ข้ อมูลทั่วไป ชื่อบริ ษัท
บริ ษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน) (“บริ ษัท”)
ประเภทธุรกิจ
ประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้นในบริ ษัทอื่น (Holding Company) โดยมีธุรกิจพลังงานเป็ น ธุรกิจหลัก (เดิม) ประกอบธุรกิจโรงกลัน่ น ้ามันขนาด 17,000 บาร์ เรลต่อวัน บริ หารคลังน ้ามัน 1 แห่ง เพื่อจัดจาหน่ายน ้ามันดีเซล เบนซิน 91 แก๊ สโซฮอลล์ 91 แก๊ สโซฮอลล์ 95 แก๊ สโซ ฮอลล์ E85 เคมีภณ ั ฑ์ และน ้ามันเตา รวมถึงค้ าปลีกน ้ามันสาเร็ จรูป
ที่ตงส ั ้ านักงานใหญ่
86/2 อาคารสัมมากรเพลส ถนนรามคาแหง แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ 10240
ทุนจดทะเบียน
1,304,664,125 บาท
แบ่งออกเป็ นหุ้นสามัญ
1,304,664,125 หุ้น
มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ
1 บาท
ทุนจดทะเบียนชาระแล้ ว
1,304,664,125 บาท
เลขทะเบียนบริ ษัท
0107546000202 โทรศัพท์ 02-372-3600 โทรสาร 02-372-3327 7/3 ถนนปกรณ์สงเคราะห์ราษฎร์ ตาบลมาบตาพุด อาเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21150 โทรศัพท์ 038-685-816 -9 โทรสาร 038-685-243 โฮมเพจ http://www.rpcthai.com
ที่ตงโรงงาน ั้
บุคคลอ้ างอิงอื่นๆ นายทะเบียนหลักทรัพย์
บริ ษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด
ที่ตงั ้
93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 02-009-9000 โทรสาร 02-009-9991
ผู้สอบบัญชี (ประจาปี 2561)
นางพูนนารถ เผ่าเจริ ญ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 5238 บริ ษัท สานักงาน อีวาย จากัด ชัน้ 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 02-264-0777 โทรสาร 02-264-0790
ที่ตงั ้
01
รายงานประจำ�ปี 2561
ในปี 2561 บริ ษัทฯ มีรายได้ จาก 2 กลุม่ ธุรกิจหลัก คือ กลุม่ ธุรกิจพลังงานและกลุม่ ธุรกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ด้ วย การร่ ว มลงทุน และการร่ ว มบริ ห ารในกิ จ การอื่ น ที่ มี ศัก ยภาพ ซึ่ง เป็ น กลยุท ธ์ ทางธุ ร กิ จ ที่ บ ริ ษั ท ฯ คาดว่ า จะสร้ างผล ประกอบการที่ดีขึ ้นในระยะยาว นัน้ ในธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์ บริ ษัทฯ ได้ ถือหุ้นใน บริ ษัท สัมมากร จากัด (มหาชน) (“SAMCO”) ในสัดส่วนร้ อยละ 48.25 ซึง่ ประกอบธุรกิจจาหน่ายอสังหาริ มทรัพย์ โดยมุง่ เน้ นพัฒนาโครงการที่อยูอ่ าศัยเพื่อจาหน่ายในประเภทบ้ านเดี่ยว ทาวน์โฮม และคอนโด ยังสร้ างผลประกอบการที่มนั่ คงต่อเนื่อง ปั จจุบนั มีโครงการอยู่ 10 โครงการและมีโครงการใหม่ที่อยู่ระหว่างการ พัฒนาโครงการที่จะเปิ ดภายในปี 2563 และในส่วนธุรกิจการให้ เช่า พื ้นที่ หรื อที่ร้ ู จักในนามคอมมูนิตี ้ มอลล์ (Community Mall) ภายใต้ ชื่อ “สัมมากรเพลส” ซึง่ ปั จจุบนั มีโครงการอยู่ 3 แห่ง ต่อมาบริ ษัทฯ ได้ ปรับโครงสร้ างการถือหุ้น โดยให้ SAMCO ถือหุ้นธุรกิจคอมมูนิตี ้มอลล์ อัตราร้ อยละ 100 เพื่อความคล่องตัวในการบริ หารงาน นอกจากนี ้ SAMCO ยังมีแผนงานขยายและ พัฒนาโครงการอย่างต่อเนื่อง ด้ วยชื่อเสียงที่มีมากว่า 45 ปี บริ ษัทฯ เชื่อว่า SAMCO จะสามารถพัฒนาธุรกิจให้ เติบโตยัง่ ยืน ได้ ตลอดไป ด้ านธุรกิจกลุม่ พลังงาน บจก.เพียวพลังงานไทย (“PTEC”) และ บมจ.เอสโซ่ ได้ ลงนามสัญญาซื ้อขายน ้ามันและให้ ใช้ สิทธิเครื่ องหมายการค้ าเอสโซ่ เพื่อผนึกความแข็งแกร่งในธุรกิจการค้ าปลีกน ้ามัน ปรับเปลี่ยนสถานีบริ การน ้ามันของ PTEC เป็ นสถานีบริ การน ้ามันภายใต้ เครื่ องหมายการค้ าเอสโซ่ นับเป็ นโอกาสที่ดีสาหรับ PTEC ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อยของบริ ษัทฯ ที่จะ ต่อยอดธุรกิจค้ าปลีกน ้ามัน และเพิ่มความแข็งแกร่ ง ทางธุรกิจภายใต้ เครื่ องหมายการค้ าเอสโซ่ ซึ่งเป็ นที่ร้ ู จักอย่างดียิ่งใน ประเทศไทย รวมถึงการมีเครื อข่าย และแผนการตลาดที่จะตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปั จจุบนั มี สถานีบริ การน ้ามันภายใต้ เครื่ องหมายการค้ า ESSO จานวน 57 สาขา ทังนี ้ ้ บริ ษัทฯ ยังคงมองหาช่องทางเลือกในการลงทุนในธุรกิจต่างๆ ที่จะช่วยเสริ มสร้ างความแข็งแกร่ งให้ กบั ธุรกิจของ บริ ษัทฯต่อไป รวมไปถึงการปรับกลยุทธ์ในการดาเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ โดยจะเน้ นการลงทุนด้ านพลังงาน และพลังงานทดแทน นอกจากนี ้ การให้ เช่าคลังน ้ามันและกิจการท่าเรื อที่บริ ษัทฯ ได้ ถือหุ้นในอัตราร้ อยละ 30 ในบริ ษัท ไทยพับลิคพอร์ ต จากัด (TPP) ก็มีผลประกอบการดีขึ ้นตามลาดับ และบริ ษัทฯ ยังคง ได้ รับเงินปั นผลจาก TPP เช่นเดิม ในโอกาสนี ้ ผม ในนามของคณะกรรมการบริ ษัท ใคร่ขอขอบคุณ ท่านผู้ถือหุ้น คู่ค้า ลูกค้ า สถาบันการเงิน ผู้บริ หารทุก ระดับ ตลอดจนพนักงานทุกท่าน ที่ได้ ให้ การสนับสนุนการดาเนินงานของบริ ษัทฯ ด้ วยดีตลอดมา และได้ ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับ บริ ษัทฯ และขอให้ เชื่อมัน่ ว่า ผม คณะกรรมการบริ ษัท และพนักงานทุกคน จะตังใจอย่ ้ างเต็มกาลังความสามารถในการ ดาเนินธุรกิจที่มีธรรมภิบาล ทังต่ ้ อผู้ถือหุ้น ต่อคูค่ ้ า ต่อลูกค้ า และต่อพนักงานทุกระดับ รวมถึงสามารถกลับมาทากาไร และ ให้ ผลตอบแทนที่ค้ มุ ค่าแก่ผ้ ถู ือหุ้นสืบต่อไปเช่นในอดีตที่ผา่ นมา
นายสัจจา เจนธรรมนุกลู ประธานกรรมการ
รายงานประจำ�ปี 2561
02
คณะกรรมการบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2561
1.
นายสัจจา
เจนธรรมนุกลู
ประธานกรรมการ
2.
นายศุภพงศ์
กฤษณกาญจน์
กรรมการ
3.
นายสุวินยั
สุวรรณหิรัญกุล
กรรมการ
4.
นายสุทศั น์
ขันเจริญสุข
กรรมการ
5.
นายประสิทธิ์
ธีรรัตน์บงกช
กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
6.
นายชานิ
จันทร์ ฉาย
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
7.
นางสาวปณิชา
พงษ์ศวิ าภัย
กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
คณะผู้บริหาร
03
1.
นายสัจจา
เจนธรรมนุกลู
รักษาการกรรมการผู้จดั การ
2.
นางสุพรรณี
ตัณไชยศรี นคร
ผู้จดั การทัว่ ไป สายบริ หารและการเงิน
3.
นางสาวกัลยา
คล้ ายทอง
ผู้จดั การทัว่ ไป สายพัฒนาธุรกิจ
รายงานประจำ�ปี 2561
ความรับผิดชอบต่ อสังคม บริ ษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน) และกลุม่ บริ ษัทใน เครื อ RPCG โดยคณะกรรมการ และผู้บริ หาร มีนโยบาย การบริ ห ารงานภายใต้ หลัก การก ากั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี (Compliance and Governance) ตลอดจนให้ ความสาคัญ กับ การจัด การสิ่ง แวดล้ อ ม รวมถึ ง สิท ธิ ป ระโยชน์ เ พื่ อ ให้ พนักงานมีคุณภาพชี วิตที่ดีขึ ้น ให้ มีความมัน่ ใจในการอยู่ ร่ วมงานกับบริ ษัทฯ อย่างมีความสุขและความมัน่ คง และ ประโยชน์ สขุ แก่กิจการ ผู้มีส่วนได้ เสีย สังคม สิ่งแวดล้ อม และประเทศชาติอย่างยัง่ ยืน
การปฏิบตั ิงาน รวมทัง้ ให้ ความเคารพต่อความเป็ นปั จเจก ชน และศักดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์ ซึ่งที่ผ่านมาบริ ษัทฯ มี การจ้ างงานพนักงานผู้พิการ ตามลักษณะงานตามความ ถนัดและเหมาะสม นอกจากนัน้ บริ ษัทฯ ไม่สนับสนุนการ บัง คั บ ใช้ แรงงาน หรื อ แรงงานต่ า งด้ าวที่ ผิ ด กฎหมาย ต่อต้ านการใช้ แรงงานเด็ก
ที่ผ่านมาบริ ษัทฯ ได้ ยึดแนวทางสร้ างความผาสุก (Well-Being) ให้ กับพนักงาน และองค์กร ซึ่งดาเนินการ ผ่านมุมมอง 4 มิติ คือ กาย จิ ต สังคม ปั ญญา มาบูรณา พร้ อมทัง้ ได้ คานึงถึงการปลูกฝัง และให้ ตระหนักถึง การอยู่ ใ นการพั ฒ นาบุ ค ลากร และองค์ ก ร เพื่ อ สร้ าง จรรยาบรรณในการดาเนินธุรกิจ เพื่อให้ บคุ ลากรในองค์กร “ความสุข” ให้ เกิดขึ ้น โดยผ่านนโยบาย และกิจกรรมต่างๆ ทราบ และให้ ยดึ ถือปฏิบตั ิโดยเคร่งครัด อาทิ แนวปฏิบตั ิต่อ อาทิ โครงการรดน ้าดาหัวผู้บริ หารเนื่องในวันสงกรานต์ เพื่อ ผู้ถื อ หุ้น ลูก ค้ า เจ้ าหนี ้ คู่ค้ า คู่แ ข่ง ขันทางการค้ า ชุม ชน เป็ นการพบปะฉันท์ พี่ น้องระหว่างผู้บริ หาร และพนักงาน สังคม และสิง่ แวดล้ อม รวมถึงระบบสารสนเทศ การรับ-การ โครงการสานสัมพันธ์ครอบครัว โครงการ RPCG ร่ วมใจลด ใช้ พลังงาน เพื่อปลูกฝั งให้ พนักงานรับรู้ ถึงความสาคัญของ ให้ ของขวัญหรื อทรัพย์สนิ และการรักษาความลับ เป็ นต้ น การประหยัดพลังงาน และทรัพยากรสิ ้นเปลืองต่างๆ ส่งผล บริ ษัทฯ ให้ ความสาคัญกับพนักงาน โดยมีนโยบาย ให้ เกิดพฤติกรรมการประหยัดพลังงานจนเคยชิน เป็ นต้ น ต่างๆ อาทิ นโยบายการบริ หารทรัพยากรมนุษย์แบบเพิ่ม ทังนี ้ ้ บริ ษัทฯ ได้ ให้ ความสาคัญกับเรื่ องอาชีวอนามัย คุณค่าให้ พนักงานในองค์กรสู่การเป็ นทุนมนุษย์ (Human Capital) อย่างแท้ จริ ง นโยบายการจ้ างงานที่จะปฏิบตั ิตาม และความปลอดภัยในการทางาน โดยการจัดน ้าดื่มสะอาด กฎหมาย และหลักการเกี่ ยวกับสิทธิ มนุษยชนขัน้ พืน้ ฐาน ที่ถกู หลักอนามัย พร้ อมสวัสดิการ การรักษาพยาบาลตรวจ ตามเกณฑ์สากล โดยไม่แบ่ง แยกถิ่นกาเนิด เชื ้อชาติ เพศ อายุ สุขภาพประจาปี การทาประกันสุขภาพ และประกันชีวิต สีผิว ศาสนา ความพิการ ฐานะ ชาติตระกูล สถานศึกษา หรื อสถานะอื่น ใดที่มิได้ เกี่ยวข้ องโดยตรงกับ
รายงานประจำ�ปี 2561
04
บริ ษัทฯ มีการพัฒนาพนักงานอย่างต่อเนื�องในทุกด้ านที�จะสามารถเอื �อต่อการเพิ�มประสิทธิภาพ และความสามารถ ในการปฏิบตั ิงาน รวมถึงการสร้ างบรรยากาศให้ พนักงานทํางานอย่างมีความสุข บริ ษัทฯ ได้ กําหนดจัดปฐมนิเทศให้ กับ พนักงานที�เข้ าใหม่ทกุ คน เพื�อให้ ร้ ู เข้ าใจถึงนโยบาย วัฒนธรรม ตระหนักถึงค่านิยมของบริ ษัท มีการพัฒนาเพื�อฝึ กฝนทักษะ และเพิ�มพูนศักยภาพ โดยเปิ ดโอกาสให้ พนักงานมีการอบรมสัมมนาเพื�อการเรี ยนรู้ เพื�อเพิ�มศักยภาพของตนเอง ให้ มีหน้ าที� ตําแหน่งที�สงู ขึ �น และเลือ� นตําแหน่งเมื�อมีโอกาสที�เหมาะสม นอกจากนี � บริ ษั ท ฯ ได้ ให้ ความสํ า คัญ ไม่ ว่ า จะเป็ นการสนับ สนุ น กิจกรรมสังคม กิจกรรมสาธารณกุศลต่างๆ อาทิ กิจกรรมการบริ จาคสิ�งของ กิจกรรมการร่ วมบริ จาคโลหิต รวมถึง ได้ ให้ ความสําคัญต่อชุมชน และงาน ด้ านมวลชนสัมพันธ์ ต่อเนื�องเสมอมา เพื�อเป็ นการเสริ มสร้ างความรู้ ความ เข้ าใจที�ดีตอ่ กัน ดํารงสัมพันธภาพดีกบั ชุมชน รวมทังการมี � สว่ นร่วมอื�น ๆ อาทิ โครงการ “เหลือ-ขอ” โดยการมอบทุนการศึกษาและแบ่งปั น มอบสิ�งของจําเป็ นที�ใช้ ประกอบอาหาร ให้ กบั น้ องๆมูลนิธิบ้าน นกขมิ �น เมื�อวันที� �� กรกฎาคม ���� และเพื�อถวายเป็ นพระ ราชกุศล เนื�องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที� ๑๐ อีกทัง� บริ ษัทฯ ยังได้ มีการจัดกิจกรรม และร่วมสนับสนุน ตามวันสําคัญ เทศกาล และประเพณีของแต่ละท้ องถิ�น เช่น วันเด็ก วันแม่แห่งชาติ วันพ่อแห่งชาติ วันสําคัญทางศาสนา เป็ นต้ น
05
รายงานประจำ�ปี 2561
ข้ อมูลสำคัญทำงกำรเงิน อัตรำส่ วนทำงกำรเงิน
หน่ วย
31 ธันวำคม 2559 0.33
31 ธันวำคม 2560 0.29
31 ธันวำคม 2561 0.25
อัตราส่วนสภาพคล่อง
เท่า
อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้ าคงเหลือ
เท่า
43.43
47.12
54.87
ระยะเวลาการเก็บหนี ้
วัน
7
8
5
อัตรากาไรสุทธิ
%
(3.13)
(1.54)
(0.28)
อัตรากาไรขันต้ ้ น
%
8.27
6.91
5.73
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น
%
(5.30)
(2.80)
(0.66)
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์
%
(2.13)
(1.16)
(0.27)
กาไรสุทธิตอ่ หุ้น
บาท
(0.05)
(0.03)
(0.01)
มูลค่าตามบัญชีตอ่ หุ้น
บาท
1.00
1.00
1.03
อัตราส่วนหนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
เท่า
1.44
1.40
1.64
อัตราส่วนหนี ้สินระยะยาวต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
เท่า
0.03
0.09
0.24
ฐำนะกำรเงินและผลกำรดำเนินงำน (หน่ วย : ล้ ำนบำท)
รำยกำรทำงเงิน สินทรัพย์รวม
31 ธันวำคม 2559 3,171
31 ธันวำคม 2560 3,129
31 ธันวำคม 2561 3,535
หนี ้สินรวม
1,864
1,818
2,188
ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม
1,307
1,311
1,347
รายได้ จากการขาย
2,210
2,387
3,224
รายได้ รวม
2,335
2,458
3,293
กาไรขันต้ ้ น
183
165
185
กาไร (ขาดทุน) ก่อนหักดอกเบี ้ย ค่าเสือ่ มราคา และภาษีเงินได้
(3)
14
23
(70)
(37)
(9)
(0.05)
(0.03)
(0.01)
ขาดทุน สาหรับปี ขาดทุน สุทธิตอ่ หุ้น (บาท)
. รายงานประจำ�ปี 2561
06
โครงการในอนาคต บริ ษัทฯ มีโครงการขยายขอบเขตการดาเนินธุรกิจหรื อการขยายการลงทุนในธุรกิจเพื่อสร้ างโอกาสและมูลค่าเพิ่มให้ แก่ บริ ษัทฯ ให้ เจริ ญเติบโตอย่างยัง่ ยืน และมัน่ คง เพิ่มผลตอบแทนให้ กบั ผู้ถือหุ้น และสามารถต่อยอดธุรกิจของบริ ษั ทฯ และเพิ่ม ยอดรายได้ ของบริ ษัทฯ ดังนี ้
1. โครงการลงทุนด้ านพลังงาน บริ ษัทฯ ยังคงมุง่ มัน่ ทีจ่ ะดาเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจน ้ามันที่บริ ษัทฯ มีความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์อย่าง ยาวนาน ทังการขยายสถานี ้ บริ การน ้ามัน และบริษัทฯ ได้ ขยายธุรกิจต่อเนื่อง คือ ธุรกิจให้ เช่าคลังสินค้ าเหลวขนาด 346 ล้ าน ลิตร และท่าเทียบเรื อน ้าลึกที่เกาะสีชงั จังหวัดชลบุรี นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ มีความสนใจการลงทุนด้ านพลังงาน ทดแทน อาทิ โครงการผลิตไฟฟ้าชีวมวล, การผลิตไฟฟ้า แสงอาทิตย์ หรื อโครงการพลังงานทดแทนทางเลือกอื่นๆ เพื่อเป็ นการตอบสนองนโยบายของรัฐบาล ในการลดการนาเข้ า เชื ้อเพลิงปิ โตรเลียมจากต่างประเทศ โดยใช้ ผลผลิตทางการเกษตรภายในประเทศ
2. โครงการลงทุนด้ านอสังหาริมทรัพย์ บริ ษัทฯ มีความสนใจการลงทุนด้ านอสังหาริ มทรัพย์ โดยมีการร่ วมทุนกับบริ ษัท สัมมากร จากัด (มหาชน) (SAMCO) จัดตัง้ บริ ษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้ นท์ จากัด (PSDC) เพื่อพัฒนาที่ดินในเขตกรุ งเทพ และปริ มณฑลให้ เป็ นศูนย์การค้ า ประชาคม (Community Mall) แบบครบวงจร ภายใต้ ชื่อ “ศูนย์การค้ าสัมมากรเพลส” เป็ นรู ปแบบศูนย์การค้ า ทันสมัย ใกล้ ชุมชน ซึ่งปั จจุบนั มีศนู ย์การค้ าสัมมากรเพลส จานวน 3 แห่ง คือ สาขารังสิตคลอง 2 สาขารามคาแหง และสาขาราชพฤกษ์ และยังมีแผนขยายโครงการใหม่อย่างต่อเนื่อง ต่อมาเมื่อในเดือนในสิงหาคม 2559 บริ ษัทฯ ได้ ปรับโครงสร้ างการถือหุ้น โดย ให้ SAMCO ถือหุ้น PSDC อัตราร้ อยละ 100 เพื่อความคล่องตัวในการบริ หารงาน นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ มีความสนใจขยายขอบเขตการลงทุนด้ านอสังหาริ มทรัพย์เพิ่มเติม โดยมีการซื ้อหุ้น จากผู้ถือหุ้น เดิมของ บริ ษัท สัมมากร จากัด (มหาชน) (SAMCO) ซึง่ ประกอบธุรกิจจาหน่ายอสังหาริ มทรัพย์ โดยมุ่งเน้ นพัฒนาโครงการที่ พักอาศัยเพื่อจาหน่ายในแนวราบประเภทบ้ านเดี่ยว ทาวน์โฮม และแนวสูง ซึ่งเป็ นการพัฒนาโครงการในเฟสต่อเนื่องจาก โครงการเดิมที่ได้ ดาเนินการไว้ แล้ วและพัฒนาโครงการใหม่ ปั จจุบนั จานวน 10 โครงการ คือ โครงการสัมมากรรังสิตคลอง 7 (ไพรม์-7) ,โครงการสัมมากรรังสิตคลอง 7(โซน 4) , โครงการสัมมากรชัยพฤกษ์ แจ้ งวัฒนะ, โครงการสัมมากร อเวนิว ราม อินทรา-วงแหวน ,โครงการสัมมากร อเวนิว ชัยพฤกษ์ -วงแหวน,โครงการชัยพฤกษ์ วงแหวน , โครงการชัยพฤกษ์ วงแหวน 2 , โครงการสัมมากร อเวนิว สุวรรณภูมิ,โครงการสัมมากร Office Park และ โครงการ S9 Condominium, โดยเห็นว่ามีความเหมาะสมและเป็ นประโยชน์ต่อบริ ษัทฯ ด้ วยการเข้ าลงทุนในธุรกิจที่มีศกั ยภาพ และการเข้ าไปมี ส่วนร่ วมในการบริ หาร อีกทัง้ ในอนาคต SAMCO มีแผนการพัฒนาโครงการอสังหาริ มทรัพย์ในรู ปแบบต่างๆ ตามสมัยนิยม น่าจะสามารถสร้ างผลตอบแทนที่ดีให้ กบั บริ ษัทฯได้
07
รายงานประจำ�ปี 2561
โครงสร้ างการถือหุ้น และการจัดการ ณ วันที่ 25 เมษายน 2561 รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก โดยนับรวมการถือหุ้นโดยผู้ที่เกี่ยวข้ องกันตาม มาตรา 258 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 รายชื่อผู้ถอื หุ้น 1 บริ ษัท เพทโทร-อินสตรูเมนท์ จากัด 2 นางสาวมณฑนา เจนธรรมนุกลู 3 นายธวัช อึ ้งสุประเสริ ฐ 4 นางสาวปริ ญณี เจนธรรมนุกลู 5 นางสาวเมทนี สุคนธรักษ์ 6 นายสัจจา เจนธรรมนุกลู และคูส่ มรส 7 นางสาวพิมอุมา เจนธรรมนุกลู 8 นายณพน เจนธรรมนุกลู 9 นางอาไพ หาญไกรวิไลย์ 10 พล.ต.ต. อุทิศ พงษ์ พานิช
