2017
ANNUAL REPORT รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
สารบัญ ข้ อมูลทัว่ ไป สารจากประธานกรรมการ คณะกรรมการบริษัท และคณะผู้บริหาร ความรับผิดชอบต่อสังคม ข้ อมูลสาคัญทางการเงิน / ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน
02
โครงการในอนาคต โครงสร้ างการถือหุ้นและการจัดการ ภาพรวมการประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัท ปั จจัยความเสี่ยง รายการระหว่างกัน คาอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท
08 09 29 33 36 37
03 04 05 07
38 38 41
เอกสารแนบ งบการเงิน สาหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 และรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
รายงานประจำป 2560
0103
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
ขอมูลทั่วไป ชื่อบริษัท
บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”)
ประเภทธุรกิจ
ประกอบธุรกิจโดยการถือหุนในบริษัทอื่น (Holding Company) โดยมีธุรกิจพลังงานเปน ธุรกิจหลัก (เดิม) ประกอบธุรกิจโรงกลั่นน้ํามันขนาด 17,000 บารเรลตอวัน บริหารคลังน้ํามัน 1 แหง เพื่อจัดจําหนายน้ํามันดีเซล เบนซิน 91 แกสโซฮอลล 91 แกสโซฮอลล 95 แกสโซ ฮอลล E85 เคมีภัณฑ และน้ํามันเตา รวมถึงคาปลีกน้ํามันสําเร็จรูป
ที่ตั้งสํานักงานใหญ
86/2 อาคารสัมมากรเพลส ถนนรามคําแหง แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ 10240
ทุนจดทะเบียน
1,304,664,125 บาท
แบงออกเปนหุนสามัญ
1,304,664,125 หุน
มูลคาที่ตราไวหุนละ
1 บาท
ทุนจดทะเบียนชําระแลว
1,304,664,125 บาท
เลขทะเบียนบริษัท
0107546000202 โทรศัพท 02-372-3600 โทรสาร 02-372-3327 7/3 ถนนปกรณสงเคราะหราษฎร ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท 038- 685-816 -9 โทรสาร 038-685-243 โฮมเพจ http://www.rpcthai.com
ที่ตั้งโรงงาน
บุคคลอางอิงอื่นๆ นายทะเบียนหลักทรัพย
บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด
ที่ตั้ง
93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 02-009-9000 โทรสาร 02-009-9991
ผูสอบบัญชี (ประจําป 2560)
นางพูนนารถ เผาเจริญ ผูสอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 5238 บริษัท สํานักงาน อีวาย จํากัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 02-264-0777 โทรสาร 02-264-0790
ที่ตั้ง
0202
รายงานประจำป 2560
รายงานประจำป 2560
0103
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
สารจากประธานกรรมการ จากการที่ บ ริ ษั ท ฯได ป รั บ โครงสร า งธุ ร กิ จ ให เหมาะสมกับสภาพแวดลอมปจจุบัน ในรูปแบบโฮลดิ้ง คอมพานี (Holding Company) บริษัทฯ มีรายไดจาก 2 กลุ มธุรกิจหลัก คือ กลุ มธุรกิจพลัง งานและกลุมธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย ดวยการรวมลงทุนและการรวม บริ ห ารในกิ จ การอื่ น ที่ มี ศั ก ยภาพ ซึ่ ง เป น กลยุ ท ธ ท าง ธุรกิจที่บริษัทฯ คาดวาจะสรางผลประกอบการที่ดีขึ้นใน ระยะยาว นั้น ในธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย บริ ษั ท ฯ ได ถื อ หุ น ใน บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) (“SAMCO”) ในสัดสวน รอยละ 48.25 ซึ่งประกอบธุรกิจจําหนายอสังหาริมทรัพย โดยมุ งเน นพัฒนาโครงการที่อ ยูอาศัยเพื่อ จําหนายใน ประเภทบานเดี่ยว ทาวนโฮมและคอนโด ยัง สรางผล ประกอบการที่ มั่ น คงต อ เนื่ อ ง ป จ จุ บั น มี โ ครงการอยู 6 โครงการและมีโครงการใหมที่อยูระหวางการพัฒนา อีก 4 โครงการที่จะเปดภายในป 2561 และในสวนธุรกิจ การให เ ช า พื้ น ที่ หรื อ ที่ รู จั ก ในนามคอมมู นิ ตี้ มอลล (Community Mall) ภายใตชื่อ “สัมมากรเพลส” ซึ่งปจจุบัน มีโครงการอยู 3 แหง ตอมาบริษัทฯ ไดปรับโครงสรางการ ถือหุน โดยให SAMCO ถือหุนธุรกิจคอมมูนิตี้มอลล อัตรา ร อ ยละ 100 เพื่ อ ความคล อ งตั ว ในการบริ ห ารงาน นอกจากนี้ SAMCO ยังมีแผนงานขยายและพัฒนาโครงการ อยางตอเนื่อง ดวยชื่อเสียงที่มีมากวา 45 ป บริษัทฯ เชื่อ วา SAMCO จะสามารถพัฒนาธุรกิจใหเติบโตยั่งยืนได ตลอดไป ดานธุรกิจกลุมพลังงาน บจก.เพียวพลังงานไทย (“PTEC”) และ บมจ.เอสโซ ไดลงนามสัญญาซื้อขาย น้ํามัน และใหใชสิทธิเครื่องหมายการคาเอสโซ เพื่อผนึก ความแข็งแกรงในธุรกิจการคาปลีกน้ํามัน ปรับเปลี่ยน สถานีบริการน้ํามันของ PTEC เปนสถานีบริการน้ํามัน ภายใต เ ครื่ อ งหมายการค า เอสโซ นั บ เป น โอกาสที่ ดี สําหรับ PTEC ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ ที่จะตอยอด ธุรกิจคาปลีกน้ํามัน และเพิ่มความแข็งแกรงทางธุรกิจ
ภายใต เ ครื่ อ งหมายการค า เอสโซ ซึ่ ง เป นที่ รู จั ก อย า งดี ยิ่ ง ในประเทศไทย รวมถึ ง การมี เครือขาย และแผนการตลาดที่ จะตอบสนองความต อ งการ ของลูกคาอยางตอเนื่อง ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ยั ง คงมองหาช อ งทางเลื อ กในการ ลงทุนในธุรกิจตางๆ ที่จะชวยเสริมสรางความแข็งแกรง ใหกับธุรกิจของบริษัทฯ ตอไป รวมไปถึงการปรับกลยุทธ ในการดํา เนิน ธุรกิจ ของบริ ษัทฯ โดยจะเนน การลงทุ น ดานพลังงาน และพลังงานทดแทน นอกจากนี้ การใหเชาคลังน้ํามันและกิจการทาเรือที่ บริษัทฯ ไดถือหุนในอัตรารอยละ 30 ในบริษัท ไทยพับลิค พอรต จํากัด (TPP) ก็มีผลประกอบการดีขึ้นตามลําดับ และบริษัทฯ ยังคง ไดรับเงินปนผลจาก TPP เชนเดิม ในโอกาสนี้ ผม ในนามของคณะกรรมการบริษัท ใครขอขอบคุณ ทานผูถือหุน คูคา ลูกคา สถาบันการเงิน ผูบริหารทุกระดับ ตลอดจนพนักงานทุกทาน ที่ไดใหการ สนั บ สนุ น การดํ า เนิ น งานของบริษั ท ฯ ด ว ยดี ต ลอดมา และไดรวมทุกขรวมสุขกับบริษัทฯ และขอใหเชื่อมั่นวา ผม คณะกรรมการบริษัท และพนักงานทุกคน จะตั้งใจ อย า งเต็ ม กํ า ลั ง ความสามารถในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ มี ธรรมภิ บ าล ทั้ ง ต อ ผู ถื อ หุ น ต อ คู ค า ต อ ลู ก ค า และต อ พนักงานทุกระดับ รวมถึงสามารถกลับมาทํากําไร และ ใหผลตอบแทนที่คุมคาแกผูถือหุนสืบตอไปเชนในอดีตที่ ผานมา
นายสัจจา เจนธรรมนุกูล ประธานกรรมการ
รายงานประจำป 2560
0303
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2560
1.
นายสัจจา
เจนธรรมนุกูล
ประธานกรรมการ
2.
นายศุภพงศ
กฤษณกาญจน
กรรมการ
3.
นายสุวนิ ัย
สุวรรณหิรัญกุล
กรรมการ
4.
นายสุทัศน
ขันเจริญสุข
กรรมการ
5.
นายประสิทธิ์
ธีรรัตนบงกช
กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
6.
นายชํานิ
จันทรฉาย
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
7.
นางสาวปณิชา พงษศวิ าภัย
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
คณะผูบริหาร
0204
1.
นายสัจจา
เจนธรรมนุกูล
รักษาการกรรมการผูจัดการ
2.
นางสุพรรณี
ตัณไชยศรีนคร
ผูจัดการทัว่ ไป สายบริหารและการเงิน
3.
นางสาวกัลยา
คลายทอง
ผูจัดการทัว่ ไป สายพัฒนาธุรกิจ
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
ความรับผิดชอบตอสังคม บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน) และกลุมบริษัทในเครือ RPCG โดยคณะกรรมการ และผูบริหาร มีนโยบายการ บริหารงานภายใตหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Compliance and Governance) ตลอดจนใหความสําคัญกับการจัดการ สิ่งแวดลอม รวมถึงสิทธิประโยชนเพื่อใหพนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ใหมีความมั่นใจในการอยูรวมงานกับบริษัทฯ อยาง มีความสุขและความมั่นคง และประโยชนสุขแกกิจการ ผูมีสวนไดเสีย สังคม สิ่งแวดลอม และประเทศชาติอยางยั่งยืน ไดคํานึงถึงการปลูกฝง และใหตระหนักถึงจรรยาบรรณในการดําเนิน ธุรกิจ เพื่อใหบุคลากรในองคกรทราบ และใหยึดถือปฏิบัติโดยเครงครัด อาทิเชน แนวปฏิบัติตอผูถือหุน ลูกคา เจาหนี้ คูคา คูแขงขันทางการคา ชุมชนสังคม และ สิ่งแวดลอม รวมถึงระบบสารสนเทศ การรับ-การใหของขวัญหรือทรัพยสิน และ การรักษาความลับ เปนตน บริ ษั ท ฯ ให ค วามสํ า คั ญ กั บ พนั ก งาน โดยมี น โยบายต า งๆ อาทิ เ ช น นโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษยแบบเพิ่มคุณคาใหพนักงานในองคกรสูการ เปนทุนมนุษย (Human Capital) อยางแทจริง นโยบายการจางงานที่จะปฏิบัติ ตามกฎหมาย และหลักการเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานตามเกณฑสากล โดยไมแบง แยกถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ เพศ อายุ สีผิว ศาสนา ความพิการ ฐานะ ชาติ ต ระกู ล สถานศึ ก ษา หรื อ สถานะอื่ น ใดที่ มิ ไ ด เ กี่ ย วข อ งโดยตรงกั บ การ ปฏิบัติงาน รวมทั้ง ใหความเคารพตอความเปนปจเจกชน และศักดิ์ศรีของความ เปนมนุษย ซึ่งที่ผานมาบริษัทฯ มีการจางงานพนักงานผูพิการ ตามลักษณะงาน ตามความถนัดและเหมาะสม นอกจากนั้ นบริษัทฯ ไมสนับสนุนการบังคั บ ใช แรงงาน หรือแรงงานตางดาวที่ผิดกฎหมาย ตอตานการใชแรงงานเด็ก ที่ผานมาบริษัทฯ ไดยึดแนวทางสรางความผาสุก (Well-Being) ใหกับ พนักงาน และองคกร ซึ่งดําเนินการผานมุมมอง 4 มิติ คือ กาย จิต สังคม ปญญา มาบูรณาการอยูในการพัฒนาบุคลากร และองคกร เพื่อสราง “ความสุข” ให เกิ ด ขึ้ น โดยผ า นนโยบาย และกิ จ กรรมต า งๆ อาทิ เ ช น โครงการรดน้ํ า ดํ า หั ว ผูบริหารเนื่องในวันสงกรานต เพื่อเปนการพบปะฉันทพี่นองระหวางผูบริหาร และ พนักงาน โครงการสานสัมพันธครอบครัว โครงการ RPCG รวมใจ ลดใชพลังงาน เพื่ อ ปลู ก ฝ ง ให พ นั ก งานรั บ รู ถึ ง ความสํ า คั ญ ของการประหยั ด พลั ง งาน และ ทรัพยากรสิ้นเปลืองตางๆ สงผลใหเกิดพฤติกรรมการประหยัดพลังงานจนเคยชิน เปนตน ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดใหความสําคัญกับเรื่องอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ในการทํางาน โดยการจัดน้ําดื่มสะอาดที่ถูกหลักอนามัย พรอมสวัสดิการ การ รักษาพยาบาลตรวจสุขภาพประจําป การทําประกันสุขภาพ และประกันชีวิต
รายงานประจำป 2560
0503
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน) บริษัทฯ มีการพัฒนาพนักงานอยางตอเนื่องในทุกดานที่จะสามารถเอื้อตอการเพิ่มประสิทธิภาพ และความสามารถ ในการปฏิบัติงาน รวมถึงการสรางบรรยากาศใหพนักงานทํางานอยางมีความสุข บริษัทฯ ไดกําหนดจัดปฐมนิเทศใหกับ พนักงานที่เขาใหมทุกคน เพื่อใหรู เขาใจถึงนโยบาย วัฒนธรรม ตระหนักถึงคานิยมของบริษัท มีการพัฒนาเพื่อฝกฝนทักษะ และเพิ่มพูนศักยภาพ โดยเปดโอกาสใหพนักงานมีการอบรมสัมมนาเพื่อการเรียนรู เพื่อเพิ่มศักยภาพของตนเอง ใหมีหนาที่ ตําแหนงที่สูงขึ้น และเลื่อนตําแหนงเมื่อมีโอกาสที่เหมาะสม นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดใหความสําคัญไมวาจะเปนการสนับสนุน กิจกรรมสังคม กิจกรรมสาธารณกุศลตางๆ อาทิ เชน กิจกรรมการบริจาคสิ่งของ กิจกรรมการรวมบริจาคโลหิต รวมถึง ไดใหความสําคัญตอชุมชน และงานดานมวลชน สัมพันธตอเนื่องเสมอมา เพื่อเปนการเสริมสรางความรูความเขาใจที่ดีตอกัน ดํารงสัมพันธภาพดีกับชุมชน รวมทั้งการมี สวนรวมอื่น ๆ กับกิจกรรมของชุมชน อาทิเชน ไดสมทบทุนรวมใจทําดี ทอดผาปาสามัคคี เพื่อสรางถนนทางเขาวัด ถวายไว ในบวรพระพุทธศาสนา ณ วัดวันทนียวิหาร ต.เมืองพาน อ.บานผือ จ.อุดรธานี เมื่อวันที่ 18-19 สิงหาคม 2560 อีกทั้ง บริษัทฯ ยังไดมีการจัดกิจกรรม และรวมสนับสนุน ตามวันสําคัญ เทศกาล และประเพณีของแตละทองถิ่น เชน วัน เด็ก วันแมแหงชาติ วันพอแหงชาติ วันสําคัญทางศาสนา เปนตน
0206
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
ขอมูลสําคัญทางการเงิน อัตราสวนทางการเงิน
หนวย
31 ธันวาคม 2558 0.21
31 ธันวาคม 2559 0.33
31 ธันวาคม 2560 0.27
อัตราสวนสภาพคลอง
เทา
อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ
เทา
40.53
43.43
47.12
ระยะเวลาการเก็บหนี้
วัน
7
7
8
อัตรากําไรสุทธิ
%
4.25
(3.13)
(1.54)
อัตรากําไรขั้นตน
%
8.10
8.27
6.91
อัตราผลตอบแทนผูถือหุน
%
7.28
(5.30)
(2.80)
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย
%
3.16
(2.13)
(1.16)
กําไรสุทธิตอหุน
บาท
0.08
(0.05)
(0.03)
มูลคาตามบัญชีตอหุน
บาท
1.06
1.00
1.00
อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน
เทา
1.44
1.44
1.40
อัตราสวนหนี้สินระยะยาวตอสวนของผูถือหุน
เทา
0.03
0.03
0.04
ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน รายการทางเงิน สินทรัพยรวม
(หนวย : ลานบาท) 31 ธันวาคม 2558 3,332
31 ธันวาคม 2559 3,171
31 ธันวาคม 2560 3,129
หนี้สินรวม
1,955
1,864
1,818
สวนของผูถือหุนรวม
1,377
1,307
1,311
รายไดจากการขาย
2,361
2,210
2,387
รายไดรวม
2,451
2,335
2,458
กําไรขั้นตน
191
183
165
กําไร (ขาดทุน) กอนหักดอกเบี้ย คาเสื่อมราคา และภาษีเงินได
176
(3)
14
99
(69)
(37)
0.08
(0.05)
(0.03)
กําไร(ขาดทุน) สําหรับป กําไร(ขาดทุน) สุทธิตอหุน (บาท)
รายงานประจำป 2560 .
0703
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
โครงการในอนาคต บริษัทฯ มีโครงการขยายขอบเขตการดําเนินธุรกิจหรือการขยายการลงทุนในธุรกิจเพื่อสรางโอกาสและมูลคาเพิ่มใหแก บริษัทฯ ใหเจริญเติบโตอยางยั่งยืน และมั่นคง เพิ่มผลตอบแทนใหกับผูถือหุน และสามารถตอยอดธุรกิจของบริษัทฯ และเพิ่ม ยอดรายไดของบริษัทฯ ดังนี้
1. โครงการลงทุนดานพลังงาน
บริษัทฯ ยังคงมุงมั่นที่จะดําเนินธุรกิจที่เกี่ยวของกับธุรกิจน้ํามันที่บริษัทฯ มีความเชี่ยวชาญ และประสบการณอยาง ยาวนาน ทั้งการขยายสถานีบริการน้ํามัน Trading น้ํามัน และในเดือนธันวาคม ป 2556 บริษัทฯ ไดขยายธุรกิจตอเนื่อง คือ ธุรกิจใหเชาคลังสินคาเหลวขนาด 346 ลานลิตร และทาเทียบเรือน้ําลึกที่เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี นอกจากนี้ บริษัทฯ มีความสนใจการลงทุนดานพลังงาน ทดแทน อาทิโครงการผลิตไฟฟาชีวมวล VSPP, การผลิต ไฟฟาแสงอาทิตย หรือโครงการพลังงานทดแทนทางเลือกอื่นๆ เพื่อเปนการตอบสนองนโยบายของรัฐบาล ในการลดการ นําเขาเชื้อเพลิงปโตรเลียมจากตางประเทศ โดยใชผลผลิตทางการเกษตรภายในประเทศ
2. โครงการลงทุนดานอสังหาริมทรัพย
บริษัทฯ มีความสนใจการลงทุนดานอสังหาริมทรัพย โดยมีการรวมทุนกับบริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) (SAMCO) จัดตั้ง บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด (PSDC) เพื่อพัฒนาที่ดินในเขตกรุงเทพ และปริมณฑลใหเปนศูนยการคา ประชาคม (Community Mall) แบบครบวงจร ภายใตชื่อ “ศูนยการคาสัมมากรเพลส” เปนรูปแบบศูนยการคา ทันสมัย ใกล ชุมชน ซึ่งปจจุบันมีศูนยการคาสัมมากรเพลส จํานวน 3 แหง คือ สาขารังสิตคลอง 2 สาขารามคําแหง และสาขาราชพฤกษ และยังมีแผนขยายโครงการใหมอยางตอเนื่อง ตอมาเมื่อในเดือนในสิงหาคม 2559 บริษัทฯ ไดปรับโครงสรางการถือหุน โดย ให SAMCO ถือหุน PSDC อัตรารอยละ 100 เพื่อความคลองตัวในการบริหารงาน นอกจากนี้ บริษัทฯ มีความสนใจขยายขอบเขตการลงทุนดานอสังหาริมทรัพยเพิ่มเติม โดยมีการซื้อหุนจากผูถือหุน เดิมของ บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) (SAMCO) ซึ่งประกอบธุรกิจจําหนายอสังหาริมทรัพย โดยมุงเนนพัฒนาโครงการที่ พักอาศัยเพื่อจําหนายในแนวราบประเภทบานเดี่ยว ทาวนโฮม และแนวสูง ซึ่งเปนการพัฒนาโครงการในเฟสตอเนื่องจาก โครงการเดิมที่ไดดําเนินการไวแลวและพัฒนาโครงการใหม ปจจุบันจํานวน 6 โครงการ คือ โครงการสัมมากรรังสิตคลอง 7, โครงการชัยพฤกษ วงแหวน, โครงการ S9 Condominium, โครงการสัมมากรชัยพฤกษ แจงวัฒนะ, โครงการสัมมากร อเวนิว รามอินทรา-วงแหวน และโครงการสัมมากร อเวนิว ชัยพฤกษ-วงแหวน และเห็นวามีความเหมาะสมและเปนประโยชนตอบริษัทฯ โดยการเขาลงทุนในธุรกิจที่มีศักยภาพ ซึ่งจากการเขาไปมี สวนรวมในการบริหาร และ SAMCO มีแผนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพยในอนาคตของ SAMCO ในรูปแบบตางๆ ตาม สมัยนิยม นาจะสามารถสรางผลตอบแทนที่ดีใหกับบริษัทฯได
0208
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
โครงสรางการถือหุน และการจัดการ ณ วันที่ 6 มีนาคม 2560 รายชื่อผูถือหุนที่ถือหุนสูงสุด 10 รายแรก โดยนับรวมการถือหุนโดยผูที่เกี่ยวของกันตาม มาตรา 258 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 รายชื่อผูถือหุน 1 บริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท จํากัด 2 นางสาวมณฑนา เจนธรรมนุกูล 3 นายธวัช อึ้งสุประเสริฐ 4 นางสาวปริญณี เจนธรรมนุกูล 5 นายสัจจา เจนธรรมนุกูล และคูสมรส 6 นางสาวเมทนี สุคนธรักษ 7 นางสาวพิมอุมา เจนธรรมนุกูล 8 นายณพน เจนธรรมนุกูล 9 บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด 10 นางอําไพ หาญไกรวิไลย
จํานวนหุน ที่ถอื 257,227,140 33,981,978 32,557,578 28,601,578 22,734,592 21,500,000 21,318,950 21,311,400 17,198,717 17,000,000
สัดสวนการถือหุน (รอยละ) (1) 19.72 2.60 2.50 2.19 1.74 1.65 1.63 1.63 1.32 1.30
ที่มา : ทะเบียนรายชื่อผูถือหุน บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 6 มีนาคม 2560 หมายเหตุ : - (1) คํานวณจากหุนสามัญที่ออกและเรียกชําระแลวจํานวน 1,304,664,125 หุน
โครงสรางการจัดการ บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน
คณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการผูจ ัดการ สํานักตรวจสอบภายใน
สํานักงานพัฒนาธุรกิจ ฝายบริหารทรัพยสิน
สายบริหารและการเงิน ฝายบริหารทั่วไป
OUTSOURCE
รายงานประจำป 2560
0903
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการบริษัทประกอบดวยกรรมการจํานวน 7 ทาน มีดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
รายชื่อ นายสัจจา เจนธรรมนุกูล นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล นายศุภพงศ กฤษณกาญจน นายสุทัศน ขันเจริญสุข นายประสิทธิ์ ธีรรัตนบงกช นายชํานิ จันทรฉาย นางสาวปณิชา พงษศิวาภัย
ตําแหนง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
- นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร : เลขานุการบริษัท
กรรมการผูมีอํานาจลงนามแทนบริษัทฯ กรรมการผูมีอํานาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัทฯ ประกอบดวย - นายสั จ จา เจนธรรมนุ กู ล นายศุ ภ พงศ กฤษณกาญจน นายสุ วิ นั ย สุ ว รรณหิ รั ญ กุ ล นายสุ ทั ศ น ขั น เจริ ญ สุ ข กรรมการสองในสี่คนนี้ลงลายมือชื่อรวมกัน และประทับตราบริษัทฯ ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการอาจแตงตั้งบุคคลอื่นใดใหดําเนินกิจการของบริษัทฯ ภายใตการควบคุมของคณะกรรมการ หรือ อาจมอบอํ า นาจเพื่ อ ให บุ ค คลดั ง กล า วมี อํ า นาจตามที่ ค ณะกรรมการเห็ น สมควร และภายในระยะเวลาที่ คณะกรรมการเห็นสมควร ซึ่งคณะกรรมการอาจยกเลิกเพิกถอน หรือเปลี่ยนแปลง หรือแกไขอํานาจนั้นๆ ได ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ไดมอบหมายใหคณะกรรมการบริหารมีอํานาจหนาที่ในการปฏิบัติงานตางๆ โดยมี รายละเอียดการมอบอํานาจตามขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร การมอบอํานาจดังกลาวตอง ไมมีลักษณะเปนการมอบอํานาจ หรือมอบอํานาจชวงที่ทําใหคณะกรรมการบริหาร หรือผูรับมอบอํานาจจาก คณะกรรมการบริหารสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความ ขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทฯ หรือบริษัทยอย ยกเวน เปนการอนุมัติรายการที่เปนไปตามนโยบาย และหลักเกณฑที่คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติไว 2. คณะกรรมการมีอํานาจกําหนดและแกไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทฯ ได 3. คณะกรรมการอาจจายเงินปนผลระหวางกาลใหแกผูถือหุนไดเปนครั้งคราว เมื่อเห็นวาบริษัทฯ มีผลกําไรสมควร พอที่จะทําเชนนั้น และรายงานใหที่ประชุมผูถือหุนทราบในการประชุมผูถือหุนคราวตอไป 4. คณะกรรมการตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติของ ที่ประชุมผูถือหุน เวนแตในเรื่องที่ตองไดรับอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนกอนดําเนินการ เชนเรื่องที่กฎหมาย กําหนดใหตองไดรับมติที่ประชุมผูถือหุน การทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน และการซื้อหรือขายสินทรัพยที่สําคัญ ตามกฎเกณฑของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือตามที่หนวยงานราชการอื่นๆ กําหนด เปนตน
0210
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน) 5. คณะกรรมการตองประชุมกันอยางนอยสามเดือนตอครั้ง โดยมีกรรมการมารวมประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของ จํานวนกรรมการทั้งหมด การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมคณะกรรมการใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งมี หนึ่งเสียงในการลงคะแนน เวนแตกรรมการซึ่งมีสวนไดเสียในเรื่องใดเรื่องหนึ่งไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนใน เรื่องนั้น และถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มอีกหนึ่งเสียงเพื่อเปนเสียงชี้ขาด 6. คณะกรรมการตองจัดใหมีการประชุมผูถือหุนสามัญประจําปภายในสี่เดือน นับแตวันสิ้นสุดของรอบปบัญชีของ บริษัทฯ 7. กรรมการตองแจงใหบริษัทฯ ทราบโดยไมชักชา ในกรณีที่กรรมการมีสวนไดเสียไมวาโดยทางตรงหรือทางออมใน สัญญาที่บริษัทฯ ทําขึ้น หรือในกรณีที่จํานวนหุนหรือหุนกูของบริษัทฯ หรือบริษัทในเครือที่กรรมการถืออยูมีจํานวน ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง 8. กรรมการตองไมประกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกัน และเปนการแขงขันกับกิจการของบริษัทฯ หรือเขา เปนหุนสวนในหางหุนสวนสามัญหรือเปนหุนสวนไมจํากัดความรับผิดในหางหุนสวนจํากัดหรือเปนกรรมการของ บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดอื่นใด ที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกัน และเปนการแขงขันกับ กิจการของบริษัทฯ ไมวาเขาทําเพื่อประโยชนตนเอง หรือประโยชนผูอื่น เวนแตจะไดแจงใหที่ประชุมผูถือหุนทราบ กอนที่จะมีมติแตงตั้งกรรมการผูนั้น คุณสมบัติของกรรมการอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ มีความเปนอิสระตามนิยามความเปนอิสระของกรรมการอิสระ โดย 1. ถือหุนไมเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดในบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือ บุคคลที่อาจมีความขัดแยง 2. ไมเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดเงินเดือนประจํา หรือผูมีอํานาจควบคุม ของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง 3. ไมมีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เปน บิดามารดา คูสมรส พี่ นองและบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการ เสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย 4. ไมมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวมหรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ใน ลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการใชวิจารณญาณอยางอิสระของตน รวมทั้งไมเปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ซึ่งไมใชกรรมการอิสระ หรือผูบริหาร ของผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัท รวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง 5. ไมเปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง และไมเปน ผูถือหุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือหุนสวนผูจัดการของสํานักงานสอบบัญชี ซึ่งมี ผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยงสังกัดอยู 6. ไมเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งไดรับ คาบริการเกินกวาสองลานบาทตอปจากบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความ ขัดแยง รวมทั้งไมเปนผูถือหุนรายใหญ กรรมการซึ่งไมใชกรรมการอิสระ ผูบริหาร หรือหุนสวนผูจัดการ ของผู ใหบริการทางวิชาชีพนั้น ดวย
รายงานประจำป 2560
1103
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
7. ไมเปนกรรมการที่ไดรับแตงตั้งขึ้น เพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัทผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผู ที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ 8. ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัทฯ 9. ไมเปนกรรมการที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ใหตัดสินใจในการดําเนินกิจการของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง และไมเปนกรรมการของ บริษัทจดทะเบียนที่เปนบริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน 10. มีหนาที่ในลักษณะเดียวกับที่กําหนดไวในประกาศตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยวาดวยคุ ณสมบัติและ ขอบเขตการดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวยกรรมการจํานวน 3 ทาน มีดังนี้ รายชื่อ 1. นายประสิทธิ์ ธีรรัตนบงกช 2. นายชํานิ จันทรฉาย 3. นางสาวปณิชา พงษศิวาภัย
ตําแหนง
ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
- นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร : เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ
ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานใหบริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความ เห็นชอบในการพิจารณาแตงตั้งโยกยาย เลิกจาง ประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปของหัวหนาหนวยงาน ตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให บ ริ ษั ท ฯ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว า ด ว ยหลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย ข อ กํ า หนดของตลาด หลักทรัพย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระ เพื่อทําหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอ คาตอบแทนของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวย อยางนอยปละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมาย และ ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอ บริษัทฯ 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกลาว ตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และเปนไปตามหลักเกณฑที่ตลาดหลักทรัพยฯ กําหนดไว
0212
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
7. สอบทาน และรายงานผลการสอบของบริษัทฯ ตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อใหมั่นใจวากรอบการบริหารความเสี่ยง และกระบวนการของบริษัทฯ ไดรับการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลอยางสม่ําเสมอและเสนอแนะการ ปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ 8. สอบทานความถูกตอง และประสิทธิผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวของกับรายงานการเงิน และการควบคุม ภายใน สอบทานระบบบริหารความเสี่ยง 9. สอบทานแผนงานตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ตามวิธีการและมาตรฐานที่ยอมรับโดยทั่วไป 10. พิจารณาทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และกฎบัตรของหนวยงานตรวจสอบภายใน 11. คณะกรรมการตรวจสอบ อาจแสวงหาความเห็นที่เปนอิสระจากที่ปรึกษาทางวิชาชีพอื่นใด เมื่อเห็นวาจําเปน ดวยคาใชจายของบริษัทฯ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้การดําเนินการวาจางใหเปนไปตาม ระเบียบขอกําหนดของบริษัทฯ 12. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัท มอบหมายดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ประกอบดวยกรรมการจํานวน 3 ทาน มีดังนี้ รายชื่อ ตําแหนง 1. นายประสิทธิ์ ธีรรัตนบงกช ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 2. นายชํานิ จันทรฉาย กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 3. นางสาวปณิชา พงษศิวาภัย กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน
ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน 1. พิจารณาคาตอบแทนกรรมการ และกรรมการผูจัดการ เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ 2. สรรหากรรมการ และกรรมการผูจัดการ เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทฯ 3. เรื่องอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบหมาย
คณะผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผูบริหารของบริษัทฯ มีจํานวน 3 ทาน มีดังนี้ รายชื่อ 1. นายสัจจา เจนธรรมนุกูล 2. นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร 3. นางสาวกัลยา คลายทอง
ตําแหนง รักษาการกรรมการผูจัดการ ผูจัดการทั่วไปสายบริหาร และการเงิน ผูจัดการทั่วไปสายพัฒนาธุรกิจ
ขอบเขตอํานาจหนาที่ของกรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ มีอํานาจและหนาที่เกี่ยวกับการบริหารกิจการบริษัทฯ ตามที่คณะกรรมการจะมอบหมาย และ จะตองบริหารบริษัทฯ ตามแผนงานหรืองบประมาณที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการอยางเครงครัด ซื่อสัตยสุจริตและ
รายงานประจำป 2560
1303
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน) ระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัทฯ และผูถือหุนอยางดีที่สุด อํานาจหนาที่ของกรรมการผูจัดการ ใหรวมถึงเรื่องหรือ กิจการตางๆ ดังตอไปนี้ดวย 1. ดําเนินกิจการ และ/หรือ บริหารงานประจําวันของบริษัทฯ 2. บรรจุ แตงตั้ง เลื่อนตําแหนงพนักงาน ปรับเงินเดือนพนักงาน ซึ่งผานความเห็นชอบตามสายงานตามระเบียบที่ คณะกรรมการกําหนด 3. พิจารณาอนุมัติการซื้อสินทรัพยถาวรมูลคาไมเกิน 10,000,000 บาท (สิบลานบาท) ทั้งนี้ ตองเปนไปตามขอบังคับ ของสํานักงานกํากับตลาดทุนในเรื่องเกี่ยวกับการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยของบริษัทจดทะเบียน หรือ รายการที่เกี่ยวโยงกันหรือกฎระเบียบของหนวยงานที่เกี่ยวของ 4. ดําเนินการใหมีการจัดทํา และสงมอบนโยบายทางธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึงแผนงานและงบประมาณตอคณะกรรมการ เพื่ อ ขออนุ มั ติ และมี ห น า ที่ ร ายงานความก า วหน า ตามแผน และงบประมาณที่ ไ ด รั บ อนุ มั ติ ดั ง กล า วต อ คณะกรรมการใน ทุกๆ 3 เดือน 5. ดําเนินการหรือปฏิบัติงานใหเปนไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ ทั้งนี้ การใชอํานาจของกรรมการผูจัดการดังกลาวขางตนไมสามารถกระทําได หากกรรมการผูจัดการอาจมีสวน ไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะใดๆ กับบริษัทฯ ในการใชอํานาจดังกลาว การสรรหากรรมการและผูบริหาร บริษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนโดยเฉพาะ ทั้งนี้บุคคลที่จะไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนง กรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ จะตองมีคุณสมบัติครบตามมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 และขอบังคับของบริษัทฯและไมมีลักษณะตองหา มตามประกาศคณะกรรมการกํา กับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพ ย เกี่ยวกับเรื่อง การขออนุญาต และการอนุญาตใหเสนอขายหุนที่ออกใหมฉบับลงวันที่ 12 ธันวาคม 2551 โดยการคัดเลือกจะ ดําเนินการ ดังนี้ องคประกอบและการแตงตั้งคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการของบริษัทฯ ตองมีจํานวนไมนอยกวา 5 คน และไมเกินกวา 15 คน เลือกตั้งโดยที่ประชุมผูถือหุน และ กรรมการไม น อ ยกว า กึ่ ง หนึ่ ง ของจํ า นวนกรรมการทั้ ง หมดต อ งมี ถิ่ น ที่ อ ยู ใ นประเทศไทย ทั้ ง นี้ ข อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ กําหนดใหที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑและวิธีการตอไปนี้ (1) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง (2) ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลเดียว หรือหลายคนเปนกรรมการก็ได แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได (3) บุคคลที่ไดรับคะแนนสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับเลือกเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะ พึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวน กรรมการที่จะพึงมี ใหประธานที่ประชุมเปนผูออกเสียงชี้ขาด เมื่อมีการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง ใหกรรมการออกจากตําแหนงจํานวนหนึ่งในสามของจํานวนกรรมการ ในขณะนั้น ถาจํานวนกรรมการจะแบงออกใหตรงเปนสามสวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนใกลที่สุดกับสวนหนึ่งในสาม กรรมการซึ่งพนจากตําแหนง อาจไดรับเลือกใหกลับเขามารับตําแหนงอีกก็ได กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทฯ คือ กรรมการสองคน ลงลายมือชื่อ และประทับตราสําคัญของบริษัทฯ
0214
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน) องคประกอบและการแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัทฯ เปนผูแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ โดยแตงตั้งบุคคลอยางนอย 3 คนและมีวาระการดํารง ตําแหนง 3 ป โดยบุคคลดังกลาว ตองมีคุณสมบัติครบถวนตามประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตามประกาศของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
คาตอบแทนกรรมการบริษัท
คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ป 2559 คาตอบแทนกรรมการบริษัทฯ รวม 9 ราย เทากับ 0.71 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนในรูปเบี้ยประชุม และบําเหน็จกรรมการ ซึ่งแปรตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ คาตอบแทนผูบริหารรวม 3 ราย จํานวน 4.18 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนในรูปเงินเดือน และโบนัส ซึ่งแปรตาม ผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ป 2560 คาตอบแทนกรรมการบริษัทฯ รวม 7 ราย เทากับ 1.46 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนในรูปเบี้ยประชุมและ บําเหน็จกรรมการ ซึ่งแปรตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ คาตอบแทนผูบริหารรวม 3 ราย จํานวน 4.48 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนในรูปเงินเดือน และโบนัส ซึ่งแปรตาม ผลการดําเนินงานของบริษัทฯ โดยคาตอบแทนกรรมการบริษัท ประจําป 2560 เปนรายบุคคลมีรายละเอียดดังนี้ รายชื่อ 1. นายสัจจา
เจนธรรมนุกูล
2. นายสุวินัย 3. นายศุภพงศ 4. นายสุทัศน 5. นายประสิทธิ์
สุวรรณหิรัญกุล กฤษณกาญจน ขันเจริญสุข ธีรรัตนบงกช
6. นายชํานิ
จันทรฉาย
7. นางสาวปณิชา พงษศิวาภัย
รวมเปนเงินทั้งสิน้
ตําแหนง ประธานกรรมการ รก.กรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน
คณะกรรมการ บริษัท 137,500
คณะกรรมการ ตรวจสอบ -
หนวย : บาท คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน -
110,000 110,000 110,000 110,000
215,000
50,000
110,000
150,000
40,000
110,000
170,000
40,000
797,500
535,000
130,000
รายงานประจำป 2560
1503
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน) คาตอบแทนอื่นๆ ใน ป 2559 ผูบริหารรวม 3 ราย (ไมรวมกรรมการอิสระ) ไดรับเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ จํานวน 0.21 ลานบาท
ใน ป 2560 ผูบริหารรวม 3 ราย (ไมรวมกรรมการอิสระ) ไดรับเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ จํานวน 0.21 ลานบาท
การกํากับดูแลกิจการ บริษัทฯ ไดตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบัติตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ เพื่อความ โปรงใสในการดําเนินงานของบริษัทฯ ทุกระดับชั้น ทั้งในสวนของพนักงานระดับปฏิบัติงาน ผูบริหาร ตลอดจนคณะกรรมการ ซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญในการปรับปรุงประสิทธิภาพ และเพิ่มประสิทธิผลในการประกอบกิจการของบริษัทฯ เพื่อประโยชน ในระยะยาวของผูถือหุน ลูกคา นักลงทุน และสาธารณชนทั่วไป ซึ่งหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ครอบคลุม หลักการ 5 หมวด ดังมีรายละเอียด ดังนี้
