พลังไฟฟาเพื่อทุกคน สองสวางสูความยั่งยืน
TH
EN
ดูออนไลน์
จีน
236.00 M W
สปป.ลาว
1,125.32 M W
ไทย
5,211.20 M W
รายงานประจําป
2561
ฐ า น ก า ร ล ง ทุ น
ภู มิ ภ า ค เ อ เ ชี ย แ ป ซิ ฟ ก
อินโดนีเซีย
193.05 M W
ออสเตรเลีย
873.55 M W
ส ร้ า ง
มู ล ค่ า เ พิ่ ม
เงิ น ปั น ผลต่ อ หุ ้ น
ก� ำ ไรต่ อ หุ ้ น 2561
3. 8 5 บาท
(บาท)
2.35
2.40
2.40*
2559
2560
2561
* เ สนอเพื่ อ พิ จ ารณาในการประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี 2562
อั ต ราการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลต่ อ ก� ำ ไร
62. 28 %
ส ร้ า ง
ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ
การประเมิ น ผลจากการส� ำ รวจการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การ บริ ษั ท จดทะเบี ย นประจ� ำ ปี 2561 ที่ ร ะดั บ ดี เ ลิ ศ คะแนน เฉลี่ ย
94%
สูงกว่าคะแนนเฉลี่ ย ของบริ ษั ท จดทะเบี ย นโดยรวมที่
81%
รางวั ล หุ ้ น ยั่ ง ยื น ประจ� ำ ปี 2561 ต่ อ เนื่ อ งเป็ น ปี ที่ 4
รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ
สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม โครงการคนรั ก ษ์ ป ่ า ป่ า รั ก ชุ ม ชน ปี 2561 มี ชุ ม ชน สมั ค รเข้ า ร่ ว ม
1,171 เพิ่ ม ขึ้ น จากปี ก ่ อ น
แห่ ง
11.74%
กิ จ กรรมจิ ต อาสา ผู ้ บ ริ ห ารและ พนั ก งานเข้ า ร่ ว ม
157คน
คิ ด เป็ น จ� ำ นวน วั น เข้ า ร่ ว ม
739 คน-วัน
ส ร้ า ง
ก า ร ต ร ะ ห นั ก รู้
การอบรมพั ฒ นาบุ ค ลากร ทั้ ง ระดั บ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน คิ ด เป็ น อั ต รา
96.68%
ของจ� ำ นวน บุ ค ลากรทั้ ง หมด
ส นั บ ส นุ น ค ว า ม มั่ น ค ง
ด้ า น พ ลั ง ง า น แ ล ะ ร ะ บ บ ส า ธ า ร ณู ป โ ภ ค พื้ น ฐ า น
ก� ำ ลั ง การผลิ ต ติ ด ตั้ ง ตามสั ด ส่ ว นของบริ ษั ท
7 ,6 3 9 . 1 2 เมกะวั ต ต์
236.00 เมกะวั ต ต์
1,125.32 เมกะวั ต ต์
193.05 5,211.20 เมกะวั ต ต์
เมกะวั ต ต์
873.55 เมกะวั ต ต์
แสวงหาโอกาส
แ ล ะ ท า ง เ ลื อ ก ใ ห ม่
เป้ า หมายระยะยาว ที่ จ ะเพิ่ ม ก� ำ ลั ง การผลิ ต เป็ น
10 , 0 0 0
เมกะวั ต ต์
ภายในป
2566
ี
ลงทุ น ในโครงการ น�้ ำ ประปาแสนดิ น ในสั ด ส่ ว น
40%
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
008
วิสัยทัศน์ :
เป้าหมาย :
เป็นบริษัทชั้นน�ำด้านพลังงาน และระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ที่มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
พันธกิจ : M1 M2 M3
รักษาสัดสวนรายได
10,000 50
จากในประเทศไมนอยกวารอยละ
เมกะวัตตหรือเทียบเทา
เพิ่มมูลคากิจการ เปน 2 แสนลานบาทในป 2566
ของรายไดรวมทั้งหมด
เพิ ่ ม กำลั ง การผลิ ต ใน
Renewable
สร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผู้ถือหุ้น โดยเน้นการสร้างผลตอบแทนทางการเงินสูงสุดอย่างต่อเนือ่ ง มุ่งเน้นการสร้างความเป็นเลิศในการด�ำเนินงาน และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ด�ำเนินธุรกิจอย่างเป็นธรรมและยัง่ ยืน และปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด M4 สร้างการตระหนักรูแ้ ละความกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเอง ของพนักงาน เพื่อเตรียมความพร้อมส�ำหรับการแข่งขัน ทางธุรกิจในอนาคต M5 สนับสนุนความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้า และระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานของประเทศไทย M6 แสวงหาโอกาสและทางเลือกใหม่ในธุรกิจเกี่ยวเนื่องอื่นๆ เพื่อสร้างการเติบโตและขยายฐานธุรกิจให้กับผู้ถือหุ้น
ค่านิยมร่วม :
เพิ่มกำลังการผลิตเปน
ไม น อ ยกว า ร อ ยละ
20
ของกำลังผลิตรวมของบริษัท ทั้งในประเทศและตางประเทศ
เปนองคกรที่บริหาร
ดวยหลักการ High Performance
Organization
กลยุทธ์การด�ำเนินธุรกิจ : S1 บริหารสินทรัพย์ที่มีอยู่เดิมให้ได้เต็มประสิทธิภาพ S2 มุ่งเน้นพัฒนาโครงการด้านพลังงาน และระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในตลาดที่มีธุรกิจอยู่แล้ว S3 แสวงหาพันธมิตรเพื่อขยายการลงทุนโครงการด้านพลังงาน และระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในตลาดใหม่ S4 สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม โดยขยายการลงทุ น สู ่ ธุ ร กิ จ เกี่ ย วเนื่ อ ง และธุรกิจอืน่ ๆ S5 เสริมสร้างขีดความสามารถภายในองค์กร
วิเคราะหโอกาสทางธุรกิจใหมๆ ตอบสนองอยางรวดเร็วตอการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และกลาคิด กลาทำ และพัฒนาตอยอดเพื่อสิ่งที่ดีกวา
แสดงทักษะและความสามารถเต็มที่ อยางเปนมืออาชีพดวยความเปนเลิศ และยึดมั่นในความถูกตองและธรรมาภิบาล
แสดงตนเปนผูนำและผูตามที่ดีตามบทบาทหนาที่ ในการทำงานรวมกันกับผูที่เกี่ยวของ ทั้งภายในและภายนอกองคกร
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
009
สารบัญ
010
สารจากประธานกรรมการ
058
ปัจจัยความเสี่ยง
013
รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 อันดับแรก
062
รายงานคณะกรรมการ
014
ข้อมูลทั่วไปของบริษัท
016
โครงสร้างการจัดการ
ค�ำนิยาม
064
018
รายงานคณะกรรมการธรรมาภิบาล
คณะกรรมการบริษัท
092
022
คณะผู้บริหารและเลขานุการบริษัท
094
การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
024
รายงานความรับผิดชอบ
122
ความรับผิดชอบต่อสังคม
128
การควบคุมภายใน
ของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน
ทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน
และความรับผิดชอบต่อสังคม
และสิ่งแวดล้อม
025
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ
027
ภาพรวมทางการเงิน
134
รายการระหว่างกัน
029
ผลการด�ำเนินงาน
142
รายงานผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
148
งบการเงิน
280
ค�ำอธิบายรายการ
041
และการเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญ รายงานคณะกรรมการ กลั่นกรองการลงทุน
และการบริหารจัดการความเสี่ยง
และวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน
042
โครงสร้างการถือหุ้นกลุ่มบริษัท
และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
044
โครงสร้างรายได้
296
ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี
049
และค่าบริการอื่น
นโยบายการจ่ายเงินปันผล
050
ประวัติกรรมการบริษัท
รายงานคณะกรรมการ
297
บริหารความเสีย ่ ง
310
ประวัติผู้บริหาร
052
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
321
ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มบริษัท
055
ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
010
สารจากประธานกรรมการ
ปี 2561 ก้าวสู่ปีที่ 18 ทีบ ่ ริษท ั ประสบผลส�ำเร็จ ในการด�ำเนินธุรกิจด้านพลังงาน อย่างแข็งแกร่ง เพื่อมุ่งหน้า สูก ่ ารเป็นบริษท ั ชัน ้ น�ำด้านพลังงาน และระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ที่ให้ความส�ำคัญกับการสร้างมูลค่า ในภูมภ ิ าคเอเชียแปซิฟก ิ
(นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์) ประธานกรรมการ
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
011
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียทุกท่าน ปี 2561 ก้าวสู่ปีที่ 18 ที่บริษัทประสบผลส�ำเร็จในการ ด�ำเนินธุรกิจด้านพลังงานอย่างแข็งแกร่ง และเป็นก้าวเดินทีบ่ ริษทั ยั ง คงมุ ่ ง พั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งขี ด ความสามารถทั้ ง ภายใน และภายนอกองค์กร เพือ่ มุง่ หน้าสูก่ ารเป็นบริษทั ชัน้ น�ำด้านพลังงาน และระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐานทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับการสร้างมูลค่า ในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก ภายใต้ ก ลยุ ท ธ์ ก ารด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ที่เน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มต่อกิจการโดยการบริหารสินทรัพย์ ที่มีอยู่ให้ได้เต็มประสิทธิภาพ พัฒนา และแสวงหาพันธมิตร เพื่อขยายการลงทุนด้านพลังงาน ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน และธุรกิจเกีย่ วเนือ่ งอืน่ ๆ เพือ่ สร้างการเติบโตและผลตอบแทนให้แก่ ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกภาคส่วนอย่างเป็นธรรม บริษทั ยังคง ยึดมัน่ การด�ำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม และการปฏิ บั ติ ต ามกฎระเบี ย บและกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อย่างเคร่งครัด เพื่อให้สอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติที่จะขับเคลื่อน ประเทศไปสู่ “ความมัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน” และการเร่งปรับตัว เพื่อก้าวให้ทันและสามารถเติบโตท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี (Disruptive Technology) จึงมี การทบทวนกลยุทธ์ ทิศทางธุรกิจ และการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของบริ ษั ท รวมถึ ง การแสวงหาโอกาสและทางเลื อ กใหม่ ด้านธุรกิจพลังงาน และระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน มีการพัฒนา ปรับปรุงขีดความสามารถเพือ่ ก้าวขึน้ สูก่ ารเป็นองค์กรสมรรถนะสูง (High Performance Organization) และมีการศึกษาความเป็นไปได้ ในการลงทุนในธุรกิจทีเ่ ป็น New S-Curve ทีเ่ ชือ่ มโยงกับนวัตกรรม และเป็นโอกาสสร้างการเติบโตและขยายฐานธุรกิจในอนาคต การบริหารและด�ำเนินงานของบริษัทยึดหลักธรรมาภิบาลและ ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งบริษัทเชื่อมั่นว่า จะเป็นฐานรากที่แข็งแกร่งของการพัฒนาที่ยั่งยืน ในปี 2561 บริษัทบรรลุผลส�ำเร็จจากการเข้าลงทุนและ พัฒนาโครงการต่างๆ ด้านพลังงาน โดยได้เข้าซื้อหุ้นส่วนที่เหลือ ทั้งหมดร้อยละ 20 จาก Broadspectrum Pty Limited ผู้ถือหุ้นเดิม ท�ำให้สัดส่วนการลงทุนในบริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 80 เป็นร้อยละ 100 เมือ่ เดือนพฤษภาคม 2561 รวมทัง้ มีโรงไฟฟ้าและธุรกิจเกีย่ วเนือ่ ง ที่สามารถให้บริการเชิงพาณิชย์ที่ส�ำคัญเพิ่มเติม ได้แก่ โรงไฟฟ้า
ในปี 2561
บริษัทมีโรงไฟฟ้าที่เดินเครื่องผลิตกระแสไฟฟ้า เชิงพาณิชย์แล้วรวมทัง ้ สิน ้ กว่า 6,863.25 เมกะวัตต์เทียบเท่า
พลั ง น�้ ำ อาซาฮาน-1 ในสาธารณรั ฐ อิ น โดนี เ ซี ย โรงไฟฟ้ า พลังงานลม Mount Emerald การเสริมการให้บริการกูค้ นื ระบบ โรงไฟฟ้า Kemerton ในเครือรัฐออสเตรเลีย และการเข้าร่วม ด�ำเนินธุรกิจผลิตน�้ำประปาแสนดิน ในสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ส่งผลให้ปี 2561 บริษัทมีโรงไฟฟ้าที่เดินเครื่อง ผลิตกระแสไฟฟ้าเชิงพาณิชย์แล้วรวมทัง้ สิน้ 6,863.25 เมกะวัตต์ เทียบเท่า ประกอบด้วย 1) โรงไฟฟ้าในประเทศ ได้แก่ โรงไฟฟ้า ราชบุร ี โรงไฟฟ้าไตรเอนเนอจี้ โรงไฟฟ้าราชบุรเี พาเวอร์ โรงไฟฟ้า ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กราชบุรีเวอลด์ โรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก นวนคร โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โซลาร์ตา้ โรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์โซล่าเพาเวอร์โคราช 3, 4 และ 7 โรงไฟฟ้าพลังงานลม ห้วยบง 2 และ 3 โรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลสงขลาไบโอแมส 2) โรงไฟฟ้าในต่างประเทศ ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสา และโรงไฟฟ้าพลังน�้ำ-น�้ำงึม 2 ใน สปป.ลาว และโรงไฟฟ้า พลังความร้อนและพลังงานลมในเครือรัฐออสเตรเลีย นอกจากนี้ บริษทั ยังมีธรุ กิจเกีย่ วเนือ่ งอืน่ ๆ อาทิ ธุรกิจให้บริการงานเดินเครือ่ ง และบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า โดยบริษทั ชูบรุ าชบุรี อีเลคทริคเซอร์วสิ จ�ำกัด และบริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด ปัจจุบันบริษัทมีโครงการโรงไฟฟ้าและธุรกิจเกี่ยวเนื่อง ทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้างและพัฒนา ซึง่ คิดเป็นก�ำลังการผลิตติดตัง้ รวมทั้ ง สิ้ น 775.87 เมกะวั ต ต์ เ ที ย บเท่ า โดยมี โ ครงการ ที่คาดว่าจะเริ่มทยอยเดินเครื่องเชิงพาณิชย์และสร้างรายได้ ให้แก่บริษัทอย่างต่อเนื่องดังนี้ ปี 2562 จ�ำนวน 3 โครงการ คือ โครงการโรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กเบิกไพรโคเจนเนอเรชั่น จังหวัดราชบุรี โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Collinsville ในเครือรัฐออสเตรเลีย และโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำ เซเปียนเซน�ำ้ น้อย ใน สปป.ลาว ปี 2563 จ�ำนวน 1 โครงการ ได้แก่ โรงไฟฟ้าผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กนวนคร (ส่วนขยาย) จังหวัดปทุมธานี และปี 2564 จ�ำนวน 4 โครงการ ประกอบด้วย โครงการโรงไฟฟ้า พลังงานนิวเคลียร์ Fangchenggang II ในสาธารณรัฐประชาชนจีน โครงการโรงไฟฟ้ า พลั ง ความร้ อ นร่ ว ม Riau ในสาธารณรั ฐ อินโดนีเซีย โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู (ช่วงแคราย-มีนบุรี) และโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง (ช่วงลาดพร้าว-ส�ำโรง)
ปัจจุบน ั บริษท ั ยังมีธรุ กิจเกีย ่ วเนือ ่ ง ซึง ่ คิดเป็นก�ำลังการผลิตติดตัง ้ รวมทัง ้ สิน ้
775.87
เมกะวัตต์ เทียบเท่า
012
อย่ า งไรก็ ต าม เมื่ อ กลางปี 2561 บริษัทมีความเสียใจ เป็นอย่างยิ่งต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำ เซเปียน-เซน�ำ้ น้อย ใน สปป.ลาว ทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้างได้เกิด กรณีสันเขื่อนดินย่อยกั้นช่องเขาส่วน D ที่สร้างขึ้นเพื่อเสริม การกัน้ น�ำ้ รอบอ่างเก็บน�ำ้ เซน�ำ้ น้อยของโครงการ ได้เกิดรอยร้าว และมีมวลน�้ำจ�ำนวนมากไหลออกบริเวณพื้นที่ท้ายเขื่อนลงสู่ ล�ำน�้ำเซเปียนออกไปประมาณ 5 กิ โ ลเมตร ส่ ง ผลกระทบ ต่ อ ประชาชนในชุ ม ชนและพื้ น ที่ โ ดยรอบบริ เ วณท้ า ย ล� ำ น�้ ำ เซเปี ย นที่ เ ชื่ อ มต่ อ ล� ำ น�้ ำ เซกอง ในเบื้ อ งต้ น บริ ษั ท ร่วมกับผูเ้ กีย่ วข้องทุกภาคส่วนมอบความช่วยเหลือทีจ่ ำ� เป็นเร่งด่วน เพื่ อ บรรเทาความเดื อ ดร้ อ นแก่ ป ระชาชนและครอบครั ว ของผูไ้ ด้รบั ผลกระทบ นอกจากนี้ ผูบ้ ริหารระดับสูงและพนักงาน จิ ต อาสาของบริ ษั ท ได้ เ ดิ น ทางลงไปในพื้ น ที่ เ พื่ อ ให้ ก� ำ ลั ง ใจ และให้ความช่วยเหลือด้านต่างๆ เพิม่ เติมโดยทันที อาทิ การจัดตัง้ โรงครัวเพื่อท�ำอาหารมอบแก่ผู้ประสบภัยและเจ้าหน้าที่ รวมทัง้ ประสานงานกับทางการของ สปป.ลาว เกี่ยวกับความต้องการ ความช่วยเหลือที่จ�ำเป็นเร่งด่วนเพิ่มเติม ส�ำหรับสาเหตุของ เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น อยู ่ ร ะหว่ า งการสอบสวนข้ อ เท็ จ จริ ง โดยคณะกรรมการที่ รั ฐ บาล สปป.ลาว เป็ น ผู ้ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ในส่วนของโครงการได้มีการประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ ของ สปป.ลาว ที่รับผิดชอบโดยตรงเพื่อพิจารณาแผนฟื้นฟู ทั้งด้านเทคนิค สังคม และสิ่งแวดล้อม ร่วมกันอย่างใกล้ชิด ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี 2561 บริษทั ยังคงสร้างผลก�ำไร ได้อย่างน่าพอใจต่อเนื่อง โดยบริษัทและบริษัทย่อย มีรายได้ รวมทั้งสิ้น 45,083.54 ล้านบาท และมีก�ำไรส�ำหรับปีเป็นจ�ำนวน 5,587.60 ล้านบาท ซึ่งลดลงจากปีที่ผา่ นมา 450.95 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 7.50 เนือ่ งจากผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ น แต่สิ่งหนึ่งที่สะท้อนให้เห็นถึงสถานะการเงินที่แข็งแกร่ง ได้แก่ การได้รบั การประกาศคงอันดับเครดิตความน่าเชือ่ ถือของบริษทั ที่ระดับ AAA, BBB+ และ Baa1 โดย TRIS Rating, S&P Global Ratings และ Moody’s Investors Service ตามล�ำดับ ซึง่ เป็นเครดิตความน่าเชือ่ ถือเทียบเท่าอันดับเครดิตของประเทศ ด้านการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี บริษทั ยังคงยึดมัน่ ในหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง โดยค�ำนึงถึงการสร้างคุณค่า ให้แก่กิจการอย่างยั่งยืน ประกอบธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม รวมถึงมีคณ ุ ธรรม จริยธรรม ซือ่ สัตย์ โปร่งใส ไม่คอร์รัปชั่น และปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียม โดยสะท้ อ นให้ เ ห็ น ได้ จ ากการประกาศผลการประเมิ น การก�ำกับดูแลกิจการตามโครงการส�ำรวจการก�ำกับดูแลกิจการ บริษทั จดทะเบียนไทย ประจ�ำปี 2561 ทีจ่ ดั ท�ำโดยตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
บริ ษั ท ไทย ซึ่ ง บริ ษั ท ได้ รั บ การประเมิ น ที่ ร ะดั บ “ดี เ ลิ ศ ” มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับร้อยละ 94 ซึ่งสูงกว่าคะแนนเฉลี่ย ของบริษัทจดทะเบียนโดยรวมที่ร้อยละ 81 และได้รับรางวัล รายงานความยัง่ ยืน “ดีเยีย่ ม” ประจ�ำปี 2561 ต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 6 จากการพิจารณาของ CSR Club สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย ร่วมกับ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และสถาบันไทยพัฒน์ รางวัลหุ้นยั่งยืน ประจ�ำปี 2561 ต่อเนื่อง เป็ น ปี ที่ 4 จากตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย รางวั ล บูธยอดเยี่ยมในการน�ำเสนอข้อมูลและบริการแก่ผู้เข้าชมงาน ในงาน “มหกรรมการลงทุนครบวงจรแห่งปี SET in the City กรุงเทพมหานคร 2018” อีกทัง้ ยังได้รบั การประเมินผลโครงการ ประเมินส�ำนักงานสีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปี 2561 ระดับ “ดีเยีย่ ม” (ทอง) ต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 4 จากกรมส่งเสริมคุณภาพ สิง่ แวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม อีกด้วย การดู แ ลสั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม บริ ษั ท ยั ง คงยึ ด มั่ น ด�ำเนินธุรกิจอย่างเป็นธรรมด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม และ สิ่ ง แวดล้ อ มในทุ ก มิ ติ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งและสอดคล้ อ งกั บ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ผ่านโครงการและกิจกรรมต่างๆ อาทิ โครงการคนรักษ์ปา่ ป่ารักชุมชน โครงการศึกษาการกักเก็บคาร์บอน และความหลากหลายทางชีวภาพในป่าชุมชนอย่างมีส่วนร่วม โครงการพลังงานชุมชน โครงการ @CareLine เครือข่ายปันสุข โครงการสุขสูงวัย สร้างไทยแข็งแรง โครงการภุมรี พลังสตรี... พลังรักษ์สิ่งแวดล้อม กิจกรรมพนักงานจิตอาสา และโครงการ การศึกษาเสริมทักษะสร้างอาชีพใน สปป.ลาว เป็นต้น ซึง่ โครงการ ต่างๆ เหล่านี้ล้ว นแต่จัดท�ำขึ้นเพื่อ การมีส่ว นร่ว มในการแก้ หรือบรรเทาปัญหาในด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมในมิติต่างๆ อาทิ การอนุรักษ์พลังงาน การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ การสนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม ป่ า ชุ ม ชนเพื่ อ รั ก ษาแหล่ ง กั ก เก็ บ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทางธรรมชาติ และลดภาวะโลกร้อน การส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงวัย และการเสริมสร้างความพร้อม ในการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพแก่เด็กและเยาวชน รวมถึง การปลูกฝังให้พนักงานมีจิตส�ำนึกการแบ่งปันและการท�ำงาน เพื่ อ สาธารณประโยชน์ ต อบแทนสั ง คมในฐานะพลเมื อ งที่ ดี ของประเทศอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น ในนามของคณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ที่ได้ให้ การสนับสนุนการด�ำเนินกิจการของบริษัทด้วยดีเสมอมา และ บริษทั เชือ่ มัน่ ว่า การด�ำเนินธุรกิจตามแนวทางการบริหารจัดการ ภายใต้แผนกลยุทธ์ที่ได้วางไว้ จะสามารถพัฒนาและน�ำพา บริ ษั ท ให้ เ ติ บ โตเป็ น บริ ษั ท ชั้ น น� ำ ด้ า นพลั ง งาน และระบบ สาธารณูปโภคพืน้ ฐานทีม่ ง่ ุ เน้นการสร้างมูลค่าในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ได้ตามเป้าหมายต่อไป
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
013
รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 อันดับแรก ณ วันที่ 6 กันยายน 2561 (Record Date) ลำ�ดับที่
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ผู้ถือหุ้น
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด สหกรณ์ออมทรัพย์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จำ�กัด สำ�นักงานประกันสังคม SOUTH EAST ASIA UK (TYPE C) NOMINEES LIMITED AIA COMPANY LIMITED - EQ3-P STATE STREET EUROPE LIMITED นายมิน เธียรวร กองทุนส่วนบุคคล สหกรณ์ออมทรัพย์การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จ�ำกัด โดย บลจ. กรุงไทย จ�ำกัด 2 ธนาคารธนชาต จำ�กัด (มหาชน) รวม ผู้ถือหุ้นอื่นๆ จำ�นวนหุ้นทั้งสิ้น
จำ�นวนหุ้น
ร้อยละ
652,500,000 254,174,614 55,381,000 48,475,300 33,091,355 27,325,400 26,876,065 21,600,000 12,580,400
45.00 17.53 3.82 3.34 2.28 1.89 1.85 1.49 0.87
8,472,800 0.58 1,140,476,934 78.65 309,523,066 21.35 1,450,000,000 100.00
หมายเหตุ 1. รายชื่อผู้ถือหุ้นรวบรวมโดยบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งเป็นนายทะเบียนหลักทรัพย์ของบริษัท 2. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยเป็นองค์กรรัฐวิสาหกิจ ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าและธุรกิจอื่นที่รวมถึงลงทุนกับบุคคลอื่น เพื่อด�ำเนินการดังกล่าว และเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทที่มีผู้แทนมาเป็นกรรมการบริษัท จ�ำนวน 6 คน จากจ�ำนวนกรรมการทั้งสิ้น 13 คน 3. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด เป็นบริษัทที่ ตลท. ถือหุ้นร้อยละ 99.99 ประกอบธุรกิจโดยการออกตราสารเอ็นวีดีอาร์ ซึ่งเป็นหลักทรัพย์ จดทะเบียนใน ตลท. โดยอัตโนมัตเิ พือ่ ขายให้แก่ผลู้ งทุน และน�ำเงินได้จากการขายเอ็นวีดอี าร์ไปลงทุนในหลักทรัพย์อา้ งอิงไทยทีเ่ ป็นหลักทรัพย์ จดทะเบียนใน ตลท. ผู้ลงทุนที่ถือเอ็นวีดีอาร์สามารถรับสิทธิประโยชน์ทางการเงินได้เสมือนลงทุนในหุ้นของบริษัทจดทะเบียนทุกประการ แต่ไม่มีสิทธิในการออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น (ผู้สนใจสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ของ ตลท. www.set.or.th)
ทั้งนี้ ณ วันที่ 6 กันยายน 2561 มีผู้ลงทุนรายใหญ่ในตราสารเอ็นวีดีอาร์ที่มีหุ้นของบริษัทเป็นหลักทรัพย์อ้างอิง ดังนี้ ลำ�ดับที่
ผู้ลงทุนรายใหญ่
1 2
NORTRUST NOMINEES LTD-CL AC NORTRUST NOMINEES LIMITED-THE NORTHERN TRUST COMPANY RE IEDU UCITS CLIENTS 10 PCT ACCOUNT SOUTH EAST ASIA UK (TYPE C) NOMINEES LIMITED STATE STREET EUROPE LIMITED RBC INVESTOR SERVICES BANK S.A
3 4 5
จำ�นวน NDVR
ร้อยละของ หลักทรัพย์อ้างอิง
173,278,900 20,739,000
11.95 1.43
11,904,400 8,089,150 7,917,800
0.82 0.56 0.55
4. ณ วันที่ 6 กันยายน 2561 บริษัทมีผู้ถือหุ้นต่างชาติจ�ำนวน 89 รายจากผู้ถือหุ้นรวมทั้งสิ้น 20,351 ราย โดยผู้ถือหุ้นต่างชาติถือหุ้นรวมกัน ทั้งสิ้น 108,316,194 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 7.47 ของจ�ำนวนหุ้นทั้งหมด ซึ่งไม่เกินจากข้อบังคับของบริษัทที่ก�ำหนดว่า “ห้ามมิให้บุคคล ที่ไม่มีสัญชาติไทยถือหุ้นอยู่ในบริษัทเกินกว่าร้อยละ 25 ของจ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่ายได้แล้วทั้งหมด” 5. ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2561 บริษทั มีผถู้ อื หุน้ รายย่อยตามเกณฑ์ Free Float จ�ำนวน 19,118 ราย คิดเป็นร้อยละ 42.92 ของจ�ำนวนหุน้ ทัง้ หมด
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
014
ข้อมูลทั่วไปของบริษัท
ชื่อบริษัท ทะเบียนเลขที่ กลุ่มอุตสาหกรรม หมวดธุรกิจ ประเภทธุรกิจ ก่อตั้งบริษัท จดทะเบียนหลักทรัพย์ ชื่อหลักทรัพย์ เริ่มซื้อขายหลักทรัพย์ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนช�ำระแล้ว
: บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) : 0107543000031 : ทรัพยากร : พลังงานและสาธารณูปโภค : ลงทุน พัฒนา และด�ำเนินงานในธุรกิจผลิตไฟฟ้า และธุรกิจเกี่ยวเนื่อง : 7 มีนาคม 2543 : 13 ตุลาคม 2543 : RATCH : 2 พฤศจิกายน 2543 : 14,500 ล้านบาท (หุ้นสามัญ 1,450 ล้านหุ้น) : 10 บาท : 14,500 ล้านบาท (วันที่ 26 ตุลาคม 2543)
ช่องทางการติดต่อ
ส�ำนักงานบริษัท เลขานุการบริษัท ฝ่ายองค์กรสัมพันธ์ ฝ่ายตรวจสอบภายใน ส่วนนักลงทุนสัมพันธ์ ข้อมูลรายงานประจ�ำปี ข้อมูลรายงานความยั่งยืน
: 8/8 หมูท่ ี่ 2 ถนนงามวงศ์วาน ต�ำบลบางเขน อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 ประเทศไทย โทรศัพท์ 0 2794 9999 โทรสาร 0 2794 9998 เว็บไซต์ www.ratch.co.th อีเมล contactinfo@ratch.co.th : โทรศัพท์ 0 2794 9510 โทรสาร 0 2794 9888 ต่อ 9510 อีเมล CS@ratch.co.th : โทรศัพท์ 0 2794 9940 โทรสาร 0 2794 9888 ต่อ 9940 อีเมล PR@ratch.co.th : โทรศัพท์ 0 2794 9520 โทรสาร 0 2794 9888 ต่อ 9520 อีเมล internalaudit@ratch.co.th : โทรศัพท์ 0 2794 9841-2 โทรสาร 0 2794 9888 ต่อ 9841 อีเมล IR@ratch.co.th : โทรศัพท์ 0 2794 9510 โทรสาร 0 2794 9888 ต่อ 9510 อีเมล CS@ratch.co.th : โทรศัพท์ 0 2794 9940 โทรสาร 0 2794 9888 ต่อ 9940 อีเมล sustainability@ratch.co.th
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
015
บุคคลอ้างอิง
นายทะเบียนหลักทรัพย์ ผู้สอบบัญชี ที่ปรึกษากฎหมาย
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 1 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0 2009 9999 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 50-51 เลขที่ 1 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ 0 2677 2000 โทรสาร 0 2677 2222 บริษัท เบเคอร์ แอนด์ แม็คเค็นซี่ จ�ำกัด 990 อาคารอับดุลราฮิม เพลส ชั้น 5 และชั้น 21-25 ถนนพระรามที่ 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0 2636 2000 โทรสาร 0 2636 2111 บริษัท ลิ้งค์เลเทอร์ส (ประเทศไทย) จ�ำกัด 87/1 แคปปิตอลทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์ เพลส ชั้น 20 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0 2305 8000 โทรสาร 0 2305 8010
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
016
ค�ำนิยาม ชื่อย่อ
ชื่อเต็ม
บริษัท กลุ่มบริษัท
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า
โรงไฟฟ้าในกลุ่มบริษัท
กลุ่มโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงหลักในประเทศ โรงไฟฟ้าไตรเอนเนอจี้ โรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กนวนคร โรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กนวนคร (ส่วนขยาย) โรงไฟฟ้าผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กเบิกไพรโคเจนเนอเรชัน่ โรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กราชบุรีเวอลด์ โรงไฟฟ้าราชบุรี โรงไฟฟ้าราชบุรีเพาเวอร์ กลุ่มโรงไฟฟ้าประเภทพลังงานทดแทน โรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลสงขลาไบโอแมส โรงไฟฟ้าพลังงานลมห้วยบง 2 โรงไฟฟ้าพลังงานลมห้วยบง 3 โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โซล่าเพาเวอร์ โคราช 3 โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โซล่าเพาเวอร์ โคราช 4 โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โซล่าเพาเวอร์ โคราช 7 โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โซลาร์ต้า กลุ่มโครงการในต่างประเทศ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Fangchenggang II โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม Riau โรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสา โรงไฟฟ้าพลังน�้ำเซกอง 4A และ 4B โรงไฟฟ้าพลังน�้ำเซเปียน-เซน�้ำน้อย โรงไฟฟ้าพลังน�้ำ-น�้ำงึม 2 โรงไฟฟ้าพลังน�้ำอาซาฮาน-1 โรงไฟฟ้าราช-ออสเตรเลีย
โรงไฟฟ้าไตรเอนเนอจี้ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด โรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด โรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด โรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก บริษัท เบิกไพรโคเจนเนอเรชั่น จ�ำกัด โรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก บริษัท ราชบุรีเวอลด์ โคเจนเนอเรชั่น จ�ำกัด โรงไฟฟ้าราชบุรี บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด โรงไฟฟ้าราชบุรีเพาเวอร์ บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จ�ำกัด โรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวล บริษัท สงขลาไบโอ แมส จ�ำกัด โรงไฟฟ้าพลังงานลมห้วยบง 2 บริษัท เค. อาร์. ทู จ�ำกัด โรงไฟฟ้าพลังงานลมห้วยบง 3 บริษัท เฟิร์ส โคราช วินด์ จ�ำกัด โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 3) จ�ำกัด โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 4) จ�ำกัด โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 7) จ�ำกัด โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ บริษัท โซลาร์ต้า จ�ำกัด โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Fangchenggang II บริษัท Guangxi Fangchenggang Nuclear Power (II) Company Limited โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม Riau บริษัท PT Medco Ratch Power Riau โรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสา บริษัท ไฟฟ้า หงสา จ�ำกัด โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ เซกอง 4A และ 4B ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โรงไฟฟ้าพลังน�้ำเซเปียน-เซน�้ำน้อย บริษัท ไฟฟ้า เซเปียน-เซน�้ำน้อย จ�ำกัด โรงไฟฟ้าพลังน�้ำ-น�้ำงึม 2 บริษัท ไฟฟ้าน�้ำงึม 2 จ�ำกัด โรงไฟฟ้าพลังน�้ำอาซาฮาน-1 บริษัท PT Bajradaya Sentranusa (BDSN) โรงไฟฟ้าของบริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
017
ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง
โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง โครงการน�้ำประปาแสนดิน
โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู (ช่วงแคราย-มีนบุรี) บริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล จ�ำกัด โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง (ช่วงลาดพร้าว-ส�ำโรง) บริษัท อีสเทิร์น บางกอกโมโนเรล จ�ำกัด โครงการน�้ำประปาแสนดิน บริษัท เอเชีย วอเตอร์ จ�ำกัด ผู้เดียว
หน่วยงานอื่น ๆ
ก.ล.ต. กฟน. กฟผ. กฟภ. ตลท. รฟม. BTS IOD STEC TSD
ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
ศัพท์เทคนิค
บริษัทจดทะเบียน EV HPO IPP PDP SPP VSPP
บริษัทที่มีหุ้นสามัญจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มูลค่ากิจการ High Performance Organization ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ แผนพัฒนาก�ำลังการผลิตไฟฟ้า ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็กมาก
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
018
คณะกรรมการบริษัท
01. นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์
02. นายชวน ศิรินันท์พร
03. นายสมัคร เชาวภานันท์
- ประธานกรรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ.) - ประธานกรรมการ กลั่นกรองการลงทุน
- กรรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ.) -ป ระธานกรรมการธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคม -ป ระธานกรรมการทรัพยากรบุคคล และก�ำหนดค่าตอบแทน
- กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
019
04. นายบุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร
05. นายชาติชาย โรจนรัตนางกูร
06. นางศิริพร เหลืองนวล
- กรรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ.) - กรรมการกลั่นกรองการลงทุน - กรรมการบริหารความเสี่ยง
- กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการตรวจสอบ -ก รรมการธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคม
- กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
020
07. นายสุ ช าลี สุ ม ามาลย์
08. นายสื บ พงษ์ บู ร ณศิ ริ น ทร์
09. นายรั ต นชั ย นามวงศ์
- ก รรมการ (กรรมการผู ้ แ ทน กฟผ.) - ก รรมการทรั พ ยากรบุ ค คล และก� ำ หนดค่ า ตอบแทน
-ก รรมการ (กรรมการผู ้ แ ทน กฟผ.) - กรรมการกลั่ น กรองการลงทุ น -ก รรมการทรั พ ยากรบุ ค คล และก� ำ หนดค่ า ตอบแทน
- กรรมการอิ ส ระ - กรรมการกลั่ น กรองการลงทุ น
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
021
10. นายวี ร ะศั ก ดิ์ พึ่ ง รั ศ มี
11. นายสมบู ร ณ์ หน่ อ แก้ ว
12. นางเปรมฤทั ย วิ นั ย แพทย์
13. นายกิจจา ศรีพัฑฒางกุระ
- กรรมการอิ ส ระ - ก รรมการ บริ ห ารความเสี่ ย ง
- กรรมการอิ ส ระ - กรรมการตรวจสอบ
- กรรมการอิ ส ระ - ก รรมการธรรมาภิ บ าล และความรั บ ผิ ด ชอบ ต่ อ สั ง คม
-ก รรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ. และกรรมการทีเ่ ป็นผูบ ้ ริหาร) - กรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ - เลขานุการคณะกรรมการ
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
022
คณะผู้บริหารและเลขานุการบริษัท
01
นายกิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการผู้จัดการใหญ่
02
นายพีระวัฒน์ พุ่มทอง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ พัฒนาธุรกิจ
03
นายรฦก สัตยาภรณ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ พัฒนาโครงการ
04
นายสมนึก จินดาทรัพย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารสินทรัพย์
05
นางสุนี รัชตมุทธา รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ การเงิน
06
นายประยุทธ ธงสุวรรณ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารองค์กร
07
นางวดีรัตน์ เจริญคุปต์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ การเงิน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
023
08
นายศักดิ์ชัย ศรีเพชร ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายวางแผนและบริหารการเงิน
09
นางสุพัตรา ทองกาญจน์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายประมวลบัญชี
10
นางสาวจตุพร เลาหพิบูลรัตนา ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารภาษี และบัญชีแยกประเภท
11
นางสาวสุวรรณี ศิริสัจจวัฒน์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายก�ำกับ และวิเคราะห์บัญชี
12
นายสมบูรณ์ โฆษิตวานิช ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบภายใน
13
นายสมหมาย ภูษณชาคร เลขานุการบริษัท
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
024
รายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน
ด้ ว ยพระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชนจ� ำ กั ด พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และประกาศของคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงือ่ นไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน และผลการด�ำเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ได้ก�ำหนดให้ คณะกรรมการบริษัท ต้องจัดให้มีการจัดท�ำงบการเงินเพื่อแสดง ฐานะการเงิน ผลการด�ำเนินงาน และกระแสเงินสดในรอบปีทผี่ า่ นมา ทีเ่ ป็นจริงสมเหตุผลและโปร่งใส เพือ่ ให้เป็นประโยชน์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุนทั่วไป
ของรายงานทางการเงิน สอบทานระบบการควบคุมภายใน และ การตรวจสอบภายใน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งแสดงไว้ ในรายงานประจ�ำปีแล้ว
งบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะบริ ษั ท ประจ� ำ ปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ได้รบั การตรวจสอบ โดยผูส้ อบบัญชี ของบริษัท คือ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จ�ำกัด ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้สนับสนุนข้อมูลและเอกสารต่างๆ เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถตรวจสอบ และแสดงความคิดเห็นได้ ตามมาตรฐานการสอบบัญชี โดยความเห็นของผูส้ อบบัญชีได้ปรากฏ ในรายงานของผูส้ อบบัญชี ซึง่ แสดงไว้ในรายงานประจ�ำปีเช่นกัน ในการนี้คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบ เพือ่ ท�ำหน้าทีส่ อบทานนโยบายการบัญชีและคุณภาพ
จากการประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน รวม 5 องค์ประกอบ คือ โครงสร้างองค์กรและสภาพแวดล้อม การบริหารความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและ การสือ่ สารข้อมูล และการติดตามการปฏิบตั งิ าน คณะกรรมการบริษทั มี ค วามเห็ น ว่ า ระบบการควบคุ ม ภายในของบริ ษั ท โดยรวม อยู ่ ใ นระดั บ ที่ น ่ า พอใจ และสามารถสร้ า งความเชื่ อ มั่ น อย่างมีเหตุผลได้ว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท ประจ�ำปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 มีความเชื่อถือได้ โดยถื อ ปฏิ บั ติ ต ามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น และปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
(นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์) ประธานกรรมการ
(นายกิจจา ศรีพัฑฒางกุระ) กรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่
คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีและด�ำรงรักษาไว้ซึ่งระบบ การควบคุมภายในทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิผล เพือ่ ให้มนั่ ใจได้ อย่างมีเหตุผลว่า รายงานทางการเงินปราศจากการแสดงข้อมูล ทีข่ ดั ต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริต หรือข้อผิดพลาด
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
025
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ� ำ กั ด (มหาชน) (“บริ ษั ท ”) ประกอบด้ ว ยกรรมการอิ ส ระ จ�ำนวน 3 ท่าน ได้แก่ (1) นายชาติชาย โรจนรัตนางกูร ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการตรวจสอบ (2) นางศิริพร เหลืองนวล และ (3) นายสมบูรณ์ หน่อแก้ว ต�ำแหน่งกรรมการตรวจสอบ ซึง่ กรรมการ ทั้ง 3 ท่าน ได้ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะคณะกรรมการตรวจสอบ ของบริษทั โดยมีนายสมบูรณ์ โฆษิตวานิช ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบภายใน ท�ำหน้าที่เลขานุการ ในระหว่างปี 2561 มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการตรวจสอบ ตามมติคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 5/2561 เมือ่ วันที่ 20 เมษายน 2561 โดยแต่งตัง้ นายสมบูรณ์ หน่อแก้ว เป็นกรรมการตรวจสอบ แทนนางสาวประภา ปูรณโชติ ซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งเนือ่ งจากหมดวาระ กรรมการตรวจสอบทุกท่านปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นอิสระ และมี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ้ ว นตามที่ ก� ำ หนดไว้ ใ นระเบี ย บบริ ษั ท ว่าด้วย คณะกรรมการบริษัท พ.ศ. 2560 และระเบียบบริษัท ว่าด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ พ.ศ. 2551 ซึ่งสอดคล้องกับ ข้อก�ำหนดของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบได้มกี ารประชุมรวมทัง้ สิน้ 7 ครั้ง โดยมีกรรมการตรวจสอบเข้าประชุมครบองค์ประชุม ทุ ก ครั้ ง และมี ว าระการประชุ ม ร่ ว มกั บ ผู ้ ส อบบั ญ ชี โ ดยไม่ มี ฝ่ายบริหารเข้าร่วมประชุมด้วย 1 ครัง้ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าผูส้ อบบัญชี
มีความเป็นอิสระในการได้รับข้อมูล การตรวจสอบข้อมูลที่มี สาระส�ำคัญในการจัดท�ำงบการเงิน และการประชุมร่วมกันระหว่าง คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1 ครั้ง เพื่อรับทราบและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการบริหาร ความเสี่ยง (รายละเอียดการเข้าประชุมของกรรมการตรวจสอบ แต่ละท่าน ปรากฏอยูใ่ นตารางการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการ ในหัวข้อโครงสร้างการจัดการ) ในการประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบจะมีฝา่ ยบริหารของบริษทั บริษทั ย่อย และผูส้ อบบัญชี เข้าร่วมประชุมด้วยเพื่อเสนอข้อมูล รับฟังความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การบริหารงาน ผลจากการประชุม แต่ละครัง้ ได้นำ� เสนอต่อคณะกรรมการของบริษทั เป็นวาระประจ�ำ ในรอบปีที่ผ่านมา คณะกรรมการตรวจสอบได้ดำ� เนินกิจกรรมทีส่ ำ� คัญสรุปได้ดงั นี้ • สอบทานความถูกต้อง ครบถ้วน ความเชื่อถือได้ ของงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจ�ำปีของบริษัท และบริษทั ย่อยว่าได้จดั ท�ำตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยได้สอบทานประเด็นทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ รายการพิเศษ และได้รบั ค�ำชี้แจงจากผู้สอบบัญชี ฝ่ายบริหาร จนมั่นใจว่าการจัดท�ำ งบการเงินเป็นไปตามข้อก�ำหนดของกฎหมายและมาตรฐาน การรายงานทางการเงินก่อนที่จะน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัท • สอบทานความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า การด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท เป็ น ไปอย่ า ง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ประสิ ท ธิ ผ ล และสามารถบรรลุ เ ป้ า หมาย
026
ตามที่ ก� ำ หนดไว้ โดยพบว่ า กรรมการบริ ษั ท ฝ่ า ยบริ ห าร และพนักงานปฏิ บั ติ ต ามนโยบายที่ ก� ำหนดไว้ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด และได้น�ำนโยบายการต่อต้านคอร์รัปชั่นมาปฏิบัติอย่างจริงจัง โดยการเข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต (CAC) • สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ ก� ำ หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท • สอบทานรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและกฎระเบียบตามทีค่ ณะกรรมการก�ำกับ ตลาดทุน และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องก�ำหนด โดยรายการ ที่ เ ป็ น รายการเกี่ ย วโยงหรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์จะต้องน�ำเสนอคณะกรรมการตรวจสอบเพือ่ พิจารณา ให้ ค วามเห็ น ชอบก่ อ นที่ จ ะน� ำ เสนอคณะกรรมการบริ ษั ท เพื่อพิจารณาต่อไป และฝ่ายบริหารได้รายงานความเคลื่อนไหว ของรายการต่างๆ ต่อคณะกรรมการตรวจสอบเพือ่ ทราบทุกไตรมาส • ก�ำกับดูแลระบบบัญชี และรายงานทางการเงิน เพือ่ ให้ มัน่ ใจว่ากระบวนการต่างๆ มีการก�ำหนดระบบการควบคุมภายใน อย่างเหมาะสม และครอบคลุมถึงความเสี่ยงด้านการทุจริต และคอร์ รั ป ชั่ น รวมทั้ ง มี ก ารน� ำ ไปปฏิ บั ติ อ ย่ า งครบถ้ ว น และมีประสิทธิภาพ • สอบทานการบริหารความเสีย่ ง ทบทวนนโยบายการบริหาร ความเสี่ยง การปฏิบัติตามนโยบาย และแนวทางการบริหาร ความเสี่ ย งกั บ ฝ่ า ยบริ ห ารและจั ด ให้ มี ก ารประชุ ม ร่ ว มกั บ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพื่อให้การบริหารความเสี่ยง เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยพิจารณาความเสีย่ ง ของเหตุการณ์ทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงอย่างส�ำคัญของเศรษฐกิจโลก ภูมิภาค และความเสี่ยงจากการลงทุนในต่างประเทศ รวมทั้ง ความเสี่ยงจากโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า • ก� ำ กั บ ดู แ ลงานตรวจสอบภายใน เพื่ อ ให้มั่นใจว่า การด�ำเนินงานตรวจสอบภายในเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
และประสิทธิผล โดยให้ความเห็นชอบแผนการตรวจสอบประจ�ำปี รับทราบรายงานผลการตรวจสอบ และให้ความเห็นในเรื่อง การควบคุมภายในให้รดั กุมเพียงพอทีจ่ ะป้องกันหรือลดความเสีย่ ง ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการด�ำเนินงาน การติดตามผลและการปรับปรุงแก้ไข พิจารณางบประมาณ บุคลากรและการพัฒนาบุคลากรของฝ่ายตรวจสอบภายใน และ เสนอให้มกี ารพัฒนาคุณภาพงานตรวจสอบภายในให้เป็นไปตาม มาตรฐานสากลโดยท� ำ การประเมิ น งานตรวจสอบภายใน (Quality Assurance Review) จากผู้เ ชี่ยวชาญภายนอก เพื่อให้งานตรวจสอบภายในด�ำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า งบการเงิน ของบริษทั และบริษทั ย่อยได้จดั ท�ำขึน้ ตามหลักการบัญชีทรี่ บั รอง ทัว่ ไป มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ มีความถูกต้อง ครบถ้วน เชื่ อ ถื อ ได้ ระบบการควบคุ ม ภายในมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลเพียงพอ มีการแบ่งแยกอ�ำนาจหน้าที่โดยชัดเจน ไม่พบจุดอ่อน หรือข้อบกพร่องของระบบการควบคุมภายในทีเ่ ป็น สาระส�ำคัญ รวมทั้งไม่พบข้อสังเกตหรือประเด็นที่อาจเกี่ยวกับ การทุ จ ริ ต และคอร์ รั ป ชั่ น การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท และ บริษทั ย่อยเป็นไปโดยสอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อ กฎหมายอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ การประเมิ น ของผู้สอบบัญชีของบริษัท อนึง่ คณะกรรมการตรวจสอบได้พจิ ารณาให้ความเห็นชอบ ในการแต่ ง ตั้ ง นายไวโรจน์ จิ น ดามณี พิ ทั ก ษ์ (ผู ้ ส อบบั ญ ชี รับอนุญาต เลขที่ 3565) หรือนายเจริญ ผูส้ มั ฤทธิเ์ ลิศ (ผูส้ อบบัญชี รับอนุญาต เลขที่ 4068) หรือนายวัยวัฒน์ กอสมานชัยกิจ (ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เลขที่ 6333) แห่งบริษทั เคพีเอ็มจี ภูมไิ ชย สอบบัญชี จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท และบริษัทย่อย ประจ�ำปี 2562 โดยมีค่าธรรมเนียมในการสอบบัญชีรวมเป็นเงิน 2.87 ล้ า นบาท โดยค่ า สอบบั ญ ชี เ ฉพาะส่ ว นของบริ ษั ท คิดเป็นเงิน 1.25 ล้านบาท ทัง้ นี้ คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอ เรื่องดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อน�ำเสนอขออนุมัติ จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป
(นายชาติชาย โรจนรัตนางกูร) ประธานกรรมการตรวจสอบ
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
027
ภาพรวมทางการเงิน 2561 *
งบก�ำไรขาดทุน ล้านบาท 45,083.54 รายได้รวม ก�ำไรก่อนดอกเบี้ยจ่าย ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ล้านบาท 9,599.80 ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจ�ำหน่าย (EBITDA) ** ก�ำไรส�ำหรับปี ส่วนที่เป็นของบริษัท ล้านบาท 5,587.60 งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น
ล้านบาท 101,251.90 ล้านบาท 41,315.88 ล้านบาท 59,936.02
ข้อมูลเกี่ยวกับหุ้นสามัญ มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น ก�ำไรต่อหุ้น เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น อัตราการจ่ายเงินปันผลต่อก�ำไร ราคาหุ้น ณ วันสิ้นปี
บาท บาท บาท ร้อยละ บาท
41.34 3.85 2.40*** 62.28 50.75
อัตราส่วนทางการเงิน (ไม่รวมผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ น) 2.22 เท่า อัตราส่วนสภาพคล่อง 43.53 ร้อยละ ก�ำไรต่อรายได้รวม (ไม่รวมค่าเชื้อเพลิง) 10.79 ร้อยละ อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น 6.60 ร้อยละ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวมเฉลี่ย 9.84 ร้อยละ EBITDA ต่อสินทรัพย์รวมเฉลี่ย 0.69 เท่า อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น 0.32 เท่า อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น การเปลีย่ นแปลงของลูกหนีต้ ามสัญญาเช่าการเงิน ล้านบาท หมายเหตุ
3,654.89
2560 *
2559
2558
2557
46,456.57 9,236.32
51,279.88 9,323.54
59,326.30 8,644.78
58,700.32 10,175.05
6,038.55
6,165.72
3,187.87
6,279.03
93,794.41 34,784.91 59,009.50
96,391.09 33,938.32 62,452.77
92,605.05 32,185.21 60,419.84
96,235.04 35,035.64 61,199.40
41.16 4.16 2.40 57.63 54.25
42.98 4.25 2.35 55.27 50.00
41.51 2.20 2.27 103.25 47.50
41.92 4.33 2.27 52.42 58.75
2.44 36.15 9.43 5.75 9.73 0.59 0.20
2.42 40.85 9.81 6.26 9.87 0.54 0.19
2.23 30.28 7.48 4.61 9.16 0.53 0.16
1.96 36.03 9.96 6.09 10.70 0.57 0.13
3,920.38
3,313.03
3,552.83
3,815.90
* ข้อมูลปี 2560 - 2561 จัดท�ำตามนโยบายการบัญชี เรือ่ ง เครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ ป็นตราสารอนุพนั ธ์และการบัญชีปอ้ งกันความเสีย่ ง ** ไม่รวมผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนและการเปลี่ยนแปลงของลูกหนี้ตามสัญญาเช่าการเงิน *** เสนอผู้ถือหุ้นพิจารณาในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2562 ในวันที่ 12 เมษายน 2562
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
028
2,907.20
3,595.40
1,116.09 4,994.21
2557
2,071.78
57,415.50
2558
3,258.52
58,210.21
2559
2,443.15
48,372.68
4,735.47 42,861.17 2560*
852.13
40,348.07 2561*
1,284.82
1,284.82
2,907.20
3,595.40
4,735.47
ก�ำไรส่วนของบริษัท (ล้านบาท)
1,116.09
รายได้รวม (ล้านบาท)
2561*
2560*
2559
2558
2557
สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวมและการรวมคา
สวนแบงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวมและการรวมคา
รายไดจากบริษัทและบริษัทยอย
กำไรจากบริษัทและบริษัทยอย
2561*
2560*
2559 สินทรัพย
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า)
2.22
2561*
2.44
2560*
2.42
2559
2.23
2558
1.96
2557
EBITDA ต่อสินทรัพย์รวมเฉลี่ย (ร้อยละ)
9.84
2561*
หมายเหตุ
9.73
2560*
9.87
2559
9.16
2558
10.70
2557
0.32
0.20
0.19
0.16
2561*
2560*
2559
2558
9,600 9,236 9,324 0.13
2557
42.98 41.51 41.92
2559
61,199 EBITDA (ล้านบาท)
2561*
2558
2557
2560*
2559
10,175 8,645
2558
2557
ก�ำไรต่อหุ้น (บาท)
มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท)
2560*
2557
สวนของผูถือหุน
อัตราส่วนหนีส ้ น ิ สุทธิตอ ่ ส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ (เท่า)
2561*
35,036
2558 หนี้สิน
41.34 41.16
96,235
60,420 32,185
33,938
92,605
62,453
96,391
59,009 34,785
41,316
93,794
101,252
59,936
งบแสดงฐานะการเงิน (ล้านบาท)
3.85
4.16
2561*
2560*
4.33
4.25 2.20
2559
2558
2557
* ข้อมูลปี 2560 - 2561 จัดท�ำตามนโยบายการบัญชี เรือ่ ง เครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ ป็นตราสารอนุพนั ธ์และการบัญชีปอ้ งกันความเสีย่ ง
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
029
ผลการด�ำเนินงาน และการเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญ ผลการด�ำเนินงาน การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญในรอบปี 2561
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษทั มีกำ� ลังการผลิตติดตัง้ ตามสัดส่วนการลงทุน รวมทัง้ สิน้ 7,639.12 เมกะวัตต์ เทียบเท่า ประกอบด้วย 1. โรงไฟฟ้าที่เดินเครื่องเชิงพาณิชย์ โรงไฟฟ้า
2. โครงการโรงไฟฟ้าที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างและพัฒนา
กำ�ลังการผลิตติดตั้ง ตามสัดส่วนการลงทุน (เมกะวัตต์)
โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า
กำ�ลังการผลิตติดตั้ง ตามสัดส่วนการลงทุน (เมกะวัตต์)
กลุม่ โรงไฟฟ้าเชือ้ เพลิงหลักในประเทศ แยกตามกลุม่ ผูผ้ ลิตไฟฟ้า 1) กลุม่ ผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ 1. ราชบุรี 3,645.00 2. ไตรเอนเนอจี้ 720.00 3. ราชบุรเี พาเวอร์ 372.50 2) กลุม่ ผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก 1. ผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กราชบุรเี วอลด์ 93.60 2. ผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กนวนคร 55.65 รวม 4,886.75 กลุม่ โรงไฟฟ้าประเภทพลังงานทดแทนในประเทศ แยกตามประเภทพลังงานทดแทน 1) พลังงานแสงอาทิตย์ 1. พลังงานแสงอาทิตย์โซลาร์ตา้ 20.73 2. พลังงานแสงอาทิตย์โซล่าเพาเวอร์ โคราช 3 2.88 3. พลังงานแสงอาทิตย์โซล่าเพาเวอร์ โคราช 4 2.88 4. พลังงานแสงอาทิตย์โซล่าเพาเวอร์ โคราช 7 2.88 2) พลังงานลม 1. พลังงานลมห้วยบง 2 20.70 2. พลังงานลมห้วยบง 3 20.70 3) พลังชีวมวล 1. พลังงานชีวมวลสงขลาไบโอแมส 3.96 รวม 74.73 กลุม่ โครงการในต่างประเทศ 1) สปป. ลาว 1. พลังความร้อนหงสา 751.20 2. พลังน�ำ ้ - น�ำ้ งึม 2 153.75 2) ออสเตรเลีย 1. ราช-ออสเตรเลีย 831.05 - Townsville Power Plant 234.00 - Kemerton Power Plant 315.20 - Mount Emerald Wind Farm 180.45 - BP Kwinana Power Plant 35.40 - Starfish Hill Wind Turbine Power Plant 33.00 - Toora Wind - Turbine Power Plant 21.00 - Windy Hill Wind - Turbine Power Plant 12.00 3) สาธารณรัฐประชาชนจีน -
-
-
1. ผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กเบิกไพรโคเจนเนอเรชัน่ 2. ผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กนวนคร (ส่วนขยาย) รวม
34.73 23.99 58.72
-
-
-
-
รวม
-
1. พลังน�ำ ้ เซเปียน-เซน�ำ้ น้อย
1. ราช-ออสเตรเลีย - Collinsville Solar Farm
102.50
42.50
42.50
1. นิวเคลียร์ Fangchenggang II
236.00
47.90 1,783.90
1. พลังความร้อนร่วม Riau รวม
145.15 526.15
114.97 2.90 117.87 6,863.25
1. โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู 2. โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง รวม รวม
97.00 94.00 191.00 775.87
4) สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 1. พลังน�ำ้ อาซาฮาน-1 รวม กลุม่ ธุรกิจเกีย่ วเนือ่ ง 1. ลงทุนในหลักทรัพย์ EDL-Generation Public Company 2. น�ำ้ ประปาแสนดิน รวม รวมทัง้ สิน้
030
ปี 2561 บริษัทมุ่งมั่นบริหารสินทรัพย์ที่มีอยู่ทั้งประเภท โรงไฟฟ้าเชือ้ เพลิงหลักและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนในประเทศ โรงไฟฟ้ า ในต่ า งประเทศ และธุ ร กิ จ เกี่ ย วเนื่ อ งอื่ น ๆ ให้ เ กิ ด ประสิทธิภาพสูงสุด เพือ่ เสริมสร้างฐานธุรกิจของบริษทั ให้มคี วาม แข็งแกร่ง มั่นคง และสะท้อนผลการด�ำเนินงานและผลตอบแทน ต่อผู้ถือหุ้นอย่างน่าพอใจนอกเหนือการสร้างการเติบโตโดยการ ขยายการลงทุนสูเ่ ป้าหมายทีจ่ ะเพิม่ ก�ำลังการผลิตเป็น 10,000 เมกะวัตต์ เทียบเท่า หรือเพิม่ มูลค่ากิจการเป็น 200,000 ล้านบาทในปี 2566 ดังนี้ 1. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า
• โรงไฟฟ้าที่ให้บริการเชิงพาณิชย์แล้ว 1. กลุ่มโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงหลักในประเทศ แบ่งตามกลุ่มผู้ผลิตไฟฟ้า 1) กลุ่มผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPPs) โรงไฟฟ้าราชบุรี สามารถบริหารจัดการงานเดินเครือ่ ง และบ� ำ รุ ง รั ก ษาโรงไฟฟ้ า โดยมี ค วามพร้ อ มจ่ า ยเที ย บเท่ า (Availability) ร้อยละ 89.16 เสถียรภาพการเดินเครื่อง (CAH Index) 1.0360 เท่า ประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิง (Fuel Ratio) 1.0066 เท่า และสามารถบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อมได้ตามมาตรฐาน (OHSAS 18001:2007 และ ISO 14001:2004) โดยในปี 2561 โรงไฟฟ้าราชบุรีได้รับ รางวัลโล่ประกาศเกียรติคุณ Zero Accident Campaign 2018 ระดับเงิน รางวัลสถานประกอบกิจการต้นแบบดีเด่นด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ปี 2561 ระดับประเทศ ประเภทรางวัลประกาศเกียรติยศ และรางวัล สถานประกอบกิจการดีเด่นด้านแรงงานสัมพันธ์และสวัสดิการ แรงงาน ประจ�ำปี 2561 “รางวัลเกียรติยศสถานประกอบกิจการ ดีเด่น ด้านแรงงานสัมพันธ์และสวัสดิการแรงงาน 10 ปีติดต่อกัน (พ.ศ. 2552 - พ.ศ. 2561)” ประเภทไม่มีสหภาพแรงงาน และเป็นสถานประกอบกิจการขนาดเล็ก จากกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน โรงไฟฟ้ า ไตรเอนเนอจี้ สามารถบริ ห ารจั ด การ งานเดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้ามีความพร้อมจ่ายเทียบเท่า (Availability) ร้อยละ 94.02 เสถียรภาพการเดินเครื่อง (CAH Index) 1.0757 เท่า ประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิง (Fuel Ratio) 1.0230 เท่า และสามารถบริหารจัดการทางด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ได้ตามมาตรฐานการรับรอง OHSAS 18001:2007, ISO 14001:2004 และ ISO 9001:2008 โดยในปี 2561 โรงไฟฟ้าไตรเอนเนอจีไ้ ด้รบั รางวัลสถานประกอบ กิ จ การต้ น แบบดี เ ด่ น ด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
และสภาพแวดล้ อ มในการท� ำ งาน ปี 2561 ระดั บ ประเทศ ประเภทรางวัลประกาศเกียรติยศเป็นปีที่ 8 จากกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน โรงไฟฟ้ า ราชบุ รี เ พาเวอร์ งานเดิ น เครื่ อ งและ บ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้ามีความพร้อมจ่าย (Availability) ตลอดปี คิดเป็นร้อยละ 91.00 ค่าดัชนีแสดงเสถียรภาพการเดินเครื่อง (CAH Index) เท่ากับ 1.0000 เท่า และอัตราส่วนประสิทธิภาพการใช้ เชื้อเพลิง (Fuel Ratio) เท่ากับ 1.0250 เท่า นอกจากนี้โรงไฟฟ้า ได้ ด� ำ เนิ น การผลิ ต กระแสไฟฟ้ า อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล โดยในปี 2561 โรงไฟฟ้าราชบุรี เพาเวอร์มีส่วนอนุรักษ์พลังงานภายในโรงไฟฟ้าด้วยการเปลี่ยน ใบพั ด ลมระบายความร้ อ นที่ ห อหล่ อ เย็ น ของโรงไฟฟ้ า พลังความร้อนร่วม ชุดที่ 2 จ�ำนวนหนึง่ ตัวเป็นชนิดทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง ซึง่ เป็นโครงการต่อเนือ่ งจากปี 2560 ปรากฏว่าได้ผลการประหยัด พลังงานไฟฟ้ามากกว่าร้อยละ 25 เมือ่ เทียบกับพัดลมทีใ่ ช้อยูเ่ ดิม หรือเท่ากับ 220,752 หน่วยต่อปี และอีกหนึ่งโครงการคือ โครงการเปลี่ ย นโคมไฟแสงสว่ า งในพื้ น ที่ ที่ เ ปิ ด ใช้ ง านตลอด 24 ชั่วโมงไปเป็นหลอดไฟ LED ซึ่งสามารถประหยัดพลังงาน ไฟฟ้าได้ 245,280 หน่วยต่อปี ด้านความปลอดภัยได้น�ำระบบ บริหารจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHSAS/TIS 18001) เข้าใช้งานและได้รับการรับรองเมื่อเดือนมกราคม ปี 2555 จนถึงปัจจุบัน โดยมุ่งเน้นให้พนักงานและผู้เข้ามาท�ำงานในพื้นที่ โรงไฟฟ้าได้ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ตลอดจนมาตรฐานด้าน ความปลอดภัยต่างๆ อย่างเคร่งครัด ส่งผลให้สถิตกิ ารเกิดอุบตั เิ หตุ ถึงขัน้ หยุดงานเป็นศูนย์เป็นเวลาติดต่อกันรวมการท�ำงานมากกว่า 5.8 ล้านชั่วโมง-คน เป็นผลให้ได้รับรางวัลสถานประกอบกิจการ ต้นแบบดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน ปี 2561 ระดับประเทศ ประเภทรางวัลประกาศ เกียรติยศ ต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 (ระดับทอง) จากกระทรวงแรงงาน และได้รับประกาศเกียรติคุณจากกิจกรรมการรณรงค์ลดสถิติ อุบัติเ หตุจ ากการท�ำงานให้เ ป็นศูนย์ จากกระทรวงแรงงาน นอกจากนีไ้ ด้เข้าร่วมโครงการโรงงานสีขาวร่วมกับจังหวัดราชบุรี และได้รับเกียรติบัตรและใบรับรองมาตรฐานการป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการ ต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 5 จากส�ำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดราชบุรี ด้านการดูแลสุขภาพของพนักงาน มีการรณรงค์การเลิกสูบบุหรี่ และมีผสู้ ามารถเลิกบุหรีไ่ ด้สำ� เร็จเป็นทีน่ า่ พอใจ ท�ำให้ได้รบั รางวัล สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพระดับก้าวหน้า โดยสมาคม พั ฒ นาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม ส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร้างเสริมสุขภาพในปี 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
2) กลุ่มผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPPs) โรงไฟฟ้ า ผู ้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า รายเล็ ก ราชบุ รี เ วอลด์ มีผลการด�ำเนินงานอยู่ในเกณฑ์ดี ด้านการปฏิบัติงานเป็นไปตาม มาตรฐานระบบคุณภาพ มาตรฐานความปลอดภัย และมาตรการ ด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆ อย่างเคร่งครัดจนได้รับรางวัลต่างๆ อาทิ รางวัล Green Industry “อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 2 ปฏิบตั กิ าร สีเขียว (Green Activity)” จากกระทรวงอุตสาหกรรม รางวัล กิจกรรมการรณรงค์ลดสถิติอุบัติเหตุจากการท�ำงานให้เป็นศูนย์ (Zero Accident Campaign) ระดับต้น เป็นปีที่ 2 จากสถาบัน ส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ท�ำงาน (องค์การมหาชน) และการรับรองระบบการบริหารจัดการ ระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 โรงไฟฟ้ า ผู ้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า รายเล็ ก นวนคร มี สั ญ ญา ซื้อขายไฟฟ้ากับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ระยะเวลา 25 ปี (จ�ำนวน 90 เมกะวัตต์) และจ�ำหน่ายไฟฟ้าส่วนที่เหลือและ ไอน�ำ้ ให้กบั ลูกค้าอุตสาหกรรมในเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมนวนคร ปี 2561 โรงไฟฟ้ามีการบริหารและเดินเครื่องที่มีประสิทธิภาพ สูงท�ำให้มีความพร้อมจ่าย (Availability) มากกว่าร้อยละ 97.50 นอกจากนี้ ได้ มี ก ารลงทุ น ขยายก� ำ ลั ง การผลิ ต เพิ่ ม เติ ม ดังรายละเอียดปรากฏในหัวข้อโรงไฟฟ้าทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง และพัฒนา 2. กลุ ่ ม โรงไฟฟ้ า ประเภทพลั ง งานทดแทนในประเทศ แบ่งตามประเภทพลังงานทดแทน 1) พลังงานแสงอาทิตย์ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โซล่าเพาเวอร์ โคราช 3 โซล่าเพาเวอร์ โคราช 4 โซล่าเพาเวอร์ โคราช 7 และโซลาร์ต้า ผลการด�ำเนินงานอยู่ในเกณฑ์ดี 2) พลังงานลม โรงไฟฟ้ า พลั ง งานลมห้ ว ยบง 2 และห้ ว ยบง 3 ผลการด�ำเนินงานอยู่ในเกณฑ์ดี 3) พลังงานชีวมวล โรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลสงขลาไบโอ แมส มีดัชนี สมรรถนะโรงไฟฟ้า (Equivalent Availability Factor: EAF) มีคา่ ร้อยละ 91.67 และได้รบั การรับรองมาตรฐานระบบบริหารงาน คุ ณ ภาพ ISO 9001:2015 เมื่ อ วั น ที่ 30 มี น าคม 2560 โครงการ Carbon Credits (CDM Programme of Activities) เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2560 โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพ ใช้พลังงานในระบบความร้อน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรกั ษ์พลังงาน เมือ่ วันที่ 27 เมษายน 2561 และโครงการธรรมาภิบาล สิ่งแวดล้อม กระทรวงอุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2561
031
3. กลุ่มโครงการในต่างประเทศ แบ่งตามที่ตั้ง 1) สปป.ลาว จ�ำนวน 2 โรงไฟฟ้า คือ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสา ผลการด�ำเนินงาน มีผลก�ำไรก่อนผลกระทบอัตราแลกเปลี่ยนสูงกว่าประมาณการ ร้อยละ 24 โดยประมาณ เนือ่ งมาจากค่าความพร้อมจ่ายเชิงพาณิชย์ เทียบเท่า (Commercial Equivalent Availability Factor-CEAF) อยู่ที่ร้อยละ 86.71 ดีกว่าแผนร้อยละ 3.46 โรงไฟฟ้ า พลั ง น�้ ำ -น�้ ำ งึ ม 2 ผลการด� ำ เนิ น งาน ประจ�ำปี 2561 มีผลก�ำไรสุทธิสูงกว่าประมาณการร้อยละ 70 โดยประมาณ เนื่ อ งจากมี ป ริ ม าณน�้ ำ ฝนไหลเข้ า มาในอ่ า ง เป็นจ�ำนวนมาก รวมถึงทั้งสามารถลดต้นทุนทางการเงินโดยการ ออกหุ้นกู้มูลค่ารวม 3,000 ล้านบาทเมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา 2) เครือรัฐออสเตรเลีย ปี 2561 บริษัทได้เพิ่มสัดส่วนการลงทุนในบริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด เป็นร้อยละ 100 โดยการ ซื้อหุ้นส่วนที่เหลือร้อยละ 20 จาก Broadspectrum Pty Limited เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2561 ท�ำให้บริษัทมีก�ำลังผลิต ตามสัดส่วนในโรงไฟฟ้าที่เดินเครื่องแล้วและอยู่ระหว่างการ ก่อสร้างโดยบริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด คิดเป็น 873.55 เมกะวัตต์ และเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยสนับสนุนให้บริษัท บรรลุเป้าหมายการเติบโตตามแผนธุรกิจและเพิ่มความสามารถ ในการสร้างมูลค่าสินทรัพย์และเพิ่มมูลค่าการพัฒนาโครงการ โรงไฟฟ้าที่มีอยู่ในเครือรัฐออสเตรเลีย ซึ่งประกอบด้วยโครงการ พลังงานงานทดแทนขนาดใหญ่ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Collinsvilles นอกจากนี้ บริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ได้บรรลุขอ้ ตกลงสัญญาเงินกู้ จ�ำนวน 312 ล้านเหรียญออสเตรเลีย เพือ่ ทดแทนสัญญาเงินกูเ้ ดิม (Refinancing) ก่อนที่จะครบก�ำหนดสัญญาเดิมในวันที่ 31 พฤษภาคม 2561 ด้วยอัตราดอกเบีย้ ทีล่ ดลงจากเดิม BBSY+2.25% เป็น BBSY+1.55% ท�ำให้บริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด มีสถานะทางการเงินที่ดีขึ้นและสามารถประหยัดต้นทุน ทางการเงินได้ถงึ 12.5 ล้านเหรียญออสเตรเลียตลอดอายุสญั ญาเงินกู้ บริษทั ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ได้ดำ� เนินการ ติ ด ตั้ ง ชุ ด เครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า เครื่ อ งยนต์ ดี เ ซลตามสั ญ ญา เสริมการให้บริการกู้คืนระบบที่โรงไฟฟ้า Kemerton และเริ่ม ให้บริการเชิงพาณิชย์ตงั้ แต่วนั ที่ 23 ตุลาคม 2561 การด�ำเนินการ ดังกล่าวเป็นการเพิ่มมูลค่าสินทรัพย์โดยใช้กระแสเงินสดภายใน ของบริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ในวงเงิน ประมาณ 10 ล้านเหรียญออสเตรเลีย ซึ่งสามารถเพิ่มรายได้ ให้แก่โรงไฟฟ้า Kemerton ตามสัญญาให้บริการเสริมการกูค้ นื ระบบ ประมาณ 2 ล้านเหรียญออสเตรเลียต่อปี เป็นระยะเวลา 10 ปี
032