จานวนหุ้นที่ถอื 257,227,140 33,981,978 32,557,578 28,601,578 23,500,000 22,734,592 21,318,950 21,311,400 17,000,000 15,541,725
สัดส่ วนการถือหุ้น (ร้ อยละ) (1) 19.72 2.60 2.50 2.19 1.80 1.74 1.63 1.63 1.30 1.19
ทีม่ า : ทะเบียนรายชื ่อผูถ้ ือหุน้ บริ ษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน) ณ วันที ่ 25 เมษายน 2561 หมายเหตุ : - (1) คานวณจากหุน้ สามัญทีอ่ อกและเรี ยกชาระแล้วจานวน 1,304,664,125 หุน้
โครงสร้ างการจัดการ บริษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่ าตอบแทน
คณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการผู้จัดการ สานักตรวจสอบภายใน
สายพัฒนาธุรกิจ ฝ่ ายบริหารทรัพย์ สิน
สายบริหารและการเงิน ฝ่ ายบริหารทั่วไป
OUTSOURCE
รายงานประจำ�ปี 2561
08
คณะกรรมการบริษัท ณ วันที� �� ธันวาคม ���� คณะกรรมการบริ ษัทประกอบด้ วยกรรมการจํานวน � ท่าน มีดงั นี � 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
รายชื�อ นายสัจจา เจนธรรมนุกลู นายสุวินยั สุวรรณหิรัญกุล นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ นายสุทศั น์ ขันเจริ ญสุข นายประสิทธิ� ธีรรัตน์บงกช นายชํานิ จันทร์ ฉาย นางสาวปณิชา พงษ์ ศิวาภัย
ตําแหน่ ง ประธานกรรมการ / รักษาการกรรมการผู้จดั การ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
- นางสุพรรณี ตัณไชยศรี นคร : เลขานุการบริ ษัท
กรรมการผู้มีอาํ นาจลงนามแทนบริษัทฯ กรรมการผู้มีอํานาจลงลายมือชื�อผูกพันบริ ษัทฯ ประกอบด้ วย - นายสัจ จา เจนธรรมนุกูล นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ นายสุวิ นัย สุว รรณหิ รั ญ กุล นายสุทัศ น์ ขัน เจริ ญ สุข กรรมการสองในสีค� นนี �ลงลายมือชื�อร่วมกัน และประทับตราบริ ษัทฯ ขอบเขตอํานาจหน้ าที�ของคณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการอาจแต่งตังบุ � คคลอื�นใดให้ ดําเนินกิจการของบริ ษัทฯ ภายใต้ การควบคุมของคณะกรรมการ หรื อ อาจมอบอํ า นาจเพื� อ ให้ บุค คลดัง กล่า วมี อํ า นาจตามที� ค ณะกรรมการเห็น สมควร และภายในระยะเวลาที� คณะกรรมการเห็นสมควร ซึง� คณะกรรมการอาจยกเลิกเพิกถอน หรื อเปลีย� นแปลง หรื อแก้ ไขอํานาจนันๆ � ได้ ทังนี � � คณะกรรมการบริ ษัทฯ ได้ มอบหมายให้ คณะกรรมการบริ หารมีอํานาจหน้ าที�ในการปฏิบัติงานต่า งๆ โดยมี รายละเอียดการมอบอํานาจตามขอบเขตอํานาจหน้ าที�ของคณะกรรมการบริ หาร การมอบอํานาจดังกล่าวต้ องไม่ มีลกั ษณะเป็ นการมอบอํานาจ หรื อมอบอํานาจช่วงที�ทําให้ คณะกรรมการบริ หาร หรื อผู้รับมอบอํานาจจากคณะ กรรมการบริ หารสามารถอนุมตั ิรายการที�ตนหรื อบุคคลที�อาจมีความขัดแย้ ง มีส่วนได้ เสีย หรื ออาจมีความขัดแย้ ง ทางผลประโยชน์อื�นใด (ตามที�สาํ นักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อย ยกเว้ นเป็ นการ อนุมตั ิรายการที�เป็ นไปตามนโยบาย และหลักเกณฑ์ที�คณะกรรมการบริ ษัทฯ พิจารณาอนุมตั ิไว้ 2. คณะกรรมการมีอํานาจกําหนดและแก้ ไขเปลีย� นแปลงชื�อกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ ได้ 3. คณะกรรมการอาจจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นได้ เป็ นครัง� คราว เมื�อเห็นว่าบริ ษัทฯ มีผลกําไรสมควร พอที�จะทําเช่นนัน� และรายงานให้ ที�ประชุมผู้ถือหุ้นทราบในการประชุมผู้ถือหุ้นคราวต่อไป 4. คณะกรรมการต้ องปฏิบตั ิหน้ าที�ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้ อบังคับของบริ ษัทฯ ตลอดจนมติของ ที�ประชุมผู้ถือหุ้น เว้ นแต่ในเรื� องที�ต้องได้ รับอนุมัติจากที�ประชุมผู้ถือหุ้นก่อนดําเนินการ เช่นเรื� องที�กฎหมาย กําหนดให้ ต้องได้ รับมติที�ประชุมผู้ถือหุ้น การทํารายการที�เกี�ยวโยงกัน และการซื �อหรื อขายสินทรัพย์ที�สาํ คัญตาม กฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อตามที�หน่วยงานราชการอื�นๆ กําหนด เป็ นต้ น
09
รายงานประจำ�ปี 2561
5. คณะกรรมการต้ องประชุมกันอย่างน้ อยสามเดือนต่อครัง� โดยมีกรรมการมาร่ วมประชุมไม่น้อยกว่ากึ�งหนึ�งของ จํานวนกรรมการทังหมด � การวินิจฉัยชีข� าดของที�ประชุมคณะกรรมการให้ ถือเสียงข้ างมาก กรรมการคนหนึ�งมี หนึ�งเสียงในการลงคะแนน เว้ นแต่กรรมการซึ�งมีสว่ นได้ เสียในเรื� องใดเรื� องหนึ�งไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนใน เรื� องนัน� และถ้ าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ ประธานในที�ประชุมออกเสียงเพิ�มอีกหนึง� เสียงเพื�อเป็ นเสียงชี �ขาด 6. คณะกรรมการต้ องจัดให้ มีการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี ภายในสีเ� ดือนนับแต่วนั สิ �นสุดของรอบปี บญ ั ชีของบริ ษัทฯ 7. กรรมการต้ องแจ้ งให้ บริ ษัทฯ ทราบโดยไม่ชกั ช้ า ในกรณีที�กรรมการมีสว่ นได้ เสียไม่วา่ โดยทางตรงหรื อทางอ้ อมใน สัญญาที�บริ ษัทฯ ทําขึ �น หรื อในกรณีที�จํานวนหุ้นหรื อหุ้นกู้ของบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทในเครื อที�กรรมการถืออยู่มีจํานวน ที�เพิ�มขึ �นหรื อลดลง 8. กรรมการต้ องไม่ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริ ษัทฯ หรื อเข้ าเป็ น หุ้นส่วนในห้ างหุ้นส่วนสามัญหรื อเป็ นหุ้นส่วนไม่จํากัดความรับผิดในห้ างหุ้นส่วนจํากัดหรื อเป็ น กรรมการของ บริ ษัทจํากัดหรื อบริ ษัทมหาชนจํากัดอื�นใด ที�ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับ กิจการของบริ ษัทฯ ไม่วา่ เข้ าทําเพื�อประโยชน์ตนเอง หรื อประโยชน์ผ้ อู ื�น เว้ นแต่จะได้ แจ้ งให้ ที�ประชุมผู้ถือหุ้นทราบ ก่อนที�จะมีมติแต่งตังกรรมการผู � ้ นนั � คุณสมบัติของกรรมการอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษัทฯ มีความเป็ นอิสระตามนิยามความเป็ นอิสระของกรรมการอิสระ โดย 1. ถือหุ้นไม่เกินร้ อยละ 1 ของจํานวนหุ้นที�มีสทิ ธิออกเสียงทังหมดในบริ � ษัทฯ บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อ บุคคลที�อาจมีความขัดแย้ ง 2. ไม่เป็ นกรรมการที�มีสว่ นร่ วมบริ หารงาน ลูกจ้ าง พนักงาน ที�ปรึ กษาที�ได้ เงินเดือนประจํา หรื อผู้มีอํานาจควบคุม ของบริ ษัทฯ บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม บริ ษัทย่อยลําดับเดียวกัน หรื อนิติบคุ คลที�อาจมีความขัดแย้ ง 3. ไม่เป็ นบุคคลที�มีความสัมพันธ์ ทางสายโลหิต หรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที�เป็ น บิดา มารดา คู่สมรส พี�น้องและบุตร รวมทังคู � ่สมรสของบุตร ของผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอํานาจควบคุม หรื อ บุคคลที�จะได้ รับการเสนอให้ เป็ นผู้บริ หารหรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัทฯ หรื อบริ ษัทย่อย 4. ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริ ษัทฯ บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วมหรื อนิติบคุ คลที�อาจมีความขัดแย้ ง ใน ลักษณะที�อาจเป็ นการขัดขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทังไม่ � เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ซึง� ไม่ใช่กรรมการอิสระ หรื อผู้บริ หาร ของผู้ที�มีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริ ษัทฯ บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัท ร่วม หรื อนิติบคุ คลที�อาจมีความขัดแย้ ง 5. ไม่เป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม หรื อนิติบคุ คลที�อาจมีความขัดแย้ ง และไม่เป็ น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ�งไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริ หาร หรื อหุ้นส่วนผู้จดั การของสํานักงานสอบบัญชี ซึ�งมี ผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม หรื อนิติบคุ คลที�อาจมีความขัดแย้ งสังกัดอยู่ 6. ไม่เป็ นผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพใด ๆ ซึง� รวมถึงการให้ บริ การเป็ นที�ปรึกษากฎหมายหรื อที�ปรึกษาทางการเงิน ซึ�งได้ รับ ค่าบริ การเกินกว่าสองล้ านบาทต่อปี จากบริ ษัทฯ บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม หรื อนิติบคุ คลที�อาจมีความ ขัดแย้ ง รวมทังไม่ � เป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการซึ�งไม่ใช่กรรมการอิสระ ผู้บริ หาร หรื อหุ้นส่วนผู้จดั การของผู้ ให้ บริ การทางวิชาชีพนันด้ � วย
รายงานประจำ�ปี 2561
10
7. ไม่เป็ นกรรมการที�ได้ รับแต่งตังขึ � �น เพื�อเป็ นตัวแทนของกรรมการของบริ ษัทผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้ถือหุ้นซึ�งเป็ นผู้ ที�เกี�ยวข้ องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริ ษัทฯ 8. ไม่มีลกั ษณะอื�นใดที�ทําให้ ไม่สามารถให้ ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกี�ยวกับการดําเนินงานของบริ ษัทฯ 9. ไม่เป็ นกรรมการที�ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท ให้ ตดั สินใจในการดําเนินกิจการของบริ ษัทฯ บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม บริ ษัทย่อยลําดับเดียวกัน หรื อนิติบคุ คลที�อาจมีความขัดแย้ ง และไม่เป็ นกรรมการของ บริ ษัทจดทะเบียนที�เป็ นบริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม บริ ษัทย่อยลําดับเดียวกัน 10. มีหน้ าที�ในลักษณะเดียวกับที�กําหนดไว้ ในประกาศตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศไทยว่าด้ วยคุณสมบัติและ ขอบเขตการดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบ
ณ วันที� �� ธันวาคม ���� คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้ วยกรรมการจํานวน � ท่าน มีดงั นี � รายชื�อ 1. นายประสิทธิ� 2. นายชํานิ 3. นางสาวปณิชา
ตําแหน่ ง ธีรรัตน์บงกช จันทร์ ฉาย พงษ์ ศิวาภัย
ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
- นางสุพรรณี ตัณไชยศรี นคร : เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ
ขอบเขตอํานาจหน้ าที�ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้ บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้ องและเพียงพอ 2. สอบทานให้ บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที�เหมาะสมและมีประสิทธิ ผล และพิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตัง� โยกย้ าย เลิกจ้ าง ประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจํ าปี ของ หัวหน้ าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรื อหน่วยงานอื�นใดที�รับผิดชอบเกี�ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้ บริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกําหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที�เกี�ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัทฯ 4. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตังบุ � คคลซึ�งมีความเป็ นอิสระ เพื�อทําหน้ าที�เป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ และบริ ษัท ย่อย และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทังเข้ � าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้ าร่ วม ประชุมด้ วยอย่างน้ อยปี ละ � ครัง� 5. พิจารณารายการที�เกี�ยวโยงกันหรื อรายการที�อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย และข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทั �งนี � เพื�อให้ มนั� ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผล และเป็ นประโยชน์ สูงสุดต่อบริ ษัทฯ 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ ในรายงานประจําปี ของบริ ษั ทฯ ซึ�งรายงานดังกล่าว ต้ องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที�ตลาดหลักทรัพย์ฯ กําหนดไว้ 7. สอบทานและรายงานผลการสอบของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ต่อคณะกรรมการบริ ษัท เพื�อให้ มนั� ใจว่ากรอบการ บริ หารความเสีย� ง และกระบวนการของบริ ษัทฯ ได้ รับการประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธิผลอย่างสมํ�าเสมอ และเสนอแนะการปรับปรุงใหม่ทนั สมัยอยูเ่ สมอ
11
รายงานประจำ�ปี 2561
8. สอบทานความถูกต้ อง และประสิทธิผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที�เกี�ยวข้ องกับรายงานการเงิน และการควบคุม ภายใน ทานระบบบริ หารความเสีย� ง 9. สอบทานแผนงานตรวจสอบภายในของบริ ษัทฯ ตามวิธีการและมาตรฐานที�ยอมรับโดยทัว� ไป 10. พิจารณาทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และกฎบัตรของหน่วยงานตรวจสอบภายใน 11. คณะกรรมการตรวจสอบ อาจแสวงหาความเห็นที�เป็ นอิสระจากที�ปรึกษาทางวิชาชีพอื�นใด เมื�อเห็นว่าจําเป็ นด้ วย ค่าใช้ จ่ายของบริ ษัทฯ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริ ษัท ทั ง� นี �การดําเนินการว่าจ้ างใหม่เป็ นไปตาม ระเบียบข้ อกําหนดของบริ ษัทฯ 12. รายงานอื�นใดที�เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทัว� ไปควรทราบภายใต้ ขอบเขตหน้ าที�และความรับผิดชอบที�ได้ รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษัท 13. รายงานต่อคณะกรรมการบริ ษัทอย่างสมํ�าเสมอ เพื�อให้ คณะกรรมการบริ ษัทรั บทราบกิจกรรมของคณะกรรรม การตรวจสอบ 14. ในการปฏิบตั ิหน้ าที�หากพบ หรื อมีข้อสงสัยว่ามีรายการที�เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ หรื อการทุจริ ตหรื อ มีสิ�ง ผิดปกติ หรื อมีความบกพร่ องที�สําคัญในระบบควบคุมภายใน หรื อการฝ่ าฝื น กฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อกฎหมายที�เกี�ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัทฯ ซึ�งอาจมีผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อฐานะการเงิ นและผลการดําเนินงานของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ให้ รายงานต่อคณะกรรมการบริ ษัทเพื�อดําเนินการปรับปรุงแก้ ไข ภายในเวลาที�คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร 15. ปฏิบตั ิการอื�นตามขอบเขตอํานาจหน้ าที� และความรับผิดชอบที�กําหนดไว้ ในกฎบัตร หรื อตามทีค� ณะกรรมการ บริ ษัท มอบหมายด้ วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่ าตอบแทน
ณ วันที� �� ธันวาคม ���� คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประกอบด้ วยกรรมการจํานวน � ท่าน มีดงั นี � รายชื�อ 1. นายประสิทธิ� ธีรรัตน์บงกช 2. นายชํานิ จันทร์ ฉาย 3. นางสาวปณิชา พงษ์ ศวิ าภัย
ตําแหน่ ง ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
ขอบเขตอํานาจหน้ าที�ของคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่ าตอบแทน 1. กําหนดนโยบายและหลักเกณฑ์ในการสรรหากรรมการบริ ษัท กรรมการชุดย่อย และกรรมการผู้จดั การ 2. พิจารณาสรรหากรรมการบริ ษัท กรรมการชุดย่อย และกรรมการผู้จัดการ เพื�อเสนอคณะกรรมการบริ ษัท พิจารณาอนุมตั ิ และ/หรื อ เสนอขออนุมตั ิตอ่ ที�ประชุมผู้ถือหุ้นแล้ วแต่กรณี 3. กําหนดนโยบายและหลักเกณฑ์ในการกําหนดค่าตอบแทน ของกรรมการบริ ษัท กรรมการชุดย่อยและกรรมการ ผู้จัดการ เพื�อเสนอคณะกรรมการบริ ษัทพิจารณาอนุมตั ิ และ/หรื อเสนอ ขออนุมตั ิต่อที�ประชุมผู้ถือหุ้นแล้ วแต่ กรณี 4. กําหนดค่าตอบแทนทีจ� ําเป็ นและเหมาะสมทังที � เ� ป็ นรูปแบบ ตัวเงินและมิใช่ตวั เงิน เพื�อจูงใจและรักษากรรมการบริ ษัท กรรมการชุดย่อย และกรรมการผู้จดั การ
รายงานประจำ�ปี 2561
12
5. กําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ของกรรมการบริ ษัท กรรมการชุดย่อย และกรรมการ ผู้จดั การ 6. พิจารณาทบทวนนโยบายหลักเกณฑ์ในการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนและระบบการจ่ายค่าตอบแทนให้ เหมาะสมกับหน้ าที� ความรับผิดชอบ รวมทัง� สอดคล้ องกับผลการดําเนินงานของ บริ ษัทฯ และสภาวะตลาดโดย คํานึงถึงผลประโยชน์ที�จะสร้ าง ให้ กบั บริ ษัทฯ เป็ นสําคัญ 7. ปฏิบตั ิหน้ าที�อื�นใดตามที�คณะกรรมการบริ ษัทมอบหมาย
คณะผู้บริหาร
ณ วันที� �� ธันวาคม ���� ผู้บริ หารของบริ ษัทฯ มีจํานวน � ท่าน มีดงั นี � รายชื�อ 1. นายสัจจา เจนธรรมนุกลู 2. นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร 3. นางสาวกัลยา คล้ ายทอง
ตําแหน่ ง รักษาการกรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การทัว� ไปสายบริ หาร และการเงิน ผู้จดั การทัว� ไปสายพัฒนาธุรกิจ