1) สิทธิของผูถือหุน คณะกรรมการของบริษัทฯ ไดตระหนักถึงความสําคัญในการกํากับดูแลกิจการที่ดี การมีมาตรฐานที่เปนสากล และความ สอดคลองกับนโยบายของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รวมทั้งความสําคัญตอสิทธิของผูถือหุน และไดสงเสริมใหผู ถือหุนไดใชสิทธิของตน โดยไดจัดตั้ งคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อ ชวยกํากับดูแ ลกิจการในดานตางๆ เพื่อสนับสนุน วัฒนธรรมองคกร และจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจที่ดี คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเชื่อมั่นเปนอยางยิ่งวา กระบวนการ กํากับดูแลกิจการที่ดี จะชวยสงเสริมผลการดําเนินงานของบริษัทฯ และเปนหัวใจในการบรรลุเปาหมายพื้นฐานที่สําคัญยิ่ง อยางหนึ่ง อันจะสงผลใหเกิดการเพิ่มมูลคาสูงสุดแกผูถือหุน คุณคาที่บริษัทฯมุงหวัง และคาดหวังใหกรรมการ และ พนักงานทุกคนถือปฏิบัติในทุกภารกิจ ไดแก การปฏิบัติงานดวยความรูความสามารถอยางมืออาชีพดวยความซื่อสัตย และมีคุณธรรม การสรางความสามัคคีในการทํางานรวมกัน การยึดมั่นในหลักการของระเบียบวินัย การปฏิบัติงานที่ดีเพื่อชวยพัฒนา บริษัทฯ ประเทศชาติ และสังคม โดยรวม การมีปฏิสัมพันธรวมกัน และมีความพรอมในการตอบสนองตอทุกสถานการณ ในการจัดประชุมสามัญผูถือหุน บริษัทฯ ไดกําหนดที่จะจัดสงหนังสือเชิญประชุมพรอมเอกสารประกอบกอนการ ประชุมลวงหนาอยางนอย 7 วัน กอนวันประชุมผูถือหุน เพื่อใหเปนตามระยะเวลาขั้นต่ําที่กฎหมายกําหนด นอกจากนี้บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปฏิบัติตอผูถือหุนทุกรายอยางเทาเทียมกัน ผูถือหุนสามารถใชสิทธิออกเสียงลงคะแนนไดอยางเปนอิสระใน การเลือกคณะกรรมการบริษัท การลงมติ การแสดงความคิดเห็นและการตั้งคําถามใดๆ ตอที่ประชุม ตามระเบียบวาระ การประชุม และเรื่องที่เสนอ ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิและความเทาเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศที่ถูกตอง ทันตอ เหตุการณ เปดเผยครบถวน และสามารถตรวจสอบขอมูลตางๆ ได รวมทั้งบริษัทฯ มีนโยบายที่จะเพิ่มทางเลือกใหกับผูถือ หุน โดยใหกรรมการอิสระเปนผูรับมอบฉันทะจากผูถือหุน ในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมได
0216
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
2) การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปฏิบัติตอผูถือหุนทุกรายอยางเทาเทียมกัน ผูถือหุนสามารถใชสิทธิออกเสียงลงคะแนนได อยางเปนอิสระในการเลือกคณะกรรมการบริษัทฯ การลงมติ การแสดงความคิดเห็น และการตั้งคําถามใดๆ ตอที่ประชุม ตามระเบียบวาระการประชุม และเรื่องที่เสนอ ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิ และความเทาเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศที่ ถูกตอง ทันตอเหตุการณ เปดเผยครบถวน และสามารถตรวจสอบขอมูลตางๆได รวมทั้งบริษัทฯมีนโยบายที่ จะเพิ่ม ทางเลือกใหกับผูถือหุนโดยใหกรรมการอิสระเปนผูรับมอบฉันทะจากผูถือหุน ในกรณีที่ผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมได ความขัดแยงทางผลประโยชน ตลอดการดําเนินงานที่ผานมา คณะกรรมการบริษัทฯ และฝายบริหาร ไดพิจารณาขจัดปญหาความขัดแยงทาง ผลประโยชนอยางรอบคอบดวยความซื่อสัตยสุจริต มีเหตุผล และเปนอิสระภายใตกรอบจริยธรรมที่ดี เพื่อผลประโยชน ของบริษัทฯ โดยรวมเปนสําคัญ เพื่อใหเกิดความโปรงใส และปองกันการแสวงหาผลประโยชนสวนตน บริษัทฯ อยูระหวาง รางคําสั่งเพื่อถือปฏิบัติในการหามกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานระดับปฏิบัติงาน ใชขอมูลภายในของบริษัทฯ และ บริษัทในเครือที่มีสาระสําคัญ และยังมิไดเปดเผยตอสาธารณชนเพื่อประโยชนของตนเอง หรือผูอื่น นอกจากนี้หากมีการ ทํารายการที่เกี่ยวโยงกันบริษัทฯ จะปฏิบัติตามหลักเกณฑ และวิธีการตามที่ประกาศของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
3) บทบาทของผูมีสวนไดเสีย บริษัทฯ ไดใหความสําคัญตอสิทธิของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ไมวาจะเปนผูมีสวนไดเสียภายใน ไดแก พนักงานและ ผูบริหารของบริษัทฯ และบริษัทยอย หรือผูมีสวนไดเสียภายนอก ไดแก คูแขง เจาหนี้ ภาครัฐและหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ โดยบริษัทฯ ปฏิบัติตามขอกําหนดของกฎหมายและกฎระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อใหสิทธิของผูมีสวนไดเสียเหลานี้ไดรับ การดูแลอยางดี ในป 2560 บริษัทฯ ยังคงใหความสําคัญกับบทบาทของผูมี สวนไดเสียกลุมตางๆ ของบริษัทอยางสม่ําเสมอ ดังนี้ ผูถือหุน
บริษัทฯเคารพสิทธิและปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียม เชน สิทธิในการเขาประชุมผูถือหุนและออกเสียง ลงคะแนน สิทธิในการแสดงความคิดเห็นอยางเปนอิสระในที่ประชุมผูถือหุน พรอมกับสิทธิผูถือหุนในการ เสนอแนะขอคิดเห็นตางเกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจของบริษัทในฐานะเจาของบริษัทผานกรรมการอิสระ
พนักงาน
บริษัทฯใหความสําคัญกับพนักงานโดยถือวาเปนทรัพยากรที่มีคุณคา พรอมทั้งสนับสนุนการพัฒนาความรู และศักยภาพของพนักงาน โดยใหมีการอบรมทักษะ และเปดโอกาสในการเรียนรูแกพนักงานทุกคนเพื่อ พัฒนาตนเอง และใหการกาวหนาในสายอาชีพของตนไปพรอมกับบริษัท และบริษัทยังมีระบบการ ประเมินผลของพนักงานที่ทําใหสิ่งที่พนักงานใหความสําคัญกับเปาหมายของบริษัทใหเปนในทิศทาง เดียวกัน รวมทั้งเพื่อใหความมั่นใจวาความสําเร็จของธุรกิจนั้นเปนไปเพื่อผลประโยชนรวมกัน
ลูกคา
บริษัทฯ คํานึงถึงความพึงพอใจสูงสุดของลูกคาเปนสําคัญ บริษัทฯมุงมั่นที่จะใหลูกคาไดรับสินคาและ บริการที่มีคุณภาพ และราคาที่เปนธรรม ตลอดจนมุงพัฒนาและรักษาสัมพันธภาพที่ยั่งยืน เพื่อสราง ความผูกพันแกลูกคา
คูคา
บริษัทฯ ปฏิบัติตามกรอบการแขงขันทางการคาโดยสุจริต และมุงมั่นในการปฏิบัติตอคูคาอยางยุติธรรม และเสมอภาพ เพื่อสรางความนาเชื่อถือซึ่งกันและกัน
รายงานประจำป 2560
1703
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
คูแขง
บริษัทฯ ปฏิบัติตามกรอบการแขงขันทางการคาที่สุจริต ภายใตกรอบกติกาของการแขงขันที่ดี และไม กระทําใดๆที่เปนการละเมิดทรัพยสินทางปญญาหรือลิขสิทธิ์ของผูแขงขัน จะไมใชการกระทําใดๆที่ไม สุจริต เพื่อทําลายชื่อเสียงของผูแขงขัน หรือละเมิดความลับทางการคาของคูแขงขัน
เจาหนี้
บริษัทฯ ยึดมั่นในการปฏิบัติตามเงื่อนไขสัญญาที่ไดตกลงไวอยางสุจริตและเครงครัด และใหความสําคัญ กับเจาหนี้ตางๆ เพื่อรักษาความสัมพันธกับเจาหนี้ โดยคํานึงถึงผลประโยชนสูงสุดของบริษัท
ชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม
บริษัทฯ ตระหนักถึงความรับผิดชอบตอสภาพแวดลอมของชุมชน สังคม และการอนุรักษสิ่งแวดลอม โดยมุงสนับสนุนกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และเสริมสรางประโยชนสุขของชุมชน สังคม และ สิ่งแวดลอม
4) การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส
นโยบายการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัท ไดกําหนดนโยบายเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการ โดยตระหนักถึงความสําคัญเนื่องจากเปน ประโยชนตอการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ใหมีความมั่นคงและเจริญเติบโตไดอยางยั่งยืน สวนการกําหนดแนวทางในการ ดําเนินงานนั้น บริษัทฯ ใหความสําคัญเรื่องการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน โดยเฉพาะอยางยิ่ง คณะกรรมการ บริษัท ไดมีการประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในรวมกันเปนประจําทุกปตั้งแตป 2546 เปนตนมา และมีการ กํากับดูแลการดําเนินงานของฝายบริหาร โดยกําหนดใหคณะกรรมการบริหารดําเนินธุรกิจตามนโยบายอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหบริษัทฯ ไดปฏิบัติตามหลักการการกํากับดูแลกิจการที่ดี ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดเปดเผยขอมูลครบถวนตามแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งมีการรายงาน ไวทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษผานทาง Website ของบริษัทฯ รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอย และสารสนเทศทางการเงินที่ ปรากฏในรายงานประจําป และจัดใหมีระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพื่อใหมั่นใจไดวาการบันทึกขอมูลทางบัญชี มีความถูกตอง ครบถวน และเพียงพอที่จะดํารงรักษาไวซึ่งทรัพยสินทําใหทราบจุดออน และสามารถปองกั นไมใหเกิดการ ทุจริตหรือดําเนินการที่ผิดปกติอยางมีสาระสําคัญ คาสอบบัญชีของผูสอบบัญชี (1) คาสอบบัญชี (audit fee) โดยมติที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2560 แตงตั้ง บริษัท สํานักงาน อีวาย จํากัด โดย นางพูนนารถ เผาเจริญ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 5238 หรือ นางสาววิสสุตา จริยธนากร ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3853 หรือ นายเติมพงษ โอปนพันธุ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4501 เปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ ในป 2560 โดย จายคาสอบบัญชีของบริษัทฯ จํานวน 800,000 บาท และบริษัทยอย จํานวน 835,000 บาท (2) คาตอบแทนอื่นๆ (non audit fee) จํานวน 26,822 บาท
0218
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน) นโยบายการจายเงินปนผล บริษัทฯ มีนโยบายจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนในอัตราไมต่ํากวารอยละ 50 ของกําไรสุทธิ ภายหลังจากการหักทุน สํารองตางๆ ทั้งหมดแลว เวนแตจะมีความจําเปนเหตุอันควรที่ไมสามารถจายได ทั้งนี้ การจายเงินปนผลใหนําปจจัยตางๆ มาพิจารณาประกอบ เชน ฐานะการเงิน สภาพคลอง การขยายธุรกิจ และปจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของในการบริหารงานของ บริษัทฯ ซึ่งการจายเงินปนผลขางตนจะตองไดรับความเห็นชอบจากผูถือหุนตามความเหมาะสมและความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริษัท ความสัมพันธกับผูลงทุน ภายหลังบริษัทฯ เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย บริษัทฯ ไดแตงตั้งใหนางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร ผูจัดการสํานัก กรรมการผูจัดการ เปนผูดูแลงานนักลงทุนสัมพันธ เพื่อดูแลเรื่องการเปดเผยขอมูลที่มีความถูกตองครบถวนโปรงใสและ ทั่วถึง ทั้งรายงานขอมูลทางการเงินและขอมูลทั่วไป ตลอดจนขอมูลสําคัญที่มีผลกระทบตอราคาหลักทรัพยของ บริษัทฯ โดยเผยแพรขอมูลสารสนเทศของบริษัทฯ ตอนักลงทุนและสาธารณชนผานชองทางตางๆ คือ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1), รายงานประจําป (แบบ 56-2), สื่ออิเล็กทรอนิกส (SCP Client)) หนังสือพิมพ, นิตยสาร, โทรทัศน, เว็บไซตบริษัทฯ,วารสารผูถือหุนสัมพันธ, การพบปะใหสัมภาษณ, การเดินทางไปพบนักลงทุนทั้งใน ประเทศ และนักลงทุนตางประเทศที่มาพบและจัดประชุมนักวิเคราะหหลักทรัพย มาตรการการแจงเบาะแส บริษัทฯ ไดเปดชองทางสําหรับการแจงเบาะแส หรือขอรองเรียน ทั้งจากพนักงานในบริษัท ลูกคา หรือผูมีสวนไดเสีย กลุมตา งๆ หากเปน พนั กงานสามารถแจงผา นทางจดหมายปดผนึ ก ระบุวา “ลับ เฉพาะ” และจา หน า ซองถึ ง ประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ สําหรับผูมีสวนไดเสียกลุมอื่นๆ บริษัทฯไดเปดชองทางการแจงเบาะแส หรือขอรองเรียนตางๆ ผานทาง E-mail ir@rpcthai.com หรือ สงทางไปรษณียมายัง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทได ตามที่อยู ของบริษัท เลขที่ 86/2 อาคารสัมมากรเพลส ถนนรามคําแหง แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ 10240 เพื่อ ตรวจสอบขอเท็จจริงตามหลักเกณฑ และกระบวนการที่บริษัทฯไดกําหนดไว และรายงานตอคณะกรรมการบริษัท ตอไป โดยบริษัทฯ มีนโยบายในการคุมครองผูแจงเบาะแสหรือขอรองเรียน พรอมทั้งเก็บรักษาเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวกับคํารองเรียน และชื่อผูรองเรียนไวเปนความลับ
5) ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ภาวะผูนําและวิสัยทัศน คณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบดวยกรรมการที่มีความรู ความสามารถ และประสบการณในการดําเนินธุรกิจ ทําหนาที่กําหนดนโยบาย วิสัยทัศน กลยุทธ เปาหมาย ภารกิจ แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริษัทฯ ตลอดจนกํากับ ดูแลใหฝายจัดการบริหารงานใหเปนไปตามนโยบายที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ภายใตกรอบของ กฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับของบริษัทฯ และมติที่ประชุมผูถือหุน ดวยความรับผิดชอบ ซื่อสัตยสุจริตระมัดระวัง ตาม หลักการขอพึงปฏิบัติที่ดี เพื่อเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจสูงสุดใหแกกิจการ และความมั่นคงสูงสุดใหแกผูถือหุน นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดใหความสําคัญเปนอยางยิ่งตอระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และมาตรการบริหารความเสี่ยง
รายงานประจำป 2560
1903
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน) ที่เหมาะสม ตลอดจนการมีระบบการสอบทานเพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามขอกฎหมาย และมีการควบคุมที่ดี เพื่อให ระบบการควบคุมภายในมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดตอบริษัทฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการเปนผูพิจารณา การกําหนดและแยกบทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบระหวางคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริหาร และกรรมการผูจัดการอยางชัดเจน จริยธรรมธุรกิจ บริษัทฯ ยึดมั่นในการกระทําในสิ่งที่ถูกตอง เปนแนวทางการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ กรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ทุกคน และบริษัทฯ มีภาระหนาที่รวมกันในการปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต ภายใตกรอบของกฎหมาย และ ภายใตขอบเขตความรับผิดชอบของตน รวมทั้งใชวิจารณญาณอยางรอบคอบ ในการตัดสินใจทําการคา และปฏิบัติตนตอ ผูอื่น ละเวนการกระทําใดๆ ที่จะกอใหเกิดความเสี่ยงตอความเสียหายแกบริษัทฯ และสวนรวม แมวาการกระทําดังกลาวดู เสมือนวาจะชวยเกื้อกูลธุรกิจแกบริษัทฯ ทั้งนี้ บริษัทฯอยูระหวางการจัดทํารางจรรยาบรรณพนักงาน และจรรยาบรรณใน การดําเนินธุรกิจเพื่อใหพนักงานไดถือปฏิบัติ การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทยอย และบริษัทรวม คณะกรรมการบริษัทมีกลไกในการกํา กั บดูแลที่ทํา ใหสามารถควบคุมการดูแ ล การจัดการและรั บผิดชอบการ ดําเนินงานของบริษัทยอยและบริษัทรวม เพื่อดูแลรักษาผลประโยชนในเงินลงทุนของบริษัทฯ โดย 1. มีการสงบุคคลเพื่อเปนตัวแทนของบริษัทฯ ไปเปนกรรมการ ผูบริหาร หรือผูมีอํานาจควบคุมในบริษัทดังกลาวตาม สัดสวนการถือหุน โดยไดรับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร 2. มีการกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของกรรมการและผูบริหารที่เปนตัวแทนของบริษัทฯ ตาม อํานาจหนาที่ของแตละบริษัท 3. มีกลไกในการกํากับดูแลที่มีผลใหการเปดเผยขอมูลฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน การทํารายการระหวาง บริษัทดังกลาวกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน การไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพย หรือการทํารายการสําคัญอื่นใดของ บริษัทดังกลาวใหครบถวนถูกตองและใชหลักเกณฑที่เกี่ยวของกับการเปดเผยขอมูลและการทํารายการในลักษณะ ดังกลาวขางตนในทํานองเดียวกันกับหลักเกณฑของบริษัทฯ 4. มีการกําหนดระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและรัดกุม เพียงพอ ในบริษัทยอยดวยการทดสอบระบบควบคุม ภายในและตรวจสอบโดยคณะตรวจสอบภายในของบริษัทฯ นโยบายตอตานการทุจริตแลการคอรรัปชั่น กรรมการบริษัท ผูบริหาร และพนักงาน ตองปฏิบัติตามหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต โดยไมเกี่ยวของกับการทุจริต และการคอรรัปชั่นทุกรูปแบบ ไมวาจะเปนทางตรงหรือทางออม ยึดถือและปฏิบัติตามนโยบายและจรรยาบรรณของบริษัท อยางเครงครัด แนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวของ • การรับหรือใหของขวัญ ของกํานัล สิทธิประโยชนอื่นๆ การดําเนินงานของบริษัทที่หมายรวมถึง การประมูลงานหรือโครงการตางๆ การจัดซื้อจัดจาง การติดตอประสานงาน หรือกิจกรรมอันเกี่ยวเนื่องกับการดําเนินธุรกิจของบริษัท ทั้งตอภาครัฐและภาคเอกชน ตองปฏิบัติดวยความเปนธรรม
0220
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน) โปรงใส และตรวจสอบได ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑและนโยบายที่กําหนดไว ทั้งนี้ บริษัทตระหนักถึงการรับหรือให ของขวัญ ของกํานัล สิทธิประโยชน ที่อาจกอความเสี่ยงตอการเกิดการทุจริตและการคอรรัปชั่น • การใหเงินบริจาคหรือสนับสนุนแกหนวยงานภาครัฐหรือภาคเอกชน การใหเงินบริจาคหรือสนับสนุนแกหนวยงานภาครัฐหรือภาคเอกชน ตองดําเนินการดวยความโปรงใส ไมขัดตอ ศีลธรรม จรรยาบรรณ ถูกตองตามกฎหมาย และเปนไปตามนโยบายและระเบียบปฏิบัติของบริษัทเรื่องดังกลาวอยาง เครงครัด ทั้งนี้ตองไดรับการอนุมัติเห็นชอบจากหนวยงานตนสังกัดกอนดําเนินการ ทั้งนี้ การใหเงินบริจาคหรือสนับสนุนแกหนวยงานภาครัฐหรือภาคเอกชนดังกลาว ตองไมกอใหเกิดความขัดแยงทาง ผลประโยชนทั้งสวนบุคคลและประโยชนของบริษัท ไมใชเปนขออางสําหรับการทุจริตและการคอรรัปชั่น การอนุมัติเงินบริจาคหรือสนับสนุนแกหนวยงานภาครัฐหรือภาคเอกชนตองปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติอยางเครงครัด มี ก ารจั ด ทํ า รายงานพร อ มเอกสารประกอบการพิ จ ารณาอนุ มั ติ เ งิ น บริ จ าคหรื อ สนั บ สนุ น แก ห น ว ยงานภาครั ฐ หรื อ ภาคเอกชน และเสนออนุมัติตอผูบริหารเพื่อพิจารณา • การมีสวนรวมทางการเมือง บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจอยางเปนกลางทางการเมือง ไมมีการใหความชวยเหลือหรือสนับสนุนทางการเมืองแกพรรค การเมืองหรือนักการเมืองในทุกรูปแบบ รวมถึงการไมสงเสริมใหกรรมการบริษัท ผูบริหาร หรือพนักงานเขารวมกิจกรรม ทางการเมืองใดๆในนามของบริษัท บริษัทฯ ถือเปนสิทธิเสรีภาพสวนบุคคลตามกฎหมายในการเขารวมกิจกรรมทางการเมือง ทั้งนี้ตองไมแอบอางความ เปนพนักงาน หรือนําทรัพยสินใดๆของบริษัทไปใชในการสนับสนุนทางการเมือง หรือกระทําการใดๆอันกอใหเกิดความ เขาใจผิดวาบริษัทมีสวนรวมหรือใหการสนับสนุนทางการเมืองใดๆ ทั้งนี้ การแสดงออกและแสดงความคิดเห็นทางการเมือง ในสํานักงานหรือบริเวณหนวยงานของบริษัทถือวา มี ความผิดระเบียบบริษัท • การรองเรียนการพบเบาะแสการทุจริตและการคอรรัปชั่น หากพบการกระทําที่เขาขายการทุจริตและการคอรรัปชั่นตองแจงใหผูบังคับบัญชาหรือชองทางที่ทางบริษัทได กําหนดไวสําหรับการรองเรียนการพบเบาะแสการทุจริตและการคอรรัปชั่น หรือการละเมิดสิทธิตางๆ โดยทางบริษัทมี มาตรการในการคุมครองผูรองเรียน ผูแจงเบาะแส และผูใหขอมูลตามที่กําหนดไว รายละเอียดปรากฏตามนโยบายเรื่อง การแจงเบาะแสและมาตรการคุมครองผูแจงเบาะแส ทั้งนี้บริษัทจัดใหมีชองทางในแจงเบาะแสและรองเรียนมายัง เลขานุการบริษัท ที่อยู: บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน) 86/2 อาคารสัมมากรเพลส ถนนรามคําแหง แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ 10240 • การประเมินความเสี่ยงจากการทุจริตและการคอรรัปชั่น กํ า หนดให แ ผนกตรวจสอบภายใน มี ห น า ที่ ใ นการประเมิ น ความเสี่ ย งจากการทุ จ ริ ต และการคอร รั ป ชั่ น โดย ดําเนินการประเมิน วิเคราะห ติดตาม และควยคุมความเสี่ยงจากการทุจริตใหอยูในระดับที่ยอมรับได พรอมรายงานตอ คณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งการติดตามผลการดําเนินการตามนโยบายการตอตานทุจริตและคอรรัปชั่น
รายงานประจำป 2560
2103
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
• การสรางจิตสํานึกในการตอตานจากการทุจริตและการคอรรัปชั่น บริษัทฯ ดําเนินการสื่อสารภายในบริษัท เพื่อใหกรรมการของบริษัท ผูบริหาร และพนักงาน เขาใจและตระหนักถึง ความสําคัญของการตอตานการทุจริตและการคอรรัปชั่น รวมถึงนโยบายและแนวทางปฏิบัติตางๆที่เกี่ยวของ ผานการ ประชุมพนักงาน อบรม สัมมนา และสื่อตางๆของบริษัทฯ พรอมใหพนักงานที่ปฏิบัติหนาที่เกี่ยวของกับผูมีสวนไดเสียของ บริษัทฯไดชี้แจงใหผูมีสวนไดเสียทราบ • บทลงโทษในการกระทําผิด การลงโทษการกระทําผิดใหเปนไปตามระเบียบของบริษัทฯ และ/หรือขอกฎหมายที่เกี่ยวของ การถวงดุลของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท มีจํานวน 7 ทาน ประกอบดวย กรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร จํานวน 4 ทาน กรรมการที่เปนอิสระ จํานวน 3 ทาน คิดเปนรอยละ 43 ของกรรมการทั้งคณะ การรวม หรือแยกตําแหนง ประธานกรรมการไมเปนบุคคลเดียวกันกับกรรมการผูจัดการของบริษัทฯ เพื่อใหเกิดการถวงดุล และการสอบทาน การบริหารงาน และโครงสรางคณะกรรมการของบริษัทฯ ประกอบดวยกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร และกรรมการอิสระ มากกวากึ่งหนึ่งของคณะกรรมการทั้งหมด คาตอบแทนของ กรรมการ และผูบริหาร บริษัทฯ ไดกําหนดนโยบายการใหคาตอบแทนกรรมการ และผูบริหารไวอยางชัดเจน ทั้งนี้การพิจารณาคาตอบแทน ของกรรมการใหอ ยูใ นอํ า นาจอนุมั ติข องที่ ป ระชุ มผู ถื อ หุ น สว นคา ตอบแทนของผูบ ริห ารจะอยู ใ นอํ า นาจอนุมั ติข อง คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ โดยการพิ จ ารณาอนุ มั ติ ค า ตอบแทนกรรมการและผู บ ริห ารดั ง กล า วจะอยู ใ นระดั บ เดี ย วกั บ อุตสาหกรรมซึ่งสูงพอที่จะดึงดูดและรักษากรรมการและผูบริหารที่มีคุณสมบัติที่บริษัทฯ ตองการ การประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ มีนโยบายจัดสงหนังสือ เชิญประชุม พรอมเอกสารประกอบเพื่อให กรรมการพิจารณากอนการประชุม ลวงหนาอยางนอย 7 วัน เพื่อใหเปนไปตามระยะเวลาขั้นต่ําตามที่กฎหมายกําหนด ในป 2560 คณะกรรมการมีการประชุม รวมทั้งสิ้น 6 ครั้ง และไดมีการจดบันทึกการประชุมเปนลายลักษณอักษร จัดเก็บรายงานการประชุมที่ผานการรับรองจาก คณะกรรมการพรอมใหกรรมการและผูที่เกี่ยวของตรวจสอบได
0222
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
การเขารวมประชุมของบริษัท ในป 2560 รายชื่อ
ตําแหนง
1. นายสัจจา
เจนธรรมนุกูล
ประธานกรรมการ รก.กรรมการผูจัดการ
2. นายสุวินัย
สุวรรณหิรัญกุล
กรรมการ
3. นายศุภพงศ
กฤษณกาญจน
กรรมการ
4. นายสุทัศน
ขันเจริญสุข
กรรมการ
5. นายประสิทธิ์ ธีรรัตนบงกช
6. นายชํานิ
จันทรฉาย
7. นางสาวปณิชา พงษศิวาภัย
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน
คณะกรรมการ บริษัท
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
คณะกรรมการสรร หาและพิจารณา คาตอบแทน
ประชุมผูถือหุน
6 ครั้ง
9 ครั้ง
3 ครั้ง
1 ครั้ง
6/6
-
-
1/1
6/6 6/6 6/6 6/6
9/9
3/3
1/1 1/1 1/1 1/1
6/6
8/9
3/3
1/1
6/6
9/9
3/3
1/1
คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อชวยในการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ดังนี้ กรรมการตรวจสอบ มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 3 ปประกอบดวย กรรมการ 3 ทาน ทุกทานเปนกรรมการอิสระ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 3 ป ประกอบดวยกรรมการ 3 ทาน ทุกทานไมเปนกรรมการบริหาร และผูทําหนาที่เปนประธานฯ ตองเปนกรรมการอิสระ ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน บริษัทฯ ไดกําหนดภาระหนาที่อํานาจการดําเนินการของผูปฏิบัติงาน และผูบริหารไวเปนลายลักษณลักษณะอยาง ชัดเจนมีการควบคุมดูแลการใชทรัพยสินของบริษัทฯ ใหเกิดประโยชน และมีการแบงแยกหนาที่ผูปฏิบัติงานผูควบคุมและ ประเมินผลออกจากกัน เพื่อใหเกิดการถวงดุล และตรวจสอบระหวางกันอยางเหมาะสม บริษัทฯ มีสํานักตรวจสอบภายในทําหนาที่ตรวจสอบเพื่อใหมั่นใจวาการปฏิบัติงานหลัก และกิจกรรมทางการเงินที่ สําคัญของบริษัทฯ ไดดําเนินการตามแนวทางที่กําหนด และมีประสิทธิภาพ รวมถึงตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย และขอกําหนดที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ สํานักตรวจสอบภายในมีความเปนอิสระ สามารถทําหนาที่ตรวจสอบ และถวงดุลได อยางเต็มที่ โดยสํานักตรวจสอบภายในสามารถรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ
รายงานประจำป 2560
2303
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริษัทฯ ไดดําเนินการแจงใหผูบริหารฝายตางๆ เขาใจถึงภาระหนาที่ในการรายงานการถือหลักทรัพยในบริษัทฯ ของตนเอง คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ตลอดจนรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพยตอสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 และบทกําหนดลงโทษตามมาตรา 275 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 หากกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ฝาฝน หรือ/และ ไมปฏิบัติตามนโยบายของบริษัทฯ ในเรื่องการซื้อ ขายหลักทรัพยโดยใชขอมูลภายใน บริษัทฯจะลงโทษทางวินัยกับกรรมการ ผูบริหาร หรือพนักงานผูนั้น โดยเริ่มตั้งแตการ ตักเตือนเปนหนังสือ ตัดคาจาง พักงานชั่วคราวโดยไมไดรับคาจาง หรืออาจจะใหออกจากงาน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความรายแรง ของความผิดนั้น
1. บุคลากร
จํานวนบุคลากร
จํานวนพนักงานทั้งหมดของบริษัทฯ และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 รวมทั้งสิ้น 472 คน โดยแยกตามสาย งานหลักได ดังนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สายงานหลัก จํานวน (คน) สายบริหารและการเงิน 2 สายบริหารทรัพยสิน 12 สายสารสนเทศ 3 จํานวน (คน) บริษัทยอย PTEC 483 SAP 0 SPG 7 รวม 507
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สายงานหลัก จํานวน (คน) สายบริหารและการเงิน 2 สายพัฒนาธุรกิจ 7 บริษัทยอย PTEC SAP SPG รวม
จํานวน (คน) 458 1 4 472
2. คาตอบแทน 2.1 คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ผลตอบแทนรวมของพนักงานในป 2559 และ ป 2560 มีจํานวนเงินรวม 113.17 ลานบาท และ 105.66 ลานบาท ตามลําดับ โดยเปนผลตอบแทนในรูปของเงินเดือน คาลวงเวลา เงินสวัสดิการ โบนัสประจําป และเงินสมทบกองทุนสํารอง เลี้ยงชีพ และผลประโยชนเมื่อเลิกจาง
0224
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน) 3. นโยบายในการพัฒนาบุคลากร บริษัทฯ มีนโยบายสงเสริมความกาวหนาของพนักงาน โดยกําหนดทิศทางการพัฒนาพนักงานอยางชัดเจน และดูแล ใหพนักงานทุกระดับ ไดรับการพัฒนาตามทิศทางดังกลาวอยางเปนระบบ และตอเนื่องเพื่อใหสามารถทํางานในหนาที่ ปจจุบันไดอยางมีประสิทธิภาพ และมีความพรอมในการรับผิดชอบงานที่สูงขึ้นในอนาคต โดยคํานึงถึงการใชทรัพยากร บุคคลใหเกิดประโยชนสูงสุด รวมทั้งใชระบบคุณธรรม (Merit System) ในการเลื่อนขั้นเงินเดือนและการเลื่อนตําแหนง โดยพิจารณาความรู ความสามารถ ผลงาน และศักยภาพของพนักงานแตละบุคคลประกอบกัน ตามวัฒนธรรมของ องคกร ซึ่งประกอบดวย
ริเริ่มสรางสรรค สํานึกรับผิดชอบ ผนึกกําลัง สําเร็จยั่งยืน
การควบคุมภายใน คณะกรรมการบริษัทฯ ไดจัดประชุม ครั้งที่ 2/2561 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2561 และคณะกรรมการตรวจสอบ ให ความเห็นเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน สรุปไดวา คณะกรรมการ และผูบริหารของบริษัทฯ ไดใหความสําคัญตอระบบการควบคุมภายในอยางตอเนื่อง โดยมุงเนนให บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ และเหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ มีการดูแลทรัพยสิน การลดความ ผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น การปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับบริษัทฯ การจัดการดานการเงิน การบริหารความเสี่ยง และการกํากับดูแลการปฏิบัติงาน รวมทั้งมีการสงเสริม และผลักดันใหบริษัทฯ มีการปฏิบัติงานใหเปนไปตามกฎระเบียบ และขอบังคับตางๆของกฎหมาย เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการบริหารงาน และเพื่อใหมั่นใจไดอยางสมเหตุสมผลวาการดําเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ จะสามารถบรรลุวัตถุประสงค สามารถสรางมูลคาเพิ่มสูงสุดไดในระยะยาว คณะกรรมการบริ ษัท ฯ มี ค วามเห็ น ตอ ระบบการควบคุ ม ภายในเช น เดี ย วกั บ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยให ความสําคัญตอระบบการควบคุมภายใน แบงออกเปน 5 สวน ดังนี้ 1. องคกรและสภาพแวดลอม เปาหมายการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ กําหนดขึ้นมาอยางรอบคอบชัดเจน มีความเปนไปได และสามารถวัดผลได ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดปรับปรุงผังโครงสรางองคกรเพื่อใหการปฏิบัติงานมีความคลองตัวเหมาะสม สอดคลองกับสภาพธุรกิจที่ เปลี่ยนแปลง เอื้ออํานวยตอการดําเนินงานใหบรรลุเปาหมายที่ไดตั้งไว และมีขอกําหนดและบทลงโทษหามฝายบริหาร และพนักงาน ปฏิบัติตนในลักษณะที่อาจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนกับกิจการ รวมทั้งบริษัทฯ มีนโยบาย และระเบียบวิธีปฏิบัติงานในธุรกรรมทางดานการเงิน การขาย การจัดซื้อ และการบริหาร โดยคํานึงถึงความเปนธรรมตอคูคา เพื่อประโยชนของบริษัทฯ ในระยะยาว 2. การบริหารความเสี่ยง ฝายบริหารของบริษัทฯ ได มีการกําหนดนโยบายความเสี่ยง และมีองคกร การบริหารความเสี่ยง ซึ่งประกอบไปดวย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) ผูประสานงานความเสี่ยงประจําหนวยงาน และกําหนด
รายงานประจำป 2560
2503
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
ผูรับผิดชอบความเสี่ยงในหนวยงานตางๆ โดยมีการวางแผนและกําหนดมาตรการบริหารความเสี่ยง มีการประเมินปจจัย ความเสี่ยงซึ่งอาจสงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจและเปาหมายของบริษัทฯ มีมาตรการในการลดความเสี่ยง มีการ ติดตามผลการบริหารความเสี่ยงของหนวยงานตางๆ ภายในองคกร และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ไดมีการรายงาน ใหกับคณะกรรมการตรวจสอบรับทราบ เพื่อรายงานคณะกรรมการบริษัทฯ อยางตอเนื่อง นอกจากนั้นบริษัทฯ ไดจัดใหมี การอบรมความรูของการบริหารความเสี่ยงกับพนักงาน 3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร บริษัทฯ ไดมีการกําหนดขอบเขต อํานาจหนาที่ ตลอดจนความรับผิดชอบของผูบริหาร และผูปฏิบัติงานในแตละ ระดับไวอยางชัดเจน และไดปรับปรุงตารางอํานาจอนุมัติของฝายบริหารแตละระดับใหเหมาะสม มีความชัดเจน รวมทั้งมี การติดตามดูแลการดําเนินงานของบริษัทยอยอยางสม่ําเสมอ โดยมีมาตรการที่จะควบคุมติดตามใหการดําเนินงาน เปนไปตามกฎหมายที่เกี่ยวของ 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล บริษัทฯ ไดนําระบบงานสารสนเทศภายใตชื่อโครงการระบบ ERP มาใชในการบริหารจัดการ ดานการซื้อ การขาย ระบบบัญชี สินคาคงคลัง และสินทรัพยถาวร เพื่อพัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศ ใหมีประสิทธิภาพ และทันเวลาตอ การใชประกอบการตัดสินใจของฝายบริหาร ทั้งนี้ มีการพัฒนาระบบเพิ่มเติมไดแก ระบบงานบริหารสถานีบริการน้ํามัน ระบบโทรทัศนวงจรปด และระบบ VDO Conference เพื่อใหการประสานงาน การติดตามดูแลเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ครอบคลุม การใช ง านที่ก ว า งขวาง และเพิ่ ม ชอ งทางในการติด ตอ สื่ อ สารข อ มู ล ระหว า งบริ ษัท ฯ กั บ บริ ษัท ยอ ย ให มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 5. ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริษัทฯ มีการพิจารณา และติดตามผลการดําเนินงานของฝายบริหารใหเปนไปตามเปาหมาย ซึ่งหาก ผลการดําเนินงานแตกตางจากเปาหมาย จะมีมติใหฝายจัดการรับไปดําเนินการแกไข และบริษัทฯ กําหนดใหสํานัก ตรวจสอบภายใน เสนอรายงานผลการตรวจสอบ โดยตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ และหากมีการตรวจพบขอบกพรอง อันเปนสาระสําคัญ จะตองรายงานในระยะเวลาอันควร รวมถึงการรายงานความคืบหนาในการปรับปรุงขอบกพรอง ดังกลาว
0226
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
ความเปนมา และการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการที่สําคัญ บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เดิมชื่อ บริษัท ระยองเพียวริฟายเออร จํากัด (มหาชน) กอตั้งขึ้นเมื่อป 2538 โดยกลุม นักธุรกิจคนไทยที่มีประสบการณดานธุรกิจปโตรเลียมและปโตรเคมี รวมทุนกับบริษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท จํากัด เพื่อดําเนินการแปรสภาพคอนเดนเสทเรสซิดิว (CR) เพื่อใหไดผลิตภัณฑปโตรเลียม และปโตรเคมีที่มคี ุณภาพ ไดแก น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว น้ํามันเตา และเคมีภณ ั ฑ เพื่อคาปลีกและคาสง ซึ่งคอนเดนเสทเรสซิดิว (CR) เปนวัตถุดิบผลพลอยไดจาก กระบวนการผลิตของ บริษัท ปตท. โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) (PTTGC) และบริษัทฯยังไดรับใบอนุญาตเปนผูค า น้ํามันตามมาตรา 7 แหงพระราชบัญญัตกิ ารคาน้าํ มันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 ตั้งแตตนป 2555 ธุรกิจโรงกลั่นน้ํามันของบริษัทฯ ไดหยุดดําเนินการ เนื่องจากบริษัทฯ ปตท. จํากัด (มหาชน) ได ยกเลิกสัญญาซื้อขายกากคอนเดนเสท (CR) ซึ่งเปนวัตถุดิบหลักของบริษัทฯ ถือเปนการปฏิบัติผิดสัญญาระหวาง ปตท.และ บริษัทฯ จึงทําใหบริษัทฯตองดําเนินคดีตามกฎหมาย ซึ่งการหยุดดําเนินธุรกิจโรงกลั่นน้ํามันนั้น ทําใหบริษัทฯไมมีรายไดจาก ธุรกิจหลักและตองแบกรับภาระคาใชจายจํานวนมาก บริษัทฯ ไดจึงตองหยุดดําเนินการธุรกิจโรงกลั่นไปอยางไมมีกําหนด และในป 2558 บริษัทฯ จึงไดปรับปรุงการดําเนินงานและปรับโครงสรางธุรกิจใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมปจจุบัน ในรูปแบบโฮลดิ้งคอมพานี (Holding Company) โดยมีรายไดหลักจากธุรกิจพลังงาน และบริษัทฯ ไดหยุดประกอบกิจการโรง กลั่นน้ํามันที่ระยองอยางถาวร ประวัติความเปนมาและพัฒนาการที่สําคัญของบริษัทฯ ยอนหลัง 3 ป สรุปไดดังนี้ ป 2558
เดือนมีนาคม ดําเนินการและปรับโครงสรางธุรกิจในรูปแบบโฮลดิ้งคอมพานี (Holding Company) ดวย การรวมลงทุน และการรวมบริหารในกิจการอื่นที่มีศกั ยภาพ ซึ่งเปนกลยุทธทางธุรกิจที่บริษัทคาดวาจะสราง ผลประกอบการที่ดีขึ้นในระยะยาวใหแกบริษัทฯ บริษัทฯ ไดรับการโอนหุนสามัญของ บริษัท สัมมากร จํากัด(มหาชน)“SAMCO” จํานวน 135,564,380 หุน คิดเปนรอยละ 23.00 ทําใหสัดสวนการถือหุนเพิ่มขึ้นจากเดิมรอยละ 25.25 เปนรอยละ 48.25 เดือนเมษายน บริษัทฯ ไดหยุดประกอบกิจการโรงกลั่นน้ํามันที่ระยองอยางถาวร เนื่องจากขอพิพาททาง การคาที่บริษัท ปตท จํากัด(มหาชน) (PTT) หยุดสงวัตถุดิบใหบริษัทฯ ตั้งแตวันที่ 1 กุมภาพันธ 2555 ถือเปนการ ปฏิบัติผดิ สัญญาขอที่ 15.5 เดือนพฤษภาคม บริษัทฯไดเลิกกิจการและดําเนินการชําระบัญชี ของบริษัท อารพีซี โกลบอล จํากัด ซึ่งเปน บริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนในสัดสวนรอยละ 100 เดือนกรกฎาคม บริษัทฯดําเนินการขายหุนสามัญทั้งหมดของบริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด (SAP) ซึ่งเปน บริษัทยอยของบริษัทฯใหกับบริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (PTEC) ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ ที่บริษัทฯ ถือหุนอยูรอยละ 100 จํานวน 199,996 หุน คิดเปนสัดสวนรอยละ 100 จึงทําให SAP เปนบริษัทยอยของ PTEC เดือนธันวาคม บริษัทฯ แจงยายทีต่ ั้งสํานักงานใหญแหงใหมไปที่ 86/2 อาคารเพียวเพลสรามคําแหง ชั้น 3 ถนน รามคําแหง แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ ตั้งแตวันที่ 4 มกราคม 2559 เปนตนไป
