สารบัญ
1. สารจากประธานคณะกรรมการ 2. คณะกรรมการบริ ษทั 3. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุ รกิจ 4. ลักษณะการประกอบธุ รกิจ 5. ปัจจัยความเสี่ ยง 6. ข้อมูลทัว่ ไปและข้อมูลสาคัญอื่น 7. ข้อมูลหลักทรัพย์และผูถ้ ือหุน้ 8. นโยบายการจ่ายเงินปั นผล 9. โครงสร้างการจัดการ 10. การกากับดูแลกิจการ 11. ความรับผิดชอบต่อสังคม 12. การควบคุมภายในและการบริ หารจัดการความเสี่ ยง 13. รายการระหว่างกัน 14. ข้อมูลทางการเงินที่สาคัญ 15. รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจาปี 2556 16. การวิเคราะห์และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ
หมายเหตุ: ผูล้ งทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริ ษทั ที่ออกหลักทรัพย์เพิ่มเติมได้จากแบบแสดง รายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) ของบริ ษทั ที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรื อ เว็บไซต์ของ บริ ษทั www.sankothai.net
หน้ า 1 2 4 11 36 42 43 45 46 56 67 69 74 81 1 43 147
1.สารจากประธานคณะกรรมการ
นายมาซามิ คัตซู โมโต ประธานคณะกรรมการ
บริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) เข้าเป็ นสมาชิ กของตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ประเทศไทย (MAI) ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2556 บริ ษทั ฯมุ่งมัน่ ที่จะรักษาคุณภาพของผลิ ตภัณฑ์เพื่อความพึง พอใจสู งสุ ดของลู กค้า ในอนาคตบริ ษทั ฯ วางแผนจะขยายธุ รกิ จในสาขาอื่ นๆ ด้วยการส่ งเสริ มทางด้า น เทคโนโลยีควบคู่กบั การใช้ทกั ษะและความรู ้จากธุ รกิ จหลักในด้านชิ้ นส่ วนยานยนต์ ชิ้ นส่ วนจักรยานยนต์ และชิ้ นส่ วนอุปกรณ์ ไฟฟ้ า เพื่อมุ่งสู่ เวทีระหว่างประเทศ นอกจากนี้ บริ ษทั ฯ ยังมุ่งเน้นการพัฒนาธุ รกิ จให้ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและเอื้อประโยชน์ต่อชุมชน บริ ษทั ฯ ขอขอบพระคุณทุกการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องตลอดมาและตลอดไป
1
2. คณะกรรมการบริษัท
นายมาซามิ คัตซู โมโต ประธานคณะกรรมการ
นายนาโอะฮิโร ฮามาดา กรรมการบริษัท
นายรั ฐวัฒน์ ศุ ขสายชล กรรมการบริษัท
นางพูนศรี ปั ทมวรกุลชั ย กรรมการบริษัท
นายยุทธนา แต่ ปางทอง กรรมการบริษัท
2
นางสาววลัยภรณ์ กณิกนันต์ กรรมการอิสระ/ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
นายนิพนั ธ์ ตั้งพิรุฬห์ ธรรม กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ
นายสั นติ เนียมนิล กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ
3
3.นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 3.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่ านิยมองค์ กร บริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) เริ่ มก่อตั้งเมื่อ เดือน มกราคม 2539 และเริ่ ม ดาเนินการผลิต เดือน เมษายน 2540 โดยดาเนิ นการผลิต ชิ้นส่ วนยานยนต์ ชิ้นส่ วนเครื่ องใช้ไฟฟ้ าและอื่นๆ โดยกระบวนการฉี ดหล่อขึ้นรู ปแรงดันสู ง (HPDC) โดยใช้แม่พิมพ์ จากวัตถุดิบอลูมิเนียม และสังกะสี วิสัยทัศน์ บริ ษทั Sanko มุ่งมัน่ สู่ ความเป็ นผูน้ าในอุตสาหกรรม Diecasting ให้เป็ นที่ยอมรับในระดับสากล รวมทั้งร่ วมสร้างนวัตกรรมใหม่ในทุกด้าน จนสามารถสร้างผลิตภัณฑ์ภายใต้ เครื่ องหมายการค้าของบริ ษทั ให้เป็ นที่ยอมรับในด้านคุณภาพและบริ การจากลูกค้าอย่างยัง่ ยืน พันธกิจ • สร้างความเป็ นเลิศในทุกๆด้าน • นาเทคโนโลยีใหม่ นวัตกรรมใหม่มาใช้ในเรื่ องการออกแบบ การพัฒนากระบวนการ ผลิต • นาศักยภาพและความสามารถของพนักงานในองค์กรร่ วมสร้างเครื่ องหมายการค้าให้ ได้ภายในปี 2562 ค่ านิยมองค์ กร • การคิดเชิงนวัตกรรม • การทางานเชิงรุ ก • ความมุ่งมัน่ สู่ ความสาเร็ จ • มีความรู้สึกเป็ นเจ้าขององค์การ กลยุทธ์ องค์ กร • ด้านคุณภาพ บริ ษทั สามารถผลิตชิ้นส่ วนได้ตามมาตรฐานคุณภาพที่ผผู ้ ลิตชิ้นส่ วน ลาดับที่ 1 หรื อผูผ้ ลิตยานยนต์ยอมรับ อีกทั้ง บริ ษทั ยังได้รับการรับรองจาก มาตรฐานสากล ISO 9001:2008 และ ISO/TS 16949:2009 เพื่อสร้างการยอมรับและ สร้างความเชื่อมัน่ ให้แก่ลูกค้าในระยะยาว • ด้านความรู ้และเทคโนโลยี บริ ษทั มีความเชี่ยวชาญในการออกแบบแม่พิมพ์ ซึ่ งเป็ น Know-How ที่ได้รับการถ่ายทอดจากรุ่ นสู่ รุ่น อีกทั้งยังมีการพัฒนากระบวนการผลิต อย่างต่อเนื่ อง เพื่อให้บริ ษทั สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่ลูกค้ายอมรับ • ด้านการผลิต การออกแบบสายการผลิตให้สามารถปรับเปลี่ยนชิ้นงานที่ผลิตได้อย่าง รวดเร็ ว ไม่ยงุ่ ยาก ทาให้บริ ษทั สามารถผลิตชิ้นงานรองรับกลุ่มลูกค้าได้หลากหลาย อุตสาหกรรม ซึ่ งสะท้อนถึงการเติบโตอย่างต่อเนื่องของรายได้ของบริ ษทั 4
• ด้านการตลาด ขยายตลาดไปยังต่างประเทศ เพื่อลดความเสี่ ยงด้านปั จจัยเศรษฐกิจ ภายในประเทศ ซึ่ งเป็ นการเพิ่มความต้องการของลูกค้าในกลุ่มที่กว้างขึ้น ประกอบกับ การขยายฐานลูกค้าภายในประเทศสู่ กลุ่มลูกค้าในธุ รกิจอื่นนอกเหนือจากอุตสาหกรรม ยานยนต์ โดยเน้นกลุ่มลูกค้าที่ใช้วธิ ี การผลิตที่บริ ษทั มีความชานาญในการให้บริ การ • ด้านผลิตภัณฑ์ เพิ่มสายการผลิต โดยเพิ่มผลิตภัณฑ์โดยวิธีการหล่อแบบใหม่ คือการ หล่อแบบ Gravity เพื่อความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ และลดข้อจากัดในการผลิต เพื่อสามารถตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าได้อย่างหลากหลายมากขึ้น การเพิม่ เครื่ องจักรในกระบวนการผลิต ซึ่ งบริ ษทั มีความเชี่ยวชาญในการผลิตนั้น จึงเป็ นการ สร้างความครบวงจรในการให้บริ การแก่ลูกค้า 3.2 การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการทีส่ าคัญ ปี 2539 มกราคม 2539 : จดทะเบียนก่อตั้งบริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด ด้วยทุนจด ทะเบียน 11.50 ล้านบาท แบ่งเป็ นหุ น้ สามัญจานวน 115,000 หุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท เรี ยกชาระเต็มมูลค่า โดยมีกลุ่มผูถ้ ือหุ น้ หลักคือ บริ ษทั ซังโกะ ได คาซติ้ง อินดัสตรี จากัด (ประเทศญี่ปุ่น) บริ ษทั เอสบีซีเอส จากัด และบริ ษทั วัฒนาอินเตอร์ เทรด จากัด ตุลาคม 2539
: เพิ่มทุนจดทะเบียนและชาระแล้วเป็ น 88 ล้านบาทจากผูถ้ ือหุ ้นเดิมและกองทุนเจเอ ไอซี นิปปอน เอเชีย 2 และกองทุน เซาท์-อีส เอเชีย ไพรเวท อีควิต้ ี (จีบีอาร์ )
ปี 2547 เมษายน 2547 : นายมาซามิ คัตซูโมโตได้ทาการซื้ อหุ น้ ของบริ ษทั จานวน 244,895 หุน้ คิดเป็ นร้อย ละ 27.83 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้วทั้งหมดของบริ ษทั ณ ขณะนั้น จาก บริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติ้ง อินดัสตรี จากัด (ประเทศญี่ปุ่น) ปี 2548 มิถุนายน 2548 : บริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติ้ง อินดัสตรี จากัด (ประเทศญี่ปุ่น)ได้ทาการจาหน่ายหุ น้ ของบริ ษทั ทั้งหมด 235,101 หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 26.72 ของทุนจดทะเบียนและชาระ แล้วทั้งหมดของบริ ษทั ณ ขณะนั้น ให้แก่บริ ษทั อะซึ เทค จากัด นอกจากนี้ กองทุนเจเอไอซี นิปปอน เอเชีย 2 และกองทุน เซาท์-อีส เอเชีย ไพรเวท อีควิต้ ี (จี บีอาร์ ) ได้จาหน่ายหุ ้นทั้งหมดจานวน 400,000 หุน้ และนายมาซามิ คัตซูโมโตได้ 5
จาหน่ายหุ น้ จานวน 54,017 หุ น้ รวมกันทั้งสิ้ น 454,017 หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 61.38 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้วทั้งหมดของบริ ษทั ณ ขณะนั้น ให้แก่ บริ ษทั ไทย อินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด และบริ ษทั จุฑาวรรณ จากัด ปี 2549 เมษายน 2549 : ได้รับใบรับรองระบบการบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001:2000 จาก สถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริ ษทั ยูไนเต็ด รี จิสตร้า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จากัด เป็ นผูใ้ ห้การรับรอง : ได้รับใบรับรองระบบบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO/TS 16949:2002 จาก สถาบัน IATF โดยบริ ษทั ยูไนเต็ด รี จิสตร้า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จากัด เป็ นผูใ้ ห้การรับรอง ปี 2551 มีนาคม 2551
: บริ ษทั อะซึ เทค จากัด ได้จาหน่ายหุ น้ ทั้งหมดจานวน 235,101 หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 26.72 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้วทั้งหมดของบริ ษทั ณ ขณะนั้น ให้แก่ บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด
เมษายน 2551 : บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด (“TIP”) ได้จาหน่ายหุ น้ ที่รับโอนมาจาก บริ ษทั อะซึ เทค จากัดจานวน 235,101 หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 26.72 ของทุนจด ทะเบียนและชาระแล้วทั้งหมดของบริ ษทั ณ ขณะนั้น ให้กบั ผูบ้ ริ หารของกลุ่มปิ่ น ทองและผูถ้ ือหุ น้ รายย่อย กรกฎาคม 2551 : บริ ษทั จุฑาวรรณ จากัด ได้จาหน่ายหุ น้ ทั้งหมดจานวน 228,996 หุน้ คิดเป็ นร้อย ละ 26.02 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้วทั้งหมดของบริ ษทั ณ ขณะนั้น ให้แก่ บริ ษทั เจทีดบั บลิว แอ๊ซเซท จากัด : ได้รับใบรับรองระบบการจัดการสิ่ งแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001:2004 จาก สถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริ ษทั ยูไนเต็ด รี จิสตร้า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จากัด เป็ นผูใ้ ห้การรับรอง ตุลาคม 2551
: บริ ษทั วีเน็ท แคปปิ ทอล จากัดได้เข้าร่ วมทุนในบริ ษทั โดยการซื้ อหุ น้ จากกลุ่มปิ่ น ทอง จานวน 246,000 หุ ้น คิดเป็ นร้อยละ 27.95 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้ว ทั้งหมดของบริ ษทั ณ ขณะนั้น
6
ปี 2552 เมษายน 2552 : ได้รับใบรับรองระบบการบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 จาก สถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริ ษทั ยูไนเต็ด รี จิสตร้า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จากัด เป็ นผูใ้ ห้การรับรอง : ได้รับใบรับรองระบบบริ หารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO/TS 16949:2009 จาก สถาบัน IATF โดยบริ ษทั ยูไนเต็ด รี จิสตร้า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จากัด เป็ นผูใ้ ห้การรับรอง ธันวาคม 2552 : ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นครั้งที่ 2/2552 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2552 ได้มีมติ พิเศษให้แปรสภาพเป็ นบริ ษทั มหาชนจากัด และได้มีมติให้เปลี่ยนมูลค่าที่ตราไว้ ของหุน้ สามัญจากหุน้ ละ 100 บาท เป็ น หุน้ ละ 1 บาท : ได้รับใบรับรองระบบการจัดการอาชี วอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน TIS 18001:1999 โดยบริ ษทั ยูไนเต็ด รี จิสตร้า ออฟ ซิ สเท็มส์ (ประเทศไทย) จากัด เป็ นผูใ้ ห้การรับรอง : ได้รับใบรับรองระบบการจัดการอาชี วอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน OHSAS 18001:2007 จากสถาบัน UKAS ประเทศอังกฤษ โดยบริ ษทั ยูไนเต็ด รี จิ สตร้า ออฟ ซิสเท็มส์ (ประเทศไทย) จากัด เป็ นผูใ้ ห้การรับรอง ปี 2554 มิถุนายน 2554 : ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นครั้งที่ 1/2554 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2554 ได้มีมติ ให้เปลี่ยนแปลงมูลค่าหุ น้ ของบริ ษทั จากหุ น้ ละ 1.00 บาท เป็ นหุน้ ละ 0.50 บาท และมีมติพิเศษให้บริ ษทั เพิ่มทุนจดทะเบียนเป็ น 113 ล้านบาท ประกอบด้วยหุ ้น สามัญจานวน 226 ล้านหุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 0.50 บาท ปี 2555 พฤษภาคม 2555 : ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นครั้งที่ 1/2555 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ได้มี มติอนุมตั ิการออกและเสนอขายหุ น้ สามัญให้แก่ประชาชนทัว่ ไปจานวน 44 ล้าน หุน้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาทต่อหุ น้ และออกและเสนอขายใบสาคัญแสดง สิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ น้ สามัญของบริ ษทั ให้แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษทั จานวน 6 ล้านหน่วย โดยมีหุ้นที่รองรับการใช้สิทธิ ท้ งั หมด 6 ล้านหุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ
7
0.50 บาท และมีมติอนุมตั ิให้นาหุน้ สามัญของบริ ษทั จดทะเบียนเป็ นหลักทรัพย์จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ มิถุนายน 2555 : บริ ษทั ได้ทาการซื้ อที่ดินพร้อมอาคารโรงงานในเขตอุตสาหกรรมโรจนะ ตาบล หนองบัว อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยองขนาดพื้นที่ 3 ไร่ โดยมีพ้นื ที่ติดกับพื้นที่ โรงงานของบริ ษทั เพื่อปรับปรุ งและแปรสภาพเป็ นพื้นที่คลังสิ นค้า หน่วยงานเจาะ ขัดตกแต่งขอบและผิวชิ้นงาน ปี 2556 พฤษภาคม 2556 : บริ ษทั ได้มีการนาหุ น้ ของบริ ษทั เข้าซื้ อขายวันแรกในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย กันยายน 2556 : บริ ษทั ได้ทาสัญญาซื้ อขายที่ดินในเขตอุตสาหกรรมโรจนะ ตาบลหนองบัว อาเภอ บ้านค่าย จังหวัดระยองขนาดพื้นที่ 5.1585 ไร่ โดยมีพ้นื ที่ติดกับพื้นที่โรงงานของ บริ ษทั เพื่อรองรับการขยายโรงงานต่อไป โดยได้จ่ายมัดจาไปแล้วบางส่ วน และจะ จ่ายที่เหลือทั้งหมดพร้อมรับโอนภายในต้นปี 2557 ปี 2557 เมษายน 2557 : บริ ษทั ได้ดาเนินการจดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ์ ซ้ื อที่ดิน จาก บริ ษทั สวน อุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) โฉนดที่ดินเลขที่ 41107, 41741 เลขที่ดิน 342, 355 หน้าสารวจ 3990, 4057 ตาบลหนองบัว อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง เนื้อที่ 3 ไร่ 1 งาน 73.5 ตารางวา, 1 ไร่ 2 งาน 89.9 ตารางวา ตามลาดับ โดยวัตถุ เพื่อเป็ นสถานที่ต้ งั โรงงาน ผลิตภัณฑ์อลูมิเนียมฉี ดขึ้นรู ป 3.3 โครงสร้ างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท บริ ษทั ไม่มีบริ ษทั ย่อยหรื อบริ ษทั ร่ วม
8
3.4 ความสั มพันธ์ กบั กลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นใหญ่ 3.4.1 แผนภาพโครงสร้ างธุรกิจโดยรวมของธุรกิจในเครือของผู้ถือหุ้นใหญ่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 กลุ่มปิ่ นทอง (35.29%) ประกอบธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ธุระกิจ เหล็กและโลหะ ธุรกิจชิ้นส่ วนสาหรับ ภาคอุตสาหกรรม และธุรกิจขนส่ งและรถ เช่า
บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด (13.50%) จาหน่ายเหล็กสแตนเลสและเหล็กกล้า
บริ ษทั โกลบอล เรี ยลลิต้ ี จากัด (9.0%) โฮลดิ้ง
บริ ษทั เจทีดบั บลิว แอ็ชเซท จากัด (7.46%) โฮลดิ้ง
บุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง (5.33%)
บมจ.ซังโกะ ไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน)
กลุ่มปิ่ นทองมีการประกอบธุ รกิจที่มีผลิตภัณฑ์ใกล้เคียงกันกับของบริ ษทั คือ ธุ รกิจผลิตชิ้นส่ วนโดย การขึ้นรู ปด้วยวิธีอดั ด้วยความร้ อน (Hot Forging) และการอัดแบบเย็น (Stamping) สาหรับอุตสาหกรรม ต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมยายนต์ และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเครื่ องใช้ไฟฟ้ า เป็ นต้น และยังประกอบ ธุ รกิจชิ้นส่ วนและส่ วนประกอบสาหรับแม่พิมพ์โลหะอีกด้วย ซึ่ งในอนาคต กลุ่มบริ ษทั ดังกล่าวมีโอกาสที่จะ เกิ ดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยทาการแข่งขันทางอ้อมกับบริ ษทั ได้ แต่ท้ งั นี้ บริ ษทั ในกลุ่มปิ่ นทอง ดังกล่าว ไม่มีนโยบายที่ จะดาเนิ นธุ รกิ จผลิ ตชิ้ นส่ วนอลู มิเนี ยมและสังกะสี ฉีดขึ้นรู ปด้วยแม่พิมพ์ฉีดหล่ อ ความดันสู ง ซึ่ งเป็ นการแข่งขันโดยตรงกับธุ รกิจของบริ ษทั
9
3.4.2 ลักษณะความสั มพันธ์ บริ ษทั มีการทารายการกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งต่างๆ ซึ่ งรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นนั้นเป็ น การทารายการกับกรรมการ และ/หรื อ ผูบ้ ริ หาร และ/หรื อ ผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั และบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันซึ่ งมี บุคคลที่มาความขัดแย้งเป็ นกรรมการ และ/หรื อ ผูบ้ ริ หาร และ/หรื อ ผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั ซึ่งสามารถสรุ ป ลักษณะความสัมพันธ์ได้ ดังนี้ บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ ง ความสั มพันธ์ บริ ษทั จุฑาวรรณ จากัด มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั คือ นางสมศรี ดวงประทีป (ณ วันที่ รายงานได้ลาออกแล้ว) อยูภ่ ายใต้การควบคุมของกลุ่มผูถ้ ือหุ น้ ราย ใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่มปิ่ นทอง1/ ซึ่ งถือหุ ้นทั้งทางตรงและ ทางอ้อมในบริ ษทั ร้อยละ 35.29 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้ว ทั้งหมด บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั คือ นายนาโอะฮิโร ฮามาดา อยูภ่ ายใต้ จากัด การควบคุมของกลุ่มผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่มปิ่ นทอง1/ ซึ่ งถือหุ น้ ทั้งทางตรงและทางอ้อมในบริ ษทั ร้อยละ 35.29 ของทุนจด ทะเบียนและชาระแล้วทั้งหมด บริ ษทั ริ กา้ เจทีดบั บลิว ฮีททรี ท อยูภ่ ายใต้การควบคุมของกลุ่มผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่ม เม้นท์ จากัด ปิ่ นทอง1/ ซึ่ งถือหุ น้ ทั้งทางตรงและทางอ้อมในบริ ษทั ร้อยละ 35.29 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้วทั้งหมด บริ ษทั เอ็กซ์เซล เมทัล ฟอจจิ้ง มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั คือ นายนาโอะฮิโร ฮามาดา จากัด อยูภ่ ายใต้การควบคุมของกลุ่มผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่ม ปิ่ นทอง1/ ซึ่ งถือหุ น้ ทั้งทางตรงและทางอ้อมในบริ ษทั ร้อยละ 35.29 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้วทั้งหมด บริ ษทั อาพน จากัด อยูภ่ ายใต้การควบคุมของกลุ่มผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่ม ปิ่ นทอง1/ ซึ่ งถือหุ น้ ทั้งทางตรงและทางอ้อมในบริ ษทั ร้อยละ 35.29 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้วทั้งหมด บริ ษทั จุฑาวรรณ เมทัล แล็บ จากัด อยูภ่ ายใต้การควบคุมของกลุ่มผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่กลุ่มเดียวกัน คือ กลุ่ม ปิ่ นทอง1/ ซึ่ งถือหุ น้ ทั้งทางตรงและทางอ้อมในบริ ษทั ร้อยละ 35.29 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้วทั้งหมด หมายเหตุ : 1/
กลุ่มปิ่ นทองประกอบธุรกิจนิคมอุตสาหกรรม ธุรกิจเหล็กและโลหะ ธุรกิจชิ้นส่วนสาหรับภาคอุตสาหกรรม และธุรกิจ ขนส่งและรถเช่า 10
4. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 4.1 ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัท บริ ษทั ประกอบธุ รกิ จผลิ ตชิ้ นส่ วนอลูมิเนี ยมฉี ดขึ้นรู ปและชิ้ นส่ วนสังกะสี ฉีดขึ้ นรู ปตามคาสั่งซื้ อ ของลูกค้า โดยมีกลุ่มลูกค้าหลักเป็ นผูผ้ ลิตชิ้ นส่ วนให้กบั อุตสาหกรรมยานยนต์ ประกอบด้วยอุตสาหกรรม รถยนต์และอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์ ทั้งนี้ ธุ รกิจการผลิตชิ้นส่ วนยานยนต์จะมีขอ้ ได้เปรี ยบจากยอดการ สั่งซื้ อค่อนข้างแน่ นอนเนื่ องจากการสั่งซื้ อชิ้ นส่ วนของยานยนต์รุ่นหนึ่ ง (Model) มักจะเป็ นการสั่งซื้ อ ชิ้นส่ วนจนกระทัง่ ยานยนต์รุ่นนั้นเลิกการผลิตซึ่ งจะใช้เวลาส่ วนใหญ่ประมาณ 3 ปี ขึ้นไป นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้มีการผลิ ตชิ้ นส่ วนประกอบกล้องโทรทัศน์วงจรปิ ด ชิ้ นส่ วนประกอบกล้องถ่ ายวิดีโอ และชิ้ นส่ วน ประกอบระบบสื่ อสารภายใน (Intercom System) สาหรับอุตสาหกรรมเครื่ องใช้ไฟฟ้ า และได้มีการผลิ ต ชิ้นส่ วนประกอบเครื่ องตัดหญ้าและชิ้นส่ วนประกอบรถแทรกเตอร์ สาหรับอุตสาหกรรมเครื่ องจักรกลเกษตร ทั้งนี้ ในการผลิตชิ้นส่ วนต่างๆ บริ ษทั ได้มีการบริ การออกแบบและจัดหาแม่พิมพ์เพื่อรองรับความต้องการ ของลูกค้าได้อย่างครบถ้วน ทั้งนี้ ในปั จจุบนั บริ ษทั ไม่มีบริ ษทั ย่อยหรื อบริ ษทั ร่ วมแต่อย่างใด 4.1.1. โครงสร้ างรายได้ ของบริษัท โครงสร้างรายได้ของบริ ษทั แบ่งตามสายผลิตภัณฑ์หลักระหว่างปี 2555 ถึงปี 2557 มีสัดส่ วน ดังนี้ (หน่วย: ล้านบาท) ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 รายได้ จานวน ร้ อยละ จานวน ร้ อยละ จานวน ร้ อยละ 1. รายได้ จากการขายชิ้นส่ วน 434.61 89.23 335.62 81.66 328.18 90.04 ชิ้นส่ วนรถยนต์ 274.45 56.35 211.95 51.57 210.20 57.67 55.58 15.25 ชิ้นส่ วนรถจักรยานยนต์ 93.76 19.25 71.34 17.36 38.39 10.53 ชิ้นส่ วนเครื่ องใช้ไฟฟ้ า 39.07 8.02 33.63 8.18 24.01 6.59 ชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกลเกษตรและอื่นๆ 27.33 5.61 18.70 4.55 รวมรายได้ จากการขาย รายได้จากการให้บริ การ1/ รวมรายได้ จากการขายและให้ บริการ รายได้อื่น2/ รายได้ รวม
459.16 15.32 474.48 12.59 487.07
94.27 3.14 97.42 2.58 100.00
395.75 7.69 403.44 7.54 410.98
96.29 352.88 1.87 4.01 98.17 356.89 1.83 7.61 100.00 364.50
96.82 1.10 97.92 2.08 100.00
11
หมายเหตุ : 1/รายได้จากการให้บริ การในปี 2555 2556 และ 2557 เป็ นรายได้จากข้อตกลงให้ความ ช่ วยเหลื อด้านเทคนิ คให้กบั บริ ษทั ผลิ ตชิ้ นส่ วนรถจักรยานยนต์แห่ งหนึ่ งในประเทศ อินเดีย มูลค่าตามสัญญาทั้งสิ้ น 24.60 ล้านบาท 2/ รายได้อื่นของบริ ษทั ประกอบด้วยรายได้จากการขายเศษวัตถุดิบจากการผลิต กาไรจาก การขายสิ นทรัพย์ การกลับรายการค่าเผื่อลูกหนี้ สงสัยจะสู ญ ดอกเบี้ยรับ และรายได้อื่น เป็ นต้น 4.1.2. ลักษณะผลิตภัณฑ์ และบริการ บริ ษทั ประกอบธุ รกิจผลิตชิ้นส่ วนอลูมิเนียมและสังกะสี ในรู ปแบบที่ลูกค้ากาหนดตามคาสั่งซื้ อของ ลูกค้า โดยกระบวนการขึ้นรู ปด้วยแม่พิมพ์ฉีดหล่อความดันสู ง (High-Pressure Diecasting หรื อ “HPDC”) โดยบริ ษทั มี ก ารให้บริ การออกแบบและว่าจ้างบริ ษทั ผูผ้ ลิ ตแม่พิ มพ์เพื่ อทาการผลิ ตแม่พิม พ์ให้ก ับลู กค้า เพื่อให้สามารถผลิ ตชิ้ นงานตามที่ลูกค้ากาหนด ซึ่ งกรรมสิ ทธิ์ ในแม่พิมพ์จะเป็ นไปตามที่ระบุในข้อตกลง ระหว่างบริ ษทั กับลูกค้าแต่ละราย ซึ่ งแบ่งออกตามลักษณะของข้อตกลงได้ ดังนี้ 1) ออกแบบและจาหน่ายแม่พิมพ์ บริ ษทั จะจาหน่ายแม่พิมพ์ที่ผลิตแล้วให้กบั ลูกค้า โดยกรรมสิ ทธิ์ ในแม่พิมพ์จะเป็ นของลูกค้า ซึ่ งลู กค้าจะว่าจ้างบริ ษทั ให้ดาเนิ นการผลิ ตชิ้ นงานจากแม่พิมพ์ ดังกล่าว 2) ออกแบบแม่พิมพ์และผลิตชิ้นงาน ลูกค้าจะว่าจ้างบริ ษทั ในการออกแบบแม่พิมพ์พร้อมกับผลิต ชิ้นงานจากแม่พิมพ์ดงั กล่าว โดยกรรมสิ ทธิ์ ในแม่พิมพ์ยงั คงเป็ นของบริ ษทั โดยบริ ษทั จะมีการ คิดกาไรส่ วนเพิ่มเพื่อชดเชยค่าใช้จ่ายในการออกแบบและจัดทาแม่พิมพ์ดงั กล่าว ทั้งนี้ รายได้ของบริ ษทั ส่ วนใหญ่มาจากรายได้จากการขายชิ้ นส่ วนอลูมิเนี ยมและแม่พิมพ์สาหรั บ ชิ้นส่ วนอลูมิเนี ยม โดยมีรายได้จากการขายชิ้ นส่ วนสังกะสี และแม่พิมพ์สาหรับชิ้นส่ วนสังกะสี ในปี 2556 และปี 2557 เป็ นสัดส่ วนเท่ากับ ร้ อยละ 9.21 และร้ อยละ 10.83 ของรายได้จากการขายรวมและบริ การ ตามลาดับ โดยผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั สามารถแบ่งออกเป็ นประเภทตามการใช้งานของผลิตภัณฑ์ ดังนี้
12
4.1.2.1 กลุ่มผลิตภัณฑ์ ชิ้นส่ วนรถยนต์ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ชิ้นส่ วนรถยนต์ หมวดสิ นค้ า ผลิตภัณฑ์ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ชุดกาเนิดไฟฟ้ า ฝาครอบหลัง ส่ วนประกอบด้านหลัง กระแสสลับใน (Rear cover) ของอัลเตอร์เนเตอร์ รถยนต์(Alternator)
สตาร์ทเตอร์ (Starter)
ตัวยึดคอมเพรสเซอร์ แอร์ในรถยนต์ (Bracket Compressor) ตัวยึดคอมเพรสเซอร์ แอร์ในรถยนต์ (Bracket
ฝาครอบหน้า (Front cover)
ส่ วนประกอบด้านหน้า ของอัลเตอร์เนเตอร์
ตัวเรื อน (Housing)
ส่ วนประกอบตัวเรื อนของ สตาร์ทเตอร์
ฝาครอบหลัง (Rear cover) ตัวเรื อนเกียร์ (Gear case)
ส่ วนประกอบด้านหลังของ สตาร์ทเตอร์ ส่ วนประกอบของชุ ดเฟื องใน สตาร์ทเตอร์
ฐานจับยึด คอมเพรสเซอร์ (Bracket compressor) ตัวจับยึดด้านล่าง (Lower bracket)
ส่ วนประกอบในการยึดจับ ระหว่างเครื่ องยนต์และ คอมเพรสเซอร์
ภาพตัวอย่างสิ นค้ า
ส่ วนประกอบในการยึดจับ ระหว่างแผงระบายความร้อน ระบบปรับอากาศกับตัวถัง 13
หมวดสิ นค้ า Compressor)
ผลิตภัณฑ์
รายละเอียดผลิตภัณฑ์ รถยนต์
ภาพตัวอย่างสิ นค้ า
ชิ้ น ส่ ว น ป รั บ ตั้ ง ส่ วนประกอบในการปรับตั้ง สายพาน สายพานคอมเพรสเซอร์ (Bracket tension) ใบพัดเครื่ องยนต์ ฝาครอบ (Cover) ฝาครอบของส่ วนประกอบ (Fan Clutch) ของชุดใบพัดระบายความ ร้อนของเครื่ องยนต์ ฝาหลัง (Case) ฝาหลังของส่ วนประกอบของ ชุดใบพัดระบายความร้อน ของเครื่ องยนต์ จา น รี ด น้ า มั น ชุ ด ชิ้นส่ วนสาหรับการทางาน ระบายความร้ อ น ของชุดใบพัดระบายความ (Disk) ร้อนของเครื่ องยนต์อตั โนมัติ ตั ว ยึ ด ท่ อ แ อ ร์ ใ น อุ ป กรณ์ ยึ ด จั บ ท่ อ ชิ้นส่ วนสาหรับยึดจับท่อแอร์ ร ถ ย น ต์ (Hanging แอร์ รถยนต์ (Flange ในรถยนต์ เพื่อช่วยในการยึด Air Pipe) flex) จับ
เข็มขัดนิรภัย (Safety Belt)
ดุมม้วนสาย (Guide drum)
ชิ้นส่ วนล็อคสายพานเข็มขัด นิรภัยในรถยนต์
วิทยุรถยนต์ (Audio)
แผงระบายความ แผงระบายความร้อนของ ร้อน ระบบเครื่ องเสี ยงในรถยนต์ (Heat sink)
14
หมวดสิ นค้ า ผลิตภัณฑ์ ชุ ดระบายความร้ อน แผงระบายความ ไฟหน้า ร้อนไฟหน้า (Main heatsink Bi-LED) ชุ ดบัง คับ แกนใบปั ด ตั ว ยึ ด จั บ แกนปั ด น้ าฝน น้ า ฝ น ด้ า น ซ้ า ย (Bracket B)
รายละเอียดผลิตภัณฑ์ แผงระบายความร้อนไฟหน้า LED
ภาพตัวอย่างสิ นค้ า
แกนหมุนชุดใบปั ดน้ าฝน ด้านซ้าย
ตั ว ยึ ด จั บ แกนปั ด แกนหมุ น ชุ ดใบปั ดน้ าฝน น้ า ฝ น ด้ า น ข ว า ด้านขวา (Bracket C) ตั ว ยึ ด จั บ แกนปั ด แกนหมุ น ชุ ดใบปั ดน้ าฝน น้ า ฝ น ก้ า น เ ดี่ ย ว ชนิดก้านเดี่ยว (Bracket A)
สิ นค้า ในกลุ่ ม นี้ เป็ นชิ้ นส่ วนและแม่ พิ ม พ์ส าหรั บ อุ ป กรณ์ แ ละชิ้ น ส่ วนรถยนต์ซ่ ึ งประกอบด้ว ย ชิ้นส่ วนของ ชุ ดกาเนิ ดไฟฟ้ ากระแสสลับ (Alternator) สตาร์ ทเตอร์ (Starter) ตัวยึดคอมเพรซเซอร์ (Bracket Compressor) ใบพัดเครื่ องยนต์ ตัวแขวนท่อแอร์ ในรถยนต์ เข็มขัดนิรภัย และชุดบังคับแกน ใบปั ดน้ าฝน เป็ นต้น โดยมี ก ลุ่ มลู กค้าหลักเป็ นกลุ่ มบริ ษทั ผลิ ตชิ้ นส่ วนรถยนต์ซ่ ึ ง จะนาไปประกอบเป็ น ชิ้นส่ วนและอุปกรณ์เพื่อส่ งมอบแก่บริ ษทั ประกอบรถยนต์อีกทอดหนึ่ ง ซึ่ งรายได้จากกลุ่มผลิ ตภัณฑ์น้ ี เป็ น รายได้หลัก ของบริ ษ ทั โดยมี สั ดส่ วนรายได้ใ นปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 มี จานวน 284.61 ล้านบาท 234.64 ล้านบาท และ 223.63 ล้านบาท ตามลาดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่ วน ร้อยละ 59.98 ร้อยละ 58.16 และ ร้อย ละ 63.37 ของรายได้จากการขายและให้บริ การรวมในช่วงเวลาเดียวกัน ตามลาดับ
15
4.1.2.2. กลุ่มผลิตภัณฑ์ ชิ้นส่ วนรถจักรยานยนต์ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ชิ้นส่ วนรถจักรยานยนต์ หมวดสิ นค้ า ผลิตภัณฑ์ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ชุดผสมเชื้อเพลิงกับ ฝาครอบระบบผสม ส่ ว นประกอบของชุ ด ผสม อากาศ (Carburetor) น้ ามัน น้ ามันกับอากาศ (Cover reed valve) ตัว เรื อ นระบบผสม ส่ ว นประกอบของชุ ด ผสม น้ ามัน น้ ามันกับอากาศ (Body reed valve) ฝาครอบ (Top) ส่ ว นประกอบของชุ ด ผสม น้ ามันกับอากาศ
ภาพตัวอย่างสิ นค้ า
ระบบคลัตช์ ส่ ว นป ร ะ ก อบ ชิ้ น ส่ วนประกอบของแผ่นคลัตช์ (Manual Clutch กลางของแผ่นคลัตช์ System) (Center clutch)
ส่ วนปิ ดชุดส่ งกาลัง (PR plate)
ส่ วนประกอบของฝาปิ ดแผ่น คลัตช์ดา้ นบน
ฝาครอบชุดส่ งกาลัง ส่ ว นประกอบฝาครอบชุ ด (PR outer) คลัตช์ ด้านข้าง
16
หมวดสิ นค้ า ผลิตภัณฑ์ ระบบคลัตช์ ฝาล็อดส่ งกาลัง (Manual Clutch (PR lifter) System) ระบบเกียร์ อตั โนมัติ ตัวปรับรอบ (Prim sliding sheave) ตัวขับ (Sheave prim fixed) ฝาครอบชุดส่ งกาลัง
รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ส่ ว นประกอบล็ อ คชุ ด แผ่ น คลัตช์
ภาพตัวอย่างสิ นค้ า
ส่ วนประกอบของระบบ เกียร์ อตั โนมัติ CVT ในการ ปรับรอบสายพาน ส่ วนประกอบของระบบ เกียร์ อตั โนมัติ CVT ในการ ขับสายพาน ฝาครอบข้อเหวีย่ ง
ฝาครอบข้อเหวีย่ ง (Crank case) ระบบปั๊ ม น้ าระบาย ฝาครอบปั๊ มน้ า ฝาครอบชุ ด ปั๊ ม น้ าระบาย ความร้อน (Cover water pump) ความร้อน
สิ น ค้ า ในกลุ่ ม นี้ เป็ นชิ้ น ส่ ว นและแม่ พิ ม พ์ ส าหรั บ อุ ป กรณ์ แ ละชิ้ น ส่ ว นรถจัก รยานยนต์ ซ่ ึ ง ประกอบด้วย ระบบคลัตช์ (Clutch System) ชุ ดผสมเชื้ อเพลิ งกับอากาศ (Carburetor) และสตาร์ ทเตอร์ (Starter) เป็ นต้น โดยกลุ่มลูกค้าของกลุ่มผลิตภัณฑ์น้ ี ประกอบด้วยบริ ษทั ผลิ ตชิ้ นส่ วนรถจักรยานยนต์ และ บริ ษทั ประกอบรถจักรยานยนต์ ทั้งนี้ บริ ษทั มี รายได้จากกลุ่ มผลิ ตภัณฑ์น้ ี ในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 เท่ากับ 102.05 ล้านบาท 104.56 ล้านบาท และ 63.97 ล้านบาท ตามลาดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่ วน ร้อยละ 21.51 ร้อยละ 25.92 และร้อยละ 18.12 ของรายได้จากการขายและให้บริ การรวมในช่วงเวลาเดียวกัน ตามลาดับ
17
4.1.2.3. กลุ่มผลิตภัณฑ์ ชิ้นส่ วนอุปกรณ์ เครื่องใช้ ไฟฟ้า ตัวอย่ างผลิตภัณฑ์ ชิ้นส่ วนอุปกรณ์ เครื่องใช้ ไฟฟ้า หมวดสิ นค้ า ผลิตภัณฑ์ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ส่ วนประกอบของฝาครอบกล่อง กล้องวงจรปิ ด ฝาครอบหน้า รับสัญญาณกล้องวงจรปิ ด (Box CCTV Camera) (Front frame) กล้องวงจรปิ ดมุมกว้าง ฝาครอบ ส่ วนประกอบของกล้องวงจร (Dome CCTV (Chassis cover) ปิ ดมุมกว้าง Camera) ฝาปิ ดโครง ส่ วนประกอบของกล้องวงจร (Bracket case) ปิ ดมุมกว้าง
ระบบสื่ อสารภายใน (Intercom System)
ฝาครอบหลัก (Main Cover)
ส่ ว นป ระ ก อ บข อง CCTV Dome
ฝาครอบหลัง (Rear cover)
ส่ ว นป ระ ก อ บข อง CCTV Dome
หน้าการแผงปุ่ มกด (Panel)
ส่ วนประกอบของ ระบบสื่ อสารภายใน
ขอบหน้ า กากแผง ปุ่ มกด (Panel frame) คอมเพรสเซอร์ แผ่ น ครอบยางกั น เครื่ องปรับอากาศ ซึม (Plate lower seal) ชุ ด กล่ อ งควบคุ ม ปั๊ ม กล่องอลูมิเนียม น้ า (Aluminum case)
ภาพตัวอย่างสื นค้ า
ส่ วนประกอบของ ระบบสื่ อสารภายใน ฝาครอบลูกสู บคอมเพรสเซอร์ แอร์ กล่ องควบคุ ม การท างานของ ปั๊ มน้ าอัตโนมัติ
18
สิ นค้าในกลุ่มนี้ เป็ นชิ้ นส่ วนและแม่พิมพ์สาหรับชิ้ นส่ วนอุปกรณ์ เครื่ องใช้ไฟฟ้ าต่างๆ เช่ น กล้อง วงจรปิ ด กล้องถ่ายวิดีโอ ชุ ดฝาครอบคอมเพรซเซอร์ เครื่ องปรับอากาศ และระบบสื่ อสารภายใน (Intercom) เป็ นต้ น โดยกลุ่ ม ลู ก ค้ า ของกลุ่ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้ ี ประกอบด้ ว ยบริ ษัท ผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นอุ ป กรณ์ เครื่ องใช้ไฟฟ้ าต่างๆ ทั้งนี้ บริ ษทั มีรายได้จากกลุ่มผลิตภัณฑ์น้ ี ในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 เท่ากับ 43.43 ล้านบาท 37.86 ล้านบาท และ 39.44 ล้านบาทตามลาดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่ วน ร้อยละ 9.15 ร้อยละ 9.38 และ ร้อยละ 11.17 ของรายได้จากการขายและให้บริ การรวมในช่วงเวลาเดียวกัน ตามลาดับ 4.1.2.4. กลุ่มผลิตภัณฑ์ ชิ้นส่ วนเครื่องจักรกลเกษตรและอืน่ ๆ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ชิ้นส่ วนเครื่องจักรกลเกษตร หมวดสิ นค้ า ผลิตภัณฑ์ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ รถแทรกเตอร์ ฝาครอบแกนขับ ส่ ว นประกอบชุ ด ฝาครอบ (Propeller shaft แ ก น ไ ฮ ด ร อ ลิ ก ใ น ร ถ case) แทรกเตอร์ ตัวยึดพัดลม ส่ ว นประกอบใบจับ ยึ ด ชุ ด (Flange fan) ใบพัดในรถแทรกเตอร์ ตัวยึดกรองน้ ามัน (Bracket Filter)
ส่ วนประกอบในระบบกรอง น้ ามันรถแทรกเตอร์
ตัวยึดฝาครอบ (Support diff)
เป็ นส่ วนประกอบสาหรับยึด ชุดคลัตช์
ฐานเกียร์ หลัก (Base main shift)
เป็ นส่ ว นประกอบฝาครอบ คันเกียร์ รถแทรกเตอร์
ฝาปิ ดล้อหลัง (Plug rear wheel)
เป็ นส่ ว นประกอบฝาครอบ แกนเพลาล้อหลัง
ภาพตัวอย่างสิ นค้ า
19
หมวดสิ นค้ า ผลิตภัณฑ์ รายละเอียดผลิตภัณฑ์ หั ว จ่ า ย น้ า มั น ชุ ด แ ข ว น หั ว จ่ า ย เป็ นส่ วนประกอบของที่ เชื้อเพลิง น้ ามัน แขวนหัวจ่ายน้ ามัน ข้อต่อวาล์วหัวจ่าย
เป็ นส่ ว นประกอบของหั ว จ่ายน้ ามัน
ข้องอหัวจ่าย
เป็ นส่ ว นประกอบของหั ว จ่ายน้ ามัน
ภาพตัวอย่างสิ นค้ า
สิ นค้าในกลุ่ ม นี้ เป็ นชิ้ นส่ วนเครื่ องจักรกลเกษตรต่างๆ เช่ น ชิ้ นส่ วนรถแทร็ กเตอร์ และชิ้ นส่ วน สาหรับอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น ที่แขวนหัวจ่ายน้ ามันสาหรับสถานี บริ การน้ ามันเป็ นต้น โดยกลุ่มลูกค้าของ กลุ่ ม ผลิ ต ภัณ ฑ์ น้ ี ประกอบด้ว ยบริ ษ ัท ผลิ ต เครื่ อ งจัก รกลเกษตรและอื่ น ๆ ทั้ง นี้ บริ ษ ัท มี ร ายได้จ ากกลุ่ ม ผลิตภัณฑ์น้ ี ในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 เท่ากับ 29.07 ล้านบาท 18.70 ล้านบาท และ 25.84 ล้านบาท ตามลาดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่ วน ร้ อยละ 6.13 ร้อยละ 4.64 และร้ อยละ 7.32 ของรายได้จากการขายและ ให้บริ การรวมในช่วงเวลาเดียวกัน ตามลาดับ นอกจากนี้ ในเดื อนกุมภาพันธ์ 2555 บริ ษทั ได้มีการทาข้อตกลงให้ความช่ วยเหลื อด้านเทคนิ ค ให้กบั บริ ษทั Exedy Clutch India Pvt. Ltd. ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ผลิตชิ้นส่ วนรถจักรยานยนต์แห่ งหนึ่ งในประเทศ อินเดีย มูลค่าตามสัญญาทั้งสิ้ น 24.60 ล้านบาท โดยบริ ษทั จะให้ความช่วยเหลื อในด้านการเลือก และติดตั้ง เครื่ องฉี ดอลูมิเนี ยมและสังกะสี รวมถึงให้การฝึ กอบรมในด้านกระบวนการผลิตและการควบคุมคุ ณภาพ โดยมีขอ้ ตกลงว่าบริ ษทั ดังกล่าวจะไม่ทาการแข่งขันในด้านชิ้ นส่ วนอลูมิเนี ยมที่ ข้ ึนรู ปด้วยการฉี ดสาหรับ รถจักรยานยนต์ในประเทศไทยกับบริ ษทั ซึ่ งบริ ษทั ได้ทาข้อตกลงกับ ห้างหุ ้นส่ วนจากัด ไอซี ซี คอนซัลท์ ในการสนันสนุ นการและให้ความช่วยเหลือแก่บริ ษทั Exedy Clutch India Pvt. Ltd. ตามข้อตกลงให้บริ การ ทางด้านเทคนิคดังกล่าว โดยในปี 2555 2556 และ 2557 บริ ษทั ได้ทาการรับรู ้ รายได้จากการบริ การตามข้อตกลงนี้ เท่ากับ 15.32 ล้านบาท 7.69 ล้านบาท และ 4.01 ล้านบาท ตามลาดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 3.23 ร้อยละ 1.94 และร้อยละ 1.13 ของรายได้จากการขายและให้บริ การรวมในช่วงเวลาเวลาเดียวกัน