ขอบเขตอํานาจหน้ าที�ของกรรมการผู้จัดการ กรรมการผู้จดั การ มีอํานาจและหน้ าที�เกี�ยวกับการบริ หารกิจการบริ ษัทฯ ตามที�คณะกรรมการจะมอบหมาย และ จะต้ องบริ หารบริ ษัทฯ ตามแผนงานหรื องบประมาณที�ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการอย่างเคร่ งครัด ซื�อสัตย์ สจุ ริ ตและ ระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริ ษัทฯ และผู้ถือหุ้นอย่างดีที�สดุ อํานาจหน้ าที�ของกรรมการผู้จดั การ ให้ รวมถึงเรื� องหรื อ กิจการต่างๆ ดังต่อไปนี �ด้ วย 1. ดําเนินกิจการ และ/หรื อ บริ หารงานประจําวันของบริ ษัทฯ 2. บรรจุ แต่งตัง� เลือ� นตําแหน่งพนักงาน ปรับเงินเดือนพนักงาน ซึ�งผ่านความเห็นชอบตามสายงานตามระเบียบที� คณะกรรมการกําหนด 3. พิจารณาอนุมตั ิการซื �อสินทรัพย์ถาวรมูลค่าไม่เกิน ��,���,��� บาท (สิบล้ านบาท) ทังนี � � ต้ องเป็ นไปตามข้ อบังคับ ของสํานักงานกํากับตลาดทุนในเรื� องเกี�ยวกับการได้ มาหรื อจําหน่ายไปซึ�งสินทรัพย์ของบริ ษัทจดทะเบี ยน หรื อ รายการที�เกี�ยวโยงกันหรื อกฎระเบียบของหน่วยงานที�เกี�ยวข้ อง 4. ดําเนินการให้ มีการจัดทํา และส่งมอบนโยบายทางธุรกิจของบริ ษัทฯ รวมถึงแผนงานและงบประมาณต่อคณะกรรมการ เพื� อ ขออนุมัติ และมี ห น้ าที� ร ายงานความก้ าวหน้ า ตามแผน และงบประมาณที� ไ ด้ รั บ อนุมัติ ดัง กล่า วต่ อ คณะกรรมการใน ทุกๆ � เดือน 5. ดําเนินการหรื อปฏิบตั ิงานให้ เป็ นไปตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณที�ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการ ทังนี � � การใช้ อํานาจของกรรมการผู้จดั การดังกล่าวข้ างต้ นไม่สามารถกระทําได้ หากกรรมการผู้จดั การอาจมีสว่ น ได้ เสีย หรื ออาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ในลักษณะใดๆ กับบริ ษัทฯ ในการใช้ อํานาจดังกล่าว
13
รายงานประจำ�ปี 2561
การสรรหากรรมการและผู้บริหาร บริ ษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนโดยเฉพาะ ทังนี ้ ้บุคคลที่จะได้ รับการแต่งตังให้ ้ ดารงตาแหน่ง กรรมการและผู้บริ หารของบริ ษัทฯ จะต้ องมีคณ ุ สมบัติครบตามมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษัทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 และข้ อบังคับของบริ ษัทฯและไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามตามประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรั พย์ และตลาดหลักทรั พ ย์ เกี่ยวกับเรื่ อง การขออนุญาต และการอนุญาตให้ เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ฉบับลงวันที่ 12 ธันวาคม 2551 โดยการคัดเลือกจะ ดาเนินการ ดังนี ้ องค์ ประกอบและการแต่ งตัง้ คณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการของบริ ษัทฯ ต้ องมีจานวนไม่น้อยกว่า 5 คน และไม่เกินกว่า 15 คน เลือกตังโดยที ้ ่ประชุมผู้ถือหุ้น และ กรรมการไม่น้อยกว่ากึ่งหนึง่ ของจานวนกรรมการทังหมดต้ ้ องมีถิ่นที่อยูใ่ นประเทศไทย ทังนี ้ ้ข้ อบังคับของบริ ษัทฯ กาหนดให้ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตังกรรมการตามหลั ้ กเกณฑ์และวิธีการต่อไปนี ้ (1) ผู้ถือหุ้นคนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุ้นต่อหนึง่ เสียง (2) ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้ คะแนนเสียงที่มีอยู่ทงหมดตาม ั้ (1) เลือกตังบุ ้ คคลเดียว หรื อหลายคนเป็ นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้ แก่ผ้ ใู ดมากน้ อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลที่ได้ รับคะแนนสูงสุดตามลาดับลงมาเป็ นผู้ได้ รับเลือกเป็ นกรรมการเท่าจานวนกรรมการที่จะพึงมีหรื อจะ พึงเลือกตังในครั ้ ง้ นัน้ ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้ รับการเลือกตังในล ้ าดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจานวน กรรมการที่จะพึงมี ให้ ประธานที่ประชุมเป็ นผู้ออกเสียงชี ้ขาด เมื่อมีการประชุมสามัญประจาปี ทกุ ครัง้ ให้ กรรมการออกจากตาแหน่งจานวนหนึง่ ในสามของจานวนกรรมการใน ขณะนัน้ ถ้ าจานวนกรรมการจะแบ่งออกให้ ตรงเป็ นสามส่วนไม่ได้ ก็ ให้ ออกโดยจานวนใกล้ ที่สุดกับส่วนหนึ่งในสาม กรรมการซึง่ พ้ นจากตาแหน่ง อาจได้ รับเลือกให้ กลับเข้ ามารับตาแหน่งอีกก็ได้ กรรมการผู้มีอานาจลงนามผูกพันบริ ษัทฯ คือ กรรมการสองคน ลงลายมือชื่อ และประทับตราสาคัญของบริ ษัทฯ องค์ ประกอบและการแต่ งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ ษัทฯ เป็ นผู้แต่งตังคณะกรรมการตรวจสอบ ้ โดยแต่งตังบุ ้ คคลอย่างน้ อย 3 คนและมีวาระการดารง ตาแหน่ง 3 ปี โดยบุคคลดังกล่าว ต้ องมีคณ ุ สมบัติครบถ้ วนตามประกาศของคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ค่ าตอบแทนกรรมการบริษัท
ค่ าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน ปี 2560 ค่าตอบแทนกรรมการบริ ษัทฯ รวม 7 ราย เท่ากับ 1.46 ล้ านบาท โดยเป็ นค่าตอบแทนในรู ปเบี ้ยประชุมและ บาเหน็จกรรมการ ซึง่ แปรตามผลการดาเนินงานของบริ ษัทฯ ค่าตอบแทนผู้บริ หารรวม 3 ราย จานวน 4.48 ล้ านบาท โดยเป็ นค่าตอบแทนในรู ปเงินเดือน และโบนัส ซึ่งแปรตาม ผลการดาเนินงานของบริ ษัทฯ ปี 2561 ค่าตอบแทนกรรมการบริ ษัทฯ รวม 7 ราย เท่ากับ 1.04 ล้ านบาท โดยเป็ นค่าตอบแทนในรู ปเบี ้ยประชุมและ บาเหน็จกรรมการ ซึง่ แปรตามผลการดาเนินงานของบริ ษัทฯ ค่าตอบแทนผู้บริ หารรวม 2 ราย จานวน 4.19 ล้ านบาท โดยเป็ นค่าตอบแทนในรู ปเงินเดือน และโบนัส ซึ่งแปรตาม ผลการดาเนินงานของบริ ษัทฯ
รายงานประจำ�ปี 2561
14
โดยค่ าตอบแทนกรรมการบริษัท ประจาปี 2561 เป็ นรายบุคคลมีรายละเอียดดังนี ้ รายชื่อ 1. นายสัจจา
เจนธรรมนุกลู
2. นายสุวินยั 3. นายศุภพงศ์ 4. นายสุทศั น์ 5. นายประสิทธิ์
สุวรรณหิรัญกุล กฤษณกาญจน์ ขันเจริญสุข ธีรรัตน์บงกช
6. นายชานิ
จันทร์ ฉาย
7. นางสาวปณิชา พงษ์ ศิวาภัย
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการ รก.กรรมการผู้จดั การ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน
รวมเป็ นเงินทัง้ สิน้
คณะกรรมการ บริษัท 125,000
คณะกรรมการ ตรวจสอบ -
หน่วย : บาท คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่ าตอบแทน -
80,000 40,000 100,000 100,000
125,000
25,000
100,000
100,000
20,000
100,000
100,000
20,000
645,000
325,000
65,000
ค่ าตอบแทนอื่นๆ
ใน ปี 2560 ผู้บริหารรวม 3 ราย (ไม่รวมกรรมการอิสระ) ได้ รับเงินสมทบกองทุนสารองเลี ้ยงชีพ จานวน 0.21 ล้ านบาท ใน ปี 2561 ผู้บริหารรวม 2 ราย (ไม่รวมกรรมการอิสระ) ได้ รับเงินสมทบกองทุนสารองเลี ้ยงชีพ จานวน 0.42 ล้ านบาท
การกากับดูแลกิจการ บริ ษัทฯ ได้ ตระหนักถึงความสาคัญของการปฏิบตั ิตามนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง ทังนี ้ ้ เพื่อความ โปร่งใสในการดาเนินงานของบริ ษัทฯ ทุกระดับชัน้ ทังในส่ ้ วนของพนักงานระดับปฏิบตั ิงาน ผู้บริ หาร ตลอดจนคณะกรรมการ ซึง่ เป็ นพื ้นฐานสาคัญในการปรับปรุงประสิทธิภาพ และเพิ่มประสิทธิผลในการประกอบกิจการของบริ ษัทฯ เพื่อประโยชน์ใน ระยะยาวของผู้ถือหุ้น ลูกค้ า นักลงทุน และสาธารณชนทัว่ ไป ซึ่งหลักการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษัท ครอบคลุม หลักการ 5 หมวด ดังมีรายละเอียด ดังนี ้
1) สิทธิของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการของบริ ษัทฯ ได้ ตระหนักถึงความสาคัญในการกากับดูแลกิจการที่ดี การมีมาตรฐานที่เป็ นสากล และความ สอดคล้ องกับนโยบายของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทังความส ้ าคัญต่อสิทธิของผู้ถือหุ้น และได้ สง่ เสริ มให้ ผ้ ถู ือ หุ้นได้ ใช้ สทิ ธิของตน โดยได้ จดั ตังคณะกรรมการตรวจสอบเพื ้ ่อช่วยกากับดูแลกิจการในด้ านต่างๆ เพื่อสนับสนุนวัฒนธรรม
15
รายงานประจำ�ปี 2561
องค์กร และจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจที�ดี คณะกรรมการบริ ษัทฯ มีความเชื�อมัน� เป็ นอย่างยิ�งว่า กระบวนการกํากับดูแล กิจการที�ดี จะช่วยส่งเสริ มผลการดําเนินงานของบริ ษัทฯ และเป็ นหัวใจในการบรรลุเป้าหมายพื �นฐานที�สําคัญยิ�งอย่างหนึ�ง อันจะส่งผลให้ เกิดการเพิ�มมูลค่าสูงสุดแก่ผ้ ถู ือหุ้น คุณค่าที�บริ ษัทฯมุง่ หวัง และคาดหวังให้ กรรมการ และพนักงานทุกคนถือ ปฏิบตั ิในทุกภารกิจ ได้ แก่ การปฏิบตั ิงานด้ วยความรู้ความสามารถอย่างมืออาชีพด้ วยความซื�อสัตย์ และมีคณ ุ ธรรม การสร้ างความสามัคคีในการทํางานร่วมกัน การยึดมัน� ในหลักการของระเบียบวินยั การปฏิบตั ิงานที�ดเี พื�อช่วยพัฒนา บริ ษัทฯ ประเทศชาติ และสังคม โดยรวม การมีปฏิสมั พันธ์ร่วมกัน และมีความพร้ อมในการตอบสนองต่อทุกสถานการณ์ ในการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น บริ ษัทฯ ได้ กําหนดที�จะจัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้ อมเอกสารประกอบก่อนการ ประชุมล่วงหน้ าอย่างน้ อย 7 วัน ก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น เพื�อให้ เป็ นตามระยะเวลาขันตํ � �าที�กฎหมายกําหนด นอกจากนี �บริ ษัทฯ มีนโยบายที�จะปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ผู้ถือหุ้นสามารถใช้ สทิ ธิออกเสียงลงคะแนนได้ อย่างเป็ นอิสระใน การเลือกคณะกรรมการบริ ษัท การลงมติ การแสดงความคิดเห็นและการตังคํ � าถามใดๆ ต่อที�ประชุม ตามระเบียบวาระการ ประชุม และเรื� องที�เสนอ ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสทิ ธิและความเท่าเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศที�ถกู ต้ อง ทันต่อเหตุการณ์ เปิ ดเผยครบถ้ วน และสามารถตรวจสอบข้ อมูลต่างๆ ได้ รวมทังบริ � ษัทฯ มีนโยบายที�จะเพิ�มทางเลือกให้ กบั ผู้ถือหุ้น โดยให้ กรรมการอิสระเป็ นผู้รับมอบฉันทะจากผู้ถือหุ้น ในกรณีที�ผ้ ถู ือหุ้นไม่สามารถเข้ าร่วมประชุมได้
2) การปฏิบัตติ ่ อผู้ถอื หุ้นอย่ างเท่ าเทียมกัน บริ ษัทฯ มีนโยบายที�จะปฏิบตั ิต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน ผู้ถื อหุ้นสามารถใช้ สิทธิ ออกเสียงลงคะแนนได้ อย่างเป็ นอิสระในการเลือกคณะกรรมการบริ ษัทฯ การลงมติ การแสดงความคิดเห็น และการตังคํ � าถามใดๆ ต่อที�ประชุม ตามระเบียบวาระการประชุม และเรื� องที�เสนอ ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิ และความเท่าเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศที� ถูกต้ อง ทันต่อเหตุการณ์ เปิ ดเผยครบถ้ วน และสามารถตรวจสอบข้ อมูลต่างๆได้ รวมทัง� บริ ษัทฯมีนโยบายที�จะเพิ� ม ทางเลือกให้ กบั ผู้ถือหุ้นโดยให้ กรรมการอิสระเป็ นผู้รับมอบฉันทะจากผู้ถือหุ้น ในกรณีทผี� ้ ถู ือหุ้นไม่สามารถเข้ าร่วมประชุมได้ ความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ตลอดการดําเนินงานที� ผ่านมา คณะกรรมการบริ ษัทฯ และฝ่ ายบริ หาร ได้ พิจารณาขจัดปั ญหาความขัดแย้ งทาง ผลประโยชน์อย่างรอบคอบด้ วยความซือ� สัตย์สจุ ริ ต มีเหตุผล และเป็ นอิสระภายใต้ กรอบจริ ยธรรมที�ดี เพื�อผลประโยชน์ ของ บริ ษัทฯ โดยรวมเป็ นสําคัญ เพื�อให้ เกิดความโปร่ งใส และป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์สว่ นตน บริ ษัทฯ อยู่ระหว่างร่ าง คําสัง� เพื�อถือปฏิบตั ิในการห้ ามกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานระดับปฏิบตั ิงาน ใช้ ข้อมูลภายในของบริ ษัทฯ และบริ ษัทใน เครื อที�มีสาระสําคัญ และยังมิได้ เปิ ดเผยต่อสาธารณชนเพื�อประโยชน์ของตนเอง หรื อผู้อื�น นอกจากนี � หากมีการทํารายการ ทีเ� กี�ยวโยงกันบริ ษัทฯ จะปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ และวิธีการตามที�ประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
3) บทบาทของผู้มีส่วนได้ เสีย บริ ษัทฯ ได้ ให้ ความสําคัญต่อสิทธิของผู้มีสว่ นได้ เสียทุกกลุม่ ไม่ว่าจะเป็ นผู้มีสว่ นได้ เสียภายใน ได้ แก่ พนักงานและ ผู้บริ หารของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย หรื อผู้มีส่วนได้ เสียภายนอก ได้ แก่ คู่แข่ง เจ้ าหนี � ภาครั ฐและหน่วยงานอื�นๆ ที�
รายงานประจำ�ปี 2561
16
เกี�ยวข้ องโดยบริ ษัทฯ ปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดของกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ที�เกี�ยวข้ อง เพื�อให้ สิทธิของผู้มีสว่ นได้ เสีย เหล่านี �ได้ รับการดูแลอย่างดี ในปี 2561 บริ ษัทฯ ยังคงให้ ความสําคัญกับบทบาทของผู้มีสว่ นได้ เสีย กลุม่ ต่างๆ ของบริ ษัท อย่างสมํ�าเสมอ ดังนี � ผู้ถอื หุ้น
บริ ษัทฯเคารพสิทธิและปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียม เช่น สิทธิในการเข้ าประชุมผู้ถือหุ้นและออกเสียง ลงคะแนน สิทธิในการแสดงความคิดเห็นอย่างเป็ นอิสระในที�ประชุมผู้ถือหุ้น พร้ อมกับสิทธิผ้ ถู ือหุ้นในการ เสนอแนะข้ อคิดเห็นต่างเกี�ยวกับการดําเนินธุรกิจของบริ ษัทในฐานะเจ้ าของบริ ษัทผ่านกรรมการอิสระ
พนักงาน
บริ ษัทฯให้ ความสําคัญกับพนักงานโดยถือว่าเป็ นทรัพยากรที�มีคณ ุ ค่า พร้ อมทังสนั � บสนุนการพัฒนาความรู้ และศักยภาพของพนักงาน โดยให้ มีการอบรมทักษะ และเปิ ดโอกาสในการเรี ยนรู้แก่พนักงานทุกคนเพื�อ พัฒนาตนเอง และให้ การก้ าวหน้ าในสายอาชี พของตนไปพร้ อมกับบริ ษัท และบริ ษัทยังมีระบบการ ประเมินผลของพนักงานที�ทําให้ สิ�งที�พนักงานให้ ความสําคัญกับเป้าหมายของบริ ษัทให้ เป็ นในทิศทาง เดียวกัน รวมทังเพื � �อให้ ความมัน� ใจว่าความสําเร็ จของธุรกิจนันเป็ � นไปเพื�อผลประโยชน์ร่วมกัน
ลูกค้ า
บริ ษัทฯ คํานึงถึงความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้ าเป็ นสําคัญ บริ ษัทฯมุ่งมัน� ที�จะให้ ลกู ค้ าได้ รับสินค้ าและ บริ การที�มีคณ ุ ภาพ และราคาที�เป็ นธรรม ตลอดจนมุ่งพัฒนาและรักษาสัมพันธภาพที�ยงั� ยืน เพื�อสร้ าง ความผูกพันแก่ลกู ค้ า
คู่ค้า
บริ ษัทฯ ปฏิบตั ิตามกรอบการแข่งขันทางการค้ าโดยสุจริ ต และมุ่งมัน� ในการปฏิบตั ิต่อคู่ค้าอย่างยุติธรรม และเสมอภาพ เพื�อสร้ างความน่าเชื�อถือซึง� กันและกัน
คู่แข่ ง
บริ ษัทฯ ปฏิบตั ิตามกรอบการแข่งขันทางการค้ าที�สจุ ริ ต ภายใต้ กรอบกติกาของการแข่งขันที� ดี และไม่ กระทําใดๆที�เป็ นการละเมิดทรัพย์สินทางปั ญญาหรื อลิขสิทธิ�ของผู้แข่งขัน จะไม่ใช้ การกระทําใดๆที�ไม่ สุจริ ต เพื�อทําลายชื�อเสียงของผู้แข่งขัน หรื อละเมิดความลับทางการค้ าของคูแ่ ข่งขัน
เจ้ าหนี �
บริ ษัทฯ ยึดมัน� ในการปฏิบตั ิตามเงื�อนไขสัญญาที�ได้ ตกลงไว้ อย่างสุจริ ตและเคร่งครัด และให้ ความสําคัญ กับเจ้ าหนี �ต่างๆ เพื�อรักษาความสัมพันธ์กบั เจ้ าหนี � โดยคํานึงถึงผลประโยชน์สงู สุดของบริ ษัท
ชุมชน สังคม และสิ�งแวดล้ อม
บริ ษัทฯ ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้ อมของชุมชน สังคม และการอนุรักษ์ สิ�งแวดล้ อม โดยมุ่งสนับสนุนกิจกรรมเพื�อพัฒนาคุณภาพชีวิต และเสริ มสร้ างประโยชน์สขุ ของชุมชน สังคม และ สิง� แวดล้ อม
4) การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่ งใส
นโยบายการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริ ษัท ได้ กําหนดนโยบายเกี�ยวกับการกํากับดูแลกิจการ โดยตระหนักถึงความสําคัญเนื�องจากเป็ น ประโยชน์ตอ่ การดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ ให้ มีความมัน� คงและเจริ ญเติบโตได้ อย่างยัง� ยืน ส่วนการกําหนดแนวทางในการ ดําเนินงานนัน� บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญเรื� องการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน โดยเฉพาะอย่างยิ�ง คณะกรรมการ บริ ษัท ได้ มีการประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในร่วมกันเป็ นประจําทุกปี ตงแต่ ั � ปี 2546 เป็ นต้ นมา และมีการ กํากับดูแลการดําเนินงานของฝ่ ายบริ หาร โดยกําหนดให้ คณะกรรมการบริ หารดําเนินธุรกิจตามนโยบายอย่างมีประสิทธิภาพ เพื�อให้ บริ ษัทฯ ได้ ปฏิบตั ิตามหลักการการกํากับดูแลกิจการที�ดี ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
17
รายงานประจำ�ปี 2561
นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ ยังได้ เปิ ดเผยข้ อมูลครบถ้ วนตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งมีการรายงาน ไว้ ทงภาษาไทยและภาษาอั ั้ งกฤษผ่านทาง Website ของบริ ษัทฯ รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัทเป็ นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย และสารสนเทศทางการเงินที่ ปรากฏในรายงานประจาปี และจัดให้ มีระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพื่อให้ มนั่ ใจได้ วา่ การบันทึกข้ อมูลทางบัญชีมี ความถูกต้ อง ครบถ้ วน และเพียงพอที่จะดารงรักษาไว้ ซึ่งทรัพย์สินทาให้ ทราบจุดอ่อน และสามารถป้องกันไม่ให้ เกิดการ ทุจริ ตหรื อดาเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสาคัญ ค่ าสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี (1) ค่าสอบบัญชี (audit fee) โดยมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจาปี 2561 แต่งตัง้ บริ ษัท สานักงาน อีวาย จากัด โดย นางพูนนารถ เผ่าเจริ ญ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 5238 หรื อ นางสาววิสสุตา จริ ยธนากร ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3853 หรื อ นายเติมพงษ์ โอปนพันธุ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4501 เป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัทฯ ในปี 2561 โดยจ่าย ค่าสอบบัญชีของบริ ษัทฯ จานวน 800,000 บาท และบริ ษัทย่อย จานวน 1,015,000 บาท (2) ค่าตอบแทนอื่นๆ (non audit fee) จานวน 70,752 บาท นโยบายการจ่ ายเงินปั นผล บริ ษัทฯ มีนโยบายจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นในอัตราไม่ต่ากว่าร้ อยละ 50 ของกาไรสุทธิ ภายหลังจากการหักทุน สารองต่างๆ ทังหมดแล้ ้ ว เว้ นแต่จะมีความจาเป็ นเหตุอนั ควรที่ไม่สามารถจ่ายได้ ทังนี ้ ้ การจ่ายเงินปั นผลให้ นาปั จจัยต่างๆ มาพิจารณาประกอบ เช่น ฐานะการเงิน สภาพคล่อง การขยายธุรกิจ และปั จจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องในการบริ หารงานของ บริ ษัทฯ ซึ่งการจ่ายเงินปั นผลข้ างต้ นจะต้ องได้ รับความเห็นชอบจากผู้ถือหุ้นตามความเหมาะสมและความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริ ษัท ความสัมพันธ์ กับผู้ลงทุน ภายหลังบริ ษัทฯ เข้ าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ บริ ษัทฯ ได้ แต่งตังให้ ้ นางสุพรรณี ตัณไชยศรี นคร ผู้จดั การสานัก กรรมการผู้จดั การ เป็ นผู้ดแู ลงานนักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อดูแลเรื่ องการเปิ ดเผยข้ อมูลที่มีความถูกต้ องครบถ้ วนโปร่ งใสและ ทัว่ ถึง ทังรายงานข้ ้ อมูลทางการเงินและข้ อมูลทัว่ ไป ตลอดจนข้ อมูลสาคัญที่มีผ ลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของ บริ ษัทฯ โดยเผยแพร่ ข้อมูลสารสนเทศของบริ ษัทฯ ต่อนักลงทุนและสาธารณชนผ่านช่องทางต่างๆ คือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (แบบแสดงรายการข้ อมูลประจาปี (แบบ 56-1), รายงานประจาปี (แบบ 56-2), สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (SCP Client)) หนังสือพิมพ์, นิตยสาร, โทรทัศน์, เว็บไซต์บริ ษัทฯ,วารสารผู้ถือหุ้นสัมพันธ์ , การพบปะให้ สมั ภาษณ์ , การเดินทางไปพบนักลงทุนทังใน ้ ประเทศ และนักลงทุนต่างประเทศที่มาพบและจัดประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
รายงานประจำ�ปี 2561
18
มาตรการการแจ้ งเบาะแส บริ ษัทฯ ได้ เปิ ดช่องทางสําหรับการแจ้ งเบาะแส หรื อข้ อร้ องเรี ยน ทังจากพนั � กงานในบริ ษัท ลูกค้ า หรื อผู้มีสว่ นได้ เสีย กลุ่ม ต่า งๆ หากเป็ น พนักงานสามารถแจ้ ง ผ่า นทางจดหมายปิ ดผนึกระบุว่า “ลับ เฉพาะ” และจ่า หน้ าซองถึ งประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ สําหรับผู้มีสว่ นได้ เสียกลุม่ อื�นๆ บริ ษัทฯได้ เปิ ดช่องทางการแจ้ งเบาะแส หรื อข้ อร้ องเรี ยนต่างๆ ผ่านทาง E-mail ir@rpcthai.com หรื อ ส่งทางไปรษณีย์มายัง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษัทได้ ตามที�อยู่ของ บริ ษัท เลขที� 86/2 อาคารสัมมากรเพลส ถนนรามคําแหง แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุ งเทพฯ 10240 เพื�อตรวจสอบ ข้ อเท็จจริ งตามหลักเกณฑ์ และกระบวนการที�บริ ษัทฯได้ กําหนดไว้ และรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษัท ต่อไป โดยบริ ษัทฯ มีนโยบายในการคุ้มครองผู้แจ้ งเบาะแสหรื อข้ อร้ องเรี ยน พร้ อมทังเก็ � บรักษาเอกสารหลักฐานที�เกี�ยวกับคําร้ องเรี ยน และชื�อผู้ ร้ องเรี ยนไว้ เป็ นความลับ
5) ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ภาวะผู้นําและวิสัยทัศน์ คณะกรรมการของบริ ษัทฯ ประกอบด้ วยกรรมการที�มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการดําเนินธุรกิจ ทําหน้ าที�กําหนดนโยบาย วิสยั ทัศน์ กลยุทธ์ เป้าหมาย ภารกิจ แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริ ษัทฯ ตลอดจนกํากับ ดูแลให้ ฝ่ายจัดการบริ หารงานให้ เป็ นไปตามนโยบายที�กําหนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ภายใต้ กรอบของ กฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้ อบังคับของบริ ษัทฯ และมติที�ประชุมผู้ถือหุ้น ด้ วยความรับผิดชอบ ซื�อสัตย์สจุ ริ ตระมัดระวัง ตาม หลักการข้ อพึงปฏิบตั ิที�ดี เพื�อเพิ�มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้ แก่กิจการ และความมัน� คงสูงสุดให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น นอกจากนี � บริ ษัทฯ ได้ ให้ ความสําคัญเป็ นอย่างยิ�งต่อระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และมาตรการบริ หารความเสี�ยง ที�เหมาะสม ตลอดจนการมีระบบการสอบทานเพื�อให้ การดําเนินงานเป็ นไปตามข้ อกฎหมาย และมีการควบคุมที�ดี เพื�อให้ ระบบการควบคุมภายในมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดต่ อบริ ษัทฯ นอกจากนี � คณะกรรมการเป็ นผู้พิจารณา การกําหนดและแยกบทบาทหน้ าที� และความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ บริ หาร และกรรมการผู้จดั การอย่างชัดเจน จริยธรรมธุรกิจ บริ ษัทฯ ยึดมัน� ในการกระทําในสิง� ที�ถกู ต้ อง เป็ นแนวทางการดําเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงาน ทุกคน และบริ ษัทฯ มีภาระหน้ าที�ร่วมกันในการปฏิบัติหน้ าที�ด้วยความซื�อสัตย์ สจุ ริ ต ภายใต้ กรอบของกฎหมาย และ ภายใต้ ขอบเขตความรับผิดชอบของตน รวมทังใช้ � วิจารณญาณอย่างรอบคอบ ในการตัดสินใจทําการค้ า และปฏิบตั ิตนต่อ ผู้อื�น ละเว้ นการกระทําใดๆ ที�จะก่อให้ เกิดความเสีย� งต่อความเสียหายแก่บริ ษัทฯ และส่วนรวม แม้ วา่ การกระทําดังกล่าวดู เสมือนว่าจะช่วยเกื �อกูลธุรกิจแก่บริ ษัทฯ ทังนี � � บริ ษัทฯ ได้ กําหนดจรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ สําหรับกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานของบริ ษัทฯ และ บริ ษัทในเครื อ โดยมุง่ มัน� ที�จะดําเนินธุรกิจด้ วยความโปร่ งใส เพื�อการเติบโตที�ยงั� ยืนและมีคณ ุ ค่าในระยะยาวแก่ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียทุกภาคส่วน ซึ�งรวมถึงการป้องกันการทุจริ ตทังภายในและภายนอกองค์ � กร รวมทัง� การห้ ามติดสินบน การรับ/ให้ ของขวัญ การบริ จาค หรื อการสนับสนุน
19
รายงานประจำ�ปี 2561
การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทย่ อย และบริษัทร่ วม คณะกรรมการบริ ษัท มีกลไกในการกํ ากับ ดูแลที�ทํ าให้ สามารถควบคุม การดูแล การจัดการและรั บผิด ชอบการ ดําเนินงานของบริ ษัทย่อยและบริ ษัทร่วม เพื�อดูแลรักษาผลประโยชน์ในเงินลงทุนของบริ ษัทฯ โดย 1. มีการส่งบุคคลเพื�อเป็ นตัวแทนของบริ ษัทฯ ไปเป็ นกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อผู้มีอํานาจควบคุมในบริ ษัทดังกล่าวตาม สัดส่วนการถือหุ้น โดยได้ รับความเห็นชอบจากที�ประชุมคณะกรรมการบริ หาร 2. มีการกําหนดขอบเขตอํานาจหน้ าที�และความรับผิดชอบของกรรมการและผู้บริ หารที�เป็ นตัวแทนของบริ ษัทฯ ตาม อํานาจหน้ าที�ของแต่ละบริ ษัท 3. มีกลไกในการกํากับดูแลที�มีผลให้ การเปิ ดเผยข้ อมูลฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน การทํารายการระหว่าง บริ ษัทดังกล่าวกับบุคคลที�เกี�ยวโยงกัน การได้ มาหรื อจําหน่ายไปซึ�งสินทรัพย์ หรื อการทํารายการสําคัญอื�นใดของ บริ ษัทดังกล่าวให้ ครบถ้ วนถูกต้ องและใช้ หลักเกณฑ์ที�เกี�ยวข้ องกับการเปิ ดเผยข้ อมูลและการทํารายการในลักษณะ ดังกล่าวข้ างต้ นในทํานองเดียวกันกับหลักเกณฑ์ของบริ ษัทฯ 4. มีการกําหนดระบบการควบคุมภายในที�เหมาะสมและรัดกุม เพียงพอ ในบริ ษัทย่อยด้ วยการทดสอบระบบควบคุม ภายในและตรวจสอบโดยคณะตรวจสอบภายในของบริ ษัทฯ นโยบายต่ อต้ านการทุจริตแลการคอร์ รัปชั�น กรรมการบริ ษัท ผู้บริ หาร และพนักงาน ต้ องปฏิบตั ิตามหน้ าที�ด้วยความซื�อสัตย์สจุ ริ ต โดยไม่เกี�ยวข้ องกับการทุจริ ต และการคอร์ รัปชัน� ทุกรูปแบบ ไม่วา่ จะเป็ นทางตรงหรื อทางอ้ อม ยึดถือและปฏิบตั ิตามนโยบายและจรรยาบรรณของบริ ษัท อย่างเคร่งครัด แนวทางปฏิบัติท� เี กี�ยวข้ อง • การรับหรือให้ ของขวัญ ของกํานัล สิทธิประโยชน์ อ� ืนๆ การดําเนินงานของบริ ษัทที�หมายรวมถึง การประมูลงานหรื อโครงการต่างๆ การจัดซื �อจัดจ้ าง การติดต่อประสานงาน หรื อกิจกรรมอันเกี�ยวเนื�องกับการดําเนินธุรกิจของบริ ษัท ทังต่ � อภาครัฐและภาคเอกชน ต้ องปฏิบตั ิด้วยคว ามเป็ นธรรม โปร่ งใส และตรวจสอบได้ ปฏิบตั ิตามกฎหมาย กฎเกณฑ์และนโยบายที�กําหนดไว้ ทังนี � � บริ ษัทตระหนักถึงการรับหรื อให้ ของขวัญ ของกํานัล สิทธิประโยชน์ ที�อาจก่อความเสีย� งต่อการเกิดการทุจริ ตและการคอร์ รัปชัน� • การให้ เงินบริจาคหรือสนับสนุนแก่ หน่ วยงานภาครัฐหรือภาคเอกชน การให้ เงินบริ จาคหรื อสนับสนุนแก่หน่วยงานภาครัฐหรื อภาคเอกชน ต้ องดําเนินการด้ วยความโปร่ งใส ไม่ขดั ต่อ ศีลธรรม จรรยาบรรณ ถูกต้ องตามกฎหมาย และเป็ นไปตามนโยบายและระเบียบปฏิบตั ิของบริ ษัทเรื� องดังกล่าวอย่าง เคร่งครัด ทังนี � �ต้ องได้ รับการอนุมตั ิเห็นชอบจากหน่วยงานต้ นสังกัดก่อนดําเนินการ ทังนี � � การให้ เงินบริ จาคหรื อสนับสนุนแก่หน่วยงานภาครัฐหรื อภาคเอกชนดังกล่าว ต้ องไม่ก่อให้ เกิดความขัดแย้ งทาง ผลประโยชน์ทงส่ ั � วนบุคคลและประโยชน์ของบริ ษัท ไม่ใช้ เป็ นข้ ออ้ างสําหรับการทุจริ ตและการคอร์ รัปชัน� การอนุมตั ิเงินบริ จาคหรื อสนับสนุนแก่หน่วยงานภาครัฐหรื อภาคเอกชนต้ องปฏิบตั ิตามระเบียบปฏิบตั ิอย่างเคร่ งครัด มี ก ารจัด ทํ า รายงานพร้ อมเอกสารประกอบการพิ จ ารณาอนุมัติ เ งิ น บริ จ าคหรื อ สนับ สนุน แก่ ห น่ว ยงานภาครั ฐ หรื อ ภาคเอกชน และเสนออนุมตั ิตอ่ ผู้บริ หารเพื�อพิจารณา
รายงานประจำ�ปี 2561
20
• การมีส่วนร่ วมทางการเมือง บริ ษัทฯ ดําเนินธุรกิ จอย่างเป็ นกลางทางการเมือง ไม่มีการให้ ความช่วยเหลือหรื อสนับสนุนทางการเมืองแก่พรรค การเมืองหรื อนักการเมืองในทุกรู ปแบบ รวมถึงการไม่สง่ เสริ มให้ กรรมการบริ ษัท ผู้บริ หาร หรื อพนักงานเข้ าร่ วมกิจกรรม ทางการเมืองใดๆในนามของบริ ษัท บริ ษัทฯ ถือเป็ นสิทธิเสรี ภาพส่วนบุคคลตามกฎหมายในการเข้ าร่วมกิจกรรมทางการเมือง ทังนี � �ต้ องไม่แอบอ้ างความ เป็ นพนักงาน หรื อนําทรัพย์สินใดๆของบริ ษัทไปใช้ ในการสนับสนุนทางการเมือง หรื อกระทําการใดๆอันก่อให้ เกิดความ เข้ าใจผิดว่าบริ ษัทมีสว่ นร่วมหรื อให้ การสนับสนุนทางการเมืองใดๆ ทัง� นี � การแสดงออกและแสดงความคิ ดเห็นทางการเมือง ในสํานักงานหรื อบริ เวณหน่วยงานของบริ ษัทถื อว่า มี ความผิดระเบียบบริ ษัท • การร้ องเรียนการพบเบาะแสการทุจริตและการคอร์ รัปชั�น หากพบการกระทําที�เข้ าข่ายการทุจริ ตและการคอร์ รัปชั�นต้ องแจ้ งให้ ผ้ ูบังคับบัญชาหรื อช่องทางที�ทางบริ ษัทได้ กําหนดไว้ สําหรับการร้ องเรี ยนการพบเบาะแสการทุจริ ตและการคอร์ รัปชั�น หรื อการละเมิดสิทธิ ต่างๆ โดยทางบริ ษัทมี มาตรการในการคุ้มครองผู้ร้องเรี ยน ผู้แจ้ งเบาะแส และผู้ให้ ข้อมูลตามที�กําหนดไว้ รายละเอียดปรากฏตามนโยบายเรื� อง การแจ้ งเบาะแสและมาตรการคุ้มครองผู้แจ้ งเบาะแส ทังนี � �บริ ษัทจัดให้ มีช่องทางในแจ้ งเบาะแสและร้ องเรี ยนมายัง เลขานุการบริษัท ที�อยู:่ บริ ษัท อาร์ พีซีจี จํากัด (มหาชน) 86/2 อาคารสัมมากรเพลส ถนนรามคําแหง แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพฯ 10240 • การประเมินความเสี�ยงจากการทุจริตและการคอร์ รัปชั�น กําหนดให้ แผนกตรวจสอบภายใน มีหน้ าที�ในการประเมินความเสีย� งจากการทุจริ ตและการคอร์ รัปชัน� โดยดําเนินการ ประเมิ น วิ เ คราะห์ ติ ด ตาม และควยคุม ความเสี� ย งจากการทุ จ ริ ต ให้ อยู่ ใ นระดับ ที� ย อมรั บ ได้ พร้ อมรายงานต่ อ คณะกรรมการตรวจสอบ ทังการติ � ดตามผลการดําเนินการตามนโยบายการต่อต้ านทุจริ ตและคอร์ รัปชัน� • การสร้ างจิตสํานึกในการต่ อต้ านจากการทุจริตและการคอร์ รัปชั�น บริ ษัทฯ ดําเนินการสื�อสารภายในบริ ษัท เพื�อให้ กรรมการของบริ ษัท ผู้บริ หาร และพนักงาน เข้ าใจและตระหนักถึง ความสําคัญของการต่อต้ านการทุจริ ตและการคอร์ รัปชั�น รวมถึงนโยบายและแนวทางปฏิบตั ิต่างๆที�เกี�ยวข้ อง ผ่านการ ประชุมพนักงาน อบรม สัมมนา และสือ� ต่างๆของบริ ษัทฯ พร้ อมให้ พนักงานที�ปฏิบตั ิหน้ าที�เกี�ยวข้ องกับผู้มีสว่ นได้ เสียของ บริ ษัทฯได้ ชี �แจงให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียทราบ • บทลงโทษในการกระทําผิด การลงโทษการกระทําผิดให้ เป็ นไปตามระเบียบของบริ ษัทฯ และ/หรื อข้ อกฎหมายที�เกี�ยวข้ อง การถ่ วงดุลของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัท มีจํานวน � ท่าน ประกอบด้ วย กรรมการที�ไม่ได้ เป็ นผู้บริ หาร จํานวน � ท่าน กรรมการที�เป็ นอิสระ จํานวน � ท่าน คิดเป็ นร้ อยละ �� ของกรรมการทังคณะ �
21
รายงานประจำ�ปี 2561
การรวม หรือแยกตําแหน่ ง ประธานกรรมการไม่เป็ นบุคคลเดียวกันกับกรรมการผู้จดั การของบริ ษัทฯ เพื�อให้ เกิดการถ่วงดุล และการสอบทาน การบริ หารงาน และโครงสร้ างคณะกรรมการของบริ ษัทฯ ประกอบด้ วยกรรมการที�ไม่ได้ เป็ นผู้บริ หาร และกรรมการอิสระ มากกว่ากึ�งหนึง� ของคณะกรรมการทังหมด � ค่ าตอบแทนของ กรรมการ และผู้บริหาร บริ ษัทฯ ได้ กําหนดนโยบายการให้ คา่ ตอบแทนกรรมการ และผู้บริ หารไว้ อย่างชัดเจน ทังนี � �การพิจารณาค่าตอบแทน ของกรรมการให้ อ ยู่ในอํ า นาจอนุมัติ ของที� ประชุมผู้ถื อหุ้น ส่ว นค่าตอบแทนของผู้บริ ห ารจะอยู่ใ นอํา นาจอนุมัติ ข อง คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ โดยการพิจ ารณาอนุมัติ ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บ ริ ห ารดัง กล่าวจะอยู่ในระดับเดี ยวกับ อุตสาหกรรมซึง� สูงพอที�จะดึงดูดและรักษากรรมการและผู้บริ หารที�มีคณ ุ สมบัติที�บริ ษัทฯ ต้ องการ การประชุมคณะกรรมการ บริ ษัทฯ มีนโยบายจัดส่งหนังสือเชิ ญประชุม พร้ อมเอกสารประกอบเพื� อให้ ก รรมการพิจารณาก่อ นการประชุม ล่วงหน้ าอย่างน้ อย � วัน เพื�อให้ เป็ นไปตามระยะเวลาขันตํ � �าตามที�กฎหมายกําหนด ในปี ���� คณะกรรมการมีการประชุม รวมทังสิ � �น � ครัง� และได้ มีการจดบันทึกการประชุมเป็ นลายลักษณ์อกั ษร จัดเก็บรายงานการประชุมที�ผ่านการรับรองจาก คณะกรรมการพร้ อมให้ กรรมการและผู้ที�เกี�ยวข้ องตรวจสอบได้ การเข้ าร่ วมประชุมของบริษัท ในปี 2561 รายชื�อ
ตําแหน่ ง
1. นายสัจจา
เจนธรรมนุกลู
2. นายสุวินยั
สุวรรณหิรัญกุล
ประธานกรรมการ รก.กรรมการผู้จดั การ กรรมการ
3. นายศุภพงศ์
กฤษณกาญจน์
กรรมการ
4. นายสุทศั น์
ขันเจริญสุข
กรรมการ
5. นายประสิทธิ� ธีรรัตน์บงกช
�. นายชํานิ
จันทร์ ฉาย
�. นางสาวปณิชา พงษ์ ศิวาภัย
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน
คณะกรรมการ บริษัท
คณะกรรมการ ตรวจสอบ
คณะกรรมการสรร หาและพิจารณา ค่าตอบแทน
ประชุมผู้ถือหุ้น
5 ครั ง�
5 ครั ง�
1 ครั ง�
1 ครั ง�
5/5
-
-
1/1
4/5 2/5 5/5 5/5
5/5
1/1
1/1 1/1 1/1 1/1
5/5
5/5
1/1
1/1
5/5
5/5
1/1
1/1
รายงานประจำ�ปี 2561
22
คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริ ษัทได้ แต่งตังคณะอนุ ้ กรรมการเพื่อช่วยในการกากับดูแลกิจการของบริ ษัทฯ ดังนี ้ กรรมการตรวจสอบ มีวาระการดารงตาแหน่งคราวละ 3 ปี ประกอบด้ วย กรรมการ 3 ท่าน ทุกท่านเป็ นกรรมการอิสระ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีวาระการดารงตาแหน่งคราวละ 3 ปี ประกอบด้ วยกรรมการ 3 ท่าน ทุกท่านไม่เป็ นกรรมการบริ หาร และผู้ทาหน้ าที่เป็ นประธานฯ ต้ องเป็ นกรรมการอิสระ ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน บริ ษัทฯ ได้ กาหนดภาระหน้ าที่อานาจการดาเนินการของผู้ปฏิบตั ิงาน และผู้บริ หารไว้ เป็ นลายลักษณ์ลกั ษณะอย่าง ชัดเจนมีการควบคุมดูแลการใช้ ทรัพย์สนิ ของบริ ษัทฯ ให้ เกิดประโยชน์ และมีการแบ่งแยกหน้ าที่ผ้ ปู ฏิบตั ิงานผู้ควบคุมและ ประเมินผลออกจากกัน เพื่อให้ เกิดการถ่วงดุล และตรวจสอบระหว่างกันอย่างเหมาะสม บริ ษัทฯ มีสานักตรวจสอบภายในทาหน้ าที่ตรวจสอบเพื่อให้ มนั่ ใจว่าการปฏิบตั ิงานหลัก และกิจกรรมทางการเงินที่ สาคัญของบริ ษัทฯ ได้ ดาเนินการตามแนวทางที่กาหนด และมีประสิทธิ ภาพ รวมถึงตรวจสอบการปฏิบตั ิตามกฎหมาย และ ข้ อกาหนดที่เกี่ยวข้ องกับบริ ษัทฯ สานักตรวจสอบภายในมีความเป็ นอิสระ สามารถทาหน้ าที่ตรวจสอบ และถ่วงดุลได้ อย่าง เต็มที่ โดยสานักตรวจสอบภายในสามารถรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ
การดูแลเรื่ องการใช้ ข้อมูลภายใน
บริ ษัทฯ ได้ ดาเนินการแจ้ งให้ ผ้ บู ริ หารฝ่ ายต่างๆ เข้ าใจถึงภาระหน้ าที่ในการรายงานการถือหลักทรัพย์ในบริ ษัทฯ ของตนเองคู่ สมรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ตลอดจนรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ต่อสานักงานคณะกรรมการ กากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 และบทกาหนดลงโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หากกรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานของบริ ษัทฯ ฝ่ าฝื น หรื อ/และ ไม่ปฏิบตั ิตามนโยบายของบริ ษัทฯ ในเรื่ องการซื ้อ ขายหลักทรัพย์โดยใช้ ข้อมูลภายใน บริ ษัทฯจะลงโทษทางวินยั กับกรรมการ ผู้บ ริ หาร หรื อพนักงานผู้นนั ้ โดยเริ่ มตังแต่ ้ การ ตักเตือนเป็ นหนังสือ ตัดค่าจ้ าง พักงานชัว่ คราวโดยไม่ได้ รับค่าจ้ าง หรื ออาจจะให้ ออกจากงาน ทังนี ้ ้ขึ ้นอยูก่ บั ความร้ ายแรง ของความผิดนัน้
1. บุคลากร
จานวนบุคลากร จานวนพนักงานทังหมดของบริ ้ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 รวมทังสิ ้ ้น 503 คน โดยแยกตามสาย งานหลักได้ ดังนี ้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สายงานหลัก จานวน (คน) สายบริ หารและการเงิน 2 สายพัฒนาธุรกิจ 7 บริษัทย่ อย จานวน (คน) PTEC 458 SAP 1 SPG 4 รวม 472
23
รายงานประจำ�ปี 2561
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 สายงานหลัก จานวน (คน) สายบริ หารและการเงิน 2 สายพัฒนาธุรกิจ 6 บริษัทย่ อย จานวน (คน) PTEC 482 SAP SPG 13 รวม 503
2. ค่ าตอบแทน 2.1 ค่ าตอบแทนที่เป็ นตัวเงิน ผลตอบแทนรวมของพนักงานในปี 2560 และ ปี 2561 มีจานวนเงินรวม 105.66 ล้ านบาท และ 118.72 ล้ านบาท ตามลาดับ โดยเป็ นผลตอบแทนในรูปของเงินเดือน ค่าล่วงเวลา เงินสวัสดิการ โบนัสประจาปี และเงินสมทบกองทุนสารอง เลี ้ยงชีพ และผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้ าง
3. นโยบายในการพัฒนาบุคลากร บริ ษัทฯ มีนโยบายส่งเสริ มความก้ าวหน้ าของพนักงาน โดยกาหนดทิศทางการพัฒนาพนักงานอย่างชัดเจน และดูแล ให้ พนักงานทุกระดับ ได้ รับการพัฒนาตามทิศทางดังกล่าวอย่างเป็ นระบบ และต่อเนื่องเพื่อให้ สามารถทางานในหน้ าที่ ปั จจุบนั ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความพร้ อมในการรับผิดชอบงานที่สงู ขึ ้นในอนาคต โดยคานึงถึงการใช้ ทรัพยากร บุคคลให้ เกิดประโยชน์สงู สุด รวมทังใช้ ้ ระบบคุณธรรม (Merit System) ในการเลื่อนขันเงิ ้ นเดือนและการเลื่อนตาแหน่ง โดยพิจารณาความรู้ ความสามารถ ผลงาน และศักยภาพของพนักงานแต่ละบุคคลประกอบกัน ตามวัฒนธรรมของ องค์กร ซึง่ ประกอบด้ วย
ริ เริ่ มสร้ างสรรค์ สานึกรับผิดชอบ ผนึกกาลัง สาเร็ จยัง่ ยืน
การควบคุมภายใน คณะกรรมการบริ ษัทฯ ได้ จดั ประชุม ครัง้ ที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562 และคณะกรรมการตรวจสอบ ให้ ความเห็น เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน สรุปได้ วา่ คณะกรรมการ และผู้บริ หารของบริ ษัทฯ ได้ ให้ ความสาคัญต่อระบบการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้ นให้ บริ ษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอ และเหมาะสมกับการดาเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ มีการดูแลทรัพย์สิน การลดความ ผิดพลาดที่อาจเกิดขึ ้น การป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ ้นกับบริ ษัทฯ การจัดการด้ านการเงิน การบริ หารความเสี่ยง และการกากับดูแลการปฏิบตั ิงาน รวมทังมี ้ การส่งเสริ ม และผลักดันให้ บริ ษัทฯ มีการปฏิบตั ิงานให้ เป็ นไปตามกฎระเบียบ และข้ อบังคับต่างๆของกฎหมาย เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการบริ หารงาน และเพื่อให้ มนั่ ใจได้ อย่างสมเหตุสมผลว่าการดาเนิน ธุรกิจของบริ ษัทฯ จะสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ สามารถสร้ างมูลค่าเพิ่มสูงสุดได้ ในระยะยาว คณะกรรมการบริ ษั ทฯ มี ค วามเห็ นต่อ ระบบการควบคุมภายในเช่ น เดี ย วกับ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยให้ ความสาคัญต่อระบบการควบคุมภายใน แบ่งออกเป็ น 5 ส่วน ดังนี ้ 1. องค์ กรและสภาพแวดล้ อม เป้าหมายการดาเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ กาหนดขึ ้นมาอย่างรอบคอบชัดเจน มีความเป็ นไปได้ และสามารถวัดผลได้ ทังนี ้ ้ บริ ษัทฯ ได้ ปรับปรุ งผังโครงสร้ างองค์กรเพื่อให้ การปฏิบตั ิงานมีความคล่องตัวเหมาะสม สอดคล้ องกับสภาพธุรกิจที่ เปลี่ยนแปลง เอื ้ออานวยต่อการดาเนินงานให้ บรรลุเป้าหมายที่ได้ ตงไว้ ั ้ และมีข้อกาหนดและบทลงโทษห้ ามฝ่ ายบริ หาร
รายงานประจำ�ปี 2561
24
และพนักงาน ปฏิบตั ิตนในลักษณะที�อาจก่อให้ เกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์กับกิจการ รวมทังบริ � ษัทฯ มีนโยบาย และระเบียบวิธีปฏิบตั ิงานในธุรกรรมทางด้ านการเงิน การขาย การจัดซื �อ และการบริ หาร โดยคํานึงถึงความเป็ นธรรมต่อคู่ค้า เพื�อประโยชน์ของบริ ษัทฯ ในระยะยาว 2. การบริหารความเสี�ยง ฝ่ ายบริ หารของบริ ษัทฯ ได้ มีการกําหนดนโยบายความเสีย� ง และมีองค์กร การบริ หารความเสีย� ง ซึง� ประกอบไปด้ วย คณะกรรมการบริ หารความเสีย� ง (Risk Management Committee) ผู้ประสานงานความเสี�ยงประจําหน่วยงาน และกําหนด ผู้รับผิดชอบความเสีย� งในหน่วยงานต่างๆ โดยมีการวางแผนและกําหนดมาตรการบริ หารความเสี�ยง มีการประเมินปั จจัย ความเสี�ยงซึ�งอาจส่งผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจและเป้าหมายของบริ ษัทฯ มีมาตรการในการลดความเสี�ยง มีการ ติดตามผลการบริ หารความเสีย� งของหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์กร และคณะกรรมการบริ หารความเสีย� ง ได้ มีการรายงาน ให้ กบั คณะกรรมการตรวจสอบรับทราบ เพื�อรายงานคณะกรรมการบริ ษัทฯ อย่างต่อเนื�อง นอกจากนัน� บริ ษัทฯ ได้ จดั ให้ มี การอบรมความรู้การบริ หารความเสีย� งกับพนักงาน 3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ ายบริหาร บริ ษัทฯ ได้ มีการกําหนดขอบเขต อํานาจหน้ าที� ตลอดจนความรับผิดชอบของผู้บริ หาร และผู้ปฏิบตั ิงานในแต่ละ ระดับไว้ อย่างชัดเจน และได้ ปรับปรุงตารางอํานาจอนุมตั ิของฝ่ ายบริ หารแต่ละระดับให้ เหมาะสม มีความชัดเจน รวมทังมี � การติดตามดูแลการดําเนินงานของบริ ษัทย่อยอย่างสมํ�าเสมอ โดยมีมาตรการที�จะควบคุมติดตามให้ การดําเนินงานเป็ นไป ตามกฎหมายที�เกี�ยวข้ อง 4. ระบบสารสนเทศและการสื�อสารข้ อมูล บริ ษัทฯ ได้ นําระบบงานสารสนเทศภายใต้ ชื�อโครงการระบบ ERP มาใช้ ในการบริ หารจัดการ ด้ านการซื �อ การขาย ระบบบัญชี สินค้ าคงคลัง และสินทรัพย์ถาวร เพื�อพัฒนาระบบฐานข้ อมูลสารสนเทศ ให้ มีประสิทธิภาพ และทันเวลาต่อ การใช้ ประกอบการตัดสินใจของฝ่ ายบริ หาร ทังนี � � มีการพัฒนาระบบเพิ�มเติมได้ แก่ ระบบงานบริ หารสถานีบริ การนํ �ามัน ระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด และระบบ VDO Conference เพื�อให้ การประสานงาน การติดตามดูแลเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมการใช้ ง านที� ก ว้ า งขวาง และเพิ� มช่ อ งทางในการติ ด ต่อ สื�อ สารข้ อ มูลระหว่า งบริ ษั ท ฯ กับบริ ษั ทย่อ ย ให้ มี ประสิทธิภาพมากยิ�งขึ �น 5. ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริ ษัทฯ มีการพิจารณา และติดตามผลการดําเนินงานของฝ่ ายบริ หารให้ เป็ นไปตามเป้าหมาย ซึ�งหาก ผลการดําเนินงานแตกต่างจากเป้าหมาย จะมีมติให้ ฝ่ายจัดการรับไปดําเนินการแก้ ไข และบริ ษัทฯ กํ าหนดให้ สํานัก ตรวจสอบภายใน เสนอรายงานผลการตรวจสอบ โดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และหากมีการตรวจพบข้ อบกพร่ อง อันเป็ นสาระสําคัญ จะต้ องรายงานในระยะเวลาอันควร รวมถึงการรายงานความคืบหน้ าใ นการปรั บปรุ งข้ อบกพร่ อง ดังกล่าว
25
รายงานประจำ�ปี 2561
ความเป็ นมา และการเปลี่ยนแปลงพัฒนาการที่สาคัญ บริ ษัท อาร์ พีซจี ี จากัด (มหาชน) (“บริ ษัทฯ”) เดิมชื่อ บริ ษัท ระยองเพียวริ ฟายเออร์ จากัด (มหาชน) ก่อตังขึ ้ ้นเมื่อ ปี 2538 โดยกลุม่ นักธุรกิจคนไทยที่มีประสบการณ์ด้านธุรกิจปิ โตรเลียมและปิ โตรเคมี ร่วมทุนกับบริ ษัท เพทโทร-อินสตรู เมนท์ จากัด เพื่อดาเนินการแปรสภาพคอนเดนเสทเรสซิดิว (CR) เพื่อให้ ได้ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และปิ โตรเคมีที่มคี ณ ุ ภาพ ได้ แก่ น ้ามันดีเซลหมุนเร็ ว น ้ามันเตา และเคมีภณ ั ฑ์ เพื่อค้ าปลีกและค้ าส่ง ซึง่ คอนเดนเสทเรสซิดิว (CR) เป็ นวัตถุดิบ ผลพลอยได้ จากกระบวนการผลิตของ บริ ษัท ปตท. โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) (PTTGC) และบริ ษัทฯยังได้ รับ ใบอนุญาตเป็ นผู้ค้าน ้ามันตามมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติการค้ าน ้ามันเชื ้อเพลิง พ.ศ. 2543 ตังแต่ ้ ต้นปี 2555 ธุรกิจโรงกลัน่ น ้ามันของบริ ษัทฯ ได้ หยุดดาเนินการ เนื่องจากบริ ษัทฯ ปตท. จากัด (มหาชน) ได้ ยกเลิกสัญญาซื ้อขายกากคอนเดนเสท (CR) ซึ่งเป็ นวัตถุดิบหลักของบริ ษัทฯ ถือเป็ นการปฏิบตั ิผิดสัญญาระหว่าง ปตท. และบริ ษัทฯ จึงทาให้ บริ ษัทฯต้ องดาเนินคดีตามกฎหมาย ซึง่ การหยุดดาเนินธุรกิจโรงกลัน่ น ้ามันนัน้ ทาให้ บริ ษัทฯไม่มีรายได้ จากธุรกิจหลักและต้ องแบกรั บ ภาระค่าใช้ จ่ายจานวนมาก บริ ษัทฯ จึงต้ องหยุดดาเนินการธุรกิจโรงกลัน่ ไปอย่างไม่มี กาหนด และในปี 2558 บริ ษัทฯ จึงได้ ปรับปรุ งการดาเนินงานและปรับโครงสร้ างธุรกิจให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อม ปั จจุบนั ในรู ปแบบโฮลดิ ้งคอมพานี (Holding Company) โดยมีรายได้ หลักจากธุรกิจพลังงาน และบริ ษัทฯ ได้ หยุด ประกอบกิจการโรงกลัน่ น ้ามันที่ระยองอย่างถาวร ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการที่สาคัญของบริษัทฯ ย้ อนหลัง 3 ปี สรุ ปได้ ดังนี้ ปี 2559
เดือนเมษายน บริ ษัทฯ ได้ รับสาเนาคาชี ้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ลงวันที่ 25 มีนาคม 2559 โดย คณะอนุญาโตตุลาการ เสียงข้ างมากมีคาชี ้ขาด คือ ให้ ปตท. ชาระค่าเสียหายจากการบอกเลิกสัญญา กับบริ ษัทฯโดยไม่ชอบด้ วยกฎหมาย ในจานวนเงิ น 390 ล้ านบาทต่อปี นับตังแต่ ้ วนั ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2555 จนถึงวันที่คณะอนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาด (25 มีนาคม 2559) พร้ อมทังอั ้ ตราดอกเบี ้ยในอัตรา ร้ อยละ 7.5 ต่ อ ปี ของยอดเงิ น ค่ า เสี ย หายที่ ไ ด้ จ ากการค านวณข้ างต้ น นับ ตัง้ แต่ วัน ที่ ค ณะ อนุญาโตตุลาการมีคาชี ้ขาดจนถึงวันที่ที่ ปตท. ชาระเงินให้ แก่บริ ษัทฯ ครบถ้ วน เดือนสิงหาคม บริ ษัทฯ มีมติอนุมัติจาหน่ายเงินลงทุนในบริ ษัทร่ วม คือหุ้นสามัญของบริ ษัท เพียว สัมมากร ดีเวลลอปเม้ นท์ จากัด (“PSDC”) จานวน 1,147,499 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 44.13 ของทุนที่ ออกและชาระแล้ วทังหมดของ ้ PSDC ให้ แก่ บริ ษัท สัมมากร จากัด (มหาชน) (“SAMCO”) ในราคาหุ้น ละ 140 บาท คิดเป็ นจานวนเงินทังสิ ้ ้น 160,649,860 บาท และในเดือนพฤศจิกายน ได้ รับชาระค่าหุ้น พร้ อมแก้ ไขเปลีย่ นแปลงรายชื่อผู้ถือหุ้นต่อกรมพัฒนาธุรกิจ ในเดือนกันยายน บริ ษัทฯได้ ยื่นคัดค้ านต่อศาลแพ่ง จากกรณีที่ทาง ปตท.ได้ ยื่นคาร้ องขอเพิกถอนคาชี ้ ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ เดือนพฤศจิกายน บริ ษัทฯได้ ยื่นคดีข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ จากกรณีที่ปตท.ส่ง CR ให้ กบั บริ ษัทฯ ไม่เป็ นไปตามข้ อตกลงตามสัญญาซื ้อขายฯ เดือนธันวาคม บริ ษัทฯได้ ยื่นคาร้ องต่อศาลแพ่งขอให้ บงั คับคดีตามคาชีข้ าดของคณะอนุญาโตตุลาการ
รายงานประจำ�ปี 2561
26
ปี 2560-2561 เดือนพฤษภาคม บริ ษัทฯได้ รับสาเนาคาชี ้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ลงวันที่ 27 เมษายน 2560 ให้ บริ ษัทฯ ชาระเงินจานวน 1,555 ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี ้ยในอัตราร้ อยละ 9.375 ต่อปี คิดจากต้ นเงิน จานวน 1,518 ล้ านบาท นับถัดจากวันยื่นเสนอข้ อพิพาท (ยื่นเสนอข้ อพิพาทวันที่ 18 พฤษภาคม 2555) จนกว่าบริ ษัทฯ จะชาระเงินให้ แก่ ปตท. บริ ษั ท ฯ ไม่เ ห็ น ด้ ว ยกับ ค าชี ข้ าดของคณะอนุญ าโตตุลาการ โดยบริ ษั ท ฯเห็ น ว่ า ค าชี ข้ าดของคณะ อนุญาโตตุลาการ ดังกล่าว น่าจะขัดกับบทบัญญัติของกฎหมายและพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ และขัดต่อสัญญาพิพาท บริ ษัทฯ ไม่เห็นด้ วยกับคาชี ้ขาด บริ ษัทฯ จึงจะใช้ สิทธิตามกฎหมายในการยื่นคา ร้ องขอให้ ศาลแพ่งเพิกถอนคาชี ้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ เดือน พฤษภาคม ศาลฎีกามีคาพิพากษายืนตามศาลอุทธรณ์ เป็ นไม่เพิกถอนโฉนดที่ดินของ TPP สืบเนื่องจากเมื่อปี 2540 จังหวัดชลบุรี ได้ ฟอ้ งร้ องกลุม่ บริ ษัทที่ไม่เกี่ยวข้ องและบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้ องกัน กับบริ ษัท ไทยพับลิคพอร์ ต จากัด (“TPP”) ในข้ อหาละเมิดบุกรุ กที่ดินของรัฐ ที่ดินที่ถือครองอยู่และ รวมถึงโฉนดที่ดินแปลงที่ TPP เป็ นเจ้ าของกรรมสิทธิ์ และใช้ เป็ นที่ตงสิ ั ้ ่งปลูกสร้ างต่างๆในโครงการ ท่าเรื อและคลังน ้ามัน พร้ อมเรี ยกร้ องค่าเสียหาย ซึ่ง TPP มิได้ เป็ นคู่ความในคดีนนั ้ จึงถือว่าคดีนี ้ได้ สิ ้นสุดตามกฎหมาย เดือน พฤศจิกายน บริ ษัทฯ มีมติเห็นชอบให้ บริ ษัท เพียวพลังงานไทย จากัด (“PTEC”) ลงนามความ ร่วมมือระหว่างกันกับบริ ษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) โดยทาสัญญาซื ้อขายน ้ามันและให้ ใช้ สิทธิเครื่ องหมายการค้ าเอสโซ่ ภายหลังจากนี ้สถานีบริ การน ้ามันของ PTEC จะเป็ นสถานีบริ การ น ้ามันภายใต้ เครื่ องหมายการค้ าเอสโซ่ ทังนี ้ ้ PTEC จะยังคงเป็ นผู้ดาเนินงานบริ หารสถานีบริ การ น ้ามันดังกล่าว บริ ษัทได้ มีการติดตามผลการดาเนินงานให้ เป็ นไปตามนโยบายและแผนการดาเนินงานที่กาหนดไว้ ใน ปี 2560 และ ปี 2561
27
รายงานประจำ�ปี 2561
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 บริ ษัทฯ มีทนุ จดทะเบียนทังสิ ้ ้น 1,304,664,125 บาท และมีทนุ ชาระแล้ ว 1,304,664,125 บาท โดยมีโครงสร้ างการถือหุ้นในบริษัทย่อย และบริ ษัทร่วม ดังนี ้
โครงสร้ างกลุ่มธุรกิจ บริษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน) บริษทั อาร์พีซีจี จากัด (มหาชน) (RPC) ทุนจดทะเบียน 1,304 ล้านบาท
ธุรกิ จพลังงาน
ธุรกิ จอสังหาริมทรัพย์
บริษทั เพียวพลังงานไทย จากัด (PTEC) ทุนจดทะเบียน 140 ล้านบาท 99.99%
บริษทั สัมมากร จากัด (มหาชน) (SAMCO) ทุนจดทะเบียน 641.80 ล้านบาท 48.25%
บริษทั เอสซีท ี สหภัณฑ์ จากัด (SAP) ทุนจดทะเบียน 20 ล้านบาท 99.99% ๖ บริษทั ซุปเปอร์เพียวแก๊ส จากัด (SPG) ทุนจดทะเบียน 34 ล้านบาท 55.00%
บริษทั เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จก. (PSDC) ทุนจดทะเบียน 260 ล้านบาท 100%
ธุรกิ จอื่น
บริษทั ไทยพับลิคพอร์ต จากัด (TPP) ทุนจดทะเบียน 840 ล้านบาท 30.00% บริษทั อาร์พซี ี แมเนจเมนท์ จากัด (RPCM) ทุนจดทะเบียน 0.5 ล้านบาท 99.99%