ป 2559
เดือนเมษายน บริษัทฯ ไดรับสําเนาคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ลงวันที่ 25 มีนาคม 2559 โดยคณะ อนุญาโตตุลาการ เสียงขางมากมีคําชี้ขาด คือ ให ปตท. ชําระคาเสียหายจากการบอกเลิกสัญญากับบริษัทฯ
รายงานประจำป 2560
2703
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
ป 2560
โดยไมชอบดวยกฎหมาย ในจํานวนเงิน 390 ลานบาทตอป นับตั้งแตวันที่ 1 กุมภาพันธ 2555 จนถึงวันที่ คณะอนุญาโตตุลาการมีคําชี้ขาด (25 มีนาคม 2559) พรอมทั้งอัตราดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 7.5 ตอป ของ ยอดเงินคาเสียหายที่ไดจากการคํานวณขางตน นับตั้งแตวันที่คณะอนุญาโตตุลาการมีคําชี้ขาดจนถึงวันที่ที่ ปตท. ชําระเงินใหแกบริษัทฯ ครบถวน เดือนสิงหาคม บริษัทฯ มีมติอนุมัติจําหนายเงินลงทุนในบริษัทรวม คือหุนสามัญของบริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด (“PSDC”) จํานวน 1,147,499 หุน คิดเปนรอยละ 44.13 ของทุนที่ออกและชําระแลว ทั้งหมดของ PSDC ใหแก บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) (“SAMCO”) ในราคาหุนละ 140 บาท คิดเปน จํานวนเงินทั้งสิ้น 160,649,860 บาท และในเดือนพฤศจิกายน ไดรับชําระคาหุนพรอมแกไขเปลี่ยนแปลง รายชื่อผูถือหุนตอกรมพัฒนาธุรกิจ ในเดือนกันยายน บริษัทฯไดยื่นคัดคานตอศาลแพง จากกรณีที่ทาง ปตท.ไดยื่นคํารองขอเพิกถอนคําชี้ขาด ของคณะอนุญาโตตุลาการ เดือนพฤศจิกายน บริษัทฯไดยื่นคดีขอพิพาทตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ จากกรณีที่ปตท.สง CR ใหกับ บริษัทฯ ไมเปนไปตามขอตกลงตามสัญญาซื้อขายฯ เดือนธันวาคม บริษัทฯไดยื่นคํารองตอศาลแพงขอใหบังคับคดีตามคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ
เดือนพฤษภาคม บริษัทฯไดรับสําเนาคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ลงวันที่ 27 เมษายน 2560 ให บริษัทฯ ชําระเงินจํานวน 1,555 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 9.375 ตอป คิดจากตนเงินจํานวน 1,518 ลานบาท นับถัดจากวันยื่นเสนอขอพิพาท (ยื่นเสนอขอพิพาทวันที่ 18 พฤษภาคม 2555) จนกวา บริษัทฯ จะชําระเงินใหแก ปตท. บริ ษั ท ฯ ไม เ ห็ น ด ว ยกั บ คํ า ชี้ ข าดของคณะอนุ ญ าโตตุ ล าการ โดยบริ ษั ท ฯเห็ น ว า คํ า ชี้ ข าดของคณะ อนุญาโตตุลาการ ดังกลาว นาจะขัดกับบทบัญญัติของกฎหมายและพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการและขัด ตอสัญญาพิพาท บริษัทฯ ไมเห็นดวยกับคําชี้ขาด บริษัทฯ จึงจะใชสิทธิตามกฎหมายในการยื่นคํารองขอให ศาลแพงเพิกถอนคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ เดือน พฤษภาคม ศาลฎีกามีคําพิพากษายืนตามศาลอุทธรณเปนไมเพิกถอนโฉนดที่ดินของ TPP สืบเนื่อง จากเมื่อป 2540 จังหวัดชลบุรี ไดฟองรองกลุมบริษัทที่ไมเกี่ยวของและบุคคลที่ไมเกี่ยวของกันกับบริษัท ไทย พับลิคพอรต จํากัด (“TPP”) ในขอหาละเมิดบุกรุกที่ดินของรัฐ ที่ดินที่ถือครองอยูและรวมถึงโฉนดที่ดินแปลง ที่ TPP เปนเจาของกรรมสิทธิ์และใชเปนที่ตั้งสิ่งปลูกสรางตางๆในโครงการทาเรือและคลังน้ํามัน พรอม เรียกรองคาเสียหาย ซึ่ง TPP มิไดเปนคูความในคดีนั้น จึงถือวาคดีนี้ไดสิ้นสุดตามกฎหมาย เดือน พฤศจิกายน บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (“PTEC”) ลงนามความรวมมือระหวางกันกับบริษัท เอสโซ (ประเทศไทย) จํ า กั ด (มหาชน) โดยทํ า สั ญ ญาซื้ อ ขายน้ํ า มั น และให ใ ช สิ ทธิ เ ครื่ อ งหมายการค า เอสโซ ภายหลังจากนี้สถานีบริการน้ํามันของ PTEC จะเปนสถานีบริการน้ํามันภายใตเครื่องหมายการคาเอสโซ ทั้งนี้ PTEC จะยังคงเปนผูดําเนินงานบริหารสถานีบริการน้ํามันดังกลาว
0228
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 1,304,664,125 บาท และมีทุนชําระแลว 1,304,664,125 บาท โดยมีโครงสรางการถือหุนในบริษัทยอย และบริษัทรวม ดังนี้ โครงสรางกลุมบริษัทยอย และบริษัทรวม ณ 31 ธันวาคม 2560 บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน) (RPC) ทุนจดทะเบียน 1,304 ลานบาท
ธุรกิจพลังงาน
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย
บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (PTEC) ทุนจดทะเบียน 140 ลานบาท 99.99%
บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) (SAMCO) ทุนจดทะเบียน 641.80 ลานบาท 48.25%
บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด (SAP) ทุนจดทะเบียน 20 ลานบาท 99.99%
บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จก. (PSDC) ทุนจดทะเบียน 260 ลานบาท 100%
ธุรกิจอื่น
บริษัท ไทยพับลิคพอรต จํากัด (TPP) ทุนจดทะเบียน 840 ลานบาท 30.00% บริษัท อารพีซี แมเนจเมนท จํากัด (RPCM) ทุนจดทะเบียน 0.5 ลานบาท 99.99%
บริษัท ซุปเปอรเพียวแกส จํากัด (SPG) ทุนจดทะเบียน 34 ลานบาท 55.00% บริษัท เพียว ไบโอดีเซล จํากัด (PBC) ทุนจดทะเบียน 280 ลานบาท 100%
บริษัท เค พี เอ็นเนอรยี กรุป จํากัด (KPEG) ทุนจดทะเบียน 38.38 ลานบาท 17.46%
ภาพรวมการประกอบธุรกิจของกลุมบริษัท บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน) เดิมบริษัทฯ ดําเนินการกลั่น คอนเดนเสทเรสซิดิว (CR) ซึ่งเปนวัตถุดิบผลพลอยไดจากกระบวนการผลิตของ บริษัท ปตท โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) (PTTGC) (เดิมชื่อ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส และการกลั่น จํากัด (มหาชน) (PTTAR) ) เพื่อใหไดผลิตภัณฑปโตรเลียมและปโตรเคมีที่มีคุณภาพ ไดแก น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว น้ํามันเตา และเคมีภัณฑ ทั้งนี้ โรงกลั่นของบริษัทฯ มีกําลังผลิตสูงสุด 17,000 บารเรลตอวัน หรือประมาณ 80 ลานลิตรตอเดือน อีกทั้งยังมีการ จัดหาน้ํามันเบนซินออกเทน 91 แกสโซฮอล 95 แกสโซฮอล 91 น้ํามันดีเซล และน้ํามันแกสโซฮอล E85 จากโรงกลั่นอื่นเพื่อ รองรับความตองการของลูกคาที่เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้บริษัทฯ ไดบริหารคลังน้ํามัน 1 แหง ไดแก คลังน้ํามันระยอง เพื่อ อํานวยความสะดวกในการสั่งซื้อและจัดสงสินคาใหแกลูกคา และเมื่อตั้งแตป 2555 บริษัทฯ ไดหยุดดําเนินการธุรกิจโรง กลั่นไปอยางไมมีกําหนด เนื่องจากขอพิพาทกับบริษัทฯ ปตท. จํากัด (มหาชน) ทําใหบริษัทตองแบกรับภาระคาใชจาย จํานวนมากและบริษัทฯไมมีรายไดจากธุรกิจหลักในขณะนั้น เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2558 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2558 มีมติหยุดประกอบกิจการโรงกลั่นที่จังหวัดระยองเปนการถาวร
รายงานประจำป 2560
2903
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
ปจจุบัน บริษัทฯ จึงไดปรับปรุงการดําเนินงานและปรับโครงสรางธุรกิจใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมปจจุบัน ใน รูปแบบโฮลดิ้งคอมพานี (Holding Company) โดยมีรายไดหลักจากธุรกิจพลังงาน โดยมีบริษัทแกนและบริษัทยอย ดังนี้
บริษัทแกน 1)
บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (PTEC)
PTEC เปนบริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 99.99 มีทุนจดทะเบียน 140 ลานบาท โดยเปนหุนสามัญ 1,400,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท ชําระคาหุนเต็มมูลคาแลว ประกอบธุรกิจคาปลีก จําหนายน้ํามันดีเซลหมุนเร็ว แกสโซฮอล 95 แกสโซฮอล 91 และ แกสโซฮอล E20 ผานสถานีบริการน้ํามัน “เพียว” (PURE) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีสถานีบริการน้ํามัน “เพียว” ทั้งสิ้นจํานวน 50 แหง ทั่วประเทศ โดยแบงการบริหารงานเปน 2 ลักษณะคือ (1) การ บริหารงานดวยตนเอง (Company Operate: CO) 44 แหง และ (2) การบริหารงานโดยบุคคลภายนอกแบบแฟรนไชส (Franchise) 6 แหง ทั้งนี้ PTEC ไดมีการพัฒนารูปแบบธุรกิจพลาซา ในสถานีบริการน้ํามัน โดยไดเปดพลาซาแหงแรกใน สถานีบริการน้ํามันเพียว สาขาอมตะนคร จังหวัดชลบุรี และเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2560 PTEC ไดลงนามความรวมมือ ระหวางกันกับบริษัท เอสโซ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (“เอสโซ”) โดยทําสัญญาซื้อขายน้ํามันและใหใชสิทธิ เครื่องหมายการคาเอสโซ ภายหลังจากนี้สถานีบริการน้ํามันของ PTEC จะเปนสถานีบริการน้ํามันภายใตเครื่องหมาย การคาเอสโซ ซึ่ง PTEC จะยังคงเปนผูดําเนินงานบริหารสถานีบริการน้ํามันดังกลาว ณ.วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีสถานีบริการน้ํามันภายใตเครื่องหมายการคาเอสโซ ที่บริหารงานสถานีบริการน้ํามันโดย PTEC จํานวน 6 แหง
บริษัทยอย 1) บริษัท เอสซีที สหภัณฑ จํากัด (SAP) SAP เปนบริษัทยอยที่ PTEC ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 99.99 มีทุนจดทะเบียน 20 ลานบาท โดยเปนหุนสามัญ จํานวน 200,000 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 100 บาท ประกอบธุรกิจขายอุปกรณเครื่องมือสถานีบริการน้ํามัน และ ใหบริการซอมบํารุง 2) บริษัท ซุปเปอรเพียวแกส จํากัด (SPG) SPG เปนบริษัทยอยที่ PTEC ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 55 มีทุนจดทะเบียน 34 ลานบาท ประกอบธุรกิจสถานี จําหนายแกส LPG และ CNG ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีสถานีจําหนายแกส จํานวน 4 แหง 3) บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด (PBC) PBC เปนบริษัทยอยที่บริษัทฯ ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 100 โดยมีทุนจดทะเบียน 280 ลานบาท โดยเปนหุนสามัญ จํานวน 2.8 ลานหุน มูลคาที่ตราไวละ 100 บาท โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ผลิตน้ํามันไบโอดีเซล (B100) จากน้ํามันปาลม ดิบในประเทศ โดยมีกําลังการผลิต 300,000 ลิตรตอวัน หรือ 100,000 ตันตอป เพื่อนําไปผสมในน้ํามันดีเซล เปนน้ํามัน ดีเซล B3 และ น้ํามันดีเซล B5 เปนพลังงานทดแทนตามนโยบายรัฐบาล และ (2) ผลิตกลีเซอรีน มีกําลังการผลิต 10,000 ตันตอป เพื่อนําไปใชเปนวัตถุดิบในเครื่องสําอาง และผลิตภัณฑยาตอไป และไดรับบัตรสงเสริมการลงทุน โดยไดรับสิทธิ ประโยชนในการยกเวนภาษีรายไดเปนระยะเวลา 8 ป บริษัทฯ จึงไดหยุดการผลิตอยางไมมีกําหนด ตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2555 เปนตนไป
0230
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
4) บริษัท อารพีซี แมเนจเมนท จํากัด (RPCM) RPCM เปนบริษัทยอยที่ RPC ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 99.99 มีทุนจดทะเบียน 500,000 บาท แบงเปนหุนสามัญ 5,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท ชําระคาหุนเต็มมูลคา ประกอบธุรกิจคาสงน้ํามัน เพื่อใหบริการซื้อขายผลิตภัณฑน้ํามัน เชื้อเพลิงทุกชนิดกับผูคารายใหญ และรายยอยทั่วประเทศ อาทิ น้ํามันดีเซล เบนซิน 91 แกสโซฮอล 91 แกสโซฮอล 95 ปจจุบันไดหยุดธุรกรรมซื้อขายน้ํามัน และในป 2555 ไดเปลี่ยนมาประกอบธุรกิจรับจางบริหารจัดการระบบงานตางๆ
บริษัทรวม 1) บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) (SAMCO) SAMCO เปนบริษัทรวมที่บริษัทฯ ถือหุนรอยละ 48.25 มีทุนจดทะเบียน 641.80 ลานบาท โดยเปนหุนสามัญ 641.80 ลานหุน มูลคาหุนละ 1 บาท ดําเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยประเภทจําหนาย ตั้งแตป พ.ศ. 2517 สวนใหญ เปนบานเดี่ยวพรอมที่ดินและคอนโดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดย SAMCO มีนโยบายในการดําเนินธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพยประเภทจําหนายอยางตอเนื่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 SAMCO มีจํานวน 6 โครงการ คือ โครงการสัมมากรรังสิตคลอง 7, โครงการชัยพฤกษ วงแหวน , โครงการ S9 Condominium, โครงการสัมมากร ชัยพฤกษ แจงวัฒนะ, โครงการสัมมากร อเวนิว รามอินทรา-วงแหวน และ โครงการสัมมากร อเวนิว ชัยพฤกษ-วงแหวน 2) บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด (PSDC) PSDC เปนบริษัทรวมทุนที่ RPC ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 44.13 และบริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) (SAMCO) ถือหุนอยูในอัตรารอยละ 55.87 มีทุนจดทะเบียน 260 ลานบาท โดยเปนหุนสามัญ 2.6 ลานหุน มูลคาหุนละ 100 บาท ชําระคาหุนเต็มมูลคา เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย และพัฒนาที่ดินในรูปแบบที่มีรายไดจากการใหเชา เชน ศูนยการคา อาคารสํานักงาน ฯลฯ และเมื่อเดือน สิงหาคม 2559 คณะกรรมการมีมติขายหุนสามัญทั้งหมดใหกับ SAMCO ทําให SAMCO ถือหุน PSDC เปนสัดสวนรอยละ100 3) บริษัท ไทยพับลิคพอรต จํากัด (TPP) TPP เปนบริษัทรวมทุนที่บริษัทถือหุนอยูในอัตรารอยละ 30 มีทุนจดทะเบียน 840 ลานบาท โดยเปนหุนสามัญ 105 ลานหุน มูลคาหุนละ 8 บาท โดยตั้งอยูบนเกาะสีชัง ดําเนินธุรกิจใหเชาคลังน้ํามัน และกิจการทาเรือซึ่งใหบริการขนถาย น้ํามันดิบและน้ํามันใสหรือน้ํามันที่ใชในเชิงพาณิชยได 4) บริษัท เค พี เอ็นเนอรยี่ กรุป จํากัด (KPEG) KPEG เปนบริษัทรวมทุนที่บริษัทถือหุนอยูในอัตรารอยละ 17.46 มีทุนจดทะเบียน 38.38 ลานบาท ดําเนินธุรกิจ โรงไฟฟาขนาดเล็ก (VSSP) ผลิตไฟฟาขายใหกับการไฟฟาสวนภูมิภาค
รายงานประจำป 2560
3103
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
โครงสรางรายได
โครงสรางรายไดของบริษัทฯ และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 แสดงตามตารางดังนี้
มูลคาการจําหนายผลิตภัณฑของบริษัทฯ และบริษัทยอย ผลิตภัณฑ ในประเทศ น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว เบนซิน 91,95 แกสโซฮอล ผลิตภัณฑอื่น รวมยอดขายในประเทศ รายไดจากการใหบริการ รวมทั้งสิ้น
2558 ลานบาท รอยละ
2559 ลานบาท รอยละ
2560 ลานบาท รอยละ
1,383.85 933.03
57.18 1,330.64 3.03 38.55 847.28
59.02 0.13 37.58
1,468.14 5.70 884.01
60.22 0.23 36.26
43.86 2,360.74 59.41 2,420.15
1.81 29.30 97.55 2,210.25 2.45 44.46 100.00 2,254.71
1.30 98.03 1.97 100.00
29.41 2,387.26 50.83 2,438.09
1.21 97.92 2.08 100.00
ปริมาณการจําหนายผลิตภัณฑของบริษัทฯ และบริษัทยอย ผลิตภัณฑ ในประเทศ น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว เบนซิน 91, 95 แกสโซฮอล ผลิตภัณฑอื่น รวมปริมาณขายในประเทศ
0232
รายงานประจำป 2560
2558 ลานลิตร รอยละ 59.97 38.16 2.74 100.87
59.45 37.83 2.72 100.00
2559 ลานลิตร รอยละ 61.64 0.10 38.68 2.05 102.47
60.15 0.10 37.75 2.00 100.00
2560 ลานลิตร รอยละ 61.49 0.18 36.35 2.04 100.06
61.45 0.18 36.33 2.04 100.00
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
ปจจัยความเสี่ยง บริษัทฯไดพิจารณาถึงปจจัยความเสี่ยงที่มีนัยสําคัญที่อาจจะมีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของบริษัท เพื่อให บริษัทฯมีการบริหารความเสี่ยงทั้งองคกรอยางมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล จึงไดพิจารณาการบริหารความเสี่ยงและ การควบคุมภายในขึ้นมา โดยพิจารณาใหความสําคัญในเรื่องแนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยง และติดตามผลการ บริหารจัดการความเสี่ยงอยางมีระบบ เพื่อใหการดําเนินงานสอดคลองกับนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี ทั้งนี้ บริษัทฯไดประเมินความเสี่ยงอยูบนสถานการณปจจุบัน นอกเหนือจากปจจัยความเสี่ยงที่ระบุนี้ อาจจะมี ความเสี่ยงอื่นๆ ที่บริษัทฯไมอาจทราบไดในขณะนี้ ซึ่งเกิดจากปจจัยภายนอกที่อยูเหนือการควบคุมของบริษัท และอาจจะ สงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯในอนาคตได 1) ความเสี่ยงจากการผันผวนของราคาน้ํามันสําเร็จรูป บริษัทฯไดซื้อน้ํามันจากโรงกลั่นน้ํามัน และผูคาน้ํามันรายอื่น โดยราคาน้ํามันนั้นอาจจะผันผวนไปตามปจจัยตางๆ ดังนี้ สภาพเศรษฐกิ จ และการเมื อ งของโลก รวมถึ ง ภู มิ ภ าคที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ ก า ซธรรมชาติ และน้ํ า มั น ดิ บ โดยเฉพาะอยางยิ่งภูมิภาคตะวันออกกลาง อุปสงค และอุปทานของน้ํามันทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค กฎระเบียบที่เกี่ยวของของภาครัฐทั้งในประเทศ และตางประเทศ สภาพภูมิอากาศ โดยปจจัยดังกลาวขางตนเกิดจากปจจัยภายนอกที่อยูเหนือการควบคุมของบริษัท ซึ่งราคาจําหนายน้ํามันของ บริษัทฯก็ไดรับผลกระทบจากความผันผวนของราคาน้ํามันดังกลาว และอาจจะสงผลตอปริมาณการจําหนายน้ํามัน รวมถึงมูลคาของสินคาคงคลัง จึงอาจจะสงผลกระทบตอฐานะทางการเงิน และผลการดําเนินงานของบริษัทฯ อยางไรก็ตาม บริษัทฯมีบุคลากรที่มีประสบการณ วิเคราะหสถานการณ และติดตามราคาน้ํามันอยางใกลชิด รวมถึงมีความเชี่ยวชาญในการบริหารจัดการ จัดหา จัดซื้อน้ํามันในราคาที่เหมาะสม และกําหนดราคาใหสามารถแขงขัน ในตลาดได นอกจากนี้ บริษัทฯ ไมมีนโยบายที่จะสํารองน้ํามันไวในปริมาณมากเพื่อการเก็งกําไร โดยจะเปนการสํารอง เพื่อใหเพียงพอตอการจําหนายในแตละพื้นที่เทานั้น รวมถึงลูกคาของบริษัทสวนใหญเปนลูกคาที่ตองใชน้ํามันเพื่อการ ดําเนินชีวิตทั่วไป และมีความจําเปนที่ตองใชน้ํามันอยางสม่ําเสมอถึงแมราคาน้ํามันจะสูงขึ้นก็ตาม ดังนั้น บริษัทฯจึงไมได รับผลกระทบอยางมีนัยสําคัญในกรณีที่ราคาน้ํามันผันผวนสูง 2) ความเสี่ยงเกี่ยวกับการแทรกแซงราคาผลิตภัณฑโดยรัฐบาล ความเสี่ยงนี้เกิดจากความเปนไปไดที่รัฐบาลอาจเขาแทรกแซงการกําหนดราคาน้ํามันสําเร็จรูปภายในประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงที่ราคาน้ํามันดิบและน้ํามันสําเร็จรูปในตลาดโลกมีความผันผวนสูง ทั้งนี้เพื่อควบคุมอัตราเงินเฟอ และเพื่อประโยชนตอเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศโดยรวม การแทรกแซงดังกลาวอาจสงผลกระทบตอธุรกิจ ฐานะการเงิน และผลประกอบการของบริษัทฯได อยางไรก็ตาม บริษัทฯพิจารณาวาความเสี่ยงที่เกิดจากการแทรกแซงราคาผลิตภัณฑโดยรัฐบาลไมมีผลกระทบ มากนัก ทั้งนี้ เพราะเปนมาตรการชั่วคราวเพื่อบรรเทาความเดือดรอนเฉพาะเมื่อน้ํามันในตลาดโลกมีราคาสูง โดยรัฐบาล
รายงานประจำป 2560
3303
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน) จะเขาแทรกแซงการกําหนดราคาใหแกผูบริโภคในระดับต่ํา นอกจากนี้ ราคาขายปลีกน้ํามันของบริษัทเทากับราคาน้ํามันที่ซื้อ จากโรงกลั่น หรือผูคาน้ํามันรายอื่นบวกดวยคาการตลาด ดังนั้น หากคาการตลาดรวมถึงอัตราภาษี และเงินสมทบกองทุน ตางๆ ไมเปลี่ยนแปลง ราคาขายปลีกน้ํามันจะปรับตัวตามราคาหนาโรงกลั่น ดังนั้น บริษัทจึงไมไดรับผลกระทบจากความ เสี่ยงนี้แตอยางใด 3) ความเสี่ยงเกี่ยวกับภยันอันตราย และภัยธรรมชาติ เนื่องจากบริษัทฯประกอบธุรกิจสถานีบริการน้ํามันจํานวนมาก ซึ่งใหบริการในหลากหลายพื้นที่ทั่วทุกภูมิภาคใน ประเทศ ซึ่งทําใหบริษัทฯมีความเสี่ยงที่จะไดรับผลกระทบจากปญหาภัยธรรมชาติตางๆ เชน อัคคีภัย อุทกภัย เปนตน ถึงแมวาปญหาเกี่ยวกับภัยธรรมชาติเปนเรื่องที่หลีกเลี่ยงไดยาก และไมสามารถปองกันไมใหเกิดขึ้นได แตบริษัทฯก็ ตระหนักถึงความเตรียมพรอมที่จะรับมือกับอุบัติภัยตางๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นและสรางความเสียหายใหแกทรัพยสิน และ สูญเสียรายไดไปจากการตองหยุดใหบริการชั่วคราว บริษัทฯ ไดบรรเทาความเสี่ยงดังกลาวดวยการทําประกันภัยที่ครอบคลุมอุบัติภัยทุกกรณี (all risks) สําหรับทรัพยสิน ที่ใชในการประกอบธุรกิจของบริษัท บริษัทฯจึงสามารถเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากการเกิดเหตุดังกลาว นอกจากนี้ บริษัทฯยังมีการจัดทําแผนรองรับสถานการณฉุกเฉิน และยังมีการอบรม ฝกซอมพนักงานตามแผนปฏิบัติการณอยาง สม่ําเสมอเพื่อเตรียมพรอมรับมือ แกไขและปองกันไดอยางทันทวงที หากมีเหตุอุบัติภัยเกิดขึ้น ความเสี่ยงดานคดีความ ความเสี่ยงนี้เกิดขึ้นจากขอพิพาทหมายเลขดําที่ 114/2552, ขอพิพาทหมายเลขดําที่ 78/2555 ของสถาบัน อนุญาโตตุลาการ, คดีแพงหมายเลขดําที่ 3162/2553 ของศาลแพง ที่เกิดจากการที่บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (PTT) แจง ยกเลิกสัญญาซื้อขาย CR และหยุดสงวัตถุดิบ CR โดยสิ้นเชิง ดังที่กลาวขางตน ในสวนขอพิพาทหมายเลขดําที่ 114/2552 เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559 คณะอนุญาโตตุลาการ เสียงขางมากมีคําชี้ขาด วา ปตท. บอกเลิกสัญญากับบริษัท โดยไมชอบ ดวยกฎหมาย ให ปตท.ชําระคาเสียหายจากการบอกเลิกสัญญากับบริษัทฯ ในจํานวน 390 ลานบาทตอป นับตั้งแตวันที่ 1 กุมภาพันธ 2555 จนถึงวันที่คณะอนุญาโตตุลาการมีคําชี้ขาด พรอมทั้งอัตราดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 7.5 ตอป ของยอดเงิน คาเสียหายที่ไดจากการคํานวณขางตนนับตั้งแตวันที่คณะอนุญาโตฯ มีคําชี้ขาดจนถึงวันที่ ปตท. ชําระเงินใหแกบริษัท ครบถวน ตอมาในเดือนมิถุนายน 2559 ทาง ปตท.ไดยื่นคํารองตอศาลแพงขอเพิกถอนคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตฯ เปนคดี แพงหมายเลขดําที่ พ.3016/2559 และเมื่อเดือนธันวาคม 2559 บริษัทฯไดยื่นคํารองตอศาลแพงขอใหบังคับคดีตามคําชี้ขาด ของคณะอนุ ญ าโตฯ เป น คดี แ พ ง หมายเลขดํ า ที่ พ.6000/2559 นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯได ยื่ น คดี ข อ พิ พ าทต อ สถาบั น อนุญาโตตุลาการ จากกรณีที่ปตท.สง CR ใหกับบริษัทฯ ไมเปนไปตามขอตกลงตามสัญญาซื้อขายฯ เปนขอพิพาทหมายเลขดํา ที่ 117/2559 และในสวนขอพิพาทหมายเลขดําที่ 78/2555 เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2560 คณะอนุญาโตตุลาการ มีคําชี้ขาดให บริษัทฯตองชําระคาวัตถุดิบคอนเดนเสทเรสซิดิว งวดสุดทายเปนจํานวนเงิน 1,555 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ 9.375 ตอป คิดจากเงินตนจํานวน 1,518 ลานบาท นับถัดจากวันยื่นเสนอขอพิพาท (18 พฤษภาคม 2555) จนกวาจะชําระ เสร็จแก ปตท. ซึ่งบริษัทฯไมเห็นดวยกับคําชี้ขาดดังกลาว และเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2560 บริษัทฯใชสิทธิตามกฎหมายใน การยื่ น คํ า ร อ งขอให ศ าลแพ ง มี คํ า พิ พ ากษาเพิ ก ถอนคํ า ชี้ ข าดของคณะอนุ ญ าโตตุ ล าการ เป น คดี ห มายเลขดํ า ที่ พ. 3492/2560 และเมื่อเดือนกันยายน 2560 บริษัทฯ ไดรับสําเนาคํารองของศาลแพงที่ PTT ขอใหมีการบังคับตามคําชี้ขาด ของคณะอนุญาโตตุลาการ เปนคดีหมายเลขดําที่ พ.3789/2560 ขณะนี้ ขอพิพาททางการคาอยูระหวางการพิจารณาของ
0234
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
สถาบันอนุญาโตตุลาการ และคดีแพงที่ฟองอยูในระหวางการพิจารณาคดีของศาลแพง ซึ่งผลของขอพิพาท และคดีที่ ฟองรองยังไมสามารถระบุได ขึ้นอยูกับกระบวนการยุติธรรมในอนาคต ความเสี่ยงจากการดําเนินธุรกิจในอนาคต ความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจในอนาคต เกิดจากการที่บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (PTT) เปนผูจําหนายวัตถุดิบ หลักรายเดียวของบริษัทฯ ปฏิบัติผิดสัญญากับบริษัทฯ ดวยการบอกเลิกสัญญา ทั้งที่ บริษัทฯ มิไดผิดสัญญา และสัญญาซื้อขาย ดังกลาวเปนสัญญาที่มีผลบังคับยาวนานตอเนื่องกันไป โดยมิไดกําหนดระยะเวลาสิ้นสุดของสัญญา (Evergreen Basis) จนเปนเหตุใหบริษัทตองเสนอคดีตออนุญาโตตุลาการ และฟองคดีตอศาลแพง ตามลําดับ ในระหวางการพิจารณาของ อนุญาโตตุลาการ บริษัท ปตท จํากัด (มหาชน) ( PTT ) ไดหยุดสงวัตถุดิบหลักใหกับบริษัทฯ ตั้งแตวันที่ 1 กุมภาพันธ 2555 เปนตนไป ซึ่งเปนการ ผิดสัญญาขอ 15.5 ที่ระบุวาแมคูสัญญาจะมีขอพิพาทตอกัน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (PTT) ใน ฐานะคูสัญญา ก็ยังคงตองปฏิบัติตามสัญญาตอไปจนกวาอนุญาโตตุลาการจะมีคําวินิจฉัยชี้ขาดเสร็จสิ้น กรณีดังกลาวจึง สงผลทําใหบริษัทฯ ตองหยุดประกอบกิจการโรงกลั่นถาวร ทําใหสูญเสียรายไดหลัก เพื่อชดเชยรายไดหลักที่สูญหาย บริษัทฯ จึงไดทําการศึกษาความเปนไปไดของโครงการตางๆ ทั้งธุรกิจน้ํามัน และ ธุรกิจอื่นๆ ปจจุบันบริษัทฯไดมีการลงทุนโรงไฟฟาชีวมวลขนาดเล็ก ดานพลังงานทดแทน และไดลงทุนดานอสังหาริมทรัพย
รายงานประจำป 2560
3503
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
รายการระหวางกัน รายการระหวางบริษัทฯ และบริษัทยอย กับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันที่เกิดขึ้นในป 2559 และ 2560 รายการระหวางบริษัทฯ กับ บริษัท เพทโทร อินสตรูเมนท จํากัด ลักษณะรายการ บริษัทฯ รับบริการอื่นและเชาและบริการ ยานพาหนะ
จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2559 ป 2560 นายสัจจา เจนธรรมนุกูล กรรมการของบริษัท และ 0.29 0.27 ลักษณะความสัมพันธ
ถือหุนบริษัทรอยละ 1.74 และนายสุทัศน ขันเจริญสุข กรรมการของบริ ษั ท และถื อ หุ น บริ ษั ท ร อ ยละ 0.0008 ซึ่งทั้งสองทานเปนกรรมการและถือหุนใน บริษัท เพทโทร อินสตรูเมนท จํากัด รวมรอยละ 22
รายการระหวางบริษัทฯ และบริษัทยอย กับ บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท จํากัด จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2559 ป 2560 บริษัทฯ จายคาเชา สํานักงาน และคาใชจายอื่น นายสัจจา เจนธรรมนุกูล กรรมการของบริษัทฯ 0.60 0.65 ลักษณะรายการ
บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (บริษัทยอย) จํา หน า ยน้ํา มั น เชื้ อ เพลิ ง บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (บริษัทยอย) จาย คาเชาที่ดิน คาเชาสํานักงานและคาใชจายอื่น
ลักษณะความสัมพันธ
เปนกรรมการของ บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) และบริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) ถือหุนใน อัตรารอยละ 100
0.02
0.03
3.29
3.34
รายการระหวางบริษัทฯ และบริษัทยอย กับ บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) ลักษณะรายการ บริษัทฯ บริหารจัดการ บริษัทฯ รับเงินปนผล บริษัทฯ รับดอกเบี้ย บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (บริษัทยอย) จําหนายน้ํามันเชือ้ เพลิง บริษัท เพียวพลังงานไทย จํากัด (บริษัทยอย) จายคารวมทุน และคาใชจายอื่น
จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2559 ป 2560 นายสั จจา เจนธรรมนุ กู ล กรรมการของบริ ษั ท 1.50 เป น กรรมการของ บริ ษั ท สั ม มากร จํ า กั ด 34.13 3.16 (มหาชน) และบริษั ท ฯ เป นผู ถือ หุน รายใหญ 0.21 ถือหุนในอัตรารอยละ 48.25 0.48 0.41 ลักษณะความสัมพันธ
0.58
0.72
รายการระหวางบริษัทฯ กับ บริษัท ไทยพับลิคพอรต จํากัด ลักษณะรายการ บริษัทฯ รับเงินปนผล
รายการระหวางกันบริษัทฯ กับ กรรมการ ลักษณะรายการ บริษัทฯ จายคาที่ปรึกษา
0236
รายงานประจำป 2560
จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2559 ป 2560 นายสัจจา เจนธรรมนุกูล กรรมการของบริษัท 78.75 47.25 ลักษณะความสัมพันธ
เปนกรรมการของ บจก.ไทยพับลิคพอรต และ บริษัทฯ ถือหุนในอัตรารอยละ 30
จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2559 ป 2560 นายศุภพงศ กฤษณกาญจน กรรมการของบริษัท 1.20 ลักษณะความสัมพันธ
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 31 ธันวาคม 2560 31 ธันวาคม 2559 ลานบาท
รายไดจากการขาย รายไดรวม ตนทุนขาย คาใชจายในการขายและบริหาร ขาดทุนจากการดอยคาของอาคารและอุปกรณ (โอนกลับ)
สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม ขาดทุนสุทธิสําหรับป
รอยละ
2,387 97.11 2,458 100.00 2,222 90.40 266 10.82 4 0.16 44 1.79 (37) (1.51)
ลานบาท
เพิ่มขึ้น (ลดลง)
รอยละ
ลานบาท
รอยละ
2,210 94.65 2,335 100.00 2,027 86.81 290 12.42 102 4.37 60 2.57 (69) (2.96)
177 123 195 (24) (98) (16) 32
8.01 5.27 9.62 (8.28) (96.08) (26.67) (46.38)
รายได ในป 2560 บริษัทฯ มีรายไดรวมเทากับ 2,458 ลานบาท เพิ่มขึ้น 123 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 5 เมื่อเทียบ กับปกอน โดยรายไดสวนใหญเปนรายไดจากการจําหนายน้ํามันผานสถานีบริการของบริษัทฯ เทากับ 2,387 ลานบาท เพิ่มขึ้น 177 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 8 โดยสวนใหญมาจากการขายผลิตภัณฑน้ํามันดีเซล ตนทุนขายและคาใชจาย ในป 2560 บริษัทฯ มีตนทุนขายเทากับ 2,222 ลานบาท เพิ่มขึ้น 195 ลานบาทหรือคิดเปนรอยละ 10 เมื่อเทียบ กับปกอน เนื่องจากผันแปรไปตามรายไดจากการขายน้ํามัน ในป 2560 บริษัทฯ มีคาใชจายขายและบริหารเทากับ 266 ลานบาท ลดลง 24 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 8 เมื่อเทียบกับปกอน เนื่องจากคาใชจายในการขาย คาใชจายพนักงาน คาที่ปรึกษาลดลง และคาเสื่อมราคาลดลง ขาดทุนสุทธิสําหรับป ในป 2560 บริษัทฯ มีขาดทุนสุทธิเทากับ 37 ลานบาท คิดเปนขาดทุนสุทธิลดลง 32 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 46 เมื่อเทียบกับปกอน ที่มีผลขาดทุนสุทธิจํานวน 69 ลานบาท เนื่องจากรายไดจากการยกเลิกสัญญาซื้อขายโรงกลั่นน้ํามัน ลดลงจํานวน 40 ลานบาท กําไรจากการขายและคืนทุนของเงินลงทุนในบริษัทรวมลดลงจํานวน 14 ลานบาท นอกจากนี้ ยังมีผลขาดทุนจากการดอยคาอาคารและอุปกรณลดลง จํานวน 98 ลานบาท และการรับรูสวนแบงกําไรจากเงินลงทุนใน บริษัทรวมลดลงจํานวน 16 ลานบาท
รายงานประจำป 2560
3703
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ตอรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวมของบริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยและ สารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําป งบการเงินดังกลาวจัดทําขึ้นตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน โดย เลือกใชนโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ และใชดุลยพินิจอยางระมัดระวัง และประมาณการที่ดี ที่สุดในการจัดทํา รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการไดจัดใหมี และดํารงรักษาไวซึ่งระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพื่อใหมั่นใจไดอยางมีเหตุผลวา การบันทึกขอมูลทางบัญชีมีความถูกตองครบถวน และเพียงพอที่จะดํารงรักษาไวซึ่งทรัพยสิน และเพื่อใหทราบจุดออนเพื่อ ปองกันไมใหเกิดการทุจริต หรือการดําเนินการที่ผิดปกติอยางมีสาระสําคัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบ ซึ่งประกอบดวยกรรมการที่ไมเปนผูบริหารเปน ผูดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน และระบบการควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการมีความเห็นวาระบบควบคุมภายในของบริษัทฯโดยรวมอยูในระดับที่เหมาะสม และเพียงพอตอ ความเชื่อถือได ของงบการเงินของบริษัทฯ และบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560
(นายสัจจา เจนธรรมนุกูล) ประธานกรรมการ
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบประจําป คณะกรรมการตรวจสอบ ไดปฏิบัติหนาที่ตามขอบเขตหนาที่ และความรับผิดชอบตามกฎบัตรที่อนุมัติโดย คณะกรรมการบริษัท ซึ่งสอดคลองกับขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในรอบปบัญชี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่อยางเปนอิสระ โดยบริษัทฯไดจัดใหมีการประชุม คณะกรรมการตรวจสอบ จํานวน 9 ครั้ง โดยมีวาระการประชุมรวมกันระหวางคณะกรรมการตรวจสอบและผูสอบบัญชี โดยไมมีฝายบริหารเขารวมประชุมดวย 1 ครั้งที่ เพื่อพิจารณาขอเสนอแนะเกี่ยวกับระบบควบคุมภายในและแผนการ ตรวจสอบบัญชีประจําป 2560 ของบริษัทฯ และบริษัทยอย และกรรมการตรวจสอบทุกทานเขารวมประชุมครบองคประชุม โดยเปนการรวมประชุมกับผูบริหาร ผูสอบบัญชี ผูตรวจสอบภายใน ตามความเหมาะสม ซึ่งสรุปสาระสําคัญของการ ปฏิบัติงานได ดังนี้
0238
รายงานประจำป 2560
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน) 1 . งบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจําป 2560 รวมกับฝายบริหารและผูสอบบัญชี โดยไดสอบถามและรับฟงคําชี้แจง ในเรื่องความถูกตอง รายละเอียดครบถวน ของงบการเงิน และความเพียงพอในการเปดเผยขอมูล ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคลองกับผูสอบบัญชีวา งบการเงินดังกลาวมีความถูกตองตามที่ควรจะเนนในสาระสําคัญตามมาตรฐานการบัญชี ทั้งของบริษัทฯ และบริษัทยอย และมีการเปดเผยขอมูลที่สําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และผูสอบบัญชีแสดงความคิดเห็นตองบ การเงินแบบไมมีเงื่อนไข มีเนนความไมแนนอนที่มีสาระสําคัญเกี่ยวกับการดําเนินงานตอเนื่อง สาเหตุจากการที่บริษัทฯ มี ขอพิพาททางการคาและคดีฟองรองกับบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ผูขายวัตถุดิบหลักของบริษัทฯ ซึ่งอยูในกระบวนการ ยุติธรรม และผลของขอพิพาทและคดีฟองรองดังกลาวยังไมสามารถระบุได 2 . รายการระหวางกัน คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาการเปดเผยขอมูลรายการระหวางกัน และ รายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ซึ่ งผูสอบบัญ ชีมีความเห็นวารายการคากับบริ ษัทฯ ที่เกี่ยวของกันที่มี สาระสําคัญไดเปดเผยและแสดงรายการในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงินแลว และคณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นสอดคลองกับผูสอบบัญชี รวมทั้งมีความเห็นวารายการดังกลาวเปนไปตามเงื่อนไขธุรกิจการคาปกติทั่วไป และ เปนประโยชนตอการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลอยางถูกตองและครบถวน ตามกฎหมายและ ขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน 3. ระบบการควบคุ ม ภายใน และความเป น อิ ส ระของหน ว ยงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการ ตรวจสอบไดพิจารณารายงานการตรวจสอบภายในและความคืบหนาของการดําเนินงานเปนรายไตรมาส ตามแผนงานที่ ไดรับอนุมัติ พรอมทั้งใหขอเสนอแนะกับหนวยงานตรวจสอบภายใน ในการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีการ ติดตามและดําเนินการแกไขในประเด็นที่มีนัยสําคัญอยางตอเนื่อง เพื่อใหหนวยงานตางๆ ของบริษัทฯและบริษัทยอย มี ระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม รวมทั้งสอบทานนโยบายแนวทางการบริหารความเสี่ยง ใหสอดคลองกับสถานการณ ปจจุบันของบริษัทฯ ทั้งในดานคดีความ และการดําเนินธุรกิจในอนาคต ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา บริษัทฯ ไดมีการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอ มีประสิทธิผล และการตรวจสอบภายในของบริษัทฯ เปนไป อยางอิสระเพียงพอ และเหมาะสม 4 . การปฏิบัติตามขอกําหนดของภาครัฐ คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาการปฏิบัติตามกฎหมายวา ดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยฯ ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ ซึ่ง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา บริษัทฯมีการปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของและไมพบประเด็นที่เปนสาระสําคัญ 5 . การคัดเลือกและแตงตั้งผูสอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาผลการปฏิบัติงานในปที่ผานมา รวมถึงความรูความสามารถชื่อเสียง ขอบเขต ความเปนอิสระ และปริมาณงานที่ผูสอบบัญชีรับผิดชอบตรวจสอบ และ สอบทาน เห็นวามีความเหมาะสม จึงเสนอตอคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขออนุมัติในที่ประชุมผูถือหุน โดยคัดเลือกบริษัท สํานักงาน อีวาย จํากัด เปนผูตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ ประจําป 2561 6 . การกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ ใหความสําคัญในการบริหารงานตามหลักการของการกํากับดูแลกิจการ ที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบไดกํากับดูแลใหมีการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ และถูกตอง รวมทั้ง สงเสริมใหบริษัทฯ มี ระบบธรรมาภิบาล การบริหารจัดการที่ดี เพื่อใหมีความโปรงใส และมีจริยธรรม กอใหเกิดความเชื่อมั่นแกผูถือหุน ผูลงทุน พนักงาน และผูที่เกี่ยวของทุกฝาย รวมทั้ง ไดสอบทานวิธีการรายงานสวนไดเสียของกรรมการและผูบริหาร เพื่อใหเปนไป ตามที่พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยกําหนด
รายงานประจำป 2560
3903
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน) โดยสรุ ป ในภาพรวมแล ว คณะกรรมการตรวจสอบ ได ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ค รบถ ว นตามที่ ร ะบุ ไ ว ใ นกฎบั ต รของ คณะกรรมการตรวจสอบที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ และเห็นวา บริษัทฯ ถือนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และมีมาตรฐานเปนสําคัญ มีผลใหระบบการควบคุมภายในมีประสิทธิภาพเพียงพอ ไมมีขอบกพรองอยางเปนสาระสําคัญ มีการบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอ มีประสิทธิผล การจัดทํางบการเงิน และการเปดเผยขอมูลทางการเงินทําขึ้นอยาง ครบถวน ถูกตอง และเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป มีการเปดเผยรายการระหวางกันที่อาจทําใหเกิด ความขัดแยงทางผลประโยชนไดอยางถูกตองและครบถวน รวมทั้งมีการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบวิธีปฏิบัติ และ ขอกําหนดที่เกี่ยวของ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ
(นายประสิทธิ์ ธีรรัตนบงกช) ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน)
0240
รายงานประจำป 2560
(ผูมีอํานาจลงนามผูกพัน)
1) นายสัจจา เจนธรรมนุกูล ประธานกรรมการ
ชื่อ - นามสกุล ตําแหนง
ณ. 31 ธันวาคม 2560
63
อายุ (ป)
- DAP: Directors Accreditation Program 20/2004
สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
- วศ.บ. (ไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา (ธนบุรี)
คุณวุฒิการศึกษา / การฝกอบรม
22,734,592 หุน 1.74%
(1)
สัดสวนการถือ หุนในบริษัท(%)
-
ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผูบริหาร ผูมีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท
บริษัท ไทยพับลิคพอรต จํากัด บจก.เพียวพลังงานไทย บจก.อารพีซี แมเนจเมนท บจก.เอสซีที สหภัณฑ บจก.ซุปเปอรเพียวแกส บจก. เพทโทร-อินสตรูเมนท บจก.เพียวไบโอดีเซล บจก.เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท บจก.จตุรทิศ ขนสง บจก.เพียวซิลิกา มายนิ่ง บจก.จตุจักร ออยล บจก.เพียวอินเตอรเทรด บจก.ทศทิศโลจิสติกส บจก.เอสซีที ปโตรเลียม
2558–ปจจุบัน 2544–ปจจุบัน 2544–ปจจุบัน 2555-ปจจุบัน 2555-ปจจุบัน 2541–ปจจุบัน 2550-2552,2557 2549-2553 2544-2557 2546-2556 2546-2556 2545-2556 2545-2556 2538-2556
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
จํานวน 6 แหง
กิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน
การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษทั ที่เกี่ยวของ -ไมมี-
บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน) บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน)
2538-ปจจุบัน 2555-ปจจุบัน
บริษัท จํานวน 2 แหง
กรรมการ/ประธานกรรมการ กรรมการ
ตําแหนง
บริษัทจดทะเบียน
ชวงเวลา
ประวัติการทํางาน
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
รายงานประจำป 2560
4103
0242
รายงานประจำป 2560
(ผูมีอํานาจลงนามผูกพัน)
3) นายสุวินัย สุวรรณหิรัญกุล กรรมการ
(ผูมีอํานาจลงนามผูกพัน)
2) นายศุภพงศ กฤษณกาญจน กรรมการ
ชื่อ - นามสกุล ตําแหนง
62
61
อายุ (ป)
- DCP: Directors Certification Program 39/2004 - Finance for Non-Finance Directors ป 2546
สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
- MBA มหาวิทยาลัยบูรพา - วท.บ. (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
- DAP: Directors Accreditation Program 15/2004
สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
- วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรม เคมี และคอมพิวเตอร ควบคุมโรงงานมหาวิทยาลัย แคลิฟอรเนีย วิทยาเขตดาวิส รัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา - หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรและเศรษฐศาสตร ระดับสูง (ระหวางศึกษาระดับปริญญาโท) มหาวิทยาลัย แคลิฟอรเนีย สเตท โพลิเทคนิค วิทยาเขตโพโมนา รัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
คุณวุฒิการศึกษา / การฝกอบรม
- หุน / - %
4,791,092 หุน / 0.37%
(1)
สัดสวนการถือ หุนในบริษัท(%)
-
-
ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร
ตําแหนง
บริษัท
บริษัทจดทะเบียน จํานวน 1 แหง 2538-ปจจุบัน กรรมการ บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษทั ที่เกี่ยวของ -ไมมีกิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน จํานวน 3 แหง 2551-ปจจุบัน กรรมการ บจก.อารพีซี แมเนจเมนท 2560-ปจจุบัน, กรรมการ บจก. เพียวไบโอดีเซล 2541-ปจจุบัน กรรมการ บจก.ออนเนสท แอนด เอฟเชียน 2557-2558 กรรมการ บริษัท ไทยพับลิคพอรต จํากัด 2549-2557 กรรมการ บจก.เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท กรรมการ บจก.จตุรทิศ ขนสง 2551-2557 2555-2557 กรรมการ บจก.เอสซีที สหภัณฑ 2551-2556 กรรมการ :บจก.เพียวซิลิกา มายนิ่ง, บจก.เอสซีทีปโตรเลียม, บจก.เพียวอินเตอรเทรด, บจก.ทศทิศโลจิสติกส. บจก. เพียวพลังงานไทย, บจก.จตุจักร ออยล บริษัทจดทะเบียน จํานวน 1 แหง 2539-ปจจุบัน กรรมการ บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษทั ที่เกี่ยวของ -ไมมีกิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน -ไมมี2550-2560 กรรมการ บจก.เพียวไบโอดีเซล 2549-2557 กรรมการ บจก.เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท 2548-2557 กรรมการ บจก.จตุรทิศขนสง กรรมการ 2555-2557 บจก.เอสซีที สหภัณฑ 2551-2557 กรรมการ บจก.อารพีซี แมเนจเมนท 2551-2557 กรรมการ บจก.เพียวพลังงานไทย 2555-2556 กรรมการ : บจก.เพียวอินเตอรเทรด,บจก.ทศทิศโลจิสติกส, บจก.เพียวซิลิกา มายนิ่ง,บจก.เอสซีที ปโตรเลียม,บจก.จตุจักรออยล
ชวงเวลา
ประวัติการทํางาน
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
5) นายประสิทธิ์ ธีรรัตนบงกช กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน
(ผูมีอํานาจลงนามผูกพัน)
4) นายสุทัศน ขันเจริญสุข กรรมการ
ชื่อ - นามสกุล ตําแหนง
62
59
อายุ (ป)
สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - DCP: Director Certification Program (DCP62)
คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
- ปริญญาตรี สาขาไฟฟากําลัง / สื่อสาร
- DAP: Directors Accreditation Program 15/2004 - Board Performance Evaluation 2/2007
สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
- MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - วท.บ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
คุณวุฒิการศึกษา / การฝกอบรม
- หุน / - %
10,833,356 หุน / 0.83%
(1)
สัดสวนการถือ หุนในบริษัท(%)
-
-
ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร
ตําแหนง
บริษัท
บริษัทจดทะเบียน จํานวน 2 แหง กรรมการ บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน) 2539-ปจจุบัน 2556-ปจจุบัน กรรมการอิสระ บริษัท ลีซ อิท จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษทั ที่เกี่ยวของ -ไมมีกิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน จํานวน 1 แหง กรรมการ 2534-ปจจุบัน บจก.เพทโทร-อินสตรูเมนท 2555-2557 กรรมการ บจก.อารพีซี แมเนจเมนท 2550-2557 กรรมการ บจก.เพียวพลังงานไทย 2555-2557 กรรมการ บจก.เอสซีที สหภัณฑ 2555-2557 กรรมการ บจก. จตุรทิศขนสง 2555-2557 กรรมการ บจก. เพียวไบโอดีเซล 2555-2556 กรรมการ :บจก. เอสซีที ปโตรเลียม,บจก.เพียวซิลิกา มายนิ่ง, บจก.จตุจักร ออยล ,บจก.ทศทิศโลจิสติกส บริษัทจดทะเบียน จํานวน 2 แหง 2558-ปจจุบัน บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน) กรรมการอิสระ/ประธาน กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน กรรมการ/กรรมการตรวจสอบ บริษัท คารมารท จํากัด (มหาชน) 2551-ปจจุบัน การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษทั ที่เกี่ยวของ -ไมมีกิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน จํานวน 2 แหง กรรมการผูจัดการ 2537-ปจจุบัน บริษัท เพียวกรีน จํากัด 2545-ปจจุบัน กรรมการ บริษัท วีนิลเทด จํากัด 2542-ปจจุบัน ที่ปรึกษา โครงการพัฒนาสวนพระองค 2541-ปจจุบัน ที่ปรึกษา บริษัท สยามราชธานี จํากัด
ชวงเวลา
ประวัติการทํางาน
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
รายงานประจำป 2560
4303
0244
6) นายชํานิ จันทรฉาย กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทน
ชื่อ - นามสกุล ตําแหนง
61
อายุ (ป)
รายงานประจำป 2560
สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - DAP: Directors Accreditation Program 30/2004 - Role of the Chairman Program 21/2009
- ปริญญาบัญชีบัณฑิตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารศาสตรสาธารณะ สถาบันพระปกเกลา
คุณวุฒิการศึกษา / การฝกอบรม
- หุน / - %
(1)
สัดสวนการถือ หุนในบริษัท(%)
-
ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร
กรรมการอิสระ / กรรมการ ตรวจสอบ/กรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน กรรมการอิสระ / ประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการ ตรวจสอบ
ตําแหนง
บริษัท
บริษัท ชิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด คอนสตรัคชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท เอสทีพี แอนด ไอ จํากัด (มหาชน)
บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน)
จํานวน 3 แหง
2558-ปจจุบัน 2558-ปจจุบัน 2558-ปจจุบัน 2546-ปจจุบัน 2552-2558 2542-2558
บริษัท ชุมพร ไบโอฟูเอล จํากัด บริษัท เบตง ไบโอฟูเอล จํากัด บริษัท เบตง กรีน เพาเวอร จํากัด บริษัท ซีเจเอ็ม คอนซัลท จํากัด บมจ. แมกซ เมทัล คอรปอเรชั่น บริษัท ซี เจ มอรแกน จํากัด
บมจ. บีเอ็มพี เอ็นเนอรยี
2558-ปจจุบัน
กรรมการ / ประธาน กรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผูอํานวยการ ประธานกรรมการ กรรมการผูอํานวยการ
จํานวน 5 แหง
กิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน
การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษทั ที่เกี่ยวของ -ไมมี-
2542-ปจจุบัน
2542-ปจจุบัน
2559-ปจจุบัน
บริษัทจดทะเบียน
ชวงเวลา
ประวัติการทํางาน
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
47
51
8) นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร ผูจัดการทั่วไปสายบริหาร และ การเงิน เลขานุการบริษัท
อายุ (ป)
7) นางสาวปณิชา พงษศิวาภัย กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทน
ชื่อ - นามสกุล ตําแหนง
สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย - Fundamental Practice for Corporate Secretary (FPCS) รุนที่ 18/2551 - Strategic Financial Leadership Program (SFLP) : 2017 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Effective Minutes Taking (EMT) 39/2017
- บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยรามคําแหง - บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยรามคําแหง
- DCP: Director Certification Program 234/2017 - AACP: Advanced Audit Committee Program 26/2017 - Director Diploma Examination 58/2017
สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
- Master of Science, Finance, University of Colorado at Denver - บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการ คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
คุณวุฒิการศึกษา / การฝกอบรม
- หุน / - %
-
-
- หุน / - %
(1)
ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร
สัดสวนการถือ หุนในบริษัท(%)
ผูจัดการทัว่ ไปสายบริหาร และการเงิน ผูจัดการทัว่ ไปสายบริหาร และการเงิน
บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน)
บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน)
จํานวน 2 แหง
-ไมมี-
บจก.เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท บริษัท ไทยพับลิคพอรต จํากัด บริษัท ซุปเปอรเพียวแกส จํากัด บริษัท อารพีซี แมเนจเมนท จํากัด บริษัท โปรคิวบ เวนเจอร จํากัด
2558-ปจจุบัน 2558-ปจจุบัน 2557-ปจจุบัน 2557-ปจจุบัน 2559-ปจจุบัน
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
จํานวน 5 แหง
กิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน
การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษทั ที่เกี่ยวของ -ไมมี-
2557-ปจจุบัน
2556-ปจจุบัน
บริษัทจดทะเบียน
กิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน
การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษทั ที่เกี่ยวของ -ไมมี-
บริษัท ยูไนเต็ดฟูดส จํากัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย บัวหลวง จํากัด (มหาชน)
บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน)
กรรมการอิสระ / กรรมการ ตรวจสอบ/กรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน มิ.ย.2557-ปจจุบัน กรรมการบริหาร 2548-2557 ผูอํานวยการอาวุโส ผายวาณิชธนกิจ
2559-ปจจุบัน
บริษัท จํานวน 2 แหง
ตําแหนง
บริษัทจดทะเบียน
ชวงเวลา
ประวัติการทํางาน
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
รายงานประจำป 2560
4503
0246
รายงานประจำป 2560
49
อายุ (ป)
- วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย - ปริญญาตรี วทบ. สาขาเคมีวิศวกรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
คุณวุฒิการศึกษา / การฝกอบรม
(1)
หมายเหตุ นับรวมสวนของคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ
9) นางสาวกัลยา คลายทอง ผูจัดการทั่วไป สายพัฒนาธุรกิจ
ชื่อ - นามสกุล ตําแหนง - หุน / - %
(1)
สัดสวนการถือ หุนในบริษัท(%)
-
ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวางผูบริหาร
จํานวน 1 แหง
2551-2555
จํานวน 2 แหง
บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด บริษัท ไทยพับลิคพอรต จํากัด กรรมการ : บจก เอสซีที ปโตรเลียม, บจก.เพียว อินเตอรเทรด บจก.เพียวซิลิกา มายนิ่ง,บจก. จตุจักร ออยล, บจก.ทศทิศ โลจิสติกส บจก.อารพีซี แมเนจเมนท
กรรมการ กรรมการ
กิจการอื่นที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน 2560-ปจจุบัน 2558-ปจจุบัน
บริษัท
ผจก.ทั่วไปสายพัฒนาธุรกิจ บริษัท อารพีซีจี จํากัด (มหาชน) ผจก.ทั่วไปสํานักงานบริหาร ทรัพยสิน
ตําแหนง
การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษทั ที่เกี่ยวของ -ไมมี-
2560-ปจจุบัน 2559-2560
บริษัทจดทะเบียน
ชวงเวลา
ประวัติการทํางาน
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน)
บริษัท อาร อ พีซีจี จํากัด (มหาาชน) และบบริษัทยอย
งงบการเงิงิน สําหรั า บปสนิ้ สสุดวันที่ 31 ธันวาคม 22560 และะ รายงานขของผูส อบบบัญชีรับอนุนุญาต
บริษัท อาร์ พีซีจี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที 31 ธันวาคม 2560
หมายเหตุ สินทรัพย์ สิ นทรัพย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัวคราว ลูกหนีการค้าและลูกหนีอืน สิ นค้าคงเหลือ เงินให้กยู้ มื ระยะสันแก่กิจการทีเกียวข้องกัน เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการทีไม่เกียวข้องกัน ทีถึงกําหนดชําระภายในหนึงปี สิ นทรัพย์หมุนเวียนอืน รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน เงินฝากธนาคารทีมีภาระคําประกัน เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการทีเกียวข้องกัน เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการทีไม่เกียวข้องกัน เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนระยะยาวอืน ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มตี วั ตน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
งบการเงินรวม 2560 2559
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
6 7 8, 9 10 9
29,211,681 323,559,733 58,535,233 48,907,729 -
30,728,233 466,717,790 41,571,621 45,418,011 -
2,192,247 290,940,549 1,974,981 95,000,000
2,059,137 428,653,312 3,453,105 80,000,000
11 12
760,691 25,601,662 486,576,729
349,755 20,935,892 605,721,302
5,922,403 396,030,180
5,671,057 519,836,611
13 9 11 14 15 16 17 18 29 19
138,321,000 1,866,293 1,817,777,291 604,913,838 1,721,747 6,283,152 71,664,030 2,642,547,351 3,129,124,080
128,704,249 1,821,736,604 572,472,128 2,388,678 5,522,649 34,187,682 2,565,011,990 3,170,733,292
9,240,000 1,534,914,300 317,635,233 315,920,352 640,797 28,189,400 2,206,540,082 2,602,570,262
11,815,339 1,534,914,300 338,999,683 295,020,338 960,439 28,050,745 2,209,760,844 2,729,597,455
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึงของงบการเงินนี
บริษัท อาร์ พีซีจี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่ อ) ณ วันที 31 ธันวาคม 2560
หมายเหตุ หนีสิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนีสิ นหมุนเวียน เจ้าหนีการค้าและเจ้าหนีอืน เงินกูย้ มื ระยะสันจากกิจการทีไม่เกียวข้องกัน หนีสิ นตามสัญญาเช่าการเงินทีถึงกําหนด ชําระภายในหนึงปี หนีสิ นหมุนเวียนอืน รวมหนีสิ นหมุนเวียน หนีสิ นไม่ หมุนเวียน หนีสิ นตามสัญญาเช่าการเงิน หนีสิ นภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ประมาณการหนีสิ นสําหรับต้นทุนในการรื อถอน รวมหนีสิ นไม่ หมุนเวียน รวมหนีสิ น
งบการเงินรวม 2560 2559
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
9, 21 22
1,675,640,837 900,000
1,661,169,449 149,025,825
1,520,676,201 -
1,522,215,560 148,025,825
24
318,392 92,636,221 1,769,495,450
341,858 13,979,207 1,824,516,339
318,392 120,975 1,521,115,568
297,666 166,322 1,670,705,373
110,983 38,638,932 9,891,580 364,938 49,006,433 1,818,501,883
429,375 29,091,857 9,421,175 351,612 39,294,019 1,863,810,358
110,983 28,938,295 1,835,286 30,884,564 1,552,000,132
429,375 21,676,535 2,276,053 24,381,963 1,695,087,336
29 23
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึงของงบการเงินนี
บริษัท อาร์ พีซีจี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่ อ) ณ วันที 31 ธันวาคม 2560
หมายเหตุ ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรื อนหุ ้น ทุนจดทะเบียน หุ ้นสามัญ 1,304,664,125 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 1 บาท ทุนทีออกและชําระแล้ว หุ ้นสามัญ 1,304,664,125 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 1 บาท ส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ สามัญ กําไรสะสม จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฎหมาย 25 ยังไม่ได้จดั สรร (ขาดทุนสะสม) องค์ประกอบอืนของส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ฯ ส่ วนของผูม้ ีส่วนได้เสี ยทีไม่มีอาํ นาจควบคุมของบริ ษทั ย่อย รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น รวมหนีสิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึงของงบการเงินนี
กรรมการ
งบการเงินรวม 2560 2559
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
1,304,664,125
1,304,664,125
1,304,664,125
1,304,664,125
1,304,664,125 335,966,599
1,304,664,125 335,966,599
1,304,664,125 335,966,599
1,304,664,125 335,966,599
80,304,817 (581,251,544) 157,190,319 1,296,874,316 13,747,881 1,310,622,197 3,129,124,080
80,304,817 (544,576,881) 116,367,428 1,292,726,088 14,196,846 1,306,922,934 3,170,733,292
80,304,817 (786,118,590) 115,753,179 1,050,570,130 1,050,570,130 2,602,570,262
80,304,817 (773,131,561) 86,706,139 1,034,510,119 1,034,510,119 2,729,597,455
บริษทั อาร์ พซี ีจี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกําไรขาดทุน สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
งบการเงินรวม การดําเนินงานต่ อเนือง รายได้ รายได้จากการขาย รายได้จากการให้บริ การ รายได้อนื รวมรายได้ ค่ าใช้ จ่าย ต้นทุนขาย ต้นทุนการให้บริ การ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ขาดทุนจากการด้อยค่าของอาคารและอุปกรณ์ (โอนกลับ) ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย รวมค่ าใช้ จ่าย กําไร (ขาดทุน) ก่อนส่ วนแบ่ งกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่ วม ค่ าใช้ จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้ ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม กําไร (ขาดทุน) ก่อนค่ าใช้ จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กําไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้ กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี จากการดําเนินงานต่ อเนือง การดําเนินงานทียกเลิก ขาดทุนสําหรับปี จากการดําเนินงานทียกเลิก กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี
หมายเหตุ
27
14
29
30
การแบ่ งปันกําไร (ขาดทุน) ส่วนทีเป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริ ษทั ฯ ส่วนทีเป็ นของผูม้ สี ่วนได้เสียทีไม่มอี าํ นาจควบคุมของบริ ษทั ย่อย
กําไรต่ อหุ้นขันพืนฐาน กําไร (ขาดทุน) ส่วนทีเป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริ ษทั ฯ จํานวนหุ น้ สามัญถัวเฉลียถ่วงนําหนัก (หุน้ ) หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึงของงบการเงินนี
2560
2559
2,387,263,497 50,825,080 19,566,914 2,457,655,491
2,210,242,464 44,464,850 79,909,027 2,334,616,341
60,732,725 60,732,725
199,749,197 199,749,197
2,222,421,715 30,956,736 62,252,935 203,776,650 3,901,791 2,523,309,827
2,027,474,532 25,508,964 66,220,841 223,848,015 101,484,576 2,444,536,928
37,446,246 21,364,450 58,810,696
48,108,681 (223,440) 81,605,240 129,490,481
(65,654,336) 43,815,971 (21,838,365) (3,177,905) (25,016,270) 760,503 (24,255,767)
(109,920,587) 60,292,491 (49,628,096) (11,490,741) (61,118,837) (783,119) (61,901,956)
1,922,029 1,922,029 (2,041,197) (119,168) (119,168)
70,258,716 70,258,716 (10,638,334) 59,620,382 59,620,382
(12,867,861) (37,123,628)
(8,141,249) (70,043,205)
(12,867,861) (12,987,029)
(8,141,249) 51,479,133
(36,674,663) (448,965) (37,123,628)
(69,239,813) (803,392) (70,043,205)
(12,987,029)
51,479,133
(0.03)
(0.05)
(0.01)
0.04
1,304,664,125
1,304,664,125
1,304,664,125
1,304,664,125
31
บริษทั อาร์ พซี ีจี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2560 (หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
งบการเงินรวม หมายเหตุ กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี
2560
2559
(37,123,628)
(70,043,205)
(12,987,029)
51,479,133
ส่วนแบ่งกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืนในบริ ษทั ร่ วม 14 รายการทีจะไม่ถกู บันทึกในส่วนของกําไรหรื อขาดทุนในภายหลัง - สุทธิจากภาษีเงินได้
47,735,374 (9,547,074) 38,188,300 2,634,591
-
36,308,800 (7,261,760) 29,047,040 -
-
40,822,891
-
29,047,040
-
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืนสําหรับปี
40,822,891
-
29,047,040
-
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี
3,699,263
(70,043,205)
16,060,011
51,479,133
4,148,228 (448,965) 3,699,263
(69,239,813) (803,392) (70,043,205)
16,060,011
51,479,133
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน: รายการทีจะไม่ ถกู บันทึกในส่ วนของกําไรหรื อขาดทุนในภายหลัง การเปลียนแปลงในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ 26 หัก: ผลกระทบของภาษีเงินได้ 26, 29
การแบ่ งปันกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนทีเป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริ ษทั ฯ ส่วนทีเป็ นของผูม้ สี ่วนได้เสียทีไม่มอี าํ นาจควบคุมของบริ ษทั ย่อย
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึงของงบการเงินนี
บริษทั อาร์ พซี ีจี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2560 งบการเงินรวม 2560 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้จากการดําเนินงานต่อเนือง ขาดทุนก่อนภาษีเงินได้จากการดําเนินงานทียกเลิก กําไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับกระทบยอดกําไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ เป็ นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดําเนินงาน: ค่าเสือมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าเผือหนีสงสัยจะสูญ (โอนกลับ) การปรับลดราคาทุนของสินค้าคงเหลือให้เป็ นมูลค่าสุทธิทจะได้ ี รบั กําไรจากการขายเงินลงทุนชัวคราว ขาดทุน (กําไร) จากการเปลียนแปลงมูลค่าเงินลงทุนชัวคราว ขาดทุนจากการจําหน่ายอุปกรณ์ กลับรายการค่าเผือการด้อยค่าอุปกรณ์เนืองจากจําหน่าย/ตัดจําหน่าย ขาดทุนจากการด้อยค่าของอาคารและอุปกรณ์ สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน (โอนกลับ) ประมาณการหนีสินสําหรับต้นทุนในการรื อถอน ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ตัดจําหน่ายเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินปันผลรับจากบริ ษทั ร่ วม ดอกเบียรับ ค่าใช้จ่ายดอกเบีย ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานก่อนการเปลียนแปลงใน สินทรัพย์และหนีสินดําเนินงาน สินทรัพย์ดาํ เนินงาน (เพิมขึน) ลดลง ลูกหนีการค้าและลูกหนีอืน สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอืน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึงของงบการเงินนี
2559
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
(25,016,270) (12,867,861) (37,884,131)
(61,118,837) (8,141,249) (69,260,086)
(119,168) (12,867,861) (12,987,029)
59,620,382 (8,141,249) 51,479,133
48,410,461 (87,848) 1,478,542 (4,055,414) 898,594 1,358,883 (1,770,337) 5,041,821 815,819 13,326 (3,538,646) 1,543,162 (43,815,971)
54,712,480 1,559,500 4,476,785 (2,941,957) (1,267,929) 5,757,040 (5,846,004) 106,187,633 447,007 (14,110,728) (2,522,158) 8,320,665 (60,292,491)
12,977,646 (3,287,815) 461,875 2,227,339 (1,770,337) 1,140,030 (95,353) 21,364,450 (50,409,875) (4,837,043) 1,338,973 -
2,960,609 2,775,507 (2,586,128) (1,004,562) 5,738,049 (5,846,004) 4,479,618 (417,916) 81,605,240 123,939 (31,468,868) (112,880,062) (4,361,913) 8,287,259 -
(31,591,739)
25,219,757
(33,877,139)
(1,116,099)
(16,817,941) (4,968,260) (4,665,770) (33,546,144)
(2,971,497) (1,951,490) 41,461,729 6,332,288
1,465,406 (251,346) 7,400
(741,451) 1,259,699 (4,900)
บริษทั อาร์ พซี ีจี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด (ต่ อ) สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2560 งบการเงินรวม 2560 หนีสินดําเนินงานเพิมขึน (ลดลง) เจ้าหนีการค้าและเจ้าหนีอืน จ่ายผลประโยชน์เมือเลิกจ้าง หนีสินหมุนเวียนอืน หนีสินไม่หมุนเวียนอืน หนีสินทีเกียวข้องโดยตรงกับสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถือไว้เพือขาย เงินสดจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน จ่ายดอกเบีย เงินสดรับจากการขอคืนภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากธนาคารทีมีภาระคําประกันลดลง (เพิมขึน) รับดอกเบีย เงินปันผลรับจากบริ ษทั ร่ วม เงินสดจ่ายเพือซือเงินลงทุนชัวคราว เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนชัวคราว เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินให้กยู้ มื ระยะสันแก่กิจการทีเกียวข้องกันเพิมขึน เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กิจการทีไม่เกียวข้องกัน (เพิมขึน) ลดลง เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์ เงินสดรับจากการขายสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน ซืออุปกรณ์ ซือสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน เงินสดสุ ทธิจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกูย้ มื ระยะสันจากกิจการทีไม่เกียวข้องกันลดลง ชําระคืนหนีสินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิมขึน (ลดลง) สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันปลายปี หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึงของงบการเงินนี
2559
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
14,471,964 (345,414) 78,657,014 1,193,710 (1,543,738) (3,930,203) (4,280,231)
8,990,893 (525,000) 514,270 12,839 (40,000,000) 37,083,789 (14,349,591) 4,350,479 (8,112,433) 18,972,244
(1,539,359) (345,414) (45,347) (34,585,799) (1,338,973) (146,055) (36,070,827)
901,345 (199,710) (40,000,000) (39,901,116) (14,314,656) (226,402) (54,442,174)
(9,616,751) 3,480,823 50,409,875 (1,104,844,909) 1,251,159,786 (2,277,229) 2,570,043 16,670 (39,480,946) (186,000) 151,231,362
103,959,643 3,060,950 112,880,062 (1,750,310,001) 1,420,981,098 160,649,860 581,511 1,241,185 (32,133,494) (3,204) 20,907,610
2,575,339 4,849,761 50,409,875 (660,624,300) 801,163,003 (15,000,000) 1,211,700 (57,950) 184,527,428
140,984,661 5,045,828 112,880,062 (926,500,000) 607,363,714 160,649,860 954,394 (453,249) 100,925,270
(148,125,825) (341,858) (148,467,683) (1,516,552) 30,728,233 29,211,681
(52,164,175) (1,460,579) (53,624,754) (13,744,900) 44,473,133 30,728,233
(148,025,825) (297,666) (148,323,491) 133,110 2,059,137 2,192,247
(51,974,175) (1,279,760) (53,253,935) (6,770,839) 8,829,976 2,059,137
บริษทั อาร์ พซี ีจี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบกระแสเงินสด (ต่ อ) สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2560
2560
2559
(หน่วย: บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
47,735,374 2,634,591
71,441,507 -
36,308,800 -
งบการเงินรวม ข้ อมูลกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิมเติม: รายการทีมิใช่เงินสด โอนสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถือไว้เพือขายเป็ นอาคาร ส่วนปรับปรุ งอาคาร เครื องจักรและอุปกรณ์ ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ (หมายเหตุ 26) ส่วนแบ่งกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืนในบริ ษทั ร่ วม หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึงของงบการเงินนี
71,441,507 -
1,304,664,125 1,304,664,125
ยอดคงเหลือ ณ วันที 1 มกราคม 2559 ขาดทุนสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอืนสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2559
ยอดคงเหลือ ณ วันที 1 มกราคม 2560 ขาดทุนสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอืนสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2560
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึงของงบการเงินนี
ทุนเรื อนหุ น้ ทีออกและชําระแล้ว 1,304,664,125 1,304,664,125
งบแสดงการเปลียนแปลงส่ วนของผู้ถอื หุ้น สํ าหรับปี สินสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2560
บริษทั อาร์ พซี ีจี จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย
335,966,599 335,966,599
ส่ วนเกินมูลค่า หุ น้ สามัญ 335,966,599 335,966,599 80,304,817 80,304,817
จัดสรรแล้ว สํารองตามกฎหมาย 80,304,817 80,304,817 (544,576,881) (36,674,663) (36,674,663) (581,251,544)
ยังไม่ได้จดั สรร (ขาดทุนสะสม) (475,337,068) (69,239,813) (69,239,813) (544,576,881)
กําไรสะสม
116,367,428 38,188,300 38,188,300 154,555,728
2,634,591 2,634,591 2,634,591
116,367,428 40,822,891 40,822,891 157,190,319
องค์ประกอบอืนของส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ส่ วนเกินทุน ส่ วนแบ่งกําไรขาดทุน รวมองค์ประกอบ จากการ เบ็ดเสร็ จอืนใน อืนของส่ วน ตีราคาสิ นทรัพย์ บริ ษทั ร่ วม ของผูถ้ ือหุ น้ 116,367,428 116,367,428 116,367,428 116,367,428
ส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ฯ
งบการเงินรวม
1,292,726,088 (36,674,663) 40,822,891 4,148,228 1,296,874,316
14,196,846 (448,965) (448,965) 13,747,881
ส่ วนของ รวม ผูม้ ีส่วนได้เสี ยที ส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ไม่มีอาํ นาจควบคุม ของบริ ษทั ฯ ของบริ ษทั ย่อย 1,361,965,901 15,000,238 (69,239,813) (803,392) (69,239,813) (803,392) 1,292,726,088 14,196,846
1,306,922,934 (37,123,628) 40,822,891 3,699,263 1,310,622,197
รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุ น้ 1,376,966,139 (70,043,205) (70,043,205) 1,306,922,934
(หน่วย: บาท)
1,304,664,125 1,304,664,125
ยอดคงเหลือ ณ วันที 1 มกราคม 2559 กําไรสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอืนสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2559
ยอดคงเหลือ ณ วันที 1 มกราคม 2560 ขาดทุนสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอืนสําหรับปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2560
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึงของงบการเงินนี
ทุนเรื อนหุ ้น ทีออกและชําระแล้ว 1,304,664,125 1,304,664,125
บริษัท อาร์ พีซีจี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงการเปลียนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น (ต่ อ) สํ าหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2560
335,966,599 335,966,599
ส่ วนเกินมูลค่า หุ น้ สามัญ 335,966,599 335,966,599 80,304,817 80,304,817
(773,131,561) (12,987,029) (12,987,029) (786,118,590)
86,706,139 29,047,040 29,047,040 115,753,179
86,706,139 29,047,040 29,047,040 115,753,179
งบการเงินเฉพาะกิจการ กําไรสะสม องค์ประกอบอืนของส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น จัดสรรแล้ว ยังไม่ได้จดั สรร ส่ วนเกินทุนจากการ รวมองค์ประกอบอืน สํารองตามกฎหมาย (ขาดทุนสะสม) ตีราคาสิ นทรัพย์ ของส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น 80,304,817 (824,610,694) 86,706,139 86,706,139 51,479,133 51,479,133 80,304,817 (773,131,561) 86,706,139 86,706,139
1,034,510,119 (12,987,029) 29,047,040 16,060,011 1,050,570,130
รวมส่ วนของ ผูถ้ ือหุน้ 983,030,986 51,479,133 51,479,133 1,034,510,119
(หน่วย: บาท)
บริษทั อาร์ พซี ีจี จํากัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สําหรับปี สินสุดวันที 31 ธันวาคม 2560 1.