20
4.1.3. สิ ทธิประโยชน์ จากบัตรส่ งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่ งเสริมการลงทุน การประกอบธุ รกิจของบริ ษทั ได้รับสิ ทธิ ประโยชน์จากสานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน (BOI) ซึ่ งมีรายละเอียดดังนี้ เจ้าของบัตรส่ งเสริ ม
บริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติ้ง จากัด (มหาชน)
บริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติ้ง จากัด (มหาชน)
1090(2)/2554
1010(2)/2557
1. วันที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน
26 มกราคม 2554
7 มกราคม 2557
2. วันที่เริ่ มใช้สิทธิ ตามบัตรส่ งเสริ ม การลงทุน
1 เมษายน 2554
ยังไม่ได้เริ่ มดาเนินการใช้สิทธิ บัตรส่ งเสริ มการลงทุน
บัตรส่ งเสริ มเลขที่
3. ป ร ะ เ ภ ท กิ จ ก า ร ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร กิ จ การผลิ ต ผลิ ต ภัณ ฑ์ โ ลหะ กิ จ การผลิ ต ผลิ ตภั ณ ฑ์ โ ลหะ ส่ งเสริ มการลงทุน รวมทั้งชิ้นส่ วนโลหะ รวมทั้งชิ้นส่ วนโลหะ 4. สิ ทธิ ป ระโยชน์ ส าคัญ ที่ บ ริ ษัท ได้รับ 4.1 การยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับ เครื่ องจักร 4.2 การยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุคคลสาหรั บกาไรสุ ทธิ ที่ได้ จากการประกอบกิ จ การที่ ได้รับการส่ งเสริ มนับแต่วนั ที่ มี ร ายได้ จ ากการประกอบ กิจการนั้น
4.3 การยกเว้นไม่ ต้องนาเงิ นปั น ผลจากกิ จ การที่ ไ ด้ รั บ การ ส่ ง เสริ ม ซึ่ งได้รั บ การยกเว้น ภาษี เ งิ นได้นิ ติ บุ ค คลตามข้อ
จะต้องนาเข้ามาก่อนวันที่ 26 กรกฎาคม 2556
จะต้องนาเข้ามาก่อนวันที่ 7 กรกฎาคม 2559
รวมกันไม่เกินร้อยละ 100 ของ รวมกันไม่เกินร้อยละ 100 ของ เงินลงทุนไม่รวมค่าที่ดินและ เงินลงทุนไม่รวมค่าที่ดินและทุน ทุนหมุนเวียนมีกาหนดเวลา 8 หมุนเวียนมีกาหนดเวลา 8 ปี ปี และยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล และยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ในอัตราร้อยละ 50 ของอัตรา ในอัตราร้อยละ 50 ของอัตรา ปกติมีกาหนดเวลา 5 ปี นับจาก ปกติมีกาหนดเวลา 5 ปี นับจาก วันที่พน้ กาหนดตามวรรคแรก วันที่พน้ กาหนดตามวรรคแรก 8 ปี
8 ปี
21
เจ้าของบัตรส่ งเสริ ม
บริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติง้ จากัด (มหาชน)
บริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติง้ จากัด (มหาชน)
10 ปี
10 ปี
4.2 ไปรวมคานวณเพื่อเสี ย ภาษีเงินได้ 4.4 การอนุ ญ าตให้ หั ก ค่ า ขนส่ ง ค่าไฟฟ้ า และค่าประปา สอง เท่าของค่าใช้จ่าย นับแต่วนั ที่ เริ่ มมี รายได้จากการประกอบ กิจการ
4.2 การตลาดและการแข่ งขัน บริ ษทั ดาเนิ นธุ รกิ จผลิ ตชิ้ นส่ วนอลู มิเนี ยมฉี ดขึ้ นรู ปและชิ้ นส่ วนสังกะสี ฉีดขึ้ นรู ปให้แก่ลูกค้าใน หลายกลุ่ ม อุ ต สาหกรรม ซึ่ งมี ก ลุ่ ม อุ ต สาหกรรมหลัก ได้ แ ก่ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ อุ ต สาหกรรม เครื่ องใช้ไฟฟ้ า และอุตสาหกรรมชิ้ นส่ วนเครื่ องจักรทางการเกษตร มีการจาหน่ายสิ นค้าส่ วนใหญ่โดยการ ขายตรงให้กบั ผูผ้ ลิตชิ้นส่ วนลาดับที่ 1 ซึ่ งมีการดาเนินงานในประเทศไทยเป็ นหลักผ่านทีมงานการตลาดและ การขายของบริ ษ ทั ซึ่ งประกอบด้วยที มงานทั้งชาวไทยและชาวต่ างชาติ ที่มี ประสบการณ์ ในการทางาน มากกว่า 30 ปี โดยมีการแบ่งการดูแลรับผิดชอบเป็ นที มงานในการหาลู กค้าใหม่และทีมงานที่ รับผิดชอบ ลูกค้าปั จจุบนั ของบริ ษทั ซึ่ งทีมงานจะทาการติดต่อโดยตรงกับลูกค้าอย่างใกล้ชิด โดยศึกษาความต้องการ ของลูกค้า และอาจมีการร่ วมดัดแปลงแบบของชิ้ นงานตามการอนุ มตั ิของลูกค้าหากมีความจาเป็ น เพื่อเพิ่ม ประสิ ทธิภาพและความเป็ นไปได้ในการผลิต โดยยังรักษาคุณสมบัติของชิ้นงานและประโยชน์การใช้งานไว้ ตามวัตถุประสงค์ของลูกค้า นอกจากนี้ยงั มีช่องทางในการจาหน่ายอื่นๆ เช่น 1) บริ ษทั มีการประชาสัมพันธ์ผลิ ตภัณฑ์ของบริ ษทั ผ่านสื่ อโฆษณาต่างๆ อาทิ สมุ ดหน้าเหลื อง หนัง สื อ รวบรวมรายชื่ อผูป้ ระกอบการ (Directory) และวารสารต่ า งๆที่ เกี่ ย วข้องกับ วงการ อุ ตสาหกรรมและชิ้ นส่ วนที่ บ ริ ษ ทั ผลิ ต เช่ น ท าเนี ยบอุ ตสาหกรรมยานยนต์ไทย เป็ นต้น นอกจากนี้ บริ ษทั ได้จดั ทาเว็บไซต์ www.sankothai.net เพื่อเป็ นการเพิ่มช่ องทางการสื่ อสาร ให้กบั ลูกค้าของบริ ษทั และเป็ นการประชาสัมพันธ์บริ ษทั อีกช่องทางหนึ่งด้วย 2) บริ ษทั ได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิ กของสมาคมผูผ้ ลิ ตชิ้ นส่ วนยานยนต์ไทย สถาบันยานยนต์ และ สมาคมต่างๆที่เกี่ ยวข้องกับอุตสาหกรรมยานยนต์ เพื่อให้มีโอกาสทาความรู ้ จกั กับกลุ่มลูกค้า เป้ าหมายมากขึ้น 22
4.2.1. กลยุทธ์ การแข่ งขัน บริ ษทั กาหนดกลยุทธ์ทางการแข่งขัน โดยมุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจในคุณภาพสิ นค้าและการ บริ การแก่ลูกค้าเพื่อสร้ างความสัมพันธ์ที่ดีและก่อให้เกิดการดาเนิ นธุ รกิจร่ วมกันอย่างต่อเนื่ องในระยะยาว ซึ่ งสามารถสรุ ปกลยุทธ์ในการแข่งขันของบริ ษทั ได้ดงั นี้ 1. การรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ สิ นค้าของบริ ษทั เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ตอ้ งมีความละเอียดและแม่นยาในการผลิต เนื่ องจากเป็ นชิ้นส่ วนที่ นาไปใช้ในการประกอบกับชิ้นส่ วนอื่นๆ ดังนั้น บริ ษทั จึงมีนโยบายที่มุ่งเน้นและให้ความสาคัญกับคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์ โดยบริ ษทั มีระบบการควบคุมคุณภาพ (Quality Control: QC) ที่ได้มาตรฐานระดับสากล ISO9001:2008 และ ISO/TS 16949:2009 ซึ่ ง บริ ษทั ได้มีก ารควบคุ ม คุ ณภาพผลิ ตภัณฑ์ต้ งั แต่ การคัดสรร วัตถุ ดิบที่มีคุณภาพ และมีการตรวจสอบคุ ณภาพของผลิตภัณฑ์ในทุกๆขั้นตอนอย่างเข้มงวด ด้วยเครื่ องมือ และอุปกรณ์ตรวจสอบที่มีความแม่นยา รวมทั้ง มีการฝึ กอบรมบุคลากรอย่างสม่ าเสมอเพื่อเป็ นการพัฒนา ความรู้และสร้างมาตรฐานในการปฏิ บตั ิงานทาให้บริ ษทั ได้รับความไว้วางใจจากลูกค้าในการสั่งซื้ อสิ นค้า จากบริ ษทั อย่างต่อเนื่อง 2. การจัดส่ งผลิตภัณฑ์ตรงต่อเวลา เนื่ องจากสิ นค้าที่บริ ษทั ผลิ ตเป็ นชิ้ นส่ วนที่นาไปใช้ประกอบกับชิ้นส่ วนอื่นๆ ดังนั้น บริ ษทั จึงเน้น การจัดส่ งสิ นค้าให้ถูกต้องและตรงต่อเวลา (Just in Time) เพื่อมิให้เกิดผลกระทบต่อขั้นตอนการประกอบ ชิ้ นส่ วนอื่ นๆของลู กค้า บริ ษ ทั มี นโยบายการจัดส่ ง ผลิ ตภัณฑ์ถึ ง ลู ก ค้า ในเวลาที่ ก าหนด ซึ่ ง บริ ษทั มี ก าร ควบคุมตั้งแต่การวางแผนการผลิต การจัดซื้ อวัตถุดิบ การตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ ขั้นตอนการผลิ ต และ การจัดส่ งสิ นค้าให้กบั ลูกค้า บริ ษทั จึงสามารถจัดส่ งผลิตภัณฑ์ให้ลูกค้าได้ตรงต่อเวลา 3. ความยืดหยุน่ ในการวางแผนการผลิต เนื่ อ งจากบริ ษ ัท เน้ น ในด้า นความยื ด หยุ่น ในการผลิ ต โดยออกแบบสายการผลิ ต ให้ ส ามารถ ปรับเปลี่ยนชิ้นงานที่ผลิตได้ค่อนข้างรวดเร็ ว และไม่ยงุ่ ยาก ทาให้บริ ษทั สามารถผลิตชิ้นงานได้หลากหลาย และสามารถรองรั บ ได้หลากหลายอุ ตสาหกรรม โดยปั จจุ บนั บริ ษทั มี เครื่ องฉี ด (Diecasting Machine) ทั้งหมด 16 เครื่ อง 4. การสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ลูกค้า บริ ษทั มุ่งเน้นในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกบั ลูกค้าโดยการจัดเจ้าหน้าที่การตลาดและการขายให้ รับผิดชอบดูแลลูกค้าและผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้างความมัน่ ใจให้กบั ลูกค้าว่าจะได้รับบริ การที่ดีมีคุณภาพตามที่ ลูกค้าต้องการ นอกจากนี้ บริ ษทั ยังมีนโยบายการสารวจความพึงพอใจของลูกค้าอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง เพื่อ นามาพิจารณาปรับปรุ งคุณภาพของผลิตภัณฑ์และการให้บริ การกับลูกค้าต่อไป
23
5. การเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกของสมาคมและองค์กรต่างๆ เพื่อขยายฐานลูกค้า ปัจจุบนั บริ ษทั ได้เข้าเป็ นสมาชิกของสมาคมและองค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้องกับวงการอุตสาหกรรมและ ชิ้นส่ วนที่ผลิต ที่เป็ นกลุ่มลูกค้าโดยตรงของบริ ษทั เช่น สมาคมผูผ้ ลิตชิ้นส่ วนยานยนต์ไทย สถาบันยานยนต์ เป็ นต้น ทาให้บริ ษทั สามารถรับรู ้ ข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจในอุตสาหกรรมนั้นๆ และสามารถขยายฐาน ลูกค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมดังกล่าวได้ 4.2.2 อุตสาหกรรมยานยนต์ และชิ้นส่ วนยานยนต์ อุตสาหกรรมยานยนต์ และชิ้นส่ วนยานยนต์ แนวโน้ม การแข่ งขันทางเทคโนโลยีของอุ ตสาหกรรมยานยนต์ในตลาดโลกได้มาถึ งจุ ดเปลี่ ย น ภายใต้กระแสอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม การประหยัดพลังงาน และการลดภาวะโลกร้ อน โดยที่ตลาดยานยนต์ โลก ได้เปลี่ยนแปลงไปสู่ รถยนต์ที่มีขนาดเล็กลง ทาให้ตอ้ งมองหาฐานการผลิตที่ใช้ตน้ ทุนต่า อุ ตสาหกรรมยานยนต์เป็ นอุ ตสาหกรรมที่ ค่ อนข้า งโดยเด่ น เป็ นอย่า งมากในภู มิ ภาคเอเชี ย และ อาเซี ยน เนื่ องจากมีปริ มาณการผลิ ตรถยนต์ที่มากกว่าครึ่ งหนึ่ งของปริ มาณการผลิ ตทัว่ โลก ซึ่ งในส่ วนนี้ มี ประเทศสมาชิกอาเซี ยนที่เป็ นประเทศผูผ้ ลิตยานยนต์ ประกอบด้วย 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนี เซี ย มาเลเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์ ไทย และเวียดนาม โดยประเทศสมาชิกอาเซียน มีลกั ษณะการผลิตยานยนต์ และตลาดในประเทศ ที่แตกต่างกัน ซึ่ งสามารถจัดกลุ่มได้เป็ น 2 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มประเทศที่เป็ นฐานการผลิต
กลุ่มประเทศที่ไม่ได้เป็ นฐานการผลิต
ประเทศสมาชิ กอาเซี ยนมีอตั ราการเติบโตของปริ มาณการผลิตเฉลี่ย (Compound Annual growth Rate: CAGR) เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ องมาโดยตลอด ด้วยประเทศสมาชิ กอาเซี ยนมีพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจที่ไม่ ซับซ้อน จึ งมี ความยึดหยุ่นในการปรั บตัวสู ง ผสมผสานกับการดาเนิ นนโยบายการเงิ นและการคลังเพื่ อ กระตุ น้ เศรษฐกิ จ ทาให้สามารถพลิ กพื้นกลับสู่ ระดับ ปกติ ได้เร็ ว จากข้อมูล ณ เดื อนเมษายน พ.ศ. 2556 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ปรับประมาณการเศรษฐกิจโลกปี 2556 ขยายตัวร้อยละ 3.3 ในขณะที่ เศรษฐกิจของเอเชีย สู งกว่าร้อยละ 7 และกลุ่มอาเซี ยนที่ประเมินว่าจะขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 5.3 หากพิจารณา เศรษฐกิจในช่วงปี 2556 – 2560 เศรษฐกิจอาเซี ยนมีอตั ราการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 5.8 ต่อปี โดยกลุ่มอาเซี ยน เดิม 6 ประเทศ [ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ และบรู ไน] ขยายตัวที่ร้อยละ 4 – 6 ต่อปี ส่ วน กลุ่มอาเซี ยนใหม่ (CLMV) [กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม] มีแนวโน้มขยายตัวในอัตราเร่ งมากกว่าที่ร้อย ละ 5 - 6 ต่อปี ซึ่ งเป็ นผลจากการก้าวสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (AEC) ที่กาลังเกิดขึ้นในปลายปี 2558 ที่
24
เอื้อให้การค้า การลงทุนของกลุ่มขยายตัวมากขึ้น และต่อยอดไปถึงการเป็ นที่น่าสนใจของประเทศต่างๆ ซึ่ ง ต้องการเข้ามาร่ วมมือทางการค้าและเศรษฐกิจมากยิง่ ขึ้น ปั จจุบนั อุตสาหกรรมชิ้นส่ วนยานยนต์ในประเทศไทยสร้างงานให้กบั แรงงานจานวนกว่า 100,000 คน มีผผู้ ลิต 2,289 ราย ซึ่ งส่ วนมากผูผ้ ลิ ตดังกล่าวจะกระจุ กตัวอยู่ในเขตอุ ตสาหกรรมในกรุ งเทพฯ และ จังหวัดใกล้เคียง เช่ น สมุทรปราการ ซึ่ งพบว่ามีจานวนของผูผ้ ลิตชิ้ นส่ วนประกอบตั้งโรงงานอยู่มากที่สุด รองลงมาคือ จังหวัดระยองและจังหวัดอื่นๆ เช่ น ฉะเชิ งเทรา ชลบุรี เป็ นต้น โดยโรงงานดังกล่าวมักตั้งอยู่ ใกล้กบั โรงงานผลิตยานยนต์ โดยทัว่ ไปผูผ้ ลิตชิ้นส่ วนยานยนต์ จะมีตลาดในการจัดจาหน่ายชิ้นส่ วนอยู่ 2 ตลาดหลัก ได้แก่ 1. ตลาดชิ้นส่ วนเพื่อนาไปใช้ประกอบยานยนต์ (Original Equipment Market: OEM) โดยผูผ้ ลิตต้อง ผลิตชิ้นส่ วนยานยนต์ป้อนให้กบั รถยนต์และจักรยานยนต์รุ่นใหม่ๆ สาหรับค่ายยานยนต์ที่เข้ามาตั้งฐานการ ผลิตในไทยเพื่อประกอบยานยนต์ส่งออกและจาหน่ายในประเทศ ทั้งนี้ ความต้องการใช้ชิ้นส่ วนยานยนต์ใน กลุ่มนี้ข้ ึนอยูก่ บั ปริ มาณการผลิตรถยนต์และรถจักรยานยนต์ 2. ตลาดชิ้นส่ วนทดแทน หรื ออะไหล่ทดแทน (Replacement Equipment Market : REM) เป็ นตลาด ชิ้นส่ วนอะไหล่เพื่อการทดแทนชิ้นส่ วนเดิมที่เสี ย หรื อสึ กหรอตามสภาพการใช้งาน ซึ่ งชิ้นส่ วนแต่ละชิ้นจะ มีอายุการใช้งานที่แตกต่างกัน ผูผ้ ลิตที่ทาการผลิตเพื่อป้ อนให้กบั ตลาดทดแทนนี้มีท้ งั ผูป้ ระกอบการขนาด ใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก จึงทาให้ชิ้นส่ วนที่ผลิตได้น้ นั มีคุณภาพที่หลากหลายทั้งอะไหล่แท้ อะไหล่ ปลอม และอะไหล่เทียม ซึ่ งจะทาการจัดจาหน่ายให้กบั ศูนย์บริ การอะไหล่ของค่ายยานยนต์ต่างๆ โดยปกติ ศูนย์บริ การจะมีการจัดเก็บสต็อกอะไหล่ทดแทนไม่มากนัก จะเน้นเก็บเฉพาะอะไหล่ที่ใช้ในการซ่อมยาน ยนต์บ่อยครั้งเท่านั้น สั ดส่ วนโครงสร้ างห่ วงโซ่ อุปทานของอุตสาหกรรมยานยนต์ และชิ้นส่ วนไทย
25
โครงสร้างภาพรวมของอุตสาหกรรมยานยนต์ แบ่งออกเป็ นผูป้ ระกอบรถยนต์และผูผ้ ลิตชิ้นส่ วน โดยผูป้ ระกอบยานยนต์จะทาการว่าจ้างผูป้ ระกอบชิ้นส่ วนลาดับที่ 1 ในการผลิตชิ้นส่ วนรถยนต์และ รถจักรยานยนต์ที่ใช้ในการประกอบ โดยบริ ษทั ผูผ้ ลิตชิ้นส่ วนลาดับที่ 1 ดังกล่าวจะผลิตชิ้นส่ วนบางอย่างเอง และบางชิ้นส่ วนจะว่าจ้างผูผ้ ลิตชิ้นส่ วนลาดับที่ 2 ผลิตชิ้นส่ วนย่อยหรื อจัดหาวัตถุดิบในการผลิต โดย อุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทยประกอบด้วยกลุ่มผูป้ ระกอบรถยนต์และรถจักรยานยนต์จานวน 23 บริ ษทั ผูผ้ ลิตชิ้นส่ วนลาดับที่ 1 (First-Tier) จานวน 648 บริ ษทั และผูผ้ ลิตชิ้นส่ วนลาดับที่ 2 และ 3 (SecondTier and Third-Tier) จานวน 1,641 บริ ษทั โดยมีบริ ษทั ที่ผลิตชิ้นส่ วนโดยการฉี ดขึ้นรู ปด้วยแม่พิมพ์ฉีดหล่อ ความดันสู ง (High-Pressure Diecasting หรื อ “HPDC”) หลายราย และบริ ษทั เป็ นบริ ษทั ขนาดเล็กถึงกลางใน กลุ่มผูผ้ ลิตดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ถือได้วา่ มีความได้เปรี ยบในการแข่งขัน เนื่ องจากบริ ษทั มี ผูเ้ ชี่ยวชาญที่มีความรู ้และทักษะในการออกแบบแม่พิมพ์ ซึ่ งถือได้วา่ มีจานวนไม่มากในประเทศไทย ในปี 2557 ยอดการผลิตรวมของภูมิภาคอาเซี ยนลดลงประมาณ ร้อยละ 25 มียอดการผลิตไม่ถึง 4 ล้านคัน จากเดิมที่ประมาณการณ์ไว้วา่ อาเซี ยนจะมียอดผลิตรวมสู งกว่า 4 ล้านคัน โดยในจานวนนี้ เป็ นการ ผลิตจากไทยประมาณ 1.8 ล้านคัน มีสัดส่ วนกว่า ร้อยละ 50 ของการผลิตในอาเซี ยนทั้งหมด รองลงมาเป็ น ประเทศอินโดนีเซีย มียอดผลิต 1.2 ล้านคัน และมาเลเซียประมาณ 5 แสนคัน โดยปัจจัยหลักที่ฉุดภาพรวม ของภูมิภาคมาจากอุตสาหกรรมยานยนต์ ไทยในปี ที่ผา่ นมาค่อนข้างซบเซา จากสถานการณ์เศรษฐกิจที่อยูใ่ น ระดับต่า ปริมาณการผลิตรถยนต์ ของประเทศอาเซียนในปี 2556 เทียบกับปี 2557
ที่มา: OICA correspondents survey
26
ปี 2557 ยอดผลิตรถยนต์หลุดเป้ าหมายไปถึง 5 แสนคัน จากต้นปี ผูผ้ ลิตรถยนต์ต่างมัน่ ใจยื่นตัวเลข ประมาณการผลิตทั้งปี รวม 2.4 ล้านคัน เพราะคาดว่าจะคึกคักต่อเนื่ องจากปี 2556 ที่ยอดผลิตถล่มทลายสู ง ถึ ง 2.45 ล้า นคัน สู ง สุ ด ตั้ง แต่ ผ ลิ ต มา หรื อ ในรอบ 52 ปี และส่ ง ผลให้ ไ ทยกลายเป็ นผู ้ผ ลิ ต รถยนต์ติ ด อันดับ 9 ของโลก แต่ปี 2557 ยอดผลิตสรุ ปรวมกลับลดเหลือ 1.8 ล้านคัน การเมืองตะวันออกกลางและโรค ระบาดถือเป็ นปั จจัยหลักที่ทาให้ยอดขายรถยนต์พลาดเป้ าหมายอย่างมาก ส่ วนแรก กาลังซื้ อภายในประเทศ ที่ได้กาหนดไว้วา่ น่าจะขายได้ 1.2 ล้านคัน เมื่อต้องเผชิญปั ญหาสะสมและผลกระทบจากปั ญหาการเมืองที่คุ กรุ่ นตั้ง แต่ ป ลายปี 2556 ต่ อเนื่ องถึ ง กลางปี 2557 จนเกิ ดการรั ฐประหารและมี รัฐบาลภายใต้ก ารบริ หาร นายกรัฐมนตรี คือ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์ โอชา ซึ่ งผลจากปั จจัยการเมืองทาให้เศรษฐกิจไทยตกต่า ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประเทศ (จีดีพี) ปี 2557 อยูร่ ะดับ 1% จนไตรมาสสุ ดท้ายจีดีพีขยับเป็ น 3% แต่ก็ไม่เพียงพอจะกอบ กูย้ อดผลิ ตรถยนต์ให้กลับมาเพิ่มจานวนมากขึ้นได้ เพราะยอดขายเหลื อเพียงประมาณ 8.8 แสนคัน พบว่า ประเภทรถยนต์ที่ยอดขายลดลงมากที่สุดคือ รถกระบะขนาด 1 ตัน เพราะกลุ่มลูกค้าหลักคื อ เกษตรกร ที่ ราคาผลผลิ ตสิ นค้าเกษตรตกต่ า อาทิ ข้าว ยางพารา อ้อย รองลงมาคือ รถยนต์นั่งขนาดเล็ก เครื่ องยนต์ต่ า กว่า 1,800 ซี ซี รวมรถยนต์ป ระหยัดพลัง งานมาตรฐานสากล หรื อ อี โคคาร์ ด้วยที่ประชาชนชะลอการ ตัดสิ นใจซื้ อ และได้รับผลกระทบจากปี 2556 มี นโยบายรถคันแรก ทาให้ความต้องการของประชาชนถูกใช้ ไปค่อนข้างมาก นอกจากนี้ กลุ่มรถบรรทุกขนาดใหญ่ก็ได้รับผล กระทบเช่นกัน เพราะรัฐบาลชุ ดที่ผา่ นมามี โครงการลงทุนโครงสร้ างพื้นฐานทาให้รถบรรทุ กขนาดใหญ่มียอดขายเติ บโตขึ้นมาก แต่เมื่ อการเมืองมี ปั ญหาทาให้กลุ่มนี้เกิดยอดขายติดลบถึงช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน เมื่อมาดูยอดส่ งออกของปี 2557 เดิมอุตสาหกรรมยานยนต์ตอ้ งการไว้ที่ 1.2 ล้านคัน เท่ากับยอดขาย ในประเทศ แต่เพราะเศรษฐกิ จโลกที่ยงั ไม่ฟ้ื นตัว บวกกับเกิ ดปั ญหาความขัดแย้งในตะวันออกกลาง และ ปั ญหาโรคระบาด (อีโบลา) ในแอฟริ กาใต้ ซึ่ งตลาดเหล่านี้ คือผูน้ าเข้ารถกระบะรายใหญ่ของประเทศไทย ชะลอการนาเข้า จึงกระทบต่อตัวเลขส่ งออกช่ วงครึ่ งปี หลังหายไปไม่นอ้ ย จนเหลื อประมาณ 1.13 ล้านคัน เ ท่ า นั้ น เ มื่ อ ร ว ม กั น ทั้ ง ต ล า ด ใ น ต ล า ด น อ ก ย อ ด ผ ลิ ต ร ถ ย น ต์ ปี 2557 ปิ ด ย อ ด ที่ 1.9 ล้ า น คั น สาหรับปี 2558 สภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ประกาศตั้งเป้ าหมายผลิ ตรถยนต์ไว้ ที่ 2.2 ล้านคัน แบ่งเป็ นการผลิ ตเพื่อส่ งออก 1.2 ล้านคัน และขายในประเทศ 1 ล้านคัน เนื่ องจากเชื่ อว่าการ ส่ งออกจะได้รับปั จจัยสนับสนุ น ทั้งเศรษฐกิ จโลกฟื้ นตัว จากเศรษฐกิ จทั้งสหภาพยุโรป (อียู) ญี่ปุ่น จีน มี แนวโน้มปรับตัวดีข้ ึน ขณะที่ยอดขายในประเทศจะได้รับอานิ สงส์ จากเศรษฐกิจในประเทศที่น่าจะกลับมาดี ขึ้น ตั้งแต่ไตรมาสแรกของปี ตามการคาดการณ์ของรัฐบาล โดยรถยนต์ที่จะเข้ามาสร้างสี สันให้อุตสาหกรรม คือ อีโคคาร์ 2 ที่ผผู้ ลิตรถยนต์ถึง 10 ค่ายประกาศลงทุน และน่าจะมีผผู ้ ลิตมากกว่าครึ่ งเริ่ มลงทุนผลิตจริ งเพื่อ ชิงตลาดชิงความได้เปรี ยบ เพราะหากย้อนกลับไปดูการขายของอีโคคาร์ รุ่น 1 ที่มีผผู้ ลิตลงทุน 5 ราย คือ นิส สัน มิตซูบิชิ ซูซูกิ ฮอนด้า และโตโยต้านั้น พบว่านิ สสันซึ่ งลุยเปิ ดตัว "นิสสันมาร์ ช" เป็ นรายแรกปี 2553 ได้ สร้างความแปลกใหม่ให้กบั ตลาดด้วยราคาเริ่ มต้น 3.75 แสนบาท ทายอดขายถล่มทลาย จนค่ายที่เหลือต้อง 27
ทยอยเปิ ดตัว ทาให้ตลาดรถเก๋ งเติบโตจนถึงปั จจุบนั และจากปรากฏการณ์ดงั กล่าวที่ทาให้เทรนด์รถเก๋ งเล็ก คือ อนาคตของรถยนต์ในประเทศไทยและทัว่ โลก รัฐบาลโดยกระทรวงอุตสาหกรรม จึงเริ่ มทาการศึกษา และเปิ ดนโยบายผลิ ตรถยนต์อีโคคาร์ 2 เพื่ อขยายตลาดของรถยนต์ดงั กล่ าวอย่างจริ งจัง โดยส านัก งาน คณะกรรมการส่ ง เสริ มการลงทุ น (บี โอไอ) ก าหนดกรอบการลงทุ นของค่า ยรถยนต์ที่ สนใจลงทุ นอี โค คาร์ 2 ว่าต้องเป็ นการลงทุนผลิตแบบครบวงจร ทั้งการประกอบรถยนต์และการผลิตชิ้นส่ วนและเครื่ องยนต์ โดยจะต้องมีกาลังการผลิตไม่นอ้ ยกว่า 1 แสนคันต่อปี นับตั้งแต่การผลิตปี ที่ 4 เป็ นต้นไป ส่ วนเครื่ องยนต์ที่ ใช้ตอ้ งเป็ นไปตามมาตรฐานยูโร 5 ที่ มีมาตรฐานในการปล่ อยคาร์ บอนไดออกไซด์น้อยกว่า 100 กรั มต่ อ กิโลเมตร และสามารถประหยัดพลังงานได้ที่ 4.3 ลิตร ต่อระยะทาง 100 กิ โลเมตร ขนาดเครื่ องยนต์เบนซิ น ต้องไม่เกิน 1,300 ซี ซี ส่ วนเครื่ องยนต์ดีเซลต้องไม่เกิ นขนาด 1,500 ซี ซี และผลจากการลงทุนดังกล่าวจะทา ให้ไทยประสบความสาเร็ จ 3 ด้าน คือ 1.เกิดการลงทุนคลัสเตอร์ ยานยนต์ขนาดใหญ่ เกิดการต่อยอดช่วยให้ ประเทศไทยเป็ นฐานการผลิตและส่ งออกรถยนต์อย่างยัน่ ยืน 2.ให้ประชาชนเข้าถึงรถยนต์ที่มีมาตรฐานสู ง ทั้งด้านความปลอดภัยและการประหยัดพลังงาน และมีราคาเหมาะสมไม่สูงเกิ นไป 3.ให้อีโคคาร์ 2 มีส่วน ช่ วยรองรับการขยายตัวของสังคมเมือง และช่ วยลดผลกระทบจากการใช้รถยนต์ ทั้งลดปริ มาณการปล่อย ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์และช่วยลดความสู ญเสี ยจากอุบตั ิเหตุ ขณะที่อตั ราภาษีของอีโคคาร์ 2 นั้นกาหนดไว้ 12% มีผลปี 2559 ตามโครงสร้างภาษีรถยนต์ใหม่แต่ หากผลิตเร็ วกว่าปี ดังกล่าวจะเสี ยภาษีอตั รา 17% เท่ากับอีโคคาร์ 1 ลุน้ อีโคคาร์ 2อัดอีก1.38แสนล้านบาท ภายหลังจากบีโอไอประกาศเกณฑ์และกาหนดค่ายรถยนต์ยื่น ขอส่ งเสริ มการลงทุ น ช่ ว งต้ น ปี นั้ นพบว่ า มี บ ริ ษั ท ยื่ น ขอรั บ ส่ งเสริ มทั้ ง สิ้ น 10 รายรวมมู ล ค่ า เงิ น ลงทุน 138,889 ล้านบาทรวมกาลังการผลิ ต 1,581,000 คันโดยผูผ้ ลิ ตรถยนต์ท้ งั 10 รายที่ ยื่นขอรั บส่ งเสริ ม ลงทุนโครงการอีโคคาร์ 2 โดยผลจากการลงทุนโครงการอีโคคาร์ 2 ทาให้บีโอไอมัน่ ใจว่าจะมีส่วนช่ วยผลักดันให้ประเทศ ไทยผลิตรถยนต์ได้ตามเป้ าหมาย 3 ล้านคัน ภายในปี 2560 ส่ วนปี 2558 คาดว่ายอดการผลิตรถยนต์จะปรับตัวดีข้ ึน โดยจะมียอดรวมมากกว่า 4 ล้านคัน หรื อโต ประมาณ 5-7%จากเดิมปี 2557 อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยซบเซาพอสมควร ทาให้ฉุดยอดการผลิตรวมของ ภูมิภาคอาเซียนลดลงถึง 25% คือมียอดการผลิตไม่ถึง 4 ล้านคัน อุตสาหกรรมเครื่องใช้ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิ กส์ ภาวะการผลิตภาพรวม ปี 2557 คาดว่าการผลิ ตจะปรับตัว เพิ่มขึ้น ร้อยละ 1-2 โดยมาจากการขยายตัวในกลุ่มเครื่ องปรับอากาศที่จะส่ งออกไปตลาดหลักได้เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในตลาดอาเซี ยน สาหรับกลุ่มอิเล็กทรอนิ กส์ มาจากชิ้ นส่ วนอิเล็กทรอนิ กส์ เช่ น Semiconductor และ IC จะเพิ่มขึ้นจาก ความต้องการนาไปใช้ในอุปกรณ์สื่อสาร (Communications system) เช่น Smart 28
Phone Tablet Bluetooth หน้าจอ Touch screen วีดีโอเกมส์ (เช่ น Sony PS4 Microsoft Xbox) และกลุ่ ม ผลิ ต ภัณ ฑ์ อิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ส่ ว นบุ ค คล (Consumer electronics) รวมถึ ง การเพิ่ ม สั ด ส่ ว นการใช้ชิ้ นส่ ว น อิเล็กทรอนิ กส์ ในอุตสาหกรรมยานยนต์มากขึ้น ส่ วน HDD ในปี 2557 คาดว่าจะอยูใ่ นภาวะทรงตัวเมื่อ เที ยบกับปี ก่ อน ด้านแนวโน้มปี 2558 คาดว่าการผลิ ตจะปรับตัวเพิ่มขึ้ นร้ อยละ 2-4 เนื่ องจากมีปัจจัยบวก ทางด้านนโยบายกระตุน้ เศรษฐกิ จที่ออกมาอย่างต่อเนื่ อง การขยายตัวของตลาดทีวีดิจิตอล ซึ่ งจะส่ งผลให้ กาลัง-ซื้ อของผูบ้ ริ โภคในประเทศฟื้ นตัวได้ในปี 2558 นอกจากนี้ การส่ งออกเครื่ องใช้ไฟฟ้ าไปอาเซี ยน ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิ จในอาเซี ยน และผูบ้ ริ โภคในประเทศอาเซี ยน เชื่ อมัน่ คุณภาพ สิ นค้าไทยเมื่อเทียบกับประเทศอื่น อุตสาหกรรมชิ้นส่ วนเครื่องจักรกลเกษตร ประเทศไทยมีขนาดของตลาด (Market size) รถแทรกเตอร์การเกษตรปี ละประมาณ 70,000 คัน โดย มีการประกอบรถในประเทศ 60,000 คัน นาเข้า 16,917 คัน ส่ งออก 7,891 คัน โดยปั จจุบนั มีผผู้ ลิตหลักใน ประเทศเพียง 2 ราย ที่เหลือเป็ นรายเล็กที่นาเข้าชิ้นส่ วนสาเร็ จมาประกอบในประเทศ ผูผ้ ลิตภายในประเทศมี สัดส่ วนการตลาดประมาณ ร้อยละ 70 ของปริ มาณการขายและที่เหลือตลาดเป็ นของผูน้ าเข้า (รวมการนาเข้า รถใหม่และรถมือสอง) และหากประเมินโครงสร้างตลาดจาแนกตามภาค พบว่า ภาคอีสานเป็ นตลาดที่ใหญ่ ที่ สุ ด คิ ด เป็ นสั ด ส่ วนตลาดประมาณ ร้ อยละ 60 ของการขายรถแทรกเตอร์ ท้ งั หมด (ที่ ม า : ส านัก งาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรม) เนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านของไทยเป็ นประเทศ กาลังพัฒนาทาให้มีความต้องการใช้เครื่ องจักรกล เป็ นจานวนมาก และเป็ นเครื่ องจักรกลเกือบทุกประเภท ทั้งเครื่ องจักรกลในภาคการเกษตร ซึ่ งกิจกรรมทาง เศรษฐกิ จส่ วนใหญ่ ย งั มาจากภาคเกษตร ยกตัวอย่า งเช่ น เมี ย นมาร์ เครื่ องจัก รกลการเกษตรมี แนวโน้ม ขยายตัวอย่างต่อเนื่องตามโครงสร้างทางเศรษฐกิจของเมียนมาร์ ที่ ภาคเกษตรกรรมมีบทบาทสู งถึงร้อยละ 44 ของ GDP และรัฐบาลยังให้การสนับสนุนการพัฒนาภาคเกษตรกรรม เพื่อให้เมียนมาร์ มีศกั ยภาพในการผลิต และส่ งออกในตลาดโลก โดยเฉพาะข้าว ซึ่ งเป็ นพืชเกษตรสาคัญที่เมียนมาร์ ตั้งเป้ าส่ งออกเป็ น 2 ล้านตันใน ปี 2556 จึงเป็ นโอกาสสาหรับการส่ งออกสิ นค้าเครื่ องจักรกลทางการเกษตรของไทย ไปเมียนมาร์ อาทิรถไถ นาเดิ นตาม รถแทรกเตอร์ เครื่ องพ่นยาฆ่าแมลง เครื่ องสู บน้าํ และเครื่ องสี ขา้ วขนาดเล็ก เป็ นต้น โดยสิ นค้า ไทยในกลุ่ ม นี้ นับ ว่า ได้เปรี ย บจี นพอสมควรในด้า นคุ ณภาพและอายุก ารใช้ง านที่ ย าวนานกว่า ตลอดจน สามารถถอดและประกอบเพื่ อซ่ อมบ ารุ ง เองได้ง่ า ยแม้จะเสี ย เปรี ย บด้า นราคาต่ อจี นก็ ตาม ขณะที่ ความ ต้องการเครื่ องจักรกลในภาคอุตสาหกรรมก็มีเพิ่มขึ้นจากการขยายการลงทุนของประเทศในสมาชิ กอาเซี ยน และ ประเทศที่ไม่ใช่สมาชิกอาเซี ยนที่ตอ้ งการเข้ามาขยายฐานการลงทุนในอาเซี ยน
29
4.2.3 แนวโน้ มเศรษฐกิจในปี 2558 จากข้อมูลของสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม ภาพรวม อุตสาหกรรมไทย ปี 2558 คาดว่าจะ มีการขยายตัวที่ดีข้ ึน จากแนวโน้มการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจและปริ มาณ การค้าโลกในปี 2558 การฟื้ นตัวของการลงทุน การปรับฐานสู่ ภาวะปกติของอุตสาหกรรมรถยนต์ปี 2557 และการลดลงของราคาน้ ามันในตลาดโลกซึ่ งทาให้คาดการณ์ในปี 2558 GDP อุตสาหกรรมจะขยายตัวร้อย ละ2-3และดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ3-4 ส่ วนแนวโน้มการส่ งออกในปี 2558 ยังคงอยูใ่ นเกณฑ์ดี เพราะเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (AEC)ซึ่ งจะทาให้ประเทศอาเซี ยนใหม่ ได้แก่ เมียนมาร์ สปป.ลาว เวียดนาม และกัมพูชาจะต้องลดภาษี รถยนต์เป็ น 0% ตามกรอบ AEC ที่กาหนดไว้ ซึ่ งจะทาให้ยอดการส่ งออกผ่านชายแดนเพิ่มขึ้น รวมทั้งในปี 2559 ไทยจะเริ่ มใช้อตั ราภาษีสรรพสามิตฉบับใหม่ รวมไปถึงการมีโครงการอีโคคาร์ เฟส 2 ที่สนับสนุนการ ผลิตรถยนต์ที่ลดการปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ที่ตรงตามความต้องการของตลาดโลก ทาให้คาดการณ์ ว่ารถยนต์ของไทยจะส่ งออกได้มากขึ้นทา โดยมีการประเมินว่าในปี 2568 ไทยจะผลิตรถรถยนต์ได้ไม่ต่า กว่า 3.5 ล้านคัน โดยทางสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมมองแนวโน้มสาหรับอุตสาหกรรมรถยนต์ในปี 2558 คาด ว่าการผลิตจะขยายตัว ประมาณร้อยละ 10 หรื อคิดเป็ นปริ มาณการผลิตรถยนต์ประมาณ2,150,000คัน เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจโดยรวมในประเทศ คาดว่า จะขยายตัวร้อยละ 3.5-4.5 และตลาดส่ งออกหลักมีแนว โนมปรับตัวดีข้ ึนตามการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจโลกโดยแบ่งเป็ นการผลิตเพื่อจาหนายในประเทศ ประมาณ ร้อยละ 50-55 และการผลิตเพื่อการ ส่ งออกประมาณร้อยละ 45-50 และสาหรับอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์ของปี 2558การผลิตจะขยายตัว ประมาณร้ อยละ 10 หรื อคิด เป็ นปริ มาณการผลิตรถจักรยานยนต์ประมาณ2,000,000 คัน เนื่ องจากเศรษฐกิจในประเทศ และตลาดส่ งออก หลักมีแนวโน้มปรับตัวดีข้ ึนแบ่งเป็ นการผลิตเพื่อจาหน่ายในประเทศ ประมาณร้อยละ 85-90และการผลิต เพื่อการส่ งออกร้อยละ 10-15 4.3 การจัดหาผลิตภัณฑ์ และบริการ 4.3.1 โรงงานและสานักงาน โรงงานและสานักงานของบริ ษทั ตั้งอยูภ่ ายในเขตอุตสาหกรรมโรจนะ ตาบลหนองบัว อาเภอบ้าน ค่าย จังหวัดระยอง ณ ปี 2557 มีเนื้อที่ 14 ไร่ 149.6 ตารางวา มีอาคารทั้งหมดจานวน 8 อาคาร เป็ นอาคาร สานักงาน 2 อาคาร ประกอบด้วยอาคารสานักงานชั้นเดียว และอาคารสานักงาน 3 ชั้น พร้อมอาคารโรงงาน และคลังสิ นค้า 6 อาคาร ใน
30
4.3.2 กาลังการผลิต บริ ษทั มีกาลังการผลิตรวมในช่วงปี 2555 ถึงปี 2557 ดังนี้ หน่วย: ตัน 2555 2556 2557 กาลังการผลิต* 2,234 2,700 2,500 ปริ มาณการผลิต 1,950 1,619 1,265 อัตราการใช้กาลังการผลิต (ร้อยละ) 87 60 51 หมายเหตุ: *กาลังการผลิตของบริ ษทั คานวณโดยใช้ปริ มาณการใช้วตั ถุดิบในการผลิตของเครื่ องแต่ละ ขนาดคูณกับจานวนเครื่ องแต่ละขนาดในช่วงเวลานั้นๆ ในปี 2556 มีการลงทุนติดตั้งเครื่ องจักรในการผลิตเพิ่มขึ้น ทาให้มีกาลังการผลิตเพิ่มขึ้น แต่ปริ มาณ การผลิต ปี 2556 ลดลงจากช่วงปี 2555 เนื่ องจากการฟื้ นตัวจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยจากอุทกภัยในปี 2554 ส่ งผลทาให้อตั ราการผลิตในปี 2556 ลดลง ส่ วนปี 2557 กาลังการผลิตลดลงเนื่ องจากมีการขายเครื่ องจักรที่ เก่าชารุ ดออกไป และจากการที่ประสบปั ญหาทางเศรษฐกิจต่อเนื่องจากปี 2557 ทาให้ยอดการสัง่ ซื้ อลดลง 4.3.3 ขั้นตอนการผลิต บริ ษทั เป็ นผูร้ ับจ้างผลิตชิ้นส่ วนอลูมิเนี ยมและสังกะสี ตามคาสั่งซื้ อของลูกค้า โดยบริ ษทั จะรับแบบ หรื อตัวอย่างผลิตภัณฑ์ และปริ มาณการผลิตเพื่อตรวจสอบความสามารถในการออกแบบแม่พิมพ์และความ เป็ นไปได้ในการผลิ ตสิ นค้าตามแบบที่ กาหนด จากนั้นบริ ษทั จะวิเคราะห์ตน้ ทุนในการออกแบบแม่พิมพ์ ต้นทุนการจัดทาแม่พิมพ์ และต้นทุนการผลิ ต แล้วนาส่ งใบเสนอราคาชิ้ นงาน และ/หรื อ แม่พิมพ์ให้ลูกค้า พิจารณา โดยขึ้ นอยู่กบั ลัก ษณะการว่าจ้าง เมื่ อลู ก ค้า อนุ มตั ิ ใบเสนอราคา บริ ษทั จะนาแบบหรื อตัวอย่า ง ผลิตภัณฑ์มาออกแบบแม่พิมพ์โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อทาการคานวณและขึ้นรู ปแม่พิมพ์เป็ นภาพ 3 มิติ แล้วจึงส่ งให้บริ ษทั ผูผ้ ลิตแม่พิมพ์ทาการเสนอราคามาให้กบั บริ ษทั ภายหลังจากการคัดเลือกบริ ษทั ผูผ้ ลิต แม่พิมพ์แล้วทางบริ ษทั ผูผ้ ลิตแม่พิมพ์จะใช้ระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในการผลิตแม่พิมพ์ จากนั้นทางบริ ษทั จะมีการตรวจสอบแม่พิมพ์ร่วมกับลูกค้าโดยการทดลองฉี ดชิ้ นงานด้วยแม่พิมพ์ดงั กล่าวและนาชิ้ นส่ วนที่ ผลิตได้มาวัดขนาดด้วยเครื่ องวัด 3 แกน (CMM: Co-ordinate Measuring Machine) และนาชิ้นงานที่ผา่ นการ ตรวจสอบไปส่ งให้ลูกค้าตรวจสอบคุณภาพ และทดลองนาไปประกอบกับชิ้นงานส่ วนอื่นๆ เมื่ อชิ้ นงานดังกล่ าวผ่านการพิจารณาจากลู กค้าแล้วทางฝ่ ายขายและการตลาดจะติดต่อลู กค้าเพื่อ ขอรับใบสั่งซื้ อ และแผนการจัดส่ งสิ นค้า โดยปกติลูกค้าจะสั่งซื้ อสิ นค้าและกาหนดระยะเวลาในการจัดส่ ง สิ นค้าล่วงหน้าเป็ นระยะเวลา 1 เดือน และลูกค้าจะวางแผนการผลิตล่วงหน้า 1 ปี เพื่อให้บริ ษทั สามารถวาง 31
แผนการผลิตและสั่งซื้ อวัตถุดิบ และเตรี ยมอุปกรณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการ ของลูกค้า การผลิตชิ้นงานของบริ ษทั มีข้ นั ตอนดังต่อไปนี้
จัดเตรี ยมวัตถุดิบ
ฉี ดขึ้นรู ป
ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานขึ้นรู ป
การกลึง เจาะ และการเจียรผิวด้วย เครื่ องจักร
ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงาน
ตกแต่งชิ้นงาน
ตรวสอบคุณภาพ ชิ้นงานสาเร็ จ
บรรจุ หี บห่ อ
การคัดเลือกและจัดเตรี ยมวัตถุดิบ บริ ษทั จะทาการคัดเลือกผูจ้ าหน่ายวัตถุดิบตามมาตรฐานวัตถุดิบที่ลูกค้า ซึ่ งเมื่อบริ ษทั ได้รับวัตถุดิบ จากผูจ้ าหน่ายแล้วจะทาตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบเปรี ยบเทียบกับใบรับประกันคุณภาพวัตถุดิบที่ได้รับจากผู ้ จัดจาหน่ายวัตถุดิบ เพื่อให้มนั่ ใจว่าวัตถุดิบดังกล่าวมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการผลิตชิ้นงานดังกล่าว จากนั้น จึงนายอดสั่งซื้ อจากลูกค้าไปคานวณปริ มาณวัตถุดิบที่ตอ้ งสั่งซื้ อและวางแผนการผลิตต่อไป การฉี ดขึ้นรู ปผลิตภัณฑ์ พนักงานประจาเครื่ องฉี ดจะทาการติดตั้งแม่พิมพ์และเตรี ยมเครื่ องจักรให้พร้อมใช้งาน จากนั้นจะ นาวัตถุดิบมาเข้าเตาหลอมโดยใช้ก๊าซธรรมชาติเป็ นเชื้อเพลิงในการให้ความร้อน เพื่อหลอมให้เป็ นของเหลว ตามอุณภูมิที่กาหนด แล้วเครื่ องฉี ดจะทาการฉี ดน้ าโลหะที่หลอมเหลวแล้วเข้าไปในแม่พิมพ์ดว้ ยแรงดันสู ง แล้วทาการลดอุณหภูมิแม่พิมพ์เพื่อให้ชิ้นงานแข็งตัว เมื่อชิ้นงานเย็นตัวลงแล้วพนักงานประจาเครื่ องฉี ดจะ นาชิ้นงานออกจากแม่พิมพ์และตกแต่งชิ้นงานเบื้องต้น โดยตัดเศษครี บและทางเดินน้ าโลหะสาหรับการฉี ด ขึ้นรู ปที่เกินออกแล้วนาเศษดังกล่าวไปหลอมในเตาหลอมเพื่อนามาผลิตใหม่อีกครั้ง 32
การตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานขึ้นรู ป พนักงานควบคุมคุณภาพสิ นค้าจะทาการสุ่ มตรวจสอบขนาดและลักษณะภายนอกของชิ้ นงานให้ เป็ นไปตามที่ กาหนดโดยมีการกาหนดตาแหน่ งสาคัญที่ ตอ้ งตรวจเช็คสาหรั บแต่ละชิ้ นงานด้วยเครื่ องมื อ ต่างๆที่กาหนด โดยจะมีการสุ่ มตรวจเช็คทุก 1 – 2 ชัว่ โมง การตกแต่งชิ้นงาน ชิ้ นงานที่ ผ่า นการตรวจสอบจะถู ก นามาตกแต่ ง โดยพนัก งาน ซึ่ ง จะมี ก ารตกแต่ ง ผิวชิ้ นงาน ขัด ตกแต่งขอบ เจาะรู และตกแต่งผิวชิ้นงาน ตามวิธีการทางานที่กาหนดสาหรับแต่ละชิ้นงาน ทั้งนี้ บริ ษทั อาจ ทาการว่าจ้างบริ ษทั ภายนอกในการตกแต่งชิ้ นงาน หากกาลังการผลิตของบริ ษทั ไม่เพียงพอ หรื อมีลกั ษณะ ของการตกแต่งที่เครื่ องมือของบริ ษทั ไม่สามารถทาได้ เป็ นต้น การตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานตกแต่ง ในการตรวจสอบนี้ จะมีพนักงานควบคุมคุณภาพสิ นค้าสุ่ มตรวจเช็คตามข้อกาหนดในการตรวจเช็ค ผลิ ตภัณฑ์แต่ ล ะชนิ ด ทั้ง ในด้า นของรู ป แบบชิ้ นงานและพื้ นผิวตามที่ ก าหนด โดยจะมี ก ารท าคู่ มื อระบุ ตาแหน่งที่ตอ้ งตรวจเช็คและวิธีตรวจเช็คของแต่ละชิ้นงานตามที่กาหนด ซึ่ งจะมีการสุ่ มตรวจเช็คทุก 1 – 2 ชัว่ โมง และมีการตรวจสอบความเรี ยบร้อยจากการตกแต่งทุกชิ้นอีกครั้ง การกลึง เจาะ และเจียรผิวด้วยเครื่ องจักร (Machining) เนื่ องจากชิ้ นงานบางส่ วนจาเป็ นจะต้องมีการตกแต่งด้วยเครื่ องจักรเพื่อให้มีความแม่นยาเป็ นพิเศษ และได้คุ ณ ภาพตามที่ ลู ก ค้า ก าหนด บริ ษ ัท จะนาชิ้ นงานที่ ไ ด้รั บ การตกแต่ ง โดยพนัก งานและได้มี ก าร ตรวจสอบคุ ณภาพแล้วมาตกแต่ง เจาะ และเจี ยรผิวด้วยเครื่ องกลึ งที่ ควบคุ มด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Numerical Control หรื อ CNC) ทั้งในแบบ 2 แกน และ 3 แกน ในจุดที่กาหนดตามรู ปแบบผลิตภัณฑ์แต่ละ ชนิ ด เพื่อให้สามารถนาไปประกอบกับชิ้ นงานอื่นตามแบบที่กาหนดได้ โดยจะมีฝ่ายตรวจสอบคุณภาพทา การสุ่ มตรวจสอบขนาดและลักษณะชิ้ นงานหน้าเครื่ องจักรทุกชัว่ โมง และมีการตรวจสอบโดยใช้แท่นยึด กาหนดตาแหน่ง (Jig Gauge) เพื่อตรวจสอบขนาดและตาแหน่งของส่ วนที่จะใช้ประกอบกับชิ้นส่ วนอื่นๆว่า เป็ นไปตามที่กาหนดทุกชิ้น ทั้ง นี้ บริ ษ ทั อาจท าการว่า จ้า งบริ ษ ทั ภายนอกในการตกแต่ ง ชิ้ นงานด้วยเครื่ องจัก ร หากชิ้ นงาน บางส่ วนจาเป็ นต้องได้รับการตกแต่งด้วยเครื่ องจักรที่มีความแม่นยาเป็ นพิเศษ หรื อมีลกั ษณะที่ตอ้ งการการ ตกแต่งที่เครื่ องจักรของบริ ษทั ไม่สามารถดาเนินการได้ หรื อกาลังการผลิตของบริ ษทั ไม่เพียงพอ เป็ นต้น