บริษทั เพียว ไบโอดีเซล จากัด (PBC) ทุนจดทะเบียน 280 ล้านบาท 100%
บริษทั เค พี เอ็นเนอร์ย ี กรุ๊ป จากัด (KPEG) ทุนจดทะเบียน 38.38 ล้านบาท 17.46% 30.00%
ภาพรวมการประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัท บริษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน) เดิมบริ ษัทฯ ดาเนินการกลัน่ คอนเดนเสทเรสซิดิว (CR) ซึ่งเป็ นวัตถุดิบผลพลอยได้ จากกระบวนการผลิตของ บริ ษัท ปตท โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) (PTTGC) (เดิมชื่อ บริ ษัท ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลัน่ จากัด (มหาชน) (PTTAR) ) เพื่อให้ ได้ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิ โตรเคมีที่มีคณ ุ ภาพ ได้ แก่ น ้ามันดีเซลหมุนเร็ ว น ้ามันเตา และเคมีภณ ั ฑ์ ทังนี ้ ้ โรงกลัน่ ของบริ ษัทฯ มีกาลังผลิตสูงสุด 17,000 บาร์ เรลต่อวัน หรื อประมาณ 80 ล้ านลิตรต่อเดือน อีกทังยั ้ งมีการ จัดหาน ้ามันเบนซินออกเทน 91 แก๊ สโซฮอล 95 แก๊ สโซฮอล 91 น ้ามันดีเซล และน ้ามันแก๊ สโซฮอล E85 จากโรงกลัน่ อื่นเพื่อ รองรับความต้ องการของลูกค้ าที่เพิ่มมากขึ ้น นอกจากนี ้บริ ษัทฯ ได้ บริ หารคลังน ้ามัน 1 แห่ง ได้ แก่ คลังน ้ามันระยอง เพื่อ อานวยความสะดวกในการสัง่ ซื ้อและจัดส่ง สินค้ าให้ แก่ลกู ค้ า และเมื่อตังแต่ ้ ปี 2555 บริ ษัทฯ ได้ หยุดดาเนินการธุรกิจโรง กลัน่ ไปอย่างไม่มีกาหนด เนื่องจากข้ อพิพาทกับบริ ษัทฯ ปตท. จากัด (มหาชน) ทาให้ บริ ษัทต้ องแบกรับภาระค่าใช้ จ่าย จานวนมากและบริ ษัทฯไม่มีรายได้ จากธุรกิจหลักในขณะนัน้ เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2558 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2558 มีมติหยุดประกอบกิจการโรงกลัน่ ที่จงั หวัดระยองเป็ นการถาวร
รายงานประจำ�ปี 2561
28
ปั จจุบนั บริ ษัทฯ จึงได้ ปรับปรุงการดําเนินงานและปรับโครงสร้ างธุรกิจให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมปั จจุบนั ใน รูปแบบโฮลดิ �งคอมพานี (Holding Company) โดยมีรายได้ หลักจากธุรกิจพลังงาน โดยมีบริษัทแกนและบริ ษัทย่อย ดังนี �
บริ ษทั แกน 1)
บริษทั เพียวพลังงานไทย จํากัด (PTEC) PTEC เป็ นบริ ษัทย่อยที�บริ ษัทฯ ถือหุ้นอยูใ่ นอัตราร้ อยละ ��.�� มีทนุ จดทะเบียน ��� ล้ านบาท โดยเป็ นหุ้นสามัญ �,���,��� หุ้น มูลค่าหุ้นละ ��� บาท ชําระค่าหุ้นเต็มมูลค่าแล้ ว ประกอบธุรกิจค้ าปลีก จําหน่ายนํ �ามันดีเซลหมุนเร็ว แก๊ สโซฮอล์ �� แก๊ สโซฮอล์ �� และ แก๊ สโซฮอล์ E�� พรี เมีย� มดีเซล และพรี เมีย� มแก๊ สโซฮอล์ �� เมื�อวันที� � พฤศจิกายน ���� PTEC ได้ ลงนามความร่วมมือระหว่างกันกับบริ ษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (“เอสโซ่”) โดยทําสัญญา ซื �อขายนํ �ามันและให้ ใช้ สทิ ธิเครื� องหมายการค้ าเอสโซ่ ภายหลังจากนี �สถานีบริการนํ �ามันของ PTEC จะเป็ นสถานีบริ การ นํ �ามันภายใต้ เครื� องหมายการค้ าเอสโซ่ ซึง� PTEC จะยังคงเป็ นผู้ดาํ เนินงานบริ หารสถานีบริ การนํ �ามันดังกล่าว ณ.วันที� �� ธันวาคม ���� บริ ษัทฯ มีสถานีบริ การนํ �ามันภายใต้ เครื� องหมายการค้ าเอสโซ่ ที�บริ หารงานสถานีบริ การนํ �ามันโดย PTEC จํานวน �� แห่ง
บริ ษทั ย่อย 1) บริษัท เอสซีที สหภัณฑ์ จํากัด (SAP) SAP เป็ นบริ ษัทย่อยที� PTEC ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้ อยละ ��.�� มีทุนจดทะเบียน �� ล้ านบาท โดยเป็ นหุ้นสามัญ จํานวน ���,��� หุ้น มูลค่าหุ้นที�ตราไว้ ห้ นุ ละ ��� บาท ประกอบธุรกิจขายอุปกรณ์ เครื� องมือสถานีบริ การนํา� มัน และ ให้ บริ การซ่อมบํารุง 2) บริษัท ซุปเปอร์ เพียวแก๊ ส จํากัด (SPG) SPG เป็ นบริ ษัทย่อยที� PTEC ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้ อยละ �� มีทุนจดทะเบียน �� ล้ านบาท ประกอบธุรกิจ สถานี จําหน่ายแก๊ ส LPG ณ วันที� �� ธันวาคม ���� บริ ษัทฯ มีสถานีจําหน่ายแก๊ ส จํานวน � แห่ง 3) บริษัท เพียวไบโอดีเซล จํากัด(PBC) PBC เป็ นบริ ษัทย่อยที�บริ ษัทฯ ถือหุ้นอยูใ่ นอัตราร้ อยละ ��� โดยมีทนุ จดทะเบียน ��� ล้ านบาท โดยเป็ นหุ้นสามัญ จํานวน �.� ล้ านหุ้น มูลค่าที�ตราไว้ ละ ��� บาท โดยมีวตั ถุประสงค์เพื�อ (�) ผลิตนํ �ามันไบโอดีเซล (B���) จากนํ �ามันปาล์ม ดิบในประเทศ โดยมีกําลังการผลิต ���,��� ลิตรต่อวัน หรื อ ���,��� ตันต่อปี เพื�อนําไปผสมในนํ �ามันดีเซล เป็ นนํ �ามัน ดีเซล B� และ นํ �ามันดีเซล B� เป็ นพลังงานทดแทนตามนโยบายรัฐบาล และ (�) ผลิตกลีเซอรี น มีกําลังการผลิต ��,��� ตันต่อปี เพื�อนําไปใช้ เป็ นวัตถุดิบในเครื� องสําอาง และผลิตภัณฑ์ยาต่อไป และได้ รับบัตรส่งเสริ มการลงทุน โดยได้ รับสิทธิ ประโยชน์ในการยกเว้ นภาษี รายได้ เป็ นระยะเวลา � ปี บริ ษัทฯ จึงได้ หยุดการผลิตอย่างไม่มีกําหนด ตังแต่ � เดือนกุ มภาพันธ์ ���� เป็ นต้ นไป
29
รายงานประจำ�ปี 2561
4) บริษัท อาร์ พีซี แมเนจเมนท์ จํากัด (RPCM) RPCM เป็ นบริ ษัทย่อยที� RPC ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้ อยละ ��.�� มีทนุ จดทะเบียน ���,��� บาท แบ่งเป็ นหุ้นสามัญ �,��� หุ้น มูลค่าหุ้นละ ��� บาท ชําระค่าหุ้นเต็มมูลค่า ประกอบธุรกิจค้ าส่งนํ �ามัน เพื�อให้ บริ การซื �อขายผลิตภัณฑ์นํ �ามัน เชื �อเพลิงทุกชนิดกับผู้ค้ารายใหญ่ และรายย่อยทัว� ประเทศ อาทิ นํ �ามันดีเซล แก๊ สโซฮอล์ �� แก๊ สโซฮอล์ �� ปั จจุบนั ได้ หยุด ธุรกรรมซื �อขายนํ �ามัน และในปี ���� ได้ เปลีย� นมาประกอบธุรกิจรับจ้ างบริ หารจัดการระบบงานต่างๆ
บริษัทร่ วม 1) บริษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) (SAMCO) SAMCO เป็ นบริ ษัทร่ วมที�บริ ษัทฯ ถือหุ้นร้ อยละ ��.�� มีทุนจดทะเบียน ���.�� ล้ านบาท โดยเป็ นหุ้นสามัญ ���.�� ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ � บาท ดําเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ประเภทจําหน่าย ตังแต่ � ปี พ.ศ. ���� ส่วนใหญ่ เป็ นบ้ านเดี�ยวพร้ อมที�ดินและคอนโดในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล โดย SAMCO มีนโยบายในการดําเนินธุรกิจ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ประเภทจําหน่ายอย่างต่อเนื�อง ณ วันที� �� ธันวาคม ���� SAMCO มีจํานวน �� โครงการ คือ โครงการสัมมากรรังสิตคลอง � (ไพรม์-�) ,โครงการสัมมากรรังสิตคลอง �(โซน �), โครงการสัมมากรชัยพฤกษ์ แจ้ งวัฒนะ, โครงการสัมมากร อเวนิว รามอินทรา-วงแหวน, โครงการสัมมากร อเวนิว ชัยพฤกษ์ -วงแหวน, โครงการชัยพฤกษ์ วงแหวน, โครงการชัยพฤกษ์ วงแหวน � ,โครงการสัมมากร อเวนิว สุวรรณภูมิ,โครงการสัมมากร Office Park และ โครงการ S� Condominium 2) บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้ นท์ จํากัด (PSDC) PSDC เป็ นบริ ษัทร่ วมทุนที� RPC ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้ อยละ ��.�� และบริ ษัท สัมมากร จํากัด (มหาชน) (SAMCO) ถือหุ้นอยู่ในอัตราร้ อยละ ��.�� มีทนุ จดทะเบียน ��� ล้ านบาท โดยเป็ นหุ้นสามัญ �.� ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ ��� บาท ชําระค่าหุ้นเต็มมูลค่า เพื�อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ และพัฒนาที�ดินในรู ปแบบที�มีรายได้ จากการให้ เช่า เช่น ศูนย์การค้ า อาคารสํานักงาน ฯลฯ และเมื�อเดือน สิงหาคม ���� คณะกรรมการมีมติขายหุ้นสามัญทังหมดให้ � กบั SAMCO ทําให้ SAMCO ถือหุ้น PSDC เป็ นสัดส่วนร้ อยละ ��� 3) บริษัท ไทยพับลิคพอร์ ต จํากัด (TPP) TPP เป็ นบริ ษัทร่วมทุนที�บริ ษัทถือหุ้นอยู่ในอัตราร้ อยละ �� มีทนุ จดทะเบียน ��� ล้ านบาท โดยเป็ นหุ้นสามัญ ��� ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ � บาท โดยตังอยู � บ่ นเกาะสีชงั ดําเนินธุรกิจให้ เช่าคลังนํ �ามัน และกิจการท่าเรื อซึ�งให้ บริ การขนถ่าย นํ �ามันดิบและนํ �ามันใสหรื อนํ �ามันที�ใช้ ในเชิงพาณิชย์ได้ 4) บริษัท เค พี เอ็นเนอร์ ย� ี กรุ๊ ป จํากัด (KPEG) KPEG เป็ นบริ ษัทร่ วมทุนที�บริ ษัทถือหุ้นอยู่ในอัตราร้ อยละ ��.�� มีทนุ จดทะเบียน ��.�� ล้ านบาท ดําเนินธุรกิจ โรงไฟฟ้าขนาดเล็ก (VSSP) ผลิตไฟฟ้าขายให้ กบั การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
รายงานประจำ�ปี 2561
30
โครงสร้ างรายได้
โครงสร้ างรายได้ ของบริษัทฯ และบริ ษัทย่อย ณ วันที� �� ธันวาคม ���� แสดงตามตารางดังนี �
มูลค่ าการจําหน่ ายผลิตภัณฑ์ ของบริษัทฯ และบริษัทย่ อย ผลิตภัณฑ์ ในประเทศ นํ �ามันดีเซลหมุนเร็ว เบนซิน ��,�� แก๊ สโซฮอล์ ผลิตภัณฑ์อื�น รวมยอดขายในประเทศ รายได้ จากการให้ บริการ รวมทัง� สิน�
2559 ล้ านบาท ร้ อยละ
2560 ล้ านบาท ร้ อยละ
2561 ล้ านบาท ร้ อยละ
1,330.64 3.03 847.28
59.02 1,468.14 0.13 5.70 37.58 884.01
60.22 0.23 36.26
2,166.78 1,030.24
66.39 31.56
29.30 2,210.25 44.46 2,254.71
1.30 29.41 98.03 2,387.26 1.97 50.83 100.00 2,438.09
1.21 97.92 2.08 100.00
26.79 3,223.81 40.07 3,263.88
0.82 98.77 1.23 100
ปริมาณการจําหน่ ายผลิตภัณฑ์ ของบริษัทฯ และบริษัทย่ อย ผลิตภัณฑ์ ในประเทศ นํ �ามันดีเซลหมุนเร็ว เบนซิน ��, �� แก๊ สโซฮอล์ ผลิตภัณฑ์อื�น รวมปริมาณขายในประเทศ
31
รายงานประจำ�ปี 2561
2559 ล้ านลิตร ร้ อยละ 61.64 0.10 38.68 2.05 102.47
60.15 0.10 37.75 2.00 100.00
2560 ล้ านลิตร ร้ อยละ 61.49 0.18 36.35 2.04 100.06
61.45 0.18 36.33 2.04 100.00
2561 ล้ านลิตร ร้ อยละ 81.16 38.35 1.79 121.30
66.9 31.62 1.48 100
ปั จจัยความเสี่ยง บริ ษัทฯ ได้ พิจารณาถึงปั จจัยความเสีย่ งที่มีนยั สาคัญที่อาจจะมีผลกระทบต่อ การดาเนินธุรกิจของบริ ษัท เพื่อให้ บริ ษัทฯ มีการบริ หารความเสี่ยงทังองค์ ้ กรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงได้ พิจารณาการบริ หารความเสี่ยงและ การควบคุมภายในขึ ้นมา โดยมุง่ เน้ นความสาคัญในเรื่ องแนวทางการบริ หารจัดการความเสี่ยง และติดตามผลการบริ หาร จัดการความเสีย่ งอย่างมีระบบ เพื่อให้ การดาเนินงานสอดคล้ องกับนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดี ทังนี ้ ้ บริ ษัทฯได้ ประเมินความเสี่ยงอยู่บนสถานการณ์ปั จจุบนั นอกเหนือจากปั จจัยความเสี่ยงที่ระบุนี ้ อาจจะมี ความเสี่ยงอื่นๆ ที่บริ ษัท ฯไม่อาจทราบได้ ในขณะนี ้ ซึ่งเกิดจากปั จจัยภายนอกที่อยู่เหนือการควบคุมของบริ ษัท ฯ และ อาจจะส่งผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจของบริ ษัทฯ ในอนาคตได้ 1) ความเสีย่ งจากการผันผวนของราคาน ้ามันสาเร็ จรูป บริ ษัทฯได้ ซื ้อน ้ามันจากโรงกลัน่ น ้ามัน และผู้ค้าน ้ามันรายอื่น โดยราคาน ้ามันนันอาจจะผั ้ นผวนไปตามปั จจัยต่างๆ ดังนี ้ สภาพเศรษฐกิ จ และการเมื อ งของโลก รวมถึ ง ภูมิ ภาคที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ ก๊ า ซธรรมชาติ และน า้ มัน ดิ บ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูมิภาคตะวันออกกลาง อุปสงค์ และอุปทานของน ้ามันทังในระดั ้ บโลกและระดับภูมิภาค กฎระเบียบที่เกี่ยวข้ องของภาครัฐทังในประเทศ ้ และต่างประเทศ สภาพภูมิอากาศ โดยปั จจัยดังกล่าวข้ างต้ นเกิดจากปั จจัยภายนอกที่อยู่เหนือการควบคุมของบริ ษัท ฯ ซึ่งราคาจาหน่ายน ้ามัน ของบริ ษัทฯ ก็ได้ รับผลกระทบจากความผันผวนของราคาน ้ามันดังกล่าว และอาจจะส่งผลต่อปริ มาณการจาหน่ ายน ้ามัน รวมถึงมูลค่าของสินค้ าคงคลัง จึงอาจจะส่งผลกระทบต่อฐานะทางการเงิน และผลการดาเนินงานของบริ ษัท ฯ อย่างไรก็ตาม บริ ษัทฯ มีบคุ ลากรที่มีประสบการณ์ วิเคราะห์สถานการณ์ และติดตามราคาน ้ามันอย่างใกล้ ชิด รวมถึงมีความเชี่ยวชาญในการบริ หารจัดการ จัดหา จัดซื ้อน ้ามันในราคาที่เหมาะสม และกาหนดราคาให้ สามารถแข่งขัน ในตลาดได้ นอกจากนี ้ บริ ษัทฯ ไม่มีนโยบายที่จะสารองน ้ามันไว้ ในปริ มาณมากเพื่อการเก็งกาไร โดยจะเป็ นการสารอง เพื่อให้ เพียงพอต่อการจาหน่ายในแต่ละพื ้นที่เท่านัน้ รวมถึงลูกค้ าของบริ ษัทส่วนใหญ่เป็ นลูกค้ าที่ต้องใช้ น ้ามันเพื่ อการ ดาเนินชีวิตทัว่ ไป และมีความจาเป็ นที่ต้องใช้ น ้ามันอย่างสม่าเสมอถึงแม้ ราคาน ้ามันจะสูงขึ ้นก็ตาม ดังนัน้ บริ ษัท ฯจึงไม่ได้ รับผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญในกรณีที่ราคาน ้ามันผันผวนสูง 2) ความเสีย่ งเกี่ยวกับการแทรกแซงราคาผลิตภัณฑ์โดยรัฐบาล ความเสี่ยงนี ้เกิดจากความเป็ นไปได้ ที่รัฐบาลอาจเข้ าแทรกแซงการกาหนดราคานา้ มันสาเร็ จรู ปภายในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่ราคาน ้ามันดิบและน ้ามันสาเร็ จรู ปในตลาดโลกมีความผันผวนสูง ทังนี ้ ้เพื่อควบคุมอัตราเงินเฟ้อ และเพื่อประโยชน์ตอ่ เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศโดยรวม การแทรกแซงดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อธุรกิจ ฐานะการเงิน และผลประกอบการของบริ ษัทฯได้ อย่างไรก็ตาม บริ ษัทฯ พิจารณาว่าความเสี่ยงที่เกิดจากการแทรกแซงราคาผลิตภัณฑ์โดยรัฐบาลไม่มีผลกระทบ มากนัก ทังนี ้ ้ เพราะเป็ นมาตรการชัว่ คราวเพื่อบรรเทาความเดือดร้ อนเฉพาะเมื่อน ้ามันในตลาดโลกมีราคาสูง โดยรัฐบาล
รายงานประจำ�ปี 2561
32
จะเข้ าแทรกแซงการกําหนดราคาให้ แก่ผ้ บู ริ โภคในระดับตํ�า นอกจากนี � ราคาขายปลีกนํ �ามันของบริ ษัทเท่ากับราคานํ �ามันที�ซื �อ จากโรงกลัน� หรื อผู้ค้านํ �ามันรายอื�นบวกด้ วยค่าการตลาด ดังนัน� หากค่าการตลาดรวมถึงอัตราภาษี และเงินสมทบกองทุน ต่างๆ ไม่เปลีย� นแปลง ราคาขายปลีกนํ �ามันจะปรับตัวตามราคาหน้ าโรงกลัน� ดังนัน� บริ ษัทฯ จึงไม่ได้ รับผลกระทบจากความ เสีย� งนี �แต่อย่างใด 3) ความเสีย� งเกี�ยวกับภยันอันตราย และภัยธรรมชาติ เนื�องจากบริ ษัทฯ ประกอบธุรกิจสถานีบริ การนํ �ามันจํานวนมาก ซึง� ให้ บริ การในหลากหลายพื �นที�ทวั� ทุกภูมิภาคใน ประเทศ ซึ�งทําให้ บริ ษัทฯ มีความเสีย� งที�จะได้ รับผลกระทบจากปั ญหาภัยธรรมชาติต่างๆ เช่น อัคคีภยั อุทกภัย เป็ นต้ น ถึงแม้ ว่าปั ญหาเกี� ยวกับภัยธรรมชาติเป็ นเรื� องที�หลีกเลี�ยงได้ ยาก และไม่สามารถป้องกันไม่ให้ เกิดขึน� ได้ แต่บริ ษัท ฯก็ ตระหนักถึงความเตรี ยมพร้ อมที�จะรับมือกับอุบัติภยั ต่างๆ ที�อาจจะเกิดขึ �นและสร้ างความเสียหายให้ แก่ทรัพย์สิน และ สูญเสียรายได้ ไปจากการต้ องหยุดให้ บริ การชัว� คราว บริ ษัทฯ ได้ บรรเทาความเสี�ยงดังกล่าวด้ วยการทําประกันภัยที�ครอบคลุมอุบตั ิภยั ทุกกรณี (all risks) สําหรับทรัพย์สิน ที�ใช้ ในการประกอบธุรกิจของบริ ษัทฯ บริ ษัทฯจึงสามารถเรี ยกร้ องค่าสินไหมทดแทนจากการเกิดเหตุดงั กล่าว นอกจากนี � บริ ษัทฯ ยังมีการจัดทําแผนรองรับสถานการณ์ ฉุกเฉิน และยังมีการอบรม ฝึ กซ้ อมพนักงานตามแผนปฏิบตั ิการณ์อย่าง สมํ�าเสมอเพื�อเตรี ยมพร้ อมรับมือ แก้ ไขและป้องกันได้ อย่างทันท่วงที หากมีเหตุอบุ ตั ิภยั เกิ ดขึ �น ความเสี�ยงด้ านคดีความ ความเสี�ยงนีเ� กิ ดขึน� จากข้ อพิพาทหมายเลขดําที� ���/����, ข้ อพิพ าทหมายเลขดํา ที� ��/���� ของสถาบัน อนุญาโตตุลาการ, คดีแพ่งหมายเลขดําที� ����/���� ของศาลแพ่ง ที�เกิดจากการที�บริ ษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (PTT) แจ้ ง ยกเลิกสัญญาซื �อขาย CR และหยุดส่งวัตถุดิบ CR โดยสิ �นเชิง ดังที�กล่าวข้ างต้ น ในส่วนข้ อพิพาทหมายเลขดําที� ���/���� เมื�อวันที� �� มีนาคม ���� คณะอนุญาโตตุลาการ เสียงข้ างมากมีคําชี �ขาดว่า ปตท. บอกเลิกสัญญากับบริ ษัท โดยไม่ชอบ ด้ วยกฎหมาย ให้ ปตท.ชําระค่าเสียหายจากการบอกเลิกสัญญากับบริ ษัทฯ ในจํานวน ��� ล้ านบาทต่อปี นับตังแต่ � วนั ที� � กุมภาพันธ์ ���� จนถึงวันที�คณะอนุญาโตตุลาการมีคําชี �ขาด พร้ อมทังอั � ตราดอกเบี �ยในอัตราร้ อยละ �.� ต่อปี ของยอดเงิน ค่าเสียหายที�ได้ จากการคํานวณข้ างต้ นนับตังแต่ � วนั ที�คณะอนุญาโตตุลาการ มีคําชีข� าดจนถึงวันที� ปตท. ชําระเงินให้ แก่ บริ ษั ท ครบถ้ วน ต่ อ มาในเดื อ นมิ ถุน ายน ���� ทาง ปตท.ได้ ยื� น คํ า ร้ องต่ อ ศาลแพ่ ง ขอเพิ ก ถอนคํ า ชี ข� าดของคณะ อนุญาโตตุลาการ เป็ นคดีแพ่งหมายเลขดําที� พ.����/���� และเมื�อเดือนธันวาคม ���� บริ ษัทฯได้ ยื�นคําร้ องต่อศาลแพ่ง ขอให้ บงั คับคดีตามคําชี �ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ เป็ นคดีแพ่งหมายเลขดําที� พ.����/���� นอกจากนี � บริ ษัทฯได้ ยื�น คดีข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ จากกรณีที�ปตท.ส่ง CR ให้ กบั บริ ษัทฯ ไม่เป็ นไปตามข้ อตกลงตามสัญญาซื �อขายฯ เป็ น ข้ อ พิพ าทหมายเลขดํา ที� ���/���� และในส่ว นข้ อ พิพ าทหมายเลขดํา ที� ��/���� เมื�อ วัน ที� �� เมษายน ���� คณะอนุญ าโตตุลาการ มีคํา ชี ข� าดให้ บ ริ ษัท ฯอต้ อ งชํา ระค่า วัต ถุดิบ คอนเดนเสทเรสซิดิว งวดสุด ท้ า ยเป็ น จํา นวนเงิน �,��� ล้ านบาท พร้ อมดอกเบี �ยอัตราร้ อยละ �.��� ต่อปี คิดจากเงินต้ นจํานวน �,��� ล้ านบาท นับถัดจากวันยื�นเสนอข้ อ พิพาท (�� พฤษภาคม ����) จนกว่าจะชําระเสร็ จแก่ ปตท. ซึ�งบริ ษัทฯไม่เห็นด้ วยกับคําชี �ขาดดังกล่าว และเมื�อวันที� �� กรกฎาคม ���� บริ ษัทฯ ใช้ สิทธิ ตามกฎหมายในการยื�นคําร้ องขอให้ ศาลแพ่ง มีคําพิพากษาเพิกถอนคําชีข� าดของคณะ อนุญาโตตุลาการ เป็ นคดีหมายเลขดําที� พ.����/���� ต่อมาเมื�อเดือนกันยายน ���� PTT ได้ ยื�นคําร้ องต่อศาลแพ่งขอให้ มี การบังคับตามคําชี �ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ เป็ นคดีหมายเลขดําที� พ.����/���� บริ ษัทฯ จึงได้ ยื�นคําร้ องคัดค้ าน