ข้ อมูลทัวไป
1.1 ข้ อมูลทัวไปของบริษัทฯ บริ ษทั อาร์พซี ีจี จํากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ฯ”) เป็ นบริ ษทั มหาชนซึงจัดตังและมีภมู ลิ าํ เนาในประเทศไทย ธุ ร กิ จหลัก ของบริ ษัทฯคื อการจําหน่ ายนํ ามัน เชื อเพลิ ง ลงทุ น และถือ หุ ้น ในบริ ษ ัท อืน เมื อวัน ที 16 พฤศจิ ก ายน 2560 บริ ษ ทั ฯได้จ ดทะเบี ย นเปลี ยนแปลงชื ออาคารสํา นัก งานใหญ่ ก ับ กระทรวง พาณิ ชย์จ ากเลขที 86/2 อาคารเพี ย วเพลสรามคําแหง ชัน 3 ถนนรามคําแหง แขวงสะพานสู ง เขตสะพานสู ง กรุ งเทพ มหานคร เป็ นเลขที 86/2 อาค ารสั ม มากรเพลส ถนนราม คํา แหง แขวงสะพานสู ง เขตสะพานสู ง กรุ งเทพมหานคร สาขาซึ งเป็ นที ตั งโรงงานตังอยู่ที เลขที 7/3 ถนนปกรณ์สงเคราะห์ราษฎร์ ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของบริ ษทั ฯ ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 คือ บริ ษทั เพทโทร-อินสตรู เมนท์ จํากัด โดยถือหุ น้ ในอัตราร้อยละ 19.72 ของทุนทีออกและชําระแล้วของบริ ษทั ฯ 1.2 ข้ อสมมติฐานทางการบัญชี ตามทีกล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 34.5 ก) ตังแต่ปี 2552 บริ ษทั ฯมีขอ้ พิพาททางการค้า และคดี ฟ้องร้องทีสําคัญกับผูข้ ายวัต ถุดิบรายหลักของบริ ษ ัทฯ ซึ งได้หยุดส่ งวัตถุดิ บให้แก่บริ ษทั ฯ ตังแต่ เดื อ นกุ ม ภาพัน ธ์ 2555 ทําให้ บริ ษ ัทฯต้องหยุดการผลิตเพราะไม่สามารถจัดหาวัต ถุดิบ หลัก ดังกล่าวจากผูข้ ายรายอืน บริ ษ ัทย่อยบางบริ ษ ัททีดําเนิ นธุรกิจเกียวเนื องกับบริ ษ ัทฯต้องหยุดดําเนิ น กิ จ การ และเมื อวัน ที 20 เมษายน 2558 ที ประชุ ม สามัญ ผูถ้ ื อหุ ้ น ประจําปี 2558 ได้มี มติ อนุ ม ตั ิ ใ ห้ บริ ษ ทั ฯหยุด ประกอบกิ จ การโรงกลันนํามัน ที จังหวัด ระยองอย่างถาวร กลุ่มบริ ษ ัทฯจึ งมีข าดทุ น จากการดําเนิ น งาน ธุ ร กิ จ โรงกลันตั งแต่ ห ยุด การผลิ ต ในปี 2555 ต่ อ มาในเดื อ นมี น าคม 2559 คณะอนุ ญาโตตุลาการเสี ยงข้างมากได้มีคาํ ชี ขาดให้ผขู ้ ายวัตถุดิบรายหลักดังกล่าว (คู่พิพาท) ชําระ ค่าเสี ยหายจากการบอกเลิกสัญญากับบริ ษทั ฯโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย และให้บริ ษทั ฯได้รับชดเชย ค่าเสี ยหายจํานวนหนึ ง ซึงบริ ษ ทั ฯสามารถยืนคําร้องต่อศาลแพ่งเพือให้ศาลทําการบังคับตามคําชี ขาด ของคณะอนุ ญ าโตตุ ลาการภายในสามปี นับ ตังแต่วนั ที อาจบังคับตามคําชี ขาดดังกล่าว และต่ อมา เมือวัน ที 30 มิถนุ ายน 2559 คู่ พิพาทได้ยืนคําร้องขอเพิกถอนคําชี ขาดดังกล่าวต่อศาลแพ่ง และเมือ วันที 23 กันยายน 2559 บริ ษทั ฯได้ยืนคําร้องต่อศาลแพ่งเพือคัดค้านคําร้องขอเพิกถอนคําชีขาดของ คณะอนุ ญ าโตตุ ลาการที คู่ พิพ าทยืนต่ อศาลแพ่ง ต่อมา เมื อวันที 16 ธัน วาคม 2559 บริ ษ ัทฯได้ยืน คําร้องต่อศาลแพ่งขอให้มกี ารบังคับตามคําชีขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการข้างต้น และคูพ่ พิ าทได้รับ สําเนาคําร้ องขอให้มี ก ารบังคับคดี ต ามคําชี ขาดของคณะอนุ ญ าโตตุ ลาการแล้ว แม้ว่าในปั จจุ บัน ความไม่แน่ น อนที มีสาระสําคัญ บางประการทีอาจมีผลกระทบอย่างมีนัย สําคัญต่ อความสามารถ 1
ในการดําเนิ น งานต่อเนื องของกลุ่มบริ ษ ัทฯจากการหยุดธุร กรรมโรงกลันดังกล่าวลดลงเนื องจาก แผนงานของฝ่ ายบริ หาร อย่ า งไรก็ ต าม กลุ่ ม บริ ษัท ฯยังคงมี ข าดทุ น จากการดํา เนิ น งาน และ ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั ฯมีหนี สิ นหมุนเวียนสูงกว่าสินทรัพย์หมุนเวียนเป็ นจํานวนเงิน 1,283 ล้านบาท (2559: 1,219 ล้านบาท) ซึ งหนี สินหมุนเวียนดังกล่าวได้รวมหนี สิ นทียังเป็ นข้อพิพาท ทางการค้าและคดีฟอ้ งร้องกับผูข้ ายวัตถุดบิ รายหลักของบริ ษทั ฯ ซึงในเดือนพฤษภาคม 2560 บริ ษทั ฯ ได้รับสําเนาคําชี ขาดของคณะอนุ ญาโตตุลาการลงวันที 27 เมษายน 2560 โดยคณะอนุญาโตตุลาการ มีค าํ ชี ขาดให้บริ ษทั ฯต้องชําระค่าวัตถุดิบคอนเดนเสทเรสซิดิวงวดสุ ดท้ายแก่ผูข้ ายวัตถุดิบรายหลัก ดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯไม่เห็นด้วยกับคําชีขาดดังกล่าว และในเดือนกรกฎาคม 2560 บริ ษทั ฯ ใช้สิ ทธิ ต ามกฎหมายในการยืนคําร้ องขอให้ศ าลแพ่ งมี ค ําพิ พ ากษาเพิ ก ถอนคําชี ขาดของคณะ อนุญาโตตุลาการดังกล่าว ปัจจัยดังกล่าวแสดงให้เห็นว่ามีความไม่แน่นอนทีมีสาระสําคัญบางประการ ทีอาจเป็ นเหตุให้เกิดข้อสงสัย อย่างมีนัยสําคัญเกียวกับความสามารถในการดําเนิ น งานต่อเนื องของ กลุ่มบริ ษัทฯหากผลของคดี ความดังกล่าวไม่เป็ นประโยชน์ต่ อบริ ษัทฯ อย่างไรก็ตาม ณ ปั จจุ บนั ผลของข้ อ พิ พ าททางการค้ า และคดี ฟ้ อ งร้ อ งดั ง กล่ า วยัง ไม่ ส ามารถระบุ ได้ แ ละขึ นอยู่ ก ั บ กระบวนการยุติธรรมในอนาคต ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ฯมีแผนการปรับปรุ งการดําเนินงานโดยการปรับโครงสร้างกิจการของบริ ษทั ฯ เพื อที จะดําเนิ น ธุ ร กิ จ ทางด้านลงทุ น และถื อหุ ้น ในบริ ษ ทั อื นเป็ นหลัก (holding company) ซึ งฝ่ าย บริ หารของบริ ษทั ฯเชือว่าจะแก้ปัญหาได้ แผนการลงทุนของบริ ษทั ฯสามารถสรุ ปได้ดงั นี ก)
ในระหว่างปี 2557 บริ ษทั ฯได้ซือหุน้ สามัญจํานวนเงิน 900 ล้านบาทของบริ ษทั ไทยพับลิคพอร์ต จํากัด ซึงดําเนินธุรกิจหลักในการให้เช่าคลังนํามันและกิจการท่าเรื อ
ข)
ในระหว่างปี 2558 บริ ษ ทั ฯได้ซือหุ ้นสามัญของบริ ษ ัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) (SAMCO) ซึงเป็ นบริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั ฯเพิม ทําให้สดั ส่ วนการถือหุ ้นของบริ ษทั ฯใน SAMCO เพิมขึ น จากเดิมร้อยละ 25.25 เป็ นร้อยละ 48.25 SAMCO ดําเนินธุรกิจหลักในการพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์
นอกจากนี บริ ษทั ฯอยูร่ ะหว่างการแสวงหาผูร้ ่ วมทุนและแนวทางในการดําเนินธุรกิจอืน ๆ จากเหตุผล ดังกล่าว งบการเงินนี จึงยังคงจัดทําขึนภายใต้ขอ้ สมมติฐานการดําเนินงานอย่างต่อเนืองของกิจการ 2.
เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงิน
2.1 งบการเงินนี จัดทําขึ นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีกําหนดในพระราชบัญญัติวชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงินตามข้อกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าลงวันที 11 ตุลาคม 2559 ออกตามความในพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็ นงบการเงินฉบับทีบริ ษทั ฯใช้เป็ นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับ ภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี งบการเงิ น นี ได้จ ัด ทําขึ นโดยใช้เกณฑ์ร าคาทุ น เดิ มเว้น แต่ จ ะได้เปิ ดเผยเป็ นอย่างอื นในนโยบาย การบัญชี 2
2.2 เกณฑ์ในการจัดทํางบการเงินรวม ก)
งบการเงิ น รวมนี ได้จ ัด ทํา ขึ นโดยรวมงบการเงิ น ของบริ ษัท อาร์ พี ซี จี จํากัด (มหาชน) (ซึงต่อไปนี เรี ยกว่า “บริ ษทั ฯ”) และบริ ษทั ย่อย (ซึงต่อไปนี เรี ยกว่า “บริ ษทั ย่อย”) ดังต่อไปนี ชือบริ ษทั
ลักษณะธุ รกิจ
ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ นํามันไบโอ ดีเซล (B100) และกลีเซอรี นดิบ บริ ษทั เพียวพลังงานไทย จํากัดและบริ ษทั ย่อย จําหน่ายนํามันเชือเพลิงและแก๊ส บริ ษทั อาร์พีซี แมเนจเมนท์ จํากัด* บริ หารจัดการระบบงาน * ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ได้หยุดดําเนินธุ รกิจแล้ว บริ ษทั เพียวไบโอดีเซล จํากัด*
จัดตังขึน ในประเทศ
ไทย ไทย ไทย
อัตราร้อยละ ของการถือหุน้ 2560 2559 ร้อยละ ร้อยละ 100 100 100
100 100 100
ข)
บริ ษทั ฯจะถือว่ามีการควบคุมกิจการทีเข้าไปลงทุนหรื อบริ ษ ทั ย่อยได้ หากบริ ษทั ฯมีสิทธิได้รับ หรื อมีส่วนได้เสียในผลตอบแทนของกิจการทีเข้าไปลงทุน และสามารถใช้อาํ นาจในการสังการ กิจกรรมทีส่งผลกระทบอย่างมีนยั สําคัญต่อจํานวนเงินผลตอบแทนนันได้
ค)
บริ ษ ัทฯนํางบการเงิน ของบริ ษทั ย่อยมารวมในการจัด ทํางบการเงิ น รวมตังแต่ วนั ที บริ ษัทฯ มีอาํ นาจในการควบคุมบริ ษทั ย่อยจนถึงวันทีบริ ษทั ฯสิ นสุดการควบคุมบริ ษทั ย่อยนัน
ง)
งบการเงิ น ของบริ ษัท ย่อ ยได้จ ัด ทําขึ นโดยใช้น โยบายการบัญ ชี ที สํา คัญ เช่ น เดี ย วกัน กับ ของบริ ษทั ฯ
จ)
สินทรัพย์และหนี สินตามงบการเงินของบริ ษทั ย่อยซึงจัดตังในต่างประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาท โดยใช้อตั ราแลกเปลียน ณ วันสิ นรอบระยะเวลารายงาน ส่วนรายได้และค่าใช้จา่ ยแปลงค่าเป็ น เงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลียนถัวเฉลียรายเดือน ผลต่างซึงเกิดขึ นจากการแปลงค่าดังกล่าว ได้แ สดงไว้เป็ นรายการ “ผลต่ า งจากการแปลงค่ า งบการเงิ น ที เป็ นเงิ น ตราต่ างประเทศ” ในงบแสดงการเปลียนแปลงส่วนของผูถ้ อื หุ น้
ฉ)
ยอดคงค้างระหว่างบริ ษ ทั ฯและบริ ษ ทั ย่อย รายการค้าระหว่างกันทีมีสาระสําคัญได้ถูกตัดออก จากงบการเงินรวมนี แล้ว
ช)
ส่วนของผูม้ ีส่วนได้เสี ยทีไม่มีอาํ นาจควบคุม คือ จํานวนกําไรหรื อขาดทุนและสิ นทรัพย์สุทธิ ของบริ ษทั ย่อยส่ วนที ไม่ได้เป็ นของบริ ษ ัทฯ และแสดงเป็ นรายการแยกต่างหากในงบกําไร ขาดทุนรวมและส่วนของผูถ้ ือหุน้ ในงบแสดงฐานะการเงินรวม
2.3 บริ ษทั ฯจัดทํางบการเงินเฉพาะกิจการโดยแสดงเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมตามวิธีราคาทุน
3
3.
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ ก) มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีเริมมีผลบังคับใช้ ในปี ปัจจุบัน ในระหว่า งปี บริ ษ ัทฯและบริ ษ ัทย่อยได้นํามาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการตี ความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับปรับ ปรุ ง (ปรับ ปรุ ง 2559) รวมถึงแนวปฏิบัติทางบัญชี ฉบับ ใหม่ ซึ งมีผลบังคับ ใช้สําหรับ งบการเงิ น ที มีร อบระยะเวลาบัญ ชี ที เริ มในหรื อหลังวัน ที 1 มกราคม 2560 มาถือปฏิบตั ิ มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวได้รับการปรับปรุ งหรื อ จัด ให้ มี ขึ นเพื อให้มี เนื อหาเท่ าเที ย มกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็ นการปรับปรุ งถ้อยคําและคําศัพท์ การตีความและการให้แนวปฏิบตั ทิ างการบัญชี กับผูใ้ ช้มาตรฐาน การนํามาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกล่าวมาถือปฏิบตั ินีไม่มีผลกระทบ อย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบการเงินของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีจะมีผลบังคับในอนาคต ในระหว่างปี ปั จจุ บัน สภาวิชาชี พบัญ ชี ได้ประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นและ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุ ง (ปรับปรุ ง 2560) จํานวนหลายฉบับ ซึงมีผลบังคับใช้สาํ หรับงบการเงินทีมีรอบระยะเวลาบัญชีทีเริ มในหรื อหลังวันที 1 มกราคม 2561 มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นดังกล่าวได้รับการปรั บปรุ งหรื อจัดให้มีขึ นเพือให้มีเนื อหา เท่าเที ยมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่ วนใหญ่เป็ นการปรับปรุ ง และอธิบายให้ชดั เจนเกียวกับการเปิ ดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ฝ่ ายบริ หารของบริ ษัทฯและบริ ษัทย่อยเชื อว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรั บปรุ ง จะไม่มผี ลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบการเงินเมือนํามาถือปฏิบตั ิ
4.
นโยบายการบัญชีทีสําคัญ
4.1 การรับรู้รายได้ ขายสินค้ า รายได้จากการขายสิ นค้ารับรู ้เมือกลุ่มบริ ษ ัทฯได้โอนความเสี ยงและผลตอบแทนทีมีนัยสําคัญของ ความเป็ นเจ้าของสิ นค้าให้กบั ผูซ้ ื อแล้ว รายได้จากการขายแสดงมูลค่าตามราคาในใบกํากับสินค้าโดย ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม สําหรับสินค้าทีได้ส่งมอบหลังจากหักส่วนลดแล้ว รายได้ ค่าบริ การก่ อสร้ าง รายได้ค่ า บริ การก่ อ สร้ า งรั บ รู ้ เมื อได้ ใ ห้ บ ริ การแล้ว โดยพิ จ ารณาถึ ง ขั นความสํ า เร็ จ ของงาน ขันความสําเร็ จของงานก่ อสร้ างคํานวณโดยการเปรี ยบเที ยบต้นทุ น งานก่ อสร้ างที เกิ ด ขึ นจนถึ ง วันสิ นงวดกับต้นทุน งานก่อสร้างทังหมดทีคาดว่าจะใช้ในการก่อสร้างตามสัญญาโดยจะตังสํารอง เผือผลขาดทุนสําหรับโครงการก่อสร้างทังจํานวนเมือทราบแน่ชดั ว่าโครงการก่อสร้างนันจะประสบ ผลขาดทุน 4
รายได้ ค่าเช่ าและบริ การ รายได้คา่ เช่าและบริ การรับรู ้ตามวิธเี ส้นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า รายได้ ค่าบริ หารจัดการ รายได้ค่าบริ หารจัดการรับรู ้เป็ นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างตามเงือนไขและข้อตกลงทีระบุในสัญญา ทีเกียวข้อง ดอกเบียรั บ ดอกเบี ยรับถือเป็ นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนทีแท้จริ ง เงินปั นผลรั บ เงินปันผลรับถือเป็ นรายได้เมือบริ ษทั ฯมีสิทธิในการรับเงินปันผล 4.2 เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสันทีมี สภาพคล่ อ งสู ง ซึ งถึ งกํา หนดจ่ า ยคื น ภายในระยะเวลาไม่ เกิ น 3 เดื อ นนับ จากวัน ที ได้ม าและไม่ มี ข้อจํากัดในการเบิกใช้ 4.3 ลูกหนีการค้า ลูกหนี การค้าแสดงมูลค่าตามจํานวนมูลค่าสุทธิทีจะได้รับ กลุ่มบริ ษทั ฯบันทึกค่าเผือหนี สงสัยจะสู ญ สําหรับผลขาดทุนโดยประมาณทีอาจเกิดขึ นจากการเก็บเงินจากลูกหนี ไม่ได้ ซึงโดยทัวไปพิจารณา จากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี 4.4 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงมูลค่าตามราคาทุนถัวเฉลียหรื อมูลค่าสุทธิทีจะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะตํากว่า 4.5 เงินลงทุน ก)
เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพือค้าแสดงตามมูลค่ายุติธรรม การเปลียนแปลงในมูลค่ายุตธิ รรมของ หลักทรัพย์บนั ทึกในงบกําไรขาดทุน
ข)
เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมทีแสดงอยู่ในงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสีย
ค)
เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมทีแสดงอยูใ่ นงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธี ราคาทุน
มูลค่ายุติธรรมของหน่วยลงทุนคํานวณจากมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของหน่วยลงทุน กลุ่มบริ ษทั ฯใช้วิธีถวั เฉลียถ่วงนําหนักในการคํานวณต้นทุนของเงินลงทุน 5
เมือมีการจําหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างสิ งตอบแทนสุทธิทีได้รับกับมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุน จะถูกบันทึกในงบกําไรขาดทุน 4.6 ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื อมราคา ที ดิ น แสดงมู ลค่ าตามราคาที ตี ใ หม่ อาคารและอุ ปกรณ์ แสดงมู ลค่ าตามราคาทุ น /ราคาที ตี ใหม่ หักค่าเสือมราคาสะสม และค่าเผือการด้อยค่าของสินทรัพย์ (ถ้ามี) กลุ่มบริ ษทั ฯบันทึกมูลค่าเริ มแรกของทีดิน อาคารโรงงาน เครื องจักรและอุปกรณ์โรงงานในราคาทุน ณ วันทีได้สินทรัพย์มา หลังจากนันกลุ่มบริ ษทั ฯจัดให้มีการประเมินราคาโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระ และบันทึกสิ น ทรัพย์ดงั กล่าวในราคาที ตีใหม่ ทังนี กลุ่มบริ ษทั ฯจัดให้มีการประเมินราคาสิ น ทรัพย์ ดัง กล่ าวเป็ นครั งคราวเพือมิใ ห้ราคาตามบัญชี ณ วัน สิ นรอบระยะเวลารายงานแตกต่ างจากมูลค่า ยุติธรรมอย่างมีสาระสําคัญ กลุ่มบริ ษทั ฯบันทึกส่วนต่างซึงเกิดจากการตีราคาสินทรัพย์ดงั ต่อไปนี -
กลุ่มบริ ษทั ฯบันทึกราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ทีเพิ มขึนจากการตีราคาใหม่ในกําไรขาดทุน เบ็ ด เสร็ จ อื นและรั บ รู ้ จ ํา นวนสะสมในบัญ ชี “ส่ ว นเกิ น ทุ น จากการตี ร าคาสิ น ทรั พ ย์” ในองค์ประกอบอื นของส่ ว นของผูถ้ ือหุ ้น อย่างไรก็ต าม หากสิ น ทรัพย์นั นเคยมีการตีราคา ลดลงและกลุ่มบริ ษ ทั ฯได้รับรู ้ราคาทีลดลงในงบกําไรขาดทุนแล้ว ส่ วนทีเพิมจากการตีราคา ใหม่นีจะถูกรับรู ้เป็ นรายได้ไม่เกินจํานวนทีเคยลดลงซึงรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายปี ก่อนแล้ว
-
กลุ่มบริ ษทั ฯรับรู ้ราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์ทีลดลงจากการตีราคาใหม่ในงบกําไรขาดทุน อย่า งไรก็ ต าม หากสิ น ทรั พ ย์นั นเคยมี ก ารตี ร าคาเพิ มขึ นและยัง มี ย อดคงค้า งของบัญ ชี “ส่ วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์” อยูใ่ นองค์ประกอบอืนของส่ วนของผูถ้ อื หุ น้ ส่ วนที ลดลงจากการตี ร าคาใหม่ จ ะถู กรั บรู ้ ใ นกําไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ อื นในจํานวนที ไม่ เกิ น ยอด คงเหลือของบัญชี “ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์”
ค่าเสื อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ คาํ นวณจากราคาทุนหรื อราคาทีตีใหม่โดยวิธีเส้นตรงตามอายุ การให้ประโยชน์โดยประมาณดังนี ส่วนปรับปรุ งอาคาร อาคาร เครื องจักรและอุปกรณ์โรงงาน เครื องตกแต่ง ติดตังและเครื องใช้สาํ นักงาน ยานพาหนะ
5 - 30 ปี 20 - 40 ปี 5 - 20 ปี 3 - 5 ปี 5 ปี
ค่าเสือมราคารวมอยูใ่ นการคํานวณผลการดําเนินงาน ไม่มกี ารคิดค่าเสือมราคาสําหรับทีดินและงานระหว่างก่อสร้าง 6
กลุ่มบริ ษ ัทฯตัดรายการที ดิ น อาคารและอุป กรณ์ ออกจากบัญชี เมือจําหน่ ายสิ น ทรั พย์หรื อคาดว่า จะไม่ได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใช้หรื อการจําหน่ ายสินทรัพย์ รายการผลกําไร หรื อขาดทุ นจากการจําหน่ ายสิ น ทรั พย์ (ผลต่างระหว่างสิ งตอบแทนสุ ทธิทีได้รับจากการจําหน่ าย สินทรัพย์กบั มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์นน) ั จะรับรู ้ในงบกําไรขาดทุน เมือกลุ่มบริ ษทั ฯตัดรายการ สินทรัพย์นนออกจากบั ั ญชี 4.7 ต้นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกูย้ มื ของเงินกูท้ ีใช้ในการได้มา การก่อสร้าง หรื อการผลิตสินทรัพย์ทีต้องใช้ระยะเวลานาน ในการแปลงสภาพให้พร้อมใช้หรื อขาย ได้ถูกนําไปรวมเป็ นราคาทุนของสิน ทรัพย์จนกว่าสิน ทรัพย์ นันจะอยูใ่ นสภาพพร้อมทีจะใช้ได้ตามทีมุง่ ประสงค์ ส่วนต้นทุนการกูย้ มื อืนถือเป็ นค่าใช้จา่ ยในงวดที เกิดรายการ ต้นทุนการกูย้ ืมประกอบด้วยดอกเบียและต้นทุนอืนทีเกิดขึนจากการกูย้ ืมนัน 4.8 สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนและค่าตัดจําหน่ าย กลุ่มบริ ษ ทั ฯบันทึ กต้นทุ นเริ มแรกของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนตามราคาทุน ภายหลังการรับรู ้รายการ เริ มแรก สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ ายสะสมและค่าเผือการด้อยค่า สะสม (ถ้ามี) ของสินทรัพย์นนั กลุ่มบริ ษทั ฯตัดจําหน่ ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนทีมีอายุการให้ประโยชน์จาํ กัด อย่างมีระบบตลอดอายุ การให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิ จของสิ นทรัพย์นั น และจะประเมิน การด้อยค่าของสิ น ทรัพย์ดงั กล่าว เมือมีข้อบ่งชี ว่าสิ นทรัพย์นันเกิ ดการด้อ ยค่ า กลุ่มบริ ษทั ฯจะทบทวนระยะเวลาการตัดจําหน่ ายและ วิธีการตัดจําหน่ ายของสิ น ทรัพย์ไม่มีตวั ตนดังกล่าวทุ กสิ นปี เป็ นอย่างน้อย ค่าตัด จําหน่ ายรับรู ้เป็ น ค่าใช้จา่ ยในงบกําไรขาดทุน ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์มอี ายุการให้ประโยชน์ 5 และ 10 ปี 4.9 รายการธุรกิจกับบุคคลหรื อกิจการทีเกียวข้ องกัน บุคคลหรื อกิจการที เกี ยวข้องกันกับบริ ษทั ฯ หมายถึง บุค คลหรื อกิจ การทีมีอาํ นาจควบคุ มบริ ษทั ฯ หรื อถูกบริ ษทั ฯควบคุมไม่ว่าจะเป็ นโดยทางตรงหรื อทางอ้อม หรื ออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกันกับ บริ ษทั ฯ นอกจากนี บุคคลหรื อกิจการที เกียวข้องกันยังหมายรวมถึงบริ ษทั ร่ วมและบุ คคลทีมีสิทธิออกเสี ยง โดยทางตรงหรื อทางอ้อมซึ งทําให้มี อิ ทธิ พ ลอย่างเป็ นสาระสําคัญ ต่ อบริ ษัท ฯ ผูบ้ ริ หารสําคัญ กรรมการหรื อพนักงานของบริ ษทั ฯ ทีมีอาํ นาจในการวางแผนและควบคุมการดําเนินงานของบริ ษทั ฯ
7
4.10 สัญญาเช่ าระยะยาว สัญญาเช่ าที ดิ น อาคารและอุ ป กรณ์ ทีความเสี ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่ ว นใหญ่ ได้โอนไปให้กบั ผูเ้ ช่าถือเป็ นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบัน ทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้ว ย มูลค่ ายุติ ธรรมของสิ น ทรั พย์ทีเช่ าหรื อมูลค่ าปั จ จุ บนั สุ ทธิ ข องจํานวนเงิ นที ต้องจ่ ายตามสัญ ญาเช่ า แล้วแต่ มูลค่ าใดจะตํากว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงิน จะบัน ทึก เป็ นหนี สิ น ระยะยาว ส่วนดอกเบียจ่ายจะบันทึกในงบกําไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ทีได้มาตาม สัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสือมราคาตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์ทีเช่า สัญ ญาเช่ า ที ดิ น อาคารและอุ ป กรณ์ ทีความเสี ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่ ว นใหญ่ ไม่ได้โอนไปให้ก บั ผูเ้ ช่าถือเป็ นสัญญาเช่าดําเนิ นงาน จํานวนเงินทีจ่ายตามสัญญาเช่าดําเนิ นงานรับรู ้ เป็ นค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า 4.11 เงินตราต่างประเทศ บริ ษทั ฯแสดงงบการเงิน รวมและงบการเงิน เฉพาะกิจ การเป็ นสกุลเงิน บาท ซึงเป็ นสกุลเงิน ที ใช้ใน การดําเนิ นงานของบริ ษทั ฯ รายการต่าง ๆ ของแต่ละกิจการทีรวมอยูใ่ นงบการเงินรวมวัดมูลค่าด้วย สกุลเงินทีใช้ในการดําเนินงานของแต่ละกิจการนัน รายการทีเป็ นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลียน ณ วันทีเกิดรายการ สิ นทรั พย์และหนี สิ น ทีเป็ นตัวเงิน ซึงอยู่ในสกุลเงิน ตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้ อัตราแลกเปลียน ณ วันสิ นรอบระยะเวลารายงาน กํา ไรและขาดทุ น ที เกิ ด จากการเปลี ยนแปลงในอัต ราแลกเปลี ยนได้ร วมอยู่ ใ นการคํา นวณ ผลการดําเนินงาน 4.12 การด้ อยค่าของสินทรัพย์ ทุ กวัน สิ นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริ ษ ัทฯจะทําการประเมิน การด้อยค่ าของที ดิ น อาคารและ อุป กรณ์ ห รื อ สิ น ทรั พ ย์ที ไม่ มี ต ัว ตนของบริ ษ ั ท ฯหากมี ข ้อ บ่ ง ชี ว่ าสิ น ทรั พ ย์ดังกล่ าวอาจด้อยค่ า กลุ่มบริ ษทั ฯรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าเมือมูลค่าทีคาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์มีมูลค่าตํากว่า มูลค่าตามบัญชีข องสิ นทรั พย์นัน ทังนี มูลค่าทีคาดว่าจะได้รับคืนหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุ น ในการขายของสินทรัพย์หรื อมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่า จากการใช้สินทรัพย์ กลุ่มบริ ษทั ฯประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตทีกิจการคาดว่าจะได้รับจาก สินทรัพย์และคํานวณคิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั โดยใช้อตั ราคิ ดลดก่อนภาษีทีสะท้อนถึงการประเมิน ความเสี ยงในสภาพตลาดปั จจุบนั ของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี ยงซึงเป็ นลักษณะเฉพาะของ สิ น ทรั พ ย์ที กําลัง พิ จ ารณาอยู่ ในการประเมิ น มู ล ค่ า ยุติ ธรรมหั ก ต้น ทุ น ในการขาย บริ ษัท ฯใช้ แบบจําลองการประเมินมูลค่ าที ดีทีสุ ดซึงเหมาะสมกับสิ น ทรัพย์ ซึงสะท้อนถึงจํานวนเงินทีกิจการ สามารถจะได้มาจากการจําหน่ายสินทรัพย์หกั ด้วยต้นทุนในการจําหน่าย โดยการจําหน่ายนันผูซ้ ือกับ ผูข้ ายมีความรอบรู ้ และเต็มใจในการแลกเปลียนและสามารถต่ อรองราคากัน ได้อย่างเป็ นอิสระ ในลักษณะของผูท้ ีไม่มีความเกียวข้องกัน 8
กลุ่มบริ ษทั ฯจะรับรู ้รายการขาดทุน จากการด้อยค่าในงบกําไรขาดทุน ยกเว้นในกรณี ที ทีดิน อาคาร และอุป กรณ์ ซึ งใช้วิธีก ารตี ร าคาใหม่ และได้บนั ทึ ก ส่ ว นเกิ น ทุ น จากการตี ร าคาใหม่ ไว้ใ นส่ ว นของ ผูถ้ อื หุ น้ ขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู ้ในส่วนของผูถ้ อื หุ น้ ไม่เกินไปกว่าส่ วนเกินทุนจากการตีราคา ทีเคยบันทึกไว้ 4.13 ผลประโยชน์ ของพนักงาน ผลประโยชน์ ระยะสันของพนักงาน กลุ่ ม บริ ษัท ฯรั บ รู ้ เงิ น เดื อ น ค่ า จ้าง โบนัส และเงิ น สมทบกองทุ น ประกัน สั งคมเป็ นค่ าใช้จ่ า ย เมือเกิดรายการ ผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริ ษ ัท ฯ บริ ษ ัท ย่อ ยและพนั ก งานได้ร่ ว มกัน จัด ตังกองทุ น สํารองเลี ยงชี พ ซึ งประกอบด้ว ยเงิ น ที พนักงานจ่ายสะสมและเงิน ที กลุ่มบริ ษทั ฯจ่ายสมทบให้เป็ นรายเดือน สิ นทรัพย์ของกองทุน สํารอง เลี ยงชี พ ได้แ ยกออกจากสิ น ทรัพ ย์ของกลุ่ม บริ ษ ั ทฯ เงิ น ที กลุ่มบริ ษ ัท ฯจ่ ายสมทบกองทุ น สํารอง เลียงชีพบันทึกเป็ นค่าใช้จา่ ยในปี ทีเกิดรายการ โครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงาน กลุ่มบริ ษ ทั ฯมีภาระสําหรับเงินชดเชยทีต้องจ่ายให้แก่พนักงานเมือออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึงกลุม่ บริ ษทั ฯถือว่าเงินชดเชยดังกล่าวเป็ นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานสําหรับพนักงาน กลุ่มบริ ษทั ฯคํานวณหนี สิ นตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานโดยใช้วธิ ีคดิ ลด แต่ละหน่วยทีประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผูเ้ ชียวชาญอิสระได้ทาํ การประเมิน ภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย ผลกําไรหรื อ ขาดทุ น จากการประมาณการตามหลัก คณิ ตศาสตร์ ป ระกัน ภัย สําหรั บ โครงการ ผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรู ้ทนั ทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอืน 4.14 ประมาณการหนีสิน กลุ่มบริ ษทั ฯจะบันทึกประมาณการหนี สิ น ไว้ในบัญชี เมือภาระผูก พันซึ งเป็ นผลมาจากเหตุก ารณ์ ในอดี ต ได้เกิ ด ขึ นแล้ว และมีค วามเป็ นไปได้ค่ อ นข้างแน่ น อนว่ ากลุ่ ม บริ ษัท ฯจะเสี ย ทรั พ ยากร เชิงเศรษฐกิจ ไปเพือปลดเปลืองภาระผูกพันนัน และกลุ่มบริ ษทั ฯสามารถประมาณมูลค่าภาระผูกพัน นันได้อย่างน่าเชือถือ
9
4.15 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน กลุ่มบริ ษทั ฯบันทึกภาษีเงินได้ปัจจุบนั ตามจํานวนทีคาดว่าจะจ่ายให้แก่หน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยคํานวณจากกําไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ทกํี าหนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี กลุ่มบริ ษทั ฯบันทึ กภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี ของผลแตกต่ างชัวคราวระหว่างราคาตามบัญชี ของ สินทรัพย์และหนี สิน ณ วันสิ นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสิ นทรัพย์และหนี สินทีเกียวข้องนัน โดยใช้อตั ราภาษีทีมีผลบังคับใช้ ณ วันสิ นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริ ษ ทั ฯรับรู ้หนี สินภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชัวคราวทีต้องเสี ยภาษี ทุกรายการ แต่รับรู ้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสาํ หรับผลแตกต่างชัวคราวทีใช้หักภาษี รวมทังผลขาดทุน ทางภาษีทียังไม่ได้ใช้ในจํานวนเท่าทีมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ทีกลุ่มบริ ษทั ฯจะมีกาํ ไรทางภาษี ในอนาคตเพีย งพอที จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่ างชัวคราวที ใช้หัก ภาษี และผลขาดทุ น ทางภาษี ทียังไม่ได้ใช้นนั กลุม่ บริ ษ ทั ฯจะทบทวนมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทุกสินรอบระยะเวลา รายงานและจะทําการปรับลดมูลค่าตามบัญชีดงั กล่าว หากมีความเป็ นไปได้คอ่ นข้างแน่วา่ กลุม่ บริ ษทั ฯ จะไม่มกี าํ ไรทางภาษีเพียงพอต่อการนําสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทงหมดหรื ั อบางส่วนมาใช้ ประโยชน์ กลุ่มบริ ษทั ฯจะบัน ทึ ก ภาษี เงิ น ได้ร อการตัด บัญ ชี โ ดยตรงไปยังส่ ว นของผูถ้ ือหุ ้นหากภาษี ทีเกิดขึ น เกียวข้องกับรายการทีได้บนั ทึกโดยตรงไปยังส่วนของผูถ้ อื หุ น้ 4.16 การวัดมูลค่ายุตธิ รรม มูลค่ายุติธรรม หมายถึง ราคาทีคาดว่าจะได้รับจากการขายสิ นทรัพย์หรื อเป็ นราคาทีจะต้องจ่ายเพือ โอนหนี สิ น ให้ผูอ้ ืนโดยรายการดังกล่าวเป็ นรายการทีเกิด ขึ นในสภาพปกติ ระหว่างผูซ้ ื อและผูข้ าย (ผูร้ ่ วมในตลาด) ณ วันทีวัดมูลค่า กลุ่มบริ ษ ทั ฯใช้ราคาเสนอซือขายในตลาดทีมีสภาพคล่องในการวัด มูลค่ายุติธรรมของสิ น ทรั พย์และหนี สิ นซึงมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีเกียวข้องกําหนดให้ ต้องวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ยกเว้นในกรณี ทีไม่มีตลาดทีมีสภาพคล่องสํา หรั บสิ น ทรั พย์หรื อ หนี สิ นทีมีลกั ษณะเดียวกันหรื อไม่สามารถหาราคาเสนอซือขายในตลาดทีมีสภาพคล่องได้ กลุ่มบริ ษทั ฯ จะประมาณมูลค่ ายุติธรรมโดยใช้เทคนิ คการประเมินมูลค่าทีเหมาะสมกับแต่ ละสถานการณ์ และ พยายามใช้ขอ้ มูลทีสามารถสังเกตได้ทีเกี ยวข้องกับสิ นทรัพย์หรื อหนี สิ นทีจะวัดมูลค่ ายุติ ธรรมนัน ให้มากทีสุด 10
ลําดับชันของมู ลค่ ายุติ ธรรมที ใช้ว ัด มู ลค่ าและเปิ ดเผยมู ลค่ า ยุ ติธ รรมของสิ น ทรั พ ย์แ ละหนี สิ น ในงบการเงินแบ่งออกเป็ นสามระดับตามประเภทของข้อมูลทีนํามาใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม ดังนี ระดับ 1 ใช้ขอ้ มูลราคาเสนอซือขายของสินทรัพย์หรื อหนี สินอย่างเดียวกันในตลาดทีมีสภาพคล่อง ระดับ 2 ใช้ขอ้ มูลอืนทีสามารถสังเกตได้ของสิ นทรัพย์หรื อหนี สิ น ไม่ว่าจะเป็ นข้อมูลทางตรงหรื อ ทางอ้อม ระดับ 3 ใช้ข้อมูลที ไม่ สามารถสังเกตได้ เช่ น ข้อมู ลเกี ยวกับกระแสเงิน สดในอนาคตที กิ จการ ประมาณขึน ทุก วัน สิ นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริ ษ ัทฯจะประเมิน ความจําเป็ นในการโอนรายการระหว่าง ลําดับชันของมูลค่ายุติธรรมสําหรับสิ นทรัพย์และหนี สิ นทีถืออยู่ ณ วันสิ นรอบระยะเวลารายงานทีมี การวัดมูลค่ายุติธรรมแบบเกิดขึนประจํา 5.