33
การตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานสาเร็ จ ชิ้นงานที่ได้ผา่ นขั้นตอนการตกแต่งด้วยเครื่ องจักรจะได้รับการสุ่ มตรวจคุณภาพโดยละเอียด โดยใช้ เครื่ องมือวัด 3 แกน และเครื่ องมือต่างๆ ก่อนที่จะส่ งไปยังคลังสิ นค้าเพื่อบรรจุหีบห่อต่อไป การบรรจุหีบห่อ พนักงานแผนกคลังสิ นค้าจะทาการตรวจนับจานวนสิ นค้าให้ตรงกับป้ ายสิ นค้า แล้วบรรจุ หีบห่ อ ตามที่กาหนด เพื่อเตรี ยมการจัดส่ งสิ นค้าให้กบั ลูกค้าต่อไป โดยบริ ษทั มีมาตรการตรวจสอบต้นทุนโดยกาหนดนโยบายสาหรับการพิจารณาสาหรับรายการ สิ นค้าที่ขายขาดทุน ซึ่ งระบุให้ฝ่ายบัญชี ตน้ ทุนทาการวิเคราะห์ทุกสิ้ นงวดไตรมาส และมีการติดตามผลของ รายการสิ นค้าที่ขายขาดทุนพร้อมรายงานให้แก่ผบู ้ ริ หารทุกๆสิ้ นเดือน 4.3.4.การจัดหาวัตถุดิบในการผลิต บริ ษทั เป็ นผูผ้ ลิ ตชิ้นส่ วนอลูมิเนี ยมฉี ดขึ้นรู ปและชิ้ นส่ วนสังกะสี ฉีดขึ้นรู ปตามคาสั่งซื้ อของลูกค้า โดยอลู มิ เ นี ย มและสั ง กะสี ซ่ ึ งเป็ นวัต ถุ ดิ บ ของบริ ษ ัท จะเป็ นอลู มิ เ นี ย มอัล ลอยและสั ง กะสี อ ัล ลอย ซึ่ ง อลู มิเนี ยมและสังกะสี ซ่ ึ งมี ส่วนผสมของธาตุอื่นๆ ทาให้มีลกั ษณะและคุ ณสมบัติที่แตกต่างกันตามความ เหมาะสมของแต่ละชิ้ นงาน ดังนั้น สัดส่ วนการสั่งซื้ อวัตถุ ดิบจะขึ้ นอยู่กบั ปริ มาณการสั่งซื้ อสิ นค้าแต่ละ ประเภท โดยที่ผา่ นมาชิ้นงานส่ วนใหญ่ที่บริ ษทั ได้รับคาสั่งซื้ อเป็ นชิ้นงานอลูมิเนี ยม โดยบริ ษทั มีการสั่งซื้ อ อลูมิเนียมจากผูจ้ ดั จาหน่ายทั้งหมด 7 ราย ซึ่ งเป็ นผูจ้ ดั จาหน่ายในประเทศทั้งหมด เนื่ องจากบริ ษทั มีนโยบาย ในการกระจายการสั่ง ซื้ อวัตถุ ดิบเพื่อป้ องกันความเสี่ ยงจากการพึ่งพิ งผูจ้ ดั จาหน่ ายรายใดรายหนึ่ งจึ งได้ กระจายการสั่งซื้ อวัตถุดิบจากผูจ้ ดั จาหน่ ายครั้งละหลายราย โดยปริ มาณการสั่งซื้ อแต่ละรายจะแตกต่างกัน ตามราคาขายวัตถุ ดิบ ที่ ผูจ้ ดั จาหน่ า ยแต่ ล ะรายเสนอมาซึ่ ง บริ ษ ทั จะได้รับใบเสนอราคาวัตถุ ดิบ จากผูจ้ ดั จาหน่ายแต่ละรายทุกเดือน ในการจัดหาวัตถุดิบนั้น บริ ษทั จะให้ความสาคัญกับคุณภาพวัตถุ ดิบเป็ นอย่างมาก ทั้งนี้ วัตถุ ดิบที่ สั่งซื้ อจะต้องอยู่ในระดับมาตรฐานตามที่ ก าหนดไว้ โดยบริ ษทั จะดาเนิ นการตรวจสอบคุ ณภาพวัตถุ ดิบ เบื้องต้นจากใบรับรองคุณภาพวัตถุดิบจากผูจ้ ดั จาหน่ายที่มาพร้อมกับการนาส่ งวัตถุดิบในแต่ละครั้ง จากนั้น บริ ษทั จะตัดชิ้ นส่ วนวัตถุ ดิบไปตรวจสอบว่ามี คุณภาพตามมาตรฐานที่ ผจู ้ ดั จาหน่ ายแจ้งไว้ตามใบรั บรอง หรื อไม่ โดยมีระยะเวลาการสั่งซื้ อสิ นค้าประมาณ 1 - 2 วัน ในการคัดเลือกผูข้ ายวัตถุดิบนั้น บริ ษทั จะทาการประเมินผูข้ ายวัตถุดิบว่าผ่านเกณฑ์การประเมินของ บริ ษทั หรื อไม่ แล้วจึงรวบรวมรายชื่ อผูท้ ี่ผา่ นประเมินไว้ในรายชื่ อผูข้ ายวัตถุดิบ จากนั้น เมื่อจะมีการสั่งซื้ อ 34
วัตถุดิบดังกล่าว จะทาการเทียบราคาจากผูข้ ายวัตถุดิบในรายชื่ อที่รวบรวมไว้อย่างน้อย 2 ราย แล้วจึงทาการ คัดเลือกผูข้ ายวัตถุดิบที่มีราคาและเงื่อนไขที่ดีที่สุด โดยบริ ษทั จะทาการประเมินผูข้ ายวัตถุดิบทุกปี ปี ละครั้ง 4.3.5.ผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้อม บริ ษทั ตระหนักถึ ง ผลกระทบที่ อาจเกิ ดขึ้ นต่ อสิ่ ง แวดล้อมและมี มาตรการในการป้ องกันปั ญหา มลภาวะต่างๆ เพื่อให้แน่ใจว่าการผลิตของบริ ษทั จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้จดั สรรงบประมาณในการดูแลสิ่ งแวดล้อมอย่างเพียงพอ โดยได้สร้างบ่อบาบัดน้ าเสี ยภายในโรงงาน และได้วา่ จ้างบริ ษทั ภายนอก เข้ามาจัดการและกาจัดของเสี ยจากกระบวนการผลิตของบริ ษทั เช่น น้ ามันใช้ แล้ว ภาชนะปนเปื้ อน และกากตะกอนจากการบาบัดน้ าเสี ย เป็ นต้น นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้รับการรับรองการจัดการสิ่ งแวดล้อมของบริ ษทั ตามมาตรฐานสากล ISO 14001:2004 เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2551 และยังได้รับเกียรติบตั รการเป็ นสถานประกอบการอุตสาหกรรมที่ ดาเนิ น งานตามหลัก เกณฑ์ธ รรมาภิ บ าลสิ่ ง แวดล้อ ม ในโครงการธรรมาภิ บ าลสิ่ ง แวดล้อ ม กระทรวง อุตสาหกรรม และใบรับรองอุตสาหกรรมสี เขียว ระดับที่ 3 จากการบริ หารจัดการสิ่ งแวดล้อมอย่างเป็ น ระบบ มีมาตรการประเมินผล และทบทวนเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง และได้รับรางวัล CSR DIW จาก กระทรวงอุ ตสาหกรรม เมื่อเดื อนกันยายนปี 2556 ซึ่ งเที ยบเท่ากับ ISO 26000 เป็ นการพัฒนาโรงงาน อุตสาหกรรมให้มีความรับผิดชอบร่ วมกันของสังคม 4.4 งานทีย่ ังไม่ ได้ ส่งมอบ แม่ พิ ม พ์ส าหรั บ ผลิ ตงานเพื่ อ จ าหน่ า ยให้ ก ับ ลู ก ค้า โดยมี มู ล ค่ า จ่ า ยล่ ว งหน้า 9,060,600 บาท เนื่องมาจากการทาข้อตกลงในการชาระค่าสิ นค้ามีการแบ่งจ่ายเป็ นงวด โดยงวดสุ ดท้ายคืออนุ มตั ิชิ้นงานเพื่อ ทาการผลิต
35
5. ปัจจัยความเสี่ ยง ปั จจัย ความเสี่ ย งในการประกอบธุ ร กิ จ ของบริ ษ ทั ที่ อาจมี ผ ลกระทบต่ อการดาเนิ น งานและผล ประกอบการของบริ ษทั อย่างมีนยั สาคัญ และแนวทางในการป้ องกันความเสี่ ยง สามารถสรุ ปได้ดงั นี้ 5.1. ความเสี่ ยงจากการพึง่ พิงอุตสาหกรรมยานยนต์ ในปี 2557 บริ ษทั มีรายได้จากการขายสิ นค้าและแม่พิมพ์ให้กบั ลูกค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ ซึ่ งประกอบด้วยอุตสาหกรรมรถยนต์และรถจักรยานยนต์เท่ากับ 356.89 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นสัดส่ วนร้อย ละ 97.91 ของรายได้จากการขายและให้บริ การทั้งหมด ทาให้บริ ษทั มีความเสี่ ยงที่จะสู ญเสี ยรายได้หาก อุตสาหกรรมยานยนต์มีการชะลอตัวลง เช่น ภาพรวมตลาดอุตสาหกรรมรถยนต์ปี 2557 มียอดการผลิตรวม 1.88 ล้านคัน ซึ่ งลดลงจากปี 2556 ที่มียอดการผลิตรวม 2.46 ล้านคัน ลดลงคิดเป็ นร้อยละ 23.5 อัน เนื่ องมาจากยอดขายในประเทศที่ลดลง 33.7% และจากสภาวะเศรษฐกิ จที่ชะลอตัว อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ออกแบบสายการผลิตให้มีความยืดหยุน่ สามารถผลิ ตชิ้นงานได้หลากหลาย และยังมีการเพิ่มเครื่ องจักรใน การผลิตให้หลากหลายมากขึ้น จึงมีความสามารถในการผลิตสิ นค้าให้กบั อุตสาหกรรมอื่นเพื่อทดแทนยอด สั่งซื้ อที่ลดลงจากอุตสาหกรรมยานยนต์ได้
ที่มา: สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 5.2. ความเสี่ ยงจากการพึง่ พิงลูกค้ ารายใหญ่ บริ ษทั ประกอบธุ รกิจในลักษณะผลิตสิ นค้าตามคาสั่งซื้ อของลูกค้า โดยในปี 2557 บริ ษทั มีลูกค้าราย ใหญ่ซ่ ึ งมีสัดส่ วนยอดขายต่อรายได้จากการขายรวมมากกว่าร้อยละ 10 จานวน 3 ราย คิดเป็ นสัดส่ วนรายได้ เท่ากับร้ อยละ 50.95 ของรายได้จากการขายและให้บริ การทั้งหมด โดยในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557
36
บริ ษทั มีรายได้จากกลุ่มลูกค้าที่มียอดขายสู งสุ ด 10 อันดับแรก คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ ร้อยละ 80.16 ร้อยละ 72.04 และร้อยละ 82.94 ของรายได้จากการขายและให้บริ การทั้งหมด ทาให้รายได้ของบริ ษทั อาจได้รับ ผลกระทบหากกลุ่มลูกค้ารายใหญ่ดงั กล่าวมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายในซื้ อสิ นค้าของบริ ษทั อย่า งไรก็ ตาม กลุ่ ม ลู ก ค้า รายใหญ่ ดัง กล่ า วได้มี ก ารซื้ อสิ น ค้า บริ ษ ัท อย่า งต่ อ เนื่ อ งมาเป็ นระยะ เวลานาน โดยบริ ษทั มี การประสานงานกับลูกค้าอย่างสม่ าเสมอเพื่อที่จะทราบแนวโน้มการเปลี่ ยนแปลง คาสั่งซื้ อสิ นค้าจากลูกค้า ซึ่ งลูกค้าส่ วนใหญ่จะมีการประมาณการณ์ยอดผลิ ตล่วงหน้าให้แก่บริ ษทั เป็ นเวลา ประมาณ 1 เดือน จึงทาให้บริ ษทั สามารถคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงของยอดสั่งซื้ อจากลูกค้าแต่ละรายได้ใน ระดับหนึ่ง อีกทั้ง บริ ษทั มีการกาหนดนโยบายด้านสัดส่ วนของยอดขายต่อลูกค้าแต่ละรายต้องไม่เกินร้อยละ 30 ของยอดขายรวม เพื่อป้ องกันผลกระทบต่อรายได้หากมีการเปลี่ยนแปลงยอดผลิตของลูกค้ารายใหญ่ 5.3. ความเสี่ ยงจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบ บริ ษ ัท ด าเนิ น ธุ ร กิ จ ผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นเพื่ อ ใช้ เ ป็ นส่ ว นประกอบรถยนต์ รถจัก รยานยนต์ อุ ป กรณ์ เครื่ องใช้ไ ฟฟ้ า เครื่ องจัก รกลเกษตรและอื่ นๆ ซึ่ งต้องใช้อลู มิ เนี ย มแท่ งเป็ นวัตถุ ดิบ หลัก ซึ่ ง โดยคิ ดเป็ น สัดส่ วนของต้นทุนขายในปี 2557 ประมาณร้อยละ 30.45 ของต้นทุนขายและให้บริ การทั้งหมด โดยในช่วง ตั้งแต่ปี 2548 ราคาอลูมิเนียมมีความผันผวนมากขึ้น โดยจะเห็นได้จากราคาอลูมิเนี ยมในตลาดโลกที่เพิ่มขึ้น จาก 1,731 ดอลลาร์ ส หรั ฐฯต่ อตันในเดื อ นมิ ถุ นายน 2548 เป็ น 3,071 ดอลลาร์ ส หรั ฐฯต่ อตัน ในเดื อ น กรกฎาคม 2551 หรื อเพิ่มขึ้นร้อยละ 77.40 ในช่ วงเวลาดังกล่าว ซึ่ งการเปลี่ยนแปลงของราคาวัตถุดิบหลัก เป็ นผลมาจากภาวะราคาตลาดโลกตามอุปสงค์และอุปทานของผูผ้ ลิตและผูใ้ ช้โลหะทัว่ โลก และปั จจัยอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อราคา เช่ น อัตราแลกเปลี่ ยน อัตราภาษีนาเข้า เป็ นต้น โดยในเดื อนธันวาคม 2557 ราคา อลูมิเนียมในตลาดโลกเท่ากับ 1909 ดอลลาร์ สหรัฐฯต่อตัน ราคาอลูมิเนียมระหว่ างเดือนมกราคม 2543 – เดือนธันวาคม 2556 อ
3,500 3,000 2,500 2,000 1,500 1,000 500 0
ร หร
ที่มา: Monthly world prices of commodities and indices, World Bank
37
ทั้งนี้ บริ ษทั มีการตกลงกับลูกค้าบางรายให้สามารถเปลี่ ยนแปลงราคาของสิ นค้าให้สอดคล้องกับ ราคาวัตถุดิบได้ เมื่อราคาวัตถุดิบเพิ่มขึ้นจนถึงระดับตามที่ตกลงไว้ หรื อมีการทบทวนราคาขายเป็ นระยะตาม รอบเวลาที่กาหนด อย่างไรก็ตาม บริ ษทั อาจมีความเสี่ ยงในกรณี ที่ ไม่สามารถปรับราคาสิ นค้าให้สอดคล้อง กับราคาวัตถุดิบที่เปลี่ยนไปได้ท้ งั หมด เช่น ราคาของวัตถุดิบมิได้เปลี่ยนแปลงจนถึงระดับที่กาหนดไว้ หรื อ ต้นทุนในการผลิ ตเพิ่มขึ้ นในขณะที่ยงั ไม่ถึงรอบระยะเวลาทบทวนราคาขาย ทั้งนี้ บริ ษทั ได้มีการติ ดตาม ความเคลื่อนไหวราคาอลูมิเนียมในตลาดอย่างใกล้ชิด เพื่อป้ องกันผลกระทบจากความผันผวนดังกล่าว ในด้านของการสั่งซื้ ออลู มิเนี ยมซึ่ งวัตถุ ดิบหลักในการผลิ ตนั้น บริ ษทั ได้มีการวางแผนการสั่งซื้ อ วัต ถุ ดิบ ล่ วงหน้า ตามแผนการผลิ ต ของบริ ษ ัท นอกจากนี้ บริ ษ ทั ได้ค ัด เลื อ กผูจ้ ัด จาหน่ า ยอลู มิ เ นี ย มที่ มี คุณสมบัติและคุณภาพตามความต้องการในการผลิตไว้ท้ งั สิ้ น 7 ราย เพื่อกระจายการสั่งซื้ อในแต่ละงวด เป็ น การลดความเสี่ ยงจากการขาดแคลนวัตถุดิบในการผลิต 5.4. ความเสี่ ยงจากการทีแ่ ม่ พมิ พ์ ทเี่ ป็ นกรรมสิ ทธิ์ของลูกค้ าเสื่ อมสภาพ เนื่ องจากแม่พิมพ์ที่บริ ษทั ใช้ผลิ ตชิ้ นงานมีท้ งั ส่ วนที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั และเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของลูกค้าซึ่ งแม่พิมพ์ที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของลูกค้านั้นต้องได้รับความยินยอมจากลูกค้าก่อนที่จะสามารถทาการ ซ่อมแซมหรื อจัดทาใหม่ได้หากแม่พิมพ์ดงั กล่าวเสื่ อมสภาพและบริ ษทั ดาเนิ นการผลิตชิ้นงานดังกล่าวต่อไป เพื่อรักษาสัมพันธภาพกับลูกค้าบริ ษทั จะมีตน้ ทุนที่เพิ่มขึ้นจากการตกแต่งชิ้นงานเพิ่มเติมหรื อชิ้นงานที่ไม่ได้ คุณภาพ ซึ่ งหากบริ ษทั ใช้เวลาในการซ่ อมแซมหรื อจัดทาแม่พิมพ์ใหม่ล่าช้า เนื่ องจากลูกค้าใช้เวลานานใน การอนุ มตั ิหรื อผูร้ ับจ้างทาแม่พิมพ์จดั ทาได้ช้าก็ตาม จะส่ งผลกระทบต่อผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ได้ อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ได้กาหนดอายุการใช้งานของแม่พิมพ์และจะทาการติดต่อเจรจากับลูกค้าก่อนที่แม่พิมพ์ จะหมดสภาพ เพื่อให้ลูกค้าทราบเงื่อนไขดังกล่าวและประมาณการณ์ระยะเวลาในการจัดทาแม่พิมพ์ใหม่ใน ส่ วนที่ลูกค้าอาจมีความล่าช้าในการอนุมตั ิการจัดทาแม่พิมพ์ใหม่ 5.5. ความเสี่ ยงจากการพึง่ พิงผู้บริหารและบุคลากรทีม่ ีประสบการณ์ และความสามารถ ธุ รกิ จของบริ ษทั เป็ นธุ รกิ จที่ตอ้ งอาศัยความรู ้ ความสามารถ รวมถึ งประสบการณ์ ของบุ คลากรใน การดาเนินงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในด้านการออกแบบแม่พิมพ์ ซึ่ งจะมีผลกระทบโดยตรงต่อความเป็ นไปได้ ในการผลิ ต คุ ณภาพของชิ้ นงาน และของเสี ยที่ อาจจะเกิ ดขึ้ นจากการผลิ ต ซึ่ งต้องอาศัยความรู ้ และความ ชานาญเฉพาะด้านของบุ คลการเป็ นหลัก โดยเฉพาะวิศวกรผูเ้ ชี่ ยวชาญในด้านการออกแบบแม่พิมพ์ที่ มี ประสบการณ์ การสู ญเสี ยบุคลากรเหล่ านี้ ย่อมส่ งผลกระทบต่อการดาเนิ นงานและความสามารถในการ แข่งขันของบริ ษทั ซึ่ ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษทั มีบุคลากรที่มีความรู้ และทักษะในการออกแบบ
38
แม่พิมพ์จานวน 9 คน โดยมีระยะเวลาในการทางานกับบริ ษทั เฉลี่ยกว่า 6 ปี และมีประสบการณ์ทางานด้าน แม่พิมพ์เฉลี่ยมากกว่า 15 ปี อย่างไรก็ตาม บริ ษทั มีการมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบในการทางานให้แก่ผบู ้ ริ หารท่าน อื่ น และพนักงานแต่ละฝ่ ายงานอย่างชัดเจน มี ระบบการจัดเก็ บข้อมูลและฐานข้อมูลที่ ดี ตลอดจนมี การ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องระหว่างผูบ้ ริ หารและพนักงานบริ ษทั อย่างสม่าเสมอ รวมทั้งมีการ ฝึ กอบรมพนักงานให้เกิดความรู ้ความเข้าใจด้านคุณภาพและมาตรฐานการตรวจสอบต่างๆ และส่ งพนักงาน เข้ารับการอบรมภายนอก เป็ นการลงทุนด้านการพัฒนาบุคลากรของบริ ษทั ให้มีความรู้ความเข้าใจในการ ดาเนินงานของบริ ษทั เป็ นอย่างดี โดยเฉพาะความรู ้และทักษะในการออกแบบแม่พิมพ์ ซึ่ งบริ ษทั ได้จดั การ ให้มีการถ่ายทอดความรู ้ท้ งั ในหน่วยงานและจัดให้มีการฝึ กอบรมภายนอกบริ ษทั ซึ่ งสามารถลดความเสี่ ยง จากการพึ่งพิงผูบ้ ริ หารและบุคลากรหลักของบริ ษทั ได้ 5.6. ความเสี่ ยงจากการควบคุมคุณภาพ คุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็ นหนึ่ งในปั จจัยที่สาคัญในอุตสาหกรรมการยานยนต์ที่ผผู้ ลิตรถยนต์และ รถจักรยานยนต์ให้ความสาคัญเป็ นอย่างมาก เนื่องจากจะมีผลโดยตรงทั้งด้านชื่ อเสี ยงและยอดขายของผูผ้ ลิต รถยนต์และรถจักรยานยนต์ดงั กล่าวโดยตรง ซึ่ งความผิดพลาดในด้านคุณภาพนั้น อาจทาให้บริ ษทั สู ญเสี ย ลู กค้า และอาจถู กยกเลิ กสัญญาหากไม่สามารถผลิ ตผลิ ตภัณฑ์ได้ตามมาตรฐาน ซึ่ งจะกระทบต่อผลการ ดาเนิ นงานและความน่ า เชื่ อถื อของบริ ษ ัท ในอุ ต สาหกรรม ด้วยเหตุ น้ ี บ ริ ษ ัท จึ ง ได้ต้ งั เป้ าหมายที่ จะลด ข้อผิดพลาดในด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์โดยกาหนด KPI ด้านของเสี ยอย่างชัดเจน อีกทั้งบริ ษทั ได้เน้นถึง ความสาคัญด้านคุ ณภาพโดยได้ล งทุนในอุ ปกรณ์ ส าหรั บตรวจสอบและควบคุ มคุ ณภาพให้เป็ นไปตาม มาตรฐานตามที่ลูกค้ากาหนดไว้ เพื่อสร้ างความพึงพอใจให้กบั ลู กค้า นอกจากนี้ บริ ษทั ได้รับการรั บรอง ระบบมาตรฐานคุณภาพ ISO/TS 16949 ในปี 2548 5.7. ความเสี่ ยงจากการเปิ ดเสรีทางการค้ าระหว่างประเทศและการเปลีย่ นแปลงนโยบายของรัฐบาล เนื่ องจากบริ ษทั ทาธุ รกิ จเกี่ ยวเนื่ องกับการผลิ ตและจาหน่ ายชิ้ นส่ วนยานยนต์ บริ ษทั จึงอาจได้รับ ผลกระทบทั้งในเชิ งบวกและในเชิ งลบจากการเปลี่ยนแปลงของภาษีศุลกากรและการกีดกันทางการค้า เช่ น การเปลี่ยนแปลงภาษีนาเข้าของชิ้นส่ วนยานยนต์จะกระทบความสามารถของบริ ษทั ในการแข่งขันกับผูผ้ ลิต จากต่างประเทศ ยกตัวอย่างเช่น การลดภาษีนาเข้าชิ้ นส่ วนอาจทาให้คู่แข่งต่างประเทศสามารถแข่งขันกับ บริ ษทั ทางด้านราคาและต้นทุ นได้มากขึ้ น ทั้งนี้ ในปั จจุ บนั รั ฐบาลได้มีก ารตกลงกับประเทศในอาเซี ย น เกี่ ย วกับ การเปิ ดเสรี ข องอุ ต สาหกรรมรถยนต์ภ ายใต้ส นธิ สั ญ ญาการเปิ ดเสรี ท างการค้า AFTA ภายใต้
39
ข้อตกลงสิ ทธิ พิเศษทางภาษีปกติ (CEPT) ซึ่ งการเปิ ดเสรี ภายใต้ระบบ AFTA ทาให้ภาษีศุลกากรสาหรับ ชิ้นส่ วนรถยนต์ที่ผลิตภายในอาเซี ยน ลดเหลือร้อยละ 0 ถึงร้อยละ 5 และคาดว่าจะทาให้ประเทศคู่คา้ ภายใน อาเซี ยนใช้ประโยชน์ทางภาษี น้ ี เพื่อเพิ่ มการค้า ระหว่างกัน นอกจากนี้ การวมกลุ่ มกันทางเศรษฐกิ จของ ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซี ยน (ASEAN Economic Community หรื อ AEC) ในปี 2558 จะทาให้อตั ราภาษี ระหว่างประเทศในกลุ่มสมาชิ กลดลงเหลื อร้ อยละ 0 ซึ่ งแม้ว่ามาตรการนี้ จะช่ วยบริ ษทั ในด้านการส่ งออก สิ นค้าไปขายในประเทศคู่คา้ ภายในอาเซี ยน แต่ในทางกลับกันคู่แข่งจากต่างประเทศก็สามารถเข้ามาแข่งขัน ในประเทศไทยได้เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ ความไม่แน่ นอนทางการเมืองที่เกิดขึ้นภายในประเทศ ซึ่ งส่ งผล กระทบต่อเสถี ยรภาพของรั ฐบาลและความต่ อเนื่ องของนโยบาย รวมทั้งปั ญหาอุ ทกภัยที่ เกิ ดขึ้ นในช่ วง ปลายปี 2554 อาจส่ งผลถึงการตัดสิ นใจในการลงทุน หรื อย้ายฐานการผลิตไปในประเทศที่มีเสถียรภาพสู ง กว่า หรื อมีตน้ ทุนการผลิตที่ต่ ากว่า อีกทั้ง ปั จจุบนั รัฐบาลได้มีนโยบายในการส่ งเสริ มอุตสาหกรรมรถยนต์ อย่างต่อเนื่ อง ไม่ว่าจะเป็ นโครงการลดภาษี สาหรั บรถยนต์อีโคคาร์ รถยนต์พลังงานร่ วมที่ให้ก๊าชเอ็นจี วี ร่ วมกับน้ ามัน รถยนต์ไฮบริ ด และรถยนต์ที่ใช้แก๊สโซฮอล์อี 85 เป็ นต้น ซึ่ งเป็ นปั จจัยสาคัญต่อทิศทางของ อุ ตสาหกรรมรถยนต์ไ ทยในระยะยาว ซึ่ ง หากมี ก ารเปลี่ ยนแปลงในนโยบายดัง กล่ า ว จะส่ ง ผลกระทบ โดยตรงต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ซ่ ึ งเป็ นกลุ่มลูกค้าหลักของบริ ษทั อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ได้มุ่งเน้นในการ พัฒนาการออกแบบผลิ ตภัณฑ์ และทักษะของบุ คคลากรอย่าง เช่ น การส่ งบุคลากรเข้าร่ วมอบรมสัมมนา ต่ า งๆ รวมทั้ง บริ ษ ทั ยัง ได้จ ัดตั้ง ศู น ย์ก ารเรี ย นรู ้ ภ ายในบริ ษ ัท เพื่ อ เป็ นแหล่ ง ความรู ้ ด้า นเทคโนโลยี ใ น ภาคอุตสาหกรรมและการผลิต และให้เกิดการเรี ยนรู ้ การพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่ องเพื่อเพิ่มความสามารถ ในการแข่งขันและเตรี ยมความพร้อมสาหรับภาวะการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น และสามารถรองรับการผลิต ของกลุ่มอุตสาหกรรมที่หลากหลายมากขึ้น 5.8. ปัญหาด้ านการขาดแคลนแรงงาน ปั จจุบนั สถานประกอบการต่างๆมีการแข่งขันในการจ้างแรงงานที่มีทกั ษะ ทาให้บริ ษทั มีความเสี่ ยง ที่จะขาดแคลนแรงงานในการดาเนิ นงานหรื อต้องว่าจ้างพนักงานในอัตราค่าตอบแทนที่สูง อีกทั้งนโยบาย เพิ่มค่าแรงขั้นต่ าเป็ น 300 บาท จะส่ งผลให้อตั ราค่าตอบแทนพนักงานโดยเฉลี่ ยสู งขึ้น หรื ออาจจะสู ญเสี ย แรงงานที่มีทกั ษะได้ ซึ่ งจะส่ งผลกระทบโดยตรงต่อการดาเนิ นงานของบริ ษทั อย่างไรก็ตาม ปั จจุบนั บริ ษทั ได้คานึงถึงสวัสดิภาพของพนักงาน โดยมีสวัสดิการต่างๆ เช่น โรงอาหาร ค่าอาหารกลางวัน ค่าเดินทาง และ รถรั บส่ งพนักงาน เป็ นต้น เพื่อป้ องกันการเคลื่ อนย้ายแรงงานโดยเฉพาะแรงงานที่ ใช้ทกั ษะซึ่ งเป็ นกาลัง สาคัญของบริ ษทั ทั้งนี้บริ ษทั ยังสามารถว่าจ้างสถานประกอบการอื่นในการดาเนิ นงานที่ตอ้ งใช้แรงงานเป็ น หลัก เช่น งานตกแต่งชิ้นงาน เป็ นต้น เพื่อเพิ่มความยืดหยุน่ ในการผลิตและลดผลกระทบจากการแข่งขันด้าน แรงงาน
40
5.9. ความเสี่ ยงจากการทีก่ ลุ่มผู้ถือหุ้นใหญ่ ทาธุรกิจทีใ่ กล้ เคียงกับธุรกิจของบริษัท เนื่องจากกลุ่มปิ่ นทอง ซึ่ งเป็ นผูถ้ ือหุ น้ ใหญ่ของบริ ษทั ในสัดส่ วนร้อยละ 35.29 ของทุนจดทะเบียน ชาระแล้ว ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 ซึ่ งประกอบด้วยบริ ษทั ที่ดาเนิ นธุ รกิจผลิตชิ้นส่ วนยานยนต์ เช่นเดียวกับบริ ษทั ดังนี้ ชื่อ บริ ษทั ฟุตาบะ เจทีดบั บลิว(ประเทศไทย) จากัด บริ ษทั เอ็กซ์เซลเมทัลฟอจจิ้ง จากัด
ลักษณะการประกอบธุรกิจ ผลิตชิ้นส่ วนวัสดุ และส่ วนประกอบสาหรับแม่พิมพ์ โลหะ ผลิตชิ้นส่ วนยานยนต์ เครื่ องมือกล เครื่ องทุ่นแรงทุก ชนิด โดยการปั้ มชิ้นงาน บริ ษทั จุฑาวรรณ โมลิเทค (ไทยแลนด์) จากัด ผลิตและจาหน่ายสายไฟแบบม้วนกลับได้และสปริ ง สาหรับเครื่ องดูดฝุ่ น บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยลพาร์ ท จากัด ผลิตชิ้นส่ วนอุปกรณ์เครื่ องใช้ไฟฟ้ า ชิ้นส่ วนยาน ยนต์ดว้ ยการขึ้นรู ปด้วยวิธีอดั ด้วยความร้อน (Hot Forging) และอัดแบบเย็น (Stamping) บริ ษทั จุฑาวรรณ เมทัลแล็บ จากัด ชุบแข็งโลหะทุกชนิด บริ ษทั เอส.เค.เจ เมตัล อินดัสตรี ส์ จากัด ผลิตเพลา และลวดสแตนเลส บริ ษทั อาร์ คิเท็ค เมทัล เวิร์ค จากัด ออกแบบและผลิตผลิตภัณฑ์สแตนเลส เนื่องจากบริ ษทั ในกลุ่มปิ่ นทองมีกระบวนการผลิตและใช้วตั ถุดิบที่แตกต่างจากของบริ ษทั ซึ่ งแต่ละ กระบวนการจะมีความเหมาะสมกับประเภทของชิ้นงานที่ต่างกัน และได้ชิ้นงานที่มีคุณสมบัติแตกต่างกัน จึงไม่มีความเสี่ ยงที่กลุ่มบริ ษทั ดังกล่าวจะมีการดาเนิ นงานที่แข่งขันกับบริ ษทั แต่เป็ นการสนับสนุ นกันใน ด้านการเปิ ดโอกาสให้ได้พบปะลูกค้าที่เคยใช้บริ การกลุ่มบริ ษทั ดังกล่าวและมีความสนใจผลิตผลิตภัณฑ์ที่ บริ ษทั ดาเนินการอยู่ เป็ นการเพิม่ โอกาสทางธุ รกิจให้กบั บริ ษทั ด้วย
41
6. ข้ อมูลทัว่ ไปและข้ อมูลสาคัญอืน่ 6.1 ข้ อมูลทัว่ ไป ชื่อบริ ษทั ภาษาไทย ชื่อบริ ษทั ภาษาอังกฤษ เลขทะเบียนบริ ษทั ที่ ลักษณะการประกอบธุ รกิจ ที่ต้ งั สานักงานใหญ่ โทรศัพท์ โทรสาร Homepage ทุนจดทะเบียน ทุนที่เรี ยกชาระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ นายทะเบียนหลักทรัพย์
ผูส้ อบบัญชี
ที่ปรึ กษากฎหมาย
: : : :
บริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) Sanko Diecasting (Thailand) Public Company Limited 0107552000235 ประกอบธุ รกิจผลิตชิ้นส่ วนอลูมิเนียมฉี ดขึ้นรู ปและชิ้นส่ วน สังกะสี ฉีดขึ้นรู ป : 3/14 หมู่ 2 สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ตาบลหนองบัว อาเภอบ้าน ค่าย จังหวัดระยอง 21120 : 038-961-877-80 : 038-961-624 : www.sankothai.net : 113,000,000 บาท : 111,138,579.00 บาท : 0.50 บาท บริ ษทั ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุ งเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 02- 229-2800 โทรสาร. 02-654-5642 บริ ษทั พีวี ออดิท จากัด 100/19 ชั้นที่ 14 อาคารว่องวานิช บี ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุ งเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-2645-0080 โทรสาร 0-2645-0020 บริ ษทั เอเค แอนด์ เอ ที่ปรึ กษากฎหมาย จากัด สานักงานใหญ่ 80/2 ตรอกเสถียร ถนนตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสื อ เขตพระนคร กรุ งเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 02-622-0200 โทรสาร 02-622-0199
42
7. ข้ อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้น 7.1 จานวนทุนจดทะเบียนและทุนชาระแล้ ว 1) หุ้นสามัญของบริษัท บริ ษทั มี ทุนจดทะเบี ยนเท่ากับ 113,000,000 บาท (หนึ่ งร้ อยสิ บ สามล้านบาท) แบ่งเป็ นหุ ้นสามัญ จานวน 226,000,000 หุน้ (สองร้อยยีส่ ิ บหกล้านหุน้ ) มูลค่าหุ น้ ที่ตราไว้เท่ากับหุ ้นละ 0.50 บาท (ห้าสิ บสตางค์) โดยปั จจุบนั มีทุนจดทะเบียนชาระแล้วเท่ากับ 111,138,579.00 บาท (หนึ่งร้อยสิ บเอ็ดล้านหนึ่งแสนสามหมื่น แปดพันห้าร้อยเจ็ดสิ บเก้าบาทถ้วน) 2) ใบสาคัญแสดงสิ ทธิทจี่ ะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท ที่ประชุ มวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นครั้งที่ 1/2555 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ได้มีมติอนุมตั ิการออก และจัดสรรใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ น้ สามัญของบริ ษทั ประเภทระบุชื่อผูถ้ ือและไม่สามารถโอนเปลี่ยน มือได้ให้แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษทั (“ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ”) จานวน 6,000,000 หน่วย ซึ่ งจะทา การจัดสรรพร้ อมกับการเสนอขายหุ ้นสามัญแก่ ประชาชนทัว่ ไปในครั้ งนี้ โดยมี ราคาเสนอขาย 0 บาทต่อ หน่วย และใบสาคัญแสดงสิ ทธิ มีอายุ 5 ปี นับแต่วนั ที่ออกและเสนอขายใบสาคัญแสดงสิ ทธิ โดยใบสาคัญ แสดงสิ ทธิ 1 หน่วยมีสิทธิ ซ้ื อหุ น้ สามัญได้ 1 หุน้ ในราคาใช้สิทธิ 0.50 บาทต่อหุ ้น (เว้นแต่จะมีการปรับสิ ทธิ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนด) มีการกาหนดเงื่อนไขในการใช้สิทธิ โดยนับจากวันที่ออกและเสนอ ขายใบสาคัญแสดงสิ ทธิ 0.5 ปี ผูถ้ ื อใบสาคัญแสดงสิ ทธิ สามารถใช้สิทธิ ครั้งแรกได้ไม่เกิ นร้อยละ 25 ของ ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ท้ งั หมดที่ผถู ้ ือใบสาคัญแสดงสิ ทธิ แต่ละคนได้รับการจัดสรรจากบริ ษทั และในทุก ๆ 12 เดือน หลังจากการใช้สิทธิ ครั้งแรก ผูถ้ ือใบสาคัญแสดงสิ ทธิ สามารถใช้สิทธิ ได้ไม่เกินร้อยละ 50 ร้อยละ 75 และ ร้อยละ 100 ของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ท้ งั หมดที่ผถู ้ ือใบสาคัญแสดงสิ ทธิ แต่ละคนได้รับจัดสรรจากบริ ษทั ตามลาดับ ซึ่ งจะทาให้ทุนจดทะเบียนและชาระแล้วของบริ ษทั เท่ากับ 113,000,000 บาท ประกอบด้วยหุ ้น สามัญทั้งหมด 226,000,000 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.50 บาท ภายหลังจากการเสนอขายหุ ้นสามัญเพิ่มทุน แก่ประชาชนทัว่ ไปในครั้งนี้และการใช้สิทธิ ของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่ออกให้แก่กรรมการและพนักงานของ บริ ษทั ทั้งหมด
43
7.2 ผู้ถือหุ้นของบริษัท ทีม่ ีชื่อปรากฏตามสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2557 ประกอบด้ วย
ลาดับ 1
2
3 4 5 6
รายชื่อ กลุ่มปิ่ นทอง1/ - บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด - บริ ษทั โกลบอล เรี ยลลิต้ ี จากัด - บริ ษทั เจทีดบั บลิว แอ็ซเซท จากัด - นายพีระ ปัทมวรกุลชัย - นายนาโอะฮิโร ฮามาดา - นางสมศรี ดวงประทีป - นายสุ เรนทร์ สุ วรรณวงศ์กิจ - นายสมชาย เบ็ญจาศิริโรจน์ - นางสาวอรุ ณี เลื่อมประพางกูล - นางนภาพร กาญจนทวี - นายสุ ขชาย วิวฒั นวุฒิวงศ์ - นายพีร์ ปัทมวรกุลชัย - นางสาวนานา ปัทมวรกุลชัย - นายชนินทร์ ผูพ้ ิพฒั น์หิรัญกุล - นางสาวเกสรา ผูพ้ ิพฒั น์หิรัญกุล - นายอานวย สามพันพ่วง กลุ่มนายมาซามิ คัตซู โมโต - นายมาซามิ คัตซูโมโต - นายชิเกฮิโร คัตซูโมโต บริษัท ศูนย์ รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด เพือ่ ผู้ฝาก นายอนุชา แสงเจริญวนากุล นายพรชั ย ฐาปนพงศ์ พนั ธุ์ นางสุ พชิ ฌาย์ วาสประเสริฐสุ ข
ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2557 จานวนหุ้น ร้ อยละ 78,433,258 35.29 30,004,200 20,000,000 16,579,200 5,000,000 2,100,000 2,049,658 1,100,000 500,000 200,000 200,000 200,000 100,000 150,200 100,000 100,000 50,000 24,050,200 10.82 24,050,000 200 10,104,200 4.55 8,521,500 3,061,700 3,000,000
3.83 1.38 1.35 44
ลาดับ 7 8 9 10
รายชื่อ นายกษม ศิริรังสรรค์ กุล นายธนพล ฟูศรีเจริ ญ นายอมร เสริฐสอน อืน่ ๆ รวม
ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2557 จานวนหุ้น ร้ อยละ 2,801,200 1.26 2,181,600 0.98 2,117,100 0.95 88,006,400 39.59 222,277,158 100.00
หมายเหตุ: 1/กลุ่มปิ่ นทอง อยูภ่ ายใต้การควบคุมของกลุ่มตระกูลปั ทมวรกุลชัย โดยมีผถู ้ ือหุ น้ หลัก ประกอบด้วย นายพีระ ปัทมวรกุลชัย นายพีร์ ปัทมวรกุลชัย และนางสาวนานา ปัทมวรกุลชัย ประกอบธุ รกิจนิคมอุตสาหกรรม ธุ รกิจเหล็กและโลหะ ธุ รกิจชิ้นส่ วนสาหรับภาคอุตสาหกรรม และ ธุ รกิจขนส่ งและรถเช่า
8.นโยบายการจ่ ายเงินปันผล บริ ษทั มี นโยบายในการจ่ายเงิ นปั นผลให้แก่ ผถู ้ ื อหุ ้น ในอัตราไม่ต่ ากว่าร้ อยละ 30 ของกาไรสุ ทธิ หลัง หั ก ภาษี เ งิ น ได้นิ ติ บุ ค คลและทุ น ส ารองต่ า งๆ ทั้ง หมดแล้ว ซึ่ งการจ่ า ยเงิ น ปั น ผลนั้น จะต้อ งไม่ มี ผลกระทบต่อการดาเนินงาน ฐานะการเงิน สภาพคล่อง การขยายธุ รกิจ ความจาเป็ น ความเหมาะสมอื่นใดใน อนาคต และปั จ จัย อื่ นๆ ที่ เกี่ ย วข้องในการบริ หารงานของบริ ษ ัท ตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษ ทั พิ จารณา เห็ นสมควรหรื อเหมาะสม ทั้งนี้ การดาเนิ นการดังกล่ าวจะต้องก่ อให้เกิ ดประโยชน์สูงสุ ดต่อผูถ้ ื อหุ ้น มติ คณะกรรมการบริ ษทั ซึ่ งพิจารณาเรื่ องการจ่ายเงินปั นผลต้องนาเสนอที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้นเพื่อขออนุ มตั ิ ยกเว้น กรณี การจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาล คณะกรรมการบริ ษทั มีอานาจอนุ มตั ิให้ดาเนิ นการได้ เมื่อเห็นว่าบริ ษทั มี กาไรสมควรพอที่จะจ่ายโดยไม่มีผลกระทบต่อการดาเนิ นงานของบริ ษทั แล้วรายงานให้ที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ทราบในการประชุมคราวต่อไป
45
9. โครงสร้ างการจัดการ 9.1 คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจานวนทั้งสิ้ น 8 ท่าน ซึ่ งประกอบด้วย การประชุ มคณะกรรมการ ชื่อ – สกุล ตาแหน่ ง จานวนครั้งการ จานวนครั้งที่ ประชุ ม เข้ าร่ วมประชุ ม ประธานกรรมการ 1. นายมาซามิ คัตซูโมโต 8 8 2. นายนาโอะฮิโร/1 3. นายรัฐวัฒน์ 4. นางสมศรี /1 5. นายยุทธนา/2
ฮามาดา ศุขสายชล ดวงประทีป แต่งปางทอง
6. นางสาววลัยภรณ์ กณิ กนันต์ 7. นายนิพนั ธ์
ตั้งพิรุฬห์ธรรม
8. นายสันติ
เนียมนิล
หมายเหตุ
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ / ประธาน กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
8 8 8 8
8 8 8 2
8
8
8
7
8
7
1/
นางสมศรี ดวงประทีป และนายนาโอะฮิโร ฮามาดา เป็ นกรรมการที่เป็ นตัวแทนจาก กลุ่มปิ่ นทอง 2/ นายยุทธนา แต่ปางทอง ได้รับแต่งตั้งเมื่อการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 6/2557 ในวันศุกร์ ที่ 8 สิ งหาคม 2557 โดยมีนางสาวสกุลทิพย์ ห่อมณี ทาหน้าที่เป็ นเลขานุการคณะกรรมการบริ ษทั
กรรมการซึ่งมีอานาจลงลายมือชื่อแทนบริ ษทั กรรมการผูม้ ีอานาจลงนามผูกพันบริ ษทั คือ นายมาซามิ คัตซูโมโต และนายนาโอะฮิโร ฮามาดา ลงลายมือ ชื่อร่ วมกันเป็ นสองคนและประทับตราสาคัญของบริ ษทั และให้นายมาซามิ คัตซูโมโต และนายนาโอะฮิโร ฮามาดา คนใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อร่ วมกันกับนายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล ร่ วมกันเป็ นสองคนและประทับตรา
46
สาคัญของบริ ษทั ในเอกสารต่างๆที่ใช้ยนื่ ต่อหน่วยงานราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สมาคม สถาบัน คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจานวนทั้งสิ้ น 3 ท่าน ซึ่ งประกอบด้วย การประชุ มคณะกรรมการ ชื่อ – สกุล ตาแหน่ ง จานวนครั้งการ จานวนครั้งที่เข้ า ประชุ ม ร่ วมประชุ ม นางสาววลัยภรณ์ กณิ กนันต์* ประธานกรรมการตรวจสอบ 8 8 นายนิพนั ธ์ ตั้งพิรุฬห์ธรรม กรรมการตรวจสอบ 8 7 นายสันติ เนียมนิล กรรมการตรวจสอบ 8 7 หมายเหตุ : *นางสาววลัยภรณ์ กณิ กนันต์เป็ นกรรมการตรวจสอบที่มีความรู้ความสามารถเพียงพอที่จะ สามารถทาหน้าที่ในการสอบทานความน่ าเชื่ อถื อของงบการเงิ นได้ โดยสาเร็ จการศึกษา ระดับปริ ญญาตรี สาขาบัญชี และประกาศนียบัตรขั้นสู งทางการสอบบัญชี และมีประสบการณ์ทางานในด้านการเป็ นที่ปรึ กษา ทางด้านบัญชี เช่น เป็ นที่ปรึ กษาทางด้านบัญชี ให้แก่บริ ษทั เอสซี ซิ สเต็ม เน็ตเวิร์ค จากัด และบริ ษทั ไอซิ่ น คลัทช์ ดิสค์ เป็ นต้น โดยมีการแต่งตั้งนางสาวดวงใจ มุ่งหมายผล มาทาหน้าที่เป็ นเลขาคณะกรรมการตรวจสอบ
47
9.2 คณะผู้บริหาร คณะผูบ้ ริ หาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจานวนทั้งสิ้ น 5 ท่าน ซึ่ งประกอบด้วย ชื่อ – สกุล ตาแหน่ ง หมายเหตุ นายมาซามิ คัตซูโมโต ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล รองประธานเจ้าหน้าที่บริ หารและ ผูอ้ านวยการฝ่ ายบริ หารงานทัว่ ไป นายชิเกฮิโร คัตซูโมโต ที่ปรึ กษาด้านการขายและการตลาด นายประถม ต่อฑีฆะ ผูอ้ านวยการฝ่ ายโรงงาน นายเกียรติภูมิ ภูมินนั ท์ ผูอ้ านวยการฝ่ ายการขายและการตลาด ขอบเขตอานาจหน้าที่ของประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร 1. เป็ นผูบ้ ริ หารจัดการและควบคุมดูแลการดาเนินกิจการที่เกี่ยวข้องกับการบริ หารงานทัว่ ไปของ บริ ษทั 2. ดาเนินการตามที่คณะกรรมการบริ ษทั ได้รับมอบหมาย 3. มีอานาจจ้าง แต่งตั้ง โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง กาหนดอัตราค่าจ้าง ให้บาเหน็จรางวัล ปรับขึ้น เงินเดือน ค่าตอบแทน เงินโบนัส ของพนักงานทั้งหมดของบริ ษทั ตั้งแต่ตาแหน่งรองประธาน เจ้าหน้าที่บริ หารลงไป 4. มีอานาจพิจารณาอนุมตั ิรายการกูย้ มื เงินระยะสั้น ภายในวงเงินสาหรับแต่ละรายการที่ไม่เกิน 20 ล้านบาทต่อปี 5. มีอานาจแก่การดาเนินการใดๆในการบริ หารกิจการของบริ ษทั ตามปกติและอันจาเป็ นแก่การ บริ หารกิจการของบริ ษทั เป็ นการทัว่ ไป ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1) การขายและการให้บริ การ เช่น การอนุมตั ิการขายสิ นค้า การอนุมตั ิให้ทาสัญญารับจ้างทา ของตามปกติธุรกิจ เป็ นต้น ภายในวงเงินต่อลูกค้ารายละไม่เกิน 10 ล้านบาทต่อเดือน 2) การจัดซื้ อวัตถุดิบ ภายในวงเงินไม่เกิน 5 ล้านบาทต่อรายต่อเดือน 3) การว่าจ้างทาของ เช่น แม่พิมพ์ เป็ นต้น ภายในวงเงินไม่เกิน 5 ล้านบาทต่อรายต่อเดือน 4) การว่าจ้างช่วง ภายในวงเงินไม่เกิน 2 ล้านบาทต่อรายต่อเดือน 5) การใช้จ่ายเงินในการบริ หารงานทุกประเภทที่เป็ นค่าใช้จ่ายในการผลิตอื่นๆ ไม่เกิน 2 ล้าน บาทต่อรายต่อเดือน 6) การอนุมตั ิการซ่อมแซมเครื่ องจักร/สาธารณูปโภคต่างๆ ภายในวงเงินไม่เกิน 2 ล้านบาท ต่อรายต่อเดือน 48
6. 7. 8. 9.
