซฯ และโรงกลัน ่ โดย สนพ. จะประกาศราคาอ้างอิงสําหรับกํากับราคาขายปลีก LPG ในประเทศเท่านัน ้ ทัง้ นี้ สนพ. จะมีกลไกติดตาม กรณีทร่ี าคานําเข้า LPG มีความแตกต่างจากต้นทุนโรงแยกก๊าซฯ อย่างมีนย ั สําคัญ และจะเสนอให้ กบง. พิจารณาตามสถานการณ์นน ้ั ๆ เป็นรายเดือน


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

095

ในปี 2560 กลุ่มธุรกิจก๊าซธรรมชาติ มีรายได้จากการขาย

EBITDA และกําไรจากการดําเนินงานตามส่วนงานของธุรกิจ

จํานวน 465,638 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 7,652 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น

ก๊าซฯ ในปี 2560 มีจา ํ นวน 89,402 ล้านบาท และ 70,514 ล้านบาท

ร้อยละ 1.7 จากปี 2559 โดยหลักจากธุรกิจโรงแยกก๊าซฯ ที่มี

เพิ่มขึ้น 17,320 ล้านบาท และ 16,548 ล้านบาท ตามลําดับ

รายได้จากการขายเพิม ่ ขึน ้ จากราคาขายผลิตภัณฑ์ทอ ี่ า ้ งอิงราคา

โดยหลั ก จากธุ ร กิ จ การจั ด หาและจั ด จํ า หน่ า ยก๊ า ซฯ และธุ ร กิ จ

ปิโตรเคมีในตลาดโลกเพิ่มขึ้น รวมทั้งปริมาณขายที่เพิ่มขึ้น โดย

โรงแยกก๊าซฯ ที่มีกําไรขั้นต้นเพิ่มขึ้น

หลักจากผลิตภัณฑ์ Ethane และ LPG โดยปริมาณขายผลิตภัณฑ์

อย่างไรก็ตามธุรกิจ NGV มีผลขาดทุนเพิ่มขึ้นจากรายได้จาก

รวม เพิ่มขึ้นจาก 6,454,530 ตัน ในปี 2559 เป็น 6,811,013 ตัน

การขายทีล ่ ดลงมากกว่าต้นทุนขายทีล ่ ดลง และยังคงราคา 10.00

ในปี 2560 หรือร้อยละ 5.5 จากที่ปี 2559 มีการปิดซ่อมบํารุงใหญ่

บาทต่ อ กิ โ ลกรั ม สํ า หรั บ กลุ่ ม ลู ก ค้ า รถแท็ ก ซี่ และรถโดยสาร

ของ ESP และ GSP 6 รวมถึงการปิดซ่อมบํารุงของ PTTGC

สาธารณะ

สําหรับธุรกิจการจัดหาและจัดจําหน่ายก๊าซฯ มีรายได้จาก

ในส่ ว นของธุ ร กิ จ โครงสร้ า งพื้ น ฐานมี ผ ลการดํ า เนิ น งาน

การขายลดลง จากราคาขายเฉลี่ยลดลงตามราคาก๊าซฯ ที่ลดลง

งวดปี 2560 ปรับเพิม ่ ขึน ้ เล็กน้อยเมือ ่ เทียบกับปี 2559 โดยหลักจาก

ยกเว้ น ลู ก ค้ า อุ ต สาหกรรม นอกจากนี้ ป ริ ม าณจํ า หน่ า ยก๊ า ซฯ

GPSC ที่ ผ ลการดํ า เนิ น งานดี ขึ้ น จากต้ น ทุ น ก๊ า ซฯ ที่ ล ดลงและ

เฉลี่ย (ที่ค่าความร้อน 1,000 บีทียูต่อ 1 ลูกบาศก์ฟุต) ลดลง

มีรายได้จากส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนเพิ่มขึ้น ทั้งจากโรงไฟฟ้า

37 MMSCFD จาก 4,762 MMSCFD ในปี 2559 เหลือ 4,725

บางปะอิน โคเจนเนเรชั่น (BIC2) และบริษัท ผลิตไฟฟ้านวนคร

MMSCFD ในปี 2560 หรื อ ร้ อ ยละ 0.8 โดยหลั ก จากปริ ม าณ

จํากัด (NNEG) เต็มปีเป็นปีแรก

ความต้องการใช้ก๊าซฯ ของลูกค้ากลุ่มโรงไฟฟ้าที่ลดลง

กลุมธุรกิจถานหิน ป 2559

ป 2560

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (รอยละ)

ราคาอ้างอิงนิวคาสเซิล (เหรียญสหรัฐต่อตัน)

66.1

88.5

33.9%

ราคาขายเฉลี่ย (เหรียญสหรัฐต่อตัน)

47.2

70.3

48.9%

9.8

8.3

(15.3%)

ปริมาณขาย (ล้านตัน)

รายได้จากการขายในปี 2560 มีจํานวน 19,575 ล้านบาท

EBITDA ในปี 2560 มีจํานวน 6,114 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,936

เพิ่มขึ้น 3,268 ล้านบาท หรือร้อยละ 20.0 สาเหตุหลักมาจาก

ล้านบาท หรือร้อยละ 46.3 สาเหตุหลักมาจากกําไรขัน ้ ต้นทีเ่ พิม ่ ขึน ้

ราคาขายถ่านหินเฉลี่ยที่เพิ่มสูงขึ้นถึง 23.1 เหรียญสหรัฐต่อตัน

2,548 ล้ า นบาท จากราคาขายเฉลี่ ย ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ตามที่ ไ ด้ ก ล่ า ว

หรือร้อยละ 48.9 จาก 47.2 เหรียญสหรัฐต่อตัน มาอยู่ที่ 70.3

ข้างต้น ทั้งนี้กําไรจากการดําเนินงานตามส่วนงานของปี 2560

เหรียญสหรัฐต่อตัน ตามราคาอ้างอิง Newcastle ที่เพิ่มขึ้นถึง

มีจํานวน 4,224 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1,981 ล้านบาท เมื่อเทียบกับ

ร้อยละ 33.9 ซึง่ โดยหลักเกิดจากการปฏิรป ู เศรษฐกิจของประเทศจีน

ปีก่อน ตาม EBITDA ที่เพิ่มขึ้น

ที่ ส่ ง ผลให้ อุ ป ทานลดลง อย่ า งไรก็ ต ามปริ ม าณขายถ่ า นหิ น ในปี 2560 ลดลง 1.5 ล้านตัน หรือร้อยละ 15.3 จาก 9.8 ล้านตัน ในปี 2559 มาอยู่ ที่ 8.3 ล้ า นตั น เนื่ อ งด้ ว ยดิ น ถล่ ม ในเหมื อ ง Sebuku ทําให้ต้องหยุดผลิตตั้งแต่เดือนมกราคม และได้กลับมา ดําเนินการผลิตในเดือนพฤศจิกายน 2560


096

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

กลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย กลุมธุรกิจนํ้ามัน หนวย: ลานลิตร

ปริมาณขายเฉลี่ย

ป 2559

ป 2560

26,464

26,006

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (รอยละ) (1.7%)

ในปี 2560 กลุม ่ ธุรกิจน้า ํ มันมีรายได้จากการขายจํานวน 547,296 ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ 62,867 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.0 จากราคาขาย ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามราคาน้ํามันในตลาดโลก ในขณะที่ปริมาณขายลดลง 458 ล้านลิตร หรือร้อยละ 1.7 จาก 26,464 ล้านลิตร หรือเทียบเท่า 454,795 บาร์เรลต่อวัน ในปี 2559 เหลือ 26,006 ล้านลิตร หรือเทียบเท่า 448,159 บาร์เรลต่อวัน ในปี 2560 โดยหลักจากผลิตภัณฑ์ LPG EBITDA ในปี 2560 มีจํานวน 19,598 ล้านบาท ลดลง 3,320 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.5 จากกําไรจากสต๊อกน้ํามันที่ปรับลดลงจาก ปีก่อน แม้ว่ากําไรจากกลุ่มธุรกิจเสริม และผลิตภัณฑ์เบนซินและอากาศยานจะปรับตัวดีขึ้น ทั้งนี้กําไรจากการดําเนินงานตามส่วนงาน ในปี 2560 อยู่ที่ 15,454 ล้านบาท ลดลง 4,023 ล้านบาท ตาม EBITDA ที่ลดลงตามที่กล่าวข้างต้น

กลุมธุรกิจการคาระหวางประเทศ หนวย: ลานลิตร

ปริมาณขายเฉลี่ย

ป 2559

ป 2560

74,627

75,638

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (รอยละ) 1.4%

ในปี 2560 กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ มีรายได้จากการขายจํานวน 935,616 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 187,187 ล้านบาท หรือร้อยละ 25.0 เนือ ่ งจากราคาขายผลิตภัณฑ์ปรับตัวเพิม ่ ขึน ้ ตามราคาน้า ํ มันในตลาดโลก รวมทัง้ ปริมาณขายเพิม ่ ขึน ้ 1,011 ล้านลิตร หรือร้อยละ 1.4 จาก 74,627 ล้านลิตร หรือเทียบเท่า 1,282,509 บาร์เรลต่อวัน ในปี 2559 เป็น 75,638 ล้านลิตร หรือเทียบเท่า 1,303,442 บาร์เรลต่อวัน ในปี 2560 ส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นจาก Out-Out Trading ของน้ํามันดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ที่สามารถ ขยายตลาดไปยังประเทศในแถบตะวันตกได้มากขึ้น EBITDA รวมการปรับปรุงผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนและการป้องกันความเสี่ยงในปี 2560 มีจํานวน 5,387 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 363 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.2 โดยหลักจากกําไรของการขายน้ํามันดิบและคอนเดนเสทในประเทศที่เพิ่มขึ้น รวมถึง Out-Out Trading ที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้กําไรจากการดําเนินงานตามส่วนงานรวมการปรับปรุงผลกระทบฯ ของกลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ ในปี 2560 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยมาอยู่ที่ 5,354 ล้านบาท ตาม EBITDA ที่เพิ่มขึ้น


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

097

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

กลุมธุรกิจปโตรเคมีและการกลั่น หนวย: เหรียญสหรัฐตอตัน

ป 2559

ป 2560

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (รอยละ)

HDPE

1,132

1,168

3.2%

PP

1,046

1,155

10.4%

BZ – Cond

262

357

36.3%

PX – Cond

395

380

(3.8%)

หนวย: เหรียญสหรัฐตอบารเรล

ป 2559

ป 2560

Market GRM

4.49

5.74

27.8%

Inventory gain (loss)

1.24

1.05

(19.2%)

Accounting GRM

5.12

6.40

25.0%

94.3%

100.0%

6.0%

Refinery Utilization rate (%)

เพิ่มขึ้น (ลดลง) (รอยละ)

หมายเหตุ: GRM คํานวณจากโรงกลั่นน้ํามันของ TOP, IRPC และ PTTGC

ในปี 2560 กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเคมี แ ละการกลั่ น มี ร ายได้ จ ากการขายจํ า นวน 950,727 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น 165,365 ล้ า นบาท หรื อ ร้ อ ยละ 21.1 ส่ ว นใหญ่ จ ากราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ํ า มั น สํ า เร็ จ รู ป และปิ โ ตรเคมี ทั้ ง สายอะโรเมติ ก ส์ แ ละสายโอเลฟิ น ส์ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ตามราคาน้ํ า มั น ดิ บ สํ า หรั บ ราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเคมี ส ายอะโรเมติ ก ส์ เ พิ่ ม ขึ้ น โดยเฉพาะราคา Bezene (BZ) ที่ ป รั บ เพิ่ ม ขึ้ น ่ น ตามการปรับตัวของเศรษฐกิจทีด ่ ข ี น ึ้ รวมถึงปริมาณสินค้าคงคลังในประเทศจีน จากอุปสงค์จากตลาดโลกทีอ ่ ยูใ่ นระดับดีมากกว่าปีกอ ที่ลดลง และตลาดผลิตภัณฑ์ปลายน้ําอย่าง Styrene Monomer (SM) ยังเติบโตอย่างต่อเนื่อง ในส่วนของราคาปิโตรเคมีสายโอเลฟินส์ ราคาโพลีเอทิลีนและโพลีโพรพิลีนปรับตัวสูงขึ้นทุกผลิตภัณฑ์ตามราคาน้ํามันดิบ รวมทั้งราคา Ethylene Glycol (EG) ก็ปรับเพิ่มขึ้น อย่างมาก ตามความต้องการ Polyester และ Polyethylene Terephthalate (PET) Bottle ที่เพิ่มสูงขึ้น


098

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

ปริ ม าณขายในธุ ร กิ จ โรงกลั่ น เพิ่ ม ขึ้ น จากอั ต ราการใช้ กํ า ลั ง การกลั่นโดยรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.0 จากร้อยละ 94.3 ในปีก่อน เป็ น ร้ อ ยละ 100.0 จากการหยุ ด ซ่ อ มบํ า รุ ง ใหญ่ ข องโรงกลั่ น PTTGC ในปีกอ ่ น และปริมาณขายปิโตรเคมีของโรงโอเลฟินส์และ

กําไรสุทธิป 2560 จํานวน 135,180 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2559 จํานวน 40,571 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 42.9

โรงอะโรเมติกส์ในปี 2560 โดยรวมเพิ่มขึ้น EBITDA ในปี 2560 ของกลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น

ในปี 2560 ปตท. และบริษท ั ย่อยมีกา ํ ไรสุทธิ 135,180 ล้านบาท

มีจํานวนรวม 124,059 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 21,436 ล้านบาท และ

เพิ่มขึ้น 40,571 ล้านบาท หรือร้อยละ 42.9 จาก 94,609 ล้านบาท

มีกําไรจากการดําเนินงานตามส่วนงาน จํานวน 89,539 ล้านบาท

ในปี 2559 เนื่องจากผลการดําเนินงานดีขึ้นในเกือบทุกกลุ่มธุรกิจ

เพิ่มขึ้น 17,588 ล้านบาท โดยมีสาเหตุดังนี้

ทั้ ง ในส่ ว นธุ ร กิ จ ที่ ปตท. ดํ า เนิ น การเองโดยเฉพาะธุ ร กิ จ

ผลการดําเนินงานของธุรกิจการกลั่นโดยรวมปรับเพิ่มขึ้น

ก๊ า ซธรรมชาติ แ ละบริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท. โดยเฉพาะในส่ ว นของ

จากค่าการกลั่นทางบัญชี (Accounting GRM) ที่เพิ่มขึ้น

กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเคมี แ ละการกลั่ น ที่ ป รั บ เพิ่ ม ขึ้ น มาก ซึ่ ง เป็ น ผล

ในทุกโรงกลัน ่ จาก 5.12 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ในปี 2559

จากราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้นทําให้ Accounting

เป็น 6.40 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ในปี 2560 เนื่องจาก

GRM เพิ่มขึ้นตาม Market GRM ที่เพิ่มขึ้น แม้ว่ากําไรจากสต๊อก

มี Market GRM ปรับเพิม ่ ขึน ้ ตามราคาผลิตภัณฑ์สา ํ เร็จรูป

น้ํามันจะปรับลดลง อีกทั้งราคาปิโตรเคมีก็ปรับตัวสูงขึ้น ทําให้

ที่ปรับเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะน้ํามันเตาและดีเซล

กํ า ไรขั้ น ต้ น ต่ อ หน่ ว ยของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ามราคาตลาด (Market

ผลการดํ า เนิ น งานของธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเคมี ส ายโอเลฟิ น ส์

Product to Feed Margin: Market P2F) เพิ่ ม สู ง ขึ้ น เช่ น กั น

ในภาพรวมปรับเพิม ่ ขึน ้ โดยในส่วนของ PTTGC เพิม ่ ขึน ้ จาก

ในส่ ว นของธุ ร กิ จ ก๊ า ซธรรมชาติ มี ผ ลการดํ า เนิ น งานที่ ดี ขึ้ น จาก

ราคาขายผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกเพิ่มขึ้น และส่วนต่าง

ต้นทุนราคาก๊าซธรรมชาติที่ยังอยู่ในระดับต่ํา ในขณะที่ราคาขาย

ราคาผลิตภัณฑ์ MEG กับวัตถุดิบก็สูงขึ้น

ผลิตภัณฑ์ตามราคาอ้างอิงปรับตัวสูงขึ้น และผลการดําเนินงาน

ผลการดํ า เนิ น งานของธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเคมี ส ายอะโรเมติ ก ส์

ของ PTTEP ปรับดีขึ้นจากราคาน้ํามันที่สูงขึ้น และค่าเสื่อมราคา

ลดลงจากส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ Paraxylene (PX) กับ

่ ดลงตามการปรับปริมาณสํารองปิโตรเลียม และค่าตัดจําหน่ายทีล

วัตถุดิบปรับตัวลดลง ขณะที่ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ BZ

ที่เพิ่มขึ้น อีกทั้งปีนี้ยังมีผลกําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เพิ่มขึ้น

กับวัตถุดิบเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปีก่อน

จากค่ า เงิ น บาทที่ แ ข็ ง ค่ า ขึ้ น เมื่ อ เที ย บกั บ เงิ น เหรี ย ญสหรั ฐ และ

นอกจากนี้ ส่ ว นแบ่ ง กํ า ไรจากเงิ น ลงทุ น ในการร่ ว มค้ า และ

มี กํ า ไรจากการป้ อ งกั น ความเสี่ ย งของตราสารอนุ พั น ธ์ เ พิ่ ม ขึ้ น

บริ ษั ท ร่ ว มของกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเคมี แ ละการกลั่ น ปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น

แม้ จ ะมี ก ารรั บ รู้ ข าดทุ น จากการด้ อ ยค่ า สิ น ทรั พ ย์ โ ดยหลั ก ของ

3,168 ล้านบาท จากปี 2559 โดยเพิ่มขึ้นจาก PTTAC ซึ่งเป็น

PTTEP, PTTGM และ PTTGC

ผลมาจากราคาของผลิตภัณฑ์ Acrylonitrile (AN) และ Methyl Methacrylate (MMA) ที่ สู ง กว่ า ปี ก่ อ นตามสภาวะเศรษฐกิ จ ที่ปรับตัวดีขึ้น


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

099

การวิเคราะหฐานะการเงิน ปตท. และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 เปรียบเทียบกับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 3,000,000

ภาพที่ 3

การวิเคราะหฐานะทางการเงิน ปตท. และบริษัทยอย

2,232,331 2,232,314

2,232,331 2,232,314

2,500,000 275,536

287,963

583,323

511,353

741,584

2,000,000

782,170

หนวย: ลานบาท

882,319 82,319 105,188 ,

1,500,000 สินทรัพยรวม สินทรัพยหมุนเวียน เงินลงทุนระยะยาว ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ สินทรัพย ไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินรวมและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินกูยืมระยะยาว (รวมสวนที่ถึงกําหนดชําระใน 1 ป) หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น สวนของผูถือหุน

184,442 201,875 1,106,7033 1,076,9066

1,000,000

1,248,5566 1,171,5977 500,000 301,725 0

268,050

31 ธ.ค. 2559 31 ธ.ค. 2560

31 ธ.ค. 2559 31 ธ.ค. 2560

สินทรัพยรวม

หนี้สินรวมและสวนของผูถือหุน

สินทรัพย

เงินลงทุนระยะยาวเพิ่มขึ้น 22,869 ล้านบาท หรือร้อยละ 27.8 โดยหลักจากเงินลงทุนระยะยาวในตราสารหนี้ของ ปตท. ที่เพิ่มขึ้น และ PTTGL ลงทุนใน PL9SB ในประเทศ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ปตท. และบริษัทย่อยมีสินทรัพย์

มาเลเซีย

รวมทั้ ง สิ้ น จํ า นวน 2,232,314 ล้ า นบาท ลดลงเล็ ก น้ อ ยจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 17 ล้านบาท เป็นผลจาก •

ที่ ดิ น อาคาร และอุ ป กรณ์ ลดลง 29,797 ล้ า นบาท

สินทรัพย์หมุนเวียนเพิ่มขึ้น 40,586 ล้านบาท หรือร้อยละ

หรือร้อยละ 2.7 โดยหลักจากค่าเสื่อมราคาในระหว่างปี

5.5 สาเหตุหลักมาจาก

และผลกระทบจากการแปลงค่ า สกุ ล เงิ น ต่ า งประเทศ

> เงิ น สดและรายการเที ย บเท่ า เงิ น สดและเงิ น ลงทุ น

แม้จะมีการลงทุนเพิ่มขึ้นในงานระหว่างก่อสร้างโครงการ

ชั่วคราวเพิ่มขึ้นสุทธิ 3,460 ล้านบาท โดยหลักจาก

ต่ า ง ๆ ของกลุ่ ม บริ ษั ท เช่ น สถานี เ พิ่ ม ความดั น ก๊ า ซฯ

การที่ ปตท. และบริษัทในกลุ่มมีการลงทุนในเงินฝาก

กลางทางบนบกและโครงการท่ อ ส่ ง ก๊ า ซฯ เส้ น ที่ 5

ประจํา บัตรเงินฝาก และกองทุนส่วนบุคคลเพิ่มขึ้น

ของ ปตท. โครงการ mLLDPE, Olefins Reconfiguration

> ลูกหนีก ้ ารค้าเพิม ่ ขึน ้ 31,725 ล้านบาท จากการเพิม ่ ขึน ้

และโครงการเมทิลเอสเทอร์แห่งที่ 2 ของ PTTGC โครงการ

ของปริมาณการขายและราคาขายเฉลีย ่ ของผลิตภัณฑ์

ขยายกํ า ลั ง การผลิ ต เม็ ด พลาสติ ก โพลี โ พรพิ ลี น (PPE)

ที่เพิ่มขึ้น โดยหลักจาก PTT International Trading

และโครงการผลิ ต เม็ ด พลาสติ ก โพลี โ พรพิ ลี น ชนิ ด

Pte. Ltd. (PTTT) และ ปตท.

คอมพาวด์ (PPC) ของ IRPC

> สิ น ทรั พ ย์ ห มุ น เวี ย นอื่ น เพิ่ ม ขึ้ น 5,401 ล้ า นบาท

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นลดลง 33,675 ล้านบาท หรือ

โดยหลั ก เกิ ด จากสิ น ค้ า คงเหลื อ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น โดยหลั ก

ร้อยละ 11.2 โดยหลักจากสินทรัพย์ที่เกิดจากการสํารวจ

จาก ปตท. และ IRPC ที่มีปริมาณผลิตภัณฑ์น้ํามันดิบ

และประเมิ น ค่ า ลดลง 28,690 ล้ า นบาท จากการรั บ รู้

และน้ํามันสําเร็จรูปคงคลังเพิ่มขึ้น ประกอบกับราคา

ขาดทุนจากการด้อยค่าของ PTTEP ที่โครงการมาเรียนา

ที่เพิ่มขึ้นตามราคาตลาดโลก

ออยล์ แซนด์ จํานวน 18,505 ล้านบาท และผลต่างจาก การแปลงค่างบการเงิน 10,172 ล้านบาท


100

วิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

หนี้สิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ปตท. และบริษัทย่อยมีหนี้สินรวมจํานวน 983,758 ล้านบาท ลดลงจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 76,976 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.3 โดยมีสาเหตุหลักมาจาก •

หนีส ้ น ิ หมุนเวียนอืน ่ เพิม ่ ขึน ้ 12,427 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.5 โดยหลักจากเจ้าหนีอ ้ น ื่ ทีเ่ พิม ่ ขึน ้ จากการเปลีย ่ นแปลงระเบียบใหม่ ในการยื่นแบบและชําระภาษีของกรมสรรพสามิต และเจ้าหนี้การค้าที่เพิ่มขึ้นจากปัจจัยทางด้านราคาและปริมาณที่ปรับตัว สูงขึ้น

เงินกู้ยืมระยะยาว (รวมส่วนที่ถึงกําหนดชําระใน 1 ปี) ลดลง 71,970 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.3 ส่วนใหญ่เป็นการไถ่ถอน หุ้นกู้ และชําระคืนเงินกู้ยืมระยะยาว จํานวน 99,312 ล้านบาท โดยหลักจาก ปตท. IRPC PTTGC GPSC และ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน) (TOP) รวมทั้งมีผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนทําให้เงินกู้ยืมระยะยาวลดลง 19,402 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ในระหว่างปีมีการกู้เงินเพิ่มขึ้น จํานวน 47,643 ล้านบาท โดยหลักจาก IRPC, PTTGC และ GPSC

หนี้สินไม่หมุนเวียนลดลง 17,433 ล้านบาท หรือร้อยละ 8.6 โดยหลักจากเงินรับล่วงหน้าค่าสินค้าของ PTTT และการลดลง ของประมาณการหนี้สินต่าง ๆ ของ PTTEP ตามค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น

สวนของผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ปตท. และบริษัทย่อยมีส่วนของผู้ถือหุ้นจํานวนรวม 1,248,556 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2559 จํ า นวน 76,959 ล้ า นบาท หรื อ ร้ อ ยละ 6.6 โดยหลั ก จากผลประกอบการของ ปตท. และบริ ษั ท ย่ อ ย สํ า หรั บ ปี 2560 จํ า นวน 135,180 ล้านบาท ในขณะที่มีการจ่ายเงินปันผลสําหรับผลประกอบการ 2H/2559 และ 1H/2560 รวมจํานวน 51,413 ล้านบาท

สภาพคลอง สภาพคล่องของ ปตท. และบริษัทย่อยสําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีกระแสเงินสดลดลงสุทธิจํานวน 49,377 ล้านบาท โดยมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นงวดจํานวน 215,566 ล้านบาท เป็นผลให้เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดปลายงวด เท่ากับ 166,189 ล้านบาท ทั้งนี้รายละเอียดกระแสเงินสดแต่ละกิจกรรมมีดังนี้

หนวย: ลานบาท กระแสเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดําเนินงาน

306,100

กระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน

(180,525)

กระแสเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

(162,498)

ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนในเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน

(750) (11,704)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลงระหว่างงวด-สุทธิ

(49,377)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นงวด

215,566

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันปลายงวด

166,189


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

101

สัดส่วนการถือหุ้นบริษัทในกลุ่ม

14 สัดสวนการถือหุนบริษัทในกลุม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ธุรกิจสํารวจและผลิตปโตรเลียม

ธุรกิจการคาระหวางประเทศ

รอยละ

บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด PTTEP

65.29

(มหาชน)

PTT International Trading Pte. Ltd.

PTTT

100.00

PTT International Trading London Limited

PTTT LDN

100.00

รอยละ

ธุรกิจปโตรเคมีและการกลั่น

TTM(T)

50.00

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด

Trans Thai-Malaysia (Malaysia) Sdn.Bhd.

TTM(M)

50.00

บริษัท ปตท.จําหน่ายก๊าซธรรมชาติ จํากัด

PTTNGD

58.00

บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จํากัด

PTTLNG

100.00

บริษัท พีทีที โกลบอล แอลเอ็นจี จํากัด

PTTGL

ธุรกิจกาซธรรมชาติ บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย)

รอยละ

รอยละ PTTGC

48.89

บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)

TOP

49.10

บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน)

IRPC

38.51

บริษัท พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล จํากัด

PTT TANK

(มหาชน)

จํากัด

50.00

ธุรกิจโครงสรางพื้นฐาน ธุรกิจนํ้ามัน

บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จํากัด

PTTES

40.00

บริษัท ผลิตไฟฟ้าและนํ้าเย็น จํากัด

DCAP

35.00

บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด

TP

26.00

บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด

GPSC

22.58

EnCo

50.00

PTTCL

100.00

บริษัท ปตท. นํ้ามันและการค้าปลีก จํากัด

PTTOR

100.00

บริษัท ไทยลู้บเบล็นดิ้ง จํากัด

TLBC

48.95

บริษัท ปิโตรเอเซีย (ประเทศไทย) จํากัด

PAT

35.00

Petro Asia (Maoming) Co., Ltd.

PA (Maoming) 20.00

Petro Asia (Sanshui) Co., Ltd.

PA (Sanshui) 25.00

บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด

THAPPLINE

40.40

บริษัท บริการนํ้ามันอากาศยาน จํากัด

IPS

16.67

บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด

BAFS

7.06

(มหาชน)

PTT Oil Myanmar Co., Ltd.

FPT

0.0000090

PTTOM

ธุรกิจลงทุนตางประเทศ PTTER

PTT Green Energy Pte. Ltd.

PTTGE

บริษัท ปตท. โกลบอล แมนเนจเม้นท์ จํากัด

100.00

(มหาชน) บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จํากัด

ธุรกิจอื่น ๆ

บริษัท ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน)

TIP

PTT Regional Treasury Center Pte. Ltd.

PTTRTC

บริษัท สานพลัง วิสาหกิจเพื่อสังคม จํากัด

PTTSE

100.00

หมายเหตุ: 1/ ชื่อเดิม: บริษัท พีทีที พีเอ็มเอ็มเอ จํากัด 2/ ปตท. ถือหุ้นสามัญของ BSA ทั้งหมด จึงมีสัดส่วนความเป็นเจ้าของร้อยละ 100.00 3/ ชื่อเดิม: บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่น จํากัด

25.00 3/

PTT DIGITAL 20.00

100.00

PTTGM

2/

บริษัท พีทีที ดิจิตอล โซลูชั่น จํากัด

100.00

1/

รอยละ

บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จํากัด BSA

รอยละ

บริษัท พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส จํากัด

รอยละ

รอยละ

PTT (Cambodia) Limited

บริษัท ขนส่งนํ้ามันทางท่อ จํากัด

100.00

13.33 100.00 20.00


102

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างรายได้ของ ปตท. และบริษัทย่อย แบ่งตามสายผลิตภัณฑ์

15 โครงสรางรายไดของ ปตท. และบริษัทยอย แบงตามสายผลิตภัณฑ* ผลิตภัณฑ/ บริการ 1. ผลิตภัณฑ์ก๊าซ

รอยละ การถือหุน ของบริษัท

ดําเนินการโดย บมจ. ปตท.

ลานบาท

รอยละ

ลานบาท

รอยละ

ลานบาท

รอยละ

468,792.56

22.78

367,696.92

21.17

356,916.23

17.45

12,948.33

0.63

10,362.45

0.60

9,527.70

0.47

บจ. ปตท.จําหน่ายก๊าซธรรมชาติ (PTTNGD)

58.00

7,966.37

0.39

7,343.61

0.42

9,815.40

0.48

บมจ. โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ (GPSC)

22.58

-

-

78.42

0.01

62.24

-

489,707.26

23.80

385,481.40

22.20

376,321.57

18.40

643,755.90

31.28

550,266.24

31.68

604,353.66

29.55

65.29

10,349.48

0.51

8,650.59

0.50

8,727.69

0.43

PTT International Trading Pte. Ltd. (PTTT)

100.00

183,336.31

8.91

117,599.77

6.77

202,561.27

9.91

PTT International Trading London Limited (PTTT LDN)

100.00

-

-

-

-

31,462.80

1.54

บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล (PTTGC)

48.89

32,852.68

1.60

20,315.68

1.17

25,501.09

1.25

บมจ. ไทยออยล์ (TOP)

49.10

140,262.71

6.82

112,309.11

6.46

149,568.69

7.31

บมจ. ไออาร์พีซี (IRPC)

38.51

110,141.22

5.35

93,424.70

5.38

100,292.75

4.90

PTT (Cambodia) Limited (PTTCL)

100.00

6,396.54

0.31

7,036.15

0.40

9,104.02

0.45

บจ. ปตท. น้ํามันและการค้าปลีก (PTTOR)

100.00

50,138.95

2.44

45,496.69

2.62

45,251.57

2.21

1,177,233.79

57.22

955,098.93

54.98 1,176,823.54

57.55

15,647.43

0.76

20,041.99

1.15

22,486.43

1.10

บมจ. ปตท.

รวมรายได้จากผลิตภัณฑ์น้ํามัน 3. ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี บมจ. ปตท. บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล (PTTGC)

48.89

120,598.30

5.86

110,974.12

6.39

218,118.80

10.67

บมจ. ไทยออยล์ (TOP)

49.10

15,174.03

0.74

23,639.62

1.36

26,835.75

1.31

38.51

50,773.08

2.47

48,387.04

2.79

57,607.06

2.82

-

75,349.14

3.66

71,598.25

4.12

-

-

100.00

30,185.37

1.47

44,198.35

2.54

59,722.95

2.92

307,727.35

14.96

318,839.37

18.35

384,770.99

18.82

100.00

13,632.79

0.66

15,994.85

0.92

-

-

100.00

-

-

-

-

19,250.09

0.94

13,632.79

0.66

15,994.85

0.92

19,250.09

0.94

-

-

-

-

1.32

-

บมจ. ไออาร์พีซี (IRPC) 1/

บจ. พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง (PTTPM ) PTT International Trading Pte. Ltd. (PTTT) รวมรายได้จากผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 2/

บจ. พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส (PTTER ) 2/

บจ. ปตท. โกลบอล แมนเนจเม้นท์ (PTTGM ) รวมรายได้จากผลิตภัณฑ์เหมือง 5. รายได้ สาธารณูปโภค

ป 2560 (ตรวจสอบ)

65.29

บมจ. ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม (PTTEP)

4. ผลิตภัณฑ์เหมือง

ป 2559 (ตรวจสอบ)

บมจ. ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม (PTTEP)

รวมรายได้จากผลิตภัณฑ์ก๊าซ 2. ผลิตภัณฑ์น้ํามัน

ป 2558 (ตรวจสอบ)

บมจ. ปตท. บมจ. ไทยออยล์ (TOP)

49.10

980.26

0.05

3,316.62

0.19

4,557.83

0.22

บมจ. ไออาร์พีซี (IRPC)

38.51

3,183.68

0.15

3,082.00

0.18

2,716.64

0.13

บมจ. โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ (GPSC)

22.58

13,698.17

0.67

10,283.76

0.59

8,884.50

0.43

บจ. เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ (EnCo)

50.00

11.95

-

-

-

-

-

17,874.06

0.87

16,682.38

0.96

16,160.29

0.78

รวมรายได้จากสาธารณูปโภค


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ผลิตภัณฑ/ บริการ 6. รายได้จาก ธุรกิจเสริม

รอยละ การถือหุน ของบริษัท

ดําเนินการโดย บมจ. ปตท.

ป 2559 (ตรวจสอบ)

ป 2560 (ตรวจสอบ)

ลานบาท

ลานบาท

ลานบาท

รอยละ

รอยละ

รอยละ

5,499.12

0.27

6,307.00

0.36

7,896.21

0.39

100.00

4,833.04

0.23

5,127.76

0.30

5,120.13

0.25

PTT (Cambodia) Limited (PTTCL)

100.00

105.72

-

338.92

0.02

623.20

0.03

10,437.88

0.50

11,773.68

0.68

13,639.54

0.67

28.33

-

36.90

-

32.16

-

บมจ. ปตท. บมจ. ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม (PTTEP)

65.29

4,044.20

0.20

2,345.22

0.14

2,626.92

0.13

บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล (PTTGC)

48.89

2,804.83

0.14

6,350.31

0.37

1,614.36

0.08

บมจ. ไทยออยล์ (TOP)

49.10

(133.00)

(0.01)

427.37

0.02

387.95

0.02

บมจ. ไออาร์พีซี (IRPC)

38.51

517.07

0.03

591.68

0.03

543.36

0.03

100.00

564.52

0.03

493.11

0.03

464.30

0.02

20.00

262.48

0.01

50.33

-

84.31

-

บจ. พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล (PTT TANK)

100.00

715.82

0.03

756.29

0.04

727.46

0.04

1/

-

133.32

-

126.93

0.01

-

-

บจ. พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ (PTTES)

40.00

57.80

-

46.29

-

14.94

-

บจ. เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ (EnCo)

50.00

243.84

0.01

291.17

0.02

282.13

0.01

บจ. บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ (BSA)

25.00

6.94

-

118.63

0.01

114.39

0.01

100.00

2.46

-

8.87

-

6.28

-

9,248.61

0.44

11,643.10

0.67

6,898.56

0.34

บจ. ปตท. น้ํามันและการค้าปลีก (PTTOR) 3/

บจ. พีทีที ดิจิตอล โซลูชั่น (PTT DIGITAL )

บจ. พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ (PTTPL )

PTT Oil Myanmar Co., Ltd. (PTTOM) รวมรายได้จากการให้บริการ 8. ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ

ป 2558 (ตรวจสอบ)

บจ. ปตท. น้ํามันและการค้าปลีก (PTTOR)

รวมรายได้จากธุรกิจเสริม 7. รายได้จาก การให้บริการ

103

โครงสร้างรายได้ของ ปตท. และบริษัทย่อย แบ่งตามสายผลิตภัณฑ์

บมจ. ปตท.

1.99

-

137.87

0.01

146.15

0.01

100.00

228.37

0.01

-

-

-

-

บจ. บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ (BSA)

25.00

4.44

-

4.71

-

5.58

-

บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล (PTTGC)

48.89

-

-

134.70

0.01

-

-

บมจ. โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ (GPSC)

22.58

-

-

-

-

591.73

0.03

บจ. พีทีที ดิจิตอล โซลูชั่น (PTT DIGITAL3/)

20.00

-

-

11.30

-

-

-

PTT International Trading Pte. Ltd. (PTTT)

100.00

-

-

2,937.85

0.17

988.45

0.05

บมจ. ไทยออยล์ (TOP)

49.10

636.67

0.03

-

-

-

-

บมจ. ไออาร์พีซี (IRPC)

38.51

178.36

0.01

105.90

-

125.49

0.01

100.00

-

-

-

-

0.09

-

1,049.83

0.05

3,332.33

0.19

1,857.49

0.10

98.95 1,995,722.07

97.60

PTT Green Energy Pte. Ltd. (PTTGE)

PTT Oil Myanmar Co., Ltd. (PTTOM) รวมรายได้จากผลิตภัณฑ์อื่น ๆ รวมรายได้จากการขายและการให้บริการ

2,026,911.57

98.50 1,718,846.04

9. อื่น ๆ 9.1 รายได้อื่น ๆ

30,784.17

1.50

9,682.65

0.56

28,268.51

1.38

9.2 กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

(5,992.73)

(0.29)

4,472.68

0.25

13,650.64

0.66

รวมรายได้อื่น 10. ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในการร่วมค้าและบริษัทร่วม รวมรายได้

24,791.44

1.21

14,155.33

0.81

41,919.15

2.04

6,031.70

0.29

4,143.21

0.24

7,310.42

0.36

2,057,734.71 100.00 1,737,144.58 100.00 2,044,951.64 100.00

หมายเหตุ: * รายได้ของ ปตท. และบริษัทย่อย เป็นรายได้สุทธิกับบุคคลภายนอก 1/

เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2560 ปตท. ได้ขายเงินลงทุนทั้งหมดใน PTTPL และ PTTPM ให้แก่ PTTGC

2/

เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2560 PTTER ได้ขายเงินลงทุนทั้งหมดยกเว้น East Mediterranean Gas Company S.A.E (EMG) ให้แก่ PTTGM

3/

ชื่อเดิม: บจ.พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ (PTTICT)


104

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายการระหว่างกัน

รายการระหวางกัน

16

รายการระหวางกัน ดังกลาวเกิดจากสัญญา ตาง ๆ ซึ่งมีลักษณะ ของรายการและสัญญา โดยสรุปดังตอไปนี้ 1. รายการระหวาง ปตท. กับรัฐวิสาหกิจที่ถือหุน โดยรัฐบาล ลักษณะของรายการ ตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2559 รับทราบ มติคณะกรรมการพิจารณาสิทธิพิเศษของหน่วยงานและรัฐวิสาหกิจ ในการประชุมครัง้ ที่ 5/2558 เมือ ่ วันที่ 25 พฤศจิกายน 2558 ทีก ่ า ํ หนด ให้ สิ ท ธิ พิ เ ศษของบริ ษั ท ปตท. จํ า กั ด (มหาชน) ในการจํ า หน่ า ย น้ํามันเชื้อเพลิงและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ตั้งแต่ 10,000 ลิตรขึ้นไป ให้ แ ก่ ส่ ว นราชการและรั ฐ วิ ส าหกิ จ อื่ น นอกจากการไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่งประเทศไทย เป็นประเภทไม่บงั คับ อย่างไรก็ตาม ในปี 2560 ปตท. ยังคงขายผลิตภัณฑ์น้ํามันเชื้อเพลิงให้รัฐวิสาหกิจซึ่งมีความประสงค์ ที่จะยังคงซื้อน้ํามันเชื้อเพลิงจาก ปตท. ได้แก่ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร การรถไฟ แห่งประเทศไทย ทั้งนี้หากรัฐวิสาหกิจมียอดค้างชําระค่าซื้อน้ํามัน เชื้อเพลิง ปตท. สามารถคิดดอกเบี้ยจากยอดค้างชําระดังกล่าวได้ โดยอ้างอิงเงื่อนไขตามสัญญาซื้อขาย


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายการระหว่างกัน

105

2. รายการระหวาง ปตท. กับบริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) (PTTEP) ซึ่งเปนบริษัทยอย ลักษณะของรายการ ผลิตภัณฑ์ที่ PTTEP และบริษท ั ย่อยทําการผลิตเพือ ่ จําหน่ายมี 4 ชนิด คือ น้า ํ มันดิบ ก๊าซธรรมชาติ คอนเดนเสท และก๊าซปิโตรเลียม เหลว (LPG) สําหรับปี 2560 ปตท. เป็นผู้รับซื้อผลิตภัณฑ์เกือบทั้งหมดของ PTTEP และบริษัทย่อย คิดเป็นร้อยละ 87 ของผลิตภัณฑ์ ของ PTTEP สําหรับการซือ ้ ขายก๊าซธรรมชาติ ปตท. ได้ทา ํ สัญญาซือ ้ ก๊าซธรรมชาติระยะยาวกับ PTTEP อายุสญ ั ญาประมาณ 25 - 30 ปี มีการกําหนดปริมาณซื้อขายขั้นต่ําเป็นรายปี ส่วนการซื้อขายน้ํามันดิบและคอนเดนเสท ปตท. ทําสัญญาซื้อน้ํามันดิบและคอนเดนเสท กับ PTTEP ในขณะที่ ปตท. เป็นผู้ขายน้ํามันอากาศยาน และดีเซลหมุนเร็วให้กับ PTTEP ทั้งนี้ราคาซื้อขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ดังกล่าวข้างต้นเป็นราคาทีอ ่ า ้ งอิงจากราคาตลาดโลก และเป็นราคาทีผ ่ รู้ ว ่ มทุนของโครงการขายให้ ปตท. หรือเป็นราคาอ้างอิงมาตรฐาน ที่แข่งขันได้ และมีเงื่อนไขที่สมเหตุสมผล

รายการธุรกิจปกติ หรือรายการสนับสนุนธุรกิจปกติ ลักษณะรายการ 1.1 การขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ดังนี้ ก๊าซแอลพีจี

มูลคาสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2560 (ลานบาท) 126,362.47

88,981.10 เมตริกตัน

ความจําเปนและสมเหตุสมผล การคํานวณราคาซื้อขายของผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมนั้นได้อ้างอิงจากราคา

น้ํามันดิบ

16.17 ล้านบาร์เรล

ของตลาดโลกและเป็นราคาที่ผู้ร่วมทุน

คอนเดนเสท

11.29 ล้านบาร์เรล

ของโครงการขายให้ ปตท.

ก๊าซธรรมชาติ

631,400.66 ล้านลูกบาศก์ฟุต

1.2 การซื้อน้ํามันเชื้อเพลิง ดังนี้ น้ํามันอากาศยาน น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว ก๊าซธรรมชาติ

1.76 ล้านลิตร 100.40 ล้านลิตร 67.73 ล้านลูกบาศก์ฟุต

2,241.2

คณะกรรมการบริษัท ปตท.สผ. ได้อนุมัติสัญญาซื้อน้ํามันเชื้อเพลิงกับ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) เป็นระยะเวลา 5 ปี (2557 - 2561) โดยมีข้อตกลง และราคาซื้อขายเป็นไปตามราคาอ้างอิง มาตรฐานที่แข่งขันได้ในตลาด และมีเงื่อนไข ที่สมเหตุสมผล


106

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายการระหว่างกัน

3. รายการระหวาง ปตท. กับบริษัทในเครือ กลุมปโตรเคมีและการกลั่น ลักษณะของรายการ

ลักษณะรายการและสัญญากับบริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน) (IRPC) •

ปตท. จัดหาน้า ํ มันดิบให้ IRPC ตามสัญญาจัดหาน้า ํ มันดิบ แบบ Term และ Spot โดยจะมีการเจรจาต่ออายุสัญญา ปีต่อปี ซึ่งราคาซื้อขายเป็นไปตามราคาตลาด

ปตท. ทํ า สั ญ ญาจั ด หาน้ํ า มั น ดิ บ จั ด หาวั ต ถุ ดิ บ เพื่ อ ผลิ ต ปิ โ ตรเคมี และสั ญ ญารั บ ซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ํ า มั น สํ า เร็ จ รู ป และ

ปตท. ทําสัญญาซื้อผลิตภัณฑ์น้ํามันสําเร็จรูปกับ IRPC

ปิโตรเคมีกบ ั บริษท ั ในเครือกลุม ่ ปิโตรเคมีและการกลัน ่ ลักษณะของ

ที่ ค ลั ง ของ IRPC ซึ่ ง ตั้ ง อยู่ ที่ จั ง หวั ด ระยองและชุ ม พร

สัญญาที่สําคัญสามารถสรุปแยกในแต่ละบริษัทตามรายละเอียด

มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่วน ั ที่ 1 มกราคม 2559 เป็นระยะเวลา 1 ปี

ด้านล่าง นอกจากนี้ ปตท. ยังได้ทําสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติ

โดยมี ก ารเจรจาต่ อ อายุ สั ญ ญาปี ต่ อ ปี ซึ่ ง ราคาซื้ อ ขาย

เพื่อใช้ในกระบวนการผลิต รวมทั้งสัญญาซื้อขายตราสารอนุพันธ์

เป็นไปตามราคาตลาด

เพื่อการบริหารความเสี่ยงด้านราคาของน้ํามันดิบและผลิตภัณฑ์

ปตท. จัดทําสัญญาจําหน่ายก๊าซธรรมชาติให้กับ IRPC เพื่อใช้ในกระบวนการผลิตไฟฟ้าและพลังความร้อนร่วม

น้ํ า มั น สํ า เร็ จ รู ป เพื่ อ ลดผลกระทบจากความผั น ผวนของราคา อย่ า งไรก็ ต าม การบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นราคาดั ง กล่ า วขึ้ น กั บ

มีระยะเวลาสัญญา 10 ปี (14 มกราคม 2554 - 13 มกราคม

นโยบายของแต่ละบริษัทนั้น ๆ

2564) และเพื่อใช้ในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ มีระยะ เวลาสัญญา 5 ปี (10 พฤศจิกายน 2558 - 31 ธันวาคม

ลักษณะของสัญญากับบริษัท ไทยออยล จํากัด (มหาชน) (TOP)

2563) โดยราคาซื้อขายเป็นไปตามราคาตลาด •

นอกจากนี้ ปตท. ยังได้ทา ํ การบริหารความเสีย ่ งด้านราคา น้ํามัน เพื่อลดผลกระทบจากความผันผวนของราคา

ปตท. จัดหาน้า ํ มันดิบและรับซือ ้ ผลิตภัณฑ์นา ้ํ มันสําเร็จรูป จาก TOP ในสัดส่วนขัน ้ ต่า ํ ร้อยละ 49.99 ของกําลังการกลัน ่

อย่างไรก็ตาม การบริหารความเสี่ยงด้านราคาดังกล่าว ขึ้นกับนโยบายของ IRPC

ในราคาตลาด โดยสัญญานีม ้ รี ะยะเวลาขัน ้ ต่า ํ 10 ปี นับจาก ปี 2557 โดยหลังจากระยะเวลา 10 ปี คู่สัญญาสามารถ ที่ จ ะขอยกเลิ ก สั ญ ญาได้ โ ดยแจ้ ง ความประสงค์ เ ป็ น

ลักษณะรายการและสัญญากับบริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) (PTTGC)

ลายลักษณ์อักษรเป็นการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 12 เดือน •

ตามข้อกําหนดและเงือ ่ นไขตามทีร่ ะบุไว้ในสัญญา POCSA

PTTGC เป็ น บริ ษั ท ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการควบรวมบริ ษั ท ตาม

ปตท. จั ด หาก๊ า ซธรรมชาติ ใ ห้ TOP เพื่ อ ใช้ ใ นโรงกลั่ น

พระราชบัญญัตบ ิ ริษท ั มหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 ระหว่างบริษท ั ปตท.

ของบริ ษั ท ฯ ตามปริ ม าณในสั ญ ญาในราคาตลาดตาม

เคมิคอล จํากัด (มหาชน) (PTTCH) กับบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์

ปกติของธุรกิจ โดยสัญญามีระยะเวลา 10 ปี (1 มกราคม

และการกลั่น จํากัด (มหาชน) (PTTAR) โดยได้จดทะเบียนจัดตั้ง

2557 - 31 ธันวาคม 2566)

บริษัทเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 และได้รับมาซึ่งทรัพย์สิน หนี้

ปตท. มีสัญญาระยะสั้นในการฝากเก็บน้ํามันเพื่อเก็บเป็น

สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบทัง้ หมดของทัง้ สองบริษท ั ดังกล่าว

น้ํามันสํารองตามกฎหมาย

โดยภายหลังจากการควบรวมบริษัทระหว่าง PTTCH กับ PTTAR ั โดยกลุม ่ แล้วนัน ้ บริษท ั ใหม่ได้คงไว้ซงึ่ กิจการเดิมของทัง้ สองบริษท ธุรกิจที่มีรายการและสัญญาระหว่างกันมีดังต่อไปนี้


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายการระหว่างกัน

107

ธุรกิจปโตรเคมีและเคมีภัณฑ ปตท. เป็นผู้จัดหาวัตถุดิบหลักที่ใช้ในกระบวนการผลิตให้กับ PTTGC ได้แก่ ก๊าซอีเทน ก๊าซโพรเพน ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) และก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL) โดยรายละเอียดของสัญญาซื้อขายวัตถุดิบหลักที่สําคัญประกอบด้วย

วัตถุดิบ

ปริมาณการจัดหาตามสัญญา (ตันตอป)

ปที่สิ้นสุดสัญญา (พ.ศ.)

อีเทน

454,000 - 605,000

2563

อีเทน

370,000 - 500,000

2563

อีเทน

1,300,000 - 1,350,000

2568

โพรเพน

126,000 - 168,000

2563

แอลพีจี

100,000 - 160,000

2563

แอลพีจี

> 240,000

2563

แอลพีจี

336,000

2563

แอลพีจี

> 156,000

2564

เอ็นจีแอล

380,000 - 470,000

2564

โดยสั ญ ญาซื้ อ ขายวั ต ถุ ดิ บ หลั ก นี้ โครงสร้ า งราคาวั ต ถุ ดิ บ

ปตท. ทํ า สั ญ ญาจั ด หาคอนเดนเสทให้ กั บ PTTGC

ก๊ า ซอี เ ทนแปรผั น ตามราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ม็ ด พลาสติ ก HDPE

โดยทําเป็นสัญญาซื้อขายระยะยาวที่อิงกับตะกร้าราคา

ประเภทฟิลม ์ (HDPE Film Grade) ในตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

น้ํ า มั น ดิ บ (Basket of Crude Oil Prices) ในปริ ม าณ 4.6 - 6.1 ล้านตันต่อปี

ซึ่ ง จะสะท้ อ นภาวะของตลาดปิ โ ตรเคมี ทั้ ง สายไปถึ ง ตลาด เม็ดพลาสติก HDPE ส่วนโครงสร้างราคาวัตถุดิบก๊าซโพรเพน

ปตท. ทําสัญญารับซือ ้ ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์และแนฟทา

และก๊ า ซปิ โ ตรเลี ย มเหลว (LPG) แปรผั น ตามราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์

ทีผ ่ ลิตจากโรงอะโรเมติกส์ของ PTTGC เพือ ่ จําหน่ายให้แก่

เม็ดพลาสติก PP ประเภทฟิล์ม (PP Film Grade) ในตลาดเอเชีย

ลูกค้าส่งออก โดยเป็นสัญญาระยะยาวนับตั้งแต่ปี 2544

ตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนราคาวัตถุดบ ิ อืน ่ เป็นไปตามราคาทีต ่ กลงกัน

ภายใต้เงื่อนไข Evergreen Basis โดยหลังจากปี 2556

ซึ่งอิงกับราคาตลาดทั่วไป

ให้ถือว่าสัญญามีผลต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เว้นแต่จะมี การบอกกล่าวล่วงหน้า

สัญญาซือ ้ ขายวัตถุดบ ิ ดังกล่าวเมือ ่ สิน ้ สุดแล้วสามารถต่ออายุ สัญญาได้อีก 5 ปี ทั้งนี้ขึ้นกับเงื่อนไขที่ระบุไว้ในแต่ละสัญญา

ปตท. มีสัญญาระยะสั้นในการฝากเก็บน้ํามันเพื่อเก็บเป็น น้ํามันสํารองตามกฎหมาย


108

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายการระหว่างกัน

ธุรกิจการกลั่นนํ้ามันและจัดหาผลิตภัณฑ ปโตรเลียมสําเร็จรูป

ลักษณะรายการและสัญญากับบริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส จํากัด (HMC)

ปตท. จั ด หาน้ํ า มั น ดิ บ ตามสั ญ ญาจั ด หาน้ํ า มั น ดิ บ และ

ให้แก่ HMC โดยทําสัญญาซื้อขายวัตถุดิบก๊าซโพรเพน

บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2552 ซึ่ง ปตท. จะจัดหา

ระยะยาว มี อ ายุ สั ญ ญา 15 ปี (19 มกราคม 2553 -

ตามชนิดและปริมาณที่ PTTGC กําหนดด้วยราคาตลาด

18 มกราคม 2568) และสามารถต่ออายุได้คราวละ 5 ปี

ทั้ ง การนํ า เข้ า จากต่ า งประเทศและน้ํ า มั น ดิ บ ที่ ผ ลิ ต ได้

โดยโครงสร้ า งราคาจะแปรผั น ตามราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์

ในประเทศ

เม็ดพลาสติก PP ประเภทฟิลม ์ (PP Film Grade) ในตลาด

ปตท. รับซื้อผลิตภัณฑ์น้ํามันสําเร็จรูปที่ได้จากการกลั่น

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ในปริมาณขั้นต่ําไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของผลิตภัณฑ์

ปตท. จัดหาก๊าซธรรมชาติให้ HMC เพื่อใช้ในกระบวนการ

ที่ผลิตได้ตามราคาตลาดในประเทศ โดยสัญญามีระยะ

ผลิต ตามปริมาณในสัญญาในราคาตลาดตามปกติของ

เวลา 18 ปี มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2549

ธุรกิจ โดยสัญญามีระยะเวลา 10 ปี (30 ตุลาคม 2552 -

หลังจาก 18 ปี ให้ถอ ื ว่าสัญญามีผลต่อไปอย่างไม่มท ี ส ี่ น ิ้ สุด

29 ตุลาคม 2562)

เว้นแต่จะมีการบอกกล่าวล่วงหน้า •

ปตท. ทําสัญญาจัดหาวัตถุดิบที่ใช้ในกระบวนการผลิต

วัตถุดิบอื่น (Feedstock Supply Agreement) โดยมีผล

เนื่องด้วย ปตท. ได้ดําเนินการโอนขายหุ้นทั้งหมดที่ถือ

ปตท. จัดทําสัญญารับซื้อผลิตภัณฑ์น้ํามันสําเร็จรูปของ

ในบริษัท HMC ให้แก่ PTTGC เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2560

โครงการขยายการลงทุน (New Complex Product Offtake

จึงทําให้ลักษณะของรายการและสัญญาที่ ปตท. มีกับ

Agreement) กับ PTTGC เป็นระยะเวลา 18 ปี ตัง้ แต่วน ั ที่ 9

บริษัทดังกล่าว ไม่ถือเป็นรายการระหว่างกัน

ื ว่าสัญญามีผลต่อไป กุมภาพันธ์ 2549 หลังจาก 18 ปี ให้ถอ อย่ า งไม่ มี ที่ สิ้ น สุ ด เว้ น แต่ จ ะมี ก ารบอกกล่ า วล่ ว งหน้ า โดย ปตท. จะรับซือ ้ ผลิตภัณฑ์ทง้ั หมดของปริมาณผลิตภัณฑ์

ลักษณะรายการและสัญญากับบริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จํากัด (PTTAC)

ที่ PTTGC ผลิตได้จาก Upgrading Complex โดย ปตท. จะรั บ ซื้ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ ย่ า งน้ อ ยร้ อ ยละ 50 ของจํ า นวน •

• •

ปตท. จัดหาวัตถุดิบทีใ่ ช้ในกระบวนการผลิตให้แก่ PTTAC

ผลิตภัณฑ์ทั้งหมดในราคาตลาดในประเทศ

ตั้งแต่ปี 2551 โดยทําสัญญาซื้อขายวัตถุดิบก๊าซโพรเพน

ปตท. ทําสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ PTTGC เพื่อใช้

ระยะยาว มีอายุสัญญา 15 ปี นับตั้งแต่โรงงานเริ่มดําเนิน

ในกระบวนการผลิตน้ํามันสําเร็จรูป และการผลิตไฟฟ้า

การผลิต (3 พฤศจิกายน 2554 - 2 พฤศจิกายน 2569)

ซึ่งสัญญาจะสิ้นสุดลงในปี 2561

และสามารถต่ออายุได้คราวละ 5 ปี โดยโครงสร้างราคา

ํ การบริหารความเสีย ่ งด้านราคา นอกจากนี้ ปตท. ยังได้ทา

จะแปรผันตามราคาผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก PP ประเภท

น้ํามัน เพื่อลดผลกระทบจากความผันผวนของราคา

ฟิล์ม (PP Film Grade) ในตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อย่างไรก็ตาม การบริหารความเสีย ่ งด้านราคาดังกล่าวขึน ้

กับนโยบายของ PTTGC

ปตท. จัดหาก๊าซธรรมชาติให้ PTTAC เพือ ่ ใช้ในกระบวนการ ผลิตตามปริมาณในสัญญาในราคาตลาดตามปกติของ ธุรกิจ โดยสัญญามีระยะเวลา 15 ปี (21 มีนาคม 2554 20 มีนาคม 2569)

เนื่องด้วย ปตท. ได้ดําเนินการโอนขายหุ้นทั้งหมดที่ถือใน บริษัท PTTAC ให้แก่ PTTGC เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2560 ั บริษท ั จึงทําให้ลก ั ษณะของรายการและสัญญาที่ ปตท. มีกบ ดังกล่าว ไม่ถือเป็นรายการระหว่างกัน


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

4. รายการระหวาง ปตท. กับบริษัทในเครือ กลุมธุรกิจโครงสรางพื้นฐาน

รายการระหว่างกัน

109

ความสมเหตุสมผลของการเขาทํารายการระหวางกัน สํ า หรั บ การเข้ า ทํ า รายการซื้ อ สิ น ค้ า วั ต ถุ ดิ บ และ/หรื อ

ลักษณะรายการและสัญญากับบริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จํากัด (มหาชน) (GPSC)

รับบริการจากบริษัทที่เกี่ยวข้องกันนั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อก่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุดร่วมกันในการดําเนินธุรกิจภายในกลุ่ม ปตท. และเพื่อสนับสนุนความมั่นคงทางพลังงานของประเทศ โดยเป็น

ปตท. ทําสัญญาซือ ้ ขายก๊าซธรรมชาติเพือ ่ ใช้เป็นวัตถุดบ ิ ทีส ่ าํ คัญ

การดํ า เนิ น ตามธุ ร กิ จ ปกติ โดยที่ ป ริ ม าณสิ น ค้ า หรื อ วั ต ถุ ดิ บ

ในการผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อจําหน่าย ซึ่งเป็นรายการธุรกิจปกติ

ที่ บ ริ ษั ท ซื้ อ /ขาย หรื อ บริ ก ารที่ บ ริ ษั ท ให้ / ได้ รั บ จากบริ ษั ท

ของบริษท ั ทัง้ นี้ ปตท. เป็นผูข ้ ายก๊าซธรรมชาติให้แก่ผป ู้ ระกอบการ

ที่เกี่ยวข้องนั้น สอดคล้องกับความต้องการและการดําเนินธุรกิจ

อุตสาหกรรมแต่เพียงรายเดียวในประเทศ โดยมีราคาและเงือ ่ นไข

ของบริษัท ทั้งนี้ราคาที่รับซื้อ/ขาย หรือให้/รับบริการจากบริษัท

การรับซื้อก๊าซธรรมชาติตามสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติ โดย

ที่เกี่ยวข้องมีลักษณะเป็นไปตามที่ตกลงกันในสัญญาซึ่งก่อให้เกิด

ปตท. และโรงไฟฟ้าของ GPSC มีสัญญาซื้อขายก๊าซ ดังนี้

ประโยชน์ทางการค้าแก่ทงั้ บริษท ั ฯ และบริษท ั ทีเ่ กีย ่ วข้อง โดยทีม ่ ไิ ด้

1) โรงไฟฟ้าศรีราชา มีการเข้าทําสัญญาซือ ้ ขายก๊าซธรรมชาติ กับ ปตท. เป็นระยะเวลา 25 ปี สิน ้ สุดในปี 2567 ทีร่ าคาก๊าซสําหรับ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP Gas Price) โดยบริษัทสามารถ ส่งผ่านค่าเชือ ้ เพลิงรวมอยูใ่ นค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy Payment)

มีวต ั ถุประสงค์ในการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างกัน หรือมีรายการ ใด ๆ เป็นพิเศษ

นโยบายเกี่ยวกับรายการระหวางกันในอนาคต

ไปยัง กฟผ. ทั้งนี้ กรณีที่ ปตท. ไม่สามารถจัดส่งปริมาณก๊าซ ธรรมชาติได้ตามสัญญาดังกล่าว และ กฟผ. สัง่ ให้บริษท ั เดินเครือ ่ ง

รายการระหว่ า งกั น ของ ปตท. ในอนาคต จะเป็ น รายการ

ด้วยเชือ ้ เพลิงสํารอง กฟผ. จะเป็นผูช ้ ดเชยค่าเชือ ้ เพลิงส่วนทีเ่ พิม ่ ขึน ้

ที่ดําเนินการทางธุรกิจตามปกติเช่นเดิม ไม่มีรายการใดเป็นพิเศษ

ให้แก่บริษท ั โดยโรงไฟฟ้าศรีราชาได้ทา ํ สัญญาซือ ้ ขายน้า ํ มันดีเซล

ไม่มีการถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่าง ปตท. บริษัทย่อย บริษัทร่วม

กับ TOP เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงสํารองในกรณีที่ไม่สามารถจัดหา

บริ ษั ท ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และผู้ ถื อ หุ้ น ส่ ว นนโยบายการกํ า หนดราคา

ก๊าซธรรมชาติได้ โดยสัญญามีระยะเวลา 25 ปี สิ้นสุดในปี 2567

ระหว่าง ปตท. กับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กําหนดจากราคาตาม

2) โรงผลิตสาธารณูปการ 1 (Central Utility Plant 1: CUP-1)

ปกติ ข องธุ ร กิ จ เช่ น เดี ย วกั บ ที่ กํ า หนดให้ กั บ บุ ค คล/ กิ จ การอื่ น

ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า โดยมีการเข้าทํา

ที่ไม่เกี่ยวข้องกัน สําหรับราคาสินค้าที่ซื้อจากบริษัทย่อยจะเป็นไป

สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ ปตท. เป็นระยะเวลา 15 ปี สิ้นสุด

ตามราคาจํ า หน่ า ยของบริ ษั ท ย่ อ ยที่ อ้ า งอิ ง จากราคาตลาด

ปี 2564

การเปิ ด เผยรายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น จะเป็ น ไปตามระเบี ย บของ

3) โรงผลิตสาธารณูปการ 2 (Central Utility Plant 2: CUP-2)

สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์

ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าโดยมีการเข้าทํา

แห่ ง ประเทศไทย รวมทั้ ง เป็ น ไปตามมาตรฐานการบั ญ ชี เ รื่ อ ง

สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติกับ ปตท. เป็นระยะเวลา 15 ปี สิ้นสุด

การเปิดเผยข้อมูลเกีย ่ วกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย ่ วข้องกัน ซึง่ กําหนด

ในปี 2566

โดยสภาวิชาชีพบัญชี

4) โรงผลิตสาธารณูปการ 3 (Central Utility Plant 3: CUP-3) โรงผลิตสาธารณูปการ 3 ใช้กา ๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ ้ เพลิงในการผลิต ไอน้ํ า โดยมี ก ารเข้ า ทํ า สั ญ ญาซื้ อ ขายก๊ า ซธรรมชาติ กั บ ปตท. เป็นระยะเวลา 15 ปี สิ้นสุดปี 2567


110

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ

ทรัพยสิน ที่ใชในการ ประกอบธุรกิจ

มูลคาสุทธิหลังหักคาเสื่อมราคาสะสม และคาเผื่อการดอยคา จํานวน

1,076,906 ลานบาท

สินทรัพย ไมมีตัวตนสุทธิ

17

จํานวน

32,108 ลานบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ทรัพยสินหลักที่ ปตท. และบริษัทยอย ใช ในการประกอบธุรกิจ มีดังนี้

สินทรัพยที่เกิดจากการสํารวจ และประเมินคาสุทธิ​ิ จํานวน

108,760 ลานบาท รายละเอียดตามหมายเหตุประกอบงบการเงินสําหรับปี ของ ปตท. และบริษัทย่อย สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ข้อ 17 เรื่องที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ข้อ 19 เรื่องสินทรัพย์ไม่มีตัวตน และข้อ 20 สินทรัพย์ที่เกิดจากการสํารวจและประเมินค่า ตามลําดับ


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ปัจจัยความเสี่ยง

111

ปจจัยความเสี่ยง ปตท. ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการบริหารความเสีย ่ งภายใต้ การเปลี่ ย นแปลงที่ อ าจส่ ง ผลกระทบต่ อ ธุ ร กิ จ ทั้ ง จากปั จ จั ย ภายใน และภายนอก มีการดําเนินการอย่างต่อเนือ ่ งตามหลักการและแนวทาง ของ Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO-ERM) ซึง่ เป็นมาตรฐานสากลในเรือ ่ งการบริหาร ความเสี่ ย ง โดยถื อ ว่ า การบริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น องค์ ป ระกอบ ที่สําคัญของทุกกระบวนการในการดําเนินธุรกิจของ ปตท. และต้อง มีความเชือ ่ มโยงกันทุกระดับ จึงได้กา ํ หนดนโยบายบริหารความเสีย ่ ง

18

ั ิ มีการจัดตัง้ คณะกรรมการ ทัว ่ องค์กร ทีพ ่ นักงานทุกคนต้องถือปฏิบต บริหารความเสีย ่ งองค์กร (Enterprise Risk Management Committee: ERMC) และคณะกรรมการแผนวิ ส าหกิ จ และบริ ห ารความเสี่ ย ง (Corporate Plan and Risk Management Committee: CPRC) เพื่อทําหน้าที่กํากับดูแลให้การบริหารความเสี่ยงในภาพรวมให้เกิด ประสิทธิผลสูงสุด ความเสี่ยงในระดับองค์กรจะมีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ผ่านคณะกรรมการจัดการคณะต่าง ๆ และบูรณาการการบริหาร ความเสี่ยงควบคู่ไปกับการจัดทําแผนวิสาหกิจ เพื่อให้แผนบริหาร ความเสี่ยงมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ สอดคล้องกับเป้าหมาย และกลยุทธ์ขององค์กร ความเสี่ยงในการปฏิบัติงานจะอยู่ภายใต้ การกํากับดูแลของผู้บริหารที่รับผิดชอบการปฏิบัติงานนั้น ๆ โดย ถือเป็นหน้าที่รับผิดชอบของทุกหน่วยงานในการจัดการและควบคุม ความเสี่ ย งให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่ ย อมรั บ ได้ ซึ่ ง มี ก ารระบุ ไ ว้ อ ย่ า งชั ด เจน ในคําบรรยายหน้าที่งานของทุกหน่วยงาน การลงทุนในหลักทรัพย์ของ ปตท. ผู้ลงทุนควรพิจารณาปัจจัย ความเสี่ยงหลักที่เกิดจากลักษณะการประกอบธุรกิจของ ปตท. ทั้งนี้ นอกเหนื อ จากปั จ จั ย ความเสี่ ย งที่ ป รากฏในเอกสารฉบั บ นี้ อาจมี ความเสีย ่ งอืน ่ ๆ ซึง่ ปตท. ไม่อาจทราบได้ในขณะนีห ้ รือเป็นความเสีย ่ ง ที่ ปตท. พิ จ ารณาในขณะนี้ ว่ า ไม่ มี ผ ลกระทบในสาระสํ า คั ญ ต่ อ การดําเนินธุรกิจของ ปตท. สําหรับข้อมูลปัจจัยความเสี่ยงที่อ้างอิง ถึ ง รั ฐ บาลหรื อ ข้ อ มู ล เศรษฐกิ จ ของประเทศไทยในภาพรวม ข้ อ มู ล ดังกล่าวได้มาจากข้อมูลที่เปิดเผยโดยรัฐบาลและแหล่งข้อมูลอื่น ๆ โดย ปตท. มิได้ตรวจทานข้อมูลดังกล่าว ดังนั้นในการลงทุนผู้ลงทุน จึงควรพิจารณาอย่างรอบคอบ


112

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ปัจจัยความเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยงที่เป็นความเสี่ยงต่อเนื่องและปัจจัยเสี่ยงใหม่ที่จะ เกิดขึ้นภายใต้สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป สามารถจําแนก เป็นความเสี่ยง ดังนี้

1. ความเสี่ยงดานกลยุทธ

1.2 ความเสี่ยงจากปริมาณการผลิต กาซธรรมชาติลดลงและความตอเนื่อง ในการผลิตกาซธรรมชาติ ปริมาณสํารองก๊าซธรรมชาติทงั้ ในอ่าวไทยและเมียนมาเริม ่ ทยอยลดลง โดยบางแหล่งได้เข้าสูช ่ ว ่ ง “พ้นช่วงรับประกันปริมาณ

1.1 ความเสี่ยงจากทิศทางกลยุทธธุรกิจ

การส่งมอบก๊าซธรรมชาติ” อีกทั้งแหล่งก๊าซธรรมชาติเอราวัณ และแหล่งก๊าซธรรมชาติบงกชในอ่าวไทยจะสิ้นสุดสัญญาซื้อขาย

จากนวั ต กรรมหรื อ เทคโนโลยี ที่ มี ค วามก้ า วหน้ า อย่ า ง

และอายุสัมปทานในช่วงปี 2565 - 2566 คิดเป็นปริมาณผลิต

รวดเร็ ว เข้ า มาเปลี่ ย นรู ป แบบการประกอบธุ ร กิ จ (Disruptive

ก๊าซธรรมชาติรวมตามสัญญาประมาณ 2,110 ล้านลูกบาศก์ฟุต

Technology) ส่ ง ผลกระทบต่ อ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า และ

ต่ อ วั น หรื อ คิ ด เป็ น ประมาณร้ อ ยละ 45 ของความต้ อ งการใช้

การดําเนินธุรกิจในปัจจุบน ั ปตท. จึงให้ความสําคัญกับการกําหนด

ก๊าซธรรมชาติของประเทศในปัจจุบัน ซึ่งอยู่ระหว่างรอการเปิด

ทิ ศ ทางกลยุ ท ธ์ ก ารดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของกลุ่ ม ปตท. เพื่ อ รองรั บ

การประมูลจากภาครัฐ โดยถ้าการประมูลล่าช้าอาจส่งผลกระทบต่อ

การเปลี่ยนแปลงของทิศทางเศรษฐกิจ สังคม พลังงาน เทคโนโลยี

ความต่อเนื่องในการผลิตก๊าซฯ ทั้งนี้ยังมีความเสี่ยงที่ ปตท.สผ.

พฤติกรรมผูบ ้ ริโภค ทีเ่ ปลีย ่ นแปลงตามแนวโน้มใหญ่ (Mega Trends)

อาจไม่ชนะการประมูล ซึ่งจะส่งผลต่อผลประกอบการของ ปตท.

ของโลกที่คาดว่าจะเกิดขึ้น หากกลยุทธ์ของ ปตท. ไม่สามารถ

ดั ง นั้ น เพื่ อ รองรั บ แนวโน้ ม การจั ด หาก๊ า ซธรรมชาติ ที่ จ ะ

ตอบรับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างทันท่วงที อาจส่งผลกระทบต่อ

ลดลง ปตท. จึงได้จัดหาก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG) ระยะยาว

การดําเนินธุรกิจ และผลประกอบการของ ปตท. ในอนาคต

เพิ่มเติม อนึ่ง ในสัญญาซื้อก๊าซ LNG จะมีการกําหนดปริมาณ

ปตท. ได้กําหนดกลยุทธ์การสร้าง New S-Curve เพื่อ

่ า ํ หนด จะมีภาระ ทีต ่ อ ้ งรับตามสัญญา หากรับไม่ได้ตามปริมาณทีก

แสวงหาโอกาสและพัฒนาธุรกิจรูปแบบใหม่ รับมือการเปลีย ่ นแปลง

Take or Pay เกิดขึ้น รวมทั้ง ปตท. ได้เตรียมโครงสร้างพื้นฐาน

ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น และมี ก ารทบทวนวิ สั ย ทั ศ น์ ทิ ศ ทางและกลยุ ท ธ์

รองรับการนําเข้า LNG ที่เพิ่มขึ้น ทั้งการดําเนินการก่อสร้างสถานี

ของการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ในอนาคต ผ่ า นการประชุ ม สั ม มนาระดม

รับ-จ่ายก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG Terminal) รวมถึงร่วมมือกับ

ความคิดเห็นของผูบ ้ ริหารระดับสูงของกลุม ่ ปตท. ทุกปี ทัง้ ในระดับ

รัฐบาลเมียนมาเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการก่อสร้างโครงการ

ผู้บริหารสูงสุดของกลุ่ม ปตท. ที่เรียกว่า Top Executive Thinking

คลัง LNG ลอยน้ํา (Floating Storage Regasification Unit: FSRU)

Session (TTS) และในกลุ่ ม ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของกลุ่ ม ปตท.

นอกจากปริมาณก๊าซธรรมชาติทล ี่ ดลง ต้นทุนในการพัฒนา

ที่เรียกว่า Strategic Thinking Session (STS) พร้อมทั้งนําทิศทาง

แหล่งก๊าซธรรมชาติในประเทศก็มแ ี นวโน้มเพิม ่ สูงขึน ้ ซึง่ อาจส่งผล

กลยุทธ์ดังกล่าว จัดทําเป็นแผนธุรกิจ 5 ปี โดยมีการบูรณาการ

ให้โรงแยกก๊าซธรรมชาติมีความจําเป็นต้องลดกําลังการผลิตลง

แผนบริหารความเสี่ยงควบคู่กับแผนธุรกิจ

เพราะไม่ คุ้ ม ค่ า ต่ อ การผลิ ต ทํ า ให้ ป ริ ม าณผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร วมถึ ง

นอกจากนี้ ปตท. ยั ง ได้ มี ก ารจั ด การประชุ ม ผู้ บ ริ ห าร

ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) ทีจ ่ ะจําหน่ายเป็นเชือ ้ เพลิงและวัตถุดบ ิ

ในกลุ่ ม ปตท. ทุ ก เดื อ น เพื่ อ ติ ด ตามผลการดํ า เนิ น งานของ

ในอุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี อ าจไม่ เ พี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการใช้

กลุม ่ ปตท. และร่วมหารือแลกเปลีย ่ นความคิดเห็นในการปรับแผน

ในประเทศ ทําให้ต้องนําเข้า LPG มากขึ้น และจําเป็นต้องจัดหา

ธุรกิจและกลยุทธ์ระยะสัน ้ เพือ ่ สร้างความมัน ่ ใจว่าผลประกอบการ

และนํ า เข้ า วั ต ถุ ดิ บ อื่ น ที่ มี คุ ณ ภาพเหมาะสมมาทดแทนให้ กั บ

จะเป็นไปตามเป้าหมาย

อุตสาหกรรมปิโตรเคมี อย่างไรก็ตาม ปตท. ได้ดําเนินการศึกษา ความเป็นไปได้ในการใช้วัตถุดิบทางเลือกและการนําเข้าวัตถุดิบ จากต่างประเทศ รวมทั้งความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐาน โดย พิจารณาความคุ้มค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ และห่วงโซ่อุปทานของ กลุ่ม ปตท. เพื่อหาแนวทางดําเนินการที่จะทําให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อไป


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

1.3 ความเสี่ยงดานการบริหารจัดการการลงทุน

ปัจจัยความเสี่ยง

113

ปตท. เตรียมความพร้อมของบุคลากร เพื่อรองรับการ ดําเนินงานตามทิศทางกลยุทธ์ของแต่ละหน่วยธุรกิจ โดยการพัฒนา

ปตท. มี ก ารลงทุ น ขยายธุ ร กิ จ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมถึ ง

ทักษะความสามารถของบุคลากร จัดวางโครงสร้างที่สนับสนุน

การแสวงหาการลงทุนใหม่ทง้ั ในส่วนของธุรกิจที่ ปตท. ดําเนินการเอง

การทํางาน ระบุจาํ นวนบุคลากรรองรับความต้องการของหน่วยธุรกิจ

และธุรกิจที่ ปตท. ลงทุนผ่านบริษัทในกลุ่ม การลงทุนต่าง ๆ ต้อง

ในแต่ ล ะช่ ว งเวลา พร้ อ มทั้ ง มี ก ารบริ ห ารพนั ก งานผ่ า นกลไก

เผชิญกับความเสี่ยงที่ผลตอบแทนจากการลงทุนอาจไม่เป็นไป

การบริหารสายอาชีพ โดยในแต่ละสายอาชีพจะมีการพิจารณา

ตามเป้าหมาย การดําเนินโครงการล่าช้ากว่าแผนงาน และเงินทุน

กําหนดแผนกําลังคน ระบุตําแหน่งงานสําคัญ และแผนพัฒนา

โครงการสูงกว่างบประมาณที่ตั้งไว้

รายบุคคล

ปตท. มีระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์การลงทุนของบริษัท

นอกจากนี้ ปตท. ได้ มี โ ครงการเพื่ อ พั ฒ นาบุ ค ลากรให้

ในกลุ่ม ปตท. และแนวทางการกํากับดูแลบริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น

เป็นผู้บริหารที่มีความพร้อมในการไปปฏิบัติงานในต่างประเทศ

่ กรองการตัดสินใจ ติดตาม และกํากับดูแล เพือ ่ นํามาใช้ในการกลัน

และ/หรือภายในประเทศ (Young People to Globalization: YP2G)

การลงทุนของ ปตท. และบริษัทในกลุ่ม โดยมีกระบวนการบริหาร

มี Functional Academy เพื่อพัฒนาบุคลากรของแต่ละสายอาชีพ

การลงทุนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Investment Management: SIM)

ให้เกิดความชํานาญทั้งในด้านเทคนิคและตามรูปแบบของงาน

ที่ มี ค ณะกรรมการบริ ห ารการลงทุ น ประกอบด้ ว ยผู้ บ ริ ห ารที่ มี

รวมถึงมีสถาบันพัฒนาผู้นําและการเรียนรู้กลุ่ม ปตท. เพื่อพัฒนา

ความเชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ทําหน้าที่พิจารณากลั่นกรอง ติดตาม

ทรัพยากรบุคคลให้มศ ี ก ั ยภาพ โดยมุง่ พัฒนาภาวะผูน ้ า ํ และส่งเสริม

รายงานการลงทุ น ของ ปตท. เพื่ อ ประกอบการตั ด สิ น ใจลงทุ น

ให้เกิดการเรียนรู้ เตรียมความพร้อมสําหรับผู้ที่จะเป็นผู้บริหาร

ของคณะกรรมการจัดการ ปตท. และคณะกรรมการ ปตท. ทําให้

ในอนาคต เพื่อให้มั่นใจว่า ปตท. จะมีผู้บริหารและพนักงานที่มี

มั่นใจว่าเงินลงทุนของ ปตท. จะเกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพ

คุณภาพและเพียงพอในระบบอย่างต่อเนื่อง

สูงสุด มีการติดตามและวิเคราะห์พอร์ตการลงทุนของ ปตท. และ บริษัทในกลุ่มอย่างสม่ําเสมอเพื่อปรับปรุงผลการดําเนินงาน และ

1.5 ความเสี่ยงดานชื่อเสียงองคกร

ทบทวนแผนการลงทุน รวมถึงให้ความสําคัญกับการบริหารงาน ที่มีความสําคัญต่อการแล้วเสร็จของโครงการ (Critical Path)

ความคาดหวั ง ที่ ห ลากหลายของกลุ่ ม ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย

เพื่อลดระดับความเสี่ยงของการดําเนินงานโครงการให้อยู่ภายใต้

ต่าง ๆ ประกอบกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีในปัจจุบัน

การควบคุ ม ให้ ม ากที่ สุ ด ให้ โ ครงการแล้ ว เสร็ จ ตามระยะเวลา

ส่ ง ผลให้ ก ารสื่ อ สารเป็ น ไปอย่ า งรวดเร็ ว ทํ า ให้ เ หตุ ก ารณ์ แ ละ

ที่กําหนด อยู่ภายใต้งบประมาณ ให้ได้คุณภาพที่เหมาะสมและ

ประเด็นข่าวต่าง ๆ ทีส ่ ง่ ผลในเชิงลบต่อ ปตท. แพร่กระจายไปอย่าง

ให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบต่าง ๆ ที่กําหนด

รวดเร็วในวงกว้าง ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ ความเชื่อมั่นต่อ การดําเนินธุรกิจของ ปตท.