การใช้ ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีทีสําคัญ ในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ ายบริ หารจําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจและ การประมาณการในเรื องทีมีความไม่แน่ นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี ส่ งผลกระทบต่ อ จํา นวนเงิ น ที แสดงในงบการเงิ น และต่ อ ข้อ มู ล ที แสดงในหมายเหตุ ป ระกอบ งบการเงิ น ผลที เกิ ด ขึ นจริ งอาจแตกต่ างไปจากจํานวนที ประมาณการไว้ การใช้ดุ ล ยพิ นิ จ และ การประมาณการทีสําคัญมีดงั นี ค่าเผือหนีสงสัยจะสู ญของลูกหนี ในการประมาณค่าเผือหนี สงสัยจะสูญของลูกหนี ฝ่ ายบริ หารจําเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการ ผลขาดทุ น ที คาดว่ าจะเกิ ด ขึ นจากลู ก หนี แต่ละราย โดยคํานึ งถึงประสบการณ์ การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี ทีคงค้างและสภาวะเศรษฐกิจทีเป็ นอยูใ่ นขณะนัน เป็ นต้น ค่าเผือการด้ อยค่าของเงินลงทุน ในการพิจ ารณาค่าเผือการด้อยค่าของเงิน ลงทุนในบริ ษทั ย่อย บริ ษ ัทร่ วม และเงินลงทุนระยะยาวอืน ฝ่ ายบริ หารจําเป็ นต้องประมาณการกระแสเงิ น สดที คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากเงิน ลงทุ น นั น รวมทังการเลือกอัตราคิดลดทีเหมาะสมในการคํานวณหามูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดนัน ๆ ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ และค่าเสื อมราคา ในการคํานวณค่าเสือมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ ายบริ หารจําเป็ นต้องทําการประมาณอายุการให้ ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือเมือเลิกใช้งานของอาคารและอุ ปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการให้ ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการเปลียนแปลงเกิดขึน
11
กลุ่มบริ ษ ัทฯแสดงมูลค่าของทีดิน อาคารโรงงาน เครื องจักรและอุปกรณ์ โรงงานด้วยราคาทีตีใหม่ ซึ งราคาที ตี ใหม่นี ได้ป ระเมิ น โดยผูป้ ระเมิ น ราคาอิ ส ระ โดยใช้วิธีเปรี ยบเที ยบราคาตลาดสําหรั บ สินทรัพย์ประเภททีดินและวิธมี ูลค่าบังคับขายแบบมีเงือนไขสําหรับสินทรัพย์ประเภทอาคารโรงงาน เครื องจักรและอุปกรณ์โรงงาน ซึงการประเมินมูลค่าดังกล่าวต้องอาศัยข้อสมมติฐานและการประมาณการ บางประการตามทีอธิบายไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 17 นอกจากนี ฝ่ ายบริ หารจําเป็ นต้องสอบทานการด้อยค่าของทีดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลา และบัน ทึกขาดทุ นจากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าทีคาดว่าจะได้รับคื นตํากว่ามูลค่าตามบัญชีของ สิ นทรัพ ย์นัน ในการนี ฝ่ ายบริ หารจําเป็ นต้องใช้ดุ ลยพินิจ ที เกี ยวข้องกับการคาดการณ์ รายได้และ ค่าใช้จา่ ยในอนาคตซึงเกียวเนืองกับสินทรัพย์นนั สินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี กลุ่มบริ ษทั ฯจะรับรู้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสาํ หรับผลแตกต่างชัวคราวทีใช้หกั ภาษีและ ขาดทุ น ทางภาษี ที ไม่ ได้ใช้เมือมี ความเป็ นไปได้ค่ อนข้างแน่ ว่ ากลุ่ม บริ ษัทฯจะมี ก ําไรทางภาษี ในอนาคตเพีย งพอที จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่ างชัวคราวและขาดทุ น นัน ในการนี ฝ่ ายบริ หาร จํา เป็ นต้อ งประมาณการว่ ากลุ่ ม บริ ษ ัท ฯควรรั บ รู ้ จ าํ นวนสิ น ทรั พ ย์ภ าษี เงิ น ได้ร อการตัด บัญ ชี เป็ นจํานวนเท่าใด โดยพิจารณาถึงจํานวนกําไรทางภาษีทีคาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา ผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนี สิ นตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงานประมาณขึ นตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย ซึงต้องอาศัยข้อสมมติฐานต่าง ๆ ในการประมาณการนัน เช่น อัตราคิดลด อัตราการขึ น เงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะและอัตราการเปลียนแปลงในจํานวนพนักงาน เป็ นต้น คดีฟ้องร้ อง กลุ่ มบริ ษัท ฯมี ค ดี ฟ้ องร้ องและข้อพิ พ าททางการค้าหลายคดี ซึ งฝ่ ายบริ หารได้ใช้ดุ ลยพิ นิ จใน การประเมินผลของคดีทีถูกฟ้องร้องแล้วและเชือมันว่าจะไม่มีความเสี ยหายเกิดขึ นเพิมเติ มจากที ได้ บันทึกบัญชี ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 รายละเอียดของคดีฟอ้ งร้องและข้อพิพาททางการค้าอธิบายไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 34.5
12
6.
เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด (หน่วย: พันบาท)
เงินสด เงินฝากธนาคาร รวม
งบการเงินรวม 2560 2559 13,983 12,234 15,229 18,494 29,212 30,728
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 60 60 2,132 1,999 2,192 2,059
ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 เงินฝากออมทรัพย์มอี ตั ราดอกเบียระหว่างร้อยละ 0.10 ถึง 0.50 ต่อปี (2559: ร้อยละ 0.37 ถึง 0.38 ต่อปี ) 7.
เงินลงทุนชัวคราว (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม 2560 ราคาทุน มูลค่ายุติธรรม หน่ วยลงทุนในกองทุนรวม ราคาทุน บวก: ค่าเผือการปรับมูลค่า หน่วยลงทุนในกองทุนรวมสุ ทธิ
322,067 1,493 323,560
323,560 323,560
2559 ราคาทุน มูลค่ายุติธรรม 464,326 2,392 466,718
466,718 466,718 (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 ราคาทุน มูลค่ายุติธรรม หน่ วยลงทุนในกองทุนรวม ราคาทุน บวก: ค่าเผือการปรับมูลค่า หน่วยลงทุนในกองทุนรวมสุ ทธิ
289,472 1,469 290,941
290,941 290,941
2559 ราคาทุน มูลค่ายุติธรรม 426,722 1,931 428,653
428,653 428,653
13
8.
ลูกหนีการค้าและลูกหนีอืน (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
งบการเงินรวม 2560 2559 ลูกหนีการค้า - กิจการทีเกียวข้ องกัน อายุหนีคงค้างนับจากวันทีถึงกําหนดชําระ ค้างชําระ ไม่เกิน 3 เดือน รวมลูกหนีการค้า - กิจการทีเกียวข้องกัน
84 84
46 46
-
-
ลูกหนีการค้า - กิจการทีไม่ เกียวข้ องกัน อายุหนีคงค้างนับจากวันทีถึงกําหนดชําระ ค้างชําระ ไม่เกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน รวม หัก: ค่าเผือหนีสงสัยจะสู ญ รวมลูกหนีการค้า - กิจการทีไม่เกียวข้องกัน, สุ ทธิ รวมลูกหนีการค้า - สุทธิ
47,158 367 387 12,372 60,284 (11,308) 48,976 49,060
30,769 792 382 12,140 44,083 (11,019) 33,064 33,110
-
-
ลูกหนีอืน เงินทดรองแก่กิจการทีเกียวข้องกัน รายได้คา้ งรับ อืน ๆ รวม หัก: ค่าเผือหนีสงสัยจะสู ญ รวมลูกหนีอืน - สุทธิ รวมลูกหนีการค้าและลูกหนีอืน - สุทธิ
3,552 10,841 14,393 (4,918) 9,475 58,535
2,960 10,797 13,757 (5,295) 8,462 41,572
1,926 46 3 1,975 1,975 1,975
3,349 59 45 3,453 3,453 3,453
14
9.
รายการธุรกิจกับกิจการทีเกียวข้ องกัน ในระหว่างปี กลุ่มบริ ษทั ฯมีรายการธุรกิ จทีสําคัญกับบุคคลหรื อกิจการทีเกียวข้องกัน รายการธุรกิจ ดังกล่าวเป็ นไปตามเงื อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที ตกลงกันระหว่า งบริ ษ ัทฯและบุ ค คลหรื อ กิจการทีเกียวข้องกันเหล่านัน ซึงเป็ นไปตามปกติธรุ กิจโดยสามารถสรุ ปได้ดงั นี
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
งบการเงินรวม 2560 2559 รายการธุรกิจกับบริ ษทั ย่ อย (ได้ตดั ออกจากงบการเงินรวมแล้ว) รายได้ค่าบริ หารจัดการ ดอกเบียรับ รายได้อืน - การให้บริ การอืน ค่าใช้จ่ายอืน รายการธุรกิจกับบริษทั ร่ วม ขายสิ นค้า เงินปั นผลรับ รายได้ค่าบริ หารจัดการ ดอกเบียรับ ค่าเช่าทีดิน ค่าเช่าอาคารสํานักงาน ค่าใช้จ่ายอืน รายการธุรกิจกับกิจการทีเกียวข้ องกัน ค่าใช้จ่ายอืน รายการธุรกิจกับผู้บริ หารและกรรมการ ค่าทีปรึ กษา
-
-
3,268 1,580 -
937 3,592 1,963 13
436 50,410 212 886 1,962 1,868
504 112,880 1,500 857 1,826 1,787
50,410 212 288 363
112,880 1,500 288 315
267
286
267
286
1,200
-
1,200
-
15
นโยบายการกําหนดราคาสําหรับรายการธุรกิจทีสําคัญกับบุคคลหรื อกิจการทีเกียวข้องกันสามารถ สรุ ปได้ดงั นี รายการ ขายสินค้า เงินปันผลรับ รายได้คา่ บริ หารจัดการ ดอกเบี ยรับ รายได้อนื ค่าเช่าทีดินและอาคารสํานักงาน ค่าใช้จ่ายอืน ค่าทีปรึ กษา
นโยบายการกําหนดราคา ราคาขายอิงตามราคาตลาด ตามทีประกาศจ่าย ตามสัญญาและตามต้นทุนทีเกิดขึนจริ ง ร้อยละ 2.95 - 5.00 ต่อปี ราคาตามสัญญา ค่าธรรมเนียมการคําประกันอัตราร้อยละ 1 ต่อปี ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา ราคาตามสัญญา
สัญญาสําคัญกับกิจการทีเกียวข้ องกัน สัญญารับจ้างบริหารและจัดการ ในเดือนมกราคม 2559 บริ ษทั ฯได้ทาํ สัญญารับจ้างบริ หารและจัด การกับบริ ษ ัทย่อยแห่ งหนึ ง โดย บริ ษทั ฯจะให้บริ การให้คาํ ปรึ กษาในด้านสารสนเทศ อัตราค่าบริ การเป็ นไปตามทีกําหนดในสัญญา สัญญาดังกล่าวมีกาํ หนดระยะเวลา 1 ปี สิ นสุดเดือนธันวาคม 2559 สัญญาว่าจ้างบริษัททีปรึกษา ในปี 2559 บริ ษัทฯได้ทาํ สัญญารั บจ้างเป็ นบริ ษัทที ปรึ กษากับบริ ษัทที เกียวข้องกันสองแห่ ง โดย บริ ษทั ฯจะให้บริ การให้คาํ ปรึ กษาในด้านบริ หาร ด้านพัฒนาธุรกิจ ด้านบัญชีและการเงิน และด้าน สารสนเทศ เป็ นต้น อัต ราค่ าบริ ก ารเป็ นไปตามที กําหนดในสัญ ญา สัญญาดังกล่ าวสิ นสุ ด เดื อ น มิถนุ ายน 2559 สัญญาคําประกัน ในปี 2558 บริ ษทั ฯได้ทาํ สัญญาคําประกันกับบริ ษ ัทย่อยสองแห่ งเพือคําประกันวงเงินสิ นเชือจาก ธนาคารของบริ ษทั ย่อ ยในวงเงิ น รวม 80 ล้านบาท โดยบริ ษ ัทฯคิด ค่าธรรมเนี ยมในการคําประกัน ในอัตราร้อยละ 1 ต่อปี สัญญาดังกล่าวสิ นสุดเดือนกรกฎาคม 2559 ในปี 2559 บริ ษัทย่อยแห่ งหนึ งได้ทาํ สัญญาคําประกัน กับบริ ษ ัทย่อ ยของบริ ษ ัทย่อ ยแห่ งนั นเพื อ คําประกันวงเงินสินเชือจากธนาคารของบริ ษทั ย่อยดังกล่าวในวงเงินรวม 10 ล้านบาท การคําประกันนี มีผลผูกพันต่อบริ ษทั ย่อยแห่งนันนานเท่าทีภาระหนี สินทียังไม่ได้ชาํ ระโดยบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ย่อย ดังกล่าว ซึงไม่มกี ารคิดค่าธรรมเนียมในการคําประกัน 16
ยอดคงค้างระหว่างกลุ่ม บริ ษ ัท ฯและกิ จ การที เกี ยวข้องกัน ณ วัน ที 31 ธัน วาคม 2560 และ 2559 มีรายละเอียดดังนี (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
งบการเงินรวม 2560 2559 ลูกหนี การค้ าและลูกหนีอื น - กิจการทีเกียวข้ องกัน (หมายเหตุ 8) ลูกหนีการค้า - กิจการทีเกียวข้ องกัน บริ ษทั ร่ วม รวมลูกหนีการค้ากิจการทีเกียวข้องกัน ลูกหนีอืน - กิจการทีเกียวข้ องกัน บริ ษทั ย่อย รวมลูกหนีอืนกิจการทีเกียวข้องกัน เงินให้ ก้ ยู มื ระยะสั นแก่ กจิ การทีเกียวข้ องกัน บริ ษทั ย่อย รวมเงินให้กยู้ ืมระยะสันแก่กิจการทีเกียวข้องกัน หัก: ค่าเผือหนีสงสัยจะสู ญ รวมเงินให้กูย้ มื ระยะสันแก่กิจการทีเกียวข้องกัน สุทธิ เงินให้ ก้ ยู มื ระยะยาวแก่ กจิ การทีเกียวข้ องกัน บริ ษทั ทีเกียวข้องกัน หัก: ค่าเผือหนีสงสัยจะสู ญ เงิน ให้ กู ้ยื มระยะยาวแก่ กิ จ การที เกี ยวข้อ งกัน สุทธิ เจ้ าหนีอืน - กิจการทีเกียวข้ องกัน (หมายเหตุ 21) บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ทีเกียวข้องกัน รวมเจ้าหนีอืนกิจการทีเกียวข้องกัน
84 84
46 46
-
-
-
-
1,926 1,926
3,349 3,349
-
-
414,188 414,188 (319,188)
399,188 399,188 (319,188)
-
-
95,000
80,000
4,500 (4,500)
4,500 (4,500)
4,500 (4,500)
4,500 (4,500)
-
-
-
-
284 23 307
150 23 173
27 23 50
31 23 54
17
เงินให้ ก้ยู ืมแก่กิจการทีเกียวข้ องกัน ในระหว่างปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม 2560 เงินให้กยู้ ืมแก่กิจการทีเกียวข้องกันมีการเคลือนไหวดังนี (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 เงินให้ ก้ ูยืมระยะสั น บริ ษทั สัมมากร จํากัด (มหาชน) รวม เงินให้ ก้ ยู ืมระยะยาว บริ ษทั เคพี เอ็นเนอร์ยี กรุ๊ ป จํากัด หัก: ค่าเผือหนี สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ
เพิมขึน ระหว่างปี
ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2560
ลดลง ระหว่างปี
-
50,000 50,000
(50,000) (50,000)
-
4,500 (4,500) -
-
-
4,500 (4,500) (หน่วย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 เงินให้ ก้ ูยืมระยะสั น บริ ษทั เพียวไบโอดี เซล จํากัด บริ ษทั เพียวพลังงานไทย จํากัด บริ ษทั สัมมากร จํากัด (มหาชน) รวม หัก: ค่าเผือหนี สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ เงินให้ ก้ ยู ืมระยะยาว บริ ษทั เคพี เอ็นเนอร์ยี กรุ๊ ป จํากัด หัก: ค่าเผือหนี สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ
เพิมขึน ระหว่างปี
ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2560
ลดลง ระหว่างปี
319,188 80,000 399,188 (319,188) 80,000
95,000 50,000 145,000 145,000
(80,000) (50,000) (130,000) (130,000)
319,188 95,000 414,188 (319,188) 95,000
4,500 (4,500) -
-
-
4,500 (4,500) -
ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 เงินให้กูย้ ืมระยะสันแก่บริ ษทั ย่อยเป็ นตัวสัญญาใช้เงินอายุ 12 เดือน จํานวน เงินรวม 414 ล้านบาท (2559: 399 ล้านบาท)โดยมีอตั ราดอกเบี ยร้อยละ 2.95 - 3.50 ต่อปี (2559: 3.50 5.00 ต่อปี ) เงิน ให้กู้ยืมระยะสันแก่ บริ ษทั เพียวไบโอดีเซล จํากัด คําประกันโดยการจดจํานองทีดิ น อาคาร เครื องจักรและถังนํามัน 18
ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริ ษทั ฯได้ตงค่ ั าเผือหนี สงสัยจะสูญสําหรับเงินให้กยู้ ืมแก่บริ ษทั เพียวไบโอดีเซล จํากัดทังจํานวนเนื องจากบริ ษ ัทฯคาดว่าสิ น ทรัพย์ข องบริ ษ ัทย่อยจะไม่เพียงพอ ต่อการชําระหนี และเมือวันที 1 ตุลาคม 2556 บริ ษทั ฯได้หยุดรับ รู ้รายได้ดอกเบี ยจากเงินให้กู้ยืมแก่ บริ ษทั ย่อยดังกล่าว ปัจจุบนั บริ ษทั ฯอยู่ระหว่างดําเนินการติดตามหนี เงินให้กูย้ ืมระยะสันแก่บริ ษทั เคพี เอ็นเนอร์ยี กรุ๊ ป จํากัด (KPEG) เป็ นเงินให้กูย้ มื ที ไม่มีหลักประกัน อายุ 1 ปี จํานวนเงิ น 4.5 ล้านบาทโดยมี อ ตั ราดอกเบี ยร้ อ ยละ 5 ต่ อปี มีก ําหนดชําระคื น เงิ น ต้น พร้ อมดอกเบี ยทังหมดภายในเดื อ นธัน วาคม 2557 ในระหว่างปี 2557 KPEG ได้ข อขยายระยะเวลา การชําระหนี เป็ นวัน ที 31 ธัน วาคม 2559 บริ ษ ัท ฯจึ ง ได้จ ดั ประเภทรายการเงิ น ให้ กู ้ยืม ระยะสั น ดัง กล่ า วใหม่ เป็ นเงิ น ให้ กู้ยื ม ระยะยาว ณ วัน ที 31 ธั น วาคม 60 และ 2559 บริ ษั ท ฯได้ต ั ง ค่าเผือหนี สงสัยจะสูญสําหรับเงินให้กยู้ ืมดังกล่าวทังจํานวนเนืองจากบริ ษทั ฯคาดว่าสินทรัพย์ของKPEG จะไม่ เพียงพอต่ อการชําระหนี และเมื อวันที 1 มกราคม 2558 บริ ษ ัท ฯได้ห ยุด รั บ รู ้ ร ายได้ด อกเบี ย จากเงินให้กยู้ มื แก่บริ ษทั ดังกล่าว ปัจจุบนั บริ ษทั ฯอยูร่ ะหว่างดําเนินการติดตามหนี ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ในระหว่างปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 กลุม่ บริ ษทั ฯมีค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน ทีให้แก่กรรมการและผูบ้ ริ หาร ดังต่อไปนี (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 ผลประโยชน์ระยะสัน 10,174 9,373 6,153 5,097 ผลประโยชน์หลังออกจากงาน 415 497 251 342 รวม 10,589 9,870 6,404 5,439 10. สินค้าคงเหลือ
(หน่วย: พันบาท)
ราคาทุน สิ นค้าสําเร็ จรู ป วัสดุสินเปลือง รวม
2560 62,048 2,776 64,824
2559 57,079 2,776 59,855
งบการเงินรวม รายการปรับลดราคาทุนให้เป็ น มูลค่าสุ ทธิ ทีจะได้รับ 2560 2559 (13,140) (11,661) (2,776) (2,776) (15,916) (14,437)
สิ นค้าคงเหลือ - สุ ทธิ 2560 2559 48,908 45,418 48,908 45,418
19
(หน่วย: พันบาท)
ราคาทุน สิ นค้าสําเร็ จรู ป วัสดุสินเปลือง รวม
2560 7,055 2,776 9,831
2559 7,055 2,776 9,831
งบการเงินเฉพาะกิจการ รายการปรับลดราคาทุนให้เป็ น มูลค่าสุ ทธิ ทีจะได้รับ 2560 2559 (7,055) (7,055) (2,776) (2,776) (9,831) (9,831)
สิ นค้าคงเหลือ - สุ ทธิ 2560 2559 -
ในระหว่างปี 2560 กลุม่ บริ ษทั ฯบันทึกการปรับลดราคาทุนของสินค้าคงเหลือให้เป็ นมูลค่าสุทธิทีจะได้รับ เป็ นจํานวนเงิน 1.48 ล้านบาท (2559: 4.48 ล้านบาท) (งบการเงินเฉพาะกิจการ: ไม่มี 2559: 2.78 ล้านบาท) โดยแสดงเป็ นส่วนหนึงของต้นทุนขาย 11. เงินให้ ก้ยู ืมระยะยาวแก่กิจการทีไม่เกียวข้ องกัน
เงินให้กยู้ ืมระยะยาวแก่กิจการทีไม่เกียวข้องกัน หัก: ค่าเผือหนีสงสัยจะสู ญ เงินให้กยู้ ืมระยะยาวแก่กิจการทีไม่เกียวข้องกัน - สุ ทธิ หัก: ส่ วนทีถึงกําหนดชําระภายในหนึงปี ส่ วนทีถึงกําหนดชําระเกินกว่าหนึงปี
งบการเงินรวม 2560 2559 7,773 5,496 (5,146) (5,146) 2,627 (761) 1,866
12. สินทรัพย์หมุนเวียนอืน
ภาษีมูลค่าเพิมรอเรี ยกคืน ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า อืน ๆ รวม
งบการเงินรวม 2560 2559 7,117 6,168 16,173 13,195 1,573 2,312 25,602 20,936
350 (350) -
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 5,146 5,146 (5,146) (5,146) -
-
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 5,187 4,978 689 670 46 23 5,922 5,671
13. เงินฝากธนาคารทีมีภาระคําประกัน ยอดคงเหลือนี คือ เงิ นฝากประจําซึ งกลุ่มบริ ษ ัทฯได้นาํ ไปคําประกันวงเงิน สิ นเชือจากธนาคารและ เป็ นหลักประกันต่อศาลในคดีฟ้องร้อง 20
14. เงินลงทุนในบริษัทร่ วม 14.1 รายละเอียดของบริษัทร่ วม บริ ษทั
บริ ษทั ไทยพับลิคพอร์ต จํากัด บริ ษทั สัมมากร จํากัด (มหาชน)
ลักษณะธุรกิจ
ให้เช่าคลังนํามันและ กิจการท่าเรื อ การพัฒนา อสังหาริมทรัพย์
จัดตังขึน ในประเทศ
สัดส่วนเงินลงทุน 2560
2559
ร้อยละ
ร้อยละ
ราคาทุน
งบการเงินรวม
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ
มูลค่าตามบัญชี ตามวิธีส่วนได้เสีย
มูลค่าตามบัญชี ตามวิธรี าคาทุน
2560
2559
2560
2559
2560
2559
ไทย
30.00
30.00
900,112
900,112
783,318
813,838
900,112
900,112
ไทย
48.25
48.25
785,802
785,802
1,173,459
1,146,899
785,802
785,802
รวมเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม หัก: ค่าเผือการด้อยค่า
1,956,777 (139,000)
1,960,737 1,685,914 (139,000) (151,000)
1,685,914 (151,000)
เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม - สุทธิ
1,817,777
1,821,737
1,534,914
1,534,914
บริ ษ ทั ฯได้จ าํ นําหุ น้ ของบริ ษ ทั สัมมากร จํากัด (มหาชน) จํานวน 49.1 ล้านหุ ้น มูลค่าทีตราไว้หุ้นละ 1 บาท ซึ งมีมูลค่ าตามบัญชี ตามวิธีราคาทุ น ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 รวมจํานวนเงิ น 136 ล้านบาท เพื อคําประกัน เงิ นกู้ยืม ระยะสัน ตามที กล่ าวในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นข้อ 22 อย่างไรก็ ต าม เมือวันที 28 มีนาคม 2560 บริ ษทั ฯได้ไถ่ถอนการจํานําหุน้ ดังกล่าวแล้ว บริษทั ไทยพับลิคพอร์ ต จํากัด ในระหว่างปี 2540 จังหวัดชลบุรี (โจทก์) ได้ฟ้องร้องบริ ษทั ทีไม่เกียวข้องกันและบุคคลทีไม่เกียวข้องกัน กับกลุม่ บริ ษทั ฯจํานวน 8 ราย (จําเลย) ในข้อหาละเมิด บุกรุ กทีดินของรัฐ ระเบิดหิน ทําลายธรรมชาติ และเรี ยกร้องค่าเสี ยหายจํานวนหนึง โดยบริ ษ ทั ไทยพับลิคพอร์ต จํากัด (TPP) มิได้เป็ นคูค่ วามในคดี แต่อย่างใด ในระหว่างปี 2548 ศาลจังหวัดชลบุรีได้มีคาํ พิพากษาคดีให้จาํ เลยร่ วมกันชดใช้ค่าเสี ยหาย และเพิกถอนโฉนดทีดินทีจําเลยถือครองอยู่และรวมถึงโฉนดทีดินแปลงที TPP เป็ นเจ้าของกรรมสิทธิ และใช้เป็ นทีตังสิ งปลูกสร้างต่ าง ๆ ในโครงการท่าเรื อและคลังนํามัน ต่อมา ในเดือนกรกฎาคม 2553 ศาลอุทธรณ์ ได้มีค าํ พิพากษาแก้เป็ นว่าไม่เพิกถอนโฉนดทีดิ นของจําเลยรวมถึงของ TPP เนื องจาก เป็ นการพิพากษาเกินกว่าคําฟ้อง และในเดือนพฤษภาคม 2560 ศาลฎีกาได้มคี าํ พิพากษายืนตามศาล อุทธรณ์เป็ นไม่เพิกถอนโฉนดทีดินแปลงที TTP เป็ นเจ้าของกรรมสิทธิ คดีเป็ นอันเสร็ จเด็ดขาด ในระหว่างปี 2541 TPP ได้ยนเรื ื องเพือขอสัมปทานประกอบกิจการในทีดินของรัฐซึงคันอยูร่ ะหว่าง แนวเขตโฉนดที ดิ น ของ TPP กับชายฝังทะเล ซึ งเป็ นบริ เวณหน้าท่ าของ TPP รวมจํานวน 103 ไร่ โดยในปี 2550 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติ อนุ มตั ิให้สัมปทานที ดิน ดังกล่าวแก่ TPP เป็ นระยะเวลา 50 ปี แต่เนื องจากมีคาํ พิพากษาของศาลจังหวัดชลบุรีในคดีทีดิน ดังกล่าวข้างต้น ให้เพิกถอนโฉนดทีดิ น รวมถึ งโฉนดที ดิ น แปลงที TTP เป็ นเจ้าของกรรมสิ ท ธิ คณะทํางานจึงมีมติ ให้รอผลการพิจารณา ในชันศาลให้เป็ นทียุติเสียก่อน ปัจจุบนั ศาลฎีกามีค าํ พิพากษายืนตามศาลอุทธรณ์เป็ นไม่เพิกถอนโฉนด ที ดิน แปลงดังกล่าว จังหวัดชลบุ รีได้แจ้งผลคําพิพากษาศาลฎี กาไปยังสํานักงานจัดการที ดิ นของรั ฐ กรมทีดินเรี ยบร้อยแล้ว การดําเนิ นการอยูใ่ นขันตอนการพิจารณาของสํานักงานจัดการทีดินของรัฐ ทีจะพิจารณาประเด็นต่าง ๆ ในเรื องการออกสัมปทานบัตรทีดินต่อไป 21
14.2 ส่ วนแบ่ งกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จและเงินปันผลรับ ในระหว่ างปี บริ ษ ทั ฯรั บรู ้ ส่วนแบ่ งกําไรจากเงิ น ลงทุ น ในบริ ษ ัทร่ วมในงบการเงิ น รวมและรั บรู ้ เงินปันผลรับจากบริ ษทั ร่ วมดังกล่าวในงบการเงินเฉพาะกิจการ ดังนี
บริ ษทั บริ ษทั ไทยพับลิคพอร์ต จํากัด บริ ษทั เพียวสัมมากร ดี เวลลอปเม้นท์ จํากัด บริ ษทั สัมมากร จํากัด (มหาชน) รวม
งบการเงินรวม ส่ วนแบ่งกําไรขาดทุน ส่ วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุน เบ็ดเสร็ จอืนจากเงินลงทุนใน บริ ษทั ร่ วมในระหว่างปี ในบริ ษทั ร่ วมในระหว่างปี 2560 2559 2560 2559 16,730 4,691 27,086 43,816
5,987 49,614 60,292
2,635 2,635
-
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินปั นผลทีบริ ษทั ฯ รับระหว่างปี 2560 2559 47,250 78,750 3,160 50,410
34,130 112,880
14.3 มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในบริษัทร่ วมทีเป็ นบริษัทจดทะเบียนฯ ณ วัน ที 31 ธันวาคม 2560 มูลค่ ายุติธรรมของเงินลงทุนในบริ ษ ัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) ซึงเป็ น บริ ษทั ร่ วมทีเป็ นบริ ษทั จดทะเบี ยนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยมีจาํ นวนเงิน 855 ล้านบาท (2559: 956 ล้านบาท) 14.4 ค่าเผือการด้ อยค่าของเงินลงทุนในบริษัทร่ วม ในการประเมินค่าเผือการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริ ษทั ไทยพับลิคพอร์ต จํากัด ฝ่ ายบริ หารได้ใช้วิธี คิดลดกระแสเงินสดจากการดําเนินงานในอนาคตของบริ ษทั ดังกล่าว โดยใช้อตั ราคิดลดร้อยละ 8 และ อัตราเติบโตระยะยาวทีร้อยละ 1
22
14.5 ข้ อมูลทางการเงินของบริษัทร่ วมทีมีสาระสําคัญ สรุ ปรายการฐานะทางการเงิน
สิ นทรัพย์หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนีสิ นหมุนเวียน หนีสิ นไม่หมุนเวียน สิ นทรัพย์ - สุ ทธิ สัดส่วนเงินลงทุน (ร้อยละ)
บริ ษทั ไทยพับลิคพอร์ ต จํากัด 2560 2559 48 74 1,289 1,452 (46) (114) (99) (81)
บริ ษทั เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จํากัด 2560 2559 18 437 (76) (167)
(หน่วย: ล้านบาท) บริ ษทั สัมมากร จํากัด (มหาชน) 2560 2559 2,551 2,235 1,246 1,613 (766) (1,090) (722) (503)
1,210 30.00
1,313 30.00
-
212 -
2,309 48.25
2,255 48.25
สั ดส่ วนตามส่ วนได้ เสี ยของกิจการ ในสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ค่าความนิยม การตัดรายการบัญชีระหว่างกัน
363 420 -
394 420 -
-
-
1,114 59
1,088 59
มูลค่ าตามบัญชีของส่ วนได้ เสี ยของ กิจการในบริษทั ร่ วม หัก: ค่าเผือการด้อยค่า
783 (139)
814 (139)
-
-
1,173 -
1,147 -
มูลค่ าตามบัญชีของส่ วนได้ เสี ยของ กิจการในบริษทั ร่ วม - สุ ทธิ
644
675
-
-
1,173
1,147
สรุ ปรายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ
รายได้ กําไร (ขาดทุน) กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอืน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวม
หน่วย: ล้านบาท
สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม บริ ษทั ไทยพับลิค บริ ษทั เพียวสัมมากร บริ ษทั สัมมากร จํากัด พอร์ ต จํากัด ดีเวลลอปเม้นท์ จํากัด (มหาชน) 2560 2559 2560 2559* 2560 2559 358 315 136 1,212 1,247 56 56
15 15
-
14 14
56 6 62
108 3 111
* สําหรับรอบระยะเวลาตังแต่วนั ที 1 มกราคม 2559 ถึงวันที 11 พฤศจิกายน 2559
23
15. เงินลงทุนในบริษัทย่อย เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยตามทีแสดงอยูใ่ นงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี บริ ษทั
ทุนชําระแล้ว 2560 2559
บริ ษทั เพียวไบโอดีเซล จํากัด * บริ ษทั เพียวพลังงานไทย จํากัด และบริ ษทั ย่อย บริ ษทั อาร์พซี ี แมเนจเมนท์ จํากัด * รวมเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย หัก: ค่าเผือการด้อยค่า เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย - สุ ทธิ
280,000 140,000 500
สัดส่ วนเงินลงทุน 2560 2559 ร้อยละ ร้อยละ 100 100 100 100 100 100
280,000 140,000 500
(หน่วย: พันบาท) ราคาทุน 2560 2559 279,999 140,000 956 420,955 (103,320) 317,635
279,999 140,000 956 420,955 (81,955) 339,000
* ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ได้หยุดดําเนินธุ รกิจแล้ว
ในระหว่างปี 2560 และ 2559 บริ ษทั ฯไม่มเี งินปันผลรับจากบริ ษทั ย่อย ในระหว่างปี 2560 บริ ษทั ฯได้ตงสํ ั ารองค่าเผือการด้อยค่าเงินลงทุนในบริ ษทั เพียวไบโอดีเซล จํากัด เป็ นจํานวนเงิน 21.4 ล้านบาท (2559: 81.6 ล้านบาท) 15.1 บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด บริ ษทั เพียวไบโอดีเซล จํากัด (PBC) ได้หยุดการผลิตตังแต่ตน้ ปี 2555 เนืองจากไม่ได้รบั คําสังซือจาก ลูกค้าและอยูใ่ นสภาวะขาดสภาพคล่องในการดําเนินธุรกิจ PBC ได้เลิกจ้างพนักงานโดยจ่ายค่าชดเชย ตามทีกฎหมายกําหนด ในปี 2560 และ 2559 PBC ไม่มรี ายได้จากการขายและบริ การ PBC ได้รับสิ ทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุ นสําหรับกิจการผลิตไบโอดีเซล ตามบัตรส่ งเสริ มการลงทุน เลขที 1840(9)/2550 เมือวันที 30 สิงหาคม 2550 ภายใต้เงือนไขทีกําหนด บางประการ สิทธิพเิ ศษดังกล่าวรวมถึงการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิทีได้จาก การประกอบกิจการทีได้รับการส่ งเสริ มเป็ นระยะเวลา 8 ปี นับแต่วนั ทีเริ มมีรายได้จากการประกอบ กิจการนัน (ตังแต่วนั ที 12 มกราคม 2552 ถึงวันที 11 มกราคม 2560) 16. เงินลงทุนระยะยาวอืน
บริ ษทั
ลักษณะธุรกิจ
บริ ษทั เคพี เอ็นเนอร์ ยี ผลิตและจําหน่าย กรุ๊ ป จําก ัด ไฟฟ้า หัก: ค่าเผือการด้อยค่า เงินลงทุนระยะยาวอืน - สุ ทธิ
จัดตังขึน ในประเทศ
ไทย
ทุนชําระแล้ว 2560 2559
38,380
36,780
สัดส่ วนเงินลงทุน 2560 2559 ร้อยละ
ร้อยละ
17.46
18.22
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะกิจการ ราคาทุน 2560 2559
5,482 (5,482)
5,482 (5,482)
-
-
24
17. ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ (หน่วย: พันบาท)
สินทรัพย์ทีใช้ในการดําเนินงาน สินทรัพย์ทีหยุดใช้งาน รวมทีดิน อาคารและอุปกรณ์ หัก: ค่าเผือการด้อยค่า ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ
งบการเงินรวม 2560 2559 120,867 101,538 947,031 930,646 1,067,898 1,032,184 (462,984) (459,712) 604,914 572,472
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 6,140 7,471 549,758 528,157 555,898 535,628 (239,978) (240,608) 315,920 295,020
25
สิ นทรัพย์ ทใช้ ี ในการดําเนินงาน ราคาทุน / ราคาทีตีใหม่ 1 มกราคม 2559 ซื อเพิม จําหน่าย/ตัดจําหน่าย โอน โอนกลับจากสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถือไว้เพือขาย 31 ธันวาคม 2559 ซื อเพิม จําหน่าย/ตัดจําหน่าย โอน ปรับปรุ ง 31 ธันวาคม 2560 ค่าเสื อมราคาสะสม 1 มกราคม 2559 ค่าเสื อมราคาสําหรับปี ค่าเสื อมราคาสําหรับส่ วนทีจําหน่าย/ตัดจําหน่าย ค่าเสื อมราคาสําหรับส่ วนทีโอนกลับจากสิ นทรัพย์ ไม่หมุนเวียนทีถือไว้เพือขาย 31 ธันวาคม 2559 ค่าเสื อมราคาสําหรับปี ค่าเสื อมราคาสําหรับส่ วนทีจําหน่าย/ตัดจําหน่าย 31 ธันวาคม 2560