และส่งผลให้โรงไฟฟ้า Kemerton เป็นโรงไฟฟ้าที่มีความจ�ำเป็น ในการรักษาความมั่นคงอย่างต่อเนื่องของระบบไฟฟ้าในเขต พื้นที่ตอนใต้ของรัฐออสเตรเลียตะวันตก ส�ำหรับการปรับปรุง ระบบควบคุมโรงไฟฟ้า Townsville เมื่อปี 2560 ส่งผลให้ได้รับ การเสนอชื่อและได้รับรางวัลเหรียญทองประเภท Power Plant Upgrade of the Year จากการประกาศรางวัล Asian Power Awards 2018 เมื่อเดือนกันยายน 2561 ณ กรุงจาการ์ตา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย โรงไฟฟ้าพลังงานลม Mount Emerald เดินเครือ่ ง เชิงพาณิชย์ และรับรูร้ ายได้ตามสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าแล้วเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2561 บริษทั ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ได้รว่ มกับ บริษัทผู้ผลิตเข้าท�ำการตรวจสอบและประเมินอายุโรงไฟฟ้า พลั ง งานลม Toora ผลการศึ ก ษาพบว่ า สามารถขยายอายุ การเดินเครื่องได้จนถึงปี 2575 ปัจจุบันอยู่ระหว่างการเจรจา เพื่ อขยายสั ญ ญาเชื่ อ มต่ อ ระบบไฟฟ้ า ให้ ค รอบคลุ มแผนการ ขยายอายุโรงไฟฟ้าตามผลการศึกษา 3) สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เมือ่ วันที่ 6 ธันวาคม 2561 บริษทั อาร์เอช อินเตอร์เนชัน่ แนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ได้เข้าร่วมลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานน�ำ้ อาซาฮาน-1 ขนาดก�ำลังผลิต 180 เมกะวัตต์ ซึ่งเป็นโรงไฟฟ้า ทีเ่ ดินเครือ่ งเชิงพาณิชย์แล้วตัง้ แต่เดือนมกราคม 2554 • โรงไฟฟ้าที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างและพัฒนา 1. กลุม่ โรงไฟฟ้าเชือ้ เพลิงหลักในประเทศ แบ่งตามกลุ่มผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPPs) โรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กนวนคร-โครงการ ขยายก�ำลังการผลิตไฟฟ้าและไอน�ำ้ ขนาดก�ำลังการผลิตไฟฟ้าติดตัง้ ประมาณ 60 เมกะวัตต์ และก�ำลังการผลิตไอน�ำ้ ประมาณ 10 ตัน ต่ อ ชั่ ว โมง วงเงิ น ลงทุ น ประมาณ 3,105 ล้ า นบาท ได้ รั บ ความเห็นชอบในการขยายก�ำลังการผลิตจาก กฟผ. และได้รับ ความเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม จากส�ำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว โดยเริม่ งานก่อสร้างเมือ่ เดือนกันยายน 2561 คาดว่ า จะใช้ เ วลาก่ อ สร้ า งประมาณ 24 เดื อ น มี ก� ำ หนด การเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ในปี 2563 โดยโครงการฯ ภายหลัง ด� ำ เนิ น การแล้ ว เสร็ จ โรงไฟฟ้ า ผู ้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า รายเล็ ก นวนคร จะมี ก� ำ ลั ง การผลิ ต ไฟฟ้ า สุ ท ธิ ร วมประมาณ 185 เมกะวั ต ต์ และขนาดก�ำลังการผลิตไอน�้ำรวมประมาณ 40 ตันต่อชั่วโมง โรงไฟฟ้าผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กเบิกไพรโคเจนเนอเรชัน่ งานก่อสร้าง งานติดตัง้ เครือ่ งจักรหลัก และงานทดสอบระบบต่างๆ มีความก้าวหน้ากว่าร้อยละ 90 ได้มกี ารลงนามสัญญาบ�ำรุงรักษา
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
เครื่องจักรหลัก (Long Term Service Agreement) และ สัญญางานเดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า (Operation and Maintenance Agreement) แล้ว มีก�ำหนดการเดินเครื่อง เชิงพาณิชย์ประมาณเดือนมิถุนายน 2562 โดยจะจ�ำหน่ายไฟฟ้า จ�ำนวน 90 เมกะวัตต์ ให้กับ กฟผ. และจ�ำหน่ายไอน�้ำจ�ำนวน 5 ตันต่อชั่วโมงให้กับบริษัท ราชบุรีเอทานอล จ�ำกัด 2. กลุ่มโครงการในต่างประเทศ แบ่งตามที่ตั้ง 1) สปป.ลาว โรงไฟฟ้ า พลั ง น�้ ำ เซเปี ย น-เซน�้ ำ น้ อ ย ณ วั น ที่ 30 มิถุนายน 2561 งานก่อสร้างโดยภาพรวมมีความก้าวหน้า ร้อยละ 91 แต่เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2561 ได้เกิดเหตุการณ์ สันเขือ่ นดินย่อยกัน้ ช่องเขาส่วน D (Saddle Dam D) ซึง่ สร้างขึน้ เพื่อเสริมการกั้นน�้ำรอบอ่างเก็บน�้ำเซน�้ำน้อยโครงการโรงไฟฟ้า พลังน�้ำเซเปียน-เซน�้ำน้อย เกิดรอยร้าวและมีมวลน�้ำไหลออก บริเวณพื้นที่ท้ายเขื่อนลงสู่ล�ำน�้ำเซเปียนออกไป 5 กิโลเมตร ส่ ง ผลกระทบต่ อ ประชาชนในชุ ม ชนและพื้ น ที่ โ ดยรอบ บริเวณท้ายล�ำน�้ำเซเปียนที่เชื่อมต่อล�ำน�้ำเซกอง ในเบื้ อ งต้ น บริษัท ไฟฟ้าเซเปียน-เซน�้ำน้อย จ�ำกัด ผู้ด�ำเนินโครงการฯ บริษทั ผูร้ บั เหมาก่อสร้าง ได้รว่ มกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องใน สปป.ลาว ด�ำเนินการช่วยเหลือประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณพื้นที่ที่ได้รับ ผลกระทบอย่างเต็มก�ำลังความสามารถ ในขณะเดียวกันบริษัท ได้ แ สดงความเสี ย ใจต่ อ เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น และได้ ม อบ ความช่วยเหลือเบือ้ งต้น อาทิ เงินสด เครือ่ งอุปโภคบริโภคทีจ่ ำ� เป็น อาหาร ยารักษาโรค ทีพ่ กั และสาธารณูปโภคชัว่ คราว และบุคลากร เป็นต้น ผ่านทางการ สปป.ลาว รวมทั้งสนับสนุนผ่านหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชนต่างๆ เพือ่ บรรเทาความเดือดร้อนแก่ประชาชน ครอบครัว และผู้ได้รับผลกระทบ นอกจากนี้ ผู้บริหารระดับสูง และที ม งานได้ เ ดิ น ทางเข้ า ไปในพื้ น ที่ เ พื่ อ ให้ ก� ำ ลั ง ใจและ ให้ความช่วยเหลือในด้านต่างๆ อาทิ การจัดตัง้ โรงครัวเพือ่ ท�ำอาหาร การประสานงานกับทางการของ สปป.ลาว เกีย่ วกับความต้องการ ความช่วยเหลือทีจ่ ำ� เป็นเร่งด่วนทีจ่ ะช่วยบรรเทาผลกระทบให้แก่ ผู้ประสบภัยในพื้นที่โดยทันที การด�ำเนินการต่อเนื่องในการ พัฒนาโครงการ บริษัท ไฟฟ้า เซเปียน-เซน�้ำน้อย จ�ำกัด ได้ส่งทีม ผูเ้ ชีย่ วชาญและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องลงพืน้ ทีต่ รวจสอบ วิเคราะห์ และประเมินสาเหตุเบือ้ งต้นเพือ่ หาแนวทางแก้ไข รวมทัง้ ได้จดั ท�ำ แผนฟื้นฟู (Restoration Plan) ทั้งทางด้านเทคนิค สังคม และ สิ่งแวดล้อม โดยได้น�ำเสนอแผนดังกล่าวต่อกระทรวงแผนงาน และการลงทุน (Ministry of Planning and Investment) และ กระทรวงพลังงานและบ่อแร่ (Ministry of Energy and Mine) สปป.ลาว เพื่ อ พิ จ ารณาขณะนี้ อ ยู ่ ร ะหว่ า งการพิ จ ารณา ให้ความเห็นชอบของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง หลังจากนัน้ จะสามารถ ด�ำเนินการก่อสร้างเขือ่ นคอนกรีตบดอัด (Roller Compacted Concrete Dam) ทดแทนเขือ่ นดินย่อยกัน้ ช่องเขาส่วน D (Saddle Dam D) และด�ำเนินการในงานทีเ่ กีย่ วข้องต่อไป
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
2) เครือรัฐออสเตรเลีย โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Collinsville ขณะนี้ อยูร่ ะหว่างการทดสอบเดินเครือ่ งและทดสอบตามมาตรฐานการ เชื่อมต่อระบบไฟฟ้าโดยได้รับใบอนุญาตเดินเครื่องจากรัฐบาล รัฐควีนส์แลนด์และได้รบั การขึน้ ทะเบียนตามเงือ่ นไขของการเป็น ผูผ้ ลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนกับ Clean Energy Regulator แล้ว 3) สาธารณรัฐอินโดนีเซีย • โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม Riau งานก่อสร้าง ได้มกี ารลงนามสัญญาหลักกับผูร้ บั เหมาหลัก 2 ราย ได้แก่ ผูร้ บั เหมา ก่อสร้างโรงไฟฟ้าและระบบสายส่งไฟฟ้า และผู้รับเหมาก่อสร้าง ระบบท่ อ ก๊ า ซ ลงนามสั ญ ญาเดิ น เครื่ อ งและบ� ำ รุ ง รั ก ษา และได้รับอนุมัติรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม จากหน่วยงานภาครัฐ ปัจจุบันอยู่ระหว่างการจัดหาแหล่งเงินกู้ ของโครงการฯ และเริม่ งานปรับพืน้ ทีแ่ ละงานโครงสร้างฐานราก 2. ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง
บริษทั ยังคงด�ำเนินธุรกิจเกีย่ วเนือ่ งผ่านบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และการร่วมค้า เพือ่ เสริมสร้างศักยภาพและการเติบโตของธุรกิจ ต่อกลุม่ บริษทั อย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ธุรกิจให้บริการงานเดินเครือ่ ง และบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า ธุรกิจซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์กังหันก๊าซ ธุรกิจเหมืองถ่านหิน ธุรกิจจัดหาเชื้อเพลิง และอื่นๆ ดังนี้ 1) ธุรกิจให้บริการงานเดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า บริษัท ชูบุราชบุรี อีเลคทริคเซอร์วิส จ�ำกัด ลงทุน และด� ำ เนิ น การบริ ห ารจั ด การเป็ น ไปตามสั ญ ญาเดิ น เครื่อง และบ�ำรุงรักษาให้แก่บริษทั ราชบุรเี พาเวอร์ จ�ำกัด ปี 2561 เดินเครือ่ ง ได้ครบตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า สามารถรักษาความพร้อมจ่าย โรงไฟฟ้า รวมทั้งใช้เชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพได้ตามแผน ที่ก�ำหนดไว้ บริษัท อีแกท ไดมอนด์ เซอร์วิส จ�ำกัด มีการพัฒนา ความสามารถในการซ่อมชิน้ ส่วน Hot Gas Path Parts โดยได้รบั การรับรองมาตรฐานและคุณภาพจาก Mitsubishi Hitachi Power Systems, Ltd. อย่างต่อเนือ่ ง และได้รบั การรับรองระบบ บริหารงานคุณภาพด้านงานซ่อมตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 รวมถึงการเริ่มพัฒนาความสามารถในการซ่อมชิ้นส่วน Hot Gas Path Parts ของเครื่องกังหันก๊าซนอกเหนือจาก Mitsubishi Hitachi Power Systems (MHPS) บริ ษั ท ราช-ลาว เซอร์ วิ ส จ� ำ กั ด ให้ บ ริ ก ารงาน เดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษาโครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสา ระยะเวลา 35 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2560 และสิ้นสุด วันที่ 31 ตุลาคม 2563
033
2) ธุรกิจจัดหาเชื้อเพลิง บริษัท สงขลาไบโอฟูเอล จ�ำกัด ด�ำเนินการจัดหา เชื้อเพลิงให้แก่ โรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลสงขลาไบโอแมส 3) ธุรกิจอื่น • ร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู (ช่วงแครายมีนบุร)ี และโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง (ช่วงลาดพร้าว-ส�ำโรง) และส่วนต่อขยายโครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู (ศรีรชั -เมืองทองธานี) ในนามกิ จ การร่ ว มค้ า บี เ อสอาร์ (ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประกอบด้ ว ย บริษัทร้อยละ 10, BTS ร้อยละ 75 และ STEC ร้อยละ 15) โดยได้ เ ริ่ ม งานก่ อ สร้ า ง (Notice to Proceed: NTP) เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2561 โดยมีระยะเวลาการก่อสร้าง 3 ปี 3 เดือน ภายหลังจากก่อสร้างแล้วเสร็จจะเริ่มท�ำการเดินรถ และเก็บค่าบริการเป็นระยะเวลา 30 ปีตามสัญญาสัมปทาน ทัง้ นี้ ในปี 2561 ได้จดั ท�ำสัญญาหลักของโครงการฯ แล้วเสร็จ ปัจจุบนั อยูร่ ะหว่างการด�ำเนินการรือ้ ย้ายระบบสาธารณูปโภค งานเสาเข็ม เจาะแนวสายทางและสถานี งานเสาเข็มตอกบริเวณศูนย์ซอ่ มบ�ำรุง และงานเทฐานรากส�ำหรับรองรับเสาเข็ม ซึ่งพื้นที่บางส่วนยังอยู่ ระหว่างการรอรับมอบ ทั้งนี้โครงการได้มีการประสานงานกับ หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง เพื่อวางแผนงานร่วมกัน และท�ำให้โครงการมีความก้าวหน้าของงานเป็นไปตามแผนงาน ที่วางไว้ โดยในปัจจุบันมีความก้าวหน้างานสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ร้อยละ 14.71 และ 15.30 ส�ำหรับโครงการ รถไฟฟ้าสายสีชมพูและสายสีเหลืองตามล�ำดับ • ยื่นซองประมูลโครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน (สนามบินดอนเมือง สนามบินสุวรรณภูมิ และสนามบิน อู่ตะเภา) ต่อการรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2561 โดยโครงการรถไฟความเร็วสูงเป็นโครงการ ในรูปแบบการร่วมลงทุนระหว่างรัฐกับเอกชน (PPP) ประเภท โครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานโครงการแรกในพื้นที่ระเบียง เศรษฐกิจ ภาคตะวันออก (อีอีซี) ระยะทาง 220 กิโลเมตร ความเร็วสูงสุด 250 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สัมปทาน 50 ปี มูลค่า โครงการกว่าสองแสนล้านบาท หากชนะการประมูลคาดว่า จะสามารถลงนามสัญญาว่าจ้างกับ ร.ฟ.ท. ได้ราวต้นปี 2562 โดยเอกชนคูส่ ญั ญาจะมีหน้าทีใ่ นการด�ำเนินงานการพัฒนาโครงการ เกีย่ วกับงานก่อสร้างและจัดหารถไฟฟ้า งานการจัดหาแหล่งเงินทุน และงานการให้บริการเดินรถและบ�ำรุงรักษา เป็นต้น • ได้เข้าลงทุนในโครงการน�ำ้ ประปาแสนดิน ด�ำเนินธุรกิจ ผลิตและจ�ำหน่ายน�้ำประปาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานให้แก่ รัฐวิสาหกิจน�ำ้ ประปานครหลวงเวียงจันทน์ ขนาดก�ำลังการผลิตรวม 48,000 ลู ก บาศก์ เ มตรต่ อ วั น ระยะเวลาสั ม ปทาน 50 ปี ก�ำหนดให้บริการเชิงพาณิชย์ระยะแรก 24,000 ลูกบาศก์เมตร ต่อวัน ภายในเดือนธันวาคม 2561 และระยะที่ 2 ประมาณ ปี 2574 จะขยายก�ำลังการผลิตเป็น 48,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน
034
ด้านการบริหารงานในกิจการที่บริษัทเข้าลงทุนและร่วมทุน เพือ่ ให้การด�ำเนินงานมีความสอดคล้องกับทิศทาง นโยบาย และบรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ของกลุม่ บริษทั ในระยะยาว คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ พิ จ ารณาส่ ง กรรมการและผู ้ บ ริ ห าร ที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่เหมาะสมไปเป็น กรรมการและผูบ้ ริหารในกิจการทีก่ ลุม่ บริษทั เข้าลงทุนและร่วมทุน ตั้งแต่ช่วงการพัฒนา การก่อสร้าง กระทั่งเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ และการบริหารสินทรัพย์ของกลุ่มบริษัทให้มีเต็มประสิทธิภาพ ด้านการบริหารการเงิน • บริษทั ได้ลงทุนในส่วนทุนในบริษทั ไฟฟ้า เซเปียน-เซน�ำ้ น้อย จ�ำกัด จ�ำนวนเงิน 11.58 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นจ�ำนวน เงินลงทุนส่วนทุนรวมสะสมทั้งสิ้น 73.84 ล้านเหรียญสหรัฐฯ • บริษัทได้ลงทุนในโครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพูและ สายสีเหลือง โดยถือหุน้ ร้อยละ 10 และได้ชำ� ระค่าหุน้ ร้อยละ 100 ของบริษัทร่วมทุนทั้ง 2 บริษัท คือ บริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอก โมโนเรล จ�ำกัด จ�ำนวนเงิน 830 ล้านบาท และบริษัท อีสเทิร์น บางกอกโมโนเรล จ�ำกัด จ�ำนวนเงิน 850 ล้านบาท • ลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม Riau ด� ำ เนิ น งานโดยบริ ษั ท PT Medco Ratch Power Riau สาธารณรัฐอินโดนีเซียผ่านบริษัท อาร์เอช อินเตอร์ เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด บริษัทย่อยทางอ้อมได้ช�ำระค่า Project Development Cost ตามสั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 49 เป็นจ�ำนวนเงินรวมประมาณ 20.50 ล้านเหรียญสหรัฐฯ • บริษัทได้ลงทุนผ่านบริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (“RHIS”) บริษัทย่อยทางอ้อม ที่บริษัทถือหุ้นทั้งจ�ำนวนได้เข้าซื้อหุ้นสามัญเดิมและหุ้นสามัญ เพิม่ ทุน Fareast Renewable Development Pte. Ltd. (“FRD”) ร้ อ ยละ 50 จาก Fareast Green Energy Pte. Ltd. ผูถ้ อื หุน้ เดิม เพือ่ เข้าร่วมด�ำเนินงานโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ อาซาฮาน-1 (Asahan-1) ในสาธารณรัฐอินโดนีเซีย คิดเป็นเงินลงทุนประมาณ 81.89 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ภายหลังการโอนหุ้นแล้วส่งผลให้ โครงสร้างผู้ถือหุ้น FRD ประกอบด้วย RHIS ร้อยละ 50 และ Fareast Green Energy Pte. Ltd. ร้อยละ 50 และโครงสร้าง ผูถ้ อื หุน้ โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ อาซาฮาน-1 (Asahan-1) ประกอบด้วย FRD ประมาณร้อยละ 53.21 (บริษัทถือหุ้นทางอ้อมผ่าน RHIS และ FRD ประมาณร้อยละ 26.61) PT Pembangkitan Jawa Bali (บริษทั ย่อยของ PLN) ประมาณร้อยละ 36.61 International Finance Corporation (“IFC”) ร้อยละ 5 และส่วนที่เหลือ เป็นผู้ถือหุ้นอื่น • บริษัทได้ลงทุนผ่านบริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ด�ำเนินการซื้อหุ้นสามัญและเงินกู้ ส่วนของผู้ถือหุ้น (รวมถึงสิทธิประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง) ในบริษัท ราช-ออสเตรเลี ย คอร์ ป อเรชั่ น จ� ำ กั ด จากผู ้ ถื อ หุ ้ น เดิ ม
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
(Broadspectum Pty Limited) ที่ถืออยู่ทั้งหมดในสัดส่วน ร้อยละ 20 คิดเป็นเงินลงทุนประมาณ 53.50 ล้านเหรียญ ออสเตรเลีย ทัง้ นีภ้ ายหลังการซือ้ ขายแล้วเสร็จจะส่งผลให้บริษทั ถือหุน้ ร้อยละ 100 ในบริษทั ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด • เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2561 บริษัท อาร์เอช อินเตอร์ เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ได้ด�ำเนินการซื้อคืน หุ้นกู้เดิมและออกและเสนอขายหุ้นกู้ใหม่ โดยมีรายละเอียดดังนี้ - ด�ำเนินการซือ้ คืนหุน้ กูเ้ ดิม (“Tender Offer”) 300 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.50 ต่อปี ครบก�ำหนด ไถ่ถอนเดือนพฤษภาคม 2562 (“หุ้นกู้ชุดเดิม”) จากนักลงทุน ในต่างประเทศ โดยหุ ้ น กู ้ ดั ง กล่ า วมี บ ริ ษั ท เป็ น ผู ้ ค�้ ำ ประกั น การช�ำระหนี้ตามหุ้นกู้ ทั้งนี้ได้ด�ำเนินการซื้อหุ้นกู้ชุดเดิมคืน คิดเป็นจ�ำนวนเงินต้นทั้งสิ้น 193 ล้านเหรียญสหรัฐฯ - ด�ำเนินการออกและเสนอขายหุน้ กู้ 300 ล้านเหรียญสหรัฐฯ อั ต ราดอกเบี้ ย ร้ อ ยละ 4.50 ต่ อ ปี ครบก� ำ หนดไถ่ ถ อน เดือนมีนาคม 2571 (“หุน้ กูช้ ดุ ใหม่”) ให้กบั นักลงทุนในต่างประเทศ โดยเป็นการออกและเสนอขายตามโครงการหุน้ กูจ้ ำ� นวน 1,000 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ ของบริษัท ทั้งนี้ หุ้นกู้ชุดใหม่มีเงินต้นจ�ำนวน 300 ล้านเหรียญสหรัฐฯ อายุหุ้นกู้ 10 ปี ครบก�ำหนดไถ่ถอน ปี 2571 และมีอตั ราดอกเบีย้ คงทีท่ รี่ อ้ ยละ 4.50 ต่อปี และบริษทั ได้ให้การค�้ำประกันการช�ำระหนี้ตามหุ้นกู้ชุดใหม่ ส�ำหรับเงิน ทีไ่ ด้สทุ ธิจากการออกหุน้ กูด้ งั กล่าวนัน้ จะถูกน�ำไปใช้ในการซือ้ คืน หุ้นกู้ชุดเดิม และใช้ในกิจการทั่วไปของกลุ่มบริษัท รวมถึงใช้เป็น เงินทุนหมุนเวียน เงินลงทุน และ/หรือช�ำระคืนหนีข้ องบริษทั ในกลุม่ จากการด� ำ เนิ น การดั ง กล่ า วข้ า งต้ น มี ผ ลให้ ส ามารถ ขยายระยะเวลาการช�ำระคืนเงินต้นจากเดิมครบก�ำหนดช�ำระ ในปี 2562 เป็นก�ำหนดช�ำระภายในปี 2571 • เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2561 บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด ได้ด�ำเนินการออกและเสนอขายหุ้นกู้ชนิดทยอยช�ำระ คืนเงินต้นไม่ด้อยสิทธิไม่มีหลักประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ มูลค่ารวม 6,400 ล้านบาท จ�ำนวน 4 รุ่น โดยแบ่งเป็นหุ้นกู้อายุ 3 ปี อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 2.68 ต่อปี หุน้ กูอ้ ายุ 5 ปี อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 3.00 ต่อปี หุ้นกู้อายุ 10 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.85 ต่อปีและหุ้นกู้อายุ 16 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.22 ต่อปีให้กับ นักลงทุนสถาบัน และ/หรือผูล้ งทุนรายใหญ่ หุน้ กูด้ งั กล่าวได้รบั การจัดอันดับความน่าเชือ่ ถือที่ “A-” แนวโน้มเครดิตมีเสถียรภาพ โดยบริษัท ฟิทช์ เรทติ้งส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด โดยเงินที่ได้รับ จากการออกหุน้ กูใ้ นครัง้ นีจ้ ะน�ำไปช�ำระเงินกูเ้ ดิม และเพือ่ สนับสนุน แผนการขยายก� ำ ลั ง การผลิ ต ไฟฟ้ า ของบริ ษั ท ในเฟส 2 อีกประมาณ 60 เมกะวัตต์ และไอน�ำ้ อีกประมาณ 10 ตันต่อชัว่ โมง เพื่ อ รองรั บ ลู ก ค้ า ภายในเขตส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมนวนคร ซึ่งจะท�ำให้บริษัทมีก�ำลังการผลิตไฟฟ้าสุทธิรวม (ทั้งเฟส 1 และ เฟส 2) ประมาณ 185 เมกะวัตต์ และขนาดก�ำลังการผลิตไอน�้ำ รวมประมาณ 40 ตันต่อชั่วโมง
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
035
• บริหารเงินสดคงเหลือ โดยพิจารณาผลประโยชน์ ในภาพรวมของกลุม่ บริษทั ทัง้ ในด้านการฝากเงิน การกูเ้ งิน รวมถึง การพิจารณาสภาพคล่องในการให้เงินกูร้ ะหว่างกลุม่ บริษทั ด้วยกัน ภายใต้นโยบายการเงินที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ซึง่ สรุปผลตอบแทนเฉลีย่ ตลอดปี 2561 ส�ำหรับเงินลงทุนระยะสัน้ และระยะยาว บริ ษั ท สามารถลงทุ น ได้ ผ ลตอบแทนสู ง กว่ า อัตราผลตอบแทนอ้างอิงในตลาด ร้อยละ 0.75 • อันดับเครดิต บริษัทจัดอันดับเครดิต TRIS Rating, S&P Global Ratings และ Moody’s Investors Service ได้คงอันดับความน่าเชื่อถือของบริษัทที่ AAA, BBB + และ Baa1 ตามล�ำดับ ซึง่ ถือเป็นเครดิตความน่าเชือ่ ถือเทียบเท่าอันดับเครดิต ของประเทศ ด้านการบริหารองค์กร บริ ษั ท ตระหนั ก ดี ว ่ า การบริ ห ารจั ด การเพื่ อ พั ฒ นา ประสิทธิภาพภายในองค์กรให้แข็งแกร่ง เป็นหัวใจหลักในการ เสริมสร้างสมรรถนะที่จ�ำเป็นขององค์กร ช่วยเพิ่มศักยภาพ ขีดความสามารถทางธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเตรียมความพร้อม ด้านบุคลากร เพื่อให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกาภิวัตน์ และการแข่ ง ขั น ทางธุ ร กิ จ ในอนาคต บริ ห ารจั ด การองค์ ก ร ให้สามารถรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงจากอิทธิพลของเทคโนโลยี ที่เปลี่ยนผ่านอย่างรวดเร็ว (Disruptive Technology) ที่อาจ ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างการลงทุน เป็นทีย่ อมรับกันในปัจจุบนั ว่าการธ�ำรงความสามารถในการด�ำเนินธุรกิจและการบริหาร จัดการองค์กรให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ธุรกิจและวิสัยทัศน์องค์กร ที่ ไ ด้ ก� ำ หนดไว้ จ ะเป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ที่ ช ่ ว ยขั บ เคลื่ อ นองค์ ก ร สู่ความส�ำเร็จได้อย่างยั่งยืนภายใต้เสาหลัก 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
ในปี 2561 ทีผ่ า่ นมา บริษทั ได้ทบทวนแผนกลยุทธ์ซงึ่ นอกเหนือ จากการรั ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพที่ ดี ข องสิ น ทรั พ ย์ ที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว ยังมีความพยายามทีจ่ ะผลักดันให้เกิดธุรกิจใหม่ๆ ทีจ่ ะเพิม่ มูลค่า ให้ แ ก่ อ งค์ ก รโดยรวม และได้ มุ ่ ง เน้ น การขั บ เคลื่ อ นองค์ ก ร ตามยุ ท ธศาสตร์ ก ารด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ การปรั บ ปรุ ง พั ฒ นางาน และการบริ ห ารจั ด การที่ มี ท รั พ ยากรบุ ค คลเป็ น ศู น ย์ ก ลาง สรุปการด�ำเนินการที่ส�ำคัญดังนี้ 1. การเสริมสร้างความแข็งแกร่งของวัฒนธรรมองค์กร ในปี 2561 บริษทั ได้ทบทวนค่านิยมองค์กรเพือ่ ขับเคลือ่ นให้เกิดเป็น วัฒนธรรมองค์กรทีโ่ ดดเด่นของบริษทั โดยใช้กระบวนการพัฒนา ที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับทั่วทั้งองค์กร ผ่านแบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการจัดสัมมนา เชิงปฏิบตั กิ าร แล้วน�ำข้อมูลทีไ่ ด้จากเครือ่ งมือเหล่านีม้ าท�ำการวิเคราะห์ และประยุ ก ต์ ใ ห้ ส อดรั บ กั บ วิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ และกลยุ ท ธ์ ตอบสนองต่อเป้าหมายธุรกิจและภารกิจขององค์กร รวมทัง้ ศึกษา เปรียบเทียบกับองค์กรชั้นน�ำต่างๆ ท�ำให้เกิดเป็นค่านิยมองค์กร 3 ด้าน คือ Power of Professional (พลังแห่งความเป็นมืออาชีพ ทีม่ งุ่ หวังให้เกิดความรูส้ กึ เป็นเจ้าของกิจการภายใต้หลักธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคมและผู้มีส่วนได้เสีย) Power of Innovation (พลังแห่งนวัตกรรมความคิดสร้างสรรค์ มีความ คล่องตัวและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี) และ Power of Teamwork (พลังแห่งทีม ส่งเสริมขับเคลื่อนการ บูรณาการและความร่วมมือน�ำไปสูก่ ารเป็นพันธมิตรทีแ่ ข็งแกร่ง) จากนั้ น ได้ สื่ อ สารค่ า นิ ย มองค์ ก รเหล่ า นี้ ผ ่ า นสื่ อ ภายในและ กิจกรรมต่างๆ เพือ่ สร้างและตอกย�ำ้ การรับรูข้ องบุคลากรทุกระดับ ในองค์กร โดยในปีต่อๆ ไปบริษัทมีแผนจะขับเคลื่อนค่านิยม ในแต่ละด้านต่อเนื่องไป เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสร้างให้เป็น วัฒนธรรมองค์กรที่แข็งแกร่งได้อย่างสมบูรณ์ต่อไป
วิเคราะหโอกาสทางธุรกิจใหมๆ ตอบสนองอยางรวดเร็วตอการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และกลาคิด กลาทำ และพัฒนาตอยอดเพื่อสิ่งที่ดีกวา
แสดงทักษะและความสามารถเต็มที่ อยางเปนมืออาชีพดวยความเปนเลิศ และยึดมั่นในความถูกตองและธรรมาภิบาล
แสดงตนเปนผูนำและผูตามที่ดีตามบทบาทหนาที่ ในการทำงานรวมกันกับผูที่เกี่ยวของ ทั้งภายในและภายนอกองคกร
036
2. การพัฒนาองค์กรไปสู่การเป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง (High Performance Organization: HPO) เพือ่ สร้างความสามารถ ในการแข่ ง ขั น ในระดั บ สากล ในปี ที่ ผ ่ า นมามี ก ารก� ำ หนด 3 แผนงานหลักเป็นกรอบในการปฏิบัติและด�ำเนินการดังนี้ 1) การกระจายกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ (Alignment of Strategy) ก�ำหนดให้ระดับสายงานต่างๆ ลงไปถึงระดับปฏิบตั งิ าน ในส่วนงานต่างๆ ขององค์กร ต้องก�ำหนดเป้าหมายของสายงาน และจั ด ท� ำ แผนการปฏิ บั ติ ง านและกลยุ ท ธ์ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ แผนกลยุทธ์ขององค์กรยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการก�ำหนดตัวชี้วัด ผลการปฏิบตั งิ าน (KPI) ในระดับบุคคลให้สอดคล้องกับเป้าหมาย หน่วยงานในระดับต่างๆ ขององค์กรตามล�ำดับ ตัวชี้วัดผลการ ปฏิบตั งิ านมีความครอบคลุมทัง้ เชิงคุณภาพและปริมาณทีม่ งุ่ เน้น ที่ความส�ำเร็จของงานเป็นส�ำคัญ นอกจากนี้ยังได้จัดท�ำแผน อัตราก�ำลังเชิงกลยุทธ์ระยะยาว 5 ปีขนึ้ ใหม่ เพือ่ เตรียมความพร้อม ด้ า นทรั พ ยากรบุ ค คลอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง สามารถตอบสนองต่ อ การเติบโตและสอดคล้องกับทิศทางธุรกิจ 2) การเสริมสร้างความสามารถองค์กรในอนาคต (Building Future Capabilities) บริษัทได้เร่งด�ำเนินการในการ คัดเลือกสรรหาผู้สืบทอดต�ำแหน่ง (Successors) และกลุ่ม ผู้บริหารระดับต้น (Talents) ตามแผนงานสรรหาผู้สืบทอด ต�ำแหน่งผูบ้ ริหาร (Successor Development Plan) อย่างต่อเนือ่ ง เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ต� ำ แหน่ ง อั ต รา และช่ ว งเวลาการ เกษี ย ณอายุ ข องผู ้ บ ริ ห ารในระยะสั้ น และระยะยาว รวมทั้ ง ด�ำเนินการพัฒนาความพร้อมด้านต่างๆ แก่บุคลากรที่จะขึ้นมา ทดแทนต� ำ แหน่ ง หลั ก ที่ บ ริ ษั ท ต้ อ งการได้ ต ามก� ำ หนดเวลา โดยน�ำเครื่องมือที่ส�ำคัญมาใช้ดังนี้ - การน�ำกระบวนการ Coaching มาประยุกต์ใช้ ในองค์กรเพื่อสร้างและพัฒนาความสามารถของบุคลากรเป็น เครื่องมือส�ำหรับหัวหน้างานทุกระดับในการฝึกสอนและพัฒนา ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาเพือ่ บรรลุเป้าหมายของหน่วยงาน และเพิม่ ช่องทาง
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ในการสื่อสารโดยจัดให้มีระบบ Dialogue ประกอบการประเมิน ผลการปฏิบัติงานประจ�ำปี - การปรับปรุงกระบวนการส่งพนักงานไปปฏิบตั งิ าน ประจ�ำในต่างประเทศ (Upgrading Secondment Program) ให้มีช่วงเวลาการไปปฏิบัติงานประจ�ำที่เหมาะสมและก�ำหนด เวลาชัดเจน โดยปรับปรุงระเบียบและค�ำสัง่ ทีเ่ กีย่ วข้องของบริษทั ให้ ส อดคล้ อ งกั น เพื่ อ ให้ พ นั ก งานทราบระยะเวลาที่ แ น่ ชั ด การไปปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ป ระจ� ำ ในต่ า งประเทศเพื่ อ ให้ ส ามารถ วางแผนการท�ำงานและการใช้ชีวิตได้อย่างสมดุล - การก�ำหนดองค์ความรู้ที่จ�ำเป็นส�ำหรับคัดเลือก กรรมการบริษัท (Leadership Skill Matrix Development) ได้กำ� หนดกลุม่ องค์ความรูท้ เี่ ป็นคุณสมบัตทิ จี่ ำ� เป็นในการพิจารณา คั ด เลื อ กกรรมการบริ ษั ท ควบคู ่ กั บ การพั ฒ นาองค์ ค วามรู ้ ของกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ เสริ ม สร้ า งประสิ ท ธิ ภ าพที่ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ในการก�ำกับดูแลกิจการ - การปรับปรุงกระบวนการสรรหาบุคลากรภายนอก โดยน�ำระบบอิเล็กทรอนิกส์เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ สรรหาพนักงานใหม่ (E-recruitment) ซึ่งผู้ที่สนใจสามารถ กรอกใบสมัครงานออนไลน์ ขณะทีห่ น่วยงานภายในองค์กรทีต่ อ้ งการ อัตราก�ำลังสามารถคัดกรองข้อมูลของผูส้ มัคร นัดหมายสัมภาษณ์ จั ด ส่ ง และตรวจสอบข้ อ สอบคั ด เลื อ กได้ ใ นระบบออนไลน์ ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการคัดเลือก และสรรหาบุคลากรให้กับองค์กร 3) การสือ่ สารและส่งเสริมความร่วมมือในการท�ำงาน (Communication and Collaboration) บริษทั ได้กำ� หนดความ ชัดเจนเกี่ยวกับหน้าที่ความรับผิดชอบของสายงานในโครงสร้าง องค์กร โดยจัดให้มคี วามชัดเจนในการรับส่งงานกันระหว่างสายงาน เพื่ อ ให้ ก ารท� ำ งานข้ า มสายงานเป็ น ไปอย่ า งราบรื่ น ชั ด เจน มีความต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
นอกจากนี้ บริษทั ได้ดำ� เนินการปรับปรุงกระบวนการ สื่ อ สารภายในองค์ ก รให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ (Internal Communication Enhancement) ลดช่องว่างทางการสื่อสาร ระหว่ า งพนั ก งานกั บ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง โดยน� ำ เทคโนโลยี สารสนเทศเข้ า มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการสื่ อ สารภายในองค์ ก ร เพื่อถ่ายทอดนโยบายและทิศทางการด�ำเนินงานบริษัท สามารถ แลกเปลีย่ นข้อมูล สอบถามและแสดงความคิดเห็น ผ่านการสือ่ สาร แบบสองทางในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การจัดประชุมในระดับต่างๆ ตัง้ แต่การประชุม Town Hall ระหว่างผูบ้ ริหารสูงสุดกับพนักงาน ในกลุม่ บริษทั ไปจนถึงการประชุมในระดับสายงานและหน่วยงาน การน�ำช่องทางการสื่อสารในรูปแบบของ Social media เข้ามา ประยุกต์ใช้ในงาน ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างพนักงาน ในองค์กร การพัฒนาปรับปรุงระบบอินทราเน็ต SharePoint เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลแบบสองทางระหว่าง บริษทั กับพนักงาน และพนักงานกับพนักงาน รวมทัง้ พัฒนาระบบ สารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลเพือ่ ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพให้กบั การบริหารงานด้านทรัพยากรบุคคล สามารถรองรับการวางแผน พัฒนาบุคลากรและการเสริมสร้างขีดความสามารถภายในองค์กร ได้มากยิ่งขึ้น 3. การด�ำเนินงานเพื่อรักษาความผูกพันของพนักงาน ที่มีต่อองค์กร (Employee Engagement) บริษัทมีนโยบายให้ ทุกสายงานมีส่วนร่วมในการด�ำเนินการ โดยก�ำหนดให้เป็น หนึง่ ในตัวชีว้ ดั ผลการด�ำเนินงานของสายงาน จัดให้มกี ารปฏิบตั งิ าน แบบข้ามสายงาน (Cross-function project) เพือ่ ให้พนักงานได้มกี าร ท�ำงานร่วมกันมากขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ส่งผลให้การท�ำงานระหว่างสายงานในองค์กรมีความต่อเนื่อง และสอดประสานกันได้ดียิ่งขึ้น 4. การจัดท�ำระบบพัฒนาทรัพยากรบุคคลในสายอาชีพ (Career Development and Career Path Roadmap) บริษทั ได้จัดให้มีการสื่อสารถ่ายทอดนโยบาย แผนงานและกลยุทธ์ องค์กร เป็นล�ำดับอย่างต่อเนือ่ ง และปรับปรุงระบบการประเมินผล การปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรมชัดเจน ส่งผล ต่อความเป็นธรรมในการจ่ายค่าตอบแทนแก่พนักงาน นอกจากนี้ ยังจัดท�ำเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพทีก่ ำ� หนดตามกลุม่ งาน อย่างชัดเจน และสื่อสารให้พนักงานทุกระดับได้รับรู้ ทั้งยัง ก�ำหนดแนวทางการพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากร ตามแผนงานการฝึกอบรม Training Roadmap เพือ่ ให้ผปู้ ฏิบตั งิ าน เพิม่ พูนสมรรถนะและศักยภาพสอดคล้องกับโอกาสและเส้นทาง ความก้าวหน้าของผู้ปฏิบัติงานตามกลุ่มงานอย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงการพัฒนาศักยภาพของผูบ้ ริหารโดยส่งไปเข้าร่วมหลักสูตร ที่ ส� ำ คั ญ ๆ อย่ า งสม�่ ำ เสมอ เพื่ อ ปรั บ เปลี่ ย นกระบวนทั ศ น์ เกิ ด การเรี ย นรู ้ สิ่ ง ใหม่ และเสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยทางธุ ร กิ จ
037
เป็ น การเตรี ย มความพร้ อ มส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห ารรุ ่ น ใหม่ ท ดแทน ผู้บริหารที่จะเกษียณอายุต่อไป 5. การจัดท�ำแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Plan: BCP) ในปี 2561 บริษทั ได้ดำ� เนินการต่อเนือ่ ง จากปีที่ผ่านมาที่มีการทบทวนและปรับปรุง แผนการจัดการ ภาวะวิกฤต และแผนการสื่อสารภาวะวิกฤต โดยในปีนี้ บริษัท ได้ด�ำเนินการศึกษาแผนรับมือเหตุฉุกเฉินของบริษัทและบริษัท ตัวแทนในกลุม่ บริษทั เพือ่ บูรณาการแผนทีเ่ กีย่ วเนือ่ งทัง้ สามแผน กั บ การบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ ทั้ ง หมดเข้ า ด้ ว ยกั น โดยจัดท�ำเป็นแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจในระดับหน่วยงาน เพือ่ ใช้เป็นกรอบและแนวทางปฏิบตั ใิ นการระงับ บรรเทาและจ�ำกัด ความเสียหายจากผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ จากเหตุสดุ วิสยั ทีจ่ ะส่งผล ต่อความสามารถในการด�ำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน นอกจากนี้ บริษัทยังมีการซักซ้อมแผนงาน BCP เพื่อทบทวน ความสมบูรณ์และการพร้อมในการใช้งานของแผนกับผูป้ ฏิบตั งิ าน ทุกคนทีเ่ กีย่ วข้องกับแผนครบถ้วนทุกหน่วยงานผ่าน Call-Tree และ ยังมีการทดสอบและซักซ้อมแผนงาน BCP โดยจ�ำลองสถานการณ์ ภาวะวิ ก ฤต โดยจั ด ตั้ ง ศู น ย์ สั่ ง การที่ มี ค ณะกรรมการจั ด การ ภาวะวิกฤตเข้าร่วมทดสอบและซักซ้อมในการใช้แผนบริหาร ความต่อเนือ่ งทางธุรกิจ เพือ่ เตรียมความพร้อมของบุคลากร รวมทัง้ ทดสอบการใช้งานจริงของแผน และน�ำมาปรับปรุงแก้ไขคู่มือ การปฏิ บั ติ ง านให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลรองรั บ การเกิดเหตุภาวะวิกฤตต่อไป นอกจากนี้ บริษัทยังได้ก�ำหนด และจัดเตรียมความพร้อมของสถานที่ท�ำงานส�ำรองเพื่อให้ธุรกิจ ยังด�ำเนินต่อเนื่องได้อย่างยั่งยืน 6. การพัฒนาระบบจัดการความรู้ ในปี 2561 บริษัท ได้ พั ฒ นาระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศอย่ า งเต็ ม รู ป แบบ เพือ่ ใช้รองรับการจัดการองค์ความรู้ ซึง่ เป็นระบบเก็บข้อมูลผ่านทาง อิ น เทอร์ เ น็ ต Knowledge Center SharePoint ชื่ อ ว่ า “V Space” ซึ่งสามารถรองรับรูปแบบการใช้งานของพนักงาน ทีม่ พี ฤติกรรมในการท�ำงานโดยใช้อปุ กรณ์เทคโนโลยีระบบดิจทิ ลั มาอ�ำนวยความสะดวกยิง่ ขึน้ รวมทัง้ รองรับการท�ำงานของบุคลากร ทีต่ อ้ งเดินทางไปปฏิบตั งิ านนอกสถานทีแ่ ละทีถ่ กู ส่งไปปฏิบตั หิ น้าที่ ยังต่างประเทศ V Space พัฒนาขึน้ เพือ่ ใช้เป็นระบบจัดเก็บข้อมูลทีร่ วบรวม จากการถอดบทเรียน ประสบการณ์ความรู้ด้านการท�ำงานจาก ผูบ้ ริหารและบุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญด้านอุตสาหกรรมไฟฟ้า ความรู้ด้านการบริหารงานพัฒนาโครงการต่างๆ ข้อมูลความรู้ และแนวโน้มที่เกี่ยวข้องและจ�ำเป็นต่างๆ ต่อธุรกิจ ความรู้เรื่อง Disruptive Technology ความเคลื่อนไหวด้านธุรกิจ Start-up ข้อมูลด้านการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ตลอดจนข้อมูลด้านสิง่ แวดล้อม
038
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
โดยองค์ความรูเ้ หล่านีจ้ ะถูกเรียบเรียง รวบรวม และจัดเก็บไว้เป็น หมวดหมูใ่ นรูปแบบต่างๆ อาทิ ไฟล์ขอ้ มูล ข้อมูลภาพ และวีดทิ ศั น์ V Space ยั ง ได้ รั บ การพั ฒ นาเพื่ อ เป็ น KM Community ซึ่ ง เป็ น พื้ น ที่ แ ละเวที ใ นการแลกเปลี่ ย นองค์ ค วามรู ้ แ ละ ประสบการณ์ดา้ นการท�ำงาน จัดท�ำ Blog และจัดท�ำห้องสนทนา
เฉพาะกลุม่ (Community of Practice) ตามเรือ่ งความรูท้ สี่ มาชิก สนใจ เพื่อช่วยกระตุ้นให้พนักงานได้เข้ามาใช้งาน สร้างสรรค์ ให้เกิดเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และมุ่งหวังว่าจะสร้างเป็น พฤติกรรมที่พึงประสงค์จนเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กร ในระยะยาวต่อไป
การเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญ บริษัทมุ่งมั่นด�ำเนินธุรกิจตามวิสัยทัศน์และพันธกิจที่ได้ แถลงไว้แต่ครั้งก่อตั้งบริษัทในปี 2543 เป็นต้นมา บนรากฐาน แห่งธรรมาภิบาลและความโปร่งใส ค�ำนึงถึงผูม้ สี ว่ นได้เสีย และยึดตาม แนวทางการพัฒนาแบบยัง่ ยืนเสมอมา ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา บริษัทได้มีการทบทวนวิสัยทัศน์ และพันธกิจเป็นประจ�ำ โดยใน ปี 2561 คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสูงได้พิจารณา อนุมัติให้ปรับเปลี่ยนวิสัยทัศน์และพันธกิจให้มีความสอดคล้อง ครอบคลุมในทุกมิตขิ องธุรกิจทีบ่ ริษทั ด�ำเนินการ และสอดคล้องกับ กระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจและนโยบายของภาครัฐ ที่มุ่งเน้นการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานสะอาด สถานการณ์การใช้ ไฟฟ้าของประเทศทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปจากค่าพยากรณ์ความต้องการ ใช้ ไ ฟฟ้ า เดิ ม และการรุ ก เข้ า สู ่ ธุ ร กิ จ สาธารณู ป โภคพื้ น ฐาน ทั้งในและต่างประเทศของบริษัทที่มากขึ้น รวมทั้งเป็นการขยาย โอกาสและสร้างฐานธุรกิจขององค์กรสูก่ ารเติบโตอย่างยัง่ ยืนต่อไป
มีนาคม - บริ ษั ท อาร์ เ อช อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล (สิ ง คโปร์ ) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (“RHIS”) ซื้อหุ้นกู้เดิม “US$300,000,000 3.50% notes due 2019” ทีบ่ ริษทั เป็นผูค้ ำ�้ ประกันการช�ำระหนี้ ตามหุ้นกู้จากผู้ลงทุนในต่างประเทศ เป็นเงินต้นจ�ำนวนทั้งสิ้น 193 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ใหม่ “US$300,000,000 4.50% notes due 2028” ให้กับผู้ลงทุน ในต่างประเทศ ตามโครงการหุ้นกู้ 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ของบริษทั และ RHIS หุน้ กูช้ ดุ ใหม่นมี้ เี งินต้นจ�ำนวน 300 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ อายุหนุ้ กู้ 10 ปี ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี 2571 อัตราดอกเบีย้ คงที่ที่ร้อยละ 4.50 ต่อปี โดยบริษัทเป็นผู้ค�้ำประกันการช�ำระหนี้ ตามหุ้นกู้ชุดใหม่ ส�ำหรับเงินได้สุทธิถูกน�ำไปใช้ในการซื้อคืนหุ้นกู้ ชุดเดิม ใช้ในกิจการทั่วไปและใช้หมุนเวียน ใช้เป็นเงินลงทุน และ/หรือช�ำระคืนหนี้ของบริษัทในกลุ่ม
ปี 2561 บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญสรุปได้ดังนี้ มกราคม - บริ ษั ท เคเค เพาเวอร์ จ� ำ กั ด บริ ษั ท ร่ ว มทุ น ในราชอาณาจักรกัมพูชาทีบ่ ริษทั ถือหุน้ ร้อยละ 50 ของทุนจดทะเบียน ที่ออกและเรียกช�ำระแล้วทั้งหมด ได้จดทะเบียนเลิกกิจการและ ช�ำระบัญชีตามกฎหมายของราชอาณาจักรกัมพูชาเรียบร้อยแล้ว
เมษายน - RHIS บรรลุข้อตกลงและได้ลงนามสัญญาซื้อขายหุ้น (Securities Sale Deed) กับ Broadspectrum Pty Limited เพื่อซื้อหุ้นสามัญและเงินกู้ส่วนของผู้ถือหุ้นรวมสิทธิประโยชน์ ที่เกี่ยวข้องในบริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด จากผู้ถือหุ้นเดิมคือ Broadspectrum Pty Limited ที่ถืออยู่ ทั้งหมดในสัดส่วนร้อยละ 20 คิดเป็นเงินประมาณ 53.50 ล้าน เหรียญออสเตรเลีย หรือเทียบเท่าประมาณ 1,321 ล้านบาท
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
เป็นไปตามราคาทีค่ สู่ ญั ญาตกลงกัน และเมือ่ วันที่ 3 พฤษภาคม 2561 การซื้อขายหุ้นดังกล่าวแล้วเสร็จสมบูรณ์ตามเงื่อนไขโดยได้รับ การอนุมัติจาก Australian Foreign Investment Review Board และส่งผลให้บริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด มีสดั ส่วนการถือหุน้ เป็นร้อยละ 100 ซึง่ จะช่วยเพิม่ ความสามารถ ในการสร้างมูลค่าสินทรัพย์และเพิ่มมูลค่าการพัฒนาโครงการ โรงไฟฟ้าที่มีอยู่ในประเทศออสเตรเลีย รวมทั้งช่วยสนับสนุน ให้บริษัทบรรลุเป้าหมายการเติบโตตามแผน พฤษภาคม - บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด ด�ำเนินการลงทุน ขยายก�ำลังการผลิตไฟฟ้าเพิม่ อีกประมาณ 60 เมกะวัตต์ และไอน�ำ้ เพิม่ อีกประมาณ 10 ตันต่อชัว่ โมง วงเงินลงทุนประมาณ 3,105 ล้านบาท ประกอบด้วยส่วนเงินกูป้ ระมาณ ร้อยละ 75 และส่วนของผู้ถือหุ้น ประมาณร้ อ ยละ 25 คาดว่ า จะเริ่ ม เดิ น เครื่ อ งเชิ ง พาณิ ช ย์ ภายในปี 2563 - บริษทั ได้ลงนามสัญญาพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ เซกอง 4A และ 4B ใน สปป.ลาว ขนาดก�ำลังการผลิตติดตัง้ ประมาณ 340 เมกะวัตต์ มูลค่าโครงการประมาณ 835 ล้านเหรียญ สหรั ฐ ฯ ผู ้ ร ่ ว มทุ น ประกอบด้ ว ย บริ ษั ท ถื อ หุ ้ น ร้ อ ยละ 60 Lao World Engineering & Construction Co., Ltd. ร้อยละ 20 และบริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด ร้อยละ 20 มิถุนายน - ระบบสายส่งไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสา ใน สปป.ลาว เกิดขัดข้องจากเหตุฟ้าผ่าบริเวณสายส่ง 500 kV ส่งผลให้ระบบการจ่ายกระแสไฟฟ้าหยุดชัว่ คราวเมือ่ เวลา 13.06 น. ของวันที่ 1 มิถุนายน 2561 และโรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสา หน่วยที่ 1 และหน่วยที่ 2 สามารถกลับมาเดินเครื่องได้ตามปกติ ในเวลา 14.47 น. ของวันเดียวกัน ส่วนโรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสา หน่ ว ยที่ 3 สามารถกลั บ มาเดิ น เครื่ อ งตามปกติ ไ ด้ ใ นวั น ที่ 5 มิถนุ ายน 2561 ภายหลังเปลีย่ นอุปกรณ์ทชี่ ำ� รุดจากเหตุดงั กล่าว กรกฎาคม - เกิ ด เหตุ ก ารณ์ สั น เขื่ อ นดิ น ย่ อ ยกั้ น ช่ อ งเขาส่ ว น D (Saddle Dam D) ซึง่ สร้างขึน้ เพือ่ เสริมการกัน้ น�ำ้ รอบอ่างเก็บน�ำ้ เซน�ำ้ น้อยโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ เซเปียน-เซน�ำ้ น้อย เกิดรอยร้าว และมีมวลน�้ำไหลออกบริเวณพื้นที่ท้ายเขื่อนลงสู่ล�ำน�้ำเซเปียน ออกไป 5 กิโลเมตร และพื้นที่ท้ายน�้ำ ส่งผลกระทบต่อประชาชน ในชุมชนและพื้นที่โดยรอบบริเวณท้ายล�ำน�้ำเซเปียนที่เชื่อมต่อ ล�ำน�้ำเซกอง รายละเอียดตามทีก่ ล่าวในหัวข้อผลการด�ำเนินงาน ของโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ เซเปียน-เซน�้ำน้อย (ข้อ 2. กลุ่มโครงการ ในต่างประเทศ แบ่งตามที่ตั้งใน สปป.ลาว)
039
ตุลาคม - โครงการติ ด ตั้ ง ชุ ด ก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า เครื่ อ งยนต์ ดี เ ซล เพื่ อ กู ้ คื น ระบบไฟฟ้ า ที่ โ รงไฟฟ้ า Kemerton ของบริ ษั ท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ได้เริม่ ให้บริการเชิงพาณิชย์ ตามสัญญาเสริมการให้บริการกูค้ นื ระบบไฟฟ้าหากเกิดกรณีไฟฟ้า ดับเป็นวงกว้างในพืน้ ทีต่ อนใต้ของโครงข่ายระบบไฟฟ้าตะวันตก เฉียงใต้ของรัฐออสเตรเลียตะวันตก ซึ่งบริการกู้คืนระบบไฟฟ้า ดังกล่าวถือเป็นบริการที่มีความจ�ำเป็นในการรักษาความมั่นคง และความต่ อ เนื่ อ งของระบบไฟฟ้ า ในเขตพื้ น ที่ ดั ง กล่ า ว ของรัฐออสเตรเลียตะวันตก - ศาลจั ง หวั ด นนทบุ รี ไ ด้ มี ค� ำ พิ พ ากษาเมื่ อ วั น ที่ 25 ตุลาคม 2561 “ยกฟ้องของโจทก์โดยให้เหตุผลว่า บริษทั และ ผู้บริหารกระท�ำการโดยสุจริต บริษัทและผู้บริหารไม่ได้กระท�ำ ละเมิดต่อโจทก์” ตามทีโ่ จทก์คอื บริษทั เอส ที เพาเวอร์ กรุป๊ จ�ำกัด ได้ยื่นฟ้องบริษัทเป็นจ�ำเลยในคดีแพ่งต่อศาลจังหวัดนนทบุรี กล่ า วหาว่ า บริ ษั ท และผู ้ บ ริ ห ารกระท� ำ ผิ ด ข้ อ ตกลงในการ ร่ ว มประกอบกิ จ การเพื่ อ เข้ า ร่ ว มประมู ล โครงการโรงไฟฟ้ า โดยใช้สทิ ธิไม่สจุ ริตทีจ่ ะไม่ยนื่ ข้อเสนอประมูลโรงไฟฟ้า ท�ำให้โจทก์ เสียหายและขาดประโยชน์จากการไม่ได้รับคัดเลือกการประมูล พฤศจิกายน - บริษัทร่วมกับบริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จ� ำ กั ด (มหาชน) ในนามของ “กิ จ การร่ ว มค้ า บี เ อสอาร์ ” เพื่อยื่นข้อเสนอเข้าร่วมลงทุนประมูลโครงการรถไฟความเร็วสูง เชื่อม 3 สนามบิน ได้แก่ สนามบินดอนเมือง สนามบินสุวรรณภูมิ และสนามบินอูต่ ะเภา ต่อการรถไฟแห่งประเทศไทย ซึง่ โครงการ รถไฟความเร็วสูงมีลกั ษณะเป็นโครงการในรูปแบบการร่วมลงทุน ระหว่างรัฐกับเอกชน (PPP) - กังหันลมตัวที่ 1 ของโรงไฟฟ้าพลังงานลม Windy Hill ได้เกิดเพลิงไหม้เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2561 เวลาประมาณ 15.00 น. และเพลิงได้สงบลงเวลาประมาณ 17.00 น. ตามเวลา ท้องถิ่นของเครือรัฐออสเตรเลีย โดยระหว่างเกิดเหตุโรงไฟฟ้า ได้ระงับการจ่ายกระแสไฟฟ้าเป็นการชัว่ คราว จากการตรวจสอบ ไม่พบความเสียหายทีก่ งั หันลมตัวอืน่ ๆ ทีเ่ หลืออีก 19 ตัว โรงไฟฟ้า จึงได้ปลดแยกกังหันลมตัวที่ 1 ที่ได้รับความเสียหายออกจาก ระบบ และสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าจากกังหันลมทั้ง 19 ตัว ได้ตามปกติตั้งแต่เวลา 09.30 น. ตามเวลาท้องถิ่นของวันที่ 15 พฤศจิกายน 2561
040
ธันวาคม - RHIS ได้เข้าซื้อหุ้นสามัญเดิมและหุ้นสามัญเพิ่มทุน FRD (บริษัทในสาธารณรัฐสิงคโปร์) ร้อยละ 50 จาก Fareast Green Energy Pte. Ltd. ผูถ้ อื หุน้ เดิม คิดเป็นเงินลงทุนประมาณ 81.89 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือเทียบเท่าประมาณ 2,690 ล้านบาท เพื่ อ เข้ า ร่ ว มด� ำ เนิ น งานโรงไฟฟ้ า พลั ง น�้ ำ อาซาฮาน-1 ขนาดก�ำลังการผลิต 180 เมกะวัตต์ ตั้งอยู่ที่จังหวัดสุมาตรา ในสาธารณรัฐอินโดนีเซีย เริ่มเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ตั้งแต่เดือน มกราคม 2554 มี สั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ้ า 30 ปี กั บ การไฟฟ้ า สาธารณรัฐอินโดนีเซีย - โรงไฟฟ้าพลังงานลม Mount Emerald ของบริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ได้เริม่ เดินเครือ่ งเชิงพาณิชย์ และรับรู้รายได้ตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าแล้ว - บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด (“ผู้ซื้อ”) และบริษัท เอเชีย ลงทุน พัฒนา และก่อสร้าง จ�ำกัดผู้เดียว ผู้ถือหุ้นเดิม (“ผู้ขาย”) ได้ลงนามสัญญาระหว่างผู้ถือหุ้นและสัญญาซื้อขาย หุน้ สามัญของบริษทั เอเชีย วอเตอร์ จ�ำกัดผูเ้ ดียว ผูด้ ำ� เนินโครงการ ผลิตน�้ำประปาแสนดิน ใน สปป.ลาว (“โครงการ”) ในสัดส่วน ร้อยละ 40 ของทุนจดทะเบียน หรือคิดเป็นหุ้นสามัญจ�ำนวน 4,800,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 8,400 กีบ ในวงเงิน 5.80 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 48,720 ล้านกีบ (หรือเทียบเท่า ประมาณ 194.59 ล้านบาท) โดยใช้เงินลงทุนจากเงินทุนหมุนเวียน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
และเงินกูข้ องบริษทั ราช-ลาว เซอร์วสิ จ�ำกัด แบ่งการช�ำระค่าหุน้ ออกเป็ น 2 งวด โดยงวดแรกจะช� ำ ระเงิ น ร้ อ ยละ 10 คิดเป็นเงิน 580,000 เหรียญสหรัฐฯ (หรือเทียบเท่าประมาณ 19,459,000 บาท) ภายใน 15 วันหลังจากวันที่ลงนามในสัญญา และงวดสุดท้ายจะช�ำระเงินส่วนทีเ่ หลือทัง้ หมด 5,220,000 เหรียญ สหรั ฐ ฯ (หรื อ เที ย บเท่ า ประมาณ 175,131,000 บาท) ภายใน 30 วันภายหลังบรรลุเงือ่ นไขบังคับก่อนตามสัญญาแล้วทัง้ หมด ซึ่งคาดว่าจะด�ำเนินการแล้วเสร็จภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2562 ภายหลั ง ธุ ร กรรมดั ง กล่ า วบรรลุ ผ ลส�ำ เร็ จ จะส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท เป็ น ผู ้ ร ่ ว มด� ำ เนิ น โครงการตามสั ด ส่ ว นการลงทุ น ผ่ า นบริ ษั ท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด และมีส่วนในการสนับสนุนนโยบาย ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนใน สปป.ลาว รวมทัง้ เป็น การขยายโอกาสการลงทุนของกลุ่มบริษัทอีกทางหนึ่ง โครงการ ดังกล่าวตัง้ อยูท่ เี่ มืองนาทรายทอง นครหลวงเวียงจันทน์ ใน สปป.ลาว ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ผลิ ต น�้ ำ ประปาจ� ำ หน่ า ยให้ กั บ รั ฐ วิ ส าหกิ จ น�้ำประปานครหลวงเวียงจันทน์ ระยะเวลาสัมปทาน 50 ปี ก�ำลังการผลิตรวม 48,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน แบ่งก�ำลังการผลิต ออกเป็น 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 เริม่ ผลิตตัง้ แต่เดือนธันวาคม 2561 ในอัตรา 24,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และระยะที่ 2 ประมาณ ปี 2574 จะขยายก�ำลังการผลิต
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
041
รายงานคณะกรรมการกลั่นกรองการลงทุน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการกลัน่ กรองการลงทุน ของบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (“บริษัท”) ประกอบด้วยกรรมการ จ�ำนวน 4 ท่าน ซึ่งได้รับการแต่งตั้ง จากคณะกรรมการบริษัท ได้แก่ (1) นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ ต�ำแหน่งประธานกรรมการกลัน่ กรองการลงทุน (2) นายบุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร (3) นายสืบพงษ์ บูรณศิรินทร์ และ (4) นายรัตนชัย นามวงศ์ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการกลั่นกรองการลงทุน โดยมี นายพีระวัฒน์ พุ่มทอง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่พัฒนาธุรกิจ ท�ำหน้าที่เลขานุการ ในระหว่างปี 2561 มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการกลั่นกรอง การลงทุนตามมติคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2561 เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2561 โดยแต่งตั้งนายบุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร เป็นกรรมการแทนนายวิบลู ย์ ฤกษ์ศริ ะทัย และแต่งตัง้ นายรัตนชัย นามวงศ์ เป็นกรรมการแทนนายวิฑูรย์ กุลเจริญวิรัตน์ และ มติคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 10/2561 เมือ่ วันที่ 17 กันยายน 2561 แต่ ง ตั้ ง นายสื บ พงษ์ บู ร ณศิ ริ น ทร์ เป็ น กรรมการกลั่ น กรอง การลงทุ น แทนนายถาวร งามกนกวรรณ ทั้ ง นี้ ในปี 2561 คณะกรรมการกลัน่ กรองการลงทุนมีการประชุมรวมทัง้ สิน้ จ�ำนวน 9 ครั้ง ซึ่งคณะกรรมการกลั่นกรองการลงทุนที่ได้รับการแต่งตั้ง จากคณะกรรมการบริษทั จะมีอำ� นาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้
2. พิจารณากลัน่ กรองการลงทุนในโครงการทีฝ่ า่ ยบริหารเสนอ เพื่อให้โครงการลงทุนของบริษัทในโครงการ Green field, Brownfield และ M&A โครงการโรงไฟฟ้าและการท�ำธุรกิจเกีย่ วเนือ่ ง ทั้งในและต่างประเทศ ให้มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกับ นโยบายและเป้าหมายตามแผนการลงทุนของบริษทั โดยค�ำนึงถึง ผลตอบแทนที่ คุ ้ ม ค่ า ต่ อ การลงทุ น และปั จ จั ย เสี่ ย งต่ า งๆ ที่เกี่ยวข้องให้มีการบริหารจัดการให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ 3. ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลโครงการทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ ให้เข้าลงทุน และรายงานคณะกรรมการ เพื่อรับทราบ ในการประชุ ม คณะกรรมการกลั่ น กรองการลงทุ น ได้ มี การอภิปรายซักถาม และให้ความเห็นเป็นไปโดยอิสระและยึดถือ ผลประโยชน์โดยรวมของบริษทั เป็นส�ำคัญมีการตรวจสอบติดตาม และประเมิ น ผลโครงการที่ บ ริ ษั ท เข้ า ลงทุ น เพื่ อ ให้ ไ ด้ รั บ ผลตอบแทนเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ รวมถึงร่วมป้องกัน และแก้ไขอุปสรรคต่างๆ ของการพัฒนาและด�ำเนินโครงการ ทัง้ นี้ คณะกรรมการกลัน่ กรองการลงทุนมีความเห็นว่า การตัดสินใจลงทุน ของบริษัทมีการศึกษาและวิเคราะห์ทั้งในเชิงกว้างและเชิงลึก โดยผู้เชี่ยวชาญทั้งภายในและภายนอกองค์กรอย่างรอบคอบ และระมัดระวัง ภายใต้หลักธรรมาภิบาลเพือ่ ความก้าวหน้าเติบโต อย่างมั่นคงและยั่งยืนของบริษัทสืบต่อไป
1. ก�ำหนดกลยุทธ์ เป้าหมาย แผนการลงทุน งบประมาณ การลงทุน ผลตอบแทนการลงทุน และผลประโยชน์อนื่ จากการลงทุน ในโครงการเพือ่ เพิม่ ก�ำลังการผลิตและการเจริญเติบโตแก่บริษทั (นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์) ประธานกรรมการกลั่นกรองการลงทุน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
042
โครงสร้างการถือหุ้นกลุ่มบริษัท
กลุ มโรงไฟฟ า เชื้ อเพลิ งหลั กในประเทศ
99.99% บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรี จำกัด
กลุมโรงไฟฟาประเภท พลังงานทดแทนใประเทศ
99.99% บริษัท ราชบุรีพลังงาน จำกัด
40% บริษัท ผลิตไฟฟา นวนคร จำกัด
99.99% บริษัท อารอี โซลาร 1 จำกัด
บริษัท ราชบุรีเวอลด 40% โคเจนเนอเรชั่น จำกัด
99.99% บริษทั แอลพีไบโอแมส จำกัด
บริษัท เบิกไพร 35% โคเจนเนอเรชั่น จำกัด
99.99% บริษัท ซีเอ็นไบโอแมส จำกัด
99.99% บริษทั ราชบุรี อัลลายแอนซ จำกัด 25% บริษัท ราชบุรีเพาเวอร จำกัด
99.99% บริษัท พีบีไบโอแมส จำกัด 49% บริษัท โซลารตา จำกัด 40% บริษัท สงขลาไบโอ แมส จำกัด 40% บริษทั โซลา เพาเวอร (โคราช 3) จำกัด 40% บริษทั โซลา เพาเวอร (โคราช 4) จำกัด 40% บริษทั โซลา เพาเวอร (โคราช 7) จำกัด
20% บริษัท เค. อาร. ทู จำกัด
20% บริษัท เฟรส โคราช วินด จำกัด
หมายเหตุ
* บริษทั ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด แปรสภาพเป็น proprietary company ตามกฎหมายเครือรัฐออสเตรเลีย และเปลีย่ นชือ่ ภาษาอังกฤษจากเดิม RATCH-Australia Corporation Limited เป็น RATCH-Australia Corporation Pty Ltd ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มิถนุ ายน 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
043
กลุ ม โครงการ ในต า งประเทศ
33.33%
บริษัท เซาทอีสท เอเชีย เอนเนอรจี จำกัด
75% บริษัท ไฟฟาน้ำงึม 2 จำกัด
25%
บริษัท ไฟฟา เซเปยน-เซน้ำนอย จำกัด
25%
บริษัท ไฟฟา น้ำงึม 3 จำกัด
99.99% บริษทั อารเอช อินเตอรเนชัน่ แนล คอรปอเรชัน่ จำกัด บริษทั อารเอช อินเตอรเนชัน่ แนล 100% (มอริเชียส) คอรปอเรชัน่ จำกัด บริษทั อารเอช อินเตอรเนชัน่ แนล 100% (สิงคโปร) คอรปอเรชัน่ จำกัด Fareast Renewable 50% Development Pte. Ltd. 49% PT Medco Ratch Power Riau บริษทั ราช-ออสเตรเลีย 100% คอรปอเรชัน่ จำกัด* และบริษทั ยอย 40% บริษัท ไฟฟา หงสา จำกัด 100% RATCH China Power Limited
กลุ ม ธุ ร กิ จ เกี่ ย วเนื่ อ ง และธุ ร กิ จ อื่ น 40% บริษัท สงขลาไบโอฟูเอล จำกัด
50%
บริษัท ชูบุราชบุรี อีเลคทริคเซอรวิส จำกัด
10%
บริษัท อีแกท ไดมอนดเซอรวิส จำกัด
10%
บริษัท นอรทเทิรน บางกอกโมโนเรล จำกัด
10%
บริษัท อีสเทิรน บางกอกโมโนเรล จำกัด
99.99%
บริษทั ราช โอแอนดเอ็ม จำกัด
99.99% บริษทั ราช-ลาว เซอรวสิ จำกัด
5.65%
4.46% EDL-Generation Public Company 37.5% บริษัท พูไฟมายนิ่ง จำกัด
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
044
โครงสร้างรายได้ โครงสร้างรายได้ของบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า
รายได้หลักของบริษทั มาจากรายได้คา่ ขายไฟฟ้าของบริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย โดยขายกระแสไฟฟ้า ให้แก่ กฟผ. ตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระยะยาว 25 ปี โครงสร้าง รายได้พื้นฐานของโรงไฟฟ้าราชบุรีและโรงไฟฟ้าไตรเอนเนอจี้ แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักๆ คือ 1. ค่าความพร้อมจ่ายพลังไฟฟ้า (Availability Payment: AP) รายได้ ค ่ า ความพร้ อ มจ่ า ยพลั ง ไฟฟ้ า ก� ำ หนดขึ้ น เพื่อให้ครอบคลุมค่าใช้จา่ ยคงทีใ่ นการด�ำเนินการ เช่น ค่าใช้จา่ ย บ�ำรุงรักษา รวมถึงค่าใช้จ่ายในการบริหาร เป็นต้น โดยทั่วไปแล้ว ค่าความพร้อมจ่ายพลังไฟฟ้าจะขึน้ อยูก่ บั ความพร้อมของโรงไฟฟ้า ในการผลิตและจ่ายกระแสไฟฟ้าตามที่ กฟผ. ก�ำหนด 2. ค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy Payment: EP) รายได้ค่าพลังงานไฟฟ้าจะได้รับเมื่อมีการผลิตพลังงาน ไฟฟ้าและส่งเข้าระบบไฟฟ้าของ กฟผ. โดยมีส่วนประกอบหลัก 2 ส่วนคือ 1) ค่าเชื้อเพลิง (Fuel Payment) 2) ค่ า ใช้ จ ่ า ยผั น แปรในการผลิ ต และบ� ำ รุ ง รั ก ษา (Variable Operating and Maintenance Payment) 3. รายได้ตามสัญญาเช่าการเงิน (Finance Lease) รายได้ตามสัญญาเช่าการเงิน คือ รายได้คา่ ความพร้อมจ่าย ในส่วนของการกู้เงินและผลตอบแทนผู้ถือหุ้น โดยบันทึกบัญชี ตามวิธอี ตั ราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้จริง ซึง่ เป็นไปตามการตีความมาตรฐาน รายงานทางการเงินฉบับที่ 4 (TFRIC 4) นอกจากรายได้หลักจากค่าขายไฟฟ้าที่ได้รับจากโรงไฟฟ้า ราชบุ รี แ ล้ ว บริ ษั ท ได้ รั บ รายได้ ค ่ า ขายไฟฟ้ า จาก RATCHAustralia Corporation Pty Ltd (RAC) ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ในเครือรัฐออสเตรเลีย โดยมีรายได้หลักจากสัญญาซื้อขายไฟฟ้า ระยะยาวจากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนและโรงไฟฟ้าพลังงานลม โครงสร้ า งรายได้ พื้ น ฐานตามสั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ้ า ระยะยาว ส�ำหรับโรงไฟฟ้าพลังความร้อน ประกอบด้วย 1. Capacity Charge ซึง่ ครอบคลุมเงินลงทุนทัง้ หมด รวมถึง ค่าใช้จา่ ยในการบ�ำรุงรักษา และปรับตามความพร้อมของโรงไฟฟ้า
(Actual Capacity Availability) ในการผลิตและจ่ายไฟฟ้า ตามที่ก�ำหนดในสัญญาซื้อขายไฟฟ้า 2. Energy Charge ซึง่ จะได้รบั เมือ่ มีการผลิตพลังงานไฟฟ้า โดยมีสว่ นประกอบหลัก ได้แก่ ค่าเชือ้ เพลิง และค่าใช้จา่ ยผันแปร ในการผลิตและบ�ำรุงรักษา เป็นต้น ส� ำ หรั บ รายได้ ค ่ า ขายไฟฟ้ า จากโรงไฟฟ้ า พลั ง งานลม ของ RAC ค�ำนวณโดยใช้พลังงานไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้คณ ู กับราคาค่าไฟ ต่อหน่วยการผลิต นอกจากนี้ บริ ษั ท ยั ง รั บ รู ้ ร ายได้ จ ากส่ ว นแบ่ ง ก� ำ ไร จากเงินลงทุนในการร่วมค้าที่ลงทุนในธุรกิจผลิตไฟฟ้าร่วมกับ ผู้ลงทุนรายอื่นๆ อีก ดังนี้ 1. บริษทั ไฟฟ้า หงสา จ�ำกัด โดยบริษทั อาร์เอช อินเตอร์ เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ของบริษัท ถือหุ้นร้อยละ 40 มีสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟผ. เป็นระยะเวลา 25 ปี โดยมีรายได้คา่ ขายไฟแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ค่าความพร้อมจ่ายพลังไฟฟ้า ค่าพลังงานไฟฟ้า และรายได้ ตามสัญญาเช่าการเงิน เช่นเดียวกับรายได้พื้นฐานของบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด ปัจจุบันโรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสา หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 และหน่วยที่ 3 ได้เดินเครื่องเชิงพาณิชย์ เพือ่ จ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าให้กบั กฟผ. แล้ว เมือ่ วันที่ 2 มิถนุ ายน 2558 วันที่ 2 พฤศจิกายน 2558 และวันที่ 2 มีนาคม 2559 ตามล�ำดับ 2. บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จ�ำกัด โดยบริษัท ราชบุรี อัลลายแอนซ์ จ�ำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ถือหุน้ ร้อยละ 25 มีรายได้ค่าขายไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม 2 ชุด โดยมีรายได้คา่ ขายไฟแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ค่าความพร้อมจ่าย พลังไฟฟ้า ค่าพลังงานไฟฟ้า และรายได้ตามสัญญาเช่าการเงิน เช่นเดียวกับรายได้พื้นฐานของบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด 3. บริษทั ราชบุรเี วอลด์ โคเจนเนอเรชัน่ จ�ำกัด โดยบริษทั ผลิ ต ไฟฟ้ า ราชบุ รี จ� ำ กั ด ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ย่ อ ยของบริ ษั ท ถือหุ้นร้อยละ 40 มีสัญญาซื้อขายไฟฟ้าประเภท Firm ระบบ Cogeneration กับ กฟผ. เป็นระยะเวลา 25 ปี โรงไฟฟ้าราชบุรเี วอลด์ โคเจนเนอเรชั่ น ชุ ด ที่ 1 และ 2 ได้ เ ดิ น เครื่ อ งเชิ ง พาณิ ช ย์ เพือ่ จ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าให้กบั กฟผ. เมือ่ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 และวันที่ 1 มีนาคม 2558 ตามล�ำดับ
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
045
โรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กนวนคร
4. บริษทั ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด โดยบริษทั ผลิตไฟฟ้า ราชบุรี จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ถือหุ้นร้อยละ 40 ด�ำเนินงานโรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กนวนคร โดยมีสัญญา ซื้อขายไฟฟ้าประเภท Firm ระบบ Cogeneration กับ กฟผ. เป็นระยะเวลา 25 ปี โรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กนวนคร เดินเครื่องเชิงพาณิชย์เพื่อจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าแล้ว เมื่อวันที่ 3 มิถนุ ายน 2559 5. บริษัท เซาท์อีสท์ เอเชีย เอนเนอร์จี จ�ำกัด ซึ่งบริษัท ถือหุ้นร้อยละ 33.33 มีรายได้ค่าขายไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังน�้ำน�้ำงึม 2 ที่ สปป.ลาว โดยมีสัญญาซื้อขายไฟฟ้าอายุ 25 ปี นับแต่วันที่เปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์กับ กฟผ. โดยด�ำเนินการ จ�ำหน่ายไฟฟ้าครั้งแรก (Initial Operation Date) เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2554 6. บริษัท โซลาร์ต้า จ�ำกัด โดยบริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ถือหุ้นร้อยละ 49 ด�ำเนินงาน โรงไฟฟ้าซึ่งผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ 8 แห่ง มีสัญญา ซือ้ ขายไฟฟ้าประเภท Non-Firm ส�ำหรับผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กมาก กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (“กฟภ.”) และได้รับเงินสนับสนุน (Adder) จากกองทุนพัฒนาไฟฟ้า ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ กิจการพลังงาน (สกพ.) จ�ำนวน 8 บาทต่อหน่วย เป็นระยะเวลา 10 ปี
7. บริษัท เฟิร์ส โคราช วินด์ จ�ำกัด (โรงไฟฟ้าพลังงานลม ห้วยบง 3) และบริษัท เค. อาร์. ทู จ�ำกัด (โรงไฟฟ้าพลังงานลม ห้วยบง 2) ซึง่ บริษทั ถือหุน้ ร้อยละ 20 ด�ำเนินการผลิตกระแสไฟฟ้า จากพลังงานลม มีสัญญาซื้อขายไฟฟ้าประเภท Non-Firm ส�ำหรับผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กกับ กฟผ. และได้รับเงินสนันสนุน (Adder) จากกองทุนพัฒนาไฟฟ้า จ�ำนวน 3.50 บาทต่อหน่วย เป็นระยะเวลา 10 ปี โดยมีรายได้ค่าขายไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 3 ส่วนเช่นเดียวกับบริษัท โซลาร์ต้า จ�ำกัด คือ อัตราค่าพลังงาน ไฟฟ้า ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) และ Ft ขายส่งเฉลี่ย 8. บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 3) จ�ำกัด บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 4) จ�ำกัด บริษทั โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 7) จ�ำกัด โดยบริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ถือหุ้นร้อยละ 40 ด�ำเนินการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ โดยมีสญ ั ญาซือ้ ขายไฟฟ้าประเภท Non-Firm ส�ำหรับผูผ้ ลิตไฟฟ้า รายเล็ ก มากกั บ กฟภ. และได้ รั บ เงิ น สนั บ สนุ น (Adder) จากกองทุนพัฒนาไฟฟ้า จ�ำนวน 8 บาทต่อหน่วย เป็นระยะเวลา 10 ปี และมีรายได้ค่าขายไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 3 ส่วนเช่นเดียวกับ บริษทั โซลาร์ตา้ จ�ำกัด คือ อัตราค่าพลังงานไฟฟ้า ส่วนเพิม่ ราคา รับซื้อไฟฟ้า (Adder) และ Ft ขายส่งเฉลี่ย
046
9. บริษัท สงขลาไบโอ แมส จ�ำกัด โดยบริษัท ราชบุรี พลังงาน จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ถือหุ้นร้อยละ 40 ด� ำ เนิ น งานโรงไฟฟ้ า เชื้ อ เพลิ ง ชี ว มวลจากปี ก ไม้ แ ละรากไม้ ยางพารา ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา มีสัญญาซื้อขาย ไฟฟ้ากับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เป็นระยะเวลา 5 ปี และต่อเนื่อง ครั้งละ 5 ปีโดยอัตโนมัติ (รวม 20 ปี) ได้เดินเครื่องเชิงพาณิชย์ เพื่อจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าแล้ว เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2558 10. บริษัท ชูบุราชบุรี อีเลคทริคเซอร์วิส จ�ำกัด ซึ่งบริษัท ถื อ หุ ้ น ร้ อ ยละ 50 มี ร ายได้ จ ากงานให้ บ ริ ก ารเดิ น เครื่ อ ง และบ�ำรุงรักษา โดยมีสัญญาให้บริการเป็นระยะเวลา 14 ปี ให้กับโรงไฟฟ้าของบริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จ�ำกัด
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
11. Fareast Renewable Development Pte. Ltd. (FRD) โดยบริ ษั ท อาร์ เ อช อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล (สิ ง คโปร์ ) คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ถือหุน้ ร้อยละ 50 โดยบริษัท FRD ถือหุ้นร้อยละ 53.21 ในโรงไฟฟ้าพลังน�้ำ Asahan-1 มีขนาดก�ำลังผลิต 180 เมกะวัตต์ ตั้งอยู่บนแม่น�้ำ อาซาฮาน จังหวัดสุมาตราเหนือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เริม่ เดินเครือ่ ง เชิงพาณิชย์ตงั้ แต่เดือนมกราคม 2554 และมีสญ ั ญาซือ้ ขายไฟฟ้า ระยะยาว 30 ปี ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2583 กับการไฟฟ้า สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
047
โครงสร้างรายได้ของบริษัท ปี 2559-2561
ประเภทของรายได้
ดำ�เนินการโดย
การถือหุน ้ ของบริษท ั ร้อยละ
รายได้ 2561 *
2560 *
2559
ล้านบาท
ร้อยละ
ล้านบาท
ร้อยละ
ล้านบาท
ร้อยละ
รายได้จากการขายและการให้บริการ - ค่าความพร้อมจ่ายพลังไฟฟ้า
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด
99.99
3,387.34
7.51
3,855.65
8.30
3,296.27
6.43
- ค่าความพร้อมจ่ายพลังไฟฟ้า
บริษทั ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด **
100.00
1,511.69
3.35
1,618.35
3.48
1,616.73
3.15
- ค่าพลังงานไฟฟ้า
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด
99.99
30,564.25
67.79
31,770.13
68.39
37,222.24
72.59
- ค่าพลังงานไฟฟ้า
บริษทั ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด **
100.00
669.96
1.49
705.51
1.52
712.54
1.39
- ค่าบริการเดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษา บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด
99.99
50.90
0.11
50.88
0.11
239.26
0.46
รายได้ตามสัญญาเช่าการเงิน
99.99
3,335.81
7.40
3,995.45
8.60
4,491.34
8.75
40.00
3,120.02
6.92
2,073.43
4.46
1,196.18
2.32
33.33
398.56
0.88
240.35
0.52
173.23
0.34
บริษัท ราชบุรีเวอลด์ โคเจนเนอเรชั่น จ�ำกัด
40.00
241.41
0.54
243.10
0.52
231.32
0.45
บริษัท พูไฟมายนิ่ง จ�ำกัด
37.50
198.16
0.44
154.65
0.33
107.05
0.21
บริษัท โซลาร์ต้า จ�ำกัด
49.00
189.64
0.42
196.21
0.42
177.69
0.35
บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จ�ำกัด
25.00
181.71
0.40
332.21
0.72
458.88
0.89
บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด
40.00
166.26
0.37
128.64
0.28
59.27
0.12
Perth Power Partnership (Kwinana)
30.00
42.69
0.09
57.48
0.12
80.27
0.16
บริษัท สงขลาไบโอ แมส จ�ำกัด
40.00
34.06
0.08
26.92
0.06
47.94
0.09
บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 7) จ�ำกัด
40.00
30.34
0.07
27.90
0.06
27.51
0.05
บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 3) จ�ำกัด
40.00
29.51
0.07
27.54
0.06
27.36
0.05
บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 4) จ�ำกัด
40.00
28.59
0.06
25.81
0.05
25.55
0.05
บริษัท ชูบุราชบุรี อีเลคทริคเซอร์วิส จ�ำกัด
50.00
16.85
0.04
28.94
0.06
41.76
0.08
Fareast Renewable Development Pte. Ltd.