1.4 ความเสี่ยงในการพัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับการเติบโตทางธุรกิจ

ํ หนดพันธกิจ เพือ ่ เป็นการลดผลกระทบดังกล่าว ปตท. ได้กา ในการดูแลผู้มีส่วนได้เสียอย่างสมดุล และมี Aspiration ที่จะเป็น องค์กรแห่งความภาคภูมใิ จ ทีม ่ งุ่ เน้นการดําเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส

ปตท. มีการขยายตัวทางธุรกิจอย่างรวดเร็ว จากการขยาย

และดูแลผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียอย่างสมดุล เป็นองค์กรทีส ่ ร้างผลตอบแทน

การลงทุ น ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ และการแสวงหา

ที่เหมาะสมแก่ผู้ถือหุ้น หรือ “PTT is Pride and Treasure of

โอกาสทางธุรกิจโดยการลงทุนในธุรกิจใหม่ การนําระบบดิจิทัล

Thailand” โดยในปี 2560 ได้มีการพัฒนากรอบการบริหารจัดการ

เทคโนโลยีสมัยใหม่ และนวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ในการดําเนินธุรกิจ

ผู้มีส่วนได้เสียของ ปตท. ที่บูรณาการไปพร้อมกับกระบวนการ

ดั ง นั้ น หาก ปตท. ไม่ ส ามารถจั ด เตรี ย มและพั ฒ นาบุ ค ลากร

จั ด ทํ า แผนกลยุ ท ธ์ ข ององค์ ก ร รวมถึ ง ได้ มี ก ารขยายขอบเขต

ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญและประสบการณ์ ไ ด้ เ พี ย งพอและทั น เวลา

อํานาจหน้าทีใ่ ห้คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ งองค์กรกํากับดูแล

อาจส่งผลกระทบต่อธุรกิจและการบรรลุเป้าหมายในระยะยาว

และติดตามการดําเนินงานด้านการบริหารจัดการผู้มีส่วนได้เสีย เพิม ่ เติมด้วย นอกจากนี้ ปตท. ยังมีกลไกบริหารจัดการและการรับ ข้ อ ร้ อ งเรี ย น โดยหน่ ว ยงานผู้ รั บ แจ้ ง เรื่ อ งจะประสานงานกั บ หน่วยงานผู้รับผิดชอบ ในการแก้ไข ติดตามดําเนินการ รวมทั้ง รายงานสรุปสาเหตุ/ ผลกระทบ/ ข้อเสนอแนะ และความคืบหน้า การแก้ ไ ขข้ อ ร้ อ งเรี ย นตามลํ า ดั บ ชั้ น และตอบกลั บ ผู้ ร้ อ งเรี ย น เป็นระยะ จนกว่าการแก้ไขจะเสร็จสิ้น


114

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ปัจจัยความเสี่ยง

ปตท. มีการกําหนดค่านิยมร่วมของกลุ่ม ปตท. (SPIRIT)

นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารจั ด วางโครงสร้ า งและกระบวนการ

ให้เป็นวิธีการทํางานที่ผู้บริหารและพนักงานทุกคนยึดถือปฏิบัติ

ในการกํากับดูแลการบริหารจัดการความเสี่ยงและการตรวจสอบ

เพือ ่ ให้เป็นคนเก่ง คนดี และมีความรับผิดชอบต่อองค์กรและสังคม

ถ่วงดุลที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากล รวมถึงการกําหนดวงเงิน

ภายนอก มีการกําหนดทิศทางการดําเนินธุรกิจในอนาคตเพือ ่ สร้าง

มู ล ค่ า ความเสี่ ย ง (Value at Risk: VaR) ในการทํ า ธุ ร กรรม

สมดุลและคุณค่าเพิม ่ ร่วมกันระหว่างธุรกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อม

การค้า และให้มก ี ารจัดทํารายงานสรุปสถานะความเสีย ่ งเสนอต่อ

ภายใต้แนวคิด Social Enterprise รวมถึง ปตท. มีเจตนารมณ์

ผูบ ้ ริหารและหน่วยงานเกีย ่ วข้องอย่างสม่า ํ เสมอ ทัง้ นี้ เพือ ่ ควบคุม

ชัดเจนในนโยบายต่อต้านการทุจริต ดําเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส

และติดตามมิให้ ปตท. และกลุ่ม ปตท. มีความเสี่ยงด้านราคาสูง

ตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

เกินกว่าระดับที่เหมาะสม

2. ความเสี่ยงดานปฏิบัติการ

2.2 ความเสี่ยงทางดานการปฏิบัติตามนโยบาย กฎหมาย ขอบังคับ และกฎระเบียบที่เกี่ยวของ

2.1 ความเสี่ยงจากราคาปโตรเลียมและปโตรเคมี ที่มีความผันผวนสูง

ความซั บ ซ้ อ นของบทบั ญ ญั ติ ต ามกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ในปัจจุบัน รวมถึงการเปลี่ยนแปลงนโยบาย กฎหมาย ข้อบังคับ

ราคาวัตถุดิบและราคาจําหน่ายผลิตภัณฑ์ก๊าซธรรมชาติ

และกฎระเบี ย บต่ า ง ๆ ของทางภาครั ฐ เช่ น กฎหมายว่ า ด้ ว ย

คอนเดนเสท น้ํ า มั น ดิ บ น้ํ า มั น สํ า เร็ จ รู ป ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเคมี

การแข่ ง ขั น ทางการค้ า กฎหมายว่ า ด้ ว ยการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งและ

พลังงานทางเลือก ตลอดจนส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ต่อต้นทุน

การบริหารพัสดุภาครัฐ นโยบายเปิดเสรีก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น

วัตถุดิบ (Spread) ทั้งในประเทศและต่างประเทศของ ปตท. และ

ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจของ ปตท. และอาจส่ง

บริษท ั ในกลุม ่ มีการเปลีย ่ นแปลงขึน ้ ลงตามตลาดโลกอย่างผันผวน

ผลกระทบต่อภาพลักษณ์และชื่อเสียงของบริษัทอีกด้วย

อาจส่งผลกระทบต่อผลการดําเนินงาน อัตราผลตอบแทนจาก การลงทุนในอนาคตของ ปตท. และบริษัทในกลุ่ม

ดังนั้นเพื่อให้การดําเนินธุรกิจของ ปตท. เป็นไปด้วยความ ถูกต้องตามกฎหมาย ปตท. ได้มก ี ารประกาศใช้ “นโยบายการกํากับ

เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นราคาเป็ น ไปอย่ า ง

ดูแลการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ ของบริษัท

มีประสิทธิภาพ ปตท. ได้กําหนดแผนบริหารจัดการเพื่อรองรับ

ปตท. จํากัด (มหาชน) (Compliance Policy)” เพื่อให้กรรมการ

ผลกระทบจากความผันผวนของราคาพลังงาน มีการจัดทําแผน

ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งานยึ ด มั่ น เป็ น หลั ก การในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่

ธุรกิจในรูปแบบที่รองรับหลายสถานการณ์ (Scenario Plannings)

รวมถึงมีการกําหนดโครงสร้างและบทบาทหน้าที่หน่วยงานเพื่อ

ในสถานการณ์ระดับราคาน้ํามันต่าง ๆ รองรับการเปลี่ยนแปลง

กํากับการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ และกฎระเบียบต่าง ๆ

และความไม่แน่นอนทีอ ่ าจเกิดขึน ้ ในอนาคตได้อย่างทันท่วงที อีกทัง้

ตามหลัก Three Lines of Defense และได้จด ั ตัง้ ฝ่ายกํากับกฎหมาย

มีการตั้งคณะทํางานบริหารความเสี่ยงราคา (Price Strategy and

และกฎระเบียบองค์กรเพื่อเป็นหน่วยงานกลางในการกํากับดูแล

Risk Management) ภายใต้โครงการ Petrochemical and Refining

การปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายของหน่วยงานต่าง ๆ ใน ปตท. อีกทัง้ ปตท.

Integrated Synergy Management (PRISM) ทําหน้าที่วิเคราะห์

มีการดําเนินการติดตามการออกร่างกฎหมาย ร่างพระราชบัญญัติ

สถานการณ์ความเคลือ ่ นไหวราคาน้าํ มันในตลาดโลกและดําเนินการ

ฉบับใหม่ ๆ เพื่อชี้แจงปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ของ ปตท. และเตรียม

บริ ห ารความเสี่ ย งราคาวั ต ถุ ดิ บ และราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ รวมทั้ ง

ข้อหารือในความไม่ชด ั เจนของหลักเกณฑ์ เพือ ่ ให้การดําเนินธุรกิจ

ราคาซื้อและราคาจําหน่ายน้ํามันดิบและน้ํามันสําเร็จรูปร่วมกัน

ของ ปตท. เป็นไปตามกฎหมายใหม่ที่จะถูกบังคับใช้ในอนาคต

ภายในกลุ่ม ปตท. ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งปัจจุบันกลุ่ม ปตท. ได้ดําเนินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านราคาปิโตรเลียมและ ปิ โ ตรเคมี โดยการทํ า สั ญ ญาซื้ อ ขายตราสารอนุ พั น ธ์ กั บ บริ ษั ท คู่ค้า ซึ่งจะมีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างรอบคอบและถี่ถ้วน รวมทั้ง ่ งทีเ่ หมาะสมกับช่วงเวลา เลือกเครือ ่ งมือทีใ่ ช้ในการบริหารความเสีย และวัตถุประสงค์ เช่น เครื่องมือ Swap หรือ Option


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

2.3 ความเสี่ยงจากการหยุดชะงักของการผลิต และการดําเนินธุรกิจ

ปัจจัยความเสี่ยง

115

3. ความเสี่ยงทางการเงิน 3.1 ความเสี่ยงจากความผันผวนของคาเงินบาท

ปตท. มีการดําเนินงานในหลายพื้นที่ทั้งในประเทศและ ต่ า งประเทศ มี โ อกาสได้ รั บ ผลกระทบจากการหยุ ด ชะงั ก ของ

การเปลี่ยนแปลงของค่าเงินบาทต่อเงินสกุลเหรียญสหรัฐ

การผลิตและการดําเนินธุรกิจ ซึ่งอาจเกิดจากความผิดพลาดใน

จะมีผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อรายได้ส่วนใหญ่ของ

การปฏิบต ั งิ านของพนักงาน อุปกรณ์เครือ ่ งจักรขัดข้อง ภัยธรรมชาติ

ปตท. เนื่องจากราคาก๊าซธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและ

ภัยจากความไม่สงบทางการเมือง ภัยจากการก่อการร้าย และ

ปิ โ ตรเคมี อ้ า งอิ ง กั บ ราคาตลาดโลก ซึ่ ง กํ า หนดราคาขายเป็ น

ภัยอันตรายอื่น ๆ ที่ยากต่อการคาดการณ์ได้ ซึ่งอาจก่อให้เกิด

สกุลเงินเหรียญสหรัฐ (US$ linked) ทําให้รายได้ของ ปตท. ผันผวน

ผลกระทบที่รุนแรง และอาจทําให้ Infrastructures ที่สําคัญของ

ตามค่าเงินบาท อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงของค่าเงินบาท

ปตท. ได้รบ ั ความเสียหาย เพือ ่ เป็นการลดโอกาสและผลกระทบของ

จะส่ ง ผลกระทบต่ อ กํ า ไร (Margin) ของ ปตท. ในระดั บ หนึ่ ง

ภัยคุกคามดังกล่าว ปตท. มี “มาตรฐานการจัดการด้านความมัน ่ คง

เนื่องจากกําไรส่วนใหญ่ของ ปตท. จะถูกกําหนดเป็นเงินบาทไว้ที่

ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมกลุ่ม ปตท.” และ

ค่าคงที่ โดยมีตน ้ ทุนขายทีเ่ ป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐ ซึง่ อิงกับราคา

“มาตรฐานระบบการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจกลุ่ม ปตท.

ตลาดโลกเช่นเดียวกับราคาขาย

(PTT Group Business Continuity Management System

ความผั น ผวนของค่ า เงิ น บาท ยั ง มี ผ ลกระทบต่ อ กํ า ไร

Standard: BCMS)” ให้หน่วยธุรกิจ หน่วยงานสนับสนุน ตลอด

ขาดทุนสุทธิทางบัญชีของ ปตท. จากการที่ ปตท. และบริษัทย่อย

จนบริษัทในกลุ่ม ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาและเชื่อมโยงระบบ

มีภาระหนี้เงินกู้ต่างประเทศคงค้างอยู่ โดยเงินกู้สกุลเยน ปตท.

ร่วมกัน เพื่อปกป้องกิจกรรมที่สร้างมูลค่าตลอดสายโซ่ทางธุรกิจ

ได้ ทํ า การป้ อ งกั น ความเสี่ ย งของค่ า เงิ น เยนโดยใช้ อ นุ พั น ธ์

ของ ปตท. ให้สามารถดําเนินการได้อย่างต่อเนื่อง โดยไม่เกิด

ทางการเงิน (Participating Swap) เพื่อแปลงภาระหนี้สกุลเยน

การหยุดชะงัก นอกจากนี้ ปตท. ต้องดําเนินการทบทวน ปรับปรุง

เป็ น สกุ ล เหรี ย ญสหรั ฐ เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ รายได้ ที่ อิ ง กั บ

พั ฒ นาระบบ BCM ให้ เ ชื่ อ มโยงกั น ระหว่ า งหน่ ว ยธุ ร กิ จ และ

สกุ ล เหรี ย ญสหรั ฐ ซึ่ ง ทํ า ให้ ปตท. สามารถปิ ด ความเสี่ ย งจาก

ดํ า เนิ น การซ้ อ มแผน BCM แบบบู ร ณาการในระดั บ องค์ ก รใน

ความผันผวนของค่าเงินเยนต่อสกุลเหรียญสหรัฐได้แล้วเป็นส่วนใหญ่

สถานการณ์ Black Swan เพื่อรักษาการรับรอง BCMS ของ ปตท.

เพื่ อ ลดผลกระทบจากความผั น ผวนของค่ า เงิ น บาท

ตามมาตรฐานสากล ISO 22301 อีกด้วย

ดังกล่าว ปตท. ได้ดําเนินการจัดโครงสร้างของเงินกู้ที่เป็นเงิน

ปตท. ได้มีการซื้อประกันภัยคุ้มครองความเสี่ยงทรัพย์สิน

สกุ ล ต่ า งประเทศ ให้ มี สั ด ส่ ว นสมดุ ล กั บ รายได้ ที่ เ ป็ น เงิ น สกุ ล

หลักที่ใช้ในการดําเนินธุรกิจทั้งหมดตามแนวปฏิบัติที่ดีของบริษัท

ต่างประเทศ (Natural Hedge) รวมทั้งบริหารเงินในบัญชีเงินฝาก

ชัน ้ นําในอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและปิโตรเคมี และได้ทา ํ ประกันภัย

ที่เป็นสกุลต่างประเทศ (Foreign Currency Deposit) และซื้อ-ขาย

เพิ่มเติมในกรณีที่บริษัทต้องหยุดดําเนินการ แต่การซื้อประกันภัย

เงินสกุลต่างประเทศล่วงหน้า (Forward) เพื่อเตรียมการชําระหนี้

ดังกล่าวอาจไม่สามารถครอบคลุมความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได้

เงินกู้สกุลต่าง ๆ และธุรกรรมการค้า เช่น ค่าก๊าซธรรมชาติและ

ทุ ก ประเภท เนื่ อ งจากไม่ มี บ ริ ษั ท ประกั น ภั ย ใดรั บ ประกั น ภั ย

น้ํ า มั น ดิ บ ที่ นํ า เข้ า จากต่ า งประเทศ และการส่ ง ออกผลิ ต ภั ณ ฑ์

ความเสียหายทุกประเภท หรือเนือ ่ งจากบางครัง้ หากซือ ้ ประกันภัย

อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ปตท. ได้ดําเนินการจัดทํานโยบาย

ค่าเบีย ้ ประกันภัยสําหรับการประกันภัยความเสียหายนัน ้ ๆ จะสูงมาก

การเงิ น (Finance Policy) เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการบริ ห าร

จนไม่คุ้มค่าทางเศรษฐกิจ และถึงแม้ว่า ปตท. จะเชื่อว่าบริษัทใน

การเงินของ ปตท. และกลุม ่ บริษท ั ที่ ปตท. ถือหุน ้ อย่างมีประสิทธิภาพ

กลุ่ ม มี ก ารทํ า ประกั น ภั ย ตามมาตรฐานของอุ ต สาหกรรมก็ ต าม

และเป็นไปในทิศทางเดียวกันโดยรวมถึงข้อกําหนดในเรือ ่ งการจัด

ปตท. ไม่สามารถควบคุมวงเงินในการทําประกันภัยทรัพย์สินของ

ให้มีการบริหารความเสี่ยงต่าง ๆ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อฐานะ

กลุ่ม ปตท. ให้เพียงพอต่อความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได้ ดังนั้น

การเงินของ ปตท.

หากเกิดความเสียหายในทรัพย์สน ิ ทีไ่ ม่ได้ทา ํ ประกันครอบคลุมเต็ม มูลค่าในจํานวนทีม ่ น ี ย ั สําคัญ หรือในกรณีทผ ี่ รู้ บ ั ประกันภัยมีปญ ั หา ทางการเงินรุนแรงหรือต้องเลิกกิจการเนื่องจากเหตุดังกล่าวอาจ ส่ ง ผลกระทบในด้ า นลบอย่ า งร้ า ยแรงต่ อ ฐานะทางการเงิ น และ ผลการดําเนินงานหรือโอกาสทางธุรกิจของ ปตท. ได้


116

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ปัจจัยความเสี่ยง

3.2 ความเสี่ยงจากการใหการสนับสนุนทางการเงิน 3.3 ความเสี่ยงจากการจัดหาเงินทุน แกบริษัทในกลุม ปตท. สําหรับการดําเนินการตามแผน ปตท. มีการลงทุนโครงการใหม่ ขยายธุรกิจ หรือปรับปรุง

ธุรกิจของ ปตท. โดยเฉพาะอย่างยิ่งธุรกิจสํารวจและผลิต

การดํ า เนิ น งาน เพื่ อ ให้ บ ริ ษั ท มี ก ารเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และ

ปิโตรเลียม ธุรกิจระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติและธุรกิจโรงแยกก๊าซ

ในบางครั้งการลงทุนดังกล่าวอาจลงทุนผ่านบริษัทที่จัดตั้งใหม่

ธรรมชาติ รวมทั้งธุรกิจปิโตรเคมีเป็นธุรกิจที่ใช้เงินลงทุนสูงและ

และ/หรื อ ร่ ว มทุ น กั บ พั น ธมิ ต ร (Strategic Partner) และ/หรื อ

เป็นการลงทุนล่วงหน้า ในทางปฏิบต ั ิถึงแม้ ปตท. จะมีการติดตาม

ผ่านบริษท ั ในกลุม ่ ปตท. ซึง่ บริษท ั บางแห่งยังอยูใ่ นช่วงเริม ่ ต้นโครงการ

และบริหารความเสี่ยงทางธุรกิจอย่างใกล้ชิด แต่การใช้เงินทุน

หรื อ อยู่ในวัฏจักรขาลงของธุรกิจ หรือฐานะการเงินไม่แข็งแกร่ง

ดังกล่าวยังอาจคลาดเคลื่อนไปจากแผนที่วางไว้

เพียงพอ ผูถ ้ อ ื หุน ้ รวมถึง ปตท. จึงยังต้องให้การสนับสนุนทางการเงิน

การประกอบธุรกิจของ ปตท. ทีม ่ งุ่ เน้นการสร้างความเติบโต

ในช่วงการก่อสร้างโครงการ (Cost Overrun Support) เพือ ่ ให้บริษท ั

อย่างมัน ่ คงในระยะยาวและการเป็นบริษท ั ทีม ่ ก ี ารกํากับดูแลกิจการ

ดังกล่าวสามารถดําเนินการได้ตามกลยุทธ์และนโยบายการดําเนิน

ที่ดี ทําให้ ปตท. มีแผนงานลงทุนเพื่อขยายธุรกิจอย่างระมัดระวัง

ธุ ร กิ จ ของกลุ่ ม บริ ษั ท ในภาพรวม นอกจากนี้ ใ นบางกรณี บ ริ ษั ท

โดยคํานึงถึงแหล่งเงินทุนต่าง ๆ โดยเฉพาะการจัดโครงสร้างเงินทุน

อาจประสบปัญหาขาดสภาพคล่องในช่วงดําเนินการเชิงพาณิชย์

ที่สามารถดํารงอัตราส่วนทางการเงินที่สําคัญต่าง ๆ ให้อยู่ระดับ

(Cash Deficiency Support) ซึ่งอาจเกิดจากเหตุสุดวิสัย จึงมี

ที่เหมาะสม เทียบเคียงได้กับบริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกัน ซึ่ง

ความจําเป็นต้องรับการสนับสนุนทางการเงินจากผูถ ้ อ ื หุน ้ โดยการให้

จากการติดตามการเปลีย ่ นแปลงของปัจจัยทีเ่ กีย ่ วข้องกับการจัดหา

การสนับสนุนทางการเงินอาจจะเป็นไปในรูปแบบของหนีด ้ อ ้ ยสิทธิ

เงินทุนอย่างต่อเนื่อง ปตท. จึงมีความเชื่อว่าจะสามารถจัดหา

(Subordinated Debt) และ/หรือทุน (Equity) และ/หรือการขยาย

เงินทุนเพื่อการขยายธุรกิจในอนาคตได้เพียงพอด้วยต้นทุนทาง

วงเงินสินเชื่อทางการค้า (Trade Credit) และ/หรือการให้เงินกู้

การเงินที่เหมาะสม

จากผู้ถือหุ้น (Shareholder Loan) และ/หรือในรูปแบบอื่น ๆ ปตท. จะพิ จ ารณาให้ ค วามสนั บ สนุ น ทางการเงิ น ในรู ป ของเงิ น กู้ เงิ น ทุ น และ/หรื อ สิ น เชื่ อ ทางการค้ า ในกรณี ที่ จํ า เป็ น และเป็นประโยชน์ต่อ ปตท. และกลุ่ม ปตท. ในระยะยาว ซึ่ง ปตท. มี ค วามเชื่ อ ว่ า นโยบายและการดํ า เนิ น การดั ง กล่ า วจะสามารถ สร้างความแข็งแกร่งอย่างยั่งยืนให้กับบริษัทในกลุ่ม ปตท. ได้ การให้ความสนับสนุนทางการเงินแก่บริษท ั ในกลุม ่ เหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของหนี้ด้อยสิทธิ หรือสินเชื่อทางการค้า หรือการให้เงินกู้จากผู้ถือหุ้น ปตท. ไม่สามารถยืนยันได้ว่าบริษัท เหล่านี้จะสามารถชําระคืนเงินให้แก่ ปตท. หรือบริษัทเหล่านี้จะ ไม่ประสบกับปัญหาทางการเงินอีก หรือจะไม่ตอ ้ งการการสนับสนุน ทางการเงินจาก ปตท. อีก ซึ่งไม่ว่ากรณีใดจะเกิดขึ้นก็ตามอาจจะ ส่งผลกระทบต่อผลการดําเนินงานและฐานะทางการเงินของ ปตท. นอกจากนี้ หาก ปตท. หรือบริษท ั ในกลุม ่ บริษท ั ใดบริษท ั หนึง่ ตกเป็น ผู้ผิดนัด (Default) ภายใต้สัญญาข้อตกลงการให้การสนับสนุน ้ างรายเรียกให้หนีถ ้ งึ กําหนดชําระ จากผูถ ้ อ ื หุน ้ อาจส่งผลให้เจ้าหนีบ โดยพลันได้ (Acceleration) ปตท. ไม่สามารถยืนยันได้ว่า ปตท. จะไม่เพิ่มสัดส่วนการลงทุนมากขึ้น หรือเพิ่มสัดส่วนการลงทุน มากกว่าร้อยละ 50 หรือเข้าควบคุมการบริหารบริษท ั ในกลุม ่ เหล่านี้ หาก ปตท. เห็นว่าการดําเนินการดังกล่าวจะเป็นประโยชน์มากกว่า กรณีที่ ปตท. ตัดสินใจเข้าควบคุมการบริหารบริษัทในกลุ่มเหล่านี้ ภายใต้มาตรฐานการบัญชีไทยกําหนดให้ ปตท. จะต้องมีการรวม งบการเงินของบริษัทในกลุ่มเข้ากับงบการเงินของ ปตท. ตั้งแต่ วันที่มีอํานาจในการควบคุมด้วย ซึ่งการรวมงบการเงินนี้อาจจะ ส่งผลกระทบต่อฐานะทางการเงินรวมของ ปตท.


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างเงินทุน

117

โครงสรางเงินทุน

หลักทรัพยของ ปตท. หุนสามัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ปตท. มีทน ุ จดทะเบียน 28,572,457,250 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 2,857,245,725 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยเป็นทุนที่ออกและชําระแล้ว 28,562,996,250 บาท แบ่งเป็นหุ้น

19

สามัญ 2,856,299,625 หุ้น

พันธบัตรและหุนกู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทมีเงินกู้ยืมในประเทศที่อยู่ใน รู ป พั น ธบั ต ร ปตท. ที่ ค้ํ า ประกั น โดยกระทรวงการคลั ง จํ า นวน 1,000 ล้านบาท และทีอ ่ ยูใ่ นหุน ้ กู้ ปตท. กระทรวงการคลังไม่คา ้ํ ประกัน จํานวน 128,264 ล้านบาท รวมพันธบัตรและหุ้นกู้ ปตท. ในประเทศ ทั้ ง สิ้ น 129,264 ล้ า นบาท และบริ ษั ท มี เ งิ น กู้ ยื ม ต่ า งประเทศ ในรูปหุน ้ กู้ ปตท. สกุลเงินเหรียญสหรัฐ กระทรวงการคลังไม่คา ้ํ ประกัน จํานวนเทียบเท่า 28,539 ล้านบาท โดยรายละเอียดสําคัญของพันธบัตร และหุ้นกู้ สามารถสรุปได้ดังนี้


118

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างเงินทุน

จํานวน (ลานบาท)

พันธบัตรและหุนกู

วันครบกําหนด ไถถอน

หลักประกัน

ปี 2563

ไม่มี

128,264

ปี 2561 - 2653

ไม่มี

28,539

ปี 2578 - 2585

ไม่มี

พันธบัตร ปตท. ค้ําประกัน โดยกระทรวงการคลัง • พันธบัตรในประเทศ

1,000

หุ้นกู้ ปตท. กระทรวงการคลังไม่ค้ําประกัน • หุ้นกู้ในประเทศ1/ 4/ 2/ 3/ 4/

• หุ้นกู้ต่างประเทศ รวม

156,803

รวมพันธบัตรและหุนกู ปตท.

157,803

หมายเหตุ: 1/

Fitch Rating จัดอันดับเครดิตภายในประเทศ (National Rating) ของหุ้นกู้ ปตท. ระยะยาวที่ระดับ “AAA (tha)” แนวโน้มเครดิตมีเสถียรภาพ

2/

Moody’s จัดอันดับเครดิตหุ้นกู้ต่างประเทศของ ปตท. ที่ระดับ “Baa1” แนวโน้มเครดิตมีเสถียรภาพ

3/

S&P’s จัดอันดับเครดิตหุ้นกู้ต่างประเทศของ ปตท. ที่ระดับ “BBB+” แนวโน้มเครดิตมีเสถียรภาพ

4/

รายละเอียดหุ้นกู้ในประเทศและหุ้นกู้ต่างประเทศของ ปตท.

หุนกู ในประเทศไมมีหลักประกัน ไมดอยสิทธิ หุนกู PTTC18DA PTTC18NA

จํานวน (ลานบาท) 500 18,0491/

อัตราดอกเบี้ยตอป

อายุ/ กําหนดการไถถอน

ร้อยละ 5.91 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 11 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2561

ปีที่ 1 - 4 ร้อยละ 4.00 ปีที่ 5 - 6 ร้อยละ 4.40

อายุ 6 ปี 9 เดือน 19 วัน กําหนดไถ่ถอนปี 2561

ปีที่ 7 ร้อยละ 5.50 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี PTTC195A

1,000

PTTC195B

15,000

PTTC195C

10,000

ร้อยละ 5.90 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 15 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2562

ปีที่ 1 - 4 ร้อยละ 4.10 ปีที่ 5 - 6 ร้อยละ 5.10

อายุ 6 ปี 11 เดือน 24 วัน กําหนดไถ่ถอน

จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

ปี 2562

ปีที่ 1 - 4 ร้อยละ 4.10 ปีที่ 5 - 6 ร้อยละ 5.10

อายุ 6 ปี 9 เดือน 15 วัน กําหนดไถ่ถอนปี 2562

จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี PTTC20NA

22,000

ร้อยละ 4.75 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 6 ปี 11 เดือน 19 วัน กําหนดไถ่ถอนปี 2563

PTTC208A

4,118

ร้อยละ 5.95 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 15 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2563

PTTC215A

1,030

ร้อยละ 6.53 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 15 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2564

PTTC21NA

10,0004/

ร้อยละ 4.00 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 6 ปี 11 เดือน กําหนดไถ่ถอนปี 2564


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

หุนกู

โครงสร้างเงินทุน

จํานวน (ลานบาท)

อัตราดอกเบี้ยตอป

อายุ/ กําหนดการไถถอน

PTTC21NB

4,200

ร้อยละ 3.50 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 6 ปี 27 วัน กําหนดไถ่ถอนปี 2564

PTTC222A

4,0002/

ร้อยละ 4.50 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 12 ปี ครบกําหนดไถ่ถอนปี 2565

ร้อยละ 6.58 จ่ายดอกเบี้ยครั้งเดียว

อายุ 10 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2566

PTTC239A

10,000

119

ในวันครบกําหนดไถ่ถอน PTTC243A

PTTC247A

PTTC10DA

14,967

9,400

4,0005/

ปีที่ 1 - 5 ร้อยละ 5.00 ปีที่ 6 - 8 ร้อยละ 6.20

อายุ 15 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2567 (ผู้ถือหุ้นกู้

ปีที่ 9 - 15 ร้อยละ 6.80 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

สามารถไถ่ถอนก่อนกําหนดได้ ณ สิ้นปีที่ 8)

ปีที่ 1 - 5 ร้อยละ 4.25 ปีที่ 6 - 10 ร้อยละ 5.50

อายุ 15 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2567 (ผู้ถือหุ้นกู้

ปีที่ 11 - 15 ร้อยละ 5.75 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

สามารถไถ่ถอนก่อนกําหนดได้ ณ สิ้นปีที่ 10)

ร้อยละ 5.90 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 100 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2653 (ผู้ถือหุ้นกู้ สามารถไถ่ถอนก่อนกําหนดได้ ณ สิ้นปีที่ 50 และ 75 และกรณีอน ่ื ทีร่ ะบุในข้อกําหนดว่าด้วย สิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุ้นกู้และผู้ถือหุ้นกู้)

รวม

128,264

หุนกูตางประเทศไมมีหลักประกัน ไมดอยสิทธิ หุนกู USD Bond

จํานวน (ลานบาท)

อัตราดอกเบี้ยตอป

อายุ/ กําหนดการไถถอน

9,797

ร้อยละ 5.875 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 30 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2578

18,7423/

ร้อยละ 4.50 จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี

อายุ 30 ปี กําหนดไถ่ถอนปี 2585

ปี 2005 USD Bond ปี 2012 รวม

28,539

หมายเหตุ: 1/

ปตท. ได้ทา ํ สัญญาแลกเปลีย ่ นสกุลเงิน (Cross Currency Swap) จากหุน ้ กูส ้ กุลบาท จํานวน 9,000 ล้านบาท เป็นสกุลเหรียญสหรัฐ จํานวน 285 ล้านเหรียญสหรัฐ

2/

ปตท.ได้ทา ํ สัญญาแลกเปลีย ่ นสกุลเงิน (Cross Currency Swap) จากหุน ้ กูส ้ กุลบาท จํานวน 4,000 ล้านบาท เป็นสกุลเหรียญสหรัฐ จํานวน 120.55 ล้านเหรียญ

3/

้ (Interest Rate Swap) จากหุน ้ กูส ้ กุลเหรียญสหรัฐ จํานวน 500 ล้านเหรียญสหรัฐ จากอัตราดอกเบีย ้ คงทีเ่ ป็นอัตรา ปตท. ได้ทา ํ สัญญาแลกเปลีย ่ นอัตราดอกเบีย

ที่อัตราลอยตัว LIBOR บวกอัตราร้อยละคงที่ต่อปี ของเงินต้นสกุลเหรียญสหรัฐ สหรัฐ ที่อัตราลอยตัว LIBOR บวกอัตราร้อยละคงที่ต่อปี ของเงินต้นสกุลเหรียญสหรัฐ ดอกเบี้ยลอยตัว LIBOR บวกอัตราร้อยละคงที่ต่อปี ของเงินต้นสกุลเหรียญสหรัฐ โดยสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยดังกล่าวจะสิ้นสุดอายุสัญญา ในวันที่ 25 ตุลาคม 2562 4/

้ ลอยตัว ปตท. ได้ทา ํ สัญญาแลกเปลีย ่ นอัตราดอกเบีย ้ (Interest Rate Swap) จากหุน ้ กูส ้ กุลบาท จํานวน 6,000 ล้านบาท จากอัตราดอกเบีย ้ คงทีเ่ ป็นอัตราดอกเบีย THBFIX บวกอัตราร้อยละคงที่ต่อปี ของเงินต้นสกุลบาท โดยสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยดังกล่าวจะสิ้นสุดอายุสัญญาในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2564

5/

ปตท. ได้ทําสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap) จากหุ้นกู้สกุลบาท จํานวน 2,000 ล้านบาท จากอัตราดอกเบี้ยคงที่เป็นอัตราดอกเบี้ย ลอยตัว THBFIX บวกอัตราร้อยละคงทีต ่ อ ่ ปี ของเงินต้นสกุลบาท โดยสัญญาแลกเปลีย ่ นอัตราดอกเบีย ้ ดังกล่าวจะสิน ้ สุดอายุสญ ั ญาในวันที่ 2 ธันวาคม 2570


120

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างเงินทุน

ใบสําคัญแสดงสิทธิที่ทําการซื้อหุนสามัญของ ปตท. การออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (Warrant) ให้แก่ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหาร พนักงาน ปตท. และพนักงานบริษัทในเครือ ปตท. ที่มาปฏิบัติงานประจําในตําแหน่งงานของ ปตท. จํานวน 60,000,000 หน่วย แบ่งเป็น 2 รุ่น คือ รุ่นที่ 1 (PTT-W1) จํานวน 40,000,000 หน่วย เสนอขายในปี 2548 และใช้สิทธิครั้งสุดท้าย วันที่ 31 สิงหาคม 2553 และรุ่นที่ 2 (PTT-W2) จํานวน 20,000,000 หน่วย เสนอขายในปี 2549 และใช้สิทธิครั้งสุดท้าย วันที่ 28 กันยายน 2554 ได้ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว และยังไม่มีการขออนุมต ั ิออก Warrant รุ่นใหม่

ตั๋วแลกเงินระยะสั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทไม่มียอดคงค้างตั๋วแลกเงินระยะสั้น

ผูถือหุน ปตท. มีโครงสร้างผู้ถือหุ้นตามข้อมูล ณ วันปิดสมุดทะเบียนเพื่อจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลปี 2560 (วันที่ 5 กันยายน 2560) ดังนี้

รายการ

หุน (ลาน)

บาท (ลาน)

ทุนจดทะเบียน

2,857.2

28,572

-

ทุนชําระแล้ว (ณ วันที่ 5 กันยายน 2560)

2,856.3

28,563

99.967

1,459.9

14,599

51.111

187.2

1,872

6.554

• กระทรวงการคลัง • กองทุนรวมวายุภก ั ษ์ หนึง่ โดย บลจ. เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน) • กองทุนรวมวายุภก ั ษ์ หนึง่ โดย บลจ. กรุงไทย จํากัด (มหาชน) • สถาบันและนักลงทุนทั่วไป ทุนยังไม่ชําระ

รอยละ

187.2

1,872

6.554

1,022.0

10,220

35.781

0.9

9

0.033

ทั้งนี้ รายชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ 13 อันดับแรกของ ปตท. เป็นดังนี้ (ณ วันที่ 5 กันยายน 2560)

ลําดับที่

รายชื่อ

1.

กระทรวงการคลัง

2.

จํานวนหุน

รอยละของจํานวนหุน ทั้งหมด

1,459,885,575

51.111

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด

215,538,793

7.546

3.

กองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง โดย บลจ. เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน)

187,192,850

6.554

4.

กองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง โดย บลจ. กรุงไทย จํากัด (มหาชน)

187,192,850

6.554

5.

CHASE NOMINEES LIMITED

58,955,946

2.064

6.

STATE STREET BANK EUROPE LIMITED

37,678,797

1.319

7.

สํานักงานประกันสังคม

36,409,800

1.275

8.

THE BANK OF NEW YORK MELLON

32,194,600

1.127


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลําดับที่ 9.

121

โครงสร้างเงินทุน

รายชื่อ

จํานวนหุน

รอยละของจํานวนหุน ทั้งหมด

GIC PRIVATE LIMITED

26,469,300

0.927

10.

HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD

24,274,801

0.850

11.

STATE STREET EUROPE LIMITED

19,197,344

0.672

12.

PEOPLE’S BANK OF CHINA

18,041,900

0.632

13.

EAST FOURTEEN LIMITED-DIMENSIONAL EMER MKTS VALUE FD

16,766,050

0.587

2,319,798,606

81.218

ยอดรวม หมายเหตุ: 1.

ผูถ ้ ือหุน ้ ลําดับที่ 5 และ 10 มีชือ ่ เป็น บริษท ั นิติบค ุ คล หรือ NOMINEE ACCOUNT ซึง่ ปตท. ได้ตรวจสอบกับบริษท ั ศูนย์รบ ั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด (TSD) แล้ว ไม่สามารถตรวจสอบและเปิดเผย Ultimate Shareholder ได้ แต่อย่างไรก็ตาม กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่รายเดียวที่เป็นตัวแทน ภาครัฐที่มีส่วนในการกําหนดนโยบายการจัดการ ปตท. โดยเสนอผู้แทนมาเป็นกรรมการให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้ง ส่วนผู้ถือหุ้นรายอื่นซึ่งรวมถึง ผู้ถือหุ้นลําดับที่ 5 และ 10 ไม่ได้มีพฤติการณ์มีอิทธิพลต่อการกําหนดนโยบายการจัดการของ ปตท. เช่น ส่งผู้แทนมาเป็นกรรมการของ ปตท. เป็นต้น

2.

ผูถ ้ อ ื หุน ้ ในบริษท ั ไทยเอ็นวีดอ ี าร์ จํากัด ซึง่ ถือใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ทเี่ กิดจากหลักทรัพย์อา ้ งอิง (Non-Voting Depository Receipt: NVDR) ในรายการที่ 2 ไม่ มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งในที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ยกเว้ น กรณี ก ารใช้ สิ ท ธิ อ อกเสี ย งเพื่ อ ลงมติ เ กี่ ย วกั บ การเพิ ก ถอนหุ้ น ออกจากการเป็ น หลั ก ทรั พ ย์ จ ดทะเบี ย น ในตลาดหลักทรัพย์ฯ

นโยบายการจายเงินปนผล นโยบายจายเงินปนผลของ ปตท.

นโยบายจายเงินปนผลของบริษัทยอย

บริษท ั มีนโยบายจ่ายเงินปันผลไม่ตาํ่ กว่าร้อยละ 25 ของกําไรสุทธิ

สําหรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย บริษัทย่อย

ที่เหลือหลังหักเงินสํารองต่าง ๆ ทุกประเภทที่กฎหมายและบริษัท

แต่ละแห่งจะพิจารณาการจ่ายเงินปันผลจากกระแสเงินสดคงเหลือ

ได้ กํ า หนดไว้ โดยพิ จ ารณาจากกํ า ไรสุ ท ธิ ต ามงบการเงิ น รวม

เทียบกับงบลงทุนของบริษัทย่อยนั้น ๆ หากกระแสเงินสดคงเหลือ

ของบริษัท อย่างไรก็ตาม การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับ

ของบริ ษั ท ย่ อ ยมี เ พี ย งพอและได้ ตั้ ง สํ า รองตามกฎหมายแล้ ว

แผนการลงทุน ความจําเป็น และความเหมาะสมอื่น ๆ ในอนาคต

บริษัทย่อยนั้น ๆ จะพิจารณาจ่ายเงินปันผลเป็นกรณีไป

เมื่อคณะกรรมการบริษัทมีมติเห็นชอบให้จ่ายเงินปันผลประจําปี แล้ ว จะต้ อ งนํ า เสนอขออนุ มั ติ ต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เว้ น แต่ เป็ น การจ่ า ยเงิ น ปั น ผลระหว่ า งกาลให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท

นโยบายจายเงินปนผลของบริษัท ปตท.สํารวจ และผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

มีอํานาจอนุมัติให้จ่ายเงินปันผลได้ แล้วให้รายงานให้ที่ประชุม ผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมคราวต่อไป

หากไม่มีความจําเป็นอันใดคณะกรรมการบริษัทมีนโยบาย ที่จะเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นจ่ายเงินปันผลของบริษัทแก่ผู้ถือหุ้น เป็นจํานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของกําไรสุทธิหลังจากหักภาษี เงินได้แล้วในแต่ละปี และอาจจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ เป็นครัง้ คราวได้ ส่วนในกรณีของบริษท ั ย่อยนัน ้ บริษท ั ไม่ได้ กําหนดนโยบายจ่ายเงินปันผล


122

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

โครงสราง การจัดการ

ความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการ โครงสร้างการจัดการบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 ประกอบด้ ว ยคณะกรรมการ ปตท. โดยแบ่ ง เป็ น คณะกรรมการเฉพาะเรื่ อ งจํ า นวน 5 คณะ ช่ ว ยกลั่ น กรองงานที่ มี ความสําคัญ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ ที่ ดี และคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งองค์ ก ร โดยมี ป ระธาน เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นผู้บริหารสูงสุดของ บริษท ั บริหารจัดการผ่านคณะกรรมการจัดการ ซึง่ แบ่งเป็น 3 ประเภท

20

ประกอบด้วย 24 คณะ


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

ผูตรวจสอบบัญชี

123

ผูถือหุน คณะกรรมการ

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ (บริหารจัดการผ่านคณะกรรมการระดับจัดการ 24 คณะ)

สํานักตรวจสอบภายใน (ผู้ช่วย กผญ.) ผู้ช่วย กผญ. บริหารชื่อเสียงองค์กรและกิจการเพื่อสังคม

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักกฎหมาย สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการบริษัท

รองกรรมการผูจัดการใหญ กลยุทธองคกร

ผู้ช่วย กผญ. แผนกลยุทธ์ ต่างประเทศ

ผู้ช่วย กผญ. นโยบายและ บริหารผู้มีส่วนได้เสีย

ผู้ช่วย กผญ. แผนกลยุทธ์และ บริหารการลงทุน

ประธานเจาหนาที่บริหารการเงิน

ผู้ช่วย กผญ. กลยุทธ์และบริหาร การเงินองค์กร

ผู้ช่วย กผญ. นโยบายการเงิน และบัญชีองค์กร

ผู้ช่วย กผญ. ศูนย์บริการงานบัญชี

รองกรรมการผูจัดการใหญ บริหารองคกรและความยั่งยืน

ผู้ช่วย กผญ. ทรัพยากรบุคคลองค์กร

ผู้ช่วย กผญ. พัฒนาศักยภาพองค์กร

ผู้ช่วย กผญ. บริหารความยั่งยืน

ประธานเจาหนาที่เทคโนโลยี และวิศวกรรม

ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ กลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นตน และกาซธรรมชาติ

รองกรรมการผูจัดการใหญ นวัตกรรมและดิจิตอล

รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจกาซธรรมชาติ

ผู้ช่วย กผญ. สถาบันนวัตกรรม

ผู้ช่วย กผญ. วิศวกรรม และบริหารโครงการ

1. ผู้ช่วย กผญ. วางแผน 2. ผู้ช่วย กผญ. แยกก๊าซธรรมชาติ 3. ผู้ช่วย กผญ. จัดหาและตลาด ก๊าซธรรมชาติ 4. ผู้ช่วย กผญ. ระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ 5. ผู้ช่วย กผญ. ระบบท่อ จัดจําหน่ายก๊าซธรรมชาติ 6. ผู้ช่วย กผญ. ก๊าซธรรมชาติ สําหรับยานยนต์

ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ กลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย

รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจนํ้ามัน 1. ผู้ช่วย กผญ. วางแผน 2. ผู้ช่วย กผญ. การตลาดขายปลีก 3. ผู้ช่วย กผญ. การตลาดพาณิชย์ 4. ผู้ช่วย กผญ. ปฏิบัติการ คลังปิโตรเลียม 5. ผู้ช่วย กผญ. ธุรกิจหล่อลื่น 6. ผู้ช่วย กผญ. การตลาดต่างประเทศ

รองกรรมการผูจัดการใหญ บริหารกลยุทธกลุมธุรกิจ ปโตรเลียมขั้นปลาย 1. ผู้ช่วย กผญ. แผนกลุ่มธุรกิจ ปิโตรเลียมขั้นปลาย 2. ผู้ช่วย กผญ. บริหารความร่วมมือ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียม ขั้นปลาย

รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจ การคาระหวางประเทศ 1. ผู้ช่วย กผญ. การค้าระหว่างประเทศ 2. ผู้ช่วย กผญ. วางแผน และควบคุมความเสี่ยง

หมายเหตุ: ผู้ช่วย กผญ. = ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่


124

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

องคประกอบของคณะกรรมการ ตามข้อบังคับ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กําหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการดังนี้ •

มีจํานวนไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน

มีกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 3 คน (หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. กําหนดให้มีกรรมการอิสระไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง)

กรรมการอย่างน้อย 1 คน ต้องมีความรู้ด้านบัญชีการเงิน

ทัง้ นี้ ปัจจุบน ั คณะกรรมการของ บริษท ั ปตท. จํากัด (มหาชน) ตามหนังสือรับรองกระทรวงพาณิชย์ ลงวันที่ 6 มีนาคม 2560 มีจา ํ นวน 15 ท่าน ประกอบด้วย •

กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 14 ท่าน (เป็นกรรมการที่เป็นอิสระ 12 ท่าน ซึ่งเกินกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งคณะ)

กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 1 ท่าน

รายชื่อคณะกรรมการ ปตท. ประกอบดวย ลําดับ 1.

รายชื่อกรรมการ นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

ตําแหนง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

วันที่ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ ปตท.

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ

1 กรกฎาคม 2557 (วาระที่ 1)

(กรรมการตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2557,

11 เมษายน 2559 (วาระที่ 2)

ประธานกรรมการตัง้ แต่วน ั ที่ 4 กรกฎาคม 2557) 2.

3.

ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์

กรรมการอิสระ/

1 กรกฎาคม 2557 (วาระที่ 1)

กิตยารักษ์

ประธานกรรมการตรวจสอบ

28 เมษายน 2560 (วาระที่ 2)

พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการสรรหา

4 กันยายน 2557 (วาระที่ 1) 28 เมษายน 2560 (วาระที่ 2)

4.

นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

กรรมการอิสระ/

27 กุมภาพันธ์ 2560 (วาระที่ 1)*

ประธานกรรมการกําหนดค่าตอบแทน 5.

6.

7.

พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

กรรมการอิสระ/

4 กันยายน 2557 (วาระที่ 1)

ประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

11 เมษายน 2559 (วาระที่ 2)

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ

4 กันยายน 2557 (วาระที่ 1)

บริหารความเสี่ยงองค์กร/ กรรมการสรรหา

9 เมษายน 2558 (วาระที่ 2)

กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

1 กรกฎาคม 2557 (วาระที่ 1) 9 เมษายน 2558 (วาระที่ 2)

8.

นายวิชัย อัศรัสกร

กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

4 กันยายน 2557 (วาระที่ 1) 28 เมษายน 2560 (วาระที่ 2)

9.

นายธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์

กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหา/

18 พฤศจิกายน 2559 (วาระที่ 1)

กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี 10.

นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

กรรมการอิสระ/ กรรมการกําหนดค่าตอบแทน

22 เมษายน 2558 (วาระที่ 1) 28 เมษายน 2560 (วาระที่ 2)


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ลําดับ

รายชื่อกรรมการ

11.

นายสมชัย สัจจพงษ์

โครงสร้างการจัดการ

ตําแหนง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 กรรมการ/ กรรมการกําหนดค่าตอบแทน

125

วันที่ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ ปตท. 1 พฤศจิกายน 2558 (วาระที่ 1) 11 เมษายน 2559 (วาระที่ 2)

12.

นายดอน วสันตพฤกษ์

13.

นายสมคิด เลิศไพฑูรย์

กรรมการอิสระ/

26 กรกฎาคม 2557 (วาระที่ 1)

กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

11 เมษายน 2559 (วาระที่ 2)

กรรมการอิสระ/

27 กุมภาพันธ์ 2560 (วาระที่ 1)

กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร 14.

นายธรรมยศ ศรีช่วย

กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

15 ธันวาคม 2559 (วาระที่ 1) 28 เมษายน 2560 (วาระที่ 2)

15.

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ

10 กันยายน 2558 (วาระที่ 1)

(ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่) หมายเหตุ: คณะกรรมการแต่งตั้งกรรมการใหม่แทนกรรมการที่ออกตามวาระและลาออกในปี 2560 ดังนี้ • บุคคลลําดับที่ 4 นายบุญทักษ์ หวังเจริญ ดํารงตําแหน่งแทน นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ซึง่ พ้นจากการดํารงตําแหน่งเนือ ่ งจากอายุครบ 65 ปีบริบรู ณ์ มีผลตัง้ แต่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 และนายบุญทักษ์ หวังเจริญ ได้แจ้งขอลาออกจากการเป็นกรรมการ ปตท. โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2560 และแต่งตั้งนายสุพจน์ เตชวรสินสกุล เข้ารับตําแหน่งกรรมการอิสระ แทนนายบุญทักษ์ หวังเจริญ มีผลตั้งแต่วันที่ 18 มกราคม 2561 • บุคคลลําดับที่ 13 นายสมคิด เลิศไพฑูรย์ ดํารงตําแหน่งแทน นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ซึ่งลาออกเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท อํานาจของคณะกรรมการบริษัท •

คณะกรรมการบริษัท มีอํานาจดูแลและจัดการบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับและมติของที่ประชุม ผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการบริษัท มีอํานาจแต่งตั้งกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการ และจะแต่งตั้งรองประธานกรรมการก็ได้ ตามที่ คณะกรรมการเห็นสมควร

คณะกรรมการบริษท ั มีอา ํ นาจแต่งตัง้ กรรมการคนหนึง่ เป็นประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่และเลขานุการ คณะกรรมการตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท •

คณะกรรมการมีหน้าที่ตามข้อบังคับของบริษัท ซึ่งรวมถึงการดูแลและจัดการบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับและมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น

กําหนดวิสัยทัศน์ ทิศทาง กลยุทธ์ นโยบายและแผนงานที่สําคัญของบริษัท รวมทั้งพิจารณาประเด็นความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น เพื่อให้มั่นใจว่าผู้บริหารจะสามารถนําวิสัยทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ที่กําหนดขึ้นไปปฏิบัติให้เกิดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ควบคุ ม ติ ด ตาม ดู แ ลให้ มี ก ารดํ า เนิ น การตามกลยุ ท ธ์ แ ละนโยบายที่ สํ า คั ญ รวมถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค์ เป้ า หมายทางการเงิ น และแผนงานบริษัท งบประมาณของบริษัท ที่กําหนด

จัดให้มรี ะบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชี รวมทัง้ ดูแลให้มรี ะบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล


126

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

สอดส่องดูแลและจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทาง

กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพัน

ผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้น รวมถึงรายการที่เกี่ยวโยงกัน •

กํ า หนดแนวทางการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งอย่ า ง

ตามข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท ได้ กํ า หนดกรรมการผู้ มี อํ า นาจลงนาม

ครอบคลุม และดูแลให้ผู้บริหารมีระบบ หรือกระบวนการ

แทนบริษัท ซึ่ง ณ วันที่ 6 มีนาคม 2560 (ปัจจุบัน) ประกอบด้วย

ที่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการความเสี่ยง

(1) นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการ

ดู แ ลให้ มี ร ะบบหรื อ กลไกการจ่ า ยค่ า ตอบแทนผู้ บ ริ ห าร

ผู้จัดการใหญ่ลงลายมือชื่อและประทับตราสําคัญของบริษัท หรือ

ระดับสูงที่เหมาะสม เพื่อก่อให้เกิดแรงจูงใจทั้งในระยะสั้น

(2) นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์

และระยะยาว

นายดอน วสั น ตพฤกษ์ กรรมการสองในสามคนลงลายมื อ ชื่ อ

ทํ า การประเมิ น ผลงานของประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร

ร่วมกันและประทับตราสําคัญของบริษัท

และกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ และกํ า หนดค่ า ตอบแทน ให้สอดคล้องกับผลการดําเนินงาน •

และผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทอย่างเหมาะสม •

ให้มีการเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ชัดเจน โปร่งใส น่าเชื่อถือ และมีมาตรฐานสูง

การแตงตั้งและการถอดถอนกรรมการบริษัท

ดู แ ลให้ มี ช่ อ งทางในการสื่ อ สารกั บ ผู้ ถื อ หุ้ น แต่ ล ะกลุ่ ม

เป็นผู้นําและเป็นตัวอย่างในการปฏิบัติงานที่ดี

1. กรรมการของบริษัทเลือกตั้งโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยมี จํานวนไม่น้อยกว่า 5 คน และไม่เกิน 15 คน และมีกรรมการที่เป็น อิสระไม่นอ ้ ยกว่า 3 คน ซึง่ กรรมการไม่นอ ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจํานวน กรรมการทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร และกรรมการ บริษัทอย่างน้อย 1 คน ต้องเป็นผู้มีความรู้ด้านบัญชีและการเงิน

นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั มีอาํ นาจดําเนินการ เพิ่มเติมดังนี้

โดยกรรมการต้องมีคณ ุ สมบัตต ิ ามทีก ่ ฎหมายและข้อบังคับกําหนด ทั้งนี้ ตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมา คณะกรรมการ ปตท. ได้มีมติ เห็นชอบให้กา ํ หนดสัดส่วนกรรมการทีเ่ ป็นอิสระเพิม ่ เป็นไม่นอ ้ ยกว่า

อํ า นาจอนุ มั ติ ก ารนํ า เงิ น ไปลงทุ น ระยะยาวต่ า ง ๆ เช่ น การลงทุนในหุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ พันธบัตร หุ้นกู้ และ ใบสําคัญแสดงสิทธิ (Warrant) หรือตราสารทางการเงินอืน ่

อํ า นาจอนุ มั ติ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น ทางการเงิ น แก่ บ ริ ษั ท ที่ ปตท. ถือหุน ้ ในรูปแบบการให้เงินทุน ทัง้ ในรูปหุน ้ สามัญ หุ้ น บุ ริ ม สิ ท ธิ การให้ กู้ ยื ม เงิ น หรื อ การให้ ก ารสนั บ สนุ น ทางการเงินในรูปแบบอื่น ๆ ตามความเหมาะสม

อนุมัติการก่อหนี้ของ ปตท. รวมถึงการออกตราสารหนี้ ต่าง ๆ เช่น หุ้นกู้ (Debenture)

พิจารณางบประมาณประจําปี

อนุมต ั ิจด ั หาพัสดุ รวมถึงการอนุมต ั ิเรือ ่ งต่าง ๆ ทีเ่ กีย ่ วข้อง กับการจัดหาพัสดุ ในวงเงินส่วนที่เกินอํานาจกรรมการ ผู้จัดการใหญ่

ให้ความเห็นชอบการบรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย หรือเลื่อน ระดั บ พนั ก งานระดั บ รองกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ห รื อ เทียบเท่าขึ้นไป

แต่งตั้งเลขานุการบริษัท

กึ่งหนึ่ง และถือปฏิบัติต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 มีกรรมการอิสระ 12 คน โดยกรรมการทั้งหมดมีถิ่นที่อยู่ ในประเทศไทย และมีกรรมการผู้มีความเชี่ยวชาญ ความรู้ และ มีประสบการณ์ด้านบัญชีการเงิน 7 คน คือ นายสมชัย สัจจพงษ์ นายสมศักดิ์ โชติรต ั นะศิริ นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ นายวิชัย อัศรัสกร นายบุญทักษ์ หวังเจริญ และ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช 2. ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการ ซึ่งคณะกรรมการ สรรหาเป็นผู้คัดเลือกและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ต่อคณะกรรมการ ปตท. ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ ถื อ หุ้ น รายหนึ่ ง มี ค ะแนนเสี ย งเท่ า กั บ จํ า นวนหุ้ น ที่ตนถือ (2) ผูถ ้ อ ื หุน ้ แต่ละรายจะใช้คะแนนเสียงทีม ่ อ ี ยูท ่ งั้ หมดตาม (1) เลือกตัง้ บุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการ ก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผใู้ ดมากน้อยเพียงใด ไม่ได้ (3) บุคคลซึง่ ได้รบ ั คะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเป็น ผูไ้ ด้รบ ั การเลือกตัง้ เป็นกรรมการเท่าจํานวนกรรมการ ที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น (4) ในกรณีทบ ี่ ค ุ คลซึง่ ได้รบ ั การเลือกตัง้ ในลําดับถัดลงมา มีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมี หรื อ จะพึ ง เลื อ กตั้ ง ในครั้ ง นั้ น ให้ ผู้ เ ป็ น ประธานในที่ ประชุมนั้นเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

3. ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปีทุกครั้ง ให้กรรมการ

โครงสร้างการจัดการ

ออกจากตํ า แหน่ ง ตามวาระหนึ่ ง ในสามเป็ น อั ต รา ถ้ า จํ า นวน กรรมการที่ จ ะแบ่ ง ออกให้ ต รงเป็ น สามส่ ว นไม่ ไ ด้ ก็ ใ ห้ อ อกโดย

ไม่เป็นผูด ้ า ํ รงตําแหน่งใดในพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ ของพรรคการเมือง

ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากงาน เพราะ ทุจริตต่อหน้าที่

ให้ ก รรมการจั บ สลากกั น ว่ า ผู้ ใ ดจะออก ส่ ว นในปี ที่ ส ามและปี หลัง ๆ ต่อไป ให้กรรมการคนที่อยู่ในตําแหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออก

ไม่เป็นข้าราชการการเมือง เว้นแต่เป็นการดํารงตําแหน่ง กรรมการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

จํ า นวนใกล้ ที่ สุ ด กั บ ส่ ว นหนึ่ ง ในสาม กรรมการที่ จ ะต้ อ งออก จากตําแหน่งในปีแรกและปีที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น

127

จากตําแหน่ง

ไม่ เ ป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น ของรั ฐ วิ ส าหกิ จ นั้ น หรื อ ผู้ ถื อ หุ้ น ของ นิติบุคคลที่รัฐวิสาหกิจนั้นถือหุ้น (ยกเว้น กรรมการของ

4. ในกรณีตําแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจาก

รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ ไ ม่ เ ป็ น ข้ า ราชการ พนั ก งาน หรื อ ลู ก จ้ า ง

ถึ ง คราวออกจากตามวาระ คณะกรรมการอาจเลื อ กตั้ ง บุ ค คล

ที่มีตําแหน่ง หรือเงินเดือนประจําตําแหน่งของราชการ

ซึง่ มีคณ ุ สมบัตแ ิ ละไม่มล ี ก ั ษณะต้องห้ามตามข้อบังคับบริษท ั เข้าเป็น

ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่น

กรรมการแทนในตําแหน่งทีว ่ า ่ งในการประชุมคณะกรรมการ ปตท.

ของรัฐ และกรรมการของรัฐวิสาหกิจนั้นถือหุ้นไม่เกินกว่า

คราวถัดไปก็ได้ เว้นแต่วาระของกรรมการที่พ้นจากตําแหน่งจะ

ร้อยละ 0.5 ของทุนชําระแล้วของรัฐวิสาหกิจซึ่งตนเป็น

เหลือน้อยกว่า 2 เดือน โดยคณะกรรมการต้องมีคะแนนเสียงแต่ง

กรรมการหรือนิติบุคคลที่รัฐวิสาหกิจซึ่งตนเป็นกรรมการ

ตั้งไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ ทั้งนี้

ถือหุ้นอยู่)

บุคคลทีเ่ ข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยูใ่ นตําแหน่งกรรมการ

ได้เพียงเท่าวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน

เป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น เว้ น แต่ ค ณะกรรมการของรั ฐ วิ ส าหกิ จ นั้ น

5. กรรมการคนใดจะลาออกจากตําแหน่ง ให้ยื่นใบลาออก

มอบหมายให้ดํารงตําแหน่งกรรมการหรือดํารงตําแหน่ง

ต่อบริษัท การลาออกมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึงบริษัท 6. ในการลงมติ ใ ห้ ก รรมการคนใดออกจากตํ า แหน่ ง ก่ อ น

ไม่ เ ป็ น ผู้ ดํ า รงตํ า แหน่ ง ใดในนิ ติ บุ ค คลที่ รั ฐ วิ ส าหกิ จ นั้ น

อื่นในนิติบุคคลที่รัฐวิสาหกิจนั้นเป็นผู้ถือหุ้น •

้ ริหาร หรือผูม ้ อ ี า ํ นาจในการจัดการ ไม่เป็นกรรมการ หรือผูบ

ถึงคราวออกตามวาระ ให้ถือคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่

หรื อ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ในนิ ติ บุ ค คลซึ่ ง เป็ น ผู้ รั บ สั ม ปทาน

ของจํ า นวนผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ม าประชุ ม และมี สิ ท ธิ อ อกเสี ย ง และมี หุ้ น

ผู้ร่วมทุน หรือมีประโยชน์ได้เสียเกี่ยวข้องกับกิจการของ

นับรวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้น

รัฐวิสาหกิจนั้น เว้นแต่เป็นประธานกรรมการ กรรมการ

ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน

หรือผู้บริหารโดยการมอบหมายของรัฐวิสาหกิจนั้น โดยตั้งแต่ปี 2556 ในคู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดีฯ ฉบับ

คุณสมบัติของกรรมการ

ปรับปรุงครั้งที่ 3 รวมถึงฉบับปรับปรุงครั้งที่ 4 ได้กําหนดเรื่อง การดํารงตําแหน่งของกรรมการดังนี้

มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชน จํากัด พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสําหรับ กรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 (ปรับปรุงเพิ่มเติม) และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง อาทิ •

มีอายุไม่เกิน 65 ปีบริบูรณ์

ไม่เป็นกรรมการในรัฐวิสาหกิจหรือนิติบค ุ คลทีร่ ฐ ั วิสาหกิจ เป็นผู้ถือหุ้นเกินกว่า 3 แห่ง ทั้งนี้นับรวมการเป็นกรรมการ โดยตําแหน่งและการได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการ แทนในตําแหน่งกรรมการด้วย

กรรมการอิสระต้องมีคุณสมบัติเกี่ยวกับความเป็นอิสระ ตามประกาศตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย เรื่ อ ง คุณสมบัติและขอบเขตการดําเนินงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบ

ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดที่ได้กระทําโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ

1. ดํารงตําแหน่งกรรมการในรัฐวิสาหกิจและ/หรือนิติบุคคล ที่รัฐวิสาหกิจเป็นผู้ถือหุ้นได้ไม่เกิน 3 แห่ง 2. ดํ า รงตํ า แหน่ ง กรรมการในบริ ษั ท จดทะเบี ย นในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ไม่เกิน 5 แห่ง ทัง้ นีก ้ ารดํารงตําแหน่ง กรรมการตามความในข้อ 2 นี้ จะต้องไม่ขัดต่อหลักเกณฑ์ในข้อ 1 ด้วย ทั้งนี้การดํารงตําแหน่งกรรมการตามความในข้อ 1 และข้อ 2 รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 5 แห่ง 3. กรรมการอิสระและกรรมการเฉพาะเรื่องไม่สามารถดํารง ตําแหน่งเกิน 9 ปีต่อเนื่อง อีกทั้ง ปตท. กํากับดูแลให้มีบุคคลในบัญชีรายชื่อกรรมการ ที่กระทรวงการคลังจัดทําขึ้น (Director’s Pool) ไม่น้อยกว่าหนึ่ง ในสามของจํานวนกรรมการทัง้ หมด เพือ ่ เป็นไปตามกฎหมายด้วย โดย ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 กรรมการ ปตท. รวม 15 ท่าน เป็นกรรมการอยู่ในบัญชีรายชื่อ Director’s Pool จํานวน 10 ท่าน


128

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

การประชุมของคณะกรรมการ ปตท.

ทัง้ นีก ้ ารบันทึกรายงานการประชุมแต่ละวาระสําหรับการจัดทํา รายงานการประชุ ม จะประกอบด้ ว ยข้ อ คิ ด เห็ น / ข้ อ สั ง เกต

ปตท. มีการกําหนดการประชุมคณะกรรมการ ปตท. ไว้อย่าง

เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร และจั ด เก็ บ รายงานการประชุ ม ที่ ผ่ า น

เป็นทางการล่วงหน้าตลอดปี โดยในปี 2560 กําหนดการประชุม

การรับรองแล้วจากคณะกรรมการ ปตท. เพื่อให้กรรมการและ

เดือนละ 1 ครั้งในทุกวันศุกร์ สัปดาห์ที่สามของเดือน และอาจ

ผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบได้ ทั้งนี้การประชุมคณะกรรมการ ปตท.

มีการประชุมวาระพิเศษเฉพาะคราวเพิ่มเติมตามความเหมาะสม

แต่ละครั้งใช้เวลาประชุมประมาณ 3 ชั่วโมง

ซึง่ สํานักกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่และเลขานุการบริษท ั จะส่งหนังสือ

ปี 2560 มีการประชุมรวม 13 ครั้ง เป็นการประชุมนัดปกติ

เชิญประชุม ระเบียบวาระการประชุมที่มีรายละเอียดและเหตุผล

12 ครั้ง และการประชุมนัดพิเศษ 1 ครั้ง โดยการประชุมนัดพิเศษ

ครบถ้ ว น และเอกสารประกอบการประชุ ม ที่ มี เ นื้ อ หาที่ จํ า เป็ น

เป็นวาระการกําหนด/ ทบทวน/ อนุมต ั ิ วิสย ั ทัศน์และภารกิจ ทิศทาง

และเพี ย งพอในการตั ด สิ น ใจ ให้ ก รรมการแต่ ล ะท่ า นล่ ว งหน้ า

และกลยุทธ์การดําเนินธุรกิจกลุ่ม ปตท. (5 ปี Rolling) ซึ่งจัดขึ้น

ก่อนการประชุมประมาณ 7 วัน เพื่อให้กรรมการมีเวลาเพียงพอ

เป็นประจําทุกปี โดยในปี 2560 ที่ผ่านมา คณะกรรมการและ

ในการศึกษาก่อนการประชุม

ผูบ ้ ริหารได้มส ี ว ่ นร่วมในการพิจารณาทบทวน วิสย ั ทัศน์และภารกิจ

ตั้ ง แต่ ปี 2547 การประชุ ม คณะกรรมการ ปตท. ได้ จั ด ใน

และอนุมต ั ท ิ ศ ิ ทางและกลยุทธ์การดําเนินธุรกิจของกลุม ่ ปตท. เพือ ่

รูปแบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ มีการส่งระเบียบวาระการประชุม

ใช้เป็นกรอบและแนวทางให้หน่วยธุรกิจ บริษัทย่อย บริษัทร่วมใช้

ในรู ป แบบแผ่ น CD และตั้ ง แต่ ปี 2556 ได้ มี ก ารพั ฒ นาผ่ า น

ในการจัดทําแผนวิสาหกิจและงบประมาณประจําปี 2561 - 2565

ระบบ Application Software ของอุปกรณ์ iPad ซึ่งช่วยอํานวย

นอกจากนี้ มีการประชุมกรรมการโดยไม่มีผู้บริหาร 1 ครั้ง เพื่อ

ความสะดวกและลดการใช้เอกสารประกอบวาระการประชุมได้เป็น

กรรมการได้ อ ภิ ป รายการทํ า งานของฝ่ า ยจั ด การได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่

จํานวนมาก รวมถึงสามารถลดขัน ้ ตอนและระยะเวลาในการจัดส่ง

และการประชุมกรรมการอิสระ 1 ครั้ง ในหัวข้อวาระเรื่อง “Roles

ระเบียบวาระการประชุมได้เป็นอย่างดี สามารถช่วยให้การทํางาน

for Compliance and Ethical Culture Oversight” ซึ่งกรรมการ

้ มูลประกอบการตัดสินใจ ของกรรมการเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีขอ

อิสระได้หารือถึงบทบาทของคณะกรรมการอิสระในส่วนทีเ่ กีย ่ วข้อง

อย่างมีประสิทธิภาพ

กับการกํากับดูแล Compliance และจรรยาบรรณองค์กร ทั้งนี้

นอกจากนี้ ตั้งแต่ปี 2558 คณะกรรมการยังกําหนดให้จัดทํา

ในการประชุมทุกครั้ง ประธานฯ จะเปิดโอกาสให้กรรมการเสนอ

วาระสืบเนือ ่ ง โดยเป็นการรายงานความคืบหน้าของการดําเนินการ

ความคิดเห็นอย่างเปิดเผยและมีอิสระเสรี โดยสรุปการประชุม

ตามวาระทีม ่ านําเสนอคณะกรรมการ และติดตามการดําเนินการ

ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้

ตามข้อสังเกต/ ข้อคิดเห็นของที่ประชุม เพื่อเป็นการติดตามดูแล ให้ มี ก ารนํ า กลยุ ท ธ์ ข องบริ ษั ท ไปปฏิ บั ติ โดยให้ จั ด ทํ า เป็ น วาระ รายงานในที่ประชุมทุกเดือนด้วย คณะกรรมการกําหนดเป็นนโยบายว่าในวาระใดหากกรรมการ เข้าข่ายมีผลประโยชน์ที่อาจขัดแย้งกับผลประโยชน์ของ ปตท. ฝ่ายเลขานุการฯ จะไม่จัดส่งวาระการประชุมให้กรรมการท่านนั้น และกรรมการดั ง กล่ า วจะไม่ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม และงดออกเสี ย ง ในวาระนัน ้ ๆ และในการพิจารณาลงมติในทีป ่ ระชุมคณะกรรมการ จํานวนองค์ประชุมขั้นต่ําจะต้องมีกรรมการอยู่ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมดที่มาประชุม ทั้งนี้ในกรณีองค์ประชุม ไม่ เ ป็ น ไปตามแนวปฏิ บั ติ ดั ง กล่ า ว ขอให้ ถื อ เป็ น ดุ ล ยพิ นิ จ ของ ประธานกรรมการ โดยระบุ น โยบายไว้ ใ นคู่ มื อ การกํ า กั บ ดู แ ล กิจการที่ดีฯ


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

129

โครงสร้างการจัดการ

1/2560

2/2560

3/2560

4/2560

5/2560

6/2560

7/2560

นัดพิเศษ 1/2560

8/2560

9/2560

10/2560

11/2560

12/2560

สรุปการเขาประชุมในป 2560 ของคณะกรรมการบริษัท/ คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง 5 คณะ

1. นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

2. ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

3. พล.อ.ท. บุญสืบ ประสิทธิ์

/

/

/

/

X

/

/

/

/

/

/

/

/

x นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

/

/

ชื่อ

4. นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

แต่งตั้งมีผล

พ้นจากตําแหน่งตั้งแต่วันที่ 20 ก.พ. 2560 เนื่องจากอายุครบ 65 ปีบริบูรณ์ /

/

X

/

/

/

/

/

/

/

/

วันที่ 27 ก.พ. 2560 5. พล.อ. ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

6. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

7. นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

/

/

/

/

X

/

/

/

/

/

/

X

X

8. นายวิชัย อัศรัสกร

/

/

/

/

/

/

/

X

/

/

/

/

/

9. นายธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

X

10. นายสมชัย สัจจพงษ์

/

/

/

/

X

/

/

X

/

/

X

/

/

11. นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

12. นายดอน วสันตพฤกษ์

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

13. นายสมคิด เลิศไพฑูรย์

แต่งตั้งมีผล วันที่ 27 ก.พ. 2560

14. นายธรรมยศ ศรีช่วย

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

15. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/

รวมกรรมการที่เข้าประชุม

14

14

15

15

11

15

15

13

15

15

14

14

13

จํานวนกรรมการทั้งหมด

14

14

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15

15


130

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

สรุปการเขาประชุมในป 2560 ของคณะกรรมการบริษัท/ คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง 5 คณะ การประชุมคณะกรรมการในป 2560 รายชื่อกรรมการ

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ กําหนด กํากับดูแล สรรหา ปตท. ตรวจสอบ คาตอบแทน กิจการที่ดี รวม 3 ครั้ง รวม 13 ครั้ง รวม 17 ครั้ง รวม 3 ครั้ง 5 ครั้ง

1. นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

13/13

2. ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์

13/13

คณะกรรมการ บริหารความ เสี่ยงองคกร รวม 5 ครั้ง

การดํารงตําแหนง กรรมการระหวางป -

17/17

-

กิตยารักษ์ 3. พล.อ.ท. บุญสืบ ประสิทธิ์

12/13

4. นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

10/11

3/3

1/1

27 ก.พ. 2560 (แทนนายประเสริฐ บุญสัมพันธ์)

5. พล.อ. ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

13/13

5/5

-

6. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

13/13

7. นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

10/13

15/17

-

8. นายวิชัย อัศรัสกร

12/13

17/17

-

9. นายธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์

12/13

3/3

5/5

5/5

3/3

-

-

10. นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

13/13

2/3

-

11. นายสมชัย สัจจพงษ์

10/13

3/3

-

12. นายดอน วสันตพฤกษ์

13/13

13. นายสมคิด เลิศไพฑูรย์

11/11

5/5

4/4

27 ก.พ. 2560 (แทนนายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม)

14. นายธรรมยศ ศรีช่วย

13/13

15. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

13/13

5/5

-


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

131

สรุปการเขาประชุมของกรรมการครบวาระ/ ลาออก ระหวางป 2560 (รวม 1 ทาน) การประชุมคณะกรรมการในป 2560 รายชื่อกรรมการ

นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ กําหนด กํากับดูแล สรรหา ปตท. ตรวจสอบ คาตอบแทน กิจการที่ดี รวม 3 ครั้ง รวม 13 ครั้ง รวม 17 ครั้ง รวม 3 ครั้ง 5 ครั้ง 2/2

คณะกรรมการ บริหารความ เสี่ยงองคกร รวม 5 ครั้ง

2/2

การดํารงตําแหนง กรรมการระหวางป พ้นจากการดํารง ตําแหน่งเนื่องจาก อายุครบ 65 ปี บริบูรณ์ มีผลตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ 2560

หมายเหตุ: ในปี 2560 มีการประชุมคณะกรรมการ ปตท. รวม 13 ครั้ง เป็นการประชุมตามปกติ 12 ครั้ง และประชุมนัดพิเศษ 1 ครั้ง * สาเหตุสว ่ นใหญ่ทก ี่ รรมการไม่สามารถเข้าร่วมประชุม เนือ ่ งจากติดไปต่างประเทศและติดราชการ โดยกรรมการจะแจ้งการลาล่วงหน้า และส่งหนังสือลาประชุม ให้กับประธานกรรมการ

ผูบริหาร รายชื่อผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 (โครงสร้างการจัดการ บริษท ั ปตท. จํากัด (มหาชน) (organization chart) ได้รายงานในหัวข้อ “ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ” แล้ว)

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

1. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

2. นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ

3. นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์1/

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย และรักษาการแทนรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย อีกหน้าที่หนึ่ง

4. นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร2/

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานและบริหารความยั่งยืน (ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 ปรับเปลี่ยนชื่อตําแหน่งเป็น ประธานเจ้าหน้าที่เทคโนโลยีและวิศวกรรม)

5. นางนิธิมา เทพวนังกูร 6. นายกฤษณ์ อิ่มแสง

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ทรัพยากรบุคคลและศักยภาพองค์กร (ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 ปรับเปลี่ยนชื่อตําแหน่งเป็น รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารองค์กรและความยั่งยืน)

7. นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลยุทธ์องค์กร


132

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนง

8. นายนพดล ปิ่นสุภา

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ

9. นางสาวจิราพร ขาวสวัสดิ์3/

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจน้ํามัน

10. นางบุบผา อมรเกียรติขจร

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

11. นายวิทวัส สวัสดิ์-ชูโต

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารความยั่งยืนและวิศวกรรมโครงการ (ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 ปรับเปลี่ยนชื่อตําแหน่งเป็น รองกรรมการผู้จัดการใหญ่นวัตกรรมและดิจิตอล)

12. นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ4/

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ด้านรัฐกิจสัมพันธ์

13. น.ส.เพียงพนอ บุญกล่ํา5/

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักกฎหมาย

14. นายสมพร ว่องวุฒิพรชัย6/

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

15. นายอธิคม เติบศิริ

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)

16. นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)

17. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน)

18. นายเติมชัย บุนนาค7/

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด (มหาชน)

19. นายสัมฤทธิ์ สําเนียง

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลยุทธ์และบริหารการเงินองค์กร

20. น.ส.วิไลวรรณ กาญจนกันติ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ นโยบายการเงินและบัญชีองค์กร

21. นายเชียรวิทย์ อุดมวัฒน์วงศ์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ศูนย์บริการงานบัญชี

หมายเหตุ: รายชื่อ 1 - 5 คือผู้บริหารของบริษัท ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. 1/

แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2560 แทนนายสรัญ รังคสิริ ซึ่งเกษียณอายุ

2/

แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2560 แทนนายชวลิต พันธ์ทอง ซึ่งเกษียณอายุ

3/

แต่งตัง้ เมือ ่ วันที่ 1 ตุลาคม 2560 แทนนายอรรถพล ฤกษ์พิบล ู ย์ ซึง่ ไปดํารงตําแหน่งประธานเจ้าหน้าทีป ่ ฏิบต ั ก ิ าร กลุม ่ ธุรกิจปิโตรเลียมขัน ้ ปลาย และรักษาการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย

4/

แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2560

5/

แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2560 แทนนายสุพจน์ เหล่าสุอาภา ซึง่ เกษียณอายุ

6/

เปลี่ยนแปลงตําแหน่งเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 เนื่องจากการปรับโครงสร้างองค์กรของบริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

7/

แต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2560


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

อํานาจหนาที่ของประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ (กรรมการผูจัดการใหญ)

โครงสร้างการจัดการ

133

คณะกรรมการ ปตท. ได้ ม อบอํ า นาจในการบริ ห ารจั ด การ บริษท ั ให้กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ โดยมีหลักการและขอบเขตอํานาจ ดังต่อไปนี้ •

เป็ น ผู้ มี อํ า นาจในการบริ ห ารกิ จ การของบริ ษั ท ตาม วั ต ถุ ป ระสงค์ ข้ อ บั ง คั บ นโยบาย ระเบี ย บ ข้ อ กํ า หนด

ตามข้อบังคับของบริษัท กรรมการผู้จัดการใหญ่มีอํานาจและ

คําสัง่ และมติทป ี่ ระชุมคณะกรรมการ และ/หรือมติทป ี่ ระชุม

หน้าที่เกี่ยวกับการบริหารบริษัท ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย และจะต้ อ งบริ ห ารบริ ษั ท ตามแผนงานหรื อ งบประมาณที่ ไ ด้ รั บ

ผู้ถือหุ้นของบริษัททุกประการ •

เป็นผูม ้ อ ี า ํ นาจในการบังคับบัญชา ติดต่อ สัง่ การ ดําเนินการ

อนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการอย่ า งเคร่ ง ครั ด ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต และ

ตลอดจนเข้าลงนามในนิติกรรม สัญญา เอกสารคําสั่ง

ระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้นอย่างดีที่สุด

หนั ง สื อ แจ้ ง หรื อ หนั ง สื อ ใด ๆ ที่ ใ ช้ ติ ด ต่ อ กั บ หน่ ว ยงาน

อํานาจหน้าทีข ่ องกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ให้รวมถึงเรือ ่ งหรือกิจการ

ราชการ รัฐวิสาหกิจ และบุคคลอื่น ตลอดจนให้มีอํานาจ

ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ด้วย

กระทําการใด ๆ ทีจ ่ า ํ เป็นและสมควร เพือ ่ ให้การดําเนินการ

ดําเนินกิจการ และ/หรือบริหารงานประจําวันของบริษัท

บรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน โยกย้าย เลื่อน ลด ตัดเงินเดือน

ข้างต้นสําเร็จลุล่วงไป •

หรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินย ั พนักงานและลูกจ้าง ตลอดจน

เป็ น ผู้ มี อํ า นาจในการบั ง คั บ บั ญ ชาพนั ก งานและลู ก จ้ า ง ทุกตําแหน่ง รวมถึงการบรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน เลื่อน

ให้ พ นั ก งานและลู ก จ้ า งออกจากตํ า แหน่ ง ตามระเบี ย บ

ลด ตัดเงินเดือนหรือค่าจ้าง ลงโทษทางวินัย ตลอดจน

ที่คณะกรรมการกําหนด

ให้ออกจากตําแหน่งตามระเบียบ ข้อกําหนดหรือคําสั่ง

ดําเนินการให้มีการจัดทําและส่งมอบนโยบายทางธุรกิจ

ที่คณะกรรมการของบริษัทกําหนด แต่ถ้าเป็นพนักงาน

ของบริษท ั รวมถึงแผนงานและงบประมาณต่อคณะกรรมการ

หรือลูกจ้างชั้นที่ปรึกษา รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หรือ

เพือ ่ ขออนุมต ั ิ และมีหน้าทีร่ ายงานความก้าวหน้าตามแผน

ผูด ้ า ํ รงตําแหน่งเทียบเท่าขึน ้ ไปจะต้องได้รบ ั ความเห็นชอบ

และงบประมาณที่ได้รับอนุมัติดังกล่าวต่อคณะกรรมการ

จากคณะกรรมการบริษัทก่อน และให้มีอํานาจกําหนด

ในทุก ๆ 3 เดือน

เงื่อนไขในการทํางานของพนักงานและลูกจ้าง และออก

ดําเนินการหรือปฏิบต ั งิ านให้เป็นไปตามนโยบาย แผนงาน

ระเบียบว่าด้วยการปฏิบัติงานของบริษัท โดยไม่ขัดหรือ

และงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ

แย้งกับระเบียบ ข้อกําหนด หรือคําสั่งที่คณะกรรมการ บริษัทกําหนด •

ให้มีอํานาจในการมอบอํานาจช่วง และ/หรือมอบหมาย ให้บุคคลอื่นปฏิบัติงานเฉพาะอย่างแทนได้ โดยการมอบ อํานาจช่วง และ/หรือการมอบหมายดังกล่าวให้อยู่ภายใต้ ขอบเขตแห่ ง การมอบอํ า นาจตามหนั ง สื อ มอบอํ า นาจ ดังกล่าว และ/หรือให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อกําหนด หรือ คําสัง่ ทีค ่ ณะกรรมการของบริษท ั และ/หรือบริษท ั กําหนดไว้

ทัง้ นี้ การใช้อา ํ นาจของกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ดงั กล่าวข้างต้น ไม่สามารถกระทําได้ หากกรรมการผู้จัดการใหญ่มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะใด ๆ กับบริษท ั ในการใช้อํานาจดังกล่าว โดยในปี 2560 ไม่มีการดําเนินการใด ๆ ที่นอกเหนือขอบเขตอํานาจดังกล่าว


134

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

คณะกรรมการจัดการของ ปตท. ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 ตุ ล าคม 2544 ได้ มี ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการจั ด การของ ปตท. (PTT Management Committee: PTTMC) เพื่อทําหน้าที่บริหารจัดการ ปตท. ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประกอบด้วยผู้บริหาร 14 ตําแหน่ง ดังนี้

ชื่อตําแหนง

ตําแหนง

1. ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

ประธานกรรมการ

2. ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ

กรรมการ

3. ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย

กรรมการ

4. ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานและบริหารความยั่งยืน

กรรมการ

(ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 ปรับเปลี่ยนชื่อตําแหน่งเป็นประธานเจ้าหน้าที่เทคโนโลยี และวิศวกรรม) 5. ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน

กรรมการ

6. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ทรัพยากรบุคคลและศักยภาพองค์กร

กรรมการ

(ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 ปรับเปลี่ยนชื่อตําแหน่งเป็นรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารองค์กรและความยั่งยืน) 7. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ

กรรมการ

8. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจน้ํามัน

กรรมการ

9. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย

กรรมการ

10. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

กรรมการ

11. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารความยั่งยืนและวิศวกรรมโครงการ

กรรมการ

(ณ วันที่ 1 มกราคม 2561 ปรับเปลี่ยนชื่อตําแหน่งเป็นรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ นวัตกรรมและดิจิตอล) 12. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ด้านรัฐกิจสัมพันธ์

กรรมการ

13. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักกฎหมาย

กรรมการ

14. รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลยุทธ์องค์กร

กรรมการและเลขานุการ

โดยมีผู้จัดการฝ่ายสํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัท เป็นผู้ช่วยเลขานุการ คณะกรรมการจัดการฯ มีกําหนดการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง โดยในปี 2560 มีการประชุมรวม 45 ครั้ง (นัดปกติ 42 ครั้ง และนัดพิเศษ 3 ครั้ง)


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

หนาที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการจัดการของ ปตท.