7) การเช่าเครื่ องจักรอุปกรณ์ในการผลิต/ค่าเช่ารถขนส่ งพนักงาน/ค่าเช่ารถขนส่ งสิ นค้า/วัสดุ อุปกรณ์/เครื่ องมือเครื่ องใช้ต่างๆ รวมถึงการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ ภายในวงเงินไม่เกิน 1 แสนบาทต่อรายต่อเดือน 8) มีอานาจอนุมตั ิ การดาเนินการใดๆ ในลักษณะเป็ นการลงทุนในโครงการที่เกี่ยวกับการ พัฒนาระบบการผลิตหรื อซื้ อเครื่ องจักร ที่มีมูลค่าไม่เกิน 7 ล้านบาทต่อปี มีอานาจออกคาสั่ง ระเบียบ ประกาศ บันทึก เพื่อให้การปฏิบตั ิงานเป็ นไปตามนโยบายและ ผลประโยชน์ของบริ ษทั และเพื่อรักษาระเบียบวินยั การทางานภายในองค์กร มีอานาจกระทาการและแสดงตนเป็ นตัวแทนบริ ษทั ต่อบุคคลภายนอกในกิจการที่เกี่ยวข้องและ เป็ นประโยชน์ต่อบริ ษทั อนุมตั ิการแต่งตั้งที่ปรึ กษาด้านต่างๆ ที่จาเป็ นต่อการดาเนิ นงาน ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นคราวๆไป
การอนุมตั ิเพื่อดาเนิ นการ ตลอดจนการมอบหมายจากประธานเจ้าหน้าที่บริ หารให้ดาเนิ นการเพื่อ เข้าทารายการดังกล่ าวข้างต้น จะต้องไม่มีลกั ษณะเป็ นการดาเนิ นการเพื่อเข้าทารายการที่ ทาให้ประธาน เจ้าหน้า ที่บ ริ หารหรื อผูร้ ับ มอบหมายจากประธานเจ้าหน้าที่บริ หารสามารถดาเนิ นการอนุ มตั ิ เพื่ อเข้าทา รายการที่ตนหรื อบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสี ย หรื ออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับ บริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย ซึ่ งการอนุมตั ิดาเนินการเพื่อเข้าทารายการในลักษณะดังกล่าวจะต้องเสนอต่อที่ประชุ ม คณะกรรมการและ/หรื อ ที่ ป ระชุ ม ผูถ้ ื อ หุ ้น เพื่ อพิ จารณาและอนุ ม ัติ และสอบทานรายการดัง กล่ า วโดย คณะกรรมการตรวจสอบ ตามข้อบังคับของบริ ษทั และตามที่สานักงาน ก.ล.ต. และ/หรื อตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยกาหนด ขอบเขตอานาจหน้าที่ของรองประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร 1. เสนอแผนและแนวทางการบริ หารให้แก่ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารและคณะกรรมการบริ ษทั พิจารณา 2. วางแผนและควบคุมดูแลการดาเนินกิจการและบริ หารงานและบริ ษทั ตามแผนงานและ งบประมาณ 3. สรุ ปผลการดาเนินงานเพื่อนาเสนอเจ้าหน้าที่บริ หารและคณะกรรมการบริ ษทั 4. ดาเนินกิจการที่เกี่ยวข้องกับการบริ หารงานทัว่ ไปของบริ ษทั หรื อกิจการอื่นๆตามที่ประธาน เจ้าหน้าที่บริ หาร หรื อคณะกรรมการบริ ษทั กาหนด 5. รับมอบอานาจจากประธานเจ้าหน้าที่บริ หารในการจ้าง แต่งตั้ง โยกย้าย ปลดออก เลิกจ้าง กาหนดอัตราค่าจ้าง ให้บาเหน็จรางวัล ปรับขึ้นเงินเดือน ค่าตอบแทน เงินโบนัส ของพนักงาน ทั้งหมดของบริ ษทั ในตาแหน่งต่ากว่าระดับรองประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร
49
6. รับมอบอานาจจากประธานเจ้าหน้าที่บริ หารในการอนุมตั ิการจัดซื้ อจัดจ้างซึ่ งทรัพย์สินและ
บริ การเพื่อประโยชน์ของบริ ษทั ทั้งนี้ การมอบหมายอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบของประธานเจ้าหน้าที่บริ หารดังกล่าวข้างต้น นั้นต้องอยูภ่ ายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมายและกฎระเบียบข้อบังคับของบริ ษทั ทั้งนี้ รองประธานเจ้าหน้าที่ บริ หารไม่มีอานาจในการดาเนินการใดๆ ใน/หรื อเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน รายการได้มาจาหน่ายไปซึ่ ง สิ นทรัพย์ที่สาคัญของบริ ษทั และ/หรื อ รายการหรื อเรื่ องที่รองประธานเจ้าหน้าที่บริ หารหรื อบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้งมีส่วนได้เสี ย หรื ออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดที่จะทาขึ้นกับบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย (ถ้ามี) ในกรณี ดงั กล่าว ให้รองประธานเจ้าหน้าที่บริ หารนาเสนอเรื่ องดังกล่าวต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรื อคณะกรรมการบริ ษทั และ/หรื อที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ เพื่อพิจารณาอนุมตั ิต่อไป
50
คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ
เลขานุการบริษัท ประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร ยม ซ มิ ค ซูโมโ
ฝ่ ายตรวจสอบภายใน รองประธานเจ้าหน้ าที่บริหาร ยร วฒ ศุข ยช
ผู้อานวยการฝ่ ายขายและ การตลาด
ผู้อานวยการฝ่ ายโรงงาน
ยเกียร ิภมู ิ ภูมิ ท
แผ ก วิศวกรรม
แผ ก ฉี ผ ิ ภณฑ
ผู้อานวยการฝ่ ายบัญชีและการเงิน
ยประถม ่อทีฆะ
ผู้อานวยการฝ่ ายบริหารงานทั่วไป ยร วฒ ศุข ยช
ว่ ง
ที่ปรึ กษาด้ านการขายและการตลาด
ที่ปรึกษาด้ านบัญชี
ยชิเกฮิโร ค ซูโมโ
ยภ คิ วิรุ หกุ แผ ก ิ่งแว ้ อม ชีวอ มย แ ะ คว มป อ ภย
แผ กข ยแ ะ กร
แผ ก ซ่อมบ รุ ง
แผ ก กแ ่งชิ ้ ง
แผ ก Machining
แผ กควบคุมแ ะ ประก คุณภทพ
แผ กว งแผ ก ร ผ ิ แ ะจ ่ง
แผ ก ก รเงิ
แผ ก ค ง ิ ค้
แผ ก บญชี
แผ กเทคโ โ ยี ร เทศ
51
แผ ก บญชี ้ ทุ
แผ ก วิจยแ ะพฒ
แผ กธุรก รแ ะ แผ กบุคค
แผ กชุมช มพ ธ
แผ ก จ ซื ้อ
9.3 เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีมติแต่งตั้งให้นางสาวสกุลทิพย์ ห่ อมณี ดารงตาแหน่งเป็ นเลขานุการ บริ ษทั ตั้งแต่วนั ที่ 18 กันยายน 2552 โดยคุณสมบัติของผูด้ ารงตาแหน่งเป็ นเลขานุการบริ ษทั ปรากฎในเอกสารแนบ 1 9.4 ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร 1. ค่ าตอบแทนทีเ่ ป็ นตัวเงิน ก. ค่าตอบแทนคณะกรรมการ ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี 2557 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2557 ได้มีมติอนุมตั ิการ กาหนดค่าตอบแทนกรรมการประจาปี 2557 โดยมีรายละเอียดดังนี้ รายนามคณะกรรมการ จานวนค่ าตอบแทน คณะกรรมการบริ ษัท ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการบริ ษทั 5,000 บาทต่อครั้ง การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ 5,000 บาทต่อครั้ง ค่าตอบแทนรายเดือน 5,000 บาทต่อเดือน ในปี 2557 ประกอบด้วยเบี้ยประชุม ซึ่ งจ่ายตามจานวนครั้งที่เข้าประชุม ดังนี้ ค่ าตอบแทนกรรมการ (บาท) ตามจานวนครั้งทีเ่ ข้ าร่ วมประชุ ม ชื่อ - สกุล คณะกรรมการ คณะกรรมการ ค่ าตอบแทนราย เดือน บริษัท ตรวจสอบ 1. นายมาซามิ คัตซูโมโต 40,000 2. นายนาโอะฮิโร 40,000 ฮามาดา 3. นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล 40,000 4. นางสมศรี ดวงประทีป 40,000 5. นายยุทธนา แต่ปางทอง 10,000 6. นางสาววลัยภรณ์ กณิ กนันต์ กณิ 40,000 กนันต์ 60,000 7. นายนิพนั ธ์ ตั้งพิรุฬห์ธรรม 35,000 60,000 35,000 60,000 8. นายสันติ เนียมนิล
รวม 40,000 40,000 40,000 40,000 10,000 100,000 95,000 95,000
52
ข. ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร ในปี 2557 บริ ษทั ได้จ่ายค่าตอบแทนประกอบด้วย เงินเดือนและโบนัส ให้กบั ผูบ้ ริ หาร จานวน 5 ราย รวมทั้งสิ้ น 9.62 ล้านบาท 2. ค่ าตอบแทนอืน่ ทีไ่ ม่ ใช่ ตัวเงิน/สิ ทธิประโยชน์ อนื่ ๆ ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นครั้งที่ 1/2555 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ได้มีมติอนุมตั ิการออก และจัดสรรใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ น้ สามัญของบริ ษทั ประเภทระบุชื่อผูถ้ ือและไม่สามารถโอนเปลี่ยน มือได้ (“ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ”) ให้แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษทั จานวน 6,000,000 หน่วย ซึ่ งจะทา การจัดสรรพร้อมกับการเสนอขายหุ น้ สามัญแก่ประชาชนทัว่ ไปในครั้งนี้ โดยมีราคาเสนอขาย 0 บาทต่อ หน่วย และใบสาคัญแสดงสิ ทธิ มีอายุ 5 ปี นับแต่วนั ที่ออกและเสนอขายใบสาคัญแสดงสิ ทธิ โดยใบสาคัญ แสดงสิ ทธิ 1 หน่วยมีสิทธิ ซ้ื อหุ น้ สามัญได้ 1 หุน้ ในราคาใช้สิทธิ 0.50 บาท ต่อหุ ้น (เว้นแต่จะมีการปรับสิ ทธิ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนด) และมีมติอนุมตั ิแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนสาหรับ พิจารณาจัดสรรใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จดั สรรให้แก่กรรมการและพนักงานของบริ ษทั แต่ละรายที่ได้รับ จัดสรรเกินกว่าร้อยละ 5 ของจานวนใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ท้ งั หมด ซึ่ งประกอบด้วยคณะกรรมการตรวจสอบ จานวน 3 ท่าน โดยมีมติกาหนดค่าตอบแทนพิเศษให้ท่านละ 50,000 บาท โดยจะทาการจ่ายให้ภายหลังจาก การเสนอขายหุ ้นเพิ่มทุนให้แก่ประชาชนทัว่ ไปเป็ นครั้งแรก ทั้งนี้ รายละเอียดของกรรมการและผูบ้ ริ หารที่ได้รับการจัดสรรใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ น้ สามัญของบริ ษทั มีดงั นี้ ร้ อยละของจานวน จานวนใบสาคัญ ใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่ ชื่อ-สกุล ตาแหน่ ง แสดงสิ ทธิทไี่ ด้ รับ จัดสรรให้ แก่ จัดสรร (หน่ วย) กรรมการและ พนักงาน (ร้ อยละ) ประธานกรรมการ / 600,000 10.00 1. นายมาซามิ คัตซูโมโต ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร กรรมการบริ ษทั 200,000 3.33 2. นายนาโอะฮิโร ฮามาดา กรรมการบริ ษทั / รอง 600,000 10.00 3. นายรัฐวัฒน์ ศุขสายชล ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร ที่ปรึ กษาด้านการขายและ 150,000 2.50 4. นายชิเกฮิโร คัตซูโมโต การตลาด
53
9.5 บุคลากร ด้านบุคลากร ในปี 2557 บริ ษทั มี พนักงานทั้งหมด 371 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2557) บริ ษทั ได้จ่ายผลตอบแทนให้แก่พนักงาน จานวนทั้งสิ้ น 84 ล้านบาท ได้แก่ เงินเดือน ค่าแรง ค่าล่วงเวลา ค่ากะ เงินช่วยเหลือค่าเดินทาง เงินโบนัส เบี้ยเลี้ยง เบี้ยขยัน เป็ นต้น จานวนคน
ค่ าตอบแทน พนักงาน (ล้านบาท) พนักงานสายงานผลิต 315 59.12 พนักงานสายงานบริ หารและสนับสนุน 56 25.35 รวม (คน) 371 84.48 หมายเหตุ: พนักงานสายการผลิต ได้แก่ DI FS MC QC PC MT WH
เฉลีย่ ต่ อคน (บาท : คน : ปี ) 187,69 452,75 227,703
การเปลี่ยนแปลงด้านแรงงานในรอบ 3 ปี ที่ผา่ นมา จานวนบุคลากร ปี 2555 จานวน 443 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 21 ธันวาคม 2555) จานวนบุคลากร ปี 2556 จานวน 398 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 21 ธันวาคม 2556) จานวนบุคลากร ปี 2557 จานวน 371 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2557) ข้อพิพาทด้านแรงงานในปี 2557 –ไม่มีด้านการพิจารณาปรับผลตอบแทน ปี ที่ผา่ นมาบริ ษทั ฯ ใช้ผลการประเมินผลการปฏิบตั ิงานประจาปี มา ใช้ในการเป็ นหลักเกณฑ์ในการปรั บผลตอบแทนประจาปี เพื่อเป็ นการสร้ างขวัญกาลังใจ และ ตอบแทนการ ทางานของพนักงาน ด้านสวัสดิการพนักงาน บริ ษทั ฯ จัดให้มี ค่ากะ ค่าความร้อน (เงินช่วยเหลือสาหรับพนักงานควบคุมเตา หลอมและเครื่ องจักรที่มีความร้อน) เบี้ยขยัน การตรวจสุ ขภาพประจาปี เครื่ องแบบ เงินช่วยเหลือ กรณี พนักงาน สมรส คลอดบุตร บุคคลในครอบครัวเสี ยชีวติ กองทุนสารองเลี้ยงชีพพนักงาน สวัสดิการรักษาพยาบาล (ประกัน กลุ่ ม ) และค่ าของเยี่ยมกรณี เจ็บป่ วยเข้ารั บการรั ก ษาเป็ นผูป้ ่ วยใน และ บริ ษทั ฯ ยัง สนับ สนุ นให้มี การจัดตั้ง สหกรณ์ออมทรัพย์ซงั โกะไทย เพื่อส่ งเสริ มการออม และการช่วยเหลือกันของพนักงาน
54
ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ บริ ษทั ฯ ได้สนับสนุ นให้พนักงานได้พฒั นา ทั้งในสายงานและอาชีพที่ ทาอยู่ พัฒนาคุณธรรม ยกระดับจิตใจ และสร้างความสุ ขในการทางาน ผ่านกิ จกรรมและการอบรม สัมนา อาทิ เช่น 1. การปฐมนิ เทศพนักงานใหม่ บริ ษทั ฯ จัดให้มีการอบรม เพื่อให้พนักงานมีความรู ้ ความเข้าใจ เกี่ ยวกับองค์กร สิ ทธิ สวัสดิ การต่างๆ ในการเป็ นพนักงานของบริ ษทั ฯ มาตรฐานการทางาน และมาตรฐานด้านความปลอดภัยในการทางาน รวมถึงวัฒนธรรมต่างๆ ภายในองค์กร และยังมี การประเมินผลการปฏิ บตั ิ งานระหว่างทดลองงาน เพื่อ เป็ นการติดตามความลงตัว และการ ปรับตัวให้เข้ากับองค์กร และหน้าที่ของพนักงานใหม่ 2. การพัฒนาทักษะ และความรู ้ ในงาน ผ่านกระบวนการอบรม และ กระบวนการสอนงาน ตาม หน้าที่ (On the job training) โดยใช้ระบบพี่เลี้ยง (Coaching) 3. พัฒนาความสามารถตามลักษณะงานที่รับผิดชอบ (Functional Expertise) เพื่อให้พนักงานมี ความรู ้ และมีความสามารถในงานที่รับผิดชอบ สามารถสอนงานต่อให้ผอู ้ ื่นได้ และสามารถ เติบโตในสายงานของตนได้ (Career Path) 4. พัฒนาบุคลากร ตามวัฒนธรรมองค์ก ร (Core Values) บริ ษทั ฯ ได้จดั กิ จกรรมส่ งเสริ มให้ พนักงานมีพฤติกรรมพึงประสงค์ตามกรอบของวัฒนธรรมองค์กร ดังนี้ การคิดเชิงนวัตกรรม (Innovation) การทางานเชิงรุ ก (Proactive Working) ความมุ่งมัน่ สู่ ความสาเร็ จ (Achievement Orientation) มีความรู้สึกเป็ นเจ้าขององค์การ ( Sense of Belonging) นอกจากนี้ ยังจัดให้มีแผนงานกิจกรรมตามโครงการ Happy Workplace เพื่อส่ งเสริ ม ให้คุณภาพชีวติ ของพนักงานให้สามารถทางานและใช้ชีวติ อย่างมีความสุ ขอีกด้วย
55
10. การกากับดูแลกิจการ 10.1 นโยบายการกากับดูแลกิจการ บริ ษทั ตระหนักถึงความสาคัญของการกากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) โดย เชื่ อว่า การกากับดูแลกิจการที่ดีแสดงถึงการมีระบบบริ หารจัดการที่มีประสิ ทธิ ภาพ โปร่ งใส ตรวจสอบได้ ซึ่ งช่วยสร้างความเชื่ อมัน่ และความมัน่ ใจต่อผูถ้ ือหุ ้น ผูล้ งทุน ผูม้ ีส่วนได้เสี ย และผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกฝ่ าย อันจะ นาไปสู่ การเพิ่มมูลค่าและการเติบโตของบริ ษทั ในระยะยาวอย่างยัง่ ยืน บริ ษทั ได้ดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ องใน การส่ งเสริ มให้มีระบบการกากับดู แลกิ จการที่ ดี โดยมุ่งหวังให้คณะกรรมการและฝ่ ายจัดการของบริ ษทั พัฒนาระดับการกากับดูแลกิจการและปฏิ บตั ิตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี ให้สอดคล้องกับแนวทางที่ เป็ นมาตรฐานสากล โดยนาหลักการกากับดูแลกิ จการที่ดีซ่ ึ งกาหนดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย มากาหนดเป็ นนโยบายการกากับดูแลกิจการที่ดีของบริ ษทั และกาหนดให้มีการติดตามเพื่อปรับปรุ งนโยบาย ดังกล่าวให้สอดคล้องกับแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่ งอาจมีการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เพื่อให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพการณ์ ที่เปลี่ ยนแปลงไป โดยมี แนวปฏิ บตั ิ ซ่ ึ งครอบคลุ ม หลักการ 5 หมวด ดังต่อไปนี้ 1. สิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ได้ตระหนักและให้ความสาคัญถึงสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ ้น โดยไม่กระทาการใดๆที่เป็ นการละเมิด หรื อริ ดรอนสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ น้ รวมถึงส่ งเสริ มให้ผถู ้ ือหุ น้ ได้ใช้สิทธิ ของตน โดยสิ ทธิ ข้ นั พื้นฐานของผูถ้ ือหุ ้น ได้แก่ การซื้ อขายหรื อการโอนหุ ้น การมีส่วนแบ่งในกาไรของบริ ษทั การได้รับข่าวสารข้อมูลของบริ ษทั อย่า งเพี ย งพอ การเข้า ร่ ว มประชุ ม เพื่ อ ใช้สิ ท ธิ อ อกเสี ย งในที่ ป ระชุ ม ผูถ้ ื อหุ ้นเพื่ อแต่ ง ตั้ง หรื อถอดถอน กรรมการ แต่งตั้งผูส้ อบบัญชี และเรื่ องที่มีผลกระทบต่อบริ ษทั เช่น การจัดสรรเงินปั นผล การกาหนดหรื อ การแก้ไขข้อบังคับและหนังสื อบริ คณห์สนธิ การลดทุนหรื อเพิ่มทุน และการอนุมตั ิรายการพิเศษ เป็ นต้น บริ ษทั มีนโยบายส่ งเสริ มและอานวยความสะดวกให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นรวมถึงนักลงทุนสถาบัน ในการเข้า ร่ วมประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น โดยบรษัทคัดเลื อกสถานที่จดั การประชุ มซึ่ งมีระบบขนส่ งมวลชนเข้าถึ งและเพียงพอ เพื่อให้ผถู ้ ื อหุ ้นสามารถเดินทางเข้าร่ วมการประชุ มได้อย่างสะดวก บริ ษทั มีการให้ขอ้ มูล วัน เวลา สถานที่ และวาระการประชุ ม ตลอดจนข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่ตอ้ งตัดสิ นใจในที่ประชุ มแก่ผถู ้ ือหุ ้นเป็ น การล่วงหน้า และแจ้งให้ผถู ้ ือหุ น้ ทราบกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ใช้ในการประชุม รวมถึงขั้นตอนการออกเสี ยงลงมติ บริ ษทั มีการอานวยความสะดวกให้ผถู ้ ื อหุ ้นได้ใช้สิทธิ ในการเข้าร่ วมประชุ มและออกเสี ยงอย่างเต็มที่ และ ส่ งเสริ มให้ผถู ้ ื อหุ ้นมีโอกาสในการแสดงความเห็ นและตั้งคาถามต่อที่ประชุ มในเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั ได้ รวมทั้งเปิ ดโอกาสให้ผูถ้ ื อหุ ้นส่ งคาถามล่ วงหน้าและมีโอกาสเสนอวาระการประชุ มก่ อนวันประชุ ม รวมถึงมีสิทธิ มอบฉันทะให้ผอู ้ ื่นเข้าร่ วมประชุม 56
2. การปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุ ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริ ษทั มีการปฏิ บตั ิต่อผูถ้ ือหุ ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็ นธรรม ทั้งผูถ้ ือหุ ้นที่เป็ นผูบ้ ริ หาร ผู ้ ถือหุ ้นที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร ผูถ้ ื อหุ ้นต่างชาติ และผูถ้ ื อหุ ้นส่ วนน้อย และสร้ างความมัน่ ใจให้กบั ผูถ้ ื อหุ ้นว่า คณะกรรมการและฝ่ ายจัดการได้ดูแลให้การใช้เงินของผูถ้ ือหุ ้นเป็ นไปอย่างเหมาะสม ด้วยเชื่ อว่าเป็ นปั จจัย สาคัญต่อความมัน่ ใจในการลงทุนกับบริ ษทั โดยคณะกรรมการบริ ษทั มีหน้าที่กากับดูแลให้ผถู ้ ื อหุ ้นได้รับ การปฏิบตั ิ และปกป้ องสิ ทธิ ข้ นั พื้นฐานอย่างเท่าเทียมกัน คณะกรรมการบริ ษทั ได้จดั กระบวนการประชุมผูถ้ ือหุ น้ ในลักษณะที่สนับสนุ นให้มีการปฏิบตั ิต่อผู ้ ถื อหุ ้นทุ กรายอย่างเท่าเที ยมกัน และเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ื อหุ ้นส่ วนน้อยสามารถเสนอชื่ อบุ คคลเพื่อเข้าดารง ตาแหน่งกรรมการบริ ษทั เป็ นการล่วงหน้าในเวลาอันสมควร รวมถึงเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ ้นที่ไม่สามารถเข้า ประชุมด้วยตนเอง สามารถใช้สิทธิออกเสี ยงโดยมอบฉันทะให้ผอู้ ื่นมาประชุมและออกเสี ยงลงมติแทนได้ คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนดแนวทางในการเก็บรักษาและป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายในเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษร และแจ้งแนวทางดังกล่าวให้ทุกคนในองค์กรถือปฏิบตั ิ 3. บทบาทของผูม้ ีส่วนได้เสี ย บริ ษ ัท ตระหนัก ถึ ง ความรั บ ผิดชอบและการปฏิ บ ตั ิ ต่อผูม้ ี ส่ ว นได้เสี ย กลุ่ ม ต่ า งๆ และประสาน ประโยชน์ร่วมกันอย่างเหมาะสม เพื่อให้ผูม้ ี ส่วนได้เสี ยทุกกลุ่ มมัน่ ใจว่าสิ ทธิ ดงั กล่ าวได้รับการคุ ม้ ครอง และปฏิบตั ิดว้ ยดี โดยได้กาหนดเป็ นแนวทางที่ตอ้ งปฏิบตั ิเพื่อตอบสนองความต้องการของผูม้ ีส่วนได้เสี ยแต่ ละกลุ่ ม ไว้อ ย่ า งชัด เจนใน “ข้อ พึ ง ปฏิ บ ัติ แ ละจริ ย ธรรมทางธุ ร กิ จ ” พร้ อ มทั้ง เผยแพร่ แ ละรณรงค์ ใ ห้ คณะกรรมการบริ ษทั ฝ่ ายบริ หาร ตลอดจนผูป้ ฏิบตั ิงาน ยึดถือเป็ นหลักปฏิบตั ิในการดาเนินงาน และถือเป็ น ภาระหน้าที่ที่สาคัญของทุกคน 4. การเปิ ดเผยข้อมูลและความโปร่ งใส บริ ษทั ให้ความสาคัญกับการเปิ ดเผยข้อมูลสาคัญที่ เกี่ ยวข้องกับบริ ษทั ทั้งข้อมูลทางการเงิ นและ ข้อมูลที่มิใช่ขอ้ มูลทางการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา โปร่ งใส ผ่านช่องทางที่เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มี ความเท่าเทียมกันและน่าเชื่อถือ ด้ว ยบริ ษ ัท เชื่ อ ว่ า คุ ณ ภาพของรายงานทางการเงิ น เป็ นเรื่ อ งที่ ผู ้ถื อ หุ ้ น และบุ ค คลภายนอกให้ ความสาคัญ คณะกรรมการบริ ษทั จึงดูแลเพื่อให้เกิ ดความมัน่ ใจว่า ข้อมูลที่แสดงในรายงานทางการเงิ นมี ความถูกต้อง เป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชี ที่รับรองโดยทัว่ ไป และผ่านการตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชี ที่ เป็ นอิสระ โดยได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ งประกอบด้วยกรรมการที่เป็ นอิสระเป็ นผูร้ ับผิดชอบ
57
ดูแลเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบการควบคุมภายใน ทั้งนี้ รายงานของคณะกรรมการ บริ ษทั คณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานของผูส้ อบบัญชี มีรายละเอียดปรากฏในรายงานประจาปี 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษ ทั มี บ ทบาทส าคัญในการก ากับ ดู แลกิ จการเพื่ อ ประโยชน์สู งสุ ดของบริ ษ ทั คณะกรรมการบริ ษทั มีความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบตั ิหน้าที่ต่อผูถ้ ือหุ น้ และเป็ นอิสระจากฝ่ ายจัดการ คณะกรรมการบริ ษทั มีภาวะผูน้ า วิสัยทัศน์ และมีความเป็ นอิสระในการตัดสิ นใจเพื่อประโยชน์ สู งสุ ดของบริ ษทั และผูถ้ ื อหุ ้นโดยรวม จึงจัดให้มีระบบแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบระหว่าง คณะกรรมการบริ ษ ทั และฝ่ ายจัดการที่ ชัดเจน และดู แลให้บ ริ ษ ทั มี ระบบงานที่ ใ ห้ค วามเชื่ อ มัน่ ได้ว่า กิจกรรมต่างๆ ของบริ ษทั ได้ดาเนินไปในลักษณะที่ถูกต้องตามกฎหมายและมีจริ ยธรรม คณะกรรมการบริ ษัท ประกอบด้ ว ยกรรมการที่ มี คุ ณ สมบัติ ห ลากห ลาย ทั้ง ในด้ า นทัก ษะ ประสบการณ์ ความสามารถเฉพาะด้านที่เป็ นประโยชน์กบั บริ ษทั รวมทั้งการอุทิศเวลาและความพยายาม ในการปฏิบตั ิหน้าที่ เพื่อเสริ มสร้างให้บริ ษทั มีคณะกรรมการที่เข้มแข็ง กระบวนการสรรหาผูด้ ารงตาแหน่งกรรมการบริ ษทั เพื่อให้ที่ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นเป็ นผูแ้ ต่งตั้ง เป็ นไป อย่างโปร่ งใส ปราศจากอิทธิ พลของผูถ้ ือหุ ้นที่มีอานาจควบคุมหรื อฝ่ ายจัดการ และสร้างความมัน่ ใจให้กบั บุคคลภายนอก เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บ ัติ ห น้ า ที่ ข องคณะกรรมการบริ ษัท มี ป ระสิ ทธิ ภาพ และมี ป ระสิ ทธิ ผล คณะกรรมการบริ ษทั จึงจัดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทาหน้าที่ ช่วยคณะกรรมการบริ ษทั ในการ ปฏิบตั ิหน้าที่กากับดูแลเกี่ยวกับความถูกต้องของรายงานทางการเงิน ประสิ ทธิ ภาพระบบการควบคุมภายใน และการปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ และหลักจรรยาบรรณต่างๆ เพื่อส่ งเสริ มให้เกิดการกากับดูแลกิจการที่ ดี กรรมการบริ ษทั ทุกคนมีความเข้าใจเป็ นอย่างดีถึงหน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการและลักษณะ การดาเนิ นธุ รกิ จของบริ ษทั พร้ อมที่ จะแสดงความคิดเห็ นของตนอย่างเป็ นอิ สระและปรั บปรุ งตัวเองให้ ทันสมัยอยูต่ ลอดเวลา กรรมการบริ ษทั มีการปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความซื่ อสัตย์สุจริ ต ระมัดระวังและรอบคอบ โดยคานึ งถึ งประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั และเป็ นธรรมต่อผูถ้ ื อหุ ้นทุกคน โดยได้รับข้อมูลที่ ถูกต้องและ ครบถ้วน
58
10.2 คณะกรรมการชุ ดย่ อย 1. คณะกรรมการบริษัท ขอบเขตอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริ ษทั อานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั ที่สาคัญโดยสรุ ปตามมติที่ ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ น้ ครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2552 1) จัดการบริ ษทั ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติของที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น ด้วย ความสุ จริ ต ระมัดระวัง และรักษาผลประโยชน์ของบริ ษทั 2) มีอานาจแต่งตั้งกรรมการ และ/หรื อ ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั จานวนหนึ่งให้เป็ นฝ่ ายบริ หารเพื่อ ดาเนิ นการอย่างหนึ่งอย่างใดหรื อหลายอย่างได้เพื่อปฏิบตั ิงานตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริ ษทั รวมทั้งมีอานาจแต่งตั้งประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร และคณะกรรมการอื่นๆ ตามความเหมาะสม 3) กาหนดเป้ าหมาย แนวทาง นโยบาย แผนงาน และงบประมาณของบริ ษทั ควบคุมดูแลการ บริ หารและการจัดการฝ่ ายบริ หาร หรื อบุคคลที่ได้รับมอบหมาย ให้เป็ นไปตามนโยบายที่ คณะกรรมการบริ ษทั ได้ให้ไว้ 4) พิจารณาทบทวนและอนุมตั ินโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ แผนงานการดาเนินธุ รกิจ โครงการลงทุน ขนาดใหญ่ของบริ ษทั ที่เสนอโดยฝ่ ายบริ หาร 5) ติดตามผลการดาเนิ นงานให้เป็ นไปตามแผนงานและงบประมาณอย่างต่อเนื่อง 6) พิจารณาและอนุมตั ิกิจการอื่นๆ ที่สาคัญอันเกี่ยวกับบริ ษทั หรื อที่เห็นสมควรจะดาเนินการ นั้นๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดแก่บริ ษทั เว้นแต่อานาจในการดาเนิ นการดังต่อไปนี้ จะกระทาได้ก็ต่อเมื่อได้รับอนุ มตั ิจากที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ก่อน ทั้งนี้ เรื่ องที่กรรมการมีส่วนได้เสี ย หรื อมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย ให้กรรมการซึ่ งมีส่วนได้เสี ย หรื อมีความขัดแข้งทางผลประโยชน์ดงั กล่าวไม่มีสิทธิ ออกเสี ยงลงคะแนนใน เรื่ องนั้น (ก) เรื่ องที่กฎหมายกาหนดให้ตอ้ งได้รับมติที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น (ข) การทารายการที่กรรมการมีส่วนได้เสี ยและอยูใ่ นข่ายที่กฎหมาย หรื อข้อกาหนดของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยระบุให้ตอ้ งได้รับอนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ เรื่ องต่อไปนี้จะต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ด้วยคะแนนเสี ยงข้างมาก ของกรรมการที่เข้าร่ วมประชุ ม และจากที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้นด้วยคะแนนเสี ยงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจานวน เสี ยงทั้งหมดของผูถ้ ือหุ น้ ที่เข้าประชุมและมีสิทธิ ออกเสี ยงลงคะแนน
59
(ก) การขายหรื อโอนกิจการของบริ ษทั ทั้งหมดหรื อบางส่ วนที่สาคัญ (ข) การซื้ อหรื อรับโอนกิจการของบริ ษทั อื่นหรื อบริ ษทั เอกชนมาเป็ นของบริ ษทั (ค) การทา แก้ไข หรื อเลิกสัญญาเกี่ยวกับการให้เช่ากิจการของบริ ษทั ทั้งหมดหรื อบางส่ วนที่สาคัญ การมอบหมายให้บุคคลอื่นเข้าจัดการธุ รกิจของบริ ษทั หรื อการรวมกิ จการกับบุคคลอื่นโดยมี วัตถุประสงค์จะแบ่งกาไรขาดทุนกัน (ง) การแก้ไขเพิม่ เติมหนังสื อบริ คณห์สนธิ หรื อข้อบังคับ (จ) การเพิ่มทุน การลดทุน การออกหุ น้ กู้ การควบหรื อเลิกบริ ษทั (ฉ) การอื่นใดที่กาหนดไว้ภายใต้บทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และ/หรื อ ข้อกาหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยให้ตอ้ งได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุ มคณะกรรมการ บริ ษทั และที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ ด้วยคะแนนเสี ยงดังกล่าวข้างต้น 2. คณะกรรมการตรวจสอบ 1. 2.
3. 4.
5.
6.
ขอบเขตอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ สอบทานให้บริ ษทั มีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ สอบทานให้บริ ษทั มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่ เหมาะสมและมี ป ระสิ ทธิ ผ ล และพิ จารณาความเป็ นอิ ส ระของหน่ วยงาน ตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิ กจ้างหัวหน้า หน่วยงานตรวจสอบภายใน หรื อหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน สอบทานให้บริ ษทั ปฏิ บตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรั พย์และตลาดหลักทรัพย์ขอ้ กาหนดของ ตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจของบริ ษทั พิจารณา คัดเลื อ ก เสนอแต่ง ตั้งบุ คคลซึ่ งมี ค วามเป็ นอิ ส ระเพื่อทาหน้าที่ เป็ นผูส้ อบบัญชี ข อง บริ ษทั และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทั้งเข้าประชุ มกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มีฝ่าย จัดการเข้าร่ วมประชุมด้วยอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง พิจารณารายการที่เกี่ ยวโยงกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็ นไปตาม กฎหมายและข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เพื่อให้มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผล และเป็ นประโยชน์สูงสุ ดต่อบริ ษทั จัดทารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ใ นรายงานประจาปี ของบริ ษ ทั ซึ่ ง รายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูล อย่างน้อยดังต่อไปนี้ - ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็ นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริ ษทั 60
- ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริ ษทั - ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนด
ตลาดหลักทรัพย์ หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุ รกิจของบริ ษทั - ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี - ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ - จานวนการประชุ มคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้า ร่ ว มประชุ มของคณะกรรมการ ตรวจสอบแต่ละท่าน - ความเห็ นหรื อข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิ บตั ิหน้าที่ตาม กฏบัตร (charter) - รายการอื่ น ที่ เ ห็ นว่า ผูถ้ ื อ หุ ้น และผูล้ งทุ นทัว่ ไปควรทราบภายใต้ข อบเขตหน้า ที่ และความ รับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั 7. ปฏิ บตั ิ การอื่ นใดตามที่ คณะกรรมการบริ ษทั มอบหมายด้วยความเห็ นชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ ในการปฏิ บตั ิหน้าที่ ตามวรรคหนึ่ ง คณะกรรมการตรวจสอบมี ความรับผิดชอบต่อคณะกรรมการ บริ ษ ัท โดยตรง และคณะกรรมการของบริ ษ ทั ยัง คงมี ความรั บ ผิด ชอบในการด าเนิ นงานของบริ ษัท ต่ อ บุคคลภายนอก 10.3 การสรรหาและแต่ งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสู งสุ ด การสรรหากรรมการและผู้บริหาร 1.คณะกรรมการบริษัท สาหรับการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้าดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการของบริ ษทั ฯไม่ได้ผา่ นการสรรหาจาก คณะกรรมการสรรหา การสรรหากรรมการเป็ นหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ซึ่ งจะ พิจารณาคัดเลือกตามเกณฑ์คุณสมบัติตามมาตรา 68 แห่ งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ.2535 และ ตามประกาศคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ยงั พิจารณาคัดเลือก กรรมการจากผูท้ รงคุณวุฒิที่มีพ้นื ฐานและความเชี่ยวชาญจากหลากหลายด้านซึ่ งจะส่ งผลดีต่อการดาเนิ นงาน ของบริ ษทั ฯ ในการให้คาแนะนา ข้อคิดเห็นในเรื่ องต่างๆ ในมุมมองของผูท้ ี่มีประสบการณ์ตรง มีภาวะผูน้ า วิสัยทัศน์กว้างไกล มีคุณธรรมและจริ ยธรรม มีประวัติการทางานที่โปร่ งใส และมีความสามารถในการแสดง ความคิดเห็นอย่างเป็ นอิสระ จากนั้นจึงนารายชื่อเสนอที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ เพื่อพิจารณาแต่งตั้ง ในการเลือกตั้งคณะกรรมการของบริ ษทั ฯ จะกระทาโดยที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้ 61
(ก) ผูถ้ ือหุน้ คนหนึ่งมีคะแนนเสี ยงเท่ากับหนึ่งหุ น้ ต่อหนึ่งเสี ยง (ข) ในการเลือกตั้งกรรมการบริ ษทั วิธีการออกเสี ยงลงคะแนน อาจใช้การลงคะแนนเสี ยงให้แก่ผู ้ ได้รับการเสนอชื่ อเป็ นรายบุ คคล หรื อหลายคนในคราวเดี ยวกันแล้วแต่ที่ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นจะ เห็ นสมควร แต่ ใ นการออกเสี ย งลงคะแนนหรื อมี ม ติ ใดๆ ผูถ้ ื อหุ ้นแต่ ล ะคนจะใช้สิ ทธิ ตาม คะแนนเสี ยงที่มีอยูท่ ้ งั หมดตามข้อ 1 แต่จะแบ่งคะแนนเสี ยงให้แก่ผใู ้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (ค) บุคคลซึ่ งได้รับคะแนนเสี ยงสู งสุ ดตามลาดับลงมาเป็ นผูไ้ ด้รับการเลื อกตั้งเป็ นกรรมการเท่า จานวนกรรมการที่จะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณี ที่บุคคลซึ่ งได้รับการเลื อกตั้ง ในลาดับถัดลงมามีคะแนนเสี ยงเท่ากันเกินจานวนกรรมการที่จะพึงมีหรื อพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ผเู ้ ป็ นประธานเป็ นผูอ้ อกเสี ยงชี้ขาด นอกจากนี้ ในการประชุ มสามัญประจาปี ทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตาแหน่ ง 1 ใน 3 ถ้าจานวน กรรมการที่จะออกไม่อาจแบ่งให้ตรงเป็ นจานวนได้ก็ให้ออกโดยจานวนใกล้เคียงที่สุดกับสัดส่ วน 1 ใน 3 กรรมการซึ่ งพ้นจากตาแหน่งแล้วอาจได้รับเลือกเข้ารับตาแหน่งอีกก็ได้ กรรมการที่จะต้องออกจากตาแหน่ง ในปี แรกและปี ที่ สองภายหลังจดทะเบียนบริ ษทั ฯนั้นให้ใช้วิธีจบั สลากกันว่าผูใ้ ดจะออก ส่ วนในปี หลังๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยูใ่ นตาแหน่งนานที่สุดนั้นเป็ นผูอ้ อกจากตาแหน่ง กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจ ถูกเลือกเข้ามาดารงตาแหน่งใหม่ได้ กรณี ที่ตาแหน่ ง กรรมการว่า งลงเพราะเหตุ อื่นนอกจากถึ งคราวออกตามวาระให้ก รรมการเลื อก บุคคลซึ่ งมีคุณสมบัติและไม่มีลกั ษณะต้องห้าม ตามมาตรา 68 แห่ งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 เข้าเป็ นกรรมการแทนในการประชุ มคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการเหลื อน้อย กว่า 2 เดือน บุคคลซึ่ งเข้าเป็ นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยูใ่ นตาแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยงั เหลืออยู่ ของกรรมการซึ่ งตนแทนและต้องได้รับมติ ของคณะกรรมการด้วยคะแนนเสี ยงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของ กรรมการที่ยงั เหลืออยู่ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริ ษทั ต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของจานวน กรรมการทั้งหมดของบริ ษทั แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า 3 คน คานิยาม “กรรมการอิสระ” “กรรมการอิสระ” คื อบุ คคลที่ไม่มีส่วนเกี่ ยวข้องใดๆทั้งสิ้ นกับการบริ หารงานบริ ษทั ฯ และ/ หรื อการดาเนิ นธุ รกิ จของบริ ษทั ฯ เป็ นบุคลที่ มีความเป็ นอิสระจากผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่และผูบ้ ริ หารของ บริ ษ ทั ฯ รวมทั้ง ญาติ ส นิ ทของบุ ค คลเหล่ า นั้น และสามารถแสดงความเห็ นได้อย่า งเป็ นอิ ส ระ โดย คานึงถึงผลประโยชน์ของบริ ษทั ฯและผูถ้ ือหุน้ เป็ นสาคัญ
62
คุณสมบัติของกรรมการอิสระ 1. เป็ นบุคคลที่มีคุณสมบัติไม่ขดั ต่อกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รวมทั้งกฎหมายต่างๆที่เกี่ยวข้อง 2. ถือหุ ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจานวนหุ ้นที่มีสิทธิ ออกเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม หรื อนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยให้นบั รวมหุ น้ ที่ถือโดยผูท้ ี่เกี่ยวข้องด้วย 3. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการที่มีส่วนร่ วมบริ หารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึ กษาที่ได้เงินเดือน ประจา หรื อผูม้ ีอานาจควบคุ มของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลาดับ เดียวกัน หรื อนิ ติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง เว้นแต่จะได้พนั จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง 4. ไม่เป็ นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิ ต หรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะ ที่เป็ น บิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผูบ้ ริ หาร ผูถ้ ือหุ ้นราย ใหญ่ ผูม้ ีอานาจควบคุม หรื อบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็ นผูบ้ ริ หารหรื อผูม้ ีอานาจควบคุ ม ของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย 5. ไม่มีหรื อเคยมี ความสัมพันธ์ ท างธุ รกิ จกับบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมหรื อนิ ติ บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ในลักษณะที่อาจเป็ นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของ ตน รวมทั้งไม่เป็ นผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่ งไม่ใช่กรรมการอิสระ หรื อผูบ้ ริ หาร ของผูท้ ี่มี ความสัมพันธ์ ท างธุ รกิ จกับบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม หรื อนิ ติบุคคลที่ อาจมี ความขัดแย้ง เว้นแต่ได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที่ได้รับ การแต่งตั้ง 6. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม หรื อนิ ติบุคคลที่ อาจมี ความขัดแย้ง และไม่เป็ นผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่ งไม่ใช่ กรรมการอิ สระ ผูบ้ ริ หาร หรื อหุ ้นส่ วนผูจ้ ดั การของสานักงานสอบบัญชี ซึ่ งมีผสู ้ อบบัญชี ของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม หรื อนิ ติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งสังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ก่อนวัน ก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้ง 7. ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผูใ้ ห้บริ การทางวิชาชี พใดๆ ซึ่ งรวมถึงการให้บริ การเป็ นที่ปรึ กษากฎหมาย หรื อที่ปรึ กษาทางการเงิ น ซึ่ งได้รับค่าบริ การเกิ นกว่าสองล้านบาทต่อปี จากบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษ ทั ย่อย บริ ษ ทั ร่ วม หรื อนิ ติบุค คลที่ อาจมี ความขัดแย้ง รวมทั้งไม่ เป็ นผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ กรรมการซึ่ งไม่ใช่ กรรมการอิสระ ผูบ้ ริ หาร หรื อหุ ้นส่ วนผูจ้ ดั การ ของผูใ้ ห้บริ การทางวิชาชี พ นั้นด้วย เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ก่อนวันที่ได้รับการ แต่งตั้ง
63
8. ไม่เป็ นกรรมการที่ ได้รับแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็ นตัวแทนของกรรมการของบริ ษทั ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ หรื อผูถ้ ือหุ น้ ซึ่ งเป็ นผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ของบริ ษทั 9. ไม่มีลกั ษณะอื่นใดที่ทาให้ไม่สามารถให้ความเห็ นอย่างเป็ นอิสระเกี่ยวกับการดาเนิ น งานของ บริ ษทั 10. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของผูข้ อนุญาต หรื อบริ ษ ทั ย่อย หรื อไม่เป็ นหุ ้นส่ วนที่ มี นัยในห้างหุ ้นส่ วน หรื อเป็ นกรรมการที่ มี ส่ วนร่ วม บริ หารงานลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึ กษาที่รับเงิ นเดื อนประจา หรื อถื อหุ ้นเกิ นร้ อยละหนึ่ งของ จานวนหุ ้นที่มีสิทธิ ออกเสี ยงทั้งหมดของบริ ษทั อื่น ซึ่ งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดี ยวกัน และเป็ นการแข่งขันที่มีนยั กับกิจการของผูข้ ออนุญาตหรื อบริ ษทั ย่อย 11. กรรมการอิสระจะต้องรายงานต่อคณะกรรมการบริ ษทั ฯ โดยทันทีหากเห็นว่ามีเหตุการณ์ใดๆที่ อาจจะทาให้ตนต้องขาดคุณสมบัติความเป็ นอิสระในฐานะกรรมการอิสระ ภายหลังได้รับการแต่งตั้งให้เป็ นกรรมการอิสระที่มีลกั ษณะเป็ นไปตามคุณสมบัติขา้ งต้นแล้ว กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ ให้ตดั สิ นใจในการดาเนิ นกิ จการของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลาดับเดี ยวกัน หรื อนิ ติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยมี การตัดสิ นใจในรู ปแบบขององค์คณะ (Collective decision) ได้ 2.คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ ษทั หรื อที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั เป็ นผูม้ ีอานาจแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ ขึ้น ซึ่ งคณะกรรมการตรวจสอบจะต้องมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึ ง ประกาศ ข้อบังคับ และ/หรื อระเบียบของตามหลักเกณฑ์ที่สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์กาหนด โดยมีจานวนไม่นอ้ ยกว่า 3 คน ทั้งนี้ กรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน ต้องเป็ นผู้ มีความรู้ดา้ นบัญชีและการเงิน 10.4 การดูแลเรื่องการใช้ ข้อมูลภายใน บริ ษทั ได้กาหนดนโยบายเรื่ องการใช้ขอ้ มูลภายในของบริ ษทั เพื่อป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายในบริ ษทั ซึ่ งยังไม่ได้เปิ ดเผยต่อสาธารณชนไปเปิ ดเผยหรื อแสวงหาประโยชน์แก่ตนเอง หรื อเพื่อประโยชน์แก่บุคคล อื่นไม่วา่ โดยทางตรงหรื อโดยทางอ้อม และไม่วา่ จะได้รับผลประโยชน์ตอบแทนหรื อไม่ก็ตาม และอาจเป็ น เหตุ ใ ห้ส่ ง ผลกระทบต่ อการเคลื่ อนไหวของราคาซื้ อขายหลัก ทรั พ ย์ข องบริ ษ ทั ในตลาดหลัก ทรั พ ย์แห่ ง ประเทศไทย โดยมีสาระสาคัญดังนี้
64
1. ให้ค วามรู ้ แก่ ก รรมการและผูบ้ ริ ห าร ให้ รับ ทราบเกี่ ย วกับ หน้า ที่ ที่ ต้องรายงานการถื อครอง หลักทรัพย์ของตน คู่สมรส และบุตรที่ไม่บรรลุ นิติภาวะ ตามมาตรา 59 รวมถึงบทกาหนดโทษ ตามมาตรา 275 แห่ง พรบ.หลักทรัพย์ พ.ศ.2535 และตามข้อกาหนดของ ตลท. 2. ก าหนดให้ผูบ้ ริ หารรายงานการเปลี่ ย นแปลงการถื อครองหลัก ทรั พ ย์ต่อ กลต. จัดส่ ง ส าเนา รายงานดังกล่าวให้แก่บริ ษทั ในวันเดียวกับวันที่ส่งรายงานต่อ กลต. 3. ใช้บงั คับเมื่อได้ดาเนินการขายหุน้ ให้สาธารณชนเรี ยบร้อยแล้ว บริ ษทั ได้ดาเนิ นการแจ้งให้ผบู ้ ริ หารและพนักงานของบริ ษทั ทราบว่า ผูบ้ ริ หารและพนักงานของ บริ ษ ัท ที่ ไ ด้รั บ ทราบข้อ มู ล ทางการเงิ น ของบริ ษ ัท หรื อ ข้อ มู ล ภายในที่ เ ป็ นสาระส าคัญ ที่ มี ผ ลต่ อ การ เปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ตอ้ งหลีกเลี่ยงการซื้ อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั ในช่วง 1 เดือน ก่อนที่งบการเงิน หรื อข้อมูลภายในนั้นจะเปิ ดเผยต่อสาธารณชน และห้ามมิให้เปิ ดเผยข้อมูลที่เป็ นสาระสาคัญนั้นต่อบุคคลอื่น หากมีการกระทาที่ฝ่าฝื นระเบียบปฏิบตั ิดงั กล่าวข้างต้น บริ ษทั จะดาเนินการทางวินยั เพื่อพิจารณาลงโทษตาม สมควรแก่ กรณี ได้แก่ การตักเตื อนด้วยวาจา ตักเตื อนด้วยหนังสื อ ตัดค่าจ้าง พักงาน เลิ กจ้างโดยไม่จ่าย ค่าชดเชย หรื อดาเนินคดีตามกฎหมาย 10.5 ค่ าตอบแทนของผู้สอบบัญชี 1. ค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชี (Audit Fee) ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี 2556 เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2556 ได้มีมติอนุมตั ิการกาหนด ค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชีปี 2556 เป็ นจานวนเงิน 650,000 บาท (หกแสนห้าหมื่นบาท) ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือ หุน้ ประจาปี 2557 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2557 ได้มีมติอนุมตั ิการกาหนดค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชีปี 2557 เป็ น จานวนเงิน 800,000 บาท (แปดแสนบาทถ้วน) 2. ค่าบริ การอื่น ๆ (Non Audit Fee) -
ไม่มี -
65
10.6 การปฏิบัติตามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ีในเรื่องอื่น ๆ การเข้าร่ วมการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบปี 2557 ชื่อ – สกุล 1. นางสาววลัยภรณ์ กณิ กนันต์ 2. นายนิพนั ธ์
ตั้งพิรุฬห์ธรรม
3. นายสันติ
เนียมนิล
ตาแหน่ ง ประธานกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการ ตรวจสอบ กรรมการ ตรวจสอบ
การประชุ มคณะกรรมการ จานวนครั้งการ จานวนครั้งที่เข้ า ประชุ ม ร่ วมประชุ ม 8
8
8
7
8
7
66
11. ความรับผิดชอบต่ อสั งคม (Corporate Social Responsibilities: CSR) บริ ษทั ซังโกะไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) มีความมุ่งมัน่ ที่จะดาเนินธุ รกิจภายใต้การ กากับกิจการที่ดียดึ หลักธรรมาภิบาล ควบคู่ไป กับการใส่ ใจดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อม มีสานึกรับผิดชอบต่อ สังคมอย่างแท้จริ ง โดยคานึงถึงผูท้ ี่มีส่วนได้ส่วนเสี ย ที่เกี่ยวข้องทั้งภายใน และภายนอกองค์กร ตั้งแต่ผถู ้ ือ หุ น้ พนักงาน ลูกค้าชุมชน ตลอดจนสังคมวงกว้าง ทั้งนี้ เพื่อนนาไปสู่ การพัฒนาธุ รกิจอย่างยัง่ ยืน เพื่อให้การ ดาเนินกิจการขององค์กรประสบความสาเร็ จ มีมาตรฐาน จึงได้กาหนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ขึ้น และแต่งตั้งคณะกรรมการบริ หาร และคณะทางานด้าน CSR ขึ้นมาเพื่อกากับดูแลงานให้เป็ นไป ตามนโยบายฯ และแนวทางปฏิบตั ิ ของมาตรฐาน ISO26000 ดังต่อไปนี้ (1) การประกอบกิจการด้ วยความเป็ นธรรม การแข่งขันที่เป็ นธรรม บริ ษทั ให้ความสาคัญในการดาเนิ นธุ รกิจโดยปฏิ บตั ิตามกรอบการแข่งขัน ทางการค้าที่สุจริ ตและเป็ นธรรมภายใต้กรอบของกฎหมาย และจรรยาบรรณธุ รกิ จของบริ ษทั และยึดถื อ กติกาของการแข่งขันอย่างเสมอภาค ด้วยความเป็ นธรรม ซื่ อสัตย์โปร่ งใส ตรวจสอบได้ ทั้งนี้ บริ ษทั ฯได้เปิ ด โอกาสให้ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยทุกกลุ่ม ทุกระดับ มีช่องทางในการร้องเรี ยนถึงการฝ่ าฝื นซึ่ งจรรยาบรรณหรื อ เหตุการณ์ ใดๆ ซึ่ งตระหนักว่าอาจส่ งผลกระทบต่อธุ รกิ จ หรื อชื่ อเสี ยงของบริ ษทั ฯ ได้อย่างปลอดภัย โดย การรายงาน หรื อแจ้ง เบาะแส เป็ น จดหมายที่ ส ามารถปกปิ ดตัว ผูร้ ายงานได้ส่ ง ตรงต่ อ คณะกรรมการ ตรวจสอบของบริ ษทั ฯ ผูร้ ายงาน หรื อแจ้งเบาะแสจะได้รับความคุม้ ครองความปลอดภัย หากมีความพยายาม ใดๆ ที่ จะคุ กคามตัวผูร้ ายงาน จะถื อว่าเป็ นการละเมิ ดจรรยาบรรณ ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ ได้กาหนดข้อพึงปฏิ บตั ิ (Code of conduct) ต่างๆ (รายละเอียดเพิ่มเติม ให้ดูใน www.sankothai.net ) (2) การต่ อต้ านการทุจริต ปั จจุบนั บริ ษทั ฯได้มีการสื่ อสาร ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้กบั ผูท้ ี่เกี่ยวข้องของ บริ ษทั ฯ ไม่ให้มีการเรี ยกรับ หรื อยินยอมที่จะรับเงิ น สิ่ งของ หรื อผลประโยชน์ใดๆ จากผูท้ ี่เกี่ ยวข้องทาง ธุ รกิจ กับบริ ษทั ฯรวมทั้งไม่ดาเนิ นการ หรื อกระทาการใดๆ ที่เข้าข่ายดังกล่าว และไม่เรี ยกร้ อง ดาเนิ นการ หรื อยอมรับสิ นบน เพื่อประโยชน์ ทั้งต่อบริ ษทั ฯ ต่อตนเองหรื อบริ วาร โดยบริ ษทั ฯ ได้เผยแพร่ นโยบาย ต่อต้านการทุ จริ ตคอร์ รัปชั่นให้แก่ ผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสี ยที่ เกี่ ยวข้อง ได้รับทราบทางเว็ปไซต์ของบริ ษทั ฯ นอกจากนี้ ยังได้กาหนดนโยบายการบริ หารความเสี่ ยง http://www.sankothai.net และจัดตั้งคณะกรรมการ บริ หารความ เสี่ ยง ในปี 2558ได้ดาเนิ นการอบรมให้ความรู้และแนวทางปฏิบตั ิตาม มาตรฐานแก่ผบู ้ ริ หาร และจะขยายผลลงไปสู่ พนักงานระดับปฏิบตั ิการ
67
(3) การเคารพสิ ทธิมนุษยชน บริ ษ ทั ฯได้ตระหนักและให้ค วามส าคัญในกิ จกรรมของบริ ษ ทั ที่ อาจมี ผ ลกระทบต่ อหลัก สิ ท ธิ มนุษยชนในทุกๆ ด้าน โดยปฏิบตั ิตาม ข้อกาหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้องไม่มีนโยบายในการใช้แรงงานเด็ก แรงงานบังคับ และไม่ให้การสนับสนุ นกิ จกรรมที่ ละเมิดหลัก สิ ทธิ มนุ ษชน หรื อการทุจริ ต ณ ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ มุ่งมัน่ ที่จะนาแนวทางที่ เป็ นบรรทัดฐานสากลมาประยุกต์และประกาศใช้อย่างเป็ น ทางการให้ ครอบคลุมผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยทุกภาคส่ วน (4) การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็ นธรรม บริ ษทั ฯ ได้กาหนดโครงสร้ างค่าตอบแทนในการจ้างงานอย่างเป็ นธรรม และสู งกว่าที่ กฎหมาย กาหนดเนื่ องจากบริ ษทั ฯ ตั้งอยู่ ในพื้นที่ ที่มีเขตนิ คมอุ ตสาหกรรมล้อมรอบ ซึ่ งมี การแข่งขันด้านแรงงาน ค่อนข้างสู ง และ นอกจากจะมีการจ้างงานในอัตราสู งกว่าที่ กฎหมายกาหนดแล้ว บริ ษทั ฯยังมุ่งมัน่ ในการ สร้างความสุ ขให้เกิดขึ้นในองค์กรด้วยหลักการ Happy 8 เป็ นผลให้อตั ราการลาออกของพนักงานลดลง ผล การสารวจความรู ้ สึก ความคิดเห็นพนักงานต่องาน บรรยากาศในการทางาน และ ต่อองค์กรดีข้ ึนและไม่มี การรวมกลุ่มกันของพนักงานเพื่อจัดตั้งสหภาพแรงงาน จัดกิจกรรมต่างๆดังนี้ - กิจกรรมสัมนาการทางานเป็ นทีม และการทางานร่ วมกัน -
การพัฒนาความสามารถด้านการใช้ ภาษาอังกฤษ
-
สหกรณ์ออมทรัพย์ ซังโกะไทย จากัด
-
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
-
กิจกรรมวันแห่งความปลอดภัย ( SAFETY and ENERGY DAY)
(5) ความรับผิดชอบต่ อผู้บริโภค บริ ษทั ฯ มีนโยบายเกี่ยวกับการปฏิบตั ิต่อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในห่วงโซ่ธุรกิจอันได้แก่ ลูกค้า ผูถ้ ือหุ น้ คู่แข่งทางการค้า คู่คา้ พนักงาน สังคมและสิ่ งแวดล้อม และได้ประกาศไว้ในจรรยาบรรณทางธุ รกิจเพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการดาเนินงานของบริ ษทั ฯ โดยมีขอ้ กาหนดเกี่ยวกับจริ ยธรรมทางธุ รกิจ (Code of Ethics) ของบริ ษทั ฯ (รายละเอียดเพิ่มเติม www.sankothai.net) จัดกิจกรรมต่างๆดังนี้ - การใช้ทรัพยากรอย่างยัง่ ยืน ด้านการจัดการพลังงาน -
การจัดการทรัพยากรในกระบวนการผลิต
-
โครงการอุตสาหกรรมสี เขียว GREEN INDUSTRY
-
การป้ องกันและลดผลกระทบจากมลพิษ
68
(6)
-
การควบคุมมลพิษ
-
คุณภาพอากาศที่ระบายจากปล่อง
-
การจัดการกากของเสี ย
-
การปกป้ องฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ
การร่ วมพัฒนาชุ มชนและสั งคม จัดกิจกรรมต่างๆดังนี้ - บทบาทในการสร้างงาน -
การมีส่วนร่ วมในชุมชน
-
โครงการ “จิตอาสาทาความสะอาดวัด”
-
โครงการ “OTOP ของดี 5 ดาว ระยอง
ซึ่ งรายละเอียดต่างๆ สามารถดูได้จากรายงานการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน่ ประจาปี 2557 (SD Report -57)
12. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ ยง 12.1. การประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในโดยคณะกรรมการบริษัท ในการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ัท ครั้ งที่ 2/2558 เมื่ อ วัน ที่ 25 กุ ม ภาพัน ธ์ 2558 โดยมี คณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่ วมประชุ มทั้ง 3 ท่าน ได้ให้ความเห็ นเกี่ ยวกับการควบคุ มภายในของบริ ษทั และพิจารณาอนุมตั ิตอบแบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ทั้ง 5 ส่ วน ดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment) 2. การประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment) 3. มาตรการควบคุม (Control Activities) 4. ระบบสารสนเทศและการสื่ อสารข้อมูล (Information and Communication) 5. ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) โดยคณะกรรมการเห็ นว่า ระบบการควบคุ มภายในของบริ ษทั มีความเพียงพอและเหมาะสม โดย บริ ษทั ได้จดั ให้มีบุคลากรอย่างเพียงพอที่จะดาเนิ นการตามระบบได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยรายละเอียด ของแบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั สามารถดูได้ใน เอกสารแนบที่ 3 แบบประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน นอกจากนี้ ผสู ้ อบบัญชี ของบริ ษทั คือ บริ ษทั พีวี ออดิท จากัด ซึ่ งเป็ นผูต้ รวจสอบงบการเงินรายไตร มาสและประจาปี 2557 ผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั ได้ทาการประเมินระบบบัญชีและระบบบควบคุมภายในด้าน บัญชี ข องบริ ษทั ซึ่ ง ผูส้ อบบัญชี ได้มีการตั้ง ข้อสั งเกตสาหรั บระบบการควบคุ มภายในของบริ ษทั ในการ 69
ตรวจสอบงบการเงิ น และมี การติ ดตามผลการแก้ไขตามข้อสังเกตดังกล่าว โดยสามารถสรุ ปประเด็นที่ มี สาระสาคัญ ได้ดงั นี้ ประเด็นข้อสังเกต คาชี้แจงและการดาเนินการของบริ ษทั 1)บริ ษทั จัดเตรี ยมข้อมูลและรายละเอียดประกอบยอด เนื่ องจากปั ญหาเรื่ องของบุ คลากรในหน่ วยงานบัญชี คงเหลื อ ล่ า ช้ า และผู ้ส อบบัญ ชี ไ ด้รั บ รายละเอี ย ด ได้ ล าออกกะทั น หั น จ านวน 2 ท่ า น เป็ นระดั บ ประกอบงบการเงิ นหลายครั้ง เนื่ องจากยอดคงเหลื อ รั ก ษาการผู้จ ัด การฝ่ าย จ านวน 1 ท่ า น และระดั บ เจ้าหน้าที่ จานวน 1 ท่า น จึ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อการส่ ง ไม่ตรงกับบัญชีแยกประเภท เอกสารล่ า ช้า ณ ปั จจุ บ ันได้ท าการสรรหาพนัก งาน ระดับเจ้าหน้าที่ ทดแทนได้แล้ว 1 อัตรา ในส่ วนของ ระดับผูจ้ ดั การฝ่ าย อยูใ่ นระหว่างการสรรหา และหาก สรรหาได้ค รบ การส่ ง เอกสารจะเป็ นไปตามเวลาที่ กาหนด 2)บริ ษั ท มี ร ายการปรั บ ปรุ งบั ญ ชี ใ นระหว่ า งการ เนื่ องจากปั ญหาเรื่ องของบุ คลากรในหน่ วยงานบัญชี ตรวจสอบงบการเงินเป็ นจานวนมาก โดยรายการที่มี ได้ ล าออกกะทั น หั น จ านวน 2 ท่ า น เป็ นระดั บ รั ก ษาการผู้จ ัด การฝ่ าย จ านวน 1 ท่ า น และระดั บ สาระสาคัญได้แก่ - ค่ า เผื่ อ มู ล ค่ า สิ นค้ า ลดลง 1,374,383.85 บาท เจ้าหน้าที่ จานวน 1 ท่า น จึ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อการส่ ง เอกสารล่ า ช้า ณ ปั จจุ บ ันได้ท าการสรรหาพนัก งาน เนื่องจากได้รายละเอียดล่าช้า - ผลประโยชน์พนักงาน 2,846,67.55 บาท เนื่องจาก ระดับเจ้าหน้าที่ ทดแทนได้แล้ว 1 อัตรา ในส่ วนของ ระดับผูจ้ ดั การฝ่ าย อยูใ่ นระหว่างการสรรหา และหาก ได้รายละเอียดล่าช้า - สิ ทธิ ซื้ อหุ ้ น 460,850.60 บาท เนื่ องจากได้ สรรหาได้ครบ การส่ ง เอกสารจะเป็ นไปตามเวลาที่ กาหนด รายละเอียดล่าช้า - เงิ น มัด จ ารั บ ล่ ว งหน้ า 540,000 บาท เนื่ อ งจาก เนื่องจากกิจการจัดประเภทผิดบัญชี - ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายแม่พิมพ์ 1,158,000 บาท เจ้าหนี้ การค้า 838,000 บาท เงิ น ส ารองจ่ า ยล่ ว งหน้ า แม่พิมพ์ 1,996,000 บาท เนื่ องจากเงิ นสารองจ่าย ล่วงหน้ายังไม่ได้จ่ายเงิน - แม่ พิ ม พ์ 550,000 บาท ค่ า เสื่ อ มสิ้ น สิ น ทรั พ ย์แม่ พิ ม พ์ 234,575 บาท เนื่ อ งจากกิ จ การโอนปิ ด แม่พิมพ์เข้าสิ นทรัพย์ผดิ รายการ
70
ประเด็นข้อสังเกต - เงิ นโบนัส ค้า งจ่ า ย 1,001,297.83 บาท เนื่ องจาก กิจการประมาณการเงินโบนัสสู งไป
คาชี้แจงและการดาเนินการของบริ ษทั
รายได้อื่นค้างรับ 518,000 บาท เนื่องจากรายได้คา้ งรับ ค่าแม่พิมพ์ที่บนั ทึกซ้ า 3)บริ ษทั อยู่ระหว่างการเก็บข้อมูลเพื่อปรับปรุ งข้อมูล 1)อยูใ่ นระหว่างการปรับปรุ งขัอมูลกาลังการผลิตปกติ ก าลั ง การผลิ ต ปกติ ใ ห้ เ ป็ นปั จ จุ บ ั น ซึ่ งจะต้ อ งใช้ ในระบบ ERP ให้ถูกต้อง ภายในไตรมาส 2 2)และจะทาการสอบทาน ปื ละ 1คร้้ง ระยะเวลาในการจัดทา 3)ทาการปรับปรับปรุ งทุกครั้งที่มีการเพิ่ม หรื อลด กาลังผลิตปกติเช่น เมื่อมีการเพิม่ เครื่ องจักรหลัก 4)บริ ษทั มีการส่ งงานระหว่างทาให้ผรู ้ ับจ้างผลิ ต โดย ทางบริ ษั ท ได้ มี ก ารอบรมและชี้ แจงในเรื่ องของ ควบคุ มตาม Lot การผลิ ตแต่ละครั้ ง แต่ผูร้ ั บจ้างผลิ ต คุณภาพชิ้นงานและเรื่ องการควบคุมสิ นค้าคงคลัง และ ไม่ได้ควบคุมงานระหว่างทาที่ส่งคืนให้บริ ษทั ตาม Lot Lot การผลิ ต ของผู้รั บ จ้า งผลิ ต ในปี 2013 (ตาม การผลิ ตที่ ส่งให้แต่ละครั้ ง เมื่ อบริ ษทั รั บงานระหว่าง เอกสารแนบ ทาง QC ) และได้มีการจัดทาแผนการเข้า ทาจากผูร้ ั บจ้างผลิ ต บริ ษทั ไม่ สามารถแยกได้ว่างาน ไปตรวจสอบ ผูร้ ับจ้างผลิต ในปี 2013 -2014 เพื่อทา ระหว่างทาที่รับมาเป็ นงานระหว่างทา Lot ไหน เป็ น การยกระดับและการปั ญหาดังกล่าว ซึ่ งในปี นี้ บริ ษทั มี เหตุให้บริ ษทั กระทบยอดสิ นค้าคงเหลื อ ณ วันสิ้ นงวด แผนในการพัฒนาดังนี้ จึงมีท้ งั ปริ มาณเกินและขาด เนื่ องจากงานระหว่างทาที่ 1. จัดทาการอบรมในเรื่ องคุณภาพ และ ระบบคงคลัง ของทาง ผูร้ ับจ้างผลิตอีกครั้ง ในเดือน มีนาคม 2015 รับกลับสลับ Lot กัน 2. ให้มีการติดตามผลการยืนยันยอดระหว่างกันทุก เดือน ระหว่างบริ ษทั กับผูร้ ับจ้างผลิต 3. ให้มีการสุ่ มตรวจสอบผูร้ ับจ้างผลิต เดือนละ 1 ราย โดยเลือกหลังจากผลการยืนยันยอด ไม่ตรงกัน หรื อที่ พบปัญหามากที่สุด 2.3 ทางบริ ษทั ได้จดั ทาระบบควบคุมกล่องใส่ สินค้า ระหว่าง บริ ษทั กับ ลูกค้า หรื อ ผูร้ ับจ้างผลิต ซึ่ง อาจจะไม่ครอบคลุมถึงระบบคงคลังของกล่องใส่ สิ นค้าภายในองค์กร 5)รายละเอี ย ดยอดคงเหลื อ ปริ มาณกล่ อ งใส่ สิ น ค้า 1)ปั จจุบนั มีการควบคุม แต่ยงั ไม่รัดกุมเท่าที่ควร ซึ่ งอยู่ 71
ประเด็นข้อสังเกต คาชี้แจงและการดาเนินการของบริ ษทั คงเหลื อ ที่ บ ริ ษ ัท บัน ทึ ก เป็ นอุ ป กรณ์ โ รงงานไม่ ไ ด้ ระหว่างการพัฒนาระบบการควบคุม จัด ท าทะเบี ย นคุ ม แยกปริ ม าณกล่ อ งเป็ นแต่ ล ะชนิ ด 2)จะดาเนินการทา Cycle Count ทุกเดือนเพื่อขอ และท าการตรวจสอบสถานะของกล่ องดัง กล่ า ว ว่า อนุมตั ิตดั จาหน่ายยอดที่ไม่สามารถไช้งานได้ ชารุ ดไม่สามารถใช้งานได้ อยูท่ ี่บุคคลภายนอกหรื ออยู่ ที่แผนกใดของกิจการ 6)บริ ษทั จาแนกรายได้และค่าใช้จ่ายระหว่างกิ จการที่ อยู่ร ะหว่า งปรั บ ปรุ ง ระบบ ERP โดยปั จ จุ บนั ข้อ มู ล ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนและกิจการที่ไม่ได้รับการ เครื่ องจักร Diecasting ที่ผลิ ตงานถูกบันทึกไว้ในการ ส่ ง เสริ มการลงทุ น ไม่ เ ป็ นไปตามหลัก เกณฑ์ แ ละ ผลิ ต ทุ ก ขั้น ตอนของ WIP แล้ว เหลื อ ในส่ ว นการ บันทึกข้อมูลไปยัง FG และ Sale Invoice ซึ่ งถูกกาหนด เงื่อนไข แผน ให้แก้ไข ร่ วมกับส่ วนงาน FG Barcode ภายใน ไตรมาสที่ 2 ปี 2558 โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาแล้วมีความเห็ นว่าบริ ษทั ได้ดาเนิ นการในการแก้ไขตาม ข้อสังเกตผูส้ อบบัญชีตามรายละเอียดข้างต้น และประเด็นที่อยูร่ ะหว่างการแก้ไขนั้น ไม่มีผลกระทบต่อความ น่าเชื่อถือของงบการเงินและระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั อย่างมีนยั สาคัญ 12.2. การประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในโดยคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็ นว่าบริ ษทั มีระบบการควบคุ มภายในที่เพียงพอและเหมาะสม รวมถึ ง มี ระบบการควบคุ ม ภายในที่ เพี ยงพอในเรื่ องของการท าธุ รกรรมกับ ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ ริ ห าร หรื อ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ บุ ค คลดัง กล่ า ว ทั้ง นี้ สามารถพิ จ ารณารายงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบหัวข้อ15. 12.3.หัวหน้ างานตรวจสอบภายในของบริษัท ในการประชุ มคณะกรรมการตรวจสอบเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2558 ครั้งที่ 2/2558 ได้แต่งตั้ง บริ ษทั ออดิท เฮ้าส์ จากัด ซึ่ งเป็ นสานักตรวจสอบจากภายนอก ดารงตาแหน่ง “ผูต้ รวจสอบภายใน” ในการ ทาหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบตั ิงานและกิจกรรมทางการเงินของบริ ษทั ประจาปี 2558 โดยได้มอบหมายให้ นายธนา วงศ์แสงนาค เป็ นผูร้ ับผิดชอบหลักในการปฏิบตั ิหน้าที่ผตู้ รรวจสอบภายในของบริ ษทั คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาคุณสมบัติของบริ ษทั ออดิท เฮ้าส์ จากัด และนายธนา วงศ์แสง นาค แล้วเห็ นว่า มี ความเหมาะสมเพียงพอกับการปฏิ บตั ิหน้าที่ดงั กล่ าว เนื่ องจากมีความเป็ นอิสระ และมี ประสบการณ์ในการปฏิบตั ิงานด้านการตรวจสอบภายใน และเคยเข้ารับการอบรมในหลักสู ตรที่เกี่ยวข้อง กับการปฏิบตั ิงานด้านตรวจสอบภายใน ได้แก่ การอบรม 1) Internal Quality Assessment จัดโดย สมาคม ผูต้ รวจสอบภายในแห่ งประเทศไทย 2) Audit Project Management จัดโดย สมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่ ง 72
ประเทศไทย 3) Operational Auditing จัด โดย สมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่ ง ประเทศไทย4) ประกาศนียบัตร กฎหมายภาษีอากร จัดโดย ศาลภาษีอากรกลาง 5) ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี , หลักบัญชีและ ภาษีอากรที่แตกต่างจัดโดย สภาวิชาชีพบัญชีฯ 6) Thai Auditing Standards (TSA) ใหม่ ปี 2555 จัดโดย สภา วิชาชีพบัญชีฯ 7) ภาษีอากรสาหรับธุ รกรรมระหว่างประเทศ จัดโดย สภาวิชาชีพบัญชีฯ เพื่อให้มนั่ ใจว่ามีการดาเนิ นการตามแนวทางที่กาหนดอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ รวมถึงตรวจสอบการ ปฏิ บตั ิตามกฎหมายและข้อกาหนดที่ เกี่ ยวข้องกับบริ ษทั และเพื่อให้ผูต้ รวจสอบภายในมี ความเป็ นอิ สระ สามารถทาหน้าที่ ตรวจสอบและถ่ วงดุ ลได้อย่างเต็มที่ จึ งกาหนดให้ผูต้ รวจสอบภายในรายงานผลการ ตรวจสอบโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริ ษทั ซึ่ งมีหน้าที่กากับดูแลให้มีระบบการ ควบคุ มภายในที่ดี และสาเนารายงานเรี ยนกรรมการผูจ้ ดั การเพื่อช่ วยกากับดูแลและสั่งการให้ผูบ้ ริ หารที่ เกี่ยวข้องในแต่ละหน่วยงานดาเนิ นการปรับปรุ งแก้ไขตามข้อเสนอแนะด้วยความเรี ยบร้อย โดยผูต้ รวจสอบ ภายในจะรายงานผลการตรวจสอบเป็ นประจาทุกไตรมาส ทั้งนี้ การพิจารณาและอนุมตั ิ แต่งตั้ง ถอดถอน โยกย้ายผูด้ ารงตาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบ ภายในของบริ ษทั จะต้องผ่านการอนุ มตั ิ เห็ นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบโดยคุ ณสมบัติของผูด้ ารง ตาแหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายในปรากฎในเอกสารหัวข้อ 15.