50.00
15.59
0.03
-
-
-
-
บริษัท เค. อาร์. ทู จ�ำกัด
20.00
3.05
0.01
80.36
0.17
102.55
0.20
บริษัท สงขลาไบโอฟูเอล จ�ำกัด
40.00
(0.01)
-
(0.02)
-
-
-
บริษัท เฟิร์ส โคราช วินด์ จ�ำกัด
20.00
(14.39)
(0.03)
108.58
0.23
125.66
0.25
PT Medco Ratch Power Riau
49.00
58.56
0.13
(10.46)
(0.02)
-
-
บริษัท เบิกไพรโคเจนเนอเรชั่น จ�ำกัด
35.00
0.61
-
(31.41)
(0.07)
(1.61)
-
บริษัท ไฟฟ้า เซเปียน-เซน�้ำน้อย จ�ำกัด
25.00
(5.74)
(0.01)
(121.02)
(0.26)
60.16
0.12
บริษัท อาร์ไอซีไอ อินเตอร์เนชั่นแนล อินเวสต์เมนต์ จ�ำกัด (จ�ำหน่ายปี 2560)
60.00
-
-
3.85
0.01
(37.43)
(0.07)
บริษัท โอเวอร์ซี กรีน เอนเนอร์ยี่ จ�ำกัด (จ�ำหน่ายปี 2560)
60.00
-
-
2.34
0.01
3.86
0.01
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด
ส่วนแบ่งก�ำไร (ขาดทุน) บริษัท ไฟฟ้า หงสา จ�ำกัด จากเงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท ร่ ว ม บริษัท เซาท์อีสท์ เอเชีย เอนเนอร์จี จ�ำกัด และการร่วมค้า
โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
048
ประเภทของรายได้
รายได้คา่ บริการการจัดการ
ดำ�เนินการโดย
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด
ดอกเบีย้ รับ
เงินปันผลรับ
รายได้อนื่
การถือหุน ้ ของบริษท ั ร้อยละ
99.99
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)
หมายเหตุ
2561 * ล้านบาท
2560 *
ร้อยละ
2559
ล้านบาท
ร้อยละ
ล้านบาท
ร้อยละ
238.88
0.53
244.66
0.53
254.86
0.50
-
-
-
-
3.38
0.01
85.70
0.19
109.39
0.24
115.92
0.23
บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด
100.00
70.38
0.16
4.48
0.01
7.35
0.01
บริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด **
100.00
27.83
0.06
34.27
0.07
23.10
0.05
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด
99.99
25.87
0.06
15.12
0.03
15.44
0.03
บริษทั อาร์เอช อินเตอร์เนชัน่ แนล คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด
99.99
2.38
0.01
2.49
0.01
2.65
0.01
บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด
99.99
0.97
-
-
-
-
-
บริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด
99.99
0.20
-
0.14
-
0.40
-
บริษัท ราชบุรี อัลลายแอนซ์ จ�ำกัด
99.99
0.04
-
0.04
-
0.03
-
บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (มอริเชียส) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด
100.00
0.02
-
0.02
-
0.02
-
บริษัท ราช โอแอนด์เอ็ม จ�ำกัด
99.99
0.01
-
0.01
-
0.01
-
บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด
99.99
104.16
0.23
105.47
0.23
114.20
0.22
บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด
100.00
82.62
0.18
83.43
0.18
90.52
0.18
บริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด **
100.00
130.55
0.29
108.61
0.23
46.81
0.09
บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด
99.99
57.20
0.13
153.39
0.33
110.46
0.22
0.91
-
3.04
0.01
2.32
-
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)
รวม
รายได้
บริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด
99.99
0.40
-
0.45
-
6.83
0.01
บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด
99.99
-
-
0.19
-
-
-
45,083.54
100.00
46,456.57
100.00
51,279.88
100.00
* ข้อมูลปี 2561 และ 2560 จัดท�ำตามนโยบายการบัญชี เรื่อง เครื่องมือทางการเงินที่เป็นตราสารอนุพันธ์และการบัญชีป้องกันความเสี่ยง ** เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2561 บริษัทเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นใน บริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด จากร้อยละ 80 เป็นร้อยละ 100
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
049
นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษทั มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 ของก�ำไรตามงบการเงินรวมหลังจากหักเงินทุนส�ำรองตามกฎหมาย และเงินทุนส�ำรองอื่นๆ อย่างไรก็ตาม การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะต้องขึ้นอยู่กับกระแสเงินสดของบริษัท บาทตอหุน 5.00
การจ่ายเงินปันผลของบริษัทย้อนหลัง 5 ปี
4.33
4.25
4.16
4.00 3.00 2.00 1.00 0.00
2.40
2.40
1.25
1.25
1.25
1.10
1.10
1.15
1.15
2558
2559
2560
2561*
2.27
2.20 2.27
2.35
1.17
1.17
1.10 2557 เงินปนผลระหวางกาล
3.85
เงินปนผลสุทธิจากระหวางกาล
กำไรตอหุน
เงินปนผลตอหุน
ข้อมูลการจ่ายเงินปันผลย้อนหลัง 5 ปี ก�ำไรต่อหุ้น เงินปันผลต่อหุ้น เงินปันผลระหว่างกาล เงินปันผลสุทธิจากระหว่างกาล อัตราการจ่ายเงินปันผลต่อก�ำไร
บาท บาท บาท บาท ร้อยละ
2557
2558
2559
2560
2561*
4.33 2.27 1.10 1.17 52.42
2.20 2.27 1.10 1.17 103.25
4.25 2.35 1.10 1.25 55.27
4.16** 2.40 1.15 1.25 57.63
3.85** 2.40 1.15 1.25 62.28
หมายเหตุ * เป็นระเบียบวาระเสนอผู้ถือหุ้นพิจารณาในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2562 ในวันที่ 12 เมษายน 2562 ทั้งนี้ บริษทั ได้จา่ ยเงินปันผลระหว่างกาลส�ำหรับผลการด�ำเนินงานงวด 6 เดือนแรกของปี 2561 (งวดเดือนมกราคม - มิถนุ ายน 2561) ให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราหุ้นละ 1.15 บาท แล้ว เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2561 ** ข้อมูลปี 2561 และ 2560 จัดท�ำตามนโยบายการบัญชี เรือ่ ง เครือ่ งมือทางการเงินทีเ่ ป็นตราสารอนุพนั ธ์และการบัญชีปอ้ งกันความเสีย่ ง
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
050
รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
ในปัจจุบนั มีปจั จัยเสีย่ งต่างๆ ทีม่ ผี ลกระทบต่อการด�ำเนินงาน ของบริ ษั ท ไม่ ว ่ า จะเป็ น ปั จ จั ย ภายในองค์ ก ร และปั จ จั ย ภายนอกที่อยู่เหนือการควบคุมของบริษัท เพื่อให้บริษัทบรรลุ เป้าหมายในด้านต่างๆ ที่ตั้งไว้ในแต่ละปี การบริหารความเสี่ยง จึงมีส่วนส�ำคัญในการลดผลกระทบจากปัจจัยเสี่ยงต่างๆ (Risk Mitigation) ที่มีผลกระทบในระดับที่มีนัยส�ำคัญต่อการบรรลุ เป้าหมายของบริษัท เพื่อสร้างการเจริญเติบโต และความยั่งยืน ในการด�ำเนินธุรกิจ รวมทั้งสร้างผลตอบแทนให้ผู้ถือหุ้นในระดับ ที่เหมาะสม ดังนั้น ในปีที่ผ่านมาบริษัทจึงได้เริ่มน�ำแนวทางของ COSO: ERM 2017 ซึ่งเป็นแนวทางการบริหารความเสี่ยง ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแนะน�ำให้บริษัทจดทะเบียน น�ำไปใช้ปฏิบตั ิ โดย COSO: ERM 2017 จะเป็นกระบวนการบริหาร ความเสี่ยงที่เชื่อมโยงระหว่างแผนกลยุทธ์ทางธุรกิจและผลการ ด�ำเนินงาน (Integrating with Strategy and Performance) ซึ่งมีการก�ำหนดเป้าหมาย (Business Objective) ประจ�ำปี ในด้านต่างๆ และมีการเปรียบเทียบกับผลการด�ำเนินงานทีเ่ กิดขึน้ จริง การประเมินความเสี่ยงขององค์กร (Corporate Risk) จะเริ่มต้น ตั้ ง แต่ ก ารวิ เ คราะห์ ค วามเสี่ ย งจาก KPI ของแผนกลยุ ท ธ์ ที่ตั้งขึ้นมา เช่น มีปัจจัยเสี่ยงใดบ้างที่จะมีผลกระทบต่อผลการ ด�ำเนินงานของบริษัท (Net Profit Target) หรือการเจริญเติบโต ของบริษัทในด้านก�ำลังการผลิต (Capacity Target) เป็นต้น หลังจากนั้นจึงมาพิจารณาความเสี่ยงในระดับหน่วยงานและ โครงการที่ มี ส ่ ว นรั บ ผิ ด ชอบใน KPI ในด้ า นต่ า งๆ เหล่านั้น ของบริษัท (Business Unit and Project Risk Profile)
บริษัทได้แบ่ง Corporate Risk ที่ใช้ประเมินปัจจัยเสี่ยง ที่จะส่งผลให้บริษัทไม่บรรลุเป้าหมาย ได้แก่ 1) ปั จ จั ย เสี่ ย งด้ า นแผนกลยุ ท ธ์ (Strategic Risk) ประกอบด้วยปัจ จัยภายนอกที่มีผลต่อ การด�ำเนินธุร กิจ เช่น การเมือง เศรษฐกิจ สังคม การเปลีย่ นแปลงของนโยบายอุตสาหกรรม และการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี (Disruptive Technology) เป็ น ต้ น รวมทั้ ง ปั จ จั ย เสี่ ย งที่ มี ผ ลต่ อ การสร้ า งความเติ บ โต ของธุรกิจ (New Project Investment) ทัง้ โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่าง การพัฒนา และโครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ปัจจัยเสี่ยง ด้ า นทรั พ ยากรบุ ค คล และการพั ฒ นาศั ก ยภาพขององค์ ก ร (High Performance Organization and Engagement) และปัจจัยเสี่ยงด้านภาพลักษณ์และการสร้างความสัมพันธ์กับ ผู้ส่วนได้เสียของบริษัท (Stakeholder Relation) 2) ปัจจัยเสี่ยงด้านบัญชีและการเงิน (Financial Risk) ประกอบด้วยความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate) อัตราแลกเปลี่ยน (Currency Exchange Rate) สภาพคล่อง (Liquidity Risk) และด้านเครดิต (Credit Risk) ทั้งความเสี่ยง ด้ า นการเงิ น ได้ มี ก ารควบคุ ม อยู ่ ภ ายใต้ น โยบายทางการเงิ น ของบริษัท (Finance Policy) 3) ปัจจัยเสีย่ งด้านการด�ำเนินงาน (Operation Risk) แบ่งเป็น ความเสี่ยงของโครงการเดินเครื่องเชิงพาณิชย์แล้วทั้งภายใน ประเทศ และต่างประเทศ เพื่อติดตามและควบคุมการบริหาร
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ให้ผลการด�ำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ โดยเฉพาะโครงการ โรงไฟฟ้าของบริษัทที่มีเครื่องจักรใช้งานมาเป็นเวลานานจะต้อง ได้รับการบ�ำรุงรักษาตามเกณฑ์มาตรฐานที่ก�ำหนด เพื่อให้รักษา ประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้า (Reliability and Efficiency) ตามทีร่ ะบุไว้ตลอดอายุสญ ั ญาซือ้ ขายไฟฟ้าในส่วนทีเ่ หลือ รวมทัง้ การจัดเตรียมแผนความต่อเนื่องในการด�ำเนินธุรกิจ (Business Continuity Plan) เพื่อรองรับกรณีเกิดเหตุการณ์ที่ส่งผลต่อ การด�ำเนินธุรกิจของบริษัท ให้บริษัทยังคงสามารถด�ำเนินธุรกิจ ได้อย่างต่อเนื่อง 4) ปั จ จั ย เสี่ ย งด้ า นการปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย และ กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง (Compliance Risk) โดยประเมินทัง้ ในระดับ โครงการและระดับองค์กร (Project and Corporate Level) การประเมินผลการด�ำเนินงานตามแนวทางของ CAC ที่บริษัท
051
ได้เข้าร่วมเพือ่ ต่อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชัน่ รวมทัง้ การก�ำกับ ดูแลกิจการทีด่ ี (Good Governance) เมือ่ พิจารณาถึงกรอบการ ประเมิ น ความเสี่ ย งตามแนวทางของ COSO: ERM 2017 คณะกรรมการและผู้บริหารของบริษัท ตระหนักถึงปัจจัยเสี่ยง ในด้านต่างๆ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อเป้าหมายขององค์กรได้ชัดเจน มากขึ้น และสามารถหาวิธีการที่เหมาะสม (Risk Mitigation) มาบริหารจัดการปัจจัยเสี่ยงนั้นๆ จนอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ส่งผลให้บริษัทสามารถบรรลุเป้าหมายประจ�ำปีขององค์กรได้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและคณะท�ำงานบริหาร ความเสี่ยงของบริษัท จะมุ่งมั่นรักษาและพัฒนาประสิทธิภาพ การบริหารความเสีย่ งให้ดยี งิ่ ขึน้ ต่อไป อันจะช่วยให้การด�ำเนินงาน บรรลุวัตถุประสงค์ของธุรกิจตามที่ได้ก�ำหนดไว้ เพื่อความมั่นคง และยั่งยืนขององค์กร
(นายสมัคร เชาวภานันท์) ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
052
ลักษณะการประกอบธุรกิจ เพื่ อ สนองนโยบายแปรรู ป โรงไฟฟ้ า รั ฐ เป็ น เอกชน (Privatization) เพื่ อ ระดมเงิ น ทุ น จากภาคเอกชนมาใช้ ในการพัฒนาประเทศผ่านทางตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษทั จึงได้กอ่ ตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 7 มีนาคม 2543 ด้วยทุนจดทะเบียน 14,500 ล้ า นบาท และได้ เ ข้ า ระดมทุ น ในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย เมือ่ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2543 ภายใต้ชอื่ หลักทรัพย์ “RATCH” โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ร้อยละ 45 บริษทั ประกอบธุรกิจในรูปแบบ บริษัทโฮลดิ้ง (Holding Company) มีวัตถุประสงค์เข้าลงทุน ถือหุ้นในบริษัทอื่นและมุ่งขยายธุรกิจทั้งด้านพลังงานและธุรกิจ เกี่ยวเนื่องอื่นๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งโครงการ ด้านสาธารณูปโภคพื้นฐานต่างๆ ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติที่จะ ผลักดันการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศอย่างก้าวกระโดด โดยสามารถจ�ำแนกกลุ่มการลงทุนของบริษัทออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงหลักในประเทศ กลุ่มโรงไฟฟ้า ประเภทพลังงานทดแทนในประเทศ กลุม่ โครงการในต่างประเทศ และกลุ่มธุรกิจเกี่ยวเนื่อง ดังนี้
1. กลุ่มโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงหลักในประเทศ โรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงหลักในประเทศของบริษัท ส่วนใหญ่ จะตัง้ อยูใ่ นเขตพืน้ ทีท่ างภาคตะวันตกเพือ่ เสริมสร้างความมัน่ คงของ ระบบไฟฟ้าของประเทศผ่านทางระบบส่งของ กฟผ. โดยโรงไฟฟ้า ในเขตพื้นที่ภาคตะวันตกจะจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่พื้นที่ ภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาคใต้ตอนบนที่ยังไม่มีแหล่งผลิต กระแสไฟฟ้าขนาดใหญ่อย่างเพียงพอต่อความต้องการ โรงไฟฟ้า เชือ้ เพลิงหลักในประเทศทีเ่ ดินเครือ่ งผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าแล้ว ได้แก่ โรงไฟฟ้าราชบุรี โรงไฟฟ้าไตรเอนเนอจี้ โรงไฟฟ้าราชบุรี เพาเวอร์ โรงไฟฟ้าผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กราชบุรเี วอลด์ และโรงไฟฟ้า ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กนวนคร นอกจากนี้ บริ ษั ท ยั ง มี โ รงไฟฟ้ า ที่ อ ยู ่ ร ะหว่ า งก่ อ สร้ า ง และพัฒนาอีก 2 โรง ได้แก่ โรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กเบิกไพร โคเจนเนอเรชัน่ และโรงไฟฟ้าผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กนวนครส่วนขยาย ซึ่ ง คาดว่ า จะสามารถเดิ น เครื่ อ งเชิ ง พาณิ ช ย์ ไ ด้ ใ นปี 2562 และ 2563 ตามล�ำดับ
โรงไฟฟ้าราชบุรี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
053
โรงไฟฟ้าพลังงานลมห้วยบง 3 2. กลุ่มโรงไฟฟ้าประเภทพลังงานทดแทนในประเทศ เพือ่ ตอบสนองนโยบายส่งเสริมการพัฒนาพลังงานทดแทน ของภาครัฐ กอปรกับเจตนารมณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมของบริษัทที่ต้องการมีส่วนร่วมในแก้ปัญหา การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศโลกเพือ่ ลดผลกระทบจากภาวะ โลกร้อน บริษทั จึงให้ความส�ำคัญกับการลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้า ประเภทพลั ง งานทดแทนโดยมุ ่ ง เน้ น ที่ พ ลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ พลังงานลม และพลังงานชีวมวล ซึ่งปัจจุบันบริษัทมีโรงไฟฟ้า ดังกล่าว รวม 7 โรง แบ่งตามประเภทพลังงานดังนี้ • พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ได้ แ ก่ โรงไฟฟ้ า พลั ง งาน แสงอาทิตย์โซลาร์ตา้ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โซล่าเพาเวอร์ โคราช 3 โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โซล่าเพาเวอร์ โคราช 4 และโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โซล่าเพาเวอร์ โคราช 7 • พลังงานลม ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังงานลมห้วยบง 2 และโรงไฟฟ้าพลังงานลมห้วยบง 3 • พลังงานชีวมวล ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลสงขลา ไบโอแมส 3. กลุ่มโครงการในต่างประเทศ เนื่ อ งจากโอกาสการขยายการลงทุ น ในธุ ร กิ จ พลั ง งาน ภายในประเทศมีจ�ำกัด และด้วยท�ำเลที่ตั้งที่มีความเหมาะสม เชิงยุทธศาสตร์ ศักยภาพการเติบโตของประเทศเพือ่ นบ้าน ประกอบ กับประเทศไทยมีศักยภาพสูงในการเป็นศูนย์กลางด้านพลังงาน รวมถึงการส่งเสริมการลงทุนของภาครัฐเป็นปัจจัยเกื้อหนุน
ให้บริษัทมุ่งขยายการลงทุนออกสู่ต่างประเทศมากขึ้นเพื่อบรรลุ พันธกิจสร้างการเติบโตอย่างยัง่ ยืน โดยปัจจุบนั มีฐานการลงทุน ดังนี้ • สปป.ลาว จ�ำนวน 3 โรงไฟฟ้า ประกอบด้วยโรงไฟฟ้า ที่เดินเครื่องแล้ว 2 โรง ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสา และ โครงไฟฟ้าพลังน�้ำ-น�้ำงึม 2 และโครงการโรงไฟฟ้าที่อยู่ระหว่าง การก่อสร้างและพัฒนา คือโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำ เซเปียนเซน�้ำน้อย • เครือรัฐออสเตรเลีย ลงทุนผ่านบริษทั ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ประกอบด้วยโดยโรงไฟฟ้าทีเ่ ดินเครือ่ งเชิงพาณิชย์ แล้วทั้งหมด ยกเว้นโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Collinsville ซึ่งอยู่ระหว่างการก่อสร้าง • สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น จ� ำ นวน 1 โรงไฟฟ้ า ที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างและพัฒนา คือ โรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์ Fangchenggang II • สาธารณรั ฐ อิ น โดนี เ ซี ย ประกอบด้ ว ย โรงไฟฟ้ า ที่เดินเครื่องเชิงพาณิชย์แล้ว ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังน�้ำ อาซาฮาน-1 และโรงฟ้าที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างและพัฒนาคือ โรงไฟฟ้า พลังความร้อนร่วม Riau
054
4. ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง บริ ษั ท แสวงหาโอกาสในการพั ฒ นาธุ ร กิ จ เกี่ ย วเนื่ อ ง และธุรกิจอื่น ผ่านบริษัทย่อย และบริษัทร่วมทุน ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่บริษัทในอนาคต อาทิ ธุรกิจเดินเครื่องและบํารุงรักษาโรงไฟฟ้า ธุรกิจเหมืองถ่านหิน ธุรกิจซ่อมบาํ รุงอุปกรณ์กงั หันก๊าซโรงไฟฟ้า และอืน่ ๆ โดยจ�ำแนก ตามประเภทธุรกิจได้ดังนี้ • ธุรกิจให้บริการงานเดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า โดยบริษทั ราช โอแอนด์เอ็ม จ�ำกัด บริษทั ราช-ลาว เซอร์วสิ จ�ำกัด และบริษัท ชูบุราชบุรี อีเลคทริคเซอร์วิส จ�ำกัด • ธุรกิจซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์กังหันก๊าซ โดยบริษัท อีแกท ไดมอนด์ เซอร์วิส จ�ำกัด • ธุรกิจเหมืองถ่านหิน โดยบริษัท พูไฟมายนิ่ง จ�ำกัด ให้บริการจัดหาเชื้อเพลิงให้แก่ บริษัท ไฟฟ้า หงสา จ�ำกัด • ธุรกิจจัดหาเชือ้ เพลิง โดยบริษทั สงขลาไบโอฟูเอล จ�ำกัด ให้บริการจัดหาเชื้อเพลิงให้แก่ บริษัท สงขลาไบโอ แมส จ�ำกัด
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
• ธุ ร กิ จ การลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย์ ได้ แ ก่ การซื้ อ หุ ้ น EDL-Generation Public Company (“EDL-Gen”) ซึง่ เป็นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ลาว ผ่านบริษทั ราช-ลาว เซอร์วสิ จ� ำ กั ด และบริ ษั ท อาร์ เ อช อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล (สิ ง คโปร์ ) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด • ธุ ร กิ จ ให้ บ ริ ก ารรถไฟฟ้ า โดยบริ ษั ท นอร์ ท เทิ ร ์ น บางกอกโมโนเรล จ�ำกัด ร่วมลงทุนในโครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู และบริ ษั ท อี ส เทิ ร ์ น บางกอกโมโนเรล จ� ำ กั ด ร่ ว มลงทุ น ในโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง • ธุรกิจผลิตน�ำ้ ประปา ลงทุนในโครงการน�ำ้ ประปาแสนดิน โดยบริษัท เอเชีย วอเตอร์ จ�ำกัดผู้เดียว ผู้ลงทุนสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่ม เติม ได้ใ นหัว ข้อ ข้ อ มู ล ทั่ ว ไป และ/หรื อ แบบแสดงรายการข้ อ มู ล ประจ� ำ ปี (แบบ 56-1) ของบริ ษั ท ที่ เ ผยแพร่ บ นเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท www.ratch.co.th และเว็บไซต์ของ ก.ล.ต. www.sec.or.th
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
055
ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน จากรายงานของธนาคารแห่งประเทศไทย เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง แต่อาจชะลอลงในปี 2562 โดยเฉพาะ เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาทีข่ ยายตัวดีจากปัจจัยพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจทีแ่ ข็งแกร่งและจากแรงกระตุน้ จากภาคการคลัง ขณะทีก่ ลุม่ ประเทศ ในสหภาพยุโรปและทวีปเอเชียชะลอลงเล็กน้อย อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจประเทศคูค่ า้ ของประเทศไทยในปี 2561 ยังขยายตัวในระดับดี
IPP 14,948.50 MW
Foreign 3,877.60 MW 34.70% 9.00%
19.70% 36.60%
SPP 8,485.22 MW
EGAT 15,763.83 MW
ก�ำลังผลิตทั้งประเทศ รวม 43,075.15 เมกะวัตต์ พลังงานหมุนเวียน 3,004.43* เมกะวัตต์ (6.98%) *เฉพาะของ กฟผ. ที่มา: www.egat.co.th ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2561 ด้านภาวะอุตสาหกรรมไฟฟ้าและการแข่งขันในประเทศไทย
เมื่อพิจารณาข้อมูลกราฟและสถิติ ด้านก�ำลังผลิตติดตั้ง ระบบไฟฟ้าของ กฟผ. ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2561 ก�ำลังผลิต ทั้งประเทศรวมของระบบทั้งสิ้นเท่ากับ 43,075.15 เมกะวัตต์ คิดเป็นสัดส่วนก�ำลังผลิตจาก กฟผ. เท่ากับ 15,763.83 เมกะวัตต์ (ร้อยละ 36.6) รองลงมา ได้แก่ ซือ้ จากผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ เท่ากับ 14,948.50 เมกะวัตต์ (ร้อยละ 34.7) ซื้อจากผู้ผลิต ไฟฟ้าขนาดเล็กเท่ากับ 8,485.22 เมกะวัตต์ (ร้อยละ 19.7) และ ซือ้ จากประเทศเพือ่ นบ้านเท่ากับ 3,877.60 เมกะวัตต์ (ร้อยละ 9.0) ตามล�ำดับ
บริษัท เล็งเห็นโอกาสการลงทุนในกลุ่มประเทศอาเซียน อาทิ ประเทศกลุ่ม CLMV (ราชอาณาจักรกัมพูชา สปป.ลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และสาธารณรัฐเวียดนาม) ซึง่ มีศกั ยภาพในเรือ่ งของพลังงานหมุนเวียน หรือในกลุม่ ประเทศ หมู่เกาะ เช่น สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ หรือสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ที่มีศักยภาพทางด้านพลังงานน�้ำ พลังงานความร้อนใต้พิภพ และมีเชื้อเพลิงประเภทถ่านหินอยู่เป็นจ�ำนวนมาก รวมถึงกลุ่ม โอเชียเนีย โดยเฉพาะเครือรัฐออสเตรเลียที่มีศักยภาพทางด้าน พลังงานลม เป็นต้น จากข้อมูลดังกล่าวจึงน�ำไปสูก่ ารศึกษา พัฒนา และเข้าลงทุนร่วมกันกับพันธมิตรในประเทศเหล่านั้น ทั้งนี้ สรุปสถานการณ์ โอกาส และศักยภาพในประเทศกลุ่มเป้าหมาย เป็นดังต่อไปนี้
056
ญี่ปุ่น กระแสต่อต้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ลดลง และคาดว่าในอนาคต มีแนวโน้มจะกลับมาใช้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เพือ่ ลดต้นทุนค่าไฟฟ้า เนื่ อ งจากพลั ง งานหมุ น เวี ย นมี ต ้ น ทุ น สู ง กว่ า อย่ า งไรก็ ต าม รัฐบาลยังมีนโยบายเพิ่มสัดส่วนโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน ในระบบคิดเป็นร้อยละ 25 ของก�ำลังการผลิตของประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐบาลอยู่ระหว่างด�ำเนินการตามข้อตกลงลดโลกร้อนและ ลดการปล่อยมลพิษเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ แม้ว่าจะมีการพัฒนา เทคโนโลยีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใหม่ๆ แต่โรงไฟฟ้าถ่านหินยังคงเป็น สัดส่วนหลักในการผลิตไฟฟ้าของประเทศ รองลงมาคือ พลังงานน�ำ ้ พลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานลม ตามล�ำดับ เครือรัฐออสเตรเลีย รั ฐ บาลมี ก ารก� ำ หนดเป้ า หมายพลั ง งานหมุ น เวี ย นกว่ า 33,000 กิกะวัตต์ตอ่ ชัว่ โมงในปี ค.ศ. 2020 อย่างไรก็ตามมีแนวโน้ม การสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนมาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะพลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย์ซึ่งมีศักยภาพสูง สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ สภาพภูมปิ ระเทศเป็นหมูเ่ กาะจ�ำนวนมาก การพัฒนาไฟฟ้า จึงต้องอาศัยโครงข่ายการเชื่อมต่อที่มั่นคงและแข็งแรงระหว่าง เกาะ โดยมีศักยภาพทางด้านพลังงานน�้ำและพลังงานความร้อน ใต้พิภพ นอกจากนี้ ภาครัฐยังเปิดโอกาสให้ต่างชาติเข้ามาลงทุน ในโรงไฟฟ้าถ่านหินอีกด้วย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เป็นประเทศที่เศรษฐกิจก�ำลังเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดย คาดการณ์ว่าปี 2561 เศรษฐกิจจะขยายตัวถึงร้อยละ 6 ประเทศ จึงได้เร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานโดยเน้นการพัฒนาโรงไฟฟ้า ถ่านหิน เนื่องจากมีเชื้อเพลิงประเภทนี้อยู่เป็นจ�ำนวนมากและ มีต้นทุนต�่ำ อย่างไรก็ตาม รัฐบาลได้ก�ำหนดเป้าหมายพลังงาน หมุนเวียนเพิ่มขึ้น โดยตั้งเป้าไว้ที่ร้อยละ 19 ในปี ค.ศ. 2020 ซึ่งจะเน้นการพัฒนาพลังงานน�้ำและพลังงานความร้อนใต้พิภพ เช่นเดียวกับฟิลปิ ปินส์ และในปี ค.ศ. 2025 จะเพิม่ เป็นร้อยละ 23 มาเลเซีย เป็นอีกหนึง่ ประเทศทีม่ กี ารเติบโตทางเศรษฐกิจอยูร่ ะหว่าง ร้อยละ 5-6 เช่นเดียวกันกับสาธารณรัฐอินโดนีเซีย โดยมีนโยบาย รักษาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับสาธารณรัฐประชาชนจีน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ยังมีแผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ สามฝ่าย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (Indonesia-MalaysiaThailand Growth Triangle: IMT-GT) ที่จะช่วยส่งเสริมการค้า การลงทุ น ระหว่ า งกั น รวมทั้ ง การซื้ อ ขายไฟฟ้ า ผ่ า นสายส่ ง โดยที่ ผ ่ า นมารั ฐ บาลเน้ น ลดการพึ่ ง พาก๊ า ซธรรมชาติ แ ละ เพิ่มสัดส่วนโรงไฟฟ้าถ่านหิน พัฒนาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ และลดการสร้างมลพิษเข้าสู่ชั้นบรรยากาศ ราชอาณาจักรกัมพูชา ภายในราชอาณาจักรกัมพูชาใช้ไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังงานน�ำ้ เป็นหลักกว่าร้อยละ 60 ทั้งนี้ ภาครัฐมีแผนเพิ่มก�ำลังการผลิต จากโรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ สปป.ลาว เช่นเดียวกันกับราชอาณาจักรกัมพูชาที่กว่าร้อยละ 70 เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานน�ำ ้ โดยทางการไฟฟ้าของ สปป.ลาว เน้นการ ส่งออกขายไฟฟ้าไปยังภูมิภาคอาเซียน เนื่องจากความต้องการ ใช้ไฟฟ้าภายในประเทศมีอยู่จ�ำนวนไม่มาก เนื่องจากมีประชากร เพียง 5-6 ล้านคนเท่านั้น สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา เช่ น เดี ย วกั น กั บ ราชอาณาจั ก รกั ม พู ช าและ สปป.ลาว ทีใ่ ช้ไฟฟ้าจากพลังงานน�ำ้ เป็นเชือ้ เพลิงหลัก อย่างไรก็ตาม คาดว่า จะมีการพัฒนาโรงไฟฟ้าถ่านหินเพิ่มขึ้น เพื่อรักษาความมั่นคง ของระบบ สาธารณรัฐเวียดนาม รัฐบาลของประเทศเน้นเพิม่ สัดส่วนโรงไฟฟ้าพลังความร้อน ทั้งถ่านหินและก๊าซธรรมชาติ นอกจากนี้ ยังเชิญชวนให้ต่างชาติ เข้าไปลงทุนในพลังงานหมุนเวียนประเภทพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลม ซึง่ ขณะนีม้ นี กั ลงทุนจากประเทศไทยเข้าไปลงทุนแล้ว หลายราย ปั จ จุ บั น บริ ษั ท มี ก� ำ ลั ง ผลิ ต ติ ด ตั้ ง ตามสั ด ส่ ว นรวม 7,639.12 เมกะวัตต์เทียบเท่า โดยประกอบด้วยก�ำลังการผลิต ที่เดินเครื่องเชิงพาณิชย์แล้ว 6,863.25 เมกะวัตต์เทียบเท่า และ ก�ำลังการผลิตทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้างและพัฒนา 775.87 เมกะวัตต์ มีฐานการลงทุนใน 5 ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย สปป.ลาว เครือรัฐออสเตรเลีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐ อินโดนีเซีย
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
057
จี น
สปป.ลาว
ประเทศไทย ออสเตรเลี ย
ภูมิภาคเอเซียแปซิฟก อิ น โดนี เ ซี ย
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
058
ปัจจัยความเสี่ยง ในแต่ละปีบริษัทมีการตั้งเป้าหมายผลการด�ำเนินงาน และ การเติบโตทางธุรกิจเพื่อสร้างผลตอบแทนในระดับที่เหมาะสม สม�่ำเสมอ และยั่งยืนให้แก่ผู้ถือหุ้น แต่อุปสรรคส�ำคัญที่อาจจะ มีผลท� ำ ให้ บ ริ ษั ท ไม่ ส ามารถบรรลุ เ ป้ า หมายที่ ว างไว้ ไ ด้ คื อ ปัจจัยความเสี่ยงหรือความผันแปรในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ปัจจัยภายนอก หรือปัจจัยภายในของบริษัท ดังนั้น บริษัทโดย คณะกรรมการบริษทั ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการบริหารจัดการ ความเสีย่ งในทุกๆ ด้านทีม่ สี ว่ นเกีย่ วข้องให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ เพื่อให้การด�ำเนินธุรกิจเป็นไปตามเป้าหมายการเติบโตและ ยกระดับขึน้ สูบ่ ริษทั ชัน้ น�ำด้านพลังงานและสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน พร้ อ มทั้ ง ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ภายใต้ ก รอบการปฏิ บั ติ ข องกฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างเคร่งครัดผ่านการ ก�ำกับดูแลและติดตามประเมินผลโดยคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงของบริษัท คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งมีการจัดประชุมการบริหาร ความเสี่ยงขององค์กรเป็นประจ�ำทุกไตรมาส โดยในปี 2561 มีการประชุม 4 ครัง้ ตามรายไตรมาส เพือ่ ก�ำกับดูแลแนวทางบริหาร ความเสี่ยงให้สอดคล้องกับนโยบาย กลยุทธ์ และการบริหาร ความเสีย่ งของบริษทั โดยการประเมิน ติดตาม และบริหารจัดการ ความเสี่ยงของบริษัทให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมภายใต้แนวทาง และนโยบายทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั และรายงาน สรุปผลการด�ำเนินงานและสถานะความเสี่ยงของบริษัท และ การเปลี่ ย นแปลงต่ า งๆ ทั้ ง ในระดั บ โครงการและในระดั บ องค์กรโดยรวม รวมถึงสิ่งที่ต้องด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขต่อ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบอย่างสม�ำ่ เสมอ คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งได้ จั ด ตั้ ง คณะท� ำ งาน บริหารความเสีย่ ง ซึง่ ประกอบด้วย ผูบ้ ริหารระดับสูงจากทุกสายงาน
ของบริษัท โดยมีรองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารสินทรัพย์ เป็ น ประธานคณะท� ำ งานเพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ วิ เ คราะห์ ประเมิ น ความเสีย่ งต่างๆ และพิจารณาแนวทางบริหารความเสีย่ งเหล่านัน้ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ลดโอกาสหรือผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจในด้านต่างๆ เช่น รายได้ ค่าใช้จ่าย ภาพลักษณ์ รวมทั้งผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้เสีย ของบริษทั ให้อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสมและยอมรับได้ตามนโยบายการ บริหารความเสีย่ ง ในปี 2561 บริษทั ได้เริม่ น�ำกระบวนการบริหาร ความเสี่ ย งตามแนวทางของ COSO: ERM 2017 มาใช้ เป็นแนวปฏิบตั ิ ซึง่ สอดคล้องกับแนวทีต่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แนะน�ำส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนเนื่องจากแนวทางการบริหาร ความเสีย่ งของ COSO ถือเป็นกระบวนการบริหารความเสีย่ งทีม่ ี ความเชือ่ มโยงกันระหว่างแผนกลยุทธ์ทางธุรกิจและการด�ำเนินงาน มีการก�ำหนดเป้าหมายประจ�ำปีในด้านต่างๆ มีการเปรียบเทียบ กับผลการด�ำเนินงานที่เกิดขึ้นจริง และมีการประเมินความเสี่ยง ขององค์ ก ร โดยเริ่ ม จากการวิ เ คราะห์ ค วามเสี่ ย งจาก KPI ของแผนกลยุทธ์ทตี่ งั้ ขึน้ เช่น มีปจั จัยเสีย่ งใดบ้างทีจ่ ะมีผลกระทบ ต่อผลการด�ำเนินงานของบริษัท หรือการเจริญเติบโตในด้าน ก�ำลังการผลิตของบริษัท เป็นต้น จากนั้นจึงพิจารณาความเสี่ยง ในระดับหน่วยงานและโครงการทีม่ สี ว่ นรับผิดชอบใน KPI ในด้าน ต่างๆ เหล่านั้น เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการประเมินความเสี่ยง ในระดับโครงการร่วมด้วย ไม่วา่ จะเป็นโครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการ พัฒนา โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง หรือโครงการเดินเครือ่ ง เชิงพาณิชย์แล้ว เพื่อให้สะท้อนปัจจัยเสี่ยงที่อาจจะเป็นปัญหา และ/หรือมีนยั ส�ำคัญต่อการพัฒนาโครงการ การก่อสร้างโครงการ และการเดินเครือ่ งของโครงการ พร้อมทัง้ หาแนวทางการบริหาร จั ด การความเสี่ ย งได้ อ ย่ า งเหมาะสม ทั น เวลา และบรรลุ ตามเป้าหมายขององค์กร
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
059
ปัจจัยความเสี่ยงส�ำคัญหลัก 4 ด้าน ที่บริษัทได้วิเคราะห์ ประเมิน ก�ำหนดแนวทางป้องกัน และบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อลดโอกาสหรือผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อธุรกิจของบริษัท ดังนี้ ปัจจัยความเสี่ยงหลัก
ลักษณะ สาเหตุ และผลกระทบ
1) ความเสีย่ งด้านแผนกลยุทธ์ สภาวะเศรษฐกิ จ สั ง คม การเมือง กฎหมาย ระเบียบ หลั ก เกณฑ์ ข ้ อ บังคับต่างๆ ที่ เ ปลี่ ย นแปลง สภาวะ อุตสาหกรรมและการแข่งขัน ที่ รุ น แรง สภาพแวดล้ อ ม และบรรยากาศในการลงทุน ที่ อ าจส่ ง ผลต่ อ การลงทุ น ในธุรกิจ
แนวโน้มที่จะเกิดขึ้น
แนวทางในการป้องกัน และบริหาร จัดการความเสี่ยง และลดผลกระทบ
การด�ำเนินธุรกิจภาคพลังงาน และสาธารณูปโภคขัน้ พืน้ ฐาน มี ร ายละเอี ย ดและมี ก าร เปลี่ ย นแปลงกฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆ อยูเ่ สมอ รวมถึง สภาพการแข่ ง ขั น คู ่ แ ข่ ง ที่มากขึ้น ประกอบกับเป็น โครงการที่ต้องใช้เงินลงทุน จ�ำนวนมาก การเปลีย่ นแปลง ต่างๆ ดังกล่าว อาจส่งผลกระทบ ต่ อ บริ ษั ท ในการบรรลุ เป้าหมายตามที่ก�ำหนดไว้
ติดตามการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ อย่างสม�ำ่ เสมอ พร้อมทัง้ วิเคราะห์และ ประเมินผลกระทบที่อ าจก่อ ให้เ กิด ความเสีย่ ง ต่อแผนกลยุทธ์ขององค์กร เช่น เป้าหมาย การด�ำเนินงาน การเงิน หรื อ สิ่ ง แวดล้ อ ม เป็ น ต้ น รวมถึ ง ประเมิ น ปั จ จั ย ภายในขององค์ ก ร ในการสนับสนุนการด�ำเนินงาน เช่น แผนการลงทุ น การบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรบุคคล การสร้างความสัมพันธ์ กั บ ผู ้ มี ส ่ ว น ไ ด ้ เ สี ย เ ป ็ น ต ้ น โดยทั้ ง นี้ ก� ำ หนดให้ มี ก ารทบทวน แผนกลยุทธ์และเป้าหมายของบริษัท เป็นประจ�ำทุกปี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
060
ปัจจัยความเสี่ยงหลัก
ลักษณะ สาเหตุ และผลกระทบ
แนวโน้มที่จะเกิดขึ้น
แนวทางในการป้องกัน และบริหาร จัดการความเสี่ยง และลดผลกระทบ
2) ความเสี่ยงด้านการเงิน
ปัจจัยเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลง ของอัตราดอกเบี้ ย อั ต รา แลกเปลี่ ย น และการขาด สภาพคล่อง ที่ส่งผลกระทบ ต่อการด�ำเนินงานของบริษทั
ตามเป้ า หมายของบริ ษั ท ในการสร้างความเติบโตและ เพิ่มผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้น บริษัทจ�ำเป็นที่จะต้องขยาย การลงทุ น ในต่ า งประเทศ เพิม่ มากขึน้ จึงท�ำให้มโี อกาส ได้รบั ผลกระทบจากความเสีย่ ง ของการเปลี่ ย นแปลงของ อั ต ราแลกเปลี่ ย น อั ต รา ดอกเบี้ ย และการบริ ห าร สภาพคล่ อ งของเงิ น ลงทุ น เพิม่ ขึน้ ตามไปด้วย
บริ ษั ท ได้ พิ จ ารณาก� ำ หนดและ ประกาศนโยบายการเงิ น ส� ำ หรั บ เป็นกรอบและหลักเกณฑ์ในการควบคุม และบริ ห ารความเสี่ ย งทางการเงิ น ทัง้ ด้านดอกเบีย้ อัตราแลกเปลีย่ น และ การบริหารจัดการสภาพคล่อง รวมทัง้ การวางแผนประมาณการทางการเงิน ทั้ ง ในด้ า นปริ ม าณและระยะเวลา ให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ของบริษทั เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความมั่ น ใจได้ ว ่ า บริ ษั ท มีการบริหารความเสีย่ งทีเ่ พียงพอและ การควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ สามารถสร้างความมั่นคงในสถานะ ทางการเงิ น และผลประกอบการ ให้เป็นไปตามแผน
3) ความเสีย่ งด้านด�ำเนินการ
ค ว า ม เ สี่ ย ง สิ น ท รั พ ย ์ ที่ เดินเครื่องเชิงพาณิชย์แล้ว ไม่ ส ามารถท� ำ รายได้ ต าม เป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้ เนือ่ งจาก Unplanned Outage, Aging Machine, Human Error หรือการบริหารแผน Operation and Maintenance ที่ไม่มีประสิทธิภาพ เป็นต้น
โรงไฟฟ้ า หลั ก ของบริ ษั ท เดิ น เครื่ อ งเชิ ง พาณิ ช ย์ ตามสัญญามามากกว่า 10 ปี จึ ง อาจได้ รั บ ผลกระทบ จากสภาพการใช้ ง านของ เครื่องจักร โดยอาจเป็นผล มาจากสภาพความสึกหรอ ความล้ า หรื อ ความร้ อ น สะสมในชิน้ ส่วนต่างๆ ทีช่ ำ� รุด หรือใช้งานมาเป็นเวลานาน ส่งผลให้ ประสิทธิภาพการ ท� ำ งาน หรื อ ความเชื่ อ มั่ น ในเสถียรภาพ ความพร้อม ของเครื่องจักรลดลง
บริ ษั ท ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ โครงการ ที่เดินเครื่องเชิงพาณิชย์แล้วเนื่องจาก เป็นส่วนที่สร้างรายได้ ดังนั้น จึงมี ติ ด ตามผลการด� ำ เนิ น งานและ การประเมิ น ความเสี่ ย งด้ า นต่ า งๆ เป็นประจ�ำ ทัง้ ในด้านการบริหารจัดการ โรงไฟฟ้า ประสิทธิภาพการเดินเครือ่ ง การวางแผนบ�ำรุงรักษาตามมาตรฐาน ทีก่ ำ� หนดอย่างเหมาะสมให้ยงั คงรักษา ประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือได้ ของเครื่ อ งจั ก รตามสั ญ ญาซื้ อ ขาย ไฟฟ้ า รวมถึ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ ความปลอดภัยของผูป้ ฏิบตั งิ าน ผูร้ บั เหมา และสิ่ ง แวดล้ อ ม ตามกฎระเบี ย บ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ปัจจัยความเสี่ยงหลัก
061
ลักษณะ สาเหตุ และผลกระทบ
4) ความเสีย่ งด้านการปฏิบตั ิ • ตาม พ.ร.บ. ประกอบ ต า ม ก ฎ ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ รั ฐ ธรรมนู ญ ว่ า ด้ ว ยการ ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ป้องกันและปราบปรามทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 176 บั ญ ญั ติ ผู ้ ใ ดให้ ขอให้ หรื อ รั บ ว่ า จะให้ ท รั พ ย์ สิ น หรื อ ประโยชน์ อื่ น ใดแก่ เ จ ้ า พ นั ก ง า น ข อ ง รั ฐ เจ้าหน้าทีข่ องรัฐต่างประเทศ ห รื อ เ จ ้ า ห น ้ า ที่ ข อ ง องค์ ก ารระหว่ า งประเทศ เพื่ อ จู ง ใจให้ ก ระท� ำ การ ไม่กระท�ำการ หรือประวิงการ กระท�ำอันมิชอบด้วยหน้าที่ ต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกิน ห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึง่ แสน บาท หรื อ ทั้ ง จ� ำ ทั้ ง ปรั บ ในกรณีที่ผู้กระท�ำความผิด ตามวรรคหนึ่ ง เป็ น บุ ค คล ที่ มี ค ว า ม เ กี่ ย ว ข ้ อ ง กั บ นิ ติ บุ ค ค ล ใ ด แ ล ะ กระท�ำไป เพือ่ ประโยชน์ของ นิติบุคคลนั้น โดยนิติบุคคล ดั ง กล่ า วไม่ มี ม าตรการ ควบคุมภายในที่เหมาะสม เพือ่ ป้องกัน มิให้มกี ารกระท�ำ ความผิ ด นั้ น นิ ติ บุ ค คลนั้ น มีความผิดตามมาตรานี้ และ ต้ อ งระวางโทษปรั บ ตั้ ง แต่ หนึ่งเท่า แต่ไม่เกินสองเท่า ของค่ า เสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ้ น หรือประโยชน์ที่ได้รับ • กฎระเบียบ หลักเกณฑ์ และกฎหมายในแต่ละ ประเทศ มีความซับซ้อนและ มีความแตกต่างกัน การปฏิบตั ิ ตามระเบียบหลักเกณฑ์ และ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องดังกล่าว จึงมีความเสี่ยงและซับซ้อน ตามปัจจัยในแต่ละประเทศ ที่ลงทุนนั้นๆ
แนวโน้มที่จะเกิดขึ้น
แนวทางในการป้องกัน และบริหาร จัดการความเสี่ยง และลดผลกระทบ
• การกระท� ำ โดยเจตนา เพื่ อ แสวงหาประโยชน์ ที่ มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมาย ส� ำ หรั บ ตนเองหรื อ ผู ้ อื่ น ทั้ ง การยั ก ยอกทรั พ ย์ สิ น การทุ จ ริ ต ในการรายงาน การคอร์ รั ป ชั่ น หรื อ การใช้ อ� ำ นาจหน้ า ที่ โ ดยมิ ช อบ กระท�ำการใดๆ เพื่อให้ได้มา ซึ่ ง ประโยชน์ อั น มิ ค วรได้ ทัง้ ต่อองค์กร ตนเอง หรือผูอ้ นื่ ครอบคลุมถึงการให้ และ/หรือ รั บ สิ น บน การขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ การข่มขู่ และ/หรือเรียกร้องผลประโยชน์ และการจ่ายเงินเพือ่ ให้ได้รบั ความสะดวก
• เพื่อให้มั่นใจว่าการด�ำเนินงานของ กลุ่มบริษัทเป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ดี ด�ำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใสและ เป็นธรรม ตลอดจนยึดมั่นในความ รับผิดชอบต่อสังคม และผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทุกกลุม่ ตามหลักบรรษัทภิบาลทีด่ แี ละ จรรยาบรรณทางธุรกิจ คณะกรรมการ บริษทั จึงได้กำ� หนดนโยบายการต่อต้าน การทุ จ ริ ต และคอร์ รั ป ชั่ น ของกลุ ่ ม บริษทั และระเบียบว่าด้วยการต่อต้าน การทุจริตและคอร์รัปชั่นไว้เพื่อทราบ และถือปฏิบัติโดยทั่วกัน อีกทั้งบริษัท ได้ ส ่ ง เสริ ม ให้ พ นั ก งานมี จิ ต ส� ำ นึ ก ในการปฏิบัติตามกฎระเบียบ และ ข้อกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องผ่านการสือ่ สาร ในช่องทางต่างๆ การท�ำแบบทดสอบ ความรู ้ ค วามเข้ า ใจหลั ก การ CAC ซึง่ ก�ำหนดให้นำ� คะแนนมาเป็นส่วนหนึง่ ในการประเมิ น ผลการด� ำ เนิ น งาน รายบุคคล นอกจากนี้ บริษทั ยังได้ออก ระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นกรอบ การปฏิบตั งิ านทีช่ ดั เจน และเป็นกลไก การตรวจสอบและป้องกันการทุจริต ที่ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก การของ CAC โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) ท�ำหน้าที่ก�ำกับดูแล และติดตามตรวจสอบการด�ำเนินงาน ให้ เ ป็ น ไปตามหลั ก การของ CAC ในภาพรวม
• บ ริ ษั ท มี ก า ร ล ง ทุ น ในต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น ซึง่ กฎระเบียบ หลักเกณฑ์ และ กฎหมายของแต่ละประเทศ ล้ ว นมี ค วามซั บ ซ้ อ นและ มีความแตกต่างกัน อีกทั้ง ความคุน้ เคยในขนบธรรมเนียม ป ร ะ เ พ ณี วั ฒ น ธ ร ร ม ที่ แตกต่างกัน จึงเป็นไปได้ทจี่ ะ มีความเสีย่ งในด้านการปฏิบตั ิ ตามกฎระเบียบ หลักเกณฑ์ และกฎหมายดังกล่าว
• การศึกษากฎระเบียบ หลักเกณฑ์ และกฎหมายของแต่ ล ะประเทศ อย่างรอบคอบ โดยการพิจารณาศึกษา ข้ อ มู ล การลงทุ น และความเสี่ ย ง ในประเทศต่ า งๆ จากแหล่ ง ข้ อ มู ล ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได้ การว่ า จ้ า งที่ ป รึ ก ษา ทางกฎหมาย เพือ่ แนะน�ำแนวทางการ ด�ำเนินธุรกิจตามกรอบของกฎระเบียบ แ ล ะ ข ้ อ ก ฎ ห ม า ย ที่ ถู ก ต ้ อ ง การพิ จ ารณาและให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่อพันธมิตรทางธุรกิจในประเทศนัน้ ๆ
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
062
รายงานคณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน
ในปี 2561 คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนด ค่าตอบแทน มีการประชุมรวม 8 ครัง้ โดยในครัง้ ที่ 1 และครัง้ ที่ 2 มีนายวิฑรู ย์ กุลเจริญวิรตั น์ เป็นประธานคณะกรรมการทรัพยากร บุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน นายชวน ศิรินันท์พร นายถาวร งามกนกวรรณ เป็นกรรมการ และมีผชู้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริหารองค์กร ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากร บุ ค คลและก� ำ หนดค่ า ตอบแทน โดยได้ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย น คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทนในระหว่างปี ดังนี้ นายวิฑรู ย์ กุลเจริญวิรตั น์ ได้มหี นังสือขอลาออกจากการเป็น กรรมการบริษทั ตัง้ แต่วนั ที่ 6 เมษายน 2561 คณะกรรมการบริษทั จึงมีมติแต่งตั้งนายชวน ศิรินันท์พร เป็นประธานคณะกรรมการ ทรั พ ยากรบุ ค คลและก� ำ หนดค่ า ตอบแทน และแต่ ง ตั้ ง นายสุชาลี สุมามาลย์ เป็นกรรมการ แทนนายวิฑรู ย์ กุลเจริญวิรตั น์ ที่ลาออก นายถาวร งามกนกวรรณ ได้มหี นังสือขอลาออกจากการเป็น กรรมการบริษทั ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2561 คณะกรรมการบริษทั จึ ง มี ม ติ แ ต่ ง ตั้ ง นายสื บ พงษ์ บู ร ณศิ ริ น ทร์ เป็ น กรรมการ แทนนายถาวร งามกนกวรรณ ที่ลาออก
ทั้ ง นี้ คณะกรรมการทรั พ ยากรบุ ค คลและก� ำ หนด ค่าตอบแทนได้ตระหนักดีวา่ ความรู้ ความสามารถ และขวัญก�ำลังใจ ของพนักงาน คือพลังขับเคลือ่ นทีส่ ำ� คัญเพือ่ ให้ผลการด�ำเนินงาน ขององค์กรไปสู่เป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ โดยได้มีการพิจารณา และน� ำ เสนอขอความเห็ น ชอบต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ตามขอบเขตหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทซึ่งมีประเด็นส�ำคัญ ดังนี้ 1. ก ารสรรหากรรมการ และพิจารณาค่าตอบแทนของกรรมการ การสรรหากรรมการเข้าใหม่ ออกตามวาระ หรือลาออก ก่อนครบวาระ รวมถึงการพิจารณาเสนอชือ่ คณะกรรมการชุดย่อย แทนต�ำแหน่งที่ว่างลง เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท ให้ ค วามเห็ น ชอบได้ ผ ่ า นการพิ จ ารณาในเบื้ อ งต้ น จาก คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน อีกทั้ง ยังเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มีสทิ ธิเสนอชือ่ กรรมการ ตามหลักเกณฑ์ และขั้นตอนที่ก�ำหนด ทั้งนี้ การสรรหากรรมการบริษัทดังกล่าว ได้พิจารณาโดยค�ำนึงถึงความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ประวัตกิ ารท�ำงานทีด่ ี และมีภาวะผูน้ ำ� วิสยั ทัศน์กว้างไกล รวมทัง้ มีคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อองค์กร สามารถ อุทศิ เวลาให้ได้อย่างเพียงพอ อันเป็นประโยชน์ตอ่ การด�ำเนินงาน ของบริษัท
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
นอกจากนี้ คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล และก�ำหนด ค่าตอบแทนได้พจิ ารณาการจ่ายค่าตอบแทน รวมถึงผลประโยชน์ อื่นๆ ให้แก่คณะกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของกลุ่มบริษัท โดยมีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน โปร่งใส และอิงกับผลการปฏิบัติงาน เพือ่ ให้คา่ ตอบแทนของคณะกรรมการมีความเหมาะสม เชิญชวน และสร้างแรงจูงใจต่อกรรมการที่มีศักยภาพสูงให้ปฏิบัติหน้าที่ โดยบรรลุเป้าหมายของบริษัท และสอดคล้องกับผลประโยชน์ ในระยะยาวของบริษทั และผูถ้ อื หุน้ รวมถึงสร้างความมัน่ ใจให้แก่ ผู้ถือหุ้น 2. การพิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง กรรมการและผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริษัทย่อย บริษัทในเครือและบริษัทร่วมทุน คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล และก�ำหนดค่าตอบแทน ได้พิจารณาการแต่งตั้งผู้บริหารระดับสูงของบริษัท และเสนอ ผู้แทนของบริษัท เพื่อเป็นกรรมการในบริษัทย่อย บริษัทในเครือ และบริษัทร่วมทุน โดยพิจารณาความรู้ ความสามารถ และ คุณสมบัติที่เหมาะสม
063
3. การสรรหาผู้สืบทอดต�ำแหน่งทดแทนผู้บริหารระดับสูง ที่ครบก�ำหนดเกษียณอายุ เนื่ อ งด้ ว ยในปี 2561 มี ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริ ษั ท ครบก�ำหนดเกษียณอายุจ�ำนวน 4 คน เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง ในการประกอบธุร กิจ และเกิดประโยชน์แ ก่การด�ำเนินงาน ของบริษทั ในภาพรวม คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนด ค่าตอบแทน จึงได้พจิ ารณาการสรรหาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง (Successors) อย่ า งเป็ น ระบบ รวมทั้ ง ได้ ด� ำ เนิ น การพิ จ ารณาคั ด เลื อ ก ผูบ้ ริหารรุน่ ใหม่ทมี่ แี นวความคิดในการสร้างสรรค์ธรุ กิจให้เหมาะสม สอดคล้องไปกับความเปลี่ยนแปลงทางด้านธุรกิจในปัจจุบัน คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน ได้ ป ฏิ บั ติ ง านตามบทบาทและหน้ า ที่ ที่ ก� ำหนดไว้ ใ นระเบี ย บ ของบริษัทด้วยความซื่อสัตย์ โปร่งใส รอบคอบ กรรมการทุกคน มีอสิ ระในการแสดงความคิดเห็น ใช้ดลุ ยพินจิ ในการพิจารณา และ ตัดสินใจอย่างเทีย่ งตรงและเป็นธรรม โดยค�ำนึงถึงผลประโยชน์สงู สุด ของผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสีย และบริษัทเป็นส�ำคัญ
(นายชวน ศิรินันท์พร) ประธานกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
064
โครงสร้างการจัดการ
คณะกรรมการบริ ษั ท
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล และกํ า หนดค า ตอบแทน
กรรมการผู จั ด การใหญ
ฝ า ยตรวจสอบภายใน
รองกรรมการผู จั ด การใหญ พั ฒ นาธุ ร กิ จ
ผูชวยกรรมการผู จัดการใหญ พัฒนาธุ รกิจไฟฟ า
ฝ า ยพั ฒ นาธุ ร กิ จ ในประเทศ และประเทศเพื่ อ นบ า น ฝ า ยพั ฒ นาธุ ร กิ จ ต า งประเทศ
รองกรรมการผู จั ด การใหญ พั ฒ นาโครงการ
ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ พัฒนาธุรกิจเกี่ยวเนื่อง และธุรกิจใหม
ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ พัฒนาโครงการ
ฝ า ยพั ฒ นาธุ ร กิ จ เกี่ ย วเนื่ อ ง
ฝ า ยวิ เ คราะห ก ารลงทุ น ฝ า ยวิ ศ วกรรมและก อ สร า ง
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
065
คณะกรรมการ บริ ห ารความเสี่ ย ง
คณะกรรมการ กลั่ น กรองการลงทุ น
ฝ า ยกฎหมาย
สํ า นั ก งาน เลขานุ ก ารบริ ษั ท
รองกรรมการผู จั ด การใหญ บริ ห ารสิ น ทรั พ ย
รองกรรมการผู จั ด การใหญ การเงิ น
คณะกรรมการธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบตอสังคม
ส ว นนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ บริหารสินทรัพย
ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ การเงิ น
ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ บริหารองคกร
ฝ า ยวางแผน และพั ฒ นาระบบงาน
ฝ า ยกํ า กั บ และวิ เ คราะห บั ญ ชี
ฝ า ยบริ ห ารสํ า นั ก งาน
ฝ า ยบริ ห ารสิ น ทรั พ ย ใ นประเทศ
ฝ า ยประมวลบั ญ ชี
ฝ า ยองค ก รสั ม พั น ธ
ฝ า ยบริ ห ารสิ น ทรั พ ย ต า งประเทศ
ฝ า ยวางแผน และบริ ห ารการเงิ น
ฝ า ยทรั พ ยากรบุ ค คล
ฝ า ยบริ ห ารภาษี และบั ญ ชี แ ยกประเภท
066
1. คณะกรรมการบริษัท
บริษัทได้ก�ำหนดโครงสร้างของคณะกรรมการ คุณสมบัติ กรรมการ และกรรมการอิสระให้มีความเหมาะสมกับภารกิจ และวัตถุประสงค์ของการประกอบธุรกิจ รวมทั้งสอดคล้องกับ ข้อกฎหมาย ข้อก�ำหนด แนวทางทีเ่ สนอแนะโดยหน่วยงานก�ำกับ ดูแล ข้อบังคับบริษัท ที่ก�ำหนดขึ้นโดยมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และ ระเบียบบริษทั ว่าด้วยคณะกรรมการบริษทั ทัง้ นีเ้ พือ่ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ทั้งคณะ ในการก�ำหนดทิศทาง นโยบาย การถ่วงดุลอ�ำนาจ การก�ำกับดูแล ติดตามตรวจสอบการบริหารและด�ำเนินงานของ ฝ่ายบริหาร การให้ความเห็นต่อเรือ่ งทีท่ ำ� การพิจารณาทัง้ ในเชิงลึก และเชิงกว้าง ครอบคลุมปัจจัยกระทบอย่างรอบด้าน รวมถึง ให้การปฏิบัติมีความสอดคล้องกับข้อก�ำหนดที่บังคับใช้ 1.1 องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัท • กรรมการมีจำ� นวนไม่นอ้ ยกว่า 7 คน และไม่เกิน 15 คน • กรรมการที่เป็นผู้บริหารมีได้ไม่เกินหนึ่งในสาม ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
• กรรมการอิสระมีจ�ำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดและอย่างน้อย 3 คน • กรรมการไม่นอ้ ยกว่ากึง่ หนึง่ ของจ�ำนวนกรรมการ ทั้งหมดต้องมีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร • ประธานกรรมการต้องเป็นกรรมการที่ไม่เป็น ผู้บริหาร และไม่ใช่บุคคลเดียวกับกรรมการผู้จัดการใหญ่ซึ่งเป็น ผูบ้ ริหารสูงสุด และประธานกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เลือกตั้งจากกรรมการโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการ บริษัท • กรรมการมีคุณสมบัติหลากหลายด้านความรู้ เฉพาะทาง ประสบการณ์ท�ำงาน ทักษะและความเชี่ยวชาญ ในด้ า นต่ า งๆ ได้ แ ก่ วิ ศ วกรรมศาสตร์ บั ญ ชี บริ ห ารธุ ร กิ จ เศรษฐศาสตร์ นิ ติ ศ าสตร์ รั ฐ ศาสตร์ รั ฐ ประศาสนศาสตร์ พัฒนบริหารศาสตร์ เป็นต้น • กรรมการทุกคนไม่มปี ระวัตกิ ารกระท�ำความผิดอาญา ในความผิดทีเ่ กีย่ วกับทรัพย์ซงึ่ ได้กระท�ำโดยทุจริต และไม่มปี ระวัติ การท�ำรายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั
2
1
1
1
2 1 1 1 1 1 2
1
3
วาระที่
01/01/2560
01/10/2561
01/05/2561
01/05/2561
11/04/2558 06/04/2560 23/02/2561 08/04/2559 06/04/2561 06/04/2561 19/12/2557
06/04/2560
20/10/2557
วันที่เริ่มดำ�รงตำ�แหน่ง ในคณะกรรมการบริษัท
ตำ�แหน่งในคณะกรรมการชุดย่อย
• • • • •
• • • • • • • • • • •
กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการกลั่นกรองการลงทุน กรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน กรรมการกลั่นกรองการลงทุน ไม่มี
ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม กรรมการกลั่นกรองการลงทุน ประธานกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม กรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน
• ประธานกรรมการกลั่นกรองการลงทุน
หมายเหตุ นโยบายก�ำหนดกรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท ปรากฏในหัวข้อ 1.7 ส่วนรายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการรายบุคคลปรากฏในหัวข้อประวัติกรรมการ
13
12
11
10
กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ.) (กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท) นายสุชาลี สุมามาลย์ กรรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ.) (กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท) นายบุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร กรรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ.) (กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท) นายสืบพงษ์ บูรณศิรินทร์ กรรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ.) (กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท) นายกิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการคณะกรรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ. และกรรมการที่เป็นผู้บริหาร) (กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท)
เชาวภานันท์ เหลืองนวล หน่อแก้ว พึ่งรัศมี วินัยแพทย์ นามวงศ์ ศิรินันท์พร
นายสมัคร นางศิริพร นายสมบูรณ์ นายวีระศักดิ์ นางเปรมฤทัย นายรัตนชัย นายชวน
3 4 5 6 7 8 9
ปัทมสิริวัฒน์
2
นายสุทัศน์
ตำ�แหน่งในคณะกรรมการบริษัท
ประธานกรรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ.) (กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพันบริษัท) นายชาติชาย โรจนรัตนางกูร กรรมการอิสระ
1
คณะกรรมการบริษัท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการบริษัทมีจ�ำนวน 13 คน ได้แก่
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
067
068
ส�ำหรับข้อมูลกรรมการและผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ย่อย ที่ประกอบธุรกิจหลักสามารถศึกษาได้จากแบบ 56-1 ที่เผยแพร่ บนเว็บไซต์ของบริษัท และเว็บไซต์ของ ก.ล.ต. 1.2 คุณสมบัติของกรรมการ • อายุไม่เกินเจ็ดสิบสองปีบริบูรณ์ • ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กฎหมายก�ำหนด ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย ไม่เป็นบุคคลไร้ความสามารถหรือเสมือน ไร้ความสามารถ • ไม่เคยได้รับโทษจ�ำคุกโดยค�ำพิพากษาถึงที่สุด ให้จ�ำคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่ได้กระท�ำโดยทุจริต • ไม่ เ คยถู ก ลงโทษไล่ อ อก หรื อ ปลดออกจาก ราชการหรือองค์กร หรือหน่วยงานของรัฐ หรือเอกชน ฐานทุจริต ต่อหน้าที่ • ไม่ เ คยถู ก ถอดถอนจากการเป็ น กรรมการ ผูจ้ ดั การ พนักงาน หรือผูม้ อี ำ� นาจในการจัดการของหน่วยงานอืน่ • ไม่เป็นข้าราชการการเมือง สมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร สมาชิกวุฒสิ ภา สมาชิกสภาท้องถิน่ หรือผูบ้ ริหารท้องถิน่ • มีคณ ุ วุฒทิ างการศึกษา ประสบการณ์ในการท�ำงาน หรือคุณสมบัติอื่นที่สอดคล้องกับภารกิจของกลุ่มบริษัท • ต้ อ งอุ ทิ ศ เวลาอย่ า งเพี ย งพอและทุ ่ ม เท ความสามารถอย่ า งเต็ ม ที่ เ พื่ อ ประโยชน์ สู ง สุ ด ของบริ ษั ท โดยถือเป็นหน้าทีแ่ ละต้องพร้อมทีจ่ ะเข้าร่วมการประชุมของบริษทั อย่างสม�่ำเสมอ • ไม่ดำ� รงต�ำแหน่งกรรมการในบริษทั จดทะเบียน เกินกว่า 3 แห่ง ในช่วงเวลาที่ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของบริษัท • ไม่กระท�ำการใดอันมีลกั ษณะเป็นการเข้าไปบริหาร หรือจัดการใดๆ ในบริษัทในลักษณะที่มีผลบั่นทอนผลประโยชน์ ของบริ ษั ท หรื อ เอื้ อ ประโยชน์ ใ ห้ บุ ค คลหรื อ นิ ติ บุ ค คลใดๆ ไม่ว่าจะท�ำเพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้อื่น 1.3 กรรมการอิสระ บริษทั ก�ำหนดนิยาม “กรรมการอิสระ” ไว้ในระเบียบ บริษัทว่าด้วยคณะกรรมการบริษัท พ.ศ. 2560 ซึ่งเผยแพร่ไว้ บนเว็บไซต์บริษัท โดยสรุปคุณสมบัติของกรรมการอิสระได้ ดังต่อไปนี้ • ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั บริษทั ย่อย บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วมทุน หรือนิติบุคคลที่อาจจะมีความขัดแย้ง ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้น ของผูท้ เี่ กีย่ วข้องของกรรมการอิสระรายนัน้ ๆ ด้วย (นิยามกรรมการอิสระ ของบริษัท ก�ำหนดเข้มงวดกว่าที่คณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ก�ำหนดให้กรรมการอิสระถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละ 1) • ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้รับเงินเดือนประจ�ำ หรือผู้มี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
อ�ำนาจควบคุมของบริษทั บริษทั ย่อย บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วมทุน บริษัทย่อยล�ำดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจจะมีความขัดแย้ง เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า สองปีก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ • ไม่เป็นบุคคลทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือ โดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผูม้ อี ำ� นาจควบคุม หรือบุคคลทีจ่ ะได้รบั การเสนอ ให้เป็นผูบ้ ริหารหรือผูม้ อี ำ� นาจควบคุม ของบริษทั หรือบริษทั ย่อย • ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทย่อย บริษัทในเครือ บริษัทร่วมทุน หรือนิติบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้งในลักษณะทีอ่ าจเป็นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณ อย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่กรรมการอิสระ หรือผูบ้ ริหารของผูท้ มี่ คี วามสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทย่อย บริษัทในเครือ บริษัทร่วมทุน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เว้นแต่จะได้พ้นจากการ มี ลั ก ษณะดั ง กล่ า วมาแล้ ว ไม่ น ้ อ ยกว่ า สองปี ก ่ อ นวั น ที่ ไ ด้ รั บ การแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ (ความสัมพันธ์ทางธุรกิจ รวมถึงการท�ำรายการทางการค้า ที่ ก ระท� ำ เป็ น ปกติ เ พื่ อ ประกอบกิ จ การ การเช่ า หรื อ ให้ เ ช่ า อสังหาริมทรัพย์ หรือให้กู้ยืม ค�้ำประกัน การให้สินทรัพย์เป็น หลักประกันหนีส้ นิ รวมถึงพฤติการณ์อนื่ ท�ำนองเดียวกัน ซึง่ เป็นผลให้ บริษัทหรือคู่สัญญามีภาระหนี้ท่ีต้องช�ำระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ ร้อยละสามของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทหรือตั้งแต่ ยีส่ บิ ล้านบาทขึน้ ไป แล้วแต่จำ� นวนใดจะต�ำ่ กว่า ทัง้ นี้ การค�ำนวณ ภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธีการค�ำนวณมูลค่าของรายการ ที่ เ กี่ ย วโยงกั น ตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทยว่าด้วยการเปิดเผยข้อมูลและการปฏิบตั กิ ารของ บริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกันโดยอนุโลม แต่ในการ พิจารณาภาระหนีด้ งั กล่าว ให้นบั รวมภาระหนีท้ เี่ กิดขึน้ ในระหว่าง หนึ่งปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน) • ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู ้ ส อบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท บริษทั ย่อย บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วมทุน หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมี ความขัดแย้ง และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่กรรมการ อิสระ ผู้บริหาร หรือหุ้นส่วนผู้จัดการของส�ำนักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบบัญชีของบริษทั บริษทั ย่อย บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วมทุน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งสังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจาก การมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีก่อนวันที่ได้รับ การแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ • ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น ผู ้ บ ริ ก ารทางวิ ช าชี พ ใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษา ทางการเงิน ซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษทั บริษทั ย่อย บริษทั ในเครือ บริษทั ร่วมทุน หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจจะมี ความขัดแย้ง ทัง้ นี้ ในกรณีทผี่ ใู้ ห้บริการทางวิชาชีพเป็นนิตบิ คุ คล
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ให้รวมถึงการเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการซึง่ ไม่ใช่กรรมการอิสระ ผูบ้ ริหาร หรือหุน้ ส่วนผูจ้ ดั การของผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพนัน้ ด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่าสองปี ก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ • ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็น ตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท • ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการอิสระ ทีม่ ลี กั ษณะเป็นไปตามนิยามข้างต้นแล้ว กรรมการอิสระอาจได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการให้ตัดสินใจในการด�ำเนินกิจการ ของบริษัท บริษัทย่อย บริษัทในเครือ บริษัทร่วมทุน บริษัทย่อย ล�ำดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจจะมีความขัดแย้ง โดยมีการ ตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (Collective Decision) ได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทมีกรรมการอิสระ ตามนิยามข้างต้นจ�ำนวน 7 คนจากจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด 13 คน (คิดเป็นร้อยละ 53.85) ซึง่ มากกว่าหนึง่ ในสามของจ�ำนวน กรรมการทั้งหมด ได้แก่ นายชาติชาย โรจนรัตนางกูร นายสมัคร เชาวภานันท์ นางศิริพร เหลืองนวล นายสมบูรณ์ หน่อแก้ว นายวีระศักดิ์ พึ่งรัศมี นางเปรมฤทัย วินัยแพทย์ และนายรัตนชัย นามวงศ์ 1.4 การสรรหากรรมการ บริ ษั ท มี ก ระบวนการสรรหาและหลั ก เกณฑ์ ก าร เลือกตัง้ กรรมการ โดยคณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนด ค่าตอบแทนจะท�ำหน้าที่ในการพิจารณาสรรหา กลั่นกรอง และ คัดเลือกบุคคลเพื่อเสนอชื่อเป็นกรรมการและกรรมการอิสระ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ โดยพิจารณาจากคุณสมบัติ ความรู้ ความสามารถเฉพาะทางที่มีความหลากหลาย ทักษะ และ ประสบการณ์ ใ นการท� ำ งานที่ จ� ำ เป็ น ที่ ยั ง ขาดอยู ่ ใ น คณะกรรมการบริษทั และมีความสอดคล้องกับภารกิจและเป้าหมาย ขององค์กร ไม่จ�ำกัดเพศ ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ข้อบังคับ ข้อก�ำหนดและหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ที เี่ กีย่ วข้อง และต้ อ งพร้ อ มที่ จ ะอุ ทิ ศ เวลาในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นฐานะ กรรมการอย่างเต็มที่ เพือ่ ทีจ่ ะส่งเสริม สนับสนุน และผลักดันการ ท�ำงานของคณะกรรมการบริษัทตามโครงสร้างที่คณะกรรมการ บริษัทได้ก�ำหนดไว้ให้มีความสมบูรณ์และมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น โดยบริษทั ได้จดั ท�ำ Competency Matrix ประกอบการพิจารณา สรรหาดังกล่าว เพื่อให้ได้กรรมการที่จะสามารถน�ำพาธุรกิจ ของกลุม่ บริษทั ให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดตามยุทธศาสตร์อย่างยัง่ ยืน ก่อนทีจ่ ะน�ำเสนอคณะกรรมการบริษทั และ/หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาอนุมัติแล้วแต่กรณี ดังนี้ กรณีที่ 1: ต�ำแหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่น นอกจากถึงคราวออกตามวาระ เป็นอ�ำนาจของคณะกรรมการ ในการพิจารณาแต่งตัง้ กรรมการแทน โดยบุคคลซึง่ เข้าเป็นกรรมการ
069
แทนต�ำแหน่งทีว่ า่ งลงจะอยูใ่ นต�ำแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระ ทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการทีต่ นแทน กรณีนจี้ ะต้องได้รบั มติเห็นชอบ จากที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการด้ ว ยคะแนนเสี ย งไม่ น ้ อ ยกว่ า สามในสี่ของจ�ำนวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ กรณีที่ 2: ต�ำแหน่งกรรมการว่างลงเนือ่ งจากครบวาระ คณะกรรมการจะน�ำเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาเลือกตัง้ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี โดยมีหลักเกณฑ์และ วิธีการที่ก�ำหนดตามข้อบังคับบริษัท บริ ษั ท ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การปฏิ บั ติ ต ่ อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น อย่างเท่าเทียมกัน โดยได้เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยเสนอชือ่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เพื่อคณะกรรมการพิจารณา น�ำเสนอต่อทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปีพจิ ารณาเลือกตัง้ เป็น กรรมการ มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2551 รายละเอียดเปิดเผย ในหัวข้อการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี 1.5 วาระการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการ • ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ทุกครัง้ ให้กรรมการ ออกจากต� ำ แหน่ ง หนึ่ ง ในสามของจ� ำ นวนกรรมการทั้ ง คณะ ถ้าจ�ำนวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงกับหนึ่งในสามไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนที่ใกล้เคียงที่สุดกับหนึ่งในสาม • กรรมการคนทีอ่ ยูใ่ นต�ำแหน่งนานทีส่ ดุ เป็นผูอ้ อกจาก ต�ำแหน่งตามวาระ • กรรมการซึง่ พ้นจากต�ำแหน่งตามวาระอาจได้รบั เลือกตั้งเข้าด�ำรงต�ำแหน่งใหม่ได้ • กรรมการและกรรมการอิสระอยู่ในต�ำแหน่ง ติดต่อกันได้ไม่เกิน 6 ปี • นอกจากการพ้ น จากต� ำ แหน่ ง ตามวาระแล้ ว กรรมการพ้นจากต�ำแหน่งเมื่อ - ตาย - ลาออก - ขาดคุ ณ สมบั ติ หรื อ มี ลั ก ษณะต้ อ งห้ า ม ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ และระเบียบบริษัทว่าด้วยคณะกรรมการ - ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ มีมติให้ออกโดยคะแนนเสียง ไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจ�ำนวนผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิ ออกเสี ย งและมี จ� ำ นวนหุ ้ น นั บ รวมกั น ได้ ไ ม่ น ้ อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง ของจ�ำนวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง หรือศาลมีค�ำสั่งให้ออก • กรรมการที่ลาออกจะมีผลนับแต่วันที่ใบลาออก ถึงบริษัท • กรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ พ้ น จากต� ำ แหน่ ง กรรมการเมื่อพ้นจากต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ • กรรมการที่ พ ้ น จากต� ำ แหน่ ง เพราะเหตุ อื่ น นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการพิจารณาเลือก
070
บุคคลเข้าเป็นกรรมการแทนได้ โดยบุคคลดังกล่าวจะอยู่ใน ต�ำแหน่งกรรมการได้เท่าวาระทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการทีต่ นแทน 1.6 อ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท ในฐานะตัวแทนของผู้ถือหุ้น มีบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบในการด�ำเนินกิจการ ของบริษัทให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และมีอ�ำนาจกระท�ำการใดๆ ตามที่ระบุไว้ ในหนังสือบริคณห์สนธิหรือที่เกี่ยวข้อง ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และพึงหลีกเลีย่ งปัญหาในเรือ่ งของความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่ อ ระมั ด ระวั ง และรั ก ษาผลประโยชน์ ข ององค์ ก รโดยรวม โดยไม่จ�ำกัดอยู่แต่เฉพาะผู้ถือหุ้นกลุ่มใดหรือรายใด ดังนี้ • ก� ำ หนดนโยบาย กลยุ ท ธ์ แผนธุ ร กิ จ และ งบประมาณ • ติ ด ตามความคื บ หน้ า ของการด� ำ เนิ น งาน ด้านกลยุทธ์ และการปฏิบัติของฝ่ายบริหาร โดยเปรียบเทียบกับ เป้าหมายและประมาณการอย่างน้อยไตรมาสละครั้ง • บริหารทรัพยากรบุคคล การแต่งตั้ง และ/หรือ ถอดถอนกรรมการและผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง การประเมิ น ผล การปฏิบัติงานโดยเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ก�ำหนดร่วมกัน เชื่อมโยงกับค่าตอบแทนของบริษัท • ดู แ ลความครบถ้ ว นสมบู ร ณ์ ข องการปฏิ บั ติ ให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดทีบ่ งั คับใช้ จรรยาบรรณทางธุรกิจ และ หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยเฉพาะการก�ำหนดให้มีระบบ การควบคุ ม ภายในที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและพอเพี ย ง รวมทั้ ง การติดตามปัญหาและสถานการณ์ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ที่อาจเกิดขึ้นโดยเฉพาะเรื่องการป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่น • สื่ อ สารกั บ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ของบริ ษั ท และ สาธารณชนอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิผล และมีการติดตาม อย่างเป็นระบบ • จั ด ตั้ ง แ ล ะ ก� ำ ห น ด บ ท บ า ท ห น ้ า ที่ ข อ ง คณะกรรมการชุดย่อย • ประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อย โดยก�ำหนดให้มีการประเมินผล การปฏิบัติงานตนเองเป็นประจ�ำทุกปี ผู้ลงทุนสามารถศึกษารายละเอียดบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั ได้จากเว็บไซต์บริษทั ในหัวข้อระเบียบบริษัทว่าด้วยคณะกรรมการบริษัท 1.7 กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพัน บริษัทมีนโยบายก�ำหนดกรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนาม ผูกพัน ดังนี้ • ประธานกรรมการ หรือกรรมการผู้จัดการใหญ่ คนใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อและประทับตราส�ำคัญของบริษัท
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หรือกรรมการอืน่ สองคน ยกเว้นกรรมการอิสระ ลงลายมือชือ่ ร่วมกัน และประทับตราส�ำคัญของบริษัท ทัง้ นี้ เพือ่ ความคล่องตัวในทางปฏิบตั ิ และความเป็นอิสระ ของกรรมการอิสระอย่างแท้จริง ผู้ลงทุนสามารถศึกษารายละเอียดได้จากหนังสือ รับรองบริษัทที่จดทะเบียนต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวง พาณิชย์ และได้เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์บริษัท 1.8 คณะกรรมการชุดย่อย จ�ำนวน 5 คณะ ประกอบด้วย 1) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบแต่ ง ตั้ ง โดย คณะกรรมการบริษัท และมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี มีความรูค้ วามสามารถ ประสบการณ์ และคุณสมบัตติ ามข้อก�ำหนด ของ ก.ล.ต. และ ตลท. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการ ตรวจสอบ ประกอบด้วย นายชาติชาย โรจนรัตนางกูร ประธาน กรรมการตรวจสอบ นางศิริพร เหลืองนวล และนายสมบูรณ์ หน่อแก้ว เป็นกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบทั้ง 3 คน เป็นกรรมการอิสระ โดยมีนายชาติชาย โรจนรัตนางกูร และ นางศิรพิ ร เหลืองนวล เป็นผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถในการสอบทาน การปฏิบัติ รวมถึงงบการเงินของบริษัท โดยมีนายสมบูรณ์ โฆษิตวานิช ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบภายใน ท�ำหน้าที่เลขานุการ หน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการตรวจสอบ • สอบทานให้บริษทั มีการรายงานทางการเงิน อย่างถูกต้องและเพียงพอ • สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุม ภายใน การตรวจสอบภายในและการบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม และมีประสิทธิผล • สอบทานให้ บ ริ ษั ท มี ก ารปฏิ บั ติ ต าม กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�ำหนดของ ตลท. และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท • พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคล ซึง่ มีความเป็นอิสระ เพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูส้ อบบัญชีของบริษทั และ เสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับ ผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายบริหารเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง • พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือ รายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตาม กฎหมายและข้อก�ำหนดของ ตลท. • จัดท�ำรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ พร้อมความเห็นที่เปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัท • สอบทานงานของฝ่ายตรวจสอบภายใน ในเรือ่ งขอบเขตการปฏิบตั งิ าน แผนการตรวจสอบประจ�ำปี งบประมาณ
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
การแต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้าง ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายตรวจสอบภายใน รวมทั้งการพิจารณาความเป็นอิสระของฝ่ายตรวจสอบภายใน • พิจารณาและทบทวนหลักเกณฑ์ และ วิ ธี ก ารตรวจสอบให้ เ หมาะสมกั บ สภาพแวดล้ อ มทางธุ ร กิ จ อยู่เสมอ การสรุปภารกิจของคณะกรรมการตรวจสอบเสนอ คณะกรรมการบริษัททราบ และการรายงานสิ่งที่ตรวจพบหรือ มีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระท�ำซึ่งอาจมีผลกระทบอย่าง มีนัยส�ำคัญต่อฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของบริษัท คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ ด� ำ เนิ น การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขภายใน ระยะเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร ผู้ลงทุนสามารถศึกษารายละเอียดบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบได้จาก เว็บไซต์บริษทั ในหัวข้อระเบียบบริษทั ว่าด้วยคณะกรรมการตรวจสอบ 2)
คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล และก�ำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนด ค่ า ตอบแทน แต่ ง ตั้ ง โดยคณะกรรมการบริ ษั ท และมี ว าระ การด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน ประกอบด้วย นายชวน ศิ ริ นั น ท์ พ ร ประธานกรรมการทรั พ ยากรบุ ค คล และก�ำหนดค่าตอบแทน นายสุชาลี สุมามาลย์ และนายสืบพงษ์ บูรณศิรนิ ทร์ เป็นกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน โดยมีนายประยุทธ ธงสุวรรณ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารองค์กร ท�ำหน้าที่เลขานุการ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน หน้าที่ด้านการสรรหาทรัพยากรบุคคล • ก�ำหนดวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ทางด้าน ทรัพยากรบุคคล และแผนพัฒนาผู้บริหารของกลุ่มบริษัท • ดูแลให้คณะกรรมการของกลุ่มบริษัท มีขนาดและองค์ประกอบที่เหมาะสมกับองค์กร รวมถึงให้มีการ ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป • ก�ำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ วิธีการ และกระบวนการที่ชัดเจน โปร่งใส เหมาะสม และเป็นประโยชน์ ต่ อองค์ ก ร ในการสรรหา ถอดถอน หรื อ เลิ ก จ้ า งกรรมการ และผูบ้ ริหารระดับสูงของกลุม่ บริษทั เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการ ของกลุม่ บริษทั พิจารณาอนุมตั ิ เพือ่ ให้กลุม่ บริษทั มีคณะผูบ้ ริหาร ทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ความรู้ ความสามารถ ทีเ่ หมาะสม และประสบการณ์ ในการด� ำ เนิ น กิ จ การของกลุ ่ ม บริ ษั ท ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และประสบความส�ำเร็จ • คั ด เ ลื อ ก แ ล ะ เ ส น อ ชื่ อ บุ ค ค ล ที่ มี คุณสมบัติเหมาะสมเพื่อด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหาร ระดับสูงของกลุ่มบริษัท
071
• จั ด ให้ มี แ ผนสื บ ทอดต� ำ แหน่ ง บริ ห าร ที่ส�ำคัญ การก�ำหนดนโยบายและกลยุทธ์การจ่ายค่าตอบแทน รวมถึงจ�ำนวนค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นให้แก่กรรมการ และผูบ้ ริหารระดับสูงของกลุม่ บริษทั เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการ ของกลุม่ บริษทั พิจารณาอนุมตั ิ โดยมีหลักเกณฑ์ทชี่ ดั เจน โปร่งใส และเหมาะสมกับหน้าที่แ ละความรับผิดชอบ และอิง กับ ผล การปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถชักน�ำ รักษาไว้ และจูงใจบุคลากร ที่มีศักยภาพสูงและคุณสมบัติตามที่ต้องการ หน้าที่ด้านการก�ำหนดค่าตอบแทน • ก�ำหนดนโยบายและกลยุทธ์การจ่าย ค่าตอบแทน ได้แก่ เงินเดือน เบี้ยประชุม เบี้ยเลี้ยง โบนัส หรือ ผลประโยชน์ตอบแทนในลักษณะอืน่ ๆ รวมถึงจ�ำนวนค่าตอบแทน และผลประโยชน์ อื่ น ให้ แ ก่ ก รรมการและผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของกลุม่ บริษทั เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการของกลุม่ บริษทั พิจารณา อนุมตั ิ โดยมีหลักเกณฑ์ทชี่ ดั เจน โปร่งใส และเหมาะสมกับหน้าที่ และความรับผิดชอบ และอิงกับผลการปฏิบตั งิ าน เพือ่ ให้สามารถ ชักน�ำ รักษาไว้ และจูงใจบุคลากรที่มีศักยภาพสูงและคุณสมบัติ ตามที่ต้องการ • การก�ำหนดแนวทาง หลักเกณฑ์ วิธกี าร และกระบวนการที่ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ลในการประเมิ น ผลงานของ คณะกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูงของกลุม่ บริษทั โดยเปรียบเทียบ กับเป้าหมายประจ�ำปีที่เกี่ยวโยงกับแผนธุรกิจที่ร่วมก�ำหนดไว้ เพือ่ พิจารณาปรับผลตอบแทนประจ�ำปี โดยจะต้องค�ำนึงถึงหน้าที่ ความรับผิดชอบและความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้อง รวมถึงให้ความส�ำคัญ กั บ การเพิ่ ม ของส่ ว นของผู ้ ถื อ หุ ้ น ในระยะยาวประกอบการ พิจารณาประเมินผลด้วย • เปิดเผยนโยบายเกี่ยวกับการก�ำหนด ค่าตอบแทนในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งจ�ำนวนค่าตอบแทนของ กรรมการและผู้บริหารระดับสูงไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัท ผู้ลงทุนสามารถศึกษารายละเอียดบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล และก�ำหนดค่าตอบแทนได้จากเว็บไซต์บริษัท ในหัวข้อระเบียบ บริ ษั ท ว่ า ด้ ว ยคณะกรรมการทรั พ ยากรบุ ค คลและก� ำ หนด ค่าตอบแทน 3)
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งได้ รั บ แต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท และมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง คราวละ 3 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง ประกอบด้วย นายสมัคร เชาวภานันท์ ประธาน กรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง นายวี ร ะศั ก ดิ์ พึ่ ง รั ศ มี และ นายบุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร เป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยมีนายสุทีป ธรรมรุจี ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายวางแผน และพัฒนาระบบงาน ท�ำหน้าที่เลขานุการ
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
072
หน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง • พิ จ ารณากลั่ น กรองนโยบายและ แนวทางการบริหารความเสีย่ งโดยรวมของบริษทั ซึง่ ครอบคลุมถึง ความเสี่ยงประเภทต่างๆ ที่ส�ำคัญ เช่น ความเสี่ยงด้านการเงิน ความเสีย่ งด้านการลงทุน และความเสีย่ งทีม่ ผี ลกระทบต่อชือ่ เสียง ของกิจการ เป็นต้น เพือ่ น�ำเสนอคณะกรรมการบริษทั ให้ความเห็นชอบ • ก�ำหนดยุทธศาสตร์และแนวทางในการ บริหารความเสีย่ งของบริษทั ให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหาร ความเสีย่ ง โดยสามารถประเมิน ติดตาม และดูแลจัดการความเสีย่ ง ของบริษัทให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม • ดูแลและติดตามการปฏิบตั ติ ามนโยบาย การบริหารความเสี่ยงภายใต้แนวทางและนโยบายที่ได้รับอนุมัติ จากคณะกรรมการบริษัท • ก�ำหนดเกณฑ์วัดความเสี่ยงและเพดาน ความเสี่ยงที่บริษัทจะยอมรับได้ • ก�ำหนดมาตรการที่จะใช้ในการจัดการ ความเสี่ยงให้เหมาะสมต่อสภาวการณ์ • ทบทวนความเพี ย งพอของนโยบาย และระบบการบริหารความเสี่ยง โดยรวมถึงความมีประสิทธิผล ของระบบและการปฏิบัติตามนโยบายที่ก�ำหนด • รายงานต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท อย่างสม�่ำเสมอเกี่ยวกับการบริหารการด�ำเนินงาน และสถานะ ความเสี่ ย งของบริ ษั ท และการเปลี่ ย นแปลงต่ า งๆ รวมถึ ง สิ่งที่ต้องด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย และกลยุทธ์ที่ก�ำหนดไว้ • จัดให้มีคณะท�ำงานบริหารความเสี่ยง ตามความจ�ำเป็น รวมถึงให้ความสนับสนุนคณะท�ำงานบริหาร ความเสี่ ย งในด้ า นบุ ค ลากร งบประมาณ และทรั พยากรอื่น ที่จ�ำเป็น ให้สอดคล้องกับขอบเขตความรับผิดชอบ ผู้ลงทุนสามารถศึกษารายละเอียดบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ได้ จ ากเว็ บ ไซต์ บ ริ ษั ท ในหั ว ข้ อ ระเบี ย บบริ ษั ท ว่ า ด้ ว ย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะท�ำงานบริหารความเสี่ยง “คณะท�ำงานบริหารความเสีย่ ง” แต่งตัง้ โดย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย รองกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่บริหารสินทรัพย์ เป็นประธานคณะท�ำงาน ผูบ้ ริหาร จากสายงานต่างๆ เป็นคณะท�ำงาน และผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน เป็นเลขานุการ คณะท�ำงานบริหาร ความเสี่ ย งมี ห น้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบครอบคลุ ม ถึ ง การ ระบุลกั ษณะของความเสีย่ งและปัจจัยความเสีย่ ง ศึกษาและวิเคราะห์ ปัจจัยทัง้ ภายในและภายนอกทีจ่ ะมีผลกระทบต่อการด�ำเนินงาน
ของบริษทั ติดตามและศึกษาเกณฑ์การปฏิบตั ใิ นเรือ่ งการบริหาร ความเสี่ ย งตามมาตรฐานสากลและตามข้ อ ก� ำ หนดของทาง การเสนอแนวทางในการบริหารความเสีย่ งต่อคณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ งเพือ่ พิจารณาให้ความเห็นชอบ ติดตามและก�ำกับดูแล การบริหารความเสี่ยงให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการบริหาร ความเสีย่ งได้ให้ความเห็นชอบ ตลอดจนจัดท�ำรายงานการบริหาร ความเสี่ยงของบริษัทเสนอต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ทุกไตรมาส คณะผู้บริหารแผนกลยุทธ์ “คณะผู้บริหารแผนกลยุทธ์” ได้รับความ เห็นชอบการแต่งตัง้ จากกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ซึง่ ประกอบด้วย รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ทุกสายงาน และผู้ช่วยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่บริหารองค์กร เป็นคณะบริหาร โดยมีกรรมการ ผู ้ จั ด การใหญ่ เป็ น ประธานคณะบริ ห าร และผู ้ อ� ำ นวยการ ฝ่ายอาวุโส ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน เป็นเลขานุการ คณะบริหารแผนกลยุทธ์มหี น้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการพิจารณา กลั่นกรองนโยบายและแนวทางการบริหารแผนกลยุทธ์โดยรวม ของบริษัทให้สอดคล้องกับเป้าหมายและสถานการณ์ปัจจุบัน ก�ำหนดยุทธศาสตร์ ทบทวนความเพียงพอของนโยบายและระบบ การบริหารแผนกลยุทธ์ โดยรวมถึงความมีประสิทธิผลของระบบ และการปฏิ บั ติ ต ามนโยบายที่ ก� ำ หนด แต่ ง ตั้ ง คณะท� ำ งาน แผนกลยุทธ์ ดูแลและติดตามการปฏิบัติตามนโยบายการบริหาร แผนกลยุทธ์ และพิจารณารายงานผลการวิเคราะห์และประเมิน แผนกลยุทธ์ที่คณะท�ำงานบริหารแผนกลยุทธ์น�ำเสนอ คณะท�ำงานแผนกลยุทธ์ คณะท� ำ งานแผนกลยุ ท ธ์ ประกอบด้ ว ย ผู้บริหารจากสายงานต่างๆ ที่ได้รับมอบหมายจากรองกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ของสายงานนัน้ ๆ และผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริ ห ารองค์ ก ร ส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห ารจากสายงานบริ ห ารองค์ ก ร เป็นคณะท�ำงาน โดยมีรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่บริหารสินทรัพย์ เป็นประธานคณะท�ำงานแผนกลยุทธ์ และผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงานเป็นเลขานุการ คณะท�ำงาน แผนกลยุทธ์มหี น้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการติดตาม รวบรวม ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละโครงการ เพื่อประเมินแผนกลยุทธ์ ตามที่ก�ำหนดและน�ำเสนอคณะผู้บริหารแผนกลยุทธ์ทุกไตรมาส 4)
คณะกรรมการกลั่นกรองการลงทุน กรรมการกลั่นกรองการลงทุน แต่งตั้งโดย คณะกรรมการบริษัท และมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการกลั่นกรองการลงทุน ประกอบด้วย นายสุทศั น์ ปัทมสิรวิ ฒ ั น์ ประธานกรรมการกลัน่ กรอง การลงทุน นายรัตนชัย นามวงศ์ นายบุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
และนายสืบพงษ์ บูรณศิรนิ ทร์ เป็นกรรมการกลัน่ กรองการลงทุน โดยมีนายพีระวัฒน์ พุม่ ทอง รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่พฒ ั นาธุรกิจ ท�ำหน้าที่เลขานุการ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ กลั่นกรองการลงทุนรับผิดชอบ • ก�ำหนดกลยุทธ์ เป้าหมาย แผนการ ลงทุ น งบประมาณการลงทุ น ผลตอบแทนการลงทุ น และ ผลประโยชน์อนื่ จากการลงทุนในโครงการเพือ่ เพิม่ ก�ำลังการผลิต และการเจริญเติบโตแก่บริษัท • พิ จ า ร ณ า ก ลั่ น ก ร อ ง ก า ร ล ง ทุ น ในโครงการที่ฝ่ายบริหารเสนอ เพื่อให้โครงการลงทุนของบริษัท มี ค วามเชื่ อ มโยงและสอดคล้ อ งกั บ นโยบายและเป้ า หมาย ตามแผนการลงทุ น ของบริ ษั ท โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ผลตอบแทน ทางเศรษฐศาสตร์ที่คุ้มค่าต่อการลงทุน และปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้มีการบริหารจัดการให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ • ตรวจสอบ ติ ด ตาม และประเมิ น ผล โครงการทีไ่ ด้รบั อนุมตั ใิ ห้เข้าลงทุน และรายงานคณะกรรมการบริษทั เพื่อรับทราบ ผู้ลงทุนสามารถศึกษารายละเอียดบทบาท หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการกลั่ น กรอง การลงทุนได้จากเว็บไซต์บริษัท ในหัวข้อระเบียบบริษัทว่าด้วย คณะกรรมการกลั่นกรองการลงทุน 5)
คณะกรรมการธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคม กรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบ ต่อสังคม แต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัท และมีวาระการด�ำรง ต�ำแหน่งคราวละ 3 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการ ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม ประกอบด้วย นายชวน ศิรินันท์พร ประธานกรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบ ต่อสังคม นายชาติชาย โรจนรัตนางกูร และนางเปรมฤทัย วินยั แพทย์ เป็ น กรรมการธรรมาภิ บ าลและความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม โดยมีนางบุญทิวา ด่านศมสถิต ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกรรมการผู้จัดการใหญ่ ท�ำหน้าที่เลขานุการ หน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคมรับผิดชอบ • พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบนโยบาย กลยุทธ์ เป้าหมาย แนวปฏิบัติ และแผนงานด้านธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท • ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของคณะกรรมการ บริษัท ผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานในกิจกรรมด้านธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท
073