โครงสร้างการจัดการ

ให้คําปรึกษาและข้อเสนอแนะต่อประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ขั้นปลาย •

ผลการดําเนินงาน แผนการลงทุน งบประมาณ การจัดสรรทรัพยากร

การติ ด ตามความคื บ หน้ า และผลการดํ า เนิ น งานของ กลุ่ม ปตท. เทียบกับเป้าหมายที่กําหนด (PA & KPIs)

ให้ เ กิ ด ระบบการทํ า งานของบริ ษั ท ที่ ปตท. ถื อ หุ้ น ให้ เ ป็ น ไป ในแนวทางเดี ย วกั น ให้ ร วมถึ ง การให้ คํ า ปรึ ก ษา ข้ อ เสนอแนะ

การหาข้อยุติร่วมในประเด็นข้อขัดแย้งที่สําคัญระหว่าง กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเลี ย มขั้ น ต้ น และกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเลี ย ม

และกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ ในการตัดสินใจในประเด็นทีส ่ า ํ คัญต่อ

ให้ กั บ ปตท. และบริ ษั ท ที่ ปตท. ถื อ หุ้ น รวมทั้ ง บริ ห ารจั ด การ

การจัดลําดับความสําคัญในการจัดสรรทรัพยากรบุคคล และการเงินให้แก่ ปตท. และบริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น

กลยุทธ์ ทิศทางการดําเนินธุรกิจ แผนการดําเนินงานในระยะยาว

135

การพิจารณากลัน ่ กรองการบริหารความเสีย ่ งในการดําเนิน ธุรกิจของกลุ่ม ปตท.

ผลักดัน และส่งเสริมการดําเนินงานในเรื่องดังต่อไปนี้

การกลั่ น กรองระเบี ย บวาระการประชุ ม ก่ อ นนํ า เสนอ คณะกรรมการ ปตท.

การกําหนดวิสัยทัศน์และภารกิจหลักของกลุ่ม ปตท.

การกําหนดทิศทางกลยุทธ์องค์กรและเป้าหมายการดําเนิน

คณะกรรมการ ปตท. เพื่อนําไปสู่การดําเนินการอย่าง

ธุ ร กิ จ ของกลุ่ ม ปตท. ตลอดจนผลการดํ า เนิ น งานของ

มีประสิทธิผล

กลุ่มธุรกิจและกลุ่ม ปตท. โดยรวม •

การพิจารณากลัน ่ กรองถึงโครงสร้างการจัดสรรงบประมาณ และทรัพยากร เพือ ่ การลงทุนและการสนับสนุนการดําเนิน ธุรกิจของ ปตท. และกลุ่ม ปตท. (PTT Group’s Capital

การจั ด ลํ า ดั บ ความสํ า คั ญ ของผลการตั ด สิ น ใจของ

การแต่ ง ตั้ ง คณะอนุ ก รรมการ และ/หรื อ คณะทํ า งาน เพื่อช่วยปฏิบัติงานของคณะกรรมการฯ

ปฏิบต ั งิ านอืน ่ ตามทีป ่ ระธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่มอบหมาย

Allocation Structure) • • •

การพิจารณากลั่นกรองการบริหารการลงทุนของ ปตท.

ให้การบริหารจัดการกลุ่ม ปตท. เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ

การพิจารณากลั่นกรองและติดตามการขยายการลงทุน

่ ให้บรรลุผล สามารถผลักดันกลยุทธ์ และการดําเนินธุรกิจภายในกลุม

ในต่างประเทศของกลุ่ม ปตท.

ตามเป้ า หมายได้ ปตท. ได้ มี จั ด แบ่ ง กลุ่ ม ของคณะกรรมการ

การกํ า หนดนโยบาย/ การตั ด สิ น ใจด้ า นการบริ ห าร

เป็น 3 ประเภทหลัก ประกอบด้วย

ทรั พ ยากรบุ ค คล การเตรี ย มความพร้ อ มและพั ฒ นา ผู้บริหารของกลุ่ม ปตท. ตั้งแต่ระดับ 14 ขึ้นไป ให้เป็น ระบบและมีประสิทธิภาพ เพือ ่ รองรับภารกิจของกลุม ่ ปตท. ในอนาคต (Leadership Affiliation & Alignment Program) •

ก า ร พิ จ า ร ณ า ก ลั่ น ก ร อ ง แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น เ กี่ ย ว กั บ มาตรฐาน/ การสร้ า งกลไกการบริ ห ารจั ด การ ระบบ ทรัพยากรบุคคล ระบบข้อมูล รวมทั้งโครงสร้างองค์กร ใน ปตท. และกลุ่ ม ปตท. เพื่ อ ก้ า วไปสู่ อ งค์ ก รแห่ ง ความเป็นเลิศอย่างยั่งยืน

นอกจากคณะกรรมการจัดการของ ปตท. ตามข้างต้น เพื่อ

และกลุ่ม ปตท. (PTT Group’s Portfolio Management)

การพิจารณา กลั่นกรอง กําหนดนโยบายและหลักการ การกํากับดูแลแบบกลุ่ม ปตท. (PTT Way of Conduct) รวมทั้ ง ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด ผลในทางปฏิ บั ติ ต ามแนวทาง ที่กําหนดไว้

1. คณะกรรมการผลักดันกลยุทธองคกร (Strategy Committees) ประกอบด้วย 1.1 คณะกรรมการจั ด การกลุ่ ม ปตท. (PTT Group Management Committee: PTTGMC) 1.2 คณะกรรมการจัดการของ ปตท. (PTT Management Committee: PTTMC) (ที่กล่าวข้างต้น)


136

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

2. คณะกรรมการประสานและตัดสินใจระหวางธุรกิจ (Coordination Committees) ประกอบด้วย

3. คณะกรรมการบริหารองคกร (Support Committees) ประกอบด้วย

2.1 คณะกรรมการบริหารความร่วมมือของกลุ่มธุรกิจ

3.1 คณะกรรมการแผนวิสาหกิจและบริหารความเสี่ยง

ปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ (Upstream &

(Corporate Plan and Risk Management

Gas Business Group Alignment & Coordination

Committee: CPRC)

Management Committee: UAC) 2.2 คณะกรรมการบริหารความร่วมมือของกลุ่มธุรกิจ ปิโตรเลียมขัน ้ ปลาย (Downstream Business Group Alignment & Coordination Committee: DAC) 2.3 คณะกรรมการบริหารความร่วมมือของกลุ่มธุรกิจ โครงสร้างพืน ้ ฐานและบริหารความยัง่ ยืน (Infrastructure & Sustainability Management Business Group Alignment & Coordination Committee: IAC)

3.2 คณะกรรมการบริหารความร่วมมือของกลุม ่ ทรัพยากร บุคคล (Human Resources Group Alignment & Coordination Management Committee: HRAC) 3.3 คณะกรรมการบริหารความร่วมมือของกลุ่มการเงิน และบัญชี (Finance & Accounting Group Alignment & Coordination Management Committee: FAAC) 3.4 คณะกรรมการจัดการความรูก ้ ลุม ่ ปตท. (PTT Group KM Committee)

2.4 คณะกรรมการบริ ห ารความร่ ว มมื อ เทคโนโลยี

3.5 คณะกรรมการบริ ห ารจั ด การด้ า นการตรวจสอบ

กลุ่ม ปตท. (Technology Alignment Committee:

ภายในกลุ่ ม ปตท. (PTT Group Internal Audit

TAC) 2.5 คณะกรรมการบริหารความร่วมมือการดําเนินธุรกิจ อย่างยั่งยืนกลุ่ม ปตท. (Sustainability Alignment Committee: SAC) 2.6 คณะกรรมการแผนกลยุทธ์ธรุ กิจก๊าซธรรมชาติ (Gas Business Strategic Alignment Committee: GBSC) 2.7 คณะกรรมการแผนกลยุทธ์ธรุ กิจน้า ํ มัน (Oil Business Strategic Alignment Committee: OBSC)

Management Committee) 3.6 คณะกรรมการดิจต ิ อลกลุม ่ ปตท. (PTT Group Digital Steering Committee) 3.7 คณะกรรมการนโยบายและการจั ด หาเชิ ง กลยุ ท ธ์ ระหว่างบริษัทในกลุ่ม ปตท. (PTT Group Policy & Strategic Sourcing Committee) 3.8 คณะกรรมการนโยบาย คุ ณ ภาพ ความมั่ น คง ความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสิ่ ง แวดล้ อ ม

2.8 คณะกรรมการแผนกลยุ ท ธ์ ธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเคมี แ ละ

กลุ่ม ปตท. (PTT Group Quality, Security, Safety,

การกลั่น (Petrochemicals & Refining Business

Health, and Environment Management

Strategic Alignment Committee: PRSC)

Committee: QSHEGMC)

2.9 คณะกรรมการแผนกลยุ ท ธ์ ธุ ร กิ จ การค้ า ระหว่ า ง ประเทศ (Trading Business Strategic Alignment Committee: TBSC) 2.10 คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ ง หน่วยธุรกิจการค้า ระหว่ า งประเทศ (Trading Risk Manangement Committee: TRMC)

3.9 คณะกรรมการกํากับดูแลแบรนด์บริษัทกลุ่ม ปตท. (PTT Group Brand Equity Optimization Committee) 3.10 คณะกรรมการ Operational Excellence กลุ่ม ปตท. (PTT Group Operational Excellence Committee) 3.11 คณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ก ลุ่ ม ปตท. (PTT Group Corporate Governance Committee) 3.12 คณะกรรมการนโยบายความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม กลุ่ม ปตท. (PTT Group CSR Committee)


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

137

เลขานุการบริษัท เพื่อให้เป็นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียนในหมวดความรับผิดชอบของคณะกรรมการ และตาม ข้อกําหนดของพระราชบัญญัตห ิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการ ปตท. จึงได้แต่งตัง้ เลขานุการบริษท ั ขึน ้ โดยมีภาระหน้าที่ ในการให้คา ํ แนะนําด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ตา ่ ง ๆ ทีค ่ ณะกรรมการต้องทราบและปฏิบต ั ิ การจัดการประชุม รวมทัง้ ดูแลกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะกรรมการ เพือ ่ ให้กรรมการสามารถปฏิบต ั ห ิ น้าทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อ ปตท. รวมทั้งการจัดทําและเก็บรักษาเอกสาร อาทิ ทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานประจําปีของบริษท ั หนังสือนัดประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ รายงานการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ และเก็บรักษารายงานการมีสว ่ นได้เสียทีร่ ายงาน โดยกรรมการหรือผู้บริหาร โดยคณะกรรมการฯ ได้แต่งตัง้ เลขานุการบริษท ั ตัง้ แต่ปี 2551 มาเป็นลําดับ จนถึงปัจจุบน ั ได้แต่งตัง้ นางวันทนีย์ จารึก ซึง่ ดํารงตําแหน่ง ผูจ ้ ด ั การฝ่ายสํานักกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่และเลขานุการบริษท ั และปฏิบต ั ห ิ น้าทีเ่ ป็นเลขานุการบริษท ั ตัง้ แต่วน ั ที่ 1 ธันวาคม 2556 เป็นต้นมา

ประวัติเลขานุการบริษัท นางวันทนีย จารึก เลขานุการบริษัท (ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2556 - ปัจจุบัน)

อายุ 57 ป สัดสวนการถือหุน: ร้อยละ 0.000430

ประวัติการศึกษา

ประสบการณทํางาน

• ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาเยอรมัน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

• 2545 - 2548

• ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (Master of Business Administration) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผู้ชํานาญการ สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการบริษัท ปตท.

• 2549 - 2556

หัวหน้าทีม สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการบริษัท ปตท.

ประวัติการอบรมดานเลขานุการบริษัท

• 2556 - ปัจจุบัน

• หลักสูตร Company Secretary Program (CSP 2/2002),

ผู้จัดการฝ่าย สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการบริษัท ปตท.

Effective Minute Taking (EMT1/2006), Board Reporting Program (BRP 9/2012), Company Reporting Program (CRP 4/2012)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของ: ไม่มี

Anti-Corruption the Practical Guide (ACPG 11/2014), Corporate Governance for Executives (CGE 1/2014)

กิจกรรมพิเศษที่สําคัญ

Director Certification Program (DCP 215/2016),

• กรรมการชมรมเลขานุการบริษัทจดทะเบียนไทย

Ethical Leadership Program (ELP), สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย (IOD) • หลักสูตร TLCA: Executive Development Program (EDP 7) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • หลักสูตร Company Secretaries, Trueeventus ประเทศฟิลป ิ ปินส์ (2013) • หลักสูตร Leadership Development Program ของสถาบัน Centre for Creative Leadership ประเทศสิงคโปร์ (2015) • หลักสูตร Professional Exchange Program จัดโดย The HONG KONG Institute of Chartered Secretaries ประเทศฮ่องกง (2016)

สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • กรรมการในคณะกรรมการบริหารชมรมนักเรียนเก่าเตรียมอุดมศึกษา รุ่นที่ 38

ความสัมพันธระหวางผูบริหาร: ไม่มี


138

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

คาตอบแทนของกรรมการและผูบริหาร ปตท. ได้กา ํ หนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการทีเ่ ป็นธรรมและสมเหตุสมผล มีคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน ทําหน้าทีท ่ บทวน โดยพิจารณาถึงความเหมาะสม และสอดคล้องกับภาระความรับผิดชอบของกรรมการ สถานะทางการเงินของบริษัทและเปรียบเทียบ กั บ บริ ษั ท ในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ ระดั บ เดี ย วกั น โดยกํ า หนดค่ า ตอบแทนเป็ น เบี้ ย ประชุ ม และโบนั ส อนึ่ ง กรรมการที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ เ ป็ น กรรมการในคณะกรรมการเฉพาะเรื่องชุดอื่น ๆ ก็ให้ได้รับค่าตอบแทนเพิ่มตามความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ค่าตอบแทนกรรมการ ได้รบ ั การขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นแล้ว ดังนี้

คาตอบแทนกรรมการ > คาตอบแทนกรรมการ ทีป ่ ระชุมผูถ ้ ือหุน ้ ในการประชุมสามัญผูถ ้ ือหุน ้ ประจําปี 2560 เมือ ่ วันศุกร์ที่ 28 เมษายน 2560 มีมติอนุมต ั ิคา ่ ตอบแทนกรรมการ แยกเป็นดังนี้

1. คาเบี้ยประชุม 1.1

เบี้ยประชุมคณะกรรมการ ปตท. ประกอบด้วย •

เบี้ยกรรมการรายเดือน เดือนละ 30,000 บาท (เท่ากับอัตราเดิม)

เบี้ยประชุม เฉพาะกรรมการที่เข้าประชุมครั้งละ 50,000 บาท (เท่ากับอัตราเดิม) โดยจํากัดการจ่ายเบี้ยประชุม ไม่เกินปีละ 15 ครั้ง

1.2

เบี้ยประชุมคณะกรรมการอื่น ที่คณะกรรมการ ปตท. แต่งตั้ง (จ่ายในอัตราเดิม) ได้แก่ 1.2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ •

เบี้ยกรรมการรายเดือน เดือนละ 15,000 บาท

เบี้ยประชุมครั้งละ 15,000 บาท (เฉพาะกรรมการที่เข้าประชุม) และเลขานุการฯ ได้รับเบี้ยประชุม เดือนละ 7,500 บาท

1.2.2 สําหรับคณะกรรมการอื่น คือ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการ ่ ทีอ ่ าจมีการแต่งตัง้ กํากับดูแลกิจการทีด ่ ี คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ งองค์กร และคณะกรรมการชุดย่อยอืน โดยคณะกรรมการบริษท ั ฯ ตามความจําเป็นและเหมาะสมในอนาคต กําหนดเบีย ้ ประชุมครัง้ ละ 24,000 บาท (เฉพาะกรรมการที่เข้าประชุม) 1.3

ประธานกรรมการของทุกคณะฯ ให้ได้รับสูงกว่ากรรมการ ในอัตราร้อยละ 25

> เงินโบนัสคณะกรรมการ ปตท. ประจําป 2560 (จายในอัตราเดิม) กําหนดค่าตอบแทนที่เป็นเงินโบนัสให้สะท้อนและเชื่อมโยงกับผลประกอบการหรือกําไรสุทธิของ ปตท. ในอัตราเท่ากับร้อยละ 0.05 ของกําไรสุทธิประจําปี 2560 และให้คา ํ นวณจ่ายตามระยะเวลาการดํารงตําแหน่ง แต่กา ํ หนดวงเงินสูงสุดไม่เกิน 3,000,000 บาท ต่อคนต่อปี (เท่ากับอัตราเดิม) และประธานกรรมการ ปตท. ได้รับสูงกว่ากรรมการฯ ในอัตราร้อยละ 25


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

139

คาตอบแทนที่กรรมการไดรับเปนรายบุคคล ป 2560 หนวย: บาท

ลําดับ

รายนาม

โบนัส ป 2560

เบี้ยประชุม กรรมการฯ (รวมเบี้ย รายเดือน)

เบี้ยประชุม กรรมการฯ เฉพาะเรื่อง

รวม คาเบี้ยประชุม

รวม คาตอบแทน

1. นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

365

3,750,000.00

1,262,500.00

-

1,262,500.00

5,012,500.00

2. ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์

365

3,000,000.00

1,010,000.00

543,750.00

1,553,750.00

4,553,750.00

3. พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์

365

3,000,000.00

960,000.00

90,000.00

1,050,000.00

4,050,000.00

4. นายบุญทักษ์ หวังเจริญ*

307

2,523,287.67

801,175.12

30,000.00

831,175.12

3,354,462.79

5. พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

365

3,000,000.00

1,010,000.00

150,000.00

1,160,000.00

4,160,000.00

6. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

365

3,000,000.00

1,010,000.00

222,000.00

1,232,000.00

4,232,000.00

7. นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

365

3,000,000.00

860,000.00

405,000.00

1,265,000.00

4,265,000.00

8. นายวิชัย อัศรัสกร

365

3,000,000.00

960,000.00

435,000.00

1,395,000.00

4,395,000.00

9. นายธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์

365

3,000,000.00

960,000.00

192,000.00

1,152,000.00

4,152,000.00

10. นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

365

3,000,000.00

1,010,000.00

48,000.00

1,058,000.00

4,058,000.00

11. นายสมชัย สัจจพงษ์

365

3,000,000.00

860,000.00

72,000.00

932,000.00

3,932,000.00

12. นายดอน วสันตพฤกษ์

365

3,000,000.00

1,010,000.00

120,000.00

1,130,000.00

4,130,000.00

13. นายสมคิด เลิศไพฑูรย์

308

2,531,506.85

852,142.86

96,000.00

948,142.86

3,479,649.71

14. นายธรรมยศ ศรีช่วย

365

3,000,000.00

1,010,000.00

120,000.00

1,130,000.00

4,130,000.00

15. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ก/

365

3,000,000.00

1,010,000.00

-

1,010,000.00

4,010,000.00

รวมทั้งสิ้น ก/

จํานวนวัน ม.ค. - ธ.ค. 2560

44,804,794.52 14,585,817.98 2,523,750.00 17,109,567.98 61,914,362.50

ค่าตอบแทนกรรมการทัง้ หมดของนายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ได้สง่ คืนให้กบ ั บริษท ั ปตท. จํากัด (มหาชน) ซึง่ เป็นไปตามเงือ ่ นไขสัญญาจ้างบริหาร ในตําแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) นอกจากนี้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ได้ส่งคืนค่าตอบแทนในฐานะประธานกรรมการ และ/ ระหว่างและ/ หรือกรรมการ ที่ได้รับ

ค่ า ตอบแทนกรรมการจากบริ ษั ท ในกลุ่ ม อี ก 2 บริ ษั ท ได้ แ ก่ ค่ า ตอบแทนกรรมการที่ ไ ด้ รั บ จากบริ ษั ท ปตท.สํ า รวจและผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย ม จํ า กั ด (มหาชน) ปี 2560 เป็นจํานวนเงิน 2,389,473.09 บาท และค่าตอบแทนกรรมการที่ได้รับจากบริษท ั ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) ปี 2560 เป็นจํานวนเงิน 4,045,991 บาท เรียบร้อยแล้วตามเงื่อนไขสัญญาจ้างบริหารฯ

หมายเหตุ: * บุคคลลําดับที่ 4 นายบุญทักษ์ หวังเจริญ ดํารงตําแหน่งกรรมการ ตั้งแต่วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 และแจ้งขอลาออกมีผลตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บุคคลลําดับที่ 13 นายสมคิด เลิศไพฑูรย์ ดํารงตําแหน่งกรรมการ ตั้งแต่วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560

ทัง้ นี้ บริษท ั จัดหารถสําหรับการปฎิบต ั ห ิ น้าทีใ่ ห้กบ ั ประธานกรรมการใช้ในขณะดํารงตําแหน่ง เพือ ่ อํานวยความสะดวกในการปฏิบต ั ิ หน้าที่เท่านั้น


140

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

คาตอบแทนที่กรรมการไดรับเปนรายบุคคล ป 2560 หนวย: บาท

ลําดับ

จํานวนวัน ม.ค. - ธ.ค. 2560

รายนาม

1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

เบี้ยประชุม กรรมการฯ (รวมเบี้ย รายเดือน)

โบนัส ป 2560

50

รวมทั้งสิ้น

เบี้ยประชุม กรรมการฯ เฉพาะเรื่อง

รวม คาเบี้ยประชุม

รวม คาตอบแทน

410,958.90

150,357.14

60,000.00

210,357.14

621,316.04

410,958.90

150,357.14

60,000.00

210,357.14

621,316.04

หมายเหตุ: นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ดํารงตําแหน่งกรรมการ ตั้งแต่วันที่ 11 เมษายน 2556 และพ้นจากการดํารงตําแหน่งเนื่องจากอายุครบ 65 ปีบริบูรณ์ มีผลตั้งแต่ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560

สรุปเปรียบเทียบคาตอบแทนกรรมการ ป 2557 - 2560* หนวย: บาท

ป 2557 คาตอบแทน

จํานวน ราย

ป 2558

จํานวนเงิน

จํานวน ราย

จํานวนเงิน

ป 2559 จํานวน ราย

ป 2560 จํานวน ราย

จํานวนเงิน

จํานวนเงิน

เงินเบี้ยประชุม

14

17,632,709.70

15

18,232,411.29

15

15,883,015.57

15

17,319,925.12

โบนัสรวม

14

27,680,910.81

15

9,664,610.82

15

41,717,213.11

15

45,215,753.42

รวม

45,313,620.51

27,897,022.11

57,600,228.68

62,535,678.54

หมายเหตุ: ปี 2558, 2559, 2560 ค่าตอบแทนกรรมการ ปตท. ทีแ ่ สดงในตาราง ได้รวมค่าตอบแทนกรรมการของนายเทวินทร์ วงศ์วานิช ซึง่ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ได้สง่ คืนให้ ปตท. แล้ว

คาตอบแทนกรรมการอิสระที่ ไดรับจากการเปนกรรมการอิสระ ในบริษัทยอย* ระหวางป 2560 กรรมการอิสระของ ปตท. ทีเ่ ป็นกรรมการอิสระของบริษท ั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) (PTTGC) ได้รบ ั ค่าตอบแทนจาก PTTGC ดังนี้

คาตอบแทนคณะกรรมการ รายชื่อ

*

คาเบี้ยประชุมกรรมการ เฉพาะเรื่อง

รวมคาตอบแทน

โบนัสกรรมการ

คาเบี้ยประชุม และคาตอบแทนรายเดือน

นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์**

4,097,626.51

1,360,000.00

-

5,457,626.51

นายดอน วสันตพฤกษ์

3,278,101.21

1,050,000.00

240,000.00

4,568,101.21

อ้างอิงตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับใหม่

** นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ พ้นจากตําแหน่งกรรมการ ปตท. เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เนื่องจากอายุครบ 65 ปีบริบูรณ์


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

141

โครงสร้างการจัดการ

คาตอบแทนผูบริหาร > คาตอบแทนผูบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหารเป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ ปตท. กําหนด ซึ่งเชื่อมโยงกับผลการดําเนินงานของ ปตท. ตามระบบประเมินผลรัฐวิสาหกิจ (Performance Agreement: PA) กําหนดโดยกระทรวงการคลังซึ่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้บริหารทุกระดับร่วมกันกําหนดตัวชี้วัด และตั้งค่าเป้าหมาย (Key Performance Indicators: KPIs) ไว้แต่ละปี เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินธุรกิจและนําไปใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการ ผู้ จั ด การใหญ่ แ ละผู้ บ ริ ห ารทุ ก ระดั บ โดยคณะกรรมการกํ า หนดค่ า ตอบแทนเป็ น ผู้ พิ จ ารณากํ า หนดค่ า ตอบแทนให้ ส ะท้ อ นถึ ง ผล การปฏิบต ั งิ าน (Performance Management) ตลอดจนแนวปฏิบต ั แ ิ ละมาตรฐานของกลุม ่ ธุรกิจชัน ้ นําประเภทเดียวกัน พร้อมทัง้ นําเสนอ หลักการและจํานวนค่าตอบแทนที่เหมาะสมต่อคณะกรรมการ ปตท. เพื่อพิจารณาและอนุมัติ จํานวนผูบ ้ ริหารตามนิยาม ก.ล.ต. มีจา ํ นวน 5 รายตามตําแหน่ง ได้แก่ ตําแหน่ง ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการผูจ ้ ด ั การ ั ก ิ ารกลุม ่ ธุรกิจ ใหญ่ (ปธบ./ กผญ.) ประธานเจ้าหน้าทีป ่ ฏิบต ั ก ิ ารกลุม ่ ธุรกิจปิโตรเลียมขัน ้ ต้นและก๊าซธรรมชาติ ประธานเจ้าหน้าทีป ่ ฏิบต ปิโตรเลียมขั้นปลาย ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานและบริหารความยั่งยืน และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร การเงิน ซึง่ ไม่รวมผูบ ้ ริหารระดับสูงทีไ่ ปปฏิบต ั งิ านในบริษท ั ที่ ปตท. ถือหุน ้ และผูบ ้ ริหารระดับสูงของบริษท ั ที่ ปตท. ถือหุน ้ ทีม ่ าปฏิบต ั งิ าน ที่ ปตท. ได้รับค่าตอบแทนจาก ปตท. ตามรายละเอียด ดังนี้

คาตอบแทนรวมของผูบริหาร ปตท. ป 2560 (แยกคาตอบแทน ปธบ./ กผญ.) หนวย: บาท

ป 2560 ผูบริหาร (ตามเกณฑ ก.ล.ต.)

คาตอบแทน

ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ

จํานวนราย ตามตําแหนง

จํานวนเงิน

รวม จํานวนรายตามตําแหนง (รวมประธานเจาหนาที่ บริหารและกรรมการ ผูจัดการใหญ)

จํานวนเงิน

เงินเดือนรวม

32,460,000

4

27,127,470

5

59,587,470

โบนัสรวม

10,571,000

4

12,309,880

5

22,880,880

รวม

43,031,000

39,437,350

82,468,350

หมายเหตุ: เงินเดือนประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ในส่วนของนายเทวินทร์ วงศ์วานิช รวมค่าตอบแทนที่ ปตท. จ่ายให้เนื่องจากปฏิบัติงานเพิ่มเติม ได้แก่การเป็นประธานกรรมการ และ/หรือกรรมการ บริษัทในกลุ่ม ปตท. ตามที่ได้รับมอบหมาย โดยประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ได้สง่ คืนค่าตอบแทนในฐานะประธานกรรมการ และ/หรือกรรมการ ทีไ่ ด้รบ ั จาก ปตท. บริษท ั ปตท.สํารวจและผลิตปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) และบริษท ั ไออาร์พซ ี ี จํากัด (มหาชน) ให้กับ ปตท. เรียบร้อยแล้ว ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขสัญญาจ้างบริหารฯ


142

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

คาตอบแทนรวมของผูบริหาร ปตท. ป 2557 - 2560 หนวย: บาท

ป 2557 คาตอบแทน

จํานวน ราย

จํานวนเงิน

ป 2558 จํานวน ราย

จํานวนเงิน

ป 2559 จํานวน ราย

จํานวนเงิน

ป 2560 จํานวน รายตาม ตําแหนง

จํานวนเงิน

เงินเดือนรวม

10/5

56,454,960.00

5

51,686,336.00

5

56,614,080

5

59,587,470

โบนัสรวม

10/5

34,428,132.00

5

17,158,259.00

5

22,617,040

5

22,880,880

รวม

90,883,092.00

68,844,595.00

79,231,120

82,468,350

เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับผูบริหารของ ปตท. ป 2557 - 2560 หนวย: บาท

ป 2557 คาตอบแทน

เงินสมทบ

จํานวน ราย 9/4

จํานวนเงิน 4,937,228.80

ป 2558 จํานวน ราย 4

จํานวนเงิน 5,086,634.00

ป 2559 จํานวน ราย 4

จํานวนเงิน 3,518,977.20

ป 2560 จํานวน รายตาม ตําแหนง 4

จํานวนเงิน 3,632,300.50

กองทุน สํารองเลี้ยงชีพ

ข้อมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการและผู้บริหารของบริษัท มีดังนี้ ไม่ปรากฏว่ามีประวัติการทําความผิดตามกฎหมายในระยะ 10 ปีที่ผ่านมาเกี่ยวกับ 1) การถูกพิพากษาว่ากระทําผิดทางอาญา ยกเว้นที่เป็นความผิดอันเกิดจากการฝ่าฝืนกฎจราจร ความผิดลหุโทษ หรือความผิด ในทํานองเดียวกัน 2) การถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย หรือถูกพิทักษ์ทรัพย์ 3) การเป็นผู้บริหาร หรือผู้มีอํานาจควบคุมในบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนที่ถูกพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย หรือถูกพิทักษ์ทรัพย์

พนักงาน บุคลากรของ ปตท. ทุกคน ถือเป็นทรัพยากรที่สําคัญที่สุดในการดําเนินธุรกิจ โดย ปตท. มีความเชื่อมั่นว่า การเจริญเติบโต ขององค์กรขึ้นอยู่กับพนักงานที่มีคุณภาพ ดังนั้น ปตท. จึงมีนโยบายมุ่งเน้นที่จะพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการและระบบการบริหาร ทรัพยากรบุคคลให้มีความทันสมัย เทียบได้ในระดับสากลและสอดคล้องกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง เพื่อที่จะเสริมสร้างและพัฒนา ่ นร่วมในการพัฒนาและช่วยเหลือสังคมโดยส่วนรวม และมุง่ เน้นให้พนักงานเป็นกลไกหลัก ให้พนักงานเป็นทัง้ คนดีและคนเก่ง ตลอดจนมีสว ในการพัฒนา ปตท. ให้ก้าวไปสู่การเป็นองค์กรแห่งความความยั่งยืน (Sustainability Organization) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์กร ที่มุ่งสู่การเป็นบริษัทที่สร้างความมั่นคงทางพลังงานให้แก่ประเทศชาติ


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

143

โครงสร้างการจัดการ

> จํานวนบุคลากรและคาตอบแทนบุคลากร จํานวนพนักงาน ปตท. (รวมพนักงานที่ไปปฏิบัติงาน Secondment ในบริษัทในกลุ่ม ปตท.) ปี 2560 เท่ากับ 4,697 คน และ ทั้งนี้ ปตท. ยังคงดําเนินการจัดทําแผนอัตรากําลังคนให้สอดคล้องต่อการดําเนินธุรกิจ ภายใต้ความผันผวนของสภาวะเศรษฐกิจ โดยให้ความสําคัญกับการจัดสรรทรัพยากรในจุดที่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่ม หรือมีความจําเป็นต่อเนื่องจากการลงทุน จํานวนบุคลากรแบ่งตามกลุ่มธุรกิจ ปี 2557 - 2560 มีรายละเอียด ดังนี้

ป 2557

กลุมธุรกิจ (หนวย: คน)

ปตท.

ป 2558

กลุม ปตท.

ปตท.

ป 2559

กลุม ปตท.

ปตท.

ป 2560

กลุม ปตท.

ปตท.

กลุม ปตท.

1. ก๊าซธรรมชาติ

1,323

-

1,289

-

1,283

-

1,281

-

2. น้ํามัน

1,409

-

1,465

-

1,440

-

1,486

-

93

-

83

-

105

-

100

-

201

-

342

-

492

-

507

-

3. ปิโตรเคมีและการกลั่น 4. กลุ่มธุรกิจ โครงสร้างพื้นฐาน 5. สนับสนุน และปฏิบัติงาน

1,2181/

2722/

1,2031/

2782/

1,0421/

2542/

1,0841/

2392/

ในบริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น 6. บริษัทย่อย

-

25,714

-

24,512

-

24,680

-

25,036

4,244

25,986

4,382

24,790

4,362

24,934

4,458

25,275

และกิจการร่วมค้า รวม หมายเหตุ: 1/

ไม่รวมพนักงาน ปตท. ที่ไปปฏิบัติงานในบริษัทในเครือ

2/ พนักงาน ปตท. ที่ไปปฏิบัติงานในบริษัทในเครือ

ค่าตอบแทนแก่บุคลากร (ไม่รวมกรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้บริหารระดับสูง) ปี 2557 - 2560 มีรายละเอียด ดังนี้

หนวย: บาท

คาตอบแทน

ป 2557

ป 2558

ป 2559

ป 2560

เงินเดือนรวม

3,729,946,652.00

4,000,980,185.00

4,080,267,146.00

4,282,921,717.48

โบนัสรวม

1,869,490,435.00

1,647,437,327.00

2,136,905,643.00

2,115,503,048.90

434,836,637.00

468,316,181.00

481,014,787.00

506,518,662.19

2,750,517,905.00

2,676,017,663.00

2,953,091,552.00

3,778,463,866.70

8,784,791,629.00

8,792,751,356.00

9,651,279,128.00

10,683,407,295.27

เงินสมทบกองทุน สํารองเลี้ยงชีพ อื่น ๆ (ถ้ามี) รวม


144

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

คาตอบแทนอื่น ๆ

ปตท. ได้ นํ า แนวทางในการบริ ห ารสายอาชี พ (Career Management) มาใช้เพือ ่ เตรียมความพร้อม และส่งเสริมพนักงาน

ปตท. ได้จัดสวัสดิการและค่าตอบแทนอื่น ๆ นอกเหนือจาก

ทุกระดับให้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ให้เป็นไปตาม

เงิ น เดื อ น โบนั ส และเงิ น สมทบกองทุ น สํ า รองเลี้ ย งชี พ ให้ กั บ

รูปแบบ (Model) ที่องค์กรกําหนดขึ้น เพื่อรองรับภารกิจ และสร้าง

ผู้บริหารและพนักงานตามความเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจ

่ ง โดยใช้เป็นกรอบและแนวทางหลัก คุณค่าให้แก่องค์กรอย่างต่อเนือ

การดํารงชีพ ให้สามารถแข่งขันได้ ตลอดจนเทียบได้กบ ั มาตรฐาน

ของการบริ ห ารและพั ฒ นาพนั ก งานในทุ ก ระดั บ การกํ า หนด

ของกลุ่ ม บริ ษั ท ในธุ ร กิ จ ชั้ น นํ า ประเภทเดี ย วกั น และสอดคล้ อ ง

สายอาชีพของ ปตท. ขึ้นอยู่กับทิศทางการดําเนินธุรกิจที่มุ่งสร้าง

กับผลประกอบการของ ปตท. ทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยได้

ให้องค์กรมีขด ี ความสามารถในการแข่งขัน โดยแบ่งการดําเนินงาน

มีการปรับปรุงและทบทวนอย่างต่อเนือ ่ ง อาทิ มีการปรับสวัสดิการ

เป็น 2 กลุม ่ คือ กลุม ่ ผูบ ้ ริหารระดับสูง และกลุม ่ พนักงาน ทีเ่ ชือ ่ มโยงกัน

ค่ารักษาพยาบาลให้แก่พนักงานและการปรับโยบายขึ้นเงินเดือน

อย่ า งชั ด เจนและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง มี ก ระบวนการคั ด เลื อ ก

เมื่อพนักงานได้รับการเลื่อนระดับ ซึ่งเป็นหลักการที่เทียบเคียง

ประเมินศักยภาพ และจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล (Individual

ได้กับธุรกิจชั้นนํา ทําให้ในระยะยาวสามารถรักษาระดับเงินเดือน

Development Plan: IDP) อย่างเป็นระบบโดย

ของพนักงานให้เทียบเคียงได้กบ ั ตลาด และเกิดความเป็นธรรมกับ

้ ด ั การฝ่ายขึน ้ ไป) กลุม ่ ผูบ ้ ริหารระดับสูง (ระดับเทียบเท่าผูจ

พนักงานทีม ่ ีประสบการณ์ ความเชีย ่ วชาญในการทํางานทีม ่ ากขึน ้

เป็นการบริหารจัดการในรูปแบบกลุม ่ ปตท. (Group Leader

หรือมีหน้าที่ความรับผิดชอบที่สูงขึ้น

Development) เพือ ่ รองรับความต้องการผูบ ้ ริหารระดับสูง ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ มีคณะผู้บริหารระดับ CEO

การพัฒนาและปรับปรุงระบบทรัพยากรบุคคล

ของกลุ่ม ปตท. เรียกว่า คณะกรรมการจัดการ กลุ่ม ปตท. (PTT Group Management Committee: PTTGMC) มีหน้าที่

เพื่ อ ให้ อ งค์ ก รพั ฒ นาไปสู่ ก ารเป็ น องค์ ก รแห่ ง ความยั่ ง ยื น

และความรับผิดชอบในการกําหนดทิศทางและนโยบาย

ปตท. ยั ง คงพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ระบบการบริ ห ารและพั ฒ นา

การดําเนินงานในเรื่องการบริหารสายอาชีพกลุ่มผู้บริหาร

ทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมี

ระดับสูง และคณะกรรมการบริหารความร่วมมือของกลุ่ม

วัตถุประสงค์เพือ ่ ทีจ ่ ะพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้ได้ใช้ความรู้

ทรัพยากรบุคคล (Human Resources Group Alignment

ความสามารถของตนเองอย่างเต็มที่ เพื่อนําพาให้องค์กรบรรลุ

& Coordination Management Committee: HRAC)

วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ รวมถึ ง การมี โ อกาสก้ า วหน้ า

มีหน้าที่ให้คําปรึกษาและข้อเสนอแนะให้แก่รองกรรมการ

ในหน้าทีก ่ ารงาน และเติบโตไปพร้อม ๆ กับความสําเร็จขององค์กร

ผู้ จั ด การใหญ่ ท รั พ ยากรบุ ค คลและศั ก ยภาพองค์ ก ร

ด้วย

ในการตัดสินใจประเด็นความร่วมมือที่สําคัญต่อกลยุทธ์

ปตท. ได้มุ่งเน้นให้ผู้บริหารและพนักงานในทุกระดับร่วมกัน กําหนดแผนงานให้สอดคล้องกับทิศทางและเป้าหมายขององค์กร ซึ่ ง จะส่ ง ผลให้ ก ารดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ทั่ ว ทั้ ง องค์ ก รมุ่ ง ไปสู่ จุ ด หมาย เดียวกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้บริหารระดับสูงของ ปตท. และบริษัทในกลุ่มที่เกี่ยวข้องทั้งหมด รวมทั้งสายงานสนับสนุน มาร่วมประชุมหารือและกําหนดวิสัยทัศน์และทิศทางขององค์กร ร่ ว มกั น และถ่ า ยทอดทิ ศ ทางดั ง กล่ า วไปสู่ ห น่ ว ยงานภายใน สายงานต่าง ๆ จากกลยุทธ์ธุรกิจเป็นแผนธุรกิจ และแผนการใช้ งบประมาณทีม ่ ค ี วามสอดคล้องในทิศทางเดียวกัน พนักงาน ปตท. ทุกระดับได้กําหนดวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด (Key Performance Indicators: KPIs) ทีถ ่ า ่ ยทอดลงมาตามลําดับเป็นรายบุคคล ตัง้ แต่ ระดับองค์กร หน่วยงาน ลงมาจนถึงพนักงาน ทั้งนี้วัตถุประสงค์ และตัวชี้วัดที่พนักงานกําหนดนั้น จะใช้เป็นกรอบการปฏิบัติงาน และมาตรฐานการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานแต่ละ บุคคล ซึ่งสามารถสะท้อนความแตกต่างของผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานได้

และทิ ศ ทางในการกํ า กั บ ดู แ ลด้ า นทรั พ ยากรบุ ค คลของ กลุ่ม ปตท. ให้สอดคล้องกับทิศทางของกลุ่ม ปตท.


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

145

กลุ่มพนักงาน (ระดับผู้จัดการส่วนหรือเทียบเท่าลงมา) เป็นการบริหารและพัฒนาพนักงานตามความจําเป็นของการดําเนิน ธุรกิจของแต่ละบริษัทในกลุ่ม เพื่อรองรับทิศทางการดําเนินธุรกิจในอนาคต สําหรับ ปตท. ได้กําหนดให้จัดตั้งคณะกรรมการ จัดการทรัพยากรบุคคล (Corporate Human Resources Committee: HRC) มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการส่งเสริมผลักดัน และควบคุมติดตามการดําเนินงานในเรือ ่ งการบริหารสายอาชีพกลุม ่ พนักงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย และกลุม ่ ทีป ่ รึกษาประจํา สายอาชีพ (Career Counseling Team: CCT) รวม 17 สายอาชีพ มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการบริหารสายอาชีพกลุ่มพนักงาน ให้คําปรึกษา ชี้แนะ ควบคุมและติดตามการดําเนินงาน ทั้งนี้วัตถุประสงค์ในการบริหารสายอาชีพนั้น เป็นกลไกให้พนักงาน ตัง้ เป้าหมายและวางแผนพัฒนาตนเอง เพือ ่ ความก้าวหน้าในอาชีพและสร้างคุณค่าในงานทีร่ บ ั ผิดชอบ ให้สอดคล้องกับเป้าหมาย และทิศทางขององค์กร ทัง้ ในรูปแบบการฝึกอบรมเพือ ่ การพัฒนาทีเ่ หมาะสมตาม Success Profile รวมถึงการหมุนเวียนเปลีย ่ น หน้าที่ความรับผิดชอบตาม Career Path เพื่อให้พนักงานสามารถพัฒนาทักษะ ความชํานาญจากประสบการณ์ในตําแหน่ง หน้ า ที่ ใ หม่ ตลอดจนการแต่ ง ตั้ ง เลื่ อ นระดั บ พนั ก งานให้ เ หมาะสมกั บ หน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบและศั ก ยภาพของพนั ก งาน ซึ่งการพัฒนาพนักงานให้เหมาะสมตามความสามารถและความต้องการของพนักงานและองค์กรนั้น นอกจากพนักงาน จะมีความพร้อมสําหรับการเติบโตเป็นผู้บริหารระดับสูงของกลุ่ม ปตท. แล้วยังจะนํา ปตท. ไปสู่ความสําเร็จตามเป้าหมาย ที่กําหนดไว้ในที่สุด

นอกจากการมุ่งเน้นพัฒนาบุคลากรตามแนวทางข้างต้นแล้ว ปตท. ยังใส่ใจในเรื่องของสิ่งแวดล้อม โดยได้จัดการอบรมหลักสูตร ด้านสิ่งแวดล้อมให้กับพนักงานที่ทํางานเกี่ยวข้องและผู้สนใจ เพื่อปลูกฝังให้พนักงานมีความตระหนักถึงความสําคัญในเรื่องดังกล่าว โดยในปี 2560 ได้มีการจัดหลักสูตรอบรมฯ รายละเอียดดังตาราง

No.

Name of the business event

Start date

End date

Location

Attendees

1.

SSHE Training 1

5/1/2017

7/12/2017

ปตท.สนญ.

262

2.

Basic Safety, Occupational Health and Environment

13/3/2017

19/5/2017

ปตท.สนญ.

60

3.

การจัดเก็บและรายงานข้อมูลผลการดําเนินงาน

19/4/2017

2/11/2017

ปตท.สนญ.

24

26/4/2017

3/11/2017

โรงแยกก๊าซ

11

สิ่งแวดล้อม สําหรับผู้จัดเก็บและรายงาน (กทม.) 4.

การจัดเก็บและรายงานข้อมูลผลการดําเนินงาน สิ่งแวดล้อม สําหรับผู้จัดเก็บและรายงาน (ระยอง/ชลบุรี)

ธรรมชาติ ระยอง

5.

การพิจารณาและอนุมัติข้อมูลผลการดําเนินงาน

21/4/2017

21/4/2017

ปตท.สนญ.

7

28/4/2017

28/4/2017

โรงแยกก๊าซ

3

สิ่งแวดล้อม สําหรับผู้บริหาร (กทม.) 6.

การพิจารณาและอนุมัติข้อมูลผลการดําเนินงาน สิ่งแวดล้อม สําหรับผู้บริหาร (ระยอง/ชลบุรี)

ธรรมชาติ ระยอง

7.

ผู้ทวนสอบผลการดําเนินการด้านอาชีวอนามัย

6/7/2017

7/7/2017

ปตท.สนญ.

4

ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม กลุ่ม ปตท. 8.

Introduction & Internal auditor ISO14001: 2015

24/5/2017

22/9/2017

ปตท.สนญ.

81

9.

การจัดเก็บและรายงานข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

30/10/2017

30/10/2017

ปตท.สนญ.

10

กลุ่ม ปตท. รวม

462


146

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

ในปี 2560 ปตท. ยังคงจัดให้มีโครงการ Young People to

1. Leadership Development Program เป็นหลักสูตรเตรียม

Globalization (YP2G) เป็นปีทห ่ี า้ เพือ ่ คัดเลือกบุคลากรทีม ่ ค ี วามพร้อม

ความพร้อมและเร่งพัฒนาผูบ ้ ริหารกลุม ่ ศักยภาพให้มท ี ก ั ษะความรู้

ไปปฏิบต ั งิ านต่างประเทศตามกลยุทธ์ของ ปตท. พนักงานดังกล่าว

ความสามารถทัง้ ในเรือ ่ งการบริหารคนและบริหารงาน โดยมุง่ เน้น

จะได้รบ ั การพัฒนาและเตรียมความพร้อม โดยจะได้รบ ั มอบหมาย

ด้ า น Leadership ทั้ ง ในแง่ ข องตนเอง ที ม งาน และองค์ ก ร

ให้รบ ั ผิดชอบงานพัฒนาธุรกิจต่างประเทศ (International Business

ผ่ า นการศึ ก ษาแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น และประสบการณ์

Development ) หรืองานทีเ่ กีย ่ วข้องกับการดําเนินธุรกิจของ ปตท.

กับวิทยากรชัน ้ นําระดับโลก รวมทัง้ การเรียนรูแ ้ บ่งปันประสบการณ์

ในต่างประเทศ (International Related Business) ซึ่งจะทําให้

้ ริหารระดับสูงทัง้ จากภายในองค์กร การทํางานในด้านต่าง ๆ จากผูบ

้ น Business Acumen พนักงานได้เรียนรูแ ้ ละเพิม ่ พูนประสบการณ์ดา

และภายนอกองค์กร

จากการปฏิบัติงานจริง ในรูปแบบ On the Job Training (OJT)

2. Core Program เป็นหลักสูตรหลักเพื่อพัฒนาศักยภาพ

ปตท. ยังคงให้ความสําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถ

พนักงานทุกคนตามกลุ่มระดับ ตําแหน่งงาน โดยผู้บังคับบัญชา

ของพนักงาน (Career and Competency Management) โดยมี

จะต้องให้การสนับสนุนพนักงานในการเข้าอบรมในกลุม ่ หลักสูตรนี้

การจัดทําและทบทวน Success Profile รวมทั้ง Career Path ของ

โดยแบ่ ง ออกเป็ น กลุ่ ม หลั ก สู ต รภาคบั ง คั บ (Compulsory)

แต่ละตําแหน่งงาน และผลักดันให้มีการประเมิน Success Profile

่ หลักสูตร Essential กลุม ่ หลักสูตร Direction/ Assignment และกลุม

ให้สอดรับกับ Performance Cycle ที่ผู้บังคับบัญชาต้องร่วมหารือ

Program (Personal Wellness)

กั บ พนั ก งาน (Two-Way) ถึ ง งานที่ ต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบตั้ ง แต่ ต้ น ปี

3. Functional Program เป็นหลักสูตรของสายอาชีพต่าง ๆ

และทํ า การติ ด ตาม ประเมิ น ผลในช่ ว งครึ่ ง ปี แ ละปลายปี ทั้ ง นี้

ที่มุ่งพัฒนาพนักงานภายในสายอาชีพ ตั้งแต่ระดับแรกเริ่มจนถึง

เพื่อติดตามและ/หรือจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล (Individual

ระดับผูเ้ ชีย ่ วชาญ PLLI ดําเนินการร่วมกับกลุม ่ Functional Academy

Development Plan: IDP) ให้พนักงานต่อไป

ที่ ปตท. จัดตั้งขึ้น เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ภายในองค์กรให้เป็น

กลุ่ ม ปตท. ได้ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ และส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ ผ่ า น สถาบันพัฒนาผู้นําและการเรียนรู้กลุ่ม ปตท. (PTT Leadership

ระบบ โดยส่งเสริมการสร้างวิทยากรภายในให้เกิดการแลกเปลีย ่ น ความรู้และประสบการณ์ภายในหน่วยงานตามแต่ละสายอาชีพ

and Learning Institute: PLLI) โดยสถาบัน PLLI มีวิสัยทัศน์ที่จะ มุง่ สูก ่ ารเป็นสถาบันพัฒนาผูน ้ า ํ ด้านพลังงานชัน ้ นําในกลุม ่ อาเซียน ในปี 2566 และมีเป้าหมายในการสร้างมาตรฐานด้านการพัฒนา ศักยภาพพนักงาน ผ่านการบริหารจัดการและผลักดันหลักสูตร IB G

หลักของพนักงานกลุ่ม ปตท. ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน สถาบั น PLLI ได้ ดํ า เนิ น การพั ฒ นาบุ ค ลากรและผู้ นํ า ของ กลุ่ ม ปตท. ให้ เ ป็ น ทั้ ง คน “ดี แ ละเก่ ง ” อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง พั ฒ นา ผู้นํารองรับการเติบโตขององค์กร และพัฒนาขีดความสามารถ บุคลากรรองรับสมรรถนะหลักขององค์กร (Core Competency) และความท้าทายเชิงกลยุทธ์ (Strategic Challenge) PLLI ได้มี การยกระดับโครงสร้างหลักสูตรการเรียนรูแ ้ ละการพัฒนาขึน ้ ใหม่ เพื่ อ ให้ ส อดรั บ กั บ ทิ ศ ทางธุ ร กิ จ และกลยุ ท ธ์ ข ององค์ ก ร รวมถึ ง เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ในด้ า นการพั ฒ นาศั ก ยภาพของพนั ก งาน และการบริ ห ารจั ด การที่ ทั น สมั ย โดยโครงสร้ า งหลั ก สู ต รของ

4. Elective Program เป็ น หลั ก สู ต รเพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพ

PLLI ครอบคลุมการพัฒนาพนักงานทุกระดับ ตั้งแต่พนักงานใหม่

พนักงานตามความต้องรายบุคคล โดยเป็นการพิจารณาร่วมกัน

จนถึงผู้บริหารระดับสูง แบ่งหลักสูตรออกเป็น 4 Program โดย

ทัง้ ผูบ ้ งั คับบัญชาและพนักงานในการเลือกหลักสูตรพัฒนาเพิม ่ เติม

เริ่มจาก

ตามความเหมาะสมและความจําเป็น เช่น หลักสูตรภาษาอังกฤษ หลักสูตร Presentation เป็นต้น


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

147

โครงสร้างการจัดการ

สรุปตัวเลขการพัฒนาพนักงาน ชั่วโมงตอคนตอป

จํานวนชั่วโมงอบรมตอคนตอป

ป 2556

ป 2557

ป 2558

ป 2559

ป 2560

พนักงาน

63.0

35.24

55.11

68.40

40.62

ผู้บริหาร

43.0

22.61

30.02

20.91

25.12

บาทตอคนตอป

คาใชจายอบรมตอคนตอป พนักงานและผู้บริหาร

ป 2556

ป 2557

ป 2558

ป 2559

ป 2560

58,000.00

55,435.37

34,476.36

35,168.35

37,837.83

การสรางสัมพันธภาพที่ดีระหวางผูบริหารและพนักงานเพื่อเปาหมายเดียวกัน ปตท. ได้จด ั ให้มีรป ู แบบการสือ ่ ความระหว่างผูบ ้ ริหารและพนักงาน เพือ ่ ให้พนักงานทุกระดับได้รบ ั ทราบถึงแนวทาง การดําเนินงาน ขององค์กร อุปสรรคหรือผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น และเปิดโอกาสให้พนักงานได้แสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วม ในการพัฒนาและ ปรับปรุงประสิทธิภาพการดําเนินงานขององค์กรในแต่ละปี นอกเหนือจากการประชุมคณะกรรมการกิจการสัมพันธ์ ปตท. ทีก ่ า ํ หนดวาระ การประชุมอย่างน้อยเดือนละหนึง่ ครัง้ ยังมีการประชุมคณะกรรมการร่วมปรึกษาหารือ (Joint Consultation Committee: JCC) ทีก ่ า ํ หนด ให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างผู้บริหารและพนักงานในหน่วยงานภูมิภาคทั่วประเทศ นอกจากนี้ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการ ผูจ ้ ด ั การใหญ่ยงั ได้จด ั ประชุมสือ ่ ความกับพนักงานอย่างต่อเนือ ่ งเป็นระยะมาโดยตลอด และมีการสํารวจความพึงพอใจและความผูกพัน ของพนักงานต่อองค์กรเป็นประจําทุกปี เพื่อรับทราบระดับความพึงพอใจและระดับความผูกพันในปัจจัยต่าง ๆ เพื่อหาแนวทางแก้ไข และปรับปรุง โดย ปตท. มีความเชื่อมั่นว่าการสื่อความที่ดีและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้บริหารและพนักงานจะนําไป สู่สัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้บริหารและพนักงานทุกระดับ และทําให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรร่วมกัน รวมทั้งได้ดําเนินการสอบทาน ความต้ อ งการพื้ น ฐานด้ า นทรั พ ยากรบุ ค คลของผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานผ่ า นการดํ า เนิ น งานของคณะกรรมการหลายคณะ เช่ น คณะกรรมการจัดการทรัพยากรบุคคล คณะกรรมการกิจการสัมพันธ์ ปตท. และคณะกรรมการบริหารสายอาชีพ เป็นต้น และมีการสํารวจ ่ รึกษาผูเ้ ชีย ่ วชาญทางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลภายนอกจํานวน 1 ครัง้ นอกจากนี้ ยังมีการร่วมมือ ความคิดเห็นของพนักงานโดยทีป กับบริษัทในกลุ่ม ปตท. เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้บริหารของกลุ่ม และจัดทําแผนพัฒนาผู้บริหารระดับสูงของกลุ่ม ปตท. ร่วมกัน

การกําหนดใหมีคานิยมรวมของกลุม ปตท. (PTT Group Core Values) การกําหนดคานิยมกลุม ปตท. (PTT Group Core Values) กลุ่ม ปตท. กําหนดค่านิยม SPIRIT เพื่อเป็นรากฐานสําคัญที่หล่อหลอม ยึดเหนี่ยวพนักงานทุกคนให้มีพฤติกรรมในการทํางาน ที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน สะท้อนให้เห็นภาพอัตลักษณ์ของกลุ่ม ปตท. อย่างชัดเจนในความเป็นคนเก่ง คนดี และมีความรับผิดชอบ ต่อองค์กร สังคม ชุมชน และประเทศชาติ


148

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

Synergy สรางพลังรวม อันยิ่งใหญ

Performance Excellence

Innovation

รวมมุงสู ความเปนเลิศ

เกง

รวมสราง นวัตกรรม

Responsibility for Society

Integrity & Ethics

Trust & Respect

รวมรับผิดชอบตอสังคม

รวมสราง พลังความดี

รวมสราง ความเชื่อมั่น

รับผิดชอบ สรางความมั่นคงทางดานพลังงาน สรางความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ

พัฒนาประเทศใหเติบโตอยางยั่งยืน • การพัฒนาองคความรู • การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม

สรางคุณคารวมระหวาง สังคมและธุรุ กิจ ภายใต แนวคิดวิสาหกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) ขับเคลื่อนสังคม กาวเดินไปขางหนารวมกัน ผานการดําเนินงาน CSR • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย • การพัฒนาสังคมและชุมชน • การอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ดี บริหารจัดการองคกร ใหเปนไปดวยความโปรงใส สรางเครือขายตอตานคอรรัปชัน รวมกับทุกภาคสวน สรางความเชือ่ มั่น ตอบสนองความคาดหวัง ของผูมีสวนไดเสีย อยางสมดุล

การสืบทอดตําแหนงสําหรับผูบริหาร เนื่องจาก ปตท. มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจ ดังนั้นการสรรหาและแต่งตั้งตําแหน่งของกรรมการผู้จัดการใหญ่ จึงต้องเป็นไปตาม พระราชบัญญัติมาตรฐานสําหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ โดยต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา 8 ตรี และดําเนินกระบวนการ สรรหาตามมาตรา 8 จัตวา โดยคณะกรรมการ ปตท. แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่งจํานวน 5 คน ที่มีคุณสมบัติและไม่มี ลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ทําหน้าที่สรรหาบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่เหมาะสมสําหรับเป็นผู้บริหาร ปตท. โดยต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ไม่เป็นกรรมการของ ปตท. ยกเว้นเป็นผู้บริหารซึ่งเป็นกรรมการ โดยตําแหน่ง และมีอายุไม่เกิน 58 ปีบริบูรณ์ในวันยื่นใบสมัคร เมื่อคณะกรรมการสรรหาสรรหาผู้ที่มีความเหมาะสมแล้วให้เสนอต่อ ผู้มีอํานาจพิจารณาแต่งตั้ง โดยต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ผู้บริหารเดิมพ้นจากตําแหน่ง สัญญาจ้างมีระยะ เวลาคราวละไม่เกิน 4 ปี ในกรณีที่คณะกรรมการจะจ้างผู้บริหารเดิมต่อหลังจากครบกําหนดเวลาตามสัญญาจ้าง ไม่ต้องดําเนินการ กระบวนการสรรหาใหม่แต่จะจ้างเกินสองคราวติดต่อกันไม่ได้ ซึ่งในปี 2558 คณะกรรมการ ปตท. ได้ดําเนินการกระบวนการสรรหา กรรมการผู้จัดการใหญ่คนใหม่เพื่อทําหน้าที่แทนนายไพรินทร์ ชูโชติถาวร ซึ่งครบวาระตามสัญญาจ้างในวันที่ 9 กันยายน 2558


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างการจัดการ

โดยได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหากรรมการผู้จัดการใหญ่ตาม

โดยมีกลไกการบริหาร ดังนี้

พระราชบั ญ ญั ติ ม าตรฐานสํ า หรั บ กรรมการและพนั ก งาน

รัฐวิสาหกิจ ทั้งนี้ มีผู้สนใจสมัครและมีคุณสมบัติครบถ้วนจํานวน 4 คน โดยแบ่งเป็นผู้บริหารกลุ่ม ปตท. 3 คน และบุคคลภายนอก

คณะกรรมการจัดการกลุ่ม ปตท. (PTT Group Management Committee: PTTGMC)

คณะกรรมการจัดการกลุ่ม ปตท. - Minor

1 คน ซึ่งกระบวนการสรรหาดําเนินการด้วยความโปร่งใสภายใต้

(PTT Group Management Committee-Minor:

แนวทางการสรรหาผู้บริหารสูงสุด ตามมาตรา 8 วรรค 3 แห่ง

PTTGMC-Minor)

พระราชบัญญัตค ิ ณ ุ สมบัตม ิ าตรฐานสําหรับกรรมการและพนักงาน

คณะกรรมการบริหารความร่วมมือของกลุ่มทรัพยากร

รั ฐ วิ ส าหกิ จ (ฉบั บ ที่ 6) พ.ศ. 2550 ซึ่ ง คณะกรรมการสรรหา

บุคคล (Human Resources Group Alignment

กรรมการผู้จัดการใหญ่ได้พิจารณาคัดเลือกผู้สมัครที่เหมาะสม

& Coordination Management Committee: HRAC)

เสนอต่ อ คณะกรรมการ ปตท. เพื่ อ พิ จ ารณา คื อ นายเทวิ น ทร์

วงศ์วานิช ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2558 คณะกรรมการ ปตท.

(Human Resources Management Committee: HRMC) •

ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ ปตท. คนใหม่ ต่อจากนายไพรินทร์ ชูโชติถาวร โดยเข้ารับตําแหน่งตัง้ แต่วน ั ที่ 10 กันยายน 2558 และมีวาระการดํารงตําแหน่ง 2 ปี 11 เดือน นับจาก

คณะกรรมการจัดการทรัพยากรบุคคล ของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ได้มม ี ติเห็นชอบตามทีค ่ ณะกรรมการสรรหากรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ ปตท. เสนอและแต่งตั้งนายเทวินทร์ วงศ์วานิช ให้ดํารงตําแหน่ง

149

คณะกรรมการจัดการทรัพยากรบุคคล (Corporate Human Resources Committee: HRC)

ผลการดําเนินการ ป 2560

วันที่ได้รับการแต่งตั้ง (เนื่องจากนายเทวินทร์ วงศ์วานิช จะมีอายุ ครบ 60 ปีบริบูรณ์ ในวันที่ 30 สิงหาคม 2561)

ปตท. ได้ดําเนินการพัฒนาผู้บริหารระดับสูงอย่างต่อเนื่อง

การเตรียม SEVP Pool Member คือ กลุ่มผู้บริหารระดับ EVP ที่มีความพร้อมและศักยภาพ (กลุ่ม ปตท.)

เพือ ่ ให้มผ ี บ ู้ ริหารขององค์กรเป็นหนึง่ ในผูม ้ ค ี ณ ุ สมบัตท ิ พ ี่ ร้อมสมัคร

-

เข้าคัดเลือกในการสรรหากรรมการผู้จัดการใหญ่ครั้งต่อไป โดยมี

2560)

การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร เพือ ่ ทดแทนผูบ ้ ริหารระดับสูง

-

ที่จะเกษียณอายุ ในระหว่างปี 2560 - 2564 และกําหนดนโยบาย/ แนวทางการพัฒนาผูบ ้ ริหารระดับสูงของกลุม ่ ปตท. รวมทัง้ การจัดทํา

จํานวน Pool Member 30 ราย (ณ วันที่ 31 ธันวาคม Pool Member ได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นดํารงตําแหน่ง 27 ราย (ปี 2551 - 2560)

การเตรียม EVP Pool Member คือ กลุ่มผู้บริหารระดับ VP

แผนพั ฒ นารายบุ ค คล คื อ Management Pool ประกอบด้ ว ย

ที่มีความพร้อมและศักยภาพ (กลุ่ม ปตท.)

ผู้บริหาร 297 คน และ Potential Pool ของตําแหน่ง Key Area ไว้

-

เรียบร้อยแล้ว

2560)

การบริหารดังกล่าว ดําเนินการมาตั้งแต่ปี 2550 โดย ปตท.

-

มี ร ะบบ “การพั ฒ นาผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง (Group Leadership Development Program: GLDP)” เพื่อเป็นการวาง Succession

จํานวน Pool Member 121 ราย (ณ วันที่ 31 ธันวาคม Pool Member ได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นดํารงตําแหน่ง 45 ราย (ปี 2552 - 2560)

การเตรียม VP Pool Member คือ กลุ่มผู้บริหารระดับ

Plan สําหรับเตรียมบุคลากรให้มีความพร้อมขึ้นดํารงตําแหน่ง

ผจ.ส่วน ที่มีความพร้อมและศักยภาพ (ปตท.)

ที่สูงขึ้นเมื่อมีตําแหน่งว่างของกลุ่ม ปตท. ได้แก่ ตําแหน่งต่าง ๆ

-

จํานวน Pool Member 146 ราย (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560)

ดังนี้ •

กรรมการผู้จัดการใหญ่ (President)

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่หรือเทียบเท่า

-

Pool Member ได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นดํารงตําแหน่ง 153 ราย (ปี 2552 - 2560)

(Senior Executive Vice President: SEVP) •

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่หรือเทียบเท่า

ขอพิพาทดานแรงงาน

(Executive Vice President: EVP) •

ผู้จัดการฝ่ายหรือเทียบเท่า (Vice President: VP)

ปตท. ไม่มีข้อพิพาทด้านแรงงานที่มีนัยสําคัญในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา


150

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

21 การกํากับดูแลกิจการ

นโยบาย การกํากับดูแลกิจการ ในฐานะบริ ษั ท พลั ง งานแห่ ง ชาติ ที่ มี ส ถานะเป็ น รั ฐ วิ ส าหกิ จ

ครั้งที่ 4 ในปี 2559 - 2560 เพื่อให้เป็นไปตามหลักการกํากับดูแล

และบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปตท.

กิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555 ของตลาดหลักทรัพย์

ตระหนักถึงพันธกิจสําคัญในการมีระบบบริหารจัดการทีด ่ ี โปร่งใส

แห่ ง ประเทศไทย ตลอดจนข้ อ คิ ด เห็ น และข้ อ เสนอแนะจาก

และสร้างความเท่าเทียมต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ปตท. มุ่งหวัง

รายงาน Corporate Governance Assessment Report ของสมาคม

ที่จะพัฒนาองค์กรให้เป็นต้นแบบด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดี

ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย (IOD) ทีป ่ รับปรุงให้สอดคล้อง

ด้ ว ยเชื่ อ มั่ น ว่ า หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เ ป็ น ระบบบริ ห าร

กับ ASEAN Corporate Governance Scorecard (ASEAN CG

จัดการที่ก่อให้เกิดความเป็นธรรม สร้างความมั่นใจในการลงทุน

Scorecard), DJSI Corporate Sustainability Assessment

และสร้ า งมู ล ค่ า ระยะยาวให้ กั บ ผู้ ถื อ หุ้ น สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ต่ อ

และแนวปฏิบัติที่ดีของบริษัทชั้นนําในระดับสากล โดยใช้ชื่อว่า

ผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทุกฝ่าย รวมถึงทําให้องค์กรมีการจัดการทีเ่ หมาะสม

“คู่ มื อ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี มาตรฐานทางจริ ย ธรรม และ

มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลดีที่สุด ส่งเสริมความสามารถ

จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของบริษท ั ปตท. จํากัด (มหาชน)”

ในการแข่งขันขององค์กรให้เติบโตอย่างยั่งยืน นับตั้งแต่แปลงสภาพเป็น บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) และ กระจายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปลายปี 2544

หรื อ คู่ มื อ CG ซึ่ ง สาระสํ า คั ญ ที่ ป รั บ ปรุ ง ในคู่ มื อ การกํ า กั บ ดู แ ล กิจการที่ดีฯ ฉบับปัจจุบัน ได้แก่ •

คณะกรรมการ ปตท. ให้ความสําคัญในด้านการกํากับดูแลกิจการ ที่ดีมาโดยตลอด โดยกําหนดให้ ปตท. จัดทํานโยบายเกี่ยวกับ

เ พิ่ ม เ ติ ม ช่ อ ง ท า ง ก า ร ร้ อ ง เ รี ย น ด้ า น จ ริ ย ธ ร ร ม แ ล ะ จรรยาบรรณ

เพิ่ ม เติ ม แนวปฏิ บั ติ เ รื่ อ งการใช้ ข้ อ มู ล ภายใน (Insider

จรรยาบรรณทางธุรกิจ ตลอดจนจริยธรรมในการประกอบธุรกิจ

Trading) โดยขอให้คณะกรรมการ ปตท. ผู้บริหาร และ

ของคณะกรรมการ ผู้บริหารระดับสูง ฝ่ายจัดการ และพนักงาน

ผู้เกี่ยวข้องกับข้อมูล หลีกเลี่ยงการซื้อขายหลักทรัพย์ของ

ตามระบบการกํากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของ

บริษัทในกลุ่ม ปตท. โดยหากมีความจําเป็นต้องซื้อขาย

องค์กรทีไ่ ด้มาตรฐานและเป็นแนวทางทีถ ่ ก ู ต้องไว้ในข้อบังคับของ

ให้ แ จ้ ง เลขานุ ก ารบริ ษั ท ล่ ว งหน้ า เพื่ อ เป็ น การสร้ า ง

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) รวมทั้งได้กําหนดระเบียบบริษัท

ความโปร่งใส

่ ใี นปี 2544 ซึง่ ได้มก ี ารแก้ไขทบทวน ว่าด้วยการกํากับดูแลกิจการทีด

ในปี 2557 และจั ด ทํ า คู่ มื อ หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข อง ปตท. ส่งมอบให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ลงนาม รับทราบและถือปฏิบัติเป็นครั้งแรกในปี 2546 และปรับปรุงอย่าง ต่อเนือ ่ งอีกจํานวน 4 ฉบับ ในปี 2548 ปี 2552 ปี 2556 และปรับปรุง

เพิ่มเติมองค์ประกอบ คุณสมบัติของคณะกรรมการ และ การแต่งตั้ง เช่น การเป็นอิสระของประธานกรรมการ

เพิ่ ม เติ ม บทบาทหน้ า ที่ ข องคณะกรรมการและประธาน กรรมการ


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

• • •

เพิ่มเติมคุณสมบัติและบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ

151

3. คณะกรรมการ ปตท. มี บ ทบาทสํ า คั ญ ในการกํ า หนด

เฉพาะเรื่อง

วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ นโยบาย และแผนงานที่สําคัญของ ปตท. โดย

เพิม ่ เติมเรือ ่ งการประเมินผลการปฏิบต ั งิ านและการพัฒนา

จะต้องพิจารณาถึงปัจจัยเสี่ยงและวางแนวทางการบริหารจัดการ

คณะกรรมการ

ที่มีความเหมาะสม รวมทั้งต้องดําเนินการเพื่อให้มั่นใจว่าระบบ

เพิ่มเติมจริยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ

บัญชี รายงานทางการเงินและการสอบบัญชี มีความน่าเชื่อถือ

เรื่องการป้องกันการฟอกเงิน •

การกํากับดูแลกิจการ

เพิม ่ เติมแนวปฎิบต ั ิเรือ ่ ง การรับ การให้ของขวัญ ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด

ทั้งนี้ ปตท. กําหนดให้การกํากับดูแลกิจการที่ดีเป็นส่วนหนึ่ง

4. คณะกรรมการ ปตท. จะต้องเป็นผู้นําในเรื่องจริยธรรม เป็นตัวอย่างในการปฏิบัติงานตามแนวทางการกํากับดูแลกิจการ ที่ดีของ ปตท. และสอดส่องดูแลในเรื่องการจัดการแก้ไขปัญหา ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และรายการที่เกี่ยวโยงกัน

ของวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมขององค์กร โดยมีเป้าหมาย

5. คณะกรรมการ ปตท. อาจแต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะ

ที่จะให้ ปตท. เป็นบริษัทที่เจริญเติบโตอย่างยั่งยืน (Sustainable

เรื่องขึ้นตามความเหมาะสม เพื่อช่วยพิจารณากลั่นกรองงานที่มี

Growth Strategy) โดยผลักดันให้เป็นบริษัทพลังงานไทยข้ามชาติ

ความสําคัญอย่างรอบคอบ

ชัน ้ นํา เป็นองค์กรทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพเป็นเลิศเพือ ่ พัฒนาขีดความสามารถ

6. คณะกรรมการ ปตท. ต้องจัดให้มีการประเมินผลตนเอง

ในการแข่ ง ขั น (Competitiveness) มุ่ ง เน้ น การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม

รายปี เพื่ อ ใช้ เ ป็ น กรอบในการตรวจสอบการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อง

ร่วมกัน (Create Shared Value: CSV) และสร้างประโยชน์ตอบแทน

คณะกรรมการ

ที่เหมาะสมแก่ผู้มีส่วนได้เสีย บนหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance: CG)

7. คณะกรรมการ ปตท. เป็นผู้พิจารณากําหนดมาตรฐาน จริ ย ธรรมและจรรยาบรรณของ ปตท. เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการ ผู้ บ ริ ห า ร พ นั ก ง า น ร ว ม ถึ ง ลู ก จ้ า ง ทุ ก ค น ใ ช้ เ ป็ น แ น ว ท า ง ในการประพฤติปฏิบต ั ิ ควบคูไ่ ปกับข้อบังคับและระเบียบของ ปตท.

นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance Policy)

8. คณะกรรมการต้ อ งจั ด ให้ มี ก ารเปิ ด เผยสารสนเทศของ ปตท. ทั้ ง ในเรื่ อ งทางการเงิ น และที่ ไ ม่ ใ ช่ เ รื่ อ งทางการเงิ น อย่ า ง เพียงพอ เชือ ่ ถือได้ และทันเวลา เพือ ่ ให้ผถ ู้ ือหุน ้ และผูม ้ ีสว ่ นได้เสีย

ปตท. มีการทบทวนปรับปรุงนโยบายและคูม ่ อ ื CG ตามโอกาส

ของ ปตท. ได้ รั บ สารสนเทศอย่ า งเท่ า เที ย มกั น มี ห น่ ว ยงาน

เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมาย สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ และ

ประชาสัมพันธ์และหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ รับผิดชอบในเรื่อง

สังคมที่เปลี่ยนแปลงไป และกําหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร และ

การให้ข้อมูลกับนักลงทุนและประชาชนทั่วไป

พนักงานทุกระดับ ลงนามรับทราบและยึดถือปฏิบัติเป็นส่วนหนึ่ง

9. คณะกรรมการ ปตท. ต้องจัดให้ผู้ถือหุ้น ปตท. จะได้รับ

ในการทํ า งาน เพื่ อ ให้ เ ห็ น ถึ ง คํ า มั่ น สั ญ ญาในการนํ า ไปปฏิ บั ติ

การปฏิบต ั อ ิ ย่างเท่าเทียมกัน มีสท ิ ธิในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ

อย่างเป็นรูปธรรม โดยคณะกรรมการได้กา ํ หนดนโยบายการกํากับ

และมีช่องทางในการสื่อสารกับ ปตท. ที่เหมาะสม

ดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. ไว้ดังนี้ 1. คณะกรรมการ ปตท. ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนมุ่งมั่น ที่ จ ะนํ า เอาหลั ก สํ า คั ญ ในการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข อง ปตท.

10. คณะกรรมการ ปตท. ต้องจัดให้มรี ะบบการคัดสรรบุคลากร ที่จะเข้ามารับผิดชอบในตําแหน่งบริหารที่สําคัญทุกระดับอย่าง เหมาะสมและมีกระบวนการสรรหาที่โปร่งใส เป็นธรรม

ทั้ง 6 ประการ คือ Accountability, Responsibility, Equitable

11. คณะกรรมการ ปตท. ต้ อ งจั ด ให้ มี ร ะบบที่ ส นั บ สนุ น

Treatment, Transparency, Vision to Create Long-term Value

การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้มั่นใจว่า

และ Ethics มาใช้ ใ นการดํ า เนิ น งาน มี โ ครงสร้ า งการบริ ห าร

ฝ่ายบริหารได้ตระหนักและให้ความสําคัญกับการต่อต้านการทุจริต

ที่มีความสัมพันธ์กันระหว่างคณะกรรมการ ปตท. ผู้บริหาร และ

คอร์รป ั ชัน รวมทัง้ ปฏิบต ั ต ิ ามมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน

ผู้ถือหุ้นอย่างเป็นธรรม

่ ี มาตรฐานทาง ปตท. ได้เผยแพร่คม ู่ อ ื การกํากับดูแลกิจการทีด

2. คณะกรรมการ ปตท. จะปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยความทุ่ ม เท

จริยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของบริษัท ปตท.

และรับผิดชอบ มีความเป็นอิสระและมีการจัดแบ่งบทบาทหน้าที่

จํากัด (มหาชน) ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สําหรับนักลงทุน

ระหว่ า งประธานกรรมการกั บ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ

และผู้สนใจต่างชาติ รวมถึงผู้มีส่วนได้เสียนําไปใช้เป็นประโยชน์

กรรมการผู้จัดการใหญ่ออกจากกันอย่างชัดเจน

หรื อ นํ า ไปใช้ อ้ า งอิ ง ได้ บ นระบบเครื อ ข่ า ย PTT Intranet และ บนเว็บไซต์ของ ปตท. แล้ว


152

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

1. สิทธิของผูถือหุน

ผู้ถือหุ้นล่วงหน้ามากกว่า 14 วันก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น หนังสือ เชิญประชุมส่งออกวันที่ 7 เมษายน 2560 และได้ทําการประกาศ

ในฐานะเจ้ า ของบริ ษั ท ผู้ ถื อ หุ้ น ย่ อ มมี สิ ท ธิ กํ า หนดทิ ศ ทาง

ลงในหนั ง สื อ พิ ม พ์ ร ายวั น ทั้ ง ฉบั บ ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษ

การดําเนินธุรกิจของบริษัท หรือตัดสินใจในเรื่องที่มีผลกระทบ

อย่างละ 1 ฉบับ ติดต่อกันต่อเนื่องฉบับละ 3 วัน ก่อนวันประชุม

อย่างมีนัยสําคัญต่อบริษัท การประชุมผู้ถือหุ้นจึงเป็นเวทีสําคัญ

3 วัน (วันที่ 22 - 24 เมษายน 2560) เพื่อบอกกล่าวเรียกประชุม

สํ า หรั บ ผู้ ถื อ หุ้ น ในการแสดงความคิ ด เห็ น ติ ด ต่ อ ซั ก ถาม และ

ผูถ ้ ือหุน ้ เป็นการล่วงหน้าเพียงพอสําหรับการเตรียมตัวก่อนมาเข้า

พิจารณาลงคะแนนเสียงชี้ขาด และคัดเลือกคณะกรรมการเพื่อ

ร่วมประชุม

ทําหน้าที่กํากับดูแลบริษัทแทนผู้ถือหุ้น ดังนั้นผู้ถือหุ้นจึงมีสิทธิ

ทั้งนี้ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ปตท. ได้นําข้อมูลหนังสือ

โดยชอบที่ จ ะเข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น มี เ วลาเพี ย งพอสํ า หรั บ

เชิญประชุมผู้ถือหุ้นและเอกสารประกอบเปิดเผยในเว็บไซต์ของ

การพิจารณา และรับทราบผลการประชุม

ปตท. ล่วงหน้าก่อนวันประชุม 30 วัน (เริ่มตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม

1.1 กําหนดการจัดประชุมผูถือหุน

2560)

1.3 การดําเนินการประชุมผูถือหุน

ปตท. ได้กา ํ หนดให้มก ี ารประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ปีละครัง้ ภายใน เวลาไม่เกิน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีของ ปตท. และ

ก่ อ นเริ่ ม การประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น แต่ ล ะครั้ ง ประธานที่ ป ระชุ ม

ในกรณี ที่ มี ค วามจํ า เป็ น เร่ ง ด่ ว นต้ อ งเสนอวาระเป็ น กรณี พิ เ ศษ

จะแนะนําคณะกรรมการ คณะผูบ ้ ริหาร ผูส ้ อบบัญชีของบริษท ั และ

ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งที่ ก ระทบหรื อ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ผลประโยชน์ ข องผู้ ถื อ หุ้ น

ที่ปรึกษากฎหมายซึ่งทําหน้าที่เป็นคนกลางให้ที่ประชุมรับทราบ

หรือเกี่ยวข้องกับเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ กฎหมาย ที่ใช้บังคับที่ต้อง

แล้วจึงชี้แจงกติกาทั้งหมดรวมถึงวิธีนับคะแนนเสียงของผู้ถือหุ้น

ได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นแล้ว บริษัทจะเรียกประชุมวิสามัญ

ที่ ต้ อ งลงมติ ใ นแต่ ล ะวาระตามข้ อ บั ง คั บ ของ ปตท. รวมถึ ง

ผู้ถือหุ้นเป็นกรณีไป

การใช้สท ิ ธิออกเสียงลงคะแนนในแต่ละวาระอย่างชัดเจน และเมือ ่

ทัง้ นีใ้ นปี 2560 ปตท. ได้จด ั การประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ในวันศุกร์ที่

มีการให้ข้อมูลตามระเบียบวาระแล้ว ประธานฯ จะเปิดโอกาสให้

28 เมษายน 2560 ณ ห้องบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ ชั้น 5

ผู้เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม ทุ ก รายแสดงความคิ ด เห็ น ข้ อ เสนอแนะ ถาม

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซาลาดพร้าว เลขที่ 1695 ถนนพหลโยธิน

คํ า ถามในแต่ ล ะวาระ และให้ เ วลาอภิ ป รายอย่ า งเหมาะสม

แขวงจตุจักร กรุงเทพมหานคร และไม่มีการเรียกประชุมวิสามัญ

เพียงพอ จากนั้นประธานฯ และผู้บริหารจะตอบข้อซักถามอย่าง

ผู้ถือหุ้น

ชัดเจน ตรงประเด็น และให้ความสําคัญกับทุกคําถาม แล้วจึงให้

1.2 การแจงเชิญประชุมลวงหนา

ที่ประชุมออกเสียงลงมติในวาระนั้น ๆ สําหรับวาระการเลือกตั้ง กรรมการ ประธานฯ จะดําเนินการให้ผถ ู้ ือหุน ้ ลงมติเป็นรายบุคคล ประธานฯ จะดําเนินการประชุมตามลําดับวาระการประชุม

ในปี 2560 คณะกรรมการ ปตท. ในการประชุม ครั้งที่ 3/2560

และไม่เพิ่มวาระการประชุมโดยไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า

เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2560 มีมติให้มีการจัดการประชุมสามัญ

เว้นแต่ทป ่ี ระชุมจะมีมติให้เปลีย ่ นลําดับระเบียบวาระด้วยคะแนนเสียง

ผู้ถือหุ้นประจําปีในวันที่ 28 เมษายน 2560 โดยได้เปิดเผยมติ

ไม่ น้ อ ยกว่ า สองในสามของจํ า นวนผู้ ถื อ หุ้ น ซึ่ ง เข้ า ร่ ว มประชุ ม

การประชุ ม วั น ประชุ ม และระเบี ย บวาระการประชุ ม และ

หรือผูถ ้ อ ื หุน ้ ซึง่ ถือหุน ้ รวมกันไม่นอ ้ ยกว่าหนึง่ ในสามของจํานวนหุน ้

แจ้งข่าวประกาศในเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ทีจ ่ า ํ หน่ายได้ทงั้ หมดอาจขอให้ทป ี่ ระชุมพิจารณาเรือ ่ งอืน ่ นอกจาก

เพื่ อ ให้ ผู้ ถื อ หุ้ น ทราบล่ ว งหน้ า ในวั น ที่ ค ณะกรรมการมี ม ติ ก่ อ น

ที่ กํ า หนดไว้ ใ นหนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม เมื่ อ ที่ ป ระชุ ม ได้ พิ จ ารณา

การจัดส่งหนังสือเชิญประชุม โดยบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์

ระเบียบวาระที่กําหนดไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้วตามที่กําหนดไว้ใน

(ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเป็นนายทะเบียนหลักทรัพย์ของ ปตท.

ข้อบังคับของ ปตท. ทัง้ นีใ้ นการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ สามัญประจําปี 2560

จะเป็ น ผู้ ดํ า เนิ น การจั ด ส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ที่ มี ร ายละเอี ย ด

ไม่มีการเปลี่ยนลําดับระเบียบวาระ และไม่มีการขอให้ที่ประชุม

วาระการประชุ ม ข้ อ มู ล ประกอบที่ สํ า คั ญ และจํ า เป็ น สํ า หรั บ

พิจารณาเรื่องอื่นที่ไม่ได้กําหนดไว้ในที่ประชุมอย่างใด

การตัดสินใจ/ ความเห็นของคณะกรรมการ รายงานการประชุม

อนึ่ ง ในการประชุ ม ทุ ก ครั้ ง จะมี ก ารจดบั น ทึ ก รายงาน

ที่ ผ่ า นมาซึ่ ง มี ร ายละเอี ย ดครบถ้ ว น รายงานประจํ า ปี พ ร้ อ มทั้ ง

การประชุมอย่างถูกต้องครบถ้วน และสรุปด้วยการลงมติพร้อมกับ

เอกสารประกอบการประชุม เอกสารที่ต้องใช้ในการมอบฉันทะ

นับคะแนนเสียง ซึง่ รวมระยะเวลาทีใ่ ช้ในการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ แต่ละครัง้

และระบุวิธีการใช้ไว้ชัดเจนตามที่ ปตท. กําหนด โดยจัดส่งให้

ประมาณ 3 - 4 ชั่วโมง ทั้งนี้ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

153

2560 ได้กําหนดการประชุมเวลา 09.30 น. โดยเริ่มรับลงทะเบียนเวลา 07.30 น. โดย ณ ตอนเปิดประชุม มีผู้ถือหุ้นเข้าร่วมการประชุม รวมจํานวนทัง้ สิน ้ 2,618 ราย โดยมาประชุมด้วยตนเอง 1,125 ราย และรับมอบฉันทะ 1,493 ราย รวมจํานวนหุน ้ ทัง้ สิน ้ 2,040,915,542 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 71.45 ซึ่งเกินกว่า 1 ใน 3 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้ทั้งหมดของ ปตท. จํานวนทั้งสิ้น 2,856,299,625 หุ้น โดยมีผู้เข้าร่วมการประชุมและชี้แจงข้อมูล ประกอบด้วย

กรรมการ 1. นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

ประธานกรรมการ/ กรรมการอิสระ

2. ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ

3. พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการสรรหา

4. พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

5. นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการกําหนดค่าตอบแทน

6. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร/ กรรมการสรรหา

7. นายวิชัย อัศรัสกร

กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

8. นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

9. นายธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์

กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหา/ กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

10. นายสมชัย สัจจพงษ์

กรรมการ/ กรรมการกําหนดค่าตอบแทน

11. นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

กรรมการอิสระ/ กรรมการกําหนดค่าตอบแทน

12. นายดอน วสันตพฤกษ์

กรรมการอิสระ/ กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

13. นายสมคิด เลิศไพฑูรย์

กรรมการอิสระ/ กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

14. นายธรรมยศ ศรีช่วย

กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

15. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ/ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่

ผูบริหาร 1. นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ

2. นายสรัญ รังคสิริ

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย

3. นางนิธิมา เทพวนังกูร

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน

4. นายชวลิต พันธ์ทอง

ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานและบริหารความยั่งยืน

นอกจากนี้ ยังมีผบ ู้ ริหารระดับรองกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ ผูช ้ ว ่ ยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ และผูบ ้ ริหารจากบริษท ั กลุม ่ ปตท. ทีอ ่ ยูด ่ า ้ นหน้า เวที พร้อมที่จะชี้แจง และให้ข้อมูลในกรณีที่มีข้อสอบถามที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้กรรมการอิสระเป็นผู้รับมอบฉันทะจากผู้ถือหุ้นรายย่อยด้วย


154

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

ผูสอบบัญชี 1. นางสาวมะยุรีย์ จันทะมาตย์

สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

2. นางสาวเมธาวี สวยสม

สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

3. นางสาวรุ่งอุทัย ทองสาย

สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

ที่ปรึกษากฎหมาย (ทําหน้าที่ตรวจสอบและสอบการลงคะแนนเสียงกรณีมีข้อโต้แย้งตลอดการประชุม) 1. นางสาวเพียงพนอ บุญกล่ํา

บริษัท วีระวงค์, ชินวัฒน์และพาร์ทเนอร์ส จํากัด

2. นางสาวโชษิตา เดชารักษ์

บริษัท วีระวงค์, ชินวัฒน์และพาร์ทเนอร์ส จํากัด

3. นายสถาพร จําสุข

บริษัทสํานักกฎหมาย เซ้าท์ เอเชีย จํากัด

4. นายกันย์ วัชระกร

บริษัทสํานักกฎหมาย เซ้าท์ เอเชีย จํากัด

ผูถือหุน (ณ ตอนปิดประชุม เวลา 13.16 น.) มีผู้ถือหุ้นมาประชุมรวมทั้งสิ้น 4,514 ราย โดยมาประชุมด้วยตนเอง 1,829 ราย และรับมอบฉันทะ 2,685 ราย รวมเป็นจํานวนหุ้นทั้งสิ้น 2,358,013,858 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 82.55 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด

1.4 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับความขัดแยงของผลประโยชนสําหรับการประชุม คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. กําหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคนจัดทํารายงานความขัดแย้งของ ผลประโยชน์ทงั้ ทีเ่ ป็นแบบรายงานประจําปี และแบบรายงานใหม่ระหว่างปีกรณีมก ี ารเปลีย ่ นแปลง และในการประชุมใด ๆ ผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย หรือมีผลประโยชน์ที่ขัดแย้งกับ ปตท. จะต้องแจ้งให้ที่ประชุมทราบและไม่ร่วมพิจารณาหรืองดออกเสียงในเรื่องนั้น ๆ ในการประชุมผู้ถือหุ้น หากมีกรรมการท่านใดมีส่วนได้เสีย หรือมีส่วนเกี่ยวข้องในวาระใด กรรมการท่านนั้นจะแจ้งต่อที่ประชุมเพื่อ ขอไม่ร่วมประชุมและงดออกเสียงในวาระนั้น ๆ

1.5 การเปดเผยผลการประชุมผูถือหุน ในปี 2560 ปตท. จะจัดส่งรายงานสรุปผลการลงมติในที่ประชุมผู้ถือหุ้นให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ และคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ ภายในช่วงเย็นหลังจากเสร็จสิ้นการประชุม (วันที่ 28 เมษายน 2560) และจัดส่งรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น (ซึ่งจดบันทึกรายงาน การประชุม โดยแยกวาระชัดเจน ระบุจํานวนกรรมการที่เข้าประชุม/ ลาประชุม ข้อซักถามของผู้ถือหุ้นและข้อชี้แจงของคณะกรรมการ วิธก ี ารนับคะแนนเสียง และผลการนับคะแนนในแต่ละวาระไว้อย่างครบถ้วน) ให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ และคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ภายในกําหนด 14 วัน รวมทั้งได้เผยแพร่รายงานการประชุม วีดิทัศน์ ภาพ และเสียงของการประชุมบนเว็บไซต์ ของ ปตท. ไว้แล้วด้วย


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

2. การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน

การกํากับดูแลกิจการ

155

ทั้ ง นี้ ปตท. ได้ นํ า หลั ก เกณฑ์ ดั ง กล่ า วเผยแพร่ บ นเว็ บ ไซต์ ของ ปตท. และแจ้งข่าวประกาศในเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์

ปตท. ปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นแต่ละรายเท่าเทียมกัน (แม้ว่าจะถือ

แห่งประเทศไทย โดยมีระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2559

หุ้นไม่เท่ากันและมีสิทธิออกเสียงไม่เท่ากัน ตามจํานวนหุ้นที่ถือ)

จนถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 แล้ว อย่างไรก็ตาม ไม่มีผู้ถือหุ้น

ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิพื้นฐานในฐานะผู้ถือหุ้นเท่าเทียมกัน โดย

เสนอวาระการประชุม และไม่มีการเสนอชื่อบุคคลเสนอแต่งตั้ง

ไม่คา ํ นึงถึงเพศ อายุ เชือ ้ ชาติ สัญชาติ ศาสนา ความเชือ ่ ฐานะทาง

เป็นกรรมการในระยะเวลาดังกล่าว ซึง่ เลขานุการบริษท ั ได้รายงาน

สังคม ความพิการ หรือความคิดเห็นทางการเมือง โดยในวันประชุม

ต่อที่ประชุมคณะกรรมการ ปตท. รับทราบแล้ว

ผู้ถือหุ้น ปตท. จะจัดเตรียมที่นั่งสําหรับผู้พิการ ผู้สูงอายุ และ หญิงมีครรภ์ไว้ในจุดที่สะดวกที่สุด รวมทั้งจัดเจ้าหน้าที่ไว้คอย อํานวยความสะดวก ทั้งนี้ ปตท. ได้เผยแพร่ข้อมูลการประชุม

2.2 การอํานวยความสะดวกแกผูถือหุน ในการประชุมผูถือหุน

ผู้ ถื อ หุ้ น ของบริ ษั ท เป็ น การล่ ว งหน้ า ก่ อ นวั น ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และ จัดทําเป็นภาษาอังกฤษเผยแพร่พร้อมภาษาไทย รวมทัง้ กําหนดให้

เช่นเดียวกับการดําเนินการที่ผ่านมา ในการจัดการประชุม

กรรมการที่มีส่วนได้เสียต้องงดเว้นการมีส่วนร่วมในการประชุม

ผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจําปี 2560 ปตท. ได้อา ํ นวยความสะดวกให้กบ ั ผูถ ้ อ ื หุน ้

พิจารณาในวาระนั้น ๆ ซึ่งรวมถึงการจัดกิจกรรมอื่น ๆ สําหรับ

ทุกราย ตั้งแต่การเลือกสถานที่จัดการประชุมให้สะดวก เพียงพอ

ผู้ถือหุ้น ปตท. ก็เปิดโอกาสให้โดยไม่มีข้อจํากัด

กับจํานวนผูถ ้ ือหุน ้ ทีจ ่ ะมาเข้าร่วมประชุม รวมทัง้ จัดให้มีเจ้าหน้าที่

2.1 การเสนอวาระการประชุมเพิม่ เติมและเสนอชือ่ บุคคลเพื่อแตงตั้งเปนกรรมการ

คอยดูแล ต้อนรับ ให้ความสะดวกอย่างเพียงพอ สามารถอํานวย ความสะดวกให้กับผู้สูงอายุและผู้พิการที่ใช้รถเข็น การจัดห้อง ประชุมสํารองและระบบการถ่ายทอดสัญญาณโต้ตอบระหว่าง ห้องประชุม การเตรียมการรักษาความปลอดภัยและแผนรับมือ

สําหรับการประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจําปี 2560 ปตท. กําหนด

กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินให้กับผู้เข้าร่วมการประชุม การเปิดบริการ

หลักเกณฑ์ รวมทั้งกําหนดขั้นตอนแนวทางการพิจารณาการให้

ตรวจรั บ เอกสารลงทะเบี ย นล่ ว งหน้ า 5 วั น การจั ด เจ้ า หน้ า ที่

สิทธิผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเสนอวาระ และ/หรือ ชื่อบุคคลเพื่อแต่งตั้ง

ให้ บ ริ ก ารถ่ า ยเอกสารและตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของเอกสาร

เป็นกรรมการล่วงหน้าให้คณะกรรมการ ปตท. พิจารณากําหนด

การเปิ ด รั บ ลงทะเบี ย นก่ อ นเวลาประชุ ม 2 ชั่ ว โมง การขยาย

เป็นระเบียบวาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เพื่อให้โอกาสผู้ถือหุ้น

ระยะเวลารับลงทะเบียนจนถึงระยะเวลาก่อนการพิจารณาวาระ

มี ส่ ว นร่ ว มในการกํ า กั บ ดู แ ลบริ ษั ท และการคั ด สรรบุ ค คลที่ มี

การประชุมสุดท้าย การนําเทคโนโลยีมาใช้กับการประชุมผู้ถือหุ้น

คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมและปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ

ด้วยการใช้ระบบ Barcode ในการลงทะเบียนและการลงคะแนนเสียง

เพื่ อ ประโยชน์ สู ง สุ ด ของผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ย

เพื่ อ ความสะดวกรวดเร็ ว รวมทั้ ง การจั ด ให้ มี ก ารเลี้ ย งรั บ รอง

โดยให้สท ิ ธิผถ ู้ อ ื หุน ้ ท่านเดียว หรือหลายท่านทีม ่ ส ี ด ั ส่วนการถือหุน ้

สําหรับผู้ถือหุ้นที่มาร่วมประชุม

ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของจํานวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท

แม้ผู้ถือหุ้นส่วนใหญ่ที่มาเข้าร่วมการประชุมสามัญประจําปี

หรื อ มี สั ด ส่ ว นการถื อ หุ้ น รวมกั น ไม่ น้ อ ยกว่ า 100,000 หุ้ น และ

ของ ปตท. เป็ น คนไทย และดํ า เนิ น การประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เป็ น

จะต้องถือหุน ้ บริษท ั ในสัดส่วนดังกล่าวต่อเนือ ่ งมาแล้วไม่นอ ้ ยกว่า

ภาษาไทย แต่ ปตท. ได้จัดทําเอกสารประกอบการประชุมผู้ถือหุ้น

1 ปี เสนอวาระการประชุมหรือเสนอชื่อบุคคลที่มีความเหมาะสม

และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องเป็น 2 ภาษา คือ ภาษาไทยและภาษา

เข้าดํารงตําแหน่งกรรมการ ปตท. ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น

อังกฤษ สําหรับผูถ ้ อ ื หุน ้ ชาวไทยและชาวต่างชาติ และจัดทําเว็บไซต์

ประจําปีตั้งแต่เดือนกันยายน - พฤศจิกายน 2559 เพื่อเตรียมการ

ของ ปตท. เป็น 2 ภาษา รวมทัง้ จัดให้มพ ี นักงานทีม ่ ค ี วามเชีย ่ วชาญ

ในกรณี ต้ อ งเสนอชื่ อ กรรมการเพื่ อ ขอความเห็ น ชอบจาก

ทางภาษาคอยให้ความสะดวกในการประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ในกรณี

คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (คนร.) ตามระเบียบสํานักนายก

ที่ มี ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ไ ม่ ส ามารถสื่ อ สารเป็ น ภาษาไทยซั ก ถามข้ อ สงสั ย

รัฐมนตรีว่าด้วยการกําหนดนโยบายและกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจ

หรื อ อภิ ป รายในที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ปตท. จะจั ด ให้ มี ก ารสื่ อ สาร

พ.ศ. 2557

ที่เหมาะสมและมีการแปลเป็นภาษาไทยทั้งคําถามและคําตอบ สําหรับผู้เข้าร่วมประชุมท่านอื่นในที่ประชุมเพื่อรักษาประโยชน์ ้ อ ื หุน ้ ชาวต่างชาติ และอํานวยความสะดวกในการสือ ่ สารสําหรับผูถ


156

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

2.3 การมอบฉันทะ

ต่อคู่ค้า

ดําเนินธุรกิจร่วมกันบนพื้นฐานของความเป็น ธรรม มุ่งสร้างความไว้วางใจ ความสัมพันธ์

เพือ ่ รักษาสิทธิให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ ทีไ่ ม่สะดวกเข้าประชุม ประจําปี 2560

และความร่ ว มมื อ ที่ ดี เพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพ

ด้วยตนเอง ผูถ ้ อ ื หุน ้ สามารถมอบฉันทะให้ผอ ู้ น ื่ หรือกรรมการอิสระ

และประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจร่วมกัน

ของ ปตท. ท่านใดท่านหนึ่งจากกรรมการอิสระที่เข้าร่วมประชุม

ในระยะยาว

ทั้งหมด ซึ่ง ปตท. จะระบุรายชื่อไว้ในหนังสือมอบฉันทะตามแบบ

ต่อพนักงาน

สนับสนุนการพัฒนาความสามารถการทํางาน

ที่กระทรวงพาณิชย์กําหนดเพื่อให้เป็นผู้เข้าประชุมและออกเสียง

ระดับมืออาชีพอย่างต่อเนือ ่ ง ให้ความมัน ่ ใจใน

ลงมติแทนผู้ถือหุ้นได้โดยไม่มีเงื่อนไข ทั้งนี้ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นมอบ

คุณภาพชีวต ิ การทํางานของพนักงานทัดเทียม

ฉันทะให้กับผู้อื่น ปตท. จะให้สิทธิและปฏิบัติต่อผู้รับมอบฉันทะ

บริษัทชั้นนํา เพื่อสร้างความผูกพันต่อองค์กร

เสมือนเป็นผู้ถือหุ้นท่านหนึ่ง นอกจากนี้ ปตท. ได้เปิดเผยแบบ หนังสือมอบฉันทะที่แนบ พร้อมทั้งรายละเอียดและขั้นตอนต่าง ๆ

3.1 การปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียทั้ง 6 กลุม

บนเว็บไซต์ของ ปตท. ล่วงหน้าก่อนวันประชุม 30 วัน โดยผูถ ้ อ ื หุน ้ สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ทั้งทางโทรศัพท์หรือช่องทาง

3.1.1 ประเทศ

อื่น ๆ เช่น เว็บไซต์ อีเมล เป็นต้น ปตท. ในฐานะบริ ษั ท พลั ง งานแห่ ง ชาติ มี ภ ารกิ จ สํ า คั ญ

3. บทบาทตอผูมีสวนไดเสีย

ในการขั บ เคลื่ อ นประเทศ ตามยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แ ละวิ สั ย ทั ศ น์ ให้ ป ระเทศไทยมี ค วาม “มั่ น คง มั่ ง คั่ ง ยั่ ง ยื น ” โดยมี พั น ธกิ จ

ปตท. ในฐานะบริ ษั ท พลั ง งานแห่ ง ชาติ ได้ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ

ในการสร้างความมั่นคงด้านพลังงานในระยะยาว โดยการจัดหา

ในการดูแลและคํานึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ทั้งภายในบริษัท

พลังงานในปริมาณที่เพียงพอมีคุณภาพได้มาตรฐาน และราคา

และภายนอกบริ ษั ท รวมถึ ง ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและ

เป็นธรรมเพื่อเสริมสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ

สิง่ แวดล้อม โดยแบ่งกลุม ่ ผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียของ ปตท. ออกเป็น 6 กลุม ่

ปตท. กําหนดทิศทางและกลยุทธ์การดําเนินงานให้สอดคล้อง

และกําหนดพันธกิจเป็นเป้าหมายในการตอบสนองความต้องการ

กับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบาย Thailand 4.0 นโยบายกระทรวง

ของผู้มีส่วนได้เสียในแต่ละกลุ่มอย่างสมดุลดังต่อไปนี้

พลังงาน และยุทธศาสตร์รัฐวิสาหกิจ โดยมีบทบาทในด้านต่าง ๆ ดังนี้

ต่อประเทศ

ต่อสังคมชุมชน

ต่อผู้ถือหุ้น

ต่อลูกค้า

สร้ า งความมั่ น คงด้ า นพลั ง งานในระยะยาว

1) ด้านการสร้างความมัน ่ คงทางพลังงาน มีการลงทุนพัฒนา

โดยการจัดหาพลังงานในปริมาณที่เพียงพอ

โครงสร้างพื้นฐานทางพลังงานอย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับปริมาณ

มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และราคาที่เป็นธรรม

การใช้พลังงานที่เพิ่มขึ้น เช่น ระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ สถานีรับ

เพื่อเสริมสร้างการเติบโตทางเศรษฐกิจ

ก๊าซธรรมชาติ (LNG Receiving Terminal) LPG Import Facilities

เป็ น องค์ ก รที่ ดี ข องสั ง คม ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ มี

คลังนํ้ามันและสถานีบริการนํ้ามัน สถานีเก็บรักษาและแปรสภาพ

การบริหารจัดการผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

ก๊าซธรรมชาติจากของเหลวเป็นก๊าซแบบลอยนํา ้ (Floating Storage

ตามมาตรฐานสากล และมีสว่ นร่วมในการพัฒนา

and Regasification Unit: FSRU) การลงทุนในธุรกิจแบตเตอรีแ ่ ละ

คุณภาพชีวิตที่ดีแก่สังคมชุมชน

ไฟฟ้า เป็นต้น ทางด้านการจัดหาพลังงาน ปตท. มีการบริหาร

ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ เชิ ง พาณิ ช ย์ สามารถสร้ า ง

จั ด การความเสี่ ย งในการจั ด หาพลั ง งานจากแหล่ ง ต่ า ง ๆ ให้ มี

ผลตอบแทนทีด ่ ี และมีการขยายธุรกิจให้เติบโต

ปริ ม าณที่ เ พี ย งพอ มี คุ ณ ภาพ ได้ ม าตรฐาน เช่ น การจั ด หา

ต่อเนื่องอย่างยั่งยืน

ก๊าซธรรมชาติจากแหล่งในประเทศ การนําเข้าจากต่างประเทศ

สร้างความพึงพอใจและความผูกพันแก่ลก ู ค้า

และในรูปแบบการจัดหา LNG (ก๊าซธรรมชาติเหลวหรือ Liquefied

โดยผ่ า นการนํ า เสนอผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก าร

Natural Gas) เพื่อตอบสนองความต้องการพลังงานของประเทศ

ทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพในระดับมาตรฐานสากลด้วยราคา เป็นธรรม


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

2) ด้านการสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ได้จัดหาพลังงาน

การกํากับดูแลกิจการ

157

3.1.3 ผู้ถือหุ้น

ในราคาที่ เ หมาะสมเพื่ อ ให้ ธุ ร กิ จ มี ค วามสามารถในการแข่ ง ขั น การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ

กลยุทธ์การเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน (Sustainable Growth

ทรัพยากรปิโตรเลียม ผ่านธุรกิจโรงแยกก๊าซธรรมชาติ โรงกลั่น

Strategy) ถูกนํามาใช้ในการบริหารจัดการ ปตท. ให้เป็นองค์กร

น้ํามัน และธุรกิจปิโตรเคมีที่ทําให้เกิดการพัฒนาธุรกิจต่อเนื่อง

ที่ มี ค วามเป็ น เลิ ศ ในด้ า นการดํ า เนิ น งาน (High Performance

อีกมากมาย รวมถึงการส่งเสริมการนําเทคโนโลยีมาใช้ปรับปรุง

Organization) โดยตั้ ง มั่ น อยู่ บ นหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี

ประสิ ท ธิ ภ าพและพั ฒ นาขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ให้

(Corporate Governance) ควบคู่ไปกับการดูแลสังคม ชุมชน และ

ผู้ประกอบการตลอดห่วงโซ่ธุรกิจ เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง

สิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility) เพื่อให้นักลงทุน

และการเติบโตในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล

มั่นใจว่า ปตท. จะเป็นบริษัทที่ให้ผลตอบแทนที่ดี มีความยั่งยืน

3) ด้ า นการสร้ า งความยั่ ง ยื น โดยส่ ง เสริ ม การลงทุ น ด้ า น

เป็นองค์กรที่อยู่คู่สังคมไทยตลอดไป

การวิ จั ย และพั ฒ นาพลั ง งานที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม รวมทั้ ง การคิ ด ค้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละการบริ ก ารที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม

กิจกรรมสําหรับผู้ถือหุ้นสามัญ

การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตผลชุมชนทางการเกษตร สนับสนุน

ปตท. ได้จัดให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเข้าเยี่ยมชมกิจการ เพื่อเปิด

การดํ า เนิ น การในห่ ว งโซ่ อุ ป ทานที่ ส อดคล้ อ งกั บ เป้ า หมาย

โอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ น รายย่ อ ยได้ มี โ อกาสเยี่ ย มชมการดํ า เนิ น งาน

การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)

รับทราบข้อมูล พบปะกับคณะผู้บริหาร ปตท. และมีส่วนร่วมใน

การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เป็นต้น

กิจกรรมเพื่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมในพื้นที่จังหวัดระยอง ของ ปตท. อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นมา

3.1.2 สังคม ชุมชน

ํ หนดแผนงานจัดกิจกรรมในวันที่ สําหรับปี 2560 ปตท. ได้มีกา 31 ตุลาคม, 1 - 2 พฤศจิกายน 2560 โดย ปตท. นําส่งหนังสือเชิญ

ปตท. มุง่ มัน ่ ในการเป็นองค์กรทีค ่ า ํ นึงถึงการเติบโตร่วมกันกับ

และเอกสารตอบรับไปยังผู้ถือหุ้นซึ่งปรากฏรายชื่อ ณ วันปิดสมุด

สังคมชุมชน และการขับเคลื่อนสังคมไทยให้ก้าวหน้า ควบคู่ไปกับ

ทะเบียนเพือ ่ พักการโอนหุน ้ เพือ ่ สิทธิเข้าร่วมประชุมสามัญผูถ ้ ือหุน ้

การรั ก ษาทรั พ ยากรสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยนํ า เป้ า หมายการพั ฒ นา

ประจําปี 2560 (วันที่ 3 เมษายน 2560) โดยทางไปรษณีย์ เพื่อให้

ทีย ่ งั่ ยืน (Sustainable Development Goals) มากําหนดเป็นแนวทาง

ผู้ถือหุ้นแจ้งความประสงค์ในการเข้าเยี่ยมชมกิจการของ ปตท.

การดํ า เนิ น งานเพื่ อ สั ง คม ในด้ า นการพั ฒ นามนุ ษ ย์ ใ นทุ ก มิ ติ

อนึ่ง เนื่องจากมีผู้ให้ความสนใจและแจ้งความประสงค์ที่จะเข้า

ครอบคลุมตัง้ แต่การศึกษาและการพัฒนาศักยภาพ และมาตรฐาน

เยี่ยมชมกิจการของ ปตท. จํานวนมาก ประมาณ 2,193 คน ปตท.

คุณภาพชีวิต สร้างการเข้าถึงพลังงานทางเลือกอย่างเหมาะสม

่ มชม จึงกําหนดให้ใช้วธ ิ ก ี ารจับสลากในการคัดเลือกผูม ้ ส ี ท ิ ธิเข้าเยีย

และการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละฟื้ น ฟู สิ่ ง แวดล้ อ ม

กิ จ การเช่ น เดี ย วกั บ ที่ ผ่ า นมา โดยมี ผู้ บ ริ ห ารและคณะทํ า งาน

ทั้ ง ทางบกและทางทะเล ตลอดจนปลู ก และดู แ ลรั ก ษาป่ า เพื่ อ

การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เป็ น สั ก ขี พ ยาน กํ า หนดจั บ ฉลาก

กั ก เก็ บ ก๊ า ซเรื อ นกระจก อั น เป็ น สาเหตุ ข องการเปลี่ ย นแปลง

ในวันที่ 19 กันยายน 2560 และประกาศรายชือ ่ ผูม ้ ส ี ท ิ ธิเข้าเยีย ่ มชม

สภาพภู มิ อ ากาศ พร้ อ มทั้ ง ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด ความตระหนั ก รู้ แ ละ

กิจการของ ปตท. บนเว็บไซต์ของ ปตท. เจ้าหน้าที่ของ ปตท. ได้

ความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ จนนําไปสู่การร่วมสร้างสังคม

ดําเนินการแจ้งผูม ้ ส ี ท ิ ธิเข้าเยีย ่ มชมกิจการของ ปตท. ทางโทรศัพท์

สู่ความยั่งยืน หรือ “Sustainable Growth for All”

เพื่อยืนยันการตอบรับเข้าเยี่ยมชมกิจการของ ปตท. โดยกิจกรรม

อนึ่ ง รายละเอี ย ดในเรื่ อ งดั ง กล่ า วปรากฏอยู่ ใ นหั ว ข้ อ

ดังกล่าวจะจัดให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเข้าเยี่ยมชมกิจการ ณ สถาบัน

“สานพลั ง สู่ ค วามยั่ ง ยื น ร่ ว มกั น ” และรายงานความยั่ ง ยื น

พัฒนาศักยภาพธุรกิจน้ํามัน (Oil Business Academy: OBA) และ

ปี 2560 (Corporate Sustainability Report 2017)

ศูนย์ธุรกิจคาเฟ่อเมซอน (Amazon Inspiring Campus: AICA) รับฟังข้อมูล และพาเยี่ยมชมห้องจําลองการเรียนรู้ สถานีบริการ น้า ํ มัน น้า ํ มันหล่อลืน ่ น้า ํ มันอากาศยาน และ LPG และโรงคัว ่ กาแฟ จํานวน 240 คน โดยแบ่งเป็น 3 รุ่น รุ่นละ 80 คน ซึ่ง ปตท. จะนํา ข้อเสนอแนะที่ได้จากผู้ถือหุ้นไปปรับปรุงการทํางานในปีถัดไป สํ า หรั บ ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ส นใจเข้ า เยี่ ย มชมกิ จ การในครั้ ง ต่ อ ไป (ประจําปี 2561) สามารถติดตามความคืบหน้าและรายละเอียด โครงการได้บนเว็บไซต์ของ ปตท. โดยหากเป็นสถานที่เยี่ยมชม เดิม ปตท. ขอสงวนสิทธิส ์ า ํ หรับผูถ ้ อ ื หุน ้ ทีย ่ งั ไม่เคยเข้าร่วมกิจกรรม เท่านั้น


158

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

กิจกรรมสําหรับผู้ถือหุ้นกู้ ปตท.

กิจกรรมสําหรับนักลงทุนสถาบัน

ปตท. ได้จัดกิจกรรมสําหรับผู้ถือหุ้นกู้ ปตท. อย่างต่อเนื่อง

ในปี 2560 นอกเหนือจากกิจกรรมผู้บริหารพบนักลงทุน เพื่อ

มาตั้งแต่ปี 2553 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นช่องทางในการสร้าง

ชี้แจงข้อมูลผลประกอบการประจําไตรมาสแล้ว ปตท. ได้จัดให้

และรั ก ษาความสั ม พั น ธ์ อั น ดี ร ะหว่ า ง ปตท. กั บ ผู้ ถื อ หุ้ น กู้ ฯ

นักลงทุนสถาบันและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์เยี่ยมชมกิจการและ

รวมถึ ง เป็ น การตอบแทนความเชื่ อ มั่ น ที่ ไ ด้ ล งทุ น ระยะยาว

พบผูบ ้ ริหารเพือ ่ แลกเปลีย ่ นความคิดเห็นเป็นประจําปีในช่วงเดือน

ในหุ้ น กู้ ข อง ปตท. ทั้ ง นี้ กิ จ กรรมที่ จั ด ขึ้ น ในปี 2560 ยั ง คงมี

มกราคม ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ศูนย์ธุรกิจคาเฟ่อเมซอน

ความหลากหลายเพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของผู้ ถื อ หุ้ น กู้ ฯ

(Amazon Inspiring Campus: AICA) และสถาบันพัฒนาศักยภาพ

ที่มีจํานวนกว่า 23,000 ราย อาทิ

ธุรกิจน้ํามัน (Oil Business Academy: OBA) โดยในการเยี่ยมชม

นิ ต ยสารรายไตรมาส Happiness ที่ ใ ช้ เ ป็ น ช่ อ งทางใน

ดังกล่าว นักลงทุนและนักวิเคราะห์มีโอกาสทราบถึงทิศทางและ

การสื่ อ ความข้ อ มู ล องค์ ก ร ให้ ค วามรู้ ท างด้ า นพลั ง งาน

โอกาสในการดําเนินธุรกิจของ กลุ่ม ปตท. จากผู้บริหารโดยตรง

และบทความน่าอ่านต่าง ๆ ที่ให้ทั้งสาระและความบันเทิง อย่างครบครัน •

3.1.4 ลูกค้า

กิจกรรมเยี่ยมชมกิจการกลุ่ม ปตท. จํานวน 3 ครั้ง ได้แก่ ครั้ ง ที่ 1 เยี่ ย มชมโรงเรี ย นกํ า เนิ ด วิ ท ย์ (KVIS) สถาบั น

ปตท. ดําเนินธุรกิจทัง้ ตลาดในประเทศและตลาดต่างประเทศ

วิทยสิริเมธี (VISTEC) และโครงการป่าวังจันทร์ จังหวัด

โดยมี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ลั ก ที่ จํ า หน่ า ยคื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก๊ า ซธรรมชาติ

ระยอง ในเดื อ นเมษายน ครั้ ง ที่ 2 เยี่ ย มชมศู น ย์ ธุ ร กิ จ

และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม โดยจําหน่ายผลิตภัณฑ์ให้กับลูกค้า

คาเฟ่ อ เมซอน (Amazon Inspiring Campus: AICA)

ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ ลูกค้าธุรกิจน้ํามัน ลูกค้าธุรกิจก๊าซ

และสถาบันพัฒนาศักยภาพธุรกิจน้ํามัน (Oil Business

และลูกค้าธุรกิจโครงสร้างพืน ้ ฐาน ทัง้ ในกลุม ่ Business to Business

Academy: OBA) ในเดือนมิถุนายน และครั้งที่ 3 เยี่ยมชม

(B2B) และกลุ่ม Business to Consumer (B2C)

โรงแยกก๊าซธรรมชาติ ปตท. จังหวัดระยอง ในเดือนตุลาคม

ํ หนดความต้องการ ปตท. รับฟังเสียงลูกค้า เพือ ่ ใช้วิเคราะห์กา

กิจกรรมสานสัมพันธ์ เช่น กิจกรรมสัมมนาและกิจกรรม

และความคาดหวั ง ของลู ก ค้ า ผ่ า นทางช่ อ งทางต่ า ง ๆ เช่ น

เวิร์กชอปประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะกิจกรรมคอนเสิร์ต

การเยี่ยมเยียนลูกค้า การสัมมนา การสํารวจความคิดเห็น ฯลฯ

ที่ยังคงได้การตอบรับที่ดีเสมอมา ซึ่งในปี 2560 ปตท.

ซึ่ ง เป็ น ช่ อ งทางที่ ใ ห้ ส ารสนเทศในด้ า นข้ อ มู ล คู่ แ ข่ ง สภาพ

ได้จด ั คอนเสิรต ์ ประจําปี โดยเป็นการนําบทเพลงพระราช-

การแข่งขัน เทคโนโลยี แนวโน้มพฤติกรรมลูกค้า การใช้ชีวิตของ

นิพนธ์ของรัชกาลที่ 9 และบทเพลงอันไพเราะมาผสมผสาน

ผู้บริโภค สิ่งแวดล้อมทางการตลาด และความต้องการในอนาคต

กับบรรยากาศการเปลีย ่ นแปลงของท้อง “ฟ้า” ในช่วงเวลา

ของลู ก ค้ า โดยนํ า ไปพิ จ ารณาร่ ว มกั บ สารสนเทศอื่ น ๆ ได้ แ ก่

ต่าง ๆ จํานวน 2 รอบ

สถานการณ์และแนวโน้มเศรษฐกิจพลังงาน นโยบายรัฐ กฎระเบียบ

ทั้งนี้ ปตท. ยังคงมีแผนการพัฒนารูปแบบการดําเนินการจัด

นวัตกรรมเทคโนโลยี ข้อมูลการเงินและเศรษฐกิจ เพื่อออกแบบ

กิจกรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและเพิ่มระดับความพึงพอใจของ

ผลิตภัณฑ์และบริการได้ตรงตามความต้องการและความคาดหวัง

ผู้ถือหุ้นกู้ฯ อย่างต่อเนื่อง เช่น การเพิ่มช่องทางการเข้าถึงข้อมูล

ของลูกค้าทั้งในปัจจุบันและอนาคต

การจั ด กิ จ กรรมผ่ า นเว็ บ เพจ และช่ อ งทางในการรั บ ข้ อ มู ล

ปตท. พัฒนาระบบสนับสนุนเพือ ่ เพิม ่ ความสะดวกให้กบ ั ลูกค้า

ข่ า วสารผ่ า นอี เ มลเพื่ อ อํ า นวยความสะดวกให้ ผู้ ถื อ หุ้ น กู้ ปตท.

ในการทําธุรกรรมกับ ปตท. อย่างต่อเนื่อง เช่น การพัฒนาระบบ

และให้เกิดความสอดคล้องกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน

e-Order ระบบ e-Billing ระบบ e-Payment และระบบ Direct Approved ช่วยให้ลูกค้าสามารถสืบค้นข้อมูล รับการสนับสนุน และทํ า ธุ ร กรรมได้ ต ลอด 24 ชั่ ว โมง ปตท. พั ฒ นาและเพิ่ ม ประสิทธิภาพการทํางานของศูนย์รับคําสั่งซื้อและลูกค้าสัมพันธ์ ด้ ว ยระบบ iMind เชื่ อ มโยง รวมศู น ย์ ข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งต่ า ง ๆ เช่ น อี เ มล เว็ บ ไซต์ ข้ อ มู ล สมาชิ ก บั ต ร PTT Blue Card ฯลฯ เพื่ อ ให้ พ นั ก งาน Contact Center ตอบสนองลู ก ค้ า ได้ อ ย่ า ง รวดเร็ว ด้วยข้อมูลที่ถูกต้อง และทันสมัยตลอดเวลา


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ปตท. จั ด ทํ า มาตรฐานการให้ บ ริ ก ารและคู่ มื อ ปฏิ บั ติ ง าน

การกํากับดูแลกิจการ

159

3.1.5 คู่ค้า

ที่ครอบคลุมทุกช่องทาง เช่น คู่มือมาตรฐานสถานีบริการ คู่มือ การบรรจุ ก๊ า ซ คู่ มื อ การเติ ม น้ํ า มั น อากาศยาน คู่ มื อ มาตรฐาน

ผู้ ค้ า เป็ น ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย สํ า คั ญ ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ร่ ว มกั น

Contact Center เป็ น ต้ น โดยมี วิ ธี ก ารตรวจประเมิ น ผลตาม

ปตท. จึ ง ให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การปฏิ บัติต่อ ผู้ค้า อย่ า งเสมอภาค

มาตรฐานบริการตามระบบ QSHE MS, Mystery Shopper, Mobile

บนหลักการของการแข่งขันที่เป็นธรรม เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน

Lab ตามระยะเวลาทีก ่ า ํ หนด เพือ ่ ให้มน ั่ ใจว่าบุคลากรสามารถสร้าง

สร้ า งความสั ม พั น ธ์ แ ละความร่ ว มมื อ อั น ดี ปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญา

ประสบการณ์ที่ดีแก่ลูกค้าได้สม่ําเสมอ

อย่างเคร่งครัด และปฏิบัติตามกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งเป็น

ปตท. พัฒนาวิธก ี ารบริหารความสัมพันธ์กบ ั ลูกค้าให้เหมาะสม

กระบวนการสํ า คั ญ ในการควบคุ ม คุ ณ ภาพสิ น ค้ า และบริ ก าร

กับแต่ละวงจรชีวิตของลูกค้า เพื่อนําไปสู่การซื้อซ้ํา และบอกต่อ

ตลอดจนค่าใช้จา ่ ยในการดําเนินกิจการ ปตท. จึงกําหนดหลักเกณฑ์

อันเป็นระดับความสัมพันธ์เป้าหมายสูงสุด มีระบบการประเมิน

และขั้นตอนการจัดหาพัสดุเพื่อให้เกิดความโปร่งใส ตรวจสอบได้

ความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ และความผูกพันของลูกค้าที่มี

และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ต่ อ ปตท. โดยเปรี ย บเที ย บกั บ คู่ แ ข่ ง ผ่ า นการวิ จั ย สํ า รวจความ

นอกจากนั้น ปตท. มีความมุ่งมั่นที่จะดําเนินธุรกิจให้เติบโต

พึงพอใจประจําปี ทีม ่ ก ี ารพัฒนาวิธก ี ารและข้อคําถามอย่างต่อเนือ ่ ง

อย่างยั่งยืน ควบคู่ไปกับการกํากับดูแลกิจการเพื่อชุมชน สังคม

โดยพิจารณาร่วมกับพฤติกรรมการซื้อของลูกค้าโดยตรง เพื่อให้

และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้บรรลุตามปณิธานที่ตั้งไว้ ปตท. จึงให้

ผลการสํารวจสะท้อนการดําเนินงานในปัจจุบัน และเพิ่มโอกาส

ความสํ า คั ญ กั บ การบริ ห ารจั ด การห่ ว งโซ่ อุ ป ทานและพั ฒ นา

ในการต่อยอดทางธุรกิจในอนาคตได้ชด ั เจนมากขึน ้ ทัง้ นีม ้ ก ี ารรวบรวม

ให้ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม โดยได้ จั ด ทํ า กระบวนการบริ ห าร

และวิ เ คราะห์ ค วามไม่ พึ ง พอใจของลู ก ค้ า อย่ า งสม่ํ า เสมอ เช่ น

ความเสี่ยงและลดผลกระทบจากการดําเนินธุรกิจของผู้ค้า เพื่อ

Contact Center การเข้ า พบลู ก ค้ า เป็ น ต้ น เพื่ อ ให้ ส ามารถ

สนั บ สนุ น การดํ า เนิ น งานด้ า นการบริ ห ารห่ ว งโซ่ อุ ป ทานอย่ า ง

ทราบถึ ง สั ญ ญาณชี้ บ่ ง ล่ ว งหน้ า นํ า ไปสู่ ก ารแก้ ไ ขปั ญ หาอย่ า ง

ยั่งยืนให้ประสบความสําเร็จ โดยมีปัจจัยหลักในการขับเคลื่อน

ทันท่วงที ป้องกันการสูญเสียลูกค้า และการแทรกแซงจากคู่แข่ง

3 ปัจจัย คือ

ปตท. แบ่ ง กลุ่ ม ประเภทข้ อ ร้ อ งเรี ย นตามความรุ น แรงของ ผลกระทบ โดยกํ า หนด Service Level Agreement สํ า หรั บ

1) นโยบายและทิศทางการดําเนินงานที่ชัดเจน

ข้อร้องเรียนแต่ละประเภท ทั้งนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องแก้ไข

นโยบายและกลยุ ท ธ์ ข ององค์ ก รเป็ น ปั จ จั ย สํ า คั ญ ที่ ส ร้ า ง

ปั ญ หาให้ แ ล้ ว เสร็ จ ภายในระยะเวลาที่ กํ า หนด ข้ อ ร้ อ งเรี ย น

ความตระหนักให้แก่พนักงานภายในองค์กร และสังคมภายนอก

ทุกประเภทจะต้องได้รับการตอบสนองเบื้องต้นภายใน 24 ชั่วโมง

รับทราบถึงความมุ่งมั่น และทิศทางการดําเนินงานขององค์กร

และมีการตอบกลับไปยังลูกค้าทุกรายภายหลังที่มีการแก้ไขแล้ว

ดังนัน ้ ในปี 2558 ปตท. จึงออกนโยบายการจัดหาและบริหารงาน

เสร็ จ มี ก ารสอบถามถึ ง ความพึ ง พอใจต่ อ การแก้ ไ ขปั ญ หาของ

ผู้ค้าอย่างยั่งยืนกลุ่ม ปตท.

ปตท. พร้อมแจ้งแผนการแก้ไขปัญหาระยะยาว สร้างความมั่นใจ

เพื่อให้ผู้ค้าของ ปตท. มีแนวทางปฏิบัติในการดําเนินธุรกิจ

ให้กับลูกค้า มีความพึงพอใจต่อการแก้ไขปัญหา และจะยังคงใช้

ให้เป็นไปตามแนวทางการบริหารองค์กรอย่างยัง่ ยืน และเหมาะสม

ผลิตภัณฑ์และบริการของ ปตท. ต่อไปในอนาคต

มากขึน ้ ปตท. จึงทบทวนแนวทางการปฏิบต ั อ ิ ย่างยัง่ ยืนของผูค ้ า ้

ทั้ ง นี้ ปตท. ใส่ ใ จด้ า นความสะดวกและความปลอดภั ย

ปตท. (PTT Supplier Sustainable Code of Conduct: SSCoC)

ของลูกค้าอย่างต่อเนือ ่ ง จึงได้ดา ํ เนินโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการ

และประกาศใช้เป็นครัง้ ที่ 3 เมือ ่ วันที่ 3 สิงหาคม 2558 โดยกําหนด

PTT Tune Up ให้ บ ริ ก ารตรวจเช็ ก เครื่ อ งยนต์ และปรั บ จู น

เนือ ้ หาและขอบเขตให้อยูภ ่ ายใต้ขอ ้ กําหนด ข้อบังคับ และกฎหมาย

เครื่องยนต์ฟรี โดยในปี 2558 ได้เปิดตัวโครงการสถานีบริการ

ทีเ่ กีย ่ วข้อง ตลอดจนประเด็นที่ ปตท. ให้ความสําคัญ ประกอบด้วย

ตามแนวคิด “Friendly Design” เพื่ออํานวยความสะดวกให้แก่

4 หัวข้อหลัก ดังนี้

ผู้พิการและผู้สูงอายุ เป็นต้น

1. จริยธรรมทางธุรกิจ 2. ความรับผิดชอบต่อสังคม 3. ความปลอดภัย 4. การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม


160

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

2) การพัฒนากระบวนการจัดหาและบริหารงานผู้ค้า ให้เป็นไปอย่างยั่งยืน

ข้ อ มู ล การจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งดั ง กล่ า วเป็ น รายเดื อ นผ่ า นเว็ บ ไซต์ www.pttplc.com เพื่ อ ให้ ป ระชาชนตรวจดู ไ ด้ การดํ า เนิ น การ

เพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารห่ ว งโซ่ อุ ป ทานเป็ น ไปตามทิ ศ ทางของ

ดั ง กล่ า วจะได้ รั บ การประเมิ น เป็ น ประจํ า ทุ ก ปี โดยปี 2560

องค์กร ปตท. มีการบริหารจัดการผูค ้ า ้ โดยคํานึงถึงผลกระทบด้าน

การประเมินเรื่องการเปิดเผยข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของ ปตท.

สิ่งแวดล้อม สังคม และการกํากับดูแล (Environment, Social &

ได้คะแนน 100%

Governance: ESG) ปตท. ได้ประเมินความเสี่ยงและผลกระทบ

ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2560 เป็นต้นมา ปตท. ได้ปฏิบัติ

ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการกํากับดูแลของกลุ่มงานสินค้า

ตาม พ.ร.บ.การจัดซือ ้ จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

และบริการ เพือ ่ แบ่งระดับการบริหารคูค ่ า ้ เป็น 3 ระดับ คือ 1. กลุม ่

จึ ง ได้ ป รั บ ปรุ ง กระบวนการโดยกํ า หนดให้ มี ก ารเปิ ด เผยแผน

Critical 2. กลุ่ม Key 3. กลุ่ม Manage เรียงตามลําดับความรุนแรง

การจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งประจํ า ปี เ พื่ อ ให้ ผู้ ส นใจเข้ า ร่ ว มเสนอราคากั บ

และผลกระทบที่อาจจะเกิดขึน ้ สําหรับผู้ค้ากลุ่ม Critical จะได้รับ

ปตท. สามารถบริหารจัดการในการเตรียมความพร้อมเข้าเสนองาน

การบริหารจัดการอย่างเข้มข้น นอกเหนือจากการลงนามรับทราบ

ได้ ล่ ว งหน้ า ปั จ จุ บั น ปตท. ได้ เ ปิ ด เผยแผนการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง

แนวทางการปฏิบต ั อ ิ ย่างยัง่ ยืนของผูค ้ า ้ ปตท. แล้ว ต้องมีการตอบ

ประจําปี 2561 แล้วบนเว็บไซต์ www.pttplc.com

แบบประเมินการปฏิบัติอย่างยั่งยืน (Sustainability Performance

ปตท. มีกระบวนการตรวจสอบการจัดหาพัสดุประจําปี โดย

Assessment) ซึ่ ง หากผู้ ค้ า ประเมิ น ตนเองแล้ ว คะแนนไม่ ถึ ง

คณะกรรมการกํากับดูแลตรวจสอบการพัสดุ (คตพ.) ซึ่งแต่งตั้ง

ตามเกณฑ์ ที่ กํ า หนดจะต้ อ งจั ด ทํ า แผนงานและกรอบเวลาใน

ตามระเบี ย บ บริ ษั ท ปตท. จํ า กั ด (มหาชน) ว่ า ด้ ว ยการพั ส ดุ

การปรับปรุง (ESG Corrective Action Plan) ทัง้ นี้ ปตท. ขอสงวนสิทธิ์

มีหน้าที่กํากับดูแลกระบวนการจัดหาพัสดุให้เกิดความโปร่งใส

ในการเข้าตรวจสอบ (Auditing) ผลการประเมินตนเองของผู้ค้า

โดยในปี 2560 คตพ. ได้สุ่มตรวจสอบความถูกต้องของงานจัดหา

โดยในปี 2560 คณะทํางาน ปตท. ร่วมกับหน่วยงานภายนอก

พัสดุทุกหน่วยธุรกิจของ ปตท. จากผลการตรวจสอบของ คตพ.

ได้เข้าตรวจประเมินการดําเนินงานด้านความยั่งยืนของผู้ค้ากลุ่ม

ในปี 2560 ผูบ ้ ริหารได้มงุ่ มัน ่ ในวิสย ั ทัศน์ในการเป็นองค์กรโปร่งใส

Critical จํานวน 6 บริษัท โดยผลคะแนนในภาพรวม ผู้ค้าอยู่ใน

จึงกําหนดให้มต ี ว ั ชีว ้ ด ั (KPI) ของทุกสายงานให้ถก ู ต้องตามระเบียบ

เกณฑ์ดี นอกจากนี้ ปตท. ยังดําเนินโครงการพัฒนาศักยภาพ

และข้อกําหนด โดยนําผลจากการตรวจสอบในปี 2559 มาเป็น

การดํ า เนิ น งานอย่ า งยั่ ง ยื น ของผู้ ค้ า โดยคั ด เลื อ กผู้ ค้ า หลั ก ที่ มี

พื้นฐานและหน่วยงานจัดหาได้จัดทําแผนและดําเนินการเพื่อลด

ลักษณะการดําเนินงานทีเ่ กีย ่ วข้องกับ ESG เข้าร่วมอบรมหลักสูตร

ข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยการฝึกอบรมพนักงานในหลักสูตรปฐมนิเทศ

การพั ฒ นาศั ก ยภาพด้ า นความยั่ ง ยื น ของผู้ ค้ า และฝึ ก ปฏิ บั ติ

และการจั ด ทํ า เนื้ อ หาในหลั ก สู ต ร Procurement Academy

การประเมิ น ศั ก ยภาพด้ า นความยั่ ง ยื น ของบริ ษั ท ตนเอง เพื่ อ

ซึ่ ง หลั ก สู ต รดั ง กล่ า วจะบรรจุ เ ป็ น Organization Knowledge

วางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับนโยบาย ปตท. ต่อไป

โดยจะต้องอบรมให้กับพนักงานทุกระดับ

นอกจากนี้ เพือ ่ ตอบสนองการดําเนินการด้าน Pride ในการเป็น

นอกจากนี้ ได้มรี ะบบการตรวจรับงาน ( Material Receive (MR)

องค์กรโปร่งใส ปตท. ร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐในการป้องกัน

on Web) ที่ให้หน่วยงานผู้ใช้ประเมินผลการดําเนินงานของผู้ค้า

แ ล ะ ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ทุ จ ริ ต ไ ด้ ล ง น า ม ใ น บั น ทึ ก ข้ อ ต ก ล ง

ในแง่ มุ ม ต่ า ง ๆ เช่ น ด้ า นคุ ณ ภาพ (Quality) ด้ า นการส่ ง มอบ

ความร่ ว มมื อ เรื่ อ งการขั บ เคลื่ อ นการป้ อ งกั น และปราบปราม

(Delivery) การให้ บ ริ ก าร (Service) ด้ า นการดํ า เนิ น งาน

การทุจริต ระหว่างสํานักงาน ป.ป.ช. สํานักงานคณะกรรมการ

(Performance) ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม

นโยบายรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ เพือ ่ ให้การขับเคลือ ่ น

(SSHE) ด้านความยั่งยืน (Sustainability) โดยเบื้องต้นจะแจ้ง

ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ว่ า ด้ ว ยการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต

ผลการประเมินแก่ผู้ค้าที่อยู่ในทะเบียนผู้ค้ารับทราบ เพื่อนําไป

มาตรการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต นโยบายของ

ปรับปรุงการดําเนินงานต่อไป

รั ฐ บาลที่ เ กี่ ย วข้ อ งและแผนปฏิ บั ติ ก ารป้ อ งกั น และปราบปราม

เมื่ อ วั น ที่ 18 กรกฎาคม 2560 ปตท. ได้ ล งนามข้ อ ตกลง

การทุจริต นําไปสู่การปฏิบัติในภาครัฐวิสาหกิจได้อย่างประสบ

คุณธรรม (Integrity Pact) เป็นการตกลงร่วมกันระหว่างหน่วยงาน

ผลสําเร็จตามหลักธรรมาภิบาลและบรรษัทภิบาล โดยในส่วนของ

ภาครั ฐ และผู้ เ ข้ า ร่ ว มเสนอราคา ว่ า จะปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ย

การให้และการเปิดเผยข้อมูลในการจัดซือ ้ จัดจ้าง ปตท. ได้เปิดเผย

ความซื่ อ สั ต ย์ ไม่ มี ก ารเรี ย กรั บ เงิ น สิ น บนหรื อ ประโยชน์ อื่ น ใด

ข้อมูลการจัดหาพัสดุ โดยปฏิบต ั ต ิ ามประกาศคณะกรรมการข้อมูล

รวมทั้งจะต้องเปิดเผยข้อมูลโครงการที่สําคัญในทุกกระบวนการ

ข่าวสารของราชการ เรื่อง กําหนดให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับผล

อย่ า งโปร่ ง ใสใน “โครงการระบบท่ อ ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ บ นบก

การพิ จ ารณาการจั ด ซื้ อ จั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งของหน่ ว ยงานของรั ฐ เป็ น

เส้นที่ 5 ส่วนที่ 2” และ “โครงการ LNG Receiving Terminal

ข้อมูลที่ต้องจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดูได้ตามมาตรา 9 (8) แห่ง

แห่งใหม่ จังหวัดระยอง” โดยมีพลเอก อนันตพร กาญจนรัตน์

พระราชบัญญัตข ิ อ ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 โดยเปิดเผย

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน ให้เกียรติเป็นประธานในงานดังกล่าว


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

161

และได้ รั บ เกี ย รติ จ ากนายประมนต์ สุ ธี ว งศ์ ประธานองค์ ก ร

3) การพัฒนาศักยภาพของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

ต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น (ประเทศไทย) นายปิ ย สวั ส ดิ์ อั ม ระนั น ทน์

ความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนศักยภาพของบุคลากรที่มีส่วน

ประธานคณะกรรมการ บริ ษั ท ปตท. จํ า กั ด (มหาชน) และ

เกีย ่ วข้องเป็นอีกปัจจัยทีส ่ า ํ คัญในการขับเคลือ ่ นให้การดําเนินการ

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ

ทั้ ง หมดนี้ สั ม ฤทธิ ผ ล ปตท. จึ ง ให้ ค วามสํ า คั ญ ในการพั ฒ นา

ผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ร่วมในพิธี

ศักยภาพด้านการจัดหาและบริหารงานผู้ค้าของผู้บริหาร และ

การลงนามในข้ อ ตกลงคุ ณ ธรรมในโครงการดั ง กล่ า ว เป็ น

พนั ก งานภายในองค์ ก รอย่ า งเป็ น ระบบและเหมาะสม ผ่ า น

การลงนามระหว่าง บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (ปตท.) กับ

การอบรม สื่อความ รวมถึงกระบวนการบริหารจัดการองค์ความรู้

ผู้แสดงความประสงค์จะซื้อเอกสารประมูลราคาล่วงหน้า และ

ั ถุประสงค์ (Knowledge Management: KM) เพือ ่ ให้สามารถบรรลุวต

ผู้ สั ง เกตการณ์ ซึ่ ง เป็ น ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ จ ากภาครั ฐ และเอกชน

ด้านความยัง่ ยืนสูก ่ ารบริหารจัดการผูค ้ า ้ นอกจากนี้ ปตท. ได้สร้าง

เพื่อแสดงเจตนารมณ์ของ ปตท. ในการเป็นองค์กรที่ดําเนินธุรกิจ

ความพร้ อ ม และสื่ อ ความให้ แ ก่ ผู้ ค้ า ควบคู่ กั น ไป เพื่ อ ให้ ผู้ ค้ า

ภายใต้หลักธรรมาภิบาล ดําเนินงานตามแนวนโยบายการต่อต้าน

เตรียมการพัฒนาการดําเนินธุรกิจของตนให้เป็นไปตามแนวทาง

การทุจริตคอร์รัปชันของรัฐบาล รวมถึงการมีกระบวนการจัดซื้อ

ความยั่งยืน หรือแนวทางการปฏิบัติอย่างยั่งยืนของผู้ค้า ปตท.

จัดจ้างที่โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้

(PTT Supplier Sustainable Code of Conduct)

สํ า หรั บ โครงการระบบท่ อ ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ บ นบกเส้ น ที่ 5

เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้ระหว่าง ปตท.

ส่วนที่ 2 จะเพิ่มความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ และเพิ่ม

กับผู้ค้า และพัฒนาศักยภาพของผู้ค้าให้พร้อมสนับสนุน ปตท.

กําลังการส่งก๊าซธรรมชาติจากฝั่งตะวันออกไปยังโครงข่ายระบบ

ทั้งในด้านผลการดําเนินการ ความต่อเนื่องในการดําเนินธุรกิจ

ท่อส่งก๊าซธรรมชาติฝั่งตะวันตก อีกทั้งเป็นการเพิ่มความมั่นคง

ตลอดจนความรับผิดชอบต่อสังคม ในปี 2560 ปตท. ได้จัดงาน

ในการจั ด ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ใ ห้ แ ก่ โ รงไฟฟ้ า บางปะกง โรงไฟฟ้ า

สัมมนาผู้ค้า (Supplier Relationship Management Seminar:

วังน้อย โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ และโรงไฟฟ้าพระนครใต้ เพือ ่ รองรับ

SRM) จํานวน 4 ครั้ง โดยเป็นการจัดงานของแต่ละหน่วยธุรกิจ/

ความต้องการไฟฟ้าในอนาคต โดยโครงการฯ มีกําหนดแล้วเสร็จ

สายงาน จํ า นวน 3 ครั้ ง และการจั ด สั ม มนาผู้ ค้ า หลั ก จาก

ภายในปี 2564 ส่วนโครงการ LNG Receiving Terminal แห่งใหม่

ทุกหน่วยงาน 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2560

จั ง หวั ด ระยอง เป็ น การก่ อ สร้ า งท่ า เที ย บเรื อ และสถานี รั บ จ่ า ย ก๊ า ซธรรมชาติ เ หลว เพื่ อ รองรั บ การนํ า เข้ า ก๊ า ซธรรมชาติ เ หลว (LNG) ในปริมาณ 7.5 ล้านตันต่อปี มีกําหนดแล้วเสร็จภายใน ปี 2565

กลุมผูคา ผู้ค้าของโรงแยกก๊าซธรรมชาติ จังหวัดนครศรีธรรมราช

วันที่จัดงาน 3 กรกฎาคม 2560

ผู้ค้าของโรงแยกก๊าซธรรมชาติ จังหวัดระยอง

28 สิงหาคม 2560

ผู้ค้าของระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ

17 ตุลาคม 2560

การจัดสัมมนาผู้ค้าของ ปตท. จะมีการสื่อความ ถ่ายทอดทิศทางการดําเนินงาน การจัดกิจกรรมที่มีความเหมาะสมตามกลุ่มผู้ค้า โดยหัวข้อการสื่อความและการจัดกิจกรรมสัมมนาในปี 2560 ประกอบด้วย •

ทิศทางการดําเนินธุรกิจ วิสัยทัศน์ และพันธกิจของ ปตท.

นโยบายและทิศทางการจัดหาสินค้าและบริการ ปตท. และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

การจัดหา การบริหารจัดการผู้ค้า และการบริหารองค์กรอย่างยั่งยืน

การจัดหาสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

การจัดกิจกรรมกลุ่มร่วมกันระหว่างพนักงานจัดหาและผู้ค้า ให้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อนํามาปรับปรุงกระบวนการ ทํางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยผลการดําเนินงานดังกล่าวส่งผลให้สามารถตอบสนองความต้องการและความพึงพอใจ ของผู้ค้ามากขึ้น ตลอดจนเกิดความสัมพันธ์ที่ดี และก่อเกิดเป็นความสัมพันธ์ที่ยั่งยืน (Sustainable Partnership) ต่อไป

การจัดทําเวิร์คชอปการประเมินความเสี่ยงด้าน ESG ให้กับผู้ค้า เพื่อให้เกิดความยั่งยืนตลอดห่วงโซ่อุปทานอย่างแท้จริง


162

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

สําหรับงานสัมมนาผู้ค้าหลักจากทุกหน่วยงานที่ดําเนินการ จัดหาสินค้าและบริการให้ ปตท. จัดเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2560

1. ผูค ้ า ้ จะต้องไม่เป็นผูล ้ ะทิง้ งานของ ปตท. หรือส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐ

ภายใต้ แ นวคิ ด หลั ก Together towards Tomorrow “ก้ า วไป

2. กรณี ที่ เ คยถู ก เพิ ก ถอนออกจากกลุ่ ม งานใดในทะเบี ย น

ข้ า งหน้ า ร่ ว มกั น อย่ า งยั่ ง ยื น ” ถ่ า ยทอดทิ ศ ทางธุ ร กิ จ ควบคู่

ผู้ค้าของ ปตท. จะไม่มีสิทธิยื่นขอขึ้นทะเบียนผู้ค้าฯ กับ ปตท.

ความโปร่งใส ร่วมสร้างสังคมปราศจากคอร์รป ั ชัน พร้อมถ่ายทอด

ในกลุม ่ งานนัน ้ ๆ ในช่วงระยะเวลา 3 ปี นับถัดจากวันทีถ ่ ก ู เพิกถอน

ข้ อ มู ล ให้ แ ก่ ผู้ ค้ า รั บ ทราบทิ ศ ทางและแนวทางการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ

ยกเว้ น กรณี ถู ก เพิ ก ถอน เนื่ อ งจากเป็ น ผู้ ล ะทิ้ ง งานของ ปตท.

ปตท. ในภาพรวม ภายใต้วิสัยทัศน์ของการเป็น Thai Premier

หรือส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐ ปตท.

Multinational Energy Company รวมถึงกล่าวถึงแผนการดําเนิน

ั เข้าเป็นผูค ้ า ้ ในทะเบียนผูค ้ า ้ ปตท. จนกว่าจะมีหนังสือแจ้ง จะไม่รบ

ธุรกิจใหม่ ๆ เพื่อให้องค์กรปรับตัวให้ทันสถานการณ์และต่อยอด

แสดงหลักฐานการยกเลิกการถูกเพิกถอน

ความยั่งยืนร่วมไปกับ ปตท. โดยวิทยากรรับเชิญผู้ทรงคุณวุฒิ

3. ผู้ ค้ า จะต้ อ งเข้ า ใจ และรั บ ทราบแนวทางการปฏิ บั ติ

ท่ า มกลางผู้ เ ข้ า ร่ ว มงานจากบริ ษั ท ผู้ ค้ า พนั ก งานจั ด หาสิ น ค้ า

อย่างยั่งยืนของผู้ค้า ปตท. (PTT Supplier Sustainable Code of

และบริการและหน่วยงานผู้ใช้ ปตท. และตัวแทนจากบริษัทใน

Conduct: SSCoC)

กลุ่ม ปตท. กว่า 350 คน ปตท. กําหนดให้ผู้ที่จะเข้าร่วมเสนอราคา จะต้องปฏิบัติตาม กฎระเบี ย บด้ า นความปลอดภั ย เกี่ ย วกั บ การทํ า งานและการใช้

นอกจากหลั ก เกณฑ์ ใ นเบื้ อ งต้ น แล้ ว ปตท. ยั ง ประเมิ น คุณสมบัตผ ิ ค ู้ า ้ ในด้านการดําเนินงาน และแนวทางการปฏิบต ั อ ิ ย่าง ยั่งยืนของผู้ค้าควบคู่กันไปด้วย

เครือ ่ งมือ ตลอดจนระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ อย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะ

หลังจากผูค ้ า ้ ส่งมอบสินค้า/ บริการในแต่ละงวดงานแล้ว ปตท.