73
13. รายการระหว่ างกัน 13.1 รายละเอียดรายการระหว่างกัน รายการระหว่างกันกับบุคคลและนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในปี 2556 ถึงปี 2557 มีดงั นี้ มูลค่ารายการระหว่างกัน บุคคล/นิติบุคลที่อาจ ลักษณะและรายละเอียดของ (บาท) มีความขัดแย้ง / ความจาเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ รายการ ลักษณะธุ รกิจ 31 ธ.ค. 56 31 ธ.ค. 57 บริ ษทั จุฑาวรรณ ค้ าประกันวงเงินตัว๋ สัญญาใช้ บริ ษทั จุฑาวรรณ จากัดและบริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด ได้ทาการ จากัด เงินและวงเงินเบิกเกินบัญชี ค้ าประกันวงเงินตัว๋ สัญญาใช้เงินและวงเงินเบิกเกินบัญชี จากสถาบันการเงิน : จาหน่ายเหล็ก ให้แก่บริ ษทั แห่ งหนึ่ งให้แก่บริ ษทั โดยคิดค่าธรรมเนี ยมการค้ าประกันในอัตราร้ อยละ 2 สแตนเลสและ - วงเงินการค้ าประกัน 17,500,000 17,500,000 ต่อปี ของวงเงิ นค้ าประกัน ซึ่ งบริ ษทั มี ความจาเป็ นในการใช้วงเงิ นดังกล่าว เหล็กกล้า - ค่าธรรมเนียมค้ าประกัน สาหรั บ เป็ นเงิ นทุ นหมุ นเวีย น อย่า งไรก็ตาม บริ ษ ทั จะทาการถอนการค้ า วงเงิน ประกันเมื่อได้รับเงื่อนไขที่ดีกว่าจากสถาบันการเงิน ยอดยกมาต้นงวด 29,645 29,726 ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ ค่าธรรมเนียมระหว่างงวด 350,000 350,000.01 คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ว มี ภาษีมูลค่าเพิ่ม 24,433 ความเห็ นว่าการค้ าประกันวงเงิ นตัว๋ สัญญาใช้เงิ นและวงเงิ นเบิ กเกิ นบัญชี ชาระระหว่างงวด 374,352 320,273.98 ดังกล่าวก่อให้เกิดผลดีกบั บริ ษทั และมีอตั ราค่าธรรมเนี ยมที่เหมาะสมเท่ากับ ยอดคงค้างปลายงวด 29,726 29,726.03 อัตราค่าธรรมเนี ยมของธนาคารพาณิ ชย์ทวั่ ไป นอกจากนี้ เพื่อให้เป็ นไปตาม เงื่อนไขของธนาคาร จึงมีความจาเป็ นที่จะต้องให้มีการค้ าประกันวงเงินส่ วน นี้ 74
บุคคล/นิติบุคลที่อาจ มีความขัดแย้ง / ลักษณะธุ รกิจ บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด : ผลิตชิ้นส่ วน อุปกรณ์ เครื่ องใช้ไฟฟ้ าและ ชิ้นส่ วนยานยนต์ดว้ ย วิธีอดั ขึ้นรู ป และทา สี ชิ้นส่ วน
ลักษณะและรายละเอียดของ รายการ
มูลค่ารายการระหว่างกัน (บาท) 31 ธ.ค. 56 31 ธ.ค. 57
ค้ าประกันวงเงินตัว๋ สัญญาใช้เงิน และวงเงินเบิกเกินบัญชีให้แก่ บริ ษทั - วงเงินการค้ าประกัน 17,500,000 - ค่าธรรมเนียมค้ าประกัน วงเงิน ยอดยกมาต้นงวด 29,645 ค่าธรรมเนียมระหว่างงวด 350,000 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 24,433 ชาระระหว่างงวด 374,352 ยอดคงค้างปลายงวด 29,726
บริ ษทั ฯ ได้กยู้ มื ระยะสั้นโดย ออกตัว๋ สัญญาใช้เงินกับบริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล จากัด โดยมี
ความจาเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ
บริ ษทั จุฑาวรรณ จากัดและบริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด ได้ทาการ ค้ าประกันวงเงินตัว๋ สัญญาใช้เงินและวงเงินเบิกเกินบัญชี จากสถาบันการเงิน แห่ งหนึ่ งให้แก่บริ ษทั โดยคิดค่าธรรมเนี ยมการค้ าประกันในอัตราร้ อยละ 2 17,500,000 ต่อปี ของวงเงิ นค้ าประกัน ซึ่ งบริ ษทั มี ความจาเป็ นในการใช้วงเงิ นดังกล่าว สาหรั บ เป็ นเงิ นทุ นหมุ นเวีย น อย่า งไรก็ตาม บริ ษ ทั จะทาการถอนการค้ า ประกันเมื่อได้รับเงื่อนไขที่ดีกว่าจากสถาบันการเงิน 29,726 ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ 350,000.01 คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ว มี ความเห็ นว่าการค้ าประกันวงเงิ นตัว๋ สัญญาใช้เงิ นและวงเงิ นเบิ กเกิ นบัญชี 349,999.98 ดังกล่าวก่อให้เกิดผลดีกบั บริ ษทั และมีอตั ราค่าธรรมเนี ยมที่เหมาะสมเท่ากับ 29,726.03 อัตราค่าธรรมเนี ยมของธนาคารพาณิ ชย์ทวั่ ไป นอกจากนี้ เพื่อให้เป็ นไปตาม เงื่อนไขของธนาคาร จึงมีความจาเป็ นที่จะต้องให้มีการค้ าประกันวงเงินส่ วน นี้ 6,000,000.00 บริ ษทั ได้กยู้ มื ระยะสั้นโดยออกตัว๋ สัญญาใช้เงิน ให้แก่ บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล จากัด อัตราดอกเบี้ย 7.5 % ต่อปี โดยตัว๋ สัญญาใช้เงิน เลขที่ SDT2557/001 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2557 สิ้ นสุ ดวันที่ 19 กันยายน 2557 เมื่อ 75
บุคคล/นิติบุคลที่อาจ มีความขัดแย้ง / ลักษณะธุ รกิจ
ลักษณะและรายละเอียดของ รายการ
มูลค่ารายการระหว่างกัน (บาท) 31 ธ.ค. 56 31 ธ.ค. 57
รายละเอียดดังนี้ -ดอกเบี้ยจ่าย -ดอกเบี้ยค้างจ่าย
บริ ษทั ขายสิ นค้าให้บริ ษทั ไทย อินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด - ยอดยกมาต้นงวด ขายระหว่างงวด ภาษีมูลค่าเพิ่ม ชาระเงินระหว่างงวด ยอดคงค้างปลายงวด
68,398 3,821,004 267,470 3,906,001 250,871
ความจาเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ
ตัว่ สัญญาถึงกาหนดได้มีการต่อตัว๋ สัญญาใช้เงิน เลขที่ SDT2557/002 ลง 340,438.35 วันที่ 19 กันยายน 2557 สิ้ นสุ ดวันที่ 19 มีนาคม 2558 อัตราดอกเบี้ย 7% 35,671.23 ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ว มี ความเห็นว่ากูย้ ืมระยะสั้นโดยออกตัว๋ สัญญาใช้เงิน ให้แก่ บริ ษทั ไทยอินดัส เตรี ยล จากัด ดังกล่ าวก่ อให้เกิ ดผลดี กบั บริ ษทั และมี อตั ราค่าธรรมเนี ยมที่ เหมาะสมเท่ากับอัตราค่าธรรมเนียมของธนาคารพาณิ ชย์ทวั่ ไป บริ ษ ัท ไทยอิ นดัส เตรี ย ล พาร์ ท จากัด ได้ว่า จ้า งให้ บ ริ ษ ทั ผลิ ต สิ น ค้า และ แม่พิมพ์ตามการดาเนิ นธุ รกิจปกติ โดยมีการกาหนดราคาขาย และมีเงื่อนไข 250,871 เช่นเดียวกับลูกค้ารายอื่นๆ ตามนโยบายการทารายการระหว่างกัน 1,853,901.32 ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ 129,773.09 คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ว มี 2,017,596.64 ความเห็ นว่ารายการดังกล่ าวเป็ นรายการที่สมควร และเป็ นการทารายการ 216,948.77 ทางการค้าปกติ โดยมีการคิดกาไรขั้นต้นเท่ากับลูกค้าทัว่ ไป
76
บุคคล/นิติบุคลที่อาจ มีความขัดแย้ง / ลักษณะธุ รกิจ
ลักษณะและรายละเอียดของ รายการ
บริ ษทั ว่าจ้างบริ ษทั ไทยอินดัส เตรี ยล พาร์ท จากัด ทาสี ชิ้นส่ วน อลูมิเนียม - ยอดยกมาต้นงวด ซื้ อระหว่างงวด ภาษีมูลค่าเพิ่ม ชาระเงินระหว่างงวด ยอดคงค้างปลายงวด บริ ษทั ริ กา้ เจที บริ ษทั ว่าจ้างบริ ษทั ริ กา้ เจที ดับบลิว ฮีททรี ท ดับบลิว ฮีททรี ทเม้นท์ จากัดใน เม้นท์ จากัด การทดลองอบเพิ่มความแข็ง : ธุ รกิจชุบแข็งโลหะ ของตัวอย่างชิ้นงาน - ยอดยกมาต้นงวด ว่าจ้างระหว่างงวด ภาษีมูลค่าเพิ่ม ชาระเงินระหว่างงวด
มูลค่ารายการระหว่างกัน (บาท) 31 ธ.ค. 56 31 ธ.ค. 57
601,790 42,125 561,960 81,955
101,113 636,078 44,525 645,864
81,955 312,465.78 21,872.60 416,293.38 -
135,852 717,833.16 50,248.32 781,739.09
ความจาเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ บริ ษทั ว่าจ้างบริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด ให้ทาสี ชิ้นส่ วนอลูมิเนี ยม ในส่ วนของคาสั่งซื้ อจากบริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัดตามเงื่อนไขที่ ตกลงกันไว้ในเบื้องต้น โดยมีราคาและเงื่อนไขทางการค้าทัว่ ไป ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ว มี ความเห็ นว่ารายการดังกล่ าวเป็ นรายการที่สมควร และเป็ นการทารายการ ทางการค้าปกติ โดยมีการเปรี ยบเทียบราคากับผูร้ ับจ้างรายอื่น บริ ษทั ว่าจ้างบริ ษทั ริ กา้ เจทีดบั บลิว ฮีททรี ทเม้นท์ จากัด (เดิมชื่อ “บริ ษทั จุฑาวรรณ เมทัลแลบ จากัด”) ในการทดลองอบเพิ่มความแข็งของตัวอย่าง ชิ้ นงาน เพื่ อส่ ง เป็ นตัวอย่า งชิ้ นงานให้แก่ ลูกค้า โดยมีราคาและเงื่ อนไข ทางการค้าทัว่ ไป ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ว มี ความเห็ นว่ารายการดังกล่ าวเป็ นรายการที่สมควร และเป็ นการทารายการ ทางการค้าปกติ โดยมีการเปรี ยบเทียบราคากับผูร้ ับจ้างรายอื่น 77
บุคคล/นิติบุคลที่อาจ มีความขัดแย้ง / ลักษณะธุ รกิจ
ลักษณะและรายละเอียดของ รายการ ยอดคงค้างปลายงวด
บริ ษทั อาพน จากัด บริ ษทั เช่ารถยนต์จากบริ ษทั : ธุ รกิจให้เช่ารถยนต์ อาพน จากัด - ค่าเช่าระหว่างงวด ยอดคงค้างปลายงวด
บริ ษทั จุฑาวรรณ เมทัล แล็บ จากัด :ธุ รกิจ รับจ้างชุบแข็ง โลหะ และ เจียรกลึง ใสชิ้นงานเหล็กทุก ชนิด
มูลค่ารายการระหว่างกัน (บาท) 31 ธ.ค. 56 31 ธ.ค. 57 135,852 122,194.39
1,335,360 -
1,072,140
ความจาเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ
บริ ษัท ท าการเช่ า รถยนต์ จ ากบริ ษ ัท อ าพน จ ากัด เพื่ อ ใช้ เ ป็ นรถรั บ ส่ ง พนักงานจานวน 2 คัน และรถประจาตาแหน่ งผูบ้ ริ หาร 2 คัน รวมจานวน ทั้ง สิ้ น 4 คัน โดยอัต ราค่ า เช่ า ดัง กล่ า วเป็ นอัต ราที่ ถู ก ที่ สุ ด เมื่ อ เที ย บกับ ผูป้ ระกอบการอื่น ภายใต้เงื่อนไขที่ใกล้เคียงกัน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ว มี ความเห็นว่ารายการดังกล่าวเป็ นรายการที่สมควร และเป็ นการทารายการเช่า สิ นทรัพย์ปกติ โดยมีการเปรี ยบเทียบราคากับผูใ้ ห้เช่ารายอื่น บริ ษทั ฯ ได้วา่ จ้างเพื่อทาการชุ บแข็งโลหะกับบริ ษทั จุฑาวรรณ เมทัล แล็บ จากัด ซึ่ งมีราคาและเงื่ อนไขการค้าเป็ นไปตามลักษณะการค้าทัว่ ไปและมี ระยะเวลาเครดิตทางการค้า 30 วัน ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและพิจารณารายการดังกล่าวแล้ว มี ความเห็ นว่ารายการดังกล่ าวเป็ นรายการที่สมควร และเป็ นการทารายการ ทางการค้าปกติ โดยมีการคิดกาไรขั้นต้นเท่ากับลูกค้าทัว่ ไป 78
13.2 มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทารายการระหว่ างกัน ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2553 ได้กาหนด มาตรการขั้นตอนการทารายการระหว่างกัน ดังนี้ การทาธุ รกรรมระหว่างบริ ษทั กับผูท้ ี่เกี่ ยวข้องหรื อบุคคลที่อาจมี ความขัดแย้ง จะต้องเป็ นไปตาม เงื่ อนไขการค้าโดยทัว่ ไปหรื อเป็ นธุ รกรรมที่ เป็ นข้อตกลงทางการค้าในลักษณะเดี ยวกับที่ วิญญู ชนจะพึง กระทากับคู่สัญญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอานาจต่อรองทางการค้าที่ปราศจากอิทธิ พลจากการมี สถานะเป็ นกรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง (แล้วแต่กรณี ) ภายใต้เงื่อนไขที่สมเหตุสมผล สามารถตรวจสอบได้ ไม่ก่อให้เกิดการถ่ายเทผลประโยชน์ กรณี ที่ 1 รายการระหว่างกันที่เป็ นธุ รกรรมปกติทางการค้า เช่ น รายการซื้ อขายสิ นค้า และบริ ก ารที่ บ ริ ษ ัท เป็ นผูจ้ ดั จาหน่ า ยหรื อ ให้บ ริ ก าร เป็ นต้น บริ ษ ัท สามารถทาธุ รกรรมดังกล่าวกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งได้ หากธุ รกรรมดังกล่าวนั้นมีขอ้ ตกลงทางการค้า ที่มีเงื่อนไขการค้าโดยทัว่ ไปในลักษณะที่วญ ิ ญูชนจะพึงกระทากับคู่สัญญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วย อานาจต่อรองทางการค้าที่ปราศจากอิ ทธิ พลในการที่ ตนมี สถานะเป็ นกรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคคลที่ มี ความเกี่ ยวข้อง โดยบริ ษทั จะจัดทาสรุ ปรายการดัง กล่ าวให้ค ณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ บริ ษทั รับทราบอย่างน้อยรายไตรมาส กรณี ที่ 2 รายการระหว่างกันอื่นๆที่นอกเหนื อจากกรณี ที่ 1 บริ ษทั กาหนดให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูพ้ ิจารณาและให้ความเห็ นเกี่ ยวกับความจาเป็ นใน การเข้าทารายการและความเหมาะสมด้านราคาของรายการนั้น โดยพิจารณาเงื่ อนไขต่างๆว่าเป็ นไปตาม ลักษณะการดาเนิ นการค้าปกติในตลาด ซึ่ งสามารถเปรี ยบเทียบได้กบั ราคาที่เกิดขึ้นกับบุคคลภายนอกและ เป็ นไปตามราคายุติธ รรม มี ค วามสมเหตุ ส มผล และสามารถตรวจสอบได้หรื อไม่ ในกรณี ที่ ก รรมการ ตรวจสอบไม่มีความชานาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิ ดขึ้น บริ ษทั จะให้ผเู ้ ชี่ ยวชาญอิสระ หรื อผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั เป็ นผูใ้ ห้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อนาไปใช้ประกอบการ ตัดสิ นใจของคณะกรรมการหรื อผูถ้ ือหุ น้ ตามแต่กรณี ทั้งนี้ การเข้าทารายการระหว่างกันของบริ ษทั กับบุคคล ที่อาจมี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จะต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการตรวจสอบ และจะต้อง ได้รับการอนุ มตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั ซึ่ งจะต้องมีกรรมการตรวจสอบเข้าร่ วมประชุ มด้วย โดยการออก เสี ยงในที่ประชุมนั้นๆ กรรมการซึ่ งมีส่วนได้เสี ยจะไม่มีสิทธิออกเสี ยงลงคะแนน ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษทั จะต้องดู แลให้บริ ษทั จะต้องปฏิ บตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรั พย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง หรื อ ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย หรื อของ สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรื อของคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และ 79
ตลาดหลักทรัพย์ หรื อของคณะกรรมการกากับตลาดทุน รวมถึ งการปฏิ บตั ิตามข้อกาหนดเกี่ ยวกับกับการ เปิ ดเผยข้อมูลการทารายการที่ เกี่ ยวโยงกันและการได้มาหรื อจาหน่ ายไปซึ่ งทรั พย์สินที่ สาคัญของบริ ษทั นอกจากนี้ บริ ษทั จะมีการเปิ ดเผยรายการระหว่างกันดังกล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รับการ ตรวจสอบจากผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั แบบรายงาน 56-1 และแบบรายงานประจาปี หรื อ สารสนเทศต่าง ๆ ตามข้อกาหนดตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 13.3 แนวโน้ มการทารายการระหว่างกันในอนาคต บริ ษทั อาจมีการทารายการระหว่างกันกับบุคคลหรื อนิ ติบุคคลในอนาคตอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งเป็ นไป ตามลักษณะธุ รกิจการค้าปกติโดยทัว่ ไป และมีเงื่ อนไขเป็ นไปตามธุ รกิจการค้าปกติ และสามารถอ้างอิงได้ กับเงื่ อนไขทางธุ รกิจประเภทเดียวกันกับบริ ษทั กระทากับบุคคลภายนอก จะจัดทาสรุ ปรายการดังกล่าวให้ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริ ษทั รั บทราบอย่างน้อยรายไตรมาส เพื่ อทาการสอบทาน รายการระหว่างกันโดยเปรี ยบเทียบราคาและเงื่อนใขการค้ากับบุคคลภายนอกเพื่อดูความเหมาะสมของราคา และเงื่อนไขการค้า พิจารณามูลค่าการซื้ อขายเปรี ยบเทียบกับมูลค่าการซื้ อขายทั้งหมดของบริ ษทั และบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน และสอบถามผูบ้ ริ หารถึงเหตุผลและความจาเป็ นในการเข้าทารายการกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน อย่างไรก็ตาม สาหรับรายการระหว่างกันที่มิได้เป็ นไปตามธุ รกิจปกติที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต บริ ษทั จะจัดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบเข้ามาสอบทานการการปฎิบตั ิตามหลักเกณฑ์และแสดงเหตุผลในการทา รายการดังกล่าวก่อนที่บริ ษทั จะเข้าทารายการนั้น นอกจากนี้ บริ ษทั จะดูแลการเข้าทารายการระหว่างกันให้ เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง หรื อข้อกาหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยและสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมถึงการปฏิบตั ิตามข้อกาหนดเกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้อมูลการทารายการที่เกี่ ยวโยงกัน และการได้มา หรื อ จาหน่ายซึ่ งสิ นทรัพย์ของบริ ษทั (ถ้ามี) รวมทั้งปฏิ บตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ที่กาหนดโดยสมาคมนักบัญชี ทั้งนี้ ผูม้ ีส่วนได้เสี ยในรายการดังกล่าวจะไม่มีสิทธิ ในการออกเสี ยงอนุมตั ิการทารายการนั้นๆและบริ ษทั จะมี การเปิ ดเผยรายการระหว่างกันดังกล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้รับการตรวจสอบจากผูส้ อบ บัญชีของบริ ษทั แบบรายงาน 56-1 และแบบรายงานประจาปี หรื อ สาระสนเทศต่าง ๆ ตามข้อกาหนดตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
80
14. ข้ อมูลทางการเงินทีส่ าคัญ 14.1. รายงานงบการเงิน บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บาท สินทรัพย์ สิ นทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
หมายเหตุ 3
2557
2556
5
7,025,645.31
20,882,978.94
4, 6
49,985,286.53
51,599,052.62
สิ นค้าคงเหลือ
7
47,204,613.30
41,164,595.76
สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น
8
12,715,988.17
10,088,330.81
116,931,533.31
123,734,958.13
ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น
รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระหลักประกัน
9
5,980,000.00
5,981,000.00
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
10
193,425,964.01
194,827,663.68
สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน
11
2,451,614.23
2,850,888.81
สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี
12
11,108,189.15
5,611,969.21
5,097,760.55
8,400,739.96
สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน
218,063,527.94
รวมสินทรัพย์
334,995,061.25
217,672,261.66 341,407,219.79 81
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บาท หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถอื หุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบัน การเงิน
หมายเหตุ 3
2557
2556
13
56,699,262.38
61,065,891.35
4, 14
77,856,290.72
80,355,054.51
หนี้สินส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี
15
21,105,325.92
23,491,830.76
เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
4
21,000,000.00
-
หนี้สินหมุนเวียนอื่น
18
20,806,458.25
8,201,872.39
เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น
รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน
197,467,337.27
173,114,649.01
เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน
16
4,173,864.47
16,618,491.30
หนี้สินระยะยาวภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน
17
2,931,106.56
7,856,863.78
ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน
19
2,991,186.20
2,847,794.36
รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน
10,096,157.23
27,323,149.44
รวมหนีส้ ิน
207,563,494.50
200,437,798.45
82
ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรื อนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 226,000,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 0.50 บาท
20
ทุนที่ออกและชาระแล้ว หุน้ สามัญ 222,277,158 หุน้ ในปี 2557 และ หุน้ สามัญ 220,724,783 หุน้ ในปี 2556 ชาระเต็ม มูลค่าแล้ว
113,000,000.00
113,000,000.00
111,138,579.00
110,362,391.50
ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ
20
32,406,239.58
30,984,616.08
ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ กาไร(ขาดทุน)สะสม
21
1,152,757.16
482,417.60
จัดสรรแล้ว - สารองตามกฎหมาย
26
2,215,417.96
2,215,417.96
ยังไม่ได้จดั สรร
22
(19,481,426.95)
(3,075,421.80)
รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น
127,431,566.75
140,969,421.34
รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น
334,995,061.25
341,407,219.79
83
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
บาท หมาย เหตุ
2557
2556
4
356,887,798.03
403,435,007.61
4, 23
(321,499,639.40)
(368,122,040.87)
35,388,158.63
35,312,966.74
3 รายได้ จากการขาย ต้นทุนขาย กาไรขั้นต้ น รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย
23
7,605,121.78
7,561,225.32
(7,255,874.40)
(6,414,979.96)
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
4, 23
(49,609,904.30)
(49,350,192.44)
ต้นทุนทางการเงิน ขาดทุนก่ อนภาษี เงินได้
4, 24
(8,029,726.80)
(8,156,128.09)
(21,902,225.09)
(21,047,108.43)
รายได้ภาษีเงินได้
25
5,496,219.94
6,471,457.62
(16,406,005.15)
(14,575,650.81)
-
-
(16,406,005.15)
(14,575,650.81)
ขาดทุนสาหรับปี กาไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น ขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม
84
ขาดทุนต่ อหุ้น ขาดทุนต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน
3
(0.074)
(0.071)
จานวนหุน้ สามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก (หุน้ )
3
221,004,298
205,204,374
ขาดทุนต่อหุน้ ปรับลด
3
(0.070)
จานวนหุน้ สามัญถัวเฉลี่ยถ่วง น้ าหนัก (หุน้ )
3
208,230,649
85
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถือ หุ้น สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บาท ทุนเรื อนหุน้ ที่ ออก และชาระแล้ว
หมายเหตุ
ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 การเปลี่ยนแปลงส่วนของผูถ้ ือหุน้
88,000,000.00
ส่วนเกิน มูลค่า หุน้ สามัญ
กาไร(ขาดทุน)สะสม
ใบสาคัญ แสดงสิ ทธิ
-
-
จัดสรรแล้ว
ยังไม่ได้จดั สรร
2,215,417.96
20,300,229.01
รวม
110,515,646.97
เพิ่มทุนหุน้ สามัญ
20
22,362,391.50
30,984,616.08
-
-
-
53,347,007.58
จ่ายเงินปั นผล
22
-
-
-
-
(8,800,000.00)
(8,800,000.00)
ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ
21
-
-
482,417.60
-
-
482,417.60
-
-
-
-
(14,575,650.81)
(14,575,650.81)
110,362,391.50
30,984,616.08
482,417.60
(3,075,421.80)
140,969,421.34
ขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
86
2,215,417.96
การเปลี่ยนแปลงส่วนของผูถ้ ือหุน้ เพิ่มทุนหุน้ สามัญ
20
776,187.50
1,421,623.50
ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ
21
-
-
-
-
-
111,138,579.00
32,406,239.58
1,152,757.16
ขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
670,339.56
87
-
-
2,197,811.00
-
-
670,339.56
-
(16,406,005.15)
(16,406,005.15)
(19,481,426.95)
127,431,566.75
2,215,417.96
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บาท 2557
2556
(21,902,225.09)
(21,047,108.43)
26,149,601.24 (377,086.89) 1,881,424.79
26,366,626.92 126,336.88 (6,652,643.56)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน ขาดทุนก่อนภาษีเงินได้ ปรับกระทบขาดทุนก่อนภาษีเงินได้เป็ นเงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ไปใน) กิจกรรมดาเนินงาน ค่าเสื่ อมราคาและตัดจาหน่าย (กาไร)ขาดทุนจากการขายและตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ ขาดทุนจากการลดมูลค่าสิ นค้า(กลับรายการ) ขาดทุนจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์
361,958.15
2,094,915.82
ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน
143,391.84
1,205,988.84
ค่าใช้จ่ายจากการให้ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ดอกเบี้ยรับ
670,339.56 (139,929.27)
482,417.60 (179,596.74)
7,028,340.65 13,815,814.98
7,453,573.54 9,850,510.87
1,613,766.09 (7,921,442.33) (2,271,104.29) 5,500.00
12,511,313.83 7,961,670.12 11,010,483.66 (5,166,800.00)
(2,321,987.79) 12,604,585.86 15,525,132.52 139,929.27 (1,861,020.59) 13,804,041.20
(12,803,010.00) (11,593,562.76) 11,770,605.72 179,596.74 (1,921,963.51) 10,028,238.95
ดอกเบี้ยจ่าย กาไรจากการดาเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสิ นทรัพย์และหนี้สินดาเนินงาน การเปลี่ยนแปลงในสิ นทรัพย์ดาเนินงาน(เพิ่มขึ้น)ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินดาเนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดรับจากการดาเนินงาน รับดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิได้ มาจากกิจกรรมดาเนินงาน
88
บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บาท 2557
2556
1,000.00 (19,129,021.00) (162,000.00)
(1,000.00) (32,602,147.54) (1,364,500.00)
501,542.00 (18,788,479.00)
14,834,045.69 (19,133,601.85)
(4,366,628.97) 23,500,000.00 (2,500,000.00) (11,977,077.16)
(4,372,602.28) (11,464,927.62)
4,598,376.80 (13,120,260.85) 2,197,811.00 (7,205,116.65) (8,872,895.83) (13,857,333.63)
(11,715,292.30) (8,800,000.00) 53,347,007.58 (7,465,142.91) 9,529,042.48 423,679.57
เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันต้ นปี
20,882,978.94
20,459,299.37
เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันปลายปี
7,025,645.31
20,882,978.94
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระหลักประกัน(เพิ่มขึ้น)ลดลง ซื้ออาคารและอุปกรณ์ ซื้อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินรับจากการขายอุปกรณ์ เงินสดสุ ทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินลดลง รับเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน จ่ายชาระเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน จ่ายชาระเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินรับจากสัญญาขายและ เช่าคืน จ่ายชาระหนี้สินภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน เงินปันผลจ่าย เงินรับจากการเพิ่มทุนหุน้ สามัญ จ่ายดอกเบี้ย เงินสดสุ ทธิได้ มาจาก(ใช้ ไปใน)กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง)สุ ทธิ
รายการที่ไม่เป็ นตัวเงิน สาหรับปี 2557 - บริ ษทั ได้ทาสัญญาขายและเช่ากลับคืนเครื่ องจักร (ดูหมายเหตุ 17)
89
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 1. ข้ อมูลทัว่ ไป บริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) ได้จดทะเบียนเป็ นนิติบุคคลที่ จัด ตั้ง ขึ้ น ในประเทศไทยตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ เมื่ อ วันที่ 22 มกราคม 2539 ประกอบธุ รกิจผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์โลหะและชิ้นส่ วนโลหะ สานักงานตั้งอยูเ่ ลขที่ 3/14 หมู่ ที่ 2 ตาบลหนองบัว อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง ประเทศไทย เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2556 บริ ษทั ได้จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยใน “ตลาด หลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ (mai)” 2. เกณฑ์ การจัดทางบการเงิน งบการเงิ นนี้ จัดท าขึ้ นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นไทย (“มาตรฐานการรายงานทาง การเงิ น”) รวมถึ ง การตีค วามและแนวปฏิ บตั ิ ทางการบัญชี ที่ ประกาศใช้โดยสภาวิชาชี พ บัญชี ฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) เพื่อให้เป็ นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปของประเทศไทย การแสดงรายการในงบการเงิน ได้ทาขึ้นเพื่อให้เป็ นไปตามข้อกาหนดในประกาศกรมพัฒนาธุ รกิจ การค้าลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงิ นของบริ ษทั ได้จดั ทาเป็ นภาษาไทย และมีหน่วยเงินตราเป็ นบาท ซึ่ งการจัดทางบการเงิ น ดังกล่ าวเป็ นไปตามวัตถุ ประสงค์ของการจัดทารายงานในประเทศ ดังนั้นเพื่อความสะดวกของ ผูอ้ ่านงบการเงินที่ไม่คุน้ เคยกับภาษาไทย บริ ษทั ได้จดั ทางบการเงินฉบับภาษาอังกฤษขึ้นโดยแปล จากงบการเงินฉบับภาษาไทย ในการจัด ท างบการเงิ น ให้เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ผูบ้ ริ หารต้องใช้ก าร ประมาณและข้อสมมติฐานหลายประการ ซึ่ งมีผลกระทบต่อการกาหนดนโยบายและการรายงาน จานวนเงินที่เกี่ยวกับ สิ นทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย การประมาณและข้อสมมติฐานมาจาก ประสบการณ์ ใ นอดี ต และปั จ จัย ต่ า ง ๆ ที่ ผู ้บ ริ ห ารมี ค วามเชื่ อ มั่น อย่ า งสมเหตุ ส มผลภายใต้ สภาวการณ์ แวดล้อมนั้นซึ่ งไม่อาจอาศัยข้อมูลจากแหล่งอื่นและนาไปสู่ การตัดสิ นใจเกี่ ยวกับการ กาหนดจานวนสิ นทรัพย์และหนี้ สินนั้น ๆ ดังนั้นผลที่เกิดขึ้นจริ งจากการตั้งข้อสมมติฐานต่อมูลค่า ตามบัญชีของสิ นทรัพย์และหนี้สินอาจแตกต่างไปจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการจัดทางบการเงิ นจะได้รับการทบทวนอย่างสม่ าเสมอ การปรับประมาณการทางบัญชี จะบันทึกในงวดบัญชี ที่การประมาณการดังกล่าวได้รับการทบทวน
90
หากการปรับประมาณการกระทบเฉพาะงวดนั้น ๆ และจะบันทึกในงวดที่ปรับและงวดในอนาคต หากการปรับประมาณการกระทบทั้งงวดปั จจุบนั และอนาคต การประกาศใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ สภาวิช าชี พ บัญชี ไ ด้ออกประกาศสภาวิชาชี พ บัญชี ใ ห้ใ ช้กรอบแนวคิ ดส าหรับการรายงานทาง การเงิ น (ปรั บ ปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญ ชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น การตี ค วาม มาตรฐานการบัญชี และการตี ความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ที่ออกและปรั บปรุ ง ใหม่ ดังต่อไปนี้ ก) กรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุ ง 2557) ซึ่ งมีผลบังคับใช้ทนั ทีในปี 2557 ข) มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น การตีความมาตรฐานการบัญชี และการ
ตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ซึ่ งมีผลบังคับใช้สาหรับงบการเงิ นที่มีรอบบัญชี เริ่ ม ในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี /มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี / การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่อง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2555) การนาเสนองบการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2555) งบกระแสเงินสด มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2555) ภาษีเงินได้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2555) สัญญาเช่า มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2555) รายได้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง 2555) ผลประโยชน์ของพนักงาน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2555) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2555) การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ ยวกับบุคคลหรื อกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2555) เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุ ง 2555) ส่ วนได้เสี ยในการร่ วมค้า มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุ ง 2555) งบการเงินระหว่างกาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2555) การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2555) สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน
91
มาตรฐานการบัญชี /มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี / การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2555) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2555) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10
เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ การรวมธุ รกิจ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย และการดาเนินงานที่ยกเลิก ส่ วนงานดาเนินงาน สัญญาเช่าดาเนินงาน-สิ่ งจูงใจที่ให้แก่ผเู ้ ช่า การประเมิ นเนื้ อหาสั ญ ญาเช่ า ที่ ท าขึ้ นตาม รู ปแบบกฎหมาย การเปิ ดเผยข้อ มู ล ของข้อ ตกลงสั ม ปทาน บริ การ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน-ต้นทุนเว็บไซต์ การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการ รื้ อถอน การบูรณะและหนี้สินที่มีลกั ษณะ คล้ายคลึงกัน การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญา เช่าหรื อไม่ สิ ทธิ ในส่ วนได้เสี ยจากกองทุนการรื้ อถอน การบูรณะและการปรับปรุ งสภาพแวดล้อม การปรับปรุ งย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการ บัญชีฉบับที่ 29 เรื่ อง การรายงานทางการเงิน ในสภาพเศรษฐกิจที่มีเงินเฟ้ อรุ นแรง งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า
92
มาตรฐานการบัญชี /มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี / การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18
เรื่อง ข้อตกลงสัมปทานบริ การ โปรแกรมสิ ทธิ พิเศษแก่ลูกค้า การจ่ายสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ การโอนสิ นทรัพย์จากลูกค้า
ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ได้ประเมินแล้วเห็นว่ากรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุ ง 2557) และมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับดังกล่าวไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสาคัญ ต่องบการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงินทีอ่ อกและปรับปรุ งใหม่ แต่ ยงั ไม่ มีผลบังคับใช้ บริ ษทั ยังไม่ได้ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุ งใหม่ ดังต่อไปนี้ ก) มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น การตีความมาตรฐานการบัญชี และการ
ตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ซึ่ งมีผลบังคับใช้สาหรับงบการเงินที่มีรอบบัญชี เริ่ มใน หรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี /มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี / การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2557)
เรื่อง การนาเสนองบการเงิน สิ นค้าคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณ การทางบัญชีและข้อผิดพลาด เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน 93
มาตรฐานการบัญชี /มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี / การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2557)
เรื่อง สัญญาก่อสร้าง ภาษีเงินได้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สัญญาเช่า รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน การบัญชีสาหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและ การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจาก รัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2557)
แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ต้นทุนการกูย้ มื การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล หรื อกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน การบัญชีและการรายงานโครงการ ผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และการร่ วมค้า การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจ ที่เงินเฟ้ อรุ นแรง กาไรต่อหุ น้ งบการเงินระหว่างกาล การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสิ นทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน
94
มาตรฐานการบัญชี /มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี / การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2557)
เรื่อง อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็ นเกณฑ์ การรวมธุ รกิจ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและ การดาเนินงานที่ยกเลิก การสารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากร แร่ ส่ วนงานดาเนินงาน งบการเงินรวม การร่ วมการงาน การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่ วนได้เสี ยใน กิจการอื่น การวัดมูลค่ายุติธรรม ความช่วยเหลือจากรัฐบาล – กรณี ที่ไม่มี ความเกี่ยวข้องอย่างเฉพาะเจาะจงกับ กิจกรรมดาเนิ นงาน สัญญาเช่าดาเนิ นงาน-สิ่ งจูงใจที่ให้แก่ผเู ้ ช่า
การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุ ง 2557)
ภาษีเงินได้-การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทาง ภาษีของกิจการหรื อผูถ้ ือหุ ้น
การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2557)
การประเมินเนื้ อหาสัญญาเช่าที่ทาขึ้นตาม รู ปแบบกฎหมาย
95
มาตรฐานการบัญชี /มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี / การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2557)
เรื่อง การเปิ ดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทาน บริ การ รายได้-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริ การ โฆษณา สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน-ต้นทุนเว็บไซต์
การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการ รื้ อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลกั ษณะ คล้ายคลึงกัน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 การประเมินว่า ข้อตกลงประกอบด้วยสัญญา (ปรับปรุ ง 2557) เช่าหรื อไม่ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 สิ ทธิ ในส่ วนได้เสี ยจากกองทุนการรื้ อถอน (ปรับปรุ ง 2557) การบูรณะและการปรับปรุ งสภาพแวดล้อม การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 การปรับปรุ งย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการ (ปรับปรุ ง 2557) บัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ องการ รายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงิน เฟ้ อรุ นแรง การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า 10 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ ข้อตกลงสัมปทานบริ การ 12 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ โปรแกรมสิ ทธิ พิเศษแก่ลูกค้า 13 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ ข้อจากัดสิ นทรัพย์ตามโครงการ 14 ผลประโยชน์ ข้อกาหนดเงินทุนขั้นต่าและ ปฏิสัมพันธ์ของรายการเหล่านี้ สาหรับ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง
96
มาตรฐานการบัญชี /มาตรฐานการรายงานทาง การเงิน/ การตีความมาตรฐานการบัญชี / การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 20
เรื่อง 2557) เรื่ อง ผลประโยชน์ของพนักงาน สัญญาสาหรับการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์ การจ่ายสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ การโอนสิ นทรัพย์จากลูกค้า ต้นทุนการเปิ ดหน้าดินในช่วงการผลิต สาหรับเหมืองผิวดิน
ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ซึ่ งมีผลบังคับใช้สาหรับงบการเงิ นที่มีรอบบัญชี เริ่ มในหรื อ
หลังวันที่ 1 มกราคม 2559 ดังต่อไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2557)
เรื่อง สัญญาประกันภัย
ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั อยู่ระหว่างการประเมินผลกระทบต่องบการเงิ นในปี ที่เริ่ มใช้มาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับดังกล่าว 3. สรุ ปนโยบายการบัญชี ทสี่ าคัญ เกณฑ์ การวัดค่ าในการจัดทางบการเงิน นอกจากที่เปิ ดเผยไว้ในหัวข้ออื่น ๆ ในสรุ ปนโยบายการบัญชี ที่สาคัญและหมายเหตุประกอบงบ การเงินอื่น ๆ เกณฑ์ในการจัดทางบการเงินใช้ราคาทุนเดิม รายได้ การขายสิ นค้า รายได้จะรับรู ้ ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จเมื่อได้โอนความเสี่ ยงและผลตอบแทนที่เป็ นสาระสาคัญ ของความเป็ นเจ้าของสิ นค้าที่มีนยั สาคัญไปให้กบั ผูซ้ ้ื อแล้ว และจะไม่รับรู ้รายได้ถา้ ฝ่ ายบริ หารยังมี การควบคุ มหรื อบริ หารสิ นค้าที่ ขายไปแล้วนั้นหรื อมี ความไม่แน่ นอนที่ มีนัยสาคัญในการได้รับ 97
ประโยชน์ จากรายการบัญชี น้ ัน ไม่ อาจวัด มู ล ค่ า ของจานวนรายได้และต้นทุ นที่ เกิ ด ขึ้ นได้อย่า ง น่าเชื่อถือหรื อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที่จะต้องรับคืนสิ นค้า ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยถือเป็ นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคานึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริ ง รายได้อื่นรับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง ค่ าใช้ จ่าย สัญญาเช่าดาเนินงาน รายจ่ายภายใต้สัญญาเช่ าดาเนิ นงานบันทึ กในงบกาไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จโดยวิธีเส้นตรงตลอดอายุ สัญญาเช่า ประโยชน์ที่ได้รับตามสัญญาเช่าจะรับรู ้ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จเป็ นส่ วนหนึ่ งของค่า เช่ าทั้ง สิ้ นตามสัญญา ค่า เช่ า ที่ อาจเกิ ดขึ้ นจะบันทึ ก ในงบก าไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จในรอบบัญชี ที่ มี รายการดังกล่าว ต้นทุนทางการเงิน ดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จ่ายในทานองเดียวกันบันทึกในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ ในงวดที่ค่าใช้จ่าย ดังกล่าวเกิ ดขึ้น ยกเว้นในกรณี ที่มีการบันทึกเป็ นต้นทุนส่ วนหนึ่ งของสิ นทรัพย์ อันเป็ นผลมาจาก การใช้เวลายาวนานในการจัดหา ก่อสร้าง หรื อการผลิตสิ นทรัพย์ดงั กล่าวก่อนที่จะนามาใช้เองหรื อ เพื่ อ ขาย ดอกเบี้ ย ซึ่ ง เป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของค่ า งวดตามสั ญ ญาเช่ า การเงิ นบัน ทึ ก ในงบก าไรขาดทุ น เบ็ดเสร็ จโดยใช้วธิ ี อตั ราดอกเบี้ยที่แท้จริ ง ค่าใช้จ่ายรับรู ้ตามเกณฑ์คงค้าง ผลประโยชน์ ของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะสั้น บริ ษทั รับรู ้เงิ นเดื อน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็ นค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์คง ค้าง ผลประโยชน์หลังออกจากงาน - โครงการสมทบเงินที่กาหนดไว้ บริ ษทั ดาเนิ นการจัดตั้งกองทุนสารองเลี้ยงชี พที่เป็ นแผนจ่ายสมทบที่กาหนดการจ่ายสมทบไว้เป็ น กองทุนโดยสิ นทรัพย์ของกองทุนแยกออกจากสิ นทรัพย์ของบริ ษทั กองทุ นสารองเลี้ยงชี พดังกล่าว ได้รับเงินสมทบเข้ากองทุนจากพนักงานและบริ ษทั เงินจ่ายสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชี พและภาระ
98
หนี้ สิ นตามโครงการสมทบเงิ นจะบันทึ ก เป็ นค่ าใช้จ่า ยในงบก าไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จส าหรั บ รอบ ระยะเวลาบัญชีที่เกี่ยวข้อง ผลประโยชน์หลังออกจากงาน - โครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานส่ วนที่เป็ นเงิ นชดเชยตามกฎหมายแรงงานบันทึกเป็ นค่าใช้จ่าย ตลอดอายุการทางานของพนักงาน โดยการประมาณจานวนเงินผลประโยชน์ในอนาคตที่พนักงาน จะได้รับจากการทางานให้กบั บริ ษทั ตลอดระยะเวลาทางานถึ งปี ที่เกษี ยณอายุงานในอนาคตตาม หลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย โดยผลประโยชน์ดงั กล่าวได้ถูกคิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั อัตราคิดลดใช้ อัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรั ฐบาลเป็ นอัตราอ้างอิงเริ่ มต้น การประมาณการหนี้ สินดังกล่ าว คานวณตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยโดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่ วยที่ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) เมื่อผลประโยชน์พนักงานมีการเปลี่ ยนแปลง ส่ วนของผลประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นซึ่ งเกี่ ยวข้องกับการ ทางานให้กบั บริ ษทั ในอดี ตของพนักงานจะถูกบันทึกในงบกาไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จตามวิธีเส้นตรง ตามอายุงานคงเหลือโดยเฉลี่ยจนกระทัง่ ผลประโยชน์ได้มีการจ่ายจริ ง เมื่อข้อสมมติที่ใช้ในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยมีการเปลี่ยนแปลง บริ ษทั รับรู ้ ผลก าไร(ขาดทุ น )จากการประมาณการตามหลัก คณิ ต ศาสตร์ ป ระกัน ภัย ที่ เกิ ดขึ้ นในก าไรหรื อ ขาดทุนทั้งจานวน ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง บริ ษทั รับรู ้ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้างเป็ นหนี้ สินและค่าใช้จ่าย เมื่อบริ ษทั ยกเลิกการจ้างพนักงานหรื อ กลุ่มของพนักงานก่อนวันเกษียณตามปกติ ภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สาหรับปี ประกอบด้วย ภาษีเงินได้ปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาษี เงินได้ปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รับรู ้ ในกาไรหรื อขาดทุน เว้นแต่ภาษีเงินได้รอการตัด บัญชีในส่ วนที่เกี่ยวกับรายการที่บนั ทึกในส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ให้รับรู ้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น ภาษี เงิ นได้ปัจจุ บนั ได้แก่ ภาษี ที่ค าดว่าจะจ่า ยชาระหรื อได้รับ ชาระ โดยคานวณจากกาไรหรื อ ขาดทุนประจาปี ที่ตอ้ งเสี ยภาษี โดยใช้อตั ราภาษีที่ประกาศใช้หรื อที่คาดว่ามีผลบังคับใช้ ณ วันสิ้ น รอบระยะเวลารายงาน ตลอดจนการปรับปรุ งทางภาษีที่เกี่ยวกับรายการในปี ก่อน ๆ ภาษี เงิ นได้รอการตัดบัญชี บนั ทึ กโดยคานวณจากผลแตกต่างชัว่ คราวที่ เกิ ดขึ้ นระหว่างมูลค่าตาม บัญชีและมูลค่าฐานภาษีของสิ นทรัพย์และหนี้สิน