• ก�ำกับดูแลให้มีการปฏิบัติที่สอดคล้อง กั บ นโยบายและระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ งในด้ า นธรรมาภิ บ าล และความรับผิดชอบต่อสังคม • ติ ด ตามและรายงานผลการปฏิ บั ติ ต่อคณะกรรมการบริษัทอย่างสม�่ำเสมอ • ทบทวนและเสนอปรับปรุงนโยบายและ แนวทางปฏิบัติด้านธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม ของบริษัทเป็นประจ�ำตามความเหมาะสม โดยเปรียบเทียบกับ บริษทั ชัน้ น�ำและเสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณา ให้มีการพิจารณาปรับปรุงให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง ผู้ลงทุนสามารถศึกษารายละเอียดบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการธรรมาภิบาลและ ความรับผิดชอบต่อสังคมได้จากเว็บไซต์บริษัท ในหัวข้อระเบียบ บริษัทว่าด้วยคณะกรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบ ต่อสังคม คณะท�ำงานก�ำกับดูแลกิจการที่ดี “คณะท�ำงานก�ำกับดูแลกิจการที่ดี” ได้รับ ความเห็นชอบในการแต่งตัง้ จากกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ประกอบด้วย รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงินเป็นประธานคณะท�ำงาน โดยมีผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการจากทุกสายงาน และผู้อ�ำนวยการ ฝ่ า ยตรวจสอบภายใน เป็ น คณะท� ำ งาน และผู ้ อ� ำ นวยการ ส� ำ นั ก งานเลขานุ ก ารบริ ษั ท เป็ น คณะท� ำ งานและเลขานุ ก าร คณะท�ำงานก�ำกับดูแลกิจการทีด่ มี หี น้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการ ติดตาม ศึกษา พิจารณา ทบทวน และปรับปรุงนโยบายการก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีตามข้อเสนอแนะหรือข้อก�ำหนดของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้นโยบายการก�ำกับดูแลกิจกาารที่ดีของบริษัท ทันสมัยและสอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติตามมาตรฐานสากล ตลอดจนกฎหมาย หลักเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ เสนอแนวทาง ปฏิบัติด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทและบริษัทย่อย วางกรอบแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และการบริหารความเสีย่ ง ที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริต ส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงาน ของบริษัทและบริษัทย่อยเกิดจิตส�ำนึกในเรื่องการก�ำกับดูแล กิจการที่ดีและการต่อต้านการทุจริต ติดตาม ประเมินผลและ รายงานการปฏิบตั ติ ามแนวทางการปฏิบตั ทิ ดี่ แี ละแผนการจัดการ ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริตที่ก�ำหนดไว้ใน นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ รวมถึงการบริหารความเสี่ยง ด้ า นการทุ จ ริ ต โดยการให้ ค� ำ ปรึ ก ษาแก่ ผู ้ บ ริ ห ารส� ำ หรั บ การ ประเมินความเสีย่ งด้านการทุจริต รวบรวมผลการประเมินความเสีย่ ง ด้านการทุจริต เพือ่ จัดท�ำเอกสารความเสีย่ งด้านการทุจริตขององค์กร และติดตามการด�ำเนินงานตามแผนจัดการความเสีย่ งเพือ่ น�ำเสนอ ต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท คณะกรรมการธรรมาภิ บ าลและ ความรับผิดชอบต่อสังคม คณะกรรมการตรวจสอบ ผู้บริหาร และคณะกรรมการหรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
074
การเปลี่ ย นแปลงกรรมการบริ ษั ท และกรรมการชุ ด ย่ อ ย ในระหว่างปี 2561 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 • นายสมบูรณ์ หน่อแก้ว ได้รบั เลือกตัง้ เป็นกรรมการอิสระ วันที่ 6 เมษายน 2561 • นางสาวประภา ปูรณโชติ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ อิสระ และกรรมการตรวจสอบ เนื่องจากครบวาระ • นายประพนธ์ กิ ติ จั น ทโรภาส พ้ น จากต� ำ แหน่ ง กรรมการอิสระ และกรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบ ต่อสังคม เนื่องจากครบวาระ • นายวิฑูรย์ กุลเจริญวิรัตน์ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ ประธานกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน และกรรมการกลั่นกรองการลงทุน เนื่องจากลาออก • นายรัตนชัย นามวงศ์ และนางเปรมฤทัย วินัยแพทย์ ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการอิสระ วันที่ 1 พฤษภาคม 2561 • นายวิบูลย์ ฤกษ์ศิระทัย พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ กรรมการบริหารความเสี่ยง และกรรมการกลั่นกรองการลงทุน เนื่องจากลาออก • นายสุชาลี สุมามาลย์ ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการ และได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนด ค่าตอบแทน • นายบุญญนิตย์ วงศ์รกั มิตร ได้รบั เลือกตัง้ เป็นกรรมการ และได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารความเสี่ยง และกรรมการ กลั่นกรองการลงทุน • นายชวน ศิ ริ นั น ท์ พ ร ได้ รั บ เลื อ กตั้ ง เป็ น ประธาน กรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน • นายสมบูรณ์ หน่อแก้ว ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการตรวจสอบ • นายรัตนชัย นามวงศ์ ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ กลั่นกรองการลงทุน • นางเปรมฤทัย วินัยแพทย์ ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
วันที่ 1 ตุลาคม 2561 • นายถาวร งามกนกวรรณ พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ กรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน และกรรมการ กลั่นกรองการลงทุน เนื่องจากลาออก • นายสืบพงษ์ บูรณศิรินทร์ ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการ และได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนด ค่าตอบแทน และกรรมการกลั่นกรองการลงทุน 1.9 การประชุมของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย ในปี 2561 มีรายละเอียดดังนี้ 1.9.1 คณะกรรมการบริ ษั ท มี ก ารประชุ ม จ�ำนวน 14 ครั้ง โดยในการประชุมครั้งที่ 14 ก่อนการประชุม คณะกรรมการบริ ษั ท ทั้ ง คณะได้ มี ก ารประชุ ม ระหว่ า ง กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารและไม่มีฝ่ายบริหารเข้าร่วมด้วย 1.9.2 คณะกรรมการชุดย่อย • คณะกรรมการตรวจสอบ มีการประชุมจ�ำนวน 7 ครั้ง โดยมีการประชุมระหว่างคณะกรรมการตรวจสอบกับ ผู ้ ส อบบั ญ ชี โ ดยไม่ มี ฝ ่ า ยบริ ห ารเข้ า ร่ ว มด้ ว ยเป็ น ระเบี ย บ วาระการประชุมหนึ่งของการประชุมครั้งที่ 7 • คณะกรรมการทรั พ ยากรบุ ค คลและก� ำ หนด ค่าตอบแทน มีการประชุมจ�ำนวน 8 ครั้ง • คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีการประชุม รวมจ�ำนวน 4 ครั้ง • คณะกรรมการกลัน่ กรองการลงทุนมีการประชุม จ�ำนวน 9 ครั้ง • คณะกรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบ ต่อสังคม มีการประชุมจ�ำนวน 3 ครั้ง • คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง ประชุมร่วมกันจ�ำนวน 1 ครั้ง
14/14 14/14 14/14 13/14 10/11 14/14 10/10 9/10 12/14 9/9 9/9 4/4 14/14 3/4 4/4 4/4 5/5 10/10
100.00 100.00 100.00 92.86 90.91 100.00 100.00 90.00 85.71 100.00 100.00 100.00 100.00 75.00 100.00 100.00 100.00 100.00 1/1
7/7 6/6
7/7
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
5/5
2/2
3/3
8/8 5/5
คณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคล และกำ�หนด ค่าตอบแทน
(1) ตัวเลขหน้า / แสดงจ�ำนวนครั้งที่กรรมการเข้าประชุม (2) ตัวเลขหลัง / แสดงจ�ำนวนครั้งที่มีการประชุมในช่วงที่กรรมการอยู่ในต�ำแหน่ง (3) ร้อยละของการเข้าประชุมคณะกรรมการบริษัท ค�ำนวณเฉพาะการประชุมที่จัดขึ้นระหว่างที่กรรมการอยู่ในต�ำแหน่ง (4) ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงกรรมการบริษัทและกรรมการชุดย่อยในระหว่างปี 2561 ปรากฏตามข้อ 1.8
นายสุทศั น์ ปัทมสิรวิ ฒ ั น์ นายชาติชาย โรจนรัตนางกูร นายสมัคร เชาวภานันท์ นางศิรพิ ร เหลืองนวล นายสมบูรณ์ หน่อแก้ว นายวีระศักดิ์ พึง่ รัศมี นางเปรมฤทัย วินยั แพทย์ นายรัตนชัย นามวงศ์ นายชวน ศิรนิ นั ท์พร นายสุชาลี สุมามาลย์ นายบุญญนิตย์ วงศ์รกั มิตร นายสืบพงษ์ บูรณศิรนิ ทร์ นายกิจจา ศรีพฒ ั ฑางกุระ นางสาวประภา ปรู ณโชติ นายประพนธ์ กิตจิ นั ทโรภาส นายวิฑรู ย์ กุลเจริญวิรตั น์ นายวิบลู ย์ ฤกษ์ศริ ะทัย นายถาวร งามกนกวรรณ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
หมายเหตุ
กรรมการ
ลำ�ดับที่
ร้อยละ ของการเข้าร่วม คณะกรรมการบริษัท ประชุมคณะกรรมการ บริษัท
0/1
3/3
4/4
4/4
คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง
การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย ในปี 2561
1/1 1/2 7/7
7/7 2/2
6/7
9/9
คณะกรรมการ กลั่นกรอง การลงทุน
3/3
3/3
3/3
คณะกรรมการ ธรรมาภิบาลและ ความรับผิดชอบ ต่อสังคม
1/1
1/1 1/1 1/1 1/1 1/1
คณะกรรมการ ตรวจสอบ และคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
075
076
ทั้งนี้ การเข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการถือเป็นหน้าที่ ที่กรรมการจะต้องเข้าร่วมในการประชุมทุกครั้ง เว้นแต่มีภารกิจ ส� ำ คั ญ และจ� ำ เป็ น เร่ ง ด่ ว นอย่ า งยิ่ ง สามารถลาการประชุม ได้ อย่างไรก็ตาม กรรมการรายดังกล่าวสามารถแจ้งความเห็นในเรือ่ ง ต่ า งๆ ตามระเบี ย บวาระการประชุ ม ที่ ไ ด้ จั ด ส่ ง ให้ ล ่ ว งหน้ า ก่อนการประชุมได้ โดยในปี 2561 กรรมการทุกท่านเข้าร่วมประชุม คณะกรรมการบริษทั ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 75 ของจ�ำนวนการประชุม ตลอดทัง้ ปี และมีคา่ เฉลีย่ การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษทั ทั้งคณะที่ร้อยละ 96.63 1.10 เลขานุการคณะกรรมการ และเลขานุการบริษัท เลขานุการคณะกรรมการ เลขานุการคณะกรรมการ โดยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัทให้ท�ำหน้าที่เลขานุการ คณะกรรมการ โดยมีส่วนงานเลขานุการคณะกรรมการ สังกัด ส�ำนักงานเลขานุการบริษทั รับผิดชอบงานประชุม งานอ�ำนวยการ และการประสานงานกิจการต่างๆ ของคณะกรรมการบริษัท
เลขานุการบริษัท เลขานุการบริษัท ได้รับแต่งตั้งโดยคณะกรรมการ บริษัทให้มีหน้าที่รับผิดชอบตามข้อก�ำหนดแห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งให้มีหน้าที่รับผิดชอบ ในการให้ค�ำแนะน�ำเบื้องต้นด้านกฎหมาย และกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การด�ำเนินการจัดการประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทย่อย คณะกรรมการชุดย่อยของบริษัท การประชุมผูถ้ อื หุน้ และการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ให้การประชุมและการด�ำเนินกิจกรรมของคณะกรรมการบริษทั มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
การประสานงานให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามมติ ค ณะกรรมการ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น การดูแลการด�ำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับ สิทธิของผู้ถือหุ้น การดูแลเปิดเผยข้อมูล การรายงานสารสนเทศ และการจัดท�ำรายงานประจ�ำปี (แบบ 56-2) ของบริษัท รวมถึง การจั ด ท� ำ และเก็ บ รั ก ษาเอกสารส� ำ คั ญ ต่ า งๆ เช่ น หนั ง สื อ เชิญประชุมและรายงานการประชุมคณะกรรมการ หนังสือ เชิญประชุมและรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น รายงานประจ�ำปี ทะเบียนกรรมการ และรายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดย กรรมการและผู้บริหาร เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมการด�ำเนินงาน ของคณะกรรมการบริ ษั ท ให้ เ ป็ น ไปตามหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ล กิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท จดทะเบี ย นในหมวดความรั บ ผิ ด ชอบ ของคณะกรรมการ กฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อก�ำหนด ข้อบังคับบริษทั ระเบียบบริษัท นโยบายบริษัท ระเบียบและข้อพึงปฏิบัติต่างๆ ของหน่วยงานก�ำกับดูแลและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง ข้อก�ำหนดแห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ นอกจากนี้ เลขานุ ก ารบริ ษั ท ยั ง มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการส่งเสริมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมีหน้าที่ส่งเสริม การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการบริษทั และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ รวมทั้ ง รั บ ผิ ด ชอบงานการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท ผ่านทางส่วนก�ำกับการปฏิบตั งิ านและหลักทรัพย์ (Compliance) สังกัดส�ำนักงานเลขานุการบริษัท นายสมหมาย ภูษณชาคร ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน อาวุโส ส�ำนักงานเลขานุการบริษทั ได้รบั แต่งตัง้ โดยคณะกรรมการ ในการประชุมครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2559 ให้ด�ำรงต�ำแหน่งเลขานุการบริษัท ตั้งแต่วันที่ 19 มกราคม 2559
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
077
ประสบการณ์การท�ำงาน
•
2558 - ปัจจุบัน
•
2560
•
2557 - 2558
•
2557
•
2550 - 2557
นายสมหมาย ภูษณชาคร
อายุ 54 ปี เลขานุการบริษัท วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่ง : 19 มกราคม 2559 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี การศึกษา
• •
Master of Public and Private Management สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญ • หลั ก สู ต รประกาศนี ย บั ต รชั้ น สู ง การบริ ห ารเศรษฐกิ จ สาธารณะ ส�ำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 15 สถาบัน พระปกเกล้า • หลักสูตร Chief Financial Officer Certification Program สภาวิชาชีพบัญชี • หลักสูตร Senior Executive Program สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Leadership Assessment & Development Program (พ.ศ. 2556) • หลักสูตร Leading with the Speed of Trust (พ.ศ. 2556)
ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานอาวุโส ส�ำนักงาน เลขานุการบริษัท บริษัท ผลิตไฟฟ้า ราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ RATCH China Power Limited ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายก�ำกับและ วิเคราะห์บญ ั ชี บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรี โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ผู้อ�ำนวยการฝ่ายก�ำกับและวิเคราะห์ บัญชี บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบัญชี บริษทั ผลิตไฟฟ้า ราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน • ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั • กรรมการ บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นผูบ้ ริหารบริษทั /การกระท�ำความผิด • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี การมี ส ่ ว นร่ ว มในการบริ ห าร/ความสั ม พั น ธ์ ใ นเชิ ง ธุ ร กิ จ / การให้บริการทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา • ไม่มี การเป็ น พนั ก งาน/หุ ้ น ส่ ว นของบริ ษั ท สอบบั ญ ชี ภ ายนอก ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา • ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา • ไม่มี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
078
1.11 หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน เพือ่ ให้การด�ำเนินกิจกรรมของบริษทั และบริษทั ย่อย เป็นไปโดยสอดคล้องกับนโยบาย แผนงาน ระเบียบ ค�ำสั่ง กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง และสอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ ดี ในการประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบครั้ ง ที่ 7/2559 เมือ่ วันพุธที่ 14 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการตรวจสอบได้มมี ติอนุมตั ิ แต่งตั้งให้นายสมบูรณ์ โฆษิตวานิช ด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการ ฝ่ า ยอาวุ โ ส ฝ่ า ยตรวจสอบภายใน เพื่ อ ท� ำ หน้ า ที่ ส อบทาน ประเมิ น ความเพี ย งพอ ความมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของระบบการ ควบคุมภายในและระบบการบริหารจัดการความเสีย่ งของบริษทั และบริษัทย่อย โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 ซึ่ง ฝ่ายตรวจสอบภายในของบริษทั ขึน้ ตรงกับคณะกรรมการตรวจสอบ และปี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบได้ มี การประเมินผล การปฏิบัติงานของผู้อ�ำนวยการฝ่ายตรวจสอบภายใน ในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับความรู้ ความสามารถในการก�ำกับดูแลงานด้านการ ตรวจสอบภายใน รวมถึงความเข้าใจในบทบาทและหน้าที่ของ เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ โดยผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายตรวจสอบ ภายใน ได้รับคะแนนประเมิน 94.08 คะแนน (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) ระดับดีเยีย่ ม สามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้อย่างเหมาะสม กับต�ำแหน่ง และเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจในธุรกิจของบริษัท เป็นอย่างดี มีความสามารถและประสบการณ์ในการสอบทาน การปฏิบตั งิ านด้านบัญชีการเงิน และการบริหารจัดการความเสีย่ ง ของบริษทั ทัง้ ในระดับธุรกิจและภาพรวม ทัง้ นี้ การแต่งตัง้ โยกย้าย รวมไปถึ ง การพิ จ ารณาความเป็ น อิ ส ระของผู ้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ผู ้ อ� ำ นวยการฝ่ า ยตรวจสอบภายในต้ อ งได้ รั บ อนุ มั ติ จ าก คณะกรรมการตรวจสอบ
การศึกษา
• •
บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง
การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญ • หลักสูตร Chief Financial Officer Certification Program สภาวิชาชีพบัญชี • MINI MBA มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • หลักสูตร Senior Executive Program สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต (CPA) • หลักสูตร “การฝึกปฏิบัติการจัดการลงทุนด้วยเครื่องมือ ทางการเงิน” (Financial Lab) คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์การท�ำงาน
•
2558 - 2560
•
2554 - 2557
ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายอาวุโส บริษทั ผลิตไฟฟ้า ราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ท�ำหน้าที่ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั โซลาร์ตา้ จ�ำกัด ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายอาวุโสฝ่ายบริหารและ การเงิน บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน • ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั • ไม่มี คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นผูบ้ ริหารบริษทั /การกระท�ำความผิด • ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร • ไม่มี การมี ส ่ ว นร่ ว มในการบริ ห าร/ความสั ม พั น ธ์ ใ นเชิ ง ธุ ร กิ จ / การให้บริการทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา • ไม่มี
นายสมบูรณ์ โฆษิตวานิช
อายุ 59 ปี ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบภายใน วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่ง : 1 มกราคม 2560 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี
การเป็ น พนั ก งาน/หุ ้ น ส่ ว นของบริ ษั ท สอบบั ญ ชี ภ ายนอก ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา • ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา • ไม่มี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
079
1.12 หัวหน้าหน่วยงานก�ำกับการปฏิบัติงาน (เปิดเผยในหัวข้อเลขานุการบริษัท) 2. ผู้บริหาร
คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดอ� ำ นาจหน้ า ที่ ข อง คณะกรรมการบริษัทและฝ่ายบริหารไว้แยกจากกันอย่างชัดเจน กล่าวโดยสรุป คือ • คณะกรรมการบริษัท มีอ�ำนาจหน้าที่ก�ำหนดนโยบาย และติดตามการปฏิบัติของฝ่ายบริหาร (รายละเอียดปรากฏ ในหัวข้อคณะกรรมการบริษัท) • ฝ่ายบริหาร มีอำ� นาจหน้าทีใ่ นการน�ำนโยบายไปปฏิบตั ิ และรายงานผลการปฏิบัติต่อคณะกรรมการบริษัท ผู ้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ทางการบริ ห ารสู ง สุ ด ของบริ ษั ท คื อ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ โดยมีอำ� นาจในการบริหารงานประจ�ำ ได้แก่ • บังคับบัญชาผู้ปฏิบัติงานทุกระดับของบริษัท • จ้าง บรรจุ แต่งตั้ง เลื่อนต�ำแหน่ง อนุมัติการลาออก ลงโทษทางวินัย โอนย้าย มอบหมาย เปลี่ยนแปลงต�ำแหน่ง ก�ำหนดอัตราค่าจ้าง เลื่อนหรือปรับค่าจ้าง ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ เว้นแต่ระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ขึ้นไปที่เป็นอ�ำนาจ ของคณะกรรมการบริษัท • ก�ำหนดเงื่อนไขในการท�ำงาน ข้อบังคับการท�ำงาน และหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของผูป้ ฏิบตั งิ านระดับต่างๆ ออกค�ำสัง่ หรือประกาศก�ำหนดวิธีการบริหารงานและการด�ำเนินกิจการ ของบริษัท โดยไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบของบริษัท หรือมติ คณะกรรมการบริษัท • ก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตามระเบียบบริษทั และอ�ำนาจในการวินิจฉัยชี้ขาดกรณีมีปัญหาในการปฏิบัติงาน • จัดแบ่งส่วนงานโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
อ �ำนาจกระท�ำแทนและผูกพันบริษัท ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก กรรมการผู้จัดการใหญ่ มีอ�ำนาจกระท�ำแทนและผูกพัน บริษทั ในกิจการทีเ่ กีย่ วกับบุคคลภายนอกได้ ยกเว้นในรายการที่ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่หรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้เสีย หรือมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทหรือบริษัทย่อย จะกระท�ำได้ตอ่ เมือ่ ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ทีม่ กี รรมการอิสระเข้าร่วมประชุมด้วยเท่านัน้ เพือ่ การนีก้ รรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่จะมอบอ�ำนาจให้บคุ คลใดกระท�ำกิจการเฉพาะอย่าง แทนก็ได้ เว้นแต่กิจการอันจะเป็นพันธะผูกพันบริษัทในฐานะ ผูก้ ู้ ผูซ้ อื้ หรือผูว้ า่ จ้างท�ำของ ซึง่ อาจด�ำเนินงานเป็นมูลค่าเกินกว่า 30 ล้านบาท ส�ำหรับนิติกรรมที่กรรมการผู้จัดการใหญ่กระท�ำโดยฝ่าฝืน ระเบี ย บของบริ ษั ท หรื อ มติ ข องคณะกรรมการบริ ษั ท ย่อมไม่ผูกพันบริษัท เว้นแต่คณะกรรมการบริษัทจะให้สัตยาบัน กรณี ที่ ก รรมการผู ้ จั ด การใหญ่ ไ ม่ อ ยู ่ ห รื อ ไม่ ส ามารถ ปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ว่างลง ให้รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ตามล�ำดับที่คณะกรรมการบริษัท ก�ำหนดเป็นผู้รักษาการแทน โดยให้มีอ�ำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับ กรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ เว้ น แต่ อ� ำ นาจหน้ า ที่ ข องกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ในฐานะเป็นกรรมการในคณะกรรมการบริษัท การบริหารงานของบริษัท แบ่งเป็น 5 สายงาน ประกอบด้วย สายงานพัฒนาธุรกิจ สายงานพัฒนาโครงการ สายงานบริหารสินทรัพย์ สายงานการเงิน และสายงานบริหารองค์กร
อ�ำนาจในการอนุมัติจัดซื้อจัดจ้างและการบริจาคเพื่อสาธารณกุศล การจัดซื้อจัดจ้าง
ผู้มีอำ�นาจอนุมัติ
1 การจัดซื้อจัดจ้างในวงเงินครั้งละไม่เกิน 30 ล้านบาท
กรรมการผู้จัดการใหญ่
2 การจัดซื้อจัดจ้างในวงเงินครั้งละเกินกว่า 30 ล้านบาท
คณะกรรมการบริษัท
การบริจาคเงินเพื่อสาธารณกุศล
ผู้มีอำ�นาจอนุมัติ
1 การบริจาคเงินเพื่อสาธารณกุศลในวงเงินครั้งละไม่เกิน 300,000 บาท
กรรมการผู้จัดการใหญ่
2 การบริจาคเงินเพือ่ สาธารณกุศลในวงเงินเกินกว่าครัง้ ละ 300,000 บาท แต่ไม่เกิน 500,000 บาท 3 การบริจาคเงินเพื่อสาธารณกุศลที่วงเงินเกินกว่า 500,000 บาท
ประธานกรรมการ คณะกรรมการบริษัท
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
080
ทั้งนี้ โดยสายงานพัฒนาธุรกิจ สายงานพัฒนาโครงการ สายงานบริหารสินทรัพย์ และสายงานการเงิน มีผบ้ ู ริหารระดับรองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่เป็นหัวหน้าสายงาน ส่วนสายงานบริหารองค์กร มีผบู้ ริหารระดับผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็นหัวหน้าสายงาน
และมีหน่วยงานที่สังกัดกรรมการผู้จัดการใหญ่ 3 หน่วยงาน คือ ฝ่ายกฎหมาย ฝ่ายตรวจสอบภายใน และส�ำนักงานเลขานุการบริษทั โดยฝ่ายตรวจสอบภายในรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ผู้บริหารบริษัทตามนิยามของส�ำนักงาน ก.ล.ต. ประกอบด้วย ตำ�แหน่งในบริษัท
วันที่เริ่ม ดำ�รงตำ�แหน่ง
1 นายกิจจา
ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการผู้จัดการใหญ่ (ผู้บริหารสูงสุด)
06/04/2560
2 นายพีระวัฒน์
พุ่มทอง
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่พัฒนาธุรกิจ
01/01/2560
3 นายรฦก
สัตยาภรณ์
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่พัฒนาโครงการ
01/10/2560
4 นายสมนึก
จินดาทรัพย์
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารสินทรัพย์
01/03/2557
5 นางสุนี
รัชตมุทธา
01/01/2560
6 นายประยุทธ
ธงสุวรรณ
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงิน (ผู้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารองค์กร
01/09/2557
7 นางวดีรัตน์
เจริญคุปต์
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงิน
01/05/2560
8 นายศักดิ์ชัย
ศรีเพชร
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายวางแผนและบริหารการเงิน
01/01/2560
9 นางสุพัตรา
ทองกาญจน์
ผู้บริหาร
10 นางสาวจตุพร
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายประมวลบัญชี (ผู้รับผิดชอบโดยตรงในการควบคุมดูแลการท�ำบัญชี) เลาหพิบูลรัตนา ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารภาษีและบัญชีแยกประเภท
11 นางสาวสุวรรณี ศิริสัจจวัฒน์
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายก�ำกับและวิเคราะห์บัญชี
ผู้ลงทุนสามารถศึกษาประวัติย่อผู้บริหารบริษัทแต่ละราย ได้จากหัวข้อประวัตผิ บู้ ริหารบริษทั ส่วนข้อมูลการด�ำรงต�ำแหน่งอืน่ ในกลุ่มบริษัทแสดงไว้ในหัวข้อ ข้อมูลการด�ำรงต�ำแหน่งของ กรรมการและผู้บริหารในกลุ่มบริษัท ทั้งนี้ ข้อมูลผู้บริหารและ ผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั ย่อยทีป่ ระกอบธุรกิจหลักได้แสดงไว้ ในแบบ 56-1 ทีเ่ ผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษทั และเว็บไซต์ของ ก.ล.ต. การสรรหาผู้บริหารระดับสูง “ผู้บริหารระดับสูง” หมายถึง ผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้ช่วยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ การแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารระดับสูง บริษทั จะพิจารณาความเหมาะสม ในด้านวุฒิการศึกษา ความรู้ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์
01/03/2560 01/01/2560 01/07/2560
ในการท�ำงาน และคุณสมบัตอิ นื่ ทีจ่ ำ� เป็น เหมาะสม ตรงตามความต้องการ และสอดคล้ อ งกั บ ภารกิ จ ตามต� ำ แหน่ ง นั้ น ๆ และที่ ส� ำ คั ญ ต้องเป็นประโยชน์ต่อองค์กรทั้งด้านประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และการเติบโตอย่างยั่งยืนของกลุ่มบริษัท การสรรหาผู้บริหารระดับสูง บริษัทโดยคณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน ท�ำหน้าที่พิจารณา สรรหา คัดเลือก และกลัน่ กรองบุคคลทัง้ จากภายในและภายนอก โดยพิจารณาจากคุณสมบัติ วุฒกิ ารศึกษา ความรูค้ วามสามารถ เฉพาะทาง ทักษะ ประสบการณ์ในการท�ำงาน ความเหมาะสม และความจ� ำ เป็ น ตรงตามที่ ค วามต้ อ งการที่ ยั ง ขาดอยู ่ ขององค์กร เพื่อน�ำเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ และแต่งตั้ง
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
กรรมการทีเ่ ป็นผูแ้ ทนผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ คือ กฟผ. ได้รบั สิทธิ ให้เสนอชือ่ ผูแ้ ทนเป็นกรรมการของบริษทั ตามสัดส่วนการถือหุน้ ในบริษัท ต้องผ่านกระบวนการพิจารณาคัดเลือกของบริษัท โดยต้องเสนอชือ่ ต่อคณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนด ค่าตอบแทน พิจารณากลั่นกรอง คุณวุฒิ คุณสมบัติ ความรู้ ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ในการท�ำงานทีเ่ หมาะสม และจ�ำเป็นต่อการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทที่ยังขาดอยู่ ในคณะกรรมการบริษทั มีความสอดคล้องกับภารกิจ เป้าหมาย และกลยุทธ์ของบริษัททั้งระยะสั้นและระยะยาว ไม่จ�ำกัดเพศ ไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ข้อบังคับ ข้อก�ำหนดและหลักการ ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งมีความพร้อมที่จะอุทิศเวลาในการ ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมการอย่างเต็มที่ เพื่อน�ำเสนอต่อ คณะกรรมการบริษัท และ/หรือน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น พิจารณาอนุมัติและแต่งตั้ง ตามกระบวนการสรรหากรรมการ และผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั เช่นเดียวกับการสรรหากรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ ซึง่ เป็นผูบ้ ริหารระดับสูงที่ กฟผ. ส่งตัวให้มาปฏิบตั งิ าน (Secondment) ที่บริษัท 3. นโยบายการส่งกรรมการและผู้บริหารไปเป็นกรรมการ และผู้บริหารของบริษัทย่อย บริษัทร่วม และการร่วมค้า บริษทั มีนโยบายให้กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ไปเป็น กรรมการ และ/หรือผู้บริหารในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และ การร่วมค้า โดยได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษทั และ มีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบตามระเบียบบริษทั ว่าด้วย การก�ำกับดูแล บริษทั ย่อย บริษทั ในเครือ และบริษทั ร่วมทุน ทัง้ นี้ เพือ่ ประโยชน์ ในการบริหารงานและการด�ำเนินงานให้เป็นไปตามภารกิจที่ มอบหมาย และก�ำกับดูแลการบริหารจัดการบริษทั ในกลุม่ ของบริษทั ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกับนโยบายของบริษทั รวมทัง้ การติดตาม ประเมินผลการด�ำเนินงานบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และการร่วมค้า ซึง่ ผูล้ งทุนสามารถศึกษารายละเอียดข้อมูลของบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และการร่วมค้า เพิ่มเติมได้จากข้อมูลทั่วไปของกลุ่มบริษัท 4. ค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหาร 4.1 นโยบายและหลักเกณฑ์ คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดนโยบายและ หลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารระดับสูง ของกลุ่มบริษัทไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อจูงใจและรักษา บุคลากรที่มีคุณภาพ รวมทั้งดึงดูดและสร้างแรงจูงใจบุคลากร
081
ทีม่ คี ณ ุ วุฒิ ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ทเี่ หมาะสมและ เอือ้ ประโยชน์ตอ่ ความส�ำเร็จในการประกอบกิจการของกลุม่ บริษทั โดยมีหลักเกณฑ์ วิธีการ และกระบวนการที่ชัดเจน เหมาะสม โปร่งใส เป็นไปตามสภาวะทีเ่ ป็นปัจจุบนั ทีส่ ดุ และเป็นประโยชน์ สูงสุดต่อการประกอบกิจการของบริษัท โดยจะพิจารณาความ เชือ่ มโยงกับเป้าหมาย ผลประกอบการของกลุม่ บริษทั ตามระดับ ความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย และอยู ่ ใ นลั ก ษณะที่ เปรียบเทียบได้กบั มาตรฐานหรือระดับทีป่ ฏิบตั อิ ยูใ่ นธุรกิจประเภท และขนาดเดียวกัน ตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมา
ค่ า ตอบแทนของกรรมการบริ ษั ท และกรรมการ ในคณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะ คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน ซึ่งได้รับแต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริษัท ได้พิจารณาแนวทาง ก�ำหนดค่าตอบแทนส�ำหรับคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการ ชุดย่อย และผู้บริหารระดับสูง เสนอขอความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริษทั และเสนอขออนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกปี โดยมีแนวทางการก�ำหนดค่าตอบแทน ดังนี้ 1. ค่าตอบแทนประจ�ำ 1.1 คณะกรรมการบริ ษั ท ก� ำ หนดให้ จ ่ า ยเป็ น รายเดือน แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 จ่ายคงที่ร้อยละ 75 และ ส่วนที่ 2 จ่ายเมือ่ เข้าร่วมประชุมร้อยละ 25 และให้ประธานกรรมการ ได้รับค่าเบี้ยประชุมเพิ่มขึ้นจากที่กรรมการอื่นได้รับร้อยละ 25 1.2 คณะกรรมการชุดย่อย ก�ำหนดให้จ่ายเป็น รายครั้งเมื่อเข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการชุดย่อย และ ให้ประธานกรรมการได้รบั ค่าเบีย้ ประชุมเพิม่ ขึน้ จากทีก่ รรมการอืน่ ได้รบั ร้อยละ 25 2. โบนั ส จั ด สรรตามระยะเวลาที่ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง และตามการเข้าประชุมคณะกรรมการ ทัง้ นี้ หากช่วงเวลาใดมีการ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในกลุม่ บริษทั มากกว่า 1 บริษทั ให้ได้รบั โบนัสจากบริษัทที่จัดสรรโบนัสมากกว่าส�ำหรับระยะเวลานั้น และให้ประธานกรรมการได้รบั โบนัสเพิม่ ขึน้ จากทีก่ รรมการอืน่ ได้รบั ร้อยละ 25 3. ผลประโยชน์ตอบแทนในลักษณะอืน่ ทัง้ ทีเ่ ป็นตัวเงิน และไม่ใช่ตัวเงิน - ไม่มี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
082
ในปี 2561 ค่าตอบแทนคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อย ทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2561 ดังนี้ ประธานกรรมการ
กรรมการ
1. ค่าตอบแทนประจำ�
1.1 คณะกรรมการบริษัท 50,000 บาทต่อเดือน 40,000 บาทต่อเดือน 1.2 คณะกรรมการชุดย่อย จ�ำนวน 5 คณะ 30,000 บาทต่อครั้ง 24,000 บาทต่อครั้ง (คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนด ค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการกลั่นกรอง การลงทุน และคณะกรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม) 2. โบนัส
2.1 คณะกรรมการบริษัท (โบนัสจ่ายคณะกรรมการบริษัทปี 2560 รวมประมาณ 15.9 ล้านบาท)
1,500,000 บาท
1,200,000 บาทต่อคน
ไม่มี
ไม่มี
3. ผลประโยชน์อื่น
3.1 ผลประโยชน์อื่น ในส่วนของผู้บริหารที่เป็นกรรมการไม่ได้รับค่าตอบแทน ประจ�ำส�ำหรับกรรมการ แต่ได้รับโบนัสในฐานะกรรมการ ค่าตอบแทนผู้บริหารระดับสูง เป็นไปตามหลักการและ นโยบายที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนด โดยผ่านการพิจารณา และกลั่นกรองจากคณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนด ค่าตอบแทน ตามเกณฑ์ประเมินผลงานที่ได้ตกลงร่วมกันไว้ ล่วงหน้าแต่ละปี ก่อนน�ำเสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ
ทั้ ง นี้ ในระหว่ า งการประชุ ม พิ จ ารณาก� ำ หนดค่ า ตอบแทน ของผู้บริหารระดับสูง ไม่มีผู้มีส่วนได้เสียเข้าร่วมในการพิจารณา ซึ่งคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติก�ำหนดค่าตอบแทน ของผูบ้ ริหารระดับสูงตามผลการประเมิน และประธานกรรมการ แจ้ ง ผลการพิ จ ารณาให้ ก รรมการผู ้ จั ด การใหญ่ ท ราบ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพ การท�ำงานให้ดียิ่งขึ้น
/6
/5
/4
/3
/2
/1
600,000 480,000 480,000 470,000 390,000 480,000 360,000 360,000 460,000 320,000 320,000 120,000 110,000 120,000 120,000 160,000 350,000 5,700,000
คณะกรรมการบริษัท
624,000
24,000
192,000 168,000
240,000
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
120,000 594,000
60,000
72,000
222,000 120,000
คณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคลและ กำ�หนดค่าตอบแทน
288,000
-
72,000
96,000
120,000
คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง
ค่าตอบแทนกรรมการประจ�ำปี 2561
โบนัสกรรมการปี 2560 ซึ่งจ่ายในเดือนเมษายน 2561 ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2561 เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2561 ประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการชุดย่อย กรรมการชุดย่อย กรรมการอิสระ กรรมการที่เป็นผู้บริหาร
นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์/2/3 นายชาติชาย โรจนรัตนางกูร/3/4 นายสมัคร เชาวภานันท์/3/5 นางศิริพร เหลืองนวล/4/5 นายสมบูรณ์ หน่อแก้ว/4/5 นายวีระศักดิ์ พึ่งรัศมี/4/5 นางเปรมฤทัย วินัยแพทย์/4/5 นายรัตนชัย นามวงศ์/4/5 นายชวน ศิรินันท์พร/3/4 นายสุชาลี สุมามาลย์/4 นายบุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร/4 นายสืบพงษ์ บูรณศิรินทร์/4 นายกิจจา ศรีพัฑฒางกุระ/6 นางสาวประภา ปูรณโชติ/4/5 นายประพนธ์ กิติจันทโรภาส/4/5 นายวิฑูรย์ กุลเจริญวิรัตน์/3/4 นายวิบูลย์ ฤกษ์ศิระทัย/4 นายถาวร งามกนกวรรณ/4 รวมทั้งสิ้น
หมายเหตุ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
กรรมการ
4.2 ค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหาร 4.2.1 ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อย
24,000 24,000 168,000 846,000
168,000 48,000
144,000
270,000
234,000
90,000
72,000
72,000
คณะกรรมการ คณะกรรมการ ธรรมาภิบาลและความ กลัน ่ กรองการลงทุน รับผิดชอบต่อสังคม
1,200,000 1,200,000 1,200,000 1,200,000 302,470 887,670 12,865,480
1,200,000
1,200,000
1,500,000 887,670 1,200,000 887,670
โบนัสกรรมการ ปี 2560/1
2,370,000 1,679,670 1,800,000 1,549,670 558,000 1,776,000 432,000 504,000 1,972,000 440,000 560,000 240,000 1,200,000 1,334,000 1,320,000 1,404,000 486,470 1,525,670 21,151,480
รวม
หน่วย : บาท
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
083
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
084
4.2.2 ค่าตอบแทนผู้บริหารบริษัท ค่าตอบแทน
จำ�นวน (คน)
เงินเดือน โบนัส เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ผลประโยชน์อื่น รวม หมายเหตุ
5 5 5 5 5
34,558,560 21,237,320 3,004,356 0 58,800,236
ค่าตอบแทนผู้บริหารบริษัท หมายถึง ค่าตอบแทนกรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้บริหารสี่รายแรกต่อจากกรรมการผู้จัดการใหญ่ ตามความหมายของประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2556
ส�ำหรับกรรมการบริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจหลัก (บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด) ทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร ไม่ได้รบั ค่าตอบแทนประจ�ำ ส�ำหรับกรรมการ และกรรมการบริษัทย่อยที่ด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการในบริษัท ไม่ได้รับโบนัสกรรมการจากบริษัทย่อยนั้น ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ ทั้งนี้ บริษัทได้เปิดเผย รายละเอียดค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารของบริษัทย่อย ดั ง กล่ า วในแบบ 56-1 ซึ่ ง เผยแพร่ ไ ว้ บ นเว็ บ ไซต์ ของบริษัท และเว็บไซต์ของ ก.ล.ต. นอกจากนี้ กรรมการและผู ้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ย่ อ ย ทีบ่ ริษทั ถือหุน้ ทัง้ จ�ำนวน ได้แก่ บริษทั ราชบุรี อัลลายแอนซ์ จ�ำกัด บริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด บริษทั ราช โอแอนด์เอ็ม จ�ำกัดและบริษทั อาร์เอช อินเตอร์เนชัน่ แนล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ที่ได้รับแต่งตั้งจากผู้บริหารของกลุ่มบริษัท ไม่ได้รับค่าตอบแทน
จำ�นวนเงิน (บาท)
5. พนักงาน พนั ก งานเป็ น ทรั พ ยากรที่ มี คุ ณ ค่ า และส� ำ คั ญ ยิ่ ง ในการ ขับเคลื่อนบริษัทให้สามารถด�ำเนินงานได้บรรลุเป้าหมายในการ สร้างมูลค่ากิจการและการเติบโตอย่างยัง่ ยืน ควบคูไ่ ปกับการสร้าง ความสุ ข ในการท� ำ งานและความเชื่ อ มั่ น ให้ แ ก่ บุ ค ลากรและ ผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน บริษัทจึงก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับ พนักงานทีค่ รอบคลุมองค์ประกอบทัง้ ด้านการบริหาร การพัฒนา ทรัพยากรบุคคล รวมทั้งด้านสังคมสิ่งแวดล้อม จริยธรรม และ การต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ เพือ่ มุง่ มัน่ พัฒนาและเสริมสร้าง ศั ก ยภาพ สมรรถนะ และพฤติ ก รรมให้ แ ก่ พ นั ก งานให้ มี ความสอดคล้องกับค่านิยมองค์กรที่ตอบสนองทิศทาง กลยุทธ์ เป้าหมายการประกอบกิจการและสังคมโดยรวมเป็นส�ำคัญ
5.1 จ�ำนวนพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 แบ่งตามสายงานได้ ดังนี้
ลำ�ดับที่
จำ�แนกตามสายงาน
1 พัฒนาธุรกิจ 2 พัฒนาโครงการ 3 บริหารสินทรัพย์ 4 การเงิน 5 บริหารองค์กร 6 กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ รวมทั้งสิ้น
เพศ
หน่วย : คน
สัญญาจ้าง
ชาย
หญิง
พนักงาน
ลูกจ้าง
21 29 22 7 22 9
5 7 12 34 22 22
23 32 31 39 43 29
1 -
หมายเหตุ ผู้บริหาร หมายถึง ผู้บริหารระดับผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ขึ้นไป
ผู้บริหาร
3 3 3 2 1 2
รวม
26 36 34 41 44 31 212
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ในปี 2561 บริษัทไม่มีการเปลี่ยนแปลงจ�ำนวนพนักงาน อย่างมีนัยส�ำคัญ โดยจ�ำนวนพนักงานในปี 2561 มีจ�ำนวนรวม 212 คน เพิ่มขึ้น 9 คนจากจ�ำนวนพนักงานรวมในปี 2560 ในปี 2561 บริษัทไม่มีข้อพิพาทแรงงานที่ส�ำคัญ และไม่มี พนักงานที่ได้รับการคุ้มครองตาม Collective Bargaining 5.2 ค่าตอบแทนพนักงาน 5.2.1 นโยบายและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน และสวัสดิการพนักงาน 5.2.1.1 น โ ย บ า ย แ ล ะ ห ลั ก เ ก ณ ฑ ์ การจ่ายค่าตอบแทน บริษทั มีนโยบายและหลักเกณฑ์ การจ่ายค่าตอบแทนพนักงานให้อยู่ในระดับที่สามารถแข่งขันได้ ในตลาดแรงงาน โดยประกาศนโยบายเกีย่ วกับการบริหารจัดการ ระบบค่าตอบแทน และสวัสดิการต่างๆ ส�ำหรับพนักงานอย่าง เป็นธรรม ตามความเหมาะสมของต�ำแหน่ง หน้าที่ ความรับผิดชอบ และสอดคล้องกับผลการด�ำเนินงานของบริษัททั้งในระยะสั้น และระยะยาว การก�ำหนดค่าตอบแทนจะพิจารณาจากความส�ำคัญ ของค่ า งานควบคู ่ ไ ปกั บ ภาวะทางเศรษฐกิ จ ของประเทศ และอั ต ราค่ า ตอบแทนในตลาดแรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในธุรกิจประเภทเดียวกัน เพือ่ ให้คา่ ตอบแทนของบริษทั อยูใ่ นระดับ ทีส่ ามารถแข่งขันได้ และสามารถจูงใจผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถไว้ กับบริษทั โดยบริษทั จะท�ำการส�ำรวจอัตราค่าจ้างในตลาดแรงงาน อย่างสม�่ำเสมอเป็นประจ�ำทุกปี และจะน�ำผลการส�ำรวจมาใช้ ในการพิ จ ารณาทบทวนและปรั บ ปรุ ง โครงสร้ า งค่ า จ้ า งให้ มี ความสมเหตุสมผลทุก 3 ปี ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการ บริษัท คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารงานบุคคลตามล�ำดับ เพื่อให้บุคลากร ของบริ ษั ท มั่ น ใจได้ ว ่ า ค่ า ตอบแทนที่ ไ ด้ รั บ มี ค วามเหมาะสม และเป็นธรรม ส�ำหรับการก�ำหนดค่าตอบแทน พนักงานแรกเข้าที่ยังไม่มีประสบการณ์ อัตราค่าจ้างแรกเข้า จะเป็นไปตามโครงสร้างค่าจ้างของบริษัทเทียบเคียงกับธุรกิจ เดียวกันในตลาดแรงงาน ซึ่งจะมีการส�ำรวจเป็นประจ�ำทุก 3 ปี ส� ำ หรั บ พนั ก งานแรกเข้ า ที่ มี ป ระสบการณ์ จ ะได้ รั บ พิ จ ารณา ค่าตอบแทนตามประสบการณ์เฉพาะที่ตรงกับต�ำแหน่งงานนั้นๆ ร่วมกับระยะเวลาของประสบการณ์ท�ำงาน และเทียบเคียงกับ
085
ค่าตอบแทนของบุคลากรภายในบริษัทที่มีสถานะและต�ำแหน่ง เดี ย วกั น รวมทั้ ง พิ จ ารณาถึ ง เหตุ ผ ลความจ� ำ เป็ น ของบริ ษั ท อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์การประกอบธุรกิจ ของบริษัทร่วมด้วย ทัง้ นี้ การจ่ายค่าตอบแทนของบริษทั ประกอบด้วยค่าตอบแทนทีเ่ ป็นตัวเงิน ได้แก่ เงินเดือน และโบนัส ซึ่งจะผันแปรตามต�ำแหน่งงาน และผลการปฏิบัติงานในแต่ละปี ของแต่ละบุคคล ค่าท�ำงานล่วงเวลาตามที่กฎหมายก�ำหนด และ ค่าใช้จา่ ยเดินทางในกรณีมกี ารเดินทางไปปฏิบตั งิ านนอกสถานที่ และที่ไม่เป็นตัวเงิน เช่น สวัสดิการต่างๆ 5.2.1.2 สวัสดิการพนักงาน เพือ่ ให้พนักงานมีหลักประกันทีด่ ี มีความมั่นคง มั่นใจ และพร้อมอุทิศตนให้กับการสร้างสรรค์ ผลงานที่ดีที่สุดตามภารกิจและความรับผิดชอบ บริษัทได้จัด สวัสดิการต่างๆ ตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด และจัดสวัสดิการเพิม่ เติม นอกเหนือจากทีก่ ฎหมายก�ำหนด ได้แก่ สวัสดิการช่วยเหลือกรณี ประสบสาธารณภัย สวัสดิการเกี่ยวกับการประกันชีวิตและ ประกันอุบตั เิ หตุ สวัสดิการเกีย่ วกับการรักษาพยาบาล สวัสดิการ เกี่ยวกับการตรวจสุขภาพประจ�ำปี สวัสดิการทันตกรรม สายตา และวัคซีนป้องกันโรค สวัสดิการเงินกู้กรณีจ�ำเป็น สวัสดิการเงิน ช่วยเหลือกรณีมรณกรรม สวัสดิการเพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย สวัสดิการเงิน ช่วยเหลือในการคลอดบุตร และสวัสดิการเงินกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ ทั้งนี้ เกณฑ์ในการก�ำหนดสวัสดิการต่างๆ เป็นไปตามระเบียบ และค�ำสั่งที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้นๆ ส�ำหรับการจัดสวัสดิการเงิน กองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการออมและ เสริมสร้างความมั่นคงในชีวิตให้แก่พนักงานทั้งในระยะสั้นและ ระยะยาวหลังเกษียณอายุอย่างเป็นรูปธรรม โดยบริษทั ได้ให้สทิ ธิ พนักงานในการเข้าเป็นสมาชิก “กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพพนักงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย” และสามารถเลือกสะสมเงินออม ได้ในอัตราร้อยละ 5-15 ของเงินเดือน โดยบริษัทร่วมสมทบ ให้ในอัตราก้าวหน้าร้อยละ 5 ร้อยละ 7 และร้อยละ 10 แปรผันไป ตามอายุงาน ซึ่งพนักงานสามารถเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการลงทุน “Employee’s Choice” เพือ่ ให้การลงทุนเป็นไปอย่างเหมาะสม และตรงกับความต้องการของแต่ละบุคคล
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
086
ค่าตอบแทนพนักงานปี 2561 ค่าตอบแทน
เงินเดือน โบนัส เงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ผลประโยชน์อื่น รวม
จำ�นวน (คน)
จำ�นวนเงิน (บาท)
207 207 207 207
248,826,906.67 122,165,460.00 21,264,972.07 392,257,338.74
หมายเหตุ 1. ค่าตอบแทนพนักงานของบริษัท ไม่นับรวมผู้บริหารสี่รายแรก ตามความหมายของประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ที่ ทจ.44/2556 2. ค่าตอบแทนพนักงานบริษัทย่อย เปิดเผยในแบบ 56-1 ซึ่งเผยแพร่บนเว็บไซต์บริษัท และเว็บไซต์ของ ก.ล.ต.
5.3 การบริหารทรัพยากรบุคคล ในปี 2561 การบริหารทรัพยากรบุคคลยังคงให้ความส�ำคัญ ในการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง โดยน�ำระบบการพัฒนา บุคลากรที่เริ่มด�ำเนินการในปี 2560 มาขับเคลื่อนโอกาสในการ ก้าวหน้าของพนักงานให้ชัดเจนยิ่งขึ้น นับจากที่บริษัทฯ ได้มีการจัดท�ำระบบพัฒนาทรัพยากร บุคคล (Career Development Roadmap) ให้สอดคล้องกับ กลุ่มงาน (Job Family and Job Group) ต่างๆ เพื่อก�ำหนด กรอบและแนวทางการพั ฒ นาความรู ้ ความสามารถ และ สมรรถนะของผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านให้ เ กิ ด ความชั ด เจนกั บ โอกาส ความก้าวหน้า (Career Path) ของผูป้ ฏิบตั งิ านตามกลุม่ งานนัน้ ๆ ในปี 2561 บริษทั ฯ ได้มกี ารขับเคลือ่ นเรือ่ งนีอ้ ย่างเข้มข้น เริม่ จาก การสื่อสารกับพนักงานทุกระดับชั้น เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ในระบบดังกล่าวอย่างทั่วถึง โดยบริษัทได้น�ำการจัดท�ำระบบ กลุ่มเป้าหมาย
ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง (ผู้อ�ำนวยการ) ผู้บริหารระดับต้น (ผู้จัดการ) พนักงาน
การสนทนาระหว่างผูบ้ งั คับบัญชากับผูใ้ ต้บงั คับบัญชา (Dialogue) มาใช้ภายในองค์กรเพื่อมุ่งหวังให้เกิดการสื่อสารระหว่างกัน และเกิดวัฒนธรรมการสอนงาน (Coaching) ให้เกิดขึน้ ในองค์กร อย่างจริงจัง ซึ่งในเอกสารบันทึกการสนทนา จะมีการระบุเรื่อง ที่ส�ำคัญต่างๆ อาทิ ความคาดหวังในการก้าวหน้าในสายอาชีพ แนวทางการพัฒนาให้เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการ ของพนักงานและองค์กร การประเมินผลการปฏิบัติงาน และ การติดตามการปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตามแผนงานทีก่ ำ� หนดไว้ เป็นต้น ส� ำ หรั บ การพั ฒ นาเพื่ อ ให้ ค วามรู ้ แ ละการฝึ ก อบรมหลั ก สู ต ร ที่ส�ำคัญตามแผนงาน เพื่อความเป็นเลิศของบุคลากรทั้งระดับ ผู้บริหารและพนักงานที่จัดโดยหน่วยงานภายในบริษัท และ หน่วยงานหรือสถาบันภายนอกทัง้ ในและต่างประเทศ คิดเป็นอัตรา ร้อยละ 96.68 ของจ�ำนวนบุคลากรทัง้ หมด โดยสรุปจ�ำนวนชัว่ โมง การอบรมเฉลี่ย/คน จ�ำแนกตามระดับ ดังนี้ จำ�นวนชั่วโมงเฉลี่ยเข้ารับการฝึกอบรม (ชั่วโมง/คน/ปี)
93.54 74.46 52.37 47.04
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
087
แผนพัฒนาบุคลากร และการจัดอบรมสัมมนาประจ�ำปี 2561 ประเภทหลักสูตร
กลุ่มเป้าหมาย
หลักสูตรที่จัดอบรมในปี 2561
1. หลั ก สู ต รส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห าร ผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหาร 1.1 Coaching & Feedback ระดับสูงและผู้อ�ำนวยการ ระดับกลาง (ผู้อ�ำนวยการ) 1.2 Negotiate Like Pro 1.3 Executive Development 2. หลักสูตรส�ำหรับผู้จัดการ ผู้บริหารระดับต้น (ผู้จัดการ) 2.1 Performance Coaching 3. หลักสูตรส�ำหรับพนักงาน พนักงาน 3.1 Cross over Performance Challenge 3.2 Infographic Media & Presentation 4. หลักสูตรเทคนิคเฉพาะ ผู้บริหารระดับต้น (ผู้จัดการ) 4.1 นักประชาสัมพันธ์มืออาชีพ พนักงาน 4.2 การจัดท�ำดัชนีวัดผลส�ำเร็จ (KPI) 4.3 เทคนิคการจัดท�ำโครงสร้างเงินเดือน 4.4 วิศวกรรมระบบราง 4.5 Strategic Project Management & Control 4.6 Design Thinking Workshop 5. หลักสูตรส่งเสริม ทุกระดับ 5.1 การดับเพลิงขั้นต้น ความปลอดภัย 5.2 ห ลั ก สู ต รความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ส�ำหรับพนักงาน 6. หลักสูตรให้ความรู้เกี่ยวกับ ทุกระดับ 6.1 โครงการแนวร่วมปฏิบตั ภิ าคเอกชนไทยในการ การต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ต่อต้านการทุจริต
จำ�นวนชัว ่ โมง
6.5 12 18 8 6 12 33 7 14 18 13 14 6 6 3
กลุ่มธุรกิจเกี่ยวเนื่อง
กลุ่มโครงการ ในต่างประเทศ
กลุ่มโรงไฟฟ้า ประเภทพลังงานทดแทนในประเทศ
กลุ่มโรงไฟฟ้า เชื้อเพลิงหลักในประเทศ
กลุ่มธุรกิจเกี่ยวเนื่อง
กลุ่มโครงการ ในต่างประเทศ
กลุ่มโรงไฟฟ้า ประเภทพลังงานทดแทนในประเทศ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด บริษัท ราชบุรี อัลลายแอนซ์ จ�ำกัด บริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด บริษัท อาร์อี โซลาร์ 1 จ�ำกัด บริษัท ซีเอ็นไบโอแมส จ�ำกัด บริษัท พีบีไบโอแมส จ�ำกัด บริษัท แอลพีไบโอแมส จ�ำกัด บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (มอริเชียส) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด บริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด RATCH China Power Limited บริษัท ราช โอแอนด์เอ็ม จ�ำกัด บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จ�ำกัด บริษัท ราชบุรีเวอลด์ โคเจนเนอเรชั่น จ�ำกัด บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด บริษัท เบิกไพรโคเจนเนอเรชั่น จ�ำกัด บริษัท โซลาร์ต้า จ�ำกัด บริษัท เฟิร์ส โคราช วินด์ จ�ำกัด บริษัท เค. อาร์. ทู จ�ำกัด บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 3) จ�ำกัด บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 4) จ�ำกัด บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 7) จ�ำกัด บริษัท สงขลาไบโอ แมส จ�ำกัด บริษัท เซาท์อีสท์ เอเชีย เอนเนอร์จี จ�ำกัด บริษัท ไฟฟ้าน�้ำงึม 2 จ�ำกัด บริษัท ไฟฟ้า หงสา จ�ำกัด บริษัท ไฟฟ้า น�้ำงึม 3 จ�ำกัด บริษัท ไฟฟ้า เซเปียน-เซน�้ำน้อย จ�ำกัด PT Medco Ratch Power Riau Fareast Renewable Development Pte. Ltd. บริษทั ชูบรุ าชบุรี อีเลคทริคเซอร์วสิ จ�ำกัด บริษทั สงขลาไบโอฟูเอล จ�ำกัด บริษทั อีแกท ไดมอนด์ เซอร์วสิ จ�ำกัด บริษทั พูไฟมายนิง่ จ�ำกัด บริษทั นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จ�ำกัด บริษทั อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จ�ำกัด EDL-Generation Public Company
รายชื่อกรรมการ/ผู้บริหาร
นายกิจจา ศรีพัฑฒางกุระ DD
DD
DD
D
DD
D, CEO
นายพีระวัฒน์ พุ่มทอง D D
DD
D D
DD
CBD
D
D D
D
D
D DD
DD D D
DD
D
D
DD DD
D
นายรฦก สัตยาภรณ์
CAM
นายสมนึก จินดาทรัพย์
CPD
นางสุนี รัชตมุทธา D D
D
D D D
DD
CFO
นายประยุทธ ธงสุวรรณ D
DD DD DD
D, MD
EVP
นางวดีรัตน์ เจริญคุปต์ EVP
นายศักดิ์ชัย ศรีเพชร D, MD
SVP
นางสุพัตรา ทองกาญจน์ D, MD
SVP
นางสาวสุวรรณี ศิริสัจจวัฒน์ VP
D
VP
นางสาวจตุพร เลาหพิบลู รัตนา
หมายเหตุ ไม่มกี รรมการของบริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการหรือผูบ้ ริหารในกลุม่ บริษทั ยกเว้นนายกิจจา ศรีพฑั ฒางกุระ กรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ DD = ประธานกรรมการ D = กรรมการ CEO = กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ CBD1 = รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่พฒ ั นาธุรกิจ CPD = รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่พฒ ั นาโครงการ CAM = รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่บริหารสินทรัพย์ CFO = รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่การเงิน EVP = ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ SVP = ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายอาวุโส VP = ผูอ้ ำ� นวยการฝ่าย MD = กรรมการผูจ้ ดั การ
บริษัทร่วม การร่วมค้า และอื่นๆ
บริษัทย่อย
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) กลุ่มโรงไฟฟ้า เชื้อเพลิงหลักในประเทศ
รายชื่อบริษัท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561
ข้อมูลการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการ1 และผู้บริหารในกลุ่มบริษัท
088 บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
089
ข้อมูลการถือหลักทรัพย์ของบริษัทของกรรมการ และผู้บริหาร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25611
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) หุ้นสามัญ
รายชื่อ
ตำ�แหน่ง
2
1 ม.ค. 613
31 ธ.ค. 614
การเปลีย่ นแปลง ระหว่างปี เพิม่ ขึน้ / (ลดลง)
สัดส่วน การถือหุ้น (ร้อยละ)
5,000 (ณ 23 ก.พ. 61) (ณ 23 ก.พ. 61) (ณ 6 เม.ย. 61) (ณ 6 เม.ย. 61) 7,500 (ณ 6 เม.ย. 61) (ณ 6 เม.ย. 61) (ณ 1 พ.ค. 61) (ณ 1 พ.ค. 61) (ณ 1 พ.ค. 61) (ณ 1 พ.ค. 61) (ณ 1 ต.ค. 61) (ณ 1 ต.ค. 61) 5,165 -
5,000 -
-
0.0003 -
-
-
-
-
-
-
-
-
-
7,500
-
0.0005
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
5,165 -
-
0.0004 -
กรรมการ และผู้บริหาร 1 นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 2 นายชาติชาย โรจนรัตนางกูร การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 3 นายสมัคร เชาวภานันท์ การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 4 นางศิริพร เหลืองนวล การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 5 นายสมบูรณ์ หน่อแก้ว(1)
ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ
การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 6 นายวีระศักดิ์ พึ่งรัศมี การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 7 นางเปรมฤทัย วินัยแพทย์(2)
กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ
การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 8 นายรัตนชัย
นามวงศ์(3)
กรรมการอิสระ
การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 9 นายชวน ศิรินันท์พร การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 10 นายสุชาลี สุมามาลย์(4)
กรรมการ กรรมการ
การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 12 นายบุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร(5)
กรรมการ
การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 11 นายสืบพงษ์
บูรณศิรินทร์(6) กรรมการ
การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 13 นายกิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 14 นายพีระวัฒน์ พุ่มทอง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่พัฒนาธุรกิจ การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
090
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) หุ้นสามัญ รายชื่อ
ตำ�แหน่ง
15 นายรฦก สัตยาภรณ์ การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 16 นายสมนึก จินดาทรัพย์ การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 17 นางสุนี รัชตมุทธา การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 18 นางวดีรัตน์ เจริญคุปต์ การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 19 นายศักดิ์ชัย ศรีเพชร การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 20 นางสุพัตรา ทองกาญจน์ การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม
2
รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่พฒ ั นาโครงการ รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่บริหารสินทรัพย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงิน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงิน ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายวางแผนและบริหารการเงิน ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายประมวลบัญชี
21 นางสาวสุวรรณี ศิริสัจจวัฒน์ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายก�ำกับและวิเคราะห์บญ ั ชี การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 22 นางสาวจตุพร เลาหพิบลู รัตนา ผูอ้ �ำนวยการฝ่ายบริหารภาษี และบัญชีแยกประเภท การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม
1 ม.ค. 613
31 ธ.ค. 614
การเปลีย่ นแปลง ระหว่างปี เพิม่ ขึน้ / (ลดลง)
สัดส่วน การถือหุ้น (ร้อยละ)
7,300 1,152
7,300 1,152
-
0.0005 0.0001
4,000 -
4,000 -
-
0.0003 -
-
-
-
-
-
-
-
-
12,500 17,665 17,617 30,117
จำ�นวนหลักทรัพย์ที่ถือโดยกรรมการอิสระทั้งทางตรงและทางอ้อม จำ�นวนหลักทรัพย์ที่ถือโดยคณะกรรมการทั้งทางตรงและทางอ้อม จำ�นวนหลักทรัพย์ที่ถือโดยผู้บริหารทั้งทางตรงและทางอ้อม รวมทั้งสิ้น
0.0009 0.0012 0.0012 0.0021
การถือหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหารที่พ้นจากตำ�แหน่งในระหว่างปี 2561 1 นางสาวประภา ปูรณโชติ(7)
กรรมการอิสระ
การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 2 นายประพนธ์
กิตจิ นั ทโรภาส(8) กรรมการอิสระ
การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 3 นายวิฑูรย์
กุลเจริญวิรตั น์(9) กรรมการ
การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 4 นายวิบูลย์
ฤกษ์ศิระทัย(10) กรรมการ
การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม 5 นายถาวร งามกนกวรรณ(11) กรรมการ การถือหลักทรัพย์ทางอ้อม
30,000 13,000
(ณ 5 เม.ย. 61) (ณ 5 เม.ย. 61) (ณ 5 เม.ย. 61) (ณ 5 เม.ย. 61) (ณ 5 เม.ย. 61) (ณ 5 เม.ย. 61) (ณ 30 เม.ย. 61) (ณ 30 เม.ย. 61) 30,000 (ณ 30 ก.ย. 61) 13,000 (ณ 30 ก.ย. 61)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
0.0021
-
0.0009
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
091
หมายเหตุ 1 ข้อมูลการถือหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหารบริษัทจะแสดงเฉพาะการถือหุ้นของกรรมการ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง ระดับบริหารสี่รายแรกและผู้ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งเทียบเท่ากับผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย รวมถึงผู้ด�ำรงต�ำแหน่งระดับบริหาร ในสายงานบัญชีหรือการเงินตั้งแต่ระดับผู้อ�ำนวยการฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า โดยจะแสดงถึงจ�ำนวนหุ้นที่บุคคลดังกล่าวถือทั้งทางตรง (ถือด้วยตนเอง) และทางอ้อม (ถือโดยคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ) รวมถึงกรณีทม่ี บี คุ คลอืน่ ใดถือหุน้ ไว้แทนกรรมการหรือผูบ้ ริหารคูส่ มรส หรือบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าว ตามหลักเกณฑ์ในประกาศคณะกรรมการก�ำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2556 ทั้งนี้ ในปี 2561 ไม่มีรายงานว่ามีบุคคลอื่นใดถือหุ้นไว้แทนกรรมการ ผู้บริหาร คู่สมรส หรือบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าว 2 ต�ำแหน่งกรรมการแสดงเฉพาะต�ำแหน่งในคณะกรรมการบริษัท ส่วนการด�ำรงต�ำแหน่งในคณะกรรมการชุดย่อยของกรรมการแต่ละท่าน แสดงไว้ในประวัตขิ องกรรมการท่านนัน้ ๆ ทัง้ นี้ สามารถศึกษาข้อมูลการเปลีย่ นแปลงต�ำแหน่งในคณะกรรมการชุดย่อยได้จากหัวข้อ “การเปลีย่ นแปลง กรรมการบริษัทและกรรมการชุดย่อยในปี 2561” 3 กรณีที่กรรมการหรือผู้บริหารที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งระหว่างปี 2561 จะแสดงจ�ำนวนหุ้นนับจากวันที่เข้าด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการหรือผู้บริหาร ของแต่ละท่าน 4 กรณีที่กรรมการหรือผู้บริหารที่พ้นจากต�ำแหน่งระหว่างปี 2561 จะแสดงจ�ำนวนหุ้นถึงวันที่พ้นจากการด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการหรือผู้บริหาร ของแต่ละท่าน
การเข้าด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการและผู้บริหารระหว่างปี 2561 (3) (4) (5) (6) (1) (2)
นายสมบูรณ์ หน่อแก้ว ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการอิสระเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 นางเปรมฤทัย วินัยแพทย์ ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการอิสระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2561 เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2561 นายรัตนชัย นามวงศ์ ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการอิสระในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2561 เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2561 นายสุชาลี สุมามาลย์ ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2561 นายบุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2561 นายสืบพงษ์ บูรณศิรินทร์ ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2561
การพ้นต�ำแหน่งของกรรมการและผู้บริหารระหว่างปี 2561 (9) (10) (11) (7) (8)
นางสาวประภา ปูรณโชติ พ้นจากการเป็นกรรมการอิสระเนือ่ งจากครบวาระในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2561 เมือ่ วันที่ 5 เมษายน 2561 นายประพนธ์ กิตจิ นั ทโรภาส พ้นจากการเป็นกรรมการอิสระเนือ่ งจากครบวาระในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2561 เมือ่ วันที่ 5 เมษายน 2561 นายวิฑูรย์ กุลเจริญวิรัตน์ ลาออกจากการเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2561 นายวิบูลย์ ฤกษ์ศิระทัย ลาออกจากการเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2561 นายถาวร งามกนกวรรณ ลาออกจากการเป็นกรรมการ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
092
รายงานคณะกรรมการธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคม
ตลอดระยะเวลา 18 ปีนบั แต่กอ่ ตัง้ บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรี โฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) การเติบโตที่ยั่งยืนบนความรับผิดชอบ ต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น เจตนารมณ์ ที่ ค ณะกรรมการ ฝ่ายบริหาร และพนักงานทุกคนยึดถืออย่างจริงจังในการด�ำเนินงาน มาโดยตลอด คณะกรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบ ต่อสังคม ได้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั เพือ่ รับหน้าที่ ก�ำหนดนโยบายและแนวปฏิบตั ิ ตลอดจนก�ำกับดูแลให้การด�ำเนินงาน บรรลุผลส�ำเร็จตรงตามวัตถุประสงค์ภายใต้หลักธรรมาภิบาล อย่างพลเมืองธุรกิจที่มีความรับผิดชอบ ในปีทผี่ า่ นมาคณะกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ยังคงแน่วแน่ในเจตนารมณ์ดังกล่าว มุ่งเน้นการประกอบกิจการ ตามหลั ก ธรรมาภิ บ าลและหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ทีบ่ ริษทั จดทะเบียนพึงปฏิบตั ิ ทัง้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความโปร่งใส และความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และผู้มีส่วนได้เสีย ทุกภาคส่วน มีการใช้เทคโนโลยีทที่ นั สมัยและอุปกรณ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพ เพื่ อ ให้ ก ระบวนการผลิ ต ไม่ ส ่ ง ผลกระทบต่ อ ชุ ม ชน ซึ่ ง เป็ น ความรับผิดชอบทีบ่ ริษทั ค�ำนึงถึงเป็นอันดับต้นๆ และเน้นการสร้าง จิ ต ส� ำ นึ ก และความตระหนั ก แก่ บุ ค ลากรของบริ ษั ท ในเรื่ อ ง การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี รวมถึงการดูแลบุคลากรภายในของบริษทั ให้ได้รับผลตอบแทน สวัสดิการ สิทธิประโยชน์ต่างๆ และ การพัฒนาอย่างเหมาะสมตามความรูค้ วามสามารถและศักยภาพ นอกจากนี้ บริษัทยังให้ความส�ำคัญกับการต่อต้านการทุจริต ทุกรูปแบบ โดยบริษัทได้เข้าร่วมเป็นเครือข่ายแนวร่วมปฏิบัติ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Private Sector
Collective Action Coalition Against Corruption Council) ตั้ ง แต่ ป ี 2559 และด้ ว ยความเชื่ อ ว่ า เรื่ อ งดั ง กล่ า วเป็ น ความรับผิดชอบร่วมกันของทุกคนทุกฝ่ายภายในองค์กร จึงได้กำ� หนด ให้มีคณะท�ำงานประกอบด้วยผู้แทนจากทุกสายงาน ด�ำเนินการ เผยแพร่ความรู้และสื่อสารให้พนักงานทุกคนตระหนักในการ ด�ำเนินงานที่ถูกต้องและโปร่งใสอยู่เสมอ เพื่อสร้างค่านิยมบุคคล และวัฒนธรรมองค์กรทีช่ ดั เจนร่วมกัน ซึง่ บริษทั เชือ่ มัน่ ว่าจะเป็น กลไกและพลังขับเคลื่อนส�ำคัญที่จะน�ำพาบริษัทไปสู่การพัฒนา และเติบโตอย่างยั่งยืน และได้รับความไว้วางใจและความเชื่อมั่น จากผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างแท้จริง ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็น หนึ่งในห้าพันธกิจของบริษัท คณะกรรมการธรรมาภิบาลและ ความรับผิดชอบต่อสังคม ได้ก�ำหนดนโยบายการด�ำเนินงาน ด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม ส่ ง เสริ ม ให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนก�ำหนด ให้มีการจัดกิจกรรมและได้เข้าไปมีส่วนร่วมสนับสนุนกิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ การด�ำเนินงานและกิจกรรมต่างๆ ของบริษทั เป็นไปเพือ่ ประโยชน์ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมให้มากที่สุด ถือเป็นการตอบแทนสังคม ในฐานะพลเมืองธุรกิจทีไ่ ม่เพียงเสริมสร้างความมัน่ คงทางพลังงาน เท่านั้น แต่ยังขับเคลื่อนการท�ำความดีและปลูกส�ำนึกจิตอาสา ให้กับสังคมในรูปแบบโครงการและกิจกรรม CSR ที่นอกเหนือ การด�ำเนินธุรกิจปกติด้วย
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีแก่สังคมในวงกว้าง บริษัทได้ก�ำหนดกรอบการด�ำเนินงานด้าน CSR เป็น 2 ด้าน คือ ด้านสิ่งแวดล้อมและด้านสังคม โดยน�ำประเด็นความต้องการ ของชุ ม ชนและสั ง คมมาเป็ น โจทย์ ใ นการร่ ว มกั น หาค� ำ ตอบ ในเชิงสร้างสรรค์ แต่ละโครงการมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์ แตกต่างกันออกไปโดยผ่านการร่วมคิดร่วมท�ำกับผู้มีส่วนได้เสีย ส�ำหรับการด�ำเนินโครงการด้านสิง่ แวดล้อม มีวตั ถุประสงค์ ในการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ดู แ ลรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม เพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อเป็นแหล่งกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ช่วยบรรเทาปัญหาภาวะโลกร้อน โดยมีโครงการคนรักษ์ป่า ป่ารักชุมชน เป็นโครงการหลักทีด่ ำ� เนินงานต่อเนือ่ งมาเป็นเวลา 11 ปี นับตัง้ แต่ปี 2551 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างบริษทั กรมป่าไม้ และชุมชนทัว่ ทุกภูมภิ าค เพือ่ ส่งเสริมการบริหารจัดการป่าชุมชน ในฐานะกลไกในการรักษาพื้นที่ป่าที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด อีกทั้งยังเป็นกระบวนการดูแลป่าที่เกื้อกูลวิถีชีวิตชุมชนโดยรอบ ให้มคี วามกินดีอยูด่ ี ท�ำให้เกิดความตระหนักถึงคุณค่าและขยายผล ไปสูก่ ารดูแลรักษาป่าในวงกว้าง นอกจากนีย้ งั มีกจิ กรรมโครงการ ที่สานต่อแนวคิดอนุรักษ์ให้สัมฤทธิผลมากยิ่งขึ้น ได้แก่ กิจกรรม ค่ายเยาวชนกล้ายิ้ม การสัมมนาเครือข่ายผู้น�ำป่าชุมชนกล้ายิ้ม โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งป่าชุมชน เป็นต้น การด�ำเนินโครงการด้านสังคม มีวตั ถุประสงค์สำ� คัญในการ พัฒนาคุณภาพชีวิต ลดปัญหาความเหลื่อมล�้ำ และส่งเสริม สิทธิมนุษยชน โดยกระบวนการด�ำเนินงานของโครงการมุ่งเน้น ให้เกิดการร่วมคิด ร่วมแก้ปญ ั หา และร่วมพัฒนาชุมชนไปด้วยกัน และผลลัพธ์ของการด�ำเนินงานจะเกิดจากความต้องการของชุมชน เป็นส�ำคัญ ตัวอย่างโครงการด้านสังคม เช่น โครงการสุขสูงวัย สร้างไทยแข็งแรง ซึ่งตอบโจทย์ปัญหาด้านการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างประชากรที่เข้าสู่สังคมผู้สูงวัย โครงการ @CareLine เครือข่ายปันสุข มุ่งส่งเสริมความพร้อมและประสิทธิภาพในการ เรียนรู้ตามวัยของเยาวชน โครงการภุมรี พลังสตรี…พลังรักษ์ สิง่ แวดล้อม เน้นการเสริมสร้างศักยภาพของผูห้ ญิงให้โดดเด่นชัดเจน สามารถเข้าร่วมและเป็นผูน้ ำ� ในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมในชุมชน ซึง่ ผลส�ำเร็จทีต่ ามมานอกจากการตอบโจทย์ ด้านสิ่งแวดล้อมแล้ว ยังส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศที่เป็น เป้าหมายของการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนทีส่ ำ� คัญเป้าหมายหนึ่งด้วย
093
จากการด�ำเนินงานดังทีก่ ล่าวมา ท�ำให้บริษทั ได้รบั การยอมรับ และความไว้วางใจจากชุมชนและสังคมในภาพรวมเป็นอย่างดี ผลการประเมิ น การรั บ รู ้ ก ารด� ำ เนิ น โครงการและผลกระทบ ที่เกิดกับชุมชน ซึ่งได้รับการประเมินจากหน่วยงานภายนอก ท�ำให้ทราบผลอันเป็นทีพ่ งึ พอใจต่อโครงการเพือ่ สังคมของบริษทั ทั้งสองด้าน โดยโครงการด้านสิ่งแวดล้อมที่ส�ำคัญอย่างโครงการ คนรักษ์ป่า ป่ารักชุมชน เป็นโครงการที่ท�ำให้ชุมชนมีการดูแล รักษาป่าทีด่ ขี นึ้ คนในชุมชนเกิดความสามัคคีและเห็นความส�ำคัญ ของป่ า มากขึ้ น อี ก ทั้ ง การมอบรางวั ล ป่ า ชุ ม ชนยั ง ช่ ว ยสร้ า ง แรงบันดาลใจให้ป่าชุมชนอื่น ได้เห็นตัวอย่างที่ดีและอยากน�ำไป ปฏิบัติตามให้ประสบความส�ำเร็จ นั่นเท่ากับว่าป่าจะได้รับการ ดูแลให้อุดมสมบูรณ์ยิ่งขึ้นอีก ส�ำหรับโครงการด้านสังคม ชุมชน มีความพึงพอใจและเห็นว่ากระบวนการด�ำเนินงานของโครงการ ต่ า งๆ ล้ ว นมี ส ่ ว นในการกระตุ ้ น ให้ ชุ ม ชนได้ มี โ อกาสพั ฒ นา ศักยภาพของตนเองมากขึ้น เช่น โครงการภุมรี พลังสตรี... พลั ง รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม ที่ ท� ำ ให้ ผู ้ ห ญิ ง สามารถพั ฒ นาตั ว เอง จนมีสว่ นร่วมและเป็นก�ำลังส�ำคัญในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติ ในชุ ม ชน นอกจากนี้ ยั ง เกิ ด การรวมกลุ ่ ม ภายในชุ ม ชน เพื่ อ ดู สิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ ป็ น รู ป ธรรมและมี ค วามเข้ ม แข็ ง พอ ที่จะด�ำเนินงานต่อได้แม้จะสิ้นสุดโครงการแล้วก็ตาม ผลการด�ำเนินงานอันเป็นทีพ่ งึ พอใจเหล่านี้ จะเป็นแรงผลักดัน ที่ส�ำคัญให้บริษัทมุ่งมั่นในการด�ำเนินโครงการเพื่อประโยชน์ ของสังคม และริเริ่มโครงการใหม่ๆ ที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้นให้แก่คนในสังคมบริษัท พร้อมที่จะขยายผลองค์ความรู้ ต่างๆ ที่เกิดจากการด�ำเนินงานเพื่อสร้างคุณค่าให้กับชุมชน และสั ง คมในภาพรวม คณะกรรมการธรรมาภิ บ าลและ ความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเชือ่ มัน่ เป็นอย่างยิง่ ว่า ความมุง่ มัน่ อย่างจริงใจและจริงจังในการด�ำเนินงานภายใต้หลักธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบ จะเป็นส่วนส�ำคัญทีช่ ว่ ยผลักดันในการเติบโต อย่างมั่นคงของบริษัทที่จะเดินไปข้างหน้าพร้อมกับการพัฒนา ที่ยั่งยืนของสังคมต่อไป
(นายชวน ศิรินันท์พร) ประธานกรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
094
การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
คณะกรรมการบริษัท และผู้บริหาร เข้าเยี่ยมชมและก�ำกับดูแลกิจการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสา ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ระหว่างวันที่ 31 มกราคม 2562 - วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2562
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
บริษัทด�ำเนินธุรกิจและก�ำกับดูแลกระบวนการด�ำเนินงาน ตามหลักธรรมาภิบาลและหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีที่บริษัท จดทะเบียนพึงปฏิบัติทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรม ความโปร่งใส ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม สิ่ ง แวดล้ อ ม และผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ทุกภาคส่วน และการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น เพื่อเป็นกลไก และพลังขับเคลื่อนส�ำคัญที่บริษัทเชื่อมั่นว่าจะน�ำพาบริษัทไปสู่ การพัฒนาและเติบโตอย่างยั่งยืน และได้รับความไว้วางใจและ ความเชื่อมั่นจากผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างแท้จริง คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนด “นโยบายการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ขี องกลุม่ บริษทั ” “จรรยาบรรณบริษทั ” และ “นโยบาย เกี่ ย วกั บ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย เฉพาะกลุ ่ ม ” เพื่ อ ใช้ เ ป็ น กรอบและ แนวปฏิบัติในการท�ำงานของกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน และ ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และเผยแพร่ไว้ใน เว็บไซต์บริษัทในหมวดการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และด้วยความ ตระหนักในบทบาทหน้าที่ในฐานะผู้น�ำองค์กรที่ต้องการสร้าง ความเข้าใจในประโยชน์และหลักปฏิบัติด้านการก�ำกับดูแล กิจการที่ดีที่จะน�ำไปใช้สร้างคุณค่าให้แก่กิจการมีความมั่นคง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืนสูร่ ะดับสากล คณะกรรมการบริษทั ได้มอบหมาย คณะกรรมการธรรมาภิ บ าลและความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ท�ำหน้าทีใ่ นการพิจารณา ทบทวน ส่งเสริม ก�ำกับดูแล และติดตาม การด�ำเนินงานด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทผ่านทาง คณะท�ำงานการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ที่ได้รับการแต่งตั้งจาก กรรมการผู้จัดการใหญ่ให้มีบทบาทหน้าที่ในการติดตาม ศึกษา พิจารณา ทบทวน และปรับปรุงนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ของบริษัทให้มีความทันสมัยและเป็นปัจจุบันอย่างน้อยปีละครั้ง เพือ่ ให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิบตั ติ ามมาตรฐานสากล กฎหมาย หลักเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ข้อเสนอแนะ และ/หรือ ข้ อ ก� ำ หนดของหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เสนอแนวปฏิ บั ติ ด ้ า น การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั และบริษทั ย่อย วางกรอบแนวทาง การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและการบริหารความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง และครอบคลุมเรื่องการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ส่งเสริมให้ ผูป้ ฏิบตั งิ านของบริษทั และบริษทั ย่อยเกิดจิตส�ำนึกเรือ่ งการก�ำกับ ดูแลกิจการทีด่ แี ละการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ให้คำ� ปรึกษา แก่ผบู้ ริหารส�ำหรับการประเมินความเสีย่ งด้านการทุจริต รวบรวม ผลการประเมินความเสี่ยงด้านการทุจริต เพื่อจัดท�ำเอกสาร ความเสี่ยงด้านการทุจริตขององค์กร ซึ่งครอบคลุมถึงแผนภูมิ ความเสี่ยงด้านการทุจริต (Fraud Risk Profile) และทะเบียน ความเสี่ยงด้านการทุจริต (Fraud Risk Register) รวมทั้งติดตาม ประเมินผล และรายงานการปฏิบตั ติ ามแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการ
095
ทีด่ ีและการด�ำเนินงานตามแผนจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับ การต่อต้านการทุจริตต่อคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการ ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม คณะกรรมการตรวจสอบ ผู้บริหาร และคณะกรรมการหรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ตามขัน้ ตอน เพือ่ ให้แน่ใจว่าการปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีเป็นไปตามกระบวนการ มีแผนพัฒนาที่เหมาะสม และมีการ ประเมินผลการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีทั้งใน ภาพรวมและรายข้อเพือ่ การปรับปรุงประสิทธิภาพการด�ำเนินงาน ด้านการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องกลุม่ บริษทั ให้มคี วามสอดคล้อง เหมาะสมกับธุรกิจ และสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ปี 2561 บริษัทได้ปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี สรุปได้ดังนี้ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น
คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดและประกาศนโยบายเกีย่ วกับ ผู้ถือหุ้น เพื่อให้มีการทบทวนและติดตามตรวจสอบการปฏิบัติ ให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ก�ำหนดอย่างต่อเนื่อง และให้มั่นใจว่า ผูถ้ อื หุน้ จะได้รบั สิทธิขนั้ พืน้ ฐานอย่างเท่าเทียมกัน เช่น สิทธิในการ เข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ สิทธิในการเสนอระเบียบวาระ และ/หรือ เสนอชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ เป็ น กรรมการในการประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น สิทธิในการแสดงความคิดเห็นและซักถามในการประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิในการมอบฉันทะให้บุคคลอื่นเข้าร่วมประชุมและออกเสียง ลงคะแนนแทน สิทธิในการได้รับเงินปันผล สิทธิในการเลือกตั้ง ถอดถอน และก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการ สิทธิในการแต่งตั้ง และก� ำ หนดค่ า ตอบแทนผู ้ ส อบบั ญ ชี สิ ท ธิ ใ นการออกเสี ย ง ลงคะแนนในกิจกรรมที่มีนัยส�ำคัญต่างๆ สิทธิในการจดทะเบียน เป็นเจ้าของหุ้น การเปลี่ยนมือ หรือการโอนสิทธิในหุ้น และสิทธิ ในการรับทราบข้อมูลข่าวสารทีม่ นี ยั ส�ำคัญอย่างถูกต้อง เพียงพอ ทันเวลา และเท่าเทียมกัน โดยบริษัทได้ส่งเสริมและดูแลปกป้อง สิทธิของผู้ถือหุ้นทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียมกันดังนี้ 1.1 สิทธิในการเข้าร่วมประชุม บริษัทได้ส่งเสริมผู้ถือหุ้น ในฐานะเจ้าของกิจการให้ได้เข้าร่วมประชุมและลงมติตัดสินใจ ในเรื่องส�ำคัญ รวมถึงรับรู้และตรวจสอบการด�ำเนินงานของ คณะกรรมการบริษัท และฝ่ายบริหาร เป็นประจ�ำทุกปี โดย เมือ่ วันพฤหัสบดีที่ 5 เมษายน 2561 บริษทั ได้จดั การประชุมสามัญ ผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2561 ซึง่ เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ข้อก�ำหนด ที่เกี่ยวข้อง มาตรฐานการพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพของ การประชุม และส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิขั้นพื้นฐานในการ เข้าร่วมการประชุมผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ ได้ดแู ลและอ�ำนวยความสะดวก ในการประชุมให้แก่ผู้ถือหุ้นในเรื่องต่างๆ สรุปได้ดังนี้
096
•
การด�ำเนินการก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น - เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อยเสนอเรือ่ งเพือ่ บรรจุ ในระเบียบวาระการประชุมผู้ถือหุ้น และ/หรือเสนอชื่อบุคคล ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนและไม่มีลักษณะต้องห้าม เพื่อเข้ารับการ พิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2561 ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริษัทก�ำหนด ระหว่างวันที่ 1 กันยายน 2560 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 รวมระยะเวลา 4 เดือน โดยบริษัทได้ประกาศหลักเกณฑ์ วิธีการ และกระบวนการในการพิจารณาด�ำเนินการ เพื่อให้ผู้ถือหุ้น ได้รับทราบผ่านระบบเผยแพร่สารสนเทศของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและเว็บไซต์ของบริษทั (เมือ่ วันที่ 28 สิงหาคม 2560) ปรากฏว่า เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาดังกล่าวไม่มีผู้ถือหุ้นเสนอเรื่อง เพื่อบรรจุระเบียบวาระหรือเสนอชื่อบุคคลเข้ารับการพิจารณา เลือกตั้งเป็นกรรมการ - แจ้งก�ำหนด วัน เวลา สถานทีป่ ระชุม ระเบียบวาระ การประชุ ม พร้ อ มข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และความเห็ น ของ คณะกรรมการบริษทั ในแต่ละเรือ่ งทีเ่ สนอต่อทีป่ ระชุมอย่างครบถ้วน และเพียงพอให้ผู้ถือหุ้นรับทราบก่อนเวลาเปิดท�ำการของ ตลท. ภาคเช้าของวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2561 ผ่านระบบเผยแพร่ สารสนเทศของ ตลท. ตามมติคณะกรรมการบริษทั ในการประชุม เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2561 เห็นชอบให้จัดประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2561 ในวันพฤหัสบดีที่ 5 เมษายน 2561 เวลา 14.00 น. ณ ห้องเวิลด์บอลรูม ชัน้ 23 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แ ล ะ บ า ง ก อ ก ค อ น เ ว น ชั น เ ซ็ น เ ต อ ร ์ เ ซ็ น ท รั ล เ วิ ล ด ์ เลขที่ 999/99 ถนนพระรามที่ 1 เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึง่ เป็นสถานทีท่ มี่ รี ะบบขนส่งมวลชนทีผ่ ถู้ อื หุน้ สามารถเดินทางไป เข้าร่วมประชุมได้อย่างสะดวก มีขนาดเหมาะสมสามารถบรรจุ ผู้เข้าประชุมจ�ำนวนมาก - แจ้งแก้ไขระเบียบวาระการประชุมเรื่องพิจารณา เลือกตั้งกรรมการแทนกรรมการที่ออกตามวาระส�ำหรับการ ประชุม สามัญ ผู้ ถือหุ ้น ประจ� ำปี 2561 พร้อมความเห็นของ คณะกรรมการบริ ษั ท ที่ จ ะเสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น อย่างครบถ้วนและเพียงพอ ให้ผถู้ อื หุน้ รับทราบหลังเวลาปิดท�ำการ ของ ตลท. ภาคเย็นของวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2561 ผ่านระบบ เผยแพร่สารสนเทศของ ตลท. ตามมติคณะกรรมการบริษัท ในการประชุมเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2561 - เผยแพร่ ห นั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ�ำปี 2561 พร้อมเอกสารประกอบการประชุมครบชุดทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษเป็นการล่วงหน้าไว้บนเว็บไซต์ของบริษทั ตัง้ แต่ วันที่ 2 มีนาคม 2561 เป็นเวลามากกว่า 30 วันก่อนวันประชุม
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
- จัดส่งหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบ การประชุมให้แก่ผู้ถือหุ้นได้พิจารณาเป็นการล่วงหน้าตั้งแต่วันที่ 13 มีนาคม 2561 หรือมากกว่า 21 วันก่อนวันประชุม เป็นไปตาม ข้ อ กฎหมาย และหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ที่ ใ ห้ บ ริ ษั ท จดทะเบียนจัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้แก่ผถู้ อื หุน้ เป็นการล่วงหน้า อย่างน้อย 7 วัน และ 21 วัน ตามล�ำดับ โดยหนังสือเชิญประชุม ได้ระบุรายละเอียดวัน เวลา สถานที่ประชุม แผนที่แสดงสถานที่ ประชุม ระเบียบวาระการประชุมซึง่ ได้จดั เรียงล�ำดับความส�ำคัญ ข้อมูลชีแ้ จงความเป็นมา เหตุผลความจ�ำเป็น และประเด็นส�ำคัญ ของแต่ละเรื่องที่เสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติ หรือเพือ่ ทราบ รวมทัง้ ได้ระบุความเห็นของคณะกรรมการบริษทั ในแต่ละเรื่องไว้อย่างชัดเจนและเพียงพอครบทุกเรื่อง - จั ด ส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม ให้ แ ก่ น ายทะเบี ย น ได้ทราบเป็นการล่วงหน้าตั้งแต่วันที่ 13 มีนาคม 2561 มากกว่า ที่กฎหมายก�ำหนด (ไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวันประชุม) และได้ ส่งให้แก่ผู้สอบบัญชีของบริษัทในวันเดียวกัน - เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่งค�ำถาม และ/หรือข้อคิดเห็น เพิม่ เติมในเรือ่ งทีไ่ ด้บรรจุไว้ในระเบียบวาระการประชุม และ/หรือ ข้ อ เสนอแนะอื่ น ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของ บริษทั เป็นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ กลับมาทาง ไปรษณีย์ หรือทางโทรสาร มายังเลขานุการบริษัท หรือจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์มายัง CS@ratch.co.th เพื่อบริษัทจะได้ชี้แจง รายละเอียดหรือให้ข้อมูลเพิ่มเติมในที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2561 โดยบริษัทได้แจ้งรายละเอียดดังกล่าวผ่านระบบ เผยแพร่สารสนเทศของ ตลท. เว็บไซต์บริษัท และแจ้งในหนังสือ เชิญประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ทีจ่ ดั ส่งให้แก่ผถู้ อื หุน้ ได้รบั ทราบ ในการ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2561 ไม่มีผู้ถือหุ้นส่งค�ำถาม และ/หรือข้อเสนอแนะเป็นการล่วงหน้ามายังบริษัท - ประกาศโฆษณาค� ำ บอกกล่ า วเชิ ญ ประชุ ม ในหนังสือพิมพ์ทั้งฉบับภาษาไทยและฉบับภาษาอังกฤษระหว่าง วันที่ 23-25 มีนาคม 2561 เป็นเวลาติดต่อกัน 3 วัน และ ไม่นอ้ ยกว่า 3 วันก่อนวันประชุม ตามกฎหมาย และข้อบังคับบริษทั - แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับหลักฐานประกอบการ เข้าร่วมประชุม หนังสือมอบฉันทะและวิธีการมอบฉันทะพร้อม ค�ำแนะน�ำ รายชื่อกรรมการอิสระและกรรมการผู้จัดการใหญ่ หรือบุคคลใดๆ ทีผ่ ถู้ อื หุน้ ประสงค์จะมอบฉันทะให้เข้าร่วมประชุม และออกเสียงลงคะแนนแทน แบบฟอร์มลงทะเบียนเข้าร่วม ประชุม และข้อบังคับบริษัทในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการประชุม ผู้ถือหุ้นให้แก่ผู้ถือหุ้นเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาตัดสินใจ ใช้สทิ ธิออกเสียงลงมติในแต่ละเรื่องตั้งแต่วันที่ 13 มีนาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
•
การด�ำเนินการในวันประชุมผู้ถือหุ้น - จัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2561 ณ ห้องเวิลด์บอลรูม ชั้น 23 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอก คอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ เลขที่ 999/99 ถนนพระรามที่ 1 เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นสถานที่ที่ผู้ถือหุ้นสามารถ เดินทางโดยระบบขนส่งมวลชนไปเข้าร่วมประชุมได้อย่างสะดวก สถานทีป่ ระชุมมีขนาดเหมาะสมสามารถรองรับผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ข้าร่วม ประชุมได้อย่างเพียงพอ เริ่มเปิดให้ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม ตั้งแต่เวลา 12.00 น. (ก่อนเวลาเริ่มประชุม 2 ชั่วโมง) และ เริม่ ประชุมเวลา 14.00 น. และเลิกประชุมเวลา 16.40 น. ใช้เวลา ในการประชุมรวม 2.40 ชัว่ โมง เพือ่ เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ สามารถ พิ จ ารณาเลื อ กว่ า จะเข้ า ร่ ว มการประชุ ม ตลอดทุ ก เรื่ อ งหรื อ จะเข้าร่วมประชุมเฉพาะเรื่องก็ได้ โดยไม่จ�ำกัดสิทธิของผู้ถือหุ้น ในการเข้ า ร่ ว มการประชุ ม เพื่ อ ใช้ สิ ท ธิ อ อกเสี ย งลงคะแนน ในระเบียบวาระที่อยู่ระหว่างการพิจารณาและยังไม่มีการลงมติ บริ ษั ท ได้ เ ปิ ด โอกาสให้ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ เ ดิ น ทางมาภายหลั ง เริม่ การประชุมสามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้อย่างต่อเนือ่ ง จนถึงเวลาเลิกประชุม - จัดสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่จ�ำเป็นส�ำหรับการ ประชุมไว้อย่างครบถ้วน อาทิ โสตทัศนูปกรณ์ทใี่ ช้ในการน�ำเสนอ ต่อที่ประชุม ระบบคอมพิวเตอร์ และ Barcode ที่บรรจุข้อมูล เฉพาะของผู้ถือหุ้นแต่ละรายที่ใช้ในการลงทะเบียนเข้าร่วม การประชุมและการนับคะแนนเสียง ท�ำให้การนับคะแนนเสียง มีความสะดวก รวดเร็ว แม่นย�ำ โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ - ตรวจสอบเอกสารหลักฐานแสดงตนเพื่อเข้าร่วม ประชุมโดยพนักงานทีป่ ระธานกรรมการบริษทั แต่งตัง้ ซึง่ ขัน้ ตอน การตรวจสอบไม่ยุ่งยากซับซ้อน และเป็นไปตามรายละเอียด ที่ได้แจ้งต่อผู้ถือหุ้นไว้แล้วในหนังสือเชิญประชุม - ประธานกรรมการท�ำหน้าทีป่ ระธานทีป่ ระชุมตาม ข้อบังคับบริษัท โดยเริ่มจากแจ้งให้ที่ประชุมทราบองค์ประชุม และมอบหมายให้เลขานุการบริษทั ท�ำหน้าทีจ่ ดบันทึกและจัดท�ำ รายงานการประชุม และแนะน�ำกรรมการ ฝ่ายบริหาร ผูส้ อบบัญชี และที่ปรึกษากฎหมาย ที่เข้าร่วมในการประชุม เพื่อให้ข้อมูล เพิ่มเติม ร่วมตอบข้อซักถาม และเป็นคนกลางร่วมตรวจสอบ ความถูกต้อง และครบถ้วนในที่ประชุม - แจ้งให้ที่ประชุมทราบวิธีปฏิบัติในการออกเสียง ลงคะแนนในแต่ละระเบียบวาระการประชุม วิธีลงคะแนนเสียง การนับคะแนนเสียง และการประกาศมติที่ประชุมในแต่ละ ระเบียบวาระการประชุม เพือ่ ให้การปฏิบตั เิ ป็นไปตามข้อพึงปฏิบตั ิ ส�ำหรับการจัดประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทจดทะเบียนของ ตลท.