การทํางานที่มีผลกระทบต่อความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ

จะประเมินผู้ค้า พร้อมทั้งแจ้งผลการประเมินให้ผู้ค้าทราบข้อดี/

สภาพแวดล้ อ ม ให้ ร ะมั ด ระวั ง ในการทํ า งานเป็ น พิ เ ศษ ทั้ ง นี้

ข้ อ ควรปรั บ ปรุ ง ในการดํ า เนิ น งาน เพื่ อ พิ จ ารณานํ า ไปปรั บ ปรุ ง

ปตท. จะจั ด ให้ มี ก ารเข้ า เยี่ ย มชมกิ จ การของผู้ ค้ า เพื่ อ ประเมิ น

การดําเนินงานของผูค ้ า ้ เอง (Supplier Development) ให้ดย ี งิ่ ขึน ้ ไป

ศักยภาพการดําเนินงาน โดยเฉพาะด้านความมั่นคง ปลอดภัย

นอกจากนี้ ในการจัดหาสินค้าและบริการ ปตท. จะสนับสนุน

อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ พนักงานของบริษัท

ผู้ ค้ า ในประเทศก่ อ นเป็ น อั น ดั บ แรก โดยเมื่ อ พิ จ ารณาข้ อ มู ล

ผู้ ค้ า ต้ อ งผ่ า นการอบรมการปฏิ บั ติ ต น การดํ า เนิ น การในพื้ น ที่

การจัดหาที่ผ่านมา พบว่า ปตท. มีการจัดหาสินค้าจากท้องถิ่น

การทํางานของ ปตท. และปฏิบัติงานตามข้อกําหนดในการเข้า

มากกว่าร้อยละ 90 รวมถึงส่งเสริมให้มก ี ารจัดหาสินค้าจากในพืน ้ ที่

ทํ า งานในเขตปฏิ บั ติ ง าน ซึ่ ง กํ า หนดการปฏิ บั ติ ต นตามแต่ ล ะ

ที่สถานประกอบการ ปตท. ตั้งอยู่เป็นหลัก ซึ่งก่อให้เกิดการสร้าง

ลักษณะงานไว้

เม็ ด เงิ น หมุ น เวี ย นในระบบเศรษฐกิ จ ของไทย อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น

ปตท. ได้จด ั ทําทะเบียนผูค ้ า ้ (PTT Approved Vendor List: PTT

การส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชน

AVL) เพื่อประโยชน์ในงานจัดหาสินค้าและบริการด้วยวิธีประมูล เพื่อให้มั่นใจว่าภายใต้กระบวนการกําหนดกลุ่มงาน และขั้นตอน

3.1.6 พนักงาน

หรือวิธีการในการคัดเลือกผู้ค้าเพื่อขึ้นทะเบียนผู้ค้ากับ ปตท. นั้น

(ได้รายงานหมวดโครงสร้างการจัดการ หัวข้อ “พนักงาน” แล้ว)

จะได้ผู้ค้าที่มีประสิทธิภาพ สามารถส่งมอบสินค้า/ บริการได้ตรง กั บ ความต้ อ งการขององค์ ก ร และส่ ง เสริ ม ความเป็ น พั น ธมิ ต ร (Partnership) กับ ปตท. อย่างยั่งยืน โดยในปี 2560 มีผู้ค้าที่ได้รับ

3.2 การเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน สากล

การอนุมัติให้ขึ้นทะเบียนผู้ค้า ปตท. จํานวน 188 บริษัท จาก 13 กลุ่มงาน

ปตท. กําหนด ให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน

เพื่ อ ให้ ก ารจั ด ทํ า ทะเบี ย นผู้ ค้ า ของ ปตท. เป็ น ไปอย่ า ง

ต้องเคารพกฎหมาย ข้อกําหนด ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ

มีประสิทธิภาพ ปตท. ได้กา ํ หนดหลักเกณฑ์ เงือ ่ นไขและคุณสมบัติ

วัฒนธรรมอันดีงามที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศที่เข้าไปลงทุน

ของผู้ค้าที่สมัครเพื่อคัดเลือกขึ้นทะเบียนผู้ค้าในแต่ละกลุ่มงาน

รวมถึงการเคารพหลักสิทธิมนุษยชนสากลอย่างเคร่งครัด โดยถือ

โดยคุณสมบัติเบื้องต้นของผู้ค้าจะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้

เป็นบรรทัดฐานขั้นต้นของการดําเนินงาน


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

เพื่อให้มั่นใจว่า ปตท. ปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ ต่ า ง ๆ ที่ กํ า กั บ ดู แ ลองค์ ก รอย่ า งครบถ้ ว น ถู ก ต้ อ ง ปี 2560

การกํากับดูแลกิจการ

163

4.1 การรายงานของคณะกรรมการ ทั้งที่เปนการเงินและไมใชการเงิน

จึงจัดตั้งฝ่ายกํากับกฎหมายและกฎระเบียบองค์กร (Compliance Department) ขึ้นภายใต้สํานักกฎหมาย เพื่อรวบรวมกฎระเบียบ

ปตท. จัดทํารายงานประจําปี รายงานทางการเงิน และรายงาน

ประเมิ น ความเสี่ ย ง สนั บ สนุ น หน่ ว ยงานในองค์ ก รให้ ส ามารถ

ความยั่ ง ยื น (Corporate Sustainability Report) เพื่ อ สื่ อ สาร

ดําเนินการตามแนวทางที่กําหนด ตลอดจนติดตามตรวจสอบ

นโยบาย แนวทางการบริหารจัดการ รวมถึงผลการดําเนินงาน

และรายงานผลการปฏิบัติต่อผู้บริหารสูงสุด และคณะกรรมการ

ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยรายงานความยั่งยืน

ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และจากการเริ่ ม นํ า ระบบการบริ ห ารจั ด การด้ า น

ใช้ แ นวทางการรายงานของ GRI Sustainability Reporting

สิทธิมนุษยชนไปปฏิบัติตามกรอบการบริหารจัดการความยั่งยืน

Standards (GRI Standards) และ Oil and Gas Sector Disclosure

กลุ่ ม ปตท. ปี 2560 กลุ่ ม ปตท. ได้ ทํ า การทบทวนประเด็ น

(OGSD) ของ Global Reporting Initiative (GRI) เพือ ่ ให้การเปิดเผย

ความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนครอบคลุมการดําเนินธุรกิจตลอด

ข้อมูลมีความเหมาะสมและเฉพาะเจาะจงกับธุรกิจ นอกจากนี้

สายโซ่อุปทาน พบว่าประเด็นที่เป็นความเสี่ยงหลักที่เกี่ยวข้องกับ

ปตท. จัดให้มก ี ารสอบทานข้อมูลในรายงานโดยหน่วยงานภายนอก

การดําเนินงานของกลุม ่ ปตท. คือ สภาพการทํางานทีไ่ ม่ปลอดภัย

ต่อเนือ ่ งเป็นปีที่ 7 เพือ ่ ให้มน ั่ ใจว่าข้อมูลมีความถูกต้อง ความโปร่งใส

สุขภาพและความปลอดภัยในชุมชน ความเสี่ยงต่อการบังคับใช้

เชื่ อ ถื อ ได้ และกํ า หนดให้ มี ก ารดํ า เนิ น การต่ อ เนื่ อ งทุ ก ปี ทั้ ง นี้

แรงงาน สิทธิชม ุ ชนของพืน ้ ทีป ่ ฏิบต ั ก ิ าร และสิทธิของชนกลุม ่ น้อย/

ปตท. จั ด ส่ ง รายงานความยั่ ง ยื น ปี 2560 พร้ อ มกั บ รายงาน

กลุ่ ม ที่ ต้ อ งได้ รั บ การดู แ ลเป็ น พิ เ ศษโดยแต่ ล ะพื้ น ที่ ที่ มี ป ระเด็ น

ประจํ า ปี ใ ห้ กั บ ผู้ ถื อ หุ้ น และเปิ ด เผยให้ กั บ ผู้ ที่ ส นใจบนเว็ บ ไซต์

ความเสีย ่ งได้จด ั ทํามาตรการควบคุม และแผนการดําเนินงานด้าน

ของ ปตท. www.pttplc.com

สิทธิมนุษยชนครบถ้วนร้อยละ 100 ของพื้นที่ ทําให้ปัจจุบันระดับ ความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนของกลุ่ม ปตท. ที่พบ อยู่ในระดับ

4.2 ความสัมพันธกับผูลงทุน

ที่สามารถควบคุมได้ โดยมีการติดตามการปฏิบัติตามแผนฯ เป็น ประจําทุกไตรมาส เพื่อให้การปฏิบัติเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล

ปตท. แปลงสภาพและกระจายหุ้ น ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์

สูงสุด จากการปฏิบัติตามระบบฯ อย่างจริงจัง และต่อเนื่องทําให้

แห่งประเทศไทย ตัง้ แต่เดือนตุลาคม 2544 ปตท. จัดให้มห ี น่วยงาน

่ งสิทธิมนุษยชน รวมถึง ในปี 2560 ไม่พบข้อร้องเรียนในประเด็นเรือ

ฝ่ า ยผู้ ล งทุ น สั ม พั น ธ์ (Investor Relations Department) ที่ ทํ า

ได้ทา ํ การเปิดเผยข้อมูลการดําเนินงานตามหลักสากล 10 ประการ

หน้ า ที่ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางในการเปิ ด เผยข้ อ มู ล สํ า คั ญ ต่ อ ผู้ ล งทุ น

ของ The United Nations Global Compact อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

และดู แ ลกระบวนการรายงานทางการเงิ น เช่ น การนํ า เสนอ

โดยในปี 2560 ได้ยกระดับการเปิดเผยข้อมูลการดําเนินงานด้าน

ผลการดําเนินงาน งบการเงิน สารสนเทศที่ ปตท. แจ้งต่อตลาด

สิทธิมนุษยชนจากระดับ GC Active เป็นระดับ GC Advanced

หลั ก ทรั พ ย์ ฯ รวมถึ ง มี ก ารทํ า บทรายงานและการวิ เ คราะห์ ข อง

3.3 ขอพิพาทที่สําคัญกับผูมีสวนไดเสีย

ฝ่ า ยบริ ห าร (MD&A) รายไตรมาส ซึ่ ง แสดงสถานภาพผล การดําเนินงานและแนวโน้มในอนาคตของ ปตท. ต่อผู้ถือหุ้นทั้ง ในประเทศและต่างประเทศได้รบ ั ทราบอย่างเท่าเทียมกัน สม่า ํ เสมอ

ปรากฏอยูใ่ น “ข้อพิพาททางกฎหมาย” ซึง่ เปิดเผยในแบบแสดง รายการประจําปี (แบบ 56-1)

และครบถ้ ว นตามความเป็ น จริ ง นอกจากนี้ ปตท. ได้ จั ด ทํ า นิตยสารเพื่อผู้ถือหุ้นกู้ ปตท. ภายใต้ชื่อ “Happiness” ออกเป็น รายไตรมาส เพื่อใช้เป็นช่องทางในการสื่อความข่าวสาร ข้อมูล

4. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส

เกี่ยวกับธุรกิจและผลการดําเนินงานของ ปตท. ต่อผู้ถือหุ้นกู้ และ จดหมายข่าวรายไตรมาสเพื่อผู้ถือหุ้นสามัญ ปตท. ภายใต้ชื่อ

การเปิดเผยข้อมูลเป็นดัชนีชว ี้ ด ั ความโปร่งใสในการดําเนินการ

“PTT Bizway” โดยจัดทําเป็น 2 ภาษา เพื่อสื่อความวิสัยทัศน์

ทีส ่ า ํ คัญ เป็นปัจจัยสําคัญในการสร้างความเชือ ่ มัน ่ ให้กบ ั นักลงทุน

พันธกิจ ผลประกอบการรายไตรมาส การกํากับดูแลกิจการที่ดี

และผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทุกฝ่าย ปตท. จึงให้ความสําคัญกับการเปิดเผย

การบริหารจัดการสู่ความยั่งยืนของ ปตท. และกิจกรรมที่สําคัญ

ข้ อ มู ล ที่ ถู ก ต้ อ ง แม่ น ยํ า และสร้ า งช่ อ งทางการเปิ ด เผยข้ อ มู ล

ในช่วงเวลานัน ้ ทัง้ นีผ ้ ล ู้ งทุนสามารถติดต่อกับหน่วยงานได้โดยตรง

ที่ ห ลากหลายเพื่ อ ให้ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ยสามารถเข้ า ถึ ง

หรือผ่านทางเว็บไซต์ของ ปตท. ซึง่ มีขอ ้ มูลทัง้ ภาษาไทยและภาษา

ข้ อ มู ล ได้ โ ดยง่ า ย รณรงค์ ใ ห้ ก รรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งาน

อังกฤษที่ได้ปรับปรุงให้ทันสมัยเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ประกอบด้วย

ตระหนักถึงความสําคัญของการเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใสใน

ข้อมูลสําคัญ ๆ อาทิ

การดําเนินงานและสร้างกลไกในการรับเรื่องร้องเรียนที่เหมาะสม และเป็นธรรมสําหรับผู้ร้องเรียนและผู้ถูกร้องเรียน ดังนี้


164

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

ข้อมูลบริษัท

รายงานประจําปี (แบบ 56-2)/ แบบแสดงรายการประจําปี

ความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใสและทัว ่ ถึง รวมทัง้ การนําเสนอผลงาน

(แบบ 56-1)

และการแจ้ ง สารสนเทศขององค์ ก รต่ อ นั ก ลงทุ น ผู้ ถื อ หุ้ น และ ผู้เกี่ยวข้องทั้งในทางตรงและทางอ้อมมาโดยตลอด สรุปได้ดังนี้

โดย ปตท. ได้ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ ต่ อ การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ มี

ข้อมูลสําหรับผู้ถือหุ้นสามัญ

ข้อมูลสําหรับผู้ถือหุ้นกู้และกิจกรรมเพื่อผู้ถือหุ้นกู้

เอกสารนําเสนอและเว็บแคสต์

นักวิเคราะห์ นักลงทุน และพนักงาน เป็นระยะ ๆ อย่างสม่ําเสมอ

Roadshow/ Conference

ในรูปของ Analyst Meeting, Roadshow, Conference Call การเข้าร่วม

ปฏิทินกิจกรรม

Conference ซึ่งจัดโดยสถาบันต่าง ๆ รวมทั้งการร่วมกิจกรรม

จรรยาบรรณสําหรับนักลงทุนสัมพันธ์

พบนักลงทุนรายย่อยกับตลาดหลักทรัพย์ฯ (Opportunity Day)

ข้อมูลโครงการลงทุนที่สําคัญ

และผู้เกี่ยวข้องสามารถทําการนัดหมาย (Company Visit) เข้าพบ

การจัดซื้อจัดจ้าง

ผูบ ้ ริหาร ปตท. เพือ ่ สอบถามข้อมูลความคืบหน้าการดําเนินกิจการ ได้ตลอดเวลา สรุปกิจกรรมหลักปี 2559 - 2560 ดังนี้

การแถลงทิศทางนโยบายขององค์กรโดยผู้บริหาร

การดําเนินการตามนโยบายรัฐ

แผนงานที่สําคัญ

นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีและกิจกรรมส่งเสริม

ผลการดําเนินงานด้านการเงิน

ผลการดําเนินงานที่ไม่ใช่ด้านการเงิน

กิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมที่สําคัญ

ทางตรง: ปตท. มี ก ารนํ า เสนอผลการดํ า เนิ น งานให้ แ ก่

กิจกรรม ป 2559 (จํานวน: ครั้ง)

กิจกรรม ป 2560 (จํานวน: ครั้ง)

Roadshow ต่างประเทศ

12

14

Roadshow ในประเทศ

7

6

Analyst Meeting

4

4

Press Meeting

2

2

Credit Rating Review

4

6

Company Visit/ Conference Call

54

46

8 - 10 ครั้งต่อวัน

8 - 10 ครั้งต่อวัน

4

4

-

2

5

5

กําหนดจัด 1 ครัง้

กําหนดจัด 1 ครัง้

(2 รุน ่ )

(3 รุน ่ )

(23 - 24 พฤศจิกายน)

(31 ตุลาคม, 1 - 2 พฤศจิกายน)

12

15

กิจกรรม

ทางอีเมล/ โทรศัพท์ ร่วมกิจกรรมตลาดหลักทรัพย์พบนักลงทุนรายย่อย (Opportunity Day) ร่วมกิจกรรมตลาดหลักทรัพย์พบนักลงทุนรายย่อย ต่างประเทศ (Foreign Opportunity Day) นํานักลงทุนสถาบันพบผู้บริหารและเยี่ยมชมกิจการ นําคณะนักลงทุนรายย่อยพบผู้บริหารและเยี่ยมชมกิจการ

กิจกรรมสานสัมพันธ์ผู้ถือหุ้นกู้


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

165

ทางอ้อม: ปตท. มีการให้ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท ผลการดําเนินงาน งบการเงิน และข้อมูลนําเสนอในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงรายงาน สารสนเทศที่ ปตท. แจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยผู้สนใจสามารถอ่านข้อมูลได้ทางเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (www.set.or.th) เว็บไซต์ของ ปตท. และนิตยสารเพื่อผู้ถือหุ้นกู้ ปตท. “Happiness” รวมทั้งจดหมายข่าวรายไตรมาส เพื่อผู้ถือหุ้นสามัญ “PTT Bizway” กรณีทน ่ี ก ั ลงทุนและผูเ้ กีย ่ วข้องมีขอ ้ สงสัยและต้องการสอบถาม สามารถติดต่อมายังฝ่ายผูล ้ งทุนสัมพันธ์ ปตท. โทรศัพท์ 0-2537-3518-9 อีเมล: ptt-ir@pttplc.com หรือผ่านเว็บไซต์ของ ปตท. www.pttplc.com การเผยแพร่ข่าวประชาสัมพันธ์ ความเคลื่อนไหวทางธุรกิจ ความคืบหน้าของการดําเนินงาน และโครงการต่าง ๆ รวมทั้งให้บริการ ตอบคําถามและอํานวยความสะดวกในการติดต่อแก่สือ ่ มวลชนและสาธารณชนอย่างต่อเนือ ่ ง ในปี 2559 - 2560 มีการดําเนินกิจกรรม สรุปได้ ดังนี้

กิจกรรม ป 2559 (จํานวน: รายการ)

กิจกรรม ป 2560 (จํานวน: รายการ)

ทางอีเมล

277

411

ข่าวแจก/ ภาพข่าว

277

411

การแถลงข่าว

22

9

นําสื่อมวลชนเยี่ยมชมการดําเนินงาน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

5

12

43 คณะ (1,920 คน)

46 คณะ (1,743 คน)

กิจกรรม

การให้การต้อนรับ/ ให้ข้อมูลกับหน่วยงานที่มาเยี่ยมชม/ ดูงานในด้านต่าง ๆ

4.3 การแจงขอรองเรียนและการเขาถึงขอมูล ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม สามารถใช้ ก ลไกในการติ ด ต่ อ การรั บ ทราบข้ อ มู ล การแจ้ ง ข่ า ว/ เบาะแส ทั้ ง ภายในองค์ ก รโดยระบบ Intranet Webboard และจากภายนอกโดยผ่านช่องทางเว็บไซต์/ โดยทางโทรศัพท์/ โดยหนังสือแจ้ง/ โดยทางอีเมล แจ้งหน่วยงาน ฝ่ายผูล ้ งทุนสัมพันธ์ สํานักกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่และเลขานุการบริษท ั ฝ่ายสือ ่ สารองค์กร หรือศูนย์บริหารคําสัง่ ซือ ้ และลูกค้าสัมพันธ์ ดังนี้ โทรศัพท์

:

PTT Contact Center 1365, 0-2537-2000

เว็บไซต์

:

http://www.pttplc.com

อีเมล

:

ศูนย์บริหารคําสั่งซื้อและลูกค้าสัมพันธ์: 1365@pttplc.com ฝ่ายสื่อสารองค์กร: corporate@pttplc.com สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัท: corporatesecretary@pttplc.com ฝ่ายผู้ลงทุนสัมพันธ์: ptt-ir@pttplc.com สายด่วน CG: cghelpdesk@pttplc.com


166

การกํากับดูแลกิจการ

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ซึ่งข้อคําถาม ข้อติชม และข้อเสนอแนะต่าง ๆ จะส่งต่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการ แก้ไขปรับปรุง ผ่านระบบการจัดการ เรื่องร้องเรียนโดยมีการติดตามความคืบหน้าผ่านการแจ้งเตือนในระบบอีเมล ทุก 3 วัน หากดําเนินการไม่แล้วเสร็จจะแจ้งเตือนไปยัง ผู้บังคับบัญชาที่สูงขึ้นไปอีกระดับเพื่อดําเนินการ หากแล้วเสร็จ หน่วยงานที่รับผิดชอบจะแจ้งผลการดําเนินงานให้ผู้ติดต่อทราบ และ มีการติดตามในภายหลังอีกครัง้ หนึง่ โดยสอบถามความพึงพอใจจากการให้บริการโดยเจ้าหน้าที่ Contact Center ทัง้ นีผ ้ บ ู้ ริหารติดตาม ่ ติดตามแนวโน้มการเปลีย ่ นแปลงและนํากลับมาใช้เป็นแนวทางปรับปรุงกระบวนการ สินค้า สารสนเทศทัง้ หมดเป็นประจําทุกเดือนเพือ และบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ทั้งนี้ ในปี 2560 มีข้อคําถาม ข้อติชม และข้อเสนอแนะต่าง ๆ รวม 308,490 เรือ ่ ง โดยส่วนใหญ่เป็นเรือ ่ ง บัตร PTT Blue Card บัตรส่วนลดพลังงาน NGV สถานทีต ่ งั้ สถานีบริการ/ ร้านค้า และโครงการต่าง ๆ สําหรับการร้องเรียน ปตท. เปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไปสามารถร้องเรียนเมื่อพบพฤติกรรมของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ที่ไม่เหมาะสมหรือขัดต่อจรรยาบรรณธุรกิจของ ปตท. ต่อสํานักตรวจสอบภายใน สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัท และฝ่ายทรัพยากรบุคคล โดย ปตท. จะรับฟังทุกข้อร้องเรียนอย่างเสมอภาค โปร่งใส เอาใจใส่ และให้ความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย มี ก ารกํ า หนดระยะเวลาดํ า เนิ น การที่ เ หมาะสม มี ก ารรั ก ษาความลั บ และคุ้ ม ครองผู้ ร้ อ งเรี ย น โดยในปี 2560 ไม่ พ บข้ อ ร้ อ งเรี ย น ด้านจริยธรรมที่มีนัยสําคัญ

คณะกรรมการเฉพาะเรือ่ ง การประเมินผลกรรมการ การปฐมนิเทศกรรมการ การพัฒนากรรมการ 1. คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง คณะกรรมการ ปตท. ให้ความสําคัญในการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยในช่วงเริ่มแรกได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่องขึ้น 3 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา และคณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบ จะมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการดําเนินการเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการและการบริหารความเสี่ยงในระดับคณะกรรมการด้วย ต่อมาในปี 2547 คณะกรรมการ ปตท. ได้จัดตั้งคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. เพื่อช่วยส่งเสริมและกลั่นกรอง ั ตัง้ คณะกรรมการ การดําเนินงานเกีย ่ วกับการกํากับดูแลกิจการและการบริหารจัดการให้ดเี ลิศ และในปี 2556 คณะกรรมการ ปตท. ได้จด บริหารความเสีย ่ งองค์กร ปตท. เพือ ่ ให้การดําเนินการเกีย ่ วกับการบริหารความเสีย ่ งของ ปตท. มีความชัดเจนมากยิง่ ขึน ้ และสอดคล้องกับ หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีที่บริษัทจดทะเบียนพึงปฏิบัติและเป็นไปตามหลักการและแนวทางการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจ ปี 2552 ของสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) ดังนั้น ในปัจจุบัน ปตท. จึงมีคณะกรรมการเฉพาะเรื่องรวม 5 คณะ เพื่อช่วยกลั่นกรองงานที่มีความสําคัญอย่างรอบคอบภายใต้หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีมุ่งเน้นการสร้างประโยชน์สูงสุดให้แก่ ผู้ถือหุ้น โดยคํานึงถึงผู้ที่มีส่วนได้เสียโดยรวม มีคุณธรรมในการดําเนินธุรกิจ มีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ คณะกรรมการ เฉพาะเรือ ่ งทุกคณะประกอบด้วยกรรมการทีไ่ ม่เป็นผูบ ้ ริหาร และมีคณ ุ สมบัติ หน้าทีค ่ วามรับผิดชอบตามข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ ั ษรไว้อย่างชัดเจน ตัง้ แต่ปี 2552 เป็นต้นมา แห่งประเทศไทย รวมทัง้ มีการกําหนดบทบาทภาระหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบเป็นลายลักษณ์อก ได้มีการขยายอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดีให้มีหน้าที่มอบนโยบาย แนวปฏิบัติ และติดตามการดําเนินงาน ด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ชุ ม ชน และสิ่ ง แวดล้ อ มเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ส ามารถดํ า เนิ น งาน ด้ า นการดู แ ลผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ได้ อ ย่ า งครบถ้ ว นและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น รวมถึ ง ในปี 2556 คณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ได้มีอา ํ นาจครอบคลุมถึงการวางกรอบแนวทางการกํากับดูแลการดําเนินงานทีเ่ กีย ่ วข้องกับการต่อต้านการทุจริตของ ปตท. ในปี 2558 และปี 2559 คณะกรรมการ ปตท. ได้มีการพิจารณาปรับปรุงอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ได้แก่ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ี และคณะกรรมการบริหารความเสีย ่ งองค์กร เพือ ่ ให้เป็นปัจจุบน ั มากขึ้น และปี 2560 คณะกรรมการ ปตท. ได้อนุมัติให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงขององค์กร ทําหน้าที่กํากับดูแลกระบวนการ บริหารจัดการผู้มีส่วนได้เสียด้วย ทั้งนี้ คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง ทั้ง 5 คณะ มีบทบาทหน้าที่และการดําเนินการ ดังนี้


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

167

1.1 คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบทําหน้าทีส ่ อบทานรายงานทางการเงิน โดยประชุมร่วมกับศูนย์บริการงานบัญชีและสํานักงานการตรวจเงิน แผ่นดินทุกไตรมาส โดยคณะกรรมการ ปตท. เป็นผู้รับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของ ปตท. และบริษัทย่อย รวมทั้งสารสนเทศ ทางการเงินทีป ่ รากฏในรายงานประจําปี รายงานทางการเงินดังกล่าวจัดทําขึน ้ ตามมาตรฐานการบัญชีรบ ั รองและตรวจสอบโดยสํานักงาน การตรวจเงินแผ่นดิน การเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศทีส ่ า ํ คัญ ทัง้ ข้อมูลทางการเงิน และไม่ใช่การเงิน ดําเนินการบนพืน ้ ฐานของข้อเท็จจริง อย่างครบถ้วนและสม่ําเสมอ คณะกรรมการ ปตท. ได้ อ นุ มั ติ จั ด ตั้ ง คณะกรรมการตรวจสอบ เมื่อ วั น ที่ 1 ตุ ล าคม 2544 โดยแต่ ง ตั้ ง จากกรรมการ ปตท. ซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กําหนด มีจํานวนอย่างน้อย 3 คน ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนงในคณะกรรมการตรวจสอบ

ตําแหนงในคณะกรรมการ ปตท.

ประธานกรรมการ

กรรมการอิสระ

2. นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

กรรมการ

กรรมการอิสระ

3. นายวิชัย อัศรัสกร

กรรมการ

กรรมการอิสระ

1. ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์

หมายเหตุ: นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค เป็นกรรมการตรวจสอบที่มีความรู้และประสบการณ์ เพียงพอในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินบริษัท 1.

ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ ตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม 2557 และเปลี่ยนแปลงตําแหน่งเป็นประธานกรรมการ ตรวจสอบ ตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน 2557

2.

นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ ตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม 2557

3.

นายวิชัย อัศรัสกร ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบ ตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน 2557

โดยมีผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักตรวจสอบภายใน เป็นเลขานุการ

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ •

จัดทํากฎบัตรว่าด้วยการตรวจสอบภายในของคณะกรรมการตรวจสอบให้สอดคล้องกับขอบเขตความรับผิดชอบในการดําเนินงาน ของ ปตท. โดยต้องได้รบ ั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ปตท. และมีการสอบทานความเหมาะสมของระเบียบดังกล่าวอย่าง น้อยปีละ 1 ครั้ง

สอบทานประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการกํากับดูแลทีด ่ ี กระบวนการบริหารความเสีย ่ ง และกระบวนการควบคุม ภายใน

สอบทานให้ ปตท. มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและน่าเชื่อถือ

สอบทานการดําเนินงานของ ปตท. ให้ถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ วิธีปฏิบัติงาน มติคณะรัฐมนตรี กฎหมายว่าด้วย

สอบทานให้ ปตท. มีระบบการตรวจสอบภายในที่ดี พิจารณาความเพียงพอของงบประมาณ บุคลากร และความเป็นอิสระ

หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ ประกาศ หรือคําสั่งที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงานของ ปตท. ของหน่วยตรวจสอบภายใน •

พิจารณารายการทีเ่ กีย ่ วโยงกันหรือรายการทีอ ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือมีโอกาสเกิดการทุจริตทีอ ่ าจมีผลกระทบ ต่อการปฏิบัติงานของ ปตท. โดยให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์


168

• •

เสนอข้อแนะนําต่อคณะกรรมการ ปตท. ในการพิจารณา

ตรวจสอบภายในที่ พ บว่ า มี ก ารปฏิ บั ติ ที่ ฝ่ า ฝื น กฎหมาย

ผลงานของหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน

ี ฏิบต ั งิ าน มติคณะรัฐมนตรี ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ วิธป

พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทน

และคํ า สั่ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การดํ า เนิ น งานของ ปตท.

ผู้สอบบัญชีของ ปตท. ต่อคณะกรรมการ ปตท.*

ให้ แ จ้ ง ต่ อ ผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด เพื่ อ พิ จ ารณาสั่ ง ให้ ห น่ ว ยงาน

ประสานงานเกีย ่ วกับผลการตรวจสอบกับผูส ้ อบบัญชี และ

ที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงานของ ปตท. ดําเนินการแก้ไข •

ไตรมาสละ 1 ครัง้ ทัง้ นีต ้ อ ้ งมีการประชุมร่วมกับผูส ้ อบบัญชี

รายงานผลการดําเนินงานเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน

โดยไม่มีฝ่ายบริหารอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง •

ในไตรมาสที่ 4 ให้จัดทําเป็นรายงานผลการดําเนินงาน

ให้คณะกรรมการตรวจสอบประชุมอย่างเป็นทางการร่วมกับ ฝ่ายบริหารอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

น้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง ยกเว้นรายงานผลการดําเนินงาน

คณะกรรมการตรวจสอบต้ อ งประชุ ม ร่ ว มกั น อย่ า งน้ อ ย

จําเป็น ของคณะกรรมการตรวจสอบต่อคณะกรรมการ ปตท. อย่าง

เมื่ อ คณะกรรมการตรวจสอบได้ รั บ รายงานผลการ

แต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนขั้น เลื่อนตําแหน่ง และประเมิน

อาจเสนอแนะให้สอบทานหรือตรวจสอบรายการใดทีเ่ ห็นว่า •

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

ปฏิบต ั งิ านอืน ่ ใดตามทีก ่ ฎหมายกําหนดหรือคณะกรรมการ

ประจําปี พร้อมทัง้ ส่งรายงานดังกล่าวให้กระทรวงเจ้าสังกัด

ปตท. มอบหมาย ทั้ ง นี้ ต้ อ งอยู่ ใ นขอบเขต หน้ า ที่ และ

ของ ปตท. และกระทรวงการคลังเพื่อทราบ

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ

ประเมินผลการดําเนินงานเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน

โดยเป็นไปตามแนวทางทีก ่ าํ หนดไว้ในระเบียบบริษท ั ปตท. จํากัด

ของคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยปีบัญชีการเงินละ

(มหาชน) ว่าด้วยคณะกรรมการตรวจสอบและหน่วยตรวจสอบ

1 ครั้ง ให้คณะกรรมการ ปตท. ทราบ

ภายใน พ.ศ. 2557

เปิ ด เผยรายงานผลการดํ า เนิ น งานประจํ า ปี ข องคณะ

ในปี 2560 มีการประชุม 17 ครั้ง (ปกติ 12 ครั้ง และนัดพิเศษ

กรรมการตรวจสอบ และค่ า ตอบแทนของผู้ ส อบบั ญ ชี

5 ครัง้ ) โดยมีการรายงานต่อคณะกรรมการ ปตท. และมีการประชุม

ในรายงานประจําปีของ ปตท.

ร่วมกับผูต ้ รวจสอบบัญชีภายนอกและหน่วยงานบัญชีในการสอบทาน

ประธานกรรมการตรวจสอบ หรื อ กรรมการตรวจสอบ

งบการเงินทุกไตรมาส

ต้ อ งเข้ า ร่ ว มประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ปตท. เพื่ อ ชี้ แ จงในเรื่ อ ง ที่ เ กี่ ย วกั บ คณะกรรมการตรวจสอบ หรื อ การแต่ ง ตั้ ง

ทั้งนี้คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจําปีไว้ในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบแล้ว

ผู้สอบบัญชีด้วย • •

่ ยบริหารจัดให้มก ี ระบวนการรับและกํากับ ดําเนินการให้ฝา

หมายเหตุ:

ดูแลการรับเรื่องร้องเรียน

* ปตท. เข้ า ข่ า ยรั ฐ วิ ส าหกิ จ ตามคํ า นิ ย ามใน พ.ร.บ. วิ ธี ก ารงบประมาณ

กรณี ที่ ก ารดํ า เนิ น งานตรวจสอบภายในเรื่ อ งใดหรื อ การปฏิ บั ติ ง านอื่ น ใดของคณะกรรมการตรวจสอบ

พ.ศ. ๒๕๐๒ มาตรา ๔ ซึง่ พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔ มาตรา ๓๙ และมาตรา ๔๒ กําหนดว่า สํานักงาน การตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น (สตง.) มี อํ า นาจหน้ า ที่ ใ นการแสดงความเห็ น

มี ค วามจํ า เป็ น ต้ อ งอาศั ย ความรู้ ค วามสามารถจาก

ตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปของรัฐวิสาหกิจตามกฎหมาย

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง ให้คณะกรรมการตรวจสอบเสนอ

ว่าด้วยวิธีการงบประมาณ

ต่อคณะกรรมการ ปตท. เพื่อพิจารณาให้มีการเชิญหรือ ดําเนินการว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องด้วยค่าใช้จ่าย ของ ปตท. ได้


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

169

1.2 คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการ ปตท. ได้อนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการสรรหา เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2544 โดยแต่งตั้งจากกรรมการ ปตท. 3 คน ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนงในคณะกรรมการสรรหา

ตําแหนงในคณะกรรมการ ปตท.

1. พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์

ประธานกรรมการ

กรรมการอิสระ

2. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

กรรมการ

กรรมการอิสระ

3. นายธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์

กรรมการ

กรรมการอิสระ

หมายเหตุ: 1.

พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์ ดํารงตําแหน่งกรรมการสรรหา ตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน 2557 และเปลี่ยนแปลงตําแหน่งเป็นประธานกรรมการสรรหา ตั้งแต่ วันที่ 18 พฤศจิกายน 2559

2.

นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ ดํารงตําแหน่งกรรมการสรรหา ตั้งแต่วันที่ 26 กันยายน 2558

3.

นายธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์ ดํารงตําแหน่งกรรมการสรรหา ตั้งแต่วันที่ 18 พฤศจิกายน 2559

โดยมีผู้จัดการฝ่ายสํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัททําหน้าที่เลขานุการ

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา 1. กําหนดวิธีการและหลักเกณฑ์การสรรหา กรรมการ ปตท. เพื่อให้เกิดความโปร่งใส 2. คัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการใหม่ เมื่อมีตําแหน่งว่างลง (จากการลาออก หรือครบวาระ) เพื่อเสนอ คณะกรรมการ ปตท. หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อดําเนินการแต่งตั้ง โดยคํานึงถึงองค์ประกอบของคณะกรรมการ ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทเี่ ป็นประโยชน์ตอ ่ ปตท. ตามองค์ประกอบใน Board Skill Matrix ของ ปตท. และฐานข้อมูลกรรมการ (Director’s Pool) ของกระทรวงการคลัง และของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รวมทั้งไม่มีกรณีผลประโยชน์ขัดแย้งกับ ปตท. (Conflict of Interest) อีกทั้งคุณสมบัติของกรรมการที่ต้องการสรรหา ต้องให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจของบริษัท 3. พิจารณาเสนอชื่อกรรมการ เพื่อทําหน้าที่กรรมการเฉพาะเรื่อง โดยพิจารณาตามองค์ประกอบของคณะกรรมการเฉพาะเรื่อง คุณสมบัติ ความรู้ ความสามารถของกรรมการ ที่เหมาะสมต่อการปฏิบัติหน้าที่กรรมการเฉพาะเรื่อง และนําเสนอต่อคณะกรรมการ ปตท. เพื่อพิจารณาแต่งตั้ง ยกเว้น คณะกรรมการสรรหา ซึ่งคณะกรรมการ ปตท. จะเป็นผู้พิจารณาแต่งตั้ง 4. มีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการ ปตท. โดยตรงตามบทบาทหน้าทีแ ่ ละคณะกรรมการ ปตท. มีความรับผิดชอบในการดําเนินงาน ของ ปตท. ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม 5. ประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหา และจัดให้มีการรายงานผลเพื่อรายงานผลให้คณะกรรมการ ปตท. ทราบ และเปิดเผยในรายงานประจําปี 6. เปิดเผยรายงานการดําเนินงานของคณะกรรมการสรรหาไว้ในรายงานประจําปี 7. คณะกรรมการสรรหาควรประชุมร่วมกันอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 8. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใด ตามที่คณะกรรมการ ปตท. มอบหมาย


170

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

ทั้งนี้ได้กําหนดวิธีการสรรหาบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการ

3. คณะกรรมการ ปตท. พิ จ ารณาคั ด เลื อ กผู้ มี คุ ณ สมบั ติ ่ ณะกรรมการสรรหานําเสนอเพือ ่ พิจารณา เหมาะสมตามรายชือ ่ ทีค

ดังนี้ 1. คณะกรรมการสรรหากํ า หนดคุ ณ สมบั ติ ข องกรรมการ

แต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการหรื อ เพื่ อ เสนอรายชื่ อ ต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น

ที่ต้องการสรรหาทดแทน เพื่อให้มีองค์ประกอบและคุณสมบัติ

เพื่ อ อนุ มั ติ แ ต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการต่ อ ไป โดยรายชื่ อ บุ ค คลที่ มี

ตามกฎหมาย/ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสอดคล้องกับกลยุทธ์

ความเหมาะสม จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ

และการดําเนินธุรกิจของ ปตท. และกําหนดวิธีการเสนอรายชื่อ

นโยบายรัฐวิสาหกิจ เพื่อเป็นไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี

ผู้มีคุณสมบัติ

ว่าด้วยการกําหนดนโยบายและกํากับดูแลรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2557

ทั้งนี้คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดี มาตรฐานทางจริยธรรม

อีกด้วย

และจรรยาบรรณในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ได้ ร ะบุ คุ ณ สมบั ติ ข อง

ในปี 2560 มีการประชุม 3 ครั้ง โดยกรรมการสรรหาทุกท่าน

คณะกรรมการไว้ว่า กรรมการแต่ละคนต้องมาจากผู้ทรงคุณวุฒิ

ที่ ดํ า รงตํ า แหน่ ง อยู่ ข ณะนั้ น เข้ า ร่ ว มประชุ ม ครบทุ ก ท่ า น และ

หลากหลายสาขาอาชีพที่จําเป็นในการบริหารกิจการของ ปตท.

เลขานุการบริษัท ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการสรรหา

ควรประกอบด้ ว ยผู้ ที่ มี ค วามรู้ ด้ า นธุ ร กิ จ พลั ง งานปิ โ ตรเลี ย ม อย่ า งน้ อ ย 3 คน ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด้ า นกฎหมายอย่ า งน้ อ ย 1 คน

ทั้ ง นี้ ค ณะกรรมการสรรหาได้ ร ายงานผลการปฏิ บั ติ ง าน ประจําปีไว้ในรายงานของคณะกรรมการสรรหาแล้ว

และผู้ทรงคุณวุฒิด้านบัญชีและการเงินอย่างน้อย 1 คน (Board Composition)

1.3 คณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน

2. คณะกรรมการสรรหาสรุ ป ผลการสรรหาและเสนอชื่ อ ผูม ้ ค ี วามเหมาะสมทีจ ่ ะเป็นกรรมการ ปตท. พร้อมเหตุผลประกอบ และนําเสนอต่อคณะกรรมการ ปตท.

คณะกรรมการ ปตท. ได้อนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการกําหนด ค่าตอบแทน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2544 โดยแต่งตั้งจากกรรมการ ปตท. 3 ท่าน ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประกอบด้วย กรรมการ 3 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนงในคณะกรรมการกําหนดคาตอบแทน

ตําแหนงในคณะกรรมการ ปตท.

ประธานกรรมการ

กรรมการอิสระ

2. นายสมชัย สัจจพงษ์

กรรมการ

กรรมการ

3. นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

กรรมการ

กรรมการอิสระ

1. นายบุญทักษ์ หวังเจริญ*

หมายเหตุ: 1.

นายบุญทักษ์ หวังเจริญ ดํารงตําแหน่งประธานกรรมการกําหนดค่าตอบแทน แทน นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ตัง้ แต่วน ั ที่ 20 มีนาคม 2560 และลาออกจากการเป็น กรรมการ ปตท. มีผลตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2560

2.

นายสมชัย สัจจพงษ์ ดํารงตําแหน่งกรรมการกําหนดค่าตอบแทน ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2558

3.

นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ ดํารงตําแหน่งกรรมการกําหนดค่าตอบแทน ตั้งแต่วันที่ 18 พฤศจิกายน 2559

โดยมีผู้จัดการฝ่ายสํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัททําหน้าที่เลขานุการ


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ กําหนดคาตอบแทน 1.

171

6. เปิดเผยรายงานการดําเนินงานของคณะกรรมการกําหนด ค่าตอบแทนไว้ในรายงานประจําปี

กํ า หนดหลั ก เกณฑ์ หรื อ วิ ธี ก ารกํ า หนดค่ า ตอบแทน

รวมทั้งพิจารณาเสนอค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและสมเหตุสมผล

7. คณะกรรมการกํ า หนดค่ า ตอบแทนควรประชุ ม ร่ ว มกั น อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง (ปรับปรุงสําหรับการปฏิบัติหน้าที่ปี 2560)

สําหรับกรรมการ และกรรมการเฉพาะเรื่อง ต่อคณะกรรมการ

8. ปฏิบต ั ห ิ น้าทีอ ่ น ื่ ใด ตามทีค ่ ณะกรรมการ ปตท. มอบหมาย

ปตท. และที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ

ในปี 2560 มี ก ารประชุ ม 3 ครั้ ง โดยกรรมการกํ า หนด

2. พิจารณาเสนอแนวทางการประเมินผลและค่าตอบแทน

ค่าตอบแทนส่วนใหญ่ที่ดํารงตําแหน่งอยู่ขณะนั้น เข้าร่วมประชุม

ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ต่ อ คณะ

และเลขานุ ก ารบริ ษั ท ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ลขานุ ก ารคณะกรรมการ

กรรมการ ปตท. เพื่อพิจารณาอนุมัติ

กําหนดค่าตอบแทน

3. รับทราบและให้ขอ ้ เสนอแนะเรือ ่ งการปรับโครงสร้างองค์กร

ทั้ ง นี้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กํ า ห น ด ค่ า ต อ บ แ ท น ไ ด้ ร า ย ง า น

และระดับงาน รวมทั้งการประเมินผลและพิจารณาค่าตอบแทน

ผลการปฏิบต ั งิ านประจําปีไว้ในรายงานของคณะกรรมการกําหนด

ผู้บริหารระดับรองกรรมการผู้จัดการใหญ่

ค่าตอบแทนแล้ว

4. มีความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการ ปตท. โดยตรงตาม บทบาทหน้ า ที่ แ ละคณะกรรมการ ปตท. มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบใน

1.4 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

การดําเนินงานของ ปตท. ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม 5. ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการกํ า หนด

คณะกรรมการ ปตท. ได้อนุมต ั จ ิ ด ั ตัง้ คณะกรรมการกํากับดูแล

ค่ า ตอบแทน และจั ด ให้ มี ก ารรายงานผลเพื่ อ รายงานผลให้

กิจการที่ดี เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2547 โดยแต่งตั้งจากกรรมการ

คณะกรรมการ ปตท. ทราบ และเปิดเผยในรายงานประจําปี

ปตท. 3 ท่าน ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประกอบด้วย กรรมการอิสระ 3 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนงในคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี

ตําแหนงในคณะกรรมการ ปตท.

ประธานกรรมการ

กรรมการอิสระ

2. นายดอน วสันตพฤกษ์

กรรมการ

กรรมการอิสระ

3. นายธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์

กรรมการ

กรรมการอิสระ

1. พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

หมายเหตุ: 1.

พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข ดํารงตําแหน่งประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี ตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน 2557

2.

นายดอน วสันตพฤกษ์ ดํารงตําแหน่งกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี ตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน 2557

3.

นายธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์ ดํารงตําแหน่งกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี ตั้งแต่วันที่ 18 พฤศจิกายน 2559

โดยมีผู้จัดการฝ่ายสํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัททําหน้าที่เลขานุการ


172

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ กํากับดูแลกิจการที่ดี

8. ติ ด ตามการดํ า เนิ น งานด้ า น SM และรายงานต่ อ คณะ กรรมการ ปตท. 9. วางกรอบแนวทางการกํากับดูแลการดําเนินงานทีเ่ กีย ่ วข้อง กับการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันของ ปตท.

1. เสนอแนวปฏิ บั ติ ด้ า นการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ต่ อ คณะ

10. คณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ค วรประชุ ม ร่ ว มกั น

กรรมการบริษัท

อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง

2. ให้ คํ า แนะนํ า แก่ ค ณะกรรมการ ปตท. ในเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ

ในปี 2560 มีการประชุม 5 ครัง้ โดยกรรมการกํากับดูแลกิจการ

การกํากับดูแลกิจการที่ดี 3. ดูแลการปฏิบัติงานของกรรมการและฝ่ายจัดการ เพื่อให้

ทีด ่ ท ี ก ุ ท่านทีด ่ า ํ รงตําแหน่งอยูข ่ ณะนัน ้ เข้าร่วมประชุมครบทุกท่าน และเลขานุการบริษท ั ปฏิบต ั ห ิ น้าทีเ่ ลขานุการคณะกรรมการกํากับ

เป็นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี 4. ทบทวนแนวทางหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. เป็นประจําทุกปี โดยเปรียบเทียบกับแนวปฏิบัติของสากล

ดูแลกิจการที่ดี ทั้ ง นี้ ค ณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ไ ด้ ร ายงานผล การปฏิบต ั งิ านประจําปีไว้ในรายงานของคณะกรรมการกํากับดูแล

ปฏิบัติและเสนอแนะต่อคณะกรรมการ ปตท. 5. มอบนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. ให้คณะ

กิจการที่ดีแล้ว

ทํางานกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. 6. มอบนโยบายและแนวปฏิ บั ติ ใ นการดํ า เนิ น งานด้ า น

1.5 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร

การบริหารจัดการความยัง่ ยืน (Sustatinability Management: SM) ซึ่งรวมถึงการดําเนินงานด้านการดูแลสังคมชุมชน

คณะกรรมการ ปตท. ได้อนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการบริหาร

และสิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility: CSR)

ความเสี่ยงองค์กร เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2556 โดยแต่งตั้งจาก

7. กําหนดนโยบายให้ ปตท. เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อย

กรรมการ ปตท. อย่ า งน้ อ ย 3 ท่ า น และอย่ า งน้ อ ย 1 ท่ า น

เสนอชื่อบุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการ ปตท. และ

เป็นกรรมการอิสระ ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ประกอบด้วย

การเสนอวาระสําหรับการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น

กรรมการ 3 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้

ชื่อ-นามสกุล

ตําแหนงในคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งองคกร

ตําแหนงในคณะกรรมการ ปตท.

ประธานกรรมการ

กรรมการอิสระ

2. นายสมคิด เลิศไพฑูรย์

กรรมการ

กรรมการอิสระ

3. นายธรรมยศ ศรีช่วย

กรรมการ

กรรมการ

1. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

หมายเหตุ: 1.

นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ ดํารงตําแหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร ตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน 2557 และได้รับแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการ บริหารความเสี่ยงองค์กร ตั้งแต่วันที่ 30 มกราคม 2558

2.

นายสมคิด เลิศไพฑูรย์ ดํารงตําแหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร ตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม 2560

3.

นายธรรมยศ ศรีช่วย ดํารงตําแหน่งกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม 2559

โดยมีรองกรรมการผู้จัดการใหญ่กลยุทธ์องค์กร มีภารกิจเป็น Chief Risk Officer (CRO) และ Chief Stakeholder Officer (CSO) ทําหน้าที่เลขานุการ


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ในปี 2560 ได้ มี ก ารทบทวนหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบ

การกํากับดูแลกิจการ

ให้ครอบคลุมเรื่องการบริหารจัดการผู้มีส่วนได้เสีย ดังนี้

กําหนด และทบทวน นโยบาย กรอบการบริหารความเสีย ่ ง องค์กร และกรอบการบริหารจัดการผู้มีส่วนได้เสียของ องค์กร

พิจารณากลัน ่ กรองและให้ขอ ้ คิดเห็นวาระทีม ่ ภ ี าระผูกพัน ในระยะยาว มีความซับซ้อนเชิงธุรกิจ และมีความเสี่ยง ที่ อ าจส่ ง ผลกระทบต่ อ ปตท. หรื อ อาจมี ผ ลกระทบต่ อ

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงองคกร •

173

ผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียของ ปตท. อย่างมีนย ั สําคัญ ก่อนทีจ ่ ะนําเสนอ วาระนั้น ๆ ต่อคณะกรรมการ ปตท. •

ประชุมคณะกรรมการฯ อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง

ปฏิบต ั ห ิ น้าทีอ ่ น ่ื ใดตามทีค ่ ณะกรรมการ ปตท. มอบหมาย

ทั้ ง นี้ ก ารสอบทานระบบบริ ห ารความเสี่ ย งองค์ ก รยั ง คงเป็ น หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบและสํานักตรวจสอบภายใน

กํากับดูแล และสนับสนุนให้มก ี ารดําเนินงานด้านการบริหาร

โดยในปี 2560 คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งองค์ ก ร

ความเสี่ยงองค์กร และการบริหารจัดการผู้มีส่วนได้เสีย

มีการประชุม 5 ครัง้ โดยกรรมการบริหารความเสีย ่ งทุกท่านทีด ่ า ํ รง

ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ และเป้าหมายทางธุรกิจ รวมถึง

ตําแหน่งอยูข ่ ณะนัน ้ เข้าร่วมประชุมครบทุกท่าน และรองกรรมการ

สภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

ผูจ ้ ด ั การใหญ่กลยุทธ์องค์กร ปฏิบต ั ห ิ น้าทีเ่ ลขานุการคณะกรรมการ

ให้ขอ ้ เสนอแนะแนวทาง ติดตาม และประเมินผล การบริหาร

บริหารความเสี่ยงองค์กร

ความเสี่ ย ง และการบริ ห ารจั ด การผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ สี่ ย ง อ ง ค์ ก ร ไ ด้ ร า ย ง า น

ต่ อ คณะกรรมการแผนวิ ส าหกิ จ และบริ ห ารความเสี่ ย ง

ผลการปฏิบต ั ิงานประจําปีไว้ในรายงานของคณะกรรมการบริหาร

(Corporate Plan and Risk Management Committee:

ความเสี่ยงองค์กรแล้ว

CPRC - ระดับจัดการ) เพื่อนําไปดําเนินการ •

พิจารณารายงานผลการบริหารความเสี่ยงองค์กร และให้ ข้อคิดเห็นในความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น รวมทั้งแนวทาง การกําหนดมาตรการควบคุม หรือบรรเทา (Mitigation

2. การประเมินผลตนเองของคณะกรรมการ บริษัท

Plan) และการพัฒนาระบบการจัดการบริหารความเสี่ยง องค์กรให้แก่ CPRC เพื่อให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง •

คณะกรรมการ ปตท. ในการประชุมครั้งที่ 9/2560 เมื่อวันที่

พิจารณารายงานผลการบริหารจัดการผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย และ

15 กันยายน 2560 มีมติเห็นชอบแบบประเมินผลคณะกรรมการ

ให้ข้อคิดเห็นในแผนการดําเนินการเพื่อขยายผลเชิงบวก

ปตท. ที่ ไ ด้ ใ ช้ ป ระเมิ น ในปี 2559 ทั้ ง 4 แบบ ประกอบด้ ว ย

หรือลด/ชดเชยผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อผู้มีส่วนได้เสีย

แบบประเมิ น ผลคณะกรรมการทั้ ง คณะ/ แบบประเมิ น ผล

รวมถึงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการผู้มีส่วนได้เสีย

คณะกรรมการรายบุ ค คล (ประเมิ น ตนเอง)/ แบบประเมิ น ผล

ให้แก่ CPRC เพื่อให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง

คณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินกรรมการท่านอืน ่ )/ แบบประเมินผล

สนับสนุนการดําเนินงานของ Chief Risk Officer (CRO)

คณะกรรมการเฉพาะเรือ ่ ง (ประเมินทัง้ คณะ) ว่ายังคงมีความเหมาะสม

และ Chief Stakeholder Officer (CSO) ให้บรรลุเป้าหมาย

สําหรับใช้ประเมินคณะกรรมการ ปตท. ประจําปี 2560 โดยแบบ

ของการบริหารความเสี่ยงองค์กร และการบริหารผู้มีส่วน

ประเมินผลทั้ง 4 แบบ มีเกณฑ์การประเมินผล คิดเป็นร้อยละจาก

ได้เสีย

คะแนนเต็มในแต่ละข้อทั้งหมด ดังนี้

รายงานผลการบริหารความเสีย ่ งองค์กรและผลการบริหาร จัดการผู้มีส่วนได้เสีย ให้คณะกรรมการ ปตท. รับทราบ

มากกวา 85%

=

ดีเยี่ยม

และในกรณี ที่ มี ปั จ จั ย หรื อ เหตุ ก ารณ์ สํ า คั ญ ซึ่ ง อาจมี

มากกวา 75%

=

ดีมาก

มากกวา 65%

=

ดี

มากกวา 50%

=

พอใช

ตํ่ากวา 50%

=

ควรปรับปรุง

ผลกระทบต่ อ ปตท. หรื อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ของ ปตท. อย่างมีนัยสําคัญ ต้องรายงานต่อคณะกรรมการ ปตท. เพื่อทราบและพิจารณาโดยเร็วที่สุด


174

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

โดยสรุปผลการประเมินได้ ดังนี้ 1. แบบประเมิ น ผลคณะกรรมการทั้ ง คณะ ประกอบด้ ว ย 5 หัวข้อ คือ นโยบายคณะกรรมการ (Board Policy)/ โครงสร้าง ของคณะกรรมการ (Board Composition)/ แนวปฏิ บั ติ ข อง คณะกรรมการ (Board Practices)/ การจัดเตรียมและดําเนินการ ประชุม (Board Meeting)/ การอบรมและพัฒนา (Board Training and Development) สรุปผลการประเมินผลคณะกรรมการทัง้ คณะ ในภาพรวม 5 หัวข้อ เห็นว่าการดําเนินการส่วนใหญ่จด ั ทําได้ดเี ยีย ่ ม/ เหมาะสม ที่สุด มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม เท่ากับร้อยละ 90.38 2. แบบประเมิ น ผลคณะกรรมการรายบุ ค คล (ประเมิ น

สรุปผลการประเมินผลคณะกรรมการเฉพาะเรือ ่ ง (ประเมิน ทั้งคณะ) ทั้ง 4 คณะ รวมจํานวน 4 หัวข้อ เห็นว่า ดําเนินการ อย่างมีประสิทธิภาพ/ เห็นด้วยอย่างยิ่ง ดังมีรายละเอียด ดังนี้ 4.1 คณะกรรมการสรรหา มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ ดีเยี่ยม เท่ากับร้อยละ 100 4.2 คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน มีคะแนนเฉลี่ย อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม เท่ากับร้อยละ 98.61 4.3 คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี มีคะแนนเฉลี่ย อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม เท่ากับร้อยละ 98.61 4.4 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร มีคะแนน เฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม เท่ากับร้อยละ 88.89

ตนเอง) ประกอบด้วย 6 หัวข้อ คือ ความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจ และการกระทํ า ของตนเอง สามารถอธิ บ ายการตั ด สิ น ใจได้

5. การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการ

(Accountability)/ ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ย

ตรวจสอบ

ขีดความสามารถและประสิทธิภาพที่เพียงพอ (Responsibility)/

เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย อย่ า งเท่ า เที ย มเป็ น ธรรม และ

ว่ า ด้ ว ยคณะกรรมการตรวจสอบและหน่ ว ยตรวจสอบภายใน

สามารถมีคําอธิบายได้ (Equitable Treatment)/ มีความโปร่งใส

พ.ศ. 2557 เรื่ อ งการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน ประกอบกั บ

ในการดําเนินงานทีส ่ ามารถตรวจสอบได้ และมีการเปิดเผยข้อมูล

คู่มือการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบในรัฐวิสาหกิจ

(Transparency)/ การมีวิสัยทัศน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่กิจการ

กระทรวงการคลัง และตามคู่มือปฏิบัติสําหรับผู้ตรวจสอบภายใน

ในระยะยาว (Vision to Create Long Term Value)/ การมีจริยธรรม/

แ ล ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ เ พื่ อ ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล กิ จ ก า ร ที่ ดี

จรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ (Ethics)

ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตอนที่ 1.1 ภาระหน้าที่

สรุปผลการประเมินคณะกรรมการผลรายบุคคล (ประเมิน

ของคณะกรรมการตรวจสอบ กําหนดให้คณะกรรมการตรวจสอบ

ตนเอง) ในภาพรวม 6 หัวข้อ เห็นว่ากรรมการส่วนใหญ่ถือปฏิบัติ

ต้ อ งประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านเกี่ ย วกั บ การตรวจสอบภายใน

เป็นประจํา คะแนนเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม เท่ากับร้อยละ 96.64

อย่ า งน้ อ ยปี ล ะ 1 ครั้ ง โดยการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านเป็ น

3. แบบประเมิ น ผลคณะกรรมการรายบุ ค คล (ประเมิ น

รายบุ ค คลและประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการ

กรรมการท่านอื่น) ประกอบด้วย 6 หัวข้อ เหมือนกับแบบประเมิน

ตรวจสอบทั้ ง คณะ รวมทั้ ง รายงานผลการประเมิ น ปั ญ หา

ผลคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) เพื่อให้สามารถ

และอุ ป สรรค ตลอดจนแผนการปรั บ ปรุ ง การดํ า เนิ น งานให้

เปรียบเทียบผลกับที่กรรมการประเมินตนเอง

คณะกรรมการ ปตท. ทราบทุ ก ปี โดยในปี 2560 ที่ ป ระชุ ม

สรุปผลการประเมินผลคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมิน

คณะกรรมการตรวจสอบฯ ครั้งที่ 10/2560 วันที่ 6 ตุลาคม 2560

กรรมการท่านอื่น) รวมจํานวน 6 หัวข้อ เห็นว่ากรรมการส่วนใหญ่

มี ม ติ เ ห็ น ช อ บ ใ ห้ ใ ช้ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง

ถื อ ปฏิ บั ติ เ ป็ น ประจํ า คะแนนเฉลี่ ย อยู่ ใ นเกณฑ์ ดี เ ยี่ ย ม เท่ า กั บ

คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย แบบประเมินผลรายบุคคล

ร้อยละ 98.43

(ประเมิ น ตนเอง) แบบประเมิ น ผลรายบุ ค คล (ประเมิ น ไขว้ )

4. แบบประเมิ น ผลคณะกรรมการเฉพาะเรื่ อ ง (ประเมิ น

และแบบประเมิ น ผลคณะกรรมการตรวจสอบทั้ ง คณะ ซึ่ ง มี

ทั้ ง คณะ) ประกอบด้ ว ย 4 หั ว ข้ อ คื อ นโยบายคณะกรรมการ

ความเหมาะสมและสอดคล้องกับแนวปฏิบัติที่ดีของสํานักงาน

(Board Policy)/ โครงสร้ า งของคณะกรรมการ (Board

คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) และตลาดหลักทรัพย์

Composition)/ แนวปฏิบัติของคณะกรรมการ (Board Practices)/

แห่งประเทศไทย (ตลท.) และที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ

การจั ด เตรี ย มและดํ า เนิ น การประชุ ม (Board Meeting)

นัดพิเศษครั้งที่ 5/2560 วันที่ 21 พฤศจิกายน 2560 มีมติเห็นชอบ ผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจําปี 2560 โดยผลสรุปเป็นดังนี้


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

แบบประเมินผลคณะกรรมการตรวจสอบรายบุคคล (ประเมินตนเอง) ประกอบด้วย 6 หัวข้อ คือ ความรู้

การกํากับดูแลกิจการ

175

3. การปฐมนิเทศกรรมการ (Directors Orientation)

ทางธุรกิจ/ ความเชีย ่ วชาญเฉพาะด้าน/ อํานาจหน้าที/่ ความเป็ น อิ ส ระและความเที่ ย งธรรม/ ความเข้ า ใจ หน้าที่และความรับผิดชอบของกรรมการตรวจสอบ/ การอุ ทิ ศ เวลาในการปฏิ บั ติ ง านและการประชุ ม โดยมีเกณฑ์การประเมินผล 4 ระดับคือ 4 = ดีเยี่ยม/ 3 = ดีมาก/ 2 = ดี/ 1 = ควรปรับปรุง สรุ ป ผลการประเมิ น คณะกรรมการตรวจสอบ รายบุ ค คล (ประเมิ น ตนเอง) อยู่ ใ นเกณฑ์ ดี เ ยี่ ย ม

สําหรับกรรมการทีเ่ ข้ารับตําแหน่งใหม่ในคณะกรรมการ ปตท. ปตท. ได้จัดให้มีการปฐมนิเทศ เพื่อให้กรรมการใหม่ได้รับทราบ นโยบายธุรกิจของ ปตท. รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น โครงสร้าง ทุน ผู้ถือหุ้น ผลการดําเนินงาน ข้อมูลระบบต่าง ๆ ที่ใช้งานภายใน ปตท. รวมทั้งกฎหมาย กฎเกณฑ์ต่าง ๆ พร้อมทั้งส่งมอบคู่มือ สํ า หรั บ กรรมการ ซึ่ ง เป็ น ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ประโยชน์ สํ า หรั บ การเป็ น ่ ือกรรมการ ประกอบด้วย กรรมการ ปตท. ให้กบ ั กรรมการ ทัง้ นี้ คูม

คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.83 •

แบบประเมิ น ผลคณะกรรมการตรวจสอบรายบุ ค คล (ประเมิ น ไขว้ ) ประกอบด้ ว ย 6 หั ว ข้ อ เหมื อ นแบบ ประเมิ น ผลคณะกรรมการตรวจสอบรายบุ ค คล (ประเมินตนเอง) สรุ ป ผลการประเมิ น คณะกรรมการตรวจสอบ รายบุคคล (ประเมินไขว้) อยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม คะแนน เฉลี่ยเท่ากับ 3.91

แบบประเมิ น ผลคณะกรรมการตรวจสอบทั้ ง คณะ ประกอบด้ ว ย 7 หั ว ข้ อ คื อ องค์ ป ระกอบของ คณะกรรมการตรวจสอบ/ การประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบ/ บทบาทและหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ/ ความสัมพันธ์กับผู้ตรวจสอบภายในและผู้สอบบัญชี/

คู่มือกรรมการ: 1. พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด 2. พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 3. พระราชบั ญ ญั ติ คุ ณ สมบั ติ ม าตรฐานสํ า หรั บ กรรมการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจ 4. ใบสําคัญแสดงการจดทะเบียนบริษัท 5. หนังสือรับรองบริษัท 6. วัตถุประสงค์ของบริษัท 7. ข้อบังคับบริษัท 8. ระเบียบบริษัท (17 ระเบียบ) 9. คู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. 10. คู่มือกรรมการบริษัทจดทะเบียน

ความสัมพันธ์กับฝ่ายบริหาร/ การรายงาน/ การรักษา คุณภาพ โดยมีเกณฑ์การประเมินผล 4 ระดับ คือ 4 = ปฏิ บั ติ ค รบถ้ ว น/ 3 = ปฏิ บั ติ เ ป็ น ส่ ว นใหญ่ / 2 = ปฏิบัติบางส่วน/ 1 = ยังไม่ปฏิบัติ สรุ ป ผลการประเมิ น คณะกรรมการตรวจสอบ ทั้ ง คณะ อยู่ ใ นเกณฑ์ ป ฏิ บั ติ ค รบถ้ ว น คะแนนเฉลี่ ย เท่ากับ 3.91 อนึ่ ง บริ ษั ท ได้ วิ เ คราะห์ หั ว ข้ อ ของการประเมิ น ผล เพื่ อ มา พัฒนา/ ปรับปรุงการทํางานต่อไป และนอกเหนือจากการจัดทํา แบบประเมิ น ผลคณะกรรมการประจํ า ปี แ ล้ ว ในปี 2560 คณะกรรมการยังได้วัดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของกรรมการ โดยใช้ วิ ธี ก ารกํ า หนดเป้ า หมายการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องกรรมการ เป็นตัวชีว ้ ด ั (KPI) ไว้ตงั้ แต่ตน ้ ปีเพือ ่ ใช้สา ํ หรับวัดผลการปฏิบต ั งิ าน ของคณะกรรมการและเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาค่าตอบแทน โดยในปี 2560 ผลประเมินอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยมที่ระดับ 5

ข้อมูลสําหรับกรรมการ: 1. Presentation แนะนําการดําเนินธุรกิจของ ปตท. โดย ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ 2. รายชื่อคณะกรรมการ คณะกรรมการเฉพาะเรื่อง และ ผังโครงสร้างการจัดการ 3. Director Fiduciary Duty Check List 4. หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี สําหรับบริษัทจดทะเบียน 5. รายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน 6. ข้อแนะนําการให้สารสนเทศสําหรับผู้บริหารจดทะเบียน 7. Company Profile บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ฉบับย่อ 8. รายงานประจําปี 9. รายงานทางการเงิน 10. รายงานความยั่งยืน ปตท. 11. หนังสือธรรมาภิบาล


176

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

12. หนังสือ PTT The S-Curve Story 13. วารสารหุ้นกู้ 14. วารสารบ้านเรา (PTT Spirit) 15. บทความ แฉ ความจริง…แปรรูปรัฐวิสาหกิจ 16. PTT Way of Conduct 17. PTT Technology and Innovation Management Operating System 18. PLLI Course Catalog ในปี 2560 ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารและกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ นําเสนอข้อมูล ปตท. โดยบรรยายชีแ ้ จงให้กบ ั กรรมการใหม่เกีย ่ วกับ นโยบายธุรกิจของ ปตท. รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อนําเสนอภาพรวมการดําเนินธุรกิจและผลการดําเนินงานให้กรรมการใหม่ ได้เห็นภาพที่ชัดเจน พร้อมกับส่งมอบคู่มือกรรมการและข้อมูลสําหรับกรรมการตามรายการข้างต้น รวม 1 ครั้ง

4. การพัฒนากรรมการ ปตท. > การอบรม/ สัมมนา คณะกรรมการ ปตท. และผู้บริหารระดับสูงให้ความสําคัญต่อการเข้าร่วมอบรมสัมมนาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่กรรมการอย่างสม่ําเสมอ (ดังรายละเอียดตามข้อมูลในประวัติของแต่ละท่าน) โดยกรรมการ ปตท. ส่วนใหญ่ (มากกว่าร้อยละ 90) มีประวัติได้เข้ารับการอบรมกับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) แล้ว โดย ปตท. ให้การสนับสนุนและดําเนินการให้กรรมการพิจารณาเข้ารับการอบรมกับสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย และสถาบันอืน ่ ๆ ในทุกหลักสูตรที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องตลอดปี รวมถึงการจัดผู้เชี่ยวชาญ บริษัทที่ปรึกษา นําเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์ สําหรับธุรกิจ อย่างสม่ําเสมอ (In-house Briefing) รวมทั้งจัดให้คณะกรรมการได้ดูงานจากหน่วยงาน หรือองค์กรอื่นตามความเหมาะสม ทําให้เกิด มุมมองความคิดที่เป็นประโยชน์มาประยุกต์ใช้กับธุรกิจของ ปตท. ให้เติบโตอย่างยั่งยืน ในปี 2560 มีกรรมการเข้ารับการอบรม/ สัมมนา เช่น

รายชื่อกรรมการ นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

หลักสูตรอบรม/ หัวขอสัมมนา • งานเสวนาหลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) • งานเสวนาหัวข้อ The Future of Energy in Thailand ในงาน SPE Thailand Season Opening Meeting • งานสัมมนา หัวข้อ “Electric Vehicles & Future Energy System: Recent Development and Implications” จัดขึน ้ โดยสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (PTIT) • งาน The Amartya Sen Lecture Series หัวข้อ Globalisation, Inequality and Thailand 4.0

ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์

• เสวนางานโครงการ CG WE CAN SEASON 6

พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์

• Ethical Leadership Program (ELP) (7/2017) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • งาน PTT GROUP CG DAY 2017

นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

• สัมมนา เรื่อง “ระบบค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ” สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.)


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

รายชื่อกรรมการ

177

หลักสูตรอบรม/ หัวขอสัมมนา

พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

• ร่วมเสวนางาน PTT CG Day

นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

• Ethical Leadership Program (ELP) (7/2017) IOD

นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

• งานสัมมนา หัวข้อ “Electric Vehicles & Future Energy System: Recent Development and Implications” จัดขึน ้ โดยสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (PTIT)

นายวิชัย อัศรัสกร

• งานสัมมนา หัวข้อ “Electric Vehicles & Future Energy System: Recent Development and Implications” จัดขึน ้ โดยสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (PTIT) • PTT Group AC Forum 2017

นายธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน รุ่นที่ 9 (วพน. 9) • Anti-Corruption: the Practical Guide (ACPG), Direct Accreditation Program (DAP) (อยู่ระหว่างอบรม) IOD • ร่วมเสวนางาน PTT CG Day • งานสัมมนา หัวข้อ “Electric Vehicles & Future Energy System: Recent Development and Implications” จัดขึน ้ โดยสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (PTIT) • งาน The Amartya Sen Lecture Series หัวข้อ Globalisation, Inequality and Thailand 4.0

นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

• Successful Formulation & Execution of Strategy (SFE) (อยู่ระหว่างอบรม) IOD • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 24 (วตท. 24) (อยู่ระหว่างอบรม)

นายสมชัย สัจจพงษ์

• เข้าร่วมงานรัฐวิสาหกิจดีเด่นปี 2560

นายดอน วสันตพฤกษ์

• ร่วมเสวนางาน PTT CG Day • งานสัมมนา หัวข้อ “Electric Vehicles & Future Energy System: Recent Development and Implications” จัดขึน ้ โดยสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (PTIT) • งาน The Amartya Sen Lecture Series หัวข้อ Globalisation, Inequality and Thailand 4.0

นายสมคิด เลิศไพฑูรย์

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน รุ่นที่ 10 (วพน. 10)

นายธรรมยศ ศรีช่วย

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP) (239/2017) IOD

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

• Ethical Leadership Program (ELP) (7/2017) IOD • งานเสวนาหลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) • ร่วมเสวนางาน PTT CG Day • งานสัมมนา หัวข้อ “Electric Vehicles & Future Energy System: Recent Development and Implications” จัดขึน ้ โดยสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (PTIT) (ร่วมงานภาคเช้า) • ร่วมเสวนางาน PTT GROUP CG DAY 2017


178

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

Eco-System ในลักษณะ Open Innovation เพือ ่ เปิดโอกาส

> การตรวจเยี่ยมการดําเนินธุรกิจ ทรัพยสิน พนักงานของบริษัทในกลุม ปตท./ การศึกษากิจการพลังงาน

ให้ นํ า เอางานวิ จั ย และเทคโนโลยี ใ หม่ ๆ มาต่ อ ยอดใน การดําเนินธุรกิจ รวมทัง้ แนวคิดการดําเนินธุรกิจ Start-up/ การพบปะผูบ ้ ริหารและเยีย ่ มชมกระบวนการผลิตของ 24M

ปตท. มีนโยบายที่จะจัดให้มีการตรวจเยี่ยมการดําเนินธุรกิจ

Technologie เพื่อแลกเปลี่ยนมุมมองด้านธุรกิจพลังงาน

ทรัพย์สิน พนักงาน ของบริษัทในกลุ่ม ปตท. ทั้งในประเทศและ

หารื อ ความเป็ น ไปได้ และโอกาสในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ

ต่างประเทศให้กับกรรมการเป็นระยะ ๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ

ร่ ว มกั น ในอนาคต/ การพบปะกั บ ผู้ บ ริ ห ารและเยี่ ย มชม

ธุรกิจยิ่งขึ้น เพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับทิศทางการใช้พลังงานของ

โรงงานของ GM ประชุมกับผูบ ้ ริหารของ Tesla เกีย ่ วกับธุรกิจ

ประเทศต่าง ๆ สามารถนําความรู้และประสบการณ์ ที่ได้รับมา

รถ EV ที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน/ การพบปะ

ช่วยในการพิจารณาเรื่องพลังงานของ ปตท. และของประเทศได้

ผู้ บ ริ ห ารของ GE Digital Disruptive Technologies

อีกทั้งคณะกรรมการจะได้ศึกษาเปรียบเทียบกับการกําหนด

เกี่ยวกับ Disruptive Technology ซึ่งเข้ามามีบทบาทอย่าง

นโยบายด้ า นพลั ง งานของประเทศไทย รวมทั้ ง เปิ ด โอกาสให้

มี นั ย สํ า คั ญ ต่ อ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ในปั จ จุ บั น รวมทั้ ง เรื่ อ ง

กรรมการได้ติดตามข้อมูลและความก้าวหน้าในธุรกิจพลังงาน

Productivity Improvement และการสร้าง New S-Curve

พร้ อ มทั้ ง แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น กั บ ผู้ เ ชี่ ย วชาญจากบริ ษั ท พลังงานชั้นนําระดับโลกในต่างประเทศโดยตรง เพื่อเปิดมุมมอง

การตรวจเยี่ยมการดําเนินธุรกิจ ทรัพย์สิน พนักงาน ของ บริ ษั ท ปตท. ค้ า สากล จํ า กั ด (PTTT) บริ ษั ท PTT

ในการขยายการลงทุนของกลุม ่ ปตท. ในต่างประเทศ ซึง่ สอดคล้อง

Regional Treasury Center Pte Ltd. (PTT RTC) บริษท ั พีทท ี ี

กับทิศทางการดําเนินธุรกิจของกลุ่ม ปตท. ในอนาคต โดยข้อมูล

เอ็ น เนอร์ ยี่ รี ซ อร์ ส เซส จํ า กั ด (PTTER) ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท

ความรูแ ้ ละประสบการณ์ตรงทีค ่ ณะกรรมการได้รบ ั จากกิจกรรมนี้

ในเครือ ปตท. ในประเทศสิงคโปร์/ พบปะผู้บริหารบริษัท

จะมีสว ่ นช่วยให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในธุรกิจพลังงานในระดับโลก

Pavilion Energy เพื่อแลกเปลี่ยนมุมมองด้านการดําเนิน

ได้ เ ป็ น อย่ า งดี และจะช่ ว ยในการพิ จ ารณากํ า หนดแนวทาง

ธุ ร กิ จ พลั ง งาน การเปิ ด เสรี ด้ า นพลั ง งาน รวมทั้ ง หารื อ

การดําเนินธุรกิจที่เหมาะสมของ ปตท. และประเทศได้ต่อไป

ความเป็ น ไปได้ และโอกาสในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ร่ ว มกั น

ในปี 2560 การตรวจเยีย ่ มการดําเนินธุรกิจ ทรัพย์สน ิ พนักงาน ของบริษัทในกลุ่ม ปตท. ของคณะกรรมการ ปตท. ดังนี้ •

ในอนาคต/ พบปะผู้บริหารบริษัท Temasek ซึ่งเป็นบริษัท ที่ รั ฐ บาลสิ ง คโปร์ เ ป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น เพื่ อ แลกเปลี่ ย นมุ ม มอง

การตรวจเยี่ยมพื้นที่เหมืองถ่านหิน Jembayan ของบริษัท

เกี่ยวกับการลงทุน การบริหาร และการกํากับดูแลบริษัท

Sakari Resources Limited (SAR) (บริษัทในเครือของ

ในเครือ/ ศึกษาการดําเนินของบริษัท S&P Global Platts

บริ ษั ท พี ที ที เอ็ น เนอร์ ยี่ รี ซ อร์ ส เซส จํ า กั ด (PTTER))

สําหรับการตรวจเยี่ยมกิจการภายในประเทศ มีดังนี้

ณ ประเทศอินโดนีเซีย

1. คณะกรรมการ ปตท. ลงพื้นที่โครงการรักษ์น้ํา รักษ์ป่า

การเดินทางไปตรวจเยีย ่ มการดําเนินธุรกิจ และศึกษางาน

รั ก ษ์ คุ้ ง บางกะเจ้ า อํ า เภอพระประแดง จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ

ด้านธุรกิจพลังงานหรือธุรกิจที่เกี่ยวข้อง เทคโนโลยีใหม่ ๆ

ซึ่งเป็นพื้นที่ที่กลุ่ม ปตท. และภาคีเครือข่ายได้เข้าไปมีบทบาท

ในประเทศสหรัฐอเมริกา รวมทั้งการพบปะแลกเปลี่ยน

สําคัญในการพัฒนาพื้นที่คุ้งบางกะเจ้าทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม

ความคิดเห็นร่วมกับผูบ ้ ริหารระดับสูงของกิจการต่างชาติ

และสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคน

อาทิ การพบปะ Partner ของ Charles River Venture

ในชุ ม ชน เพื่ อ การเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ของชุ ม ชนอย่ า งยั่ ง ยื น

เกี่ ย วกั บ Venture Capital แนวคิ ด และการมุ่ ง พั ฒ นา

รวมทั้งการรักษาไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อม

“นวัตกรรม” ให้เกิดเป็นธุรกิจ สินค้า และบริการ/ ศึกษา

2. คณะกรรมการ ปตท. ติดตามความก้าวหน้าศูนย์เรียนรู้

งานของ MIT Energy Initiative และ Precourt Energy

่ อกแบบภายใต้ ป่าในกรุง เขตประเวศ กรุงเทพฯ บนพืน ้ ที่ 12 ไร่ ทีอ

Efficiency Center-Stanford University เกี่ยวกับการสร้าง

แนวคิด PTT Green in City


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

179

การสรรหาและแตงตั้งกรรมการและผูบริหาร ระดับสูงสุด 1. กรรมการอิสระ 1.1 คุณสมบัติของกรรมการอิสระ คณะกรรมการ ปตท. ในการประชุม ครั้งที่ 1/2556 เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2556 ได้มีมติเห็นชอบตามที่คณะกรรมการกํากับดูแล กิจการทีด ่ ีเสนอคือการกําหนดนิยามความเป็นอิสระของกรรมการ ปตท. ใหม่ ซึง่ เข้มกว่าหลักเกณฑ์ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และกําหนดบทบาทหน้าทีแ ่ ละความรับผิดชอบ ของกรรมการอิสระไว้ รวมทัง้ ได้จด ั ทําเป็นคูม ่ อ ื การปฏิบต ั ห ิ น้าทีแ ่ ละความรับผิดชอบของกรรมการอิสระของ ปตท. ซึง่ ลงนามโดยประธาน กรรมการ เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2556 ดังนี้

• คุณสมบัติของกรรมการอิสระ (1) ถือหุน ้ ไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจํานวนหุน ้ ทีม ่ ส ี ท ิ ธิออกเสียงทัง้ หมดใน ปตท. บริษท ั ย่อย บริษท ั ร่วม หรือนิตบ ิ ค ุ คลทีอ ่ าจมีความขัดแย้ง โดยให้นบ ั รวมหุน ้ ทีถ ่ อ ื โดยผูท ้ เี่ กีย ่ วข้องด้วย (ผูท ้ เี่ กีย ่ วข้อง หมายถึง บุคคลตามมาตรา 258 แห่ง พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) (2) ไม่เป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน/ พนักงาน/ ลูกจ้าง/ ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจํา หรือผู้มีอํานาจควบคุมของ ปตท. บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง (ปัจจุบัน และช่วง 2 ปีก่อนได้รับ การแต่งตั้ง) (3) ไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรส ้ อ ี า ํ นาจควบคุมของ ปตท. ของบุตรกับผูบ ้ ริหาร ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ ผูม ้ อ ี า ํ นาจควบคุม หรือบุคคลทีจ ่ ะได้รบ ั การเสนอชือ ่ เป็นผูบ ้ ริหารหรือผูม หรือบริษัทย่อย (4) ความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับ ปตท. (ก) ลักษณะความสัมพันธ์ •

ความสัมพันธ์ในลักษณะของการให้บริการทางวิชาชีพ •

ลักษณะความสัมพันธ์: ผู้สอบบัญชี ผู้ให้บริการทางวิชาชีพอื่น เช่น ที่ปรึกษา กฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน ผู้ประเมินราคาทรัพย์สิน เป็นต้น

ระดับนัยสําคัญที่เข้าข่ายไม่อิสระ -

กรณีผู้สอบบัญชี: ห้ามทุกกรณี

-

กรณีเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพอื่น: มูลค่ารายการเกิน 2 ล้านบาทต่อปี

ความสัมพันธ์ทางการค้า/ ทางธุรกิจ (ใช้แนวทางในทํานองเดียวกับข้อกําหนดว่าด้วยการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน ของตลาดหลักทรัพย์ฯ) •

ลักษณะความสัมพันธ์: กําหนดครอบคลุมรายการทางธุรกิจทุกประเภท ได้แก่ รายการที่เป็นธุรกรรมปกติ รายการ เช่า/ ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์/ บริการ และรายการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน

ระดับนัยสําคัญที่เข้าข่ายไม่อิสระ: มูลค่ารายการ ≥ 20 ล้านบาท หรือ ≥ 3% ของ NTA ของ ปตท. แล้วแต่ จํานวนใดจะต่ํากว่า ทั้งนี้ในการพิจารณามูลค่ารายการให้รวมรายการที่เกิดขึ้นในระหว่าง 6 เดือน ก่อนวันที่มี การทํารายการในครั้งนี้ด้วย

(ข) กรณีทม ี่ ล ี ก ั ษณะความสัมพันธ์ตาม (ก) กับนิตบ ิ ค ุ คล บุคคลทีถ ่ อ ื ว่าเข้าข่ายไม่อส ิ ระ ได้แก่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ กรรมการ (ยกเว้น กรณีเป็นกรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ) และผู้บริหาร หรือ partner ของนิติบุคคลนั้น


180

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

(ค) กําหนดช่วงเวลาที่ห้ามมีความสัมพันธ์ตาม (ก) และ (ข): ปัจจุบันและ 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง (ง) ข้ อ ยกเว้ น : กรณี มี เ หตุ จํ า เป็ น และสมควร ซึ่ ง มิ ไ ด้ เกิดขึ้นอย่างสม่ําเสมอและต่อเนื่อง กรรมการอิสระ/

กั บ กรรมการอิ ส ระ รวมถึ ง ทบทวนนิ ย ามกรรมการอิ ส ระให้ มี ความเหมาะสมและครบถ้วนตามกฎหมาย (4) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการ ปตท. มอบหมาย โดยจะต้องไม่มีผลต่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นอิสระ

กรรมการตรวจสอบ อาจมี ค วามสั ม พั น ธ์ เ กิ น ระดั บ

(5) วาระของกรรมการอิสระเริ่มตั้งแต่มีคุณสมบัติครบถ้วน

นัยสําคัญที่กําหนด ในระหว่างดํารงตําแหน่งก็ได้ แต่

ตามนิยามกรรมการอิสระในการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท.