99
ภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี วดั มูลค่าโดยใช้อตั ราภาษีที่คาดว่าจะใช้กบั ผลแตกต่างชัว่ คราวเมื่อมีการ กลับ รายการโดยใช้อตั ราภาษี ที่ ประกาศใช้หรื อที่ ค าดว่า มี ผลบัง คับ ใช้ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลา รายงาน ในการกาหนดมูลค่าของภาษี เงิ นได้ปัจจุ บนั และภาษี เงิ นได้รอการตัดบัญชี บริ ษทั ต้องคานึ งถึ ง ผลกระทบของสถานการณ์ทางภาษีที่ ไม่แน่ นอนและอาจทาให้จานวนภาษีที่ตอ้ งจ่ายเพิ่มขึ้นและมี ดอกเบี้ ยที่ ตอ้ งชาระ บริ ษทั เชื่ อว่าได้ต้ งั ภาษี เงิ นได้คา้ งจ่ายเพียงพอสาหรับภาษีเงิ นได้ที่จะจ่ายใน อนาคตซึ่ งเกิดจากการประเมินผลกระทบจากหลายปั จจัย รวมถึง การตีความทางกฎหมายภาษีและ จากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี้ อยูบ่ นพื้นฐานการประมาณการและข้อสมมติฐานและอาจ เกี่ ยวข้องกับการตัดสิ นใจเกี่ ยวกับเหตุการณ์ ในอนาคต ข้อมูลใหม่ ๆ อาจทาให้บริ ษทั เปลี่ ยนการ ตัดสิ นใจโดยขึ้นอยูก่ บั ความเพียงพอของภาษีเงินได้คา้ งจ่ายที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษีเงินได้ ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง สิ นทรัพย์ภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี และหนี้ สินภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี สามารถหักกลบได้เมื่ อ กิจการมีสิทธิ ตามกฎหมายที่จะนาสิ นทรัพย์ภาษีเงิ นได้ของงวดปั จจุบนั มาหักกลบกับหนี้ สินภาษี เงิ นได้ข องงวดปั จจุ บ นั และภาษี เงิ นได้น้ ี ป ระเมิ นโดยหน่ วยงานจัดเก็ บ ภาษี หน่ วยงานเดี ย วกัน สาหรับหน่วยภาษีเดียวกันหรื อหน่วยภาษีต่างกัน สาหรับหน่วยภาษีต่างกันนั้นกิจการมีความตั้งใจ จะจ่ า ยช าระหนี้ สิ นและสิ นทรั พ ย์ภาษี เงิ นได้ข องงวดปั จจุ บ นั ด้วยยอดสุ ท ธิ หรื อตั้ง ใจจะรั บ คื น สิ นทรัพย์และจ่ายชาระหนี้สินในเวลาเดียวกัน สิ นทรัพย์ภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี จะบันทึกต่อเมื่อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ว่ากาไรเพื่อเสี ย ภาษีในอนาคตจะมีจานวนเพียงพอกับการใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวดังกล่าว สิ นทรัพย์ ภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี จะถูกทบทวน ณ ทุกวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงานและจะถูกปรับลดลง เท่าที่ประโยชน์ทางภาษีจะมีโอกาสถูกใช้จริ ง เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงิ นสด ประกอบด้วย เงินสด เงินฝากธนาคารกระแสรายวันและออม ทรัพย์ เงินฝากธนาคารที่มีกาหนดระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่อง สู ง โดยไม่รวมเงินฝากธนาคารติดภาระหลักประกัน ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีอ้ นื่ ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้งหนี้หกั ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ บริ ษทั บันทึ กค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญสาหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่ อาจเกิ ดขึ้ นจากการเก็บเงิ น ลูกหนี้ไม่ได้ ซึ่ งโดยทัว่ ไปพิจารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุลูกหนี้ 100
สิ นค้ าคงเหลือ บริ ษทั ตีราคาสิ นค้าคงเหลื อในราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ ากว่า โดยวิธี ดังต่อไปนี้ งานระหว่างทาและสิ นค้าสาเร็ จรู ป - ตีราคาตามวีธีถวั เฉลี่ย วัตถุดิบและอะไหล่ - ตีราคาตามวิธีเข้าก่อน - ออกก่อน
ต้นทุนของสิ นค้าประกอบด้วยต้นทุนที่ซ้ื อ ต้นทุนในการดัดแปลงหรื อต้นทุนอื่นเพื่อให้สินค้าอยูใ่ น สถานที่ และสภาพปั จจุ บนั ในกรณี ของสิ นค้าสาเร็ จรู ปและสิ นค้าระหว่างผลิ ตที่ ผลิ ตเอง ต้นทุ น สิ นค้า รวมการปั นส่ วนของค่ า โสหุ ้ย การผลิ ตอย่า งเหมาะสม โดยค านึ ง ถึ ง ระดับ ก าลัง การผลิ ต ตามปกติ มูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับเป็ นการประมาณราคาที่จะขายได้จากการดาเนิ นธุ รกิ จปกติ หักด้วยค่าใช้จ่ายที่ จาเป็ นในการขาย บริ ษทั บันทึกค่าเผือ่ มูลค่าสิ นค้าลดลงสาหรับสิ นค้าที่เสื่ อมคุณภาพ เสี ยหาย ล้าสมัยและค้างนาน ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดินแสดงในราคาทุน อาคารและอุปกรณ์ แสดงในราคาทุนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมและค่าเผื่อการ ด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาคานวณโดยวิธีเส้ นตรงตามเกณฑ์อายุการให้ประโยชน์โดยประมาณของสิ นทรัพย์ ดังนี้ ประเภทสิ นทรัพย์ อาคารและส่วนปรับปรุ งอาคาร เครื่ องจักรและอุปกรณ์โรงงาน เครื่ องตกแต่งและเครื่ องใช้สานักงาน ยานพาหนะ
จานวนปี 5 - 30 5 - 20 5 5
ค่าเสื่ อมราคาของอุ ปกรณ์ โรงงานประเภทแม่พิมพ์ คานวณจากราคาทุ นโดยวิธีรับรู ้ ตามจานวน ผลผลิ ตที่ เกิ ดขึ้ น จริ ง เปรี ย บเที ย บกับ ประมาณการผลผลิ ตที่ ค าดว่า จะได้รับ ทั้ง หมดจากการใช้ ประโยชน์จากแม่พิมพ์ ค่าเสื่ อมราคารวมอยูใ่ นการคานวณผลการดาเนินงานและไม่มีการคิดค่าเสื่ อมราคาสาหรับที่ดินและ สิ นทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง
101
การซ่ อมแซมและบารุ งรักษาจะรับรู ้ ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จระหว่างปี บัญชี ที่เกิ ดรายการขึ้ น ต้นทุ นของการปรั บปรุ งให้ดีข้ ึ นที่ สาคัญจะบันทึ กรวมไว้ในราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์หากมี ความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ การปรับปรุ งนั้นจะทาให้บริ ษทั ได้ประโยชน์กลับคืนมาเกินกว่ารอบ ระยะเวลาบัญ ชี สิ น ทรั พ ย์ที่ ไ ด้ม าจากการปรั บ ปรุ ง หลัก จะตัด ค่ า เสื่ อ มราคาตลอดอายุ ก ารใช้ ประโยชน์ที่เหลืออยูข่ องสิ นทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง รายการกาไรและรายการขาดทุนจากการจาหน่ายกาหนดโดยเปรี ยบเทียบสิ่ งตอบแทนที่ได้รับกับ ราคาตามบัญชีและรวมไว้อยูใ่ นงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ ค่าใช้จ่ายที่เกี่ ยวข้องโดยตรงกับสิ นทรัพย์รวมทั้งดอกเบี้ ยจ่ายที่เกิ ดขึ้ นจากการกูย้ ืมเพื่อใช้ในการ ได้มาซึ่ งสิ นทรัพย์ขา้ งต้นก่อนสิ นทรัพย์จะแล้วเสร็ จถือเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์ไม่ มีตัวตน สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนแสดงในราคาทุนหักค่าตัดจาหน่ายสะสมและหักค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี) ค่าตัดจาหน่าย ค่าตัดจาหน่ ายบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ คานวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์ ระยะเวลาที่ ค าดว่ า จะได้รั บ ประโยชน์ เ ชิ ง เศรษฐกิ จ ของสิ น ทรั พ ย์ไ ม่ มี ต ัว ตนแต่ ล ะประเภท ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจโดยประมาณ 5 ปี ค่ า ตัดจ าหน่ า ยรวมอยู่ใ นการค านวณผลการดาเนิ นงานและไม่ มี ก ารคิ ดค่ า ตัดจ าหน่ า ยส าหรั บ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระหว่างติดตั้ง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ต้นทุ นที่ เกิ ดจากการพัฒนาและบารุ งดู แลโปรแกรมคอมพิ วเตอร์ บ นั ทึ กเป็ นค่าใช้จ่ายเมื่ อเกิ ดขึ้ น ต้นทุนที่เกี่ ยวข้องโดยตรงกับผลิตภัณฑ์โปรแกรมที่ระบุได้และมีเอกลักษณ์ของโปรแกรมที่บริ ษทั สามารถควบคุ มได้รวมทั้งมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ที่จะก่อให้เกิดประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจเกิ น กว่าต้นทุนสาหรับช่วงระยะเวลามากกว่าหนึ่ งปี บริ ษทั ได้บนั ทึกต้นทุนนั้นเป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ต้นทุนทางตรงรวมไปถึ งต้นทุ นพนักงานของคณะทางานพัฒนาโปรแกรมและค่าใช้จ่ายการผลิ ต (โสหุย้ การผลิต) ที่เกี่ยวข้องด้วย ซึ่ งได้ปันส่ วนให้อย่างเหมาะสม รายจ่ า ยเพื่ อ เพิ่ ม หรื อ ขยายผลการท างานของโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ใ ห้ มี คุ ณ ค่ า เพิ่ ม ขึ้ น จาก คุณลักษณะที่กาหนดไว้เมื่อเริ่ มต้นได้บนั ทึกเป็ นต้นทุนเพื่อการพัฒนาและบวกรวมไว้ในต้นทุนเมื่อ เริ่ มต้นของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ น้ นั การซ่ อมแซมและบารุ งรักษาจะรับรู ้ ในงบกาไรขาดทุ นเบ็ดเสร็ จระหว่างปี บัญชี ที่เกิ ดรายการขึ้ น ต้นทุนของการปรับปรุ งให้ดีข้ ึนที่สาคัญจะบันทึกรวมไว้ในราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์หากมีความ
102
เป็ นไปได้ค่ อนข้า งแน่ ว่า การปรั บ ปรุ ง นั้นจะท าให้บ ริ ษ ัท ได้ป ระโยชน์ ก ลับ คื น มาเกิ นกว่า รอบ ระยะเวลาบัญชี สิ นทรัพย์ที่ได้มาจากการปรับปรุ งหลักจะตัดจาหน่ายตลอดอายุการให้ประโยชน์ที่ เหลืออยูข่ องสิ นทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง รายการกาไรและรายการขาดทุนจากการจาหน่ ายกาหนดโดยเปรี ยบเทียบสิ่ งตอบแทนที่ได้รับกับ ราคาตามบัญชีและรวมไว้อยูใ่ นงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ การด้ อยค่ าของสิ นทรัพย์ ยอดสิ นทรัพย์ตามบัญชี ของบริ ษทั ได้รับการทบทวน ณ ทุกวันที่ในงบแสดงฐานะการเงิ นว่ามีขอ้ บ่งชี้เรื่ องการด้อยค่าหรื อไม่ ในกรณี ที่มีขอ้ บ่งชี้ จะทาการประมาณมูลค่าสิ นทรัพย์ที่คาดว่าจะได้รับ คืน ขาดทุ น จากการด้อ ยค่ า รั บ รู ้ เมื่ อ มู ล ค่ า ตามบัญ ชี ข องสิ น ทรั พ ย์ห รื อ มู ล ค่ า ตามบัญ ชี ข องหน่ ว ย สิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิ ดเงิ นสดสู งกว่ามูลค่าที่จะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าบันทึกในงบกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็ จ การคานวณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสิ นทรัพย์หมายถึงราคาขายสุ ทธิ ของสิ นทรัพย์หรื อมูลค่าจากการใช้ ของสิ นทรัพย์แล้วแต่มูลค่าใดจะสู งกว่าในการประเมินมูลค่าจากการใช้ของสิ นทรัพย์ ประมาณการ กระแสเงินสดที่จะได้รับในอนาคตจะคิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั โดยใช้อตั ราคิดลดก่อนคานึ งภาษีเงิน ได้ เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปั จจุบนั ซึ่ งแปรไปตามเวลาและความเสี่ ยงที่มีต่อ สิ นทรัพย์ สาหรับสิ นทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสิ นทรัพย์อื่นให้พิจารณา มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนรวมกับหน่วยสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดที่สินทรัพย์น้ นั มีความเกี่ยวข้อง ด้วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการหากมีการเปลี่ ยนแปลงประมาณการที่ใช้ในการคานวณ มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ขาดทุนจากการด้อยค่าจะถูกกลับรายการเพียงเพื่อให้มูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ไม่เกินกว่ามูลค่า ตามบัญชี ภายหลังหักค่าเสื่ อมราคาหรื อค่าตัดจาหน่ าย เสมือนหนึ่ งไม่เคยมีการบันทึกขาดทุนจาก การด้อยค่ามาก่อน สั ญญาเช่ าการเงิน สัญญาเช่าอาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่ วนใหญ่ได้โอน ไปให้กบั ผูเ้ ช่ าถื อเป็ นสัญญาเช่ าการเงิ น สัญญาเช่าการเงิ นจะบันทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่า 103
ยุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่เช่าหรื อมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ ของจานวนเงินที่ตอ้ งจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่ มูลค่าใดจะต่ ากว่าโดยจานวนเงิ นที่ตอ้ งจ่ายจะปั นส่ วนระหว่างหนี้ สินและค่าใช้จ่ายทางการเงิ น เพื่อให้ได้อตั ราดอกเบี้ ยคงที่ ต่อหนี้ สินคงค้างอยู่โดยพิจารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตาม สัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็ นหนี้ สินระยะยาว ส่ วนดอกเบี้ยจ่ายจะบันทึกในงบ กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จตลอดอายุของสัญญาเช่าสิ นทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่ อม ราคาตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ที่เช่าหรื ออายุของสัญญาเช่าแล้วแต่ระยะเวลาใดจะ ต่ากว่า เงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชีที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ รายการบัญชี ที่เป็ นเงิ นตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นเงิ นบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ ยน ณ วันที่เกิ ด รายการ สิ นทรั พย์และหนี้ สินที่ เป็ นตัวเงิ นและเป็ นเงิ นตราต่างประเทศ ณ วันที่ ในงบแสดงฐานะการเงิ น แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กาไรหรื อขาดทุนจากการแปลงค่าดังกล่าวได้รวมอยูใ่ นงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ ประมาณการหนีส้ ิ น ประมาณการหนี้ สินจะรับรู ้ ในงบแสดงฐานะการเงิ นก็ต่อเมื่อบริ ษทั มี ภาระหนี้ สินเกิ ดขึ้นจากข้อ พิพ าททางกฎหมายหรื อภาระผูก พันซึ่ งเป็ นผลมาจากเหตุ ก ารณ์ ใ นอดี ต และมี ความเป็ นไปได้ ค่อนข้างแน่ วา่ ประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จจะต้องถูกจ่ายไปเพื่อชาระภาระหนี้ สินดังกล่าว โดยจานวน ภาระหนี้ สินดัง กล่ า วสามารถประมาณจานวนเงิ นได้อย่างน่ าเชื่ อถื อ ถ้า ผลกระทบดังกล่ าวเป็ น นัยสาคัญ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะจ่ายในอนาคตจะคิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั โดยใช้อตั ราคิด ลดในตลาดปั จจุบนั ก่อนคานึงภาษีเงินได้ เพื่อให้สะท้อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ในตลาดปั จจุบนั ซึ่ ง แปรไปตามเวลาและความเสี่ ยงที่มีต่อหนี้สิน การจ่ ายโดยใช้ ห้ ุนเป็ นเกณฑ์ โครงการให้สิทธิ ซ้ื อหุ น้ แก่พนักงานของบริ ษทั อนุ ญาตให้กรรมการและพนักงานมีสิทธิ ซ้ื อหุ ้นของ บริ ษทั ภายใต้เงื่อนไขที่กาหนด จานวนเงินที่ได้รับจากการใช้สิทธิ สุทธิ จากค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้ สิ ทธิ จะถูกรับรู ้ในทุนเรื อนหุ น้ และส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ เมื่อมีการใช้สิทธิ ซ้ื อหุ น้ แล้ว มูลค่ายุติธรรมของสิ ทธิ ซ้ื อหุ ้น ณ วันที่ให้สิทธิ แก่พนักงานรับรู ้ เป็ นค่าใช้จ่ายพนักงานพร้ อมๆไป กับการเพิ่มขึ้ นในส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้น ตลอดระยะเวลาที่พนักงานสามารถเข้าใช้สิทธิ ได้อย่างไม่มี
104
เงื่อนไข จานวนที่รับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายจะถูกปรับปรุ งเพื่อให้สะท้อนถึงจานวนสิ ทธิ ซ้ื อหุ ้นที่แท้จริ งซึ่ ง เงื่อนไขการให้บริ การที่เกี่ยวข้องและเงื่อนไขการได้รับสิ ทธิ ที่ไม่ใช่เงื่อนไขเรื่ องตลาดทุน เงินปันผลจ่ าย เงินปั นผลจ่ายและเงินปั นผลจ่ายระหว่างกาลบันทึกในงบการเงินของบริ ษทั ในรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่ งที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้ และคณะกรรมการของบริ ษทั ได้อนุมตั ิการจ่ายเงินปั นผล ส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณี ที่บริ ษทั เสนอ ขายหุ น้ สู งกว่ามูลค่าหุ น้ ที่จดทะเบียนไว้ บริ ษทั ต้องนาค่าหุ น้ ส่ วนเกินนี้ต้ งั เป็ นทุนสารอง (“ส่ วนเกิน มูลค่าหุ น้ ”) ส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ นี้จะนาไปจ่ายเป็ นเงินปั นผลไม่ได้ ขาดทุนต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน ขาดทุนต่อหุ ้นขั้นพื้นฐานคานวณโดยการหารขาดทุนสาหรับปี ด้วยจานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของ หุ น้ สามัญที่ออกจาหน่ายแล้วในระหว่างปี สรุ ปได้ดงั นี้ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 2557 ขาดทุนสาหรับปี (บาท) หุ้นสามัญตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่ วงนา้ หนัก (หุ้น) หุน้ สามัญที่ออก ณ วันต้นปี ผลกระทบจากหุน้ ที่ออกจาหน่ายระหว่างปี หุน้ สามัญตามวิธีถวั เฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก (หุน้ ) ขาดทุนต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน (บาท)
2556
(16,406,005.15)
(14,575,650.81)
220,724,783 279,515 221,004,298
176,000,000 29,204,374 205,204,374
(0.074)
(0.071)
ขาดทุนต่ อหุ้นปรับลด ขาดทุ นต่ อหุ ้นปรั บลด ส าหรั บ ปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ค านวณโดยการหาร ขาดทุนส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ สามัญด้วยผลรวมของจานวนหุ ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักที่ออกจาหน่าย แล้วในระหว่างปี บวกด้วยจานวนหุ ้นสามัญถัวเฉลี่ ยถ่ วงน้ าหนักที่ บ ริ ษทั อาจต้องออกเพื่อแปลง สภาพหุ ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดทั้งสิ้ นให้เป็ นหุ ้นสามัญโดยมิได้รับสิ่ งตอบแทนใด ๆ ทั้งสิ้ น และ สมมติ ว่าผูถ้ ื อจะแปลงหุ ้นสามัญเที ยบเท่า ปรั บลดเป็ นหุ ้นสามัญ เมื่ อราคาตามสิ ท ธิ ต่ า กว่ามู ลค่ า ยุติธรรมของหุ ้นสามัญ อย่างไรก็ตาม มูลค่ายุติธรรมของหุ ้นสามัญของบริ ษทั สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่
105
31 ธันวาคม 2557 ต่ากว่าราคาตามสิ ทธิ เป็ นเหตุให้บริ ษทั ไม่นาผลของหุ ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดมา รวมคานวณเพื่อหาขาดทุนต่อหุ น้ ปรับลด 4. รายการบัญชี กบั บุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน บริ ษทั มีรายการบัญชี และรายการค้าส่ วนหนึ่ งกับบุ คคลหรื อกิ จการที่ เกี่ ยวข้องกัน ซึ่ งบุคคลหรื อ กิจการเหล่านี้เกี่ยวข้องกันโดยการถือหุ ้นและ/หรื อมีผบู ้ ริ หารร่ วมกัน หรื อเป็ นสมาชิ กในครอบครัว ที่ ใกล้ชิ ด รายการระหว่า งกันกับ บุ ค คลหรื อกิ จการที่ เกี่ ยวข้องกันที่ มี สาระส าคัญที่ รวมไว้ใ นงบ การเงินใช้ราคาตามปกติธุรกิจ โดยถือตามราคาตลาดทัว่ ไป หรื อในราคาที่ตกลงกันตามสัญญาหาก ไม่มีราคาตลาดรองรับ ยอดคงเหลือของสิ นทรัพย์และหนี้สิน และรายการบัญชีและรายการค้าที่มีสาระสาคัญกับบุคคลหรื อ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีดงั นี้ รายการบัญชีและรายการค้าที่มีสาระสาคัญกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดงั นี้ บาท 2557 รายได้ จากการขาย บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ท จากัด ซือ้ สินค้ าและบริการ บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ท จากัด บริ ษทั ริ กา้ เจทีดบั บลิว ฮีททรี ทเม้นท์ จากัด ค่ าเช่ าและบริการ บริ ษทั อาพน จากัด ค่ าธรรมเนียม บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ท จากัด บริ ษทั จุฑาวรรณ จากัด ค่ าที่ปรึกษา กรรมการ ดอกเบีย้ จ่ าย บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ท จากัด บริ ษทั เจทีดบั บลิว แอ็ซเซท จากัด กรรมการ
2556
1,853,901.32
3,821,003.65
312,465.79 717,833.16
601,790.17 636,078.36
1,072,140.00
1,335,360.00
350,000.01 350,000.01
350,000.02 350,000.01
300,000.00
-
340,438.35 86,301.37 17,260.27
-
106
ยอดคงเหลือ ของสิ น ทรั พ ย์และหนี้ สิ น ที่ มี ส าระส าคัญ กับ บุ ค คลหรื อ กิ จ การที่ เ กี่ ย วข้อ งกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดงั นี้ บาท 2557 ลูกหนีก้ ารค้ า บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ท จากัด เจ้ าหนีก้ ารค้ าและเจ้ าหนีอ้ ื่น บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ท จากัด บริ ษทั ริ กา้ เจทีดบั บลิว ฮีททรี ทเม้นท์ จากัด เงินกู้ยมื ระยะสั้ นและดอกเบีย้ ค้ างจ่ าย บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ท จากัด เงินกูย้ มื ดอกเบี้ยค้างจ่าย บริ ษทั เจทีดบั บลิว แอ็ซเซท จากัด เงินกูย้ มื ดอกเบี้ยค้างจ่าย ค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่ าย บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ท จากัด บริ ษทั จุฑาวรรณ จากัด กรรมการ ค่ าที่ปรึกษาค้ างจ่ าย กรรมการ
2556
216,948.77
250,871.23
122,194.39
81,954.91 135,851.62
6,000,000.00 35,671.23
-
15,000,000.00 86,301.37
-
29,726.03 29,726.03 15,000.00
29,726.03 29,726.03 15,000.00
84,000.00
-
เงินกู้ยมื ระยะสั้ นจากบุคคลและกิจการทีเ่ กีย่ วข้ องกัน การเพิ่ม ขึ้ นและลดลงของเงินกูย้ ืม ระยะสั้นจากบุค คลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันสาหรั บปี สิ้ นสุ ด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีดงั นี้ บาท ยอดยกมา เพิม่ ขึ้น ลดลง คงเหลือ
23,500,000.00 (2,500,000.00) 21,000,000.00
107
บริ ษ ทั มี เงิ นกู้ยืม ระยะสั้นจากบุ คคลและกิ จการที่ เกี่ ย วข้องกัน โดยการออกตัว๋ สั ญญาใช้เงิ น คิ ด ดอกเบี้ยอ้างอิงอัตราเงินกูย้ มื สถาบันการเงิน และไม่มีหลักประกัน การคา้ ประกัน บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ ท จากัด และ บริ ษทั จุฑาวรรณ จากัด ได้ร่วมค้ าประกันวงเงินสิ นเชื่ อ ของบริ ษทั โดยคิดผลตอบแทนจากการค้ าประกัน อัตราร้อยละ 2 ต่อปี ของวงเงินสิ นเชื่อ ค่ าตอบแทนผู้บริหารสาคัญ ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารสาคัญสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท 2557 9,620,635.33 209,601.04 9,830,236.37
ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์หลังออกจากงาน รวม
2556 9,594,490.67 119,839.00 9,714,329.67
ค่ าตอบแทนกรรมการ ค่ า ตอบแทนกรรมการเป็ นผลประโยชน์ ที่ จ่ า ยให้ แ ก่ ก รรมการบริ ษัท ตามมาตรา 90 ของ พระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด โดยไม่รวมเงิ นเดื อนและผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องที่จ่ายให้กบั กรรมการซึ่ งดารงตาแหน่งเป็ นผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ค่าตอบแทนกรรมการ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 จานวนเงิน 0.49 ล้านบาท และ 0.47 ล้านบาท ตามลาดับ ลักษณะความสั มพันธ์ ของบริษัท ชื่อ บริ ษทั ไทยอินดัสเตรี ยล พาร์ท จากัด บริ ษทั จุฑาวรรณ จากัด บริ ษทั อาพน จากัด บริ ษทั ริ กา้ เจทีดบั บลิว ฮีททรี ทเม้นท์ จากัด บริ ษทั เจทีดบั บลิว แอ็ซเซท จากัด
ประเทศ ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย
ความสัมพันธ์ บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน
ลักษณะความสัมพันธ์ ผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั และผูถ้ ือหุน้ และกรรมการร่ วมกัน ผูถ้ ือหุน้ และกรรมการร่ วมกัน ผูถ้ ือหุน้ ร่ วมกัน ผูถ้ ือหุน้ ร่ วมกัน ผูถ้ ือหุน้ ร่ วมกัน
108
หลักเกณฑ์ ในการเรียกเก็บรายได้ และค่ าใช้ จ่ายระหว่างกัน มูลค่าการซื้ อขายสินค้าและบริ การ ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ดอกเบี้ยจ่าย
นโยบายการกาหนดราคา ราคาตลาดเทียบเคียงกับราคาซื้ อขายกับบุคคลภายนอก ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา อ้างอิงอัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย์
5. เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท เงินสด เงินฝากธนาคาร รวม หัก เงินโอนผิดบัญชี บวก เบิกใช้เงินโอนผิดบัญชี (ดูหมายเหตุ 14) คงเหลือ
2557 128,455.11 84,837,424.26 84,965,879.37 (87,926,236.78) 9,986,002.72 7,025,645.31
2556 248,708.50 20,634,270.44 20,882,978.94 20,882,978.94
เมื่ อวันที่ 25 ธันวาคม 2557 บริ ษ ทั แห่ ง หนึ่ ง (ลูก ค้า) ได้โอนเงิ นผิดบัญชี เข้ามายังบัญชี เงิ นฝาก ธนาคารของบริ ษทั จานวนเงิน 87.93 ล้านบาท ต่อมาเมื่อวันที่ 7 มกราคม 2558 บริ ษทั ได้โอนเงิน คืนแก่บริ ษทั ดังกล่าวทั้งจานวน
109
6. ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีอ้ นื่ ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท 2557 ลูกหนี้การค้า กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น รวม ลูกหนี้อื่น รายได้คา้ งรับ ลูกหนี้อื่น รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้อื่น - สุทธิ ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - สุทธิ
2556
216,948.77 48,627,164.70 48,844,113.47
250,871.23 40,590,227.12 40,841,098.35
253,199.00 1,343,193.04 1,596,392.04 (455,218.98) 1,141,173.06
9,407,639.00 1,805,534.25 11,213,173.25 (455,218.98) 10,757,954.27
49,985,286.53
51,599,052.62
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริ ษทั มียอดลูกหนี้ การค้าคงเหลือ โดยแยกตามจานวนเดือนที่ ค้างชาระได้ดงั นี้ บาท ลูกหนีก้ ารค้ า - กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน ยังไม่ถึงกาหนดชาระ ลูกหนีก้ ารค้ า - กิจการอื่น ยังไม่ถึงกาหนดชาระ เกินกาหนดชาระ น้อยกว่า 3 เดือน มากกว่า 3 เดือนขึ้นไป รวม
2557
2556
216,948.77
250,871.23
43,291,454.58
36,508,305.15
4,855,037.72 480,672.40 48,627,164.70
4,053,725.51 28,196.46 40,590,227.12
110
7. สิ นค้ าคงเหลือ สิ นค้าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท สินค้าสาเร็ จรู ป งานระหว่างทา วัตถุดิบ อะไหล่ รวม หัก ค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลง สินค้าคงเหลือ - สุทธิ
2557 19,001,911.39 25,573,228.01 1,913,071.26 3,820,121.64 50,308,332.30 (3,103,719.00) 47,204,613.30
2556 14,136,855.37 23,482,542.45 1,425,542.79 3,341,949.36 42,386,889.97 (1,222,294.21) 41,164,595.76
สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ค่าเผื่อมูลค่าสิ นค้าลดลงมีรายการเคลื่ อนไหว ดังนี้ บาท ยอดยกมา บวก ขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้า หัก กลับรายการขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้า ยอดคงเหลือ
2557 1,222,294.21 1,881,424.79 3,103,719.00
2556 7,874,937.77 (6,652,643.56) 1,222,294.21
8. สิ นทรัพย์ หมุนเวียนอืน่ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท เงินจ่ายล่วงหน้าค่าสินค้า ภาษีมลู ค่าเพิม่ รอใบกากับภาษีและรอเครดิต ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า รวม
2557 11,089,400.00 1,352,133.10 274,455.07 12,715,988.17
2556 7,599,600.00 2,190,444.04 298,286.77 10,088,330.81
111
9. เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระหลักประกัน เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระหลักประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท สถาบันการเงิน
เงินฝากสถาบันการเงิน
ภาระหลักประกัน
หมายเหตุ
แห่งที่ 1
ฝากประจา
30.2
2,230,000.00
2,230,000.00
แห่งที่ 2
ฝากประจา
การใช้ไฟฟ้ า ซื้ อวัสดุก่อสร้าง เงินกูย้ มื
13
3,750,000.00
3,751,000.00
5,980,000.00
5,981,000.00
รวม
2557
2556
112
10. ทีด่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ รายการเปลี่ยนแปลงของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 สรุ ปได้ดงั นี้ ที่ดิน ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ซื้ อ/โอนเข้า จาหน่าย/โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ซื้ อ/โอนเข้า จาหน่าย/โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ค่ าเสื่ อมราคาสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ค่าเสื่ อมราคา จาหน่าย/โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ค่าเสื่ อมราคา จาหน่าย/โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
อาคารและ ส่ วนปรับปรุ งอาคาร
17,440,780.68 17,440,780.68 10,461,488.00 27,902,268.68 -
เครื่ องจักรและ อุปกรณ์โรงงาน
บาท เครื่ องตกแต่งและ เครื่ องใช้สานักงาน
ยานพาหนะ
84,810,862.86 159,514.00 (301,250.00) 84,669,126.86 558,852.00 85,227,978.86
239,499,537.92 46,080,429.41 (19,936,304.86) 265,643,662.47 18,685,306.29 (10,979,127.00) 273,349,841.76
11,173,174.38 1,510,207.55 (455,748.32) 12,227,633.61 484,982.98 (76,519.00) 12,636,097.59
1,714,710.09 1,714,710.09 420,000.00 2,134,710.09
26,479,910.01 2,974,832.28 (294,940.00) 29,159,802.29 2,933,761.72 32,093,564.01
130,705,826.36 20,730,508.80 (5,097,871.35) 146,338,463.81 20,522,503.41 (4,943,972.53) 161,916,994.69
5,202,416.51 2,032,603.65 (410,669.50) 6,824,350.66 1,956,010.17 (73,247.34) 8,707,113.49
968,775.40 113,224.24 1,081,999.64 176,051.36 1,258,051.00
113
สิ นทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้าง 553,696.50 3,898,210.40 (4,157,213.90) 294,693.00 545,062.00 (568,680.00) 271,075.00 -
รวม
355,192,762.43 51,648,361.36 (24,850,517.08) 381,990,606.71 31,155,691.27 (11,624,326.00) 401,521,971.98 163,356,928.28 25,851,168.97 (5,803,480.85) 183,404,616.40 25,588,326.66 (5,017,219.87) 203,975,723.19
ที่ดิน ค่ าเผือ่ การด้ อยค่ า ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 บวก ขาดทุนจากการด้อยค่า จาหน่าย / โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บวก ขาดทุนจากการด้อยค่า จาหน่าย / โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
อาคารและ ส่ วนปรับปรุ งอาคาร -
-
เครื่ องจักรและ อุปกรณ์โรงงาน
บาท เครื่ องตกแต่งและ เครื่ องใช้สานักงาน
1,663,410.79 2,094,915.84 3,758,326.63 361,958.15 4,120,284.78
-
ยานพาหนะ
สิ นทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้าง -
-
รวม
1,663,410.79 2,094,915.84 3,758,326.63 361,958.15 4,120,284.78
มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ บริ ษทั ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
17,440,780.68 17,440,780.68
55,509,324.57 55,509,324.57
87,542,153.01 28,004,719.02 115,546,872.03
4,872,489.33 530,793.62 5,403,282.95
292,603.84 340,106.61 632,710.45
294,693.00 294,693.00
165,952,044.43 28,875,619.25 194,827,663.68
ภายใต้กรรมสิ ทธิ์ บริ ษทั ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
27,902,268.68 27,902,268.68
53,134,414.85 53,134,414.85
72,314,236.61 34,998,325.68 107,312,562.29
3,224,803.55 704,180.55 3,928,984.10
239,543.15 637,115.94 876,659.09
271,075.00 271,075.00
157,086,341.84 36,339,622.17 193,425,964.01
114
ล้านบาท 2557
2556
ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวาคม แสดงไว้ใน ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร รวม
23.54
23.77
2.05
2.08
25.59
25.85
58.72
57.93
ณ วันที่ 31 ธันวาคม ราคาทุนก่อนหักค่าเสื่ อมราคาสะสม ได้ตดั จาหน่าย ค่าเสื่ อมราคาทั้งจานวนแล้วแต่ยงั คงใช้งานอยู่
สัญญาเช่าพื้นที่และอุปกรณ์ สัญญาเช่ายานพาหนะ สัญญาเช่าอุปกรณ์โรงงาน
ผูใ้ ห้เช่า บุคคลภายนอก บุคคลภายนอก บุคคลภายนอก
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 อัตราค่าเช่าต่อเดือน ระยะเวลา (ล้านบาท) หมายเหตุ 1 ปี 0.02 สามารถต่อสัญญา 3 - 4 ปี 0.36 ได้เมื่อหมดอายุ 0.13 3 - 4 ปี สัญญา
ปี 2557 บริ ษทั ได้ทาสัญญาขายและเช่ ากลับคืนเครื่ องจักร มูลค่าตามบัญชี จานวนเงิ น 5.97 ล้าน บาท (ดูหมายเหตุ 17) บริ ษ ัท ได้จ ดจ านองที่ ดิ น พร้ อ มสิ่ ง ปลู ก สร้ า งที่ มี อ ยู่แ ล้ว และที่ จ ะมี ข้ ึ น ในภายหน้ า เพื่ อ ใช้เ ป็ น หลักประกันเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน (ดูหมายเหตุ 13 และ 16)
115
11. สิ นทรัพย์ไม่ มีตัวตน สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย โปรแกรม คอมพิวเตอร์
บาท โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระหว่างติดตั้ง
รวม
ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ซื้ อ/โอนเข้า จาหน่าย/โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ซื้ อ/โอนเข้า จาหน่าย/โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
3,082,100.00 1,708,000.00 4,790,100.00 4,790,100.00
ค่ าตัดจาหน่ ายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ค่าตัดจาหน่าย จาหน่าย/โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ค่าตัดจาหน่าย จาหน่าย/โอนออก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
1,498,753.25 515,457.94 2,014,211.19 561,274.58 2,575,485.77
มูลค่ าสุ ทธิทางบัญชี ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริ ษทั ภายใต้สญั ญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
2,355,638.90 420,249.91 2,775,888.81
75,000.00 75,000.00
2,430,638.90 420,249.91 2,850,888.81
ภายใต้กรรมสิทธิ์ของบริ ษทั ภายใต้สญั ญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
1,913,363.92 301,250.31 2,214,614.23
237,000.00 237,000.00
2,150,363.92 301,250.31 2,451,614.23
418,500.00 1,364,500.00 (1,708,000.00) 75,000.00 162,000.00 237,000.00 -
3,500,600.00 3,072,500.00 (1,708,000.00) 4,865,100.00 162,000.00 5,027,100.00 1,498,753.25 515,457.94 2,014,211.19 561,274.58 2,575,485.77
116
ล้านบาท 2557
2556
ค่าตัดจาหน่ายสาหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม แสดงไว้ในค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
0.56
0.52
ณ วันที่ 31 ธันวาคม ราคาทุนก่อนหักค่าตัดจาหน่ายสะสม ได้ตดั จาหน่าย ทั้งจานวนแล้วแต่ยงั คงใช้งานอยู่
1.19
0.56
12. ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท 2557
2556
สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี
14,853,717.48
9,024,543.07
หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุทธิ
(3,745,528.33) 11,108,189.15
(3,412,573.86) 5,611,969.21
รายการเคลื่ อนไหวของสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และหนี้ สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที่ เกิดขึ้นในระหว่างปี มีดงั นี้
117
บาท ณ วันที่
กาไร
ณ วันที่
กาไร
ณ วันที่
1 มกราคม 2556
(ขาดทุน)
31 ธันวาคม 2556
(ขาดทุน)
31 ธันวาคม 2557
สินทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าเผื่อมูลค่าสินค้าลดลง ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน
752,960.24
(564,306.14)
188,654.10
(29,451.50)
159,202.60
ผลขาดทุนทางภาษียกไป รวม
328,361.10 1,081,321.34
241,197.77 8,266,330.10 7,943,221.73
569,558.87 8,266,330.10 9,024,543.07
85,611.88 5,773,014.03 5,829,174.41
655,170.75 14,039,344.13 14,853,717.48
หนีส้ ินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวม
(1,832,959.85) (107,849.90) (1,940,809.75)
(1,579,614.01) 107,849.90 (1,471,764.11)
(3,412,573.86) (3,412,573.86)
(332,954.47) (332,954.47)
(3,745,528.33) (3,745,528.33)
13. เงินเบิกเกินบัญชี และเงินกู้ยมื ระยะสั้ นจากสถาบันการเงิน เงิ นเบิ กเกิ นบัญชี และเงิ นกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท 2557 เงินเบิกเกินบัญชี ตัว๋ สัญญาใช้เงิน ทรัสต์รีซีท รวม
4,865,637.62 31,000,000.00 20,833,624.76 56,699,262.38
2556 873,382.61 31,000,000.00 29,192,508.74 61,065,891.35
118
วงเงินสิ นเชื่อจากสถาบันการเงิน ประกอบด้วย สถาบันการเงิน แห่งที่ 1
ประเภทสินเชื่อ เงินเบิกเกินบัญชี ตัว๋ สัญญาใช้เงิน
วงเงิน (ล้านบาท) 10.00 16.00
อัตราดอกเบี้ย (ร้อยละต่อปี ) MOR MLR
หลักประกัน บริ ษทั ได้จดจานองที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้างที่มี อยูแ่ ล้วและที่จะมีข้ ึนในภายหน้า (ดูหมายเหตุ 10) เพือ่ ใช้เป็ นหลักประกัน ตลอดจนผลประโยชน์ จากการทาประกันอัคคีภยั สิ่ งปลูกสร้างเพือ่ เป็ น หลักประกันสินเชื่อดังกล่าว
แห่งที่ 2
เงินเบิกเกินบัญชี เลตเตอร์ ออฟ เครดิต
5.00 30.00
MOR บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน 2 แห่งเป็ นผูค้ ้าประกัน MLR, SIBOR (ดูหมายเหตุ 4 และ 30.1.2)
/ทรัสต์รีซีท/หนังสือค้าประกัน ตัว๋ สัญญาใช้เงิน
15.00
MLR
จานาสิทธิในการรับเงินตามบัญชีเงินฝากและ/ หรื อ ตัว๋ แลกเงินในสัดส่วนร้อยละ 25 สาหรับ วงเงินตัว๋ สัญญาใช้เงิน (ดูหมายเหตุ 9)
รวม
76.00
14. เจ้ าหนีก้ ารค้ าและเจ้ าหนีอ้ นื่ เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท 2557
2556
เจ้าหนี้การค้า กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น รวม
122,194.39 57,327,753.24 57,449,947.63
217,806.53 64,221,186.37 64,438,992.90
เจ้าหนี้อื่น ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เบิกใช้เงินโอนผิดบัญชี (ดูหมายเหตุ 5) เจ้าหนี้อื่น รวม
9,136,618.70 9,986,002.72 1,283,721.67 20,406,343.09
14,439,199.08 1,476,862.53 15,916,061.61
รวมทั้งหมด
77,856,290.72
80,355,054.51
119
15. หนีส้ ิ นส่ วนทีถ่ ึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี หนี้สินส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท หมายเหตุ
2557
2556
เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน
16
12,430,037.81
11,962,488.14
หนี้สินภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน รวม
17
8,675,288.11
11,529,342.62
21,105,325.92
23,491,830.76
16. เงินกู้ยมื จากสถาบันการเงิน เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท 2557 16,603,902.28 (12,430,037.81) 4,173,864.47
เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน หัก ส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน
2556 28,580,979.44 (11,962,488.14) 16,618,491.30
รายละเอียดเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน มีรายละเอียดดังนี้ วงเงิน
มูลหนี้
เจ้าหนี้ ธนาคาร
(ล้านบาท) 14.00
(ล้านบาท) 3.36
ระยะเวลา พ.ย. 2553 - ต.ค. 2558
(ร้อยละต่อปี ) MLR
การชาระหนี้ เงินต้นพร้อมดอกเบี้ยรายเดือน ๆ ละ 0.29 ล้านบาท เริ่ ม ชาระเดือนที่ 7 นับตั้งแต่การเบิกเงินกูย้ มื งวดแรก
ธนาคาร
26.00
6.33
พ.ย. 2553 - ต.ค. 2558
MLR
เงินต้นพร้อมดอกเบี้ยรายเดือน ๆ ละ 0.54 ล้านบาท เริ่ ม ชาระเดือนที่ 7 นับตั้งแต่การเบิกเงินกูย้ มื งวดแรก
ธนาคาร
14.00
6.91
ก.ค. 2555 - มิ.ย. 2560
MLR
เงินต้นพร้อมดอกเบี้ยรายเดือน ๆ ละ 0.23 ล้านบาท เริ่ ม ชาระเดือนที่ 7 นับตั้งแต่การเบิกเงินกูย้ มื งวดแรก
รวม
54.00
16.60
อ้างอิงอัตราดอกเบี้ย
120
การเพิ่มขึ้นและลดลงของเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงินสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดงั นี้ บาท 2557 ยอดยกมา
2556
28,580,979.44
เพิม่ ขึ้น
40,045,907.06
-
ลดลง
(11,977,077.16) 16,603,902.28
ยอดคงเหลือ
(11,464,927.62) 28,580,979.44
บริ ษทั ได้จดจานองที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้างที่มีอยูแ่ ล้วในขณะทาสัญญาและที่จะมีข้ ึนต่อไปในภาย หน้า (ดูหมายเหตุ 10) ตลอดจนผลประโยชน์จากการทาประกันอัคคีภยั สิ่ งปลูกสร้างเพื่อใช้เป็ น หลักประกันสิ นเชื่อดังกล่าว 17. หนีส้ ิ นภายใต้ สัญญาเช่ าการเงิน หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท ปี สัญญาเช่าการเงิน 1 2-5 สัญญาขายและเช่ากลับคืน 1 2-5
มูลค่าปั จจุบนั 2,615,522.34
2557 ดอกเบี้ยรอตัดบัญชี
ค่าเช่าขั้นต่า
มูลค่าปั จจุบนั
2,725,453.88 325,566.76 3,051,020.64
7,370,465.62
270,869.88 2,886,392.22
109,931.54 54,696.88 164,628.42
6,059,765.77 2,660,236.68 8,720,002.45
389,368.19 81,439.30 470,807.49
8,675,288.11 2,931,106.56 11,606,394.67
499,299.73 136,136.18 635,435.91
2556 ดอกเบี้ยรอตัดบัญชี
ค่าเช่าขั้นต่า
2,612,943.73 9,983,409.35
425,769.96 75,235.63 501,005.59
7,796,235.58 2,688,179.36 10,484,414.94
6,449,133.96 2,741,675.98 9,190,809.94
4,158,877.00 5,243,920.05 9,402,797.05
471,907.52 158,661.89 630,569.41
4,630,784.52 5,402,581.94 10,033,366.46
9,174,587.84 3,067,242.74 12,241,830.58
11,529,342.62 7,856,863.78 19,386,206.40
897,677.48 233,897.52 1,131,575.00
12,427,020.10 8,090,761.30 20,517,781.40
รวม 1 2-5
121
บริ ษทั ได้ทาสัญญาเช่ าการเงิน เพื่อซื้ อเครื่ องจักร ยานพาหนะ และอุปกรณ์สานักงาน กาหนดการ ผ่อ นชาระเป็ นรายเดื อ นๆ ละ 1.14 ล้านบาท (ปี 2556: 1.00 ล้านบาท) หนี้ สินส่ วนที่ ถึงกาหนด ช าระภายในหนึ่ ง ปี จานวนเงิ น 8.68 ล้านบาท (ปี 2556: 11.53 ล้านบาท) แสดงภายใต้หนี้ สิ น หมุนเวียน ในปี 2557 บริ ษทั ได้ทาสัญญาขายและเช่ ากลับคืนเครื่ องจักร มูลค่าตามสัญญาเช่ าการเงิ น จานวน เงิน 6.36 ล้านบาท 18. หนีส้ ิ นหมุนเวียนอืน่ หนี้สินหมุนเวียนอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท 2557 เงินรับล่วงหน้า ภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่ายค้างจ่าย รายได้รับล่วงหน้า รวม
2556
19,279,980.00
7,285,040.00
1,110,283.47
497,637.61
416,194.78 20,806,458.25
419,194.78 8,201,872.39
19. ภาระผูกพันผลประโยชน์ ของพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงานในงบแสดงฐานะการเงิ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท 2557 โครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงาน มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพัน ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน
2,991,186.20 2,991,186.20
2556 2,847,794.36 2,847,794.36
การเปลี่ยนแปลงมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดงั นี้
122
บาท 2557 โครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงาน มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน ณ วันที่ 1 มกราคม ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์ของพนักงานในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ : ต้นทุนบริ การปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี้ย ผล(กาไร)ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม
2556
2,847,794.36
1,641,805.52
110,222.37 30,918.17 2,251.30 2,991,186.20
1,262,196.65 (20,255.80) (35,952.01) 2,847,794.36
บริ ษทั กาหนดโครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้เป็ นไปตามการจ่ายเงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน ซึ่ งให้สิทธิ แก่พนักงานที่เกษียณอายุและทางานครบระยะเวลาที่กาหนด เช่น 10 ปี ขึ้นไป ได้รับเงิน ชดเชยไม่นอ้ ยกว่าอัตราเงินเดือนเดือนสุ ดท้าย 300 วัน หรื อ 10 เดือน ข้อสมมติ ในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยที่ สาคัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 (แสดงด้วยค่าเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก) มีดงั นี้ พนักงานรายเดื อน
อัตราคิดลด(ร้อยละ) เงินเดื อนในอนาคตที่เพิม่ ขึ้น(ร้อยละ) อัตราการหมุนเวียนพนักงาน(ร้อยละ) เกษียณอายุ อัตรามรณะ อัตราการทุพพลภาพ
พนักงานรายวัน
4.11 4.30 5.00 5.00 0.00 - 30.00 0.00 - 50.00 60 ปี 60 ปี ตารางมรณะปี 2551 ร้อยละ 10 ของอัตรามรณะ
20. ทุนเรือนหุ้น บริ ษทั ได้นาหุ ้นสามัญของบริ ษทั จานวน 44 ล้านหุ ้น เปิ ดให้ประชาชนจองซื้ อหุ ้นในระหว่างวันที่ 29 - 30 เมษายน 2556 และวันที่ 2 พฤษภาคม 2556 โดยเสนอขายในราคาหุ ้นละ 1.30 บาท และเมื่อ วันที่ 3 พฤษภาคม 2556 บริ ษทั ได้จดทะเบียนเปลี่ ยนแปลงทุนชาระแล้วกับกระทรวงพาณิ ชย์ จาก การรับชาระเงินเพิ่มทุนหุ น้ สามัญดังกล่าวจากเดิมจานวนเงิน 88 ล้านบาท เป็ นจานวนเงิน 110 ล้าน บาท และบริ ษทั ได้บนั ทึกค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจาหน่ายหุ ้นเพิ่มทุน จานวนเงิน 4.45 ล้านบาท เป็ น รายการหักในบัญชีส่วนเกินมูลค่าหุ น้ สามัญ
123
ต่อมาบริ ษทั ได้ออกหุ ้นสามัญเพิ่มทุนเพื่อรองรับการใช้สิทธิ ของผูถ้ ื อใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จดั สรร ให้แก่กรรมการและพนักงาน (ดูหมายเหตุ 21) ในราคาหุน้ ละ 0.50 บาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
วันที่ *
จานวนหุน ้ สามัญ เพิม่ ทุน(หุน ้ )
22 พฤศจิกายน 2556 28 พฤษภาคม 2557 14 พฤศจิกายน 2557
724,783 170,950 1,381,425
ทุนชาระแล้ว(ล้านบาท) จากเดิม เป็ นจานวน 110.00 110.36 110.48
110.36 110.48 111.14
* วันที่จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชาระแล้วกับกระทรวงพาณิ ชย์ 21. ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2556 บริ ษทั ได้ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ ้นสามัญ (Employee Stock Option Plan: ESOP) จานวน 6,000,000 หน่ วยให้แก่ กรรมการและพนักงานของบริ ษ ทั โดย รายละเอียดของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ มีดงั นี้ ประเภทของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ
: ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ ้นสามัญของบริ ษทั เพื่อจัดสรร ให้แก่กรรมการและ พนักงานของบริ ษทั
ชนิด
: ระบุชื่อผูถ้ ือและไม่สามารถโอนเปลี่ยนมือได้
อายุใบสาคัญแสดงสิ ทธิ
: 5 ปี นับตั้งแต่วนั ที่ออกและเสนอขายใบสาคัญแสดงสิ ทธิ
จานวนที่ออกและเสนอขาย
: 6,000,000 หน่วย
ราคาเสนอขายต่อหน่วย
: หน่วยละ 0 บาท
อัตราการใช้สิทธิ
: ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ 1 หน่วย มีสิทธิ ซ้ื อหุ ้นสามัญได้ 1 หุ ้น (เว้นแต่ จะมี การปรั บ สิ ทธิ ตามหลักเกณฑ์และเงื่ อนไขที่ กาหนด)
ราคาการใช้สิทธิ
: 0.50 บาท ต่อหุ น้ (เว้นแต่จะมีการปรับสิ ทธิ ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่กาหนด)
ระยะเวลาการใช้สิทธิ
: ครั้งที่ 1 3 วันหลังจากวันที่บริ ษทั ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ครบ 0.5 ปี ใช้สิทธิได้ร้อยละ 25 ของจานวนใบสาคัญแสดง สิ ทธิที่ได้รับการจัดสรร 124
ครั้งที่ 2 3 วันหลังจากวันที่บริ ษทั ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ครบ 1 ปี ใช้สิทธิ ได้ร้อยละ 25 ของจานวนใบสาคัญแสดง สิ ทธิที่ได้รับการจัดสรร ครั้งที่ 3 3 วันหลังจากวันที่บริ ษทั ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ครบ 1.5 ปี ใช้สิทธิได้ร้อยละ 50 ของจานวนใบสาคัญแสดง สิ ทธิที่ได้รับการจัดสรร ครั้งที่ 4 3 วันหลังจากวันที่บริ ษทั ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ครบ 2 ปี ใช้สิทธิ ได้ร้อยละ 50 ของจานวนใบสาคัญแสดง สิ ทธิที่ได้รับการจัดสรร ครั้งที่ 5 3 วันหลังจากวันที่บริ ษทั ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ครบ 2.5 ปี ใช้สิทธิได้ร้อยละ 75 ของจานวนใบสาคัญแสดง สิ ทธิที่ได้รับการจัดสรร ครั้งที่ 6 3 วันหลังจากวันที่บริ ษทั ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ครบ 3 ปี ใช้สิทธิ ได้ร้อยละ 75 ของจานวนใบสาคัญแสดง สิ ทธิที่ได้รับการจัดสรร ครั้งที่ 7 3 วันหลังจากวันที่บริ ษทั ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ครบ 3.5 ปี ใช้สิทธิ ได้ท้ งั หมดของจานวนใบส าคัญแสดง สิ ทธิที่ได้รับการจัดสรร ครั้งที่ 8 3 วันหลังจากวันที่บริ ษทั ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ครบ 4 ปี ใช้สิทธิ ได้ท้ งั หมดของจานวนใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่ได้รับการจัดสรร ครั้งที่ 9 3 วันหลังจากวันที่บริ ษทั ออกใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ครบ 4.5 ปี ใช้สิทธิ ได้ท้ งั หมดของจานวนใบส าคัญแสดง สิ ทธิที่ได้รับการจัดสรร ครั้ งที่ 10 7 วันก่ อนวันที่ บ ริ ษ ทั ออกใบส าคัญแสดงสิ ท ธิ ครบ 5 ปี ใช้สิทธิ ท้ งั หมดของจานวนใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่ ได้รับจากการจัดสรร
125
กาหนดระยะเวลาการใช้สิทธิ ครั้ งแรก คือ วันที่ 9 - 11 พฤศจิกายน 2556 และกาหนดระยะเวลา การใช้สิทธิ ครั้งสุ ดท้าย คือ วันที่ 2 - 8 พฤษภาคม 2561 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่ยงั ไม่ได้ใช้สิทธิ คงเหลือ จานวน 2.60 ล้านหน่วย (ปี 2556 : 4.56 ล้านหน่วย) รายการเคลื่อนไหวในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ และ มูลค่ายุติธรรมของใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ ้นสามัญ มีดงั นี้ 2557 จานวนใบสาคัญ แสดงสิทธิ
2556 มูลค่ายุติธรรม
จานวนใบสาคัญ แสดงสิทธิ
มูลค่ายุติธรรม
บาท ณ วันที่ 1 มกราคม ออกใบสาคัญแสดงสิทธิระหว่างปี ใช้ใบสาคัญแสดงสิทธิระหว่างปี ยกเลิกใบสาคัญแสดงสิทธิระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม
4,560,217 (1,552,425) (407,250) 2,600,542
5,882,679.93 (2,002,628.25) (525,352.50) 3,354,699.18
บาท 6,000,000 (724,783) (715,000) 4,560,217
4,920,000.00 (594,322.06) (586,300.00) 3,739,377.94
22. เงินปันผลจ่ าย ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2556 ได้มีมติให้จ่ายเงินปั นผลระหว่างกาล ในอัตราหุ ้นละ 0.04 บาท รวมเป็ นจานวนเงิน 8.80 ล้านบาท 23. ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ ค่าใช้จ่ายตามลักษณะที่สาคัญสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย
126
บาท 2557
2556
การเปลี่ยนแปลงในสินค้าสาเร็ จรู ปและงานระหว่างทา
(6,955,741.58)
7,092,347.92
ค่าจ้างผลิต
83,686,303.71
90,232,003.12
135,581,886.98
164,795,020.90
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน
90,217,855.31
93,564,956.26
ค่าเช่าและค่าบริ การพื้นที่
5,925,367.33
5,978,120.67
26,149,601.24
26,366,626.92
1,881,424.79
(6,652,643.56)
361,958.15
2,094,915.82
ค่าซ่อมแซมและบารุ งรักษา
5,452,089.02
6,615,488.72
ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
4,031,441.96
3,653,044.00
15,943,978.48
17,121,587.06
3,686,765.93
4,134,350.77
วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป
ค่าเสื่ อมราคาและรายการตัดจาหน่าย ขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้า(กลับรายการ) ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์
ค่าสาธารณูปโภค ค่าที่ปรึ กษา
24. ต้ นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท ดอกเบี้ยจ่าย ค่าธรรมเนียม รวม
2557 7,028,340.65 1,001,386.15 8,029,726.80
2556 7,453,573.54 702,554.55 8,156,128.09
25. ภาษีเงินได้ ภาษีเงิ นได้นิติบุคคลของบริ ษทั สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 คานวณขึ้นใน อัตราที่กาหนดโดยกรมสรรพากรจากกาไรทางบัญชีหลังปรับปรุ งเงื่อนไขบางประการตามที่ระบุใน ประมวลรั ษฎากร บริ ษทั บันทึกภาษีเงิ นได้นิติบุคคลเป็ นค่าใช้จ่ายทั้งจานวนในแต่ละปี บัญชี และ บันทึกภาระส่ วนที่คา้ งจ่ายเป็ นหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน การลดภาษีเงินได้นิติบุคคล
127
พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร ฉบับที่ 530 พ.ศ.2554 ลงวันที่ 14 ธันวาคม 2554 ให้ปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากอัตราร้อยละ 30 ของกาไรสุ ทธิ เป็ นอัตราร้อยละ 23 ของกาไรสุ ทธิ สาหรับรอบระยะเวลาบัญชี แรกที่เริ่ มในหรื อหลัง วันที่ 1 มกราคม 2555 และอัตราร้อยละ 20 ของกาไรสุ ทธิ สาหรับสองรอบระยะเวลาบัญชี ถดั มาที่ เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เป็ นต้นไป พระราชกฤษฎี กาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตรารัษฎากร ฉบับที่ 577 พ.ศ. 2557 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2557 ขยายเวลาการลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็ นอัตราร้อยละ 20 ของกาไรสุ ทธิ สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 แต่ไม่เกินวันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริ ษทั ใช้อตั ราภาษีเงินได้ที่ลดลงเหลือร้อยละ 20 ในการวัดมูลค่าสิ นทรัพย์และหนี้ สินภาษีเงินได้รอ การตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ตามคาชี้ แจงของสภาวิชาชี พบัญชี ที่ออกในปี 2555 รายได้ภาษีเงิ นได้ที่รับรู ้ ในกาไรหรื อขาดทุนสาหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มี ดังนี้ บาท 2557 ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน สาหรับปี ปัจจุบนั
2556 -
-
ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี การเปลี่ยนแปลงผลแตกต่างชัว่ คราว
5,496,219.94
6,471,457.62
รายได้ภาษีเงินได้
5,496,219.94
6,471,457.62
128
2557 อัตราภาษี (ร้อยละ)
บาท
อัตราภาษี (ร้อยละ)
(21,902,225.09)
ขาดทุนก่อนภาษีเงินได้ จานวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ รายจ่ายที่ไม่ให้ถือเป็ นรายจ่ายทางภาษี ค่าใช้จ่ายที่มีสิทธิหกั ได้เพิม่ ขึ้น ผลขาดทุนปี ปัจจุบนั ภาษีเงินได้สาหรับปี ปัจจุบนั การเปลี่ยนแปลงผลแตกต่างชัว่ คราว รายได้ภาษีเงินได้
2556
20
25
4,380,445.02 1,181,044.55 1,095,674.88 (6,657,164.45) 5,496,219.94 5,496,219.94
บาท (21,047,108.43)
20
31
4,209,421.69 2,881,806.11 1,175,102.30 (8,266,330.10) 6,471,457.62 6,471,457.62
26. สารองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญ ญัติบ ริ ษ ทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 บริ ษ ทั ต้องจัดสรรกาไรสุ ท ธิ ป ระจาปี ส่ ว น หนึ่ ง ไว้เ ป็ นทุ น สารองไม่น ้อ ยกว่า ร้ อ ยละ 5 ของกาไรสุ ท ธิ ป ระจาปี หัก ด้ว ยยอดเงิ น ขาดทุน สะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสารองนี้จะมีจานวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน 27. กองทุนสารองเลีย้ งชี พ บริ ษทั และพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสารองเลี้ยงชี พตามพระราชบัญญัติกองทุนสารองเลี้ยง ชีพ พ.ศ. 2530 ซึ่ งประกอบด้วยเงินที่พนักงานจ่ายสะสมและเงินที่บริ ษทั จ่ายสมทบให้ ในปั จจุบนั กองทุ นสารองเลี้ ย งชี พ นี้ บ ริ หารโดยบริ ษทั หลัก ทรั พ ย์จดั การกองทุ น กรุ ง ไทย จากัด (มหาชน) กองทุ น ส ารองเลี้ ยงชี พ นี้ ได้ จ ดทะเบี ย นเป็ นกองทุ น ส ารองเลี้ ยงชี พ ตามข้ อ ก าหนดของ กระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผูจ้ ดั การกองทุนที่ได้รับอนุญาต 28. สิ ทธิทไี่ ด้ รับจากการส่ งเสริมการลงทุน บริ ษทั ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริ มการลงทุน พ.ศ. 2520 ในการผลิ ต ชิ้นส่ วนโลหะ ที่ทาจากโลหะฉี ดขึ้นรู ป สิ ทธิ และประโยชน์ตามบัตรส่ งเสริ มที่คงเหลือ โดยได้รับ สิ ทธิ ประโยชน์หลัก ๆ ดังนี้ บัตรส่ งเสริ มการลงทุนเลขที่ 1090(2)/2554 ลงวันที่ 26 มกราคม 2554
129
23
- ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับเครื่ องจักรตามที่คณะกรรมการอนุมตั ิ ที่นาเข้ามาภายในวันที่ 26 กรกฎาคม 2556 - ได้รับ ยกเว้นภาษี เงิ นได้นิติบุค คลสาหรั บ กาไรสุ ทธิ ที่ได้จากการประกอบกิ จการที่ ได้รับการ ส่ งเสริ มมีกาหนดเวลา 8 ปี - ได้รับยกเว้นไม่ตอ้ งนาเงิ นปั นผลจากกิ จการที่ได้รับการส่ งเสริ มซึ่ งได้รับยกเว้นภาษีเงิ นได้นิติ บุคคลรวม คานวณเพื่อเสี ยภาษีเงินได้ - ได้รับอนุญาตให้หกั ค่าขนส่ ง ค่าไฟฟ้ าและค่าประปาสองเท่าของค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็ นระยะเวลา 10 ปี นับตั้งแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น - ได้รับอนุ ญาตให้หักเงิ นลงทุนในการติดตั้งหรื อก่อสร้ างสิ่ งอานวยความสะดวกร้ อยละยี่สิบห้า ของเงินลงทุน นอกเหนือไปจากการหักค่าเสื่ อมราคา ในฐานะที่ ไ ด้รั บ การส่ ง เสริ ม บริ ษ ทั จะต้องปฏิ บ ัติต ามเงื่ อ นไขต่ า ง ๆ ที่ ระบุ ไ ว้ใ นบัต ร ส่ งเสริ ม รายได้แยกตามส่ วนงานธุ รกิ จที่ ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนและไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุ น สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ประกอบด้วย บาท
ธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริ ม ธุรกิจที่ไม่ได้รับการส่งเสริ ม รวม
ในประเทศ 269,647,936.07 76,298,255.46 345,946,191.53
2557 ต่างประเทศ 125,606.50 10,816,000.00 10,941,606.50
รวม 269,773,542.57 87,114,255.46 356,887,798.03
ในประเทศ 288,974,232.65 94,893,173.72 383,867,406.37
2556 ต่างประเทศ 2,676,825.24 16,890,776.00 19,567,601.24
รวม 291,651,057.89 111,783,949.72 403,435,007.61
29. ข้ อมูลทางการเงินจาแนกตามส่ วนงาน ข้อมูลส่ วนงานดาเนิ นงานสอดคล้องกับรายงานภายในสาหรั บใช้ในการตัดสิ นใจในการจัดสรร ทรัพยากรให้กบั ส่ วนงานและประเมินผลการดาเนิ นงานของส่ วนงานของผูม้ ีอานาจตัดสิ นใจสู งสุ ด ด้านการดาเนินงานของบริ ษทั คือ กรรมการบริ ษทั บริ ษทั ดาเนิ นธุ รกิ จหลักเกี่ ยวกับการผลิ ตและจาหน่ ายผลิ ตภัณฑ์โลหะและชิ้ นส่ วนโลหะ ดังนั้น บริ ษทั มีส่วนงานธุ รกิจเพียงส่ วนงานเดียว 130
บริ ษทั มีส่วนงานทางภูมิศาสตร์ ท้ งั ในประเทศและในต่างประเทศ โดยยอดขายสุ ทธิ ในประเทศและ ต่างประเทศต่อยอดขายสุ ทธิ รวม สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดงั นี้
ขายในประเทศ ขายต่างประเทศ
ร้อยละต่อยอดขายสุทธิ รวม 2557 2556 95.79 93.24 4.21 6.76
30. ภาระผูกพัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริ ษทั มีภาระผูกพัน ดังต่อไปนี้ 30.1 ภาระผูกพันที่ตอ้ งจ่ายตามสัญญา ดังต่อไปนี้ 30.1.1 จ่ายชาระตามสัญญาเช่าทรัพย์สินกับบริ ษทั อื่น อัตราค่าเช่าเดือนละ 0.51 ล้านบาท 30.1.2 ค่ า ธรรมเนี ยมตามสั ญญาค้ า ประกันวงเงิ นกู้ยื ม จากสถาบันการเงิ นให้ แก่ บ ริ ษ ัท ที่ เกี่ยวข้องกันสองแห่ง (ดูหมายเหตุ 4) 30.1.3 สัญ ญาว่า จ้า งที ่ป รึ ก ษากับ บริ ษ ทั อื ่น มูล ค่า คงเหลือ 0.84 ล้า นบาท และอัต รา ค่าบริ การเดือนละ 0.05 ล้านบาท 30.1.4 สัญญาว่าจ้างบริ การกับบุคคลและบริ ษทั อื่น อัตราค่าบริ การเดือนละ 0.08 ล้านบาท 30.2 หนังสื อค้ าประกันที่ออกโดยธนาคารเพื่อใช้ในการค้ าประกันการใช้ไฟฟ้ าและการชาระค่า วัสดุก่อสร้าง จานวนเงิน 2.23 ล้านบาท (ดูหมายเหตุ 9) 31. การเปิ ดแผยเกีย่ วกับเครื่องมือทางการเงิน บริ ษทั ไม่มีนโยบายที่จะประกอบธุ รกรรมตราสารทางการเงิ นที่ เป็ นตราสารอนุ พนั ธ์ เพื่อการเก็ง กาไรหรื อการค้า 31.1. การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการบริ ษทั คื อการรั กษาระดับเงิ นทุ นให้มนั่ คงเพื่อรั กษานักลงทุ น เจ้ า หนี้ และความเชื่ อ มั่ น ของตลาดและก่ อ ให้ เ กิ ด การพัฒ นาของธุ รกิ จ ในอนาคต คณะกรรมการได้มีการกากับดูแลผลตอบแทนของเงินทุน ซึ่ งบริ ษทั พิจารณาจากสัดส่ วนของ
131
ผลตอบแทนจากกิ จกรรมดาเนิ นงานต่ อส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้น อี ก ทั้ง ยัง ก ากับ ดู แลระดับ การ จ่ายเงินปั นผลให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ สามัญ 31.2. นโยบายการบัญชี รายละเอียดของนโยบายการบัญชี ที่สาคัญและวิธีปฏิบตั ิทางบัญชี การจัดประเภทสิ นทรัพย์ ทางการเงิ นและหนี้ สิ นทางการเงิ นรวมถึ ง การวัดมูล ค่ า การรับรู้ รายได้ และค่ า ใช้จ่ายได้ เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุขอ้ 3 ความเสี่ ยงเกี่ยวกับเครื่ องมือทางการเงินที่มีสาระสาคัญของบริ ษทั สรุ ปได้ดงั ต่อไปนี้ 31.2.1 ความเสี่ ยงด้ านอัตราดอกเบีย้ ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ ยเกิ ดขึ้ นจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ ยในตลาดใน อนาคต ซึ่ งจะส่ งผลกระทบต่อผลดาเนิ นงานและกระแสเงิ นสดของบริ ษทั บริ ษทั มี ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ยเนื่ องจากมีเงินสดและเงิ นฝากธนาคาร เงิ นเบิกเกินบัญชี และเงิ นกู้ยืม เนื่ องจากสิ นทรั พ ย์และหนี้ สิ นทางการเงิ นดัง กล่ า วส่ วนใหญ่ มี อตั รา ดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด บริ ษทั จึงมิได้ทาสัญญาป้ องกันความเสี่ ยงไว้ 31.2.2 ความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลีย่ น บริ ษทั มีความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ ยนเงิ นตราต่างประเทศ ซึ่ งเกิ ดจากการซื้ อสิ นค้า และการขายสิ นค้าที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ฝ่ ายบริ หารเชื่ อว่าบริ ษทั ไม่ มีความเสี่ ยงในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่เป็ นสาระสาคัญ ดังนั้น บริ ษทั จึง ไม่ได้ใช้อนุ พนั ธ์ทางการเงินเพื่อป้ องกันความเสี่ ยงของสิ นทรัพย์และหนี้ สินทางการ เงินดังกล่าว 31.2.3 ความเสี่ ยงด้ านการให้ สินเชื่ อทีเ่ กีย่ วเนื่องกับลูกหนีก้ ารค้ า บริ ษทั มีนโยบายป้ องกันความเสี่ ยงด้านสิ นเชื่อที่เกี่ยวเนื่ องกับลูกหนี้ การค้า โดยบริ ษทั มี นโยบายการให้สินเชื่ อที่ ระมัดระวังและการก าหนดวิธีก ารชาระเงิ นจากการขาย สิ นค้าและการให้บริ การ ดังนั้น บริ ษทั จึงคาดว่าจะไม่ได้รับความเสี ยหายจากการเรี ยก ชาระหนี้จากลูกหนี้เหล่านั้นเกินกว่าจานวนที่ได้ต้ งั ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญแล้ว 31.3. มูลค่ ายุติธรรม เนื่ องจากสิ นทรัพย์ทางการเงิ นโดยส่ วนใหญ่เป็ นลูกหนี้ การค้า ซึ่ งมีการให้สินเชื่ อระยะสั้น และหนี้ สินทางการเงิ น โดยส่ วนใหญ่เป็ นเจ้าหนี้ การค้า เงิ นเบิกเกิ นบัญชี และเงิ นกูย้ ืมจาก
132
ธนาคาร ซึ่ งมีอตั ราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราในตลาด จึงทาให้ราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์ และหนี้สินทางการเงินดังกล่าวไม่แตกต่างกับมูลค่ายุติธรรมอย่างเป็ นสาระสาคัญ 32. การจัดประเภทรายการใหม่ บริ ษทั ได้จดั ประเภทรายการใหม่บางรายการในงบแสดงฐานะการเงิ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เพื่อให้สอดคล้องกับการแสดงรายการในงบการเงินปี ปั จจุบนั ดังนี้ ก่อนจัด ประเภทใหม่ งบแสดงฐานะการเงิน สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
10,345,330.81 8,143,739.96
บาท จัดประเภท ใหม่ (257,000.00) 257,000.00
หลังจัด ประเภทใหม่ 10,088,330.81 8,400,739.96
33. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมตั ิให้ออกโดยคณะกรรมการของบริ ษทั เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2558
133
รายงานของผู้สอบบัญชี รับอนุญาต เสนอ คณะกรรมการและผู้ถือหุ้น บริษัท ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินของบริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ซึ่ งประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วน ของผูถ้ ื อหุ ้น และงบกระแสเงิ นสดสาหรั บปี สิ้ นสุ ดวันเดี ยวกัน รวมถึ งหมายเหตุ สรุ ปนโยบายการบัญชี ที่ สาคัญและหมายเหตุเรื่ องอื่น ๆ ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่ องบการเงิน ผูบ้ ริ หารเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการจัดทาและการนาเสนองบการเงิ นเหล่านี้ โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผบู ้ ริ หารพิจารณาว่าจาเป็ นเพื่อให้สามารถ จัดทางบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริ ต หรื อข้อผิดพลาด ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้า ได้ปฏิบตั ิงาน ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่ งกาหนดให้ขา้ พเจ้าปฏิ บตั ิตามข้อกาหนดด้าน จรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบตั ิงานตรวจสอบเพื่อให้ได้ความเชื่ อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงิน ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญหรื อไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่ งหลักฐานการสอบบัญชี เกี่ ยวกับจานวนเงินและ การเปิ ดเผยข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใช้ข้ ึนอยู่กบั ดุลยพินิจของผูส้ อบบัญชี ซึ่ งรวมถึงการ ประเมินความเสี่ ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญของงบการเงิน ไม่วา่ จะเกิดจาก การทุ จริ ตหรื อข้อผิดพลาด ในการประเมิ นความเสี่ ยงดังกล่ าว ผูส้ อบบัญชี พิ จารณาการควบคุ มภายในที่ เกี่ ยวข้องกับการจัดท าและการนาเสนองบการเงิ นโดยถู กต้องตามที่ ควรของกิ จการ เพื่ อออกแบบวิธีการ ตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่ เพื่อวัตถุ ประสงค์ในการแสดงความเห็ นต่อประสิ ทธิ ผลของ การควบคุ มภายในของกิ จการ การตรวจสอบรวมถึ งการประเมิ นความเหมาะสมของนโยบายการบัญชี ที่ ผูบ้ ริ หารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีที่จดั ทาขึ้นโดยผูบ้ ริ หาร รวมทั้งการประเมินการ นาเสนองบการเงินโดยรวม
134
ข้าพเจ้าเชื่ อว่าหลักฐานการสอบบัญชี ที่ขา้ พเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดง ความเห็นของข้าพเจ้า ความเห็น ข้าพเจ้าเห็ นว่า งบการเงิ นข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงิ นของ บริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และผลการดาเนิ นงาน และกระแสเงิ นสด สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันเดี ยวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่องอืน่ งบการเงินของบริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ที่แสดงเป็ นข้อมูลเปรี ยบเทียบ ตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชี อื่นในสานักงานเดียวกัน ซึ่ งแสดงความเห็น อย่างไม่มีเงื่อนไข โดยมีการเน้นข้อมูลและเหตุการณ์เกี่ยวกับการนามาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่ อง ภาษี เงินได้มาถือปฏิบตั ิ ตามรายงานลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2557
(นายไกรสิ ทธิ์ ศิลปมงคลกุล) ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 9429
บริ ษทั พีวี ออดิท จากัด กรุ งเทพฯ 25 กุมภาพันธ์ 2558
135
14.2. ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน 14.2.1. งบการเงิน (ก) ผู้สอบบัญชี และนโยบายบัญชี ทสี่ าคัญ รายงานผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตประจาปี 2555 ถึงปี 2557 สามารถสรุ ปได้ดงั นี้ รายงานผูส้ อบบัญชีสาหรับงบการเงินของบริ ษทั งวดบัญชีปี 2555 สิ้ นสุ ด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ซึ่ งตรวจสอบโดย บริ ษทั เอเอ็นเอส ออดิท จากัด โดยนายบรรจง พิชญประสาธน์ ผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาต ทะเบียนเลขที่ 7147 ซึ่งเป็ นผูส้ อบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสานักงาน ก.ล.ต. ได้ให้ความเห็นอย่างไม่ มี เงื่ อนไขว่า งบการเงิ นของบริ ษ ทั แสดงฐานะการเงิ น และผลการดาเนิ นงาน โดยถูก ต้องตามที่ ควรใน สาระสาคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป รายงานผูส้ อบบัญชีสาหรับงบการเงินของบริ ษทั งวดบัญชีปี 2556 สิ้ นสุ ด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ซึ่ งตรวจสอบโดย บริ ษทั เอเอ็นเอส ออดิท จากัด โดยนายประวิทย์ วิวรรณธนานุตร์ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 4917 ซึ่งเป็ นผูส้ อบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสานักงาน ก.ล.ต. ได้ให้ความเห็นอย่างไม่ มี เงื่ อนไขว่า งบการเงิ นของบริ ษ ทั แสดงฐานะการเงิ น และผลการดาเนิ นงาน โดยถู ก ต้องตามที่ ค วรใน สาระสาคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป รายงานผูส้ อบบัญชีสาหรับงบการเงินของบริ ษทั งวดบัญชีปี 2557 สิ้ นสุ ด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ซึ่ งตรวจสอบโดย บริ ษทั พีวี ออดิท จากัด โดยนายไกรสิ ทธิ์ ศิลปมงคงกุล ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตทะเบียน เลขที่ 9429 ซึ่งเป็ นผูส้ อบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสานักงาน ก.ล.ต. ได้ให้ความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข ว่า งบการเงินของบริ ษทั แสดงฐานะการเงิน และผลการดาเนิ นงาน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตาม หลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป (ข) ตารางสรุ ปฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน (หน่วย : ล้านบาท) สรุ ปรายการ ตรวจสอบแล้ว งบแสดงฐานะทางการเงิน สิ้นสุ ด 31 ธ.ค. 55* สิ้นสุ ด 31 ธ.ค. 56 สิ้นสุ ด 31 ธ.ค. 57 จานวน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน
%
จานวน
%
%
จานวน
20.46
5.89%
20.88
6.12%
7.03
2.10%
64.11
18.44%
51.6
15.11%
49.99
14.92%
42.47
12.22%
41.16
12.06%
47.20
14.09%
21.36
6.14%
10.35
3.03%
12.71
3.79%
148.4
42.69%
123.99
36.32%
116.93
34.91%
136
สรุ ปรายการ งบแสดงฐานะทางการเงิน
ตรวจสอบแล้ว สิ้นสุ ด 31 ธ.ค. 55* สิ้นสุ ด 31 ธ.ค. 56 จานวน
เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระหลักประกัน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์ เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจาก สถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หนี้สินส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากบุคคลหรื อกิจการที่ เกี่ยวข้อง หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ิ นหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงินระยะยาว หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รวมหนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิ น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชาระแล้ว ส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ สามัญ ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ
%
จานวน
สิ้นสุ ด 31 ธ.ค. 57
%
%
จานวน
5.98
1.72%
5.98
1.75%
5.98
1.79%
190.17
54.71%
194.83
57.07%
193.43
57.74%
2
0.58%
2.85
0.83%
2.45
0.73%
-
-
5.61
1.64%
11.11
3.32%
1.05
0.30%
8.14
2.38%
5.09
1.52%
199.2
57.31%
217.41
63.68%
218.06
65.09%
347.6
100.00%
341.40
100.00%
334.99
100.00%
65.44
18.83%
61.07
17.89%
56.70
16.93%
93.17
26.80%
80.36
23.54%
77.86
23.24%
18.4
5.29%
23.49
6.88%
21.10
6.30%
21.00
6.27%
19.8
5.70%
8.19
2.40%
20.81
6.21%
196.81
56.62%
173.11
50.71%
197.47
58.95%
28.59
8.22%
16.62
4.87%
4.17
1.24%
9.19
2.64%
7.86
2.30%
2.93
0.87%
1.29
0.37%
-
-
-
-
1.64
0.47%
2.85
0.83%
2.99
0.89%
40.71
11.71%
27.33
8.01%
10.09
3.01%
237.52
68.33%
200.44
58.71%
207.56
61.96%
113
32.51%
113
33.10%
113.00
33.10%
88
25.32%
110.36
32.33%
111.14
33.18%
30.98
9.07%
32.4
9.67%
0.48
0.14%
1.15
0.34%
137
สรุ ปรายการ งบแสดงฐานะทางการเงิน
ตรวจสอบแล้ว สิ้นสุ ด 31 ธ.ค. 55* สิ้นสุ ด 31 ธ.ค. 56 จานวน
สารองตามกฎหมาย กาไรสะสมที่ยงั ไม่ได้จดั สรร
%
จานวน
%
สิ้นสุ ด 31 ธ.ค. 57 %
จานวน
-
-
2.22
0.65%
2.22
0.66%
-
-
(3.08)
-0.90%
(19.48)
-5.82%
รวมส่ วนของเจ้ าของ
2.22
0.64%
140.96
41.29%
127.43
38.04%
รวมหนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น
2.22
0.64%
341.40
100.00%
334.99
100.00%
* งบการเงินปี 2555 เนื่องจากปี 2556 มีการบังคับใช้มาตรฐานบัญชีเรื่ องภาษีเงินได้ผสู้ อบบัญชีได้มีการ ปรับปรุ งสาหรับรายการหนี้ สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และภาษีเงินได้ ซึ่ งได้มีการแก้ไขงบการเงินปี 2554 (หน่วย : ล้านบาท) ตรวจสอบแล้ว สรุ ปรายการ ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ จานวน % จานวน % จานวน % 474.48 97.42% 403.44 98.16% 356.89 100.00% รายได้จากการขายและบริ การ (400.89) -82.31% (368.12) -89.57% (321.50) -90.08% ต้นทุนขายและบริ การ 73.59 15.11% 35.32 8.59% 35.39 9.92% กาไรขั้นต้ น (5.8) -1.19% (6.42) -1.56% (7.26) -2.03% ค่าใช้จ่ายในการขาย (52.33) -10.74% (49.35) -12.01% (49.61) -13.90% ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร 15.46 3.17% (20.45) -4.98% ( 21.48) -6.02% กาไรจากการดาเนินงาน 12.59 2.58% 7.56 1.84% 7.61 2.13% รายได้อื่น (7.56) -1.55% (8.16) -1.99% (8.03) -1.99% ต้นทุนทางการเงิน 20.49 4.21% (21.05) -5.12% (21.90) -6.14% กาไรก่อนภาษีเงินได้ (3.25) -0.67% 6.47 1.57% 5.50 1.54% ภาษีเงินได้ 17.24 3.54% (14.58) -3.55% ( 16.40) -4.60% กาไรสาหรับงวด กาไรเบ็ดเสร็ จอื่น 17.24 3.54% (14.58) -3.55% ( 16.40) -4.60% กาไรเบ็ดเสร็จสาหรับงวด 138
ตรวจสอบแล้ว สรุ ปรายการ งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
ปี 2555 จานวน
ปี 2556 %
จานวน
ปี 2557 %
จานวน
%
กาไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน จานวนหุ ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วง น้ าหนัก (หุ ้น) กาไรต่อหุ น้ (บาท/หุน้ ) ที่มูลค่าที่ตราไว้ 0.50 บาท/หุ ้น
176,000,00 0
205,204,37 4
221,004,29 8
0.10
(0.07)
(0.074)
0.50
0.50
0.50
(หน่วย : ล้านบาท) ตรวจสอบแล้ว
สรุ ปรายการงบกระแสเงินสด กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน กาไรก่อนภาษีเงินได้ ปรับกระทบกาไรก่ อนภาษีเงินได้ เป็ นเงินสดสุ ทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดาเนินงาน ค่าเสื่ อมราคาและตัดจาหน่าย ขาดทุน (กาไร) จากการตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ หนี้สงสัยจะสู ญ ขาดทุน (กาไร) จากการตีมูลค่าสิ นค้าลดลง ขาดทุน (กาไร) จากการด้อยค่าสิ นทรัพย์ ประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงาน ค่าใช้จ่ายจากการให้ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจ่าย กาไรจากการดาเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงในสิ นทรัพย์และหนี้สิน ดาเนินงาน
ปี 2555
ปี 2556
ปี 2557
20.49
(21.05)
(21.90)
20.39
26.37
26.15
2.20
0.13
(0.38)
0.13
-
-
6.28
( 6.65)
1.88
3.12
2.09
0.36
0.28
1.21
0.14
-
0.48
0.67
(0.19)
(0.18)
( 0.14)
7.56
8.16
7.03
60.26
10.56
13.82
139
ตรวจสอบแล้ว
สรุ ปรายการงบกระแสเงินสด การเปลีย่ นแปลงในสิ นทรัพย์ ดาเนินงาน (เพิม่ ขึน้ ) ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น การเปลีย่ นแปลงในหนีส้ ิ นดาเนินงานเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดรับจากการดาเนินงาน รับดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิได้ มาจากกิจกรรมดาเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน เงินฝากสถาบันการเงินติดภาระค้ าประกันเพิ่มขึ้น ซื้ ออาคารและอุปกรณ์ ซื้ อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินสดรับจากการขายอุปกรณ์ เงินสดสุ ทธิใช้ ไปจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) รับเงินกูย้ มิ ระยะสั้นจากบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้อง จ่ายชาระเงินกูย้ มิ ระยะสั้นจากบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้อง รับเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน จ่ายชาระเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินรับจากสัญญาขายและเช่าคืน จ่ายชาระเงินหนี้สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน เงินปั นผลจ่าย
ปี 2555
ปี 2556
ปี 2557
( 6.19)
12.51
1.61
(23.76)
7.96
(7.92)
(11.40)
11.01
(2.27)
(0.01)
(5.17)
0.01
26.24
( 12.80)
( 2.32)
12.08
(11.59)
12.60
57.22
12.48
15.53
0.20
0.17
0.14
( 2.26)
(1.92)
(1.86)
55.16
10.73
13.80
( 0.79)
-
-
(46.02)
(32.60)
(19.13)
(1.30)
(1.36)
(0.16)
1.30
14.83
0.50
( 46.81)
(19.13)
(18.79)
7.59
(4.37)
( 4.37)
-
-
23.50
-
-
(2.50)
13.72
-
-
(9.64)
(11.47)
(11.98)
-
-
4.60
(4.28)
(11.72)
(13.12)
-
( 8.80)
140
ตรวจสอบแล้ว
สรุ ปรายการงบกระแสเงินสด ปี 2555
ปี 2556
ปี 2557
ดอกเบี้ย รับชาระค่าหุ ้นสามัญ
(7.56)
(8.17)
(7.21)
-
53.35
2.20
เงินสดสุ ทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นสุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดคงเหลือสิ้ นปี
(0.17)
8.82
(8.87)
8.18
0.42
(13.86)
12.28
20.46
20.88
20.46
20.88
7.03
ตารางแสดงอัตราส่ วนทางการเงินทีส่ าคัญ อัตราส่ วนทางการเงิน
2555
2556
2557
อัตราส่ วนสภาพคล่อง (Liquidity ratio) อัตราส่ วนสภาพคล่อง อัตราส่ วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว อัตราส่ วนสภาพคล่องกระแสเงินสด อัตราส่ วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย อัตราส่ วนหมุนเวียนสิ นค้าคงเหลือ ระยะเวลาขายสิ นค้าเฉลี่ย* อัตราส่ วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ ระยะเวลาชาระหนี้ Cash cycle
เท่า เท่า เท่า เท่า วัน เท่า วัน เท่า วัน วัน
0.75 0.43 0.29 8.16 44.13 11.89 30.29 6.4 56.29 18.13
0.72 0.42 0.07 8.03 44.83 8.8 40.9 5.08 70.81 14.92
0.59 0.29 0.11 7.03 51.92 7.28 50.14 3.68 99.18 2.26
15.51 3.26 4.21
8.75 (5.07) (5.12)
9.92 (3.89) 2.13
อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการทากาไร (Profitability ratio) อัตรากาไรขั้นต้น อัตรากาไรจากการดาเนิ นงาน อัตรากาไรอื่น
% % %
141
อัตราส่ วนทางการเงิน อัตราส่ วนเงินสดต่อการทากาไร อัตรากาไรสุ ทธิ อัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุน้
2556 (52.47) (3.55) (10.34)
2557 (99) (4.6) (12.88)
5.59 21.94 1.58
(4.23) 6.13 1.19
(4.9) (8.48) 1.07
เท่า เท่า
2.15 6.6
1.42 1.55
1.63 4.98
เท่า
1.08
0.27
0.37
%
-
(0.6)
-
% % %
2555 356.77 3.54 15.6
อัตราส่ วนแสดงประสิ ทธิภาพในการดาเนินงาน (Efficiency ratio) อัตราผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ อัตราผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ถาวร อัตราการหมุนของสิ นทรัพย์
% % เท่า
อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน (Financial policy ratio) อัตราส่ วนหนี้สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ อัตราส่ วนความสามารถชาระดอกเบี้ย อัตราส่ วนความสามารถชาระภาระผูกพัน Cash basis อัตราการจ่ายเงินปั นผล
142
15. รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจาปี 2557 เรี ยน ท่านผูถ้ ือหุ น้ บริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติ้ง (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) จานวน 3 ท่าน ซึ่ ง เป็ นคณะกรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อกาหนด และแนวทางปฏิ บตั ิที่ดีของคณะกรรมการ ตรวจสอบของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปั จจุบนั คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั ประกอบด้วย 1. นางสาววลัยภรณ์ กณิ กนันต์ 2. นายสันติ เนียมนิล 3. นายนิพนั ธ์ ตั้งพิรุฬห์ธรรม
ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ
โดยปั จจุบนั มี นางสาว มลฤดี ธนะกิตติภูมิ เป็ นรักษาการเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบตั ิหน้าที่ตามขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริ ษทั ฯ ซึ่ งสอดคล้องกับข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยในรอบปี บัญชี 2557 ได้จดั ให้มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบจานวน 8 ครั้ง และในปี 2558 จนถึงวันที่รายงาน จานวน 2 ครั้ง รวมทั้งสิ้ น 10 ครั้ง เป็ นการร่ วมประชุมกับผูบ้ ริ หาร ผูส้ อบบัญชี และผูต้ รวจสอบภายใน ตาม ความเหมาะสมซึ่ งสรุ ปสาระสาคัญได้ดงั นี้ 1. สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจาปี 2557 โดย ประชุ มร่ วมกับผูส้ อบบัญชี
และผูบ้ ริ ห ารของบริ ษ ทั ฯ เพื่ อ พิ จ ารณา ความถู ก ต้องครบถ้วนของงบการเงิ น และความ เพียงพอในการเปิ ดเผยข้อมูล ประกอบงบการเงิน นโยบายการบัญชี รวมทั้งข้อสังเกตุจาก การ ตรวจสอบและ สอบทาน งบการเงินของผูส้ อบบัญชี ซึ่ งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า งบการเงิ นดังกล่าว ได้จดั ทาตามมาตรฐานการบัญชี มีความถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญ และมีการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ รวมทั้งเป็ นไปตามข้อกาหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. สอบทานข้ อ มู ล การด าเนิ น งานและระบบการควบคุ ม ภายใน เพื่ อ ประเมิ น ความเพี ย งพอ
เหมาะสม และประสิ ทธิ ผลของระบบการควบคุมภายใน อันจะช่วยส่ งเสริ มให้การดาเนิ นงาน บรรลุ ตามเป้ าหมายที่ ก าหนดไว้ โดยพิ จ ารณาจากการสอบทานผลการประเมิ นระบบการ ควบคุ มภายในร่ วมกับผูส้ อบบัญชี และ ผูต้ รวจสอบภายใน ไม่พบจุ ดอ่อนหรื อข้อบกพร่ องที่ 143
เป็ นสาระสาคัญ มีการดู แลรักษาทรั พย์สินที่เหมาะสม และมี การเปิ ดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเชื่ อถื อได้ นอกจากนี้ ได้ประเมินระบบการควบคุมภายในตามแนวทางที่กาหนด โดยส านักงานคณะกรรมการกากับหลักทรั พย์และตลาดหลักทรั พย์ โดยผูส้ อบบัญชี และ ผู ้ ตรวจสอบภายใน มี ความเห็ นว่า บริ ษทั ฯ มี ระบบการควบคุ มภายในที่ดี และคณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็นสอดคล้องกับผูส้ อบบัญชีและ ผูต้ รวจสอบภายใน 3. สอบทานการตรวจสอบภายในโดยพิจารณา กระบวนการเริ่ มตั้งแต่การวางแผน การรายงาน
และการติดตามผลการปฏิบตั ิตามคาแนะนาของ บริ ษทั ออดิท เฮ้าส์ จากัด ซึ่ งเป็ น ผูต้ รวจสอบ ภายในของบริ ษ ัท เพื่ อปรั บ ปรุ ง ให้เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภาพ และประสิ ท ธิ ผ ล อี ก ทั้ง ได้พิ จารณา ทบทวนและอนุมตั ิการแก้ไขกฏบัตรงานตรวจสอบภายในให้เหมาะสม ทันสมัย และสอดคล้อง กับคู่มือแนวทางการตรวจสอบภายในของตลาดหลักทรั พย์แห่ งประเทศไทย และได้อนุ ม ตั ิ แผนการตรวจสอบประจาปี ที่จดั ขึ้นตามความเสี่ ยงระดับองค์กร คณะกรรมการตรวจสอบมี ความเห็ นว่า บริ ษทั ฯ มีระบบการตรวจสอบภายในที่เพียงพอ เหมาะสม และมีประสิ ทธิ ผล เป็ นไปตามมาตราฐานสากล 4. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนดของตลาด
หลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยและกฏหมายที่ เกี่ ยวข้องกับธุ รกิ จของบริ ษทั ฯ รวมถึ งการปฏิ บตั ิ ตามข้อกาหนดของบริ ษทั ฯ และข้อผูกพันที่บริ ษทั ฯมีไว้กบั บุคคลภายนอก ซึ่ งคณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็ นว่า ไม่พบประเด็นที่เป็ นสาระสาคัญในเรื่ องการไม่ปฏิ บตั ิตามกฎหมาย ข้อกาหนด และข้อผูกพันที่บริ ษทั ฯมีไว้กบั บุคคลภายนอก 5. สอบทานระบบการบริ หารความเสี่ ย ง ให้มี ค วามเชื่ อ มโยงกับระบบการควบคุ มภายในเพื่ อ
จัดการความเสี่ ย งทัว่ ทั้ง บริ ษ ทั ฯ โดยได้พิ จารณาสอบทานนโยบาย ปั จจัย ความเสี่ ย ง แนว ทางการบริ หารความเสี่ ยง รวมถึ งความคืบหน้าของการบริ หารความเสี่ ยง ซึ่ งคณะกรรมการ ตรวจสอบมีความเห็นว่า บริ ษทั ให้ความสาคัญกับการบริ หารความเสี่ ยง โดยฝ่ ายบริ หารมีการ ประเมินความเสี่ ยง(Risk Assessment) ที่อาจมีผลกระทบต่อการดาเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั อย่างมี นัยสาคัญ ทั้งที่มาจากปั จจัยภายในและปั จจัย ภายนอกอย่างสม่าเสมอ โดยบริ ษทั ได้มีการแต่งตั้ง คณะท างานด าเนิ น การบริ หารความเสี่ ย งมารั บ ผิ ด ชอบท าหน้ า ที่ น้ ี บริ ษ ัท มี ก ารก าหนด กระบวนการบริ หารความเสี่ ยงไว้ 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การกาหนดวัตถุประสงค์ 2) การวิเคราะห์ ความเสี่ ยง 3) การประเมิ นความเสี่ ย ง 4) การประเมินมาตรการควบคุ ม 5) การบริ หาร/การ
144
จัดการความเสี่ ยง 6) การรายงาน7) การติดตาม ประเมินผล และทบทวน โดยได้มีการจัดทาคู่มือ การบริ หารความเสี่ ยงเพื่อเป็ นแนวทางในการดาเนินงาน 6. สอบทานและให้ ค วามเห็ น ต่ อ รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทาง
ผลประโยชน์ รวมถึ ง การเปิ ดเผยข้ อ มู ล ของรายการดั ง กล่ า ว ตามข้อ ก าหนดของตลาด หลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศไทย และส านั ก งานคณะกรรมการก ากับ หลัก ทรั พ ย์แ ละตลาด หลักทรัพย์ ซึ่ งผูส้ อบบัญชี มีความเห็นว่ารายการค้ากับบริ ษทั ที่เกี่ ยวข้องกันที่มีสาระสาคัญได้ เปิ ดเผยและแสดงรายการในงบการเงิ น และหมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น แล้ ว และ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็ นสอดคล้องกับผูส้ อบบัญชี รวมทั้งมีความเห็ นว่า รายการ ดังกล่าวเป็ นรายการที่ สมเหตุสมผล และเป็ นประโยชน์สูงสุ ดต่อการดาเนิ นธุ รกิ จของบริ ษทั รวมทั้งมีการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างถูกต้องและครบถ้วน 7. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่ งตั้ง และเสนอค่ าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจาปี 2558 เพื่อนาเสนอ
ต่อคณะกรรมการบริ ษ ทั ฯ ให้อนุ มตั ิ จากที่ ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นประจาปี 2558 ซี่ งคณะกรรมการ ตรวจสอบได้พิจารณาผลการปฏิบตั ิงาน ความเป็ นอิสระและความเหมาะสมของค่าตอบแทน แล้ว เห็ นควรเสนอแต่งตั้งนาย ประวิทย์ วิวรรณธนานุ ตร์ ผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตเลขที่ 4917 และ/หรื อ นาย เทอดทอง เทพมังกร ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3787 และ/หรื อ นาย ไกรสิ ทธิ์ ศิลปมงคลกุล ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 9429 แห่ ง บริ ษทั พีวี ออดิท จากัด เป็ น ผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั ฯ ประจาปี 2558 พร้ อมด้วยค่าตอบแทนเป็ นจานวนเงิ นรวม 800,000.บาท โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นเกี่ยวกับการเสนอแต่งตั้งผูส้ อบบัญชีดงั กล่าวดังนี้
ในรอบปี บัญชี ที่ผ่านมา ผูส้ อบบัญชี ได้ป ฏิ บตั ิ งานด้วยความรู ้ ความสามารถใน วิชาชีพ และให้ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในและความเสี่ ยงต่างๆ รวมทั้งมีความเป็ นอิสระในการปฏิบตั ิงาน ค่าตอบแทนที่เสนอมาเป็ นอัตราที่เหมาะสม ผูส้ อบบัญชีไม่มีความสัมพันธ์ใดๆกับบริ ษทั ฯ
คณะกรรมการตรวจสอบได้ป ฏิ บตั ิ หน้าที่ ด้วยความรอบคอบอย่า งเป็ นอิ สระ และแสดงความเห็ นอย่า ง ตรงไปตรงมา เพื่อประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั ฯตามที่ได้ระบุไว้ในกฏบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้รับ อนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั ฯ และมีความเห็นว่า บริ ษทั ฯ ได้จดั ทารายงานข้อมูลทางการเงินอย่างถูกต้อง ตามที่ ค วร มีระบบการควบคุ ม ภายใน การตรวจสอบภายใน การบริ หารความเสี่ ย งที่เหมาะสมและมี 145
ประสิ ทธิ ผล มีการปฏิ บตั ิตาม กฎหมาย ข้อกาหนดและข้อผูกพันต่างๆ มีการเปิ ดเผยรายการที่เกี่ ยวโยงกัน อย่างถูกต้องและมีการปฏิบตั ิงานที่สอดคล้องกับระบบการกากับดูแลกิจการที่ดีอย่างเพียงพอ โปร่ งใส และ เชื่ อถื อได้รวมทั้ง มี ก ารพัฒนาปรั บ ปรุ ง ระบบการปฏิ บ ตั ิ ง านให้มี คุ ณภาพดี ข้ ึ นและเหมาะสมกับ สภาวะ แวดล้อม ทางธุ รกิจอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง
ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ
นางสาววลัยภรณ์ กณิ กนันต์ (ประธานกรรมการตรวจสอบ) 25 กุมภาพันธ์ 2558
146
16. การวิเคราะห์ ฐานะและคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ 16.1 ผลการดาเนินงาน ภาพรวมผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา บริ ษทั ซังโกะ ไดคาซติง้ (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) ก่อตั้งขึ้นโดย บริ ษทั ซังโกะ ได คาซติ้ง อินดัสทรี จากัด (ประเทศญี่ปุ่น) เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2539 โดยมีสานักงานและโรงงานตั้งอยู่ เขตประกอบการอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดระยอง ในเนื้ อที่ 14 ไร่ 417 ตารางวา ดาเนิ นธุ รกิจผลิตชิ้นส่ วน ยานยนต์ ชิ้นส่ วนเครื่ องใช้ไฟฟ้ า และชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกลเกษตร โดยการฉี ดหล่อขึ้นรู ปแรงดันสู ง (HPDC) โดยใช้แม่พิมพ์ วัตถุดิบที่ใช้คืออลูมิเนียมและสังกะสี นอกจากนี้บริ ษทั ยังให้บริ การออกแบบแม่พิมพ์สาหรับ การฉี ดขึ้นรู ปให้กบั ลูกค้าเพื่อผลิตชิ้นงานตามที่ลูกค้าต้องการอีกด้วย ปี 2555 บริ ษทั มีรายได้รวม 487.07 ล้านบาท ขยายตัวจากปี 2554 ซึ่ งเป็ นผลมาจากการขยายตัวของ เศรษฐกิจ และยอดการสั่งซื้ อที่เพิ่มขึ้นส่ วนหนึ่ งเป็ นผลมาจากยอดการผลิตคงค้างที่สะสมมาจากช่วงปลายปี 2554 เนื่ องจากผูป้ ระกอบการบางรายต้องหยุดดาเนิ นการเนื่ องจากได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ น้ าท่วม นอกจากนี้ บริ ษทั มี รายได้จากการให้บริ การ 15.32 ล้านบาท จากข้อตกลงให้ความช่ วยเหลื อด้านเทคนิ ค ให้กบั บริ ษทั ผลิตชิ้นส่ วนรถยนต์แห่งหนึ่งในต่างประเทศ ปี 2556 บริ ษทั มีรายได้รวม 410.99 ล้านบาท ลดลงจากปี 2555 เท่ากับ 76.08 ล้านบาท หรื อ ร้อยละ 15.62 โดยมีสาเหตุหลัก จากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้านธุ รกิจยานยนต์ที่ชะลอตัว อันเนื่ องจากการ ยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่ งผลให้มีการชะลอตัวของคาสั่งซื้ อจากลูกค้าซึ่ ง เลื่อนออกไป ปี 2557 บริ ษทั มีรายได้รวม 364.50 ล้านบาท ลดลงจากปี 2556 เท่ากับ 46.49 ล้านบาท หรื อ คิด เป็ นร้อยละ 11.31ของรายได้รวม โดยมีสาเหตุหลัก จากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้านธุ รกิจยานยนต์ที่ ชะลอตัว อันเนื่องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่ งผลให้มีการชะลอตัว ของคาสั่งซื้ อจากลูกค้าซึ่ งเลื่อนออกไป
147
รายได้ ในปี 2555 ปี 2556และปี 2557 บริ ษทั มีรายได้รวมเท่ากับ 487.07 ล้านบาท 410.99 ล้านบาทและ 364.50 ล้านบาท ตามลาดับ รายได้รวมของบริ ษทั สามารถสรุ ปได้ดงั นี้
รายได้ 1. รายได้ จากการขายชิ้นส่ วน
(หน่วย : ล้านบาท) ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 จานวน ร้ อยละ จานวน ร้ อยละ จานวน ร้ อยละ 434.61
89.23 335.62
81.66 328.18
90.04
274.45
56.35 211.95
51.57
210.2
57.67
93.76
19.25
71.34
17.36
55.58
15.25
39.07
8.02
33.63
8.18
38.39
10.53
27.33
5.61
18.7
4.55
24.01
6.59
24.55
5.04
60.13
14.63
24.7
6.78
10.16
2.09
22.69
5.52
13.43
3.68
ชิ้นส่ วนรถจักรยานยนต์
8.29
1.70
33.22
8.08
8.39
2.3
ชิ้นส่ วนเครื่ องใช้ไฟฟ้ า
4.37
0.90 0.36
4.23
1.03
1.05
0.29
-
-
1.83
0.5
96.29 352.88
96.81
ชิ้นส่ วนรถยนต์ ชิ้นส่ วนรถจักรยานยนต์ ชิ้นส่ วนเครื่ องใช้ไฟฟ้ า ชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกลเกษตรและ อื่นๆ 2. รายได้ จากการขายแม่ พมิ พ์ ชิ้นส่ วนรถยนต์
ชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกลเกษตรและอื่นๆ รวมรายได้ จากการขาย รายได้จากการให้บริ การ1/ รวมรายได้ จากการขายและให้ บริการ
1.74 459.16 15.32 474.48
รายได้อื่น2/
12.59
รายได้ รวม
487.07
94.27 395.75 3.14
7.69
97.42 403.44 2.58
1.87
4.01
1.1
98.17 356.89
98.17
7.54
1.83
7.61
2.09
100 410.98
100
364.5
100
* รายได้อื่น หมายถึง รายได้จากการขายเศษวัตถุดิบจากการผลิต กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิ ดขึ้ นจริ ง ก าไร (ขาดทุน)จากการตัดจาหน่ า ยทรั พย์สิน กาไร(ขาดทุน) จากการตี มูลค่า สิ นค้า ลดลง ดอกเบี้ยรับ และรายได้อื่น
148
รายได้จากการขายและบริ การ โครงสร้ างรายได้ของบริ ษทั ในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 บริ ษทั มี รายได้หลักจากการจาหน่ าย ชิ้นส่ วนและแม่พิมพ์แก่ลูกค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมรถยนต์ โดยคิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 58.44 ร้อยละ 57.09 และร้ อยละ 61.37 ของรายได้รวมตามลาดับ รายได้จากลู ก ค้า ในกลุ่ มอุ ตสาหกรรมจัก รยานยนต์คิ ดเป็ น อัตราส่ วนร้อยละ 20.95 ร้อยละ 25.44 และร้อยละ 17.55 ของรายได้รวมตามลาดับ รายได้จากลูกค้าในกลุ่ม อุตสาหกรรมเครื่ องใช้ไฟฟ้ าคิ ดเป็ นสัดส่ วนร้ อยละ 8.92 ร้ อยละ 9.21 และร้ อยละ 10.82 ของรายได้รวม ตามลาดับ และรายได้จากลูกค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมเครื่ องจักรกลเกษตรและอื่นๆ คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 5.97 ร้อยละ 4.55 และร้อยละ 7.09 ของรายได้รวมตามลาดับ ในปี 2555 รายได้รวมของบริ ษทั เท่ากับ 487.07 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 124.44 ล้านบาทจากในปี 2554 หรื อคิดเป็ นอัตราการขยายตัวร้อยละ 34.32 เนื่ องจากการเติบโตของเศรษฐกิ จ และยอดการผลิตที่เพิ่มขึ้น ส่ วนหนึ่ งมาจากลูกค้ากลุ่มที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์น้ าท่วมในช่วงปลายปี 2554 นอกจากนี้ บริ ษทั ยังมี รายได้จากการบริ การ โดยมีการทาข้อตกลงให้ความช่ วยเหลื อด้านเทคนิ คให้กบั บริ ษทั ผลิ ตชิ้ นส่ วน รถจักรยานยนต์แห่งหนึ่งในประเทศอินเดีย ซึ่ งบริ ษทั รับรู ้รายได้จากข้อตกลงดังกล่าวสาหรับปี 2555 เท่ากับ 15.32 ล้านบาท ในปี 2556 รายได้รวมของบริ ษทั เท่ากับ 410.99 ล้านบาท ลดลงจากปี 2555 เท่ากับ 76.08 ล้านบาท หรื อ ร้อยละ 15.62 เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้านธุ รกิ จยานยนต์ที่ชะลอตัว อันเนื่ องจากการ ยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่ งผลให้มีการชะลอตัวของคาสั่งซื้ อจากลูกค้าซึ่ ง เลื่อนออกไป นอกจากนี้บริ ษทั ยังมีรายได้จากการบริ การโดยมีการทาข้อตกลงให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิ ค ให้กบั บริ ษทั ผลิ ตชิ้ นส่ วนรถจักรยานยนต์แห่ งหนึ่ ง ในประเทศอิ นเดี ย ซึ่ งบริ ษทั รั บรู ้ รายได้จากข้อตกลง ดังกล่าวสาหรับปี 2556 เท่ากับ 7.69 ล้านบาท ในปี 2557 รายได้รวมของบริ ษทั เท่ากับ 364.50 ล้านบาท ลดลงจากปี 2556 เท่ากับ 46.49 ล้านบาท หรื อ ร้อยละ 11.31 เนื่องจากสภาพเศรษฐกิ จภายในประเทศ ด้านธุ รกิจยานยนต์ที่ชะลอตัว อันเนื่ องจากการ ยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่ งผลให้มีการชะลอตัวของคาสั่งซื้ อจากลูกค้าซึ่ ง เลื่อนออกไป นอกจากนี้บริ ษทั ยังมีรายได้จากการบริ การโดยมีการทาข้อตกลงให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิ ค ให้กบั บริ ษทั ผลิ ตชิ้ นส่ วนรถจักรยานยนต์แห่ งหนึ่ ง ในประเทศอิ นเดี ย ซึ่ งบริ ษทั รั บรู ้ รายได้จากข้อตกลง ดังกล่าวสาหรับปี 2557 เท่ากับ 4.01 ล้านบาท รายได้อื่น ในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 บริ ษทั มีรายได้อื่นจานวน 12.59 ล้านบาท 7.56 ล้านบาท และ 7.60 ล้านบาท ตามลาดับ ซึ่ งคิดเป็ นสัดส่ วนต่อรายได้รวม ร้อยละ 2.58 ร้อยละ 1.87 และ ร้อยละ 2.13 ของรายได้ รวมตามลาดับ โดยรายได้อื่นของบริ ษทั ได้แก่ รายได้จากการขายเศษวัตถุ ดิบจากการผลิต กาไร(ขาดทุน) 149
จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ ง กาไร(ขาดทุน)จากการตัดจาหน่ายทรัพย์สิน กาไร(ขาดทุน)จากการตี มูลค่าสิ นค้าลดลง ดอกเบี้ยรับ และรายได้อื่น เป็ นต้น ในปี 2555 รายได้อื่นลดลง 0.24 ล้านบาท หรื อลดลงร้อยละ 1.86 เมื่อเทียบกับในปี 2554 เนื่องจาก การลดลงของรายได้จากการทดลองฉี ดขึ้นรู ปชิ้นงานตัวอย่างที่ลดลง ในปี 2556 รายได้อื่นลดลง 5.05 ล้านบาท หรื อลดลงร้อยละ 40.11 เมื่อเทียบกับในปี 2555 เนื่องจาก การลดลงของรายการขายเศษวัตถุดิบจากการผลิตลดลงจากปี 2556 อันสื บเนื่องมากจากปริ มาณการผลิตและ ขายที่ลดลง ในปี 2557 รายได้อื่ น เพิ่ ม ขึ้ น 0.04 ล้า นบาท หรื อ คิ ด เป็ นร้ อ ยละ 0.01 เมื่ อ เที ย บกับ ในปี 2556 เนื่องจากรายการขายเศษวัตถุดิบจากการผลิตเพิ่มขึ้นจากปี 2556 ต้นทุนขาย และกาไรขั้นต้น ในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 บริ ษทั มีต้นทุ นขายรวม 400.89 ล้านบาท 368.12 ล้านบาท และ 321.50 ล้านบาท ตามลาดับ คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 82.31 ร้อยละ 89.57 และร้อยละ 90.08 ของรายได้รวม ตามลาดับ ส่ งผลให้ในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 บริ ษทั มี อตั รากาไรขั้นต้นร้ อยละ 15.51 ร้ อยละ 10.43 และร้อยละ 9.92 ตามลาดับ ในปี 2555 กาไรขั้นต้นเท่ากับ 73.59 ล้านบาท หรื อ ปรับตัวสู งขึ้นร้อยละ 66.87 เมื่อเปรี ยบเทียบกับ ปี 2554 เนื่ อ งจากบริ ษ ัท ได้รั บ ค าสั่ ง ผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นเพิ่ ม ขึ้ น จากผลกระทบจากลู ก ค้า ที่ ไ ด้รั บ ผลกระทบ วิกฤตการณ์ น้ าท่วมในช่ วงปลายปี 2554 ซึ่ งคาสั่งผลิตชิ้นส่ วนดังกล่าวเป็ นคาสั่งเร่ งด่วนบริ ษทั จึงสามารถ เสนอราคาที่มีอตั รากาไรขั้นต้นที่สูงได้ นอกจากนี้บริ ษทั ยังมีรายได้จากการให้บริ การจานวน 15.32 ล้านบาท จากข้อตกลงให้ค วามช่ วยเหลื อด้า นเทคนิ คเป็ นงานที่ มี อตั ราก าไรขั้นต้นที่ สู ง กว่า งานผลิ ตชิ้ นส่ วนเพื่ อ จาหน่าย จึงส่ งผลให้กาไรขั้นต้นปรับตัวสู งขึ้น ในปี 2556 บริ ษทั มี ต้นทุ นขายรวมเท่ ากับ 368.12 ล้านบาท คิ ดเป็ นร้ อยละ 89.57 ของยอดขาย ในขณะที่ปี 2555 มีตน้ ทุนขายรวม 400.89 ล้านบาท ซึ่ งคิดเป็ นร้อยละ 84.49 ของยอดขาย ซึ่ งต้นทุนขาย เพิ่มขึ้นเท่ากับ 32.77 ล้านบาท หรื อร้อยละ 6.75 ส่ วนที่เพิ่มขึ้นดังนี้ - ค่า แรงงานเพิ่ ม ขึ้ น 8.96 ล้านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 2.43 ของต้นทุ นขาย และ ค่ าจ้างแรงงาน ภายนอกเพิ่มขึ้น 18.47 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 5.02 ของต้นทุนขาย ค่าแรงงานที่ปรับเพิ่มขึ้น เป็ นการปรั บ เพิ่ ม ค่ า จ้า งแรงงานภายในบริ ษัท และภายนอกบริ ษ ัท ซึ่ งส่ ง ผลมาจากการ ประกาศใช้นโยบายค่าแรงงานขั้นต่าของรัฐบาล - ค่าเสื่ อมราคาทรัพย์สินเพิม่ ขึ้น 2.87 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 0.78 ของต้นทุนขาย อันเป็ นผลมา จากบริ ษทั มีการลงทุนในเครื่ องจักร และอุปกรณ์โรงงานในปี 2556 เพิ่มมากขึ้ น ทั้งนี้ เพราะ ต้องการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการผลิต 150
ในปี 2557 บริ ษทั มีตน้ ทุนขายรวมเท่ากับ 321.50 ล้านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 90.08 ของยอดขาย ในขณะที่ปี 2556 มีตน้ ทุนขายรวม 368.12 ล้านบาท ซึ่ งคิดเป็ นร้อยละ 89.57 ของยอดขาย ซึ่ งต้นทุนขาย ลดลงเท่ากับ 46.62 ล้านบาท หรื อร้อยละ 12.66 สาเหตุมาจากยอดขายที่ลดลงเท่ากับ 46.54 ล้านบาทหรื อคิด เป็ นร้อยละ 11.54 ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริ หาร ค่าใช้จ่ายในการขายส่ วนใหญ่ของบริ ษทั เป็ นค่าใช้จ่ายคงที่ เช่ น เงิ นเดื อน ค่าล่วงเวลา โบนัสของ พนักงานฝ่ ายขาย และค่าเช่ารถขนส่ งสิ นค้า เป็ นต้น โดยในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 ค่าใช้จ่ายในการขาย ของบริ ษทั เท่ากับ 5.80 ล้านบาท 6.41 ล้านบาท และ7.26 ล้านบาทตามลาดับ หรื อเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 1.19 ร้อยละ 1.56 และร้อยละ 2.03 ของรายได้รวมตามลาดับ สาหรับปี 2555 ค่าใช้จ่ายในการขายปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.33 เมื่อเทียบกับงวดเดี ยวกันของปี ก่อนหน้า เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของเงินเดือนพนักงานฝ่ ายขาย และค่าใช้จ่ายที่ผนั แปรตามยอดขาย ได้แก่ ค่า น้ ามันสาหรับรถขนส่ งสิ นค้า และค่าเช่ารถขนส่ ง ในปี 2556 ค่าใช้จ่ายในการขายปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.59 เมื่อเทียบกับปี 2555 เนื่องจากการปรับ ทีมงานของฝ่ ายขายโดยการเจาะตลาดลูกค้ารายใหม่ และพยายามเข้าเป็ น First Tier ของกลุ่มอุตสาหกรรม งานหล่ออลูมิเนียมประกอบกับการเริ่ มบุกตลาดเพื่อแตกสายการผลิตงานหล่อ และงานฉี ดโลหะในแบบอื่น ๆ ในปี 2557 ค่าใช้จ่ายในการขายปรับตัวเพิ่มขึ้นร้ อยละ 13.26 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน เนื่ องจากการปรับทีมงานของฝ่ ายขายโดยการเจาะตลาดลูกค้ารายใหม่ และพยายามเข้าเป็ น First Tier ของ กลุ่มอุตสาหกรรมงานหล่ออลูมิเนียมประกอบกับการเริ่ มบุกตลาดเพื่อแตกสายการผลิตงานหล่อ และงานฉี ด โลหะในแบบอื่น ๆ ในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 ค่าใช้จ่ายในการบริ หารของบริ ษทั เท่ากับ 52,33 ล้านบาท 49.35 ล้านบาท และ 49.61 ล้านบาท ตามลาดับ หรื อเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 10.74 ร้อยละ12.01 และร้อยละ 13.90 ของ รายได้รวมในช่วงเดียวกันตามลาดับ ส าหรั บ ปี 2555 ค่ า ใช้ จ่ า ยในการบริ หารปรั บ ตัว เพิ่ ม ขึ้ นร้ อ ยละ 29.82 เมื่ อ เที ย บกับ ปี 2554 เนื่ องมาจากการเพิ่มขึ้นของรายการเงินเดื อน สวัสดิการพนักงาน เงินสมทบกองทุนสารองเลี้ ยงชี พ รายการ กาไรจากการตัดจ่ายสิ นทรั พย์ และกาไรจากการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ นอกจากนี้ สาหรับปี 2555 บริ ษทั มี รายการขาดทุนจากการด้อยค่าสิ นทรัพย์เท่ากับ 3.12 ล้านบาท และขาดทุนจากการตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มี ตัวตนซึ่งเป็ นโปรแกรมระบบบริ หารทรัพยากรองค์กร (ERP) มูลค่า 2.14 ล้านบาท ซึ่ งได้ทาการว่าจ้างบริ ษทั ไอ-วิชนั่ โซลูชนั่ จากัด เนื่องจากมีความล่าช้าในการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมดังกล่าว
151
ปี 2556 ค่าใช้จ่ายในการบริ หารปรับตัวลดลงร้อยละ 5.69 เมื่อเทียบกับปี 2555 เนื่องจากการปรับลด โบนัสพนักงานประจาปี จากที่จ่าย 2-3 เดือน เป็ น 1 เดือน เป็ นผลมาจากยอดขายที่ลดลงในปี 2556 ปี 2557 ค่ า ใช้ จ่ า ยในการบริ ห ารปรั บ ตัว เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 0.26 เมื่ อ เที ย บกับ ปี 2556 เนื่ อ งจาก ค่าใช้จ่ายคงที่ในปี 2556 บางรายการได้มีการปรับเพิ่มขึ้น เช่น การปรับเงินเดือนประจาปี อัตรากาไรจากการดาเนินงาน และอัตรากาไรสุ ทธิ กาไรจากการดาเนินงานของบริ ษทั ในปี 2555 เท่ากับ 15.46 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นอัตรากาไรจากการ ดาเนิ นงานเท่ากับร้ อยละ 3.17 เนื่ องจากอัตรากาไรขั้นต้นที่ปรับตัวสู งขึ้นจากยอดขายให้แก่ลูกค้าที่ได้รับ ผลกระทบจากวิกฤตการณ์ น้ าท่วมในช่ วงปลายปี 2554 และรายได้จากการให้บริ การจากข้อตกลงให้ความ ช่วยเหลือด้านเทคนิคซึ่ งเป็ นงานที่มีอตั รากาไรขั้นต้นที่สูงกว่ารายได้จากการขายชิ้นส่ วนและแม่พิมพ์ ในปี 2556 บริ ษทั มีการขาดทุนจากการดาเนิ นงานเท่ากับ 20.45 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นอัตราขาดทุน จากการดาเนินงานเท่ากับร้อยละ 232.29 ซึ่ งการขาดทุนจากการดาเนิ นงานในช่วงดังกล่าว มีสาเหตุหลักจาก อัตรากาไรขั้นต้นที่ปรับตัวลดลงเนื่ องจากค่าแรงงานที่ปรับเพิ่มขึ้นเป็ นการปรับเพิ่มค่าจ้างแรงงานภายใน บริ ษทั และภายนอกบริ ษทั ซึ่ งส่ งผลมาจากการประกาศใช้นโยบายค่าแรงงานขั้นต่าของรัฐบาล ประกอบกับ ยอดขายลดลงจากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้านธุ รกิจยานยนต์ที่ชะลอตัว อันเนื่ องจากการยกเลิกการ จองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรั ฐบาล ส่ ง ผลให้มี ก ารชะลอตัวของค าสั่ง ซื้ อจากลู กค้า ซึ่ งเลื่ อน ออกไป ในปี 2557 บริ ษทั มีการขาดทุนจากการดาเนิ นงานเท่ากับ 21.90 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นอัตราขาดทุน จากการดาเนิ นงานเท่ากับร้อยละ 6.14 ของรายได้รวม ซึ่ งการขาดทุนจากการดาเนิ นงานในช่วงดังกล่าว มี สาเหตุหลักเนื่ องจากค่าแรงงานที่ปรับเพิ่มขึ้นเป็ นการปรับเพิ่มค่าจ้างแรงงานภายในบริ ษทั และภายนอก บริ ษทั ซึ่ งส่ งผลมาจากการประกาศใช้นโยบายค่าแรงงานขั้นต่ าของรัฐบาล ประกอบกับยอดขายลดลงจาก สภาพเศรษฐกิ จภายในประเทศ ด้านธุ รกิ จยานยนต์ที่ชะลอตัว อันเนื่ องจากการยกเลิ กการจองรถยนต์ตาม นโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่ งผลให้มีการชะลอตัวของคาสั่งซื้ อจากลูกค้าซึ่ งเลื่อนออกไป ในปี 2555 ปี ปี 2556 และ ปี 2557 กาไรสุ ทธิ มีมูลค่าเท่ากับ 17.24 ล้านบาท -14.58 ล้านบาทและ -16.40 ล้านบาท ตามลาดับ หรื อคิดร้อยละ 3.54 ร้อยละ -3.55 และร้อยละ -4.60 ของรายได้รวม ตามลาดับ กาไรสุ ทธิ ของบริ ษทั ในปี 2555 เท่ากับ 17.24 ล้านบาท หรื อปรั บตัวเพิ่มขึ้ นร้ อยละ 139.78 เมื่ อ เปรี ยบเทียบกับกาไรสุ ทธิ 7.19 ล้านบาทในปี 2554 เนื่ องจากกาไรขั้นต้นที่สูงขึ้น จากคาสั่งผลิตชิ้นส่ วนจาก ลูกค้าที่ได้รับผลกระทบวิกฤตการณ์น้ าท่วมในช่วงปลายปี 2554 และรายได้จากการให้บริ การจากข้อตกลง ให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค ขาดทุนสุ ทธิ ของบริ ษทั ในปี 2556 เท่ากับ 14.58 หรื อปรับตัวลดลงร้อยละ 184.52 เมื่อเปรี ยบเทียบ กับกาไรสุ ทธิ 17.24 ล้านบาทในปี 2555 เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้านธุ รกิจยานยนต์ที่ชะลอ 152
ตัว อันเนื่องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่ งผลให้มีการชะลอตัวของคา สั่งซื้ อจากลูกค้าซึ่ งเลื่อนออกไป และค่าแรงงานที่ปรับเพิ่มขึ้นเป็ นการปรับเพิ่มค่าจ้างแรงงานภายในบริ ษทั และภายนอกบริ ษทั ซึ่ งส่ งผลมาจากการประกาศใช้นโยบายค่าแรงงานขั้นต่าของรัฐบาล ขาดทุนสุ ทธิ ของบริ ษทั ในปี 2557 เท่ากับ 16.40 หรื อปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.48 เมื่อเปรี ยบเทียบ กับงวดเดียวกันของปี ก่อนที่ขาดทุนสุ ทธิ 14.58 ล้านบาท เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ ด้านธุ รกิจ ยานยนต์ที่ชะลอตัว อันเนื่องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่ งผลให้มีการ ชะลอตัวของคาสัง่ ซื้ อจากลูกค้าซึ่ งเลื่อนออกไป และค่าแรงงานที่ปรับเพิม่ ขึ้นเป็ นการปรับเพิ่มค่าจ้างแรงงาน ภายในบริ ษทั และภายนอกบริ ษทั ซึ่ งส่ งผลมาจากการประกาศใช้นโยบายค่าแรงงานขั้นต่าของรัฐบาล อัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุน้ อัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุ ้น ในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 เท่ากับร้อยละ 15.60 ร้อยละ -10.34 และ ร้อยละ -12.88 ตามลาดับ สาหรับอัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุน้ ในปี 2555 เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันในปี 2554 เนื่ องจากอัตรากาไร ขั้นต้นที่ปรับตัวสู งขึ้นซึ่ งส่ งผลต่อกาไรจากการดาเนิ นงานและกาไรสุ ทธิ นอกจากนี้ บริ ษทั ยังมีการจ่ายเงิ น ปั นผลให้ผถู ้ ื อหุ ้นโดยคิดเป็ นอัตราการจ่ายเงินปั นผลสาหรับผลการดาเนิ นงานปี 2552 และปี 2553 เท่ากับ ร้อยละ 22.15 และร้อยละ 49.93 ตามลาดับ สาหรั บอัตราผลตอบแทนผูถ้ ื อหุ ้นในปี 2556 ลดลงจากงวดเดี ยวกันในปี 2555 เนื่ องจากสภาพ เศรษฐกิจภายในประเทศ ด้านธุ รกิจยานยนต์ที่ชะลอตัว อันเนื่ องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบาย รถคันแรกของรัฐบาล ส่ งผลให้มีการชะลอตัวของคาสั่งซื้ อจากลูกค้าซึ่ งเลื่อนออกไป และค่าแรงงานที่ปรับ เพิ่มขึ้นเป็ นการปรั บเพิ่มค่าจ้างแรงงานภายในบริ ษทั และภายนอกบริ ษทั ซึ่ งส่ งผลมาจากการประกาศใช้ นโยบายค่าแรงงานขั้นต่าของรัฐบาล นอกจากนี้บริ ษทั ยังมีการจ่ายเงินปั นผลให้ผถู ้ ือหุ ้นโดยคิดเป็ นอัตราการ จ่ายเงินปั นผลสาหรับผลการดาเนินงานปี 2554 เท่ากับร้อยละ 56.92 สาหรั บ อัตราผลตอบแทนผูถ้ ื อหุ ้นในปี 2557 ลดลงจากงวดเดี ยวกันในปี 2556 เนื่ องจากสภาพ เศรษฐกิจภายในประเทศ ด้านธุ รกิจยานยนต์ที่ชะลอตัว อันเนื่ องจากการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบาย รถคันแรกของรัฐบาล ส่ งผลให้มีการชะลอตัวของคาสั่งซื้ อจากลูกค้าซึ่ งเลื่อนออกไป และค่าแรงงานที่ปรับ เพิ่มขึ้นเป็ นการปรั บเพิ่มค่าจ้างแรงงานภายในบริ ษทั และภายนอกบริ ษทั ซึ่ งส่ งผลมาจากการประกาศใช้ นโยบายค่าแรงงานขั้นต่าของรัฐบาล
153
14.2 ฐานะทางการเงิน สิ นทรัพย์ บริ ษทั มีสินทรัพย์รวม ณ สิ้ นปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 เป็ นมูลค่า 347.60 ล้านบาท 341.40 ล้าน บาท และ 344.99 ล้านบาทตามลาดับ ทั้งนี้สินทรัพย์ของบริ ษทั มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ สิ นทรัพย์หมุนเวียน ณ สิ้ นปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 เท่ากับ 148.40 ล้านบาท 123.73 ล้านบาท และ 116.93 ล้านบาท ตามลาดับ หรื อคิดเป็ นร้อยละ 42.69 ร้อยละ 36.32และร้อยละ 33.89 ของสิ นทรัพย์ รวมของบริ ษทั ตามลาดับ ซึ่ งสิ นทรัพย์หมุนเวียนส่ วนใหญ่ของบริ ษทั ประกอบด้วยลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่น และสิ นค้าคงเหลือเป็ นหลัก ซึ่ งเป็ นไปตามลักษณะของธุ รกิจโรงงานผลิตสิ นค้าเพื่อจาหน่าย ซึ่ งรายการ สิ นทรัพย์หมุนเวียนดังกล่าวจะปรับตัวไปในทิศทางเดี ยวกันกับยอดขาย ในขณะที่สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ของบริ ษทั ส่ วนใหญ่ประกอบไปด้วยที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ บริ ษทั มีสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ณ สิ้ น ปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 เท่ากับ 217.41 ล้านบาท 217.67 ล้านบาท 218.06 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 57.31 ร้อยละ 63.68และร้อยละ 66.11 ของสิ นทรัพย์รวม ตามลาดับ ลูกหนี้การค้า และค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ ณ สิ้ นปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 บริ ษทั มี ลูกหนี้ การค้าสุ ทธิ จานวน 60.63 ล้านบาท 40.84 ล้าน บาท และ 49.99 ล้านบาท ตามลาดับ โดยการลดลงของลูกหนี้ การค้าในปี 2556 เป็ นผลมาจากการยกเลิกการ จองรถยนต์ต ามนโยบายรถคันแรกของรั ฐบาล ส่ ง ผลให้มี ก ารชะลอตัวของค าสั่ง ซื้ อจากลู กค้า ซึ่ งเลื่ อน ออกไป โดยในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 บริ ษทั มีอตั ราส่ วนหมุนเวียนลูกหนี้ การค้าเท่ากับ 8.16 เท่า 8.03 เท่า และ 7.03 เท่า ตามลาดับ บริ ษทั มีนโยบายการให้เทอมจ่ายชาระแก่ลูกค้าระหว่าง 30 ถึง 60 วัน ซึ่ งบริ ษทั จะพิจารณาเทอมการ จ่ายชาระเงินจากผลประกอบการที่ผา่ นมา ยอดการสั่งซื้ อ และประวัติการชาระเงินในอดีต
154
ระยะเวลาค้ างชาระ
31-ธ.ค.-55 ร้ อย มูลค่ า ละ
31-ธ.ค.-56
ลูกหนี้การค้ายังไม่ถึงกาหนดชาระ
55.59 91.67
มูลค่ า
ร้ อยละ
36.76
90.01
หน่วย: ล้านบาท 31-ธ.ค.-57 ร้ อย มูลค่ า ละ 44.63 89.28
ค้างชาระเกินกาหนด 1 – 30 วัน
2.1
3.46
3.82
9.35
31 – 60 วัน
1.96
3.23
0.23
0.56
61 – 120 วัน
0.98
1.62
0.03
-
-
60.63
มากกว่า 120 วัน
4.88
9.76
0.07
0.48
0.96
-
-
-
-
-
-
-
-
-
100
40.84
100
49.99
100
ลูกหนีก้ ารค้ าก่ อนหักค่ าหนีส้ งสั ยจะสู ญ หัก ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ ลูกหนีก้ ารค้ า-สุ ทธิ
บริ ษ ทั บันทึก ค่ าเผื่อหนี้ สงสัย จะสู ญ โดยประมาณการหนี้ ที่อาจเกิ ดขึ้ นจากการเรี ยกเก็บ เงิ นจาก ลูกหนี้ ไม่ได้ตามเงื่อนไขการชาระเงิน ทั้งนี้ ในการประมาณการบริ ษทั คานึ งถึงประสบการณ์ การเก็บเงินใน อดีต อายุของหนี้ ที่คงค้าง และสภาวะเศรษฐกิจในขณะนั้น โดยพิจารณาจากลูกหนี้ ที่มีอายุการชาระหนี้ เกิ น 365 วัน และไม่มีการเคลื่อนไหว ซึ่ งพิจารณาเป็ นรายๆ และจะใช้อตั ราการตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญร้อยละ 100 จากยอดหนี้คงค้างทั้งหมด
155
สิ นค้าคงเหลือ ณ สิ้ นปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 บริ ษทั มีสินค้าคงเหลือสุ ทธิ รวมจานวน 42.47 ล้านบาท 41.16 ล้านบาท และ 47.20 ล้านบาท ตามลาดับ (หน่วย : ล้านบาท) 31-ธ.ค.-55 31-ธ.ค.-56 31-ธ.ค.-57 มูลค่ า ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ สิ นค้าสาเร็ จรู ป
26.99
63.54
14.14
34.35
19
40.25
งานระหว่างทา
17.72
41.71
23.48
57.05
25.57
54.17
วัตถุดิบ
2.52
5.93
1.43
3.47
1.91
4.05
อะไหล่
3.12
7.34
3.33
8.09
3.82
8.09
50.35
118.53
42.38
102.96
50.3
106.57
7.87
18.53
1.22
2.96
3.1
6.57
42.47
100
41.16
100
47.2
100
รวม หัก ค่าเผือ่ มูลค่าสิ นค้าลดลง สิ นค้ าคงเหลือ-สุ ทธิ
ในปี 2555 สิ นค้าคงเหลื อสุ ท ธิ เท่ากับ 42.47 ล้านบาท โดยรายการงานระหว่างท า และสิ นค้า สาเร็ จรู ป คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 63.54 และร้อยละ 41.71 ตามลาดับ ซึ่ งเป็ นผลมาจากยอดการผลิตที่เพิ่มขึ้น จากลูกค้าที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์น้ าท่วม ในปี 2556 สิ นค้า คงเหลื อสุ ทธิ เท่ า กับ 41.16 ล้า นบาท โดยรายการงานระหว่า งท า และสิ นค้า สาเร็ จรู ป คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 34.35 และร้อยละ 57.05 ตามลาดับ ซึ่ งลดลงเมื่อเทียบกับปี 2555 เนื่องจาก การยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่ งผลให้มีการชะลอตัวของคาสั่งซื้ อจากลูกค้า ซึ่งเลื่อนออกไป ในปี 2557 สิ นค้า คงเหลื อสุ ทธิ เท่ า กับ 47.20 ล้านบาท โดยรายการงานระหว่า งท า และสิ นค้า สาเร็ จรู ป คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 54.17 และร้อยละ 40.25 ตามลาดับ โดยใน 2555 ปี 2556 และ ปี 2557 บริ ษทั มีอตั ราส่ วนหมุนเวียนสิ นค้าคงเหลือเท่ากับ 11.89 เท่า 8.80 เท่า และ 7.28 เท่า ตามลาดับ บริ ษทั มีนโยบายการตั้งค่าเผื่อการลดมูลค่าสิ นค้าสาหรับสิ นค้าเสื่ อมคุณภาพ เสี ยหาย ล้าสมัย หรื อ ค้างนาน โดยบริ ษทั พิจารณาจากมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ (Net Realizable Value) ซึ่ งจะพิจารณาจากส่ วนต่าง ของต้น ทุ น กับ ราคาขาย ซึ่ งบริ ษ ัท จะท าการบัน ทึ ก มู ล ค่ า ขาดทุ นจากการปรั บ มู ล ค่ า สิ น ค้า ลดลง เป็ น
156
ค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุน อย่างไรก็ตามบริ ษทั ดาเนินธุ รกิจผลิตและจาหน่ายชิ้นส่ วน ซึ่ งชิ้นส่ วนเสนอขาย จะมีลกั ษณะเฉพาะสาหรับสิ นค้าของลูกค้าในแต่ละรุ่ น ส่ งผลให้ค่าเผื่อมูลค่าของสิ นค้าลดลงอยู่ในระดับที่ ค่อนข้างต่าปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 บริ ษทั มีการตั้งค่าเผื่อการลดมูลค่าสิ นค้าเท่ากับ 7.87 ล้านบาท 1.22 ล้านบาท และ 3.10 ล้านบาท ตามลาดับ หรื อคิดเป็ นสัดส่ วนต่อสิ นค้าคงเหลือสุ ทธิ เท่ากับร้อยละ 18.53 ร้อย ละ 2.96 และร้อยละ 6.57 ตามลาดับ ที่ดินอาคารและอุปกรณ์ ณ สิ้ น ปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 บริ ษทั มีที่ดินอาคารและอุปกรณ์สุทธิ รวมจานวน 190.17 ล้าน บาท 194.83 ล้านบาท และ 193.43 ล้านบาท ตามลาดับ คิดเป็ นสัดส่ วนต่อสิ นทรัพย์รวมเท่ากับ ร้อยละ 54.71 ร้อยละ 57.07 และ ร้อยละ 56.07 ตามลาดับ สาหรับปี 2555 บริ ษทั มีการลงทุนในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์เท่ากับ 46.02 ล้านบาท โดยบริ ษทั มี การลงทุนซื้ อที่ดินพร้อมอาคารโรงงานในบริ เวณที่ติดกับพื้นที่ของบริ ษทั เพื่อใช้เป็ นพื้นที่สาหรับฝ่ ายตกแต่ง ชิ้นงาน และฝ่ ายคลังสิ นค้า นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้มีการลงทุนซื้ อเครื่ องจักรและอุปกรณ์เพื่อขยายกาลังการ ผลิต สาหรับปี 2556 บริ ษทั มีการลงทุนในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์เท่ากับ 32.60 ล้านบาท โดยบริ ษทั มี การลงทุ นซื้ อเครื่ องจักรหล่อทราย เพื่อเพิ่มสายการผลิ ตให้หลากหลาย และเตาหลอม เพื่อลดการใช้ก๊าซ ธรรมชาติ (Liquefied Natural Gas หรื อ LNG) ซึ่งใช้เป็ นเชื้อเพลิงในเตาหลอมมีราคาเพิ่มสู งขึ้น สาหรับปี 2557 บริ ษทั มีการลงทุนในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เท่ากับ 19.13 ล้านบาท โดยบริ ษทั มี การลงทุนซื้ อเครื่ องจักรและที่ดิน เพื่อรองรับการผลิตและการขยายงานในอนาคต สภาพคล่องกระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน ในปี 2555 บริ ษทั มีเงิ นสดสุ ทธิ ที่ได้มาจากกิ จกรรมดาเนิ นงาน 55.16 ล้านบาท ซึ่ งเพิ่มขึ้ นจากปี 2554เนื่ องจากการเพิ่มขึ้นของยอดขาย และการลดลงของต้นทุนขาย โดยมีรายการหลักดังนี้ กาไรก่อนภาษี เงินได้ 20.49 ล้านบาท ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย 20.39 ล้านบาท ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่นเพิ่มขึ้น 6.19 ล้านบาท สิ นค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น 23.77 ล้านบาท สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 11.40 ล้านบาท เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่นเพิ่มขึ้น 26.24ล้านบาท และหนี้ สินหมุนเวียนอื่ นเพิ่มขึ้ น 12.08 ล้านบาท นอกจากนี้ บริ ษทั มีรายการขาดทุนจากการตัดจาหน่ายทรัพย์สิน 2.20 ล้านบาท ซึ่ งเป็ นรายการตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มี ตัว ตน รายการขาดทุ น จากการตี มู ล ค่ า สิ น ค้า ลดลง 6.28 ล้า นบาท และรายการขาดทุ น จากการด้อยค่ า สิ นทรัพย์ 3.12 ล้านบาท ในปี 2556 บริ ษทั มีเงินสดสุ ทธิ ที่ได้มาจากกิจกรรมดาเนิ นงาน 10.73 ล้านบาท ซึ่ งลดลงจากปี 2555 เนื่ องจากการลดลงของยอดขาย โดยมี รายการหลักดังนี้ ขาดทุนก่ อนภาษี เงิ นได้ 21.05 ล้านบาท ค่าเสื่ อม 157
ราคาและค่าตัดจาหน่ าย 26.37 ล้านบาท ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่นลดลง 12.51 ล้านบาท สิ นค้าคงเหลื อ ลดลง 7.96 ล้านบาท สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 5.17 ล้านบาท เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่นลดลง 12.80 ล้านบาท และหนี้ สินหมุนเวียนอื่นลดลง 11.59 ล้านบาท นอกจากนี้ บริ ษทั มีรายการขาดทุนจากการด้อยค่า สิ นทรัพย์ 2.09 ล้านบาท กาไรจากการกลับรายการขาดทุนจากการตีมูลค่าสิ นค้า 6.65 ล้านบาท ในปี 2557 บริ ษทั มีเงินสดสุ ทธิ ที่ได้มาจากกิ จกรรมดาเนิ นงาน 13.80 ล้านบาท ซึ่ งเพิ่มขึ้นจากปี ก่อน โดยมีรายการหลักดังนี้ ขาดทุนก่อนภาษีเงินได้ 21.90 ล้านบาท ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย 26.15 ล้านบาท ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่นลดลง 1.61 ล้านบาท สิ นค้าคงเหลื อเพิ่มขึ้น 7.92 ล้านบาท สิ นทรัพย์ หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 2.27 ล้านบาท เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่นลดลง 2.32 ล้านบาท และหนี้ สินหมุนเวียน อื่นเพิ่มขึ้น 12.60 ล้านบาท กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ในปี 2555 บริ ษทั มี การใช้เงิ นสดเพื่อกิ จกรรมลงทุนตามงบการเงิ นทั้งสิ้ น 46.81 ล้านบาท โดยมี รายการที่สาคัญ คือ การลงทุนส่ วนต่อขยายโรงงานเพิ่มเติม โดยซื้ อที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้างในบริ เวณที่ติด กับเนื้ อที่ของบริ ษทั จานวน 23.27 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายในการซื้ อเครื่ องจักรและอุปกรณ์ จานวน 19.81 ล้านบาท ในปี 2556 บริ ษทั มี การใช้เงิ นสดเพื่อกิ จกรรมลงทุ นตามงบการเงิ นทั้งสิ้ น 19.13ล้านบาท โดยมี รายการที่สาคัญ คือ ค่าใช้จ่ายในการซื้ อเครื่ องจักรและอุปกรณ์จานวน 31.02 ล้านบาท และขายเครื่ องจักร และเช่ากลับคืนจานวน 14.83 ล้านบาท ในปี 2557 บริ ษทั มีการใช้เงินสดเพื่อกิ จกรรมลงทุนตามงบการเงินทั้งสิ้ น 18.79 ล้านบาท โดยมี รายการที่สาคัญ คือ ค่าใช้จ่ายในการซื้ อเครื่ องจักรและอุปกรณ์จานวน 19.13 ล้านบาท และขายเครื่ องจักร และเช่ากลับคืนจานวน .50 ล้านบาท กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ในปี 2555 บริ ษทั มี เงิ นสดใช้ไปจากกิ จกรรมจัดหาเงิ นตามงบการเงิ นทั้งสิ้ น 0.17 ล้านบาท โดยมี สาเหตุหลักจาก การรับเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 13.72 ล้านบาท การชาระเงินกูย้ ืมระยะยาวจาก สถาบันการเงิน 9.64 ล้านบาท จ่ายชาระหนี้ สินภายใต้สัญญาเช่ าการเงิ น 4.28 ล้านบาท และการจ่ายชาระ ดอกเบี้ย 7.56 ล้านบาท ในปี 2556 บริ ษทั มีเงินสดใช้ไปจากกิ จกรรมจัดหาเงิ นตามงบการเงิ นทั้งสิ้ น 8.82 ล้านบาท โดยมี สาเหตุหลักจาก การชาระคืนเงิ นเบิกเกินบัญชี และเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 4.37 ล้านบาท การ ชาระเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 11.47 ล้านบาท จ่ายชาระหนี้ สินภายใต้สัญญาเช่าการเงิน 11.72
158
ล้านบาท การจ่า ยเงิ นปั นผล 8.80 ล้านบาท การจ่ายชาระดอกเบี้ ย 8.17 ล้านบาทและการรับเงิ นจากการ จาหน่ายหุ น้ สามัญ 53.35 ล้านบาท ในปี 2557 บริ ษทั มีเงินสดใช้ไปจากกิจกรรมจัดหาเงินตามงบการเงิ นทั้งสิ้ น 8.87 ล้านบาท โดยมี สาเหตุหลักจาก การชาระคืนเงินเบิกเกิ นบัญชี และเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิ น 4.36 ล้านบาท การ ชาระเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิ น 11.98 ล้านบาท จ่ายชาระหนี้ สินภายใต้สัญญาเช่ าการเงิน 13.12 ล้านบาท การจ่ายชาระดอกเบี้ย 7.21 ล้านบาทและการรับเงินจากการจาหน่ายหุ น้ สามัญ 2.20 ล้านบาท อัตราส่ วนสภาพคล่อง ในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 บริ ษทั มีอตั ราส่ วนสภาพคล่องเท่ากับ 0.75 เท่า 0.72 เท่า และ 0.59 เท่า ตามลาดับ และมีอตั ราส่ วนสภาพคล่องหมุนเร็ วในช่วงเวลาเดียวกันเท่ากับ 0.43 เท่า 0.42 เท่า และ 0.29 เท่า ตามลาดับ ในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 บริ ษทั มีระยะเวลาการเก็บหนี้ เฉลี่ยเท่ากับ 44.13 วัน 44.83 วัน และ 51.92 วัน ตามลาดับ ตั้งแต่ปี 2554 เป็ นต้นมาเศรษฐกิ จมีการปรับตัวที่ดีข้ ึนตามลาดับ ทาให้ระยะเวลาการ เก็บหนี้ จึงลดลงมาอยู่ในช่ วงตามนโยบายการเรี ยกเก็บเงิ นปกติ จนถึ งปี 2556 มีการยกเลิกการจองรถยนต์ ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่ งผลให้มีการชะลอตัวของคาสั่งซื้ อจากลู กค้าซึ่ งเลื่ อนออกไป ทาให้ ยอดขายลดลง ทาให้ระยะเวลาการเก็บหนี้เฉลี่ยเพิ่มขึ้น ในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 บริ ษทั มีระยะเวลาการขายสิ นค้าเฉลี่ ยเท่ากับ 30.29 วัน 40.90 วัน และ 50.14วัน ตามลาดับ โดยระยะเวลาในการขายสิ นค้าเฉลี่ยในปี 2555 จะอยูใ่ นเกณฑ์ปกติ สาหรับปี 2556 และปี 2557 มีการยกเลิ กการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคันแรกของรัฐบาล ส่ งผลให้มีการชะลอตัวของคา สั่งซื้ อจากลูกค้าซึ่ งเลื่อนออกไป ทาให้ยอดขายลดลง ทาให้ระยะเวลาการขายสิ นค้าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ในปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 บริ ษทั มีระยะเวลาการชาระหนี้เฉลี่ยเท่ากับ 56.29 วัน 70.81 วัน และ 99.18 วัน ตามลาดับ ในปี 2554 และปี 2555 วิกฤตการณ์ ทางการเงิ นมีแนวโน้มคลี่ คลาย ส่ งผลให้การรั บ ช าระเงิ นจากลู ก ค้า กลับ มาเป็ นปกติ ท าให้ไ ม่ จาเป็ นต้องขยายระยะเวลาการช าระหนี้ ออกไป จึ งท าให้ ระยะเวลาชาระหนี้ เฉลี่ยลดลงมาเป็ นปกติธุรกิจ ในปี 2556 มีการยกเลิกการจองรถยนต์ตามนโยบายรถคัน แรกของรัฐบาล ส่ งผลให้มีการชะลอตัวของคาสั่งซื้ อจากลูกค้าซึ่ งเลื่อนออกไป จึงทาให้ยอดขายลดลง
159
2555
2556
2557
อัตราส่ วนสภาพคล่อง
(เท่า)
0.75
0.72
0.59
อัตราส่ วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว
(เท่า)
0.43
0.42
0.29
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย
(วัน)
44.13
44.83
51.92
ระยะเวลาขายสิ นค้าเฉลี่ย
(วัน)
30.29
40.9
50.14
ระยะเวลาชาระหนี้
(วัน)
56.29
70.81
99.18
Cash Cycle
(วัน)
18.13
14.92
2.26
แหล่งที่มาของเงินทุน หนี้สิน บริ ษทั มีหนี้ สินหมุนเวียนในปี 2555 ปี 2556 และในปี 2557 เท่ากับ 196.81 ล้านบาท 173.11 ล้าน บาท และ 197.47 ล้านบาท ตามลาดับ และมีหนี้สินไม่หมุนเวียนเท่ากับ 40.28 ล้านบาท 27.33 ล้านบาท และ 10.10 ล้านบาท ตามลาดับ ในปี 2555 บริ ษทั มี หนี้ สินหมุนเวียนเท่ากับ 196.81 ล้านบาท และมีหนี้ สินไม่หมุ นเวียนเท่ากับ 40.71 ล้านบาท ทั้งนี้ ในส่ วนของเงิ นกู้ยืมยอดรวมเพิ่มขึ้ นจากปี 2554 เป็ นจานวน 16.47 ล้านบาท โดยมี สาเหตุมาจากการเพิ่มขึ้นของเงิ นกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิ นที่ถึงกาหนดชาระภายใน 1 ปี ซึ่ งเพิ่มขึ้น จาก 10.44 ล้านบาท ในปี 2554 เป็ น 18.40 ล้านบาท ในปี 2555 เงินเบิกเกินบัญชี และเงินกูย้ ืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงิน ซึ่ งเพิม่ ขึ้นจาก 57.85 ล้านบาท ในปี 2554 เป็ น 65.44 ล้านบาท ในปี 2555 นอกจากนี้ เงินกูย้ ืม ระยะยาว เพิ่มขึ้นจาก 27.68 ล้านบาท ในปี 2554 เป็ น 28.59 ล้านบาท ในปี 2555 ในปี 2556 บริ ษทั มี หนี้ สินหมุ นเวียนเท่ากับ 173.11 ล้านบาท และมีหนี้ สินไม่หมุนเวียนเท่ากับ 27.33 ล้านบาท ทั้งนี้ในส่ วนของเงินกูย้ มื ยอดรวมลดลงจากปี 2555 โดยมีสาเหตุมาจากการจากชาระเงินกูย้ มื ในปี 2557 บริ ษทั มีหนี้สินหมุนเวียนเท่ากับ 197.47 ล้านบาท ประกอบด้วยรายการที่สาคัญดังนี้ เงิน กูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 56.70 ล้านบาท เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่นๆ 77.86 ล้านบาท หนี้ สินส่ วน ที่ถึงกาหนดชาระภายในปี 21.11 ล้านบาท เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้อง 21 ล้านบาท และหนี้สินหมุนเวียนอื่น 20.81 บาทและมีหนี้สินไม่หมุนเวียนเท่ากับ 10.10 ล้านบาท
160
31-ธ.ค.-55 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบัน การเงิน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้อง เงินกูย้ มื ระยะยาว เงินกูย้ มื ระยะยาวที่ถึงกาหนดชาระภายใน 1 ปี รวมเงินกูย้ มื
65.44
(หน่วย : ล้านบาท) 31-ธ.ค.-56 31-ธ.ค.-57 61.07
56.7 21
28.59
16.62
4.17
18.4
23.49
21.1
112.43
101.18
102.97
ณ สิ้ นปี 2555 ปี 2556 และปี 2557 บริ ษทั มีอตั ราส่ วนหนี้ สินต่อส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้น เท่ากับ 2.15 เท่า 1.42 เท่า และ 1.63 เท่า ตามลาดับ ในปี 2555 อัตราส่ วนหนี้ สินต่อส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้นมีแนวโน้มที่สูงขึ้น เมื่อ เที ยบกับ ปี 2554 เนื่ องจากจากการกู้ยืม เงิ นเพิ่ มขึ้ นเพื่อเป็ นเงิ นทุ นหมุ นเวีย นเพื่ อรองรั บ การเพิ่ มขึ้ นของ ยอดขาย อี กทั้ง ยังมี การลงทุนในที่ ดินและสิ่ งปลูกสร้ างสาหรั บส่ วนต่อขยายโรงงาน และมีการลงทุนใน เครื่ องจักร เพื่อขยายกาลังการผลิต และในปี 2556 อัตราส่ วนหนี้ สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นลดลง เนื่ องจากการ ออกหุ น้ สามัญเพิ่มทุน 53.35 ล้านบาท ทาให้ส่วนของผูถ้ ือหุ น้ เพิ่มขึ้น ส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษทั มีมูลค่าเท่ากับ 110.52 ล้านบาท การปรับ เพิ่มขึ้นของส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ เป็ นผลมาจากผลประกอบการในปี 2555 โดยบริ ษทั มียอดกาไรสะสม (ยังไม่ได้ จัดสรร) เท่ากับ 16.28 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษทั มีมูลค่าเท่ากับ 140.96 ล้านบาท การปรั บ เพิ่มขึ้นของส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ เป็ นผลมาจากการขายเสนอขายหุ น้ เพิ่มทุนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ มูลค่า 53.35 ล้านบาท การจ่ายเงิ นปั นผลมูลค่า 8.80 ล้านบาท และผลประกอบการในปี 2556 โดยบริ ษทั มียอด ขาดทุนสุ ทธิ เท่ากับ 14.58 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษทั มีมูลค่าเท่ากับ 127.43 ล้านบาท การปรับ ลดลงของส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น มีสาเหตุหลักมาจาก ในปี 2557 บริ ษทั ขาดทุนสุ ทธิ 16.40 ล้านบาท หุ ้นสามัญ ชาระเพิ่ม 0.78 ล้านบาท ส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ สามัญ 1.43 ล้านบาท ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ 0.67 ล้านบาท
161
ปัจจัยและอิทธิพลทีอ่ าจมีผลต่ อการดาเนินงานหรือฐานะการเงินในอนาคต ปั จจัยและอิทธิ พลที่อาจมีผลต่อการดาเนิ นงานหรื อฐานะการเงิ นในอนาคตของบริ ษทั นอกเหนื อจากที่ได้ กล่าวไว้ในเรื่ องปั จจัยความเสี่ ยง ได้แก่การลดลงของกาไรสุ ทธิ ต่อหุ ้นตาม Fully-diluted Basis เนื่ องจาก ภายหลังการเสนอขายหุ ้นเพิ่มทุนต่อประชาชนในครั้งนี้ จานวนหุ ้นชาระแล้วของบริ ษทั จะเพิ่มขึ้นจาก 176 ล้านหุ ้น เป็ น 226 ล้านหุ ้น ซึ่ งจะทาให้ขาดทุนสุ ทธิ ต่อหุ ้นตามงบการเงิ นในงวดปี 2557 ที่คานวณตามแบบ Fully-diluted Basis โดยใช้จานวนหุ ้นภายหลังการเสนอขายต่อประชาชนเป็ นฐานในการคานวณ จะลดลง เหลือเท่ากับ 0.070 บาทต่อหุ น้ จากเดิม 0.071 บาทต่อหุ น้ อย่างไรก็ตามการที่ จะนากาไรสุ ทธิ ต่อหุ ้นแบบ Fully-diluted Basis มาใช้น้ นั ควรต้องพิจารณา เพิ่มเติมถึ งผลตอบแทนที่จะได้รับจากการนาเงิ นที่ได้รับจากการเพิ่มทุนไปใช้ในการลงทุนเพื่อขยายพื้นที่ โรงงานและกาลังการผลิต และใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนตามที่ได้ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การใช้เงินด้วย
162