ทีดิน
159,180 (46,155) 21,029 131 134,185 (8,665) 31,954 157,474 127,160 14,719 (40,293) 109 101,695 13,211 (8,249) 106,657
-
อาคารสํานักงาน และส่ วนปรับปรุ ง อาคารสํานักงาน
7,350 7,350 7,350
สิ นทรัพย์ซึงแสดง มูลค่าตามราคาทีตีใหม่
30,313 978 (4,216) 27,075
34,049 562 (4,298)
66,607 264 (4,777) 32 62,126 94 (4,219) 474 58,475
3,078 63,096 3,755 (2,511) 64,340
71,160 3,054 (14,196)
76,972 265 (14,253) 6,167 3,123 72,274 238 (2,555) 9,842 79,799
21,393 2,194 23,587
20,290 2,062 (959)
26,790 286 (589) (1,432) 25,055 472 214 25,741
สิ นทรัพย์ซึงแสดงมูลค่าตามราคาทุน เครื องตกแต่ง ติดตัง อุปกรณ์สถานี และเครื องใช้ บริ การนํามัน สํานักงาน ยานพาหนะ
งบการเงินรวม
-
-
12,492 38,460 (33,907) 17,045 42,885 (42,484) (3,759) 13,687
งานระหว่างก่อสร้าง
26
3,187 216,497 20,138 (14,976) 221,659
252,659 20,397 (59,746)
349,391 39,275 (65,774) (8,111) 3,254 318,035 43,217 (14,967) (3,759) 342,526
รวม
(หน่วย: พันบาท)
32,490
7,350 7,350
31 ธันวาคม 2560
13,687
17,045
-
120,867
101,538
5,846 (5,846) -
27
20,138
2,154
3,662
-
รวม
2560 (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริ หาร)
15,459
9,178
38 (38) -
งานระหว่างก่อสร้าง
20,397
31,400
31,813
-
สิ นทรัพย์ซึงแสดงมูลค่าตามราคาทุน เครื องตกแต่ง ติดตัง อุปกรณ์สถานี และเครื องใช้ บริ การนํามัน สํานักงาน ยานพาหนะ
ค่าเสื อมราคาสํ าหรับปี 2559 (รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริ หาร)
50,817
5,808 (5,808) -
-
อาคารสํานักงาน และส่ วนปรับปรุ ง อาคารสํานักงาน
ค่าเผือการด้ อยค่า 1 มกราคม 2559 กลับรายการค่าเผือการด้อยค่าเนืองจากตัดจําหน่ายระหว่างปี 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560 มูลค่าสุ ทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2559
ทีดิน
สิ นทรัพย์ซึงแสดง มูลค่าตามราคาทีตีใหม่
งบการเงินรวม
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม สิ นทรัพย์ซึงแสดงมูลค่าตามราคาทีตีใหม่ อาคารโรงงานและ เครื องจักร ส่ วนปรับปรุ ง และอุปกรณ์ ทีดิ น อาคารโรงงาน โรงงาน สิ นทรัพย์ ทหยุ ี ดใช้ งาน ราคาทีตีใหม่ 1 มกราคม 2559 ตัดจําหน่าย โอนกลับจากสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถือไว้เพือขาย 31 ธันวาคม 2559 จําหน่าย ตีราคา 31 ธันวาคม 2560 ค่ าเสื อมราคาสะสม 1 มกราคม 2559 ค่าเสื อมราคาสําหรับปี ค่าเสื อมราคาสําหรับส่วนทีตัดจําหน่าย ค่าเสื อมราคาสําหรับส่ วนทีโอนกลับจากสิ นทรัพย์ ไม่หมุนเวียนทีถือไว้เพือขาย 31 ธันวาคม 2559 ค่าเสื อมราคาสําหรับปี ค่าเสื อมราคาสําหรับส่วนทีจําหน่าย 31 ธันวาคม 2560 ค่ าเผือการด้ อยค่ า 1 มกราคม 2559 บันทึกเพิมขึนระหว่างปี โอนกลับจากสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถือไว้เพือขาย 31 ธันวาคม 2559 บันทึกเพิมขึนระหว่างปี 31 ธันวาคม 2560 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560 ค่ าเสื อมราคาสํ าหรับปี 2559 (รวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริ หาร) 2560 (รวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริ หาร)
(หน่วย: พันบาท)
รวม
279,394 279,394 47,735 327,129
175,768 175,768 175,768
557,825 (1,976) 956,088 1,511,937 (6,845) 1,505,092
1,012,987 (1,976) 956,088 1,967,099 (6,845) 47,735 2,007,989
-
104,477 4,527 -
227,599 28,937 (1,976)
332,076 33,464 (1,976)
-
109,004 2,411 111,415
672,889 927,449 25,499 (3,405) 949,543
672,889 1,036,453 27,910 (3,405) 1,060,958
-
20,646 24,808 45,454 733 46,187
116,597 81,380 216,281 414,258 2,539 416,797
137,243 106,188 216,281 459,712 3,272 462,984
279,394 327,129
21,310 18,166
170,230 138,752
470,934 484,047 33,464 27,910
28
สิ นทรัพย์ ทีใช้ ในการดําเนินงาน ราคาทุน 1 มกราคม 2559 ซื อเพิม จําหน่าย/ตัดจําหน่าย โอน โอนกลับจากสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถือไว้เพือขาย 31 ธันวาคม 2559 ซื อเพิม จําหน่าย 31 ธันวาคม 2560 ค่ าเสื อมราคาสะสม 1 มกราคม 2559 ค่าเสื อมราคาสําหรับปี ค่าเสื อมราคาสําหรับส่ วนทีจําหน่าย/ตัดจําหน่าย ค่าเสื อมราคาสําหรับส่ วนทีโอนกลับจากสิ นทรัพย์ ไม่หมุนเวียนทีถือไว้เพือขาย 31 ธันวาคม 2559 ค่าเสื อมราคาสําหรับปี ค่าเสื อมราคาสําหรับส่ วนทีจําหน่าย 31 ธันวาคม 2560 ค่ าเผือการด้ อยค่ า 1 มกราคม 2559 กลับรายการค่าเผือการด้อยค่าเนืองจาก ตัดจําหน่ายระหว่างปี 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560 ค่ าเสื อมราคาสํ าหรับปี 2559 (รวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริ หาร) 2560 (รวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริ หาร)
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ สิ นทรัพย์ซึงแสดงมูลค่าตามราคาทุน เครื องตกแต่ง อาคารสํานักงาน ติดตังและ และส่ วนปรับปรุ ง เครื องใช้ งานระหว่าง อาคารสํานักงาน สํานักงาน ยานพาหนะ ก่อสร้าง
รวม
44,231 (36,819) 1,136 131 8,679 8,679
25,608 166 (11,350) 176 3,123 17,723 58 (178) 17,603
14,881 (2,020) 12,861 12,861
1,025 287 (1,312) -
85,745 453 (50,189) 3,254 39,263 58 (178) 39,143
33,146 747 (31,233)
25,201 238 (11,305)
12,029 743 (959)
-
70,376 1,728 (43,497)
109 2,769 539 3,308
3,078 17,212 291 (178) 17,325
11,813 557 12,370
-
3,187 31,794 1,387 (178) 33,003
5,808
38
-
-
5,846
(5,808) -
(38) -
-
-
(5,846) -
5,910 5,371
511 278
1,048 491
-
7,469 6,140 1,728 1,387
29
งบการเงินเฉพาะกิจการ สิ นทรัพย์ซึงแสดงมูลค่าตามราคาทีตีใหม่ อาคารโรงงานและ เครื องจักร ส่ วนปรับปรุ ง และอุปกรณ์ ทีดิ น อาคารโรงงาน โรงงาน สิ นทรัพย์ ทหยุ ี ดใช้ งาน ราคาทีตีใหม่ 1 มกราคม 2559 ตัดจําหน่าย โอนกลับจากสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถือไว้เพือขาย 31 ธันวาคม 2559 จําหน่าย ตีราคา 31 ธันวาคม 2560 ค่ าเสื อมราคาสะสม 1 มกราคม 2559 ค่าเสื อมราคาสําหรับปี ค่าเสื อมราคาสําหรับส่ วนทีตัดจําหน่าย ค่าเสื อมราคาสําหรับส่ วนทีโอนกลับจากสิ นทรัพย์ ไม่หมุนเวียนทีถือไว้เพือขาย 31 ธันวาคม 2559 ค่าเสื อมราคาสําหรับปี ค่าเสื อมราคาสําหรับส่ วนทีจําหน่าย 31 ธันวาคม 2560 ค่ าเผือการด้ อยค่ า 1 มกราคม 2559 บันทึกเพิมขึน (ลดลง) ระหว่างปี โอนกลับจากสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนทีถือไว้เพือขาย 31 ธันวาคม 2559 กลับรายการค่าเผือการด้อยค่าเนืองจาก จําหน่ายระหว่างปี 31 ธันวาคม 2560 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2559 31 ธันวาคม 2560 ค่ าเสื อมราคาสํ าหรับปี 2559 (รวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริ หาร) 2560 (รวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริ หาร)
(หน่วย: พันบาท)
รวม
214,152 214,152 36,309 250,461
108,094 108,094 108,094
4,378 (1,976) 956,088 958,490 (6,659) 951,831
326,624 (1,976) 956,088 1,280,736 (6,659) 36,309 1,310,386
-
76,564 870 -
4,216 16 (1,976)
80,780 886 (1,976)
-
77,434 949 78,383
672,889 675,145 10,321 (3,221) 682,245
672,889 752,579 11,270 (3,221) 760,628
-
19,760 (1,278) 18,482
86 5,759 216,281 222,126
19,846 4,481 216,281 240,608
-
18,482
(630) 221,496
(630) 239,978
214,152 250,461
12,178 11,229
61,219 48,088
287,549 309,780 886 11,270
30
ในระหว่างปี 2560 กลุม่ บริ ษ ทั ฯได้จดั ให้มีการประเมิน ราคาสิ นทรั พย์ทีเกียวข้องกับโรงกลันนํามัน ตามรายกลุม่ ของสิ นทรัพย์ซึงราคาประเมินใหม่เป็ นราคาทีสรุ ปผลในวันที 31 ธันวาคม 2560 เกณฑ์ทีใช้ ประเมินราคาสินทรัพย์ มีดงั นี ก)
ที ดิ น ประเมิ น ราคาโดยผู ป้ ระเมิ น ราคาอิ ส ระโดยใช้วิ ธี เปรี ยบเที ย บราคาตลาด (Market Approach) ซึงราคายุติธรรมของทีดินโดยเฉลียอยู่ที 7.5 ล้านบาท ต่อไร่
ข)
อาคารโรงงาน เครื องจักรและอุปกรณ์โรงงานประเมินราคาโดยผูป้ ระเมินราคาอิสระโดยใช้ มูลค่าบังคับขายแบบมีเงือนไข (Orderly Liquidation Value) ซึงหมายถึง จํานวนเงินทีคาดการณ์ จากการหาผูซ้ ือสินทรัพย์ชนิดแยกส่วนตามสภาพและทีตังของสินทรัพย์ขณะนัน ภายใต้ เงือนไขในระยะเวลาพอสมควรซึงเจ้าของสินทรัพย์ถกู บังคับให้ขาย โดยสินทรัพย์จะถูกขาย ผ่านคนกลาง หรื อถูกเสนอขายให้แก่ผซู ้ ือเพือใช้ประโยชน์อย่างอืน โดยผูซ้ ือจะเป็ นผูอ้ อก ค่าใช้จ่ายทังหมด
ผลของการประเมินแสดงมูลค่าทีดินเพิมขึ นจากราคาตามบัญชีของการประเมินครังก่อน ซึงประเมิน ในปี 2556 จํานวนเงิน 48 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 36 ล้านบาท) กลุ่มบริ ษทั ฯบันทึกส่วนที เพิมขึนของมูลค่าสินทรัพย์ดงั กล่าวไว้ในส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ในส่วนของผูถ้ ือหุน้ นอกจากนี ผลของการประเมินแสดงมูลค่าทีคาดว่าจะได้รับคืนของอาคารและอุปกรณ์ตากว่ ํ ามูลค่า สุ ทธิ ต ามบัญ ชี ในงบการเงิน รวมจํานวนเงิ น 5 ล้านบาท (2559: 106 ล้านบาท) (งบการเงิน เฉพาะ กิจการ: 1 ล้านบาท 2559: 4 ล้านบาท) กลุ่มบริ ษ ัทฯจึ งรั บรู ้ผลขาดทุน จากการด้อยค่าของสิ น ทรัพย์ จํานวนดังกล่าวในงบกําไรขาดทุน หากกลุ่มบริ ษทั ฯแสดงมูลค่าของทีดิน อาคารโรงงาน เครื องจักรและอุปกรณ์โรงงาน ดังกล่าวด้วยวิธี ราคาทุน มูลค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 จะเป็ นดังนี (หน่วย: พันบาท)
ทีดิน อาคารโรงงานและส่วนปรับปรุ ง เครื องจักรและอุปกรณ์โรงงาน
งบการเงินรวม 2560 2559 141,286 141,286 17,985 21,311 136,582 170,230
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 105,770 105,770 11,228 12,178 48,090 61,219
31
ณ วันที 31 ธัน วาคม 2560 กลุ่ม บริ ษัทฯมียอดคงเหลือของยานพาหนะซึ งได้มาภายใต้สัญญาเช่ า การเงิ น โดยมี มู ล ค่ า สุ ท ธิ ต ามบัญ ชี เป็ นจํา นวนเงิ น 0.4 ล้านบาท (2559: 0.8 ล้านบาท) และใน งบการเงินเฉพาะกิจการจํานวนเงิน 0.4 ล้านบาท (2559: 0.6 ล้านบาท) บริ ษทั ย่อยแห่งหนึงได้จดจํานองทีดิน อาคาร เครื องจักรและถังนํามันซึงมีมลู ค่าสุทธิตามบัญชี ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 รวมจํานวนเงิน 88 ล้านบาท (2559: 78 ล้านบาท) เพือคําประกันเงินกูย้ ืมระยะสันที ได้รบั จากบริ ษทั ฯตามทีกล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 9 ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษทั ฯมีอาคารและอุปกรณ์จาํ นวนหนึงซึงตัดค่าเสื อมราคาหมดแล้ว แต่ ยงั ใช้งานอยู่ มูลค่ าตามบัญ ชี ก่ อนหักค่ าเสื อมราคาสะสมและค่ าเผือการด้อยค่ าของสิ น ทรั พ ย์ ดังกล่าวในงบการเงินรวมมีจาํ นวนเงิน 180 ล้านบาท (2559: 178 ล้านบาท) และในงบการเงินเฉพาะ กิจการจํานวนเงิน 27 ล้านบาท (2559: 41 ล้านบาท) 18. สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนทีเป็ นซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 แสดงได้ดงั นี (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 ราคาทุน 25,197 25,028 19,738 19,738 หัก: ค่าตัดจําหน่ายสะสม (23,475) (22,639) (19,097) (18,778) มูลค่าสุทธิตามบัญชี 1,722 2,389 641 960 การกระทบยอดมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนสําหรับปี 2560 และ 2559 แสดงได้ดงั นี
มูลค่าตามบัญชีตน้ ปี จําหน่าย โอน ค่าตัดจําหน่าย มูลค่าตามบัญชีปลายปี
งบการเงินรวม 2560 2559 2,389 3,236 (17) 186 85 (836) (932) 1,722 2,389
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 960 1,307 (319) (347) 641 960
ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี รวมอยูใ่ นค่าใช้จา่ ยในการบริ หาร 32
19. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน
เงินชดเชยค่าปรับคุณภาพ สิทธิการเช่าทีดินและสถานีบริ การนํามัน ภาษีเงินได้นิติบุคคลจ่ายล่วงหน้า ค่าใช้จา่ ยจ่ายล่วงหน้า เงินมัดจํา รวม
งบการเงินรวม 2560 2559 26,711 26,711 1,200 1,589 5,881 1,951 35,639 1,615 2,233 2,322 71,664 34,188
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 26,711 26,711 1,271 1,126 207 214 28,189 28,051
เงินชดเชยค่าปรับคุณภาพ คือ เงินชดเชยเนื องจากในไตรมาสทีสามของปี 2549 ผูข้ ายวัตถุดิบได้ส่ง วัตถุดิบทีมีคุณภาพผิดไปจากทีกําหนดไว้ในสัญญาซือขายวัตถุดิบ โดยมีคุณสมบัติทีผิดไปจากทีเคย ส่ งมอบให้บริ ษ ัทฯตลอดระยะเวลาของสัญญาทีผ่านมาอย่างกะทันหัน มีผลทําให้บริ ษ ัทฯต้องจ่ าย ต้นทุนเพิมในการปรับคุ ณภาพสิ นค้าตลอดจนค่าเสียหายด้านอืน ๆ รวมทังสิ นประมาณ 136 ล้านบาท จากการเจรจากับผูข้ ายวัตถุดิบ ได้ขอ้ สรุ ปว่าผูข้ ายวัตถุดิบจะชดเชยค่าปรับคุณภาพให้แก่บริ ษทั ฯ รวม 53 ล้านบาท ส่ วนที เหลือเป็ นค่ าเสี ยหายที เกิ ดจากการที ราคาของสิ นค้าและวัตถุดิ บลดตําลงมาก อย่างต่อเนื อง (Inventory Loss) และเนื องจากส่ วนนี เป็ นความเสียหายทีเกิดจากภาวะราคาตลาดโลก ทีทังฝ่ ายบริ ษทั ฯและฝ่ ายผูข้ ายวัตถุดิบต่างต้องแบกรับอย่างหลีกเลียงไม่ได้เช่นเดียวกัน ผูข้ ายวัตถุดิบ จึงขอให้ต่างฝ่ ายต่างแบกรับภาระ Inventory Loss ของตนเอง บริ ษทั ฯจึงได้บันทึ กบัญชีเงิน ชดเชย ค่าปรับคุณ ภาพจํานวนนี โดยลดต้น ทุ น ขายสําหรั บ ปี 2549 ทังจํานวน ทังนี ผูข้ ายวัตถุดิ บได้ออก ใบลดหนี ให้บ ริ ษ ทั ฯ จํานวนเงิ น 26 ล้านบาทในเดื อนพฤศจิ ก ายน 2549 ส่ ว นที เหลือจํานวนเงิ น 27 ล้านบาท ผูข้ ายแจ้งว่าจะพิจารณาวิธกี ารชดเชยให้ในภายหลัง ต่อมาในระหว่างวันที 2 ตุ ลาคม - 20 พฤศจิ กายน 2553 ผูข้ ายวัตถุดิ บได้ส่งวัตถุ ดิบที มี คุณภาพผิดไป จากที กําหนดไว้ในสัญญาซื อขายวัตถุดิบอีกครั ง มีผลทําให้ บริ ษ ทั ฯต้องจ่ ายต้นทุ นเพิ มในการปรั บ คุณภาพวัตถุดิบตลอดจนค่ าเสี ยหายด้านอืน ๆ รวมทังสิ นประมาณ 53 ล้านบาท ซึงบริ ษทั ฯได้เรี ยกร้ อง ค่าเสี ยหายดังกล่าวไปยังผูข้ ายวัตถุดิบแต่ไม่สามารถตกลงกันได้ ดังนัน เมือวันที 9 พฤศจิกายน 2559 บริ ษทั ฯจึงยืนคําเสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการ (ข้อพิพาทหมายเลขดําที 117/2559) เพือเรี ยกร้อง ให้ผขู ้ ายวัตถุดิบชดใช้ค่าเสียหายจากการปรับปรุ งคุณภาพวัตถุดิบ เนืองจากได้ส่งวัตถุดิบทีมีคุณภาพ ผิดไปจากทีกําหนดไว้ในสัญญาซื อขายวัตถุดิบในปี 2549 และในระหว่างเดือนตุลาคม - พฤศจิก ายน 2553 คิดเป็ นจํานวนเงิน 26,700,000 บาท และ 52,887,472.76 บาท ตามลําดับ พร้อมดอกเบียในอัตรา ร้อยละ 7.5 ต่อปี ของจํานวนเงิน ดังกล่าว รวมเป็ นค่าเสี ยหายทังสิ นจํานวนเงิน 116,678,438.74 บาท ในเดือนเมษายน 2560 ผูข้ ายวัตถุดิบได้ยืนคําคัดค้านแล้ว ปั จจุบ นั คดีอยูร่ ะหว่างการสรรหาประธาน อนุญาโตตุลาการเพือพิจารณาคดีดงั กล่าวต่อไป 33
20. วงเงินสินเชื อจากสถาบันการเงิน กลุม่ บริ ษทั ฯมีวงเงินเบิกเกินบัญชีและวงเงินกูย้ ืมระยะสันจากธนาคารหลายแห่ง ซึงมีรายละเอียดดังนี (หน่วย: ล้านบาท) คําประกันโดย บริ ษทั ฯ บริ ษทั เอสซีที สหภัณฑ์ จํากัด (SAP) บริ ษทั เพียวพลังงาน ไทย จํากัด (PTEC)
วงเงินสินเชือทียังไม่ได้เบิกใช้ 2560 2559 25 25
จดจํานําเงินฝากประจําของบริ ษทั ฯ จดจํานําเงินฝากประจําของ SAP และ คําประกันโดยบริ ษทั ฯ จดจํานําเงินฝากประจําของบริ ษทั ฯและ PTEC และคําประกันโดยบริ ษทั ฯ
21. เจ้าหนีการค้าและเจ้าหนีอืน
10
11
81
100 (หน่วย: พันบาท)
เจ้าหนี การค้า - กิจการทีไม่เกียวข้องกัน เจ้าหนี อืน - กิจการทีเกียวข้องกัน เจ้าหนี อืน - กิจการทีไม่เกียวข้องกัน ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เงินประกันผลงานค้างจ่าย รวม
งบการเงินรวม 2560 2559 1,637,496 1,639,246 307 173 28,071 12,775 7,868 7,942 1,899 1,033 1,675,641 1,661,169
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 1,518,109 1,518,109 50 54 1,590 2,268 927 1,785 1,520,676 1,522,216
22. เงินกู้ยืมระยะสันจากกิจการทีไม่เกียวข้ องกัน
อัตราดอกเบีย (ร้อยละต่อปี ) ตัวสัญญาใช้เงิน 1.45 - 1.61 ตัวแลกเงิน 6.01 รวม
คําประกันโดย ไม่มีหลักประกัน จํานําหุน้ ของบริ ษทั สัมมากร จํากัด (มหาชน)*
งบการเงินรวม 2560 2559
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
900 -
1,000 148,026
-
148,026
900
149,026
-
148,026
* ในระหว่างปี 2560 บริ ษทั ฯได้ไถ่ถอนการจํานําหุน้ ดังกล่าวแล้วตามทีกล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 14
34
23. สํารองผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักงาน จํานวนเงิน สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนัก งานซึ งเป็ นเงิน ชดเชยพนักงานเมือออกจากงาน ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 แสดงได้ดงั นี
สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานต้นปี ต้นทุนบริ การในปั จจุบนั ต้นทุนดอกเบีย โอนกลับสํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ผลประโยชน์ทจ่ี ายในระหว่างปี สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานปลายปี
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 9,421 9,499 2,276 2,694 1,036 1,192 338 515 258 239 44 51 (478) (984) (478) (984) (345) (525) (345) 9,892 9,421 1,835 2,276
ค่าใช้จ่ายเกียวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานรวมอยูใ่ นงบกําไรขาดทุนสําหรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 โดยรับรู ้ในรายการค่าใช้จา่ ยในการบริ หารแสดงได้ดงั นี (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2560 2559 ต้นทุนบริ การในปัจจุบนั 1,036 1,192 338 515 ต้นทุนดอกเบีย 258 239 44 51 โอนกลับสํารองผลประโยชน์ (984) (478) (984) (478) ระยะยาวของพนักงาน รวม 816 447 (96) (418) กลุม่ บริ ษทั ฯคาดว่าจะจ่ายชําระผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงานภายใน ปี ข้างหน้าเป็ นจํานวนเงิน ประมาณ 0.9 ล้านบาท (งบการเงินเฉพาะกิจการ: ไม่มี) (2559: 0.8 ล้านบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ: ไม่ม)ี ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 ระยะเวลาเฉลียถ่วงนําหนักในการจ่ายชําระผลประโยชน์ระยะยาว ของพนักงานของกลุม่ บริ ษทั ฯประมาณ 13 ปี (งบการเงินเฉพาะกิจการ: 12 ปี )
35
สมมติฐานทีสําคัญในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย ณ วันประเมินสรุ ปได้ดงั นี
อัตราคิดลด อัตราการขึนเงินเดือนในอนาคต
งบการเงินรวม 2560 2559 3.00 3.00 5.00 5.00
(หน่วย: ร้อยละต่อปี ) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 3.00 3.00 5.00 5.00
ผลกระทบของการเปลียนแปลงสมมติฐานทีสําคัญต่ อมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์ ระยะยาวของพนักงาน ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุ ปได้ดงั นี (หน่วย: พันบาท) ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราเพิมขึน อัตราลดลง อัตราเพิมขึน อัตราลดลง อัตราคิดลด เพิมขึนหรื อลดลง 0.5% อัตราการขึนเงินเดือนในอนาคต เพิมขึนหรื อลดลง 1%
(821)
889
(276)
296
1,796
(1,566)
596
(529) (หน่วย: พันบาท)
ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราเพิมขึน อัตราลดลง อัตราเพิมขึน อัตราลดลง อัตราคิดลด เพิมขึนหรื อลดลง 0.5% อัตราการขึนเงินเดือนในอนาคต เพิมขึนหรื อลดลง 1%
(726)
788
(231)
249
1,594
(1,382)
501
(442)
36
24. หนีสินหมุนเวียนอืน
ภาษีมูลค่าเพิมค้างจ่าย เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า เงินสนับสนุนการปรับปรุ งสถานี บริ การนํามันรับล่วงหน้า อืน ๆ รวม
งบการเงินรวม 2560 2559 505 1,142 9,282 9,849 78,755 4,094 92,636
2,988 13,979
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 121 121
166 166
25. สํารองตามกฎหมาย ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่ งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริ ษทั ฯต้อง จัด สรรกําไรสุ ทธิ ประจําปี ส่ วนหนึ งไว้เป็ นทุ นสํารองไม่น้อยกว่ าร้อยละ 5 ของกําไรสุ ทธิประจําปี หัก ด้ว ยยอดขาดทุน สะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุ น สํารองนี จะมีจ าํ นวนไม่น ้อยกว่าร้ อยละ 10 ของ ทุนจดทะเบียน สํารองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนําไปจ่ายเงินปันผล ภายใต้บทบัญญัตขิ องมาตรา 1202 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ของประเทศไทย บริ ษทั ย่อย ต้องจัดสรรทุ นสํารองไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของจํานวนผลกําไรซึงบริ ษทั ย่อยทํามาหาได้ทุกคราวที จ่ ายเงิ น ปั น ผลจนกว่าทุ น สํารองนั นจะมีจ าํ นวนไม่ น้อยกว่าร้ อยละ 10 ของทุ น จดทะเบี ยนของ บริ ษทั ย่อย สํารองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนําไปหักกับขาดทุนสะสมและไม่สามารถนําไป จ่ายเงินปันผล 26. ส่ วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ คือส่วนเกินทุนจากการตีราคาทีดิน รายการเปลียนแปลงของ บัญชีส่วนเกิ นทุ นจากการตีราคาสิ นทรัพย์ - สุ ทธิจ ากภาษี เงิน ได้สาํ หรับปี สิ นสุ ด วัน ที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุ ปได้ดงั นี
ยอดคงเหลือต้นปี บวก: ตีราคาสินทรัพย์ระหว่างปี หัก: ผลกระทบภาษีเงินได้จากการตีราคา ยอดคงเหลือปลายปี
งบการเงินรวม 2560 2559 116,367 116,367 47,736 (9,547) 154,556 116,367
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 86,706 86,706 36,309 (7,262) 115,753 86,706 37
ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ดงั กล่าวไม่สามารถนํามาหักกับขาดทุนสะสมและไม่สามารถจ่าย เป็ นเงินปันผล 27. รายได้ อนื
รายได้คา่ บริ หารจัดการ เงินปันผลรับ กําไรจากการขายอุปกรณ์และ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน รายได้คา่ ปรับล่าช้า กําไรจากการขายเงินลงทุน ในบริ ษทั ร่ วม ดอกเบี ยรับ รายได้อนื รวม
งบการเงินรวม 2560 2559 6,868 13,893 -
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 2,437 50,410 112,880
868 -
110 40,000
-
108 40,000
3,539 8,292 19,567
14,111 2,522 9,273 79,909
4,837 5,486 60,733
31,469 4,362 8,493 199,749
28. ค่าใช้ จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จา่ ยแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จา่ ยทีสําคัญดังต่อไปนี
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
งบการเงินรวม 2560 2559 เงินเดือน ค่าแรงและผลประโยชน์อืน ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน (โอนกลับ) ค่าเสื อมราคาและค่าตัดจําหน่าย การเปลียนแปลงในสิ นค้าสําเร็ จรู ป ต้นทุนสิ นค้าสําเร็ จรู ปซื อมาเพือขายและ ให้บริ การ ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุนใน บริ ษทั ย่อย ขาดทุนจากการด้อยค่าอาคารและอุปกรณ์ (โอนกลับ)
103,900
115,753
9,581
17,778
816 48,410 (4,969)
447 54,712 2,525
(96) 12,978 -
(418) 2,961 2,776
2,258,332
2,051,733
-
-
-
-
21,364
81,605
3,271
105,964
(630)
4,256
38
29. ภาษีเงินได้ ค่าใช้จา่ ย (รายได้) ภาษีเงินได้สาํ หรับปี สิ นสุดวันที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุ ปได้ดงั นี งบการเงินรวม 2560 2559 ภาษีเงินได้ ปจั จุบัน: ภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลสําหรับปี ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี : ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกต่างชัวคราว และการกลับรายการผลแตกต่างชัวคราว ค่าใช้ จ่าย (รายได้) ภาษีเงินได้ ทีแสดงอยู่ในงบกําไรขาดทุน
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
-
1,816
-
-
(761) (761)
(1,033) 783
-
-
จํานวนภาษี เ งิ น ได้ทีเกี ยวข้อ งกับ ส่ ว นประกอบแต่ ล ะส่ ว นของกําไรขาดทุ น เบ็ ดเสร็ จ อืนสําหรั บ ปี สินสุดวันที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 สรุ ปได้ดงั นี (หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
งบการเงินรวม 2560 2559 ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทีเกียวข้องกับผลกําไร จากการตีราคาทีดิน รวม
-
9,547 9,547
7,262 7,262
-
รายการกระทบยอดระหว่างกําไร (ขาดทุน) ทางบัญชีกบั ค่าใช้จา่ ย (รายได้) ภาษีเงินได้มดี งั นี งบการเงินรวม 2560 2559 ก ําไร (ขาดทุน) ทางบัญชีกอ่ นภาษีเงินได้นิติบคุ คล จากการดําเนินงานต่อเนือง จากการดําเนินงานทียกเลิก รวมก ําไร (ขาดทุน) ทางบัญชีกอ่ นภาษีเงินได้นิติบคุ คล อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล กาํ ไร (ขาดทุน) ทางบัญชีกอ่ นภาษีเงินได้นิติบคุ คลคูณอัตราภาษี สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีทไม่ ี ได้บนั ทึกในระหว่างปี เนืองจากอาจไม่มีกาํ ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอ ผลกระทบทางภาษีของค่าใช้จา่ ยทีไม่สามารถนํามาหักภาษีได้ - ค่าใช้จ่ายต้องห้ามอืน
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559
(25,016) (12,868) (37,884)
(61,119) (8,141) (69,260)
(119) (12,868) (12,987)
59,620 (8,141) 51,479
ร้อยละ 20 (7,577)
ร้อยละ 20 (13,852)
ร้อยละ 20 (2,597)
ร้อยละ 20 10,296
16,049
24,418
10,380
10,390
201
350
127
5
39
งบการเงินรวม 2560 2559 ผลกระทบทางภาษีสาํ หรับ - รายได้ทีได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล - อืน ๆ ผลกระทบจากรายการตัดบัญชีในการจัดทํางบการเงินรวม ค่าใช้จา่ ย (รายได้) ภาษีเงินได้ทแสดงอยู ี ใ่ นงบก ําไรขาดทุน
(10,100) 1,542 (876) (761)
(22,576) 1,422 11,021 783
(หน่วย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 (10,082) 2,172 -
(22,576) 1,885 -
ส่ ว นประกอบของสิ น ทรั พ ย์ภ าษี เงิ น ได้ ร อการตั ด บัญ ชี แ ละหนี สิ น ภาษี เงิ น ได้ร อการตัด บัญ ชี ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี (หน่วย: พันบาท) งบแสดงฐานะการเงิน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2560 2559 2560 2559 สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าเผือหนีสงสัยจะสู ญ ค่าเผือการลดลงของมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ สํารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน อืน ๆ รวม หนีสิ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ส่ วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ รวม
3,157 1,190 1,611 325 6,283
3,175 895 1,429 24 5,523
-
-
38,639 38,639
29,092 29,092
28,938 28,938
21,677 21,677
ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษ ทั ฯมีรายการผลแตกต่างชัวคราวทีใช้หกั ภาษีและขาดทุนทางภาษี ที ยังไม่ได้ใ ช้ จํานวนเงิน 1,289 ล้านบาท (2559: 1,364 ล้านบาท) และในงบการเงิน เฉพาะกิ จการ จํานวนเงิ น 875 ล้านบาท (2559: 895 ล้านบาท) ที กลุ่มบริ ษัทฯไม่ได้บนั ทึ กสิ น ทรั พย์ภาษี เงิน ได้ รอการตัดบัญชี เนืองจากพิจารณาแล้วเห็นว่ากลุ่มบริ ษทั ฯอาจไม่มกี าํ ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอทีจะ นําผลแตกต่างชัวคราวและขาดทุนทางภาษีทยัี งไม่ได้ใช้ขา้ งต้นมาใช้ประโยชน์ไ ด้ ผลขาดทุนทางภาษี ที ยังไม่ไ ด้ใ ช้มีจ าํ นวนเงิ น 519 ล้า นบาท และในงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การจํานวนเงิ น 231 ล้านบาท ซึงจะทยอยสิ นสุดระยะเวลาการให้ประโยชน์ภายในปี 2565
40
30. การดําเนินงานทียกเลิก ขาดทุนจากการดําเนิ นงานทียกเลิกสําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 มีรายละเอียด ดังต่อไปนี (หน่วย: พันบาท) งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 รายได้ ค่าใช้ จ่าย ค่าใช้จา่ ยในการบริ หาร 12,868 8,141 12,868 8,141 รวมค่าใช้ จ่าย (12,868) (8,141) ขาดทุนสําหรับปี จากการดําเนินงานทียกเลิก (หน่วย: บาท) งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 กําไรต่อหุ้น: ขาดทุนต่อหุ น้ สําหรับปี จากการดําเนินงานทียกเลิก จํานวนหุน้ สามัญถัวเฉลียถ่วงนําหนัก