097
และเกิดความเข้าใจที่ชัดเจนอีกครั้ง ซึ่งรายละเอียดเป็นไปตาม ที่ได้จัดส่งให้แก่ผู้ถือหุ้นพร้อมกับหนังสือเชิญประชุมแล้ว - จั ด ให้ มี บั ต รลงคะแนนในทุ ก เรื่ อ งที่ เ สนอต่ อ ที่ประชุม ซึ่งผู้เข้าประชุมทุกคนได้รับเมื่อลงทะเบียนเข้าร่วม การประชุม โดยวิธีการที่ใช้ในการออกเสียงลงคะแนนไม่ยุ่งยาก ซับซ้อ นคือ จะใช้การยกมือ หากไม่เ ห็นด้ว ยหรือ งดออกเสียง เพื่อเจ้าหน้าที่ของบริษัทจะไปรับบัตรลงคะแนนและจะท�ำการ นับคะแนนเสียงโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ และ Barcode - จั ด ให้ มี ที่ ป รึ ก ษากฎหมายซึ่ ง ไม่ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย เป็นคนกลางร่วมตรวจสอบในเรือ่ งต่างๆ เพือ่ ความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และตรวจสอบได้ อาทิ กระบวนการตรวจสอบเอกสาร ของผู ้ ถื อ หุ ้ น หรื อ ผู ้ รั บ มอบฉั น ทะที่ มี สิ ท ธิ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม องค์ประชุม ผูม้ สี ว่ นได้เสียไม่ได้ใช้สทิ ธิออกเสียง วิธกี ารลงคะแนน และการนั บ คะแนนเสี ย งสอดคล้ อ งตรงกั บ ข้ อ บั ง คั บ บริ ษั ท และเป็นไปตามที่ได้แจ้งต่อที่ประชุม ตลอดจนดูแลให้มีการ เก็บบัตรลงคะแนนจากผู้ถือหุ้นที่เข้าประชุมทุกราย โดยเฉพาะ การพิจารณาเลือกตั้งกรรมการ และตรวจสอบความถูกต้องของ ผลการลงคะแนนเสียงจากมติที่ประชุม และจากบัตรลงคะแนน - ด�ำเนินการประชุมตามระเบียบวาระการประชุม โดยไม่มีการแจ้งข้อมูลส�ำคัญเพิ่มเติมอย่างกะทันหันในที่ประชุม ผู้ถือหุ้น ไม่มีการเพิ่มเรื่องเพื่อพิจารณาลงมติหรือเปลี่ยนข้อมูล ส�ำคัญโดยไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า ทั้งนี้ เรื่องที่น�ำเสนอ ต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2561 เป็นไปตามข้อบังคับ บริษัทและตามที่กฎหมายก�ำหนด - ด� ำ เนิ น การประชุ ม เป็ น ไปตามล� ำ ดั บ ที่ ก� ำ หนด ในระเบียบวาระการประชุมทีแ่ จ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุมโดยไม่มี การสลับระเบียบวาระ เนือ่ งจากคณะกรรมการบริษทั ตระหนักดี ถึงความส�ำคัญและความจ�ำเป็นทีผ่ ถู้ อื หุน้ ต้องมีเวลาเพียงพอในการ ศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจ จึงไม่กระท�ำการใดๆ อันเป็นการ ละเมิดหรือลิดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้นในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ทุกครั้ง - ด�ำเนินการประชุมในแต่ละระเบียบวาระ โดยเริ่ม จากประธานที่ประชุมชี้แจงความเป็นมา เหตุผลความจ�ำเป็น ข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง และข้อเสนอเพือ่ พิจารณาอนุมตั หิ รือเพือ่ ทราบ ต่อที่ประชุมตามที่ได้แจ้งแก่ผู้ถือหุ้นไว้ในหนังสือเชิญประชุม อย่างครบถ้วนและเพียงพอ หลังจากนัน้ ประธานทีป่ ระชุมได้ให้เวลา แก่ผู้ถือหุ้นซักถามอย่างเหมาะสม จากนั้นคณะกรรมการบริษัท และฝ่ า ยบริ ห ารได้ ร ่ ว มกั น ชี้ แ จงจนเป็ น ที่ เ ข้า ใจชั ด เจนก่ อ น จะขอให้ที่ประชุมลงมติโดยการออกเสียงลงคะแนนตามทีไ่ ด้แจ้ง ให้ทปี่ ระชุมทราบแล้ว
098
- แยกพิจารณาระเบียบวาระการเลือกตั้งกรรมการ และการพิจารณาอนุมตั กิ ำ� หนดค่าตอบแทนกรรมการออกจากกัน และจัดให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ลงมติเลือกตัง้ กรรมการเป็นรายบุคคล และเก็ บ บั ต รลงคะแนนเสี ย งทุ ก ใบไว้ ต รวจสอบและอ้ า งอิ ง เพื่อความถูกต้องและโปร่งใส - ก�ำหนดให้ใช้บัตรลงคะแนนเสียงในการออกเสียง ลงคะแนนทุ ก ครั้ ง ส� ำ หรั บ ผู ้ เ ข้ า ประชุ ม ทุ ก ราย โดยใช้ ร ะบบ คอมพิ ว เตอร์ ช ่ ว ยอ� ำ นวยความสะดวกในการประมวลผล การลงคะแนนเสียง - ประกาศให้ที่ประชุมทราบรายละเอียดของมติ ที่ประชุมในระเบียบวาระนั้นๆ ภายหลังการนับคะแนนเสียง เสร็จสิ้นทุกครั้ง โดยแยกประเภทคะแนนเสียงเป็น “เห็นด้วย” “ไม่เห็นด้วย” “งดออกเสียง” และ “บัตรเสีย” - ก�ำหนดให้มีระเบียบวาระการพิจารณาเรื่องอื่นๆ (ถ้ามี) เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถเสนอเรื่องเพื่อ พิจารณาเพิม่ เติมนอกเหนือจากเรือ่ งทีค่ ณะกรรมการบริษทั บรรจุไว้ ในระเบียบวาระการประชุม ซึง่ ตามข้อบังคับของบริษทั ก�ำหนดว่า เรื่องที่จะเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาลงมติในการพิจารณา เรื่ อ งอื่ น ๆ ได้ จ ะต้ อ งเสนอโดยผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ มี หุ ้ น นั บ รวมกั น ได้ ไม่ น ้ อ ยกว่ า หนึ่ ง ในสามของจ� ำ นวนหุ ้ น ที่ จ� ำ หน่ า ยได้ ทั้ ง หมด ของบริษทั ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2561 ไม่มผี ถู้ อื หุน้ เสนอเรื่ อ งอื่ น ๆ เพื่ อ พิ จ ารณาลงมติ มี เ พี ย งข้ อ เสนอแนะ และข้อคิดเห็นเกีย่ วกับกิจการของบริษทั ทีไ่ ด้บนั ทึกไว้ในรายงาน การประชุมแล้วเท่านั้น - ในการประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี 2561 มีผู้เข้าประชุมประกอบด้วยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมด้วยตนเองและ ผู ้ รั บ มอบฉั น ทะรวมจ� ำ นวน 1,411 ราย นั บ จ� ำ นวนหุ ้ น ได้ 935,019,113 หุ้นหรือคิดเป็นร้อยละ 64.48 ของจ�ำนวนหุ้น ทีจ่ ำ� หน่ายได้ทงั้ หมด ครบเป็นองค์ประชุมตามข้อบังคับของบริษทั โดยประธานกรรมการ ท�ำหน้าทีป่ ระธานทีป่ ระชุมตามข้อบังคับบริษทั - คณะกรรมการบริษัททั้งคณะ และคณะกรรมการ ชุดย่อยทุกคณะ เข้าร่วมในการประชุมผู้ถือหุ้นครบทุกคน หรือ ร้อยละ 100 ของคณะกรรมการแต่ละชุด •
การด�ำเนินการภายหลังเสร็จสิน้ การประชุมผูถ้ อื หุน้ - แจ้งมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2561 ผ่านระบบเผยแพร่สารสนเทศของ ตลท. ทันทีหลังเวลาปิดท�ำการ ของ ตลท. ภาคเย็นของวันที่ 5 เมษายน 2561 โดยแสดงผลการ ออกเสียงลงคะแนนในแต่ละเรื่องแยกประเภทคะแนนเสียงเป็น
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
“เห็นด้วย” “ไม่เห็นด้วย” “งดออกเสียง” และ “บัตรเสีย” พร้อมแสดงสัดส่วนคะแนนเสียงแต่ละประเภทอย่างชัดเจน - จัดท�ำรายงานการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร โดยเลขานุการบริษัท ซึ่งมีสาระส�ำคัญในแต่ละเรื่องที่เสนอต่อ ที่ประชุม สรุปประเด็นส�ำคัญของข้อซักถามของผู้ถือหุ้นและ ค�ำชี้แจงของคณะกรรมการบริษัทและฝ่ายบริหาร ข้อเสนอแนะ และข้อคิดเห็นเพิ่มเติมของผู้เข้าประชุม รวมทั้งมติที่ประชุม พร้อมคะแนนเสียงแต่ละประเภท และสัดส่วนคะแนนเสียง ของแต่ละเรื่องไว้อย่างชัดเจนและครบถ้วน - แจ้งเผยแพร่รายงานการประชุมผ่านระบบเผยแพร่ สารสนเทศของ ตลท. และเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท เมื่ อ วั น ที่ 18 เมษายน 2561 (ก่อนเวลาที่กฎหมายก�ำหนด: ภายใน 14 วัน นับจากวันประชุมผู้ถือหุ้น) เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้แสดง ความคิดเห็นโดยไม่ต้องรอถึงการประชุมครั้งต่อไป ปรากฏว่า ภายหลังการเผยแพร่รายงานการประชุมบนเว็บไซต์ของบริษัท ไม่มีผู้ถือหุ้นแจ้งแก้ไข เพิ่มเติม หรือปรับปรุงรายงานการประชุม ฉบับดังกล่าว - น�ำส่ง รายงานการประชุม ซึ่ง ประธานที่ประชุม ลงนามรับรองแล้วให้ ตลท. ก.ล.ต. และนายทะเบียน (กรมพัฒนา ธุรกิจการค้า) เพื่อตรวจสอบและอ้างอิง ตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน 2561 (ก่อนเวลาที่กฎหมายก�ำหนด: ภายใน 14 วันนับจาก วันประชุมผู้ถือหุ้น) - จัดให้มีแบบส�ำรวจความคิดเห็นจากผู้เข้าประชุม เกีย่ วกับคุณภาพหนังสือเชิญประชุม รายงานประจ�ำปี การอ�ำนวย ความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้น การด�ำเนินการประชุม และการจัดท�ำ รายงานการประชุม เพื่อน�ำข้อเสนอแนะที่ได้ไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพการจัดการประชุมผู้ถือหุ้นให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และเป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและกิจการของบริษัทให้ดียิ่งขึ้น - ได้ ค ะแนนการประเมิ น ผลคุ ณ ภาพการจั ด การ ประชุ ม สามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ประจ� ำ ปี 2561 จากสมาคมส่ ง เสริ ม ผู้ลงทุนไทยร้อยละ 98 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยที่ร้อยละ 92.42 1.2 สิทธิในการมอบฉันทะให้บุคคลอื่นเข้าร่วมประชุม และออกเสียงลงคะแนนแทน บริษัทให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นในการ มอบฉั น ทะให้ บุ ค คลซึ่ ง บรรลุ นิ ติ ภ าวะแล้ ว เข้ า ประชุ ม และ ออกเสียงลงคะแนนแทนตนได้ โดยใช้หนังสือมอบฉันทะให้เป็นไป ตามแบบทีน่ ายทะเบียนก�ำหนด และให้ผรู้ บั มอบฉันทะยืน่ หนังสือ มอบฉั น ทะต่ อ ประธานกรรมการหรื อ ผู ้ ที่ ป ระธานกรรมการ ก�ำหนด ก่อนเข้าประชุม
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
1.3 สิทธิในการได้รับเงินปันผล บริษัทมีนโยบายการจ่าย เงินปันผลในอัตราไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 ของก�ำไรตามงบการเงินรวม หลังหักเงินทุนส�ำรองตามกฎหมายและเงินส�ำรองอื่นๆ ทั้งนี้ ขึน้ อยูก่ บั กระแสเงินสดของบริษทั ในปี 2561 บริษทั ก�ำหนดรายชือ่ ผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเข้าร่วมประชุมและออกเสียงลงคะแนนในการ ประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ และรับเงินปันผล (Record Date) เมือ่ วันที่ 28 กุ ม ภาพั น ธ์ 2561 และก� ำ หนดจ่ า ยเงิ น ปั น ผลวั น ที่ 20 เมษายน 2561 โดยได้ประกาศโฆษณาค�ำบอกกล่าวจ่ายเงินปันผล ในหนังสือพิมพ์ทงั้ ฉบับภาษาไทยและฉบับภาษาอังกฤษเป็นเวลา 3 วันติดต่อกัน ระหว่างวันที่ 9-11 เมษายน 2561 ซึ่งเป็นไปตาม กฎหมายและข้อบังคับบริษัท เพือ่ ปกป้องสิทธิของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ได้ดำ� เนินการตรวจสอบ และติดตามข้อมูลการรับเงินปันผลของผู้ถือหุ้นเป็นประจ�ำทุกปี ซึ่งพบว่ายังมีเงินปันผลค้างจ่ายจ�ำนวนหนึ่งที่ผู้ถือหุ้นยังไม่ได้ ติดต่อขอรับ บริษัทได้ส่งหนังสือติดต่อผู้ถือหุ้นตามฐานข้อมูล นายทะเบียนหลักทรัพย์แจ้งรายละเอียดสถานะเงินปันผลค้างจ่าย และวิธีด�ำเนินการเพื่อติดต่อขอรับเงินปันผล และประสานงาน เพือ่ การออกเช็คเงินปันผลฉบับใหม่แทนเช็คสูญหายหรือหมดอายุ และการด� ำ เนิ น การเพื่ อ โอนกรรมสิ ท ธิ์ ก ารถื อ หุ ้ น ให้ ท ายาท รับเงินปันผลแทนกรณีผู้ถือหุ้นถึงแก่กรรม นอกจากนี้ บริ ษั ท ได้ เ ชิ ญ ชวนและส่ ง แบบฟอร์ม สมัค ร ใช้บริการโอนเงินปันผลเข้าบัญชีธนาคาร (e-Dividend) ให้แก่ ผู้ถือหุ้น เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัยในการรับ เงินปันผลในคราวต่อไป ซึ่งปัจจุบันพบว่า ผู้ถือหุ้นมีแนวโน้ม เปลี่ยนมาใช้วิธีรับเงินปันผลแบบ e-Dividend เพิ่มมากขึ้น 1.4 สิ ท ธิ ใ นการเลื อ กตั้ ง ถอดถอน และก� ำ หนด ค่าตอบแทนกรรมการ บริษัทก�ำหนดให้คณะกรรมการบริษัท น�ำเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาเลือกตัง้ กรรมการแทน ต�ำแหน่งทีว่ า่ งลงเนือ่ งจากครบวาระในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ และพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการเป็นประจ�ำทุกปี รายละเอียดปรากฏในโครงสร้างการจัดการ 1.5 สิ ท ธิ ใ นการแต่ ง ตั้ ง ผู ้ ส อบบั ญ ชี แ ละก� ำ หนด ค่าตอบแทน บริษัทก�ำหนดให้คณะกรรมการบริษัทน�ำเสนอต่อ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาแต่งตั้งผู้สอบบัญชีและก�ำหนด ค่าตอบแทนในการสอบบัญชีเป็นประจ�ำทุกปี 1.6 สิทธิในการจดทะเบียนเป็นเจ้าของหุน้ การเปลีย่ นมือ หรือการโอนสิทธิในหุ้น บริษัทมอบหมายให้บริษัท ศูนย์รับฝาก หลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (TSD) เป็นนายทะเบียน หลักทรัพย์ของบริษัท ท�ำหน้าที่รับฝากหลักทรัพย์ของบริษัท
099
จัดเก็บและดูแลข้อมูลของผู้ถือหุ้นให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ และ เป็นผูใ้ ห้บริการแก่ผถู้ อื หุน้ ทีถ่ อื หลักทรัพย์ของบริษทั เช่น การออก ใบหลักทรัพย์ ฝาก/ถอนใบหลักทรัพย์ โอน/รับโอนหลักทรัพย์ และการจ่ายสิทธิประโยชน์ต่างๆ ให้แก่ผู้ถือหุ้น ซึ่งผู้ถือหุ้น สามารถติ ด ต่ อ กั บ TSD ได้ โ ดยตรงที่ TSD Call Center โทร. 0 2009 9999 หรือสมัครใช้บริการ Investor Portal ซึ่งเป็นระบบบริการข้อมูลผู้ถือหุ้นผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้ที่ http://www.set.or.th/tsd/th/investorportal/investorportal.html 1.7 สิ ท ธิ ใ นการรั บ ทราบข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ มี นั ย ส� ำ คั ญ ของบริษัทอย่างถูกต้อง เพียงพอ และทันเวลา บริษัทได้ปฏิบัติ ตามข้ อ ก� ำ หนด หลั ก เกณฑ์ เงื่ อ นไข และวิ ธี ก ารเกี่ ย วกั บ การเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศและการปฏิบัติการใดๆ ที่เกี่ยวข้อง ของบริษัทจดทะเบียนอย่างถูกต้องครบถ้วน และทันกาล ในรอบปี 2561 ไม่มกี รณีถกู ลงโทษจากการไม่นำ� ส่งรายงาน ตามที่กฎหมายก�ำหนดหรือน�ำส่งล่าช้า และไม่มีเหตุการณ์หรือ การปฏิบัติใดๆ อันเป็นการละเมิดหรือลิดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น แต่อย่างใด 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน
บริษัทปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่แบ่งแยก ว่าเป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่หรือผูถ้ อื หุน้ รายย่อยหรือผูถ้ อื หุน้ สถาบัน เป็นผู้ถือหุ้นชาวไทยหรือผู้ถือหุ้นต่างชาติ ซึ่งสรุปการปฏิบัติ ที่เป็นสาระส�ำคัญได้ดังนี้ 2.1 การเข้าถึงข้อมูลของบริษัท บริษัทก�ำหนดช่องทาง เผยแพร่สารสนเทศผ่าน ตลท. เป็นช่องทางหลัก และก�ำหนด ผู้ท�ำหน้าที่เปิดเผยข้อมูลของบริษัท ได้แก่ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ นอกจากนี้ ยั ง จั ด ให้ มี ช ่ อ งทางติ ด ต่ อ สื่ อ สารเพิ่ ม เติ ม ผ่ า นทาง เว็บไซต์บริษัท และหน่วยงานที่รับผิดชอบ อาทิ ส�ำนักงาน เลขานุการบริษัท ฝ่ายตรวจสอบภายใน ฝ่ายองค์กรสัมพันธ์ และ ส่วนนักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นเข้าถึงข้อมูลของบริษัทได้ อย่างเท่าเทียมกัน 2.2 การจัดท�ำเอกสาร 2 ภาษา บริษัทจัดท�ำข้อมูลและ เปิดเผยสารสนเทศทุกรายการทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผ่านระบบเผยแพร่สารสนเทศของ ตลท. และเว็บไซต์ของบริษัท เพื่อให้ผู้ถือหุ้นทั้งชาวไทยและต่างชาติเข้าถึงข้อมูลของบริษัท ได้อย่างเท่าเทียมกัน
100
2.3 การส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอเรื่องเพื่อบรรจุ ในระเบียบวาระการประชุมผู้ถือหุ้น และ/หรือเสนอชื่อบุคคล เพื่อเป็นกรรมการ บริษัทได้ประกาศเชิญชวนผู้ถือหุ้นรายย่อย เสนอเรื่ องเพื่ อบรรจุ ใ นระเบี ย บวาระการประชุ ม และ/หรือ เสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วน และไม่มีลักษณะต้องห้าม เพื่อเข้ารับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการของบริษัทในการ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2561 เป็นการล่วงหน้าระหว่าง วันที่ 1 กันยายน 2560 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 รวมระยะ เวลา 4 เดือน โดยเผยแพร่สารสนเทศผ่านระบบของ ตลท. และ เผยแพร่รายละเอียดหลักเกณฑ์ วิธีการ กระบวนการในการ พิจารณา และช่องทางการเสนอเรื่องไว้อย่างชัดเจน ผ่านทาง เว็บไซต์ของบริษัทตั้งแต่วันที่ 28 สิงหาคม 2560 เมื่อสิ้นสุด ระยะเวลาดังกล่าว ปรากฏว่าไม่มีการเสนอเรื่องหรือชื่อบุคคล จากผู้ถือหุ้น
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
2.5 การใช้บัตรลงคะแนนเสียง บริษัทก�ำหนดให้ใช้บัตร ลงคะแนนเสียงในการออกเสียงลงคะแนนในการประชุมผู้ถือหุ้น ส�ำหรับผูเ้ ข้าประชุมทุกราย โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยอ�ำนวย ความสะดวกในการประมวลผลการลงคะแนนเสี ย ง และ มีที่ปรึกษากฎหมายซึ่งเป็นคนกลางร่วมตรวจสอบความถูกต้อง โดยระเบียบวาระการเลือกตัง้ กรรมการได้แยกการลงคะแนนเสียง เป็นรายบุคคล และเก็บบัตรลงคะแนนเสียงทุกใบไว้ตรวจสอบ และอ้างอิง เพื่อความถูกต้องและโปร่งใส
2.6 การเพิ่มเรื่องเพื่อบรรจุในระเบียบวาระการประชุม ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2561 บริษทั ไม่มกี ารบรรจุ เรื่องเพิ่มเติมในระเบียบวาระ เนื่องจากคณะกรรมการบริษัท ตระหนักถึงความส�ำคัญและความจ�ำเป็นที่ว่าผู้ถือหุ้นต้องมีเวลา เพียงพอในการศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจจึงยึดถือหลักการ ที่จะไม่มีการเสนอเรื่องใดๆ ที่ไม่ได้บรรจุไว้ในระเบียบวาระการ 2.4 การมอบฉันทะให้ผู้อื่นเข้าประชุมแทน บริษัทจัดท�ำ ประชุมเพิม่ เติมจากทีไ่ ด้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุม หากผูถ้ อื หุน้ หนังสือมอบฉันทะตามที่ก�ำหนดโดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า มี ค วามจ� ำ เป็ น ก็ ส ามารถเสนอในระเบี ย บวาระเรื่ อ งอื่ น ๆ กระทรวงพาณิชย์ ส่งให้แก่ผู้ถือหุ้นพร้อมหนังสือเชิญประชุม เพื่อพิจารณาได้โดยปฏิบัติตามที่ก�ำหนดในข้อบังคับบริษัท 3 แบบ เพื่ อ อ� ำ นวยความสะดวกให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ที่ ไ ม่ ส ะดวก 2.7 การป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทได้ดูแลและ หรือไม่สามารถเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นด้วยตนเองให้สามารถ มอบอ�ำนาจให้บุคคลอื่นเข้าประชุมและออกเสียงในที่ประชุม ป้องกันการใช้ข้อมูลภายในตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยได้กำ� หนดนโยบาย แนวทางในการเก็บรักษาและป้องกันการใช้ แทนได้ ประกอบด้วย ข้อมูลภายในเพือ่ แสวงหาประโยชน์สว่ นตนหรือผูอ้ นื่ ในทางมิชอบ • แบบ ก. เป็นหนังสือมอบฉันทะแบบทั่วไป • แบบ ข. เป็นหนังสือมอบฉันทะที่ก�ำหนดรายการ ไว้เป็นลายลักษณ์อักษรในจรรยาบรรณ ระเบียบ ค�ำสั่ง และ ประกาศของบริษัทที่เกี่ยวข้องให้กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน ต่างๆ ที่จะมอบฉันทะที่ละเอียดชัดเจนตายตัว • แบบ ค. เป็ น หนั ง สื อ มอบฉั น ทะที่ ใ ช้ เ ฉพาะกรณี และผู้มีส่วนได้เสีย ได้รับทราบและถือปฏิบัติ โดยได้มอบให้แก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น เป็ น ผู ้ ล งทุ น ต่ า งประเทศและแต่ ง ตั้ ง ให้ คั ส โตเดี ย น กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานลงนามรับทราบเมื่อแรกเข้า ท�ำงานหรือวันปฐมนิเทศ และได้เผยแพร่ผา่ นระบบสือ่ สารภายใน (Custodian) ในประเทศไทยเป็นผู้รับฝากและดูแลหุ้น และเว็บไซต์ของบริษัท ซึ่งสรุปมาตรการป้องกันการใช้ข้อมูล ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นสามารถ Download หนังสือมอบฉันทะ ภายในที่ส�ำคัญดังนี้ ทัง้ 3 แบบ จากเว็บไซต์ของบริษทั ได้อกี ช่องทางหนึง่ หรือผูถ้ อื หุน้ • ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก คนมี ห น้ า ที่ ต ้ อ งปกป้ อ ง จะพิจารณาใช้หนังสือมอบฉันทะแบบอื่น หรือจัดท�ำขึ้นเอง ข้อมูลความลับทางธุรกิจของบริษัท และห้ามใช้ข้อมูลภายใน ตามความสะดวกและเห็นสมควรก็ได้ เพือ่ ประโยชน์สว่ นตน หรือแนะน�ำผูอ้ นื่ กระท�ำโดยเฉพาะการซือ้ ขาย ในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2561 บริษทั ได้เสนอ หลักทรัพย์ของบริษัท ชือ่ กรรมการอิสระ 3 คน และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ พร้อมข้อมูล • ห้ามเปิดเผย/แสวงหาประโยชน์ในทางมิชอบ/ส่งต่อ ของแต่ละคน ระบุการมีหรือไม่มสี ว่ นได้เสียของแต่ละคนในเรือ่ ง ที่ บ รรจุ ไ ว้ ใ นระเบี ย บวาระการประชุ ม เพื่ อ เป็ น ทางเลื อ ก ข้อมูลภายใน และ/หรือความลับของบริษัทแก่บุคคลภายนอก ให้ผถู้ อื หุน้ พิจารณามอบฉันทะให้เข้าประชุมและออกเสียงแทนได้ หรือผู้ไม่เกี่ยวข้องในทุกรูปแบบ ซึ่งรวมถึงบุคคลในครอบครัว ซึง่ มีผถู้ อื หุน้ มอบฉันทะให้กรรมการอิสระของบริษทั เข้าร่วมประชุม ญาติ พี่น้อง เพื่อน หรือท�ำให้ประโยชน์ของบริษัทลดลง แทนจ�ำนวน 150 ราย และมอบฉันทะให้กรรมการผู้จัดการใหญ่ • การให้/แบ่งปันข้อมูลภายในที่เป็นความลับแก่บุคคล เข้าประชุมแทนจ�ำนวน 29 ราย ภายในบริษทั สามารถท�ำได้ตามความจ�ำเป็นหรือความเกีย่ วข้อง เพื่อประโยชน์ในการท�ำงานของบุคคลนั้นๆ เท่านั้น
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
101
• บริ ษั ท ก� ำ หนดให้ ก รรมการและผู ้ บ ริ ห ารมี ห น้ า ที่ จัดท�ำและเปิดเผยรายงานการถือและการเปลีย่ นแปลงการถือครอง หลักทรัพย์ของบริษทั ของตนเอง คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ ต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ภายใน 3 วันนับจากวันที่มี การเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ และให้แจ้งเลขานุการบริษทั รับทราบ เพื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลงและรายงานสรุปจ�ำนวน หลักทรัพย์ของกรรมการและผูบ้ ริหารเป็นรายบุคคล และรายงาน ต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ทราบในการประชุ ม คณะกรรมการตามทีไ่ ด้กำ� หนดให้บรรจุระเบียบวาระการรายงาน การถือหลักทรัพย์เป็นประจ�ำทุกเดือน นอกจากนี้ ยังก�ำหนดให้ ผูบ้ ริหารและพนักงานทุกคนมีหน้าทีร่ ายงานการเปลีย่ นแปลงการ ถือหลักทรัพย์ของบริษทั ของตนเอง คูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุ นิติภาวะ ให้กรรมการผู้จัดการใหญ่ทราบภายใน 3 วันท�ำการ นับแต่วันที่มีการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของบริษัท
- ให้ พ นั ก งานใช้ สื่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต เพื่ อ ประโยชน์ ในการท�ำงาน ไม่เผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสมด้านศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี หรือละเมิดกฎหมาย - ใช้อเี มล อินเทอร์เน็ต และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทบี่ ริษทั อนุญาตตามข้อก�ำหนดและค�ำแนะน�ำการใช้งานอย่างปลอดภัย เพื่อประโยชน์ของบริษัทเท่านั้น - ใช้โปรแกรมที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องเท่านั้น - เข้าตรวจสอบ ค้นหา ติดตาม สอบสวน และควบคุม การใช้ระบบสารสนเทศให้มีความปลอดภัยตามความจ�ำเป็น และเหมาะสม
• บริษัทได้ก�ำหนดและประกาศ “นโยบายการใช้งาน ระบบเครือข่ายและคอมพิวเตอร์” ผ่านช่องทางการสือ่ สารภายใน และบนเว็บไซต์ของบริษัท เพื่อเป็นข้อปฏิบัติส�ำหรับการใช้งาน ระบบเครือข่ายและคอมพิวเตอร์ของบริษัทให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุด และสอดคล้องกับข้อก�ำหนด ของพระราชบั ญ ญั ติ ว ่ า ด้ ว ยการกระท� ำ ผิ ด ทางคอมพิ ว เตอร์ รวมทั้งได้ด�ำเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และการป้ อ งกั น ภั ย คุ ก คามระบบเครื อ ข่ า ยอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยสรุปแนวปฏิบัติที่ส�ำคัญดังนี้ - ก� ำ หนดสิ ท ธิ เ ข้ า ใช้ ง านโดยใช้ ร หั ส ผ่ า น และต้ อ ง เก็บรักษารหัสผ่านเป็นความลับ
3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย
ตลอดปี 2561 ไม่มีการกล่าวโทษกรรมการและผู้บริหาร กรณีไม่จัดท�ำรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทตาม ข้อก�ำหนด หรือการใช้ขอ้ มูลภายในเพือ่ หาประโยชน์ให้แก่ตนเอง หรือผู้อื่นในทางมิชอบ 3.1 นโยบายเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทโดยคณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดนโยบาย และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ไว้อย่างชัดเจน มีการทบทวน และปรับปรุงจรรยาบรรณบริษัทเพื่อใช้เป็นกรอบ ข้อพึงปฏิบัติส�ำหรับในการท�ำงานของกรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานของบริษทั ต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียแต่ละกลุม่ ตามหลักการส่งเสริม และก�ำกับดูแล เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าสิทธิตามกฎหมายของผูม้ สี ว่ นได้เสีย กลุ่มต่างๆ อาทิ ผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า เจ้าหนี้ พันธมิตร คู่แข่ง ภาครัฐ และชุมชนที่บริษัทตั้งอยู่ได้รับการคุ้มครองและ ปฏิบัติด้วยดี โดยได้ประกาศและเผยแพร่ให้ผู้เกี่ยวข้องได้ทราบ อย่างทัว่ ถึงผ่านช่องทางต่างๆ และเว็บไซต์ของบริษทั สรุปได้ดงั นี้
การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น
• ด�ำเนินธุรกิจเพื่อสร้างความเติบโต ผลก�ำไร และผลตอบแทนที่ดีต่อผู้ถือหุ้น • ด�ำเนินธุรกิจด้วยความระมัดระวัง รอบคอบ ซื่อสัตย์สุจริต และเป็นธรรมต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน • เคารพสิทธิในการรับทราบข้อมูลข่าวสาร และเปิดเผยข้อมูลข่าวสารทีม่ คี ณ ุ ภาพ ถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ เท่าเทียม และทัว่ ถึง • ติดตามก�ำกับดูแลให้มีการปฏิบัติตามนโยบาย และจรรยาบรรณเกี่ยวกับผู้ถือหุ้นในการได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานและการปฏิบัติ ต่อผู้ถือหุ้นอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน การได้รับข้อมูลข่าวสารที่มีคุณภาพ การส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อให้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องส�ำคัญ รับทราบการด�ำเนินงานและกิจกรรมต่างๆ ของบริษัท แสดงความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะ และติดตามการปฏิบัติของคณะกรรมการ และฝ่ายบริหาร และจัดให้มีมาตรการป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน เพื่อประโยชน์ส่วนตนของกรรมการและผู้บริหาร และการไม่กระท�ำการใดๆ อันเป็นการละเมิดหรือลิดรอนสิทธิของผู้ถือหุ้น
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
102
การปฏิบัติต่อพนักงาน
• ส่งเสริมคุณภาพชีวิต จัดให้มีสภาพแวดล้อมการท�ำงาน อาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการท�ำงานที่ดี • ให้ความส�ำคัญกับการบริหารและพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง • บริหารจัดการระบบค่าตอบแทนและสวัสดิการอย่างเหมาะสมและเป็นธรรมเทียบเคียงกับบริษัทชั้นน�ำทั่วไป • แต่งตั้ง โยกย้าย ให้รางวัล และลงโทษด้วยความเสมอภาค เที่ยงธรรม • พนักงานสามารถร้องเรียนในกรณีที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมตามระบบและกระบวนการที่ก�ำหนด • ติดตามก�ำกับดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย และข้อบังคับเกี่ยวกับการท�ำงาน การปฏิบัติต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม
• ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน และให้ความส�ำคัญในการสื่อสาร • สนับสนุนการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน • ส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้นฟูขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น และพัฒนาคุณภาพสังคม • สนับสนุนการอนุรักษ์และฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อม • ด�ำเนินธุรกิจบนพื้นฐานความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม การปฏิบัติต่อลูกค้า
• ผลิต ส่งมอบสินค้าและบริการที่มีคุณภาพและมีความรับผิดชอบต่อลูกค้า • รับประกันสินค้าและบริการภายใต้เงื่อนไขในเวลาที่เหมาะสม • เปิดเผยข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าและบริการอย่างครบถ้วน ถูกต้อง • จัดระบบและกระบวนการให้ลูกค้าสามารถร้องเรียนเกี่ยวกับสินค้าและบริการ โดยด�ำเนินการอย่างดีที่สุด • ผู้บริหารและพนักงานทุกคนต้องรักษาความลับของลูกค้า • ไม่เรียก ไม่รับ หรือจ่ายผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สุจริตในการค้ากับลูกค้า รวมทั้งต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขการค้าอย่างเคร่งครัด การปฏิบัติต่อเจ้าหนี้
• ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้อย่างเคร่งครัด • ไม่เรียก ไม่รับ หรือจ่ายผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สุจริตในการค้ากับเจ้าหนี้ • ให้ความร่วมมืออย่างจริงจังในการแก้ปัญหาการเรียก รับ หรือจ่ายผลประโยชน์ที่ไม่สุจริตในการค้ากับเจ้าหนี้ • รายงานข้อมูลทางการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ตรงเวลา และสม�่ำเสมอ • แจ้งให้ทราบล่วงหน้ากรณีบริษัทไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขได้ เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
103
การปฏิบัติต่อคู่ค้า/ผู้จัดหาสินค้า
• ยึดหลักประโยชน์สูงสุดของบริษัทโดยไม่ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนตนหรือพวกพ้อง • ให้โอกาสแก่คู่ค้าหรือผู้จัดหาสินค้าอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน • มีหลักเกณฑ์การประเมิน คัดเลือกคู่ค้า และรูปแบบสัญญาที่เหมาะสมเป็นสากล • มีระบบการจัดการและการติดตามการปฏิบัติตามสัญญาและเงื่อนไขอย่างครบถ้วน • ไม่เรียก ไม่รับ หรือจ่ายผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สุจริตในการค้ากับคู่ค้าของบริษัท • แจ้งให้ทราบล่วงหน้ากรณีบริษัทไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขได้ เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไข การปฏิบัติต่อคู่แข่งทางการค้า
• ปฏิบัติภายใต้กรอบกติกาและหลักสากลของการแข่งขันที่ดี • ไม่แสวงหาข้อมูลความลับของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริตหรือไม่เหมาะสม • ไม่กล่าวหาในทางร้ายต่อคู่แข่งทางการค้า โดยปราศจากมูลความจริง • ไม่เรียก ไม่รับ หรือจ่ายผลประโยชน์ใดๆ ที่ไม่สุจริตในการค้ากับคู่แข่งทางการค้า • ปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการค้าอย่างเคร่งครัด การปฏิบัติต่อพันธมิตรทางธุรกิจ
• ปฏิบัติตามข้อตกลงและพันธสัญญาอย่างเคร่งครัด • ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ทางธุ ร กิ จ ในลั ก ษณะที่ เ อื้ อ อ� ำ นวยผลประโยชน์ ซึ่ ง กั น และกั น โดยค� ำ นึ ง ประโยชน์ สู ง สุ ด ของบริ ษั ท และอยู่บนพื้นฐานผลตอบแทนที่เป็นธรรมทั้งสองฝ่าย • ให้ข้อมูลที่เป็นจริง รายงานที่ถูกต้อง การเจรจาแก้ปัญหาตั้งอยู่บนพื้นฐานของความสัมพันธ์ทางธุรกิจ การปฏิบัติต่อภาครัฐ
• สนับสนุนการด�ำเนินงานของภาครัฐ และปฏิบัติตามนโยบายและหลักเกณฑ์ของหน่วยงานก�ำกับดูแลที่เกี่ยวข้อง • ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐ 3.2 การเคารพสิทธิมนุษยชน เพื่อให้สอดคล้องกับอนุสัญญาหรือข้อก�ำหนดของ องค์ ก รแรงงานระหว่ า งประเทศ (International Labour Organization: ILO) เป็นพื้นฐานในการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย สามกลุ่ม ได้แก่ พนักงาน ชุมชน และคู่ค้า บริษัทได้ยึดหลักการ ปฏิ บั ติ ด ้ า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนตามกฎหมายแรงงานเข้ า มาใช้ ในกระบวนการท�ำงาน และใช้เป็นแนวทางในการดูแลและคุม้ ครอง พนักงาน การจ้างงานซึง่ ครอบคลุมการจ้างงานในท้องถิน่ มาตัง้ แต่ ปี 2556 ส�ำหรับชุมชนบริษัทเคารพสิทธิในการรับรู้ข่าวสารและ การดูแลความปลอดภัยให้แก่ชุมชนอย่างต่อเนื่อง โดยใช้วิธีการ สื่ อ สารระหว่ า งกั น ในรู ป แบบต่ า งๆ อย่ า งเหมาะสมและ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพอยู ่ ต ลอดเวลา ทางด้ า นคู ่ ค ้ า บริ ษั ท มุ ่ ง เน้ น
ความเป็นธรรมในการปฏิบัติต่อแรงงานของคู่ค้า การก�ำหนด แนวปฏิ บั ติ ด ้ า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนไว้ ใ นจรรยาบรรณบริ ษั ท และการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ให้แก่พนักงานได้ทราบและถือปฏิบตั เิ พือ่ ให้พนักงานได้ตระหนัก ถึงความยั่งยืนของบริษัท เนื่องจากการเผชิญความเสี่ยงด้าน สิทธิมนุษยชนอาจส่งผลกระทบต่อความเชือ่ มัน่ ของผูม้ สี ว่ นได้เสีย และภาพลักษณ์ของบริษัทได้ 3.3 การใช้และดูแลทรัพย์สินทางปัญญา บริ ษั ท ก� ำ หนดให้ พ นั ก งานทุ ก คนมี ห น้ า ที่ ป กป้ อ ง ทรัพย์สินทางปัญญาของบริษัทและใช้ทรัพย์สินทางปัญญาของ บริษัทเพื่อประโยชน์ของบริษัท โดยพนักงานต้องเคารพสิทธิ
104
ทรัพย์สนิ ทางปัญญา หลีกเลีย่ งและไม่ละเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญา ของบริ ษั ท และผู ้ อื่ น และปฏิ บั ติ ต ามนโยบายการใช้ ร ะบบ เครือข่ายและคอมพิวเตอร์ และคู่มือการใช้งานระบบการใช้งาน เทคโนโลยีสารสนเทศเบือ้ งต้นของกลุม่ บริษทั ซึง่ ได้มกี ารก�ำหนด บัญชีผู้เข้าใช้งานและรหัสผ่าน และเป็นไปตามพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ ซึง่ การเข้าถึงข้อมูล หรือการใช้ทรัพย์สนิ ทางปัญญาจะสิน้ สุดลงเมือ่ พ้นสภาพการเป็น พนักงานของบริษัท 3.4 การบริหารความเสี่ยง บริ ษั ท โดยคณะกรรมการบริ ษั ท ได้ แ ต่ ง ตั้ ง “คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง” เป็นผูร้ บั ผิดชอบ และก�ำหนดให้ มีการพิจารณาและด�ำเนินการอย่างรอบคอบด้วยความระมัดระวัง รวมถึงจัดให้มีมาตรการป้องกันและเยียวยาผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้นต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ และได้ก�ำหนดและเผยแพร่ “นโยบายการบริหารความเสีย่ ง” ผ่านช่องทางการสือ่ สารภายใน และผ่ า นเว็ บ ไซต์ บ ริ ษั ท ส� ำ หรั บ การสื่ อ สารกั บ ผู ้ มีส ่ ว นได้เ สีย ภายนอก สรุปได้ดังนี้ นโยบายการบริหารความเสี่ยง • ส่งเสริมวัฒนธรรมการบริหารความเสี่ยง • ให้มีกระบวนการ แนวทาง และมาตรการบริหาร ความเสี่ยงที่มีคุณภาพ เหมาะสม และเพียงพอ • ให้ มี ก ารวั ด ผลความเสี่ ย งทั้ ง เชิ ง คุ ณ ภาพและ เชิงปริมาณ • ให้มกี ารก�ำหนดเพดานความเสีย่ ง และก�ำหนดเหตุการณ์ หรือระดับความเสี่ยงที่เป็นสัญญาณเตือนภัย (Warning Sign) • ให้มีระเบียบการปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษร แนวปฏิบัติด้านการบริหารจัดการความเสี่ยง ก�ำหนดให้มีการระบุปัจจัยเสี่ยง ก�ำหนดมาตรการในการ จั ด การและควบคุ ม ความเสี่ ย งให้ อ ยู ่ ใ นระดั บ ที่ ย อมรั บ ได้ เพือ่ ป้องกันหรือลดผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ทัง้ ต่อการประกอบธุรกิจ ภาพลักษณ์องค์กร และผู้มีส่วนได้เสีย โดยก�ำหนดให้มีการ ทบทวนและประเมินผลการด�ำเนินงานด้านการบริหารจัดการ ความเสีย่ ง และให้ความส�ำคัญกับสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า และ รายการผิดปกติตา่ งๆ เพือ่ ให้สามารถพิจารณาปรับเปลีย่ นกลยุทธ์ แผนงาน และวิธกี ารบริหารจัดการได้อย่างทันท่วงที และรายงาน คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริ ษั ท ทราบ ตามล�ำดับ เป็นประจ�ำทุกไตรมาส (รายละเอียดเปิดเผยในรายงาน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง โครงสร้างการจัดการ และปัจจัย ความเสี่ยง)
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
3.5 การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น บริษัทยึดมั่นในการด�ำเนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม และยึดมัน่ ในความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม รวมทั้งผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มตามหลักบรรษัทภิบาลที่ดีและ จรรยาบรรณทางธุรกิจ ซึง่ สอดคล้องกับนโยบายและเจตนารมณ์ ของบริษัทที่มุ่งมั่นในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นทุกรูปแบบ โดยได้เข้าร่วมในโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition Against Corruption: “CAC”) ตั้ ง แต่ ป ี 2559 และปั จ จุ บั น ได้ รั บ การต่ออายุใบรับรองเรียบร้อยแล้ว ตามมติคณะกรรมการ CAC เมื่ อ วั น ที่ 4 กุ ม ภาพั น ธ์ 2562 โดยใบรั บ รองดั ง กล่ า วจะมี อายุ 3 ปี นับจากวันที่มีมติ เพื่อเป็นการยืนยันถึงเจตนารมณ์ ของบริ ษั ท ในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต และเพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า บริษัทมีความแน่วแน่ในการด�ำเนินธุรกิจตามหลักธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้ และจะไม่เกีย่ วข้องกับการทุจริตคอร์รัปชั่น ในทุ ก รู ป แบบ ทั้ ง ทางตรงหรื อ ทางอ้ อ ม ไม่ ว ่ า จะเป็ น การ ด�ำเนินธุรกิจกับภาครัฐหรือภาคเอกชน และห้ามบุคลากรทุกคน ของบริษัทตั้งแต่คณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน เรียกรับ ด�ำเนินการหรือยอมรับการทุจริตและคอร์รัปชั่นในทุก รูปแบบ คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดนโยบายกรอบการด�ำเนิน การต่อต้านการทุจริต และการบริหารความเสีย่ งด้านการทุจริตและ ระบบการควบคุมภายใน รวมทัง้ ได้กำ� หนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ แนวปฏิบัติ และข้อก�ำหนดในการด�ำเนินงานของผู้เกี่ยวข้อง อย่างเหมาะสมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และใช้เป็นแนวทาง การปฏิ บั ติ ที่ ชั ด เจนในการป้ อ งกั น การทุ จ ริ ต และคอร์ รั ป ชั่ น ในทุกกิจกรรมทางธุรกิจ เพื่อน�ำพาองค์กรไปสู่การพัฒนาและ ด�ำเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน โดยได้มกี ารสือ่ สารให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียทราบ และถื อ ปฏิ บั ติ อ ย่ า งเคร่ ง ครั ด ผ่ า นช่ อ งทางการสื่ อ สารต่ า งๆ อย่างเหมาะสม ภายใต้การก�ำกับดูแลของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการธรรมาภิ บ าลและความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม คณะกรรมการตรวจสอบ และฝ่ายบริหาร ในฐานะผู้น�ำองค์กร ที่จะต้องแสดงบทบาทและจุดยืนในการต่อต้านการทุจริตและ คอร์รัปชั่นให้แก่บุคลากรของบริษัท พันธมิตรทางธุรกิจ และ สาธารณชน เกิดความเชื่อมั่นต่อการด�ำเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัท นโยบายการต่อต้านการทุจริต • จั ด ให้ ด� ำ เนิ น การส่ ง เสริ ม วั ฒ นธรรมการต่ อ ต้ า น การทุจริตและคอร์รัปชั่น • จัดให้ด�ำเนินการก�ำหนดหลักการ กระบวนการ และ แนวทางในการปฏิบัติที่ชัดเจนส�ำหรับการด�ำเนินธุรกิจ • จั ด ให้ มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในด้ า นความเสี่ ย ง จากการทุจริตและคอร์รัปชั่น • จัดให้ด�ำเนินการก�ำหนดหลักเกณฑ์การตรวจสอบ และการก�ำกับดูแลการปฏิบตั ติ ามนโยบายการต่อต้านการทุจริต และคอร์รัปชั่นอย่างเหมาะสม
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
• จัดให้มีการก�ำหนดระเบียบปฏิบัติและการบริหาร ความเสี่ยงด้านการทุจริตและคอร์รัปชั่นเป็นลายลักษณ์อักษร • จัดให้มีช่องทางการร้องเรียนและการแจ้งเบาะแส ด้านการทุจริตและคอร์รัปชั่นที่เหมาะสม การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านการทุจริต มีมาตรการ ในการป้องกันการทุจริต 5 กิจกรรมหลัก • การประเมินความเสี่ยงด้านการทุจริต ก�ำหนดให้มี การระบุความเสีย่ ง วิเคราะห์ผลกระทบ โอกาส และความรุนแรง และพิ จ ารณาการควบคุ ม ภายในและมาตรการที่ เ หมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงด้านการทุจริต • การจัดท�ำ ปรับปรุงและทบทวนนโยบาย ระเบียบ ค�ำสั่ง และจรรยาบรรณบริษัท อย่างสม�่ำเสมอ และสื่อสาร ให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจและปฏิบัติตามนโยบายและวิธีการในการ ต่อต้านการทุจริตและคอร์รัปชั่นของบริษัทอย่างเคร่งครัด • การสื่อสารและอบรม ให้จัดท�ำแผนการสื่อสารและ การจัดอบรมประจ�ำปี ช่องทาง ความถี่ เนือ้ หา และการด�ำเนินการ เพื่อให้เกิดประสิทธิผลทั้งต่อภายในและภายนอกองค์กร โดยมี วัตถุประสงค์ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านตระหนักถึงความส�ำคัญ การมีสว่ นร่วม ในการบริหารความเสี่ยงด้านการทุจริตของบริษัท ความโปร่งใส และความมุ่งมั่นในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นของบริษัท ในทุกระดับ เพือ่ สือ่ สารไปยังพันธมิตรธุรกิจและผูม้ สี ว่ นได้เสีย ปี 2561 บริษัทได้ด�ำเนินการสื่อสารและอบรม โดยมีการ ก�ำหนดคณะท�ำงานฯ ทีม่ าจากตัวแทนของหน่วยงานทุกสายงาน เพื่อมาจัดท�ำแผนการสื่อสารอบรมด้านการต่อต้านการทุจริต คอร์รปั ชัน่ ของบริษทั ประจ�ำปีโดยมีการจัดประชุมทุกรายไตรมาส ทั้งนี้การด�ำเนินการของบริษัทที่ส�ำคัญในด้านการสื่อสารอบรม ดังกล่าว มีดังนี้ 1. จัดอบรมหลักสูตรการต่อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชัน่ โดยเชิญวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิและเชี่ยวชาญเรื่องต่อต้านการ ทุจริตและคอร์รปั ชัน่ จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) เข้ามาบรรยายให้กับผู้บริหารและพนักงานทุกระดับ เพื่อความรู้ความเข้าใจ และปลูกฝังจิตส�ำนึกเรื่องการต่อต้าน การทุ จ ริ ต ให้ ชั ด เจนมากยิ่ ง ขึ้ น โดยครอบคลุ ม เนื้ อ หาหลั ก ๆ ในเรือ่ งของความรูท้ วั่ ไปเกีย่ วกับการทุจริตและคอร์รปั ชัน่ ปัญหา คอร์รัปชั่นในประเทศไทย บทบาทผู้น�ำองค์กรและพนักงาน ในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น 2. จัดให้มีนิทรรศการ และเผยแพร่ข้อมูลในรูปแบบ News Letter ที่เกี่ยวข้องกับต่อต้านการทุจริตและคอร์รัปชั่น 3. จั ด ให้ มี ก ารทดสอบและประเมิ น ความตระหนั ก รู ้ ความเข้ า ใจและยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต
105
และคอร์รปั ชัน่ อย่างถูกต้องผ่านระบบ e-learning โดยก�ำหนดให้ ผู้บริหารและพนักงานทุกคนต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบดังกล่าว อย่างน้อยร้อยละ 80 4. ด�ำเนินการประกาศ เผยแพร่ และแจ้งหนังสืออย่างเป็น ทางการเกี่ยวกับนโยบายและแนวปฏิบัติการต่อต้านทุจริตและ คอร์รปั ชัน่ ไปยังพันธมิตรทางธุรกิจและผูม้ สี ว่ นได้เสียได้รบั ทราบ และถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด 5. จัดการอบรม (Orientation) ด้านการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่นให้แก่พนักงานที่ได้รับการจ้างงานจากบริษัท • การสอบทานประวัตบิ คุ ลากรและผูม้ สี ว่ นได้เสียทาง ธุรกิจก่อนการจ้างและก่อนการเริม่ สัญญาหรือธุรกรรมระหว่างกัน โดยการด�ำเนินการจะต้องกระท�ำภายใต้การได้รบั การยินยอมและ เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งบริษัทได้มีการก�ำหนดเรื่อง การปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณ นโยบาย และมาตรการต่อต้านการทุจริต และคอร์รปั ชัน่ อย่างเคร่งครัด ไว้ในสัญญาจ้างโดยต้องมีการลงนาม เพื่อรับทราบข้อตกลงก่อนการเริ่มงานด้วย • การควบคุมภายใน ให้ทกุ หน่วยงานของบริษทั ก�ำหนด ขั้ น ตอนการท� ำ งาน และการแบ่ ง แยกหน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ ในทุกขั้นตอนอย่างชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อประโยชน์ ในการควบคุมภายใน และให้มกี ารทบทวนปรับปรุงอย่างสม�ำ่ เสมอ อย่างน้อยปีละครั้ง เมื่อได้ด�ำเนินการบริหารความเสี่ยงด้านทุจริตแล้ว บริษัท ได้ด�ำเนินการติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบาย การต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ โดยการติดตาม และประเมินผล การปฏิบัติตามนโยบายการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น - ก�ำหนดกลไกการแจ้งเหตุเบาะแสและการรายงาน การทุจริตอย่างชัดเจน จัดให้มีช่องทางการแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับ การทุจริตโดยไม่ต้องเปิดเผยตัวตน เพื่อคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแส ไม่ให้ถกู ท�ำร้ายหรือข่มขูใ่ นภายหลัง รวมทัง้ ขัน้ ตอนในการรายงาน การทุจริตไว้ในหัวข้อ 3.6 การร้องเรียนและการแจ้งเบาะแส - ก� ำ หนดผู ้ รั บ ผิ ด ชอบในการด� ำ เนิ น การติ ด ตามการ ปฏิบัติตามนโยบายด้านการทุจริตคอร์รัปชั่นในแต่ละด้านไว้ เป็นลายลักษณ์อักษร - ก�ำหนดให้คณะท�ำงานด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ท�ำหน้าที่ติดตามก�ำกับดูแล รวบรวมผลการประเมินความเสี่ยง ด้ า นการทุ จ ริ ต และติ ด ตามการด� ำ เนิ น งานตามแผนจั ด การ ความเสีย่ ง และรายงานให้ฝา่ ยบริหาร คณะกรรมการธรรมาภิบาล และความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการหรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องรับทราบอย่างสม�่ำเสมอ
106
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
คณะกรรมการตรวจสอบก�ำกับดูแลและสอบทานความ ครบถ้วนเพียงพอของกระบวนการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น ผ่านฝ่ายตรวจสอบภายใน และรายงานให้คณะกรรมการบริษัท ทราบ ซึ่งครอบคลุมกิจกรรมต่างๆ สรุปได้ดังนี้ • สอบทานนโยบาย ขั้ น ตอนการบริ ห ารจั ด การ ความเสีย่ งด้านการทุจริต รวมถึงการประเมินความเพียงพอของการ ควบคุมภายในเพือ่ ป้องกันการทุจริตและคอร์รปั ชัน่ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ • ก�ำหนดหลักเกณฑ์การตรวจสอบภายในและการ ก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานให้ครอบคลุมด้านการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชั่น เพื่อให้มั่นใจว่ามีการปฏิบัติตามนโยบายของบริษัท อย่างเหมาะสมและมีความสอดคล้องกับมาตรฐานสากล • สอบทานการต่อต้านการทุจริตในด้านนโยบาย การสือ่ สารและอบรมให้พนักงานทุกคน รวมถึงบุคคลภายนอกและ ผูเ้ กีย่ วข้องทางธุรกิจรับทราบและถือปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามนโยบาย และหลักการต่างๆ • สอบทานการปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บ ค� ำ สั่ ง และ จรรยาบรรณบริษัทว่าด้วยการต่อต้านการทุจริตและคอร์รัปชั่น การให้และรับของขวัญและของที่ระลึก เงินบริจาคเพื่อการกุศล และเงินสนับสนุน ค่ารับรอง การบริหารความเสีย่ งด้านการทุจริต เป็นต้น • ก�ำหนดแผนการตรวจสอบประจ�ำปีเพื่อสอบทาน การบริหารความเสีย่ งด้านทุจริตคอร์รปั ชัน่ ของบริษทั ให้เป็นไปตาม เกณฑ์หรือมาตรการที่ก�ำหนด
3. คณะกรรมการสอบสวนรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยการสัมภาษณ์ และ/หรือการตรวจสอบเอกสาร 4. คณะกรรมการสอบสวนประมวลผลและตั ด สิ น ข้อเท็จจริง เพื่อพิจารณาขั้นตอนและวิธีการจัดการที่เหมาะสม 5. คณะกรรมการสอบสวนก�ำหนดมาตรการแก้ไข และ บรรเทาความเสียหายให้กับผู้ที่ได้รับผลกระทบ และรายงานต่อ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เพือ่ รายงานต่อคณะกรรมการบริษทั ทราบ 6. คณะกรรมการสอบสวนรายงานผลลัพธ์ให้ผู้ร้องเรียน ทราบ กรณีผู้ร้องเรียนเปิดเผยตนเอง
ในปี 2561 ไม่พบประเด็นการกระท�ำผิดด้านการทุจริตหรือ การท�ำผิดด้านจริยธรรม รวมถึงไม่มกี รณีทกี่ รรมการหรือผูบ้ ริหาร ลาออกเนื่องจากประเด็นเรื่องการก�ำกับดูแลกิจการแต่อย่างใด
3.7 การรายงานการมีสว่ นได้เสียของกรรมการและผูบ้ ริหาร คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดให้กรรมการและ ผูบ้ ริหารของบริษทั ต้องจัดท�ำรายงานการมีสว่ นได้เสียของตนและ บุคคลที่เกี่ยวข้องตามรายละเอียดใน “แบบรายงานการมีส่วน ได้เสียของกรรมการและผูบ้ ริหาร” ส่งให้เลขานุการบริษทั จัดเก็บ และจัดส่งส�ำเนาให้ประธานกรรมการและประธานกรรมการ ตรวจสอบเป็นประจ�ำทุกปี และรายงานเพิ่มเติมทันทีที่มีการ เปลี่ยนแปลง เพื่อให้ข้อมูลการมีส่วนได้เสียเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ส�ำหรับเป็นข้อมูลแก่คณะกรรมการบริษทั ในการพิจารณาผูม้ สี ว่ น ได้เ สียซึ่ง ไม่มีสิทธิอ อกเสียงในการท�ำธุร กรรมของบริษัทที่มี หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์และสามารถช่วยให้ตดั สิน เพื่อประโยชน์ของบริษัทโดยรวมได้อย่างเหมาะสมและโปร่งใส
3.6 การร้องเรียนและการแจ้งเบาะแส ส� ำ หรั บ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ไม่ว่าจะเป็นผู้ปฏิบัติงาน หรือบุคคลภายนอกทีไ่ ด้รบั ผลกระทบหรือมีความเสีย่ งทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบจากการด�ำเนินงานของบริษัท หรือจากการปฏิบัติ หน้าทีข่ องผูบ้ ริหารและพนักงาน เกีย่ วกับการกระท�ำผิดกฎหมาย ไม่ปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณ รวมถึงพฤติกรรมทีส่ อ่ ถึงการทุจริต คอร์รัปชั่น บริษัทได้จัดช่องทางการร้องเรียนและแจ้งเบาะแส เกี่ยวกับการทุจริตและคอร์รัปชั่นผ่านช่องทางใดช่องทางหนึ่ง ที่สะดวกหรือเหมาะสม ดังนี้ กระบวนการด�ำเนินการเมื่อได้รับข้อร้องเรียน 1. ผู้รับเรื่องร้องเรียนรวบรวมข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับ การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณด้วยตนเองหรือมอบหมาย ให้บุคคลที่มีความเหมาะสมด�ำเนินการ 2. น� ำ เสนอกรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการสอบสวน
ส�ำหรับภายในองค์กร บริษัทได้ก�ำหนดแนวทาง และ กระบวนการร้ อ งทุ ก ข์ ส� ำ หรั บ พนั ก งานที่ เ ห็ น ว่ า มี ก ารปฏิ บั ติ ที่ไม่เป็นธรรม รวมทั้งการคุ้มครองผู้ร้องทุกข์ไม่ให้ถูกเลิกจ้าง หรือถูกลงโทษกรณีให้ขอ้ มูล ข้อเท็จจริง หรือพยานหลักฐานเกีย่ วกับ การร้องทุกข์ และ/หรือเป็นผู้พิจารณาค�ำร้องทุกข์ด้วยสุจริตใจ แม้จะเป็นเหตุให้เกิดผลกระทบต่อบริษัทไว้ในระเบียบว่าด้วย การบริหารงานบุคคล หมวดการอุทธรณ์และร้องทุกข์ไว้ด้วย ช่องทางการสือ่ สารอืน่ ๆ บริษทั ได้กำ� หนดช่องทางการรับแจ้ง ข้อร้องเรียน ข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะจากผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาบริษัทผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท หรือติดต่อเลขานุการบริษทั หน่วยงานประชาสัมพันธ์ หน่วยงาน ตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ หรืออาจใช้ ช่องทางอื่นอย่างใดอย่างหนึ่งที่เห็นว่าเหมาะสม
3.8 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดและประกาศนโยบาย เกีย่ วกับสังคมและสิง่ แวดล้อม เพือ่ เป็นแนวทางในการด�ำเนินงาน ของกลุ่มบริษัท ซึ่งมุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน การให้ความส�ำคัญในการสื่อสาร การสนับสนุนการพัฒนาและ เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น และสนับสนุนการอนุรักษ์และ
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อม มาอย่างต่อเนื่อง ดังจะเห็นได้จากการ ด�ำเนินการในทุกกระบวนการและช่วงเวลาของการพัฒนาและ ด�ำเนินโครงการของบริษัท กล่าวคือ ในช่วงการพัฒนาโครงการ ได้มีการศึกษารายละเอียดข้อมูลเบื้องต้นทางด้านเทคนิคควบคู่ ไปกับการศึกษาข้อมูลสภาพเศรษฐกิจ สังคม ขนบธรรมเนียม และ วิถีชีวิตของชุมชน เพื่อจัดท�ำแผนงานการมีส่วนร่วมของชุมชน และข้ อมู ล หลั ก ในการสื่ อ สารของโครงการ การจั ดกิจ กรรม เสริมสร้างความเข้าใจโครงการและการประชุมรับฟังความคิดเห็น ของชุมชนในเรื่องต่างๆ ภายใต้ข้อก�ำหนดของหน่วยงานราชการ และหน่วยงานก�ำกับดูแลที่เกี่ยวข้อง ในระหว่างงานก่อสร้าง โครงการมีการสือ่ สารท�ำความเข้าใจให้ความรูเ้ กีย่ วกับการด�ำเนินงาน และ นโยบายการด�ำเนินงานของบริษทั กับชุมชนอย่างต่อเนือ่ ง จนถึง ช่วงที่โครงการมีการด�ำเนินงานแล้วก็ยังคงมีการติดต่อสื่อสาร อย่างใกล้ชิดและสม�่ำเสมอกับชุมชน มีการรับฟังข้อเสนอแนะ เพือ่ พัฒนาปรับปรุงกิจกรรมต่างๆ ให้สอดคล้องกับความต้องการ ของชุมชนอย่างแท้จริง นอกจากนี้ ยังมีการด�ำเนินการที่ส�ำคัญ ได้แก่ การจัดให้มี “คณะกรรมการผู้ตรวจการสิ่งแวดล้อมโรงไฟฟ้าราชบุรี” ของ บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด ซึง่ ประกอบด้วย ผูแ้ ทนจากชุมชน ผู้น�ำชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และจังหวัด ท�ำหน้าที่ ในการติดตามตรวจสอบการด�ำเนินการของโรงไฟฟ้าให้เป็นไปตาม มาตรการการป้องกันแก้ไขและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมของ โรงไฟฟ้าราชบุรี ตามที่ระบุในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม และเป็นองค์กรกลางในการติดต่อประสานงานกับ โรงไฟฟ้า รวมถึงเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารข้อเท็จจริง ปัญหาหรือ ประเด็นทีอ่ าจเป็นปัญหา ข้อเสนอแนะจากชุมชน ซึง่ เป็นช่องทาง ส�ำคัญอีกทางหนึ่งในการมีส่วนร่วมของชุมชนในการติดตาม ตรวจสอบการด�ำเนินงานของบริษัทอย่างมีระบบ และต่อเนื่อง ปี 2561 บริษัทได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ชุมชนผ่านทางการด�ำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม สามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมในหัวข้อ ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 3.9 การท�ำรายการทีม่ หี รืออาจมีความขัดแย้ง ของผลประโยชน์ คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดแนวทางในการจัดการ เรื่องการมีส่วนได้เสียอย่างโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ ไว้ในระเบียบบริษทั ว่าด้วยคณะกรรมการบริษทั ว่า ในการออกเสียง ในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท “กรรมการที่มีส่วนได้เสีย ในเรื่ อ งใดไม่ มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งลงคะแนนในเรื่ อ งนั้ น ” โดย ได้ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดเสมอมา ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นผูม้ บี ทบาทส�ำคัญในการก�ำหนด มาตรการในการจัดการและป้องกันความขัดแย้งของผลประโยชน์
107
รวมถึงการก�ำกับดูแลการด�ำเนินการต่างๆ เป็นไปด้วยความ สมเหตุสมผล รวมทั้งการปฏิบัติและการเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้ ว นตามข้ อ ก� ำ หนดที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ ประโยชน์ โ ดยรวม ของบริษัท คณะกรรมการบริษัท โดยการพิจารณากลั่นกรองและ เห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ ได้ก�ำกับดูแลการเข้าท�ำ รายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทและบริษัทย่อย ให้เป็นไปเพื่อ ประโยชน์โดยรวมของบริษัท และบริษัทย่อย โดยพิจารณาความ สมเหตุสมผลทั้งในด้านราคาและเงื่อนไขที่ปฏิบัติเช่นเดียวกัน หากท�ำรายการกับธุรกิจทั่วไปอื่นๆ และให้มีการเปิดเผยการเข้า ท�ำรายการอย่างถูกต้องและครบถ้วนตามข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้อง เพือ่ ความคล่องตัวในการด�ำเนินงานของบริษทั คณะกรรมการบริษทั ได้อนุมตั ใิ ห้กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่มอี ำ� นาจอนุมตั กิ ารท�ำรายงาน เกี่ ย วโยงกั น ที่ เ ป็ น รายการธุ ร กิ จ ปกติ ห รื อ รายการสนั บ สนุ น ธุรกิจปกติทมี่ เี งือ่ นไขและข้อตกลงทางการค้าในลักษณะโดยทัว่ ไป ในวงเงินไม่เกินครั้งละ 30 ล้านบาท และให้รายงานสรุปการท�ำ ธุรกรรมดังกล่าวในการประชุมคณะกรรมการบริษัทรับทราบ ทุกไตรมาส ซึ่งเป็นไปตามมาตรา 89/12 แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 3.10 มาตรฐานสากลด้านสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย บริษทั ส่งเสริมให้กลุม่ บริษทั น�ำมาตรฐานการด�ำเนินงาน ซึง่ เป็นทีย่ อมรับในระดับประเทศและระดับสากล อาทิ มาตรฐาน สิ่งแวดล้อม ISO 14001 มาตรฐานการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัย OHSAS 18001 รวมถึงมาตรฐานต่างๆ ของ กรมโรงงานอุตสาหกรรม เข้าใช้งานในโรงไฟฟ้าของกลุม่ บริษทั และมีการติดตามตรวจสอบระบบมาอย่างต่อเนือ่ งและจริงจัง 3.11 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน บริษทั ให้ความส�ำคัญด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานของพนักงาน คู่ค้า และผู้มีส่วน ได้เสียอื่นๆ ที่มาปฏิบัติงานกับบริษัทโดยเฉพาะภายในบริเวณ บริษัท โดยจัดอบรมและให้ความรู้ความเข้าใจ และสร้างความ ตระหนั ก ต่ อ หน้ า ที่ ใ นการด� ำ เนิ น งาน และการปฏิ บั ติ ง าน ให้มีความปลอดภัยในทุกขั้นตอน ภายใต้การก�ำกับดูแลของ คณะท�ำงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานเป็นผู้ท�ำหน้าที่ติดตาม และประเมินผล รวมทั้ง หาแนวทางป้องกันและแก้ไขให้ปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย และเหมาะสมกับสภาวการณ์ และรู้คุณค่าของการใช้ทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สอดคล้องกับนโยบายและ จรรยาบรรณบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ก�ำหนด และประกาศเผยแพร่ แ ละสื่ อ สารผ่ า นช่ อ งทางต่ า งๆ ทั้งภายในบริษัท และบนเว็บไซต์ของบริษัท สรุปดังนี้
108
นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน • ส่งเสริมและพัฒนาระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานตามมาตรฐานสากล สอดคล้องกับกฎหมาย และข้อก�ำหนดอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างเคร่งครัด • ด�ำเนินการเพื่อควบคุมและป้องกันความสูญเสีย ในรู ป แบบต่ า งๆ รวมทั้ ง รั ก ษาสภาพแวดล้ อ มในการท�ำงาน ทีป่ ลอดภัย โดยถือเป็นหน้าทีร่ บั ผิดชอบของผูบ้ ริหารและพนักงาน ทุกคนในการรายงานอุบัติเหตุ หรืออุบัติการณ์ ตามขั้นตอน ที่ก�ำหนด • จัดให้มีการประชาสัมพันธ์และสื่อสาร เพื่อสร้าง ความรูค้ วามเข้าใจและเผยแพร่ให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียทีเ่ กีย่ วข้องทราบ และปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง • กรณีพบการปฏิบัติใดไม่ปลอดภัย ไม่เป็นไปตาม ข้อก�ำหนด มาตรฐาน หรืออาจมีผลกระทบด้านความปลอดภัย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ มในการท� ำ งาน ให้ ยุ ติ ก าร ปฏิบัติงานเท่าที่ท�ำได้ชั่วคราว และแจ้งผู้เกี่ยวข้องตามล�ำดับ เพื่อด�ำเนินการแก้ไข • ติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานให้เกิดการ ปฏิบัติอย่างจริงจังและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในปี 2561 บริษัทได้ด�ำเนินการตรวจติดตามการ ด�ำเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานให้เป็นไปตามแผนงานและตามมาตรฐานทีก่ ฎหมาย ก�ำหนด ภายใต้การก�ำกับดูแลอย่างใกล้ชิดของคณะกรรมการ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ซึ่งมีการประชุมร่วมกันทั้งสิ้น 12 ครั้ง โดยมีการด�ำเนินการ จัดกิจกรรมต่างๆ ทีส่ ำ� คัญด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน สรุปได้ดังนี้
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
1. ฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมหนีไฟ ประจ�ำปี 2561 ร่วมกับหน่วยงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ณ ส�ำนักงานของบริษัท เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561 2. จัดการอบรมหลักสูตรด้านความปลอดภัยต่างๆ ให้แก่พนักงานและผู้เกี่ยวข้อง อาทิ หลักสูตรความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานส�ำหรับลูกจ้าง เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2561 มีผู้เข้ารับการอบรมจ�ำนวน 23 คน หลั ก สู ต รการดั บ เพลิ ง ขั้ น ต้ น เมื่ อ วั น ที่ 17 สิ ง หาคม 2561 มีผเู้ ข้ารับการอบรมจ�ำนวน 17 คน หลักสูตรวิธกี ารใช้งานอุปกรณ์ หน้ากากกันควันส่วนบุคคลเพื่อการอพยพหนีไฟ ระหว่างวันที่ 1-2 ตุลาคม 2561 พร้อมแจกอุปกรณ์ให้ผู้เข้ารับการอบรม และผู้เกี่ยวข้อง จ�ำนวน 15 คน 3. จัดนิทรรศการ RATCH Go Green@Work 2018 มีผู้บริหาร พนักงานบริษัท และบริษัทในเครือเข้าร่วมกิจกรรม ทั้งสิ้น 116 คน โดยในงานมีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจและรณรงค์ให้พนักงานเกิดความตระหนักเกี่ยวกับ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน รวมถึงการอนุรักษ์พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม ในปี 2561 บริษทั มีสถิตจิ ำ� นวนวันท�ำงานอย่างต่อเนือ่ ง โดยไม่ มี อุ บั ติ เ หตุ ถึ ง ขั้ น หยุ ด งานจ� ำ นวน 551,780 ชั่ ว โมง การท�ำงาน โดยในช่วงต้นปี 2561 พนักงานบริษัทเกิดอุบัติเหตุ ลื่ น หัวเข่ากระแทก 1 เหตุการณ์ ซึ่งบริษัทได้ก�ำชับผู้รับเหมา ท�ำความสะอาดให้ปฏิบัติงานตามขั้นตอนในการตั้งป้ายเตือน อันตราย (ระวังลื่นหกล้ม) ก่อนเริ่มการปฏิบัติงาน ตามที่บริษัท ได้ก�ำหนดไว้แล้วอย่างเคร่งครัด จากการด�ำเนินงานด้วยความมุ่งมั่นและปฏิบัติตาม นโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานอย่างเคร่งครัด ท�ำให้บริษัทได้รับโล่รางวัลอาคาร โดดเด่นด้านความปลอดภัย ระดับเงิน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
109
4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส
4.1 ประเภทของข้อมูลที่ท�ำการเปิดเผย บริษทั เปิดเผยข้อมูลทัง้ ข้อมูลทีเ่ ป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน เปิดเผยตามรอบระยะเวลาบัญชี (Periodic Report) และ ตามเหตุการณ์ (Non-Periodic Report) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
ให้ผู้รับสารได้รับข้อมูลที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน เพียงพอ และ ทันกาล และเป็นประโยชน์ในการพิจารณาประกอบการตัดสินใจ ลงทุน ในรอบปี 2561 บริษัทได้เปิดเผยข้อมูลและสารสนเทศ สรุปได้ ดังนี้
การรายงานสารสนเทศปี 2561
ครั้ง
- การเปิดเผยสารสนเทศประเภทที่ต้องรายงานตามรอบระยะเวลาบัญชี (Periodic Reports)
32
- การเปิดเผยสารสนเทศตามเหตุการณ์ (Non-Periodic Report)
35
- การประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
4
- การพบนักลงทุนในประเทศ (Company Visit)
48
- การพบนักลงทุนในประเทศ (Roadshow)
2
- การพบนักลงทุนต่างประเทศ (Roadshow)
1
- การแถลงข่าวผลประกอบการ และการด�ำเนินงานส�ำคัญของบริษัท
2
- การมีส่วนร่วมของสื่อมวลชนในกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัท
3
- การส่งข่าวและภาพข่าวประชาสัมพันธ์ให้แก่สื่อมวลชน
17
- การน�ำผู้ถือหุ้นและนักลงทุนเข้าเยี่ยมชมกิจการทั้งในและต่างประเทศ
2
- การจัดนิทรรศการ
6 1
- การสัมภาษณ์ผู้บริหาร
17,509
- สถิติการเข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ของบริษัท (เฉลี่ยต่อเดือน) (วันที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 รวมทั้งสิ้น 210,117 ครั้ง) 4.2 คุณภาพของข้อมูล คุณภาพของข้อมูล หมายถึง ความถูกต้อง ชัดเจน ครบถ้วน เพียงพอ เป็นปัจจุบนั ทันเวลา โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ โดยข้อมูลและสารสนเทศที่ส�ำคัญของบริษัทที่ท�ำการเปิดเผย มีทงั้ ข้อมูลทีเ่ ป็นตัวเงินและไม่ใช่ตวั เงิน ลักษณะข้อมูลไม่ใช่ขอ้ มูล ด้านเดียว แต่มีทั้งข้อมูลเชิงบวกและเชิงลบ การเปิดเผยข้อมูล และสารสนเทศเป็ น ไปตามหลั ก เกณฑ์ แ ละข้ อ ก� ำ หนด ทีเ่ กีย่ วข้อง อาทิ การเปิดเผยสารสนเทศทีส่ ำ� คัญให้ทราบโดยทันที การเผยแพร่สารสนเทศต่อประชาชนโดยทั่วถึง การชี้แจงกรณี ที่มีข่าวลือหรือข่าวสารต่างๆ การด�ำเนินการเมื่อการซื้อขาย หลักทรัพย์ผดิ จากภาวะปกติ ไม่ทำ� การเปิดเผยในเชิงส่งเสริมโดย ไม่มีเหตุอันควร และการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทโดยบุคคล ภายใน เป็นต้น ในขณะเดียวกันการเปิดเผยข้อมูลต้องไม่สร้าง ภาระค่าใช้จ่ายแก่บริษัทจนเกินไป และไม่ท�ำให้บริษัทสูญเสีย ความสามารถในการแข่งขันด้วยเช่นกัน ในส่วนรายละเอียดอืน่ ๆ ได้กล่าวไว้ในหัวข้อสิทธิของผูถ้ อื หุน้ และรายงานความรับผิดชอบ
ของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินทีค่ ณะกรรมการบริษทั ได้จดั ท�ำและแสดงไว้ควบคูก่ บั รายงานของผูส้ อบบัญชีในรายงาน ประจ�ำปี และความเห็นเกี่ยวกับคุณภาพรายงานทางการเงิน ของคณะกรรมการตรวจสอบดังที่ปรากฏในหัวข้อรายงานของ คณะกรรมการตรวจสอบ นอกจากการเปิดเผยสารสนเทศทีม่ คี ณ ุ ภาพต่อบุคคล ภายนอกจะสะท้อนให้เห็นถึงความโปร่งใสในการด�ำเนินงานของ บริษัทแล้ว ยังเป็นสิ่งส�ำคัญที่จะส่งเสริมความเชื่อมั่นและความ มัน่ ใจของผูล้ งทุนและผูท้ เี่ กีย่ วข้องอีกด้วย โดยคณะกรรมการบริษทั ได้ทำ� หน้าทีก่ ำ� กับดูแล ติดตาม และทบทวนให้ผมู้ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบ ด� ำ เนิ น การตามที่ ก� ำ หนดไม่ เ พี ย งแต่ ก ารเปิ ด เผยสารสนเทศ ในระดับขั้นต�่ำที่กฎหมายหรือข้อบังคับก�ำหนดเท่านั้น แต่ยัง ให้เน้นความส�ำคัญและความเสมอภาคของผู้ลงทุนในการรับรู้ สารสนเทศอีกด้วย
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
110
4.3 ช่องทางการเปิดเผยข้อมูล บริ ษั ท ใช้ ช ่ อ งทางการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ผ่ า นสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ของ ตลท. เป็นช่องทางหลัก และช่องทางอื่นๆ อย่างเหมาะสม อาทิ การเผยแพร่ผา่ นเว็บไซต์บริษทั การแถลงข่าว ผลประกอบการ การประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ การส่งข่าวแก่ สื่อมวลชน การพบนักลงทุนในประเทศและในต่างประเทศ และ การจั ด กิ จ กรรมอื่ น ๆ ดั ง รายละเอี ย ดที่ ป รากฏในประเภท ของข้อมูลที่ท�ำการเปิดเผย คณะกรรมการบริ ษั ท และฝ่ า ยบริ ห ารได้ ใ ห้ ค วาม ส�ำคัญกับการเปิดเผยข้อมูลและสารสนเทศที่ส�ำคัญ โดยมีการ ตรวจสอบติดตามให้มีการปฏิบัติตามหลักการและกฎเกณฑ์ ที่ก�ำหนด และบังคับใช้อย่างเคร่งครัด มีการก�ำหนดหน่วยงาน และผูร้ บั ผิดชอบในการเปิดเผยข้อมูลในเรือ่ งต่างๆ ไว้อย่างชัดเจน รวมทัง้ พัฒนาช่องทางการสือ่ สารเพือ่ ให้ขอ้ มูลทีเ่ ปิดเผยมีคณ ุ ภาพ ดังนี้ • ผู้รับผิดชอบการเปิดเผยข้อมูล บริษัทได้ก�ำหนด ผูม้ หี น้าทีเ่ ปิดเผยข้อมูลและสารสนเทศของบริษทั ได้แก่ ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และรองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ โดยมีหน่วยงานต่างๆ รับผิดชอบการจัดท�ำข้อมูล ที่เกี่ยวข้องดังนี้ • ช่องทางการสื่อสาร บริษัทยึดหลักการเข้าถึงข้อมูล และสารสนเทศที่ส�ำคัญของบริษัทอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ผ่ า นช่ อ งทางการสื่ อ สารในรู ป แบบต่ า งๆ อย่ า งเหมาะสม มีลักษณะครอบคลุมทั้งการสื่อสารทางเดียวและการสื่อสาร สองทาง โดยข้อมูลที่ท�ำการเผยแพร่จัดท�ำเป็นสองภาษา คือ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ และท�ำการเผยแพร่ออกไปพร้อมกัน ผ่านระบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของ ตลท. เป็นช่องทางหลัก และ เพื่อขยายโอกาส เพิ่มความสะดวกในการเผยแพร่ข้อมูล และ สร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกันในการสือ่ สารกับผูถ้ อื หุน้ นักลงทุน ผู้สนใจทั่วไป และสาธารณชน บริษัทยังได้มีการเปิดเผยข้อมูล ผ่านเว็บไซต์ของบริษัท (www.ratch.co.th) การจัดการประชุม นั ก วิ เ คราะห์ ห ลั ก ทรั พ ย์ การพบนั ก ลงทุ น ในประเทศและ ต่างประเทศ การแถลงข่าวผลประกอบการประจ�ำไตรมาสและ ประจ�ำปี การจัดส่งข่าวและภาพข่าวกิจกรรมของบริษัทให้แก่ สื่อมวลชน การสัมภาษณ์ผู้บริหาร การจัดนิทรรศการ การน�ำ ผูถ้ อื หุน้ นักลงทุนสถาบัน และนักวิเคราะห์หลักทรัพย์เข้าเยีย่ มชม กิจการ และการจัดกิจกรรมสัมพันธ์กับสื่อมวลชน เป็นต้น 4.4 งานนักลงทุนสัมพันธ์ บริษทั ได้จดั ให้มี “ส่วนนักลงทุนสัมพันธ์” เป็นหน่วยงาน ประจ�ำทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบการติดต่อสือ่ สารและให้บริการข้อมูล ข่าวสาร และจัดกิจกรรมต่างๆ ของบริษทั เพือ่ สร้างความสัมพันธ์ อันดีระหว่างบริษัทกับผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนทั่วไป
นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และภาครัฐที่เกี่ยวข้อง อย่างเท่าเทียม และเป็ น ธรรม รวมถึ ง การจั ด ท� ำ แผนงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ประจ�ำปี ซึง่ ผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั เข้าร่วมในการด�ำเนินงาน อย่างสม�ำ่ เสมอ โดยทีก่ รรมการผูจ้ ดั การใหญ่และผูบ้ ริหารระดับสูง ที่เกี่ยวข้องเป็นผู้แถลงผลการด�ำเนินงานเพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติม และชี้แจงตอบข้อซักถามในการประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ รวมทั้ ง การพบนั ก ลงทุ น ทั้ ง ในประเทศและในต่ า งประเทศ การติดต่อส่วนนักลงทุนสัมพันธ์สามารถท�ำได้โดยส่งเอกสาร ทางไปรษณีย์ตามที่อยู่ของบริษัท ทางโทรศัพท์ติดต่อหมายเลข 0 2794 9841 ทางโทรสารหมายเลข 0 2794 9888 ต่อ 9841 เว็ บ ไซต์ บ ริ ษั ท ที่ www.ratch.co.th และทางจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ที่ IR@ratch.co.th 4.5 การเปิ ด เผยนโยบายและการจ่ า ยค่ า ตอบแทน กรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการบริษัทได้เปิดเผยนโยบายการจ่าย ค่ า ตอบแทนส� ำ หรั บ กรรมการและผู ้ บ ริ ห ารตามหลั ก เกณฑ์ โดยเปิดเผยค่าตอบแทนกรรมการเป็นรายบุคคลและแยกประเภท ค่าตอบแทน และเปิดเผยค่าตอบแทนผู้บริหารแยกประเภท ค่าตอบแทนเช่นกัน นอกจากนีย้ งั ได้เพิม่ เติมการเปิดเผยค่าตอบแทน โดยรวมของพนั ก งานไว้ ด ้ ว ย (รายละเอี ย ดตามที่ ป รากฏ ในโครงสร้างการจัดการ) 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
5.1 โครงสร้างคณะกรรมการ • องค์ประกอบและคุณสมบัติ (รายละเอียดปรากฏ ในโครงสร้างการจัดการ) •
ความเป็นอิสระของประธานกรรมการ ประธานกรรมการเป็นกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหาร แม้ว่าประธานกรรมการจะเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ คือ กฟผ. ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 45 ของจ�ำนวนหุ้นทั้งหมดของบริษัท แต่คณะกรรมการของบริษทั ประกอบด้วย กรรมการอิสระจ�ำนวน 7 คน จากกรรมการทัง้ หมดจ�ำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 53.85 หรือมากกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด จึงสามารถ มัน่ ใจได้วา่ กรรมการได้มกี ารปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นฐานะตัวแทนผูถ้ อื หุน้ มีการถ่วงดุลและสอบทานที่เหมาะสม ประธานกรรมการได้ ปฏิบตั หิ น้าทีก่ ารเป็นประธานอย่างเป็นอิสระ ไม่ครอบง�ำหรือชีน้ ำ� ความคิดในระหว่างการอภิปราย และส่งเสริมให้กรรมการทุกคน ได้มโี อกาสร่วมอภิปรายและแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มทีโ่ ดยให้ เวลาอย่างเพียงพอและเหมาะสมเพือ่ พิจารณาตัดสินใจเรือ่ งต่างๆ อย่างรอบคอบ ครบถ้วน เพียงพอ และเกิดประโยชน์ต่อบริษัท ส่งผลให้ได้มติที่ประชุม อย่างสมเหตุสมผล และมีประสิทธิภาพ
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
•
การแยกต�ำแหน่งประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานกรรมการบริ ษั ท ไม่ ใ ช่ บุ ค คลเดี ย วกั บ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และไม่มคี วามสัมพันธ์ใดๆ กับฝ่ายบริหาร มีการแบ่งแยกต�ำแหน่งของประธานกรรมการและกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ออกจากกัน ก่อให้เกิดการถ่วงดุลอ�ำนาจทีเ่ หมาะสม ไม่ให้คนใดคนหนึง่ มีอำ� นาจโดยไม่จำ� กัด และมีการก�ำหนดอ�ำนาจ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบแตกต่างกันอย่างชัดเจน โดยประธาน กรรมการเป็นผู้น�ำและมีส่วนส�ำคัญในการตัดสินใจเรื่องนโยบาย ของบริษัทอันเป็นผลมาจากการประชุมคณะกรรมการบริษัท ที่ได้พิจารณา ทบทวน และก�ำหนดเป้าหมายทางธุรกิจร่วมกับ ฝ่ายบริหาร เป็นผูน้ ำ� ประชุมคณะกรรมการบริษทั ให้มปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผลโดยการสนับสนุนให้กรรมการทุกคนได้มสี ว่ นร่วม ในการประชุ ม และแสดงความเห็ น อย่ า งเป็ น อิ ส ระ ให้ ก าร สนับสนุนและให้ค�ำแนะน�ำในการด�ำเนินธุรกิจต่อฝ่ายบริหาร ผ่านทางกรรมการผู้จัดการใหญ่อย่างสม�่ำเสมอ โดยไม่ก้าวก่าย ในงานประจ� ำ อั น เป็ น ภาระความรั บ ผิ ด ชอบของฝ่ า ยบริ ห าร ในขณะที่กรรมการผู้จัดการใหญ่เป็นกรรมการที่เป็นผู้บริหาร เพียงคนเดียวของบริษทั และเป็นเจ้าหน้าทีส่ งู สุดของฝ่ายบริหารของบริษทั มีอ�ำนาจหน้าที่ดังรายละเอียดในโครงสร้างการจัดการ •
การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น ไม่ มี ก รรมการรายใดของบริ ษั ท ที่ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ในบริษทั จดทะเบียนเกินกว่า 3 แห่ง ซึง่ สอดคล้องกับระเบียบบริษทั ว่าด้วยคณะกรรมการบริษัท และข้อเสนอแนะของ ตลท. ในการ พิจารณาประสิทธิภาพและการอุทศิ เวลาในการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นฐานะ กรรมการของบริษัท ทั้งนี้ สามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม ของกรรมการรายบุคคลได้จากหัวข้อประวัติกรรมการบริษัท นายกิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ไม่ได้เป็นกรรมการในบริษัทอื่นที่นอกเหนือจากบริษัทย่อยและ บริษัทร่วมทุนของบริษัท ส่วนกรรมการและผู้บริหารรายอื่น ของบริษทั นัน้ คณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาให้ความเห็นชอบ การเป็นกรรมการและผู้บริหารในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมทุน ของบริษทั ซึง่ สอดคล้องกับความรูค้ วามสามารถและภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดระเบี ย บว่ า ด้ ว ย หลักเกณฑ์การก�ำกับดูแลบริษทั ย่อย บริษทั ในเครือและบริษทั ร่วม ประกอบด้วยหลักเกณฑ์การแต่งตั้งและหน้าที่ของผู้แทนของ บริษัทที่ได้รับมอบหมายให้เป็นกรรมการและผู้ถือหุ้นในกิจการ ที่บริษัทเข้าลงทุนไว้อย่างชัดเจน เพื่อถ่ายทอดนโยบายของ คณะกรรมการบริษทั และรายงานการด�ำเนินงานของกิจการเหล่านัน้
111
(รายละเอียดผู้แทนบริษัทที่ได้รับมอบหมายให้เป็นกรรมการ และผู้ถือหุ้นในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม ปรากฏในข้อมูล การด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการและผู้บริหารในกลุ่มบริษัท) • การสรรหากรรมการ (รายละเอียดเปิดเผยไว้ ในโครงสร้างการจัดการ) • เลขานุการคณะกรรมการและเลขานุการบริษัท (รายละเอียดเปิดเผยไว้ในโครงสร้างการจัดการ) 5.2 คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อย จ� ำ นวน 5 คณะ ประกอบด้ ว ย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการทรั พ ยากรบุ ค คลและก� ำ หนดค่ า ตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการกลัน่ กรองการลงทุน และคณะกรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม โดยพิจารณาตามความเหมาะสมและความจ�ำเป็นเพือ่ ช่วยแบ่งเบา ภาระในการศึกษารายละเอียดและพิจารณากลัน่ กรองเรือ่ งต่างๆ เป็ น การเฉพาะ และช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการปฏิ บั ติ ง าน ตามความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท (รายละเอียด เปิดเผยในโครงสร้างการจัดการ) 5.3 บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั ตระหนักในบทบาท หน้าที่ และ ความรั บ ผิ ด ชอบในฐานะคณะกรรมการบริ ษั ท โดยยึ ด ถื อ ความเป็นอิสระในการตัดสินใจมาอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ เป้าหมายสูงสุด ในการด�ำเนินงานคือ ประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้นโดยรวม กล่าวคือกรรมการทุกคนให้ความส�ำคัญและตระหนักในหน้าที่ ทีพ่ งึ ปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ ป็นเจ้าของกิจการและเป็นผูแ้ ต่งตัง้ กรรมการ เพื่อท�ำหน้าที่และรับผิดชอบในการก�ำกับดูแลการบริหารกิจการ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น (Fiduciary Duty) ครอบคลุม หน้าที่ส�ำคัญ 4 ประการ ได้แก่ การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ ระมัดระวัง (Duty of Care) การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต (Duty of Loyalty) การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น (Duty of Obedience) และการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ถือหุ้นอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และทันกาล (Duty of Disclosure) คณะกรรมการบริษทั มีบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ โดยสรุปดังนี้ • พิจารณาก�ำหนด ทบทวน และอนุมัติ กลยุทธ์ แผนธุรกิจ นโยบาย งบประมาณ ทิศทางการด�ำเนินธุรกิจและการ ก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทร่วมกับฝ่ายบริหารเป็นประจ�ำทุกปี
112
• พิจารณาและอนุมัติกลยุทธ์การบริหารทรัพยากร บุ ค คล แผนพั ฒ นาผู ้ บ ริ ห าร โครงสร้ า งองค์ ก ร โครงสร้ า ง ค่าตอบแทน และแผนค่าตอบแทน • ก�ำกับดูแลหลักเกณฑ์ วิธีการ กระบวนการสรรหา ถอดถอน และเลิกจ้างกรรมการและผู้บริหารระดับสูง • ก�ำกับดูแลกระบวนการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ของผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ผ ล โดยเปรี ย บเที ย บกั บ เป้าหมายที่ก�ำหนดร่วมกัน • ก�ำหนดให้มีการสื่อสารวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และ ผลการด�ำเนินงานของบริษทั ให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน ทราบและเข้าใจทั่วทั้งองค์กร • ติดตามความก้าวหน้า ประสิทธิภาพ และผลส�ำเร็จ การด�ำเนินงานตามกลยุทธ์ เปรียบเทียบกับเป้าหมายระยะสั้น และระยะยาว เปรียบเทียบประสิทธิภาพผลการด�ำเนินงานกับ คูแ่ ข่งขันอืน่ และเปิดเผยผลการปฏิบตั แิ ละการก�ำกับดูแลกิจการ ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีไว้ในรายงานประจ�ำปี และ ให้ฝ่ายบริหารน�ำเสนอรายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เป็นประจ�ำ ดังนี้ - รายเดื อ น ได้ แ ก่ รายงานการวิ เ คราะห์ ผลการด�ำเนินงานประจ�ำเดือน รายงานสรุปเงินลงทุนระยะสั้น และระยะยาว งบกระแสเงินสด รายงานพลังงานไฟฟ้าสูงสุด และ พลังงานไฟฟ้าในระบบของ กฟผ. และของประเทศไทย รายงาน การถื อ และ/หรื อ การเปลี่ ย นแปลงการถื อ หลั ก ทรั พ ย์ ของกรรมการ ผู้บริหาร คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ และรายงานราคาหุ้นหมวดพลังงาน - รายไตรมาส เช่น รายงานงบการเงินประจ�ำ ไตรมาส รายงานการบริหารความเสีย่ ง และรายงานความก้าวหน้า โครงการที่บริษัทเข้าลงทุน - รายปี ได้ แ ก่ งบการเงิ น ประจ� ำ ปี การ ประเมินผลการด�ำเนินงานประจ�ำปีเปรียบเทียบกับเป้าหมาย และรายงานการประชุมคณะกรรมการชุดย่อย ปี 2561 คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาทบทวน แผนยุทธศาสตร์และกลยุทธ์การด�ำเนินธุรกิจอย่างรอบคอบ และ ได้อนุมตั วิ สิ ยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ และเกณฑ์ประเมิน ผลการด�ำเนินงาน เพื่อใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการด�ำเนินธุรกิจ ส�ำหรับปี 2562 และรองรับเป้าหมายระยะยาวภายในปี 2566 ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ สภาวะการเปลี่ ย นแปลงโลกในปั จ จุ บั น และสอดรับกับแนวทางการด�ำเนินงานของบริษัทที่จะก้าวไปสู่ ความหลากหลายทางธุ ร กิ จ เสริ ม สร้ า งรากฐานที่ แ ข็ ง แกร่ ง เพื่อการเติบโตในระยะยาวต่อไป ในกรณีที่ผลการด�ำเนินงาน ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย กรณีทเี่ กิดจากปัจจัยทีส่ ามารถควบคุมได้ จะมีการวิเคราะห์สาเหตุทที่ ำ� ให้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย แล้วเร่งรัด ติดตาม แก้ไข ส่วนกรณีที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ให้มกี ารทบทวนปรับแผนงานและก�ำหนดเป้าหมายใหม่ และ/หรือ เป้าหมายทดแทนตามความเหมาะสม นอกจากนี้ เพื่อส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน ในระหว่างกรรมการด้วยกันและระหว่างกรรมการ ฝ่ายบริหาร และพนักงาน ปี 2561 บริษัทได้จัดให้มีการพบปะระหว่าง กรรมการ ฝ่ายบริหาร และพนักงานอย่างไม่เป็นทางการ ซึง่ รวมถึง การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของบริษัท ได้แก่ กิจกรรมที่จัดขึ้น ภายใต้ โ ครงการความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม กิจกรรมสันทนาการประจ�ำปีระหว่างกรรมการ และกิจกรรม พัฒนาองค์ความรู้ภายในองค์กร เป็นต้น • ดูแลความครบถ้วนสมบูรณ์ในเรื่องส�ำคัญต่างๆ ได้แก่ ดูแลสัดส่วนกรรมการอิสระให้มคี วามเหมาะสมเพือ่ ถ่วงดุล อ�ำนาจฝ่ายบริหาร และ/หรือผู้ถือหุ้นใหญ่ ทบทวนและอนุมัติ วิสัยทัศน์ กลยุทธ์ ภารกิจ จรรยาบรรณ และสื่อสารให้บุคลากร ทุกระดับได้ทราบและใช้เป็นแนวทางปฏิบตั ิ ตรวจสอบและอนุมตั ิ รายงานทางการเงินประจ�ำปี เพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้ถือหุ้น ดูแลกระบวนการตรวจสอบภายใน ระบบการควบคุมภายใน และ การบริหารจัดการความเสีย่ ง การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การท� ำ รายการระหว่ า งกิ จ การที่ เ กี่ ย วโยงกั น การปกป้ อ ง ชื่อเสียงของบริษัท และการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิ ท ธิ ผ ลสู ง สุ ด ควบคู ่ ไ ปกั บ การก� ำ กั บ และติ ด ตาม ให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อก�ำหนด ข้อบังคับ จรรยาบรรณ และหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่องจริงจัง • จัดตั้งและอนุมัติการก�ำหนดบทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการชุดย่อยของบริษทั ตามความเหมาะสมและจ�ำเป็น • ก�ำหนดหลักเกณฑ์และประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยทั้งคณะ และรายบุคคลเป็นประจ�ำทุกปี และเปิดเผยผลการปฏิบัติงาน ไว้ในรายงานประจ�ำปี • ก� ำ หนดการประชุ ม และการออกเสี ย งของ คณะกรรมการ - ก�ำหนดให้มกี ารประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย เดือนละครัง้ และให้มกี ารประชุมคณะกรรมการเฉพาะกรรมการ ที่ไม่เป็นผู้บริหารอย่างน้อยปีละครั้ง เพื่อให้กรรมการได้พิจาณา และทบทวนการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ฝ่ายบริหาร และบริษัท รวมถึงการอภิปรายปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการ ที่ส�ำคัญโดยไม่มีฝ่ายบริหารเข้าร่วมด้วย โดยแจ้งให้กรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่รบั ทราบผลการประชุมและน�ำมาปรับปรุงการท�ำงาน ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น - ก� ำ หนดให้ ก รรมการมี ห นึ่ ง เสี ย งต่ อ หนึ่ ง คน ในการลงคะแนน กรรมการที่มีส่วนได้เสียในเรื่องใดไม่มีสิทธิ ออกเสียงลงคะแนนในเรือ่ งนัน้ กรณีคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธาน ที่ประชุมออกเสียงอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
5.4 การจั ด การและป้ อ งกั น ความขั ด แย้ ง ของ ผลประโยชน์ (รายละเอียดเปิดเผยในบทบาทของ ผู้มีส่วนได้เสีย ข้อ 3.9)
113
ประจ�ำไตรมาสและประจ�ำปี เป็นการล่วงหน้าด้วย รวมถึงการ ก�ำหนดให้รายงานการวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงานประจ�ำเดือน และรายงานความก้าวหน้าของโครงการที่บริษัทเข้าลงทุนต่อ คณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบเป็นประจ�ำทุกเดือน หนังสือเชิญประชุมและระเบียบวาระการประชุม 5.5 การบริ ห ารความเสี่ ย ง (รายละเอี ย ดเปิ ด เผยใน พร้อมเอกสารประกอบจัดส่งให้กรรมการแต่ละคนล่วงหน้า บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย ข้อ 3.4) ก่อนการประชุมเป็นเวลา 1 สัปดาห์ เพือ่ ให้มเี วลาเพียงพอในการ ศึกษาข้อมูลก่อนการประชุม และกรรมการสามารถสอบถามข้อมูล 5.6 การประชุมคณะกรรมการ • ห ลั ก ก า ร แ ล ะ แ น ว ท า ง ข อ ง ก า ร ป ร ะ ชุ ม เพิม่ เติมจากกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และส�ำนักงานเลขานุการบริษทั ได้ คณะกรรมการ บริษทั ให้ความส�ำคัญอย่างมากกับความเป็นอิสระ ส�ำหรับคณะกรรมการชุดย่อยสามารถสอบถามข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้อง ในการตัดสินใจของกรรมการ โดยกรรมการปฏิบัติหน้าที่ด้วย กับภารกิจเพิ่มเติมได้จากกรรมการผู้จัดการใหญ่และผ่านทาง ความซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท เลขานุการคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะ • บทบาทของประธานกรรมการ กรรมการ โดยตระหนักเสมอว่าเป็นตัวแทนของผูถ้ อื หุน้ ท�ำหน้าทีใ่ นการน�ำ ฝ่ายบริหาร และบรรยากาศในการประชุม การสั ง เกตการณ์ ป ฏิ บั ติ ง าน ให้ ค� ำ แนะน� ำ ช่ ว ยเหลื อ และ - ประธานกรรมการ เป็นผูน้ ำ� ประชุม จัดสรร สนั บ สนุ น การด� ำ เนิ น งานของฝ่ า ยบริ ห ารอย่ า งใกล้ ชิ ด เพื่ อ เวลาให้ ก รรมการได้ อ ภิ ป รายและแสดงความคิ ด เห็ น อย่ า ง ประโยชน์สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้นโดยรวม • ก�ำหนดการประชุม การจัดท�ำระเบียบวาระการ เพียงพอเหมาะสม เท่าเทียม และทั่วถึง ส่งเสริมและกระตุ้นให้ ประชุมและเอกสารประกอบการประชุม ปี 2561 คณะกรรมการ กรรมการทุกคนมีสว่ นร่วมในการอภิปรายและแสดงความคิดเห็น บริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และ อย่างรอบด้านและทั่วถึง และสรุปมติที่ประชุม - กรรมการ ร่ ว มแสดงความคิ ด เห็ น จาก คณะกรรมการชุดย่อยเป็นการล่วงหน้าทัง้ ปี และแจ้งให้กรรมการ แต่ละคนรับทราบก�ำหนดการดังกล่าว โดยก�ำหนดการประชุม การศึกษาข้อมูลที่ฝ่ายบริหารจัดท�ำเสนอ และข้อมูลเพิ่มเติม คณะกรรมการบริษัทในเวลา 15.00 น. ของทุกวันจันทร์ที่สาม ที่เกี่ยวข้องและจ�ำเป็นอื่นๆ ร่วมอภิปรายอย่างสร้างสรรค์โดย ค�ำนึงถึงประโยชน์ ผลกระทบและปัจจัยเสี่ยง ทั้งต่อบริษัท ของเดือน เพื่ อ ให้ แ น่ ใ จว่ า เรื่ อ งส� ำ คั ญ ได้ น� ำ เข้ า สู ่ ที่ ป ระชุ ม ต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกด้านอย่างรอบคอบ เพือ่ ให้ได้มติจากทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษทั ประธานกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ อย่างเหมาะสมและครบถ้วน อุทศิ เวลาและความรู้ ความสามารถ จะร่วมกันพิจารณาเรือ่ งทีจ่ ะบรรจุไว้ในระเบียบวาระการประชุม อย่ า งเต็ ม ที่ ใ ห้ กั บ การปฏิ บั ติ ง านตามบทบาทหน้ า ที่ ใ นฐานะ และแจ้งให้กรรมการทราบล่วงหน้าพร้อมกับหนังสือเชิญประชุม กรรมการบริษัทจดทะเบียน - ฝ่ายบริหาร ให้ขอ้ มูลทีเ่ กีย่ วข้องและจ�ำเป็น ในเวลาทีเ่ หมาะสมตามข้อก�ำหนด อย่างไรก็ตาม กรรมการมีความ เป็นอิสระทีจ่ ะเสนอเรือ่ งเข้าสูร่ ะเบียบวาระการประชุมได้โดยแจ้ง อย่างถูกต้อง เพียงพอ ครบถ้วน ทันเหตุการณ์ เพื่อประกอบ ล่วงหน้า 10 วันก่อนถึงวันประชุมคณะกรรมการบริษัท และใน การพิจารณาของคณะกรรมการบริษทั และน�ำเสนอข้อมูลเป็นการ กรณีที่เป็นเรื่องเร่งด่วนฉุกเฉินในเหตุการณ์ที่จะมีผลกระทบต่อ ล่วงหน้า เพือ่ ให้กรรมการมีเวลาเพียงพอทีจ่ ะศึกษาข้อมูลล่วงหน้า บริษัททั้งทางตรงและทางอ้อม กรรมการมีอิสระที่จะเสนอเรื่อง อย่างเหมาะสม เสนอแนวทางเลือกต่อคณะกรรมการบริษทั และ พิ จ ารณาหรื อ แจ้ ง เพื่ อ ทราบในการพิ จ ารณาเรื่ อ งอื่ น ๆ ได้ ให้ขอ้ มูลหรือชีแ้ จงเพิม่ เติมในประเด็นทีม่ กี ารซักถามในทีป่ ระชุม ในระหว่างการประชุมคณะกรรมการบริษทั (วิธกี ารพิจารณาเรือ่ งที่ คณะกรรมการบริ ษั ท และก� ำ หนดให้ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของ จะบรรจุไว้ในระเบียบวาระการประชุมและวิธีการให้กรรมการ ทุกสายงานเข้าร่วมประชุม รวมทั้งเชิญผู้บริหารอื่นที่เกี่ยวข้อง สามารถเสนอเรื่ อ งเข้ า สู ่ ที่ ป ระชุ ม ได้ ดั ง กล่ า วมี ก� ำ หนดไว้ เข้าร่วมประชุมเพื่อร่วมชี้แจงรายละเอียดเฉพาะเรื่อง - บรรยากาศในการประชุมและการแสดง ในระเบี ย บบริ ษั ท ว่ า ด้ ว ยคณะกรรมการบริ ษั ท และเผยแพร่ ความคิดเห็น บริษทั จัดเตรียมอุปกรณ์และสิง่ อ�ำนวยความสะดวก บนเว็บไซต์ของบริษัท) ระเบียบวาระการประชุมก�ำหนดเป็นหมวดหมู่และ ส�ำหรับการประชุมอย่างเหมาะสมและเพียงพอ บรรยากาศในการ ด�ำเนินการประชุมตามล�ำดับอย่างเหมาะสม ได้แก่ เรือ่ งทีป่ ระธาน ประชุมมีการส่งเสริมและเปิดโอกาสให้กรรมการทุกคนมีสว่ นร่วม แจ้งให้ที่ประชุมทราบ เรื่องสืบเนื่องจากการประชุมครั้งก่อน ในการอภิปรายและแสดงความเห็นอย่างสร้างสรรค์ และค�ำนึงถึง เรือ่ งเสนอเพือ่ พิจารณา เรือ่ งเสนอเพือ่ ทราบ และเรือ่ งอืน่ ๆ (ถ้ามี) ประโยชน์และผลกระทบต่อผู้มสี ว่ นได้เสียทุกฝ่ายอย่างรอบคอบ รวมทั้งก�ำหนดเรื่องที่จะเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ระยะเวลาในการประชุมมีความเหมาะสมเฉลี่ยครั้งละประมาณ เป็นการประจ�ำในแต่ละช่วงเวลา เช่น ระเบียบวาระประจ�ำเดือน 1 ชั่วโมงครึ่งถึง 2 ชั่วโมง
114
- การด�ำเนินการประชุม โดยทั่วไปในการ พิ จ ารณาเรื่ อ งแต่ ล ะระเบี ย บวาระ ฝ่ า ยบริ ห ารจะน� ำ เสนอ ความเป็นมา หลักการและเหตุผล ความจ�ำเป็น ค�ำชี้แจง ข้อมูล ทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ประกอบการตัดสินใจและข้อเสนอของฝ่ายบริหาร หลั ง จากนั้ น ประธานกรรมการจะให้ เ วลาที่ ป ระชุ ม อภิ ป ราย ประเด็ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งจนครบถ้ ว นและทั่ ว ถึ ง มี ก ารกระตุ ้ น ให้ กรรมการทุกคนได้ร่วมแสดงความคิดเห็น และซักถามประเด็น ส�ำคัญ เพื่อให้ฝ่ายบริหารชี้แจงเพิ่มเติม ก่อนท�ำการตัดสินใจ สรุปมติที่ประชุม - กรรมการทีม่ สี ว่ นได้เสียในเรือ่ งใด ไม่มสี ทิ ธิ ออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น (อ้างอิงการมีส่วนได้เสียจาก รายงานทีก่ รรมการและผูบ้ ริหารแจ้งการมีสว่ นได้เสียของตน และ ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งไว้ ที่ เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท ) และได้ มี ก ารถื อ ปฏิ บั ติ อย่างเคร่งครัดในเรือ่ งดังกล่าวในการประชุมคณะกรรมการบริษทั มาโดยตลอด - การพิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันและ รายการที่มีหรืออาจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์ จะค�ำนึง ถึงประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้นโดยรวมเป็นส�ำคัญ มีการ พิจารณาความจ�ำเป็นและความสมเหตุสมผลเปรียบเทียบได้กับ การเข้าท�ำรายการในลักษณะเดียวกันโดยทั่วไป ให้ความส�ำคัญ กับขั้นตอนการด�ำเนินการ และการเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง และครบถ้วนตามกฎหมายและข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้อง - เลขานุการบริษัท มีหน้าที่ให้ค�ำแนะน�ำ เบื้องต้นแก่ฝ่ายบริหารและคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้การ ปฏิบตั ขิ องคณะกรรมการบริษทั และบริษทั สอดคล้องกับกฎหมาย และข้อก�ำหนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การเปิดเผยข้อมูลการท�ำ รายการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ และรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน รวมถึงการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี • การจัดท�ำและจัดเก็บรายงานการประชุม - ส�ำนักงานเลขานุการบริษทั รับผิดชอบการ จดบันทึก จัดท�ำและเก็บรักษารายงานการประชุมคณะกรรมการ บริษัท และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น ตามที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัท - รายงานการประชุม จัดท�ำเป็นลายลักษณ์ อักษร มีสาระส�ำคัญครบถ้วน อาทิ วันเวลาเริ่มและเลิกประชุม สถานที่ ป ระชุ ม ชื่ อ กรรมการและผู ้ บ ริ ห ารที่ เ ข้ า ประชุ ม ชื่อกรรมการที่ไม่มาประชุม สรุปสาระส�ำคัญของเรื่องที่เสนอต่อ ที่ประชุม สรุปประเด็นส�ำคัญที่มีการอภิปราย ความเห็นและ ข้อสังเกตของกรรมการและมติที่ประชุม พร้อมทั้งมีการลงชื่อ ผูบ้ นั ทึกและประธานทีป่ ระชุม การจัดท�ำร่างรายงานการประชุม แล้วเสร็จภายในเวลาประมาณ 3 วันหลังวันประชุม และน�ำเสนอ
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
กรรมการทุกคนเพือ่ พิจารณาแก้ไขปรับปรุง และหากไม่มกี ารแจ้ง แก้ไขเพิม่ เติมภายในระยะเวลา 7 วัน ให้ถอื ว่ารายงานการประชุม ฉบับดังกล่าวได้รบั การพิจารณารับรองจากคณะกรรมการบริษทั และน�ำเสนอประธานที่ประชุมเพื่อลงนามรับรอง ก่อนจัดส่ง ส�ำเนาให้กรรมการทุกคนเพื่อใช้เป็นเอกสารอ้างอิง นอกจากนี้ ยังได้นำ� รายงานทีไ่ ด้รบั การรับรองแล้วบรรจุไว้เป็นระเบียบวาระ เพื่อทราบในการประชุมคณะกรรมการบริษัทในคราวต่อไปด้วย - การถ่ายทอดมติทปี่ ระชุม เลขานุการบริษทั แจ้ ง มติ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร ไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อรับทราบ และ/หรือด�ำเนินการ และมีการติดตามการปฏิบัติต่อคณะกรรมการบริษัท • การประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และ คณะกรรมการชุดย่อย (รายละเอียดเปิดเผย ในโครงสร้างการจัดการ) 5.7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน • การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านตนเองของ คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษทั ได้ทำ� การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ตนเอง (Self Assessment) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน�ำผลการ ประเมิน รวมทั้งข้อสังเกตและข้อเสนอแนะต่างๆ ไปพิจารณา ทบทวนและปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพในการปฏิ บั ติ ง านของ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อยทัง้ คณะ และเพือ่ การพัฒนากรรมการรายบุคคลให้มีความสอดคล้องและเป็นไป ตามนโยบายการบริหารงานตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ในปีต่อๆ ไป การประเมินผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วยการ ประเมินภาพรวมของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการ ชุดย่อยทั้งคณะ และการประเมินตนเองเป็นรายบุคคล ปัจจัย ในการประเมินครอบคลุมประเด็นส�ำคัญต่างๆ สอดคล้องกับ หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั จดทะเบียน 1) ความพร้อม ของคณะกรรมการ (ครอบคลุมเรื่องโครงสร้าง องค์ประกอบ ความเป็นอิสระ บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ และการพัฒนา กรรมการ) 2) การก�ำหนดกลยุทธ์และการก�ำกับดูแลกิจการ 3) การบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งและการควบคุ ม ภายใน 4) การดู แ ลไม่ ใ ห้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ 5) การติ ด ตามรายงานทางการเงิ น และการด� ำ เนิ น งาน 6) การประชุมคณะกรรมการ 7) การสรรหา การพิจารณา ค่าตอบแทน การประเมินผลกรรมการและผู้บริหารระดับสูง และแผนสืบทอดต�ำแหน่งผูบ้ ริหารระดับสูง
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
115
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ต น เ อ ง ของ คณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะ เป็นการประเมินในภาพรวมทัง้ คณะ ในเรือ่ งความพร้อมของคณะกรรมการชุดย่อย ความครบถ้วนของ การปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั และการด�ำเนินการประชุมทัง้ ก่อนการประชุม (การน�ำส่งเอกสาร ข้อมูลประกอบการประชุมล่วงหน้าเพือ่ ให้มเี วลาศึกษาข้อมูลเพียงพอ) ระหว่างการประชุม (การน�ำเสนอข้อมูลและประเด็นส�ำคัญ การอภิปรายและตอบข้อซักถาม และการลงมติของที่ประชุม) และหลังการประชุม (การจัดท�ำ น�ำส่ง และจัดเก็บรายงานการประชุม)
ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ บริษทั และคณะกรรมการชุดย่อยทัง้ คณะ และรายบุคคลดังกล่าว ได้กำ� หนดเกณฑ์การประเมินผลเป็น 5 ระดับ ตามระดับคะแนนเฉลีย่ ที่ได้จากการประเมิน โดยกรรมการแต่ละคน ดังนี้ ดีเยี่ยม > ร้อยละ 90 ดีมาก > ร้อยละ 80-90 ดี > ร้อยละ 70-80 พอใช้ > ร้อยละ 50-70 ควรปรับปรุง < ร้อยละ 50 โดยในปี 2561 ผลการประเมินเป็นดังนี้
ปี 2561
ปี 2560
ทั้งคณะ คะแนน/ คะแนนเต็ม คณะกรรมการบริษัท
คณะกรรมการชุดย่อยประกอบด้วย :
95.53/100.00 คะแนน/ คะแนนเต็ม
รายบุคคล ระดับ
ดีเยี่ยม ระดับ
คะแนน/ คะแนนเต็ม
95.07/100.00 คะแนน/ คะแนนเต็ม
ทั้งคณะ ระดับ
ดีเยี่ยม ระดับ
คะแนน/ คะแนนเต็ม
97.14/100.00 คะแนน/ คะแนนเต็ม
รายบุคคล ระดับ
ดีเยี่ยม ระดับ
คะแนน/ คะแนนเต็ม
96.19/100.00 คะแนน/ คะแนนเต็ม
ระดับ
ดีเยี่ยม ระดับ
1
คณะกรรมการทรั พ ยากรบุ ค คล 87.58/100.00 และก�ำหนดค่าตอบแทน
ดีมาก
88.89/100.00
ดีมาก
97.39/100.00
ดีเยี่ยม
97.39/100.00
ดีเยี่ยม
2
คณะกรรมการตรวจสอบ
29.00/30.00
ดีเยี่ยม
29.00/30.00
ดีเยี่ยม
29.00/30.00
ดีเยี่ยม
29.00/30.00
ดีเยี่ยม
3
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ธ ร ร ม า ภิ บ า ล 27.00/30.00 และความรับผิดชอบต่อสังคม
ดีมาก
27.67/30.00
ดีเยี่ยม
28.33/30.00
ดีเยี่ยม
28.83/30.00
ดีเยี่ยม
4
คณะกรรมการกลั่นกรองการลงทุน
27.75/30.00
ดีเยี่ยม
27.75/30.00
ดีเยี่ยม
29.50/30.00
ดีเยี่ยม
29.00/30.00
ดีเยี่ยม
5
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
25.33/30.00
ดีมาก
24.67/30.00
ดีมาก
27.25/30.00
ดีเยี่ยม
27.25/30.00
ดีเยี่ยม
ทั้ ง นี้ บริ ษั ท จะน� ำ ผลการประเมิ น การปฏิ บั ติ ง านของ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อยดังกล่าวไปพิจารณา เพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานทั้งของบริษัท ของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยทั้งคณะ และเพื่อการพัฒนากรรมการรายบุคคลให้มคี วามสอดคล้องและ เป็นไปตามนโยบายการบริหารงานตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีต่อไป •
การประเมินผลการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหารระดับสูง คณะกรรมการบริษทั โดยการพิจารณากลัน่ กรองจาก คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน ได้ท�ำ การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารระดับสูงทุกปี โดยใช้ เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานที่ได้ท�ำความตกลงร่วมกัน ไว้ตั้งแต่ต้นปี ในปี 2561 แบ่งเกณฑ์วัดผลเป็น 5 ด้าน ได้แก่
ด้านการพัฒนาธุรกิจ ด้านการบริหารโครงการ ด้านการวางแผน และการก�ำกับดูแลบริษัทในเครือ ด้านบริหารการเงิน และ ด้านบริหารองค์กร ซึง่ มีนำ�้ หนักทีก่ ำ� หนดในแต่ละด้านแตกต่างกัน ออกไป นอกจากนีย้ งั มีการประเมินด้านศักยภาพและการบริหาร ได้แก่ ความเป็นผู้น�ำ การก�ำหนดและการปฏิบัติตามกลยุทธ์ การวางแผนและผลปฏิ บั ติ ท างการเงิ น การสร้ า งเครื อ ข่ า ย ความสัมพันธ์ ความรูค้ วามเข้าใจในธุรกิจ และคุณลักษณะส่วนตัว ส�ำหรับกรรมการผู้จัดการใหญ่ โดยบริษัทได้น�ำผลการประเมิน ไปประกอบการพิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทน การปรับเปลี่ยน หมุ น เวี ย นผู ้ บ ริ ห าร และการพั ฒ นาความรู ้ ค วามสามารถ และศักยภาพของผูบ้ ริหารระดับสูงให้มคี วามสอดคล้องกับบริบท ของบริษทั ทัง้ ด้านผลประกอบการ ผลการปฏิบตั งิ าน และแผนการ สืบทอดต�ำแหน่ง เป็นต้น
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
116
•
ค่ า ตอบแทนกรรมการและผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง (รายละเอียดเปิดเผยในโครงสร้างการจัดการ)
5.8 การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ และการพัฒนากรรมการและผู้บริหาร กรรมการที่ เ ข้ า รั บ ต� ำ แหน่ ง ใหม่ จะได้ รั บ การ ปฐมนิ เ ทศ และ/หรื อ รั บ ฟั ง การบรรยายสรุ ป โดยกรรมการ ผู ้ จั ด การใหญ่ เ กี่ ย วกั บ ลั ก ษณะธุ ร กิ จ บทบาทหน้ า ที่ ข อง คณะกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย โครงสร้างการลงทุน โครงสร้างองค์กร ผลการด�ำเนินงานทางการเงิน ความก้าวหน้า ของโครงการลงทุน และหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั พร้อมเอกสารประกอบที่ครอบคลุมเรื่องต่างๆ ที่กล่าวข้างต้น และหนังสือบริคณห์สนธิ วัตถุประสงค์ หนังสือรับรอง ข้อบังคับ ระเบียบ นโยบาย จรรยาบรรณทางธุรกิจของบริษทั ค่าตอบแทน และสิทธิประโยชน์ของกรรมการ รายงานประจ�ำปี และรายงาน
ความยั่งยืน รวมทั้งคู่มือกรรมการบริษัทจดทะเบียน และข้อมูล การปฏิบตั ใิ ห้สอดคล้องกับข้อก�ำหนด (Compliance Database) ซึง่ เป็นไปตามนโยบายของคณะกรรมการในการเตรียมความพร้อม ท�ำหน้าที่ในฐานะกรรมการบริษัทต่อไป การพัฒนากรรมการ เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ ในบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ และส่งเสริมทักษะในการ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ใ นฐานะกรรมการบริ ษั ท จดทะเบี ย นอย่ า งมี ประสิทธิภาพ บริษัทได้ส่งเสริมและสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการ เข้าร่วมการอบรมและสัมมนาในหลักสูตรต่างๆ เพื่อส่งเสริม และพั ฒ นาความรู ้ ค วามสามารถและทั ก ษะที่ ส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ คณะกรรมการบริษทั ทีจ่ ดั โดยหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง อาทิ สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และสถาบันวิทยาการพลังงาน เป็นต้น
ในปี 2561 กรรมการบริษัทได้เข้าอบรมและพัฒนาในหลักสูตรต่างๆ ดังนี้ ล�ำดับที่
คณะกรรมการบริษัท
หลักสูตร
1
นายสุทัศน์
ปัทมสิริวัฒน์
2
นายชาติชาย
โรจนรัตนางกูร Advanced Audit Committee Program (AACP 31/2018) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
3
นายสมัคร
เชาวภานันท์
-
4
นางศิริพร
เหลืองนวล
Advanced Audit Committee Program (AACP 31/2018) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย Financial Statement for Directors (FSD 35/2018) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
5
นายสมบูรณ์
หน่อแก้ว
Director Accreditation Program (DAP 154/2018)
สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
6
นายวีระศักดิ์
พึ่งรัศมี
-
-
7
นางเปรมฤทัย
วินัยแพทย์
-
-
8
นายรัตนชัย
นามวงศ์
-
-
9
นายชวน
ศิรินันท์พร
-
-
10
นายสุชาลี
สุมามาลย์
Director Certification Program (DCP 225/2018)
สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
11
นายบุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร
การก�ำกับดูแลกิจการและผูบ้ ริหารองค์กรก�ำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ สถาบันพระปกเกล้า และองค์กรมหาชน ประจ�ำปี 2561
12 13
นายสืบพงษ์ นายกิจจา
-
บูรณศิรินทร์ ศรีพัฑฒางกุระ
-
ผู้จัดอบรม
-
-
หมายเหตุ รายละเอียดการเข้ารับการอบรมและพัฒนาในปีอื่นๆ ปรากฏในประวัติกรรมการรายบุคคล
ฝ่ า ยบริ ห ารได้ จั ด ท� ำ สรุ ป ข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเสนอ คณะกรรมการบริษัทเพื่อรับทราบประกาศ ข้อก�ำหนด ข้อบังคับ และหนังสือเวียนต่างๆ ทั้งที่ออกใหม่และที่ปรับปรุงแก้ไขโดย ก.ล.ต. และ ตลท. อย่างสม�่ำเสมอ เพื่อคณะกรรมการบริษัท ใช้เป็นแนวทางปฏิบตั ทิ สี่ อดคล้องกับข้อกฎหมายและข้อก�ำหนด ต่างๆ ของหน่วยงานก�ำกับดูแลอย่างเคร่งครัด
นอกจากนี้ บริษัทได้ส่งผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวข้องเข้ารับการฝึกอบรมในหลักสูตรเลขานุการบริษัท การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การตรวจสอบภายใน การด�ำเนินการ ด้านต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ และการบริหารความเสีย่ ง รวมทัง้ หลักสูตรอื่นที่เกี่ยวข้องที่จัดโดยหน่วยงานและสถาบันต่างๆ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจการท�ำงานในหน้าที่ที่รับผิดชอบ และช่ ว ยสนั บ สนุ น การท� ำ งานของคณะกรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการชุดย่อยได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
5.9 แผนสืบทอดต�ำแหน่งส�ำหรับผู้บริหารระดับสูง การสืบทอดต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นไป ตามนโยบายของผู้ถือหุ้นใหญ่ คือ กฟผ. ที่จะพิจารณาคัดเลือก ผูบ้ ริหารของ กฟผ. ทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ความรูค้ วามสามารถเหมาะสม และเอื้อประโยชน์ต่อการประกอบกิจการของบริษัท เพื่อเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษทั ผ่านคณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและ ก�ำหนดค่าตอบแทน พิจารณา และแต่งตั้ง ตามที่คณะกรรมการ บริษัทมอบหมายให้คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนด ค่ า ตอบแทน มี ห น้ า ที่ ใ นการก� ำ หนดและจั ด ท� ำ แผนสื บ ทอด ต�ำแหน่ง (Career Path Plan) ผู้บริหารระดับสูงของบริษัท ส�ำหรับแผนสืบทอดต�ำแหน่งผู้บริหารในระดับอื่นๆ บริษัทได้ใช้บริษัทที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญมาร่วมด�ำเนินการ พัฒนาระบบเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) ในทุกต�ำแหน่งงาน ซึ่งครอบคลุมการพัฒนาระบบสมรรถนะ ความสามารถ (Competency Model) โดยได้มกี ารพัฒนาขึน้ อย่างเป็นระบบ ตัง้ แต่กระบวนการวิเคราะห์สมรรถนะ (Competency) และคุณสมบัตทิ คี่ าดหวังส�ำหรับต�ำแหน่งต่างๆ เพือ่ ท�ำการพัฒนา บุคลากรและสรรหาผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและสอดคล้องกับ การพิจารณาเลือ่ น ลด ปลด ย้าย และการเตรียมบุคลากรให้พร้อม รองรับการขยายงานของบริษัททั้งในปัจจุบันและอนาคต ปี 2561 บริ ษั ท ได้ พิ จ ารณาและแต่ ง ตั้ ง ผู ้ บ ริ ห าร ในระดับต่างๆ ที่มีศักยภาพและมีความเหมาะสมกับต�ำแหน่ง ที่ทดแทนนั้นๆ ตามที่ได้เตรียมความพร้อมตามกระบวนการ และเป็นไปตามแผนงานสรรหาผูส้ บื ทอดต�ำแหน่ง (Successors)
117
และกลุ่มผู้บริหารระดับต้น (Talents) และสอดคล้องกับการ เกษียณอายุของผู้บริหารของบริษัท 5.10 การประกันภัยความรับผิดของกรรมการ และเจ้าหน้าที่บริหาร คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนดให้ฝ่ายบริหารเสนอ การท�ำประกันความรับผิดของกรรมการและเจ้าหน้าที่บริหาร (Directors and Officers Liability Insurance หรือ D&O) ให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาเงื่อนไขการรับประกัน วงเงิน ประกัน และค่าเบีย้ ประกันเป็นประจ�ำทุกปี เพือ่ ให้ความคุม้ ครอง กรรมการและผู ้ บ ริ ห ารกรณี มี ก ารฟ้ อ งร้ อ งเรี ย กค่ า เสี ย หาย อันเนือ่ งมาจากการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการและเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ตามต�ำแหน่งนัน้ ๆ ภายใต้อำ� นาจหน้าทีโ่ ดยชอบ เพือ่ ให้สอดคล้อง กั บ การขยายตั ว ทางธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ที่ มี ค วามหลากหลาย มากยิ่ ง ขึ้ น ส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท มี ก ารเข้ า ท� ำ ธุ ร กรรมทางธุ ร กิ จ จ�ำนวนมากและมีความเกี่ยวพันกับการพิจารณาอนุมัติ การให้ ความเห็น การเข้ารับรองและผูกพันแทนบริษัทตามภาระหน้าที่ ของกรรมการและเจ้าหน้าทีบ่ ริหารในธุรกรรมต่างๆ โดยบางกรณี อาจมีความเสี่ยงต่อการเรียกร้องจากบุคคลภายนอก รวมทั้ง ผูถ้ อื หุน้ หรือผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ ๆ เกีย่ วกับความรับผิดของกรรมการ หรือเจ้าหน้าทีบ่ ริหารอันสืบเนือ่ งมาจากการปฏิบตั งิ านตามต�ำแหน่ง หน้าที่นั้นๆ ยกเว้นการกระท�ำที่เป็นการฉ้อฉลหรือทุจริตบริษัท ไม่ต้องรับผิดชอบความสูญเสีย และให้เรียกค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น ทั้งหมดในการต่อสู้คดีคืนจากกรรมการหรือเจ้าหน้าที่บริหาร ที่ฉ้อฉลหรือทุจริต
118
6. จรรยาบรรณบริษัท
บริษทั ด�ำเนินธุรกิจโดยยึดมัน่ หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี จริยธรรม คุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และความโปร่งใส โดยเฉพาะการให้ ค วามส� ำ คั ญ ในเรื่ อ งการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต และคอร์รัปชั่นในทุกมิติ เพื่อเป็นเกราะในการป้องกันและลด ผลกระทบเชิงลบต่อประเทศชาติ ผู้มีส่วนได้เสีย และต่อองค์กร โดยจะได้นำ� พาองค์กรให้ประสบความส�ำเร็จ สามารถตอบสนอง วิสยั ทัศน์ พันธกิจ นโยบาย และเป้าหมายการเติบโตและการด�ำรง ธุ ร กิ จ ได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ภายใต้ ส ภาวการณ์ แ ละกระแสโลก ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และปัจจัยส�ำคัญประการหนึ่งที่ บริษัทใช้เป็นแนวทางในการป้องกันและต่อต้านการทุจริตและ คอร์รปั ชัน่ คือ การเข้าร่วมเป็นหนึง่ ในสมาชิกและได้รบั การรับรอง การเป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต ตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน 2559 ในปี 2561 บริษทั ได้มกี ารพิจารณา ทบทวน และได้ปรับปรุง กฎเกณฑ์ ระเบียบ และแนวปฏิบัติต่างๆ ของบริษัทให้มีความ สอดคล้องกับสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงและครอบคลุม กระบวนการท�ำงานในภาพรวมทัง้ ระบบ เพือ่ ให้เป็นไปตามกรอบ การปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น และสอดคล้องกับจรรยาบรรณบริษัทที่คณะกรรมการบริษัท ได้กำ� หนดนโยบายและใช้เป็นกรอบพฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์สำ� หรับ กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และผูม้ สี ว่ นได้เสียกลุม่ ต่างๆ ยึดถือ เป็นหลักปฏิบัติในการด�ำเนินกิจการตามหลักการก�ำกับดูแล กิจการที่ดีของกลุ่มบริษัท เพื่อให้นักลงทุนและผู้มีส่วนได้เสีย เกิดความเชือ่ มัน่ ในกระบวนการด�ำเนินกิจการของบริษทั และเพือ่ ยกระดับมาตรฐานการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของกลุ่มบริษัทให้มี ความยัง่ ยืนสูม่ าตรฐานระดับสากล โดยบริษทั มีกระบวนการสร้าง
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
จิตส�ำนึก สร้างความตระหนัก และติดตามการประเมินผลการ ปฏิบตั แิ ก่บคุ ลากรอย่างเป็นระบบสม�ำ่ เสมอ โดยพนักงานเข้าใหม่ จะได้รับการปฐมนิเทศและมีการลงนามรับทราบแนวปฏิบัติ ดังกล่าวเป็นลายลักษณ์อักษร ประกาศใช้ และเผยแพร่ให้ ผู้เกี่ยวข้องรับทราบและถือปฏิบัติผ่านช่องทางต่างๆ อย่าง เหมาะสม นอกจากนี้ คณะกรรมการยังได้มกี ารพิจารณาทบทวน จรรยาบรรณให้ มี ค วามเหมาะสมกั บ สถานการณ์ แ ละบริ บ ท ของบริษัทเป็นประจ�ำทุกปี ผู้สนใจสามารถศึกษารายละเอียด จรรยาบรรณผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท 7. การสื่อสารและติดตามการปฏิบัติ ให้เป็นไปตามนโยบายก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณทางธุรกิจ
ในการปฐมนิ เ ทศเมื่ อ เริ่ ม เข้ า ท� ำ งานและปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ กรรมการเข้าใหม่ได้เปิดเผยในข้อ 5.8 ส�ำหรับพนักงานใหม่ทกุ คน จะได้รบั การปฐมนิเทศ และรับฟังการบรรยายสรุปโดยเจ้าหน้าที่ ฝ่ า ยทรั พ ยากรบุ ค คล เกี่ ย วกั บ ภาพรวมการประกอบธุ ร กิ จ โครงสร้ า งการลงทุ น โครงสร้ า งองค์ ก ร ผลการด� ำ เนิ น งาน หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิง่ แวดล้อม กฎระเบียบ นโยบาย จรรยาบรรณทางธุรกิจของบริษทั ค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์ สวัสดิการ พร้อมเอกสารประกอบ อาทิ จรรยาบรรณ และเอกสารอืน่ ๆ ทีจ่ ะใช้เป็นคูม่ อื และเอกสาร อ้างอิงในการปฏิบัติหน้าที่ และมีการลงชื่อรับทราบ และมีการ สื่ อ สารนโยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี โดยถ่ า ยทอด แนวนโยบายจากคณะกรรมการ และผูบ้ ริหารระดับสูงสูพ่ นักงาน ทุกระดับอย่างทั่วถึงอย่างต่อเนื่อง รับทราบปัญหา ข้อขัดข้อง และข้อเสนอต่างๆ จากพนักงาน เพือ่ พิจารณาด�ำเนินการ รวมถึง ประเมินผลการปฏิบัติให้สอดคล้องกับนโยบายการก�ำกับดูแล
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
กิจการที่ดีขององค์กร ผ่านช่องทางในการสื่อสารและถ่ายทอด นโยบายและข่าวสารเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีให้แก่ องค์กร ได้แก่ ระบบอินทราเน็ต และระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่พนักงานสามารถใช้งานได้อย่างสะดวก และทั่วถึง รวมทั้งการ สื่อสารในการประชุมภายในระดับต่างๆ ของบริษัท เพื่อกระตุ้น ให้เกิดจิตส�ำนึกและความผูกพันทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณ และ รายงานการปฏิบัติให้คณะกรรมการชุดย่อย และคณะกรรมการ บริษัททราบตามล�ำดับ บริษทั มอบหมายให้ “ฝ่ายตรวจสอบภายใน” มีหน้าทีใ่ นการ ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติภายใต้แผนการตรวจสอบประจ�ำปี และรายงานคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท ตามล�ำดับ เพื่อรับทราบผลการตรวจสอบ พร้อมข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไขและป้องกันความเสียหายทีอ่ าจเกิดขึน้ เป็นประจ�ำ ทุกไตรมาส นอกเหนือจากการหารือร่วมกันกับหน่วยงานต่างๆ อย่างสม�่ำเสมอ บริ ษั ท ได้ จั ด ท� ำ “ข้ อ มู ล การปฏิ บั ติ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ข้อก�ำหนด” (Compliance Database) จัดส่งให้กรรมการและ จัดเก็บในระบบข้อมูลภายใน เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติในเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของบริษัทในฐานะที่เป็นบริษัท จดทะเบียนใน ตลท. เช่น การเปิดเผยข้อมูลและสารสนเทศ การท�ำ รายการที่เกี่ยวโยงกัน การได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์
119
เป็นต้น ซึ่งพนักงานทุกคนสามารถเข้าถึงและใช้ข้อมูลได้ โดยมี การปรับข้อมูลให้เป็นปัจจุบันตามการเปลี่ยนแปลงข้อก�ำหนด อยู่ตลอดเวลา คณะกรรมการบริษัทได้ก�ำหนด “แบบแจ้งรายงานการ มีส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหาร” และให้กรรมการและ ผู ้ บ ริ ห ารจั ด ท� ำ รายงานการมี ส ่ ว นได้ เ สี ย ของตนและบุ ค คล ทีเ่ กีย่ วข้องส่งให้เลขานุการบริษทั จัดเก็บและส่งส�ำเนาให้ประธาน กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบตามข้อก�ำหนดของ พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งใช้เป็นข้อมูล ส� ำ หรั บ การพิ จ ารณาผู ้ มี ส ่ ว นได้ เ สี ย ที่ ไ ม่ มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย ง ในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ ยังมีคณะท�ำงานก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ท�ำหน้าที่ ในการสื่อสารและติดตามการปฏิบัติให้เป็นไปตามนโยบายการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และจรรยาบรรณของบริษทั รวมทัง้ รายงาน การปฏิ บั ติ ต ามแนวทางการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละการ ด�ำเนินงานตามแผนจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้าน การทุจริตต่อคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคม คณะกรรมการตรวจสอบ ผูบ้ ริหาร และคณะกรรมการหรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องตามขั้นตอน ที่ก�ำหนดไว้
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
120
ส�ำหรับหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีปี 2561 คณะกรรมการบริษัทพิจารณาความเหมาะสมและบริบทของการด�ำเนินธุรกิจ ของกลุ่มบริษัท พร้อมเหตุผลความจ�ำเป็นและแนวทางการปฏิบัติของบริษัทในเรื่องที่ยังไม่ได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ อาทิ หลักเกณฑ์ที่ยังไม่ได้ปฏิบัติ
แนวปฏิบัติในปัจจุบัน และเหตุผลความจำ�เป็น
• คณะกรรมการได้ใช้บริษัทที่ปรึกษา (Professional Search Firm) หรือฐานข้อมูลกรรมการ (Director Pool) ในการสรรหากรรมการใหม่
คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน ท�ำหน้าที่ พิ จารณาคั ดเลื อ ก และเสนอชื่ อ บุ คคลที่ มี คุณสมบั ติ เหมาะสม เพื่ อ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง กรรมการ โดยเชิ ญ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า น ร่วมในกระบวนการสรรหาตามความจ�ำเป็น ก่อนเสนอคณะกรรมการ บริษัทพิจารณาอนุมัติ
• บริษัทก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกับจ�ำนวนองค์ประชุมขั้นต�่ำ ณ ขณะที่ คณะกรรมการจะลงมติในทีป่ ระชุมคณะกรรมการว่า ต้องมีกรรมการ อยู่ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด
ในการประชุมคณะกรรมการ แม้ว่าบริษัทจะยังไม่มีการก�ำหนด นโยบายเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ แต่ในทางปฏิบัติในขณะลงมติ ในที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการ ประธานกรรมการจะก� ำ กั บ ดู แ ล องค์ประชุมโดยจะต้องมีกรรมการอยู่ 2 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการ ทั้งหมด
• ประธานกรรมการเป็นกรรมการอิสระ
ประธานกรรมการบริษทั ไม่ใช่บคุ คลเดียวกับกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ซึ่งเป็นผู้บริหารสูงสุดของบริษัท และไม่มีความสัมพันธ์ใดๆ กับ ฝ่ายบริหาร แม้วา่ ประธานกรรมการจะเป็นตัวแทนของผูถ้ อื หุน้ ใหญ่ ก็ตาม จึงเชื่อมั่นได้ว่าประธานกรรมการสามารถปฏิบัติหน้าที่ ได้อย่างเป็นอิสระ เนื่องจากคณะกรรมการบริษัทประกอบด้วย กรรมการอิสระ จ�ำนวน 7 คน จากกรรมการทั้งหมด 13 คน (ร้อยละ 53.85) (เพิ่มจากปี 2560 ที่มีกรรมการอิสระ 6 คน จาก กรรมการทั้งหมด 12 คน) ซึ่งมากกว่ากึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการ ทั้งหมด เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการมีการถ่วงดุลและ สอบทานกันอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ในระหว่างการประชุม ประธานกรรมการได้ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้กรรมการทุกคน แสดงความคิดเห็นและอภิปรายอย่างเต็มที่ ก่อนการพิจารณา ตัดสินใจลงมติในเรือ่ งนัน้ ๆ โดยไม่มกี ารครอบง�ำหรือชีน้ ำ� ในระหว่าง การอภิปรายจากประธานกรรมการแต่อย่างใด
• คณะกรรมการทรั พ ยากรบุ ค คลและก� ำ หนดค่ า ตอบแทน ควรประกอบด้วยกรรมการอิสระเป็นส่วนใหญ่ (มากกว่า 50%) ทั้งนี้ ประธานคณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน ควรเป็นกรรมการอิสระด้วย
แม้ว่าคณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน จะยังไม่ได้ประกอบด้วยกรรมการอิสระเป็นส่วนใหญ่ และประธาน คณะกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทนของบริษทั จะไม่ใช่กรรมการอิสระ แต่ในทางปฏิบัติกรรมการบริษัทมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ในฐานะคณะกรรมการบริษทั และปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยยึดถือความเป็น อิสระในการตัดสินใจมาอย่างต่อเนื่องเพื่อเป้าหมายสูงสุดในการ ด�ำเนินงานคือ ประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้นโดยรวม กล่าวคือ กรรมการทุกคนให้ความส�ำคัญและตระหนักในหน้าที่ที่พึงปฏิบัติ ต่อผู้ถือหุ้นที่เป็นเจ้าของกิจการและเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการให้ท�ำ หน้าที่และรับผิดชอบในการก�ำกับดูแลการบริหารกิจการให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น (Fiduciary Duty) ครอบคลุมหน้าที่ ส�ำคัญ 4 ประการ ได้แก่ การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวัง (Duty of Care) การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต (Duty of Loyalty) การปฏิบัติตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และ มติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ (Duty of Obedience) และการเปิดเผยข้อมูล ต่อผู้ถือหุ้นอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และทันกาล (Duty of Disclosure)
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ตลอดปี 2561 บริษัทได้ปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแล กิจการที่ดีและแนวปฏิบัติที่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างรอบคอบทุกมิติทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และธรรมาภิบาล ปรากฏไม่พบเหตุการณ์หรือการ ปฏิบัติใดๆ ที่ไม่สอดคล้องกับนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและ จรรยาบรรณบริษทั จากความมุง่ มัน่ พัฒนาการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั มาอย่างต่อเนือ่ งยังส่งผลให้ได้รบั รางวัลด้านการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ดี งั นี้ • การประเมินผลจากการส�ำรวจการก�ำกับดูแล กิจการบริษทั จดทะเบียน ประจ�ำปี 2561 ทีร่ ะดับ “ดีเลิศ” คะแนนเฉลีย่ โดยรวมร้อยละ 94 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของบริษัทจดทะเบียนโดยรวม ที่ร้อยละ 81
• การประเมินคุณภาพการจัดการประชุมสามัญ
ผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2561 จากสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย ได้คะแนน
ร้อยละ 98 สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยที่ร้อยละ 92.42
121
• รางวัลรายงานความยั่งยืน ประเภท “ดีเยี่ยม”
ประจ�ำปี 2561 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 6 (2556-2561) จาก CSR Club สมาคมบริ ษั ท จดทะเบี ย นไทยร่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และสถาบันไทยพัฒน์ • รางวัลหุ้นยั่งยืน ประจ�ำปี 2561 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • รางวัลบูธยอดเยี่ยมในการน�ำเสนอข้อมูลและบริการ แก่ ผู ้ เ ข้ า ชมงานในงาน “มหกรรมการลงทุ น ครบวงจรแห่ ง ปี SET in the City กรุงเทพมหานคร 2018”
• การตรวจประเมินผลโครงการประเมินส�ำนักงาน สีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Office) ปี 2561
ระดั บ “ดี เ ยี่ ย ม” (ทอง) ต่ อ เนื่ อ งเป็ น ปี ที่ 4 (2558-2561) จาก กรมส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
122
ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งจนถึงปัจจุบัน สิ่งหนึ่งที่บริษัทยึดถือ ปฏิบัติมาอย่างมั่นคงคือการด�ำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ ต่อสังคมภายใต้การบริหารงานที่มีธรรมาภิบาลเป็นฐานราก นอกเหนือจากการเลือกสรรเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพมาใช้ ในกระบวนการผลิตเพื่อป้องกันและลดผลกระทบที่อาจเกิดกับ ชุมชนในทุกรูปแบบ และการเพิม่ การลงทุนในธุรกิจการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานทดแทนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมแล้ว บริษัทยัง มุ่งมั่นทุ่มเทกับการมีส่วนร่วมในการช่วยและบรรเทาผลกระทบ จากปัญหาทางสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ได้น�ำมาเป็นโจทย์ในการ ด�ำเนินโครงการและกิจกรรมเพือ่ สังคมและสิง่ แวดล้อมในมิตติ า่ งๆ การด�ำเนินกิจกรรม CSR ของบริษทั จึงแบ่งกว้างๆ ออกเป็น 2 ด้าน คือ ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านสังคม โครงการด้านสิ่งแวดล้อม จากปั ญ หาการลดลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ งของพื้ น ที่ ป ่ า ซึ่ ง ส่ ง ผลกระทบต่อระบบนิเวศ สภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป จนถึงปัญหาสภาวะโลกร้อนที่ประชากรโลกทุกคนก�ำลังประสบ บริษัทได้เข้ามามีส่วนร่วมในแก้ไขและบรรเทาผลกระทบจาก ปัญหาดังกล่าวโดยเริม่ ต้นเมือ่ 11 ปีกอ่ นหน้านีเ้ มือ่ โครงการคนรักษ์ปา่ ป่ารักชุมชน ได้เริม่ ด�ำเนินงานขึน้ เป็นส่วนหนึง่ ของความพยายาม ในการดูแลรักษาทรัพยากรป่าไม้ โดยใช้กลไกป่าชุมชนเป็น ตัวขับเคลือ่ น เนือ่ งจากเป็นทีป่ ระจักษ์ดแี ล้วว่าผูท้ จี่ ะดูแลป่าได้ดที ส่ี ดุ คือผูท้ อี่ ยูใ่ กล้ชดิ กับป่าและได้พงึ่ พิงป่าในวิถชี วี ติ เมือ่ คนเห็นความส�ำคัญ ของป่าก็จะเกิดความรักป่าด้วยตัวของเขาเอง หรือที่เรียกว่า การปลู ก ป่ า ในใจคน ดั ง นั้ น กิ จ กรรมต่ า งๆ ภายใต้ โ ครงการ จึงมุ่งเน้นการปลุกจิตส�ำนึกที่ชุมชนรอบป่ามีอยู่แล้วให้เข้มข้น มากยิง่ ขึน้ และปลูกจิตอนุรกั ษ์ให้กบั เยาวชนรุน่ ใหม่เพือ่ เติบโตไป เป็นพลเมืองที่มีจิตอนุรักษ์ เมื่อทุกคนทุกรุ่นเห็นประโยชน์และ ความส�ำคัญของป่าทีม่ ตี อ่ วิถชี วี ติ ชุมชน และสังคมโดยรวมก็จะเกิด พฤติกรรมการดูแลรักษาป่า ท�ำให้เกิดการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ป่า ในประเทศอย่างยั่งยืน ส่งผลถึงผลลัพธ์ปลายทางที่คาดหวัง อันได้แก่ สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศที่สมบูรณ์ กิจกรรมเด่นของโครงการคนรักษ์ป่า ป่ารักชุมชน คือ การประกวดป่าชุมชน ซึ่งมุ่งเน้นการยกย่องชมเชยชุมชนที่มี การบริหารจัดการป่าชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อขยายผล การจัดตัง้ ป่าชุมชนเพิม่ ขึน้ ซึง่ ในปี 2561 มีชมุ ชนสนใจสมัครเข้าร่วม การประกวดป่าชุมชนมากถึง 1,171 แห่ง เพิ่มขึ้นจากปีก่อนถึง ร้อยละ 11.74 สะท้อนให้เห็นว่าโครงการนี้ได้รับความสนใจ จากชุมชนเพิ่มขึ้นทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ
ส� ำ หรั บ ปี 2561 มี ก ารจั ด ตั้ ง ป่ า ชุ ม ชนเพิ่ ม ขึ้ น จ� ำ นวน 1,260 แห่ง มีพนื้ ทีป่ า่ รวมกัน 450,676 ไร่ ซึง่ หากน�ำมาค�ำนวณมูลค่า ระบบนิเวศบริการของพื้นที่ป่าชุมชนที่จัดตั้งขึ้นใหม่นี้จะมีมูลค่า ประมาณ 40,442 ล้านบาทต่อปี ทั้งนี้ โดยอ้างอิงผลการศึกษา ของส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) หรือ BEDO เมื่อเดือนกันยายน 2560 พบว่า ป่าไม้ประเภทต่างๆ ในประเทศไทยได้ให้บริการระบบนิเวศ อันได้แก่ การป้องกัน การพังทลายของดิน การดูดซับน�ำ้ ใต้ดนิ ธาตุอาหาร การไหลผ่าน ของน�ำ้ และการช่วยลดอุณหภูมิ คิดเป็นมูลค่าเฉลีย่ 89,737.48 บาท ต่อไร่ต่อปี ในปี ที่ ผ ่ า นมาบริ ษั ท ได้ ม อบหมายให้ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญจาก ศูนย์วจิ ยั ป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ท�ำการ ติดตามประเมินผลโครงการ และรับฟังข้อเสนอแนะการด�ำเนินงาน โครงการ วิ เ คราะห์ ค วามคิ ด เห็ น ต่ อ ภาพลั ก ษณ์ ข องบริ ษั ท ในการด�ำเนินโครงการ โดยจัดการประชุมกลุ่มย่อยกับตัวแทน ป่าชุมชนที่ได้รับรางวัลกล้ายิ้มทั่วประเทศ แยกเป็นการประชุม 4 ภูมภิ าค รวมทัง้ ด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ทัง้ ข้อมูลทุตยิ ภูมิ และปฐมภูมิ แล้วท�ำการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อเสนอแนะและ ความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ บริษทั และโครงการ โดยจากการศึกษาพบว่า ผูเ้ ข้าประชุมส่วนใหญ่มคี วามเห็นว่าโครงการนีเ้ ป็นโครงการทีส่ ร้าง ก�ำลังใจและแรงบันดาลใจ เป็นโครงการส่งเสริมสนับสนุนทีด่ มี าก เพราะเป็นการให้ก�ำลังใจชุมชนที่ดูแลป่าเป็นการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งและความสามัคคีในชุมชน อีกทั้งรางวัลที่มอบให้ ยังเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ป้องปรามบุคคลที่คิดหาผลประโยชน์จาก ป่าชุมชนโดยมิชอบ เป็นรางวัลอันทรงเกียรติทสี่ ร้างความภาคภูมใิ จ ให้กับชุมชน รวมทั้งยังเป็นรางวัลที่ต่อยอดให้หน่วยงานอื่นๆ ตามเข้ามาให้การสนับสนุนเพิ่มเติมด้วย
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
นอกจากนี้ บริษทั ได้จดั ท�ำโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ป่าชุมชน เพื่อเสริมหนุนและต่อยอดการท�ำงานด้านป่าชุมชน ในเครือข่ายโครงการคนรักษ์ป่า ป่ารักชุมชนที่มีศักยภาพ เช่น กิจกรรมสร้างฝายชะลอน�ำ้ ป่าชุมชนบ้านอ่าวอ้ายยอ ต�ำบลน�ำ้ ตก อ�ำเภอทุง่ สง จังหวัดนครศรีธรรมราช และป่าชุมชนบ้านหนองผุก ต�ำบลเปือ อ�ำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน กิจกรรมอบรมการป้องกัน และควบคุ ม ไฟป่ า เขตป่ า ชุ ม ชนเครื อ ข่ า ยภาคใต้ กิ จ กรรม การฝึกอบรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ ป่ า ชุ ม ชน นอกจากช่ ว ยอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรป่ า ไม้ แ ล้ว ยัง ช่ว ย แก้ปญ ั หาให้กบั ชุมชนด้วยวิธธี รรมชาติอกี ทางหนึง่ ด้วย เช่น ปัญหา ดิ น ตะกอนจากการไหลบ่ า ของกระแสน�้ ำ ในป่ า ชุ ม ชนทั บ ถม ในพื้นที่เกษตรของชาวบ้าน ปัญหาการขาดแคลนน�้ำในฤดูแล้ง ของป่าชุมชน และปัญหาไฟป่า เป็นต้น ซึง่ กิจกรรมดังกล่าวล้วนได้รบั การตอบรับที่ดีจากป่าชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรมเพราะสามารถ น�ำความรู้ไปใช้พัฒนาป่าชุมชนได้อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้แนวคิดการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติกระจาย วงกว้างมากขึ้นในสังคม บริษัทได้ขอรับพระราชทานและได้รับ พระราชทานพระราชานุญาตให้เข้าร่วมสนองพระราชด�ำริใน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ประกอบด้วยกิจกรรมงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน มุ่งเน้น การถ่ายทอดความรู้การด�ำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เพื่อให้ครูผู้สอนมีแนวทางที่จะกลับไปพัฒนาสวนพฤกษศาสตร์ ในโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้แก่นักเรียนได้ทุกสาขาวิชา และ กิ จ กรรมงานฐานทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น เพื่ อ เผยแพร่ แ นวทาง การด�ำเนินงานของโครงการให้กับองค์กรและหน่วยงานท้องถิ่น ได้นำ� ไปจัดท�ำฐานข้อมูลอันเป็นประโยชน์ตอ่ การอนุรกั ษ์ทรัพยากร ของประเทศ ประเด็นปัญหาด้านทรัพยากรป่าไม้ประการหนึ่งที่ได้มี การพูดถึงมาโดยตลอดคือ การบุกรุกพื้นที่ป่าเขาในจังหวัดน่าน จึงเป็นที่มาของการริเริ่มโครงการภุมรี พลังสตรี...พลังรักษ์ สิ่งแวดล้อม ขึ้น ซึ่งนอกเหนือจากวัตถุประสงค์ที่จะช่วยฟื้นฟู และดูแลทรัพยากรธรรมชาติของจังหวัดน่านแล้ว ยังมุง่ เสริมหนุน ศักยภาพของสตรีในการเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติของท้องถิ่น ของชุมชน และของประเทศ พื้นที่ด�ำเนินงานโครงการอยู่ใน 2 อ�ำเภอ คือ อ�ำเภอเชียงกลาง และอ�ำเภอทุง่ ช้าง และขับเคลือ่ นงานใน 3 ด้าน ได้แก่ การจัดการ ทรัพยากรป่าไม้ การท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ และการจัดการขยะชุมชน โดยสตรีในชุมชนเป็นพลังส�ำคัญในการขับเคลื่อนการท�ำงาน ดั ง กล่ า ว นอกจากได้ ช ่ ว ยดู แ ลทรั พ ยากรป่ า ไม้ ใ ห้ กั บ ชุ ม ชน จังหวัดน่านแล้ว ยังได้เป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันศักยภาพสตรี ให้ทัดเทียมและเป็นที่ยอมรับมากยิ่งขึ้นด้วย
123
124
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
โครงการด้านสังคม ความเปลี่ ย นแปลงทางโครงสร้ า งประชากรที่ เ กิ ด ขึ้ น ในปัจจุบัน จากจ�ำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มสูงขึ้น และมีการคาดการณ์ ว่าประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์ในปี 2563 นับเป็นอีกความเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญของสังคมไทย เพราะอาจ น�ำมาซึ่งปัญหาต่างๆ เช่น การขาดแคลนแรงงาน การเข้าถึง การรักษาพยาบาล ตลอดจนความสัมพันธ์ในครอบครัว ซึง่ บริษทั เล็งเห็นว่าปัญหาดังกล่าวสามารถป้องกันและลดผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นได้ จึงจัดท�ำโครงการสุขสูงวัย สร้างไทยแข็งแรง โดยมุง่ ให้ความรูแ้ ก่ผสู้ งู วัยในการดูแลตัวเองทัง้ ในด้านร่างกายและ สังคม ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีและโซเชียลมีเดียอย่างรูเ้ ท่าทัน ปัจจุบันโครงการดังกล่าวด�ำเนินงานในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี ซึ่งเป็นที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ของบริษัท กลุ่มเป้าหมายครอบคลุม ทั้งผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ
อีกด้านหนึง่ ของโครงสร้างทางสังคม คือเยาวชนผูเ้ ป็นก�ำลัง ของประเทศชาติในอนาคต สิง่ ส�ำคัญส�ำหรับเยาวชนย่อมหนีไม่พน้ การศึกษา เพราะจะเป็นพื้นฐานและภูมิต้านทานให้กับชีวิต ในวันข้างหน้า โครงการ @CareLine เครือข่ายปันสุข ยังคง เดินหน้าส่งเสริมการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (Brain Based Learning-BBL) เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการสมวัยและสมองได้รับ การพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพพร้อมเรียนรู้ รูปแบบกิจกรรม เน้นการร่วมส่งเสริมการพัฒนาสิง่ แวดล้อมในโรงเรียน เช่น การใช้สี ทีก่ ระตุน้ สมองส่วนต่างๆ ของเด็ก การปรับปรุงโต๊ะเก้าอี้ เครือ่ งเล่น สนามอเนกประสงค์ ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของกุญแจหลักของความส�ำเร็จ ตามแนวคิด BBL กิจกรรมการอบรมพัฒนาครูเพือ่ ให้ครูมรี ปู แบบ และวิธกี ารสอนทีห่ ลากหลายและน�ำไปใช้กบั เด็กนักเรียนได้อย่าง เป็นรูปธรรม ในปี 2561 โครงการได้จัดกิจกรรม DJ Kids @CareLine เครือข่ายปันสุข ส�ำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมต้น ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดนนทบุรี ให้ความรูเ้ กีย่ วกับการจัดรายการวิทยุและ เปิดโอกาสให้ได้ทดลองเป็นนักจัดรายการวิทยุในสถานการณ์จริง โดยเน้นเนื้อหาการสื่อสารด้านพลังงานที่ถูกต้อง ซึ่งนอกจาก จะเสริมสร้างประสบการณ์ชว่ ยค้นหาศักยภาพของตัวเด็กเองแล้ว ยังช่วยพัฒนาทักษะในการวางแผน การท�ำงานร่วมกันเป็นทีม และส่งเสริมการเรียนรู้นอกห้องเรียนด้วย
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
โครงการส่งเสริมพลังงานแสงอาทิตย์ชมุ ชนหย่อมบ้านหัวฮะ ต�ำบลแม่อคู อ อ�ำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ถือเป็นโครงการ ต้นแบบของการพัฒนาคุณภาพชีวติ ให้กบั ประชาชนอย่างแท้จริง เพราะเดิมนัน้ ชุมชนหย่อมบ้านหัวฮะเป็นชุมชนทีไ่ ม่มไี ฟฟ้าเข้าถึง กระทั่งบริษัทได้จัดท�ำโครงการและน�ำระบบโซล่าร์โฮมเข้าไป ติดตัง้ ให้กบั ชุมชนจ�ำนวน 25 ครัวเรือน เพือ่ ให้ได้มไี ฟฟ้าแสงสว่าง และเครือ่ งใช้ไฟฟ้าทีจ่ ำ� เป็นต่อการด�ำเนินชีวติ ผลของการด�ำเนิน โครงการท�ำให้ชุมชนได้เข้าถึงช่องทางการสื่อสารและข่าวสาร ช่ ว ยให้ เ ด็ ก ๆ ได้ มี แ สงสว่ า งใช้ ใ นการศึ ก ษา ชุ ม ชนสามารถ เพิ่มชั่วโมงการท�ำงานได้ในเวลากลางคืน ท�ำให้มีรายได้เพิ่มขึ้น อีกทั้งยังช่วยลดการตัดไม้ฟืนเพื่อมาท�ำเชื้อเพลิงด้วย
125
ส� ำ หรั บ สปป.ลาว ที่ เ ป็ น หนึ่ ง ในฐานการลงทุ น หลั ก ของบริษัท มีการลงทุนมูลค่ารวมเป็นจ�ำนวนมาก บริษัทยังคงใช้ นโยบายการอยูร่ ว่ มในลักษณะเพือ่ นบ้านทีด่ ี และการเป็นพลเมือง ธุ ร กิ จ ของสั ง คมประเทศที่ ไ ปลงทุ น โดยจั ด ให้ มี โ ครงการ เพื่อตอบแทนสังคม สปป.ลาว ซึ่งเป็นโครงการที่เกิดขึ้นจาก ความต้องการพัฒนาการอาชีวศึกษาของ สปป.ลาว คือ โครงการ การศึกษาเสริมทักษะสร้างอาชีพ สปป.ลาว (Education for Career Empowerment Project) ทีบ่ ริษทั ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ และกีฬา สปป.ลาว ริเริ่มด�ำเนินการขึ้นในปี 2554 เป็นโครงการ เพื่อสังคมระยะยาวโครงการแรกระหว่างภาครัฐของ สปป.ลาว กับภาคเอกชนของประเทศไทยทีไ่ ปลงทุนใน สปป.ลาว เพือ่ ร่วมกัน เสริมสร้างความเข้มแข็งแก่การอาชีวศึกษาของ สปป.ลาว ซึง่ เป็น แผนงานส�ำคัญในยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาของ สปป.ลาว และมีการด�ำเนินการต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 5 ปีของโครงการ จนเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรม โดยได้ยกระดับวิชาเฉพาะ ครูอาชีวศึกษาระดับสูงและระดับปริญญาตรี รวมถึงการฝึกอบรม ทักษะทางภาคปฏิบตั ใิ ห้แก่นกั ศึกษาอาชีวศึกษาทีจ่ บจากสถาบัน การศึกษาให้มีความช�ำนาญ สามารถไปประกอบอาชีพตาม สถานประกอบการหรือประกอบอาชีพอิสระได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงได้ท�ำการพัฒนาห้องปฏิบัติการในสถาบันอาชีวศึกษา เป้าหมาย มีผลการด�ำเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมายเป็นอย่างดี ได้รับการยกย่องให้เป็นโครงการ CSR ต้นแบบที่ได้ผลส�ำเร็จเป็น รูปธรรมของภาคธุรกิจเอกชนทีเ่ ข้าไปลงทุนใน สปป.ลาว รัฐบาล สปป.ลาว จึงได้มอบเหรียญตราพัฒนา (Cross of Development) ให้แก่บริษทั เพือ่ เชิดชูเกียรติในการมีสว่ นช่วยพัฒนาด้านการศึกษา มีผลงานคุณงามความดีในการพัฒนาการศึกษา
126
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ทั้งสองฝ่ายเห็นชอบร่วมกันที่จะด�ำเนินโครงการต่อเนื่อง ในระยะที่ 2 โดยสานต่อการเสริมสร้างศักยภาพของสถาบัน อาชี ว ศึ ก ษาที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการในระยะที่ 1 และเพิ่ ม เติ ม การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่สถาบันอาชีวศึกษาเพื่อให้ สามารถท�ำการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพในสาขา พลังงานทดแทน (พืชพลังงาน พลังงานจากขยะ และพลังแสงอาทิตย์) จึ ง ได้ มี ก ารลงนามหนั ง สื อ แสดงเจตจ� ำ นงด� ำ เนิ น โครงการ “การศึกษาเสริมทักษะสร้างอาชีพ สปป.ลาว” ระยะที่ 2 (ปี 2561-2566) ระหว่ า งบริ ษั ท กั บ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารและกี ฬ า สปป.ลาว เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2561 กิจกรรมทีก่ ล่าวมาข้างต้นนัน้ เป็นกิจกรรมส�ำคัญทีด่ ำ� เนินงาน ในรอบปี 2561 ซึ่ ง เกิ ด จากการน� ำ ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มและ สังคมมาเป็นโจทย์ในการจัดท�ำโครงการ เพื่อต้องการมีส่วนร่วม ในการช่วยแก้ไข ป้องกัน และบรรเทาผลกระทบจากปัญหาเหล่านัน้ เจตนารมณ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมนี้ ได้ถูกถ่ายทอดและปลูกฝังลงในคุณลักษณะของพนักงานบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ทุกคน และเปิดโอกาส ให้ทุกคนได้แสดงพลังแห่งการเสียสละและสร้างคุณประโยชน์ ให้ กั บ สั ง คมผ่ า นกิ จ กรรมพนั ก งานจิ ต อาสาตามความสนใจ โดยบริษทั ได้กำ� หนดเป็นนโยบายให้พนักงานทุกคนเข้าร่วมกิจกรรม จิตอาสาอย่างน้อยปีละ 5 วัน ซึ่งในปี 2561 ที่ผ่านมา บริษัท ได้จดั กิจกรรมจิตอาสารวม 14 ครัง้ ครอบคลุมทัง้ ด้านการอนุรกั ษ์ การศึกษา การท�ำนุบ�ำรุงศาสนา และการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ เป็นต้น มีผบู้ ริหารและพนักงานเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสา 157 คน จากจ�ำนวนผู้บริหารและพนักงานของบริษัททั้งหมด 197 คน คิดเป็นจ�ำนวนวันเข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวน 739 คน-วัน ในปี 2561 บริษทั ได้มอบหมายให้สวนดุสติ โพล มหาวิทยาลัย สวนดุสิต ด�ำเนินการส�ำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อความ รับผิดชอบขององค์กรธุรกิจต่อสังคมของบริษัท ภายใต้โครงการ “ส�ำรวจภาพลักษณ์องค์กรจากการด�ำเนินกิจกรรมเพื่อสังคม ของบริษัท” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส�ำรวจการรับรู้ข่าวสาร เกีย่ วกับการจัดกิจกรรมเพือ่ สังคมของประชาชนและผูท้ เี่ กีย่ วข้อง รวมถึ ง ส� ำ รวจภาพลั ก ษณ์ ข องบริ ษั ท และความพึ ง พอใจต่ อ การด�ำเนินกิจกรรมเพือ่ สังคมของบริษทั ตามความคิดเห็นของประชาชน และผูท้ เี่ กีย่ วข้อง และน�ำผลการส�ำรวจไปใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาการจั ด กิ จ กรรมและโครงการต่ อ ไป ผลการส�ำรวจเป็นที่น่าพอใจ ทั้งในด้านการส�ำรวจความพึงพอใจ ในการจั ด กิ จ กรรมโครงการ ซึ่ ง รวมถึ ง เจ้ า หน้ า ที่ วิ ท ยากร
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ประโยชน์ทไี่ ด้รบั จากโครงการ กระบวนการขัน้ ตอนการจัดกิจกรรม คุณภาพและสิง่ อ�ำนวยความสะดวก และส�ำหรับกิจกรรมเพือ่ สังคม ทีก่ ลุม่ ตัวอย่างเห็นว่าบริษทั ควรท�ำมากทีส่ ดุ คือ การอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม สนับสนุนการลดใช้พลังงาน และช่วยเหลือชุมชนด้อยโอกาส ซึ่ ง เป็ น โครงการที่ บ ริ ษั ท ด� ำ เนิ น การอยู ่ แ ล้ ว มี ข ้ อ เสนอแนะ ให้จดั กิจกรรมอย่างต่อเนือ่ ง เพิม่ เติมความรูแ้ ละต่อยอดโครงการ และท้ายสุดเป็นการส�ำรวจปัจจัยความเชือ่ มัน่ ทีม่ ตี อ่ การท�ำกิจกรรม เพือ่ สังคมของบริษทั พบว่าปัจจัยทีท่ ำ� ให้เกิดความเชือ่ ประกอบด้วย การเป็นองค์กรที่มีชื่อเสียง ความน่าเชื่อถือ มีการปฏิบัติงาน ตามมาตรฐานสากล และผลงานเป็นที่ยอมรับของสังคม
127
เสียงสะท้อนและตอบรับจากชุมชนจากการด�ำเนินกิจกรรม โครงการต่างๆ เหล่านี้ ล้วนเป็นก�ำลังใจส�ำคัญให้บริษัทเดินหน้า เพื่อสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้กับสังคม บริษัทจะน�ำความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะต่างๆ ไปพิจารณาเพื่อพัฒนาและปรับปรุงกิจกรรม โครงการต่อไป และยังคงยืนยันทีจ่ ะเป็นเพือ่ นบ้านทีด่ ใี ห้กบั ชุมชน และเป็ น พลเมื อ งธุ ร กิ จ ที่ ดี ใ ห้ กั บ สั ง คมชาติ แ ละสั ง คมโลก ด้วยความเชือ่ มัน่ ว่าการด�ำเนินธุรกิจทีก่ า้ วไปข้างหน้าพร้อมกับชุมชน และสังคมจะเป็นรากฐานที่มั่นคงต่อการเติบโตอย่างยั่งยืน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
128
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง บริ ษั ท เชื่ อ มั่ น ว่ า การประกอบธุ ร กิ จ โดยการยึ ด มั่ น ในจริยธรรม คุณธรรม และความซื่อสัตย์สุจริต ประกอบกับ การมีระบบบริหารจัดการและการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี รวมถึง การควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผล จะเป็นปัจจัยส�ำคัญ ทีส่ ง่ เสริมให้ธรุ กิจประสบความส�ำเร็จอย่างยัง่ ยืนและสามารถธ�ำรง ความเป็นผู้น�ำในธุรกิจได้ บริษัทจึงตระหนักและให้ความส�ำคัญ กั บ การมี ร ะบบควบคุ ม ภายในที่ ดี อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งเสมอมา โดยคณะกรรมการบริษทั ได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบ ท�ำหน้าที่สอบทานและติดตามประเมินความเพียงพอของระบบ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้มั่นใจว่า การด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ของบริษทั มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และเป็นไปตามข้อก�ำหนด กฎหมาย ระเบียบปฏิบัติต่างๆ ซึ่งจะ ท�ำให้เกิดการตรวจสอบ มีความถ่วงดุล และสามารถควบคุมดูแล ให้มีการใช้ทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของบริษัทอย่างแท้จริง ปี 2561 มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ รวม 7 ครั้ง โดยมีวาระการประชุมร่วมกันระหว่างคณะกรรมการตรวจสอบ และผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายบริหารเข้าร่วมประชุมด้วย 1 ครั้ง คณะกรรมการได้ ป ฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย และขอบเขตหน้ า ที่ ที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายตามระเบียบบริษัทว่าด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบไม่เคย ได้รับรายงานว่ามีข้อบกพร่องเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ของบริษัทที่เป็นสาระส�ำคัญจากผู้สอบบัญชีแต่อย่างใด องค์กรและสภาพแวดล้อมในการควบคุม • บริษทั ยึดหลักในการบริหารผ่านคณะกรรมการบริษทั และฝ่ า ยบริ ห ารตามโครงสายการบั ง คั บ บั ญ ชา และหน้ า ที่ ความรับผิดชอบทีก่ ำ� หนดด้วยความซือ่ ตรงและมีจริยธรรม โดยได้มี การก�ำหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจทีช่ ดั เจน วัดผลได้ รวมทั้งมีการจัดท�ำมาตรฐานของจรรยาบรรณ ระเบียบ ค�ำสัง่ บทลงโทษ และแนวทางการรายงานหากพบการด�ำเนินการ ที่เข้าข่ายการทุจริตคอร์รัปชั่น ทั้งนี้ฝ่ายบริหารได้มีการปรับปรุง ทบทวนข้ อ ก� ำ หนดในการปฏิ บั ติ ง านให้ เ หมาะสม ทั น สมั ย เพื่อความมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานอย่างสม�่ำเสมอ • การด�ำเนินการของคณะกรรมการบริษัทนั้นปฏิบัติ หน้าที่ด้วยความช�ำนาญ มีประสิทธิภาพ และเป็นอิสระจาก ฝ่ายบริหาร โดยก�ำกับดูแลในเรือ่ งสภาพแวดล้อมของการควบคุม การประเมิ น ความเสี่ ย งกิ จ กรรมควบคุ ม และมี ก ารก� ำ กั บ ให้มรี ะบบการสือ่ สารข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และมีการติดตามและประมวลผล
• บริษัทมีการก�ำหนดแผนการฝึกอบรม และก�ำหนด งบประมาณประจ�ำปีส�ำหรับค่าใช้จ่ายในการอบรมและพัฒนา บุ ค ลากรให้ ส อดคล้ อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องบริ ษั ท รวมทั้ ง มี แ ผนการสรรหาผู ้ สื บ ทอดต� ำ แหน่ ง (Succession Plan) อย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ ยังมีการจัดท�ำแผนงานความก้าวหน้า ในสายอาชีพ (Career Path) เพื่อช่วยให้ผู้บริหารและพนักงาน มีเป้าหมายในการพัฒนาตนเองตามแนวทางที่ก�ำหนดไว้ รวมถึง จัดให้มีการ Coaching และ Mentoring ผ่านระบบสนทนา ระหว่ า งผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชากั บ ผู ้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชา (Dialogue) เพื่อให้เกิดการสื่อสารระหว่างกัน และเกิดแนวคิดในการพัฒนา ไปในทิศทางเดียวกัน • บริ ษั ท มี ก ารผลั ก ดั น ให้ ผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน ทุ ก ต� ำ แหน่ ง ได้ ร ่ ว มกั น รั บ ผิ ด ชอบต่ อ การควบคุ ม ภายใน โดยก�ำหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบภายใต้โครงสร้างองค์กรทีช่ ดั เจน มีการก�ำหนดวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน การให้รางวัล การลงโทษพนักงานเป็นรายบุคคล บริ ษั ท ให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ ระบบการควบคุ ม ภายในที่ ดี และการบริหารความเสี่ยงเพื่อลดความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบ ต่อบริษทั โดยได้จดั ให้มสี ภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อระบบการควบคุม ภายใน ซึง่ คณะกรรมการบริษทั ได้กำ� หนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ และ เป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจที่ชัดเจน วัดผลได้ เพื่อเป็นแนวทาง ในการปฏิบตั งิ านของฝ่ายบริหาร และพนักงาน และมีการทบทวน อย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ สร้างการเติบโตให้บริษทั อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน บริษัทมีการก�ำหนดโครงสร้างองค์กรที่ชัดเจน โดยแบ่ง สายการบังคับบัญชา อ�ำนาจการอนุมตั ิ และหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ อย่างชัดเจนตามล�ำดับขั้น และมีการก�ำหนดเป้าหมายในการ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ตามแผนกลยุ ท ธ์ แ ละแผนธุ ร กิ จ โดยจะก� ำ หนด เป้าหมายและตัวชีว้ ดั (Key Performance Indicators: KPI) ให้กบั ทุกสายงานและจะประเมินผลการด�ำเนินงานเปรียบเทียบกับ เป้ า หมายเพื่ อ น� ำ เสนอให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท รั บ ทราบ เป็นรายครึง่ ปีและรายปี นอกจากนี้ บริษทั ได้จดั ตัง้ คณะกรรมการ ประเมินผล (มีกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็นประธาน) เพือ่ ติดตาม ผลการด�ำ เนินงานเป็ น รายไตรมาส และท� ำ ให้ ม่ั น ใจได้ ว ่ า การด� ำ เนิ น งานยั ง คงเป็ น ไปตามเป้ า หมายและเกณฑ์ การประเมินผลงานของบริษัทอย่างต่อเนื่อง
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
นอกจากนี้ บริษัทได้มีการก�ำหนดจรรยาบรรณบริษัท และ หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับกรรมการและพนักงาน ใช้ยดึ ถือเป็นแนวปฏิบตั ิ รวมถึงมีการประกาศนโยบายการต่อต้าน การทุจริตและคอร์รปั ชัน่ พร้อมทัง้ จัดให้มกี ารประเมินความเสีย่ ง ด้านการทุจริตอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งบริษัทได้เข้าร่วมลงนาม ประกาศเจตนารมณ์ในการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ และ ได้รับรองให้เป็นสมาชิกของแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต (Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption: CAC) ตั้งแต่ปี 2559 และ ปั จ จุ บั น ได้ รั บ การต่ อ อายุ ใ บรั บ รองเรี ย บร้ อ ยแล้ ว ตามมติ คณะกรรมการ CAC เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2562 โดยใบรับรอง ดังกล่าวจะมีอายุ 3 ปี นับจากวันทีม่ มี ติ และยังได้รบั การจัดล�ำดับ CG Score ประจ�ำปี 2561 สูงสุด 5 ดาว จากการเข้าร่วมโครงการ ส�ำรวจการก�ำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย (Corporate Governance Report of Thai Listed Company: CGR) จาก การประเมินของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย อีกด้วย และเพื่อความโปร่งใสและสร้างกระบวนการด�ำเนินงาน ที่ชัดเจนยิ่งขึ้น บริษัทจึงได้จัดท�ำนโยบายการต่อต้านการทุจริต และคอร์รัปชั่นของกลุ่มบริษัทขึ้น นอกจากนี้ยังก�ำหนดนโยบาย งดการรับของขวัญ เพือ่ ยกระดับการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และสร้าง
129
บรรทัดฐานทีด่ ใี นการด�ำเนินธุรกิจ รวมถึงจัดให้มชี อ่ งทางรับเรือ่ ง ร้องเรียนหรือข้อมูลเกี่ยวกับการทุจริต การกระท�ำผิดกฎหมาย จรรยาบรรณ รวมถึ ง ระบบการควบคุ ม ภายในที่ บ กพร่ อ ง เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมภายในให้ดียิ่งขึ้น การประเมินความเสี่ยง และการจัดการความเสี่ยง บริษทั ก�ำหนดขัน้ ตอนและการด�ำเนินการบริหารความเสีย่ ง สรุปได้ดังนี้ • ก�ำหนดเป้าหมายเพื่อประเมินความเสี่ยงโดยมีการ ก�ำหนดสาระส�ำคัญของรายงานทางการเงินซึง่ สะท้อนถึงกิจกรรม ขององค์ ก รที่ เ ป็ น ไปตามมาตรฐานการบั ญ ชี ที่ รั บ รองทั่ ว ไป โดยแผนงานด้านความเสีย่ งมีการอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั และสื่อสารให้ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับรับทราบ • ระบุ วิเคราะห์ และบริหารจัดการความเสีย่ งทัง้ ปัจจัย ภายในและภายนอก พร้อมก�ำหนดระดับนัยส�ำคัญในการตอบสนอง ความเสี่ยงนั้น โดยครอบคลุมทั้งระดับองค์กร และสายงาน ทั้ ง นี้ โ ครงสร้ า งของการบริ ห ารความเสี่ ย ง ประกอบด้ ว ย คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะท�ำงาน บริหารความเสี่ยง และฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน
130
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
• คณะกรรมการตรวจสอบ และฝ่ายตรวจสอบภายใน พิ จ ารณาโอกาสที่ จ ะเกิ ด การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น โดยทบทวน เป้าหมาย แรงจูงใจและแรงกดดัน เพื่อก�ำหนดมาตรการป้องกัน และสื่อสารให้มีการปฏิบัติตามนโยบาย • ระบุและประเมินการเปลี่ยนแปลงความเสี่ยงที่อาจมี ผลกระทบต่อการควบคุมภายใน ทั้งในด้านการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมภายนอก รูปแบบธุรกิจ และผู้น�ำองค์กร เพือ่ ให้การด�ำเนินงานของคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถก�ำกับดูแลและติดตาม การปฏิบตั งิ านของบริษทั ได้อย่างใกล้ชดิ บริษทั จึงได้จดั ท�ำโครงสร้าง ของการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะท�ำงานบริหารความเสี่ยง และฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน ท�ำหน้าที่รับผิดชอบ และก�ำหนดวัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยง การจ�ำแนก ปัจจัยเสี่ยง โอกาสและผลกระทบ ตลอดจนมาตรการที่ใช้เพื่อ บริหารความเสีย่ งให้อยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้ โดยมีการประสานงาน และประชุมร่วมกับสายงานต่างๆ ทุกไตรมาสเพือ่ ประเมินความเสีย่ ง และผลกระทบภายหลังจากที่น�ำมาตรการต่างๆ มาใช้ในการ ด�ำเนินการแล้ว จากนัน้ จึงรวบรวมน�ำเสนอต่อคณะท�ำงานบริหาร ความเสีย่ ง ซึง่ ประกอบด้วย ผูบ้ ริหารระดับสูงจากทุกสายงานร่วมกัน พิจารณาและกลั่นกรองก่อนที่จะน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ บริ ห ารความเสี่ ย งและคณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ พิ จ ารณา เป็นประจ�ำทุกไตรมาส ทั้งนี้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและคณะกรรมการ ตรวจสอบได้มกี ารจัดระเบียบวาระการประชุมร่วมกัน เพือ่ แลกเปลีย่ น ความคิ ด เห็ น และช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพกั บ การบู ร ณาการ ในการด�ำเนินงานระหว่างงานตรวจสอบภายในและงานบริหาร ความเสี่ยง บริษัทได้แต่งตั้งคณะท�ำงานด้านการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อท�ำหน้าที่ให้เป็นไปตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัท ซึ่งรวมถึงท�ำหน้าที่รับผิดชอบการบริหารความเสี่ยง ด้านการทุจริต และติดตามการด�ำเนินงานตามแผนจัดการความเสีย่ ง และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคม และคณะกรรมการบริษทั ตามล�ำดับ
รายละเอียดของการประเมินความเสี่ยง และการจัดการ ความเสี่ยง ผู้ลงทุนสามารถศึกษารายละเอียดได้ในหัวข้อปัจจัย ความเสี่ ย ง และ/หรื อ แบบแสดงรายการข้ อ มู ล ประจ� ำ ปี (แบบ 56-1) ของบริษัทที่เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษัท www.ratch.co.th กิจกรรมการควบคุม • บริษทั ได้ดำ� เนินกิจกรรมการควบคุมความเสีย่ งให้อยู่ ในระดับที่ยอมรับได้ โดยมีการก�ำหนดมาตรการการควบคุม ภายในภายใต้ระเบียบค�ำสัง่ ของบริษทั ทีค่ รอบคลุมการด�ำเนินงาน ทุกด้าน ทุกระดับขององค์กร โดยค�ำนึงถึงการแบ่งแยกหน้าที่ การก�ำหนดอ�ำนาจอนุมัติ และออกแบบผู้ดูแลเก็บรักษาข้อมูล อย่างเหมาะสมและมีการทบทวนนโยบายอย่างสม�่ำเสมอ • บริษทั มีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีทใี่ ช้ในการควบคุม อย่างต่อเนื่องตามกระบวนการท�ำงานของธุรกิจรวมถึงมีการ ก�ำหนดนโยบายด้านความปลอดภัย แผนฉุกเฉิน และการจัดหา พัฒนา ดูแลรักษาระบบ
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
• บริษัทมีนโยบายที่รัดกุมในการควบคุมและก�ำหนด นโยบายที่ส�ำคัญในเรื่องเกี่ยวกับการท�ำธุรกรรมที่เกี่ยวโยงกัน (Related Party Transaction Policy) และการป้ อ งกั น การขัดแย้งทางผลประโยชน์โดยเฉพาะในด้านการท�ำธุรกรรม และอ�ำนาจอนุมัติของคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหารระดับสูง การติดตามดูแลการท�ำงานของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม ภายใต้ การด�ำเนินงานภายในระยะเวลาที่เหมาะสม และมีการทบทวน นโยบายอย่างสม�่ำเสมอ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า นโยบายและแนวทางที่ ค ณะกรรมการ และฝ่ า ยบริ ห ารก� ำ หนดไว้ ได้ รั บ การปฏิ บั ติ แ ละตอบสนอง อย่างมีประสิทธิภาพ และตรงตามเป้าหมาย บริษัทจึงจัดให้มี ระบบควบคุ ม ภายในด้ า นการบั ญ ชี ก ารเงิ น การด� ำ เนิ น งาน และการก�ำกับดูแลการปฏิบัติงาน สรุปได้ดังนี้
131
• การท�ำธุรกรรมทีเ่ ข้าเงือ่ นไขเป็นรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน จะต้องผ่านการอนุมตั จิ ากผูม้ อี ำ� นาจอนุมตั ิ ซึง่ ไม่เป็นผูม้ สี ว่ นได้เสีย และได้รบั การพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบก่อน เสนอคณะกรรมการบริ ษั ท หรื อ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น พิ จ ารณา แล้วแต่กรณีตามล�ำดับ โดยค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัท • มีการติดตามดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทในเครือ อย่างสม�่ำเสมอ โดยมีสายงานรองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหาร สินทรัพย์รับผิดชอบในการติดตามผลการด�ำเนินงาน และจัดท�ำ รายงานเสนอคณะกรรมการบริษัท และฝ่ายบริหารเป็นประจ�ำ ทุกเดือน โดยการก�ำหนดทิศทางด�ำเนินงานให้เป็นไปตามแผน กลยุทธ์ และระเบียบบริษัทว่าด้วยหลักเกณฑ์การก�ำกับดูแล บริษัทย่อย บริษัทในเครือ และบริษัทร่วมทุน ที่ก�ำหนดให้ คณะกรรมการบริษัท ก�ำหนดนโยบายผ่านทางผู้แทนบริษัท และให้ ผู ้ แ ทนบริ ษั ท จั ด ท� ำ รายงานผลการด� ำ เนิ น งานเสนอ คณะกรรมการบริษัทเป็นรายไตรมาส
• ก�ำหนดขอบเขต อ�ำนาจ หน้าที่ และระดับวงเงิน อนุมตั ริ ายการประเภทต่างๆ อ�ำนาจการสัง่ จ่ายเช็คของฝ่ายบริหาร ระดับต่างๆ ไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษรชัดเจนในระเบียบ/ค�ำสัง่ บริษทั ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล บริษัทให้ความส�ำคัญต่อระบบสารสนเทศและการสื่อสาร ข้อมูล ซึ่งถือเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท ให้มปี ระสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด ฝ่ายบริหารได้จดั ให้มี • ข้อมูลที่เกี่ยวข้องพอเพียงในการตัดสินใจเพื่อการ ท�ำธุรกิจ โดยมีการพิจารณาถึงต้นทุนและประโยชน์ท่ีจะได้รับ พร้อมกับก�ำหนดวิธีการด้านชั้นความลับและการจัดเก็บเอกสาร อย่างเป็นระบบ • การส่ ง หนั ง สื อ เชิ ญ ประชุ ม และเอกสารให้ คณะกรรมการบริษทั ล่วงหน้าทันเวลาตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด พร้อม มีการบันทึกรายงานการประชุมครบถ้วนทุกครัง้ และสอบทานได้ • กระบวนการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ทั้งภายในและ ภายนอก ภายใต้ช่องทางการสื่อสารลับเพื่อแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับ การทุจริตและคอร์รปั ชัน่ นอกจากนีย้ งั มีการรายงานข้อมูลส�ำคัญ ต่อคณะกรรมการบริษัทอย่างสม�่ำเสมอ • ในด้านช่องทางการสื่อสารกับบุคคลภายนอก บริษัท มีการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศผ่านระบบของ ตลท. และเว็บไซต์ ของบริษทั เพือ่ ให้บคุ คลภายนอก ผูถ้ อื หุน้ นักลงทุน หรือผูท้ สี่ นใจ สามารถรับข้อมูลสารสนเทศของบริษัทได้อย่างเท่าเทียมกัน ตลอดเวลา
132
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
นอกจากนี้ ฝ่ า ยบริ ห ารได้ จั ด ให้ มี ช ่ อ งทางการสื่ อ สาร ภายในองค์กรที่มีประสิทธิภาพ ดังนี้ • คณะกรรมการชุดต่างๆ จะได้รับหนังสือเชิญประชุม และเอกสารประกอบที่มีข้อมูลที่จ�ำเป็นและเพียงพอ ก่อนการ ประชุมล่วงหน้าในระยะเวลาที่เหมาะสม มีการบันทึกข้อซักถาม ค�ำชี้แจง ความเห็น ข้อสังเกต และข้อเสนอแนะของกรรมการ แต่ละท่านในแต่ละเรือ่ งทีพ่ จิ ารณา รวมทัง้ สรุปมติ ความเห็นของ ที่ประชุมไว้ในรายงานการประชุม เพื่อเป็นข้อมูลอ้างอิง
อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง และรายงานให้กับคณะท�ำงาน ด้ า นการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการธรรมาภิบาลและ ความรับผิดชอบต่อสังคม และคณะกรรมการบริษัท ตามล�ำดับ
• ก�ำหนดให้มกี ารประชุมระหว่างกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กั บ ผู ้ บ ริ ห ารของแต่ ล ะสายงานและประชุ ม ร่ ว มกั บ ผู ้ บ ริ ห าร ตั้งแต่ระดับผู้อ�ำนวยการฝ่ายขึ้นไป เพื่อติดตามความก้าวหน้า ของงาน การแก้ไขปัญหา และเพื่อให้ข้อมูลที่ส�ำคัญและเพียงพอ ต่อการปฏิบัติงาน และสื่อสารไปยังผู้บริหารทุกระดับ
ระบบการติดตามและประเมินผล • บริษทั มีการติดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน ทั้งในด้านการปฏิบัติตามจรรยาบรรณบริษัท เพื่อป้องกันเรื่อง การขัดแย้งทางผลประโยชน์ ประเมินและติดตามความพอเพียง ของระบบการควบคุมภายในโดยตรวจสอบภายในและโดยการ ประเมิ น ตนเองของพนั ก งาน เมื่ อ พบข้ อ เสนอแนะเพื่ อ การ ปรับปรุงการควบคุมภายใน ฝ่ายตรวจสอบภายในจะรายงานตรง ต่อคณะกรรมการตรวจสอบอย่างทันเวลา พร้อมกับมีการจัดท�ำ ระบบการติดตามการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของหน่วยงาน ทีร่ บั ตรวจ นอกจากนีเ้ พือ่ พัฒนาศักยภาพของพนักงานตรวจสอบ ภายใน บริษัทมีการสนับสนุนให้พนักงานได้รับการอบรมและ พัฒนาในด้านการปฏิบตั งิ านให้เป็นมาตรฐานสากลอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะการอบรมที่ได้รับประกาศนียบัตรด้านการตรวจสอบ ภายใน
• ผูบ้ ริหารสายงานการเงินและบัญชี ร่วมกับผูส้ อบบัญชี น� ำ เสนอข้ อ มู ล ต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่ อ ทบทวน การจัดท�ำบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป รวมถึง มาตรฐานการบัญชีสากลที่มีการปรับเปลี่ยน • จัดให้มีระบบการจัดเก็บข้อมูล เอกสารประกอบ การบันทึกบัญชี การจัดท�ำรายงานทางการเงินและเอกสารส�ำคัญต่างๆ ไว้ครบถ้วน เป็นหมวดหมู่และไม่เคยได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชี ว่ามีข้อบกพร่องในเรื่องนี้
• จัดช่องทางการสื่อสารภายในผ่านระบบ Intranet, Lotus Notes และระบบ Outlook ซึ่งผู้ปฏิบัติงานทุกคนได้รับ และสามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้องกับนโยบาย ระเบียบ ค�ำสั่ง และประกาศต่างๆ ของบริษัท ได้อย่างทั่วถึงและทันกาล
• บริษทั มีการก�ำหนดนโยบายและแนวทางการรายงาน • บริษทั ได้มกี ารจัดตัง้ คณะท�ำงานชุดย่อยเรือ่ งการต่อต้าน เหตุการณ์ทุจริตร้ายแรง การฝ่าฝืนกฎหมาย หรือการกระท�ำ การทุ จ ริ ต และคอร์ รั ป ชั่ น ที่ มี ตั ว แทนมาจากทุ ก สายงาน ที่ ผิ ด ปกติ ซึ่ ง กระทบชื่ อ เสี ย งและฐานะการเงิ น ของบริ ษั ท เพื่อด�ำเนินการด้านการสื่อสารอบรมร่วมกัน โดยมุ่งเน้นในเรื่อง อย่างมีนัยส�ำคัญต่อคณะกรรมการบริษัททันทีที่เกิดเหตุการณ์ การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น และจะมีการจัดประชุมร่วมกัน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
• บริษัทมีการก�ำหนดเป้าหมายในการด�ำเนินธุรกิจ ตามแผนกลยุทธ์และแผนธุรกิจ โดยก�ำหนดเป้าหมายและตัวชีว้ ดั (KPI) ให้กับทุกสายงาน และมีการประเมินผลการด�ำเนินงาน เปรียบเทียบกับเป้าหมาย รวมทั้งมีการวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุ ของความแตกต่าง (ถ้ามี) ผลกระทบที่เกิดขึ้น แผนงานรองรับ และวิ ธี ก ารด� ำ เนิ น การเพื่ อ แก้ ไ ขหรื อ ลดผลกระทบดั ง กล่ า ว เพื่อรายงานให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบในทุกๆ ไตรมาส • ฝ่ายตรวจสอบภายใน มีการสอบทานความเพียงพอ เหมาะสมของระบบการควบคุมภายในผ่านทาง แผนการตรวจสอบ
133
ประจ�ำปีที่ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบ และ รายงานผลการตรวจสอบให้ค ณะกรรมการตรวจสอบทราบ อย่างสม�ำ่ เสมอ โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้มบี ทบาททีส่ ำ� คัญ ในการก�ำกับดูแลการปฏิบตั งิ านตรวจสอบให้เป็นไปตามแผนงาน และมาตรฐานสากลว่าด้วยการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบ ภายใน ทัง้ นี้ สามารถศึกษารายละเอียดแบบประเมิน ความเพียงพอ ของระบบการควบคุมภายในของบริษทั ได้จากเว็บไซต์ของบริษทั www.ratch.co.th
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
134
รายการระหว่างกัน บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) รายการระหว่างกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ส�ำหรับปี 2561 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริษัทและบริษัทย่อยมีการท�ำรายการระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ทั้งนี้อาจมีความเกี่ยวข้องกัน โดยเป็นผู้ถือหุ้น หรื อ มี ผู ้ ถื อ หุ ้ น ร่ ว มกั น หรื อ มี ก รรมการร่ ว มกั น ดั ง รายละเอี ย ดที่ เ ปิ ด เผยไว้ ใ นงบการเงิ น ปี 2561 ในส่ ว นของหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน ซึ่งบริษัทขอสรุปรายการทางบัญชีของรายการระหว่างกันที่มีนัยส�ำคัญ ดังนี้ 1. บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ที่เกี่ยวข้อง
มูลค่า (ล้านบาท)
ความจำ�เป็น และความสมเหตุสมผล
1.1 ข้อตกลงการให้บริการและจัดการ 1.1.1 ให้ บ ริ ก ารงานด้ า นการบริ ห ารจั ด การโดย มอบหมายให้ผปู้ ฏิบตั งิ านจากบริษทั 2 คนไปด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ และให้บริการ งานตรวจสอบภายใน งานกฎหมาย งานเลขานุ การ คณะกรรมการบริษัท งานด้านบัญชีและงบประมาณ งานบริการด้านการเงิน งานด้านภาษี งานด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ งานด้านบริหารทรัพยากรบุคคล งานด้าน องค์กรสัมพันธ์ และงานด้านการส่งเสริมภาพลักษณ์องค์กร
บจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรี
102.17
บจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรี ไม่มบี คุ ลากรท�ำงานในด้านนี้ ประกอบกับ บริษัทมีบุคลากรที่มีความช�ำนาญและความพร้อมดังกล่าว โดยคิดค่าบริการเป็นรายเดือน ในอัตราค่าบริการตามสัญญา ค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่เกิดขึ้นจริง
1.1.2 ให้ บ ริ ก ารงานด้ า นกฎหมาย งานเลขานุ ก าร คณะกรรมการบริษัท งานด้านบัญชีและงบประมาณ งานบริการด้านการเงิน และงานด้านภาษี
บจ. ราชบุรีพลังงาน
0.21
บจ. ราชบุรพี ลังงาน ไม่มบี คุ ลากรท�ำงานในด้านนี้ ประกอบกับ บริษัทมีบุคลากรที่มีความช�ำนาญและความพร้อมในงาน ดังกล่าว โดยคิดค่าบริการเป็นรายไตรมาส ในอัตราค่าบริการ ตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่ เกิดขึ้นจริง
1.1.3 ให้บริการงานตรวจสอบภายใน งานด้านกฎหมาย งานด้ า นภาษี งานเลขานุ ก ารคณะกรรมการบริ ษั ท งานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ งานบริหารด้านการเงิน และงานด้านบริหารทรัพยากรบุคคล
บจ. ราช-ลาว เซอร์วิส
4.02
บจ. ราช-ลาว เซอร์ วิ ส มี ค วามต้ อ งการให้ บ ริ ษั ท เป็ น ผูด้ ำ� เนินการให้ ประกอบกับบริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามสามารถ ในงานที่ให้บริการ โดยคิดค่าบริการเป็นรายเดือน ในอัตรา ค่าบริการตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ตามที่เกิดขึ้นจริง
1.1.4 ให้ บ ริ ก ารงานด้ า นกฎหมาย งานเลขานุ ก าร บจ. ราชบุรี อัลลายแอนซ์ คณะกรรมการบริษัท งานด้านบัญชีและงบประมาณ งานบริการด้านการเงิน และงานด้านภาษี
0.15
บจ. ราชบุ รี อั ล ลายแอนซ์ มีความต้องการให้บริษทั เป็น ผูด้ ำ� เนินการให้ ประกอบกับบริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามสามารถ ในงานทีใ่ ห้บริการ โดยคิดค่าบริการเป็นรายปี ในอัตราค่าบริการ ตามสั ญ ญาค่ า บริ ก ารและจั ด การ และค่ า ใช้ จ ่ า ยอื่ น ๆ ตามที่เกิดขึ้นจริง
1.1.5 ให้ บ ริ ก ารงานด้ า นกฎหมาย งานเลขานุ ก าร คณะกรรมการบริษัท งานด้านบัญชีและงบประมาณ งานบริการด้านการเงิน และงานด้านภาษี
บจ. อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น
0.92
บจ. อาร์เอช อินเตอร์เนชัน่ แนล คอร์ปอเรชัน่ มีความต้องการ ให้บริษัทเป็นผู้ด�ำเนินการให้ ประกอบกับบริษัทมีบุคลากร ทีม่ คี วามสามารถในงานทีใ่ ห้บริการ โดยคิดค่าบริการเป็นรายปี ในอัตราค่าบริการตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่เกิดขึ้นจริง
1.1.6 ให้บริการงานด้านการจัดหาเงินกู้ และค�ำ้ ประกัน เงินกู้ (JPY)
บจ. อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงค์โปร์) คอร์ปอเรชั่น
3.25
บจ. อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงค์โปร์) คอร์ปอเรชั่น มีความต้องการให้บริษัทเป็นผู้ด�ำเนินการให้ ประกอบกับ บริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามสามารถในงานด้านการจัดหาเงินกู ้ และค�้ำประกันเงินกู้
1.1.7 ให้บริการงานด้านกฎหมาย งานด้านทรัพยากรบุคคล งานด้านบัญชี งานบริการด้านการเงิน และงานด้านภาษี
บจ. อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงค์โปร์) คอร์ปอเรชั่น
28.63
บจ. อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงค์โปร์) คอร์ปอเรชั่น มีความต้องการให้บริษัทเป็นผู้ด�ำเนินการให้ ประกอบกับ บริ ษั ท มี บุ ค ลากรที่ มี ค วามสามารถในงานที่ ใ ห้ บ ริ ก าร โดยคิดค่าบริการเป็นรายปี ในอัตราค่าบริการตามสัญญา ค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่เกิดขึ้นจริง
รายการระหว่างกัน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
135
บริษัท ที่เกี่ยวข้อง
มูลค่า (ล้านบาท)
ความจำ�เป็น และความสมเหตุสมผล
1.1.8 บริษัทให้บริการในการด�ำเนินการออกหุ้นกู ้ มูลค่า 300 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยคิดค่าบริการตาม ความส�ำเร็จของงาน (Success Fee)
บจ. อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงค์โปร์) คอร์ปอเรชั่น
11.13
บจ. อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงค์โปร์) คอร์ปอเรชั่น มีความต้องการให้บริษัทเป็นผู้ด�ำเนินการให้ ประกอบกับ บริ ษั ท มี บุ ค ลากรที่ มี ค วามสามารถในการจั ด หาเงิ น กู ้ โดยคิดค่าบริการตามความส�ำเร็จของงาน (Success Fee) และค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ตามทีเ่ กิดขึน้ จริง
1.1.9 บริษัทให้บริการในการซื้อหุ้นของ บจ. ราชออสเตรเลี ย คอร์ ป อเรชั่ น จ� ำ กั ด จากผู ้ ถื อ หุ ้ น เดิ ม ในสัดส่วนร้อยละ 20 โดยคิดค่าบริการตามความส�ำเร็จ ของงาน (Success Fee)
บจ. อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงค์โปร์) คอร์ปอเรชั่น
3.36
บจ. อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงค์โปร์) คอร์ปอเรชั่น มีความต้องการให้บริษัทเป็นผู้ด�ำเนินการให้ ประกอบกับ บริษัทมีบุคลากรที่มีความสามารถในการให้บริการ
1.1.10 ให้ บ ริ ก ารงานด้ า นบั ญ ชี แ ละงบประมาณ งานบริการด้านการเงิน
บจ. อาร์อี โซลาร์ 1
0.06
เนื่ อ งจากบริ ษั ท ดั ง กล่ า วไม่ มี บุ ค ลากรท� ำ งานในด้ า นนี้ ประกอบกับบริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามช�ำนาญและความพร้อม ดังกล่าว โดยคิดค่าบริการเป็นรายปี ในอัตราค่าบริการ ตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่ เกิดขึ้นจริง
1.1.11 ให้ บ ริ ก ารงานด้ า นบั ญ ชี แ ละงบประมาณ งานบริการด้านการเงิน
บจ. ซีเอ็นไบโอแมส
0.06
เนื่ อ งจากบริ ษั ท ดั ง กล่ า วไม่ มี บุ ค ลากรท� ำ งานในด้ า นนี้ ประกอบกับบริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามช�ำนาญและความพร้อม ดังกล่าว โดยคิดค่าบริการเป็นรายปี ในอัตราค่าบริการ ตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่ เกิดขึ้นจริง
1.1.12 ให้ บ ริ ก ารงานด้ า นบั ญ ชี แ ละงบประมาณ งานบริการด้านการเงิน
บจ. แอลพีไบโอแมส
0.06
เนื่ อ งจากบริ ษั ท ดั ง กล่ า วไม่ มี บุ ค ลากรท� ำ งานในด้ า นนี้ ประกอบกับบริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามช�ำนาญและความพร้อม ดังกล่าว โดยคิดค่าบริการเป็นรายปี ในอัตราค่าบริการ ตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่ เกิดขึ้นจริง
1.1.13 ให้ บ ริ ก ารงานด้ า นบั ญ ชี แ ละงบประมาณ งานบริการด้านการเงิน
บจ. พีบีไบโอแมส
0.06
เนื่ อ งจากบริ ษั ท ดั ง กล่ า วไม่ มี บุ ค ลากรท� ำ งานในด้ า นนี้ ประกอบกับบริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามช�ำนาญและความพร้อม ดังกล่าว โดยคิดค่าบริการเป็นรายปี ในอัตราค่าบริการ ตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่ เกิดขึ้นจริง
1.1.14 ให้ บ ริ ก ารงานด้ า นบั ญ ชี แ ละงบประมาณ งานบริการด้านการเงิน
บจ. ราช โอแอนด์เอ็ม
0.06
เนื่ อ งจากบริ ษั ท ดั ง กล่ า วไม่ มี บุ ค ลากรท� ำ งานในด้ า นนี้ ประกอบกับบริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามช�ำนาญและความพร้อม ดังกล่าว โดยคิดค่าบริการเป็นรายปี ในอัตราค่าบริการ ตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่ เกิดขึ้นจริง
1.1.15 ให้ บ ริ ก ารงานด้ า นบั ญ ชี แ ละงบประมาณ งานบริการด้านการเงิน
บจ. ราช ไชน่า พาวเวอร์
0.12
เนื่ อ งจากบริ ษั ท ดั ง กล่ า วไม่ มี บุ ค ลากรท� ำ งานในด้ า นนี้ ประกอบกับบริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามช�ำนาญและความพร้อม ดังกล่าว โดยคิดค่าบริการเป็นรายปี ในอัตราค่าบริการ ตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่ เกิดขึ้นจริง
1.1.16 ให้ บ ริ ก ารงานด้ า นบั ญ ชี แ ละงบประมาณ งานบริการด้านการเงิน
บจ. อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (มอริเชียส) คอร์ปอเรชั่น
0.12
เนื่ อ งจากบริ ษั ท ดั ง กล่ า วไม่ มี บุ ค ลากรท� ำ งานในด้ า นนี้ ประกอบกับบริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามช�ำนาญและความพร้อม ดังกล่าว โดยคิดค่าบริการเป็นรายปี ในอัตราค่าบริการ ตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่ เกิดขึ้นจริง
1.1.17 ให้ บ ริ ก ารด้ า นการบริ ห ารจั ด การโดย มอบหมายให้ผปู้ ฏิบตั งิ านจากบริษทั 1 คนไปด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้บริหารด้านการเงินที่ บจ. ราชบุรีเพาเวอร์
บจ. ราชบุรีเพาเวอร์
4.83
บจ. ราชบุรเี พาเวอร์ มีความต้องการให้บริษทั เป็นผูด้ ำ� เนินการให้ ประกอบกับบริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามสามารถในงานทีใ่ ห้บริการ โดยคิดค่าบริการเป็นรายเดือนในอัตราค่าบริการตามสัญญา ค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่เกิดขึ้นจริง
รายการระหว่างกัน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
136
บริษัท ที่เกี่ยวข้อง
มูลค่า (ล้านบาท)
ความจำ�เป็น และความสมเหตุสมผล
1.1.18 สัญญา Management Agreement กับ บจ. ราชบุรีเพาเวอร์
บจ. ราชบุรีเพาเวอร์
80.63
บริษัทได้ให้บริการด้านมวลชนสัมพันธ์ และให้ค�ำแนะน�ำ ด้านเทคนิคในการก่อสร้าง เดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า โดยได้รับค่าบริการนับแต่วันเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ของ โรงไฟฟ้ า ราชบุ รี เ พาเวอร์ ชุ ด แรก (วั น ที่ 1 มี . ค. 51) อายุสญ ั ญา 25 ปี 3 เดือน โดยคิดค่าบริการเป็นรายไตรมาส
1.1.19 ให้ บ ริ ก ารด้ า นการบริ ห ารจั ด การโดย มอบหมายให้ผปู้ ฏิบตั งิ านจากบริษทั 2 คนไปด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการผู้จดั การและผูจ้ ัดการฝ่ายบริหารและการเงินที่ บจ. ชูบุราชบุรี อีเลคทริคเซอร์วิส
บจ. ชูบุราชบุรี อีเลคทริคเซอร์วิส
10.32
บจ. ชูบุฯ มีความต้องการให้บริษัทเป็นผู้ด�ำเนินการให้ ประกอบกั บ บริ ษั ท มี บุ ค ลากรที่ มี ค วามสามารถในงาน ทีใ่ ห้บริการ โดยคิดค่าบริการเป็นรายเดือน ในอัตราค่าบริการ ตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่ เกิดขึ้นจริง
1.1.20 สัญญา Service Agreement กับ บจ. ไฟฟ้า น�้ำงึม 2
บจ. ไฟฟ้าน�้ำงึม 2
25.00
บจ. ไฟฟ้าน�้ำงึม 2 ได้ท�ำสัญญา Service Agreement กับ บริษัท โดยคิดค่าบริการเป็นรายไตรมาส ในอัตราค่าบริการ ตามสัญญาค่าบริการและจัดการ
1.1.21 ให้ บ ริ ก ารงานด้ า นการบริ ห ารจั ด การโดย มอบหมายให้ผปู้ ฏิบตั งิ านจากบริษทั 2 คนไปด�ำรงต�ำแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการที่ บจ. ไฟฟ้า หงสา
บจ. ไฟฟ้า หงสา
16.84
บจ. ไฟฟ้า หงสา มีความต้องการให้บริษทั เป็นผูด้ ำ� เนินการให้ ประกอบกั บ บริ ษั ท มี บุ ค ลากรที่ มี ค วามสามารถในงาน ที่ให้บริการ โดยคิดค่าบริการเป็นรายไตรมาส ในอัตรา ค่าบริการตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ตามที่เกิดขึ้นจริง
1.1.22 ให้ บ ริ ก ารงานด้ า นการบริ ห ารจั ด การโดย มอบหมายให้ผปู้ ฏิบตั งิ านจากบริษทั 4 คนไปด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ และผู้จัดการ ที่ บจ. ผลิตไฟฟ้า นวนคร
บจ. ผลิตไฟฟ้า นวนคร
11.16
บจ. ผลิ ต ไฟฟ้ า นวนคร มี ค วามต้ อ งการให้ บ ริ ษั ท เป็ น ผูด้ ำ� เนินการให้ ประกอบกับบริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามสามารถ ในงานทีใ่ ห้บริการ โดยคิดค่าบริการทีเ่ ทียบเคียงได้กบั ราคาตลาด
1.1.23 ให้ บ ริ ก ารงานด้ า นการบริ ห ารจั ด การโดย มอบหมายให้ผปู้ ฏิบตั งิ านจากบริษทั 2 คนไปด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการผู ้ จั ด การ และรองกรรมการผู ้ จั ด การ ที่ บจ. โซลาร์ต้า
บจ. โซลาร์ต้า
9.38
บจ. โซลาร์ต้า มีความต้องการให้บริษัทเป็นผู้ด�ำเนินการให้ ประกอบกั บ บริ ษั ท มี บุ ค ลากรที่ มี ค วามสามารถในงาน ทีใ่ ห้บริการ โดยคิดค่าบริการเป็นรายเดือน ในอัตราค่าบริการ ตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่ เกิดขึ้นจริง
1.1.24 ให้ บ ริ ก ารพื้ น ที่ ส� ำ นั ก งานและบริ ก ารอื่ น ๆ ในพื้นที่
บจ. โซลาร์ต้า
0.76
บริษัทได้ให้บริการพื้นที่ขนาด 72 ตารางเมตร รวมถึง บริการด้านอื่นๆ ในพื้นที่ ได้แก่ บริการระบบเครือข่าย และคอมพิวเตอร์ และระบบโทรศัพท์ โดยมีอายุสัญญา 36 เดือน (ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 59 - 31 ธ.ค. 61)
1.1.25 ให้ บ ริ ก ารงานด้ า นการบริ ห ารจั ด การโดย มอบหมายให้ผู้ปฏิบัติงานจากบริษัท ไปด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้อ�ำนวยการฝ่าย ผู้จัดการ และพนักงาน
บจ. ไฟฟ้า เซเปียน-เซน�้ำน้อย
6.64
บจ. ไฟฟ้า เซเปียน-เซน�้ำน้อย มีความต้องการให้บริษัทเป็น ผูด้ ำ� เนินการให้ ประกอบกับบริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามสามารถ ในงานที่ให้บริการ โดยคิดค่าบริการเป็นรายเดือน ในอัตรา ค่าบริการตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ตามที่เกิดขึ้นจริง
1.1.26 ให้บริการงานด้านการควบคุมและตรวจสอบ งานก่อสร้างโรงไฟฟ้าเซเปียน-เซน�้ำน้อย ใน สปป.ลาว
บจ. ไฟฟ้า เซเปียน-เซน�้ำน้อย
62.47
บริษทั ได้ทำ� สัญญา Construction Supervision Contractor Services กับ บจ. ไฟฟ้า เซเปียน-เซน�ำ้ น้อย โดยคิดค่าบริการเป็น รายเดือนในอัตราค่าบริการตามสัญญา ค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ตามทีเ่ กิดขึน้ จริง
1.1.27 ให้ บ ริ ก ารด้ า นการบริ ห ารจั ด การโดย มอบหมายให้ผปู้ ฏิบตั งิ านจากบริษทั 1 คนไปด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการที่ บจ. สงขลาไบโอ แมส
บจ. สงขลาไบโอ แมส
2.58
บจ. สงขลาไบโอ แมส มี ค วามต้ อ งการให้ บ ริ ษั ท เป็ น ผูด้ ำ� เนินการให้ ประกอบกับบริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามสามารถ ในงานที่ให้บริการ โดยคิดค่าบริการเป็นรายเดือน ในอัตรา ค่าบริการตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ตามที่เกิดขึ้นจริงโดยมีอายุสัญญา 36 เดือน (ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 59 - 30 เม.ย. 62)
5.77
บจ. เบิกไพรโคเจนเนอเรชั่น มีความต้องการให้บริษัทเป็น ผูด้ ำ� เนินการให้ ประกอบกับ บริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามสามารถ ในงานที่ให้บริการ โดยคิดค่าบริการเป็นรายเดือนในอัตรา ค่าบริการตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ตามที่เกิดขึ้นจริง
รายการระหว่างกัน
1.1.28 ให้ บ ริ ก ารด้ า นการบริ ห ารจั ด การโดย บจ. เบิกไพรโคเจนเนอเรชั่น มอบหมายให้ผปู้ ฏิบตั งิ าน 3 คนไปด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ผู้จัดการ ผู้อ�ำนวยการฝ่าย และผู้จัดการส่วน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
137
บริษัท ที่เกี่ยวข้อง
มูลค่า (ล้านบาท)
ความจำ�เป็น และความสมเหตุสมผล
1.1.29 ให้บริการงานบริหารส�ำหรับโรงไฟฟ้าพลังงานลม ห้วยบง 3
บจ. เฟิร์ส โคราช วินด์
1.09
บจ. เฟิ ร์ ส โคราช วิ น ด์ มี ค วามต้ อ งการให้ บ ริ ษั ท เป็น ผูด้ ำ� เนินการให้ ประกอบกับบริษทั มีบคุ ลากรทีม่ คี วามสามารถ ในงานที่ให้บริการ โดยคิดค่าบริการเป็นรายเดือน ในอัตรา ค่าบริการตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ตามที่เกิดขึ้นจริง
1.1.30 ให้บริการงานบริหารส�ำหรับโรงไฟฟ้าพลังงานลม ห้วยบง 2
บจ. เค. อาร์. ทู
1.09
บจ. เค. อาร์. ทู มีความต้องการให้บริษทั เป็นผูด้ ำ� เนินการให้ ประกอบกั บ บริ ษั ท มี บุ ค ลากรที่ มี ค วามสามารถในงาน ทีใ่ ห้บริการ โดยคิดค่าบริการเป็นรายเดือน ในอัตราค่าบริการ ตามสัญญาค่าบริการและจัดการ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ตามที่ เกิดขึ้นจริง
1.2 เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย/กิจการที่ควบคุมร่วมกัน 1.2.1 บริษัทให้เงินกู้ยืมแก่ บจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุร ี ในรู ป ของตั๋ ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น โดยมี ย อดเงิ น กู ้ ณ วั น ที่ 31 ธ.ค. 61 ดังนี้ ล้านบาท 1 ม.ค. 61 ต้นงวด 2,730 ช�ำระคืน (2,730) 31 ธ.ค. 61 เงินกู้คงเหลือ -
บจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรี
29.53
เพื่อจ่ายให้ บจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรี ใช้ส�ำหรับหมุนเวียน ภายในกิจการ โดยคิดอัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 2.10-2.48 ต่อปี
1.2.2 บริษัทให้เงินกู้ยืมแก่ บจ. ราช-ลาว เซอร์วิส ในรูปของสัญญาเงินกู้ (Loan Agreement) โดยมียอดเงินกู้ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 61 จ�ำนวน 32.60 ล้านเหรียญสหรัฐฯ m.USD 1 ม.ค. 61 ต้นงวด 32.75 ช�ำระคืน (0.15) 31 ธ.ค. 61 เงินกู้คงเหลือ 32.60
บจ. ราช-ลาว เซอร์วิส
39.50
เพื่อใช้ลงทุนซื้อหุ้นสามัญของบริษัท EDL Generation Public Company (EDL Gen) ในตลาดหลักทรัพย์ลาว โดยคิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.65 ต่อปี
1.2.3 บริษัทให้เงินกู้ยืมแก่ บจ. ราชบุรีพลังงาน ในรูปของตัว๋ สัญญาใช้เงิน มียอดเงินกู้ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 61 ดังนี้ ล้านบาท 1 ม.ค. 61 ต้นงวด 203 ช�ำระคืน (28) 31 ธ.ค. 61 เงินกู้คงเหลือ 175
บจ. ราชบุรีพลังงาน
7.54
เพือ่ เข้าซือ้ หุน้ บจ. โซลาร์ตา้ , บจ. โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 3), บจ. โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 4), บจ. โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 7), บจ. สงขลาไบโอ แมส และบจ. สงขลา ไบโอฟูเอล โดยคิด อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 4.00 ต่อปี
2.60
เพื่อสนับสนุน Lao Holding State Enterprise ในการ รับประกันส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของ LHSE โดยกูเ้ งินจากผูถ้ อื หุน้ เป็นจ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยมีก�ำหนด ช�ำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยภายใน 27 ปี อัตราดอกเบี้ย - 2 ปีแรก LIBOR + 3.5% - ปีที่ 3 เป็นต้นไป LIBOR + 4%
บริษัท ที่เกี่ยวข้อง
มูลค่า (ล้านบาท)
ความจำ�เป็น และความสมเหตุสมผล
กฟผ.
32,703.51
โรงไฟฟ้ า ราชบุ รี ได้ ท� ำ สั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ้ า กั บ กฟผ. อายุสัญญา 25 ปี (สัญญาลงนาม วันที่ 9 ต.ค. 43) จะต้อง ส่งไฟฟ้าที่ผลิตได้จากโรงไฟฟ้าให้แก่ กฟผ. และจะได้รับ รายได้จาก กฟผ. ตามเงือ่ นไขในสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า (Power Purchase Agreement) ซึ่งเป็นไปตามธุรกิจปกติ
กฟผ.
4,583.90
โรงไฟฟ้าไตรเอนเนอจี้ ได้ท�ำสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟผ. อายุสัญญา 20 ปี (สัญญาลงนาม วันที่ 22 พ.ค. 40) จะต้อง ส่งไฟฟ้าที่ผลิตได้จากโรงไฟฟ้าให้แก่ กฟผ. และจะได้รับ รายได้จาก กฟผ. ตามเงือ่ นไขในสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า (Power Purchase Agreement) ซึ่งเป็นไปตามธุรกิจปกติ
รายการระหว่างกัน
1.2.4 บริษทั ให้เงินกูย้ มื แก่บจ.ไฟฟ้า เซเปียน-เซน�ำ้ น้อย บจ. ไฟฟ้า เซเปียน-เซน�ำ้ น้อย ในรูปของ Shareholders’ Loan Agreement โดยมี ยอดเงินกู้ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 61 จ�ำนวน 1.32 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ
2. บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด รายการระหว่างกัน
2.1 สัญญาซื้อขายไฟฟ้า 2.1.1 สัญญาซื้อขายไฟฟ้า : โรงไฟฟ้าราชบุรี - รายได้ค่าขายไฟฟ้า จ�ำนวน 29,631.52 ล้านบาท - รายได้ตามสัญญาเช่าการเงิน จ�ำนวน 3,071.99 ล้านบาท 2.1.2 สัญญาซื้อขายไฟฟ้า : โรงไฟฟ้าไตรเอนเนอจี้ - รายได้ค่าขายไฟฟ้า จ�ำนวน 4,320.07 ล้านบาท - รายได้ตามสัญญาเช่าการเงิน จ�ำนวน 263.83 ล้านบาท
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
138
บริษัท ที่เกี่ยวข้อง
มูลค่า (ล้านบาท)
ความจำ�เป็น และความสมเหตุสมผล
2.2 สัญญาซื้อไฟฟ้าส�ำรอง และไฟฟ้าระบบจัดส่งน�้ำ
กฟผ.
171.84
เนือ่ งจาก บจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรี มีความจ�ำเป็นต้องซือ้ ไฟฟ้า จาก กฟผ. เพื่อใช้ในการด�ำเนินงานของโรงไฟฟ้าและระบบ จัดส่งน�้ำ โดยมีอัตราค่าไฟฟ้าเช่นเดียวกับผู้ขอซื้อไฟฟ้าจาก กฟผ. รายอื่น
2.3 สัญญาปฏิบัติการเดินเครื่องและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า บจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ้าง กฟผ. เดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษา โรงไฟฟ้าราชบุรี รวมถึงการซ่อมบ�ำรุงรักษาหลักและ การบ�ำรุงรักษาทั่วไป - ค่าบริการรายเดือน จ�ำนวน 1,069.33 ล้านบาท - ค่าใช้จ่ายอื่นๆ จ�ำนวน 114.68 ล้านบาท
กฟผ.
1,184.01
เนื่องจาก กฟผ. เป็นผู้มีประสบการณ์และเชี่ยวชาญในการ เดิ น เครื่ อ งและบ� ำ รุ ง รั ก ษาโรงไฟฟ้ า โดยคิ ด ค่ า บริ ก าร และมีปรับเพิ่มค่าบริการตามอัตราค่าดัชนีราคาผู้บริโภค ประเทศไทยรายปี ซึ่งเป็นไปตามธุรกิจปกติ
2.4 สัญญาจ้าง กฟผ. 2.4.1 บจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ้าง กฟผ. เพื่อให้บริการ ดูแลระบบตรวจวัดคุณภาพน�้ำทิ้งโรงไฟฟ้าราชบุรี
กฟผ.
1.26
เนื่องจาก บจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรี ไม่มีบุคลากรที่ท�ำงาน ในด้านนี้ประกอบกับ กฟผ. มีบุคลากรที่มีความช�ำนาญ เป็นพิเศษ โดยคิดอัตราค่าบริการซึ่งเป็นไปตามธุรกิจปกติ
2.4.2 บจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ้าง กฟผ. เป็นผูป้ ระสาน การจัดหาเชื้อเพลิงและการจัดส่งเชื้อเพลิง (น�้ำมันเตา)
กฟผ.
2.14
เนือ่ งจาก กฟผ. เป็นลูกค้ารายใหญ่ของ ปตท. ท�ำให้มอี ำ� นาจ ต่อรองราคาและปริมาณ รวมทั้งความรวดเร็วในการขนส่ง ได้เป็นอย่างดี และคิดค่าบริการซึ่งเป็นไปตามธุรกิจปกติ
2.5 สัญญาให้บริการจัดการ 2.5.1 บจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรี ให้ บจ. ราชบุรีเพาเวอร์ เช่าที่ดินจ�ำนวน 143 ไร่ ส�ำหรับสร้างโรงไฟฟ้า และ จ�ำนวน 2 ไร่ เพื่อก่อสร้างสถานีรับก๊าซธรรมชาติ
บจ. ราชบุรีเพาเวอร์
12.07
เนื่องจากพื้นที่ของโรงไฟฟ้าราชบุรีมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวก และระบบสาธารณูปโภคที่เหมาะสมในการด�ำเนินธุรกิจ ผลิ ต ไฟฟ้ า โดย บจ. ผลิ ต ไฟฟ้ า ราชบุ รี คิ ด ค่ า เช่ า และ ปรับเพิม่ ตามอัตราค่าดัชนีราคาผูบ้ ริโภคประเทศไทยทุก 5 ปี ซึ่งเป็นไปตามธุรกิจปกติ
2.5.2 บจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรี ให้บริการแก่ บจ. ราชบุรี เพาเวอร์ เพื่อใช้สิ่งอ�ำนวยความสะดวกของโรงไฟฟ้า โดยมีรายได้ดังนี้ - ค่าบริการด้านสิ่งแวดล้อม จ�ำนวน 3.42 ล้านบาท - ค่าเช่าถังน�้ำมันดีเซล จ�ำนวน 2.18 ล้านบาท - ค่าบริการสาธารณูปโภค จ�ำนวน 28.65 ล้านบาท
บจ. ราชบุรีเพาเวอร์
34.25
เนื่องจาก บจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรี มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวก และระบบสาธารณูปโภคที่เหมาะสมในการด�ำเนินธุรกิจ ผลิตไฟฟ้า ดังนี้ - ค่าบริการสิ่งแวดล้อม - ค่าเช่าถังน�้ำมันดีเซล ปรับเพิ่มตามอัตราค่าดัชนีราคา ผู้บริโภคประเทศไทยทุก 5 ปี ซึ่งเป็นไปตามธุรกิจปกติ - ค่าบริการสาธารณูปโภค เรียกเก็บตามอัตราที่ตกลง ตามสัญญาซึง่ เป็นไปตามธุรกิจปกติ
รายการระหว่างกัน
3. บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด รายการระหว่างกัน
บริษัท ที่เกี่ยวข้อง
มูลค่า (ล้านบาท)
ความจำ�เป็น และความสมเหตุสมผล
3.1 บจ. อาร์เอช อินเตอร์เนชัน่ แนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชัน่ ให้เงินกู้ยืมแก่ บจ. ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น
บจ. ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น
353.54
เพื่ อ ช� ำ ระเงิ น กู ้ เ ดิ ม ของ RAC และปรั บ โครงสร้ างเงิ นกู ้ ของบริษทั โดยคิดอัตราดอกเบีย้ ร้อยละ BBSY + 2.25 ต่อปี และคิดค่าบริการจัดการในอัตราร้อยละ 1.125 ต่อปี
บริษัท ที่เกี่ยวข้อง
มูลค่า (ล้านบาท)
ความจำ�เป็น และความสมเหตุสมผล
กฟผ.
50.90
เนือ่ งจาก กฟผ. ได้พจิ ารณาแล้วเห็นว่า บจ. ราช-ลาว เซอร์วสิ เป็นนิติบุคคลสัญชาติลาว ซึ่งมีความคุ้นเคยและสะดวก คล่องตัวในการติดต่อประสานงานใน สปป.ลาว เป็นอย่างดี จึงจ้าง บจ. ราช-ลาว เซอร์วิส ให้บริการด้านงานเดินเครื่อง และบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสา
ในรูปของ Mezzanine Facility Agreement มียอดเงินกู้ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 61 ดังนี้ m.AUD 1 ม.ค. 61 ต้นงวด 250 ช�ำระคืน (8.5) 31 ธ.ค. 61 เงินกู้คงเหลือ 241.5 โดยมีรายการระหว่างกัน ดังนี้ - ดอกเบี้ยรับ จ�ำนวน 279.97 ล้านบาท - รายได้ค่าบริการจัดการ จ�ำนวน 73.57 ล้านบาท 4. บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด รายการระหว่างกัน
4.1 ให้บริการด้านงานเดินเครื่องและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า พลังความร้อนหงสาใน สปป.ลาว
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
139
กิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีลักษณะความสัมพันธ์ ดังนี้
1. บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้งจ�ำกัด (มหาชน) 1.1 บริษัท กับ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด 1.2 บริษัท กับ บริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด 1.3 บริษัท กับ บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด 1.4 บริษัท กับ บริษัท ราชบุรี อัลลายแอนซ์ จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท ราชบุรี อัลลายแอนซ์ จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท ราชบุรี อัลลายแอนซ์ จ�ำกัด 1.5 บริษัท กับ บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด
1.6 บริษัท กับ บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 - บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท เป็นผู้ถือหุ้น บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (มอริเชียส) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ร้อยละ 100.00 - บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (มอริเชียส) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด เป็นผู้ถือหุ้น บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ร้อยละ 100.00 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด 1.7 บริษัท กับ บริษัท อาร์อี โซลาร์ 1 จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท เป็นผู้ถือหุ้น บริษัท อาร์อี โซลาร์ 1 จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท อาร์อี โซลาร์ 1 จ�ำกัด 1.8 บริษัท กับ บริษัท ซีเอ็นไบโอแมส จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท เป็นผู้ถือหุ้น บริษัท ซีเอ็นไบโอแมส จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท ซีเอ็นไบโอแมส จ�ำกัด 1.9 บริษัท กับ บริษัท แอลพีไบโอแมส จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท เป็นผู้ถือหุ้น บริษัท แอลพีไบโอแมส จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท แอลพีไบโอแมส จ�ำกัด 1.10 บริษัท กับ บริษัท พีบีไบโอแมส จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท เป็นผู้ถือหุ้น บริษัท พีบีไบโอแมส จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท พีบีไบโอแมส จ�ำกัด 1.11 บริษัท กับ บริษัท ราช โอแอนด์เอ็ม จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท ราชโอแอนด์เอ็ม จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท ราชโอแอนด์เอ็ม จ�ำกัด
140
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
1.12 บริษัท กับ บริษัท ราช ไชน่า พาวเวอร์ จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 - บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท เป็นผู้ถือหุ้น บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (มอริเชียส) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ร้อยละ 100.00 - บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (มอริเชียส) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด เป็นผู้ถือหุ้น บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ร้อยละ 100.00 - บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงค์โปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด เป็นผู้ถือหุ้น บริษัท ราช ไชน่า พาวเวอร์ จ�ำกัด ร้อยละ 100.00 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท ราช ไชน่า พาวเวอร์ จ�ำกัด 1.13 บริษัท กับ บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (มอริเชียส) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 - บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท เป็นผู้ถือหุ้น บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (มอริเชียส) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ร้อยละ 100.00 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (มอริเชียส) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด 1.14 บริษัท กับ บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษทั ราชบุรี อัลลายแอนซ์ จ�ำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั เป็นผูถ้ อื หุน้ บริษทั ราชบุรเี พาเวอร์ จ�ำกัด ร้อยละ 25.00 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จ�ำกัด 1.15 บริษัท กับ บริษัท ชูบุราชบุรี อีเลคทริคเซอร์วิส จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท ชูบุราชบุรี อีเลคทริคเซอร์วิส จ�ำกัด ร้อยละ 50.00 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท ชูบุราชบุรี อีเลคทริคเซอร์วิส จ�ำกัด 1.16 บริษัท กับ บริษัท ไฟฟ้าน�้ำงึม 2 จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษทั เซาท์อสี ท์ เอเชียเอนเนอร์จี จ�ำกัด ซึง่ เป็นการร่วมค้าของบริษทั เป็นผูถ้ อื หุน้ บริษทั ไฟฟ้าน�ำ้ งึม 2 จ�ำกัด ร้อยละ 75.00 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท ไฟฟ้าน�้ำงึม 2 จ�ำกัด
1.17 บริษัท กับ บริษัท ไฟฟ้า หงสา จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท ไฟฟ้า หงสา จ�ำกัด ร้อยละ 40.00 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท ไฟฟ้า หงสา จ�ำกัด 1.18 บริษัท กับ บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด ร้อยละ 40.00 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด 1.19 บริษัท กับ บริษัท โซลาร์ต้า จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย เป็นผู้ถือหุ้น บริษัท โซลาร์ต้า จ�ำกัด ร้อยละ 49.00 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท โซลาร์ต้า จ�ำกัด 1.20 บริษัท กับ บริษัท ไฟฟ้า เซเปียน-เซน�้ำน้อย จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท ไฟฟ้า เซเปียน-เซน�้ำน้อย จ�ำกัด ร้อยละ 25.00 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท ไฟฟ้า เซเปียน-เซน�้ำน้อย จ�ำกัด 1.21 บริษัท กับ บริษัท สงขลาไบโอ แมส จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย เป็นผู้ถือหุ้น บริษัท สงขลาไบโอ แมส จ�ำกัด ร้อยละ 40.00 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท สงขลาไบโอ แมส จ�ำกัด
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
141
1.22 บริษัท กับ บริษัท เบิกไพรโคเจนเนอเรชั่น จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย เป็นผู้ถือหุ้น บริษัท เบิกไพรโคเจนเนอเรชั่น จ�ำกัด ร้อยละ 35.00 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท เบิกไพรโคเจนเนอเรชั่น จ�ำกัด 1.23 บริษัท กับ บริษัท เฟิร์ส โคราช วินด์ จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท เฟิร์ส โคราช วินด์ จ�ำกัด ร้อยละ 20.00 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท เฟิร์ส โคราช วินด์ จ�ำกัด 1.24 บริษัท กับ บริษัท เค. อาร์. ทู จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท เค. อาร์. ทู จ�ำกัด ร้อยละ 20.00 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท เค. อาร์. ทู จ�ำกัด 2. บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด 2.1 บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด กับ กฟผ. มีความสัมพันธ์โดย - กฟผ. เป็นผู้ถือหุ้นบริษัท ร้อยละ 45.00 - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 - ผู้บริหารของ กฟผ. บางท่านเป็นกรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด 2.2 บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด กับ บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 - บริษทั ราชบุรี อัลลายแอนซ์ จ�ำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั เป็นผูถ้ อื หุน้ บริษทั ราชบุรเี พาเวอร์ จ�ำกัด ร้อยละ 25.00 - ผู้บริหารของบริษัทบางท่านเป็นกรรมการ บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จ�ำกัด 3. บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด 3.1 บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด กับบริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด มีความสัมพันธ์โดย - บริษทั อาร์เอช อินเตอร์เนชัน่ แนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด เป็นผูถ้ อื หุน้ บริษทั ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ร้อยละ 100.00 (ตั้งแต่วันที่ 3 พฤษภาคม 2561) - ผู้บริหารของบริษัทบางท่าน เป็นกรรมการบริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด 4. บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด 4.1 บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด กับ กฟผ. มีความสัมพันธ์โดย - กฟผ. เป็นผู้ถือหุ้นบริษัท ร้อยละ 45.00 - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้น บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด ร้อยละ 99.99 มาตรการและขั้นตอนการอนุมัติการท�ำรายการระหว่างกัน
หน่วยงานที่รับผิดชอบจะเป็นผู้ประเมินรายการดังกล่าวในขั้นต้น โดยจะจัดหาข้อมูลและท�ำการวิเคราะห์ว่า รายการดังกล่าว เป็นรายการทีเ่ หมาะสมโดยพิจารณาเงือ่ นไขต่างๆ ให้เป็นไปตามลักษณะการด�ำเนินธุรกิจปกติ บริษทั อาจมีการว่าจ้างผูเ้ ชีย่ วชาญอิสระ เพื่อให้ความเห็นเพิ่มเติม จากนั้นจึงน�ำเสนอตามขั้นตอนและกระบวนการอนุมัติ และฝ่ายบริหารจะมีการจัดท�ำรายการสรุป การเข้าท�ำรายการระหว่างกันดังกล่าวเพื่อรายงานในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบทุกไตรมาส ทั้งนี้ เพื่อให้ความมั่นใจว่าการเข้าท�ำรายการดังกล่าวจะไม่เป็นการโยกย้าย หรือถ่ายเทผลประโยชน์ระหว่างบริษัทหรือผู้ถือหุ้น ของบริษัท แต่เป็นการท�ำรายการที่บริษัทได้ค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นทุกราย โดยบริษัทจะเปิดเผยรายการระหว่างกัน ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัท ในรายงานประจ�ำปีและแบบแสดงรายการ ข้อมูลประจ�ำปีของบริษัท (แบบ 56-1)
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
142
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
143
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
144
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
145
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
146
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
147
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
148
งบการเงิน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
งบแสดงฐานะการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
149
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
150
งบแสดงฐานะการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
งบแสดงฐานะการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
151
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
152
งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
153
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
154 บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
155
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
156 บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
งบกระแสเงินสด
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
157
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
158
งบกระแสเงินสด
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
159
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
160
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
161
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
162
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
163
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
164
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
165
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
166
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
167
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
168
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
169
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
170
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
171
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
172
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
173
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
174
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
175
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
176
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
177
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
178
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
179
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
180
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
181
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
182
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
183
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
184
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
185
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
186
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
187
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
188
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
189
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
190
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
191
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
192
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
193
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
194
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
195
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
196
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
197
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
198
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
199
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
200
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
201
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
202
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
203
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
204
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
205
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
206
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
207
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
208
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
209
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
210
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
211
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
212
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
213
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
214 บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
215
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
216 บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
217
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
218
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
219
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
220
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
221
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
222 บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
223
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
224 บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
225
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
226 บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
227
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
228
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
229
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
230 บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
231
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
232
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
233
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
234
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
235
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
236
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
237
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
238
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
239
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
240
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
241
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
242
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
243
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
244
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
245
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
246
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
247
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
248
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
249
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
250
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
251
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
252
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
253
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
254 บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
255
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
256
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
257
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
258
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
259
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
260
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
261
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
262
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
263
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
264
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
265
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
266
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
267
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
268
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
269
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
270
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
271
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
272
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
273
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
274
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
275
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
276
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
277
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
278
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561
279
280
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
281
282
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
283
284
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
285
286
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
287
288
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
289
290
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
291
292
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
293
294
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
ค�ำอธิบายรายการและวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงินของฝ่ายบริหาร
295
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
296
ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชีและค่าบริการอื่น ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee) บริษัทและ บริษัทย่อย ได้แก่ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด บริษัท ราชบุรี พลังงาน จ�ำกัด บริษทั ราชบุรี อัลลายแอนซ์ จ�ำกัด บริษทั อาร์เอช อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล คอร์ ป อเรชั่ น จ� ำ กั ด บริ ษั ท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด บริษัท ราช โอแอนด์เอ็ม จ�ำกัด บริษัท อาร์อี โซลาร์ 1 จ�ำกัด บริษทั ซีเอ็นไบโอแมส จ�ำกัด บริษทั พีบไี บโอแมส จ�ำกัด และบริษทั แอลพีไบโอแมส จ�ำกัด ได้บนั ทึกค่าสอบบัญชี ให้แก่สำ� นักงานสอบบัญชี ในรอบปีบญ ั ชีทผี่ า่ นมาเป็นจ�ำนวนเงิน รวม 2,570,000 บาท (ไม่รวมค่าใช้จ่าย Out-of-pocket จ�ำนวน 103,000 บาท) ประกอบด้วยค่าสอบบัญชีของบริษัท จ�ำนวน 1,080,000 บาท และค่าสอบบัญชีของบริษทั ย่อยทีแ่ ต่ละ บริษทั ย่อยรับภาระเอง จ�ำนวน 1,490,000 บาท (ไม่รวมค่าใช้จา่ ย Out-of-pocket จ�ำนวน 63,000 บาท)
นอกจากนี้ บริ ษั ท ได้ มี ก ารจ้ า งกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ส�ำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด เป็นที่ปรึกษาในปี 2561 เพือ่ วัตถุประสงค์เฉพาะ ซึง่ บริษทั ได้บนั ทึกเป็นค่าใช้จา่ ยทางบัญชี ในระหว่างปี เป็นจ�ำนวน 5,804,145 บาท ทั้งนี้ การจ้างกิจการ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ส� ำ นั ก งานสอบบั ญ ชี ที่ ผู ้ ส อบบั ญ ชี สั ง กั ด ในการให้บริการอืน่ นอกเหนือจากงานสอบบัญชีนนั้ ไม่กอ่ ให้เกิด การขัดกันในด้านผลประโยชน์ (Conflict of interest) และ ไม่มีการตรวจสอบงานของตัวเอง ซึ่งจะไม่ท�ำให้ผู้สอบบัญชี ขาดความเป็นอิสระและขาดความเป็นกลางในการปฏิบตั งิ านสอบบัญชี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
297
ประวัติกรรมการบริษัท 01 นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์
อายุ 65 ปี
ประธานกรรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ.) ประธานกรรมการกลั่นกรองการลงทุน วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท : 20 ตุลาคม 2557 วันที่ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานกรรมการ : 21 ธันวาคม 2558 ระยะเวลาที่อยู่ในต�ำแหน่งกรรมการ : 4 ปี 2 เดือน ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นวาระที่ : 3 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี การศึกษา
ประสบการณ์การท�ำงาน
• วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• 2558 - 2561 กรรมการ กฟผ. • 2557 - 2558 กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • 2553 - 2557 ประธานกรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด และบริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จ�ำกัด • 2554 - 2556 ประธานกรรมการ บริษัท กฟผ. อินเตอร์ เนชั่นแนล จ�ำกัด • 2553 - 2556 กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • 2552 - 2556 กรรมการ และผู้ว่าการ กฟผ.
การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร Boards that Make a Difference (BMD 4/2017) • หลักสูตร Chartered Director Class (CDC 9/2015) • หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD 14/2011) • หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP 24/2010) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP 83/2007) การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญอื่นๆ • หลักสูตร Advanced Management Program, Harvard Business School สหรัฐอเมริกา • หลั ก สู ต ร Senior Executive Development Program-2 มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ • หลักสูตร Creating Value Through Product Management and Customer Profitability สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลั ก สู ต ร ASEAN Executive Development Program, Thammasat Business School มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน : ไม่มี คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นกรรมการบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี การมีสว่ นร่วมในการบริหาร/ความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : การท�ำรายการกับ กฟผ. ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ตามที่เปิดเผยไว้ใน หัวข้อรายการระหว่างกัน ซึ่งกรรมการที่มีส่วนได้เสียไม่ได้ร่วมในการ พิจารณาออกเสียงในการท�ำรายการดังกล่าว
หมายเหตุ
(1)
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (2) บริษัทย่อย (3) บริษัทร่วม/การร่วมค้า (4) กิจการในอุตสาหกรรมพลังงาน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
298
02 นายชาติชาย โรจนรัตนางกูร
อายุ 62 ปี
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท : 6 เมษายน 2560 ระยะเวลาที่อยู่ในต�ำแหน่งกรรมการ : 1 ปี 8 เดือน ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นวาระที่ : 1 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ร้อยละ 0.0003 • ทางอ้อม : ไม่มี การศึกษา
• บัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลั ก สู ต ร Advanced Audit Committee Program (AACP 31/2018) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP 223/2016) การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญอื่นๆ • หลักสูตรวิทยาการประกันภัยระดับสูง (พ.ศ. 2558) ส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย • หลั ก สู ต รบริ ห ารการคลั ง มู ล นิ ธิ ส ถาบั น วิ จั ย นโยบายเศรษฐกิ จ การคลัง • หลักสูตร Infrastructure Financial Analysis & Tariff Setting : Essential Skills for Financial Analysis, The Institute for Public-Private Partnerships • หลั ก สู ต ร Financial Statement Analysis Workshop สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ • หลักสูตร Advanced Mini MBA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Project Feasibility Analysis, Mahidol Management Education Center of College of Management • หลั ก สู ต ร Privatizing Power in Emerging Economies: Structuring & Financing Public/Private Partnerships Through BOT Schemes and Divestiture, INTRADOS/International Management Group • หลั ก สู ต รการบริ ห ารการเงิ น ขั้ น สู ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ร่วมกับสมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย • EGAT Senior Executive Program (ESEP)
หมายเหตุ
(1)
ประสบการณ์การท�ำงาน
• 2557 - 2559 รองผู ้ ว ่ า การบั ญ ชี แ ละการเงิ น ท� ำ หน้ า ที่ ผูบ้ ริหารใหญ่ ด้านการเงิน (Chief Financial Officer) กฟผ. • 2556 - 2557 ผู้ช่วยผู้ว่าการส�ำนักตรวจสอบภายใน กฟผ. การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน • ม.ค. 2561 - ปัจจุบัน กรรมการองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ แห่งชาติ คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นกรรมการบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี การมีสว่ นร่วมในการบริหาร/ความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (2) บริษัทย่อย (3) บริษัทร่วม/การร่วมค้า (4) กิจการในอุตสาหกรรมพลังงาน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
299
03 นายสมัคร เชาวภานันท์
อายุ 69 ปี
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท : 11 เมษายน 2558 ระยะเวลาที่อยู่ในต�ำแหน่งกรรมการ : 3 ปี 8 เดือน ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นวาระที่ : 2 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
• รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร How to Develop a Risk Management Plan (HRP 8/2015) • หลักสูตร Risk Management Program for Corporate Leaders (RCL 1/2015) • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP 21/2008) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP 99/2008) • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 67/2007) การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญอื่นๆ • เนติบัณฑิตยสภา • หลั ก สู ต รป้ อ งกั น ราชอาณาจั ก รภาครั ฐ ร่ ว มเอกชน รุ ่ น 4212 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ประสบการณ์การท�ำงาน
• 2551 - 2557 ส ม า ชิ ก วุ ฒิ ส ภ า ป ร ะ ธ า น ที่ ป รึ ก ษ า ฝ่ายการยุตธิ รรม คณะกรรมาธิการการยุตธิ รรม และการต�ำรวจ และประธานกรรมาธิการ การยุติธรรมและการต�ำรวจ วุฒิสภา • กรรมการ เนติบัณฑิตยสภาในพระบรมราชูปถัมภ์ • วิทยากร และอาจารย์ สภาทนายความ และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ทีป่ รึกษากรรมการอ�ำนวยการ ส�ำนักฝึกอบรมวิชาว่าความสภาทนายความ • กรรมการส�ำนักฝึกอบรมกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา • ที่ปรึกษากฎหมายบริษัทให้กับบริษัท วงษ์สยามก่อสร้าง จ�ำกัด • นายกสมาคมนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2 สมัย)
การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน • อาจารย์ส�ำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา • ที่ปรึกษากรรมการ ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ • ที่ปรึกษากฎหมายบริษัทให้กับ - บริษัท เครื่องดื่มกระทิงแดง จ�ำกัด - บริษัท ที.ซี. ฟาร์มาซูติคอล อุตสาหกรรม จ�ำกัด - บริษัท สยามไวเนอรี่ เทรดดิ้งพลัส จ�ำกัด - บริษัท สยามไวเนอรี่ จ�ำกัด - บริษัท ทัสคานี วิลล์ จ�ำกัด - ประธานที่ปรึกษา บริษัท AIA จ�ำกัด (ประเทศไทย) - บริษัท เซ้นต์ แอนดรูส์ 2000 จ�ำกัด - บริษัท ทอสกานา วัลเล่ คันทรีคลับ จ�ำกัด - กลุ่มบริษัท ทอสกานา วัลเล่ จ�ำกัด - ที่ปรึกษากฎหมายสมัครและเพื่อน จ�ำกัด คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นกรรมการบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี การมีสว่ นร่วมในการบริหาร/ความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน • ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท บูรพากอล์ฟ จ�ำกัด (มหาชน) • ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) หมายเหตุ
(1)
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (2) บริษัทย่อย (3) บริษัทร่วม/การร่วมค้า (4) กิจการในอุตสาหกรรมพลังงาน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
300
04 นางศิริพร เหลืองนวล
อายุ 59 ปี
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท : 6 เมษายน 2560 ระยะเวลาที่อยู่ในต�ำแหน่งกรรมการ : 1 ปี 8 เดือน ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นวาระที่ : 1 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
• Master of Business Administration, Pittsburg State University สหรัฐอเมริกา • บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลั ก สู ต ร Advanced Audit Committee Program (AACP 31/2018) • หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD 35/2018) • หลักสูต ร How to Develop a Risk Management Plan (HRP 12/2017) • หลักสูตร Risk Management Program for Corporate Leaders (RCL 6/2017) • หลักสูตร Director Certification Program Update (DCPU 3/2015) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP 72/2006) การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญอื่นๆ • หลักสูตร Financial and Accounting for Non-Financial Manager, The Wharton School สหรัฐอเมริกา • หลักสูตร Breakthrough Program for Senior Executives, IMD ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารงานภาครัฐและกฎหมาย มหาชน (ปรม. 8) สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุน่ ที่ 55 วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 18 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCOT) รุ่นที่ 8 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 7 สถาบันวิทยาการพลังงาน • หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP4) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
หมายเหตุ
(1)
ประสบการณ์การท�ำงาน
• 2550 - 2560 กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด • 2554 - 2558 รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง • 2557 กรรมการ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ • 2556 - 2557 กรรมการ บริษัท โรงแรมเอราวัณ จ�ำกัด (มหาชน) การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน • 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน • ปัจจุบัน ที่ปรึกษาการคลัง กระทรวงการคลัง • 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ การประปานครหลวง คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นกรรมการบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี การมีสว่ นร่วมในการบริหาร/ความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (2) บริษัทย่อย (3) บริษัทร่วม/การร่วมค้า (4) กิจการในอุตสาหกรรมพลังงาน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
301
05 นายสมบูรณ์ หน่อแก้ว
อายุ 56 ปี
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท : 23 กุมภาพันธ์ 2561 ระยะเวลาที่อยู่ในต�ำแหน่งกรรมการ : 10 เดือน ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นวาระที่ : 1 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
ประสบการณ์การท�ำงาน
• วิ ศ วกรรมศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต (วิ ศ วกรรมโครงสร้ า งพื้ น ฐาน และการบริหาร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
• 2558 - 2560 ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักความปลอดภัยธุรกิจน�ำ้ มัน กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน • 2557 - 2558 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักความปลอดภัยธุรกิจ ก๊าซธรรมชาติ กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน • 2556 - 2557 ผู้อ�ำนวยการสถาบันพัฒนาเทคนิคพลังงาน กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน
การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 154/2018) การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญอื่นๆ • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุน่ ที่ 60 วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง หลักสูตรที่ 1 (นบส.1) รุ่นที่ 83 สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน • หลั ก สู ต รการบริ ห ารงานภาครั ฐ และกฎหมายมหาชน (ปรม.) รุ่นที่ 14 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCOT) รุ่นที่ 7 สถาบันวิทยาการการค้า มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย • หลั ก สู ต รนั ก บริ ห ารการงบประมาณระดั บ สู ง (นงส.) รุ ่ น ที่ 4 ส�ำนักงบประมาณ
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน • ต.ค. 2560 - ปัจจุบัน รองอธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นกรรมการบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี การมีสว่ นร่วมในการบริหาร/ความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
หมายเหตุ
(1)
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (2) บริษัทย่อย (3) บริษัทร่วม/การร่วมค้า (4) กิจการในอุตสาหกรรมพลังงาน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
302
06 นายวีระศักดิ์ พึ่งรัศมี
อายุ 60 ปี
กรรมการอิสระ กรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท : 8 เมษายน 2559 ระยะเวลาที่อยู่ในต�ำแหน่งกรรมการ : 2 ปี 8 เดือน ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นวาระที่ : 1 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
ประสบการณ์การท�ำงาน
• วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
• พ.ย. 2558 - ก.ย. 2561 อธิ บ ดี ก รมเชื้ อ เพลิ ง ธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน • ธ.ค. 2557 - พ.ย. 2558 รองอธิ บ ดี ก รมเชื้ อ เพลิ ง ธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน • ก.ค. 2557 - ธ.ค. 2557 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักจัดการเชื้อเพลิง ธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน • ก.ย. 2552 - ก.ค. 2557 ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก เทคโนโลยี การประกอบกิ จ การปิ โ ตรเลี ย ม กระทรวงพลังงาน
การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร Risk Management Program for Corporate Leaders (RCL 8/2017) การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญอื่นๆ • หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ ส�ำหรับนักบริหารระดับสูง (ปศส.) รุ่นที่ 9 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน รุ่นที่ 24 (ปรอ. 24) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตร Petroleum Engineering and Operation Drilling and Equipment Engineer, Shell Training Center ประเทศเนเธอร์แลนด์ • หลักสูตร Natural Gas Reservoir Engineer, OGCI สหรัฐอเมริกา • หลักสูตร Petroleum Management, IHRDC สหรัฐอเมริกา • หลักสูตรนักบริหารด้านพลังงานระดับสูง รุ่น 2 กระทรวงพลังงาน • หลักสูตรความรู้กฎหมายปกครองส�ำหรับนักบริหาร มูลนิธิวิจัย และพัฒนากระบวนการยุติธรรมทางปกครอง • หลั ก สู ต รการมี ส ่ ว นร่ ว มกั บ ประชาชนในการพั ฒ นาประเทศ สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • โครงการฝึกอบรมเสริมหลักสูตรพัฒนานักบริหารระดับสูง (ส.นบส.) รุ่นที่ 4 สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน ส�ำนักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน • หลักสูตรพัฒนานักบริหารระดับสูง: ผูบ้ ริหารส่วนราชการ (นบส.2) รุ่นที่ 7 สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน ส�ำนักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน
หมายเหตุ
(1)
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน : ไม่มี คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นกรรมการบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี การมีสว่ นร่วมในการบริหาร/ความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (2) บริษัทย่อย (3) บริษัทร่วม/การร่วมค้า (4) กิจการในอุตสาหกรรมพลังงาน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
303
07 นางเปรมฤทัย วินัยแพทย์
อายุ 56 ปี
กรรมการอิสระ กรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท : 6 เมษายน 2561 ระยะเวลาที่อยู่ในต�ำแหน่งกรรมการ : 8 เดือน ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นวาระที่ : 1 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
ประสบการณ์การท�ำงาน
• Master of Mining Engineering (Mineral Economics), McGill University, Montreal ประเทศแคนาดา • วิทยาศาสตรบัณฑิต (ธรณีวิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
• 2561 ผู้ตรวจราชการกระทรวงพลังงาน • 2559 - 2561 รองอธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวง พลังงาน • 2558 - 2559 ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักบริหารสัมปทานปิโตรเลียม กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน • 2554 - 2558 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารกิจการปิโตรเลียม ระหว่างประเทศ กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน
การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย : ไม่มี การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญอื่นๆ • หลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง รุ่นที่ 22 สถาบัน พัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม • หลักสูตร “ผู้น�ำ 4.0” สมาคมเครือข่ายไอซีทีเพื่อการพัฒนาสังคม • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 57 (วปอ. 2557) วิทยาลัย ป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตร World Fiscal Systems for Oil and Gas ประเทศอังกฤษ • หลักสูตรการพัฒนานักบริหารระดับสูง หลักสูตรผู้น�ำที่มีวิสัยทัศน์ และคุณธรรม รุ่นที่ 71 ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน • หลักสูตรการพัฒนาสมรรถนะด้านการบริหารและความเป็นผู้น�ำ ส�ำหรับผู้มีศักยภาพสูง “Leadership & Change” คณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน ณ ประเทศญี่ปุ่น • หลักสูตรนักบริหารพลังงานระดับสูงรุ่นที่ 2 กระทรวงพลังงาน • หลักสูตร International Petroleum Management Certificate Program สหรัฐอเมริกา • หลักสูตร Law of the Sea ประเทศมาเลเซีย • หลักสูตร Managing Managers in the Energy Industry สหรัฐอเมริกา
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน • 2561 - ปัจจุบัน อธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นกรรมการบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี การมีสว่ นร่วมในการบริหาร/ความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
หมายเหตุ
(1)
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (2) บริษัทย่อย (3) บริษัทร่วม/การร่วมค้า (4) กิจการในอุตสาหกรรมพลังงาน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
304
08 นายรัตนชัย นามวงศ์
อายุ 62 ปี
กรรมการอิสระ กรรมการกลั่นกรองการลงทุน วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท : 6 เมษายน 2561 ระยะเวลาที่อยู่ในต�ำแหน่งกรรมการ : 8 เดือน ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นวาระที่ : 1 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ร้อยละ 0.0005 • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
ประสบการณ์การท�ำงาน
• วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (นิวเคลียร์เทคโนโลยี) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • วิ ศ วกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต (วิ ศ วกรรมโลหการ) จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
• 2556 - 2559 • 2553 - 2556
การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร Director Certification Program (DCP 186/2014)
การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน • ก.ค. 2560 - ปัจจุบัน คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผล กระทรวงพลังงาน
การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญอื่นๆ • หลักสูตรการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรการเสริมสร้างสังคมสันติสุข สถาบันพระปกเกล้า • หลั ก สู ต ร Senior Executive Development Program-2 มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ • หลักสูตร Masterful Coaching Workshop, Hay Group • EGAT Newly-Promoted Executive Orientation Program (ENOP) • EGAT Senior Executive Program (ESEP) • EGAT Director Development Program (EDDP) • EGAT’s Successor Development Program (ESDP)
หมายเหตุ
(1)
รองผู้ว่าการพัฒนาโรงไฟฟ้า กฟผ. ผู้ช่วยผู้ว่าการวิศวกรรมโรงไฟฟ้า กฟผ.
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน : ไม่มี
คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นกรรมการบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี การมีสว่ นร่วมในการบริหาร/ความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (2) บริษัทย่อย (3) บริษัทร่วม/การร่วมค้า (4) กิจการในอุตสาหกรรมพลังงาน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
305
09 นายชวน ศิรินันท์พร
อายุ 65 ปี
กรรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ.) ประธานกรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท : 19 ธันวาคม 2557 ระยะเวลาที่อยู่ในต�ำแหน่งกรรมการ : 4 ปี ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นวาระที่ : 2 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี การศึกษา
ประสบการณ์การท�ำงาน
• • • •
• • • • •
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (เกียรตินิยม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ รัฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2557 - 2561 กรรมการ กฟผ. อธิบดีกรมการปกครอง ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา ผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน : ไม่มี
การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร Ethical Leadership Program (ELP 8/2017) • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 112/2014)
การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน : ไม่มี
การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญอื่นๆ • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรนักปกครองระดับสูง วิทยาลัยการปกครอง • หลักสูตรประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตร Thai Senior Executive Development Program, National Graduate Institute for Policy Studies (GRIPS) ประเทศญี่ปุ่น • หลักสูตรผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงระดับสูง สถาบันด�ำรงราชานุภาพ กระทรวงมหาดไทย
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี
หมายเหตุ
(1)
คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นกรรมการบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี
การมีสว่ นร่วมในการบริหาร/ความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีที่ผ่านมา : การท�ำรายการกับ กฟผ. ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ตามที่เปิดเผยไว้ใน หัวข้อรายการระหว่างกัน ซึ่งกรรมการที่มีส่วนได้เสียไม่ได้ร่วมในการ พิจารณาออกเสียงในการท�ำรายการดังกล่าว
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (2) บริษัทย่อย (3) บริษัทร่วม/การร่วมค้า (4) กิจการในอุตสาหกรรมพลังงาน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
306
10 นายสุชาลี สุมามาลย์
อายุ 60 ปี
กรรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ.) กรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท : 1 พฤษภาคม 2561 ระยะเวลาที่อยู่ในต�ำแหน่งกรรมการ : 8 เดือน ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นวาระที่ : 1 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
ประสบการณ์การท�ำงาน
• รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม • เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง
• 2558 - 2560 • 2556 - 2558
การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร Director Certification Program (DCP 225/2018) • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 142/2017)
• 2553 - 2556
การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญอื่นๆ • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 9 สถาบันวิทยาการพลังงาน • หลักสูตรผู้ตรวจราชการกระทรวงประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน • หลักสูตรผู้บริหารด้านกฎหมายภาครัฐ ระดับสูง รุ่นที่ 4 สถาบัน พัฒนานักกฎหมายมหาชน ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา • หลั ก สู ต รนั ก บริ ห ารการยุ ติ ธ รรมทางปกครองระดั บ สู ง (บยป.) รุ่นที่ 6 ส�ำนักงานศาลปกครอง
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน : ไม่มี
ผู้ตรวจราชการ กระทรวงพลังงาน รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานนโยบายและ แผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักนโยบายปิโตรเลียมและ ปิ โ ตรเคมี ส� ำ นั ก งานนโยบายและแผน พลังงานกระทรวงพลังงาน
การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน • 2560 - ปัจจุบัน หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กระทรวงพลังงาน คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นกรรมการบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี การมีสว่ นร่วมในการบริหาร/ความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีที่ผ่านมา : การท�ำรายการกับ กฟผ. ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ตามที่เปิดเผยไว้ใน หัวข้อรายการระหว่างกัน ซึ่งกรรมการที่มีส่วนได้เสียไม่ได้ร่วมในการ พิจารณาออกเสียงในการท�ำรายการดังกล่าว
หมายเหตุ
(1)
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (2) บริษัทย่อย (3) บริษัทร่วม/การร่วมค้า (4) กิจการในอุตสาหกรรมพลังงาน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
307
11 นายบุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร
อายุ 55 ปี
กรรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ.) กรรมการกลั่นกรองการลงทุน กรรมการบริหารความเสี่ยง วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท : 1 พฤษภาคม 2561 ระยะเวลาที่อยู่ในต�ำแหน่งกรรมการ : 8 เดือน ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นวาระที่ : 1 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี การศึกษา
ประสบการณ์การท�ำงาน
• Master of Business Administration (Energy Management) University of Montreal ประเทศแคนาดา • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
• • • •
การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร Director Certification Program (DCP 187/2014) การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญอื่นๆ • หลั ก สู ต รการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การและผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของ องค์กรก�ำกับดูแลรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน ประจ�ำปี 2561 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Successful Boardroom Presentation รุ่นที่ 2 สถาบัน OMEGAWORLDCLASS Research Institute • หลักสูตรวิทยาการจัดการส�ำหรับนักบริหารระดับสูง สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ • หลักสูตร Advanced Management Program, Harvard Business School, สหรัฐอเมริกา • หลักสูตร Leadership Succession Program มูลนิธิสถาบันวิจัย และพัฒนาองค์กรภาครัฐ • หลักสูตร Principle of Life Coaching สถาบันฝึกทักษะการโค้ช ไทยแลนด์ โค้ชชิ่ง อคาเดมี • EGAT Senior Executive Program (ESEP) • EGAT Director Development Program (EDDP) • EGAT New Leader Development Program (ENLP) • EGAT Newly-Promoted Executive Orientation Program (ENOP) • EGAT Enhancing Program (EEP) • EGAT Leadership Development Program (ELDP) • EGAT Get Ready Program (EGRP)
หมายเหตุ
(1)
2560 - 2561 รองผู้ว่าการพัฒนาธุรกิจ กฟผ. 2559 - 2560 รองผู้ว่าการกิจการสังคม กฟผ. 2558 - 2559 ผู้ช่วยผู้ว่าการบริหารธุรกิจ กฟผ. 2556 - 2558 วิศวกรระดับ 12 รองผู้ว่าการพัฒนาธุรกิจ กฟผ. ปฏิบัติงานในต�ำแหน่ง ผู้จัดการใหญ่ บริษัทอีแกท ไดมอนด์ เซอร์วิส จ�ำกัด
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน • ต.ค. 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด(4) • 2561 - ปัจจุบัน รองผู้ว่าการธุรกิจเกี่ยวเนื่อง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(1) คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นกรรมการบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี การมีสว่ นร่วมในการบริหาร/ความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีที่ผ่านมา : การท�ำรายการกับ กฟผ. ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ตามที่เปิดเผยไว้ใน หัวข้อรายการระหว่างกัน ซึ่งกรรมการที่มีส่วนได้เสียไม่ได้ร่วมในการ พิจารณาออกเสียงในการท�ำรายการดังกล่าว
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (2) บริษัทย่อย (3) บริษัทร่วม/การร่วมค้า (4) กิจการในอุตสาหกรรมพลังงาน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
308
12 นายสืบพงษ์ บูรณศิรินทร์
อายุ 59 ปี
กรรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ.) กรรมการกลั่นกรองการลงทุน กรรมการทรัพยากรบุคคลและก�ำหนดค่าตอบแทน วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท : 1 ตุลาคม 2561 ระยะเวลาที่อยู่ในต�ำแหน่งกรรมการ : 3 เดือน ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นวาระที่ : 1 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี การศึกษา
• • •
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เศรษฐศาสตรบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์การพัฒนา) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร Board Matters and Trends (BMT 4/2017) • หลักสูตร Boards that Make a Difference (BMD 4/2017) • หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP 40/2017) • หลักสูตร Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG 17/2015) • หลั ก สู ต ร Role of the Nomination and Governance Committee (RNG 3/2012) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP 139/2010) • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 75/2008) การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญอื่นๆ • หลั ก สู ต รการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การส� ำ หรั บ กรรมการและผู ้ บ ริ ห าร ระดับสูง ของรัฐวิสาหกิจและองค์กรมหาชน (รุน่ ที่ 15) ประจ�ำปี 2560 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรภูมพิ ลังแผ่นดินส�ำหรับผูบ้ ริหารระดับสูง (รุน่ ที่ 4) ปี 2558 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรนักบริหารการยุตธิ รรมทางปกครองระดับสูง (บยป. รุน่ 5) ปี 2556 ส�ำนักงานศาลปกครอง • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ. รุน่ 25) ปี 2555 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลั ก สู ต ร นั ก บริ ห ารยุ ท ธศาสตร์ ก ารป้ อ งกั น และปราบปราม การทุจริตระดับสูง (นยปส. รุน่ 1) ปี 2553 ส�ำนักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ • EGAT New Leader Development Program (ENLP) • EGAT Senior Executive Program (ESEP) • EGAT Director Development Program (EDDP) • EGAT Newly-Promoted Executive Orientation Program (ENOP)
หมายเหตุ
(1)
• EGAT Assistant Director Development Program (EADP) • EGAT’s Executive Development Program (EEDP) ประสบการณ์การท�ำงาน
• • • •
2560 - 2561 รองผู้ว่าการกิจการสังคม กฟผ. 2557 - 2560 รองผู้ว่าการบริหาร กฟผ. 2557 ผู้ช่วยผู้ว่าการทรัพยากรบุคคล กฟผ. 2555 - 2557 ผู้ช่วยผู้ว่าการทรัพยากรบุคคล ท�ำหน้าที่ ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการ กฟผ. และ ผู ้ ช ่ ว ยเลขานุ ก ารคณะกรรมการบริ ห าร ของคณะกรรมการ กฟผ.
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน • ต.ค. 2561 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด(4) • 2561 - ปัจจุบัน รองผู้ว่าการอาวุโส สังกัดผู้ว่าการ กฟผ.(1) คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นกรรมการบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี การมีสว่ นร่วมในการบริหาร/ความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีที่ผ่านมา : การท�ำรายการกับ กฟผ. ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ตามที่เปิดเผยไว้ใน หัวข้อรายการระหว่างกัน ซึ่งกรรมการที่มีส่วนได้เสียไม่ได้ร่วมในการ พิจารณาออกเสียงในการท�ำรายการดังกล่าว
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (2) บริษัทย่อย (3) บริษัทร่วม/การร่วมค้า (4) กิจการในอุตสาหกรรมพลังงาน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
309
13 นายกิจจา ศรีพัฑฒางกุระ
อายุ 58 ปี กรรมการ (กรรมการผู้แทน กฟผ. และกรรมการที่เป็นผู้บริหาร) กรรมการผู้จัดการใหญ่ เลขานุการคณะกรรมการ วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริษัท : 1 มกราคม 2560 วันที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่ : 6 เมษายน 2560 ระยะเวลาที่อยู่ในต�ำแหน่งกรรมการ : 2 ปี ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นวาระที่ : 2 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ร้อยละ 0.0004 • ทางอ้อม : ไม่มี การศึกษา
• วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การอบรมหลักสูตรทีจ่ ดั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย • หลักสูตร Director Certification Program (DCP 245/2017) การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญอื่นๆ • หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะส�ำหรับนักบริหารระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Advanced Management Program, Harvard Business School สหรัฐอเมริกา • หลักสูตร Senior Executive Program สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรไทยกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยาการพลังงาน ประสบการณ์การท�ำงาน
• 2558 - 2560 • 2556 - 2558
รองผู้ว่าการนโยบายและแผน กฟผ. ผู้ช่วยผู้ว่าการแผนงาน กฟผ.
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน • ธ.ค. 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษัท Fareast Renewable Development Pte. Ltd.(3) • ก.พ. 2561 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จ�ำกัด(3) • ส.ค. 2560 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริ ษั ท PT MEDCO RATCH POWER RIAU(3) • พ.ค. 2560 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั ไฟฟ้า หงสา จ�ำกัด(3) และ บริษัท พูไฟมายนิ่ง จ�ำกัด(3) • เม.ย. 2560 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (“RAC”)(2) บริษัท Mount Emerald Wind Farm Pty Ltd(2) และบริษัทย่อยอื่นของ RAC(2) คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นกรรมการบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี การมีส่วนร่วมในการบริหารความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการที่อาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีที่ผ่านมา : การท�ำรายการกับ กฟผ. ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ตามที่เปิดเผยไว้ใน หัวข้อรายการระหว่างกัน ซึ่งกรรมการที่มีส่วนได้เสียไม่ได้ร่วมในการ พิจารณาออกเสียงในการท�ำรายการดังกล่าว
หมายเหตุ
(1)
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (2) บริษัทย่อย (3) บริษัทร่วม/การร่วมค้า (4) กิจการในอุตสาหกรรมพลังงาน
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
310
ประวัติผู้บริหาร 01 นายกิจจา ศรีพัฑฒางกุระ
อายุ 58 ปี
กรรมการผู้จัดการใหญ่ วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่ง : 6 เมษายน 2560 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ร้อยละ 0.0004 • ทางอ้อม : ไม่มี (รายละเอียดประวัติแสดงในหน้า 309)
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
311
02 นายพีระวัฒน์ พุ่มทอง
อายุ 60 ปี
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่พัฒนาธุรกิจ วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่ง : 1 มกราคม 2560 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
• Master of Business Administration, Monash University ประเทศออสเตรเลี ย Certificate of Merit (คะแนนสู ง สุ ด ) สาขา International Business • วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต Asian Institute of Technology (AIT) (ทุนรัฐบาลเยอรมัน) • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินยิ มอันดับ 2) มหาวิทยาลัยขอนแก่น การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญ • หลักสูตร Director Certification Program (DCP 138/2010) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยส�ำหรับนักบริหารระดับสูง รุน่ ที่ 17 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะส�ำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 8 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร ASEAN Executive Development Program (AEDP), Thammasat Business School มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • Mini MBA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Electric Power Development from Swedish Board of Investment and Technical Support (BITS) ประเทศสวีเดน • หลักสูตร ASEAN Executive Program from General Electric International Operation Company, Inc. สหรัฐอเมริกา • หลักสูตร Hydro Electric Power from Japan International Cooperation Agency (JICA), Columbo Plan ประเทศญี่ปุ่น • หลักสูตร Thermal and Hydro Power Project Planning from Snowy Mountain Engineering Cooperation, Columbo Plan ประเทศออสเตรเลีย ประสบการณ์การท�ำงาน
• 2553 - 2560
กรรมการ บริษัท ไฟฟ้าหงสา จ�ำกัด บริษัท พูไฟมายนิ่ง จ�ำกัด
• 2557 - 2559 • 2557 - 2558 • 2554 - 2557 • 2553 - 2557
บริษัท เซาท์อีสท์ เอเชีย เอนเนอร์จี จ�ำกัด และบริษัท ไฟฟ้าน�้ำงึม 2 จ�ำกัด รองกรรมการผู้จัดการใหญ่พัฒนาธุรกิจ 1 บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท ราชบุรีเวอลด์ โคเจนเนอเรชั่น จ�ำกัด กรรมการและรักษาการกรรมการผู้จัดการ บริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด รองกรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ ว างแผนและ พัฒนาธุรกิจ บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน)
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั : • คณะกรรมาธิการพลังงานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อนุกรรมาธิการ พิจารณาศึกษาและติดตามด้านพลังงานทดแทน • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหารในกลุ่มบริษัทตามที่แสดง ในหน้า 088 คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นผูบ้ ริหารบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร : ไม่มี การมีส่วนร่วมในการบริหารความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุม่ บริษทั ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ทีผ่ า่ นมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
312
03 นายรฦก สัตยาภรณ์
อายุ 59 ปี
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่พัฒนาโครงการ วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่ง : 1 ตุลาคม 2560 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
• วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมก่อสร้างและการจัดการ) Asian Institute of Technology (AIT) (ทุนการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย) • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
• 2558
• 2557
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่พัฒนาธุรกิจ 2 และรักษาการผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ต่างประเทศ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่พัฒนาธุรกิจ 2 บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ้ า ราชบุ รี โ ฮลดิ้ ง จ� ำ กั ด (มหาชน) ผู ้ อ� ำ นวยการฝ่ า ยอาวุ โ ส และรั ก ษาการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่พัฒนาธุรกิจ 2 บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ้ า ราชบุ รี โ ฮลดิ้ ง จ� ำ กั ด (มหาชน) ท�ำหน้าทีก่ รรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ซัสเทนเอเบิล เอนเนอยี คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด และบริษัท เขาค้อ วินด์ เพาเวอร์ จ�ำกัด
การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญ • หลักสูตร Director Certification Program (DCP 250/2017) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Senior Executive Program (SEP) สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะส�ำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 12 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรบริหารโครงการ สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย • หลักสูตรพัฒนานักบริหาร (EDP) รุน่ ที่ 12 มูลนิธสิ ถาบันวิจยั นโยบาย เศรษฐกิจการคลัง (สวค.) • หลั ก สู ต รพลั ง งานส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห าร (EEP) สถาบั น พลั ง งาน เพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
• 2557
ประสบการณ์การท�ำงาน
คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นผูบ้ ริหารบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี
• 2560 • 2559 - 2560 • 2557 - 2560 • 2558
ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่พฒ ั นาโครงการ บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ้ า ราชบุ รี โ ฮลดิ้ ง จ� ำ กั ด (มหาชน) กรรมการ บริษทั โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 3) จ�ำกัด บริษทั โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 4) จ�ำกัด และ บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 7) จ�ำกัด ประธานกรรมการ บริษัท โอเวอร์ซี กรีน เอนเนอร์ยี่ จ�ำกัด ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่พัฒนาธุรกิจ 2 บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ้ า ราชบุ รี โ ฮลดิ้ ง จ� ำ กั ด (มหาชน)
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน : • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหารในกลุ่มบริษัทตามที่แสดง ในหน้า 088
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี การมีส่วนร่วมในการบริหารความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
313
04 นายสมนึก จินดาทรัพย์
อายุ 60 ปี
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารสินทรัพย์ วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่ง : 1 มีนาคม 2557 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ร้อยละ 0.0005 (ถือโดยคู่สมรส)
การศึกษา
• วิ ศ วกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ศ วกรรมไฟฟ้ า และสื่ อ สาร (เกียรตินยิ มอันดับ 2) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญ • หลักสูตร Leadership Assessment & Development Program (2556) • หลักสูตร Leading with the Speed of Trust (2556) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP 152/2011) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Advanced Senior Executive Program (2553) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง (2551) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย • หลั ก สู ต รประกาศนี ย บั ต รชั้ น สู ง ทางการบริ ห ารงานภาครั ฐ และกฎหมายมหาชน (2549 - 2550) สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร ASEAN Executive Program (2548), General Electric International Operation Company, Inc. สหรัฐอเมริกา • หลักสูตร Senior Executive Program (2546) สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Advanced Mini MBA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน รุ่นที่ 6 (วพน.6) สถาบันวิทยาการพลังงาน • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยส�ำหรับนักบริหารระดับสูง สถาบันประปกเกล้า ประสบการณ์การท�ำงาน
• 2557 - 2561 • 2556 - 2561 • 2557 - 2560 • 2557 - 2559
กรรมการ บริษัท ไฟฟ้า หงสา จ�ำกัด และ บริษัท พูไฟมายนิ่ง จ�ำกัด กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด กรรมการ บริษทั เซาท์อสี ท์ เอเชีย เอนเนอร์จี จ�ำกัด และบริษัท ไฟฟ้าน�้ำงึม 2 จ�ำกัด รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารสินทรัพย์ บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ้ า ราชบุ รี โ ฮลดิ้ ง จ� ำ กั ด (มหาชน) ท� ำ หน้ า ที่ ก รรมการผู ้ จั ด การ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด
• 2557 - 2559 • 2557 • 2556 - 2557
ประธานกรรมการ บริษทั ราช-ลาว เซอร์วสิ จ�ำกัด และบริษัท โอเวอร์ซี กรีน เอนเนอร์ยี่ จ�ำกัด ประธานกรรมการ บริษัท ซัสเทนเอเบิล เอนเนอยี่ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ผลิตไฟฟ้า ราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ท�ำหน้าที่ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน : • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหารในกลุ่มบริษัทตามที่แสดง ในหน้า 088 คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นผูบ้ ริหารบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี การมีส่วนร่วมในการบริหารความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
314
05 นางสุนี รัชตมุทธา
อายุ 60 ปี
รองกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงิน (ผู้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน) วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่ง : 1 มกราคม 2560 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
• บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การเงิน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญ • หลักสูตร Director Certification Program (DCP 179/2013) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ ส�ำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 13 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Senior Executive Program สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Chief Financial Officer Certification Program สภาวิชาชีพบัญชี • หลั ก สู ต ร Modern Management Program จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
ประสบการณ์การท�ำงาน
• 2560 • 2554 - 2560 • 2554 - 2559 • 2554 - 2559
กรรมการ บริ ษั ท อาร์ ไ อซี ไ อ อิ น เตอร์ เนชั่นแนล อินเวสต์เมนต์ จ�ำกัด กรรมการ บริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงิน บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน : • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหารในกลุ่มบริษัทตามที่แสดง ในหน้า 088 คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นผูบ้ ริหารบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผู้บริหาร : ไม่มี การมีส่วนร่วมในการบริหารความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุ่มบริษัทในรอบปีที่ผ่านมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ที่ผ่านมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
315
06 นายประยุทธ ธงสุวรรณ
อายุ 60 ปี
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารองค์กร วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่ง : 1 กันยายน 2557 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
• Master of Public and Private Management สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • รัฐศาสตรบัณฑิต (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญ • หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD 11/2011) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร ASEAN Executive Program, General Electric International Operation Company, Inc. สหรัฐอเมริกา • หลักสูตร Senior Executive Program สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Advanced Mini MBA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์การท�ำงาน
• 2559 - 2560 • 2558 - 2560 • 2559 • 2557 - 2560 • 2557 • 2555 - 2557
กรรมการ บริษัท ซีเอ็นไบโอแมส จ�ำกัด บริ ษั ท พี บี ไ บโอแมส จ� ำ กั ด และบริ ษั ท แอลพีไบโอแมส จ�ำกัด กรรมการ บริษทั โซลาร์ตา้ จ�ำกัด กรรมการและกรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท อาร์อโี ซลาร์ 1 จ�ำกัด กรรมการ บริษทั โอเวอร์ซี กรีน เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด กรรมการ บริษัท ซัสเทนเอเบิล เอนเนอยี คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด และบริษทั เขาค้อ วินด์ พาวเวอร์ จ�ำกัด กรรมการและกรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท โซลาร์ตา้ จ�ำกัด
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั : • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหารในกลุ่มบริษัทตามที่แสดง ในหน้า 088 คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นผูบ้ ริหารบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร : ไม่มี การมีส่วนร่วมในการบริหารความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุม่ บริษทั ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ทีผ่ า่ นมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
316
07 นางวดีรัตน์ เจริญคุปต์
อายุ 44 ปี
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่การเงิน วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่ง : 1 พฤษภาคม 2560 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
• Master of Business Administration, The University of Washington สหรัฐอเมริกา • บริหารธุรกิจบัณฑิต (การเงิน) (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั : • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหารในกลุ่มบริษัทตามที่แสดง ในหน้า 088
การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญ • หลั ก สู ต ร Corporate Governance for Executives สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • หลักสูตร Senior Development Program, Duke C.E. • หลักสูตร STARS Switzerland Symposium • หลักสูตร Chief Financial Officer Certification Program สภาวิชาชีพบัญชี • หลั ก สู ต ร TLCA Executive Development Program สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นผูบ้ ริหารบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี
ประสบการณ์การท�ำงาน
รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
• 2557 - 2560 • 2554 - 2557
Head of Group Finance, Treasury, Tax and IR บริษทั ปูนซีเมนต์นครหลวง จ�ำกัด (มหาชน) ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายวางแผนและบริหารการเงิน บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ้ า ราชบุ รี โ ฮลดิ้ ง จ� ำ กั ด (มหาชน)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร : ไม่มี การมีส่วนร่วมในการบริหารความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุม่ บริษทั ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ทีผ่ า่ นมา : ไม่มี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
317
08 นายศักดิ์ชัย ศรีเพชร
อายุ 59 ปี
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายวางแผนและบริหารการเงิน วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่ง : 1 มกราคม 2560 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ร้อยละ 0.0001 • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
• บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • บัญชีบัณฑิต (บัญชีต้นทุน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญ • หลักสูตร Senior Executive Program สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Chief Financial Officer Certification Program สภาวิชาชีพบัญชี • หลั ก สู ต รพั ฒ นาทั ก ษะการบริ ห ารส� ำ หรั บ ผู ้ น� ำ รุ ่ น ใหม่ มู ล นิ ธิ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง • ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ประสบการณ์การท�ำงาน
• 2557 - 2559
• 2556 - 2557
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส บริษัท ผลิตไฟฟ้า ราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ปฏิบตั หิ น้าที่ Chief Financial Officer บริษัท ราชบุรี เพาเวอร์ จ�ำกัด ผู้อ�ำนวยการฝ่าย บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี โฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ปฏิบตั หิ น้าที่ Chief Financial Officer บริษทั ราชบุรเี พาเวอร์ จ�ำกัด
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั : • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหารในกลุ่มบริษัทตามที่แสดง ในหน้า 088 คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นผูบ้ ริหารบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร : ไม่มี การมีส่วนร่วมในการบริหารความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุม่ บริษทั ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ทีผ่ า่ นมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
318
09 นางสุพัตรา ทองกาญจน์
อายุ 58 ปี
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายประมวลบัญชี (ผู้รับผิดชอบโดยตรงในการควบคุมดูแลการท�ำบัญชี) วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่ง : 1 มีนาคม 2560 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ร้อยละ 0.0003 • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
• บัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญ • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตรนักบริหารภาษีชั้นสูงระหว่างประเทศ โรงเรียนภาษี • หลักสูตร Chief Financial Officer Certification Program สภาวิชาชีพบัญชี
• 2558 - 2560 • 2558 - 2559 • 2557 - 2558
• 2557 • 2556 - 2557
การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน : • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหารในกลุ่มบริษัทตามที่แสดง ในหน้า 088 คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นผูบ้ ริหารบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร : ไม่มี
ประสบการณ์การท�ำงาน
• 2560
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั : ไม่มี
ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายประมวลบัญชี บริษทั ผลิต ไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ บริ ษั ท อาร์ ไ อซี ไ อ อิ น เตอร์ เนชัน่ แนล อินเวสต์เมนต์ จ�ำกัด ผู้อ�ำนวยการฝ่ายก�ำกับและวิเคราะห์บัญชี บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบริหารภาษี บริษทั ผลิตไฟฟ้า ราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) และท�ำหน้าที่ รองกรรมการผู ้ จั ด การ ฝ่ า ยบริ ห ารบั ญ ชี และการเงิน บริษทั โซลาร์ตา้ จ�ำกัด ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบริหารภาษี บริษทั ผลิตไฟฟ้า ราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการเงิน บริษัท ผลิตไฟฟ้า ราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน)
การมีส่วนร่วมในการบริหารความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุม่ บริษทั ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ทีผ่ า่ นมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
319
10 นางสาวจตุพร เลาหพิบูลรัตนา
อายุ 47 ปี
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารภาษีและบัญชีแยกประเภท วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่ง : 1 มกราคม 2560 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
• บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญ • หลักสูตร Financial Management and Tax Planning รุ่นที่ 41, คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Chief Financial Officer Certification Program รุ่นที่ 13 สภาวิชาชีพบัญชี • Mini MBA มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • หลักสูตร Tax Planning for The Boss สถาบันการบริหาร และจิตวิทยา ประสบการณ์การท�ำงาน
• 2559 • 2558 - 2559 • 2557 - 2558 • 2555 - 2557
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารภาษี บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ผู้จัดการส่วนอาวุโส รักษาการผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบริหารภาษี บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ผู้จัดการส่วนอาวุโส ส่วนวางแผนการเงิน บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ผูจ้ ดั การส่วนอาวุโส บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรี โฮลดิ้ ง จ� ำ กั ด (มหาชน) ท� ำ หน้ า ที่ รองกรรมการ ผู ้ จั ด การฝ่ า ยบริ ห ารบั ญ ชี และการเงิน บริษัท โซลาร์ต้า จ�ำกัด
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่นในปัจจุบัน : ไม่มี การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียนในปัจจุบัน : • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหารในกลุ่มบริษัทตามที่แสดง ในหน้า 088 คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นผูบ้ ริหารบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร : ไม่มี การมีส่วนร่วมในการบริหารความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุม่ บริษทั ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ทีผ่ า่ นมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
320
11 นางสาวสุวรรณี ศิริสัจจวัฒน์
อายุ 48 ปี
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายก�ำกับและวิเคราะห์บัญชี วันที่เริ่มด�ำรงต�ำแหน่ง : 1 กรกฎาคม 2560 สัดส่วนการถือหลักทรัพย์ในบริษัท : • ทางตรง : ไม่มี • ทางอ้อม : ไม่มี
การศึกษา
• บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • บริหารธุรกิจบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การอบรม/สัมมนาที่ส�ำคัญ • Mini MBA มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
• 2558 - 2559 • 2555 - 2558
การด�ำรงต�ำแหน่งในกิจการทีไ่ ม่ใช่บริษทั จดทะเบียนในปัจจุบนั : • การด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการและผู้บริหารในกลุ่มบริษัทตามที่แสดง ในหน้า 088 คุณสมบัตติ อ้ งห้ามในการเป็นผูบ้ ริหารบริษทั /การกระท�ำความผิด : ไม่มี
ประสบการณ์การท�ำงาน
• 2560 • 2560
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั จดทะเบียนอืน่ ในปัจจุบนั : ไม่มี
กรรมการ บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด รักษาการผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายก�ำกับและวิเคราะห์ บัญชีบริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ผู้จัดการส่วนอาวุโส ส่วนบัญชีบริหาร บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ผู้จัดการส่วนอาวุโส ส่วนวิเคราะห์บัญชีและ งบประมาณ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างกรรมการและผูบ้ ริหาร : ไม่มี การมีส่วนร่วมในการบริหารความสัมพันธ์ในเชิงธุรกิจ/การให้บริการ ทางวิชาชีพแก่กลุม่ บริษทั ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี การเป็นพนักงาน/หุ้นส่วนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกในช่วง 2 ปี ทีผ่ า่ นมา : ไม่มี รายการทีอ่ าจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในรอบปีทผี่ า่ นมา : ไม่มี
1. บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด 128 หมู่ที่ 6 ต�ำบลพิกุลทอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000 โทรศัพท์: 0 2978 5111, 0 3271 9185 ต่อ 3762 โทรสาร: 0 2978 5110, 0 3271 9185 ต่อ 3204 สถานที่ตั้งสาขาที่ 2 39 หมู ่ ที่ 5 ถนนราชบุ รี - ห้ ว ยไผ่ ต� ำ บลหิ น กอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000 โทรศัพท์: 0 3271 9000 โทรสาร: 0 3271 9090 2. บริษัท ราชบุรี อัลลายแอนซ์ จ�ำกัด 8/8 หมู่ที่ 2 ถนนงามวงศ์วาน ต�ำบลบางเขน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์: 0 2794 9999 โทรสาร: 0 2794 9998 3. บริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด 8/8 หมู่ที่ 2 ถนนงามวงศ์วาน ต�ำบลบางเขน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์: 0 2794 9999 โทรสาร: 0 2794 9998
• บริษัทย่อย จ�ำนวน 14 บริษัท
ชื่อบริษัท - ที่ตั้ง
42.02 ล้านหุ้น
64 ล้านหุ้น
420.20 ล้านบาท
640 ล้านบาท
ลงทุนในธุรกิจเกี่ยวกับ พลังงานไฟฟ้า
พัฒนาและด�ำเนินการ โรงไฟฟ้าและลงทุนในธุรกิจ เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า
99.99
2,190 ล้านหุ้น
หุ้นสามัญ
99.99
ทุนจดทะเบียน
21,900 ล้านบาท
ประเภทธุรกิจ
99.99 ผลิตและจ�ำหน่ายพลังงาน ไฟฟ้า และลงทุนในธุรกิจ เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า
สัดส่วนการถือหุ้น (%)
กลุ่มบริษัท ประกอบด้วย บริษัทย่อย บริษัทร่วม การร่วมค้า และอื่นๆ ดังนี้
ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มบริษัท
10 บาท
10 บาท
10 บาท
มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น
640 ล้านบาท
420.20 ล้านบาท
21,900 ล้านบาท
ทุนชำ�ระแล้ว
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
321
สัดส่วนการถือหุ้น (%)
ประเภทธุรกิจ
ทุนจดทะเบียน
99.99 ลงทุนในธุรกิจเกี่ยวกับ 17,650 4. บริษทั อาร์เอช อินเตอร์เนชัน่ แนล คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด พลังงานไฟฟ้า ล้านบาท 8/8 หมู่ที่ 2 ถนนงามวงศ์วาน ต�ำบลบางเขน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์: 0 2794 9999 โทรสาร: 0 2794 9998 99.99 บริการเดินเครื่อง 10 5. บริษัท ราช โอแอนด์เอ็ม จ�ำกัด และบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า ล้านบาท 8/8 หมู่ที่ 2 ถนนงามวงศ์วาน ต�ำบลบางเขน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์: 0 2794 9999 โทรสาร: 0 2794 9998 99.99 บริการเดินเครื่อง 2.5 6. บริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด และบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า ล้านเหรียญสหรัฐฯ 187 ยู นิ ต 12 บ้ า นโพนสะอาด เมื อ งไซเศรษฐา แขวงนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว โทรศัพท์: +856 21 454 074 โทรสาร: +856 21 454 075 ผลิตและจ�ำหน่าย 100 99.99 7. บริษัท อาร์อี โซลาร์ 1 จ�ำกัด พลังงานไฟฟ้า ล้านบาท (ถือหุ้นโดย 8/8 หมู่ที่ 2 ถนนงามวงศ์วาน ต�ำบลบางเขน บริษทั ราชบุรพี ลังงาน จ�ำกัด) อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์: 0 2794 9999 โทรสาร: 0 2794 9998 ผลิตและจ�ำหน่าย 20 99.99 8. บริษัท ซีเอ็นไบโอแมส จ�ำกัด พลังงานไฟฟ้า ล้านบาท (ถือหุ้นโดย 8/8 หมู่ที่ 2 ถนนงามวงศ์วาน ต�ำบลบางเขน บริษทั ราชบุรพี ลังงาน จ�ำกัด) อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์: 0 2794 9999 โทรสาร: 0 2794 9998
ชื่อบริษัท - ที่ตั้ง
10 บาท
10 บาท
1 เหรียญสหรัฐฯ
10 บาท
10 บาท
1 ล้านหุ้น
2.5 ล้านหุ้น
10 ล้านหุ้น
2 ล้านหุ้น
มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น
1,765 ล้านหุ้น
หุ้นสามัญ
5 ล้านบาท
25 ล้านบาท
2.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
2.5 ล้านบาท
17,650 ล้านบาท
ทุนชำ�ระแล้ว
322 บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
1 เหรียญสหรัฐฯ
1 เหรียญสหรัฐฯ
1 เหรียญสหรัฐฯ
-
2 ล้านหุ้น
524.13 ล้านหุ้น
523.83 ล้านหุ้น
12,000 หุ้น
337.19 ล้านหุ้น
20 ล้านบาท
ผลิตและจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้า
524.13 100 ลงทุนในธุรกิจเกี่ยวกับ พลังงานไฟฟ้า ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ถือหุ้นโดยบริษัท อาร์เอช ในต่างประเทศ อินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด) 523.83 100 ลงทุนในธุรกิจเกี่ยวกับ พลังงานไฟฟ้า ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ถือหุ้นโดยบริษัท อาร์เอช หรือเทียบเท่า ในต่างประเทศ อินเตอร์เนชั่นแนล (มอริเชียส) คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด) 12,000 100 ลงทุนในธุรกิจเกี่ยวกับ เหรียญสหรัฐฯ พลังงานไฟฟ้า (ถือหุ้นโดยบริษัท อาร์เอช ในต่างประเทศ อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด) 327.65 พัฒนาและด�ำเนินการ 100 14. บริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ล้านเหรียญ Level 7, 111 Pacific Highway, North Sydney, (ถือหุ้นโดยบริษัท อาร์เอช โรงไฟฟ้าและลงทุนในธุรกิจ ออสเตรเลีย อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า NSW 2060 ประเทศออสเตรเลีย คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด) โทรศัพท์: +61 2 8913 9400 โทรสาร: +61 2 8913 9423
10 บาท
10 บาท
99.99 (ถือหุ้นโดย บริษทั ราชบุรพี ลังงาน จ�ำกัด)
2 ล้านหุ้น
20 ล้านบาท
มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น
ผลิตและจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้า
หุ้นสามัญ
99.99 (ถือหุ้นโดย บริษทั ราชบุรพี ลังงาน จ�ำกัด)
ทุนจดทะเบียน
9. บริษัท พีบีไบโอแมส จ�ำกัด 8/8 หมู่ที่ 2 ถนนงามวงศ์วาน ต�ำบลบางเขน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์: 0 2794 9999 โทรสาร: 0 2794 9998 10. บริษัท แอลพีไบโอแมส จ�ำกัด 8/8 หมู่ที่ 2 ถนนงามวงศ์วาน ต�ำบลบางเขน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์: 0 2794 9999 โทรสาร: 0 2794 9998 11. บริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (มอริเชียส) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด 4th Floor, Ebene Skies, Rue de L’Institut, Ebene สาธารณรัฐมอริเชียส 12. บริ ษั ท อาร์ เ อช อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล (สิ ง คโปร์ ) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด 8 Marina Boulevard #05-02 Marina Bay Financial Centre Tower 1 สาธารณรัฐสิงคโปร์ 018981 13. RATCH China Power Limited 1401 Hutchison House 10, Harcout Road, Hong Kong
ประเภทธุรกิจ
สัดส่วนการถือหุ้น (%)
ชื่อบริษัท - ที่ตั้ง
327.65 ล้านเหรียญ ออสเตรเลีย
12,000 เหรียญสหรัฐฯ
523.83 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือเทียบเท่า
524.13 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
5 ล้านบาท
5 ล้านบาท
ทุนชำ�ระแล้ว
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
323
สัดส่วนการถือหุ้น (%)
ประเภทธุรกิจ
ทุนจดทะเบียน
• บริษัทร่วม การร่วมค้า และอื่นๆ จ�ำนวน 25 บริษัท 50 บริการเดินเครื่อง 20 1. บริษัท ชูบุราชบุรี อีเลคทริคเซอร์วิส จ�ำกัด และบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า ล้านบาท 128 หมู่ที่ 6 ต�ำบลพิกุลทอง อ�ำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี 70000 โทรศัพท์: 0 3271 9300 โทรสาร: 0 3271 9309 12,000 2. PT Medco Ratch Power Riau 49 th ล้านรูเปียห์อนิ โดนีเซีย The Energy Building, 50 Floor, (ถือหุ้นโดยบริษัท อาร์เอช SCBD Lot 11A, JI. Jendral Sudirman Kav. 52-53, อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด) Jakarta 12190, Indonesia 33.33 ลงทุนในธุรกิจ 6,606.75 3. บริษัท เซาท์อีสท์ เอเชีย เอนเนอร์จี จ�ำกัด เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า ล้านบาท 587 อาคารวิริยะถาวร ชั้น 20 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 0 2691 9720-34 โทรสาร: 0 2691 8307 25 ผลิตและจ�ำหน่าย 0.30 4. บริษัท ไฟฟ้า น�้ำงึม 3 จ�ำกัด พลังงานไฟฟ้า ล้านเหรียญสหรัฐฯ 093,Unit 07,Kamphengmeaung Road, Vienchaleun Village,Saysetha District, Vientiane, Lao PDR โทรศัพท์: +856 21 412 639 โทรสาร: +856 21 412 644 25 ผลิตและจ�ำหน่าย 306 5. บริษัท ไฟฟ้า เซเปียน - เซน�้ำน้อย จ�ำกัด พลังงานไฟฟ้า ล้านเหรียญสหรัฐฯ ชั้น 6 ตึกแคปปิตอลทาวเวอร์ เลขที่ 23 ถนนสิงหา บ้านหนองบอน เมืองไซเสดถา แขวงนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว โทรศัพท์: +856 21 455 025 โทรสาร: +856 21 455 025
ชื่อบริษัท - ที่ตั้ง
20 ล้านบาท
ทุนชำ�ระแล้ว
10 บาท
100 เหรียญสหรัฐฯ
100 เหรียญสหรัฐฯ
0.003 ล้านหุ้น
3.06 ล้านหุ้น
189.61 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
0.06 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
6,606.75 ล้านบาท
1,000 3,000 รูเปียห์อินโดนีเซีย ล้านรูเปียห์อนิ โดนีเซีย
50 บาท
มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น
660.675 ล้านหุ้น
12 ล้านหุ้น
0.40 ล้านหุ้น
หุ้นสามัญ
324 บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
6. บริษัท เฟิร์ส โคราช วินด์ จ�ำกัด 87/1 อาคารแคปปิตอล ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้ น ที่ 25 ถนนวิ ท ยุ แขวงลุ ม พิ นี เขตปทุ ม วั น กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์: 0 2106 8000 โทรสาร: 0 2106 8008 7. บริษัท เค. อาร์. ทู จ�ำกัด 87/1 อาคารแคปปิตอล ทาวเวอร์ ออลซีซั่นส์เพลส ชั้ น ที่ 25 ถนนวิ ท ยุ แขวงลุ ม พิ นี เขตปทุ ม วั น กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์: 0 2106 8000 โทรสาร: 0 2106 8008 8. บริษัท ราชบุรีเวอลด์ โคเจนเนอเรชั่น จ�ำกัด 155/115 นิคมอุตสาหกรรมราชบุรี หมู่ที่ 4 ต�ำบลเจ็ดเสมียน อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี 70120 โทรศัพท์: 0 3291 9990 โทรสาร: 0 3291 9998 ส�ำนักงานสาขา (1) 155/116 นิคมอุตสาหกรรมราชบุรี หมู่ที่ 4 ต�ำบลเจ็ดเสมียน อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี 70120 ส�ำนักงานสาขา (2) 155/117 นิคมอุตสาหกรรมราชบุรี หมู่ที่ 4 ต�ำบลเจ็ดเสมียน อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี 70120
ชื่อบริษัท - ที่ตั้ง
1,827 ล้านบาท
2,500 ล้านบาท
ผลิตและจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้า
ผลิตและจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้าและไอน�้ำ
20
40 (ถือหุ้นโดยบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด)
1,996.02 ล้านบาท
ทุนจดทะเบียน
ผลิตและจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้า
ประเภทธุรกิจ
20
สัดส่วนการถือหุ้น (%)
250 ล้านหุ้น
182.70 ล้านหุ้น
199.602 ล้านหุ้น
หุ้นสามัญ
10 บาท
10 บาท
10 บาท
มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น
2,500 ล้านบาท
1,827 ล้านบาท
1,996.02 ล้านบาท
ทุนชำ�ระแล้ว
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
325
9. บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด 111 หมู่ที่ 20 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 10. บริษัท เบิกไพรโคเจนเนอเรชั่น จ�ำกัด 302 อาคารเอสแอนด์เอ ชั้น 2 ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์: 0 2978 5380 โทรสาร: 0 2978 5080 ต่อ 5380 11. บริษัท โซลาร์ต้า จ�ำกัด 8/8 หมู่ที่ 2 ต�ำบลบางเขน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์: 0 2978 5200 โทรสาร: 0 2978 5080 ต่อ 5200 12. บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 3) จ�ำกัด 1 อาคารแคปปิตอล เวิร์ค เพลส ชั้น 4 ซอยแจ่มจันทร์ แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์: 0 2011 8111 โทรสาร: 0 2011 8112 13. บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 4) จ�ำกัด 1 อาคารแคปปิตอล เวิร์ค เพลส ชั้น 4 ซอยแจ่มจันทร์ แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์: 0 2011 8111 โทรสาร: 0 2011 8112
ชื่อบริษัท - ที่ตั้ง
1,331 ล้านบาท
1,320 ล้านบาท
188.75 ล้านบาท
199.25 ล้านบาท
ผลิตและจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้าและไอน�้ำ
ผลิตและจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้า
ผลิตและจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้า
ผลิตและจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้า
49 (ถือหุ้นโดยบริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด)
40 (ถือหุ้นโดยบริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด)
40 (ถือหุ้นโดยบริษัท ราชบุรีพลังงาน จ�ำกัด)
ทุนจดทะเบียน
1,550 ล้านบาท
ประเภทธุรกิจ
ผลิตและจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้าและไอน�้ำ
40 (ถือหุ้นโดยบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด) 35 (ถือหุ้นโดยบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด)
สัดส่วนการถือหุ้น (%)
19.925 ล้านหุ้น
18.875 ล้านหุ้น
13.20 ล้านหุ้น
133.10 ล้านหุ้น
150 ล้านหุ้น
หุ้นสามัญ
10 บาท
10 บาท
100 บาท
10 บาท
10 บาท
มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น
199.25 ล้านบาท
188.75 ล้านบาท
1,100 ล้านบาท
1,331 ล้านบาท
1,525.01 ล้านบาท
ทุนชำ�ระแล้ว
326 บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
สัดส่วนการถือหุ้น (%)
40 14. บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 7) จ�ำกัด (ถือหุ้นโดยบริษทั 1 อาคารแคปปิตอล เวิร์ค เพลส ชั้น 4 ซอยแจ่มจันทร์ ราชบุรพี ลังงาน จ�ำกัด) แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์: 0 2011 8111 โทรสาร: 0 2011 8112 40 15. บริษัท สงขลาไบโอ แมส จ�ำกัด (ถือหุ้นโดยบริษทั 56 หมู่ที่ 3 ต�ำบลขุนตัดหวาย อ�ำเภอจะนะ ราชบุรพี ลังงาน จ�ำกัด) จังหวัดสงขลา โทรศัพท์: 0 7489 0754-5 โทรสาร: 0 7489 0757 40 16. บริษัท สงขลาไบโอฟูเอล จ�ำกัด (ถือหุ้นโดยบริษทั 1842 ถนนกรุงเทพ-นนทบุรี แขวงวงศ์สว่าง ราชบุรพี ลังงาน จ�ำกัด) เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 โทรศัพท์: 0 2910 9700 โทรสาร: 0 2910 9713 25 17. บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จ�ำกัด (ถือหุ้นโดยบริษัท 1828 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนงใต้ เขตพระโขนง ราชบุรี อัลลายแอนซ์ จ�ำกัด) กรุงเทพมหานคร 10260 โทรศัพท์: 0 2311 5111 โทรสาร: 0 2332 3882 25 18. บริษัท ไฟฟ้าน�้ำงึม 2 จ�ำกัด (ถือหุ้นโดยบริษัท 215 ถนนลานช้าง บ้านเชียงยืน เมืองจันทะบูลี เซาท์อีสท์ เอเชีย นครเวียงจันทน์ สปป.ลาว เอนเนอร์จี จ�ำกัด) โทรศัพท์: +856 21 251 718 โทรสาร: +856 21 252 060
ชื่อบริษัท - ที่ตั้ง
188.75 ล้านบาท
246 ล้านบาท
1 ล้านบาท
7,325 ล้านบาท
8,809 ล้านบาท
ผลิตและจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้า
จัดหาเชื้อเพลิงชีวมวล
ผลิตและจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้า
ผลิตและจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้า
ทุนจดทะเบียน
ผลิตและจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้า
ประเภทธุรกิจ
880.90 ล้านหุ้น
73.25 ล้านหุ้น
0.01 ล้านหุ้น
2.46 ล้านหุ้น
18.875 ล้านหุ้น
หุ้นสามัญ
10 บาท
100 บาท
100 บาท
100 บาท
10 บาท
มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น
8,809 ล้านบาท
7,325 ล้านบาท
1 ล้านบาท
246 ล้านบาท
188.75 ล้านบาท
ทุนชำ�ระแล้ว
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
327
3,500 ล้านบาท
10
การขนส่ง ขนถ่ายสินค้า และโดยสารรถไฟฟ้า และด�ำเนินการต่างๆ ที่เกี่ยวกับกิจการขนส่ง
623 ล้านบาท
87.80 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
0.05 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
10 ให้บริการงานซ่อมอุปกรณ์ เครื่องกังหันก๊าซของ ระบบผลิตไฟฟ้า
50 (ถือหุ้นโดยบริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด)
21. Fareast Renewable Development Pte. Ltd. 36 Robinson Road, #13-01 City House, 068877, Singapore
22. บริษัท อีแกท ไดมอนด์ เซอร์วิส จ�ำกัด 56/25 หมู่ที่ 20 ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท์: 0 2529 0800 โทรสาร: 0 2529 0900 23. บริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล จ�ำกัด 21 ซอยเฉยพ่วง ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์: 0 2273 8511-5 โทรสาร : 0 2273 8516
37.50 ผลิตและจ�ำหน่ายถ่านหิน (ถือหุ้นโดยบริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด)
20. บริษัท พูไฟมายนิ่ง จ�ำกัด เมืองสีสัตตะนาก นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว โทรศัพท์: +856 21 223 911 โทรสาร: +856 21 222 089
ทุนจดทะเบียน
ผลิตและจ�ำหน่าย 927 พลังงานไฟฟ้า ล้านเหรียญสหรัฐฯ
ประเภทธุรกิจ
40 (ถือหุ้นโดยบริษัท อาร์เอช อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด)
สัดส่วนการถือหุ้น (%)
19. บริษัท ไฟฟ้า หงสา จ�ำกัด เมืองสีสัตตะนาก นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว โทรศัพท์: +856 21 223 911 โทรสาร: +856 21 222 089
ชื่อบริษัท - ที่ตั้ง
10 เหรียญสหรัฐฯ
10 เหรียญสหรัฐฯ
มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น
35 ล้านหุ้น
100 บาท
1 เหรียญสหรัฐฯ ส�ำหรับ 19.80 ล้านหุน้ และ 4.84 เหรียญสหรัฐฯ ส�ำหรับ 14.06 ล้านหุน้ 6.23 100 ล้านหุ้น บาท
33.86 ล้านหุ้น
0.005 ล้านหุ้น
92.70 ล้านหุ้น
หุ้นสามัญ
3,500 ล้านบาท
623 ล้านบาท
87.80 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
0.05 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
927 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
ทุนชำ�ระแล้ว
328 บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
สัดส่วนการถือหุ้น (%)
10 24. บริษัท อีสเทิร์น บางกอกโมโนเรล จ�ำกัด 21 ซอยเฉยพ่วง ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์: 0 2273 8511-5 โทรสาร: 0 22730 8516 10.11 25. EDL-Generation Public Company Lao-Thai Friendship Road, P.O. Box 2392, (ถือหุ้นโดยบริษัท ราช-ลาว เซอร์วิส จ�ำกัด 5.65% Thongkang Village, Sisattanak District. Vientiane และบริษัท อาร์เอช Capital. Lao PDR อินเตอร์เนชั่นแนล (สิงคโปร์) โทรศัพท์: +856 21 316 142 คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด 4.46%) โทรสาร: +856 21 316 141 เว็บไซต์: www.edlgen.com.la
ชื่อบริษัท - ที่ตั้ง
3,500 ล้านบาท
6,717,214.79 ล้านกีบ
ผลิตและจ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้า
ทุนจดทะเบียน
การขนส่ง ขนถ่ายสินค้า และคนโดยสารรถไฟ และด�ำเนินงานต่างๆ
ประเภทธุรกิจ
1,679.304 ล้านหุ้น
35 ล้านหุ้น
หุ้นสามัญ
4,000 กีบ
100 บาท
มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น
6,717,214.79 ล้านกีบ
3,500 ล้านบาท
ทุนชำ�ระแล้ว
บมจ. ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง รายงานประจำ�ปี 2561
329
บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ า ราชบุ รี โ ฮลดิ้ ง จํ า กั ด (มหาชน) 8/8 หมู ที่ 2 ถนนงามวงศ ว าน ตํ า บลบางเขน อํ า เภอเมื อ งนนทบุ รี จั ง หวั ด นนทบุ รี 11000 โทรศั พ ท : 0 2794 9999 โทรสาร : 0 2794 9998 www.ratch.co.th