33
รายงานประจำ�ปี 2561
การขอบังคับคดีของ PTT ขณะนี � ข้ อพิพาททางการค้ าอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ และคดีแพ่งที� ต่างฝ่ ายต่างมีการยื� นคําร้ องกันนันอยู � ่ในระหว่างการพิจารณาคดีของศาลแพ่ง ซึ�งผลของข้ อพิพาท และคดี ที�ฟ้องร้ องยังไม่ สามารถระบุได้ ขึ �นอยูก่ บั กระบวนการยุติธรรมในอนาคต ความเสี�ยงจากการดําเนินธุรกิจในอนาคต ความเสีย� งในการดําเนินธุรกิจในอนาคต เกิดจากการที�บริ ษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (PTT) เป็ นผู้จําหน่ายวัตถุดิบ หลักรายเดียวของบริ ษัทฯ ปฏิบตั ิผิดสัญญากับบริ ษัทฯ ด้ วยการบอกเลิกสัญญา ทังที � �บริ ษัทฯ มิได้ ผิดสัญญา และสัญญาซื �อ ขายดังกล่าวเป็ นสัญญาที�มีผลบังคับยาวนานต่อเนื�องกันไป โดยมิได้ กําหนดระยะเวลาสิ �นสุดของสัญญา (Evergreen Basis) จนเป็ นเหตุให้ บริ ษัทต้ องเสนอคดีต่ออนุญาโตตุลาการ และฟ้องคดีต่อศาลแพ่ง ตามลําดับ ในระหว่างการพิจารณา ของอนุญาโตตุลาการ บริ ษัท ปตท จํากัด (มหาชน) ( PTT ) ได้ หยุดส่งวัตถุดิบหลักให้ กบั บริ ษัทฯ ตังแต่ � วนั ที� � กุมภาพันธ์ ���� เป็ นต้ นไป ซึ�งเป็ นการ ผิดสัญญาข้ อ ��.� ที�ระบุว่าแม้ ค่สู ญ ั ญาจะมีข้อพิพาทต่อกัน บริ ษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (PTT) ในฐานะคู่สญ ั ญา ก็ยงั คงต้ องปฏิบตั ิตามสัญญาต่อไปจนกว่าอนุญาโตตุลาการจะมีคําวินิจฉัยชี �ขาดเสร็ จสิ �น กรณี ดังกล่าวจึง ส่งผลทําให้ บริ ษัทฯ ต้ องหยุดประกอบกิจการโรงกลัน� ถาวร ทําให้ สญ ู เสียรายได้ หลัก เพื�อชดเชยรายได้ หลักที�สญ ู หาย บริ ษัทฯ จึงได้ ทําการศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการต่างๆ ทังธุ � รกิจนํ �ามัน และ ธุรกิจอื�นๆ ปั จจุบนั บริ ษัทฯ ได้ มีการลงทุนโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็ก ด้ านพลังงานทดแทน และได้ ลงทุนด้ านอสังหาริ มทรัพย์
รายงานประจำ�ปี 2561
34
รายการระหว่ างกัน
รายการระหว่างบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย กับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันที่เกิดขึ ้นในปี 2560 และ 2561 รายการระหว่ างบริษัทฯ กับ บริษัท เพทโทร อินสตรูเมนท์ จากัด ลักษณะรายการ บริ ษัทฯ รับบริ การอื่นและเช่าและบริ การ ยานพาหนะ
จานวนเงิน (ล้ านบาท) ปี 2560 ปี 2561 นายสัจจา เจนธรรมนุกูล กรรมการของบริ ษัท และ 0.27 0.20 ลักษณะความสัมพันธ์
ถือหุ้นบริ ษัทร้ อยละ 1.19 และนายสุทัศน์ ขันเจริ ญสุข กรรมการของบริ ษั ท และถื อ หุ้น บริ ษั ท ร้ อยละ 0.0001 ซึ่งทังสองท่ ้ านเป็ นกรรมการและถือหุ้นใน บริ ษัท เพทโทร อินสตรู เมนท์ จากัด รวมร้ อยละ 18
รายการระหว่ างบริษัทฯ และบริษัทย่ อย กับ บริษัท เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้ นท์ จากัด ลักษณะรายการ
ลักษณะความสัมพันธ์
บริ ษัทฯ จ่ายค่าเช่า สานักงาน และค่าใช้ จ่ายอื่น
นายสัจจา เจนธรรมนุกูล กรรมการของบริ ษัท ฯ เป็ นกรรมการของ บริ ษัท สัมมากร จากัด (มหาชน) และบริ ษัท สัมมากร จากัด (มหาชน) ถือหุ้นใน อัตราร้ อยละ 100
บริ ษัท เพียวพลังงานไทย จากัด (บริ ษัทย่อย) จาหน่ า ยน ้ามั น เชื อ้ เพลิ ง บริ ษัท เพียวพลังงานไทย จากัด (บริ ษัทย่อย) จ่าย ค่าเช่าที่ดิน ค่าเช่าสานักงานและค่าใช้ จ่ายอื่น
จานวนเงิน (ล้ านบาท) ปี 2560 ปี 2561 0.65
0.51
0.03
0.02
3.34
3.37
รายการระหว่ างบริษัทฯ และบริษัทย่ อย กับ บริษัท สัมมากร จากัด (มหาชน) ลักษณะรายการ บริ ษัทฯ รับเงินปันผล บริ ษัทฯ รับดอกเบี ้ย บริ ษัท เพียวพลังงานไทย จากัด (บริ ษัทย่อย) จาหน่ายน ้ามันเชื ้อเพลิง บริ ษัท เพียวพลังงานไทย จากัด (บริ ษัทย่อย) ค่าใช้ จ่ายอื่น
จานวนเงิน (ล้ านบาท) ปี 2560 ปี 2561 นายสัจจา เจนธรรมนุกูล กรรมการของบริ ษั ท 3.16 15.48 เป็ นกรรมการของ บริ ษั ท สั ม มากร จ ากั ด 0.21 0.86 (มหาชน) และบริ ษั ทฯ เป็ นผู้ถือ หุ้นรายใหญ่ 0.41 0.21 ลักษณะความสัมพันธ์
ถือหุ้นในอัตราร้ อยละ 48.25
0.72
รายการระหว่ างบริษัทฯ กับ บริษัท ไทยพับลิคพอร์ ต จากัด ลักษณะรายการ บริ ษัทฯ รับเงินปันผล
รายการระหว่ างกันบริษัทฯ กับ กรรมการ ลักษณะรายการ บริ ษัทฯ จ่ายค่าที่ปรึกษา
35
รายงานประจำ�ปี 2561
ลักษณะความสัมพันธ์ นายสัจจา เจนธรรมนุกลู กรรมการของบริ ษัท เป็ นกรรมการของ บจก.ไทยพับลิคพอร์ ต และ บริ ษัทฯ ถือหุ้นในอัตราร้ อยละ 30
1.31
จานวนเงิน (ล้ านบาท) ปี 2560 ปี 2561 47.25 15.75
จานวนเงิน (ล้ านบาท) ปี 2560 ปี 2561 นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์ กรรมการของบริ ษัท 1.20 1.20 ลักษณะความสัมพันธ์
คำอธิบำยและกำรวิเครำะห์ ฐำนะกำรเงินและผลกำรดำเนินงำน 31 ธันวำคม 2561 31 ธันวำคม 2560 ล้ ำนบำท
รายได้ จากการขาย รายได้ รวม ต้ นทุนขาย ค่าใช้ จา่ ยในการขายและบริ หาร ขาดทุนจากการด้ อยค่าของอาคารและอุปกรณ์
ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ขาดทุนสุทธิสาหรับปี
ร้ อยละ
3,224 97.90 3,293 100.00 3,039 92.29 284 8.62 0 0 38 1.15 (9) (0.27)
ล้ ำนบำท
เพิ่มขึน้ (ลดลง)
ร้ อยละ
ล้ ำนบำท
ร้ อยละ
2,387 97.11 2,458 100.00 2,222 90.40 266 10.82 4 0.16 44 1.79 (37) (1.51)
837 835 817 18 (4) (6) (28)
35.06 33.97 36.77 6.77 (100) (13.64) (75.68)
รำยได้ ในปี 2561 บริ ษัทฯ มีรายได้ รวมเท่ากับ 3,293 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น 835 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 34 เมื่อเทียบ กับปี ก่อน มีรายได้ รวมเท่ากับ 2,458 ล้ านบาท โดยรายได้ สว่ นใหญ่เป็ นรายได้ จากการจาหน่ายน ้ามันผ่านสถานีบริ การของ บริ ษัท เพียวพลังงานไทย จากัด (PTEC) ซึ่งเป็ นบริ ษัทแกนของบริ ษัทฯ จานวน 3,224 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น 837 ล้ านบาท หรื อ คิดเป็ นเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 35 เทียบกับปี 2560 จานวน 2,387 ล้ านบาท มาจากมีปริ มาณขายเพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนคิดเป็ นร้ อยละ 21 เนื่องจากมีการขยายสาขาสถานีบริ การน ้ามันเพิ่มมากขึ ้นจากปี ก่อน โดยส่วนใหญ่มาจากการขายผลิตภัณฑ์น ้ามันดีเซล ต้ นทุนขำยและค่ ำใช้ จ่ำย ในปี 2561 บริ ษัทฯ มีต้นทุนขายเท่ากับ 3,039 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น 817 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 37 เทียบกับ ต้ นทุนขายปี 2560 ที่มีจานวน 2,222 ล้ านบาท เนื่องจากผันแปรไปตามรายได้ จากการขายน ้ามัน ในปี 2561 บริ ษัทฯ มีค่าใช้ จ่ายขายและบริ หาร เท่ากับ 284 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น 18 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 7 เมื่อเทียบกับปี ก่อนที่มีค่าใช้ จ่ายขายและบริ หาร เท่ากับ 266 ล้ านบาท มาจากค่าใช้ จ่ายในการขาย ค่าใช้ จ่ายพนักงาน ค่าเช่าสถานีบริ การน ้ามัน และในปี 2561 บริ ษัทฯ มีผลขาดทุนจากการด้ อยค่าอาคารและอุปกรณ์ของบริ ษัทย่อยลดลง จานวน 4 ล้ านบาท และรับรู้สว่ นแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริ ษัทร่วมลดลง 6 ล้ านบาท เมื่อเทียบกับปี 2560 ขำดทุนสุทธิสำหรับปี ในปี 2561 บริ ษัทฯ มีขาดทุนสุทธิเท่ากับ 9 ล้ านบาท คิดเป็ นขาดทุนสุทธิลดลง 28 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 76 เมื่อเทียบกับปี ก่อน ที่มีผลขาดทุนสุทธิจานวน 37 ล้ านบาท เนื่องจากกาไรขันต้ ้ นเพิ่มขึ ้น จานวน 20 ล้ านบาท และมีผล ขาดทุนจากการด้ อยค่าอาคารและอุปกรณ์ลดลง จานวน 4 ล้ านบาท รวมถึง การรับรู้ สว่ นแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริ ษัท ร่วมลดลง จานวน 6 ล้ านบาท
รายงานประจำ�ปี 2561
36
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่ อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริ ษัทเป็ นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวมของ บริ ษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่อย และ สารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจาปี งบการเงินดังกล่าวจัดทาขึ ้นตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน โดย เลือกใช้ นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบตั ิอย่างสม่าเสมอ และใช้ ดุลยพินิจอย่างระมัดระวัง และประมาณการที่ดี ที่สดุ ในการจัดทา รวมทังมี ้ การเปิ ดเผยข้ อมูลสาคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการได้ จดั ให้ มี และดารงรักษาไว้ ซงึ่ ระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล เพื่อให้ มนั่ ใจได้ อย่างมีเหตุผลว่า การบันทึกข้ อมูลทางบัญชีมีความถูกต้ องครบถ้ วน และเพียงพอที่จะดารงรักษาไว้ ซงึ่ ทรัพย์สนิ และเพื่อให้ ทราบจุดอ่อนเพื่อ ป้องกันไม่ให้ เกิดการทุจริ ต หรื อการดาเนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสาคัญ ในการนี ้ คณะกรรมการบริ ษัทได้ แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้ วยกรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หารเป็ น ผู้ดแู ลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงิน และระบบการควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่ องนี ้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการมีความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริ ษัทฯโดยรวมอยู่ในระดับที่เหมาะสม และเพียงพอต่อ ความเชื่อถือได้ ของงบการเงินของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561
(นายสัจจา เจนธรรมนุกลู ) ประธานกรรมการ
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ปฏิบัติหน้ าที่ตามขอบเขตหน้ าที่ และความรับผิดชอบตามกฎบัตรที่อนุมัติโดย คณะกรรมการบริ ษัท ซึง่ สอดคล้ องกับข้ อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในรอบปี บญ ั ชี 2561 คณะกรรมการตรวจสอบได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่อย่างเป็ นอิสระ โดยบริ ษัทฯได้ จดั ให้ มีการประชุม คณะกรรมการตรวจสอบ จานวน 5 ครัง้ โดยมีวาระการประชุมร่ วมกันระหว่างคณะกรรมการตรวจสอบและผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายบริ หารเข้ าร่ วมประชุมด้ วย 1 ครัง้ เพื่อพิจารณาข้ อเสนอแนะเกี่ยวกับระบบควบคุมภายในและแผนการ ตรวจสอบบัญชีประจาปี 2561 ของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย และกรรมการตรวจสอบทุกท่านเข้ าร่วมประชุมครบองค์ประชุม โดยเป็ นการร่ วมประชุมกับผู้บริ หาร ผู้สอบบัญชี ผู้ตรวจสอบภายใน ตามความเหมาะสม ซึ่งสรุ ปสาระสาคัญของการ ปฏิบตั ิงานได้ ดังนี ้
37
รายงานประจำ�ปี 2561
�. งบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจําปี ���� ร่ วมกับฝ่ ายบริ หารและผู้สอบบัญชี โดยได้ สอบถามและรับฟั งคํา ชี �แจง ในเรื� องความถูกต้ อง รายละเอียดครบถ้ วน ของงบการเงิน และความเพียงพอในการเปิ ดเผยข้ อมูล ซึง� คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้ องกับผู้สอบบัญชีวา่ งบการเงินดังกล่าวมีความถูกต้ องตามที�ควรจะเน้ นในสาระสําคัญตามมาตรฐานการบัญชี ทังของบริ � ษัทฯ และบริ ษัทย่อย และมีการเปิ ดเผยข้ อมูลที�สาํ คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และผู้สอบบัญชีแสดงความคิดเห็นต่องบ การเงินแบบไม่มีเงื�อนไข มีเน้ นความไม่แน่นอนที�มีสาระสําคัญเกี�ยวกับการดําเนินงานต่อเนื�อง สาเหตุจากการที�บริ ษัทฯ มี ข้ อพิพาททางการค้ าและคดีฟอ้ งร้ องกับบริ ษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ผู้ขายวัตถุดิบหลักของบริ ษัทฯ ซึ�งอยู่ในกระบวนการ ยุติธรรม และผลของข้ อพิพาทและคดีฟอ้ งร้ องดังกล่าวยังไม่สามารถระบุได้ �. รายการระหว่ างกัน คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาการเปิ ดเผยข้ อมูลรายการระหว่างกัน และรายการ ที�อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ซึ�งผู้สอบบัญชีมีความเห็นว่ารายการค้ ากับบริ ษัทฯ ที�เกี�ยวข้ องกันที�มีสาระสําคัญได้ เปิ ดเผยและแสดงรายการในงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงินแล้ ว และคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็น สอดคล้ องกับผู้สอบบัญชี รวมทังมี � ความเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็ นไปตามเงื� อนไขธุรกิจการค้ าปกติทั�วไป และเป็ น ประโยชน์ ต่อ การดํา เนิ นธุ รกิ จของบริ ษั ทฯ รวมทัง� มี การเปิ ด เผยข้ อ มูลอย่างถูก ต้ องและครบถ้ ว น ตามกฎหมายและ ข้ อกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน �. ระบบการควบคุ ม ภายใน และความเป็ นอิ สระของหน่ วยงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการ ตรวจสอบได้ พิจารณารายงานการตรวจสอบภายในและความคืบหน้ าของการดําเนินงานเป็ นรายไตรมาส ตามแผนงานที� ได้ รับอนุมตั ิ พร้ อมทังให้ � ข้อเสนอแนะกับหน่วยงานตรวจสอบภายใน ในการปฏิบตั ิงานให้ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีการ ติดตามและดําเนินการแก้ ไขในประเด็นที�มีนยั สําคัญอย่างต่อเนื�อง เพื�อให้ หน่วยงานต่างๆ ของบริ ษัทฯและบริ ษัทย่อย มี ระบบการควบคุมภายในที�เหมาะสม รวมทังสอบทานนโยบายแนวทางการบริ � หารความเสีย� ง ให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ ปั จจุบนั ของบริ ษัทฯ ทังในด้ � านคดีความ และการดําเนินธุรกิจในอนาคต ซึง� คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริ ษัทฯ ได้ มีการควบคุมภายในและการบริ หารความเสี�ยงที�เพียงพอ มีประสิทธิผล และการตรวจสอบภายในของบริ ษัทฯ เป็ นไป อย่างอิสระเพียงพอ และเหมาะสม �. การปฏิบัติตามข้ อกําหนดของภาครั ฐ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่า ด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ ข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมายที�เกี�ยวข้ องกับธุรกิจของบริ ษัทฯ ซึ�ง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริ ษัทฯมีการปฏิบตั ิตามกฎหมายที�เกี�ยวข้ องและไม่พบประเด็นที�เป็ นสาระสําคัญ �. การคัดเลือกและแต่ งตัง� ผู้สอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาผลการปฏิบตั ิงานในปี ที�ผ่านมา รวมถึงความรู้ ความสามารถชื�อเสียง ขอบเขต ความเป็ นอิสระ และปริ มาณงานที�ผ้ สู อบบัญ ชีรับผิดชอบตรวจสอบ และ สอบทาน เห็นว่ามีความเหมาะสม จึงเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษัทฯ เพื�อขออนุมตั ิในที�ประชุมผู้ถือหุ้น โดยคัดเลือกบริ ษัท สํานักงาน อีวาย จํากัด เป็ นผู้ตรวจสอบบัญชีของบริ ษัทฯ ประจําปี ���� �. การกํากับดูแลกิจการที�ดี บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญในการบริ หารงานตามหลักการของการกํากับดูแลกิจการ ที�ดี คณะกรรมการตรวจสอบได้ กํากับดูแลให้ มีการเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอ และถูกต้ อง รวมทัง� ส่งเสริ มให้ บริ ษัทฯมี ระบบธรรมาภิบาล การบริ หารจัดการที�ดี เพื�อให้ มีความโปร่งใส และมีจริ ยธรรม ก่อให้ เกิดความเชื�อมัน� แก่ผ้ ถู ือหุ้น ผู้ลงทุ น พนักงาน และผู้ที�เกี�ยวข้ องทุกฝ่ าย รวมทัง� ได้ สอบทานวิธีการรายงานส่วนได้ เสียของกรรมการและผู้บริ หาร เพื�อให้ เป็ นไป ตามที�พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กําหนด