(0.01)
(0.01)
1,304,664
(หน่วย: พันหุน้ ) 1,304,664
กระแสเงินสดสุทธิจากการดําเนินงานทียกเลิกสําหรับปี 2560 และ 2559 มีดงั ต่อไปนี (หน่วย: พันบาท)
กิจกรรมดําเนินงาน กิจกรรมลงทุน กิจกรรมจัดหาเงิน กระแสเงินสดสุ ทธิจากการดําเนินงานทียกเลิก
งบการเงินรวม / งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 1,171 1,171 -
41
31. กําไรต่อหุ้นขันพืนฐาน กําไรต่ อ หุ ้ น ขันพื นฐานคํานวณโดยหารกํา ไร (ขาดทุ น ) สํา หรั บ ปี ที เป็ นของผูถ้ ื อหุ ้น ของบริ ษ ทั ฯ (ไม่รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน) ด้วยจํานวนถัวเฉลียถ่วงนําหนักของหุ น้ สามัญทีออกอยูใ่ นระหว่างปี 32. ข้ อมูลทางการเงินจําแนกตามส่ วนงาน ข้อมูลส่วนงานดําเนิ นงานทีนําเสนอนี สอดคล้องกับรายงานภายในของบริ ษทั ฯทีผูม้ อี าํ นาจตัดสิน ใจ สู งสุ ด ด้านการดําเนิ น งานได้รั บและสอบทานอย่างสมําเสมอเพือใช้ในการตัดสิ นใจในการจัดสรร ทรัพยากรให้กบั ส่วนงานและประเมินผลการดําเนินงานของส่วนงาน เพือวัตถุประสงค์ในการบริ หารงาน กลุ่มบริ ษทั ฯจัดโครงสร้างองค์กรเป็ นหน่ วยธุรกิจ ตามประเภท ของผลิตภัณฑ์และบริ การ กลุม่ บริ ษทั ฯมีส่วนงานทีรายงานทังสิ น 2 ส่วนงาน ดังนี 1)
ส่วนงานธุรกิจพลังงานเป็ นส่วนงานทีประกอบธุรกิจค้าปลีกนํามันและแก๊สผ่านสถานี บริ การ นํามัน จําหน่ ายอุปกรณ์เครื องมือของสถานี บริ การนํามันและให้บริ การซ่ อมบํา รุ ง และให้เช่า คลังนํามันและกิจการท่าเรื อ
2)
ส่วนงานอสังหาริ มทรัพย์เป็ นส่วนงานทีประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ประเภทจําหน่าย และให้เช่า
กลุ่มบริ ษทั ฯไม่มีการรวมส่วนงานดําเนินงานเป็ นส่วนงานทีรายงานข้างต้น ผูม้ ี อ ํา นาจตัด สิ น ใจสู ง สุ ด สอบทานผลการดํา เนิ น งานของแต่ ล ะหน่ ว ยธุ ร กิ จ แยกจากกัน เพื อ วัตถุประสงค์ในการตัดสินใจเกียวกับการจัดสรรทรัพยากรและการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน บริ ษทั ฯ ประเมินผลการปฏิบ ตั ิงานของส่วนงานโดยพิจารณาจากกําไรหรื อขาดทุนจากการดําเนิ นงานรวมซึง วัดมูลค่าโดยใช้เกณฑ์เดียวกับทีใช้ในการวัดกําไรหรื อขาดทุนจากการดําเนินงานรวมในงบการเงิน การบันทึกบัญชีสาํ หรับรายการระหว่างส่วนงานทีรายงานเป็ นไปในลักษณะเดียวกับการบันทึกบัญชี สําหรับรายการธุรกิจกับบุคคลภายนอก กลุม่ บริ ษ ทั ฯดําเนินธุรกิจในเขตภูมิศาสตร์เดียวคือประเทศไทย ดังนัน รายได้ทีแสดงอยูใ่ นงบการเงิน จึงถือเป็ นการรายงานตามเขตภูมศิ าสตร์แล้ว ในปี 2560 และ 2559 กลุม่ บริ ษทั ฯไม่มีรายได้จากลูกค้ารายใดทีมีมูลค่าเท่ากับหรื อมากกว่าร้อยละ 10 ของรายได้ของกิจการ
42
ข้อมู ลรายได้แ ละกําไร (ขาดทุ น ) ของส่ วนงานของกลุ่มบริ ษทั ฯสําหรั บปี สิ นสุ ด วัน ที 2560 และ 2559 มีดงั ต่อไปนี
ส่ วนงานธุรกิจพลังงาน 2560 2559 รายได้ รายได้จากการขายและบริ การให้ลกู ค้าภายนอก รายได้ระหว่างส่ วนงาน ดอกเบียรับ รายได้อนื
สําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม ส่ วนงาน รายการปรับปรุ งและ อสังหาริ มทรัพย์ ตัดรายการระหว่างก ัน 2560 2559 2560 2559
ธัน วาคม (หน่วย: ล้านบาท)
งบการเงินรวม 2560 2559
2,438 12 7 67 2,524
2,255 12 6 207 2,480
-
-
(12) (4) (51) (67)
(12) (4) (129) (145)
2,438 3 16 2,457
2,255 2 78 2,335
2,253 49 62 167 6
2,056 58 66 177 101
-
-
(2) (10) (2)
(3) (4) (6) -
2,253 47 62 157 4
2,053 54 66 171 101
21 2,558
82 2,540
-
-
(21) (35)
(82) (95)
2,523
2,445
(34) 17
(60) 5
27
56
(32) -
(50) -
(66) 44
(110) 61
กําไร (ขาดทุน) ก่ อนค่ าใช้ จ่ายทางการเงิน และภาษีเงินได้ ค่าใช้จา่ ยทางการเงิน
(17) (18)
(55) (27)
27 -
56 -
(32) 15
(50) 15
(22) (3)
(49) (12)
กําไร (ขาดทุน) ก่ อนภาษีเงินได้ รายได้ (ค่าใช้จา่ ย) ภาษีเงินได้
(35) -
(82) (2)
27 -
56 -
(17) 1
(35) 1
(25) 1
(61) (1)
(35) (13) (48)
(84) (8) (92)
27 27
56 56
(16) (16)
(34) (34)
(24) (13) (37)
(62) (8) (70)
รวมรายได้ ค่ าใช้ จ่าย ต้นทุนขายและบริ การ ค่าเสื อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าใช้จา่ ยในการขาย ค่าใช้จา่ ยในการบริ หาร ขาดทุนจากการด้อยค่าของอาคารและอุปกรณ์ ขาดทุ น จากการด้อ ยค่ า ของเงิ น ลงทุ นใน บริ ษทั ย่อย รวมค่ าใช้ จ่าย ขาดทุนก่ อนส่ วนแบ่งกําไร จากเงินลงทุนในบริษทั ร่ วม ค่ าใช้ จ่าย ทางการเงินและภาษีเงินได้ ส่ วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม
กําไร (ขาดทุน ) สําหรั บปี จากการดําเนินงาน ต่อเนือง ขาดทุนสําหรับปี จากการดําเนินงานทียกเลิก กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี
43
33. กองทุนสํารองเลียงชีพ บริ ษ ัท ฯ บริ ษัท ย่ อยและพนั ก งานกลุ่ ม บริ ษัท ฯได้ร่ ว มกัน จัด ตังกองทุ น สํารองเลี ยงชี พ ขึ นตาม พระราชบัญญัติก องทุน สํารองเลียงชีพ พ.ศ. 2530 บริ ษทั ฯ บริ ษัทย่อยและพนักงานจ่ายสมทบเข้า กองทุนเป็ นรายเดือนในอัตราร้อยละ 5 - 10 ของเงินเดือน กองทุนสํารองเลียงชีพนี บริ หารโดยบริ ษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน อเบอร์ดีน จํากัด และจะจ่ายให้แก่พนักงานเมือพนักงานนันออกจากงาน ตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของบริ ษทั ฯ ในระหว่างปี 2560 กลุ่มบริ ษทั ฯรับรู ้เงินสมทบดังกล่าวเป็ น ค่าใช้จา่ ยจํานวนเงิน 2.7 ล้านบาท (2559: 2.6 ล้านบาท) 34. ภาระผูกพันและหนีสินทีอาจเกิดขึน 34.1 ภาระผูกพันเกียวกับรายจ่ายฝ่ ายทุน ณ วันที 31 ธัน วาคม 2560 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ งมีภาระผูก พัน รายจ่ ายฝ่ ายทุ น เกี ยวกับ การปรั บปรุ ง สถานีบริ การนํามันจํานวนเงิน 9.1 ล้านบาท (2559: 4.9 ล้านบาท) 34.2 ภาระผูกพันเกียวกับสัญญาเช่ าดําเนินงาน สัญญาบริการ และสัญญาร่ วมวิจยั และพัฒนา กลุ่มบริ ษ ัทฯได้เข้าทําสัญ ญาเช่ าดําเนิ น งานและสัญ ญาบริ ก ารที เกี ยวข้องกับการเช่ าที ดิ น อาคาร คลังนํามัน สถานี บริ การนํามันและอุปกรณ์ อายุของสัญญามีระยะเวลาตังแต่ 1 ถึง 20 ปี และสัญญา ร่ วมวิจยั และพัฒนาซึงมีระยะเวลา 3 ปี กลุ่มบริ ษทั ฯมีจาํ นวนเงินขันตําทีต้องจ่ายในอนาคตทังสิ นภายใต้สญ ั ญาข้างต้น ดังนี (หน่วย: ล้านบาท) จ่ายชําระ ภายใน 1 ปี มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี มากกว่า 5 ปี
งบการเงินรวม 2560 2559 34 23 101 81 182 83
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2560 2559 5 4 -
34.3 ภาระผูกพันเกียวกับสัญญาซื อระยะยาว ก)
ในเดือนพฤศจิกายน 2550 บริ ษทั ย่อย (บริ ษทั เพียวไบโอดีเซล จํากัด) (PBC) ได้เข้าทําสัญญา ซือขายไอนํากับบริ ษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี จํากัด (GPSC) โดยปริ มาณการซือขายและ ราคาเป็ นไปตามที ระบุไว้ในสัญ ญา สัญญาดังกล่าวมีระยะเวลา 15 ปี นับ จากวัน ที อุ ปกรณ์ พร้อมใช้งาน โดยกําหนดส่ งมอบไอนําภายในวันที 1 ตุลาคม 2551 และสามารถต่ออายุได้อีก 5 ปี 44
ต่ อมา เมื อวันที 26 ธัน วาคม 2554 บริ ษ ัทย่อ ยได้เข้าทําบัน ทึ ก ข้อตกลงการวางท่ อไอนํากับ GPSC เพิมเติม โดย GPSC จะดําเนินการก่ อสร้างชันวางท่อยกระดับและสะพานรับท่อเพือวาง ท่อไอนําซึงมีค่ าก่ อสร้างจํานวนเงิน 58 ล้านบาท และ GPSC จะชดเชยผลกระทบจากการที ไม่ ส ามารถส่ ง มอบไอนําตามสัญญาซื อขายไอนําเป็ นจํานวนเงิ น 23 ล้านบาท ซึ งถื อเป็ น ส่ ว นหนึ งของค่ าชดเชยความล่าช้า โดยนําไปหักจากค่ าก่อสร้ างดังกล่าว จากนันบริ ษ ัทย่อย จะต้องชําระคืนค่าก่อสร้างและดอกเบียแก่ GPSC ทุกเดื อนตังแต่วนั ที 1 ของเดือนที 37 และจะ ชําระให้แล้วเสร็ จ ภายในระยะเวลา 72 เดือนนับตังแต่วนั ทีเริ มมีการส่ งมอบไอนําเชิงพาณิ ชย์ โดยคิดดอกเบียในอัตรา MLR ของธนาคารแห่งหนึง ในเดือนมีนาคม 2560 GPSC ได้ส่งจดหมายแจ้งยกเลิกสัญญาซือขายไอนําและบันทึกข้อตกลง การวางท่อไอนํา โดยอ้างว่า PBC ไม่ปฎิบตั ิตามเงือนไขในสัญญาดังกล่าว พร้อมทังเรี ยกร้อง ค่าเสียหายจํานวนหนึง ต่อมา PBC ได้ส่งจดหมายปฏิเสธการชําระค่าเสียหายดังกล่าว ข)
เมือวัน ที 6 ตุ ลาคม 2560 ที ประชุมคณะกรรมการบริ ษ ัทฯมีมติอนุ มตั ิให้บริ ษ ัทย่อยแห่ งหนึ ง ซึงประกอบธุ รกิ จค้าปลีกและสถานี บริ การนํามัน ปรับเปลียนการบริ หารงานสถานี บริ การ นํามันภายใต้เครื องหมายการค้า “เพีย ว” เป็ นสถานี บ ริ ก ารนํามัน ภายใต้เครื องหมายการค้า “เอสโซ่ ” เพื อเพิมศัก ยภาพและความแข็งแกร่ งทางธุ รกิจ ค้าปลีก นํามันและรองรับการขยาย ธุรกิจในอนาคต ต่ อ มา ในเดื อ นพฤศจิ ก ายน บริ ษั ท ย่อ ยดัง กล่ าว ได้ท ําสั ญ ญากับ บริ ษั ท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) โดยทําสัญญาซื อขายนํามันและให้ใช้สิทธิเครื องหมายการค้า “เอสโซ่ ” สําหรั บ สถานี บ ริ การนํามัน ของบริ ษ ัท ย่อ ยจํานวน 49 สถานี สัญ ญาดังกล่ าวมี ระยะเวลา 10 ปี นับตังแต่ วนั ทีแต่ละสาขาเปิ ดให้บริ ก ารภายใต้เครื องหมายการค้า “เอสโซ่ ” ทังนี บริ ษทั ย่อยยังเป็ นผูด้ าํ เนินงานบริ หารสถานีบริ การนํามันดังกล่าว โดยในสัญญากําหนดให้ บริ ษัท ย่ อ ยต้อ งสั งซื อนํามัน ตามปริ มาณและราคาตามที ระบุ ไ ว้ใ นสั ญ ญาเป็ นระยะเวลา 12 ปี
34.4 การคําประกัน ก)
ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 มีหนังสื อคําประกันทีออกโดยธนาคารในนามกลุ่มบริ ษทั ฯเหลืออยู่ เป็ นจํานวนเงิน 198 ล้านบาท (2559: 155 ล้านบาท) ซึงเกี ยวเนื องกับภาระผูกพัน ทางปฏิบ ัติ บางประการตามปกติธรุ กิจของกลุม่ บริ ษทั ฯ ซึงประกอบด้วย หนังสื อคําประกันเพือคําประกัน การจ่ ายชําระเงิ น ให้ แก่ เจ้า หนี จํานวนเงิ น 195 ล้า นบาท (2559: 150 ล้านบาท) และเพื อ คําประกันการใช้ไฟฟ้าและอืน ๆ จํานวนเงิน 3 ล้านบาท (2559: 5 ล้านบาท)
ข)
ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 และ 2559 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ งคําประกันวงเงินสินเชือจากธนาคารของ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ย่อยแห่งนันในวงเงิน 10 ล้านบาท 45
34.5 คดีฟ้องร้ องและข้ อพิพาททางการค้า ก)
เมือวันที 8 สิ งหาคม 2538 บริ ษ ัทฯได้เข้าทําสัญ ญาซื อขายวัต ถุ ดิบ คอนเดนเสทเรสซิ ดิ ว กับ บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) (PTT) ซึงวัตถุดบิ ดังกล่าวผลิตโดยบริ ษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (PTTGC) โดยปริ มาณการซือขายและราคาเป็ นไปตามทีระบุไว้ในสัญญา สัญญาดังกล่าว มีลกั ษณะเป็ น Evergreen Basis คือไม่มีกาํ หนดเวลาสิ นสุด โดยมีระยะเวลาช่ว งแรก (Primary period) 15 ปี ซึงช่วงแรกครบกําหนดในปี 2555 และสัญญาจะต่อเนืองไปยังช่วงที 2 ในลักษณะ ของ Evergreen Basis โดยอัตโนมัติ และกําหนดให้บริ ษทั ฯต้องวางหนังสือคําประกันธนาคาร จํานวนหนึ งเพือเป็ นหลัก ประกันการจ่ายชําระค่าซื อสิ นค้า บริ ษทั ฯจะได้รับคื น หลัก ประกัน ดังกล่าวเมือคู่สญ ั ญาตกลงเลิกสัญญาหรื อ PTT ผิดสัญญา เมือวันที 30 กันยายน 2552 PTT ได้ส่งจดหมายแจ้งขอยกเลิกสัญญาการซือขายวัตถุดิบคอนเดนเสท เรสซิดิ วกับบริ ษ ทั ฯ โดยจะขอยกเลิก สัญ ญาเมื ออายุสญ ั ญาครบ 15 ปี แรก (Primary period) ในปี 2555 ทังทีบริ ษทั ฯไม่ได้ประพฤติผิดสัญญา และการเลิกสัญญาเป็ นการขัดกับเจตนารมณ์ ของการทําสัญ ญา ทังนี บริ ษัทฯและที ปรึ กษากฎหมายของบริ ษัทฯเห็ นว่าสัญญาดังกล่าว ไม่สามารถยกเลิกได้เนืองจากเป็ นสัญญาต่างตอบแทนระยะยาว โดยทีในสัญญาระบุให้บริ ษทั ฯ ต้องเป็ นผู้ลงทุ น ก่ อสร้ างโรงกลั นขึ นมารองรั บ เพื อแปรรู ปวัต ถุ ดิ บ คอนเดนเสทเรสซิ ดิ ว ซึงเป็ นสเปกวัตถุดิบทีรับมาจาก PTT เท่านัน และสัญญาบังคับบริ ษทั ฯไม่ให้นาํ วัตถุดิบไปขายต่ อ ในสภาพเดิมทีรั บมาอีก ด้วย ดังนัน ในสัญญาจึงมีการระบุ ว่าเป็ นสัญญาลักษณะ Evergreen Basis คือไม่มีก าํ หนดเวลาสิ นสุ ด สัญญาจะมีผลบังคับต่ อไปโดยอัตโนมัติ เมือครบกําหนด 15 ปี แรก (Primary period) และในช่วงต่อ ๆ ไป อีกทังการยกเลิกสัญญาจะกระทําได้ก็ต่อเมือ ได้รบั ความยินยอมจากคูส่ ญ ั ญาทัง 2 ฝ่ ายหรื อในกรณี ทีฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ งทําผิดสัญญา ซึงบริ ษทั ฯ ไม่เคยดําเนิ น การใด ๆ ผิด จากข้อสั ญ ญาที กําหนดไว้ บริ ษ ัท ฯจึ งมันใจว่าสัญ ญาดังกล่ าว ไม่สามารถยกเลิ ก ได้ ในขณะที ทาง PTT เห็ น ต่ างออกไป บริ ษัท ฯได้ร่ วมหารื อกับ PTT เพือหาข้อสรุ ปทียุติธรรมกับทังสองฝ่ ายแต่ไม่สามารถหาข้อยุตริ ่ วมกันได้ ดังนัน เพือรักษาสิทธิ ของผูถ้ ือหุ ้นให้ได้รั บการรั บรองและคุ ม้ ครองตามกฎหมาย บริ ษัทฯจึ งได้ใช้กระบวนการ ยุติธรรมเป็ นผูต้ ดั สิ นชี ขาด โดยได้ดาํ เนินการยืนคําเสนอข้อพิพาทต่ ออนุ ญาโตตุลาการในวันที 3 ธันวาคม 2552 และเมือวันที 27 สิ งหาคม 2553 บริ ษทั ฯได้ยืนฟ้ องต่ อศาลแพ่งเรี ยกร้ องให้ PTT และ PTTGC ร่ ว มกันปฏิบัติต ามสัญ ญาดังกล่าวต่ อไปโดยไม่ก าํ หนดระยะเวลาสิ นสุ ด หากการบังคับให้ PTT และ PTTGC ปฏิบตั ิตามสัญญาดังกล่าวเป็ นการพ้นวิสัย ไม่อาจกระทําได้ ไม่วา่ ด้วยเหตุประการใด ให้ PTT และ PTTGC ร่ วมกันรับผิดชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่บริ ษทั ฯ เป็ นเงิ น รวมทั งสิ น 13,805,648,806.91 บาท ต่ อมา บริ ษั ทฯได้ ยืนคําร้ อ งขอแก้ไ ขเพิ มเติ ม คําเสนอข้อพิ พาทเพื อขอเพิ มจํานวนค่ าเสี ย หายเป็ นจํานวนเงิ น รวม 29,368,397,797.76 บาท 46
ซึงคณะอนุ ญาโตตุลาการมีคาํ สังอนุ ญาตตามคําร้องฉบับดังกล่าวแล้ว และศาลแพ่งมีคาํ สังให้ จําหน่ายคดีทีฟ้องร้องชัวคราวเพือรอฟังคําวินิจฉัยคดีขอ้ พิพาททางการค้าของอนุญาโตตุลาการ ต่ อ มาเมื อวัน ที 30 พฤศจิ ก ายน 2554 ซึ งเป็ นช่ วงเวลาที อยู่ในระหว่ างการพิ จารณาคดี ของ อนุ ญ าโตตุ ลาการ บริ ษ ัทฯได้รั บแผนการส่ งวัต ถุ ดิ บล่ วงหน้ าจาก PTT ซึ งเป็ นกระบวนการ ประสานงานระหว่างกันตามปกติธุรกิจ พบว่าแผนการส่ งวัตถุดิ บนี ระบุปริ มาณการส่ งวัตถุดิ บ ถึ งเดื อ นมกราคม 2555 เท่ านั น โดย PTT ได้ หยุ ด ส่ งวัต ถุ ดิ บ ตั งแต่ เดื อ นกุ ม ภาพัน ธ์ 2555 เป็ นการทําผิดสัญญาข้อ 15.5 ทีระบุให้ PTT ต้องปฏิบตั ิ ตามสัญญาต่อไปจนกว่าอนุญาโตตุลาการ จะมีค ําวิ นิ จฉัยเด็ดขาดจึ งทําให้บริ ษ ัทฯต้องหยุด การผลิตเนื องจากบริ ษ ัทฯไม่ มี วตั ถุดิ บหลัก จาก PTT ต่อมา บริ ษ ทั ฯได้ยนคํ ื าร้องขอสละประเด็น ข้อพิพาทเกียวกับกรณี ทีบริ ษ ทั ฯเรี ยกร้องให้ PTT ปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญาดัง กล่ า วต่ อ ไป โดยอนุ ญาโตตุ ล าการได้มี ค ํา สั งอนุ ญ าตให้ บ ริ ษัท ฯ สละประเด็นดังกล่าวได้ในวันที 5 กรกฎาคม 2555 ตามที บริ ษ ัทฯมีข ้อพิ พาทกับ PTT ดังกล่าวข้างต้น เป็ นเหตุ ให้บริ ษ ทั ฯต้องใช้สิทธิเรี ยกร้ อง ค่ า เสี ยหายต่ อ อนุ ญาโตตุ ล าการ (ข้ อ พิ พ าทหมายเลขดํ า ที 114/2552) และต่ อ ศาลแพ่ ง (คดี ห มายเลขดํา ที 3162/2553) เป็ นจํานวนเงิน ไม่น้อยกว่ า 29,000 ล้านบาท จากกรณี ที PTT ไม่ปฏิบัติตามสัญญาและบริ ษ ัทฯได้ใช้สิทธิทางศาลและเสนอข้อพิพาทต่ออนุ ญาโตตุลาการ เพือเรี ยกร้องค่าเสี ยหายจาก PTT ดังกล่าวข้างต้น บริ ษ ทั ฯจึงใช้สิทธิในการยึดหน่ วงค่าวัตถุดิบ คอนเดนเสทเรสซิดิวงวดสุดท้ายจํานวนเงิน 1,518 ล้านบาท (สุทธิจากหนังสื อคําประกันทีออก โดยธนาคาร) ไว้เป็ นส่วนหนึงของค่าเสียหายทีเรี ยกร้องกับ PTT ในเดือนมิถุนายน 2555 บริ ษทั ฯได้รับแจ้งจากสํานักข้อพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรมว่า PTT ได้ยืนคําเสนอข้อพิ พ าทต่ อสถาบัน อนุ ญ าโตตุ ลาการ (ข้อพิ พ าทหมายเลขดําที 78/2555) เรี ยกร้องให้บริ ษทั ฯชําระหนี เงินต้นพร้อมดอกเบีย รวมเป็ นเงิน ,555 ล้านบาท ให้แก่ PTT ในเดื อ นเมษายน 2559 บริ ษัท ฯได้รั บ สําเนาคําชี ขาดของคณะอนุ ญ าโตตุ ลาการลงวัน ที 25 มีนาคม 2559 โดยคณะอนุ ญาโตตุลาการเสี ยงข้างมากมีคาํ ชี ขาดให้ PTT ชําระค่ าเสี ยหาย จากการบอกเลิกสัญญากับบริ ษ ทั ฯโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายเป็ นจํานวนเงิน 390 ล้านบาทต่ อปี นับตังแต่ว นั ที 1 กุมภาพันธ์ 2555 จนถึงวันทีคณะอนุญาโตตุลาการมีคาํ ชีขาด (วันที 25 มีนาคม 2559) พร้อมทังดอกเบี ยในอัตราร้อ ยละ 7.5 ต่อปี ของยอดเงิน ค่ าเสี ยหายทีได้จากการคํานวณ ข้างต้นนับตังแต่วนั ทีคณะอนุญาโตตุลาการมีคาํ ชีขาดจนถึงวันทีที PTT ชําระเงินให้แก่บริ ษทั ฯ ครบถ้วน ซึงบริ ษทั ฯ สามารถยืนคําร้องต่อศาลแพ่ง เพือให้ศาลทําการบังคับตามคําชี ขาดของ คณะอนุญาโตตุลาการภายในสามปี นับตังแต่วนั ทีอาจบังคับตามคําชีขาด ซึง PTT ได้ยนคํ ื าร้อง ขอเพิก ถอนคําชี ขาดดังกล่าวต่ อศาลแพ่งแล้ว เมือวัน ที 30 มิถุน ายน 2559 (คดี หมายเลขดําที 47
3016/2559) และเมือวันที 23 กันยายน 2559 บริ ษทั ฯได้ยนคํ ื าร้องต่อศาลแพ่งเพือคัดค้านคําร้อง ขอเพิ ก ถอนคํา ชี ขาดของคณะอนุ ญ าโตตุ ล าการที PTT ยืนต่ อ ศาลแพ่ ง ต่ อ มา เมื อวัน ที 16 ธัน วาคม 2559 บริ ษัท ฯได้ยืนคํา ร้ อ งต่ อ ศาลแพ่ ง ขอให้ มี ก ารบั ง คับ ตามคํา ชี ขาดของ คณะอนุ ญ าโตตุ ล าการข้างต้น (คดี หมายเลขดําที พ.6000/2559) และศาลแพ่งมีคาํ สังให้รวม พิจารณาคดีหมายเลขดําที พ.6000/2559 เข้ากับคดีหมายเลขดําที พ.3016/2559 ปั จจุบนั คดีอยู่ ระหว่างกระบวนการพิจารณาคดีของศาลแพ่ง ในเดื อนพฤษภาคม 2560 บริ ษ ัทฯได้รับสําเนาคําชี ขาดของคณะอนุ ญ าโตตุ ลาการลงวัน ที 27 เมษายน 2560 โดยคณะอนุญาโตตุลาการมีค าํ ชี ขาดให้บริ ษทั ฯต้องชําระค่าวัตถุดิบคอนเดน เสทเรสซิดิวงวดสุ ดท้ายเป็ นจํานวนเงิน 1,555 ล้านบาท พร้อมดอกเบียอัตราร้อยละ 9.375 ต่อปี คิดจากเงินต้นจํานวน 1,518 ล้านบาท นับถัดจากวันยืนเสนอข้อพิพาท (18 พฤษภาคม 2555) จนกว่าจะชําระเสร็ จแก่ PTT อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ฯไม่เห็นด้วยกับคําชี ขาดดังกล่าว และเมือ วัน ที 25 กรกฎาคม 2560 บริ ษั ท ฯใช้สิ ท ธิ ต ามกฎหมายในการยื นคํา ร้ อ งขอให้ ศ าลแพ่ ง มี ค ํา พิ พ ากษาเพิ ก ถอนคํา ชี ขาดของคณะอนุ ญ าโตตุ ล าการดัง กล่ า ว (คดี ห มายเลขดํา ที พ.3492/2560) และ PTT ได้ยนคํ ื าคัดค้านเข้ามาในคดีแล้ว ปั จจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างกระบวนการ พิจารณาคดีของศาลแพ่ง ต่อมา ในเดือนกันยายน 2560 บริ ษ ทั ฯได้รับสําเนาคําร้องต่อศาลแพ่งที PTT ขอให้มีการบังคับ ตามคําชีขาดของคณะอนุ ญ าโตตุ ลาการ (คดี หมายเลขดําที พ.3789/2560) ซึ งบริ ษ ัทฯได้ยืน คําคัดค้านต่อศาลแพ่งแล้ว ปัจจุบนั คดีอยูร่ ะหว่างกระบวนการพิจารณาคดีของศาลแพ่ง ข)
ในเดือนพฤษภาคม 2554 บริ ษ ทั ไทยพับลิคพอร์ต จํากัด (TPP) ซึงเป็ นบริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั ฯ ได้รับคําฟ้ องคดี แพ่งว่าผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ร่ ว มรายหนึ งได้ยืนคําร้ องต่อศาลเพือเรี ยกร้ องให้ เพิก ถอนการจดทะเบี ยนลดทุ น และเพิ มทุ นของบริ ษัทร่ วมในระหว่างปี 2546 โดยในเดื อน สิงหาคม 2554 ศาลชันต้นได้มคี าํ พิพากษายกฟ้อง และในเดือนพฤศจิกายน 2555 ศาลอุทธรณ์ ได้มีคาํ พิพากษายืนตามศาลชันต้น และในเดือนเมษายน 2560 ศาลฎีกาได้มคี าํ พิพากษายืนตาม ศาลอุทธรณ์คอื ไม่รับคดีไว้พจิ ารณาพิพากษา และมีคาํ สังให้จาํ หน่ ายคดีออกจากสารบบความ ศาลฎีกา คดีเป็ นอันเสร็ จเด็ดขาด ในเดื อนมีน าคม 2557 ผูถ้ ือหุ ้น ของ TPP อี ก รายหนึ งได้ยืนฟ้ อ งกรรมการของ TPP และยืน คําร้องต่ อศาลเพือเรี ยกร้องให้หนังสื อยืนยัน การชําระค่าหุ ้นและการเก็บรัก ษาค่ าหุ ้น ลงวัน ที 30 กรกฎาคม 2546 สําเนาบัญชีรายชือผูถ้ ือหุน้ ครังทีเพิมทุน 30 ล้านบาทในปี 2546 และบันทึก ข้อตกลงแก้ไขเพิมเติมสัญญาปรับปรุ งโครงสร้างหนี ฉบับลงวัน ที 7 ตุลาคม 2546 เป็ นโมฆะ และขอให้ศาลมีคาํ สังเพิก ถอนเอกสารดังกล่าวด้วย โดยในเดือนพฤษภาคม 2558 ศาลชันต้น ได้มคี าํ พิพากษายกฟ้อง และในเดือนมิถุนายน 2559 ศาลอุทธรณ์ได้มคี าํ พิพากษายืนตามศาลชันต้น ปัจจุบนั คดีฟอ้ งร้องอยูภ่ ายใต้กระบวนการพิจารณาคดีของศาลฎีกา 48
ในเดื อนเมษายน 2558 ผูถ้ อื หุ ้นของ TPP อีกรายหนึ งได้ยนฟ้ ื องกรรมการของ TPP, TPP และ บริ ษัทฯ และยืนคําร้องต่ อศาลเพือเรี ยกร้องให้ค าํ ขอจดทะเบี ยนบริ ษัทจํากัด (แบบ บอจ.1) สําเนาบัญ ชี รายชื อผูถ้ ือหุ ้น พร้ อมทังชุด เอกสารประกอบการเพิ มทุ น ของ TPP ในระหว่างปี 2546 และ 2557 และบันทึกข้อตกลงแก้ไขเพิมเติมสัญญาปรับปรุ งโครงสร้างหนีในปี 2546 เป็ น โมฆะ โดยขอให้ศาลมีค าํ สังเพิกถอนเอกสารดังกล่าว และขอให้ศาลมีคาํ สังกลับคื นสถานะ สัด ส่ ว นการถื อ หุ ้ น ให้เป็ นไปตามเดิ ม ตามสําเนาบัญ ชี ร ายชื อผูถ้ ือ หุ ้ น ในเดื อ นเมษายน 2545 โดยในเดื อนเมษายน 2558 ศาลชันต้น ได้มี คาํ พิพ ากษายกฟ้ อ ง และในเดื อนกรกฎาคม 2559 ศาลอุทธรณ์ ได้มีค าํ พิพากษายืนตามศาลชันต้น ปั จจุ บัน คดี ฟ้องร้องอยู่ภ ายใต้ก ระบวนการ พิจารณาคดีของศาลฎีกา 35. ลําดับชันของมูลค่ายุตธิ รรม ณ วัน ที 31 ธันวาคม 2560 กลุ่มบริ ษัทฯมีสินทรัพย์และหนี สิ น ที วัดมู ลค่ าด้ว ยมูลค่ ายุติ ธรรมหรื อ เปิ ดเผยมูลค่ายุติธรรมแยกแสดงตามลําดับชันของมูลค่ายุติธรรม ดังนี (หน่วย: ล้านบาท)
ระดับ 1 สิ นทรั พย์ ทีวัดมูลค่ าด้ วยมูลค่ ายุตธิ รรม เงินลงทุนชัวคราว หน่วยลงทุนในกองทุนรวม ทีดิน อาคารและอุปกรณ์
324 -
งบการเงินรวม ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 ระดับ 2 ระดับ 3
491
-
รวม
324 491
(หน่วย: ล้านบาท)
ระดับ 1 สิ นทรั พย์ ทีวัดมูลค่ าด้ วยมูลค่ ายุตธิ รรม เงินลงทุนชัวคราว หน่วยลงทุนในกองทุนรวม ทีดิน อาคารและอุปกรณ์
467 -
งบการเงินรวม ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 ระดับ 2 ระดับ 3
478
-
รวม
467 478
49
ระดับ 1 สิ นทรั พย์ ทีวัดมูลค่ าด้ วยมูลค่ ายุตธิ รรม เงินลงทุนชัวคราว หน่วยลงทุนในกองทุนรวม ทีดิน อาคารและอุปกรณ์
291 -
ระดับ 1 สิ นทรั พย์ ทีวัดมูลค่ าด้ วยมูลค่ ายุตธิ รรม เงินลงทุนชัวคราว หน่วยลงทุนในกองทุนรวม ทีดิน อาคารและอุปกรณ์
429 -
(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม
310
-
291 310
(หน่วย: ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม
288
-
429 288
36. เครื องมือทางการเงิน 36.1 นโยบายการบริหารความเสียง เครื องมือทางการเงิ น ที สําคัญ ของกลุ่มบริ ษ ัท ฯตามที นิ ยามอยู่ใ นมาตรฐานการบัญ ชี ฉ บับ ที 107 “การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้อมูลสําหรับเครื องมือทางการเงิน ” ประกอบด้วย เงิน สดและ รายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี เจ้าหนี เงินให้กูย้ มื และเงินกูย้ มื เงินลงทุน กลุ่มบริ ษทั ฯมีความเสี ยงที เกียวข้องกับเครื องมือทางการเงินดังกล่าว และมีนโยบายการบริ หารความเสียงดังนี ความเสียงด้ านการให้ สินเชือ กลุ่มบริ ษ ัทฯมีค วามเสี ยงด้านการให้สิน เชือทีเกี ยวเนื องกับลูกหนี การค้า เงิ นให้กูย้ มื และลูก หนี อืน ฝ่ ายบริ หารควบคุ มความเสี ยงนี โดยการกําหนดให้มีน โยบายและวิ ธีก ารในการควบคุ ม สิ น เชื อที เหมาะสม ดังนัน กลุ่มบริ ษ ัทฯจึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายทีเป็ นสาระสําคัญจากการให้สินเชือ นอกจากนี การให้สินเชือของกลุ่มบริ ษทั ฯไม่มกี ารกระจุกตัวเนื องจากกลุ่มบริ ษทั ฯมีฐานของลูกค้าที หลากหลายและมีอยูจ่ าํ นวนมากราย จํานวนเงินสูงสุดทีกลุ่มบริ ษทั ฯอาจต้องสูญเสียจากการให้สินเชือ คือ มูลค่าตามบัญชีของลูกหนี การค้า เงินให้กูย้ มื และลูกหนี อืนหัก ด้วยค่าเผือหนี สงสัยจะสู ญตามที แสดงอยู่ในงบแสดงฐานะการเงิน 50
ความเสียงจากอัตราดอกเบีย กลุ่มบริ ษทั ฯมีความเสี ยงจากอัตราดอกเบียทีสําคัญอันเกียวเนื องกับเงินฝากธนาคาร เงินให้กู ย้ มื และ เงินกูย้ มื ทีมีดอกเบี ย อย่างไรก็ตาม เนืองจากสินทรัพย์และหนี สินทางการเงิน ส่วนใหญ่มีอตั ราดอกเบี ย ทีปรับขึนลงตามอัตราตลาด หรื อมีอตั ราดอกเบียคงทีซึงใกล้เคียงกับอัตราตลาดในปัจจุบนั ความเสียง จากอัตราดอกเบียของกลุ่มบริ ษทั ฯจึงอยูใ่ นระดับตํา สินทรัพย์และหนี สินทางการเงินทีสําคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี ย และสําหรับสินทรัพย์ และหนี สินทางการเงินทีมีอตั ราดอกเบียคงทีสามารถแยกตามวันทีครบกําหนด หรื อวันทีมีการกําหนด อัตราดอกเบียใหม่ (หากวันทีมีการกําหนดอัตราดอกเบียใหม่ถงึ ก่อน) ได้ดงั นี (หน่วย: ล้านบาท)
งบการเงินรวม ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 อัตราดอกเบียคงที อัตราดอกเบีย ภายใน มากกว่า 1 ปรับขึนลงตาม ไม่มีอตั รา 1 ปี ถึง 5 ปี ราคาตลาด ดอกเบี ย รวม สิ นทรัพย์ ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัวคราว ลูกหนี การค้าและลูกหนีอืน เงินฝากธนาคารทีมีภาระคําประกัน หนีสิ นทางการเงิน เจ้าหนี การค้าและเจ้าหนี อืน เงินกูย้ ืมระยะสันจากกิจการทีไม่ เกียวข้องกัน
อัตราดอกเบีย ทีแท้จริ ง (ร้อยละต่อปี )
138 138
-
15 15
14 324 59 397
29 324 59 138 550
0.10 - 0.50 1.00 - 1.30
-
-
-
1,676
1,676
-
1 1
-
-
1,676
1 1,677
1.45 - 1.61 (หน่วย: ล้านบาท)
งบการเงินรวม ณ วันที 31 ธันวาคม 2559 อัตราดอกเบียคงที อัตราดอกเบีย ภายใน มากกว่า 1 ปรับขึนลงตาม ไม่มีอตั รา 1 ปี ถึง 5 ปี ราคาตลาด ดอกเบี ย รวม สิ นทรัพย์ ทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัวคราว ลูกหนี การค้าและลูกหนีอืน เงินฝากธนาคารทีมีภาระคําประกัน หนีสิ นทางการเงิน เจ้าหนี การค้าและเจ้าหนี อืน เงินกูย้ ืมระยะสันจากกิจการทีไม่ เกียวข้องกัน
อัตราดอกเบีย ทีแท้จริ ง (ร้อยละต่อปี )
129 129
-
19 19
12 467 42 521
31 467 42 129 669
0.37 - 0.38 0.88 - 1.00
-
-
-
1,661
1,661
-
149 149
-
-
1,661
149 1,810
1.50 - 3.95
51
36.2 มูลค่ายุติธรรมของเครื องมือทางการเงิน เนืองจากสินทรัพย์และหนี สินทางการเงินส่วนใหญ่ของกลุ่มบริ ษทั ฯจัดอยูใ่ นประเภทระยะสัน เงินให้ กูย้ มื และเงิน กูย้ ืมมีอตั ราดอกเบี ยใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี ยในตลาด กลุ่มบริ ษทั ฯจึงประมาณมูลค่ า ยุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี สิ นทางการเงิน ใกล้เคียงกับมูลค่าตามบัญชีทีแสดงในงบแสดงฐานะ การเงิน มูลค่ ายุติ ธรรม หมายถึ ง จํานวนเงิ นที ผูซ้ ื อและผูข้ ายตกลงแลกเปลียนสิ น ทรั พย์ก ัน หรื อจ่ายชําระ หนี สินในขณะทีทังสองฝ่ ายมีความรอบรู ้ และเต็มใจในการแลกเปลียนและสามารถต่อรองราคากันได้ อย่างเป็ นอิสระในลักษณะทีไม่มคี วามเกียวข้องกัน วิธีการกําหนดมูลค่ายุติธรรมขึนอยูก่ บั ลักษณะของ เครื องมือทางการเงิ น มูลค่ายุติ ธรรมจะกําหนดจากราคาตลาดล่าสุ ด หรื อกําหนดขึ นโดยใช้เกณฑ์ การวัดมูลค่าทีเหมาะสม 37. การบริหารจัดการทุน วัตถุประสงค์ในการบริ หารจัดการทุนทีสําคัญของบริ ษทั ฯคือการจัดให้มซี ึงโครงสร้างทุนทีเหมาะสม เพือสนับสนุนการดําเนิน ธุรกิจของบริ ษทั ฯและเสริ มสร้างมูลค่าการถือหุน้ ให้กบั ผูถ้ ือหุน้ โดย ณ วันที 31 ธันวาคม 2560 กลุม่ บริ ษทั ฯมีอตั ราส่วนหนี สิ นต่อทุนเท่ากับ 1.39:1 (2559: 1.43:1) และเฉพาะบริ ษทั ฯ มีอตั ราส่วนหนี สินต่อทุนเท่ากับ 1.48:1 (2559: 1.64:1) 38. การจัดประเภทรายการในงบการเงิน บริ ษทั ฯได้จดั ประเภทรายการบัญชีบางรายการในงบการเงินสําหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2559 ใหม่ เพือให้สอดคล้องกับการจัดประเภทรายการบัญชี ในปี ปั จจุบัน การจัดประเภทรายการใหม่ มีดงั ต่อไปนี (หน่วย: พันบาท)
ค่าใช้จา่ ยในการบริ หาร หนี สูญและค่าเผือหนี สงสัยจะสูญ
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามทีจัด ตามทีเคย ตามทีจัด ตามทีเคย ประเภทใหม่ รายงานไว้ ประเภทใหม่ รายงานไว้ 223,848 222,289 48,109 48,109 1,559 -
การจัดประเภทรายการบัญชีดงั กล่าวไม่มผี ลกระทบต่อกําไรหรื อส่วนของผูถ้ อื หุ น้ ตามทีได้รายงานไว้ 39. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนีได้รบั อนุมตั ใิ ห้ออกโดยคณะกรรมการของบริ ษทั ฯเมือวันที 23 กุมภาพันธ์ 2561 52
บริษัท อารพีซีจี จำกัด (มหาชน) RPCG PUBLIC COMPANY LIMITED