ต้องได้รบ ั อนุมต ั จ ิ ากคณะกรรมการ ปตท. ก่อนและมติ

และพ้นจากการเป็นกรรมการอิสระเมื่อขาดคุณสมบัติตามนิยาม

ที่ได้ต้องเป็นมติเป็นเอกฉันท์ โดย ปตท. ต้องเปิดเผย

ดังกล่าว หรือพ้นจากตําแหน่ง กรรมการ ปตท.

ความสัมพันธ์ดังกล่าวของกรรมการรายนั้นไว้ในแบบ

(6) กรรมการอิสระต้องประชุมอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง

แสดงรายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) และรายงาน ประจําปี (แบบ 56-2) ของ ปตท. และหากต่อมา ปตท. จะเสนอกรรมการอิ ส ระนั้ น เพื่ อ ดํ า รงตํ า แหน่ ง ต่ อ อี ก วาระหนึ่ ง ปตท. จะต้ อ งเปิ ด เผยข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ

1.2 การแยกตําแหนงประธานกรรมการ และประธานเจาหนาที่บริหาร/ กรรมการผูจัดการใหญ

ความสัมพันธ์ดังกล่าวในหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น ในวาระเลือกตั้งกรรมการด้วย

เพื่ อ ให้ ก ารแบ่ ง แยกหน้ า ที่ ใ นเรื่ อ งการกํ า หนดนโยบายของ

(5) ไม่ เ ป็ น กรรมการที่ ไ ด้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น ตั ว แทนของ

ปตท. และการบริหารงานประจําของ ปตท. ออกจากกัน และเพื่อ

้ อ ื หุน ้ รายใหญ่หรือผูถ ้ อ ื หุน ้ ซึง่ เป็นผูเ้ กีย ่ วข้อง กรรมการของ ปตท. ผูถ

ให้กรรมการทําหน้าทีส ่ อดส่อง ดูแล และประเมินผลการบริหารงาน

กับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ ปตท.

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปตท. จึงกําหนดให้ประธานกรรมการ และ

(6) ไม่มล ี ก ั ษณะอืน ่ ใดทีท ่ า ํ ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็น อิสระได้

ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร/ กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ เป็นคนละบุคคล กั น เสมอ ประธานกรรมการต้ อ งคอยสอดส่ อ งดู แ ลการบริ ห าร

(7) กรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติตาม (1) - (6) อาจได้รับ

จั ด การของฝ่ า ยบริ ห าร คอยให้ คํ า แนะนํ า ช่ ว ยเหลื อ แต่ ต้ อ ง

มอบหมายจากคณะกรรมการ ปตท. ให้ตัดสินใจในการดําเนิน

ไม่มส ี ว ่ นร่วมและไม่กา ้ วก่ายในการบริหารงานปกติประจําวัน โดยให้

กิจกรรมของ ปตท. บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อย

เป็นหน้าที่ของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการผู้จัดการใหญ่

ลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่มีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสินใจ

ภายใต้กรอบอํานาจที่ได้รับจากคณะกรรมการ

ในรูปแบบองค์คณะ (Collective Decision) ได้

ปัจจุบันประธานกรรมการ ปตท. เป็นกรรมการอิสระ มีภาวะ

ทัง้ นีใ้ นกรณีทก ี่ รรมการอิสระมีการดํารงตําแหน่งเป็นกรรมการ

ผูน ้ าํ สูง ทําหน้าทีด ่ แ ู ลกรรมการมิให้อยูภ ่ ายใต้อท ิ ธิพลของฝ่ายบริหาร

อิ ส ระในบริ ษั ท ใหญ่ บริ ษั ท ย่ อ ย และบริ ษั ท ย่ อ ยลํ า ดั บ เดี ย วกั น

โดยทําหน้าทีใ่ ห้ผเู้ ข้าร่วมประชุมใช้สิทธิออกเสียง ปฏิบต ั ิตามหลัก

ปตท. ต้ อ งเปิ ด เผยข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การดํ า รงตํ า แหน่ ง ดั ง กล่ า ว

การกํากับดูแลกิจการที่ดีอย่างเคร่งครัด

และค่าตอบแทนรวมที่กรรมการอิสระรายนั้นได้รับในแบบ 56-1 และแบบ 56-2 ด้วย

• บทบาทหนาที่และความรับผิดชอบ ของกรรมการอิสระของ ปตท.

1.3 ความเปนอิสระของประธานกรรมการ คณะกรรมการ ปตท. ในการประชุมนัดพิเศษครั้งที่ 1/2557 เมือ ่ วันที่ 4 กรกฎาคม 2557 มีมติแต่งตัง้ นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ กรรมการอิ ส ระ เป็ น ประธานกรรมการ ซึ่ ง เป็ น ไปตามหลั ก

(1) เสนอแนะเรือ ่ งทีส ่ า ํ คัญและเป็นประโยชน์ตอ ่ ปตท. ผูถ ้ อ ื หุน ้

การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี สํ า หรั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย น ปี 2555

และผู้ถือหุ้นรายย่อยต่อคณะกรรมการ ปตท. และ/หรือประธาน

ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และทํ า ให้ ก ารทํ า งาน

เจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่แล้วแต่กรณี

ของประธานกรรมการมี ค วามเป็ น อิ ส ระ รวมถึ ง เป็ น การสร้ า ง

(2) ใ ห้ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เ กี่ ย ว กั บ บ ท บ า ท แ ล ะ ห น้ า ที่ ข อ ง คณะกรรมการ ปตท. ทีพ ่ งึ ปฏิบต ั ิ รวมทัง้ ให้ความคิดเห็นตามบทบาท และหน้าที่ของกรรมการอิสระที่พึงปฏิบัติเพื่อประโยชน์ต่อ ปตท. ผู้ถือหุ้น และผู้ถือหุ้นรายย่อย (3) สอบทานให้ ปตท. ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง

ความเชือ ่ มัน ่ ในการดําเนินงานทีม ่ ค ี วามโปร่งใส และดูแลผูม ้ ส ี ว่ นได้เสีย ทุกฝ่ายอย่างเป็นธรรม


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

2. การสรรหากรรมการและผูบริหาร ระดับสูงสุด 2.1 การสรรหากรรมการ (วิ ธี ก ารสรรหาบุ ค คลเพื่ อ แต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการ รายงานไว้

การกํากับดูแลกิจการ

181

การกํากับดูแล การดําเนินงานของ บริษทั ยอยและบริษทั รวม

ภายใต้หมวดการกํากับดูแลกิจการ หัวข้อ “2.1 การเสนอวาระ การประชุมเพิ่มเติมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการ”

กลไกการกํากับดูแล

และ “1.2 คณะกรรมการสรรหา” แล้ว) ปตท. กําหนดนโยบายการกํากับดูแลแบบกลุ่ม ปตท. โดยจัด

2.2 การสรรหาผูบริหารระดับสูงสุด/ การสืบทอดตําแหนง

ทําเป็นคูม ่ อ ื PTT Way และกําหนดแนวปฏิบต ั เิ ป็นคูม ่ อ ื PTT Way of Conduct ซึง่ เป็นการรวบรวมแนวทาง หลักปฏิบต ั แ ิ ละกระบวนการ ในการทํางานในมิติต่าง ๆ ของ ปตท. และบริษัทในกลุ่ม ปตท.

เนื่องจาก ปตท. มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจ ดังนั้นการสรรหา

ให้ มี ค วามสอดคล้ อ งและประสานเป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั น เพื่ อ เป็ น

และแต่งตั้งตําแหน่งของกรรมการผู้จัดการใหญ่ จึงต้องปฏิบัติ

แนวทางให้ ผู้ บ ริ ห าร ปตท. ที่ ดํ า รงตํ า แหน่ ง กรรมการบริ ษั ท

ตามพระราชบั ญ ญั ติ ม าตรฐานสํ า หรั บ กรรมการและพนั ก งาน

ใน กลุม ่ ปตท. กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่หรือผูบ ้ ริหารสูงสุดของบริษท ั

รัฐวิสาหกิจ โดยต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา 8 ตรีและดําเนิน

ในกลุ่ม ปตท. และผู้แทน ปตท. ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่

กระบวนการสรรหาตามมาตรา 8 จัตวา โดยให้คณะกรรมการ

่ ปตท. หรือหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข้องยึดถือเป็นแนวทาง ยังบริษท ั ในกลุม

ปตท. ตั้ ง คณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่ ง จํ า นวน 5 คน ที่ มี

ในการปฏิบัติงานและเกิดความร่วมมือในการดําเนินธุรกิจของ

คุณสมบัตแ ิ ละไม่มล ี ก ั ษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ทําหน้าทีส ่ รรหา

ปตท. และบริษัทในกลุ่ม ปตท. ในทิศทางเดียวกัน สอดคล้องและ

บุ ค คลที่ มี ค วามรู้ ความสามารถและประสบการณ์ ที่ เ หมาะสม

สนับสนุนการทําธุรกิจซึ่งกันและกัน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ

สําหรับเป็นผู้บริหาร ปตท. โดยต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ

ในการแข่งขัน ซึ่งจะผลักดันให้บรรลุเป้าหมายระยะยาวที่วางไว้

ต้ อ งห้ า มตามกฎหมาย ไม่ เ ป็ น กรรมการของ ปตท. ยกเว้ น

และประสบความสําเร็จและเติบโตอย่างยั่งยืนต่อไป

เป็ น ผู้ บ ริ ห ารซึ่ ง เป็ น กรรมการโดยตํ า แหน่ ง และมี อ ายุ ไ ม่ เ กิ น

โดยมีการจัดกลุ่มงานในการบริหารจัดการแบ่งเป็น 2 ระดับ

58 ปีบริบูรณ์ในวันยื่นใบสมัคร เมื่อคณะกรรมการสรรหาสรรหา

ได้แก่

ผู้ที่มีความเหมาะสมแล้วให้เสนอต่อผู้มีอํานาจพิจารณาแต่งตั้ง

ระดับองค์กร (Corporate Level) ประกอบด้วย •

โดยต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ผู้บริหาร

ระดั บ สํ า นั ก งานใหญ่ (Corporate Center) มุ่ ง เน้ น

เดิมพ้นจากตําแหน่ง สัญญาจ้างมีระยะเวลาคราวละไม่เกิน 4 ปี

ด้านการกํากับดูแล (Governance) และการใช้บริการ

ในกรณี ที่ ค ณะกรรมการจะจ้ า งผู้ บ ริ ห ารเดิ ม ต่ อ หลั ง จากครบ

ร่วม (Shared Service) โดยกําหนดนโยบาย กลุม ่ ปตท. ให้มีความสอดคล้อง

กําหนดเวลาตามสัญญาจ้าง ไม่ตอ ้ งดําเนินการกระบวนการสรรหา •

ใหม่แต่จะจ้างเกินสองคราวติดต่อกันไม่ได้

ระดับแกนนํากลุม ่ (COO/ BG) มีบทบาทในการกําหนด

ทั้งนี้ ข้อมูลการสืบทอดตําแหน่งสําหรับผู้บริหารได้รายงาน

กลยุทธ์ เป้าหมาย ติดตามการปฏิบัติงานของแต่ละ

ไว้ภายใต้หมวดโครงสร้างการจัดการ หัวข้อ “พนักงาน” ข้างต้น

กลุม ่ ธุรกิจอย่างใกล้ชด ิ เพือ ่ ทีจ ่ ะมุง่ สูก ่ ารปฏิบต ั ท ิ เ่ี ป็นเลิศ และสร้างพลังร่วม

แล้ว •

ระดับปฏิบัติการในกลุ่ม ปตท. ได้แก่ หน่วยธุรกิจและ บริ ษั ทภายใต้หน่ วยธุรกิ จ มุ่งปฏิ บัติ งานในธุร กิจตนเอง ให้ เ ป็ น เลิ ศ บรรลุ ผ ลสํ า เร็ จ นํ า นโยบายการกํ า กั บ ดู แ ล และการใช้บริการร่วมของกลุม ่ ปตท. ไปบูรณาการร่วมกับ การปฏิบัติการของหน่วยงานของตนให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด


182

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

การบริหารจัดการระดับองค์กร (Corporate Level) และระดับ

ปฏิบต ั ก ิ าร (BU/ Flagship) จะเชือ ่ มโยงกัน ผ่านการกลไกการกํากับ ดูแล ได้แก่

ระเบียบบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ว่าด้วย การจัดแบ่ง ส่วนงานของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) พ.ศ. 2553

ระเบียบบริษัทว่าด้วยการบริหารงานบุคคล

ข้อกําหนดบริษท ั ปตท. จํากัด (มหาชน) ว่าด้วย หลักเกณฑ์

การกําหนดข้อบังคับ ข้อกําหนด และระเบียบบริษัท

การถ่ายทอดนโยบาย เพื่อนําไปสู่การปฏิบัติโดยผู้บริหาร

ก า ร ล ง ทุ น ข อ ง บ ริ ษั ท ใ น ก ลุ่ ม ป ต ท . แ ล ะ แ น ว ท า ง

ปตท. ที่ดํารงตําแหน่งกรรมการ และ/หรือดํารงตําแหน่ง

การกํากับดูแลบริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น พ.ศ. 2558

ผู้บริหารสูงสุดบริษัทในกลุ่ม ปตท. หรือพนักงาน ปตท.

ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ต า ม ร ะ เ บี ย บ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กํ า กั บ

หลั ก เกณฑ์ ก ารปรั บ เปลี่ ย นกรรมการของบริ ษั ท ในกลุ่ ม

หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

ที่ปฏิบัติงาน Secondment ในบริษัทกลุ่ม ปตท. •

การเชือ ่ มโยง และผลักดันให้บรรลุตามเป้าหมาย โดยผ่าน

ปตท. ที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์

คณะกรรมการต่าง ๆ •

การถ่ายทอด ติดตาม ให้คาํ ปรึกษา และประเมินการผลักดัน

หลักเกณฑ์การพิจารณาแต่งตัง้ ผูบ ้ ริหารเป็นคณะกรรมการ

นโยบายต่าง ๆ กับบริษท ั ในกลุม ่ ปตท. โดยผ่านหน่วยงาน

ของบริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท. ที่ ไ ม่ ไ ด้ จ ดทะเบี ย นในตลาด

บริหารบริษัทในเครือแต่ละหน่วยธุรกิจ

หลักทรัพย์

รวมทัง้ ได้มก ี ารกําหนดบทบาทหลักในการบริหารจัดการบริษท ั ในกลุ่ม ปตท. เพื่อประโยชน์สูงสุดตามพันธกิจ ดังนี้

หลักการบริหารจัดการบริษท ั ในกลุ่ม ปตท.

หลักปฏิบัติการต่อต้านทุจริต กํากับโดยคณะกรรมการ

บทบาทของคณะกรรรมการ ปตท. มีหน้าที่

โครงการแนวร่วมปฏิบต ั ข ิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน

กําหนดวิสัยทัศน์ ทิศทาง กลยุทธ์ และนโยบาย

ทุจริต

แต่งตั้งฝ่ายบริหารรับผิดชอบการดําเนินธุรกิจ

ติดตามและรับผิดชอบในการดําเนินงานของบริษัทโดย มุง่ เน้นให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ผถ ู้ อ ื หุน ้ และผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย

ตั้งมั่นในหลักธรรมาภิบาล

นโยบายการไปดํารงตําแหนงกรรมการที่อื่น ของกรรมการและผูบริหาร

บทบาทของผู้บริหารสูงสุด มีหน้าที่ • •

สร้ า งความเชื่ อ มโยงด้ า นกลยุ ท ธ์ แ ละนโยบายของกลุ่ ม ปตท. กับบริษัท ให้เป็นรูปธรรม

36 บริษัท (เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ Flagship

บริหารจัดการบริษท ั ให้มีผลการดําเนินงานเป็นทีพ ่ อใจแก่

5 บริษัท) ดังนั้น ปตท. จึงได้ให้ความสําคัญและกําหนดรูปแบบ

ผู้ถือหุ้น

การบริหารจัดการในลักษณะกลุ่ม ปตท. เพื่อสร้างให้เกิดพลังร่วม

บทบาทของเลขานุการบริษัท มีหน้าที่ •

ในปี 2560 ปตท. มีบริษัทในกลุ่มที่ไปลงทุนและถือหุ้นรวม

และมีประสิทธิภาพในการดําเนินธุรกิจร่วมกัน (Synergy) ด้วย

ส่ ง เสริมการปฏิบั ติหน้ า ที่ ข องกรรมการบริษั ท และ

การเสนอแต่ ง ตั้ ง ให้ ก รรมการหรื อ ผู้ บ ริ ห ารของ ปตท. ไปเป็ น

ผู้จัดการใหญ่

กรรมการในบริษัทในกลุ่ม ปตท. เพื่อกํากับดูแลให้บริษัทดังกล่าว

บทบาทของผู้ถือหุ้น มีหน้าที่

กํ า หนดนโยบายและดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายของ

คัดเลือกและตรวจสอบการปฏิบต ั ห ิ น้าทีข ่ องคณะกรรมการ

ปตท. ให้เกิดประโยชน์และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผู้มีส่วนได้เสีย

ของบริษัท

ทุกกลุม ่ ทัง้ นีว ้ ต ั ถุประสงค์ของการเสนอบุคคลเพือ ่ ไปเป็นกรรมการ

ร่วมกําหนดนโยบายที่เกี่ยวกับการดําเนินงานต่าง ๆ ของ

ในบริษัทอื่นมีดังนี้

บริษัท

1. เพื่อกํากับดูแลการบริหารจัดการให้เป็นไปตามนโยบาย

หลักเกณฑ์ตา ่ ง ๆ ทีก ่ า ํ หนดบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ

ของบริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท. และติ ด ตาม ประเมิ น ผลภาพรวม

ของกรรมการและผู้บริหารระดับสูงสุดของบริษัทในกลุ่ม ปตท.

การดําเนินธุรกิจของบริษท ั ในกลุม ่ ปตท. ให้สอดคล้องกับนโยบาย

รวมถึง

ของ ปตท. ในทิศทางเดียวกันกับ ปตท. และมีมาตรฐานใกล้เคียงกัน

ระเบียบบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ว่าด้วยหลักเกณฑ์

ั ในกลุม ่ ปตท. 2. เป็นการสร้าง Synergy ให้กบ ั ธุรกิจของบริษท

ก า ร ล ง ทุ น ข อ ง บ ริ ษั ท ใ น ก ลุ่ ม ป ต ท . แ ล ะ แ น ว ท า ง

เพื่อให้เกิดการประสานประโยชน์และการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ

การกํากับดูแลบริษัทที่ ปตท. ถือหุ้น พ.ศ. 2557

ทุกองค์กรที่เกี่ยวข้อง รวมถึงประเทศไทย


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

3. เพื่ อ นํ า ประสบการณ์ ค วามสามารถเฉพาะด้ า นไปช่ ว ย เหลือธุรกิจ เช่น การนําความรู้ด้านการเงินไปช่วยปรับปรุงพัฒนา ด้านบัญชี การเงิน ให้บริษท ั นัน ้ ๆ ดําเนินธุรกิจได้เติบโตต่อไปอย่าง เข้มแข็งซึ่งรวมถึงการไปช่วยเหลือบริษัทที่ไม่ได้อยู่ในกลุ่ม ปตท.

การกํากับดูแลกิจการ

183

การดูแลเรื่องการใช ขอมูลภายใน

รวมทั้งสามารถนําความรู้และประสบการณ์ที่ได้ไปทําหน้าที่เป็น กรรมการกํ า กั บ ดู แ ลบริ ษั ท ชั้ น นํ า เหล่ า นั้ น ให้ ก ลั บ มาช่ ว ยเสริ ม

1. ระบบการควบคุมภายใน

ประโยชน์ ใ ห้ กั บ ปตท. และเป็ น การสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจให้กับ ปตท. ด้วย 4. ถือเป็นหน้าที่หนึ่งในการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการและ ผู้บริหาร ทั้งนี้ ปตท. กํากับดูแลให้มีการพิจารณาแต่งตั้งผู้บริหารหรือ

ปตท. ให้ความสําคัญต่อการควบคุมภายในโดยมุ่งเน้นให้มี การจั ด วางระบบการควบคุ ม ภายในที่ ค รอบคลุ ม ทุ ก กิ จ กรรม อย่ า งเพี ย งพอและเหมาะสมกั บ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ เพื่ อ ให้ บ รรลุ วัตถุประสงค์ใน 3 ด้าน ได้แก่

บุ ค คลภายนอกจากบุ ค คลในบั ญ ชี ร ายชื่ อ กรรมการที่ ก ระทรวง

1. Operation – ให้มก ี ารบริหารจัดการ การใช้ทรัพยากรให้เป็น

การคลังจัดทําขึ้น (Director’s Pool) ในบริษัทกลุ่ม ปตท. ที่เป็น

ไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมถึงการดูแลทรัพย์สิน

รั ฐ วิ ส าหกิ จ ตาม พ.ร.บ.คุ ณ สมบั ติ ม าตรฐานสํ า หรั บ กรรมการ

การป้ อ งกั น หรื อ ลดความผิ ด พลาด ความเสี ย หาย การรั่ ว ไหล

และพนักงานรัฐวิสาหกิจฯ ให้ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจํานวน

และการทุจริต

กรรมการอื่นของรัฐวิสาหกิจนั้น ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

2. Reporting – ให้การรายงานทางการเงินและรายงานอื่น ๆ

ปตท. มีผู้บริหารอยู่ในบัญชีรายชื่อ Director’s Pool รวม 27 ราย

ที่จัดทําขึ้นเพื่อใช้ภายในและภายนอกองค์กร เป็นไปอย่างถูกต้อง

และกํ า กั บ ดู แ ลให้ ผู้ บ ริ ห าร ปตท. และบุ ค คลภายนอกที่ ดํ า รง

เชื่อถือได้ และทันเวลา

ตําแหน่งกรรมการในบริษท ั ที่ ปตท. ถือหุน ้ ดํารงตําแหน่งในบริษท ั

3. Compliance – ให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ

ที่ ปตท. หรือรัฐวิสาหกิจอืน ่ ถือหุน ้ ไม่เกิน 3 แห่ง เพือ ่ ลดความเสีย ่ ง

ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการทํางานขององค์กร รวมทั้งการปฏิบัติ

ี ารปฏิบต ั ต ิ าม ด้านการขัดกันทางผลประโยชน์และกํากับดูแลให้มก

ตามนโยบาย และวิธก ี ารปฏิบต ั งิ านทีอ ่ งค์กรกําหนดขึน ้ ทีเ่ กีย ่ วข้อง

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่

กับการดําเนินธุรกิจของ ปตท. อย่างเคร่งครัด

24 มกราคม 2554 เกี่ ย วกั บ มาตรการป้ อ งกั น การทุ จ ริ ต ของ

ปตท. กําหนดให้มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานควบคุม

รัฐวิสาหกิจเรื่องการแต่งตั้งข้าราชการระดับสูงหรือบุคคลดํารง

ภายในเพื่ อ ดํ า เนิ น การประเมิ น การควบคุ ม ภายในขององค์ ก ร

ตํ า แหน่ ง กรรมการในรั ฐ วิ ส าหกิ จ หลายแห่ ง ตามข้ อ เสนอของ

โดยประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท.

คณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต และประพฤติ

มอบหมายให้คณะกรรมการแผนวิสาหกิจและบริหารความเสี่ยง

มิชอบแห่งชาติ (ป.ป.ช.)

และคณะกรรมการบริหารการลงทุนและควบคุมภายใน มีอํานาจ

นอกจากนี้ คณะกรรมการยังมีมติกําหนดแนวปฏิบัติหลักการ

หน้ า ที่ ใ นการกํ า หนดแนวทางการปฏิ บั ติ ง านตามมาตรฐาน

การไปดํารงตําแหน่งต่าง ๆ ของผู้บริหารบริษัทกลุ่ม ปตท. โดย

การควบคุ ม ภายใน การประเมิ น ผล และการรายงานเกี่ ย วกั บ

ในปี 2558 คณะกรรมการได้ มี ม ติ ใ ห้ ถื อ หลั ก การดั ง กล่ า วเป็ น

การควบคุ ม ภายในของ ปตท. โดยคณะกรรมการ ปตท. ได้

ส่วนหนึ่งของคู่มือการกํากับดูแลกิจการที่ดีฯ อีกด้วย

มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบทําหน้าที่ในการสอบทาน ผลการประเมินการควบคุมภายใน ซึ่งจัดทําขึ้นโดยฝ่ายบริหาร และสํานักตรวจสอบภายในเป็นประจําทุกปีโดยมีสาระสําคัญ ดังนี้


184

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

(1) สภาพแวดลอมของการควบคุม (Control Environment)

(2) จริยธรรมและจรรยาบรรณ ในการดําเนินธุรกิจ (Code of Conduct)

ในภาพรวม ปตท. มีสภาพแวดล้อมของการควบคุมภายในทีด ่ ี

ปตท. กําหนดนโยบายและระเบียบปฏิบต ั เิ ป็นลายลักษณ์อก ั ษร

มี ค วามเหมาะสมเพี ย งพอต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลใน

เกี่ยวกับมาตรฐานจริยธรรมและจรรยาบรรณ (Code of Conduct)

การดําเนินธุรกิจ โดยผูบ ้ ริหารได้สง่ เสริมสนับสนุนวัฒนธรรมองค์กร

โดยคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดีเป็นผู้กําหนดจริยธรรม

ทีม ่ งุ่ เน้นความซือ ่ สัตย์และจริยธรรม เป็นตัวอย่างทีด ่ ี (Role Model)

และจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจฯ ตามหลักมาตรฐานสากล

และมีการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ดังนี้

ไว้ในคู่มือ CG และกําหนดให้การฝ่าฝืนมีความผิดทางวินัย

กํ า หนดนโยบายและระเบี ย บปฏิ บั ติ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรเกี่ ย วกั บ ความซื่ อ สั ต ย์ แ ละจริ ย ธรรม (Code of

1. เคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชนสากล

ผู้กําหนดนโยบายด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดีตามหลัก

2. ป้องกันการฟอกเงิน

มาตรฐานสากล รวมถึงการเปิดเผยเกี่ยวกับการขัดกัน

3. เป็นกลางทางการเมือง

ในผลประโยชน์ส่วนตนกับกิจการขององค์กร (Conflicts

4. ไม่มีส่วนได้เสียและผลประโยชน์ขัดกัน

of Interest) เพื่อป้องกันกิจกรรมที่อาจเกิดผลประโยชน์

5. รักษาความลับ และไม่ใช้ขอ ้ มูลภายในเพือ ่ ประโยชน์สว ่ นตัว

ทับซ้อน กิจกรรมทีผ ่ ด ิ กฎหมายและไม่เหมาะสม มีการทบทวน

6. ตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า และรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ผู้บริโภค

ผูบ ้ ริหาร และพนักงานทุกระดับ ลงนามรับทราบและยึดถือ

7. แข่งขันอย่างเสรี เป็นธรรม

ปฏิ บั ติ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการทํ า งาน เพื่ อ ให้ เ ห็ น ถึ ง คํ า มั่ น

8. มีกระบวนการการจัดซือ ้ ทีโ่ ปร่งใส และปฏิบต ั ต ิ อ ่ คูค ่ า ้ อย่าง

สัญญาในการนํานโยบายด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณธุรกิจฯ ไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม การจั ด โครงสร้ า งองค์ ก รที่ มี ลั ก ษณะของการกระจาย อํานาจ เพื่อให้การปฏิบัติงานมีความคล่องตัว เหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพธุรกิจทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป มีการมอบ อํานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบเป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีการกําหนดตัวชี้วัด (Key Performance Indicators: KPIs) เพื่ อ เป็ น แนวทางในการปฏิ บั ติ ง านของพนั ก งาน และติดตามผลการดําเนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมาย อย่างสม่ําเสมอ รวมทั้งมีการทบทวนเป้าหมายประจําปี ซึ่ ง พนั ก งานทุ ก คนทราบถึ ง บทบาท อํ า นาจหน้ า ที่ และ ความรับผิดชอบของตน •

มีสาระสําคัญดังนี้

Conduct) โดยคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดีเป็น

ปรับปรุงนโยบายและคู่มือ เป็นประจําทุกปี โดยกรรมการ

จริ ย ธรรมและจรรยาบรรณในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของ ปตท.

กํ า หนดให้ ก ารกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ วิสย ั ทัศน์ พันธกิจ และค่านิยมขององค์กร โดยมีเป้าหมาย

เป็นธรรม 9. รับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม 10. สนั บ สนุ น สิ ท ธิ ข องพนั ก งาน และสร้ า งความผู ก พั น ต่ อ องค์กร 11. ปฏิ บั ติ ต่ อ เงื่ อ นไขสั ญ ญาที่ มี ต่ อ เจ้ า หนี้ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด โปร่งใส และเท่าเทียมกัน 12. มีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที่มี ประสิทธิภาพ 13. มี แ นวทางปฏิ บั ติ ใ นการรั บ การให้ ข องขวั ญ ทรั พ ย์ สิ น หรือประโยชน์อื่นใด 14. รั ก ษาความปลอดภั ย ส่ ง เสริ ม สุ ข อนามั ย และรั ก ษา สิ่งแวดล้อม 15. เคารพทรัพย์สินทางปัญญา และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในทางที่ถูกต้อง

ที่ จ ะให้ ปตท. เป็ น บริ ษั ท ที่ เ จริ ญ เติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น (Sustainable Growth Strategy) โดยผลักดันให้เป็นบริษัท พลั ง งานไทยข้ า มชาติ ชั้ น นํ า เป็ น องค์ ก รที่ มี ศั ก ยภาพ

(3) ความขัดแยงทางผลประโยชน (Conflicts of Interest)

เป็ น เลิ ศ เพื่ อ พั ฒ นาขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น (Competitiveness) มุ่ ง เน้ น การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ร่ ว มกั น

ปตท. กําหนดให้มก ี ารเปิดเผยข้อมูลเพือ ่ ป้องกันการขัดกันของ

(Create Shared Value: CSV) และสร้างประโยชน์ตอบแทน

ผลประโยชน์ส่วนตนกับบริษัท (Conflicts of Interest) เพื่อป้องกัน

ทีเ่ หมาะสมแก่ผม ู้ ส ี ว ่ นได้เสีย บนหลักการกํากับดูแลกิจการ

กิจกรรมที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน กิจกรรมที่ผิดกฎหมาย

ที่ดี (Corporate Governance: CG)

และไม่เหมาะสม โดยคณะกรรมการ ปตท. ได้กําหนดนโยบาย เกีย ่ วกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์บนหลักการทีว ่ า ่ การตัดสินใจ ใด ๆ ของบุคลากรทุกระดับในการดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจจะต้อง


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

185

ทําเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของ ปตท. เท่านั้น และถือเป็นหน้าที่

และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ เพือ ่ ใช้ในการตรวจสอบและ

ของบุ ค ลากรทุ ก ระดั บ ที่ จ ะหลี ก เลี่ ย งการมี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งทาง

กํากับดูแลด้านความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อนึ่ง ในระหว่างปี

การเงิน และ/หรือความสัมพันธ์กับบุคคลภายนอกอื่น ๆ ซึ่งจะ

ไม่มีการรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการ ผู้บริหาร และ

ส่งผลให้ ปตท. ต้องเสียผลประโยชน์หรือก่อให้เกิดความขัดแย้ง

บุคคลเกี่ยวข้อง

ในด้านความภักดี หรือผลประโยชน์ หรือขัดขวางการปฏิบัติงาน อย่างมีประสิทธิภาพ โดยกําหนดให้ผท ู้ ม ี่ ส ี ว ่ นเกีย ่ วข้องหรือเกีย ่ วโยง กับรายการที่พิจารณา ต้องแจ้งให้บริษัททราบถึงความสัมพันธ์

(6) การจัดทํารายงานการเปลี่ยนแปลง การถือหลักทรัพย

หรื อ ความเกี่ ย วโยงของตนในรายการดั ง กล่ า ว และต้ อ งไม่ เ ข้ า ร่วมการพิจารณาตัดสิน รวมถึง ปตท. จะต้องดําเนินการให้บค ุ คล ที่เกี่ยวข้องไม่มีอํานาจอนุมัติหรือเกี่ยวข้องกับธุรกรรมนั้น ๆ

เพื่อกํากับดูแลด้านการใช้ข้อมูลภายใน ปตท. ได้กําหนดให้ คณะกรรมการ ปตท. และผู้บริหาร ซึ่งหมายรวมถึงคู่สมรสและ บุตรทีย ่ งั ไม่บรรลุนต ิ ภ ิ าวะ เมือ ่ มีการเปลีย ่ นแปลงการถือหลักทรัพย์

(4) การจัดทํารายงานเปดเผยรายการ ทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชนกบั ปตท.

ปตท. จะต้องแจ้งให้ ปตท. ทราบ และรายงานการเปลี่ยนแปลง การถือหลักทรัพย์ต่อสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ตามมาตรา 59 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ

ปตท. กําหนดให้กรรมการ ผูบ ้ ริหาร พนักงานทุกคน ต้องจัดทํา

หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ภายใน 3 วันทําการ

รายงานเปิ ด เผยรายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์

นับจากวันที่ซื้อ ขาย โอน หรือรับโอน รวมทั้ง ปตท. ได้กําหนด

กับ ปตท. โดยใช้แบบฟอร์มรายงานการเปิดเผยรายการที่สงสัย

นโยบายให้มก ี ารเปิดเผย/ รายงาน การซือ ้ / ขาย/ โอน เปลีย ่ นแปลง

ว่าจะเป็นผลประโยชน์ที่ขัดกันกับผลประโยชน์ของ ปตท. และ

การถือหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหารต่อคณะกรรมการ

ในการอนุมัติใด ๆ สําหรับกรณีดังกล่าวต้องยึดถือหลักการไม่ให้

ปตท. เมื่ อ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงในการประชุ ม ประจํ า เดื อ น โดย

มีการกําหนดเงื่อนไขหรือข้อกําหนดพิเศษผิดไปจากปกติ ถือเป็น

กําหนดเป็นวาระปกติในปฏิทินการประชุมคณะกรรมการ ปตท.

กระบวนการควบคุมภายในของ ปตท. รวมทั้งได้กําหนดให้สํานัก

ไว้ล่วงหน้า

ตรวจสอบภายในและคณะกรรมการตรวจสอบเป็ น ผู้ ส อดส่ อ ง

อนึง่ ในช่วง 1 สัปดาห์กอ ่ นวันปิดงบการเงินประจําไตรมาสและ

ดู แ ลและจั ด การแก้ ไ ขปั ญ หาความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์

ประจําปี สํานักกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่และเลขานุการบริษท ั จะทํา

ดังกล่าว ทั้งนี้ในปี 2560 จัดให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน

หนังสือแจ้งกรรมการ ผู้บริหารหรือหน่วยงานที่ได้รับทราบข้อมูล

ทุกระดับจัดทํารายงานความขัดแย้งของผลประโยชน์โดยในส่วน

ภายใน (Insider) ไม่ให้เปิดเผยข้อมูลภายในแก่บค ุ คลภายนอกหรือ

ของผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานจั ด ทํ า แบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ผ่ า นระบบ

บุคคลทีไ่ ม่มห ี น้าทีเ่ กีย ่ วข้อง และห้ามซือ ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษท ั

PTT Intranet ในช่ ว งต้ น ปี ซึ่ ง สรุ ป ผลไม่ พ บรายการขั ด แย้ ง

ในช่วง 45 วัน สําหรับงบไตรมาส และ 60 วัน สําหรับงบประจําปี

ที่ มี ส าระสํ า คั ญ โดยในแบบการเปิ ด เผยรายการขั ด แย้ ง ทาง

(ตั้งแต่วันปิดงบจนถึงวันแจ้งงบต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ) คือ ก่อนที่

ผลประโยชน์ของ ปตท. จะเป็นการยืนยันการรับทราบว่า การฝ่าฝืน

งบการเงินจะเผยแพร่ตอ ่ สาธารณชน เพือ ่ เป็นการป้องกันไม่ให้นา ํ

ไม่ปฏิบัติตามจริยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของ

ข้อมูลภายในไปใช้ในทางมิชอบ (Insider Trading) ทั้งนี้ ในปี 2560

ปตท. เข้าลักษณะแห่งความผิดทางวินัย ต้องพิจารณาโทษวินัย

กรรมการและผู้บริหารได้ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด มีการแจ้ง

ตามขั้นตอนการลงโทษ และความร้ายแรงของการกระทํา

กรรมการและผู้บริหาร จํานวน 4 ครั้ง คือ ห้ามซื้อ/ ขาย/ โอนหุ้น ปตท. (1) ระหว่างวันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2559

(5) การจัดทํารายงานการมีสวนไดเสีย ของกรรมการ ผูบริหาร และบุคคล ที่มีความเกี่ยวของ

(งบปี 2559) (2) ระหว่างวันที่ 1 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม 2560 (งบไตรมาสที่ 1 ปี 2560) (3) ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560 (งบไตรมาสที่ 2 ปี 2560) (4) ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2560 (งบไตรมาสที่ 3 ปี 2560) นอกจากนี้

ในช่วงไตรมาสแรกของปี 2560 คณะกรรมการ ปตท. ได้จด ั ทํา

ได้ กํ า หนดนโยบายหลี ก เลี่ ย งการซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท

แบบรายงานการมี ส่ ว นได้ เ สี ย ของกรรมการ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล

ในกลุ่ม ปตท. นอกเหนือจากช่วงเวลาดังกล่าวข้างต้น โดยหาก

พื้นฐานในการกํากับดูแลด้านการมีส่วนได้เสียในระดับกรรมการ

มี ค วามจํ า เป็ น ต้ อ งซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท.

และเช่นเดียวกับผูบ ้ ริหารระดับสูงได้ดา ํ เนินการจัดทําแบบรายงาน

ต้องแจ้งเลขานุการบริษัทล่วงหน้าอย่างน้อย 2 วัน

ดั ง กล่ า วประจํ า ปี ค รบทุ ก ราย และจั ด ส่ ง ให้ เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท จัดเก็บ รวบรวม พร้อมทัง้ ทําสําเนาส่งประธานคณะกรรมการ ปตท.


186

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

รายงานการถือหลักทรัพยของกรรมการ ปตท. ป 2559 และป 2560 จํานวนหุน (หุน) ลําดับ

รายชื่อกรรมการ

1. นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 2. ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 3. พล.อ.ท. บุญสืบ ประสิทธิ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 4. นายบุญทักษ์ หวังเจริญ

ณ วันที่ ณ วันที่ เพิ่ม (ลด) 31 ธ.ค. 31 ธ.ค. ระหวางป 2559 2560 (หุน)

หมายเหตุ

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

N/A

N/A

กรรมการแต่งตั้งใหม่ ตั้งแต่วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 และลาออก เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2560 (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2560 ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 5. พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 6. นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 7. นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 8. นายวิชัย อัศรัสกร คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 9. นายสมชัย สัจจพงษ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 10. นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 11. นายดอน วสันตพฤกษ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

( ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

จํานวนหุน (หุน) ลําดับ

รายชื่อกรรมการ

12. นายธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 13. นายธรรมยศ ศรีช่วย คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 14. นายสมคิด เลิศไพฑูรย์

ณ วันที่ ณ วันที่ เพิ่ม (ลด) 31 ธ.ค. 31 ธ.ค. ระหวางป 2559 2560 (หุน)

หมายเหตุ

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

กรรมการแต่งตั้งใหม่ ตั้งแต่วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 (ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 15. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

แสดงข้อมูลไว้ในตารางการถือหลักทรัพย์ ของผู้บริหาร ปตท.

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

รายงานการถือหลักทรัพยของกรรมการที่ครบวาระและลาออกระหวางป 2560 จํานวนหุน (หุน) ลําดับ

รายชื่อกรรมการ

1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

ณ วันที่ ณ วันที่ เพิ่ม (ลด) 31 ธ.ค. 31 ธ.ค. ระหวางป 2559 2560 (หุน) –

N/A

N/A

หมายเหตุ

พ้นจากตําแหน่ง เนื่องจากอายุครบ 65 ปี เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 (คู่สมรสถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

130,800

N/A

N/A

N/A

N/A

187


188

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

การถือหลักทรัพยของผูบริหาร ป 2559 และป 2560 จํานวนหุน (หุน) ลําดับ

รายชื่อผูบริหาร

1. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 2. นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 3. นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 4. นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 5. นางนิธิมา เทพวนังกูร คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 6. นายกฤษณ์ อิ่มแสง คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 7. นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 8. นายนพดล ปิ่นสุภา คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 9. นางสาวจิราพร ขาวสวัสดิ์

ณ วันที่ ณ วันที่ เพิ่ม (ลด) 31 ธ.ค. 31 ธ.ค. ระหวางป 2559 2560 (หุน)

หมายเหตุ

25,000

25,000

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

15,500

15,500

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

22,500

22,500

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

4,300

4,300

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

41,000

41,000

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

10,000

10,000

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

110,200 110,200

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

13,600

13,600

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

50,800

50,800

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

N/A

* ผู้บริหารแต่งตั้งใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 (ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

10. นางบุบผา อมรเกียรติขจร คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 11. นายวิทวัส สวัสดิ์-ชูโต คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

70,000

70,000

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

55,451

55,451

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

189

จํานวนหุน (หุน) ลําดับ

รายชื่อผูบริหาร

12. นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ

ณ วันที่ ณ วันที่ เพิ่ม (ลด) 31 ธ.ค. 31 ธ.ค. ระหวางป 2559 2560 (หุน) N/A

หมายเหตุ

* ผู้บริหารแต่งตั้งใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2560 (ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรส

N/A

2,000

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

N/A

N/A

* ผู้บริหารแต่งตั้งใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560

13. นางสาวเพียงพนอ บุญกล่ํา

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.) 14. นายสมพร ว่องวุฒิพรชัย คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 15. นายอธิคม เติบศิริ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 16. นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 17. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 18. นายเติมชัย บุนนาค

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

10,000

10,000

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

(ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

2,000

2,000

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

* ผู้บริหารแต่งตั้งใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2560 (ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

7,000

7,000

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

20. นางสาววิไลวรรณ กาญจนกันติ

3,699

3,699

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

21. นายเชียรวิทย์ อุดมวัฒน์วงศ์

1,516

1,516

(ไม่มีรายการซื้อ/ ขายหุ้น ปตท. ในระหว่างปี 2560)

19. นายสัมฤทธิ์ สําเนียง คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ หมายเหตุ:

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของผู้บริหารไม่มีการถือหุ้น ยกเว้น ผู้บริหาร ลําดับที่ 3, 7, 8, 12 และ 14


190

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

การถือหลักทรัพยของผูบริหารที่โยกยาย/ เกษียณอายุ ป 2560 จํานวนหุน (หุน) ลําดับ

รายชื่อผูบริหาร

1. นายสรัญ รังคสิริ

ณ วันที่ ณ วันที่ เพิ่ม (ลด) 31 ธ.ค. 31 ธ.ค. ระหวางป 2559 2560 (หุน) -

N/A

N/A

หมายเหตุ

เกษียณอายุ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2560 (ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 2. นายชวลิต พันธ์ทอง

N/A

N/A

N/A

– เกษียณอายุ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2560 (ไม่ได้ถือหุ้น ปตท.)

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 3. นายสุพจน์ เหล่าสุอาภา

– 78,807

N/A

N/A

– เกษียณอายุ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2560 (ไม่มีรายการซื้อ/ขายหุ้น ในช่วงดํารงตําแหน่ง ระหว่างปี 2560)

4. นางสาวนิตยา ดิเรกสถาพร

5,000

N/A

N/A

เกษียณอายุ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2560 (ไม่มีรายการซื้อ/ขายหุ้น ในช่วงดํารงตําแหน่ง ระหว่างปี 2560)

หมายเหตุ: การออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ (Warrant) ให้แก่ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหาร พนักงาน ปตท. และพนักงานบริษัทในเครือ ปตท. ที่มาปฏิบัติงานประจําในตําแหน่งงานของ ปตท. จํานวน 60,000,000 หน่วย แบ่งเป็น 2 รุ่น คือ รุ่นที่ 1 (PTT-W1) จํานวน 40,000,000 หน่วย เสนอขาย ในปี 2548 และใช้สิทธิครั้งสุดท้าย วันที่ 31 สิงหาคม 2553 และรุ่นที่ 2 (PTT-W2) จํานวน 20,000,000 หน่วย เสนอขายในปี 2549 และใช้สิทธิครั้งสุดท้าย วันที่ 28 กันยายน 2554 ได้ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว และยังไม่มีการขออนุมัติออก Warrant รุ่นใหม่

(7) การยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินตอ ป.ป.ช. ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 39 กําหนดให้กรรมการ และผู้บริหารสูงสุดของ ปตท. รวมไปถึงกรรมการและผู้บริหารสูงสุดในนิติบุคคลที่ ปตท. ถือหุ้นเกินกว่าร้อยละ 50 มีหน้าที่ยื่นบัญชี แสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทุกครั้งที่เข้ารับตําแหน่ง ทุก ๆ 3 ปีทด ี่ า ํ รงตําแหน่ง และเมือ ่ พ้นจากตําแหน่ง 1 ปี โดย ปตท. จะมีหนังสือแจ้งเตือนกรรมการและผูบ ้ ริหารสูงสุดตามเวลาทีก ่ า ํ หนด


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

(8) การแจงการมีสวนไดเสียในที่ประชุม

การกํากับดูแลกิจการ

191

มอบหมายผูบ ้ ริหารระดับสูงขับเคลือ ่ นยุทธศาสตร์คา ่ นิยม องค์ ก ร โดยแต่ ง ตั้ ง ประธานเจ้ า หน้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารกลุ่ ม

คณะกรรมการฯ ได้ กํ า หนดนโยบายในเรื่ อ งในการประชุ ม

ธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ ดํารงตําแหน่ง

คณะกรรมการ ปตท. ทุกครัง้ ประธานกรรมการจะแจ้งต่อทีป ่ ระชุม

I Champion (Integrity & Ethics Champion) และเป็น

เพื่อขอความร่วมมือกรรมการปฏิบัติตามนโยบายเกี่ยวกับเรื่อง

ผูน ้ า ํ จัดตัง้ ชมรมพลังไทยใจสะอาด (Integrity Power) โดย

ความขัดแย้งของผลประโยชน์ว่าในระเบียบวาระใดที่กรรมการ

เปิ ด ให้ พ นั ก งานเข้ า เป็ น สมาชิ ก ชมรมฯ เพื่ อ ร่ ว มกั น

เกี่ ย วข้ อ งหรื อ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ขอให้ ก รรมการแจ้ ง ต่ อ ที่ ป ระชุ ม

ทํ า กิ จ กรรมเสริ ม สร้ า งจิ ต สํ า นึ ก และแสดงออกในเรื่ อ ง ความซื่อสัตย์กล้าปฏิเสธการทุจริตคอร์รัปชันทุกรูปแบบ

เพื่องดออกเสียงหรือให้ความเห็นใด ๆ ในปี 2560 มีการแจ้งต่อ ประธานกรรมการฯ จํานวน 6 วาระ (การประชุมรวม 13 ครั้ง)

จัดให้มีช่องทางในการสื่อความแก่ผู้ถือหุ้นสามัญโดยตรง ได้แก่ จดหมายข่าวรายไตรมาส 2 ภาษา คือ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ภายใต้ชื่อ “PTT Bizway” ส่งไปทาง

(9) การพิจารณาและการสอบทานรายการ ที่เกี่ยวโยงกัน

ไปรษณี ย์ เ พื่ อ รั บ ทราบข้ อ มู ล สํ า คั ญ ได้ แ ก่ วิ สั ย ทั ศ น์ พันธกิจ สารจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ

คณะกรรมการตรวจสอบมี ห น้ า ที่ ใ นการพิ จ ารณาและสอบ

ผู้จัดการใหญ่ ผลประกอบการ การกํากับดูแลกิจการที่ดี

ทานรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง

การบริหารจัดการสู่ความยั่งยืน ข่าวสารการดําเนินงาน

ผลประโยชน์ทอ ่ี าจมีผลกระทบต่อการปฏิบต ั งิ านของ ปตท. โดยเป็นไป

ฯลฯ โดย ปตท. ได้จัดทําแบบประเมินเป็นประจําทุกปี

ตามกฎหมายและข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

สําหรับปี 2560 หัวข้อทัศนคติความพึงพอใจต่อ ปตท.

ก่อนนําเสนอคณะกรรมการ ปตท. เพื่อพิจารณาอนุมัติ

ผู้ถือหุ้น มีความเห็นว่า ปตท. มีการกํากับดูแลกิจการที่ดี ในระดับมากถึงมากที่สุดรวมแล้วร้อยละ 90.24

(10) กิจกรรมรณรงคสงเสริมการกํากับดูแล กิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ

จั ด ให้ มี ก ารอบรมหั ว ข้ อ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละ ต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น แก่ พ นั ก งานที่ เ ข้ า ใหม่ ผ่ า นหลั ก สู ต ร การปฐมนิ เ ทศทุ ก รุ่ น รวมทั้ ง กํ า หนดให้ ส อบวั ด ความรู้

คณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ทํ า หน้ า ที่ กํ า กั บ ดู แ ล

ในระบบ CG E-Learning โดยในปี 2560 มีการจัดสือ ่ ความ

ติ ด ตามและประเมิ น ผลการดํ า เนิ น งานเกี่ ย วกั บ การกํ า กั บ ดู แ ล

ในกิจกรรมดังกล่าวรวม 3 รุ่น จํานวนรุ่นละ 60 - 80 คน

กิจการที่ดีและการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชันของ ปตท. โดยเป็น

และมี ก ารมอบคู่ มื อ CG ให้ พ นั ก งานเข้ า ใหม่ ทุ ก คน

ผูม ้ อบนโยบายและแนวปฏิบต ั ใิ ห้คณะทํางานการกํากับดูแลกิจการ

ได้ศึกษาและลงนามรับทราบ เพื่อนําไปใช้เป็นแนวทาง

ที่ดี (Corporate Governance Working Group: CGWG) ซึ่งในปี

ในการทํางาน

2560 ปรับชื่อเป็น “คณะกรรมการจัดการการกํากับดูแลกิจการ

จัดทํา CG E-Learning ในระบบ PTT Intranet เพื่อใช้

ที่ดี (Corporate Governance Management Committee: CGMC)”

เป็นสื่อสําหรับเรียนรู้เรื่องหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

โดยมี ผู้ บ ริ ห ารระดั บ รองกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ เ ป็ น ประธาน

จรรยาบรรณธุรกิจ และมาตรการต่อต้านคอร์รัปชันด้วย

และรายงานตรงต่อคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี มีหน้าที่

ตนเองสํ า หรั บ พนั ก งานในทุ ก พื้ น ที่ อ ย่ า งทั่ ว ถึ ง โดยใช้

รั บ ผิ ด ชอบเป็ น ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต ในหน่ ว ยงาน

เหตุการณ์จําลองต่าง ๆ เพื่อสร้างความตระหนักรู้ และ

รัฐวิสาหกิจ (ศปท.) ของ ปตท. ตามแนวทางที่สํานักงาน ป.ป.ช.

ให้พนักงานสามารถนําสิ่งที่เรียนรู้จากระบบไปประยุกต์

กํ า หนด และปฏิ บั ติ ต ามแผนปฏิ บั ติ ก ารกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี

ใช้ ไ ด้ ใ นสถานการณ์ จ ริ ง ตามความเหมาะสม รวมถึ ง

และการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชันของ ปตท. พร้อมทั้งเป้าหมาย

มี ก า ร ท ด ส อ บ วั ด ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ข อ ง พ นั ก ง า น ใ น ท้ า ย

และตัวชี้วัดประจําปี ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการกํากับดูแล

หลักสูตร โดยในปี 2560 ได้เพิ่มเติมเนื้อหาบทเรียน ได้แก่

กิจการทีด ่ ี และคณะกรรมการ ปตท. โดยในปี 2560 มีการดําเนินงาน

การป้องกันการฟอกเงิน การปฏิบต ั ต ิ อ ่ เจ้าหนี้ และนโยบาย

ทั้งที่เป็นการริเริ่มและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ดังนี้

ต่อต้านการคอร์รัปชัน ในปัจจุบัน มีผู้เข้าร่วมศึกษาและ ทดสอบความรูผ ้ า ่ นระบบ CG E-Learning ทัง้ สิน ้ 2,953 ราย หรือประมาณร้อยละ 63 ของพนักงานทั้งหมด


192

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

จัดทําแบบสอบถามผ่านช่องทางการสื่อสารภายใน เพื่อ

ปตท. ให้ความสําคัญด้านการกํากับดูแลกิจการของบริษท ั

ประเมิ น ความรู้ ค วามเข้ า ใจและการสื่ อ ความด้ า นการ

ในกลุม ่ ปตท. เพือ ่ ให้เป็นไปตามแนวทางการบริหารบริษท ั

กํากับดูแลกิจการที่ดีของพนักงาน ปตท. สรุปว่าพนักงาน

ในรูปแบบ “กลุม ่ ปตท.” โดยกําหนดเป้าหมายในการยกระดับ

กว่าร้อยละ 97.08 มีความเข้าใจเป็นอย่างดี

มาตรฐานการกํากับดูแลกิจการของบริษัทในกลุ่ม ปตท.

ปตท. สร้ า งบรรยากาศของการรณรงค์ ผ่ า นสื่ อ ต่ า ง ๆ

ให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ใกล้ เ คี ย งกั น และเตรี ย มความพร้ อ ม

ภายในองค์กร เช่น การจัดนิทรรศการ การจัดทําเว็บไซต์

สําหรับการเข้ารับการจัดอันดับ รวมทั้งกําหนดแผนการ

CG Intranet และเปิดโอกาสให้ผู้สนใจได้ติดต่อสอบถาม

ดําเนินงาน และแนวทางการประชาสัมพันธ์เชิงรุก โดย

ผ่านช่องทางอีเมล cghelpdesk@pttplc.com จัดทําวิดีโอ

แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ก ลุ่ ม ปตท.

สื่อความ CG Comics จัดให้มีคอลัมน์ CG See Through

เพื่อร่วมกันศึกษา พัฒนาแนวทางตามมาตรฐานสากล

ในวารสารรายเดือน “PTT SPIRIT” ข้อย้ําเตือน CG Tips

ที่เหมาะสมสําหรับใช้เป็นหลักปฏิบัติของกลุ่ม ปตท. และ

ผ่านอีเมลภายใน เพื่อให้พนักงานทุกคนได้รับทราบข่าว

ได้จัดกิจกรรมให้กับบริษัทในกลุ่ม ปตท. ได้แก่ งาน PTT

การดําเนินการที่เกี่ยวกับ CG รวมทั้งให้ความรู้และร่วม

Group CG Day ซึง่ เป็นกิจกรรมสําคัญประจําปี เพือ ่ รณรงค์

กิจกรรมที่น่าสนใจ นอกจากนี้ ได้กําหนดให้มี Agenda

ส่งเสริม และเผยแพร่การดําเนินการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ี

Base Meeting เป็นระเบียบวาระการประชุมของหน่วยงาน

ของบริษัทในกลุ่ม ปตท. จัดโดยบริษัทจดทะเบียนในกลุ่ม

ต่าง ๆ โดยมีหว ั ข้อ QSHE/ SPIRIT/ CSR/ CG Talk เพือ ่ เป็น

ปตท. 6 บริษัท ได้แก่ PTT, PTTEP, PTTGC, TOP, IRPC

ช่องทางการสือ ่ ความ CG และส่งเสริมการการตระหนักถึง

และ GPSC ทั้งนี้มีแขกรับเชิญกิตติมศักดิ์จากหน่วยงาน

การทํางานอย่างมี CG ด้วย เช่น การประชุมคณะกรรมการ

ภายนอกให้เกียรติเข้าร่วมงานอย่างต่อเนื่อง เช่น ตัวแทน

จัดการของ ปตท. เป็นต้น

จาก ตลท. สํ า นั ก งาน ก.ล.ต. สมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น

จัดให้มีกิจกรรม CG Camp ปี 4 เพื่อให้ตัวแทนพนักงาน

กรรมการบริ ษั ท ไทย มู ล นิ ธิ เ ครื อ ข่ า ยต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต

จากหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ มี โ อกาสเข้ า มาศึ ก ษาและเรี ย นรู้

คอร์รัปชัน เป็นต้น รวมทั้งคู่ค้า คณะกรรมการ ผู้บริหาร

ด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดีและการต่อต้านการทุจริต

และพนักงานกลุ่ม ปตท. ซึ่งในปี 2560 กลุ่ม ปตท. โดยมี

คอร์ รั ป ชั น อย่ า งเข้ ม ข้ น เพื่ อ สามารถนํ า ไปปรั บ ใช้ ใ น

GPSC เป็นเจ้าภาพจัดงานภายใต้แนวคิด PTT Group

การปฏิ บั ติ ง านและเป็ น ตั ว แทนในการสื่ อ ความแก่

CG Day 2017: CG in DNA: Together We Can ที่กําหนด

เพือ ่ นร่วมงาน ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ในการสร้างความเข้มแข็งจาก

CG เป็นอัตลักษณ์ของกลุ่ม ปตท. เพื่อร่วมมือร่วมใจกัน

ภายในตามกลยุทธ์ของ ปตท. โดยกิจกรรมประกอบด้วย

สร้ า งวั ฒ นธรรมการดํ า เนิ น งานที่ โ ปร่ ง ใส ปราศจาก

การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเรื่ อ ง แนวทางสู่ อ งค์ ก รสุ จ ริ ต

คอร์ รั ป ชั น และขยายไปยั ง เครื อ ข่ า ยธุ ร กิ จ สั ง คม และ

การแสดงละครตามหลักปฏิบต ั ิ CG และกิจกรรมสันทนาการ

ประเทศชาติโดยรวม ซึ่งกิจกรรมภายในงานประกอบด้วย

ที่สอดแทรกความรู้ความเข้าใจด้าน CG เป็นต้น

ปาฐกถาพิเศษ โดยศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ

จัดกิจกรรม CG Day ขึ้นภายใต้แนวคิด “CG 4.0 ทําดี

ประธานกรรมการมูลนิธิตอ ่ ต้านการทุจริต และการเสวนา

ทํ า ง่ า ย ได้ ค วามดี ที่ ยั่ ง ยื น ” โดยมุ่ ง เน้ น ให้ พ นั ก งาน

จาก CEO กลุ่ม ปตท. 6 บริษัท ในหัวข้อ “ถอดรหัส CG

ได้ตระหนักถึงความสําคัญและมีแรงบันดาลในการสร้าง

สานต่อความดี สู่วัฒนธรรมที่ยั่งยืน”

พลังความดี ผ่านการเสวนา และการแสดงเจตนารมณ์

นอกจากการส่ ง เสริ ม ความรู้ ด้ า นการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ

ของผู้บริหาร รวมทั้งมีการกล่าวคําปฏิญาณเพื่อแสดงถึง

ที่ ดี ภ ายในองค์ ก รแล้ ว ปตท. ยั ง ส่ ง เสริ ม การแบ่ ง ปั น

ความมุง่ มัน ่ ทีจ ่ ะเป็นคนเก่ง คนดี และมีความรับผิดชอบต่อ

ความรู้ แ ก่ ห น่ ว ยงานภายนอก เพื่ อ ยกระดั บ มาตรฐาน

สังคมร่วมกันของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ปตท.

การกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยตอบรับการขอเข้าเยี่ยมชม

นอกจากนี้ ปตท. ยังได้จัดกิจกรรม Integrity Forum 2017

ดูงานขององค์กร/ สถาบันต่าง ๆ และผู้บริหารระดับสูง

เพื่อแลกเปลี่ยนมุมมอง และแนวคิดด้านการสร้างพลัง

ได้รับเชิญไปบรรยายหรือร่วมเสวนาภายนอกด้วย

ความดี รวมถึ ง ความโปร่ ง ใสของผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ จ าก หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ เช่ น ตั ว แทนจากสํ า นั ก งาน ก.ล.ต. สํ า นั ก งาน ป.ป.ช. เป็ น ต้ น ในหั ว ข้ อ “พลั ง ความดี . .. แข็งแกร่งจากภายใน สร้างความโปร่งใส สู่ความยั่งยืน”


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

(11) การตอตานทุจริตคอรรัปชัน

การกํากับดูแลกิจการ

การประกาศนโยบาย •

193

ตั้ ง แต่ ปี 2557 ปตท. ประกาศใช้ น โยบายต่ อ ต้ า น คอร์รัปชันของ ปตท. และกลุ่ม ปตท. ทั่วทั้งองค์กร

ปตท. จั ด ทํ า แผนงานประจํ า ปี เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ว่ า ด้ ว ยการป้ อ งกั น และปราบปราม

โดยกําหนดให้นโยบายต่อต้านคอร์รัปชันของ ปตท.

การทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) โดยกําหนด

เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของคู่ มื อ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี

แนวปฏิ บั ติ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การต่ อ ต้ า นทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น

มาตรฐานทางจริยธรรม และจรรยาบรรณในการดําเนิน

ในจริ ย ธรรมและจรรยาบรรณในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของ

ธุ ร กิ จ ของ ปตท. และกํ า หนดให้ น โยบายต่ อ ต้ า น

บริ ษั ท เช่ น จรรยาบรรณว่ า ด้ ว ยการมี ส่ ว นได้ เ สี ย และ

คอร์รัปชันของกลุ่ม ปตท. เป็นส่วนหนึ่งของแนวทาง

ผลประโยชน์ขัดกัน จรรยาบรรณว่าด้วยการรับ การให้

การกํ า กั บ ดู แ ลบริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท. (PTT Way of

ของขวั ญ ทรั พ ย์ สิ น หรื อ ประโยชน์ อื่ น ใด โดย ปตท.

Conduct) เพื่อ ให้ บ ริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท. มี ม าตรฐาน

ไม่สนับสนุนการให้สินบนอย่างเด็ดขาด

และแนวทางการบริหารจัดการไปในทิศทางเดียวกัน

ปี 2553 ปตท. ได้ร่วมลงนามในการแสดงเจตนารมณ์

และสามารถสร้างพลังร่วมได้ตามวัตถุประสงค์ของ

เป็ น แนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข องภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า น

การลงทุน โดย ปตท. จัดสื่อความถ่ายทอดความรู้

การทุจริต (Private Sector Collective Action Coalition

และประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารให้ กั บ ตั ว แทนบริ ษั ท ใน

against Corruption: CAC) ซึ่ ง เป็ น โครงการที่ จั ด ขึ้ น

กลุม ่ ปตท. เพือ ่ ทํา Gap Assessment และ Gap Closure

โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย และได้รบ ั

Plan ผ่ า นการประเมิ น ตนเองตามโครงการ CAC

การสนั บ สนุ น จากรั ฐ บาลและสํ า นั ก งานคณะกรรมการ

เพื่อเตรียมความพร้อมให้บริษัทในกลุ่มในการเข้าสู่

ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) โดยเป็น

กระบวนการรั บ รองเป็ น สมาชิ ก ของโครงการ CAC

1 ใน 27 บริษัทแรกที่ร่วมประกาศเจตนารมณ์

อย่างเป็นระบบ

ตั้งแต่ปี 2555 ปตท. ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกภาคีข้อตกลง

นโยบายต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น ของ ปตท. กํ า หนดให้

โลกแห่งสหประชาชาติ (United Nations Global Compact:

บุ ค ลากรของ ปตท. ต้ อ งไม่ ดํ า เนิ น การหรื อ เข้ า ไป

UNGC) เพื่ อ แสดงถึ ง เจตนารมณ์ ใ นการนํ า หลั ก สิ ท ธิ

มี ส่ ว นร่ ว มในการคอร์ รั ป ชั น การให้ / รั บ สิ น บน

มนุษยชน สิทธิแรงงาน การรักษาสิง่ แวดล้อม และการต่อต้าน

ทุกรูปแบบ ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยบุคลากรของ

ค อ ร์ รั ป ชั น ใ น ร ะ ดั บ ส า ก ล ม า เ ป็ น ใ ช้ เ ป็ น แ น ว ท า ง

ปตท. ต้องดําเนินการตามแนวปฏิบัติในนโยบาย ซึ่ง

ในการดําเนินธุรกิจ โดย ปตท. ได้นําเสนอความก้าวหน้า

ครอบคลุมกระบวนการดําเนินงานต่าง ๆ อย่างจริงจัง

ในการปฏิ บั ติ ต ามหลั ก สากล 10 ประการของ UNGC

เช่น การบริจาคเพื่อการกุศล การบริหารทรัพยากร

ในรายงานความยั่งยืนประจําปี

บุคคล การจัดหาพัสดุ การควบคุมภายใน เป็นต้น •

ปี 2558 ปตท. ประกาศนโยบาย “งดรั บ ของขวั ญ (No Gift Policy)” ในทุกเทศกาล และในปี 2559 ต่อเนือ ่ ง ถึ ง ปี 2560 ประกาศใช้ แ นวปฏิ บั ติ ต ามนโยบาย ต่อต้านคอร์รป ั ชัน กลุม ่ ปตท. เรือ ่ งการรับ-ให้ของขวัญ การเลีย ้ ง หรือประโยชน์อน ื่ ใด ซึง่ สอดคล้องกับนโยบาย งดรับของขวัญดังกล่าว เพื่อเป็นการสร้างมาตรฐาน ที่ดีในการปฏิบัติงานของบุคลากรในกลุ่ม ปตท. โดย มุ่ ง หวั ง ให้ บุ ค ลากรทุ ก ระดั บ ปฏิ บั ติ ง านอย่ า งเต็ ม ความสามารถ โดยไม่หวังผลประโยชน์ตอบแทน โดยได้ จัดทําหนังสือแจ้งคู่ค้าและหน่วยงานภายนอก รวมทั้ง ประชาสัมพันธ์ในพื้นที่สํานักงานของกลุ่ม ปตท. และ ช่องทางต่าง ๆ ซึ่ง ปตท. ถือเป็นองค์กรต้นแบบของ ประเทศไทยที่มีการประกาศใช้นโยบายดังกล่าวอย่าง เป็นรูปธรรม


194

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

การสื่อสาร ฝึกอบรม และการดําเนินงานที่สําคัญ •

ปตท. ได้ สื่ อ ความนโยบายต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น และ

ความโปร่งใส เพื่อสังคมไทยที่เข้มแข็ง โดยส่งเสริม

แนวปฏิ บั ติ ไ ปยั ง บริ ษั ท ย่ อ ย บริ ษั ท ร่ ว ม บริ ษั ท อื่ น

และผลักดันให้พันธมิตรทางธุรกิจของ ปตท. ประกาศ

ที่ ปตท. มีอํานาจในการควบคุม คู่ค้าทางธุรกิจ และ

เจตนารมณ์เข้าร่วมโครงการ CAC เพื่อลดความเสี่ยง

ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย รวมทั้ ง สาธารณชน ผ่ า นช่ อ งทาง

ในการเกิดการทุจริตคอร์รัปชันตลอดสายโซ่อุปทาน

การสื่อสารที่หลากหลาย เช่น จดหมาย อีเมล เว็บไซต์

โดยในปี 2560 มี ก ารสื่ อ ความเพื่ อ ผลั ก ดั น ให้ คู่ ค้ า

ระบบ PTT Intranet การสัมมนา นิทรรศการ เป็นต้น

เข้ า ร่ ว มโครงการ CAC ในงานสั ม มนาผู้ ค้ า SRM

เพื่ อ ให้ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม รั บ ทราบและปฏิ บั ติ

(Supplier Relationship Management) การสัมมนา

ให้สอดคล้องกับแนวทางที่ ปตท. กําหนด

ผูข ้ นส่งผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมทางเรือ และการสัมมนา

ปตท. จัดให้มีการสื่อสารและฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง

ผู้ขนส่งผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมทางรถบรรทุก

แก่บุคลากรของ ปตท. เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ

ปตท. มุ่งหวังว่าจะเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างเครือข่าย

ปตท. ตระหนั ก ว่ า การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั น เป็ น ปั ญ หา

อย่างแท้จริงเกี่ยวกับมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชัน

สํ า คั ญ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายแก่ ป ระเทศ จึ ง ให้

ความคาดหวังของ ปตท. และบทลงโทษหากไม่ปฏิบต ั ิ

ความสํ า คั ญ ในการสร้ า งบทบาทการมี ส่ ว นร่ ว มกั บ

ตามมาตรการนี้ เช่น หลักสูตรการปฐมนิเทศ หลักสูตร

หน่ ว ยงานภายนอกทั้ ง ภาครั ฐ และภาคเอกชน เพื่ อ

ทางจริยธรรม ระบบ CG E-Learning เป็นต้น รวมทั้ง

ติดตามตรวจสอบและยกระดับภาพลักษณ์ความโปร่งใส

มี ก ารจั ด ให้ ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งานเข้ า ร่ ว มอบรม

ของประเทศไทย ได้แก่ การดําเนินการตามข้อตกลง

หลักสูตรทีเ่ กีย ่ วข้องกับการต่อต้านคอร์รป ั ชันซึง่ จัดโดย

คุณธรรม (Integrity Pact) ซึ่งในปี 2560 โครงการ

หน่วยงานภายนอก

ที่เข้าร่วม ได้แก่ โครงการระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ

การดํ า เนิ น การเพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามกระบวนการให้

บนบก เส้ น ที่ 5 ส่ ว นที่ 2 (ฉะเชิ ง เทรา – นนทบุ รี )

การรั บ รอง (Certification Process) ของโครงการ

และโครงการ LNG Receiving Terminal แห่งใหม่

แนวร่ ว มปฏิ บั ติ ข องภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า น

จังหวัดระยอง รวมทั้งพัฒนาเครือข่ายในการต่อต้าน

การทุจริต (CAC) ซึง่ ปตท. ได้รบ ั รองสถานะเป็นสมาชิกฯ

การทุจริตผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ เช่น งานวันต่อต้าน

เรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2557

ั ชัน คอร์รป ั ชันแห่งชาติ ซึง่ จัดโดยองค์กรต่อต้านคอร์รป

การเปิดใช้ระบบใหม่ใน PTT Intranet ซึ่งจัดทําขึ้นเพื่อ

(ประเทศไทย) การกํ า หนดหลั ก เกณฑ์ ก ารประเมิ น

เป็นเครือ ่ งมือสําคัญให้บค ุ ลากรของ ปตท. ทุกคนแสดง

การเข้าร่วมโครงการ CAC สําหรับ SME ร่วมกับสมาคม

ความโปร่งใส ได้แก่ ระบบการรายงานการซื้อ-ขาย

ส่ ง เสริมสถาบั น กรรมการบริษั ท ไทยการจั ด ทํ า

หลักทรัพย์บริษัทในกลุ่ม ปตท. ล่วงหน้า เพื่อป้องกัน

แผนแม่บทและแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของ

ปัญหาการใช้ขอ ้ มูลภายในโดยมิชอบ (Insider Trading)

ปตท. ให้แก่คณะกรรมการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ

และระบบการรายงานการรับของขวัญ ทรัพย์สิน หรือ

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม เป็นต้น

ผลประโยชน์ อื่ น ใดของบุ ค ลากรตามนโยบายงดรั บ ของขวัญ (No Gift Policy) เพื่อให้พนักงานรายงาน

การกํากับดูแลและติดตามประเมินผลการปฎิบัติ •

คณะกรรมการ ปตท. มี ห น้ า ที่ กํ า กั บ ดู แ ลให้ ปตท.

ในกรณี ที่ มี ค วามจํ า เป็ น ต้ อ งรั บ และไม่ ส ามารถ

มี ร ะบบที่ ส นั บ สนุ น การต่ อ ต้ า นการคอร์ รั ป ชั น ที่ มี

ส่งกลับคืนผู้ให้ได้ พร้อมส่งมอบของดังกล่าวมา เพื่อ

ประสิทธิภาพ เพื่อให้มั่นใจว่าฝ่ายบริหารได้ตระหนัก

รวบรวมและนําไปบริจาคเพื่อสาธารณประโยชน์

และให้ความสําคัญกับการต่อต้านการคอร์รป ั ชัน และ ปลูกฝังจนเป็นวัฒนธรรมองค์กร


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ ส อ บ มี ห น้ า ที่ กํ า กั บ ดู แ ล

การกํากับดูแลกิจการ

ปตท. จั ด ทํ า คู่ มื อ การบริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นการ

การควบคุ ม ภายใน การจั ด ทํ า รายงานทางการเงิ น

คอร์รัปชัน (Corruption Risk Assessment Manual)

และกระบวนการอื่นที่เกี่ยวข้องกับมาตรการต่อต้าน

เพื่ อ ให้ ห น่ ว ยงานต่ า ง ๆ ได้ นํ า ไปใช้ เ ป็ น แนวทาง

การคอร์ รั ป ชั น รวมทั้ ง กํ า กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ต าม

การประเมินความเสี่ยงด้านคอร์รัปชันในกระบวนการ

มาตรการต่อต้านการคอร์รัปชัน สอบทานมาตรการ

ปฏิ บั ติ ง านและกํ า หนดกระบวนการควบคุ ม ภายใน

และการควบคุ ม ภายในที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า

ที่เหมาะสม โดยในปี 2560 มีการจัดอบรมหลักสูตร

มาตรการต่อต้านการคอร์รัปชันมีความเพียงพอและ

Anti-Corruption Management Systems ให้ผู้บริหาร

มีประสิทธิผล สอบทานการประเมินความเสี่ยงและ

ระดับผูจ ้ ด ั การฝ่ายขึน ้ ไปจํานวน 2 รุน ่ เพือ ่ เป็นการเน้นย้าํ

ให้ คํ า แนะนํ า ต่ อ คณะกรรมการ ปตท. เกี่ ย วกั บ

ให้ผบ ู้ ริหารเข้าใจถึงวิธก ี ารประเมินความเสีย ่ งเกีย ่ วกับ

การปฏิบัติที่ควรมีเพื่อลดความเสี่ยงนั้น โดยผู้บริหาร

การคอร์รัปชัน มาตรการควบคุมภายในที่สําคัญ และ

ต้ อ งนํ า คํ า แนะนํ า ไปปฏิ บั ติ รวมทั้ ง รายงานผล

แนวทางในการตัดสินใจ รวมทั้งการให้คําแนะนําแก่

การตรวจสอบภายในเกี่ ย วกั บ มาตรการต่ อ ต้ า น

ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาอย่างเหมาะสม รวมทัง้ มีการคัดเลือก

การคอร์รัปชันของ ปตท. ต่อคณะกรรมการ ปตท.

หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบกระบวนการ ซึ่งอาจ

อย่ า งสม่ํ า เสมอ และให้ คํ า แนะนํ า ข้ อ ควรปฏิ บั ติ แ ก่

มี โ อกาสเกิ ด การคอร์ รั ป ชั น ได้ ง่ า ย เข้ า ร่ ว มอบรม

คณะกรรมการ ปตท. และผู้บริหาร

เชิงปฏิบัติการเพื่อประเมินความเสี่ยงด้านคอร์รัปชัน

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี มีหน้าที่กําหนด

(Corruption Risk Assessment Workshop) ใน

และทบทวนนโยบายต่อต้านคอร์รป ั ชัน ให้ขอ ้ เสนอแนะ

กระบวนการที่ ต นเองรั บ ผิ ด ชอบ และติ ด ตามเพื่ อ

แนวทาง ติ ด ตามและประเมิ น ผลการดํ า เนิ น งาน

ประเมิ น ประสิ ท ธิ ผ ลของมาตรการดั ง กล่ า วว่ า ช่ ว ย

ที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการคอร์รัปชันเป็นประจํา

จัดการความเสี่ยงให้ลดลงมาอยู่ในระดับที่ยอมรับได้

ทุกปี •

195

คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ งองค์กร มีหน้าทีก ่ า ํ กับ

หรือไม่ •

ปตท. จั ด ให้ มี ขั้ น ตอนในการเก็ บ รั ก ษาเอกสารและ

ดูแล และสนับสนุนให้มก ี ารดําเนินงานด้านการบริหาร

บั น ทึ ก ต่ า ง ๆ ให้ พ ร้ อ มต่ อ การตรวจสอบเพื่ อ ยื น ยั น

ความเสีย ่ งด้านการต่อต้านคอร์รป ั ชัน โดยการประเมิน

ความถูกต้องและเหมาะสมของรายการทางการเงิน

ความเสี่ ย งด้ า นคอร์ รั ป ชั น และทบทวนมาตรการ

การควบคุ ม ภายในของกระบวนการทํ า บั ญ ชี แ ละ

ต่อต้านคอร์รัปชันให้เพียงพอเหมาะสม

การเก็บรักษาข้อมูล ได้รบ ั การตรวจสอบภายในเพือ ่ ยืนยัน

ผู้บริหารมีหน้าที่กําหนดให้มีการประเมินความเสี่ยง

ประสิทธิผลของกระบวนการตามมาตรการต่อต้าน

ด้านการคอร์รัปชันในกระบวนการปฏิบัติงานที่อาจ

การคอร์รป ั ชัน และเพือ ่ ให้เกิดความมัน ่ ใจว่าการบันทึก

ก่อให้เกิดการคอร์รัปชัน ทบทวนความเหมาะสมของ

รายการทางการเงินมีหลักฐานอย่างเพียงพอเพื่อใช้

กระบวนการและมาตรการต่าง ๆ และปฏิบัติตนเป็น

ในการตรวจสอบ

แบบอย่าง รวมทัง้ สือ ่ สารไปยังพนักงานและผูเ้ กีย ่ วข้อง ทุกฝ่าย

หน่ ว ยตรวจสอบภายในมี ก ารตรวจสอบรายการ ที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โอกาสการเกิด ทุ จ ริ ต และประสิ ท ธิ ภ าพขององค์ ก รในการบริ ห าร ความเสี่ยงจากการทุจริตภายในองค์กรและในระดับ กิ จ กรรมการดํ า เนิ น งาน รวมถึ ง สอบทานเกี่ ย วกั บ หลักจริยธรรมธุรกิจ จรรยาบรรณผูบ ้ ริหารและพนักงาน อี ก ทั้ ง มีการพิจารณาและรายงานต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบและผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด ทั น ที เมื่ อ พบรายการ หรื อ การกระทํ า ที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ ผลการดําเนินการของ ปตท. อย่างร้ายแรง รวมถึง กรณีการเกิดทุจริต


196

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

มาตรการ ขอบเขต และกลไกการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส •

ปตท. มีกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล ทีส ่ ะท้อน

บทลงโทษ •

ปตท. จั ด ให้ มี ก ระบวนการในการลงโทษบุ ค ลากร

ถึ ง ความมุ่ ง มั่ น ต่ อ มาตรการต่ อ ต้ า นการคอร์ รั ป ชั น

ที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรการต่อต้านการคอร์รัปชันอย่าง

และมี น โยบายที่ จ ะไม่ ล ดตํ า แหน่ ง ลงโทษ หรื อ ให้

เหมาะสมและเป็ น ธรรม การกระทํ า ใด ๆ ที่ ฝ่ า ฝื น

ผลทางลบต่อบุคลากรที่ปฏิเสธการคอร์รัปชัน แม้ว่า

หรือไม่เป็นไปตามนโยบายนี้ ไม่ว่าทางตรงหรือทาง

การกระทํานัน ้ จะทําให้ ปตท. สูญเสียโอกาสทางธุรกิจ

อ้ อ ม จะได้ รั บ การพิ จ ารณาทางวิ นั ย ตามระเบี ย บ

บุคลากรของ ปตท. ไม่พึงละเลยหรือเพิกเฉยเมื่อพบ

ที่ ปตท. กําหนด ซึ่งมีขั้นตอนการสืบสวนข้อเท็จจริง

การกระทําทีอ ่ าจฝ่าฝืนมาตรการต่อต้านการคอร์รป ั ชัน

การสอบสวน การลงโทษ และการอุทธรณ์ที่ชัดเจน

โดย ปตท. จั ด ให้ มี ช่ อ งทางการแจ้ ง เบาะแสและ

ห รื อ มี โ ท ษ ต า ม ก ฎ ห ม า ย บุ ค ล า ก ร ข อ ง ป ต ท .

การคุ้ ม ครองผู้ ร ายงานที่ ป ลอดภั ย เมื่ อ บุ ค ลากร

ต้องทําความเข้าใจและปฏิบัติตามนโยบายต่อต้าน

ต้องการแจ้งข้อมูลหรือเบาะแส รวมทั้งเมื่อบุคลากร

คอร์ รั ป ชั น ในทุ ก ขั้ น ตอนของการปฏิ บั ติ ง านอย่ า ง

ต้องการคําแนะนําเกี่ยวกับการปฏิบัติตามมาตรการ

เคร่งครัด

ต่อต้านการคอร์รัปชัน •

ปตท. จัดให้มีข้อกําหนดว่าด้วย “การร้องเรียนและ แจ้งเบาะแสการทุจริต” เพื่อกําหนดหลักเกณฑ์และ แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการร้องเรียนและแจ้งเบาะแส

2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)

ก า ร ทุ จ ริ ต ต่ อ ห น้ า ที่ ( W h i s t l e b l o w i n g ) ใ ห้ มี ความเหมาะสมและเป็ น ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น ทั้ ง

ปตท. ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการบริหารความเสี่ยง

องค์กร อีกทัง้ มีมาตรการคุม ้ ครองและให้ความเป็นธรรม

ภายใต้ ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ธุ ร กิ จ ทั้ ง จากปั จ จั ย

แก่ผู้ร้องเรียนหรือผู้ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูล

ภายในและภายนอก โดยถื อ ว่ า การบริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น

เบาะแสที่ เ กี่ ย วข้ อ งด้ ว ย โดย Whistleblowing

องค์ ป ระกอบที่ สํ า คั ญ ของทุ ก กระบวนการในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ

จะเป็นเครื่องมือในแง่ของการเป็นสัญญาณเตือนภัย

ของ ปตท. และต้องมีความเชื่อมโยงกันทุกระดับ จึงได้กําหนด

ล่วงหน้าและเป็นช่องทางในการปราบปรามการทุจริต

เป็ น นโยบายบริ ห ารความเสี่ ย งทั้ ง องค์ ก รที่ พ นั ก งานทุ ก คนต้ อ ง

เนื่ อ งจากจะช่ ว ยแก้ ไ ขปั ญ หาได้ ทั น ท่ ว งที ก่ อ นที่

ปฏิ บั ติ ต าม และมี ก ารประเมิ น ความเสี่ ย งในทุ ก ระดั บ สํ า หรั บ

ปั ญ หานั้ น จะบานปลายและอาจเกิ ด ผลกระทบต่ อ

ความเสี่ยงในระดับองค์กรจะมีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ

ภาพพจน์ แ ละฐานะทางการเงิ น ขององค์ ก รอย่ า ง

ผ่านคณะกรรมการจัดการคณะต่าง ๆ ของ ปตท. และความเสี่ยง

รุ น แรงในภายหลั ง ได้ โดยพนั ก งาน ปตท. ทุ ก คน

ในการปฏิ บั ติ ง านจะอยู่ ภ ายใต้ ก ารกํ า กั บ ดู แ ลของผู้ บ ริ ห าร

สามารถทํ า หน้ า ที่ เ ป็ น Whistleblower โดยเป็ น

ที่รับผิดชอบการปฏิบัติงานนั้น ๆ ทั้งนี้มีการจัดตั้งคณะกรรมการ

กระบอกเสี ย งสะท้ อ นความผิ ด ปกติ เพื่ อ สร้ า ง

บริหารความเสีย ่ งองค์กร ซึง่ เป็นคณะอนุกรรมการบริษท ั กํากับดูแล

ความโปร่งใส การกํากับดูแลกิจการทีด ่ แ ี ละความยัง่ ยืน

และสนับสนุนให้มก ี ารดําเนินงานด้านการบริหารความเสีย ่ งองค์กร

ขององค์กร

สอดคล้องกับกลยุทธ์และเป้าหมายทางธุรกิจ รวมถึงสภาวการณ์ ทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป ให้ขอ ้ เสนอแนะแนวทาง ติดตาม และประเมินผล ํ เนินการ ต่อคณะกรรมการแผนวิสาหกิจและบริหารความเสีย ่ ง ให้ดา บริหารความเสี่ยงในภาพรวมให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด โดยถือว่า การบริ ห ารความเสี่ ย งเป็ น หน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบของทุ ก หน่ ว ยงาน ในการจัดการและควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ซึ่งมีการระบุไว้อย่างชัดเจนในคําบรรยายหน้าที่งาน (Functional Description) ของทุกหน่วยงาน


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities)

การกํากับดูแลกิจการ

197

ในกรณีที่ ปตท. มีการทําธุรกรรมกับผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว ปตท. มีมาตรการ

คณะกรรมการจัดการของ ปตท. มีอา ํ นาจหน้าทีใ่ นการทบทวน

ที่ รั ด กุ ม เพื่ อ ติ ด ตามให้ ก ารทํ า ธุ ร กรรมนั้ น ต้ อ งผ่ า นขั้ น ตอน

รายงาน ทั้งทางการเงินและไม่ใช่รายงานทางการเงินของทุกกลุ่ม

การอนุ มั ติ ที่ กํ า หนดทุ ก ครั้ ง ทุ ก รายการ โดยผู้ ที่ มี ส่ ว นได้ เ สี ย

ธุรกิจในภาพรวมขององค์กร และมีการสอบทานการปฏิบัติงาน

จะไม่ ร่ ว มอนุ มั ติ ร ายการนั้ น ๆ ทั้ ง ยั ง มี ก ารติ ด ตาม และดู แ ล

ให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และคูม ่ อ ื การปฏิบต ั งิ านต่าง ๆ

ผลการดําเนินงานอย่างใกล้ชิด

อย่ า งสม่ํ า เสมอ มี ก ารกํ า หนดนโยบายและระเบี ย บปฏิ บั ติ เ ป็ น

นอกจากนี้ ปตท. ยั ง ให้ ค วามสํ า คั ญ ในเรื่ อ งความมั่ น คง

ลายลักษณ์อก ั ษร เช่น การประเมินผลการปฏิบต ั งิ านของพนักงาน

ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม (Security, Safety,

ทุ ก ระดั บ โดยกํ า หนดเป็ น ดั ช นี วั ด ผลการดํ า เนิ น งาน (Key

Health and Environment: SSHE) เพราะถือเป็นหนึ่งในเกราะ

Performance Indicators: KPIs) เพื่ อ ให้ ก ารควบคุ ม กิ จ กรรม

ป้องกันความเสี่ยง/ ผลกระทบ และลดความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้น

ด้ า นการบริ ห ารมี ค วามเหมาะสมและเพี ย งพอ ตรวจสอบและ

ต่อบุคลากร ทรัพย์สิน กระบวนการทํางาน ข้อมูล และสิง่ แวดล้อม

ติ ด ตามได้ นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารระบุ ก ารดํ า เนิ น งานในส่ ว นที่ มี

ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล อั น จะส่ ง ผลให้ เ กิ ด

ความเสี่ยงสําคัญ และกําหนดกลไกในการควบคุมเพื่อป้องกัน

ความยั่งยืนในการดําเนินธุรกิจ สามารถต่อยอดผลประกอบการ

และลดข้ อ ผิ ด พลาด มี ก ารสอบทานผลการดํ า เนิ น งานโดย

ในทุก ๆ ด้านให้มีผลการดําเนินงานที่เป็นเลิศ ไปสู่วิสัยทัศน์และ

ฝ่ายบริหารอย่างสม่ําเสมอ เช่น ธุรกรรมด้านการเงิน การจัดซื้อ

เป้ า หมายที่ กํ า หนดไว้ ใ นที่ สุ ด โดยคณะกรรมการ ปตท. ดู แ ล

และการบริหารทั่วไป มีการมอบหน้าที่อย่างเป็นระบบให้กับกลุ่ม

ติดตาม ให้นโยบาย และคําแนะนําเกี่ยวกับ SSHE ที่ ปตท. นํามา

บุคลากรเพือ ่ ความมัน ่ ใจว่ามีระบบตรวจสอบ และคานอํานาจกันได้

ปรั บ ใช้ เ ป็ น กิ จ กรรมการควบคุ ม ผ่ า นคณะกรรมการจั ด การของ

โดยมี ก ารแบ่ ง แยกอํ า นาจหน้ า ที่ ใ นการอนุ มั ติ การประมวลผล

ปตท. ในระดั บ ฝ่ า ยจั ด การ ซึ่ ง มี ป ระธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ

ข้อมูล การบันทึกรายการหรือการบันทึกบัญชี การรับ-จ่ายเงิน

กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ เ ป็ น ประธานฯ รวมทั้ ง คณะกรรมการ

การสอบทานการตรวจสอบ และการดูแลรักษาทรัพย์สน ิ ออกจากกัน

นโยบายคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม

โดยเด็ ด ขาด มี ก ารควบคุ ม ภายในด้ า นการเงิ น การบั ญ ชี

(Quality, Safety, Health and Environment: QSHE) กลุ่ม ปตท.

เกี่ยวกับการเก็บเงิน รักษาเงิน การรับจ่าย เงินฝากธนาคาร และ

และคณะกรรมการ QSHE ปตท. ซึ่งทําหน้าที่กลั่นกรองและกํากับ

เงินยืมทดรอง ให้เป็นไปตามระเบียบที่กําหนด มีการบันทึกบัญชี

ดูแลการบริหารจัดการในระดับปฏิบัติการของกลุ่ม ปตท. และ

ครบถ้ ว นถู ก ต้ อ งและสม่ํ า เสมอ มี ก ารจั ด เก็ บ เอกสารทางบั ญ ชี

ภายใน ปตท. ตามลําดับ โดยมีหน่วยงานรับผิดชอบส่วนกลาง คือ

ทั้งที่เป็นเอกสารและข้อมูลสารสนเทศไว้อย่างเป็นระบบ และเป็น

ฝ่ายความมั่นคง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม

ไปตามที่กฎหมายกําหนด

และฝ่ายบริหารคุณภาพองค์กร โดยในปี 2560 ได้มีการนําเสนอ

ในด้านการจัดซื้อจัดจ้าง ปตท. มีการดําเนินการตามระเบียบ

ผลการดําเนินงานตัวชี้วัดด้าน SSHE ที่สําคัญ ให้คณะกรรมการ

ํ หนดหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบ และข้อกําหนดว่าด้วยการพัสดุ ซึง่ ได้กา

จัดการ ปตท. พิจารณาทบทวนเพื่อสั่งการและให้ข้อเสนอแนะ

ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างไว้อย่างชัดเจน เช่น อํานาจหน้าที่

เดือนละครั้ง รายละเอียดการบริหารจัดการด้าน SSHE สามารถ

วงเงิ น อนุ มั ติ การกํ า หนดความต้ อ งการพั ส ดุ การตรวจ-รั บ

อ่ า นเพิ่ ม เติ ม ได้ จ ากรายงานความยั่ ง ยื น ปี 2560 (Corporate

การควบคุมและการเก็บรักษาพัสดุ และการตรวจนับทรัพย์สิน

Sustainability Report 2017)

ในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ปตท. มีการวางระบบด้าน การบริหารทรัพยากรบุคคล และมีการควบคุมติดตามประเมินผล อย่ า งเพี ย งพอ ทั้ ง การสรรหา การกํ า หนดค่ า ตอบแทน หน้ า ที่ ั ิงานของบุคลากร ความรับผิดชอบ การพัฒนาบุคลากร การปฏิบต และการสื่ อ สาร เพื่ อ ให้ พ นั ก งานมี ค วามรู้ ค วามสามารถ และ การบริหารทรัพยากรบุคคลของ ปตท. มีความเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ


198

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล (Information & Communication)

ด้ า นลู ก ค้ า ปตท. ได้ พั ฒ นาและเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล PTT Blue Credit Card ตามแนวทางการสร้ า งประโยชน์ ใ ห้ กั บ ลู ก ค้ า สมาชิ ก โดยร่ ว มกั บ ธนาคารกสิ ก รไทย (KBank) เพื่ อ สะสม

ในปี 2560 ปตท. ได้ มี ก ารกํ า หนดทิ ศ ทางการดํ า เนิ น งาน

คะแนน 2 ทาง ทั้งจาก PTT Blue Card และ KBank Reward

ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) ก้าวไปสู่ยุค

Point ในบัตรเดียวกัน และยังได้ดา ํ เนินการจัดทําฐานข้อมูลแผนที่

ดิจิทัลเพื่อสนับสนุนนโยบาย Thailand 4.0 โดยในการปรับปรุง

เพื่อแสดงตําแหน่งสถานีบริการของ ปตท. ในภูมิภาคอาเซียน

ครั้งนี้คณะกรรมการ ปตท. ได้ถ่ายทอดนโยบายผ่านการกํากับ

(PTT Life Station - AEC Map) รองรับการเปิดเสรีในการเดินทาง

ดูแล บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จํากัด (PTTICT) เพื่อเปลี่ยน

เข้าประเทศสมาชิก AEC และอาเซียน ซึง่ จะมีการเชือ ่ มต่อเส้นทาง

บทบาทความรับผิดชอบเป็นบริษัท พีทีที ดิจิตอล โซลูชั่น จํากัด

เดินรถทางบกใน AEC ทําให้มค ี วามต้องการสถานีบริการเชือ ้ เพลิง

(PTT DIGITAL) รองรับพันธกิจในการเป็นศูนย์รวมการให้บริการ

รถยนต์เพิม ่ มากขึน ้ ปตท. เองยังคํานึงถึงความปลอดภัยในการขนส่ง

ด้ า นดิ จิ ทั ล ของ ปตท. และบริ ษั ท ในกลุ่ ม ปตท. เพิ่ ม ศั ก ยภาพ

รวมทั้งดําเนินธุรกิจภายใต้การคํานึงถึงสิ่งแวดล้อมจึงได้ดําเนิน

โครงสร้างพื้นฐานทางด้านดิจิทัล โดย PTT DIGITAL สามารถ

โครงการ Eco Driving เพื่อรวบรวมและประมวลผลข้อมูลเกี่ยวกับ

ทํ า หน้ า ที่ ด้ า นดิ จิ ทั ล ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพต่ อ เนื่ อ ง และเป็ น

พฤติกรรมการขับขี่และการใช้น้ํามันของผู้ประกอบการรถขนส่ง

กําลังหลักที่สําคัญในการสนับสนุนและสร้างมูลค่าเพิ่มทางธุรกิจ

ทีร่ ว ่ มงานกับ ปตท. เพือ ่ ติดตามผลและจัดทําเป็นรายงานส่งกลับไป

ให้กับ ปตท. และบริษัทในกลุ่ม ปตท. ตลอดมา

เป็ น ข้ อ มู ล ในการปรั บ ปรุ ง การบริ ห ารงานต่ อ ไป รวมทั้ ง ยั ง ได้

นอกจากนี้ คณะกรรมการ ปตท. ยั ง ได้ อ นุ มั ติ แ ละผลั ก ดั น

ดําเนินการปรับปรุงฐานข้อมูลระบบภูมส ิ ารสนเทศ (Geographical

การดํ า เนิ น งานตาม Digitization Roadmap สร้ า งนวั ต กรรม

Information System: GIS) โดยเพิ่ ม เติ ม ข้ อ มู ล สถานี บ ริ ก าร

เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการดํ า เนิ น งาน ลดต้ น ทุ น และค่ า ใช้ จ่ า ย

ทั้ ง น้ํ า มั น และก๊ า ซธรรมชาติ ตลอดจนร้ า นค้ า และกิ จ การอื่ น ๆ

ในการดํ า เนิ น งานในการแข่ ง ขั น ทางธุ ร กิ จ ทางด้ า นเทคโนโลยี

ที่ เ กี่ ย วข้ อ งของ ปตท. ลงไปในแผนที่ เ พื่ อ เป็ น ฐานข้ อ มู ล กลาง

สารสนเทศและการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์

ที่สามารถใช้งานร่วมกันได้ทุกหน่วยงานภายใน ปตท. และจัดทํา

ตอบสนองความต้องการของผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทุกภาคส่วนอย่างทัว ่ ถึง

ระบบแสดงผลให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์

และเท่าเทียมกัน อาทิ การพัฒนาระบบ Digital Procurement

www.pttplc.com ของ ปตท. ได้อีกประการหนึ่งด้วย

เพื่ อ รองรั บ การจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งตาม พ.ร.บ.จั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งของ

นอกจากนีเ้ พือ ่ ให้การกํากับดูแลและบริหารผลการดําเนินงาน

หน่ ว ยงานภาครั ฐ และสนั บ สนุ น การเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล เข้ า กั บ

ของ ปตท. ซึ่งมีการลงทุนผ่านบริษัทในกลุ่ม ปตท. มากกว่า 100

ระบบการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งภาครั ฐ ด้ ว ยอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (Electronic

บริ ษั ท เป็ น ไปตามเป้ า หมายบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งได้ อ ย่ า ง

Government Procurement: e-GP) ซึ่งเป็นระบบจัดซื้อจัดจ้าง

มีประสิทธิภาพ มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ จึงจัดทําโครงการ

หลักของภาครัฐทําให้ ปตท. และผู้ค้าสามารถดําเนินการร่วมกัน

ที่สําคัญ อาทิ โครงการ Financial & Accounting Shared Service

ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น จัดทําระบบ HR Analytic

เพื่อกําหนดทิศทางและกลยุทธ์ของการบริหารการเงินและบัญชี

นําเทคโนโลยีระบบบริหารจัดการข้อมูลทีม ่ ป ี ริมาณมาก (Big Data)

ในการให้บริการด้านบัญชีการเงินของกลุม ่ ปตท. เพิม ่ ความคล่องตัว

มาช่วยรวบรวมและวิเคราะห์ทําความเข้าใจ (Smart Analytic)

ลดต้นทุน ซึง่ ทําให้สง่ ผลดีตอ ่ ศักยภาพการแข่งขัน และการตัดสินใจ

เพื่ อ นํ า เสนอและจั ด การทรั พ ยากรบุ ค คลของ ปตท. ให้ เ กิ ด

ทางธุรกิจของกลุ่ม ปตท. รวมทั้งเพื่อเป็นการสร้างธรรมาภิบาล

ประโยชน์ ใ นการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ มากที่ สุ ด พั ฒ นาระบบเอกสาร

และความน่ า เชื่ อ ถื อ กั บ ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งทั้ ง ภายในและภายนอก

บันทึกข้อความ (Memorandum System) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

องค์กร และยังได้ดําเนินการปรับปรุงกระบวนการควบคุมภายใน

ในการนํ า ส่ ง ข้ อ มู ล / หนั ง สื อ บั น ทึ ก ข้ อ ความภายในองค์ ก ร

โดยดํ า เนิ น การพั ฒ นาระบบสารสนเทศเพื่ อ การตรวจติ ด ตาม

ได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ ยังได้ดําเนินการจัดทําระบบเชื่อมโยง

อย่างต่อเนื่อง (Continuous Control Monitoring and Auditing

ข้ อ มู ล เพื่ อ การบริ ห ารและติ ด ตามการบํ า รุ ง รั ก ษาระบบท่ อ ฯ

System (CCMS)) ระยะที่ 2 สําหรับใช้เป็นเครือ ่ งมือในการสอบทาน

(Integrated Pipeline Maintenance Monitoring System)

ประสิ ท ธิ ผ ลและตรวจติ ด ตามกระบวนการควบคุ ม ที่ กํ า หนดไว้

ซึ่ ง เป็ น การปรั บ ปรุ ง การทํ า งานด้ า นปฏิ บั ติ ก ารของ ปตท.

รวมถึงลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เพื่อพัฒนาวิธีการตรวจสอบ

ในการบริ ห ารจั ด การการบํ า รุ ง รั ก ษาแนวท่ อ ส่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ

จากระยะเวลาที่กําหนด (Cyclical Audit) สู่การสอบทานอย่าง

ให้ มี ค วามมั่ น คงและปลอดภั ย สู ง สุ ด ในการใช้ ง าน สํ า หรั บ ใน

ต่อเนื่อง (Continuous Audit)


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

คณะกรรมการ ปตท. ยั ง ตระหนั ก และให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การเตรียมความพร้อมระบบโครงสร้างพืน ้ ฐานทางด้านเทคโนโลยี

การกํากับดูแลกิจการ

199

5. ระบบติดตามและประเมินผล (Monitoring & Evaluation)

และการสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานที่เป็นเลิศ โดยการเปลี่ยนอุปกรณ์ระบบสื่อสารใยแก้วนําแสง (Fiber Optic

> ระบบการตรวจสอบภายใน

Transmission Equipment) ทีใ่ ช้งานอยูใ่ นแนวท่อส่งก๊าซธรรมชาติ ของ ปตท. ให้ มี ขี ด ความสามารถที่ สู ง ขึ้ น รองรั บ เทคโนโลยี

สํ า นั ก ตรวจสอบภายใน เป็ น หน่ ว ยงานอิ ส ระ รายงานตรง

อิ น เทอร์ เ น็ ต ที่ เ ชื่ อ มอุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งมื อ ต่ า ง ๆ สํ า หรั บ ภาค

ต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ทําหน้าที่ในการสร้างความเชื่อมั่น

อุ ต สาหกรรม (Digital Industrial Internet of Things: IIoT)

(Assurance) และให้คําปรึกษา (Consulting) เพื่อให้กระบวนการ

ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคตได้ ควบคู่ ไ ปกั บ ปรั บ ปรุ ง ระบบรั ก ษา

ทํางานภายในองค์กรมีการกํากับดูแลกิจการ การบริหารความเสีย ่ ง

ความปลอดภัยทางคอมพิวเตอร์ (IT Security) ให้มีความทันสมัย

และการควบคุ ม ภายในที่ ดี บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารดํ า เนิ น งาน

แ ล ะ มี ศั ก ย ภ า พ ป้ อ ง กั น ภั ย คุ ก ค า ม จ า ก ภ า ย น อ ก ไ ด้ อ ย่ า ง

ขององค์กร

มีประสิทธิภาพ บริษัทในกลุ่ม ปตท. จึงได้ร่วมกันลงทุนติดตั้ง

สํานักตรวจสอบภายในมีการวางแผนการตรวจสอบภายใน

ระบบ IT Security รูปแบบใหม่ประเภท Advanced Persistent

ประจําปี และแผนการตรวจสอบระยะยาว 3 ปี โดยการจัดทํา

Threats (APT) ซึง่ เป็นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ประเภทหนึง่

แผนการตรวจสอบเป็นไปตามทิศทางกลยุทธ์ทางธุรกิจ (Business

ที่ จั ด ได้ ว่ า เป็ น ภั ย คุ ก คามขั้ น สู ง ที่ สุ ด ประเภทหนึ่ ง ในปั จ จุ บั น

Strategic Direction) และความเสี่ยงที่สําคัญที่ส่งผลกระทบต่อ

ทั้งนี้ก็เพื่อปกป้องข้อมูลขององค์กรไม่ให้เกิดการรั่วไหลออกไปได้

การดํ า เนิ น งาน (Risk-Based Approach) โดยครอบคลุ ม

และได้ขยายขอบเขตการรับรองมาตรฐานความมั่นคงปลอดภัย

กระบวนการการดําเนินธุรกิจทั้งของ ปตท. และบริษัทในเครือ

ระบบสารสนเทศ (Information Security Management System)

ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ และรายงานผลการตรวจสอบ

ให้ ค รอบคลุ ม อุ ป กรณ์ สํ า คั ญ ทั้ ง หมดในศู น ย์ ค อมพิ ว เตอร์ ทั้ ง

ให้แก่คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณา รวมถึงการรายงาน

ศูนย์หลักและศูนย์สํารองหรือที่เรียกว่า Platform as a Service

ต่ อ คณะกรรมการ ปตท. และหน่ ว ยงานกํ า กั บ ดู แ ลเป็ น ประจํ า

(PaaS) ซึ่ ง ผ่ า นการรั บ รองมาตรฐาน ISO/IEC27001:2013

ทุ ก ไตรมาส โดยมี ก ารติ ด ตามผลการปฏิ บั ติ ต ามข้ อ เสนอแนะ

เป็ น ที่ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว ภายในห้ อ งเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ แ ม่ ข่ า ย

ที่พบจากการตรวจสอบอย่างสม่ําเสมอ ทั้งนี้ในการปฏิบัติงาน

ยังได้การรับรองมาตรฐานความสะอาด ISO14644-1 Class 8 และ

ของสํานักตรวจสอบภายในไม่มีข้อจํากัดในการแสดงความเห็น

ในภาพรวมของอาคารได้ รั บ การรั บ รองมาตรฐานอาคารเขี ย ว

และไม่ มี ป ระเด็ น ที่ มี ค วามขั ด แย้ ง ระหว่ า งหน่ ว ยรั บ ตรวจและ

(Green Building) ระดั บ Gold จากสถาบั น LEED ประเทศ

สํานักตรวจสอบภายในที่ยังหาข้อยุติไม่ได้

ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า นั บ เ ป็ น อ า ค า ร ศู น ย์ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ ห่ ง แ ร ก ในประเทศไทยที่ ไ ด้ รั บ การรั บ รองมาตรฐานเที ย บเท่ า ศู น ย์

> การประเมินการควบคุมภายในดวยตนเอง

คอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการระดับสากล (Co-Location Service Provider) และยังได้ดาํ เนินโครงการเพือ ่ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

เ พื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม มั่ น ใ จ ใ ห้ กั บ ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย ทุ ก ก ลุ่ ม ว่ า

ในการบริ ห ารจั ด การศู น ย์ ค อมพิ ว เตอร์ โดยการนํ า ระบบผลิ ต

การดําเนินงานของ ปตท. จะบรรลุวต ั ถุประสงค์ดา ้ นประสิทธิภาพ

พลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์มาใช้ เพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าสู่

และประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน ความเชื่อถือได้ของรายงาน

ศู น ย์ ค อมพิ ว เตอร์ ทดแทนการซื้ อ ไฟฟ้ า จากการไฟฟ้ า ภู มิ ภ าค

การเงิ น และรายงานอื่ น ๆ รวมทั้ ง การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย

และก่อสร้าง Co-Generation Plant เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าโดยใช้

กฎระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ปตท. จึ ง ได้ กํ า หนดให้ ก ารดํ า เนิ น การ

ก๊าซธรรมชาติซงึ่ เป็นเชือ ้ เพลิงทีส ่ ะอาด เป็นผลิตภัณฑ์ของ ปตท. เอง

ควบคุมภายในเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร

และนํ า ความร้ อ นจากระบบผลิ ต ไฟฟ้ า มาทํ า ความเย็ น ทดแทน

ผู้ควบคุมงาน และผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง โดยฝ่ายกํากับการลงทุน

การผลิตความเย็นจากเครือ ่ งปรับอากาศทีใ่ ช้กระแสไฟฟ้าซึง่ ได้รบ ั

และควบคุมภายใน สายงานกลยุทธ์องค์กร ในฐานะหน่วยงาน

การรับรองขึน ้ ทะเบียนจากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก

ที่ กํ า กั บ ดู แ ลเรื่ อ งการควบคุ ม ภายในได้ ดํ า เนิ น การประเมิ น

(องค์การมหาชน) ว่าเป็นโครงการนําร่องแห่งแรกของประเทศไทย

การควบคุ ม ด้ ว ยตนเอง (Control Self-Assessment: CSA) อย่างน้อยปีละครั้ง ใน 2 รูปแบบ ดังนี้


200

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการ

1. การประเมินระดับองค์กร - การประเมินการควบคุมภายใน

นอกจากนี้ สํานักตรวจสอบภายในได้สอบทานการควบคุม

รายบุคคลสําหรับผู้บริหารระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไปที่ปฏิบัติงาน

ภายในเพื่ อ สร้ า งความมั่ น ใจว่ า การควบคุ ม ภายในที่ มี อ ยู่

ตามโครงสร้างของ ปตท. และผู้บริหารที่ปฏิบัติงาน Secondment

มีความเพียงพอเหมาะสม และมีการปฏิบต ั อ ิ ย่างสม่า ํ เสมอ ในกรณี

บริษัทในกลุ่ม

พบข้อทีค ่ วรปรับปรุงได้มก ี ารกําหนดวิธป ี ฏิบต ั เิ พือ ่ ให้ความมัน ่ ใจว่า

ฝ่ า ยกํ า กั บ การลงทุ น และควบคุ ม ภายในได้ ดํ า เนิ น การ

ข้อตรวจพบจากการตรวจสอบและการสอบทานได้รบ ั การดําเนินการ

รวบรวมและจั ด ทํ า ระบบสารสนเทศเพื่ อ จั ด เก็ บ ฐานข้ อ มู ล

ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขอย่ า งทั น เวลา รวมทั้ ง สอบทานผลการประเมิ น

การควบคุ ม ที่ สํ า คั ญ (List of Key Control) โดยรวบรวมจาก

การควบคุมภายใน และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบโดย

ข้อมูลคําอธิบายลักษณะงาน (FD) คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ

ไม่พบประเด็นปัญหาหรือข้อบกพร่องทีเ่ ป็นนัยสําคัญ ซึง่ สอดคล้อง

บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท กรอบการควบคุมภายใน

กับความเห็นของผูส ้ อบบัญชีของ ปตท. ว่าระบบการควบคุมภายใน

ตามมาตรฐานสากล COSO Internal Control Integrated

ของ ปตท. มีความเพียงพอและมีประสิทธิภาพประสิทธิผลต่อ

Framework 5 ด้าน ได้แก่ (1) สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control

การดําเนินธุรกิจ

Environment) (2) การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) (3) กิจกรรมควบคุม (Control Activities) (4) สารสนเทศและ การสื่อสาร (Information & Communication) และ (5) กิจกรรม การติดตามผล (Monitoring) รวมทั้งมีการพัฒนาแบบประเมิน การควบคุมด้วยตนเองในแบบ Electronic (e-CSA) เพือ ่ ให้ผบ ู้ ริหาร สามารถทําการประเมินฯ และเรียกดูรายงานผลการประเมินฯ ผ่านระบบ Intranet ได้ เพือ ่ ให้แบบประเมินการควบคุมด้วยตนเอง ครอบคลุ ม กิ จ กรรมตามกระบวนการปฏิ บั ติ ง านที่ สํ า คั ญ เป็ น

คาตอบแทน ของผูสอบบัญชี (Audit Fee)

รายบุคคลมากยิ่งขึ้น ในปี 2560 ฝ่ายกํากับการลงทุนและควบคุม ภายในได้ปรับปรุงคําถามให้มค ี วามสอดคล้องกับหลักการพืน ้ ฐาน

บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยจ่ า ยค่ า ตอบแทนการสอบบั ญ ชี

ในการกําหนดมาตรการการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมของนิตบ ิ ค ุ คล

(Audit Fee) ให้แก่ สํานักงานสอบบัญชีทผ ี่ ส ู้ อบบัญชีสงั กัดในรอบปี

ในการป้องกันการให้สน ิ บนของเจ้าหน้าทีข ่ องรัฐตามมาตรา 123/5

บัญชีที่ผ่านมา มีจํานวนเงินรวม 133,019,764 บาท (หนึ่งร้อย

ของคณะกรรมการป้ อ งกั น และปราบปรามการทุ จ ริ ต แห่ ง ชาติ

สามสิบสามล้านหนึง่ หมืน ่ เก้าพันเจ็ดร้อยหกสิบสีบ ่ าท) นอกจากนี้

เพิ่มขึ้นด้วย

บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยได้ จ่ า ยค่ า ตอบแทนของงานบริ ก ารอื่ น

2. การประเมินระดับกระบวนการ - การประชุมเชิงปฏิบัติการ

(Non-audit Fee) ที่มีสาระสําคัญ เช่น ค่าธรรมเนียมในการจัดทํา

เพื่อประเมินการควบคุมภายในในระดับกิจกรรม มุ่งเน้นกิจกรรม

The Updated Offering Memorandum of The Global Medium

ควบคุมในกระบวนการทํางาน โดยผลการประเมินและแนวทาง

Term Notes Program ค่าตรวจรับรองงบการเงินที่ใช้ในการยื่น

การปรับปรุงการควบคุมภายในจะต้องได้รับความเห็นชอบจาก

กรมสรรพากร และค่าตรวจรับรองอื่น ๆ ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา

เจ้าของกระบวนการ และมีการติดตามโดยผู้บังคับบัญชา

รวมจํานวน 45,226,190 บาท (สี่สิบห้าล้านสองแสนสองหมื่น

ในปี 2560 ปตท. มุ่ ง เน้ น การประเมิ น การควบคุ ม ภายใน ในกระบวนการสําคัญ โดยนํากรอบการควบคุมภายใน COSO 5 อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ แ ล ะ ห ลั ก 1 7 ป ร ะ ก า ร ม า ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ในการประเมินหน่วยงานพิจารณาถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความเพียงพอเหมาะสมของการควบคุมภายในทีม ่ ีอยู่ รวมทัง้ จัดทําแนวทาง/ แผนการพัฒนาการควบคุมภายใน เพือ ่ ให้มพ ี ฒ ั นา ระบบการควบคุมภายในในกระบวนการได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง ส่ ง เสริ ม และสร้ า งความตระหนั ก รู้ ใ นเรื่ อ งการควบคุ ม ภายใน เพื่อเป็นพื้นฐานในการออกแบบการควบคุมภายในในอนาคต

หกพันหนึ่งร้อยเก้าสิบบาท)


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การปฏิบัติตามหลัก การกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ในเรื่องอื่น ๆ

การกํากับดูแลกิจการ

201

ที่ดีไปใช้สร้างคุณค่าให้แก่กิจการอย่างยั่งยืนเป็นอย่างดี รวมทั้ ง ได้ ป ระเมิ น การปฏิ บั ติ ต ามหลั ก ปฏิ บั ติ ใ น CG Code แต่ละข้อเทียบเคียงกับนโยบายและการดําเนินงาน ด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ปตท. ในปัจจุบันอย่าง ละเอียดและมีความเห็นว่า ปตท. มีนโยบาย มาตรการ และกระบวนการดําเนินงานที่สอดคล้องกับหลักปฏิบัติ ใน CG Code รวมทั้ ง มี แ ผนการดํ า เนิ น งานทั้ ง ระยะสั้ น

จากผลสํ า รวจการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การของ ปตท. ที่ ส มาคม

และระยะยาวเพื่อพัฒนาระบบการกํากับดูแลกิจการที่ดี

ส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย (IOD) ได้ ทํ า การสํ า รวจ

ของ ปตท. ให้เหมาะสมกับทิศทางการเติบโตทางธุรกิจ

และให้คะแนนตามโครงการสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัท

และแนวโน้มของบริษัทชั้นนําในระดับสากล

จดทะเบี ย นประจํ า ปี 2560 ในภาพรวม ปตท. อยู่ ใ นเกณฑ์

ตลอดปี 2560 ปตท. ได้ปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการ

“ดีเลิศ” และได้รับคะแนนเฉลี่ยภาพรวมและรายหมวดสูงกว่า

ทีด ่ ี แต่อาจไม่ครอบคลุมเกณฑ์ของโครงการสํารวจการกํากับดูแล

คะแนนเฉลี่ยของบริษัทที่ทําการสํารวจทั้งหมดในปี 2560 จํานวน

กิจการบริษัทจดทะเบียนไทย (Corporate Governance Report of

620 บริษัท และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของบริษัทในกลุ่ม SET50

Thai Listed Companies) และ ASEAN CG Scorecard ใน 2 ประเด็น

ทั้ ง นี้ ผ ลสํ า รวจดั ง กล่ า วพิ จ ารณาจากข้ อ มู ล ที่ ปตท. เปิ ด เผย

ซึ่งสามารถอธิบายได้ดังต่อไปนี้

ต่อสาธารณะ โดยในปี 2560 ปตท. มีแนวปฏิบัติที่ดี นอกเหนือ จากเกณฑ์การสํารวจ ซึ่งสามารถใช้เป็นแนวปฏิบัติที่ดีต่อบริษัท จดทะเบียนอื่น ๆ ที่สําคัญ ได้แก่ •

• •

ประธานกรรมการปั จ จุ บั น เป็ น กรรมการอิ ส ระ จึ ง มี

ข้อบังคับของ ปตท. กําหนดให้มีจํานวนกรรมการไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน โดยปัจจุบัน ปตท. มีจํานวนกรรมการ

ความเป็นอิสระในการมอบหมายนโยบายและกํากับดูแล

15 คน ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ข้ อ บั ง คั บ และการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ า น

การบริหารงานของ ปตท.

ปิโตรเลียมทีต ่ อ ้ งการผูท ้ รงคุณวุฒห ิ ลากหลายสาขาอาชีพทีจ ่ า ํ เป็น

ปตท. กําหนดให้มจ ี า ํ นวนกรรมการอิสระไม่นอ ้ ยกว่ากึง่ หนึง่

ในการบริหารกิจการของ ปตท. โดยคณะกรรมการ ปตท. ได้แต่งตัง้

ของจํานวนกรรมการที่มีอยู่

คณะกรรมการเฉพาะเรื่ อ งจํ า นวน 5 คณะ ช่ ว ยกลั่ น กรองงาน

เนือ ่ งจาก ปตท. มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจตามพระราชบัญญัติ

ที่มีความสําคัญ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ

วิ ธี ก ารงบประมาณ 2502 คณะกรรมการตรวจสอบจึง

สรรหา คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการกํากับ

ได้ พิจ ารณาเห็ น ชอบให้ สํา นั ก งานการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น

ดูแลกิจการที่ดี และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงองค์กร

ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีความเป็นกลางและมีความน่าเชื่อถือ เป็นผู้สอบบัญชีของ ปตท. และนําเสนอคณะกรรมการ ปตท. เพื่ อ พิ จ ารณาและขออนุ มั ติ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น พิจารณาแต่งตั้งและอนุมัติค่าสอบบัญชี •

1. การกําหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการ ประกอบด้วย จํานวน 5 - 12 คน

(จํ า นวนครั้ ง ของการประชุ ม คณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย แสดง รายละเอียดในหมวดการประชุมของคณะกรรมการ ปตท. แล้ว) 2. การลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการโดยการลงคะแนน เสียงแบบสะสม (Cumulative Voting)

คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการทีด ่ ข ี อง ปตท. ในการประชุม

ข้อบังคับของ ปตท. กําหนดให้เลือกตัง้ กรรมการโดยวิธค ี ะแนน

ครัง้ ที่ 5/2560 วันที่ 13 ธันวาคม 2560 และคณะกรรมการ

เสียงข้างมาก และผู้ถือหุ้นแต่ละคนมีคะแนนเสียงเท่ากับจํานวน

ปตท. ในการประชุม ครั้งที่ 12/2560 วันที่ 22 ธันวาคม

หุน ้ ทีต ่ นถืออยู่ นอกจากนี้ ปตท. ได้กา ํ หนดให้มว ี ธ ิ ก ี ารอืน ่ ในการดูแล

2560 ได้รับทราบ “หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีสําหรับ

สิ ท ธิ ข องผู้ ถื อ หุ้ น รายย่ อ ยมาโดยตลอด เช่ น การสนั บ สนุ น

บริ ษั ท จดทะเบี ย นปี 2560” (Corporate Governance

ให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ รายย่อยใช้สท ิ ธิเสนอวาระการประชุมเพิม ่ เติม หรือเสนอ

Code: “CG Code”) ซึง่ จัดทําโดยสํานักงานคณะกรรมการ

ชื่อบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการได้ล่วงหน้า เป็นต้น

กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (สํานักงาน ก.ล.ต.) และตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในฐานะผู้นํา (Governing Body) ขององค์กร ในการนําหลักการกํากับดูแลกิจการ


202

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง

22 การควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการบริหารการลงทุนและควบคุมภายในได้มอบหมาย

ฝ่ายบริหารเกีย ่ วกับการดําเนินการตามแนวทาง/ ข้อเสนอแนะเพือ ่

ให้ ฝ่ า ยกํ า กั บ การลงทุ น และควบคุ ม ภายใน มี ห น้ า ที่ ป ระเมิ น

การพัฒนาการควบคุมภายในแล้วสรุปได้วา ่ จากการประเมินระบบ

การควบคุ ม ภายใน โดยจั ด ทํ า แบบประเมิ น การควบคุ ม ภายใน

การควบคุมภายในของบริษัทในด้านต่าง ๆ 5 องค์ประกอบ คือ

ด้วยตนเองรายบุคคลสําหรับผู้บริหารตั้งแต่ระดับผู้จัดการฝ่าย

การควบคุมภายในองค์กร การประเมินความเสี่ยง การควบคุม

ขึ้ น ไปที่ ป ฏิ บั ติ ง านตามโครงสร้ า งของ ปตท. และผู้ บ ริ ห าร

การปฏิบัติงาน ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล และระบบ

ที่ปฏิบัติงาน Secondment บริษัทในกลุ่ม ซึ่งครอบคลุมหน้าที่

การติ ด ตาม คณะกรรมการเห็ น ว่ า ระบบการควบคุ ม ภายใน

ความรับผิดชอบ โดยอ้างอิงกรอบแนวทางปฏิบต ั ิดา ้ นการควบคุม

ของบริ ษั ท มี ค วามเพี ย งพอและเหมาะสม โดยบริ ษั ท ได้ จั ด ให้

ภายในของ The Committee of Sponsoring Organizations of

มี บุ ค ลากรอย่ า งเพี ย งพอที่ จ ะดํ า เนิ น การตามระบบได้ อ ย่ า ง

the Treadway Commission (COSO) ซึ่งกําหนดองค์ประกอบหลัก

มีประสิทธิภาพ

ที่จําเป็นในการควบคุมภายในไว้ 5 ด้าน ได้แก่ (1) การควบคุม ภายในองค์ ก ร (Control Environment) (2) การประเมิ น ความเสี่ยง (Risk Assessment) (3) การควบคุมการปฏิบัติงาน (Control Activities) (4) ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล (Information & Communication) และ (5) ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความมั่นใจ

หัวหนาหนวยงาน ตรวจสอบภายใน

ว่าการดําเนินงานของ ปตท. จะบรรลุวต ั ถุประสงค์ของการควบคุม ภายในด้านประสิทธิภาพของการดําเนินงาน การใช้ทรัพยากร

ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การดู แ ลรั ก ษาทรั พ ย์ สิ น การป้ อ งกั น หรื อ ลดความผิ ด พลาด

ครั้ ง ที่ 7/2560 เมื่ อ วั น ที่ 21 กรกฎาคม 2560 ได้ แ ต่ ง ตั้ ง

ความเสี ย หาย การรั่ ว ไหล การสิ้ น เปลื อ ง ความเชื่ อ ถื อ ได้ ข อง

นายชลัช บุญหลาย ให้ดา ํ รงตําแหน่งผูช ้ ว ่ ยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่

รายงานทางการเงินการบัญชีและรายงานอื่น ๆ รวมถึงการปฏิบัติ

สํานักตรวจสอบภายใน ตั้งแต่วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เนื่องจาก

ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรีและนโยบาย

เป็นผูท ้ ม ี่ ค ี วามรูค ้ วามเข้าใจธุรกิจของ ปตท. เป็นอย่างดี ประกอบกับ

ั ข ิ อง ปตท. รวมทัง้ ประเมินตามกรอบแนวทาง รวมทัง้ ระเบียบปฏิบต

มี ค วามรู้ ทั ก ษะ และประสบการณ์ ใ นงานตรวจสอบภายใน

การกํากับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance: CG) และ

มี ค วามรู้ ใ นการปฏิ บั ติ ง านใน ปตท. หลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลที่ ดี

มาตรการต่ อ ต้ า นคอร์ รั ป ชั น ตามเกณฑ์ คํ า ถามของโครงการ

การประเมินความเสี่ยง และการควบคุมภายใน ทั้งในระดับธุรกิจ

แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต

และในภาพรวม จึ ง เห็ น ว่ า มี ค วามเหมาะสมที่ จ ะปฏิ บั ติ ห น้ า ที่

โดยสํ า นั ก ตรวจสอบภายในได้ ส อบทานประสิ ท ธิ ผ ลของ

ดั ง กล่ า วได้ ทั้ ง นี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ มี ก ารพิ จ ารณา

การควบคุมภายในและรายงานผลการสอบทานต่อคณะกรรมการ

เห็นชอบการแต่งตั้ง โยกย้าย รวมทั้งการพิจารณาประเมินผล

ตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษท ั โดยคณะกรรมการได้ประเมิน

การปฏิบัติงานและความดีความชอบประจําปีของผู้ช่วยกรรมการ

ระบบการควบคุ ม ภายในของบริ ษั ท โดยการประเมิ น ข้ อ มู ล จาก

ผู้จัดการใหญ่ สํานักตรวจสอบภายใน


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง

203

งานกํากับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัท (Compliance) ในอดีตทีผ ่ า ่ นมา ปตท. มีการกําหนดหน่วยงานทีร่ บ ั ผิดชอบการปฏิบต ั ิให้เป็นไปตามกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร ประกอบด้วย สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่และเลขานุการบริษัท สํานักกฎหมาย สํานักตรวจสอบภายใน ทั้งนี้ในปี 2560 ได้มีการจัดตั้งฝ่ายกํากับกฎหมายและกฎระเบียบองค์กร เพื่อให้มั่นใจว่าองค์กรจะมีการกํากับดูแลการปฏิบัติงาน ของทุกหน่วยงานให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ระเบียบ คําสั่ง ประกาศต่าง ๆ ทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร อย่างเคร่งครัด ดังนี้ ่ ายใต้สา ํ นักกฎหมายและมีบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ ฝ่ายกํากับกฎหมายและกฎระเบียบองค์กร (Compliance) มีโครงสร้างอยูภ ในการกํากับดูแลบุคลากรและหน่วยงานภายใน ปตท. ให้มก ี ารปฏิบต ั งิ าน การทําธุรกรรมทุกประเภทของ ปตท. ให้เป็นไปตามทีก ่ ฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ระเบียบ คําสั่ง ประกาศต่าง ๆ ทั้งจากภายในและภายนอกองค์กรกําหนดอย่างเคร่งครัด และรับผิดชอบกํากับดูแล งานด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจการลงทุน กฎหมายรัฐวิสาหกิจ บริษัทจดทะเบียน กฎหมายพลังงาน และกฎหมาย อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินธุรกิจของ ปตท. เพื่อให้การดําเนินธุรกิจขององค์กรเป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมายและกฎระเบียบอื่น โดยเฉพาะการทําธุรกรรมใหม่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทั้งยังให้คําปรึกษาประเด็นข้อกฎหมายแก่บุคลากร ปตท. และหน่วยงาน ภายใน เพื่อให้มั่นใจว่าการดําเนินงานมีความสอดคล้องกับกฎหมาย และการประกอบธุรกิจของ ปตท. จะไม่หยุดชะงักจากประเด็น ด้านกฎหมาย ทั้งนี้เพื่อให้การดําเนินงานของ ปตท. บรรลุนโยบาย Zero Non-Compliance อย่างยั่งยืน

ประวัติหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน นายชลัช บุญหลาย นายช หัวหน หนาหนวยงานตรวจสอบภายใน อายุ 57 ป

ประวัติการศึกษา

ประสบการณทํางาน

• วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศบ.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• 2552 - 2555

ผู้จัดการส่วนซ่อมบํารุง ปตท.

• รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รปม.) มหาวิทยาลัยบูรพา

• 2553 - 2555

ผูอ ้ า ํ นวยการฝ่ายผลิต บริษท ั ไทยลูบ ้ เบล็นดิง้ จํากัด

• 2555 - 2556

ผู้จัดการฝ่ายกลยุทธ์และพัฒนาคุณภาพ

• 2556 - 2557

ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบภายในองค์กร ปตท.

• 2557 - 2560

รักษาการกรรมการผู้จัดการ

• 2560 - ปัจจุบัน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

ประวัติการอบรม • หลักสูตร Leadership Development Program: Center for Creative Leadership ประเทศสิงคโปร์

การตรวจสอบภายใน ปตท.

• หลักสูตร MDD III Business & People Management Program สถาบัน PLLI • หลักสูตร Anti-Corruption for Executive Program

บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด สํานักตรวจสอบภายใน ปตท.

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร Finance for Senior Executives

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของ ไม่มี

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ความสัมพันธระหวางผูบริหาร ไม่มี


204

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

คณะกรรมการ

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

คณะกรรมการ

205

23 คณะกรรมการ

4

1 2

10

7 8

6

1. นายปยสวัสดิ์ อัมระนันทน กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ 2. ศาสตราจารยพิเศษ ดร.กิตติพงษ กิตยารักษ กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ 3. พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์ กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการสรรหา

16 14

4. นายบุญทักษ หวังเจริญ กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการกําหนดคาตอบแทน 5. พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

6. นายชาญวิทย อมตะมาทุชาติ กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร/ กรรมการสรรหา 7. นางนันทวัลย ศกุนตนาค กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ 8. นายวิชัย อัศรัสกร กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

12 11

9

13 12

5

3

15 9. นายธรณ ธํารงนาวาสวัสดิ์ กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหา/ กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี 10. นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ กรรมการอิสระ/ กรรมการกําหนดคาตอบแทน 11. นายสมชัย สัจจพงษ กรรมการ/ กรรมการกําหนดคาตอบแทน

12. นายดอน วสันตพฤกษ กรรมการอิสระ/ กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี 13. นายสมคิด เลิศไพฑูรย กรรมการอิสระ/ กรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร 14. นายธรรมยศ ศรีชวย กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร

15. นายสุพจน เตชวรสินสกุล กรรมการอิสระ 16. นายเทวินทร วงศวานิช กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ/ ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ


206

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

ประวัติคณะกรรมการ * ขอมูลการดํารงตําแหนงกรรมการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

• • นาายยปยสวัสดิ์ อัมระนั​ันทน อาายุ 64 ป กรรรมมกาารอิสระ/ ประธธานกรรมการ

Board Briefing ปตท. สัมมนา หัวขอ “Electric Vehicles & Future Energy System: Recent Development and Implications” จัดโดยสถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย (PTIT)

ประสบการณการทํางาน 2549 - 2551 2551 - 2552 2552 - 2555

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

ปจจุบัน

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

1 กรกฎาคม ฎ 2557, 11 เมษายน 2559 (ตอวาระ) (ดํารงตําแหนงประธานกรรมการตั้งแตวันที่ 4 กรกฎาคม 2557)

คุณวุฒิการศึกษา

• • •

ปริญญาตรี สาขาคณิตศาสตร (เกียรตินิยมอันดับ 1) University of Oxford, UK ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร London School of Economics and Political Science, University of London, UK ปริญญาเอก (เศรษฐศาสตร) London School of Economics and Political Science, University of London, UK

ประวัติการอบรม

• • • • • • • •

หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 35/2005) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 6 สถาบันวิทยาการพลังงาน สัมมนา เรื่อง บทบาทและหนาที่กรรมการรัฐวิสาหกิจของสํานักงาน คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) (5 มิถุนายน 2558) สัมมนาแนวทาง “การจัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจแหงชาติ” (13 กรกฎาคม 2558) สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption...International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558) สัมมนา Thailand’s 6th National Conference on Collective Action against Corruption “Anti-Corruption in Thailand: Sustaining the Momentum” จัดโดย IOD (16 ตุลาคม 2558) สัมมนา Chairman Forum “Corporate Governance VS Corporate Performance: Duty or Choice?” จัดโดย IOD (13 พฤษภาคม 2559) สัมมนา Anti-Corruption: Leadership Role of the Board และบทบาทคณะกรรมการในการขับเคลื่อนองคกรตามราง พ.ร.บ. การพัฒนาการกํากับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ....... และหลักการบริหารกิจการที่ดี (17 ตุลาคม 2559)

: รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน : ประธานที่ปรึกษาประธานเจาหนาที่บริหาร ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) : กรรมการผูอํานวยการใหญ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) : กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จํากัด (มหาชน) กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

• • •

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• • • •

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท พฤกษา ฤ เรียลเอสเตท จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม กรรมการ มูลนิธิหัวใจแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศดานพลังงาน

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

• ศาาสตตราจาารยพิเศษ ดรร.กิตติพงษ กิตยารรักษ อาายุ 59 ป กรรรมมกาารอิสระ/ ปรระธธานกกรรรมการรตรววจสอบ

• •

207

สัมมนา การเสริมสรางความรูแ ละธรรมาภิบาลของกรรมการรัฐวิสาหกิจ ของสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) (30 กันยายน 2559) สัมมนา PTT Group AC Forum 2015 Board Briefing ปตท.

ประสบการณการทํางาน

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

2548 - 2551 2551 - 2557 2557 - 2558 2558 - ปจจุบัน

: : : :

รองปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงยุติธรรม ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ฝายขาราชการประจํา ผูอํานวยการ สถาบันเพื่อการยุติธรรม แหงประเทศไทย (องคการมหาชน)

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

1 กรกฎาคม 2557, 28 เมษายน 2560 (ตอวาระ)

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

• กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ปริ ญ ญาตรี สาขานิ ต ศ ิ าสตรบั ณ ฑิ ต (เกี ย รติ น ย ิ ม) • จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ/ กรรมการกํากับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ • ปริญญาโท ดานกฎหมายการคาและเศรษฐกิจระหวางประเทศ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) (Master of Laws หรือ LL M) Cornell University, USA (ทุน ก.พ.) กรรมการอิ สระ/ กรรมการตรวจสอบ ปริ ญ ญาโท ด า นกฎหมาย (Master of Laws หรื อ LL M) • • บริษัท ดุสิตธานี จํากัด (มหาชน) Harvard University, USA (ทุนฟุลไบรท) • ปริญญาเอก ดานกฎหมาย (Doctor of the Science of Law หรือ J.S.D.) การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ Standford University, USA (ทุนฟุลไบรท) • ศาสตราจารยพิเศษ สาขาวิชานิติศาสตร คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประวัติการอบรม • กรรมการเนติบัณฑิตยสภา • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 112/2014), Advance Audit Committee Program (AACP 18/2015) • นายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล • อนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมดานกิจการตางประเทศ • เนติบัณฑิตไทย (นบท.) สํานักอบรมศึกษากฎหมาย แหงเนติบัณฑิตยสภา • กรรมการผูทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแหงชาติ หลั ก สู ต รประกาศนี ย บั ต รชั น ้ สู ง การเมื อ งการปกครอง • ในระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุนที่ 5 • กรรมการผูทรงคุณวุฒิ สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติด สถาบันพระปกเกลา • กรรมการบริหารและรองประธานกรรมการ • ประกาศนียบัตรหลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุนที่ 49 • ประกาศนียบัตรหลักสูตรสถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุนที่ 8 • กรรมการบริหารและประธานสาขาประเทศไทย มูลนิธิปองกันอาชญากรรมแหงเอเชีย (ACPF) • ประกาศนียบัตรหลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 1 สถาบันวิทยาการพลังงาน ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร • การประชุมุ ระดับชาติ วาดวยการสรางแนวรวมปฏิฏบัติภาคเอกชนไทย • ไมมี ในการตอตานการทุจริตครั้งที่ 5 หัวขอ “Tackling Corruption through Public-Private Collaboration” (16 ตุลาคม 2557) • สัมมนา เรื่อง บทบาทและหนาที่กรรมการรัฐวิสาหกิจ ของสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) (5 มิถุนายน 2558) คุณวุฒิการศึกษา


208

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์ นายบุญทักษ หวังเจริญ

อายุ 64 ป กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการสรรหา/ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม

อายุ 61 ป กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการกําหนดคาตอบแทน

(ไดรับแตงตั้งเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2559)

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

4 กันยายน 2557, 28 กันยายน 2560 (ตอวาระ)

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

27 กุมภาพันธ 2560* (* ลาออกมีผลวันที่ 31 ธันวาคม 2560)

คุณวุฒิการศึกษา

• • • • • •

โรงเรียนเตรียมทหาร รุนที่ 13 โรงเรียนนายเรืออากาศ รุนที่ 20 วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมอากาศยาน Hochschule der Bundeswehr Muenchen (มหาวิทยาลัยทหารเยอรมัน), เยอรมนี โรงเรียนนายทหารชั้นผูบังคับฝูง รุนที่ 56 โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ รุนที่ 33 วิทยาลัยการทัพอากาศ รุนที่ 36

ประวัติการอบรม

• • • • •

หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 117/2015), Role of the Nomination & Governance Committee Program (RNG 7/2015), Ethical Leadership Program (ELP 7/2017) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 8 ป 2559 สถาบันวิทยาการพลังงาน การประชุมระดับชาติ วาดวยการสรางแนวรวมปฏิบตั ภิ าคเอกชนไทย ในการตอตานการทุจริต ครั้งที่ 5 หัวขอ “Tackling Corruption through Public-Private Collaboration” (16 ตุลาคม 2557) สัมมนา “แนวทางการจัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจแหงชาติ” (13 กรกฎาคม 2558) Board Briefing ปตท.

ประสบการณการทํางาน 2551 - 2554 2554 - 2556 2556 2556 - 2557

: เสนาธิการ กรมชางอากาศ กองบัญชาการ สนับสนุนกองทัพอากาศ กองทัพอากาศ : รองเจากรมชางอากาศ กองทัพอากาศ : ผูทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพอากาศ : เจากรมชางอากาศ กองทัพอากาศ

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการสรรหา บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

ไมมี

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

คุณวุฒิการศึกษา

• •

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย MBA (Finance and International Business), New York University, USA

ประวัติการอบรม

• • •

หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) (2008) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัมมนา เรื่อง “ระบบคาตอบแทนกรรมการและผูบริหารสูงสุด ของรัฐวิสาหกิจ” สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) Board Briefing ปตท.

ประสบการณการทํางาน 2542 - 2550 กรกฎาคม 2551 31 ธันวาคม 2560

: รองกรรมการผูจัดการ ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) : ประธานเจาหนาที่บริหาร ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

• •

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการกําหนดคาตอบแทน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กรรมการและประธานเจาหนาที่บริหาร/ กรรมการบริหาร/ กรรมการสินเชื่อ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

ไมมี

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

209

นายชาญวิทย อมตะมาทุชาติ พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

อายุ 61 ป กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการบริหาร ความเสี่ยงองคกร/ กรรมการสรรหา/ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม

อายุ 62 ป กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

(ไดรับแตงตั้งเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2558)

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

4 กันยายน 2557, 11 เมษายน 2559 (ตอวาระ)

คุณวุฒิการศึกษา

• •

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

4 กันยายน 2557, 9 เมษายน 2558 (ตอวาระ)

คุณวุฒิการศึกษา

ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การทหาร) โรงเรียนเสนาธิการทหารบก

• •

ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (เศรษฐศาสตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาการเศรษฐกิจ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

ประวัติการอบรม

• • •

หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 129/2016) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) สัมมนาการเสริมสรางความรูและธรรมาภิบาล ของกรรมการรัฐวิสาหกิจ ของสํานักงานคณะกรรมการนโยบาย รัฐวิสาหกิจ (สคร.) (30 กันยายน 2559) Board Briefing ปตท.

ประสบการณการทํางาน 2555 2556 2557 - 30 กันยายน 2558 ปจจุบัน

: ผูชวยเสนาธิการทหารบก ฝายยุทธการ กองทัพบก : รองเสนาธิการทหารบก กองทัพบก : เสนาธิการทหารบก กองทัพบก : ประธานกรรมการ บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ การยางแหงประเทศไทย

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

• •

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน)

ประวัติการอบรม

• • • • • • • • •

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• • •

สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ ประธานกรรมการ การยางแหงประเทศไทย ผูแทนพิเศษนายกรัฐมนตรี

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 109/2008), Audit Committee Program (ACP 39/2012), Ethical Leadership Program (ELP 7/2017), สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.) รุนที่ 50 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ สําหรับนักบริหารระดับสูง รุนที่ 5 สถาบันพระปกเกลา หลักสูตรนักบริหารระดับกลาง สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน หลักสูตรผูบริหารระดับสูง ดานการคาและการพาณิชย (TEPCoT) รุนที่ 4 สถาบันวิทยาการการคา หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท.) รุนที่ 18 สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 3 สถาบันวิทยาการพลังงาน สัมมนาการเสริมสรางความรูและธรรมาภิบาล ของกรรมการรัฐวิสาหกิจ ของสํานักงานคณะกรรมการนโยบาย รัฐวิสาหกิจ (สคร.) (30 กันยายน 2559) สัมมนา Anti-Corruption: Leadership Role of the Board และบทบาทคณะกรรมการในการขับเคลื่อนองคกรตามราง พ.ร.บ. การพัฒนาการกํากับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ....... และหลักการบริหารกิจการที่ดี (17 ตุลาคม 2559) Board Briefing ปตท.


210

ประสบการณการทํางาน 2550 - 2553 2553 - 2559 ปจจุบัน

: ที่ปรึกษาดานนโยบายและแผนงาน สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ : รองเลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ : ผูอํานวยการ อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติ สิรินธรและศูนยพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม มูลนิธิอุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

• •

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหา/ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กรรมการอิสระ บริษัท ดับบลิวเอชเอ คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

• • • • • • • • •

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

ไมมี

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

• •

ไมมี

หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.) รุนที่ 49 ป 2549 - 2550 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร Leaders in Development Program-Managing Political & Economic Reform, Kennedy School of Government, Harvard University, Boston, USA ป 2551 หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานการคาและการพาณิชย (TEPCoT) รุนที่ 2 ป 2552 สถาบันวิทยาการการคา หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท.) รุนที่ 14 ป 2555 สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรการกํากับดูแลกิจการสําหรับกรรมการและผูบริหารระดับสูง ของรัฐวิสาหกิจและองคการมหาชน รุนที่ 12 ป 2556 (Public Director Institute: PDI) หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 5 ป 2557 สถาบันวิทยาการพลังงาน สัมมนา PTT Group AC Forum 2015 สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption... International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558) สัมมนาหัวขอ Global Financial Market Outlook 2016, IOD (17 พฤศจิกายน 2558) Board Briefing ปตท. สัมมนาหัวขอ “Electric Vehicles & Future Energy System: Recent Development and Implications” จัดโดยสถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย (PTIT)

ประสบการณการทํางาน กันยายน 2555

นางนันทวัลย ศกุนตนาค อายุ 59 ป กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

ตุลาคม 2555 ตุลาคม 2556 ตุลาคม 2558

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

1 กรกฎาคม 2557, 9 เมษายน 2558 (ตอวาระ)

ตุลาคม 2559 ตุลาคม 2560

: อธิบดี กรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย : รองปลัดกระทรวงพาณิชย : อธิบดี กรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย : อธิบดี กรมทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย : อธิบดี กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย : ปลัดกระทรวงพาณิชย

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ คุณวุฒิการศึกษา

• •

ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต (การเงินและการธนาคาร) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท MBA (การตลาดและธุรกิจระหวางประเทศ) University of Wisconsin-Madison, USA

ประวัติการอบรม

• • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 166/2012), Audit Committee Program (ACP 43/2013), Financial Statements for Directors (FSD 31/2016) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร Management Development Program ณ Mt. Eliza, Melbourne, Australia ป 2532 หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (นบส.) รุนที่ 38 ป 2546 สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน

• •

คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย คณะกรรมการกํากับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

211

ประสบการณการทํางาน 2538 - ปจจุบัน

: กรรมการ บริษัท เชียงเฮงอินเตอรเนชั่นแนล จํากัด นายวิชัย อัศรัสกร 2554 - ตุลาคม 2557 : เลขาธิการองคกรตอตานคอรรัปชัน อายุ 57 ป (ประเทศไทย) กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ ตุลาคม 2557 - ปจจุบัน : รองประธานกรรมการองคกรตอตานคอรรัปชัน (ประเทศไทย) มีนาคม 2556 - ปจจุบัน : รองประธานกรรมการหอการคาไทย 2557 - 2560 : กรรมการผูทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการนโยบายสถาบันการเงิน (กนส.) สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ) ธนาคารแหงประเทศไทย • ไมมี 2558 - ปจจุบัน : กรรมการคณะกรรมการตอตานการทุจริต วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ แหงชาติ (คตช.) • 4 กันยายน 2557, 28 เมษายน 2560 (ตอวาระ) 2559 - ปจจุบัน : ประธานคณะอนุกรรมการ คุณวุฒิการศึกษา ขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติวาดวย การปองกันและปราบปรามการทุจริต • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร New South Wales University, Australia ภาคเอกชน (ป.ป.ช.) ประวัติการอบรม 2560 ป จ จุ บ น ั : กรรมการผู ท  รงคุณวุฒิ ดานบริหารธุรกิจ • หลักสูตร Director Certification Program (DCP 215/2016) สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ ากับ สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) • หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท.) รุนที่ 12 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (ปริญญาบัตร การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ปรอ.) รุนที่ 22 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย • การประชุมระดับชาติ วาดวยการสรางแนวรวมปฏิบัติภาคเอกชน • กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ไทยในการตอตานการทุจริต ครั้งที่ 5 หัวขอ “Tackling Corruption • กรรมการอิสระ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) through Public-Private Collaboration” (16 ตุลาคม 2557) ารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ • สัมมนา เรื่อง บทบาทและหนาที่กรรมการรัฐวิสาหกิจ ของสํานักงาน การดํ กรรมการบริหาร ศูนยสงเสริมศิลปาชีพระหวางประเทศ • คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) (5 มิถุนายน 2558) (องคกรมหาชน) • สัมมนา Re-energizing Growth through Better Governance • คณะกรรมการปฏิรปู ประเทศดานการปองกันและปราบปรามการทุจริต สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร (18 มิถุนายน 2558) • ไมมี • สัมมนา “แนวทางการจัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจแหงชาติ” (13 กรกฎาคม 2558) • หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 7 ป 2558 สถาบันวิทยาการพลังงาน • สัมมนา PTT Group AC Forum 2015 • สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption... International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558) • สัมมนา CG Forum 4/2015 - Thailand CG Forum “Governance as a Driving Force for Business Sustainability” ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย สํานักงาน ก.ล.ต. และ IOD (28 ตุลาคม 2558) • สัมมนา “Anti-Corruption: Leadership Role of the Board และบทบาทคณะกรรมการในการขับเคลื่อนองคกรตามราง พ.ร.บ. การพัฒนาการกํากับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ....... และหลักการบริหารกิจการที่ดี” (17 ตุลาคม 2559) • Board Briefing ปตท. • สัมมนา หัวขอ “Electric Vehicles & Future Energy System: Recent Development and Implications” จัดโดยสถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย (PTIT)


212

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

นายธรณ ธํารงนาวาสวัสดิ์ อายุ 51 ป กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหา/ กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• •

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหา/ กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการปฏิรูปประเทศดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม คณะกรรมการจัดทํายุทธศาสตรชาติ

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

18 พฤศจิกายน 2559

คุณวุฒิการศึกษา

• • •

• •

หลักสูตร Anti-Corruption: the Practical Guide (ACPG), Direct Accreditation Program (DAP) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) (อยูระหวางอบรม) หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 9 สถาบันวิทยาการพลังงาน สัมมนา หัวขอ “Electric Vehicles & Future Energy System: Recent Development and Implications” จัดโดยสถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย (PTIT)

ปจจุบัน

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

22 เมษายน 2558, 28 เมษายน 2560 (ตอวาระ)

คุณวุฒิการศึกษา

• •

ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต ทางรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

ประวัติการอบรม

ประสบการณการทํางาน 6 ตุลาคม 2557 6 กันยายน 2558 ตุลาคม 2557 กันยายน 2558 ตุลาคม 2557 กันยายน 2558 5 กรกฎาคม 2559 ปจจุบัน

อายุ 60 ป กรรมการอิสระ/ กรรมการกําหนดคาตอบแทน

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ประวัติการอบรม

นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

ปริญญาตรี ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาเอก สาขาวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยเจมส คุก ประเทศออสเตรเลีย

: สมาชิกสภาปฏิรูปแหงชาติ : กรรมาธิการในคณะกรรมาธิการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม : กรรมาธิการปฏิรูปพลังงานและกรรมาธิการ กิจการของสภาปฏิรูป (วิปสภา) : กรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ นโยบายและแผนการบริหารจัดการ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝงแหงชาติ ดานการบริหารจัดการทรัพยากร ทางทะเลและชายฝง : รองคณบดีฝายกิจการพิเศษ และประชาสัมพันธ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

• • • • • • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 113/2009), Audit Committee Program (ACP 33/2011) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.) ป 2549 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุนที่ 14 วิทยาลัยการยุติธรรม สํานักงานศาลยุติธรรม สัมมนา Thailand’s 6th National Conference on Collective Action Against Corruption “Anti-Corruption in Thailand: Sustaining the Momentum” จัดโดย IOD (16 ตุลาคม 2558) Board Briefing ปตท. หลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย (นธป.) รุนที่ 4 วิทยาลัยรัฐธรรมนูญ สํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ หลักสูตรผูบ ริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุน ที่ 24 สถาบันวิทยาการตลาดทุน


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

ประสบการณการทํางาน 2552 - 2553 : ที่ปรึกษา สํานักงบประมาณ 2553 - 2556 : รองผูอ ํานวยการ สํานักงบประมาณ 2556 - 30 กันยายน 2560 : ผูอํานวยการ สํานักงบประมาณ

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

กรรมการอิสระ/ กรรมการกําหนดคาตอบแทน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

• • • •

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• •

สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ กรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 12

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

213

หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (ปริญญาบัตร ปรอ.) รุนที่ 20 ป 2550 - 2551 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานการคาและการพาณิชย (TEPCoT) รุนที่ 2 ป 2552 สถาบันวิทยาการการคา หลักสูตรการกํากับดูแลกิจการสําหรับกรรมการและผูบริหารระดับสูง ของรัฐวิสาหกิจและองคการมหาชน (PDI) ป 2554 สถาบันพระปกเกลา หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน). รุนที่ 3 ป 2556 สถาบันวิทยาการพลังงาน สัมมนาการเสริมสรางความรูและธรรมาภิบาลของกรรมการ รัฐวิสาหกิจ ของสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) (30 กันยายน 2559)

ประสบการณการทํางาน 2552 - 2553 2553 - 2554

นายสมชัย สัจจพงษ อายุ 56 ป กรรมการ/ กรรมการกําหนดคาตอบแทน

2554 - 2557 2557 - 2558 2558 - ปจจุบัน

: อธิบดี กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง : ผูอาํ นวยการ สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง : ผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง : อธิบดี กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง : ปลัดกระทรวงการคลัง

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

1 พฤศจิกายน 2558, 11 เมษายน 2559 (ตอวาระ)

• • •

กรรมการ/ กรรมการกําหนดคาตอบแทน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กรรมการ/ ประธานกรรมการ ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ คุณวุฒิการศึกษา

• • •

ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท เศรษฐศาสตร Ohio State University, USA ปริญญาเอก เศรษฐศาสตร Ohio State University, USA

ประวัติการอบรม

• • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 75/2006) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตรนักบริหารระดับสูง: ผูนําที่มีวิสัยทัศน รุนที่ 44 ป 2548 สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท.) รุนที่ 2 ป 2549 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

ไมมี

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี


214

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

นายดอน วสันตพฤกษ นายสมคิด เลิศไพฑูรย

อายุ 59 ป กรรมการอิสระ/ กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี/ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม

อายุ 58 ป กรรมการอิสระ/ กรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร

(ไดรับแตงตั้งเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2559)

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

26 กรกฎาคม 2557, 11 เมษายน 2559 (ตอวาระ)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

27 กุมภาพันธ 2560

คุณวุฒิการศึกษา

คุณวุฒิการศึกษา

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ปริญญาตรี วิศวกรรมอุตสาหการ University of New South Wales, Sydney, Australia ปริญญาโท วิศวกรรมอุตสาหการ University of New South Wales, Sydney, Australia

• • •

ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต (นบ.) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาโท กฎหมายมหาชน (D.E.A. de droit public interne), Paris II, France ปริญญาเอก กฎหมายมหาชน (Doctorat en droit), Paris II, France

ประวัติการอบรม

• • • • • • •

หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 117/2015), Role of the Nomination & Governance Committee Program (RNG 7/2015) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) การประชุมระดับชาติ วาดวยการสรางแนวรวมปฏิบัติภาคเอกชน ไทยในการตอตานการทุจริต ครั้งที่ 5 หัวขอ “Tackling Corruption through Public-Private Collaboration” (16 ตุลาคม 2557) หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 6 ป 2558 สถาบันวิทยาการพลังงาน สัมมนา “แนวทางการจัดตั้งบรรษัทวิสาหกิจแหงชาติ” (13 กรกฎาคม 2558) สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption... International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558) สัมมนา “Anti-Corruption: Leadership Role of the Board และบทบาทคณะกรรมการในการขับเคลื่อนองคกรตามราง พ.ร.บ. การพัฒนาการกํากับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ....... และหลักการบริหารกิจการที่ดี” (17 ตุลาคม 2559) Board Briefing ปตท.

ประวัติการอบรม

• • •

หลักสูตรเนติบัณฑิตไทย เนติบัณฑิตยสภา ประกาศนียบัตรวาดวยการปกครองทองถิ่น สถาบัน II AP ประเทศฝรั่งเศส หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 10 สถาบันวิทยาการพลังงาน

ประสบการณการทํางาน 2540 2550 2553 - 2560 2560 ปจจุบัน

: : : : :

สมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญ เลขาธิการคณะกรรมาธิการรางรัฐธรรมนูญ อธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กรรมการองคการเภสัชกรรมแหงประเทศไทย ศาสตราจารยประจําคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

กรรมการอิสระ/ กรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประสบการณการทํางาน 2552 - ปจจุบัน

: ประกอบธุรกิจสวนตัว

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

• •

กรรมการอิสระ/ กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กรรมการอิสระ/ กรรมการกํากับดูแลกิจการ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• • • • •

สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ กรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ กรรมการสภาผูทรงคุณวุฒิสถาบันพระปกเกลา กรรมการปฏิรูปประเทศดานกระบวนการยุติธรรม (ตํารวจ) กรรมาธิการสามัญรางพระราชบัญญัติการพัฒนาการกํากับดูแล และบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ.....

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

ไมมี

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

215

นายธรรมยศ ศรีชวย นายสุพจน เตชวรสินสกุล อายุ 59 ป กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

15 ธันวาคม 2559, 28 เมษายน 2560 (ตอวาระ)

คุณวุฒิการศึกษา

• • • •

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรมศาสตรไฟฟากําลัง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล หลักสูตร Corporate Governance for Executives Program (CGE 5/2015), Director Certification Program (DCP 239/2017) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตรนักบริหารพลังงานระดับสูง รุนที่ 1 กระทรวงพลังงาน หลักสูตรเสนาธิการทหาร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ รุนที่ 47 กองบัญชาการทหารสูงสุด หลักสูตรนักบริหารระดับสูง “ผูนําที่มีวิสัยทัศนและคุณธรรม (นบส.)” รุนที่ 56 สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุนที่ 52 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร

ประสบการณการทํางาน 2550 - 2557 1 ตุลาคม 2557 30 กันยายน 2559 1 ตุลาคม 2559 30 กันยายน 2560 1 ตุลาคม 2560 ปจจุบัน

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

18 มกราคม 2561

คุณวุฒิการศึกษา

ประวัติการอบรม

อายุ 52 ป กรรมการอิสระ

: รองอธิบดี กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงาน : อธิบดี กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงาน : รองปลัดกระทรวงพลังงาน : ปลัดกระทรวงพลังงาน

• • •

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท Master of Engineering (Civil Engineering) University of Tokyo, Japan ปริญญาเอก Doctor of Engineering (Civil Engineering) University of Tokyo, Japan

ประวัติการอบรม

หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 10 สถาบันวิทยาการพลังงาน

ประสบการณการทํางาน 2546 2559 - ปจจุบัน 2560 - ปจจุบัน

: รองศาสตราจารย ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย : คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย : กรรมการรัฐวิสาหกิจ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

กรรมการอิสระ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยงองคกร บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

ไมมี

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

กรรมการรัฐวิสาหกิจ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี


216

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะกรรมการ

นายเทวินทร วงศวานิช อายุ 59 ป กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ/ ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ/ กรรมการผูมีอํานาจลงนาม (ไดรับแตงตั้งเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2558)

• • • •

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ):

0.000875 (ตนเอง 0.000875, คูสมรส 0)

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

10 กันยายน 2558

• •

คุณวุฒิการศึกษา

• • • •

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท M.Sc. (Chemical Engineering), Rice University, USA ปริญญาโท M.Sc. (Petroleum Engineering), University of Houston, USA ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิศวกรรมโยธา คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

ประวัติการอบรม

• • • • • • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 21/2002), Financial Statements for Directors (FSD 6/2009), Role of the Compensation Committee (RCC 13/2011), Anti-Corruption for Executive Program (ACEP 15/2015), Ethical Leadership Program (ELP 7/2017) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) โครงการอบรมผูนําสากล (Program for Global Leadership: PGL) รุนที่ 3, Harvard Business School, USA หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย สําหรับผูบริหารระดับสูง (ปปร.) รุนที่ 10 สถาบันพระปกเกลา Senior Executive Program (SEP) รุนที่ 7 สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท.) รุนที่ 6 สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (ปริญญาบัตร ปรอ.) รุนที่ 22 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุนที่ 16 วิทยาลัยการยุติธรรม สํานักงานศาลยุติธรรม หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 3 ป 2556 สถาบันวิทยาการพลังงาน

• • •

หลักสูตรการกํากับดูแลกิจการสําหรับกรรมการและผูบริหารระดับสูง ของรัฐวิสาหกิจและองคการมหาชน รุนที่ 7 สถาบันพระปกเกลา สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption... International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558) สัมมนา Thailand’s 6th National Conference on Collective Action against Corruption “Anti-Corruption in Thailand: Sustaining the Momentum”, IOD (16 ตุลาคม 2558) สัมมนา CG Forum 4/2015 - Thailand CG Forum “Governance as a Driving Force for Business Sustainability” (28 ตุลาคม 2558) จัดโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย สํานักงาน ก.ล.ต. และ IOD สัมมนา หัวขอ Global Financial Market Outlook 2016, IOD (17 พฤศจิกายน 2558) สัมมนาการเสริมสรางความรูและธรรมาภิบาลของกรรมการ รัฐวิสาหกิจ ของสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) (30 กันยายน 2559) สัมมนา Anti-Corruption: Leadership Role of the Board และบทบาทคณะกรรมการในการขับเคลื่อนองคกรตามราง พ.ร.บ. การพัฒนาการกํากับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ....... และหลักการบริหารกิจการที่ดี” (17 ตุลาคม 2559) Board Briefing ปตท. สัมมนา หัวขอ “Electric Vehicles & Future Energy System: Recent Development and Implications” จัดโดยสถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย (PTIT)

ประสบการณการทํางาน 2551 - 2552 กรกฎาคม 2552 ธันวาคม 2552 มกราคม 2553 เมษายน 2555 2555 - 9 กันยายน 2558

10 กันยายน 2558 ปจจุบัน

: รองกรรมการผูจัดการใหญ กลยุทธและพัฒนาองคกร บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (ปตท.) : ประธานเจาหนาที่บริหารการเงิน และรักษาการรองกรรมการผูจัดการใหญ กลยุทธและพัฒนาองคกร ปตท. : ประธานเจาหนาที่บริหารการเงิน ปตท. : รองกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) : ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ ปตท.


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

• • •

กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ/ ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) กรรมการ/ ประธานกรรมการ บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• • • • • • • • • • • • •

นายกสมาคมนิสิตเกาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ (สนจ.) (วาระป 2558 - 2560) ประธาน คณะอนุกรรมการดานการจัดการขอมูล และการสื่อสารประชาสัมพันธ ในคณะกรรมการพัฒนา ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ (กพข.) กรรมการผูทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแขงขันของประเทศ (กพข.) กรรมการ มูลนิธิพลังสรางสรรคนวัตกรรม และมูลนิธิพลังแหงการเรียนรู ประธานศูนยเพื่อการพัฒนาความสามารถในการแขงขัน TMA (TMA Center for Competitiveness) สมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย (TMA) กรรมการ Board of Trustees สมาคมจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กรรมการ มูลนิธิการศึกษาไทย - อเมริกัน (ฟูลไบรท) และมูลนิธิรวมจิตตนอมเกลาฯ เพื่อเยาวชนในพระบรมราชินูปถัมภ กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารธุรกิจ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ประธานอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ เกี่ยวกับการปรับปรุงระบบการเงินและงบประมาณ (อ.ก.พ.ร.) ที่ปรึกษา คณะกรรมการโครงการเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา มหาราชินี กรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศดานเศรษฐกิจ อุปนายก สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย (วาระป 2560 - 2562)

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

ประวัติคณะกรรมการ

217


218

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

คณะผู้บริหาร

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

คณะผู้บริหาร

219

24 คณะผูบริหาร

5

2 3

1

11

8 9

7

1. นายเทวินทร วงศวานิช กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ/ ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ 2. นายวิรัตน เอื้อนฤมิต ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ กลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นตนและกาซธรรมชาติ

17 15

3. นายอรรถพล ฤกษพิบูลย ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ กลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย และรักษาการแทนรองกรรมการผูจัดการใหญ บริหารกลยุทธกลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย อีกหนาที่หนึ่ง 4. นายชาญศิลป ตรีนุชกร ประธานเจาหนาที่เทคโนโลยีและวิศวกรรม 5. นางนิธิมา เทพวนังกูร ประธานเจาหนาที่บริหารการเงิน

12

10

14 13

6

4

6. นายกฤษณ อิ่มแสง รองกรรมการผูจัดการใหญ บริหารองคกรและความยั่งยืน 7. นางศรีวรรณ เอี่ยมรุงโรจน รองกรรมการผูจัดการใหญ กลยุทธองคกร 8. นายนพดล ป่นสุภา รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจกาซธรรมชาติ

16

18

16. นายอธิคม เติบศิริ 13. นางสาวเพียงพนอ บุญกลํ่า 9. นางสาวจิราพร ขาวสวัสดิ์ ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ รองกรรมการผูจัดการใหญ สํานักกฎหมาย รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจนํ้ามัน บริษัท ไทยออยล จํากัด (มหาชน) 14. นายสมพร วองวุฒิพรชัย 10. นางบุบผา อมรเกียรติขจร 17. นายสุกฤตย สุรบถโสภณ ประธานเจาหนาที่บริหาร รองกรรมการผูจัดการใหญ กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด หนวยธุรกิจการคาระหวางประเทศ บริษัท ไออารพซี ี จํากัด (มหาชน) (มหาชน) 11. นายวิทวัส สวัสดิ์-ชูโต 18. นายเติมชัย บุนนาค รองกรรมการผูจัดการใหญ นวัตกรรมและดิจิตอล 15. นายสุพัฒนพงษ พันธมีเชาว 12. นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ รองกรรมการผูจัดการใหญ ดานรัฐกิจสัมพันธ บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จํากัด (มหาชน) บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)


220

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

ประวัติคณะผูบริหาร * ขอมูลการดํารงตําแหนงผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

นาายเทวิ​ินทร วงศศวานนิช อาายุ 599 ป กรรรมกกาาร/ เลขานุการรคณะกรรมการ/ ปรระธานนเเจาหนาที่บริหาร แลละกรรรมมกาารผูจัดการรใหญ/ กรรรมกกาารผู​ูมีอํานาาจลลงนาม (ไดดรับแแตตง ตั้งเมื่อวันที่ 10 กันยายนน 22558)

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

0.000875 (ตนเอง 0.000875, คูสมรส 0)

• • • • •

วันที่ดํารงตําแหนงกรรมการ

10 กันยายน 2558

คุณวุฒิการศึกษา

• • • •

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท M.Sc. (Chemical Engineering), Rice University, USA ปริญญาโท M.Sc. (Petroleum Engineering), University of Houston, USA ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิศวกรรมโยธา คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

ประวัติการอบรม

• • • • • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 21/2002), Financial Statements for Directors (FSD 6/2009), Role of the Compensation Committee (RCC 13/2011), Anti-Corruption for Executive Program (ACEP 15/2015), Ethical Leadership Program (ELP) (7/2017) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) โครงการอบรมผูนําสากล (Program for Global Leadership: PGL) รุ​ุนที่ 3, Harvard Business School, USA หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย สําหรับผูบริหารระดับสูง (ปปร.) รุนที่ 10 สถาบันพระปกเกลา Senior Executive Program (SEP) รุนที่ 7 สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท.) รุนที่ 6 สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (ปริญญาบัตร ปรอ.) รุนที่ 22 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุนที่ 16 วิทยาลัยการยุติธรรม สํานักงานศาลยุติธรรม

• • • • •

หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 3 ป 2556 สถาบันวิทยาการพลังงาน หลักสูตรการกํากับดูแลกิจการสําหรับกรรมการและผูบริหารระดับสูง ของรัฐวิสาหกิจและองคการมหาชน รุนที่ 7 สถาบันพระปกเกลา สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption... International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558) สัมมนา Thailand’s 6th National Conference on Collective Action against Corruption “Anti-Corruption in Thailand: Sustaining the Momentum”, IOD (16 ตุลาคม 2558) สัมมนา CG Forum 4/2015 - Thailand CG Forum “Governance as a Driving Force for Business Sustainability” (28 ตุลาคม 2558) จัดโดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย สํานักงาน ก.ล.ต. และ IOD สัมมนาหัวขอ Global Financial Market Outlook 2016, IOD (17 พฤศจิกายน 2558) สัมมนาการเสริมสรางความรูและธรรมาภิบาลของกรรมการ รัฐวิสาหกิจ ของสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) (30 กันยายน 2559) สัมมนา Anti-Corruption: Leadership Role of the Board และบทบาทคณะกรรมการในการขับเคลื่อนองคกรตามราง พ.ร.บ. การพัฒนาการกํากับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ....... และหลักการบริหารกิจการที่ดี (17 ตุลาคม 2559) Board Briefing ปตท. สัมมนาหัวขอ “Electric Vehicles & Future Energy System: Recent Development and Implications” จัดโดยสถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย (PTIT)

ประสบการณการทํางาน 2551 - 2552 กรกฎาคม 2552 ธันวาคม 2552 มกราคม 2553 เมษายน 2555 2555 - 9 กันยายน 2558

10 กันยายน 2558 ปจจุบัน

: รองกรรมการผูจัดการใหญ กลยุทธและพัฒนาองคกร บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (ปตท.) : ประธานเจาหนาที่บริหารการเงิน และรักษาการรองกรรมการผูจัดการใหญ กลยุทธและพัฒนาองคกร ปตท. : ประธานเจาหนาที่บริหารการเงิน ปตท. : รองกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. ปฏิฏบัติงาน Secondment ในตําแหนงประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) : ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ ปตท.


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

• • •

221

นาายวิรัตน เอื้อนฤฤมิต

กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ/ ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) กรรมการ/ ประธานกรรมการ บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน)

อาายุ 55 ป ปรระธานเจจาหนาที่ปฏิบัติการ กลลุมธุรกิจปปโตรเลียมขขั้นตน แลละกาซธธธรรรมชาตติ

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• • • • • • • • • • • • •

นายกสมาคมนิสิตเกาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ (สนจ.) (วาระป 2558 - 2560) ประธาน คณะอนุกรรมการดานการจัดการขอมูล และการสื่อสารประชาสัมพันธ ในคณะกรรมการพัฒนา ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ (กพข.) กรรมการผูทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการพัฒนา ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ (กพข.) กรรมการ มูลนิธิพลังสรางสรรคนวัตกรรม และมูลนิธิพลังแหงการเรียนรู ประธานศูนยเพื่อการพัฒนาความสามารถในการแขงขัน TMA (TMA Center for Competitiveness) สมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย (TMA) กรรมการ Board of Trustees สมาคมจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย กรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ กรรมการ มูลนิธิการศึกษาไทย - อเมริกัน (ฟูลไบรท) และมูลนิธิรวมจิตตนอมเกลาฯ เพื่อเยาวชนในพระบรมราชินูปถัมภ กรรมการผูทรงคุณวุฒิดานการบริหารธุรกิจ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ประธานอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ เกี่ยวกับการปรับปรุงระบบการเงินและงบประมาณ (อ.ก.พ.ร.) ที่ปรึกษา คณะกรรมการโครงการเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษามหาราชินี กรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศดานเศรษฐกิจ อุปนายก สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย (วาระป 2560 - 2562)

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

0.000543 (ตนเอง 0.000543, คูสมรส 0)

วันที่ดํารงตําแหนง

1 ตุลาคม 2559

คุณวุฒิการศึกษา

• •

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท Master of Business Administration, with Emphasis in Financial Management, Pennsylvania State University, Pennsylvania, USA

ประวัติการอบรม

• • • • • • • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 8/2001), Director Certification Program Update (DCPU 5/2015), Audit Committee Program (ACP 38/2012), Ethical Leadership Program (ELP 7/2017) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) Member, Beta Gamma Sigma (US National Scholastic Honour Society in Business) Advance Management Programme, INSEAD Business School, Fontainebleau, France Advanced Management Program, Harvard Business School, USA หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท.) รุนที่ 4 สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรผูบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) รุนที่ 16 วิทยาลัยการยุ​ุติธรรม สํานักงานศาลยุ​ุติธรรม หลักสูตรความมั่นคงขั้นสูงวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (สวปอ.มส.) รุนที่ 2 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร TLCA Executive Development Program รุนที่ 1 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร


222

• •

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

หลักสูตรนักบริหารระดับสูง ดานการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและการลงทุน (วธอ.) รุนที่ 2 สถาบันวิทยาการธุรกิจและอุตสาหกรรม หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย สําหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุนที่ 20 สถาบันพระปกเกลา

นายอรรถพล ฤกษพิบูลย อายุ 52 ป ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ กลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย และรักษาการแทนรองกรรมการผูจ ดั การใหญ บริหารกลยุทธกลุมธุรกิจปโตรเลียม ขั้นปลาย อีกหนาที่หนึ่ง

ประสบการณการทํางาน 2548 - มกราคม 2554 : รองกรรมการอํานวยการดานการเงิน บริษัท ไทยออยล จํากัด (มหาชน) กุมภาพันธ 2554 : รองกรรมการผูจัดการใหญ ตุลาคม 2554 สายบัญชีและการเงิน บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน) ตุลาคม 2554 : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญการเงินองคกร 30 เมษายน 2557 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (ปตท.) 1 พฤษภาคม 2557 - : ประธานเจาหนาที่บริหารการเงิน ปตท. 30 กันยายน 2559 1 ตุลาคม 2559 : ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ ปจจุบัน กลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นตน และกาซธรรมชาติ ปตท.

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

วันที่ดํารงตําแหนง

กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• • • • • • • • •

กรรมการ Sakari Resources. Ltd. กรรมการและกรรมการตรวจสอบ สมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย (TMA) กรรมการอํานวยการ สมาคมนิสิตเกาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (สนจ.) (วาระป 2558 - 2560) อุปนายก สมาคมนิสิตเกาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (สนจ.) (วาระป 2560 - 2562) คณะอนุกรรมการ ดานการเงินและรูปแบบการลงทุนรถไฟไทย-จีน ภายใตการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางรถไฟของประเทศไทย (คบร.) ที่ปรึกษาคณะกรรมการ สายงานสงเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ประธานกรรมการ สภาธุรกิจไทย-มาเลเซีย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย กรรมการ คณะกรรมการรวมภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) ดาน Crowdfunding ที่ปรึกษานายกสมาคม สมาคมนักศึกษาสถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.)

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

1 ตุลาคม 2560

คุณวุฒิการศึกษา

• • •

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

0.000939 (ตนเอง 0.000788, คูสมรส 0.000151)

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท พัฒนาการเศรษฐกิจมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร Diploma of Petroleum Management, College of Petroleum Studies, Oxford, UK (ไดรับทุนการศึกษาจาก British Council)

ประวัติการอบรม

• • • • • • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 173/2013) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP) รุนที่ 1 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย หลักสูตรปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (วปอ. 58) วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย สําหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุนที่ 14 สถาบันพระปกเกลา หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท.) รุนที่ 20 สถาบันวิทยาการตลาดทุน NIDA-Wharton Executive Leadership Program 2009, The Wharton School of the University of Pennsylvania, USA PTT Executive Leadership, General Electric, GE, New York, USA

ประสบการณการทํางาน 2553 - 2554

: ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ สื่อสารองคกรและกิจการเพื่อสังคม ปตท. 2554 - 2557 : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ การตลาดพาณิชยและตางประเทศ ปตท. 2557 - กันยายน 2557 : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ การตลาดขายปลีก ปตท. 1 ตุลาคม 2557 : รองกรรมการผูจัดการใหญ 30 กันยายน 2558 บริหารความยั่งยืนและวิศวกรรมโครงการ ปตท. 1 ตุลาคม 2558 : รองกรรมการผูจัดการใหญ 30 กันยายน 2560 หนวยธุรกิจนํ้ามัน ปตท.


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

1 ตุลาคม 2560 ปจจุบัน

ประวัติคณะผู้บริหาร

: ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ กลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย และรักษาการแทนรองกรรมการผูจัดการใหญ บริหารกลยุทธกลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย อีกหนาที่หนึ่ง

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

• • • •

กรรมการ/ กรรมการกํากับดูแลกิจการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• • •

ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. นํ้ามันและการคาปลีก จํากัด กรรมการ มูลนิธิพลังที่ยั่งยืน กรรมการ สมาคมนิสิตเกาวิศวกรรมศาสตรแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย (วาระป 2559 - 2560)

• •

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ สําหรับนักบริหารระดับสูง (ปศส.) รุนที่ 10 สถาบันพระปกเกลา หลักสูตร Leadership Excellence through Awareness and Practice (LEAP) สถาบัน INSEAD, France & Singapore หลักสูตร Leadership Development Program III (LDP 3) รุนที่ 1 ป 2557 สถาบัน PLLI, บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.) รุนที่ 57 ป 2557 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption... International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558) หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 7 ป 2558 สถาบันวิทยาการพลังงาน ศิษยเกาดีเดน คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ป 2558 โดยสมาคมเศรษฐศาสตรธรรมศาสตร ศิษยเกาดีเดน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ป 2560 โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ประสบการณการทํางาน ตุลาคม 2554 กุมภาพันธ 2556

นายชาญศิลป ตรีนุชกร อายุ 57 ป ประธานเจาหนาที่เทคโนโลยี และวิศวกรรม

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนง

1 มกราคม 2561

คุณวุฒิการศึกษา

• •

ปริญญาตรี เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาโท เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประวัติการอบรม

• • • • •

223

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 85/2007), Financial Statements for Directors (FSD 12/2011), Director Accreditation Program (DAP 93/2011), Chartered Director Class (CDC 11/2015) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตรพัฒนาสัมพันธระดับผูบริหาร รุนที่ 1 กรมกิจการพลเรือนทหารบก วิทยาลัยการทัพอากาศ (วทอ.) รุนที่ 35 ป 2549 หลักสูตร Senior Executive Program (SEP) รุนที่ 20 สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย PTT Executive Leadership, General Electric, GE, New York, USA Advance Senior Executive Program (ASEP-5), รุนที่ 5/2553, KELLOGG & SASIN, Chicago, USA

มีนาคม 2556 กันยายน 2557 ตุลาคม 2557 30 กันยายน 2558 1 ตุลาคม 2558 31 ธันวาคม 2558 1 มกราคม 2559 30 กันยายน 2560 1 ตุลาคม 2560 31 ธันวาคม 2560 1 มกราคม 2561 ปจจุบัน

: ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงรองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจทาเรือและบริหารจัดการทรัพยสิน บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน) (IRPC) : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงรองกรรมการผูจัดการใหญ สายพาณิชยกิจและการตลาด IRPC : รองกรรมการผูจัดการใหญ กลยุทธองคกร ปตท. : รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจปโตรเคมีและการกลั่น ปตท. : รองกรรมการผูจัดการใหญ บริหารกลยุทธกลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย ปตท. : ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการ กลุมธุรกิจโครงสรางพื้นฐาน และบริหารความยั่งยืน ปตท. : ประธานเจาหนาที่เทคโนโลยีและวิศวกรรม ปตท.

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

• •

กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน) กรรมการ/ กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน/ กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที ดิจิตอล โซลูชั่น จํากัด

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี


224

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

นายกฤษณ อิ่มแสง นางนิธิมา เทพวนังกูร อายุ 52 ป รองกรรมการผูจัดการใหญ บริหารองคกรและความยั่งยืน

อายุ 60 ป ประธานเจาหนาที่บริหารการเงิน

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

0.001435 (ตนเอง 0.001435, คูสมรส 0)

วันที่ดํารงตําแหนง

0.000350 (ตนเอง 0.000350, คูสมรส 0)

วันที่ดํารงตําแหนง

1 ตุลาคม 2559

คุณวุฒิการศึกษา

• •

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

1 มกราคม 2561

คุณวุฒิการศึกษา

ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาบริหารการเงิน) (เกียรตินิยมเรียนดี) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประวัติการอบรม ประวัติการอบรม

• •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 126/2009), Risk Management Committee Program (RMP 3/2014), Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG 18/2015) และ Ethical Leadership Program (ELP 3/2016) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) NIDA-Wharton Executive Leadership Program, The Wharton School, University of Pennsylvania, USA PTT Executive Leadership Program, GE Crotonville, USA

ประสบการณการทํางาน 2554 - 2557

2557 - 2559 2559 - 30 กันยายน 2559 1 ตุลาคม 2559 ปจจุบัน

กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไทยออยล จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• •

ประธานกรรมการ บริษัท ปตท.คาสากล จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที เอ็นเนอรยี่ รีซอรสเซส จํากัด

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

• • • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 139/2010) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร Leadership Development Program III รุนที่ 2 สําหรับผูบริหารระดับสูง ปตท. หลักสูตร “ภูมิพลังแผนดิน” รุนที่ 3 สําหรับผูบริหารระดับสูง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท.) รุนที่ 23 สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 9 สถาบันวิทยาการพลังงาน

ประสบการณการทํางาน : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงรองกรรมการผูจัดการใหญ ดานการเงินและบัญชี บริษัท ไทยออยล จํากัด (มหาชน) : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญบัญชีองคกร : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ นโยบายการเงินและบัญชีองคกร ปตท. : ประธานเจาหนาที่บริหารการเงิน ปตท.

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

2552 - 2554 2555 - 2556 2556 - 2558 2558 - 31 มกราคม 2559 1 กุมภาพันธ 2559 31 ธันวาคม 2560 1 มกราคม 2561 ปจจุบัน

: ผูจัดการฝายบริหารศักยภาพผูบริหาร และบุคลากร ปตท. : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ ธุรกิจหลอลื่น ปตท. : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ ปฏิบัติการคลัง ปตท. : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ การตลาดขายปลีก ปตท. : รองกรรมการผูจัดการใหญ ทรัพยากรบุคคลและศักยภาพองคกร ปตท. : รองกรรมการผูจัดการใหญ บริหารองคกรและความยั่งยืน ปตท.

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

กรรมการ บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน)


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• • • •

ประธานกรรมการ บริษัท เอนเนอรยี่ คอมเพล็กซ จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท สานพลัง วิสาหกิจเพื่อสังคม จํากัด รองเลขาธิการ สมาคมนิสิตเกาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (วาระป 2558 - 2560 และวาระป 2560 - 2562) รองเลขาธิการ สมาคมนิสิตเกาวิศวกรรมศาสตร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (วาระป 2559 - 2560)

ประสบการณการทํางาน 2552 - 2554 2554 - 30 กันยายน 2558

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

1 ตุลาคม 2558 ปจจุบัน

นางศรีวรรณ เอี่ยมรุงโรจน อายุ 60 ป รองกรรมการผูจัดการใหญ กลยุทธองคกร

: ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ แผนกลยุทธและบริหารการลงทุน ปตท. : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงรองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานการตลาดและพาณิชยกิจ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) (PTTGC) : รองกรรมการผูจัดการใหญ กลยุทธองคกร ปตท.

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

กรรมการ บริษัท ไทยออยล จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

ไมมี

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

0.003858 (ตนเอง 0, คูสมรส 0.003858)

วันที่ดํารงตําแหนง

นายนพดล ปนสุภา

1 ตุลาคม 2558

อายุ 53 ป รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจกาซธรรมชาติ

คุณวุฒิการศึกษา

• •

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล) (เกียรตินิยมอันดับสอง) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ประวัติการอบรม

• • • • • • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 160/2012), The Board’s Role in Mergers and Acquisitions (1/2011) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร INSEAD Business School ป 2010, INSEAD Executive Education, France ประกาศนียบัตรหลักสูตร Advance Management Program (AMP) รุน 183/2012 Harvard Business School, USA หลักสูตร Strategic Marketing Management, Stanford Graduate School of Business สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption... International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558) หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 8 สถาบันวิทยาการพลังงาน หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท.) รุนที่ 25 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

225

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

0.002255 (ตนเอง 0.000476, คูสมรส 0.001779)

วันที่ดํารงตําแหนง

1 ตุลาคม 2558

คุณวุฒิการศึกษา

• •

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประวัติการอบรม

• • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 146/2011), Financial Statement for Directors (FSD 12/2011) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร Leadership Development Program III, สถาบันพัฒนาผูนําและการเรียนรูกลุม ปตท. (PTT Leadership and Learning Institute) หลักสูตร Breakthrough Program for Senior Executives, International Leading Business School (IMD), Lausanne, Switzerland


226

• • • • • • • •

หลักสูตร Assessor Training Program สํานักงานรางวัลคุณภาพแหงชาติ หลักสูตร Financial Statement for Directors บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) สัมมนา Briefing on International Anti-Corruption... International Cases and Practices, IOD (14 ตุลาคม 2558) หลักสูตร Mitsui-HBS Global Management Academy 2015, Japan - USA G-20Y Summit 2015, France หลักสูตรผูบริหารกระบวนยุติธรรมระดับสูง (บยส.) รุนที่ 19 สถาบันขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท.) รุนที่ 22 ป 2560 สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.) รุนที่ 60 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร

ประสบการณการทํางาน 2553 - 2555 2555 - 2557 1 ตุลาคม 2557 30 กันยายน 2558

1 ตุลาคม 2558 ปจจุบัน

: ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ ระบบทอจัดจําหนายกาซธรรมชาติ ปตท. : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ กาซธรรมชาติสําหรับยานยนต ปตท. : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จํากัด (มหาชน) : รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจกาซธรรมชาติ ปตท.

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไทยออยล จํากัด (มหาชน)

นางสาวจิราพร ขาวสวัสดิ์ อายุ 55 ป รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจนํ้ามัน

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนง

1 ตุลาคม 2560

คุณวุฒิการศึกษา

• • •

ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) (การบัญชี) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) (การบริหารการเงิน) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ปริญญาโท บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) (การตนทุน) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประวัติการอบรม

• • • • • • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 180/2013) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร Senior Executive Program, London Business School, UK หลักสูตร Leadership Development Program III ปตท. หลักสูตร Strategic Thinking Through Case ปตท. หลักสูตร PTT Group VP Leadership Development Program ปตท. หลักสูตร Executive Development Program หลักสูตร PTT Group PLLI 3 Leadership Greatness: Great Leaders, Great Teams, Great Results ปตท.

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• • •

ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที โกลบอล แอลเอ็นจี จํากัด กรรมการ บริษัท ราชบุรี เพาเวอร จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ปตท.จําหนายกาซธรรมชาติ จํากัด

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

ประสบการณการทํางาน 2549 - 2555 2555 - 2559 2559 - 30 กันยายน 2560 1 ตุลาคม 2560 ปจจุบัน

: ผูจัดการฝายบัญชีบริหาร ปตท. : ผูช วยกรรมการผูจัดการใหญวางแผน หนวยธุรกิจนํ้ามัน ปตท. : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงกรรมการผูจัดการ บริษัท ปตท. บริหารธุรกิจคาปลีก จํากัด : รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจนํ้ามัน ปตท.

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

ไมมี

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• •

ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. บริหารธุรกิจคาปลีก จํากัด (PTTRM) กรรมการ บริษัท ปตท. นํ้ามันและการคาปลีก จํากัด (PTTOR)

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

227

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

นางบุบผา อมรเกียรติขจร

อายุ 59 ป รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจการคาระหวางประเทศ

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• •

กรรมการ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) กรรมการ Tiger Energy Trading Pte. Ltd. รองประธาน สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

0.002451 (ตนเอง 0.002451, คูสมรส 0)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนง

1 ตุลาคม 2557

นายวิทวัส สวัสดิ์-ชูโต

คุณวุฒิการศึกษา

• •

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ประวัติการอบรม

• • • • • • •

อายุ 56 ป รองกรรมการผูจัดการใหญ นวัตกรรมและดิจิตอล

ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาเศรษฐศาสตร) (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการบริหารการเงิน) (เกียรตินิยม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร หลักสูตร Director Certification Program (DCP 152/2011) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) Senior Executive Program (Class 2003) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หลักสูตรวิทยาลัยการทัพบก สถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง ป 2551 หลักสูตร Leadership Development Program-Center for Creative Leadership, Singapore หลักสูตร Breakthrough Program for Senior Executive (BPSE) (Class 2012), IMD Institute/ Switzerland หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท.) รุนที่ 21 ป 2558 สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 10 ป 2560 สถาบันวิทยาการพลังงาน

0.001941 (ตนเอง 0.001941, คูสมรส 0)

วันที่ดํารงตําแหนง

1 มกราคม 2561

คุณวุฒิการศึกษา

• •

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท Master of Science (Industrial Engineering), The University of Rhode Island, USA

ประวัติการอบรม

หลักสูตร Director Certification Program (DCP) และ Financial Statements for Directors (FSD) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประสบการณการทํางาน 2545 - 2552 2553 - 2557 2557 - 30 กันยายน 2557 1 ตุลาคม 2557 ปจจุบัน

: ผูจัดการฝายคานํ้ามันดิบ ปตท. : ผูชว ยกรรมการผูจัดการใหญ บริหารกลยุทธกลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย ปตท. : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจการคาระหวางประเทศ ปตท. : รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจการคาระหวางประเทศ ปตท.

ประสบการณการทํางาน 1 สิงหาคม 2557 ธันวาคม 2558 1 มกราคม 2559 30 กันยายน 2559 1 ตุลาคม 2559 31 ธันวาคม 2559 1 มกราคม 2560 31 ธันวาคม 2560 1 มกราคม 2561 ปจจุบัน

: ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ บริหารกลยุทธกลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย ปตท. : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ บริหารความรวมมือ กลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย ปตท. : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ บริหารความยั่งยืน ปตท. : รองกรรมการผูจัดการใหญ บริหารความยั่งยืนและวิศวกรรมโครงการ ปตท. : รองกรรมการผูจัดการใหญ นวัตกรรมและดิจิตอล ปตท.

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

ไมมี


228

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• • • •

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

กรรมการ บริษัท เอนเนอรยี่ คอมเพล็กซ จํากัด กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟาและนํ้าเย็น จํากัด กรรมการ บริษัท บิซิเนส เซอรวิสเซส อัลไลแอนซ จํากัด กรรมการ บริษัท บิซิเนส โปรเฟสชั่นแนล โซลูชั่นส จํากัด

ประสบการณการทํางาน 2554 - 2556

2557 - 2559

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

1 กรกฎาคม 2559 2560

นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ อายุ 58 ป รองกรรมการผูจัดการใหญ ดานรัฐกิจสัมพันธ

1 มีนาคม 2560 ปจจุบัน

: ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ สายงานกิจการสัมพันธ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) (PTTGC) : รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานกิจการสัมพันธ PTTGC : รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานกิจการสัมพันธ PTTGC ปฏิบัติงานที่ปรึกษาดานรัฐกิจสัมพันธ ปตท. : รองกรรมการผูจัดการใหญ PTTGC ปฏิบัติงานรองกรรมการผูจัดการใหญ ดานรัฐกิจสัมพันธ ปตท.

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

ไมมี

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

0.000070 (ตนเอง 0, คูสมรส 0.000070)

กรรมการ/ คณะกรรมการตรวจสอบภายใน สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.)

วันที่ดํารงตําแหนง

1 มีนาคม 2560

คุณวุฒิการศึกษา

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต (BBA.) Abilene Christian University, Texas, USA

ประวัติการอบรม

• • • • • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 106/2008), Audit Committee Program (ACP 24/2008), Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR 5/2009) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน รุนที่ 23 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปรอ. 2553) หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย สําหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุนที่ 12 สถาบันพระปกเกลา หลักสูตรการกํากับกิจการสําหรับกรรมการและผูบริหารระดับสูง ของรัฐวิสาหกิจและองคการมหาชน รุนที่ 2 สถาบันพัฒนากรรมการและผูบริหารระดับสูงภาครัฐ (PDI) หลักสูตรนักบริหารการยุติธรรมทางปกครองระดับสูง (บยป.) รุนที่ 4 วิทยาลัยการยุติธรรมทางปกครองสํานักงานศาลปกครอง หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท.) รุนที่ 20 สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 8 สถาบันวิทยาการพลังงาน

นางสาวเพียงพนอ บุญกลํ่า อายุ 51 ป รองกรรมการผูจัดการใหญ สํานักกฎหมาย

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนง

1 ตุลาคม 2560

คุณวุฒิการศึกษา

• • •

ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท นิติศาสตรมหาบัณฑิต (น.ม.) (กฎหมายธุรกิจ) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท Master of Law (LL.M.), Columbia University School of Law, New York, USA


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

229

ประวัติการอบรม

• •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 7/2001) Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPR 38/2017) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร TLCA Executive Development Program 1/2008 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

นายสมพร วองวุฒิพรชัย อายุ 59 ป ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

ประสบการณการทํางาน 2552 - 29 กุมภาพันธ : ทนายความหุนสวนผูบริหาร 2559 บริษัท วีระวงค, ชินวัฒน และเพียงพนอ จํากัด มีนาคม 2559 : ที่ปรึกษากฎหมายอาวุโส มิถุนายน 2560 บริษทั วีระวงค, ชินวัฒน และพารทเนอรส จํากัด (เดิมชื่อ “บริษัท วีระวงค, ชินวัฒน และเพียงพนอ จํากัด” เปลี่ยนเปนชื่อปจจุบัน เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2560) 1 กรกฎาคม 2560 - : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ 30 กันยายน 2560 กฎหมายองคกร ปตท. 1 ตุลาคม 2560 : รองกรรมการผูจ ดั การใหญ สํานักกฎหมาย ปตท. ปจจุบัน

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

กรรมการ/ กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จํากัด (มหาชน) (GPSC)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• •

กรรมการ บริษัท East Mediterranean Gas Company S.A.E. (EMG) กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการนโยบายการเงินและบัญชี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

0.000350 (ตนเอง 0, คูสมรส 0.000350)

วันที่ดํารงตําแหนง

22 ตุลาคม 2558

คุณวุฒิการศึกษา

• • •

ปริญญาตรี (Petroleum Engineering), University of Tulsa, Oklahoma, USA ปริญญาโท (Petroleum Engineering), University of Tulsa, Oklahoma, USA ปริญญาเอก (Petroleum Engineering), University of Tulsa, Oklahoma, USA

ประวัติการอบรม

• • • • • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 224/2016), สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) Advanced Management Program 2006 (Executive Education Program), Harvard Business School, USA GE Energy Customer Executive Leadership Program (2012), GE Global Learning, Crotonville, USA Leadership Development Program III (2013), PTT Leading and Learning Institute (PLLI) หลักสูตรผูบริหารระดับสูง ดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 2 สถาบันวิทยาการพลังงาน หลักสูตรนักบริหารยุทธศาสตรการปองกันและปราบปรามการทุจริต ระดับสูง (นยปส.) รุนที่ 6 สถาบันการปองกันและปราบปราม การทุจริตแหงชาติ สัญญา ธรรมศักดิ์, สํานักงาน ป.ป.ช.


230

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

ประสบการณการทํางาน 1 พฤษภาคม 2549 - : รองผูจัดการใหญ 14 มกราคม 2553 สายงานโครงการตางประเทศ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) 15 มกราคม 2553 - : รองกรรมการผูจัดการใหญ 31 ธันวาคม 2557 กลุมงานโครงการตางประเทศ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) 1 มกราคม 2558 : รองกรรมการผูจัดการใหญ 21 ตุลาคม 2558 กลุมงานกลยุทธและพัฒนาธุรกิจ บริษัท ปตท.สํารวจและปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) 22 ตุลาคม 2558 : รองกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. 31 ตุลาคม 2560 ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) 1 พฤศจิกายน 2560 - : รองกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. ปจจุบัน ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

กรรมการ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• • • • •

กรรมการ บริษัท พีทีที โกลบอล แอลเอ็นจี จํากัด กรรมการ มูลนิธิพลังสรางสรรคนวัตกรรม และมูลนิธิพลังแหงการเรียนรู กรรมการ สถาบันวิทยาการพลังงาน กรรมการ สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย กรรมการ สภาสถาบันวิทยสิริเมธี (VISTEC)

นายสุพัฒนพงษ พันธมีเชาว อายุ 58 ป ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนง

1 ตุลาคม 2557

คุณวุฒิการศึกษา

• •

ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประวัติการอบรม

• • • • • • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 131/2010), Role of Chairman Program (RCP 30/2013) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) Advance Management Program, INSEAD University, France หลักสูตรปองกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.) รุนที่ 50 และหลักสูตรปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (ปริญญาบัตร ปรอ.) รุนที่ 20 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตร Oxford Energy Seminar 2013, UK หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 4 สถาบันวิทยาการพลังงาน หลักสูตรการกํากับดูแลกิจการสําหรับกรรมการและผูบริหารระดับสูง ของรัฐวิสาหกิจและองคการมหาชน รุนที่ 12 ป 2557 สถาบันพัฒนากรรมการและผูบริหารระดับสูงของภาครัฐ สถาบันพระปกเกลา หลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย (นธป.) รุนที่ 3/2558

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

ประสบการณการทํางาน 2552 - 2554

2554 - 30 กันยายน 2557 1 ตุลาคม 2557 ปจจุบัน

: รองกรรมการผูจัดการดานพัฒนาธุรกิจ บริษัท พีทีที อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด และผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ สายงานกลยุทธองคกร ปตท. : รองกรรมการผูจัดการใหญ กลยุทธองคกร ปตท. : รองกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงประธานเจาหนาที่ บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

• • •

กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จํากัด

• • •

กรรมการ PTT Chemical International Private Limited กรรมการอํานวยการ สถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย รองประธานกรรมการ มูลนิธิพลังสรางสรรคนวัตกรรม และมูลนิธิพลังแหงการเรียนรู กรรมการ สภาสถาบันผูทรงคุณวุฒิ สถาบันวิทยสิริเมธี กรรมการ โรงเรียนกําเนิดวิทย กรรมการ สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี

2552 - 2554

2554 - 2556

2556 - 30 กันยายน 2557 1 ตุลาคม 2557 ปจจุบัน

นายอธิคม เติบศิริ อายุ 55 ป ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ไทยออยล จํากัด (มหาชน)

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

: รองกรรมการผูจัดการใหญ สายแผนธุรกิจองคกร และรักษาการรองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจทาเรือและบริหารจัดการทรัพยสิน บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน) : รองกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน) : รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจปโตรเคมีและการกลั่น ปตท. : รองกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงประธานเจาหนาที่ บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ไทยออยล จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

• •

หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท.) รุนที่ 17 สถาบันวิทยาการตลาดทุน Executive Education Program, Harvard Business School Harvard University, USA หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 6 สถาบันวิทยาการพลังงาน

ประสบการณการทํางาน

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• • •

• •

231

ไมมี

กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ บริษัท ไทยออยล จํากัด (มหาชน) กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ วันที่ดํารงตําแหนง

1 ตุลาคม 2557

คุณวุฒิการศึกษา

• •

ปริญญาตรีดานบริหารธุรกิจ สาขาบัญชี (วิชาเอกบัญชีตนทุนและการบริหารทางการเงิน) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ปริญญาโทดานบริหารธุรกิจ สาขาการเงินและการคาระหวางประเทศ (เกียรตินิยมระดับ High Distinction), Armstrong University, California, USA

• •

ประธานกรรมการ บริษัท ไทยลูบเบส จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยลมารีน จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล โซลเวนท จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ท็อป โซลเวนท จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล เพาเวอร จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ท็อป เอสพีพี จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ลาบิกซ จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ไทยพาราไซลีน จํากัด กรรมการ มูลนิธิพลังสรางสรรคนวัตกรรม และมูลนิธิพลังแหงการเรียนรู กรรมการ สภาสถาบันผูทรงคุณวุฒิ สถาบันวิทยสิริเมธี กรรมการบริหารสถาบัน สถาบันวิทยาการพลังงาน กรรมการ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย กรรมการ มูลนิธิอุตสาหกรรมไทย อุปนายก สมาคมวายนํ้าแหงประเทศไทย กรรมการ สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

• หลักสูตร Director Certification Program (DCP 125/2009), Risk Management Program for Corporate Leader (RCL 4/2016), • • Role of the Chairman (RCP 41/2017) • สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐ เอกชน และการเมือง • (ปริญญาบัตร วปม.) รุนที่ 5 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรการบริหารจัดการดานความมั่นคงขั้นสูง (วปอ.มส.1) ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร สมาคมวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร • ไมมี

ประวัติการอบรม

• • • • • • • • •


232

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

นายสุกฤตย สุรบถโสภณ อายุ 59 ป กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน)

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

0.000070 (ตนเอง 0.000070, คูสมรส 0)

วันที่ดํารงตําแหนง

1 ตุลาคม 2556 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประวัติการอบรม

• • • • • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 132/2010), Audit Committee Program (ACP 38/2012), Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR 12/2012) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP 3) ป 2552 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย หลักสูตร “การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สําหรับนักบริหารระดับสูง” สถาบันพระปกเกลา (ปปร. 15) ป 2555 หลักสูตรผูบริหารระดับสูง (วตท.) รุนที่ 16 สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักรภาครัฐรวมเอกชน (ปริญญาบัตร ปรอ.) รุนที่ 26 วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร หลักสูตรผูบริหารระดับสูงดานวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุนที่ 6 ป 2558 สถาบันวิทยาการพลังงาน หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters, Australia ป 2558

ประสบการณการทํางาน 2553 - 2556 2556 - ปจจุบัน

: รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจปโตรเคมีและการกลั่น ปตท. : รองกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน)

กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• • • • • • • •

คุณวุฒิการศึกษา

• • • • • • • • • • • •

กรรมการ บริษัท อูเบะเคมิคอลส (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท นํ้ามัน ไออารพีซี จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ไออารพีซี โพลีออล จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ไออารพีซี เอ แอนด แอล จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท เทคโนโลยีไออารพีซี จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที เอนเนอรยี่ โซลูชั่นส จํากัด ประธานกลุมอุตสาหกรรมโรงกลั่นนํ้ามันปโตรเลียม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (วาระป 2557 - 2560) รองประธาน คลัสเตอรปโตรเคมี (กลุมอุตสาหกรรม โรงกลั่นนํ้ามันปโตรเลียม ปโตรเคมี พลาสติก และเคมี) สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (วาระป 2557 - ปจจุบัน) กรรมการและกรรมการบริหาร สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (วาระป 2557 - ปจจุบัน) กรรมการ สถาบันนํ้าเพื่อความยั่งยืน (วาระป 2557 - 2559) กรรมการ (สาขาวิศวกรรมเคมี) วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ กรรมการ สภาสถาบันผูทรงคุณวุฒิ สถาบันวิทยสิริเมธี (ตามคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สกอ. 697/2558) กรรมการ มูลนิธิพลังสรางสรรคนวัตกรรม และมูลนิธิพลังแหงการเรียนรู กรรมการ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (วาระป 2557 - ปจจุบนั ) กรรมการ สายงานสงเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย กรรมการ สถาบันสิ่งแวดลอมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ที่ปรึกษา คณะกรรมการ สถาบันพลาสติก (เริ่มเดือนกันยายน 2557) ที่ปรึกษา สมาคมนิสิตเกาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ (เริ่มเดือนสิงหาคม 2558) กรรมการ คณะกรรมการภาครัฐและเอกชนเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ของประเทศ (ประชารัฐ - กลุมการยกระดับคุณภาพวิชาชีพ) ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกไทย (เริ่มเดือนมีนาคม 2560)

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประวัติคณะผู้บริหาร

233

ประสบการณการทํางาน

นายเติมชัย บุนนาค อายุ 59 ป ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จํากัด (มหาชน)

สัดสวนการถือหุนบริษัท (รอยละ)

ไมมี

วันที่ดํารงตําแหนง

1 มีนาคม 2560

คุณวุฒิการศึกษา

• • •

ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาโท M.Sc. (Operations Research B.S.) Illinois Institute of Technology, Chicago Illinois, USA ปริญญาเอก Ph.D. (Management Sciences), Illinois Institute of Technology, Chicago Illinois, USA

2555 - ตุลาคม 2558 : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงกรรมการผูจัดการ บริษัท ปตท. จําหนายกาซธรรมชาติ จํากัด/ กรรมการผูจัดการ บริษัท อมตะ จัดจําหนายกาซธรรมชาติ จํากัด 2558 - กุมภาพันธ : ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. 2560 ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จํากัด (มหาชน) 1 มีนาคม 2560 : รองกรรมการผูจัดการใหญ ปตท. ปจจุบัน ปฏิบัติงาน Secondment ในตําแหนงประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

ประวัติการอบรม

• • • • • •

หลักสูตร Director Certification Program (DCP 143/2011), Risk Management Program for Corporate Leaders (RCL 3/2016) สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) หลักสูตรการมีสวนรวมของสาธารณชนและการจัดการความขัดแยง สถาบันพระปกเกลา โครงการ GE: Executive Program 2005 โครงการ GE: PTT Executive Program 2008 หลักสูตรเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน ระดับบริหาร NPC Safety and Environmental Services หลักสูตร Leadership Development Program (LDP) รุนที่ 4 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการสําคัญที่เกี่ยวของในบริษัทหรือองคกรอื่น ๆ

• •

กรรมการ บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร จํากัด กรรมการ GPSC International Holdings Limited

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางกรรมการและผูบริหาร

ไมมี


234

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหน่งของผู้บริหารและผู้มีอํานาจควบคุมในบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัทย่อย การร่วมค้า บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง ประจําปี 2560

ธุรกิจสํารวจ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิต ปิโตรเลียม จํากัด (มหาชน) และผลิต ปิโตรเลียม

ธุรกิจก๊าซ

ธุรกิจลงทุน ต่างประเทศ

บริษัทย่อย

ธุรกิจน้ํามัน

PTTNGD

บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จํากัด

PTTLNG

บริษัท พีทีที โกลบอล แอลเอ็นจี จํากัด

PTTGL

PTT Green Energy Pte. Ltd.

PTTGE

บริษัท พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ รีซอร์สเซส จํากัด

PTTER

บริษัท ปตท.โกลบอล แมนเนจเม้นท์ จํากัด

PTTGM

PTT (Cambodia) Limited

PTTCL

บริษัท ปตท. น้ํามัน และการค้าปลีก จํากัด

PTTOR

บริษัท ไทยลู้บเบล็นดิ้ง จํากัด

TLBC

PTT Oil Myanmar Co., Ltd.

PTTOM

บริษัท พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล จํากัด

PTT TANK

ธุรกิจอื่น ๆ

ธุรกิจ โครงสร้าง พื้นฐาน

PTTGC

IRPC

PTT International Trading Pte. Ltd.

PTTT

PTT International Trading London Limited

PTTT LDN

บริษัท บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ จํากัด

พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

นายวิชัย อัศรัสกร

X

/

/

/

/

/

/

/

/

*/

x

x

/

/ x

x

x

/

/

/

/

/

x

/

/

/

*0 /

/

*0 /

/

0/

x

PTTRTC

x

BSA

/

บริษัท พีทีที ดิจิตอล โซลูชั่น จํากัด PTT DIGITAL

x

บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จํากัด (มหาชน)

GPSC

/

บริษัท เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ จํากัด

EnCo

บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จํากัด

TP

บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จํากัด

PTTES

นายสัมฤทธิ์ สําเนียง

นายเติมชัย บุนนาค

นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ

นายอธิคม เติบศิริ

นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์

นางสาวเพียงพนอ บุญกล่ํา

/

นายสมพร ว่องวุฒิพรชัย

นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ

นายวิทวัส สวัสดิ์-ชูโต

นางบุบผา อมรเกียรติขจร

นางสาวจิราพร ขาวสวัสดิ์

นายนพดล ปิ่นสุภา

นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์

นายกฤษณ์ อิ่มแสง

นางนิธิมา เทพวนังกูร

/ *0/ // // // // // // // // // // // // // // // // // // // //

นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร

/

นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์

/

นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต

นายสุพจน์ เตชวรสินสกุล***

/

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

นายธรรมยศ ศรีช่วย

/

นายดอน วสันตพฤกษ์

/

นายสมคิด เลิศไพฑูรย์

/

นายเชียรวิทย์ อุดมวัฒน์วงศ์

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 นางสาววิไลวรรณ กาญจนกันติ

8

นายสมชัย สัจพงษ์

7

นายธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์

6

นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

5

TOP

บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน)

PTT Regional Treasury Center Pte. Ltd.

4

PTTEP

บริษัท ปตท. จําหน่ายก๊าซ ธรรมชาติ จํากัด

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล ธุรกิจ จํากัด (มหาชน) ปิโตรเคมี และการกลั่น บริษัท ไทยออยล์ จํากัด (มหาชน)

ธุรกิจ การค้า ระหว่าง ประเทศ

PTT

3

พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์

บริษัท ปตท.จํากัด (มหาชน)

2

นายบุญทักษ์ หวังเจริญ**

รายชื่อบริษัท* (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560)

1

ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์

รายชื่อผูบริหารฯ

นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

การดํารงตําแหนงของผูบริหารและผูมีอํานาจควบคุมในบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัทยอย การรวมคา บริษัทรวม และบริษัทที่เกี่ยวของ ประจําป 2560

/

x

/

/

*0 /

/

x x


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

235

บริษัท ทรานส์ ไทย-มาเลเซีย (ประเทศไทย) จํากัด

TTM(T)

Trans Thai - Malaysia (Malaysia) Sdn. Bhd.

TTM(M)

บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จํากัด

THAPPLINE

บริษัท ปิโตรเอเซีย (ประเทศไทย) จํากัด

PAT

นายเชียรวิทย์ อุดมวัฒน์วงศ์

นายสัมฤทธิ์ สําเนียง

นางสาววิไลวรรณ กาญจนกันติ

นายเติมชัย บุนนาค

นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ

นายอธิคม เติบศิริ

นายสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์

นางสาวเพียงพนอ บุญกล่ํา

นายสมพร ว่องวุฒิพรชัย

นายอรรถวุฒิ วิกิตเศรษฐ

นายวิทวัส สวัสดิ์-ชูโต

นางบุบผา อมรเกียรติขจร

นางสาวจิราพร ขาวสวัสดิ์

นายนพดล ปิ่นสุภา

นายธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์

นางศรีวรรณ เอี่ยมรุ่งโรจน์

นายวิชัย อัศรัสกร

นายกฤษณ์ อิ่มแสง

นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค

นางนิธิมา เทพวนังกูร

นายชาญวิทย์ อมตะมาทุชาติ

นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร

พลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข

นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์

พลอากาศโท บุญสืบ ประสิทธิ์

นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

8

นายสุพจน์ เตชวรสินสกุล***

7

นายธรรมยศ ศรีช่วย

6

นายดอน วสันตพฤกษ์

5

นายสมคิด เลิศไพฑูรย์

4

นายสมชัย สัจพงษ์

3

นายสมศักดิ์ โชติรัตนะศิริ

2

นายบุญทักษ์ หวังเจริญ**

รายชื่อบริษัท* (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560)

1

ศ.พิเศษ ดร.กิตติพงษ์ กิตยารักษ์

รายชื่อผูบริหารฯ

นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

การดํารงตําแหน่งของผู้บริหารและผู้มีอํานาจควบคุมในบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัทย่อย การร่วมค้า บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้อง ประจําปี 2560

การร่วมค้า บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน

ธุรกิจก๊าซ

ธุรกิจน้ํามัน

บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบิน กรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

BAFS

บริษัท บริการน้ํามันอากาศยาน จํากัด

IPS

บริษัท ขนส่งน้ํามันทางท่อ จํากัด

FPT

Petro Asia (Maoming) Co., Ltd.

PA(Maoming)

Petro Asia (Sanshui) Co., Ltd.

PA(Sanshui)

บริษัท ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน)

TIP

/

ธุรกิจอื่น ๆ

ธุรกิจ โครงสร้าง พื้นฐาน

บริษัท สานพลัง วิสาหกิจ เพื่อสังคม จํากัด

SPSE

บริษัท ผลิตไฟฟ้าและน้ําเย็น จํากัด

DCAP

x

/

หมายเหตุ: •

สัญลักษณ์

รายชื่อผู้บริหารตามนิยาม ก.ล.ต. 4 รายแรก นับต่อจากประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ได้แก่ นายวิรัตน์ เอื้อนฤมิต, นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์, นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร

X = ประธานกรรมการ

– = รองประธาน

* = ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

O = กรรมการผู้จัดการใหญ่

/ = กรรมการ

และนางนิธิมา เทพวนังกูร * บริษัทมีการจัดประเภทบริษัทในเครือใหม่ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 10 เรื่องงบการเงินรวม ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 ** นายบุญทักษ์ หวังเจริญ ลาออกจากการเป็นกรรมการ มีผลตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2560 *** นายสุพจน์ เตชวรสินสกุล ดํารงตําแหน่งกรรมการอิสระ มีผลตั้งแต่วันที่ 18 มกราคม 2561

// = ผู้บริหาร


236

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รางวั ล แหงความภาคภูมิใจ ของคนไทย ดานความเปนเลิศ ในการดําเนินธุรกิจ

ปตท. ใหความสําคัญในการดําเนินธุรกิจอยางยั่งยืน ใสใจสังคม และรับผิดชอบ ตอสิ่งแวดลอม การดําเนินธุรกิจอยางมีธรรมาภิบาล เปดเผยขอมูลอยางโปรงใส รวมไปถึงการมุงมั่นในการสรางนวัตกรรมและการสงเสริมเทคโนโลยี อยางเปน รูปธรรมและตอเนื่อง โดยป 2560 ปตท. ไดรับรางวัล การจัดอันดับและการรับรอง ในดานตาง ๆ ทั้งระดับประเทศและระดับสากล จาก 42 สถาบัน รวม 54 รางวัล

รางวัลระดับสากล จาก 11 สถาบัน

ดานการดําเนินธุรกิจ อยางยั่งยืน

ดานการดําเนินธุรกิจ อยางมีธรรมาภิบาล และโปรงใส

รางวัลระดับประเทศ จาก 31 สถาบัน

17

37

รางวัล

รางวัล

ดานสรางนวัตกรรม และเทคโนโลยี

รางวัลพระราชทาน “Corporate Improvement Excellent Award” ในงาน Thailand Corporate Excellence Awards 2016

1 > > รับรางวัลเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2560

> ผูมอบรางวัล รางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จัดโดยสมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย ร่วมกับสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มอบให้กับองค์กรที่มีความเป็นเลิศในการพัฒนาด้านต่าง ๆ เพื่อยกระดับศักยภาพขององค์กร และ ปตท. ยังได้รับรางวัล “Distinguish Awards” ด้านอื่น ๆ อีกจํานวน 7 ด้าน ได้แก่ ความเป็นเลิศด้านการพัฒนาที่ยั่งยืน/ ความรับผิดชอบต่อสังคม ความเป็นเลิศด้านการบริหาร ทางการเงิน ความเป็นเลิศด้านการจัดการทรัพยากรบุคคล ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมและการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ความเป็นเลิศ ด้านผู้นํา ความเป็นเลิศด้านการตลาด ความเป็นเลิศด้านสินค้า/ การบริการ

รางวัลระดับสากล

รางวัลระดับประเทศ

ดานความเปนเลิศ ในการดําเนินธุรกิจ


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

237

รางวัลรัฐวิสาหกิจดีเดน หรือ SOE Award ประจําป 2560

2 > รับรางวัลเมื่อ

1. รางวัลรัฐวิสาหกิจยอดเยี่ยม ประจําปี 2560 (ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2) ถือเป็นรางวัลสูงสุด

18 สิงหาคม 2560

> ผูมอบรางวัล

ของรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น มอบให้กับรัฐวิสาหกิจที่มีความโดดเด่นทั้งคณะกรรมการ และการบริหารจัดการ และมีมาตรฐานในการดําเนินงานทุก ๆ ด้าน

กระทรวงการคลัง

2. รางวัลการเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใสดีเด่น (ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3) 3. รางวัลการดําเนินงานเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมดีเด่น จากโครงการ “พลังธรรมชาติ พลังงานสะอาดเพื่อชุมชน” (ตะบันน้ํา ปตท.) 4. รางวัลนวัตกรรมดีเด่น (ต่อเนื่องเป็นปีที่ 8) โดยได้รับรางวัลจากผลงาน “พลาสติกชีวภาพ

>

>

คอมพาวด์จากเยื่อกาแฟ” (Bioplastic compound-based silver skin of coffee: Bio SSCMB)

รางวัลสุดยอดแบรนดทรงพลังแหงประเทศไทย หรือ The Most Powerful Brands of Thailand 2016 ในประเภท Gas Station

4

รางวัล BrandAge Thailand’s Most Admired Brand 2017

3 > รับรางวัลเมื่อ 1 มีนาคม 2560

> ผูมอบรางวัล คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ได้รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 3)

> รับรางวัลเมื่อ 1 มีนาคม 2560

> ผูมอบรางวัล นิตยสาร BrandAge สถานีบริการน้ํามัน ปตท. ได้รับผลสํารวจความน่าเชื่อถือ เป็นอันดับที่ 1 เป็นปีที่ 14 ติดต่อกัน นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์หล่อลื่น ปตท. ได้รับผลสํารวจความน่าเชื่อถือ ให้เป็นที่ 1 ติดต่อกันเป็นปีที่ 8 อีกด้วย


238

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รางวัล The No. 1 Brand Thailand 2016 - 2017

5 > รับรางวัลเมื่อ พฤษภาคม 2560

> ผูมอบรางวัล นิตยสาร Marketeer มอบรางวัลจํานวน 3 รางวัลให้กับ 1. สถานีบริการน้ํามัน ปตท. (ได้รับรางวัลในหมวด Gas Station) 2. คาเฟ่อเมซอน (ได้รับรางวัลในหมวด Coffee Shop)

>

ซึ่งได้รับผลสํารวจความน่าเชื่อถือให้เป็นอันดับ 1 ติดต่อกันเป็นปีที่ 7

>

3. ผลิตภัณฑ์หล่อลื่น (ได้รับรางวัลในหมวด Engine Oil Car)

รางวัลผูประกอบธุรกิจสงออกดีเดน ประจําป 2560 (Prime Minister’s Export Award: PM Award 2017)

7

รางวัล 10 สุดยอดองคกรชั้นนํา ที่พนักงานไทยอยากรวมงาน มากที่สุดในป 2560

6 > รับรางวัลเมื่อ 30 สิงหาคม 2560

> ผูมอบรางวัล สํานักส่งเสริมนวัตกรรมและสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อการค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ประเภทรางวัล แบรนด์ไทยยอดเยี่ยม (Best Thai Brand) บริษัทขนาดใหญ่ โดยตราสินค้า ปตท. ที่ได้รับคือ PTT Lubricants

> รับรางวัลเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2560

> ผูมอบรางวัล บริษัท จ๊อบส์ ดีบี (ประเทศไทย) จํากัด


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รางวัลธุรกิจยานยนตยอดนิยม หรือ Thailand Automative Quality Award 2017 (TAQA Award 2017)

8

9

> รับรางวัลเมื่อ

239

รางวัล 2016 ATD Excellence in Practice Awards ในระดับ Honorable Mention Citation (รางวัลชมเชย) ในประเภท Career Development

> รับรางวัลเมื่อ

6 ธันวาคม 2560

พฤษภาคม 2560

> ผูมอบรางวัล

> ผูมอบรางวัล

สถาบันยานยนต์ บริษัท สื่อสากล จํากัด บริษัท คัสต้อม เอเซีย จํากัด และหนังสือพิมพ์ผู้จัดการ

The Association for Talent Development (ATD) โครงการ Young People to Globalization หรือ YP2G ของ ปตท.

(ได้รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 8) รับรางวัลในกลุ่มผลิตภัณฑ์

เป็นโครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อขึ้นสู่ระดับผู้บริหารที่มีความพร้อม

เกี่ยวเนื่องกับรถยนต์ ในด้านน้ํามันเชื้อเพลิงและสถานีบริการ

ในการไปปฏิบัติงานในต่างประเทศ และ/หรือ ภายในประเทศ

>

>

น้ํามันเชื้อเพลิง

10

รางวัล Asia Marketing Company of the Year 2017 หรือสุดยอดบริษัท การตลาดแหงเอเชีย ประจําป 2560

> ประกาศผลรางวัลเมื่อ มิถุนายน 2560 และรับรางวัลเมื่อเดือนกันยายน 2560

> ผูมอบรางวัล สมาพันธ์การตลาดแห่งเอเชีย (Asia Marketing Federation: AMF)

11

รางวัล Brand of the Year (National Tier 2017 - 2018)

> รับรางวัลเมื่อ 6 พฤศจิกายน 2560

> ผูมอบรางวัล World Branding Forum ในงาน The 2017 World Branding Awards Ceremony ที่จัดขึ้นเพื่อมอบรางวัลให้กับแบรนด์ชั้นนําจากทั่วโลก สถานีบริการน้ํามัน ปตท. และคาเฟ่อเมซอน ได้รับรางวัล Brand of the Year (National Tier 2017 - 2018) ในสาขา Petro/Gas Station category และ Retailer – Coffee category


240

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รางวัล EIA Monitoring Awards ให 19 โครงการของกลุม ปตท.

รางวัลรองชนะเลิศปฏิทิน “สุริยศศิธร” ประจําป 2560

2

1 > รับรางวัลเมื่อ

> รับรางวัลเมื่อ

6 มีนาคม 2560

19 มีนาคม 2560

> ผูมอบรางวัล

> ผูมอบรางวัล

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สมาคมนักประชาสัมพันธ์แห่งประเทศไทย ปฏิทินชุด “พลังความดี มีอยู่ในตัวเรา..ทุกคน” ของ ปตท.

3

รางวัลสุดยอด หุนขวัญใจมหาชน ประจําป 2559

> รับรางวัลเมื่อ 19 มีนาคม 2560

> ผูมอบรางวัล หนังสือพิมพ์ข่าวหุ้นธุรกิจ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

>

>

ได้รับรางวัลรองชนะเลิศประเภทจรรโลงสังคมและสภาวะแวดล้อมในปัจจุบัน

4

รางวัลประกาศเกียรติคุณ กิจกรรมการรณรงค ลดสถิติอุบัติเหตุจากการทํางาน ใหเปนศูนย ประจําป 2560 (Zero Accident Campaign 2017)

> รับรางวัลเมื่อ

5

รางวัลดีเดน ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอม ในการทํางานประจําป 2560

> รับรางวัลเมื่อ

28 มิถุนายน 2560

28 มิถุนายน 2560

> ผูมอบรางวัล

> ผูมอบรางวัล

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทํางาน (องค์การมหาชน)

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

และมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ได้รับ 2 รางวัล ได้แก่

คลังปิโตรเลียมสุราษฎร์ธานี สามารถ

(นับเป็นปีที่ 2 ที่ ปตท. ได้รับรางวัล

1. โรงแยกก๊าซธรรมชาติระยอง ได้รับรางวัลระดับทอง

คว้ารางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นฯ

สุดยอดหุ้นขวัญใจมหาชน

2. โรงแยกก๊าซธรรมชาติขนอม ได้รับรางวัลระดับเงิน

ระดับประเทศ ติดต่อกันยาวนานที่สุด

นับจากปี 2556)

ของประเทศถึง 21 ปี

รางวัลระดับสากล

รางวัลระดับประเทศ

ดานการดําเนินธุรกิจ อยางยั่งยืน


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รางวัลสถานประกอบกิจการตนแบบดีเดน ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน ประจําป 2560

6

241

รางวัลอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 5 (ระดับสูงสุด) หรือ “เครือขายสีเขียว”

7 > รับรางวัลเมื่อ

> รับรางวัลเมื่อ

25 สิงหาคม 2560

> ผูมอบรางวัล

11 กันยายน 2560

> ผูมอบรางวัล

กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน มอบให้กับคลังน้ํามัน ปตท. 18 แห่งทั่วประเทศและสํานักงานพระโขนง

กระทรวงอุตสาหกรรม มอบให้กับโรงแยกก๊าซธรรมชาติระยอง และโรงแยกก๊าซธรรมชาติขนอม

>

>

ในงาน Thailand Labour Management Excellence Award 2017

8

โลเกียรติยศและประกาศนียบัตรรับรองคารบอนเครดิต ในโครงการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจ ตามมาตรฐานของประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction Program: T-VER)

9

> รับรางวัลเมื่อ

ประกาศนียบัตร สถานประกอบ กิจการตนแบบดีเดน ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดลอม ในการทํางาน ประจําป 2560 (ระดับประเทศ)

19 กันยายน 2560

> ผูมอบรางวัล องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.) • โครงการวิจัยระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์แบบติดตั้งลอยน้ํา (Floating PV) ณ สระเก็บน้ํา พระราม 9 อันเนื่องมาจากพระราชดําริ โดย ปตท. และมูลนิธิชัยพัฒนา ได้รับโล่เกียรติยศ และการขึ้นทะเบียน T-VER ในสาขาพลังงานหมุนเวียน • โครงการผลิตก๊าซชีวภาพระดับชุมชนจากมูลสุกร (Biogas) ตําบลคําแคน โดย ปตท. และ อบต.คําแคน อําเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น ได้รับโล่เกียรติยศและประกาศนียบัตรรับรองคาร์บอนเครดิต • โครงการผลิตก๊าซชีวภาพระดับชุมชนจากมูลสุกร (Biogas) ตําบลท่ามะนาว โดย ปตท. และ อบต.ท่ามะนาว อําเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ได้รับประกาศนียบัตรรับรองคาร์บอนเครดิต • การดําเนินการด้านคาร์บอนฟุตพริ้นท์ผลิตภัณฑ์ (Carbon Footprint for Product: CFP) ของโรงแยกก๊าซฯ ระยอง จํานวน 7 ผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วย ก๊าซธรรมชาติ (Sales gas) อีเทน (Ethane) โพรเพน (Propane) เพนเทน (Pentane) ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) ก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL) และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon dioxide gas) ได้รับประกาศนียบัตรคาร์บอนฟุตพริ้นท์ผลิตภัณฑ์

> รับรางวัลเมื่อ 5 ตุลาคม 2560

> ผูมอบรางวัล กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน มอบให้กับโรงแยกก๊าซธรรมชาติขนอม (ได้รับรางวัลดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เป็นปีที่ 7 (ระดับเพชร))


242

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

10

รางวัล Thailand Sustainability Investment (THSI) 2017 หรือรางวัลหุนยั่งยืน

> ประกาศผลรางวัลเมื่อ

11

รางวัลชอสะอาดเกียรติยศ ประจําป 2560

> รับรางวัลเมื่อ

8 พฤศจิกายน 2560

17 พฤศจิกายน 2560

> ผูมอบรางวัล

> ผูมอบรางวัล

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Director: IOD) และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย (ตลท.) และวารสารการเงินธนาคาร

สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สํานักงาน ป.ป.ช.) มอบให้กับ รายการคนมันส์พันธุ์อาสา ซึ่ง ปตท. ได้ร่วมผลิตกับ

>

>

บริษัท ทีวีบูรพา จํากัด

รางวัลจากเวที Adman Awards 2017

13

รางวัลประกาศเกียรติคุณ องคกรสงเสริมอารยสถาปตย แหงป 2560

12 > รับรางวัลเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2560

> ผูมอบรางวัล สมาคมโฆษณาแห่งประเทศไทย

> รับรางวัลเมื่อ 1 ธันวาคม 2560

> ผูมอบรางวัล งานมหกรรมอารยสถาปัตย์และนวัตกรรมสุขภาพเพื่อคนทั้งมวล ครั้งที่ 2 (Thailand Friendly Design Expo 2017)

จํานวน 2 รางวัล 1. ผลงานโฆษณาชุด “ความซื่อสัตย์” ได้รับรางวัล Bronze Awards ในหมวด Film: Public Service Message & Cause Appeals 2. ภาพยนตร์สั้นเรื่อง “ยิ้มสู้” (Disable to Disable) ซึ่งเป็น

มอบให้ ปตท. ในโอกาสที่ ปตท. เป็นองค์กรส่งเสริมความร่วมมือ ในการออกแบบและสร้างสัญลักษณ์ Friendly Design จากงานมหกรรมอารยสถาปัตย์และนวัตกรรมสุขภาพเพื่อคนทั้งมวล

หนึ่งในภาพยนตร์สั้นชุด “เรื่องเล่าจากใจ 9 พลังความดีที่ยั่งยืน”

ครั้งที่ 2 (Thailand Friendly Design Expo 2017) อีกทั้ง

ได้รับรางวัล Bronze Awards ในหมวด Out of Home:

บูทนิทรรศการของ ปตท. ภายในงาน ยังได้รับรางวัลประเภท

GUERILLA MARKETING

“สุดยอดบูทดีเด่นแห่งปี 2560” อีกด้วย


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

14

243

รางวัล Sustainability Report Award 2017 หรือรางวัลรายงานความยั่งยืนประเภทดีเยี่ยม

> รับรางวัลเมื่อ 14 ธันวาคม 2560

> ผูมอบรางวัล

>

สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ร่วมกับสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย โดย CSR Club และสถาบันไทยพัฒน์

15

โครงการปาในกรุง ไดรับการตีพิมพ และไดรับเกียรติใหขึ้นปกนิตยสาร Landscape Architecture Magazine ฉบับเดือนพฤษภาคม 2560 ฉบับที่ 107

> ผูมอบรางวัล นิตยสาร Landscape Architecture Magazine

16

Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) 2017 ปตท. ไดรับคัดเลือกเปนสมาชิกในดัชนีความยั่งยืน ของดาวโจนส หรือ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) ตอเนื่องเปนปที่ 6

> รับรางวัลเมื่อ 11 กันยายน 2560

> ผูมอบรางวัล Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) ปตท. ได้รับคัดเลือกเป็นสมาชิกในดัชนีความยั่งยืนของดาวโจนส์ หรือ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) ต่อเนื่องเป็นปีที่ 6 ซึ่งปีนี้ เป็นปีแรกที่ ปตท. ได้รับคะแนนสูงสุดเป็น Industry Leader ในกลุ่ม Oil & Gas Upstream & Integrated (OGX) DJSI เป็นกลุ่มดัชนีประเมินประสิทธิผลการดําเนินธุรกิจตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ได้รับการยอมรับในระดับโลก โดยเฉพาะ เรื่องของความยั่งยืนและธรรมาภิบาล จัดทําขึ้นด้วยความร่วมมือ ของ S&P Dow Jones Indices และ RobecoSAM


244

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รางวัลชมเชยองคกรโปรงใส จากสํานักงาน ป.ป.ช.

1 > รับรางวัลเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2560

> ผูมอบรางวัล สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สํานักงาน ป.ป.ช.) เกิดจากความมุ่งมั่นของผู้บริหารและพนักงานในการร่วมกันพัฒนาการดําเนินงานและกลไกป้องกัน

2

รางวัล “ผูทําคุณประโยชนดีเดนดานทรัพยากรมนุษย” (Human Resource Excellence Award) มอบใหกับ นายเทวินทร วงศวานิช ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ ปตท.

>

>

>

การต่อต้านทุจริตรอบด้าน สร้างวัฒนธรรมในองค์กรที่ไม่ทนต่อการคอร์รัปชันทุกรูปแบบ (Zero Tolerance)

3

รางวัล “รัฐวิสาหกิจที่มีการพัฒนาสูความเปนเลิศ ดานการขับเคลื่อนแผนงานยกระดับคุณธรรม และความโปรงใสในการดําเนินงาน” ประเภทดีเลิศ ประจําป 2560

> รับรางวัลเมื่อ 18 กันยายน 2560

> รับรางวัลเมื่อ 28 มิถุนายน 2560

> ผูมอบรางวัล

> ผูมอบรางวัล สํานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)

สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประกอบด้วย • แผนงานยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงาน ด้านวัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร: Integrity Culture • แผนงานยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงาน ด้านคุณธรรมการทํางานในหน่วยงาน: Work Integrity

รางวัลระดับสากล

รางวัลระดับประเทศ

ดานการดําเนินธุรกิจ อยางมีธรรมาภิบาลและโปรงใส


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

4

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

Excellent CG Scoring Company 2017

245

รางวัลยอดเยี่ยมเอเชียประจําป 2560 (Asian Excellence Awards 2017)

5 > รับรางวัลเมื่อ

> รับรางวัลเมื่อ

17 ตุลาคม 2560

9 มิถุนายน 2560

> ผูมอบรางวัล

> ผูมอบรางวัล

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Director: IOD) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.)

นิตยสาร Corporate Governance Asia ได้รับ 2 รางวัล ได้แก่

ปตท. ได้รับผลการประเมินในการจัดอันดับอยู่ในระดับดีเลิศ

• ประเภทบุคคล: ผู้นําองค์กรยอดเยี่ยมในเอเชียแห่งปี

(Excellent CG Scoring) หรือ 5 ตราสัญลักษณ์ ติดต่อกันเป็นปีที่ 9

(Asia’s Best CEO) มอบให้กับ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช

และติดหนึ่งใน TOP Quartile ของบริษัทจดทะเบียนที่มีมูลค่าทางตลาด

• ประเภทองค์กร: นักลงทุนสัมพันธ์ยอดเยี่ยม

ไม่น้อยกว่า 10,000 ล้านบาท ในโครงการสํารวจการกํากับดูแลกิจการ

(Best Investor Relations Company)

>

บริษัทจดทะเบียน (Corporate Governance Report: CGR) ประจําปี 2560

รางวัลจากนิตยสาร Alpha Southeast Asia ประจําป 2017

7

รางวัลจากนิตยสาร The Asset

6 > รับรางวัลเมื่อ 13 กันยายน 2560

> ผูมอบรางวัล นิตยสาร Alpha Southeast Asia

> รับรางวัลเมื่อ 13 ธันวาคม 2560

> ผูมอบรางวัล นิตยสาร The Asset

ปตท. ได้รับรางวัลดีเด่น 3 ด้าน ได้แก่

จํานวน 4 รางวัล ดังนี้

1. Most Consistent Dividend Policy

• The Asset Corporate Award – Platinum Award, 2017 (ต่อเนื่องเป็นปีที่ 9)

2. Strongest Adherence to Corporate Governance

• Best Chief Executive Officer Award – Tevin Vongvanich (ต่อเนื่องเป็นปีที่ 9)

3. Best Strategic Corporate Social Responsibility

• Best Initiatives in Innovation for BioSSCMB (Bio Silver Skin of Coffee Masterbatch) (ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2) • Best Initiatives in Diversity and Inclusion for Ensuring Women in Leadership (ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2)


246

รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

รางวัล Drive Award 2017 - Marketing Excellence

1 > รับรางวัลเมื่อ 3 กรกฎาคม 2560

> ผูมอบรางวัล สมาคมนิสิตเก่าเอ็มบีเอ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รางวัลยอดเยี่ยมสาขาการตลาด (Marketing Excellence)

>

>

จากความสําเร็จทางด้านการตลาด

2

รางวัลบริการภาครัฐแหงชาติ ประจําป 2560 ดานนวัตกรรม การบริการ ระดับดี

รางวัล Adman Awards 2017

3

4

รางวัลการตลาดยอดเยี่ยม MAT Award 2017 ระดับ Silver ในประเภทผลงาน Industrial: Chemical

> รับรางวัลเมื่อ > รับรางวัลเมื่อ 11 กันยายน 2560

> ผูมอบรางวัล

พฤศจิกายน 2560

> ผูมอบรางวัล สมาคมโฆษณาแห่งประเทศไทย

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

> รับรางวัลเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2560

Texas Chicken รับรางวัล Silver Awards มอบให้กับ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ประเภท Promo & Activation

หน่วยงานส่วนตลาดและบริการลูกค้า

(Product Launch) จากแคมเปญ Kosanaarai

ฝ่ายตลาดก๊าซธรรมชาติสําหรับยานยนต์

(โฆษณาอะไร?)

> ผูมอบรางวัล สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย ภายใต้แคมเปญ “What is your Challenge?”

ในผลงาน Mobile Application for NGV Station

หรือ “จิตวิญญาณที่ท้าทายไม่ได้มีไว้แค่ เพื่อตัวเอง”

รางวัลระดับสากล

รางวัลระดับประเทศ

ดานสรางนวัตกรรม และเทคโนโลยี


รายงานประจําปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

5

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจของคนไทย

247

รางวัลเหรียญทองและเหรียญรางวัลพิเศษ Association of Polish Investors and Rationalizers

รางวัลชมเชย Thailand HR Innovation Award 2017 จากผลงานโครงการสวัสดิการถูกใจ

6 > รับรางวัลเมื่อ

> รับรางวัลเมื่อ

22 พฤศจิกายน 2560

เมษายน 2560

> ผูมอบรางวัล

> ผูมอบรางวัล

สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย ร่วมกับสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ และคณะพัฒนา

สมาพันธ์นักประดิษฐ์แห่งโปแลนด์

ทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

จากผลงานวิจัย Bio Silver Skin of Coffee Masterbatch (Bio SSCMB พลาสติกชีวภาพคอมพาวน์พัฒนาจากเยื่อกาแฟ

>

>

ที่ได้จากโรงคั่วกาแฟอเมซอน)

รางวัล The Best Paper Awards

8

รางวัล “International Convention on Quality Control Circles 2017” ระดับ Gold Award (สูงสุด)

7 > รับรางวัลเมื่อ 20 - 21 กันยายน 2560

> ผูมอบรางวัล 15th Asian Network For Quality Congress

> รับรางวัลเมื่อ 24 - 26 ตุลาคม 2560

> ผูมอบรางวัล เวทีนานานาชาติ ICQCC 2017

จากผลงาน Carbon Credits on Approach

โครงการ PIC Project (Productivity Improvement Circle: PIC)

Towards Sustainability in PTT Gas BU

จํานวน 3 โครงการของ ปตท. ได้รับรางวัล “International Convention

บนเวที ANQ Congress 2017 ที่ประเทศเนปาล

on Quality Control Circles 2017” ระดับ Gold Award (สูงสุด) จากเวทีนานานาชาติ ICQCC 2017 ที่ประเทศฟิลิปปินส์




ด้านนอก 4 สี

ที่นำ�มาผลิตใหม่ (Recycled Paper) และหมึกพิมพ์ที่ทำ�จากถั่วเหลือง (Soy-based Ink)

รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

รายงานฉบับนี้จัดพิมพ์โดยกระดาษใช้แล้ว

สัน 0.5 นิ้ว

รูปเล่ม 8.25x11.75 นิ้ว

รายงานประจำ�ปี 2560 บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

SUSTAINABLE

GROWTH

F R ALL ร่วมสร้างคุณค่าสู่ความยั่งยืน

555 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-2537-2000 www.pttplc.com

ร่วมสร้างคุณค่าสู่ความยั่งยืน ร่วมสร้างคุณค่าสู่ความยั่งยืน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.