รายงานประจำ�ปี 2561
38
คณะกรรมการตรวจสอบได้ ร่วมกับที�ปรึกษากฎหมายในการพิจารณาบางประเด็นที�เป็ นสาระสําคัญของสัญญา ซื �อขายนํ �ามันและให้ ใช้ สทิ ธิเครื� องหมายการค้ าเอสโซ่ ระหว่าง บจก.เพียวพลังงานไทย (เป็ นบริ ษัทย่อยที�บริ ษัทฯ ถือหุ้นอยู่ ในอัตราร้ อยละ ��.��) และ บมจ.เอสโซ่ โดยสรุ ป ในภาพรวมแล้ ว คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ฏิ บัติ ห น้ า ที� ค รบถ้ วนตามที� ร ะบุไ ว้ ใ นกฎบัต รของ คณะกรรมการตรวจสอบที�ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษัทฯ และเห็นว่าบริ ษัทฯ ถือนโยบายการกํากับดูแลกิจการที�ดี และมีมาตรฐานเป็ นสําคัญ มีผลให้ ระบบการควบคุมภายในมีประสิทธิภาพเพียงพอ ไม่มีข้อบกพร่องอย่างเป็ นสาระสําคัญ มีการบริ หารความเสี�ยงที�เพียงพอ มีประสิทธิ ผล การจัดทํางบการเงิน และการเปิ ดเผยข้ อมูลทางการเงิ นทําขึ �นอย่าง ครบถ้ วน ถูกต้ อง และเป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชีที�รับรองโดยทัว� ไป มีการเปิ ดเผยรายการระหว่างกันที�อาจทําให้ เกิด ความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ได้ อย่างถูกต้ องและครบถ้ วน รวมทัง� มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบวิธีปฏิบตั ิ และ ข้ อกําหนดที�เกี�ยวข้ อง จึงเรี ยนมาเพื�อโปรดทราบ
ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ (นายประสิทธิ� ธีรรัตน์บงกช) ประธานกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท อาร์ พีซีจี จํากัด (มหาชน)
39
รายงานประจำ�ปี 2561
รายงานประจำ�ปี 2561
40
(ผู้มีอานาจลงนามผูกพัน)
ประธานกรรมการ
1) นายสัจจา เจนธรรมนุกลู
ชื่อ - นามสกุล ตาแหน่ ง
ณ. 31 ธันวาคม 2561
64
อายุ (ปี )
- DAP: Directors Accreditation Program 20/2004
สมาคมส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
- วศ.บ. (ไฟฟ้า) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า (ธนบุรี)
คุณวุฒิการศึกษา / การฝึ กอบรม
22,734,592 หุ้น 1.74%
-
ความสัมพันธ์ สัดส่ วนการถือหุ้น ทางครอบครั ว ในบริษัท(%)(1) ระหว่ างผู้บริหาร
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท
กรรมการ/ประธานกรรมการ กรรมการ
ตาแหน่ ง
บริษัท บริษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน) บริษัท สัมมากร จากัด (มหาชน)
จานวน 2 แห่ ง
บริษัท ไทยพับลิคพอร์ ต จากัด บจก.เพียวพลังงานไทย บจก.อาร์ พีซี แมเนจเมนท์ บจก.เอสซีที สหภัณฑ์ บจก.ซุปเปอร์ เพียวแก๊ ส บจก. เพทโทร-อินสตรูเมนท์ บจก.เพียวไบโอดีเซล บจก.เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้ นท์ บจก.จตุรทิศ ขนส่ง บจก.เพียวซิลิกา มายนิ่ง บจก.จตุจกั ร ออยล์ บจก.เพียวอินเตอร์ เทรด บจก.ทศทิศโลจิสติกส์ บจก.เอสซีที ปิ โตรเลียม
2558–ปั จจุบนั 2544–ปั จจุบนั 2544–ปั จจุบนั 2555-ปั จจุบนั 2555-ปั จจุบนั 2541–ปั จจุบนั 2550-2552,2557 2549-2553 2544-2557 2546-2556 2546-2556 2545-2556 2545-2556 2538-2556
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
จานวน 6 แห่ ง
กิจการอื่นที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน
การดารงตาแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง -ไม่ ม-ี
2538-ปั จจุบนั 2555-ปั จจุบนั
บริษัทจดทะเบียน
ช่ วงเวลา
ประวัติการทางาน
41
รายงานประจำ�ปี 2561
(ผู้มีอานาจลงนามผูกพัน)
กรรมการ
3) นายสุวินยั สุวรรณหิรัญกุล
(ผู้มีอานาจลงนามผูกพัน)
กรรมการ
2) นายศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์
ชื่อ - นามสกุล ตาแหน่ ง
63
62
อายุ (ปี )
- DCP: Directors Certification Program 39/2004 - Finance for Non-Finance Directors ปี 2546
สมาคมส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
- MBA มหาวิทยาลัยบูรพา - วท.บ. (เคมีวิศวกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- DAP: Directors Accreditation Program 15/2004
สมาคมส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
- วิศวกรรมศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรม เคมี และคอมพิวเตอร์ ควบคุมโรงงานมหาวิทยาลัย แคลิฟอร์ เนีย วิทยาเขตดาวิส รัฐแคลิฟอร์ เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา - หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ ระดับสูง (ระหว่างศึกษาระดับปริญญาโท) มหาวิทยาลัย แคลิฟอร์ เนีย สเตท โพลิเทคนิค วิทยาเขตโพโมนา รัฐแคลิฟอร์ เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา - วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุณวุฒิการศึกษา / การฝึ กอบรม
- หุ้น / - %
1,791,092 หุ้น 0.14%
-
-
ความสัมพันธ์ สัดส่ วนการถือหุ้น ทางครอบครั ว ในบริษัท(%)(1) ระหว่ างผู้บริหาร
ตาแหน่ ง
บริษัท
บริษัทจดทะเบียน จานวน 1 แห่ ง 2538-ปั จจุบนั กรรมการ บริษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน) การดารงตาแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง -ไม่ ม-ี กิจการอื่นที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน จานวน 3 แห่ ง 2551-ปั จจุบนั กรรมการ บจก.อาร์ พีซี แมเนจเมนท์ 2560-ปั จจุบนั , กรรมการ บจก. เพียวไบโอดีเซล 2541-ปั จจุบนั กรรมการ บจก.ออนเนสท์ แอนด์ เอฟิ เชียน 2557-2558 กรรมการ บริษัท ไทยพับลิคพอร์ ต จากัด บจก.เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท์ 2549-2557 กรรมการ 2551-2557 กรรมการ บจก.จตุรทิศ ขนส่ง 2555-2557 กรรมการ บจก.เอสซีที สหภัณฑ์ 2551-2556 กรรมการ :บจก.เพียวซิลิกา มายนิ่ง, บจก.เอสซีทีปิโตรเลียม, บจก.เพียวอินเตอร์ เทรด, บจก.ทศทิศโลจิสติกส์. บจก. เพียวพลังงานไทย, บจก.จตุจกั ร ออยล์ บริษัทจดทะเบียน จานวน 1 แห่ ง 2539-ปั จจุบนั กรรมการ บริษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน) การดารงตาแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง -ไม่ ม-ี กิจการอื่นที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน -ไม่ ม-ี 2550-2560 กรรมการ บจก.เพียวไบโอดีเซล 2549-2557 กรรมการ บจก.เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเมนท์ 2548-2557 กรรมการ บจก.จตุรทิศขนส่ง 2555-2557 กรรมการ บจก.เอสซีที สหภัณฑ์ 2551-2557 กรรมการ บจก.อาร์ พีซี แมเนจเมนท์ 2551-2557 กรรมการ บจก.เพียวพลังงานไทย 2555-2556 กรรมการ : บจก.เพียวอินเตอร์ เทรด,บจก.ทศทิศโลจิสติกส์, บจก.เพียวซิลิกา มายนิ่ง,บจก.เอสซีที ปิ โตรเลียม,บจก.จตุจกั รออยล์
ช่ วงเวลา
ประวัติการทางาน
รายงานประจำ�ปี 2561
42
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน
5) นายประสิทธิ์ ธีรรัตน์บงกช
(ผู้มีอานาจลงนามผูกพัน)
63
60
4) นายสุทศั น์ ขันเจริญสุข
กรรมการ
อายุ (ปี )
ชื่อ - นามสกุล ตาแหน่ ง
สมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริษัทไทย - DCP: Director Certification Program (DCP62)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ปริ ญญาตรี สาขาไฟฟ้ากาลัง / สื่อสาร
สมาคมส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
- DAP: Directors Accreditation Program 15/2004 - Board Performance Evaluation 2/2007
- MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - วท.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุณวุฒิการศึกษา / การฝึ กอบรม
- หุ้น / - %
10,833,356 หุ้น 0.83%
-
-
ความสัมพันธ์ สัดส่ วนการถือหุ้น ทางครอบครั ว ในบริษัท(%)(1) ระหว่ างผู้บริหาร
ตาแหน่ ง
บริษัท
บริษัทจดทะเบียน จานวน 2 แห่ ง 2539-ปั จจุบนั กรรมการ บริษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน) 2556-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ บริษัท ลีซ อิท จากัด (มหาชน) การดารงตาแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง -ไม่ ม-ี กิจการอื่นที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน จานวน 1 แห่ ง 2534-ปั จจุบนั กรรมการ บจก.เพทโทร-อินสตรูเมนท์ 2555-2557 กรรมการ บจก.อาร์ พีซี แมเนจเมนท์ 2550-2557 กรรมการ บจก.เพียวพลังงานไทย 2555-2557 กรรมการ บจก.เอสซีที สหภัณฑ์ 2555-2557 กรรมการ บจก. จตุรทิศขนส่ง 2555-2557 กรรมการ บจก. เพียวไบโอดีเซล 2555-2556 กรรมการ :บจก. เอสซีที ปิ โตรเลียม,บจก.เพียวซิลิกา มายนิ่ง, บจก.จตุจกั ร ออยล์ ,บจก.ทศทิศโลจิสติกส์ บริษัทจดทะเบียน จานวน 2 แห่ ง 2558-ปั จจุบนั กรรมการอิสระ/ประธาน บริษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน) กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน 2551-ปั จจุบนั กรรมการ/กรรมการตรวจสอบ บริษัท คาร์ มาร์ ท จากัด (มหาชน) การดารงตาแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง -ไม่ ม-ี กิจการอื่นที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน จานวน 2 แห่ ง 2537-ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การ บริษัท เพียวกรีน จากัด 2545-ปั จจุบนั กรรมการ บริษัท วีนิลเทด จากัด 2542-ปั จจุบนั ที่ปรึกษา โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ 2541-ปั จจุบนั ที่ปรึกษา บริษัท สยามราชธานี จากัด
ช่ วงเวลา
ประวัติการทางาน
43
รายงานประจำ�ปี 2561
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน
6) นายชานิ จันทร์ ฉาย
ชื่อ - นามสกุล ตาแหน่ ง
คุณวุฒิการศึกษา / การฝึ กอบรม
สมาคมส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - DAP: Directors Accreditation Program 30/2004 - Role of the Chairman Program 21/2009
- ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ้ งการบริ หารศาสตร์ สาธารณะ - ประกาศนียบัตรชันสู สถาบันพระปกเกล้ า
ั ฑิตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 62 - ปริญญาบัญชีบณ
อายุ (ปี )
- หุ้น / - %
-
ความสัมพันธ์ สัดส่ วนการถือหุ้น ว ทางครอบครั ในบริษัท(%)(1) ระหว่ างผู้บริหาร
กรรมการอิสระ / กรรมการ ตรวจสอบ/กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการอิสระ / ประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการ ตรวจสอบ
ตาแหน่ ง
2558-2561 2558-2560 2558-2560 2552-2558 2542-2558
2546-ปั จจุบนั 2558-2561
กรรมการผู้อานวยการ กรรมการ / ประธาน กรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการผู้อานวยการ
กิจการอื่นที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน
บริษัท
บริษัท ชิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชัน่ จากัด (มหาชน) บริษัท เอสทีพี แอนด์ ไอ จากัด (มหาชน)
บริษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน)
จานวน 3 แห่ ง
บริษัท ชุมพร ไบโอฟูเอล จากัด บริษัท เบตง ไบโอฟูเอล จากัด บริษัท เบตง กรีน เพาเวอร์ จากัด บมจ. แมกซ์ เมทัล คอร์ ปอเรชัน่ บริษัท ซี เจ มอร์ แกน จากัด
บริษัท ซีเจเอ็ม คอนซัลท์ จากัด บมจ. บีเอ็มพี เอ็นเนอร์ ยี
จานวน 1 แห่ ง
การดารงตาแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง -ไม่ ม-ี
2542-ปั จจุบนั
2542-ปั จจุบนั
2559-ปั จจุบนั
บริษัทจดทะเบียน
ช่ วงเวลา
ประวัติการทางาน
รายงานประจำ�ปี 2561
44
ผู้จดั การทัว่ ไปสายบริหาร และ การเงิน เลขานุการบริษัท
8) นางสุพรรณี ตัณไชยศรีนคร
กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน
7) นางสาวปณิชา พงษ์ ศวิ าภัย
ชื่อ - นามสกุล ตาแหน่ ง
สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย - Fundamental Practice for Corporate Secretary (FPCS) รุ่นที่ 18/2551 - Strategic Financial Leadership Program (SFLP) : 2017 สมาคมส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Effective Minutes Taking (EMT) 39/2017
มหาวิทยาลัยรามคาแหง - บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยรามคาแหง
52 - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการเงิน
- DCP: Director Certification Program 234/2017 - AACP: Advanced Audit Committee Program 26/2017 - Director Diploma Examination 58/2017 - BMD: Boards That Make a Difference 8/2018
สมาคมส่ งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
of Colorado at Denver - บริหารธุรกิจบัณฑิต การจัดการ คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุณวุฒิการศึกษา / การฝึ กอบรม
48 - Master of Science, Finance, University
อายุ (ปี )
- หุ้น / - %
- หุ้น / - %
-
-
ความสัมพันธ์ สัดส่ วนการถือหุ้น ทางครอบครั ว ในบริษัท(%)(1) ระหว่ างผู้บริหาร
ตาแหน่ ง
บริษัท
บริษัท ยูไนเต็ดฟูดส์ จากัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ บัวหลวง จากัด (มหาชน)
บริษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน)
จานวน 2 แห่ ง
ผู้จดั การทัว่ ไปสายบริหาร และการเงิน ผู้จดั การทัว่ ไปสายบริหาร และการเงิน
บริษัท สัมมากร จากัด (มหาชน)
บริษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน)
จานวน 2 แห่ ง
บริษัท สัมมากร พลัส จากัด
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
2561-ปั จจุบนั 2558-ปั จจุบนั 2558-ปั จจุบนั 2557-ปั จจุบนั 2557-ปั จจุบนั 2559-ปั จจุบนั
บจก.เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้ นท์ บริษัท ไทยพับลิคพอร์ ต จากัด บริษัท ซุปเปอร์ เพียวแก๊ ส จากัด บริษัท อาร์ พีซี แมเนจเมนท์ จากัด บริษัท โปรคิวบ์ เวนเจอร์ จากัด
จานวน 6 แห่ ง
กิจการอื่นที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน
การดารงตาแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง -ไม่ ม-ี
2557-ปั จจุบนั
2555-ปั จจุบนั
บริษัทจดทะเบียน
บริษัท อินไซด์ เอาท์ ดีซายน์ จากัด
2561 – ปั จจุบนั
รองกรรมการผู้จดั การ
จานวน 1 แห่ ง
กิจการอื่นที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน
การดารงตาแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง -ไม่ ม-ี
กรรมการอิสระ / กรรมการ ตรวจสอบ/กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน มิ.ย.2557-ปั จจุบนั กรรมการบริหาร 2548-2557 ผู้อานวยการอาวุโส ผ่ายวาณิชธนกิจ
2559-ปั จจุบนั
บริษัทจดทะเบียน
ช่ วงเวลา
ประวัติการทางาน
45
รายงานประจำ�ปี 2561
มหาวิทยาลัย - ปริญญาตรี วทบ. สาขาเคมีวิศวกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุณวุฒิการศึกษา / การฝึ กอบรม
50 - วิศวกรรมศาสตร์ มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์
อายุ (ปี )
(1)
หมายเหตุ นับรวมส่วนของคูส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ
ผู้จดั การทัว่ ไป สายพัฒนาธุรกิจ
9) นางสาวกัลยา คล้ ายทอง
ชื่อ - นามสกุล ตาแหน่ ง - หุ้น / - %
-
ความสัมพันธ์ สัดส่ วนการถือหุ้น ทางครอบครั ว ในบริษัท(%)(1) ระหว่ างผู้บริหาร
จานวน 1 แห่ ง
บริษัท
ผจก.ทัว่ ไปสายพัฒนาธุรกิจ บริษัท อาร์ พีซีจี จากัด (มหาชน) ผจก.ทัว่ ไปสานักงานบริหาร ทรัพย์สิน
ตาแหน่ ง
2551-2555
บริษัท เพียวพลังงานไทย จากัด
ธ.ค.2561-ปั จจุบนั 2560-ปั จจุบนั 2558-ปั จจุบนั
บริษัท เพียวไบโอดีเซล จากัด บริษัท ไทยพับลิคพอร์ ต จากัด กรรมการ : บจก เอสซีที ปิ โตรเลียม, บจก.เพียว อินเตอร์ เทรด บจก.เพียวซิลิกา มายนิ่ง,บจก. จตุจกั ร ออยล์, บจก.ทศทิศ โลจิสติกส์ บจก.อาร์ พีซี แมเนจเมนท์
กรรมการ กรรมการ กรรมการ
จานวน 3 แห่ ง
กิจการอื่นที่ไม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน
การดารงตาแหน่ งกรรมการในบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง -ไม่ ม-ี
2560-ปั จจุบนั 2559-2560
บริษัทจดทะเบียน
ช่ วงเวลา
ประวัติการทางาน
บริษัท อาร์ พซี ีจี จากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบการเงินสาหรั บปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2561 และ รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต